ข้อคิดยามเช้า ประจำเดือน มกราคม 2013

Page 1


ขอคิดยามเชา วันอังคารที่ 1 มกราคม ค.ศ.2013 วันนี้นอกจากเปนวันสมโภชพระนางมารียพระชนนี พระเจาและวันขึ้นปใหมแลว วันนี้ยังเปน “วัน สันติภาพสากล” อีกดวย พระวรสารในวันนี้เหมาะ กับวันสําคัญดังกลาวเพราะเปนเรื่องราวที่เต็มเปยม ไปดวยสันติสุข เพื่อตอบสนองตอบทเพลงของทูต สวรรคที่วา “พระสิริรุงโรจนจงมีแดพระเจาในสวรรค สูงสุดและบนแผนดินสันติจงมีแกมนุษยที่พระองค ทรงโปรดปราน” (ลก 2:14) บรรดาคนเลี้ยงแกะรีบ ออกไปเสาะหาพระกุมารที่มีผาพันพระกายและกําลัง บรรทมในรางหญา พี่นองที่รัก พระศาสนจักรเรียกรองใหเราอธิษฐานภาวนาเพื่อสันติภาพและพยายามสราง สันติภาพใหเกิดขึ้น ดังที่เราทราบกันดีในโลกปจจุบันนี้หลายแหงยังมีสงคราม ความขัดแยง ความรุนแรง เกิดขึ้นอยางไมขาดสาย และผูบริสุทธิ์มากมายหลายลานคนตองตกเปนเหยื่อของสิ่งชั่วรายเหลานี้ เมื่อเราคิดถึง สันติภาพ เราไมควรคิดถึงเพียงความขัดแยงซึ่งเปนหัวขอขาวในหนังสือพิมพฉบับตาง ๆ เทานั้น ปรกติแลว ความขัดแยงระดับใหญมักจะมีสาเหตุมาจากความขัดแยงระดับเล็กกอน นั่นคือ ความขัดแยงที่เกิดขึ้นใน ครอบครัวอาจลามไปสูเพื่อนบาน สูชุมชน สูประเทศ และสูโลกในที่สุด เราอาจไมสามารถทําอะไรไดมากนัก เพื่อสรางสันติภาพในตะวันออกกลางหรือแมแตในสามจังหวัดภาคใตของเรา แตเราสามารถทําบางสิ่งบางอยาง เพื่อสรางสันติภาพในชุมชนที่เราอาศัยอยู เราทุกคนสามารถเปนผูกอใหเกิดการใหอภัยและการคืนดี เราทุกคน สามารถเปนผูสรางสันติภาพ “ผูสรางสันติยอมเปนสุข เพราะเขาจะไดชื่อวาเปนบุตรของพระเจา ” (มธ 5:9) ขอใหความพยายามที่จะสรางสันติภาพเปนหนึ่งในขอตั้งใจของเราในวันขึ้นปใหมนี้ ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันพุธที่ 2 มกราคม ค.ศ.2013 พระศาสนจักรเรียกรองใหเราอธิษฐานภาวนาเพื่อสันติภาพและพยายาม สรางสันติภาพใหเกิดขึ้นที่จริงแลว ความขัดแยง ความไมสงบ การไมมีสันติ มักจะมีสาเหตุเริ่มมาจากความขัดแยงระดับเล็กกอน นั่นคือ ความขัดแยงที่ เกิดขึ้นในครอบครัวซึ่งลามไปสูเพื่อนบาน สูชุมชน สูประเทศ และสูโลกใน ที่สุดเราทุกคนสามารถเปนผูสรางสันติภาพไดโดยเริ่มตนที่ครอบครัวของเรา แตละคนอันตรายที่นากลัวซึ่งคุกคามครอบครัวในสมัยปจจุบันคือการใช เวลาอยูดวยกันนอยเกินไป พอแมหลายคนมัวยุงอยูกับการทํางานจนแทบ ไมมีเวลาใหกับครอบครัว กลับมาถึงบาน ลูก ๆ ก็เขานอนแลว บางคนติด ละครโทรทัศน ติดเกมส ติดการใชอินเตอรเน็ท ฯลฯทําใหไมสนใจคนอื่นใน ครอบครัว ไมมีเวลาใหกับคนที่อยูรอบขาง อยาลืมวาการใชเวลาอยูกับ ครอบครัวเปนวิถีทางหนึ่งที่แสดงใหสมาชิกครอบครัวของเรารูวาเรารักพวก เขา เมื่อเรารักครอบครัว เราตองอุทิศเวลาสวนตัวของเราอยูกับพวกเขาใหมากที่สุดเทาที่เราจะสามารถทํา ได ไมวาจะมีอุปสรรคใด ๆ จะทุกขยากลําบากแคไหน แมวิกฤติตาง ๆ ที่โหมกระหน่ําซัดเขามาซ้ําอีกกี่ครั้งหาก สมาชิกในครอบครัวใหเวลาสําหรับกันและกันมีความรัก เสียสละ และใหอภัยตอกันและกัน พรอมกับความเชื่อ และความไววางใจในความรักของพระเจา ยามใดที่ตองเผชิญหนากับความทุกขยากลําบาก“สุดทายแลวความ รักก็ชนะ” ครอบครัวของเราจึงเปนสถานที่แรกซึ่งจําเปนตองเต็มเติมดวยความรัก เปนสถานที่ซึ่งสมาชิกแตละ คนสามารถสัมผัสความหวงใย ความเห็นอกเห็นใจ และความจริงใจไดเสมอและตลอดไป ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันพฤหัสบดีที่ 3 มกราคม ค.ศ.2013 ในสมัยของพระเยซูเจา โรคเรื้อนเปนโรคที่อันตรายและนากลัวที่สุด เปนบุคคลที่ สังคมรังเกียจ ไมมีใครเขาใกล ถูกกีดกันออกจากสังคม คนที่เปนโรคเรื้อนไมตาง จากคนที่ตายไปแลวเทาใดนัก แตพระเยซูเจาไมไดแสดงทาทีรังเกียจหรือ ขยะแขยง พระองคไมไดรีบหนีไปไกล ๆ เหมือนคนอื่น เพราะกลัวจะติดเชื้อ แม บทบัญญัติของชาวยิวจะหามติดตอสัมพันธกับคนโรคเรื้อน แตพระองคทรง ตอนรับพวกเขา รักษาพวกเขา การรักษาโรคเรื้อนของพระเยซูเจาจึงเปนเหมือน การใหชีวิตใหมแกพวกเขา ทําใหพวกเขาสามารถใชชีวิตที่เหลืออยูอยางชาวยิว ทั่วไปมีสิทธิในการนมัสการพระเจาและกระทํากิจการตาง ๆ ในสังคมไดอยาง ปรกติ พระองคทรงกระทําเชนนี้ เพื่อชี้ใหเราเห็นวา กฎแหงความรักมี ความสําคัญและมีคุณคาสูงสงกวา กฎเกณฑทางสังคมหรือทางพิธีกรรมใด ๆ ทั้งสิ้น ชีวิตและความรอดพนของ มนุษยตองมากอนกฎเกณฑที่สังคมเปนคนกําหนดขึ้น พระเยซูเจาตองการเปลี่ยนทาทีของเราตอกลุมบุคคล ตาง ๆ ที่สังคมรังเกียจ บุคคลที่ไดรับการดูถูกเหยียดหยามโดยเพื่อนรวมสมัยของเรา นี่คือการทาทายจิตใจเรา ในการเลียนแบบองคพระเยซูเจา ในสมัยของเรา “เอดส” ถือไดวาเปนโรครายที่นาสะพรึงกลัวมากที่สุด บาง คนรีบประณามคนที่เปนโรคเอดสวาเปนคนส่ําสอน มักมากในกามารมณ แถมยังบอกวาพระเจาลงโทษพวกเขา ก็ถูกตองแลว พวกเขาไดรับในสิ่งที่พวกเขาสมควรไดรับ แตเราตองไมลืมวาพระเยซูเจาของเราไมเคยตั้งคําถาม ตอคนโรคเรื้อนเกี่ยวกับจริยธรรมของเขา ไมเคยถามวาไดทําบาปหรือความผิดอะไรตอพระเจาจึงมีสภาพ เชนนี้ พระองคไมไดตัดสินพวกเขา เพราะพระองคทรงรูดีวาพระบิดาของพระองคเปนพระเจาผูเปยมดวยความ เมตตาและพรอมที่จะใหอภัย พระองคจึงชวยคนโรคเรื้อนโดยไมมีขอแมใดๆ ทั้งสิ้น แมพวกเขาสวนใหญไม กลับมาขอบคุณพระองคเสียดวยซ้ําการกระทําของพระองคชี้ใหเราเห็นวา ในการใชชีวิตของเราในโลกนี้ เรา ควรมีทาทีอยางไรตอบุคคลที่สังคมรังเกียจทั้งหลาย ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันศุกรที่ 4 มกราคม ค.ศ.2013 เคยไดยินหลายคนบนวาอยากขับไลคนตางชาติที่หลบเขามา ทํางานในประเทศของเราออกไปใหหมด พวกเขาอางวาคน ที่อพยพเขามาโดยไมมีเอกสารถูกตองเหลานั้นเปนคนไมดี ทําผิดกฎหมายของประเทศ พระศาสนจักรไมไดทําตัวเปน ทนายปองกันคนทําผิดกฎหมาย แตพระศาสนจักรสอนวา กฎแหงความรักนั้นสูงสงและยิ่งใหญกวากฎหมายใดๆ ทั้งสิ้น เหมือนที่พระเยซูเจาทรงกระทําเปนแบบอยางใหเรา เพราะฉะนั้น เมื่อเราไดอานพระวรสารที่สอนเรา เชนนี้ เรายังสามารถรังเกียจคนอื่นไดอีกหรือ ? คนที่ติดตามพระเยซูเจาในหนทางแหงความเมตตากรุณาและ ความเห็นอกเห็นใจยังสามารถปฏิบัติตอคนอื่นดวยความดูถูกเหยียดหยามไดอีกหรือ ? ใครก็ตามที่สวดบทขาแต พระบิดาที่วา “โปรดอภัยแกขาพเจา เหมือนขาพเจาใหอภัยแกคนอื่น ”(มธ6:12) ยังกลาที่จะดูถูกและประณาม คนอื่นอีกหรือ? จริง ๆ แลว โรครายที่แพรระบาดในโลกและโดยเฉพาะทามกลางสังคมไทยของเราในขณะนี้ คือ โรคแหงความเกลียดชัง โรคแหงการคิดวาตัวเองชอบธรรมคนเดียวและโรคแหงการปฏิเสธเพื่อนมนุษยคน อื่น ศิษยที่ดีของพระเยซูเจาตองไมมีทาทีและจิตตารมณที่แตกตางไปจากทาทีและจิตตารมณของพระเยซูเจาผู เปนพระอาจารยใหเราวอนขอพระหรรษทานจากพระเจา.. เพื่อวาเราจะไดมีจิตใจที่ออนโยนและเมตตากรุณา เหมือนพระองค ใหสามารถเลียนแบบจิตตารมณและทาทีของพระเยซูเจาที่มีตอคนที่อยูขอบสังคม คนที่สังคม รังเกียจและไมตองการ เราตองพรอมที่จะแสดงใหพวกเขาเหลานั้นรูวาพระเจาทรงรักพวกเขาเหมือนที่ พระองคทรงรักเรา ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันเสารที่ 5 มกราคม ค.ศ.2013 เราโชคดีมากที่เกิดในสมัยนี้เพราะเปนสมัยที่ “พระสิริรุงโรจนขององค พระผูเปนเจาไดทอแสง” (อสย 60:1) ลงมาเหนือเราผานทางพระคริสต เจา ถาเราเกิดในสมัยพันธสัญญาเดิม เราคงเปนคนตางศาสนาที่ “เดินใน ความมืด” (อสย 9:1) แหงบาปและความตาย และไมไดเปนสวนหนึ่ง ของประชากรที่พระเจาทรงเลือกสรรเหมือนปจจุบันนี้ ดวยความสํานึก ในความรักและพระเมตตาของพระเจาที่มีตอมนุษยทุกคน พระศาสน จักรจึงทําการสมโภชพระคริสตเจาแสดงองคเพื่อระลึกถึงการที่พระสิริ รุงโรจนของพระคริสตเจาไดทอแสงมายังนานาชาติที่เปนคนตางศาสนาซึ่งรวมทั้งบรรพบุรุษของเราทุกคนที่ ไมใชชาวอิสราเอลดวยจดหมายนักบุญเปาโลเขียนชาวเมืองเอเฟซัสกลาวไววา “ทานคงรูแลวถึงพระหรรษทาน ซึ่งพระเจาประทานใหขาพเจาประกอบพันธกิจเพื่อประโยชนของทาน ขาพเจารูธรรมล้ําลึกนี้เพราะพระเจา ทรงเปดเผย...พระธรรมล้ําลึกนี้พระองคมิไดทรงเปดเผยใหมนุษยในอดีตรู แตบัดนี้พระเจาทรงเปดเผยเดชะ พระจิตเจาใหแกบรรดาอัครสาวกและประกาศกผูศักดิ์สิทธิ์รูวา คนตางชาติเขามามีสวนรวมในกองมรดก เดียวกัน รวมเปนกายเดียวกัน รวมรับพระสัญญาเดียวกันในพระคริสตเยซูอาศัยขาวดี ” (อฟ 3:2-3,5-6) ที่บาน ของโครเนลีอัสในเมืองซีซารียานักบุญเปโตรไดเปนพยานถึงพระอานุภาพของพระจิตเจาที่เสด็จลงมาเหนือคน ตางชาติ “ขณะที่ขาพเจาเริ่มพูด พระจิตเจาก็เสด็จลงมาเหนือเขาเหลานั้น เหมือนกับที่ไดเสด็จลงมาเหนือเรา ในตอนแรก” (กจ 11:15) ที่เมืองอันทิโอกในแควนปสีเดียนักบุญเปาโลและนักบุญบารนาบัสไดย้ําความจริงนี้ อีกครั้งหนึ่งตอหนาชาวยิวที่อิจฉาพวกทานวา จําเปนที่เราจะตองประกาศพระวาจาของพระเจาใหทานฟงกอน ผูอื่น แตเมื่อทานปฏิเสธไมยอมรับและไมคิดวาตนเหมาะสมจะรับชีวิตนิรันดร เราจึงหันไปหาคนตาง ศาสนา เพราะองคพระผูเปนเจามีพระบัญชาแกเราดังนี้วา ‘เราแตงตั้งทานใหเปนแสงสวางสองนานาชาติ เพื่อ ทานจะไดนําความรอดพนไปจนสุดปลายแผนดิน ’ (กจ 13:46-47) ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันอาทิตยที่ 6 มกราคม ค.ศ.2013 พระคริสตเจา แสงสวางยิ่งใหญของพระเจา ทรงไดรับการเผยแสดงแกคนตาง ศาสนาซึ่งเปนบรรพบุรุษของเรา เราควรขอบคุณชาวอิสราเอลในสมัยนั้น สําหรับพระพรแหงความเชื่อที่เราไดรับผานทางพวกเขา เพราะโดยทางความ เชื่อในพระคริสตเจาและในศีลลางบาปดวยน้ําและพระจิตเจา เราไดเปนสวน หนึ่งของพระศาสนจักร พระกายทิพยของพระคริสตเจาบนโลกนี้และเปน ทายาทรวมสวนชีวิตนิรันดรในเมืองสวรรค พระวรสารโดยนักบุญมัทธิวเลาให เราฟงเกี่ยวกับโหราจารยสามคนที่ติดตามดวงดาวที่นําพวกเขาไปพบพระ กุมารเยซู สําหรับพวกเขาแสงสวางของดวงดาวเปนสัญลักษณของความหวัง ความยินดี และสันติสุข ดวงดาวเปนแสงสะทอนแสงสวางยิ่งใหญที่พระเจา ทรงสงมาเพื่อความรอดพนของมวลมนุษยซึ่งกําลังรอพวกเขาที่ตอนปลายของ การเดินทางที่แสนไกลและยาวนานโดยทางการเสด็จมาบังเกิดเปนมนุษยของพระพระคริสตเจา แสงสวาง ยิ่งใหญไดมาถึงโลกของเรา และผานทางโหราจารยเราไดเห็นแสงแหงความหวัง ความยินดี และสันติสุขมาถึง เรา เหตุการณเหลานี้เตือนใจเราวาเราทุกคนถูกเรียกใหเปนแสงสวางในโลกนี้ดวย “ทานทั้งทั้งหลายเปนแสง สวางสองโลก...แสงสวางของทานตองสองแสงตอหนามนุษย เพื่อคนทั้งหลายจะไดเห็นกิจการดีของทานและ สรรเสริญพระบิดาของทานผูสถิตในสวรรค” (มธ 5:14,16) ใหเราเปดใจรับแสงสวางของพระคริสตเจาและ ปลอยใหแสงสวางของพระองคสะทอนผานตัวเราไปยังคนอื่น จากนั้น ใหเราออกไปแบงปนขาวดี ความหวัง ความยินดี และสันติสุขที่แสงสวางของพระคริสตเจานํามาใหเรากับผูอื่น โดยเฉพาะอยางยิ่งผูที่อยูรอบขางเรา ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี วันสมโภชพระคริสตเจาแสดงองค


ขอคิดยามเชา วันจันทรที่ 7 มกราคม ค.ศ.2013 องคพระผูเปนเจามีพระบัญชาแกเราดังนี้วา ‘เรา แตงตั้งทานใหเปนแสงสวางสองนานาชาติ เพื่อทานจะ ไดนําความรอดพนไปจนสุดปลายแผนดิน’ (กจ 13:46-47) โดยทางการเสด็จมาบังเกิดเปนมนุษยของ พระคริสตเจา แสงสวางยิ่งใหญไดมาถึงโลกของ เรา เราไดเห็นแสงแหงความหวัง ความยินดี และสันติ สุขมาถึงเรา ใหเราเปดใจรับแสงสวางของพระคริสตเจาและปลอยใหแสงสวางของพระองคสะทอนผานตัวเรา ไปยังคนอื่น จากนั้น ใหเราออกไปแบงปนขาวดี ความหวัง ความยินดี และสันติสุขที่แสงสวางของพระคริสต เจานํามาใหเรากับผูอื่น โดยเฉพาะอยางยิ่งผูที่อยูรอบขางเรา เพราะเราทุกคนถูกเรียกใหเปนแสงสวางในโลกนี้ ดวย“ทานทั้งหลายเปนแสงสวางสองโลก...แสงสวางของทานตองสองแสงตอหนามนุษย เพื่อคนทั้งหลายจะได เห็นกิจการดีของทานและสรรเสริญพระบิดาของทานผูสถิตในสวรรค ” (มธ 5:14,16) ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันอังคารที่ 8 มกราคม ค.ศ.2013 “ถาผูใดอยากติดตามเรา ก็ใหเขาเลิกนึกถึงตนเอง ให แบกไมกางเขนของตน และติดตามเรา ผูใดใครรักษา ชีวิตของตนใหรอดพน จะตองสูญเสียชีวิตนั้น แตถา ผูใดเสียชีวิตของตนเพราะเราและเพราะขาวดี ก็จะ รักษาชีวิตได” (มก 8:34-35) วิถีทางของพระคริสตเจา เปนวิถีทางแหงกางเขนที่เรียกรองการสละน้ําใจและ ความตองการของตนเองจะไดมีชองวางในหัวใจเพื่อ คิดถึงคนอื่นมากขึ้น นี่เปนวิถีทางของทุกคนที่ตองการ ติดตามพระองค ขอเรียกรองใหเลิกนึกถึงตนเองพรอมที่จะเสียสละชีวิตของตนเพื่อพระคริสตเจาและขาวดีแหง ความรอดพนที่พระองคทรงประกาศ อาจทําใหเรารูสึกคับของใจไมนอย เชนเรื่องเลาที่วาชายคนหนึ่งพลัดตก หนาผา แตโชคดี เขาสามารถควากิ่งไมไวทัน เลยทําใหเขาหอยอยู ระหวางทองฟาและเหวลึกดวยมือขาง เดียว เขารองขอความชวยเหลืออยางสุดกําลัง ทันใดนั้นมีเสียงดังมาจากดานบนวา “นี่พระเจานะ เราจะชวย ทาน ปลอยมือสิ” หลังจากคิดและชั่งใจสักครูหนึ่ง ชายคนนั้นเลยรองดังขึ้นอีกวา “นอกจากพระเจาแลว มีใคร อยูขางบนอีกไหม?” หลายครั้งเรามักจะคิดวาวิถีทางของพระเจาใชไมไดหรือไมเหมาะสมกับสถานการณที่เรา กําลังเผชิญอยู ทวา การเปนศิษยของพระเยซูเจานี่เปนกระบวนการแหงการกลับใจอยางตอเนื่องและตองใช เวลาเพื่อเขาใจในพลังหรืออานุภาพของการสละตนเองและการรับใช เราตองพรอมที่จะปลอยหรือตัดสละสิ่งที่ โลกนิยมชมชอบและเห็นวาควรปฏิบัติ เราตองวางใจในพระเจามากกวาไวใจในตนเองและสิ่งของตาง ๆ ในโลก นี้ แลวเราสามารถทําสิ่งนี้ไดอยางไร? เริ่มตนโดยทันที คือ ใหเวลา .. เปดใจรับ และพยายามทําความเขาใจ คําสั่งสอนของพระเยซูเจามากขึ้นเรื่อย ๆ ในแตละวันของชีวิตเรา ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันพุธ ที่ 9 มกราคม ค.ศ.2013 แมนักบุญเปโตรผิดพลาดดวยการปฏิเสธพระเยซูเจาถึงสามครั้ง แตทาน ไมเคยหยุดที่จะติดตามพระองคแตทานกลับใจ เริ่มตนใหม และพยายาม กาวเดินตอไปที่สุด พระเยซูเจาไดทรงเลือกทานใหเปนหัวหนานายชุมพา บาลหรือประมุขของพระศาสนจักร และทานไดสละชีวิตของตนเพื่อ พระองค ตลอดชวงเวลาดังกลาวพระเยซูเจาทรงอยูเคียงขางทาน ใชเวลา ชวยเหลือทานเพื่อจะสามารถกาวเดินบนเสนทางที่พระองคทรงเรียกทาน ตอไป พระเยซูเจาพระองคเดียวกันประทับอยูทามกลางเรา พระองคทรง เรียกเราแตละคนใหติดตามพระองคบนเสนทางแหงการสละตนเองและ การรับใชเพื่อเราจะสามารถรักและรับใชผูอื่นไดมากยิ่งขึ้น พระองคจะ ทรงชวยเหลือเราผานทางพระหรรษทานของพระองค และศีลมหาสนิทที่เรารับในพิธีบูชาขอบพระคุณจะทําให เราเปนหนึ่งเดียวกับพระองคและทําใหเราสามารถกาวเดินบนเสนทางสายนี้ดวยความมั่นใจ ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันพฤหัสบดี ที่ 10 มกราคม ค.ศ.2013 เมื่อพระเยซูเจาเสด็จกลับไปยังเมืองนาซาเร็ธ “ถิ่นกําเนิดของพระองค” (มก 6:1) ชาวเมืองนี้ซึ่งเปนเพื่อนบานแท ๆ ของพระองค กลับปฏิเสธ พระองค? แมพวกเขาไดยินเรื่องราวเกี่ยวกับการเทศนสอนและอัศจรรย ที่พระองคทรงกระทําที่กรุงเยรูซาเล็มและตามหัวเมืองตาง ๆ และที่ เมืองนาซาเร็ธเอง พวกเขาอาจจะรูสึกทึ่งในปรีชาญาณของ พระองค อยางไรก็ตาม ดูเหมือนวาพระองคไมใชวีรบุรุษของพวก เขา พระองคทรงเปนอะไรที่มากเกินกวาที่พวกเขาจะยอมรับได เพราะ ในสายตาของพวกเขาพระองคทรงเปนเพียงสามัญชนธรรมดาคน หนึ่ง เปน “ชางไม ลูกนางมารีย” (มก 6:3) แลวจูๆ พวกเขาตองมา ยอมรับวาพระองคทรงเปนประกาศกที่พระเจาไดทรงสงมาหาพวก เขา นั่นเปนบางสิ่งบางอยางที่ตรงกันขามกับความรูสึกนึกคิดของพวกเขาเหตุผลที่เปนไปไดอีกอยางหนึ่งก็คือ การเทศนของพระเยซูเจาในฐานะ ประกาศกทําใหชาวเมืองนาซาเร็ธไมพอใจในตัวพระองค ถาพระเยซูเจาทรงเปนนักกีฬา นักแสดง หรือนักการเมือง พวกเขาคงไมรูสึกวากําลังถูก คุกคาม พวกเขาอาจภาคภูมิใจในตัวพระองคเสียดวยซ้ําไป แตนี่พระองคทรงกระทํากิจการตอหนาพวกเขาเหมือนประกาศกคนหนึ่งซึ่งสามารถนํา ทั้งพระพรและการลงโทษจากพระเจามาสูพวกเขาได ประกาศกเปนผูแทนของพระเจาและพูดในนามของพระองค สิ่งที่ประกาศกพูดคือความ จริง บอยครั้งความจริงสามารถสรางความเจ็บปวดใจใหผูฟงไดเหมือนกัน โดยเฉพาะอยางยิ่งถาความจริงนั้นเกี่ยวของกับความบกพรองหรือความ ออนแอของเขา เมื่อยอมรับความจริงไมได วิธีการงายๆ ที่หลายคนมักใชคือ ปฏิเสธความจริงนั้น ชาวเมืองนาซาเร็ธเปนคนประเภทนี้แหละ พวก เขาไมกลายอมรับความจริง กลัวพระเยซูเจา เปนเรื่องนาละอายที่พวกเขาเลือกปฏิเสธพระเยซูเจา ผูทรงเปนไมเพียงแคประกาศกผูยิ่งใหญ เทานั้น แตพระบุตรของพระเจาอีกดวยความจริงประการหนึ่งที่เราตองยอมรับก็คือ เวลานี้พระเยซูเจายังคงประทับอยูทามกลางเรา เหมือนที่ พระองคประทับอยูกับชาวเมืองนาซาเร็ธเมื่อสองพันกวาปที่แลว เพียงแตในรูปแบบที่แตกตางกันเทานั้นเอง พระองคตรัสกับเราผานทางพระคัมภีร ที่เราไดฟงในพิธีกรรมตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งในพิธีบูชาขอบพระคุณพระองคทรงสอนเราผานทางคําสั่งสอนตาง ๆ ของพระศาสนจักรและการ เทศนสอนของบรรดาผูแทนของพระองค เรารูสึกกลัวที่ไดยินสิ่งตาง ๆ เหลานี้ไหม? เรากลัววาเราจะตองเปลี่ยนแปลงความคิดและวิถีทางในการ ดําเนินชีวิตหรือไม? เราปฏิเสธคําสั่งสอนที่สําคัญบางอยางของพระศาสนจักรเพียงเพราะมีเนื้อหาที่คอนขางละเอียดออนและขัดแยงกับความ ตองการของเราหรือสังคมโลกปจจุบันเราโนมเอียงที่มักจะชอบแนวคิดทางโลกมากกวาคําสั่งสอนของพระสันตะปาปาและบรรดาพระสังฆราชใช ไหม?ลองพิจารณาดู แลวตอบคําถามเหลานี้ดวยความรูสึกลึก ๆ ภายในจิตใจเราวา วันนี้ เราเปนเหมือนชาวเมืองนาซาเร็ธหรือเปลา?

ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันศุกร ที่ 11 มกราคม ค.ศ.2013 หากตอบกับตัวเองวาเราไมเปนเหมือนชาวนาซาเร็ธในสมัยนั้น เราไม ปฏิเสธและจะไมมีวันปฏิเสธพระเยซูเจา? ทวา ในทุกวันนี้ เราจะเห็น ความขัดแยงตาง ๆ มากมาย สังคายนาวาติกันครั้งที่สองเตือนเราวา การทําแทงเปนการฆาตกรรมอยางหนึ่ง เปนการฆาคนโดยไมมีทาง สู กระนั้นก็ตาม หลายคนในประเทศของเราบอกวา“สิทธิที่จะเลือก” มีความสําคัญมากกวา “สิทธิที่จะมีชีวิต” มันเปนสิทธิสวนตัวของ ผูหญิงที่จะทําอยางนั้นได พระสันตะปาปาเตือนเราเกี่ยวกับวัฒนธรรม แหงความตาย แตหลายคนกลับเห็นดวยกับความคิดที่วามนุษยเปน เจาของชีวิตของตน ดังนั้น เขามีสิทธิที่จะฆาตัวตายได เมื่อมีปญหา เศรษฐกิจหรือความไมเปนระเบียบในสังคมเกิดขึ้น หลายคนมักจะ ตําหนิคนอพยพยายถิ่นฐานจากที่อื่น ทั้งถูกกฎหมายและผิดกฎหมาย แตพระศาสนจักรสอนวา ประชาชนเหลานี้ตองไดรับความเคารพใน ฐานะบุตรของพระเจา และพระเจาคนเดียวเทานั้นที่เปนเจาของแผนดินนี้ บางคนหลงตนเองมากจนมองคนอื่นต่ําไป หมด พวกเขาดูถูกผูปวยโรคเอดส พวกเขาประณามคนที่เปนทาสยาเสพติดและเหยียดหยามชนกลุมนอยและกลุม ชาติพันธุที่แตกตางจากพวกเขา คาทอลิกบางคนประทวงวา พระศาสนจักรไมควรเขาไปยุงเกี่ยวในเรื่องการเมือง อะไร จะเกิดก็ปลอยใหมันเกิด ทําหนาที่ชวยวิญญาณใหรอดอยางเดียวก็พอแลว พวกเขาคิดวาเราอาศัยอยูในสองโลกใน เวลาเดียวกัน นั่นคือ โลกของศาสนาและโลกภายนอก แลวสรุปวา ศาสนาไมควรรุกล้ําเขาไปในกิจการของโลก ภายนอก แตความจริงก็คือ เราอาศัยอยูในโลกอันหนึ่งอันเดียวกัน นั่นคือ โลกของพระเจา ถาเราระลึกอยูเสมอวาพระ เยซูเจายังทรงพระชนมอยูและประทับอยูทามกลางเรา พระองคยังคงประกาศความจริงแกเราตอไป ผานทางพระ คัมภีรและคําสั่งสอนตาง ๆ ของพระศาสนจักร เราตองไมกลัวที่จะเผชิญหนากับความจริง เพราะความจริงเทานั้นที่จะ นําเราไปสูชีวิตนิรันดรและทําใหเราเปนอิสระอยางแทจริง ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันเสาร ที่ 12 มกราคม ค.ศ.2013 วันอาทิตยนี้พระศาสนจักรทําการฉลองพระเยซูเจาทรงรับพิธีลาง ซึ่งเปน การแสดงองคอีกครั้งหนึ่งกอนที่จะทรงกระทําพันธกิจที่ไดรับมอบหมาย จากพระบิดาอยางเปดเผย เพื่อบอกเราวาพระเจาประทับอยูกับพระองค และทรงกําลังทํางานในและผานทางพระองคภาพของพระเยซูเจาที่พระวร สารนําเสนอไมใชเปนภาพของกุมารนอยนารักและไรเดียงสาซึ่งกําลัง บรรทมในรางหญาอีกตอไป แตเปนภาพชายหนุมผูซึ่งตองแบกรับภาระ หนักและความรับผิดชอบสูง ภาระที่พระองคตองแบกคือความหนักของ บาปที่มวลมนุษยไดกระทําผิดตอพระเจา ความรับผิดชอบของพระองคคือ การชดเชยโทษบาปเหลานั้นพระเยซูเจาทรงรับพิธีลางจากนักบุญยอหน ในแมน้ําจอรแดนเพื่อแสดงใหเราเห็นวา พระองคทรงยอมรับ บาปของคนทั้งโลกมาไวบนบาของพระองคดวยเต็มพระทัย แมวาพระองคทรงเปนผูบริสุทธิ์ก็ตาม“นี่คือลูกแกะของพระเจา ผูทรงลบลาง บาปของโลก” (ยน 1:29) การรับพิธีลางของพระเยซูเจาเปนการแสดงออกถึงความสุภาพและการถอมพระองคเพื่อรับใชเราผูซึ่งเปนคน บาปจากน้ําในแมน้ําจอรแดนที่พระองคทรงถูกจุมลงไป พระองคทรงโผลขึ้นมาในฐานะพระผูไถผูเต็มไปดวยพระสิริรุงโรจนพระสุรเสียง ของพระเจาที่ดังลงมาจากสวรรควา “ทานเปนบุตรที่รักของเรา เปนที่โปรดปรานของเรา” (ลก 3:22) เปนการเผยแสดงพระเยซูเจา เพื่อใหมนุษยไดรูจักพระองคอีกครั้งหนึ่ง พระดํารัสของพระเจาที่ตรัสถึงผูรับใชที่ทุกขทนของพระองคที่วา “นี่คือผูรับใชของเรา ซึ่งเรา เชิดชู เราเลือกเขาเพราะเราพอใจเขา” (อสย 42:1) ตามความเชื่อคริสตชนของเราพระเยซูเจาทรงเปน “ผูรับใชที่ทุกขทนของพระเจา” ผูทรงเต็มพระทัย “ยอมรับทุกขทรมานและความอัปยศ” (อสย 53:7) แทนเราเหมือนที่ประกาศกอิสยาหไดทํานายไวการฉลองพระเยซู เจาทรงรับพิธีลางจึงแสดงใหเราเห็นวาพระองคเสด็จมาเปนพระผูไถของเราโดยยอมรับความทุกขทรมานดวยความนบนอบเชื่อฟงตอพระ ประสงคของพระบิดาและความรักที่มีตอเราทุกคน ชีวิตคริสตชนของเราเริ่มตนดวยการรับศีลลางบาป ซึ่งเปนเครื่องหมายสะทอนถึงการ ถอมตนยอมรับวาเราแตละคนเปนคนบาป และผานทางน้ําของศีลลางบาปเราไดรับชีวิตใหมและกลายเปนประชากรใหมของพระเจา ศีล ลางบาปของเราเปนทั้งจุดจบและจุดเริ่มตน กลาวคือ เปนจุดจบของชีวิตเกาซึ่งเปนชีวิตที่เปอนหมองดวยบาปกําเนิดและเปนจุดเริ่มตน ของชีวิตใหมในฐานะบุตรพระเจารวมกับพระเยซูเจา ซึ่งเปนชีวิตที่พระเจาทรงโปรดปราน ยิ่งกวานั้น ศีลลางบาปที่เราไดรับทําใหเรามี สวนรวมในการสิ้นพระชนมและการกลับคืนพระชนมชีพของพระเยซูเจาดวย ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันอาทิตย ที่ 13 มกราคม ค.ศ.2013 ทุกครั้งที่เรามารวมพิธีบูชาขอบพระคุณเรากําลังรวมสวนใน การถวายพระองคเองทั้งครบของพระเยซูเจาบนไมกางเขน เพื่อเปนสินไถแทนมวลมนุษย ทั้งยังเปนการแสดงออกวา เรา ปรารถนาที่จะเปนผูรับใชที่ทุกขทนของพระเจาและพรอมที่ จะยอมรับความทุกขยากลําบากที่จําเปน เพื่อแยกตัวเราเอง ออกจากบาป เพราะการหลีกเลี่ยงบาปนั้นจําตองปฏิเสธ ตนเอง และยอมรับความทุกขยากลําบากเสมอ การเปนคริสต ชนที่ดีตามแบบอยางของพระเยซูเจาจึงเรียกรองการสละ ตนเองและพรอมที่จะแบงปนและชวยเหลือผูอื่นดวย การรวม สวนในพระทรมานของพระเยซูเจาบนโลกนี้ จะทําใหเรามีสวนในพระสิริรุงโรจนของพระองคในโลกหนา เหมือนที่ นักบุญเปาโลบอกเราวา “ถาเราตายพรอมกับพระคริสตเจาแลว เราก็จะมีชีวิตพรอมกับพระองคดวย” (รม 6:8) วันนี้ พระศาสนจักรเรียกเราออกจากถ้ําพระกุมารเพื่อไปยังไมกางเขนของพระผูไถ อยางไรก็ตาม สิ่งนี้ไมไดทําลายความ ยินดี และความสุขที่เราไดรับในวันคริสตมาส แตชี้ใหเราเห็นวาจุดประสงคของการบังเกิดของพระเยซูเจาคือ ชีวิต นิรันดร ซึ่งเปนความหวังของเราทุกคนมาจากพระทรมานและการสิ้นพระชนมของพระองค เปนโอกาสที่เราจะ พิจารณาไตรตรองถึงศีลลางบาปที่เราไดรับเปนพิเศษ ศีลลางบาปไมใชเปนเพียงพิธีกรรมที่ทําใหเราเปนคริสตชน เทานั้น แตเปนจุดเริ่มตนของการเดินทางที่ยาวนานตลอดชีวิตเพื่อไปสูชีวิตนิรันดรดวย ในระหวางการเดินทางนี้เราทุก คนถูกเรียกใหเปนพยานถึงขาวดีดวยชีวิต เปนเกลือดองแผนดิน แสงสวางสองโลก และเจริญรอยตามแบบอยางของ พระเยซูเจา วันนี้ใหเรารื้อฟนความเชื่อของเราในพระองค และความตั้งใจที่จะติดตามพระองค ขอใหศีลมหาสนิทที่เรา จะรับ ทําใหความสัมพันธของเรากับพระเยซูเจา นับวันยิ่งแนนแฟนมากยิ่งขึ้น ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี วันฉลองพระเยซูเจาทรงรับพิธีลาง


ขอคิดยามเชา วันจันทร ที่ 14 มกราคม ค.ศ.2013 เมื่อพูดถึง“ปรีชาญาณ” หรือ “ปญญาสามารถ” หรือ “ความรอบรูจัด เจน” สุดแลวแตใครจะเรียกในพระคัมภีรบอกเราวานี่เปนแนวทางเชิง ปฏิบัติที่เปนรูปธรรมและเกี่ยวของกับวิถีทางในการดําเนินชีวิตที่ถูกตอง และชาญฉลาด เมื่อเรารับศีลกําลัง เราไดรับปรีชาญาณ ซึ่งเปนพระพร ประการหนึ่งของพระจิตเจาแลว ปรีชาญาณนําทางเราใหสามารถปฏิบัติ หนาที่ที่เรารับผิดชอบไดอยางถูกตอง บิดามารดามีหนาที่รับผิดชอบและ ดูแลเอาใจใสลูก ๆ ของตนเองเปนครูคนแรกของลูกในทุกเรื่องแมแตใน เรื่องศาสนา เราแตละคนมีหนาที่รับผิดชอบตอตัวเราเองและมีหนาที่ รับผิดชอบตอคนอื่นดวยเพราะเราดําเนินชีวิตอยูในสังคมเดียวกัน ไมวาจะเปนพระสงฆ นักบวช ซิสเตอรครูบาอาจารย แพทย ตํารวจ และทุกคน ทุกวัย ทุกอาชีพ ความรับผิดชอบตอตนเองของเราเริ่มตนที่ การไตรตรองดูวา อะไรคือคุณ คาที่แทจริงในชีวิตของเรา? อะไรคือเปาหมายชีวิตที่แทจริงของเรา? อะไรคือความใฝฝนของเรา? อะไรคือสิ่งที่เรา ตองการจริง ๆ ในชีวิต? เหมือนที่พระเยซูเจาทรงถามเราในพระวรสารวา อะไรคือขุมทรัพยหรือไขมุกเม็ดงาม ที่เรา กําลังแสวงหาตลอดชีวิตของเรา?

ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันอังคาร ที่ 15 มกราคม ค.ศ.2013 บางคนยืนยันอยางมั่นใจเต็มที่วาสิ่งที่พวกเขาตองการมากที่สุดในชีวิตคือ ความร่ํารวย อํานาจ ชื่อเสียง บารมี เมื่อยี่สิบกวาปที่แลว คนอีสานจํานวน มาก พากันไปทํางานแถบประเทศตะวันออกกลาง บางคนคงเคยไดยินคํา วา “ไปขุดทองซาอุ” หลายคนมีเงินมีทองกลับมา มีฐานะร่ํารวยขึ้น แตก็มี หลายคนที่โดนนายหนาหลอก แทนที่เครื่องบินจะพาไปที“่ ซาอุดิอาร เบีย” กลับพามาที“่ ซาอุดร”แทน หลายคนตองประสบกับครอบครัว แตกแยก ตองเสียที่ดินไรนา เพราะตองขายหรือจํานองเพื่อเอาเงินไปเปน คาประกัน คานายหนา คาตั๋วเครื่องบิน เมื่อกลับมาบานตองเสียเมีย อีก เพราะชวงเวลาที่ตนเองไมอยูบาน เมียเหงาเลยไปมีชู .. เสียทั้งนาเสียทั้งเมีย เรื่องเหลานี้อาจชี้ใหเห็นวาเงินไมใช สิ่งสําคัญที่สุดในชีวิต หลายครอบครัวที่มีฐานะร่ํารวย มีอํานาจ มีอิทธิพล มีคนนับหนาถือตา ชื่อเสียงโดงดัง-คับบาน คับเมือง แตเมื่อมองดูชีวิตทั้งสวนตัวและครอบครัวพวกเขาหลายคนวาวุน ไมมีความสุข ไมมีสันติในใจ ลึก ๆ แลว .. ชีวิตยังขาดอะไรบางอยาง มันเหงา เปลาเปลี่ยว และเควงควางเราแตละคนตางก็สัมผัสในเรื่องเชนนี้มาบางแลวไมมาก ก็นอย ตามประสบการณชีวิตที่ผานมาของเราเรารูดีวา ความรัก ความใกลชิด การใชเวลาใหความสนใจและเอาใจใส กันและกันในครอบครัว เอื้ออาทรตอผูคนที่ใชชีวิตรวมกันในสังคมมีความสําคัญมากกวา .. เหนือกวาสิ่งของนอกกาย เรื่องเหลานี้เปนความรับผิดชอบที่เราแตละคนตองมีใหแกกันและกันนี่คือ ปรีชาญาณ ซึ่งเปนพระพรประการหนึ่งของ พระจิตเจา ปรีชาญาณที่จะนําทางเราแตละวันในการดําเนินชีวิต ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันพุธ ที่ 16 มกราคม ค.ศ.2013 แมแตสําหรับคนที่เฉลียวฉลาด “ความรับผิดชอบ” เปนภาระที่ หนักอยูเสมอ นักบุญเปาโล หนึ่งในบรรดาผูมีปรีชาญาณ บอกเรา วา “พี่นอง เรารูวา พระเจาทรงบันดาลใหทุกสิ่งกลับเปน ประโยชนแกผูที่รักพระองค”(รม 8:28) ปรีชาญาณที่แทจริง ประกอบดวยการตระหนักวา เราขึ้นอยูกับพระเจาอยาง สิ้นเชิง เราจึงตองมอบตัวเองไวในออมพระหัตถของพระองค ทั้งนี้ เพราะ “ความสําเร็จของมนุษยอยูในพระหัตถขององคพระผูเปน เจา” (บสร10:5) และพระองคทรงเปนคําตอบสําหรับทุก สถานการณในชีวิตของเรา “ใจของมนุษยวางแผน แตคําตอบมาจากองคพระผูเปนเจา” (สภษ16:1) ดวยเหตุนี้ เราจึง ตองภาวนาวอนขอความชวยเหลือจากพระองค พรอมกับยอมรับวาทุกสิ่งทุกอยางที่ดี ลวนเปนของประทานจาก พระองค สิ่งเหลานี้ควรเปนความรูสึกของเรา เมื่อเรามารวมถวายสักการบูชาแดพระบิดาพรอมกับพระคริสตเจา การมี สวนรวมในมิสซาเปนเครื่องหมายแสดงใหเห็นวาพระเจาตองมากอนเสมอในชีวิตของเราและเรากําลังดําเนินชีวิต สอดคลองกับพระพรแหงปรีชาญาณที่เราไดรับในศีลกําลังอีกดวย ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันพฤหัสบดี ที่ 17 มกราคม ค.ศ.2013 ในฐานะคริสตชนคนหนึ่ง เราตองตระหนักอยูเสมอวาขุมทรัพย เพียงหนึ่งเดียวที่จะนําเราไปพบความสุขที่แทจริงและทําใหเรา พรอมที่จะสละทุกสิ่งทุกอยางเพื่อเปนเจาของสิ่งที่เราไมสามารถ ประเมินคาไดนี้คือ.. พระเยซูเจา ถาเรายังรูสึกวาเรายังขาดอะไร บางอยางและยังไมมีความสุขกับชีวิตในปจจุบันนี้ นั่นคือ เรายังไม พบกับพระเยซูเจาอยางแทจริง เราอาจเคยไดยินคนอื่นพูดเกี่ยวกับ พระองคหรืออานพระคัมภีรที่ใหขอมูลเกี่ยวกับชีวิตของพระองคแต ชีวิตของเรายังไมเคยมีประสบการณเกี่ยวกับความรักของ พระองค พระองคยังไมไดเปนศูนยกลางชีวิตเราหรือยังไมไดเปนที่ หนึ่งในใจของเรา เมื่อใดก็ตามที่เรารับพระองคในศีลมหาสนิท ใหเราตระหนักถึงความสําคัญของพระองคในชีวิตของ เราและพยายามซึมซับความรักของพระองคที่มีตอเราแตละคน แลวเราจะรูสึกวาตนเองโชคดีและมีความสุขที่ไดเลือก ติดตามพระองคและใหพระองคเปนที่หนึ่งในชีวิตของเรา ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันศุกร ที่ 18 มกราคม ค.ศ.2013 พระเยซูเจาทรงทวีขนมปงเลี้ยงประชาชนผูหิวโหยเพื่อเปนเครื่องหมายที่ชี้ถึง อาหารฝายจิตที่สูงสงกวา ซึ่งพระองคกําลังจัดเตรียมไวสําหรับมนุษยทุกคน เพื่อดับความหิวกระหายที่อยูในสวนลึกของจิตใจมนุษยพระองคตรัสวา “มนุษยมิไดดํารงชีวิตดวยอาหารเทานั้น แตดํารงชีวิตดวยพระวาจาทุกคําที่ ออกจากพระโอษฐของพระเจา” (มธ 4:4) และอีกตอนหนึ่งวา “อาหารของ เราคือการทําตามพระประสงคของพระผูทรงสงเรามาและการประกอบ ภารกิจของพระองคใหสําเร็จลุลวงไป” (ยน 4:34) ประชาชนไมเขาใจ ความหมายของอัศจรรยนี้พวกเขารองหาพระองคเพราะตองการอาหารอีก พวกเขาตองการตั้งพระองคเปนกษัตริยเพื่อทองจะไดอิ่มตลอดเวลา พวกเขาทูลพระองควา “นายขอรับ โปรดใหขนม ปงนี้แกพวกเราเสมอเถิด” (ยน 6:34) พระเยซูเจาทรงตําหนิพวกเขาที่คิดถึงเฉพาะเรื่องปากทองเทานั้น “เราบอก ความจริงแกทานทั้งหลายวา ทานแสวงหาเรา มิใชเพราะไดเห็นเครื่องหมายอัศจรรย แตเพราะไดกินขนมปงจน อิ่ม อยาขวนขวายหาอาหารที่กินแลวเสื่อมสลายไป แตจงหาอาหารที่คงอยูและนําชีวิตนิรันดรมาให อาหารนี้บุตรแหง มนุษยจะประทานใหทาน” (ยน 6:26-27) พระองคทรงปรารถนาใหประชาชนเห็นวาพระองคเสด็จมาเพื่อบํารุงเลี้ยง ชีวิตฝายจิตของมนุษยดวยอาหารที่ทําใหหัวใจของพวกเขาอิ่มหนํา อาหารที่ไมมีวันเสื่อมสลาย ..แตคงอยูและใหชีวิต ตลอดไป ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันเสาร ที่ 19 มกราคม ค.ศ.2013 ผูรับใชแหงพระวาจาซึ่งประทานชีวิต A Servant of the Word that gives Life. วัน เวลา ชางผานไปอยางรวดเร็ว วันนี้ซึ่งเปนวันคลายวัน เกิดครบ 80 ปของพระคุณเจายอด พิมพิสาร คุณงามความดี เกี่ยวกับการทํางานธรรมทูตอันศักดิ์สิทธิ์ของทาน สมควร ไดรับการระลึกถึง ในเวลาแหงความปลื้มปตินี้ เราขอรวมใจ กันขอบพระคุณองคพระผูมีพระทัยลนพน สําหรับพระหรรษ ทานและพระพรทุกประการที่มอบแดพระคุณเจา สําหรับชีวิต และงานตาง ๆ ที่ไดกระทําเพื่อสังฆมณฑลอุดรธานี เพื่อพระศาสนจักรในประเทศ และพระศาสนจักรสากล การอุทิศ ตน ผลงานเพื่อความผาสุกของสังคม ไดเปนแรงบันดาลใจใหกับเราทุกคน ที่จะตองซื่อสัตยมั่นคงในกระแสเรียก และ ในวิถีทางชีวิตของตนเองเชนกัน แบบฉบับชีวิตของพระคุณเจา จะเปนดั่งประกายไฟ จุดความรัก ความหวัง และความ เสียสละ ในการทํางานของพระเปนเจา ใหลุกโชติชวงในชีวิตของบรรดาพระสงฆ นักบวช และคริสตชน ทุกคน เรา สัญญา .... ในวาระอันเปนมงคลนี้ พวกลูกทุกคน ขอนอมรําลึกพระคุณของพระคุณเจา พอที่รักยิ่งของพวกเรา ดวยกตัญุตา ขอพระมารดานิจจานุเคราะห องคอุปถัมภของสังฆมณฑลอุดรธานี พระแมผูซึ่งเปนที่รักและนับถือยิ่งของพอ วอนขอพระพรและพระหรรษทาน เพื่อพิทักษปกปกรักษาพอ ใหมีสุขภาพกายและใจที่แข็งแรง เปนผูรับใชแหงพระ วาจาซึ่งประทานชีวิต อยางมั่นคง .. สืบไป ขอโมทนาคุณพระจาโอกาสวันคลายวันเกิดครบ 80 ป พระสังฆราชยอรช ยอด พิมพิสาร, C.Ss.R. วันที่ 19 มกราคม ค.ศ.2013


ขอคิดยามเชา วันอาทิตย ที่ 20 มกราคม ค.ศ.2013 ในพระวรสารตามคําบอกเลาของนักบุญยอหน มีการพูด ถึงแมพระเพียงสองครั้งเทานั้น และทั้งสองครั้งไมมีการ เอยถึงชื่อของพระนาง แตเรียกพระนางวา “พระมารดา ของพระเยซูเจา” ครั้งแรกในงานสมรสที่หมูบานคานา (ยน 2:1-12) เปนจุดเริ่มตนของภารกิจที่เปดเผยของพระ เยซูเจา สวนครั้งที่สองที่เชิงกางเขนของพระองค (ยน 19:25-27) ซึ่งถือไดวาเปนการสิ้นสุดภารกิจของพระองค บนโลกนี้ สิ่งนี้ชี้ใหเห็นวาสําหรับนักบุญยอหนแมพระเปน บุคคลที่มีความสําคัญมาก พระนางไมทรงเปนเพียง มารดาผูใหกําเนิดพระเยซูเจาเทานั้น แตพระนางทรงเปนผูมีสวนรวมในภารกิจแหงการไถกูของพระองคอีกดวย ใน พระวรสารวันนี้ซึ่งเปนเรื่องเลาเกี่ยวกับงานสมรสที่หมูบานคานาในแควนกาลิลี นักบุญยอหนเนนตั้งแตตอนตนเลย วา “พระมารดาของพระเยซูเจาทรงอยูในงานนั้น” (ยน 2:1) จากนั้นทานจึงเสริมตอไปวา “พระเยซูเจาทรงไดรับเชิญ พรอมกับบรรดาศิษยมาในงานนั้นดวย” (ยน 2:2) สําหรับทานแมพระเปนศูนยกลางของเรื่องเลานี้ และอัศจรรยที่พระ เยซูเจาจะทรงกระทําตอไป เปนเหตุการณที่เกิดขึ้นผานทางพระนาง ลักษณะที่โดดเดนสามประการของแมพระที่เรา สามารถมองเห็นไดจากเหตุการณที่เกิดขึ้นในวันนั้น ประการแรก แมพระมองเห็นภาพรวมของเหตุการณทั้งหมดได พระนางเปนผูที่เอาใจใสในทุกเรื่อง ทุกสิ่งอยูในสายตาของพระนาง สําหรับชาวอิสราเอลในสมัยนั้น เหลาองุนเปน สัญลักษณของพระพรของพระเจาที่นําความสุขและความชื่นชมยินดีมาใหประชากรของพระองค งานสมรสที่ขาด เหลาองุน จึงเปนเหมือนงานที่ขาดการอวยพรจากพระเจา แมพระไมอยากใหเหตุการณเลวรายแบบนี้เกิดขึ้น พระนาง จึงรีบมาทูลพระเยซูเจาวา “เขาไมมีเหลาองุนแลว” (ยน 2:3) ประการที่สอง พระนางเปนบุคคล ที่พรอมจะทําทุก อยางเพื่อชวยเหลือผูอื่น พระนางพรอมที่จะชวยเหลือผูที่เปนทุกขเดือดรอนเสมอ เมื่อพระนางอยูที่ไหน ความ เดือดรอนตองถูกขจัดออกไปจากที่นั่น นี่คือความหมายลึก ๆ ของคําพูดที่วา “พระมารดาของพระเยซูเจาทรงอยูใน งานนั้น” (ยน 2:1) ที่ไหนมีพระนางอยูดวย ที่นั่นจะขาดพระพรของพระเจาไมไดอยางแนนอน ประการที่สาม พระนางเปนบุคคลที่ตอสูเพื่อความดีและความถูกตองอยางกลาหาญ หากเปนสิ่งที่ถูกตองและจะเกิด ผลดีตอผูอื่น พระนางจะตอสูเพื่อใหไดสิ่งนั้นมาจนถึงที่สุด พระเยซูเจากําลังทดสอบพระนางเมื่อพระองคตรัสวา “คุณ แม คุณแมตองการสิ่งใดจากลูก เวลาของลูกยังมาไมถึง” (ยน 2:4) คําพูดนี้ฟงดูผิวเผินคลายกับทรงบอกพระนางวา “ไมตองยุง เรื่องนี้ไมใชธุระอะไรของขาพเจาและของทาน” แต แทนที่จะแสดงความนอยเนื้อต่ําใจ พระนางไดแสดงให


เห็นถึงความเชื่อและความไววางใจสูงสุดที่พระนางมีในตัวพระองค พระนางเรียกบรรดาคนใชมาและบอกพวกเขาวา “เขาบอกใหทานทําอะไร ก็จงทําเถิด” (ยน 2:5) การชวยเหลือคูบาวสาวของพระนางประสบผลสําเร็จ เมื่อพระเยซู เจาทรงเปลี่ยนน้ําใหเปนเหลาองุน ความสนใจตอความตองการของผูอื่นและการไมยอมแพอะไรงาย ๆ ของมีพระ เปดโอกาสใหพระเยซูเจาทําอัศจรรยครั้งนี้ พอมั่นใจวาแมพระและพระเยซูเจาประทับทามกลางเราเสมอเราจะไมมีวัน ขาดพระพรจากพระเจาอยางแนนอน เหมือนที่แมพระไดทําเพื่อคูบาวสาวที่หมูบานคานา พระนางจะทําเพื่อเราทุกคน ที่เปนลูกของพระนาง ในยามที่เราเปนทุกขเดือดรอนและประสบปญหาอุปสรรค พระนางจะวอนขอพระเจาให ชวยเหลือเราจนกระทั่งเราสามารถผานพนชวงเวลาวิกฤติในชีวิตของเราคนอื่นในโลกนี้อาจทอดทิ้งเรา ไมสนใจเรา หรือเลิกรักเรา แตแมคนนี้ของเราจะไมมีวันจากเราไปไหนและพรอมที่จะอาแขนตอนรับเพื่อชวยเหลือเราตลอดเวลา และตลอดไป สิ่งที่เราตองทําคือมั่นใจและมอบตัวเราไวในความอารักขาของพระนาง และเหมือนที่พระนางไดแสดงให เราเห็นในวันนี้ เราตองเชื่อและไววางใจในความรักและพระเมตตาของพระเยซูเจา พระบุตรของพระนางดวย ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันจันทร ที่ 21 มกราคม ค.ศ.2013 ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส มีอารามซิสเตอรแหงหนึ่ง ซึ่งปรกติแลวคุณพอเจาอาวาสที่อยูในบริเวณนั้นจะไปถวาย มิสซาที่วัดนอยของอารามเวลาบาย 4 โมงเปนประจําทุกวัน วันหนึ่งคุณพอเจาอาวาสเกิดลมปวยอยางกะทันหัน จึง ขอใหคุณพอชาวเวียดนามคนหนึ่งที่มาพักชั่วคราวที่วัดของทานใหไปถวายมิสซาแทน ซึ่งทานไดไปถึงอารามเวลาบาย 3:55 โมง ทานรีบกดกริ่งที่ประตูหนาอารามทันที ทานแตงตัวเหมือนคุณพอชาวฝรั่งเศสทั่วไปในสมัยนั้นที่มักจะแตงตัว เหมือนประชาชนธรรมดา เมื่อซิสเตอรที่ทําหนาที่ตอนรับแขกไดยินเสียงกริ่ง ทานคิดวาคุณพอเจาอาวาสมาถึงแลว จึง รีบออกมาเปดประตูให แตเมื่อเห็นวาผูที่มาเปนชายหนุมชาวเอเชียคนหนึ่ง ทานนึกวาคงมาขอความชวยเหลือจาก อาราม และเนื่องจากมิสซากําลังจะเริ่มอยูแลวในอีกไมกี่นาที ทานจึงรีบบอกปดคุณพอชาวเวียดนามคนนั้นวา “เสียใจดวย เราไมสามารถชวยคุณได เรากําลังจะมีมิสซาเวลานี้ กลับมาทีหลังก็แลวกัน” พูดเสร็จ ซิสเตอรคนนั้นรีบ หันหลังกลับโดยไมใหโอกาสแกคุณพอที่ไปถวายมิสซาแทนอธิบายอะไรแมแตคําเดียว คุณพอคนนั้นไดแตพูดตามหลัง ซิสเตอรไปวา “ขอบคุณ ซิสเตอร” แลวก็กลับมาที่วัด อีก 10 นาทีตอมา เสียงโทรศัพทดังขึ้นที่บานพักคุณพอเจา อาวาส เปนโทรศัพทจากอารามของซิสเตอรเพื่อบอกวาพวกทานกําลังคอยคุณพอไปถวายมิสซาใหพวกทาน ลอง จินตนาการดูซิวาซิสเตอรจะรูสึกอายแคไหนเมื่อพวกทานทราบวาคุณพอที่จะถวายมิสซาใหพวกทานในบายวันนั้นได มาถึงอารามแลว แตพวกทานไดบอกเขาใหจากไปเองทําไมซิสเตอรผูศักดิ์สิทธิ์เหลานี้จึงพลาดโอกาสที่จะไดรวมมิสซา ซึ่งเปนสิ่งที่พวกทานกําลังรอคอยอยูในเวลานั้น? แนนอน ไมใชเพราะพวกทานเปนคนที่ไมดี แตเปนเพราะวาคุณพอ ชาวเวียดนามคนนั้นมาหาพวกทานในลักษณะไมเหมือนรูปแบบพระสงฆที่พวกทานกําลังรอคอย ความเปนจริงที่อยูตอ หนานั้นแตกตางจากสิ่งพวกทานคาดหวังไวพวกทานจึงไมตระหนักถึงการมาของผูที่พวกทานกําลังรอคอย ถาคุณพอ ชาวเวียดนามใสชุดพระสงฆไปที่อารามในวันนั้น คงไมเกิดการเขาใจผิดแบบนี้อยางแนนอน และนี่ก็คือปญหาที่พวก เรากําลังเผชิญอยูในโลกวันนี้ วิถีทางของพระเจาแตกตางจากวิถีทางของมนุษย ตราบใดที่เรายังคิดวาพระเจาจะเสด็จ มาหาเราในรูปแบบที่เราคาดหวังไว เราอาจเผชิญกับความประหลาดใจเหมือนชาวยิวในสมัยพระเยซูเจาอยางไมตอง สงสัย เหมือนที่พระองคเสด็จมาหาชาวยิวในรูปแบบของพระเยซูเจา.... มนุษยธรรมดาคนหนึ่ง พระองคอาจจะเสด็จ มาหาเราในรูปแบบของประชาชนธรรมดาที่เราพบปะในแตละวันก็ได ปญหาอยูที่วาเราจะสามารถตระหนักถึงการ ประทับอยูของพระองคในทามกลางพวกเขาเหลานั้นหรือไม วันนี้ใหเรากลับไปมองประชาชนที่อยูรอบขางเรา ผูซึ่งเรา พบปะเปนประจําและอาจคิดวารูจักพวกเขาเปนอยางดี ไมแนนัก พวกเขาอาจเปนผูนําสารที่พระเจาทรงสงมาหาเรา เพื่อใหความรูและเตรียมเราสําหรับชีวิตนิรันดรก็ได


ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันอังคาร ที่ 22 มกราคม ค.ศ.2013 การตัดสินใจถือไดวาเปนสวนหนึ่งของชีวิตเราแตละคนในแตละ วันเราตองเผชิญหนากับการตัดสินใจหลายอยาง การตัดสินใจ ของเราไมวาจะเปนแบบชั่วคราวหรือแบบถาวรลวนมีผลตอตัว เราเอง ตอคนที่อยูรอบขางเรา และสังคมที่เราเปนสวนหนึ่ง เสมอ ฉะนั้นเมื่อเราตองตัดสินใจเลือกบางสิ่งบางอยาง เราตอง ตัดสินใจเลือกอยางฉลาด นั่นคือ เลือกในสิ่งที่ถูกตอง สิ่งที่ สอดคลองกับพระประสงคของพระเจาและเปาหมายสุดทายของ ชีวิตบนโลกนี้ของเราในแตละวัน เรายังตองเผชิญหนากับการตัดสินใจวาจะติดตามพระเยซูเจาตอไปอีก หรือไม ปจจุบันนี้กระแสของคานิยมทางโลกสวนทางกับคานิยมของพระวรสาร ไมวาจะเปนวัตถุนิยมหรือเสรีภาพนิยม แบบสุดโตง กําลังโหมกระหน่ําเขามาในพระศาสนจักรของเรา หลายคนมองการคดโกงที่เอื้อประโยชนใหตนเองเปน เรื่องถูกตอง การอยูดวยกันกอนแตงงานและการทําแทงเปนเรื่องเสรีภาพสวนบุคคล การมารวมมิสซาวันอาทิตยเปน เรื่องลาสมัยหรือเปนเรื่องของเด็กและผูสูงอายุ ดังนั้น จึงไมใชเรื่องแปลกที่หลายคนคิดวาคําสั่งสอนของพระเยซูเจา และพระศาสนจักรในเรื่องความซื่อสัตย ความรักตอศัตรู การแตงงาน การทําแทง และสิทธิมนุษยขั้นพื้นฐานเปนเรื่อง ที่ขัดหูและรับไมได ในวันนี้พระเยซูเจายังคงทาทายเราตอไป พระองคทรงปรารถนาใหความเชื่อในศีลมหาสนิทเปนบท ทดสอบสูงสุดของความเชื่อของเราในตัวพระองค การยอมรับและการทําใหศีลมหาสนิทเปนศูนยกลางชีวิตของเราจึง เปนการดําเนินชีวิตในสายสัมพันธแหงความรักที่คงอยูตลอดนิรันดรและทําใหพระองคและเรากลายเปนหนึ่ง เดียวกัน เราเชื่อ ใหความสําคัญ ใหคุณคา และใหความเคารพตอศีลมหาสนิท พิธีมิสซาเปนการแสดงออกถึงความ ศรัทธาสูงสุดของเรา เพราะพระเยซูเจาทรง “มีพระวาจาแหงชีวิตนิรันดร พวกเราเชื่อและรูวาพระองคทรงเปนผู ศักดิ์สิทธิ์ของพระเจา” (ยน 6:68-69) ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันพุธ ที่ 23 มกราคม ค.ศ.2013 การปฏิบัติศาสนาสองรูปแบบซึ่งบางครั้งดูเหมือนวาจะ ขัดแยงกัน แตจริงๆ เพียงแตมีจุดเนนแตกตางกันเทา นั้นเอง รูปแบบแรก เนนการหลีกเลี่ยงความชั่ว โดยมุง ปองกันตนเองใหพนจากสิ่งที่เปนมลทินทั้งหลาย คริสตชนที่ ปฏิบัติศาสนาในลักษณะนี้จะพยายามหลีกเลี่ยงจากสิ่งหรือ คนที่พวกเขาคิดวาจะทําใหพวกเขาเปอนหมอง พวกเขา มักจะเก็บตัวอยูในกลุมของตนเองและไมยอมยุงเกี่ยวกับ โลกภายนอกที่เต็มไปดวยสิ่งเยายวนเทาใดนัก รูปแบบที่สอง เนนการทําความดีโดยมุงชวยเหลือคนอื่น โดยเฉพาะอยาง ยิ่งคนบาป คนที่สังคมรังเกียจ และคนที่เปนทุกขเดือดรอน คริสตชนที่ปฏิบัติศาสนาในลักษณะนี้เชื่อวามันเปนการดีกวาที่จะจุดเทียนขึ้นสักเลมหนึ่งแทนที่จะประณามความมืด มิดของโลกนี้ การปฏิบัติศาสนาทั้งสองรูปแบบเปนสิ่งที่คริสตชนตองทําควบคูกันไปและความสมดุลของทั้งสองอยาง เปนสิ่งจําเปน เหมือนที่นักบุญยากอบบอกเราในจดหมายของทานวา “ความเลื่อมใสศรัทธาบริสุทธิ์และไรมลทิน เฉพาะพระพักตรของพระเจาพระบิดาคือ การเยี่ยมเด็กกําพราและหญิงมายที่มีความทุกขรอน และการรักษาตนใหพน จากมลทินของโลก” (ยก 1:27) ขณะที่เราทําความดี เราตองพยายามหลีกเลี่ยงความชั่วหรือสิ่งที่ทําใหเราเปนมลทิน เฉพาะพระพักตรของพระเจาดวย ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันพฤหัสบดี ที่ 24 มกราคม ค.ศ.2013 ในพระวรสาร ชาวฟาริสีและบรรดาธรรมาจารย พยายาม หลีกเลี่ยงทุกสิ่งและทุกคน ที่คิดวาจะทําใหพวกเขาเปนมลทิน โดยปฏิบัติตามกฎขอบังคับทางจารีตพิธีกรรมอยางเครงครัด พระเยซูเจาไมทรงเห็นดวยกับแนวคิดนี้ พระองคกลาววา “ทุก คนจงฟงและเขาใจเถิด ไมมีสิ่งใดเลยจากภายนอกของมนุษย ทําใหเขามีมลทินได แตสิ่งที่ออกมาจากภายในของมนุษยนั้น แหละทําใหเขามีมลทิน” (มก 7:14-15) พระเยซูเจาตรัสวา “ผูมีใจบริสุทธิ์ยอมเปนสุข เพราะเขาจะไดเห็นพระเจา” (มธ 5:8) คนที่มีใจบริสุทธิ์จะมองเห็นแตความสะอาด และบริสุทธิ์ในทุกสิ่งและทุกคน พระเยซูเจาไมทรงลังเลพระทัยที่จะ สัมผัสคนโรคเรื้อน รับประทานอาหารกับคนบาป และปลอยใหหญิงที่ไมสะอาดสัมผัสพระองค จนกระทั่งไดรับสมญา วา “เพื่อนกับคนเก็บภาษีและคนบาป” (มธ 11:19)หากจะยอนมาคิดทบทวนเกี่ยวกับการปฏิบัติศาสนาของเรา เรา ดําเนินชีวิตแบบหลีกเลี่ยงความชั่วอยางเดียว เพียงเพราะตองการรักษากฎเกณฑที่มนุษยตั้งขึ้น กลัววาจะทําใหตัวเอง เปอนหมองหรือเปลา? จําไวเสมอวา ถาเราไมนําสิ่งที่เปนมลทินหรือไมบริสุทธิ์เขามาในใจของเราเองกอน ไมมีใครหรือ สิ่งใดภายนอกสามารถทําใหเรามีมลทินได พระเยซูเจาทรงทาทายใหเราเปน ผูซึ่งพรอมที่จะเขาหาและชวยเหลือคน บาป ผูเปนทุกขเดือดรอนและยากจนขัดสนมากยิ่งขึ้น ในฐานะที่เปนศิษยติดตามพระเยซูเจา เราพรอมไหมที่จะเดิน ตามแนวทางของพระองค ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันศุกร ที่ 25 มกราคม ค.ศ.2013 การฟงดวยความตั้งใจเปนสิ่งจําเปนมากเมื่อเรามาชุมนุมกัน เฉพาะพระพักตรพระเจาในพิธีบูชาขอบพระคุณ ลองคิดดูถา เราไมตั้งใจฟง เราจะรูไดอยางไรวา พระเจาตรัสอะไรกับเรา ในวันนี?้ พระดํารัสของพระองคหมายความวาอะไร? อะไรคือประเด็นสําคัญของบทเทศนในวันนี?้ การฟงเปนการใหเกียรติและแสดงความเคารพตอผูที่กําลัง พูดดวย เมื่อพระเจาตรัสกับเราผานทางพระคัมภีรและผูแทน ของพระองค ถาเราไมฟงเสียงของพระองคอยางตั้งใจ ก็เทากับวาเราไมใหเกียรติพระองค ทุกครั้งที่เรามารวมพิธี มิสซา อยากลับบานไปแบบมือเปลา แตนําเอาพระวาจาของ พระเจาใสในใจของเรากลับไปดวย เราจะสามารถทําสิ่งนี้ไดก็ ตอเมื่อเราตั้งใจฟงเสียงของพระองคนั่นเองการอธิษฐาน ภาวนาก็เชนกัน เปนการพูดคุยและติดตอกับพระเจา เราคงไมพูดคนเดียว แตตองใหเวลาพระเจาตรัสกับเราดวย เรา ตองฟงเสียงพระองค พระองคทรงรูทุกสิ่งทุกอยางดีกวาเรา ทรงรูวาอะไรดีที่สุดสําหรับเรา รูกอนที่เราจะทูลขอ พระองคเสียอีก ดังนั้น หาเวลาเงียบ ๆ อยูกับพระองคและปลอยใหพระองคตรัสกับเราในใจ เมื่ออยูเฉพาะพระพักตร พระเจา สิ่งที่เราตองทําก็คือ ... พยายามฟงเสียงของพระองค ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันเสาร ที่ 26 มกราคม ค.ศ.2013 ภารกิจของพระเยซูเจาที่เราจะไดรับฟงในพระวรสารวันอาทิตยนี้ เกิดขึ้นในวันสับบาโตซึ่งเปนวันที่เจ็ดของสัปดาหตามปฏิทินของ ชาวยิว ขณะนั้นพระเยซูเจาทรงมีพระชนมายุราวสามสิบกวา ป ในฐานะชาวยิวผูเครงครัดในศาสนา พระองคทรงเขารวม พิธีกรรมวันสับบาโตในศาลาธรรมที่เมืองนาซาเร็ธเปน ประจํา นักบุญลูกาบอกเราอยางชัดเจนวา “พระองคเสด็จเขาไป ในศาลาธรรมเชนเคย” (ลก 4:16) ในวันนั้นพระเยซูเจาทรงเปน ผูอานบทอานที่สอง เมื่อทรงอานจบพระองค “ทรงมวนหนังสือ สงคืนใหเจาหนาที่และประทับนั่ง สายตาของทุกคนที่อยูในศาลาธรรมตางจองมองพระองค” (ลก 4:20) ในสมัยนั้น ใครก็ตามที่นั่งสอนคนอื่นไดรับการยอมรับเปน “อาจารย” สิ่งหนึ่งที่นักบุญลูกาตองการบอกเราคือ พระเยซูเจาทรง เปนอาจารยของเรา สายตาหรือความสนใจของเราตองจับจองอยูที่พระองคแตเพียงผูเดียว นับแตนี้เปนตนไปเราตอง ไมใหความสําคัญแกคนอื่นมากกวาพระองค หนังสือพระคัมภีรภาคพันธสัญญาเดิมทุกเลม มุงมาที่พระองคแตเพียงผู เดียว เมื่อบรรลุถึงเปาหมายแลว หนังสือเหลานั้น จึงตองถูกมวนเก็บไปเหมือนที่พระเยซูเจา “ทรงมวนหนังสือ สงคืน ใหเจาหนาที่” (ลก 4:20) คริสตชนบางคนอาจคิดในใจวา “เมื่อความจริงเปนเชนนี้ ทําไมเรายังอานหนังสือพระคัมภีร ภาคพันธสัญญาเดิม ในพิธีกรรมตางๆ ของเราตอไปอีกเลา?” คําตอบคือ เพราะวาหนังสือเหลานี้ยังคงจําเปนสําหรับ เรา ในการเตรียมตัวรับฟงสิ่งที่พระเยซูเจาทรงเทศนสอนเรานั่นเอง ยิ่งกวานั้น “หนังสือเหลานี้แสดงออก ถึงความ เขาใจพระเจาอยางมีชีวิตชีวา และยังเปนที่รวบรวมพระธรรมคําสอนอันสูงสงเรื่องพระเจา รวมทั้งความปรีชาที่มี ประโยชนเกี่ยวกับชีวิตมนุษย และยังเปนคลังคําภาวนาตางๆ อยางนาพิศวง และในที่สุดยังซอนธรรมล้ําลึกเรื่องการไถ กูไวอีกดวย” (DV 15) ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันอาทิตย ที่ 27 มกราคม ค.ศ.2013 ภารกิจของพระเยซูเจาเกิดขึ้นในวันสับบาโต ซึ่งเปนวันที่เจ็ดของ สัปดาหตามปฏิทินของชาวยิว พระองคทรงเขารวมพิธีกรรมและ ไดรับมอบหมายใหอานบทอานที่สองซึ่งพระองคทรงเลือก ขอความจากหนังสือประกาศกอิสยาหที่วา “พระจิตของพระเจา ทรงอยูเหนือขาพเจา เพราะพระองคทรงเจิมขาพเจาไว ให ประกาศขาวดีแกคนยากจน ทรงสงขาพเจาไปประกาศการ ปลดปลอยแกผูถูกจองจําคืนสายตาใหแกคนตาบอด ปลดปลอย ผูถูกกดขี่ใหเปนอิสระ ประกาศปแหงความโปรดปรานจากพระ เจา” (ลก 4:18-19) ขอความตอนนี้พระเยซูเจาทรงเนนถึงการ ประทับอยูของพระจิตเจาในชีวิตของพระองค พระจิตเจาเสด็จลงมาเหนือพระองคเมื่อทรงรับพิธีลางและทรงนําพระองคเขาไปในถิ่น ทุรกันดาร ที่นั่นพระองคทรงอดอาหารและตอสูกับการประจญของซาตานเปนเวลาสี่สิบวัน ในพระวรสารวันนี้นักบุญลูกาบอกเราวา พระองค “เสด็จกลับไปแควนกาลิลีพรอมดวยพระอานุภาพของพระจิตเจา” (ลก 4:14) ผู “ทรงเจิม” (ลก 4:18) พระองคไว การประกาศวา “ไดรับเจิมจากพระจิตเจา” ก็เทากับประกาศวาพระองคทรงเปน “พระเมสสิยาห” ที่ชาวยิวกําลังรอคอย เพราะคําวา “พระเมสสิยาห” ใน ภาษาฮีบรูแปลวา “ผูไดรับเจิม” นั่นเอง เมื่อพระจิตเจาประทับอยูกับพระเยซูเจา คําพูดและการกระทําของพระองคจึงไมใชกิจการของมนุษย ลวนๆ แตเปนกิจการที่มาจากพระเจาและไดรับการดลใจจากพระจิตเจา ภารกิจหลักของพระองคคือ ประกาศขาวดีและปลดปลอยมนุษยให เปนอิสระจากการเปนทาสในทุกรูปแบบ รวมจากการเปนทาสของบาปดวย กลุมเปาหมายของภารกิจของพระองคคือ คนยากจน ผูถูกจองจํา คนตาบอด และผูถูกกดขี่ขมเหงทั้งหลาย หลังจากทรงอานขอความจากหนังสือประกาศกอิสยาหเสร็จแลว พระเยซูเจาทรงอธิบายสั้นๆ แกผู มารวมชุมนุมในวันนั้นวา “ในวันนี้ ขอความจากพระคัมภีรที่ทานไดยินกับหูอยูนี้เปนความจริงแลว” (ลก 4:21) นั่นคือ พรอมกับการเสด็จมา ของพระองค เวลาแหงการปลดปลอยใหเปนอิสระมาถึงแลว ชัยชนะเหนือการกดขี่ขมเหงทุกอยางก็อยูแคเอื้อม โซตรวนจะถูกทําลาย คนตา บอดจะมองเห็นอีก คนงอยเปลี้ยเสียขาจะเดินได และคนยากจนจะยินดีและมีความสุขที่ไดมีโอกาสรับฟงขาวดีเกี่ยวกับความรอดพนที่พระเจา จะทรงประทานใหในฐานะศิษยของพระเยซูเจา เราทุกคนมีหนาที่สานตอภารกิจแหงรักและรับใชอันนี้ของพระเยซูเจาเราตองพรอมที่จะเปน เครื่องมือของพระองคในการปลดปลอยเพื่อนมนุษยใหเปนอิสระจากการเปนทาสในทุกรูปแบบ ปลอยใหพระองคทํางานในตัวเราและผานทาง ตัวเรา ใหเสียงของเราเปนเสียงของพระองค ขอพระจิตเจา ผูทรงมีบทบาทสําคัญในชีวิตและภารกิจของพระเยซูเจา สองสวางสติปญญาและ นําทางเราตลอดปแหงความเชื่อนี้เพื่อวากิจการทุกอยางที่เราทํารวมกันในปศักดิ์สิทธิ์นี้จะดําเนินไปในทิศทางเดียวกันกับภารกิจของพระเยซู เจา พระอาจารยแตเพียงผูเดียวของเรา และสอดคลองกับแผนการและพระประสงคของพระเจาพระบิดาของเรา ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันจันทร ที่ 28 มกราคม ค.ศ.2013 นับตั้งแตพระเยซูเจาไดทรงเริ่มภารกิจแหงการไถกูอยางเปดเผย พระองคไดทรงเผยแสดงตนเอง ผานทางการเทศนสอนและอัศจรรย ตางๆ วิถีทางของพระองคเปนวิถีทางแหงกางเขนหรือวิถีทางแหง ความทุกขทรมาน ดวยความนบนอบตอพระประสงคของพระ บิดา พระองคจะทรงมอบชีวิตทั้งครบเพื่อเปนสินไถสําหรับมวล มนุษย “บุตรแหงมนุษยจะตองรับการทรมานอยางมาก จะถูกบรรดา ผูอาวุโส มหาสมณะ และธรรมาจารย ปฏิเสธไมยอมรับและจะถูก ประหารชีวิต” (มก 8:31) พระองคตรัสอยางเปดเผยวา “ถาผูใดอยากติดตามเรา ก็ใหเขาเลิกนึกถึงตนเอง ใหแบกไม กางเขนของตน และติดตามเรา ผูใดใครรักษาชีวิตของตนใหรอดพน จะตองสูญเสียชีวิตนั้น แตถาผูใดเสียชีวิตของตน เพราะเราและเพราะขาวดี ก็จะรักษาชีวิตได” (มก 8:34-35) วิถีทางของพระคริสตเจาเปนวิถีทางแหงกางเขนที่ เรียกรองการตัดสละน้ําใจและความตองการของตนเอง เพื่อจะไดมีชองวางในหัวใจและคิดถึงคนอื่นมากขึ้น วิถีทางนี้ เปนวิถีทางของทุกคน ที่ตองการติดตามพระองคดวยเชนเดียวกัน การเปนศิษยของพระเยซูเจาเปนกระบวนการแหง การกลับใจอยางตอเนื่อง และตองใชเวลาเพื่อเขาใจพลัง หรืออานุภาพของการสละตนเองและการรับใช เราตองพรอม ที่จะปลอยหรือตัดสละสิ่งที่โลกนิยมชมชอบและเห็นวาควรปฏิบัติ เราตองวางใจในพระเจามากกวาวางใจในตนเอง และสิ่งของตางๆ ในโลกนี้ เราสามารถทําสิ่งนี้ โดยใหเวลา เปดใจรับ และพยายามทําความเขาใจคําสั่งสอนของพระ เยซูเจามากขึ้นเรื่อยๆ พระองคจะทรงชวยเหลือเราผานทางพระหรรษทานของพระองค โดยเฉพาะผานทางศีลมหา สนิทที่เรารับเขามาในตัวเรา จะทําใหเราเปนหนึ่งเดียวกันกับพระองคและทําใหเราสามารถกาวเดินบนเสนทางสายนี้ ดวยความมั่นใจ ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันอังคาร ที่ 29 มกราคม ค.ศ.2013 สําหรับบางคนความรูเปนสุดยอดของความปรารถนาและ เปนอํานาจที่ทรงพลังอยางหนึ่ง แตสําหรับบางคนความรูเปน สิ่งบางสิ่งบางอยางที่นากลัวและนาหลีกเลี่ยงอะไรที่รูแลวเปน ทุกข ไมรูดีกวา พวกเขากลัวที่จะรู กลัวที่ตองเผชิญหนากับ ความเปนจริงที่ตัวเองไมพึงปรารถนาบรรดาศิษยของพระเยซู เจาในพระวรสารก็เชนกันพวกเขากลัวที่จะรูความหมายที่ แทจริงในสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับพระอาจารยของพวกเขาในกรุง เยรูซาเล็ม นักบุญมาระโกบันทึกไวอยางชัดเจนวา “บรรดา ศิษยไมเขาใจพระวาจานี้ แตก็ไมกลาทูลถาม” (มก 9:32) ความจริงที่อยูลึกๆ ภายในจิตใจของพวกเขาคือ พวกเขา ปฏิเสธความคิดเกี่ยวกับพระเมสสิยาห ที่ตองรับทนทุกขทรมานและสิ้นพระชนมบนไมกางเขน เพราะความตายแบบนี้ เปนเรื่องที่นาอับอาย มันเปนโทษสูงสุดที่สงวนสําหรับนักโทษที่มีคดีอุกฉกรรจเทานั้น เรื่องเชนนี้จึงเปนความอัปยศที่ พวกเขายอมรับไมได แมวาพระเยซูเจาไดทรงพยายามอธิบายแกพวกเขาหลายตอหลายครั้ง พวกเขาก็ไมเขาใจความ จริงที่วา “ไมมีใครมีความรักยิ่งใหญกวาการสละชีวิตของตนเพื่อมิตรสหาย” (ยน 15:13) หลายครั้งในชีวิตของเรามี ลักษณะที่คลายคลึงกับบรรดาศิษยของพระเยซูเจา เรากลัวที่จะรูวาเสนทางที่เรากําลังกาวเดินไปพรอมกับพระเยซูเจา นั้นจะนําไปเราถึงจุดไหน? จะลําบากมากไหม? ถึงตายหรือเปลา? เราชื่นชอบมากกวาที่จะไมถามและไมทําความ เขาใจเรากลัวที่จะเผชิญกับความจริง ... แตสิ่งหนึ่งที่เราตองไมลืมวา การเปนศิษยของพระเยซูเจาคือ การเลิกนึกถึง ตนเอง การแบกไมกางเขนของตนและติดตามพระองคไป แนนอน ไมกางเขนที่พระเยซูเจาทรงพูดถึงนี้ไมใชเปนไม กางเขนปลอม แตเปนไมกางเขนจริง เปนอุปสรรคและความยากลําบากในชีวิตที่กําลังรอคอยเราอยูเบื้องหนา การเปน พยานถึงพระองคดวยคําพูดและการกระทําที่เราตองเผชิญในแตละวัน เราตองยอมรับความจริงอันนี้ ถาเราคิดที่จะ ติดตามพระองคอยางซื่อสัตยและตลอดไป ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันพุธ ที่ 30 มกราคม ค.ศ.2013 การเปนศิษยของพระเยซูเจาคือ การเลิกนึกถึงตนเอง การแบกไมกางเขน ของตนและติดตามพระองคไป เผชิญกับอุปสรรคและความยากลําบากใน ชีวิตที่กําลังรอคอยเราอยูเบื้องหนา เปนพยานถึงพระองคดวยคําพูดและการ กระทําในแตละวัน เรื่องนี้ไมใชเรื่องงายๆ ที่ใครก็ทําได แมแตสําหรับบรรดา ศิษยที่อยูใกลชิดพระเยซูเจา ดวยเหตุนี้ เพื่อชวยใหพวกเขาเขาใจและ ยอมรับสิ่งที่กําลังจะเกิดขึ้นกับพระองคไดมากยิ่งขึ้น พระเยซูเจาจึงทรงชี้ให พวกเขาเห็นอีกวา วิถีทางแหงไมกางเขนที่พระองคกําลังกาวเดินอยูเวลานี้ แทจริงแลว เปนวิถีทางแหงการรับใช การสิ้นพระชนมของพระองคเปนการรับใชอยางหนึ่ง เปนการรับใชบุคคลที่ พระองคทรงรักจนถึงที่สุด ดังนั้น สําหรับผูที่ตองการเปนศิษยของพระองค เขาตองพรอมที่จะรับใชคนอื่นโดยไมเลือก หนาอีกดวย “ถาผูใดอยากเปนที่หนึ่ง ก็ใหผูนั้นทําตนเปนคนสุดทาย และเปนผูรับใชของทุกคน” (มก 9:35) แมวาพระ เยซูเจาทรงเปนพระบุตรของพระเจาและมีอํานาจลนฟายังทรงถอมพระองคลงมาเพื่อรับใชมวลมนุษย บรรดาศิษยของ พระองคตองพรอมที่จะกระทําแบบเดียวกันการที่ใครคนหนึ่งจะรับใชคนอื่น โดยเฉพาะคนที่มีสถานภาพที่ต่ํากวา ตนเอง เรียกรองความสุภาพถอมตนเปนอยางมาก พระเยซูเจาจึงทรงเรียกเด็กคนหนึ่ง และตรัสวา “ผูใดที่ตอนรับเด็ก เล็กๆ เชนนี้ในนามของเรา ก็ตอนรับเรา” (มก 9:37) ในสังคมของชาวอิสราเอลสมัยโบราณ เด็กเปนบุคคลที่ไมมี ความสําคัญและสิทธิใด ๆ ทั้งในดานสังคมและศาสนา พวกเขาจึงเปนสัญลักษณหมายถึงคนที่ต่ําตอยทั้งหลายใน สังคม โดยเฉพาะอยางยิ่งคนยากจนขัดสนและคนที่สังคมรังเกียจ การตอนรับหรือรับใชบุคคลเหลานี้เรียกรองความ สุภาพถอมตนเปนอยางมาก อันที่จริง โดยธรรมชาติเด็กเปนบุคคลที่มีความสุภาพถอมตนและเรียบงาย นี่แหละที่พระ เยซูเจาตองการใหบรรดาศิษยของพระองคเปน มาตรฐานของพระเจาแตกตางจากมาตรฐานของมนุษยในสายพระ เนตรของพระองคบุคคลที่ยิ่งใหญที่สุดคือบุคคลที่รับใชผูอื่น ไมใชบุคคลที่ใหคนอื่นคอยรับใชจําไวเสมอวาอํานาจมีไว เพื่อรับใช ใหเราพยายามรับใชซึ่งกันตามสถานภาพและกําลังความสามารถของเราแตละคน โดยยึดแบบอยางของพระ เยซูเจา พระอาจารยของเรา ผูเสด็จมามิใช “เพื่อใหผูอื่นรับใช แตมาเพื่อรับใชผูอื่น และมอบชีวิตของตนเปนสินไถเพื่อ มวลมนุษย” (มก 10:45) ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันพฤหัสบดี ที่ 31 มกราคม ค.ศ.2013 “พอ......... เปนหนี้ชีวิตของพวกเธอ ขอใหพวกเธอแนใจไดวา นับแตนี้ ตอไป พอจะใชชีวิตทั้งสิ้นของพอ สําหรับพวกเธอ” ถอยคํานี้เปน คําพูดของคุณพอบอสโก ตอเด็ก ๆ ที่ศูนยเยาวชน เมื่อวันอาทิตย ปลายเดือนกรกฎาคม ป 1948 ภายหลังทุเลาจากอาการปวย เยื่อหุม ปอดอักเสบอยางหนัก จนเกือบเอาชีวิตไมรอด ในวันนั้น สายตาของ เด็ก ๆ ทุกคูที่อยูในวัดนอย จองมองคุณพอดวยแววตาหวงใยและดวย หัวใจภักดี พวกเขารวมกันขับรองเพลงสรรเสริญขอบคุณพระเจา คลอกับหยาดน้ําตา .. ที่เออลนอยูเต็มเบา นี่ .. เปนคําปฏิญาณอยาง สงาของพอบอสโก ที่จะมอบตัวทานเองสําหรับเยาวชนเสมอไป และ ทานไดรักษาสัญญานี้ ... จวบจนวาระสุดทายของชีวิต “จงบอกกับเด็กๆ ของพอวา พอ... คอยเขาทุกคนในสวรรค” นักบุญยอหน บอสโก บิดาและอาจารยของเยาวชน เกิดเมื่อวันที่ 16 สิงหาคม ป 1815 ที่หมูบานเบ็กกี ซึ่งเปนหมูบานเล็ก ๆ ในแถบ ภาคเหนือของประเทศอิตาลี ครอบครัวของทานเปนชาวไรที่ยากจน บิดาไดเสียชีวิต เมื่อทานอายุไมถึง 2 ขวบ คุณแมมารเกรีตา จึง รับภาระเลี้ยงดูบุตรชาย 3 คนตามลําพังเพียงผูเดียว โดยอบรมสั่งสอนใหมีความเคารพ ศรัทธาตอพระเจา เปนพลเมืองดีของชาติ ฝกหัด ใหทํางานตั้งแตเด็ก สอนใหรูจักเสียสละและชวยเหลือผูที่ตกทุกขไดยากเสมอ ชีวิตในวัยเด็กของพอบอสโก ตองเผชิญกับความอดอยาก แรนแคน อยางแสนสาหัส ทั้งจากสภาพความแหงแลงซึ่งทําใหพืชผลเสียหาย สภาพเศรษฐกิจและการเมืองที่ปนปวนวุนวาย เมื่ออายุ 12 ขวบ ทานตองออกจากบาน และรับจางทํางานที่ฟารมของคนอื่น การขาดพอ และพรากจากแมในชวงอายุที่เกือบจะพึ่งตนเองไมไดนั้น เปนประสบการณที่ฝงแนนในดวงใจอยางไมมีวันลืม ความตาย ความยากจน ความอดอยาก ความหิวโหย และความไมแนนอนในการ ดํารง ชีวิต เปนความทรงจําแรกเริ่มของเด็กชายคนนี้ ซึ่งทําใหเขาใจถึงปญหาของเยาวชนอยางลึกซึ้ง ตลอดชีวิตของทาน จึงยื่นมือเขาไป ชวยเด็กกําพรา เด็กยากจน เด็กเรรอน เยาวชนที่ถูกสังคมทอดทิ้งใหอยูชายขอบของสังคม ดวยความรักและหวังดี เพื่ออบรมดูแลพวกเขา ใหเจริญเติบโต ดวยดวงใจเยี่ยงบิดาที่แทจริง “ขอเพียงแตวิญญาณ สิ่งอื่นไมตองการ” ชีวิตของพอบอสโกมีความฝนและความยากจน คอยติดตามเปนดังเงาที่แยกกันไมออก ความฝนที่เปนปายชี้ทางชีวิต และเปนพลัง ขับเคลื่อนใหตระหนักอยูตลอดเวลาวา คุณคาของชีวิตมิไดเกิดมาเพื่อตัวเองเทานั้น เสียงเรียกจากภายในนี้ ไดจุดไฟความใฝฝนที่อยากจะ เปนพระสงฆ เปนเสียงเรียกที่รอนแรงดั่งดวงไฟ ที่เผาไหมอุปสรรคที่ขวางกั้นทั้งปวงโดยเฉพาะความยากจน ไรที่พักอาศัย ขาดอาหาร ถูก ดูหมิ่นดูแคลน และบททดสอบชีวิตที่ผานเขามาครั้งแลวครั้งเลาทานเปนคนหนักแนน เขมแข็ง สู และรูจักอดทน มีความสุขุมรอบคอบ และสมบุกสมบัน ดวยความชวยเหลือของมารดและผูมีพระคุณจํานวนมาก ทําใหทานสามารถศึกษาและเตรียมตัวในการเปนพระสงฆ ดวยความมุงมั่นและจริงจัง จนไดรับการบวชเปนพระสงฆ ที่กรุงตุริน ในเดือนมิถุนายน ป 1841 เมื่ออายุได 26 ป ในชวงเวลานั้น การปฏิวัติอุตสาหกรรม และความเจริญกาวหนาทางดานพลังงาน ไดเปดประตูสูโลกใหม วิถีชีวิต ความเชื่อ การศึกษา และครอบครัว ลวนไดรับผลกระทบอยางกวางขวาง เมืองตุรินเต็มไปดวยแรงงานอพยพ ซึ่ง


สวนมากเปนเยาวชน ชีวิตแออัดในเมืองใหญ อาศัยในที่คับแคบ คาแรงไม พอหาอาหารเลี้ยงรางกาย สุขภาพเสื่อม โทรมอันเนื่องมากจากการทํางาน ครอบครัวแตกแยก ยาเสพติดแพรหลาย ปญหาโสเภณีและอาชญากรรม ตามชานเมืองเปนแหลงมั่วสุมความไมดีตาง ๆ ไมมีใครเหลียวแลปญหานี้ เด็ก ๆ เที่ยวเรรอนไปตามถนนหนทาง จับกลุมเลนการพนัน ทะเลาะกัน กลาวคําหยาบคาย และลงมือประพฤติชั่วเลวรายตาง ๆ นา ๆ เด็ก ๆ และ เยาวชนจํานวนมากตองอยูในคุก เนื่องจากพวกเขาขาดการอบรมสั่งสอนที่ ดี ถูกปลอยปละละเลย จึงทําอะไรตามใจตนเองโดยไมยั้งคิด “จริง ๆ แลว เด็ก ๆ เหลานี้ตองการโรงเรียน ที่จะพาเขาไปสูอนาคตที่แนนอน ตองการ การกระโดดโลดเตนในสนามหญาตามวิสัยเด็ก แทนที่จะนั่งเศราอยูตาม ทางเทา พวกเขาตองการพบกับพระเจา เพื่อจะสามารถเห็นและรักศักดิ์ศรี ของตนเอง เมื่อพวกเขาคอย ๆ สํานึกถึงศักดิ์ศรีมนุษยของตนมากขึ้น จะทําใหเขาเริ่มมีความสุขใจ และตั้งใจจะกลับเปนคนดีเสียใหม” คุณพอบอสโก จึงไดจัดตั้งศูนยเยาวชนแหงแรกขึ้น ที่วัลดอกโก ในสมัยนั้น ศูนยเยาวชนอื่น ๆ มักเลือกแตเด็กดี ๆ ความประพฤติ เรียบรอย ที่พอแมนํามาฝากฝง แตพอบอสโก เปดประตูตอนรับทุกคน โดยเริ่มจากเด็กที่เพิ่งพนโทษ ไมรูจะไปพบเพื่อนสักคนไดที่ไหน เด็กที่ครอบครัวอยูหางไกล ถูกทอดทิ้งใหอยูในสภาพอันตราย นี่คือหัวใจแหงศูนยเยาวชนของทาน พอบอสโกสงเสริมใหศูนยเยาวชนเต็ม ไปดวยชีวิตชีวาและความเบิกบานดวยการละเลนตาง ๆ ดวยความรัก ความ ใจดี และความราเริง การดําเนินงานของศูนยเยาวชน ชวงแรกเปนไปดวยความยากลําบาก เพราะไมมีเงินทุน ตองพเนจร เปลี่ยนสถานที่ไปเรื่อย ๆ แนนอนเด็ก ๆ จะวิ่งเลนอึกทึกครึกโครม สรางความเอือมระอาตอบรรดาผูคนและบาน เรือน ที่อยูรอบขาง ซึ่งไมมีใครยอมอดทนตอเด็ก ๆ เหลานี้ จากสุสาน ไปโรงสี จากบาน ซอมซอ จนที่สุดตองไปอยูที่ทุงนา เพื่อ ใหเด็ก 3-400 คนไดวิ่งเลนกันตามใจชอบ ในขณะที่พอบอสโกจะคอยฟงแกบาป เพื่อจะไดรวม มิสซาบูชาขอบพระคุณ รับศีลมหาสนิท และรับประทานอาหาร นอกจากนั้นทานยังออกไปเยี่ยมเด็ก ๆ ที่กําลังทํางานตามโรงงาน ที่ เรือนจํา และที่โรงเรียนตาง ๆ “พอตองการใหพวกเขาไดรูวา พอบอสโกเปนเพื่อนแท ที่รักและหวังดี ตอทุกคน” ในชวงนั้น ความวุนวายทางการเมืองที่ซับซอน และสงครามที่คุกรุนอยูทั่วทุกหัวระแหง ความขัดแยงกันระหวางรัฐกับพระศาสนจักร กอใหเกิดความรุนแรง มีการกอกวนทํารายและตอตานคณะพระสงฆ แตทานไมเขาไปยุงเกี่ยวกับการเมืองเลย ไมเปนเครื่องมือของใคร เพราะทานไดเลือกจุดยืนที่แข็งแกรง คือ “เราตองการชวยวิญญาณ ชวยเด็กอนาถาที่ชีวิตมีแตความยากจนขนแคน ใหไดรับการศึกษา” ความหวาดระแวงของผูปกครองบานเมือง และความเขาใจผิด ยอมนํามาซึ่งการกลาวรายปายสีเสมอ บางก็วาพอบอสโกปวยทางจิต หรือ เสียสติไปแลว หลายครั้งทําใหผูรวมงานตีตัวออกหาง และทอดทิ้งคุณพอไป ปลอยใหพอบอสโกอยูคนเดียวกับเด็ก ๆ หลายรอยคน จริง ๆ แลว ความเจ็บปวยของพอบอสโกคือ การทุมเทชีวิตจิตใจกับเด็ก ๆ เยาวชนจนขึ้นสมอง คุณพอบอสโกจึงมักจะอยู ทามกลางเด็ก ๆ ทุกครั้งที่ทําได “พออยูไมได ถาไมมีเด็ก ๆ” ในทามกลางการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองขนานใหญ คุณพอบอสโกกระโจนเขาไปทํางานเพื่อเด็กยากจนของทาน เพราะทนดูความ เรงดวนของปญหาไมได ตามหลักการที่วา ทันทีและฉับพลัน เพราะงานสําหรับเยาวชนที่ยากจนไมสามารถรอคอยได ทานไดตั้งโรงเรียน ภาคค่ําสําหรับเยาวชน ใหมีโอกาสเรียนคําสอน ฝกอาชีพ มีขาวกิน มีที่พักอาศัย มีอาชีพเปนหลักแหลง และจัดการหางานใหพวกเขาอีก ดวย กิจการของคุณพอบอสโกเริ่มแผขยายออกไป เนื่องจากมี


เยาวชนมาพักอาศัยเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ แมจะมีปญหาดานทุนทรัพยจนดูเหมือนไมมี หนทางจะเปนไปได แตดวยพระญาณเอื้ออาทรของพระเจาไดคอยชวยเหลือพอ บอสโกมาโดยตลอด และดวยความศรัทธาตอพระมารดามารียองคอุปถัมภซึ่ง เปนดังลมหายใจเขาออก ทานไดผานพนทุกวิกฤติมาไดดวยดี คุณพอบอสโกอบ รมเยาวชนที่ทานรักบนหลักของศาสนา เหตุผล และความรักใจดี ทานยอมทํา ทุกสิ่งทุกอยางเพื่อใหไดมาซึ่งความดีของเยาวชน และนําวิญญาณของพวกเขาไป หาพระเจาทุกคนที่พบเห็นคุณพอบอสโก อยูทามกลางเด็ก และเยาวชนอยางมี ความสุข ตางชื่นชมในพลังชีวิตที่ไมมีอุปสรรคใดจะขวางกั้นได และเพื่อใหงาน ตางๆ สําหรับเยาวชนที่ทานริเริ่ม ไดรับการตอยอดและสืบสานตอไปในอนาคต คุณพอบอสโกจึงรวบรวมเยาวชน ที่พรอมจะยืนเคียงขางทานอยูเสมอ อบรม ถายทอดความคิดและจิตตารมณของทานใหพวกเขาวันละเล็กวันละนอย ในที่สุด จากเด็ก ๆ ในศูนยเยาวชนนั้นเอง พวกเขาไดกลับ กลายเปนซาเลเซียนกลุมแรก ซาเลเซียนกลุมเล็ก ๆ นี้ ไดเติบโตขึ้นอยางนาอัศจรรย เสมือนตนไมตนเล็ก ๆ ที่เติบใหญ แตกหนอออกใบ และแผกิ่งกาน ทําใหกิจการเพื่อความดีของเยาวชนแผขยายไปไมมีหยุดยั้ง ไมเพียงแตในประเทศอิตาลีและประเทศใกลเคียงเทานั้น แต แตกแขนงออกไปทั่วโลก จวบจนปจจุบันนี้ “ใหบอกเด็ก ๆ ของพอวา พอคอยทุกคนในสวรรค” เวลาประมาณตี 4 ครึ่ง ของวันที่ 31 มกราคม ค.ศ.1888 คุณพอบอสโกไดสิ้นใจที่กรุงตุริน รวมอายุได 72 ป ทานไดรับการแตงตั้งเปนนักบุญเมื่อวันที่ 1 เมษายน ค.ศ. 1934 โดยพระสันตะปาปา ปโอที่ 6 ขอพระเจาผูทรงเปนตนกําเนิดของความดี และพระมารดามารียองคอุปถัมภ ผูทรงนําทางชีวิตของพอบอสโกมาโดยตลอด โปรดประทาน พระพรแกพวกเรา ใหเปยมไปดวยพลังกาย พลังใจ เพื่อพวกเราจะสามารถสานตอพันธกิจ ที่บรรดาคณะธรรมทูตซาเลเซียนซึ่งเขามา เมืองไทย และบรรดาสมาชิกครอบครัวซาเลเซียนจํานวนมาก ไดบุกเบิกวางรากฐานกิจการแพรธรรมในประเทศไทย อุทิศทั้งชีวิตเพื่อ อนาคตที่ดีของเยาวชนไทย เปนพยานแหงรักอันซื่อสัตยตอจิตตารมณซาเลเซียน ทั้งนี้ เพื่อคุณประโยชนตอพระศาสนจักรคาทอลิก และ สังคมไทย สืบไป ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.