ประชุมผู้ถือหุ้น ประจำปี 2558

Page 1


TO BE AT THE PINNACLE OF THE THAI AUTO INDUSTRY, DEVLOPING, DESIGNING AND PRODUCING A COMPREHENSIVE RANG OF PRODUCTS; WITH OUR OWN BRAND, TO BUILD OPTIMUM CUSTOMER SATISFACTION THROUGH WORLD-CLASS QUALITY AND SERVICE. 2 รายงานประจ�ำปี 2557


สารบัญ ประวัติความเป็นมาของบริษัท วิสัยทัศน์องค์กร สรุปข้อมูลทางการเงิน สารประธานกรรมการ คณะกรรมการบริษัท ข้อมูลทั่วไป และข้อมูลส�ำคัญอื่น ลักษณะการประกอบการธุรกิจ ปัจจัยความเสี่ยง โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ รายการระหว่างกัน การก�ำกับดู แลกิจการ การควบคุมภายใน รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ และบรรษัทภิบาล รายงานคณะกรรมการสรรหา และก�ำหนดค่าตอบแทน รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ต่อรายงานทางการเงิน ค�ำอธิบายและการวิเคราะห์ฐานะทางการเงิน และผลการด�ำเนินการ รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต งบการเงิน รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน

04 05 06 09 10 18 22 25 30 48 50 63 66 69 70 71 75 76 127

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน)

3


ประวัติความเป็นมาของบริษัท ประวัติความเป นมาของบริษัท บริษัท ไทยรุงยูเนี่ยนคาร จํากัด (มหาชน) กอตั้งและเติบโตบนเสนทางการผลิตชิ้นสวนตัวถังและการประกอบรถยนตมา อยางยาวนานและมั่นคง นับตั้งแตกอตั้งหางหุนสวนจํากัด ไทยรุงวิศวกรรม ขึ้นมาในป 2510 โดยนายหางวิเชียร เผอิญโชค และ พัฒนาธุรกิจจนประสบความสําเร็จเปนบริษัท ไทยรุงยูเนี่ยนคาร จํากัด (มหาชน) โดยนําบริษัทฯ เขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย ตั้งแตป 2537 จวบจนวันนี้เปนเวลามากกวา 45 ป ที่บริษัท ไทยรุงยูเนี่ยนคาร จํากัด (มหาชน) เปนบริษัทของคนไทยที่ดําเนินธุรกิจ อุตสาหกรรมรถยนตครบวงจรที่สามารถตอบสนองความตองการของลูกคาอยางรวดเร็ว ตั้งแตการออกแบบ วิจัยและพัฒนา ผลิตภัณฑ การสรางแมพิมพและอุปกรณจับยึดสําหรับการผลิต การผลิตชิ้นสวนโลหะและพลาสติก การผลิตเบาะ การรับจางพนสี รับจางประกอบ และผลิตรถยนตอเนกประสงค และและรถใชงานเฉพาะดานตาง ๆ ดวยฝมือและความสามารถของบุคลากรคน ไทย โดยใชเทคโนโลยีที่ทันสมัย มีความยืดหยุนสูง ปจจุบันบริษัทฯไดปรับกลยุทธใหสอดคลองกับอุตสาหกรรมยานยนตที่เติบโตอยางรวดเร็ว บริษัทยังคงเนนรายไดจากงาน ชิ้นสวน OEM งานรับจางประกอบ และพนสีรถยนต การขยายตลาดชิ้นสวนและตัวถังรถยนตไปยังภูมิภาคตางๆทั่วโลก รวมถึงการ หาพันธมิตรทางการคาเพื่อขยายธุรกิจเดิมและแสวงหาธุรกิจใหม นอกจากนี้ ทางบริษัทไดเตรียมพรอมในการเพิ่มศักยภาพของ บริษัท โดยเนนการพัฒนากระบวนการผลิตอยางตอเนื่อง และการนํานวัตกรรมเทคโนโลยีใหมๆมาประยุกต เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ลดตนทุน และเพิ่มกําไรของบริษัทในอนาคต รวมถึงการพัฒนาบุคลากร เพื่อรองรับการเขาสูประชาคมอาเซียน 2558 และ กระแสการคาและการลงทุนขามชาติ บริษัทเชื่อมั่นวาดวยศักยภาพของบริษัทดานการผลิตที่ครบวงจร ความยืดหยุนในการตอบสนองความตองการของลูกคา ที่รวดเร็ว รวมถึงความสัมพันธอันแนนแฟนกับลูกคาทั้งในและตางประเทศ จะชวยสงเสริมใหบริษัทไดรับโอกาสมากมายที่รออยู ขางหนาในอุตสาหกรรมยานยนต ดังนั้น บริษัทฯ มั่นใจไดวาผลการดําเนินงานของบริษัทฯ จะเติบโตอยางกาวกระโดด เคียงคูกับ อุตสาหกรรมยานยนตไทยอยางแนนอน

4 รายงานประจ�ำปี 2557


วิสัยทัศน์องค์กร วิสัยทัศน (Vision) เปนยอดยนตรกรรมไทย เปนผูพัฒนา ออกแบบ และผลิตผลิตภัณฑครบวงจร ที่มีตราสินคา (Brand) เปนของตนเอง สรางความพึงพอใจสูงสุดใหกับลูกคา ทั้งดานคุณภาพและบริการ ในระดับสากล

พันธกิจ (Mission) 1. เปนผูนาํ ในการออกแบบ พัฒนา ผลิตนวัตกรรมยานยนตใหม รถเอนกประสงค รถใชงานเฉพาะดาน ชิ้นสวน แมพิมพ-จิ๊ก และอุปกรณรถยนต 2. สรางความพึงพอใจสูงสุดใหกบั ลูกคาในดานคุณภาพ ราคา การสงมอบและบริการในระดับสากล 3. มุงมั่นพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ การบริการ อยางตอเนื่อง ดวยกระบวนการผลิต การจัดการที่ยดื หยุน รวดเร็ว ดวยวิศวกรรม เทคโนโลยีที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ 4. สราง Brand เปนของตนเองใหมีภาพลักษณ เปนที่เชื่อถือของลูกคา 5. สรางและขยายเครือขายการขายและการตลาดใหครอบคลุมทั้งภายใน และตางประเทศ 6. มุงมั่นพัฒนาและธํารงรักษาทรัพยากรมนุษย ใหมีศักยภาพที่สามารถแขงขันได ในระดับสากล มีความสุขและ ความภาคภูมิใจในการทํางานกับองคกร 7. สรางความมั่นคงใหองคกรอยางตอเนื่องดวยการสรางผลกําไรและผลตอบแทนที่ดีในระยะยาว สําหรับผูถือหุน คูคา และพนักงาน 8. ผลิตภัณฑ กระบวนการผลิต และการทํางานตองคํานึงถึงสิ่งแวดลอมและชุมชน ชวยเหลือและตอบแทนสังคม โดยใชหลักธรรมาภิบาล

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน)

5


ข้อมูลทางการเงิน (หน่วย : ล้านบาท)

งบการเงินรวม ณ 31 ธันวาคม

2557

2556

ผลการด�ำเนินงาน รายได้จากการขายและบริการ รายได้รวม ค่าใช้จ่ายรวม ก�ำไร(ขาดทุน)ก่อนต้นทุนทางการเงินและภาษีเงินได้

2,255.10 2,449.94 2,271.71 178.23

3,138.30 3,374.10 2,955.19 419.62

3,499.58 3,780.84 3,097.31 683.53

ก�ำไร(ขาดทุน)สุทธิ ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่

152.41

353.69

555.79

1,065.42 3,636.27 424.82 3,211.45

1,088.18 3,629.00 475.97 3,153.03

1,751.44 3,858.89 769.40 3,089.49

0.26

0.72

1.13

0.15 5.26

0.40 6.20

0.60 6.08

6.22 4.95 4.91

10.48 11.70 11.21

14.70 20.01 19.92

ฐานะทางการเงิน สินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์รวม หนี้สินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้น ข้อมูลต่อหุ้น (หน่วย : บาท) ก�ำไร(ขาดทุน)สุทธิต่อหุ้น เงินปันผลต่อหุ้น * มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น อัตราส่วนทางการเงิน (หน่วย : %) อัตราก�ำไรสุทธิต่อรายได้รวม อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์รวม หมายเหตุ * เงินปันผล ประจ�ำปี 2557 จะต้องผ่านการอนุมัติจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจ�ำปี 2558 ก่อน

6 รายงานประจ�ำปี 2557

2555


(หน่วย : ล้านบาท)

3,374.10

รายได้รวม 2556 2555

3,780.84

2,449.94

2557

(หน่วย : ล้านบาท)

555.79 353.69

152.41

2555

2556

2557

ก�ำไร(ขาดทุน)สุทธิ ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ (หน่วย : ล้านบาท)

3,858.89

2555

3,629.00

3,636.27

2556

2557

สินทรัพย์รวม

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน)

7



สารประธานกรรมการ สารจากประธานกรรมการ ในป 2557 อุตสาหกรรมยานยนตของไทย มียอดผลิตรถยนต 1.88 ลานคัน ลดลง 23% จากปกอน โดยแบงเปนยอด สงออก 1.13 ลานคัน ใกลเคียงกับปกอน และยอดขายในประเทศ 0.88 ลานคัน ลดลง 34% จากปกอน ซึ่งเปนผลมาจากกําลังซื้อ ในประเทศที่ชะลอตัว ประกอบกับปญหาดานการเมือง และเศรษฐกิจในประเทศที่ยังไมฟนตัว สําหรับป 2558 คาดวาอุตสาหกรรม ยานยนตไทยจะมีปริมาณการผลิตรถยนตประมาณ 2.1 ลานคัน เพิ่มขึ้น 10% จากป 2557 เนื่องจากเศรษฐกิจในประเทศและ ตลาดสงออกหลักมีแนวโนมปรับตัวดีขึ้น ซึ่งในระยะยาวแลวอุตสาหกรรมยานยนตของไทยยังมีความโดดเดน และเปนฐานการผลิต ยานยนตที่สําคัญที่สุดในอาเซียน โดยในป 2559 หลังจากเปดการคาเสรีตามกรอบประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ประกอบกับ ไทยจะเริ่ มใช อัตราภาษี สรรพสามิตฉบั บใหม และมี โครงการอีโคคารเ ฟส 2 ที่ สนับ สนุนการผลิตรถยนตที่ลดการปลอ ยกา ซ คารบอนไดออกไซดที่ตรงตามความตองการของตลาดโลก จึงคาดการณวารถยนตของไทยจะสงออกไดมากขึ้น ผลการดําเนินงานของกลุม บริษัทไทยรุงฯ ในป 2557 นั้น มีรายไดรวมทั้งสิ้น 2,450 ลานบาท และมีกําไรสุทธิ 152.41 ลานบาท ซึ่งสาเหตุที่กําไรลดลงจากป 2556 เนื่องมาจากตลาดรถยนตที่ซบเซาลงจากภาวะเศรษฐกิจ และปญหาการเมืองใน ประเทศ บริษัทฯ จึงตองเนนการควบคุมตนทุน และเพิ่มประสิทธิภาพการทํางานมากยิ่งขึ้น และเพื่อเปนการลดความเสี่ยงจากการ พึ่งพาอุตสาหกรรมยานยนตเพียงกลุมเดียว โดยในป 2557 บริษัทฯ จึงไดขยายการลงทุนไปยังอุตสาหกรรมอื่น ๆ เพิ่มขึ้น โดยการ จัดตั้งบริษัทรวมทุนใหม 2 แหง คือ “บริษัท เทร็ก ไทยรุง จํากัด” เพื่อขยายธุรกิจไปยังกลุม รถบรรทุกประเภทตาง ๆ เชน รถดัม๊ รถตูบรรทุก รถหางลากเทรเลอร รถบรรทุกผสมคอนกรีต รถบรรทุกหองเย็น ฯลฯ และ “บริษัท เคียววะ ไทยรุง จํากัด” เพื่อขยาย ธุรกิจไปสูก ลุมอุตสาหกรรม Industrial Machinery รถขุดตัก รถเครื่องจักรกอสราง รถเครื่องจักรกลทางการเกษตร รถแทรกเตอร ทางการเกษตร ฯลฯ เพื่อขายในประเทศและสงออกไปยังตางประเทศ ซึ่งธุรกิจใหมทั้ง 2 แหงนี้ มีแนวโนมขยายตัวดีอยางตอเนื่อง โดยบริษัทฯ ยังคงเปดโอกาสเจรจากับนักลงทุนทีส่ นใจรวมทุนกับกลุมบริษัทไทยรุง เพื่อขยายฐานธุรกิจดานตางๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับ ธุรกิจปจจุบัน รวมถึงการวิจยั และพัฒนาผลิตภัณฑใหมๆที่มีมลู คาเพิ่มสูงขึ้น เพื่อเพิ่มสวนแบงทางการตลาดและสรางรายไดใหแก บริษัทเพิ่มขึ้นในอนาคต เพื่อผลประกอบการที่ดีของบริษัท ที่ผานมาบริษัทฯ มุงมั่นในการบริหารงานภายใตนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดี และใหความใสใจตอการดูแลรักษา สังคม ชุมชน สภาพแวดลอม ตลอดจนใหความสําคัญตอผูม ีสวนไดเสียทีเ่ กี่ยวของทุกฝาย ตามหลักการความรับผิดชอบตอสังคม ของธุรกิจ (Corporate Social Responsibility) ดวยการดําเนินธุรกิจอยางมีจริยธรรม เพื่อนําองคกรไปสูความสําเร็จอยางยั่งยืน โดยในป 2557 บริษัทฯ ไดประกาศเจตนารมณเขารวมโครงการแนวรวมปฏิบตั ิ (Collective Action Coalition) ของภาคเอกชน ไทยในการตอตานการทุจริต เพื่อใหเกิดความมั่นใจวาบริษัทฯ ดําเนินธุรกิจดวยความโปรงใส ตามหลักคุณธรรม จริยธรรม และบน หลักการตอตานการทุจริต คอรรัปชั่นทุกรูปแบบ ในนามของคณะกรรมการบริษัทฯ ดิฉันขอขอบคุณลูกคา ผูถือหุน หนวยงานตาง ๆ ทั้งภาครัฐบาลและเอกชน และ พันธมิตรทางธุรกิจ ตลอดจนผูบริหารและพนักงานทุกทาน ที่เปนพลังขับเคลื่อนที่สําคัญ ในการสนับสนุนใหกิจการของบริษัท ประสบความสําเร็จดวยดีมาโดยตลอด ดิฉันและคณะกรรมการบริษัททุกทานจะพยายามอยางเต็มที่ที่จะนําพาบริษัทฯ ใหกาว ตอไปอยางไมหยุดยั้ง และรวมกันขยายธุรกิจใหเจริญเติบโตอยางยั่งยืนตอไป

ดร. ปราณี เผอิญโชค ประธานกรรมการ บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน)

9


คณะกรรมการบริษัท

1 ดร.ปราณี เผอิญโชค

ประธานกรรมการ และประธานกรรมการบริหาร

2

คุณปรีชา อรรถวิภัชน์

3 คุณสมพงษ์ เผอิญโชค

4

คุณแก้วใจ เผอิญโชค

5

กรรมการอิสระ, รองประธานกรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบและ บรรษัทภิบาล, ประธานกรรมการ สรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน

กรรมการ

10 รายงานประจ�ำปี 2557

กรรมการ และกรรมการผู้จัดการใหญ่

คุณวุฒิชัย เผอิญโชค กรรมการ


6 คุณสมเกียรติ นิ่มระวี

7

8 คุณด�ำริ ตันชีวะวงศ์

9 คุณถาวร ชลัษเฐียร

กรรมการอิสระ, กรรมการตรวจสอบ และบรรษัทภิบาล, กรรมการสรรหา และก�ำหนดค่าตอบแทน, กรรมการบริหารความเสี่ยง

กรรมการอิสระ, กรรมการสรรหา และก�ำหนดค่าตอบแทน

คุณสุเวทย์ ธีรวชิรกุล

กรรมการอิสระ, กรรมการตรวจสอบ และบรรษัทภิบาล กรรมการบริหารความเสี่ยง

กรรมการอิสระ และกรรมการบริหารความเสี่ยง

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 11


คุณวุฒิทางการศึกษาและหลักสูตรการอบรม

ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยโคสทไลท ประเทศสหรัฐอเมริกา ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ มหาวิทยาลัยรามคําแหง ปริญญามหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาบริหารธุรกิจ คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี หลักสูตรการอบรมจาก สถาบัน IOD : - ไมมี -

76 คุณวุฒิการศึกษา :

อายุ (ป)

12 รายงานประจ�ำปี 2557

2. นายปรีชา อรรถวิภัชน 77 คุณวุฒิการศึกษา : กรรมการอิสระ, รองประธานกรรมการ ปริญญาตรีวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต ประธานกรรมการตรวจสอบและบรรษัทภิบาล สาขาอุตสาหการ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ประธานกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน ปริญญาโทวิศวกรรมศาสตร MS (Industrial Engineering & Management) Oklahoma State University ประเทศสหรัฐอเมริกา รวมระยะเวลาการดํารงตําแหนง 10 ป วันที่เริ่มดํารงตําแหนง วันที่ 28 เมษายน 2547 วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร (วปอ. รุน 32) หลักสูตรการอบรมจาก สถาบัน IOD : หลักสูตร Director Certification Program 39/2004 : IOD หลักสูตร Finance for Non-Finance Directors 8/2004 : IOD หลักสูตร Director Accreditation Program 107/2014 : IOD

รวมระยะเวลาการดํารงตําแหนง 21 ป วันที่เริ่มดํารงตําแหนง วันที่ 26 พฤศจิกายน 2536

1. ดร.ปราณี เผอิญโชค (1) ประธานกรรมการ และประธานกรรมการบริหาร

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง

รายละเอียดคุณวุฒิการศึกษาสูงสุด และประวัติการทํางานของคณะกรรมการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557

รายละเอียดของคณะกรรมการและผู บริหารของบริษัท

ประวัติคณะกรรมการและ ผู้บริหารบริษัท

72,000 0.012%

60,000 0.012%

หมายเหตุ ตําแหนง

การดํารงตําแหนงในบริษัทจดทะเบียน จํานวน 1 แหง

ชวงเวลา

ประสบการณการทํางาน ชื่อหนวยงาน/บริษัท

ไมมี

ไมมี

การ กระทํา ผิด

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน)

2536 - ปจจุบัน ประธานกรรมการและประธานกรรมการบริหาร บริษัท ไทยรุงยูเนี่ยนคาร จํากัด (มหาชน) การดํารงตําแหนงในบริษัทจํากัด จํานวน 18 แหง 2503 - ปจจุบัน กรรมการและประธานกรรมการบริหาร บจ. ชัยเจริญกิจมอเตอรส 2530 - ปจจุบัน " บจ.ไทย วี.พี. คอรปอเรชั่น 2532 - ปจจุบัน " บจ.ไทยรุง ทูลส แอนด ไดส 2534 - ปจจุบัน " บจ.ไทย วี.พี. ออโตเซอรวิส 2535 - ปจจุบัน " บจ.ไทยอัลติเมทคาร 2535 - ปจจุบัน " บจ. วี.พี. ออโตเอ็นเตอรไพรส 2536 - ปจจุบัน " บจ.สินธรณีพร็อพเพอรตี้ 2536 - ปจจุบัน " บจ. เฟรสพารท 2537 - ปจจุบัน " บจ. อีซูซุชัยเจริญกิจมอเตอรส 2544 - ปจจุบัน " บจ.ไทยออโต เพรสพารท 2545 - ปจจุบัน " บจ. ยุโรป-ไทยคารเรนท 2547 - ปจจุบัน " บจ. บิซ มอเตอรส 2547 - ปจจุบัน " บจ. เลกซัส ออโต ซิตี้ 2549 - ปจจุบัน " บจ. วีพีเค ออโต 2550 - ปจจุบัน กรรมการ บจ. เดลตา ไทยรุง 2556 - ปจจุบัน " บจ. หลักทรัพย เอเชีย เวลท 2556 - ปจจุบัน " บจ. เอเชีย เวลท โฮลดิ้ง 2557 - ปจจุบัน " บจ. เทร็ก ไทยรุง การดํารงตําแหนงในนิติบุคคลอื่น - ไมมี การดํารงตําแหนงในกิจการที่แขงขัน/เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัท -ไมมี 12,000 1. ถือหุนทางออมโดย การดํารงตําแหนงในบริษัทจดทะเบียน จํานวน 5 แหง กรรมการอิสระ, รองประธานกรรมการ บมจ. ไทยรุงยูเนี่ยนคาร คุณศรีวรรณ อรรถวิภัชน 2547 - ปจจุบัน (ภรรยา) ประธานกรรมการตรวจสอบและบรรษัทภิบาล 2. เพิ่มขึ้นจากหุนปนผลเทานั้น ประธานกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน 2542 - ปจจุบัน กรรมการและกรรมการตรวจสอบ บมจ. ปูนซิเมนตไทย 2551 - ปจจุบัน ประธานกรรมการ บมจ.ไทยชูการ เทอรมิเนิ้ล ปจจุบัน " บมจ.ที เอส ฟลาวมิลล " " บมจ.เกษตรไทยอินเตอรเนชั่นแนล ชูการ คอรปอเรชั่น การดํารงตําแหนงในบริษัทจํากัด จํานวน 9 แหง 2543 - ปจจุบัน ประธานกรรมการ บจ. รวมกิจอางทองคลังสินคา 2543 - ปจจุบัน " บจ. แพนเปเปอร (1992) 2547 - ปจจุบัน " บจ. เอกรัฐพัฒนา ปจจุบัน " บจ.ที เอส จี แอสเซ็ท " " บจ.ที เอส อุตสาหกรรมน้ํามัน " " บจ.น้ําตาลไทยเอกลักษณ " " บจ.รวมผลอุตสาหกรรมนครสวรรค 2536 - ปจจุบัน กรรมการ บจ.เอช. ซี. สตารค 2551 - ปจจุบัน " บจ. สยาม พี.พี. อินเตอรเนชั่นแนล

(127,981,775)

จํานวนการถือหุน TRU ของกรรมการและผูบริหาร 28 ม.ค. 2557 จํานวนหุนเพิ่ม (ลด) ระหวางป หุน (%)

118,405,725 20.04% 246,387,500 50.04%

30 ม.ค. 2558 หุน (%)


13 รายงานประจ�ำปี 2557

รวมระยะเวลาการดํารงตําแหนง 21 ป วันที่เริ่มดํารงตําแหนง วันที่ 26 พฤศจิกายน 2536

หลักสูตร Director Certification Program 26/2003 : IOD

2,250,000 0.46% 29,872,000 6.07%

64,932,825 10.99%

27,622,000 5.61%

2,700,000 0.46%

*62,232,825 10.53%

ถือหุนทางตรง

หมายเหตุ

ชวงเวลา

ตําแหนง

ประสบการณการทํางาน ชื่อหนวยงาน/บริษัท

ไมมี

การ กระทํา ผิด

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน)

* ขอมูล ณ 18 มี.ค. 2558 2536 - ปจจุบัน กรรมการและกรรมการผูจัดการใหญ บมจ.ไทยรุงยูเนี่ยนคาร ถอหุนทางออมโดย ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง นางแกวเกา เผอิญโชค 450,000 นางแกวเกา เผอิญโชค 2556 - ปจจุบัน กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บมจ. บรูคเคอร กรุป (ภรรยา) การดํารงตําแหนงในบริษัทจํากัด จํานวน 16 แหง 35,060,825 รวมการถือหุนทั้งสิ้น 2557 - ปจจุบัน กรรมการและประธานกรรมการ บจ. เคียววะ ไทยรุง 2530 - ปจจุบัน กรรมการและรองประธานกรรมการ บจ.ไทย วี.พี. คอรปอเรชั่น 2535 - ปจจุบัน " บจ.ไทยอัลติเมทคาร 2535 - ปจจุบัน " บจ. วี.พี. ออโตเอ็นเตอรไพรส 2536 - ปจจุบัน " บจ. เฟรสพารท 2537 - ปจจุบัน " บจ. อีซูซุชัยเจริญกิจมอเตอรส 2547 - ปจจุบัน " บจ. บิซ มอเตอรส 2547 - ปจจุบัน " บจ. เลกซัส ออโต ซิตี้ 2550 - ปจจุบัน " บจ. เดลตา ไทยรุง 2557 - ปจจุบัน " บจ.เทร็ก ไทยรุง 2532 - ปจจุบัน กรรมการและกรรมการผูจัดการใหญ บจ.ไทยรุง ทูลส แอนด ไดส 2534 - ปจจุบัน " บจ.ไทย วี.พี. ออโตเซอรวิส 2544 - ปจจุบัน " บจ.ไทยออโต เพรสพารท 2529 - ปจจุบัน กรรมการ บจ. ชัยเจริญกิจมอเตอรส 2539 - ปจจุบัน " บจ.สินธรณีพร็อพเพอรตี้ 2547 - ปจจุบัน " บจ. ไทยออโต คอนเวอชั่น การดํารงตําแหนงในนิติบุคคลอื่น 5 แหง ปจจุบัน กรรมการ สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย " " สมาคมอุตสาหกรรมยานยนตไทย " " สมาคมผูผลิตชิ้นสวนยานยนตไทย " " สมาคมนักศึกษาเกาพาณิชยศาสตรและการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร " อุปนายก สมาคมผูแทนจําหนายรถยนตไทย การดํารงตําแหนงในกิจการที่แขงขัน/เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัท -ไมมี -

34,610,825

จํานวนการถือหุน TRU ของกรรมการและผูบริหาร 28 ม.ค. 2557 จํานวนหุนเพิ่ม (ลด) ระหวางป หุน (%)

การดํารงตําแหนงในบริษัทจดทะเบียน จํานวน 2 แหง

ปริญญาโท สาขาวิศวอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเคโอ ประเทศญี่ปุน วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร (วปอ. รุน 49) สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.8) วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร (วปอ. มส.1) หลักสูตร การบริหารจัดการดานความมั่นคงขั้นสูง หลักสูตรการอบรมจาก สถาบัน IOD :

54 คุณวุฒิการศึกษา :

30 ม.ค. 2558 หุน (%)

3. นายสมพงษ เผอิญโชค (2) กรรมการและกรรมการผูจัดการใหญ

คุณวุฒิทางการศึกษาและหลักสูตรการอบรม การดํารงตําแหนงในนิติบุคคลอื่น จํานวน 6 แหง ปจจุบัน ประธานกรรมการ มูลนิธิคุณหญิงพรรณชื่น รื่นสิริ " " มูลนิธิอาจารยลัยอาจ ภมราภา 2544 - ปจจุบัน ผูชํานาญการพิเศษระดับวุฒิวิศวกร สภาวิศวกร สาขาวิศวกรรมกรรมอุตสาหการ 2545 - ปจจุบัน กรรมการพิจารณารางกฎหมาย กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม 2547 - ปจจุบัน กรรมการวิชาการระบบการจัดการ หรือ สมาคมวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 2542 - ปจจุบัน นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเจาพระยา การดํารงตําแหนงในกิจการที่แขงขัน/เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัท -ไมมี -

อายุ (ป)

2. นายปรีชา อรรถวิภัชน (ตอ)

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง


14 รายงานประจ�ำปี 2557

รวมระยะเวลาการดํารงตําแหนง 18 ป วันที่เริ่มดํารงตําแหนง วันที่ 1 เมษายน 2539

5. นายวุฒิชัย เผอิญโชค (4) กรรมการ

รวมระยะเวลาการดํารงตําแหนง 14 ป วันที่เริ่มดํารงตําแหนง วันที่ 20 เมษายน 2543

4. นางสาวแกวใจ เผอิญโชค (3) กรรมการ

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง

คุณวุฒิทางการศึกษาและหลักสูตรการอบรม

ปริญญาโท สาขาวิศวกรรมยานยนต มหาวิทยาลัยโคเวนทรี ประเทศอังกฤษ หลักสูตรการอบรมจาก สถาบัน IOD : - ไมมี -

45 คุณวุฒิการศึกษา :

30 ม.ค. 2558 หุน (%)

96,528,225 16.34%

31,201,500 6.34%

32,639,450 6.63%

65,326,725

65,614,315

จํานวนการถือหุน TRU ของกรรมการและผูบริหาร 28 ม.ค. 2557 จํานวนหุนเพิ่ม (ลด) ระหวางป หุน (%)

98,253,765 16.63%

หลักสูตร Executive Program "Owner/President Management Program" รุน 42 Harvard Business School ประเทศสหรัฐอเมริกา หลักสูตร Winning with Strategy : YPO (Thailand) หลักสูตร Secret of Effective Business : YPO (Thailand) หลักสูตร Cambridge-Thammasat Executive Education Pregram "leadership" รุนที่ 1 มหาวิทยาลัยแคมบริดจ ประเทศอังกฤษ หลักสูตร Positive Psychology : YPO (Thailand) หลักสูตร การบริหารทรัพยากรมนุษยเชิงกลยุทธเพื่อความสําเร็จ รุนที่ 3 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หลักสูตร The Boss Executive Educational Program รุนที่ 38 Management and Psychology วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร (วปอ. รุน 55) หลักสูตรการอบรมจาก สถาบัน IOD : หลักสูตร Director Certification Program 29/2003 : IOD

Bachelor Degree in Financial Administration University of New England Australia

50 คุณวุฒิการศึกษา :

อายุ (ป) หมายเหตุ

ชวงเวลา

ตําแหนง

2539 - ปจจุบัน กรรมการ บมจ.ไทยรุงยูเนี่ยนคาร การดํารงตําแหนงในบริษัทจํากัด จํานวน 11 แหง 2537 - ปจจุบัน กรรมการและกรรมการผูจัดการ บจ. อีซูซุชัยเจริญกิจมอเตอรส 2545 - ปจจุบัน " บจ. สินธรณี พรอพเพอรตี้ 2545 - ปจจุบัน " บจ. ชัยเจริญกิจมอเตอรส 2547 - ปจจุบัน " บจ. บิซ มอเตอรส 2546 - ปจจุบัน กรรมการและรองกรรมการผูจัดการ บจ.ไทย วี.พี.ออโตเซอรวิส 2540 - ปจจุบัน กรรมการ บจ.ไทยอัลติเมทคาร 2544 - ปจจุบัน " บจ.ไทยออโต เพรสพารท 2545 - ปจจุบัน " บจ.ไทย วี.พี. คอรปอเรชั่น 2545 - ปจจุบัน " บจ.ไทยรุง ทูลส แอนด ไดส 2545 - ปจจุบัน " บจ. วี.พี. ออโตเอ็นเตอรไพรส 2557 - ปจจุบัน " บจ. เคียววะ ไทยรุง การดํารงตําแหนงในนิติบุคคลอื่น - ไมมี การดํารงตําแหนงในกิจการที่แขงขัน/เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัท -ไมมี -

การดํารงตําแหนงในบริษัทจดทะเบียน จํานวน 1 แหง

ไมมี

ไมมี

การ กระทํา ผิด

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน)

ชื่อหนวยงาน/บริษัท

2543 - ปจจุบัน กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ.ไทยรุงยูเนี่ยนคาร การดํารงตําแหนงในบริษัทจํากัด จํานวน 15 แหง 2535 - ปจจุบัน กรรมการและประธานเจาหนาที่บริหาร บจ.ไทยอัลติเมทคาร 2536 - ปจจุบัน " บจ.ไทย วี.พี. คอรปอเรชั่น 2536 - ปจจุบัน " บจ. เฟรสพารท 2537 - ปจจุบัน " บจ. อีซูซุชัยเจริญกิจมอเตอรส 2539 - ปจจุบัน " บจ. วี.พี. ออโตเอ็นเตอรไพรส 2547 - ปจจุบัน " บจ. บิซ มอเตอรส 2549 - ปจจุบัน " บจ. วีพีเค ออโต 2531 - ปจจุบัน กรรมการ บจ.ชัยเจริญกิจมอเตอรส 2534 - ปจจุบัน " บจ.ไทย วี.พี. ออโตเซอรวิส 2534 - ปจจุบัน " บจ.ไทยรุง ทูลส แอนด ไดส 2536 - ปจจุบัน " บจ. สินธรณี พรอพเพอรตี้ 2544 - ปจจุบัน " บจ.ไทยออโต เพรสพารท 2556 - ปจจุบัน " บจ. หลักทรัพย เอเชีย เวลท 2556 - ปจจุบัน " บจ. เอเชีย เวลท โฮลดิ้ง 2557 - ปจจุบัน " บจ. เทร็ก ไทยรุง การดํารงตําแหนงในนิติบุคคลอื่น 1 แหง ปจจุบัน กรรมการที่ปรึกษา สมาคมรถเชาไทย การดํารงตําแหนงในกิจการที่แขงขัน/เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัท -ไมมี -

การดํารงตําแหนงในบริษัทจดทะเบียน จํานวน 1 แหง

ประสบการณการทํางาน


คุณวุฒิทางการศึกษาและหลักสูตรการอบรม

63 คุณวุฒิการศึกษา : ปริญญาตรี คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หลักสูตรการอบรมจาก สถาบัน IOD : หลักสูตร Director Accreditation Program 10/2004 : IOD

อายุ (ป)

15 รายงานประจ�ำปี 2557

55 คุณวุฒิการศึกษา : ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ Wagner College, นิวยอรค ประเทศสหรัฐอเมริกา หลักสูตร ผูบริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุน 10 หลักสูตรนักบริหารยุทธศาสตรการปองกันและปราบปราม การทุจริตระดับสูง (นยปส.) รุนที่ 5 สถาบันการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ สัญญา ธรรมศักดิ์ หลักสูตรการอบรมจาก สถาบัน IOD : หลักสูตร Director Certification Program 9/2001 : IOD หลักสูตร Audit Committee Program 15/2006 : IOD หลักสูตร

Successful Formulation & Execution of Strategy (SFE) ป 2010 : IOD 8. นายดําริ ตันชีวะวงศ 61 คุณวุฒิการศึกษา : กรรมการอิสระ ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมไฟฟา จุฬาลงกรณมหวิทยาลัย กรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน Advanced Management Program Harvard University, USA. รวมระยะเวลาการดํารงตําแหนง 2 ป สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.8) วันที่เริ่มดํารงตําแหนง วันที่ 28 กุมภาพันธ 2555 หลักสูตรการอบรมจาก สถาบัน IOD : หลักสูตร Director Certification Program 106/2008 : IOD หลักสูตร Audit Committee Program 24/2008 : IOD หลักสูตร Role of the Chairman Program 22/2009 : IOD หลักสูตร Role of Compensation Committee 10/2010 : IOD

7. นายสุเวทย ธีรวชิรกุล กรรมการอิสระ, กรรมการบริหารความเสี่ยง และกรรมการตรวจสอบและบรรษัทภิบาล . รวมระยะเวลาการดํารงตําแหนง 9 ป วันที่เริ่มดํารงตําแหนง วันที่ 11 สิงหาคม 2548

รวมระยะเวลาการดํารงตําแหนง 21 ป วันที่เริ่มดํารงตําแหนง วันที่ 26 พฤศจิกายน 2536

6. นายสมเกียรติ นิ่มระวี กรรมการอิสระ, กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการตรวจสอบและบรรษัทภิบาล และกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง

ไมมี

ไมมี

ไมมี

การ กระทํา ผิด

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน)

ประสบการณการทํางาน จํานวนการถือหุน TRU ของกรรมการและผูบริหาร 30 ม.ค. 2558 28 ม.ค. 2557 จํานวนหุนเพิ่ม หมายเหตุ ชวงเวลา ตําแหนง ชื่อหนวยงาน/บริษัท (ลด) ระหวางป หุน (%) หุน (%) 96,000 0.016% 80,000 0.016% 16,000 เพิ่มขึ้นจากหุนปนผลเทานั้น การดํารงตําแหนงในบริษัทจดทะเบียน จํานวน 1 แหง 2536 - ปจจุบัน กรรมการอิสระ, กรรมการบริหารความเสี่ยง บมจ.ไทยรุงยูเนี่ยนคาร กรรมการตรวจสอบและบรรษัทภิบาล และกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน การดํารงตําแหนงในบริษัทจํากัด จํานวน 3 แหง 2547 - ปจจุบัน กรรมการผูจัดการ บจ.แดน-ไทย อีควิปเมนท 2547 - ปจจุบัน " บจ.แดน-ไทย แฮนดิ้ง ซิสเท็ม 2549 - ปจจุบัน " บจ.แดน-ไทย เอ็นยิเนียริ่ง การดํารงตําแหนงในนิติบุคคลอื่น - ไมมี การดํารงตําแหนงในกิจการที่แขงขัน/เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัท -ไมมี 18,014 0.003% 15,012 0.003% 3,002 เพิ่มขึ้นจากหุนปนผลเทานั้น การดํารงตําแหนงในบริษัทจดทะเบียน จํานวน 6 แหง 2548 - ปจจุบัน กรรมการอิสระ, กรรมการบริหารความเสี่ยง บมจ. ไทยรุงยูเนี่ยนคาร และกรรมการตรวจสอบและบรรษัทภิบาล 2545 - ปจจุบัน กรรมการ, กรรมการผูอํานวยการ บมจ. เอ็ม บี เค ประธานเจาหนาที่บริหารและกรรมการบริหาร 2554-ปจจุบัน กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ บมจ. สุธากัญจน 2550 - ปจจุบัน กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ บมจ. ไอ เอฟ เอส แคปปตอล (ประเทศไทย) 2552 - ปจจุบัน รองประธานกรรมการบริหาร บมจ. ปทุมไรซมิล แอนด แกรนารี 2543 - ปจจุบัน กรรมการบริหาร บมจ. โรงแรม รอยัลออคิด (ประเทศไทย) การดํารงตําแหนงในบริษัทจํากัด จํานวน 67 แหง 2537 - ปจจุบัน กรรมการ บจ. วชิรฉัตร ปจจุบัน ประธานกรรมการ และกรรมการ บริษัทยอย และบริษัทรวมของ บมจ. เอ็ม บี เค จํานวน 66 แหง การดํารงตําแหนงในนิติบุคคลอื่น จํานวน 1 แหง ปจจุบัน ประธานกรรมการ กองทุนรวม ธนชาต พร็อพเพอรตี้ ฟนด 1 การดํารงตําแหนงในกิจการที่แขงขัน/เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัท -ไมมี การดํารงตําแหนงในบริษัทจดทะเบียน จํานวน 3 แหง 2555 - ปจจุบัน กรรมการอิสระ บมจ.ไทยรุงยูเนี่ยนคาร และกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ไทยเคนเปเปอร ปจจุบัน ที่ปรึกษากรรมการผูจัดการใหญ บมจ. ปูนซิเมนตไทย การดํารงตําแหนงในบริษัทจํากัด - ไมมี การดํารงตําแหนงในนิติบุคคลอื่น จํานวน 1 แหง ปจจุบัน กรรมการ สถาบันเหล็กและเหล็กกลาแหงประเทศไทย การดํารงตําแหนงในกิจการที่แขงขัน/เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัท -ไมมี -


คุณวุฒิทางการศึกษาและหลักสูตรการอบรม

หลักสูตรการอบรมจาก สถาบัน IOD : - ไมมี -

ปริญญาตรี สาขาเทคโนโลยีเครื่องกล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล กรุงเทพฯ

62 คุณวุฒิการศึกษา :

อายุ (ป)

16 รายงานประจ�ำปี 2557

หมายเหตุ (1) ดร. ปราณี - เปนมารดาของคุณสมพงษ, คุณแกวใจ และคุณวุฒิชัย เผอิญโชค (2) คุณสมพงษ - เปนบุตรของดร. ปราณี และเปนพี่ชายของคุณแกวใจ, คุณวุฒิชัย เผอิญโชค (3) คุณแกวใจ - เปนบุตรของดร. ปราณี, เปนนองสาวของคุณสมพงษ, เปนพี่สาวของคุณวุฒิชัย เผอิญโชค (4) คุณวุฒิชัย - เปนบุตรของดร. ปราณี และเปนนองชายของคุณสมพงษ และคุณแกวใจ เผอิญโชค

รวมระยะเวลาการดํารงตําแหนง 1 ป วันที่เริ่มดํารงตําแหนง วันที่ 22 เมษายน 2556

9. นายถาวร ชลัษเฐียร กรรมการอิสระ กรรมการบริหารความเสี่ยง

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง

30 ม.ค. 2558 หุน (%) -

-

จํานวนการถือหุน TRU ของกรรมการและผูบริหาร 28 ม.ค. 2557 จํานวนหุนเพิ่ม (ลด) ระหวางป หุน (%) หมายเหตุ

ตําแหนง

ชื่อหนวยงาน/บริษัท

ประธาน

คณะอนุกรรมการพัฒนากรอบยุทธศาสตรการพัฒนากําลังแรงงาน ใน อุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนอะไหลยานยนต ภายใต กพร.ปช. กระทรวงแรงงาน

ไมมี

การ กระทํา ผิด

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน)

กรรมการผูทรงคุณวุฒิ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุน " สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ องคการมหาชน " สํานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ กรรมการบริหาร สถาบันไทย-เยอรมัน กรรมการ สมาคมสงเสริมคุณภาพแหงประเทศไทย " สภาวิชาการผูทรงคุณวุฒิ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล กรุงเทพฯ " สภาวิชาการผูทรงคุณวุฒิ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญญบุรี " พัฒนาอุตสาหกรรมแมพิพม กระทรวงอุตสาหกรรม " สํานักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝมือแรงงาน กรมพัฒนาฝมือแรงงาน " สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน ที่ปรึกษา สมาคมวิศวกรรมยานยนตไทย " สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุน การดํารงตําแหนงในกิจการที่แขงขัน/เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัท -ไมมี -

" " " " " " " " " " " "

"

การดํารงตําแหนงในบริษัทจดทะเบียน จํานวน 1 แหง 2556 - ปจจุบัน กรรมการอิสระและกรรมการบริหารความเสี่ยง บมจ.ไทยรุงยูเนี่ยนคาร การดํารงตําแหนงในบริษัทจํากัด 1 แหง ปจจุบัน ที่ปรึกษาอาวุโส ฝายบริหาร บจ. เด็นโซ (ประเทศไทย) การดํารงตําแหนงในนิติบุคคลอื่น จํานวน 18 แหง ปจจุบัน กรรมการบริหาร และรองเลขาธิการ สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย " ประธานกิตติมศักดิ์ กลุมชิ้นสวนและอะไหลยานยนต สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย " อุปนายก ฝายบริหาร สมาคมอุตสาหกรรมยานยนตไทย " อุปนายก ฝายบริหารและแผน สมาคมผูผลิตชิ้นสวนยานยนตไทย " อุปนายก กลุมงานพัฒนาระบบบริหาร สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน)

ชวงเวลา

ประสบการณการทํางาน


TO BE AT THE PINNACLE OF THE THAI AUTO INDUSTRY, DEVLOPING, DESIGNING AND PRODUCING A COMPREHENSIVE RANG OF PRODUCTS; WITH OUR OWN BRAND, TO BUILD OPTIMUM CUSTOMER SATISFACTION THROUGH WORLD-CLASS QUALITY AND SERVICE.


ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลส�ำคัญอื่น ข อมูลทั่วไปและข อมูลสําคัญอื่น ข อมูลของบริษัท ชื่อบริษัท เลขทะเบียนบริษัท ทุนจดทะเบียน ทุนชําระแลว ประเภทธุรกิจ

สถานที่ตั้ง โทรศัพท โทรสาร Website นายทะเบียนหลักทรัพย

ผูสอบบัญชี

บริษัท ไทยรุงยูเนี่ยนคาร จํากัด (มหาชน) 0107536001435 590,847,356 บาท แบงเปนหุนสามัญจํานวน 590,847,356 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท 590,846,931 บาท - ออกแบบวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ - สรางแมพิมพและอุปกรณจับยึดสําหรับการผลิต - ผลิตชิ้นสวนโลหะและพลาสติก และผลิตเบาะรถยนต - รับจางพนสี รับจางประกอบและดัดแปลงรถยนตตาง ๆ 304 ถนนมาเจริญ แขวงหนองคางพลู เขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร 10160 0-2431-0071-2, 0-2431-0065, 0-2420-0076 0-2812-0844, 0-2814-5030, 0-2420-3664 www.thairung.co.th บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด 62 อาคารตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท 0-2229-2800, 0-2654-5599 โทรสาร 0-2359-1259 นายอธิพงศ อธิพงศสกุล ผูสอบบัญชีรับอนุญาตทะเบียนเลขที่ 3500 และ/หรือ นายวิชัย รุจิตานนท ผูสอบบัญชีรับอนุญาตทะเบียนเลขที่ 4054 และ/หรือ นายเสถียร วงศสนันท ผูสอบบัญชีรับอนุญาตทะเบียนเลขที่ 3495 และ/หรือ นางสาวกุลธิดา ภาสุรกุล ผูสอบบัญชีรับอนุญาตทะเบียนเลขที่ 5946 บริษัท เอเอ็นเอส ออดิท จํากัด 100/72 ชั้น 22, 100/2 อาคารวองวานิช B, ถนนพระราม 9 แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท 0-2645-0109 โทรสาร 0-2645-0110

18 รายงานประจ�ำปี 2557


โครงสร างของกลุ มบริษัทไทยรุ งยูเนี่ยนคาร จํากัด (มหาชน) และบริษัทย อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557

บริษัท ไทยรุงยูเนี่ยนคาร จํากัด (มหาชน )

(TRU)

บริษัท ไทยรุง ทูลส แอนด ไดส จํากัด 94%

บริษัท ไทยออโต คอนเวอชั่น จํากัด 20%

บริษัท ไทยออโต เพรสพารท จํากัด 91%

บริษัท เดลตา ไทยรุง จํากัด 30%

บริษัท ไทย วี.พี. ออโ เซอรวิส จํากัด 94% บริษัท ไทยอัลติเมทคาร จํากัด 99.53 %

บริษัท เคียววะ ไทยรุง จํากัด 49 % บริษัท เทร็ก ไทยรุง จํากัด 40%

ข อมูลทั่วไปเกี่ยวกับบริษัทย อย และบริษัทร วม บริษัทยอย  บริษัท ไทยรุง ทูลส แอนด ไดส จํากัด ทุนจดทะเบียน 27,000,000 บาท (ชําระเต็มมูลคาแลว) แบงเปน หุนสามัญจํานวน 270,000 หุน มูลคาหุนละ 100 บาท ประเภทธุรกิจ ผลิตแมพิมพและอุปกรณการผลิต ที่ตั้งสํานักงานใหญ 304/1 ถนนมาเจริญ แขวงหนองคางพลู เขตหนองแขม กรุงเทพฯ 10160 โทรศัพท 0-2431-0071-2, 0-2431-0065, 0-2420-0076 โทรสาร 0-2814-5030, 0-2420-3664

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 19


 บริษัท ไทยออโต เพรสพารท จํากัด ทุนจดทะเบียน 400,000,000 บาท (ชําระเต็มมูลคาแลว) แบงเปนหุนสามัญจํานวน 4,000,000 หุน มูลคาหุนละ 100 บาท ประเภทธุรกิจ ผลิตชิ้นสวนตัวถังรถยนต ที่ตั้งสํานักงานใหญ นิคมอุตสาหกรรมอมตะ ซิตี้ อินดัสเทรียล เอสเทรส เลขที่ 7/122 หมูที่ 4 ถนนทางหลวงหมายเลข 331 ตําบลมาบยางพร อําเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง 21140 โทรศัพท (038) 956-156, 956-239-42 โทรสาร (038) 956-169  บริษัท ไทย วี.พี. ออโตเซอรวิส จํากัด ทุนจดทะเบียน 25,000,000 บาท (ชําระเต็มมูลคาแลว) แบงเปน หุนสามัญจํานวน 250,000 หุน มูลคาหุนละ 100 บาท ประเภทธุรกิจ จําหนายอะไหล อุปกรณตกแตง ศูนยบริการหลังการขาย ติดตั้งแกส LPG/NGV รถยนต ที่ตั้งสํานักงานใหญ 151 ถนนมาเจริญ แขวงหนองคางพลู เขตหนองแขม กรุงเทพฯ 10160 โทรศัพท 0-2420-6708, 0-2420-4823, 0-2812-1445-6 โทรสาร 0-2420-1601 Website www.trservice.in.th  บริษัท ไทยอัลติเมทคาร จํากัด ทุนจดทะเบียน 25,000,000 บาท (ชําระเต็มมูลคาแลว) แบงเปนหุนสามัญจํานวน 25,000 หุน มูลคาหุนละ 1,000 บาท ประเภทธุรกิจ ดําเนินธุรกิจเกี่ยวกับรถยนต การใหคําปรึกษา และใหบริการงานบริหารองคกรทัว่ ไป ที่ตั้งสํานักงานใหญ 304/1 ถนนมาเจริญ แขวงหนองคางพลู เขตหนองแขม กรุงเทพฯ 10160 โทรศัพท 0-2431-0071-2, 0-2431-0065, 0-2420-0076 โทรสาร 0-2812-1992 ขอมูลบริษัทรวม  บริษัท ไทย ออโต คอนเวอชั่น จํากัด ทุนจดทะเบียน 74,500,000 บาท (ชําระเต็มมูลคาแลว) แบงเปนหุนสามัญจํานวน 74,500 หุน มูลคาหุนละ 1,000 บาท ประเภทธุรกิจ พัฒนาผลิตภัณฑ และติดตั้งอุปกรณตกแตงพิเศษสําหรับ Special Purpose Vehicle

20 รายงานประจ�ำปี 2557


ที่ตั้งสํานักงานใหญ่ โทรศัพท์ โทรสาร

159 หมู่ที่ 16 ถนนเทพารักษ์ ตําบลบางเสาธง อําเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ 10540 0-2313-1371-8 0-2313-1380

 บริษัท เดลต้า ไทยรุ่ง จํากัด ทุนจดทะเบียน 300,000,000 บาท (ชําระเต็มมูลค่าแล้ว) แบ่งเป็นหุ้นสามัญจํานวน 3,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท ประเภทธุรกิจ ผลิตเบาะรถยนต์ ชิ้นส่วนและอุปกรณ์ต่าง ๆ สําหรับรถยนต์ ที่ตั้งสํานักงานใหญ่ นิคมอุตสาหกรรมอมตะ ซิตี้ อินดัสเทรียล เอสเทรส 7/150 หมู่ที่ 4 ตําบลมาบยางพร อําเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง 21140 โทรศัพท์ (038) 650-398-400 โทรสาร (038) 650-400  บริษัท เทร็ก ไทยรุ่ง จํากัด ทุนจดทะเบียน 550,000,000 บาท (ชําระเต็มมูลค่าแล้ว) ข้อมูล ณ วันที่ 10 มีนาคม 2558 แบ่งเป็นหุ้นสามัญจํานวน 5,500,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท ประเภทธุรกิจ ผลิตตัวถังรถบรรทุกประเภทต่าง ๆ เช่น รถดั๊ม รถตู้บรรทุก รถหางลากเทรเลอร์ รถบรรทุกผสม คอนกรีต รถบรรทุกห้องเย็น ฯลฯ ตลอดจนให้บริการหลังการขาย ที่ตั้งสํานักงานใหญ่ 10/95-97 ซอยสุขุมวิท 13 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0-2646-2525 โทรสาร 0-2168-7744  บริษัท เคียววะ ไทยรุ่ง จํากัด ทุนจดทะเบียน 20,000,000 บาท (ชําระเต็มมูลค่าแล้ว) แบ่งเป็นหุ้นสามัญจํานวน 200,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท ประเภทธุรกิจ ประกอบตัวถังห้องโดยสาร และผลิตชิ้นส่วน สําหรับรถอุตสาหกรรมหนัก (Industrial Machinery), รถขุดตัก, รถเครื่องจักรก่อสร้าง, รถเครื่องจักรกลทางการเกษตร, รถแทรกเตอร์ทางการเกษตร และอื่นๆ ที่ตั้งสํานักงานใหญ่ 304 ถ.มาเจริญ แขวงหนองค้างพลู เขตหนองแขม กรุงเทพฯ 10160 โทรศัพท์ 0-2431-0071-2, 0-2431-0065, 0-2420-0076 โทรสาร 0-2812-0844, 0-2814-5030, 0-2420-3664

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 21


ลักษณะการประกอบธุรกิจ ลักษณะการประกอบธุรกิจ  บริษัท ไทยรุงยูเนี่ยนคาร จํากัด (มหาชน) ประกอบธุรกิจหลัก 3 ธุรกิจ ไดแก - การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ มุงเนนดานการพัฒนาผลิตภัณฑรถยนตดัดแปลงประเภทตาง ๆ และการ รับจางออกแบบวิจัย การดัดแปลงรถประเภทตาง ๆ แกลูกคาทั้งในและตางประเทศ - การผลิตชิ้นสวนโลหะและพลาสติก ผลิตเบาะรถยนต เพื่อจําหนายใหลูกคากลุมรถยนต, รถจักรยานยนต, ชิ้นสวนสําหรับเครื่องมือการกอสราง, เครื่องมืออุตสาหกรรม, เครื่องจักรกลการเกษตร และธุรกิจอื่นที่มิใชยาน ยนต เชน ชิ้นสวนอิเล็คทรอนิกส เปนตน รวมทั้งผลิตเพื่อใชภายในบริษัทฯ เอง - การรับจางพนสี รับจางประกอบ แกลูกคากลุมรถยนต, เครื่องมือการกอสราง, เครื่องมืออุตสาหกรรม, เครื่องจักรกลการเกษตร และดัดแปลงรถยนตตาง ๆ เพื่อเปนรถอเนกประสงค และรถใชงานเฉพาะดาน (Special Purpose Vehicle) เชน รถ TR Transformer รถตรวจการณลาดตระเวนทางการทหาร (MUV4) รถฉุกเฉินเคลื่อนที่เร็ว เปนตน  บริษัท ไทยรุง ทูลส แอนด ไดส จํากัด (TRT) ประกอบธุรกิจดานการสรางแมพิมพและอุปกรณจับยึดสําหรับการผลิต โดยไดรับการสงเสริมการลงทุนจาก BOI  บริ ษัท ไทยออโต เพรสพารท จํา กั ด (TAP) เริ่ มเป ดดํ า เนิ นการในเดื อ น มิ ถุน ายน 2545 ตั้ง โรงงานอยู ใ นนิ ค ม อุตสาหกรรมอมตะซิตี้ อินดัสเทรียล เอสเทรส อําเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง เพื่อรองรับการขยายกําลังการผลิต ชิ้นสวน โดยไดรับการสงเสริมการลงทุนจาก BOI เพื่อจําหนายใหลูกคากลุมรถยนตกลรถจักรยานยนต ในพื้นที่บริเวณอีส เทอรน ซีบอรด และบริเวณใกลเคียง รวมถึงตลาดสงออก ในป 2555 โรงงานใหมที่จังหวัดระยอง ไดเปดดําเนินการเชิง พาณิชยแลว  บริษัท ไทย วี.พี. ออโตเซอรวิส จํากัด (TVS) ประกอบธุรกิจดานจําหนายอะไหล และศูนยบริการหลังการขาย สําหรับ รถอเนกประสงคของบริษัท ไทยรุงยูเนี่ยนคาร จํากัด (มหาชน) ซึ่งในป 2548 ไดขยายธุรกิจไปยังชิ้นสวนพลาสติกตกแตง รถ (Accessory Part) ในนาม “Parto” ในป 2551 เพิ่มการใหบริการติดตั้งแกส LPG / NGV รถยนต และในป 2556 ทางบริษัทเริ่มเปดดําเนินการธุรกิจรับพนสี เพื่อรองรับความตองการที่เพิ่มขึ้นของลูกคา  บริษัท ไทยอัลติเมทคาร จํากัด (TUC) เปนบริษัทยอยของ TVS ซึ่งเขาลงทุนในป 2544 ปจจุบันดําเนินธุรกิจเกี่ยวกับ รถยนต การใหคําปรึกษา และใหบริการงานบริหารองคกรทั่วไป  บริษัท ไทยออโต คอนเวอชั่น จํากัด (TAC) เปนบริษัทรวมทุนกับกลุมบริษัท โตโยตา มอเตอร ประกอบธุรกิจดานการ พัฒนาผลิตภัณฑและติดตั้งอุปกรณตกแตงพิเศษสําหรับ Special Purpose Vehicle  บริษัท เดลตา ไทยรุง จํากัด (DTC) เปนบริษัทรวมทุนกับบริษัท Delta Kogyo ประเทศญี่ปุน ซึ่งจัดตั้งบริษัทขึ้นใหมในป 2550 เพื่ อ ประกอบธุ ร กิ จ ผลิ ต เบาะรถยนต ชิ้ น ส ว นและอุ ป กรณ ต า ง ๆ สํ า หรั บ รถยนต โดยตั้ ง โรงงานอยู ใ นนิ ค ม อุตสาหกรรมอมตะซิตี้ อินดัสเทรียล เอสเทรส อําเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง

22 รายงานประจ�ำปี 2557


 บริษัท เคียววะ ไทยรุง จํากัด (KTR) เปนบริษัทรวมทุนกับบริษัท Kyowa Sangyo Co., Ltd. ประเทศญี่ปุนจัดตั้งบริษัท ขึ้นในป 2557 เพื่อประกอบธุรกิจประกอบตัวถังหองโดยสาร และผลิตชิ้นสวน สําหรับรถอุตสาหกรรมหนัก (Industrial Machinery), รถขุดตัก, รถเครื่องจักรกอสราง, รถเครื่องจักรกลทางการเกษตร, รถแทรกเตอรทางการเกษตร  บริษัท เทร็ก ไทยรุง จํากัด (TTR) เปนบริษัทรวมทุนกับผูรวมทุนอีก 3 บริษัท คือ Nippon Trex Co.,Ltd. (ประเทศ ญี่ปุน), Kyokuto Kaihatsu Kogyo Co., Ltd. (ประเทศญี่ปุน) และ Mitsiam International Co.,Ltd. จัดตั้งบริษัทขึ้น ในป 2557 เพื่อประกอบธุรกิจตอตัวถังรถบรรทุกประเภทตาง ๆ อาทิ รถดั๊ม รถตูบรรทุก รถหางลากเทรเลอร รถบรรทุก ผสมคอนกรีต รถบรรทุกหองเย็น ฯลฯ ตลอดจนใหบริการหลังการขาย โดยตั้งโรงงานอยูในนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ อินดัสเทรียล เอสเทรส อําเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง นโยบายการแบ ง การดํ า เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ ในกลุ ม ให บ ริ ษั ท ย อ ยแต ล ะบริ ษั ท ประกอบธุ ร กิ จ ให มี กํ า ไรด ว ย ความสามารถในการประกอบธุรกิจของบริษัทยอยนั้น ๆ และภายใตกรอบนโยบายจากบริษัทแม โครงสร างรายได ของบริษัท ไทยรุ งยูเนี่ยนคาร จํากัด (มหาชน) และบริษัทย อย ในป 2555-2557 หนวย ลานบาท ผลิตภัณฑ/บริการ

ธุรกิจผลิตอุปกรณ สําหรับใชผลิตรถยนต ธุรกิจรับจางประกอบและ รับจางอื่นๆ ที่เกี่ยวกับรถยนต ธุรกิจจําหนายรถยนต ศูนยบริการรถยนต รวมรายไดจากการขายและบริการ รายไดอื่น ๆ รวมรายไดทั้งสิ้น

ดําเนินการ โดย

% การถือ หุน ของบริษัท

ป 2557 รายได

TRU, TAP, 91, 94 TRT TRU

1,448.44

TRU, TVS, 94, TUC 99.53*

ป 2556 %

รายได

ป 2555 %

รายได

%

59 2,045.54

61 2,100.68

56

679.36

28

984.71

29 1,280.34

34

127.31

5

108.05

2,255.11 194.83 2,449.94

92 3,138.30 8 236.51 100 3,374.81

3

118.56

3

93 3,499.58 7 281.26 100 3,780.84

93 7 100

* TRU ถือหุนใน TVS 94% และ TVS ถือหุนใน TUC 99.53%

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 23


แนวโนมภาวะอุตสาหกรรมและสภาพการแขงขันในอนาคต ทิศทางของอุตสาหกรรมรถยนตที่มีการเปลี่ยนแปลงศูนยกลางเศรษฐกิจโลกจากตะวันตก มาสูตะวันออก ทําใหภูมิภาค เอเชียมีความสําคัญมากขึ้น รวมถึงการเปนฐานการผลิตยานยนตที่สําคัญของโลก โดยเฉพาะอาเซียนซึ่งเปนตลาดที่ใหญ และเมื่อมี การเปดเสรีการคาตามกรอบเออีซี ในป 2558 จะทําใหเกิดการขยายตัวของอุตสาหกรรมอยางมาก ประกอบกับการยายฐานผลิต รถยนตและชิ้นสวนจากญี่ปุนและยุโรป มาในภูมิภาคนี้มากขึ้น จึงทําใหผูประกอบการตองปรับตัวรับการเติบโตและแขงขันที่รุนแรง ขึ้น โดยกลยุทธการบริหารของบริษัทในป 2558 ยังคงเนนรายไดจากงานชิ้นสวน OEM งานรับจางประกอบ พนสีเพิ่มขึ้น งานตอตัวถังรถ และขยายงานดานชิ้นสวนเครื่องจักรอุตสาหกรรมการเกษตร รวมถึงการหาพันธมิตรทางการคาเพื่อขยายธุรกิจเดิม และแสวงหาธุรกิจใหม ดังเชนในป 2557 ซึ่งบริษัทประสบความสําเร็จในการจัดตั้งบริษัทรวมลงทุนกับพันธมิตรญี่ปุน 2 แหง เพื่อ ขยายธุรกิจไปยังกลุมรถบรรทุกประเภทตาง ๆ เชน รถดั๊ม รถตูบรรทุก รถหางลากเทรเลอร รถบรรทุกผสมคอนกรีต รถบรรทุกหอง เย็น ฯลฯ และการผลิตหองโดยสารและชิ้นสวนสําหรับลูกคากลุม Industrial Machinery รถขุดตัก รถเครื่องจักรกอสราง รถ เครื่องจักรกลทางการเกษตร รถแทรกเตอรทางการเกษตร ฯลฯ เพื่อขายในประเทศและสงออกไปยังตางประเทศ ซึ่งธุรกิจใหมทั้ง 2 แหงนี้ มีแนวโนมขยายตัวดีอยางตอเนื่อง เนื่องจากตลาดรถบรรทุกยังมีความตองการสูง ประกอบกับการเปด AEC ในป 2558 ยิ่ง ทําใหภาคการขนสงในภูมิภาคขยายตัว และ รถบรรทุกและรถเทรลเลอร จะเขามามีบทบาทในอุตสาหกรรมมากขึ้น นอกจากนี้ บริษัทฯ มีแผนการปรับตัว ไมวาจะเปน การเพิ่มประสิทธิภาพแรงงาน การลดตนทุนการผลิต และการแสวงหาธุรกิจใหม โดย บริษัทฯ ยังคงเปดโอกาสเจรจากับนักลงทุนที่สนใจรวมทุนกับกลุมบริษัทไทยรุง เพื่อขยายฐานธุรกิจดานตางๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจ ปจจุบัน รวมถึงการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑใหมๆที่มีมูลคาเพิ่มสูงขึ้น เพื่อเพิ่มสวนแบงทางการตลาดและสรางรายไดใหแกบริษัท เพิ่มขึ้นในอนาคต เพื่อผลประกอบการที่ดีของบริษัท นอกจากนี้บริษัทยังคํานึงถึงการมีสวนรวมในการรักษาสิ่งแวดลอม ดังที่บริษัทไดรับการรับรองระบบ ISO 9001:2008, ISO/TS 16949:2009 และ ISO 14001:2004 รวมทั้งการผลิตสินคาใหไดตามความตองการของลูกคาในเวลาที่ กําหนด โดยใชต นทุ นตามเป าหมาย นํา เทคโนโลยีที่ เหมาะสมมาใช ในกระบวนการออกแบบ การผลิต และการจัด การให มี ประสิทธิภาพอยางจริงจัง รวมทั้งยกระดับความรูความสามารถของพนักงานทุกระดับใหทันกับการเปลี่ยนแปลงของโลกภายนอก โดยมีสภาพแวดลอมการทํางานที่ดี มีความปลอดภัยในการทํางาน มีสวนรวมในการรักษาสิ่งแวดลอม และสรางสํานึกในความ รับผิดชอบตอสังคม นอกจากนี้ ยังมีแนวทางในการดําเนินงานทั้งในระดับคณะกรรมการบริษัท ผูบริหารและพนักงานของบริษัทฯ ที่สอดคลองกับหลักการการกํากับดูแลกิจการที่ดีของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

24 รายงานประจ�ำปี 2557


ปัจจัยความเสี่ยง ป จจัยความเสี่ยง บริษัทฯ ใหความสําคัญในการนําหลักการบริหารความเสี่ยงมาใชเปนเครื่องมือในการบริหารจัดการองคกร ภายใตกรอบ การบริหารความเสี่ยงในระดับสากล ซึ่งมีคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงรับผิดชอบกํากับดูแลการปฏิบัติตามกรอบการบริหารความ เสี่ยง ติดตามความเสี่ยงที่สําคัญและการดําเนินการ โดยไดกําหนดแผนการจัดการความเสี่ยงใหสอดคลองกับแผนกลยุทธและแผน ธุรกิจของบริษัทอยางตอเนื่อง เชน - การทบทวนคูมือปฏิบัติงานใหทันสมัย เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานที่ดีขึ้นทั่วทั้งองคกร - การกําหนดและทบทวนบทบาทหนาที่ความรับผิดชอบของผูบริหารและพนักงานใหชัดเจน - ปรับปรุงตัวชี้วดั ในการประเมินผลงาน เพื่อใหเกิดแรงจูงใจในการทํางานใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น ทั้งนี้ เพื่อใหมั่นใจไดวาองคกรมีระบบการจัดการความเสี่ยงอยางเพียงพอและเหมาะสม นําไปสูการดําเนินงานขององคให บรรลุเปาหมาย ในป 2557 บริ ษัท ฯ สามารถควบคุ ม ความเสี่ย งจากผลกระทบทางสิ่งแวดล อมดานมลพิ ษ ทั้งเสี ยงและอากาศได มี ประสิทธิภาพมากขึ้น โดยบริษัทลงทุนปรับปรุงระบบปองกันละอองสี และติดตั้งเครื่องกําจัดกลิ่นที่ไดมาตรฐานตามระบบสากล ทั้งนี้ บริษัทฯไดรับการรับรองระบบคุณภาพ ISO14001 ซึ่งมีการตรวจเช็คคาของเสีย มลพิษตางๆ ของระบบการผลิตอยางสม่ําเสมอจาก บริษัทที่ไดรับการรับรองจากทางราชการ รวมทั้งบริษัทมีระบบการตรวจสอบ ปรับปรุง ซอมบํารุงเครื่องจักรและระบบการผลิตของ บริษัทตามรอบระยะเวลาที่กําหนด ทําใหเชื่อมั่นไดวา ประสิทธิภาพของระบบงานการผลิตของหองจุมสีและพนสีจะมีประสิทธิภาพ และไมกอใหเกิดปญหาสิ่งแวดลอมตอชุมชน

1. ความเสี่ยงด านธุรกิจ 1.1 ธุรกิจรถอเนกประสงค -

บริษัทฯ มีคูแขงขันทางการตลาดซึ่งเปนผูผลิตและเปนเจาของตราสินคา (Brand Owner) รายใหญหลายราย ทั้งที่เปนราย เดิ มที่ มี การผลิ ตรถอเนกประสงค อยู แล ว และผู ผลิ ตรายใหม ที่ พร อมจะเข ามาแข งขั น ซึ่ งผู บริ โภคมี ความนิ ยมใช รถ อเนกประสงคอยางตอเนื่อง ทําใหมูลคาตลาดสําหรับรถอเนกประสงคมีมูลคาสูงขึ้น

-

นโยบายภาครัฐที่สนับสนุนการเปดเสรีทางการคา ทําใหรถยนตจากตางประเทศมีโอกาสเขามาทําตลาดในประเทศไทยได มากขึ้น และทําใหมีการแขงขันในตลาดสูงขึ้นโดยเฉพาะเมื่อมีการเปดเสรีทางการคาภายใตกรอบ AEC ในปลายป 2558

เพื่อเปนการกระจายความเสี่ยง และลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากปจจัยเสี่ยงตางๆในธุรกิจรถอเนกประสงค บริษัทฯ ได กําหนดแนวทางการดําเนินงาน ดังนี้ -

บริษัทฯ มุงเนนงานดานการวิจัยและพัฒนารถอเนกประสงคใหมีรูปลักษณที่ทันสมัยตางจากคูแขง และมีคุณภาพตรง ตามความตองการของลูกคากลุมเปาหมาย พรอมกันนี้ไดทําการศึกษาเพื่อพัฒนาธุรกิจรถใชงานเฉพาะดานประเภทตางๆ เชน รถ TR Transformer, รถตรวจการณลาดตระเวนทางการทหาร (MUV4), รถฉุกเฉินเคลื่อนที่เร็ว ฯลฯ เพื่อขยาย บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 25


ตลาด และกลุมลูกคาเปาหมายใหกวางขึ้น โดยการใชความไดเปรียบจากความยืดหยุนในการปรับเปลี่ยนกระบวนการ ผลิต -

บริษัทฯ ใชชองทางการนําเสนอสินคาโดยการเปดโชวรูม 2 แหง ที่บริเวณถนนเพชรเกษม และวิภาวดี และการออก Event & Road Show ตามหัวเมืองตางๆ รวมทั้งการแตงตั้ง Dealer ในภาคเหนือ, ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, ภาคตะวันออก และภาคใต เพื่อเปนการเพิ่มโอกาสในการขายใหมากขึ้น นอกจากนี้ ยังเนนเรื่องการขายใหกับ หนวยงานราชการตางๆ

-

บริษัทฯ มีนโยบายเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต และมีมาตรการลดตนทุน ประหยัดคาใชจายทุกหมวดทั้งดาน โรงงาน ดานสนับสนุน ใหมีตนทุนที่เหมาะสมเพื่อใหสามารถแขงขันได

1.2 ธุรกิจผลิตชิ้นสวนรถยนตและรับจางประกอบ ผลจากการเปดเสรีทางการคา ซึ่งมีการลดภาษีนําเขาสินคา ทําใหผูผลิตรถยนตมีทางเลือกมากขึ้นในการนําเขาชิ้นสวน จากตางประเทศมาทดแทนการจางผลิตชิ้นสวนในประเทศ ทําใหผูผลิตชิ้นสวนไทยตองแขงขันดานราคาและคุณภาพเพิ่มขึ้น ทั้ง จากผูผลิตภายในประเทศและตางประเทศ เพื่อกระจายความเสี่ยงและลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากปจจัยเสี่ยงตางๆในธุรกิจผลิตชิ้นสวนรถยนต และรับจาง ประกอบ บริษัทฯไดกําหนดแนวทางการดําเนินงาน ดังนี้ -

มุงเนนการรักษาสัมพันธที่ดีกับกลุมลูกคาหลักรายเดิม รวมถึงแสวงหากลุมลูกคารายใหมจากธุรกิจอื่นๆ เชน ชิ้นสวนรถจักรยานยนต หรือชิ้นสวนสําหรับเครื่องมือการกอสราง เครื่องมืออุตสาหกรรม เครื่องจักรกลการเกษตร รวมทั้งขยายฐานลูกคาไปยังตางประเทศ เชน จีน อินเดีย เปนตน เพื่อกระจายความเสี่ยงดานการหางาน รวมทั้ง การจัดโปรแกรมกิจกรรมทางการตลาด เพื่อสรางความสัมพันธที่ดีกับลูกคาทุกรายอยางตอเนื่อง และมีการกําหนด กลุมลูกคาเปาหมายใหมในแตละปไวดวย

-

ใหบริการแบบ One stop service สําหรับงานชิ้นสวนพลาสติก งานพนสี งานรับจางประกอบและงานดัดแปลง ตางๆ ตั้งแตการออกแบบวิจัย ไปจนถึงชิ้นงานสําเร็จรูป

-

บริษัทฯ มีแนวทางในการแสวงหาพันธมิตรจากตางประเทศ เพื่อเพิ่ม Know how เทคโนโลยีการผลิต และเครื่องจักรที่ มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น เพื่อเตรียมรับมือกับสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ตลอดจนการรวมลงทุนกับพันธมิตรหรือตางชาติ เพื่อการขยายไปสูธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องเพิ่มขึ้น รวมทั้งมีนโยบายในการรับงานที่มีมูลคาเพิ่มสูงขึ้น

1.3 ธุรกิจการสรางแมพิมพและอุปกรณจับยึดสําหรับการผลิต ในป 2557 ปริมาณงานแมพิมพและอุปกรณจับยึดมีเพิ่มขึ้นจากปกอน เนื่องจากมีการเปดตัวรถรุนใหมๆหลายยี่หอ อยางไรก็ตามเพื่อลดความไมแนนอนในอนาคต บริษัทจึงตองเรงหางานจากตางประเทศ หรือจากผูประกอบรถยนตที่ยายฐานการ

26 รายงานประจ�ำปี 2557


ผลิตมาประเทศไทยเพิ่มขึ้น รวมทั้งมองหาโอกาสในงานใหมๆ เชน เครื่องมือการกอสราง เครื่องมืออุตสาหกรรม เครื่องจักรกล การเกษตร รถบรรทุกใหญ หรือธุรกิจอื่นที่มิใชยานยนต เพื่อกระจายความเสี่ยง และลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากปจจัยเสี่ยงตางๆ ในธุรกิจสรางแมพิมพและอุปกรณจับยึด บริษัทฯ ไดกําหนดแนวทางการดําเนินงาน ดังนี้ -

บริษัทฯ ไดลงทุนปรับปรุงประสิทธิภาพในขบวนการผลิต เพื่อใหสามารถรองรับความตองการของลูกคาที่หลากหลาย พรอมทั้งเพิ่มโอกาสการหางานแมพิมพขนาดใหญที่มีมูลคาเพิ่มสูง คูแขงขันนอย

-

บริษัทฯ ไดพัฒนาเครื่องจักรและอุปกรณใหมีการทํางานแบบอัตโนมัติมากขึ้น เพื่อลดปญหาการขาดแคลนแรงงานมี ฝมือในขบวนการผลิต พรอมกันนี้ไดจัดหลักสูตรการฝกอบรมบุคลากรใหมีความสามารถเพิ่มขึ้นคูกันไปดวย

-

เปนผูสรางแมพิมพและอุปกรณจับยึดสําหรับการผลิตในระดับ Tier 2 ใหกับ Tier 1 ของตางประเทศ เชน ยุโรป อเมริกา ซึ่งตองการ outsource งานไปยังประเทศที่มีตนทุนการผลิตต่ํากวา

-

ใหบริการแบบ One stop service สําหรับงานการออกแบบวิจัยดัดแปลงตางๆ ตลอดจนงานแมพิมพและอุปกรณจับ ยึดการผลิต

-

ยกระดับเปนผูออกแบบ สรางแมพิมพและอุปกรณจับยึด สําหรับการผลิตในระบบ Turn key โดยรวมกับพันธมิตร จากตางประเทศ เพื่อเขาประมูลงานแบบ Turn key ในตางประเทศเพิ่มขึ้น

-

สรางเครือขายพันธมิตรภายในประเทศ เพื่อรองรับปริมาณงาน Project ใหมๆ ที่ไดเขามา เพื่อเพิ่มกําลังการผลิต และรับงาน Turn key จากตางประเทศ

นอกจากวิธีการกระจายความเสี่ยงของธุรกิจหลักทั้ง 3 ธุรกิจ ดังกลาวแลว บริษัทฯ ยังไดพยายามขยายธุรกิจไปยังธุรกิจ อื่นๆเพิ่มดวย ซึ่งนอกจากจะลดความเสี่ยงของกลุมธุรกิจลงแลว ยังเพิ่มความหลากหลายในการดําเนินธุรกิจใหเพิ่มขึ้นอีก ไดแก -

ขยายธุรกิจไปยังการผลิตและจําหนายชิ้นสวนพลาสติก (Vacuum Mould) ตลอดจนอุปกรณตกแตงรถยนตที่ทําจาก พลาสติก (Accessory Part) ในนาม “Parto” ซึ่งเปนตราสินคาของบริษัทเอง ตลอดจนการขายแบบ OEM เพิ่มขึ้น เพื่อตอบสนองความตองการของลูกคาไดอยางทันทวงที

-

เปนผูนําในการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑกระบะพื้นเรียบ (Flat Deck) จําหนายใหแกผูผลิตรถกระบะหลาย คาย เพื่อจําหนายในประเทศและสงออกตางประเทศ

-

ในป 2557 บริษัทฯ รวมกับพันธมิตรญี่ปุน จัดตั้งบริษัทรวมทุนใหม 2 แหง เพื่อขยายฐานธุรกิจไปยังอุตสาหกรรม Industrial Machinery, รถขุดตัก, รถเครื่องจักรกลทางการเกษตร และธุรกิจตอเติมตัวถังรถบรรทุกประเภทตาง ๆ เชน รถดั๊ม รถตูบรรทุก รถหางลากเทรเลอร รถบรรทุกผสมคอนกรีต รถบรรทุกหองเย็น ฯลฯ

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 27


2. ความเสี่ยงที่เกี่ยวข องกับเครื่องมือทางการเงิน 2.1 ความเสี่ยงดานการใหสินเชื่อ กลุมบริษัทมีความเสี่ยงดานการใหสินเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับลูกหนี้การคา เงินใหกูยืม ลูกหนี้อื่น ฝายบริหารควบคุมความ เสี่ยงนี้โดยการกําหนดใหมีนโยบายและวิธีการในการควบคุมสินเชื่อที่เหมาะสม ดังนั้นกลุมบริษัทจึงไมคาดวาจะไดรับความเสียหาย ที่เปนสาระสําคัญจากการใหสินเชื่อ นอกจากนี้ การใหสินเชื่อของกลุมบริษัทไมมีการกระจุกตัวเนื่องจากกลุมบริษัทมีฐานของลูกคา ที่หลากหลายและมีอยูจํานวนมากราย จํานวนเงินสูงสุดที่กลุมบริษัทอาจตองสูญเสียจากการใหสินเชื่อ คือ มูลคาตามบัญชีของ ลูกหนี้ เงินใหกูยืมและลูกหนี้อื่นที่แสดงอยูในงบแสดงฐานะการเงิน 2.2 ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย กลุมบริษัทมีความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยที่สําคัญอันเกี่ยวเนื่องกับเงินฝากสถาบันการเงิน เงินลงทุนชั่วคราวและเงินให กูยืมระยะสั้นที่มีดอกเบี้ย อยางไรก็ตาม เนื่องจากสินทรัพยและหนี้สินทางการเงินสวนใหญมีกําหนดระยะเวลาชําระคืนภายในหนึ่ง ป ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยของกลุมบริษัทจึงอยูในระดับต่ํา

3. ความเสี่ยงด านการปฏิบัติตามกฎหมาย ความเสี่ยงจากการถูกผูบริโภคฟองรอง ตาม พ.ร.บ. ความรับผิดชอบตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัย พ.ศ.2551 (Products Liability : PL LAW) หากผลิตภัณฑที่บริษัทผลิตมีปญหาดานคุณภาพและเกิดผลกระทบตอผูบริโภค บริษัทฯ อาจถูกผูบริโภคฟองรองเรียกคาเสียหายได บริษัทฯ ใหความสําคัญกับความเสี่ยงจากกฎหมายดังกลาว จึงไดออกประกาศบริษัท เรื่อง นโยบายการผลิตสินคาที่ ปลอดภัย โดยแตงตั้งคณะทํางานและกําหนดหนาที่ความรับผิดชอบของคณะทํางาน คอยกํากับดูแลใหเปนไปตามตัวบทกฎหมาย รวมทั้งมีการอบรมใหผูบริหารและพนักงานใหทราบถึงขอกฎหมาย และกําหนดใหพนักงานทุกคนตองปฏิบัติตาม สําหรับขอกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจโรงงานอุตสาหกรรมรถยนต จะมีสวนงานที่รับผิดชอบคอยกํากับ ติดตามดูแลใหมีการ ปฏิบัติเปนไปตามขอกําหนด กฎหมาย อยางเครงครัด

4. ความเสี่ยงด านความปลอดภัย สิ่งแวดล อม และชุมชนรอบข าง บริษัทฯ ไดใหความสําคัญกับทรัพยากรบุคคล โดยเนนเรื่องความปลอดภัยเปนเรื่องสําคัญ บริษัทฯจึงกําหนดนโยบายความ ปลอดภัย เพื่อลดความเสี่ยงทุกประเภทอันจะสงผลตอคุณภาพชีวิตของบุคลากรทุกคน ควบคูกับการตอบแทนสังคมและการสราง สัมพันธที่ดีกับชุมชนรอบบริษัทฯ โดยไดดําเนินการ ดังนี้ -

บริษัทมีการทบทวนนโยบายดานความปลอดภัยและสิ่งแวดลอมเปนประจําทุกป โดยดํ าเนินการติดตามและ รายงานผลใหระดับหัวหนางานไดรับทราบในการประชุมกิจกรรมทุกไตรมาส

28 รายงานประจ�ำปี 2557


-

บริษัทมุงเนนใหพนักงานทุกคน ใหความสําคัญดานความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม โดยกําหนดใหพนักงานทุกคน ตองปฏิบัติตามระบบความปลอดภัยผานกิจกรรม Completely Check Completely Find Out (CCCF) และ ระบบสิ่งแวดลอม ISO14001 รวมทั้งกิจกรรมอื่นๆ เชน โรงงานสีขาว ขับขี่ปลอดภัยเมาไมขับ งดเหลาเขาพรรษา เปนตน

บริษัทมีโครงการมอบทุนการศึกษาใหกับบุตรของพนักงานที่เรียนดีเปนประจําทุกป และมีกิจกรรมตอบแทนสังคม โดย การบริจาคเงินสนับสนุนแกหนวยงานตางๆ และชุมชนในเขตประกอบการหลายครั้ง เชน การบริจาคเครื่องมือแพทยแกโรงพยาบาล การบริจาคเงินทุนการศึกษาใหแกเด็กนักเรียนของโรงเรียนตางๆ จัดกิจกรรมออกคายอาสาเพื่อพัฒนาชุมชนดอยโอกาสทั้งในเขตและ นอกเขตประกอบการ จัดโครงการชุมชนสีขาว การรณรงคตอตานยาเสพติด ใหความรวมมือกับหนวยงานราชการ และอีกหลาย กิจกรรม ฯลฯ

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 29


โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ โครงสร างการถือหุ นและการจัดการ ผู ถือหุ น รายชื่อผูถือหุนที่ถือหุนสูงสุด 10 รายแรก ณ วันปดสมุดทะเบียนลาสุด (ณ วันที่ 30 มกราคม 2558) มีดังนี้ ลําดับ 1. 3. 4. 2. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

ชื่อ – สกุล ดร.ปราณี เผอิญโชค นางสาวแกวใจ เผอิญโชค นายวุฒิชัย เผอิญโชค นายสมพงษ เผอิญโชค* CITIBANK NOMINEES SINGAPORE PTE LTD-S.A PBG CLIENTS SG บริษัทหลักทรัพย ทิสโก จํากัด นายธีระพงษ นามโท บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด เพื่อผูฝ าก นายพัฒนศรณ เผอิญโชค นายกรวุฒิ เผอิญโชค รวม

จํานวนหุน 118,405,725 98,253,765 96,528,225 94,932,825 27,926,310 10,800,000 8,512,100 8,485,100 7,278,240 7,200,000 478,322,290

% ของจํานวน หุนทั้งหมด 20.04% 16.63% 16.34% 16.07% 4.73% 1.83% 1.44% 1.44% 1.23% 1.22% 80.96%

หมายเหตุ * คุณสมพงษ เผอิญโชค ถือหุนจํานวน 92,232,825 หุน และคุณแกวเกา เผอิญโชค (คูสมรส) ถือหุนจํานวน 2,700,000 หุน

โครงสร างการจัดการ โครงสรางคณะกรรมการบริษัท บริ ษั ท ฯ มี ค ณะกรรมการทั้ ง สิ้ น 5 ชุ ด ได แ ก คณะกรรมการบริ ษั ท , คณะกรรมการตรวจสอบและบรรษั ท ภิ บ าล, คณะกรรมการบริหาร, คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง และคณะกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน โดยมีขอบเขตอํานาจ หนาที่ของคณะกรรมการแตละชุดดังนี้ 1) ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริษัท 1. ปฏิบัติหนาที่ใหเปนไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค และขอบังคับบริษัท ตลอดจนมติของที่ประชุมผูถือหุนที่ชอบดวย กฎหมายดวยความซื่อสัตยสุจริตและระมัดระวังรักษาผลประโยชนของบริษัทฯ

30 รายงานประจ�ำปี 2557


2. จัดใหมีการประชุมผูถือหุนอยางนอยปละครั้ง เพื่อรายงานผลการดําเนินงานของบริษัทใหผูถือหุนรับทราบ และอนุมัติเพื่อ ขอมติตาง ๆ จากที่ประชุมผูถือหุนในเรื่องที่อยูนอกเหนืออํานาจหนาที่ของคณะกรรมการ 3. จัดใหมีการประชุมคณะกรรมการบริษัทอยางนอย 3 เดือนตอครั้ง 4. จัดใหมีการควบคุม กํากับดูแลใหการรายงานขอมูลทางการเงินและขอมูลอื่นๆ ตอผูถือหุนเปนไปโดยถูกตองครบถวน และโปรงใส 5. จัดใหบริษัทมีระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในที่มปี ระสิทธิภาพ 6. พิจารณาตัดสินในเรื่องที่มีสาระสําคัญ เชน นโยบายและแผนธุรกิจ อํานาจการบริหาร โครงการลงทุนขนาดใหญ รายการ ที่เกี่ยวโยงกัน และการไดมาหรือจําหนายไปซึ่งสินทรัพยของบริษัทจดทะเบียน ตามขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทย และรายการอื่นใดที่กฎหมายกําหนด 7. กํากับดูแลกิจการใหมีการปฏิบัติงานอยางมีจริยธรรม 8. คณะกรรมการบริษัทอาจมอบหมายใหกรรมการคนหนึ่งหรือหลายคน หรือบุคคลอื่นใดปฏิบัติการอยางใดอยางหนึ่งแทน คณะกรรมการบริษัทไดโดยมีอํานาจหนาที่ตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย 9. คณะกรรมการบริษัทมีอํานาจพิจารณากําหนด และแกไขเปลี่ยนแปลงชื่อกรรมการซึ่งมีอํานาจลงลายมือชื่อผูกพันบริษทั ฯ ในการทํานิติกรรมตาง ๆ แทนบริษัทฯ 10. พิจารณาการจายปนผลระหวางกาลใหกับผูถือหุน 11. กําหนดนโยบาย และทิศทางการดําเนินงานของบริษัท และกํากับดูแลใหฝายบริหารดําเนินการใหเปนไปตามนโยบายที่ กําหนดไวอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อเพิ่มมูลคาทางเศรษฐกิจสูงสุดแกผูถือหุนและการเติบโตอยางยั่งยืน 12. ใหคําปรึกษาแกกรรมการผูจัดการในการบริหารงาน และการตัดสินใจในเรื่องที่อาจมีผลกระทบตอบริษัท 13. ดูแลไมใหเกิดปญหาความขัดแยงทางผลประโยชนระหวางผูมสี วนไดเสียของบริษัทฯ ทั้งนี้ ขอบเขตอํานาจหนาที่ดังกลาวตองไมรวมถึง 1. เรื่องที่กฎหมายกําหนดใหตองใชมติที่ประชุมผูถือหุน เชน การลดทุน การเพิ่มทุน การแกไขหนังสือบริคณห สนธิ หรือขอบังคับของบริษัท เปนตน 2. การทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน ละการไดมาหรือจําหนายไปซึ่งสินทรัพยของบริษัทจดทะเบียน ตามขอกําหนด ของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ที่เขาเกณฑตองขออนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุน 3. การทํารายการที่กรรมการอาจมีสวนไดเสียหรือมีความขัดแยงทางผลประโยชน ซึ่งตองไดรับอนุมัติจากที่ ประชุมผูถือหุน

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 31


2) ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการตรวจสอบและบรรษัทภิบาล

1. สอบทานใหบริษัทมีการรายงานทางการเงินอยางถูกตองเพียงพอ 2. สอบทานใหบริษัทมีระบบการควบคุมภายใน และระบบการตรวจสอบภายในที่เหมาะสม มีประสิทธิผล และพิจารณา ความเปนอิสระของหนวยงานตรวจสอบภายใจ ตลอดจนใหความเห็นชอบในการพิจารณาแตงตั้ง โยกยาย เลิกจาง หัวหนาหนวยงานตรวจสอบภายใน

3. สอบทานใหบริษัทปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพย และ กฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัท

4. พิจารณา คัดเลือก ทบทวนและเสนอแตงตั้งบุคคลซึ่งมีความอิสระเพื่อทําหนาที่เปนผูสอบบัญชีของบริษัท และเสนอคา สอบของบุคคลดังกลาว รวมทั้งเขารวมประชุมกับผูสอบบัญชี โดยไมมีฝายจัดการเขารวมประชุมดวยอยางนอยปละ 1 ครั้ง

5. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน ใหเปนไปตามกฎหมายและขอกําหนด ของตลาดหลักทรัพย ทั้งนี้ เพื่อใหมั่นใจวารายการดังกลาวสมเหตุสมผลและเปนประโยชนสูงสุดตอบริษัท

6. จัดทํารายงานคณะกรรมการตรวจสอบและบรรษัทภิบาล โดยเปดเผยไวในรายงานประจําปของบริษัท ซึ่งรายงาน ดังกลาวตองลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบและบรรษัทภิบาล

7. เสนอและทบทวนนโยบายเกี่ยวกับหลักบรรษัทภิบาลและความรับผิดชอบตอสังคมของบริษัทและบริษัทในเครือตอ คณะกรรมการบริษัท เพื่อใชเปนหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี

8. กํากับดูแลการปฏิบัติงานของบริษัทใหเปนไปตามหลักบรรษัทภิบาลของบริษัท และขอกําหนดของคณะกรรมการกํากับ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

9. พิจารณาทบทวนเกีย่ วกับนโยบายดานบรรษัทภิบาลและความรับผิดชอบตอสังคมอยางสม่ําเสมอ 10. สงเสริมการเผยแพรวัฒนธรรมในการกํากับดูแลกิจการที่ดี และการมีสวนรวมในการดําเนินกิจกรรมเพื่อสังคม เพื่อการ พัฒนาที่ยั่งยืนใหเปนที่เขาใจทั่วทุกระดับและมีผลในทางปฏิบัติ

11. ประเมินผลการปฏิบัติตามหลักบรรษัทภิบาลและความรับผิดชอบตอสังคมตามที่บริษัทกําหนด 12. จัดใหมีการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบและบรรษัทภิบาล เพื่อติดตามผลการปฏิบัติตามหลักบรรษัทภิบาลของบริษัท และใหขอแนะนําเพื่อการปรับปรุงทุกไตรมาส

13. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมายดวยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบและบรรษัทภิบาล

32 รายงานประจ�ำปี 2557


3) ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริหาร

1. ควบคุม ดูแลการดําเนินธุรกิจทั่วไปของบริษัท และปฏิบัติภารกิจที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทใหบรรลุ วัตถุประสงค

2. กํากับ ติดตาม ดูแลนโยบาย และแผนงานตาง ๆ ใหฝายบริหารปฏิบัติงานที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมายใหสําเร็จลุลวง 3. พิจารณากลั่นกรองอนุมัติกิจการสําคัญเรงดวนภายในขอบเขตอํานาจหนาที่และวงเงินที่คณะกรรมการบริษัทกําหนดไว (ไมเกิน 400 ลานบาท)

4. กําหนดนโยบายทางการเงิน และควบคุม ดูแลการบริหารงานดานการเงินใหมีประสิทธิภาพสูงสุด รวมทั้งการทําธุรกรรม ทั้งหมดกับสถาบันการเงิน

5. พิจารณาอนุมัติธุรกรรมภายใตกรอบธุรกิจของบริษัท 6. ภารกิจอื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย ทั้งนี้ ขอบเขตอํานาจหนาที่ดังกลาวตองไมรวมถึง การอนุมัติใหทํารายการที่คณะกรรมการบริหาร หรือบุคคลที่ อาจมีความขัดแยงมีสวนไดเสียหรือมีความขัดแยงทางผลประโยชน การทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน และการไดมาหรือ จําหนายไปซึ่งสินทรัพยของบริษัทจดทะเบียน ตามขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 4) ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 1. กําหนดนโยบายและกรอบการบริหารความเสี่ยงโดยรวมของบริษัท โดยใหครอบคลุมความเสี่ยงตาง ๆ ที่อาจมีผลกระทบ ตอการดําเนินงาน และชื่อเสียงของบริษัท 2. วางกลยุทธใหสอดคลองกับนโยบายการบริหารความเสี่ยงโดยรวมของบริษัท โดยใหสามารถประเมินติดตามและดูแล ปริมาณความเสี่ยงของบริษัทใหอยูในระดับที่เหมาะสมรวมทั้งการสรางระบบการเตือนภัยลวงหนา 3. ทบทวนความเพียงพอของนโยบาย ระบบการบริหารความเสี่ยง ความมีประสิทธิผลของระบบและการปฏิบัติตามนโยบาย ดังกลาวอยางตอเนื่อง เพื่อปรับปรุงการบริหารความเสี่ยงโดยรวมของบริษัทใหเปนไปดวยความรอบคอบ รัดกุม และมี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 4. มีอํานาจในการแตงตั้งและกําหนดบทบาทหนาที่ของคณะอนุกรรมการ/คณะทํางานในการบริหารความเสี่ยงแตละประเภท ของบริษัทไดตามความเหมาะสม โดยใหคณะอนุกรรมการชุดตางๆ ที่ตั้งขึ้นรายงานตรงตอคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 5. มีอํานาจเรียกเอกสาร ขอมูล และบุคคลที่เกี่ยวของมาชี้แจงขอเท็จจริงประกอบการพิจารณา เพื่อใหการดําเนินงานบรรลุ วัตถุประสงค 6. สื่อสารกับคณะกรรมการตรวจสอบและบรรษัทภิบาล เพื่อใหระบบการบริหารความเสี่ยง เชื่อมโยงกับการควบคุม ภายใน และสอดคลองกับนโยบายและกลยุทธที่กําหนด 7. รายงานความเสี่ยง และการจัดการความเสี่ยงตอคณะกรรมการบริษัท

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 33


5) ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน 1. ดําเนินการสรรหาผูที่มีคุณสมบัติเหมาะสมในการดํารงตําแหนงกรรมการบริษัท อยางมีหลักเกณฑ โปรงใส รวมทั้งจากรายชื่อที่ ผูถือหุนเสนอแนะ (ถามี) เพื่อนําเสนอตอคณะกรรมการบริษัท 2. ดําเนินการสรรหาผูที่มีคุณสมบัติเหมาะสมในการดํารงตําแหนงประธานกรรมการบริหาร และกรรมการผูจัดการ ในกรณีท่ีมี ตําแหนงวาง เพื่อนําเสนอตอคณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ รวมทั้งแผนการสืบทอดตําแหนงผูบริหารระดับสูง 3. กําหนดนโยบาย วิธีการ และหลักเกณฑการกําหนคาตอบแทนใหกรรมการ ประธานกรรมการบริหาร และกรรมการ ผูจัดการ ที่เปนธรรมและสมเหตุสมผลเชื่อมโยงกับผลการดําเนินงานของบริษัทและผลการปฏิบัติงานของแตละทาน 4. พิจารณา ทบทวน และเสนอความเห็นในการกําหนดคาตอบแทนใหกรรมการ ประธานกรรมการบริหาร และกรรมการ ผูจัดการ 5. นําเสนอรายงาน และความคิดเห็นของคณะกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน ใหคณะกรรมการบริษัทพิจารณา 6. ภารกิจอื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย รายชื่อคณะกรรมการบริษัท

1) คณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทมีกรรมการรวม 9 ทาน ดังนี้ ตําแหนง

ชื่อ-สกุล 1

ดร. ปราณี

เผอิญโชค

ประธานกรรมการ

2

นายปรีชา

อรรถวิภัชน

กรรมการอิสระ และรองประธานกรรมการ

3

นายสมพงษ

เผอิญโชค

กรรมการ

4

นางสาวแกวใจ

เผอิญโชค

กรรมการ

5

นายวุฒิชัย

เผอิญโชค

กรรมการ

6

นายถาวร

ชลัษเฐียร*

กรรมการอิสระ

7

นายสุเวทย

ธีรวชิรกุล

กรรมการอิสระ

8

นายสมเกียรติ

นิ่มระวี

กรรมการอิสระ

9

นายดําริ

ตันชีวะวงศ

กรรมการอิสระ

โดยมีนายศักดิ์ชัย คมกฤส เปนเลขานุการคณะกรรมการบริษัท และเลขานุการบริษัท หมายเหตุ * นายถาวร ชลัษเฐียร ไดรับการแตงตั้งใหเปนกรรมการอิสระ ตั้งแตวันที่ 24 กุมภาพันธ 2558

34 รายงานประจ�ำปี 2557


องคประชุมในการประชุมคณะกรรมการบริษัท มีดังนี้ -

องคประชุมประกอบดวยกรรมการ ไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมด

-

ตัดสินดวยคะแนนเสียงขางมากของกรรมการที่มาประชุม กรรมการคนหนึ่งมีหนึ่งเสียง

-

ในการประชุมสามัญประจําปทุกครั้ง กรรมการจะตองออกจากตําแหนง อยางนอยจํานวนหนึ่งใน สาม (1/3) โดยอัตรา ถาจํานวนกรรมการจะแบงออกใหเปนสามสวนไมได ก็ใหออกโดยจํานวน ใกลเคียงที่สุดกับสวนหนึ่งในสาม (1/3) โดยใหกรรมการที่อยูในตําแหนงนานที่สุดเปนผูออกจาก ตําแหนง

2) คณะกรรมการตรวจสอบและบรรษัทภิบาล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทฯ มีคณะกรรมการตรวจสอบและบรรษัทภิบาล ซึ่งมีกรรมการรวม 3 ทาน ทุกทานเปนกรรมการที่ เปนอิสระ โดยมีรายชื่อ ดังนี้ ชื่อ-สกุล

ตําแหนง

1. นายปรีชา

อรรถวิภัชน

ประธานกรรมการตรวจสอบและบรรษัทภิบาล

2. นายสุเวทย

ธีรวชิรกุล/1

กรรมการตรวจสอบและบรรษัทภิบาล

3. นายสมเกียรติ

นิ่มระวี

กรรมการตรวจสอบและบรรษัทภิบาล

โดยมีนายอนุชา สินสวัสดิ/2์ เปนเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบและบรรษัทภิบาล หมายเหตุ

/1

นายสุเวทย ธีรวชิรกุล เปนกรรมการผูมีความรูและประสบการณในการสอบทานงบการเงินของ บริษัท /2

นายอนุชา สินสวัสดิ์ ไดรับการแตงตั้งใหเปนเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบและบรรษัทภิบาล ตั้งแตวันที่ 24 กุมภาพันธ 2558

โดยคณะกรรมการตรวจสอบและบรรษัทภิบาล -

มีวาระการดํารงตําแหนงคราวละ 2 ป

-

องคประชุมประกอบดวยกรรมการ ไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการตรวจสอบและบรรษัทภิบาล

-

มติที่ประชุม ไมนอยกวากึ่งหนึ่งของกรรมการที่เขารวมประชุม

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 35


3) คณะกรรมการบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทฯ มีคณะกรรมการบริหารรวม 4 ทาน ดังนี้ ชื่อ-สกุล

ตําแหนง

1. ดร. ปราณี

เผอิญโชค

ประธานกรรมการบริหาร

2. นายสมพงษ

เผอิญโชค

กรรมการผูจดั การใหญ

3. นางสาวแกวใจ

เผอิญโชค

กรรมการบริหาร

4. นายวุฒิชัย

เผอิญโชค

กรรมการบริหาร

โดยมีนายศักดิ์ชัย คมกฤส

เปนเลขานุการคณะกรรมการบริหาร

โดยคณะกรรมการบริหาร -

มีวาระการดํารงตําแหนงคราวละ 3 ป และหากกรรมการบริษัททานใดที่ครบกําหนดวาระ และไดรับการ อนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุนใหกลับเขาดํารงตําแหนงกรรมการบริษัทอีกวาระหนึ่ง ก็ใหถือวาไดรับการ อนุมัติใหดํารงตําแหนงกรรมการบริหารตอไปโดยปริยาย

-

องคประชุมประกอบดวยกรรมการ ไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการบริหาร

-

มติที่ประชุม ไมนอยกวากึ่งหนึ่งของกรรมการที่เขารวมประชุม

4) คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทฯ มีคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงรวม 6 ทาน ดังนี้ ชื่อ-สกุล

ตําแหนง

1. นายสมพงษ

เผอิญโชค

ประธานกรรมการบริหารความเสีย่ ง

2. นายสมเกียรติ

นิ่มระวี

กรรมการบริหารความเสีย่ ง

3. นายสุเวทย

ธีรวชิรกุล

กรรมการบริหารความเสีย่ ง

4. นายถาวร

ชลัษเฐียร

กรรมการบริหารความเสีย่ ง

5. นายศักดิ์ชัย

คมกฤส

กรรมการบริหารความเสีย่ ง

6. นายภัควัฒน

สุวรรณมาโจ

กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง

โดยคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง -

มีวาระการดํารงตําแหนงคราวละ 2 ป

-

องคประชุมประกอบดวยกรรมการไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการบริหารความเสี่ยง

-

มติที่ประชุม ไมนอยกวากึ่งหนึ่งของกรรมการที่เขารวมประชุม

36 รายงานประจ�ำปี 2557


5) คณะกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทฯ มีคณะกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทนรวม 3 ทาน ทุกทานเปนกรรมการ อิสระ โดยมีรายชื่อ ดังนี้ ชื่อ-สกุล

ตําแหนง

1. นายปรีชา

อรรถวิภัชน

ประธานกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน

2. นายดําริ

ตันชีวะวงศ

กรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน

3. นายสมเกียรติ

นิ่มระวี

กรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน

โดยมีนายศักดิ์ชัย คมกฤส

เปนเลขานุการคณะกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน

โดยคณะกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน -

มีวาระการดํารงตําแหนงคราวละ 2 ป

-

องคประชุมประกอบดวยกรรมการ ไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน

-

มติที่ประชุม ไมนอยกวากึ่งหนึ่งของกรรมการที่เขารวมประชุม

กรรมการผูมีอํานาจลงนามแทนบริษัทฯ กรรมการผูมีอํานาจลงลายมือชื่อผูกพันบริษัทฯ ตามที่ระบุในหนังสือรับรองของบริษัทฯ เปนดังนี้ 1. นางปราณี

เผอิญโชค หรือ

2. นายสมพงษ

เผอิญโชค หรือ

3. นางสาวแกวใจ

เผอิญโชค หรือ

4. นายวุฒิชัย

เผอิญโชค

คนใดคนหนึ่งลงลายมือชื่อ และประทับตราสําคัญของบริษัทฯ หลักเกณฑการคัดเลือกกรรมการอิสระ กระบวนการคัดเลือกกรรมการอิสระ สามารถดูไดจากหัวขอ “หลักเกณฑการสรรหากรรมการและผูบริหาร” ทั้งนี้กรรมการ อิสระจะตองมีคุณสมบัติตามนิยามกรรมการอิสระของบริษัท ซึ่งเปนไปตามขอกําหนดขั้นต่ําของสํานักงาน กํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ดังนี้

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 37


นิยาม “กรรมการอิสระ” ของบริษัท ไทยรุงยูเนี่ยนคาร จํากัด (มหาชน)

1. ถือหุนไมเกินรอยละ 1 ของจํานวนหุนที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแยง โดยนับรวมหุนที่ถือโดยผูที่เกี่ยวของตามมาตรา 258 แหงพ.ร.บ. หลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย

2. ไมเปนกรรมการที่มีสวนรวมบริหารงาน/พนักงาน/ลูกจาง/ที่ปรึกษาที่รับเงินเดือนประจํา/ผูมีอํานาจควบคุม ของบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทยอยลําดับเดียวกัน หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแยง (ปจจุบัน และ 2 ปกอน ไดรับการแตงตั้ง)

3. ไมมีความสัมพันธทางธุรกิจกับบริษัท 3.1 ไมเปนผูสอบบัญชีของบริษัท 3.2 ไมเปนผูใหบริการทางวิชาชีพอื่น ๆ เชน ที่ปรึกษากฎหมาย ที่ปรึกษาทางการเงิน ผูประเมินราคาทรัพยสิน เปนตน ที่มีมูลคารายการ > 2 ลานบาทตอป 3.3 ไมมีรายการเกี่ยวโยงกันที่เปนธุรกรรมปกติ รายการเชา/ใหเชาอสังหาริมทรัพย รายการเกี่ยวกับสินทรัพย/ บริการ และรายการใหหรือรับความชวยเหลือทางการเงิน ที่มีมูลคารายการ > 20 ลานบาท หรือ > 3% ของสินทรัพยที่มี ตัว ตนสุท ธิ (NTA) แลว แตจํา นวนใดจะต่ํา กวา โดยนับ รวมรายการที่เ กิด ขึ้น ในระหวา ง 1 ปกอ นวัน ที่มีก ารทํา รายการดวย ทั้งนี้ตองไมมีความสัมพันธทางธุรกิจตามขอ 3.1-3.3 ในปจจุบันและ 2 ปกอนไดรับการแตงตั้ง เวนแตกรณีมี เหตุจํา เปน และสมควร ซึ่ง มิไ ดเ กิด ขึ้น อยา งสม่ํา เสมอและตอ เนื่อ ง กรรมการอิส ระ/กรรมการตรวจสอบอาจมี ความสัม พันธเกิน ระดับนัย สําคัญที่กําหนดในระหวางดํา รงตําแหนงก็ได แตตองไดรับ มติอ นุมัติเปน เอกฉันทจาก คณะกรรมการบริษัทกอ น และบริษัทตอ งเปด เผยความสัม พัน ธดัง กลา วของกรรมการรายนั้น ไวในแบบ Filing แบบ 56-1 รายงานประจําป และหนังสือนัดประชุม ผูถือหุน ในกรณีจะเสนอผูถือหุนเพื่อตอวาระแกกรรมการ อิสระ/กรรมการตรวจสอบรายนั้นอีก

4. ไมมีความสัมพันธทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนในลักษณะที่เปนบิดา มารดา คูสมรส พี่นอง และบุตร รวมทั้งคู สมรสของบุตรกับผูบริหาร ผูถือหุนรายใหญ ผูมีอํานาจควบคุม หรือบุคคลที่จะไดรับการเสนอใหเปนผูบริหาร หรือผูมี อํานาจควบคุมบริษัทหรือบริษัทยอย

5. ไมเปนกรรมการที่ไดรับแตงตั้งขึ้น เพื่อเปนตัวแทนของกรรมการของบริษัท ผูถือหุนรายใหญ หรือผูถือหุนซึ่งเปนผูเกี่ยวของ กับผูถือหุนรายใหญ

6. ไมมีลักษณะอื่นใดที่ทําใหไมสามารถใหความเปนอยางเปนอิสระได 7. กรรมการอิสระที่มีคุณสมบัติตามขอ 1-6 ขางตน อาจไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทใหตัดสินใจในการดําเนิน กิจการของบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทยอยลําดับเดียวกัน หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแยง โดยมีการ ตัดสินใจในรูปแบบองคคณะ (Collective decision) ได

38 รายงานประจ�ำปี 2557


จํานวนครั้งของการประชุมคณะกรรมการ และจํานวนครั้งที่กรรมการแตละทานเขารวมประชุม จํานวนครั้งของการประชุมและจํานวนครั้งที่กรรมการแตละทานเขารวมประชุมในป 2557 ของคณะกรรมการบริษัท การประชุมคณะกรรมการชุดยอยตาง ๆ และการประชุมผูถือหุน สรุปไดดังนี้ การเขารวมประชุม /การประชุมทั้งหมด (ครั้ง)

รายชื่อคณะกรรมการ

คณะกรรมการ คณะกรรมการ บริษัท

บริหาร

คณะกรรมการ ตรวจสอบและ บรรษัทภิบาล

คณะกรรมการ สรรหาและ กําหนด คาตอบแทน

คณะกรรมการ บริหารความ เสี่ยง

การประชุม ผูถือหุน

1 ดร.ปราณี

เผอิญโชค

5/6

3/3

-

-

-

1/1

2 คุณสมพงษ

เผอิญโชค

6/6

3/3

-

-

4/4

1/1

3 คุณแกวใจ

เผอิญโชค

6/6

3/3

-

-

-

1/1

4 คุณวุฒิชัย

เผอิญโชค

5/6

3/3

-

-

-

1/1

5 คุณปรีชา

อรรถวิภัชน

6/6

-

4/4

2/2

-

1/1

6 คุณสมเกียรติ นิ่มระวี

6/6

-

4/4

1/2

4/4

1/1

7 คุณถาวร

ชลัษเฐียร

6/6

-

-

-

4/4

1/1

8 คุณดําริ

ตันชีวะวงศ

4/6

-

-

1/2

-

0/1

9 คุณสุเวทย

ธีรวชิรกุล

6/6

-

4/4

-

4/4

1/1

10 คุณศักดิ์ชัย

คมกฤส

6/6

3/3

-

2/2

4/4

1/1

11 คุณภัควัฒน

สุวรรณมาโจ

-

-

4/4

-

4/4

-

รายชื่อผูบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทฯ มีผูบริหารตามนิยามของสํานักงาน กลต. ดังนี้ ชื่อ-สกุล

ตําแหนง

1. ดร. ปราณี

เผอิญโชค

ประธานกรรมการบริหาร

2. นายสมพงษ

เผอิญโชค

กรรมการผูจดั การใหญ

3. นายทาคาชิ

ทาจิมะ

รองกรรมการผูจดั การใหญอาวุโส

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 39


4. นายวุฒิชัย

เผอิญโชค

ผูชวยกรรมการผูจ ัดการใหญ สายงานวิจัยและพัฒนา

5. นายศักดิ์ชัย

คมกฤส

ผูชวยกรรมการผูจ ัดการใหญ สายงานบริหาร และเลขานุการบริษัท

6. นาย ลิม วี เอิน

ผูชวยกรรมการผูจ ัดการใหญ ฝายขายตางประเทศ

อํานาจหนาที่ของกรรมการผูจัดการใหญ

1. ควบคุม ดูแลการดําเนินธุรกิจทั่วไปของบริษัท และปฏิบัติภารกิจที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการ บริษัท หรือ คณะกรรมการบริหาร ใหบรรลุวัตถุประสงค

2. กํ า กั บ ติ ด ตาม ดู แ ลนโยบาย และแผนงานต า งๆ ให ฝ า ยบริ ห ารปฏิ บั ติ ง านที่ ค ณะกรรมการบริ ษั ท หรื อ คณะกรรมการบริหาร มอบหมายใหสําเร็จลุลวง 2. พิจารณากลั่นกรอง อนุมัติกิจการสําคัญเรงดวนภายในขอบเขตอํานาจหนาที่และวงเงินที่คณะกรรมการบริษัท กําหนดไว (ไมเกิน 200 ลานบาท) 3. ควบคุม และดูแลการบริหารงานดานการเงินใหเปนไปตามนโยบายทางการเงินอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด รวมทั้งการทํา ธุรกรรมกับสถาบันการเงิน ตามที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท หรือคณะกรรมการบริหาร 4. พิจารณาอนุมัติธุรกรรมภายใตกรอบธุรกิจของบริษัท 5. ภารกิจอื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการบริษัท หรือคณะกรรมการบริหารมอบหมาย ทั้งนี้ ขอบเขตอํานาจหนาที่ดังกลาวตองไมรวมถึง การอนุมัติใหทํารายการที่กรรมการผูจัดการใหญ หรือบุคคลที่ อาจมีความขัดแยงมีสวนไดเสียหรือมีความขัดแยงทางผลประโยชน การทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน และการไดมาหรือจําหนาย ไปซึ่งสินทรัพยของบริษัทจดทะเบียน ตามขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

40 รายงานประจ�ำปี 2557


TO BE AT THE PINNACLE OF THE THAI AUTO INDUSTRY, DEVLOPING, DESIGNING AND PRODUCING A COMPREHENSIVE RANG OF PRODUCTS; WITH OUR OWN BRAND, TO BUILD OPTIMUM CUSTOMER SATISFACTION THROUGH WORLD-CLASS QUALITY AND SERVICE. บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 41


ผังการจัดองค์กรบริหาร

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน)

คณะกรรมการบริษัท

คณะกรรมการตรวจสอบ และบรรษัทภิบาล

คณะกรรมการบริหาร

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

ประธานกรรมการบริหาร กรรมการผู้จัดการใหญ่ คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม (คปอ.)

สายงานธุรกิจ

สายงานบริหาร

สายงานขายและการตลาด และพัฒนาธุรกิจ

ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ ด้านธุรกิจ

ด้านทรัพยากรบุคคล

ด้านขายและการตลาด

ฝ่ายจัดหา

ฝ่ายทรัพยากรบุคคล

ฝ่ายขาย OEM และ ขายต่างประเทศ

ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ

ฝ่ายฝึกอบรมและพัฒนา บุคคลากร

ฝ่ายขายและการตลาด

ฝ่ายบัญชี และการเงิน

ฝ่ายธุรการ

ฝ่ายตรวจสอบ ภายใน และระบบงาน

42 รายงานประจ�ำปี 2557


เลขานุการบริษัท

คณะกรรมการสรรหา และก�ำหนดค่าตอบแทน

ผู้ช่วยกรรมการ ผู้จัดการใหญ่

สายงานอุตสาหกรรม

ด้านขายและการตลาด กลุ่มปรับปรุง การเพิ่มผลผลิต ฝ่ายส�ำนัก กรรมการผู้จัดการ

ฝ่ายวิจัยและพัฒนา

ฝ่ายวางแผนและ ควบคุมการผลิต ฝ่ายประกันคุณภาพ ฝ่ายการผลิต ฝ่ายวิศวกรรมการผลิต ฝ่ายวิศวกรรมโรงงาน ฝ่ายผลิตชิ้นส่วน

"ณ วันที่ 1 มีนาคม 2558"

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 43


ความสั ความสัมมพัพันนธธททางธุ างธุรรกิกิจจหรื หรืออการให การใหบบริริกการทางวิ ารทางวิชชาชี าชีพพระหว ระหวาางกรรมการอิ งกรรมการอิสสระกั ระกับบบริ บริษษัทัทฯฯ ในระหว ในระหวาางป งป 2557 2557 กรรมการอิ กรรมการอิสสระไม ระไมมมีคีความสั วามสัมมพัพันนธธททางธุ างธุรรกิกิจจหรื หรืออการให การใหบบริริกการทางวิ ารทางวิชชาชี าชีพพกักับบบริ บริษษั​ัทท บริ บริษษั​ัททยยออยย บริ บริษษั​ัทท รรววมม หรื คลที่อ่อาจมี หรืออนินิตติบิบุคุคคลที าจมีคความขั วามขัดดแย แยงง ทีที่ม่มีมีมูลูลคคาาเกิ เกินนกว กวาาทีที่ก่กําําหนดไว หนดไวใในประกาศว นประกาศวาาดดววยการขออนุ ยการขออนุญ ญาตและการอนุ าตและการอนุญ ญาตให าตใหเเสนอขาย สนอขาย หุหุนนทีที่อ่ออกใหม อกใหม ของสํ ของสําานันักกงานกลต. งานกลต. หลั หลักกเกณฑ เกณฑกการสรรหากรรมการ ารสรรหากรรมการ และผู และผูบบริริหหาร าร บริ บริษษั​ัททฯฯ ได ไดแแตตงงตัตั้​้งงคณะกรรมการสรรหาและกํ คณะกรรมการสรรหาและกําาหนดค หนดคาาตอบแทน ตอบแทน (Nomination (Nomination and and Remuneration Remuneration Committee) Committee) เมื เมื่​่ออ วัวันนทีที่​่ 13 13 สิสิงงหาคม หาคม 2552 2552 โดยมอบหมายอํ โดยมอบหมายอําานาจหน นาจหนาาทีที่​่ขของกรรมการสรรหาเพิ องกรรมการสรรหาเพิ่​่มมเติ เติมมให ใหแแกกคคณะอนุ ณะอนุกกรรมการกํ รรมการกําาหนดค หนดคาาตอบแทนชุ ตอบแทนชุดดเดิ เดิมม (รายละเอี ยย ดขอบเขต ดขอบเขต อํอํ าา นาจ นาจ หน หน าา ทีที่​่ ขข องคณะกรรมการสรรหาและกํ องคณะกรรมการสรรหาและกํ าา หนดค หนดค าา ตอบแทน ตอบแทน ดูดู ไไ ดด จจ ากหั ากหั วว ขข ออ “โครงสร “โครงสร าา งของ งของ (รายละเอี คณะกรรมการบริ คณะกรรมการบริษษัทัท”) ”) โดยในกระบวนการคั โดยในกระบวนการคัดดเลื เลืออกบุ กบุคคคลที คลที่จ่จะได ะไดรรับับการแต การแตงงตัตั้ง้งเป เปนนกรรมการ กรรมการ กรรมการอิ กรรมการอิสสระและผู ระและผูบบริริหหารของบริ ารของบริษษั​ัททฯฯ จะพิ จะพิจจารณาจาก ารณาจาก คุคุณ ณสมบั สมบัตติ​ิหหลากหลายทั ลากหลายทั้​้งงในด ในดาานทั นทักกษะ ษะ ประสบการณ ประสบการณ ความสามารถเฉพาะด ความสามารถเฉพาะดาานที นที่​่เเปปนนประโยชน ประโยชนสสู​ูงงสุสุดดกักับบบริ บริษษั​ัทท มีมีคความซื วามซื่​่ออสัสัตตยยเเปปนน ธรรมต ธรรมตออผูผูถถือือหุหุนน กรณี กรณีกกรรมการอิ รรมการอิสสระ ระ จะต จะตอองมี งมีคคุ​ุณ ณสมบั สมบัตติ​ิตตามนิ ามนิยยามกรรมการอิ ามกรรมการอิสสระของบริ ระของบริษษั​ัทท ซึซึ่​่งงเป เปนนไปตามข ไปตามขออกํกําาหนดขั หนดขั้​้นนต่ต่ํ​ําาของ ของ สํสําานันักกงานกํ งานกําากักับบหลั หลักกทรั ทรัพพยยแและตลาดหลั ละตลาดหลักกทรั ทรัพพยย (รายละเอี (รายละเอียยดนิ ดนิยยามกรรมการอิ ามกรรมการอิสสระของบริ ระของบริษษั​ัทท ดูดูไไดดจจากหั ากหัววขขออ “หลั “หลักกเกณฑ เกณฑกการ าร เลืออกกรรมการอิ กกรรมการอิสสระ”) ระ”) ทัทั้ง้งนีนี้ไ้ไมมคควรดํ วรดําารงตํ รงตําาแหน แหนงงกรรมการในบริ กรรมการในบริษษั​ัททจดทะเบี จดทะเบียยนหลายแห นหลายแหงงในขณะเดี ในขณะเดียยวกั วกันน เพื เพื่​่ออให ใหสสามารถอุ ามารถอุททิ​ิศศ คัคัดดเลื เวลาในการเข เวลาในการเขาาประชุ ประชุมมคณะกรรมการได คณะกรรมการไดออยยาางสม่ งสม่ําําเสมอ เสมอ และไม และไมมมีลีลักักษณะต ษณะตอองห งหาามตามพระราชบั มตามพระราชบัญ ญญั ญัตติบิบริริษษัทัทมหาชนจํ มหาชนจําากักัดด ทัทั้​้งงนีนี้​้ บริ บริษษั​ัททฯฯ ได ไดเเปปดดโอกาสให โอกาสใหผผููถถื​ืออหุหุนนสามารถเสนอชื สามารถเสนอชื่​่ออบุบุคคคลที คลที่​่เเหมาะสมเพื หมาะสมเพื่​่ออเข เขาารัรับบการพิ การพิจจารณาแต ารณาแตงงตัตั้​้งงเป เปนนกรรมการ กรรมการ บริ บริษษั​ัททลลววงหน งหนาา ตามหลั ตามหลักกเกณฑ เกณฑทที่ี่บบริริษษั​ัททฯฯ กํกําาหนดและประกาศให หนดและประกาศใหททราบผ ราบผาานช นชอองทางของตลาดหลั งทางของตลาดหลักกทรั ทรัพพยยฯฯ และเว็ และเว็บบไซต ไซตขของบริ องบริษษั​ัทท เพื เพื่​่ออให ใหคคณะกรรมการสรรหาและกํ ณะกรรมการสรรหาและกํ าาหนดค หนดคาาตอบแทน ตอบแทน เป เปนนผูผู พพิ​ิจจารณาคุ ารณาคุ ณ ณ สมบั สมบัตติ​ิขข องบุ องบุคค คลที คลที่​่ จจะได ะไดรรั​ับบการแต การแตงงตัตั้​้ งงเป เปนนกรรมการ กรรมการ กรรมการอิ กรรมการอิสสระของบริ ระของบริษษัทัทฯฯ ในเบื ในเบื้อ้องต งตนน และจะคั และจะคัดดเลื เลืออกก เพื เพื่อ่อนํนําาเสนอรายชื เสนอรายชื่อ่อกรรมการที กรรมการที่เ่เหมาะสม หมาะสม ให ใหคคณะกรรมการบริ ณะกรรมการบริษษั​ัททพิพิจจารณาก ารณากออนน เสนอที่​่ปประชุ ระชุมมผูผูถถื​ืออหุหุนนเพื เพื่​่ออเป เปนนผูผูพพิ​ิจจารณาอนุ ารณาอนุมมั​ัตติ​ิแแตตงงตัตั้​้งงโดยใช โดยใชเเสีสียยงข งขาางมากของผู งมากของผูถถื​ืออหุหุนนทีที่​่มมาประชุ าประชุมมและมี และมีสสิ​ิททธิธิอออกเสี อกเสียยงง ตาม ตาม นํนําาเสนอที หลั หลักกเกณฑ เกณฑแและวิ ละวิธธีกีการดั ารดังงตตออไปนี ไปนี้​้ (1) ผูผูถถือือหุหุนนคนหนึ คนหนึ่ง่งมีมีคคะแนนเสี ะแนนเสียยงเท งเทาากักับบหนึ หนึ่ง่งหุหุนนตตออหนึ หนึ่ง่งเสี เสียยงง (1) (2) ผูผูถถอื​ือหุหุนนแต แตลละคนจะต ะคนจะตอองใช งใชคคะแนนเสี ะแนนเสียยงที งที่ม่มีอีอยูยูททั้งั้งหมดตาม หมดตาม (1) (1) เลื เลืออกตั กตั้​้งงบุบุคคคลคนเดี คลคนเดียยวหรื วหรืออหลายคนเป หลายคนเปนนกรรมการก็ กรรมการก็ (2) ได แต แตจจะแบ ะแบงงคะแนนเสี คะแนนเสียยงให งใหแแกกผผูใูใดมากน ดมากนออยเพี ยเพียยงใดไม งใดไมไไดด ได (3) บุบุคคคลซึ คลซึ่ง่งได ไดรรับับคะแนนเสี คะแนนเสียยงสู งสูงงสุสุดดตามลํ ตามลําาดัดับบลงมาเป ลงมาเปนนผูผูไไดดรรับับการเลื การเลืออกตั กตั้ง้งเป เปนนกรรมการ กรรมการ เท เทาาจํจําานวนกรรมการที นวนกรรมการที่​่จจะพึ ะพึงง (3) จะพึงงเลื เลืออกตั กตั้​้งงในครั ในครั้​้งงนันั้​้นน ในกรณี ในกรณีทที่ี่บบุ​ุคคคลซึ คลซึ่​่งงได ไดรรั​ับบการเลื การเลืออกตั กตั้​้งงในลํ ในลําาดัดับบถัถัดดลงมามี ลงมามีคคะแนนเสี ะแนนเสียยงเท งเทาากักันน เกิ เกินน มีมีหหรืรืออจะพึ นวนกรรมการที่จ่จะพึ ะพึงงมีมีหหรืรืออจะพึ จะพึงงเลื เลืออกตั กตั้ง้งในครั ในครั้ง้งนันั้น้น ให ใหผผูเูเปปนนประธานเป ประธานเปนนผูผูอออกเสี อกเสียยงชี งชี้ข้ขาด าด จํจําานวนกรรมการที

44 รายงานประจ�ำปี 2557


คาตอบแทนกรรมการและผูบริหาร บริษัทไดกําหนดนโยบายคาตอบแทนกรรมการและผูบริหารที่สมเหตุสมผล โดยมีคณะกรรมการสรรหาและพิจารณา คาตอบแทนทําหนาที่ทบทวนและพิจารณาความเหมาะสมที่สอดคลองกับขอบเขตหนาที่ความรับผิดชอบของกรรมการ สถานะ ทางการเงินของบริษัท และเทียบเคียงกับบริษัทในกลุมธุรกิจเดียวกัน คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน

(ก) กรรมการบริษัท คาตอบแทนรวมของคณะกรรมการที่ไดรับจากบริษัทในฐานะกรรมการในรูปคาตอบแทนรายเดือน คาตอบแทนรายป และเบีย้ ประชุมกรรมการ รวม 9 ทาน ในป 2557 รวมทั้งสิ้น 5,010,000 บาท โดยคาตอบแทน แยกตามรายบุคคล เปนดังนี้ ที่

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

ชื่อกรรมการ 2 2 ดร. ปราณี นายสมพงษ กุ วใจ นางสาวแก นายวุฒมิชัย นายปรีภชา า นายสุเวทย พั นายสมเกียรติ น นายดําริ ธ นายถาวร นายกวี2

เผอิญโชค เผอิญโชค เผอิญโชค เผอิญโชค อรรถวิภัชน ธีรวชิรกุล นิ่มระวี ตันชีวะวงศ ชลัษเฐียร วสุวัต รวม

ประจําป 2557 (บาท) 700,000 630,000 570,000 520,000 755,000 460,000 460,000 455,000 460,000 -

ประจําป 2556 (บาท) 820,000 710,000 650,000 620,000 815,000 490,000 525,000 510,000 440,000 50,000

5,010,000

5,630,000

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 45


(ข) ผูบริหาร (ไมรวมกรรมการบริษัท) ป 2557

ป 2556

จํานวนราย

จํานวนเงินรวม (บาท)

จํานวน ราย

จํานวนเงินรวม (บาท)

เงินเดือน/1

7

15,358,806

7

15,408,816

คาตอบแทนประจําป/1

5

1,980,694

6

3,070,951

เงินกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ

6

669,500

7

643,022

คาตําแหนงเลขานุการบริษัท

1

84,000

1

84,000

รวม

18,093,054

19,206,789

หมายเหตุ คาตอบแทนประจําเดือน และคาตอบแทนประจําป ของประธานกรรมการบริหาร และกรรมการ ผูจัดการใหญไดผา นการพิจารณาจากคณะกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทนและอนุมัตโิ ดย คณะกรรมการบริษัทแลว คาตอบแทนอื่น ๆ (ที่ไมใชเงิน) (ก) กรรมการบริษัท -ไมม-ี (ข) ผูบริหาร ร ถประจําตําแหนง

นโยบายการจ ายเงินป นผล นโยบายการจายเงินปนผลของบริษัทฯ ที่จายใหผูถือหุน บริษัทมีนโยบายในการจายเงินปนผล ในอัตราประมาณรอยละ 40 ของกําไรสุทธิหลังหักภาษีในแตละปของงบการเงิน รวม โดยจายในปถัดไป อยางไรก็ตาม การพิจารณาจายเงินปนผลดังกลาวจะขึ้นอยูกับกระแสเงินสด และภาระการลงทุนของบริษัท และบริษัทในเครือ รวมถึงความจําเปนและความเหมาะสมอื่น ๆ ในอนาคต

46 รายงานประจ�ำปี 2557


ประวัติการจายเงินปนผลของบริษัทฯ ที่จายใหผูถือหุน หนวย : บาท ป

2553

2554

2555

2556

2557*

อัตรากําไร(ขาดทุน)สุทธิตอหุน

0.38

0.38

1.13

0.72

0.26

อัตราเงินปนผลตอหุน

0.25

0.25

0.60

0.40

0.15

อัตราการจายเงินปนผลตอกําไรสุทธิ(%)

66.05

66.10

53.15

55.68

58.15

หมายเหตุ *เงินปนผลประจําป 2557 จะตองผานการอนุมัติจากที่ประชุมสามัญผูถือหุน ประจําป 2558 กอน นโยบายการจายเงินปนผลของบริษัทยอย ที่จายใหบริษัทฯ บริษัท ไทยรุง ทูลส แอนด ไดส จํากัด, บริษัท ไทย วี.พี. ออโตเซอรวิส จํากัด, บริษัท ไทยออโต เพรสพารท จํากัด และบริษัท ไทยอัลติเมทคาร จํากัด ซึ่งเปนบริษัทยอย จะมีการพิจารณาจายเงินปนผล จากความจําเปนในการใชเงินลงทุน และตามความเหมาะสมในแตละป

ค าตอบแทนของผู สอบบัญชี (ก) คาตอบแทนจากการสอบบัญชี (Audit Fee) บริษัทและบริษัทยอย จายคาตอบแทนการสอบบัญชีใหแกผูสอบบัญชีของบริษัท เอเอ็นเอส ออดิท จํากัด ใน รอบปที่ผานมา เปรียบเทียบกับปกอน ตามรายละเอียดดังนี้ หนวย : บาท ชื่อบริษัท

2557

2556

1,102,100

1,030,000

บริษัท ไทย วี.พี. ออโตเซอรวสิ จํากัด

227,910

213,000

บริษัท ไทยรุง ทูลส แอดนด ไดส จํากัด

267,500

250,000

บริษัท ไทยออโต เพรสพรารท จํากัด

430,140

402,000

บริษัท ไทยอัลติเมทคาร จํากัด

219,350

205,000

2,247,000

2,100,000

บริษัท ไทยรุงยูเนีย่ นคาร จํากัด (มหาชน)

รวม

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 47


(ข) คาบริการอื่น (Non-Audit Fee) บริ ษั ท และบริ ษั ท ย อ ย ได จ า ยค า บริ ก ารอื่ น ให กั บ บริ ษั ท เอเอ็ น เอส ออดิ ท จํ า กั ด ในรอบป ที่ ผ า นมา เปรียบเทียบกับปกอน ดังนี้ หนวย : บาท ชื่อบริษัท

2557

2556

คาตอบแทนงานบริการอื่น*

บริษัทฯ

333,951

94,310

คาตอบแทนงานบริการอื่น*

บริษัทยอย

187,661

215,398

คาบริการตรวจสอบกรณีพิเศษตามประกาศของ BOI

บจ. ไทยออโต เพรสพารท

53,000

50,000

คาบริการตรวจสอบกรณีพิเศษตามประกาศของ BOI

บจ. ไทยรุง ทูลส แอนด ไดส

45,000

-

619,612

359,708

รวม

หมายเหตุ คาตอบแทนงานบริการอื่น เชน คาใชจายเดินทาง คาที่พัก คาโทรศัพท คาถายเอกสาร คาปกทํางบการเงิน แฟม เอกสารและอื่นๆ เปนตน ซึ่งคาใชจายดังกลาวผูสอบบัญชีจะเรียกเก็บตามที่จายจริง

48 รายงานประจ�ำปี 2557


รายการระหว่างกัน รายการระหว างกัน รายการระหวางกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยงในปที่ผานมา หน่วย : ล้านบาท บริษัทในกลุ่มไทยรุ่ง รายการระหว่างกันในปี 2557 (ที�ทํารายการ) บจ.อีซูซุ ชัยเจริญกิจมอเตอร์ ตัวแทนจําหน่ายรถ Isuzu TRU, TVS, TUC, TAP ซื�ออะไหล่และจ่ายค่าบริการซ่อมรถ จําหน่ายอะไหล่ ค่าซ่อมแซมยานพาหนะ ค่าบริการ และให้บริการหลังการขาย ค่าสาธารณูปโภค ค่าบริการจ่าย รายได้ค่าบริการ บจ.วี.พี.ออโต้ เอ็นเตอร์ไพรส์ ตัวแทนจําหน่ายรถ Ford TVS, TUC ซื�ออะไหล่และจ่ายค่าบริการซ่อมรถ จําหน่ายอะไหล่ และให้บริการหลังการขาย บจ.ไทย.วี.พี. คอร์ปอเรชั�น ให้บริการเช่ารถยนต์ TRU, TRT, TAP, TVS, ค่าซ่อมแซมยานพาหนะ ค่าบริการ ค่าเช่ารถยนต์จ่าย TUC ขายสินค้า รายได้ค่าบริการ บจ.เลกซัสออโต้ซิตี� ตัวแทนจําหน่ายรถ Lexus TRU,TUC รายได้ค่าเช่าที�ดินและพื�นที�โชว์รูม บริษัทที�เกี�ยวข้อง

ประเภทธุรกิจหลัก

หมายเหตุ บริษัท ไทยรุง ทูลส แอนด ไดส จํากัด ชื่อยอ TRT บริษัท ไทยออโต เพรสพารท จํากัด ชือ่ ยอ TAP

รายการคงค้าง 0.01 0.02 0.39 8.39 6.43

0.51 5.86 0.03 0.02 2.02

ลูกหนี�การค้า เจ้าหนี�การค้า เจ้าหนี�อื�น

4.00 0.04 0.12

ลูกหนี�การค้า ลูกหนี�อื�น เจ้าหนี�การค้า ลูกหนี�การค้า ลูกหนี�อื�น เจ้าหนี�การค้า เจ้าหนี�อื�น ลูกหนี�การค้า เจ้าหนี�อื�น

0.21 0.05 1.01 0.42 0.10 0.16 0.78 0.33 0.17

บริษัท ไทย วี.พี. ออโตเซอรวสิ จํากัด ชื่อยอ TVS บริษัท ไทยอัลติเมทคาร จํากัด ชือ่ ยอ TUC

ลักษณะความสัมพันธ 1. TRT, TVS, TAP เปนบริษัทยอยของ TRU มีกลุม เผอิญโชคเปนกรรมการรวมกัน 2. TUC เปนบริษัทยอยของ TVS โดย TVS ถือหุน 99.53% และกลุมเผอิญโชคถือหุน 0.47% 3. รายชื่อบริษัทที่เกี่ยวของขางตน มีกลุมเผอิญโชคเปนกรรมการและผูถ ือหุนรายใหญรวมกัน ดังนี้ บริษัทที่เกี่ยวของ

สัดสวนการถือหุน กลุมเผอิญโชค

บจ.อีซูซุ ชัยเจริญกิจมอเตอร บจ.วี.พี.ออโต เอ็นเตอรไพรส บจ.ไทย.วี.พี. คอรปอเรชั่น บจ.เลกซัสออโตซิตี้

TVP

100.00% 0.20% 99.80% 100.00% 96.67% -

การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทที่เกี่ยวของ บุคคลอื่น

3.33%

ดร.ปราณี

คุณสมพงษ

คุณแกวใจ

คุณวุฒิชัย

C C C C

D D D D

D D,MD D,MD D,MD

D,MD D D D

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 49


หมายเหตุ 1. กลุมเผอิญโชค ประกอบดวย ดร.ปราณี เผอิญโชค, คุณสมพงษ เผอิญโชค, คุณแกวใจ เผอิญโชค และคุณวุฒิชัย เผอิญโชค 2. TVP = บจ. ไทย วี.พี. คอรปอเรชัน่ C = ประธานกรรมการ D = กรรมการ

MD = กรรมการผูจัดการใหญ หรือ CEO

ความจําเปนและความสมเหตุสมผลของรายการระหวางกัน 1. การซื้อ-ขายอุปกรณตกแตงรถ, การซื้อ-ขายอะไหล ให-รับบริการซอมรถ ระหวางกันนั้น เปนรายการธุรกิจปกติของบริษัท ซึ่ง ใชราคาตนทุนบวกกําไรสวนเพิ่ม 2. การเชาที่ดิน พื้นที่สํานักงาน/โชวรูม คาสาธารณูปโภค ระหวางกันนั้นเพื่อใชเปนที่ตั้งสํานักงาน/โชวรูมของบริษัท โดยใชราคา ตามที่ทําสัญญารวมกัน ซึ่งใกลเคียงกับราคาตลาด/ราคาประเมิน 3. รายการเชารถยนต จากบริษัทที่เกี่ยวของนั้น เพื่อนํามาใชในกิจของบริษัท โดยใชราคาตลาด และเงื่อนไขเสมือนทํารายการกับ บุคคลภายนอก รายการระหวางกันขางตน ไดมีการพิจารณาถึงความจําเปนและความสมเหตุสมผล เพื่อกอใหเกิดประโยชนสูงสุดตอ บริษัทฯ และผูถือหุนโดยรวมแลว โดยรายการสวนใหญจะเปนการดําเนินธุรกิจปกติ หรือการสนับสนุนธุรกิจปกติของบริษัท โดยมี เงื่อนไขการคาทั่วไป ไมกอใหเกิดการถายเทผลประโยชน อีกทั้งเปนราคาและเงื่อนไขเสมือนการทํารายการกับบุคคลภายนอก ซึ่ง คณะกรรมการอิสระก็ไมมีความเห็นแตกตางจากมติคณะกรรมการบริษัทแตอยางใด นโยบายหรือแนวโนมการทํารายการระหวางกันในอนาคต รายการระหวางกันที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตนั้น บริษัทฯจะปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอบัง คับ ประกาศ คําสั่ง หรื อขอกํ าหนดของตลาดหลัก ทรัพ ยแหง ประเทศไทย รวมถึ งการปฏิบั ติตามขอกํ าหนดของตลาด หลักทรัพยฯ ประกาศของสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยเกี่ยวกับการเปดเผยขอมูลการทํารายการที่ เกี่ยวโยง และการไดมาหรือจําหนายไปซึ่งสินทรัพยที่สําคัญของบริษัทฯ หรือบริษัทยอย ทั้งนี้คณะกรรมการบริษัท ไดกําหนด แนวทางในการพิจารณาเรื่องรายการที่เกี่ยวโยงกัน และการไดมา/จําหนายไปซึ่งสินทรัพยของบริษัท ดังนี้ - กรณีที่คํานวณขนาดรายการแลว ตามขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยฯ จะตองไดรับมติอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท ใหนํา เรื่องดังกลาวเสนอตอคณะกรรมการบริษัทพิจารณา ในกรณีที่คณะกรรมการตรวจสอบและบรรษัทภิบาลมีความเห็นเปนอยาง อื่น สามารถนําเสนอตอที่ประชุม และบันทึกไวในรายงานการประชุมได - กรณีที่คํานวณขนาดรายการแลว ตามขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยฯ จะตองไดรับมติอนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุน ใหนําเรื่อง ดังกลาวเสนอคณะกรรมการตรวจสอบและบรรษัทภิบาล กอนนําเสนอคณะกรรมการบริษัทพิจารณา และนําเสนอผูถือหุน อนุมัติตอไป

50 รายงานประจ�ำปี 2557


การก�ำกับดูแลกิจการ การกํากับดูแลกิจการ หลักการกํากับดูแลกิจการ เป็นแนวทางในการดําเนินธุรกิจ และบริหารองค์กร ซึ่งได้รับการยอมรับอย่างแพร่หลาย ตาม หลักการนี้ คณะกรรมการบริษัทมีบทบาทสําคัญอย่างยิ่งในการกํากับดูแลองค์กรให้ตระหนักถึงความรับผิดชอบที่มีต่อผู้ที่เกี่ยวข้อง ทุกฝ่าย ทั้งภายในและภายนอกองค์กร โดยเน้นการบริหารงานที่เป็นธรรม ความโปร่งใส มีประสิทธิภาพ การเปิดเผยข้อมูลอย่าง เพียงพอ สามารถตรวจสอบได้ รวมถึงการพิทักษ์สิทธิ และดูแลผลตอบแทนของผู้ถือหุ้น ตลอดจนมีความรับผิดชอบต่อสังคมและ ประเทศชาติ ซึ่งบริษัทฯ ได้ตระหนักถึงความสําคัญของหลักการดังกล่าวเป็นอย่างยิ่ง และได้ปฏิบัติตามแนวทางดังกล่าวอย่าง เคร่งครัด เพื่อสร้างความเชื่อมั่นแก่ผู้ถือหุ้น ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย และเป็นพื้นฐานของการเติบโตทางธุรกิจที่ยั่งยืน ทั้งนี้ บริษัทฯ มีความมุ่งมั่นในการนําหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีมาใช้ในการบริหารงานและดําเนินงานของบริษัทฯ อย่างต่อเนื่องเป็นผลให้ในปี 2557 บริษัทฯ ได้รับผลการประเมินคุณภาพการจัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจําปี ตามแบบ AGM Checklist ในระดับ “ดีเยี่ยม” ติดต่อกันเป็นปีที่ 7 จากสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) ร่วมกับสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทย และผลการประเมินด้านการกํากับดูแลกิจการ ในระดับ “ดี” เนื่องจากในปี 2557 มีการ ปรับเปลี่ยนเกณฑ์ประเมินผลที่เข้มข้นขึ้น (ในปี 2552-2556 อยู่ในระดับ“ดีมาก” 5 ปีติดต่อกัน) จากสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) โดยบริษัทยังคงมีนโยบายที่จะยกระดับการกํากับดูแลกิจการของบริษัทให้ดียิ่งขึ้นต่อไป นอกจากนี้ ในปี 2557 บริษัทฯ ได้ประกาศเจตนารมณ์เข้าร่วมโครงการแนวร่วมปฏิบัติ (Collective Action Coalition) ของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าบริษัทฯ ดําเนินธุรกิจด้วยความโปร่งใส ตามหลักคุณธรรม จริยธรรม และบนหลักการต่อต้านการทุจริต คอร์รัปชั่นทุกรูปแบบ

หมวดที่ 1 สิทธิของผูถือหุน คณะกรรมการบริษัท มีนโยบายที่จะรักษาสิทธิพื้นฐานที่ผู้ถือหุ้นพึงได้รับ และถือเป็นหน้าที่และความรับผิดชอบที่สําคัญ ในการดูแลรักษาผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้นทุกกลุ่มทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน เพื่อจะทําให้ผู้ถือหุ้นได้รับความเป็นธรรม และไว้วางใจ ในการดําเนินกิจการของบริษัทฯ และคณะกรรมการ 1. คณะกรรมการบริษัท ได้มีกําหนดนโยบายการกํากับดูแลกิจการ ขึ้นเป็นลายลักษณ์อักษรและทําการเผยแพร่ไปยัง กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัท เพื่อให้ถือปฏิบัติโดยเคร่งครัด ดังนี้ (1) สิทธิและความเท่าเทียมกันของผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสีย  บริษัทจะปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสีย (พนักงาน, ลูกค้า, คู่ค้า, คู่แข่ง, ผู้ร่วมลงทุน, ชุมชนและ สิ่งแวดล้อม) อย่างเท่าเทียมกัน และเป็นธรรมต่อทุกฝ่าย  บริษัทจะอํานวยความสะดวกในกระบวนการจัดประชุมผู้ถือหุ้นและจัดสรรเวลาสําหรับการประชุมอย่าง เหมาะสม ตลอดจนส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้นมีโอกาสแสดงความเห็นและตั้งคําถามโดยเท่าเทียมกัน

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 51


(2) คณะกรรมการ-โครงสร้าง บทบาท หน้าที่ความรับผิดชอบ และความเป็นอิสระ  คณะกรรมการควรมีภาวะผู้นํา วิสัยทัศน์ และมีความเป็นอิสระในการตัดสินใจ เพื่อประโยชน์สูงสุดของ บริษัท และผู้ถือหุ้นโดยรวม  คณะกรรมการ ฝ่ายจัดการ และผู้ถือหุ้นควรจะพิจารณาขจัดปัญหาความขัดแย้งของผลประโยชน์อย่าง รอบคอบ ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต มีเหตุมีผล และเป็นอิสระภายในกรอบจริยธรรมที่ดี  คณะกรรมการของบริ ษั ท จะต้ อ งประกอบด้ ว ยกรรมการที่ เ ป็ น อิ ส ระไม่ น้ อ ยกว่ า 1 ใน 3 ของจํ า นวน กรรมการทั้งคณะและไม่น้อยกว่า 3 คน  คณะกรรมการ และฝ่ายจัดการ ได้มีระบบการแบ่งแยกบทบาทหน้าที่รับผิดชอบไว้อย่างชัดเจน รวมทั้ง คณะกรรมการได้จัดให้มีคณะอนุกรรมการชุดต่างๆ เพื่อช่วยศึกษาและกลั่นกรองงานตามนโยบายและ กรอบงานที่กําหนดไว้อย่างชัดเจน เช่น คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบและบรรษัทภิบาล คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง และคณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน เป็นต้น และอาจ พิจารณาเพิ่มคณะกรรมการย่อยชุดอื่นๆ ตามที่เห็นสมควร  คณะกรรมการมีหน้าที่ต้องเข้าประชุมคณะกรรมการทุกครั้ง ซึ่งบริษัทได้กําหนดไว้ล่วงหน้าเป็นประจําอย่าง น้อยทุก 3 เดือนต่อครั้ง และอาจมีการประชุมพิเศษเพิ่มเติมตามความจําเป็น โดยบริษัทจะเปิดเผยจํานวน ครั้งที่กรรมการแต่ละท่านเข้าร่วมประชุมไว้ในรายงานประจําปี (3) การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส  คณะกรรมการบริ ษัท จะดํา เนิ นงานด้วยความโปร่ง ใส สามารถตรวจสอบได้ และเปิดเผยข้อมูล แก่ ผู้ ที่ เกี่ยวข้องทุกฝ่ายอย่างถูกต้อง ครบถ้วน เพียงพอและทันเวลา บริษัทจึงได้กําหนดผู้รับผิดชอบในการสื่อสาร กับผู้ลงทุนที่เป็นสถาบัน ผู้ถือหุ้น รวมทั้งนักวิเคราะห์ทั่วไปและภาครัฐที่เกี่ยวข้อง  บริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน เพื่อทําหน้าที่ในการสรรหาผู้ที่มีคุณสมบัติ เหมาะสมสําหรับการดํารงตําแหน่งกรรมการบริษัท, ประธานกรรมการบริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่ ในกรณีที่มีตําแหน่งว่างลง และการกําหนดค่าตอบแทนให้แก่กรรมการอย่างเป็นธรรมและสมเหตุสมผล ทั้งนี้ การกํ าหนดค่า ตอบแทนกรรมการจะต้อ งได้รั บการอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้ น และเปิดเผยไว้ใน รายงานประจําปี (4) การควบคุมและบริหารความเสี่ยง  บริษัทตระหนักถึงความสําคัญของการสร้างระบบการควบคุมและการตรวจสอบภายใน จึงได้จัดตั้งฝ่ายงาน ตรวจสอบภายในขึ้น เพื่อให้มั่น ใจว่าการปฏิบัติ ง านหลั กและกิจกรรมทางการเงิน สํ า คัญ ของบริษัทได้ ดํ า เนิ น การตามแนวทางที่ กํ า หนดและมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ โดยให้ ร ายงานผลการตรวจสอบโดยตรงต่ อ คณะกรรมการตรวจสอบและบรรษัทภิบาล

52 รายงานประจ�ำปี 2557


(5) จริยธรรมธุรกิจ บริษัทได้จัดทําจริยธรรมทางธุรกิจขึ้นเป็นลายลักษณ์อักษร และเผยแพร่ให้กรรมการ ผู้บริหาร และ พนักงานทุกคนทราบและยึดถือเป็นแนวทางในการปฏิบัติหน้าที่แล้ว 2. คณะกรรมการบริษัท ได้กําหนดให้มีการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นปีละครั้ง ภายในเวลาไม่เกิน 4 เดือน นับแต่วันสิ้นสุด รอบปีบัญชี โดยบริษัทฯ จะแจ้งวัน เวลา สถานที่ และวาระการประชุม พร้อมทั้งข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และความเห็น ของคณะกรรมการต่อวาระนั้น ๆ ไว้ในหนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้น ตลอดจนแนบหนังสือมอบฉันทะและแจ้งเงื่อนไข และวิธีการลงทะเบียนและการมอบฉันทะในการเข้าร่วมประชุม เพื่อให้ผู้ถือหุ้นพิจารณาล่วงหน้าก่อนการประชุมไม่ น้อยกว่า 14 วัน พร้อมทั้งได้เผยแพร่หนังสือเชิญประชุมทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ไว้ในเว็บไซต์ของบริษัทฯ ล่วงหน้าก่อนวันประชุมไม่น้อยกว่า 30 วัน ก่อนที่จะจัดส่งเอกสาร เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นได้มีเวลาศึกษาข้อมูล ประกอบการประชุมล่วงหน้าอย่างเพียงพอก่อนการเข้าร่วมประชุม 3. คณะกรรมการบริษัท ได้กําหนดหลักเกณฑ์และวิธีการ เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นส่วนน้อยสามารถเสนอชื่อบุคคลที่ เหมาะสมเพื่อเข้ารับการพิจารณาแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท และสามารถเสนอเรื่องเพื่อบรรจุเป็นวาระการประชุม สามัญผู้ถือหุ้นล่วงหน้าในช่วงเดือนตุลาคม-ธันวาคมทุกปี โดยเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่บริษัทฯ กําหนดและเผยแพร่ ผ่านข้อมูลผ่านระบบ SET Community Portal (SCP) ของตลาดหลักทรัพย์ฯ และเว็บไซต์ของบริษัท รวมทั้งให้ผู้ ถือหุ้นสามารถสอบถามข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับวาระการประชุม หรือส่งคําถามล่วงหน้ามายังบริษัทก่อนวันประชุม โดยผ่านช่องทาง Email หรือ Fax เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้นมีโอกาสแสดงความคิดเห็นต่อบริษัท 4. คณะกรรมการบริษัท ได้อํานวยความสะดวกให้กับผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกันทุกรายในการประชุมผู้ถือหุ้น โดยมี การจัดเตรียมสถานที่ที่สะดวกและเหมาะสม มีการเปิดรับลงทะเบียนเข้าประชุมล่วงหน้าก่อนเวลาประชุม และ กรณีผู้ถือหุ้นที่ไม่สามารถร่วมประชุมด้วยตนเองได้ก็สามารถมอบฉันทะให้ผู้อื่น หรือมอบฉันทะให้กรรมการอิสระ ของบริษัทฯ เข้าประชุมและลงมติแทนโดยการส่งหนังสือมอบฉันทะมายังบริษัทฯ ล่วงหน้าก่อนวันประชุม บริษัทฯ ได้นําระบบบาร์โค้ด (Barcode) มาใช้ในการลงทะเบียนและนับคะแนนเสียง เพื่อช่วยให้ขั้นตอน การลงทะเบียน และการประมวลผลการนับคะแนนเสียงเป็นไปอย่างรวดเร็วยิ่งขึ้น และได้จัดเตรียมอาการแสตมป์ ให้แก่ผู้ถือหุ้นในการมอบฉันทะ ทั้งนี้ เพื่ออํานวยความสะดวกให้แก่ผู้ถือหุ้น ก่อนเริ่มการประชุม จะมีการชี้แจงกติกาทั้งหมด รวมถึงวิธีนับคะแนนเสียงของผู้ถือหุ้นที่ต้องลงมติในแต่ละ วาระอย่างชัดเจน โดยบริษัทฯ ได้จัดให้มีบัตรลงคะแนนเสียงในทุกวาระ โดยเฉพาะในวาระแต่งตั้งกรรมการ ก็จัดให้ มีการลงคะแนนเสียงแต่งตั้งกรรมการเป็นรายบุคคล และเก็บบัตรลงคะแนนเสียงทุกใบ เพื่อเป็นหลักฐานและ สามารถตรวจสอบได้ ในระหว่างการประชุมจะเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นได้แสดงความคิดเห็นและตั้งคําถามใด ๆ ต่อที่ประชุม ซึ่งมี การตอบข้อซักถามในทุกประเด็น และมีการจดบันทึกรายงานการประชุมอย่างถูกต้อง ครบถ้วน รวมทั้งมีการ บันทึกวีดีโอระหว่างการประชุมไว้ด้วย และเปิดเผยไว้บนเว็บไซต์ของบริษัท เพื่อให้ผู้ถือหุ้นที่ไม่ได้เข้าร่วมประชุม สามารถรับชมย้อนหลังได้

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 53


5. คณะกรรมการบริ ษัท เล็ งเห็ นถึงความสํา คัญของการประชุ มผู้ ถือหุ้ น จึงมี นโยบายให้กรรมการบริษัททุก ท่า น พยายามเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้นด้วยทุกครั้ง โดยเฉพาะประธานกรรมการ และประธานคณะกรรมการชุดย่อยต่าง ๆ ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถซักถามประธานคณะกรรมการชุดย่อยต่าง ๆ ในเรื่องที่เกี่ยวข้องได้ 6. ภายหลังการประชุม บริษัทฯ ได้ทําการเปิดเผยมติที่ประชุมพร้อมทั้งรายละเอียดจํานวนคะแนนเสียงในแต่ละวาระ อย่างชัดเจนแก่ตลาดหลักทรัพย์ฯ และบนเว็บไซต์ของบริษัท ภายในวันทําการถัดไป นับจากวันที่ประชุมผู้ถือหุ้น และจั ดส่ง รายงานการประชุ มให้ ตลาดหลัก ทรั พย์ ฯ พร้อมทั้ ง เปิ ดเผยไว้บนเว็บ ไซต์ ของบริ ษัท เพื่อให้ผู้ ถือหุ้ น ตรวจสอบได้ ภายใน 14 วันนับจากวันประชุม

หมวดที่ 2 การปฏิบัติตอผูถือหุนอยางเทาเทียมกัน คณะกรรมการบริษัท มีนโยบายในการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกันและเป็นธรรม เพื่อปกป้องสิทธิขั้น พื้นฐานของผู้ถือหุ้น 1. คณะกรรมการบริษัท สนับสนุนให้ผู้ถือหุ้นที่ไม่สะดวกเข้าร่วมประชุมด้วยตนเอง สามารถใช้สิทธิออกเสียงโดยมอบ ฉันทะให้ผู้อื่นมาประชุมและออกเสียงแทน โดยบริษัทฯ ได้เสนอชื่อกรรมการอิสระอย่างน้อย 1 คน เพื่อเป็ น ทางเลือกในการมอบฉันทะให้เข้าประชุมและใช้สิทธิออกเสียงแทนของผู้ถือหุ้น โดยบริษัทฯ จะระบุรายละเอียดของ กรรมการอิสระ ประกอบด้วยชื่อ ตําแหน่ง อายุ ที่อยู่ การศึกษา ประสบการณ์การทํางาน และสัดส่วนการถือหุ้น ของบริษัท และการมีส่วนได้เสียในวาระใดของกรรมการแต่ละท่านไว้ในหนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้น ทั้งนี้บริษัทฯ สนับสนุนให้ผู้ถือหุ้นใช้หนังสือมอบฉันทะรูปแบบที่ผู้ถือหุ้นสามารถกําหนดทิศทางการลงคะแนนเสียงได้ แต่หากผู้ ถือหุ้นมีความประสงค์จะใช้หนังสือมอบฉันทะรูปแบบอื่นตามประกาศที่กรมพัฒนาธุรกิจการค้ากําหนดไว้ก็ได้ 2. คณะกรรมการบริษัท จัดให้ใช้บัตรลงคะแนนเสียงในทุกวาระ และในวาระแต่งตั้งกรรมการ ก็จัดให้มีการลงคะแนน เสียงแต่งตั้งกรรมการเป็นรายบุคคล และเก็บบัตรลงคะแนนเสียงทุกใบ เพื่อความโปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ ในกรณีมีข้อโต้แย้งในภายหลัง ทั้งนี้บริษัทได้เปิดเผยข้อมูลของผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อเป็นกรรมการในหนังสือเชิญ ประชุมผู้ถือหุ้น ซึ่ง ประกอบด้วย ชื่อ รูปถ่าย อายุ การศึกษา การอบรมหลักสูตรกรรมการ ประสบการณ์การ ทํางาน และสัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท เพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถศึกษาข้อมูลก่อนการตัดสินใจได้ 3. ในการประชุมคณะกรรมการ หรือการประชุมผู้ถือหุ้น หากคณะกรรมการบริษัท ผู้บริหาร หรือผู้ถือหุ้นที่มีส่วนได้ เสียในวาระใด จะต้องเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับส่วนได้เสียของตนและผู้เกี่ยวข้อง ให้ที่ประชุมทราบ และจะไม่มีสิทธิ ออกเสีย งในวาระดัง กล่ า วนั้ น เพื่ อ ให้ ที่ ป ระชุ ม สามารถพิ จ ารณาธุ ร กรรมของบริ ษั ท ที่ อ าจมี ค วามขั ด แย้ ง ของ ผลประโยชน์ และสามารถตัดสินใจเพื่อประโยชน์ของบริษัทโดยรวม 4. ผู้ถือหุ้นที่เป็นผู้บริหาร จะไม่เพิ่มวาระการประชุมผู้ถือหุ้นที่ไม่ได้แจ้งเป็นการล่วงหน้าโดยไม่จําเป็น โดยเฉพาะวาระ สําคัญที่ผู้ถือหุ้นต้องใช้เวลาในการศึกษาข้อมูลก่อนการตัดสินใจ

54 รายงานประจ�ำปี 2557


5. คณะกรรมการบริษัท ได้ตระหนักถึงความสําคัญของการเก็บรักษาและป้องกันการใช้ข้อมูลภายในเป็นอย่างยิ่ง จึง ได้กําหนดแนวทางการป้องกันการนํา ข้อมูลภายในไปใช้เพื่อผลประโยชน์ของตนเองขึ้น เป็นลายลั กษณ์อักษร (รายละเอียดตามหัวข้อเรื่องการดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน) 6. คณะกรรมการบริษัท ได้กําหนดให้กรรมการและผู้บริหารที่มีหน้าที่รายงานการถือครองหลักทรัพย์ตามกฎหมาย ต้องจัดส่งสําเนารายงานดังกล่าวให้แก่คณะกรรมการบริษัทภายใน 3 วัน ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงการถือครอง หลักทรัพย์ และมีการรายงานการถือครองหลักทรัพย์ของกรรมการให้ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัททราบทุกไตรมาส

หมวดที่ 3 บทบาทของผูม ีสวนไดเสีย คณะกรรมการบริษัท ให้ความสําคัญต่อการปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม เช่น ผู้ถือหุ้น, ลูกค้า, คู่ค้า/เจ้าหนี้, คู่แข่ง, พนักงาน, สภาพแวดล้อม, ชุมชนและสังคม ด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต และเที่ยงธรรม 1. คณะกรรมการบริษัทได้มีการจัดทําจริยธรรมทางธุรกิจหรือจรรยาบรรณ (Code of ethics or statement of business conduct) ขึ้นเป็นลายลักษณ์อักษร และเผยแพร่ให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกคนทราบและ ยึดถือเป็นแนวทางในการปฏิบัติหน้าที่ตามภารกิจของบริษัทฯ ดังนี้ - ผู้ถือหุ้น : บริษัทตะหนักและให้ความสําคัญต่อผู้ถือหุ้น และผู้มีส่วนได้เสีย โดยจะประกอบธุรกิจด้วยความ ซื่อสัตย์สุจริต เป็นธรรมและปฏิบัติต่อทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องอย่างเท่าเทียมกัน เพื่อผลประโยชน์โดยรวม - พนักงาน : บริษัทมีความเชื่อมั่นว่า “พนักงานทุกคน” เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าสูงสุดขององค์กร จึงมุ่งเน้นที่ จะสรรหาและรักษาบุคลากรที่เป็นคนดี มีความรู้ความสามารถ และมีคุณธรรม รวมทั้งยังมุ่งเน้นการ พัฒนา ศักยภาพบุคลากร เพื่อให้พนักงานมีความก้าวหน้าและมีผลตอบแทนที่เหมาะสม เป็นธรรมและมี สวัสดิการ ต่างๆ ส่งเสริมบรรยากาศในการทํางานให้เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เพื่อสร้าง ผลประโยชน์ให้เกิดขึ้นแก่องค์กร - ลูกค้า : บริษัทมุ่งมั่นเอาใจใส่และรับผิดชอบต่อลูกค้า โดยผลิตสินค้าที่มีคุณภาพและมาตรฐาน รวมทั้งการ รักษาความลับของลูกค้า - คู่ค้า: บริษัทมีแนวทางในการคัดเลือกคู่ค้า/ผู้รับเหมา ตามระเบียบของบริษัท และบริษัทมีวิธีทําให้มั่นใจได้ว่า บริษัทมีวิธีการปฏิบัติที่ดีในการซื้อสินค้าจากคู่ค้าให้เป็นไปตามเงื่อนไขทางการค้า รวมถึงการกู้ยืมเงิน การ ชําระคืน การค้ําประกันต่าง ๆ ให้เป็นไปตามเงื่อนไขที่ตกลงกับเจ้าหนี้ - คู่แข่ง : บริษัทจะปฏิบตั ิภายใต้กรอบการแข่งขันที่ดี รักษาบรรทัดฐานของข้อพึงปฏิบัติในการแข่งขันกับคู่แข่ง หลีกเลี่ยงวิธีการไม่สุจริตเพื่อการทําลายคู่แข่ง - ผู้ร่วมลงทุน บริษัทเคารพซึ่งสิทธิของผู้ร่วมทุนและปฏิบัติต่อผู้ร่วมทุนทุกรายอย่างเป็นธรรม รวมทั้งให้ความ ร่วมมืออย่างดีกับผู้ร่วมทุน ทั้งนี้ เพื่อให้การดําเนินงานของกิจการร่วมทุนประสบผลสําเร็จตามวัตถุประสงค์ ของกิจการร่วมทุน

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 55


- ชุมชนและสังคม : บริษัทตระหนักถึงสภาพแวดล้อม โดยจะกําจัด ลด และไม่ก่อให้เกิดมลพิษในกระบวนการ อันจะกระทบต่ มและชุมชนอมพร้โดยจะกํ อมทั้งยัางจัส่ดงเสริ กิจกรรมชุ มพัษนในกระบวนการ ธ์ การให้ความ - ชุผลิมตชนและสั งคม : บริอษสภาพแวดล้ ัทตระหนักถึองสภาพแวดล้ ลด มและไม่ ก่อให้มเชนสั กิดมลพิ ช่วยเหลื ต่อสังคมอย่อางสม่ ําเสมอ ตามกํ าลังความสามารถขององค์ อย่ามงเต็ ที่ รวมถึมชนสั งบริษมัทพัยันงธ์พร้การให้ อมจะรัคบวาม ฟัง ผลิ ต อันอจะกระทบต่ สภาพแวดล้ อมและชุ มชน พร้อมทั้งยังส่งเสริ กิจมกรรมชุ ท้วงติองต่ข้ออสัเสนอแนะจากชุ มชน ตามกํ เพื่อการปรั บปรุงสภาพแวดล้อมให้ ่าอยูม่ ทีและเป็ ตรกั แวดล้ อม บฟัง ช่ข้วอยเหลื งคมอย่างสม่ําเสมอ าลังความสามารถขององค์ อย่นางเต็ ่ รวมถึนงมิบริ ษัทบยัสิง่งพร้ อมจะรั ง ข้อาเสนอแนะจากชุ ชนวมในการทํ เพื่อการปรัาบประโยชน์ ปรุงสภาพแวดล้ อมให้ ่าอยูและศาสนา ่ และเป็นมิตตัรกัวอย่ บสิา่งงเช่ แวดล้ ม วม 2. บริษัทข้ฯอท้ให้วคงติวามสํ คัญต่อการมีส่วมนร่ ต่อชุมชน สังนคม น อการร่ อสิ่งของสนั สนุนสองค์ มูลนิธิต่าางประโยชน์ ๆ, การมอบทุ กษาแก่ บุตรของพนั กงานบริ ัท และ 2. บริษจาคเงิ ัทฯ ให้นหรื ความสํ าคัญต่อบการมี ่วนร่กวรมในการทํ ต่อชุมนชนการศึ สังคม และศาสนา ตัวอย่ างเช่น ษการร่ วม

เยาวชนในโรงเรี งบริกษรัทเป็ , สนับสนุนนให้การศึ มีการจั ดตั้งชมรมพุ ทธศาสนาในบริ การ บริ จาคเงินหรือยสินละแวกใกล้ ่งของสนับสนุเคีนยองค์ มูลนนิประจํ ธิต่างาทุๆ,กปีการมอบทุ กษาแก่ บุตรของพนั กงานบริษษัทัท และ จัดกิจกรรมทางศาสนาที ่สําคัญเภายในบริ างต่อาเนื ้งปีนเป็ เยาวชนในโรงเรี ยนละแวกใกล้ คียงบริษัทษเป็ัทอย่ นประจํ ทุก่อปีงตลอดทั , สนับสนุ ให้นมต้ีกนารจัดตั้งชมรมพุทธศาสนาในบริษัท การ คัญภายในบริษัทอย่างต่ยอของพนั เนื่องตลอดทั เป็นจึต้งนได้จัดทําประกาศบริษัท เรื่อง นโยบาย 3. จับริดกิษจัทกรรมทางศาสนาที ฯ ได้ตระหนักถึงสุ่สขําภาพและความปลอดภั กงานทุ้งปีกคน ความปลอดภั ย อาชีกวถึอนามั ย และสภาพแวดล้อมในการทํ ให้พจึนังได้ กงานทุ คนร่วมมือ ษและถื ัติอย่าง 3. บริ ษัทฯ ได้ตระหนั งสุขภาพและความปลอดภั ยของพนัากงาน งานทุเพืก่อคน จัดทํากประกาศบริ ัท เรือ่อปฏิ ง บนโยบาย เคร่งครัด ย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน เพื่อให้พนักงานทุกคนร่วมมือ และถือปฏิบัติอย่าง ความปลอดภั

4. เคร่ บริษงครั ัทฯดตระหนักถึงความสําคัญของพนักงานซึ่งเป็นทรัพยากรสําคัญของบริษัท จึงมีนโยบายในการดูแลพนักงาน อย่ษา ังเสมอภาค ด ให้ามคัี สญวัของพนั ส ดิ ก ารต่ า ง ๆ่งเป็ แก่นพทรันั กพงานอย่ ส ดิ ก ารรถรั บ ส่แงลพนั พนั ก งาน 4. บริ ทฯ ตระหนักและจั ถึงความสํ กงานซึ ยากรสําาคังเหมาะสม ญของบริษัทเช่จึนงมีสวั นโยบายในการดู สวัสาดิงเสมอภาค การโรงอาหาร เครืด่อให้ งแบบพนั อุบพัตนัิเหตุ การตรวจสุ ขภาพประจํ เป็น อย่ และจั มี ส วั ส ดิกกงาน ารต่ประกั า ง ๆ นแก่ ก งานอย่ า งเหมาะสม เช่ นาปีสวัห้สองพยาบาล ดิ ก ารรถรั บห้ส่องงสมุ พนัดก งาน ต้นสดิการโรงอาหาร เครื่องแบบพนักงาน ประกันอุบัติเหตุ การตรวจสุขภาพประจําปี ห้องพยาบาล ห้องสมุด เป็น สวั 5. ต้บรินษัทได้ให้ความสําคัญกับการดําเนินการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น โดยมีวัตถุประสงค์ในการเสริมสร้างจิตสํานึก เพื่อษให้ บัติหน้าเนิ าทีน่อการต่ ย่างโปร่ ใส ไม่นจําริพาต่ ริตคอร์ ่นทุกประการ 5. บริ ัทได้พในัห้กคงานทุ วามสํกาคนปฏิ คัญกับการดํ อต้างนการทุ ตคอร์อการทุ รัปชั่นจโดยมี วัตรถุัปปชัระสงค์ ในการเสริดังมนัสร้​้นาในปี งจิตสํ2557 านึก บริ่อษให้ ัทฯพนัจึกงได้ ประกาศเจตนารมณ์ มโครงการแนวร่ วมปฏิ บัติ จ(Collective ของ เพื งานทุ กคนปฏิบัติหน้าทีเข้่อาย่ร่าวงโปร่ งใส ไม่นําพาต่ อการทุ ริตคอร์รัปชั่นทุAction กประการCoalition) ดังนั้นในปี 2557 ภาคเอกชนไทยในการต่ อต้านการทุเจข้ริาตร่วเพื ่อให้เกิดความมัว่นมปฏิ ใจว่าบบริ ัทฯ ดําเนินธุรกิAction จด้วยความโปร่ งใส ตามหลั บริ ษัทฯ จึงได้ประกาศเจตนารมณ์ มโครงการแนวร่ ัติ ษ(Collective Coalition) ของก คุณธรรม จริยธรรม และบนหลั กการต่ านการทุ ต คอร์่นรัปใจว่ ชั่นาทุบริกรูษปัทแบบ ภาคเอกชนไทยในการต่ อต้านการทุ จริอตต้เพื ่อให้เกิจดริความมั ฯ ดําเนินธุรกิจด้วยความโปร่งใส ตามหลัก

6. 6.

คุบริณษธรรม กการต่ ต้านการทุ ต อคอร์ ัปชั่นทุกรูปหรืแบบ ัทฯ ได้จริจยัดธรรม ให้มีช่อและบนหลั งทางในการรั บฟังอความคิ ดเห็จนริหรื ข้อรเสนอแนะ อ การ แจ้งเบาะแส จากผู้มีส่วนได้เสียทุก กลุษ่มัทเพืฯ ่อได้นําจมาปรั งพัฒนาสินค้บาฟั/บริ การ และองค์ มีความมั่นหรื คงอสามารถแข่ งขัน และสร้ บริ ัดให้มบีช่อปรุงทางในการรั งความคิ ดเห็นหรืกอรข้ให้ อเสนอแนะ การ แจ้งเบาะแส จากผูางความสํ ้มีส่วนได้าเสีเร็ยจทุในก ระยะยาวได้ ตัวอย่บาปรุ งเช่งพันฒบรินาสิ ษัทนฯค้าจั/บริ ดให้กมารีกิจและองค์ กรรมข้อกเสนอแนะจากพนั งาน โดยกํางหนดเป้ าหมายปี ละ 12าเร็เรืจ่อในง กลุ ่ม เพื่อนํามาปรั ร ให้มีความมั่นคงกสามารถแข่ ขัน และสร้ างความสํ ต่อคน, กล่องข้ เสนอแนะโดยตรงถึ ้จัดการใหญ่ , การรับข้อกเสนอแนะจากลู กค้าาหมายปี ผู้ถือหุ้นลหรื อบุเรืคคล ระยะยาวได้ ตัวออย่ างเช่น บริษัทฯ จัดงกรรมการผู ให้มีกิจกรรมข้ อเสนอแนะจากพนั งาน โดยกําหนดเป้ ะ 12 ่อ ง นทางเว็ ไซต์ของบริษัท เป็นงกรรมการผู ต้น ต่ทัอ่วไปผ่ คน, ากล่ องข้อบเสนอแนะโดยตรงถึ ้จัดการใหญ่, การรับข้อเสนอแนะจากลูกค้า ผู้ถือหุ้น หรือบุคคล

บไซต์ขผองบริ ษัท เสีเป็ยทุนกต้ฝ่นาย สามารถแจ้งเบาะแสการทุจริตคอร์รัปชั่น การกระทําผิดกฎหมายหรือ 7. ทับริ่วไปผ่ ษัทฯานทางเว็ เปิดโอกาสให้ ู้มีส่วนได้ จรรยาบรรณหรื อนโยบายของบริ องเรียนเรื ่องต่างๆ โดยสามารถแจ้ งคณะกรรมการตรวจสอบ 7. บริ ษัทฯ เปิดโอกาสให้ ผู้มีส่วนได้เสีษยัททุกหรืฝ่าอยการร้ สามารถแจ้ งเบาะแสการทุ จริตคอร์รัปชังไปยั ่น การกระทํ าผิดกฎหมายหรือ และบรรษัทภิบาลของบริ ษัทฯ โดยตรง องทาง งต่อ่อไปนี จรรยาบรรณหรื อนโยบายของบริ ษัท หรืผ่อานช่ การร้ องเรียดันเรื งต่า้ งๆ โดยสามารถแจ้งไปยังคณะกรรมการตรวจสอบ และบรรษัทภิบาลของบริษัทฯ โดยตรง ผ่านช่องทาง ดังต่อไปนี้

ประธานคณะกรรมการตรวจสอบและบรรษัทภิบาล บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จํากัด (มหาชน) ทภิบาล ประธานคณะกรรมการตรวจสอบและบรรษั 304ษัทถนนมาเจริ แขวงหนองค้ งพลู เขตหนองแขม กรุงเทพฯ 10160 บริ ไทยรุ่งยูเนีญ่ยนคาร์ จํากัด า(มหาชน) E-Mail Addressญ: แขวงหนองค้ auditcommittee@thairung.co.th 304 ถนนมาเจริ างพลู เขตหนองแขม กรุงเทพฯ 10160 โทรศัพท์ 0-2420-0076 ต่อ 387 8. บริษัทมีนโยบายและมาตรการคุ้มครองผู้มีส่วนได้เสียที่แจ้งเบาะแสหรือข้อร้องเรียนข้างต้นไม่ต้องเปิดเผยชื่อแต่ 56 รายงานประจ�ำปี 2557 อย่างใด และบริษัทฯ จะจัดเก็บข้อมูลการร้องเรียนเป็นความลับและคุ้มครองผู้ร้องเรียน เพื่อให้ผู้ร้องเรียน มั่นใจว่า จะไม่ได้รับผลกระทบจากการแจ้งเบาะแสและการร้องเรียนดังกล่าว โดยมอบหมายให้คณะกรรมการตรวจสอบและ


E-Mail Address : auditcommittee@thairung.co.th โทรศัพท์ 0-2420-0076 ต่อ 387 8. บริษัทมีนโยบายและมาตรการคุ้มครองผู้มีส่วนได้เสียที่แจ้งเบาะแสหรือข้อร้องเรียนข้างต้นไม่ต้องเปิดเผยชื่อแต่ อย่างใด และบริษัทฯ จะจัดเก็บข้อมูลการร้องเรียนเป็นความลับและคุ้มครองผู้ร้องเรียน เพื่อให้ผู้ร้องเรียน มั่นใจว่า จะไม่ได้รับผลกระทบจากการแจ้งเบาะแสและการร้องเรียนดังกล่าว โดยมอบหมายให้คณะกรรมการตรวจสอบและ บรรษัทภิบาลของบริษัทฯ ดําเนินการตรวจสอบข้อมูลหรือข้อเท็จจริงตามที่มีผู้แจ้งเบาะแสหรือข้อร้องเรียน แล้ว นําเสนอให้คณะกรรมการ รับทราบและพิจารณาโดยตรง

หมวดที่ 4 การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส คณะกรรมการบริษัท มีนโยบายให้บริษัทฯ ดําเนินงานด้วยความโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ และเปิดเผยข้อมูลทั้ง ข้อมูลทางการเงินและข้อมูลที่มิใช่ข้อมูลทางการเงินแก่ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายอย่างถูกต้อง ครบถ้วน เพียงพอและทันเวลา ผ่าน ช่องทางที่เข้าถึงข้อมูลได้ง่าย มีความเท่าเทียมกันและน่าเชื่อถือ

1. บริษัทฯ ได้จัดตั้ง “ส่วนงานหลักทรัพย์และนักลงทุนสัมพันธ์-สํานักกรรมการผู้จัดการ” ขึ้น เพื่อทําหน้าที่เปิดเผย ข้อมูลที่มีความถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใสและทั่วถึง ทั้งการรายงานทางการเงินและข้อมูลทั่วไปของบริษัทฯ และ รับผิดชอบในการติดต่อสื่อสารกับบุคคลภายนอก เช่น ผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนทั่วไป นักวิเคราะห์และ ภาครัฐที่เกี่ยวข้องอย่างเท่าเทียมและเป็นธรรม ทั้งนี้ผู้ลงทุนสามารถติดต่อขอทราบข้อมูลของบริษัทฯ เพิ่มเติมได้ที่ ส่วนงานหลักทรัพย์และนักลงทุนสัมพันธ์ - สํานักกรรมการผู้จัดการ โทรศัพท์ 0-2420-0076 ต่อ 321 หรือ 359 โทรสาร 0-2812-0844 E-mail address : naiyana@thairung.co.th หรือ omd_ir@thairung.co.th Website : http://www.thairung.co.th

2.

บริษัทฯ ได้เผยแพร่ข้อมูลตามเกณฑ์ที่กําหนดโดยผ่านระบบ SET Community Portal (SCP) ของตลาด หลักทรัพย์ฯ แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี (แบบ 56-1) และรายงานประจําปีของบริษัท รวมทั้งเปิดเผยข้อมูล ที่สําคัญทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษผ่านทาง Website ของบริษัทด้วย

3.

คณะกรรมการบริษัท ได้เปิดเผยบทบาทและหน้าที่ของคณะกรรมการและคณะกรรมการชุดย่อยต่าง ๆ ไว้ในแบบ แสดงรายการข้อมูลประจําปี (แบบ 56-1) และรายงานประจําปี รวมทั้งได้เปิดเผยจํานวนครั้งของการประชุมและ จํานวนครั้งที่กรรมการแต่ละท่านเข้าร่วมประชุมของคณะกรรมการบริษัท การประชุมคณะกรรมการชุดย่อยต่าง ๆ และการประชุมผู้ถือหุ้นแล้ว (รายละเอียดตามหัวข้อเรื่องโครงสร้างคณะกรรมการบริษัท และหัวข้อ จํานวนครั้ง ของการประชุมคณะกรรมการ)

4.

บริษัทฯ ได้กําหนดให้คณะกรรมการและผู้บริหารของบริษัท ต้องรายงานให้บริษัททราบถึงการมีส่วนได้เสียของตน หรือของบุคคลที่มีความเกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการกิจการของบริษัทหรือบริษัท ย่อยทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลและอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ทุกวันที่ 1 กรกฎาคม ของทุกปี ทั้งนี้ เพื่อให้บริษัท มีข้อมูลประกอบการดําเนินการตามข้อกําหนดเกี่ยวกับการทํารายการที่เกี่ยวโยงกันซึ่งเป็นรายการที่อาจก่อให้เกิด

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 57


ความขัดแย้งทางผลประโยชน์และอาจนําไปสู่การถ่ายเทผลประโยชน์ของบริษัทและบริษัทย่อยได้ เพื่อให้เป็นไป ตามพ.ร.บ. หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2551 มาตรา 89/14 และประกาศของ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ.2/2552 โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2552 เป็นต้นไป ความขัดแย้งทางผลประโยชน์และอาจนําไปสู่การถ่ายเทผลประโยชน์ของบริษัทและบริษัทย่อยได้ เพื่อให้เป็นไป ตามพ.ร.บ. หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2551 มาตรา 89/14 และประกาศของ คณะกรรมการกํ ากับตลาดทุน ที่ ทจ.2/2552 โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2552 เป็นต้นไป หมวดที่ 5 ความรั บผิดชอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัท ตระหนักดีถึงการมีบทบาทสําคัญในการกํากับดูแลกิจการเพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัท และความ รัหมวดที บผิดชอบต่ อผลการปฏิ ัติหน้าที่ต่อผู้ถือหุ้นและเป็นอิสระจากฝ่ายจัดการ โดยมีรายละเอียดดังนี้ ่ 5 ความรั บผิดบชอบของคณะกรรมการ 1. โครงสร้างคณะกรรมการ คณะกรรมการบริ ษัท ตระหนักดีถึงการมีบทบาทสําคัญในการกํากับดูแลกิจการเพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัท และความ รับผิดชอบต่อผลการปฏิ บัติหน้าที่ต่อผูษ้ถือัทหุ้นมีและเป็ ยจัดการ โดยมี รายละเอียดดั 1.1 คณะกรรมการบริ จํ า นวนนอิส9ระจากฝ่ ท่า น าประกอบด้ วยกรรมการที ่เป็งนนีอิ้ สระมากกว่ ากึ่ งหนึ่ง ของจํ านวน คณะกรรมการทั ้งคณะ โดยปัจจุบันบริษัทฯ มีกรรมการอิสระที่ไม่เป็นผู้บริหาร 4 ท่าน ซึ่งคุณสมบัติของ 1. โครงสร้ างคณะกรรมการ กรรมการอิ สระนั้ นเป็น ไปตามนิ ยามของกรรมการอิสระที่ บริ ษัทฯ กํา หนดไว้ (รายละเอี ยดตามหั วข้ อเรื่อง 1.1 คณะกรรมการบริ ษัท มีจํ า นวน 9 ท่า น ประกอบด้วยกรรมการที่เป็น อิสระมากกว่ ากึ่ งหนึ่ง ของจํ านวน หลักเกณฑ์การคัดเลือกกรรมการอิสระ) กรรมการอิสระแต่ละท่านต้องเป็นผู้ทรงคุณวุฒิหลากหลายสาขา คณะกรรมการทั้งคณะ โดยปัจจุบันบริษัทฯ มีกรรมการอิสระที่ไม่เป็นผู้บริหาร 4 ท่าน ซึ่งคุณสมบัติของ อาชีพที่จําเป็นในการบริหารกิจการของบริษัท กรรมการอิ สระนั้ นเป็น ไปตามนิ ยามของกรรมการอิสระที่ บริ ษัทฯ กํา หนดไว้ (รายละเอี ยดตามหั วข้ อเรื่อง 1.2 หลั ประธานกรรมการมิ ด้เป็นบุคคลเดี กรรมการผูส้ระแต่ จัดการใหญ่ ้คณะกรรมการบริ ษัท ได้กําหนด กเกณฑ์การคัดเลือไกกรรมการอิ สระ)ยวกันกับกรรมการอิ ละท่านต้ทัอ้งนีงเป็ นผู้ทรงคุณวุฒิหลากหลายสาขา อํานาจหน้ ของกรรมการผู ัดการใหญ่ไษว้ัทอย่างชัดเจน (รายละเอียดตามหัวข้อเรื่องรายชื่อผู้บริหาร) เพื่อมิให้ อาชี พที่จําเป็าทีน่ในการบริ หารกิจ้จการของบริ คนใดคนหนึ่งมีอํานาจโดยไม่จํากัด ทําให้เกิดการถ่วงดุล และสอบทานการบริหารงานได้ 1.2 ประธานกรรมการมิได้เป็นบุคคลเดียวกันกับกรรมการผู้จัดการใหญ่ ทั้งนี้คณะกรรมการบริษัท ได้กําหนด 1.3 คณะกรรมการบริ ษัท ได้แต่งตั้​้งจัดเลขานุ การบริ วันที(รายละเอี ่ 15 พฤษภาคม 2551 ทําหน้า่อทีผู่จ้บัดริทํหาาร) และจั อํานาจหน้าที่ของกรรมการผู การใหญ่ ไว้อษย่าัทงชัเมืด่อเจน ยดตามหั วข้อเพื เรื่อ่องรายชื เพื่อดมิเก็ใบห้ ทะเบี ยนกรรมการ หนังสือนัจดําประชุ มคณะกรรมการบริ ษัท หนังสือนัดประชุมและ คนใดคนหนึ ่งมีอํานาจโดยไม่ กัด ทํามให้และรายงานการประชุ เกิดการถ่วงดุล และสอบทานการบริ หารงานได้ รายงานการประชุมผู้ถือหุ้น และจัดเก็บรายงานการมีส่วนได้เสียของกรรมการ/ผู้บริหาร ตลอดจนหน้าที่อื่น ๆ 1.3 คณะกรรมการบริษัท ได้แต่งตั้ง เลขานุการบริษัท เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2551 เพื่อทําหน้าที่จัดทําและจัดเก็บ ตามที่พรบ. หลักทรัพย์ฯ กําหนด โดยเลขานุการบริษัทที่คณะกรรมการแต่งตั้งขึ้นเป็นผู้ที่คณะกรรมการเห็นว่า ทะเบียนกรรมการ หนังสือนัดประชุม และรายงานการประชุมคณะกรรมการบริษัท หนังสือนัดประชุมและ มีความเหมาะสม มีความรู้ความสามารถทางกฎหมาย และ การบริหารงานเลขานุการบริษัท ให้เป็นไปตาม รายงานการประชุมผู้ถือหุ้น และจัดเก็บรายงานการมีส่วนได้เสียของกรรมการ/ผู้บริหาร ตลอดจนหน้าที่อื่น ๆ กฎหมาย ระเบียบข้อบังคับต่าง ๆ ตลอดจนรับผิดชอบดูแลงานด้านบรรษัทภิบาลบริษัท ตามที่พรบ. หลักทรัพย์ฯ กําหนด โดยเลขานุการบริษัทที่คณะกรรมการแต่งตั้งขึ้นเป็นผู้ที่คณะกรรมการเห็นว่า 1.4 มีคณะกรรมการบริ ยังมิ้คได้วามสามารถทางกฎหมาย กําหนดจํานวนบริษัทที่กรรมการแต่ ละคนจะไปดํ ารงตําแหน่ งกรรมการ ความเหมาะสม มีษคัทวามรู และ การบริ หารงานเลขานุ การบริ ษัท ให้เป็ตลอดจน นไปตาม การกําหนดนโยบายและวิ ิในการไปดํบาผิรงตํ าแหน่แลงานด้ งกรรมการที ่บริทษภิัทบอืาลบริ ่นของกรรมการผู ้จัดการใหญ่และ กฎหมาย ระเบียบข้อบังคับธต่ีปางฏิบๆัตตลอดจนรั ดชอบดู านบรรษั ษัท ผู้บริหารระดับสูงของบริษัทอย่างชัดเจน ทั้งนี้คณะกรรมการบริษัทจะพิจารณาดําเนินการในลําดับถัดไป 1.4 คณะกรรมการบริษัท ยังมิได้กําหนดจํานวนบริษัทที่กรรมการแต่ละคนจะไปดํารงตําแหน่งกรรมการ ตลอดจน การกําหนดนโยบายและวิธีปฏิบัติในการไปดํารงตําแหน่งกรรมการที่บริษัทอื่นของกรรมการผู้จัดการใหญ่และ ผู้บริหารระดับสูงของบริษัทอย่างชัดเจน ทั้งนี้คณะกรรมการบริษัทจะพิจารณาดําเนินการในลําดับถัดไป 2. คณะกรรมการชุดย่อย 2.1 คณะกรรมการบริ ษั ท ได้แต่ งตั้ ง คณะกรรมการชุด ย่อยจํา นวน 4 ชุด ได้ แก่ คณะกรรมการตรวจสอบและ บรรษัทภิบดาลย่อคณะกรรมการบริ หาร คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง และคณะกรรมการสรรหาและกําหนด 2. คณะกรรมการชุ ย 2.1 คณะกรรมการบริ ษัท ได้แต่ งตั้ง คณะกรรมการชุด ย่อยจํา นวน 4 ชุด ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบและ บรรษัทภิบาล คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง และคณะกรรมการสรรหาและกําหนด

58 รายงานประจ�ำปี 2557


ค่าตอบแทน เพื่อช่วยศึกษารายละเอียดและกลั่นกรองงานตามความจําเป็นของสถานการณ์ เพื่อเป็นการแบ่ง เบาภาระหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท และทําให้บริษัทฯ มีคณะกรรมการพิจารณาในเรื่องต่าง ๆ อย่าง ชัดเจนยิ่งขึ้น และสอดคล้องกับหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี (รายชื่อกรรมการ อํานาจหน้าที่และข้อมูลอื่น ๆ ของคณะกรรมการแต่ ล ะชุ ด ดู ร ายละเอี ย ดเรื่ อ งโครงสร้ า งคณะกรรมการบริ ษั ท และหั ว ข้ อ เรื่ อ งรายชื่ อ คณะกรรมการบริษัท) 2.2 ประธานคณะกรรมการ มิไ ด้เป็นประธานหรือสมาชิก ในคณะกรรมการชุดย่ อย และสมาชิก ส่วนใหญ่ของ คณะกรรมการชุดย่อยเป็นกรรมการอิสระ ทั้งนี้ป ระธานคณะกรรมการตรวจสอบและบรรษัทภิบาล และ คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน เป็นกรรมการอิสระ เพื่อความโปร่งใสและเป็นอิสระในการ ปฏิบัติหน้าที่ 3. บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 3.1 คณะกรรมการบริษัท มีส่วนร่วมในการกําหนดและทบทวนวิสัยทัศน์ ภารกิจ และกลยุทธ์ทางธุรกิจของบริษัท อย่างสม่ําเสมออย่างน้อยทุก 5 ปี ตลอดจนมีความเป็นอิสระในการตัดสินใจและกํากับดูแล และติดตามให้ฝ่าย บริหารดําเนินการ ให้เป็นไปตามแผนงานที่กําหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุดของบริษัทและ ผู้ถือหุ้นโดยรวม นอกจากนี้คณะกรรมการได้จัดให้บริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายในที่ มีประสิทธิผล รวมทั้งมีการติดตามการดําเนินการในเรื่องดังกล่าวอย่างสม่ําเสมอในการประชุมคณะกรรมการ ตรวจสอบและบรรษัทภิบาล และการประชุมคณะกรรมการบริษัท 3.2 คณะกรรมการบริษัท ได้กําหนดนโยบายการกํากับดูแลกิจการ และจัดทําจรรยาบรรณธุรกิจขึ้นเป็นลายลักษณ์ อักษร (ดูรายละเอียดเรื่องการกํากับดูแลกิจการ หมวดที่ 1 สิทธิของผู้ถือหุ้น) รวมทั้งมีการทบทวนนโยบายและ ติดตามให้มีการปฏิบัติตามนโยบายดังกล่าวอย่างสม่ําเสมอ 3.3 คณะกรรมการบริษัท ได้กําหนดแนวทางในการพิจารณาเรื่องความขัดแย้งของผลประโยชน์อย่างรอบคอบ เพื่อ ผลประโยชน์ของบริษัทและผู้ถือหุ้นโดยรวมเป็นสําคัญ โดยผู้ที่มีส่วนได้เสียจะต้องเปิดเผยการมีส่วนได้เสียนั้น และไม่มีส่วนร่วมในการตัดสินใจเรื่องนั้น ๆ ทั้งนี้คณะกรรมการบริษัท ได้กําหนดแนวทางในการพิจารณาเรื่อง รายการที่เกี่ยวโยงกัน และการได้มา/จําหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ของบริษัท รายละเอียดตามที่ปรากฏในหัวข้อเรื่อง นโยบายหรือแนวโน้มการทํารายการระหว่างกันในอนาคต 3.4 คณะกรรมการบริษัท ได้ให้ความสําคัญต่อระบบควบคุมและการบริหารความเสี่ยง จึงได้จัดตั้งคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยงขึ้น เพื่อทําหน้าที่กําหนดนโยบาย และกรอบการบริหารความเสี่ยงโดยรวมของบริษัทฯ ที่อาจ มีผลกระทบต่อผลการดําเนินงานของบริษัทฯ และได้จัดตั้งฝ่ายตรวจสอบภายในขึ้น เพื่อจัดให้มีระบบการ ควบคุมด้านการดําเนินงาน ด้านรายงานทางการเงิน และด้านการปฏิบัติตามกฎ ระเบียบและนโยบาย เพื่อให้ มั่นใจว่าการปฏิบัติงานหลักและกิจกรรมทางการเงินสําคัญของบริษัทฯ ได้ดําเนินการตามแนวทางที่กําหนด และมีประสิทธิภาพ และเพื่อให้หน่วยงานตรวจสอบภายในมีความเป็นอิสระ สามารถทําหน้าที่ตรวจสอบและ ถ่วงดุลได้อย่างเต็มที่ คณะกรรมการจึงกําหนดให้ฝ่ายตรวจสอบภายใน รายงานผลการตรวจสอบโดยตรงต่อ คณะกรรมการตรวจสอบและบรรษัทภิบาล (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมหัวข้อเรื่องการควบคุมภายใน)

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 59


4 การประชุมคณะกรรมการ 4.1 คณะกรรมการบริษัท มีกําหนดประชุมคณะกรรมการไว้เป็นการล่วงหน้าตลอดปีอย่างน้อยไตรมาส ละ 1 ครั้ง และมีการประชุมพิเศษเพิ่มเติมในระหว่างปี ซี่งรวมทั้งปีไม่น้อยกว่า 6 ครั้ง ทั้งนี้บริษัทฯ ได้แจ้งกําหนดการ ดังกล่าวให้กรรมการทุกท่านทราบล่วงหน้า เพื่อให้สามารถจัดเวลาและเข้าร่วมประชุมได้ ซึ่งคณะกรรมการ บริษัททุกท่านให้ความสําคัญในการประชุมเป็นอย่างยิ่งและพยายามเข้าร่วมประชุมทุกครั้ง โดยในปี 2557 มี การประชุมคณะกรรมการบริษัททั้งสิ้น 6 ครั้ง และในภาพรวมของกรรมการทุกท่าน มีสัดส่วนการเข้าร่วม ประชุมคณะกรรมการ ร้อยละ 93 ของการประชุมทั้งปี ทั้งนี้บริษัทฯ ได้จัดส่งหนังสือเชิญประชุมล่วงหน้าก่อน วั น ประชุ ม อย่ า งน้ อ ย 7 วั น มี ก ารกํ า หนดวาระชั ด เจน และสํ า นั ก กรรมการผู้ จั ด การจะจั ด ส่ ง เอกสาร ประกอบการประชุมให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณาล่วงหน้าอย่างน้อย 5 วันก่อนการประชุม เพื่อให้กรรมการ ได้มีเวลาศึกษาข้อมูลมาก่อนล่วงหน้า โดยกรรมการแต่ละคนมีความเป็นอิสระที่จะเสนอเรื่องเข้าสู่วาระการ ประชุมได้ หรือหากต้องการสารสนเทศเพิ่มเติม ก็สามารถแจ้งต่อกรรมการผู้จัดการใหญ่ หรือเลขานุการบริษัทได้ 4.2 ในการประชุมคณะกรรมการบริษัท ประธานกรรมการได้จัดสรรเวลาไว้อย่างเพียงพอที่กรรมการจะอภิปรายปัญหา สําคัญกันอย่างรอบคอบโดยทั่วกัน และกรรมการผู้จัดการได้เชิญผู้บริหารระดับสูงเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ ด้วยทุกครั้ง เพื่อให้สารสนเทศ รายละเอียดเพิ่มเติมในฐานะที่เกี่ยวข้องกับปัญหาโดยตรง ทั้งนี้ในการประชุม คณะกรรมการบริษัท จะมีวาระพิจารณาติดตามผลการดําเนินงานเป็นประจําทุกไตรมาส โดยคณะกรรมการ บริษัท สามารถแสดงความคิดเห็นได้อย่างเปิดเผยและเป็นอิสระ มีการบันทึกรายงานการประชุมเป็นลาย ลักษณ์อักษร และจัดเก็บรายงานการประชุมที่ผ่านการรับรองจากคณะกรรมการบริษัทเพื่อให้กรรมการและ ผู้เกี่ยวข้องตรวจสอบได้ 5 การประเมินตนเองของคณะกรรมการ ตั้งแต่ปี 2551 บริษัทได้ดําเนินการประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการโดยรวม ตามแบบฟอร์มของ ศูนย์พัฒนาการกํากับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยแล้ว ซึ่งแบ่งหัวข้อการประเมิน ออกเป็น 6 หมวด คือ 1. โครงสร้างและคุณสมบัติของคณะกรรมการ 2. บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 3. การประชุมคณะกรรมการ 4. การทําหน้าที่ของกรรมการ 5. ความสัมพันธ์กับฝ่ายจัดการ 6. การพัฒนาตนเองของกรรมการและการพัฒนาผู้บริหาร บริษัทฯ ได้จัดให้มีการประเมินผลคณะกรรมการโดยรวม ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี โดยสํานักกรรมการ ผู้จัดการ จะรวบรวมและสรุปผลการประเมิน รายงานผลต่อคณะกรรมการบริษัท ทั้งนี้ผลประเมินกรรมการ ประจําปี 2556 อยู่ในระดับ “ดี” (คะแนนรวม 3.65 จากคะแนนเต็ม 4 คะแนน ซึ่งเพิ่มขึ้น 3% จากปี 2555)

60 รายงานประจ�ำปี 2557


และคณะกรรมการ ได้ ร่ ว มกั น อภิ ป รายถึ ง ผลการประเมิ น และหาแนวทางปรั บ ปรุ ง การดํ า เนิ น งานให้ มี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 6 ค่าตอบแทน คณะกรรมการบริ ษัท ได้แ ต่ง ตั้ ง คณะกรรมการสรรหาและกํ าหนดค่ าตอบแทน โดยมีก รรมการอิ ส ระเป็ น ประธานกรรมการ เพื่อทํ า หน้ า ที่ ใ นการกํา หนดนโยบาย วิ ธี ก าร และหลั ก เกณฑ์ ก ารกํ า หนดค่า ตอบแทนให้แ ก่ กรรมการ ประธานกรรมการบริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่ ที่เป็นธรรมและสมเหตุสมผล โปร่งใส เชื่อมโยงกับ ผลการดําเนินงานของบริษัท และผลการปฏิบัติงานของแต่ละท่าน อยู่ในระดับเดียวกับอุตสาหกรรม และสูงเพียง พอที่จะดูแลรักษากรรมการที่มีคุณสมบัติที่ต้องการ สําหรับการกําหนดค่าตอบแทนแก่กรรมการบริษัท จะต้องได้รับ การอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัท และบริษัทได้เปิดเผยจํานวนค่าตอบแทนของกรรมการแต่ละท่านไว้ใน รายงานประจํา ปี และแบบ 56-1 ตามที่สํ า นัก งานกลต. กําหนดแล้ว (รายละเอี ยดตามหัวข้อเรื่อ งค่าตอบแทน กรรมการและผู้บริหาร) 7 การพัฒนากรรมการและผู้บริหาร 7.1 คณะกรรมการบริษัท ได้สนับสนุนและอํานวยความสะดวกให้มีการฝึกอบรมและให้ความรู้แก่กรรมการและ กรรมการตรวจสอบ โดยการเข้าร่วมอบรมหลักสูตรต่าง ๆ ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) อย่างสม่ําเสมอ โดยปัจจุบันมีกรรมการร้อยละ 78 ที่ได้เข้ารับ การอบรมกับสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) แล้ว โดยมีรายละเอียดดังนี้ รายชื่อกรรมการ 1. คุณสมพงษ์ เผอิญโชค 2. คุณแก้วใจ เผอิญโชค 3. คุณสมเกียรติ นิ่มระวี 4. คุณปรีชา อรรถวิภัชน์

5. คุณสุเวทย์ ธีรวชิรกุล 6. คุณดําริ ตันชีวะวงศ์

หลักสูตร Director Certification Program 26/2003 Director Certification Program 29/2003 Director Accreditation Program 10/2004 Director Certification Program 39/2004 Finance for Non-Finance Directors 8/2004 Director Accreditation Program 107/2014 Director Certification Program 9/2001 Audit Committee Program 15/2006 Director Certification Program 106/2008 Audit Committee Program 24/2008 Role of the Chairman Program 22/2009 Role of Compensation Committee 10/2010

โดยในปี 2557 นายปรีชา อรรถวิภัชน์ รองประธานกรรมการบริษัท ได้เข้าร่วมการอบรมหลักสูตร Director Accreditation Program ซึ่งจัดโดย IOD

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 61


7.2 บริษัทฯ ได้จัดให้มีการปฐมนิเทศกรรมการเข้าใหม่ โดยกรรมการผู้จัดการใหญ่ จะเป็นผู้แนะนําลักษณะธุรกิจ และแนวทางการดําเนินธุรกิจของบริษัท ตลอดจนบทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบของกรรมการ การรายงาน การถือ ครองหลั กทรั พย์ ข องกรรมการต่ อสํ า นั ก งานกลต. และบริษั ท การเปิ ดข้ อมู ล การมี ส่ ว นได้เ สีย ของ กรรมการต่อบริษัทฯ เป็นประจําทุกปี ค่าตอบแทนสําหรับกรรมการ กําหนดการประชุมคณะกรรมการชุดต่าง ๆ ตลอดทั้งปี และกําหนดการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ฯลฯ และส่งเสริมให้กรรมการได้เข้ารับการฝึกอบรม หลักสูตรต่าง ๆ โดยบริษัทเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายทั้งหมด เพื่อเป็นเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจในการปฏิบัติ หน้าที่กรรมการ ภายใต้หลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี 7.3 การจัดทําแผนการพัฒนาและสืบทอดงานของกรรมการผู้จัดการใหญ่ และผู้บริหารระดับสูงนั้น ขณะนี้ยังมิได้ ดําเนินการ ซึ่งคณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทนจะพิจารณาดําเนินการในลําดับถัดไป

การดูแลเรือ่ งการใชขอมูลภายใน บริษัทฯ ได้ตระหนักถึงความสําคัญของการป้องกันการใช้ข้อมูลภายในเป็นอย่างยิ่ง จึงมีนโยบายอย่างเข้มงวดในการป้องกัน ไม่ให้คณะกรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงานนําข้อมูลภายในไปใช้เพื่อผลประโยชน์ของตน ข้อมูลภายในที่สําคัญจะเปิดเผย ต่อบุคคลที่เกี่ยวข้องเท่านั้น เช่น ผู้ตรวจสอบบัญชี ที่ปรึกษากฎหมาย เป็นต้น บริษัทฯ จะเปิดเผยข้อมูลให้กับผู้ถือหุ้นเฉพาะ เรื่อง และในเวลาที่เหมาะสมเท่านั้น คณะกรรมการบริษัท ได้มีข้อกําหนดให้คณะกรรมการบริษัท ผู้บริหาร และผู้จัดการฝ่ายบัญชีและการเงิน (รวมคู่สมรส บิดา มารดา บุตร พี่น้อง) หลีกเลี่ยงการซื้อขายหลักทรัพย์ก่อนที่บริษัทฯ จะเผยแพร่งบการเงินต่อตลาดหลักทรัพย์ฯ ล่วงหน้า อย่างน้อย 5 วันทําการ อีกทั้งบริษัทฯ ได้แจ้งให้ทราบถึงภาระหน้าที่ในการรายงานการถือครองหลักทรัพย์ในบริษัทของตน (รวมคู่ สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ) ตลอดจนรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพย์ ต่อสํานักงานคณะกรรมการกํากับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตามมาตร 59 และบทลงโทษตามมาตรา 275 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 โดยบริษัทฯ มอบหมายให้ส่วนงานหลักทรัพย์และนักลงทุนสัมพันธ์ ดําเนินการแจ้งช่วงเวลาที่ควรหลีกเลี่ยงการซื้อขาย หลักทรัพย์ ล่วงหน้าเป็นประจําทุกไตรมาส ซึ่งบริษัทฯ ได้กําหนดเรื่องหลักการดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายในไว้เป็นหัวข้อหนึ่งของ จรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ เพื่อให้พนักงานทุกคนพึงยึดถือปฏิบัติ คณะกรรมการบริษัท ได้กําหนดให้กรรมการและผู้บริหารที่มีหน้าที่รายงานการถือครองหลักทรัพย์ตามกฎหมาย ต้องจัดส่งสําเนา รายงานดังกล่าวให้แก่เลขานุการบริษัท ภายใน 3 วันทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพย์ และให้มีการรายงานการ เปลี่ ยนแปลงการถื อ ครองหลัก ทรั พย์ ข องกรรมการและผู้ บ ริ ห ารต่ อ ที่ป ระชุม คณะกรรมการบริ ษั ท ทุก ไตรมาส นอกจากนั้ น คณะกรรมการบริษัท ยังได้กําหนดให้กรรมการและผู้บริหารจัดทํา “แบบแจ้งรายงานการมีส่วนได้เสียของกรรมการและผู้บริหาร” เพื่อรายงานให้บริษัททราบถึงการมีส่วนได้เสียของตนหรือของบุคคลที่มีความเกี่ยวข้อง ต่อการบริหารจัดการกิจการของบริษัทหรือ บริษัทย่อย ให้เป็นไปตามพ.ร.บ. หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2551 มาตรา 89/14 และตามประกาศ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ.2/2552 โดยจะต้องรายงานทุกครั้งเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูล และรายงานทุกวันที่ 1 กรกฎาคมของทุกปี โดยส่งข้อมูลมายังเลขานุการบริษัท เพื่อจัดเก็บ พร้อมทั้งสําเนารายงานดังกล่าวให้ประธานกรรมการ และ ประธานกรรมการตรวจสอบและบรรษั ทภิบ าลทุก ครั้ง ใ เพื่อ ให้มั่นใจได้ว่ า กรรมการและผู้ บ ริ หารจะปฏิ บั ติ หน้า ที่ด้ วยความ

62 รายงานประจ�ำปี 2557


ระมัดระวังและซื่อสัตย์สุจริต (fiduciary duties) ตัดสินใจโดยไม่มีส่วนได้เสียไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อมในเรื่องที่ตัดสินใจ สามารถ ติดตามดูแลให้การทําหน้าที่ของกรรมการและผู้บริหาร เป็นไปเพื่อประโยชน์สูงสุดแก่บริษัท และผู้ถือหุ้นโดยรวม

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 63


การควบคุมภายใน การควบคุมภายใน จากการประชุมคณะกรรมการบริษัท ประจําป 2557 ซึ่งมีคณะกรรมการตรวจสอบและบรรษัทภิบาล ไดเขารวมประชุมดวย นั้น คณะกรรมการบริษัทกับคณะกรรมการตรวจสอบและบรรษัทภิบาล มีความเห็นพองกันวา บริษทั มีระบบการควบคุมภายในที่ เพียงพอและเหมาะสม โดยสรุปไดดังนี้ องคกรและสภาพแวดลอม (Organizational Control and Environmental Measure) บริษัทฯ มีเปาหมายการดําเนินธุรกิจชัดเจนและมีการประเมินผลอยางตอเนื่อง รวมทั้งไดปรับ โครงสรางองคกรใหมี ความเหมาะสมกับสภาพธุรกิจปจจุบันที่มีการขยายตัวเพิ่มขึ้น เพื่อสนับสนุนใหฝายบริหารมีการดําเนินงานไดอยางมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ บริษัทยังกําหนดนโยบายและแผนการปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงคุณภาพ ราคาผลิตภัณฑ และงานบริการที่เปนธรรมกับ ลูกคา มีการกําหนดระเบียบวิธีปฏิบัติงานไวเปนลายลักษณอักษร เพื่อใหมีแนวทางการทํางานอยางเปนระบบตามมาตรฐาน และมี การตรวจสอบ ติดตามการปฏิบัติงานจริงทั้งในธุรกรรมดานการเงิน การจัดซื้อ การบริหารทั่วไป การปฏิบัติงานดานการผลิตและ การตลาด เพื่อใหมั่นใจไดวา การปฏิบัติงานเปนไปตามนโยบายที่กําหนด และไมมีการปฏิบัติงานในลักษณะที่อาจกอใหเกิดผลเสีย กับบริษัท การบริหารความเสี่ยง (Risk Management Measure) บริษัทฯ ใหความสําคัญกับการบริหารความเสี่ยงที่มีผลกระทบกับการดําเนินธุรกิจ โดยมีคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คอยกํากับดูแลใหมีการประเมินปจจัยและโอกาสที่จะทําใหเกิดความเสี่ยง รวมทั้งวิเคราะหผลกระทบจากความเสี่ยงที่เกิดขึ้น แลว แจงใหผูบริหารหรือผูปฏิบัติงานทราบและรวมกันกําหนดมาตรการ แนวทางปองกัน รวมทั้งติดตามการปฏิบัติตามมาตรการที่ กําหนด เพื่อลดความเสี่ยงใหอยูในระดับที่ยอมรับได การควบคุมการปฏิบัติงานของฝายบริหาร (Management Control Activities) บริษัทฯ มีการกําหนดขอบเขตอํานาจหนาที่และวงเงินอนุมัติของฝายบริหารแตละระดับไวเปนลายลักษณอักษร มีการ แบงแยกหนาที่การอนุมัติ/ การบันทึกรายการ/ และการดูแลทรัพยสินอยางชัดเจน การทําธุรกรรมกับผูถือหุนรายใหญ/ กรรมการ/ ผูบริหาร หรือผูที่เกี่ยวของ มีการอนุมัติอยางถูกตอง โดยผานการพิจารณาจากกรรมการอิสระผูไมมีสวนไดเสีย และมีการติดตาม การปฏิบัติตามเงื่อนไขอยางถูกตอง สวนการลงทุนในบริษัทยอยหรือบริษัทรวม มีการติดตามดูแลการดําเนินงานอยางตอเนื่อง สําหรับการปฏิบัติงานของฝายงานตางๆนั้น ผลการตรวจของฝายตรวจสอบภายใน พบวา มีการปฏิบัติงานโดยรวมเปนไปตาม ระเบียบ ระบบงานที่กําหนดไว และยังไมปรากฏการปฏิบัติงานที่ไมถูกตองตามกฎหมาย ขอบังคับของทางราชการ ระบบสารสนเทศและการสื่อสารขอมูล (Informational and Communication Measure) การประชุมคณะกรรมการแตละวาระ บริษัทมีการจัดเตรียมขอมูล เอกสารประกอบการประชุม ที่เปนสาระสําคัญตางๆ อยางเพียงพอ เพื่อใหคณะกรรมการใชประกอบการตัดสินใจ โดยมีการบันทึกและสรุปความเห็นของที่ประชุมไวในรายงานการ ประชุมอยางครบถวน และตรวจสอบไดทุกครั้ง

64 รายงานประจ�ำปี 2557


ดานการบันทึกบัญชี เปนไปตามหลักการที่รับรองทั่วไป และเอกสารประกอบการบันทึกบัญชี มีการรวบรวมไวเปนหมวดหมู และ จัดเก็บไวอยางครบถวนตามระยะเวลาที่กฎหมายกําหนด รวมทั้งมีการติดตาม ใหมีการปรับปรุงแกไขการปฏิบัติงานตามคําแนะนํา ในรายงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาตอยางครบถวน ระบบการติดตาม (Monitoring) บริษัทฯ จัดใหมีการประชุมคณะกรรมการบริษัทวาระปกติ ไตรมาสละครั้ง และมีการประชุมผูบริหารในวาระพิเศษอยาง ตอเนื่อง เพื่อพิจารณา ติดตามผลการดําเนินงานของฝายบริหาร วาเปนไปตามเปาหมาย หรือพิจารณากําหนดแนวทางแกไข หาก ผลการดําเนินงานไมเปนไปตามเปาหมายที่กําหนด โดยสรุป การควบคุมภายใน ไดกําหนดแผนการตรวจสอบการปฏิบัติงานตามกฎระเบียบของบริษัทอยางสม่ําเสมอ และ รายงานขอบกพรองที่เปนสาระสําคัญใหคณะกรรมการตรวจสอบ/ คณะกรรมการบริษัททราบในที่ประชุมวาระปกติ ซึ่งจัดประชุม พรอมกับการประชุมคณะกรรมการบริษัท ไตรมาสละครั้ง เพื่อพิจารณาสั่งการแกไขและติดตาม ทั้งนี้ในกรณีทุจริต หรือเปนการ ปฏิบัติที่ฝาฝนกฎหมาย จะมีการรายงานใหคณะกรรมการบริษัททราบทันที

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 65


66 รายงานประจ�ำปี 2557


รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ และบรรษัทภิบาล รายงานคณะกรรมการตรวจสอบและบรรษัทภิบาล

คณะกรรมการตรวจสอบและบรรษัทภิบาล ได้ป ฏิบัติหน้า ที่ตามที่ คณะกรรมการบริษัทมอบหมายให้กํากับดู แล ตาม ข้อบังคับว่าด้วยคณะกรรมการตรวจสอบและบรรษัทภิบาลที่สําคัญ ได้แก่ การสอบทานงบการเงิน การสอบทานการกํากับดูแล กิจการที่ดี การสอบทานระบบประเมินการบริหารความเสี่ยง การสอบทานระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน การสอบทานการตรวจสอบทุจริต การเสนอแต่งตั้งและเลิกจ้างผู้สอบบัญชีภายนอกประจําปี 2557 โดยในปี 2557 มีการประชุม คณะกรรมการตรวจสอบและบรรษัทภิบาล จํานวน 4 ครั้ง และกรรมการตรวจสอบและบรรษัทภิบาล ได้เข้าร่วมประชุมครบองค์ ประชุมทุกครั้ง สรุปสาระสําคัญในการปฏิบัติหน้าที่ในปี 2557 ดังนี้

1. การสอบทานระบบรายงานทางการเงิน คณะกรรมการตรวจสอบและบรรษัทภิบาล ได้สอบทานข้อมูลที่สําคัญของงบการเงินรายไตรมาสและประจําปี งบ การเงินรวมในปี 2557 ของบริษัทไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์จํากัด (มหาชน) และ บริษัทย่อย ซึ่งได้จัดทําตามมาตรฐานการรายงานทาง การเงิน โดยได้สอบทานประเด็นที่เป็นสาระสําคัญ รายการพิเศษ และได้รับคําชี้แจงจากผู้สอบบัญชี ผู้จัดการฝ่ายบัญชี และ ผู้บริหารว่า ได้ทําตามข้อกําหนดของกฎหมายและมาตรฐานการรายงานทางการเงิน รวมทั้งการเปิดเผยหมายเหตุประกอบในงบ การเงินอย่างเพียงพอตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินจากผู้สอบบัญชี ฝ่ายจัดการ ฝ่ายตรวจสอบภายใน จนเป็นที่พอใจ จึง ได้ให้ความเห็นชอบงบการเงินดังกล่าว นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบและบรรษั ทภิ บาลได้ประชุมร่ วมกั บผู้สอบบั ญชี โดยไม่มีฝ่ายจัด การ เพื่อ ปรึกษาหารือกันอย่างอิสระถึงข้อมูลที่มีสาระสําคัญในการจัดทํางบการเงินและการเปิดเผยข้อมูลที่เป็นไปตามมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินและเป็นประโยชน์กับผู้ใช้งบการเงิน รวมทั้งพฤติการณ์อันควรสงสัย ซึ่งในปี 2557 ผู้สอบบัญชีไม่ได้มีข้อสังเกตที่เป็น สาระสําคัญ และไม่พบพฤติการณ์อันควรสงสัย ส่งผลให้การจัดทํางบการเงิน และงบการเงินรวมของบริษัท เชื่อถือได้ โปร่งใส และ สามารถตรวจสอบได้

2. การสอบทานการกํากับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการตรวจสอบและบรรษัทภิบาล ได้สอบทานการปฏิบัติตามจรรยาบรรณและบรรษัทภิบาลที่ดี พบว่า กรรมการบริษัทและพนักงานได้ปฏิบัติตามหลักการที่กําหนดไว้อย่างเคร่งครัด โดยคณะกรรมการบริษัทได้ส่งเสริมให้พนักงานทุก ระดับมีจิตสํานึกในจริยธรรมและคุณธรรมอย่างสม่ําเสมอและต่อเนื่อง นอกจากนี้ ยั งได้สอบทานการปฏิ บั ติ ตามกฎหมายว่ าด้ วยหลั กทรัพย์ และตลาดหลั กทรั พย์ ข้ อกํ าหนดของตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดําเนินธุรกิจอย่างเคร่งครัด โดยเฉพาะรายการเกี่ยวโยงและรายการที่อาจมี ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ รายงานของกรรมการ ที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งเปิดเผยให้ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยทราบอย่าง ถูกต้องตามเวลาที่กําหนด

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 67


3. การสอบทานระบบประเมินการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการตรวจสอบและบรรษัทภิบาล ได้สอบทานการประเมินการบริหารความเสี่ยงของ บริษัทไทยรุ่งยูเนี่ยน คาร์จํากัด (มหาชน) โดยพิจารณาปัจจัยเสี่ยงทั้งปัจจัยภายในและภายนอก โอกาสที่จะเกิด ผลกระทบและการบริหารจัดการความ เสี่ยงเพื่อให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ในปี 2557 มีประเด็นความเสี่ยงที่สําคัญในเรื่อง อัตราหมุนเวียนพนักงานสูง แต่ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มพนักงานฝ่ายการผลิต ซึ่งจะผันแปรไปตามปริมาณงานที่มีในแต่ละช่วงเวลา จึงไม่ส่งผลกระทบต่อการบริหารจัดการ หรือไม่ส่งผลให้การดําเนินธุรกิจต้อง หยุดชะงัก ทั้งนี้ฝ่ายจัดการได้ประเมินความเสี่ยงล่วงหน้า และจัดการความเสี่ยง โดยกําหนดมาตรการป้องกันเพื่อรองรับสถานการณ์ที่ อาจจะเกิดขึ้น เช่น การกําหนดแผนปรับปรุงขบวนการผลิตให้ได้มาตรฐาน ควบคุมอัตราหมุนเวียนพนักงานให้อยู่ในเกณฑ์ที่กําหนด โดย คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง จะได้รับรายงานผลการบริหารความเสี่ยงอย่างสม่ําเสมอทุกไตรมาส

4. การสอบทานระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตรวจสอบและบรรษัทภิบาล ได้สอบทานผลการประเมินระบบการควบคุมภายใน ที่ฝ่ายตรวจสอบได้ รายงานเป็นรายไตรมาส พบว่า มีความเหมาะสมกับการดําเนินธุรกิจของบริษัท โดยยังไม่พบข้อบกพร่องที่เป็นสาระสําคัญหรือที่จะ มีผลกระทบต่องบการเงินของบริษัท ในด้านการตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตรวจสอบและบรรษัทภิ บาลได้ สอบทาน การปฏิ บั ติง านของฝ่ า ย ตรวจสอบภายในตามแผนงานประจําปีที่ได้รับอนุมัติแล้ว พบว่าได้บรรลุตามเป้าหมายและดัชนีตัวชี้วัด (KPI) ที่กําหนดไว้ รวมทั้งได้ สอบทานความเหมาะสมของการกําหนดผังการบริหารงาน ความเพียงพอของอัตรากําลัง กระบวนการตรวจสอบการควบคุมภายใน ซึ่งผลการปฏิบัติเป็นไปตามมาตรฐานการตรวจสอบภายใน สําหรับการพัฒนางานตรวจสอบนั้น ฝ่ายตรวจสอบภายใน ได้ให้ ความสําคัญทั้งการพัฒนาคนและเครื่องมือในการตรวจสอบให้เป็นไปตามหลักการของมาตรฐานสากลการปฏิบัติงานวิชาชีพการ ตรวจสอบภายใน

5. การสอบทานการตรวจสอบทุจริต คณะกรรมการตรวจสอบและบรรษัทภิบาล ได้สอบทานผลการตรวจสอบทุจริตเป็นรายไตรมาส รวมทั้งได้สอบทาน มาตรการและการกําหนดแนวทางเชิงป้องกันการทุจริตที่จะเกิดขึ้นได้ในระบบงานต่างๆ การตรวจสอบทุจริตตามมาตรฐานการ ประเมินความเสี่ยงและระเบียบการสอบสวนให้ทันสมัย และเหมาะสมกับสภาพการดําเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง ทั้ง นี้ ในปี 2557 บริ ษัท ไม่ มีเรื่ องร้ อ งเรียนหรื อ เรื่ อ งเข้ า ข่ า ยทุ จ ริ ต ที่ เป็ น สาระสํ า คั ญ นอกจากนี้ บ ริ ษั ทได้ มี การ ประกาศเจตนารมณ์แนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (Collective Action Coalition) ต่อสมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) เป็นที่เรียบร้อยแล้ว

68 รายงานประจ�ำปี 2557


6. การพิจารณาเสนอแต่งตั้งผู้สอบบัญชีและค่าสอบบัญชีประจําปี 2557 คณะกรรมการตรวจสอบและบรรษัทภิบาล ได้พิจารณาเสนอแต่งตั้งผู้สอบบัญชีและค่าสอบบัญชีประจําปี 2557 โดยนําเสนอว่าจ้าง บริษัท เอเอ็นเอส ออดิท จํากัด ต่อคณะกรรมการบริษัท ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบและบรรษัทภิบาลได้ พิจารณาการปฏิบัติงาน ความเป็นอิสระ และค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชีแล้วมีความเหมาะสม จึงเห็นควรเสนอแต่งตั้งผู้สอบบัญชี ของ บริษัท เอเอ็นเอส ออดิท จํากัด เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทต่ออีกวาระหนึ่ง ด้วยค่าตอบแทนเป็นเงิน 1.13 ล้านบาท/ ปี (ปี 2556 = 1.03 ล้านบาท/ ปี) ดังนี้ นายอธิพงศ์

อธิพงศ์สกุล

ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3500

และ / หรือ

นายวิชัย

รุจิตานนท์

ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4054

และ / หรือ

นายเสถียร

วงศ์สนันท์

ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3495

และ / หรือ

น.ส.กุลธิดา

ภาสุรกุล

ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 5946

โดยสรุป คณะกรรมการตรวจสอบและบรรษัทภิบาลได้ปฏิบัติหน้าที่ตามที่คณะกรรมการบริษัทได้มอบหมายให้ กํากับดูแล ตามข้อบังคับว่าด้วยคณะกรรมการตรวจสอบและบรรษัทภิบาลอย่างครบถ้วน ซึ่งมีความเห็นว่า บริษัทฯ มีการรายงาน ข้อมูลทางการเงินและการดําเนินงานอย่างถูกต้อง มีการกํากับดูแลกิจการตามหลักธรรมาภิบาลที่ดี และมีระบบประเมินการบริหาร จัดการความเสี่ยง รวมทั้งระบบควบคุมภายในอย่างเพียงพอ เหมาะสม โปร่งใส และเชื่อถือได้

(นายปรีชา อรรถวิภัชน์) ประธานกรรมการตรวจสอบและบรรษัทภิบาล

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 69


รายงานของคณะกรรมการสรรหา และก�ำหนดค่าตอบแทน รายงานของคณะกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน

คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน ประกอบด้วยกรรมการอิสระที่ไม่ได้เป็นผู้บริหารของบริษัทจํานวน 3 ท่าน โดยคณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน มีหน้าที่สรรหาผู้ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมในการดํารงตําแหน่งกรรมการบริษัท อย่างมี หลักเกณฑ์ โปร่งใส รวมทั้งจากรายชื่อที่ผู้ถือหุ้นเสนอแนะ (ถ้ามี) เพื่อนําเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท และผู้ถือหุ้นพิจารณาอนุมัติ ต่อไป รวมทั้งการสรรหาผู้ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมสําหรับการดํารงตําแหน่งประธานกรรมการบริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่ ใน กรณี ที่ มี ตํ าแหน่ ง ว่ า งลงเพื่ อนํา เสนอต่ อคณะกรรมการบริ ษั ท พิ จารณาอนุมั ติ รวมทั้ ง แผนการสื บทอดตํ า แหน่ ง ผู้บ ริ ห ารระดั บ สู ง นอกจากนี้ยังมีหน้า ที่กําหนดนโยบาย วิธีการ และหลักเกณฑ์ก ารกําหนดค่าตอบแทน รวมถึ งการพิจารณา ทบทวน การกําหนด ค่าตอบแทนของกรรมการ ประธานกรรมการบริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่ ที่เป็นธรรมและสมเหตุสมผล เชื่อมโยงกับผลการ ดําเนินงานของบริษัทฯ และผลการปฏิบัติงานของแต่ละท่าน โดยนําเสนอความเห็นต่อคณะกรรมการบริษัทอย่างเป็นอิสระ เพื่อให้การ กําหนดค่าตอบแทนมีความเหมาะสม และเป็นธรรมแก่ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ตลอดจนเป็นการดูแลผลประโยชน์แทนผู้ถือหุ้น ซึ่งเป็นไป ตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ ในปี 2557 คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน ได้มีการประชุมเพื่อพิจารณาเรื่องต่างๆ ดังนี้

1. พิจารณาค่าตอบแทนประจําปี 2557 และค่าตอบแทนประจําเดือน ปี 2558 ให้แก่ประธานกรรมการบริหาร และ กรรมการผู้จัดการใหญ่

2. พิจารณาค่าตอบแทน ประจําปี 2557 ให้แก่คณะกรรมการบริษัท เป็นรายบุคคล โดยพิจารณาจากผลการดําเนินงาน ของบริษัทฯ และหน้าที่ ความรับผิดชอบ และผลการปฏิบัติงานของกรรมการแต่ละท่าน ภายใต้วงเงินที่ผู้ถือหุ้นอนุมัติ

3. พิจารณาค่าตอบแทนกรรมการ ประจําปี 2558 เพื่อนําเสนอคณะกรรมการบริษัท และนําเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้น พิจารณาอนุมัติ โดยคณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทนได้พิจารณาให้เหมาะสมกับขอบเขตหน้าที่ความ รับผิดชอบ และเทียบเคียงกับค่าตอบแทนของอุตสาหกรรมประเภทเดียวกันแล้ว

4. พิจารณาความเหมาะสมในการแต่งตั้งกรรมการแทนกรรมการที่ออกจากตําแหน่งตามวาระ เพื่อนําเสนอคณะกรรมการ บริษัทและผู้ถือหุ้นพิจารณาต่อไป โดยสรุปในภาพรวมแล้ว คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทนได้ปฏิบัติหน้าที่ครบถ้วนตามที่ได้รับมอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัทแล้ว ผู้ถือหุ้นจึงมั่นใจได้ว่าการสรรหากรรมการ และการกําหนดค่าตอบแทนกรรมการเป็นไปอย่างมีหลักเกณฑ์ที่ โปร่งใส และเหมาะสม ภายใต้แนวทางการกํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท

( นายปรีชา อรรถวิภัชน์ ) ประธานคณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน

70 รายงานประจ�ำปี 2557


รายงานความรับผิดชอบ

ของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษัทเปนผูรับผิดชอบตองบการเงินรวมของบริษัท ไทยรุงยูเนี่ยนคาร จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย และ สารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏในรายงานประจําป งบการเงินดังกลาวจัดทําขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไปในประเทศไทย โดยเลือกใชนโยบายบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติอยางสม่ําเสมอ และใชดุลยพินิจอยางระมัดระวังและประมาณการที่ดีที่สุดในการ จัดทํา รวมทั้งมีการเปดเผยขอมูลสําคัญอยางเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน คณะกรรมการไดจัดใหมีและดํารงรักษาไวซึ่งระบบควบคุมภายในที่มีประสิทธิผล เพื่อใหมั่นใจไดอยางมีเหตุผลวาการบันทึก ขอมูลทางบัญชีมีความถูกตองครบถวน อยางเพียงพอ ทันเวลา และปองกันไมใหเกิดการทุจริตหรือการดําเนินการที่ผิดปกติอยางมี สาระสําคัญ ในการนี้ คณะกรรมการบริษัทไดแตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบและบรรษัทภิบาล ซึ่งประกอบดวย กรรมการที่เปนอิสระ กํากับดูแลคุณภาพของงบการเงินและประเมินระบบควบคุมภายในใหมีประสิทธิผล ซึ่งความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบและ บรรษัทภิบาล ปรากฏในรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบและบรรษัทภิบาลซึ่งไดแสดงไวในรายงานประจําปนี้แลว คณะกรรมการมีความเห็นวาระบบควบคุมภายในของบริษัทฯ โดยรวมอยูในระดับที่เหมาะสมและเพียงพอตอความเชื่อถือได ของงบการเงินของบริษัทฯและบริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557

( ดร. ปราณี เผอิญโชค )

( นายสมพงษ เผอิญโชค )

ประธานกรรมการ

กรรมการและกรรมการผูจัดการใหญ

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 71


ค�ำอธิบายและการวิเคราะห์ฐานะทางการเงิน และผลการด�ำเนินงาน คําอธิบายและการวิเคราะห์ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน (งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557) ในปี 2557 อุตสาหกรรมยานยนต์ของไทย มียอดผลิตรถยนต์ชะลอตัวลง จากจํานวนการผลิตที่คาดการณ์ไว้ เนื่องจาก นโยบายภาษีรถคันแรกของรัฐบาลที่เสร็จสิ้นลง และตลาดในประเทศที่มีชะลอตัวลงตามภาวะเศรษฐกิจ ประกอบกับต้นทุนที่เพิ่ม สูงขึ้นจาก นโยบายปรับขึ้นค่าแรงขั้นต่ําเป็น 300 บาท ความผันผวนของราคาน้ํามัน ค่าเงินบาทที่แข็งค่าขึ้น เศรษฐกิจในโลกที่ ถดถอย รวมถึงการแข่งขันในอุตสาหกรรมทั้งในระดับประเทศและภูมิภาคอาเซียนที่รุนแรง อย่างไรก็ตาม ทั้งทีมผู้บริหารและ พนักงานของบริษัทต่างมุ่งมั่นทํางานด้วยความเชื่อมั่นในความมั่นคงของบริษัท และประสบการณ์อันยาวนานในการบริหารธุรกิจ ของบริษัท รวมถึงจัดวางกลยุทธ์อันเหมาะสมในการสร้างโอกาสขยายตัว ซึ่งส่งผลให้บริษัทสามารถฟันฝ่าอุปสรรคที่เกิดขึ้นไปได้ ด้วยดี ผลการดําเนินงานของกลุ่มบริษัทไทยรุ่งฯ ในปี 2557 นั้น มีรายได้รวม 2,450 ล้านบาท ลดลง 27% จากปีก่อน และมี กํา ไรสุ ทธิส่ วนที่ เป็ นของบริษั ทใหญ่ 152 ล้า นบาท ลดลง 57% จากปี ก่อน เนื่ องจากสั ดส่ ว นต้ น ทุนขายต่อรายได้ ที่เพิ่มขึ้ น เนื่องมาจากรายได้จากการรับจ้างประกอบและพ่นสีลดลง ซึ่งมีอัตรากําไรที่แตกต่างกันในส่วนผสมของผลิตภัณฑ์ที่ขายหรือรับจ้าง ทําให้ต้นทุนที่เมื่อคิดเป็นสัดส่วนต้นทุนขายและบริการต่อยอดขายสูงขึ้นจากปีก่อน โดยมีอัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ (ROA) อยู่ ที่ 4.9% ลดลงจากปีก่อน 6.3% และอัตราผลตอบแทนส่วนของผู้ถือหุ้น (ROE) อยู่ที่ 4.95% ลดลงจากปีก่อน 6.75% เนื่องจาก กําไรที่ลดลงจากสัดส่วนรายได้และการลงทุนในทรัพย์สินเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตามกลยุทธ์ของบริษัทยังคงมุ่งเน้นรายได้จากงาน แม่พิมพ์ ชิ้นส่วน OEM และงานรับจ้างประกอบและพ่นสีเพิ่มขึ้น ซึ่งปัจจุบันมีสัดส่วนรายได้รวมกันประมาณ 87% ของรายได้รวม บริ ษั ท ฯ ยั ง คงกลยุ ท ธ์ ก ารขยายฐานลู ก ค้ า ไปยั ง อุ ต สาหกรรมอื่ น ๆ เพิ่ ม ขึ้ น เพื่ อ ช่ ว ยลดความเสี่ ย งจากการพึ่ ง พา อุ ต สาหกรรมยานยนต์ เ พี ย งกลุ่ ม เดี ย ว เช่ น กลุ่ ม เครื่ อ งมื อ อุ ต สาหกรรม เครื่ อ งมื อ ก่ อ สร้ า ง เครื่ อ งจั ก รกลการเกษตร และ รถจักรยานยนต์ระดับพรีเมี่ยม ซึ่งเป็น Niche market ที่มีมูลค่าเพิ่มสูง และขยายธุรกิจการประกอบตัวถังรถบรรทุก ซึ่งมีแนวโน้ม เจริญเติบโตที่ดีในอนาคตอันใกล้นี้ เนื่องจากตลาดรถบรรทุกยังมีความต้องการสูง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมีการเปิด AEC ในปลายปี 2558 จะทําให้ภาคการขนส่งในภูมิภาคขยายตัวขึ้นมาก ซึ่งรถบรรทุกและรถเทรลเลอร์ จะเข้ามามีบทบาทในอุตสาหกรรมมากขึ้น

ผลการดําเนินงาน รายได้รวม ใน ปี 2557 บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีรายได้รวมจากการดําเนินงานที่ไม่รวมส่วนแบ่งกําไร เท่ากับ 2,415 ล้านบาท ลดลงจากปีก่อน 904 ล้านบาทหรือคิดเป็นร้อยละ 27 ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

72 รายงานประจ�ำปี 2557


หน่วย: ล้านบาท ประเภทรายได้

2557

2556

เพิ่ม (ลด)

ล้านบาท

%

ล้านบาท

%

ล้านบาท

%

รายได้จากการผลิตอุปกรณ์สําหรับใช้ผลิตรถยนต์

1,448.44

59%

2,045.54

61%

(597.10)

-29%

รายได้จากการรับจ้างประกอบและรับจ้างอื่นๆที่ เกี่ยวกับรถยนต์

579.36

28%

984.71

29%

(305.35)

-31%

รายได้จากการจําหน่ายรถยนต์ ศูนย์บริการรถยนต์

127.31

5%

108.05

3%

19.26

18%

2,255.11

92%

3,138.30

93%

(883.19)

-28%

รายได้อื่น

106.06

7%

180.74

5%

(20.68)

-11%

ส่วนแบ่งกําไรจากการลงทุนในบริษัทร่วม

34.77

1%

55.77

2%

(21.00)

-38%

2,449.94

100%

3,374.81

100%

(924.87)

-27%

รวมรายได้จากการขายและบริการ

รวมรายได้ทั้งสิ้น ส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม

ส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม จํานวนเงิน 35 ล้านบาท ลดลงจากปีก่อน 21 ล้านบาทหรือลดลงร้อยละ 38 เนื่องจากบริษัทร่วมดําเนินธุรกิจอยู่ในอุตสาหกรรมยานยนต์ โดยผลิตอุปกรณ์ประกอบรถยนต์ เช่น ระบบกระจก, และเบาะรถยนต์ ฯลฯ ผลประกอบการของบริษัทร่วมจึงได้รับผลกระทบจากอุตสาหกรรมยานยนต์ที่มีการชะลอตัวในปี 2557 ต้นทุนและค่าใช้จ่าย ในปี 2557 บริษัทฯและบริษัทย่อย มีต้นทุนขายและบริการรวม 1,983 ล้านบาท ลดลงจากปีก่อน 646 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 25 มีสัดส่วนต้นทุนขายและบริการต่อรายได้รวมเท่ากับ ร้อยละ 88 เมื่อเปรียบเทียบกับสัดส่วนต้นทุนขาย และบริการต่อรายได้รวมของปีก่อน เท่ากับร้อยละ 84 สาเหตุที่มีสัดส่วนต้นทุนขายต่อรายได้ที่เพิ่มขึ้น เนื่องมาจากสัดส่วนการ ผลิต Product Mix ที่เปลี่ยนแปลงไปเมื่อเทียบกับปีก่อน กําไรสุทธิ บริษัทฯ มีกําไรส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ ปี 2557 จํานวน 152 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 8 จากรายได้การขาย สินค้าและบริการ โดยกําไรลดลงจากปีก่อน 201 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 57 อันเนื่องมาจากรายได้ที่ลดลงและจากสัดส่วน งานผลิตชิ้นส่วนและงานรับจ้างประกอบที่ลดลง

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 73


ฐานะทางการเงิน ฐานะการเงิ นของ นบริษัทฯ และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 เปรียบเทียบกับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 แสดงได้ดังนี้ ฐานะทางการเงิ ฐานะการเงินของ บริษัทฯ และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 เปรียบเทียบกับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 แสดงได้ดังนี้ หน่วย: ล้านบาท งบการเงินรวม

หน่วย: ล้านบาท

31 ธ.ค. 57

31 ธ.ค. งบการเงิ 56 นรวม เพิ่ม (ลด)

%

31 ธ.ค. 57

31 ธ.ค. 56

เพิ่ม (ลด)

%

1,085

1,088

(23)

-2%

เงินลงทุนในบริษัทร่วม

427

287

140

49%

อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน – สุทธิ

167

239

(71)

-30%

ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ – สุทธิ

1,837

1,821

16

1%

ทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น สินทรพย์

140

195

(54)

-28%

สินทรพย์ ทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น

2,571

2,541

30

1%

รวม สินทรัพย์

3,636

3,629

7

0%

หนี้สินหมุนเวียน

357

406

(49)

-12%

หนี้สินไม่หมุนเวียน

68

70

(2)

-3%

หนี้สิน

425

476

(51)

-11%

รวม ส่วนของบริษัทใหญ่

3,107

3,053

54

2%

ส่วนได้เสียที่ไม่มีอํานาจควบคุม

105

100

4

4%

รวมส่วนของผู้ถือหุ้น

3,211

3,153

58

2%

รวม หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

3,636

3,629

7

0%

สินทรัพย์

สินทรัพย์

สินทรัพย์หมุนเวียน

้สินและส่ หนี้สินและส่หนี วนของผู ้ถือหุว้นนของผู้ถือหุ้น

สินทรัพย์ บริษัทฯ มีสินทรัพย์รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และวันที่ 31 ธันวาคม 2556 เท่ากับ 3,636 ล้านบาท และ 3,629 ล้านบาท ตามลําดับ ซึ่งเพิ่มขึ้น 7 ล้านบาท เป็นการลดลงของสินทรัพย์หมุนเวียน 23 ล้านบาท ซึ่งส่วนใหญ่ของลูกหนี้

74 รายงานประจ�ำปี 2557


การค้าและลูกหนี้อื่นที่ลดลงมาจากยอดขายที่ลดลง แต่มีเงินลงทุนในบริษัทร่วมเพิ่มขึ้น 140 ล้านบาท ส่วนใหญ่จากการลงทุนเพิ่ม ในบริษัทร่วมทุนใหม่ 2 บริษัท จํานวน 130 ล้าน หนี้สิน บริษัทฯ มีหนี้สินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และวันที่ 31 ธันวาคม 2556 เท่ากับ 424 ล้านบาท และ 476 ล้าน บาท ตามลําดับ ลดลง 52 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 11 โดยส่วนใหญ่เป็นการลดลงของเจ้าหนี้การค้า ส่วนของผู้ถือหุ้น บริษัทฯ มีส่วนของผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และวันที่ 31 ธันวาคม 2556 เท่ากับ 3,212 ล้านบาท และ 3,153 ล้านบาท ตามลําดับ เพิ่มขึ้น 59 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 2 เนื่องจากการจ่ายหุ้นปันผล งบกระแสเงินสด สําหรับงวดปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีกระแสเงินสดเพิ่มขึ้นสุทธิจํานวน 8 ล้านบาท และเงินสดคงเหลือสุทธิปลายงวดคงเหลือ เท่ากับ 306 ล้านบาท ทั้งนี้รายละเอียดกระแสเงินสด แต่ละกิจกรรม มีดังนี้ หน่วย: ล้านบาท เงินสดสุทธิจากกิจกรรมดําเนินงาน เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน เงินสุดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่ม/(ลดระหว่างงวด-สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันต้นงวด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดสุทธิปลายงวด

334 (214) (112) 8 298 306

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงานเพิ่มขึ้นมาจากบริษัทย่อยแห่งหนึ่งมีการขอคืนภาษีมูลค่าเพิ่ม 58ล้านบาทและที่ เหลือส่วนใหญ่จากการรับเงินจากลูกหนี้ กระแสเงินสดใช้ไปในกิจกรรมลงทุนสุทธิจํานวน 214 ล้านบาท โดยส่วนใหญ่เกิดจาก บริษัทฯ มีลงทุนในบริษัทร่วมใหม่อีก 2 บริษัท 130 ล้านบาท ซื้อเครื่องจักร, อุปกรณ์ใหม่และปรับปรุงพื้นที่โรงงาน 104 ล้านบาท รับเงินปันผลจากบริษัทร่วมทุนเดิม 20 ล้านบาท และกระแสเงินสดใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงินจํานวน 112 ล้านบาท ส่วนใหญ่เกิด จากการจ่ายเงินปันผล

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 75


รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ข้าพเจ้าเชื่อว่าหลักฐานการสอบบัญชีที่ขา้ พเจ้าได้รับเพียงพอและเหมาะสมเพื่อใช้เป็ นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นอย่างมี เงื่อนไขของข้าพเจ้า เกณฑ์ ในการแสดงความเห็นอย่ างมีเงื่อนไข งบการเงินรวมของบริ ษทั ณ วันที่  ธันวาคม พ.ศ. 7 และสําหรับปี สิ้ นสุ ดวันเดียวกันได้รวมเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม ห้าแห่ งซึ่ งบันทึกโดยวิธีส่วนได้เสี ยโดยในบัญชี น้ ี มีเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมสี่ แห่ งจํานวนเงินรวม 47.6 ล้านบาท และ ส่ วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมจํานวน .0 ล้านบาท (ตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 8) ซึ่ งบริ ษทั ได้บนั ทึกเงินลงทุนและส่ วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนดังกล่าวโดยใช้งบการเงินของฝ่ ายบริ หารของบริ ษทั ร่ วมทั้งสี่ แห่งดังกล่าวที่ยงั ไม่ได้ผา่ นการตรวจสอบโดยผูส้ อบบัญชีของบริ ษทั ร่ วมเหล่านั้น ความเห็นอย่ างมีเงือ่ นไข ข้าพเจ้าเห็นว่า ยกเว้นผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นตามที่กล่าวไว้ในวรรคเกณฑ์ในการแสดงความเห็นอย่างมีเงื่อนไข งบการเงิน ข้างต้นนี้แสดงฐานะการเงินรวมและเฉพาะกิจการของบริ ษทั ไทยรุ่ งยูเนี่ยนคาร์ จํากัด (มหาชน) และบริ ษทั ย่อย และของ บริ ษทั ไทยรุ่ งยูเนี่ ยนคาร์ จาํ กัด (มหาชน) ตามลําดับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 7 ผลการดําเนิ นงานรวมและเฉพาะ กิ จการ และกระแสเงิ นสดรวมและเฉพาะกิจการ สําหรับปี สิ้ นสุ ดวันเดียวกัน โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสําคัญตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงิน เรื่องอืน่ งบการเงินรวมของบริ ษทั ไทยรุ่ งยูเนี่ยนคาร์ จํากัด (มหาชน) และบริ ษทั ย่อย และงบการเงินเฉพาะกิจการของบริ ษทั ไทย รุ่ งยูเนี่ ยนคาร์ จํากัด (มหาชน) สําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่  ธันวาคม พ.ศ. 6 ที่แสดงเป็ นข้อมูลเปรี ยบเทียบตรวจสอบโดย ผูส้ อบบัญชีอื่นในสํานักงานเดียวกัน ซึ่ งแสดงความเห็นอย่างมีเงื่อนไขเกี่ยวกับการบันทึกบัญชีเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมสาม แห่ง โดยใช้งบการเงินซึ่ งยังมิได้ตรวจสอบโดยผูส้ อบบัญชี ตามรายงานลงวันที่  กุมภาพันธ์ พ.ศ. 7

(นายเสถียร วงศ์สนันท์) ผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน 49 บริ ษทั เอเอ็นเอส ออดิท จํากัด กรุ งเทพฯ วันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 8

76 รายงานประจ�ำปี 2557


บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบแสดงฐานะทางการเงิ และบริษทั ย่ อย บริษทั ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จํากัด (มหาชน) น ณงบแสดงฐานะการเงิ วันที่ 31 ธันวาคมนพ.ศ. 2557 ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

หน่วย: บาท งบการเงินรวม หมายเหตุ สิ นทรัพย์ สิ นทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้ การค้าและลูกหนี้ อื่น - สุ ทธิ

5 4, 6

2556

306,161,197 440,600,596

298,228,244 532,548,851

73,356,601 270,840,659

114,013,456 289,601,133

96,817,690

53,057,066

41,641,838

13,016,000

4 7

221,837,960 1,065,417,443

204,346,479 1,088,180,640

94,000,000 120,154,455 599,993,553

238,000,000 102,965,175 757,595,764

8 9 10 11 12

426,721,662 167,427,351 1,836,570,393 3,958,395 15,164,608 121,008,614 2,570,851,023 3,636,268,466

287,065,272 238,615,158 1,820,578,615 2,447,266 16,701,996 175,408,385 2,540,816,692 3,628,997,332

239,300,000 412,880,000 995,494,266 2,352,308 8,757,482 122,712,222 1,781,496,278 2,381,489,831

114,100,000 412,880,000 1,023,899,545 1,571,264 8,853,879 171,241,453 1,732,546,141 2,490,141,905

มูลค่างานที่เสร็ จยังไม่ได้เรี ยกเก็บ เงินให้กยู้ มื ระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน สิ นค้าคงเหลือ - สุ ทธิ รวมสิ นทรัพย์หมุนเวียน สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย เงินลงทุนระยะยาวอื่น - สุ ทธิ อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน - สุ ทธิ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุ ทธิ สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน - สุ ทธิ สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี - สุ ทธิ สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น - สุ ทธิ รวมสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน

2557

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556

13 14

รวมสิ นทรัพย์

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 77


บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบแสดงฐานะทางการเงิ น และบริษทั ย่อย บริษทั ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จํากัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ.น 2557 งบแสดงฐานะการเงิ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 หน่วย: บาท งบการเงินรวม หมายเหตุ หนีส้ ิ นและส่ วนของผู้ถอื หุ้น หนี้ สินหมุนเวียน เจ้าหนี้ การค้าและเจ้าหนี้ อื่น หนี้ สินตามสัญญาเช่าการเงิน ที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่ งปี เงินกูย้ มื ระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ภาษีเงินได้คา้ งจ่าย รวมหนี้ สินหมุนเวียน หนี้ สินไม่หมุนเวียน หนี้ สินตามสัญญาเช่าการเงิน ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน รวมหนี้ สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้ สิน ส่ วนของผูถ้ ือหุน้ ทุนเรื อนหุน้ ทุนจดทะเบียน หุน้ สามัญ 793,326,495 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท หุน้ สามัญ 590,847,356 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท ทุนที่ชาํ ระแล้ว หุน้ สามัญ 492,372,797 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท หุน้ สามัญ 590,846,931 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท ส่ วนเกินมูลค่าหุน้ ส่ วนเกินมูลค่าหุน้ สามัญ กําไรสะสม จัดสรรแล้ว สํารองตามกฎหมาย - บริ ษทั ฯ - บริ ษทั ย่อย ยังไม่ได้จดั สรร รวมส่ วนของบริ ษทั ใหญ่ ส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอาํ นาจควบคุม รวมส่ วนของผูถ้ ือหุน้ รวมหนีส้ ิ นและส่ วนของผู้ถอื หุ้น

2557

2556

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556

4, 16

346,718,321

395,184,050

248,685,762

327,611,525

17 4

10,455,250 52,840 357,226,411

9,631,108 1,192,363 406,007,521

4,455,132 253,140,894

6,383,170 20,000,000 1,192,363 355,187,058

17 18

5,297,590 62,290,871 67,588,461 424,814,872

13,550,311 56,409,366 69,959,677 475,967,198

3,269,600 38,944,796 42,214,396 295,355,290

8,258,374 35,455,067 43,713,441 398,900,499

19 793,326,495

793,326,495 590,847,356

590,847,356

590,846,931

492,372,797 -

590,846,931

492,372,797 -

713,782,739

713,782,739

713,782,739

713,782,739

57,168,019 16,793,902 1,728,177,338 3,106,768,929 104,684,665 3,211,453,594 3,636,268,466

52,499,649 16,793,902 1,777,385,882 3,052,834,969 100,195,165 3,153,030,134 3,628,997,332

57,168,019 724,336,852 2,086,134,541 2,086,134,541 2,381,489,831

52,499,649 832,586,221 2,091,241,406 2,091,241,406 2,490,141,905

21

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ 78 รายงานประจ�ำปี 2557 หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่ วนหนึ่ งของงบการเงินนี้

4


บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย งบกํ่งยูาไรขาดทุ นเบ็ดจ�เสร็ บริษัท ไทยรุ เนี่ยนคาร์ ำกัจด (มหาชน) และบริษัทย่อย สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

ส�ำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 หน่วย: บาท งบการเงินรวม หมายเหตุ รายได้ รายได้จากการขาย รายได้จากการให้บริ การ รวมรายได้ ต้นทุน ต้นทุนขาย ต้นทุนจากการให้บริ การ รวมต้นทุน กําไรขั้นต้ น รายได้เงินปันผล รายได้อื่น ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร ต้นทุนทางการเงิน ส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม กําไรก่ อนภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ กําไรสํ าหรับปี กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่นสําหรับปี กําไรเบ็ดเสร็จรวมสํ าหรับปี

2557

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556

2556

4, 29 1,793,315,310 461,787,165 2,255,102,475

2,398,460,289 739,841,080 3,138,301,369

1,058,125,733 331,099,484 1,389,225,217

1,404,120,251 575,495,310 1,979,615,561

(1,578,730,106) (404,725,389) (1,983,455,495) 271,646,980 160,066,173 (68,524,776) (219,725,518) (1,231,915) 34,767,754 176,998,698 (17,512,253) 159,486,445 159,486,445

(2,124,728,169) (505,213,922) (2,629,942,091) 508,359,278 180,740,197 (78,494,698) (246,761,017) (1,206,726) 55,767,861 418,404,895 (53,649,823) 364,755,072 364,755,072

(904,730,144) (301,851,957) (1,206,582,101) 182,643,116 57,911,365 77,678,363 (65,704,305) (149,524,486) (997,082) 102,006,971 (8,639,651) 93,367,320 93,367,320

(1,230,012,846) (374,747,289) (1,604,760,135) 374,855,426 98,196,995 83,736,973 (79,793,668) (159,773,411) (492,875) 316,729,440 (40,223,218) 276,506,222 276,506,222

152,408,145 7,078,300 159,486,445

353,686,570 11,068,502 364,755,072

93,367,320

276,506,222

0.26

0.59

0.16

0.47

590,846,931

590,846,931

590,846,931

590,846,931

4, 18, 23, 24

4, 8, 9 4, 11, 22 4, 18, 23, 24 4, 11, 18, 23, 24 4 8 25

การแบ่ งปันกําไร ส่วนที่เป็ นของบริ ษทั ใหญ่ ส่วนที่เป็ นของส่วนได้เสี ยที่ไม่มีอาํ นาจควบคุม

กําไรต่ อหุ้น กําไรต่อหุ น้ ขั้นพื้นฐาน กําไรส่วนที่เป็ นบริ ษทั ใหญ่ (บาท)

27

จํานวนหุ น้ สามัญถัวเฉลี่ยถ่วงนํ้าหนัก (หุ น้ )

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

4

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 79


80 รายงานประจ�ำปี 2557

9 28 19

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555 การเปลี่ยนแปลงในส่ วนของผูถ้ ือหุน้ สําหรับปี : เงินปันผลจ่ายจากบริ ษทั ย่อย เงินปันผลจ่าย ลดทุนจากการยกเลิกหุน้ ทุนซื้อคืน กําไรเบ็ดเสร็ จรวมสําหรับปี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 (9,216,700) 492,372,797

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่ วนหนึ่งของงบการเงินนี้

98,474,134 590,846,931

21 9 28 19

501,589,497

492,372,797

19

หมายเหตุ

ทุนที่ ชําระแล้ว

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 การเปลี่ยนแปลงในส่ วนของผูถ้ ือหุน้ สําหรับปี : สํารองตามกฎหมาย เงินปันผลจ่ายจากบริ ษทั ย่อย เงินปันผลจ่าย เพิ่มทุนจากหุน้ ปันผล กําไรเบ็ดเสร็ จรวมสําหรับปี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่ วนของผู้ถือหุ้น สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

กัด (มหาชน) และบริพ.ศ. ษัทย่ อย 2557 ส�ำบริหรัษบัท ปีไทยรุสิ่ ง้นยูเสุนี่ยดนคาร์ วันทีจํ่า31 ธันวาคม

47,950,454 -

(47,950,454)

-

-

หุน้ ทุนซื้อคืน

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

(13,361,261) 713,782,739

727,144,000

713,782,739

713,782,739

ส่ วนเกินมูลค่า หุน้ สามัญ

52,499,649

52,499,649

4,668,370 57,168,019

52,499,649

16,793,902

16,793,902

16,793,902

16,793,902

(47,950,454) -

47,950,454

-

-

(295,418,098) 22,577,961 353,686,570 1,777,385,882

1,696,539,449

(4,668,370) (98,474,185) (98,474,134) 152,408,145 1,728,177,338

1,777,385,882

หน่วย: บาท งบการเงินรวม ส่ วนของผูถ้ ือหุน้ บริ ษทั ใหญ่ กําไรสะสม จัดสรรแล้ว สํารองตามกฏหมาย สํารองหุน้ ทุนซื้อคืน บริ ษทั ฯ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ฯ ยังไม่ได้จดั สรร

(295,418,098) 353,686,570 3,052,834,969

2,994,566,497

(98,474,185) 152,408,145 3,106,768,929

3,052,834,969

รวมส่ วนของ ผูถ้ ือหุน้ บริ ษทั ใหญ่

(5,801,200) 11,068,502 100,195,165

94,927,863

(2,588,800) 7,078,300 104,684,665

100,195,165

ส่ วนได้เสี ยที่ ไม่มีอาํ นาจ ควบคุม

6

(5,801,200) (295,418,098) 364,755,072 3,153,030,134

3,089,494,360

(2,588,800) (98,474,185) 159,486,445 3,211,453,594

3,153,030,134

รวมส่ วน ของผูถ้ ือหุน้


บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 81

28 20

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555 การเปลี่ยนแปลงในส่ วนของผูถ้ ือหุ น้ สําหรับปี : เงินปันผลจ่าย ลดทุนจากการยกเลิกหุ น้ ทุนซื้ อคืน กําไรเบ็ดเสร็ จรวมสําหรับปี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่ วนหนึ่งของงบการเงินนี้

98,474,134 590,846,931

21 28 19

(9,216,700) 492,372,797

501,589,497

492,372,797

19

หมายเหตุ

ทุนที่ ชําระแล้ว

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 การเปลี่ยนแปลงในส่ วนของผูถ้ ือหุ น้ สําหรับปี : สํารองตามกฎหมาย เงินปันผลจ่าย เพิ่มทุนจากหุ น้ ปันผล กําไรเบ็ดเสร็ จรวมสําหรับปี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

สําหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

นของผู อื หุ้น (ต่พ.ศ. อ) 2557 ส�งบแสดงการเปลี ำหรับปี สิ้นย่ สุนแปลงส่ ดวันที่ ว31 ธัน้ถวาคม

บริษทั ไทยรุ่ งยูเนี่ยนคาร์ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อยวนของผู้ถือหุ้น (ต่อ) งบแสดงการเปลี ่ยนแปลงส่

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

47,950,454 -

(47,950,454)

-

-

หุ น้ ทุนซื้ อคืน

(13,361,261) 713,782,739

727,144,000

713,782,739

713,782,739

ส่ วนเกินมูลค่า หุ น้ สามัญ

52,499,649

52,499,649

4,668,370 57,168,019

52,499,649

(47,950,454) -

47,950,454

-

-

กําไรสะสม จัดสรรแล้ว สํารองตามกฎหมาย สํารองหุ น้ ทุนซื้ อคืน

หน่วย: บาท งบการเงินเฉพาะกิจการ

(295,418,098) 22,577,961 276,506,222 832,586,221

828,920,136

(4,668,370) (98,474,185) (98,474,134) 93,367,320 724,336,852

832,586,221

ยังไม่ได้จดั สรร

(295,418,098) 276,506,222 2,091,241,406

2,110,153,282

(98,474,185) 93,367,320 2,086,134,541

2,091,241,406

รวมส่ วนของ ผูถ้ ือหุ น้

7


บริษทั ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย

บริงบกระแสเงิ ษัท ไทยรุน่งสดยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 นวาคม พ.ศ. 2557 งบกระแสเงิ นธัสด

ส�ำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 หน่วย: บาท งบการเงินรวม กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนิ นงาน กําไรก่อนภาษีเงินได้ ปรับกระทบกําไรก่อนภาษี เป็ นเงินสดสุ ทธิรับ (จ่าย) จากกิจกรรมดําเนิ นงาน ขาดทุนจากการลดมูลค่าสิ นค้า โอนกลับค่าเผือ่ การลดมูลค่าสิ นค้าคงเหลือ ตัดจําหน่ายสิ นทรัพย์หมุนเวียน ส่ วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม โอนกลับค่าเผือ่ การลดมูลค่าสิ นทรัพย์ถาวร ค่าเสื่ อมราคาและค่าตัดจําหน่าย ค่าตัดจําหน่ายสิ ทธิการเช่า ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์พนักงาน (กําไร)ขาดทุน จากการจําหน่ายสิ นทรัพย์ถาวร ขาดทุนจากการตัดจําหน่ายอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน รายได้เงินชดเชยจากอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน รายได้เงินปั นผล รายได้ดอกเบี้ย ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย กําไรจากการดําเนิ นงานก่อนการเปลี่ยนแปลง ในสิ นทรัพย์และหนี้ สินดําเนิ นงาน สิ นทรัพย์ดาํ เนิ นงาน (เพิ่มขึ้น) ลดลง ลูกหนี้ การค้าและลูกหนี้ อื่น สิ นค้าคงเหลือ มูลค่างานที่เสร็ จยังไม่ได้เรี ยกเก็บ สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น หนี้ สินจากการดําเนิ นงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) เจ้าหนี้ การค้าและเจ้าหนี้ อื่น กระแสเงินสดรับจากกิจกรรมดําเนิ นงาน จ่ายดอกเบี้ย เงินสดรับจากการขอคืนภาษีเงินได้ เงินสดจ่ายผลประโยชน์พนักงาน จ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุ ทธิได้มาจากกิจกรรมดําเนิ นงาน

2557

2556

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556

176,998,698

418,404,895

102,006,971

316,729,440

842,215 (12,142,612) 260,161 (34,767,754) (69,302) 163,136,282 523,303 10,598,065 1,433,884 8,415,435 (7,905,816) (2,538,310) 1,231,915

4,695,209 (4,040,466) (55,767,861) 137,606,209 523,302 13,175,410 (3,054,935) (8,285,019) 1,206,726

(2,048,933) (69,302) 71,862,725 7,516,289 61,006 (57,911,365) (4,508,433) 997,082

(2,214,012) 56,832,571 7,649,520 (2,708,204) (98,196,995) (12,205,088) 492,875

306,016,164

504,463,470

117,906,040

266,380,107

25,042,293 (6,191,085) (43,760,624) 50,667,606

424,602,403 30,901,126 (17,816,698) 39,990,575

9,648,581 (15,140,346) (28,625,838) 52,887,172

421,153,692 (2,049,308) (13,016,000) 29,090,364

(48,465,728) 283,308,626 (1,231,915) 77,289,377 (4,716,560) (21,074,593) 333,574,935

(285,569,754) 696,571,122 (1,206,726) 3,458,188 (108,337,435) 590,485,149

(78,919,598) 57,756,011 (1,003,247) 8,721,805 (4,026,560) (10,623,184) 50,824,825

(299,028,979) 402,529,876 (486,711) (85,931,068) 316,112,097

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่ วนหนึ่ งของงบการเงินนี้

82 รายงานประจ�ำปี 2557

8


บริษทั ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย

บริษงบกระแสเงิ ัท ไทยรุ่งยูนเสด นี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบกระแสเงิ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันนทีสด ่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

ส�ำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 หน่วย: บาท งบการเงินรวม 2557 กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินให้กยู้ มื ระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันเพิ่มขึ้น รับชําระเงินให้กยู้ มื ระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินสดรับจากการจําหน่ายสิ นทรัพย์ถาวร ดอกเบี้ยรับ เงินปั นผลรับจากบริ ษทั ร่ วมและบริ ษทั ย่อย ซื้ อสิ นทรัพย์ถาวรและสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน จ่ายเงินมัดจําค่าที่ดิน รับคืนเงินมัดจําค่าที่ดิน เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม รับคืนเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม เงินชดเชยจากอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน เงินสดสุ ทธิได้มาจาก(ใช้ไปใน)กิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น จ่ายชําระเงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินกูย้ มื ระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกันเพิ่มขึ้น จ่ายชําระเงินกูย้ มื ระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน จ่ายชําระหนี้ สินตามสัญญาเช่าซื้ อ เงินปั นผลจ่าย เงินปั นผลจ่ายที่บริ ษทั ย่อยจ่ายให้แก่ส่วนได้เสี ยที่ไม่มีอาํ นาจควบคุม เงินสดสุ ทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น(ลดลง)สุ ทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นปี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดปลายปี ข้ อมูลเพิม่ เติมประกอบงบกระแสเงินสด รายการที่ไม่ ใช่ เงินสด ยานพาหนะที่ได้มาภายใต้สัญญาเช่าซื้ อ โอนอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนเป็ นที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ เจ้าหนี้ จากการซื้ อสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนเพิ่มขึ้น โอนเงินมัดจําค่าซื้ อสิ นทรัพย์เป็ นสิ นทรัพย์ถาวร โอนสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนเป็ นสิ นทรัพย์หมุนเวียน

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556

2556

(20,000,000) 20,000,000 5,696,684 2,534,178 20,311,365 (121,918,146) (70,000,000) 66,529,625 (129,800,000) 4,600,000 7,905,816 (214,140,478)

(124,000,000) 124,000,000 2,008,106 8,357,704 13,596,995 (477,390,471) (66,529,625) (519,957,291)

(123,500,000) 267,500,000 5,161,064 4,898,520 57,911,365 (48,864,465) (70,000,000) 66,529,625 (129,800,000) 4,600,000 34,436,109

(815,000,000) 757,000,000 3,021,636 15,015,145 98,196,995 (294,049,802) (66,529,625) (302,345,651)

20,000,000 (20,000,000) (10,438,519) (98,474,185) (2,588,800) (111,501,504) 7,932,953 298,228,244 306,161,197

130,000,000 (130,000,000) (2,681,734) (295,418,098) (5,801,200) (303,901,032) (233,373,174) 531,601,418 298,228,244

20,000,000 (20,000,000) 164,000,000 (184,000,000) (7,443,604) (98,474,185) (125,917,789) (40,656,855) 114,013,456 73,356,601

130,000,000 (130,000,000) 50,000,000 (30,000,000) (295,418,098) (275,418,098) (261,651,652) 375,665,108 114,013,456

3,009,940 59,040,071 10,558,149

22,510,561 3,714,579 19,000,000 -

5,592,854 -

14,641,543 19,000,000 -

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่ วนหนึ่ งของงบการเงินนี้

9

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 83


บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุ ประกอบงบการเงิน หมายเหตุประกอบงบการเงิน

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 1.

ข้ อมูลทัว่ ไป บริ ษทั ไทยรุ่ งยูเนี่ ยนคาร์ จํากัด (มหาชน) (“บริ ษทั ”) จัดตั้งขึ้นเป็ นบริ ษทั มหาชนและมีภูมิลาํ เนาในประเทศไทย บริ ษทั ดําเนิ นธุ รกิจหลักในการรับจ้างประกอบและดัดแปลงรถยนต์ การผลิตและจําหน่ ายชิ้นส่ วนอุปกรณ์และแม่พิมพ์ โดยมีที่ อยูต่ ามที่จดทะเบียนคือ เลขที่ 28/6 หมู่  ถนนเพชรเกษม แขวงหนองค้างพลู เขตหนองแขม กรุ งเทพมหานครบริ ษทั มี บริ ษทั ย่อยดังนี้ 1. บริ ษทั ไทย วี.พี. ออโต้เซอร์ วิส จํากัด จัดตั้งเป็ นบริ ษทั จํากัดและมีภูมิลาํ เนาในประเทศไทย บริ ษทั ดําเนิ นธุ รกิจหลักใน การจําหน่ายอุปกรณ์ประดับยนต์และอะไหล่รวมทั้งการบริ การซ่ อมรถยนต์ โดยมีที่อยูต่ ามที่จดทะเบียนคือ เลขที่ 5 ถนนมาเจริ ญ แขวงหนองค้างพลู เขตหนองแขม กรุ งเทพมหานครและมีสาํ นักงานสาขาตั้งอยู่ เลขที่ 32 ซอยอินทรามระ 2 ถนนสุ ทธิ สารวินิจฉัย แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุ งเทพมหานคร และเลขที่ 9/28 หมู่ที่ 8 ซอยเพชรเกษม 77 ถนน เพชรเกษม แขวงหนองค้างพลู เขตหนองแขม กรุ งเทพมหานคร . บริ ษทั ไทยรุ่ ง ทูลส์ แอนด์ ไดส์ จํากัด จัดตั้งเป็ นบริ ษทั จํากัดและมีภูมิลาํ เนาในประเทศไทย บริ ษทั ดําเนินธุ รกิจหลักใน การรับจ้างผลิตแม่พิมพ์และอุปกรณ์จบั ยึดรวมถึงการให้บริ การด้านระบบไฟฟ้ า โดยมีที่อยูต่ ามที่จดทะเบียนคือ เลขที่ 28/22 หมู่  ซอยเพชรเกษม 8 แขวงหนองค้างพลู เขตหนองแขม กรุ งเทพมหานคร . บริ ษทั ไทยออโต้ เพรสพาร์ ท จํากัด จัดตั้งเป็ นบริ ษทั จํากัดและมีภูมิลาํ เนาในประเทศไทย บริ ษทั ดําเนิ นธุ รกิจหลักใน การผลิตชิ้นส่ วนตัวถังรถยนต์และแม่พิมพ์ โดยมีที่อยูต่ ามที่จดทะเบียนคือเลขที่ 28/ หมู่  ถนนเพชรเกษม แขวงหนอง ค้างพลู เขตหนองแขม กรุ งเทพมหานคร และมีสาขาตั้งอยูท่ ี่เลขที่ 7/22 นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิ ต้ ี จังหวัดระยอง หมู่ ที่ 4 ถนนฉะเชิงเทรา - สัตหี บ ตําบลมาบยางพร อําเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง . บริ ษทั ไทยอัลติเมทคาร์ จํากัด จัดตั้งเป็ นบริ ษทั จํากัดและมีภูมิลาํ เนาในประเทศไทยดําเนิ นธุ รกิจหลักในการจําหน่าย รถยนต์ อุปกรณ์ประดับยนต์และอะไหล่รวมทั้งการบริ การตกแต่งและซ่อมรถยนต์และการให้บริ การทางด้านกฎหมาย ทางบัญชีการเงิน พาณิ ชย์กรรม อุตสาหกรรมตลอดจนงานด้านดังกล่าวและด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับการบริ การธุ รกิจ กับสํานักบริ หารภาษี ธุรกิ จขนาดใหญ่ บริ ษทั ถือหุ ้นโดยบริ ษทั ไทย วี.พี. ออโต้เซอร์ วิส จํากัด โดยมี ที่อยู่ตามที่ จด ทะเบี ย นคื อ เลขที่ 28/22 หมู่ ที่  ซอยเพชรเกษม 8 ถนนเพชรเกษม แขวงหนองค้า งพลู เขตหนองแขม กรุ งเทพมหานคร ณ วันที่  พฤษภาคม พ.ศ.  บริ ษทั และกลุ่มบริ ษทั มีการเปลี่ยนแปลงเลขที่อยูบ่ ริ ษทั ดังนี้ เลขที่เดิม 28/ หมู่  ถนนเพชรเกษม แขวงหนองค้างพลู เขตหนองแขม กรุ งเทพมหานคร เป็ นเลขที่ 34 ถนนมาเจริ ญ แขวงหนองค้างพลู เขตหนองแขม กรุ งเทพมหานคร เลขที่ เ ดิ ม 28/22 หมู่ ที่  ซอยเพชรเกษม 8 ถนนเพชรเกษม แขวงหนองค้า งพลู เขตหนองแขม กรุ งเทพมหานคร เป็ นเลขที่ 34/1 ถนนมาเจริ ญ แขวงหนองค้างพลู เขตหนองแขม กรุ งเทพมหานคร

10

84 รายงานประจ�ำปี 2557


2.

เกณฑ์ การจัดทํางบการเงิน งบการเงินนี้จดั ทําขึ้นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินไทย (“มาตรฐานการรายงานทางการเงิน”) รวมถึงการตีความและ แนวปฏิ บ ัติ ท างการบัญ ชี ที่ ป ระกาศใช้โ ดยสภาวิชาชี พบัญ ชี ฯ (“สภาวิช าชี พ บัญ ชี ”) และกฎระเบี ย บและประกาศ คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่เกี่ยวข้อง การแสดงรายการในงบการเงิ น ได้ท าํ ขึ้ นเพื่ อให้เป็ นไปตามข้อ กําหนดในประกาศกรมพัฒนาธุ ร กิ จการค้าลงวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2554 ออกตามความในพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 งบการเงิ นของบริ ษทั ได้จัดทําเป็ นภาษาไทย และมี หน่ วยเงิ นตราเป็ นบาท ซึ่ งการจัดทํางบการเงิ นดังกล่าวเป็ นไปตาม วัตถุประสงค์ของการจัดทํารายงานในประเทศ ดังนั้นเพื่อความสะดวกของผูอ้ ่านงบการเงินที่ไม่คุน้ เคยกับภาษาไทย บริ ษทั ได้จดั ทํางบการเงินฉบับภาษาอังกฤษขึ้นโดยแปลจากงบการเงินฉบับภาษาไทย งบการเงินนี้ได้จดั ทําขึ้นโดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิม เว้นแต่จะได้เปิ ดเผยเป็ นอย่างอื่นในนโยบายการบัญชี ในการจัดทํางบการเงินให้เป็ นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ผูบ้ ริ หารต้องใช้การประมาณและข้อสมมติฐานหลาย ประการ ซึ่ งมีผลกระทบต่อการกําหนดนโยบายและการรายงานจํานวนเงินที่เกี่ยวกับ สิ นทรัพย์ หนี้สิน รายได้ และค่าใช้จ่าย การประมาณและข้อสมมติฐานมาจากประสบการณ์ในอดีต และปั จจัยต่าง ๆ ที่ผบู้ ริ หารมีความเชื่ อมัน่ อย่างสมเหตุสมผล ภายใต้สภาวการณ์ แวดล้อมนั้นซึ่ งไม่อาจอาศัยข้อมูลจากแหล่งอื่นและนําไปสู่ การตัดสิ นใจเกี่ ยวกับการกําหนดจํานวน สิ นทรัพย์และหนี้ สินนั้น ๆ ดังนั้นผลที่เกิดขึ้นจริ งจากการตั้งข้อสมมติฐานต่อมูลค่าตามบัญชีของสิ นทรัพย์และหนี้ สินอาจ แตกต่างไปจากที่ประมาณไว้ ประมาณการและข้อสมมติฐานที่ใช้ในการจัดทํางบการเงินจะได้รับการทบทวนอย่างสมํ่าเสมอ การปรับประมาณการทาง บัญชีจะบันทึกในงวดบัญชีที่การประมาณการดังกล่าวได้รับการทบทวน หากการปรับประมาณการกระทบเฉพาะงวดนั้น ๆ และจะบันทึกในงวดที่ปรับและงวดในอนาคต หากการปรับประมาณการกระทบทั้งงวดปัจจุบนั และอนาคต เกณฑ์ในการนําเสนองบการเงินรวม งบการเงิ นรวมนี้ ได้จดั ทําขึ้ นโดยรวมงบการเงิ นของบริ ษทั ไทยรุ่ งยูเนี่ ยนคาร์ จํากัด (มหาชน) และบริ ษทั ย่อย (รวมกัน เรี ยกว่า “กลุ่มบริ ษทั ”) ดังต่อไปนี้ จัดตั้งขึ้น อัตราร้อยละ บริ ษทั ลักษณะธุรกิจ ในประเทศ ของการถือหุ น้  6 ร้อยละ ร้อยละ บริ ษทั ย่อยที่ถือหุน้ โดยบริ ษทั โดยตรง บริ ษทั ไทย วี.พี. ออโต้เซอร์วสิ จํากัด จําหน่ายอะไหล่,อุปกรณ์ ไทย   ประดับยนต์และศูนย์บริ การ รถยนต์ บริ ษทั ไทยรุ่ ง ทูลส์ แอนด์ ไดส์ จํากัด รับจ้างผลิตแม่พิมพ์ ไทย   บริ ษทั ไทยออโต้ เพรสพาร์ ท จํากัด ผลิตชิ้นส่ วนตัวถังรถยนต์ ไทย 1 1

11

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 85


บริ ษทั

ลักษณะธุรกิจ

บริ ษทั ย่อยที่ถือหุน้ โดยบริ ษทั ไทย วี.พี.ออโต้ เซอร์ วสิ จํากัด บริ ษทั ไทยอัลติเมทคาร์ จํากัด จําหน่ายรถยนต์ อะไหล่ และอุปกรณ์ประดับยนต์ และให้บริ การด้านการบริ การ ธุรกิจและภาษี

จัดตั้งขึ้น ในประเทศ

ไทย

อัตราร้อยละ ของการถือหุน้  6 ร้อยละ ร้อยละ

.

.

รายการและบัญชีระหว่างกันที่เป็ นสาระสําคัญได้ถกู ตัดออกไปในการจัดทํางบการเงินรวม บริ ษทั ย่อยเป็ นกิ จการที่ อยู่ภายใต้การควบคุ มของบริ ษทั การควบคุ มเกิ ดขึ้นเมื่ อบริ ษทั มี อาํ นาจควบคุ มทั้งทางตรงหรื อ ทางอ้อมในการกําหนดนโยบายทางการเงินและการดําเนิ นงานของบริ ษทั นั้น เพื่อได้มาซึ่ งประโยชน์จากกิจกรรมของบริ ษทั ย่อย งบการเงินของบริ ษทั ย่อยได้รวมอยูใ่ นงบการเงินรวม นับแต่วนั ที่มีการควบคุมจนถึงวันที่การควบคุมสิ้ นสุ ดลง กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวมต้องถูกปั นส่ วนไปยังส่ วนของผูถ้ ือหุ น้ บริ ษทั ใหญ่และส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอาํ นาจควบคุม แม้วา่ การ ปันส่ วนจะทําให้ส่วนได้เสี ยที่ไม่มีอาํ นาจควบคุมมียอดคงเหลือติดลบ บริ ษ ทั ต้องตัดรายการบัญ ชี สิ นทรั พย์ หนี้ สิ นของบริ ษทั ย่อ ย มู ล ค่าตามบัญ ชี ของส่ วนได้เสี ยที่ ไม่ มี อ าํ นาจควบคุ มและ องค์ประกอบอื่นในส่ วนของผูถ้ ือหุ น้ ที่เกี่ยวกับบริ ษทั ย่อยนั้น ๆ และบริ ษทั ต้องรับรู ้ผลกําไรหรื อขาดทุนในงบกําไรขาดทุน เมื่อบริ ษทั สูญเสี ยอํานาจการควบคุมในบริ ษทั ย่อย เงินลงทุนใด ๆ ในบริ ษทั ย่อยดังกล่าวที่เหลืออยูต่ อ้ งวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมนับตั้งแต่วนั ที่สูญเสี ยอํานาจการควบคุม มาตรฐานการรายงานทางการเงินทีอ่ อกและปรับปรุ งใหม่ มาตรฐานการบัญชีที่เริ่ มมีผลบังคับในปี บัญชีปัจจุบนั และที่จะมีผลบังคับในอนาคตมีรายละเอียดดังนี้ มาตรฐานการบัญชีทเี่ ริ่มมีผลบังคับในปี บัญชีปัจจุบัน ก) กรอบแนวคิดสําหรับการรายงานทางการเงิน (ปรับปรุ ง ) ข) มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน การตีความมาตรฐานการบัญชี การตีความมาตรฐานการรายงาน ทางการเงิน และแนวปฏิบตั ิทางการบัญชี มาตรฐานการบัญชี/มาตรฐานการรายงานทาง การเงิน/การตีความมาตรฐานการรายงานทาง การเงิน/ การตีความมาตรฐานการบัญชี

เรื่อง

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 (ปรับปรุ ง )

การนําเสนองบการเงิน

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่  (ปรับปรุ ง )

งบกระแสเงินสด

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 (ปรับปรุ ง )

ภาษีเงินได้

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 (ปรับปรุ ง )

สัญญาเช่า 1

86 รายงานประจ�ำปี 2557


มาตรฐานการบัญชี/มาตรฐานการรายงานทาง การเงิน/การตีความมาตรฐานการรายงานทาง การเงิน/ การตีความมาตรฐานการบัญชี

เรื่อง

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 (ปรับปรุ ง )

รายได้

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 (ปรับปรุ ง )

ผลประโยชน์ของพนักงาน

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 (ปรับปรุ ง )

ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศ

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่  (ปรับปรุ ง )

การเปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่  (ปรับปรุ ง )

เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 (ปรับปรุ ง )

ส่ วนได้เสี ยในการร่ วมค้า

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่  (ปรับปรุ ง )

งบการเงินระหว่างกาล

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 6 (ปรับปรุ ง )

การด้อยค่าของสิ นทรัพย์

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่  (ปรับปรุ ง )

สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน

มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 

การจ่ายโดยใช้หุน้ เป็ นเกณฑ์

(ปรับปรุ ง ) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 

การรวมธุรกิจ

(ปรับปรุ ง ) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่  (ปรับปรุ ง )

สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและการดําเนินงานที่ ยกเลิก

มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 

ส่ วนงานดําเนินงาน

(ปรับปรุ ง ) การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1

สัญญาเช่าดําเนิ นงาน - สิ่ งจูงใจที่ให้แก่ผเู้ ช่า

การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 

การประเมินเนื้อหาสัญญาเช่าที่ทาํ ขึ้นตามรู ปแบบกฎหมาย

การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 

การเปิ ดเผยข้อมูลของข้อตกลงสัมปทานบริ การ

การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 

สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน - ต้นทุนเว็บไซต์

การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 1

การเปลี่ยนแปลงในหนี้สินที่เกิดขึ้นจากการรื้ อถอน การ บูรณะ และหนี้สินที่มีลกั ษณะคล้ายคลึงกัน

การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 

การประเมินว่าข้อตกลงประกอบด้วยสัญญาเช่าหรื อไม่

การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่

สิ ทธิ ในส่ วนได้เสี ยจากกองทุนการรื้ อถอน การบูรณะและ 1

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 87


มาตรฐานการบัญชี/มาตรฐานการรายงานทาง การเงิน/การตีความมาตรฐานการรายงานทาง การเงิน/ การตีความมาตรฐานการบัญชี

เรื่อง การปรับปรุ งสภาพแวดล้อม

มาตรฐานการบัญชี/มาตรฐานการรายงานทาง การเงิน/การตีความมาตรฐานการรายงานทาง การเงิน/ การตีความมาตรฐานการบัญชี การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 

เรื่อง การปรับปรุ งย้อนหลังภายใต้มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่  เรื่ อง การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจที่มีภาวะเงิน เฟ้ อรุ นแรง

การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 10

งบการเงินระหว่างกาลและการด้อยค่า

การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 1

ข้อตกลงสัมปทานบริ การ

การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 1

โปรแกรมสิ ทธิพิเศษแก่ลกู ค้า

การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 1

การจ่ายสิ นทรัพย์ที่ไม่ใช่เงินสดให้เจ้าของ

การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 1

การโอนสิ นทรัพย์จากลูกค้า

แนวปฏิบตั ิทางการบัญชีสาํ หรับการบันทึกบัญชีหุน้ ปั นผล มาตรฐานการบัญชี ท้ งั หมดตามที่กล่าวข้างต้นได้รับการปรับปรุ งและจัดให้มีข้ ึนเพื่อให้มีเนื้ อหาเท่าเทียมกับมาตรฐานการ รายงานทางการเงินระหว่างประเทศ ซึ่ งโดยส่ วนใหญ่เป็ นการปรับปรุ งถ้อยคําและคําศัพท์ การตีความและการให้แนวปฏิบตั ิ ทางการบัญชีกบั ผูใ้ ช้มาตรฐาน ฝ่ ายบริ หารของบริ ษทั ได้ประเมินแล้วเห็นว่ามาตรฐานดังกล่าวไม่มีผลกระทบอย่างมีสาระสําคัญต่องบการเงิน มาตรฐานการบัญชีทจี่ ะมีผลบังคับในอนาคต สภาวิชาชี พบัญชี ได้ออกมาตรฐานการบัญชี ฉบับปรั บปรุ งและฉบับใหม่ เป็ นจํานวนมาก ซึ่ งมี ผลบังคับใช้สําหรั บรอบ ระยะเวลาบัญชีที่เริ่ มในหรื อหลังวันที่  มกราคม พ.ศ. 2558 มาตรฐานการบัญชีดงั กล่าวได้รับการปรับปรุ งหรื อจัดให้มีข้ ึน เพื่อให้มีเนื้ อหาเท่าเทียมกับมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ โดยการเปลี่ยนแปลงมาตรฐานการบัญชี ใน ครั้งนี้ ส่วนใหญ่เป็ นการปรับปรุ งถ้อยคําและคําศัพท์การตีความและการให้แนวปฏิบตั ิทางการบัญชี กบั ผูใ้ ช้มาตรฐาน ฝ่ าย บริ หารของบริ ษทั เชื่ อว่าจะไม่มีผลกระทบอย่างเป็ นสาระสําคัญต่องบการเงิ นนี้ ในปี ที่ นาํ มาตรฐานดังกล่าวมาถื อปฏิ บตั ิ อย่างไรก็ตาม มาตรฐานการบัญชีตามที่กล่าวข้างต้นบางฉบับเป็ นมาตรฐานการบัญชีที่มีการเปลี่ยนแปลงหลักการสําคัญ ซึ่ ง ประกอบด้วยมาตรฐานดังต่อไปนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 (ปรั บปรุง 2557) เรื่ อง ผลประโยชน์ ของพนักงาน 1

88 รายงานประจ�ำปี 2557


มาตรฐานฉบับ ปรั บ ปรุ งนี้ กํา หนดให้กิจ การต้อ งรั บ รู้ ร ายการกํา ไรขาดทุ น จากการประมาณการตามหลักคณิ ต ศาสตร์ ประกันภัยทันทีในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น ในขณะที่มาตรฐานฉบับเดิมอนุ ญาตให้กิจการเลือกรับรู้รายการดังกล่าวทันที ในกําไรขาดทุน หรื อในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น หรื อทยอยรับรู้ในกําไรขาดทุนก็ได้ ปั จจุบนั บริ ษทั และบริ ษทั ย่อยรับรู้รายการกําไรขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ ประกันภัยทันทีในกําไร หรื อขาดทุนในงวดที่เกิดรายการ ฝ่ ายบริ หารของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อยประเมินว่าเมื่อนํามาตรฐานฉบับปรับปรุ งนี้ มาใช้ในปี พ.ศ. 2558 และเปลี่ยนมารั บรู ้ รายการกําไรขาดทุนดังกล่าวทันทีในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่นจะไม่มีผลกระทบต่อหนี้ สิน สํารองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานและกําไรสะสมยกมาในงบการเงิน มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 เรื่อง งบการเงินรวม มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่  กําหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการจัดทํางบการเงินรวม โดยใช้แทนเนื้ อหาเกี่ยวกับ การบัญชีสาํ หรับงบการเงินรวมที่เดิมกําหนดอยูใ่ นมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 เรื่ อง งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะ กิจการ มาตรฐานฉบับนี้ เปลี่ยนแปลงหลักการเกี่ยวกับการพิจารณาว่าผูล้ งทุนมีอาํ นาจการควบคุมหรื อไม่ กล่าวคือ ภายใต้ มาตรฐานฉบับนี้ ผลู ้ งทุนจะถือว่าตนควบคุมกิจการที่เข้าไปลงทุนได้ หากตนมีสิทธิ ได้รับหรื อมีส่วนได้เสี ยในผลตอบแทน ของกิจการที่เข้าไปลงทุน และตนสามารถใช้อาํ นาจในการสั่งการกิจกรรมที่ส่งผลกระทบต่อจํานวนเงินผลตอบแทนนั้นได้ ถึงแม้วา่ ตนจะมีสัดส่ วนการถือหุน้ หรื อสิ ทธิในการออกเสี ยงโดยรวมน้อยกว่ากึ่งหนึ่ งก็ตาม การเปลี่ยนแปลงที่สาํ คัญนี้ ส่งผล ให้ฝ่ายบริ หารต้องใช้ดุลยพินิจอย่างมากในการทบทวนว่าบริ ษทั และบริ ษทั ย่อยมี อาํ นาจควบคุมในกิจการที่ เข้าไปลงทุน หรื อไม่และจะต้องนําบริ ษทั ใดในกลุ่มกิจการมาจัดทํางบการเงินรวมบ้าง ฝ่ ายบริ หารของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อยเชื่อว่ามาตรฐานฉบับดังกล่าวจะไม่มีผลกระทบอย่างเป็ นสาระสําคัญต่องบการเงินของ บริ ษทั และบริ ษทั ย่อย มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 12 เรื่อง การเปิ ดเผยข้ อมูลเกีย่ วกับส่ วนได้ เสียในกิจการอื่น มาตรฐานฉบับนี้ กาํ หนดเรื่ องการเปิ ดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับส่ วนได้เสี ยของกิจการในบริ ษทั ย่อยการร่ วมการงาน บริ ษทั ร่ วม รวมถึงกิจการที่มีโครงสร้างเฉพาะตัว มาตรฐานฉบับนี้จึงไม่มีผลกระทบทางการเงินต่องบการเงินของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13 เรื่ อง การวัดมูลค่ ายุติธรรม มาตรฐานฉบับ นี้ กาํ หนดแนวทางเกี่ ยวกับ การวัดมู ลค่ายุติธ รรมและการเปิ ดเผยข้อ มู ลที่ เกี่ ยวกับ การวัดมู ลค่ ายุติธ รรม กล่าวคือ หากกิจการต้องวัดมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์หรื อหนี้ สินใดตามข้อกําหนดของมาตรฐานที่เกี่ยวข้องอื่น กิจการ จะต้องวัดมูลค่ายุติธรรมนั้นตามหลักการของมาตรฐานฉบับนี้ และใช้วิธีเปลี่ยนทันทีเป็ นต้นไปในการรับรู ้ผลกระทบจาก การเริ่ มใช้มาตรฐานนี้ จากการประเมิ น เบื้ อ งต้น ฝ่ ายบริ ห ารของบริ ษ ัท และบริ ษ ัท ย่อ ยเชื่ อ ว่า มาตรฐานข้า งต้น จะไม่ มี ผ ลกระทบอย่า งเป็ น สาระสําคัญต่องบการเงินของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย 3.

นโยบายการบัญชีทสี่ ํ าคัญ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

1

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 89


เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดในงบกระแสเงินสดประกอบด้วย ยอดเงินสด ยอดเงินฝากธนาคารประเภทเผื่อเรี ยก และ เงิ นลงทุ นระยะสั้ นที่ มีสภาพคล่องสู งซึ่ งถึ งกําหนดจ่ ายคื นภายในระยะเวลาไม่ เกิ น 3 เดื อ นนับจากวันที่ ได้มาและไม่ มี ข้อจํากัดในการเบิกใช้ เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารซึ่ งจะต้องชําระคืนเมื่อทวงถามถือเป็ นส่ วนหนึ่ งของกิจกรรมจัดหาเงินในงบ กระแสเงินสด ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่นแสดงในราคาตามใบแจ้งหนี้หกั ค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญ ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญประเมินโดยการวิเคราะห์ประวัติการชําระหนี้ และการคาดการณ์เกี่ยวกับการชําระหนี้ ในอนาคตของ ลูกค้า ลูกหนี้จะถูกตัดจําหน่ายบัญชีเมื่อทราบว่าเป็ นหนี้สูญ สิ นค้าคงเหลือ สิ นค้าคงเหลือแสดงในราคาทุนหรื อมูลค่าสุ ทธิ ที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะตํ่ากว่า ต้นทุนของสิ นค้าคํานวณโดยใช้วิธีถวั เฉลี่ยถ่วงนํ้าหนัก ต้นทุนสิ นค้าประกอบด้วยราคาทุนที่ซ้ื อ ต้นทุนในการดัดแปลงหรื อ ต้นทุนอื่นเพื่อให้สินค้าอยูใ่ นสถานที่และสภาพปั จจุบนั ในกรณี ของสิ นค้าสําเร็ จรู ปและสิ นค้าระหว่างผลิตที่ผลิตเอง ต้นทุน สิ นค้าคํานวณโดยการใช้ตน้ ทุนมาตรฐานซึ่ งได้รับการปรั บปรุ งให้ใกล้เคี ยงกับราคาทุนถัวเฉลี่ยรวมการปั นส่ วนของค่า โสหุย้ การผลิตอย่างเหมาะสมโดยคํานึงถึงระดับกําลังการผลิต สิ นค้าสําเร็ จรู ปและสิ นค้าระหว่างผลิตแสดงมูลค่าตามราคาทุนมาตรฐาน (ซึ่ งใกล้เคียงกับต้นทุนจริ งตามวิธีถวั เฉลี่ย) หรื อ มูลค่าสุ ทธิ ที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะตํ่ากว่า ราคาทุนดังกล่าวหมายถึงต้นทุนในการผลิตทั้งหมดรวมทั้งค่าโสหุ ้ยโรงงาน ด้วย วัตถุดิบและชิ้นส่ วนรถยนต์แสดงมูลค่าตามราคาทุนมาตรฐาน (ซึ่ งใกล้เคียงกับต้นทุนจริ งตามวิธีถวั เฉลี่ย) หรื อมูลค่าสุ ทธิ ที่ จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะตํ่ากว่า และจะถือเป็ นส่ วนหนึ่งของต้นทุนการผลิตและต้นทุนการให้บริ การเมื่อมีการเบิกใช้ อะไหล่ของศูนย์บริ การแสดงมูลค่าตามราคาทุนโดยวิธีถวั เฉลี่ยเคลื่อนที่หรื อมูลค่าสุ ทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะตํ่ากว่า รถยนต์ที่ซ้ื อมาเพื่อจําหน่ายแสดงมูลค่าตามราคาทุนโดยวิธีราคาเจาะจงหรื อมูลค่าสุ ทธิ ที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะตํ่ากว่า ค่าเผือ่ การลดมูลค่าสิ นค้าจะบันทึกโดยพิจารณาจากสิ นค้าเก่าล้าสมัย เคลื่อนไหวช้าหรื อเสื่ อมคุณภาพ มูลค่าสุ ทธิ ที่จะได้รับเป็ นการประมาณราคาที่จะขายได้จากการดําเนิ นธุ รกิจปกติหักด้วยค่าใช้จ่ายที่จาํ เป็ นโดยประมาณใน การขาย เงินลงทุน เงินลงทุนในบริ ษัทย่ อย และบริ ษัทร่ วม เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย และบริ ษทั ร่ วม ในงบการเงินเฉพาะกิจการของบริ ษทั บันทึกบัญชีโดยใช้วิธีราคาทุนสุ ทธิ จากค่าเผื่อ การด้อยค่า (ถ้ามี) ส่ วนการบันทึกบัญชีเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมในงบการเงินรวมใช้วธิ ีส่วนได้เสี ย อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน

16

90 รายงานประจ�ำปี 2557


อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนได้แก่อสังหาริ มทรัพย์ที่ถือครองเพื่อหาประโยชน์จากรายได้ค่าเช่าหรื อจากมูลค่าที่เพิ่มขึ้น หรื อทั้งสองอย่าง ทั้งนี้ ไม่ได้มีไว้เพื่อขายตามปกติธุรกิจหรื อใช้ในการผลิตหรื อจัดหาสิ นค้าหรื อให้บริ การหรื อใช้ในการ บริ หารงาน อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน แสดงในราคาทุนหักค่าเสื่ อมราคาสะสมและค่าเผือ่ การด้อยค่า (ถ้ามี) ค่ าเสื่ อมราคา ค่าเสื่ อมราคาคํานวณโดยวิธีเส้นตรงตามเกณฑ์อายุการให้ประโยชน์ โดยประมาณอายุการให้ประโยชน์ของอาคาร เท่ากับ 3 ปี หรื อตามอายุสัญญาเช่า แล้วแต่อย่างใดจะตํ่ากว่า ค่าเสื่ อมราคารวมอยูใ่ นการคํานวณผลการดําเนินงานและไม่มีการคิดค่าเสื่ อมราคาสําหรับที่ดิน และอสังหาริ มทรัพย์ระหว่าง ก่อสร้าง การซ่อมแซมและบํารุ งรักษาจะรับรู้ในกําไรหรื อขาดทุนระหว่างงวดบัญชีที่เกิดรายการขึ้น ต้นทุนของการปรับปรุ งให้ดีข้ ึน ที่สาํ คัญจะบันทึกรวมไว้ในราคาตามบัญชีของสิ นทรัพย์หากมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ว่าการปรับปรุ งนั้นจะทําให้กลุ่ม บริ ษทั ได้ประโยชน์กลับคืนมามากกว่าการใช้ประโยชน์โดยไม่มีการปรับปรุ งสิ นทรัพย์ที่ได้มา การปรับปรุ งหลักจะตัดค่า เสื่ อมราคาตลอดอายุการใช้ประโยชน์ที่เหลืออยูข่ องสิ นทรัพย์ที่เกี่ยวข้อง การจัดประเภทใหม่ เป็ นที่ ดิน อาคารและอุปกรณ์ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการใช้งานของอสังหาริ มทรัพย์โดยจัดประเภทไปเป็ นที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ มูลค่ายุติธรรม ณ วันที่มีการจัดประเภทใหม่ถือเป็ นราคาทุนของสิ นทรัพย์ต่อไป ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สิ นทรั พย์ ที่เป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของกิจการ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์แสดงด้วยราคาทุนหักค่าเสื่ อมราคาสะสมและขาดทุนจากการด้อยค่าของสิ นทรัพย์ (ถ้ามี) ราคาทุนรวมถึงต้นทุนทางตรงที่เกี่ยวข้องกับการได้มาของสิ นทรัพย์ ต้นทุนของการก่อสร้างสิ นทรัพย์ที่กิจการก่อสร้างเอง รวมถึงต้นทุนของวัสดุ แรงงานทางตรง และต้นทุนทางตรงอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดหาสิ นทรัพย์เพื่อให้สินทรัพย์น้ นั อยู่ ในสภาพที่พร้อมจะใช้งานได้ตามความประสงค์ ต้นทุนในการรื้ อถอน การขนย้าย การบูรณะสถานที่ต้ งั ของสิ นทรัพย์และ ต้นทุนการกูย้ ืม นอกจากนี้ ตน้ ทุนอาจรวมถึงกําไรหรื อขาดทุนจากการป้ องกันความเสี่ ยงกระแสเงินสดจากการซื้ อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ที่เป็ นเงินตราต่างประเทศ ซึ่ งถูกโอนจากกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น ส่ วนประกอบของรายการที่ ดิน อาคาร และอุ ปกรณ์ แต่ ละรายการที่ มีอ ายุการให้ประโยชน์ไม่เท่ากันต้อ งบันทึ กแต่ล ะ ส่ วนประกอบที่มีนยั สําคัญแยกต่างหากจากกัน กําไรหรื อขาดทุนจากการจําหน่ายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ คือผลต่างระหว่างสิ่ งตอบแทนสุ ทธิ ที่ได้รับจากการจําหน่ายกับ มูลค่าตามบัญชีของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ โดยรับรู้สุทธิ เป็ นรายได้อื่นในกําไรหรื อขาดทุน เมื่อมีการขายสิ นทรัพย์ที่ตี ราคาใหม่ จํานวนเงินที่บนั ทึกอยูใ่ นส่ วนเกินทุนจากการตีราคาของสิ นทรัพย์จะถูกโอนไปยังกําไรสะสม สิ นทรั พย์ ที่เช่ า การเช่าซึ่ งกลุ่มบริ ษทั ได้รับส่ วนใหญ่ของความเสี่ ยงและผลตอบแทนจากการครอบครองทรัพย์สินที่เช่านั้นๆ ให้จดั ประเภท เป็ นสัญญาเช่าการเงิน ส่ วนที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ที่ได้มาโดยทําสัญญาเช่าการเงินบันทึกเป็ นสิ นทรัพย์ดว้ ยมูลค่ายุติธรรม หรื อมูลค่าปั จจุบนั ของจํานวนเงินขั้นตํ่าที่ตอ้ งจ่ายตามสัญญาเช่าแล้วแต่จาํ นวนใดจะตํ่ากว่าหักด้วยค่าเสื่ อมราคาสะสมและ 1

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 91


ขาดทุนจากการด้อยค่า ค่าเช่าที่ชาํ ระจะแยกเป็ นส่ วนที่เป็ นค่าใช้จ่ายทางการเงิน และส่ วนที่จะหักจากหนี้ ตามสัญญา เพื่อทํา ให้อตั ราดอกเบี้ยแต่ละงวดเป็ นอัตราคงที่สําหรับยอดคงเหลือของหนี้ สิน ค่าใช้จ่ายทางการเงินจะบันทึ กโดยตรงในกําไร หรื อขาดทุน ต้ นทุนที่ เกิดขึน้ ในภายหลัง ต้นทุนในการเปลี่ยนแทนส่ วนประกอบจะรับรู้เป็ นส่ วนหนึ่ งของมูลค่าตามบัญชีของรายการที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ถ้ามี ความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ ที่กลุ่มบริ ษทั จะได้รับประโยชน์เชิ งเศรษฐกิจในอนาคตจากรายการนั้น และสามารถวัดมูลค่า ต้นทุนของรายการนั้นได้อย่างน่าเชื่อถือ ชิ้นส่ วนที่ถูกเปลี่ยนแทนจะถูกตัดจําหน่ายตามมูลค่าตามบัญชี ต้นทุนที่เกิดขึ้นใน การซ่อมบํารุ งที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ที่เกิดขึ้นเป็ นประจําจะรับรู ้ในกําไรหรื อขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น ค่ าเสื่ อมราคา ค่าเสื่ อมราคาคํานวณจากมูลค่าเสื่ อมสภาพของรายการอาคาร และอุปกรณ์ ซึ่ งประกอบด้วยราคาทุ นของสิ นทรั พย์หรื อ ต้นทุนในการเปลี่ยนแทนอื่น หักด้วยมูลค่าคงเหลือของสิ นทรัพย์ ค่าเสื่ อมราคาบันทึกเป็ นค่าใช้จ่ายในกําไรหรื อขาดทุน คํานวณโดยวิธีเส้นตรงตามเกณฑ์อายุการใช้งานโดยประมาณของ ส่ วนประกอบของสิ นทรัพย์แต่ละรายการ ประมาณการอายุการใช้งานของสิ นทรัพย์แสดงได้ดงั นี้

สิ่ งปรับปรุ งที่ดิน อาคารโรงงานและสิ่ งปรับปรุ งอาคาร อาคารสํานักงานและสิ่ งปลูกสร้าง เครื่ องจักร อุปกรณ์โรงงาน และเครื่ องมือ เครื่ องใช้สาํ นักงาน ยานพาหนะ

วิธีการคิดค่าเสื่ อมราคา วิธีเส้นตรง วิธีเส้นตรง วิธีเส้นตรง วิธีเส้นตรง วิธีเส้นตรง วิธีเส้นตรง

อายุการให้ ประโยชน์ (จํานวนปี ) 0 5 - 0 0 5 - 2  

กลุ่มบริ ษทั ไม่คิดค่าเสื่ อมราคาสําหรับที่ดินและสิ นทรัพย์ที่อยูร่ ะหว่างการก่อสร้าง วิธีการคิดค่าเสื่ อมราคา อายุการให้ประโยชน์ของสิ นทรัพย์ และมูลค่าคงเหลือ ถูกทบทวนอย่างน้อยที่สุดทุกสิ้ นรอบปี บัญชี และปรับปรุ งตามความเหมาะสม สิ ทธิการเช่าที่ดิน สิ ทธิ การเช่าที่ดินแสดงตามราคาทุนหักค่าตัดจําหน่ ายสะสม ค่าตัดจําหน่ ายของสิ ทธิ การเช่าที่ดินคํานวณจากราคาทุนของ สิ นทรัพย์โดยวิธีเส้นตรงภายในระยะเวลาตามอายุสัญญาเช่า ค่าตัดจําหน่ายรวมอยูใ่ นการคํานวณผลการดําเนินงาน สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน รายจ่ ายในการวิจัยและพัฒนา รายจ่ายในขั้นตอนการวิจยั ได้แก่ การสํารวจตรวจสอบเพื่อให้ได้มาซึ่ ง ความรู ้ ความเข้าใจใหม่ทางด้านวิทยาศาสตร์ หรื อ ทางด้านเทคนิค รับรู ้ในกําไรหรื อขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น 1

92 รายงานประจ�ำปี 2557


ขั้นตอนพัฒนาเกี่ยวข้องกับแผนงานหรื อการออกแบบสําหรับผลิตภัณฑ์และกระบวนการใหม่หรื อปรับปรุ งให้ดีข้ ึนกว่าเดิม รายจ่ายที่เกิดจากการพัฒนารับรู้เป็ นสิ นทรัพย์ได้ก็ต่อเมื่อสามารถวัดมูลค่าของรายการต้นทุนการพัฒนาได้อย่างน่ าเชื่ อถือ ผลิตภัณฑ์หรื อกระบวนการนั้นมีความเป็ นไปได้ทางเทคนิ คและทางการค้า ซึ่ งก่อให้เกิดประโยชน์เชิ งเศรษฐกิจ และกลุ่ม บริ ษ ทั มี ความตั้งใจและมี ท รั พยากรเพี ยงพอที่ จะนํามาใช้เพื่ อทําให้การพัฒนาเสร็ จ สิ้ นสมบู รณ์ และนําสิ นทรั พย์มาใช้ ประโยชน์หรื อนํามาขายได้ รายจ่ายในการพัฒนารับรู้เป็ นสิ นทรัพย์รวมถึงต้นทุนสําหรับวัตถุดิบ ต้นทุนแรงงาน ต้นทุนที่ เกี่ยวข้องโดยตรงในการจัดเตรี ยมสิ นทรัพย์เพื่อให้สามารถนํามาใช้ประโยชน์ตามประสงค์และต้นทุนการกูย้ มื สามารถนํามา รวมเป็ นส่ วนหนึ่งของราคาทุนของสิ นทรัพย์ รายจ่ายในการพัฒนาอื่นรับรู ้ในกําไรหรื อขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น สิ นทรั พย์ ไม่ มีตัวตนอื่น ๆ สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนอื่นๆ ที่ซ้ื อมาและมีอายุการใช้งานจํากัด แสดงในราคาทุนหักค่าตัดจําหน่ายสะสมและขาดทุนจากการ ลดมูลค่า

ค่ าตัดจําหน่ าย ค่าตัดจําหน่ ายรับรู ้ในกําไรหรื อขาดทุน โดยวิธีเส้นตรงซึ่ งโดยส่ วนใหญ่จะสะท้อนรู ปแบบที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์ใน อนาคตจากสิ นทรัพย์น้ นั ตามเกณฑ์ระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจนับจากวันที่อยูใ่ นสภาพพร้อมใช้งาน ระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์แสดงได้ดงั นี้ อายุการให้ ประโยชน์ (จํานวนปี ) วิธีการคิดค่าตัดจําหน่าย ซอฟท์แวร์ วิธีเส้นตรง  การด้อยค่า ยอดสิ นทรัพย์ตามบัญชีของกลุ่มบริ ษทั ได้รับการทบทวน ณ ทุกวันที่รายงานว่ามีขอ้ บ่งชี้เรื่ องการด้อยค่าหรื อไม่ ในกรณี ที่มี ข้อบ่ งชี้ จะทําการประมาณมูลค่าสิ นทรั พย์ที่คาดว่าจะได้รับคื น สิ นทรั พย์ไม่มีตวั ตนที่ มีอายุการให้ประโยชน์ไม่ทราบ แน่นอน หรื อ ยังไม่พร้อมใช้งาน จะประมาณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนทุกปี ในช่วงเวลาเดียวกัน ขาดทุนจากการด้อยค่ารับรู้เมื่อมูลค่าตามบัญชีของสิ นทรัพย์ สู งกว่ามูลค่าที่จะได้รับคืน ขาดทุนจากการด้อยค่าบันทึกใน กําไรหรื อขาดทุน เว้นแต่เมื่อมีการกลับรายการการประเมินมูลค่าของสิ นทรัพย์เพิ่มของสิ นทรัพย์ชิ้นเดียวกันที่เคยรับรู ้ใน ส่ วนของผูถ้ ือหุ น้ และมีการด้อยค่าในเวลาต่อมา ในกรณี น้ ีจะรับรู ้ในส่ วนของผูถ้ ือหุ น้ เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่นแสดงในราคาทุน ผลประโยชน์ของพนักงาน ผลประโยชน์ ระยะสั้ น กลุ่มบริ ษทั รับรู ้เงินเดือน ค่าจ้าง โบนัส และเงินสมทบกองทุนประกันสังคมเป็ นค่าใช้จ่ายตามเกณฑ์คงค้าง ผลประโยชน์ หลังออกจากงาน – โครงการสมทบเงินที่ กาํ หนดไว้ 1

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 93


กลุ่มบริ ษทั ดําเนินการจัดตั้งกองทุนสํารองเลี้ยงชีพที่เป็ นแผนจ่ายสมทบที่กาํ หนดการจ่ายสมทบไว้เป็ นกองทุนโดยสิ นทรัพย์ ของกองทุ นแยกออกจากสิ นทรั พย์ของกลุ่ มบริ ษ ทั กองทุ นสํารองเลี้ ยงชี พดังกล่ าวได้รับ เงิ นสมทบเข้ากองทุ นจากทั้ง พนักงานและกลุ่มบริ ษทั ที่เกี่ยวข้อง เงินจ่ายสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพและภาระหนี้ สินตามโครงการสมทบเงินจะบันทึก เป็ นค่าใช้จ่ายในกําไรหรื อขาดทุนสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เกี่ยวข้อง ผลประโยชน์ หลังออกจากงาน – โครงการผลประโยชน์ ที่กาํ หนดไว้ หนี้ สินผลประโยชน์พนักงานส่ วนที่ เป็ นเงิ นชดเชยตามกฎหมายแรงงาน บันทึ กเป็ นค่าใช้จ่ายตลอดอายุการทํางานของ พนักงาน โดยการประมาณจํานวนเงินผลประโยชน์ในอนาคตที่พนักงานจะได้รับจากการทํางานให้กบั กลุ่มบริ ษทั ตลอด ระยะเวลาทํางานถึงปี ที่เกษียณอายุงานในอนาคตตามหลักคณิ ตศาสตร์ ประกันภัย โดยผลประโยชน์ดงั กล่าวได้ถูกคิดลดเป็ น มูลค่าปั จจุ บนั อัตราคิ ดลดใช้อตั ราผลตอบแทนของพันธบัตรรั ฐบาลเป็ นอัตราอ้างอิ งเริ่ มต้น การประมาณการหนี้ สิ น ดังกล่าวคํานวณตามหลักคณิ ตศาสตร์ ประกันภัยโดยใช้วิธีคิดลดแต่ละหน่ วยที่ ประมาณการไว้ (Projected Unit Credit Method) เมื่อผลประโยชน์พนักงานมีการเปลี่ยนแปลง ส่ วนของผลประโยชน์ที่เพิ่มขึ้นซึ่ งเกี่ยวข้องกับการทํางานให้กบั กลุ่มบริ ษทั ใน อดีตของพนักงานจะถูกบันทึกในกําไรหรื อขาดทุนตามวิธีเส้นตรงตามอายุงานคงเหลือโดยเฉลี่ยจนกระทัง่ ผลประโยชน์ได้ มีการจ่ายจริ ง เมื่อข้อสมมติที่ใช้ในการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ ประกันภัยมีการเปลี่ยนแปลง กลุ่มบริ ษทั รับรู ้ผลกําไร(ขาดทุน) จากการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ประกันภัยที่เกิดขึ้นในกําไรหรื อขาดทุนทั้งจํานวน ประมาณการหนี้สิน ประมาณการหนี้ สินจะรับรู้กต็ ่อเมื่อกลุ่มบริ ษทั มีภาระหนี้ สินตามกฎหมายที่เกิดขึ้นในปั จจุบนั หรื อที่ก่อตัวขึ้นอันเป็ นผลมา จากเหตุการณ์ในอดีต และมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ นอนว่าประโยชน์เชิ งเศรษฐกิ จจะต้องถูกจ่ ายไปเพื่อชําระภาระ หนี้ สินดังกล่าว ประมาณการหนี้ สินพิจารณาจากการคิดลดกระแสเงิ นสดที่จะจ่ายในอนาคตโดยใช้อตั ราคิดลดในตลาด ปั จจุบนั ก่อนคํานึงภาษีเงินได้ เพื่อให้สะท้อนจํานวนที่อาจประเมินได้ในตลาดปั จจุบนั ซึ่ งแปรไปตามเวลาและความเสี่ ยงที่ มีต่อหนี้สิน ประมาณการหนี้สินส่ วนที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากเวลาที่ผา่ นไปรับรู ้เป็ นต้นทุนทางการเงิน หุน้ ทุนซื้ อคืน เมื่อมีการซื้ อคืนหุ ้นทุ น จํานวนสิ่ งตอบแทนที่จ่ายซื้ อรวมถึงต้นทุนที่ เกี่ยวข้องโดยตรงจัดประเภทเป็ นหุ ้นทุนซื้ อคืนและ แสดงเป็ นรายการหักในส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น และจัดสรรจํานวนเดียวกันนี้ จากกําไรสะสมไปเป็ นสํารองหุ ้นทุนซื้ อคืนภายใต้ ส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น เมื่อมีการจําหน่ายหุ ้นทุนซื้ อคืน จํานวนเงินที่ได้รับรับรู ้เป็ นรายการเพิ่มขึ้นในส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น โดยหัก บัญชีหุ้นทุนซื้ อคืนด้วยจํานวนต้นทุนของหุ ้นทุนซื้ อคืนที่ จาํ หน่ ายซึ่ งคํานวณโดยวิธีถวั เฉลี่ยถ่วงนํ้าหนัก และโอนจํานวน เดียวกันนี้จากบัญชีสาํ รองหุ น้ ทุนซื้ อคืนไปกําไรสะสม ส่ วนเกินทุนจากการจําหน่ายหุ น้ ทุนซื้ อคืน (“ส่ วนเกินทุนหุ น้ ทุนซื้ อ คืน”) แสดงเป็ นรายการแยกต่างหากในส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น ขาดทุนสุ ทธิ จากการจําหน่ายหรื อยกเลิกหุ ้นทุนซื้ อคืนนําไปหัก จากกําไรสะสมหลังจากที่หกั จากส่ วนเกินทุนหุน้ ทุนซื้ อคืนหมดแล้ว การรับรู้รายได้ รายได้ที่รับรู้ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่มและแสดงสุ ทธิจากส่ วนลดการค้า และส่ วนลดพิเศษ การขายสิ นค้ าและให้ บริ การ

0

94 รายงานประจ�ำปี 2557


รายได้รับรู ้ในกําไรหรื อขาดทุนเมื่อได้โอนความเสี่ ยงและผลตอบแทนของความเป็ นเจ้าของสิ นค้าที่มีนยั สําคัญไปให้กบั ผู ้ ซื้ อแล้ว และจะไม่รับรู้รายได้ถา้ ฝ่ ายบริ หารยังมีการควบคุมหรื อบริ หารสิ นค้าที่ขายไปแล้วนั้นหรื อมีความไม่แน่ นอนที่มี นัยสําคัญในการได้รับประโยชน์เชิ งเศรษฐกิจจากการขายสิ นค้าหรื อให้บริ การนั้น ไม่อาจวัดมูลค่าของจํานวนรายได้และ ต้นทุนที่เกิดขึ้นได้อย่างน่าเชื่อถือ หรื อมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่นอนที่จะต้องรับคืนสิ นค้า รายได้ค่าบริ การรับรู ้เมื่อได้ให้บริ การแล้วโดยพิจารณาถึงขั้นความสําเร็ จของงาน รายได้ ค่าเช่ า รายได้ค่าเช่าจากอสังหาริ มทรั พย์เพื่อการลงทุ นรั บรู ้ ในกําไรหรื อขาดทุนโดยวิธีเส้นตรงตลอดอายุสัญญาเช่า ค่าใช้จ่าย เริ่ มแรกที่เกิดขึ้นเป็ นการเฉพาะเพื่อให้เกิดสัญญาเช่ารับรู ้เป็ นส่ วนหนึ่ งของค่าเช่าทั้งสิ้ นตามสัญญา ค่าเช่าที่อาจเกิดขึ้นรับรู ้ เป็ นรายได้ในรอบระยะเวลาบัญชีซ่ ึ งค่าเช่านั้นเกิดขึ้น เงินปั นผลรั บ เงินปันผลรับบันทึกในกําไรหรื อขาดทุนในวันที่กลุ่มบริ ษทั มีสิทธิ ได้รับเงินปั นผล ดอกเบีย้ รั บ ดอกเบี้ยรับบันทึกในกําไรหรื อขาดทุนตามเกณฑ์คงค้าง สั ญญาเช่ าดําเนินงาน รายจ่ายภายใต้สัญญาเช่าดําเนินงานบันทึกในกําไรหรื อขาดทุนโดยใช้วธิ ี เส้นตรงตลอดอายุสัญญาเช่า ภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้สาํ หรับปี ประกอบด้วยภาษีเงินได้ปัจจุบนั และภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาษีเงินได้ปัจจุบนั และภาษีเงิน ได้รอการตัดบัญชีรับรู้ในกําไรหรื อขาดทุน ภาษีเงินได้ปัจจุบนั ได้แก่ภาษีที่คาดว่าจะจ่ายชําระหรื อได้รับชําระ โดยคํานวณจากกําไรหรื อขาดทุนประจําปี ที่ตอ้ งเสี ยภาษี โดยใช้อตั ราภาษีที่ประกาศใช้หรื อที่คาดว่ามีผลบังคับใช้ ณ วันที่รายงาน ตลอดจนการปรับปรุ งทางภาษีที่เกี่ยวกับรายการ ในปี ก่อนๆ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี บนั ทึ กโดยคํานวณจากผลแตกต่างชัว่ คราวที่ เกิ ดขึ้นระหว่างมูลค่าตามบัญชี ของสิ นทรั พย์และ หนี้สินและจํานวนที่ใช้เพื่อความมุ่งหมายทางภาษี ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีวดั มูลค่าโดยใช้อตั ราภาษีที่คาดว่าจะใช้กบั ผลแตกต่างชัว่ คราวเมื่อมีการกลับรายการโดยใช้อตั รา ภาษีที่ประกาศใช้หรื อที่คาดว่ามีผลบังคับใช้ ณ วันที่รายงาน ในการกํา หนดมู ล ค่ า ของภาษี เ งิ น ได้ปั จ จุ บ ัน และภาษี เ งิ น ได้ร อการตัด บัญ ชี กลุ่ ม บริ ษ ัท ต้อ งคํา นึ ง ถึ ง ผลกระทบของ สถานการณ์ทางภาษีที่ไม่แน่นอนและอาจทําให้จาํ นวนภาษีที่ตอ้ งจ่ายเพิ่มขึ้น และมีดอกเบี้ยที่ตอ้ งชําระ กลุ่มบริ ษทั เชื่อว่าได้ ตั้งภาษี เงิ นได้คา้ งจ่ ายเพียงพอสําหรั บภาษี เงิ นได้ที่จะจ่ ายในอนาคต ซึ่ งเกิ ดจากการประเมิ นผลกระทบจากหลายปั จจัย รวมถึง การตีความทางกฏหมายภาษี และจากประสบการณ์ในอดีต การประเมินนี้ อยูบ่ นพื้นฐานการประมาณการและข้อ สมมติฐาน และอาจจะเกี่ยวข้องกับการตัดสิ นใจเกี่ยวกับเหตุการณ์ในอนาคต ข้อมูลใหม่ๆอาจจะทําให้กลุ่มบริ ษทั เปลี่ยน การตัดสิ นใจโดยขึ้นอยูก่ บั ความเพียงพอของภาษีเงินได้คา้ งจ่ายที่มีอยู่ การเปลี่ยนแปลงในภาษีเงินได้คา้ งจ่ายจะกระทบต่อ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ในงวดที่เกิดการเปลี่ยนแปลง

1

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 95


สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีและหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีสามารถหักกลบได้เมื่อกิจการมีสิทธิ ตามกฎหมาย ที่จะนําสิ นทรัพย์ภาษีเงินได้ของงวดปั จจุบนั มาหักกลบกับหนี้ สินภาษีเงินได้ของงวดปั จจุบนั และภาษีเงินได้น้ ีประเมินโดย หน่ วยงานจัดเก็บภาษี หน่ วยงานเดียวกันสําหรั บหน่ วยภาษีเดี ยวกันหรื อหน่ วยภาษีต่างกัน สําหรั บหน่ วยภาษีต่างกันนั้น กิจการมีความตั้งใจจะจ่ายชําระหนี้ สินและสิ นทรัพย์ภาษีเงินได้ของงวดปั จจุบนั ด้วยยอดสุ ทธิ หรื อตั้งใจจะรับคืนสิ นทรัพย์ และจ่ายชําระหนี้สินในเวลาเดียวกัน สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจะบันทึกต่อเมื่อมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ นอนว่ากําไรเพื่อเสี ยภาษีในอนาคตจะมี จํานวนเพียงพอกับการใช้ประโยชน์จากผลแตกต่างชัว่ คราวดังกล่าว สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจะถูกทบทวน ณ ทุกวันที่รายงานและจะถูกปรับลดลงเท่าที่ประโยชน์ทางภาษีจะมีโอกาสถูกใช้จริ ง กําไรต่อหุ น้ กลุ่มบริ ษทั แสดงกําไรต่อหุ น้ ขั้นพื้นฐานและกําไรต่อหุ น้ ปรับลด สําหรับหุ น้ สามัญ กําไรต่อหุ น้ ขั้นพื้นฐานคํานวณโดยการ หารกําไรหรื อขาดทุนของผูถ้ ือหุ น้ สามัญของกลุ่มบริ ษทั ด้วยจํานวนหุ น้ สามัญถัวเฉลี่ยถ่วงนํ้าหนักที่ออกจําหน่ายระหว่างปี ปรับปรุ งด้วยจํานวนหุน้ สามัญที่ซ้ื อคืน เงินตราต่างประเทศ รายการบัญชี ที่เป็ นเงินตราต่ างประเทศ รายการบัญชีที่เป็ นเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็ นเงินบาทโดยใช้อตั ราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สิ นทรัพย์และหนี้สินที่เป็ นตัวเงินและเป็ นเงินตราต่างประเทศ ณ วันที่รายงาน แปลงค่าเป็ นเงินบาทโดยใช้อตั ราแลกเปลี่ยน ณ วันนั้น กําไรหรื อขาดทุนจากการแปลงค่าบันทึกในกําไรหรื อขาดทุน สิ นทรั พย์และหนี้ สินที่ ไม่เป็ นตัวเงิ นซึ่ งเกิ ดจากรายการบัญชี ที่เป็ นเงินตราต่างประเทศซึ่ งบันทึ กตามเกณฑ์ราคาทุ นเดิ ม แปลงค่าเป็ นเงินบาทโดยใช้อตั ราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ 4.

รายการธุรกิจกับกิจการทีเ่ กีย่ วข้ องกัน บุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกันได้แก่บุคคลหรื อกิจการต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกับกลุ่มบริ ษทั และบริ ษทั โดยการเป็ นผูถ้ ือ หุ ้นหรื อมีผถู้ ือหุ ้นร่ วมกันหรื อมีกรรมการร่ วมกัน รายการที่มีข้ ึนกับบุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกันได้กาํ หนดขึ้นโดยใช้ ราคาตลาดหรื อในราคาที่ตกลงกันตามสัญญาหากไม่มีราคาตลาดรองรับ .1 รายการธุ รกิจที่สาํ คัญระหว่างบริ ษทั กับบริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกันและกรรมการสําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 255 และ พ.ศ. 2556 มีรายละเอียดดังนี้ หน่วย: ล้านบาท งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ รายการธุรกิจกับบริษัทย่ อย ซื้อสิ นค้าและค่าบริ การจ่าย ซื้อสิ นทรัพย์ถาวร ค่าไฟฟ้ า

6

 -

 -

1 6 0

นโยบายการกําหนดราคา

6 25 ต้นทุนบวกกําไรส่ วนเพิ่ม 0 ตามที่ตกลงร่ วมกัน  ราคาต้ น ทุ น และต้ น ทุ น บวกอัต รากํา ไร 

96 รายงานประจ�ำปี 2557


หน่วย: ล้านบาท งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 6

 ค่าเช่า ค่าขนส่ ง ค่าบริ หารจัดการ ลดหนี้ค่าบริ หารจัดการ ค่านายหน้าจ่ายและค่าใช้จ่ายส่ งเสริ ม การขาย ค่าปรับความเสี ยหายจากการส่ งมอบ ขายสิ นค้า ขายสิ นทรัพย์ถาวร ขายนํ้ามัน รายได้ค่าเช่าที่ดินและพื้นที่สาํ นักงาน รายได้ค่าบริ หารจัดการ รายได้ค่าที่ปรึ กษา รายได้จากการบริ การ รายได้ค่าสาธารณูปโภค ค่าบริ การ รถรับส่ งพนักงานและการขาย วัสดุสิ้นเปลือง รายได้เงินปั นผล ดอกเบี้ยรับ รายการธุรกิจกับบริษัทร่ วม ขายสิ นค้า รายได้ค่าบริ หารการจัดการ รายได้เงินปั นผล รายได้จากการบริ การ รายการธุรกิจกับบริษัทที่เกีย่ วข้ องกัน ซื้อสิ นค้าและบริ การจ่าย ค่าซ่อมแซมบํารุ งรักษายานพาหนะ ค่าเช่าที่ดินจ่ายและสิ ทธิการเช่า ตัดจําหน่าย ค่าเช่ารถยนต์จ่าย ขายสิ นค้า รายได้ค่าเช่าที่ดินและพื้นที่โชว์รูม รายได้จากการบริ การ รายได้ค่าสาธารณูปโภค ค่าบริ การ ดอกเบี้ยรับ



6

นโยบายการกําหนดราคา ขั้นต้นไม่เกินร้อยละ 5 ตามสัญญาที่ทาํ ร่ วมกัน ตามที่ตกลงร่ วมกันโดยไม่มีสญ ั ญา ตามสัญญาที่ทาํ ร่ วมกัน ตามใบลดหนี้ที่ตกลงร่ วมกัน ตามสัญญาที่ทาํ ร่ วมกัน

-

-

  

1 6 (1) 

-

-

10    

2 53 5 4   9 4

-

-

 

85 ตามที่ประกาศจ่าย 5 ร้อยละ 1.6-. ต่อปี (พ.ศ. 6: ร้อยละ -. ต่อปี )

 1 1

  -

 1 0 -

7  4 -

 1 1

7  

-

- ต้นทุนบวกกําไรส่ วนเพิ่ม  ต้นทุนบวกกําไรส่ วนเพิ่ม - ตามสัญญาที่ทาํ ร่ วมกัน

6    1 -

     1

-

 1

ตามสัญญาที่ทาํ ร่ วมกัน ต้นทุนบวกกําไรส่ วนเพิ่ม ตามที่ตกลงร่ วมกัน ต้นทุนบวกกําไรส่ วนเพิ่ม ตามสัญญาที่ทาํ ร่ วมกัน ตามสัญญาที่ทาํ ร่ วมกัน ตามที่ตกลงร่ วมกัน ตามที่ตกลงร่ วมกัน ต้นทุนบวกกําไรส่ วนเพิ่ม

ต้นทุนบวกกําไรส่ วนเพิ่ม ตามที่ตกลงร่ วมกันโดยไม่มีสญ ั ญา ตามที่ประกาศจ่าย ตามที่ตกลงร่ วมกัน

ตามสัญญาที่ทาํ ร่ วมกัน ต้นทุนบวกกําไรส่ วนเพิม่ ตามสัญญาที่ทาํ ร่ วมกัน ตามที่ตกลงร่ วมกัน ต้นทุนบวกกําไรส่ วนเพิ่ม ร้อยละ .60-.0 ต่อปี

ในระหว่างปี พ.ศ. 255 บริ ษทั ได้รับใบลดหนี้ ค่าบริ หารจัดการสําหรับรายการที่เคยถูกเรี ยกเก็บในระหว่างปี พ.ศ. 2554 จํานวน 2 ล้านบาท จากบริ ษทั ไทยอัลติเมทคาร์ จํากัด บริ ษทั บันทึกรายการลดหนี้ ดงั กล่าวในงบการเงินสําหรับปี สิ้ นสุ ด วันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ทั้งจํานวน 

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 97


.

ค่าตอบแทนที่จ่ายให้ผบู้ ริ หารสําคัญ ค่าตอบแทนที่จ่ายให้ผบู้ ริ หารสําคัญสําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 255 และ พ.ศ. 2556 ประกอบด้วย หน่วย : บาท งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 6  6  ผลประโยชน์ระยะสั้น ผลประโยชน์หลังออกจากงาน รวมค่าตอบแทนที่จ่ายให้ผบู้ ริ หารสําคัญ

,6, ,60,1 ,1,11

6,16,6 (1,1,1) ,6,

,611,10 1,01 ,,0

,6, (1,,6) 0,1,

. ยอดคงเหลือที่มีสาระสําคัญระหว่างบริ ษทั กับบริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 255 และ พ.ศ. 2556 มีดงั นี้ หน่วย: บาท งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ  6  6 ลูกหนีก้ ารค้ ากิจการทีเ่ กีย่ วข้ องกัน บริษัทย่ อย บริ ษทั ไทยรุ่ ง ทูลส์ แอนด์ ไดส์ จํากัด 06,6 , บริ ษทั ไทย วี.พี. ออโต้เซอร์ วสิ จํากัด ,1 ,6, บริ ษทั ไทยออโต้ เพรสพาร์ท จํากัด 1,1 ,,1 บริ ษทั ไทยอัลติเมทคาร์ จํากัด 10,6,0 ,6,0 1,6, 1,, บริษัทร่ วม บริ ษทั เคียววะ ไทยรุ่ ง จํากัด 1,06 1,06 บริ ษทั เดลต้า-ไทยรุ่ ง จํากัด 1,6, 66, 1,1 0,0 บริ ษทั ไทยออโต้ คอนเวอชัน่ จํากัด ,6 16,1 ,6 16,1 6, 66,10 6,6 1,16,1 บริษัททีเ่ กีย่ วข้ องกัน บริ ษทั อีซูซุ ชัยเจริ ญกิจมอเตอร์ จํากัด บริ ษทั ไทย วี.พี. คอร์ ปอเรชัน่ จํากัด บริ ษทั วี.พี. ออโต้ เอ็นเตอร์ ไพรส์ จํากัด บริ ษทั เลกซัส ออโต้ ซิ ต้ ี จํากัด บริ ษทั เซ็นเตอร์ ยูสคาร์ จํากัด

,00,6 1,1 10, 0,0 1,00 ,,

1,,0 ,6 110,1 1,000 1,0,0

1,00 1,00

, , 

98 รายงานประจ�ำปี 2557


รวมลูกหนี้การค้ากิจการที่เกี่ยวข้องกัน ลูกหนีอ้ นื่ กิจการทีเ่ กีย่ วข้ องกัน บริษัทย่ อย บริ ษทั ไทยรุ่ ง ทูลส์ แอนด์ ไดส์ จํากัด บริ ษทั ไทย วี.พี. ออโต้เซอร์ วสิ จํากัด บริ ษทั ไทยออโต้ เพรสพาร์ท จํากัด บริ ษทั ไทยอัลติเมทคาร์ จํากัด

บริษัทร่ วม บริ ษทั เดลต้า-ไทยรุ่ ง จํากัด บริษัททีเ่ กีย่ วข้ องกัน บริ ษทั วี.พี. ออโต้ เอ็นเตอร์ ไพรส์ จํากัด บริ ษทั ไทย วี.พี. คอร์ ปอเรชัน่ จํากัด รวมลูกหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินให้ ก้ยู มื ระยะสั้ นแก่กจิ การทีเ่ กีย่ วข้ องกัน บริษัทย่ อย บริ ษทั ไทยรุ่ ง ทูลส์ แอนด์ ไดส์ จํากัด บริ ษทั ไทยออโต้ เพรสพาร์ท จํากัด รวมเงินให้กยู้ มื ระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เจ้ าหนีก้ ารค้ ากิจการทีเ่ กีย่ วข้ องกัน บริษัทย่ อย บริ ษทั ไทยรุ่ ง ทูลส์ แอนด์ ไดส์ จํากัด บริ ษทั ไทยออโต้ เพรสพาร์ท จํากัด บริษัทร่ วม บริ ษทั ไทยออโต้ คอนเวอชัน่ จํากัด บริ ษทั เคียววะ ไทยรุ่ ง จํากัด บริ ษทั เดลต้า ไทยรุ่ ง จํากัด

หน่วย: บาท งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ  6  6 1,, 1,6,0 6,01,1 ,6,6

-

-

1,,11 1,60 ,1,1 1,11,066

11,16,6 1,16,00 6,,6 1,,66

,

,

,

,

1,6 ,00 1,1 6,1

0, 0, 1,10

1,16,01

1,6,60

-

-

,000,000 ,000,000 - 160,000,000 ,000,000 ,000,000

-

-

11,, 6,, 1,,

1,610,06 ,01, 0,66,

,11, ,

,0 -

,11, -

,0 

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 99


หน่วย: บาท งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ  6  6 ,1, ,0 ,0 ,11, บริษัททีเ่ กีย่ วข้ องกัน บริ ษทั อีซูซุ ชัยเจริ ญกิจมอเตอร์ จํากัด บริ ษทั ไทย วี.พี. คอร์ ปอเรชัน่ จํากัด บริ ษทั วี.พี. ออโต้ เอ็นเตอร์ ไพรส์ จํากัด บริ ษทั วี.พี.เค.ออโต้ จํากัด รวมเจ้าหนี้ การค้ากิจการที่เกี่ยวข้องกัน

6, 16, 1,01,0 ,0 1,10,6 ,,

1,0 1,,6 ,0 1,1,0 1,,

,,1

0,60,1

-

-

1,6, ,6,66 ,, 1,616,

1,6,1 6,0, ,1, ,0,0

,0

,0

,0

1,01 1,0,1 ,000 1,1 ,6 1,, 1,,

,0 , 1,000 ,6 1,11 , 16,06,0

1,01 06,6 1,1 ,6 660,1 6,10,1

เจ้ าหนีอ้ นื่ กิจการทีเ่ กีย่ วข้ องกัน บริษัทย่ อย บริ ษทั ไทยรุ่ ง ทูลส์ แอนด์ ไดส์ จํากัด บริ ษทั ไทยอัลติเมทคาร์ จํากัด บริ ษทั ไทย วี.พี. ออโต้เซอร์วสิ จํากัด บริษัทร่ วม บริ ษทั ไทยออโต้ คอนเวอชัน่ จํากัด บริษัททีเ่ กีย่ วข้ องกัน บริ ษทั อีซูซุ ชัยเจริ ญกิจมอเตอร์ จํากัด บริ ษทั ไทย วี.พี. คอร์ ปอเรชัน่ จํากัด บริ ษทั สิ นธรณี จํากัด บริ ษทั วี.พี. ออโต้ เอ็นเตอร์ ไพรส์ จํากัด บริ ษทั โพธิภมู ิ จํากัด บริ ษทั วี.พี. แคปปิ ตอล แอสเซ็ทส์ จํากัด บริ ษทั เลกซัส ออโต้ ซิ ต้ ี จํากัด รวมเจ้าหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

,10

11,6 ,1 1,000 ,6 1,11 1,1, 1,0,

ต้ นทุนงานค้ างจ่ ายกิจการทีเ่ กีย่ วข้ องกัน บริษัทย่ อย 6

100 รายงานประจ�ำปี 2557


หน่วย: บาท งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ  6  6 ,6, ,,0 ,6, ,,0 -

บริ ษทั ไทยรุ่ ง ทูลส์ แอนด์ ไดส์ จํากัด รวมต้นทุนงานค้างจ่ายกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

เงินกู้ยมื ระยะสั้ นจากกิจการทีเ่ กีย่ วข้ องกัน บริษัทย่ อย บริ ษทั ไทย วี.พี. ออโต้เซอร์ วสิ จํากัด รวมเงินกูย้ มื ระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

-

-

-

0,000,000 0,000,000

. ในระหว่างปี พ.ศ.  เงินให้กยู้ มื ระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน และเงินกูย้ มื ระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มีการเคลื่อนไหวดังต่อไปนี้ หน่วย: ล้านบาท ระหว่างปี เพิ่มขึ้น ลดลง

 มกราคม พ.ศ.  เงินให้ ก้ ยู มื ระยะสั้ นแก่ กจิ การทีเ่ กีย่ วข้ องกัน งบการเงินรวม บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน บริ ษทั ไทย วี.พี.คอร์ปอเรชัน่ จํากัด

31 ธันวาคม พ.ศ. 

อัตราดอกเบี้ย

-

0

(0)

- ร้อยละ .0 ต่อปี ครบวันที่  พฤษภาคม พ.ศ. 

บริ ษทั ไทยรุ่ ง ทูลส์ แอนด์ ไดส์ จํากัด



6

()

บริ ษทั ไทยออโต้ เพรสพาร์ท จํากัด

160



(1)

-

10

(10)

 ร้อยละ 1.6-. ต่อปี ครบกําหนดชําระเมื่อ ทวงถาม - ร้อยละ .0-. ต่อปี ครบกําหนดชําระเมื่อ ทวงถาม - ร้อยละ 1.6 ต่อปี ครบกําหนดชําระเมื่อ ทวงถาม

-

0

(0)

เงินกู้ยมื ระยะสั้ นจากกิจการทีเ่ กีย่ วข้ องกัน งบการเงินเฉพาะกิจการ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ไทย วี.พี. ออโต้เซอร์วสิ จํากัด

- ร้อยละ .0 ต่อปี ครบวันที่  พฤษภาคม พ.ศ. 

0

10

(1)

บริ ษทั ไทยออโต้ เพรสพาร์ท จํากัด

-

6

(6)

- ร้อยละ 1.6-. ต่อปี ครบกําหนดชําระ เมื่อทวงถาม - ร้อยละ 1.60 ต่อปี ครบกําหนดชําระเมื่อ

งบการเงินเฉพาะกิจการ บริ ษทั ย่อย

บริ ษทั ไทย วี.พี. ออโต้เซอร์วสิ จํากัด บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน บริ ษทั ไทย วี.พี.คอร์ปอเรชัน่ จํากัด



บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 101


 มกราคม พ.ศ. 

หน่วย: ล้านบาท ระหว่างปี เพิ่มขึ้น ลดลง

31 ธันวาคม พ.ศ. 

อัตราดอกเบี้ย ทวงถาม

ระหว่างปี พ.ศ. 255 และ พ.ศ. 2556 บริ ษทั มีเงินให้กยู้ ืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันเป็ นตัว๋ สัญญาใช้เงินจํานวน 0 ล้านบาทและ 1 ล้านบาทตามลําดับ เงินให้กยู้ มื ระยะสั้นดังกล่าวคํ้าประกันโดยกรรมการของแต่ละบริ ษทั ที่ทาํ การกูย้ มื ณ วันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 255 และ พ.ศ. 2556 บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกันทั้งหมดได้คืนเงินกูย้ มื ทั้งจํานวนแก่บริ ษทั แล้ว บริ ษทั และบริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกันดังกล่าวมีความสัมพันธ์โดยมีผถู ้ ือหุน้ และกรรมการร่ วมกัน ภาระคํ้าประกันกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

.

ณ วันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 255 และ พ.ศ. 2556 บริ ษทั มีภาระคํ้าประกันวงเงินสิ นเชื่อให้แก่บริ ษทั ไทยรุ่ ง ทูลส์ แอนด์ ไดส์ จํากัด (บริ ษทั ย่อย) กับธนาคารในประเทศหนึ่ งแห่ งในวงเงิน 35 ล้านบาท บริ ษทั ไม่มีการคิดค่าธรรมเนี ยมการคํ้าประกัน จากบริ ษทั ย่อยดังกล่าว

5.

เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 255 และ พ.ศ. 2556 ประกอบด้วย งบการเงินรวม 

255

เงินลงทุนระยะสั้น

1,16 ,61, 1,16,06 0,,

3,27,4 ,, 16,,1 45,37,93

0,000 0,0,6 ,6, ,

2,93,9 32,29,529 78,59,543 37,93

รวม

06,161,1

298,228,244

,6,601

4,3,45

เงินสดในมือ เงินฝากธนาคารกระแสรายวัน เงินฝากธนาคารออมทรัพย์

6.

หน่วย: บาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 

255

ลูกหนีก้ ารค้ าและลูกหนือ้ นื่ - สุ ทธิ ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ณ วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ.  และ พ.ศ. 6 ประกอบด้วย

ลูกหนี้การค้ากิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน ลูกหนี้การค้ากิจการที่เกี่ยวข้องกัน หัก ค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสูญ

หน่วย: บาท งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม  2556  6 1,6,0 ,6,6 0,0,00 37,234,595 6,01,1 ,6,6 1,, 1,6,0 (,1) (,1) 

102 รายงานประจ�ำปี 2557


รวมลูกหนี้ การค้า - สุ ทธิ ลูกหนี้อื่น เงินฝากประจําที่ติดภาระคํ้าประกันภายใน  ปี ลูกหนี้อื่นกิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน ลูกหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ภาษีซ้ื อรอเรี ยกคืน ภาษีซ้ื อตั้งพัก ค่าใช้จ่ายล่วงหน้า ภาษีเงินได้หกั ณ ที่จ่าย อื่นๆ รวมลูกหนี้อื่น รวมลูกหนี้ การค้าและลูกหนี้อื่น - สุ ทธิ

หน่วย: บาท งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556  6  1,, ,1,00 ,0,0 ,106, 61,6 ,6,61 6,1 1,6,0 ,, ,, ,1 ,00, ,1,066

, 1,10 1,1,0 1,11, ,,0 10,0, ,758,60 0,,

61,6 ,6,61 1,16,01 ,60,0 ,00,06 ,00,6 1,01,1 ,110,1

, 1,6,60 ,,1 ,6 ,0,0 ,1,0 0,1 6,,6

0,600,6

,,1

0,0,6

,601,1

ยอดคงเหลือของลูกหนี้ การค้า ณ วันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 255 และ พ.ศ. 2556 แยกตามอายุหนี้ ที่คงค้างนับจากวันที่ถึง กําหนดชําระได้ดงั นี้ หน่วย: บาท งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 255 2556 255 2556 ลูกหนี้การค้ ากิจการทีไ่ ม่ เกีย่ วข้ องกัน อายุหนีค้ ้ างชําระ ยังไม่ถึงกําหนดชําระ ,0,0 ,,061 1,0, 01,6,01 ค้างชําระ ไม่เกิน  เดือน ,,1 ,,66 1,66,0 ,,1 3 -  เดือน ,,6 1,6 6,1  - 1 เดือน ,0 มากกว่า 2 เดือน 0,1 1,61, รวม 1,6,0 ,6,6 0,0,00 ,, หัก ค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสูญ (,1) (,1) รวมลูกหนี้ การค้ากิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน-สุ ทธิ 0,0,00 ,, 1,6,1 ,6, ลูกหนี้การค้ ากิจการทีเ่ กีย่ วข้ องกัน อายุหนีค้ ้ างชําระ 

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 103


หน่วย: บาท งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 255 2556 255 2556 ลูกหนีก้ ารค้ าบริษัทย่ อย ยังไม่ถึงกําหนดชําระ ค้างชําระ ไม่เกิน  เดือน รวมลูกหนี้การค้าบริ ษทั ย่อย ลูกหนีก้ ารค้ าบริษัทร่ วม ยังไม่ถึงกําหนดชําระ ค้างชําระ ไม่เกิน  เดือน รวมลูกหนี้การค้าบริ ษทั ร่ วม ลูกหนีก้ ารค้ าบริษัททีเ่ กีย่ วข้ องกัน ยังไม่ถึงกําหนดชําระ ค้างชําระ ไม่เกิน  เดือน รวมลูกหนี้การค้าบริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน รวมลูกหนี้การค้ากิจการที่เกี่ยวข้องกัน 7.

-

-

10,,1

1,601,

-

-

1,1,00 1,6,

(10,6) 1,,

1,1,

6,

6,0

6,6

 1,16,1

6,

 66,10

6,6

,1,

1,0,

1,00

,

1,0 ,, 6,01,1

0, 1,0,0 ,6,6

1,00 1,,

, 1,6,0

สิ นค้ าคงเหลือ - สุ ทธิ สิ นค้าคงเหลือ ณ วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ.  และ พ.ศ. 6 ประกอบด้วย หน่วย:บาท งบการเงินรวม ราคาทุน สิ นค้าเสื่ อมคุณภาพ/ล้าสมัย สิ นค้าสําเร็ จรู ป งานระหว่างทํา วัตถุดิบ รวม

 6 10,16, 0,1, 6,, ,,1 ,6, 11,1,1

 (1,1,61) (1,6,6) (1,60,)

6 (16,,16) (,01,0) (1,6,16)

,,1 ,,

(,11,)

(,1,0)

ราคาทุน

หน่วย:บาท งบการเงินเฉพาะกิจการ สิ นค้าเสื่ อมคุณภาพ/ล้าสมัย

สิ นค้าคงเหลือ-สุ ทธิ  ,6, ,1, 1,6,

6 6,6,60 0,6, ,1,

1,,60 0,6,

สิ นค้าคงเหลือ-สุ ทธิ 0

104 รายงานประจ�ำปี 2557


สิ นค้าสําเร็ จรู ป งานระหว่างทํา วัตถุดิบ รวม 8.

 6 ,,6 1,0,1 1,, 0,,1 61,66, ,0, 11,6, 116,66,106

 (00,000) (00,000) (10,1,)

6 (1,,6) (,) (11,,06)

(11,61,)

(1,0,1)

 ,, 1,, 1,,01

6 16,, 1,,0 66,,66

10,1, 10,6,1

เงินลงทุนในบริษัทร่ วม รายละเอียดของบริ ษทั ร่ วมประกอบด้วย

บริ ษทั

ลักษณะธุรกิจ

บริ ษทั เดลต้า-ทีอาร์ จํากัด

ผลิตชิ้นส่ วน รถยนต์ ผลิตชิ้นส่ วน รถยนต์ ผลิตเบาะรถยนต์ และอุปกรณ์ เกี่ยวกับรถยนต์

บริ ษทั ไทย ออโต้ คอน เวอชัน่ จํากัด บริ ษทั เดลต้า ไทยรุ่ ง จํากัด

บริ ษทั เคียววะ ไทยรุ่ ง จํากัด

บริ ษทั เทร็ ก ไทยรุ่ ง จํากัด

รวมเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม

ผลิต จําหน่าย เครื่ องจักรขนาด ใหญ่ทุกประเภท รวมทั้งอุปกรณ์ อะไหล่ชิ้นส่ วน ประกอบกิจการ ต่อตัวถัง ยานพาหนะทุก ชนิด

จัดตั้งขึ้น ในประเทศ

ไทย

สัดส่ วนเงินลงทุน 6  ร้อยละ ร้อยละ 6 6

หน่วย: บาท งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม มูลค่าตามบัญชี ราคาทุน ่ ตามวิธีสวนได้เสี ย  6  6 ,,

,606,0

,600,000

,00,000

ไทย

0

0

,00,

,1,1

1,00,000

1,00,000

ไทย

0

0

11,1,6

11,0,1

0,000,000

0,000,000

ไทย



-

,61,

-

,00,000

-

ไทย

0

11,1,

-

10,000,000

-

6,1,66

,06,

,00,000

-

11,100,000

ตามรายงานการประชุมกรรมการของบริ ษทั ครั้งที่ / เมื่อวันที่  กุมภาพันธ์ พ.ศ. 255 บริ ษทั แจ้งการจดทะเบียนจัดตั้ง บริ ษทั ร่ วมทุนแห่งใหม่คือ 1)

บริ ษทั เคียววะ ไทยรุ่ ง จํากัด ทุนจดทะเบียน 2 ล้านบาท หุ น้ สามัญจํานวน 2, หุ น้ มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ  บาท สัดส่ วนถือหุ ้นของบริ ษทั เท่ากับร้อยละ  โดยในเดือนเมษายน พ.ศ.  บริ ษทั มีการจ่ายชําระค่าหุ ้น ดังกล่าวแล้ว 1

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 105


)

บริ ษทั เทร็ ก ไทยรุ่ ง จํากัด ซึ่ งมีทุนจดทะเบียน 00 ล้านบาท หุ น้ สามัญจํานวน ,0, หุ น้ มูลค่าที่ตราไว้ หุ น้ ละ  บาท สัดส่ วนถือหุ น้ ของบริ ษทั เท่ากับร้อยละ 0 ในเดือนมิถุนายน พ.ศ.  บริ ษทั มีการจ่ายชําระค่า หุน้ ดังกล่าวแล้ว

ตามรายงานการประชุ มสามัญผูถ้ ือหุ ้นประจําปี พ.ศ. 255 ของบริ ษทั ไทย ออโต้ คอนเวอชัน่ จํากัด เมื่อวันที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 255 มี มติอนุ มตั ิให้จ่ายเงิ นปั นผลจากร้ อยละ 5 ของกําไรสุ ทธิ หลังหักภาษี สําหรั บปี พ.ศ. 2556 แก่ผูถ้ ื อหุ ้นตาม สัดส่ วนการถือหุน้ ในอัตรา 6. บาทต่อหุน้ โดยบริ ษทั ถือหุน้ จํานวน 4,9 หุน้ รวมเงินปันผลรับทั้งสิ้ น .1 ล้านบาท ตามรายงานการประชุมสามัญผูถ้ ือหุ ้นประจําปี พ.ศ. 2556 ของบริ ษทั ไทย ออโต้ คอนเวอชัน่ จํากัด เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 255 มี มติ อนุ มตั ิให้จ่ายเงิ นปั นผลจากร้ อยละ 5 ของกําไรสุ ทธิ หลังหักภาษี สําหรั บปี พ.ศ. 2555 แก่ผูถ้ ื อหุ ้นตาม สัดส่ วนการถือหุ น้ ในอัตรา 92.55 บาทต่อหุน้ โดยบริ ษทั ถือหุน้ จํานวน 4,9 หุน้ รวมเงินปันผลรับทั้งสิ้ น 3. ล้านบาท ตามรายงานการประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั เดลต้า ไทยรุ่ ง จํากัด เมื่อวันที่ 16 เมษายน พ.ศ.  มีมติอนุมตั ิให้จ่ายเงิน ปั นผลรวมเป็ นจํานวนเงิน 0 ล้านบาท แก่ผถู ้ ือหุ ้นตามสัดส่ วนการถือหุ น้ โดย บริ ษทั ถือหุ น้ ในสัดส่ วนร้อยละ 0 รวมเงิน ปั นผลรับทั้งสิ้ น 1 ล้านบาท ในเดือนตุลาคม พ.ศ.  บริ ษทั เดลต้า-ทีอาร์ จํากัด ซึ่ งอยูร่ ะหว่างการชําระบัญชี มีหนังสื อแจ้งการคืนทุนที่ได้รับการ อนุ มตั ิโดยผูบ้ ริ หารและผูช้ าํ ระบัญชี แก่ผถู้ ือหุ ้นกึ่งหนึ่ งจากทุนเรี ยกชําระ 0 ล้านบาท ตามสัดส่ วนการถือหุ ้น โดยบริ ษทั ได้รับคืนทุนเป็ นจํานวน ,600,000 บาท ในระหว่างปี บริ ษทั รับรู้ส่วนแบ่งกําไรจากการลงทุนในบริ ษทั ร่ วมในงบการเงินรวมและรับรู้เงินปั นผลรับจากบริ ษทั ร่ วม ดังกล่าวในงบการเงินเฉพาะกิจการดังนี้ หน่วย: บาท งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม ส่ วนแบ่งกําไร(ขาดทุน)จาก เงินปันผลที่บริ ษทั รับ เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม ระหว่างปี ในระหว่างปี บริ ษทั  6  6 บริ ษทั เดลต้า-ทีอาร์ จํากัด (,) บริ ษทั ไทย ออโต้ คอนเวอชัน่ จํากัด ,,0 ,11,6 1,6, 1,1,06 บริ ษทั เดลต้า ไทยรุ่ ง จํากัด ,1, 1,000,000 1,6,1 บริ ษทั เคียววะ ไทยรุ่ ง จํากัด (,1) บริ ษทั เทร็ ก ไทยรุ่ ง จํากัด (,6) รวม ,6,61 0,11,6 1,6, ,6, ข้อมูลทางการเงินตามที่แสดงอยูใ่ นงบการเงินของบริ ษทั ร่ วมโดยสรุ ปมีดงั นี้

บริ ษทั

ทุนเรี ยกชําระ ณ วันที่ 1 ธันวาคม  6

สิ นทรัพย์รวม ณ วันที่ 1 ธันวาคม  6

หนี้สินรวม ณ วันที่ 1 ธันวาคม  6

รายได้รวมสําหรับ ปี สิ้ นสุ ดวันที่ 1 ธันวาคม  6

หน่วย: ล้านบาท กําไร(ขาดทุน) สุ ทธิสาํ หรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 1 ธันวาคม  6 

106 รายงานประจ�ำปี 2557


บริ ษทั เดลต้า-ทีอาร์ จํากัด บริ ษทั ไทย ออโต้ คอน เวอชัน่ จํากัด บริ ษทั เดลต้า ไทยรุ่ ง จํากัด บริ ษทั เคียววะ ไทยรุ่ ง จํากัด บริ ษทั เทร็ ก ไทยรุ่ ง จํากัด

10 

0 

1 1

1 

116

111

0

1,0

(1) 10

116

00 0 00

00 -

06 1 0

11 -

01  

10 -

1,6  1

1 -

 (1) (1)

10 -

ส่ วนแบ่งกําไร(ขาดทุน)จากเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมสี่ แห่งและสามแห่ ง ซึ่ งรวมอยูใ่ นงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวมสําหรับปี พ.ศ. 255 และ พ.ศ. 2556 จํานวนเงิน .01 ล้านบาท และ . ล้านบาทตามลําดับ คํานวณจากงบการเงินซึ่ งจัดทําโดย ฝ่ ายบริ หารของบริ ษทั ร่ วมและยังไม่ได้ตรวจสอบโดยผูส้ อบบัญชีของบริ ษทั เหล่านั้น

9.

เงินลงทุนในบริษัทย่ อย เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยตามที่แสดงอยูใ่ นงบการเงินเฉพาะกิจการมีรายละเอียดดังนี้ บริ ษทั บริ ษทั ไทย วี.พี. ออโต้ เซอร์วสิ จํากัดและบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ไทยรุ่ ง ทูลส์ แอนด์ ไดส์ จํากัด บริ ษทั ไทยออโต้ เพรสพาร์ท จํากัด รวมเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย

ทุนเรี ยกชําระแล้ว  6 ล้านบาท ล้านบาท  

สัดส่ วนเงินลงทุน  6 ร้อยละ ร้อยละ  









00

00

1

1



ราคาทุน

หน่วย: บาท เงินปั นผลที่บริ ษทั รับระหว่างปี 6  6

,00,000

,00,000

,600,000

,600,000

,0,000

,0,000

-

-

6,000,000 1,0,000

6,000,000 1,0,000

,600,000

,600,000

ตามรายงานการประชุมสามัญผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั ไทย วี.พี.ออโต้เซอร์ วิส จํากัด เมื่อวันที่  พฤษภาคม พ.ศ.  มีมติ อนุมตั ิการจ่ายเงินปั นผลจากกําไรสะสมปี พ.ศ. 6 ให้แก่ผถู้ ือหุ ้นในอัตราหุ ้นละ 160 บาทต่อหุ ้น จํานวน 0,000 หุ ้น รวมเป็ นจํานวนทั้งสิ้ น 0 ล้านบาท ตามรายงานการประชุมสามัญผูถ้ ือหุ ้นประจําปี พ.ศ. 255 ของบริ ษทั ไทย วี. พี. ออโต้เซอร์ วิส จํากัด เมื่อวันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 255 มีมติอนุมตั ิให้จ่ายเงินปั นผลจากกําไรสะสมปี พ.ศ. 2555 แก่ผถู้ ือหุ น้ ตามสัดส่ วนการถือหุ น้ ในอัตรา 3 บาทต่อ หุ น้ จํานวน 25, หุน้ รวมเป็ นเงินทั้งสิ้ น 9 ล้านบาท ตามรายงานการประชุมสามัญผูถ้ ือหุ ้นประจําปี พ.ศ. 255 ของบริ ษทั ไทยอัลติเมทคาร์ จํากัด เมื่อวันที่  พฤษภาคม พ.ศ. 255 มีมติอนุมตั ิให้จ่ายเงินปั นผลจากกําไรสะสมปี พ.ศ. 2556 แก่ผถู้ ือหุ ้นตามสัดส่ วนการถือหุ ้นในอัตรา 1,600 บาทต่อ หุน้ จํานวน 25, หุน้ รวมเป็ นเงินทั้งสิ้ น 0 ล้านบาท



บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 107


ตามรายงานการประชุ มสามัญผูถ้ ือหุ ้นประจําปี พ.ศ. 255 ของบริ ษทั ไทยอัลติเมทคาร์ จํากัด เมื่อวันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 255 มีมติอนุมตั ิให้จ่ายเงินปั นผลจากกําไรสะสมปี พ.ศ. 2555 แก่ผถู ้ ือหุ น้ ตามสัดส่ วนการถือหุ น้ ในอัตรา 3,4 บาทต่อหุ น้ จํานวน 25, หุน้ รวมเป็ นเงินทั้งสิ้ น 85 ล้านบาท 10.

เงินลงทุนระยะยาวอืน่ - สุ ทธิ เงินลงทุนระยะยาวอื่น ณ วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ.  และ พ.ศ. 6 ประกอบด้วย หน่วย: บาท  เงินลงทุนในบริ ษทั แอล พี แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ซิ่ง ดีเวลลอปเม้นท์ จํากัด หัก: ค่าเผือ่ การลดลงของมูลค่าเงินลงทุน เงินลงทุนระยะยาวอื่น - สุ ทธิ

11.

,000 (,000) -

6 ,000 (,000) -

อสั งหาริมทรัพย์ เพือ่ การลงทุน – สุ ทธิ อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน ณ วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ.  และ พ.ศ. 6 ประกอบด้วย หน่วย : บาท งบการเงินรวม ที่ดิน

อาคาร

ส่ วนปรับปรุ ง อาคาร

รวม

ราคาทุน ณ วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ.  เพิ่มขึ้น

1,,00 -

,,06 -

,6,6 -

0,1,1 -

ณ วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 6

1,,00

,,06

,6,6

0,1,1

เพิ่มขึ้น โอนออก ตัดจําหน่าย ณ วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 

(,0,000) -

(1,60,000) (1,6,6)

(,,6) (,6,1)

(10,,6) (16,,)

161,,00

,,0

1,1,66

16,1,

ค่าเสื่ อมราคาสะสม ณ วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ.  ค่าเสื่ อมราคาสําหรับปี

-

(61,,06) (,,60)

(,6,11) (,0,16)

(,0,0) (,0,6)

ณ วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 6

-

(6,0,6)

(,,)

(10,100,)

ค่าเสื่ อมราคาสําหรับปี

-

(1,,)

(1,,)

(,,00) 

108 รายงานประจ�ำปี 2557


โอนออก ตัดจําหน่าย ณ วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 

-

0,01,1 6,01,

1,6,0 ,1,6

,6,6 ,1,6

-

(0,0,66)

(1,6,6)

(,6,0)

มูลค่าสุ ทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 6

1,,00

1,101,0

10,1,0

,61,1

ณ วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 

161,,00

,1,6

,,0

16,,1

อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนประกอบด้วยอาคารที่ให้เช่าแก่บุคคลที่สามแต่ละสัญญาเช่าได้ระบุระยะเวลาเช่าเมื่อเริ่ มแรกที่ ไม่สามารถยกเลิกสัญญาเป็ นเวลา 1- ปี การต่ออายุสัญญาครั้งต่อไปเป็ นการเจรจากับผูเ้ ช่า ณ วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 255 และ พ.ศ. 6 บริ ษทั ย่อยมีอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนจํานวนหนึ่ งซึ่ งตัดค่าเสื่ อมราคา หมดแล้วแต่ยงั ใช้งานอยูร่ าคาทุนของสิ นทรัพย์ดงั กล่าวมีจาํ นวนเงินประมาณ 0. ล้านบาท บริ ษทั ย่อยได้โอนอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนบางส่ วนกลับมาเป็ นที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ เนื่ องจากสิ้ นสุ ดสัญญาให้เช่า กับผูเ้ ช่ารายหนึ่ง และบริ ษทั ย่อยมีการใช้ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ดงั กล่าวในกลุ่มบริ ษทั เอง บริ ษ ัท ย่อ ยทํา การตัด จํา หน่ า ยอาคารที่ ต้ งั อยู่บ นที่ ดิ น เช่ า แห่ ง หนึ่ ง เนื่ อ งจากการสิ้ น สุ ด อายุสั ญ ญาเช่ า ที่ ดิ น ดัง กล่ า วกับ หน่วยงานภายนอก โดยบริ ษทั ย่อยบันทึกผลขาดทุนจากการตัดจําหน่ายอาคารจํานวน . ล้านบาทภายใต้หวั ข้อ “ค่าใช้จ่าย ในการบริ หาร” และรายได้เงินชดเชยจํานวน . ล้านบาทภายใต้หวั ข้อ “รายได้อื่น” ในงบการเงินรวมสําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ.  ณ วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ.  ฝ่ ายบริ หารยังไม่ได้ดาํ เนิ นการประเมินราคามูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ดงั กล่าวเนื่องจาก อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนที่จะถือต่อไปในระยะยาวมีมูลค่าไม่เป็ นสาระสําคัญ 12.

ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ - สุ ทธิ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ณ วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ.  และ พ.ศ. 6 ประกอบด้วย หน่วย: บาท งบการเงินรวม

ราคาทุน 3 ธันวาคม พ.ศ. 255 ซื้ อเพิ่ม โอนเข้า (โอนออก) จําหน่าย 3 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ซื้ อเพิ่ม โอนเข้า (โอนออก) จําหน่าย 3 ธันวาคม พ.ศ. 255

ที่ดินและ สิ่ งปรับปรุ ง ที่ดิน

อาคารและ สิ่ งปรับปรุ ง อาคาร

1,, 10,,1 6,,6 ,1,16 ,0,000 1,6,

6,1, 11,1,1 ,6, ,61, ,0,6 ,,6 (,0) 0,1,

เครื่ องจักร อุปกรณ์โรงงาน และเครื่ องมือ 1,1,,16 ,6, 16,,00 (1,6,6) 1,0,1,16 0,0, 1,, (,00,6) ,1,6,61

เครื่ องใช้ สํานักงาน

ยานพาหนะ

งานระหว่าง ก่อสร้าง

1,,1 ,,11 0,,61 11,,6 ,,1 1,10,1 ,00 1,, (166,,1) (,,) (,,0) (,6,) 1,1, 1,0,0 11,, ,,161 1,, 1,11, - (1,,) (,,) (,,6) (1,01,00) 1,0, 1,61, ,1,

รวม ,,01,1 ,,0 (1,10,6) ,01,, 1,0,0 10,,6 (,0,0) ,,1,6

ค่ าเสื่ อมราคาสะสม 

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 109


3 ธันวาคม พ.ศ. 255 ค่าเสื่ อมราคาสําหรับปี จําหน่าย 3 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ค่าเสื่ อมราคาสําหรับปี โอนเข้า จําหน่าย 3 ธันวาคม พ.ศ. 255 ค่ าเผือ่ การด้ อยค่า 3 ธันวาคม พ.ศ. 255 เพิ่มขึ้น ตัดจําหน่าย 3 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ตัดจําหน่าย 3 ธันวาคม พ.ศ. 255 มูลค่ าสุ ทธิตามบัญชี 3 ธันวาคม พ.ศ. 2556

(,66,) (,10,) (1,,0,) (160,0,6) (160,0) (,0,01) (,011,1) (,,) 27,,06 38,11,0 (9,27,448) (35,929,35) (,4,47,5) (27,4,22) (16,0) (,,) (10,,) (6,1,6) - (,6,6) ,06 ,00,1 ,, (,1,1) (6,1,00) (1,1,16,) (11,,6)

(,,) (3,443,871) ,06,6 (,0,01) (16,,0) ,,6 (,,1)

-

-

-

(,,6) (,000,000) 2,24, (,23,252) 6,0 (,161,0)

60,0,0

,60,0

3 ธันวาคม พ.ศ. 255

1,0,1

6,60,

(,01,,1) (30,0,) 16,60, (,97,0,1) (1,06,11) (,6,6) 1,0,6 (,1,,16)

-

(6,000) (6,000) (6,000)

-

(,1,6) (,000,000) 2,24, (,77,25) 6,0 (,6,0)

1,,

,1,10

0,23,66

11,,

1,0,,61

61,1,0

0,6,0

6,,6

,1,

1,6,0,

ค่าเสื่ อมราคาสําหรับปี พ.ศ. 255 และ พ.ศ. 6 ที่รวมอยูใ่ นต้นทุนการผลิตจํานวน 16 ล้านบาท และ 110 ล้านบาท ส่ วน ที่เหลือรวมอยูใ่ นค่าใช้จ่ายบริ หาร หน่วย: บาท งบการเงินเฉพาะกิจการ ที่ดินและ สิ่ งปรับปรุ ง ที่ดิน

อาคารและ สิ่ งปรับปรุ ง อาคาร

เครื่ องจักร อุปกรณ์โรงงาน และเครื่ องมือ

เครื่ องใช้ สํานักงาน

ราคาทุน 3 ธันวาคม พ.ศ. 255 ซื้ อเพิม่ รับโอน/(โอนออก) จําหน่าย 3 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ซื้ อเพิม่ รับโอน/(โอนออก) จําหน่าย 3 ธันวาคม พ.ศ. 255

,6,6 10,,1 1,,0 ,,16 ,61,00

,0,1 111,61,1 ,01,00 61,0,00 ,000 (,0) 61,6,6

1,,, 1,0,0 ,,0 (10,60,) 1,161,, 6,, 1,6,1 (0,0,1) 1,16,1,6

ค่ าเสื่ อมราคาสะสม 3 ธันวาคม พ.ศ. 255 ค่าเสื่ อมราคาสําหรับปี จําหน่าย 3 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ค่าเสื่ อมราคาสําหรับปี จําหน่าย

(8,8,478) (228,753,792) (,9,475,722) (160,0) (10,1,6) (,,) 10,0, (,0,) (,,) (1,010,0,6) (16,0) (1,0,1) (,1,1) ,06 ,,

ยานพาหนะ

งานระหว่าง ก่อสร้าง

รวม

,, ,0, ,00 (,1,) 1,0,16 ,61,1 (,,066) ,,60

,, ,0,16 1,, (1,0) 11,01,1 1,0, (1,,06) 10,,

1,10,0 ,06,1 (,61,61) (,,61) 0,6,06 ,0,6 (1,6,1) (1,01,00) ,60,6

,,, ,1, (1,666,060) ,,10,10 ,6,6 (,0,6) ,,06,0

(8,2,529) (,01,6) ,6,6 (,1,611) (,,) ,1,

(,8,44) (,,61) 1,6 (6,6,) (1,0,1) ,,1

- (,475,24,99) - (,1,100) 16,00,6 - (1,0,6,1) - (0,1,0) ,,0 6

110 รายงานประจ�ำปี 2557


หน่วย: บาท งบการเงินเฉพาะกิจการ ที่ดินและ สิ่ งปรับปรุ ง ที่ดิน 3 ธันวาคม พ.ศ. 255

อาคารและ สิ่ งปรับปรุ ง อาคาร

เครื่ องจักร อุปกรณ์โรงงาน และเครื่ องมือ

(9,89,78) (,,6) (1,01,1,)

เครื่ องใช้ สํานักงาน

ยานพาหนะ

(0,1,0)

(,00,0)

ค่ าเผือ่ การด้ อยค่า 3 ธันวาคม พ.ศ. 255 ตัดจําหน่าย 3 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ตัดจําหน่าย 3 ธันวาคม พ.ศ. 255

-

-

(,,6) ,1,01 (1,) 6,0 (161,0)

-

(6,000) (6,000) (6,000)

มูลค่ าสุ ทธิตามบัญชี 3 ธันวาคม พ.ศ. 2556

,,

,,0

11,,0

1,,

,01,

3 ธันวาคม พ.ศ. 255

0,1,

0,1,

1,1,

1,,1

6,16,

งานระหว่าง ก่อสร้าง

รวม - (1,,,1) -

(,1,6) ,1,01 (0,) 6,0 (6,0)

0,6,06 1,0,, ,60,6

,,66

ค่าเสื่ อมราคาสําหรับปี พ.ศ. 255 และ พ.ศ. 6 ที่รวมอยูใ่ นต้นทุนการผลิตจํานวน  ล้านบาท และ  ล้านบาท ส่ วนที่ เหลือรวมอยูใ่ นค่าใช้จ่ายบริ หาร ณ วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ.  และ พ.ศ. 6 กลุ่มบริ ษทั มีอาคารและอุปกรณ์จาํ นวนหนึ่ งซึ่ งตัดค่าเสื่ อมราคาหมดแล้วแต่ ยังใช้งานอยู่ ราคาทุนของสิ นทรัพย์ดงั กล่าวมีจาํ นวนเงินประมาณ 1, ล้านบาท ในงบการเงินรวม และจํานวน 1,1 ล้าน บาท และ 1,0 ล้านบาทตามลําดับในงบการเงินเฉพาะกิจการ

13.

ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ณ วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ.  และ พ.ศ. 6 ประกอบด้วย หน่วย: บาท งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 6  6 255 สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี 0,11, 10,, ,1,0 1,6,606 หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี (,0,) (,11,) (1,,6) (1,1,1) สุ ทธิ 16,01,6 ,, ,, 1,16,60 รายการเคลื่อนไหวของสิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีและหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่เกิดขึ้นในระหว่างปี มีดงั นี้ หน่วย: บาท

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ 

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 111


ณ วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 6

กําไร (ขาดทุน)

ณ วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 

ณ วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 6

กําไร (ขาดทุน)

ณ วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 

สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ค่าเผือ่ การลดมูลค่าของสิ นค้า ค่าเผือ่ การลดมูลค่าเงินลงทุน ค่าเผือ่ การลดมูลค่าสิ นทรัพย์ถาวร ค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสูญ ประมาณการหนี้สินผลประโยชน์ พนักงาน ประมาณการหนี้สิน ยอดขาดทุนยกไป รวม

,60,0 ,00 1,0 6, 11,1,

(,60,0) (1,60) 1,16,01

,0,1 ,00 ,0 6, 1,,1

,,1 ,00 11,0 ,01,01

(0,) (1,60) 6,6

,,00 ,00 1,0 ,,

45,28 , 0,11,

(,) (1,1,)

1,0 1,6,606

,1,0

,

10,,

หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ค่าเสื่ อมราคา

(3,1,)

(,16)

(,0,)

(1,1,1)

(0,66)

(1,,6)

รวม

(3,1,)

(,16)

(,0,)

(1,1,1)

(0,66)

(1,,6)

หน่วย: บาท งบการเงินรวม ณ วันที่ 1 กําไร ณ วันที่ 1 มกราคม ธันวาคม (ขาดทุน) พ.ศ. 6 พ.ศ. 6 สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ค่าเผือ่ การลดมูลค่าของสิ นค้า ค่าเผือ่ การลดมูลค่าเงินลงทุน ค่าเผือ่ การลดมูลค่าสิ นทรัพย์ถาวร ค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสูญ ประมาณการหนี้สินผลประโยชน์ พนักงาน ประมาณการหนี้สิน ยอดขาดทุนยกไป

,,1 ,00 , 6, ,66,1 1,0 ,1

10, ,60,0 ,00 (,0) 1,0 6, ,6,0 11,1, (1,)

45,28 ,

งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 1 กําไร ณ วันที่ 1 มกราคม ธันวาคม (ขาดทุน) พ.ศ. 6 พ.ศ. 6 ,,1 ,00 , ,61,10

(,0) 1,,0

,,1 ,00 11,0 ,01,01

-

-



112 รายงานประจ�ำปี 2557


หน่วย: บาท งบการเงินรวม ณ วันที่ 1 กําไร ณ วันที่ 1 มกราคม ธันวาคม (ขาดทุน) พ.ศ. 6 พ.ศ. 6

14.

งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 1 กําไร ณ วันที่ 1 มกราคม ธันวาคม (ขาดทุน) พ.ศ. 6 พ.ศ. 6

รวม

1,,

,11,1 0,11,

,,

1,0,101

,1,0

หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ค่าเสื่ อมราคา

(,61,6)

(10,1) (3,11,) (1,1,)

,

(1,1,1)

รวม

(,61,6)

(10,1) (3,11,) (1,1,)

,

(1,1,1)

สิ นทรัพย์ ไม่ หมุนเวียนอืน่ – สุ ทธิ สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น ณ วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ.  และ พ.ศ. 6 ประกอบด้วย หน่วย: บาท งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ  6  6 สิ ทธิการเช่าที่ดินและอาคาร – สุ ทธิ 1,0,11 ,1 ภาษีเงินได้หกั ณ ที่จ่าย 0,01,6 ,66 10,1, ต้นทุนแม่พิมพ์รอตัดบัญชี – สุ ทธิ ,10, ,0, ,0,1 ,01, เงินมัดจําค่าที่ดิน 66,,6 0,000,000 66,,6 0,000,000 สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น ,, ,443,432 ,0,6 10,1,6 รวม 11,00,61 1,0, 1,1, 11,1, ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 255 และ พ.ศ. 2556 เงินมัดจําค่าที่ดินประกอบด้วย เงินมัดจําค่าที่ดิน จํานวน 66. ล้านบาท เป็ นการจ่ายชําระเงินงวดตามสัญญาจะซื้ อจะขายที่ดิน ซึ่ งมีมูลค่าที่ดินตามสัญญา เท่ากับ 1.06 ล้านบาท โดยส่ วนที่เหลือมีกาํ หนดชําระภายในเดือน พฤษภาคม พ.ศ.  ตามรายงานการประชุมคณะกรรมการของบริ ษทั ครั้งที่ / ลงวันที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. ที่ประชุมมีมติยกเลิกสัญญา การซื้ อที่ ดินผืนข้างต้นและจะเปลี่ยนไปซื้ อที่ดินแปลงใหม่ ในเดือนตุลาคม พ.ศ.  บริ ษทั ได้รับคืนเงินมัดจํา จํานวน 66. ล้านบาท ตามสัญญายกเลิกสัญญาจะซื้ อจะขายที่ดิน ลงวันที่  มิถุนายน พ.ศ.  เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.  บริ ษทั ทําสัญญาจะซื้ อจะขายที่ดินฉบับใหม่กบั บริ ษทั อมตะซิ ต้ ี จํากัด โดยมีมูลค่าที่ดินตาม สัญญา จํานวน 1 ล้านบาท จ่ายชําระเงินงวดแรกจํานวน 0 ล้านบาท ตามเงื่อนไขในสัญญาแล้ว โดยส่ วนที่เหลือจะจ่าย ชําระในวันจดทะเบียนโอนกรรมสิ ทธิ์ ภายในเดือนธันวาคม พ.ศ. 

15.

วงเงินสิ นเชื่อกับธนาคาร ณ วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ.  และ พ.ศ. 6 กลุ่มบริ ษทั มีวงเงินเบิกเกินบัญชีและวงเงินสิ นเชื่อระยะสั้นอื่นกับธนาคาร จํานวน 98 ล้านบาท และ 1,10 ล้านบาท ตามลําดับในงบการเงินรวม และจํานวน 48 ล้านบาท และ 0 ล้านบาทตามลําดับ 

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 113


ในงบการเงินเฉพาะกิจการ ซึ่ งคํ้าประกันโดยบริ ษทั กรรมการของบริ ษทั และการจํานองที่ดินและสิ่ งปลูกสร้างของบริ ษทั ย่อย 16.

เจ้ าหนีก้ ารค้ าและเจ้ าหนีอ้ นื่ เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น ณ วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ.  และ พ.ศ. 6 ประกอบด้วย หน่วย: บาท งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ  6  6 เจ้าหนี้การค้ากิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน ,, ,60,1 16,1,0 161,6,6 เจ้าหนี้การค้ากิจการที่เกี่ยวข้องกัน ,, 1,, ,,1 0,60,1 รวมเจ้าหนี้การค้า 6,60,66 ,11,6 16,6, 1,, เจ้าหนี้อื่นกิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน 16,600, 1,,0 ,11,0 11,6,11 เจ้าหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน 1,0, 1,, 16,06,0 6,10,1 เจ้าหนี้ค่าสิ นทรัพย์ 3,74,579 ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 6,1,6 25,932,9 16,1,6 1,0,66 เจ้าหนี้กรมสรรพากร 1,,1 4,22,54 เงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า ,10,00 ,382,858 ,6,00 6, ภาษีขายที่ยงั ไม่ถึงกําหนดชําระ ,,10 4,252,89 ,, ,66, ต้นทุนงานค้างจ่ายกิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน 1,,61 5,53,732 ,6,60 ต้นทุนงานค้างจ่ายกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ,6, ,,0 อื่นๆ ,433, ,1, ,,0 11,, รวมเจ้าหนี้อื่น ,0, ,9,35 ,,0 1,,0 รวมเจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น 6,1,1 395,84,5 ,6,6 ,611,

17.

หนีส้ ิ นตามสั ญญาเช่ าการเงิน หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน ณ วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ.  และ พ.ศ. 6 ประกอบด้วย หน่วย: บาท งบการเงินรวม

6

 มูลค่าอนาคต ของจํานวนเงิน

ดอกเบี้ย

มูลค่า ปั จจุบนั ของ

มูลค่าอนาคต ของจํานวนเงิน

ดอกเบี้ย

มูลค่า ปั จจุบนั ของ 0

114 รายงานประจ�ำปี 2557


10,, ,,606

จํานวนเงินขั้น ตํ่าที่ตอ้ งจ่าย (,) 10,,0 (1,016) ,,0

16,6,

(61,)

ขั้นตํ่าที่ตอ้ งจ่าย ครบกําหนดชําระภายในหนึ่งปี ครบกําหนดชําระหลังจากหนึ่งปี แต่ไม่เกินห้าปี รวม

1,,0

ขั้นตํ่าที่ตอ้ ง จ่าย ,59,59 1,1,

(,28,4) (6,1)

จํานวนเงิน ขั้นตํ่าที่ตอ้ งจ่าย 9,3,8 1,0,11

,,0

(1,660,60)

,11,1

หน่วย: บาท งบการเงินเฉพาะ 6



ครบกําหนดชําระภายในหนึ่งปี ครบกําหนดชําระหลังจากหนึ่งปี แต่ไม่เกินห้าปี รวม

18.

มูลค่าอนาคต ของจํานวนเงิน ขั้นตํ่าที่ตอ้ ง จ่าย ,6,0 ,0, ,1,

มูลค่า มูลค่าอนาคต ปั จจุบนั ของ ของจํานวนเงิน จํานวนเงินขั้น ขั้นตํ่าที่ตอ้ ง ตํ่าที่ตอ้ งจ่าย ดอกเบี้ย จ่าย (1,06) ,,1 7,28,922 (1,) ,6,600 ,6, (,00)

,,

1,6,66

มูลค่า ปั จจุบนั ของ จํานวนเงิน ขั้นตํ่าที่ตอ้ งจ่าย ดอกเบี้ย (45,752) ,383,7 (,) ,,4 (1,0,1)

1,61,

ภาระผูกพันผลประโยชน์ พนักงาน ภาระผูกพันผลประโยชน์ของพนักงานในงบแสดงฐานะการเงิ น ณ วันที่ 1 ประกอบด้วย

มูลค่าปัจจุบนั ของภาระผูกพัน

ธันวาคม พ.ศ. 

และ พ.ศ. 6

หน่วย: บาท โครงการผลประโยชน์หลังออกจากงาน งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ  6  6 5,49,3 ,,6 ,,06 6,0,1

กลุ่มบริ ษทั กําหนดโครงการผลประโยชน์ที่กาํ หนดไว้เป็ นไปตามการจ่ายเงิ นชดเชยตามกฎหมายแรงงานซึ่ งให้สิทธิ แก่ พนักงานที่เกษียณอายุและทํางานครบระยะเวลาที่กาํ หนด เช่น 10 ปี ขึ้นไป ได้รับเงินชดเชยไม่นอ้ ยกว่าอัตราเงินเดือนเดือน สุ ดท้าย 00 วัน หรื อ 10 เดือน การเปลี่ยนแปลงมูลค่าปัจจุบนั ของภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงานสําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ.  และ พ.ศ. 6 มีดงั นี้ หน่วย: บาท โครงการผลประโยชน์หลังออกจากงาน งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ  6  6 ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ณ วันที่ 1 มกราคม 6,0,66 ,,6 ,,06 ,0, 1

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 115


ต้นทุนบริ การปั จจุบนั ต้นทุนดอกเบี้ย ผลประโยชน์ที่จ่าย ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ณ วันที่ 1 ธันวาคม

หน่วย: บาท โครงการผลประโยชน์หลังออกจากงาน ,06, 10,6,06 6,1,6 6,, 1,,6 ,0,0 1,06, 1,0, (,16,60) - (,06,60) 6,0,66 ,,6 ,,06 6,0,1

ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์พนักงานในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จสําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ.  และ พ.ศ. 6 ประกอบด้วย

ต้นทุนบริ การปั จจุบนั ต้นทุนดอกเบี้ยจากภาระผูกพัน ผลประโยชน์ที่จ่าย รวมค่าใช้จ่ายผลประโยชน์พนักงาน

หน่วย: บาท โครงการผลประโยชน์หลังออกจากงาน งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ  6  6 ,06, 10,6,06 6,1,6 6,, 1,,6 ,0,0 1,06, 1,0, (,16,60) - (,06,60) ,1,0 1,1,10 ,, ,6,0

ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์พนักงาน สําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ.  และ พ.ศ. 6 ได้แสดงไว้ในงบกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็ จ ดังนี้

ต้นทุนขาย ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร รวมค่าใช้จ่ายผลประโยชน์พนักงาน

หน่วย: บาท โครงการผลประโยชน์หลังออกจากงาน งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ  6  6 1,1, 1,0,011 1,6,1 ,0,1 (6,) , (6,1) ,1 ,,16 (1,00,06) 1,, (1,,6) ,1,0 1,1,10 ,, ,6,0

ข้อสมมติในการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ ประกันภัยที่สําคัญ ณ วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ.  และ พ.ศ. 6 (แสดงด้วยค่าเฉลี่ยถ่วงนํ้าหนัก) มีดงั นี้  6 งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ อัตราคิดลด ณ วันที่ 1 ธันวาคม .% - .% % 

116 รายงานประจ�ำปี 2557


เงินเดือนในอนาคตที่เพิ่มขึ้น อัตรามรณะ

 % ตารางมรณะปี พ.ศ. 1

6 % ตารางมรณะปี พ.ศ. 1

ข้อสมมติเกี่ยวกับอัตราคิดลดประมาณการจากอัตราผลตอบแทนถัวเฉลี่ ยของพันธบัตรรั ฐบาล ณ วันสิ้ นรอบระยะเวลา รายงานและสะท้อนประมาณการของจังหวะเวลาของการจ่ายผลประโยชน์ ข้อสมมติเกี่ยวกับอัตรามรณะในการประมาณการความเป็ นไปได้ที่จะอยูจ่ นเกษียณในอนาคตอย่างสมเหตุสมผลประมาณ การจากตารางมรณะ 19.

ทุนเรือนหุ้น ตามรายงานการประชุมผูถ้ ือหุ น้ เมื่อวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 255 ที่ประชุมมีมติให้มีการลดทุนจดทะเบียนของบริ ษทั จํานวน 00,,6 หุ น้ มูลค่าหุ ้นละ 1 บาท ซึ่ งเป็ นหุ น้ ที่บริ ษทั ออกและจัดสรรไว้เพื่อรองรับการเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจทัว่ ไป (General Mandate) โดยทําการลดทุนจดทะเบียนจากเดิม ,6, บาทเป็ น ,, บาท บริ ษทั จดทะเบียน เปลี่ยนแปลงทุนจดทะเบียนดังกล่าวกับกรมพัฒนาธุรกิจการค้าแล้ว นอกจากนี้ ที่ประชุมมีมติให้มีการเพิ่มทุนจดทะเบียนจาก ,, บาทให้เป็ นทุนจดทะเบียนใหม่ 0,,6 บาท โดยออกหุ น้ สามัญจํานวน ,, หุ น้ มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 1 บาท จัดสรรแก่ผถู้ ือหุ น้ เดิมเพื่อรองรับการจ่ายหุ น้ ปั นผล และเพื่อเพิ่มสภาพคล่องหุ น้ ของบริ ษทั ในตลาด บริ ษทั จดทะเบียนเปลี่ยนแปลงทุนจดทะเบียนดังกล่าวกับกรมพัฒนาธุ รกิจ การค้า เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ.  เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ.  บริ ษทั มีการจ่ายหุ ้นปั นผลจํานวน ,,1 หุ ้น แก่ผถู้ ือหุ ้นแล้ว (ตามหมายเหตุ ประกอบงบการเงินข้อ ) ตามรายงานการประชุมผูถ้ ือหุ น้ เมื่อวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 255 ที่ประชุมมีมติให้มีการลดทุนจดทะเบียนของบริ ษทั จํานวน ,0,000 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท ที่ออกเพื่อรองรับใบสําคัญแสดงสิ ทธิ ซึ่ งใบสําคัญแสดงสิ ทธิ ดงั กล่าวหมดอายุในปี พ.ศ. 1 แล้ว โดยทําการลดทุนจดทะเบียนจากเดิม ,6, บาทเป็ น 01,, บาท เมื่อวันที่  พฤษภาคม พ.ศ. 6 ตามรายงานการประชุมผูถ้ ือหุ ้น เมื่อวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 255 ที่ประชุมได้อนุ มตั ิการเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริ ษทั แบบ มอบอํานาจทัว่ ไป (General Mandate) จาก 01,, บาท ให้เป็ นทุนจดทะเบียนใหม่ 0,,1 บาท โดยออกหุ ้น สามัญเพิ่มทุนจํานวน 00,,6 หุ น้ มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 1 บาท เมื่อวันที่  พฤษภาคม พ.ศ. 6 (ทั้งนี้ ทุนชําระแล้วใน ส่ วนที่เพิ่มต้องไม่เกินกว่าร้อยละ 0 ของทุนชําระแล้ว ซึ่ งเป็ นจํานวนเท่ากับ 10,6, หุน้ ) ตามรายงานการประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ครั้งที่ /255 เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 255 บริ ษทั ได้ดาํ เนินการตัดหุ น้ ที่ซ้ื อคืนออกทั้งจํานวน เท่ากับ 9,2,7 หุ ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ  บาท โดยการลดทุนจดทะเบี ยนของบริ ษทั จํานวน 9,2,7 บาท และได้จดทะเบียนลดทุนกับกระทรวงพาณิ ชย์แล้วเมื่อวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 255

20.

หุ้นทุนซื้อคืน ในการประชุมคณะกรรมการของบริ ษทั ครั้งที่ / เมื่อวันที่  พฤษภาคม พ.ศ.  คณะกรรมการของบริ ษทั ได้มีมติ อนุ มตั ิโครงการซื้ อหุ ้นคืนเพื่อบริ หารทางการเงิน ตามมาตรา /(2) แห่ งพระราชบัญญัติบริ ษทั มหาชนจํากัด (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2544 ในวงเงินไม่เกิน 10 ล้านบาท โดยหุ น้ สามัญที่จะซื้ อคืนมีจาํ นวนไม่เกิน 0.16 ล้านหุ น้ (มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 1 

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 117


บาท) ซึ่ งคิดเป็ นร้อยละ 10 ของจํานวนหุน้ สามัญที่จาํ หน่ายได้แล้วทั้งหมดของบริ ษทั ในการนี้ บริ ษทั ได้ดาํ เนิ นการซื้ อหุ น้ คืน โดยวิธีการเสนอซื้ อในกระดานหลักของตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย โดยมีกาํ หนดระยะเวลาการซื้ อหุ น้ คืนตั้งแต่วนั ที่  พฤษภาคม พ.ศ.  ถึงวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ.  กําหนดวิธีการจําหน่ายหุ ้นที่ซ้ื อคืนโดยการขายในตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทยหรื อเสนอขายต่อประชาชนทัว่ ไปและกําหนดระยะเวลาการจําหน่ายหุ น้ ที่ซ้ื อคืนดังกล่าวภายใน  ปี 6 เดือนนับจากวันที่เริ่ มซื้ อหุ น้ คืน บริ ษทั ได้ดาํ เนิ นการซื้ อหุ ้นคืนในระหว่างวันที่  พฤษภาคม พ.ศ.  ถึงวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ.  เป็ นจํานวน ,16,00 หุ ้น คิดเป็ นจํานวนเงินรวม . ล้านบาท และบริ ษทั ได้จดั สรรกําไรสะสมไว้เป็ นสํารองหุ ้นทุนซื้ อคืนในช่วง ระยะเวลาเดียวกัน เป็ นจํานวนเงินรวม . ล้านบาท ตามรายงานการประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ครั้งที่ 10/6 ในวันที่  พฤศจิกายน พ.ศ. 6 (วันสิ้ นสุ ดโครงการ) บริ ษทั มิได้มีการจําหน่ายหุ น้ ทุนซื้ อคืน ดังนั้น บริ ษทั จึงได้ดาํ เนิ นการตัดหุ น้ ที่ซ้ื อคืนออกทั้งจํานวน เท่ากับ ,16,00 หุ น้ มูลค่าที่ ตราไว้หุ้นละ  บาท โดยการลดทุนจดทะเบียนของบริ ษทั จํานวน ,16,00 บาท และได้จดทะเบียนลดทุนกับกระทรวง พาณิ ชย์แล้วเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ซึ่ งมีผลให้ทุนจดทะเบียนที่ออกจําหน่ายและชําระแล้วลดลงจาก 5,589,497 บาท เป็ น 492,372,797 บาท ผลต่างจากราคาซื้ อคืนและราคาที่ตราไว้ของหุ ้นจํานวน 38,733,754 บาท ได้แยกแสดงเป็ น รายการหักจากส่ วนเกินทุนมูลค่าหุ ้นสามัญ และกําไรสะสมยังไม่จดั สรร จํานวน 1,61,61 บาทและ 25,372,493 บาท ตามลําดับ นอกจากนี้ บริ ษทั ได้ยกเลิกการจัดสรรกําไรสะสมที่จดั สรรไว้เป็ นสํารองหุ น้ ทุนซื้ อคืนทั้งจํานวนเป็ นกําไรสะสม ที่ยงั ไม่ได้จดั สรร 21.

สํ ารอง สํารองประกอบด้วย การจัดสรรกําไร และ/หรื อ กําไรสะสม สํารองตามกฎหมาย ตามบทบัญญัติแห่ งพระราชบัญญัติบริ ษทั มหาชนจํากัด พ.ศ.  มาตรา 116 บริ ษทั จะต้องจัดสรรทุนสํารอง (“สํารองตาม กฎหมาย”) อย่างน้อยร้อยละ  ของกําไรสุ ทธิประจําปี หลังจากหักขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าสํารองดังกล่าวมีจาํ นวน ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน เงินสํารองนี้จะนําไปจ่ายเป็ นเงินปั นผลไม่ได้ สํารองหุ น้ ทุนซื้ อคืน สํารองหุ ้นทุ นซื้ อคื นคือจํานวนเงินที่ จดั สรรจากกําไรสะสมในจํานวนที่ เท่ากับต้นทุนของหุ ้นบริ ษทั ที่ ถือโดยกลุ่มบริ ษทั สํารองหุ น้ ทุนซื้ อคืนนี้จะนําไปจ่ายเป็ นเงินปั นผลไม่ได้

22.

รายได้ อนื่ ๆ รายได้อื่นๆ สําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 255 และ พ.ศ. 2556 ประกอบด้วย หน่วย: บาท งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม 

118 รายงานประจ�ำปี 2557


รายได้จากการขายเศษซาก ดอกเบี้ยรับ รายได้ค่าสาธารณูปโภค ค่าบริ การ รถรับส่ งพนักงานและการขายวัสดุสิ้นเปลือง รายได้ค่าเช่า รายได้เงินชดเชยจากการยกเลิกสัญญา รายได้เงินชดเชย อื่น ๆ รวม 23.

25 ,0,60 ,,10

256 1,6, ,,01

 1,1, ,0,

256 ,0,66 1,0,0

,1, ,,000 ,0, ,0,16 1,,0

10,16,6 6,06,000 0,,10

10,1, ,,0 ,0, ,1,6

16,0,601 ,,0 ,61,00

160,066,1

10,0,1

,6,6

,6,

กองทุนสํ ารองเลีย้ งชีพ กลุ่มบริ ษทั และพนักงานบริ ษทั ได้ร่วมกันจัดตั้งกองทุนสํารองเลี้ยงชี พขึ้นตามพระราชบัญญัติกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 0 ซึ่ งประกอบด้วยเงินที่พนักงานจ่ายสะสมเป็ นรายเดือนในอัตราร้อยละ 3-5 ของเงินเดือนพนักงานและเงินที่กลุ่มบริ ษทั จ่ายสมทบให้เป็ นรายเดือนในอัตราร้อยละ 0-100 ของเงินสะสมที่หักจากพนักงาน กองทุนสํารองเลี้ยงชี พนี้ บริ หารโดย ธนาคารซี ไอเอ็มบี ไทย จํากัด (มหาชน) ยกเว้นบริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ่ ง (บริ ษทั ไทยอัลติ เมทคาร์ จํากัด) บริ หารโดยบริ ษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุนรวมกสิ กรไทย จํากัด และจะจ่ายให้แก่พนักงานในกรณี ที่ออกจากงานตามระเบียบว่าด้วยกองทุน ของกลุ่มบริ ษทั ในระหว่างปี พ.ศ.  และปี พ.ศ. 2556 กลุ่มบริ ษทั ได้จ่ายเงินสมทบกองทุนเป็ นจํานวนเงิน  ล้านบาท

24.

ค่ าใช้ จ่ายตามลักษณะ รายการค่าใช้จ่ายแบ่งตามลักษณะประกอบด้วยรายการค่าใช้จ่ายที่สาํ คัญดังต่อไปนี้ หน่วย: บาท งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 25 256 25 256 เงินเดือนและค่าแรงและผลประโยชน์อื่น ของพนักงาน ค่าเสื่ อมราคาและค่าตัดจําหน่าย วัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลืองใช้ไป การเปลี่ยนแปลงในสิ นค้าสําเร็ จรู ปและ งานระหว่างทํา

442,44,2 ,1,0 16,6, 1,1,11 1,,6,6 ,0,0, (,0,66)

(,0,)

,, 323,28,9 1,6, 6,,1 ,,00 ,8,5,8 (1,,6)

(,,)

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 119 


25.

ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ สําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ.  และ พ.ศ. 6 ประกอบด้วย หน่วย: บาท งบการเงินรวม ภาษีเงินได้ ปัจจุบัน สําหรับปี ปัจจุบนั ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี การเปลี่ยนแปลงของผลต่างชัว่ คราว ขาดทุนทางภาษีที่สามารถใช้ได้ รวม



6

งบการเงินเฉพาะกิจการ  6

1,,6

,60,1

,,

1,0,16

1,, , 1,, 1,1,

(,,06) 1, (,01,0) ,6,

6, 6, ,6,61

(1,116,) (1,116,) 0,,1

การกระทบยอดเพื่อหาอัตราภาษีที่แท้จริ ง งบการเงินรวม อัตราภาษี (ร้อยละ) กําไรก่อนภาษีเงินได้รวม จํานวนภาษีตามอัตราภาษีเงินได้ ผลกระทบจากธุรกรรมที่ได้รับการส่ งเสริ มการ ลงทุน ผลกระทบทางภาษีจากส่ วนแบ่งกําไรใน เงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสี ย ค่าใช้จ่ายต้องห้ามทางภาษี ผลกระทบจากการลดหนี้ค่าบริ หารจัดการ ผลกระทบจากการตัดรายการระหว่างกัน รวม

0

.

255 หน่วย : บาท 16,,6 ,,

2556 อัตราภาษี หน่วย : บาท (ร้อยละ) 1,0, 0 ,60,

(10,6,1)

(1,0,)

(6,,1) (,) , 1,1,

(11,1,) (1,10,) (,6,0) ,0,60 ,6,

1.

งบการเงินเฉพาะกิจการ อัตราภาษี (ร้อยละ) กําไรก่อนภาษีเงินได้

255 หน่วย : บาท 10,006,1

2556 อัตราภาษี หน่วย : บาท (ร้อยละ) 16,,0 6

120 รายงานประจ�ำปี 2557


งบการเงินเฉพาะกิจการ

จํานวนภาษีตามอัตราภาษีเงินได้ รายได้ที่ไม่ตอ้ งเสี ยภาษี ค่าใช้จ่ายต้องห้ามทางภาษี ผลกระทบจากการลดหนี้ค่าบริ หารจัดการ รวม

อัตราภาษี (ร้อยละ) 0

.

255 หน่วย : บาท 0,01, (11,,) (1,0) ,6,61

2556 อัตราภาษี หน่วย : บาท (ร้อยละ) 0 6,, (1,6,) 6,1 (,10,) 1.0 0,,1

ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้นิติบุคคล พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการลดอัตราและยกเว้นรัษฎากร ฉบับที่ 0 พ.ศ.  ลงวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ.  ให้ปรับลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลจากอัตราร้อยละ 3 ของกําไรสุ ทธิ เป็ นอัตราร้อยละ 0 ของ กําไรสุ ทธิ สาํ หรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่ มในหรื อหลังวันที่ 1 มกราคม พ.ศ.  แต่ไม่เกินวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ.  และพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการลดอัตราและยกเว้นรัษฎากร ฉบับที่  พ.ศ.  ลง วันที่ 10 พฤศจิ กายน พ.ศ.  ให้คงการจัดเก็บภาษี เงิ นได้นิติบุคคลในอัตราร้ อยละ 0 ของกําไรสุ ทธิ สําหรั บรอบ ระยะเวลาบัญชีที่เริ่ มในหรื อหลังวันที่ 1 มกราคม พ.ศ.  แต่ไม่เกินวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ.  จํานวนภาษีเงินได้ในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จน้อยกว่าจํานวนภาษีเงินได้ที่คาํ นวณโดยการใช้อตั ราภาษีเงินได้คูณกับยอด กําไรสุ ทธิ ตามบัญชีสาํ หรับปี เนื่องจาก (ก) บริ ษทั ย่อยมีกาํ ไรสุ ทธิในจํานวนที่เป็ นสาระสําคัญ ซึ่ งเกิดจากธุรกรรมที่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน โดยกําไรสุ ทธิ จาก ธุรกรรมดังกล่าวได้รับการยกเว้นและลดหย่อนอัตราภาษีเงินได้ (ข) บริ ษทั ย่อยมี ขาดทุนทางภาษีที่ยงั ไม่ได้ใช้ยกมาจากปี ก่อน และได้ถูกนํามาใช้เพื่อลดจํานวนกําไรที่ตอ้ งเสี ยภาษีในปี ปัจจุบนั บริ ษทั ย่อยสองแห่ งได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุ  ซึ่ งรวมถึงการได้รับยกเว้นภาษีเงิ นได้นิติ บุคคลสําหรับกําไรสุ ทธิจากกิจกรรมที่ได้รับการส่ งเสริ ม 26.

สิ ทธิประโยชน์ จากการส่ งเสริมการลงทุน บริ ษทั ย่อยสองแห่ งได้รับสิ ทธิ พิเศษทางภาษีจากคณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุ น สิ ทธิ ประโยชน์ที่สําคัญบางประการ สามารถสรุ ปได้ดงั นี้ บริ ษทั ไทยออโต้ เพรสพาร์ ท จํากัด บริ ษทั ย่อยได้รับสิ ทธิ พิเศษบางประการในฐานะผูไ้ ด้รับการส่ งเสริ มการลงทุนตามพระราชบัญญัติส่งเสริ มการลงทุน พ.ศ. 0 ตามบัตรส่ งเสริ มการลงทุนเลขที่ 453 ()/2544 เมื่อวันที่  กรกฎาคม พ.ศ.  สําหรับการผลิตชิ้นส่ วนตัวถังโลหะ รถยนต์ ชิ้นส่ วนพลาสติกและไฟเบอร์ กลาสสําหรับรถยนต์ การผลิตและการซ่ อมแซมแม่พิมพ์และอุปกรณ์จบั ยึดและตาม บัตรส่ งเสริ มการลงทุนเลขที่ 610 ()/254 เมื่อวันที่ มีนาคมพ.ศ.  สําหรับการผลิตชิ้นส่ วนโลหะปั๊ มขึ้นรู ปภายใต้ เงื่อนไขที่กาํ หนดบางประการ สิ ทธิ พเิ ศษดังกล่าวรวมถึง 

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 121


สิ ทธิ ประโยชน์ในการได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลสําหรับกําไรสุ ทธิ ที่ได้จากการประกอบกิจการที่ได้รับการส่ งเสริ ม เป็ นระยะเวลา  ปี นับแต่วนั ที่เริ่ มมีรายได้จากการประกอบกิจการนั้น(วันที่  มิถุนายน พ.ศ. ) ตามบัตรส่ งเสริ มการ ลงทุนเลขที่ 453 ()/2544 และได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลสําหรับกําไรสุ ทธิ ที่ได้จากการประกอบกิจการที่ได้รับการ ส่ งเสริ มเป็ นระยะเวลา  ปี นับแต่วนั ที่เริ่ มมีรายได้จากการประกอบกิจการนั้น (วันที่  เมษายน พ.ศ. ) แต่ไม่เกินเงิน ลงทุนที่ไม่รวมที่ดินและทุนหมุนเวียนที่แท้จริ ง ณ วันเปิ ดดําเนินการตามบัตรส่ งเสริ มการลงทุนเลขที่ 610 ()/254 สิ ทธิ ประโยชน์ในการได้รับได้รับลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลสําหรับกิจการที่ได้รับการส่ งเสริ มในอัตราร้อยละ 0 ของ อัตราปกติ มีกาํ หนดเวลา  ปี นับจากวันที่พน้ กําหนดได้รับยกเว้นภาษี รายได้จากการขายสําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ.  และ พ.ศ. 6 เป็ นรายได้ที่ได้รับสิ ทธิ ประโยชน์ตามการ ส่ งเสริ มการลงทุน จํานวน 1 ล้านบาทและ 1, ล้านบาทตามลําดับ บริ ษทั ไทยรุ่ ง ทูลส์ แอนด์ ไดส์ จํากัด บริ ษทั ย่อยได้รับสิ ทธิ พิเศษจากคณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุนสําหรั บการลงทุนในกิจการผลิ ตแม่พิมพ์ การซ่ อมแซม แม่พิมพ์ที่ผลิตเอง และอุปกรณ์จบั ยึด ตามบัตรส่ งเสริ มการลงทุนเลขที่ 16()/ เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. ให้ ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลสําหรับกําไรสุ ทธิที่ได้จากการประกอบกิจการที่ได้รับการส่ งเสริ มเป็ นระยะเวลา  ปี นับแต่ วันที่เริ่ มมีรายได้จากการประกอบกิจการนั้น และในกรณี ที่ประกอบกิจการขาดทุนในระหว่างเวลาได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ นิ ติบุคคลให้นาํ ผลขาดทุนประจําปี ที่เกิดขึ้นในระหว่างเวลานั้นไปหักออกจากกําไรสุ ทธิ ที่เกิดขึ้นภายหลังระยะเวลาได้รับ ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลมีกาํ หนดเวลาไม่เกิน  ปี นับแต่วนั พ้นกําหนดได้รับยกเว้นภาษี รวมถึงสิ ทธิ ประโยชน์อื่นตามที่ กําหนดในบัตรส่ งเสริ ม สิ ทธิ พิเศษดังกล่าวได้รับการส่ งเสริ มตั้งแต่วนั ที่  พฤษภาคม พ.ศ. บริ ษทั ย่อยดังกล่าวได้เริ่ มมีรายได้จากการประกอบกิจการเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 255 โดยรายได้จากการให้บริ การ สําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ.  เป็ นรายได้ที่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนจํานวน .6 ล้านบาท 27.

กําไรต่ อหุ้น กําไรต่อหุ น้ ขั้นพื้นฐานคํานวณโดยหารกําไรสุ ทธิ สาํ หรับปี ด้วยจํานวนถัวเฉลี่ยถ่วงนํ้าหนักของหุ น้ สามัญที่ออกในระหว่างปี และได้ป รั บปรุ งจํานวนหุ ้นสามัญที่ ใช้ในการคํานวณกําไรต่อ หุ ้นของปี ก่ อนที่ นาํ มาเปรี ยบเที ยบ (ปรั บจํานวนหุ ้นตาม สัดส่ วนที่เปลี่ยนไปของจํานวนหุ ้นสามัญที่เกิดจากการเพิ่มทุนโดยการออกหุ ้นปั นผล ณ วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ.  จํานวน 98.47 ล้านหุน้ ) โดยถือเสมือนว่าการออกหุน้ ปันผลได้เกิดขึ้นตั้งแต่วนั ที่เริ่ มต้นของงวดแรกที่เสนอรายงาน จํานวนหุน้ สามัญที่ชาํ ระแล้วปรับปรุ งใหม่มีดงั นี้ หุ น้ สามัญที่ออกและชําระแล้ว (ปรับปรุ งใหม่) ณ วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ.  ลดทุนจากหุ น้ ทุนซื้ อคืนในไตรมาส  ปี พ.ศ. 6 เพิ่มทุนโดยการออกหุน้ ปันผลเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ.  ณ วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 6 (ปรับปรุ งใหม่)

122 รายงานประจ�ำปี 2557

หน่วย:หุน้ 01,, (,16,00) ,,1 0,6,1




กําไรต่อหุ น้ ขั้นพื้นฐานแสดงการคํานวณได้ดงั นี้

กําไร

 6 (พันบาท) (พันบาท) กําไรต่ อหุ้นขั้นพืน้ ฐาน กําไรส่ วนที่เป็ นของผูถ้ ือหุ น้ ของบริ ษทั

1,0

,6

กําไร

 6 (พันบาท) (พันบาท) กําไรต่ อหุ้นขั้นพืน้ ฐาน กําไรส่ วนที่เป็ นของผูถ้ ือหุ น้ ของบริ ษทั 28.

,6

6,06

งบการเงินรวม จํานวนหุ น้ สามัญถัวเฉลี่ยถ่วง นํ้าหนัก  6 (พันหุ น้ ) (พันหุ น้ ) (ปรับปรุ งใหม่) 0,

0,

งบการเงินเฉพาะกิจการ จํานวนหุ น้ สามัญถัวเฉลี่ยถ่วง นํ้าหนัก  6 (พันหุ น้ ) (พันหุ น้ ) (ปรับปรุ งใหม่) 0,

0,

กําไรต่อหุ น้  6 (บาท) (บาท) (ปรับปรุ งใหม่) 0.6

0.

กําไรต่อหุ น้  6 (บาท) (บาท) (ปรับปรุ งใหม่) 0.16

0.

เงินปันผลจ่ าย ตามรายงานการประชุมสามัญผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั เมื่อวันที่  เมษายน พ.ศ. มีมติอนุ มตั ิการจ่ายเงินปั นผล ประจําปี พ.ศ. 6 ให้แก่ผถู ้ ือหุ น้ ในอัตราหุน้ ละ 0.0 บาท โดยจ่ายปันผลเป็ นเงินสดและหุ น้ สามัญดังนี้ - จ่ายปั นผลเป็ นเงินสดในอัตราหุ น้ ละ 0.0 บาท หรื อคิดเป็ นจํานวนเงินไม่เกิน ,,.0 บาท - จ่ายปันผลเป็ นหุน้ สามัญของบริ ษทั จํานวนไม่เกิน ,, หุ น้ มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 1.00 บาท ในอัตรา  หุ น้ เดิม ต่อ 1 หุ น้ ปันผลคิดเป็ นอัตราการจ่ายเงินปั นผล 0.0 บาทต่อหุ น้ บริ ษทั ได้จ่ายเงินปั นผลทั้งหมดในเดือน พฤษภาคม พ.ศ.  ตามรายงานการประชุมสามัญผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั เมื่อวันที่  เมษายน พ.ศ. 6 มีมติอนุ มตั ิการจ่ายเงินปั นผล ประจําปี พ.ศ. 5 ให้แก่ผถู ้ ือหุ ้นในอัตราหุ น้ ละ 0.60 บาท รวมเป็ นเงินทั้งสิ้ น . ล้านบาท บริ ษทั จ่ายเงินปั นผลในวันที่ 0 พฤษภาคม พ.ศ. 6



บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 123


29.

ข้ อมูลทางการเงินจําแนกส่ วนงาน กลุ่มบริ ษทั ได้นาํ เสนอข้อมูลทางการเงิ นจําแนกตามส่ วนงานธุ รกิ จ โดยพิจารณาจากระบบการบริ หาร การจัดการและ โครงสร้างการรายงานทางการเงินภายในของกลุ่มบริ ษทั เป็ นเกณฑ์ในการกําหนดส่ วนงาน ผลการดําเนิ นงานตามส่ วนงาน และสิ นทรัพย์ตามส่ วนงาน รวมรายการที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับส่ วนงาน หรื อที่สามารถปั น ส่ วนให้กบั ส่ วนงานได้อย่างสมเหตุสมผล รายการที่ ไม่สามารถปั นส่ วนได้ส่วนใหญ่ประกอบด้วย สิ นทรั พย์ รายได้อื่น ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร และต้นทุนทางการเงิน กลุ่มบริ ษทั ดําเนิ นกิจการใน  ส่ วนงานหลัก คือ () ธุ รกิจรับจ้างประกอบและรับจ้างอื่นๆ ที่เกี่ยวกับรถยนต์ (2) ธุ รกิจผลิต อุปกรณ์สําหรั บใช้ผลิ ตรถยนต์ (ประกอบด้วยธุ รกิ จรั บจ้างผลิ ตแม่พิมพ์และจิ๊ ก และธุ รกิ จผลิตและจําหน่ ายอะไหล่และ ชิ้นส่ วน) และ (3) ธุรกิจจําหน่ายรถยนต์และศูนย์บริ การรถยนต์และดําเนิ นธุ รกิจในส่ วนงานทางภูมิศาสตร์ หลักในประเทศ ไทย ข้อมูลทางการเงินจําแนกตามส่ วนงานธุ รกิจของกลุ่มบริ ษทั สําหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 255 และ พ.ศ. 56 มีดงั ต่อไปนี้ หน่วย: ล้านบาท

ธุรกิจรับจ้าง ประกอบและ ธุรกิจผลิต ธุรกิจจําหน่าย รับจ้างอื่นๆ ที่ อุปกรณ์ รถยนต์ เกี่ยวกับ สําหรับใช้ผลิต ศูนย์บริ การ รถยนต์ รถยนต์ รถยนต์  6  6  6 6  1, ,0 1 10 0 1     01 1,00 1,6 ,1 1 1

รายได้จากภายนอก รายได้ระหว่างส่ วนงาน รายได้ท้ งั สิ้ น กําไรจากการดําเนิ นงานตามส่ วน 11 งาน รายได้และค่าใช้จ่ายที่ไม่ได้ปันส่ วน: รายได้อื่น ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร ส่ วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ กําไรเบ็ดเสร็ จรวมสําหรับปี อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน-สุ ทธิ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์-สุ ทธิ สิ นทรัพย์ส่วนกลาง รวมสิ นทรัพย์



60

16



 1,11 1,1



16 1

1

 110

อื่นๆ  6 6 10 6 10 0

-



-

การตัดรายการ บัญชีระหว่างกัน  6 (6) () (6) () (0)



(1)

(1)

งบการเงินรวม  6 , ,1 , ,1 

0

160 (6) (1)  (1) 1

11 () () 6 () 6

16 1, 1,6 ,66

 1,0 1,0 ,6

กลุ่มบริ ษทั ใช้เกณฑ์ในการกําหนดราคาระหว่างกันตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 4

0

124 รายงานประจ�ำปี 2557


30.

เครื่องมือทางการเงิน .1 นโยบายการบริ หารความเสี่ ยง เครื่ องมื อทางการเงินที่ สําคัญของกลุ่มบริ ษทั ตามที่นิยามอยู่ในมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 “การแสดงรายการและการ เปิ ดเผยข้อมูลสําหรับเครื่ องมือทางการเงิน” ประกอบด้วย เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้อื่น เงินให้ กูย้ ืม เงินลงทุน เจ้าหนี้ การค้า เจ้าหนี้ อื่น และเงินกูย้ ืม กลุ่มบริ ษทั มีความเสี่ ยงที่เกี่ยวข้องกับเครื่ องมือทางการเงินดังกล่าว และมีนโยบายการบริ หารความเสี่ ยงดังนี้ ความเสี่ ยงด้ านการให้ สินเชื่ อ กลุ่มบริ ษทั มีความเสี่ ยงด้านการให้สินเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับลูกหนี้การค้า เงินให้กยู้ มื ลูกหนี้ อื่น ฝ่ ายบริ หารควบคุมความเสี่ ยงนี้ โดยการกําหนดให้มีนโยบายและวิธีการในการควบคุ มสิ นเชื่ อที่ เหมาะสม ดังนั้นกลุ่มบริ ษทั จึ งไม่คาดว่าจะได้รับความ เสี ยหายที่เป็ นสาระสําคัญจากการให้สินเชื่อ นอกจากนี้ การให้สินเชื่อของกลุ่มบริ ษทั ไม่มีการกระจุกตัวเนื่ องจากกลุ่มบริ ษทั มีฐานของลูกค้าที่หลากหลายและมีอยูจ่ าํ นวนมากราย จํานวนเงินสู งสุ ดที่กลุ่มบริ ษทั อาจต้องสู ญเสี ยจากการให้สินเชื่อ คือ มูลค่าตามบัญชีของลูกหนี้ เงินให้กยู้ มื และลูกหนี้อื่นที่แสดงอยูใ่ นงบแสดงฐานะการเงิน ความเสี่ ยงจากอัตราดอกเบีย้ กลุ่มบริ ษทั มีความเสี่ ยงจากอัตราดอกเบี้ยที่สาํ คัญอันเกี่ยวเนื่องกับเงินฝากสถาบันการเงิน เงินลงทุนชัว่ คราวและเงินให้กยู้ ืม ระยะสั้นที่มีดอกเบี้ย อย่างไรก็ตาม เนื่ องจากสิ นทรัพย์และหนี้ สินทางการเงินส่ วนใหญ่มีกาํ หนดระยะเวลาชําระคืนภายใน หนึ่งปี ความเสี่ ยงจากอัตราดอกเบี้ยของกลุ่มบริ ษทั จึงอยูใ่ นระดับตํ่า .2 มูลค่ายุติธรรมของเครื่ องมือทางการเงิน เนื่ องจากสิ นทรัพย์และหนี้ สินทางการเงินส่ วนใหญ่ของกลุ่มบริ ษทั จัดอยูใ่ นประเภทระยะสั้น เงินลงทุนชัว่ คราวและเงินให้ กูย้ ืมมี อตั ราดอกเบี้ ยใกล้เคี ยงกับอัตราดอกเบี้ ยในตลาด กลุ่มบริ ษทั จึ งประมาณมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรั พย์และหนี้ สิน ทางการเงินใกล้เคียงกับมูลค่าตามบัญชีที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน มูลค่ายุติธรรม หมายถึง จํานวนเงินที่ผซู้ ้ื อและผูข้ ายตกลงแลกเปลี่ยนสิ นทรัพย์กนั ในขณะที่ท้ งั สองฝ่ ายมีความรอบรู้ และ เต็มใจในการแลกเปลี่ยนและสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็ นอิสระในลักษณะที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน วิธีการกําหนด มูลค่ายุติธรรมขึ้นอยูก่ บั ลักษณะของเครื่ องมือทางการเงิน มูลค่ายุติธรรมจะกําหนดจากราคาตลาดล่าสุ ด หรื อกําหนดขึ้นโดย ใช้เกณฑ์การวัดมูลค่าที่เหมาะสม

31.

ภาระผูกพัน 3.1 ภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาดําเนินงาน กลุ่มบริ ษทั ได้ทาํ สัญญาเช่ าดําเนิ นงานที่ เกี่ ยวข้องกับการเช่ าที่ ดิน พื้นที่ ในอาคารสํานักงานและอาคารโรงงาน รถยนต์ เครื่ องจักรและอุปกรณ์ ณ วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ.  และ พ.ศ. 2556 บริ ษทั ย่อยมีภาระผูกพันในการจ่ายค่าเช่าตามสัญญา เช่าดังกล่าวดังนี้

1

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 125


หน่วย: ล้านบาท งบการเงินรวม 255 2556 จ่ายชําระ ภายใน  ปี 1 ถึง 5 ปี

0. 0.1

1.1 1.11

3. หนังสื อคํ้าประกันธนาคาร ณ วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ.  และ พ.ศ. 2556 กลุ่มบริ ษทั มีหนังสื อคํ้าประกันซึ่ งออกโดยธนาคารในนามกลุ่มบริ ษทั เหลืออยูเ่ ป็ นจํานวนเงินดังนี้ งบการเงินรวม หน่วย: ล้าน หน่วย: ล้านเยน ดอลลาร์สหรัฐ ณ วันที่  ธันวาคม พ.ศ.  เพื่อคํ้าประกันภาษีอากรนําเข้า เพื่อคํ้าประกันการปฏิบตั ิตามสัญญา เพื่อคํ้าประกันการขอคืนภาษี เพื่อคํ้าประกันการใช้ไฟฟ้ าและอื่นๆ ณ วันที่  ธันวาคม พ.ศ. 6 เพื่อคํ้าประกันภาษีอากรนําเข้า เพื่อคํ้าประกันซื้ อสิ นทรัพย์ เพื่อคํ้าประกันการขอคืนภาษี เพื่อคํ้าประกันการใช้ไฟฟ้ าและอื่นๆ 32.

หน่วย: ล้านบาท

งบการเงิน เฉพาะกิจการ หน่วย: ล้านบาท

-

0.11 -

0.1 0. . .

0. .1

73. -

.6 -

.6 . 1.

3.

หนีส้ ิ นทีอ่ าจเกิดขึน้ ณ วันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 25 กลุ่มบริ ษทั มีหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นดังนี้ 1) บริ ษทั ถูกฟ้ องร้องจากบริ ษทั แห่งหนึ่งในฐานความผิดเพิกถอนนิติกรรม ผิดสัญญา ละเมิด ถูกเรี ยกค่าเสี ยหาย จํานวนเงิน 23,, บาท ดอกเบี้ ยร้อยละ 7.5 ต่อปี พร้ อมค่าเสี ยหายวันละ 3, บาท และบริ ษทั ได้ดาํ เนิ นการฟ้ องกลับ ฐานความผิดขับไล่ เรี ยกค่าเสี ยหายจํานวนเงิน 100,000,000 บาท ดอกเบี้ยร้อยละ . ต่อปี ปั จจุบนั ศาลได้มีคาํ พิพากษายก ฟ้ องบริ ษทั ไทยรุ่ งยูเนี่ยนคาร์ จํากัด (มหาชน) และให้บริ ษทั ที่ถูกฟ้ องกลับชําระเงิน 1.6 ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ยร้อยละ . ต่อปี และชําระค่าเสี ยหายวันละ 0.1 ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ ยร้อยละ . ต่อปี นับจากวันที่  ตุลาคม พ.ศ. 6 ถึงวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 6 หลังจากนั้นให้ชาํ ระวันละ 0. ล้านบาทพร้อมทั้งดอกเบี้ยร้อยละ . ต่อปี ตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม พ.ศ.  ไปจนกว่าจะได้มีการปฎิบตั ิตามคําพิพากษาข้างต้น



126 รายงานประจ�ำปี 2557


) บริ ษทั ไทยรุ่ ง ทูลส์ แอนด์ ไดส์ จํากัด (บริ ษทั ย่อย) ถูกฟ้ องร้องในฐานความผิดสัญญาจ้างทําของ รวม 4 คดี รวมเป็ น จํานวนเงิน 3,3,2 บาท ดอกเบี้ยร้อยละ 7.5 ต่อปี นับแต่วนั ผิดนัด โดยศาลชั้นต้นได้มีคาํ พิพากษาให้บริ ษทั ไทยรุ่ ง ทูลส์ แอนด์ ไดส์ จํากัด ชําระค่าเสี ยหายจํานวนดังกล่าวแก่โจทก์ท้ งั  ข้างต้น ปัจจุบนั บริ ษทั ย่อยได้ยนื่ อุทธรณ์คดั ค้านคําพิพากษา ) บริ ษทั ไทยรุ่ ง ทูลส์ แอนด์ ไดส์ จํากัด (บริ ษทั ย่อย) ถูกฟ้ องร้องในฐานความผิดสัญญาจ้างแรงงาน กฏหมายคุม้ ครอง แรงงาน ละเมิด เรี ยกค่าเสี ยหาย จํานวนเงิน 5,68, บาท ดอกเบี้ยร้อยละ 7.5 ต่อปี นับแต่วนั ผิดนัด โดยศาลนัดสื บพยาน ในเดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 255 ) บริ ษทั ไทยอัลติเมทคาร์ จํากัด (บริ ษทั ย่อย) ถูกฟ้ องร้องโดยสํานักงานทรัพย์สินส่ วนพระมหากษัตริ ย ์ ในคดีผิดสัญญาให้ ชําระเงินจํานวน 3,878,58 บาท และเรี ยกค่าเสี ยหาย จํานวนเงิน 29,58,94 บาท คดีสิ้นสุ ดในปี พ.ศ.  โดยบริ ษทั ย่อย ได้รับเงินชดเชยจํานวน ,0,16 ล้านบาท 33.

การบริหารจัดการทุน วัตถุประสงค์ในการบริ หารจัดการทุนที่สาํ คัญของบริ ษทั คือการจัดให้มีซ่ ึ งโครงสร้างทางการเงินที่เหมาะสมและการดํารงไว้ ซึ่ งความสามารถในการดําเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง ตามงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ.  และ พ.ศ. 2556 กลุ่มบริ ษทั มีอตั ราส่ วนหนี้ สินต่อทุนเท่ากับ 0.1:1 และ 0.1:1 ตามลําดับ และบริ ษทั มีอตั ราส่ วนหนี้สินต่อทุนเท่ากับ 0.1:1 และ 0.1:1 ตามลําดับ

34.

การจัดประเภทรายการใหม่ รายการบางรายการในงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 6 ซึ่ งรวมอยูใ่ นงบการเงินเพื่อวัตถุประสงค์ใน การเปรี ยบเทียบของปี พ.ศ.  ได้มีการจัดประเภทรายการใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับการนําเสนอในงบการเงินปี พ.ศ. 

ก่อนจัดประเภทใหม่ งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่  ธันวาคม พ.ศ. 6 สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี

0,11, ,11,

ก่อนจัดประเภทใหม่ งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่  ธันวาคม พ.ศ. 6 สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี

35.

,1,0 (1,1,1)

หน่วย: บาท งบการเงินรวม จัดประเภทใหม่

(,11,) (,11,) หน่วย: บาท งบการเงินเฉพาะกิจการ จัดประเภทใหม่

(1,1,1) (1,1,1) -

หลังจัดประเภทใหม่

16,01,6 -

หลังจัดประเภทใหม่

,, 

การอนุมตั งิ บการเงิน งบการเงินนี้ได้รับอนุมตั ิให้ออกโดยคณะกรรมการบริ ษทั เมื่อวันที่  กุมภาพันธ์ พ.ศ. 

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 127


รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน

128 รายงานประจ�ำปี 2557


รายงานการพั งบการเงิน ฒนาอย่างยั่งยืน รายงานการพัฒนาอยางยั่งยืน 1. ด้านเศรษฐกิจ ผลการดําเนินงานของกลุ่มบริษัทไทยรุ่งฯ ในปี 2557 นั้น มีรายได้รวม 2,450 ล้านบาท ลดลง 27% จากปีก่อน และมี กําไรสุทธิส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ 152 ล้านบาท ลดลง 57% จากปีก่อน เนื่องจากอุตสาหกรรมยานยนต์ไทยที่ชะลอตัวลง

2. ด้านสิ่งแวดล้อม บริษัทไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จํากัด (มหาชน) ได้ดําเนินการอนุรักษ์และรักษาสิ่งแวดล้อมในชุมชนอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมีการ ขยายผลการดําเนินกิจกรรมให้ครอบคลุมเพิ่มเติม ดังนี้ การตรวจประเมินการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมตามมาตรฐาน ISO 14001 : 2004 เพื่อเป็นการรักษาคุณภาพและมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อมของบริษัทฯ อย่างต่อเนื่อง โดยคํานึงถึงความ รับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมเป็นสําคัญ บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จํากัด (มหาชน) ได้ดําเนินการจัดให้มีการตรวจประเมิน การดําเนินงานบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมตามมาตรฐาน ISO 14001 : 2004 ขึ้นเป็นประจําทุกปี โดยในปี 2557 ได้จัดให้มีการ ตรวจประเมิน จํานวน 3 ครั้ง โดยเป็นการตรวจประเมินจากฝ่ายตรวจสอบภายใน จํานวน 2 ครั้ง และตรวจประเมินจากหน่วยงาน ภายนอกโดย บริษัท บูโร เวอรีทัส เซอทิฟิเคชั่น (ประเทศไทย) จํากัด จํานวน 1 ครั้ง ผลการตรวจประเมิน พบว่า บริษัท ไทยรุ่งยู เนี่ยนคาร์ จํากัด (มหาชน) มีการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมเป็นไปตามมาตรฐาน ISO 14001: 2004 1. การจัดการกากของเสียอันตราย ในกระบวนการพ่นสี จะมีการใช้ม่านน้ําหมุนเวียนเพื่อดักจับละอองสี และนํากากตะกอนสีซึ่งเป็นของเสียอันตราย ส่งให้บริษัทผู้รับกําจัด นํากากของเสียไปดําเนินการกําจัดอย่างถูกต้องตามมาตรฐานที่กฎหมายกําหนด 2. การจัดการมลพิษทางอากาศ บริ ษั ท ได้ ใ ห้ ค วามสํ า คั ญ ต่ อ การจั ด การมลพิ ษ ทางอากาศ ที่ อ าจเกิ ด จาก กระบวนการผลิตสินค้า และการให้บริการของบริษัท ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อ ชุมชนรอบข้าง บริษัทจึงได้ดําเนินการปรับปรุงระบบจุ่มและพ่นสีเพื่อลด มลพิษ รวมทั้งสร้างความมั่นใจให้กับบริษัทคู่ค้าว่ากระบวนการจุ่มและพ่นสี ของบริษัท ไม่กอ่ ให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม บริษัท ได้ใช้เทคโนโลยีการบําบัดมลพิษทางอากาศที่อาจเกิดจากกระบวนการ จุ่มสี EDP โดยพัฒนาระบบบําบัดกลิ่น (Activated Carbon) เพื่อดูดซับ กลิ่นจากห้องชุบสี ส่วนการพ่นสีจะใช้เทคโนโลยีม่านน้ําเพื่อให้มวลสารจาก อากาศรวมกับน้ํา ก่อนปล่อยอากาศที่บําบัดแล้วออกทางปล่องระบายอากาศ ส่วนน้ําเสียจะถูกส่งไปบําบัดน้ําเสียที่สีสีเจือปน (Spay Booth) ตามลําดับ

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 129


3. การจัดการมลพิษทางน้ํา น้ําเสียที่เกิดจากกระบวนการผลิต ทั้งน้ําเสียที่มีสารเคมีเจือปน และน้ําเสียที่มีสีเจือปน (Contaminated Water) ที่อาจ เกิดจากกระบวนการจุ่มและพ่นสีรถยนต์ บริษัทได้จัดให้มีระบบบําบัดน้ําเสียที่ได้มาตรฐานตามที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมกําหนด โดยใช้ระบบบําบัดสารเคมีที่มีสารเคมีเจือปน (Degrease) และระบบบําบัดน้ําเสียที่มีสีเจือปน (Spray Booth) ซึ่งในขั้นตอนการ บําบัดน้ําเสียจะควบคุมโดยฝ่ายวิศวกรรมโรงงานของบริษัท และกําหนดให้มีการตรวจสอบคุณภาพน้ําหลังการบําบัดโดยบริษัทผู้รับ ดําเนินการ ทําการตรวจวัดคุณภาพน้ําของโรงงานก่อนปล่อยออกสู่ภายนอกเพื่อให้เป็นไปตามที่กฎหมายกําหนด อีกทั้งบริษัทได้มี การจัดเก็บข้อมูลเพื่อใช้ในการปรับปรุงระบบการบําบัดมลพิษ ของบริษัท อันจะนําไปสู่การสร้างความเชื่อมั่นด้านสิ่งแวดล้อมให้กับชุมชน ใกล้เคียงโรงงาน

3. ด้านสังคม

 นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคม  อาชีวอนามัยและความปลอดภัย  กิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคม

นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคม บริษัทไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จํากัด (มหาชน) มีนโยบายดําเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility; CSR) โดยมุ่งสร้างความสัมพันธ์อันดีที่เกิดจากการยอมรับและไว้วางใจซึ่งกันและกัน คํานึงถึงผลกระทบที่อาจจะมี ต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ให้ความสําคัญในการสนับสนุนกิจกรรมเพื่อสังคม ควบคู่ไปกับการดูแล เอาใจใส่ชุมชนโดยรอบ รวมทั้ง สร้างทัศนคติและวัฒนธรรมองค์กรเพื่อให้พนักงานมีความรับผิดชอบต่อสังคมที่อยู่ร่วมกัน เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายดังกล่าว บริษัทฯ จึงกําหนดแนวนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมเพื่อเป็นกรอบการดําเนินกิจการ ของบริษัทให้ประสบความสําเร็จ และเป็นที่ยอมรับของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ 1. ดําเนินธุรกิจด้วยความสุจริต โปร่งใส สร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย โดยมุ่งเน้นการเจริญเติบโตของ บริษัทฯ ควบคู่ไปกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของพนักงาน ชุมชน และสังคม อย่างรอบด้าน รวมทั้งดูแลผลประโยชน์ ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ตามวิสัยทัศน์ พันธกิจที่บริษัทฯ กําหนด 2. ส่งเสริมและให้ความรู้ด้านความรับผิดชอบต่อสังคมกับพนักงานทุกระดับของบริษัทฯ เพื่อเป็นแนวทางสร้างการมี ส่วนร่วมในการดูแลรับผิดชอบต่อสังคม ให้ทั่วถึงทั้งองค์กร 3. สนับสนุนโครงการ และกิจกรรมเพื่อสังคม โดยใช้ศักยภาพและทรัพยากรของบริษัทฯ ในการดําเนินการ เพื่อให้ ประสบผลสําเร็จตามเป้าหมาย 4. จัดให้มีการสื่อสาร เผยแพร่ข้อมูลความรับผิดชอบต่อสังคมของบริษัทฯ ให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้าใจในการดําเนินงาน ของบริษัทฯ และทบทวนนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมเป็นระยะเพื่อให้เกิดความเหมาะสม 5. บริษัทฯ มีความมุ่งมั่นในการดําเนินธุรกิจอย่างเป็นธรรมและ มีจริยธรรม ใส่ใจในการปฏิบัติตามกฎหมาย เคารพ กฎระเบียบของสังคม และมีความเป็นกลางทางการเมือง

130 รายงานประจ�ำปี 2557


อาชีวอนามัยและความปลอดภัย นอกจากการดูแลและให้ความสําคัญในเรื่องสิ่งแวดล้อมที่ดีแล้ว บริษัทฯ ยังตระหนักถึงสุขภาพและความปลอดภัยของ พนักงานทุกคน ในฐานะทรัพยากรที่มีคุณค่าขององค์กรและเป็นปัจจัยหลักที่ผลักดันให้การดําเนินงานบรรลุความสําเร็จตาม เป้าหมายจึงจัดให้มีการดําเนินด้านความปลอดภัย ชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานโดยคํานึงถึงมาตรฐานสากล เป็นไป ตามนโยบายเกี่ยวกับพนักงานที่บริษัทได้กําหนดไว้อย่างเคร่งครัด ในปี 2557 บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จํากัด (มหาชน) ได้ดําเนินงานด้านความปลอดภัยเพื่อควบคุมและป้องกันไม่ให้เกิด อุบัติเหตุในการปฏิบัติงานภายในบริษัทฯ ซึ่งประกอบด้วยพื้นที่ที่ใช้ในกระบวนการผลิต และพื้นที่ทั่วไป ในปี 2557 บริษัทมีชั่วโมง การทํางานที่ปลอดภัยต่อเนื่องรวม 250,800 ชั่วโมง (33 วัน) โดยไม่มีอุบัติเหตุ และเพื่อเป็นการกระตุ้นจิตสํานึกให้กับพนักงานได้ ตระหนักถึงคุณค่าและความสําคัญของการทํางานด้วยความปลอดภัยที่มีต่อตนเอง คนรอบข้าง และต่อองค์กร บริษัท จึงได้จัดให้มี กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างความปลอดภัยในด้านต่างๆ ดังนี้

1. การฝึกอบรมด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย

 จัดให้มีอบรมให้ความรู้ด้านความปลอดภัยในการทํางาน ให้กับพนักงานที่เข้ามาเริ่มงานใหม่ และจัดอบรม ผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องทั้งหมด เพื่อทบทวนกฎความปลอดภัยในการทํางานทั้งความปลอดภัยเฉพาะงาน และ กฎความปลอดภัยตามที่กฎหมายกําหนด ให้พนักงานรับทราบและปฏิบัติตามข้อกําหนดได้อย่างถูกต้อง  เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทํางาน จะจัดการตรวจสอบ และประเมินความเสี่ยงในการเกิดอันตรายต่อ บุค คลและทรัพ ย์ สิน รวมทั้ ง ผลกระทบด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม พร้ อ มทั้ง กํา หนดมาตรการป้อ งกั น และบรรเทา ผลกระทบที่อาจเกิดจากการทํางาน ก่อนอนุญาตให้ผู้รับจ้างภายนอก เข้าทํางานในพื้นที่ของบริษัท

2. การเตรียมความพร้อมรับเหตุฉุกเฉิน กําหนดให้มีการอบรม การซ้อมการดับเพลิงและทดสอบสัญญาณเตือนภัยเป็นประจําทุกเดือน รวมทั้งจัดให้มีการซ้อม การอพยพหนีไฟประจําปี และการส่งต่อผู้บาดเจ็บ เป็นประจําทุกปี

3. การดูแลสุขภาพและอาชีวอนามัยพนักงาน

 ดําเนินการจัดทําโปรแกรมตรวจสุขภาพประจําปีให้กับพนักงาน ตามความเสี่ยงในการปฏิบัติงาน เพื่อเป็นการเฝ้า ระวังด้านสุขภาพของพนักงานที่ต้องสัมผัสกับความเสี่ยงต่างๆ ที่เกิดขึ้นระหว่างการปฏิบัติงาน รวมทั้งใช้เป็นข้อมูล ในการปรับปรุง ลดความเสี่ยงในการทํางานให้ลดน้อยลง  จัดให้มีการดําเนินกิจกรรมที่ส่งเสริมการปฏิบัติงานตามหลักความปลอดภัยให้กับพนักงานทุกระดับได้มีส่วนร่วม ได้แก่ การจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัย การสํารวจและปรับปรุงอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล เป็น ต้น บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 131


กิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคม ในปี 2557 ที่ผ่านมา บริษัทไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จํากัด (มหาชน) ได้ดําเนินกิจกรรมเพื่อสังคมแบบมีส่วนร่วมจากผู้มีส่วนได้ เสียในจากการดําเนินกิจการของบริษัทในทุกภาคส่วน ทั้งบริษัทและกลุ่มบริษัทในเครือ บริษัทคู่ค้า หน่วยงานราชการในท้องถิ่น และที่สําคัญบริษัทมุ่งเน้นการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของพนักงาน ในร่วมดําเนินกิจกรรมเพื่อสังคม โดยแบ่งออกเป็นกิจกรรม ด้านต่างๆ ดังนี้ 1) การดูแลชุมชนและสังคม 2) การสนับสนุนการศึกษาให้กับเยาวชน 3) กิจกรรมส่งเสริมการทําความดี 1) การดูแลชุมชนและสังคม การดําเนินกิจกรรมเพื่อสังคมในปี 2557 ที่ผ่านมา บริษัท มุ่งเน้นถึงความสําคัญของชุนโดยรอบพื้นโรงงาน ตลอดจนการ เสริมสร้างหน่วยงานสาธารณะในท้องถิ่นให้มีความเข้มแข็ง มีศักยภาพในการดูแลและให้บริการกับประชาชนในเขตพื้นที่หนองแขม และเขตบางแค ซึ่งเป็นพื้นที่ตั้งของกิจการในกลุ่มบริษัทไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จํากัด (มหาชน) กิจกรรมในรอบปีที่ผ่านมา มีดังนี้ ชุมชนสัมพันธ์ ด้วยพื้นที่ตั้งของโรงงานผลิตชิ้นส่วน และประกอบรถยนต์ของบริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จํากัด (มหาชน) อยู่ติดกับเขตที่ พักอาศัยของชุมชน เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและควบคุมมลพิษที่อาจเกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตทั้งการชุบสี การพ่นสี ที่อาจก่อให้เกิดความรําคาญกับชุมชนที่อาศัยอยู่ใกล้เคียงเขตโรงงาน บริษัทได้กําหนดให้มีทีมงานชุมชนสัมพันธ์ เพื่อ สร้างช่องทางการสื่อสาร รับเรื่องร้องเรียนจากชุมชน เพื่อนํามาปรับปรุงแก้ไขอย่างเร่งด่วน โดยทีมชุมชนสัมพันธ์จะเข้าเยี่ยมเยียน พบปะชุมชนอย่างสม่ําเสมอ 2) การสนับสนุนการศึกษาให้กับเยาวชน การสนับสนุนบัตรชมคอนเสิร์ตดนตรี Classic กับนักเรียนโรงเรียนมัธยมวัดหนองแขม โดยบริษัทฯ ได้มีนโยบายสนับสนุนบัตรเข้าชมคอนเสิร์ตดนตรี Classic ระดับโลกให้กับนักเรียน นักศึกษา ครู อาจารย์ เยาวชนในพื้นที่เขตหนองแขม และเขตบางแค ให้มีโอกาสเข้าชมคอนเสิร์ตดนตรีคลาสสิกจากศิลปินระดับโลก รวมไปถึงเพื่อเป็น การสนับสนุนการจัดการแสดงคอนเสิร์ตของวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ทั้งนี้เพื่อเป็นการส่งเสริมพัฒนาการความคิด สร้างสรรค์ จินตนาการ ขัดเกลาอารมณ์ ของเยาวชนให้มีความอ่อนโยนและมีความสุขจากการรับชมดนตรี โดยมูลค่าบัตรกว่า 50,000 บาท

132 รายงานประจ�ำปี 2557


มอบทุนการศึกษาสําหรับเยาวชน นอกจากความตระหนักถึงความสําคัญของการส่งเสริมการให้บริการด้านสุขภาพอนามัยแก่ประชาชนในพื้นที่ บริษัทยัง ตระหนักถึงความสําคัญของาการส่งเสริมการศึกษา ซึ่งเป็นปัจจัยสําคัญอีกประการหนึ่งที่จะส่งผลต่อระดับชีวิตของประชาชน บริษัทจึงจัดสรรงบประมาณสําหรับเป็นทุนการศึกษา เพื่อมอบให้กับเยาวชนได้ใช้เป็นทุน และเป็นขวัญกําลังใจในการศึกษาเล่า เรียนด้วยความขยันหมั่นเพียร โดยบริษัทได้จัดสรรทุนการศึกษา ดังนี้  ทุนการศึกษาสําหรับเยาวชนในเขตพื้นที่หนองแขม และเขตบางแค บริษัท ร่วมกับสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่ 2 (เขตบางแค) และโรงเรียนในเขตพื้นที่หนองแขม เขตบางแค พิจารณา คัดเลือกนักเรียนที่เรียนดี มีความประพฤติดี แต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ รวมทั้ง บุตรข้าราชการตํารวจสถานีตํารวจนครบาลหนองแขม และสถานีตํารวจนครบาลเพชรเกษม เข้ารับมอบทุนการศึกษาจาก ดร.ปราณี เผอิญโชค และผู้บริหารกลุ่มบริษัทไทยรุ่งฯ จํานวน 305 ทุน ทุนละ 2,000 บาท รวมเป็นเงิน 610,000 บาท

 ทุนการศึกษาสําหรับบุตรพนักงาน บริษัทไทยรุ่งฯ นอกเหนือจากการสนับสนุนทุนการศึกษาให้กับเยาวชนในเขตพื้นที่หนองแขม และเขตบางแคแล้ว บริษัท ได้ให้ ความสําคัญต่อการศึกษาของบุตรพนักงาน ซึ่งต้องได้รับการสนับสนุนทุนทรัพย์สําหรับใช้ในการศึกษาเล่าเรียน และเพื่อเป็นขวัญ กําลังใจให้กับพนักงานที่เป็นผู้ปกครองให้ได้มีกําลังใจในการทํางานร่วมกับบริษัท ดร.ปราณี เผอิญโชค และผู้บริหารบริษัท จึง กําหนดให้จัดสรรงบประมาณเพื่อเป็นทุนการศึกษาสําหรับบุตรพนักงาน โดยกําหนดการมอบทุนการศึกษาในวันที่ 18 มีนาคม ของ ทุกปี ซึ่งวันดังกล่าววันถึงแก่กรรมของนายห้างวิเชียร เผอิญโชค ผู้ก่อตั้งบริษัทไทยรุ่ง โดยในปี 2557 บริษัทได้มอบทุนการศึกษา ให้กับบุตรพนักงานรวมทั้งสิ้น 92 ทุน เป็นเงิน 323,000 บาท และหากนับตั้งแต่ปี 2528 จนถึงปัจจุบัน เป็นระยะเวลากว่า 30 ปี บริษัทได้มอบทุนการศึกษาให้กับบุตรพนักงานรวมทั้งสิ้นกว่า 1,614 ทุน เป็นเงิน 4,747,000 บาท

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 133


กิจกรรมช่วยเหลือสังคม “ไทยรุ่งร่วมใจ ปันน้ําใจให้น้อง” บริษัทฯ ได้มีการจัดกิจกรรมช่วยเหลือสังคม ในโครงการ “ไทยรุ่งร่วมใจ ปันน้ําใจให้น้อง” โดยการบริจาคตุ๊กตา ของใช้ สําหรับเด็ก รวมมูลค่ากว่า 40,000 บาท ให้กับสถานสงเคราะห์ บ้านเด็กอ่อนปากเกร็ด เพื่อเป็นการช่วยเหลือสังคม สถาน สงเคราะห์เด็กผู้ยากไร้ และเด็กกําพร้า

การสนับสนุนกิจกรรมสาธารณะประโยชน์ เพื่อเป็นการสนับสนุนการทํากิจกรรมเพื่อประโยชน์ของส่วนรวม บริษัท ได้ให้การสนับสนุนงบประมาณ และวัสดุอุปกรณ์ ที่จําเป็นเพื่อสร้างประโยชน์ หรือเพื่อการขับเคลื่อนกิจกรรมที่เป็นประโยชน์แก่สังคมมาอย่างต่อเนื่อง โดยในรอบปี 2557 บริษัทได้ สนับสนุนงบประมาณเพื่อการดําเนินกิจกรรมสาธารณะประโยชน์ให้กับองค์กรต่างๆ ทั้งสถาบันการศึกษา หน่วยงานภาครัฐ เอกชน องค์กรเพื่อการกุศลต่างๆ เป็นเงินทั้งสิ้น 820,862 บาท 3) กิจกรรมส่งเสริมการทําความดี จากปรัชญาในการดําเนินธุรกิจ ด้วยการ “คิดดี ทําดี พูดดี” บริษัทได้ใช้หลักดังกล่าวเป็นแนวทางในการส่งเสริมให้ พนักงานทุกคนดําเนินชีวิตด้วยหลักคิดดี ทําดี และพูดดี ผ่านกิจกรรมส่งเสริมการทําความดีที่หลากหลาย ดังนี้

134 รายงานประจ�ำปี 2557


 โครงการค่ายอาสาพัฒนา ไทยรุ่ง นอกเหนือจากการขับเคลื่อนกิจกรรมสร้างและส่งเสริมการทําความดีภายในบริษัท ให้พนักงานของบริษัทฯ ได้มีส่วน ร่วมแล้ว บริษัทฯ ได้สนับสนุนให้พนักงานได้สร้างความดี บําเพ็ญประโยชน์ให้กับสาธารณะ โดยได้ให้การสนับสนุน กลุ่มพนักงานที่ มีจิตอาสาที่มารวมตัวกันทํากิจกรรมสร้างความดี ภายใต้โครงการค่าอาสาพัฒนา ไทยรุ่ง ซึ่งในปี 2557 ที่ผ่านมา กลุ่มค่ายอาสา พัฒนา ไทยรุ่ง ได้รวมตัว ทํากิจกรรมสร้างความดี ดังนี้ 1) มอบของบริจาค และสร้างสนามกีฬาของโรงเรียน ณ โรงเรียนบ้านห้วยอีจีน สาขาห้วยโป่งน้ํา อ.หล่มเก่า เพชรบูรณ์ 2) เลี้ยงอาหารกลางวัน และร่วมบริจาคสิ่งของ ณ โรงเรียนบ้านทับเบิกร่วมใจ สาขานาสะอุ้ง อ.หล่มเก่า เพชรบูรณ์ 3) มอบเครื่องเล่น โรงเรียนกะปง อ.กะปง. จ.พังงา 4) บริจาคเงินให้มูลนิธิโรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ฯ 5) เลี้ยงอาหารเช้าคนชรา สถานสงเคราะห์คนชราเฉลิมราชกุมารี (หลวงพ่อเปิ่นอุปถัมภ์) อ.นครชัยศรี 6) ปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติ์ อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน อ.แก่งกระจาน จ.เพชรบุรี

 โครงการ “ไทยรุ่งร่วมใจ ทําดีเพื่อพ่อ” เป็นอีกหนึ่งกิจกรรมที่พนักงานของบริษัท ได้ใช้โอกาสเนื่องในวันเฉลิมพระชนม์พรรษาของพระบาทสมเด็จพระ เจ้ า อยู่ หั ว 5 ธั น วาคม ได้ ไ ปร่ ว มกั น ทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ ส าธารณะรอบพื้ น ที่ โ รงงาน เพื่ อ น้ อ มนํ า ความดี ดั ง กล่ า วถวายแก่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) 135



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.