ข้อคิดยามเช้า ประจำเดือน พฤศจิกายน 2014

Page 1


ข้อคิดยามเช้า วันเสาร์ ที่ 1 พฤศจิกายน ค.ศ.2014 “เมื่อพระเยซูเจ้าทรงเห็นพระมารดา และศิษย์ที่รักยืนอยู่ใกล้ ๆ จึงตรัสกับพระมารดาว่า ‘แม่ นี่คือลูกของแม่’ แล้วตรัสกับศิษย์ผู้นั้นว่า ‘นี่คือแม่ของท่าน’ นับตั้งแต่นั้น ศิษย์ผู้นั้นก็รับพระนาง เป็นมารดาของตน” (ยน 19:26-27) ข้อความตอนนี้เป็นสัญลักษณ์ หมายถึง “มนุษยชาติทุกคน” จากไม้ กางเขนพระเยซูเจ้าทรงมอบพระ มารดาของพระองค์ให้เป็นแม่ของเรา และ ในเวลาเดียวกันพระองค์ทรงมอบ เราให้เป็นลูกของพระนางด้วย เราทุกคนมีสิทธิโดยชอบธรรมทีจ่ ะเรียกพระนางว่า “แม่” ของเรา คาว่า “แม่” มีความหมายลึกซึ้งมาก เป็น คาที่บ่งบอกถึงความรัก ความเสียสละ และ ความผูกพันทีผ่ ู้หญิงมีต่อลูกของตน แม่พระคือบุคคลที่รักเราและพร้อมที่ จะเสียสละเพื่อเรา พระนางทรงเป็นผู้ที่คอยช่วยเหลือเรา ดูแลเอาใจใส่เรา อบรมสั่งสอนเรา นาทางเรา และ ปกป้อง คุ้มครองเรา พระแม่จึงเป็นบุคคลที่เราควรไว้วางใจมากที่สดุ ผู้ซึ่งพร้อมที่จะช่วยเหลือเราเสมอและตลอดไป การ ประจักษ์มาของแม่พระหลายครั้งไม่ว่าจะที่ตาบลฟาติมา ประเทศโปรตุเกส เมืองลูร์ด ประเทศฝรั่งเศส หรือ ที่อื่นอีก หลายแห่งบนโลกนี้ ล้วนสะท้อนให้เห็นถึงความเป็นแม่ที่ดีของพระนาง แล้วเราแต่ละคนล่ะ เราเป็นลูกทีด่ ีของพระนาง และสมาชิกที่ดีของพระศาสนจักรแล้วหรือยัง? หรือว่าทาให้แม่ผู้แสนดีคนนี้ต้องเจ็บช้าน้าใจไม่เว้นแต่ละวัน? ลูกที่ดี ต้องนบนอบเชื่อฟังคาแนะนาและคาสัง่ สอนของผู้เป็นแม่ เราต้องใช้โอกาสต่าง ๆ แสดงความรักและความกตัญญูต่อ แม่พระโดยทาให้ความเชื่อของเรามั่นคง และ เข้มแข็งมากยิ่งขึน้ อาศัยพระวาจา ศีลศักดิ์สทิ ธิ์ และ การอธิษฐาน ภาวนาทาตัวเราให้เป็นศิษย์ที่ดแี ละใกล้ชิดกับพระเยซูเจ้าพระบุตรของพระนาง ให้มากยิ่งขึน้ เรื่อย ๆ นี่แหละคือวิธีดี ที่สุดซึ่งเราสามารถตอบแทนความรักที่แม่พระมีต่อเราแต่ละคน ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ข้อคิดยามเช้า วันอาทิตย์ ที่ 2 พฤศจิกายน ค.ศ.2014 วันสมโภชนักบุญทั้งหลาย วันนี้พระศาสนจักรทาการ สมโภชนักบุญทั้งหลาย บางคนถามว่า จาเป็นด้วยหรือที่เราต้องมีวันพิเศษนี?้ เพราะตลอดทั้งปี เราทาการฉลองและ สมโภชนักบุญแทบทุกวันอยู่แล้ว ทาไมต้องมีวนั พิเศษเพื่อฉลองนักบุญ ทุกองค์พร้อมกันอีก? ประการแรก ยังมีบรรดา นักบุญ มรณสักขี ชาย หญิง และ เด็ก จานวนนับไม่ถ้วน ที่เวลานี้ได้ร่วมส่วน ในพระสิริรุ่งโรจน์กบั พระเจ้าในสวรรค์ ซึ่งเป็นบุคคลที่เราไม่ได้ทาการฉลอง อย่างเป็นทางการ พวกเขาอาจเป็น ปู่ย่า ตายาย หรือบิดามารดาของเรา เมื่อพวกเขายังอยู่บนโลกนี้ เป็นบุคคล ที่มีความเชื่อ และ ปฏิบัติตามพระ ประสงค์ของพระเจ้าอย่างดีวันนี้ เราจึงมาระลึกถึงพวกเขาเป็นพิเศษ ดังนั้น สามารถเรียกวันสมโภชนีว้ ่าวันฉลองนักบุญนิรนาม หรือ นักบุญที่พระศาสนจักรไม่ได้ประกาศแต่งตั้งอย่างเป็น ทางการ “ประชาชนมากมายเหลือคณานับจากทุกชาติ ทุกเผ่า ทุกประเทศ และทุกภาษา กาลังยืนอยู่เฉพาะพระบัลลังก์ และ เฉพาะพระพักตร์ลูกแกะ ทุกคนสวมเสื้อขาว ถือใบปาล์ม” (วว 7:9) ประการที่สอง วันสมโภชนี้เตือนใจเราให้คิดถึงเป้าหมายสุดท้ายของชีวิต บรรดานักบุญผู้ซงึ่ เราฉลองในวันนี้ เคยเป็นมนุษย์เดินดินเหมือนเราสถานที่ซงึ่ เราอยู่ในเวลานี้พวกเขาเคยอยู่มาก่อน และ สถานทีพ่ วกเขาอยู่ในปัจจุบนั นี้ เราหวังที่จะไปอยู่สักวันหนึ่ง ในฐานะคริสตชน เรื่องราวของเราไม่ได้จากัดอยู่กับสิ่งที่เกิดขึ้นระหว่างวันที่เราเกิด และ วันที่เราตายเท่านัน้ แต่เริ่มตั้งแต่วินาทีแรกที่เราปฏิสนธิในครรภ์มารดาของเรา และ ดาเนินต่อไปในนิรันดรภาพ นั่นคือไม่ได้หยุด แต่เลยผ่านวันที่เราต้องจากโลกนีไ้ ป นี่คือเหตุผลที่วา่ ทาไมเราไม่ลืมบุคคลทีส่ นิ้ ใจไปแล้ว


นักบุญเทเรซา แห่งลีซีเออ บอกว่า ท่านจะเริ่มนิรันดรภาพของท่านด้วยการทาความดีตั้งแต่บนโลกนี้ ใน สายตาของมนุษย์ทั่วไป ท่านได้สิ้นชีวติ และ จากโลกนี้ไปแล้ว แต่ในสายตาแห่งความเชื่อ เรารู้ว่าเวลานี้ท่านยังมีชีวิต อยู่ และ กาลังร่วมส่วนในพระสิริรุ่งโรจน์กับพระเจ้าในสวรรค์ ชีวิตที่ท่านดารงอยู่ในเวลานี้เป็นชีวิตที่ยิ่งใหญ่กว่าชีวิต บนโลกนี้หลายเท่า เพราะเป็นชีวิตนิรันดรทีไ่ ม่วันเสื่อมสลายไปด้วยความเจ็บป่วย ความทุกข์ทรมาน บาป หรือ ความ ตายเหมือนชีวิตของเราบนโลกนี้ การบรรลุถึงความศักดิ์สิทธิ์ของชีวิตเหมือนบรรดานักบุญทั้งหลาย ไม่ได้เกิดขึ้นแบบอัตโนมัติ หรือเกิดขึ้นได้ ง่าย ๆ การเป็นคริสตชนไม่ได้รบั รองว่าเราสามารถเข้าสู่อาณาจักรสวรรค์ได้ พระเยซูเจ้าตรัสถึงเรื่องนี้ไว้อย่างชัดเจนว่า “คนที่กล่าวแก่เราว่า ‘พระเจ้าข้า พระเจ้าข้า’ นั้น มิใช่ทุกคนจะได้เข้าสู่อาณาจักรสวรรค์ แต่ผู้ปฏิบัตติ ามพระประสงค์ของพระบิดาของเรา ผู้สถิตในสวรรค์นั่นแหละจะเข้าสู่สวรรค์ได้” (มธ 7:21) ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ข้อ ข้อคิดยามเช้า วันจันทร์ ที่ 3 พฤศจิกายน ค.ศ.2014 วันภาวนาอุทิศแด่ผู้ล่วงลับ การปฏิบัติตามพระประสงค์ ของพระบิดาเจ้าสวรรค์ คือ เราต้อง ดาเนินชีวิตตาม “ความสุขแท้แปดประการ” ซึ่งเป็นแนวทางที่นาไปสู่ ชีวิตนิรันดรหรืออาณาจักรสวรรค์ ซึ่งพระเยซูเจ้าทรงมอบให้แก่บรรดา ศิษย์ของพระองค์ บรรดานักบุญ ทั้งหลายได้เดินตามแนวทางนี้อย่าง จริงจังและอย่างซื่อสัตย์ ในที่สุดพวก ท่านสามารถบรรลุถึงจุดหมาย ปลายทางสุดท้ายของชีวิต พระศาสนจักรจึงเชื้อเชิญ และ ท้าทายเราแต่ละคน ให้เดินตาม แนวทางดังกล่าว ที่ผู้ศักดิ์สิทธิ์เหล่านี้ ได้ใช้เพื่อบรรลุถึงชีวิตนิรันดร ความสุขแท้แปดประการนาเสนอวิถีชีวิต ที่เชื้อเชิญเราให้ทาตัวเป็นหนึ่งเดียวกับบรรดาคนยากจน คนเป็นทุกข์โศกเศร้า คนมีใจอ่อนโยน และ คนที่หิวกระหายความชอบธรรม วิถีชีวิตแบบนี้ท้าทายเราให้เป็นคนที่มีใจ เมตตามีใจบริสุทธิ์ และ เป็นผู้สร้างสันติในทุกแวดวงของชีวติ นั่นคือ ในครอบครัวของเราเอง ในสังคมที่เราอาศัยอยู่ หรือในประเทศที่เราเป็นส่วนหนึ่ง แม้ว่าการกระทาของเราอาจนามาซึง่ การเยาะเย้ยหรือการเบียดเบียนข่มเหงก็ตาม ไม่มีนักบุญองค์ใดมุ่งแสวงหาความร่ารวย อานาจ หรือความนิยมชมชอบส่วนตัว แต่พวกท่านมองตรงไปทีช่ ีวิตนิรนั ดร ซึ่งเป็นของประทานที่พระเจ้าทรงเตรียมไว้สาหรับผูท้ ี่ซื่อสัตย์ตอ่ พระองค์จนถึงวินาทีสุดท้ายของชีวิต แน่นอน วิถีชีวิต ดังกล่าวนี้เป็นวิถชี ีวิตที่ยากลาบาก เราต้องมีความเชื่อที่เข้มแข็งและความกล้าหาญอย่างเต็มเปีย่ มจึงจะสามารถก้าว เดินบนวิถชี ีวิตสายนีไ้ ด้ แบบอย่าง และ การอธิษฐานภาวนาอย่างสม่าเสมอของนักบุญทั้งหลายจะเป็นกาลังแก่เรา และ ช่วยเราให้มีความเพียรทนในการต่อสู้กับปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ในชีวติ แต่ละวัน


นักบุญเอากุสติน ปราชญ์ผู้ยิ่งใหญ่ของพระศาสนจักรพบว่า การดาเนินชีวิตตามแนวทางความสุขแท้แปด ประการเป็นเรื่องที่ไม่งา่ ยเลย แต่เมื่อท่านได้อ่านเรื่องราวชีวิตของบรรดานักบุญต่าง ๆ ท่านบอกว่า “สิ่งที่ชายและหญิงธรรมดาเหล่านี้ได้ทา ทาไมฉันจะทาไม่ได้?” ความเชื่อทาให้เรามั่นใจว่า ทุกคนที่ตอบสนองเสียงเรียกของพระเยซูเจ้า และดาเนินชีวิตตามแนวทาง ความสุขแท้แปดประการที่พระองค์ทรงสอน เมื่อเวลาสุดท้ายของชีวิตมาถึง เขาจะได้ยนิ ถ้อยคาแห่งการปลอบโยนของ พระองค์ที่ว่า “ดีมาก ผู้รับใช้ทดี่ ีและซื่อสัตย์... จงมาร่วมยินดีกับนายของเจ้าเถิด” (มธ 25:21) ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ข้อคิดยามเช้า วันอังคาร ที่ 4 พฤศจิกายน ค.ศ.2014 “บุญลาภหรือความสุขแท้แปดประการ” เป็นแนวทางที่พระเยซูเจ้าทรงวางไว้เพื่อนา เราไปสู่ความศักดิ์สิทธิ์ให้ภาพทีช่ ัดเจนของ ลักษณะคริสตชนที่ดีและควรจะเป็นคาว่า “พระอาณาจักรสวรรค์” ไม่ได้หมายความเพียงแค่สถานที่ซึ่งเราจะ ไปอยู่กับพระเจ้าในโลกหน้า หรือ ชีวิต นิรันดรหลังความตายเท่านั้น แต่หมายถึง สังคมที่เราเป็นส่วนหนึง่ ในเวลานี้ด้วย เมื่อ เราดาเนินชีวิตสอดคล้องกับคุณค่าเหล่านี้ สังคมของเราจะเต็มไปด้วยความจริง ความรัก สันติสุข ความเห็นอกเห็นใจ ความยุติธรรม เสรีภาพ และการแบ่งปัน คุณลักษณะเหล่านีส้ ะท้อนให้เห็นการ ประทับอยู่ของพระเจ้า ใจความสาคัญของ ความสุขแท้คือเราจะเป็นผู้มีความสุขที่ แท้จริงได้ เมื่อเรารู้ว่าชีวิตของเราขึ้นอยู่กับพระเจ้า และ เพื่อนพี่น้องชายหญิงของเรา เมื่อเราดาเนินชีวิตตามแนวทาง ที่พระเยซูเจ้าทรงเชื้อเชิญให้เราดาเนินตาม วันสมโภชนักบุญทั้งหลายที่ผา่ นมาเป็นโอกาสแห่งการขอบคุณที่ยิ่งใหญ่ เราฉลองผู้ที่จากโลกนี้ไปก่อนเราซึ่งอาจจะเป็นสมาชิกในครอบครัวของเราเอง ญาติพี่น้อง เพื่อนบ้าน มิตรสหายของ เรา ขอบคุณพวกเขาสาหรับทุกสิ่งทุกอย่างที่พวกเขาได้ทาเพื่อเรา ช่วยเหลือ ให้กาลังใจ ในขณะที่พวกเขายังอยู่กับเรา บนโลกนี้ อีกทั้งยังเตือนใจว่าสักวันหนึ่งเราก็ต้องจากโลกนี้ไปเหมือนกัน และถ้าเราปฏิบัติตัวเหมือนพวกเขา โดย ดาเนินชีวิตตามแนวทางของ “ความสุขแท้แปดประการ” ที่พระเยซูเจ้าได้ทรงให้กับเรา เราจะสามารถเข้าสู่เมืองสวรรค์เหมือนพวกเขาเช่นเดียวกัน เป็นโอกาสดีทจี่ ะอธิษฐานภาวนาต่อพวกเขา ขอให้พวกเขาอธิษฐานภาวนาเพื่อเรา อธิษฐานภาวนาต่อพระเจ้าแทนเรา เพื่อว่าเราจะสามารถดาเนินชีวิตคริสตชน อย่างซื่อสัตย์และมัน่ คงเข้มแข็ง และ เมื่อถึงเวลาที่เราต้องจากโลกนี้ไป เราจะได้เป็นนักบุญเหมือนพวกเขาในเมือง สวรรค์ ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ข้อคิดยามเช้า วันพุธ ที่ 5 พฤศจิกายน ค.ศ.2014 พระเยซูเจ้าทรงบอก เราอย่างชัดเจนว่า ผู้ที่เป็นสุข คือผู้มีใจยากจน หมายถึงผูท้ ี่ ตระหนักถึงความขาดตก บกพร่อง และ ความเปราะบาง ของตัวเอง ตระหนักดีว่า พวก เขาต้องการความช่วยเหลือและ พลังจากพระเจ้า พวกนี้จะ ตรงกันข้ามกับพวกที่อ้างว่า ตนเองเป็นอิสระจากพระเจ้า และสามารถควบคุมชีวติ ของ ตัวเองได้ ผู้เป็นทุกข์โศกเศร้า หมายถึงผู้กาลังเดือดร้อนและ ทุกข์ใจ พวกนี้จะได้รับความบรรเทาใจและการปลอบโยนจากพระเจ้าและกลุ่มคริสตชนที่พวกเขาเป็นส่วนหนึ่ง ผู้มีใจ อ่อนโยน เป็นผู้ที่เข้าหาคนอื่นด้วยความเอาใจใส่ด้วยความเห็นอกเห็นใจ และความอ่อนหวานละมุนละม่อมเป็นผู้ที่ ตระหนักถึงความต้องการของคนอื่น ผู้หิวกระหายความชอบธรรม เป็นผู้ที่พยายามทาทุกอย่าง ไม่ว่าจะแลกด้วยอะไร ก็ตาม บางครั้งอาจต้องแลกด้วยชีวิต เพื่อทุกคนจะได้รับสิ่งที่เหมาะสมกับศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของเขา ผู้มีใจความ เมตตา เป็นผูท้ ี่มีความเข้าอกเข้าใจและให้อภัยแก่ทุกคนที่อยู่รอบข้างพวกเขา ผู้มีใจบริสทุ ธิ์ ไม่ได้หมายถึงความบริสุทธิ์ ทางเพศ แต่หมายถึงความเรียบง่าย ปราศจากความซับซ้อน ปราศจากอคติ จึงไม่ใช่เรื่องแปลกที่บุคคลเหล่านี้จะได้ เห็นพระเจ้า เพราะว่าสาหรับพวกเขาการประทับอยู่ของพระเจ้าปรากฏชัดในทุกคนและทุกประสบการณ์ชีวิต ผู้สร้าง สันติ เป็นบุคคลทีพ่ ยายามทาลายกาแพงที่แบ่งแยกผู้คน ไม่ว่าจะเป็นชนชัน้ เชื้อชาติ ศาสนา หรืออะไรก็ตาม ที่ ก่อให้เกิดความขัดแย้งระหว่างกลุ่มชนบุคคลเหล่านี้จะได้ชื่อว่าเป็นบุตรของพระเจ้า พระเจ้าทรงส่งพระเยซูเจ้ามา ประทับอยู่ทา่ มกลางเรา เพื่อทาลายกาแพงที่กั้นระหว่างพระเจ้าและประชากรของพระองค์และกาแพงที่เกิดขึ้น ระหว่างประชากรของพระองค์เองด้วยผู้ถูกเบียดเบียนข่มเหงเพราะความชอบธรรม การเบียดเบียนข่มเหงในตัวมัน เองไม่ได้เป็นประสบการณ์ทนี่ ่ายินดี และอาจส่งผลให้สูญเสียชีวิตได้ แต่เป็นบุญของผู้ที่มีความเข้มแข็งและกล้าหาญที่ จะให้คุณค่าของความจริง ความรักและความยุติธรรมอยู่เหนือสิ่งอื่นใดหมด แม้แต่ชีวิตของตนเอง


มีนักบุญหลายท่านเป็นมรณสักขี เป็นผู้ที่สละชีวิตของตนเองเพื่อปกป้องความจริง ความถูกต้อง ความรัก และความยุติธรรม นี่คือรูปแบบคริสตชนที่พระเยซูเจ้าอยากจะให้เราเป็นและทาให้หลายคนได้เป็นนักบุญมาแล้ว การไม่ทาสิ่งที่ผดิ ถือว่ายังไม่เพียงพอสาหรับคริสตชนที่ดี เขาต้องทาในสิ่งที่ดีและถูกต้องด้วย ความสุขแท้แปดประการ นี่แหละที่บอกเราว่า อะไรคือสิ่งที่ดีและถูกต้องที่เราควรทาซึ่งไม่ใช่เพียงแค่กิจการภายนอกเท่านัน้ แต่ท่าทีภายในที่เราต้องมีด้วยความสุขแท้แปดประการจึงเป็นแนวทางที่ทาให้เรามั่นใจได้ว่า เมื่อถือตามแล้ว เราจะได้เป็นนักบุญอย่างแน่นอน ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ข้อคิดยามเช้า วันพฤหัสบดี ที่ 6 พฤศจิกายน ค.ศ.2014 พระเยซูเจ้าทรงรับทรมาน และ สิ้นพระชนม์ ด้วยความสมัครใจ เพราะพระองค์ทรงรักเรา การ สิ้นพระชนม์ของพระองค์เป็นการแสดงออกถึงการให้ ตนเองแก่เราทั้งครบและจนถึงทีส่ ุด ให้แม้กระทั่งชีวิต ของพระองค์เอง พระบิดาทรงยอมรับการถวายตนเอง ด้วยพระทัยอิสระของพระบุตรสุดที่รักของพระองค์ และ ทรงทาให้องค์พระบุตรกลับคืนพระชนมชีพอีก ครั้งหนึ่ง การกลับคืนพระชนมชีพของพระเยซูเจ้า พิสูจน์ให้เห็นว่าความตายถูกชนะอย่างเด็ดขาดแล้ว เป็นการทาให้วัฏจักรแห่งความรักสมบูรณ์ไป เป็นการ รับรองความถูกต้องของวิถีทางแห่งรักซึ่งในวิถีทางนี้ พระองค์ทรงให้ตัวพระองค์เองแก่มวลมนุษย์ ความรัก เปลี่ยนรูปแบบและความหมายของความตายอย่าง สิ้นเชิง ในฐานะผู้มีความเชื่อในพระเยซูเจ้าผู้ทรงกลับคืนพระชนมชีพ เรามีหน้าที่กระจายความมัน่ ใจว่า โลกซึ่งเรา ดาเนินชีวิตอยู่นสี้ ามารถกลายเป็นสถานที่เต็มไปด้วยแสงสว่างและชีวิต ความชั่วร้ายที่อยู่ในโลกของเราจะถูกชนะด้วย ความดี ความมืดมนจะถูกชนะด้วยชีวิต การเอาตัวเองเป็นศูนย์กลางจะถูกชนะด้วยความเมตตากรุณา และ วัฒนธรรม แห่งความตายจะถูกชนะด้วยพลังแห่งชีวิตเท่านั้น ถ้าสิ่งเหล่านีเ้ กิดขึ้น การกลับคืนชีพฝ่ายจิตของมนุษยชาติจะ กลายเป็นความจริง เราแต่ละคนต้องทางานเพื่อสร้างสังคมที่มคี วามเป็นน้าหนึ่งใจเดียวกัน สังคมที่พร้อมจะต้อนรับทุก คน โดยเฉพาะอย่างยิ่งบรรดาผูท้ ี่เป็นทุกข์เดือดร้อน ผู้ที่สังคมรังเกียจและถูกทอดทิ้ง การกลับคืนชีพทาให้เราเป็น อิสระ ปลดปล่อยเราจากการปิดตัวเองภายในกรอบแห่งความจากัดของเรา และ เปิดตัวเราสู่วิถที างใหม่ของการพบ ตัวเองในความรักที่ยิ่งใหญ่ และ ไร้ขอบเขตของพระเจ้า ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ข้อคิดยามเช้า วันศุกร์ ที่ 7 พฤศจิกายน ค.ศ.2014 พระศาสนจักรเชิญชวนเราให้ชนื่ ชม ยินดีในพระเจ้าทุกเวลา ความชืน่ ชมยินดีเป็น ความรู้สึกพื้นฐานที่คริสตชนทุกคนพึงมี ความรู้สึกนี้เกิดจากการมีส่วนร่วมในความ ยินดี และ สันติสุขที่พระเยซูเจ้านามาให้ มนุษย์ทุกคนบนโลกนี้ ไม่เพียงในอนาคตที่ ยาวไกลเท่านัน้ แต่ในเวลานี้และที่นี่ด้วย เราเป็นคริสตชนไม่ใช่เพราะเราจาเป็นต้อง เป็น แต่เพราะไม่มีการเป็นอย่างอื่นที่ดี เท่ากับการเป็นคริสตชนอีกแล้ว “พระเจ้าข้า พวกเราจะไปหาใครเล่า พระองค์มีพระวาจาแห่งชีวิตนิรันดร” (ยน 7:68) ไม่มีใครที่ยิ่งใหญ่และคู่ควรที่เราจะติดตาม เท่ากับพระบุตรของพระเจ้าผู้นอี้ ีกแล้ว การเป็นคริสตชนจึงถือว่าเป็นเรื่องที่น่ายินดีเป็นอย่างยิ่ง คริสตชนที่ยงั รู้สึกเศร้าใจจึงถือว่าแปลก แต่ไม่ได้ หมายความว่าชีวิตคริสตชนเป็นชีวิตที่ปราศจากความทุกข์ยากลาบาก เจ็บป่วย ผิดหวัง ความล้มเหลว และ สูญเสีย เหมือนชีวิตทั่วไป สิ่งต่างๆ เหล่านี้เป็นส่วนหนึ่งของชีวิตมนุษย์ทุกคนอยู่แล้ว เพียงแต่เราจะมองพวกมันอย่างไร... ถ้ามองว่าเป็นการลงโทษ สาหรับความผิดพลาดของเราหรือของคนอื่นเท่านั้น เราคงต้องพบกับความเศร้า โศกอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ แต่ถ้ามองอย่างลึกซึ้งด้วยสายตาแห่งความเชื่อ เราจะพบว่าทุกสิ่งที่ผา่ นเข้ามาในชีวิตของเรา มีคุณค่าและมีความหมายในตัวมันเอง เป็นบางสิ่งที่ช่วยเราให้เข้มแข็งและเติบโตเป็นผู้ใหญ่มากขึ้น ทุกสิ่งที่เกิดขึ้น แม้ว่าจะเลวร้ายขนาดไหน ย่อมมีด้านบวกเสมอ หากมองให้เห็นฝีพระหัตถ์ของพระเจ้าในทุกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิต ของเรา แล้วเราจะพบความหมายที่แท้จริงของพวกมัน และ ผลที่ตามก็คือความชืน่ ชมยินดี และ สันติสุขที่แท้จริงจะ เกิดขึ้นภายในจิตใจของเรา พระเยซูเจ้าทรงบอกเราว่า เมื่อเรามีสิ่งเหล่านี้แล้ว จะไม่มีใครสามารถเอาพวกมันไปจาก เราได้ ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ข้อคิดยามเช้า วันเสาร์ ที่ 8 พฤศจิกายน ค.ศ.2014 ในเช้าตรู่วันหนึง่ ขณะที่ยงั มืด อาจารย์ชาวยิวคนหนึ่งได้ถาม ศิษย์ว่า พวกเขาสามารถรู้อย่างไรว่า กลางคืนได้ผา่ นไปแล้ว …และกลางวัน กาลังเริ่มต้นขึ้น? ศิษย์คนหนึ่งตอบว่า “เมื่อท่านเห็นสัตว์ตัวหนึ่งและ สามารถบอกได้ว่า มันเป็นแกะหรือว่าสุนัข” “ไม่ใช่” อาจารย์ตอบ ศิษย์อีกคนหนึ่งบอกว่า “เมื่อท่านมองไปยังต้นไม้ที่อยู่ไกลๆ แล้วสามารถแยกแยะได้ว่ามันเป็น ต้นมะเดื่อหรือว่าต้นมะกอกเทศ” “ไม่ใช่อีกนั่นแหละ” อาจารย์ตอบ แล้วกล่าวต่อว่า “เมื่อพวกท่านมองหน้าของหญิงหรือชายคนใดคน หนึ่ง และ เห็นว่าเธอเป็นน้องสาว และ เขาเป็นน้องชายของพวกท่าน เพราะตราบใดก็ตามที่พวกท่านยังไม่ สามารถทาสิ่งนี้ได้ ไม่ว่าจะกี่โมงกี่ยาม มันก็ยังมืดอยู่ดีสาหรับพวกท่าน” สาหรับคริสตชน เมื่อเราได้รีบศีลล้างบาปชีวิตใหม่ของพระเยซูเจ้าเข้ามาในชีวิตของเรา และ เปลี่ยนเราให้ เป็นพยานแห่งความรักของพระองค์ ความรักซึ่งเปิดวิถีชีวิตใหม่ และ อนาคตแห่งความหวังสาหรับเรา ให้เราพิจารณา ไตร่ตรองถึงการดาเนินชีวิตของเราด้วยหัวใจ และ ด้วยสายตาแห่งความรัก เพือ่ ว่าเราจะได้มองทะลุเข้าไปในความมืด เห็นความจริงเกี่ยวกับพระเยซูเจ้า และ ความเป็นพีน่ ้องในทุกคนที่เราพบปะในแต่ละวัน ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ข้อคิดยามเช้า วันอาทิตย์ ที่ 9 พฤศจิกายน ค.ศ.2014 วันฉลองครบรอบการถวายมหาวิหารนักบุญยอห์น ลาเตรัน คาว่า “อาสนวิหาร” มาจากคา ภาษาละติน “Cathedra” (คาเธดรา) ซึ่งแปลว่า “อาสนะ หรือ เก้าอี้” ทุกสังฆมณฑลมีวัดแห่งหนึ่งซึ่งมี ที่วางอาสนะสาหรับพระสังฆราช โดยเฉพาะ อันเป็นเครื่องหมายแห่งการ ปกครอง และ อานาจในการสั่งสอนเหนือ สังฆมณฑลนั้น วัดที่มีอาสนะประจา ตาแหน่งพระสังฆราชจึงเรียกว่า “อาสนวิหาร” วันนี้เราฉลองการถวาย “มหาวิหารนักบุญยอห์น ลาเตรัน” ซึ่งเป็น “อาสนวิหารแห่งกรุงโรม” โดยมีพระสันตะปาปาดารงตาแหน่งเป็น พระสังฆราช พระศาสนจักรเชิญชวนเรา ให้ระลึกว่า แม้ไม่มีสิ่งก่อสร้างใดในโลก สวยงาม และ ใหญ่พอที่จะบรรจุความยิ่งใหญ่ของพระเจ้าได้ แต่มนุษย์รู้สึกถึงความจาเป็นที่จะสงวนสถานที่จานวน หนึ่งไว้เพื่อการพบปะส่วนตัวหรือเป็นหมู่คณะกับพระเจ้า ในสมัยเริ่มแรกกลุ่มคริสตชนชุมนุมกันในบ้านของสมาชิกคน ใดคนหนึ่งเพื่ออธิษฐานภาวนาและทาพิธีบิขนมปังซึ่งในปัจจุบันเราเรียกว่า “พิธีมิสซา” หรือ “พิธีบูชาขอบพระคุณ” ถ้าพระวิหารคือที่ประทับของพระเจ้า สถานที่กลุ่มคริสตชนชุมนุมกัน จึงกลายเป็นพระวิหารศักดิ์สิทธิ์ไปด้วย เพราะ พระเยซูเจ้าเคยตรัสว่า “ที่ใดมีสองหรือสามคนชุมนุมกันในนามของเรา เราอยู่ที่นั่นในหมู่พวกเขา” (มธ 18:20) เมื่อกลุ่มคริสตชนได้เพิ่มจานวนมากขึ้นเรื่อย ๆ การชุมนุมกันในบ้านจึงไม่สะดวก พวกเขาจึงได้เริ่มสร้าง สถานที่เพื่อประกอบพิธีกรรม เทศน์สอนพระวาจาของพระเจ้า และ อธิษฐานภาวนาโดยเฉพาะ ต่อมาเมื่อได้รับ อิสรภาพในการนับถือศาสนาจากอาณาจักรโรมันแล้ว กลุ่มคริสตชนในสมัยนัน้ ได้เริ่มสร้างวัดและวิหารใหญ่ ๆ ขึ้น และ หนึ่งในสี่มหาวิหารเอกแห่งกรุงโรมคือ มหาวิหารนักบุญยอห์น ลาเตรัน มหาวิหารนี้เดิมเป็น “ปราสาทลาเตรัน” ซึ่งเป็นสมบัติของครอบครัวจักรพรรดิคอนสแตนติน เมื่อจักรพรรดิองค์นี้กลับใจมาเป็นคริสตชน พระองค์ได้มอบ ปราสาทหลังนี้ให้เป็นที่ประทับของพระสันตะปาปา ต่อมาได้มกี ารปรับปรุงให้กลายเป็นวัดประจาตาแหน่งพระ สันตะปาปา และ ถวายแด่พระผู้ไถ่ เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 324 ด้วยเหตุนี้ อาสนวิหารแห่งแรกของ พระศาสนจักร และ โลก จึงได้ชอื่ ว่า “มหาวิหารพระผู้ไถ่”


ในปี ค.ศ. 896 ได้เกิดแผ่นดินไหวใหญ่จนทาให้มหาวิหารพังทลายลง พระสันตะปาปาแซร์จิอสุ ที่ 3 จึงได้ สร้างมหาวิหารขึ้นใหม่ตรงที่เดิม และ ถวายแด่นักบุญยอห์นบัปติสต์และนักบุญยอห์น อัครสาวก ปัจจุบันเราจึงเรียก มหาวิหารเก่าแก่และสาคัญทีส่ ุดนี้ว่า “มหาวิหารนักบุญยอห์น ลาเตรัน” มหาวิหารนี้เคยเป็นสถานที่ประชุม สังคายนาสาคัญถึง 5 ครั้ง มหาวิหารนี้ยังเป็น “สัญลักษณ์แห่งความเป็นหนึ่งเดียวกัน” ของพระศาสนจักรทุกแห่งใน โลกกับพระศาสนจักรที่กรุงโรม การฉลองวันนี้จงึ เป็นการแสดงออกถึงความเป็นหนึ่งเดียวกันของคาทอลิกทั่วโลกกับ พระสันตะปาปา มหาวิหารนี้ยังได้ชื่อว่าเป็น “มารดา และ ที่หนึ่งในบรรดาวัดทุกแห่งในกรุงโรมและบนโลกนี้” ที่ประทับของพระเจ้าทุกแห่ง ไม่ว่าจะเป็นวัดไม้เล็ก ๆ หรืออาสนวิหารใหญ่ ๆ หรือมหาวิหารที่สวยงาม ล้วนมีคุณค่า และ ความสาคัญเท่ากันในสายพระเนตรของพระเจ้า และ เมื่อพระเจ้าประทับอยู่ที่ใด ที่นนั่ กลายเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ ไปด้วย ดังนัน้ การกระทาใดทีท่ าให้ความศักดิ์สิทธิ์ของสถานที่ดงั กล่าวต้องเปื้อนหมอง จึงควรขจัดออกไปให้หมดสิ้น ในพระวรสารวันนี้พระเยซูเจ้าทรงทาการชาระพระวิหารซึ่งเป็น “บ้านของพระบิดา” (ยน 2:16) ของ พระองค์ พระเจ้าของเราทรงความรักยิ่งใหญ่และไร้ขอบเขตจากัด ในบ้านของพระองค์จึงมีที่สาหรับทุกคน ดังนั้น วัด หรืออาสนวิหาร หรือมหาวิหารซึ่งเป็นบ้านของพระองค์ จึงต้องเปิดต้อนรับทุกคน ไม่ว่าเชื้อชาติหรือศาสนาใด สามารถมาอธิษฐานภาวนาในสถานที่ดังกล่าวได้ ให้เราวอนขอพระเยซูเจ้าชาระดวงใจของเราให้บริสุทธิ์ เพื่อสมเป็น “พระวิหารของพระเจ้า” (1 คร 3:16) และ ที่ประทับที่เหมาะสมสาหรับพระองค์ ให้เราทุกคนเปิดใจกว้างเพื่อ ต้อนรับพี่น้องต่างความเชื่อทุกคน ที่ปรารถนาจะเข้ามาอธิษฐานภาวนา และ สัมผัสความรักของพระเจ้าในบ้านของ พระองค์แห่งนี้ พระเจ้าทรงรักพวกเขาไม่น้อยกว่าที่ทรงรักเราแต่ละคนผู้ซึ่งเป็นบุตรชายหญิงของพระองค์โดยทางพระ คริสตเจ้า ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ข้อคิดยามเช้า วันจันทร์ ที่ 10 พฤศจิกายน ค.ศ.2014 วัดต่าง ๆ อาสนวิหาร หรือ มหาวิหารที่สวยงาม ล้วนมีคุณค่าและ ความสาคัญเท่ากันในสายพระเนตร ของพระเจ้า เพราะเมื่อพระเจ้า ประทับอยู่ที่ใด ที่นั่นกลายเป็น สถานที่ศักดิ์สทิ ธิ์ไปด้วย การกระทา ซึ่งทาให้ความศักดิ์สิทธิ์ของสถานที่ ดังกล่าวต้องเปื้อนหมอง จึงควรขจัด ออกไปให้หมดสิ้น ในพระวรสารพระเยซูเจ้า ทรงทาการชาระพระวิหารซึ่งเป็น “บ้านของพระบิดา” (ยน 2:16) ของพระองค์ การค้าขายสิ่งต่าง ๆ ที่ จะนามาประกอบพิธีทางศาสนา ในบริเวณที่กาหนดไว้ถือว่าไม่ผดิ เพราะจุดประสงค์หลักของกิจการนี้ คือ อานวยความสะดวกสาหรับ ประชาชนที่อยู่ห่างไกลจากพระวิหาร แต่ทีละเล็กละน้อยการอานวยความสะดวกได้เป็นธุรกิจที่สร้างกาไรอย่างงามให้กับสมณะบางคน พวกเขาเอา ศาสนามาบังหน้าเพื่อหาเงินเข้ากระเป๋าตนเองมากกว่าเป็นค่าใช้จ่ายในพระวิหาร พฤติกรรมแบบนี้เองที่พระเยซูเจ้า ทรงยอมรับไม่ได้ ยิ่งกว่านั้น พวกเขายังทาลายความเป็นสากลของพระวิหารด้วยการทาให้บา้ นของพระเจ้าหลังนี้ กลายเป็นสมบัติเฉพาะของชาวอิสราเอลเท่านั้น พวกเขาทาให้ “ลานของคนต่างศาสนา” กลายเป็นตลาดศักดิ์สิทธิ์ สาหรับซื้อขายสัตว์และแลกเปลีย่ นเงินตรา ซึ่งส่งผลให้คนต่างศาสนาไม่มที ี่ในบ้านของพระเจ้า และพระวิหารไม่ได้เป็น สถานที่แห่งการอธิษฐานภาวนา สาหรับชนทุกชาติอีกต่อไป “พระวิหารของพระเจ้า” (1 คร 3:16) ต้องเป็นที่ประทับซึ่งเหมาะสมสาหรับพระองค์ และ เราทุกคนต้อง เปิดใจกว้างเพื่อต้อนรับพี่น้องต่างความเชื่อทีป่ รารถนาจะเข้ามาอธิษฐานภาวนา และ สัมผัสความรักของพระเจ้าใน บ้านของพระองค์ทุกแห่งพระเจ้าของเราทรงความรักยิ่งใหญ่ และ ไร้ขอบเขตจากัด ในบ้านของพระองค์จึงมีที่สาหรับ ทุกคน ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ข้อคิดยามเช้า วันอังคาร ที่ 11 พฤศจิกายน ค.ศ.2014 ความจริงแล้ว ความขัดแย้ง ความไม่สงบ การไม่มีสันติ มักจะมี สาเหตุเริ่มมาจากความขัดแย้งระดับ เล็กก่อน นั่นคือ ความขัดแย้งที่เกิดขึ้น ในครอบครัว จากนั้น ลามไปสู่เพื่อน บ้าน สู่ชุมชน สู่ประเทศ และสู่โลกใน ที่สุดพระศาสนจักรเรียกร้องให้เรา อธิษฐานภาวนาเพื่อสันติภาพ และ พยายามสร้างสันติภาพให้เกิดขึ้น เราทุกคนสร้างสันติภาพได้ โดยเริ่มต้นที่ครอบครัวของเราแต่ละคน ทุกวันนี้ เรารู้สึกว่าได้ใช้เวลาอยูก่ ับ ครอบครัวน้อยไปไหมบางที คนเป็นพ่อ แม่ก็มัวยุ่งอยู่กับการทางานจนแทบไม่มี เวลาให้กับครอบครัว หลายคนกว่าจะ กลับมาถึงบ้าน ลูก ๆ ก็เข้านอนแล้ว บางคนติดโทรทัศน์ ติดเกมส์ ติดไลน์ ติดเฟส ติดเน็ทจนไม่สนใจคนอืน่ ในครอบครัว ไม่มีเวลาให้กับคนที่อยู่รอบข้าง กลายเป็นหนึ่งในสมาชิกของสังคมก้มหน้า ไม่มีเวลาเงยหัวขึ้นเพื่อมองไป รอบ ๆ ว่า มีอะไรสาคัญยิ่งกว่านั้น อย่าลืมว่าการใช้เวลาอยู่กับครอบครัวเป็นวิถีทางหนึ่งที่แสดงให้สมาชิกครอบครัว ของเรารู้ว่าเรารักพวกเขา เมื่อเรารักครอบครัว เราต้องอุทิศเวลาส่วนตัวของเราอยู่กับพวกเขาให้มากที่สุดเท่าที่เราจะ สามารถทาได้ไม่ว่าจะมีอุปสรรคใด ๆ จะทุกข์ยากลาบากแค่ไหน หากสมาชิกในครอบครัวมีเวลาให้สาหรับกันและกัน มีความรัก เสียสละ และให้อภัยต่อกันและกัน พร้อมกับความเชื่อและความไว้วางใจในความรักของพระเจ้า เราจะก้าว พ้นทุกวิกฤติการณ์ของชีวิตไปได้ครอบครัวจึงเป็นสถานที่แรกซึ่งจาเป็นต้องเติมเต็มด้วยความรัก เป็นสถานที่ซึ่งสมาชิก แต่ละคนสามารถสัมผัสความห่วงใย ความเห็นอกเห็นใจ และความจริงใจได้เสมอและตลอดไป ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ข้อคิดยามเช้า วันพุธ ที่ 12 พฤศจิกายน ค.ศ.2014 “เราเป็นปังทรงชีวิตทีล่ งมาจากสวรรค์ ใครที่กินปังนี้ จะมีชีวิตอยู่ตลอดไป และปังที่เราจะให้นี้ คือเนื้อของเราเพื่อให้โลกมีชีวิต” (ยน 6:51) การทวีขนมปังเพื่อเลี้ยงฝูงชนจานวนมาก เป็น เพียงอัศจรรย์เดียว ที่มีบนั ทึกไว้ในพระวรสาร ทุกฉบับ (มธ14:13,มก6:30,ลก9:11,ยน6:1) เราอาจอธิบายการทวีขนมปังของ พระองค์ได้ 2 แนวทาง คือ 1.พระองค์ทรงทาอัศจรรย์ตาม ตัวอักษร คือทรงทาสิ่งที่อยู่นอกเหนือธรรมชาติ ซึ่งมนุษย์ทั่วไปไม่อาจกระทาหรือเข้าใจได้ 2.เบธไซดาเป็นเมืองทีป่ ลอดผู้คน พระเยซูเจ้าจึงเลือกใช้เป็นสถานทีส่ าหรับปลีกพระองค์เพื่ออยู่ตามลาพังกับ อัครสาวก (ลก 9:10) ประชาชนที่ติดตามพระองค์ย่อมต้องนาอาหารติดตัวไป ยามต้องเดินทางไปในสถานที่เปลี่ยว เช่นนี้ (ลก 9:12) แต่พวกเขายังคงหิว จนพระเยซูเจ้าตรัสว่า “ท่านทั้งหลายจงหาอาหารให้เขากินเถิด” (ลก 9:13) สาเหตุอาจเกิดจากความเห็นแก่ตัว ไม่ยอมนาอาหารของตนออกมากินด้วยเกรงว่าจะต้องแบ่งปันให้คนรอบข้าง ทาให้ อาหารของตนลดน้อยลง เมื่อฝูงชนเห็นอัครสาวกนาขนมปัง 5 ก้อนและปลา 2 ตัวมามอบให้พระเยซูเจ้า และพระองค์ ทรงเริ่มแจกจ่ายแก่คนอื่น จิตใจของพวกเขาเริ่มเปลี่ยนไป พวกเขานาสิ่งที่ตนมีออกมาแบ่งปันกัน จนกระทั่ง ... “ทุกคนได้กินจนอิ่ม แล้วยังเก็บเศษที่เหลือไห้สิบสองกระบุง” (ลก 9:17) พระเยซูเจ้าทรงทาอัศจรรย์ เปลีย่ นความเห็นแก่ตัวของประชาชนให้เป็นความรักต่อเพื่อนมนุษย์ การทา อัศจรรย์ทวีขนมปังเลี้ยงประชาชนจึงเป็นรูปแบบถึง “ปังทรงชีวิต” ที่พระองค์ทรงมอบ “เนื้อ” และ “โลหิต” ของ พระองค์เองเพื่อทาให้เรามีชีวิตนิรันดร


ทุกวันนี้เรารับพระวรกายและพระโลหิตของพระเยซูเจ้าในศีลมหาสนิท การรับศีลมหาสนิทของเราจึงต้อง เป็นการรับพระเยซูเจ้าทัง้ ครบ เราไม่เพียงรับพระวรกายและพระโลหิตของพระองค์เท่านัน้ แต่ต้องรับ “ความรู้สึกนึกคิด ความปรารถนา แนวทางดาเนินชีวิตทัศนคติ และ ทุกสิ่งทุกอย่างที่ทาให้พระองค์เป็นพระเยซุเจ้า” เข้ามาในชีวิตของเราด้วย การรับศีลมหาสนิทต้องทาให้เราละม้ายคล้ายคลึงพระองค์มากขึ้นทุกวัน เพื่อเรา จะได้มชี ีวิตนิรนั ดรดังเช่นพระองค์ หลังรับศีลมหาสนิท ชีวิตของเราต้องสะท้อนความเป็นพระเยซูเจ้า ทุกแห่ง ทุกเวลา และ กับทุกคน ไม่ใช่เมื่อจบพิธมี ิสซาบูชาขอบพระคุณ ... ก็ปล่อยให้ชีวิตเหมือนเดิม ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ข้อคิดยามเช้า วันพฤหัสบดี ที่ 13 พฤศจิกายน ค.ศ.2014 เมื่อประชาชนรู้ว่าพระเยซูเจ้า ประทับอยู่ที่เมืองเบธไซดา ก็พากัน ติดตามพระองค์ไป แทนที่พระองค์จะ แสดงอาการหงุดหงิด “พระองค์ทรงต้อนรับเขาและ ตรัสสอนเขาเรื่องพระอาณาจักร ของพระเจ้า ทรงรักษาคนที่ต้องการ การบาบัดรักษา” (ลก 9:11) แม้พระเยซูเจ้าต้องการความสงบ และ ความเป็นส่วนตัวกับบรรดาอัครสาวก แต่เมื่อมีผู้เดือดร้อนและ ต้องการความช่วยเหลือ ไม่มีคาว่า “ไม่มีเวลา” สาหรับพระองค์... นี่คือพระเยซูเจ้า พระองค์ใช้เวลาไม่ใช่เพื่อ “พูด” เท่านั้น แต่เพื่อเยียวยาความเจ็บป่วยและบรรเทาความหิวโหยของมนุษย์ เราผู้เป็นศิษย์ของพระยูเจ้าจาเป็นต้องเป็นดัง “มือ” ของพระองค์เพื่อให้บริการและรับใช้เพื่อนมนุษย์ บรรเทาความเจ็บป่วย ความทุกข์ทรมาน และ ช่วยให้ชีวิตความเป็นอยู่ของเพื่อนมนุษย์ดีขึ้น “ความรัก” ไม่มีการคิด เป็นตัวเลขว่า รักมากหรือน้อยเพียงใด เมื่อคิดจะรัก ไม่ต้องคิดคานวณ ถ้ารักพระเยซูเจ้า ก็ต้องรักด้วยใจกว้างเหมือน พระองค์ ไม่ใช่ “ดีแต่พูด” เท่านั้น ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ข้อคิดยามเช้า วันศุกร์ ที่ 14 พฤศจิกายน ค.ศ.2014 โดยทางการสิ้นพระชนม์ และ การกลับคืนพระชนมชีพ พระเยซูเจ้าได้ทรงทาลายความตาย และ ทรงปฏิรูปชีวิตของเรา ที่สูญเสียไปเพราะบาปให้กลับฟืน้ คืนมาใหม่ พระเยซูเจ้าทรงเป็น “เจ้าแห่งชีวิต” ของเรา ด้วยการ มอบชีวิตพระองค์เองแทนเรา เพื่อเราจะได้มีชีวิตนิรันดรโดยทาง พระองค์ พระองค์เชิญเราให้รับพระ กายและพระโลหิตในศีลมหาสนิท เพื่อทาให้ชีวิตฝ่ายจิตของเรา เข้มแข็งขึ้นอีกด้วย “เราเป็นปังทรงชีวิตทีล่ งมาจากสวรรค์ใครที่กินปังนี้จะมีชีวิตอยู่ตลอดไป และปังที่เราจะให้นี้คือเนื้อของเราเพื่อให้โลกมีชีวิต” (ยน 6:51) ศีลมหาสนิทเป็นพระกายและพระโลหิตของพระองค์ซึ่งเป็นอาหารฝ่ายจิตสาหรับวิญญาณของเราแต่ละคน ทุกครั้งที่เรารับศีลมหาสนิท พระเยซูเจ้าเสด็จเข้ามาและประทับอยู่ในตัวเรา เรากลายเป็นส่วนหนึ่งแห่งพระวรกายของ พระองค์ เราสามารถพบพลังและความเข้มแข็งต่อสู้กับศัตรูฝ่ายวิญญาณบนโลกนี้ด้วยความเพียรทน ให้เราสรรเสริญ และขอบพระคุณพระเจ้าสาหรับความเมตตากรุณาและความรักที่พระองค์ที่ทรงมอบให้เราผ่านทางพระบุตรสุดที่รัก ของพระองค์อย่างไม่ขาดสายและไม่มีทสี่ ิ้นสุด ให้เราตอบแทนความรักของพระองค์ด้วยการมีเวลาสาหรับผู้อื่นเสมอ สนใจ เอาใจใส่ และยืน่ มืออกไป เมื่อมีผู้เดือดร้อนและต้องการความช่วยเหลือ เราทุกคนจาเป็นต้องเป็นดัง “มือ” ของ พระองค์ไม่ใช่ “ดีแต่พูด” หรือ “เอาแต่คิด” เท่านั้น แต่ต้องให้บริการและรับใช้เพื่อนมนุษย์ บรรเทาความเจ็บป่วย ความทุกข์ทรมาน และ ช่วยให้ชีวิตความเป็นอยู่ของเพื่อนมนุษย์ดีขึ้น ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ข้อคิดยามเช้า วันเสาร์ ที่ 15 พฤศจิกายน ค.ศ.2014 พระเยซูเจ้าทรงเป็น “เจ้าแห่งชีวิต” โดยทางการ สิ้นพระชนม์ และ การกลับคืน พระชนมชีพ พระองค์ได้ทรง ทาลายความตาย และ ทรง ปฏิรูปชีวิตที่สูญเสียไปเพราะ บาปให้กลับฟื้นคืนมาใหม่ ความตายจากโลกนี้เป็นสัจ ธรรมที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ เราทุกคนต้องเผชิญหน้ากับ ความเป็นจริงนี้ไม่วนั ใดก็วัน หนึ่ง อาจจะช้าหรือเร็วต่างกัน เท่านั้นเอง ในพระวรสารตอนหนึง่ เมื่อพระเยซูเจ้า “ทรงเห็นคนหามศพออกมา” (ลก 7:12) จากเมืองนาอิน หญิงม่าย คนหนึ่งกาลังจะไปฝังศพบุตรชายเพียงคนเดียวของนาง พระองค์ทรงเข้าใจดีว่าเวลาที่แสนจะยากลาบากสาหรับหญิง ม่ายคนนี้ เมื่อนางต้องกลับไปยังบ้านที่ว่างเปล่าเพียงลาพัง ไม่มีใครอยู่กับนางอีกต่อไป ความทุกข์ของนางจะยิ่งเพิ่มขึ้น เรื่อย ๆ อนาคตที่มืดมนในวันข้างหน้า บัน่ ทอนขวัญและกาลังใจของนางอาจทาให้นางไม่อยากมีชีวิตอยู่บนโลกนีต้ ่อไป ก็ได้ เมื่อพระเยซูเจ้าทรงเห็นนาง “ก็ทรงสงสาร” (ลก 7:13) บางที พระองค์อาจกาลังคิดถึงหญิงม่ายอีกคนหนึ่ง ผู้ซึ่งจะต้องไปฝังศพบุตรชายเพียงคนเดียวในอีกไม่กี่ปีข้างหน้า หญิงม่ายคนนัน้ คือพระนางมารีย์ ผู้เป็นพระมารดาของ พระองค์เอง พระองค์จึงทรงรู้สกึ สงสารหญิงม่ายแห่งเมืองนาอินคนนี้มาก และตรัสกับนางว่า “อย่าร้องไห้ไปเลย” (ลก 7:13) พระองค์ทรงประทับยืนอยู่ต่อหน้าร่างไร้วิญญาณของบุตรชายตรัสด้วยอานาจว่า “หนุ่มเอ๋ย เราบอกเจ้าว่า จงลุกขึ้นเถิด” (ลก 7:14) เด็กหนุ่มคนนั้นลุกขึ้นนั่งทันทีและเริ่มพูด การกระทาของพระเยซูเจ้าแสดงให้เราเห็นอย่างชัดเจนว่า พระองค์ ทรงเป็นเจ้าแห่งชีวติ ซึ่งเปี่ยมด้วยอานาจในคาพูด และ การกระทา อีกทั้งยังรู้สึกไวต่อความต้องการของคนอื่น และ เปี่ยมด้วยความเห็นอกเห็นใจและเมตตาสงสารอีกด้วย จุดสูงสุดของเหตุการณ์นี้อยู่ในช่วงเวลาที่พระองค์ “ทรงมอบเขาให้แก่มารดา” (ลก 7:15)


บางครั้งความเมตตาสงสารอย่างเดียวถือว่าไม่เพียงพอ เราต้องพยายามทาอะไรบางอย่างตามกาลัง ความสามารถของเราเพื่อช่วยให้เขาหลุดพ้นจากสภาพที่นา่ สงสารนัน้ ด้วย ความเมตตากรุณา และ ความรักที่พระเจ้า ทรงมอบให้เราผ่านทางพระบุตรสุดที่รักของพระองค์อย่างไม่ขาดสาย และ ไม่มีที่สนิ้ สุด ด้วยการมอบชีวิตพระองค์เอง เป็นสินไถ่แทนเราเพื่อเราจะได้มชี ีวิตนิรันดรโดยทางพระองค์ พระองค์ยังเชิญเราให้รับพระกายและพระโลหิตในศีล มหาสนิทเพื่อทาให้ชีวิตฝ่ายจิตของเราเข้มแข็งขึ้นอีกด้วย ให้เราใช้ชีวิตที่เหลืออยู่ของเราเป็นเสมือนบทเพลงแห่งการ ขอบพระคุณพระองค์ สักวันหนึง่ เราทุกคนจะต้องจากโลกนีไ้ ป ไม่เหมือนกรณีของบุตรชายหญิงม่ายที่เมืองนาอิม พระองค์จะไม่ทรงแตะโลงศพของเราหรือบอกให้คนหามหยุด แต่พระองค์จะทรงยื่นพระหัตถ์อันทรงอานุภาพของ พระองค์ดึงเราขึ้นจากบรรดาผู้ตายในวันสุดท้าย เมื่อนั้นเราจะสรรเสริญและถวายเกียรติแด่พระองค์ ผู้ทรงเป็นบ่อเกิด แห่งชีวิตที่เปี่ยมด้วยความเมตตาสงสาร ในเมืองสวรรค์ตลอดไป ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ข้อคิดยามเช้า วันอาทิตย์ ที่ 16 พฤศจิกายน ค.ศ.2014 วันนี้เป็นวันอาทิตย์ รองสุดท้ายในปีพิธีกรรมของ พระศาสนจักร ในวันอาทิตย์ หน้าเราจะทาการสมโภชพระ เยซูเจ้า กษัตริย์แห่งสากล จักรวาล พระศาสนจักรเตือน เราว่าต้องเตรียมตัวให้พร้อมอยู่ เสมอสาหรับการเสด็จกลับมา ครั้งสุดท้ายของพระคริสตเจ้า เพราะเราไม่ทราบว่าพระองค์ จะเสด็จมาเวลาใด ในบทอ่านที่หนึ่งผู้เขียนหนังสือสุภาษิตเสนอแนะว่า เราควรจะขยันขันแข็งเหมือนภรรยาที่ซื่อสัตย์ ค่าของ เธอนั้นล้าค่ากว่ามุกดา เธอไม่เพียงขยันทางานสาหรับครอบครัว แต่ยังยื่นมือช่วยเหลือคนยากจนและเอื้อเฟื้อคน เข็ญใจอีกด้วย ค่าของเธอไม่อยู่ที่เสน่ห์หรือความงามของเธอ แต่อยู่ที่ความยาเกรงพระเจ้า กล่าวคือ การกระทาในสิง่ ที่สอดคล้องกับพระประสงค์ของพระองค์ ในบทอ่านที่สองนักบุญเปาโลเตือนชาวเธสะโลนิกาและเราด้วยว่า วันของพระเจ้าจะมาถึงเหมือนขโมยตอน กลางคืนช่วงเวลาที่เราไม่ได้คาดคิดและไม่พร้อม “เรามิได้อยู่ฝ่ายราตรีกาลหรือความมืด ดังนั้น เราอย่าหลับใหลเหมือนคนอื่นจงตื่นอยู่เสมอและจงรู้จักประมาณตน” (1 ธส 5:5-6) เพื่อความพร้อมของตัวเราเอง เราต้องตื่นตัวอยู่เสมอในพระวรสารวันนี้พระเยซูเจ้าตรัสอุปมาเพื่อชี้ให้เราเห็น ว่าการเตรียมพร้อมที่ดีที่สุดคือ การใช้พระพรที่พระเจ้าประทานให้เราแต่ละคนอย่างเต็มที่ และ อย่างรับผิดชอบเพื่อ ประโยชน์สุขของเพื่อนพี่น้องทุกคน วันนี้จึงเป็นโอกาสดีที่เราจะได้พจิ ารณาไตร่ตรองถึงพระพรที่พระเจ้าประทานให้แก่เราแต่ละคนซึ่งแตกต่าง กัน พระพรต่าง ๆ เหล่านี้ไม่ได้มไี ว้เพื่อผลประโยชน์ส่วนตัวของเราเองเท่านั้น แต่มีไว้เพื่อประโยชน์สุขของเพื่อนพี่น้อง ทุกคน เราเคยตัวเองไหมว่าเราได้ใช้สิ่งที่พระเจ้าประทานให้แก่เราอย่างเต็มที่แล้วหรือยัง? ถ้าวันนี้ต้องพบกับพระเยซู เจ้าและพระองค์ถามเราว่า ท่านใช้ความรู้ ความสามารถ ทรัพย์สินเงินทองที่เราให้ท่านอย่างไร? มีใครบ้างที่ได้รบั ประโยชน์จากสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้? และพวกเขาได้รับอย่างไร? เรามีคาตอบสาหรับพระองค์แล้วหรือยัง? ถ้ายังไม่มี เรารู้ ไหมว่าควรจะทาอย่างไร? ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ข้อคิดยามเช้า วันจันทร์ ที่ 17 พฤศจิกายน ค.ศ.2014 อุปมาของพระเยซูเจ้าใน พระวรสารวันอาทิตญืบอกเราว่า มีบุรุษผู้หนึ่งจะออกเดินทางไกลจึง เรียกคนใช้มา มอบทรัพย์สมบัตใิ ห้ ตามวามสามารถของแต่ละคน จะเห็นได้ว่าคนใช้เหล่านี้ไม่แข่งขัน ซึ่งกันและกัน แต่แข่งขันกับตัวเอง มากกว่า สองคนแรก ซึ่งได้รับห้า และ สองตะลันต์ตามลาดับ นาเงิน ที่ได้รับไปลงทุน และ ได้กาไรสอง เท่า ส่วนคนที่สาม ซึ่งได้รับน้อย ที่สุดเพียงหนึ่งตะลันต์ ขุดหลุม และ ซ่อนเงินของนายไว้ เมื่อนายกลับมาและเรียกคนใช้แต่ละคนไปพบ เขาพอใจกับคนใช้สองคนแรกที่นาเงินไปลงทุน และ ได้กาไร ถึงสองเท่า การกระทาของพวกเขาแสดงให้เห็นถึงความซื่อสัตย์ และ ความกล้าหาญที่จะเสี่ยงแม้กับสิ่งเล็กน้อย พวก เขาจึงสมควรที่ได้รับการมอบหมายให้ดูแลสิ่งที่ใหญ่โต และ เข้าไปร่วมยินดีกับนายของตนในพระอาณาจักรของพระ เจ้าคนใช้คนทีส่ ามมอบเงินหนึ่งตะลันต์คนื ให้แก่นาย พร้อมกับรายงานว่า “นายขอรับ ข้าพเจ้ารู้ว่าท่านเป็นคนเข้มงวด เก็บเกี่ยวในที่ที่ท่านไม่ได้หว่าน เก็บรวบรวมในที่ที่ท่านไม่ได้โปรย ข้าพเจ้ามีความกลัว จึงนาเงินของท่านไปฝังดินซ่อนไว้ นี่คือเงินของท่าน” (มธ 25:24-25) นายโกรธมาก ที่เขานาเงินไปฝังดินซ่อนไว้ซงึ่ ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์อะไรเลย สิ่งนีท้ าให้เรานึกถึงคาพูดของพระเยซูเจ้า ที่ว่า กิ่งก้านใดที่ไม่เกิดผล สมควรที่จะตัดทิ้ง และ โยนลงในกองไฟ ประเด็นที่พระเยซูเจ้าต้องการบอกกับเรา คือ พระ เจ้าประทานพระพรให้เราแต่ละคนแตกต่างกัน แน่นอน เรามักโน้มเอียงที่จะเปรียบเทียบตัวเราเองกับคนอื่น แต่เรา ต้องไม่ลืมว่าจานวนและคุณภาพไม่ใช่เรื่องสาคัญ สิ่งที่สาคัญคือ เราต้องใช้พระพรที่ได้รับนัน้ ให้เกิดประโยชน์แก่สังคม ที่เราอาศัยอยู่ให้มากที่สุดเท่าที่เราจะทาได้ ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ข้อคิดยามเช้า วันอังคาร ที่ 18 พฤศจิกายน ค.ศ.2014 อุปมาของพระเยซูเจ้า จากพระวรสารในวันอาทิตย์ (มธ 25 : 14-30) นอกจากประเด็นแรกที่ พระเยซูเจ้าทรงบอกกับเราว่า พระเจ้าประทานพระพรให้เราแต่ ละคนแตกต่างกัน เราต้องใช้พระ พรที่ได้รับนัน้ ให้เกิดประโยชน์แก่ สังคมมากที่สุด ประการที่สอง งานที่เราได้รับมอบหมายนั้นไม่มีวันหมด เมื่อคนใช้สองคนแรกบอกกับนายว่าพวกเขาทากาไร ได้สองเท่า นายไม่ได้บอกพวกเขาให้กลับไป และ พักผ่อนตามสบาย พวกเขาสมควรที่จะรับผิดชอบสิ่งใหญ่โตมาก ยิ่งขึ้น “เพราะผู้ที่มีมาก จะได้รบั มากขึ้น และเขาจะมีเหลือเฟือ” (มธ 25:29) ประการที่สาม คนที่จะถูกทาโทษคือคนที่ไม่ทาอะไรเลย คนใช้ที่ได้รับเงินหนึ่งตะลันต์ไม่ได้ทาให้เงินของนาย สูญหายไปไหน เพียงแต่เขาไม่ได้ทาอะไรกับมัน ถ้าเขาได้พยายามและล้มเหลว เขาคงจะได้รบั การเห็นใจ และ ได้รับ การอภัยจากนายของเขา แต่นี่เขาไม่ยอมเสี่ยงทาอะไรเพื่อประโยชน์ของคนอืน่ เลย สิ่งนี้ชี้ให้เราเห็นว่าไม่เพียงแต่คนที่ กระทาชั่วเท่านัน้ ที่ต้องได้รบั โทษ แต่คนที่อยู่เฉย ๆ ไม่ยอมทาความดีอะไรเลยสมควรได้รับโทษเช่นเดียวกัน เพื่อจะ สามารถเข้าเมืองสวรรค์ได้ การไม่ทาชั่วอย่างเดียวถือว่าไม่เพียงพอ เราต้องทาความดีเพื่อส่วนรวมด้วย ประการสุดท้าย “ผู้ที่มีมาก จะได้รับมากขึ้น แต่ผู้ที่มีน้อย สิ่งเล็กน้อยที่เขามีก็จะถูกริบไปด้วย” (มธ 25:29) คาพูดนี้ฟงั ดูผิวเผินเหมือนจะไม่ยุติธรรม มันเหมือนกับการปล้นคนจนเพื่อไปจ่ายคนรวย แต่สิ่งที่พระเยซู เจ้าต้องการบอกในที่นี้คือ ผู้ที่แบ่งปันความสามารถที่ตัวเองได้รับด้วยใจโอบอ้อมอารี จะพบว่าตัวเองมีความสามารถ เพิ่มขึ้น ตรงกันข้ามผู้ที่เก็บมันไว้ ไม่ยอมแสดงออก ด้วยกลัวว่าคนอื่นจะรู้และเก่งเท่าตัวเอง นานวันเข้าความสามารถ นั้นก็จะหดหายไป เพราะไม่ได้ใช้มัน ผู้ที่รักษาชีวติ ตัวเองไว้ จะสูญเสียมัน แต่ผู้ที่แบ่งปันสิ่งที่ตวั เองมีกับคนอื่น จะพบว่ายิ่งให้ยิ่งมีมากขึ้น นี่เป็นกฎแห่งพระวรสาร และ เป็นกฎแห่งชีวิตของเราแต่ละคนด้วย ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ข้อคิดยามเช้า วันพุธ ที่ 19 พฤศจิกายน ค.ศ.2014 ทาไมพระบุตรของพระเจ้า จึงทรงเลือกบังเกิดมาในโลกนี้ ใน สภาพที่ยากจน และ ขัดสน? ทาไมพระองค์ไม่ทรงเลือก บังเกิดในพระราชวังในฐานะโอรส ของกษัตริย์องค์ใดองค์หนึ่ง? ทาไมพระเยซูเจ้าทรงเลือก คนที่มีการศึกษาต่า และฐานะ ยากจนเป็นอัครสาวกของพระองค์ บางคนอยู่ในกลุ่มคนบาปด้วย? ทาไมพระองค์ไม่ทรงเลือก บรรดาธรรมาจารย์หรือชาวฟาริสี ที่ มีการศึกษาสูง ซึ่งหลายคนได้ตดิ ตาม พระองค์ด้วยเหมือนกัน? ทาไมพระเจ้าทรงปล่อยให้มีคนชั่ว มีสิ่งเลวร้ายต่าง ๆ เกิดขึ้นในโลก ทาไมไม่ทรงใช้อานาจขจัดสิ่งไม่ดีให้หมด สิ้นจากโลกนีไ้ ปเลย โลกของเราจะได้น่าอยู่มากยิ่งขึน้ ? พ่อคิดว่าเหตุผลประการหนึ่งที่เราพอเข้าใจได้คือ การแสดงอานาจ และ ความยิง่ ใหญ่เปิดโอกาสสาหรับ ความเชื่อน้อยมาก ความเชื่อเรียกร้องความมั่นใจในความรักและการนาทางของพระเจ้า แม้ว่าสิ่งนั้นจะไม่ดาเนินไป อย่างที่เราคิดหรือคาดหวังไว้ก็ตาม ความเชื่อเป็นพระพรพิเศษจากพระเจ้าที่เราได้รบั แบบเปล่า ๆ ซึ่งเราสามารถ ยอมรับหรือปฏิเสธก็ได้ อย่างไรก็ตาม ความเชื่อเป็นเอกลักษณ์อันหนึ่งของผู้ที่มีความซื่อสัตย์ตอ่ พระเจ้า และ วิถีทาง ของพระองค์ ไม่ใช่ต่อวิถีทางของตนเอง ในฐานะศิษย์ของพระเยซูเจ้า ถ้าเราเชื่อในพระเจ้า และ ยอมรับในความแตกต่างของวิถีทางของพระองค์ จะไม่ใช่เรื่องยากสาหรับเราอีกต่อไปที่จะมองเห็น “พระเจ้า” ในรูปของ คนยากจน คนพิการ คนที่ถูกทอดทิ้ง และทุกคนที่เราพบอยู่แต่ละวันในชีวิต ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ข้อคิดยามเช้า วันพฤหัสบดี ที่ 20 พฤศจิกายน ค.ศ.2014 “ไม่มีใครมีความรักยิ่งใหญ่กว่า การสละชีวิตของตนเพื่อมิตรสหาย” (ยน 15:13) เป็นถ้อยคาที่บ่งบอกถึงความ รักอันยิ่งใหญ่ของพระเจ้า และเป็น การชี้ให้เราเห็นว่าเส้นทางที่เรากาลัง ก้าวเดินไปพร้อมกับพระเยซูเจ้านั้น จะนาไปเราถึงจุดไหน? เพราะการเป็น ศิษย์ของพระเยซูเจ้าคือ การเลิกนึกถึง ตนเอง แบกไม้กางเขนของตนและ ติดตามพระองค์ไป ไม้กางเขนของเราแต่ละคน หมายถึง อุปสรรคและความยากลาบากในชีวิตที่รออยู่เบื้องหน้า แต่ละวันในชีวิต เราจึงต้องเป็นพยานถึงพระองค์ด้วยคาพูด และ การกระทา การจะทาเช่นนีไ้ ม่ใช่เรื่องง่าย ๆ เลย เพราะวิถีทางแห่งไม้ กางเขนเป็นวิถีทางแห่งการรับใช้ การสิ้นพระชนม์ของพระองค์เป็นการรับใช้อย่างหนึ่ง เป็นการรับใช้มนุษย์ทุกคน โดย ไม่เลือกเพศ วัย ฐานะ หรือความแตกต่างใด ๆ ดังนั้น ผูท้ ี่เป็นศิษย์ของพระองค์ ต้องพร้อมที่จะรับใช้คนอื่นโดยไม่ เลือกหน้าด้วยเช่นกัน “ถ้าผู้ใดอยากเป็นที่หนึง่ ก็ให้ผนู้ ั้นทาตนเป็นคนสุดท้าย และเป็นผู้รับใช้ของทุกคน” (มก 9:35) ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ข้อคิดยามเช้า วันศุกร์ ที่ 21 พฤศจิกายน ค.ศ.2014 การที่ใครคนหนึ่งจะ รับใช้คนอื่น โดยเฉพาะคนที่มี สถานภาพที่ต่ากว่าตนเอง เรียกร้องความสุภาพถ่อมตน เป็นอย่างมาก พระเยซูเจ้าจึงทรง เรียกเด็กคนหนึ่ง และตรัสว่า “ผู้ใดทีต่ ้อนรับเด็กเล็ก ๆ เช่นนี้ในนามของเรา ก็ต้อนรับ เรา” (มก 9:37) เด็กเป็นสัญลักษณ์หมายถึงคนทีต่ ่าต้อยทั้งหลายในสังคมโดยเฉพาะคนยากจนขัดสนและคนทีส่ งั คมรังเกียจ เพราะเด็กในสังคมอิสราเอลยุคนั้นเป็นบุคคลทีไ่ ม่สาคัญไม่มสี ิทธิใด ๆ ทั้งในด้านสังคมและศาสนา มาตรฐานของพระ เจ้าแตกต่างจากมาตรฐานของมนุษย์ ในสายพระเนตรของพระองค์บุคคลที่ยิ่งใหญ่ที่สุดคือบุคคลที่รับใช้ผู้อนื่ ไม่ใช่ บุคคลที่ให้คนอื่นคอยรับใช้ ดังนัน้ ให้เราพยายามรับใช้ซึ่งกันและกัน ตามสถานภาพและกาลังความสามารถของเราแต่ ละคน โดยยึดแบบอย่างของพระเยซูเจ้า พระอาจารย์ของเราผู้เสด็จมามิใช่ “เพื่อให้ผู้อื่นรับใช้ แต่มาเพื่อรับใช้ผู้อื่น และมอบชีวิตของตนเป็นสินไถ่เพื่อมวลมนุษย์” (มก 10:45) ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ข้อคิดยามเช้า วันเสาร์ ที่ 22 พฤศจิกายน ค.ศ.2014 ชาวสะดูสบี างคนมาพบพระเยซูเจ้าสอบถาม พระองค์ว่า ตามกฎของโมเสส ถ้าพี่ชายตาย มีภรรยา แต่ไม่มีบุตรก็ให้น้องชายรับหญิงนั้นมาเป็นภรรยา เมื่อมนุษย์กลับคืนชีพ แล้วหญิงนั้นจะเป็นภรรยาของ ใคร พระเยซูเจ้าทรงตอบว่า เมื่อพูดถึงองค์พระผู้เป็นเจ้า ... พระองค์มิใช่พระเจ้าของผู้ตาย แต่เป็นพระเจ้าของผู้เป็น (เทียบ ลก:27-40) พระเยซูเจ้าทรงชี้ให้เราเข้าใจความจริงว่า ความยิ่งใหญ่ของพระเจ้าเที่ยงแท้นั้น สุดที่มนุษย์จะ เข้าใจ เพราะสติปัญญาซึ่งมีขอบเขตของมนุษย์ เรามัก ตีความเรื่องราว ต่าง ๆ ตามเหตุผลที่เรานึกได้ ตาม ความรู้อันจากัดของสติปญ ั ญหาของเราแต่ละคน หากเรามองดูจักรวาล หรือธรรมชาติตา่ ง ๆ ที่เป็นอยู่ ความอัศจรรย์ล้าลึกนัน้ เหนือกว่าที่มนุษย์คนใด สามารถจินตนาการ หรืออธิบายด้วยเหตุผลใด ๆ ได้ ในชีวิตของเราแต่ละคนเช่นกัน หลายครั้งเราอาจรู้สึกสับสน หวาดกลัว สงสัย ว่า“พระเจ้าทรงอยู่ที่ไหน?” ทาไมโลกที่เราอยู่ทุกวันนี้จงึ เต็มไปด้วยปัญหา และ สิ่งเลวร้ายต่าง ๆ หลายคนถึงกับเลิกเชื่อในพระเจ้า และ หันหลังให้วัดไปเลย เราต้องถามตัวเองว่า เราจะเป็นเช่นนั้นหรือเปล่า เมื่อต้องเผชิญหน้ากับสิ่งเลวร้ายต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในโลกนี้ และ หลายครั้งเกิดขึ้นในชีวติ ของเราซ้าแล้วซ้าอีก นี่คือเหตุผลที่เราจาเป็นต้องใช้เวลาเพื่ออธิษฐานภาวนาเป็นประจาทุกวัน วอนขอพระเจ้าให้เปิดตาของเราเพื่อมองเห็น ความจริงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นซึ่งบางครั้งเรามองไม่เห็นความจริงเบื้องหลัง หลายสิง่ หลายอย่างได้บดบัง สายตาแห่งความเชื่อของเรา ความทุกข์ยากลาบากทัง้ หลายบนโลกนี้เป็นเพียงแค่ทางผ่านเท่านัน้ เอง ให้เรายินดีที่จะ น้อมรับมรสุมที่พัดกระหน่าเข้ามาในชีวิตของเราตระหนักว่าพระเจ้าทรงอยู่เคียงข้างเราเสมอ แบกกางเขนของตน และ ติดตามพระองค์ไปในแต่ละวัน โดยมั่นใจว่าผ่านทางกางเขนเราจะพบความรอดพ้นที่พระเยซูเจ้าทรงเตรียมไว้สาหรับ เราอย่างแน่นอน ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ข้อคิดยามเช้า วันอาทิตย์ ที่ 23 พฤศจิกายน ค.ศ.2014 สมโภชพระคริสตเจ้า กษัตริย์แห่งสากลจักรวาล วันนี้เราทาการสมโภชพระคริสต เจ้า กษัตริย์แห่งสากลจักรวาล พระคริสต เจ้าผู้รับเกียรติรุ่งโรจน์ทรงเป็นกษัตริย์ของ บรรดาสิ่งสร้างทัง้ มวล ผู้เขียนบทเพลงสดุดี ได้กล่าวล่วงหน้าถึงพระองค์ว่า “องค์พระผู้เป็นเจ้า ประทับเป็นกษัตริย์ตลอดไป และ ทรงอวยพรให้ประชากรของ พระองค์ประสบสันติสขุ ” (สดด 29:10-11) ท่านนักบุญยอห์นปอลที่ 2 พระสันตะปาปาได้ทรงประกาศในทานอง เดียวกันว่า “พระคริสตเจ้าทรงปกครองเหนือสากลจักรวาล ซึ่งพระองค์ได้ทรงเนรมิตสร้าง พระองค์ทรงเป็นกษัตริย์เพราะพระองค์ทรงเป็นพระผู้สร้าง” ในบทอ่านที่หนึ่งประกาศกเอเสเคียลได้บรรยายถึงการปกครองของพระเจ้าเหนือประชากรของพระองค์ เหมือนกับการดูแลเอาใจใส่ฝูงแกะของนายชุมพาบาลที่ดี ผู้ซึ่งอยู่กับฝูงแกะและรวบรวมพวกมันให้เป็นหนึ่งเดียวกัน พระองค์จะตามหาแกะทีส่ ูญหายไป นาแกะที่หลงทางกลับมา พันแผลแกะทีบ่ าดเจ็บ เสริมกาลังแกะที่อ่อนเพลีย ดูแลแกะที่อ้วนและแข็งแรง และเลี้ยงดูแกะทุกตัวอย่างยุติธรรม (เทียบ อสค 34:15) พระเยซูเจ้าทรงประกาศว่าพระองค์ทรงเป็นนายชุมพาบาลทีด่ ที ี่ “ยอมสละชีวิตเพื่อฝูงแกะของตน” (ยน 10:11)


นักบุญยอห์นปอลที่ 2 พระสันตะปาปา พูดถึงเรื่องนี้ไว้อย่างชัดเจนว่า “ในฐานะกษัตริย์ พระองค์ทรงเสด็จมา เพื่อเผยแสดงความรักของพระเจ้าเป็นคนกลางแห่งพันธสัญญาใหม่ และเป็นพระผู้ไถ่ของมวลมนุษย์” เหมือนนายชุมพาบาลที่ดี พระคริสตเจ้าทรงเป็นกษัตริยท์ ี่รู้จักเรา เอาใจใส่ดูแลเรา และรักเรา พระองค์ทรง ปรารถนาให้เราบรรลุถึงชีวติ นิรนั ดรที่พระบิดาทรงจัดเตรียมไว้สาหรับผู้ที่เชื่อในพระองค์ และ ทรงอยู่เคียงข้างเรา ขณะที่เราก้าวเดินบนเส้นทางแห่งความเชื่อนี้ ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ข้อคิดยามเช้า วันจันทร์ ที่ 24 พฤศจิกายน ค.ศ.2014 นักบุญเปาโลเตือนกลุ่มคริสตชน ที่เมืองโครินธ์ รวมทั้งเราด้วยว่า “พระคริสตเจ้าจะต้องทรงครองราชย์ จนกว่าพระเจ้าจะทรงปราบศัตรูทั้งมวล ให้อยู่ใต้พระบาทของพระองค์ ศัตรูสุดท้ายที่จะถูกทาลายคือ ความตาย เพราะพระเจ้าทรงปราบทุกสิ่ง ให้อยู่ใต้พระบาทของพระองค์ เมื่อทุกสิ่งถูกปราบอยู่ใต้อานาจ ของพระคริสตเจ้าแล้วพระบุตร ก็จะทรงอยู่ใต้อานาจของพระเจ้า ผู้ทรงปราบทุกสิ่งให้อยู่ใต้ อานาจของพระองค์เพื่อ พระเจ้าจะได้ทรงเป็นทุกสิ่งในทุกคน” (1 คร 15:25-26,28) ประชาชนมากมายทั้งในอดีต และ ปัจจุบันไม่เพียงปฏิเสธพระองค์เท่านั้น แต่ต่อต้านและทาตัวเป็นศัตรู ของพระองค์ด้วย ศัตรูที่ร้ายกาจของอาณาจักรของพระองค์คือ บาป อาณาจักรของพระเจ้าไม่สามารถอยู่ควบคู่ไปกับ อาณาจักรของบาปได้ ไม่ว่าจะเป็นบาปส่วนตัวหรือบาปส่วนรวมของมนุษย์ทั่วโลก เพราะบาปเป็นการทาผิดต่อ พระเจ้า เป็นการปฏิเสธพระเจ้าและอาณาจักรของพระองค์ ผลของบาปทีป่ รากฏให้เห็นอย่างเด่นชัดในชีวิตและสังคม ของเราคือ ความรุนแรง สงคราม การเอารัดเอาเปรียบ และความอยุติธรรม ยิ่งกว่านัน้ ศักดิ์ศรีมนุษย์ยังถูกบัน่ ทอนลง เรื่อย ๆ พระศาสนจักรเชื้อเชิญเราให้ตระหนักถึงความสาคัญและจาเป็นที่จะให้พระคริสตเจ้าครองราชย์ในชีวิตและ สังคมของเรา และการปฏิเสธบาปซึ่งเป็นศัตรูสาคัญของอาณาจักรของพระองค์ พระคริสตเจ้าต้องเป็นที่หนึ่งทัง้ ใน ความคิดและกิจการของเรา เราต้องเชื่อในพระองค์ นบนอบเชื่อฟังโดยปฎิบัติตามบทบัญญัติของพระองค์ ประพฤติตัว เป็นประชากรที่ดีของพระองค์ ถ้าเราแต่ละคนสามารถทาได้เช่นนี้ อาณาจักรแห่งความจริงและชีวิต ความศักดิ์สิทธิ์ และพระหรรษทาน อาณาจักรแห่งความยุติธรรม ความรัก และสันติ จะกลายเป็นความจริงในสังคมของเราอย่าง แน่นอน ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ข้อคิดยามเช้า วันอังคาร ที่ 25 พฤศจิกายน ค.ศ.2014 กลายเป็นความจริงในชีวิต และสังคมของเรา ความรักเป็น ลักษณะสาคัญที่สุดของอาณาจักรของ พระองค์ เราสามารถแสดงความรักต่อ พระเจ้าได้ด้วยการแสดงความรักต่อ เพื่อนมนุษย์ผา่ นทางกิจการที่ดตี ่าง ๆ ของเรา เช่น การต้อนรับคนแปลกหน้า การเยี่ยมเยียน การให้อาหาร และ เครื่องดื่ม การให้เครื่องนุ่มห่ม เป็นต้น เราต้องไหวต่อความต้องการ ของเพื่อนมนุษย์ที่พระเจ้าทรงส่งมาหา เรา นี่คือสิ่งท้าทายที่แท้จริงของเราและ ของสังคมที่เราเป็นส่วนหนึ่งหลายครั้งเมื่อมีผู้ที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติตา่ ง ๆ มีผู้พบกับปัญหามากมายในชีวิต ใน สังคม ในประเทศ เราได้ต้อนรับพวกเขาอย่างดีหรือไม่? เราเคยไปเยี่ยมและให้กาลังใจใครบ้างหรือเปล่า? เราได้ช่วย พวกเขาตามกาลังความสามารถของเราแล้วหรือยัง? ในฐานะประชากรของพระคริสตเจ้า เราทุกคนมีหน้าที่ทาให้ อาณาจักรแห่งความรักของพระองค์กลายเป็นความจริงในสังคมที่เราอาศัยอยู่ด้วยการดาเนินชีวติ เป็นประจักษ์พยาน ถึงความรักของพระองค์ที่มีต่อมนุษย์ทุกคน เราต้องทาให้พระเยซูเจ้าทรงเป็นที่หนึง่ และ ศูนย์กลางชีวิตของเราให้ได้ เมื่อเป็นเช่นนี้ พระองค์จะทรงเป็นกษัตริย์ในใจเราตลอดไป ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ข้อคิดยามเช้า วันพุธ ที่ 26 พฤศจิกายน ค.ศ.2014 “ท่านผู้ใดไม่มีบาป จงเอาหินทุ่มนางเป็นคนแรกเถิด” (ยน 8:9) เป็นคาตอบของพระเยซูเจ้าทีส่ ร้าง ความตกตะลึงให้กับบรรดาธรรมาจารย์ และ ชาวฟาริสี ซึ่งลากหญิงผูน้ ่าสงสารที่ถูกจับได้ ขณะล่วงประเวณีมา เพื่อให้พระเยซูเจ้าตัดสิน ลงโทษ ถ้าพระเยซูเจ้าให้อภัย และ ปล่อยตัว หญิงที่ทาผิดประเวณีไป ก็ถือว่าไม่เคารพ และ ท้าทายธรรมบัญญัติของโมเสส แต่ถ้าตัดสินให้ ทุ่มหินหญิงคนนัน้ จนตาย พวกเขาจะประณาม ว่าเป็นคนเสแสร้ง ดีแต่พูด ปากอย่างใจอย่าง สอนเรื่องการให้อภัย แต่ตนเองไม่ยอมปฏิบัติ ตามคาเทศน์สอนนัน้ นี่เป็นสิ่งหนึ่งที่เราสามารถ เรียนรู้ได้จากพระวรสาร “ท่านผู้ใดไม่มีบาป จงเอาหินทุม่ นางเป็นคนแรกเถิด” (ยน 8:9) เมื่อมีสิ่งไม่ดี และ ไม่ถูกต้องเกิดขึ้น เราต้องไม่พิพากษาตัดสินคนอื่น เราแสดงจุดยืนอย่างชัดเจนว่าเราไม่เห็นด้วยกับ “การกระทา” นั้น แต่เราไม่ควรพิพากษาตัดสิน “คนที่กระทา” เช่นนั้น เราประณาม “บาป” แต่เราไม่ควรประณาม “คนบาป” นั่นเป็นหน้าที่ของพระเจ้าเพราะพระองค์ทรงรู้จักเขาดีกว่าเรา พระเจ้าทรงเข้าใจธรรมชาติที่ออ่ นแอและเปราะบาง ของมนุษย์ และ ทรงพร้อมเสมอที่จะให้อภัยทุกคนที่สานึกผิด กลับใจ และ หันมาพึ่งพระองค์ แต่เราต้องสานึกว่า เราไม่อาจใช้ความรัก และ พระเมตตาของพระเจ้าเป็นข้ออ้างทีเ่ ราใช้เพื่อจะทาอะไรก็ได้ตามที่เราต้องการ แต่ควร เป็นแรงผลักดันให้เราพยายามปรับปรุงตนเองให้ดีขึ้นเรื่อย ๆ ให้สมกับความรักของพระเจ้าที่มีตอ่ เรามาก จนกระทั่ง ยอมส่งพระบุตรเพียงพระองค์เดียวลงมาเพื่อไถ่บาปเรา ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ข้อคิดยามเช้า วันพฤหัสบดี ที่ 27 พฤศจิกายน ค.ศ.2014 เมื่อพระเยซูเจ้าตรัสว่า “ท่านผู้ใดไม่มีบาป จงเอาหินทุ่มนาง เป็นคนแรกเถิด” (ยน 8:9) บรรดาธรรมาจารย์และ ชาวฟาริสี ที่คอยจ้องจับผิด พระองค์จึง “ค่อย ๆ ทยอยออกไปทีละคน เริ่มจากคนอาวุโส จนเหลือแต่พระเยซูเจ้าตาม ลาพังกับหญิงคนนั้น ซึ่งยังคงยืนอยู่ที่เดิม” (ยน 8:9) บาปผิดประเวณีเป็นสิง่ ที่เสียหายก็จริงแต่ประเด็นที่พระองค์ทรงต้องการชี้ให้เห็นคือ พวกเขาไม่มีสิทธิที่จะ ตัดสินหรือประณามเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน เพราะพวกเขาก็มีความผิดบกพร่องและเป็นคนบาปเหมือนกัน พวกเขาไม่รู้สิ่ง ที่อยู่ในใจลึก ๆ ของหญิงผู้น่าสงสารคนนัน้ การกระทาของพระเยซูเจ้าสะท้อนให้เห็นว่า พระองค์ทรงเป็นผู้พิพากษาที่ เปี่ยมด้วยความรัก และ ความเมตตาต่อคนบาป พระองค์ปรารถนาช่วยหญิงคนนัน้ ให้หันหนีจากบาป พระองค์ทรง เห็นประกายของความสานึกผิดและเป็นทุกข์เสียใจ ดังนั้น พระองค์จึงทรงแนะนาหญิงคนนั้นว่า “ไปเถิด และตั้งแต่นี้ไป อย่าทาบาปอีก” (ยน 8:11) การกลับใจที่แท้จริง คือ อย่าทาบาปอีก ในชีวิตของเราแต่ละคน เมื่อเราทาความผิดจริง เราต้องกล้ายอมรับ ความผิดนัน้ ขอเพียงให้เราสานึกผิดและเป็นทุกข์กลับใจอย่างแท้จริง พระเจ้าทรงเป็นผู้พิพากษาที่พร้อมจะแสดง ความเมตตาต่อเราเสมอ พระองค์ทรงเฝ้าดูแลเราตลอดเวลา และ ทรงรู้จักจิตใจของมนุษย์ทุกคนเป็นอย่างดี พระองค์ ทรงให้โอกาสและพร้อมที่ต้อนรับทุกคน ที่ปรารถนาเข้ามาอยู่ใกล้ชิดกับพระองค์เสมอ จงใช้โอกาสแห่งพระพรที่พระ เจ้าประทานแก่เราปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงตนเองให้ดีขึ้นเพื่อว่าชีวิตของเราจะใกล้ชิดพระเจ้ามากที่สุดเท่าที่จะ เป็นไปได้ ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ข้อคิดยามเช้า วันศุกร์ ที่ 28 พฤศจิกายน ค.ศ.2014

คริสตชนทุกคนล้วนมีความชืน่ ชมยินดีเป็นความรู้สึกพื้นฐาน เป็นความรู้สึกที่เกิดจากการมีส่วนร่วม ในความยินดีและสันติสุขทีพ่ ระเยซูเจ้านามาให้มนุษย์ทุกคนบนโลกนี้ ศาสนาไม่ได้เป็นเครื่องมือที่คนรวยใช้ครอบงาคน ยากจน เพื่อให้ยอมรับความทุกข์ยากลาบากและความอยุติธรรมในโลกนี้ เพราะพระเยซูเจ้าเสด็จมาในโลกนี้เพื่อนา ความยินดี เสรีภาพ และสันติสขุ มาสู่มวลมนุษย์ ไม่เพียงในอนาคตที่ยาวไกลเท่านั้น แต่ในเวลานี้และที่นี่ดว้ ย เราไม่ได้ เป็นคริสตชนเพราะความจาเป็น แต่เพราะว่าไม่มีการเป็นอย่างอื่นที่ดีเท่ากับการเป็นคริสตชนอีกแล้ว “พระเจ้าข้า พวกเราจะไปหาใครเล่า พระองค์มีพระวาจาแห่งชีวิตนิรันดร” (ยน 7:68) ไม่มีใครที่ยิ่งใหญ่และคู่ควรที่เราจะติดตามเท่ากับพระบุตรของพระเจ้าผู้นี้อีกแล้ว ชีวิตคริสตชนไม่ได้ ปราศจากความทุกข์ยากลาบาก ความเจ็บป่วย ความผิดหวัง ความล้มเหลว และ การสูญเสียเหมือนชีวิตของคนทั่วไป เพราะนี่เป็นส่วนหนึ่งของชีวิตมนุษย์ทุกคนอยู่แล้วเราไม่ได้มองว่านี่เป็นการลงโทษหรือความผิดพลาด แต่เรามองอย่าง ลึกซึ้งด้วยสายตาแห่งความเชื่อ ซึ่งเราจะพบว่าทุกสิ่งที่ผา่ นเข้ามาในชีวิตของเรามีคุณค่าและมีความหมายในตัวมันเอง เป็นบางสิ่งที่ช่วยเราให้เข้มแข็งและเติบโตเป็นผู้ใหญ่มากขึ้น ทุกสิ่งที่เกิดขึ้นแม้ว่าจะเลวร้ายขนาดไหนย่อมมีดา้ นบวก เสมอ เราพบพระเจ้าเสมอในทุกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตของเรา ความชืน่ ชมยินดีและสันติสุขจึงเกิดขึ้นภายในจิตใจ ของเรา ความชืน่ ชมยินดีและสันติสุขซึ่ง... จะไม่มีใครสามารถเอาพวกมันไปจากเราได้ ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ข้อคิดยามเช้า วันเสาร์ ที่ 29 พฤศจิกายน ค.ศ.2014 ขณะที่นักบุญยอห์นผู้ทาพิธีล้าง กาลังเทศน์สอนที่ริมฝั่งแม่น้าจอร์แดน ท่าน ได้ประกาศถึงการเสด็จมาของพระเยซูเจ้า พระเมสสิยาห์ทชี่ าวอิสราเอลเฝ้ารอคอยเป็น เวลาแสนนาน หลังจากที่ได้ฟงั ข่าวดีเรื่องนี้ ผู้ฟังบางกลุ่มจึงถามท่านว่า “ท่านอาจารย์ พวกเราจะต้องทาสิ่งใด” (ลก 3:12) คาถามนี้เป็นคาถามที่เราแต่ละคน ต้องถามตนเองในฐานะคริสตชนคนหนึ่ง ... เราทุกคนไม่ว่าจะเป็นฆราวาส พระสงฆ์ หรือนักบวช มีหน้าทีน่ าคนอื่นให้ มาสัมผัสความรักและ ความเมตตากรุณา ของพระเจ้า พระบิดาผู้ทรงพระทัยดี นาพวกเขาให้เข้ามาหาและรู้จักพระเยซูเจ้า พระผู้เป็นเจ้าและพระผู้ไถ่แต่เพียงพระองค์เดียว นาความชื่นชม ยินดีและสันติสุขที่แท้จริงมาสู่ชวี ิตของพวกเขา ต้องตระหนักอยู่เสมอว่าเราทุกคนเป็นเครื่องมือของพระเจ้า บิดามารดามีบทบาทสาคัญในการอบรมเลี้ยงดูบุตรธิดาให้มีจิตตารมณ์และมุมมองชีวิตแบบคริสตชน ครอบครัวคริสตชนที่ดีเป็นครอบครัวที่มีความชืน่ ชมยินดีที่แท้จริง ครูคาทอลิกทาตัวให้เป็นคาทอลิกที่ดีท่ามกลางลูกศิษย์ คาพูดและการกระทาต้องสะท้อนให้พวกเขาเห็นถึง ความรักและสันติสุขของพระเยซูเจ้า นาลูกศิษย์ให้มาสัมผัสกับความรักของพระเจ้าที่แสดงออกมาผ่านทางพระเยซูเจ้า ให้ได้


แต่ละคนมีบทบาทที่แตกต่างกันออกไป ไม่ต้องบังคับคนอื่นให้ทาอย่างที่เราทา หรือเชื่ออย่างที่เราเชื่อ สิ่งที่เราควรทาคือ นาคนอื่นเข้ามาหาพระเยซูเจ้าเพื่อพวกเขาจะได้รู้จักพระองค์ด้วยตัวเอง ในฐานะที่พระองค์ทรงเป็น พระผู้ไถ่ องค์พระผู้เป็นเจ้า พี่ และเ พื่อนของพวกเขา คาพูดและการกระทาของเรา ต้องสะท้อนให้พวกเขาเห็นถึง ความรัก และ สันติสุขของพระเยซูเจ้า แล้วพระองค์จะทางานในตัวพวกเขา พระองค์ทรงต้องการความร่วมมือจากเรา และ ทรงปรารถนาทางานผ่านทางเราแต่ละคนผู้ซงึ่ เป็นศิษย์ของพระองค์ นี่คือรูปแบบและความหมายของการ ประกาศข่าวดี หรือการนาพระวรสารไปสู่คนอื่น ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ข้อคิดยามเช้า วันอาทิตย์ ที่ 30 พฤศจิกายน ค.ศ.2014 วันอาทิตย์ สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลเตรียมรับเสด็จพระคริสตเจ้า สมมติว่าเรานอนหลับและ ฝันว่ากาลังเดินหลงทางในป่า ทันใด นั้นสิงโตตัวหนึง่ โผล่ออกมาจากที่ ไหนไม่รู้ ด้วยความตกใจเราวิ่งหนี อย่างสุดกาลัง แต่สิงโตตัวนั้นวิง่ ไล่ ตามเราอย่างไม่ลดละ วิ่งไปได้สกั ระยะ พบว่ามีเสือตัวหนึ่งยืนดักทาง อยู่ด้านหน้า หันไปทางด้านขวาก็ เจอหมี หันไปด้านซ้ายก็เจอสุนขั ป่า ทุกด้านล้วนอันตรายด้วยกันทั้งนั้น เราต้องทาอะไรเพื่อจะสามารถหนี จากสถานการณ์ที่นา่ กลัวเช่นนีไ้ ด้? คาตอบคือ “เราต้องตื่นจากหลับ” เพราะว่าเมื่อตื่นขึ้นมา เราจะเข้าสู่โลกแห่งความจริงซึง่ แตกต่างจากโลก แห่งความฝันอย่างสิ้นเชิง ปัญหาต่างๆ ที่เราเผชิญในความฝันก็จะสลายไป ในพระวรสารวันนี้พระเยซูเจ้าทรงเตือน บรรดาศิษย์ถึงอันตรายของ “การหลับใหลฝ่ายจิต” ซึ่งอาจทาให้ความเชื่อสั่นคลอนได้ พระองค์กาลังจะจากพวกเขา ไปสักระยะหนึ่งซึ่งไม่มีใครรู้ว่านานแค่ไหน จริงอยู่ โดยทางความเชื่อ และ ความตั้งใจแน่วแน่ทจี่ ะติดตามพระองค์ บรรดาศิษย์เป็นเหมือนกับคนที่ได้ตื่นจากการหลับใหลฝ่ายจิตแล้ว แต่ช่วงเวลาการจากไปของพระองค์จะเป็นช่วงเวลา แห่งการทดสอบความเชื่อของพวกเขา พวกเขาจะต้องเผชิญหน้ากับอุปสรรค และ อันตรายมากมาย สิ่งทีไ่ ด้เกิดขึ้นกับ ผู้เป็นอาจารย์จะเกิดขึ้นกับพวกเขาเองด้วย แม้ว่าจะอยู่ในรูปแบบที่แตกต่างกันก็ตาม พระองค์จึงทรงต้องการให้พวก เขาตื่นตัวและเฝ้าระวังอยู่เสมอ เพื่อว่าเมื่อพระองค์เสด็จกลับมาพระองค์จะพบพวกเขากาลังรอคอยด้วยความเชื่อ และ พร้อมที่จะต้อนรับพระองค์ตลอดเวลา วันนี้เราเริ่มเทศกาลเตรียมรับเสด็จพระคริสตเจ้า ซึ่งเป็นช่วงเวลาพิเศษ เพื่อเตรียมพร้อมที่จะพบกับพระเยซูเจ้า ความพร้อมในที่นี้ไม่ได้หมายถึงเพียงแค่ความพร้อมภายนอกเท่านั้น แต่หมายถึงความพร้อมภายในซึ่งสาคัญ มากกว่าด้วย ถ้าจิตใจของเราไม่พร้อมสาหรับการเสด็จมาของพระเยซูเจ้า จนทาให้พระองค์ไม่สามารถบังเกิดในดวงใจ ของเรา คริสต์มาสปีนจี้ ะไร้ความหมายอย่างสิน้ เชิง


ให้เราใช้ช่วงเวลาสีส่ ัปดาห์ก่อนการบังเกิดของพระองค์ในปีนี้อย่างดีด้วยการระวังตัวและตื่นเฝ้าอยู่เสมอ ไม่ปล่อยให้ตัวเราถูกดึงออกไปจากหนทางแห่งความจริงที่พระองค์ทรงสั่งสอนเรา ให้เราพยายามเป็นศิษย์ที่ดีของ พระองค์ด้วยการปฏิบัติต่อทุกคนด้วยความเคารพ และ เห็นอกเห็นใจ เมื่อพลาดผิด เราต้องรีบวอนขอการให้อภัยจาก พระองค์ และ พยายามหาทางชดเชยแก่บุคคลที่เราทาผิดต่อเขา อย่าลืมว่าการแก้บาปอย่างสม่าเสมอเป็นเครื่องมือ อย่างหนึ่งที่จะช่วยเราเตรียมจิตใจให้พร้อมสาหรับการเสด็จมาที่ไม่มีใครรู้วันและเวลาของพระเยซูเจ้า ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.