การศึกษาการจัดสรรพื้นที่ใช้สอยในงานวางผังภูมิสถาปัตยกรรมโรงแรมประเภทรีสอร์ทระดับสี่ดาวและห้าดาว

Page 1

รายงานผลการวิจัย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และ การออกแบบสิ่งแวดล้อม เรื่อง

การศึกษาการจัดสรรพืน้ ที่ใช้ สอยในงานวางผังภูมิสถาปัตยกรรมโรงแรม ประเภทรีสอร์ ทระดับสี่ดาวและห้ าดาวในภาคเหนือของประเทศไทย A Study of Use Area Allocation in the Landscape Architectural Planning of Four and Five Star Resort Hotels in Northern Thailand โดย

จรัสพิมพ์ บุญญานันต์

มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ 2564 รหัสโครงการวิจัย มจ.2-64-035


2


รายงานผลการวิจัย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และ การออกแบบสิ่งแวดล้อม เรื่อง การศึ ก ษาการจั ดสรรพื้นที่ ใช้ ส อยในงานวางผังภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมโรงแรม ประเภทรีสอร์ ท ระดับสี่ ดาวและห้ าดาวในภาคเหนือของประเทศไทย A Study of Use Area Allocation in the Landscape Architectural Planning of four and five star resort hotels in Northern Thailand ได้ รับการจัดสรรงบประมาณวิจัย

ประจาปี 2564 จานวนเงิน 4,000 บาท

หัวหน้ าโครงการ ผู้ร่วมโครงการ

นางสาวจรัสพิมพ์ บุญญานันต์ -

งานวิจยั เสร็ จสิ้ นสมบูรณ์ วันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2564


ข คานา โครงการวิจยั เรื่ อง การศึ กษาการจัดสรรพื้นที่ ใช้สอยในงานวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม โรงแรมประเภทรี สอร์ ท ระดับสี่ ดาวและห้าดาวในภาคเหนื อของประเทศไทยนี้ เกิดจากความ สนใจของผูว้ ิจยั ซึ่งเป็ นผูส้ อนในรายวิชา ภส. 333 การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 3 ในหลักสูตร ภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ในรายวิชานี้ นกั ศึกษาจะต้องเรี ยนรู ้ถึงเรื่ อง ของงานการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมโรงแรมประเภทรี สอร์ท ซึ่งผูเ้ ขียนได้มีโอกาสได้ นานัก ศึ ก ษาได้ไ ปเรี ย นรู ้ น อกสถานที่ จ ริ ง อยู่บ่ อยครั้ ง อี ก ทั้ง ยัง เคยได้มี โอกาสเป็ นที่ ป รึ ก ษา โครงการออกแบบวางผังที่พกั แบบโฮมสเตย์อีกด้วย จากประสบการณ์ที่ได้เรี ยนรู้ ทาให้ทราบถึง จุดอ่อนในด้านการขาดแคลนข้อมูลทุติยภูมิในการสนับสนุนการพัฒนารายละเอียดโครงการเพื่อ การออกแบบวางผังโครงการภูมิสถาปัตยกรรมโรงแรมประเภทรี สอร์ทสาหรับภูมิสถาปนิกและ นักศึกษา ข้อมูลเดิมที่มีอยู่ค่อนข้างล้าสมัย และขาดการศึกษาวิเคราะห์อย่างเป็ นระบบ ทั้ง ๆ ที่มี ตัวอย่างกรณี ศึกษาจริ ง ๆ ให้ศึกษาได้เป็ นจานวนมาก โดยเฉพาะในเขตพื้นที่ภาคเหนื อซึ่ งเป็ น แหล่งท่องเที่ยวที่สาคัญของประเทศไทย จึงได้จดั ทาโครงการศึกษาวิจยั ขึ้น โดยมีเป้ าหมายเพื่อ จะให้ เ ป็ นแนวทางชี้ น าในการพัฒ นารายละเอี ย ดโครงการเพื่ อ การวางผัง และออกแบบภูมิ สถาปัตยกรรม ให้เป็ นไปอย่างถูกต้องและเหมาะสม การวิจยั นี้ ได้เริ่ มดาเนิ นการตั้งแต่วนั ที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2564 และสิ้ นสุ ดในวันที่ 31 กันยายน พ.ศ. 2564 ผูด้ าเนินการศึกษาวิจยั ได้รับความร่ วมมือเป็ นอย่างดีจากเจ้าหน้าที่โ รงแรม กลุ่มตัวอย่าง ซึ่ งได้ให้ขอ้ มูลอันเป็ นประโยชน์เป็ นอย่างยิง่ ในการดาเนิ นงานวิจยั และเนื่ องจาก สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อโคโรน่าไวรัส 2019 ทาให้เกิดอุปสรรคต่อการเก็บข้อมูลใน บางส่วน ผูว้ ิ จัย หวัง เป็ นอย่า งยิ่ง ว่า งานวิ จัย ชิ้ นนี้ จะเป็ นประโยชน์ ต่อหน่ วยงานและองค์ก รที่ เกี่ยวข้อง รวมไปถึงภูมิสถาปนิกและนักเรี ยนนักศึกษา ในการนาผลการวิจยั ไปประยุกต์ใช้ในการ พัฒนาแนวทางการในการจัดทารายละเอียดโครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมโรงแรม ประเภท รี ส อร์ ท ในเขตภาคเหนื อ หรื อพื้ นที่ อื่น ๆ ที่ มี ล ัก ษณะคล้า ยคลึ ง กัน ซึ่ ง จะก่ อให้เกิ ด ประโยชน์อย่างยัง่ ยืนต่อไปในอนาคต จรัสพิมพ์ บุญญานันต์ กันยายน 2564


การศึกษาการจัดสรรพืน้ ที่ใช้ สอยในงานวางผังภูมสิ ถาปัตยกรรมโรงแรมประเภท รีสอร์ ท ระดับสี่ ดาวและห้ าดาวในภาคเหนือของประเทศไทย A Study of Use Area Allocation in the Landscape Architectural Planning of four and five star resort hotels in Northern Thailand จรัสพิมพ์ บุญญานันต์ Charaspim Boonyanant คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จ.เชียงใหม่ 50290

บทคัดย่อ ความรู้และทักษะในการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมโรงแรมประเภทรี สอร์ ทนั้น เป็ นงานที่ภูมิสถาปนิ กและนักศึกษารวมถึงองค์ก รที่เกี่ย วข้องควรพัฒนาให้มีความเชี่ ย วชาญ ชานาญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้อมูลความรู ้ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนารายละเอียดของโครงการและ การจัดสรรพื้นที่โครงการ ในงานวิจยั ชิ้นนี้ทาการศึกษาโรงแรมประเภทรี สอร์ทที่ได้รับมาตรฐาน ในระดับ 4 ดาว และ 5 ดาว ในพื้นที่ภาคเหนื อ จานวน 9 แห่ง (สมาคมโรงแรมไทย, 2563)โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษารายละเอียด ในด้านต่าง ๆ ของกลุ่มตัวอย่างกรณี ศึกษา นามาวิเคราะห์ ความสัมพันธ์ ที่จะนาไปสู่ขอ้ สรุ ปและข้อเสนอแนะในการพัฒนารายละเอียดโครงการประเภท เดียวกัน ขั้นตอนการศึ กษา เริ่ มต้นจากการเก็บรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิจากเอกสารต่าง ๆ และ ข้อมูลปฐมภูมิจากการสารวจ นาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ขอ้ มูลและประมวลผลเพื่อหาข้อสรุ ป ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยสาคัญที่ส่งผลต่อการพัฒนารายละเอียดโครงการของโรงแรม ประเภทรี สอร์ ทมาตรฐานระดับ 4-5 ดาวในเขตภาคเหนื อในเบื้ องต้น ได้แก่ รูปแบบของการ บริ หารงาน และสภาพแวดล้อมทางกายภาพของพื้นที่ต้ งั โครงการ โดยจะส่ งผลต่อขนาดของ โรงแรมจาแนกตามจานวนห้องพัก และขนาดของพื้นที่ต้ งั ของโรงแรม ลักษณะสภาพแวดล้อม ทางด้านกายภาพของกลุ่มตัวอย่างโรงแรมประเภทรี สอร์ ทโดยส่ วนใหญ่ (77.78%) เป็ นพื้นที่เขต เมืองซึ่งมีลกั ษณะเป็ นที่ราบ สามารถเดินทางเข้าถึงสะดวก มีทศั นียภาพระยะไกลหรื อระยะใกล้ที่ สวยงาม ส่ วนใหญ่ จะตั้ง อยู่ริม แม่ น้ า มี ก ลุ่ ม ตัวอย่า งโรงแรมรี ส อร์ ท บางส่ ว น (22.22%) ที่ มี


ง สภาพแวดล้อมทางกายภาพในพื้นที่นอกเมืองซึ่ งมีลกั ษณะของสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติที่ โดดเด่น ในการพัฒนารายละเอียดของสิ่ งอานวยความสะดวกภายในโรงแรม และสัดส่ วนของ ห้องพัก แต่ ล ะประเภทของโรงแรมนั้นจะต้องค านึ ง ถึ ง มาตรฐานการให้บ ริ ก ารของโรงแรม (ระดับดาว) และขนาดของโรงแรมซึ่งจาแนกตามจานวนห้องพัก โรงแรมขนาดใหญ่ที่มีจานวน ห้องพักมาก จะมีสัดส่ วนของห้องสวีทต่อจานวนห้องพักเดี่ยวลดลงเมื่อเทียบกับโรงแรมขนาด เล็กกว่าที่ มีจานวนห้องพัก น้อยกว่า ในการวางผังพื้ นที่ ใช้ส อยภายในโรงแรมนั้น การวางผัง ห้องพักของโรงแรมสามารถแบ่งออกได้ 4 รู ปแบบ คือ รู ปแบบตัวยูหรื อตัววี รู ปแบบแบบมีคอร์ ทกลาง รู ปแบบตามแนวยาว และ รู ปแบบรวมศูนย์ โดยคานึ งถึงทัศนี ยภาพของโครงการที่มอง ออกจากห้องพัก และจากบริ เวณอื่น ๆ ภายในโครงการ ทั้งทัศนี ยภาพที่สร้างขึ้นและทัศนี ยภาพ ทางธรรมชาติ การออกแบบวางผังทางเข้าออกและที่จอดรถคานึ งถึงการเชื่อมโยงกับถนนใหญ่ และขนาดของพื้ น ที่ ข องโรงแรมที่ อ านวยให้ การวางต าแหน่ ง สิ่ ง อ านวยความสะดวกและ ตาแหน่ งของพื้นที่ สีเขียว ขึ้นอยู่กับรู ปแบบของการวางผังบริ เวณของโรงแรม และกิ จกรรมที่ เกิ ดขึ้ นในรี ส อร์ ท ส าหรั บ การก าหนดพื้ นที่ สี เขี ย วเชิ ง ธรรมชาติ น้ ันยัง ขึ้ นอยู่กับ ลัก ษณะทาง ธรรมชาติด้ งั เดิมของพื้นที่โครงการอีกด้วย ผลที่ ไ ด้จากการวิ จัย นี้ เป็ นประโยชน์ ต่อทั้ง ภู มิ ส ถาปนิ ก เจ้า ของโครงการ คณาจารย์ นักวิชาการ และนักเรี ยนนักศึกษา ในการพัฒนารายละเอียดของโครงการโรงแรมประเภทรี สอร์ ทพื้นที่ภาคเหนื อของประเทศไทย ให้มีความสอดคล้องกับสภาพความเป็ นจริ งที่เกิดขึ้นในตลาด การโรงแรมระดับภูมิภาค คาสาคัญ : การจัดสรร พื้นที่ใช้สอย วางผัง ภูมิสถาปัตยกรรม โรงแรม รี สอร์ท


จ Abstract The important knowledge and design skills that landscape architects students and related organizations should develop to become proficient are those of resort hotel landscape architectural designs, in particular, the knowledge related to the development of project programs in detail and use area allocation. In this study, the 9 four – five star hotels in the northern region of Thailand (Thai Hotels Association, 2020) were used as case studies. This study was intended to study the details of various aspects of the resort hotels, then, the results were used to analyze the relationship that will lead to the conclusions and recommendations for the development of the similar type of the projects. Research processes started with collecting secondary data from various documents and primary data from surveys. The collected data was analyzed and processed to find conclusion. The results showed that important factors affecting the early stage development of project programs of the 4-5 star standard resort hotels in the northern region including the forms of management and the physical environments of the project sites. They affected the sizes of the hotel which classified by the number of rooms, and the sizes of the hotel areas. The physical environments of most of the resort hotel samples (77.78%) are urban areas on flat lands with easy accesses. They have provided beautiful distant or close-up views. Most of them are located along the river. There were some resort hotels (22.22%) having physical environments of suburban areas with outstanding natural environment characteristics. To develop the programs of hotel amenities, factors that must have been taken into account included the proportion of each type of hotel rooms, hotel service standards (star ratings), and hotel sizes classified by number of rooms. For a large hotel group with a large number of rooms, the ratio of the number of suites to the number of single rooms was lower, compared to that of a smaller hotel group with fewer rooms. In planning the use areas of the hotels, the layouts of the hotel rooms could be divided into 4 types: U-shaped or V-shaped layout, Central court layout, linear layout and centralized layout, by taking into consideration the view from the guest rooms of the resort hotels and from other areas within the hotel, both built and natural sceneries. The design and layouts of the entry ways and parking took into account the connection to the main road and the size of the hotel


ฉ areas. The facilities and the green areas’ location depended on the layout of the hotel grounds and activities that took place in the resort. As for the designation of natural green spaces, it also depends on the original natural features of the project area. The results of this research benefit both landscape architects, project owners, faculty members, academics and students in the development of the programs of resort hotel projects in northern Thailand to be consistent with the reality in the regional hospitality market. Keyword : Use Area, Allocation, Landscape Architectural, Planning, resort, hotel


ช กิตติกรรมประกาศ การวิจยั ครั้ งนี้ เกิ ดขึ้นได้ และสาเร็ จลุล่วงด้วยดี เพราะได้รั บทุนอุดหนุ นการวิจยั จาก คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ประจาปี งบประมาณ 2564 และให้ความอนุ เคราะห์ เรื่ องสถานที่ และสิ่ งอานวยความสะดวกต่าง ๆ รวมไปถึงคณะ ผูบ้ ริ หารและเจ้าหน้าที่ ที่ให้ความช่วยเหลือเป็ นอย่างดียงิ่ จึงขอขอบคุณไว้ ณ โอกาสนี้ สุดท้ายขอขอบคุณ เจ้าหน้าที่โรงแรมประเภทรี สอร์ทกลุ่มตัวอย่าง ที่ให้ขอ้ มูลอย่างเต็มที่ ทาให้การศึกษาครั้งนี้ สาเร็ จในเวลาอันรวดเร็ วและขอขอบคุณผูใ้ ห้ความช่วยเหลืออีกหลายท่าน ซึ่งไม่ได้เอ่ยนามในที่น้ ี ซึ่งช่วยให้การดาเนินการวิจยั ครั้งนี้เสร็ จสิ้ นสมบูรณ์อย่างราบรื่ น จรัสพิมพ์ บุญญานันต์ ผูด้ าเนินการวิจยั


ซ สารบัญเรื่อง คานา บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญเรื่ อง สารบัญแผนที่ สารบัญตาราง สารบัญภาพ สารบัญแผนภาพ สารบัญแผนภูมิ บทที่ 1 บทนา 1.1 ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา 1.2 วัตถุประสงค์ของการวิจยั 1.3 ขอบเขตของการวิจยั 1.4 ระเบียบวิธีวิจยั 1.5 คานิยามศัพท์ 1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจยั 1.7 งบประมาณที่ใช้ในการวิจยั 1.8 ระยะเวลาในการดาเนินการวิจยั 1.9 ข้อจากัดและปัญหาที่พบในการทาวิจยั บทที่ 2 การตรวจเอกสาร 2.1 แนวคิดและทฤษฏี 2.2 งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง 2.3 กรอบแนวคิดของการวิจยั 2.4 สมมุติฐานการวิจยั บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจยั 3.1 ประเภทของการวิจยั 3.2 พื้นที่ทาการศึกษาวิจยั และเก็บข้อมูล 3.3 ประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการวิจยั

ข ค ช ซ ญ ฎ ฐ ฑ ฒ 1 1 2 2 3 4 5 6 6 7 8 8 14 24 24 26 26 26 26


ฌ 3.4 เครื่ องมือในการวิจยั 3.5 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล 3.6 การวิเคราะห์ขอ้ มูล 3.7 การประมวลผลข้อมูล บทที่ 4 ผลการวิจยั 4.1 ลักษณะทางกายภาพของขนาดและสถานที่ต้ งั 4.2 รู ปแบบของโรงแรม 4.3 กลุ่มผูใ้ ช้และกิจกรรม 4.4 รายละเอียดของโครงการ 4.5 การจัดสรรพื้นที่ใช้สอยแต่ละประเภท 4.6 รู ปแบบของการวางผังบริ เวณและความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่ บทที่ 5 สรุ ป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 5.1 ที่มา ประเด็นปั ญหา และข้อมูลพื้นฐานของโครงการ 5.2 ผลการวิจยั 5.2 อภิปรายผล 5.3 ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม

27 28 29 29 30 30 46 51 55 68 81 87 87 88 94 95 97


ญ สารบัญแผนที่ แผนที่ 1 ที่ต้ งั และสภาพแวดล้อมของโรงแรมสมายล์ลา้ นนา จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่ 2 ที่ต้ งั และสภาพแวดล้อมของโรงแรมเลอ เมอริ เดียน จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่ 3 ที่ต้ งั และสภาพแวดล้อมของโรงแรมรติลา้ นนา ริ เวอร์ไซด์ สปา รี สอร์ทจังหวัด เชียงใหม่ แผนที่ 4 ที่ต้ งั และสภาพแวดล้อมของโรงแรมอนันตราเชียงใหม่รีสอร์ท จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่ 5 ที่ต้ งั และสภาพแวดล้อมของโรงแรมอิมพีเรี ยลแม่ปิง จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่ 6 ที่ต้ งั และสภาพแวดล้อมของโรงแรม ดิ อิมพีเรี ยล ริ เวอร์เฮ้าส์ รี สอร์ท จังหวัด เชียงราย แผนที่ 7 ที่ต้ งั และสภาพแวดล้อมของโรงแรม ดิ อิมพีเรี ยล โกลเด้น ไทรแองเกิ้ล รี สอร์ท จังหวัดเชียงราย แผนที่ 8 ที่ต้ งั และสภาพแวดล้อมของโรงแรม เดอะริ เวอร์ รี บาย กะตะธานี จังหวัดเชียงราย แผนที่ 9 ที่ต้ งั และสภาพแวดล้อมของโรงแรม อนันตรา สามเหลี่ยมทองคา แคมป์ ช้าง แอนด์ รี สอร์ท จังหวัดเชียงราย แผนที่ 10 การแบ่งพื้นที่ใช้สอยของโรงแรมสมายล์ลา้ นนา จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่ 11 การแบ่งพื้นที่ใช้สอยของโรงแรมเลอเมอริ เดียน จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่ 12 การแบ่งพื้นที่ใช้สอยของโรงแรมรติลา้ นนา ริ เวอร์ไซด์ แอนด์ สปา รี สอร์ท จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่ 13 การแบ่งพื้นที่ใช้สอยของโรงแรมอนันตรารี สอร์ทเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่ 14 การแบ่งพื้นที่ใช้สอยของโรงแรมอิมพีเรี ยลแม่ปิง จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่ 15 การแบ่งพื้นที่ใช้สอยของโรงแรม ดิ อิมพีเรี ยล ริ เวอร์ เฮ้าส์ รี สอร์ท จังหวัด เชียงราย แผนที่ 16 การแบ่งพื้นที่ใช้สอยของโรงแรม ดิ อิมพีเรี ยล โกลเด้น ไทรแองเกิ้ล รี สอร์ท จังหวัดเชียงราย แผนที่ 17 การแบ่งพื้นที่ใช้สอยของโรงแรม อนันตรา สามเหลี่ยมทองคา แคมป์ ช้าง แอนด์ รี สอร์ท จังหวัดเชียงราย แผนที่ 18 การแบ่งพื้นที่ใช้สอยของโรงแรม เดอะริ เวอร์รี บาย กะตะธานี จังหวัดเชียงราย

37 38 39 40 41 42 43 44 45 69 70 71 72 73 74 75 76 77


ฎ สารบัญตาราง ตารางที่ 1 รายชื่อและสถานที่ต้ งั โรงแรมประเภทรี สอร์ทที่ได้รับมาตรฐานในระดับ 4 ดาว และ 5 ดาว ในเขตภาคเหนือ ตารางที่ 2 งบประมาณที่ใช้ในการวิจยั ตารางที่ 3 แผนดาเนินการวิจยั ตลอดโครงการวิจยั ตารางที่ 4 ประเภทของโรงแรมแบ่งตามขนาดของโรงแรมตามจานวนห้องพัก ตารางที่ 5 ขนาดของพื้นที่ห้องพักแขกและพื้นที่รวมทั้งหมดของโรงแรมประเภทต่าง ๆ ตารางที่ 6 ขนาดของพื้นที่ห้องพักแขกและพื้นที่สาธารณะ และพื้นที่ส่วนบริ การของ โรงแรมประเภทต่าง ๆ ตารางที่ 7 ขนาดของพื้นที่ห้องพักแขกแต่ละประเภทของโรงแรมประเภทต่าง ๆ ตารางที่ 8 แสดงชื่อและสถานที่ต้ งั ของกลุ่มตัวอย่างโรงแรมระดับ 4 ดาวในเขตภาคเหนือ ตารางที่ 9 แสดงชื่อและสถานที่ต้ งั ของกลุ่มตัวอย่างโรงแรมระดับ 5 ดาวในเขตภาคเหนือ ตารางที่ 10 ขนาดพื้นที่โรงแรมระดับ 4 ดาวในเขตภาคเหนือ ตารางที่ 11 ขนาดพื้นที่โรงแรมระดับ 5 ดาวในเขตภาคเหนือ ตารางที่ 12 การแบ่งกลุ่มโรงแรมระดับ 5 ดาวในเขตภาคเหนือตามขนาดของพื้นที่ ตารางที่ 13 ลักษณะทางกายภาพของสถานที่ต้ งั ของโรงแรมระดับ 4 -5 ดาวในเขตภาคเหนือ ตารางที่ 14 ลักษณะทางกายภาพของสถานที่ ตามลาดับจากพบมากไปน้อย ตารางที่ 15 ขนาดของโรงแรมจาแนกตามจานวนห้องพัก ตารางที่ 16 ประเภทโรงแรมแบ่งตามสภาพแวดล้อมที่เป็ นจุดขายของโรงแรม ตารางที่ 17 ประเภทของโรงแรม จาแนกตามความเป็ นเจ้าของ ตารางที่ 18 จานวนผูเ้ ยีย่ มเยือนจังหวัดเชียงรายและเชียงใหม่ ระหว่าง พ.ศ. 2562-2563 ตารางที่ 19 สถานการณ์การพักแรมจังหวัดเชียงรายและเชียงใหม่ ระหว่าง พ.ศ. 2562-2563 ตารางที่ 20 รายละเอียดสิ่ งอานวยความสะดวกของโรงแรมประเภทรี สอร์ทมาตรฐานระดับ 4-5 ดาว ในเขตภาคเหนือ ตารางที่ 21 ประเภทของห้องพักและขนาดของพื้นที่ห้องพัก ตารางที่ 22 สัดส่วนของจานวนห้องพักแขกแต่ละประเภทของโรงแรมประเภทต่าง ๆ

3 6 6 9 13 13 14 26 27 30 31 32 34 35 46 48 50 52 53 55 60 64


ฏ สารบัญตาราง (ต่อ) ตารางที่ 23 สัดส่ วนพื้นที่ใช้สอยนอกอาคาร (Zoning) คิดเป็ นร้อยละจากพื้นที่ท้ งั หมด เรี ยงตามขนาดของพื้นที่ต้ งั ของโรงแรม ตารางที่ 24 สัดส่ วนพื้นที่ใช้สอยนอกอาคาร (Zoning) คิดเป็ นร้อยละจากพื้นที่ท้ งั หมด เรี ยงตามขนาดของโรงแรมตามจานวนห้องพัก

78 79


ฐ สารบัญภาพ ภาพที่ 1 ที่จอดรถของโรงแรมอิมพีเรี ยล แม่ปิง ภาพที่ 2 ลานอาบน้ าช้างภายในโรงแรมอนันตรา สามเหลี่ยมทองคา แคมป์ ช้าง แอนด์ รี สอร์ท ภาพที่ 3 ภัตตาคารร้านอาหาร ภายในโรงแรมอนันตรา เชียงใหม่ รี สอร์ท ภาพที่ 4 ภัตตาคารร้านอาหาร ภายในโรงแรมอนันตรา เชียงใหม่ รี สอร์ท ภาพที่ 5 บริ เวณสระว่ายน้ าในโรงแรมรติลา้ นนา ริ เวอร์ไซด์ สปา รี สอร์ท ภาพที่ 6 ห้องดีลกั ซ์ รู มภายในโรงแรม เดอะริ เวอร์รี บาย กะตะธานี ภาพที่ 7 ห้องดีลกั ซ์ รู มภายในโรงแรมอนันตรา เชียงใหม่ รี สอร์ท ภาพที่ 8 ลานสนามหญ้าและต้นไม้ใหญ่ ภายในโรงแรมอนันตรา เชียงใหม่ รี สอร์ท ภาพที่ 9 กิจกรรมเลี้ยงช้าง ในพื้นที่ป่าธรรมชาติของโรงแรม อนันตรา สามเหลี่ยมทองคา แคมป์ ช้าง แอนด์ รี สอร์ท

57 58 58 59 59 67 68 85 85


ฑ สารบัญแผนภาพ แผนภาพที่ 1 ความสัมพันธ์พ้นื ฐานของพื้นที่ใช้สอยภายในโรงแรม แผนภาพที่ 2 กรอบแนวคิดการวิจยั เรื่ องความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบทางกายภาพ และผูเ้ ข้าพักอาศัยโฮสเทลในกรุ งเทพมหานคร กรณีศึกษา ย่านถนนข้าวสาร แผนภาพที่ 3 แสดงปัจจัยสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องในการศึกษาวิจยั แผนภาพที่ 4 กรอบแนวคิดการวิจยั เรื่ องแนวทางการออกแบบรี สอร์ทที่เป็ นมิตรกับ สิ่ งแวดล้อม : กรณี ศึกษา Dhamajati Resort เขื่อนศรี นคริ นทร์ จังหวัด กาญจนบุรี แผนภาพที่ 5 กรอบการวิจยั เรื่ องการศึกษาการจัดสรรพื้นที่ใช้สอยในงานวางผังภูมิสถา ปัตยกรรมโรงแรมประเภทรี สอร์ทระดับสี่ ดาวและห้าดาวในภาคเหนือ ของประเทศไทย แผนภาพที่ 6 การจัดวางกลุ่มอาคารที่พกั เป็ นรู ปตัวยูหรื อตัววี แผนภาพที่ 7 การจัดวางกลุ่มอาคารที่พกั แบบมีคอร์ทกลาง แผนภาพที่ 8 การจัดวางกลุ่มอาคารที่พกั ตามแนวยาว แผนภาพที่ 9 การจัดวางกลุ่มอาคารที่พกั แบบรวมศูนย์

12 15 16

19

25 81 81 82 82


ฒ สารบัญแผนภูมิ แผนภูมิที่ 1 การเปรี ยบเทียบขนาดของพื้นที่โรงแรมระดับ 4 ดาว แผนภูมิที่ 2 การเปรี ยบเทียบขนาดของพื้นที่โรงแรมระดับ 5 ดาว แผนภูมิที่ 3 แสดงการเปรี ยบเทียบขนาดของพื้นที่โรงแรมระดับ 4-5 ดาว แผนภูมิที่ 4 ลักษณะทางกายภาพของสถานที่ต้ งั ของโรงแรมระดับ 4 -5 ดาวในเขตภาคเหนือ แผนภูมิที่ 5 จานวนห้องพักในกลุ่มตัวอย่าง (ร้อยละ) แผนภูมิที่ 6 จานวนโรงแรมแต่ละขนาดแบ่งตามจานวนห้องพัก (ร้อยละ) แผนภูมิที่ 7 ประเภทโรงแรมแบ่งตามสภาพแวดล้อมของที่ต้ งั (ร้อยละ) แผนภูมิที่ 8 ประเภทโรงแรมแบ่งตามรู ปแบบการบริ หาร (ร้อยละ) แผนภูมิที่ 9 สัดส่วนจานวนห้องพักในโรงแรมขนาดต่าง ๆ โดยเฉลี่ย (ร้อยละ) แผนภูมิที่ 10 สัดส่วนจานวนห้องพักในโรงแรมในระดับมาตรฐาน 4 ดาว และ 5 ดาว โดยเฉลี่ย (ร้อยละ) แผนภูมิที่ 11 สัดส่ วนการใช้ประโยชน์ที่ดินในโรงแรมจาแนกตามขนาดพื้นที่ของโรงแรม โดยเฉลี่ย (ร้อยละ)

30 31 32 35 47 47 49 51 64 65 80


บทที่ 1 บทนา 1.1 ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา ในการปฏิบตั ิวิชาชี พ ภูมิสถาปั ตยกรรมในประเทศไทย งานออกแบบวางผังโรงแรม ประเภทรี สอร์ ทนั้นนับว่าเป็ นงานที่ภูมิสถาปนิ กจะต้องพบเจออยู่เป็ นประจา อีกทั้งในการเรี ยน การสอนในหลัก สู ต รภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต ในหลายๆสถาบัน รวมทั้ง ในคณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อมมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้จดั ให้มีการเรี ยนการ สอนในด้านนี้ เพื่อเสริ มสร้ างความรู ้ ข้ นั พื้ นฐานให้แก่ นักศึ กษาที่ จะต้องไปปฏิ บ ัติวิชาชี พ ใน อนาคตหลังจากสาเร็ จการศึกษา อย่างไรก็ดีรายละเอียดที่เกี่ยวข้องกับขนาดและสัดส่ วนของพื้นที่ ใช้ส อยในงานวางผังภูมิ สถาปั ตยกรรมโรงแรมประเภทรี ส อร์ ท ในประเทศไทยนั้นไม่ได้ถูก รวบรวมและวิ เ คราะห์ อ ย่ า งเป็ นระบบ จากการศึ ก ษาค้น คว้า พบเพี ย งข้อ มู ล จากต าราของ ต่างประเทศ ซึ่งมีบริ บทของสภาพแวดล้อมและผูใ้ ช้งานโรงแรมที่แตกต่างจากในประเทศไทยทา ให้ไ ม่ ส อดคล้องกับ การปฏิ บ ัติวิ ช าชี พ จริ ง ในการปฏิ บ ัติก ารออกแบบนั้น นัก ศึ ก ษาและภู มิ สถาปนิ กต่างใช้แนวทางการศึกษาจากกรณี ตวั อย่างเพื่อเป็ นแนวทางในการพัฒนารายละเอียด ของโครงการ ซึ่งในเวลาอันจากัดทาให้ไม่สามารถวิเคราะห์ให้ได้ขอ้ สรุ ปที่เหมาะสมที่สามารถ พัฒนาไปเป็ นมาตรฐานของงานออกแบบได้ สาหรับมาตรฐานที่พกั เพื่อการท่องเที่ยวโรงแรม และรี สอร์ทในประเทศไทยในปัจจุบนั ซึ่งจัดทาโดยสมาคมโรงแรมไทยนั้น มีเนื้อหาเน้นด้านการ ให้บ ริ ก ารและการจัดสิ่ ง อานวยความสะดวกให้ แก่ ก ลุ่ ม ลู ก ค้า ไม่ เกี่ ย วข้องกับ การออกแบบ โดยตรง โรงแรมที่มีมาตรฐานระดับสี่ ดาวและห้าดาวจากการจัดลาดับของสมาคมโรงแรมไทย ซึ่ งเป็ นระดับมาตรฐานขั้นสู งที่ได้รับการรับรองอย่างเป็ นทางการ นับว่าเป็ นโรงแรมที่ มีค วาม หรู หรา และมีสิ่งอานวยความสะดวกครบครัน มากกว่าโรงแรมที่ได้รับการรับรองมาตรฐานใน ระดับรองลงไป เป็ นรู ปแบบโครงการที่ภูมิสถาปนิกและนักศึกษาควรพัฒนาความรู้และทักษะใน การออกแบบ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนารายละเอียดของโครงการ พื้ นที่ ภาคเหนื อ ของประเทศไทย เป็ นภู มิ ภาคที่ มี ก ารเจริ ญเติ บ โตของอุ ตสาหกรรม ท่องเที่ยวและโรงแรม ในปั จจุบนั นั้น พบว่ามีโรงแรมประเภทรี สอร์ ทที่ได้รับมาตรฐานในระดับ 4 ดาว และ 5 ดาว อยู่ 9 แห่ง (สมาคมโรงแรมไทย, 2563) ตั้งอยูใ่ นเขตจังหวัดเชียงราย 4 แห่ง และ ในจัง หวัด เชี ย งใหม่ 5 แห่ ง งานวิ จัย นี้ มี เ ป้ าหมายเพื่ อ ท าการศึ ก ษาถึ ง ขนาด สั ด ส่ ว น และ ความสัมพันธ์ของพื้นที่ใช้สอยในงานวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมโรงแรมประเภทรี สอร์ ทเหล่านั้น ให้ไ ด้ข ้อสรุ ป อันจะสามารถพัฒนาเป็ นแนวทางมาตรฐานในการจัดทารายละเอี ยดโครงการ ออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมโรงแรมประเภทรี สอร์ทในเขตภาคเหนือได้ต่อไปในอนาคต


2

1.2 วัตถุประสงค์ ของการวิจัย 1.2.1 เพื่อศึกษารายละเอียดของโครงการ ประเภทและขนาดพื้นที่ของห้องพัก ภายใน โรงแรมประเภทรี สอร์ท ระดับสี่ ดาวและห้าดาวในภาคเหนือของประเทศไทย 1.2.2 เพื่อศึกษาเปรี ยบเทียบสัดส่ วนของพื้นที่ใช้สอยแต่ละประเภท (Zones) ภายใน โรงแรมประเภท รี สอร์ทระดับสี่ ดาวและห้าดาวในภาคเหนือของประเทศไทย 1.2.3 เพื่อศึกษาการวางผังและความสัมพันธ์ของพื้นที่ใช้สอยแต่ละประเภท (Zoning and relationship diagrams) ภายในโรงแรมประเภท รี สอร์ทระดับสี่ ดาวและห้าดาวในภาคเหนื อ ของประเทศไทย 1.2.4 เพื่อหาข้อสรุ ปและข้อเสนอแนะ ในการจัดทารายละเอียดโครงการออกแบบวาง ผังภูมิสถาปัตยกรรมโรงแรมประเภท รี สอร์ทในเขตภาคเหนือ 1.3 ขอบเขตของการวิจัย 1.3.1 ขอบเขตของการศึกษา 1.3.1.1 ศึกษาข้อมูลพื้นฐานของโรงแรมประเภทรี สอร์ท ระดับสี่ ดาวและห้าดาวใน ภาคเหนือของประเทศไทย ประกอบด้วย 1) ลักษณะทางกายภาพของขนาดและสถานที่ต้ งั 2) รู ปแบบของโรงแรม 3) กลุ่มผูใ้ ช้และกิจกรรม 1.3.1.2 ศึกษาข้อมูลในรายละเอียด ประกอบด้วย 1) รายละเอียดของโครงการ 2) ประเภทและขนาดพื้นที่ของห้องพัก 3) การจัดสรรพื้นที่ใช้สอยแต่ละประเภท 4) ความสัมพันธ์ของพื้นที่ใช้สอย 1.3.1.3 ศึกษาเปรี ยบเทียบรู ปแบบการจัดสรรพื้นที่ใช้สอยของโรงแรมประเภทรี สอร์ท จากผลการวิจยั ในต่างประเทศ 1.3.2 ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา


3

พื้นที่โรงแรมประเภทรี สอร์ทที่ได้รับมาตรฐานในระดับ 4 ดาว และ 5 ดาว อยู่ 9 แห่ง (สมาคมโรงแรมไทย, 2563) ตั้งอยู่ในเขตจังหวัดเชียงราย 4 แห่ง และในจังหวัดเชียงใหม่ 5 แห่ง ดังนี้ ตารางที่ 1 รายชื่อและสถานที่ต้ งั โรงแรมประเภทรี สอร์ทที่ได้รับมาตรฐานในระดับ 4 ดาว และ 5 ดาว ในเขตภาคเหนือ ลาดับ 1 2 3 4

ชื่อโรงแรม โรงแรม ดิ อิมพีเรี ยล ริ เวอร์เฮาส์ รี สอร์ท โรงแรม เดอะริ เวอร์รี บาย กะตะธานี โรงแรม อิมพีเรี ยล โกลเด้น ไทรแองเกิ้ล รี สอร์ท อนันตรา สามเหลี่ยมทองคา แคมป์ ช้าง แอนด์ รี สอร์ท 5 อนันตรา เชียงใหม่ รี สอร์ท 6 โรงแรมอิมพีเรี ยล แม่ปิง 7 เลอ เมริ เดียน 8 รติลา้ นนา ริ เวอร์ไซด์ สปา รี สอร์ ท 9 โรงแรม สมายล์ ลานนา ที่มา : สมาคมโรงแรมไทย, 2563

ระดับมาตรฐาน 4 ดาว 5 ดาว 4 ดาว 5 ดาว

สถานที่ต้งั เชียงราย เชียงราย เชียงราย เชียงราย

5 ดาว 4 ดาว 5 ดาว 5 ดาว 4 ดาว

เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่

1.4 ระเบียบวิธีวิจัย 1.4.1 การเลือกพื้นที่ที่ศึกษา ได้แก่ สถานที่ต้ งั โรงแรมประเภทรี สอร์ ทที่ได้รับมาตรฐานในระดับ 4 ดาว และ 5 ดาว ในเขตภาคเหนือ 1.4.2 ประชากรที่ศึกษา ได้แก่ โรงแรมประเภทรี สอร์ ทที่ได้รับมาตรฐานในระดับ 4 ดาว และ 5 ดาวจานวน 9 แห่ ง (สมาคมโรงแรมไทย, 2563) ตั้ง อยู่ใ นเขตจัง หวัดเชี ย งราย 4 แห่ ง และใน จังหวัดเชียงใหม่ 5 แห่ง 1.4.3 เทคนิ คและวิธีการสุ่ มตัวอย่างที่ใช้ในการศึ กษาเกี่ ยวกับพื้นที่ โครงการ โดยกาหนดกลุ่ม ตัวอย่างแบบไม่ใช้ความน่าจะเป็ น โดยการเลือกแบบมีจุดประสงค์


4

1.4.4 เครื่ องมือวิจยั 1.4.4.1 การสารวจ ผูว้ ิจยั ทาการสารวจ โดยใช้เครื่ องมือคือ แผนผังพื้นฐาน (Base Map) เพื่อสารวจรายละเอียดองค์ประกอบของโครงการโรงแรมประเภทรี สอร์ท 1.4.5 สถานที่เก็บข้อมูล โรงแรมประเภทรี สอร์ ทที่ได้รับมาตรฐานในระดับ 4 ดาว และ 5 ดาว จานวน 9 แห่ ง (สมาคมโรงแรมไทย, 2563) ตั้งอยู่ในเขตจังหวัดเชี ยงราย 4 แห่ ง และในจังหวัด เชียงใหม่ 5 แห่ง 1.4.6 ขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล 1.4.6.1 ข้อมูลทุติยภูมิ เป็ นการรวบรวมข้อมูลจากเอกสารวิชาการที่เกี่ยวข้อง เช่น ข้อมูล พื้นฐานเกี่ยวกับโรงแรม ข้อมูลรู ปแบบของโรงแรม ข้อมูลผูใ้ ช้และกิจกรรม ข้อมูลองค์ประกอบ โรงแรม และขนาดของ ห้องพักประเภทต่าง ๆ เป็ นต้น 1.4.6.2 ข้อมูลการสารวจ ใช้การจดบันทึก และถ่ายภาพ สภาพภูมิทศั น์จากการสารวจ ภาคสนาม และจากภาพถ่ายทางอากาศ และทาการบันทึกลงบนแผนผัง ได้แก่ การจัดสรรพื้นที่ ใช้สอยแต่ละประเภท และความสัมพันธ์ของพื้นที่ใช้สอย 1.4.7 ขั้นตอนการวิเคราะห์ขอ้ มูลและประมวลผล เป็ นการประมวลผลข้อมูลจากการศึกษาและ การวิเคราะห์ขอ้ มูลทุติยภูมิ และข้อมูลจากการสารวจ นามาประมวลผลร่ วมกัน เพื่อวิเคราะห์ รู ปแบบการจัดสรรพื้นที่ใช้สอยของโรงแรมที่ทาการศึกษา 1.5 คานิยามศัพท์ 1.5.1 คาว่า “จัดสรร” หมายถึง “แบ่งส่ วนไว้โดยเฉพาะ ปั นไว้ใช้เพื่อประโยชน์โดยเจาะจง” (ราชบัณฑิตยสถาน, 2554) 1.5.2 คาว่า “พื้นที่ใช้สอย” ในงานวิจยั นี้ หมายรวมทั้งพื้นที่ใช้สอยของอาคาร และพื้นที่ใช้สอย ภายนอกอาคาร 1.5.2.1 “พื้นที่” หมายถึง (ราชบัณฑิตยสถาน, 2554) 1) “ขนาดของผิวพื้น เช่น หาพื้นที่ 2) อาณาบริ เวณ เช่น ตรวจพื้นที่ 3) ลักษณะของพื้นดิน เช่น พื้นที่เป็ นที่ราบลุ่ม” 1.5.2.2 “ใช้ ส อย” หมายถึ ง “เอามาท าให้ เ กิ ด ประโยชน์ จับ จ่ า ย ให้ ช่ ว ยท างาน” (ราชบัณฑิตยสถาน, 2554)


5

1.5.2.2 “พื้ นที่ ใ ช้ส อย” หมายถึ ง ขนาดและอาณาบริ เวณของพื้นที่ ทั้ง ภายนอกและ ภายในอาคารที่นามาใช้ให้เกิดประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ภายในโครงการ (จรัสพิมพ์, 2564) 1.5.3 “งานวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม” หมายถึง “การออกแบบวางผังบริ เวณเพื่ อสร้างสรรค์ องค์ประกอบทางกายภาพของสภาพแวดล้อมทางภูมิ ทศั น์ใ นชุ ม ชนและพื้ นที่ ธ รรมชาติ ท้ ัง ที่ เกี่ยวข้องและไม่เกี่ยวข้องกับอาคาร” (กระทรวงมหาดไทย, 2549) 1.5.4 “โรงแรมประเภทรี สอร์ท” 1.5.4.1 “โรงแรม” หมายถึง “สถานที่ พกั ที่ จดั ตั้งขึ้นโดยมี วตั ถุประสงค์ในทางธุ รกิ จ เพื่อให้บริ การที่ พกั ชัว่ คราวสาหรั บคนเดิ นทาง หรื อบุคคลอื่นใดโดยมีค่าตอบแทน” (กรมการ ท่องเที่ยว, 2557) 1.5.4.2 “รี สอร์ ท” หมายถึง “โรงแรมที่ ต้ งั อยู่ในสถานที่ พกั ตากอากาศ หรื อสถานที่ที่ ผูค้ นมาพักผ่อนหย่อนใจและพักผ่อน” หรื อ “อาคารและสิ่ งอานวยความสะดวกต่าง ๆ ที่ต้ งั อยู่ใน พื้นที่ที่มีทิวทัศน์สวยงาม ให้บริ การที่พกั สถานบันเทิง และสภาพแวดล้อมที่ผอ่ นคลายแก่ผคู ้ นใน วันหยุด ” (Sophie, R., & Philip, B., 2011) 1.5.4.3 “โรงแรมประเภทรี สอร์ ท” หมายถึง สถานที่พกั ที่จดั ตั้งขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ทาง ธุ รกิ จ เพื่อให้บริ การที่ พกั ชั่วคราว สาหรั บผูท้ ี่ ตอ้ งการมาพักผ่อนหย่อนใจ โดยตั้งอยู่ในพื้ นที่ ใกล้ชิดธรรมชาติ ซึ่ งมีทศั นี ยภาพที่สวยงาม เช่น พื้นที่ริมทะเล พื้นที่บนภูเขา พื้นที่ริมแม่น้ า เป็ น ต้น ทั้งนี้ จะมีสิ่งอานวยความสะดวกต่าง ๆ คล้ายคลึงกับโรงแรมโดยทัว่ ไป และจัดให้มีบริ การ ทางด้านนันทนาการเพื่อสุ ขภาพและความผ่อนคลายให้แก่ลูกค้า (จรัสพิมพ์, 2564) 1.6 ประโยชน์ ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย 1.6.1 ได้พฒั นาองค์ความรู้ในด้านภูมิสถาปัตยกรรม เกี่ยวกับการพัฒนารายละเอียดของโครงการ โรงแรมประเภทรี สอร์ทในประเทศไทย 1.6.2 หน่ วยงานทั้งภาครัฐ เช่น สถาบันที่เปิ ดการเรี ยนการสอนในหลักสู ตรภูมิสถาปั ตยกรรม หรื อการจัดการการท่องเที่ยว และหน่วยงานภาคเอกชน จะสามารถนาผลการวิจยั ไปประยุกต์ใช้ ในการพัฒนาแนวทางการในการจัดทารายละเอียดโครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม โรงแรมประเภท รี ส อร์ ท ในเขตภาคเหนื อ หรื อ พื้ น ที่ อื่ น ๆ ที่ มี ล ัก ษณะคล้า ยคลึ ง กัน ซึ่ ง จะ ก่อให้เกิดประโยชน์อย่างยัง่ ยืนต่อไปในอนาคต 1.6.3 เป็ นการเผยแพร่ ข ้อ มู ล ซึ่ ง จะช่ ว ยพัฒ นาและเพิ่ ม คุ ณ ภาพสิ่ ง อ านวยความสะดวก ใน อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของประเทศไทย


6

1.7 งบประมาณที่ใช้ ในการวิจัย ตารางที่ 2 งบประมาณที่ใช้ในการวิจยั รายการ

จานวนเงิน

1. งบบุคลากร 2. งบดาเนินงาน 2.1 ค่าตอบแทน 2.2 ค่าใช้สอย - ค่าจ้างเหมาในการจัดพิมพ์งานและจัดทารู ปเล่มรายงาน ฉบับสมบูรณ์ 2.3 ค่าวัสดุ - วัสดุสานักงาน 2.4 ค่าบริ หารโครงการ 3. งบลงทุน (ถ้ามี) รวมงบประมาณที่เสนอขอ

-

2,000 2,000 4,000 บาท

1.8 ระยะเวลาในการดาเนินการวิจัย เริ่ มตั้งแต่เดือนมีนาคม พ.ศ. 2564 สิ้ นสุ ดเดือนกันยายน พ.ศ. 2564 ตารางที่ 3 แผนดาเนินการวิจยั ตลอดโครงการวิจยั มี.ค. - ทาการเก็บข้อมูลขั้นต้น - เก็บข้อมูลของพื้นที่ศึกษาโดย ละเอียด - วิเคราะห์ขอ้ มูล และสังเคราะห์ ข้อมูล

ระยะเวลา เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.


7

มี.ค.

ระยะเวลา เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.

-ประเมินผลและจาแนกรู ปแบบ การจัดสรรพื้นที่ใช้สอย -สรุ ปอภิปรายผล และ ข้อเสนอแนะ -จัดทารายงานฉบับสมบูรณ์ 1.9 ข้อจากัดและปัญหาที่พบในการทาวิจัย 1.9.1 ปั ญหาการระบาดของโรคติ ดเชื้ อไวรั สโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 ทาให้ยงั ไม่สามารถ เดินทางไปสารวจพื้นที่โครงการได้ แก้ไขด้วยการเก็บข้อมูลทุติยภูมิจากข้อมูลเอกสารงานวิจยั หรื อข้อมูลออนไลน์ไปก่อน 1.9.2 ปั ญหาเรื่ องงบประมาณไม่เพียงพอต่อการเดินทางไปสารวจพื้นที่ แก้ไข ด้วยการ มุ่งเน้น การเก็บข้อมูลทุติยภูมิ มากกว่าข้อมูลปฐมภูมิ


บทที่ 2 การตรวจเอกสาร 2.1 แนวคิดและทฤษฏี ในการวิจยั นี้ ผูว้ ิจยั ได้ศึกษาแนวคิดทฤษฎีต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง จากเอกสารทางด้านวิชาการ ดังจะได้อธิบายตามหัวข้อดังต่อไปนี้ 2.1.1 แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับประวัติความเป็ นมาและรู ปแบบของโรงแรมประเภทรี สอร์ท 2.1.1.1 ประวัติความเป็ นมา โรงแรมประเภทรี สอร์ ทมีประวัติความเป็ นมาที่เก่าแก่ยาวนานนับพันปี ในสมัยก่อนมี ต้นก าเนิ ดมาจากสถานพัก ตากอากาศของชนชั้นสู ง จากกิ นเนสส์ เวิ ล ด์ เรคคอร์ ด (Guinness World Record) (ม.ป.ป.) โรงแรมที่ เก่ าแก่ ที่สุดในโลก คือ โรงแรมนิ ชิยามา ออนเซ็ น เคอุนคัง (Nishiyama Onsen Keiunkan) ซึ่งก่อตั้งในปี ค.ศ. 705 หรื อเมื่อ 1316 ปี ล่วงมาแล้ว โรงแรมนี้ เป็ น โรงแรมประเภทรี สอร์ ทน้ าพุร้อน ในอดีตเป็ นสถานที่พกั ผ่อนเชิ งสุ ขภาพของบรรดาชนชั้นสู ง เช่น โชกุน ขุนนาง จนมาถึงปั จจุบนั ก็ยงั คงเปิ ดให้บริ การแก่นักท่องเที่ยวทัว่ ไปอยู่ ในยุคโรมัน โรงอาบน้ าสาธารณะที่ให้บริ การซาวน่าและสปา (Balnea) ถูกสร้างขึ้นทัว่ ยุโรป และมักจะมีการ สร้างที่พกั ประเภทรี สอร์ทควบคู่ไปด้วย โดยมีการก่อสร้างอาคารขนาดใหญ่ รองรับผูใ้ ช้ได้หลาย ร้อยคน มีองค์ประกอบทั้งห้องออกกาลังกาย สวน ร้านอาหาร ร้านค้า และห้องสมุด ชาวโรมันจะ ใช้สถานที่เหล่านี้ ในการผ่อนคลาย และการบาบัดสุ ขภาพ ด้วยน้ าแร่ และน้ าพุร้อน (Gianfaldoni et al., 2017) ใน ปี ค.ศ. 1326 นาย โคลิน เลอ ลูป ช่างเหล็กชาวเบลเยีย่ ม สามารถรักษาโรคเรื้ อรัง ของตนเองให้หายได้จากการอาบน้ าแร่ ที่มีธาตุเหล็กในปริ มาณสู ง จากบ่อน้ าแร่ ในเมื องลี แยฌ ด้วยเหตุน้ ี เขาจึงสร้างสถานที่พกั ขึ้นที่น้ นั เพื่อรองรับผูค้ นที่จะเดินทางมาอาบน้ าแร่ ซ่ ึ งมีจานวน มากขึ้นตามลาดับ จนกระทัง่ พื้นที่แห่ งนี้ ถูกเปลี่ยนชื่อเป็ น “สปา” ซึ่ งแปลว่า “น้ าพุ” (Mill, 2011) ความนิ ย มในการพัก ผ่อนที่ รีส อร์ ท และสปาแพร่ หลายไปทัว่ ยุโรปจนถึ ง ปั จจุ บ ัน ส าหรั บ ใน สหรัฐอเมริ กา สถานพักตากอากาศเริ่ มต้นจากการสร้างสอร์ ทและสปาในราวศตวรรษที่ 18 ตาม รัฐในบริ เวณชายฝั่งตะวันออกของประเทศ เช่น มลรัฐเวอร์จิเนีย นิวยอร์ค และเวสต์เวอร์จิเนีย ใน เวลาเดียวกัน ก็เริ่ มมีความนิยมในการพักผ่อนตามชายทะเล และเกิดการก่อสร้างรี สอร์ ทชายทะเล เช่นที่ เมืองลองบรานช์ มลรัฐนิ วเจอร์ ซียแ์ ละ เมืองนิ วพอร์ ต มลรัฐโรดไอแลนด์ เป็ นต้น (Mill, 2011) สาหรับในประเทศไทยนั้น โรงแรมพักตากอากาศริ มทะเลแห่งแรกของไทยคือ โรงแรมหัว หิ น สร้างขึ้นใน ปี พ.ศ. 2645 สมัยรัชกาลที่ 6 ใช้เป็ นที่รับรองแขกจากต่างประเทศ ในปัจจุบนั คือ โรงแรม โซฟิ เทล เซ็นทรัล หัวหิ นนัน่ เอง (กรองทอง อัมวงษ์, 2548)


9

2.1.1.2 รู ปแบบของโรงแรมประเภทรี สอร์ท 1) เราสามารถจาแนกประเภทของรี สอร์ทได้หลายวิธี ขึ้นอยูก่ บั เกณฑ์ที่นามาใช้ ในการพิจารณา มิลล์ (2011) ได้อธิบายรู ปแบบของประเภทรี สอร์ทตามเกณฑ์ที่ใช้ในการจาแนก 3 แนวทางดังนี้ 1.1) การจาแนกประเภทของโรงแรมประเภทรี สอร์ ทการตามความ ใกล้ชิดกับตลาดปฐมภูมิ สามารถแบ่งกลุ่มรี สอร์ทออกเป็ น 2 ประเภท คือรี สอร์ทที่เป็ นจุดหมาย ปลายทาง (Destination Resorts) และรี สอร์ ท ที่ ไ ม่ ใ ช่ จุ ด หมายปลายทาง (Non-Destination Resorts) ทั้งนี้ รีสอร์ ทที่ เป็ นจุ ดหมายปลายทางหมายถึ ง รี สอร์ ท ที่ ต้ งั อยู่ห่างไกลจากกลุ่ม ลู ก ค้า ตั้งอยู่ใกล้สถานที่ ท่องเที่ ย วพัก ผ่อนที่ ดึงดู ดใจ และมี ห้องพักจานวนมากและสิ่ ง อานวยความ สะดวกครบครันเพื่อรองรับผูเ้ ข้าพัก ในขณะที่รีสอร์ทที่ไม่ใช่จุดหมายปลายทาง หมายถึงรี สอร์ท ที่ต้ งั อยู่ในท้องถิ่นเดียวกับกลุ่มลูกค้าเป้ าหมาย โดยสามารถขับรถไปถึงได้ภายในเวลาไม่เกิน 3 ชัว่ โมง โดยระยะเวลาการเข้าพักจะสั้นกว่ารี สอร์ทแบบแรก 1.2) การจาแนกประเภทของโรงแรมประเภทรี สอร์ทตาม สภาพแวดล้อมของที่ต้ งั และสิ่ งอานวยความสะดวกขั้นพื้นฐาน ยกตัวอย่างเช่น รี สอร์ ทชายทะเล รี สอร์ทริ มทะเลสาบหรื อริ มแม่น้ า สกี รี สอร์ท รี สอร์ทบนดอย และกอล์ฟรี สอร์ท เป็ นต้น 1.3) การจาแนกประเภทของโรงแรมประเภทรี สอร์ทตามสิ ทธิ์การถือ ครองการเช่าพักและสิ่ งอานวยความสะดวก สามารถแบ่งรี สอร์ ทออกได้ 4 รู ปแบบ ประกอบด้วย รี สอร์ ทตามเกณฑ์มาตรฐานทัว่ ไป ที่พกั ประเภทถือกรรมสิ ทธิ์ร่วมกัน คอนโดมีเนี ยมโฮเต็ล และ เดสสิ เนชัน่ คลับ 2) คาซาวานาและบรุ ค (2009). ได้จดั แบ่งประเภทของโรงแรมไว้หลายวิธี ดัง จะยกตัวอย่างต่อไปนี้ 2.1) การจาแนกประเภทของโรงแรมโดยยึดพื้นฐานทางด้านขนาดของ โรงแรมตามจานวนห้องพัก ดังแสดงในตารางที่ 4 ตารางที่ 4 ประเภทของโรงแรมแบ่งตามขนาดของโรงแรมตามจานวนห้องพัก ลาดับ ประเภทของโรงแรม จานวนห้ องพัก (ห้ อง) 1. โรงแรมขนาดเล็ก < 150 2. โรงแรมขนาดกลาง 150-299 3. โรงแรมขนาดใหญ่ 300-599 4. โรงแรมขนาดใหญ่มาก > 599 ที่มา : คาซาวานาและบรู ค (2009)


10

2.2) หากแบ่ ง ตามความเป็ นเจ้าของและการเป็ นสมาชิ ก ในสถาบันโรงแรม (Ownership and Affiliation) สามารถจาแนกประเภทของโรงแรมออกได้เป็ น 2 ประเภท (สตี ดมอนและคาซาวานา, 1988) ประกอบด้วย 2.2.1) โรงแรมบริ หารงานอย่างอิสระ (Independent Hotels) โรงแรมประเภทนี้ บุคคลคนเดียวหรื อคณะบุคคลเป็ นเจ้าของ การบริ หารงานเป็ นอิสระ ไม่ข้ ึนอยู่ กับโรงแรมอื่น ๆ 2.2.2) โรงแรมเครื อข่าย (Chain Hotels) โ 2.2.2.1) การบริ หารโดยบริ ษทั แม่ (Parent Company) 2.2.2.2) การบริ หารโดยพันธสัญญา (Management Contract) 2.2.2.3) การบริ หารงานแบบแฟรนไชส์ (Franchise Groups) 2.1.2 แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับการกาหนดเกณฑ์มาตรฐานระดับสี่ ดาวและห้าดาวของ โรงแรมในประเทศไทย เกณฑ์ ม าตรฐานที่ พ ัก เพื่ อ การท่ อ งเที่ ย วในประเทศไทย ถู ก พัฒ นาขึ้ น โดย กรมการท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ร่ วมกับหน่ วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น มูลนิ ธิ มาตรฐานโรงแรมไทย กรมการปกครอง และการท่องเที่ ยวแห่ งประเทศไทย ทั้งนี้ เพื่อใช้เป็ น เกณฑ์ในการตรวจประเมินและให้การรับรองสถานประกอบการที่ให้ความสนใจเข้ารับการตรวจ ประเมิน ทั้งนี้ เพื่อยกระดับมาตรฐานด้านที่พกั นักท่องเที่ยวในประเทศไทยให้มีคุณภาพ เป็ นการ อานวยความสะดวกและความปลอดภัยให้แก่นักท่องเที่ ยว ให้สามารถเลื อกใช้บริ การได้ตาม ความต้องการ ซึ่ งในที่ สุดแล้ว จะเพิ่มแรงดึ งดูดใจให้นักท่องเที่ ยวจานวนมากขึ้น เข้ามาเยือน ประเทศไทย การกาหนดเกณฑ์มาตรฐานนี้ ได้เริ่ มดาเนิ นการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547 จนกระทัง่ ถึง ปั จจุบนั นี้ สาหรับมาตรฐานที่พกั เพื่อการท่องเที่ยวประเภทโรงแรมระดับ 4-5 ดาว ประกอบด้วย เกณฑ์การพิจารณาตามหมวด ดังนี้ (กรมการท่องเที่ยว, 2557) หมวดที่ 1 สถานที่ต้ งั สภาพแวดล้อม สิ่ งก่อสร้างทัว่ ไปและที่จอดรถ หมวดที่ 2 โถงต้อนรับ ห้องน้ าสาธารณะ ลิฟท์และทางสัญจรภายในอาคาร หมวดที่ 3 ห้อง ห้องพักแบบ Standard รวมกันเดินระเบียง และห้องน้ า หมวดที่ 4 ห้องพักแบบ Suite (และ Executive Floor ในโรงแรมระดับ 5 ดาว) หมวดที่ 5 ห้องอาหาร คอฟฟี่ ช็อป บาร์ และครัว หมวดที่ 6 ส่ วนบริ การด้านสันทนาการ สระว่ายน้ า


11

หมวดที่ 7 ส่วนบริ การด้านธุรกิจ ห้องประชุม และ Business Center หมวดที่ 8 บุคลากรและการบริ การ หมวดที่ 9 ระบบความปลอดภัยในพื้นที่ทวั่ ไป หมวดที่ 10 ทรัพยากรและชุมชนแวดล้อม หมวดที่ 11 ส่วนของพนักงาน หมวดที่ 12 คุณลักษณะเสริ มอื่น ๆ 2.1.3 แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับการวางผังพื้นที่ใช้สอยในโรงแรม ในการวางผังโรงแรม นักออกแบบจะต้องทาการวิเคราะห์ขอ้ มูลและสังเคราะห์ ข้อมู ล ต่า ง ๆ ที่ เกี่ ย วข้องเพื่ อให้ไ ด้ม าถึ ง ศัก ยภาพและข้อจากัดของพื้ นที่ ต้ งั ของโรงแรมนั้นๆ จากนั้น จึ ง ท าการวางผัง การใช้ป ระโยชน์ พ้ื น ที่ ซ่ ึ ง สอดคล้อ งกับ ความต้อ งการของผู ใ้ ช้ ทั้ง เจ้าหน้าที่และนักท่องเที่ยวที่เข้ามาพักภายในพื้นที่โครงการ รี สอร์ ทที่มีมาตรฐานระดับ 4 ดาวถึง 5 ดาวนั้นจะผนวกความสวยงามทั้งของสภาพแวดล้อมและการออกแบบอาคารมากเป็ นพิ เศษ การพัฒนางานออกแบบจะเริ่ มด้วยการเขียนผังความสัมพันธ์ของพื้นที่ใช้สอยต่างๆ จากนั้นจึง พัฒนาเป็ นแบบแนวความคิดเบื้องต้น และพัฒนาจนกลายเป็ นผังแม่บทในที่สุด ดีรูส (2011) ได้ อธิบายองค์ประกอบหลักๆ 8 ส่ วนในการพัฒนารายละเอียดโครงการโรงแรม ดังนี้ - แนวคิดทฤษฎีในภาพรวมของโรงแรม - การวางผังบริ เวณ - การวางผังระบบสัญจรและพื้นที่ตอ้ นรับ - ห้องพักนักท่องเที่ยว - บริ เวณร้านอาหารและเครื่ องดื่ม - พื้นที่จดั ประชุมและระบบสัญจรของพื้นที่ - สิ่ งอานวยความสะดวกและนันทนาการ นอกจากนี้ ยงั แสดงผังความสัมพันธ์พ้ืนฐานของพื้นที่ใช้สอยภายในโรงแรมดัง แผนภาพที่ 1


12

แผนภาพที่ 1 ความสัมพันธ์พ้นื ฐานของพื้นที่ใช้สอยภายในโรงแรม ที่มา : ดีรูส (2011) 2.1.4 แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับการกาหนดขนาดของพื้นที่ใช้สอยในโรงแรม การกาหนดรายละเอียดโครงการเป็ นกระบวนการที่สาคัญเพื่อนาไปใช้ในการ วางผังพื้นที่โครงการ ซึ่ งจะดาเนิ นการเป็ นขั้นตอนแรกๆของการออกแบบวางผัง โดยจะต้องเก็บ ข้อมูลเกี่ยวกับรายละเอียดกิจกรรม ขนาดพื้นที่ของกิจกรรม และความต้องการของการใช้พ้ืนที่ กิ จกรรมนั้นๆ ทั้งนี้ จะต้องคานึ งถึ งกลุ่มผูใ้ ช้ทุกกลุ่ม และมาตรฐานของขนาดการใช้พ้ืนที่ของ กิจกรรมนั้นๆ อีกด้วย ดีรูส (2011) ได้แสดงรายละเอียดของโครงการโรงแรมในภาพรวมของโรงแรม ประเภทต่า งๆ จากการวิจัย การออกแบบวางผังโรงแรมในประเทศสหรั ฐอเมริ ก า โดยแสดง สัดส่ วนระหว่างพื้นที่ใช้สอยต่างๆภายในโรงแรม ดังตารางที่ 5-7


13

ตารางที่ 5 ขนาดของพื้นที่ห้องพักแขกและพื้นที่รวมทั้งหมดของโรงแรมประเภทต่าง ๆ

ที่มา : ดีรูส (2011) หมายเหตุ จากตารางแสดงพื้นที่ตารางเมตรต่อจานวนห้องพัก Guestroom net area คือพื้นที่ที่ใช้ประโยชน์ซ่ ึงรวมพื้นที่หอ้ งน้ าและทางเดินเชื่อม Guestroom gross area รวมพื้นที่ผนัง ลิฟต์ บันได ทางเดิน ห้องเก็บของ และห้องเครื่ อง Total hotel gross area คือพื้นที่โรงแรมทั้งหมดไม่นบั รวมที่จอดรถ. ตารางที่ 6 ขนาดของพื้นที่ห้องพักแขกและพื้นที่สาธารณะ และพื้นที่ส่วนบริ การของโรงแรม ประเภทต่าง ๆ

ที่มา : ดีรูส (2011)


14

หมายเหตุ จานวนห้องพักสภาพตลาดที่พกั นักท่องเที่ยวของท้องถิ่นนั้น ๆ และมีความแตกต่าง กันไปในแต่ละประเทศ แต่อย่างไรก็ดีการแบ่งสัดส่ วนพื้นที่ (ร้อยละ) มีความคล้ายคลึงกันทัว่ โลก ตารางที่ 7 ขนาดของพื้นที่ห้องพักแขกแต่ละประเภทของโรงแรมประเภทต่าง ๆ

ที่มา : ดีรูส (2011) 2.2 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ในหั ว ข้อ นี้ ผู ้วิ จัย ได้ท าการศึ ก ษาผลงานการศึ ก ษาวิ จัย และโครงการในลัก ษณะที่ คล้ายคลึงกันหลายๆผลงาน ดังจะได้แสดงเป็ นลาดับต่อไป 2.2.1 ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบทางกายภาพและผูเ้ ข้าพักอาศัยโฮสเทลในกรุ งเทพมหา นคร กรณีศึกษา ย่านถนนข้าวสาร อภินทั ธ์ จูฬะติดตะ และ มัลลิกา จงศิริ (2563) ทาการศึกษาเพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่าง องค์ประกอบทางกายภาพ และผูเ้ ข้าพักโฮสเทลบริ เวณรอบพื้นที่ถนนข้าวสาร โดยได้กาหนด


15

พื้นที่ศึกษาได้แก่ โฮสเทลซึ่งตั้งอยูใ่ นรัศมี 800 เมตรของพื้นที่ถนนข้าวสาร รวมจานวนทั้งสิ้ น 65 แห่ ง ทั้งนี้ มีวตั ถุประสงค์ของการศึกษา คือ “1) การศึกษาองค์ประกอบทางกายภาพของ Hostel ในย่านถนนข้าวสาร 2) การศึกษาลักษณะของผูท้ ี่เข้าพักโฮสเทลในย่านถนนข้าวสาร และ 3) การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบทางกายภาพและลักษณะผูเ้ ข้าพักโฮสเทลในย่าน ถนนข้าวสาร” (อภินัทธ์ จูฬะติดตะ และ มัลลิกา จงศิริ, 2563) ผูว้ ิจยั ได้กาหนดกรอบแนวคิดใน การวิจยั ที่สาคัญ 2 ส่ วน ได้แก่องค์ประกอบทางกายภาพของโฮสเทล และพฤติกรรมของผูเ้ ข้าพัก ดังแสดงในภาพ องค์ประกอบกายภาพโฮสเทล ➢ ลักษณะอาคาร ➢ พื้นที่ใช้สอย ➢ รู ปแบบที่นอน ➢ สิ่ งอานวยความสะดวก ➢ การออกแบบตกแต่ง ภายนอกและภายในอาคาร

ความสัมพันธ์ระหว่าง องค์ประกอบทางกายภาพและผู ้ เข้าพักอาศัยโฮสเทล

พฤติกรรมของผูเ้ ข้าพัก ➢ พฤติกรรมการใช้งานพื้นที่ ในที่พกั แผนภาพที่ 2 กรอบแนวคิดการวิจยั เรื่ องความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบทางกายภาพและผู ้ เข้าพักอาศัยโฮสเทลในกรุ งเทพมหานคร กรณีศึกษา ย่านถนนข้าวสาร ที่มา : อภินทั ธ์ จูฬะติดตะ และ มัลลิกา จงศิริ (2563) สาหรับการเก็บและรวบรวมข้อมูลนั้น ผูว้ ิจยั ทาการเก็บข้อมูลทั้งในระดับปฐมภูมิ คือ การเข้าสารวจพื้นที่ศึกษาและเก็บข้อมูลทางกายภาพของโฮสเทล รวมไปถึงการสัมภาษณ์ผเู ้ ข้าพัก และสังเกตพฤติกรรมการใช้พ้นื ที่ของผูเ้ ข้าพัก นอกจากนี้ ยงั เก็บข้อมูลในระดับทุติยภูมิ อันได้แก่ การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องและเก็บรวบรวมข้อมูลจากเว็บไซต์ คือข้อมูลในเรื่ องของราคา ที่พกั ทาเลที่ต้ งั และองค์ประกอบทางกายภาพ ผลการศึกษาพบว่า สิ่ งที่มีส่วนสาคัญในการตัดสิ นใจเข้าพักของลูกค้าธุ รกิจโฮสเทลนั้น ได้แก่ทาเลที่ต้ งั ราคา และองค์ประกอบทางกายภาพ โดยเฉพาะอย่างยิง่ พื้นที่ส่วนกลาง สาหรับ โฮสเทล ประเภทตึ ก แถวหรื อ อาคารพาณิ ช ย์น้ ัน พบว่ า การออกแบบตกแต่ ง ทั้ง ภายในและ


16

ภายนอกอาคารนั้นมีส่วนช่วยในการตัดสิ นใจเลือกเข้าพักของนักท่องเที่ยวซึ่งพิจารณารู ปจากทาง เว็บไซต์ก่อนเข้าพัก โดยนักท่องเที่ ยวเหล่านี้ จะให้ความสาคัญกับความสงบความสะอาดและ ความแปลกใหม่ของที่พกั อย่างไรก็ดีในส่ วนของโฮสเทลที่ดดั แปลงจากบ้านเก่า ผูเ้ ข้าพักจะนิยม พื้นที่ที่มีบรรยากาศดีน่าพักผ่อนมีสวน และสุ ดท้าย โฮสเทลแบบอาคารสร้างใหม่ผูเ้ ข้าพักเลื อก เข้าพักเพราะต้องการสังสรรค์ท าให้โฮสเทลประเภทนี้ จะมี พ้ื นที่ ภายนอกที่ เหมาะสมกับการ พบปะสังสรรค์ได้ 2.2.2 ปัจจัยที่มีผลต่อการออกแบบและบริ หารจัดการทรัพยากรกายภาพ กรณีศึกษา โรงแรม ขนาดกลาง เขตจังหวัดแนวพื้นที่เศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก จุ ล ธนศรี วนิ ช ชัย และ อรุ ณ ศิ ริจานุ ส รณ์ (2553) จุ ล ธนศรี วนิ ชชัย และ อรุ ณ ศิ ริจา นุ ส รณ์ (2553) ท าการวิ จัย เพื่ อ ศึ ก ษาถึ ง ปั จ จัย ที่ ส่ ง ผลต่ อ การออกแบบและบริ ห ารทรั พ ยากร กายภาพ โรงแรมขนาดกลาง ในเขตจังหวัดตามแนวพื้นที่เศรษฐกิจตะวันออกตะวันตก (East West Economic corridor : EWEC) ได้แก่จงั หวัดตาก พิษณุโลก ขอนแก่น อุดรธานี และมุกดาหาร นอกจากนี้ยงั ศึกษาถึงแนวทางในการเพิม่ ประสิ ทธิภาพการใช้พ้นื ที่โรงแรมขนาดกลาง รวมไปถึง ศึ กษาแนวทางการเพิ่มความพึงพอใจต่อโรงแรมที่ พกั ของลูกค้าของโรงแรมในพื้นที่ ดังกล่าว ทั้งนี้ เพื่อสรุ ปถึงพื้นที่ตน้ แบบ (Design Prototype) ของโรงแรมที่มีความเหมาะสม ทั้งนี้ ได้แสดง ถึงปัจจัยสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องในการวิจยั ดังแผนภูมิต่อไปนี้

แผนภาพที่ 3 แสดงปัจจัยสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องในการศึกษาวิจยั ที่มา : จุล ธนศรี วนิชชัย และ อรุ ณ ศิริจานุสรณ์ (2553)


17

ผูว้ ิจยั ได้ทาการศึกษาข้อมูลในระดับทุติยภูมิ ถึงที่มา ทฤษฎี หลักการแนว และความคิดที่ เกี่ยวข้องกับการออกแบบและบริ หารจัดการทรัพยากรกายภาพ รวมไปถึงองค์ความรู้ในด้านการ ออกแบบสถาปั ต ยกรรม ( Architectural Design) การบริ หารจั ด การตลาด ( Marketing Management) และการสร้างมูลค่า (Value Added) นอกจากนี้ ยังได้เก็บข้อมูลในระดับปฐมภู มิ โดยการสั ม ภาษณ์ ท้ ัง แบบกึ่ ง โครงสร้ า งและแบบค าถามปิ ด จากผู เ้ กี่ ย วข้อ งกับ โรงแรมซึ่ ง ประกอบไปด้วย นักท่องเที่ยว ผูป้ ระกอบการโรงแรม และสถาปนิ กผูเ้ ชี่ยวชาญด้านการตลาด โรงแรม จุล ธนศรี วนิชชัย และ อรุ ณ ศิริจานุสรณ์ (2553) แสดงผลการศึกษา ดังนี้ 2.2.2.1 สามารถปั จจัย ที่ มี ผลต่อการออกแบบและบริ หารจัดการทรั พ ยากรกายภาพ โรงแรมขนาดกลางในเขตจัง หวัด แนวพื้ น ที่ เ ศรษฐกิ จ ตะวัน ออกตะวัน ตก ออกเป็ น 2 ช่ ว ง ระยะเวลา ประกอบด้วย 1) ช่วงระยะเวลาก่อนการก่อสร้าง ปัจจัยที่ส่งผลประกอบด้วย 1.1) ปั จจัย ด้า นท าเลที่ ต้ งั ได้แก่ ก ารตั้ง อยู่ในเขตชุ ม ชน การติ ดถนน หลัก ความใกล้กบั แหล่งท่องเที่ยว 1.2) ปัจจัยด้านกฎหมายและข้อบัญญัติของเมือง 1.3) ปั จจัยด้านสิ่ งอานวยความสะดวก ซึ่ งสามารถสรุ ปได้ว่าสิ่ งอานวย ความสะดวกในห้องพักนั้นมีความสาคัญมากที่สุด 1.4) ปัจจัยด้านเงินลงทุน ซึ่งส่งผลไปยังจานวนห้องพัก 2) ช่วงระยะเวลาหลังการก่อสร้าง ปัจจัยที่ส่งผลประกอบด้วย 2.1) ปั จจัยด้านการปฏิ บตั ิ การและการบารุ งรั กษา ทั้งงานระบบ งาน สถาปัตยกรรมอาคาร และงานโครงสร้าง 2.2) ปัจจัยด้านการบริ การที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ งานบริ การทาความสะอาด งานบริ การด้านการรักษาความปลอดภัย และงานบริ การด้านการบริ การของพนักงาน 2.2.2.2 ลักษณะการจัดการทรัพยากรทางกายภาพและสิ่ งอานวยความสะดวกในห้องพัก ที่ผปู ้ ระกอบการให้ความสาคัญมากกว่าส่ วนอื่นก็คือสิ่ งอานวยความสะดวกที่สร้างความบันเทิง และผ่อนคลายให้แก่ผเู ้ ข้าพัก ในขณะที่การบริ การเรื่ องอาหารและเครื่ องดื่มนั้นเป็ นไปอย่างจากัด 2.2.2.3 ลักษณะการจัดการทรัพยากรทางกายภาพและสิ่ งอานวยความสะดวกในห้องน้ า ในโรงแรมราคาประหยัดทัว่ ๆไปจะประกอบไปด้วยห้องน้ า 2 ประเภท ได้แก่ห้องน้ ารวมและ ห้องน้ าในตัวห้องพัก สิ่ งอานวยความสะดวกจะประกอบไปด้วยสุ ขภัณฑ์ข้ นั พื้นฐานเป็ นส่ วน ใหญ่


18

2.2.2.4 ลักษณะการจัดการทรัพยากรทางกายภาพและสิ่ งอานวยความสะดวกในส่ วน ต้อนรับ จะมีการให้บริ การในส่ วนของเคาน์เตอร์ ตอ้ นรับเท่านั้น 2.2.2.5 ลักษณะการจัดการทรัพยากรทางกายภาพและสิ่ งอานวยความสะดวกส่ วนกลาง ส่ ว นใหญ่ จ ะมาจากความต้อ งการพื้ น ฐานของพฤติ ก รรมของลู ก ค้า เช่ น การจัด เตรี ย มห้ อ ง ประชุ ม สัม มนาขนาดเล็ก ซึ่ ง สามารถปรั บเปลี่ ย นเป็ นห้องอเนกประสงค์ไ ด้ การจัดให้มี ร้า น อินเทอร์เน็ต เป็ นต้น 2.2.2.6 ลักษณะการจัดการทรัพยากรทางกายภาพส่วนงานหลังบ้าน มีความเรี ยบง่ายไม่ ซับซ้อน เพียงพอต่อการบารุ งรักษาและควบคุมดูแลโรงแรม ประกอบด้วยฝ่ ายบริ หารอาคาร และ ส่วนของพนักงาน 2.2.2.7 ลักษณะการจัดการทรัพยากรทางกายภาพส่วนงานระบบประกอบอาคาร จะแบ่ง ออกเป็ นฝ่ ายบริ การ ซึ่ งประกอบไปด้วย ฝ่ ายต้อนรับและบริ การข้อมูล ฝ่ ายทาความสะอาดและ แม่บา้ น ฝ่ ายช่ างเทคนิ ค และฝ่ ายพนักงานรั กษาความปลอดภัย นอกจากนี้ ยงั มี ฝ่ายบริ หาร ซึ่ ง ประกอบไปด้วย ฝ่ ายกฎหมาย และฝ่ ายการเงิน 2.2.2.8 งานวิจยั ชิ้นนี้ ยงั ได้ให้ขอ้ คิดเห็นเพิ่มเติมว่า แนวคิดในการออกแบบและบริ หาร จัดการทรัพยากรกายภาพ ประเภทโรงแรมราคาประหยัด จะมีความแตกต่างไปขึ้นอยู่กบั ปั จจัย ต่าง ๆหลายประการ อาทิ เช่ นอายุของโรงแรม กลุ่มผูบ้ ริ หาร รวมทั้งสภาพแวดล้อมทางด้าน เศรษฐกิจ การตลาด การใช้ประโยชน์ที่ดิน และข้อกฎหมาย 2.2.3 แนวทางการออกแบบรี ส อร์ ท ที่ เป็ นมิ ตรกับสิ่ ง แวดล้อม : กรณี ศึกษา Dhamajati Resort เขื่อนศรี นคริ นทร์ จังหวัดกาญจนบุรี วิ เชี ย ร เจนตระกูล โรจน์ (2560) ทาการศึ ก ษาเพื่ อ หาแนวทางการออกแบบโรงแรม Dhamajati Resort ตามแนวคิ ด โรงแรมที่ เ ป็ นมิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้อ ม ในพื้ น ที่ เ ขื่ อ นศรี น คริ น ทร์ จังหวัดกาญจนบุรี โดยทาการศึกษาพฤติกรรมและความต้องการของนักท่องเที่ยวในการเข้าพักรี สอร์ทที่เป็ นมิตรต่อสิ่ งแวดล้อม ทาการวิเคราะห์แล้วสรุ ปผลการวิเคราะห์ เพื่อเสนอแนะแนวทาง ในการออกแบบอาคาร กิจกรรม และการให้บริ การในรี สอร์ทรี สอร์ทที่เป็ นมิตรต่อสิ่ งแวดล้อม โดยผูว้ ิจยั ได้ทาการเก็บข้อมูลทางข้อมูลทางด้านทุติยภูมิ จากเอกสารตาราและงานวิจยั ที่ เกี่ ย วข้อ ง ในด้า นของแนวคิ ด และทฤษฎี ต่ า ง ๆ ประกอบด้ว ย แนวคิ ด ทฤษฎี ที่ เ กี่ ย วกับ การ ประกอบธุ รกิ จโรงแรม การจัดการสิ่ งแวดล้อม การป้ องกันและแก้ไขปั ญหาสิ่ งแวดล้อมและ ทรัพยากรธรรมชาติ รี สอร์ ทเชิงอนุ รักษ์ธรรมชาติ มาตรฐานของรี สอร์ ทเชิ งอนุ รักษ์ธรรมชาติ


19

แนวคิ ดและองค์ป ระกอบเพื่ อความยัง่ ยืน และข้อมู ล ที่ เกี่ ย วข้อ งกับจังหวัดและนโยบายของ จังหวัดในการพัฒนาการท่องเที่ยวและธุรกิจที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ ผูว้ ิจยั ยังได้เก็บข้อมูลปฐมภูมิ ทั้งในรู ปแบบของข้อมูลเชิ งคุณภาพจากการ สัมภาษณ์เชิงลึก และข้อมูลเชิงปริ มาณจากการเก็บแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่าง 400 คน ใน ด้า นของพฤติ ก รรมและความต้อ งการของนัก ท่ อ งเที่ ย วในการเข้า พัก รี ส อร์ ท ที่ เ ป็ นมิ ต รกับ สิ่ งแวดล้อม แนะนาข้อมูลที่ได้ท้ งั หมดมาวิเคราะห์และสรุ ปผลเพื่อหาแนวทางการออกแบบรี สอร์ทที่เป็ นมิตรกับสิ่ งแวดล้อม ดังกรอบแนวคิดที่แสดงต่อไปนี้ ตัวแปร

ตัวแปรตาม

- แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวกับการจัดการ สิ่ งแวดล้อมในธุรกิจโรงแรม - แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวกับการ ออกแบบ รี สอร์ทที่เป็ นมิตรกับสิ่ งแวดล้อม แผนและนโยบายจังหวัดในการพัฒนาการ ท่องเที่ยวและธุรกิจที่เกี่ยวข้อง: ยุทธศาสตร์ที่ 1

แนวทางการออกแบบ รี สอร์ท

ความต้องการของนักท่องเที่ยวในการเข้า พัก รี สอร์ทที่เป็ นมิตรกับสิ่ งแวดล้อม แผนภาพที่ 4 กรอบแนวคิดการวิจยั เรื่ องแนวทางการออกแบบรี สอร์ทที่เป็ นมิตรกับสิ่ งแวดล้อม : กรณีศึกษา Dhamajati Resort เขื่อนศรี นคริ นทร์ จังหวัดกาญจนบุรี ที่มา : วิเชียร เจนตระกูลโรจน์ (2560) จากผลการศึกษาพบว่า (วิเชียร เจนตระกูลโรจน์, 2560) ลูกค้าที่มาพักรี สอร์ทที่เป็ นมิตร กับสิ่ งแวดล้อมนั้นต่างมีความพึงพอใจโดยเฉพาะอย่างยิ่งลูกค้าชาวต่างประเทศ เนื่องจากสาเหตุ หลายประการประกอบด้วย ความตระหนักในเรื่ องของการอนุ รักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ความ


20

ตระหนั ก ในเรื่ องภาวะโลกร้ อ น ความยั่ง ยื น ทั้ ง ในการการประกอบธุ ร กิ จ และการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติ ตลอดจนการเอื้อประโยชน์กบั ชุมชน ในด้า นพฤติ ก รรมการท่ องเที่ ย ว นัก ท่ องเที่ ย วส่ วนใหญ่จะเลื อกพักรี ส อร์ ทที่ ใ กล้ชิด ธรรมชาติ และมีความต้องการในระดับมากที่สุดต่อการนาเสนอลักษณะทางกายภาพของรี สอร์ท ที่เป็ นมิตรกับสิ่ งแวดล้อม ได้แก่ การจัดวางภูมิทศั น์สถานที่ใกล้ชิดธรรมชาติ การออกแบบเข้ากับ สิ่ ง แวดล้อมธรรมชาติ การมี ระบบถ่ายเทอากาศที่ ดี ช่ วยลดการใช้พ ลังงาน และการใช้ว สั ดุ ธรรมชาติในการก่อสร้างและตกแต่ง นักท่องเที่ยวแสดงความเห็นในเรื่ องความต้องการมีส่วนร่ วมกับรี สอร์ ทในการอนุ รักษ์ สิ่ งแวดล้อม ในระดับมากที่สุด ได้แก่รีสอร์ ทจัดถังขยะช่วยให้สามารถแยกขยะด้วยตนเอง และ การเปลี่ยนผ้าปูที่นอนทุก 3 วัน รองลงมาได้แก่ความสามารถในการเดินทางภายในรี สอร์ ทโดย ไม่ใช้พาหนะในการเดินทางในระยะทางไม่เกิน 1 กิโลเมตร และการไม่ใช้เครื่ องปรับอากาศเมื่อ อุณหภูมิต่ากว่าหรื อเท่ากับ 25 องศา ซึ่งมีค่าความต้องการเข้าร่ วมกิจกรรมในระดับมาก ผูว้ ิจยั ได้นาเสนอแนวทางในการออกแบบรี สอร์ทที่เป็ นมิตรกับสิ่ งแวดล้อมประกอบด้วย 2.2.3.1 การแบ่งพื้นที่ของรี สอร์ ท ตามความต้องการของนักท่องเที่ยว และมีบรรยากาศ เงี ยบสงบเหมาะแก่การพักผ่อน สร้ างปฏิ สัมพันธ์ด้วยการให้บริ การและพื้นที่ ใช้สอยที่ มีความ เหมาะสม โดยมี ความสอดคล้องกับสภาพภู มิป ระเทศ และส่ งเสริ มสภาพแวดล้อมที่ ดีข้ ึ นกับ ชุมชนโดยรอบ 2.2.3.2 มีการออกแบบภูมิทศั น์ให้กลมกลืนกับสภาพแวดล้อมโดยรอบโดยที่คานึ งถึง การอนุรักษ์ตน้ ไม้เดิม 2.2.3.3 การออกแบบสถาปัตยกรรมของรี สอร์ ทที่เป็ นมิตรกับสิ่ งแวดล้อม โดยที่มีความ เรี ยบง่ายกลมกลืนและวัสดุในท้องถิ่น 2.2.3.4 การวางผังอาคารที่สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ 2.2.3.5 การตกแต่งภายในโดยการเลือกใช้วสั ดุในท้องถิ่น 2.2.3.6 การออกแบบระบบหมุนเวียนน้ าใช้และการกาจัดน้ าเสี ย 2.2.3.7 การใช้โทนสี ในการตกแต่ง วัสดุอุปกรณ์ และของใช้ ที่กลมกลืนกับธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อม


21

2.2.4 ปั จจัยที่มีผลต่อการเลือกพักแรมของนักท่องเที่ยวในการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืน จังหวัดเชียงใหม่ นตธชา รั ต นเพี ย ร และคณะ (2559) ด าเนิ น การศึ ก ษาพฤติ ก รรมและปั จ จัย ของ นักท่องเที่ ยวชาวไทยในการเลื อกพักแรมสาหรั บการพัฒนาท่ องเที่ ย วอย่า งยัง่ ยืนของจัง หวัด เชี ย งใหม่ โดยท าการเก็ บ ข้อ มู ล จากนัก ท่ อ งเที่ ย วชาวไทยที่ เ ดิ น ทางมาท่ อ งเที่ ย วในจัง หวัด เชียงใหม่ ในอาเภอเมือง อาเภอแม่ริม และอาเภอหางดง ทาการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง จานวน 385 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็ นเครื่ องมือในการวิจยั ข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามจะถูกนามาวิเคราะห์ขอ้ มูลและสถิติ และสรุ ปผลถึงปัจจัยที่ นักท่องเที่ยว ผูต้ อบแบบสอบถามให้ความสาคัญเรี ยงจากมากที่สุดดังนี้ 2.2.4.1 ปั จจัย ด้า นบุ ค ลากรในการให้ บ ริ ก ารที่ ดี ได้แก่ พนัก งานมี ม นุ ษ ยสั ม พัน ธ์ ดี อัธยาศัยดี สุ ภาพเป็ นกันเอง ยิม้ แย้มแจ่มใสเสมอ 2.2.4.2 ปั จจัยด้านกระบวนการให้บริ การ ได้แก่ มีความซื่ อสัตย์รับผิดชอบในกรณี ที่เกิด ความเสี ยหายแก่ทรัพย์สิน รักษาระดับมาตรฐานการให้บริ การให้มีมาตรฐานอยูเ่ สมอ 2.2.4.3 ปั จจัย ด้า นราคา ได้แก่ ราคาเหมาะสมกับ คุ ณภาพที่ พ กั และบริ ก ารมี อัต รา ค่าบริ การต่ากว่ารี สอร์ทระดับเดียวกันแห่งอื่นๆ 2.2.4.4 ปั จจัยด้านลักษณะทางกายภาพ ได้แก่ ทาเลที่ต้ งั ที่สามารถเดินทางไปในสถานที่ ท่องเที่ยวใกล้เคียงอย่างสะดวกและปลอดภัย 2.2.4.5 ปั จจัยด้านการส่ งเสริ มการตลาด ได้แก่ การให้ส่วนลดที่พกั ร้ านอาหาร หรื อ บริ การอื่นๆในที่พกั 2.2.4.6 ปั จจัยด้านผลิตภัณฑ์ได้แก่ ห้องพักที่สะอาดและแบ่งเป็ นสัดส่ วน มีสิ่งอานวย ความสะดวกในห้องพักครบครัน 2.2.4.7 ปั จจัยด้านช่องทางการจัดจาหน่าย ได้แก่ การมีบริ การรับส่ งจากสนามบิน ท่ารถ ท่าเรื อ มีเส้นทางการคมนาคมที่สะดวกสบายในการเดินทาง 2.2.5 การพัฒนาการออกแบบรี ส อร์ ท ที่ ป ระสบความส าเร็ จด้วยสไตล์พ้ื นถิ่ นในเกาะลังกาวี ประเทศมาเลเซีย ฮัสซัน (2553) ทาการศึกษาถึงปัจจัยต่างๆที่ทาให้การพัฒนาการออกแบบรี สอร์ทในเกาะ ลัง กาวี น้ ั น ประสบความส าเร็ จ โดยเลื อ กกรณี ศึ ก ษาจากโรงแรมประเภทรี สอร์ ท 3 แห่ ง ประกอบด้วย


22

เบอร์ รายาลังกาวีบีชแอนด์สปารี สอร์ ท (Berjaya Langkawi Beach and Spa Resort) ใน สไตล์ modern vernacular เปลังจีบีชรี สอร์ท (Pelangi Beach Resort) ในสไตล์ post modern vernacular กัมปุงต็อกเซนิกรี สอร์ท(Kampung Tok Senik Resort) ในสไตล์ traditional vernacular ผูว้ ิ จัย ท าการศึ ก ษาค้นคว้าทั้ง จากเอกสารงานวิ จยั ต่ า งๆ ถึ ง ปั จจัย ที่ ส าคัญส าหรั บ การ ออกแบบโรงแรมประเภทรี สอร์ ท ประกอบด้วย การวางผังบริ เวณ การออกแบบพื้นที่ภายนอก อาคาร การออกแบบพื้นที่ภายในอาคาร การออกแบบระบบปรับอากาศและระบายอากาศทั้งใน รู ปแบบ Passive และ Active การออกแบบสิ่ งอานวยความสะดวก ราคาที่ พกั จากนั้นจึ งศึ กษา เปรี ยบเทียบกรณี ศึกษาทั้ง 3 โครงการ โดยใช้แบบสอบถามเป็ นเครื่ องมือในการสารวจ เพื่อหา ระดับความพึงพอใจของผูใ้ ช้ที่มีต่องานออกแบบในสไตล์พ้ืนถิ่นในภาพรวมในระหว่างที่ผตู ้ อบ แบบสอบถามพักอยู่ในรี สอร์ ท จากนั้นจึ งทาการวิเคราะห์ผลที่ ได้ โดยอัตราส่ วนร้ อยละ และ นาเสนอในรู ปแบบของแผนภูมิ สามารถสรุ ปผลได้ดงั ต่อไปนี้ จากการศึกษาไม่พบผลตอบรับในเชิ งลบต่อการพัฒนารี สอร์ ทในสไตล์พ้ืนถิ่นในเกาะ ลังกาวี รี สอร์ ทที่ได้รับความพึงพอใจเรี ยงลาดับจากสู งที่สุดได้แก่ กัมปุงต็อกเซนิ ก (Kampung Tok Senik Resort) เปลัง จี บี ช รี ส อร์ ท Pelangi Beach Resort ในสไตล์ Post Modern Vernacular และ เบอร์รายาลังกาวีบีชแอนด์สปารี สอร์ท (Berjaya Langkawi Beach and Spa Resort) ในสไตล์ Modern Vernacular ตามลาดับ นอกจากนี้ การศึกษายังแสดงให้เห็นอีกว่า เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมและการปรับตัวให้ เข้ากับสิ่ งแวดล้อมเป็ นปั จจัยสาคัญสาหรับความสาเร็ จในอนาคตของโรงแรมประเภทรี สอร์ ทรี สอร์ ท ซึ่ งจะเห็ น ได้จ ากตัว อย่ า งของงานออกแบบ กัม ปุ ง ต็ อ ก เซนิ ก รี สอร์ ท (KTSR) ใน รายละเอียดของการพัฒนาปรับปรุ งงานตกแต่งภายใน หน้าต่าง ประตู และเฟอร์ นิเจอร์ การ จัดระบบสั ญจร ขนาดของห้องพัก การออกแบบไฟฟ้ าแสงสว่า ง ทั้ง แสงประดิ ษ ฐ์ และแสง ธรรมชาติ อุณหภูมิ การระบายอากาศ การเข้าถึง ที่จอดรถ ป้ าย สิ่ งอานวยความสะดวก สิ่ งอานวย ความสะดวกในห้องน้ า ไฟฟ้ า น้ าประปา การระบายน้ าและท่อระบายน้ า การให้บริ การ และ ราคาห้องพัก มีปัจจัยสาคัญหลายประการที่เกี่ยวข้องควรปรับปรุ งเพื่อความสาเร็ จในอนาคตของการ ออกแบบรี สอร์ทในสไตล์พ้นื ถิ่น ได้แก่ 2.2.5.1 การปรับรู ปแบบพื้นถิ่นมาใช้ให้เข้ากับการตกแต่งภายใน เพดาน สิ่ งอานวยความ สะดวกในห้องน้ า ซึ่งต้องมีความทนทานและบารุ งรักษาง่าย


23

2.2.5.2 การเข้า ถึ ง การออกแบบรี ส อร์ ทควรได้รับการปรั บปรุ ง ในเรื่ องของการวาง ตาแหน่งของที่พกั ที่น่าดึงดูดซึ่งมักจะมีมุมมองที่สวยงามและโอบล้อมไปด้วยสภาพแวดล้อมทาง ธรรมชาติที่สวยงาม 2.2.5.3 การออกแบบระบบการระบายอากาศ ระบบแสงธรรมชาติ และแสงประดิษฐ์ โดยประยุกต์รูปแบบสถาปั ตยกรรมท้องถิ่นของประเทศมาเลเซี ยที่มีความยืดหยุ่นในการใช้พ้ืน ที่ ม าปรั บ ใช้ เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การใช้แ สงธรรมชาติ เพื่ อ ช่ ว ยประหยัด พลัง งาน และเสริ ม สร้ า ง ประสบการณ์พิเศษเฉพาะพื้นที่ให้แก่ผมู ้ าพัก 2.2.6 การสารวจการออกแบบโรงแรมและองค์กรที่ให้บริ การด้านการท่องเที่ยวขนาดเล็ก อลอนโซ และ โอเกิ ล (2551) ได้ท าการส ารวจการออกแบบโรงแรมและองค์ก รที่ ให้บริ การด้านการท่องเที่ยวขนาดเล็ก ในออสเตรเลียตะวันตก โดยทาการเก็บข้อมูลจากธุรกิจ 30 แห่ง ด้วยการสัมภาษณ์ท้ งั แบบตัวต่อตัวและการสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ และนาเสนอผลการศึกษา ดังนี้ 2.2.6.1 ความสาคัญของลักษณะและประสิ ทธิภาพของอาคาร ผูต้ อบแบบสอบถามส่ วนใหญ่ตระหนักถึงความสาคัญของการอนุ รักษ์อาคาร พื้นถิ่นตลอดจนประสิ ทธิ ภาพของอาคาร และการออกแบบที่ตอบต่อความต้องการนี้ ยกตัวอย่าง เช่น ข้อเสนอแนะจากผูบ้ ริ หารพิพิธภัณฑ์พ้นื เมืองของออสเตรเลีย ได้ระบุถึงความสาคัญของการ เน้นภาพลักษณ์ ทางด้านวัฒนธรรม และยังระบุรายละเอี ย ดที่ เป็ นมิ ตรกับสิ่ ง แวดล้อมอี ก ด้วย ในขณะที่ ผูจ้ ดั การร้านไวน์เน้นความสัมพันธ์ระหว่างสไตล์ชนบทและสไตล์ของการพัก ผ่อน ในขณะที่รักษาสมดุลที่เรี ยบง่ายไม่สุดขั้วและเรี ยบง่ายในการออกแบบ 2.2.6.2 การมีส่วนร่ วมในการออกแบบพื้นที่ทางานของผูป้ ฏิบตั ิงาน เมื่ อ มี โ อกาสที่ จ ะท าการเปลี่ ย นแปลงในสภาพแวดล้อ มหรื อ ลัก ษณะทาง กายภาพของอาคาร ผู ป้ ฏิบตั ิงานสามารถปลดปล่อยความคิดสร้างสรรค์และวิสัยทัศน์ในการ ออกแบบเพื่อผสมผสานเข้ากับกลยุทธ์ทางธุรกิจของพวกเขาได้ 2.2.6.3 ความสาคัญของการจัดการสภาพแวดล้อมทางกายภาพ บริ เวณโดยรอบสามารถเป็ นจุดดึงดูดที่สาคัญสาหรับลูกค้าจานวนมาก ใน บางกรณี อาจเทียบได้กบั การออกแบบภายนอกหรื อภายในของอาคาร ผูป้ ฏิบตั ิงานต่างรั บรู้ถึง ศักยภาพของสิ่ งอานวยความสะดวกและคุณค่าของการดึงดูดลูกค้า จากผลการสัมภาษณ์ สื่ อให้ เห็นถึงความตั้งใจของผูป้ ระกอบกิจการที่ชดั เจนที่จะให้ผผู ้ ลิตในท้องถิ่นมีส่วนร่ วมและร่ วมมื อ กับพวกเขาเพื่อปรับปรุ งการเข้าพักของแขก และสร้างความสัมพันธ์ระยะยาวและชื่อเสี ยงของ


24

สถานที่ ยกตัวอย่า งเช่ น ผูป้ ระกอบกิ จการโรงแรมขนาดเล็ก อธิ บายว่าถึ งกลุ่มเป้ าหมายทาง การตลาดหลักคือกลุ่มลูกค้าจากเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ และมีการออกแบบโปรแกรมเกี่ยวกับ การพักระยะสั้น สาหรับผูท้ ี่อยู่ในช่วงวันหยุดสั้น ๆ และต้องการมีประสบการณ์การทาฟาร์ มใน ชนบทของออสเตรเลีย ด้วยเหตุน้ ี จึงมีการออกแบบโรงแรม โดยสร้างสรรค์คุณค่าความงามของ ความน่าดึงดูดใจแบบชนบท รวมถึงอาคารที่มีลกั ษณะเป็ นฟาร์มแบบเก่า 2.2.6.4 ความคิดเห็นของลูกค้าเกี่ยวกับการออกแบบการดาเนินงาน ความคิดเห็นของลูกค้าสามารถสะท้อนให้เห็นถึงความสาคัญของการออกแบบ ในขณะที่ แ ละให้ข ้อ มู ล ที่ มี คุ ณ ค่ า ส าหรั บ ผู ้ป ระกอบการ เป็ นเรื่ อ งส าคัญ ที่ ลู ก ค้า จะต้อ งให้ ข้อเสนอแนะที่จาเป็ นอย่างมากแก่ผูป้ ระกอบการและผูป้ ระกอบการนั้นเปิ ดจะต้องเปิ ดใจกว้าง และยอมรับข้อเสนอแนะดังกล่าวเพื่อเพิ่มระดับความสามารถในการแข่งขัน 2.3 กรอบแนวคิดของการวิจัย ในการงานวิจยั เรื่ องการศึ กษาการจัดสรรพื้นที่ใช้สอยในงานวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม โรงแรมประเภทรี สอร์ ทระดับสี่ ดาวและห้าดาวในภาคเหนื อของประเทศไทยครั้งนี้ ได้กาหนด กรอบแนวคิดในงานวิจยั ที่สาคัญ 6 ส่ วนได้แก่ รู ปแบบของโรงแรม ลักษณะทางกายภาพของ ขนาดและสถานที่ต้ งั รายละเอียดของโครงการ ประเภทและขนาดพื้นที่ของห้องพัก การจัดสรร พื้ นที่ ใ ช้ส อยแต่ ล ะประเภท และ ความสั ม พันธ์ ข องพื้ นที่ ใ ช้ส อย และกลุ่มผูใ้ ช้และกิ จกรรม ทาการศึกษาวิเคราะห์หาความสัมพันธ์เชื่ อมโยงขององค์ประกอบต่าง ๆ เหล่านั้น เพื่อจาแนก รู ปแบบการจัดสรรพื้นที่ใช้สอยจากผลการวิเคราะห์ จากนั้นจึงทาการสรุ ปจุดอ่อน จุดแข็ง และ ข้อเสนอแนะ ในการจัดท ารายละเอี ย ดโครงการออกแบบวางผังภู มิ ส ถาปั ตยกรรมโรงแรม ประเภท รี สอร์ทในเขตภาคเหนือต่อไป 2.4 สมมุติฐานการวิจัย ลักษณะทางกายภาพของขนาดและสถานที่ต้ งั รู ปแบบของโรงแรม และกลุ่มผูใ้ ช้และ กิจกรรม มีผลต่อรู ปแบบการจัดสรรพื้นที่ใช้สอยภายในโรงแรมประเภทรี สอร์ ทระดับ 4-5 ดาว ในเขตภาคเหนือของประเทศไทย


25

ลักษณะทางกายภาพของ

รายละเอียดของโครงการ

ขนาดและสถานที่ตั้ง

รูปแบบการจัดสรรพื้นที่ใช้

ประเภทและขนาดพื้นที่ของ ห้องพัก การจัดสรรพื้นที่ใช้สอย

สอย จากผลการวิจัยใน ต่างประเทศ

สรุปและอภิปรายผลถึง

รูปแบบการจัดสรรพื้นที่ใช้

ข้อเสนอแนะ ในการจัดทำ

สอยจากผลการวิเคราะห์

รายละเอียดโครงการออกแบบ

รูปแบบของโรงแรม

แต่ละประเภท

จุดอ่อน จุดแข็ง และ

วางผังภูมิสถาปัตยกรรม กลุม่ ผู้ใช้และกิจกรรม

ความสัมพันธ์ของพื้นที่ใช้สอย

โรงแรมประเภท รีสอร์ทใน เขตภาคเหนือ

แผนภาพที่ 5 กรอบการวิจยั เรื่ องการศึกษาการจัดสรรพื้นที่ใช้สอยในงานวางผังภูมิสถาปัตยกรรมโรงแรมประเภทรี สอร์ทระดับสี่ ดาวและห้าดาวใน ภาคเหนือของประเทศไทย


บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย 3.1 ประเภทของการวิจัย การวิ จัย ครั้ งนี้ เป็ นการวิ จัย เชิ ง พรรณนาปรากฏการณ์ (Descriptive Research) มุ่ ง พรรณนาให้ให้ผูอ้ ่านเข้าใจอย่างชัดเจน ว่าประเด็นที่ทาการศึกษาวิจยั นี้ มีลกั ษณะหรื อมีสภาพ เป็ นอย่างไร พยายามที่จะตอบประเด็นปัญหาดังกล่าวในลักษณะที่ว่ารายละเอียดของประเด็นที่ จะศึกษานี้ “ เป็ นอย่างไร” ในลักษณะการศึกษาจากการค้นหาความจริ งจากสภาพปั จจุบนั และ รวบรวมข้อเท็จจริ งโดยการศึกษาเฉพาะกรณี (Case Study) 3.2 พืน้ ที่ทาการศึกษาวิจัยและเก็บข้ อมูล พื้นที่ ในการศึ กษา คือพื้นที่ ของโรงแรมระดับ 4 ดาวและ 5 ดาว ในเขตภาคเหนื อ ซึ่ ง จังหวัดที่เป็ นที่ต้ งั ของโรงแรมดังกล่าวนั้น คือจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดเชียงราย โดยระยะเวลา ในการเก็บข้อมูลและสารวจลักษณะทางกายภาพ อยู่ระหว่างเดือน มีนาคม พ. ศ. 2564 ถึงเดือน พฤษภาคม 2564 ผ่านการนาเสนอด้วยภาพถ่ายทางอากาศ แผนภาพ แผนภูมิ ตาราง และการ บรรยาย 3.3 ประชากรและกลุ่มตัวอย่ างในการวิจัย เป็ นการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง 2 กลุ่ม ดังต่อไปนี้ 3.3.1 กลุ่มตัวอย่างโรงแรมระดับ 4 ดาว ตารางที่ 8 แสดงชื่อและสถานที่ต้ งั ของกลุ่มตัวอย่างโรงแรมระดับ 4 ดาวในเขตภาคเหนือ ลาดับ 1 2 3 4

ชื่อโรงแรม โรงแรม ดิ อิมพีเรี ยล ริ เวอร์เฮาส์ รี สอร์ท โรงแรม อิมพีเรี ยล โกลเด้น ไทรแองเกิ้ล รี สอร์ท โรงแรมอิมพีเรี ยล แม่ปิง โรงแรม สมายล์ ลานนา

ที่มา : สมาคมโรงแรมไทย (2563)

อักษรย่ อ IRR IGTR IM SL

สถานที่ต้ัง เชียงราย เชียงราย เชียงใหม่ เชียงใหม่


27

หมายเหตุ อักษรย่อนี้ สร้างขึ้นเพื่อความสะดวกในการนาเสนองานวิจยั นี้ เท่านั้น 3.3.2 กลุ่มตัวอย่างโรงแรมระดับ 5 ดาว ตารางที่ 9 แสดงชื่อและสถานที่ต้ งั ของกลุ่มตัวอย่างโรงแรมระดับ 5 ดาวในเขตภาคเหนือ ลาดับ 1 2 3 4 5

ชื่อโรงแรม โรงแรม เดอะริ เวอร์รี บาย กะตะธานี อนันตรา สามเหลี่ยมทองคา แคมป์ ช้าง แอนด์ รี สอร์ท อนันตรา เชียงใหม่ รี สอร์ท เลอ เมอริ เดียน เชียงใหม่ รติลา้ นนา ริ เวอร์ไซด์ สปา รี สอร์ต

อักษรย่อ RK AGER

สถานที่ต้งั เชียงราย เชียงราย

ACMR LMCM RRSR

เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่

ที่มา : สมาคมโรงแรมไทย (2563) หมายเหตุ อักษรย่อนี้ สร้างขึ้นเพื่อความสะดวกในการนาเสนองานวิจยั นี้ เท่านั้น

3.4 เครื่องมือในการวิจัย 3.3.1 การสารวจ ผูว้ ิจยั ทาการสารวจพื้นที่ โดยใช้เครื่ องมือคือแผนที่พ้ืนฐาน (base Map) ซึ่งพัฒนามาจาก ภาพถ่ายทางอากาศ สมุดเสก็ตช์ กล้องถ่ายภาพ เพื่อสารวจปั จจัยต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อรู ปแบบการ จัด สรรพื้ น ที่ ใ ช้ ส อยของโรงแรมประเภทรี ส อร์ ท ระดับ 4 ดาว และ 5 ดาว ในพื้ น ที่ ศึ ก ษา นอกจากนี้ ผูส้ ารวจยังทาแผนผังแสดงการวิเคราะห์สภาพขององค์ประกอบนั้น ๆ อีกด้วย โดย แบ่งองค์ประกอบทางด้านกายภาพที่สาคัญออกเป็ น 3 หัวข้อใหญ่ๆ ได้แก่ ลักษณะทางกายภาพ ของขนาดและสถานที่ต้ งั การจัดสรรพื้นที่ใช้สอยแต่ละประเภท 3.3.2 การสังเกตการณ์ ผูว้ ิ จัย ท าการสั ง เกตโดยตรงแบบไม่ มี ส่ ว นร่ ว ม (Non-Participation Observation) ใช้ เครื่ องมือคือแบบทาผังพฤติกรรม หรื อการทาผังกิจกรรม (Activity Mapping) และการจดบันทึก


28

เกี่ยวกับความสัมพันธ์ของการใช้กิจกรรมของผูใ้ ช้ในพื้นที่โรงแรม และการสังเกตทางอ้อม โดย ใช้กล้องถ่ายภาพบันทึกเป็ นหลัก เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมทางกายภาพของโรงแรม

3.5 วิธีการเก็บรวบรวมข้ อมูล 3.4.1 การรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ เป็ นการรวบรวมจากเอกสาร หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และข้อมูลจากระบบออนไลน์ มี ข้อมูลดังนี้ 3.4.1.1 ข้อมูลเกี่ยวกับแนวความคิด ทฤษฎี และงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ประวัติความ เป็ นมาและรู ปแบบของโรงแรมประเภทรี สอร์ท กาหนดเกณฑ์มาตรฐานระดับสี่ ดาวและห้าดาว ของโรงแรมในประเทศไทย การวางผังพื้นที่ใช้สอยในโรงแรม การกาหนดขนาดของพื้ นที่ ใช้ สอยในโรงแรม เป็ นต้น 3.4.1.2 ข้อมูลรายละเอียดของโรงแรมแต่ละแห่ง รวมไปถึงประเภทและขนาดพื้นที่ของ ห้องพัก 3.4.1.3 -ข้อมูลกลุ่มผูใ้ ช้และกิจกรรม 3.4.2 การรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ 3.4.2.1 การรวบรวมข้อมูลจากการสารวจ ใช้การถ่ายภาพ เสก็ตช์ภาพ การจดบันทึก และการกาหนดตาแหน่งในแผนผังพื้นฐาน (base Map) เกี่ยวกับองค์ประกอบทางกายภาพในด้าน ต่าง ๆ ได้แก่ 1) ลักษณะทางกายภาพของขนาดและสถานที่ต้ งั 2) การจัดสรรพื้นที่ใช้สอยแต่ละประเภท 3.4.2.1 การรวบรวมข้อมูลจากการสังเกตการณ์ภาคสนาม เป็ นการสังเกตโดยตรงแบบ ไม่มีส่วนร่ วม ใช้เครื่ องมือคือการทาแบบผังพฤติกรรม หรื อผังกิจกรรม (Activity Mapping) เก็บ รวบรวมข้ อ มู ล ในรายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ สภาพแวดล้ อ ม กิ จ กรรมของผู ้ใ ช้ ที่ เ กิ ด ขึ้ นใน สภาพแวดล้อมในตาแหน่งต่าง ๆ ของพื้นที่ ประเภทของผูใ้ ช้ที่มีส่วนร่ วมในกิจกรรม เพื่อศึกษา รู ปแบบพฤติกรรมในสภาพแวดล้อมนั้น ๆ หรื อประเภทนั้น ๆ ทาให้ได้ขอ้ มูลเกี่ยวกับสภาพการ ใช้สอยสภาพแวดล้อม


29

3.6 การวิเคราะห์ ข้อมูล ผูว้ ิจยั ทาการวิเคราะห์ขอ้ มูล ดังนี้ 3.5.1 การวิเคราะห์ขอ้ มูลทุติยภูมิ ข้อมูลที่ศึกษาจากเอกสาร งานวิจยั และแผนงานที่เกี่ยวข้อง ทาการวิเคราะห์ตาม ประเด็นการจัดเก็บข้อมูลตามหัวเรื่ องในเครื่ องมือในการวิจยั และนามาประมวลผลการวิเคราะห์ ร่ วมกับข้อมูลที่ศึกษาจากภาคสนามได้แก่ การสังเกตการณ์ และการสารวจ เพื่อประมวลผลสรุ ป ข้อมูล 3.5.2 การวิเคราะห์ขอ้ มูลปฐมภูมิ ทาการวิเคราะห์ขอ้ มูลจากการสารวจโดยการนาข้อมูลในแต่ละปัจจัยที่มี ความสาคัญ นามาวิเคราะห์ลงในแผนผังพื้นฐาน (Base Map) จากนั้นจึงประเมินความสัมพันธ์ ของพื้นที่ใช้สอยและกิจกรรมที่เกิดขึ้น 3.7 การประมวลผลข้ อมูล เป็ นการประมวลผลข้อมูลจากการศึกษาและการวิเคราะห์ขอ้ มูลทุติยภูมิ ข้อมูล ปฐมภูมิ จากการสารวจ การสังเกตการ นามาประมวลผลร่ วมกัน เพื่อสรุ ปถึง รู ปแบบการจัดสรรพื้นที่ใช้ สอยจากผลการวิเคราะห์ โดยใช้คาบรรยายประกอบกับภาพวาด แผนที่ แผนผังบริ เวณ ให้เห็น ชัดเจนและเข้าใจง่าย จากนั้นจึ งอภิ ปรายเปรี ยบเทียบกับ รู ปแบบการจัดสรรพื้นที่ใช้สอย จาก ผลการวิจยั ในต่างประเทศ เพื่อสรุ ปจุดอ่อน จุดแข็ง และข้อเสนอแนะ ในการจัดทารายละเอียด โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมโรงแรมประเภท รี สอร์ทในเขตภาคเหนือ


บทที่ 4 ผลการวิจัย 4.1 ลักษณะทางกายภาพของขนาดและสถานที่ต้งั 4.1.1 ขนาด 4.1.1.1 กลุ่มตัวอย่างโรงแรมระดับ 4 ดาว ตารางที่ 10 ขนาดพื้นที่โรงแรมระดับ 4 ดาวในเขตภาคเหนือ ลาดับ

ชื่อย่อโรงแรม

อักษร ขนาด ย่อ 1 โ ร ง แ ร ม อิ ม พี เ รี ย ล IGTR 21 ไร่ 3 งาน 52 ตร.ว. โกลเด้น ไทรแองเกิ้ล (35,008.00 ตร.ม.) รี สอร์ท 2 โรงแรม ดิ อิมพีเรี ยล IRHR 10 ไร่ 2 งาน 77.0 ตร.ว. ริ เวอร์เฮาส์ รี สอร์ท (17,108 ต.ร.ม.) 3 โรงแรมอิมพีเรี ยล แม่ปิง IM 9 ไร่ 2 งาน 35 ตร.ว. (15,340.80 ตร.ม.) 4 โรงแรม สมายล์ ลานนา SL 5 ไร่ 2 งาน 67 ตรว (9,068.00 ตร.ม.) ที่มา : คานวณจากแผนที่ระวางที่ดินโดยผูว้ ิจยั , 2564

สถานที่ต้งั เชียงราย

เชียงราย เชียงใหม่ เชียงใหม่

เปรี ย บเที ย บขนาดพื น้ ที่ (ร้ อยละ) IGTR

IRHR

IM

SL

12%

20%

46%

22%

แผนภู มิ ที่ 1 การเปรี ยบเที ย บขนาดของ พื้นที่โรงแรมระดับ 4 ดาว ที่ ม า : ค านวณจากแผนที่ ร ะวางที่ ดิ น โดย ผูว้ ิจยั , 2564


31

4.1.1.1 กลุ่มตัวอย่างโรงแรมระดับ 5 ดาว ตารางที่ 11 ขนาดพื้นที่โรงแรมระดับ 5 ดาวในเขตภาคเหนือ ลาดับ 1

2

ชื่อโรงแรม

อักษร ขนาด ย่อ อ นั น ต ร า ส า ม เ ห ลี่ ย ม AGTER 406 ไร่ ทองคา แคมป์ ช้าง แอนด์ (650,000 ตารางเมตร) รี สอร์ท โรงแรม เดอะริ เวอร์รี บาย RK 27 ไร่ กะตะธานี (43,202.00 ตร.ม.)

3

อนันตรา เชียงใหม่ รี สอร์ท

4

เลอ เมอริ เดียน เชียงใหม่

5

ACMR

7 ไร่ 83 ตร.ว. (11,535.20 ตร.ม.)

LMCM 5 ไร่ 3 งาน 10.0 ตารางวา (9,240.00 ตร.ม.) รติลา้ นนา ริ เวอร์ไซด์ สปา RRSR 5 ไร่ 2 งาน 52 ตร.ว. รี สอร์ต (9,010.40 ตร.ม.)

สถานที่ต้งั เชียงราย

เชียงราย

เชียงใหม่

เชียงใหม่ เชียงใหม่

ที่มา : คานวณจากแผนที่ระวางที่ดินโดยผูว้ ิจยั , 2564 เปรี ย บเที ย บขนาดพื น้ ที่ (ร้ อยละ) AGTER

RK

ACMR

LM

RRSR

1% 1% 6% 2%

90%

แผนภู มิ ที่ 2 การเปรี ยบเที ย บขนาดของ พื้นที่โรงแรมระดับ 5 ดาว ที่ ม า : ค านวณจากแผนที่ ร ะวางที่ ดิ น โดย ผูว้ ิจยั , 2564


32 เปรี ย บเทีย บขนาดพื้น ที่ (ร้ อ ยละ) IRHR

IGTR

IM

SL

6%

RK 6%

ACMR

LM

RRSR

12%

8% 23%

โรงแรมระดับ 5 ดาว

โรงแรมระดับ 4 ดาว

29% 6%

10%

แผนภูมิที่ 3 แสดงการเปรี ยบเทียบขนาดของพื้นที่โรงแรมระดับ 4-5 ดาว ที่มา : คานวณจากแผนที่ระวางที่ดินโดยผูว้ ิจยั , 2564 หมายเหตุ ไม่แสดงขนาดของโรงแรม AGTER เนื่ องเป็ นพื้นที่ที่รวมส่ วนของแคมป์ ช้างด้วย ทา ให้มีขนาดใหญ่กว่าพื้นที่โรงแรมอื่น ๆ ถึง หลายสิ บเท่า 4.1.1.3 การแบ่งกลุ่มของโรงแรมประเภทรี สอร์ท จาแนกตามขนาดของพื้นที่ จากการศึกษาพบว่า ขนาดของพื้นที่โรงแรมประเภทรี สอร์ ท ระดับ 4-5 ดาวใน เขตภาคเหนื อของประเทศไทย มี ความหลากหลาย โดยพื้นที่ ขนาดเล็กที่ สุดมี ขนาด 5 ไร่ ไป จนถึงขนาดใหญ่ที่สุดคือ 400 ไร่ โดยสามารถแบ่งโรงแรมออกเป็ น 3 ขนาด ดังตารางที่ 10 ได้แก่ โรงแรมที่มีพ้นื ที่ขนาดเล็ก ประมาณ 1 - 5 ไร่ โรงแรมที่มีพ้นื ที่ขนาดกลาง มีขนาดตั้งแต่ 6 - 10 ไร่ และโรงแรมบนพื้นที่ขนาดใหญ่ ซึ่งมีมีขนาดพื้นที่ต้ งั แต่ 11 ไร่ ข้ นึ ไป ตารางที่ 12 การแบ่งกลุ่มโรงแรมระดับ 5 ดาวในเขตภาคเหนือตามขนาดของพื้นที่ ลาดับ ชื่อย่อโรงแรม ระดับมาตรฐาน ขนาด สถานที่ต้งั กลุ่มโรงแรมบนพืน้ ที่ขนาดเล็ก 1. SL 4 ดาว 5 ไร่ 2 งาน 67 ตรว เชียงใหม่ (9,068.00 ตร.ม.) 2. LMCM 5 ดาว 5 ไร่ 3 งาน 10.0 ตารางวา เชียงใหม่ (9,240.00 ตร.ม.) 3. RRSR 5 ดาว 5 ไร่ 2 งาน 52 ตร.ว. เชียงใหม่ (9,010.40 ตร.ม.)


33

ลาดับ ชื่อย่อโรงแรม ระดับมาตรฐาน ขนาด กลุ่มโรงแรมบนพืน้ ที่ขนาดกลาง 4. ACMR 5 ดาว 7 ไร่ 83 ตร.ว. (11,535.20 ตร.ม.) 5. IM 4 ดาว 9 ไร่ 2 งาน 35 ตร.ว. (15,340.80 ตร.ม.) 6. IRHR 4 ดาว 10 ไร่ 2 งาน 77.0 ตร.ว. (17,108 ต.ร.ม.) กลุ่มโรงแรมบนพืน้ ที่ขนาดใหญ่ 7. IGTR 4 ดาว 21 ไร่ 3 งาน 52 ตร.ว. (35,008.00 ตร.ม.) 8.

RK

5 ดาว

9.

AGTER

5 ดาว

27 ไร่ (43,202.00 ตร.ม.) 406 ไร่ (650,000 ตารางเมตร)

สถานที่ต้งั เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงราย

เชียงราย

เชียงราย เชียงราย

ที่มา : จากการวิเคราะห์ของผูว้ ิจยั , 2564 จากตารางที่ 12 โรงแรมประเภทรี สอร์ ท ทั้งในระดับ 4 ดาว และ 5 ดาว ต่างก็มีขนาด พื้นที่ในทุกขนาด ตั้งแต่ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ไปจนถึงขนาดใหญ่ อาจกล่าวได้วา่ ขนาดของพื้นที่ ไม่มีผลต่อมาตรฐานการให้บริ การของโรงแรมอย่างเด่นชัด นอกจากนี้ ยงั พบอีกว่าโรงแรมที่มี ขนาดพื้นที่ขนาดเล็กนั้นทั้งหมดตั้งอยู่ในจังหวัดเชียงใหม่ ในทางกลับกัน กลุ่มโรงแรมที่มีพ้ืนที่ ขนาดใหญ่ท้ งั หมดตั้งอยูใ่ นจังหวัดเชียงราย ส่ วนโรงแรมที่มีขนาดพื้นที่ขนาดกลางนั้น พบได้ท้ งั ในจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดเชียงราย


34

4.1.2 ลักษณะทางกายภาพของสถานที่ต้ งั ตารางที่ 13 ลักษณะทางกายภาพของสถานที่ต้ งั ของโรงแรมระดับ 4 -5 ดาวในเขตภาคเหนือ

โรงแรมประเภทรีสอร์ ทระดับ 4 ดาว ✓ 1. IGTR ✓ 2. IRHR ✓ 3. IM ✓ 4. SL โรงแรมประเภทรีสอร์ ทระดับ 5 ดาว ✓ 5. AGTER ✓ 6. RK ✓ 7. ACMR ✓ 8. LM ✓ 9. RRSR คิดเป็ นร้อยละจาก 77.78 22.22 จานวนรี สอร์ท 9 แห่ง

✓ ✓

✓ ✓ ✓

✓ ✓ ✓ ✓

✓ ✓

✓ ✓ ✓

✓ ✓ ✓ ✓

✓ ✓

✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 66.67 22.22 88.89 66.67 88.89 100.00 55.56

ที่มา : จากการสารวจและวิเคราะห์โดยผูว้ ิจยั , 2564

✓ ✓ ✓

มีความเชื่อมโยงกับสถานที่ ท่องเที่ยว มีรถบริการสาธารณะผ่าน

มีทัศนียภาพทางธรรมชาติ สวยงาม ทางเข้าจากถนนสายหลัก

เป็ นพืน้ ที่ราบ

ชิดริมแม่น้า

พืน้ ที่นอกเมือง

พืน้ ที่เมือง

ชื่อย่อ

พืน้ ที่มีความลาดชัน

ลักษณะทางกายภาพของสถานที่ต้งั


35

100 90 80 70 60 50 40 30 20 10 0

Characteristics

แผนภูมิที่ 4 ลักษณะทางกายภาพของสถานที่ต้ งั ของโรงแรมระดับ 4 -5 ดาวในเขตภาคเหนือ ที่มา : จากการวิเคราะห์โดยผูว้ ิจยั , 2564 จากตารางที่ 13 เมื่ อ น าเอาลัก ษณะทางกายภาพของโรงแรมที่ ท าการศึ ก ษามาจัด เรี ยงลาดับตั้งแต่ ลักษณะที่พบมากที่สุดไปจนถึงน้อยที่สุดจะได้ผลลัพธ์ดงั แสดงใน ตาราง ที่ 14 ตารางที่ 14 ลักษณะทางกายภาพของสถานที่ ตามลาดับจากพบมากไปน้อย ลาดับ ลักษณะทางกายภาพของสถานที่ ตามลาดับจากพบมากไป น้ อย 1. มีความเชื่อมโยงกับสถานที่ท่องเที่ยว 2. เป็ นพื้นที่ราบ 3. ทางเข้าจากถนนสายหลัก 4. พื้นที่เมือง 5. มีทศั นียภาพทางธรรมชาติที่สวยงาม 6. ชิดริ มแม่น้ า 7. มีรถบริ การสาธารณะผ่าน 8. พื้นที่นอกเมือง 9. พื้นที่มีความลาดชัน ที่มา : จากการวิเคราะห์โดยผูว้ ิจยั , 2564

ร้ อยละ 100.00 88.89 88.89 77.78 66.67 66.67 55.56 22.22 22.22


36

สามารถสรุ ปได้ว่าลักษณะทางกายภาพของสถานที่ต้ งั ของโรงแรมประเภทรี สอร์ ท ในระดับ 4-5 ดาว ในเขตภาคเหนื อ ที่ มี ความเด่ นชัดมากที่ สุ ด คือความสัมพันธ์ เชื่ อมโยงกับ สถานที่ ท่ อ งเที่ ย ว ไม่ ว่ า จะเป็ นสถานที่ ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วัฒ นธรรมในพื้ น ที่ เ มื อ ง หรื อ สถานที่ ท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ ซึ่ งทุกโรงแรมที่ทาการศึกษาต่างมีความเชื่ อมโยงอย่างเด่นชัดทั้งสิ้ น คิด เป็ น 100 เปอร์ เซ็นต์ รองลงมาได้ลกั ษณะของพื้นที่ที่เป็ นพื้นที่ราบ มีทางเข้าออกจากถนนสาย หลัก คิดเป็ น ร้อยละ 88.87 ซึ่ งมีความสัมพันธ์กบั การที่รีสอร์ ทส่ วนใหญ่ต้ งั อยู่ในพื้นที่เขตเมื อง ถึ ง ร้ อ ยละ 77.78ลัก ษณะทางกายภาพที่ ส าคัญ อี ก ประการหนึ่ ง ที่ พ บ ได้แ ก่ ท ัศ นี ย ภาพทาง ธรรมชาติที่สวยงามของพื้นที่ริมแม่น้ า คิดเป็ นร้อยละ 66.67 ส่ วนลักษณะทางกายภาพที่พบน้อย ในการศึกษานี้ได้แก่ ลักษณะพื้นที่ที่อยูน่ อกเมือง และลักษณะพื้นที่ที่มีความลาดชัน พบเพียงร้อย ละ 22.22


37

การศึกษาการจัดสรรพื้นที่ใช้สอยในงานวางผังภูมิสถาปัตยกรรมโรงแรมประเภทรี สอร์ท ระดับสี่ ดาวและห้าดาวในภาคเหนือของประเทศไทย แผนที่ 1 ที่ ต้ งั และสภาพแวดล้อมของโรงแรมสมายล์ลา้ นนา จัง หวัด เชียงใหม่ ที่มา: ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth Pro สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่


38

การศึกษาการจัดสรรพื้นที่ใช้สอยในงานวางผังภูมิสถาปัตยกรรมโรงแรมประเภทรี สอร์ท ระดับสี่ ดาวและห้าดาวในภาคเหนือของประเทศไทย แผนที่ 2 ที่ ต้ งั และสภาพแวดล้อมของโรงแรมเลอ เมอริ เดี ยน จังหวัด เชียงใหม่ ที่มา: ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth Pro สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่


39

การศึกษาการจัดสรรพื้นที่ใช้สอยในงานวางผังภูมิสถาปัตยกรรมโรงแรมประเภทรี สอร์ท ระดับสี่ ดาวและห้าดาวในภาคเหนือของประเทศไทย แผนที่ 3 ที่ต้ งั และสภาพแวดล้อมของโรงแรมรติลา้ นนา ริ เวอร์ ไซด์ สปา รี สอร์ทจังหวัดเชียงใหม่ ที่มา: ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth Pro สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่


40

การศึกษาการจัดสรรพื้นที่ใช้สอยในงานวางผังภูมิสถาปัตยกรรมโรงแรมประเภทรี สอร์ท ระดับสี่ ดาวและห้าดาวในภาคเหนือของประเทศไทย แผนที่ 4 ที่ต้ งั และสภาพแวดล้อมของโรงแรมอนันตราเชียงใหม่รี สอร์ท จังหวัดเชียงใหม่ ที่มา: ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth Pro สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่


41

การศึกษาการจัดสรรพื้นที่ใช้สอยในงานวางผังภูมิสถาปัตยกรรมโรงแรมประเภทรี สอร์ท ระดับสี่ ดาวและห้าดาวในภาคเหนือของประเทศไทย แผนที่ 5 ที่ต้ งั และสภาพแวดล้อมของโรงแรมอิมพีเรี ยลแม่ปิง จังหวัดเชียงใหม่ ที่มา: ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth Pro สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่


42

การศึกษาการจัดสรรพื้นที่ใช้สอยในงานวางผังภูมิสถาปัตยกรรมโรงแรมประเภทรี สอร์ท ระดับสี่ ดาวและห้าดาวในภาคเหนือของประเทศไทย แผนที่ 6 ที่ต้ งั และสภาพแวดล้อมของโรงแรม ดิ อิมพีเรี ยล ริ เวอร์ เฮ้าส์ รี สอร์ท จังหวัดเชียงราย ที่มา: ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth Pro สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่


43

การศึกษาการจัดสรรพื้นที่ใช้สอยในงานวางผังภูมิสถาปัตยกรรมโรงแรมประเภทรี สอร์ท ระดับสี่ ดาวและห้าดาวในภาคเหนือของประเทศไทย แผนที่ 7 ที่ต้ งั และสภาพแวดล้อมของโรงแรม ดิ อิมพีเรี ยล โกลเด้น ไทรแองเกิ้ล รี สอร์ท จังหวัดเชียงราย ที่มา: ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth Pro สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่


44

การศึกษาการจัดสรรพื้นที่ใช้สอยในงานวางผังภูมิสถาปัตยกรรมโรงแรมประเภทรี สอร์ท ระดับสี่ ดาวและห้าดาวในภาคเหนือของประเทศไทย แผนที่ 8 ที่ต้ งั และสภาพแวดล้อมของโรงแรม เดอะริ เวอร์ รี บาย กะตะธานี จังหวัดเชียงราย ที่มา: ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth Pro สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่


45

การศึกษาการจัดสรรพื้นที่ใช้สอยในงานวางผังภูมิสถาปัตยกรรมโรงแรมประเภทรี สอร์ท ระดับสี่ ดาวและห้าดาวในภาคเหนือของประเทศไทย แผนที่ 9 ที่ ต้ งั และสภาพแวดล้อมของโรงแรม อนันตรา สามเหลี่ยม ทองคา แคมป์ ช้าง แอนด์ รี สอร์ท จังหวัดเชียงราย ที่มา: ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth Pro สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่


46

4.2 รู ปแบบของโรงแรม 4.2.1 ประเภทของโรงแรม แบ่งตามขนาดของโรงแรมตามจานวนห้องพัก ตารางที่ 15 ขนาดของโรงแรมจาแนกตามจานวนห้องพัก ลาดับ

ชื่อย่อ ระดับมาตร จานวน โรงแรม ฐาน ห้ องพัก กลุ่มโรงแรมขนาดเล็ก (จาแนกตามจานวนห้ องพัก) 1. IRHR 4 ดาว 39 ห้อง 2.

AGTER

5 ดาว

61 ห้อง

3.

SL

4 ดาว

63 ห้อง

4.

IGTR

4 ดาว

74 ห้อง

5

RRSR

5 ดาว

75 ห้อง

6

ACMR

5 ดาว

84 ห้อง

จานวนห้องพักโดยเฉลี่ย 65 ห้อง กลุ่มโรงแรมขนาดกลาง (จาแนกตามจานวนห้ องพัก) 7. RK 5 ดาว 271 ห้อง กลุ่มโรงแรมขนาดใหญ่ (จาแนกตามจานวนห้ องพัก) 8. IM 4 ดาว 371 ห้อง 9.

LMCM

5 ดาว

จานวนห้องพักโดยเฉลี่ย

383 ห้อง

ขนาดพืน้ ที่ดิน

สถานที่ต้งั

10 ไร่ 2 งาน 77.0 ตร.ว. (17,108 ต.ร.ม.) 406 ไร่ (650,000 ตารางเมตร) 5 ไร่ 2 งาน 67 ตร.ว. (9,068.00 ตร.ม.) 21 ไร่ 3 งาน 52 ตร.ว. (35,008.00 ตร.ม.) 5 ไร่ 2 งาน 52 ตร.ว. (9,010.40 ตร.ม.) 7 ไร่ 83 ตร.ว. (11,535.20 ตร.ม.)

เชียงราย

27 ไร่ (43,202.00 ตร.ม.)

เชียงราย

9 ไร่ 2 งาน 35 ตร.ว. (15,340.80 ตร.ม.) 5 ไร่ 3 งาน 10.0 ตร.ว. (9,240.00 ตร.ม.)

เชียงใหม่

377 ห้อง

ที่มา : จากการเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ขอ้ มูลของผูว้ ิจยั , 2564

เชียงราย เชียงใหม่ เชียงราย เชียงใหม่ เชียงใหม่

เชียงใหม่


47 จานวนห้ อ งพั ก ในกลุ่ ม ตั ว อย่ า ง IRHR

AGTER

SL

IGTR

RRSR 2% 5%

ACMR

RK

IM

LMCM

5% 5%

27%

5% 6%

19%

26%

แผนภูมิที่ 5 จานวนห้องพักในกลุ่มตัวอย่าง (ร้อยละ) ที่มา : จากการเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ขอ้ มูลของผูว้ ิจยั , 2564 จานวนโรงแรมแต่ ล ะขนาด (แบ่ ง ตามจานวนห้ อ งพั ก ) โรงแรมขนาดเล็ก

โรงแรมขนาดกลาง

โรงแรมขนาดใหญ่

22%

11% 67%

แผนภูมิที่ 6 จานวนโรงแรมแต่ละขนาดแบ่งตามจานวนห้องพัก (ร้อยละ) ที่มา : จากการเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ขอ้ มูลของผูว้ ิจยั , 2564 หากจาแนกประเภทของโรงแรม แบ่งตามจานวนห้องพัก ตามทฤษฎีของ สตีดมอนและ คาซาวานา (1988). จะพบว่า โรงแรมกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่จะเป็ นโรงแรมขนาดเล็ก (67%) คือมี จานวนของห้องพัก น้อยกว่า 150 ห้อง โรงแรมในกลุ่ม นี้ มี จานวนห้องพัก โดยเฉลี่ย 65 ห้อง รองลงมาคือโรงแรมขนาดใหญ่ (22 %) ซึ่ งมีห้องพัก อยู่ระหว่าง 300 ถึง 599 ห้อง โรงแรมใน กลุ่มนี้ มีจานวนห้องพักโดยเฉลี่ย 377 ห้อง และน้อยที่สุดคือโรงแรมขนาดกลาง (11%) ซึ่ งมี


48

ห้องพัก อยู่ระหว่าง 150-299 ห้อง โรงแรมในกลุ่มนี้ มีจานวนห้องพักโดยเฉลี่ย 271 ห้อง ใน กลุ่มตัวอย่างไม่มีโรงแรมใดที่มีขนาดใหญ่มาก ซึ่งมีจานวนห้องพักตั้งแต่ 600 ห้องขึ้นไป จากการศึกษาพบว่าจานวนของห้องพักของโรงแรม ไม่มีความสัมพันธ์อย่างชัดเจนกับ ขนาดของพื้นที่ดิน รวมไปถึงระดับการให้บริ การ (ระดับดาว) ของโรงแรมด้วย จะสังเกตเห็นว่า ในกลุ่มโรงแรมขนาดเล็ก (มีห้องพักน้อยกว่า 150 ห้อง) จะมีท้ งั โรงแรมในระดับ 4 ดาวและ 5 ดาวปะปนกัน และมีขนาดพื้นที่ดินตั้งแต่ขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ คือตั้งแต่ 5 ไร่ ไป จนถึง 406 ไร่ สาหรับกลุ่มโรงแรมขนาดกลาง (มีห้องพัก 150-299 ห้อง) มีเพียงโรงแรมเดี ยว เท่านั้น โดยมีพ้ืนที่ดินขนาดกลาง ในขณะที่ กลุ่มโรงแรมขนาดใหญ่ (มีห้องพัก 300-599 ห้อง) กลับตั้งอยูบ่ นพื้นที่ดินขนาดเล็ก 4.2.2 ประเภทของโรงแรม แบ่งตามสภาพแวดล้อมที่เป็ นจุดขาย ตารางที่ 16 ประเภทโรงแรมแบ่งตามสภาพแวดล้อมที่เป็ นจุดขายของโรงแรม ลา ชื่อย่อ ดับ โรงแรม

ระดับ จานวน สภาพแวดล้อม มาตร ห้ องพัก ที่เป็ นจุดขาย ฐาน กลุ่มโรงแรมในพืน้ ที่เมือง 1. IRHR 4 ดาว 39 ห้อง โรงแรมริ มแม่น้ า 2. SL 4 ดาว 63 ห้อง โรงแรมในเมืองท่องเที่ยว 3. RRSR 5 ดาว 75 ห้อง โรงแรมริ มแม่น้ า 4. ACMR 5 ดาว 84 ห้อง โรงแรมริ มแม่น้ า 5. RK 5 ดาว 271 ห้อง โรงแรมริ มแม่น้ า 6. IM 4 ดาว 371 ห้อง โรงแรมในเมืองท่องเที่ยว 7. LMCM 5 ดาว 383 ห้อง โรงแรมในเมืองท่องเที่ยว กลุ่มโรงแรมในพืน้ ที่ชานเมืองและพืน้ ที่ธรรมชาติ 8. AGTER 5 ดาว 61 ห้อง โรงแรมเชิ งเขาติ ด ริ ม แม่น้ าและแคมป์ ปิ้ ง 9. IGTR 4 ดาว 74 ห้อง โรงแรมเชิงเขาชิดริ มน้ า ที่มา : จากการเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ขอ้ มูลของผูว้ ิจยั , 2564

ขนาดพืน้ ที่

10 ไร่ 2 งาน 77.0 ตร.ว. 5 ไร่ 2 งาน 67 ตร.ว. 5 ไร่ 2 งาน 52 ตร.ว. 7 ไร่ 83 ตร.ว. 27 ไร่ 9 ไร่ 2 งาน 35 ตร.ว. 5 ไร่ 3 งาน 10.0 ตร.ว. 406 ไร่ 21 ไร่ 3 งาน 52 ตร.ว.


49 โรงแรมริ มแม่น ้าในเขตเมือง

โรงแรมกลางเมืองท่องเที่ยว

โรงแรมเชิงเขาติดริ มแม่น ้า

22% 45%

33%

แผนภูมิที่ 7 ประเภทโรงแรมแบ่งตามสภาพแวดล้อมของที่ต้ งั (ร้อยละ) ที่มา : จากการเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ขอ้ มูลของผูว้ ิจยั , 2564 ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าโรงแรมประเภทรี สอร์ท ระดับ 4-5 ดาวในเขตภาคเหนื อนั้น โดยส่ วนใหญ่แล้วจะเป็ นโรงแรมที่ ต้ งั อยู่ในพื้ นที่ เขตเมื อง คิดเป็ น 78% ซึ่ งในจานวนนี้ เป็ น โรงแรมที่อยูต่ ิดริ มแม่น้ า มีทศั นียภาพริ มน้ าที่สวยงาม มากถึง 45 %ส่ วนอีก 33% นั้นเป็ นโรงแรม ที่อยู่ในย่านกลางเมืองท่องเที่ยว คือจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดเชียงราย สาหรับโรงแรมที่ อยู่ นอกพื้นที่เมืองใหญ่จะเป็ นโรงแรมที่มีลกั ษณะทางธรรมชาติที่สวยงามคือเป็ นโรงแรมเชิงเขาติด ริ มแม่น้ า คิดเป็ นจานวน 22% ของกลุ่มตัวอย่าง เมื่อพิจารณาถึงขนาดของโรงแรมจาแนกตามจานวนห้องพัก เพราะว่ากลุ่มโรงแรมใน พื้นที่เมืองมีขนาดตั้งแต่ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ไปจนถึงขนาดใหญ่ คือมีจานวนห้องพักตั้งแต่ 30 ห้อง ไปจนถึง 383 ห้อง นับว่ามีความหลากหลายเป็ นอย่างมาก ในขณะที่กลุ่มโรงแรมในพื้นที่ ชานเมืองและพื้นที่ธรรมชาติน้ นั จัดอยู่ในกลุ่มโรงแรมขนาดเล็ก คือมีจานวนห้องพัก น้อยกว่า 150 ห้อง อย่างไรก็ดี เมื่อพิจารณาจากขนาดของพื้นที่ของโรงแรม พบว่ากลุ่มโรงแรมในพื้นที่เมือง นั้นมี ข นาดพื้ นที่ ดิน ขนาดเล็ก และขนาดกลาง คื อตั้ง แต่ 5 ไร่ ไ ปจนถึ ง 27 ไร่ ในขณะที่ กลุ่ม โรงแรมในพื้นที่ชานเมืองและพื้นที่ธรรมชาติ มีพ้นื ที่ขนาดกลางไปจนถึงขนาดใหญ่ คือตั้งแต่ 21 ไร่ ไปจนถึ ง 406 ไร่ หรื ออาจกล่ าวได้ว่า โรงแรมที่ อยู่ในพื้นที่ ช านเมื องและพื้ นที่ ธ รรมชาติ มี แนวโน้มที่จะมีขนาดพื้นที่ใหญ่กว่าโรงแรมที่อยูใ่ นพื้นที่เมือง 4.2.3 ประเภทของโรงแรม จาแนกตามรู ปแบบการบริ หาร


50

ตารางที่ 17 ประเภทของโรงแรม จาแนกตามรู ปแบบการบริ หาร ลาดับ

ชื่อย่อ ระดับมาตร จานวน ขนาดพืน้ ที่ดิน โรงแรม ฐาน ห้ องพัก กลุ่มโรงแรมบริหารงานอย่างอิสระ (Independent Hotels) 1. SL 4 ดาว 63 ห้อง 5 ไร่ 2 งาน 67 ตร.ว. (9,068.00 ตร.ม.) 2. RRSR 5 ดาว 75 ห้อง 5 ไร่ 2 งาน 52 ตร.ว. (9,010.40 ตร.ม.) กลุ่มโรงแรมเครือข่าย (Chain Hotels) 3. IRHR 4 ดาว 39 ห้อง 10 ไร่ 2 งาน 77.0 ตร.ว. (17,108 ต.ร.ม.) 4. AGTER 5 ดาว 61 ห้อง 406 ไร่ (650,000 ตารางเมตร) 5. IGTR 4 ดาว 74 ห้อง 21 ไร่ 3 งาน 52 ตร.ว. (35,008.00 ตร.ม.) 6. ACMR 5 ดาว 84 ห้อง 7 ไร่ 83 ตร.ว. (11,535.20 ตร.ม.) 7. RK 5 ดาว 271 ห้อง 27 ไร่ (43,202.00 ตร.ม.) 8. IM 4 ดาว 371 ห้อง 9 ไร่ 2 งาน 35 ตร.ว. (15,340.80 ตร.ม.) 9. LMCM 5 ดาว 383 ห้อง 5 ไร่ 3 งาน 10.0 ตร.ว. (9,240.00 ตร.ม.) ที่มา : จากการเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ขอ้ มูลของผูว้ ิจยั , 2564

สถานที่ต้งั

เชียงใหม่ เชียงใหม่

เชียงราย เชียงราย เชียงราย เชียงใหม่ เชียงราย เชียงใหม่ เชียงใหม่


51 Independenr Hotels

Chain Hotels

22%

78%

แผนภูมิที่ 8 ประเภทโรงแรมแบ่งตามรู ปแบบการบริ หาร (ร้อยละ) ที่มา : จากการเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ขอ้ มูลของผูว้ ิจยั , 2564 จากการวิเคราะห์ขอ้ มูลพบว่า กลุ่มตัวอย่างโรงแรมประเภทรี สอร์ทระดับ 4-5 ดาว ในเขต ภาคเหนื อนั้น ส่ วนใหญ่น้ ันเป็ น โรงแรมในเครื อข่าย (Chain Hotels) ซึ่ งมีการบริ หารงานโดย บริ ษทั แม่ (Parent Company) คิดเป็ นร้อยละ 78 และมีเพียง ร้อยละ 22 เท่านั้น ที่จดั อยูใ่ นประเภท โรงแรมบริ หารงานอย่างอิสระ (Independent Hotels) ซึ่งเป็ นการบริ หารงานโดยคณะบุคคลอย่าง เป็ นอิสระไม่ข้ นึ อยูก่ บั โรงแรมอื่น เมื่อพิจารณา ในด้านจานวนห้องพักและขนาดพื้นที่ดินจะพบว่า โรงแรมบริ หารงานอย่าง อิสระ จะเป็ นโรงแรมขนาดเล็ก 100% ทั้งจากการจาแนกโดยจานวนห้องพักและจากการจาแนก โดยขนาดของที่ ดิน ในขณะที่ โรงแรมในเครื อข่ายนั้น มี ความหลากหลายมากกว่า คือมี ต้ งั แต่ ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ไปจนถึงขนาดใหญ่ ทั้งในด้านจานวนห้องพักและขนาดพื้นที่ดิน 4.3 กลุ่มผู้ใช้ และกิจกรรม 4.3.1 จานวนผูเ้ ยีย่ มเยือนและสถานการณ์พกั แรม ระหว่าง พ.ศ. 2562-2563


52

ตารางที่ 18 จานวนผูเ้ ยีย่ มเยือนจังหวัดเชียงรายและเชียงใหม่ ระหว่าง พ.ศ. 2562-2563 จานวนผู้ เยีย่ มเยือนทั้งหมด (คน)

จังหวัด 2563(P)

2562(R)

จานวนผู้ เยีย่ มเยือนคนไทย (คน)

%การเปลีย่ นแปลง

2563(P)

2562(R)

จานวนผู้ เยีย่ มเยือนชาวต่ างชาติ (คน)

%การเปลีย่ นแปลง

2563(P)

2562(R)

%การเปลีย่ นแปลง

เชี ยงราย

2,173,683

3,729,148

-41.71

2,059,088

3,091,201

- 33.39

114,595

637,947

- 82.04

เชี ยงใหม่ รวม 2 จังหวัด

6,007,763 8,181,446

11,165,860 14,895,008

-46.20 -43.96

5,443,027 7,502,115

7,691,453 10,782,654

- 29.23 - 31.31

564,736 679,331

3,474,407 4,112,354

- 83.75 - 82.90

รายได้ จากผู้ เยีย่ มเยือน (ล้ านบาท)

จังหวัด 2563(P)

2562(R)

รายได้ จากผู้ เยีย่ มเยือนคนไทย (ล้ านบาท)

%การเปลีย่ นแปลง

2563(P)

2562(R)

รายได้ จากผู้ เยีย่ มเยือนชาวต่ างชาติ (ล้ านบาท)

%การเปลีย่ นแปลง

2563(P)

2562(R)

%การเปลีย่ นแปลง

เชี ยงราย

14,950

29,292

- 48.96

13,968.15

22,474.22

-37.85

981.40

6,817.49

-85.60

เชี ยงใหม่ รวม 2 จังหวัด

49,841 64,791

110,670 139,962

- 54.96 - 51.96

42,474.32 56,442.47

67,231.49 89,705.71

-36.82 -37.34

7,366.71 8,348.11

43,438.84 50,256.33

-83.04 -84.32

ที่มา : กองเศรษฐกิจการท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา, 2563 หมายเหตุ: P หมายถึง ข้อมูลเบื้องต้น (จานวนผูเ้ ยีย่ มเยือนและรายได้ใช้โครงสร้าง ปี 2562) ผูเ้ ยีย่ มเยือน หมายถึง ผูท้ ี่เดินทางเพื่อการท่องเที่ยว และอื่น ๆ เช่น การเยีย่ มเพื่อน/ญาติ ทั้งที่พกั ค้างคืน และไม่พกั ค้างคืน โดยเป็ นการพักค้างในสถานพักแรม บ้านญาติ/บ้านเพื่อน และอื่น ๆ R หมายถึง ปรับปรุ งหลังประชุมคณะกรรมการสนับสนุน กากับและติดตามการจัดทาสถิตินกั ท่องเที่ยว และรายได้ดา้ นการท่องเที่ยว * ผูเ้ ยี่ยมเยือนชาวต่างชาติระดับจังหวัด หมายถึง ชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาประเทศไทยตั้งแต่ก่อนการปิ ดด่านตรวจคนเข้าเมือง และพานักใน จังหวัดต่าง ๆ ซึ่ งครอบคลุมผูท้ ี่วางแผนการท่องเที่ยวระยะสั้น แต่ไม่สามารถเดินทางกลับภูมิลาเนาได้ตามแผนการเดินทาง (ไม่รวมชาวต่างชาติที่ประกอบ อาชีพในประเทศไทย)


53

ตารางที่ 19 สถานการณ์การพักแรมจังหวัดเชียงรายและเชียงใหม่ ระหว่าง พ.ศ. 2562-2563 อัตราการเข้าพัก

จังหวัด เชียงราย เชียงใหม่ รวม 2 จังหวัด

2563(P) 38.31 41.80 40.06

จานวนผู้ เข้าพัก (คน)

2562(R) การเปลี่ยนแปลง 54.92 -16.61 74.28 -32.48 64.60

-24.55

2563(P) 1,880,917 4,449,143 6,330,060

2562(R) การเปลี่ยนแปลง 3,166,462 -40.60 8,609,517 -48.32 11,775,979

-44.46

ที่มา : กองเศรษฐกิจการท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา, 2563 จากข้อมู ล สถิ ตินักท่ องเที่ ยว กระทรวงการท่องเที่ ยวและกีฬ า พบว่าในปี พ.ศ. 2563 จังหวัดเชียงรายและเชียงใหม่มีจานวนผูเ้ ยีย่ มเยือน (Visitor) ทั้งสิ้ น 8.18 ล้านคน ลดลง 6.71 ล้าน คน จากปี 2562 หรื อคิดเป็ นการลดลงร้อยละ 43.96 โดยแบ่งเป็ นนักท่องเที่ยวชาวไทยลดลงร้อย ละ 31.31 และนักท่องเที่ยวต่างชาติ ลดลงอย่างมาก ร้อยละ 82.90 นอกจากนี้ ในปี 2563 จังหวัด เชียงใหม่มีรายได้จากผูเ้ ยีย่ มเยือน (Visitor) ทั้งสิ้ น 64,791 ล้านบาท ลดลง 75,171 ล้านบาท จากปี 2562 หรื อคิดเป็ นร้อยละ 51.96 โดยมีรายได้จากนักท่องเที่ยวชาวไทยลดลงร้อยละ 37.34 และ นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติลดลงร้อยละ 84.32 จะเห็นได้ว่าสถานการณ์การท่องเที่ยวในช่วงปี พ.ศ. 2562 เป็ นต้นมาจนถึงปัจจุบนั เกิด ภาวะชะลอตัวและหดตัวของการท่องเที่ยว ทั้งนี้ สืบเนื่ องมาจากสถานการณ์การระบาดของโรค ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19) อย่างไรก็ดีเป็ นที่คาดการณ์ว่าสถานะการณ์ดงั กล่าวจะเริ่ ม คลี่ คลายลงในช่ วงกลางปี พ.ศ. 2565 เนื่ องจากผลของการได้รับการฉี ดวัคซี นอย่างทัว่ ถึ งมาก ยิง่ ขึ้นของประชากรโลก งานวิ จัย ชิ้ นนี้ จ ะเป็ นการศึ ก ษาเพื่ อพัฒนาองค์ความรู้ ใ นด้านการออกแบบวางผัง ภู มิ สถาปั ตยกรรมโรงแรมประเภทรี สอร์ ทระดับ 4-5 ดาว ในพื้นที่ภาคเหนื อของประเทศไทย โดย มองไปข้างหน้าเมื่อสถานการณ์การระบาดของโรคดีข้ นึ และการท่องเที่ยวได้รับการฟื้ นฟูกลับมา เป็ นที่นิยมอีกครั้งหนึ่ง 4.3.2 พฤติกรรมของนักท่องเที่ยว สุ ริวสั สา นาริ นค า และ คณะ. (2557).ศึ ก ษาพฤติ กรรมและรู ปแบบของนักท่องเที่ยว ชาวต่างชาติในจังหวัดเชียงราย พบว่านักท่องเที่ยวส่ วนใหญ่ได้รับข้อมูลการท่องเที่ยวจากบุคคล ใกล้ชิด (เพื่อน/ครอบครัว/ญาติ) เป็ นหลัก นอกจากนี้ เหตุผลในการตัดสิ นใจเดินทางมาท่องเที่ยว


54

จัง หวัดเชี ย งรายของนัก ท่ องเที่ ย วชาวต่า งชาติ ส่ วนหนึ่ ง ที่ เดิ นทางมาจังหวัดเชี ย งราย ก็ เพื่ อ เดินทางต่อไปยังสาธารณรัฐประชาธิ ปไตยประชาชนลาวและเพื่ อ ต่อวีซ่า นอกเหนื อไปจาก ต้องการท่องเที่ยวตามแหล่งท่องเที่ยวยอดนิ ยมที่หลากหลายในจังหวัดเชี ยงราย นักท่องเที่ยว เหล่านี้ ชื่นชอบการสารวจและผจญภัยไปยังสถานที่แปลกใหม่ นิ ยมความตื่นเต้นท้าทายกับชี วิต เป็ นกลุ่มนักท่องเที่ยวที่มีรายได้สูงและนิ ยมเดินทางด้วยตนเอง นอกจากนี้ ยงั นิ ยมเดิ นทางเป็ น กลุ่ม หรื อหมู่ ค ณะ และวางแผนการท่ องเที่ ย วไว้ล่ วงหน้า โดยจะปรั บเปลี่ ย นโปรแกรมการ ท่องเที่ยวด้วยตนเอง ศรั ญญา สรรพมิ ตรและศิ วฤทธิ์ สุ นทรเสณ (2563) ทาการศึ ก ษาวิจัย พฤติ กรรมการ ท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวในจังหวัดเชียงใหม่ พบว่า นักท่องเที่ยวส่ วนใหญ่ จะเดินทางมาด้วย รถยนต์ส่วนตัว ร้อยละ 63 รองลงมาคือรถตูห้ รื อรถเช่า ในอัตราส่วนร้อยละ 23.7 5 และเดินทาง ด้วยเครื่ องบินในอัตราส่วนร้อยละ 13.2 5 สาหรับแหล่งข้อมูลการท่องเที่ยวที่นกั ท่องเที่ยวได้รับ มากที่สุดคือข้อมูลจากทางอินเทอร์เน็ตถึงร้อยละ 66 รองลงมาคือได้รับข้อมูลจากญาติหรื อเพื่อน สาหรับแหล่งข้อมูลท่องเที่ยวในจังหวัดเชียงใหม่ที่นกั ท่องเที่ยวให้ความสนใจนั้น ได้แก่สถานที่ พักผ่อนรับประทานอาหาร คิดเป็ นร้อยละ 19.5 รองลงมาคือการท่องเที่ยวในรู ปแบบผจญภัย เช่นการโหนสลิง หรื อการขับรถ ATV คิดเป็ นร้ อยละ 15.5 นอกจากนั้นยังมี การชมเทศกาล ประเพณี คิดเป็ นร้อยละ 13.75 และการซื้อสิ นค้าพื้นเมืองคิดเป็ นร้อยละ 13.25 ส่วนวัตถุประสงค์ ในการเดินทางนอกจากจะมาพักผ่อนท่องเที่ยวซึ่ งคิดเป็ นส่ วนใหญ่ถึงร้อยละ 62 แล้วยังมีผูท้ ี่ เดินทางมาเพื่อประชุมสัมมนาอีกจานวนร้ อยละ 15.25 อีกด้วย ประเภทของที่พกั ซึ่งนักท่องเที่ยว นิยมพักโดยส่วนใหญ่จะเป็ นโรงแรมถึงร้อยละ 50 9.25 ที่พกั แบบโฮมสเตย์ ร้อยละ 15.5 และที่ พักแบบรี สอร์ท ร้อยละ 13.5 พชรพจน์ นันทรามาศ และคณะ. (2563) ชี้ ให้เห็ นถึ งพฤติ ก รรมอันเปลี่ ยนแปลงของ นัก ท่ องเที่ ย ว อันสื บ เนื่ องมาจากสถานการณ์ ก ารระบาดของโรคติ ดเชื้ อไวรั ส โคโรนา 2019 (covid-19) ซึ่งทาให้การท่องเที่ยวหยุดชะงัก ผลของสถานการณ์ที่เกิดขึ้นทาให้พฤติกรรมของการ ท่องเที่ยวเปลี่ยนไปโดยที่คนไทยมีแนวโน้มที่จะ เลือกเที่ยวในประเทศก่อน โดยมีลกั ษณะการ เที่ ย วในพื้ นที่ ใ กล้ใ นระยะทางการเดิ นทางที่ ส้ ั นลง และนิ ย มใช้ก ารเดิ นทางด้วยรถเป็ นหลัก เนื่ องจากสามารถเดินทางอย่างปลอดภัยจากการระบาดของโรคได้ดีกว่า นอกจากนี้ ยงั นิ ยมไป เที่ยวในบริ เวณที่ผคู ้ นไม่พลุกพล่าน ทางกรุ งไทยคอมพาสได้ประเมินว่า รายได้จากนักท่องเที่ยว ไทยจะกลายเป็ นรายได้หลัก โดยจะมีสัดส่วนกว่า 60% ในปี พ.ศ. 2563-2564


55

4.4 รายละเอียดของโครงการ ประเภทและขนาดพืน้ ที่ของห้ องพัก 4.4.1 รายละเอียดของโครงการ

Meeting rooms

Baggage storage

✓ ✓

✓ ✓

✓ ✓

✓ ✓

✓ ✓ ✓ ✓

✓ ✓ ✓

Rooftop bar

Conference facilities

Yoga Room

Breakfast buffet

✓ ✓ ✓ ✓

Gift shop

Poolside bar

✓ ✓ ✓ ✓

Baby Sitting Room

Restaurant

✓ ✓

Laundry service

Business Center

front desk

Fitness Center

โรงแรมประเภทรีสอร์ ทมาตรฐานระดับ 4 ดาว ✓ ✓ ✓ 1. IRHR ✓ ✓ ✓ 2. SL ✓ ✓ ✓ ✓ 3. IGTR ✓ ✓ ✓ ✓ 4. IM

Spa Facilities

Banquet room

Coffee shop

Bar / lounge

Parking

ลา ชื่อย่อ ดั บ

Swimming Pool

ตารางที่ 20 รายละเอียดสิ่ งอานวยความสะดวกของโรงแรมประเภทรี สอร์ทมาตรฐานระดับ 4-5 ดาว ในเขตภาคเหนือ (เรี ยงขนาดของโรงแรมแต่ละระดับ มาตรฐานตามจานวนห้องพัก จากขนาดเล็กไปขนาดกลาง และขนาดใหญ่ตามลาดับ)


ที่มา : จากการเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ขอ้ มูลของผูว้ ิจยั , 2564

Rooftop bar

Yoga Room

Gift shop

โรงแรมประเภทรีสอร์ ทมาตรฐานระดับ 5 ดาว ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 5. AGTER ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 6. RRSR ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 7. ACMR ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 8. RK 9. LMCM ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓

Baby Sitting Room

Laundry service

front desk

Baggage storage

Meeting rooms

Conference facilities

Breakfast buffet

Poolside bar

Restaurant

Business Center

Fitness Center

Spa Facilities

Banquet room

Coffee shop

Bar / lounge

Parking

ลา ชื่อย่อ ดั บ

Swimming Pool

56

✓ ✓


57

จากการศึกษาพบว่าสิ่ งอานวยความสะดวกที่พบในทุกโรงแรมรี สอร์ ท ได้แก่ ที่จอดรถ สระว่า ยน้ า ศู นย์ธุ รกิ จ ภัตตาคาร และ เคาน์เตอร์ ส่ วนต้อนรั บด้านหน้า ส าหรั บในโรงแรม ประเภทรี สอร์ ทมาตรฐานระดับ 4 ดาวนั้น พบว่าโรงแรมที่ มีสิ่งอานวยความสะดวกน้อยกว่า โรงแรมอื่นๆคือโรงแรมที่มีการบริ หารงานอย่างอิสระ (Independence Hotel) เมื่อเปรี ยบเทียบกับ กลุ่มโรงแรมเครื อข่าย (Chain Hotel) ในระดับเดียวกัน นอกจากนี้ ยงั พบสิ่ งอานวยความสะดวก อื่นๆในโรงแรมมาตรฐานระดับ 4 ดาว บางแห่ง เช่น บาร์และเลานจ์ (Bar & Lounge) ร้านกาแฟ ห้องจัดเลี้ยง บริ การสปา ศูนย์ฟิตเนส ห้องประชุมขนาดเล็กและขนาดใหญ่ ส่ วนบริ การซักรี ด เป็ นต้น สิ่ งอานวยความสะดวกที่ไม่พบในโรงแรมมาตรฐานระดับ 4 ดาวได้แก่ ร้านจาหน่ายของ ที่ระลึก ห้องโยคะ และ บาร์บนดาดฟ้ า (Rooftop Bar) ในส่ วนของโรงแรมประเภทรี สอร์ ทมาตรฐานระดับ 5 ดาวนั้น พบว่ามีสิ่งอานวยความ สะดวกค่อนข้างครบครันมากกว่าโรงแรมมาตรฐานระดับ 4 ดาว และยังมีรายละเอียดในการ ให้บริ การที่มีทางเลือกมากกว่าในรายละเอียดอีกด้วย สิ่ งอานวยความสะดวกที่มีในทุกโรงแรม มาตรฐานระดับ 5 ดาวประกอบด้วย ที่จอดรถ สระว่ายน้ า บาร์ และเลานจ์ ห้องจัดเลี้ยง บริ การ สปา ศูนย์ฟิตเนส ศูนย์ธุรกิจ ภัตตาคาร ส่ วนบริ การอาหารเช้า ห้องประชุมขนาดเล็กและขนาด ใหญ่ เคาน์เตอร์ ส่วนต้อนรับด้านหน้า ส่ วนบริ การซักรี ด นอกจากนี้ ยงั มีสิ่งอานวยความสะดวก อื่น ๆ เพิ่มเติมในบางโรงแรมเช่น ร้านกาแฟ ร้านเครื่ องดื่มริ มสระว่ายน้ า ห้องเก็บกระเป๋ าเดินทาง ห้องเลี้ยงเด็กอ่อน ร้านจาหน่ายของที่ระลึก ห้องโยคะ บาร์ บนดาดฟ้ า (Rooftop Bar) และศูนย์ อนุรักษ์ชา้ ง เป็ นต้น การให้บริ การในโรงแรมรี สอร์ ทมาตรฐานระดับ 5 ดาวนั้น มีความหลากหลายเป็ นอย่าง มากเมื่ อ เปรี ย บเที ย บกับ บริ ก ารในโรงแรมรี ส อร์ ท มาตรฐานระดับ 4 ดาว ตัว อย่า งเช่ น การ ให้บริ การในด้านสปา หรื อว่าบริ การซักรี ดก็เช่นเดียวกัน ก็จะมีให้เลือกมากกว่า ร้านอาหารใน บางโรงแรมก็อาจจะมีมากกว่า 1 แห่ง เป็ นต้น ภาพที่ 1 ที่จอดรถของโรงแรมอิมพีเรี ยล แม่ปิง ที่ ม า : Uwe Aranas. 2017. “File : Chiang-Mai Thailand The-ImperialMae-Ping-Hotel-01.jpg”. [ร ะ บ บ อ อ น ไ ล น์ ] . แ ห ล่ ง ที่ ม า https:// commons.wikimedia.org/wiki/File:C hiang-Mai_Thailand_The-ImperialMae-Ping-Hotel01.jpg#filelinksOctobre_2008.jpg (๒๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔).


58

ภาพที่ 2 ลานอาบน้ าช้างภายในโรงแรมอนันตรา สามเหลี่ยมทองคา แคมป์ ช้าง แอนด์ รี สอร์ท ที่มา : Cukrov, S. (2017). “A Mahout washing his elephant at the Anantara Golden Triangle Elephant Camp”. Shutterstock.Com. https://www. shutterstock.com/image-photo/chiang-raithailand-january-8-2017-1952304964

ภาพที่ 3 ภัตตาคารร้านอาหาร ภายในโรงแรมอนันตรา เชียงใหม่ รี สอร์ท ที่มา : จากการสารวจของผูว้ ิจยั , 2561


59

ภาพที่ 4 ภัตตาคารร้านอาหาร ภายในโรงแรมอนันตรา เชียงใหม่ รี สอร์ท ที่มา : chin797 (2017). “Anantara Chiang Mai Resort & Spa on 12 january 2019”. Shutterstock.Com. https://www.shutterstock.com/image-photo/chiangmai-thailand-january12anantara-chiang-mai-1290332179

ภาพที่ 5 บริ เวณสระว่ายน้ าในโรงแรมรติลา้ นนา ริ เวอร์ไซด์ สปา รี สอร์ท ที่มา : PP_Inspiration (2017). “Rati Lanna Riverside Spa Resort, Chiang Mai, Thailand”. Shutterstock.Com. https://www.shutterstock.com/image-photo/rati-lanna-riverside-spa-resortchiang-646177306


60

4.4.2 ประเภทของห้องพักและขนาดของพื้นที่ห้องพัก ตารางที่ 21 ประเภทของห้องพักและขนาดของพื้นที่ห้องพัก (ข้อมูล ราคาปรกติ ณ เว็บไซท์ที่เป็ นทางการของทางโรงแรม ใน เดือน สิ งหาคม พ.ศ. 2564 ) ลาดับ

ชื่อย่อ โรงแรม

ระดับมาตร ฐาน

จานวน ห้ องพัก

กลุ่มโรงแรมขนาดเล็ก (< 150 ห้ อง) 1. IRHR 4 ดาว 16 ห้อง 14 ห้อง 1 ห้อง 2 ห้อง 6 ห้อง 2. AGTER 5 ดาว 40 ห้อง 15 ห้อง 6 ห้อง

ประเภทห้ องพัก

ดีลกั ซ์ ดีลกั ซ์ ริ เวอร์ วิว คอตเทจ การ์เด้น วิว คอตเทจ ริ เวอร์ วิว บาโคนี่ ริ เวอร์ วิว สวีท ดีลกั ซ์ คันทรี วิว ทรี คันทรี วิว สวีท ทรี คันทรี วิว แฟมิลี สวีท

ประเภท ของเตียง

ขนาด ห้ องพัก (ตร.ม.)

D

K

40.5 40.5 18 18 67.5

D/K

32

D/K

64 96

K K K

D/K

ราคา (บาท)

990.00 1,230.00 990.00 990.00 2,430.00 31,658.00 43,775.00 54,757.00

สถานที่ต้งั

เชียงราย พื้นที่เมือง ริ มแม่น้ า

เชียงราย พื้ น ที่ ธ ร ร ม ช า ติ นอกเมื อ ง ติ ด ริ ม แม่น้ า


61

ลาดับ

3.

4.

ชื่อย่อ โรงแรม SL

IGTR

ระดับมาตร ฐาน 4 ดาว

4 ดาว

จานวน ห้ องพัก 63 ห้อง

30 ห้อง 26 ห้อง

17 ห้อง 5

6

RRSR

ACMR

5 ดาว

5 ดาว

56 ห้อง 17 ห้อง 1 ห้อง 1 ห้อง 52 ห้อง 32 ห้อง

ประเภทห้ องพัก

ประเภท ของเตียง

ขนาด ห้ องพัก (ตร.ม.) 40 45

3,315.00 4,165.00

55

5,508.00

D

36

780.00

K

1,080.00

3,500.00 7,500.00 60,000.00 60,000.00 4,900.00 5,880.00 6,860.00 7,395.00

ดีลกั ซ์ แกรนด์ ดีลกั ซ์ แฟมิลี สวีท สุพีเรี ยร์ ดีลกั ซ์ เพรสซิเดนท์ สวีท

D/T/K D/T/K D/T/K

K

36 144

ดีลกั ซ์ ริ เวอร์ไซด์ เอ็กเซ็กคูทีฟ สวีท ริ เวอร์ไซด์ การ์เด้น สวีท ริ เวอร์ไซด์ พูล สวีท ดีลกั ซ์การ์เดนวิว ดีลกั ซ์ริเวอร์วิว กษราสวีทการ์เดนวิว กษราสวีทริ เวอร์วิว

D/K

60

K

120 232 205 50 50 105 105

K K D/K D/K K K

ราคา (บาท)

5,940.00

สถานที่ต้งั

เชียงใหม่ พื้ น ที่ เ มื อ ง ท่องเที่ยว เชียงราย พื้ น ที่ ธ ร ร ม ช า ติ นอกเมื อ ง ติ ด ริ ม แม่น้ า เชียงใหม่ พื้นที่เมือง ริ มแม่น้ า เชียงใหม่ พื้นที่เมือง ริ มแม่น้ า


62

ลาดับ

ชื่อย่อ โรงแรม

ระดับมาตร ฐาน

จานวน ห้ องพัก

กลุ่มโรงแรมขนาดกลาง (150-299 ห้ อง) 7. RK 5 ดาว 36 ห้อง 271 ห้อง 18 ห้อง 26 ห้อง

กลุ่มโรงแรมขนาดใหญ่ (300-599 ห้ อง) 8. IM ( อ ยู่ ใ น 4 ดาว 88 ห้อง ระหว่างการ 248 ปรับปรุ ง) 35 ห้อง

9.

LMCM

5 ดาว 384 ห้อง

113 ห้อง 168 ห้อง

ประเภทห้ องพัก

ประเภท ของเตียง

ขนาด ห้ องพัก (ตร.ม.)

K K

36 36

2,720.00 2,986.40

K, D

62-75

4,109.60

K

70-100

4,556.00

ดีลกั ซ์ ดับเบิล้ ออร์ ทวิน รู ม สุพีเรี ยร์ ดับเบิ้ล ออร์ ทวิน รู ม แฟมิลี รู ม รอยัลสวีท

D/T

28

D/T

28

D/T K

33 56

ดีลกั ซ์ รู ม เออเบิน รู ม

T/K

36

อยู่ ร ะหว่ า ง เชียงใหม่ ก า ร พื้ น ที่ เ มื อ ง ปรับปรุ ง ท่องเที่ยว ไม่ เ ปิ ดขาย ห้องพัก 2,500 เชียงใหม่

T/K

36

2,800

ดีลกั ซ์ ดีลกั ซ์ริเวอร์ แฟมิลี สวีท ริ เวอร์รี สวีท

ราคา (บาท)

สถานที่ต้งั

เชียงราย พื้นที่เมือง ริ มแม่น้ า


63

ลาดับ

ชื่อย่อ โรงแรม

ระดับมาตร ฐาน

จานวน ห้ องพัก 20 ห้อง 39 ห้อง 40 ห้อง 3 ห้อง 1 ห้อง

ประเภทห้ องพัก

ประเภท ของเตียง

เอสเคป รู ม เลอเมอริ เดียน คลับ รู ม เอ็กเซ็กคูทีฟ สวีท ดิโพลแมติก เอ็กเซกคิวทีฟ สวีท รอยัล สวีท

ที่มา : ข้อมูลจากเว็บไซท์ที่เป็ นทางการของทางโรงแรมแต่ละแห่ง, สิ งหาคม 2564 หมายเหตุ D = Double bed, T = Twin Bed, K = King bed

K

ขนาด ห้ องพัก (ตร.ม.) 40

ราคา (บาท) 2,900

D

36

3,100

K

76

4,000

K

144

12,500

K

250

22,500

สถานที่ต้งั

พื้ น ที่ เ มื อ ง ท่องเที่ยว


64

ตารางที่ 22 สัดส่วนของจานวนห้องพักแขกแต่ละประเภทของโรงแรมประเภทต่าง ๆ ลาดับ

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

ชื่อย่อ

IRHR

AGTER SL IGTR RRSR ACMR RK IM LMCM

ประเภทของโรงแรม

โรงแรมขนาดเล็ก 4 ดาว โรงแรมขนาดเล็ก 5 ดาว โรงแรมขนาดเล็ก 4 ดาว โรงแรมขนาดเล็ก 4 ดาว โรงแรมขนาดเล็ก 5 ดาว โรงแรมขนาดเล็ก 5 ดาว โรงแรมขนาดกลาง 5 ดาว โรงแรมขนาดใหญ่ 4 ดาว โรงแรมขนาดใหญ่ 5 ดาว ห้ องนอนเดี่ยว

27.3

72.69

โ ร ง แ ร ม ข น า ด เ ล็ ก ( < 1 5 0 ห้ อ ง )

สัดส่ วนจานวนห้ อง (ร้ อยละจากห้ องพักทั้งหมด) สุพีเรี ยร์และดีลกั ซ์ สวีท (ห้องพักเดี่ยว) (ห้องชุด) 84.62 15.38 65.57 34.43 N/A N/A 76.71 23.29 74.67 25.33 61.90 38.09 87.46 12.54 90.57 9.43 88.54 11.46 ห้ องสวีท

12.54

10.45

87.46

89.55

โรงแรมขนาดกลาง ( 1 5 0 - 2 9 9 ห้ อ ง )

โ ร ง แ ร ม ข น า ด ใ ห ญ่ ( 3 0 0 - 5 9 9 ห้ อ ง )

แผนภูมิที่ 9 สัดส่วนจานวนห้องพักในโรงแรมขนาดต่าง ๆ โดยเฉลี่ย (ร้อยละ) ที่มา : จากการวิเคราะห์ของผูว้ ิจยั , 2564


65 ห้ องนอนเดี่ยว

16.03

83.97

โ ร ง แ ร ม ม า ต ร ฐ า น ร ะ ดั บ 4 ดาว

ห้ องสวีท

24.37

75.63

โ ร ง แ ร ม ม า ต ร ฐ า น ร ะ ดั บ 5 ดาว

แผนภูมิที่ 10 สัดส่ วนจานวนห้องพักในโรงแรมในระดับมาตรฐาน 4 ดาว และ 5 ดาวโดยเฉลี่ย (ร้อยละ) ที่มา : จากการวิเคราะห์ของผูว้ ิจยั , 2564 จากการศึกษาพบว่า ประเภทของห้องพักในรี สอร์ทระดับ 4 ดาวถึง 5 ดาว สามารถ แบ่งออกได้เป็ น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือห้องพักประเภทห้องพักเดี่ยวไม่มีห้องแยก เรี ยกว่าห้องพักแบบ ดีลกั ซ์หรื อสุ พีเรี ยร์ และห้องพักประเภทห้องชุด คือมีห้องนอนพร้อมด้วยส่ วนรับแขก พักผ่อน หรื อทางานขนาดใหญ่ ประกอบกับห้องนอน เรี ยกว่าห้องพักประเภทห้องสวีท ทุกโรงแรมจะมี ห้องพักให้เลือกหลากหลายประเภท ตามความต้องการของลูกค้า การจาแนกรายละเอียดของ ห้องพักแต่ละประเภท อาจแบ่งตามทัศนี ยภาพของห้องพักนั้น ๆ เช่น ห้องพักที่มองวิวเห็นสวน ของโรงแรม ห้องพักที่มองวิวเห็นแม่น้ า หรื อห้องพักที่มองเห็นวิวสระว่ายน้ าเป็ นต้น ซึ่ งคุณภาพ ของทัศนี ยภาพที่เห็นนั้นจะเพิ่มมูลค่าให้กบั ห้องพักนั้น ๆ ยิ่งขึ้นไปอีกจากห้องพักแบบปกติ แล้ว จะสังเกตเห็นห้องพักที่มีคุณลักษณะพิเศษพวกนี้ ได้จากชื่ อของห้องนั้น ๆ เช่น ห้องพัก ดีลกั ซ์ ริ เวอร์ ไ ซด์ (Deluxe Riverside) หมายถึ งห้องพัก เดี่ ย ว ที่ อยู่มองเห็ นวิวจากแม่ น้ า เป็ นต้น การ จาแนกรายละเอี ย ดของห้องพัก ในอี ก ลัก ษณะหนึ่ งคื อการจ าแนกตาม ความสามารถในการ ให้บริ การลูกค้าในแต่ละกลุ่มเป้ าหมาย เช่น ลูกค้ากลุ่มครอบครัว กลุ่มนักธุ รกิจ เป็ นต้น ซึ่ งจะ ปรากฏอยูใ่ นชื่อของห้องพัก และโดยส่วนใหญ่จะเป็ นห้องพักประเภทห้องชุด หรื อประเภทสวีท ยกตัวอย่างเช่น แฟมิลี สวีท (Family suite) สาหรับรองรับกลุ่มลูกค้าที่มาเป็ นครอบครัว หรื อ เอ็ก เซ็กคูทีฟ สวีท (executive suite) ซึ่งมุ่งเน้นกลุ่มลูกค้านักธุรกิจ เป็ นต้น


66

สาหรับสัดส่ วนของประเภทห้องพักนั้น เห็นได้ชดั ว่าจะมีห้องพักประเภทดีลกั ซ์มากกว่า ห้องพักประเภทห้องชุดหรื อห้องสวีท เมื่อวิเคราะห์สัดส่ วนห้องพักในโรงแรมขนาดต่าง ๆ โดย เฉลี่ย จะพบว่า ในโรงแรมขนาดเล็ก (<150 ห้อง) มีสัดส่วนของจานวนห้องนอนเดี่ยว (ดีลกั ซ์และ สุพีเรี ยร์) ต่อจานวนห้องชุด หรื อห้องสวีท คิดเป็ นร้อยละ 72.69 และ 27.30 ตามลาดับ อย่างไรก็ ดี ในโรงแรมขนาดกลาง (150-299 ห้อง) สัดส่ วนของจานวนห้องนอนเดี่ยวจะเพิ่มมากขึ้ นใน ขณะที่ห้องสวีทมีสัดส่ วนที่ลดลง เมื่อเปรี ยบเทียบกับที่พบในโรงแรมขนาดเล็ก คิดเป็ นร้อยละ 84.46 และ 12.54 ตามลาดับ สาหรับโรงแรมขนาดใหญ่ (300-599 ห้อง)นั้น พบว่ามีสัดส่วนของ จานวนห้องนอนเดี่ยวต่อห้องสวีท เพิ่มยิ่งขึ้น เมื่อเปรี ยบเทียบกับโรงแรมขนาดเล็กกว่า คิดเป็ น ร้อยละ 89.55 และ 10.45 ตามลาดับ ดังนั้นอาจสรุ ปได้วา่ ขนาดของโรงแรมที่จาแนกตามจานวน ของห้องพักนั้น มีความสัมพันธ์กบั สัดส่วนของประเภทของห้องพักในโรงแรม (แผนภูมิที่ 9) เมื่อพิจารณาผลการวิเคราะห์สัดส่ วนของจานวนห้องพักแต่ละประเภทในโรงแรมโดย เปรี ยบเทียบระหว่างโรงแรมมาตรฐานระดับ 4 ดาว กลับโรงแรมมาตรฐานระดับ 5 ดาว จะพบว่า ในโรงแรมที่มีมาตรฐานระดับ 5 ดาวนั้นจะมีสัดส่ วนของจานวนห้องชุดหรื อห้องสวีทสู งกว่าที่ พบในโรงแรมอาหารระดับ 4 ดาว โดยมีสัดส่ วนของจานวนห้องพักประเภทห้องนอนเดี่ยว ร้อย ละ 72.79 ห้องชุ ดหรื อห้องสวีท ร้ อยละ 27.21 ในขณะที่ สัดส่ วนจานวนห้องพักในโรงแรม มาตรฐานระดับ 4 ดาวนั้นจะพบว่ามีสัดส่ วนของจานวนห้องพักประเภทห้องนอนเดียว ในระดับ ที่สูงกว่า คือร้อยละ 75.63 และห้องชุดหรื อห้องสวีท ร้อยละ 24.37 (แผนภูมิที่ 10) ในเรื่ องของขนาดของห้องพัก จะพบว่า โรงแรมที่มีอายุเก่าแก่ ได้แก่ โรงแรมเดอะอิมพี เรี ยลแม่ปิง มีขนาดของห้องพักเล็กกว่าโรงแรมอื่น ๆ อย่างเห็นได้ชดั เมื่อเทียบประเภทห้องพัก ประเภทเดียวกัน ขนาดของห้องพักมีแนวโน้มที่มีขนาดใหญ่ข้ ึนกว่าอดีตในปั จจุบนั อย่างไรก็ดี ขณะนี้ โรงแรมเดอะอิ มพีเรี ยลแม่ปิงกาลังอยู่ในระหว่างการบูรณะปรับปรุ ง ซึ่ งคาดว่าจะมี การ เปลี่ ยนแปลงให้ทนั ยุคสมัยในอนาคตอันใกล้น้ ี จากการศึกษาพบว่าห้องพักประเภทดีลกั ซ์ มี ขนาดตั้งแต่ 28 ตารางเมตร ไปจนถึง 60 ตารางเมตร ส่ วนห้องพักประเภทห้องสวีท มีขนาดตั้งแต่ 56 ตารางเมตร ไปจนถึงห้องพักขนาดใหญ่ถึง 250 ตารางเมตรเลยทีเดียว โรงแรมขนาดใหญ่ที่มี ห้องพักจานวนมาก จะแบ่งประเภทของห้องพักให้ลูกค้าได้เลือกใช้ หลากหลายประเภทมากขึ้น เช่นเดียวกัน จากการศึกษาพบว่า การวิเคราะห์สรุ ปเพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่ของห้องพักกับ ราคา ค่าที่พกั นั้นทาได้โดยยาก เนื่ องจากในปั จจุบนั อยู่ในช่วงวิกฤตการณ์โรคระบาดของไวรัส โคโรน่า 19 ทาให้ราคาของห้องพักผันผวนเป็ นอันมาก นอกจากนี้ ยงั มีโรงแรมหลายแห่ งซึ่งปิ ด ให้บริ การในช่วงที่โรคระบาดสูง ตามนโยบายของรัฐบาล บางห้องพักก็ไม่เปิ ดขาย บางโรงแรมก็


67

ถึงกับถือโอกาสปิ ดเพื่อปรับปรุ งเลยทีเดียว ดังนั้นการวิเคราะห์ราคาในช่วงนี้ จึงไม่สามารถเป็ น ตัวแทนของผลสรุ ปในช่วงภาวะปกติได้ และราคาในการจองห้ องพักก็ยงั ขึ้นกับฤดูกาล และ โปรโมชัน่ ซึ่ งเป็ นตัวแปรที่ไม่สามารถควบคุมได้ในขณะนี้ แต่ก็พอจะได้ขอ้ สรุ ปว่าห้องพักที่มี ขนาดใหญ่กว่า จะมีราคาสู งกว่าเมื่อเปรี ยบเทียบในโรงแรมเดียวกัน และห้องพักที่มีทศั นี ยภาพ ทางธรรมชาติ ที่ ส วยงาม จะมี ร าคาสู ง กว่า ห้อ งอื่ น ๆ ที่ มี ข นาดและสิ่ ง อ านวยความสะดวก เหมือนกัน นอกจากนี้ แล้วห้องพักของโรงแรมระดับ 4 ดาวจะมีราคาถูกกว่าโรงแรมระดับ 5 ดาว อย่างเห็นได้ชดั

ภาพที่ 6 ห้องดีลกั ซ์ รู มภายในโรงแรม เดอะริ เวอร์รี บาย กะตะธานี ที่มา : Chettarin (2021). Selective focus of Interior double room design and decoration at “Riverie by Karathani”. Shutterstock.Com. https://www.shutterstock.com/image-photo/chiangrai-thailand-march-31-2021-1964192584


68

ภาพที่ 7 ห้องดีลกั ซ์ รู มภายในโรงแรมอนันตรา เชียงใหม่ รี สอร์ท ที่มา : จากการสารวจของผูว้ ิจยั , 2561 4.5 การจัดสรรพืน้ ที่ใช้ สอยแต่ละประเภท การแบ่งพื้นที่ใช้สอยภายในโรงแรมประเภทรี สอร์ ทนั้น สามารถแบ่งออกได้เป็ น พื้นที่ห้องพัก พื้นที่ตอ้ นรับและบริ การสาธารณะให้แก่ลูกค้า พื้นที่ส่วนบริ การของโครงการ และ พื้ นที่ สี เขี ย ว ในการวิ เคราะห์ น้ ี จะเน้น ความสั ม พันธ์ ระหว่า งอาคารกับ พื้ น ที่ ส ภาพแวดล้อ ม ภายนอกอาคาร


69

การศึกษาการจัดสรรพื้นที่ใช้สอยในงานวางผังภูมิสถาปัตยกรรมโรงแรมประเภทรี สอร์ท ระดับสี่ ดาวและห้าดาวในภาคเหนือของประเทศไทย แผนที่ 10 การแบ่ ง พื้ น ที่ ใ ช้ส อยของโรงแรมสมายล์ล ้า นนา จัง หวัด เชียงใหม่ ที่มา: จากการวิเคราะห์ของผูว้ ิจยั , 2564 สัญลักษณ์ Accommodation Public Facilities

Entry Way & Parking Service Park & Garden


70

การศึกษาการจัดสรรพื้นที่ใช้สอยในงานวางผังภูมิสถาปัตยกรรมโรงแรมประเภทรี สอร์ท ระดับสี่ ดาวและห้าดาวในภาคเหนือของประเทศไทย แผนที่ 11 การแบ่ ง พื้ น ที่ ใ ช้ส อยของโรงแรมเลอเมอริ เ ดี ย น จัง หวัด เชียงใหม่ ที่มา: จากการวิเคราะห์ของผูว้ ิจยั , 2564 สัญลักษณ์ Park & Garden Entry Way & Parking

Accommodation Public Facilities


71

การศึกษาการจัดสรรพื้นที่ใช้สอยในงานวางผังภูมิสถาปัตยกรรมโรงแรมประเภทรี สอร์ท ระดับสี่ ดาวและห้าดาวในภาคเหนือของประเทศไทย แผนที่ 12 การแบ่งพื้นที่ใช้สอยของโรงแรมรติลา้ นนา ริ เวอร์ไซด์ แอนด์ สปา รี สอร์ท จังหวัดเชียงใหม่ ที่มา: จากการวิเคราะห์ของผูว้ ิจยั , 2564 สัญลักษณ์ Accommodation Public Facilities

Entry Way & Parking Park & Garden


72

การศึกษาการจัดสรรพื้นที่ใช้สอยในงานวางผังภูมิสถาปัตยกรรมโรงแรมประเภทรี สอร์ท ระดับสี่ ดาวและห้าดาวในภาคเหนือของประเทศไทย แผนที่ 13 การแบ่งพื้นที่ใช้สอยของโรงแรมอนันตรารี สอร์ ทเชี ย งใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ ที่มา: จากการวิเคราะห์ของผูว้ ิจยั , 2564 สัญลักษณ์ Accommodation Public Facilities

Entry Way & Parking Service Park & Garden


73

การศึกษาการจัดสรรพื้นที่ใช้สอยในงานวางผังภูมิสถาปัตยกรรมโรงแรมประเภทรี สอร์ท ระดับสี่ ดาวและห้าดาวในภาคเหนือของประเทศไทย แผนที่ 14 การแบ่งพื้นที่ใช้สอยของโรงแรมอิมพีเรี ยลแม่ปิง จังหวัด เชียงใหม่ ที่มา: จากการวิเคราะห์ของผูว้ ิจยั , 2564 สัญลักษณ์ Accommodation Public Facilities

Entry Way & Parking Park & Garden


74

การศึกษาการจัดสรรพื้นที่ใช้สอยในงานวางผังภูมิสถาปัตยกรรมโรงแรมประเภทรี สอร์ท ระดับสี่ ดาวและห้าดาวในภาคเหนือของประเทศไทย แผนที่ 15 การแบ่งพื้นที่ใช้สอยของโรงแรม ดิ อิมพีเรี ยล ริ เวอร์ เฮ้าส์ รี สอร์ท จังหวัดเชียงราย ที่มา: จากการวิเคราะห์ของผูว้ ิจยั , 2564 สัญลักษณ์ Accommodation Public Facilities

Service Entry Way & Parking Park & Garden


75

การศึกษาการจัดสรรพื้นที่ใช้สอยในงานวางผังภูมิสถาปัตยกรรมโรงแรมประเภทรี สอร์ท ระดับสี่ ดาวและห้าดาวในภาคเหนือของประเทศไทย แผนที่ 16 การแบ่งพื้นที่ใช้สอยของโรงแรม ดิ อิมพีเรี ยล โกลเด้น ไทร แองเกิ้ล รี สอร์ท จังหวัดเชียงราย ที่มา: จากการวิเคราะห์ของผูว้ ิจยั , 2564 สัญลักษณ์ Accommodation Public Facilities

Entry Way & Parking Park & Garden


76

การศึกษาการจัดสรรพื้นที่ใช้สอยในงานวางผังภูมิสถาปัตยกรรมโรงแรมประเภทรี สอร์ท ระดับสี่ ดาวและห้าดาวในภาคเหนือของประเทศไทย แผนที่ 17 การแบ่ ง พื้ นที่ ใ ช้ส อยของโรงแรม อนันตรา สามเหลี่ ย ม ทองคา แคมป์ ช้าง แอนด์ รี สอร์ท จังหวัดเชียงราย ที่มา: จากการวิเคราะห์ของผูว้ ิจยั , 2564 สัญลักษณ์ Accommodation Public Facilities

Service Entry Way & Parking Park & Garden


77

การศึกษาการจัดสรรพื้นที่ใช้สอยในงานวางผังภูมิสถาปัตยกรรมโรงแรมประเภทรี สอร์ท ระดับสี่ ดาวและห้าดาวในภาคเหนือของประเทศไทย แผนที่ 18 การแบ่ ง พื้ น ที่ ใ ช้ ส อยของโรงแรม เดอะริ เวอร์ รี บาย กะตะธานี จังหวัดเชียงราย ที่มา: จากการวิเคราะห์ของผูว้ ิจยั , 2564 สัญลักษณ์ Accommodation Public Facilities

Service Entry Way & Parking Park & Garden


78

ตารางที่ 23 สัดส่ วนพื้นที่ใช้สอยนอกอาคาร (Zoning) คิดเป็ นร้อยละจากพื้นที่ท้ งั หมด เรี ยงตามขนาดของพื้นที่ต้ งั ของโรงแรม ลาดับ

ชื่อย่ อ

ประเภทของโรงแรม (เรียงตามขนาดของพืน้ ที่)

1. 2. 3.

SL LMCM RRSR ค่ าเฉลี่ย ACMR IM IRHR ค่ าเฉลี่ย IGTR RK AGTER ค่ าเฉลี่ย

ระดับ 4 ดาว บนพื้นที่ขนาดเล็ก ระดับ 5 ดาว บนพื้นที่ขนาดเล็ก ระดับ5 ดาว บนพื้นที่ขนดเล็ก

4. 5. 6. 7. 8. 9.

ระดับ5 ดาว บนพื้นที่ขนาดกลาง ระดับ4 ดาว บนพื้นที่ขนาดกลาง ระดับ4 ดาว บนพื้นที่ขนาดกลาง ระดับ4 ดาว บนพื้นที่ขนาดใหญ่ ระดับ 5 ดาว บนพื้นที่ขนาดใหญ่ ระดับ 5 ดาว บนพื้นที่ขนาดใหญ่

ที่มา : จากการวิเคราะห์ของผูว้ ิจยั , 2564

สั ดส่ วนพืน้ ที่ใช้ สอยนอกอาคาร (Zoning) คิดเป็ นร้ อยละจากพืน้ ที่ท้ังหมด Accommodati Public Facility Entryway & Park & Garden Service on Parking 25 34 19 22 N/A 30 52 10 8 N/A 30 41 17 12 N/A 28.33 42.33 15.33 14 N/A 26 27 5 41 1 14 40 17 29 N/A 12 12 11 52 13 17.33 26.33 11.00 40.67 N/A 6 10 13 71 N/A 6 15 21 58 N/A 1 1 1 96 2 N/A 4.33 8.67 11.67 75


79

ตารางที่ 24 สัดส่ วนพื้นที่ใช้สอยนอกอาคาร (Zoning) คิดเป็ นร้อยละจากพื้นที่ท้ งั หมด เรี ยงตามขนาดของโรงแรมตามจานวนห้องพัก ลาดับ

ชื่อย่ อ

IRHR AGTER SL IGTR RRSR ACMR เฉลี่ย RK เฉลี่ย IM LMCM เฉลี่ย

ประเภทของโรงแรม (เรียงตามขนาดของโรงแรมซึ่ง จาแนกตามจานวนห้ องพัก) ขนาดเล็ก ระดับ4 ดาว 39 ห้อง ขนาดเล็ก ระดับ 5 ดาว 61 ห้อง ขนาดเล็ก ระดับ 4 ดาว 63 ห้อง ขนาดเล็ก ระดับ4 ดาว 74 ห้อง ขนาดเล็ก ระดับ5 ดาว 75 ห้อง ขนาดเล็ก ระดับ5 ดาว 84 ห้อง ขนาดกลาง ระดับ 5 ดาว 271 ห้อง ขนาดใหญ่ ระดับ4 ดาว 371 ห้อง ขนาดใหญ่ ระดับ 5 ดาว 383 ห้อง

ที่มา : จากการวิเคราะห์ของผูว้ ิจยั , 2564

สั ดส่ วนพืน้ ที่ใช้ สอยนอกอาคาร (Zoning) คิดเป็ นร้ อยละจากพืน้ ที่ท้ังหมด Accommodati Public Facility Entryway & Park & Garden Service on Parking 12 12 11 52 13 1 1 1 96 2 25 34 19 22 N/A 6 10 13 71 N/A 30 41 17 12 N/A 26 27 5 41 1 16.67 20.83 11 49 N/A 6 15 21 58 N/A 6 15 21 58 N/A 14 40 17 29 N/A 30 52 10 8 N/A 13.5 46 13.5 18.5 N/A


80

ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าสัดส่ วนการแบ่งพื้นที่ใช้สอย ในส่ วนของพื้นที่ห้องพักและ พื้ นที่ ส าหรั บ สิ่ ง อานวยความสะดวกนั้น ในกรณี ข องโรงแรมที่ ต้ งั อยู่ใ นพื้ น ที่ ข นาดเล็ ก จะมี สัดส่ วนการใช้พ้ืนที่นอกอาคารในส่ วนดังกล่าวนั้นสู งกว่าในโรงแรมที่ อยู่บนพื้นที่ ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ และจะลดสัดส่ วนลงเมื่อมีพ้นื ที่ขนาดใหญ่ข้ นึ ในขณะที่สัดส่ วนของพื้นที่ทางเข้า และที่จอดรถนั้นไม่แตกต่างกันมากนักเมื่อเทียบกันระหว่างพื้นที่ดิน ส่ วนพื้นที่สวนแล้วพื้นที่สี เขียวนั้นจะมีสัดส่ วนของพื้นที่มากขึ้นอย่างเด่นชัดหากโรงแรมนั้นตั้งอยูใ่ นพื้นที่ขนาดใหญ่ แผนภูมิที่ 11 สัดส่ วนการใช้ประโยชน์ที่ดินในโรงแรมจาแนกตามขนาดพื้นที่ของโรงแรม โดย เฉลี่ย (ร้อยละ) 80

75

70 60 50

42.33

40.67

40 30 20 10

28.33

26.33 17.33

15.33 8.67

4.33

11 11.67

14

0 ACCOMMODATION

PUBLIC FACILITY

พื ้นที่ 1-5 ไร่

พื ้นที่ 6-10 ไร่

ENTRY WAY & PARKING

PARK & GARDEN

พื ้นที่ 11 ขึ ้นไป

ที่มา : จากการวิเคราะห์ของผูว้ ิจยั , 2564 จึงอาจสรุ ปได้ว่า ขนาดของพื้นที่อาคารห้องพัก และสิ่ งอานวยความสะดวกนั้นไม่ได้แปร ผันตามขนาดของพื้นที่ดินเป็ นหลัก ด้วยเหตุน้ ี ถึงแม้นที่ดินมีขนาดใหญ่ข้ ึนพื้นที่ดงั กล่าวดังกล่าว ก็ไม่ได้เพิ่มขนาดขึ้นตามไป ด้วยเหตุน้ ีนกั ลงทุนจึงควรพิจารณาถึงขนาดของที่ดินที่เหมาะสม ทั้ง ในลักษณะทางกายภาพและราคา ในการวางผังบริ เวณของโรงแรมประเภทรี สอร์ท ทั้งนี้เพื่อความ สมดุลของการลงทุนในที่ดินที่เหมาะสม อย่างไรก็ดีเมื่อพิจารณาสัดส่ วนพื้นที่ใช้สอยนอกอาคาร (Zoning) คิดเป็ นร้อยละจากพื้นที่ ทั้งหมด เรี ยงตามขนาดของโรงแรมตามจานวนห้องพัก พบว่า จานวนห้องพัก ไม่ส่งผลอย่างมีนยั ยะสาคัญต่อสัดส่ วนพื้นที่ใช้สอยนอกอาคาร


81

4.6 รู ปแบบของการวางผังบริเวณและความสัมพันธ์ ระหว่างพืน้ ที่ 4.6.1 บริ เวณกลุ่มอาคารที่พกั จากการวิเคราะห์ขอ้ มูลเกี่ยวกับการจัดสรรพื้นที่ใช้สอยของโรงแรมระดับ 4 ดาวถึง 5 ดาวในเขตพื้นที่ภาคเหนื อนั้น เราสามารถจาแนกลักษณะของการวางผังบริ เวณกลุ่มอาคารที่พกั ได้ออกเป็ น 4 ประเภทประกอบด้วย 4.6.1 การจัดวางกลุ่มอาคารที่พกั เป็ นรู ปตัวยูหรื อตัววี 4.6.2 การจัดวางกลุ่มอาคารที่พกั แบบมีคอร์ทกลาง 4.6.3 การจัดวางกลุ่มอาคารที่พกั ตามแนวยาว 4.6.4 การจัดวางกลุ่มอาคารที่พกั แบบรวมศูนย์

แผนภาพที่ 6 การจัดวางกลุ่มอาคารที่พกั เป็ นรู ปตัวยูหรื อตัววี ที่มา : จากการวิเคราะห์ของผูว้ ิจยั , 2564

แผนภาพที่ 7 การจัดวางกลุ่มอาคารที่พกั แบบมีคอร์ทกลาง ที่มา : จากการวิเคราะห์ของผูว้ ิจยั , 2564


82

แผนภาพที่ 8 การจัดวางกลุ่มอาคารที่พกั ตามแนวยาว ที่มา : จากการวิเคราะห์ของผูว้ ิจยั , 2564

แผนภาพที่ 9 การจัดวางกลุ่มอาคารที่พกั แบบรวมศูนย์ ที่มา : จากการวิเคราะห์ของผูว้ ิจยั , 2564 สาหรับกลุ่มโรงแรมขนาดใหญ่ ซึ่ งมีจานวนห้องพัก 300-599 ห้อง และโรงแรมขนาด กลาง ซึ่ งมีจานวนห้องพัก 150-299 ห้อง จะมีลกั ษณะการจัดวางกลุ่มอาคารหลักแบบรวมศูนย์ โดยมีพ้ืนที่อานวยความสะดวกสาหรับลูกค้า ที่จดั ให้ท้ งั ในอาคารเดียวกัน และในพื้นที่ส่วนที่ ติดกัน ทั้งนี้ข้ นึ อยูก่ บั ขนาดพื้นที่และสถานที่ต้ งั ของโรงแรมด้วย หากตั้งอยูใ่ นพื้นที่ขนาดเล็กเช่น ในพื้นที่เมือง ส่ วนอานวยความสะดวกก็จะจัดให้อยู่ในอาคารเดียวกับส่ วนที่พกั โดยแยกชั้นกัน แต่ในโรงแรมที่ มีพ้ืนที่ขนาดใหญ่ จะจัดให้มีสิ่งอานวยความสะดวกบางส่ วนแยกต่างหากจาก โรงแรม ได้แก่สระว่ายน้ า สวนพักผ่อนหย่อนใจ พื้นที่อเนกประสงค์ เป็ นต้น ในกรณี ของกลุ่มโรงแรมขนาดเล็กซึ่งมีจานวนห้องพักน้อยกว่า 150 ห้อง จะพบการจัด วางผังบริ เวณของอาคารห้องพัก ที่มีความหลากหลายมากกว่า ทั้งในการวางเป็ นรู ปตัวยูหรื อตัววี


83

การจัดวางกลุ่มอาคารแบบมีคอร์ดกลาง และการจัดวางกลุ่มอาคารตามแนวยาว ซึ่งทาให้ อาคาร สอดแทรกกลมกลืนไปกับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติมากกว่าในกลุ่มโรงแรมขนาดใหญ่และ ขนาดกลาง ปั จจัยที่สาคัญที่มีอิทธิ พลต่อการวางทิศทางหรื อตาแหน่งของห้องนั้น คือทัศนี ยภาพจาก ห้องพัก เราสามารถจาแนกลักษณะของทัศนียภาพที่พบได้ออกเป็ น 2 ประเภท ประกอบด้วย 1) ทัศนียภาพของเมืองในระยะไกล พบในกลุ่มโรงแรมขนาดใหญ่ซ่ ึงมีการวางผังแบบ รวมศูนย์ในอาคารเดียวที่มีความสูง 2) ทัศนี ยภาพของพื้นที่ธรรมชาติในระยะไกล พบในกลุ่มโรงแรม ขนาดเล็กและขนาด กลาง ซึ่งมีพ้นื ที่ติดกับริ มแม่น้ า บางโรงแรมก็มีพ้นื ที่ลาดชัน ช่วยเกื้อหนุนต่อมุมมองในระยะไกล 3) ทัศนียภาพของสวนที่จดั สร้างขึ้นในโรงแรม พบในเกือบทุกโรงแรมที่ทาการศึกษา ยกเว้นโรงแรมขนาดใหญ่ที่ต้ งั อยูใ่ นเมืองซึ่งมีพ้นื ที่จากัด 4) ทัศนียภาพของสระว่ายน้ าของโรงแรม ในการวางผัง นั้ น ผู ้อ อกแบบจะพยายามให้ ห้ อ งพัก มี จุ ด เด่ น ที่ ส ามารถมองไปยัง ทัศนียภาพที่สวยงามทั้ง 4 รู ปแบบนี้ได้ซ่ ึงมีผลต่อราคาของห้องพักดังที่ได้นาเสนอไปแล้ว 4.6.2 บริ เวณของสิ่ งอานวยความสะดวกภายในโรงแรม ในทุ ก โรงแรมนั้น จะมี พ้ื น ที่ เ ฉพาะส าหรั บ สิ่ ง อ านวยความสะดวกที่ จัด ไว้ใ ห้ ลู ก ค้า นอกจากนี้ ยงั มีบางส่ วนที่อยู่ร่วมกับอาคารห้องพัก เช่นพื้นที่เคาน์เตอร์ เช็คอิน หรื อโถงต้อนรับ เป็ นต้น รู ปแบบการวางผังบริ เวณสามารถจาแนกออกได้ 2 ประเภท ได้แก่ 4.6.2.1 การวางผังบริ เวณของสิ่ งอานวยความสะดวกแบบรวมกลุ่ม เป็ นการจัดให้พ้ืนที่ อานวยความสะดวกอยู่รวมในบริ เวณเดียวกัน พบในการวางผังของกลุ่มโรงแรมที่มีพ้ืนที่ขนาด เล็กและขนาดกลาง 4.6.2.2 การวางผังบริ เวณของสิ่ งอานวยความสะดวกแบบกระจาย เป็ นการจัดให้พ้ืนที่ อานวยความสะดวกอยูก่ ระจายออกไปตามจุดต่าง ๆ ในพื้นที่ พบในการวางผังของกลุ่มโรงแรมที่ มีพ้นื ที่ขนาดใหญ่ สิ่ งอานวยความสะดวกที่มีความสัมพันธ์กนั อย่างชัดเจนกับทัศนียภาพของโรงแรม ได้แก่ พื้นที่สระว่ายน้ า และร้านอาหาร ซึ่งมักจะเป็ นจุดที่มีทศั นียภาพที่ดีมาก และเป็ นจุดเด่น จุดขาย ของโรงแรมด้วย นอกจากนี้ในบริ เวณสระว่ายน้ าก็มกั จะมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับพื้นที่บริ การ ฟิ ตเนส และสปา สามารถเดินเชื่อมถึงกันได้อย่างสะดวก ถึงแม้นว่าพื้นที่ดงั กล่าวจะไม่ตอ้ งการ ทัศนี ยภาพที่ดีเท่ากลับบริ เวณสระว่ายน้ าและร้านอาหาร เนื่ องจากพื้นที่สิ่งอานวยความสะดวก


84

ภายในโรงแรมนั้นจัดว่าเป็ นพื้นที่สาธารณะสาหรับลูกค้า ดังนั้นจึงสามารถเชื่อมโยงกับเคาน์เตอร์ เช็คอินได้อย่างสะดวก โดยไม่ตอ้ งเดินผ่านห้องพัก 4.6.3 บริ เวณของพื้นที่ทางเข้าและที่จอดรถ พื้นที่ทางเข้าและที่จอดรถจะอยู่ดา้ นหน้าของโรงแรมและติดกับพื้นที่เคาน์เตอร์ เช็คอิน และโถงต้อนรั บ จากการศึ ก ษา สามารถจาแนกรู ปแบบของการวางผังบริ เวณ ที่ จอดรถของ โรงแรมได้ดงั นี้ 4.6.3.1 พื้นที่ทางเข้าระยะสั้น เข้าสู่ที่จอดรถใต้อาคารโรงแรม พบในโรงแรมในเมืองที่มี พื้นที่จากัด ที่ต้ งั อยูใ่ นเขตเมือง ทั้งนี้เพื่อเพิ่มประสิ ทธิภาพในการใช้พ้นื ที่ให้สูงขึ้น 4.6.3.2 พื้นที่ทางเข้าระยะยาว เข้าสู่ ที่จอดรถนอกอาคารแยกเป็ นสัดส่ วนชัดเจน เข้าถึง ได้สะดวกจากทางเข้าด้านหน้า ซึ่ งโรงแรมประเภทรี สอร์ ทส่ วนใหญ่จะมีรูปแบบของที่จอดรถ แบบนี้ 4.6.4 บริ เวณของพื้นที่สีเขียว สวนสาธารณะ และสวนตกแต่ง โรงแรมประเภทรี สอร์ ทจะให้ความสาคัญต่อสวนหรื อพื้นที่สีเขียวภายในโรงแรมเป็ น อย่างมาก ส่ วนใหญ่จะมีพ้ืนที่ที่เป็ นสัดส่ วนขนาดใหญ่ และมีการจัดภูมิทศั น์อย่างสวยงามตาม แนวคิดของโรงแรม พื้นที่เหล่านี้นอกจากจะช่วยสร้างทัศนียภาพที่สวยงามและเป็ นพื้นที่พกั ผ่อน หย่อนใจแล้วยังอาจมีประโยชน์ใช้สอยอื่น ๆ อีกหลายประการ เช่น เป็ นลานโล่งอเนกประสงค์ เป็ นพื้นที่จดั กิจกรรมวัฒนธรรมประเพณี ต่าง ๆ เป็ นต้น จากการศึกษาสามารถจาแนกรู ปแบบการ วางผังบริ เวณของพื้นที่สีเขียว สวนสาธารณะ และสวนตกแต่ง ดังนี้ 4.6.4.1 พื้นที่สนามหญ้าโล่ง พบในบริ เวณคอร์ ทของอาคาร และพื้นที่เอนกประสงค์ สาหรับทากิจกรรม มักจะได้รับการดูแลตัดหญ้าอย่างเรี ยบร้อยสวยงามตลอดเวลา 4.6.4.2 พื้นที่สวนสาธารณะ พบในโรงแรมที่มีขนาดพื้นที่ขนาดกลางและขนาดใหญ่ เป็ นพื้นที่สามารถจัดกิจกรรมได้หลากหลาย เช่น การเดินเล่นพักผ่อนหย่อนใจ การออกกาลังกาย การถ่ายภาพ การจัดกิจกรรมในโอกาสพิเศษ เป็ นต้น 4.6.4.3 พื้นที่สวนตกแต่ง มีหลายหลายขนาด ตั้งแต่ขนาดเล็ก ไปจนถึงขนาดใหญ่ พบ บริ เวณพื้นที่ติดกับอาคาร พื้นที่ส่วนต้อนรับด้านหน้า เป็ นต้น 4.6.4.4 พื้นที่ธรรมชาติ พบในโรงแรมที่ต้ งั อยู่ในพื้นที่ธรรมชาติ สามารถจัดกิจกรรม เพื่อให้ลูกค้าได้สัมผัสกับธรรมชาติได้ เช่น กิจกรรมนอนเต้นท์ ชมช้าง เป็ นต้น


85

ภาพที่ 8 ลานสนามหญ้าและต้นไม้ใหญ่ ภายในโรงแรมอนันตรา เชียงใหม่ รี สอร์ท ที่มา : จากการสารวจของผูว้ ิจยั , 2561

ภาพที่ 9 กิจกรรมเลี้ยงช้าง ในพื้นที่ป่าธรรมชาติของโรงแรม อนันตรา สามเหลี่ยมทองคา แคมป์ ช้าง แอนด์ รี สอร์ท ที่มา : Steve Cukrov (2021). A Mahout feeding elephants at the Anantara Golden Triangle Elephant Camp. Shutterstock.Com. https://www.shutterstock.com/th/image-photo/chiang-raithailand-january-8-2017-1952305003


86

4.6.5 การวางผังบริ เวณของพื้นที่บริ การ เนื่ องจากในการเก็บข้อมูลนี้ ไม่สามารถเก็บข้อมูลในพื้นที่ส่วนบริ การ (Back of House) ได้ครบถ้วน เนื่ องจากอยู่ในช่วงการระบาดของโรคติดเชื้อโคโรน่าไวรัส 2019 จึงไม่อาจสรุ ปผล ที่ชดั เจนได้ แต่จากการสังเกตพบว่า พื้นที่ส่วนบริ การนั้นมีท้ งั ส่ วนสอดแทรกไปกับอาคารหลัก ของโรงแรม อาจจะแยกโซนด้วยการเปลี่ยนระดับ หรื อการแยกทางเข้าออกคนละทาง และมีส่วน ที่แยกออกมาต่างหากอย่างชัดเจนในบางโรงแรม


บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 5.1 ที่มา ประเด็นปัญหา และข้ อมูลพืน้ ฐานของโครงการ โรงแรมประเภทรี ส อร์ ท นับว่าเป็ นองค์ก รภาคเอกชนที่ มี ส่ วนส าคัญ ในการรองรั บ นักท่องเที่ยวที่เดินทางท่องเที่ยวในจังหวัดต่าง ๆ ช่วยสนับสนุนธุ รกิจการท่องเที่ยวของไทยที่ สามารถนารายได้เข้าสู่ประเทศอย่างมหาศาลในช่วงยุคก่อนการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโร น่า 2019 และถึงแม้ในปัจจุบนั นี้จะเกิดภาวะชะงักงันของธุรกิจการท่องเที่ยว แต่ก็เป็ นที่คาดการณ์ ได้ว่า เมื่ อภาวะโรคระบาดนี้ คลี่ คลายลง ผูค้ นจะหันมาเดิ นทางท่องเที่ ยวกันอี กครั้ ง หนึ่ ง การ ออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรมโรงแรมประเภทรี สอร์ ทนั้นเป็ นงานที่ภูมิสถาปนิ กและนักศึกษาควร พัฒนาความรู ้และทักษะในการออกแบบให้มีความเชี่ ยวชาญชานาญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้อมูล ความรู ้ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนารายละเอียดของโครงการ ในงานวิจยั ชิ้นนี้ ทาการศึกษาโรงแรม ประเภทรี สอร์ ทที่ได้รับมาตรฐานในระดับ 4 ดาว และ 5 ดาว อยู่ 9 แห่ ง (สมาคมโรงแรมไทย, 2563)โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษารายละเอียดของโรงแรมประเภทรี สอร์ ทระดับ 4 ดาวและ 5 ดาวในภาคเหนือของประเทศไทย ในด้านต่าง ๆ ประกอบด้วย รายละเอียดของโครงการ ประเภท และขนาดพื้นที่ของห้องพัก สัดส่ วนของพื้นที่ใช้สอยแต่ละประเภท การวางผังและความสัมพันธ์ ของพื้ น ที่ ใ ช้ส อยแต่ ล ะประเภท ทั้ง นี้ เพื่ อ น ามาสรุ ป และอภิ ป รายผลถึ ง จุ ด อ่ อ นจุ ด แข็ ง และ ข้อเสนอแนะ ในการพัฒนาการจัดทารายละเอียดโครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรม ของ โรงแรมประเภทรี สอร์ทในเขตภาคเหนือ ต่อไปในอนาคตข้างหน้า ในการศึกษาครั้งนี้ ผูว้ ิจยั ทาการเลือกพื้นที่ศึกษา ได้แก่โรงแรมประเภทรี สอร์ ทที่ได้รับ มาตรฐานในระดับ 4 ดาวและ 5 ดาวจานวน 9 แห่ ง (สมาคมโรงแรมไทย, 2563) ตั้งอยู่ในเขต จังหวัดเชียงราย 4 แห่งและในเขตจังหวัดเชียงใหม่ 5 แห่ง โดยเป็ นการกาหนดกลุ่มตัวอย่างแบบ ไม่ใช้ความน่าจะเป็ น โดยการเลือกแบบมีจุดประสงค์ เครื่ องมือสาหรับใช้ในงานวิจยั ชิ้นนี้ ได้แก่ แบบสารวจแผนผังพื้นฐาน (Base Map) และแบบสารวจแบบเช็ครายการ เพื่ อสารวจรายละเอียด องค์ประกอบของโครงการโรงแรมประเภทรี สอร์ท ขั้นตอนการศึ ก ษา เริ่ ม ต้นจากการเก็บ รวบรวมข้อมูล ทุติยภู มิ จากเอกสารวิ ชาการที่ เกี่ยวข้อง จากเว็บไซต์อย่างเป็ นทางการของโรงแรมทั้ง 9 แห่ง รวมไปถึงการสร้างแผนผังพื้นฐาน Base Map) ข้อ มู ล ภาพถ่ า ยทางอากาศ จาก Application : Google Earth Pro นอกจากนี้ ยัง เก็ บ ข้อ มู ล ปฐมภู มิ จ ากการส ารวจ ใช้ก ารจดบัน ทึ ก และถ่ า ยภาพ สภาพภู มิ ทัศ น์ จ ากการส ารวจ


88

ภาคสนาม และจากภาพถ่ายทางอากาศ และทาการบันทึกลงบนแผนผังพื้นฐาน (Base Map) ใน ที่สุดจึงนาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ขอ้ มูลและประมวลผลเพื่อหาข้อสรุ ป ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจยั ได้พฒั นาองค์ความรู้ในด้านภูมิสถาปั ตยกรรม เกี่ ย วกับ การพัฒ นารายละเอี ย ดของโครงการโรงแรมประเภทรี ส อร์ ท ในประเทศไทยน า ผลการวิจยั ไปประยุกต์ใช้ ช่วยพัฒนาและเพิ่มคุณภาพสิ่ งอานวยความสะดวก ในอุตสาหกรรม การท่องเที่ยวของประเทศไทย 5.2 ผลการวิจัย 5.2.1 ลักษณะทางกายภาพของขนาดและสถานที่ต้ งั 5.2.1.1 ขนาดของพื้นที่ไม่มีผลต่อมาตรฐานการให้บริ การของโรงแรมอย่างชัดเจน ทั้งนี้ จากการศึกษาพบว่าโรงแรมประเภทรี สอร์ ทระดับ 4-5 ดาวในเขตภาคเหนือของประเทศไทย มี ความหลากหลายในเรื่ องของขนาดของพื้นที่ โดยสามารถจาแนกออกได้เป็ น 3 ขนาดพื้นที่ ได้แก่ โรงแรมที่ มีพ้ืนที่ ขนาดเล็ก ประมาณ 1 - 5 ไร่ (33.33%) โรงแรมที่ มีพ้ืนที่ ขนาดกลาง มี ขนาด ตั้งแต่ 6 - 10 ไร่ (33.33%) และโรงแรมบนพื้นที่ขนาดใหญ่ ซึ่ งมีมีขนาดพื้นที่ต้ งั แต่ 11 ไร่ ข้ ึนไป (33.33%) โรงแรมประเภทรี สอร์ ท ทั้งในระดับ 4 ดาว และ 5 ดาว ต่างก็มีขนาดพื้นที่ในทุกขนาด ตั้งแต่ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ไปจนถึงขนาดใหญ่ 5.2.1.2 ลักษณะทางกายภาพของสถานที่ต้ งั ของโรงแรมประเภทรี สอร์ ท ในระดับ 4-5 ดาว เรี ยงลาดับจากลักษณะที่มีความเด่นชัดมากที่สุดตามลาดับดังนี้ ความสัมพันธ์เชื่ อมโยงกับ สถานที่ ท่ อ งเที่ ย ว ไม่ ว่ า จะเป็ นสถานที่ ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วัฒ นธรรมในพื้ น ที่ เ มื อ ง หรื อ สถานที่ ท่องเที่ยวเชิ งธรรมชาติ (100%) ลักษณะของพื้นที่ที่เป็ นพื้นที่ ราบ มีทางเข้าออกจากถนนสาย หลัก คิดเป็ น (88.87%) มี สถานที่ ต้ งั อยู่ในพื้นที่ เขตเมื อง (77.78%)ทัศนี ยภาพทางธรรมชาติที่ สวยงามของพื้นที่ ริมแม่น้ า (66.67) ส่ วนลักษณะทางกายภาพที่ พ บน้อยในการศึ กษานี้ ไ ด้แก่ ลักษณะพื้นที่ที่อยูน่ อกเมือง (22.22%) และลักษณะพื้นที่ที่มีความลาดชัน (22.22%) 5.2.2 รู ปแบบของโรงแรม 5.2.2.1 โรงแรมกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่จะเป็ นโรงแรมขนาดเล็ก (67%) คือมีจานวนของ ห้องพักน้อยกว่า 150 ห้อง โรงแรมในกลุ่มนี้ มีจานวนห้องพักโดยเฉลี่ย 65 ห้อง รองลงมาคือ โรงแรมขนาดใหญ่ (22 %) ซึ่งมีหอ้ งพัก อยูร่ ะหว่าง 300 ถึง 599 ห้อง โรงแรมในกลุ่มนี้ มีจานวน ห้องพักโดยเฉลี่ย 377 ห้อง และน้อยที่สุดคือโรงแรมขนาดกลาง (11%) ซึ่งมีห้องพัก อยู่ระหว่าง


89

150-299 ห้อง โรงแรมในกลุ่ ม นี้ มี จานวนห้องพัก โดยเฉลี่ ย 271 ห้อง ในกลุ่มตัวอย่างไม่มี โรงแรมใดที่มีขนาดใหญ่มาก ซึ่งมีจานวนห้องพักตั้งแต่ 600 ห้องขึ้นไป 5.2.2.2 เมื่อศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างจานวนของห้องพักของโรงแรมกับขนาดของ พื้นที่ดิน รวมไปถึงระดับของการให้บริ การ (ระดับดาว) ของโรงแรม ไม่พบหลักฐานที่แสดงถึง ความสัมพันธ์กนั อย่างชัดเจน ทั้ง 3 ปั จจัยนี้ มีแนวโน้มที่ จะเป็ นอิ สระไม่ข้ ึนต่อกัน โดยสังเกต พบว่า ในกลุ่มโรงแรมขนาดเล็ก (มีห้องพักน้อยกว่า 150 ห้อง) จะมีท้ งั โรงแรมในระดับ 4 ดาว และ 5 ดาวปะปนกัน และมีขนาดพื้นที่ดินตั้งแต่ขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ คือตั้งแต่ 5 ไร่ ไปจนถึง 406 ไร่ สาหรับกลุ่มโรงแรมขนาดกลาง (มีห้องพัก 150-299 ห้อง) มีเพียงโรงแรม เดียวเท่านั้น โดยมีพ้ืนที่ดินขนาดกลาง ในขณะที่ กลุ่มโรงแรมขนาดใหญ่ (มีห้องพัก 300-599 ห้อง) กลับตั้งอยูบ่ นพื้นที่ดินขนาดเล็ก 5.2.2.3 การเลือกสถานที่ต้ งั ของรี สอร์ทส่ วนใหญ่จะเน้นในพื้นที่เขตเมือง (78%) มากกว่า พื้นที่นอกเมือง (22% ) แต่อย่างไรก็ดีลกั ษณะทางกายภาพที่สาคัญไม่วา่ จะอยู่ในหรื อนอกเมืองก็ ตามก็คือสภาพธรรมชาติ ที่สวยงาม ซึ่ งในภาคเหนื อจะเป็ นริ ม น้ า แล้วก็ เนิ นเขา ซึ่ งในจานวน โรงแรมในเขตเมืองทั้งหมด พบว่าเป็ นโรงแรมที่อยูต่ ิดริ มแม่น้ า มีทศั นียภาพริ มน้ าที่สวยงาม มาก ถึง 45 % ส่ วนอีก 33% นั้นเป็ นโรงแรมที่อยูใ่ นย่านกลางเมืองท่องเที่ยว 5.2.2.4 โรงแรมที่ ส ร้ า งอยู่ใ นพื้ นที่ ช านเมื องและพื้นที่ ธรรมชาติ มี แนวโน้ม ที่ จะเป็ น โรงแรมที่มีพ้นื ที่ขนาดใหญ่กว่าโรงแรมที่สร้างอยูใ่ นพื้นที่เขตเมือง และมีจานวนห้องพักน้อยกว่า 150 ห้อง (จัดเป็ นโรงแรมขนาดเล็กหากจาแนกตามจานวนห้องพัก) ทั้งนี้ พบว่าโรงแรมในพื้นที่ เขตเมือง สร้างอยูใ่ นพื้นที่ดินขนาดเล็กและขนาดกลาง คือตั้งแต่ 5 ไร่ ไปจนถึง 27 ไร่ โดยมีความ หลากหลายของจานวนห้องพักในทุกขนาด คือมีจานวนห้องพักตั้งแต่ 30 ห้องไปจนถึง 383 ห้อง ในขณะที่โรงแรมที่ต้ งั อยู่ในพื้นที่ชานเมืองและพื้นที่ธรรมชาติ สร้างอยู่ในพื้นที่โครงการขนาด กลางไปจนถึงขนาดใหญ่ คือตั้งแต่ 21 ไร่ ไปจนถึง 406 ไร่ และทั้งหมดจัดอยู่ในกลุ่มโรงแรมที่มี จานวนห้องพักน้อยกว่า 150 ห้อง 5.2.2.4 รู ปแบบของการบริ หารงานมีผลต่อขนาดของโรงแรมทั้งขนาดของที่ ดินและ ขนาดของห้องจานวนห้อง โดยจากการวิเคราะห์ขอ้ มูลพบว่า กลุ่มตัวอย่างโรงแรมประเภทรี สอร์ ทระดับ 4-5 ดาว ในเขตภาคเหนื อนั้น ส่ วนใหญ่น้ นั เป็ น โรงแรมในเครื อข่าย (Chain Hotels) ซึ่ง มีการบริ หารงานโดยบริ ษ ทั แม่ (Parent Company) คิดเป็ นร้อยละ 78 มีความหลากหลายของ ขนาดของโรงแรม ไม่วา่ จะเป็ นการจาแนกจากจานวนห้องพัก และการจาแนกโดยขนาดของที่ดิน ก็ตาม พบโรงแรมทั้ง 3 กลุ่มคือโรงแรมขนาดเล็กขนาดกลางไปจนถึงขนาดใหญ่ สาหรับโรงแรม ที่บริ หารงานอย่างอิสระ (Independent Hotels) ซึ่ งเป็ นการบริ หารงานโดยคณะบุคคลอย่างเป็ น


90

อิ สระไม่ข้ ึนอยู่กับโรงแรมอื่ น พบเพียงร้ อยละ 22 จากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมดเท่า นั้น และเป็ น โรงแรมขนาดเล็ก 100% ทั้งการจาแนกจากจานวนห้องพักและจาแนกโดยขนาดของที่ดิน 5.2.3 กลุ่มผูใ้ ช้และกิจกรรม 5.2.3.1 ในช่วงระหว่าง ปี พ.ศ. 2563-2564 นับตั้งแต่วิกฤตการระบาดของโรคติ ดเชื้ อ ไวรัสโคโรน่า 2019 ในช่วงต้นปี 2562 เป็ นต้นมา สัดส่ วนของนักท่องเที่ยวชาวไทยจะเพิ่มสู งขึ้น เมื่อเปรี ยบเทียบกับนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติซ่ ึงจะมีสัดส่ วนลดลงจากเดิม และรู ปแบบของการ ท่องเที่ยวก็จะเปลี่ยนไปเพื่อตอบสนองต่อ New Normal โดยที่มีการท่องเที่ยวโดยรถยนต์มากขึ้น กว่าการเดินทางประเภทอื่น ๆ ทั้งนี้ เพื่อหลีกเลี่ยงการสัมผัสใกล้ชิดกับคนอื่น มีการท่องเที่ยวใน ระยะสั้นมากขึ้น รายได้จากนักท่องเที่ยวไทยจะกลายเป็ นรายได้หลัก โดยจะมีสัดส่ วนกว่า 60% ในปี พ.ศ. 2563-2564 (พชรพจน์ นันทรามาศ และคณะ, 2563) 5.2.3.2 วัตถุป ระสงค์ข องการมาท่องเที่ ยวในของนัก ท่องเที่ ยว ส่ วนใหญ่คือการมา พักผ่อนหย่อนใจ รองลงมาคือการมาประชุมอบรมสัมมนา กิจกรรมที่เป็ นที่นิยมของนักท่องเที่ยว ชาวไทย ได้แก่ การรับประทานอาหาร การท่องเที่ยวในเชิงการผจญภัย การชมเทศกาลประจาปี และการซื้อสิ นค้าพื้นเมือง (ศรัญญา สรรพมิตรและศิวฤทธิ์ สุ นทรเสณ, 2563) ส่วนกิจกรรมที่เป็ น ที่นิยมของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ได้แก่ การท่องเที่ยวผจญภัยสารวจพื้นที่แปลกใหม่ โดยนิ ยม การเดินทางด้วยตนเอง จากการวางแผนล่วงหน้า ซึ่งสามารถปรับเปลี่ยนได้ตามใจตน (สุ ริวสั สา นาริ นคา และ คณะ, 2557) 5.2.4 รายละเอียดของโครงการ 5.2.4.1 สิ่ งอานวยความสะดวกขั้นพื้นฐานสาหรับโรงแรมรี สอร์ทระดับมาตรฐาน 4 ดาว นั้น ประกอบด้ว ย ที่ จ อดรถ สระว่ า ยน้ า ห้ อ งอาหาร ร้ า นกาแฟ ศู น ย์ธุ ร กิ จ ภัต ตาคาร และ เคาน์เตอร์ ส่วนต้อนรับด้านหน้า นอกจากนี้ ยงั พบสิ่ งอานวยความสะดวกพิเศษอื่นๆที่พบเฉพาะ บางโรงแรมซึ่ งจัดไว้ให้แก่ลูกค้า เช่น บาร์ และเลานจ์ (Bar & Lounge) ห้องจัดเลี้ยง บริ การสปา ศูนย์ฟิตเนส ห้องประชุมขนาดเล็กและขนาดใหญ่ ส่วนบริ การซักรี ด เป็ นต้น 5.2.4.2 โรงแรมประเภทรี สอร์ทระดับมาตรฐาน 5 ดาว มีสิ่งอานวยความสะดวกค่อนข้าง ครบครันมากกว่าโรงแรมมาตรฐานระดับ 4 ดาว และในการให้บริ การประเภทเดียวกันยังพบ รายละเอียดการให้บริ การที่มีทางเลือกที่หลากหลายมากกว่าอีกด้วย สิ่ งอานวยความสะดวกที่มีใน ทุกโรงแรมมาตรฐานระดับ 5 ดาวประกอบด้วย ที่จอดรถ สระว่ายน้ า บาร์และเลานจ์ ห้องจัดเลี้ยง บริ การสปา ศูนย์ฟิตเนส ศูนย์ธุรกิจ ภัตตาคาร ส่ วนบริ การอาหารเช้า ห้องประชุมขนาดเล็กและ


91

ขนาดใหญ่ เคาน์เตอร์ ส่วนต้อนรับด้านหน้า ส่ วนบริ การซักรี ด นอกจากนี้ ยงั มีสิ่งอานวยความ สะดวกอื่น ๆ เพิ่มเติมในบางโรงแรมเช่น ร้านกาแฟ ร้านเครื่ องดื่มริ มสระว่ายน้ า ห้องเก็บกระเป๋ า เดินทาง ห้องเลี้ยงเด็กอ่อน ร้านจาหน่ายของที่ระลึก ห้องโยคะ บาร์บนดาดฟ้ า (Rooftop Bar) และ ศูนย์อนุรักษ์ชา้ ง เป็ นต้น 5.2.4.3 ประเภทของห้องพักในรี สอร์ทระดับ 4 ดาวถึง 5 ดาว สามารถแบ่งออกได้เป็ น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือห้องพักประเภทห้องพักเดี่ยวไม่มีห้องแยก เรี ยกว่าห้องพักแบบดีลกั ซ์หรื อสุพีเรี ยร์ และห้องพักประเภทห้องชุด คือมีห้องนอนพร้อมด้วยส่ วนรับแขก พักผ่อน หรื อทางานขนาด ใหญ่ ประกอบกับห้องนอน เรี ยกว่าห้องพักประเภทห้องสวีท ทุกโรงแรมจะมีห้องพักให้เลือก หลากหลายประเภท ตามความต้องการของลูกค้า 5.2.4.4 ขนาดของโรงแรมที่ จาแนกตามจานวนของห้ องพัก นั้น มี ค วามสั ม พันธ์ กับ สัดส่วนของประเภทของห้องพักในโรงแรม กล่าวคือ ในกลุ่มโรงแรมที่มีจานวนห้องพักมากกว่า จะมีสัดส่ วนจานวนห้องนอนเดี่ยวเพิ่มมากขึ้นเมื่อเปรี ยบกับจานวนห้องสวีท จากการวิเคราะห์ สัดส่ วนห้องพักในโรงแรมขนาดต่าง ๆ โดยเฉลี่ย จะพบว่า ในโรงแรมขนาดเล็ก (<150 ห้อง) มี สัดส่วนของจานวนห้องนอนเดี่ยว (ดีลกั ซ์และ สุพีเรี ยร์) ต่อจานวนห้องชุด หรื อห้องสวีท คิดเป็ น ร้อยละ 72.69 และ 27.30 ตามลาดับ อย่างไรก็ดี ในโรงแรมขนาดกลาง (150-299 ห้อง) สัดส่วน ของจานวนห้องนอนเดี่ยวจะเพิ่มมากขึ้นในขณะที่ห้องสวีทมีสัดส่ วนที่ลดลง เมื่อเปรี ยบเทียบกับ ที่พบในโรงแรมขนาดเล็ก คิดเป็ นร้อยละ 84.46 และ 12.54 ตามลาดับ สาหรับโรงแรมขนาด ใหญ่ (300-599 ห้อง) นั้น พบว่ามีสัดส่ วนของจานวนห้องนอนเดี่ยวต่อห้องสวีท เพิ่มยิง่ ขึ้น เมื่อ เปรี ยบเทียบกับโรงแรมขนาดเล็กกว่า คิดเป็ นร้อยละ 89.55 และ 10.45 ตามลาดับ 5.2.4.5 ระดับมาตรฐานของโรงแรม มีความสัมพันธ์กบั สัดส่ วนของปริ มาณห้องพักแต่ ละประเภทในโรงแรมเมื่อพิจารณาผลการวิเคราะห์สัดส่ วนของจานวนห้องพักแต่ละประเภทใน โรงแรมโดยเปรี ยบเทียบระหว่างโรงแรมมาตรฐานระดับ 4 ดาว กลับโรงแรมมาตรฐานระดับ 5 ดาว จะพบว่า ในโรงแรมที่ มี ม าตรฐานระดับ 5 ดาวนั้นจะมี สั ดส่ วนของจานวนห้องชุ ด หรื อ ห้องสวีทสู งกว่าที่พบในโรงแรมอาหารระดับ 4 ดาว โดยมีสัดส่ วนของจานวนห้องพักประเภท ห้องนอนเดี่ยว ร้อยละ 72.79 ห้องชุดหรื อห้องสวีท ร้อยละ 27.21 ในขณะที่สัดส่ วนจานวน ห้องพักในโรงแรมมาตรฐานระดับ 4 ดาวนั้นจะพบว่ามี สั ดส่ วนของจานวนห้องพักประเภท ห้องนอนเดียว ในระดับที่สูงกว่า คือร้อยละ 75.63 และห้องชุดหรื อห้องสวีท ร้อยละ 24.37 5.2.4.6 ขนาดของห้องพักประเภทห้องสวีทมีขนาดใหญ่กว่าห้องพักประเภทของพัก เดี่ ยวตั้งแต่ 2 เท่าขึ้นไป โดยห้องพักประเภทดี ลกั ซ์ มี ขนาดตั้งแต่ 28 ตารางเมตร ไปจนถึง 60 ตารางเมตร ส่ วนห้องพักประเภทห้องสวีท มีขนาดตั้งแต่ 56 ตารางเมตร ไปจนถึงห้องพักขนาด


92

ใหญ่ถึง 250 ตารางเมตรเลยทีเดียว โรงแรมขนาดใหญ่ที่มีหอ้ งพักจานวนมาก จะแบ่งประเภทของ ห้องพักให้ลูกค้าได้เลือกใช้ หลากหลายประเภทมากขึ้น เช่นเดียวกัน 5.2.4.7 จากการศึ ก ษาไม่ส ามารถวิ เคราะห์ ส รุ ปเพื่ อหาความสัม พันธ์ ระหว่า งพื้นที่ ของ ห้องพักกับราคาอย่างชัดเจน เนื่องจากอยูใ่ นช่วงวิกฤตการณ์โรคระบาดของไวรัสโคโรน่า 19 ทา ให้ราคาของห้องพักผันผวนเป็ นอันมาก แต่ก็พอจะได้ขอ้ สรุ ป คร่ าว ๆ ว่าห้องพักที่มีขนาดใหญ่ กว่า จะมีราคาสูงกว่าเมื่อเปรี ยบเทียบในโรงแรมเดียวกัน และห้องพักที่มีทศั นียภาพทางธรรมชาติ ที่สวยงาม จะมีราคาสู งกว่าห้องอื่น ๆ ที่มีขนาดและสิ่ งอานวยความสะดวกเหมือนกัน นอกจากนี้ แล้วห้องพักของโรงแรมระดับ 4 ดาวจะมีราคาถูกกว่าโรงแรมระดับ 5 ดาวอย่างเห็นได้ชดั 5.2.5 การจัดสรรพื้นที่ใช้สอยแต่ละประเภท 5.2.5.1 ขนาดของพื้นที่อาคารห้องพัก และสิ่ งอานวยความสะดวกนั้นไม่ได้แปรผันตาม ขนาดของพื้นที่ดินเป็ นหลัก ด้วยเหตุน้ ี ถึงแม้นที่ดินมีขนาดใหญ่ข้ ึนพื้นที่ดงั กล่าวดังกล่าวก็ไม่ได้ เพิ่มขนาดขึ้นตามไปในกรณี ของโรงแรมที่ต้ งั อยู่ในพื้นที่ขนาดเล็กจะมีสัดส่ วนการใช้พ้ืนที่นอก อาคารในส่ วนดังกล่าวนั้นสู งกว่าในโรงแรมที่อยู่บนพื้นที่ขนาดกลางและขนาดใหญ่ และจะลด สั ดส่ วนลงเมื่ อมี พ้ื นที่ ข นาดใหญ่ ข้ ึ น ในขณะที่ สั ดส่ วนของพื้ นที่ ท างเข้า และที่ จอดรถนั้นไม่ แตกต่างกันมากนักเมื่อเทียบกันระหว่างพื้นที่ดิน ส่ วนพื้นที่สวนแล้วพื้นที่สีเขียวนั้นจะมีสัดส่ วน ของพื้นที่มากขึ้นอย่างเด่นชัดหากโรงแรมนั้นตั้งอยูใ่ นพื้นที่ขนาดใหญ่ 5.2.5.1 จานวนห้องพัก ไม่ส่งผลอย่างมีนยั ยะสาคัญต่อสัดส่ วนพื้นที่ใช้สอยนอกอาคาร เมื่อพิจารณาสัดส่ วนพื้นที่ใช้สอยนอกอาคาร (Zoning) คิดเป็ นร้อยละจากพื้นที่ท้ งั หมด เรี ยงตาม ขนาดของโรงแรมตามจานวนห้องพัก 5.2.6 รู ปแบบของการวางผังบริ เวณและความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่ 5.2.6.1 บริ เวณกลุ่มอาคารที่พกั 1) จากการศึกษาสามารถสรุ ปลักษณะของการวางผังบริ เวณกลุ่มอาคารที่พกั ดังนี้ 1.1) โรงแรมขนาดเล็กซึ่งมีจานวนห้องพักน้อยกว่า 150 ห้อง มีรูปแบบ การวางผังบริ เวณกลุ่มอาคารที่พกั 3 รู ปแบบ คือ 1.1.1) การจัดวางกลุ่มอาคารที่พกั เป็ นรู ปตัวยูหรื อตัววี 1.1.2) การจัดวางกลุ่มอาคารที่พกั แบบมีคอร์ทกลาง 1.1.3) การจัดวางกลุ่มอาคารที่พกั ตามแนวยาว


93

1.2) กลุ่มโรงแรมกลาง ซึ่ งมีจานวนห้องพัก 150-299 ห้อง และกลุ่ม โรงแรมขนาดใหญ่ซ่ ึงมีจานวนห้องพัก 300-599 ห้อง มีรูปแบบ การจัดวางกลุ่มอาคารที่พกั แบบ รวมศูนย์ 2) ปัจจัยที่สาคัญที่มีอิทธิ พลต่อการวางทิศทางหรื อตาแหน่งของห้องพักนั้น คือ ทัศนียภาพจากห้องพัก ซึ่งมีผลต่อราคาของห้องพัก เราสามารถจาแนกลักษณะได้ 2 ประเภท คือ 2.1) ทัศ นี ย ภาพในระยะไกล ได้แ ก่ ท างทัศ นี ย ภาพของเมื อ ง และ ทัศนียภาพของพื้นที่ธรรมชาติ 2.2) ทัศนี ยภาพในระยะใกล้ ได้แก่ สวนที่จดั สร้างขึ้นในโรงแรม และ สระว่ายน้ าของโรงแรม 5.2.6.2 บริ เวณสิ่ งอานวยความสะดวกภายในโรงแรม จากการศึ กษาพบรู ป แบบการวางผังบริ เวณของสิ่ ง อานวยความสะดวกแบบ รวมกลุ่ม ในโรงแรมที่มีพ้นื ที่ขนาดเล็กและขนาดกลาง และการวางผังแบบกระจายไปตามจุดต่าง ๆ พบในกลุ่มโรงแรมที่มีพ้ืนที่ขนาดใหญ่ เนื่ องจากพื้นที่สิ่งอานวยความสะดวกภายในโรงแรม นั้นจัดว่าเป็ นพื้นที่สาธารณะสาหรับลูกค้า ดังนั้นจึงสามารถเชื่อมโยงกับเคาน์เตอร์ เช็คอินได้อย่าง สะดวก โดยไม่ตอ้ งเดินผ่านห้องพัก และสามารถเข้าถึงได้สะดวกจากห้องพักด้วย 5.2.6.3 บริ เวณของพื้นที่ทางเข้าและที่จอดรถ รู ป แบบของการวางผัง บริ เ วณ ที่ จ อดรถของโรงแรม สามารถจ าแนกได้ 2 รู ปแบบ ตามลักษณะทางกายภาพของสถานที่ต้ งั ของโรงแรม สาหรับโรงแรมในเมืองที่มีพ้ืนที่ จากัด ที่ต้ งั อยู่ในเขตเมือง จะมีพ้ืนที่ทางเข้าระยะสั้น เข้าสู่ ที่จอดรถใต้อาคารโรงแรม อย่างไรก็ดี โรงแรมส่ วนใหญ่จะมี พ้ืนที่ทางเข้าระยะยาว เข้าสู่ ที่จอดรถนอกอาคารแยกเป็ นสัดส่ วนชัดเจน เข้าถึงได้สะดวกจากทางเข้าด้านหน้า 5.2.6.4 บริ เวณของพื้นที่สีเขียว สวนสาธารณะ และสวนตกแต่ง สวนหรื อพื้นที่สีเขียวภายในโรงแรมนอกจากจะช่วยสร้างทัศนี ยภาพที่สวยงาม และเป็ นพื้ น ที่ พ ัก ผ่ อ นหย่ อ นใจแล้ว ยัง อาจมี ป ระโยชน์ ใ ช้ส อยอื่ น ๆ อี ก หลายประการ จาก การศึกษาสามารถแบ่งประเภทออกเป็ น พื้นที่สนามหญ้าโล่ง พบในบริ เวณคอร์ทของอาคาร และ พื้นที่เอนกประสงค์สาหรับทากิจกรรม พื้นที่สวนสาธารณะ พบในโรงแรมที่มีขนาดพื้นที่ขนาด กลางและขนาดใหญ่ เป็ นพื้นที่ สามารถจัดกิ จกรรมได้หลากหลาย พื้นที่ สวนตกแต่ง มีหลาย หลาย พบบริ เวณพื้นที่ติดกับอาคาร พื้นที่ส่วนต้อนรับด้านหน้า เป็ นต้น และพื้นที่ธรรมชาติ พบ ในโรงแรมที่ต้ งั อยูใ่ นพื้นที่ธรรมชาติ สามารถจัดกิจกรรมเพื่อให้ลูกค้าได้สัมผัสกับธรรมชาติได้


94

5.2 อภิปรายผล ผลการวิจยั แสดงให้เห็นว่า ปั จจัยสาคัญที่ส่งผลต่อการพัฒนารายละเอี ยดโครงการของ โรงแรมระดับ 4-5 ดาวในเขตภาคเหนื อในเบื้ องต้น ได้แก่ รู ปแบบของการบริ หารงาน และ สภาพแวดล้อมทางกายภาพของพื้นที่ต้ งั โครงการ ปั จจัยทั้งสองประการนี้ จะส่ งผลต่อขนาดของ โรงแรมจาแนกตามจานวนห้องพัก และขนาดของพื้นที่ต้ งั ของโรงแรม โดยลักษณะรู ปแบบของ โรงแรมที่บริ หารงานด้วยระบบเครื อข่าย (Chain Hotels) จะมีความหลากหลายกว่าโรงแรมที่ บริ หารงานด้วยระบบอิส ระ (Independent Hotels) อย่างเห็ นได้ชัด ทั้งในด้านของขนาดของ โรงแรมจาแนกตามจานวนห้องพัก และขนาดของพื้นที่ต้ งั ของโรงแรม อย่างไรก็ดีท้ งั 2 รู ปแบบ นั้นต่างก็มีระดับมาตรฐานการให้บริ การทั้ง 4 ดาวและ 5 ดาว ส่ วนในด้านสภาพแวดล้อมทาง กายภาพของพื้นที่โครงการนั้น สิ่ งที่สาคัญคือโรงแรมจะต้องมีความสัมพันธ์กบั สถานที่ท่องเที่ยว โดยรอบ ไม่ว่าจะเป็ นสถานที่ท่องเที่ยวเชิ งวัฒนธรรมในเขตเมื อง หรื อสถานที่ท่องเที่ยวทาง ธรรมชาติ สอดคล้องกับการศึกษาของ นตธชา รัตนเพียร และคณะ (2559) ที่อธิบายว่า ปัจจัยด้าน ลักษณะทางกายภาพ ได้แก่ ทาเลที่ต้ งั ที่สามารถเดิ นทางไปในสถานที่ ท่องเที่ยวใกล้เคียงอย่าง สะดวกและปลอดภัย เป็ นปั จ จัย ส าคัญ หนึ่ ง ในหลายปั จ จัย ที่ มี ผ ลต่ อ การเลื อ กพัก แรมของ นักท่องเที่ยวในการพัฒนาการท่องเที่ ยวอย่างยัง่ ยืน จังหวัดเชี ยงใหม่ ในงานวิจยั ชิ้นนี้ สามารถ จาแนกลักษณะสภาพแวดล้อมทางกายภาพของพื้ นที่ ออกเป็ น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ กลุ่มแรกคื อ โรงแรมที่มีสภาพแวดล้อมทางกายภาพในพื้นที่ เขตเมื องซึ่ งมีลกั ษณะเป็ นที่ ราบเดิ นทางเข้าถึ ง สะดวก มีทศั นียภาพระยะไกลหรื อระยะใกล้ที่ส วยงาม ส่ วนใหญ่จะตั้งอยู่ริมแม่น้ า กลุ่มที่ 2 คือ โรงแรมที่มีสภาพแวดล้อมทางกายภาพในพื้นที่ นอกเมื องซึ่ งมีลกั ษณะของสภาพแวดล้อมทาง ธรรมชาติที่โดดเด่น โรงแรมในกลุ่มแรกมีปริ มาณมากกว่ากลุ่มที่ 2 และมีความหลากหลายของ ขนาดของโรงแรมเมื่อจาแนกตามจานวนที่พกั มากกว่าโรงแรมในกลุ่มที่ 1 แสดงให้เห็นถึงความ นิ ยมของกลุ่มนักท่องเที่ยวที่มากกว่า อย่างไรก็ดีเนื่ องจากอยู่ในเขตพื้นที่เมืองซึ่ งมีราคาที่ดินสู ง กว่าพื้นที่นอกเมือง ขนาดของพื้นที่จึงมีแนวโน้มที่จะมีขนาดเล็กกว่าโรงแรมในเขตพื้นที่ นอก เมือง ในการพัฒนารายละเอียดของสิ่ งอานวยความสะดวกภายในโรงแรม และสัดส่ วนของ ห้องพักแต่ละประเภทของโรงแรมในรายละเอียดนั้นจะต้องคานึงถึง มาตรฐานการให้บริ การของ โรงแรม (ระดับดาว) และขนาดของโรงแรมซึ่งจาแนกตามจานวนห้องพัก โรงแรมที่มีมาตรฐาน การให้บริ การระดับ 5 ดาว จะมีสิ่งอานวยความสะดวกที่พร้อมมูลและครบครันมากกว่าโรงแรมที่ มี ม าตรฐานระดับ 4 ดาว สอดคล้อ งกับ เกณฑ์ม าตรฐานโรงแรมประเภทรี ส อร์ ท (กรมการ


95

ท่องเที่ยว, 2557) สาหรับในเรื่ องของสัดส่ วนของห้องพักแต่ละประเภทของโรงแรมนั้น โรงแรม ขนาดใหญ่ที่มีจานวนห้องพักมาก จะมีสัดส่ วนของห้องสวีทต่อจานวนห้องพักเดี่ยวลดลงเมื่ อ เทียบกับโรงแรมขนาดเล็กกว่าที่มี จานวนห้องพักน้อยกว่า เมื่อเปรี ยบเทียบผลการศึก ษาของ งานวิ จัย ชิ้ นนี้ กับ งานวิ จัย ของดี รูส (2011) ซึ่ ง ท าการศึ ก ษารายละเอี ย ดโครงการโรงแรมใน ประเทศสหรั ฐ อเมริ ก าพบว่ า ขนาดเฉลี่ ย ของห้ อ งพัก แขกในโรงแรมประเภทรี ส อร์ ท ใน สหรั ฐอเมริ ก านั้น (36 ตร.ม.) มี ข นาดเล็ก กว่า ขนาดเฉลี่ ย ของห้องพัก ในประเทศไทย และมี สัดส่ วนของห้องสวีทต่อห้องพักเดี่ยวน้อยกว่าเมื่อเทียบกับโรงแรมประเภทรี สอร์ ทในประเทศ ไทย คือมีสัดส่ วนของห้องสวีทเพียง ร้อยละ 5 เท่านั้น ขณะที่ประเทศไทยมีจานวนสัดส่ วนของ ห้องสวีทถึงร้ อยละ 21.21 ในโรงแรมระดับมาตรฐาน 4 ดาว และร้อยละ 24.37 ในโรงแรม มาตรฐานระดับ 5 ดาว จะเห็นได้วา่ โรงแรมประเภทรี สอร์ทในประเทศไทยนั้นให้ความสาคัญกับ ความสะดวกสบาย ของนักท่องเที่ยวที่มาเป็ นครอบครัว หรื อนักธุรกิจ หรื อกลุ่มลูกค้าที่มีรายได้ สูงมากกว่าอย่างเห็นได้ชดั ในการวางผังพื้นที่ใช้สอยภายในโรงแรมนั้น คานึงถึงทัศนียภาพของโครงการที่มองออก จากห้องพัก และจากบริ เวณอื่น ๆ ภายในโครงการ ทั้งทัศนี ยภาพที่สร้างขึ้นและทัศนี ยภาพทาง ธรรมชาติ ทางเข้าออกและที่จอดรถ นอกจากนั้นจะต้องคานึ งถึงการเชื่อมโยงกับถนนใหญ่ และ ขนาดของพื้นที่ของโรงแรมที่ อานวยให้ การวางตาแหน่ งสิ่ งอานวยความสะดวกและตาแหน่ ง ของพื้นที่สีเขียว ขึ้นอยู่กบั รู ปแบบของการวางผังบริ เวณของโรงแรม และกิจกรรมที่เกิดขึ้นในรี สอร์ ท สาหรับพื้นที่สีเขียวเชิ งธรรมชาติ น้ นั ยังขึ้นอยู่กบั ลักษณะทางธรรมชาติด้ งั เดิมของพื้ นที่ โครงการอี ก ด้วย สอดคล้องกับ งานวิจัย ของวิเชี ย ร เจนตระกูล โรจน์ (2560) ซึ่ งอธิ บายแนว ทางการออกแบบรี สอร์ ทที่เป็ นมิตรกับสิ่ งแวดล้อม ในด้านการแบ่งพื้นที่ของรี สอร์ ท ตามความ ต้องการของนักท่องเที่ยว ที่ตอ้ งมาพักผ่อนหย่อนใจ สร้างปฏิสัมพันธ์ดว้ ยการให้บริ การและพื้นที่ ใช้ ส อยที่ มี ค วามเหมาะสม โดยมี ค วามสอดคล้ อ งกั บ สภาพ ภู มิ ป ระเทศ และส่ ง เสริ ม สภาพแวดล้อมที่ดีข้ นึ กับชุมชนโดยรอบ 5.3 ข้อเสนอแนะ 5.3.1 ข้อเสนอแนะในการนาผลการวิจยั ไปประยุกต์ใช้ การวิจยั ชิ้นนี้ จะเป็ นประโยชน์ต่อบุคคลและองค์กรที่เกี่ยวข้องอย่างกว้างขวาง ที่ใกล้ตวั ของผูว้ ิจยั ที่สุดก็คือคณาจารย์และนักศึกษาในหลักสูตรภูมิสถาปั ตยกรรม จะสามารถนาผลที่ได้น้ ี ไปใช้ในการเรี ยนการสอนในรายวิชาการออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรม อีกทั้งยังเป็ นประโยชน์ต่อ


96

ผู ้ป ฏิ บ ัติ ง านในวิ ช าชี พ ภู มิ ส ถาปนิ ก ซึ่ งจะน าเอาผลของงานวิ จัย ที่ ไ ด้ไ ปใช้ใ นการพัฒ นา รายละเอี ยดของโครงการโรงแรมประเภทรี สอร์ ทพื้นที่ ภาคเหนื อของประเทศไทย ให้มีความ สอดคล้องกับสภาพความเป็ นจริ งที่เกิดขึ้นในตลาดการโรงแรม นอกจากนี้ ยงั เป็ นประโยชน์ต่อ เจ้าของโครงการ ในการนาข้อมูลนี้ไปใช้เพื่อพัฒนาธุรกิจของตนเองต่อไป 5.3.2 ข้อเสนอแนะสาหรับการวิจยั ครั้งต่อไป งานวิจยั ชิ้ นนี้ มุ่งเน้นในเรื่ องของการจัดสรรพื้นที่ ใช้สอยในภาพรวมระดับกว้าง ด้วย ข้อจากัดของช่วงเวลาดาเนิ นการ งบประมาณในการวิจยั และการเกิดการระบาดของโรคติดต่อ ไวรัสโคโรน่า 2019 เมื่อพิจารณาถึงการดาเนินงานออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมโรงแรมประเทศรี สอร์ ททั้งหมดแล้ว ยังจะต้องพัฒนาไปให้มากขึ้นในด้านข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ ขนาดของพื้นที่ใช้ สอยประเภทอื่น ๆที่นอกเหนือไปจากห้องพักนักท่องเที่ยว และความสัมพันธ์ในรายละเอียดของ การใช้สอยพื้นที่เหล่านั้น นอกจากนี้ ยังสามารถดาเนิ นการวิจยั โดยเน้นไปที่กรณี ตวั อย่า งของ โรงแรมที่ต้ งั อยู่ในภูมิภาคอื่น ๆ ของประเทศไทย หรื อโรงแรมที่มีระดับมาตรฐานอื่น ๆ เหล่านี้ ล้านสามารถเป็ นหัวข้อการวิจยั ในอนาคตต่อไปได้


97

บรรณานุกรม กรมการท่องเที่ยว. 2557. มาตรฐานการท่องเที่ยวไทย มาตรฐานที่พกั เพือ่ การท่องเที่ยว เล่มที่ 1 ประเภทสถานพักตากอากาศ รีสอร์ ท ระดับ 5 ดาว. สานักงานกิจการโรงพิมพ์องค์การ สงเคราะห์ทหารผ่านศึก : กรุ งเทพฯ. 89 น. กรมการท่องเที่ยว. 2557. มาตรฐานการท่องเที่ยวไทย มาตรฐานที่พกั เพือ่ การท่องเที่ยว เล่มที่ 2 ประเภทสถานพักตากอากาศ รีสอร์ ท ระดับ 1-4 ดาว. สานักงานกิจการโรงพิมพ์องค์การ สงเคราะห์ทหารผ่านศึก : กรุ งเทพฯ. 69 น. กรองทอง อัมวงษ์. 2548. พฤติกรรมการใช้ บริการและความพึงพอใจของลูกค้ าที่มาใช้ บริการ โรงแรมในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วิทยานิพนธ์บริ หารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการ จัดการทัว่ ไป. มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรี อยุธยา: อยุธยา กระทรวงมหาดไทย. 2549. กฎกระทรวง กาหนดวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุม พ.ศ. 2549. กฎกระทรวง, เล่ม 123 ตอนที่ 70 ก พค 13, 1949 น. 15–9. ขวัญชนก สุวรรณพงศ์. 2559. การพัฒนาคุณภาพการบริการของโรงแรมในอาเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ตเพือ่ รองรับนักท่ องเที่ยวกลุ่มความสนใจพิเศษ. รายงานผลการวิจยั . มหาวิทยาลัย ราชพฤกษ์: ภูเก็ต จุล ธนศรี วนิชชัย และ อรุ ณ ศิริจานุสรณ์. 2553. ปัจจัยที่มีผลต่อการออกแบบและบริหารจัดการ ทรัพยากรกายภาพ กรณีศึกษา โรงแรมขนาดกลาง เขตจังหวัดแนวพืน้ ที่เศรษฐกิจ ตะวันออก-ตะวันตก. ดุษฎีนิพนธ์สาขาวิชาการจัดการ. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย สยาม: กรุ งเทพฯ. 193 น. นตธชา รัตนเพียร และคณะ. 2559. ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกพักแรมของนักท่องเที่ยวในการ พัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืน จังหวัดเชียงใหม่. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยรัตน บัณฑิต. มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต, (11) 1: 25–34. พชรพจน์ นันทรามาศ และคณะ. 2563. เจาะพฤติกรรมท่องเที่ยวใน New Normal: เมื่อโควิดทา ชีวิตเปลี่ยน. Krungthai COMPASS. จาก https://krungthai.com/Download/ economyresources/ EconomyResourcesDownload _450เจาะพฤติกรรมท่องเที่ยว ใน_New_Normal_เมื่อโควิดทาชีวิตเปลี่ยน_31_31_08_63.pdf . [30 สิ งหาคม 2564] ราชบัณฑิตยสถาน. 2554. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. นานมีบุ๊คส์ พับลิเคชัน่ ส์: กรุ งเทพฯ. 1484 น.


98

วิเชียร เจนตระกูลโรจน์, 2560. แนวทางการออกแบบรี สอร์ทที่เป็ นมิตรกับสิ่ งแวดล้อม : กรณีศึกษา Dhamajati Resort เขื่อนศรี นคริ นทร์ จังหวัดกาญจนบุรี. วิทยานิพนธ์ศิลป มหาบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการออกแบบและการจัดการโรงแรมและ อสังหาริ มทรัพย์. มหาวิทยาลัยศิลปากร : กรุ งเทพฯ. 86 น. ศรัญญา สรรพมิตร และศิวฤทธิ์ สุนทรเสณี 2563. พฤติกรรมการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวในจัง หวดเชียงใหม่. รายงานการประชุมนาเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา ครั้งที่ 15 ปี การศึกษา 2563, กรุ งเทพ, 13 สิ งหาคม: น. 415–423. สุริวสั สา นาริ นคา และ คณะ. 2557. พฤติกรรมและรู ปแบบของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ใน จังหวัดเชียงราย. วารสารวิทยาการจัดการ. มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย, (9) 1: 61–79. สานักงานส่งเสริ มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.). 2557. การแบ่งประเภทของที่พกั แรม. สสว. จาก https://www.sme.go.th/th/download.php?modulekey=224 [15 สิ งหาคม 2564] อภินทั ธ์ จูฬะติดตะ และ มัลลิกา จงศิริ. 2563. ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบทางกายภาพ และผูเ้ ข้าพักอาศัยโฮสเทลในกรุ งเทพมหานคร กรณีศึกษา ย่านถนนข้าวสาร. วารสาร สาระศาสตร์ . 3, 614-624 น. Alonso, A. D. and Ogle, A. Exploring design among small hospitality and tourism operations. Journal of Retail & Leisure Property. 7(4): pp. 325–337 Bender Stringam, B. 2008. A comparison of vacation ownership amenities with hotel and resort hotel amenities. Journal of Retail Leisure Property. 7(3): pp. 186–203 Britannica, T. Editors of Encyclopaedia. 2021. hotel. Encyclopedia Britannica. Britannica Available from: https://www.britannica.com/topic/hotel [2021 August 3] DeRoos, J. A. 2011. Planning and Programming a Hotel. In: Sturman, M.C., Corgel, J. B., and Verma, R. Cutting Edge Thinking and Practice. The Cornell School of Hotel Administration on hospitality. John Wiley & Sons, Inc: New York. pp. 500. Gianfaldoni, S., Tchernev, G., Wollina, U., Roccia, M. G., Fioranelli, M., Gianfaldoni, R., and Lotti, T. 2017. History of the Baths and Thermal Medicine. Open Access Macedonian Journal of Medical Sciences, 5(4), 566–568. Available from: https://doi.org/10.3889/oamjms.2017.126 [2021 August 7]


99

Guinness World Records. n.d. Oldest hotel. Guinness World Records. Retrieved February 22, 2021, Available from: https://www.guinnessworldrecords.com/world-records/oldesthotel [2021 August 7] Hassan, A. S. 2010. Development of Successful Resort Design with Vernacular Style in Langkawi, Malaysia. Asian Culture and History. 2(1), 85–96. Mill, R. C. 2011. Resorts: Management and Operation, 3rd Edition. New Jersey: John Wiley & Sons Inc.: New Jersey. pp. 496 Rabotic, B. 2014. Specia-Purpose Travel in Ancient Time : “Tourism” Before Tourism? the 2nd Belgrade International Tourism Conference (BITCO 2014). 99–114. Available from: https://doi.org/10.13140/2.1.2668.8647 [2021 August 9] Kasavana, M. L., Brooks, R. M. 2009. Managing Front Office Operations. (8th ed). American Hotel and Lodging Association: New York Sophie, R., & Philip, B. 2011. Resorts, A focus on Value. HVS. Available from : https://www.hvs.com/article/ 5066-resorts-a-focus-on-value [2021 August 9]


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.