ข้อคิดยามเช้า ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2013

Page 1


ขอคิดยามเชา วันศุกร ที่ 1 กุมภาพันธ ค.ศ.2013 ผูรูทานหนึ่งบอกวา “ความจําเปน..เปนมารดาของการประดิษฐคิดคน” เมื่อ ยุคอุตสาหกรรมไดเริ่มขึ้น โลกของเราเกิดความจําเปนที่ตองมีแสงสวาง มากกวาแสงสวางของเทียนไขและตะเกียงน้ํามัน ในป ค.ศ. 1879 โทมัส อัลวา เอดิสันจึงไดคิดคนและประดิษฐหลอดไฟฟาไสคารบอนขึ้นจนสําเร็จ ในกรณีนี้ เราเห็นไดชัดวาเมื่อมีความจําเปนเกิดขึ้น มนุษยมักจะพยายามคิดคนและ ประดิษฐนวัตกรรมใหมๆ ขึ้นเพื่อความอยูรอดและความเจริญกาวหนาของตน อยูเสมอ ในพระศาสนจักรของก็เชนกันในพระวรสารมีบางสิ่งที่คลายกันไดเกิด ขึ้นกับพระเยซูเจาและบรรดาศิษยของพระองค พระเยซูเจาทรงแบงปนพันธกิจแหงการชวยใหรอดพนและการไถกูที่พระองคทรงไดรับมอบหมาย จากพระบิดาแกบรรดาศิษยของพระองค แตเมื่อนักบุญยอหนเห็นชายคนหนึ่ง ซึ่งไมไดเปนกลุมเดียวกันกับทาน กําลังใชพระนามของพระเยซูเจา ขับไลปศาจ ทานรูสึกขุนเคืองใจและทูลพระองควา “พระอาจารยเจาขา เราไดเห็นคนคนหนึ่งขับไลปศาจเดชะพระนามของพระองค เราจึง พยายามหามปรามไว เพราะเขาไมใชพวกเดียวกับเรา” (มก 9:38) แตพระเยซูเจาไมทรงเห็นดวยกับแนวคิดที่คับแคบของทาน ซึ่งยึดติดและ ผูกขาดสิทธิและความถูกตองไวกับคนในกลุมหรือแวดวงของตนเองเทานั้น พระองคทรงใหหลักการสั้น ๆ เกี่ยวกับเรื่องนี้วา “ผูใดไมตอตานเรา ก็ เปนฝายของเรา” (มก 9:40) พระเยซูเจาทรงใจกวางและเปนอิสระจากความอิจฉาใด ๆ ทั้งสิ้น สิ่งที่พระองคทรงปรารถนาคือ การแผขยายพันธกิจ แหงการชวยใหรอดพนและการไถกูของพระองคออกไปใหกวางไกลและครอบคลุมมากที่สุดเทาที่จะเปนไปไดทุกวันนี้ คริสตชนบางคนยังมีความคิด ที่คับแคบในหลายเรื่องบางคนตอตานและรูสึกไมพอใจที่พระศาสนจักรอนุญาตใหฆราวาสที่แตงงานแลวมารับศีลบวชเปนสังฆนุกรหรือ พระสงฆ บางคนปฏิเสธความคิดที่ใหฆราวาสชวยแจกหรือสงศีลมหาสนิท บางคนยอมรับไมไดที่ใหฆราวาส โดยเฉพาะผูหญิง ชวยมิสซา อานและ แบงปนพระคัมภีรในพิธีมิสซาพี่นองที่รัก เพราะความจําเปน แสงสวางจึงไดฉายแสงเขามาในพระศาสนจักรของเรา แสงสวางดังกลาวนี้สวางสุกใส กวาสิ่งประดิษฐของโทมัส อัลวา เอดิสันเสียอีก เพราะเปนแสงสวางของพระจิตเจาที่คอยชวยพระศาสนจักรใหมองเห็นความจริงชัดเจนมาก ยิ่งขึ้น ดวยเหตุนี้ เราควรเปดใจตอกิจการของพระจิตเจา แทนที่จะขุนเคืองใจ เราควรขอบพระคุณพระเจา และขอพระองคโปรดใหกิจการของพระ จิตเจาดําเนินตอไปอยางไมหยุดหยอนในพระศาสนจักรของเรา งานรับใชพระเจาไมไดจํากัดอยูเฉพาะกับศาสนบริกรที่ไดรับศีลบวชหรือไดรับการ แตงตั้งเปนพิเศษเทานั้น แตเปนของคริสตชนทุกคน เราควรใจกวาง พรอมแบงปนงานรับใชกับทุกคน แมวาคน ๆ นั้นอาจไมใชพรรคพวกหรือคน กลุมเดียวกันกับเราก็ตาม

ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันเสาร ที่ 2 กุมภาพันธ ค.ศ. 2013 พระเจาทรงปรารถนาใหเรายอมรับถอยคํามนุษยที่เรียบ งายที่ไดรับบันทึกไวในพระคัมภีรในฐานะพระวาจาของ พระเจาที่ไดรับการดลใจจากพระจิตเจา พระองคทรง ตองการใหเรามองเห็นความเปนจริงของศีลมหาสนิทผาน ทางรูปปรากฏภายนอกของปงและเหลาองุนซึ่งเปนผลผลิต ธรรมดาที่มาจากน้ําพักน้ําแรงของมนุษยและในวันนี้ พระองคทรงปรารถนาใหเรายอมรับวา จริง ๆ แลว พระ เยซูเจา “ลูกของโยเซฟ” (ลก 4:22) เปนพระบุตรของพระ เจาและพระเมสสิยาหที่มวลมนุษยเฝารอคอยเปนเวลานานแสนนาน ผูที่มีความเชื่อเทานั้นจึงจะสามารถมองเห็นและ ยอมรับความจริงเหลานี้ได ความเชื่อเปนพระพรพิเศษจากพระเจาที่เราไดรับแบบเปลา ๆ ซึ่งเราสามารถยอมรับหรือ ปฏิเสธก็ได อยางไรก็ตาม ความเชื่อเปนเอกลักษณอันหนึ่งของผูที่มีความซื่อสัตยตอพระเจาและวิถีทางของ พระองค ไมใชตอวิถีทางของตนเอง ถาเราเชื่อในพระเจาและยอมรับในความแตกตางของวิถีทางของพระองค จะไมใช เรื่องยากสําหรับเราอีกตอไปที่จะมองเห็น “พระบุตรของพระเจา” ในรูปของ “ลูกชางไม” จน ๆ คนหนึ่ง เพราะทุกสิ่ง เปนไปไดเสมอสําหรับพระเจา ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันอาทิตย ที่ 3 กุมภาพันธ ค.ศ. 2013 ผูรูทานหนึ่งบอกวา “ความจริงเปนสิ่งไมตาย” ตอใหมี การฆากันตายกี่รอยศพเพื่อปกปดมัน ความจริงจะยังคง อยูตลอดไปและไมสามารถถูกลบลางออกไปได ความ จริงเปนอมตะ ไมมีวันดับสูญ แตหลายครั้งมันสามารถ นําความเจ็บปวดและขมขื่นใจมาใหกับผูที่มีสวน เกี่ยวของไดเหมือนกัน โดยเฉพาะอยางยิ่งความจริงที่ เกี่ยวกับความผิดพลาด ความบกพรอง หรือปมดอยของ ใครบางคน คนที่มีวุฒิภาวะเปนผูใหญและมีความกลา พอที่จะเผชิญหนาและยอมรับความจริงเหลานี้ถือวาโชค ดีไป แตบางคนกลัวที่จะเผชิญหนากับความจริงและพยายามหลบหลีกมัน เมื่อไมสามารถยอมรับมันได ทางออกงายๆ ที่พวกเขาเลือก คือ ปฏิเสธความจริงนั้น ชาวเมืองนาซาเร็ธในพระวรสารวันนี้เปนคนประเภทหลังนี้แหละความรูสึกของผูมารวมชุมนุมที่ศาลาธรรมเมือง นาซาเร็ธวันนั้นมีทั้งชื่นชมและประหลาดใจ พวกเขาชื่นชมในปรีชาญาณและอํานาจพิเศษของพระเยซูเจา แตพวกเขาประหลาดใจและไม ทราบวาพระองคไดรับสองสิ่งนี้มาจากไหน อาจเปนไปไดวาความคุนเคยปดบังความเปนพระเจาของพระองคจากสายตาของพวก เขา พระเยซูเจาทรงเจริญเติบโตทามกลางพวกเขา พวกเขาเลยคิดวารูจักพระองคดีแลววาเปนใคร ผลที่ตามมาคือพวกเขาไมพรอมที่จะ ยอมรับวาพระองคเปนบุคคลที่ยิ่งใหญกวาที่พวกเขาคิดและรูจัก เมื่อเปนเชนนี้ พระเยซูเจาจึงตรัสกับพวกเขาวา “ไมมีประกาศกคนใด ไดรับการตอนรับอยางดีในบานเมืองของตน” (ลก 4:24) ชาวยิวยอมรับไมไดที่พระเยซูเจาทรงบอกเปนนัยวาพระเจาทรงรักคนตาง ศาสนาและศัตรูของพวกเขาคําพูดของพระเยซูเจาไมไดเปนการยั่วยุพวกเขาเลย พระองคพูดไปตามสิ่งที่ไดเกิดขึ้นจริงเทานั้น แตชาวนา ซาเร็ธรับความจริงนี้ไมไดและปฏิเสธความจริงที่ขมขื่นนี้เสีย ความชื่นชมและความประหลาดใจจึงกลับกลายเปนความเคียดแคนชิงชังซึ่ง สงผลใหตองการผลักพระองคใหตกลงไปในหนาผาของเนินเขาที่เมืองตั้งอยู“ แตพระองคทรงดําเนินฝากลุมคนเหลานั้น แลวเสด็จจากไป” (ลก 4:30) พระเยซูเจาทรงเดินไปจากชีวิตของพวกเขา นี่เปนถอยคําที่นาสะพรึงกลัวอันหนึ่ง ขออยาใหเหตุการณแบบนี้เกิดขึ้นกับชีวิต ของเรา ขออยาใหพระเยซูเจาทรงดําเนินผานพวกเราไป เราตองตระหนักวาพระองคกําลังประทับอยูทามกลางเราและในผูคนที่อยูรอบ ขางเรา ขออยาใหเราปฏิเสธพระองค แลวพระองคตองจําใจจากเราไป แนนอน ถาเปนเชนนั้น คงไมใชพระองคที่ละทิ้งเราไป แตเปนเรา ตางหากที่จะปฏิเสธพระองคเหมือนที่ชาวเมืองนาซาเร็ธไดทํากับพระองค ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันจันทร ที่ 4 กุมภาพันธ ค.ศ.2013 ในฐานะศิษยของพระเยซูเจา สิ่งหนึ่งที่เราควรตระหนัก อยูเสมอคือวิถีทางของพระเจาแตกตางจากวิถีทางของ เรา บอยครั้งเราไมสามารถเขาใจเหตุผลทั้งหมดวาทําไม พระเจาทรงเลือกกระทําสิ่งตาง ๆ อยางนั้น บางคนอาจ สงสัยวาทําไมพระเจาทรงเลือกชาวอิสราเอลเปน ประชากรของพระองค ทั้ง ๆ ที่ในสมัยนั้นมีประเทศ มหาอํานาจมากมายที่อยูรายรอบชนชาตินี้ ? ทําไมพระ บุตรของพระเจาจึงทรงเลือกบังเกิดมาในโลกนี้ในสภาพที่ยากจนและขัดสน? ทําไมพระองคไมทรงเลือกบังเกิด ในพระราชวังในฐานะโอรสของกษัตริยองคใดองคหนึ่ง ? ทําไมพระเยซูเจาทรงเลือกคนที่มีการศึกษาต่ําและ ฐานะยากจนเปนอัครสาวกของพระองค ยิ่งกวานั้น บางคนอยูในกลุมคนบาปดวย? ทําไมพระองคไมทรงเลือก บรรดาธรรมาจารยหรือชาวฟาริสีที่มีการศึกษาสูง ซึ่งหลายคนไดติดตามพระองคดวยเหมือนกัน ? ทําไมพระเจา ทรงปลอยคนชั่ว คนโกงบานโกงเมือง และคนที่ชอบเอารัดเอาเปรียบคนอื่นลอยนวลอยูในปจจุบันนี้ ? ทําไม พระองคไมทรงใชอํานาจขจัดพวกนี้ใหหมดสิ้นจากโลกนี้ไปเลย โลกของเราจะไดนาอยูมากยิ่งขึ้น ? พอคิดวา เหตุผลประการหนึ่งที่เราพอเขาใจไดคือ การแสดงอํานาจและความยิ่งใหญทิ้งชองวางสําหรับความเชื่อนอย มาก ความเชื่อเรียกรองความมั่นใจในความรักและการนําทางของพระเจา แมวาสิ่งนั้นจะไมดําเนินไปอยางที่ เราคิดหรือคาดหวังไวก็ตามความเชื่อเปนพระพรพิเศษจากพระเจาที่เราไดรับแบบเปลา ๆ ซึ่งเราสามารถ ยอมรับหรือปฏิเสธก็ได อยางไรก็ตาม ความเชื่อเปนเอกลักษณอันหนึ่งของผูที่มีความซื่อสัตยตอพระเจาและ วิถีทางของพระองค ไมใชตอวิถีทางของตนเอง ถาเราเชื่อในพระเจาและยอมรับในความแตกตางของวิถีทาง ของพระองค จะไมใชเรื่องยากสําหรับเราอีกตอไปที่จะมองเห็น “พระบุตรของพระเจา ” ในรูปของ “ลูกชาง ไม” จน ๆ คนหนึ่ง เพราะทุกสิ่งเปนไปไดเสมอสําหรับพระเจา ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันอังคารที่ 5 กุมภาพันธ ค.ศ.2013 สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกตที่ 16 ไดทรงประกาศให ชวงเวลาตั้งแตวันที่ 11 ตุลาคม ค.ศ. 2012 ถึงวันที่ 24 พฤศจิกายน ค.ศ. 2013 เปน “ปแหงความเชื่อ” เพื่อเปดโอกาส ให คริสตชนทุกฐานันดรไดรื้อฟนความเชื่อที่รอนรนของตนตอ พระคริสตเจา พระผูไถแตเพียงพระองคเดียวของโลก ในบท เทศนโอกาสฉลองวันนักบวชสากลปที่แลว พระองคไดทรงพูดถึง สิ่งที่ผูถวายตัวทั้งหลายควรทําในปศักดิ์สิทธิ์นี้วา “ในปแหงความ เชื่อ ทานผูซึ่งตอบรับเสียงเรียกใหติดตามพระคริสตเจาอยาง ใกลชิดมากกวาคนอื่นโดยการดําเนินชีวิตตามคําแนะนําแหง พระวรสาร ควรทําใหสายสัมพันธของทานกับพระเจาลึกซึ้งและ แนนแฟนมากยิ่งขึ้นเรื่อยๆ คําแนะนําแหงพระวรสารซึ่งทาน ยอมรับในฐานะกฎแหงชีวิตที่เที่ยงแท ทําใหความเชื่อ ความหวัง และความรัก ซึ่งรวมทานใหเปนหนึ่งเดียวกับพระเจาเขมแข็งขึ้น ความใกลชิดกับ องคพระผูเจาที่ลึกซึ้งนี้ ซึ่งตองเปนตัวเลือกแรกและหลักในการดําเนินชีวิตของทาน จะชวยใหทานสามารถอุทิศตนแดพระองคไดมากขึ้นและมี อิทธิพลในทางบวกตอการทํางานของทานทามกลางประชากรของพระเจา”ปแหงความเชื่อเปนปที่เราทุกคน ไมวาจะอยูในสถานะใด ตองพยายาม ทําใหความเชื่อที่เราได รับในศีลลางบาปเจริญเติบโตและเขมแข็งมากยิ่งขึ้นจนสามารถแบงปนใหกับผูอื่นได โดยเฉพาะพี่นองตางความเชื่อที่อยู รอบขางเรา แลวเราสามารถทําใหความเชื่อของเราเติบโตและเขมแข็งขึ้นไดอยางไร? ในสมณลิขิต “ประตูแหงความเชื่อ” (Porta Fidei) สมเด็จ พระสันตะปาปาเบเนดิกตที่ 16 กลาวในตอนหนึ่งวา “ความเชื่อจะเจริญเติบโตขึ้นเมื่อถูกนํามาดําเนินชีวิตและมีประสบการณแหงความรักที่เรา ไดรับมา และเมื่อตอนที่ถูกเผยแพรออกไปในฐานะที่เปนประสบการณแหงพระหรรษทานและความชื่นชมยินดี” พระองคทรงย้ําอีกวา “การ สารภาพดวยวาจาแสดงใหเห็นวาความเชื่อจําเปนตองมีการแสดงออกเพื่อเปนประจักษพยานในที่สาธารณะ รวมทั้งเปนหนาที่อีกดวย คริสตชน จะตองไมคิดวาความเชื่อเปนเรื่องสวนตัว ความเชื่อเลือกที่จะยืนหยัดเคียงคูกับพระคริสตเจาเพื่อที่จะไดมีชีวิตอยูกับพระองค” พอคิดวาเปนโอกาสดีที่เราจะไดคิดทบทวนอีกครั้งหนึ่งถึงความเชื่อของเราแตละคน จําไวเสมอวาการรูเนื้อหาที่ตองเชื่ออยางเดียวถือวาไมเพียงพอ เราตองเชื่อจนหมดใจดวย นักบุญออกัสตินบอกเราวา “ผูมีความเชื่อเสริมสรางความเขมแข็งของตนเองดวยการเชื่อ” ขอใหปแหงความเชื่อชวยให ความสัมพันธของเรากับพระคริสตเจานับวันยิ่งใกลชิดและแนนแฟนมากยิ่งขึ้น เพราะในพระองคเทานั้นเราจึงจะมีความแนนอนในการมองไปใน อนาคตและหลักประกันแหงความรักที่ถาวรมั่นคง ขอพระมารดานิจจานุเคราะห องคอุปถัมภสังฆมณฑลอุดรธานี เปนแบบอยางและคอยนําทาง เราตลอดปแหงความเชื่อนี้ เพื่อวาความเชื่อของเราแตละคนจะไมไดเปนความเชื่อที่ตายแลว แตเปนความเชื่อที่มีชีวิต

ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันพุธที่ 6 กุมภาพันธ ค.ศ.2013 นักบุญยากอบและนักบุญยอหนเขาใจพันธกิจของพระเยซูเจาในฐานะผูรับ ใชผิดพลาดไป พวกทานคิดวาพระองคกําลังจะสถาปนาอาณาจักร อิสราเอลขึ้นใหม ดังนั้น เพื่อมั่นใจวาพวกทานจะไดรับตําแหนงอันทรง เกียรติในอาณาจักรดังกลาวนี้ จึงเขามาทูลพระเยซูเจา “ขอโปรดให ขาพเจาคนหนึ่งนั่งขางขวา อีกคนหนึ่งนั่งขางซายของพระองคในพระสิริ รุงโรจนเถิด” (มก 10:37) พวกทานไมรูวาพระเยซูเจาจะทรงเขาสูพระสิริ รุงโรจนโดยผานทางการสิ้นพระชนมที่แสนเจ็บปวดเทานั้น ซึ่งพระองคทรง อางถึงในฐานะ “ถวย” (มก 10:38) ที่พระองคจะทรงดื่มและ “การลาง” (มก 10:38) ที่พระองคจะทรงรับ ถาเปนเชนนี้ เหตุการณที่เกิดขึ้นในวัน ศุกรศักดิ์สิทธิ์คงทําใหทานทั้งสอง รวมทั้งบรรดาอัครสาวกคนอื่นดวย ตกใจอยางสุดขีดอยางแนนอน อาศัยแสงสวางแหงการกลับคืนพระ ชนมชีพของพระองคในวันอาทิตยปสกาเทานั้นที่ทําใหพวกทานเรียนรูความหมายที่แทจริงของพระดํารัสของพระองคในพระวรสารวันนี้ จากนั้น พวกทานจึงตระหนักวาในฐานะศิษยของพระองค พวกทานตองเปนผูรับใชดวยเชนกัน นั่นคือ ตองอุทิศตนเพื่อคนอื่นจนกระทั่ง ลมหายใจสุดทาย เราทราบวานักบุญยากอบไดเปนมรณสักขีโดยการถูกตัดศีรษะในสมัยกษัตริยเฮโรด อากริบปา สวนนักบุญยอหน ถูก ทรมานอยางแสนสาหัส ตองหนีไปยังเกาะปทมอสและรับใชเพื่อนพี่นองคริสตชนที่นั่นจนกระทั่งสิ้นลมหายใจ บางคนอาจคิดวาการเปน “ผูรับใช” หมายถึงการทํากิจการพิเศษสําหรับคนอื่นหรือบางสิ่งบางอยางที่แตกตางจากงานที่เราทําเปนประจํา ทุกวัน ความคิดนี้อาจมีสวนจริงอยูบาง แตไมใชทั้งหมด เพราะจริง ๆ แลว เราสามารถทํางานหรือหนาที่ประจําวันของเราดวยจิตตารมณ แหงการรับใชไดเชนเดียวกัน พระธรรมนูญวาดวย “พระศาสนจักรในโลกสมัยนี”้ ระบุเกี่ยวกับเรื่องนี้ไวอยางชัดเจนวา “ขณะที่ทํางานหา เลี้ยงชีพของตนและครอบครัว ชายและหญิงกําลังทํางานเพื่อรับใชสังคมดวย” (GP 34) พูดอีกอยางหนึ่งก็คือ ผูที่เปนบิดามารดาไมควร มองการดูแลเอาใจใสครอบครัวของตนเปนกิจวัตรประจําวันที่ไรคุณคาหรือไรความสําคัญ เพราะครอบครัวเปนสถาบันพื้นฐานและจําเปน ของสังคม ถาครอบครัวดี สังคมนั้นก็จะดีตามไปดวย ดังนั้น การดูแลเอาใจใสครอบครัวดวยจิตตารมณแหงการรับใชจึงเทากับเปนการรับ ใชสังคมไปในตัวดวย ไมวาเราจะเปนใคร เปนนักธุรกิจ ครู หมอ พยาบาล ตํารวจ ทหาร ลูกจาง เกษตรกร หรือเปนอะไรก็แลวแต เรา สามารถเปน “ผูรับใช” ไดเสมอโดยการทําหนาที่ของเราดวยจิตตารมณแหงการรับใชตามแบบอยางของพระเยซูเจา พระธรรมนูญวาดวย “พระศาสนจักรในโลกสมัยนี”้ พูดถึงกฎเกณฑการปฏิบัติงานของมนุษยวา ในฐานะคริสตชนเราตอง “ปฏิบัติใหตรงกับประโยชนที่ แทจริงของมนุษยชาติ ตามแผนการและพระประสงคของพระเจา และอํานวยใหมนุษยในฐานะบุคคลหรือสมาชิกในสังคมไดปฏิบัติตาม กระแสเรียกของตนอยางครบถวน” (GP 35) ไมวาเรามีอาชีพและหนาที่การงานอะไร ใหเราทําสิ่งดังกลาวโดยคํานึงถึงประโยชนของสวนรวม สังคมที่เราอาศัยอยู และมนุษยชาติทั้ง


มวลเปนที่ตั้ง แลวเราจะกลายเปนผูรับใชของเพื่อนพี่นองทุกคน เราตองเรียนรูที่จะมองงานทุกอยางที่เราทําเปนเสมือนวิถีทางที่จะทําให กระแสเรียกการเปนผูรับใชเหมือนพระเยซูเจาของเราสําเร็จไป จําไวเสมอวาความรูและความสามารถซึ่งเปนอํานาจอยางหนึ่งของเรา ไมไดมีไวเพื่อบังคับคนอื่นหรือแสวงหาผลประโยชนจากพวกเขา แตมีไวเพื่อรับใชและนําประโยชนมายังคนอื่นและสังคมโดยสวนรวม ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันพฤหัสบดี ที่ 7 กุมภาพันธ ค.ศ.2013 เมื่อเราตกอยูในสถานการณที่ยากลําบากและ เดือดรอน เราถึงจะหันไปหาพระเจาเพื่อวอนขอ พระองคใหทรงชวยเรา เรามักไมไดนึกถึงพระองคใน ยามที่เรามีความสุข เราลืมที่จะขอบพระคุณพระองค ทําไม? เหตุผลประการหนึ่งคือ บางคนเขาใจวาการ อธิษฐานภาวนาคือการวอนขอสิ่งที่เราตองการจากพระ เจา ถาเราไมตองการความชวยเหลือ ก็ไมจําเปนตอง สนทนากับพระองค อันที่จริง จุดประสงคของการ อธิษฐานภาวนาไมใชแควอนขอความชวยเหลือจาก พระเจาเทานั้น แตเพื่อสรรเสริญพระองคสําหรับความดีและความยิ่งใหญของพระองค และเพื่อขอบพระคุณพระองค สําหรับความรักและพระพรตาง ๆ ที่พระองคทรงโปรยปรายมายังเราแตละคนอยางไมขาดสาย พระองคทรงตองการ ใหเรามาหาพระองคตลอดเวลา ไมวาจะยามสุขหรือยามทุกข หากเรามองพระองคในฐานะบิดาผูเปยมดวยความรัก และเมตตาเราสามารถเขาหาพระองคไดตลอดเวลาและพูดคุยกับพระองคไดทุกเรื่อง ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันศุกร ที่ 8 กุมภาพันธ ค.ศ.2013 ความจริงประการหนึ่งที่เราตองยอมรับคือเราอาศัยอยูในสังคมที่ใสใจ ในภาพพจนของตัวเองคอนขางสูง ฐานะและการนับหนาถือตาถือวา เปนเรื่องสําคัญมาก บางครั้งเราอาจถูกมองวาเปนคนสําคัญมากกวา ตัวตนที่แทจริงของเราเสียดวยซ้ําไป ความจริงดังกลาวนี้ฝงติดอยูกับ ธรรมชาติของมนุษยมาตั้งแตเริ่มแรกแลวอํานาจและตําแหนงไมเขา ใครออกใคร สองสิ่งนี้มักจะนําไปสูความโลภและการคดโกงเอา ผลประโยชนมาใหตนเองบอย ๆ บางครั้งคนที่มีสองสิ่งนี้ทําตัวราวกับวาตนเองเปนพระเจา ใชอํานาจที่พระเจาใหมาเพื่อรับใชเพื่อนพี่นองไปแสวงหาผลประโยชน สวนตัว แสดงละครเกง ภายนอกดูเหมือนวาเปนบุคคลที่เครงครัดใน ศาสนาและมีความศรัทธาเหนือผูอื่น แตภายในของพวกเขากลับเนา เฟะ ในสังคมของเรามีหลายคนที่ทําตัวคลายๆ แบบนี้ มหาเศรษฐี คน ที่มีอํานาจและตําแหนงสูง ๆ ทางการเมือง รวมแมกระทั่งผูนําบางคน ในพระศาสนจักรของเราดวยเชนกันพระวรสารบอกเราคือ เมื่อเรา ตระหนักวาพระเจาและวิถีทางของพระองคเทานั้นเปนบอเกิดแหง ความปลอดภัยที่แทจริงของเรา เราจะพบกับสันติสุขภายในที่เรา แสวงหา ไมใชทรัพยสินเงินทอง หรือเกียรติยศชื่อเสียงที่ถือวาสําคัญ สิ่งเหลานี้อาจจากเราไปเมื่อใดก็ได สิ่งที่สําคัญไมใชสิ่งที่เรามีหรือสิ่ง ที่เราสามารถหามาไดทั้งไมใชสิ่งที่เราสามารถทําหรือสิ่งที่คนอื่นคิดเกี่ยวกับเรา ถาเรามัวแตใหความสําคัญกับภาพพจนของตัวเอง หรือ สลวนอยูกับสิ่งที่คนอื่นคิดเกี่ยวกับตัวเรา หรือกังวลใจวาคนอื่นจะเห็นความออนแอและความบกพรองของเรามากจนเกินไป เราจะไม สามารถติดตอสัมพันธกับคนอื่นไดอยางอิสระ แทนที่เราจะมุงความสนใจเพื่อชวยเหลือผูอื่น เรากลับหมกมุนอยูกับตัวเราเองมากกวา จําไวเสมอสิ่งที่สําคัญคือ สิ่งที่เราเปนหรือตัวตนที่แทจริงของเราเฉพาะพระพักตรพระเจาและตอหนาเพื่อนมนุษย สิ่งอื่นใดทั้งหมดลวนเปนเรื่องรอง ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันเสาร ที่ 9 กุมภาพันธ ค.ศ.2013 ซีโมนและเพื่อน ๆ ของทานเปนชาวประมงมืออาชีพ พวก เขาคุนเคยกับการทํางานในตอนกลางคืนและขายปลาที่ พวกเขาจับไดในตอนกลางวัน ค่ําคืนที่ผานมาเปนค่ําคืนแหง ความลมเหลว ทานและเพื่อน ๆทํางานหนักหลายชั่วโมง ระหวางกลางคืน แตจับปลาไมไดแมแตตัวเดียว พวกเขา เหนื่อยออน หมดแรง และรูสึกผิดหวังมาก ๆ ในเวลานี้เอง ลูกชางไมไดสั่งให “จงแลนเรือออกไปที่ลึกและหยอนอวน ลงจับปลาเถิด” (ลก 5:4) ดูเหมือนวาคําสั่งของลูกชางไมไม สอดคลองกับประสบการณของชาวประมงเอาเสียเลย การหยอนอวนจับปลาตอนนี้ไมใชเวลาเหมาะ เพราะในเวลากลางวันปลาจะหลบ อยูและวายเลนในน้ําที่ลึกมากกวา “ที่ลึก” ซึ่งพระเยซูเจาสั่งซีโมนใหหยอนอวนลงไปเสียอีก ยิ่งกวานั้น พวกเขาเหนื่อยแทบจะขาดใจอยู แลว อยางไรก็ตาม ชาวประมงยอมรับคําสั่งของลูกชางไม ผลที่ตามมาคือพวกเขาสามารถจับปลาไดเต็มสองลําเรือ จับไดมากจนเรือเกือบ จม ซีโมนจับปลาไดจํานวนมากในที่ลึกของทะเลสาบ แตลูกชางไมจับหัวใจของซีโมน ทั้งนี้เพราะวาซีโมนไดเห็น “พระหัตถของพระเจา” ในการจับปลาครั้งนั้นและในเวลาเดียวกันทานมองเห็นตนเองวาเปน “คนบาป” (ลก 5:8) ทานรูสึกวาตนเองไมเหมาะสมเมื่อยูตอหนา อํานาจที่ยิ่งใหญของพระเยซูเจา ชาวประมงขอรองลูกชางไมวา “โปรดไปจากขาพเจาเสียเถิด พระเจาขา เพราะขาพเจาเปนคนบาป” (ลก 5:8) ลูกชางไมไมยอมรับคําขอรองของชาวประมง ทั้งนี้เพราะพระองคเสด็จมาในโลกนี้เพื่อแสวงหาคนบาป “เราไมไดมาเพื่อเรียกคน ชอบธรรม แตมาเพื่อเรียกคนบาปใหกลับใจ” (ลก 5:32) ซีโมนโชคดีที่นบนอบตอคําสั่งของพระเยซูเจา ทานจึงจับปลาไดจํานวนมาก แต ทานยังโชคดีมากกวานั้นอีก เมื่อพระเยซูเจาไมยอมทําตามคําขอรองของทานที่ใหจากทานไป เพราะถาเปนอยางนั้น ชีวิตที่เหลือของทาน คงเปนชีวิตที่นาสงสาร ปราศจากพระเยซูเจา ทานคงจมปลักอยูกับชีวิตเกา ๆ กลางทองทะเลสาบ หาปลาเลี้ยงชีพไปวัน ๆ ความลมเหลวในงานที่เรามีความชํานาญ ในแงหนึ่ง เปนเสียงเรียกของพระเจาใหเรากลับใจและมีความสุภาพถอมตน ในความรูสึกวา ตนเองออนแอเชนนี้แหละ ที่พระเจาทรงเผยแสดงพระองคเองแกเรา และประทานแสงสวางแกเราเพื่อเราจะตระหนักวา จริง ๆ แลวเรา เปนใคร.. อะไรคือตัวตนที่แทจริงของเรา ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันอาทิตย ที่ 10 กุมภาพันธ ค.ศ.2013 สัจธรรมที่เราไดรับจากพระวรสารวันนี้คือ “ยิ่งเราอยูใกลพระ เจามากเทาใด เราก็จะยิ่งรูสึกวาเราเปนคนบาปมากขึ้น เทานั้น”ในบทอานแรกวันนี้ อิสยาหไดเห็นนิมิตเกี่ยวกับความ ยิ่งใหญของพระเจาและทานรูสึกกลัวมากขณะที่ทานไดสัมผัส ความศักดิ์สิทธิ์และพระสิริรุงโรจนของพระเจา ทานตระหนัก วาตนเองและเพื่อนรวมชาติของทานเปนคนบาป “วิบัติจงเกิด แกขาพเจา ขาพเจาพินาศแลว เพราะขาพเจาเปนคนริมฝปาก มีมลทิน อาศัยอยูในหมูชนชาติริมฝปากมีมลทิน” (อสย 6:5) ความศักดิ์สิทธิ์และความผิดบาปไมสามารถไปดวยกันได ดังนั้น ไมใชเรื่องแปลกเลยเมื่ออยูตอหนาความศักดิ์สิทธิ์ของ พระเปนเจา มนุษยจะรูสึกวาตนเองเปนคนบาปหนา ตนเองมี จุดบกพรองหลายอยางอับราฮัมรูสึกวาตนเองเปนเพียง “ฝุนผงและขี้เถา” (ปฐก 18:27) เมื่อทานกําลังพูดกับพระเจาโดยตรงเพื่อออน วอนพระองคใหละเวนชีวิตของผูชอบธรรมในเมืองโสโดม ในทํานองเดียวกันโมเสสรูสึกวาตนเองต่ําตอยตอหนาพุมไมที่กําลังลุกไหมอยู กอนที่จะถูกสงออกไปเพื่อทําพันธกิจที่ไดรับมอบหมาย ทานทั้งสองตระหนักถึงความไมเหมาะสมของตนเองเมื่ออยูตอหนาองคพระผู ศักดิ์สิทธิ์ อยางไรก็ตาม พระเจาทรงชําระลางความผิดบาปจากริมฝปากของประชากรของพระองคและทรงใหอภัยเซาโล ซีโมนและทุก คนที่ยอมรับวาตนเองเปนคนบาป ถาเราอานชีวประวัติของนักบุญตางๆ เราจะทราบวา พวกทานลวนมีประสบการณเกี่ยวกับการ ตระหนักถึงความผิดบาปของตนเอง โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อพวกทานมีความกาวหนาในชีวิตภายในมากขึ้นเรื่อย ๆ และบรรลุถึงความเปน หนึ่งเดียวกับพระเจา คุณแมเทเรซาแหงกัลกัตตา นักบุญเทเรซาแหงอาวีลาและเทเรซาแหงลีซีเออ พวกทานลวนสารภาพความผิดบาป ของตนดวยใจสุภาพถอมตนพี่นองที่รัก จําไวเสมอวา “ยิ่งเราอยูใกลพระเปนเจามากเทาใด เราก็จะยิ่งรูสึกวาเราเปนคนบาปมากขึ้น เทานั้น” ถึงกระนั้นเราควรระลึกวาพระเยซูเจาพรอมและเต็มใจใหอภัยเราเสมอ เพราะพระองคเสด็จมาในโลกนี้เพื่อชวยเราคนบาปทุก คน ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันจันทร ที่ 11 กุมภาพันธ ค.ศ.2013 เมื่อใครคนหนึ่งสารภาพความผิดบาปและความไมเหมาะสมของตน เฉพาะพระพักตรพระเจา พระองคจะทรงชวยใหเขาหลุดพนจากสภาพ นั้นและทําใหเขาสามารถรับใชพระองค ในกรณีของประกาศกอิสยาหเส ราฟตนหนึ่งของพระเจาไดสัมผัสปากของทานดวยถานที่ลุกอยูจากพระ แทนบูชาและบอกทานวา “ดูซิ สิ่งนี้สัมผัสริมฝปากของทานแลว ความผิดของทานก็ถูกลบลางแลว บาปของทานก็ไดรับการอภัยแลว” (อสย 6:7) ในกรณีของนักบุญเปโตร พระเยซูเจาตรัสกับทานวา “อยา กลัวเลย ตั้งแตนี้ไป ทานจะเปนชาวประมงหามนุษย” (ลก 5:10) เราจะ เห็นวาคุณสมบัติที่ทําใหพวกทานเหลานี้เหมาะสมสําหรับภารกิจที่ไดรับ มอบหมายจากพระเจาไมไดมาจากพวกทาน แตมาจากพระเจา มันไมได เปนความสําเร็จสวนตัว แตเปนพระหรรษทานของพระเจา นี่คือเหตุผลที่ทําใหนักบุญเปาโลพูดวา “แตขาพเจาเปน อยางที่เปนอยูนี้ดวยเดชะพระหรรษทานของพระเจา” (1 คร 15:10) นอกจากความรูสึกที่วาตนเองไมเหมาะสม ยังมี คุณลักษณะอีกอันหนึ่งที่ทั้งสามทานมีเหมือนกันคือ ความพรอมที่จะปฏิบัติตามพระประสงคและการนําทางของพระ เจา ทันทีที่ประกาศกอิสยาหไดยินเสียงของพระเจาถามทานวา “เราจะสงใคร? ใครจะไปแทนเรา?” (อสย 6:8) ทาน ตอบทันทีวา “ขาพเจาอยูที่นี่ โปรดสงขาพเจาไปเถิด” (อสย 6:8) ในกรณีของนักบุญเปโตรและเพื่อนรวมงานของทาน ผูนิพนธพระวรสารบอกวา “เมื่อพวกเขานําเรือกลับถึงฝงแลว ละทิ้งทุกสิ่งติดตามพระองค” (ลก 5:11) โดยปราศจาก การหันหลังกลับ สวนนักบุญเปาโลไดทุมเทใหกับงานที่ไดรับมอบหมายจากพระเจาหนักกวาคนอื่น แมวาทานจะบอก ดวยความถอมตนวา “แตมิใชขาพเจา เปนเพราะพระหรรษทานของพระเจาซึ่งอยูกับขาพเจาที่ทํางาน” (1 คร 15:10) การตระหนักถึงความไมเหมาะสมและไรความสามารถของตนเองอยางเดียวไมเพียงพอที่จะทําใหเราเปนเครื่องมือที่ดี ของพระเจา เราตองพรอมและเต็มใจที่จะปฏิบัติตามพระประสงคและดําเนินตามการนําทางของพระองคดวย เมื่อเราปลอยใหพระเจานําทางเรา เราจะเห็นและสัมผัสความยิ่งใหญของพระองค เหมือนที่นักบุญเปโตรไดมองเห็น เมื่อทานจับปลาไดจํานวนมาก เมื่อพวกทานทําตามคําแนะนําของพระเยซูเจาซึ่งดูเหมือนจะเปนเรื่องที่คานความรูสึก และเหลวไหลในสายตาของมนุษย ผลที่ตามมาคือ ความสําเร็จที่เกินกวาจะจินตนาการได พี่นองที่รัก เหมือนในอดีตที่ ผานพระเจายังทรงถามเราในวันนี้วา “เราจะสงใคร? ใครจะไปแทนเรา?” (อสย 6:8) พระเจายังทรงตองการผูนํา สาสนทั้งชายและหญิงเพื่อไปประกาศขาวดีแหงความรักของพระองคในพระวิหารเหมือนประกาศกอิสยาห หรือในตาง แดนจนสุดปลายแผนดินเหมือนนักบุญเปาโล หรือในสถานที่ทํางานและนําเพื่อนรวมงานใหมารูจักและติดตามพระเยซู


เจาเหมือนนักบุญเปโตร ถาเรารูสึกวาตนเองไมเหมาะสมและไรความสามารถที่จะทํางานที่พระเจาทรงมอบหมาย จงรู วาคนที่รูสึกแบบนี้แหละที่พระเจาทรงใชเปนเครื่องมือของพระองค สิ่งที่เราตองทําคือ บอกกับพระองควา “ขาพเจา อยูที่นี่ โปรดสงขาพเจาไปเถิด” (อสย 6:8) สวนที่เหลือปลอยใหพระองคจัดการใหเรา แลวพระองคจะทรงทําใหเรา เหมาะสมสําหรับภารกิจที่พระองคทรงตองการใหเราทําเพื่อพระองค เหมือนที่พระองคไดทรงทํากับประกาศกอิสยาห นักบุญเปาโล และนักบุญเปโตร ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันอังคาร ที่ 12 กุมภาพันธ ค.ศ.2013 ธรรมทูตคนหนึ่งทํางานในดินแดนหางไกลแถบภาคเหนือของ อินเดีย ทานมีครูคําสอนคูใจสองคน วันหนึ่งทานถูกเรียกกลับ ประเทศอยางกะทันหัน กอนออกเดินทาง ทานไดใหหนังสือพระวร สารแกครูคําสอนทั้งสองคนละเลมพรอมกับพูดวา “ทุกสิ่งทุกอยาง ที่พวกทานตองการเพื่อการดําเนินชีวิตอยูที่นี่ หนังสือเลมนี้จะเปน เสมือนครูผูนําทางพวกทาน ถาพวกทานปฏิบัติตามคําสั่งสอนของ พระอาจารยเจาที่ไดรับการบันทึกไวในหนังสือเลมนี้อยางดี พวก ทานไมจําเปนตองมีเราคอยชี้แนะพวกทานอีกตอไป” ครูคําสอน ทั้งสองใหสัญญาจะทําตามอยางดี แลวพวกเขาก็นําหนังสือพระวร สารกลับบานอยางกระตือรือรนและทะนุถนอม ทันที่ที่ครูคําสอนคนแรกกลับถึงบาน รีบเอาหนังสัตวมาทําเปนปก หนังสือและสรางหิ้งวางไวกลางบานเพื่อใหเกียรติและแสดงความเคารพตอหนังสือศักดิ์สิทธิ์เลมนี้ กอนออกจากบาน และเมื่อกลับมาถึงบานเขาจะมาที่หิ้งนี้กอนเสมอเพื่อวอนขอพระพรและขอบพระคุณพระเจา เขาแทบจะไมไดเปด หนังสือเลมนี้เลย นานๆ ทีเขาจะหยิบมาอานครั้งหนึ่ง โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อมีบางสิ่งที่ไมดีเกิดขึ้นในบาน เขาจึงเปด หนังสือเพื่อคนหาถอยคําที่ชวยปลอบโยนใจเขาและสมาชิกในครอบครัว บางครั้งเมื่อมีแขกมาเยือน เขาจะหยิบ หนังสือมาใหแขกไดชมพรอมกับอวดอางวาเขาเปนเจาของหนังสือที่ทรงคุณคามากที่สุดในโลก แตนาเสียดายที่เขา มองขามสิ่งที่สําคัญที่สุด นั่นคือ เขาลืมคําสัญญาที่ไดใหกับธรรมทูตที่เขารักและเคารพวาจะหมั่นศึกษาและนําเอาพระ วาจาที่ไดรับการบันทึกไวในนั้นมาดําเนินชีวิต สวนครูคําสอนคนที่สอง ระหวางที่เขานําหนังสือพระวรสารกลับบาน เขาถูกขอรองใหชวยดับไฟที่กําลังไหมบานของเพื่อนบานคนหนึ่ง ดวยความรีบรอนเขาไดวางหนังสือเลมนั้นไวและชวย ดับไฟ จนกระทั่งเมื่อไฟดับมอดหมดแลวเขาจึงนึกขึ้นไดและมองหาหนังสือพระวรสาร แตไมพบเพราะถูกไฟเผาไปแลว เขารูสึกเสียใจมากกับการสูญเสียครั้งนี้ เมื่อธรรมทูตยังอยูกับเขา ทานสอนเขาหลายอยางจากหนังสือเลมนี้และเขาก็ พยายามนําเอาสิ่งที่ไดเรียนรูไปดําเนินชีวิต เขาชอบและใฝฝนอยากจะเปนเจาของหนังสือเลมนี้มาก แตเมื่อความฝน ของเขากลายเปนความจริง เขากลับตองสูญเสียมันไปอยางไมตั้งใจ เขาจะบอกธรรมทูตคนนั้นอยางไรดีเมื่อทาน กลับมา? เมื่อกลับมาถึงบาน เขาพยายามคิดทบทวนถึงเนื้อหาของพระวรสาร เขาจํารายละเอียดทั้งหมดของพระดํารัส ของพระเยซูเจาไมได จําไดเพียงแกนแทและจิตตารมณโดยรวมเทานั้น สุดทาย เขานึกถึงคําพูดของธรรมทูตที่เคยบอก เขาวาหนังสือเลมนี้บรรจุสิ่งที่ดีที่สุดและลึกซึ้งที่สุดสําหรับดําเนินชีวิต เขาจึงตัดสินใจดําเนินชีวิตตามจิตตารมณนี้ ดังนั้น เมื่อเขาเผชิญหนากับปญหาหรืออุปสรรคในชีวิต เขาจะถามตัวเองกอนเสมอวาหนังสือพระวรสารพูดอะไร


เกี่ยวกับเรื่องนี้ แมวาเขาไมมีโอกาสอานหนังสือเลมนี้อยางละเอียด แตมันมีอิทธิพลตอการดําเนินชีวิตของเขาเปน อยางมาก มันทําใหเขาเขมแข็งในยามที่เขารูสึกออนแอ เปนแรงบันดาลใจในการทํางานและในทุกกิจการที่เขาทําเพื่อ ชวยเหลือคนอื่น หลายครั้งเขารูสึกละอายใจที่ไมไดทําสิ่งที่เขาควรทํา บางครั้งเขารูสึกวาจิตตารมณของพระวรสาร กําลังแทงใจดําของเขา อยางไรก็ตาม เขารับฟงมันดวยความเต็มใจและพยามปฏิบัติตามอยางดีที่สุด เขาเขาถึงแกนแท ของหนังสือที่หายไป นั่นคือ พระวรสารมีไวเพื่อดําเนินชีวิต ถามันไมถูกนํามาดําเนินชีวิต มันจะไมมีคาอะไรมากนัก และคงไมตางจากเมล็ดขาวที่ไมไดนํามาปลูก ทิ้งไวเฉยๆ และไมเกิดผลอะไร เพื่อนบานของเขาหลายแปลกใจมากใน แนวทางการดําเนินชีวิตของเขาและถามเขาวาเขาเอาความเขมแข็ง ความหวัง และแรงบันดาลเหลานี้มาจากไหน คําตอบของเขาเหมือนกันทุกครั้ง นั่นคือ มาจากพระวรสาร เมื่อพวกเขาขอดูหนังสือดังกลาว เขาก็ตอบวาเขาไม สามารถใหดูได เพราะมันอยูในใจของเขาแลวเวลานี้ ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชาวันพุธที่ 13 กุมภาพันธ ค.ศ. 2013 เทศกาลมหาพรตเริ่มในวันพุธรับเถา และจบลงในวัน พฤหัสศักดิ์สิทธิ์กอนพิธิมิสซาตอนเย็นระลึกถึงการเลี้ยงของ พระคริสตเจา ระยะเวลา 40 วันของเทศกาลมหาพรต มี ความหมายเกี่ยวของกับเลข 40 ในพระคัมภีร จากแบบฉบับ ของพระเยซูเจาที่ทรงอดอาหารในถิ่นทุรกันดารเปนเวลา 40 วัน (มธ 4 :2, ลก:1-2)ในพระคัมภีรภาคพันธสัญญาเดิม ยัง กลาวถึงโมเสสอดอาหาร 40 วัน ในการรื้อฟนพันธสัญญาบน ภูเขาซีนาย (อพย 34:28) เอลียาหอดอาหารขณะเดินทางไป ภูเขาโฮเรบ (1 พกษ 19 :8) และชาวอิสราเอลใชเวลา 40 ป ในถิ่นทุรกันดารกอนที่จะเขาสูแผนดินแหงพันธสัญญา นี่เปน สัญลักษณหมายถึง การผาน การเตรียมตัว การกลับใจ การใชโทษบาป การหันหลังใหกับความชั่วรายและการ ตัดสินใจเลือกพระเจา เทศกาลมหาพรตเปนชวงเวลาแหงการเตรียมสมโภชปสกาประจําป พิธีบูชาขอบพระคุณและพิธีกรรมทํา วัตรของพระศาสนจักรในเทศกาลนี้ จึงไดบรรจุพระวาจา ขอเขียนของปตาจารย และบทภาวนา ที่ใหคําสอน ขอคิด และแนวทางในการปฏิบัติแกคริสตชนในการดําเนินชีวิตในเทศกาลมหาพรต วันพุธรับเถา วันเริ่มตนของเทศกาลมหาพรต วันพุธกอนวันอาทิตยแรกของเทศกาลมหาพรตสัตบุรุษจะรับเถาเปนการเริ่มตนเทศกาลมหาพรตพิธีเสกและโรยเถา ตามปกติจะทําในพิธีมิสซา หลังอานพระวรสารและเทศนซึ่งใหความหมายวาพระวาจาของพระเจาเปนพลังสําคัญที่ ปลุกเราจิตใจของคริสตชนใหสํานึกตน กลับใจและใชโทษบาปในเทศกาลมหาพรตนี้บทอานจากพระคัมภีรในพิธีมิสซา วันพุธรับเถา บทอานแรกจากหนังสือประกาศกโยเอล (ยอล. 2:12-18) กลาววา “เจาทั้งหลายจงเต็มใจกลับมาหาเรา ดวยการอดอาหาร รองไห และเปนทุกขคร่ําครวญ ณ บัดนี้เถิด” บทอานที่สองนํามาจากจดหมายของนักบุญเปาโล อัครสาวกถึงชาวโครินธฉบับที่ 2 (2 คร. 5:20-6:2) ยังคงกลาวถึงการกลับใจอยางตอเนื่องวา “จงคืนดีกับพระเจาเถิด บัดนี้แหละเปนเวลาที่เหมาะสม” และพระวรสารนักบุญมัทธิวใหความหมายที่แทจริงของการกลับใจในภาคปฏิบัติ โดยนําเสนอคําสอนของพระเยซูเจาในเรื่อง “การทําทาน” “การอธิษฐานภาวนา” และ “การจําศีลอดอาหาร” พระองคทรงสอนวา “จงระวังอยาประกอบกิจการดีของทานตอหนามนุษยเพื่ออวดเขา มิฉะนั้นทานจะไมไดรับ บําเหน็จจากพระบิดาของทานผูสถิตในสวรรค” (มธ. 6:1-6,16-18)


ความหมายของเถา เถาเปนเครื่องหมายของ “ความทุกขถึงบาป” คํากลาวประกอบการโรยเถาของพระสงฆกลาววา “จงกลับใจใชโทษ บาป และเชื่อพระวรสารเถิด” เถายังหมายถึงสภาพของมนุษยคนบาปซึ่งพยายามแสดงความสํานึกผิดของตนตอพระ เจาออกมาเปนพิธีภายนอกใหเห็นวาเขาตองการกลับใจ เพราะหวังวาพระเจาจะทรงพระกรุณาใหอภัยเครื่องหมายนี้ จึงเปนการเริ่มเดินทางมุงสูการกลับใจซึ่งคอย ๆพัฒนาขึ้นโดยการรับศีลอภัยบาปในเทศกาลมหาพรตความต่ําตอยของ มนุษยอันเปนผลมาจากบาป “มนุษยเอย จงระลึกเถิดวาเจาเปนแคฝุนดิน และจะกลับเปนฝุนดินอีก” (ปฐก. 3:19) เทศกาลมหาพรตจึงเปนชวงเวลา ที่คริสตชนเตรียมสมโภชปสกา “ขอโปรดสดับฟงคําออนวอนของขาพเจาทั้งหลายและทรง พระเมตตาประทานพระ พรแกขารับใชของพระองค ผูเขามารับการโรยเถาเหลานี้ “ เครื่องหมายการเปนทุกขกลับใจในพิธีกรรม “พิธีเสกและ โรยเถา” แสดงออกอยางชัดเจนในชีวิตคริสตชน โดยคริสตชนผูมีอายุตั้งแต 14 ปบริบูรณขึ้นไปตองอดเนื้อและคริสต ชนที่มีอายุตั้งแต 18 ปบริบูรณขึ้นไป จนถึงอายุ 59 ปบริบูรณตองอดอาหารเถายังอาจหมายถึงความสกปรก (บาป) ซึ่งใชน้ําชําระใหสะอาดได (ศีลลางบาป) ฉะนั้น เราเริ่มเทศกาลมหาพรตดวยพิธีโรยเถาจึงเปนเครื่องหมายที่นําไปสู ความสมบูรณครบครันในการรื้อฟนคํามั่นสัญญาแหงศีลลางบาปของคริสตชน และการลางบาปคริสตชนใหม (ตาม ธรรมเนียมของพระศาสนจักร)ในคืนวันเสารศักดิ์สิทธิ์ (มิสซาตื่นเฝาปสกา) ธรรมเนียมที่ใหโรยเถาที่ไดจากใบลานซึ่งเสกในปกอนนั้นเกิดขึ้นเปนครั้งแรกในศตวรรษที่ 12 มีความหมายดี เพราะใบลานหมายถึงชัยชนะของพระเยซูเจาในฐานะกษัตริยในการเสด็จเขากรุงเยรูซาเล็มอยางสงา (ภาพอนาคตของ การกลับคืนชีพ)เมื่อเอามาเผาเปนเถาและโรยเพื่อเตือนใจใหคริสตชนใชโทษบาปแลวยังเปนสิ่งที่บอกคริสตชนวาการ ใชโทษบาปนี้มีเปาหมายเพื่อเตรียมการฉลองชัยชนะแหงการกลับคืนชีพของพระเยซูเจา

ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันพฤหัสบดี ที่ 14 กุมภาพันธ ค.ศ.2013 เด็กชายคนหนึ่งทักทายพอของเขาที่เพิ่งกลับมาจาก ทํางานวา “พอครับ ในหนึ่งชั่วโมงพอทําเงินได เทาไหร?” พอรูสึกแปลกใจจึงพูดวา “นี่ลูก ขนาดแม ของลูกยังไมทราบเรื่องนี้เลย อยารบกวนพอตอนนี้ได ไหม พอเหนื่อยมากพอแลว” ลูกชายไมยอมและเซาซี้ ตอไปวา “แตพอครับ บอกผมหนอยไดไหม ไดโปรด เถอะ ผมอยากรูจริงๆ วาพอทําเงินไดมากแคไหนในหนึ่ง ชั่วโมง” เพื่อตัดรําคาญพอจึงตอบวา “100 บาท” ลูก ชายพูดตอไปอีกวา “ขอบคุณครับพอ ผมขอยืมเงินพอ สัก 50 บาทไดไหม” มาถึงตอนนี้พอจึงพูดอยางฉุนเฉียววา “นี่คือเหตุผลที่ลูกถามพอใชไหม เวลานี้ เขานอนไดแลว ไม ตองมารบกวนพออีก เขาใจไหม?” เมื่อเขานอนพอคนนั้นนอนคิดถึงสิ่งที่เขาไดพูดกับลูกและรูสึกผิด “บางทีลูกอาจ ตองการซื้อของบางอยางก็ได” เขาคิด สุดทาย เขาลุกขึ้นและไปเคาะประตูหองลูกชายพรอมกับถามวา “ลูก นอนหลับ แลวหรือยัง” ลูกชายตอบออกมาจากในหองวา “ยังครับพอ ทําไมหรือครับ?” เมื่อเขาเปดประตูออกมา พอยืนเงินให เขาพรอมกับพูดวา “นี่เงินที่ลูกขอจากพอ” “ขอบคุณครับพอ” ลูกชายพูดและรับเงินจํานวนนั้น จากนั้น เขาเดินไปที่ หัวเตียงและหยิบเงินอีกจํานวนหนึ่งมาดวย แลวบอกพอวา “พอครับ เวลานี้ผมมีเงินครบ 100 บาทแลว ผมขอซื้อ เวลาพอสักหนึ่งชั่วโมงไดไหมครับ?” ในพระวรสารโดยนักบุญลูกาเลาวาพระเยซูเจามีพระชนมายุได 12 พรรษา ซึ่ง เปนอายุที่เด็กชาวยิวทุกคนตองไปแสวงบุญที่กรุงเยรูซาเล็มทุกปเหมือนผูใหญชาวยิวคนอื่น ๆ พระเยซูเจาทรงเขารวม ศึกษาพระคัมภีรในพระวิหารโดยไมไดบอกบิดามารดา เมื่อบิดามารดาพบพระองคหลังจากเที่ยวตามหาสองวัน สิ่งที่ พระองคทรงบอกพวกทานคือ “พอกับแมตามหาลูกทําไม พอแมไมรูหรือวาลูกตองอยูในบานของพระบิดาของลูก” (ลก 2:49) ตอนทายของพระวรสารสรุปสั้น ๆ ใหเราฟงวา “พระเยซูเจาเสด็จกลับไปที่เมืองนาซาเร็ธกับบิดามารดา และเชื่อฟงทานทั้งสอง” (ลก 2:51) เมื่ออายุเพียง 12 พรรษาพระเยซูเจาทรงทราบดีแลววาภารกิจของพระองคคือ การอยูที่บานของพระบิดาและการทําใหพระประสงคของพระบิดาสําเร็จไป จากบททดสอบแรกที่พระองคทรงกระทํา ในกรุงเยรูซาเล็มแสดงใหเห็นวาพระองคมีศักยภาพที่จะทําภารกิจดังกลาวนี้ไดอยางแนนอน เพราะ “ทุกคนที่ไดฟง พระองคตางประหลาดใจในพระปรีชาที่ทรงแสดงในการตอบคําถาม” (ลก 2:48) คําถามเกิดขึ้นวา ถาพระเยซูเจาทรง ไดรับการอบรมมาอยางดีและพรอมที่จะเริ่มภารกิจเปดเผยตั้งแตอายุเพียง 12 พรรษา ทําไมพระองคจึงทรงเสด็จ กลับไปยังเมืองนาซาเร็ธและใชเวลาถึง 18 ปแบบ


ซอนเรนภายใตการดูแลของแมพระและนักบุญโยเซฟเพื่อรอจนกระทั่งอายุ 30 ปจึงเริ่มเทศนาสั่งสอนอยางเปดเผย 18 ปดังกลาวเปนชวงเวลาที่เสียไปโดยเปลาประโยชนหรือไม? แนนอน ไม ชีวิตที่ซอนเรนของพระเยซูเจาที่เมืองนาซาเร็ธ เปนสวนหนึ่งของภารกิจของพระองคบนโลกนี้ เพราะในชวงเวลานี้เองที่ “พระเยซูเจาทรงเจริญขึ้นทั้งในพระปรีชา ญาณ พระชนมายุ และพระหรรษทานเฉพาะพระพักตรของพระเจาและตอหนามนุษย” (ลก 2:52) พระเยซูเจาทรง เทศนาสั่งสอนเพียงแค 3 ป แตพระองคทรงใชเวลาอยูกับครอบครัวของพระองคถึง 30 ป ความจริงนี้ชี้ใหเราเห็นวา พระองคทรงใหความสําคัญกับครอบครัวมากทีเดียว เราคงไมปฏิเสธความจริงที่วาทุกครอบครัวตองทํางานเพื่อความอยูรอด พอแมตองทํางานเพื่อลูก ๆ จะมีชีวิตอยูอยาง มีความสุข แตถาการทํางานมากจนเกินไปทําใหครอบครัวเปนทุกขเพราะขาดความรักและความอบอุน เราตองเลือก วาอะไรตองมากอนระหวางครอบครัวและทรัพยสินเงินทอง? หลายครั้งปญหาเกิดขึ้นเพราะเราเลือกผิดไป พระเยซูเจา ทรงแกปญหาที่เกิดขึ้นระหวางพระองคกับบิดามารดาโดยใชชีวิตสวนใหญอยูกับครอบครัว การทํางานหนักเพื่อ ครอบครัวจะไมเปนขอพิสูจนถึงความรักที่เรามีตอครอบครัว ถาเราไมใหเวลากับครอบครัวของเราอยางเพียงพอดวย อันตรายที่นากลัวอยางหนึ่งซึ่งคุกคามครอบครัวในสมัยปจจุบันคือ การใชเวลาอยูดวยกันนอยเกินไป พอแมหลายคน มัวยุงอยูกับการทํางานจนแทบไมมีเวลาใหกับครอบครัว เราตองไมลืมวาการใชเวลาอยูกับครอบครัวเปนวิถีทางหนึ่งที่ แสดงใหสมาชิกครอบครัวของเรารูวาเรารักพวกเขา เมื่อเรารักครอบครัว เราตองอุทิศเวลาใหกับครอบครัวมากที่สุด เทาที่เราจะสามารถทําได จําไวเสมอวาทุกสิ่งทุกอยางมีเวลาของมัน อยาเอาเวลาของครอบครัวไปใหกับการทํางานจน มากเกินไป ใหแบบอยางของพระเยซูเจาเตือนใจเราใหมองเห็นคุณคาและความสําคัญของครอบครัวมากกวาการ ทํางาน คงจะไรประโยชนอยางสิ้นเชิง ถาเรารวยลนฟา แตครอบครัวของเราแตกแยก ลูกๆ ของเราขาดความอบอุน กลายเปนเด็กมีปญหาและภาระใหกับสังคม ใหเราวอนขอครอบครัวศักดิ์สิทธิ์ชวยเราใหรูจักเลือกและใหสิ่งที่ดีที่สุด สําหรับครอบครัวของเราแตละคน ..ใหวัน Valentine’s Day มีความหมายสําหรับความรักที่หลากหลาย โดยเฉพาะ ความรักที่เรามีสําหรับกันและกัน ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชาวันศุกรที่ 15 กุมภาพันธ ค.ศ.2013 จดหมายของบุญเปาโลถึงบรรดาผูที่กลับ ใจในเมืองโครินธไดประกาศสารแหงความจําเปน ของการเปนทุกขกลับใจในสารนี้เราเห็นถึงความ เรงดวนที่ตองกลับคืนดีกับพระเจา นักบุญเปาโล บอกชาวโครินธอยางชัดเจนวา “ขณะนี้คือเวลาที่ เหมาะสม ขณะนี้คือวันแหงความรอดพน” (2คร 6:2) ทุกปในเทศกาลมหาพรตพระศาสนจักร เรียกรองเราแตละคนใหเปนทุกขกลับใจอีกครั้งหนึ่ง การเรียกนี้มุงเปามาที่เราทุกคนไมมีใครยกเวนการรับเถาในวันพุธ รับเถาเตือนเราถึงความออนแอตามประสามนุษยของเรา ไมวาเราจะเปนใครไมวาเราจะคิดวาเราดีขนาดไหน เราก็ยัง เปนคนบาปดวยกันทั้งนั้น และเราจําเปนตองเปนทุกขกลับใจ เถายังเตือนเราถึงการพิพากษาของพระเจาที่กําลังจะ มาถึงอีกดวยเพราะเถาเปนสัญลักษณของความตายอันไมอาจหลีกเลี่ยงไดเมื่อถึงเวลาเราตองไปปรากฏตัวเฉพาะพระ พักตรพระเจาเพื่อยื่นบัญชีแหงชีวิตแกพระองค การเรียกใหเปนทุกขกลับใจนี้จึงเปนสิ่งที่เราแตละคนตองทําอยาง เรงดวน เพราะวาเราไมรูวาความตายจะมาถึงเราเมื่อใด เรารูวาสักวันหนึ่งเราตองจากโลกนี้ไป แตไมมีใครรูวาตนเอง จะไปวันไหนและเวลาใด ดวยเหตุนี้ เราตองเตรียมตัวใหพรอมอยูเสมอ การเปนทุกขกลับใจหมายถึงการหันหนีจากบาปและหันกลับไปหาพระเจา “ทานทั้งหลายจงกลับมาหาเรา ดวยสุดจิตสุดใจเถิด” (ยอล 2:12)เปนการเปลี่ยนแปลงภายในจิตใจของเราแตละคน “จงฉีกใจของทาน มิใชฉีก เสื้อผา” (ยอล2:13)มิสซาแตละวันในระหวางเทศกาลมหาพรตเปนวิถีทางที่ดีที่สุดที่จะชวยเราใหเปนทุกขกลับใจได อยางแทจริง ทั้งนี้ก็เพราะวา ในบทอานประจําวันเราจะไดยินสิ่งที่พระเจาทรงมีประสงคสําหรับเราแตละคนกลาวคือ สิ่งที่เราตองทําเพื่อจะทําใหการเปนทุกขกลับใจของเรากลายเปนรูปธรรมขึ้นมาในมิสซาเราสามารถวอนขอพระพรและ พระหรรษทานที่จําเปนจากพระเจาเพื่อเราจะสามารถดําเนินชีวิตตามสิ่งที่เราเรียนรูจากบทอานตางๆ เหลานั้น เพราะฉะนั้นเหมือนที่นักบุญเปาโลไดกลาวไวเทศกาลมหาพรตจึงเปน “เวลาที่เหมาะสม” (2คร 6:2)และเปน “เวลา แหงความรอดพน” (2คร 6:2)เราไมรูวาเราจะมีชวงเวลาดี ๆ อยางนี้อีกหรือเปลาในปหนา ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันเสาร ที่ 16 กุมภาพันธ ค.ศ.2013 ในเทศกาลมหาพรตและทุก ๆ วันในชีวิต มีคําถามวา เราสามารถเดินในหนทางแหงความชอบธรรมไดอยางไร? พระเยซูเจาชี้ใหเราเห็นวาศิษยของพระองคตองไมปฏิบัติศาสนาแตเพียง ภายนอก แตตองเขาถึงจิตตารมณของขอกําหนดทางศาสนาเหลานั้นดวย พระองคไมทรงเห็นดวยกับคนที่ปฏิบัติศาสนาเพื่อใหคนอื่นไดเห็น พระองคทรงบอกวาพวกเขาไดรับรางวัลผานทางคําชมและคําสรรเสริญจากคน อื่นแลว ดังนั้น พวกเขาไมจําเปนตองรับรางวัลจากพระบิดาเจาสวรรคอีก ตอไป สําหรับเราผูซึ่งเปนศิษยของพระองค เราตองทํากิจศรัทธาตาง ๆ เพราะกิจการเหลานั้นเปนสิ่งที่ดีและควรทํา เราทําเพราะเรารักพระเจา อยากคืนดีกับพระองคและอยูใกลชิดกับ พระองคมากยิ่งขึ้น หลายสิ่งหลายอยางเราสามารถทําแบบสวนตัวก็ได ถาเราจะทําบุญใหกับวัดหรือใหทานแกคนที่ เปนทุกขเดือดรอน มือซายของเราตองไมรูวามือขวาของเรากําลังทําอะไร นั่นคือ ทําแบบเงียบ ๆ และลืมสิ่งนั้นไปซะ ถาเราตองการอธิษฐานภาวนาเพิ่มขึ้นในชวงเทศกาลมหาพรต เราไมจําเปนตองไปสวดในวัดในชวงที่มีคนเยอะ เพื่อให คนอื่นเห็นเรา เราสามารถสวดแบบสวนตัวในหองนอนของเรา หรือในสถานที่เงียบ ๆ การอธิษฐานภาวนาของเราจะ ไมเล็ดลอดไปจากสายพระเนตรของพระบิดาอยางแนนอน ถาเราตองการจําศีลอดอาหาร เราตองไมทํามากจนทําให เราซูบผอมจนผิดสังเกต ซึ่งจะทําใหคนอื่นรูวาเรากําลังทําพลีกรรมนี้อยู การจําศีลอดอาหารเปนเรื่องดีเพื่อควบคุม ความปรารถนาฝายเนื้อหนังของเรา แตเราตองทําในระดับที่พอเหมาะและไมทําใหรางกายผิดปรกติมากจนเกินไป เพื่อวาจะไมมีใครนอกจากพระเจาเทานั้นที่เราวาเรากําลังทําสิ่งนี้อยู แลวพระเจาจะตอบแทนน้ําใจดีของเราเปนรอย เทาพันทวี จงคืนดีกับพระเจา หันหนีจากบาปและกลับมาหาพระองค สิ่งเหลานี้แหละคือสิ่งที่เราตองทําในเทศกาล มหาพรต ใหเราใชชวงเวลา 40 วันที่พระเจาประทานแกเราเปนพิเศษนี้ เตรียมตัวเราใหพรอมสําหรับการฉลองการ กลับคืนพระชนมชีพของพระเยซูเจาในวันปสกา จําไวเสมอวาถาเรามีสวนในพระทรมานของพระเยซูเจา เราจะมีสวน ในพระสิริรุงโรจนแหงการกลับคืนพระชนมชีพ

ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันอาทิตย ที่ 17 กุมภาพันธ ค.ศ.2013 บุญราศีสมเด็จพระสันตะปาปายอหนที่ 23 ทรงมีพระชนมายุ 77 ป เมื่อ พระองคไดทรงรับเลือกใหเปนพระสันตะปาปาในป ค.ศ. 1958 พระองคทรง ทราบดีวาเวลาการเปนประมุขสูงสุดของพระศาสนจักรคาทอลิกของพระองค นั้นคงสั้น เพราะพระองคทรงอยูในชวงบั้นปลายของชีวิตแลว แตพระองคทรง เผชิญหนากับสิ่งที่จะเกิดขึ้นเมื่อใดก็ไดนี้โดยไมลังเลใจ พระองคทรงพูดดวย ความมั่นใจวา “เราจัดเตรียมกระเปาของเราไวเรียบรอยแลว” กลาวคือ พระองคทรงพรอมที่จะเดินทางไปสูชีวิตนิรันดรเมื่อใดก็ไดที่พระเจาทรงเรียก พระองค ถาเราอานพระวรสารตามคําบอกเลาของนักบุญลูกาตั้งแตตนจนจบ สิ่งหนึ่งที่เราสามารถสังเกตไดโดยไมยากเย็นนักคือ ในชวงเวลา 3 ปแหงการ เทศนาสั่งสอนของพระเยซูเจา พระองคทรงใชชีวิตสวนใหญอยูกับการเดินทาง พระองคทรงเปนนักเทศนที่เดินทางไปเรื่อยๆ เปาหมายสุดทายของการเดินทางของพระองคบนโลกนี้คือ กรุง เยรูซาเล็ม นครศักดิ์สิทธิ์ซึ่งเปนสถานที่ที่พระองคจะทรงทําใหภารกิจแหงการชวยมนุษยชาติใหรอดพนสําเร็จไปโดย ผานทางการสิ้นพระชนมและการกลับคืนพระชนมชีพของพระองค ในพระวรสารวันนี้นักบุญลูกาบอกเราวากอนที่จะ เริ่มภารกิจอันยิ่งใหญนี้ พระองคเสด็จเขาไปใน “ถิ่นทุรกันดาร” (ลก 4:1) เพื่อเตรียมตัวสําหรับการเดินทางฝายจิต ของพระองค ปกติแลวเมื่อเราจะเดินทางไปไหนมาไหน ยิ่งกระเปาเดินทางของเราเบาเทาใด ก็ยิ่งทําใหการเดินทาง ของเราสะดวกและรวดเร็วมากยิ่งขึ้น ดังนั้น อะไรที่ไมจําเปนเราควรเอามันออกเสียเพื่อจะไดไมเปนภาระกับเรามาก จนเกินไป พอคิดวาในพระวรสารวันนี้พระเยซูเจาทรงทําสิ่งเดียวกันนี้เหมือนกัน ถาจะพูดในเชิงเปรียบเทียบเรา สามารถกลาวไดวาในถิ่นทุรกันดารนี้เองที่พระองคทรงทําให “กระเปาแหงการประจญ” ซึ่งเปนสวนหนึ่งของชีวิต มนุษยของพระองควางเปลาไป กอนอื่นหมด พระองคทรงโยน “ความเห็นแกตัว” ทิ้งไป ปศาจไดประจญพระองคให ใชอํานาจเพื่อความสะดวกสบายของตัวเอง โดยการเปลี่ยนกอนหินใหกลายเปนขนมปง “ถาทานเปนบุตรพระเจา จง สั่งใหหินกอนนี้กลายเปนขนมปงเถิด” (ลก 4:3) แตพระเยซูเจาทรงรอคอยวันที่พระองคจะทรงเปลี่ยนขนมปงให กลายเปนพระกายและเหลาองุนใหกลายพระโลหิตของพระองคเพื่อเปนการระลึกถึงการพลีบูชาของพระองคบนไม กางเขนเพื่อไถเราใหรอดพนจากอํานาจของบาปและความตาย จากนั้น พระเยซูเจาทรงโยน “การนมัสการที่ จอมปลอม” ซึ่งเปนที่รูจักกันในนามของ “วัตถุนิยม” ทิ้งไป ปศาจสัญญาจะใหอํานาจและความรุงเรืองแหงอาณาจักร บนโลกนี้แกพระองค เพียงแคพระองคทรงคุกเขาและนมัสการมัน “ขาพเจาจะใหอํานาจและความรุงเรืองของ อาณาจักรเหลานี้ทั้งหมดแกทาน เพราะสิ่งเหลานี้เปนของขาพเจา ขาพเจาจะใหผูใดก็ไดตามความปรารถนา ดังนั้น ถา


ทานนมัสการขาพเจา ทุกสิ่งจะเปนของทาน” (ลก 4:7) แตพระเยซูเจาทรงกําลังเตรียมจะประกาศการมาถึงของพระ อาณาจักรของพระเจา ไมใชอาณาจักรของซาตาน สุดทาย พระเยซูเจาทรงทําใหกระเปาแหง “ความหยิ่งจองหอง” วางเปลาไป ปศาจไดประจญพระองคใหกระโจนลง จากยอดพระวิหารเพื่อแสดงอํานาจยิ่งใหญตอหนาฝูงชนที่มารวมตัวกันในวันฉลองของชาวยิว “ถาทานเปนบุตรของ พระเจา จงกระโจนลงไปเบื้องลางเถิด เพราะมีเขียนไวในพระคัมภีรวา ‘พระเจาจะทรงสั่งทูตสวรรคใหพิทักษรักษา ทาน’ และยังมีเขียนอีกวา ‘ทูตสวรรคจะคอยพยุงทานไวมิใหเทากระทบหิน’” (ลก 4:9-10) แตพระเยซูเจาทรงกําลัง จะประกาศคําสอนแหงความเรียบงาย ความสุภาพ ความออนนอมถอมตน ซึ่งเปนลักษณะพิเศษของผูที่เปนเหมือน เด็กเล็กๆ ในพระอาณาจักรของพระบิดาเจาสวรรค หลังจากที่ไดทรงทําใหกระเปาแหงการประจญของพระองควางเปลาแลว พระเยซูเจาผูทรงเต็มเปยมดวยพระจิตเจาได ทรงเติมกระเปาของพระองคใหเต็มดวยพระพรของพระจิตเจาเพื่อเรา อยางเชน ความเชื่อ ความหวัง และความรัก จากนั้น พระองคทรงเริ่มออกเดินทางไปเทศนาสั่งสอนและประกาศขาวดีแหงพระอาณาจักรสวรรคอยางเปดเผยทั้งใน ดินแดนอิสราเอลและในดินแดนของคนตางศาสนา ดังที่เราทราบกันดี การเดินทางของพระองคจะจบลงที่กรุง เยรูซาเล็ม ที่นั่นพระองคจะทรงรับพระทรมาน สิ้นพระชนม และจะทรงกลับคืนพระชนมชีพในวันที่สาม ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันจันทร ที่ 18 กุมภาพันธ ค.ศ. 2013 ถา “ชีวิต” คือ “การเดินทาง” เราแตละคนไดเริ่มการเดินทางของเรา ตั้งแตเวลาที่เราไดรับศีลลางบาป เราไดรับพระหรรษทานที่ชวยเราให สามารถโยนบาปทิ้งในถังขยะ และเติมกระเปาเดินทางของเราใหเต็ม ดวยพระพรแหงความเชื่อ ความหวัง และความรัก อยางไรก็ตาม ดู เหมือนวาหลายครั้งในชีวิตเรายังคงทําผิดซ้ําแลวซ้ําอีก โดยการใสสิ่งที่ ไมดีกลับข้ําไปในกระเปาของเราอีก แตพระเจาทรงพระทัยดีและทรง เขาใจความออนแอตามประสามนุษยของเรา พระองคทรงอดทนตอ เราและตอความผิดพลาดของเรา ดวยเหตุนี้ ทุกปพระองคจึงประทาน “เทศกาลมหาพรต” ใหแกเรา เพื่อเปนโอกาสใหเราละทิ้งคานิยมที่ไม ถูกตองและเลือกคานิยมที่ถูกตอง มหาพรตจึงเปนชวงเวลาที่เรามอง เขาไปในกระเปาที่เราเก็บสิ่งที่สําคัญที่สุดสําหรับเรา และตัดสินใจวา เราจะทิ้งอะไรออกไปและเก็บอะไรไว พี่นองที่รัก บุญราศีสมเด็จพระสันตะปาปายอหนที่ 23 มีหลายสิ่งที่คลายกับพระเยซูเจา แมวาเมื่อทรงเขารับตําแหนง ประมุขสูงสุดของพระศาสนาจักร พระองคทรงมีอายุมากกวาพระเยซูเจาเมื่อทรงเริ่มเทศนาสั่งสอนถึง 47 ปก็ตาม ทั้ง สองไดทรงจัดเตรียมกระเปาสัมภาระสําหรับการเดินทางไวอยางเรียบรอยและลงตัว เชนเดียวกัน เราทุกคนตองเตรียม กระเปาเดินทางใหพรอมเพราะเราไมรูวาพระเจาจะทรงเรียกเราไปพบพระองคเมื่อใด มหาพรตเปนโอกาสที่ดีที่สุด สําหรับเรื่องนี้ ไมวาเราจะอายุมากหรือนอยไมใชเรื่องสําคัญ เพราะมหาพรตเปนชวงเวลาแหงการเดินทาง ที่มุงตรงไป ยังปสกาซึ่งเราทุกคนตองทําทุกป จนกระทั่งเราผานประตูแหงความตายและเขาสูชีวิตนิรันดร ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันอังคาร ที่ 19 กุมภาพันธ ค.ศ.2013 แนวทางที่พระเยซูเจาวางไวเพื่อนําเราไปสูความ ศักดิ์สิทธิ์หรือการเปนนักบุญในพระวรสาร คือ “บุญ ลาภหรือความสุขแทแปดประการ” นั่นเอง ความสุข แทเหลานี้ใหภาพที่ชัดเจนของลักษณะคริสตชนที่ดี และควรจะเปน แตนาเสียดายที่มีคริสตชนจํานวนไม มากนักสามารถพูดไดอยางเต็มปากวาพวกเขาดําเนิน ชีวิตตามแนวทางของความสุขแทเหลานี้ ความสุขแทเปนเครื่องบงชี้วาเราเปนสวนหนึ่งของพระ อาณาจักรสวรรค คําวา “พระอาณาจักรสวรรค” ในที่นี้ไมไดหมายความเพียงแคสถานที่ที่เราจะไปอยูกับพระเจาใน โลกหนาหรือชีวิตนิรันดรหลังความตายเทานั้น แตหมายถึงสังคมที่เราเปนสวนหนึ่งในเวลานี้ดวย เมื่อเราดําเนินชีวิต สอดคลองกับคุณคาเหลานี้ สังคมของเราจะเปนสังคมที่เต็มไปดวยความจริง ความรัก สันติสุข ความเห็นอกเห็นใจ ความยุติธรรม เสรีภาพ และการแบงปน คุณลักษณะเหลานี้สะทอนใหเห็นการประทับอยูของพระเจา ใจความสําคัญของความสุขแทคือวา เราจะเปนผูมีความสุขที่แทจริงได เมื่อเรารูวาชีวิตของเราขึ้นอยูกับพระเจาและ เพื่อนพี่นองชายหญิงของเรา เมื่อเราดําเนินชีวิตตามแนวทางที่พระเยซูเจาทรงเชื้อเชิญใหเราดําเนินตาม พระเยซูเจา บอกเราอยางชัดเจนวา ผูที่เปนสุขคือ ผูมีใจยากจน ซึ่งหมายถึง ผูที่ตระหนักถึงความขาดตกบกพรองและความ เปราะบางของตัวเอง ตระหนักดีวาพวกเขาตองการความชวยเหลือและพลังจากพระเจา พวกนี้จะตรงกันขามกับพวก ที่อางวาตนเองเปนอิสระจากพระเจาและสามารถควบคุมชีวิตของตัวเองได ผูเปนทุกขโศกเศรา หมายถึงผูกําลัง เดือดรอนและทุกขใจไมวาจะดวยเหตุผลใดก็ตาม พวกนี้จะไดรับความบรรเทาใจและการปลอบโยนจากพระเจาและ กลุมคริสตชนที่พวกเขาเปนสวนหนึ่ง ผูมีใจออนโยน เปนผูที่เขาหาคนอื่นดวยความเอาใจใส ดวยความเห็นอกเห็นใจ และความออนหวานละมุนละมอม เปนผูที่ตระหนักถึงความตองการของคนอื่น ผูหิวกระหายความชอบธรรม เปนผูที่ พยายามทําทุกอยางไมวาจะแลกดวยอะไรก็ตาม บางครั้งอาจตองแลกดวยชีวิต เพื่อทุกคนจะไดรับสิ่งที่เหมาะสมกับ ศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของเขา ผูมีใจความเมตตา เปนผูที่มีความเขาอกเขาใจและใหอภัยแกทุกคนที่อยูรอบขางพวก เขา ผูมีใจบริสุทธิ์ ความบริสุทธิ์ในที่นี้ไมไดหมายถึงความบริสุทธิ์ทางเพศ แตหมายถึงความเรียบงาย ปราศจากความ ซับซอน ปราศจากอคติ จึงไมใชเรื่องแปลกที่บุคคลเหลานี้จะไดเห็นพระเจา เพราะวาสําหรับพวกเขาการประทับอยู ของพระเจาปรากฏชัดในทุกคนและทุกประสบการณชีวิต ผูสรางสันติ เปนบุคคลที่พยายามทําลายกําแพงที่แบงแยก ผูคน ไมวาจะเปนชนชั้น เชื้อชาติ ศาสนา หรืออะไรก็ตามที่กอใหเกิดความขัดแยงระหวางกลุมชน จึงไมใชเรื่องแปลก


เชนเดียวกันที่บุคคลเหลานี้จะไดชื่อวาเปนบุตรของพระเจา พระเจาทรงสงพระเยซูเจามาประทับอยูทามกลางเราเพื่อ ทําลายกําแพงที่กั้นระหวางพระเจาและประชากรของพระองค และกําแพงที่เกิดขึ้นระหวางประชากรของพระองคเอง ดวย ผูถูกเบียดเบียนขมเหงเพราะความชอบธรรม แนนอน การเบียดเบียนขมเหงในตัวมันเองไมไดเปนประสบการณที่ นายินดีและอาจสงผลใหสูญเสียชีวิตได แตเปนบุญของผูที่มีความเขมแข็งและกลาหาญที่จะใหคุณคาของความจริง ความรัก และความยุติธรรมอยูเหนือสิ่งอื่นใดหมด แมแตชีวิตของตนเอง มีนักบุญหลายทานที่เรามาใหเกียรติในวันนี้ เปนมรณสักขี เปนผูที่สละชีวิตของตนเองเพื่อปกปองความจริง ความถูกตอง ความรัก และความยุติธรรม บุญราศี มรณสักขีแหงสองคอนเปนตัวอยางที่ดีสําหรับเราทุกคนในเรื่องนี้ นี่แหละคือรูปแบบคริสตชนที่พระเยซูเจาอยากจะใหเราเปนและทําใหหลายคนไดเปนนักบุญมาแลว ถาการไมทําสิ่งที่ ผิดถือวายังไมเพียงพอสําหรับคริสตชนที่ดี เขาตองทําในสิ่งที่ดีและถูกตองดวย ความสุขแทแปดประการนี่แหละที่บอก เราวาอะไรคือสิ่งที่ดีและถูกตองที่เราควรทํา ซึ่งไมใชเพียงแคกิจการภายนอกเทานั้น แตทาทีภายในที่เราตองมีดวย ดังนั้น ความสุขแทแปดประการจึงเปนแนวทางที่ทําใหเรามั่นใจไดวาเมื่อถือตามแลว เราจะไดเปนนักบุญอยางแนนอน ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันพุธ ที่ 20 กุมภาพันธ ค.ศ.2013 “จงฉีกใจของทาน มิใชฉีกเสื้อผา” (ยอล 2:13) ใน เทศกาลมหาพรต พระศาสนจักรเรียกรองเราแตละคน ใหเปนทุกขกลับใจอีกครั้งหนึ่ง การเรียกนี้มุงเปามาที่ เราทุกคน ไมมีใครยกเวน ไมวาเราจะคิดวาเราดีขนาด ไหน แตเพราะความออนแอของเรา เราทุกคนเปนคน บาปดวยกันทั้งนั้น เราจําเปนตองเปนทุกขกลับใจ ซึ่ง เปนสิ่งที่เราแตละคนตองทําอยางเรงดวน เพราะวาเรา ไมรูวาความตายจะมาถึงเราเมื่อใด เรารูวาสักวันหนึ่ง เราตองจากโลกนี้ไป แตไมมีใครรูวาตนเองจะไปวัน ไหนและเวลาใด ดวยเหตุนี้ เราตองเตรียมตัวใหพรอม อยูเสมอ การเปนทุกขกลับใจหมายถึง การหันหนีจาก บาปและหันกลับไปหาพระเจา มิสซาแตละวันใน ระหวางเทศกาลมหาพรตเปนวิถีทางที่ดีที่สุด ที่จะชวยเราใหเปนทุกขกลับใจไดอยางแทจริง ในบทอานประจําวันเราจะ ไดยินสิ่งที่พระเจาทรงมีประสงคสําหรับเราแตละคน ในมิสซาเราสามารถวอนขอพระพรและพระหรรษทานที่จําเปน จากพระเจา เพื่อเราจะสามารถดําเนินชีวิตตามสิ่งที่เราเรียนรูจากบทอานตางๆ เหลานั้น เทศกาลมหาพรตจึงเปน “เวลาที่เหมาะสม” (2 คร 6:2) และเปน “เวลาแหงความรอดพน” (2 คร 6:2) ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันพฤหัสบดี ที่ 21 กุมภาพันธ ค.ศ.2013 ในพระวรสารเราจะพบวาพระเยซูเจาไดทรงทํานายถึงการ สิ้นพระชนมของพระองคและทรงสัญญาวาจะกลับคืนชีพในวันที่ สาม แตการกลับคืนพระชนมชีพของพระองคไมไดมีความหมาย อะไรมากนัก สําหรับบรรดาศิษยของพระองคในขณะนั้น พวกเขารู เพียงวาพระอาจารยของพวกเขากาลังจะจากพวกเขาไปอยางไมมี วันกลับและพวกเขาไมสามารถหยุดยั้งเหตุการณนี้ได การแสดงองค อยางรุงโรจนเปนเครื่องมืออันหนึ่งที่จะทําใหเปโตร ยากอบและ ยอหน มั่นใจและเขาใจความหมายที่ลึกซึ้งของการสิ้นพระชนมของ พระเยซูเจาที่วา..มันจะตองนําไปสูชีวิตใหม แมวาบรรดาอัครสาวก อาจจะยังไมเขาใจในเรื่องตาง ๆ มากนัก แตพวกเขาไมสงสัยวา พระองคทรงเปนพระบุตรของพระเจา หลังจากที่พระเยซูเจาทรง กลับคืนพระชนมชีพแลว พวกเขาจึงเขาใจอยางชัดเจนวาจริง ๆ แลวพระอาจารยของพวกเขา คนที่เคยดําเนินชีวิตอยูในโลกนี้พรอม กับพวกเขา เปนพระเจาและพระผูชวยพวกเขาใหรอดพน บางครั้งชีวิตของเราก็ไมตางจากบรรดาศิษยของพระเยซูเจา ในสมัยเริ่มแรกเทาใดนัก เราอาจประกาศยืนยันความเชื่อของเราทุกอาทิตย แตก็มีหลายสิ่งหลายอยางที่เรายังไมเขาใจ อยางถองแทและเกิดความสงสัย บางคนยิ่งอานพระคัมภีรมากขึ้น ก็รูสึกวาตนเองสับสนมากยิ่งขึ้น ไมรูจะอธิบายใหคน อื่นเขาใจไดอยางไร คําสอนหรือขอเรียกรองของพระเยซูเจาหลายครั้ง เปนคําพูดที่ตรงกันขามกับความรูสึกของคน ทั่วไป ตรงกันขามกับคานิยมของโลกสมัยปจจุบัน แตสิ่งหนึ่งที่เราไมควรลืมคือ แมวาบรรดาศิษยของพระเยซูเจาไม เขาใจตัวตนที่แทจริงของพระเยซูเจาและคําสั่งสอนของพระองคในขณะนั้น แตพวกเขาพยายามแสวงหาคําตอบและ ความหมายที่แทจริงของสิ่งที่พวกเขายังไมรูอยูเสมอ และเมื่อเวลาผานไปพวกเขาก็สามารถเขาใจสิ่งนั้นในที่สุด เราแต ละคนควรจะเปนเชนนั้นดวยเหมือนกัน ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันศุกร ที่ 22 กุมภาพันธ ค.ศ.2013 เทศกาลมหาพรตเปนโอกาสดีอันหนึ่งที่เราจะไดเรียนรูจักพระ เยซูเจา และบทบาทของพระองคในชีวิตของเราและในพระศา สนจักรมากขึ้น ในบทอานจากหนังสือปฐมกาลบอกเราเกี่ยวกับ อับราฮัม บิดาแหงความเชื่อของเรา ในฐานะมนุษยคนหนึ่งอับ ราฮัมเองคงไมสามารถเขาใจทุกสิ่งทุกอยางที่พระเจาไดทรง กระทําในชีวิตของทาน โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อพระเจาทรงสั่งให ทานถวายบูชายัญอิสอัคแดพระองค เพราะถาอิสอัคตองตาย จากทานไปจริง ๆ ความหวังของการที่จะเปนบิดาของคน มากมายก็จะดับสูญไปดวย แตลักษณะเดนอันหนึ่งของอับราฮัมคือ แมวาทานจะสงสัย ทานยังคงไววางใจในความรัก และพระเมตตาอันหาขอบเขตมิไดของพระเจา นี่คือบทเรียนอันหนึ่งที่เราไดจากเทศกาลมหาพรต จงพยายามเรียนรูที่ จะไววางใจในพระเจา แมเมื่อเวลาที่เรามีความสงสัย แนนอน สิ่งนี้ไมใชเรื่องงายที่จะทํา แตเราตองพยายามทํา ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันเสาร ที่ 23 กุมภาพันธ ค.ศ.2013 พระศาสนจักรเชื้อเชิญเราใหประกาศความเชื่อในพระเจาผูทรงรักเรา และสัมผัสชีวิต “พระสัมผัสเราทุกวัน พระยึดมั่นในคําสัญญา”เรารูวา แผนการของพระเจาไมใชแผนการของเราเสมอไป ดวยเหตุนี้ ควรอยาง ยิ่งที่เราจะมีความไววางใจในพระเจา แมในเวลาที่เรามีความทุกข ยากลําบากใจ ในยามที่หลายสิ่งหลายอยางไมไดดําเนินไปอยางที่เรา คาดคิด เวลาแบบนี้แหละเปนเวลาที่ทาทายความเชื่อและความ ไววางใจในความรักพระเจาที่มีตอเรา เราควรที่จะตระหนักถึงความรัก ของพระเจาแมเมื่อเราพบวาตนเองอยูในสถานการณที่ไมพึงปรารถนา ในจดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวฟลิปป บอกเราวา เราตองดาเนิน ชีวิตดวยความไววางใจในพระเจาอยางลึกซึ้ง ทานชี้ใหเห็นวาโดยทาง พระเยซูคริสตเจา พระเจา “จะทรงเปลี่ยนรูปรางอันต่ําตอยของเราใหเหมือนพระกายอันรุงโรจน” ของพระบุตรของ พระองค นี่เปนคําสัญญาที่มีลักษณะเดียวกันกับคําสัญญาที่พระองคไดใหกับอับราฮัม และพระองคก็เชื้อเชิญเราใหมี ความเชื่อเชนเดียวกับอับราฮัมดวย ในระหวางเทศกาลมหาพรต เปนโอกาสดีที่เราจะพิจารณาไตรตรองเปนพิเศษถึง ชีวิตของเราอยางลึกซึ้ง เพื่อวาทีละเล็กทีละนอยเราจะเขาใจวาพระเจาทรงประทับอยูกับเราเสมอ ขอพระจิตเจาสอง สวางจิตใจของเราเพื่อเราจะสามารถเขาใจวิถีทางของพระเจาในชีวิตประจําวันของเรา ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันอาทิตย ที่ 24 กุมภาพันธ ค.ศ.2013 เมื่อพระเยซูเจาทรงบอกบรรดาศิษยวา “บุตรแหงมนุษยจะตองรับทรมาน เปนอันมาก จะถูกบรรดาผูอาวุโส มหาสมณะ และธรรมาจารยปฏิเสธไม ยอมรับ และจะถูกประหารชีวิต แตจะกลับคืนชีพในวันที่สาม” (ลก 9:22) การทํานายนี้ไมใชขาวดีสําหรับบรรดาศิษยของพระเยซูเจา ผูซึ่งคาดหวังวา ในฐานะพระเมสสิยาห กษัตริยผูยิ่งใหญของชาวอิสราเอล พระองคจะทรง ทําลายกองทัพของชาวโรมันและสถาปนาอาณาจักรอิสราเอลขึ้นมาใหม เมื่อไดยินถอยคําเหลานี้ ศิษยหลายคนคงเริ่มคิดทบทวนอีกครั้งวา พระเยซู เจาทรงเปนพระเมสสิยาหที่ทุกคนรอคอยเปนเวลานานแสนนานจริงหรือ เปลา? พระองคทรงเปนผูรับเจิมที่พระเจาทรงสงมากอบกูประชากรของ พระองคจริงหรือไม? เราควรติดตามพระองคเขาไปในกรุงเยรูซาเล็มตอไป หรือวาเราควรถอยกลับกอนที่ทุกอยางจะสายเกินไป? แปดวันตอมา พระ เยซูเจาทรงพาเปโตร ยอหน และยากอบ ซึ่งเปนผูนํากลุมอัครสาวก ขึ้นไป บนภูเขาเพื่ออธิษฐานภาวนา ตาฝายจิตของอัครสาวกทั้งสามคนไดถูกเปด ออกและสามารถมองเห็นสถานภาพที่แทจริงของพระเยซูเจาซึ่งตาฝายกายมองไมเห็น พวกเขาไดเห็นโมเสสและเอลี ยาหยืนอยูเคียงขางพระองคและไดยินเสียงของพระเจาผูไมอาจแลเห็นไดดังออกมาจากเมฆวา “ทานผูนี้เปนบุตรของ เรา ผูที่เราไดเลือกสรร จงฟงทานเถิด” (ลก 9:35) นี่เปนคํายืนยันที่พวกเขาตองการมากที่สุด พระเยซูเจาทรงเปนผูที่ ชาวอิสราเอลทุกคนกําลังรอคอยจริง ๆ สวรรคเปนพยานถึงเรื่องนี้ดวยตนเอง เวลานี้พวกเขาพรอมที่จะฟงและติดตาม พระองคบนเสนทางแหงความทุกขยากลําบากและความตายเขาไปในกรุงเยรูซาเล็ม พวกเขาพรอมที่จะเผชิญกับทุกสิ่ง ที่จะเกิดขึ้น เพราะพวกเขามั่นใจวาพระเจาทรงอยูเคียงขางพระเยซูเจา ชัยชนะสุดทายจะตองเปนของพระองคอยาง แนนอน ในชีวิตของเรา บางครั้งอาจรูสึกสับสน หวาดกลัว สงสัย และถามตนเองวา “พระเจาทรงอยูที่ไหน?” ลองนึก ถึงสัตบุรุษที่มีประสบการณเกี่ยวกับชีวิตซึ่งเปนที่สะดุด ความไมซื่อสัตย และความโลภที่ไมมีสิ้นสุดของผูนําพระศาสน จักร และพวกเขาถามเราวา “พระเจาสามารถประทับอยูในสถานที่เชนนี้ไดอยางไร?” หลายคนในพวกเขาเลิกเชื่อใน พระเจาและหันหลังใหวัดไปเลย ลองนึกถึงคนที่ตกใจ หรือผิดหวังอยางรุนแรง หรือตกเปนเหยื่อของความอยุติธรรม และการเลือกที่รักมักที่ชังของผูนําในสังคมที่เขาอาศัยอยู พวกเขาไปสมัครงานและคนที่มีคุณสมบัติและความสามารถ นอยกวาพวกเขาไดทํางานนั้น เพราะเขาเหลานั้นเปนเด็กฝากหรือเปนญาติกับเจาหนาที่บางคนในสํานักงานนั้น พวก เขาเห็นผูคนมากมายที่กําลังกาวหนาในสังคมโดยทางลัดและใชวิธีการไมถูกตองและอยุติธรรม แลวพวกเขาถามเราวา


“พระเจาทรงอยูที่ไหน?” พี่นองที่รัก เมื่อตองเผชิญหนากับสิ่งตางๆ เหลานี้ บางครั้งเราอาจรูสึกเหมือนวาโลกทั้งโลก กําลังถลมทลายลงมาบนศีรษะของเรา ถาเรายังคงรูสึกแบบนี้ พอคิดวาถึงเวลาแลวที่เราตองขึ้นไปบนภูเขาแหงการ อธิษฐานภาวนาและวอนขอพระเจาใหเปดตาของเราเพื่อมองเห็นความจริงที่เหตุการณตาง ๆ เหลานั้นบดบังจาก สายตาของเรา เมื่อพระเจาทรงใหเรามองเห็นสิ่งที่กําลังรอคอยเราในโลกหนา เราจะรูทันทีวาความทุกขยากลําบาก ทั้งหลายบนโลกนี้เปนเพียงแคทางผานเทานั้นเอง ผลที่ตามมาคือ เราจะสามารถยอมรับมรสุมชีวิตที่พัดกระหน่ําเขามา ในชีวิตของเราอยางไมหยุดหยอนไดโดยตระหนักวาพระเจาทรงอยูเคียงขางเราเสมอ ขอใหพระสิริรุงโรจนที่พระเยซู เจาทรงแสดงใหอัครสาวกทั้งสามคนไดเห็นลวงหนา เปนกําลังใหเราในการแบกกางเขนของตนและติดตามพระองคไป ในแตละวัน โดยมั่นใจวาผานทางกางเขนของเทศกาลมหาพรตเราจะพบความรอดพนที่พระเยซูเจาทรงเตรียมไว สําหรับเราพรอมกับการกลับคืนพระชนมชีพของพระองคในวันปสกาอยางแนนอน ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันจันทร ที่ 25 กุมภาพันธ ค.ศ.2013 ในชีวิตของเราแตละคน หลายครั้งเราอาจรูสึกสับสน หวาดกลัว และสงสัย เราถามตนเองบอย ๆ วา “พระ เจาทรงอยูที่ไหน?” ประสบการณในชีวิตของแตละคนที่ ผานมา อาจพบกับความผิดหวังซ้ําแลวซ้ําอีกเปนเหยื่อ ของความอยุติธรรม สองมาตรฐานอยูเสมอ อาศัยอยูใน สังคมหนาไหวหลังหลอก เลือกที่รักมักที่ชัง ความไม ซื่อสัตย และความโลภไมมีที่สุดของผูคน เมื่อตอง เผชิญหนากับสิ่งเรื่องราวที่ผานชีวิตเขามามากมาย บางครั้งรูสึกเหมือนวาโลกทั้งโลกกําลังถลมทลายลงมาบนศีรษะ ของเรา เมื่อไรก็ตามที่เกิดคําถามวา “พระเจาทรงอยูที่ไหน?” เมื่อนั้น ถึงเวลาแลว ที่เราตองขึ้นไปบนภูเขาแหงการ อธิษฐานภาวนา เพื่อวอนขอพระเจาใหเปดตาของเราใหมองเห็นความจริง ความจริงเบื้องหลังเหตุการณตาง ๆ ที่ บางครั้งสายตาของเรามองไมเห็น เราจะรูวาความทุกขยากลําบากทั้งหลายบนโลกนี้ เปนเพียงแคทางผานเทา นั้นเอง เราจะสามารถยอมรับมรสุมชีวิตที่พัดกระหน่ําเขามาในชีวิตของเราอยางไมหยุดหยอนไดก็ตอเมื่อตระหนักวา พระเจาทรงอยูเคียงขางเรา เปนกําลังใหเราแบกกางเขนติดตามพระองคไปในแตละวัน โดยมั่นใจวาผานทางกางเขน เราจะพบความรอดพน ที่พระเยซูเจาทรงเตรียมไวสําหรับเราอยางแนนอน ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันอังคาร ที่ 26 กุมภาพันธ ค.ศ.2013 นักบุญวินเซน เดอ ปอล เปนบุคคลที่โลกรูจัก ในฐานะ ผูดูแลเอาใจใสคนยากจนเปนพิเศษ ในป ค.ศ. 1885 สมเด็จพระสันตะปาปาเลโอที่ 13 ไดทรงประกาศแตงตั้ง ทานใหองคอุปถัมภ งานดานเมตตากิจทุกอยางในพระศา สนจักร เพื่อเปนการระลึกกิจการตาง ๆ ที่ทานไดทําเพื่อ คนยากจนทั้งหลาย ทานไดรับเกียรติสูงสงนี้ไมใชเพียง เพราะวา ทานไดชวยเหลือคนยากจนเทานั้น แตเพราะ แนวทางและวิธีการที่ใชเพื่อรับใชพวกเขาดวย ทานไมได รับใชคนยากจนเพียงใหงานที่กําลังทําเสร็จ ๆ ไป แต ทานรักพวกเขาและรับใชพวกเขาอยางสุดความสามารถของทาน ทานทํางานแตละอยางดวยความตั้งใจและเอาใจ ใส โดยผานการรําพึงไตรตรองและอธิษฐานภาวนาเปนเวลานานแลว ทานไมเคยลงมือทําสิ่งใดแบบสงเดชตามบุญตาม กรรม ทานจะทําเมื่อมั่นใจวาสิ่งนั้นสอดคลองกับพระประสงคของพระเจา เมื่อทานเริ่มทํางานนั้น ทานจะดําเนินการ อยางดี หาคนที่เหมาะสมที่จะทํางานนั้น แสวงหาแหลงทุนที่ชวยสนับสนุน ดูแลเอาใจใสใหงานนั้นเติบโต จนกระทั่ง สามารถยืนอยูไดดวยตนเองอยางมั่นคง จากนั้นทานจึงคอย ๆ ถอนตัวและคอยชวยเหลืออยูหาง ๆ ทานใหคําแนะนําที่ นาประทับใจในการประชุมกับผูรวมงานครั้งหนึ่งวา “อยาพอใจเพียงเพราะทานไดทําสิ่งดี ๆ เทานั้น แตจงทํามันใน วิถีทางที่พระเจาทรงปรารถนาดวย นั่นคือ พยายามทํามันใหสมบูรณที่สุดเทาที่ทานจะสามารถทําได” ทานเรียกรอง ใหสมาชิกในคณะและผูรวมงาน ปฏิบัติตอคนยากจน ประหนึ่งวาเปน “เจานาย” ของตนเอง และชี้ใหพวกเขาเห็นวา เมื่อใดก็ตามที่พวกเขารับใชคนยากจน พวกเขากําลังทํางานนั้นเพื่อพระเจา ทานบอกวา “เราตองทํางานของเราเพื่อ พบพระเจาในงานนั้น มากกวาที่จะทําเพียงเพื่อใหมันเสร็จ ๆ ไป” คติพจนของทานคือ “ใหเรารักพระเจาดวยหยาด เหงื่อแรงกายของเรา” สําหรับทานความรักไมไดเปนเพียงคําพูดที่สวยหรู แตเปนการกระทํามากกวา นั่นคือ ถาเรารัก พระเจา เราตองทํางานเพื่อพระองค ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันพุธ ที่ 27 กุมภาพันธ ค.ศ.2013 “อยาพอใจเพียงเพราะทานไดทําสิ่งดี ๆ เทานั้น แตจงทํามันในวิถีทางที่ พระเจาทรงปรารถนาดวย”นี่เปนคําพูดที่นักบุญวินเซน เดอ ปอล เรียกรองตอเราแตละคน ใหแสดงความรักตอพระเจาดวยการรับใชคน ยากจนที่ตองการความชวยเหลือจากเรา งานรับใชคนยากจนไมใชเรื่อง งายเพราะงานนี้เรียกรองความรักและความเสียสละเปนอยางมาก ไมใชเพียงแคการทําใหเสร็จ ๆ ไป แตเราตองรักและรับใชพวกเขาอยาง สุดความสามารถทําดวยความตั้งใจและเอาใจใส โดยผานการรําพึง ไตรตรองและอธิษฐานภาวนาเพื่อใหสอดคลองกับพระประสงคของพระ เจาความรักไมไดเปนเพียงคําพูดที่สวยหรู แตเปนการกระทํามากกวา นั่นคือ ถาเรารักพระเจา เราตองทํางานเพื่อ พระองค“ใหเรารักพระเจาดวยหยาดเหงื่อแรงกายของเรา”การทําเชนนี้ไมใชเรื่องงาย แตดวยพระหรรษทานจากพระ เจา ทุกสิ่งทุกอยางเปนไปไดเสมอ ใหเราอธิษฐานภาวนาตอพระเจา โดยเฉพาะในชวงเทศกาลมหาพรตนี้เพื่อการแสดง ความรักของเราตอพระเจาในการรับใชเพื่อนพี่นองที่อยูรอบขางเราดวยความเอาใจใสอยางสุดความสามารถของ เรา จะสอดคลองกับพระประสงคของพระเจาเพื่อพระนามและพระสิริรุงโรจนของพระองค ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันพฤหัสบดี ที่ 28 กุมภาพันธ ค.ศ.2013 กอนที่พระเยซูคริสตเจาจะทรงเริ่มดําเนินภารกิจการไถ กูมวลมนุษย พระองคทรงใชเวลา 40 วัน ปฏิบัติดังนี้ -ทรงเตรียมตัวที่จะอุทิศตนเพื่อความรอดของมนุษย ให ชีวิตของพระองคเปนทาน ไมใชใหเพียงสิ่งของเปนทาน เทานั้น -ทรงภาวนาติดตอกับพระบิดาเจา เพื่อไตรตรองพระ ประสงคของพระองคเกี่ยวกับแผนการแหงการไถกู มนุษยชาติ -ทรงอดอาหาร เพื่อยืนยันวา สิ่งสรางและปจจัยสี่ ทั้งหลาย ไมสําคัญกวาพระผูสราง ทาทีที่พระองคทรงปฏิบัติดังกลาวนั้น เปนรูปแบบและแนวทางที่คริสตชน จะตอง พิจารณาไตรตรอง พรอมทั้งกลับใจ เปลี่ยนแปลงชีวิตของตนในประเด็นดังตอไปนี้ 1.การใหทานดวยชีวิต นี่คือทาทีตอมนุษย 2.การอธิษฐานภาวนา นี่คือทาทีตอพระเปนเจา 3.การอดอาหาร นี่คือทาทีตอสิ่งสราง เราจําเปนตองพิจารณาไตรตรองอยางจริงจังในเรื่องดังกลาว เพื่อใหเขาถึงจิตตารมณตามพระวรสารอยางแทจริงและ ดําเนินชีวิตใหสอดคลองไมเพียงเฉพาะในเทศกาลมหาพรต แตจิตตารมณมหาพรตนี้จะอยูกับเรา ทุกวัน ตลอดป ตลอดไป เพราะพระเจาตรัสเรียกเราดวยความรัก ใหมีชีวิตใหมอยูเสมอ ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.