รวมหัวข้อวิทยานิพนธ์ สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม พ.ศ. 2563

Page 1



รวมหัวข้อวิทยานิพนธ์ สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม พ.ศ. ๒๕๖๓ เห็นชอบโดย คณะกรรมการประจาหลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรม

รวบรวมโดย ผศ. จรัสพิมพ์ บุญญานันต์

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้



รายชื่อหัวข้อและประธานที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ภาคการศึกษาที่ 2/2562 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม (นักศึกษารหัส 59 ลงทะเบียนปรกติ) ลาดับ รหัส

ชื่อ-สกุล

ประเภทของโครงการ

ชื่อโครงการ

จอมพชร นามวงศ์ พรหม ธีรดนย์ พรมจันทึก

แหล่งท่องเที่ยวเรียนรู้เชิง เกษตร สถานบริการด้านสุขภาพ

ไร่ก๊าดินเปียงดาว อ. เชียงดาว จ. เชียงใหม่

กลุ่มที่ 1 1.

5919102501

2.

5919102516

3.

5919102522

4.

5919102524

สถานบริการเวชศาสตร์ชะลอวัย และการดูแล สุขภาพเชิงปูองกัน อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ ภาวินี สินศิริ แหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ แหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติและวัฒนธรรม และวัฒนธรรม เขาหน่อ-เขาแก้ว อ.บรรพตพิสัย จ.นครสวรรค์ รัชนีกร บัณฑราภิวัฒน์ สถานพักตากอากาศ วารัตดา รีสอร์ต แอนด์ เดสทิเนชัน่ สปา อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่

กลุ่มที่ 2 5.

5919102502

จินตกานต์ ยิ้มสาราญ สถานบริการด้านสุขภาพ

ศูนย์บาบัดผู้ปุวยด้วยสัตว์ อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม แหล่งท่องเที่ยวเรียนรู้เชิง อุทยานประวัติศาสตร์ โบราณสถานบ้าน ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ร่องไฮและพื้นที่เกี่ยวเนื่อง อ.เมืองพะเยา จ.พะเยา ศาสนสถาน สถานปฏิบัติธรรม วัดดอยแม่ปั๋ง อ.พร้าว จ.เชียงใหม่ แหล่งท่องเที่ยวเรียนรู้ด้าน แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศเพื่อฟื้นฟูสภาพพื้นที่ การเกษตรเชิงนิเวศ จากการทาเกษตรกรรมเชิงเดีย่ ว : กรณีศึกษา ไร่ช่างเอก อ.เมืองลาปาง จ.ลาปาง

6.

5919102523

ระพีพงศ์ ไชยปิง

7.

5919102525

วรพล ศรีเมืองมูล

8.

5919102526

ศิรินทิพย์ วงค์คาทิ

กลุ่มที่ 3 9.

5919102503

จิรายุ น่ารัก

สวนสาธารณะ

สวนสาธารณะหนองกระทิง อ.เมือง จ.ลาปาง

10.

5919102505

ย่านพาณิชยกรรมริมทะเล

11.

5919102518

ชนากานต์ พูนสวัสดิ์ มงคล นุชรัตน์ สุวรรณวงศ์

12.

5919102535

ย่านธุรกิจท่องเที่ยวบริเวณท่าเทียบเรือแหลม บาลีฮาย พัทยา จ.ชลบุรี ธุรกิจดูแลสัตว์เลี้ยง เพ็ทแลนด์ อ.เมือง เชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ จุดเปลีย่ นถ่ายการสัญจรบริเวณจุดตัดสถานี หัวหมากและสถานีพัฒนาการ เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร

ธุรกิจเกี่ยวกับสัตว์

อารญา ดาเนินศิลธรรม การพัฒนาพื้นที่รอบสถานี ขนส่งมวลชน (TOD)


ลาดับ รหัส

ชื่อ-สกุล

ประเภทของโครงการ

ชื่อโครงการ ศูนย์ฝึกอบรมวิชาชีพและการเรียนรู้คุณค่า ของชีวิต เรือนจากลาง อ.เมือง จ.อุดรธานี ไร่เปรมบุญ รีสอร์ท เพื่อการท่องเที่ยวเชิง เกษตรและวัฒนธรรม อ.แม่จัน จ.เชียงราย อุทยานแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมบ่อพัน ขัน อ.หนองฮี จ.ร้อยเอ็ด สถาบันแมคเคนเพื่อการฟื้นฟูสภาพ อ.สารภี จ.เชียงใหม่

กลุ่มที่ 4 13.

5919102504

จุฑาทิพย์ ศิริพันธุ์

ศูนย์ฝึกอบรม

14.

5919102527

สหภพ เปรมสมบัติ

15.

5919102532

อนันต์ ด่านวันดี

16.

5919102534

อังคณา พูลสวัสดิ์

แหล่งท่องเที่ยวเรียนรู้เชิง เกษตรและวัฒนธรรม แหล่งท่องเที่ยวเรียนรู้เชิง วัฒนธรรมและเชิงนิเวศ สถานบริการด้านสุขภาพ

กลุ่มที่ 5 17.

591902511

ณัทริการณ์ ปัทมาลัย ชุมชนเมือง พื้นที่ริมน้า

18.

5919102506

ชนิกานต์ ชาวน่าน

19.

5919102514

ธนัชพร คาคล้าย

20.

5919102515

ธีรจุฑา เพ่งผล

แหล่งท่องเที่ยวเรียนรู้ เกี่ยวกับสัตว์ การพัฒนาพื้นที่รอบสถานี ขนส่งมวลชน (TOD) พาณิชยกรรม

การออกแบบวางผังเพื่อบรรเทาน้าท่วม บริเวณพื้นที่รมิ น้าเขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สาย อ.แม่สาย จ.เชียงราย อุทยานวัฒนธรรมประมงน้าจืด กว๊านพะเยา อ. เมือง จ.พะเยา ย่านสถานีรถไฟ เชียงรายแห่งใหม่ อ.เวียงชัย จ.เชียงราย ศูนย์การค้า "ฟาร์มเมอร์สเปซ" เขตราษฎร์ บูรณะ กรุงเทพมหานคร

กลุ่มที่ 6 21.

5919102507

ชยุตม์ กาวินคา

ชุมชนเมือง

ย่านสร้างสรรค์หัวเวียงใต้ อ.เมือง จ.น่าน

22.

5919102510

ณัฐธิดา ฟูาเลิศ

อนุสรณ์สถานผู้เสียสละ อ. เชียงคา จ.พะเยา

23.

5919102519

พิชยา เพ็งประไพ

พื้นที่สาธารณะเชิง ประวัติศาสตร์ สนามแข่งนก

24.

5919102521

ภานุพงษ์ แสงคา

แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติ ศาสตร์และวัฒนธรรม

แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และ วัฒนธรรม เวียงกุมกาม อ.สารภี จ.เชียงใหม่ “เอซสตูดโิ อ” อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี

สนามแข่งนกนานาชาติบูกิ๊ต อ.ถลาง จ.ภูเก็ต

กลุ่มที่ 7 25.

5919102509

ณัฏฐณิชา อุ่นวัฒนา

สถานที่ถ่ายทาภาพยนตร์

26.

5919102512

ดาราวดี ทรัพย์ ประเสริฐ

ชุมชนเมือง พื้นที่ริมน้า

27.

5919102517

นฤบดินทร์ ภูลา

พื้นที่สาธารณะริมแม่น้าเจ้าพระยา ชุมชนบ้าน ศาลาแดงเหนือ เพื่อการท่องเที่ยวเชิง วัฒนธรรมวิถีชีวิตชาวมอญ อ.สามโคก จ.ปทุมธานี พื้นที่สาธารณะ ใต้โครงสร้าง พื้นที่ใต้โครงสร้างรางรถไฟ ยกระดับทางคู่ รางรถไฟ ชุมชนเมือง ช่วงชุมทางถนนจิระ – ขอนแก่น อ.เมือง จ. ขอนแก่น


ลาดับ รหัส

ชื่อ-สกุล

ประเภทของโครงการ แหล่งท่องเที่ยวเรียนรู้เชิง เกษตร สถานพักตากอากาศ

ชื่อโครงการ

กลุ่มที่ 8 28.

5919102528

สาธร เล้าประเสริฐ

29.

5919102529

สุชญา คาอินทร์

30.

5919102530

สุชานาถ เสริมสุข

ศูนย์เรียนรู้และท่องเที่ยวเชิงเกษตรการแปร รูปมะพร้าวน้าหอม อ.ดาเนินสะดวก จ.ราชบุรี สถานพักตากอากาศริมแม่น้า สามประสบ รีสอร์ท แอนด์ สปา อ.สังขละบุรี จ.กาญจนบุรี แหล่งท่องเที่ยวเรียนรู้เชิงนิเวศ แหล่งเรียนรู้ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ พื้นที่ชุ่มน้า หนองหลวง อ.เวียงชัย จ.เชียงราย



คำร้ องเสนอหัวข้อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมสิ ถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่โจ้ ข้าพเจ้า นาย จอมพชร นามวงศ์พรหม รหัส 5919102501 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อมศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิตสะสม 121 หน่วย กิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.56 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิพนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม แหล่งท่องเที่ยวเชิ งเกษตร ไร่ ก๊ าดินเปี ยง ดาว อาเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architecture Design and Planning of Agro Tourism Attraction Rai Kam Din Piang Dao at Chiang Dao District, Chiang Mai Province 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ อาเภอเชี ยงดาว ตั้งอยู่ทางทิศเหนื อของจังหวัดเชี ยงใหม่ มีพื้นที่ประมาณ 2,169 ตารางกิโลเมตร จาก การสารวจในปี 2553 มีประชากรส่ วนใหญ่ร้อยละ 90 ประกอบอาชี พด้านการเกษตร ค้าขายร้อยละ 3 และอื่น ๆ ร้อยละ 7 อาเภอเชี ยงดาว เป็ นอาเภอหนึ่ งในจังหวัดเชี ย งใหม่ ที่มีศกั ยภาพด้านการท่ องเที่ยวและแหล่ งท่อ งเที่ ยวทางธรรมชาติ ที่ หลากหลาย โดยปั จจุบันลักษณะความนิยมในการท่องเที่ยว มีแนวโน้มการท่องเที่ยวในรู ปแบบที่สามารถเข้าไป สัมผัสกับธรรมชาติได้ โดยการใช้ศกั ยภาพของธรรมชาติในพื้นที่น้ นั และปราศจากการทาลายความบริ สุทธิ์ของธรรมชาติ ดังคาที่ใช้กนั บ่อย ๆว่า การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม การท่องเที่ยวเชิ งนิ เวศการ การท่องเที่ยวเชิ งอนุรักษ์ และการท่องเที่ ยว เชิงเกษตรเป็ นต้น ในขณะเดียวกันประชาชนในพื้นที่อาเภอเชียงดาว ได้ให้ความสาคัญกับการท่องเที่ยวนี้ ซึ่งเกิดขึ้นโดย พื้นฐานของลักษณะภูมิประเทศ ในอาเภอเมืองเชียงดาว ที่มี ป่ าไม้ และภูเขาสู งมากมาย ทาให้เกิดแหล่งท่องเที่ยวในลักษณะ ของพื้นที่ธรรมชาติ อุทยาน แม่น้ า ถ้ า ทรัพยากรธรรมชาติ รวมทั้งการเป็ นพื้น ที่ ประวัติศ าสตร์ เ มื อ งเก่า ทาให้มีแ หล่ ง ท่องเที่ยวที่หลากหลาย จากที่กล่าวมาให้สังเกตได้ถึงศักยภาพของ อาเภอเชียงดาวจังหวัดเชียงใหม่ ในการดึงดูดนักท่องเที่ยว เข้ามาท่องเที่ยวในพืน้ ที่ ดังนั้นเจ้าของโครงการ คุณ พิมพ์สิริ นามวงศ์พรหม จึงมีแนวคิดที่จะสร้าง จุดขายที่แตกต่างของพื้นที่ กับแหล่งท่องเที่ยวอื่น ให้มีความโดดเด่น มีจุดขาย แล้วยังคง สอดคล้องกับพื้นที่เดิมที่เป็ นพื้นที่ทางการเกษตร ของอาเภอ เชียงดาว เนื่องจากพื้นที่เป็ นพื้นที่การเกษตรในรู ปแบบพืชเดี่ยว ทาให้รายได้และผลผลิตไม่ครอบคลุมตลอดทั้งปี จึงเกิดเป็ น แนวคิดในการก่อสร้างแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร ที่มีรูปแบบการเกษตรแบบหมุนเวียน เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน และเพิม่ รายได้ให้กบั การเกษตรตลอดทั้งปี โครงการวิทยานิ พนธ์น้ ี เป็ นการศึกษาและรวบรวมความคิด เพื่อทาการพัฒนาพื้นที่เกษตรที่ อยู่ใน อาเภอเชียงดาว ให้สามารถเพิ่มมูลค่าของที่ดิน และให้เกิดประโยชน์ทางด้านธุรกิจ โดยยังคงรักษาความเป็ นพื้นที่เกษตรเดิม


ไว้และสร้างให้เกิดกิจกรรมและ การนันทนาการ โดยใช้ความรู ้ทางภูมิสถาปัตยกรรม ในการจัดการออกแบบพื้นที่โครงการ ให้สอดคล้องกับกิจกรรม และศักยภาพต่าง ๆ ที่มีอยู่โดยรอบของพื้นที่รวมทั้งสอดคล้องกับแนวคิดในการอนุรักษ์ธรรมชาติ 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 พัฒนาพื้นที่ให้เป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร เพื่อเพิ่มรายได้ให้กบั การเกษตร 4.1.2 รองรับกิจกรรมนันทนาการเชิ งอนุรักษ์ เพื่อเป็ นแหล่งท่องเที่ยวแห่งใหม่ให้กับจังหวัด เชียงใหม่ 4.1.3 จัด ตั้งที มวิ จัย เพื่ อ พัฒ นา ปรั บ ปรุ ง พัน ธุ ก รรม ป้ อ งกัน โรค แมลง และวิ จัย ดิ น ให้ มี สารอาหารครบถ้วนสาหรับการเกษตร 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาวิเคราะห์การใช้ที่ดินเดิมในส่ วนต่าง ๆ ของพื้นที่และนาข้อมูลที่ได้มาใช้ใน การวางผัง 4.2.2 เพื่อศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการปรัชญา ในปัจจุบนั ที่มีผลต่อการออกแบบรวมทั้ง แนวทางความเป็ นไปได้และการพัฒนาในอนาคต 4.2.3 เพื่อศึกษารู ปแบบกิจ กรรมนันทนาการเชิ งอนุ รักษ์ ที่สอดคล้องต่ อการท่ องเที่ ย วเชิ ง เกษตร 4.2.4 ศึกษาประโยชน์ความหลากหลายของผลผลิตทางการเกษตร ที่หมุนเวียนตลอดทั้งปี เพิ่มรายได้ให้กบั พื้นที่ 5. สถานที่ต้งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้งั โครงการ ตั้งอยู่ในตาบลเชียงดาว อาเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ ห่างจากอาเภอเมืองเชียงใหม่ 73 กิโลเมตร รวมพื้นที่ศึกษาและพื้นที่โครงการ 83.10 ไร่ 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้งั โครงการ 5.2.1 อาเภอเชี ยงดาว มีแหล่งท่องเที่ยวที่มีความเป็ นธรรมชาติหลากหลาย ทั้งป่ าไม้ ภูเขา ถ้ า ไร่ สวน ฯลฯ ซึ่งปัจจุบนั เป็ นแหล่งท่องเที่ยวที่มีความนิยมอย่างมาก 5.2.1 พื้นที่มีศกั ยภาพในการพัฒนาเป็ นแหล่งท่องเที่ยวและการเกษตร


โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรม แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร อาเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่ 1 แสดงแผนผังบริ เวณที่ต้งั โครงการ สัญลักษณ์ อาเภอเชียงดาว ที่ต้งั โครงการ เส้นถนน ถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 107 ถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1359

มาตราส่วน ที่มา

NOT NO SCALE ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศมาจาก Google Earth Pro ( วันที่ 15 ธันวาคม 2562 )


โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรม แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร อาเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่ 2 แสดงแผนผังบริ เวณที่ต้งั โครงการ สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่โครงการ ถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 107 เส้นทางสัญจรเข้าพื้นที่โครงการ

มาตราส่วน ที่มา

NOT NO SCALE ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศมาจาก Google Earth Pro ( วันที่ 15 ธันวาคม 2562 )


6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรม แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร อาเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ มีเนื้อที่ประมาณ 83.10 ไร่ ทิศเหนือ ติดกับพืน้ ที่ทางการเกษตรและที่อยู่อาศัย ทิศใต้ พืน้ ที่ทางการเกษตร และแบล็คแบร์ คาเฟ่ ทิศตะวันออก ติดกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 107 และพื้นที่ทางการเกษตร ทิศตะวันตก ติดกับพื้นที่ทางการเกษตร 7. บรรณานุกรม จรัสพิมพ์ บุญญานันต์ 2556 “คู่มือดาเนินงานวิทยานิพนธ์ 2556” [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา. https://issuu.com/tuboonyanant/docs/latheismanual56_foeweb( 14 ธันวาคม 2562 ) จรัสพิมพ์ บุญญานันต์ 2562 “คู่มือดาเนินงานวิทยานิพนธ์ 2562” [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา. https://issuu.com/tuboonyanant/docs/frontcover58-merged-compressed-merg( 18 ธันวาคม 2562 ) TCIJ. 2560“เมืองท้องถิ่นถูกท่องเที่ยว” [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา. https://www.tcijthai.com/news/2017/20/scoop/7262( 18 ธันวาคม 2562 ) โฟกัสเชียงดาว.ม.ป.พ. “ข้อมูลทัว่ ไปของอาเภอเมืองเชียงดาว” [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา. https://chiangdaoinformation.wordpress.com/( 18 ธันวาคม 2562 ) โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาเนินงานวิทยานิพนธ์ ของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ สิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. ( นาย จอมพชร นามวงศ์พรหม ) ……….../………./………..



คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตร์ บัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาว จินตกานต์ ยิ้มสาราญ รหัส 5919102502 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่ วยกิ ต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.36 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมีรายละเอี ยด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย): โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม ศูนย์บาบัดผูป้ ่ วยด้วยสัตว์ อาเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 2. หั ว ข้ อ เรื่ อ ง (ภ าษ าอั ง ก ฤ ษ ): Landscape Architecture Design and Planning of Animal Assisted Therapy Center, Phutthamonthon, Nakhon Pathom 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ คนกับสัตว์เป็นสิ่ งมีชีวิตที่อาศัยอยูร่ ่ วมกันมานานและสัตว์หลายชนิ ดก็มีคุณประโยชน์แก่มนุษย์ มากมาย ทั้งเป็ นอาหาร เป็ นยานพาหนะที่ใช้ในการเดินทาง เป็ นส่ วนช่วยเหลือในการทางานต่างๆให้ง่ายขึ้น และยัง เป็ นเพื่อนที่มีไว้ให้คลายเหงา นอกจากนี้ สัตว์หลายชนิ ดยังสามารถมีส่วนในการช่วยรักษาโรคให้กบั คนได้อีกด้วย หรื อที่เรี ยกกันว่า “สัตว์บาบัด” (Animal Therapy) ปั จจุบนั การใช้สัตว์บาบัดถือเป็ นศาสตร์ ที่กาลังได้รับความสนใจเป็ นอย่างมากและมีความนิ ยม แพร่ หลายเพิ่มมากขึ้นเรื่ อยๆโดยได้รับการยอมรับว่าสามารถนามาใช้ประโยชน์ทางการแพทย์เพื่อใช้บาบัดรักษา อาการป่ วยของมนุษย์ได้เป็ นอย่างดีโดยสัตว์ที่นิยมนามาใช้ในการบาบัดรักษามีท้ งั สัตว์เลี้ยงและสัตว์ที่ใช้งานทัว่ ไป เช่น สุ นขั แมว ปลา ม้า กระบือ การใช้สัตว์บาบัดเป็ นอีกทางเลือกหนึ่งในการรักษา ฟื้ นฟูและเยียวยาผูป้ ่ วยที่มีอาการเจ็บป่ วยหรื อ มีปัญหาเกี่ยวกับร่ างกาย จิตใจ อารมณ์ แต่สาหรับคนที่ปกติที่มีความแข็งแรงดีอยู่แล้วก็สามารถใช้สัตว์เหล่านี้ ให้ เกิดประโยชน์ อย่างน้อยการที่เราเลี้ยงสุ นขั หรื อแมวก็ช่วยเป็นเพื่อนให้เราหายเหงาได้ ช่วยลดความเครี ยดหลังจาก การทางาน สร้างสมาธิ และยังทาให้ให้เรากลายเป็ นคนที่มีจิตใจอ่อนโยนและอารมณ์ดีอีกด้วย เนื่ องจากทางมหาวิทยาลัยมหิ ดลมีการจัดตั้งโครงการเกี่ยวกับการบาบัดโดยใช้มา้ เป็ นคลินิกอาชา บาบัดเพื่อรองรับการบาบัดให้กบั เด็กพิเศษเพื่อพัฒนาการในด้านต่างๆจุดเริ่ มต้นของโครงการคลิ นิกอาชาบาบัด เกิดขึ้นจากความร่ วมมือกันระหว่างคณะสัตว์แพทยศาสตร์ และสถาบันแห่ งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว เพื่อเป็ นกรณี ศึกษาและเป็นการวิจยั เกี่ยวกับการใช้อาชาบาบัดที่มีผลต่อการพัฒนาพัฒนาการของเด็กพิเศษเละยังมี


พื้ น ที่ บ้านรั ก หมาศาลายาที่ เป็ นโครงการจัด การดู แ ลรั ก ษาและฝึ กสุ นัข จรจัด ภายในมหาวิท ยาลัยและเกิ ด เป็ น โครงการสัตว์บาบัดใจที่ได้นาสุ นขั ที่ผา่ นการฝึกไปบาบัดผูส้ ู งอายุตามบ้านพักคนชราที่ต่างๆใน นครปฐม จึงมองเห็นถึงวิธีการนาสัตว์อื่นๆที่นอกจากสุ นขั และม้าเข้ามาในการบาบัดผูป้ ่ วยในกลุ่มต่างๆอีก จึงเกิดเป็ นโครงการการขยายพื้นที่คลินิกอาชาบาบัดให้กลายเป็ นศูนย์บาบัดผูป้ ่ วยด้วยสัตว์ซ่ ึ งจะมีการนาสัตว์ที่มี ศักยภาพในการบาบัดในด้านต่างๆมาผ่านการฝึ กและใช้บาบัดผูป้ ่ วยได้ในต่อไปซึ่ งแต่เดิมพื้นที่อาชาบาบัดมีขนาด ประมาณ 3 ไร่ แ ละอยู่ในบริ เวณพื้ น ที่ ไม่ ส ามารถขยายพื้ น ที่ โครงการได้จึ งได้ใช้พ้ื น ที่ ร กล้างบริ เวณตรงข้าม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสิ นทร์ ซ่ ึ งได้มองถึงถึงศักยภาพในการพัฒนาและใช้พ้ืนที่รกล้างว่างเปล่า ให้เกิ ดประโยชน์และพื้น ที่ โครงการก็อ ยู่ห่ างจากโครงการคลิ นิ กอาชาบาบัดเดิ มเพี ยง2กิ โลเมตรจึ งเป็ นพื้ นที่ ที่ เหมาะสมแก่นามาเป็ นพื้นที่โครงการขยายศูนย์บาบัดผูป้ ่ วยด้วยสัตว์ได้ในอนาคต 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่ อ เป็ นศู น ย์กลางของการบ าบัด และการฟื้ นฟู ท างร่ างกายและจิ ต ใจที่ มี ความ หลายหลายและตรงตามความต้องการของผูท้ ี่มาใช้บริ การ 4.1.2 เพื่อเป็ นสถานที่ฝึกสัตว์สาหรับการบาบัดในรู ปแบบต่างๆ 4.1.3 เพื่อเป็ นศูนย์วิจยั ในการใช้สตั ว์บาบัดให้กบั นักศึกษาหรื อผูท้ ี่สนใจ 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมศูนย์บาบัดผูป้ ่ วยด้วยสัตว์ 4.2.2 เพื่อศึกษาข้อมูลด้านสุ ขภาพ พฤติกรรมการใช้งานทางกายภาพและศึกษาวิธีการ ฝึ กสัตว์สาหรับการบาบัดผูป้ ่ วยเพื่อใช้ในการออกแบบศูนย์บาบัดผูป้ ่ วยด้วยสัตว์ 4.2.3 เพื่อศึกษาการออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรมเกี่ยวกับการอยูร่ ่ วมกันระหว่างสัตว์และ ผูป้ ่ วยที่จะสามารถนาไปใช้ในการออกแบบพื้นที่การใช้งาน 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.1 ที่ต้ งั โครงการ

พื้นที่ ต้ งั โครงการอยู่บริ เวณ ถนนพุทธมณฑลสาย5 ตาบลศาลายา อาเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม มีขนาดพื้นที่โครงการประมาณ 71.4 ไร่ 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 พื้นที่โครงการตั้งอยูบ่ ริ เวณริ มถนนพุทธมณฑลสาย5สามารถเดินทางเข้าถึงพื้นที่ ได้สะดวกทั้งจากในตัวเมืองนครปฐมและจากกรุ งเทพก็สามารถมาถึงพื้นที่โครงการได้ง่ายและยังสามารถเชื่อมโยง ไปยังสถานที่สาคัญต่างๆของโครงการได้สะดวก 5.2.2 พื้นที่อยูห่ ่างจากคลินิกอาชาบาบัดของมหาวิทยาลัยมหิ ดลเพียง 2 กิโลเมตร 5.2.3 พื้ น ที่ โ ครงการเป็ นพื้ น ที่ ร กร้ า งว่ า งเปล่ า สามารถเป็ นพื้ น ที่ ร องรั บ การสร้ า ง โครงการได้ ในอนาคต


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม ศูนย์ฝึกสัตว์เพื่อการบาบัดผูป้ ่ วย อาเภอพุธมณฑล จังหวัดนครปฐม แผนที่ 1 ที่ต้ งั โครงการและขอบเขตพื้นที่โครงการ สัญลักษณ์ ที่ต้ งั โครงการ ถนนบรมราชชนนี ถนนพุทธมณฑลสาย4 ถนนพุทธมณฑลสาย5 ถนนสาย4006 คลองมหาสวัสดิ์ Not to scale คลองทวีวฒั นา คลองสามบาท ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth (15 พฤศจิกายน 2562)


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม ศูนย์ฝึกสัตว์เพื่อการบาบัดผูป้ ่ วย อาเภอพุธมณฑล จังหวัดนครปฐม แผนที่ 2 สถานที่สาคัญที่เชื่อมโยงกับโครงการ สัญลักษณ์ ตาแหน่งที่ต้ งั โครงการ โรงพยาบาล โรงเรี ยนประจา บ้านพักคนชรา เรื อนจา Not to scale สถาบันจิตเวช รัศมี 10 กิโลเมตร รัศมี 20 กิโลเมตร ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth (15 พฤศจิกายน 2562)


SITE 2 SITE 2 SITE 1

โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรม ศูนย์ฝึกสัตว์เพื่อการบาบัดผูป้ ่ วย อาเภอพุธมณฑล จังหวัดนครปฐม แผนที่ 3 ที่ต้ งั โครงการและขอบเขตพื้นที่โครงการทางเลือก สัญลักษณ์ ที่ต้ งั โครงการ ถนนบรมราชชนนี ถนนเพชรเกษม Not to scale ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth (15 พฤศจิกายน 2562)




Site Selection SITE 1 : ตั้ งอยู่ ที่ ต าบลไทยาวาส อ าเภอนครชั ย ศรี จั ง หวัด นครปฐม ขนาดพื้ นที่ โ ครงการ 62.2 ไร่ พื้นที่โดยรอบติดพื้นที่ทาเกษตรและพื้นที่หมู่บา้ น ติดถนนบรมราชชนนี ฝั่งขาเข้ากรุ งเทพมหานคร ลักษณะพื้นที่ เป็ นที่ราบรกร้างไม่มีการใช้งาน

SITE 2 : ตั้ งอยู่ ที่ ต าบลบางเตย อ าเภอสามพราน จั ง ห วั ด นครปฐม ขนาดพื้ นที่ โครงการ 89.78ไร่ พื้นที่โดยรอบติดที่ดินของเอกชน ติดถนนบรมราชชนนี ฝั่งขาเข้านครปฐม ลักษณะพื้นที่เป็ นที่ราบรกร้างไม่มีการ ใช้งานและบางส่ วนเป็ นพื้นที่ทาการเกษตรมีแหล่งน้ าในบริ เวณsite

SITE 3 : ตั้ งอยู่ ที่ ต าบลศาลายา อ าเภอพุ ท ธมณ ฑ ล จั ง หวั ด นครปฐม ขนาดพื้ นที่ โครงการ 71.4ไร่ พื้นที่โดยรอบติดที่ดินของเอกชน ติดถนนพุธมณฑลสาย5 ลักษณะพื้นที่เป็ นที่ราบรกร้ างไม่มีการใช้งาน อยู่ใกล้ มหาวิทยาลัยมหิ ดลเพียง 2 กิโลเมตร


ตำรำงที่ 1 สรุ ปการให้คะแนนในแต่ละพื้นที่ เกณฑ์

คะแนน

ACCESSIBILITY SURROUND LINKAGE PUBILC FACILITIES PUBILC UTILITIES APPROACH รวมคะแนน

SITE 1

SITE 2

SITE 3

5 5 5

ระดับ A C B

คะแนน 20 10 15

ระดับ A B C

คะแนน 20 15

ระดับ A A A

คะแนน 20 20 20

5

B

15

B

15

B

15

5 25

A

20

B

15

A

20

ที่มา : จากการวิเคราะห์ขอ้ มูล, 2562

80

65

95

A(excellent)=4 , B(very good)=3 , C(fairy good)=2 , D(poor)=1


คำร้ องเสนอหัวข้อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นายจิรายุ น่ารัก รหัส5919102503 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.33 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมีรายละเอี ยด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมสวนสาธารณะหนองกระทิง อ.เมือง จ.ลาปาง 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architectural Design and Improvement Project of Nhong Krathing Park, Muang , Lampang. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมสวนสาธารณะหนองกระทิง ตั้งอยูใ่ นเขตพื้นที่ หมู่บา้ นน้ าโท้ง ตาบลบ่อแฮ้ว อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง ครอบคลุมเนื้ อที่ท้ งั หมด 141 ไร่ และเป็ นพื้นที่สระน้ า ประมาณ 40 ไร่ อยู่ในความดูแลของ องค์การบริ หารส่ วนจังหวัด ลาปาง พื้นที่หนองน้ าหนองกระทิงเป็ นหนองน้ า ปิ ด ซึ่ งเป็ นแหล่งน้ าขนาดใหญ่มีความลึกกว่า 10 เมตร มีบทบาทที่สาคัญมากกับสิ่ งแวดล้อมภายในพื้นที่ เนื่ องจาก หนองน้ าเป็ นจุ ดศูนย์กลางหลักของระบบนิ เ วศ และยังสร้ างประโยนช์ในการใช้เป็ นที่ พกั ผ่อนหย่อนใจ โดยมี ตานานเล่าว่ากระทิงที่พาฝูงเดินมาตามร่ องน้ าจนมาถึงตรงนั้นตรงนี้ มนั มาเล่นกันตอนหน้าฝนทีน้ ี พอคนรู ้ก็มาซุ่ มยิง มันตายหลังจากนั้นก็ไม่มีใครเคยเห็นฝูงกระทิงอีกเลย จึงมีการสร้างอนุสาวรี ยก์ ระทิงตั้งตระหง่านภายในใจกลาง ของสวนสาธารณะ ซึ่ งในอดีตเมืองลาปางของเราคงอุดมสมบูรณ์ไปด้วยป่ าไม้และสรรพสัตว์ แต่ความสมบูรณ์สูญ สิ้ นไปนานแล้วเหลือเพียงรู ปปั้นไว้ให้คนรุ่ นหลังดูต่างหน้า สวนสาธารณะหนองกระทิงยังเป็ นสถานที่ออกกาลังกายและเป็ นสถานที่พกั ผ่อนหย่อนใจที่ใกล้ ตัวเมือง ที่ชาวลาปางนิยมมาทากิจกรรมต่างๆ เช่น ว่ายน้ า เล่นเรื อถีบ แต่พ้นื ที่ดงั กล่าวยังเป็ นพื้นที่ที่ไม่มีการใช้สอย ให้เป็ นพื้นที่สีเขียวที่ก่อประโยชน์ เพื่อเป็ นสถานที่รองรับกิจกรรมและการใช้งานที่ไม่ทวั่ ถึงในบริ เวณพื้นที่ของคน ในชุมชน เช่นคนรุ่ นใหม่และนักท่องเที่ยวทุกเพศทุกวัย และเป็ นสวนสาธารณะที่ ยงั ขาดการส่ งเสริ มการท่องเที่ยว ทางวัฒนธรรมและธรรมชาติในเชิงสร้างสร้างสรรค์ รวมถึงการส่ งเสริ มคุณภาพชีวิตและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมซึ่ ง สอดคล้องกับแผนนโยบายการท่องเที่ยวของ จ.ลาปาง เนื่องจากปัจจุบนั พื้นที่โครงการเป็ นรู ปแบบสวนสาธารณะที่


ค่อนข้างล้าสมัยไม่เป็ นสัดส่ วนที่ชดั เจน รวมถึงยังไม่รองรับการใช้งานทุกเพศทุกวัย และยังขาดแนวทางในการ ออกแบบที่ยงั่ ยืน ด้วยเหตุ ผ ลนี้ องค์การบริ หารส่ วนจังหวัด จึ งมี โครงการออกแบบและปรั บปรุ งภูมิส ถาปั ต ยกรรม สวนสาธารณะหนองกระทิงให้เป็ นสวนสาธารณะระดับย่าน เพื่อที่จะรองรับผูค้ นและกิจกรรมที่มากขึ้น พัฒนาเป็ น พื้นที่ สีเขียวสมัยใหม่ให้เกิ ดประโยชน์ เพื่อศึ กษาการฟื้ นฟู แ ละการรั กษาสภาพแวดล้อมที่ ดี รวมไปจนถึ ง เป็ น แนวทางในการออกแบบที่ยงั่ ยืนและรองรับการใช้งานแบบUniversal Design เพื่อตอบสนองความต้องการของคน ภายในชุมชนและนักท่องเที่ยวโดยมุ่งเน้นถึงคนรุ่ นใหม่ เพื่อเพิ่มทางเลือกในการท่องเที่ยวที่ดีข้ ึน การพักผ่อนและ พื้นที่รองรับกิจกรรมที่หลากหลายรวมไปถึงแหล่งท่องเที่ยวโดยครอบคลุมทั้งหมดของพื้นที่โครงการ เพื่อพัฒนา คุณภาพชีวิตของประชาชนและสิ่ งแวดล้อม ให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด เป็ นไปตามความต้องการส่ วนใหญ่ของผูใ้ ช้งาน ไม่เพียงแต่เป็ นการแก้ไขปั ญหาทางด้านสิ่ งแวดล้อม แต่ยงั เป็ นการพลิกฟื้ นสวนสาธารณะให้ทนั สมัย และยังเป็ น สถานที่ทากิจกรรมเพื่อเป็ นการจูงใจให้ประชาชนเข้าใช้บริ การเพื่อสุ ขภาพกายและสุ ขภาพใจที่ดี 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อปรับปรุ งพื้นที่สวนสาธารณะเดิม และพื้นที่ที่ไม่มีการใช้สอย ให้เป็ นพื้นที่สี เขียวสมัยใหม่ที่ก่อประโยชน์สูงสุ ด เพื่อเป็ นสถานที่รองรับกิจกรรมนันทนาการ 4.1.2 เพื่อปรั บปรุ งสวนสาธารณะให้เหมาะสมกับการใช้งาน ของคนในชุ มชนและ นักท่องเที่ยวทุกเพศทุกวัย 4.3.1 เพื่อฟื้ นฟูและรักษาสภาพแวดล้อมให้ดีข้ ึน และพัฒนาให้เป็ นสวนสาธารณะที่ ส่ งเสริ มการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมและธรรมชาติ ในเชิงสร้างสร้างสรรค์ รวมถึงส่ งเสริ มคุณภาพชีวิตที่ดีข้ ึนและ การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมซึ่งสอดคล้องกับแผนนโยบายการท่องเที่ยวของ จ.ลาปาง 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาข้อมูลและวิธีการออกแบบวางผังสวนสาธารณะระดับย่าน 4.2.2 เพื่อศึกษาการฟื้ นฟูและการรักษาสภาพแวดล้อมที่ดี เพื่อเป็ นแนวทางในการ ออกแบบที่ยงั่ ยืน 4.2.3 เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้งานของคนในชุมชนและนักท่องเที่ยว 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมสวนสาธารณะหนองกระทิง ตั้งอยู่ใน เขตพื้นที่หมู่บา้ นน้ าโท้ง ตาบลบ่อแฮ้ว อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง ครอบคลุมเนื้อที่ท้ งั หมด 141 ไร่ 5.1.1 ที่ต้ งั โครงการและชอบเชตพื้นที่โครงการ


โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมสวนสาธารณะหนองกระทิง อ.เมือง จ.ลาปาง แผนที่ 1 ที่โครงการ ที่ต้ งั โครงการ

ที่มา : ภาพถ่ายอากาศดัดแปลงจาก Google map, 2562

No to scale


โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมสวนสาธารณะหนองกระทิง อ.เมือง จ.ลาปาง แผนที่ 2 ขอบเขตพื้นที่โครงการ ขอบเขตที่ต้ งั โครงการ ถนนหมายเลข 1039 ถนนบ้านดงพัฒนา

ที่มา : ภาพถ่ายอากาศดัดแปลงจาก Google map, 2562

No to scale




คำร้ องเสนอหัวข้อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมสิ ถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่โจ้ ข้าพเจ้า นางสาว จุฑาทิพย์ ศิริพนั ธุ์ รหัส 5919102504 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อมศึ กษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่ วยกิตสะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.95 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) การออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม ศู นย์ฝึกอบรมวิชาชี พและการเรี ยนรู ้ คุณค่าของชีวติ เรื อนจากลาง อาเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี 2. หั ว ข้ อ เรื่ อง (ภาษาอั ง กฤษ ) The Landscape Architecture Design and Planning of the Center of Vocational Training and Learning the Value of Life, Central, Prison Muang Udon Thani. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ ในอดีตการราชทัณฑ์ของประเทศไทยนั้น ได้มีการเปลี่ยนแปลงและสอดคล้องไปกับสังคมเมือง และสภาพเศรษฐกิ จตลอดช่ วงยุคสมัยที่ผ่านมา ในช่ วงยุคก่ อนรั ชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั กิ จการเรื อนจาก็ได้เกิดขึ้นอยู่ตามสังกัดราชการต่าง ๆ ต่อมาในปี พ.ศ. 2468 ได้เกิ ดภาวะตกต่ าทางเศรษฐกิ จ กรม ราชทัณฑ์ถูก ยุติลง แต่ ภายหลัง การเปลี่ยนแปลงการปกครองใน พ.ศ. 2475 การราชทัณฑ์ได้ยกฐานะเป็ นกรม ราชทัณฑ์ และมีการตราพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. 2479 มีหน้าที่เกี่ยวกับการเรื อนจา การกักกัน ผูม้ ีสันดานเป็ น โจร เป็ นผูร้ ้ าย การฝึ กและอบรมดัดสันดานผูค้ นที่ทาผิดและต่อมาในส่ วนภูมิภาคก็ได้มีการกาหนดให้แต่ละจังหวัด มีเรื อนจาเกิดขึ้น ปั จจุบนั ได้มีเรื อนจาหลายรู ปแบบเกิดขึ้น เรื อนจากลาง เรื อนจาพิเศษ เรื อนจาจังหวัด เรื อนจาอาเภอ และ เรื อนจาชัว่ คราว เรื อนจาชัว่ คราวเกิ ดขึ้นมาจากโครงการเตรี ยมความพร้ อมก่อนปล่อย (เรื อนจาโครงสร้ างเบา) นักโทษชั้นดีคือเป้าหมายหลักของเรื อนจาชัว่ คราวเพื่อช่วยภารกิ จการแก้ไขปั ญหาการระบายผูต้ อ้ งขังตามนโยบาย รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงยุติธรรม ภายในเรื อนจาชัว่ คราวยังมีศูนย์ฝึกอบรมและฝึ กอาชีพหลากหลายด้าน เพื่อที่จะ ช่วยให้นกั โทษชั้นดีน้ นั ได้ฝึกวิชาชีพติดตัวและสามารถที่จะกลับมาใช้ชีวิตในสังคมต่อไปได้ เรื อนจากลางจังหวัด อุดรธานี ตั้งอยู่เลขที่ 64 ถนนศรี สุข ซอย 4 ตาบลหมากแข้ง อาเภอเมืองอุดรธานี อุดรธานี 41000 ปั จจุบนั พบปั ญหา นักโทษล้นคุกเกิดขึ้น พื้นที่ไม่เพียงพอต่อการรองรับนักโทษ ภายในเรื อนจาเกิดความแออัดและยังไม่ตอบสนองต่อ การทากิจกรรมอย่างอื่นที่จะ ช่วยให้นกั โทษมีจิตใจที่ดีข้ นึ และรู ้ สึกว่าตนเองนั้นมีคุณค่า เหตุน้ ีเรื อนจากลางจังหวัด อุดรธานีจึงอยากที่จะส่ งเสริ มนโยบายคืนคนดีสู่สังคมโดยการมีนโยบายจัดตั้งศูนย์ฝึกอบรมวิชาชีพและการเรี ยนรู ้ คุณค่าของชีวิต จังหวัด อุดรธานี เพื่อที่จะช่วยแก้ไขปั ญหานักโทษล้นคุกโดยการระบายนักโทษชั้นดีออกมาและรู ้ ถึงคุณค่าของชีวติ


จากเหตุผลความเป็ นมาทั้งหมด จึงได้เสนอโครงการศูนย์ฝึกอบรมวิชาชีพและการเรี ยนรู ้ คุณค่า ของชีวติ เรื อนจากลาง อาเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี โดยตั้งอยู่ที่ถนน คสล.บ้านเก่าน้อย – โคกหนองแซว เทศบาล ตาบลหนองบัว อาเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี 41000 มีเนื้อที่ 138 ไร่ พื้นที่ต้งั อยู่ที่ราบ โดยรอบพื้นที่มีสถานี เพาะชากล้าไม้จงั หวัดอุดรธานี และชุมชนอาศัย เกษตรกรรม สถาบันการศึกษา พื้นที่อยู่ห่างจากตัวเมืองอุดรธานี 5 กิ โลเมตร สามารถเข้าถึงได้สะดวกรวมทั้ง บริ บทของพื้นที่ส ามารถที่ จะทากิ จกรรมได้อย่ างหลากหลายและยัง สามารถให้ชุมชนภายในพื้นที่ใกล้เคียงเข้ามามีส่วนร่ วมได้และยังเพื่อที่จะตอบโจทย์ในเรื่ องของการที่จะให้นกั โทษ กลับไปใช้ชีวติ ได้ดียิ่งขึ้นกว่าเดิม 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อเป็ นพื้นที่ฝึกวิชาชีพให้กบั นักโทษที่จะสามารถทาอาชีพสุ จริ ตได้กลับสู่ สังคม 4.1.2 เพื่อเป็ นการศึกษาการใช้ชีวติ ของนักโทษชั้นดีเรื อนจากลาง อุดรธานี 4.1.3 เพื่อเป็ นการช่ วยลดปั ญหานักโทษล้นคุก เนื่ องจากภารกิ จการแก้ไขปั ญหาการ ระบายผูต้ อ้ งขังตามนโยบายรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงยุติธรรม 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปั ญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่ อ ศึ ก ษาขั้น ตอนการออกแบบวางผัง ภูมิสถาปั ตยกรรม โครงการพื้นที่ศูนย์ ฝึ กอบรมวิชาชีพและการเรี ยนรู ้ คุณค่าของชีวติ ให้กบั ผูต้ อ้ งขังเรื อนจากลาง 4.2.2 เพื่อศึ กษาการวิเคราะห์ศกั ยภาพของพื้นที่และสภาพแวดล้อมโดยรอบเพื่อนามา ปรับใช้ในการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม 4.2.3 เพื่ อ เป็ นการศึ ก ษาพฤติ ก รรมและการดาเนิ น ชี วิตของนัก โทษเรื อ นจากลาง อุดรธานี 5. สถานที่ต้งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้ อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้ อง) 5.1 สถานที่ต้งั โครงการ ตั้งอยู่ที่ถนน คสล.บ้านเก่าน้อย – โคกหนองแซว เทศบาลตาบลหนองบัว อาเภอเมือง อุดรธานี จังหวัดอุดรธานี 41000 มีเนื้อที่ 138 ไร่ 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้งั โครงการ 5.2.1 พื้นที่โครงการตั้งอยู่ห่างจากตัวเมือง และ เรื อนจากลาง อุดรธานี เพียง 5 กิโลเมตร เส้นทางการสัญจรหลักเป็ นถนนมิตรภาพ และ ถนนเส้นเลี่ยงเมืองสามารถเชื่อมต่อไปยังสถานที่อื่น และ จังหวัดอื่น ได้ 5.2.2 พื้นที่โครงการอยู่ใกล้กบั ชุ มชนอยู่อาศัย สถานี เพาะชากล้าไม้จงั หวัดอุดรธานี และ พื้นที่ทางการเกษตรจึงเหมาะที่จะได้ใกล้ชิดกับผูค้ นและสามารถปรั บตัวจะกลับไปใช้ชีวิตในสังคมได้มาก ยิ่งขึ้น พื้นที่น้ ีจึงเหมาะที่จะเป็ นที่ต้งั ของโครงการศูนย์ฝึกอบรมวิชาชีพและการเรี ยนรู ้ คุณค่าของชีวติ ให้กบั ผูต้ อ้ งขัง เรื อนจากลาง จังหวัดอุดรธานี


เรื่ อง : การออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม ศู นย์ฝึกอบรมวิชาชีพและการเรี ยนรู ้ คุณค่าของชีวิต เรื อนจากลาง อาเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี แผนที่ 1 : แสดงแผนผังบริ เวณที่ต้งั โครงการ สัญลักษณ์ ตัวอาเภอเมืองอุดรธานี ที่ต้งั โครงการ เส้นถนน ถนนหมายเลข 2 อุดรดุษฎี ถนนหมายเลข 22 นิตโย ถนนหมายเลข 210 บ้านเลื่อม ถนนหมายเลข 2410 สามพร้ าว มาตราส่ วน ที่มา :

NOT NO SCALE ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศมาจาก Google Earth Pro (วันที่ 15 ธันวาคม 2562)


เรื่ อง : การออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม ศู นย์ฝึกอบรมวิชาชีพและการเรี ยนรู ้ คุณค่าของชีวิต เรื อนจากลาง อาเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี แผนที่ 2 : แสดงแผนผังบริ เวณที่ต้ งั โครงการ สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่โครงการ ถนนหมายเลข 2 อุดรดุษฎี เส้นทางสัญจรเข้าพื้นที่โครงการ มาตราส่ วน NOT NO SCALE

ที่มา

ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศมาจาก Google Earth Pro (วันที่ 15 ธันวาคม 2562)


เรื่ อง : การออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม ศู นย์ฝึกอบรมวิชาชีพและการเรี ยนรู ้ คุณค่าของชีวิต เรื อนจากลาง อาเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี แผนที่ 3 : แสดงแผนผังการเชื่อมต่อของพื้นที่ สัญลักษณ์ เรื อนจากลางอุดรธานี ที่ต้ งั โครงการ พื้นที่ตวั เมืองอุดรธานี ชุมชน และ เรื อนจากลาง พื้นที่ชุมชนรอบเส้นเลี่ยงเมือง พื้นที่โครงการ และ พื้นที่ทาการเกษตร ระยะรัศมี 5 กิโลเมตร ระยะรัศมี 10 กิโลเมตร มาตราส่ วน

ที่มา :

NOT NO SCALE ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศมาจาก Google Earth Pro (วันที่ 15 ธันวาคม 2562)


เรื่ อง : การออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม ศู นย์ฝึกอบรมวิชาชีพและการเรี ยนรู ้ คุณค่าของชีวิต เรื อนจากลาง อาเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี แผนที่ 4 แสดงที่ต้งั ขอบเขตโครงการของแต่ละพื้นที่ สัญลักษณ์ พื้นที่ตวั เมืองอุดรธานี พื้นที่โครงการ 1 พื้นที่โครงการ 2

มาตราส่ วน

ที่มา :

พื้นที่โครงการ 3 NOT NO SCALE ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศมาจาก Google Earth Pro (วันที่ 15 ธันวาคม 2562)


ia*

6. floutlJa{o{ilu1rdflu-r

In:rni:oonuru?1{pl-q0}r^dCIrflnun::il f,uriilnou:rimfiuuaynr:GuuSoorrirror*isr { $ { qyd

,9

u 4

,A

a {

t-{fifnontrrfi

Ifiniu{d'orni.tGouiitnarr

q 4 dd oodi :-l-adrmoru'o{on:rtfi ,i'.lr?-non:rrfi fi ru'0fi

a

'-

e,

rra1i

j

4

I

e

flda.frurrir{0fl - lnnuuo{uctr? ryrflulaeirraruo.r

n-rogjfrauu

j

llfltfiUO

^-i flOnUflililytlitflt5rRUst:trayTogolf,t,

a qe

^ flnnruuyrdolllrillsrrnar tu0.:r4?oqn5r'luuaufluyiyn{Rt:rRUslt

mf,

j

i

ta n

fisfl yriuoo

flssryiufln

fr

o

.

s

eqe@

d

j

i

nnTufi fi vn{fl r:rnunr

onri'rLdufivrr{nrrrnuot

7. U5:or]qfl:U tr

d

i

d

4

lat: n mot o n: fr1u.25 52.'lt frr,O

in

ro

r

r

ry

a

u

rl***.,racl r

\x

i

o

0

uitl

na

1

{

0{ilasq0

ck.com/home I / (a1u fi I 0 ;'u

r .25 62."#o

ru

ir

6'? fl

4

-

tt lil".

[: ruu

?I n

10',. I r y u u o o u Ia

u

ri]

h

oo

2 56 2

d

il] llfl d'i{ fr ilt :

)

un d,: fi

https://readthecloud.co/khao-mai-kaew-temporary-prison/ Kwanchai Dumrongkwan.256l.*Ianlurtou,n"r: arnfiisroiuya

u la

ru

r,

(iufi

r

z d'uarnu zsoz)

rnnarolsflniututnl:dotu,'.

1:vuuoou'[ad] ttrdlfi ur, https://thematter.co/social/prison-life/

-: r2 fiu?tnil 2562) (?uvr

Hfocus totvfintvillldflR1yI.2558.

"rinisrinflrlur?ouil"r drnrrufn n?lurrelstl rutkilu

{1udrit". [:cuuoou'lari] ,- A ('lu?lr3tu?lnu2562) S

I

Ya

aj

rrm

cildru r,https://www.hfocus.org/content

o

6

<o laea d tsi,{riltdri,u6fro;tJflumnluffanttas-5sirrfrulruTvruluilui lto{narsdotrJnon::ru

e

fl

ldsliuaynt:

d-

00

rr

a

@

rs,

t

nrruud{rr?niiou uHlimutaurru Ii'4nil: 4d

o{r: oulJtrvr4a1d : nfi or : al I au uG

vn

r:


SITE SELECTION

In:snr: SITE I

dudftiroqilnd1ruruuav {pr :J r rir u ri o u

ii

rfi

vr r.r

ri r

u

drfi *rrnrnci'rrfioq r as oJ i hr n rauJgt: ufluYt s0 15 J-tt

Yltil : fl9lttU0{R lY{OtUiltntfl

,

i-r,

mu1 :

nnttilA{RlYt0tuuln1fl Google

Google Earth Pro

Earth Pro

SITE 2

du d,J', r n $r,r

fr u

r

ri,:

rir

rurntnr$n:suuod od6n , -g-.-4-.d o nuiluytytlnl:rnunt 0g

rirlornd'rrfior o fi larun: do

Ytul : fl ftil1j0{fl tfl 01uul0'rn

fi

.rC i

ur : dnrr:Ja{RtyrsilutJtt1fl Google

h'

ulIUYr 75 1:

Earth Pro

SITE 3

du ii

rJ

r

: n$r

r o qjl n

#riu

i4

rirnr:rnun: eorfl rnrsrir nflr hi,fi'w{ feqa : ! ufi ds

YlUl : fl fl ltlj0{R t?I0'1UilTtlR

fr rur :

dnuilatnrfl rii;urr1n

Googre

s

6i't

Tllsu

rfr uav

ri r w r nn-arfi o.r

fiIarrun: fidufi 138'l*

n151'ld?iln1i lR0l.yl

fruttul.{

SME I

SITE 2

STTE 3

:gFlil

nvttuu

:vdu

flrttuu

ssdu

flgtttll"l

Accessibilif

4

A,

16

B

12

B

t2

Linkage

5

A

2A

B

l5

A

20

Surrounding

6

B

l8

C

t2

A

24

Road network

5

B

15

B

l5

B

15

View

5

B

15

A

20

B

15

Approach

5

B

15

B

15

A

20

5?Uflettuu

30

99

89

Hil1Ultlgl A(excellent)4 B (verygood)3

106 C (fairy good)2 D(poor) I


n?uulilro{nornri$olthv drnflngnr

2. (n?llrfiil)..........

Jn#[ (nrdol.

nerurfi

urolrhvtrum;tnrtrlrvd'mfingrnr

oqrifi hflCrrfi urru?ilurfi nuf,nrlrier?adrauourld

kd9n

ruo*u,...fvtfir tlhrql ...r.&?rrn...r .....19...",...t *.. t ..Nb.L.

"

.


คําร้องเสนอหัวข้อวิทยานิพนธ์ปริ ญญาภูมสิ ถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ข้าพเจ้า นางสาวชนากานต์ พูนสวัสดิ์มงคล รหัส 5919102505 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตรและการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจํานวน 7 ภาคการศึ กษา จํานวนหน่ วยกิ ต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจน ถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.54 มีความประสงค์จะขอทําวิทยานิ พนธ์ ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) การออกแบบและปรั บปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมย่านธุ รกิ จท่องเที่ยวบริ เวณท่า เทียบเรื อแหลมบาลีฮาย พัทยา จังหวัดชลบุรี 2. หัว ข้อ เรื่ อง (ภาษาอัง กฤษ) The Landscape Architectural Design and Improvement of the tourism business areas at Bali Hai Pier, Pattaya, Chonburi 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ บริ เวณพัทยาใต้ในอดีตเคยเป็ นหมู่บา้ นชาวประมงเดิม มีท่าเรื อประมง ต่อมาเริ่ มมีประชาชนเข้า มาอยู่อาศัยเพิ่มมากขึ้น มีตึกแถวและโรงแรม ทําให้เกิดการพัฒนาพื้นที่ในลักษณะที่หนาแน่นขึ้น ท่าเรื อประมงและ ที่พกั ชาวประมงกลายเป็ นร้ านอาหารบาร์ เบียร์ ที่รุกลํ้าไปในทะเลมากขึ้น ทําให้พ้ืนที่บริ เวณแหลมบาลีฮายกลายเป็ น ถนนคนเดิน (walking street) ในลักษณะพื้นที่สถานบันเทิงยามคํ่าคืน (Night Life Entertainment Area) ที่ถูกจดจํา ในลักษณะภาพลบ (Nagative Image) ของนักท่องเที่ยว ความจําเป็ นของท่าเรื อท่องเที่ยวและท่าเรื อโดยสารมีมาก ขึ้น ทางเมืองพัทยาจึงแก้ปัญหาโดยการจัดสร้ างพื้นที่จอดเรื อเร็ วบนบกบริ เวณปลายแหลมบาลีฮาย และสร้ างท่าเรื อ ท่องเที่ยวโดยสารขึ้น ในปั จจุบนั ท่าเรื อแหลมบาลีฮาย เป็ นท่าเทียบเรื อที่สําคัญของเมืองพัทยาตั้งอยู่ที่ ถนนพัทยาใต้ อําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี ซึ่ งจะประกอบไปด้วยเรื อสําหรั บโดยสารและเรื อท่องเที่ยว โดยมีเส้ นทางดังนี้ เส้นทางพัทยา – หมู่เกาะล้าน , เส้ นทางพัทยา – หมู่เกาะไผ่ , เส้นทางพัทยา – หมู่เกาะสี ชงั , เส้นทางล่องเรื อเฟอร์ รี่ พัทยา – หัวหิ น อีกทั้งยังเป็ นสถานที่ท่องเที่ยวพัทยาแห่งใหม่เป็ น 'แลนด์มาร์ ค' ทีไ่ ด้รับการพัฒนาขึ้นมาเพราะเป็ น ท่าเรื อสําคัญที่จะต่อเรื อไปยังเกาะต่างๆ เป็ นสถานที่จอดรถเพื่อข้ามเกาะ มีพ้นื ที่ลานกิ จกรรมกว้างขวางเพื่อใช้ สําหรับการจัดงานและอีเวนต์ต่างๆ ที่พทั ยามักถูกใช้เป็ นสถานที่จดั งานอยู่เป็ นประจํา และเป็ นพื้นที่ชมวิวใหม่อีก แหล่งที่กาํ ลังได้รับความนิยมอย่างมากจากนักท่องเที่ยวชาวไทยและนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางมาเที่ยวพัทยา จากข้อมูลด้านการคมนาคมทางนํ้าในเมืองพัทยา พบว่า พัทยามีการเชื่ อมโยงทางทะเลกับหมู่ เกาะต่างๆ ในจังหวัดชลบุรีได้เป็ นอย่างดี ซึ่ งจากทําเลที่ต้งั และศักยภาพของเมืองพัทยา ประกอบกับการเป็ นพื้นที่ เขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ซึ่ งทําให้แนวโน้มของการเดินทางทางเรื อที่มีเพิ่มขึ้นเรื่ อย ๆ ในอนาคตจะ มีนกั ท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นไม่ต่าํ กว่า 3,000-4,000 คนต่อวัน จึงสมควรอย่างยิ่งที่จะพัฒนาเส้นทางคมนาคมทางนํ้าเพื่อ


การท่องเที่ยวเชื่อมโยงพื้นที่ชายฝั่ งทะเลภาคตะวันออกและภาคอื่น เพื่อรองรับปริ มาณผูโ้ ดยสารและรถยนต์ทจี่ ะมา ใช้บริ การ ตลอดจนจัดสร้ างสถานี ให้บริ การนักท่องเที่ยว อาคารผูโ้ ดยสาร สถานบันเทิงยามคํ่าคืน (Night Life) แหล่งช้อปปิ้ ง ร้ านอาหาร สถานที่ในการจัดกิ จกรรม (Events) ลานกิ จกรรมแห่ งใหม่ (Pattaya on Pier) ทางเดิน เชื่ อมต่อระหว่างชายหาดพัทยาและลานทางเดินริ มนํ้า (Boardwalk) และสิ่ งอํานวยความสะดวกที่จาํ เป็ นรวมทั้ง ส่ งเสริ มเศรษฐกิจ ชุมชน อุตสาหกรรม การท่องเที่ยว และการบริ การ อีกทั้งโครงการพัฒนาท่าเทียบเรื อแหลมบาลี ฮาย เป็ นโครงการที่ สํ า คัญควบคู่ ไ ปกับการพัฒ นาระบบขนส่ ง มวลชนอย่ า งเต็มรู ปแบบ ซึ่ ง ประกอบไปด้วย โครงการปรั บปรุ งท่าอากาศยานนานาชาติอู่ตะเภาแห่งใหม่ รถไฟฟ้าความเร็ วสู งเชื่ อมจังหวัด โครงการรถไฟฟ้ า รางเบา หรื อ Tram Way ที่ จะทําให้เมืองพัทยามีระบบคมนาคมที่ครอบคลุมทั้ง ทางบก-ทางอากาศ-และทางนํ้า เพื่อให้เมืองพัทยาเป็ นเมืองศูนย์กลางด้านการท่องเที่ยวระดับนานาชาติของประเทศอย่างยัง่ ยืน 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อพัฒนาท่าเรื อแหลมบาลีฮาย ให้สามารถรองรับนักท่องเทีย่ วที่เพิ่มขึ้นจากการ แผนการพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) 4.1.2 เพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการคมนาคมของเมืองพัทยาระหว่างทางบกและทาง นํ้าและแนวทางออกแบบท่าเทียบเรื อ 4.1.3 เพื่อพัฒนาและส่ งเสริ มพื้นที่บริ เวณท่าเทียบเรื อ และถนนคนเดิน (walking street) ให้ กลายเป็ นศูนย์กลางทางการค้า การลงทุน และการท่องเทีย่ วระดับนานาชาติของประเทศอย่างยัง่ ยืน 4.1.4 เพื่อพัฒนาพื้นที่แหลมบาลีฮายให้เป็ นพื้นที่สาธารณะของเมือง (Urban Park) 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปั ญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาการขนส่ งและการคมนาคมทางนํ้า 4.2.2 เพื่อศึกษากระบวนการออกแบบวางผังพื้นที่สาธารณะริ มนํ้าอย่างยัง่ ยืน 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้งั โครงการโดย สังเขป ข้างล่างนี้ พร้ อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคําร้ อง) 5.1 ที่ต้งั โครงการ พื้นที่อยู่บริ เวณ ถนนพัทยาใต้ อําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้งั โครงการ ตะวันออก (EEC)

5.1.1 พื้นที่ดงั กล่าวเป็ นพื้นที่ที่มีแผนการพัฒนาเพือ่ รองรับระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาค 5.1.2 พื้นที่ดงั กล่าวเป็ นพื้นที่เชื่อมต่อการคมนาคมของเมืองระหว่างทางบกและทางนํ้า


5.1.3 พื้นที่ดงั กล่าวเป็ นพื้นที่ที่มีศกั ยภาพในการพัฒนาพื้นที่ให้กลายเป็ นศูนย์กลางทาง การค้า การลงทุน และการท่องเทีย่ วระดับนานาชาติของประเทศอย่างยัง่ ยืนในอนาคต

การออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมย่านธุ รกิจท่องเที่ยวบริ เวณท่าเทียบเรื อแหลมบาลีฮาย พัทยา จังหวัดชลบุรี แผนที่ 1 ขอบเขตพื้นที่โครงการ 1. การออกแบบปรับปรุ งพื้นที่ชายฝั่ งบริ เวณหน้าท่าเรื อบาลีฮาย 2. การออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรมเพื่อเพิ่มพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวบริ เวณถนนคน เดิ น (Walking Street) และจุ ดเชื่ อ มต่ อระหว่า งชายหาดพัทยาและลานทางเดิ น ริ มนํ้า (Boardwalk) 3. การออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรมบริ เวณหน้าอ่าวพัทยาข้างสะพานท่าเทียบเรื อ พัทยาใต้ เพื่อใช้เป็ นพื้ นที่สัน ทนาการในการจัดกิ จกรรมด้านการส่ งเสริ มการ ท่องเที่ยว 4. โครงการออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรมท่าเทียบเรื อ (Cruise Terminal) ที่มา : ดัดแปลงมาจาก Google Earth (13 ธันวาคม 2562 )

NOT FOR SCALE


การออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมย่านธุ รกิจท่องเที่ยวบริ เวณท่าเทียบเรื อแหลมบาลีฮาย พัทยา จังหวัดชลบุรี แผนที่ 2 เส้นทางคมนาคม สัญลักษณ์ ถนนเลียบหาด ถนนพัทยาสาย 1 ถนนพัทยาสาย 2 ถนนพัทยาสาย 3 ถนนพัทยาใต้ ที่มา : ดัดแปลงมาจาก Google Earth (13 ธันวาคม 2562 )

NOT FOR SCALE


การออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมย่านธุ รกิจท่องเที่ยวบริ เวณท่าเทียบเรื อแหลมบาลีฮาย พัทยา จังหวัดชลบุรี แผนที่ 3 ขอบเขตพื้นที่โครงการบริ เวณที่ 1 สัญลักษณ์ การออกแบบปรับปรุ งพื้นที่ชายฝั่ งบริ เวณหน้าท่าเรื อบาลีฮาย พื้นที่โดยประมาณ 64 ไร่

ที่มา : ดัดแปลงมาจาก Google Earth (13 ธันวาคม 2562 )

NOT FOR SCALE


การออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมย่านธุ รกิจท่องเที่ยวบริ เวณท่าเทียบเรื อแหลมบาลีฮาย พัทยา จังหวัดชลบุรี แผนที่ 4 ขอบเขตพื้นที่โครงการบริ เวณที่ 2 สัญลักษณ์ การออกแบบภู มิส ถาปั ต ยกรรมบริ เวณหน้า อ่ า วพัทยาข้า ง สะพานท่าเทียบเรื อพัทยาใต้ เพื่อใช้เป็ นพื้นที่สันทนาการใน การจัดกิจกรรมด้านการส่ งเสริ มการท่องเที่ยว พื้นที่โดยประมาณ 45 ไร่ ที่มา : ดัดแปลงมาจาก Google Earth (13 ธันวาคม 2562 )

NOT FOR SCALE


การออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมย่านธุ รกิจท่องเที่ยวบริ เวณท่าเทียบเรื อแหลมบาลีฮาย พัทยา จังหวัดชลบุรี แผนที่ 5 ขอบเขตพื้นที่โครงการบริ เวณที่ 3 สัญลักษณ์ การออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรมแหล่งท่องเที่ยวบริ เวณถนนคน เดิน (Walking Street) และจุดเชื่ อมต่อระหว่างชายหาดพัทยา และลานทางเดินริ มนํ้า (Boardwalk) พื้นที่โดยประมาณ 16 ไร่ NOT FOR SCALE

ที่มา : ดัดแปลงมาจาก Google Earth (13 ธันวาคม 2562 )


การออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมย่านธุ รกิจท่องเที่ยวบริ เวณท่าเทียบเรื อแหลมบาลีฮาย พัทยา จังหวัดชลบุรี แผนที่ 6 ขอบเขตพื้นที่โครงการบริ เวณที่ 4 สัญลักษณ์ การออกแบบภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมท่ า เที ย บเรื อ (Cruise Terminal) พื้นที่โดยประมาณ 500 ไร่

ที่มา : ดัดแปลงมาจาก Google Earth (13 ธันวาคม 2562 )

NOT FOR SCALE




คำร้องเสนอหัวข้อวิทยำนิพนธ์ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตร์บัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์และกำรออกแบบสิง่ แวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่โจ้ ข้า พเจ้า นางสาว ชนิ ก านต์ ชาวน่ าน รหั ส 5919102506 นั ก ศึ ก ษาชั้น ปี ที่ 4 สาขาวิ ช าภู มิ สถาปั ต ยกรรม คณะสถาปั ต ยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึก ษามาแล้ว จ านวน 7 ภาค การศึกษา จานวนหน่วยกิตสะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.09 มีค วามประสงค์จ ะขอท าวิ ท ยานิ พ นธ์ระดับ ปริ ญ ญาภู มิ สถาปั ต ยกรรมศาสตร์ บัณ ฑิ ต โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมอุทยานวัฒนธรรมประมงน้ า จืด กว๊านพะเยา อ. เมือง จ.พะเยา 2. หั ว ข้อ เรื่ อง (ภาษาอัง กฤษ) The Landscape Architectural Design and Planning Project of the Freshwater Fisheries Culture Park, Kwan Phayao, Muang, Payao. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ ศูนย์วิจยั และพัฒนาประมงน้ าจืดพะเยา แรกเริ่ มมีชื่อว่า “ สถานีบารุ งพันธุ์สตั ว์น้ า 2 กว๊าน พะเยา ” พื้นที่ก่อสร้างได้จากการเวนคืน โดย การจัดซื้อจากราษฎรในปี พ.ศ. 2482-2484 พร้อมๆ กับการ เวนคื นที่ ดิน ในบริ เวณกว๊านพะเยาและเริ่ มเปิ ดดาเนิ นการเมื่อวัน ที่ 24 มิถุนายน 2484 สถานี ฯแห่ งนี้ เป็ น สถานี ฯ แห่ งที่ 2 ของประเทศไทย ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2496 ได้เปลี่ยนชื่อเป็ นสถานี ประมง (กว๊านพะเยา) เชียงราย ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2520 จังหวัดพะเยาได้แยกออกมาจากจังหวัดเชียงรายทาให้สถานีฯเปลี่ยนชื่อเป็ น “ สถานีประมงน้ าจืดจังหวัดพะเยา ” และในปี งบประมาณ 2545 เนื่องจากมีการปรับโครงสร้างระบบราชการ ใหม่ ทาให้สถานีประมงน้ าจืดจังหวัดพะเยา ปรับเปลี่ยนเป็ น “ ศูนย์วิจยั และพัฒนาประมงน้ าจืดพะเยา ” ในบริ เวณศูนย์วิจยั ฯในปั จจุบนั มีการจัดแสดงพันธุส์ ตั ว์น้ าจืดชื่อว่า พิพิธภัณฑ์ปลาบึก เพื่อ แสดงให้เห็นภาพความสาเร็ จจากการเพาะพันธุป์ ลาบึกได้เป็ นครั้งแรกของโลกซึ่งถือเป็ นผลงานชิ้นสาคัญ ของกรมประมง มีก ารจัดแสดงพรรณไม้น้ าจืดของไทย เพื่อแหล่งความรู้ ดา้ นวิชาการประมงแก่นักเรี ยน นักศึกษา นักวิชาการ และผูส้ นใจ และมีสถานที่ท่องเที่ยวที่สาคัญของจังหวัดพะเยาอย่างพระตาหนักกว๊าน พะเยา พิพิธภัณฑ์ที่จดั แสดงพระราชกรณี สมเด็จพระศรี นคริ นทราบรมราชชนนี เมื่อครั้งเสด็จประทับทรง งาน เป็ นสถานที่ ให้ท้งั ความรู้และความเพลิดเพลิน เสริ มสร้างและปลูกจิตสานึกด้านการอนุรักษ์ทรัพยากร สัตว์น้ าจืดและเป็ นแหล่งเผยแพร่ ความรู้เพื่อเป็ นแนวทางในการประกอบอาชีพเกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า จืด


อีกทั้งด้านนโยบายของศูนย์ฯนั้นจะมีการเปิ ดพื้นที่เป็ นสถานที่ท่องเที่ยวแห่งใหม่ในจังหวัด พะเยา โดยจะจัดทาเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุ รักษ์ทรัพยากรประมงน้ าจืด มุ่งเน้นที่ จะให้ความรู้ดา้ นการ อนุ รั ก ษ์ และหวงแหนทรั พ ยากรประมงน้ าจื ด ให้ค วามรู้ เกี่ ย วกับ วิชาการประมง ให้ค วามเพลิด เพลิ น เสริ มสร้างความรู้ และปลูกจิตสานึกในการรักษาทรัพยากรประมงน้ าจืดให้ยงั่ ยืน ตลอดจนได้มีการเผยแพร่ ความรู้เพื่อเป็ นแนวทางในการประกอบอาชีพเกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าจืด และในปั จจุบนั แผนพัฒนา จังหวัดและกลุ่ม จังหวัด พ.ศ. 2561 – พ.ศ. 2565 ฉบับทบทวน กองบูรณาการนโยบายพัฒนาภาค สานักงาน สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ มีประเด็นการพัฒนาจังหวัดพะเยาด้านส่ งเสริ มและพัฒนาการ ท่ องเที่ ยว เชิ งอนุ รั ก ษ์ เรี ยนรู้ วิ ถี ชุ ม ชนในแนวท างเศรษฐกิ จสร้ า งสรรค์ พั ฒ น าและอนุ รั ก ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อมอย่างยัง่ ยืน รวมถึงยุทธ์ศาสตร์ จงั หวัด พะเยา ประเด็น ยุทธศาสตร์ ที่ 2 สร้ า งคุ ณ ค่ าและพัฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ของประชาชนและประเด็ น ยุท ธศาสตร์ ที่ 3 พัฒ นาและอนุ รัก ษ์ ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ งแวดล้อ มอย่างยัง่ ยืน โดยมี ก ลยุท ธ์ที่ 1 ขยายผลโครงการอัน เนื่ อ งมาจาก พระราชดาริ รวมถึงพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์และวัฒนธรรมเชื่อมโยงสู่กลุ่มจังหวัด ประเทศเพื่อนบ้าน และอนุ ภู มิ ภ าคลุ่ ม น้ าโขง และเพื่ อ ให้จ ังหวัด ได้มี ก ารพัฒ นาและเสริ มสร้ างโอกาสด้านการศึ ก ษาแก่ ประชาชน นักเรี ยน นักศึกษา และเป็ นสถานที่ที่สนับสนุนการท่องเที่ยวของจังหวัดพะเยา จากเหตุผลดังที่ก ล่าวมาแล้วข้างต้น จึ งเป็ นที่ มาของโครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม อุทยานวัฒนธรรมประมงน้ าจืด กว๊านพะเยา 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพี่อเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์และวัฒนธรรมประมงน้ าจืดแห่งใหม่ของ จังหวัดพะเยา 4.1.2 เพื่อเป็ นศูนย์กลางการศึกษาและวิจยั ทรัพยากรประมงน้ าจืด 4.1.3 เพื่อส่งเสริ มและสนับสนุนเผยแพร่ ความรู้เพื่อเป็ นแนวทางในการประกอบ อาชีพและความรู้ทางวิชาการด้านการประมงน้ าจืดแก่ประชาชนและผูส้ นใจ 4.1.4 เพื่อปรับปรุ งภูมิทศั น์ให้สวยงามและสอดคล้องกับบริ บทพื้นที่ 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรม อุทยานวัฒนธรรมประมง น้ าจืด กว๊านพะเยา 4.2.2 เพื่อศึก ษาข้อมูลที่ เกี่ ยวข้องกับวัฒนธรรมประมงน้ าจืด สัตว์น้ าจืด ระบบ นิเวศน้ าจืด และระบบนิเวศริ มน้ าที่ส่งเสริ มศักยภาพในการออกแบบพื้นที่ 4.2.3 เพื่อศึกษาข้อมูลที่ มีผลต่อการออกแบบ แหล่งท่องเที่ยวและสถานที่ ที่บุ คคลทัว่ ไป สามารถเข้ามาใช้งาน


5. สถานที่ต้งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั ของโครงการ : พื้นที่โครงการตั้ง ถนนพหลโยธิน ตาบลเวียง อาเภอเมือง พะเยา จังหวัดพะเยา โดยมีเนื้อที่ประมาณ 67 ไร่ 5.2 เหตุผลที่เลือกที่ต้งั โครงการ 5.2.1 การเข้าถึงพื้นที่มีความสะดวก เนื่องจากทางเข้าพื้นที่อยูต่ ิดถนนพหลโยธิน (ถนนไฮเวย์พะเยา-เชียงราย) 5.2.2 พื้น ที่ มีก ารเชื่ อมโยงกับสถานศึก ษาสถานที่ ท่องเที่ ยว และอยู่ในพื้น ที่ ต ัว เมืองจังหวัดพะเยา 5.2.3 พื้นที่ต้งั โครงการมีความสอดคล้องกับนโยบายการส่งเสริ มของภาครัฐ


โครงการออกแบบและวางผังอุทยานวัฒนธรรมประมงน้ าจืด กว๊านพะเยา แผนที่ 1 แสดงที่ต้งั และขอบเขตพื้นที่โครงการ ที่มา : ดัดแปลงจาก https://th.wikipedia.org/wiki ( 6 ธันวาคม 2562 ) สัญลักษณ์ : ที่ต้งั โครงการ ตาแหน่งโครงการ

มาตราส่วน Not to Scale


โครงการออกแบบและวางผังอุทยานวัฒนธรรมประมงน้ าจืด กว๊านพะเยา แผนที่ 2 แสดงที่ต้งั โครงการและและเชื่อมโยงสถานที่โดยรอบ ที่มา : ดัดแปลงจาก Google map ( 6 ธันวาคม 2562 ) สัญลักษณ์ : ที่ต้งั โครงการ

มาตราส่วน Not to Scale


โครงการออกแบบและวางผังอุทยานวัฒนธรรมประมงน้ าจืด กว๊านพะเยา แผนที่ 3 แสดงที่ต้งั และขอบเขตพื้นที่โครงการ ที่มา : ดัดแปลงจาก Google map ( 6 ธันวาคม 2562 )

มาตราส่วน Not to Scale

6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมอุทยานวัฒ นธรรมประมงน้ าจืด กว๊านพะเยา ตาบล เวียง อาเภอ เมือง จังหวัดพะเยา มีพ้นื ที่ 67 ไร่ มีอาณาเขตการติดต่อ ทิศเหนือ ติดต่อกับพื้นที่ ชุมชนวัดศรี จอมเรื อง ทิศใต้ ติดต่อกับพื้นที่ ชุมชนวัดเมืองชุม ทิศตะวันออก ติดต่อกับพื้นที่ พื้นที่เกษตรกรรมและแม่น้ าอิง ทิศตะวันตก ติดต่อกับพื้นที่ กว๊านพะเยา 7. บรรณานุกรม กองบูรณาการนโยบายพัฒนาภาค สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ 2562 “ แผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด พ.ศ. 2561 – พ.ศ. 2565 ฉบับทบทวน ” [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา https://www.nfc.or.th › wp-content › uploads › download-manager-files (6 ธันวาคม 2562)




คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นาย ชยุตม์ กาวินคา รหัส 5919102507 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรม ศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อ ม ศึ กษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึ กษา จานวนหน่ วยกิ ต สะสม 133 หน่ วยกิ ต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.31 มี ค วามประสงค์จ ะขอท าวิ ท ยานิ พ นธ์ ร ะดับ ปริ ญ ญาภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมี ร ายละเอี ย ด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) การออกแบบและปรับปรุ งภูมิทศั น์ภูมิสถาปั ตยกรรมย่านสร้างสรรค์หัวเวียงใต้ อาเภอเมือง จังหวัดน่าน 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) Landscape Architecture Design and Planning Development of Creative Hua Vieng Tai District, Muang Nan, Nan 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ ย่านหัวเวียงใต้ เป็ นชื่ อเรี ยกพื้นที่ตามตาแหน่ งที่ต้ งั ที่อยู่นอกเขตกาแพงเมืองน่ าน (เวียงใต้ในอดีต) ทางด้านทิศเหนื อ ซึ่ งถือว่าทิศเหนื อเป็ นหัวเมือง จึงเรี ยกชื่อย่านว่า “หัวเวียงใต้” ย่านหัวเวียงใต้ถึงแม้จะเป็ นพื้นที่ ที่อยู่ นอกกาแพงเมือง แต่ก็อยู่ในตาแหน่งที่ไม่ไกลจากกันมากนัก ซึ่ งในเวลาต่อมาได้ขยายเติบโตจนประชิดแนวกาแพง ทา ให้สามารถติดต่อ ค้าขายกับเมืองชั้นในได้สะดวกตลอดเวลลา โดยอาศัยแม่น้ าน่ านและการเดินทางเท้า ในการขนส่ ง สิ นค้าไปมาค้าขายกับเมืองอื่น จึงดึงดูดให้คนหลากหลายชาติพนั ธุ์เข้ามาตั้งถิ่นฐานทาการค้าในบริ เวณนี้ หัวเวียงใต้จึง เป็ นย่านที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมมากที่สุดของเมืองน่าน ณ ช่วงเวลานั้นสื บต่อมา ด้วยลักษณะที่โดดเด่นของตาแหน่ งที่ต้ งั ของจังหวัดน่ าน ที่ยากแก่การเข้าถึงจนกลายเป็ นเบ้าหลอม หลอมแห่ งวัฒนธรรมของล้านนาตะวันออก และปรากฎให้เป็ นความหลากหลายทางวัฒนธรรม และสถาปั ตยกรรมดัง ที่เห็นในปั จจุบนั ซึ่ งเป็ นตัวดึงดูดให้น่านเป็ นเมืองที่ผูค้ นหลัง่ ไหลเข้ามาเพิ่มมากขึ้น ทาให้น่านอยู่ในกระแสแห่ งการ เปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ วอย่างก้าวกระโดด ใจกลางเมืองน่านซึ่ งมีทรั พยากรทางสถาปั ตยกรรมที่น่าสนใจอยู่เป็ นจานวน มาก ซึ่งแสดงให้เห็นถึงขีดความสามารถในการรองรับที่ไม่เพียงพอ การกระจุกตัวของนักท่องเที่ยวอยูเ่ ฉพาะบางบริ เวณ และบางที่จะส่ งผลต่อการท่องเที่ ยวเป็ นอย่างมากในอนาคต ขณะเดียวกันก็ส่งผลต่อการดารงอยู่ของโครงสร้างทาง สังคมและโครงสร้างของเมือง โดยรวมย่านหัวเวียงใต้ในปั จจุบนั มีภาพลักษณ์เป็ นชุมชนย่านการค้าเก่าแก่ของเมือง


สองฝากถนนสมุนเทวราชเป็ นย่านการค้าด้านศิ ลปะ หัตกรรม ผ้า ฝ้ ายทอมื อ และเครื่ องเงิ น อันเป็ นภูมิปัญญาด้า น วัฒนธรรม และตลาดที่สาคัญของเมืองที่จะแสดงวิถีชีวิตของผูค้ นในท้องถิ่นที่มีศกั ยภาพในการรองรับการท่องเที่ยว ระดับจังหวัด จากแผนพัฒนาจังหวัดน่านมองเห็นศักยภาพของเมืองในการเตรี ยมผลักดันยกระดับเมืองน่านให้เป็ น เมืองสร้างสรรค์ (Creative City) ด้านศิลปะและหัตถกรรมพื้นบ้าน (City of Crafts and Folk Art) ของ UNESCO ภายใน ปี พ.ศ. 2564 ให้เป็ นเมืองรองแห่ งแรกของประเทศไทยเป็ นเมืองสร้างสรรค์เชิงมรดกโลก และสิ่ งที่ UNESCO ให้ความ สนใจในเมืองน่าน เพราะเป็ นเมืองที่ยงั มีชีวิตทั้งในแง่วฒั นธรรม สถาปัตยกรรม และวิถีชีวิตเดิมของผูค้ นที่ยงั คงอยู่และ มีปฏิบตั ิเช่นเดิมจนถึงปั จจุบนั ซึ่งยังสามารถพัฒนารายได้การท่องเที่ยวโดยไม่เปลี่ยนวิถีชีวิตของประชากร สู่ การพัฒนา เศรษฐกิจในพื้นที่ โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิทศั น์ภูมิสถาปั ตยกรรมย่านสร้างสรรค์หัวเวียงใต้ นับว่าพื้นที่น้ ี มี ศักยภาพที่ น่า สนใจต่อโครงการเพื่ อรองรั บ การพัฒ นาสู่ การเจริ ญเติ บโตของเมื องน่ า นที่ ก้า วกระโดด รองรั บ การ ท่องเที่ยวจากใจกลางเมือง และเป็ นย่านสร้างสรรค์ศิลปะ วัฒนธรรม พื้นที่สาธารณะของทุกเพศทุกวัย เป็ นต้นแบบการ พัฒนาร่ วมการอนุรักษ์เมืองให้เข้ากับยุคสมัยในอนาคต หรื อนาไปประยุกต์ใช้กบั พื้นที่อื่น ๆ ที่มีศกั ยภาพและปั ญหาใน ระดับใกล้เคียงกัน 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อพัฒนาเป็ นย่านการค้า ศิลปะ และหัตถกรรมพื้นบ้านอย่างสร้างสรรค์ เป็ นต้นแบบการ พัฒนาของเมืองน่าน 4.1.2 เพื่อส่ งเสริ มและกระตุน้ การท่องเที่ยวให้เป็ นพื้นที่รองรับลดการกระจุกตัวจากใจกลางเมือง 4.1.3 เพื่อฟื้ นฟูย่าน การมีส่วนร่ วมของชุ มชน ที่จะรองรับการเจริ ญเติ บโตของเศรษฐกิจ และการ เปลี่ยนแปลงของเมือง 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาพื้นที่ยา่ นหัวเวียงใต้ ในการวิเคราะห์หาศักยภาพในการพัฒนา 4.2.2 เพื่อศึกษากระบวนการและแนวทางออกแบบปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรม ผสมผสานงานด้าน วัฒนธรรมและการสร้างสรรค์ 4.2.3 เพื่อศึกษาการสนับสนุ นส่ งเสริ มด้านวัฒนธรรม เศรษฐกิจ และอาชี พของท้องถิ่นและชุมชน เพื่อส่ งเสริ มความร่ วมมือระหว่างประเทศ ภูมิภาค หรื อชุมชนท้องถิ่น ในการขับเคลื่อนการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน


5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลื อกที่ ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ ต้ งั โครงการโดยสังเขป ข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ โครงการตั้งอยูบ่ นพื้นที่ ตาบลในเวียง อาเภอเมือง จังหวัดน่าน มีขนาดพื้นที่ประมาณ 192 ไร่ 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 พื้นที่ยา่ นหัวเวียงใต้ โดดเด่นด้านการค้าที่สาคัญของเมือง 5.2.2 เป็ นพื้นที่ที่มีศกั ยภาพในการพัฒนาเป็ นพื้นที่รองรับการท่องเที่ยวใกล้ใจกลางเมืองน่าน 5.2.3 เป็ นพื้นที่มีการเชื่อมต่อที่สะดวกต่อการเข้าถึงจากใจกลางเมือง

โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิทศั น์ภูมิสถาปัตยกรรมย่านหัวเวียงใต้ อาเภอเมือง จังหวัดน่าน แผ่ นที่ 1 แสดงที่ต้ งั โครงการ ที่มา : ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศ Longdo Map (วันที่ 9 ธันวาคม 2562) N สัญลักษณ์ :

พื้นที่โครงการ มาตราส่ วน NOT TO SCALE


โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิทศั น์ภูมิสถาปัตยกรรมย่านหัวเวียงใต้ อาเภอเมือง จังหวัดน่าน แผ่ นที่ 2 แสดงรายชื่อทางสัญจรบริ เวณที่ต้ งั โครงการ ที่มา : ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศ Longdo Map (วันที่ 9 ธันวาคม 2562) N สัญลักษณ์ :

พื้นที่โครงการ ถนนหลวงหมายเลข 101 ถนนมหาวงศ์ ถนนข้าหลวง ถนนสุ มนเทวราช

มาตราส่ วน NOT TO SCALE

6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา 6.1 ขอบเขตพื้นที่การศึกษา พื้นที่โครงการเป็ นที่ดินของรัฐบาลและเอกชน พื้นที่ท้ งั หมดประมาณ 192 ไร่ โดยมีอาณาเขต ติดต่อดังต่อไปนี้ ทิศเหนือ ถนนสวนตาล ทิศใต้ ถนนสุ ริยพงษ์ ทิศตะวันออก แม่น้ าน่าน ทิศตะวันตก ถนนหลวงหมายเลข 101 ถนนมหายศ


7. บรรณานุกรม ณวิทย์ อ่องแสวงชัย. 2561. ล่องน่ ำน: อ่ำนพัฒนำกำรเมืองน่ ำน ผ่านสถาปัตยกรรมเมือง. เชียงใหม่. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาเนิ นงานวิทยานิ พนธ์ ของคณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (นาย ชยุตม์ กาวินคา) ……….../………./………..



คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาว ณัฏฐณิ ชา อุ่นวัฒนา รหัส 5919102509 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตรและการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่ วยกิต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.56 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) : การออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม “เอซสตูดิโอ” อาเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) : The Landscape Architectural Design and Planning of ESC Studio , Khlong Luang, Pathum Thani 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ กรรมการบริ ษทั เอซ สตูดิโอ เป๊ ก สัณณ์ชยั และธัญญ่า ธัญญาเรศ ได้มีโครงการใช้งบประมาณใน การลงทุนกว่า 600 ล้านบาท สาหรับก่อสร้างสตูดิโอให้เช่าขนาดใหญ่ภายใต้ชื่อ เอซ สตูดิโอ (ESC Studio) บนเนื้ อ ทีดินส่ วนตัวกว่า 529 ไร่ เนื่ องจากการถ่ายละครในวงการบันเทิงมักมีปัญหาเรื่ องความไม่พร้อมหลาย ๆ อย่าง ทั้ง สถานที่ถ่ายทาที่มกั มีปัญหาบ่อยครั้ง การหาที่พกั ให้ทีมงานและนักแสดงยังไม่เอื้ออานวยมากพอ จึงมีแนวคิดที่จะ พัฒนาพื้นที่วา่ งเปล่าให้เกิดประโยชน์ในอนาคต ในเฟส 1 มีพ้ืนที่ 145 ไร่ ชื่อว่า “เอซสตูดิโอ” (ESC Studio) ตั้งอยู่ในซอยคลองหลวง 17 จังหวัด ปทุมธานี ปั จจุบนั ได้มีการสร้างอาคาร 4 หลังไว้รองรับการถ่ายทาละคร ภาพยนตร์ รายการโทรทัศน์ต่าง ๆ มีพ้ืนที่ อเนกประสงค์สาหรับจัดงานกิจกรรม (Events) และเปิ ดเป็ นสตูดิโอไว้ถ่ายงานโฆษณาได้ ในเฟส 2 เป็ นโครงการที่ กาลังดาเนิ นการก่อสร้าง ประกอบไปด้วยเรื อนไทยหลากหลายรู ปแบบ ตลาดน้ า และสวนน้ า นอกจากส่ วนของ สตูดิโอยังมี ในส่ วนของ ESC Water Park ที่ อยู่ในระหว่างก่ อสร้ างมี ท้ งั สถานที่ ออกกาลังกายทางน้ า มี โรงแรม ร้านอาหารภายในที่เดียวกัน ทั้งหมดนี้ จะเป็ นโรงถ่ายภาพยนตร์ ขนาดใหญ่ ของ “เอซสตูดิโอ” (ESC Studio) ซึ่ ง สถานที่แห่ งนี้ สามารถเป็ นทั้งที่ถ่ายละคร ถ่ายภาพยนตร์ ถ่ายโฆษณา จัดงานแต่งงาน งานเลี้ยง สถานที่พกั ผ่อนใน วันหยุดและมีโครงการจะเป็ นสถานที่จดั คอนเสิ ร์ตอีกด้วย โดยโครงการออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรมนี้ จะครอบคลุมพื้นที่เพียง 2 เฟส เนื่องจากต้องการศึกษา การออกแบบวางผังการถ่ายภาพยนตร์ เป็ นหลักไม่นับพื้นที่ กีฬาทางน้ ามาเกี่ ยวข้อง โดยรวมพื้นที่ ของโครงการ ทั้งหมดประมาณ 296 ไร่ โดยใน 2 เฟส นี้ จะเพิ่มพื้นที่เพื่อการเรี ยนรู ้ดา้ นการออกแบบและความคิดสร้างสรรค์ (Creative Space) ที่ จัดเตรี ยมทรั พยากรสารสนเทศสาหรับการค้นคว้าความรู ้ ด้วยตนเอง การเพิ่มพูนความรู ้ ดว้ ย นิ ทรรศการ การบรรยายและการเรี ยนรู ้เชิงปฏิบตั ิ ตลอดจนการพื้นที่ที่สามารถเปิ ดโอกาสให้เกิดการแลกเปลี่ยน


ประสบการณ์จากหลากหลายสาขาเพื่อเพิ่มโอกาสและความรู ้ให้กบั ผูม้ าเยี่ยมเยือนและเยาวชนรุ่ นใหม่ อีกทั้งยังเป็ น สถานที่พกั ผ่อนและแหล่งท่องเที่ยวที่มีความหลากหลายมากขึ้นอีกด้วย 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อรองรับการถ่ายทาละคร ภาพยนตร์ และรายการโทรทัศน์ต่าง ๆ อย่างครบครัน 4.1.2 เพื่อเป็ นแหล่งการท่องเที่ยวอีกแห่ งหนึ่ งที่สามารถจัดกิจกรรมต่าง ๆ (Events) ได้ อย่างหลากหลายเช่น งานเลี้ยง งานแต่งงาน นิทรรศการ งานคอนเสิ ร์ต เป็ นต้น 4.1.3 เพื่อเพิ่มพื้นที่เพื่อการเรี ยนรู ้ดา้ นการออกแบบและความคิดสร้างสรรค์ (Creative Space) ให้กบั กลุ่มเยาวชนรุ่ นใหม่ 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมโรงถ่ายภาพยนตร์ 4.2.2 เพื่อศึกษาขั้นตอนและวิธีการถ่ายทาภาพยนตร์ 4.2.3 เพื่อศึกษาการออกแบบพื้นที่เรี ยนรู ้ (Creative Space) และการท่องเที่ยวในสถานที่ โรงถ่ายภาพยนตร์ 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ ตั้งอยูใ่ นโครงการไวท์เฮ้าส์ ซอยคลองหลวง 17 จังหวัดปทุมธานี เนื้อที่ประมาณ 296 ไร่ 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 พื้นที่โครงการอยู่ใกล้แหล่งท่องเที่ยว สถานศึกษา โรงเรี ยน มหาวิทยาลัยต่าง ๆ มี การเดินทางที่เข้าถึงได้ง่ายและสะดวก 5.2.2 ภายในพื้นที่ โครงการเริ่ มมี การสร้างโครงการเฟส 1 แล้วและกาลังมี โครงการ พัฒนาศักยภาพพื้นที่ต่อในอนาคต


การออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรม “เอซสตูดิโอ” อาเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี แผ่ นที่ 1 แสดงที่ต้ งั และขอบเขตโครงการ สัญลักษณ์ ขอบเขตโครงการ 296 ไร่ ถนน ถนนพหลโยธิน ซอย คลองหลวง 17 ทางรถไฟฟ้าชานเมืองสายสี แดง ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth (สื บค้นวันที่ 17 ธันวาคม 2562)

Not to scale


การออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรม “เอซสตูดิโอ” อาเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี แผ่ นที่ 2 แสดงพื้นที่เชื่องโยง สัญลักษณ์ ขอบเขตโครงการ 296 ไร่ ถนน ถนนพหลโยธิน ถนน รังสิ ต-ปทุมธานี ถนน รังสิ ต-นครนายก ซอย คลองหลวง 17 ถนน บางบัวทอง-บางพูน ทางรถไฟฟ้าชานเมืองสายสี แดง แยกต่างระดับระดับรังสิ ต ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth (สื บค้นวันที่ 17 ธันวาคม 2562)

Not to scale


6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา พื้นที่ท้ งั หมดประมาณ 296 ไร่ ทิศเหนือ ติดกับ ชุมชนบ้านจัดสรร ทิศใต้ ติดกับ โครงการ ESC Wake Park ทิศตะวันออก ติดกับ พื้นที่โล่งว่างเปล่า ทิศตะวันตก ติดกับ ทางรถไฟฟ้าชานเมืองสายสี แดงและชุมชนอาศัย 7. บรรณานุกรรม TCDC. 2560. “Thailand Creative & Design Center”.[ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา: https://web.tcdc.or.th/media/sponsor_lang_fileupload1/5/TCDC_SPONSOR_010617. pdf (วันที่ 17 ธันวาคม 2562) ข่าวสด. 2562. “เป๊ ก – ธัญญ่า ทุ่ม 600ล. ผุด “เอซ สตูดิโอ” จ่อสร้าง ตลาดน้ า-โบสถ์ รองรับอี เวนต์!”.[ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา: https://www.khaosod.co.th/entertainment/news_2276447 (วันที่ 17 ธันวาคม 2562) matemnews.com.2562. “อลังการงานสร้าง ESC Studio โรงถ่ายครบวงจร”.[ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา: https://matemnews.com/News/54165 (วันที่ 17 ธันวาคม 2562) Setup. 2562. “เปิ ดอาณาจักรหรู กว่า 600 ล้าน ธัญญา-เป๊ ก ทุ่มทุนสร้างเป็ นเปิ ดสตูดิโอให้ เช่า”.[ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา: https://bit.ly/2EwmYtm โดยข้าพเจ้ายินดี ที่จะปฏิ บตั ิ ตามหลักและวิธีดาเนิ นงานวิทยานิ พนธ์ ของคณะสถาปั ตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (……………………………………………) ……….../………./………..



คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตร์ บัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาว ณัฐธิดา ฟ้าเลิศ รหัส 5919102510 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.74 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตร์ บณ ั ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบการวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม อนุสรณ์สถานผูเ้ สี ยสละ อาเภอ เชียงคา จังหวัดพะเยา 2. หั ว ข้อ เรื่ อ ง (ภาษาอัง กฤษ) The Landscape Architectural Design Project of the Sacrifice Memorial Park, Chiang Kham, Phayao 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ ความสาคัญทางประวัติศาสตร์ สนามบินเก่า ค่ายขุนจอมธรรมหรื อกรมทหารราบที่ 17 อาเภอ เชียงคา จังหวัดพะเยา ในอดีตนั้นสร้างขึ้นมาท่ามกลางสถานการณ์ ที่มีความขัดแย้งทางด้านอุดมการณ์ทางการเมือง ระหว่างระบอบเสรี นิยมประชาธิ ปไตย และระบอบสังคมนิ ยมคอมมิวนิ สต์ พลเรื อน ตารวจ และทหารร่ วมต่อสู ้ อย่างเข้มแข็งกล้าหาญและเสี ยสละ ทาให้การดาเนิ นงานของกลุ่มผูก้ ่อการร้ายคอมมิวนิ สต์ไม่ประสบความสาเร็ จ และยุติการต่อสู ้ลง หลังจากนั้นได้มีการสร้างอนุ สาวรี ยอ์ นุ สรณ์ผูเ้ สี ยสละ พ.ต.ท. 2324 เป็ นอนุ สรณ์แด่ พลเรื อน ตารวจ ทหาร(พ.ต.ท.) ที่ เสี ยชี วิตในการปฏิ บตั ิ หน้าที่ ปราบปรามผูก้ ่ อการร้ ายคอมมิ วนิ สต์ จารึ กนามผูเ้ สี ยชี วิต จานวน 399 นาย ปั จ จุ บัน โลกได้เ ปลี่ ย นแปลงไปสถานที่ แ ห่ ง นี้ จึ ง อนุ ส รณ์ แ ห่ ง ประวัติ ศ าสตร์ ก ารสู ้ ร บกับ คอมมิวนิสต์ ส่ งผลให้สนามบินที่เคยใช้ในช่วงสงครามไม่ได้ใช้งานอีกต่อไป ด้วยเหตุน้ ีจึงเล็งเห็นประโยชน์ในการ นาพื้นที่สนามบินเก่าที่ไม่ได้ใช้งานแล้วมาพัฒนาให้เป็ นโครงการออกแบบปรับปรุ งเป็ นอนุสรณ์สถานผูเ้ สี ยสละ ที่ มี พ้ื น ที่ ส าธารณะ เพื่ อ ให้ ป ระชาชนได้ใ ช้ป ระโยชน์ ใ นการท ากิ จ กรรมออกก าลัง กายรวมไปถึ ง สอดแทรก ประวัติศาสตร์ เพื่อราลึกถึง วีรกรรมของพลเรื อน ตารวจ และทหาร ที่ได้เข้าร่ วมต่อสู ้อย่างเข้มแข็งกล้าหาญและ เสี ยสละ ในปั จจุบนั ผูค้ นหันมาสนใจดูแลสุ ขภาพมากขึ้น สถานที่แห่งนี้มีคนมาใช้งานออกกาลังกายในช่วงเลิกงาน และวันหยุด ขณะเดียวกันสภาพพื้นที่ยงั ไม่ถูกออกแบบพัฒนาให้มีการใช้งานอย่างเป็ นทางการ ทาให้ไม่ตอบสนอง ต่อคนในพื้นที่อย่างเต็มที่ สนามบินเก่าแห่งนี้จึงมีความเหมาะสมอย่างยิง่ ที่จะปรับปรุ งสภาพเป็ นพื้นที่สาธารณะเพื่อ ส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพและเป็ นสถานที่ ร องรั บ กิ จ กรรมและเทศกาลต่ า ง ๆ เพื่ อ เกิ ด ประโยชน์ ต่ อ คนในพื้ น ที่ แ ละ นักท่องเที่ยว


4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อปรั บปรุ ง ภูมิสถาปั ตยกรรมพื้นที่ สนามบิ นเก่ าที่ ไม่ได้ใช้งานให้เป็ นพื้นที่ สาธารณะให้แก่ประชาชนในอาเภอเชียงคา 4.1.2 เพื่อเป็นพื้นที่อนุสรณ์สถานให้แก่ประชาชนได้ราลึกถึงการเสี ยสละของพลเรื อน ตารวจและทหารที่ได้ร่วมสู ้รบกับคอมมิวนิสต์ 4.1.3 เพื่อเป็ นพื้นที่สาธารณะประโยชน์รองรับกิจกรรมนันทนาการและพื้นที่ออกกาลัง กายสาหรับประชาชนทัว่ ไป 4.1.4 เพื่อเป็ นแหล่งท่องเที่ยวบอกเล่าเรื่ องราวเชิ งประวัติศาสตร์ และสอดแทรกวัฒนธรรม ของอาเภอเชียงคา จังหวัดพะเยา

4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึ กษาการออกแบบวางผัง ภูมิสถาปั ตยกรรมพื้นที่ ที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์ให้ กลับมามีคุณค่าต่อสังคม 4.2.2 เพื่อศึกษากระบวนการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมพื้นที่สาธารณะอนุสรณ์สถาน 4.2.3 เพื่อศึกษาลักษณะการใช้ประโยชน์ของที่ดินให้เหมาะสมกับการใช้งานและความ หลากหลายของกิจกรรม 4.2.4 เพื่อศึกษาสภาพปั ญหาการจัดการเรี ยนรู ้ของแหล่งการเรี ยนรู ้ตลอดชี วิตประเภท สวนสาธารณะซึ่งเป็ นพื้นที่เชิงประวัติศาสตร์ 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ ตั้งอยูท่ ี่ค่ายขุนจอมธรรมหรื อกรมทหารราบที่ 17 ตาบลเชียงบาน อาเภอเชียงคา จังหวัด พะเยา มีเนื้อที่โดยประมาณ 160 ไร่


โครงการออกแบบการวางผังภูมิสถาปัตยกรรม อนุสรณ์สถานผูเ้ สี ยสละ อาเภอเชียงคา จังหวัดพะเยา แผนที่ 1 แสดงแผนผังอาเภอเชียงคา ที่มา : ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศจาก Google Earth Pro (3 ธันวาคม 2562) สัญลักษณ์ : ตัวอาเภอเชียงคา ที่ต้ งั โครงการ

มาตราส่ วน : NOT TO SCALE


โครงการออกแบบการวางผังภูมิสถาปัตยกรรม อนุสรณ์สถานผูเ้ สี ยสละ อาเภอเชียงคา จังหวัดพะเยา แผนที่ 2 แสดงที่ต้ งั โครงการ ที่มา : ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศจาก Google Earth Pro (3 ธันวาคม 2562) สัญลักษณ์ : ตัวอาเภอเชียงคา ที่ต้ งั โครงการ

มาตราส่ วน : NOT TO SCALE


โครงการออกแบบการวางผังภูมิสถาปัตยกรรม อนุสรณ์สถานผูเ้ สี ยสละ อาเภอเชียงคา จังหวัดพะเยา แผนที่ 3 แสดงเส้นทางการเข้าถึงพื้นที่ ที่มา : ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศจาก Google Earth Pro (3 ธันวาคม 2562) สัญลักษณ์ : ขอบเขตพื้นที่โครงการ ถนนหมายเลข 1021

มาตราส่ วน : NOT TO SCALE

5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 พื้นที่เป็ นสนามบินรบเก่าที่ถูกทิ้งร้างไม่ได้ใช้ประโยชน์และมีลานบินเก่าที่มี ศักยภาพสามารถนามาทาให้เกิดประโยชน์และพัฒนาเป็ นพื้นที่สาธารณะแก่ประชาชนทัว่ ไปได้ 5.2.2 พื้นที่ต้ งั อยูใ่ กล้กบั แหล่งชุมชน ค่ายทหาร จึงมีคนเข้ามาใช้พ้นื ที่อยูบ่ ่อยครั้ง และพื้นที่ติดถนนไม่ไกลจากตัวเมืองเชียงคา จึงสามารถเข้าถึงพื้นที่ได้อย่างสะดวก




คำร้ องเสนอหัวข้อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่โจ้ ข้าพเจ้า นางสาว ณัทริ การณ์ ปั ทมาลัย รหัส 591902511 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่ วยกิต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.82 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบวางผังเพื่อ บรรเทาน้ าท่วมบริ เวณพื้นที่ริมน้ าเขตเศรษฐกิจ พิเศษแม่สาย อ.แม่สาย จ.เชียงราย 2. หั ว ข้ อ เรื่ อง (ภาษาอั ง กฤษ) Landscape Architecture Design and Planning for Mitigation Flooding, Waterfront Areas of Mae sai Special Economic Zone, Mae sai, Chiang Rai 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ ปั จจุบนั การขยายตัวของชุมชนเมืองได้เติบโตและขยายออกมาอย่างต่อเนื่ องส่ งผลให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงต่อระบบสังคม เศรษฐกิจ และสิ่ งแวดล้อมของชุมชนเมืองโดยเฉพาะด้านสิ่ งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง ตามการขยายตัวของเมืองอย่างรวดเร็ ว หากไม่มีการจัดการน้ าที่ดีอาจส่ งผลกระทบต่อระบบอุทกวิทยาในพื้นที่ซ่ ึง ก่อให้เกิดความเสี ยหายในด้านต่างๆในชุมชนเมือง อ.แม่สาย จ.เชี ยงราย เป็ นหนึ่ งในอาเภอที่ได้รับเป็ นพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษแห่ งหนึ่งในจังหวัด เชียงราย ที่มีความเจริ ญเติบโตและการขยายตัวของชุมชนเมืองในพื้นที่ โดยเฉพาะแถบชายแดนแม่สายที่มีอาณาเขต ติดต่อ จ.ท่าขี้เหล็ก สาธารณรัฐสหภาพเมียนมา มีแม่น้ าสายเป็ นพรมแดนกั้นจนกลายเป็ นตลาดการค้าชายแดนและ แหล่งท่องเที่ยวอีกแห่งหนึ่งในจังหวัดเชียงราย ส่ งผลให้เกิดการขยายตัวของชุมชนเมืองเข้ารุ กล้ าพื้นที่ริมแม่น้ าสาย ทาให้แม้ความกว้างของแม่น้ าสายลดลง รวมถึงการรุ กล้ าลาเหมืองสาธารณะในพื้นที่ทาให้การระบายน้ าผิวดินใน พื้นที่มีการเปลี่ยนแปลงจนทาให้ในรอบ 10 ปี ที่ผ่านมา ได้เกิดอุทกภัยครอบคลุมพื้นที่ท้ งั 3 หมู่บ้านใน ต.แม่สาย ได้แก่ ชุมชนเกาะทราย ชุมชนไม้ลุงขน ชุมชนเหมืองแดง โดยมวลน้ าได้ไหลเข้าสู่ หมู่บา้ น ไร่ นา รวมถึงร้านค้าใน พื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ รวมมูลค่าเสี ยหายกว่า 100 ล้านบาท ดังนั้นการจัดการด้านภูมิสถาปัตยกรรมพื้นที่ริมน้ าเป็ นอีกหนึ่งวิธีในการแก้ไขและบรรเทาปัญหา อุทกภัยในพื้นที่เพื่อก่อให้เกิดผลกระทบต่อสังคม เศรษฐกิจ และสิ่ งแวดล้อมภายในพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบอย่าง น้อยที่สุด รองรับการขยายตัวของชุมชนเมืองและพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษของอ.แม่สาย จ.เชียงราย


4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อบรรเทาปัญหาน้ าท่วมในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ อ.แม่สาย จ.เชียงราย 4.1.2 เพื่อบรรเทาความเสี ยหายด้านสังคม เศรษฐกิจ และสิ่ งแวดล้อม ภายในพื้นที่ที่ ประสบอุทกภัย 4.1.3 เพื่อนาแนวคิดในการออกแบบทางภูมิสถาปั ตยกรรมเข้า มาบรรเทาอุ ทกภัย ใน พื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ อ.แม่สาย จ.เชียงราย 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาการออกแบบปรับปรุ งวางผังภูมิสถาปัตยกรรมเพื่อบรรเทาน้ าท่วม 4.2.2 เพื่อศึกษาผลกระทบที่เกี่ยวข้องกับอุทกภัยในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ อ.แม่สาย จ.เชียงราย 4.2.3 เพื่อศึกษาพื้นที่ริมน้ าในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ อ.แม่สาย จ.เชียงราย 4.2.4 เพื่อศึกษาแนวทางการป้องกันและบรรเทาผลกระทบเกี่ยวกับอุทกภัยที่เป็ นไปได้ ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ อ.แม่สาย จ.เชียงราย 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ พื้ น ที่ ริ มน้ า ได้รับผลกระทบจากอุ ทกภัยในปี พ.ศ. 2560 บริ เ วณพื้ น ที่ 3 ชุ มชนในเขต เทศบาลตาบลแม่สาย อ.แม่สาย จ.เชียงราย มีขนาดพื้นที่ 572 ไร่ ได้แก่ ชุมชนกาะทอง ชุมชนไม้ลุงขน และชุมชน เหมืองแดง 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 เป็ นพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัยโดยตรง 5.2.2 เป็ นพื้นที่ติดริ มแม่น้ าสาย มีแนวโน้มที่จะได้รับผลกระทบอีกครั้งในอนาคต 5.2.3 เป็ นพื้นที่ริมน้ า ที่มีศกั ยภาพช่วยป้องกันและบรรเทาอุทกภัยได้ 5.2.4 เป็ นพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษใน อ. แม่สาย จ.เชียงราย


โครงการออกแบบวางผังเพื่อบรรเทาน้ าท่วมบริ เวณพืน้ ที่ริมน้ าเขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สาย อ.แม่สาย จ.เชียงราย สัญลักษณ์ทิศ แผนที่ 1 แผนผังแสดงพื้นที่ประสบอุทกภัย พ.ศ. 2560 สัญลักษณ์ เขตชายแดนไทย เมียนมาร์ พื้นที่ประสบอุทกภัย ถนน มาตราส่ วน Not to scale ที่มา : http://202.129.59.76/website/ews_all/stn_map.php?onstn=STN0029 (12 ธันวาคม 2562)


โครงการออกแบบวางผังเพื่อบรรเทาน้ าท่วมบริ เวณพืน้ ที่ริมน้ าเขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สาย อ.แม่สาย จ.เชียงราย สัญลักษณ์ทิศ แผนที่ 2 แผนผังพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ สัญลักษณ์ อยู่ในภาพ มาตราส่ วน Not to scale ที่มา : https://www.tcijthai.com/news/2015/04/watch/5817 (12 ธันวาคม 2562)


โครงการออกแบบวางผังเพื่อบรรเทาน้ าท่วมบริ เวณพืน้ ที่ริมน้ าเขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สาย อ.แม่สาย จ.เชียงราย สัญลักษณ์ทิศ แผนที่ 3 แผนผังพืน้ ที่โครงการ สัญลักษณ์ เขตชายแดนไทย เมียนมาร์ ขอบเขตพื้นที่โครงการ พื้นที่โครงการ ถนนพหลโยธิน มาตราส่ วน Not to scale ที่มา : ดัดแปลงจาก google earth (12 ธันวาคม 2562)




คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาว ดาราวดี ทรัพย์ประเสริ ฐ รหัส 5919102512 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึ กษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึ กษา จานวนหน่ วยกิ ต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจน ถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.45 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) : การออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรม พื้นที่สาธารณะริ มแม่น้ า เจ้าพระยา ชุมชนบ้านศาลาแดงเหนื อ เพื่อการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมวิถีชีวิตชาวมอญ อาเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี 2. หั ว ข้ อ เรื่ อง (ภาษาอัง กฤษ) : The Landscape Architecture Design and Improvement of Chao

Phraya River Public Waterfront areas of the Saladaeng Nuea Community for Mon Cultural Tourism, Sam Khok, Pathum Thani. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ จังหวัดปทุมธานี เป็ นจังหวัดที่ มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมมีกลุ่มชาติพนั ธุ์ต่างๆ อาศัยอยู่ หลายกลุ่มชน โดยเฉพาะ ชาวมอญ ส่ วนใหญ่ต้ งั ถิ่นฐานอยู่กนั หนาแน่นในพื้นที่อาเภอสามโคก แต่ละกลุ่มชน มีอตั ลักษณ์ เอกลักษณ์ ที่แตกต่างกันไปตามบริ บทของสังคม รวมถึงประเพณี พิธีกรรมต่างๆ ซึ่ งได้สืบสานและถ่ายทอด ภูมิปัญญาสื บต่อกันมาจนกลายเป็ นมรดกทางวัฒนธรรมที่ล้ าค่า ชุ มชนบ้า นศาลาแดงเหนื อ ต าบลเชี ย งรากน้อย อ าเภอสามโคก จังหวัด ปทุ มธานี เป็ นพื้ น ที่ ประวัติศาสตร์ที่มีการอพยพมาจากเมืองเมาะตะมะ(เมาะลาเลิง) เนื่องจากพ่ายแพ้สงครามพม่าจึงอพยพครอบครัวเข้า มาพึ่งพาพระบรมโพธิ สมภารสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ซึ่ งเป็ นการอพยพครั้งที่ 8 ของชาวมอญเข้าสู่ ประเทศ ไทย โดยให้ชาวบ้านเลือกพื้นที่ที่จะอาศัยเป็ นหลักแหล่ง ซึ่ งหลักในการเลือกที่อยู่อาศัยของชาวมอญคือ ที่อยู่อาศัย ติดกับแม่น้ า เพราะสะดวกในการใช้น้ าในหน้าแล้ง ชุมชนบ้านศาลาแดงเหนื อ เป็ นที่ลาบลุ่ม ติดกับแม่น้ าเจ้าพระยา ปั จจุบนั เป็ นชุ มชนคนไทยเชื้ อสายมอญริ มฝั่ งแม่น้ าเจ้าพระยาที่ยงั คงอนุรักษ์วิถีชีวิตวัฒนธรรม ประเพณี แบบชาว มอญเอาไว้ เช่น พูดภาษามอญ สวดมนต์ภาษามอญทาอาหารมอญ แต่งกายแบบคนมอญ จากยุทธศาสตร์ การพัฒนาจังหวัดปทุมธานี (พ.ศ.2561-2565) ชุมชนบ้านศาลาแดงเหนื อ อาเภอ สามโคก เป็ นหนึ่ งในพื้นที่ ในแผนพัฒนาหัวข้อการท่องเที่ ยวเชิ งวัฒนธรรม ประกอบกับในปั จจุบนั การท่องเที่ ยว เป็ นกลไกสาคัญในด้านการพัฒนา มีผลต่อภาพรวมทางเศรษฐกิจ และจังหวัดปทุมธานี ได้เล็งเห็นความสาคัญและ สนับสนุนการส่ งเสริ มการท่องเที่ยวแหล่งเรี ยนรู ้ทางวัฒนธรรม


โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรม พื้นที่สาธารณะริ มแม่น้ าเจ้าพระยา ชุมชนบ้าน ศาลาแดงเหนื อ เพื่ อการท่ องเที่ ยวเชิ งวัฒนธรรม วิถีชีวิตชาวมอญ อาเภอสามโคก จังหวัดปทุ มธานี จึ งเน้นการ ออกแบบพื้นที่ สาธารณะริ มแม่น้ า ส่ งเสริ มให้เกิดการท่องเที่ยวริ มน้ า แหล่งเรี ยนรู ้การถ่ายทอดทางภูมิปัญญาและ วัฒนธรรมซึ่ งเป็ นเอกลักษณ์พ้ื นถิ่ นให้คงอยู่ และเป็ นต้นแบบการพัฒนาชุ มชนเพื่ อสร้างประโยชน์สูงสุ ด ให้กบั ชุ มชนพื้ นถิ่ นและนักท่ อ งเที่ ย ว รวมทั้งส่ งเสริ มการรองรั บ การขยายตัวของการท่ องเที่ ย วเชิ งวัฒ นธรรมให้ได้ มาตรฐาน และเพิ่มศักยภาพทางเศรษฐกิจของจังหวัดปทุมธานี 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อส่ งเสริ มการพัฒนาพื้นที่ สาธารณะริ มแม่น้ าเจ้าพระยา ย่านชุ มชนบ้านศาลา แดงเหนื อ ให้เป็ นพื้นที่ เพื่อการท่องเที่ ยวเชิ งวัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิตชาวมอญ ทั้งยังเป็ นแหล่งท่องเที่ ย วเชิ ง วัฒนธรรมที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดปทุมธานี 4.1.2 เพื่อส่ งเสริ มการพัฒนาพื้นที่ สาธารณะริ มแม่น้ าเจ้าพระยา ย่านชุ มชนบ้านศาลา แดงเหนื อ ให้เป็ นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจของคนในชุ มชน พื้นที่ ทางกิ จกรรมของชาวไทยรามัญที่ สามารถสร้ าง รายได้ให้กบั ชุมชนตามศักยภาพที่เหมาะสม 4.1.3 เพื่อส่ งเสริ มการพัฒนาพื้นที่ สาธารณะริ มแม่น้ าเจ้าพระยา ย่านชุ มชนบ้านศาลา แดงเหนือ ให้เป็ นแหล่งท่องเที่ยวทางน้ าที่สาคัญของจังหวัดปทุมธานี 4.1.4 เพื่อสร้างแหล่งท่องเที่ยวเปิ ดพื้นทางที่เศรษฐกิจใหม่เชิงวัฒนธรรมและวิถีชีวิตให้ เจริ ญเติบโตอย่างยัง่ ยืนควบคู่กบั เมืองปทุมธานี เพื่อเพิ่มศักยภาพทางเศรษฐกิ จให้กบั จังหวัดปทุมธานี และพัฒนา เป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมให้มีความเชื่อมโยงกับสถานที่สาคัญต่างๆโดยรอบ 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมกับพื้นที่ชุมชนที่มีเอกลักษณ์ทาง ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิต 4.2.2 เพื่ อศึ กษาการออกแบบวางผังภู มิสถาปั ตยกรรมเพื่ อการฟื้ นฟูภูมิทศั น์เมื องกับ พื้นที่สาธารณะริ มแม่น้ า เป็ นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนและนักท่องเที่ยว 4.2.2 เพื่อศึกษาพื้นที่ ย่านชุมชนบ้านศาลาแดงเหนือ ในการนามาประกอบการวิเคราะห์ หาศักยภาพในการพัฒนา 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง)


โครงการออกแบบและปรั บปรุ งภู มิ ส ถาปั ต ยกรรม พื้ นที่ ส าธารณะริ ม แม่ น้ า เจ้าพระยา ชุมชนบ้านศาลาแดงเหนือ เพื่อการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม วิถีชีวิตชาว มอญ อาเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี

N

แผนที่ 1 แสดงที่ต้ งั โครงการ ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศดัดแปลงจาก https://thaivaluer.com/(5 ธันวาคม 2562) สัญลักษณ์ ที่ต้ งั โครงการ ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรฯ แม่น้ าเจ้าพระยา

Not to scale


โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรม พื้นที่สาธารณะริ มแม่น้ า เจ้าพระยา ชุ มชนบ้านศาลาแดงเหนื อ เพื่อการท่องเที่ ยวเชิ งวัฒนธรรม วิถี ชีวิตชาวมอญ อาเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี แผนที่ 2 แสดงขอบเขตโครงการ ที่มา ดัดแปลงมาจาก Google Earth Pro (5 ธันวาคม 2562) สัญลักษณ์ ขอบเขตโครงการ ถนนหมายเลข 3309 ถนนหมายเลข 3111 ถนนหมายกาญจนาภิเษก

N Not to scale

6 ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา พื้ นที่ โครงการตั้งอยู่บริ เวณพื้ นที่ เรี ยบฝั่ งแม่น้ าเจ้าพระยา ตาบลเชี ยงรากน้อย อาเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี โดยพื้นที่ศึกษามีท้ งั หมด 74 ไร่ มีอาณาเขตติดต่อดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ คลองโคกตาเขียว หมู่ที่ 5 ต. เชียงรากน้อย อ. สามโคก ทิศใต้ ติดต่อกับ หมู่ที่ 1 ต. บ้านงิ้ว อ.สามโคก ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ถนนทางหลวงหมายเลข 3309 จ. ปทุมธานี ทิศตะวันตก ติดต่อกับ แม่น้ าเจ้าพระยา


7 u:rfllqn:u rhfnrrur{nu'ryltufsuinrlrlutrfr.

zsoo.

nqir?ru'lomorJrConr:riatdurnrunrrrfsur

Txsu n:cil:aruurnlnu. [:vuuooulari] unchdul.htF://pathtrmthani.cdd.go.th/ serviced (s

i'utnu zsoz)

drinrrudrnr-nilqmfi.

2s61.

ooularil unritdlr.

*rmur{flurdrur"nrlrlutrii sfl" (Tr.fi.2s61-ries). [:suu

htp:ilwww2.pathumthani.go.th/indexphp (s f,utrnru zsoz)

n:udqrBldonrr:ru. u.il.tj. "rJ:v6filruiinarnrunqmfio'. l:rurooulori] undldrr. htp://www.culturc.go.th/culture-th/pculnue/pathumthanil (S f,uarnu

In udrn rdrSufi

d t r rl fi

utn

ruu

dn un

sii

dr rfi u r ru

in

ur fi n u

ZSOZ)

f, { o{ R fl s dri r rln u n r : r

arcn{unsnr:oonuuud.:urndou uurinura-unildqnrh;nr: 6sfi uuu rrCo'[rlr nf, o r:

or

roq rifi

tndo)...9r z.r.-tfr . . .. n fr.:ii:,,I rs.! (urucrr nr:rr6 miildrJr crc? x) ...!.L.....r

..

/.!.....r..2ff.a e.


n?rilrlluro{aouor:uRlnhudruflngnr

t. (nrruriiu',...**....dtdtf9rg*

tadol.

nlrurlutolrhvtrunrruorlhudrmflngn: oU$iil#dduquinurfi

nudn r urhdodrauo

urlC

ru.'*ur.

.{:r*tIt.e,.?-ffri

.t

g:.dP.

...,.s{

gn

r5*.tr...

.

.

.)


คำร้ องเสนอหัวข้อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตร์ บัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นาย ธนัชพร คาคล้าย รหัส 5919102514 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่ วยกิต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.18 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) : โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมบริ เวณย่านสถานีรถไฟ เชียงรายแห่งใหม่ อ.เวียงชัย จ.เชียงราย 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) : The Landscape Architectural Design and Planning Project of The New Chiang Rai Railway Station Area, Wiang Chai, Chiang Rai 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ โครงการรถไฟทางคู่ สายเด่ นชัย -เชี ยงราย-เชี ยงของ เป็ นหนึ่ งในโครงการของการรถไฟแห่ ง ประเทศไทย ซึ่ งการรถไฟแห่ งประเทศไทย (รฟท.) ริ เริ่ มตั้งแต่ปี พ.ศ. 2503 โดยปั จจุบนั เส้นทางนี้ เป็ นส่ วนหนึ่ ง ของโครงการภายใต้ ยุทธศาสตร์ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้าน คมนาคมขนส่ งของไทย ปี พ.ศ. 2558-2565 ใน แผนงาน 1 การพัฒนาโครงข่ายรถไฟ ระหว่างเมื อง ระยะที่ 3 เพื่อเพิ่มศักยภาพการให้บริ การขนส่ งระบบราง สนับสนุ นการขนส่ งผูโ้ ดยสารและ สิ นค้า รองรับจานวนผูโ้ ดยสารและปริ มาณการขนส่ งสิ นค้าที่เพิ่มสู งขึ้น ซึ่ ง สอดคล้องตามนโยบายการพัฒนา ระบบขนส่ งและโลจิสติกส์ และแผนการพัฒนาต่างๆ ของรัฐบาล ที่สนับสนุนให้ มี การใช้ร ะบบขนส่ งทางราง เพื่ อช่ วยลดการเกิ ด อุบตั ิ เ หตุ ทางถนน ลดมลพิ ษ ลดต้นทุนการขนส่ งสิ นค้า และ สามารถประหยัดการใช้พลังงานของประเทศได้ในระยะยาว และเป็ น 1 ใน 2 ส่ วนต่อขยายของทางรถไฟสาย เหนื อ มีวตั ถุประสงค์รองรับการเดินทางและขนส่ งสิ นค้าภาคเหนื อ รวมถึงรองรับศูนย์เปลี่ยนถ่ายสิ นค้าเชียงของที่ กาลังก่อสร้างจะเชื่อมการค้าระเบียงเศรษฐกิจแนวเหนื อ-ใต้จากไทยไป สปป.ลาว จีน เวียดนาม และเขตเศรษฐกิจ ตามนโยบายของรัฐบาล สถานี รถไฟเชี ยงรายแห่ งใหม่จดั เป็ น 1 ใน 4 สถานี ขนาดใหญ่ ของเส้นทางและเป็ นจุดจอดขน ถ่ายตูส้ ิ นค้า ทาให้มีการขนส่ งสิ นค้าและรองรับนักท่องเที่ยวเป็ นจานวนมาก จากนโยบายจึงจาเป็ นต้องมีแผนเพื่อ รองรับการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน ด้วยเหตุผลนี้ โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมบริ เวณย่านสถานี รถไฟเชียงรายแห่ งใหม่ จึงมุ่งเน้นที่จะพัฒนาสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ให้มีคุณภาพเหมาะสมแก่การเป็ นย่านการ ขนส่ งโดยสารและการค้า ที่สามารถรองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงรายในอนาคต


โดยนาแนวคิด การพัฒ นาพื้ นที่ ร อบสถานี ข นส่ งมวลชน (Transit-Oriented Development หรื อ TOD) เพื่อให้มีการใช้ประโยชน์ที่ดินแบบผสมผสาน มีความหนาแน่นสู ง และส่ งเสริ มการใช้ระบบขนส่ งมวลชน แนวคิด TOD มุ่งสร้างกิจกรรมหลากหลายในพื้นที่โดยรอบสถานี ขนส่ งมวลชน โดยมีที่พกั อาศัย อาคารพาณิ ชย์ สานักงาน และการใช้ประโยชน์ประเภทอื่ น ๆ พร้อมกับออกแบบเพื่อรองรั บผูใ้ ช้ ระบบขนส่ งมวลชนเป็ นหลัก รวมทั้งสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเดิ นเท้าและใช้จกั รยาน เพื่อให้มีทางเลือกในการเดิ นทางหลากหลาย ลดการ พึ่งพาการใช้รถยนต์ส่วนบุคคล 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน ให้มีการใช้ประโยชน์ที่ดินแบบ ผสมผสาน ตามแนวคิดการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่ งมวลชน (TOD) 4.1.2 เพื่อส่ งเสริ มให้เกิดย่านเศรษฐกิจใหม่ ซึ่งจะกระตุน้ การค้า การลงทุน และ เศรษฐกิจของจังหวัดเชียงราย 4.1.3 เพื่อเพิ่มประสิ ทธิภาพของการเปลี่ยนถ่ายขนส่ งสาธารณะ 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาแนวทางการออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรมตามแนวคิด การพัฒนาพื้นที่ รอบสถานีขนส่ งมวลชน (TOD) 4.2.2 เพื่อศึกษาแนวทางการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมพื้นที่เปลี่ยนถ่ายระบบขนส่ ง สาธารณะที่มีประสิ ทธิภาพ 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 ที่ต้ งั โครงการ โครงการตั้งอยูท่ ี่ ตาบลเวียงชัย อาเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมบริ เวณย่านสถานีรถไฟเชียงรายแห่งใหม่ อ.เวียงชัย จ.เชียงราย แผนที่ 1 ที่ต้ งั โครงการ ที่ต้ งั โครงการ สถานีรถไฟเชียงรายแห่งใหม่ ทางรถไฟ ถนนศรี เวียง ทางหลวงชนบท ชร. 5023 ถนนพหลโยธิ น

ที่มา : ภาพถ่ายอากาศดัดแปลงจาก Longdo Map (10 ธันวาคม 2562)

No to scale


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมบริ เวณย่านสถานีรถไฟเชียงรายแห่งใหม่ อ.เวียงชัย จ.เชียงราย แผนที่ 2 ขอบเขตพื้นที่โครงการ พื้นที่โครงการ สถานีรถไฟเชียงรายแห่งใหม่ ทางรถไฟ ถนนศรี เวียง No to scale ที่มา : ภาพถ่ายอากาศดัดแปลงจาก Longdo Map (10 ธันวาคม 2562)


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมบริ เวณย่านสถานีรถไฟเชียงรายแห่งใหม่ อ.เวียงชัย จ.เชียงราย แผนที่ 3 การเชื่อมโยงของพื้นที่ พื้นที่โครงการ พื้นที่โครงการ สถานีขนส่ งผูโ้ ดยสารจังหวัดเชียงรายแห่งที่ 1 (ท่ารถเก่า) สถานีขนส่ งผูโ้ ดยสารเชียงรายแห่งที่ 2 ท่าอากาศยานนานาชาติแม่ฟ้าหลวง เชียงราย ระยะทาง 5 กิโลเมตร ระยะทาง 10 กิโลเมตร ที่มา : ภาพถ่ายอากาศดัดแปลงจาก Longdo Map (10 ธันวาคม 2562)

No to scale




คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้ อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้า พเจ้า นางสาวธี ร จุ ฑ า เพ่ ง ผล รหัส 5919102515 นัก ศึ ก ษาชั้น ปี ที่ 4 สาขาวิช าภูมิส ถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึ กษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึ กษา จานวนหน่ วยกิต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.11 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิพนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและวางผังปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมศูนย์การค้าฟาร์ ม เมอร์ สเปซ ราษฎร์ บูรณะ กรุ งเทพมหานคร 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architectural Design and Planning Project of Farmer Space Shopping Center, Burana, Bangkok 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ คลังสิ นค้า 2 ราษฎร์ บูรณะ เป็ นคลังสิ นค้าที่ต้งั อยู่ในพื้นที่ส่วนกลาง ตั้งอยู่ ณ 184 ถนนเจริ ญนคร แขวงบางประกอก เขตราษฎร์ บูรณะ กรุ งเทพมหานคร มีเนื้อที่ 50 ไร่ ด้านหน้าติดถนนเจริ ญนคร ด้านหลังติดแม่น้ า เจ้าพระยา มีการคมนาคมที่สะดวกและสามารถเดินทางได้ท้งั ทางบก และทางน้ า คลังสิ นค้าราษฎร์ บูรณะเป็ นกลุ่ม สิ น ทรั พย์ที่มีศ ัก ยภาพสู ง สามารถน ามาพัฒ นาใช้ประโยชน์ เ ชิ ง พาณิ ช ย์ไ ด้ ซึ่ ง องค์ก ารคลัง สิ น ค้า (อคส.) มี วัตถุประสงค์ที่จะพัฒนาคลังสิ นค้าให้เป็ นศูนย์การค้าเกษตรกรรมและแหล่งช็อปปิ้ งแห่งใหม่ของกรุ งเทพมหานคร โครงการออกแบบและวางผังปรั บปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมศู นย์การค้าฟาร์ มเมอร์ สเปซ ราษฎร์ บู ร ณะ กรุ ง เทพมหานคร ให้เ ป็ นศู นย์ก ารค้า แห่ ง ใหม่ ของกรุ งเทพมหานคร เพื่ อ ดึ ง ดูดความสนใจและเป็ นการ ส่ งเสริ มเศรษฐกิจการเกษตร ทาให้นกั ท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติเข้าถึงสิ นค้าทางการเกษตรได้ง่ายยิ่งขึ้น ประกอบกับองค์การคลังสิ นค้า (อคส.) มีนโยบายพัฒนาเพื่อยกระดับสิ นค้าการเกษตรและสิ นค้าอุปโภคบริ โภค พร้ อมทั้งมุ่งเน้นการเสริ มสร้ างพัฒนารายได้ให้กบั ประชาชนเพื่อประชาชนมีรายได้เพิ่มมากขึ้น มีคุณภาพชีวติ ที่ดี ขึ้น เป็ นการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยัง่ ยืน


4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อพัฒนาให้เป็ นพื้นทีศ่ ูนย์การค้าเพือ่ การเกษตร สถานที่พกั ผ่อนหย่อนใจและ แหล่งท่องเที่ยวแห่งใหม่ของกรุ งเทพมหานคร 4.1.2 เพื่อส่ งเสริ มเศรษฐกิจการเกษตร และสร้ างความเจริ ญแก่ชุมชน ทาให้ประชาชนมี รายได้เพิ่มมากขึ้น มีคุณภาพชีวติ ที่ดีข้ นึ เป็ นการพัฒนาเศรษฐกิจที่ยงั่ ยืน 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปั ญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษากระบวนการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมประเภทโครงการ ศูนย์การค้า (Community Mall) และพื้นที่นนั ทนาการ 4.2.2 เพื่อศึกษาความต้องการ พฤติกรรมในการใช้งานพื้นที่เพือ่ ออกแบบพื้นที่ให้ สอดคล้องเหมาะสมกับผูใ้ ช้โครงการ 4.2.3 เพื่อศึกษาเศรษฐกิจสิ นค้าการเกษตรของประเทศไทย


5. สถานที่ต้งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้งั 5.1. สถานที่ต้งั โครงการ พื้ น ที่ ต้ ัง โครงการอยู่ บ นถนนเจริ ญนคร แขวงบางประกอก เขตราษฎร์ บู ร ณะ กรุ งเทพมหานคร มีเนื้อที่ 50 ไร่

โครงการออกแบบและวางผัง ปรั บ ปรุ งภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมคลัง สิ น ค้า ราษฎร์ บู ร ณะเพื่ อ เป็ นศู น ย์ ก ารค้า กรุ งเทพมหานคร แผนที่ 1 แสดงที่ต้งั โครงการ ที่มา : ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศจาก Google Earth (17 ธ.ค. 2562) สัญลักษณ์ :

ขอบเขตพื้นทีโ่ ครงการ คลอง

NOT TO SCALE


โครงการออกแบบและวางผัง ปรั บ ปรุ งภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมคลัง สิ น ค้า ราษฎร์ บู ร ณะเพื่ อ เป็ นศู น ย์ ก ารค้า กรุ งเทพมหานคร แผนที่ 4 แสดงเส้นทางสัญจรบริ เวณโครงการ ที่มา : ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศจาก Google Earth (17 ธ.ค. 2562) สัญลักษณ์ :

ขอบเขตพื้นทีโ่ ครงการ ทางพิเศษเฉลิมมหานคร ถนนพระราม 3 ถนนราษฎร์ บรู ณะ ถนนสุ ขสวัสดิ์

NOT TO SCALE




คําร้ องเสนอหัวข้ อวิทยานิพนธ์ ปริญญาภูมสิ ถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิD งแวดล้ อม มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นาย ธีรดนย์ พรมจันทึก รหัส 5919102516 นักศึกษาชั8นปี ที: 4 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ: งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจํานวน 7 ภาคการศึกษา จํานวนหน่วยกิต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี:ยจน ถึงขนาดนี8ได้เท่ากับ 3.07 มีความประสงค์จะขอทําวิทยานิพนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี8 1. หัวข้อเรื: อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรม สถานบริ การเวชศาสตร์ชะลอวัยและการดูแลสุ ขภาพเชิง ป้องกัน ตําบล บางนํ8าผึ8ง อําเภอ พระประแดง จังหวัด สมุทรปราการ 2. หัวข้อเรื: อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape architectural Design and Improvement Wellness Center and Anti-Aging , Phra Pradaeng, Samut Prakan. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ บริ ษทั เอกชนแห่ งหนึ: งมีโครงการที:เกี:ยวกับสถานบริ การเพื:อสุ ขภาพในประเทศไทย โดยเจ้าของ โครงการดําเนิ นธุ รกิ จด้านสุ ขภาพ บริ ษทั เล็งเห็นถึงความสําคัญในเรื: องของการดูแลสุ ภาพเพื:อมีสุขภาพที:ดีและ สมบูรณ์ ให้ความสําคัญกับสุ ขภาพก่อนการเกิดโรค และเพื:อเป็ นการตอบรับกับแผนยุทธศาสตร์ ของชาติเพื:อการ พัฒนาประเทศไทยด้านสุ ขภาพที:จะยกระดับประเทศไทยสู่ ศูนย์กลางสุ ขภาพนานาชาติและท่องเที:ยวเชิงสุ ภาพและ การแพทย์ใ นการริ เ ริ: ม โครงการนี8 ซึ: ง เป็ นโครงการ Medical and Wellness Tourism โดยโครงการ Medical and Wellness Tourism คือการเพื:อท่องเที:ยวสุ ขภาพ พร้อมทั8งรองรับกลุ่มคนไข้ชาวไทยและชาวต่างชาติที:เดินทางเข้ามา รักษาตัวในโรงพยาบาลของประเทศไทย พร้อมกับการท่องเที:ยวไปในตัวในพื8นที:ธรรมชาติ เพื:อสังคมคนสู งวัย และผูป้ ่ วยพักฟื8 น พื8นที:เดิมเคยมีโครงการจากบริ ษทั เอกชนแห่ งหนึ:งสร้างหมู่บา้ นจัดสรรจนทําลายระบบนิเวศของ พื8นที: ตําบลบางนํ8าผึ8ง ความสําคัญตําบลบางนํ8าผึ8งเป็ นพื8นที:ราบลุ่มนํ8าท่วมถึงริ มแม่น8 าํ เจ้าพระยาทําให้บริ เวณนี8 ได้รับอิทธิ พลจากนํ8าทะเลช่วงเวลาที:น8 าํ ทะเลหนุ น ในเวลาที:น8 าํ ผ่านเข้ามาในบริ เวณลําคลองต่าง ๆ เข้าสู่ พ8ืนที: ดิน บริ เวณตําบลบางนํ8าผึ8งมีความอุดมสมบูรณ์ไปด้วยแร่ ธาตุและสารอาหารของพืชนานาชนิ ดพื8นที: ที:มีลกั ษณะทาง กายภาพที:น่าสนใจและมีระบบนิ เวศที:หลากหลายเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะที:หายได้ยากในประเทศไทย เหมาะแก่การ พัฒนาฟื8 นฟูเป็ นแหล่งท่องเที:ยวเชิงธรรมชาติ โดยกฎหมายการสร้างหมู่บา้ นจัดสรรนั8นไม่สามารถทําได้เนื:องจากได้


ทําลายระบบนิ เวศทางธรรมชาติเป็ นจํานวนมากที:เป็ นพื8นที:เพื:ออนุ รักษ์พ8ืนที:สีเขียว ปั จจุบนั ได้มีการเปลี:ยนผูร้ ่ วม โครงการจากบริ ษทั เอกชนแห่งหนึ:งเป็ นสถานบริ การเพื:อสุ ขภาพ ที:จะฟื8 นฟูระบบนิเวศขึ8นมาทดแทน จากเหตุผลความจําเป็ นที:กล่าวมาแล้วข้างต้น จึงเสนอโครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม สถาน บริ ก ารเวชศาสตร์ ช ะลอวัย และการดู แ ลสุ ข ภาพเชิ ง ป้ อ งกัน ตํา บล บางนํ8า ผึ8 ง อํา เภอ พระประแดง จัง หวัด สมุทรปราการ โครงการนี8 จะส่ งผลดี ต่อ ระบบนิ เวศทางธรรมชาติแหล่งท่องเที:ยวในพื8นที: ผูป้ ่ วยพักฟื8 น และใน อนาคต ที:จะมีผสู ้ ู งอายุที:มีจาํ นวนมากขึ8น ที:สาํ คัญยังกระจ่ายรายได้สู่บางกระเจ้า 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 การบริ การเรื: องของการรักษาและการท่องเที:ยวเพื:อสุ ขภาพ 4.1.1.1 ตอบสนองความต้องการ การฟื8 นฟูสภาพร่ างกายของผูป้ ่ วย 4.1.1.2 สร้างรายได้จากสังคมผูส้ ู งวัย และ ผูท้ ี:ป้องกันก่อนการเกิดโรค 4.1.1.3 เสริ มสร้างและพัฒนาการร่ างกายและจิตใจด้านการท่องเที:ยวเชิงนิเวศ ทางธรรมชาติ พัฒนาส่ งเสริ มกลุ่มอาชีพ สถานที:ท่องเที:ยว 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปั ญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื:อศึกษาประเด็นการรักษาและระบบการให้บริ การของสถานบริ การเวช ศาสตร์ชะลอวัยและการดูแลสุ ขภาพเชิงป้องกัน 4.2.2 เพื:อศึกษาการวางผังโครงการการรักษาและระบบการให้บริ การของสถาน บริ การเวชศาสตร์ชะลอวัยและการดูแลสุ ขภาพเชิงป้องกัน 4.2.3 เพื:อศึกษาแนวทางการพัฒนาการออกแบบที:รองรับผูส้ ู งอายุในอนาคตที:มี จํานวนมากขึ8นในอนาคต


5. สถานที:ต8 งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที:ต8 งั โครงการ (แสดงแผนผังที:ต8 งั โครงการโดยสังเขป ข้างล่างนี8 พร้อมแนบแผนผังโครงการที:ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคําร้อง) 5.1 สถานที:ต8 งั โครงการ โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมพื8นที:เสื: อมโทรม เพื:อการท่องเที:ยวเรี ยนรู ้ และนันทนาการ ตําบล บางนํ8าผึ8ง อําเภอ พระประแดง จังหวัด สมุทรปราการ พื8นที: 220ไร่ 5.1.1 ที:ต8 งั โครงการและขอบเขต

โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม สถานบริ การเวชศาสตร์ ชะลอวัยและการดูแล สุ ขภาพเชิงป้องกัน ตําบล บางนํ8าผึ8ง อําเภอ พระประแดง จังหวัด สมุทรปราการ มาตราส่ วน แผนทีD 1 แสดงที:ต8 งั และขอบเขตพื8นที:โครงการ ที:มา : ดัดแปลงมาจาก https://th.wikipedia.org/wiki (10 ธันวาคม 2562) Not to Scale สัญลักษณ์ : ที:ต8 งั โครงการ ตําแหน่งโครงการ


โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม สถานบริ การเวชศาสตร์ ชะลอวัยและการดูแลสุ ขภาพเชิ งป้ องกัน ตําบล บางนํ8าผึ8ง อําเภอ พระประแดง จังหวัด สมุทรปราการ มาตราส่ วน แผนทีD 2 แสดงขอบเขตที:ต8 งั โครงการ Not To Scale สัญลักษณ์ ขอบเขตพื8นที:โครงการ ที:มา : ดัดแปลงมาจาก Google Earth Pro (10 ธันวาคม 2562)


5.2 เหตุผลในการเลือกที:ต8 งั โครงการ 5.2.1 พื8 น ที: คุ ้ง บางกระเจ้า มี ล ัก ษณะทางกายภาพที: น่ า สนใจและมี ร ะบบนิ เ วศที: หลากหลายเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะที:หายได้ยากในประเทศไทย เหมาะแก่การพัฒนาฟื8 นฟูเป็ นแหล่งท่องเที:ยวเชิ ง ธรรมชาติและการการพักฟื8 นในสังคมผูส้ ู งวัย กับ ผูป้ ่ วย 5.2.2 ระบบนิ เวศภายในพื8นที:โครงการเดิมมีความเสื: อมโทรม ถูกทําลายธรรมชาติเดิม ไปหมดอย่างสิ8 นเชิง ซึ: งกระผมต้องการพัฒนาและปรับปรุ งภูมิทศั น์ฟ8ื นฟูให้มีความสวยงามและเหมาะสมกับการใช้ งานให้ผปู ้ ่ วยและสังคมผูส้ ู งวัย 6. ขอบเขตของพื8นที:ศึกษา โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม สถานบริ การเวชศาสตร์ชะลอวัยและการดูแลสุ ขภาพ เชิงป้องกัน ตําบล บางนํ8าผึ8ง อําเภอ พระประแดง จังหวัด สมุทรปราการ จํานวนพื8นที: 220 ไร่ ทิศเหนือ ติดกับ ชุมชนบางนํ8าผึ8ง ทิศใต้ ติดกับ แม่น8 าํ เจ้าพระยา ทิศตะวันออก ติดกับ ชุมชนบางนํ8าผึ8ง ทิศตะวันตก ติดกับ ชุมชนบางนํ8าผึ8ง 6. บรรณานุกรม ชนานุช ชูเชิด. 2562. “ข้อมูลพื8นที:สภาพทัว: ไป” [ระบบออนไลน์] แหล่งที:มา http://bangnamphueng.go.th/public/list/data/index/menu/1144 ลุงแมวนํ8า. 2557.”เช้าวันหยุดกับลุงแมวนํ8า บางกะเจ้า อนุรักษ์ พัฒนา เหลื:อมลํ8า และขัดแย้ง” [ระบบออนไลน์] แหล่งที:มา http://uncaseal.blogspot.com/2014/07/26072014-4.html Thaireform. 2557. “เกิดอะไรขึ8นที: 'บางกะเจ้า' พื8นที:อนุ รักษ์ 'ปอด' สี เขียวของคนเมือง”. [ระบบ อ อ น ไ ล น์ ] แ ห ล่ ง ที: ม า https://www.isranews.org/thaireform-other-news/30456bangkachao.html โดยข้าพเจ้ายินดี ที:จะปฏิ บตั ิ ตามหลักและวิธีดาํ เนิ นงานวิทยานิ พนธ์ ของคณะสถาปั ตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ: งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื:อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื:อ)……………………………………. ( นาย ธีรดนย์ พรมจันทึก ) ……….../………./………..



คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นาย นฤบดินทร์ ภูลา รหัส 5919102517 นักศึ กษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิตสะสม 151 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขณะนี้ได้เท่ากับ 2.99 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิพนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตร์ บณ ั ฑิต โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หั วข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) การออกแบบและวางผัง ภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมพื้ น ที่ ใต้โครงสร้ างรางรถไฟ ยกระดับทางคู่ ช่วงชุมทางถนนจิระ – ขอนแก่น อ. เมือง จ. ขอนแก่น 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architectural Design and Planning of the Areas Under the Elevated Double Track Railway Structure railway Chira - Khon Kaen Junction , Muang , Khon Kaen. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ โครงการก่ อ สร้ างรถไฟทางคู่ ช่ ว งชุ มทางถนนจิ ระ – ขอนแก่ น เป็ นส่ ว นหนึ่ งของโครงการ ภายใต้ยุทธศาสตร์ การพัฒ นาโครงสร้างพื้ นฐานด้านคมนาคมขนส่ งของไทย พ.ศ. 2558 – 2565 เป็ นโครงการ ก่อสร้างทางรถไฟ เพิ่มอีก 1 ทาง ขนานไปกับทางรถไฟเดิม ระยะทางประมาณ 187 กิโลเมตร โดยทางรถไฟส่ วน ใหญ่เป็ นทาง รถไฟระดับพื้น แต่ช่วงบริ เวณสถานี ขอนแก่นเป็ นช่วงที่ทางรถไฟพาดผ่านตัวเมืองขอนแก่นจึงได้มี การสร้างทางรถไฟให้เป็ นโครงสร้างทางรถไฟยกระดับ เนื่ องจากช่ ว งดังกล่าวมี จุดตัดทางรถไฟเสมอระดับ ใน บริ เวณเดียวกันถึง 5 แห่ ง และได้ออกแบบให้เป็ นทางรถไฟยกระดับข้ามถนนเดิม ยาวตลอดระยะทางประมาณ 5.4 กิโลเมตร เพื่อแก้ไขปัญหาการเกิดอุบตั ิจราจร และการจราจรติดขัดบริ เวณจุดตัดผ่านทางรถไฟ จากเดิมเป็ นรางรถไประดับพื้นและมีปัญหาการตัดขาดการเชื่อมต่อระหว่างชุมชนสองฟากฝั่งที่ อยู่บริ เวณริ มทางรถไฟ ความเสื่ อมโทรมของพื้นที่ การรุ กล้ าจับจองโดยคนจรจัด ปั ญหาการเกิดอุบตั ิจราจร และ การจราจรติดขัดบริ เวณจุดตัดผ่านทางรถไฟ ซึ่ งหลังจากสร้างโครงการก่อสร้างรถไฟยกระดับทางคู่ ช่วงชุมทาง ถนนจิระ – ขอนแก่น ตั้งอยู่และพาดผ่านย่านใจกลางเมืองขอนแก่นสร้างเสร็ จ จึงช่วยอานวยความสะดวกต่อการ คมนาคมขนส่ ง และท าให้ ขอนแก่ น เป็ นหนึ่ งในการคัด เลื อ กเป็ น เมื อ งต้น แบบการพัฒ นา (Transit Oriented Development : TOD) โดยสานักงานนโยบายและแผนการขนส่ งและจราจร (สนข.) จึงทาให้พ้ืนที่ ว่างบริ เวณใต้ โครงสร้างทางรถไฟยกระดับที่ พาดผ่านบริ เวณตัวเมื องขอนแก่น พื้นที่ ของการรถไฟบริ เวณรอบ ๆ สถานี รถไฟ


ขอนแก่ น พื้ น ที่ บ ริ เวณสวนสาธารณะประตู เมื อ ง สามารถพัฒ นาส่ งเสริ ม พื้ น ที่ ต ามแนวคิ ด Transit Oriented Development (TOD) และรองรับการพัฒนาเป็ น สมาร์ ท ซิ ต้ ี หรื อเมืองอัจฉริ ยะ และ ไมซ์ ซิ ต้ ี ตามแผนแม่บทการ พัฒ นาเมื อ งขอนแก่ น สมาร์ ท ซิ ติ้ 2029 ( KhonKaen Smart City 2029 ) ที่ เน้ น สร้ า งระบบโครงสร้ า งพื้ น ฐาน (infrastructure) ซึ่งให้สอดคล้องกับสภาพความเป็ นอยูข่ องคนในท้องถิ่น พื้นที่ว่างบริ เวณใต้โครงสร้างทางรถไฟยกระดับ จึงมีศกั ยภาพที่สามารถพัฒนาให้พ้ืนที่มีการใช้ งานแบบผสมผสาน (mixed use) เป็ นศูนย์การเปลี่ยนถ่ายการสัญจร และการพัฒนาให้ เป็ นพื้นที่สาธารณะ (Urban Space) ที่เป็ นรากฐานที่สาคัญของโครงสร้างพื้นฐานของเมือง โดยให้สอดคล้องกับกิจกรรมของกลุ่มคนในแต่ช่วง วัยและวิถีชีวิตความเป็ นอยู่ของคนในท้องถิ่น ชุมชนที่อยู่สองฟากฝั่งบริ เวณริ มทางรถไฟ ผูท้ ี่เข้ามาใช้งานในพื้นที่ ให้มีคณภาพชีวิตที่ดี พร้อมทั้งรองรับและส่ งเสริ มการพัฒนาของเมืองขอนแก่นในอนาคต ที่ให้ความสาคัญกับการ พัฒนาอย่างสมดุล ทั้งด้าน สังคม เศรษฐกิจ และสิ่ งแวดล้อม 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อพัฒนาพื้นที่ให้มีการใช้ประโยชน์ที่ดินตามแนวคิด เมื องต้นแบบการพัฒนา Transit Oriented Development (TOD) 4.1.2 เพื่อพัฒนาเป็ นพื้นที่สาธารณะ (Public Space) ที่เป็ นโครงสร้างพื้นฐานสาคัญของ เมืองเพื่อรองรับการพัฒนาของเมืองขอนแก่นในอนาคต 4.1.3 เพื่อการพัฒนาเมืองขอนแก่นอย่างสมดุล ทั้งด้านสังคม เศรษฐกิจ และสิ่ งแวดล้อม 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาขั้นตอนการออกแบบและวางผังทางภูมิสถาปั ตยกรรมในพื้นให้มีการ ใช้ประโยชน์ที่ดินตามแนวคิด Transit Oriented Development (TOD) 4.2.2 เพื่อศึกษาการออกแบบและวางผังทางภูมิสถาปั ตยกรรมพื้นที่สาธารณะ (Public Space) ที่รองรับกิจกรรมของกลุ่มคนในแต่ช่วงวัยและวิถีชีวิตความเป็ นอยู่ของคนในท้องถิ่น ผูท้ ี่เข้ามาใช้งานใน พื้นที่ พร้อมทั้งรองรับการพัฒนาของเมืองขอนแก่นในอนาคต 4.2.3 เพื่อศึ กษาขั้นตอนการออกแบบและวางผังทางภูมิสถาปั ตยกรรมในการพัฒนา เมืองขอนแก่นให้สมดุล ทั้งด้านสังคม เศรษฐกิจ และสิ่ งแวดล้อม 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ โครงการออกแบบและวางผังภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมพื้ น ที่ ใต้โ ครงสร้ างรางรถไฟทางคู่ ยกระดับ ช่วงชุมทางถนนจิระ – ขอนแก่น โครงการตั้งอยู่ที่ ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น มีขนาด พื้นที่ประมาณ 260 ไร่


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมพื้นที่ใต้โครงสร้างรางรถไฟทางคู่ยกระดับ ช่วงชุมทางถนนจิระ – ขอนแก่น แผนที่ 1 แสดงที่ต้ งั โครงการ ที่มา : ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth Pro (วันที่ 5 ธันวาคม 2562) สัญลักษณ์ ที่ต้ งั โครงการ รางรถไฟทางคู่ ช่วงชุมทางถนนจิระ – ขอนแก่น พื้นที่ศึกษา สถานีรถไฟขอนแก่น

ไม่มีมาตราส่ วน


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมพื้นที่ใต้โครงสร้างรางรถไฟทางคู่ยกระดับ ช่วงชุมทางถนนจิระ – ขอนแก่น แผนที่ 2 แสดงเส้นทางสัญจรบริ เวณโครงการ ที่มา : ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ https://map.longdo.com/ (วันที่ 5 ธันวาคม 2562) สัญลักษณ์ ที่ต้ งั โครงการ รางรถไฟทางคู่ ช่วงชุมทางถนนจิระ – ขอนแก่น ถนนมิตรภาพ ถนนมะลิวลั ย์ ถนนประชาสโมสร-มะลิวลั ย์ ถนนศรี จนั ทร์ ซอยศรี จนั ทร์ 1 ถนนรางรถไฟ ถนนรื่ นรมย์ ถนนบ้านกอก ถนนวีรวรรณ ถนนเหล่านาดี

ไม่มีมาตราส่ วน


5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ พื้นที่ ว่างบริ เวณใต้โครงสร้ างทางรถไฟยกระดับที่ พาดผ่านบริ เวณตัวเมื องขอนแก่ น พื้นที่ของการรถไฟบริ เวณรอบ ๆ สถานี รถไฟขอนแก่น พื้นที่บริ เวณสวนสาธารณะประตูเมืองเป็ นพื้นที่ ที่ต้ งั อยู่ใจ กลางเมืองขอนแก่นที่ กาลังพัฒนาอย่างต่อเนื่ องและบริ บทโดยรอบมีความหลากหลายทั้ง ชุมชน ย่านการค้า ย่าน พาณิ ช และศักยภาพในการพัฒ นาเป็ นเมื องต้นแบบการพัฒ นา Transit Oriented Development (TOD) พร้ อมทั้ง เมืองขอนแก่นเป็ นเมืองที่กาลังพัฒนาอย่างก้าวกระโดด 6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมพื้นที่ใต้โครงสร้างรางรถไฟยกระดับทางคู่ ช่วง ชุมทางถนนจิระ – ขอนแก่น อ. เมือง จ. ขอนแก่น ทิศเหนือ ติดกับ ถนนประชาสโมสร-มะลิวลั ย์ ทิศใต้ ติดกับ ถนนเหล่านาดี ทิศตะวันออก ติดกับ ชุมชนและย่านย่านพาณิ ชยกรรม ทิศตะวันตก ติดกับ ชุมชนในเขตเทศบาลเมืองขอนแก่น 7. บรรณานุกรม The Bangkok Insight Editorial Team.2562 "เปิ ดต้ นแบบ TOD พัฒนำ 7 โซน ‘ขอนแก่น’ หนุน สู่ ‘เมืองอัจฉริยะ-ไมซ์ ซิต"ี้ . 2562. . [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://www.thebangkokinsight.com/230251/(5 ธันวาคม 2562) สานักงานจังหวัดขอนแก่น 2562. "KhonKaen Smart City. " [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.khonkaen.go.th/khonkaen6/fileDir/proGen/20190621-DOC24june621.pdf (5 ธันวาคม 2562) โดยข้าพเจ้ายินดี ที่จะปฏิ บัติตามหลักและวิธีดาเนิ นงานวิทยานิ พ นธ์ ของคณะสถาปั ตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. ( นาย นฤบดินทร์ ภูลา ) ……….../………./………..



คำร้ องเสนอหัวข้อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาว นุชรัตน์ สุ วรรณวงศ์ รหัส 5919102518 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่ วยกิต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.63 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย )โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมธุ รกิจดูแลสัตว์เลี้ยง เพ็ทแลนด์ อาเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The landscape architectural design and planning project of the Pet Land pet business, Mueang Chiang Mai, Chiang mai 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ ปัจจุบนั การเลี้ยงสัตว์เป็ นที่นิยมอย่างมาก เกือบทุกบ้านจะต้องมีสัตว์เลี้ยงเพื่อไว้คลายเหงา เลี้ยงไว้ เพื่อสร้างสี สัน อีกหนึ่งเหตุผล คือผูค้ นเริ่ มมีอตั ราการแต่งงาน การมีลูกน้อยลง สัตว์เลี้ยงจึงเป็ นตัวแทนของการเลี้ยง แทนลูก สัตว์เลี้ยงไม่ได้มีเพียงสุ นขั และแมว ยังมีสัตว์อีกหลายชนิด เช่น หนูแฮมสเตอร์ นก กระต่าย เป็ นต้น จากข้อมูลการขึ้นทะเบียนสัตว์เลี้ ยง(สุ นัขและแมว) ปี พ.ศ.2559 สัตว์เลี้ยงที่ มีเจ้าของในจังหวัด เชียงใหม่มีจานวน 525,830 ตัว และข้อมูลปี 2562 รอบที่ 1 จานวนสัตว์เลี้ยงที่ลงทะเบียนมี 123,351 ตัว (ข้อมูลจาก กรมปศุสัตว์) ซึ่ งมีจานวนมากที่สุดในภาคเหนื อ สิ่ งเหล่านี้ ส่งผลต่อธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับสัตว์เลี้ยงเติบโตตามไปด้วย เห็นได้จากภาพรวมของธุ รกิจสัตว์เลี้ยงมีแนวโน้มเติบโตทุกปี โดยเฉพาะในกลุ่มอาหารสัตว์เลี้ยงที่มีรายได้และ กาไรอย่างต่อเนื่ อง โดยในปี งบการเงิน 2560 ธุรกิจอาหารสัตว์เลี้ยงมีรายได้สูงสุ ดในรอบ 5 ปี (ปี 2556 -2560)และมี อัตราเติบโตถึง 51 % เมื่อเทียบกับปี 2556 และมีการจัดงานมหกรรมสัตว์เลี้ยง เชียงใหม่(Chiangmai Pet Fair)และ งานมหกรรมสารพัดสัตว์เลี้ ยง(pet variety ) จัดขึ้นที่ เซ็ นทรั ลแอร์ พอร์ ต เชี ยงใหม่ ที่ จัดขึ้นในทุก ๆ ปี มี จานวน ผูเ้ ข้าร่ วมจานวนมาก มีสัตว์ และสิ นค้าบริ การที่หลากหลายประเภท ด้วยความเจริ ญเติบโตขึ้นเรื่ อย ๆ ของเมืองเชี ยงใหม่ ทาให้เกิดหมู่บา้ นจัดรรหรื อการสร้างที่ อยู่ อาศัยเพิ่มมากขึ้น พื้นที่ บริ เวณบ้านมี น้อยลง บ้านที่ มีการเลี้ ยงสัตว์เพิ่มมากขึ้น พื้นที่ ขนาดเล็กและแออัด ทาให้ สุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตของทั้งคนและสัตว์เลี้ยงแย่ลง อีกหนึงประเด็นที่ทาให้คนเลี้ยงสัตว์เกิดความกังวลคือเมื่อ เจ้าของไม่อยู่บา้ น สัตว์เลี้ยงที่บา้ นจะเป็ นอย่างไร หรื อการพาสัตว์เลี้ยงไปเที่ยวแล้วสถานที่ห้ามนาสัตว์เลี้ยงเข้า จึง ทาให้เกิดธุรกิจการดูเลี้ยงสัตว์เลี้ยงขึ้น ในเชียงใหม่ถือว่ายังมีจานวนไม่มาก และเป็ นที่เฉพาะสาหรับหมาหรื อแมว เท่านั้น แต่ที่มีจานวนมากขึ้นคือคาเฟ่ สัตว์เล็ก ทาให้เห็นว่าผูค้ นสนใจในความน่ ารักของสัตว์เลี้ยงเพิ่มขึ้นเรื่ อย ๆ เพ็ทแลนด์ เชียงใหม่ (Pet land) จึงเป็ นโครงการของภาคเอกชน ที่รองรับและดูแล สาหรับสัตว์เลี้ยงที่เป็ นสัตว์เล็ก


เช่น สุ นขั แมว กระต่าย หนูแฮมสเตอร์ แรคคูน ได้อย่างครบวงจร ที่แรกที่ใหญ่ที่สุดในภาคเหนื อ โดยเลือกพื้นที่ บริ เวณ ที่มีความเหมาะสมอย่างมากในการเข้าถึ ง มีถนนหลักผ่าน และเดินทางไปยังสถานที่สาคัญหรื อสถานที่ ท่องเที่ ยวในเชี ยงใหม่ได้ง่าย ซึ่ ง ภายในพื้นที่ โครงการจะประกอบไปด้วยห้องพักสาหรั บเจ้าของและสัตว์เลี้ยง สาหรับนักท่องเที่ยว และพื้นที่สวนสาธารณะ สนามวิ่งเล่น สนามฝึ กทักษณะเพื่อสร้างความผ่อนคลายแก่สัตว์เลี้ยง สาหรับครอบครัวที่พกั อาศัยโดยรอบ คาเฟ่ สารพัดสัตว์เล็ก บริ การอาบน้ าตัดขนและการพยาบาล พื้นที่จดั อีเว้นท์ และอีกมากมายเพื่อให้เป็ นดินแดนสาหรับคนรักสัตว์และสัตว์เลี้ยง

4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อเป็ นสถานที่รับฝาก ดูแลสัตว์เลี้ยงอย่างครบวงจร เพื่อเจ้าของสัตว์เลี้ยงที่มา ท่องเที่ยวหรื อไม่มีเวลาดูแล 4.1.2 เพื่อให้เป็ นสถานที่พกั ผ่อนสาหรับคนและสัตว์เลี้ยง เพื่อให้สัตว์เลี้ยงได้ผอ่ นคลาย ด้วยสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ด้วยการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 4.1.3 เพื่อในเป็ นแหล่งท่องเที่ยวในรู ปแบบใหม่ เชิงธุรกิจดูแลสัตว์เลี้ยง ที่ให้สัตว์เลี้ยง เป็ นแรงดึงดูดลูกค้าและนักท่องเที่ยว 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมพื้นที่สาหรับดูแลสัตว์เลี้ยง 4.2.2 เพื่อศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับสัตว์เลี้ยง พื้นที่สวนที่เหมาะกับสัตว์เพื่อนามาออกแบบ พื้นที่และสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับสัตว์แต่ละชนิด 4.2.3 เพื่อศึกษาความนิยมในการท่องเที่ยวพักผ่อนสาหรับคนและสัตว์เลี้ยง 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1. ที่ต้ งั โครงการ ตาบล ฟ้าฮ่าม อาเภอเมืองเชียงใหม่ เชียงใหม่ ขนาดพื้นที่ 55 ไร่ 5.2. เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.1.1 พื้นที่โครงการอยูบ่ ริ เวณตัวเมืองของจังหวัดเชียงใหม่ โดยรอบเป็ นชุมชน บ้าน จัดสรร 5.1.2 พื้นที่โครงการมีการเชื่อมต่อกับสถานที่ที่สาคัญได้ง่าย เช่น ท่าอากาศยาน เชียงใหม่ โรงพยาบาลสัตว์ 5.1.3 พื้นที่โครงการมีถนนหลักผ่าน มีการเข้าถึงได้ง่าย


โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมธุรกิจดูแลสัตว์เลี้ยง เพ็ทแลนด์ อาเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่ 1 แสดงแผนที่โครงการ สัญลักษณ์

บริ เวณพื้นที่ต้ งั โครงการ ถนนสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี ถนนหลวง หมายเลข 1001

มาตราส่ วน ที่มา:

Not to scale ดัดแปลงจาก Google earth (วันที่ 16 ธันวาคม 2562)


z z z z z z z z โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมธุรกิจดูแลสัตว์zเลี้ยง เพ็ทแลนด์ อาเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่ 2 แสดงตาแหน่งหมู่บา้ นหมู่บา้ นจัดสรรและห้างสรรพสิ นค้า z สัญลักษณ์ พื้นที่โครงการz หมู่บา้ นจัดสรรz ร้านอาหาร z ห้างสรรพสิ นค้zา z รัศมี 2 ก.ม. z z มาตราส่ วน Not to scale ที่มา: ดัดแปลงจาก Google earth (วันทีz ่ 16 ธันวาคม z 2562) z z


6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา 6.1 โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมธุรกิจดูแลสัตว์เลี้ยง Pet Land Chiang mai 6.2 อาณาเขตติดต่อ ทิศเหนือ ติดกับ ถนนสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี ทิศใต้ ติดกับ หมู่บา้ นที่อยูอ่ าศัย ทิศตะวันออก ติดกับ มิตซูแสงชชัย สี่ แยกรวมโชค ทิศตะวันตก ติดกับ หมู่บา้ นที่อยูอ่ าศัย 7. บรรณานุกรม กรมพัฒนาธุรกิจการค้า. (2561). ธุรกิจดูแลสั ตว์ เลีย้ ง บทวิเครำะห์ ธุรกิจ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.dbd.go.th/download/document_file/Statisic/2561/T26/T26 _201812.pdf. (วันที่ 10 ธันวาคม 2562) จรัสพิมพ์ บุญญานันต์. (2556). คู่มือกำรดำเนินงำนวิทยำนิพนธ์ . [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://issuu.com/tuboonyanant/docs/latheismanual56_foeweb (วันที่ : 10 ธันวาคม 2562) โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาเนินงานวิทยานิพนธ์ ของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. ( นางสาว นุชรัตน์ สุ วรรณวงศ์ ) ……….../………./………..



โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมธุรกิจดูแลสัตว์เลี้ยง เพ็ทแลนด์ อาเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่ 1 Site selection สัญลักษณ์ Site selection A Site selection B Site selection C

มาตราส่ วน

-

ที่มา:

ดัดแปลงจาก Google earth (วันที่ 16 ธันวาคม 2562)


พื้นที่โครงการ

สัญลักษณ์

พื้นที่โครงการ ถนน สมโภช เชียงใหม่ 700 ปี

ลักษณะและพื้นที่โดยรอบ พื้นที่รกร้าง พื้นที่โดยรอบเป็ น หมู่ บ้า น บ้า นจัด สรรติ ด กับ ถนน สมโภชเชียงใหม่ 700 ปี ห่างจากห้าง สรรพสิ คา้ เซ็ นทรัลเฟสติ วลั 6 ก.ม. ใช้เวลาเดิ นทาง 8 นาที ห่ างจากตัว เมืองเชียงใหม่ 8 กิโลเมตร

ถนนหลวง 1001 ตาบล ฟ้าฮ่าม อาเภอเมืองเชียงใหม่ เชียงใหม่ ขนาดพื้นที่ 55 ไร่

พื้นที่โครงการ ถนนหมายเลข 1317

พื้ นที่ ทุ่ งนา พื้ นที่ โ ดยรอบเป็ น หมู่ บ้า น บ้า นจัด สรร ติ ด กับ ถนน หมายเลข1317 ใช้เวลาเดิ นทางจาก สนามบินเชียงใหม่ประมาณ 25 นาที ห่างจากตัวเมืองเชียงใหม่ 14 ก.ม.

ตาบลต้นเปา อาเภอสันกาแพง เชียงใหม่ ขนาดพื้นที่ 51 ไร่

พื้นที่โครงการ แม่น้ าปิ ง ถนนมหิ ดล ตาบลช้างคลาน อาเภอเมืองเชียงใหม่ เชียงใหม่ ขนาดพื้นที่ 72 ไร่ ที่มา: ดัดแปลงจาก Google earth (วันที่ 16 ธันวาคม 2562) มาตราส่ วน: Not to scale

พื้นที่รกร้าง โดยรอบเป็ นหมู่บา้ น ย่านพาณิ ชย์ หมู่บา้ นจัดสรร ติดกับ ถนนช้างคลาน ใช้เวลาเดินทางจาก สนามบินเชียงใหม่ประมาณ 15 นาที ห่ า งจากเซ็ น ทรั ล แอร์ พ อร์ ท 3.1 กิ โ ลเมตร ติ ด กับโรงพยาบาลสั ต ว์ เมตตา เชียงใหม่


ตารางสรุ ปการให้คะแนนพื้นที่ เกณฑ์

คะแนน

Apporach Accessibility Surrouding Linkage Sizing รวม

4 5 4 5 2 20

Site A Site B Site C ระดับ คะแนน ระดับ คะแนน ระดับ คะแนน A 16 B 12 A 16 A 20 B 15 B 15 A 16 A 16 B 12 B 15 A 20 B 15 B 6 A 8 C 4 73 62 71 หมายเหตุ A(Exellent)=4, B(Good)=3, C(Fairy good)=2, D(Poor)=4


คำร้ องเสนอหัวข้อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นาย พิชยา เพ็งประไพ รหัส 5919102519 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิตสะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.93 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิพนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมสนามแข่งนกนานาชาติบูกิ๊ต อาเภอ ถลาง จังหวัดภูเก็ต หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architectural Design and Planning Project of Bhukit International Bird Racetrack, Amphoe Thalang, Phuket. 1. ควำมเป็ นมำของโครงกำรและเหตุผลในกำรเลือกโครงกำร การเลี้ยงนกเป็ นวิถีวฒ ั นธรรมที่ เกี่ ยวข้องกับคนมายาวนาน ในอดีตมีการเลี้ยงนกพิราบเพื่ อทา หน้าที่ส่งข่าวสาร เลี้ยงเหยีย่ วหรื อนกอินทรี ยเ์ พื่อทาหน้าที่นาทางหรื อล่าสัตว์ หรื อจากลักษณะเฉพาะของนกที่มีขน สวยงาม มีเสี ยงร้องเสี ยงขันที่ไพเราะน่าฟั ง นกเหล่านั้นจะถูกจัดแบ่งกลุ่มตามลักษณะว่า นกนี้ จะเลี้ยงเพื่อฟั งเสี ยง หรื อเพื่อดูความสวย การจัดการประกวดและแข่งขันนก จึงเป็ นวิธีการหนึ่งที่ให้ได้ขอ้ สรุ ปว่า นกของใครดีที่สุด นกตัว ที่ชนะการประกวดหรื อการแข่งขัน นอกจากจะสร้างชื่อเสี ยงให้กบั เจ้าของแล้ว ยังเพิ่มมูลค่าให้กบั ตัวนกเองด้วย นก บางตัวก่อนเข้าสนามแข่งขันราคาไม่กี่ร้อยบาท แต่พอชนะการแข่งขันราคากลับสู งขึ้นเป็ นพันเป็ นหมื่ น ยิ่งชนะ หลายๆ สนามนกบางตัวราคาเป็ นแสน ราคาที่เพิ่มขึ้นเป็ นราคาที่เกิดขึ้นจากความพึงพอใจของผูซ้ ้ือและผูข้ าย นกที่นิยมเลี้ยงมีท้ งั นกกรงหัวจุก นกเขาชวา นกบินหลา ซึ่ งมักจะเลี้ยงเพื่อความเพลิดเพลินและ เพื่อการแข่งขัน "นกกรงหัวจุก" เป็ นนกชนิ ดหนึ่ งที่มีเสี ยงไพเราะและมีรูปร่ างที่สวยงาม จึงทาให้เป็ นที่นิยมของ ผูค้ นนามาเลี้ยง กระทั้งประชาชนมุสลิมในสามจังหวัดภาคใต้ก็มีการเลี้ยงนกกรงหัวจุกเป็ นจานวนมาก ลักษณะการ เลี้ยงนกกรงหัวจุก มีวตั ถุประสงค์ เพื่อความสุ ข และลดความเครี ยดจากเหตุการณ์ ความไม่สงบ เพื่อสร้างรายได้ ซึ่ ง ส่ งผลทาให้เกิดการพัฒนาชุมชนในด้านเศรษฐกิจ เพื่อสร้างความสัมพันธ์ในชุมชน เลี้ยงไว้ประดับบ้าน เพราะดูแล้ว


นกกรงหัวจุกมีความสวยงาม ถ้ามีกรงสวยด้วย แล้วเอามาแขวนหน้าบ้านจะทาให้บา้ นดูสวยขึ้น เลี้ยงไว้เพื่ออนุรักษ์ วัฒนธรรมชุมชน นกกรงหัวจุกคือวัฒนธรรมที่ทรงคุณค่า ไม่ใช่เพียงเฉพาะนกเท่านั้น แต่รวมถึงกรงนก อาหารนก นั้นเป็ นสิ่ งที่ถูกถ่ายทอดมาจากรุ่ นสู่ รุ่น และไม่น้อยที่เลี้ยงไว้สาหรับแข่งขัน เพื่อประชันเสี ยงกันมีการชิ งรางวัล ต่างๆ ทาให้นกกรงหัวจุกที่ชนะการแข่งขันมีราคาถึงแสน ปั จจุบนั การแข่งขันนกกรงหัวจุกได้แพร่ หลายทุกพื้นที่ ทุกภาค ทั้งภาคเหนื อ ภาคกลาง ภาคใต้ เงินค่าสมัครและของรางวัลในการแข่งขันนกกรงหัวจุกแต่ละครั้งถึงหลักแสนและหลักล้านบาท ขึ้นอยูก่ บั ระดับใน การจัดการแข่งขัน การแข่งขันนกกรงหัวจุก ได้รับการยอมรับว่าเป็ นกีฬาชนิ ดหนึ่ งที่มีผคู ้ นให้ความสนใจ ทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ มีการจัดงานแข่งขันประชันเสี ยง นกกรงหัวจุก กันทัว่ ประเทศไม่วา่ จะเป็ นในกรุ งเทพฯ ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคอีสาน และภาคใต้ ในแต่ละสัปดาห์จะมีรายการแข่งขัน นกกรงหัวจุก ทาให้คนจานวนมาก ในจังหวัดภาคใต้ รวมถึงมุสลิมที่เป็ นคนพื้นที่ หันมาเลี้ยงและแข่งขันนกกรงหัวจุก เนื่องจากคิดว่าเป็ นกีฬาพื้นบ้าน จังหวัดภูเก็ต เป็ นศูนย์กลางการท่องเที่ยวของภาคใต้ มีสนามบินนานาชาติที่รองรับเที่ยวบินตรง จากต่างประเทศ เช่น ประเทศอินโดนี เซี ย มาเลเซี ย สิ งคโปร์ เป็ นต้น มีการจัดการแข่งขันนกหลายครั้ง โดยเฉพาะ นกกรงหัวจุก เช่น การแข่งขันประชันเสี ยงนกกรงหัวจุก เพื่อร่ วมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่ องในวโรกาสทรงครองสิ ริราชสมบัติ ครบ 60 ปี พ.ศ. 2549 การแข่งขันนกกรงหัวจุกรายการ “ศึกชิงแชมป์ ภูเก็ต อันดามัน” ครั้งที่ 3 ประจาปี 2550 การกุศล เป็ นต้น ซึ่ งในการแข่งขันแต่ละครั้ ง ต้องไปจัดที่บริ เวณสนามหน้า เทศบาลตาบลกะทู้ อ.กะทู้ จ.ภูเก็ต บางครั้งจัดบริ เวณเวทีกลางสะพานหิ น อ.เมือง จ.ภูเก็ต บางครั้งจัดบริ เวณสนาม ฟุตบอลในมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต จะเห็นได้ว่า ในจังหวัดภูเก็ตยังไม่มีสนามแข่งนกประจาที่ได้มาตรฐาน และ ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ ทั้งนี้ มาตรฐานที่เกิดขึ้นนั้น ประกอบด้วย มาตรฐานในการปั กเสารอกนก ที่มี ขนาด พื้นที่ และความสู งตามเกณฑ์ ทั้งที่กีฬาแข่งนกเป็ นกีฬาที่กาลังได้รับความนิ ยมอย่างมาก และเป็ นกีฬาระดับ อาเซียน รวมทั้งเป็ นการแข่งขันที่มีการยกระดับให้เป็ นการแข่งขันที่มีการชิงถ้วยพระราชทาน ดังนั้น จึงได้มีการจัดทาโครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมสนามแข่งนกนานาชาติ บูกิ๊ตขึ้น เพื่อออกแบบสนามแข่งนกที่ ได้มาตรฐานระดับนานาชาติ รวมทั้งเพื่อการอนุรักษ์ เผยแพร่ และสื บทอด วัฒนธรรม ประเพณี ทอ้ งถิ่นในเรื่ องของการเลี้ยงนกและการขยายพันธุ์นก อีกทั้งเพื่อสร้างความสามัคคีสมานฉันท์ ในหมู่คณะผูเ้ ลี้ยงนก นกจากนี้ยงั เป็ นการส่ งเสริ มให้เยาวชนและประชาชนรู ้จกั ใช้เวลาว่างให้เป็ นประโยชน์ ซึ่งเป็ น การช่วยลดปัญหาในพื้นที่ได้หลายอย่าง โดยเฉพาะปัญหาเรื่ องของยาเสพติดและปัญหาสร้างความเดือดร้อนราคาญ ของกลุ่มเยาวชน โดยให้เยาวชนหันมาเพาะเลี้ยงและแข่งขันนกกันมากขึ้น รวมถึงเพื่อการเผยแพร่ กิจกรรมการ แข่งขันนกไปสู่ สาธารณชนผูส้ นใจทัว่ ไป ตลอดจนเพื่อเป็ นการส่ งเสริ มสนับสนุนให้ผปู ้ ระกอบอาชีพที่เกี่ยวกับการ ผลิ ตอุปกรณ์ การเลี้ ย งนกได้มีลู่ทางจาหน่ า ยสิ นค้าได้เ พิ่ มมากขึ้ น และเพื่อเป็ นการส่ งเสริ มสนับสนุ นให้ มี การ ท่องเที่ยวในจังหวัดภูเก็ตและยังช่วยกระตุน้ เศรษฐกิจให้ดียงิ่ ขึ้นด้วย


2. วัตถุประสงค์ 2.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1.1 เพื่อพัฒนาสนามแข่งนกที่ได้มาตรฐานระดับนานาชาติ ที่สามารถรองรับการแข่ง นกที่หลากหลายประเภท 2.1.2 เพื่อส่ งเสริ มและเผยแพร่ กีฬาแข่งนกให้เป็ นที่รู้จกั ในระดับนานาชาติ 2.1.3 เพื่อส่ งเสริ มการท่องเที่ยว การอนุรักษ์ เผยแพร่ และสื บทอดวัฒนธรรมประเพณี ท้องถิ่นเกี่ยวกับการเลี้ยงนก และเป็ นกิจกรรมที่สร้างรายได้ให้แก่ธุรกิจเกี่ยวกับนก ก่อให้เกิดการสร้างงานสร้าง รายได้ให้กบั ประชาชน และกระตุน้ เศรษฐกิจในจังหวัดภูเก็ต 2.1.4 เพื่อสร้างความสามัคคีสมานฉันท์ในกลุ่มคนผูเ้ ลี้ยงนกและกลุ่มคนที่ชื่นชอบนก รวมทั้งเป็ นการส่ งเสริ มให้เยาวชนและประชาชนใช้เวลาว่างให้เป็ นประโยชน์ 2.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 2.2.1 เพื่อศึกษากระบวนการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมสนามแข่งนกที่ได้ มาตรฐานระดับนานาชาติ 2.2.2 เพื่อศึกษาถึงกระบวนการการออกแบบสภาพแวดล้อม การสัญจรการใช้สอยพื้นที่ กิจกรรม ระบบสาธารณูปโภค ระบบโครงสร้างต่างๆ ของพื้นที่สนามแข่งนก ให้สอดคล้องกับพฤติกรรมของผูใ้ ช้ 2.2.3 เพื่อศึกษาพฤติกรรมและความต้องการของกลุ่มผูใ้ ช้โครงการสนามแข่งนก 3. สถำนที่ต้งั ของโครงกำรและเหตุผลในกำรเลือกที่ต้งั โครงกำร (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 3.1 ที่ต้ งั โครงการ โครงการตั้งอยูท่ ี่ ตาบลเชิงทะเล อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต (ดูแผนที่1) 3.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 3.2.1 พื้นที่โครงการเป็ นบริ เวณที่ใกล้สถานที่ท่องเที่ยว ที่พกั และเจ้าของโครงการมี ความประสงค์ที่จะให้พ้ืนที่ที่ติดกับสถานที่ท่องเที่ยวเป็ นสนามแข่งนก 3.2.2 ภายในพื้นที่โครงการมีแหล่งน้ าเดิม มีสภาพแวดล้อมที่เป็ นธรรมชาติที่เหมาะสม กับการพัฒนาสนามแข่งนกและเป็ นแหล่งท่องเที่ยว 3.2.3 เนื่องจากภูเก็ตเป็ นศูนย์กลางของภาคใต้ตอนบนยังขาดสนามแข่งนกที่ได้รับ มาตรฐาน


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมสนามแข่งนกนานาชาติบูกิ๊ต อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต แผนที่ 1 ที่ต้ งั โครงการ สัญลักษณ์ ที่ต้ งั โครงการ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 402 ถนนเข้าพื้นที่โครงการ (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4025) Not to scale ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth (12/1/2562)


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมสนามแข่งนกนานาชาติบูกิ๊ต อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต แผนที่ 2 ขอบเขตพื้นที่โครงการ สัญลักษณ์ พื้นที่โครงการ ถนนภายในโครงการ ถนนรอบโครงการ

Not to scale ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth (12/1/2562)




คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นาย ภานุ พ งษ์ แสงคา รหัส 5919102521 นักศึ กษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภู มิสถาปั ตยกรรม คณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่ วยกิตสะสม 136 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.24 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อ เรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและปรั บ ปรุ งผังภู มิส ถาปั ต ยกรรม แหล่ งท่ องเที่ ย วเชิ ง ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เวียงกุมกาม อาเภอสารภี จังหวัด เชียงใหม่ 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architectural Design and Improvement Project of History and Cultural Tourist Attraction at Wiang Kum Kam, Saraphi, Chiang Mai 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ เวี ย งกุม กาม เป็ นย่านเมื อ งที่ มี คุ ณ ค่ าทางประวัติ ศ าสตร์ แ ละวัฒ นธรรม ที่ มี อายุค วามเป็ นมา มากกว่า 700 ปี เวียงกุมกามถือเป็ นราชธานี แห่ งแรกของอาณาจักรล้านนา สร้างขึ้ นใน พ.ศ.1829 โดยพญามังราย ทรงปกครองด้ว ยกฏหมายมังรายศาสตร์ และนับ ถื อ บู ช าผี ต ามความเชื้ อ ของคนเชื้ อ สายไท และอุ ป ถัม ค้ า ชู พระพุทธศาสนา ผลเมืองภายในเวียงกุมกามนั้นมีหลากหลายเชื้ อชาติ ทั้งลัวะ เมง(มอญ) และไท เวียงกุมกามเป็ น เมืองสาคัญที่มีแม่น้ าปิ งเป็ นเส้นทางหลักทาให้มีการติดต่อค้าขายแลกเปลี่ยนสิ นค้า แต่ตอ้ งประสบปั ญหาน้ าท่วมอยู่ เสมอ ต่อมาพญามังรายได้พบชัยภูมิแห่งใหม่และสถาปนาเมืองเชี ยงใหม่เป็ นราชธานี แห่งใหม่ ขณะเดียวกันเวียงกุม กามก็ยงั คงฐานะเมืองสาคัญคู่กบั เมืองเชี ยงใหม่สืบมา ต่อมาเกิดเหตุการณ์น้ าท่วมครั้งใหญ่ ทาให้แม่น้ าปิ งเปลี่ยน สาย กระแสน้ าได้พดั เอาตะกอนดิ นและกรวดทรายจานวนมหาศาลโถมเข้าท่วมเวียงกุมกามจนจมหายกลายเป็ น เมื องใต้พิ ภพ และถูกค้นพบ โดยหน่ วยงานศิ ลปากรที่ 4 ในปี พ.ศ.2527 ส านักบริ หารพื้ นที่ อนุ รักษ์ที่ 16 มี การ จัดการเพื่ อพัฒนาเวียงกุมกามตามแผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาจังหวัดเชี ยงใหม่ ประจาปี 2556 ภายใต้ “โครงการ ส่ งเสริ มพัฒนาการท่องเที่ยวทางเลือกใหม่” ทาให้เห็นว่าเวียงกุมกามต้องการ การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ในปัจจุบนั พื้นที่เวียงกุมกามและพื้นที่บริ เวณโดยรอบขาดจุดดึงดูดผูใ้ ช้งานให้เข้ามาในพื้นที่และ ขาดการจัดการที่ ดี ส่ งผลให้เศรษฐกิ จการท่ องเที่ ยวในพื้นที่ ชุมชนเป็ นไปอย่างล่าช้า จังหวัดเชี ยงใหม่จึงมีแผนมี แผนพัฒนา (พ.ศ.2561-2564) “ เมืองที่ให้ความสุ ขและชี วิตที่มีคุณค่าแก่ผูอ้ ยู่อาศัยและผูม้ าเยือนในฐานะเมืองที่น่า อยูแ่ ละน่าท่องเที่ยวในระดับโลก ” โดยเห็นว่าประเด็น ยุทธศาสตร์ที่ 1. ส่ งเสริ มและพัฒนาการท่องเที่ยวและบริ การ


สุ ขภาพ เชื่อมโยงชุมชนและท้องถิ่น และ ยุทธศาสตร์ ที่3. เสริ มสร้างสังคมให้มีคุณภาพ คงอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม สอดคล้องกับการพัฒนาเวียงกุมกาม ดัง นั้ นจึ ง เกิ ด โครงการออกแบบและปรั บ ปรุ ง ผัง ภู มิ ส ถาปั ต ยกรรม แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เวียงกุมกาม เพื่อพัฒนาเป็ นสถานที่ท่องเที่ยวเชิ งประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม ทาให้ คนรุ่ นหลังได้ศึกษาเกี่ยวกับสถาปัตยกรรมและวัฒนธรรมล้านนาในอดีตมีความเป็ นมาอย่างไร เพื่อที่จะได้เผยแพร่ สถาปั ตยกรรมและวัฒนธรรมล้านนา ประวัติความเป็ นมาของเวียงกุมกาม รวมทั้งการกาหนดกิจกรรมการท่องเที่ยว ในพื้นที่เวียงกุมกามให้นกั ท่องเที่ยวและคนภายในชุมชมอยูร่ ่ วมกันอย่างยัง่ ยืน 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่ อออกแบบและปรับปรุ งภูมิทศั น์บริ เวณเส้นทางท่ องเที่ ยวทางประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมเวียงกุมกาม และ ส่ งเสริ มการท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม กระตุน้ เศรษฐกิจภายใน พื้นที่ชุมชนและเวียงกุมกาม 4.1.2 เพื่ออนุ รักษ์ ส่ งเสริ มและฟื้ นฟู พื้นที่ ที่มีคุณค่าด้านประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม โดยให้มีสภาพแวดล้อมที่ ดีสอดคล้องกับวัฒนธรรมและบริ เวณโดยรอบ พร้อมที่จะรองรับในกิจกรรมต่างๆ ที่ จะ เกิดขึ้นทั้งในปัจจุบนั และอนาคต 4.1.3 เพื่อสร้างกิ จกรรมการมีส่วนร่ วมระหว่างคนในชุ มชนและนักท่องเที่ ยวในพื้นที่ เวียงกุมกาม และสร้างประสบการณ์ให้กบั ผูค้ นที่มองข้ามสิ่ งที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึ กษาถึงกระบวนการออกแบบปรับปรุ งภู มิทศั น์บริ เวณพื้ นที่ โบราณสถาน และ เพื่อศึกษากระบวนการปรับปรุ งวางผัง ให้มีความสอดคล้องกับบริ เวณโดยรอบ โดยวิเคราะห์ปัจจัยที่ มีผลต่อ พื้นที่ที่มีคุณค่าด้านประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมเมืองเก่าในทุกๆด้าน 4.2.2 เพื่ อ ศึ ก ษากระบวนการอนุ รั ก ษ์ ฟื้ นฟู ออกแบบวางผังภู มิ ท ัศ น์ บ ริ เวณพื้ น ที่ โบราณสถานเพื่อรองรับการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม 4.2.3 เพื่ อศึ กษาแนวทางการท่องเที่ ยวเชิ งสร้างสรรค์ เปิ ดโอกาสให้นักท่ องเที่ ยวและ ชุมชนท้องถิ่นมีส่วนร่ วมในการจัดการท่องเที่ยว 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ เวียงกุมกามตั้งอยูใ่ นตาแหน่งที่ราบเชี ยงใหม่-ลาพูน บนฝั่งตะวันออกของ แม่นาปิ ้ ํ ง ห่าง จากเมืองเชียงใหม่ไปทางทิศตะวันออกเฉี ยงใต้ประมาณ 5 กิโลเมตร


โครงการออกแบบและปรับปรุ งผังภูมิสถาปัตยกรรม แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เวียงกุมกาม อาเภอสารภี จังหวัด เชียงใหม่ แผนที่ 1 แสดงที่ต้ งั พื้นที่โครงการ สัญลักษณ์

แม่น้ าปิ ง

ถนนเชียงใหม่-ลาพูน

ที่ต้ งั โครงการ

ถนนมหิ ดล

ท่าอากาศยาน เชียงใหม่

ถนนสมโภชเชียงใหม่ 700ปี

N

คูเมืองเชียงใหม่

ถนนช้างคลาน - ถนน 4032

มาตราส่ วน

ถนนเลียบทางรถไฟ

NOT TO SCALE

เซ็นทรัลพลาซ่า เชียงใหม่ แอร์พอร์ต พรอมเมนาดา เชียงใหม่

ถนนซุ ปเปอร์ไฮเวย์ เชียงใหม่-ลาปาง ที่มา : ดัดแปลงมาจาก Google Earth


โครงการออกแบบและปรับปรุ งผังภูมิสถาปัตยกรรม แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เวียงกุมกาม อาเภอสารภี จังหวัด เชียงใหม่ แผนที่ 2 แสดงขอบเขตที่ต้ งั โครงการ สัญลักษณ์

แม่น้ าปิ ง

ถนนเชียงใหม่-ลาพูน

ที่ต้ งั โครงการ

ถนนมหิ ดล

ขอบเขตโครงการ

ถนนสมโภชเชียงใหม่ 700ปี

N

ถนนช้างคลาน - ถนน 4032

มาตราส่ วน

พื้นที่ศึกษาโครงการ

NOT TO SCALE

ที่มา : ดัดแปลงมาจาก Google Earth


5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 เป็ นพื้ นที่ ที่มีประวัติศาสตร์ ที่ ควรค่ าแก่ การอนุ รักษ์และมี เอกลักษณ์ อยู่ภายใน พื้นที่ เหมาะที่จะเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม 5.2.2 เป็ นพื้ นที่ เดิ มที่ ตอ้ งการพัฒ นาและปรั บปรุ ง ภู มิท ัศน์ให้มีความสวยงาม ดึ งดู ด ความสนใจจากนักท่องเที่ยวและผูท้ ี่สนใจ 5.2.3 เพื่อพัฒนา ยกระดับพื้นที่ชุมชนภายในพื้นที่ โครงการให้มีระดับคุณภาพชี วิตที่ ดี ขึ้น และ สร้างพื้นที่ระหว่างชุมชนกับโบราณสถาน 5.2.4 เพื่อกระตุน้ เศรษฐกิจภายในพื้นที่ชุมชน และเวียงกุมกาม 6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา 6.1 ขอบเขตของพื้นที่การศึกษา เวียงกุมกามตั้งอยูใ่ นตาแหน่งที่ราบเชี ยงใหม่-ลาพูน บนฝั่งตะวันออกของ แม่นาปิ ้ ํ ง ห่าง จากเมืองเชี ยงใหม่ไปทางทิศตะวันออกเฉี ยงใต้ประมาณ 5 กิ โลเมตร ขอบเขตที่ใช้ในการศึ กษาประมาณ 2,230 ไร่ และขอบเขตพื้นที่โครงการปรับปรุ งแหล่งท่องเที่ยวเชิ งประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เวียงกุมกาม ประมาณ 1,200 ไร่ (โดยมีโบราณสถานที่ถูกขุดพบทั้ง 28 แห่ง ในพื้นที่ 650 ไร่ ) 6.2 อาณาเขตติดต่อ ทิศเหนือ ติดกับ หมู่บา้ นจัดสรร – แม่น้ าปิ ง ทิศใต้ ติดกับ หมู่บา้ นจัดสรร – พื้นที่สีเขียว ทิศตะวันออก ติดกับ หมู่บา้ นจัดสรร ต.หนองหอย ทิศตะวันตก ติดกับ แม่น้ าปิ ง – ต.ป่ าแดด 7. บรรณานุกรม ศูนย์ขอ้ มูลเวียงกุมกาม. 2556 “ประวัติเมืองประวัติศาสตร์เวียงกุมกาม” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.wiangkumkam.com/info-1/ประวัติศาสตร์/ (11 ธันวาคม 2562) Museum Thailand. 2559 “ “เวียงกุมกาม” อดีตเมืองหลวงของอาณาจักรล้านนา ” [ระบบ ออนไลน์].แหล่งที่มาhttps://www.museumthailand.com/th/3828/storytelling/%E0%B9 %80%E0%B8%A7%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B8%81%E0% B8%B8%E0%B8%A1%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A1/?fbclid=IwAR0v1 olsJ0WL4d3xx7SnFTkVcpoke1PCy_nTnnbjJP2yTBfNjGonj5xEntk%20(11%20%E0 %B8%98%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%84% E0%B8%A1%202562) (11 ธันวาคม 2562) Sanook. 2550 “เวียงกุมกาม...ตานานที่เป็ นจริ ง” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://www.sanook.com/travel/579211/?fbclid=IwAR3e2Y5XqTXHTICK_m4QnotU DK2O1cnWlnIzALP2yfW8Ozuqe23xUiIgYdk (13 ธันวาคม 2562)


Silpa-Mag. 2562 “เวียงกุมกาม : เมืองโบราณใต้ตะกอนทราย” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://www.silpa-mag.com/history/article_8121 (13 ธันวาคม 2562) M Thai. 2556 “เวียงกุมกาม เมืองหลวงล้านนาที่ถูกลืม เชียงใหม่” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://travel.mthai.com/blog/58652.html (13 ธันวาคม 2562) เทศบาลตาบลท่าวังตาล. 2559 “แผนพัฒนา3ปี ” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://www.slideshare.net/thawangtan/3-56634563(13 ธันวาคม 2562) เชียงใหม่นิวส์. 2561 “อุทยานเวียงกุมกาม มหัศจรรย์งบพัฒนาค้นหาอดีต” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://www.chiangmainews.co.th/page/archives/872547 (13 ธันวาคม 2562)

โดยข้าพเจ้ายินดี ที่จะปฏิ บัติตามหลักและวิธีดาเนิ นงานวิทยานิ พ นธ์ ของคณะสถาปั ตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (……………………………………………) ……….../………./………..



คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตร์ บัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาวภาวินี สิ นศิ ริ รหัส 5919102522 นักศึ กษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิส ถาปั ตยกรรม คณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิตสะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขณะนี้ได้เท่ากับ 3.77 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตร์ บณ ั ฑิ ต โดยมี รายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมแหล่งท่องเที่ยวเชิง ธรรมชาติและวัฒนธรรม เขาหน่อ-เขาแก้ว อาเภอบรรพตพิสยั จังหวัดนครสวรรค์ 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architectural Design and Improvement Project of Natural and Cultural Tourist Attractions Kao Nor-Kao Kaew, Banphot Phisai, Nakhonsawan 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ เขาหน่อ-เขาแก้วเป็ นทรัพยากรธรรมชาติที่สาคัญต่อระบบนิ เวศของตาบลบ้านแดน เป็ นเทือกเขา หิ นปูนที่มียอดเขาเรี ยงต่อกันเป็ นแนวยาว อีกทั้งยังเป็ นสถานที่ท่องเที่ยวแห่งหนึ่ งในจังหวัดนครสวรรค์ เชิ งเขาหน่อ เป็ นที่ อยู่อาศัยของลิ งแสมและเป็ นที่ ต้ งั ของวัดเขาหน่ อ ส่ วนเขาแก้วจะมี ถ้ าค้างคาว ซึ่ งพื้ นที่ ส่ วนหนึ่ งเป็ นของ องค์การบริ หารส่ วนตาบลบ้านแดน และบางส่ วนเป็ นพื้นที่ของวัดเขาหน่อ นักท่องเที่ยวส่ วนใหญ่นิยมมาให้อาหาร ลิง กราบสักการะพระนอน และชมค้างคาวในตอนเย็น ในอดีต รัชกาลที่ 5 เคยเสด็จมาประพาสต้นที่ เขาหน่ อ-เขา แก้ว ทาง อบต.บ้านแดน ได้สร้างพระบรมรู ปหล่อรัชกาลที่ 5 ไว้เป็ นอนุสรณ์ และจัดทาศูนย์เรี ยนรู ้ตามรอยรัชกาลที่ 5 เสด็จประพาสต้นบ้านแดน-เขาหน่อ ปัจจุบนั สถานที่แห่งนี้ถกู ปิ ดและไม่ได้ให้เข้าชมแล้ว ในปัจจุบนั นักท่องเที่ยวที่มามีจานวนลดน้อยลง และทาให้ชาวบ้านมีรายได้จากการขายของลดลง เช่นเดียวกัน อาจเนื่ องมาจากบริ เวณจุดชมค้างคาวของ อบต. และพื้นที่ของวัดมีสภาพทรุ ดโทรม ไม่ได้รับการดูแล มีอาคารที่ ปล่อยทิ้ งร้าง ทาให้สถานที่ ท่องเที่ ยวเขาหน่ อ-เขาแก้วไม่มีความน่ าสนใจที่ จะดึ งดูดนักท่ องเที่ ยวเข้ามา เยี่ยมชม เนื่องจากยุทธศาสตร์ การพัฒนาจังหวัดนครสวรรค์มีการส่ งเสริ มการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและ ธรรมชาติ ปัจจุบนั ทาง อบต. ได้มีการจัดโครงการตลาดต้องชม ตลาดนัดสุ ขภาพดีวิถีพอเพียงริ มทางที่ลานโพธิ์ ซึ่ งเป็ นทางเข้าไปยังจุดชมวิวและวัดเขาหน่อ จากเหตุ ผ ลดัง กล่ า ว จึ ง ท าให้ เกิ ด โครงการออกแบบและปรั บ ปรุ ง ภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมแหล่ ง ท่ อ งเที่ ยวเชิ งธรรมชาติ และวัฒ นธรรม เขาหน่ อ-เขาแก้ว ในอาเภอบรรพตพิ สัย จังหวัด นครสวรรค์ เพื่ อดึ งดู ด


นักท่ องเที่ ยว ให้ไปเยี่ยมชมสถานที่ ที่ส วยงาม ได้นมัสการพระนอน ปี นเขาชมรอยพระบาทบนยอดสู งสุ ด ชม ค้างคาวกลับเข้าถ้ าตอนเย็น ได้ทากิจกรรมร่ วมกับสมาชิกในครอบครัว เช่น การให้อาหารปลา อาหารลิง เป็ นต้น ทา ให้คนในชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น และมีพ้ืนที่สาธารณะของชุมชน 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 ปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมและเพิ่มพื้นที่สวนสาธารณะให้แก่ประชาชนเพื่อ รองรับกิจกรรมและประเพณี ต่างๆ 4.1.2 เพื่อพัฒนาให้เป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติวฒั นธรรมและเป็ นแหล่งศึกษา ความรู ้ดา้ นธรณี วิทยา 4.1.3 ส่ งเสริ มการสร้างรายได้ให้แก่คนในชุมชนและจังหวัดนครสวรรค์ 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาขั้นตอนการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวที่ มีความสาคัญด้านธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม 4.2.2 เพื่อวิเคราะห์สภาพพื้นที่ประเพณี และวิถีชีวิตของคนในชุมชนเพื่อ นามาปรับใช้ ในการออกแบบให้เหมาะสมกับการใช้งานทุกรู ปแบบ 4.2.3 เพื่อศึกษาข้อมูลทางกายภาพลักษณะพิเศษของภูเขาหิ นปูน และศึกษาที่ เกี่ ยวกับ ลิงแสมที่ช่วยส่ งเสริ มศักยภาพในการออกแบบพื้นที่ 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมแหล่งท่ องเที่ ยวเชิ งธรรมชาติ และวัฒนธรรม เขาหน่ อ-เขาแก้ว ตั้งอยู่ตาบลบ้านแดน อาเภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค์ อยู่ห่างจากตัวเมืองนครสวรรค์ประมาณ 43 กิโลเมตร มีพ้ืนที่ประมาณ 1,273 ไร่ 5.1.1 ที่ต้ งั โครงการและขอบเขตพื้นที่โครงการ


โครงการออกแบบและปรั บ ปรุ งภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง ธรรมชาติ แ ละ วัฒนธรรม เขาหน่อ-เขาแก้ว ตาบลบ้านแดน อาเภอบรรพตพิสยั จังหวัดนครสวรรค์ มาตราส่ วน แผนที่ 1 แสดงที่ต้ งั และขอบเขตพื้นที่โครงการ ที่มา : ดัดแปลงมาจาก https://th.wikipedia.org/wiki (9 ธันวาคม 2562) NOT TO SCALE สัญลักษณ์ :

ที่ต้ งั โครงการ

ตาแหน่งโครงการ


สุ สาน

ชุมชนบ้านแดน

อูซ่ ่อมรถ กมลภพการยาง

พื้นที่เกษตรกรรม โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมแหล่งท่ องเที่ ยวเชิ งธรรมชาติ และวัฒนธรรม เขาหน่ อ-เขาแก้ว ตาบลบ้านแดน อาเภอบรรพตพิสยั จังหวัดนครสวรรค์ แผนที่ 2 แสดงขอบเขตที่ต้ งั โครงการ สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่โครงการ ถนนเลี่ยงเมืองนครสวรรค์ มาตราส่ วน (ถนนพหลโยธิ น) NOT TO SCALE ที่มา : ดัดแปลงมาจาก Google Earth (9 ธันวาคม 2562)




คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้า พเจ้า นายระพี พ งศ์ ไชยปิ ง รหั ส 5919102523 นั ก ศึ ก ษาชั้ นปี ที่ 4 สาขาวิ ช าภู มิ ส ถาปั ต ยกรรม คณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่ วยกิตสะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.50 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิพนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตร์ บณั ฑิต โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) การออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมอุทยานประวัติศาสตร์ โบราณสถานบ้านร่ องไฮและพื้นที่เกี่ยวเนื่อง อ.เมืองพะเยา จ.พะเยา 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) Landscape Architectural Design and Improvement Project of Ban Rong Hai Historical Park and related areas, Muang Phayao, Phayao 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ บ้า นร่ อ งไฮ่ พื้ น ที่ ท างประวัติ ศ าสตร์ แ หล่ ง ทรั พ ยากรที่ ส าคัญ ทั้ง ทางธรรมชาติ ทางด้า น ศิลปวัฒนธรรม และเป็นแหล่งโบราณสถานที่เป็นชุมชนโบราณขนาดใหญ่ อีกทั้งยังที่มีคุณค่าอย่างยิง่ อีกแห่ งหนึ่ ง ของจังหวัดพะเยา เนื่องจากมีการขุดพบซากของกลุ่มวัดร้างในสมัยที่เมืองภูกามยาวเจริ ญรุ่ งเรื อง มีช่วงอายุราว 900 ปี ซึ่ งอยูใ่ นสมัยเดียวกับวัดติโลกอารามและโบราณสถานอื่น ๆ ที่อยูใ่ นกว๊านพะเยา ซึ่งมีท้ งั ซากวิหารที่ก่อสร้างด้วย อิฐโบราณสี น้ าตาลแดงที่ยงั หลงเหลือให้เห็นในส่ วนฐานผังรู ปสี่ เหลี่ยมผืนผ้า ซากเจดียฐ์ านรู ปแปดเหลี่ยมที่ยงั คง เห็ นรายละเอี ยดอันประณี ตในการตกแต่งส่ วนฐานอี กทั้งยังพบพระพุทธรู ปปู นปั้ น เสาบัวหิ น และโบราณวัตถุ ภาชนะดินเผา ประติมากรรมพระพุทธรู ปหิ นทราย และในบริ เวณใกล้เคียงกับโบราณสถานบ้านร่ องไฮ ยังมีซาก ร่ องรอยของศาสนสถานอีก 8-9 แห่ ง เรี ยงกันเป็นแนวเข้าไปในกว๊านพะเยา โดยคนในชุน ชนเรี ยกรวมบริ เวณนี้ ว่า สันธาตุ ยังมีขอ้ สันนิษฐานว่า ยังมีซากโบราณสถานบางส่ วนจมอยูใ่ นกว๊านพะเยาอีกด้วย ชุ มชนบ้านร่ องไฮและพื้นที่เกี่ ยวเนื่ อง วัดติโลกอาราม แต่เดิ มไม่ได้บนั ทึกประวัติในการจัดตั้ง หมู่บา้ น เมื่อ 100 ปี กว่าพื้นที่ชุมชนบ้านร่ องไฮยังเป็ นป่ าไม้รังไม้ไผ่ ทองกวางและไม้เบญจพรรณ ต่อมามีกลุ่มชน ได้มาตั้งถิ่นฐานมาจากบ้านท่ากว๊าน และประชาชนชาวลาปางก็มาตั้งถิ่นฐานในบริ เวณนี้ โดยได้นาเอาวัฒนธรรม การตีมีดจนกลายเป็ นวัฒนธรรมหนึ่งที่สาคัญของพื้นที่หมู่บา้ นร่ องไฮด้วย ที่มาของชื่อชุมชน บ้านร่ องไฮ มาจากในพื้นที่มีตน้ ไทรและร่ องน้ าไหลผ่าน ภาษาเมืองเรี ยก ต้น ไทร ว่า ต้นไฮ จึ งตั้งชื่ อตามร่ องน้ าที่ มีตน้ ไฮ ขึ้นว่า ร่ องไฮ จนถึ งทุกวันนี้ ซึ่ งพื้นที่ ชุมชนและโบราณสถานบ้าน ร่ องไฮนั้นอยูใ่ นพื้นที่เดียวกันจึงได้กล่าวที่มาของการตั้งถิ่นฐานของชุมชนบ้านร่ องไฮ


วัดติโลกอาราม พื้นที่เกี่ยวเนื่องกับพื้นที่โบราณสถานบ้านร่ องไฮ ในสมัยพระเจ้าติโลกราช ที่โผล่ พ้นน้ าขึ้นมา ชาวบ้านเรี ยกว่า สันธาตุกลางน้ า จนกลายเป็ นแหล่งท่องเที่ยวที่สาคัญอีกสถานที่หนึ่งของจังหวัดพะเยา และยังเป็ นศูนย์รวมจิตใจของคนในชุมชน จากความส าคัญ ดัง กล่ าว พื้ น ที่ โ บราณสถานบ้านร่ อ งไฮ พื้ น ที่ ชุ ม ชนบ้านร่ อ งไฮ และพื้ น ที่ เกี่ยวเนื่องวัดติโลกอาราม ซึ่ งพื้นที่เหล่านี้มีความเชื่อมโยงกันทางประวัติศาสตร์ จึงทาให้เกิดโครงการออกแบบและ วางผัง ภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมอุ ท ยานประวัติ ศ าสตร์ โ บราณสถานบ้า นร่ อ งไฮและพื้ น ที่ เกี่ ย วเนื่ อ ง เป็ นอุ ท ยาน ประวัติศาสตร์ ที่ให้ความรู ้ ท้ งั ด้านประวัติศาสตร์ และวัฒ นธรรมของพื้นที่ ชุมชนบ้านร่ องไฮ พร้ อมทั้งส่ งเสริ ม ศักยภาพให้เป็ นแหล่งท่องเที่ยวของจังหวัดพะเยา 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ศึกษาประวัติศาสตร์โบราณสถานบ้านร่ องไฮและพื้นที่ เกี่ยวเนื่องให้กบั นักท่องเที่ยวและบุคคลทัว่ ไปที่สนใจ 4.1.2 เพื่อเป็ นสถานที่นนั ทนาการ พักผ่อนหย่อนใจให้กบั นักท่องเที่ยวและชุมชน บ้านร่ องไฮ 4.1.3 เพื่อส่ งเสริ มการท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์โบราณสถานที่มีคุณค่าของจังหวัด 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมอุทยานประวัติศาสตร์ โบราณสถานบ้านร่ องไฮและพื้นที่เกี่ยวเนื่อง 4.2.2 เพื่อศึกษากระบวนการออกพื้นที่โบราณสถานให้เชื่อมโยงกับพื้นที่ชุมชน 4.2.3 เพื่อศึกษากระบวนอนุรักษ์ ฟื้ นฟู ให้มีเอกลักษณ์พร้อมรองรับกิจกรรมทาง ประวัติศาสตร์ที่จะเกิดขึ้นในพื้นที่ 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ โบราณสถานบ้านร่ องไฮ หมู่ที่ 1 ตาบลแม่ใส อาเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา มีขนาด พื้นที่ประมาณ 178 ไร่


พะเยำ

การออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมอุทยานประวัติศาสตร์โบราณสถานบ้านร่ องไฮและพื้นที่เกี่ยวเนื่อง แผนที่ 1 แสดงที่ต้ งั โครงการ ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศดัดแปลงจาก www.thaivaluer.com (วันที่ 9 ธันวาคม 2562) สัญลักษณ์ ที่ต้ งั โครงการ ตาแหน่งที่ต้ งั โครงการ

N

Not to scale


การออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมอุทยานประวัติศาสตร์โบราณสถานบ้านร่ องไฮและพื้นที่เกี่ยวเนื่อง แผนที่ 2 แสดงขอบเขตโครงการ ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศดัดแปลงจาก Google Earth Pro (วันที่ 9 ธันวาคม 2562) สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่โครงการ พื้นที่เกี่ยวเนื่อง วัดติโลกอาราม ถนนพหลโยธิน ถนนพะเยาแม่นาเรื อ ถนนโครงการบ้านร่ องไฮ

N

Not to scale




คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาวรัชนี กร บัณฑราภิ วฒั น์ รหัส 5919102524 นักศึ กษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิตสะสม 133 หน่วย กิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ ได้เท่ากับ 3.48 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิพนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปัตยกรรมศา สตรบัณฑิต โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย)โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมสถานพักตากอากาศ วารัตดา รี สอร์ ต แอนด์ เดสทิเนชัน่ สปา อาเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architectural Design and Planning Project of the Waratda Resort and Destination Spa, Maerim, Chiang Mai. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ เนื่ อ งจากช่ วงที่ ผ่า นมากระแสการดู แ ลรั กษาสุ ข ภาพของผูค้ นในสังคมยังคงเป็ นที่ นิย มอย่า งต่ อเนื่ อง จนกระทัง่ พัฒนากลายมาเป็ นพฤติกรรม และเกิดกลุ่มผูบ้ ริ โภคที่ใส่ ใจสุ ขภาพมากขึ้น ซึ่ งส่ งผลต่อสิ นค้าและบริ การต่าง ๆ ที่ตอ้ งปรับตัวตามพฤติกรรมของผูบ้ ริ โภคที่เปลี่ยนไป ซึ่ งรวมถึงธุรกิจการท่องเที่ยวด้วยเช่นกันที่ตอ้ งปรับตัวและสร้าง จุ ด ขายใหม่ ๆ เพื่ อ รองรั บกับกระแสดังกล่ า ว จนนาไปสู่ การท่ องเที่ ย วรู ป แบบใหม่ อย่า งการท่ องเที่ ย วเชิ งสุ ข ภาพ (Wellness Tourism) ซึ่ งกาลังเป็ นที่สนใจของนักท่องเที่ยวในเวลานี้ และมีอตั ราการเติบโตที่น่าจับตามอง การท่องเที่ยวเพื่อส่ งเสริ มสุ ขภาพ เป็ นการเดินทางท่องเที่ยวรู ปแบบหนึ่งที่มุ่งเน้นการดูแลสุ ขภาพแบบองค์ รวม เพื่อสร้างความสมดุลทั้งร่ างกายและจิ ตใจ โดยมีการผนวกกิจกรรมด้านสุ ขภาพเข้ามารวมอยู่ในการท่องเที่ ยวนั้น ด้วย จังหวัดเชียงใหม่เป็ นอีกหนึ่งตลาดที่มีความโดดเด่นด้านการท่องเที่ยวเชิ งสุ ขภาพ เพราะมีความได้เปรี ยบจากต้นทุน ที่ดี ทั้งในแง่ของการบริ การด้านสุ ขภาพ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ จึงตอบสนองต่อนโยบาย การพัฒนาประเทศไทยตามยุทธศาสตร์ กรอบพัฒนาประเทศ ปี พ.ศ.2561-2580 ได้เป็ นอย่างดี เนื่ องจากธุ รกิ จที่ พกั ชัว่ คราวสามารถเข้าถึงกลุ่มนักท่ องเที่ ยวที่ เข้าพักโดยตรงและสามารถต่ อยอดสร้างมูลค่าเพิ่ มจากการให้บริ การ โดย นาเสนอกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวเชิงสุ ขภาพ


โครงการนี้ เลือกที่ต้ งั ในบริ เวณอาเภอแม่ริม ซึ่ งเป็ นพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสาหรับโครงการออกแบบวาง ผังภู มิส ถาปั ตยกรรมสถานพักตากอากาศ วารั ต ดา รี ส อร์ ต แอนด์เ ดสทิ เ นชั่นสปา เป็ นอย่า งมากเนื่ องจากมี แ หล่ ง ท่ องเที่ ยวทางธรรมชาติ ที่สมบู รณ์หลายแห่ งและมี สภาพเหมาะสมต่ อการพักผ่อนฟื้ นฟูร่างกายและจิ ตใจ ซึ่ งในการ ออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมสถานพักตากอากาศ วารัตดา รี สอร์ ต แอนด์เดสทิ เนชัน่ สปา จะเป็ นทางเลือกหนึ่ ง ให้กบั นักท่องเที่ ยว ด้วยบริ การ Destination Spa คื อ สปาที่ เน้นการพานักยาวเพื่อทากิ จกรรมอย่างต่อเนื่ อง เป็ นสถาน บริ การสปาแบบองค์รวม เช่น ให้คาปรึ กษาการดูแลสุ ขภาพ การออกกาลังกาย การนวดรู ปแบบต่างๆ การทาวารี บาบัด การฝึ กโยคะ การทาสมาธิ สปาหิ นภูเขาไฟเพื่อความงาม บริ การทรี ทเมนท์ความงาม ตามด้วยการให้บริ การโภชนบาบัด โดยผูเ้ ชี่ ยวชาญ คื อการให้คาแนะนาการทานอาหารและเครื่ องดื่ มเพื่อสุ ขภาพดูแลสุ ขภาพแบบยัง่ ยืน รวมถึงมีห้องพัก ให้บริ การหลายประเภท โครงการที่ นาเสนอนี้ นอกจากจะเกิ ดประโยชน์ในการให้บริ การนักท่ องเที่ ยวที่ เดิ นทางมา จังหวัดเชี ยงใหม่เพิ่มขึ้นแล้วยังช่วยให้มีการกระจายรายได้สู่ชุมชนอีกด้วย จากเหตุผลดังกล่าวจึงทาให้เกิดแนวคิ ดที่ จะ ออกแบบสถานพักตากอากาศ วารัตดา รี สอร์ ต แอนด์เดสทิ เนชัน่ สปา ซึ่ ง “วารัตดา” หมายถึง ความสุ ขสมบูรณ์ ของ สุ ขภาพ 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อสร้างผลตอบแทนจากการลงทุน 4.1.2 เพื่อให้เป็ นสถานที่ท่องเที่ยวทางเลือกสาหรับคนรักสุ ขภาพและความงาม 4.1.3 เพื่อเป็ นสถานพักตากอากาศที่สามารถฟื้ นฟูร่างกายและจิตใจอย่างแท้จริ งภายใต้ธรรมชาติ และบรรยากาศที่สวยงาม 4.1.4 เป็ นการกระจายรายได้และการสร้างงานให้กบั ประชาชนในท้องถิ่นโดยพัฒนาพื้นที่ให้เกิด การจ้างงาน 4.1.5 เพื่อตอบสนองนโยบายของภาครัฐในการส่ งเสริ มการท่องเที่ยวเชิงสุ ขภาพ 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษากระบวนการออกแบบและวางภูมิสถาปัตยกรรมพื้นที่โครงการ สถานพักตากอากาศ วารัตดา รี สอร์ต แอนด์เดสทิเนชัน่ สปา 4.2.2 เพื่อศึกษารู ปแบบวิธีการฟื้ นฟูร่างกายด้วย “ธรรมชาติบาบัด” 4.2.3 เพื่ อ ศึ กษาวัฒ นธรรมท้องถิ่ นตลอดจนงานสถาปั ต ยกรรมมาใช้ใ นการออกแบบเพื่ อให้ สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมโดยรอบ 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ ตั้งอยู่ ตาบลห้วยทราย อาเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ มีเนื้อที่โดยประมาณ 137 ไร่ 5.2 เหตุที่เลือกโครงการ


5.2.1 สถานที่ ต้ งั โครงการตั้งอยู่ใกล้กบั แหล่งท่องเที่ ยวทางธรรมชาติ สามารถรองรับกิ จกรรม และนักท่องเที่ยว 5.2.2 ภายในพื้นที่โครงการมีสภาพแวดล้อมเป็ นธรรมชาติเหมาะสมกับโครงการออกแบบวางผัง ภูมิสถาปัตยกรรมสถานพักตากอากาศ วารัตดา รี สอร์ต แอนด์เดสทิเนชัน่ สปา 5.2.3 สถานที่ต้ งั โครงการมีทศั นียภาพโดยรอบที่สวยงาม 5.3 การเลือกที่ต้ งั โครงการ เนื่องจากโครงการ มีกลุ่มลูกค้าเป้าหมายหลักมีช่วงอายุ 30 – 50ปี และเป้าหมายรองมีอายุมากกว่า 50ปี ขึ้นไป รายได้ 30,000 – 50,000บาท ขึ้นไป ซึ่ งมีไลฟ์ สไตล์ ชอบท่องเที่ยวแหล่งธรรมชาติ พักผ่อนในที่มีอากาศ บริ สุทธิ์ และใส่ ใจเรื่ องสุ ขภาพมากขึ้น


โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมสถานพักตากอากาศ วารัตดา รี สอร์ต แอนด์เดสทิเนชัน่ สปา อาเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ มาตราส่วน แผนที่ 1 ขอบเขตโครงการ ที่มา : ดัดแปลงจาก www.google.co.th ( 5 ธันวาคม 2562 ) สัญลักษณ์ : แสดงที่ต้ งั โครงการ Not to scale ถนน ชบ.3009


SITE LINKAGE สถำนทีท่ ่องเทีย่ ว

โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมสถานพักตากอากาศ วารัตดา รี สอร์ต แอนด์เดสทิเนชัน่ สปา อาเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ มาตราส่ วน แผนที่ 2 แสดงที่ต้ งั โครงการและความเชื่อมโยงของสถานที่ท่องเที่ยว ที่มา : ดัดแปลงจาก www.google.co.th ( 5 ธันวาคม 2562 ) สัญลักษณ์ : แสดงที่ต้ งั โครงการ Not to scale ถนนโชตนา ถนนหมายเลข1096 ถนน ชบ.3009


SITE LINKAGE สำธำรณูปกำร

โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมสถานพักตากอากาศ วารัตดา รี สอร์ต แอนด์เดสทิเนชัน่ สปา อาเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ มาตราส่วน แผนที่ 4 แสดงที่ต้ งั โครงการและความเชื่อมโยงของสาธารณูปการ ที่มา : ดัดแปลงจาก www.google.co.th ( 5 ธันวาคม 2562 ) สัญลักษณ์ : แสดงที่ต้ งั โครงการ Not to scale แสดงที่ต้ งั สาธารณูปการ ถนนโชตนา ถนนหมายเลข1096 ถนน ชบ.3009


SITE LINKAGE ทีพ่ กั เพื่อสุ ขภำพ

โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมสถานพักตากอากาศ วารัตดา รี สอร์ต แอนด์เดสทิเนชัน่ สปา อาเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ มาตราส่ วน แผนที่ 3 แสดงที่ต้ งั โครงการและความเชื่อมโยงของที่พกั เพื่อสุขภาพ ที่มา : ดัดแปลงจาก www.google.co.th ( 5 ธันวาคม 2562 ) สัญลักษณ์ : แสดงที่ต้ งั โครงการ Not to scale แสดงที่ต้ งั ที่พกั เพื่อสุขภาพ ถนนโชตนา ถนนหมายเลข1096 ถนน ชบ.3009 ถนนรอง


โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมสถานพักตากอากาศ วารัตดา รี สอร์ต แอนด์เดสทิเนชัน่ สปา อาเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ มาตราส่วน แผนที่ 5 แสดงที่ต้ งั ขอบเขตโครงการแต่ละพื้นที่ ที่มา : ดัดแปลงจาก www.google.co.th ( 5 ธันวาคม 2562 ) Not to scale


ตารางสรุ ปข้อมูลการเลือกที่ต้ งั โครงการ พื้นที่โครงการ

ทัศนียภาพ

ที่มา : ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google map

ลักษณะพื้นที่

ที่มา : ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google Street

ที่มา : ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google map

ที่มา : ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google Street

ที่มา : ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google map

ที่มา : ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google Street

เกณฑ์

คะแนน

ราคาประเมินที่ดิน การเข้าถึงโครงการ สาธารณูปโภค การเชื่อมต่อระหว่าง แหล่งท่องเที่ยว ทัศนียภาพ รวมคะแนน

4 4 4 4 4 20

Site 1 เป็ นพื้นที่ดินโล่งและมีการทาเกษตรอยู่ ติ ด ชุ ม ชนและPAK RAM พั ก แรม มี ทัศนี ยภาพที่ดี ใกล้แหล่งท่องเที่ยว และ ห่างจากม่อนแจ่มประมาณ 19.4 กม. ใช้เวลาเดินทาง 34 นาที ขนาดพื้นที่ 80 ไร่ Site 2 เป็ นพื้นที่ นาอยู่ติดกับแปลงเกษตรและ บ้านสวนพลอยพิมพ์ ริ มดอย มีบ่อน้ าใน พื้ น ที่ แ ละทั ศ นี ย ภาพที่ ดี ใกล้ แ หล่ ง ท่ องเที่ ยว และห่ างจากม่ อ นแจ่ ม ประมาณ 21.8 กม. ใช้เวลาเดินทาง 38 นาที ขนาดพื้นที่ 125 ไร่ Site 3 เป็ นพื้ น ที่ น าอยู่ติ ด กับ แปลงเกษตรมี แหล่งน้ าอยู่ในพื้นที่ และติ ดกับchaing mai erotic garden มองเห็ น วิ ว ภู เ ขา ใกล้แหล่งท่องเที่ยว และ ห่ างจากม่อน แจ่มประมาณ 29 กม. ใช้เวลาเดินทาง 47 นาที ขนาดพื้นที่ 137 ไร่

ตารางสรุ ปการให้คะแนนแต่ละพื้นที่ SITE 1 SITE 2

SITE 3

ระดับ C B A A

คะแนน 8 12 16 16

ระดับ A B A B

คะแนน 16 12 16 12

ระดับ B A A B

คะแนน 12 16 16 12

B

12

B

12

A

16

64

หมายเหตุ A(excellent) = 4 B(very good) =3 C(fairy good) =2 D(poor) =1

68

72




คำร้ องเสนอหัวข้อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นาย วรพล ศรี เมืองมูล รหัส 5919102525 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อมศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจน ถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) การออกแบบปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมสถาปฏิบตั ิ ธรรม ( วัดดอยแม่ปั๋ง ) อาเภอ พร้าว จังหวัด เชียงใหม่ หั ว ข้ อ เรื่ อง (ภาษาอั ง กฤษ) Landscape Architectural Design and Improvement of Wat Doi Mae Pang, Phrao, Chiang Mai. 2. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ ความสาคัญของวัดดอยแม่ปั๋งนั้น เป็ นวัดที่ หลวงปู่ แหวน สุ จิณโณ เคยจาพรรษาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2505 จนถึงมรณภาพในปี พ.ศ.2528 ซึ่งนักท่องเที่ยวที่มาเยือนจะได้ชมสถานที่สาคัญต่างๆ ภายในวัดที่เกี่ยวข้องกับ พระเกจิอาจารย์ชื่อดังท่านนี้ ได้แก่ วิหารไม้ กุฏิหลวงปู่ แหวน กุฏิไม้ที่เรี ยกว่า โรงย่างกิเลส หรื อ โรงไฟ และวิหารที่ ประดิษฐานรู ปเหมือน หลวงปู่ แหวนเท่าองค์จริ ง สาหรับหลวงปู่ แหวาน สุ จิ ณโณ นั้น ท่านเป็ นพระเกจิชื่อดังที่ถือ กาเนิ ดในตระกูลของช่ างตี เหล็ก ชาวจังหวัดเลย ในวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2430 ในวัย 5 ขวบท่านได้ออกบวช เนื่ องจากการล้มป่ วยของโยมมารดา และก่อนสิ้ นลมท่านได้ฝากฝังให้หลวงปู่ แหวนบวชตลอดชีวิต ซึ่ งท่านก็ได้ทา ตามคาสั่งเสี ยนั้น จากนั้นท่านได้ กลายเป็ นศิษย์ของพระอาจารย์เสาร์ กนฺ ตสี โล ณ วัดบ้านสร้างถ่อ อาเภอ เกษมสี มา จังหวัดอุบลราชธานี และได้รับการถ่ายทอดความรู ้ตลอดจนข้อวัตรปฏิบตั ิต่างๆ อย่างครบถ้วน และต่อมาหลวงปู่ แหวนได้ยา้ ย มาจาพรรษาอยู่ที่วดั ดอยแม่ปั๋ง และมรณภาพลงในวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2528 โดยมีสิริรวมอายุได้ 98 ปี พื้นที่ของวัดดอยปั๋งอยูใ่ นการดูแลของ 2 หน่วยงานคือกรมศาสนาและกรมอุทยานแห่งชาติ ซึ่งใน ปั จจุบนั ยังไม่มีผงั แม่บทร่ วมกันของ 2 หน่วยงานที่รับผิดชอบทาให้พ้นื ที่เพื่อประกอบศาสนกิจ กุฏิ และพิพิธภัณฑ์ หลวงปู่ แหวน ขาดความเป็ นระเบี ย บในการวางผังบริ เ วณและมี การใช้พ้ื นที่ ไ ม่ เ หมาะสม ขาดประสิ ท ธิ ภ าพ พุทธศาสนิ กชนไม่กล้าเข้าไปใช้งานในพื้นที่ บางส่ วน และยังมีการรุ กล้ าพื้นที่ธรรมชาติ อีกทั้งมีการปล่อยพื้ นที่ บริ เ วณด้า นหลัง ของวัด ให้ ร กร้ า ง ในปั จ จุ บัน ทางวัด มี แ ผนพัฒ นาพื้ น ที่ ศู น ย์ป ฏิ บ ัติ ธ รรม เพื่ อ รองรั บ จ านวน พุทธศาสนิ กชนที่เพิ่มมากขึ้น โดยเพิ่มที่พกั ห้องน้ า ให้เพียงพอ พื้นที่ปฏิบตั ิธรรม จากเหตุผลความเป็ นมาดังกล่าว จึงเสนอโครงการออกแบบปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมขึ้น เพื่อเป็ นสถานปฏิบตั ิธรรม ที่ผสมผสานระหว่างการศึกษา


2

ประวัติศาสตร์ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า คาสอนของหลวงปู่ แหวนให้สอดคล้องกับการอนุรักษ์ธรรมชาติ รวมไป ถึงการพักผ่อนทางด้านจิตใจควบคู่กนั ไปเพื่อให้เกิดประโยชน์กบั ผูม้ าปฏิบตั ิธรรมอย่างเต็มประสิ ทธิภาพ 3. วัตถุประสงค์ 3.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 3.1.1 เพื่อเป็ นศูนย์กลาง เผยแพร่ ศาสนาและปฏิบตั ิธรรมระดับจังหวัด 3.1.2 เพื่ อเป็ นแหล่ งเรี ยนรู ้ แ ละเป็ นสถานที่ ป ฏิ บัติธรรม รวมทั้งเป็ นสถานที่ ป ฏิ บตั ิ ธรรมรวมทั้งเป็ นสถานที่พกั ผ่อนหย่อนใจของคนชาวเชียงใหม่ รวมทั้งคนในชุมชนและนักท่องเที่ยว 3.1.3 เพื่อปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมเพื่อช่วยส่ งเสริ ม บรรยากาศและสุ นทรี ยภาพให้ สอดคล้องกับพื้นที่โครงการด้านพุทธศาสนา 3.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 3.2.1 เพื่อศึ กษาแนวทางการออกแบบปรั บปรุ งวางผังภูมิส ถาปั ตยกรรมศูนย์ปฏิ บัติ ธรรมวัดดอยแม่ปั๋ง 3.2.2 เพื่อศึกษาข้อมูลทางประวัติศาสตร์ และพุทธศาสนาศูนย์ปฏิบตั ิธรรมวัดดอยแม่ ปั๋ง 3.2.3 เพื่ อศึ กษาศักยภาพของพื้นที่ ความสั มพันธ์ ข องพื้ นที่ และความสัมพันธ์ข อง กิจกรรมให้สอดคล้องกับการเป็ นสถานที่ศึกษาพุทธศาสนา สถานปฏิบตั ิธรรม และพื้นที่อนุรักษ์ธรรมชาติ 4. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 4.1 สถานที่ต้ งั โครงการ พื้นที่โครงการมีขนาด 430 ไร่ โครงการตั้งอยูต่ าบลแม่ปั๋ง อาเภอ พร้าว จังหวัดเชียงใหม่


3

โครงการออกแบบวางผังแม่บทศูนย์ปฎิบตั ิธรรมวัดดอยแม่ปั๋ง อาเภอพร้าว จังหวัด เชียงใหม่ แผนที่ 1 แสดงที่ต้ งั ระดับจังหวัด สัญลักษณ์

แสดงพื้นที่ต้ งั โครงการระดับจังหวัด แสดงที่ต้ งั โครงการ

ที่มา : ดัดแปลงมาจาก https://www.99bayresort.com/images/1118207372/ ThailandMap_02.jpg (วันที่ 25 พฤศจิกายน 2562 )

มาตราส่ วน : NOT TO SCALE


4

โครงการออกแบบวางผังแม่บทศูนย์ปฎิบตั ิธรรมวัดดอยแม่ปั๋งอาเภอพร้าว จังหวัด เชียงใหม่ แผนที่ 2 แสดงที่ต้ งั โครงการระดับอาเภอ สัญลักษณ์ :

แสดงพื้นที่โครงการระดับอาเภอ แสดงที่ต้ งั โครงการ

ที่มา : ดัดแปลงมาจาก http://www.chiangmailand.go.th/cmi58/data_cmi/ data/N1_N9/aumpur/N_4/N4.html(วันที่ 25 พฤศจิกายน 2562 )

ม า ต ร า ส่ ว น :NOT TO SCALE


5

โครงการออกแบบวางผังแม่บทศูนย์ป ฎิบตั ิธรรมวัดดอยแม่ปั๋งอาเภอพร้าว จังหวัด เชียงใหม่ แผนที่ 3 แสดงขอบเขตพื้นที่อาเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ ที่มา : ดัดแปลงมาจาก google earth (วันที่ 25 พฤศจิกายน 2562 ) สัญลักษณ์ :

ถนนหมู่บา้ น พื้นที่โครงการ ถนนทางหลวงหมายเลข 4049

ม า ต ร า ส่ ว น :NOT TO SCALE

4.2 เหตุผลในการเลือกพื้นที่ต้ งั โครงการ 4.2.1 พื้นที่โครงการตั้งอยูต่ ิดกับถนนเส้นหลักที่มีความพร้อมในการเดินทาง 4.2.2 พื้นที่โครงการอยูบ่ นเนินเขา ส่ งผลให้พ้นื ที่โครงการมีความเงียบสงบอยูห่ ่างไกลจาก แหล่งอโคจร ตลอดจนปลอดมลภาวะต่างๆ 4.2.3 พื้ นที่ โ ครงการเป็ นวัด ที่ มีค วามส าคัญทางพระพุ ท ธศาสนาที่ ต้อ งการการปรั บ ปรุ ง ภู มิ สถาปัตยกรรม

5.ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา


6

โครงการออกแบบปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมวัดดอยแม่ปั๋ง อาเภอ พร้าว จังหวัด เชียงใหม่ มีพ้นื ที่โครงการ 430 ไร่ ทิศเหนือ ติดต่อกับ เครื อข่ายป่ าชุมชนลุ่มน้ าแม่งดั ทิศใต้ ติดต่อกับ คลองแม่ปั่ง ทิศตะวันออก ติดต่อกับ วัดพระธาตุดอยนะโม ทิศตะวันตก ติดต่อกับ สวนป่ าลาไย 6. บรรณานุกรม สานักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดเชียงใหม่. 2553. “วัดดอยแม่ปั๋ง” [ ระบบออนไลน์ ]. แหล่งที่มา http://www.templethailand.org/วัดในตาบล แม่ปั๋ง_ อาเภอพร้าว_จังหวัด เชียงใหม่.html (25พฤศจิกายน2562 ) โดยข้าพเจ้ายินดี ที่จะปฏิ บตั ิ ตามหลักและวิธีดาเนิ นงานวิทยานิ พนธ์ ของคณะสถาปั ตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ) นาย วรพลส ศรี เมืองมูล ( นาย วรพล ศรี เมืองมูล ) 27/12/2562


7


คำร้ องเสนอหัวข้อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมสิ ถำปัตยกรรมศำสตร์ บัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่โจ้ ข้าพเจ้า นางสาว ศิ รินทิพย์ วงค์คาทิ รหัส 5919102526 นักศึ กษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึ กษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่ วยกิต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.69 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตร์ บณ ั ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) : โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศเพื่อฟื้ นฟูสภาพ พื้นที่จากการทาเกษตรกรรมเชิงเดี่ยว : กรณี ศึกษา ไร่ ช่างเอก อาเภอเมืองลาปาง จังหวัดลาปาง 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) : . The Landscape Architectural Design and Planning of Ecotourism Project for the Monocropping Area Restoration: Case Study of Rai Chang Ek, Muang Lampang District, Lampang Province 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ จังหวัดลาปางเป็ นจังหวัดในภาคเหนือตอนบนที่มีความโดดเด่นในด้านการทาเกษตรกรรม โดย พื้นที่การเกษตร จานวน 1,117,138.69 ไร่ คิดเป็ นร้ อยละ 14.26 มีพ้ืนที่เพาะปลูกทั้งหมด 1,111,113 ไร่ แต่พ้ืนที่ เพาะปลูกเกือบทั้งหมดเป็ นการทาเกษตรกรรมเชิงเดี่ยว โดยมีพ้ืนที่กระจายอยู่ในบริ เวณอาเภอเมืองและต่างอาเภอ ทั้งนี้ จังหวัดลาปางมีการทาเกษตรกรรมเชิงเดี่ยว มาอย่างยาวนานจนกระทัง่ กลายเป็ นส่ วนสาคัญต่อระบบเศรษฐกิจ ของจังหวัด โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศเพื่อฟื้ นฟูสภาพพื้นที่จาก การทาเกษตรกรรมเชิงเดี่ยว : กรณี ศึกษา ไร่ ช่างเอก อาเภอเมืองลาปาง จังหวัดลาปาง ตั้งอยู่ที่ บ้านวังเลียบ หมู่ 5 ตาบลบุญนาคพัฒนา อาเภอเมืองลาปาง จังหวัดลาปาง เป็ นพื้นที่เกษตรกรรมของเอกชน มีคุณกฤษณะ สิ ทธิ หาญ เป็ นเจ้าของพื้นที่ ในอดีตพื้นที่ดงั กล่าวมีการทาเกษตรกรรมเชิงเดี่ยว คือ ไร่ สับปะรด ซึ่ งปั จจุบนั ประสบปั ญหาใน การทาเกษตรกรรม เนื่ องจากความอุดมสมบูรณ์ ของดินลดลง มีสภาพเสื่ อมโทรม หน้าดินแข็ง ซึ่ งเกิ ดจากการใช้ สารเคมีเป็ นจานวนมาก และใช้ตลอดฤดูกาลผลิต โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สารกาจัดวัชพืช ที่ทาให้ดินเสื่ อม มีการสะสม ของสารพิ ษตกค้างในสิ่ งแวดล้อม และยัง ส่ ง ผลให้ผ ลผลิตที่ ไ ด้ไ ม่ มีคุ ณภาพ ตลอดจนมี ปริ มาณผลผลิ ตลดลง นอกจากนั้น ยังประสบปั ญหาด้านการตลาด จากการที่ไม่สามารถกาหนดราคาจาหน่ายได้เอง และในช่วงที่ผ่านมา ปริ มาณผลผลิตสัปปะรดในประเทศเกิดสภาวะล้นตลาด จากสภาพปั ญหาดังกล่า ว เจ้าของโครงการจึงมีแนวคิดที่จะปรั บเปลี่ ยนวิธีก ารทาเกษตร จาก เกษตรกรรมเชิงเดี่ยว เป็ นการเกษตรที่ยงั่ ยืน มีการคิดค้นนวัตกรรมเกษตรใหม่ ๆ รวมถึงพัฒนาให้พ้นื ที่เป็ นแหล่ง


ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ โดยมีเป้าหมายที่จะสร้ างรายได้ และฟื้ นฟูสภาพแวดล้อมให้กลับมามีชีวติ คืนอาชีพให้เกษตรกร สร้ างความสุ ขให้แก่นกั ท่องเที่ยว และเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ สาหรับนักเรี ยนนักศึกษา รวมถึงเป็ นต้นแบบให้กบั วิสาหกิ จ ชุ มชนและเกษตรกร ทั้งในพื้นที่และต่างจังหวัด ซึ่ งจะเห็นได้ว่ามีความสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ ชาติจงั หวัด ลาปาง ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2561-2565) ในประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 1 การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสร้ างสรรค์ และประเด็น ยุ ท ธศาสตร์ ที่ 2 เป็ นแหล่ ง ผลิ ต และจ าหน่ า ยผลิ ตภัณ ฑ์ ก ารเกษตร เกษตรปลอดภัย เกษตรอิ น ทรี ย์ เกษตร อุตสาหกรรม และเกษตรแปรรู ปที่มีคุณภาพมาตรฐานโดดเด่นของภาคเหนือและของประเทศ จากที่กล่าวมาจะเห็นได้วา่ โครงการนี้มีความสาคัญในฐานะต้นแบบการแก้ไขปั ญหาสิ่ งแวดล้อม ที่เกิ ดจากการทาเกษตรกรรมเชิ งเดี่ยว โดยการปรั บเปลี่ยนรู ปแบบการทาเกษตรให้มีความยัง่ ยืนและสร้ างเสริ ม รายได้จากการพัฒนาให้เป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ซึ่ งนอกจากจะช่วยยกระดับคุณภาพชีวติ ของเกษตรกรแล้ว ยัง เป็ นการส่ งเสริ มคุณภาพสิ่ งแวดล้อมด้วยอีกทางหนึ่ง 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อปรับปรุ งและฟื้ นฟูพ้นื ที่ซ่ ึ งประสบปั ญหาจากการปลูกพืชเชิงเดี่ยว ให้กลับมา ใช้ประโยชน์ได้อย่างคุม้ ค่าและปลอดภัยต่อสิ่ งแวดล้อม 4.1.2 เพื่อพัฒนาพื้นที่ให้เป็ นแหล่งท่องเที่ยวเกษตรเชิงนิเวศ 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปั ญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึ กษาแนวทางการออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรมประเภทแหล่งท่องเที่ยวเชิ ง นิเวศ 4.2.2 เพื่ อ ศึ ก ษาผลกระทบทางสิ่ งแวดล้อ มและสั ง คมที่ เ กิ ด จากการทาเกษตรกรรม เชิงเดี่ยว และแนวทางแก้ไข เพื่อฟื้ นฟูพ้นื ทีซ่ ่ ึงประสบปั ญหาจากการทาเกษตรกรรมเชิงเดี่ยว 4.2.4 เพื่อศึ กษาแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ ยวข้องในการแก้ปัญหาสภาพแวดล้อมที่ได้รับ ผลกระทบจากการทาเกษตรกรรมเชิงเดี่ยว รวมถึงแนวคิดที่เกี่ยวข้องในการออกแบบพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ 4.2.4 เพื่ อ วิเ คราะห์ ส ภาพปั ญ หาของบริ เ วณที่ ต้ งั โครงการที่ ไ ด้รั บผลกระทบ และ ศักยภาพในการเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนนิเวศ เพื่อประโยชน์ในการสร้ างกิจกรรม สร้ างรายได้ และสร้ างอัตลักษณ์ ใหม่ของจังหวัดลาปาง 5. สถานที่ต้งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้ อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้ อง) 5.1 ที่ต้งั โครงการ โครงการตั้งอยู่ที่ บ้านวังเลียบ หมู่ที่ 5 ตาบลบุญนาคพัฒนา อาเภอเมืองลาปาง จังหวัด ลาปาง (ดูแผนที่ 1)


5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้งั โครงการ 5.2.1 พื้นที่โครงการเป็ นบริ เวณที่ประสบปั ญหาจากการทาการเกษตรเชิ งเดี่ยว และ เจ้าของโครงการมีความประสงค์ที่จะฟื้ นฟูสภาพพื้นที่เกษตรกรรม 5.2.2 ภายในพื้นทีโ่ ครงการมีแหล่งน้ าเดิม มีสภาพแวดล้อมที่เป็ นธรรมชาติที่เหมาะสม กับการพัฒนาเป็ นแหล่งท่องเที่ยว 5.2.3 พื้นที่โครงการอยู่ภายในอาเภอเมืองลาปาง ใกล้กบั แหล่งท่องเที่ยว ที่สาคัญของ จังหวัดลาปาง (ดูแผนที่ 3)


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมแหล่งท่องเทีย่ วเชิงนิเวศเพือ่ ฟื้ นฟูสภาพพื้นที่จากการทา เกษตรกรรมเชิงเดีย่ ว : กรณีศึกษา ไร่ ช่างเอก อาเภอเมืองลาปาง จังหวัดลาปาง แผนที่ 1 ที่ต้งั โครงการ สัญลักษณ์ ที่ต้งั โครงการ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 ถ.พหลโยธิ น ถนนซุ ปเปอร์ ไฮเวย์ลาปาง-งาว ถนนทางเข้าโครงการ ถนนเลียบคลองชลประทาน Not to scale ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth (12/1/2562)


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมแหล่งท่องเทีย่ วเชิงนิเวศเพือ่ ฟื้ นฟูสภาพพื้นที่จากการทา เกษตรกรรมเชิงเดีย่ ว : กรณีศึกษา ไร่ ช่างเอก อาเภอเมืองลาปาง จังหวัดลาปาง แผนที่ 2 ขอบเขตพื้นที่โครงการ สัญลักษณ์ พื้นที่โครงการ ถนนภายในโครงการ ถนนรอบโครงการ

Not to scale ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth (12/1/2562)


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมแหล่งท่องเทีย่ วเชิงนิเวศเพือ่ ฟื้ นฟูสภาพพื้นที่จากการทา เกษตรกรรมเชิงเดีย่ ว : กรณีศึกษา ไร่ ช่างเอก อาเภอเมืองลาปาง จังหวัดลาปาง แผนที่ 3 การเชื่อมโยงของพื้นที่ สัญลักษณ์ ที่ต้งั โครงการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาลาปาง (เดินทาง 8 นาที) ฝายน้ าล้นบ้านแลง (เดินทาง 15 นาที) เขื่อนกิ่วลม (เดินทาง 25 นาที) ตลาดต้นยาง (เดินทาง 13 นาที) วัดพระเจดียซ์ าวหลัง (เดินทาง 25 นาที) ทุ่งดอกบัวตอง กฟผ.แม่เมาะ (เดินทาง 36 นาที) ระยะทาง 5 กิโลเมตร ระยะทาง 10 กิโลเมตร ระยะทาง 15 กิโลเมตร ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth (12/1/2562)

Not to scale




คำร้ องเสนอหัวข้อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่โจ้ ข้าพเจ้า นาย สหภพ เปรมสมบัติ รหัส 5919102527 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิ ช าภู มิ ส ถาปั ตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ย จนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.14 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย ) : โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม ไร่ เปรมบุญ รี สอร์ ท เพื่อการ

ท่องเที่ยวเชิงเกษตรและวัฒนธรรม อ. แม่จนั จ. เชียงราย 2. หั วข้อ เรื่ อ ง (ภาษาอัง กฤษ) : The Landscape Architectural and Planning Project of Premboon Farm

Resort For Agricultural and Cultural Tourism Mae, Chan , Chiang Rai 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ

จากศึกษาค้นคว้าพบว่า ตาบลจันจว้า อาเภอแม่จนั จังหวัดเชียงรายนั้น มีทรัพยากรการท่องเที่ยว ในพื้นที่ชุ่มน้ าเวียงหนองหล่ม ซึ่ ง เป็ นพื้นที่สาธารณะที่มีลกั ษณะเป็ นแอ่งรับน้ า หรื อ พื้นที่ชุ่มน้ าขนาดใหญ่ที่สุด ของอาเภอแม่จัน และจังหวัดเชียงราย มีบริ เวณติดต่ออยู่ 4 ตาบล 2 อาเภอ คือ ตาบลจันจว้า ตาบลจันจว้าใต้ ตาบล ท่าข้าวเปลือก อาเภอแม่จนั และ ตาบลโยนก อาเภอเชียงแสน มี ความหลากหลายทางชีวภาพที่สาคัญคือนกประจา ถิ่น นก อพยพ และนกหายากกว่า 70 ชนิ ด มีระบบเศรษฐกิจ ทางชีวภาพทั้งการประมงและที่สาคัญการเลี้ยง ควาย แบบปางควายขนาดใหญ่ที่สุดของจังหวัดเชียงรายและภาคเหนือ มีการค้นพบแหล่ง โบราณคดีกว่า 77 แห่งกระจาย อยู่ ทั่วบริ เวณพื้ นที่ เวียงหนองหล่มและมีประวัติศาสตร์ การตั้ง ถิ่ น ฐานของกลุ่มชาติ พนั ธุ์ กว่ า 5 กลุ่ มที่อาศัยอยู่ รวมกันมายาวนาน ชุมชนโดยรอบ รวมทั้งยังเห็นชอบให้สนับสนุนการพัฒนาเพื่อการท่องเที่ยวเวียงหนองหล่ม อาเภอแม่จัน จังหวัดเชี ยงราย ซึ่ งเป็ นพื้นที่ที่มีตานานเมืองล่ม พื้นที่กว่า 20,000 ไร่ โดยทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่ งแวดล้อมดาเนินการร่ วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้างความเชื่อมโยงด้านการท่องเที่ยว โดยเจ้าของโครงการ คุณวุฒิพงษ์ เปรมสมบัติ มีความประสงค์ที่จะสร้างโครงการรี สอร์ท เพื่อ การเกษตร และการทาธุรกิจในอนาคต โดยเป็ นแหล่งท่องเที่ยวรู ปแบบโฮมสเตย์และฟาร์มสเตย์ (home stay & farm stay) จัดเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเพื่อนันทนาการ เพื่อรองรับนักท่องเที่ยว โดยมีพื้นที่ 83ไร่ ตั้งอยู่ที่ บ้านป่ าสักหลวง ต จันจว้าใต้ อ. แม่จัน จ. เชี ยงราย บนพื้นที่เกษตรกรรมติดกับแหล่งน้ าธรรมชาติ คลองแม่จัน ซึ่ งอยู่ใกล้เคียง พื้นที่


พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเวียงหนองหล่ม ที่มีท้ งั ความสาคัญทางประวัติศาสตร์ และวิธีชีวิต วัฒนธรรมของชุมชน ที่ กาลังจะถูกลบหายไป 4. วัตถุประสงค์

4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อพัฒนาเป็ นแหล่งท่องเที่ยวและสร้างรายได้ให้กบั เจ้าของโครงการและชุมชน 4.1.2 เป็ นแนวทางสาหรับการสนับสนุนให้ชุมชนรอบพื้นที่ชุ่มน้ าเวียงหนองหล่มเป็ น แหล่งท่องเที่ยวทางเกษตร ธรรมชาติ และวัฒนธรรม 4.1.3 เพื่อเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ทางการเกษตรให้กบั ชุมชน 4.1.4 เพื่อรองรับการเจริ ญเติบโตของเส้นทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาเป็ นแนวทางในการออกแบบวางผังรี สอร์ทในอนาคต 4.2.2 เพื่อศึกษาเป็ นแนวทางในการบริ หารจัดการท่องเที่ยวชุมชนเวียงหนองหล่ม 4.2.3 เพื่อศึกษาแนวทางการออกแบบวางแผนการท่องเที่ยวแห่งใหม่โดยการมีส่วนร่ วม ของภาคเอกชน และ ชุมชนโดยรอบพื้นที่ชุ่มน้ าเวียงหนองหล่ม 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั

5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ พื้นที่ต้ งั โครงการ 83 ไร่ โครงการตั้ง อยู่ที่ ตาบล จันจว้า อาเภอแม่จนั จังหวัดเชียงราย 5.2 เหตุผลที่เลือกโครงการ 5.2.1 ที่ต้ งั โครงการเป็ นพื้นที่จริ งซึ่งเจ้าของมีโครงการพัฒนาพื้นที่เป็ นที่พกั ตากอากาศ 5.2.2 ที่ต้ งั โครงการอยู่ใกล้เคียงกับบริ เวณพื้นทีช่ ุ่มน้ าเวียงหนองหล่มมีแผนการพัฒ นา เป็ นแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติและฟื้ นฟูมรดกทางวัฒนธรรมที่ชุมชนมีอยู่ 5.2.3 “เวียงหนองหล่ม” เป็ นพื้นที่ชุ่มน้ าที่ได้รับการสารวจจัดทาบัญชีรายชื่อเป็ นพื้นทีท่ ี่ มีศกั ยภาพและความสาคัญระดับนานาชาติในทะเบียนพื้นที่ชุ่มน้ า 5.2.4 เพื่อศึกษาการใช้ประโยชน์และศักยภาพของพื้นที่โครงการเพื่อเป็ นแนวทางใน การออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตกรรมในอนาคต


โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรม รี สอร์ท แอนด์ สปา เพื่อการท่องเที่ยว อ. แม่จนั จ. เชียงราย แผนที่ 1 แสดงพื้นที่โครงการ ที่มา ดัดแปลงจาก google earth (วันที่7 ธันวาคม 2562) สัญลักษณ์

ขอบเขตพื้นที่โครงการ

Not to Scale


6. ขอบเขตของพืน้ ที่ศึกษา

พื้นที่โครงการมีขนาด 100 ไร่ โครงการตั้งอยู่ที่ ตาบล จันจว้า อาเภอแม่จนั จังหวัดเชียงราย ทิศเหนือ ติดต่อกับ พื้นที่เกษตร ทิศใต้ ติดต่อกับ คลองแม่จนั ทิศตะวันออก ติดต่อกับ คลองแม่จนั ทิศตะวันตก ติดต่อกับ พื้นที่เกษตร 7. บรรณานุกรม จรัสพิมพ์ บุญญานันต์. 2556. คู่มือกำรดำเนินงำนวิทยำนิพนธ์ ระดับปริญญำภูมิสถำปัตยกรรม ศำสตร์ . เชียงใหม่.มหาวิทยาลัยแม่โจ้. สถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) :2554: “โครงการสารวจ สถานภาพพพื้นที่ชุ่มน้ า ประเภทหนองบึง น้ าจืดของประเทศไทย”. [ระบบออนไลน์]” แหล่งที่มา http://wetland.onep.go.th/pdf/report/2553.pdf (3 ธันวาคม 2562). สานักงานจังหวัดเชียงราย. 2561. “สรุ ปข้อมูลแผนพัฒนาจังหวัดเชียงราย (พ.ศ.2561-2564) ” [ระบบออนไลน์]” แหล่งที่มา http://www.chiangrai.net/cpwp/?wpfb_dl=318 (5 ธันวาคม 2562). ธงชัย ภูวนาถวิจิตร และ สุชาครี ย ์ ศรี รัตน์ 2555. “การวางแผนจัดการการท่องเทีย่ วชุมชนแบบ ยัง่ ยืนเพือ่ รองรับการรวมกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน: กรณี ศกึ ษาพื้นทีช่ ่มน้ าเวียง หนองหล่ม อาเภอแม่จนั และอาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย” วำรสำรมนุษยศำสตร์ สำร ปี ที่ 15 ฉบับที่ 2. โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธี ดาเนิ นงานวิทยานิ พนธ์ ของคณะสถาปั ตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ

(ลงชื่อ)……………………………………. (……........สหภพ เปรมสมบัติ…………..) ……….../………./………..



Site selection

โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรม รี สอร์ท แอนด์ สปา เพื่อการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและวัฒนธรรม อ. แม่จนั จ. เชียงราย แผนที่ 3 แสดงพื้นที่โครงการ ที่มา ดัดแปลงจาก google earth (วันที่7 ธันวาคม 2562) สัญลักษณ์ สถานที่ท่องเที่ยว พื้นที่โครงการ เส้นรัศมี

Not to to scale Not scale


โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรม รี สอร์ท แอนด์ สปา เพื่อการท่องเที่ยว อ. แม่จนั จ. เชียงราย แผนที่ 1 แสดงพื้นที่โครงการ ที่มา ดัดแปลงจาก google earth (วันที่7 ธันวาคม 2562) สัญลักษณ์

ขอบเขตพื้นที่โครงการ

Not to Scale


โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรม รี สอร์ท แอนด์ สปา เพื่อการท่องเที่ยว อ. แม่จนั จ. เชียงราย แผนที่ 2 ภาพแสดงพื้นที่โครงการ ที่มา ดัดแปลงจาก google earth (วันที่7 ธันวาคม 2562) สัญลักษณ์

ขอบเขตพื้นที่โครงการ

Not to Scale


โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรม รี สอร์ท แอนด์ สปา เพื่อการท่องเที่ยวเชิงเกษตร อ. แม่จนั จ. เชียงราย แผนที่ 3 แสดงพื้นที่โครงการ ที่มา ดัดแปลงจาก google earth (วันที่7 ธันวาคม 2562) สัญลักษณ์

ขอบเขตพื้นที่โครงการ

Not to Scale


ตารางที่ 1 แสดงการประเมินค่าคะแนนของพื้นที่โครงการทางเลือก

เกณฑ์การให ้คะแนน

น้ าหนั ก คะแนน

Site A คะแนน

Site B

รวม

คะแนน

Site C

รวม

คะแนน

รวม

การเข ้าถึงพืน ้ ที่ (Accessibility)

4

A

16

B

16

A

12

โครงข่ายถนน (Road Network)

4

B

12

A

16

C

8

ทางเข ้าโครงการ(Approch)

3

A

6

3

9

B

6

มุมมอง (View)

6

A

30

C

25

B

30

พืน ้ ทีโ่ ดยรอบ (Surrounding)

5

A

25

A

20

B

20

่ มโยงของพืน การเชือ ้ ที่ (Linkage)

4

B

12

B

12

B

12

รวม

26

101

98

88


คำร้ องเสนอหัวข้อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตร์ บัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตรและกำรออกแบบสิ่งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นายสาธร เล้าประเสริ ฐ รหัส5919102528 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะ สถาปั ตยกรรมศาสตรและการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิตสะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.96 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิพนธ์ระดับปริ ญญา ภูมิสถาปัตยกรรมศาสตร์บณ ั ฑิต โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) การออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมศูนย์เรี ยนรู ้และท่องเที่ยวเชิงเกษตรการ แปรรู ปมะพร้าวน้ าหอม อ.ดาเนินสะดวก จ.ราชบุรี 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) Landscape Architecture Design and Planning Project of Learning and

Agricultural tourism Center for the Coconut Processing, damnoen saduak, Ratchaburi 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ อาเภอดาเนิ นสะดวก จังหวัดราชบุรี เป็ นแหล่งปลูกมะพร้าวที่ดีที่สุด เนื่ องจากภูมิประเทศและ สภาพอากาศที่เหมาะสมในการปลูกมะพร้าวน้ าหอม ในปั จจุบนั ความนิ ยมบริ โภคมะพร้าวน้ าหอมเพิ่มสู งขึ้นทัว่ โลก ในขณะที่ผลผลิตมะพร้าวของไทยลดลงไปมากโดยเปรี ยบเทียบเมื่อ 15 ปี ที่แล้ว ในปี พ.ศ. 2546 ประเทศไทยมี ผลผลิตมะพร้าว 2.12 ล้านต้น แต่ในปี พ.ศ.2560 ผลผลิตเหลือเพียง 8.83 แสนต้น หรื อผลผลิตมะพร้าวลดลงไปกว่า ร้ อยละ 60 ในเวลา 15 ปี สาเหตุสาคัญของการลดลงเนื่ องมาจาก เกษตรกรหันไปปลูกพืชชนิ ดอื่ นเพราะมองว่า มะพร้ าวได้ผลผลิ ตช้า ราคาคาดเดายากและบางที อาจพบกับปั ญหาศัตรู พืช อี กด้วย เราจะทาอย่างไรให้ผลผลิ ต มะพร้ าวน้ าหอมของเกษตรกรสร้ า งมู ลราคาเพิ่ ม ขายได้ในราคาที่ สูง และแก้ปัญหาต่า งๆของเกษกร ส่ งผลให้ เกษตรกรหันกลับมาปลูกมะพร้าวน้ าหอมซึ่งเป็ นความภาคภูมิใจของชาวสวนดาเนินสะดวก จากเหตุที่ได้กล่าวมาจึงทาให้เกิดโครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมศูนย์เรี ยนรู ้และ ท่องเที่ยวเชิงเกษตรการแปรรู ปมะพร้าวน้ าหอม ตาบลแพงพวย อาเภอดาเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี โครงการนี้ เป็ น การรวมตัวของภาคเอกชนและเกษตรกรในพื้นที่ เพื่อส่ งเสริ มกลุ่มเกษตรกรมะพร้ าวน้ าหอม เป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ เกี่ยวกับการปลูกและการแปรรู ปมะพร้าวน้ าหอม โดยการนาเทคโนโลยีสมัยใหม่ร่วมกับภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ เพื่อเป็ นประโยชน์กบั เกษตรกรในชุมชน ส่ งเสริ มเศรษฐกิจชุมชนระดับฐานรากอย่างเป็ นระบบครบวงจร ทั้ง ในด้านการผลิต-แปรรู ป-ตลาด-แหล่งเงินทุนหมุนเวียน และยังสามารถเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเพื่อหารายได้ให้กบั ตัวโครงการ สามารถเป็ นโครงการต้นแบบของการท่องเที่ยวเชิงเกษตร โดยเน้นการมีส่วนร่ วมของนักท่องเที่ยวใน การดาเนิ นกิจกรรมให้เกิดการเรี ยนรู ้ดา้ นการเกษตรและวิถีการดารงชีวิต วัฒนธรรม ประเพณี และเป็ นการนาเอา ทรัพยากรที่มีอยูใ่ ห้เกิดการเรี ยนรู ้มาทาให้เกิดประโยชน์ก่อให้เกิดรายได้ต่อชุมชน ที่สาคัญต้องอนุรักษ์ควบคู่ไปกับ


การท่องเที่ยวเพื่อไม่ให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนและผลกระทบต่อสภาพสิ่ งแวดล้อม ทั้งหมดที่ได้กล่าวมานั้นจะ ส่ งผลให้เกิดเศรษฐกิจที่ดีในชุมชน และจะเป็ นชุมชนที่เข้มแข็งและยัง่ ยืน 4 วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อเป็ นศูนย์เรื่ องรู ้การปลูกและแปรรู ปมะพร้าวน้ าหอมโดยการนาเทคโนโลยี สมัยใหม่ร่วมกับภูมิปัญญาท้องถิ่น ให้กบั เกษตรกรและผูท้ ี่สนใจ 4.1.2 เพื่ อ เป็ นศู น ย์แ ปรรู ป และจ าหน่ า ยผลผลิ ต มะพร้ า วน้ า หอมในชุ ม ชน ต าบล แพงพวย อาเภอดาเนินสะดวกจังหวัดราชบุรี 4.1.3 เพื่อเป็ นโครงการต้นแบบของการท่องเที่ยวเชิงเกษตร 4.1.3 เพื่อสร้างเป็ นแหล่งท่องเที่ยวใหม่ในชุมชน สร้างรายได้ให้กบั ตัวโครงการ และยัง ช่วยส่ งเสริ มเศรษฐกิจระดับท้องถิ่น 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาแนวทางการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรม ศูนย์การเรี ยนรู ้และ ท่องเที่ยวเชิงเกษตร 4.2.2 เพื่อศึกษาการส่ งเสริ มเศรษฐกิจชุมชนระดับฐานรากอย่างเป็ นระบบ และยัง่ ยืน 4.2.3 เพื่อศึกษากระบวนการผลิตและแปรรู ปมะพร้าวน้ าหอม 4.2.4 เพื่อศึกษาวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น ของชาวสวนมะพร้าว


โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมศูนย์เรี ยนรู ้และท่องเที่ยวเชิงเกษตรการแปรรู ปมะพร้าวน้ าหอม ต.แพงพวย อ.ดาเนินสะดวก จ.ราชบุรี แผนที่ 1 การเข้าถึงพื้นที่โครงการ ที่มา : ดัดแปลงมาจาก https://map.longdo.com (วันที่10 ธันวาคม 2562) สัญลักษณ์

ทางเข้าโครงการ ถนนสาย 4037 พื้นที่โครงการ

มาตราส่ วน: NOT TO SCALE


โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมศูนย์เรี ยนรู ้และท่องเที่ยวเชิงเกษตรการแปรรู ปมะพร้าวน้ าหอม ต.แพงพวย อ.ดาเนินสะดวก จ.ราชบุรี แผนที่ 2 Site surrounding ที่มา : ดัดแปลงมาจาก https://map.longdo.com (วันที่10 ธันวาคม 2562) สัญลักษณ์:

แสดงที่ต้ งั โครงการ สถานที่ที่สาคัญ เส้นรัสมีระยะ 5 กม. เส้นรัสมีระยะ10 กม.

มาตราส่ วน: NOT TO SCALE


โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมศูนย์เรี ยนรู ้และท่องเที่ยวเชิงเกษตรการแปรรู ปมะพร้าวน้ าหอม ต.แพงพวย อ.ดาเนินสะดวก จ.ราชบุรี แผนที่ 3 แสดงที่ต้ งั โครงการ ที่มา : ดัดแปลงมาจาก Google Earth (วันที่10 ธันวาคม 2562) สั ญ ลั ก ษณ์ :

แสดงขอบเขตโครงการ

มาตราส่ วน: NOT TO SCALE


5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 สถานที่ต้ งั โครงการตั้งอยู่ที่ หมู่11 ตาบลแพงพวย อาเภอดาเนิ นสะดวกจังหวัด ราชบุรี พื้นที่ประมาณ 87.5ไร่ 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 พื้ นที่ ต้ งั โครงการอยู่บ ริ เ วณพื้ นที่ ท าการเกษตรของเกษตรกรผูป้ ลู กมะพร้ า ว น้ าหอมจานวนมาก 5.2.2 พื้นที่ต้ งั มีความอุดมสมบูรณ์ของดินและน้ า 5.2.3 พื้นที่ต้ งั ติดกับแหล่งท่องเที่ยวที่สาคัญ คือ ตลาดน้ าดาเนิน ตลาดน้ าเหล่าตัก๊ ลัก 6 ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา 6.1 หมู่11 ตาบลแพงพวย อาเภอดาเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี พื้นที่ประมาณ 87.5ไร่ 6.2 อาณาเขตติดต่อ ทิศเหนือ ติดกับ พื้นที่การเกษตร ทิศใต้ ติดกับ พื้นที่การเกษตร ทิศตะวันออก ติดกับ ติดกับหมู่บา้ นและแม่น้ าแม้กลอง ทิศตะวันตก ติดกับ พื้นที่การเกษตร 7. บรรณานุกรม จรัสพิมพ์ บุญญานันต์. 2561. “ รวมหัวข้อวิทยานิพนธ์ สาขาภูมิสถาปัตยกรรมประจาปี พ.ศ. 2561” [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา. https:// issuu.com/tuboonyanant/docs/ thesistopic_student54_binding (10 ธันวาคม 2562). The Works Community Management co. 2561. “การท่องเที่ยวเชิงเกษตร”. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.theworks.co.th (10 ธันวาคม 2562). โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาเนินงานวิทยานิพนธ์ ของคณะสถาปัตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (……………………………………………) ……….../………./………..



คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมสิ ถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้ อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาวสุชญา คาอินทร์ รหัส 5919102529 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรมคณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิตสะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.78 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิพนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมและวางผังสถานพักตากอากาศ ริ มแม่น้ า สามประสบ รี สอร์ ท แอนด์ สปา อาเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) : The Landscape Architectural Design and Planning Project of the Riverside Samroop Resort and Spa, Sangkhla Buri, Karnchanaburi

3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ อาเภอ สังขละบุรี เป็ นอาเภอที่ติดต่อกับชายแดนไทย-พม่า ห่ างจากตัวเมืองกาญจนบุรี ประมาณ 215 กิโลเมตร และอยูห่ ่างจากอาเภอทองผาภูมิ 74 กิโลเมตร เส้นทางนี้จะตัดผ่านภูเขาเลียบทะเลสาบเขื่อนเขาแหลม ซึ่ งมี ทัศนียภาพที่งดงาม ชาวบ้านในสังขละบุรีส่วนใหญ่จะเป็ นชาวมอญ ซึ่ งอาศัยตั้งบ้านเรื อนอยูเ่ ป็ นจานวนมาก ตัว อาเภอตั้งอยูบ่ ริ เวณที่เรี ยกว่า สามประสบ คือบริ เวณที่ลาน้ าสามสาย อันได้แก่ ห้วยซองกะเลีย ห้วยบิคลี่ และห้วยรัน ตี ไหลมาบรรจบกันเป็ นแม่น้ าแควน้อย มีสถานที่ท่องเที่ยวหลายแห่ง เนื่องด้วยจังหวัดกาญจนบุรีติดอันดับ 1 สถานที่ทอ่ งเที่ยวที่มาแรงที่สุดในปี 2019 โครงการ สาม ประสบ รี สอร์ ท แอนด์ สปา มีแนวคิดจะสร้างสถานที่พกั ตากอากาศเชิงวัฒนธรรม และมีบริ การสปาเพื่อความผ่อน คลาย จากศักยภาพของพื้นที่ต้งั โครงการ จึงมีความเป็ นไปได้ที่จะจัดตั้งโครงการสถานพักตากอากาศ ในพื้นที่ อาเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี ปัจจุบนั เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของกลุ่มมอญในอาเภอสังขละบุรีกลายเป็ น จุดดึงดูดใจและกลายเป็ นสิ นค้าทางการท่องเที่ยวที่สาคัญ ของอาเภอสังขละบุรีดงั นั้นการที่จะสร้างสถานที่พกั ตา อากาศจึงมีความเป็ นไปได้อีกทั้งยังเป็ นการสร้างรายได้ให้แก่ชุมชนและส่งเสริ มการท่องเที่ยวของจังหวัด กาญจนบุรีอีกด้วย


4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่ อ ให้ นัก ท่ อ งเที่ ย วได้สัม ผัส กับ ธรรมชาติ อ ย่า งใกล้ชิ ด และเรี ยนรู้ วิ ถี ชี วิ ต วัฒนธรรมชาวมอญ 4.1.2 เพื่อเป็ นสถานที่พกั ผ่อนและท่องเที่ยวแก่นกั ท่องเที่ยวไทยและต่างชาติ 4.1.3 เพื่อเป็ นที่รองรับและขยายตัวในด้านการให้บริ การที่พกั และแหล่งท่องเที่ยวของ จังหวัดกาญจนบุรี 4.1.4 เพื่อตอบสนองนโยบายของภาครัฐในการส่ งเสริ มอัตลักษณ์ วิถีชีวิต วัฒนธรรม เพื่อความยัง่ ยืน 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษากระบวนการออกแบบและวางภูมิสถาปัตยกรรมพื้นที่โครงการสถานพัก ตากอากาศ สามประสบ รี สอร์ ท แอนด์ สปา เชิงวัฒนธรรม 4.2.2 เพื่อศึกษารู ปแบบวิถีชีวิต และวัฒนธรรมชาวมอญ เพื่อนามาประยุกต์ใช้ใน การ ออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมสถานที่พกั ตากอากาศ 4.2.3 เพื่อศึกษาลักษณะเฉพาะของพื้นที่โครงการ และศักยภาพของพื้นที่โครงการ ให้ เกิดประโยชน์สูงสุดแก่พ้ืนที่โครงการ 5. สถานที่ต้งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้งั 5.1 สถานที่ต้งั โครงการ ตั้งอยู่ ตาบลหนองลู อาเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี มีเนื้อที่โดยประมาณ 546 ไร่ 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้งั โครงการ 5.2.1 เป็ นแหล่งท่องเที่ยวที่มีความสาคัญในการดึงดูดนักท่องเที่ยวของจังหวัด กาญจนบุรี 5.2.2 พื้นที่โครงการอยูต่ ิดกับลาน้ าสามสาย อันได้แก่ ห้วยซองกะเลีย ห้วยบิคลี่ และ ห้วยรันตรี มีทศั นียภาพโดยรอบที่สวยงาม 5.2.3 พื้นที่ต้งั โครงการแวดล้อมไปด้วยวิถีชีวิตชุมชน


พื้นที่โครงการประมาณ 50 - 100 ไร่

โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมสถานพักตากอากาศ สามประสบ รี สอร์ท แอนด์สปา อาเภอสังขละ จังหวัดกาญจนบุรี มาตราส่ วน แผนที่ 1 ขอบเขตโครงการ ที่มา : ดัดแปลงจาก www.google.co.th (15 ธันวาคม 2562) Not to scale สัญลักษณ์ : แสดงที่ต้ งั โครงการ ถนนหลัก 323 ถนนรอง


Site Linkage สถานที่ท่องเที่ยว

ถนนคนเดินสังขละ

หมู่บา้ นมอญ วัดวังก์วเิ วการาม เจดีย์ พุทธคยา

สะพานซองกาเลีย สะพานมอญ โบสถ์จมน้ า วัดสมเด็จ เมืองบาดาล

โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมสถานพักตากอากาศ วารัตดา รี สอร์ ท เพื่อสุ ขภาพ และธรรมชาติบาบัด อาเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ มาตราส่ วน แผนที่ 2 แสดงที่ ต้ ัง โครงการและความเชื่ อ มโยงของสถานที่ ท่องเที่ยว ที่มา : ดัดแปลงจาก www.google.co.th (15 ธันวาคม 2562) สัญลักษณ์ : แสดงที่ต้ งั โครงการ Not to scale แหล่งท่องเที่ยว ระยะรัศมี 5 เมตร ระยะรัศมี 10 เมตร


โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมสถานพักตากอากาศ สามประสบ รี สอร์ท แอนด์สปา อาเภอสังขละ จังหวัดกาญจนบุรี มาตราส่ วน แผนที่ 3 แสดงที่ต้ งั ขอบเขตโครงการแต่ละพื้นที่ ที่มา : ดัดแปลงจาก www.google.earth.co.th (15 ธันวาคม 2562) Not to scale


พื้นที่โครงการ

ทัศนียภาพ

ลักษณะพื้นที่

ที่มา : ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google Street

ที่มา : ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google map

Site 1 เป็ นพื้ น ที่ ส วนยางที่ มี น้ ารอบรอบ มี ทัศนียภาพที่ดี เห็นวิวสะพานมอญ ใกล้ ชุ มชนมอญและห่ า งจากสะพานมอญ ประมาณ 3.19 กม. ใช้เวลาเดินทาง 6 นาที ขนาดพื้นที่ 160 ไร่ Site 2 เป็ นพื้นที่ส วน ใกล้แห่ งท่อ งเทียวและ ห่ างจากสะพานมอญ ประมาณ 2.34 กม. ใช้เวลาเดินทาง 4 นาที ขนาดพื้นที่ 100 ไร่

ที่มา : ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google map

ที่มา : ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google Street

ที่มา : ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google map

ที่มา : ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google Street

Site 3 เป็ นพื้นรกร้างอยู่ติด แม่น้ า มองเห็ นวิ ว ภู เ ขา และมี ท ัศ นี ย ภาพที่ ดี ห่ า งจาก สะพานมอญประมาณ 29 กม. ใช้เวลาเดินทาง 1ชัว่ โมง 34นาที ขนาดพื้นที่ 255 ไร่

ตารางสรุ ปการให้คะแนนแต่ละพื้นที่ เกณฑ์ การเข้าถึงโครงการ การเชื่อมต่อระหว่าง โครงการ พื้นที่รอบข้าง ทัศนียภาพ ลักษณะประชากร รวมคะแนน

คะแนน 6 4 3 4 3

Site1

Site2

Site3

ระดับ B A

คะแนน 18 16

ระดับ A A

คะแนน 24 16

ระดับ A C

คะแนน 24 8

A A A

12 16 12

B C A

9 8 12

C B B

6 12 9

74

หมายเหตุ A(excellent) = 4 B(very good) =3 C(fairy good) =2 D(poor) =1

69

59


6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา โครงการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมและวางผังสถานพักตากอากาศ ริ มแม่น้ า สามประสบ รี สอร์ท แอนด์ สปา อาเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี ตั้งอยู่ ตาบลหนองลู อาเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี มีเนื้ อ ที่

โดยประมาณ 50-100 ไร่ ทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก

ติดกับ ติดกับ ติดกับ ติดกับ

ภูเพลินโฮสเตย์ แม่น้ าสามประสบ และ เมืองบาดาล แม่น้ าสามประสบ แม่น้ าสามประสบ และหมู่บา้ นมอญ

7. บรรณานุกรม จรัสพิมพ์ บุญญานันต์. 2560 - 2562. “คู่มือการดาเนินงานวิทยานิพนธ์ ระดับปริ ญญาภูมิ สถาปัตยกรรมศาสตร์ ”.เชียงใหม่. มหาวิทยาลัยแม่โจ้. (15 ธันวาคม 2562). เจ้าของเอกสาร 2562 “การศึกษาสภาพวัฒนธรรมมอญกับการอนุรักษ์ทรัพยากร”. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://www.tci-thaijo.org (15 ธันวาคม 2562). Travel MThai 2561 “7 มนต์เสน่ห์แห่งสังขละบุรี รับรองว่าคุณต้องหลงรัก”. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://travel.mthai.com/blog/116350.html (15 ธันวาคม 2562). สานักงานจังหวัดกาญจนบุรี 2562 . [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://ww2.kanchanaburi.go.th/frontpage (15 ธันวาคม 2562). โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาเนินงานวิทยานิพนธ์ ของคณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (นางสาวสุชญา คาอินทร์ ) ……….../………./………..



คำร้ องเสนอหัวข้อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมสิ ถำปัตยกรรมศำสตร์ บัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่โจ้ ข้าพเจ้า นางสาวสุ ชานาถ เสริ มสุ ข รหัส 5919102530 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึ กษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิตสะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.20 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิพนธ์ระดับปริ ญญา ภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตร์ บณั ฑิต โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการปรับปรุ งและออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรมแหล่งเรี ยนรู ้ ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ พื้นที่ชุ่มน้ าหนองหลวง อาเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย 2. หัวข้อเรื่ อง(ภาษาอังกฤษ) THE LANDSCAPE ARCHITECTURAL DESIGN AND IMPROVEMENT

PROJECT OF ATTRACTIVE WETLAND LEARNING CENTER FOR ECOTOURISM AT NONG

LUANG , WIANG CHAI, CHIANG RAI 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ จัง หวัดเชี ย งรายเป็ นจัง หวัดที่ มีค วามหลากหลายทางศิ ลปะ วัฒ นธรรมและอารายธรรม จัง หวัด เชียงรายเป็ นหนึ่งในจังหวัดที่เกิดการขยายตัวด้านเศรษฐกิจ เนื่องจากมีอาณาเขตติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน แหล่ง ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ศิ ลปะและวัฒนธรรมล้านนา ที่ได้รับการสนับสนุ นส่ งเสริ มหนึ่งในด้านการท่องเที่ยว ปั จจุบนั พื้นที่ธรรมชาติและแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ หลายแห่งทรุ ดโทรมลง มีผลกระทบมาจากขาดงบประมาณ สนับสนุน ในการดูแลและผลกระทบจากการขยายตัวของชุมชนและเส้นทางเศรษฐกิจพิเศษ หนองหลวง เป็ นอ่างเก็บน้ าตามธรรมชาติที่มีขนาดที่ใหญ่ที่สุ ดของจัง หวัดเชี ยงราย ปั จจุบนั พื้น ที่ หนองหลวงกาลังพัฒนาและอนุ รักษ์พ้ืนที่ให้ได้รับการจดทะเบียนเป็ นพื้นที่ชุ่มน้ าที่มีความสาคัญระหว่างประเทศ (แรมซาร์ ไซต์) ที่ต้ งั อยู่บนพื้นที่ในอนาคตจะมีเส้นทางเชื่อมเส้นเศรษฐกิจพิเศษ คือเส้ นทางเศรษฐกิ จ R3A อาเภอ เชี ยงของ(ไทย-ลาว-จีน) และเส้ นทางเศรษฐกิจระหว่างเส้ นทางแม่น้ าโขง R3B อาเภอแม่สาย (พม่า-ไทย-จีน) มี พื้นที่ประมาณ 9000 ไร่ ตั้งอยู่ในพื้นที่ 3 ตาบล 2 อาเภอ คือ ตาบลเวียงชัย ตาบลดอนศิลา อาเภอเวียงชัย และตาบล ห้วยสัก อาเภอเมืองเชียงราย ทั้งนี้บริ เวณรอบปากอ่างเก็บน้ าหนองหลวงเชียงราย มีเกาะปรากฎอยู่ท้งั หมด คือ เกาะ แม่หม้าย เกาะดงมะเฟื อง เกาะสันป่ าเป้า เกาะสันกลาง เกาะทองกวาว เกาะไหมเย็บ(เกาะแม่หยิบ)เกาะขนุ น และ เกาะไผ่เหมย ในบริ เวณหนองน้ าหรื อหนองหลวงในสมัยก่ อนเป็ นเพียงที่ราบลุ่มแต่ก็มีน้ าขังอยู่ตลอดปี และใน


บริ เวณรอบๆข้างเป็ นที่ที่ชาวบ้านจับจองที่ดินไว้เพื่อทามาหากิน และสร้ างหนองน้ าที่มีขนาดใหญ่ จนถึงปั จจุบนั นี้ ซึ่ งสมควรอย่างยิ่งในการช่วยกันอนุรักษ์สภาพน้ าของหนองหลวง จากนโยบายและแผนการพัฒนาพื้นที่หนองหลวง ส่ งเสริ มกิ จกรรมการท่องเที่ยวที่มีอยู่ในตาบล ให้ สามารถท่องเที่ยวได้ตลอดปี พัฒนาสร้ างจิตสานึกในการจัดการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม และแหล่ง น้ าธรรมชาติ ตลอดจนป่ าชุมชน และการบริ หารจัดการและการอนุ รักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม พื้นที่ หนองหลวงที่มีแหล่งน้ าธรรมชาติซ่ ึ งเป็ นพื้นที่ส าธารณะที่ มีศกั ยภาพสู ง เหมาะแก่ พฒั นาเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ ทาง ธรรมชาติให้ความรู ้ ความเข้าใจแก่ กลุ่มนักท่องเที่ยว ศักยภาพการเดินทางไปยังพื้นที่หนองหลวงสามารถเข้าถึง โครงการได้สะดวก การพัฒนาปรับปรุ งพื้นที่เดิมให้เป็ นสถานที่พกั ผ่อนหย่อนใจ ส่ งเสริ มกิจกรรมนันทนาการที่มี ผลกระทบกับสิ่ งแวดล้อมและชุมชนน้อยที่สุด อนุ รักษ์พ้ืนที่ธรรมชาติโดยการร่ วมมือระหว่างชุมชนและองค์กร ท้องถิ่นที่มีส่วนร่ วม สภาพพื้นที่เดิมเสื่ อมโทรมลง มีผลกระทบมาจากขาดงบประมาณในการดูและสนับสนุนการ พัฒนาพื้นที่ให้เป็ นแหล่งท่องเที่ยวอนุรักษ์เชิงธรรมชาติ ในอนาคตมีแผนพัฒนาเส้นทางสะพานข้ามหนองหลวงซึ่ง อาจส่ งผลกระทบต่อพื้นที่ในอนาคต จึงควรพัฒนาและอนุรักษ์พ้นื ที่หนองหลวงที่เป็ นแหล่งธรรมชาติที่มีคุณค่ากับ ชุมชนและเป็ นแหล่งน้ าธรรมชาติที่สาคัญของจังหวัดเชียงราย ซึ่ งมีแนวโน้มเป็ นแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติแห่ ง ใหม่ในอนาคต 4.วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1 เพื่อพัฒนาพื้นที่ให้เป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ จากธรรมชาติและแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศพื้นที่ชุ่มน้ าหนอง หลวง 4.2 เพื่อปรับปรุ งพื้นที่สาธารณะหนองหลวงให้เป็ นแหล่งท่องเที่ยวนันทนาการ 4.3 เพื่อการอนุรักษ์ ฟื้ นฟู และการใช้ประโยชน์ของพื้นที่ชุ่มน้ าอย่างชาญฉลาดในทุกๆด้าน รวมทั้ง สร้ างความตระหนักถึงคุณค่าและความสาคัญของพื้นที่ชุ่มน้ า 4.4 เพื่อสร้ างงานและรายได้ให้กบั ชุมชนและองค์กรที่มีส่วนร่ วมในท้องถิ่นโดยการมีส่วนร่ วม 5.วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปั ญหาของการศึกษา 5.1.เพื่อศึ กษาการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมแหล่งเรี ยนรู ้ ดา้ นการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ พื้นที่ชุ่มน้ าหนองหลวง 5.2. เพื่ อ ศึ ก ษาการใช้ประโยชน์ พ้ื น ที่แ ละกิ จกรรมนัน ทนาการที่ เ หมาะสมและสอดคล้องกับ พฤติกรรมของผูใ้ ช้ 5.3เพื่ อ ศึ ก ษาการออกแบบเส้ น ทางท่ อ งเที่ ย วและพิ พิ ธ ภัณ ฑ์ ก ลางแจ้ ง ที่ ก ลมกลื น กั บ สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ


6.สถานที่ต้งั โครงการ ตั้งอยู่บนพื้นที่หนองหลวง เขตเทศบาลตาบลเวียงชัย อาเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย โดยพื้นที่ ศึกษามีเนื้อที่ท้งั หมดประมาณ 1,300 ไร่ 7.เหตุผลที่เลือกที่ต้งั โครงการ 7.1 เนื่ องจากพื้นที่ต้ งั โครงการเป็ นพื้นที่หนองน้ าสาธารณะที่ไม่เกิ ดการใช้ประโยชน์อย่าง ต่อเนื่อง แต่เป็ นพื้นที่ใกล้แหล่งชุมชน และอยู่ติดกับถนนตัดใหม่เชื่อมกับเส้นเศรษฐกิจพิเศษ 7.2 ใกล้แหล่งท่องเที่ยวอุทยาน แหล่งท่องเที่ยวเชิงและแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรในบริ เวณ รอบๆ และห่างตัวเมืองไม่มากนัก 7.3 เป็ นพื้นที่ที่มีศกั ยภาพสู งในการฟื้ นฟูและพัฒนาให้มีกิจกรรมเกิ ดขึ้นในพื้นที่มากขึ้น มี สถานศึ กษา สถานที่ราชการและสามารถสร้ างรายได้ให้กบั ของชุมชน จึงเหมาะกับการพัฒนาเป็ นสถานที่แหล่ง เรี ยนรู ้ ท่องเที่ยวเชิงนิเวศสาถนที่ พักผ่อนหย่อนใจและการใช้ประโยชน์พ้นื ที่และกิจกรรมนันทนาการที่เหมาะสม และสอดคล้องกับพฤติกรรมของผูใ้ ช้


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม แหล่งเรี ยนรู ้ และท่องเที่ยวธรรมชาติ หนองหลวง อาเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย แผนที่ 4 แสดงการเข้าถึงพื้นที่โครงการ ที่มำ ดัดแปลงจากhttps://www.google.com/maps/place สั ญญำลักษณ์

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1020 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4016 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1152 ทางหลวงชนบทหมายเลข 1350 ทางหลวง(กาลังก่อสร้ าง) เชื่อมเส้น R3A และ R3B

No scale


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม แหล่งเรี ยนรู ้ และท่องเที่ยวธรรมชาติ หนองหลวง อาเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย แผนที่ 5 แสดงเส้นทางเศรษฐกิจพิเศษ ที่มำ

http://www.thaifta.com/trade/services/sem15sep53_sorn.pdf

สั ญลั ก ษณ์

จังหวัดเชียงราย ตาแหน่งที่ต้งั โครงการ

No scale


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม แหล่งเรี ยนรู ้ และท่องเที่ยวธรรมชาติ หนองหลวง อาเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย แผนที่ 2 แสดงขอบเขตพื้นที่โครงการ

ที่มำ ดัดแปลงจากhttps://www.google.com/maps/place สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่โครงการ ขอบเขตพื้นที่หนองหลวง

No scale


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม แหล่งเรี ยนรู ้ และท่องเที่ยวธรรมชาติ หนองหลวง อาเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย แผนที่ 1 ตาแหน่งที่ต้งั โครงการ ที่มำ ดัดแปลงจากhttps://www.google.com/maps/place

สั ญลักษณ์

ตาแหน่งพื้นที่โครงการ ตาแหน่งจังหวัดเชียงราย ขอบเขตอาเภอเมืองเชียงราย

No scale


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม แหล่งเรี ยนรู ้ และท่องเที่ยวธรรมชาติ หนองหลวง อาเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย แผนที่ 3 รัศมีระยะพื้นที่โครงการจากกลางเมืองและสถานที่ทอ่ งเทีย่ วบริ เวณ ใกล้เคียง ที่มำ ดัดแปลงจากhttps://www.google.com/maps/place สั ญลักษณ์

ระยะรัศมีจากกลางเมืองเชียงราย 10 กิโลเมตร ตาแหน่งพื้นทีโ่ ครงการ สถานที่ท่องเทีย่ วโดยรอบ -อุทยานวัฒนธรรมแม่ฟ้าหลวง -ปางช้างเผือก -ไร่ รื่นรมย์เชียงราย -ไร่ แสนคารัก -น้ าตกภูซาง -ภูผาสวรรค์ -ภูช้ ีฟ้า -ภูช้ ีดาว

8.ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา

No scale


พื้นที่การศึกษามีเนื้อที่ท้งั หมด 1,300 ไร่ โดยมีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่ต่างๆดังนี้ ทิศเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับ ตาบลห้วยสัก อาเภอเมือง ทิศใต้ มีอาณาเขตติดต่อกับ ตาบลห้วยสัก อาเภอเมือง ทิศตะวันออก มีอาณาเขตติดต่อกับ ตาบลดอนศิลา อาเภอเวียงชัย ทิศตะวันตก มีอาณาเขตติดต่อกับ ตาบลเวียงชัย อาเภอเวียงชัย 9. บรรณานุกรรม ส านัก งานนโยบายและแผนสิ่ ง แวดล้อ ม. 2542. ทะเบี ย นพื้ น ที่ ชุ่ มน้ า ที่ มีค วามส าคัญ ระดับ นานาชาติ แ ละระดับชาติ ของประเทศไทย.กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีแ ละสิ่ ง แวดล้อม. กรุ งเทพฯ. 414 หน้า.แหล่งที่มาhttp://wetland.onep.go.th/NongLuang.html(10 ธันวาคม 2562) โดยข้ า พเจ้ า ยิ น ดี ที่ จ ะปฏิ บ ัติ ต ามหลัก และวิ ธี ด าเนิ น งานวิ ท ยานิ พ นธ์ ของคณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ



คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นาย อนันต์ ด่านวันดี รหัส 5919102532 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่ วยกิ ต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.48 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและวางผัง ภูมิสถาปั ตยกรรมอุทยานแหล่งท่องเที่ยวเชิ ง วัฒนธรรมบ่อพันขัน 2. หั ว ข้อ เรื่ อง (ภาษาอัง กฤษ) The Landscape Architecture Design and Planning Project for Bo Phan Khan Cultural Tourist Attraction Park.

3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ บ่อพันขัน พื้นที่ที่คนทั้งหลายได้กล่าวขานว่าเป็ นพื้นที่ที่แห้งแล้งจนชาวเผ่ากุลาหาบสิ นค้ามาขาย ต้องทิ้งหาบเพื่อเอาตัวรอดในการหาน้ าดื่มมาประทังชี วิต แต่บ่อพันขันกลับเป็ นโอเอชี สที่เรี ยกกันว่า ตาน้ าพุ่งทุ่ง กุลา บ่อน้ าน้อยรสจืดสนิ ทที่ไม่เคยเหื อดแห้งไปจากเหมืองเกลือ ในเหมืองเกลือดังกล่าวมีแหล่งหิ นตัดที่ถูกนาไป แกะสลักสร้างศาสนสถานในเขตทุ่งกุลาร้องไห้ซ่ ึ งกลุ่มนักวิชาการโบราณคดีเชื่อว่าเป็ นเส้นทางเจนละ บ่อพันขัน เคยรับอิทธิพลทางศาสนาพราหมณ์มาก่อนจนเมื่อพระพุทธศาสนาแพร่ เข้ามาผูค้ นจึงเคารพนับถือนับถือคาสอนของ พระพุทธเจ้าแทน จากประวัติศาสตร์ และนิทานตานานพื้นบ้าน ทาให้เชื่อได้ว่าบ่อพันขันคือดินแดนเมืองโบราณที่ เก่าแก่ เคยรุ่ งเรื องในยุคเดียวกันกับเมืองจาปาศรี พระธาตุนาดูน จังหวัดมหาสารคาม และตามหลักฐานพระพิมพ์ที่ ค้นพบในบริ เวณพระธาตุบ่อพันขันและดอนขุมเงินน่าจะยุคเดียวกับเมืองฟ้าแดดสงยาง กาฬสิ นธุ์และเมืองคันธาระ อาเภอกันทรวิชยั จังหวัดมหาสารคาม พระพิมพ์ยคุ ทวารวดีน้ ีมีอายุราวพุทธศตวรรษที่ ๑๔ - ๑๖ ปัจจุบนั ถูกเก็บไว้ที่ พิพิธภัณฑ์แห่งชาติจงั หวัดร้อยเอ็ด เมื่ อต้นปี 2524 กรมชลประทานได้สร้ างฝายน้ าล้นขึ้น จึ งก่ อให้เกิ ดหนองพันขัน บ่อน้ ากร่ อย ขนาดใหญ่ และมีสภาพแวดล้อมธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์สมกับคาว่า โอเอชี สทุ่งกุลา ทาให้คนในท้องถิ่นนั้นเกิด อาชีพทาการประมง และหาของป่ า แต่นบั เป็นส่ วนน้อยเพราะค่อยๆหายไปแล้ว ผูค้ นต่างถิ่นต่างมาพักผ่อนในช่วง วันหยุด และสักการะสิ่ งศักดิ์สิทธิ์ ของบ่อพันขันอย่างไม่ขาดหาย หรื อจะนับว่าเป็นเทศกาลเลยก็ว่าได้ รวมทั้งด้วย พื้นที่ขนาดใหญ่เลยถูกจัดให้เป็ นพื้นที่รองรับกิจกรรมต่างของชุมชนและอาเภอ กิจกรรมต่างๆ นั้นยังเป็ นการฟื้ นฟู และอนุรักษ์ โบราณสถานศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่นและแหล่งเรี ยนรู ้เพื่อการท่องเที่ยว บ่อพันขันนอกจาก


การเกษตรจะอุดมสมบูรณ์แล้ว ธรรมชาติที่สมบูรณ์และเป็ นพื้นที่ริมน้ าขนาดใหญ่ที่สุดในบริ เวณนี้ นาไปสู่ การ พัฒนาให้เป็ นแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม เมื่อปี พ.ศ. 2517 รัฐบาลจึงได้มีการวางแผนและสารวจการพัฒนาพื้นที่แห่งนี้ข้ ึนเป็ นแผนแม่บทที่ มีการพัฒนาเชิ งบูรณาการ ขับเคลื่ อนการท่องเที่ยวบ่อพันขันเพื่อให้เกิ ดการเรี ยนรู ้ ร่วมกัน ผ่านประวัติเรื่ องราว เส้นทางการท่องเที่ยวในเขตทุ่งกุลาร้ องให้ตามเส้นทางวัฒนธรรมสายปลาแดก ปี พ.ศ. 2547 จังหวัดร้ อยเอ็ดได้ ดาเนิ นการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวโบราณสถานบ่อพันขัน กาหนดนโยบายการฟื้ นฟูบูรณะบ่อพันขัน แต่ปัจจุบนั พื้นที่มีความเสื่ อมโทรมของระบบนิ เวศ เราจึ งนางานภูมิสถาปั ตยกรรมมาจัดการออกแบบและปรั บปรุ งให้เกิ ด ประโยชน์สูงสุ ดต่อคนในชุมชนและนักท่องเที่ยวให้เกิดความประทับใจในพื้นที่ที่มีตานาน อารยะธรรมที่ใหญ่ที่สุด ในภาคอี สาน และเป็ นแนวทางในการอนุ รักษ์ประวัติศาสตร์ ที่ส่งผลให้เกิ ดอุทยานแหล่งท่องเที่ยวคงเอกลักษณ์ ทางด้านวัฒนธรรมประวัติศาสตร์ ที่มีสภาพภูมิทศั น์ที่ร่มรื่ นเหมาะแก่การท่องเที่ยว พักผ่อน เพื่อความเพลิดเพลิน ในการให้ค วามรู ้ แ ละสร้ า งจิ ต ส านึ ก ในการอนุ รั ก ษ์ม รดกทางวัฒ นธรรม นอกการนี้ ยัง มี ก ารน านโยบายและ แผนพัฒนาจังหวัดมาศึกษาถึงโครงการที่จะเกิดขึ้นเพื่อให้เกิดความสอดคล้องกับความเป็ นไปได้ของโครงการและ พัฒนาพื้นที่ต่อไป 4.

วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อปรั บปรุ งและออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมเพื่อ รองรับวัฒนธรรมและ การท่องเที่ยวในอนาคต 4.1.2 เพื่อเป็ นที่สาธารณะสาหรับให้ความรู ้ ทางประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมบ่อพัน ขัน ให้เด็กและผูใ้ หญ่เข้าถึงความรู ้ได้ง่ายขึ้น ค้นคว้าสิ่ งที่เข้าใจ และออกแบบการเรี ยนรู ้ในแบบที่ตวั เองเข้าใจ 4.1.3 เพือ่ ฟื้ นฟูความหลากหลายของระบบนิเวศโดยรอบพื้นที่บ่อพันขัน 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาลักษณะเฉพาะของพื้นที่โครงการ ศักยภาพของพื้นที่โครงการและนา ทรัพยากรที่มีอยูม่ าประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องและเกิดประโยชน์สูงสุ ดกับพื้นที่ 4.2.2 เพื่อศึกษาสภาพวิถีชีวิต ขนบธรรมเนียม วัฒนธรรมและประเพณี ของชุมชนท่อง ถิ่นในเขตพื้นที่โครงการ เพื่อนามาประยุกต์ใช้ในการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมบ่อพันขัน 4.2.3 เพื่ อ ศึ ก ษาการออกแบบพื้ น ที่ ริ มน้ าที่ ช่ ว ยฟื้ นฟู ร ะบบนิ เ วศ แก้ ไ ขปั ญ หา สภาพแวดล้อม และป้องกันน้ าท่วม


5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ ตั้งอยูใ่ นเขตตาบลเด่นราษฎร์ อาเภอหนองฮี จังหวัดร้อยเอ็ด บริ เวณทางด้านตะวันออก ของห้วยเค็มประมาณ100 เมตร โดยทางฝั่งตะวันตกเป็ นพื้นที่ตาบลจาปาขัน อ.สุ วรรณภูมิ ส่ วนฝั่งตะวันออกเป็ น พื้นที่ของต.เด่นราษฎร์ อาเภอหนองฮี

โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมอุทยานแหล่งท่องเที่ยวบ่อพันขัน แผนที่ 1 แสดงตาแหน่งพื้นที่โครงการ พื้นที่โครงการ ถนนยางมะตอย ถนนคอนกรี ต ถนนดินแดง

มาตราส่ วน Not to scale ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ google maps (4 ธันวาคม 62)


5.2 เหตุผลในการเลือกพื้นที่โครงการ 5.2.1 พื้นที่โครงการถูกพัฒนาในเชิงการท่องเที่ยวเหมือนกับที่อื่นแต่ไม่ประสบผลสา สาเร็ จในการเป็ นแหล่งดึงดูดนักท่องเที่ยว 5.2.2 พื้นที่โครงการเป็ นเอกลักษณ์ทางมรดกทางวัฒนธรรมประเพณี รวมถึ งวิถีชีวิต เดิมไว้ ควบคู่กบั การปรับตัวพร้อมรับกับสิ่ งใหม่ที่จะเข้ามา เพื่อการพัฒนาพื้นที่ให้ยงั่ ยืน 5.2.3 พื้นที่โครงการเป็ นพื้นที่ธรรมชาติที่เดียวที่มีขนาดใหญ่และสมบูรณ์เหมาะสมแก่ การพัฒนาให้เกิดเป็ นพื้นที่พกั ผ่อนและท่องเที่ยว 6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา โครงการออกแบบและวางผังอุทยานแหล่งท่องเที่ยวบ่อพันขัน อาเภอหนองฮี จังหวัดร้อยเอ็ด มี พื้นที่ท้ งั หมดประมาณ 300 ไร่ มีอาณาเขตติดต่อดังนี้ ทิศเหนือ ติดกับ ตาบลหัวช้าง อาเภอสุ วรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด ทิศใต้ ติดกับ ตาบลทุ่งศรี เมือง อาเภอสุ วรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด ทิศตะวันออก ติดกับ ตาบลจาปาขัน อาเภอสุ วรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด ทิศตะวันตก ติดกับ ตาบลเมืองทุ่ง อาเภอสุ วรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด 7. บรรณานุกรม จรัสพิมพ์ บุญญานันต์. 2562. รวมหัวข้อวิทยานิพนธ์ พ.ศ. 2562. สื บค้น 27 ธันวาคม 2562, จาก https://issuu.com/tuboonyanant/docs/frontcover58-merged-compressed-merg ดร.พระปลัดขาว คุตฺตธมฺ โม. (2562). แหล่งเรี ยนรู ้เชิงประวัติศาสตร์ ตานานบ่อพันขัน (พิมพ์ครั้ง ที่ 1). ห้างหุน้ ส่ วนจากัด อภิชาตการพิมพ์ มหาสารคาม ThaiTanBon. ข้อมูลตาบลบ่อพันขัน อาเภอสุ วรรณภูมิ ร้ อยเอ็ด. สิ บค้น 2 ธันวาคม 2562, จาก https://www.thaitambon.com/tambon/451107 โดยข้า พเจ้ า ยิ น ดี ที่ จ ะปฏิ บ ัติ ต ามหลั ก และวิ ธี ด าเนิ น งานวิ ท ยานิ พ นธ์ ของคณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ


2. (ความเห็น)...


คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาวอังคณา พูลสวัสดิ์ รหัส 5919102534 นักศึ กษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภู มิส ถาปั ต ยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึ กษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่ วยกิ ต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.81 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม สถาบันแมคเคนเพื่อการฟื้ นฟู สภาพ อาเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ 2. หั ว ข้ อ เรื่ อง (ภาษาอั ง กฤษ ) The Landscape Architectural Design and Planning of The McKean Rehabilitation Center, Saraphi, Chiang Mai 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ สถาบันแมคเคนเพื่อการฟื้ นฟูสภาพ (McKean Rehabilitation Center) มีอายุกว่า 110 ปี แต่เดิม เป็ นศู นย์พกั พิ งสาหรั บผูป้ ่ วยโรคเรื้ อนที่ ถูกขับไล่ออกจากชุ มชน ถื อเป็ นจุ ดกาเนิ ดของศู นย์พกั พิ งสาหรั บ ผูป้ ่ วยโรคเรื้ อนแห่ งแรกในประเทศไทย ปัจจุบนั ในประเทศไทยแทบไม่พบผูป้ ่ วยเป็ นโรคเรื้ อนแล้ว ศู นย์แห่ งนี้ ได้พฒ ั นาจนกลายเป็ นชุ มชนขนาดใหญ่ประกอบด้วย ครั วเรื อน 5 หมู่บา้ น โรงเรี ยน 2 แห่ ง บ้านพักรั บรอง คลิ นิก โรงพยาบาล ศู นย์ฝึกอาชี พและคริ สตจักร พื้นที่ภายในสถาบันแมคเคนมีจุดเด่นทั้งทางด้านเป็ นพื้นที่สี เขียวผืนใหญ่ที่เก่าแก่ที่สุดของเมืองเชียงใหม่ติดกับแม่น้ าปิ งและสถาปัตยกรรมตะวันตกอายุเกินร้อยปี ที่สร้างโดย คณะมิชชันนารี ของคริ สต์ศาสนานิกายโปรเตสแตนท์ โดยบริ บทของการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวทาให้เกิดการ ปรับตัวตามความต้องการใช้พ้ืนที่เพื่อรองรับกิจกรรมที่เกิดขึ้นในอนาคต แต่ในปั จจุบนั พื้นที่ภายในสถาบันแมคเคน ส่ วนมากยังไม่มีการพัฒนาอย่างเหมาะสม จึงทาให้พ้ืนที่ถูกปล่อยว่างอย่างไร้ประโยชน์ เนื่องด้วยในปั จจุบนั พันธกิจหลักของสถาบันแมคเคนได้มุ่งเน้นในเรื่ องพันธกิจเพื่อสังคม (Social service) ส่ งเสริ มคุณภาพชี วิต ที่ มีจุดเด่นทางด้านการบริ การผูส้ ู งอายุ (Aged-Care)ในระดับมาตรฐานสากล แต่ใน ปัจจุบนั ไม่เพียงผูส้ ู งอายุที่มีความต้องการฟื้ นฟูสภาพ ยังมีกลุ่มคนที่หลากหลายต้องการพื้นที่รองรับ ดังนั้นจากพันธ กิ จหลักของสถาบันสามารถนามาพัฒนายกระดับให้กลายเป็ น Wellness Community ที่ มีปฏิ สัมพันธ์ทางสังคมที่ หลากหลายช่วงวัยเน้นการเชื่อมโยงคนทุกวัยเข้าด้วยกัน จากปั ญหาดังกล่าวจึ งเล็งเห็นความสาคัญในการพัฒนาต่อยอดจากพันธกิ จหลักของสถาบัน ให้ พื้นที่ ภายในไม่เพี ยงเพื่อการฟื้ นฟูสภาพให้กบั ผูส้ ู งอายุเท่ านั้นแต่เพื่ อคนทุ กเพศทุกวัย กลายเป็ นพื้ นที่ มุ่งเน้นการ สร้างคุ ณค่ าให้ชีวิตของคนทุ กกลุ่ม สร้างงาน สร้างรายได้ สร้างคุ ณค่าให้แก่ พ้ื นที่ และเพิ่มคุ ณภาพชี วิตให้สังคม


รองรับและเชื่ อมต่อสาหรับคนในชุ มชนและรอบนอก ตอบสนองต่อการใช้งานที่ หลากหลาย ทั้งนี้ พ้ื นที่ สถาบัน แมคเคนอยูภ่ ายใต้ความดูแลของมูลนิธิแห่ งสภาคริ สตจักรในประเทศไทย ซึ่ งมุ่งเน้นการส่ งเสริ มคุณภาพชีวิตและที่ สาคัญสามารถพัฒนาให้เมืองเชียงใหม่ที่ให้ประชาชนมีสุขภาพดี มีชีวิตยืนยาวและมีความสุ ขทั้งกายและจิตใจ 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อพัฒนาพื้นที่เพื่อการฟื้ นฟูสภาพของบุ คคลทุ กกลุ่ม 4.1.2 เพื่อส่ งเสริ มคุ ณภาพชี วิตของบุ คคลทุ กกลุ่มตามพันธกิ จของสถาบัน 4.1.3 เพื่อกระตุน้ การมีปฏิสมั พันธ์ทางสังคมของบุคคลในทุกช่วงวัย 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษากระบวนการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมพื้นที่เพื่อรองรับการ ฟื้ นฟูสภาพของคนทุกกลุ่ม 4.2.2 เพื่ อศึ กษาการออกแบบพัฒนาพื้ นที่ Wellness Community ให้สอดคล้องกับการ ฟื้ นฟูสภาพ 4.2.3 เพื่อศึกษาออกแบบพื้นที่และสภาพแวดล้อมสาหรับการฟื้ นฟูสภาพแก่คนทุกวัย 4.2.4 เพื่ อศึ กษาความสัมพันธ์ของพื้ นที่ ให้สอดคล้องกับกลุ่มคนผูใ้ ช้งานหลากหลาย 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั ของโครงการ โครงการออกแบบและวางผังภู มิ สถาปั ตยกรรม สถาบันแมคเคนเพื่ อการฟื้ นฟูสภาพ อาเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ มีขนาดพื้นที่ประมาณ 300 ไร่ 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ พื้นที่ที่เลือกศึกษาทาโครงการเป็ นพื้นที่สีเขียวผืนใหญ่ที่เก่าแก่ของเชียงใหม่ ซึ่ งพื้นที่ ภายในส่ วนมากไม่ได้พฒั นาเพื่อใช้ประโยชน์ แต่บริ บทเดิมมีศกั ยภาพสามารถพัฒนาต่อยอดเป็ นพื้นที่รองรับการ พักผ่อนหย่อนใจหรื อทากิจกรรมต่าง ๆ เพื่อฟื้ นฟูร่างกายและจิตใจ ส่ งเสริ มให้ประชาชนออกมาใช้พ้ืนที่ในการ ปฏิสมั พันธ์และสามารถเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ที่หลากหลาย


โครงการอ อกแบ บ แล ะวางผั ง ภู มิ ส ถ าปั ต ยกรรม ส ถ าบั น แมค เค น เพื่ อก ารฟื้ น ฟู ส ภ าพ อ าเภ อส ารภี จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่ 1 ที่ต้ งั โครงการ สัญลักษณ์ ที่ต้ งั โครงการ แนวเส้นถนนหลัก ท่าอากาศยานเชียงใหม่ คูเมืองเชียงใหม่ Not to scale แม่น้ าปิ ง ที่มา : ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth (10 ธันวาคม 2562)


โครงการออกแบบและวางผั ง ภู มิ ส ถาปั ตยกรรม สถาบั น แมคเคนเพื่ อ การฟื้ นฟู ส ภาพ อ าเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่ 2 ขอบเขตพื้นที่โครงการ สัญลักษณ์ ที่ต้ งั โครงการ ถนนสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี หมายเลข 3029 แม่น้ าปิ ง ถนนรอบเมืองเชียงใหม่ หมายเลข 121 Not to scale ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth (10 ธันวาคม 2562)





คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาว อารญา ดาเนินศิลธรรม รหัส5919102535 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่ วยกิ ต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจน ถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.60 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตร์ บณ ั ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการการออกแบบวางผังจุ ด เปลี่ ยนถ่ ายการสัญจรบริ เวณจุ ดตัด สถานี หัวหมากและสถานีพฒั นาการ เขตสวนหลวง กรุ งเทพมหานคร 2. หัว ข้อ เรื่ อ ง (ภาษอัง กฤษ) Landscape Architectural Design and Planning Project of Public Transport Interchanges Node at The Intersection of Hua Mak and Phatthanakan Station, Suan Luan, Bangkok 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ เขตสวนหลวงเป็ นศูนย์กลางทางเศรษฐกิ จและสังคม มีการขยายตัวออกไปสู่ บริ เวณอื่ นมี การ พัฒนาเปลี่ยนแปลงไปตามกระแสเศรษฐกิจ และสังคม มีความหลากหลายของกลุ่มผูอ้ ยู่อาศัยในบริ เวณโดยรอบ สถานี รถไฟหัวหมาก ชุ มชน หมู่บา้ นจัดสรร ห้องเช่ า คอนโดมิเนี ยม ทาให้การจราจรมีความแออัดบน ถนนสาย หลักและสายรอง โดยเฉพาะในชั่วโมงเร่ งด่ วน โครงข่ายการจราจรในพื้นที่ ซึ่ งครอบคลุมทัว่ พื้นที่ ไม่สามารถ รองรับจานวนยานพาหนะที่ผา่ นเข้ามาหรื อใช้บริ การ จานวนมากในแต่ละวัน การขยายหรื อเพิ่มจานวนถนน ทางลัด ทางเชื่อม เป็นไปได้ยากเพราะพื้นที่มีความแออัดของอาคารและสถานประกอบการชนิดต่างๆ ยังได้รับมลพิษจาก การจราจร ส่ งผลเสี ยต่อคุณภาพอากาศและเสี ยงบริ เวณถนนที่มีการจราจรหนาแน่ นและติดขัด และเป็ นปั ญหาต่อ การควบคุมและลดมลพิษจากยานพาหนะ พื้นที่เขตสวนหลวงมีแผนที่จะการพัฒนาทางด้านการค้าการลงทุนอย่าง พื้นที่มีความพร้อมสู งที่ จะขยายด้า นระบบขนส่ ง มวลชน รวมทั้งระบบสนับ สนุ นและสิ่ งอ านวย ความสะดวกต่ า งๆ ในปั จ จุ บ นั พื้นที่ โครงการเป็ นจุ ดเชื่ อมต่อของสถานี หัวหมากระหว่างรถไฟ – แอร์ พอต ลิ้ง – ป้ ายรถเมล์ การเชื่ อมต่อของทั้ง 3 ระบบ ยังไม่ต่อเนื่ องกันอีกทั้งในอนาคตจะมีโครงการรถไฟฟ้าตัดผ่านพื้นที่ 2 สาย สายสี เหลือง รัชดา-ลาดพร้าว – สาโรง สายสี แดงอ่อน ศาลายา – พัฒนาการ ซึ่ งทั้ง 2 สาย จะมารวมกับที่สถานนี หัวหมาก พื้นที่บริ เวณสถานี จึงมี ความสาคญในการที่จะฟื้ นฟูสาหรับการเปลี่ยนถ่ายระบบขนส่ งสาธารณะให้เชื่อมกันในแต่ละระบบ กรุ งเทพมหานครมีแผนที่จะขยายพื้นที่ชานเมืองให้เป็ นศูนย์ชุมชนย่อย (Sub center) เพื่อรองรับ การขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจจากพื้นที่ศูนย์กลางเมือง ส่ งเสริ มศูนย์ชุมชนชานเมืองให้เกิดความสมดุลระหว่างที่พกั อาศัยและแหล่งงานให้พ้ืนที่สามารถเติบโตได้เกิ ดความเจริ ญในพื้นที่ชานเมือง ลดความแออัดภายในศูนย์กลาง


เศรษฐกิ จ พื้นที่รอบสถานี รถไฟหัวหมากเป็ นจุ ดสัญจรที่สาคัญมีกลุ่มผูใ้ ช้ที่หลายรู ปแบบ จึ งใช้แนวคิด TOD มา พัฒนาที่ดินโดยรอบสถานี ให้เป็ นจุดเปลี่ยนถ่ายที่รองรับผูค้ นส่ งเสริ มคุณภาพชีวิต เพื่อให้ผูท้ ี่เข้ามาใช้ในพื้นที่ เกิด ความสะดวกสะบายและมีทางเลือกที่จะใช้ระบบขนส่ งสาธารณะ ลดการใช้รถยนต์ส่วนบุคคล ลดอัตราการเกิ ด มลพิษทางอากาศ ให้เป็ นย่านพาณิ ชยกรรม ที่มีศกั ยภาพในการดึงดูดนักลงทุนและผูอ้ าศัย เข้ามาใช้ประโยชน์ใน พื้นที่มีความผสมผสานที่รองรับการใช้งานที่หลากหลายของผูค้ น 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อพัฒนาพื้นที่ระหว่างจุดเปลี่ยนถ่ายการสัญจรและพื้นที่รอบสถานีรถไฟให้เกิด ความปลอยภัย 4.1.2 พัฒนาพื้นที่เพื่อรองรับกิจกรรมที่หลากหลายของกลุ่มคนที่มาใช้งานทุกรู ปแบบ 4.1.3 พัฒนาพื้นที่ระหว่างสถานี เพื่อส่ งเสริ มการเดิ นเท้าของผูใ้ ช้บริ การระบบขนส่ ง สาธารณะ 4.1.4 พัฒนาพื้นที่ให้เกิดการพัฒนาด้านเศรษฐกิจอย่างมีประสิ ทธิภาพ 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาแนวคิดการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีรถไฟ (TOD) 4.2.2 เพื่อศึกษาพฤติกรรมของผูใ้ ช้ให้สอดคล้องกับกิจกรรมเพื่อให้เกิดประโยชน์การ ใช้พ้นื ที่เหมาะสมกับผูใ้ ช้งาน 4.2.3. เพื่อศึกษาการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมเพื่อการแก้ไขปั ญหามลพิษ ทางอากาศ และการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศที่ 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ โครงการตั้งอยูท่ ี่สถานีรถไฟหัวหมาก แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุ งเทพมหานคร


โครงการการออกแบบวางผังจุดเปลี่ยนถ่ายการสัญจรบริ เวณจุดตัดสถานี หัวหมากและสถานี พฒั นาการ เขตสวนหลวง กรุ งเทพมหานคร แผนที่ 1 ระดับจังหวัด ระดับเขต สัญลักษณ์ สถานีเปลี่ยนถ่ายหัวหมาก ขอบเขตจังหวัด,เขต

NOT SCALE

ที่มา : ดัดแปลงมาจาก https://www.google.com/maps/ (14 ธันวาคม 2562)


โครงการการออกแบบวางผังจุดเปลี่ยนถ่ายการสัญจรบริ เวณจุดตัดสถานี หัวหมากและสถานี พฒั นาการ เขตสวนหลวง กรุ งเทพมหานคร แผนที่ 2 ระบบขนส่ งรถไฟฟ้า สัญลักษณ์ MOTORWAY MRT BTS หอมชิต - สมุทรปราการ BTS เตาปูน – ท่าพระ AIRPORT LINK สุ วรรณภูมิ - พญาไท BTS สายใหม่ บางซื่อ – รังสิ ต BTS สายใหม่ บางซื่อ – พัฒนาการ BTS สายใหม่ บางขุนนนท์ - สุ วินทวงศ์ BTS สายใหม่ รัชดา-ลาดพร้าว-สาโรง BTS สายใหม่ หมอชิต – คูคต NOT SCALE BTS สายใหม่ ศูนย์ราชการ - มีนบุรี สถานีเปลี่ยนถ่ายหัวหมาก ที่มา : ดัดแปลงมาจาก https://www.google.com/maps/ (14 ธันวาคม 2562)


โครงการการออกแบบวางผังจุ ดเปลี่ ยนถ่ ายการสัญจรบริ เวณจุ ดตัดสถานี หัวหมากและสถานี พฒ ั นาการ เขตสวนหลวง กรุ งเทพมหานคร แผนที่ 3 ระดับพื้นที่ ระบบเส้นทางสัญจร สัญลักษณ์ MOTORWAY ถนนพัฒนาการ ถนนรามคาแหง 24 ถนนศรี นคริ นทร์-ร่ มเกล้า ถนนกรุ งเทพกีฑา ถนนศรี นคริ นทร์ AIRPORT LINK สุ วรรณภูมิ - พญาไท สถานีรถไฟ BTS สายใหม่ รัชดา-ลาดพร้าว-สาโรง BTS สายใหม่ บางซื่อ – พัฒนาการ NOT SCALE BTS สายใหม่ บางซื่อ – พัฒนาการ สถานีเปลี่ยนถ่ายหัวหมาก ที่มา : ดัดแปลงมาจาก https://www.google.com/maps/ (15 ธันวาคม 2562)


โครงการการออกแบบวางผังจุ ดเปลี่ ยนถ่ ายการสัญจรบริ เวณจุ ดตัดสถานี หัวหมากและสถานี พฒ ั นาการ เขตสวนหลวง กรุ งเทพมหานคร แผนที่ 4 พื้นที่โครงการจุดตัดสถานีรถไฟหัวหมากและพัฒนาการ สัญลักษณ์ สถานนีเปลี่ยนถ่ายหัวหมาก พื้นที่ศึกษา ระยะ 600 เมตร จากสถานี

NOT SCALE

ที่มา : ดัดแปลงมาจาก https://earth.google.com/ (17 ธันวาคม 2562)







Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.