enen ข้อคิดยามเช้า วันอาทิตย์ ที่ 1 กุมภาพันธ์ 2015 ภารกิจของพระเยซูเจ้า ในพระวรสารวันนี้ เกิดขึ้นในวัน สับบาโตซึง่ เป็นวันที่เจ็ดของ สัปดาห์ตามปฏิทนิ ของชาวยิว ปรกติแล้วชาวยิวจะเริ่มฉลองวัน สาคัญนี้ตงั้ แต่วันศุกร์ตอนเย็น และ สิ้นสุดลงในวันเสาร์ตอนเย็น พิธีกรรมจะประกอบด้วยการอ่าน พระวาจาของพระเจ้า บทอ่าน แรกมาจากหนังสือโตราห์ หรือ หนังสือพระคัมภีร์ห้าเล่มแรกของ ชาวยิว ส่วนบทอ่านที่สองมักจะ มาจากหนังสือประกาศก จากนั้นผู้ทาหน้าที่เป็นประธานในศาลาธรรมจะเชิญผู้ใหญ่บางท่านมาอธิบายความหมายพระวาจาของ พระเจ้าขณะนัน้ พระเยซูเจ้าทรงมีพระชนมายุราวสามสิบกว่าปี ซึ่งถือว่าเป็นผู้ใหญ่คนหนึ่งผู้เคร่งครัดในศาสนา ได้รับเกียรติให้อธิบายความหมายพระคัมภีร์ คาสั่งสอนของพระองค์ทาให้ผู้ฟังรู้สึกประทับใจอย่างมาก เพราะทรงสอน เขาอย่างทรงอานาจไม่เหมือนกับบรรดาธรรมมาจารย์ ความจริงประการหนึง่ ที่เราต้องทาความเข้าใจ คือ เนื้อหาต่าง ๆ ในหนังสือพระคัมภีร์ภาคพันธสัญญาเดิมทุก เล่มซึ่งชาวยิวสมัยนั้นได้อ่าน และ ศึกษาล้วนมุ่งถึงการเสด็จมาของพระผู้ไถ่ คือองค์พระเยซูเจ้านั่นเอง เมื่อพระองค์ เสด็จมา จึงนับได้ว่าบรรลุถึงเป้าหมายแล้ว พระเยซูเจ้าจึงทรงอธิบายแก่ผู้มาร่วมชุมนุมในวันนัน้ ว่า “ในวันนี้ ข้อความจากพระคัมภีร์ที่ท่านได้ยินกับหูอยู่นี้เป็นความจริงแล้ว” (ลก 4:21) นั่นคือ พร้อมกับการเสด็จมาของพระองค์ เวลาแห่งการปลดปล่อยให้เป็นอิสระมาถึงแล้ว ชัยชนะเหนือการ กดขี่ข่มเหงทุกอย่างก็อยู่แค่เอื้อม โซ่ตรวนจะถูกทาลาย คนตาบอดจะมองเห็นอีก คนง่อยเปลี้ยเสียขาจะเดินได้ และ คนยากจนจะยินดีและมีความสุขที่ได้มีโอกาสรับฟังข่าวดีเกี่ยวกับความรอดพ้นที่พระเจ้าจะทรงประทานให้ ในฐานะ ศิษย์ของพระเยซูเจ้า สายตาหรือความสนใจของเราต้องจับจ้องอยู่ที่พระองค์แต่เพียงผู้เดียว เราต้องไม่ให้ความสาคัญ แก่คนอื่นมากกว่าพระองค์ เราทุกคนมีหน้าทีส่ านต่อภารกิจแห่งรักและรับใช้ของพระเยซูเจ้า ขอพระจิตเจ้า ผู้ทรงมี บทบาทสาคัญในชีวิตและภารกิจของพระเยซูเจ้าส่องสว่างสติปญ ั ญาและนาทางเราตลอดไป เพื่อเราจะดาเนินชีวิตไป ในทิศทางเดียวกันกับภารกิจของพระเยซูเจ้า และสอดคล้องกับแผนการและพระประสงค์ของพระเจ้าพระบิดาของเรา ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี
enen ข้อคิดยามเช้า วันจันทร์ ที่ 2 กุมภาพันธ์ 2015 ในพระสมณลิขิตเตือน “พระวาจาขององค์พระผู้เป็นเจ้า” (Verbum Domin) สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ ที่ 16 ทรงบอกว่า พระเจ้าทรงเป็นผู้ตรัส เพราะพระองค์ทรงปรารถนาจะสนทนากับ เราในอดีตเพื่อสนทนากับชาวอิสราเอล ประชากรที่พระองค์ทรงเลือกสรร พระเจ้าทรงแต่งตั้งบรรดาประกาศก เช่น โมเสส อิสยาห์ และ เยเรมีย์ เป็นผู้ที่พูดกับ ประชาชนในนามของพระองค์ เมื่อประกาศกพูดกับประชาชนอย่างเป็น ทางการท่านมักจะใช้คาว่า “องค์พระผู้เป็นเจ้าตรัสดังนี.้ ..” ซึ่งแสดงให้เห็นว่าท่านไม่ได้พูดด้วยอานาจของตนเอง แต่ด้วยอานาจของพระเจ้า และ ตามพระประสงค์ของ พระองค์พระเยซูเจ้าทรงเป็นมากกว่า “ประกาศกคนหนึ่ง” เพราะพระองค์ทรงสอนด้วยอานาจของตนเอง นักบุญ มาระโกบอกเราในพระวรสารว่า “คาสั่งสอนของพระองค์ทาให้ผู้ฟังรู้สึกประทับใจอย่างมาก เพราะทรงสอนเขาอย่างทรงอานาจไม่เหมือนกับบรรดาธรรมาจารย์” (มก 1:22) ความหมายของคาว่า “ทรงสอนเขาอย่างทรงอานาจ” คือ ประการแรก พระเยซูเจ้าทรงสอนจากหัวใจ ไม่ใช่จากสมองเท่านัน้ พระองค์ทรงสอนด้วยความมั่นใจในข่าวดีที่พระองค์ทรงประกาศ เพราะพระองค์ทรงรู้ดีว่าข่าวดี นั้นสอดคล้องกับพระประสงค์ของพระเจ้า
พระองค์ตรัสในพระวรสารตอนหนึ่งว่า “เราบอกความจริงแก่ท่านว่า เรากาลังพูดถึงเรื่องที่เรารู้และเป็นพยานถึงเรื่องที่เราเห็น” (ยน 3:11) คาสั่งสอนของพระองค์เป็นการเป็นพยานส่วนตัว ถึงความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดของพระองค์กับพระบิดาเจ้า สวรรค์ ส่วนความรู้ทบี่ รรดาธรรมาจารย์มี ไม่ได้มาจากความสัมพันธ์ส่วนตัวของพวกเขากับพระเจ้าโดยตรง แต่มาจาก การศึกษาพระคัมภีร์อย่างจริงจังและเป็นระยะเวลาที่ยาวนาน ผลที่ตามมาคือ คาสัง่ สอนของพวกเขาส่วนใหญ่มาจาก สมอง ไม่ได้มาจากหัวใจ ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี
enen ข้อคิดยามเช้า วันอังคาร ที่ 3 กุมภาพันธ์ 2015 “คาสั่งสอนของพระองค์ ทาให้ผู้ฟังรู้สึกประทับใจอย่างมาก เพราะทรงสอนเขาอย่างทรง อานาจ ไม่เหมือนกับบรรดาธรรมาจารย์” (มก 1:22) ความแตกต่างระหว่าง คาสั่งสอนของพระเยซูเจ้ากับบรรดา ธรรมมาจารย์นนั้ นอกจากพระเยซู เจ้าทรงสอนจากหัวใจ ไม่ใช่จาก สมองแล้วพระองค์ยังทรงเน้นทีจ่ ิตตารมณ์ของบทบัญญัติ ไม่ใช่การถือปฏิบัติตามตัวอักษร พระเยซูเจ้าจึงทรงสามารถ ค้นพบคุณค่าทางบวกที่บทบัญญัติต่าง ๆ นั้นพยายามปกป้อง ขณะที่บรรดาธรรมาจารย์ใช้บทบัญญัติตามตัวอักษร พวกเขามัวยุ่งอยู่กับการตีความถ้อยคาต่าง ๆ และ ออกข้อบังคับเล็ก ๆ น้อย ๆ มากมายเพิ่มเติมอีกนับไม่ถ้วน ตัวอย่างเช่น การถือวันสับบาโต บรรดาธรรมาจารย์ให้ความสนใจกับการกาหนดอย่างเจาะจงลงไปว่า วันศักดิ์สิทธิน์ ี้จะเริ่มและจบลงเมื่อไหร่? งานอะไรบ้างที่ทาได้หรือทาไม่ได้? ส่วนพระเยซูเจ้า มุง่ ไปทีพ่ ระประสงค์ของ พระเจ้าผู้ประทานบทบัญญัตนิ ี้แก่ประชากรของพระองค์ในฐานะเป็นเครื่องหมายแห่งความรัก และ ความเอาใจใส่ของ พระองค์ที่มีต่อพวกเขา ดังนั้น บทสรุปของพระองค์คือ วันสับบาโตเป็นวันที่เราต้องเว้นว่างจากงานประจาของเราเพื่อว่าเราจะ สามารถรับใช้พระเจ้า และ ทางานของพระองค์ (เทียบ ยน 5:17) การเน้นคุณค่าของวันสับบาโตในเชิงบวกแบบนี้เอง ที่ทาให้ประชาชนรู้สึกว่า คาสั่งสอนของพระเยซูเจ้าเป็นข่าวดีแห่งการปลดปล่อยให้เป็นอิสระ ซึ่งตรงกันข้ามกับคาสั่ง สอนของบรรดาธรรมาจารย์ที่ทาให้พวกเขารู้สึกว่าตนเองมีภาระที่แบกมากขึ้น ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี
enen ข้อคิดยามเช้า วันพุธ ที่ 4 กุมภาพันธ์ 2015 คาสั่งสอนของพระเยซูเจ้า มีพลังและสามารถผลักดันให้ผฟู้ ัง เปลี่ยนแปลงหัวใจของตนในทางที่ดี ขึ้นได้ ทุกครั้งที่พระองค์ทรงสั่งสอน ประชาชน พระองค์ทรงมุ่งให้เกิด การเปลี่ยนแปลงทางบวกในหัวใจ ของพวกเขา ไม่ใช่เพียงแค่ทาให้ พวกเขารู้สึกว่าตัวเองผิดบาป หรือ ไม่มีความดีเพียงพอในเรื่องต่าง ๆ ขณะที่บรรดาธรรมาจารย์พยายาม อธิบายเหตุผลของปัญหาที่พวกเขา กาลังเผชิญอยู่ ตามธรรมประเพณี ของพวกเขาแต่พระเยซูเจ้ามุ่งที่จะ ช่วยเหลือพวกเขามากกว่านั้น ตัวอย่างเช่น ในกรณีของชายตาบอดแต่กาเนิด บรรดาธรรมาจารย์พยายามอธิบายว่าที่เขาตาบอดนั้นเป็น เพราะบาปของเขาเอง หรือ บาปของบิดามารดาของเขา แต่พระเยซูเจ้าไม่ได้ใส่ใจในประเด็นนัน้ พระองค์มุ่งที่จะ รักษาเขาให้หายจากตาบอด ดังนั้น พระองค์ทรงรักษาคนเจ็บป่วย และ ขับไล่ปีศาจไป พร้อมกับการเทศน์สอนของ พระองค์เพื่อแสดงให้เห็นว่าความสนใจอันดับแรกของพระองค์คือ เปลี่ยนแปลงสถานการณ์ของมนุษย์ไม่ใช่เพียงแค่ อธิบายสถานการณ์เท่านั้น ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี
enen ข้อคิดยามเช้า วันพฤหัสบดี ที่ 5 กุมภาพันธ์ 2015 นักปรัชญาท่านหนึ่งบอกว่า “เป้าหมายที่แท้จริงของปรัชญา ไม่ใช่เพียงแค่การอธิบายโลกเท่านั้น แต่เป็นการเปลี่ยนแปลงมันด้วย” คาพูดนีน้ ามาประยุกต์เพื่อให้ เราเข้าใจชัดเจนยิ่งขึ้นกับความสาคัญใน แง่มุมต่าง ๆ ของพระวาจาของพระเจ้า พระวาจาของพระเจ้าที่เราได้ยนิ ไม่ควร เพียงแค่ช่วยเราให้เข้าใจความหมาย ของชีวิตเท่านัน้ แต่ต้องเปลี่ยนแปลง ชีวิตของเราในทางที่ดีขึ้นด้วย อะไรคือท่าทีของเราต่อพระวาจาของพระเจ้า ที่เราได้ยินทุกครั้งที่มาร่วมพิธีมิสซา? เราได้ปล่อยให้พระวาจา นั้นท้าทายตัวเรา และ ก่อให้เกิดผลทางบวกในชีวิตของเราหรือเปล่า? หรือว่าพระวาจาของพระเจ้าเป็นเพียงแค่อาหาร บารุงสมองของเรา หรือเติมเต็มความอยากรู้อยากเห็นของเราเท่านัน้ ? จริงอยู่ ท่าทีที่ถูกต้องของมนุษย์ต่อพระวาจาของพระเจ้าคือ ความเชื่อ แต่ความเชื่อที่ปราศจากกิจการเป็น ความเชื่อที่ตายแล้ว ดังนั้น ทุกครั้งที่เราได้ยินพระวาจาของพระเจ้า ให้เราน้อมรับด้วยใจสุภาพ พยายามซึมซับ และ ปล่อยให้พระวาจานั้นนาทางและเปลี่ยนแปลงชีวิตของเรา เพื่อเราแต่ละคนจะสามารถเป็นหนึง่ เดียวกับพระองค์ ทั้งในด้านความคิดและกิจการนับวันยิ่งมากขึ้น ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี
enen ข้อคิดยามเช้า วันศุกร์ ที่ 6 กุมภาพันธ์ 2015 พระเยซูเจ้าทรงตรัส สอนเราอย่างทรงอานาจ ทั้งนี้เพราะ ประการแรก พระองค์ทรงสอน จากหัวใจ ไม่ใช่จากสมอง เท่านั้น ประการที่สอง พระองค์ทรงเน้นที่ จิตตารมณ์ของบทบัญญัติ ไม่ใช่การก้มหน้าก้มตายึดถือ ปฏิบัติเพียงแค่ตามตัวอักษร เพราะพระเจ้าทรงประทานบทบัญญัติแก่ประชากรของพระองค์ เป็นเครื่องหมายแห่งความรักและความเอาใจใส่ที่มี ต่อพวกเขาคาสั่งสอนของพระเยซูเจ้าจึงล้วนเป็นคุณค่าทางบวก เป็นข่าวดีแห่งการปลดปล่อยให้เป็นอิสระ ประการที่สาม คาสั่งสอนของพระเยซูเจ้ามีพลังที่สามารถผลักดัน ให้ผู้ฟังเปลี่ยนแปลงหัวใจของตนในทางที่ดีขนึ้ ได้ พระองค์ มุ่งให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางบวกในหัวใจของผู้ฟัง ดังนั้น พระวาจาของพระเจ้าที่เราได้อ่านได้ยินได้ฟงั ไม่ควรเพียง แค่ช่วยเราให้เข้าใจความหมายของชีวิตเท่านัน้ แต่ต้องเปลี่ยนแปลงชีวิตของเราในทางที่ดีขึ้นด้วย ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี
enen ข้ อคิดยามเช้ า วันเสาร์ ที่ 7 กุมภาพันธ์ 2015 วิถีทางของพระเจ้ า แตกต่างจากวิถีทางของเรา บ่อยครัง้ เราไม่สามารถเข้ าใจ เหตุผลทังหมดว่ ้ า ทาไมพระเจ้ า ทรงเลือกกระทาสิ่งต่าง ๆ อย่างนัน้ ทาไมพระเจ้ าทรงเลือกชาว อิสราเอลเป็ นประชากรของ พระองค์ ทาไมพระบุตรของพระ เจ้ าจึงทรงเลือกบังเกิดมาในโลกนี ้ ในสภาพที่ยากจนและขัดสน? ทาไมทรงเลือกคนที่มีการศึกษาต่า และฐานะยากจนเป็ นอัครสาวก ยิ่งกว่านัน้ บางคนอยู่ในกลุม่ คนบาปด้ วย? ทาไมทุกวันนี ้ พระเจ้ าทรงปล่อยให้ สิ่งเลวร้ ายต่าง ๆ เกิดขึ ้น? ทาไมคนชัว่ คนบ้ าอานาจ คนที่ชอบเอารัดเอาเปรี ยบคนอื่นจึงลอยนวลเป็ นที่นบั หน้ าถือตาอยู่ในปั จจุบนั ? เหตุผลประการหนึง่ ที่เราจะทาความเข้ าใจได้ คือ การแสดงอานาจและความยิ่งใหญ่เปิ ดโอกาสสาหรั บ ความเชื่อน้ อยมาก ความเชื่อเรี ยกร้ องความมัน่ ใจในความรักและการนาทางของพระเจ้ า แม้ วา่ สิ่งนันจะไม่ ้ ดาเนิน ไปอย่างที่เราคิดหรื อคาดหวังไว้ ก็ตาม ความเชื่อเป็ นพระพรพิเศษจากพระเจ้ าที่เราได้ รับแบบเปล่า ๆ ซึง่ เรา สามารถยอมรับหรื อปฏิเสธก็ได้ อย่างไรก็ตาม ความเชื่อเป็ นเอกลักษณ์อนั หนึง่ ของผู้ที่มีความซื่อสัตย์ตอ่ พระเจ้ า และ วิถีทางของพระองค์ ไม่ใช่ตอ่ วิถีทางของตนเอง เพราะทุกสิ่งเป็ นไปได้ เสมอสาหรับพระเจ้ า ถ้ าเราเชื่อในพระเจ้ าและยอมรับในความแตกต่างของวิถีทางของพระองค์ เราจะยอมรับถ้ อยคามนุษย์ที่ เรี ยบง่ายซึง่ ได้ รับบันทึกไว้ ในพระคัมภีร์ในฐานะพระวาจาของพระเจ้ าที่ได้ รับการดลใจจากพระจิตเจ้ า เราจะ มองเห็นความเป็ นจริ งของศีลมหาสนิทผ่านทางรู ปปรากฏภายนอกของปั ง และ เหล้ าองุ่นซึง่ เป็ นผลผลิตธรรมดา ที่มาจากน ้าพักน ้าแรงของมนุษย์ ผู้ที่มีความเชื่อเท่านันจึ ้ งจะสามารถมองเห็นและยอมรับความจริ งเหล่านี ้ได้ ขอพระเจ้ าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี
enen ข้อคิดยามเช้า วันอาทิตย์ ที่ 8 กุมภาพันธ์ 2015 มหาเศรษฐีคนหนึ่ง เป็นคนดีพร้อมทุกอย่าง ทั้งใน กิริยามารยาท และ การกระทา ได้รับการยอมรับและนับถือ อย่างสูงในชุมชน ทรัพย์สมบัติ มหาศาลที่ทา่ นมีล้วนได้มาอย่าง ชอบธรรม เป็นคนศรัทธา และ เคร่งครัดในศาสนา ปฏิบัติตาม บทบัญญัติของพระเจ้าอย่าง ครบถ้วน ลูกชายเจ็ดคน และ ลูกสาวอีกสามคน อยู่ในโอวาท ของท่าน ในสายตาของเพื่อนบ้านท่านเป็นบุคคลทีส่ มบูรณ์แบบคนหนึง่ แต่แล้ววันหนึ่งเหตุการณ์ทไี่ ม่คาดฝันก็อุบัติขึ้น ธุรกิจของท่านล้มเหลว และ ทรัพย์สมบัติทสี่ ะสมไว้หายไปในพริบตายิ่งกว่านัน้ ลูกทั้งสิบคนของท่านต้องจบชีวติ ลง พร้อมกัน ท่านเองป่วยเป็นโรคร้ายที่หมอไม่สามารถวินิจฉัย และ รักษาได้ ภรรยาที่ท่านรักก็รับสภาพของท่านไม่ได้ และ กาลังจะทิ้งท่านไปอีกคน นี่เป็นเรื่องราวของบุรุษผู้ยงิ่ ใหญ่คนหนึ่งที่ชื่อ “โยบ” ซึ่งได้รับการบันทึกไว้ในพระคัมภีร์ราวสี่ร้อยปีก่อนการ บังเกิดของพระเยซูเจ้า นี่คือปัญหาอมตะที่คนทุกยุคทุกสมัยต้องเผชิญ ทาไมคนดีต้องประสบกับความทุกข์ทรมาน อย่างแสนสาหัสแทนที่จะได้รับรางวัลตัง้ แต่ในโลกนี้จากพระเจ้าผู้ซึ่งพวกเขารักและรับใช้? ในทางตรงข้ามทาไมบางคน ที่ดูเหมือนว่าไม่สนใจพระเจ้า และ ศาสนาเลย จึงทาอะไรแล้วประสบผลสาเร็จมีทั้งทรัพย์สินเงินทอง และ เกียรติยศ ชื่อเสียง? เพื่อนสนิททั้งสามคนพยายามทาให้โยบยอมรับให้ได้ว่า ท่านต้องทาบาปหนักบางอย่างแน่นอน พระเจ้าจึงได้ ลงโทษท่านถึงเพียงนี้ โยบพยายามพิจารณาไตร่ตรองชีวิตที่ผา่ นมาของท่าน ท่านก็ไม่พบสิ่งใดที่เป็นความผิด เมื่อหา คาตอบให้กับตัวเองไม่ได้ทา่ นยิง่ รู้สึกเจ็บปวด และ คับข้องใจมาก จนกระทั่งต้องร้องออกมาอย่างขมขื่นว่า “ตาของข้าพเจ้าจะไม่เห็นอะไรดีอีกเลย” (โยบ 7:7)
โยบยังไม่สูญเสียความเชื่อในพระเจ้าที่ทา่ นรัก และ ไว้วางใจ ท่านยังคงอดทนกับพระองค์และพยายามหา คาตอบให้กับสิ่งที่ทา่ นกาลังประสบอยู่ในขณะนั้น ผลที่ตามมาคือ อาศัยพระหรรษทานของพระเจ้า ท่านได้ตระหนักว่า พระปรีชาญาณ และ ความชอบธรรมของพระเจ้าอยู่เกินกว่าที่สติปัญญาของมนุษย์จะสามารถเข้าใจ และ หยั่งถึงได้ ดังนั้น มนุษย์จงึ ไม่อยู่ในสถานภาพที่จะวิพากษณ์วิจารณ์การกระทา และ การนาทางจักรวาลของพระองค์ เราเองก็เช่นกัน ต้องตระหนักว่า เราไม่สามารถเข้าใจพระปรีชาญาณ และ ความชอบธรรมของพระเจ้าได้ เราไม่อยู่ในสถานภาพที่จะวิพากษ์วิจารณ์วิถีทางของพระองค์ แต่พร้อมกับพระเยซูเจ้า เราสามารถพบ และ เข้าใจ มิติใหม่ของความทุกข์ทรมานที่เรากาลังประสบอยู่ขณะนี้ เรายอมรับความทุกข์ทรมานด้วยใจสุภาพไม่ใช่เพราะว่าเรา ไม่สามารถทาอย่างอื่นได้อีกแล้ว หรือเพราะว่าถ้าเราอดทนเหมือนโยบแล้ว เราจะได้รบั การตอบแทนอย่างคุ้มค่าตั้งแต่ อยู่ในโลกนี้ เราจะพบคุณค่าที่แท้จริงของความทุกข์ทรมานของเรา หลังความตายหรือโดยทางความตายเท่านัน้ ถ้าเรา ยอมรับความทุกข์ทรมาน และ ความตายในความเป็นหนึ่งเดียวกับพระเยซูเจ้า เราจะกลับคืนชีพพร้อมกับพระองค์ และมีส่วนในพระสิริรุ่งโรจน์ของพระองค์ในสวรรค์ ที่ซึ่งเราจะพบความสุขตลอดนิรันดร ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี
enen ข้อคิดยามเช้า วันจันทร์ ที่ 9 กุมภาพันธ์ 2015 พระเยซูเจ้าทรงรักษา ประชาชนที่เจ็บป่วยด้วยโรคภัย ต่าง ๆ และ ทรงขับไล่ปีศาจออก จากพวกเขา เช้าตรู่ของวันต่อมา พระองค์ทรงรีบลุกขึ้น และ ออกไป ยังที่สงัดเพื่ออธิษฐานภาวนาเป็นไป ได้ว่าระหว่างอธิษฐานภาวนาอยูท่ ี่ นั่น พระองค์คงสนทนากับพระบิดา เจ้าสวรรค์ เกี่ยวกับความทุกข์ ทรมานของมนุษย์ แต่แล้วการอธิษฐานภาวนาของพระองค์ต้องหยุดชะงักลง เมื่อซีโมนและเพื่อน ๆ มาถึงและบอกพระองค์ว่า “ทุกคนกาลังแสวงหาพระองค์” (มก 1:37) ประชาชนคงต้องการความช่วยเหลือจากพระองค์ แม้ว่าพระเยซูเจ้าไม่ได้แสดงความคิดเห็นอะไรเกี่ยวกับ เรื่องนี้ แต่พระองค์ทรงลุกขึ้นและชี้แจงความตั้งใจอีกครั้งหนึ่งว่า “เราไปที่อื่นกันเถิด ไปตามตาบลใกล้เคียง พื่อจะได้เทศน์สอนที่นั่นด้วย เพราะเรามาด้วยจุดประสงค์น”ี้ (มก 1:38) ทาไมพระองค์จงึ ต้องไปที่อื่น ทั้ง ๆ ที่หลายคน ยังต้องการความช่วยเหลือจากพระองค์ที่นนั่ ? เหตุผลคือ พระองค์ไม่ได้เสด็จมาเพื่อปลดปล่อยมนุษย์ให้เป็นอิสระจากความทุกข์ทรมานในชีวิตนี้ แต่เพื่อเทศน์สอนว่าความรัก ของพระเจ้าดารงอยู่ตลอดเวลาแม้ในสถานการณ์ที่เลวร้ายทีส่ ุดบนโลกนี้ และ ความรอดพ้นหรือความสุขตลอดนิรันดร ยังคงเปิดกว้างสาหรับมนุษย์ทุกคนเสมอ ยิ่งกว่านัน้ ความทุกข์ทรมานที่เรายอมรับด้วยใจสุภาพถ่อมตน สามารถเป็น ทางผ่านที่นาเราไปสู่ชีวติ นิรันดรได้ พระเยซูเจ้าทรงใช้อานาจของพระองค์รักษาความเจ็บป่วยเพื่อยืนยันสิง่ ที่พระองค์ ทรงเทศน์สอน และ เพื่อให้ประชาชนได้ชิมลางล่วงหน้าถึงการรักษาที่ครบบริบูรณ์ในสวรรค์ พระองค์ไม่ได้ทรงใช้ อานาจเพื่อปกป้องตนเองให้พ้นจากความทุกข์ทรมาน และ ความตาย ตรงกันข้าม พระองค์ทรงยอมรับพวกมันด้วยใจ สุภาพ เพราะพระองค์ทรงทราบดีว่าด้วยสิง่ เหล่านี้เองจะเป็นทางผ่านที่จะนาไปสู่พระสิริรุ่งโรจน์ที่พระบิดาทรงเตรียม ไว้สาหรับพระองค์ ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี
enen ข้อคิดยามเช้า วันอังคาร ที่ 10 กุมภาพันธ์ 2015 “จงแล่นเรือออกไปที่ลึก และ หย่อนอวนลงจับปลาเถิด” (ลก 5:4) พระเยซูเจ้าตรัสกับ ซีโมน เปโตร และ เพื่อน ๆ ของท่านในค่่าคืนแห่งความ ล้มเหลวซึ่งแม้จะท่างานหนักมา หลายชั่วโมง แต่จับปลาไม่ได้แม้แต่ ตัวเดียว พวกเขาเหนื่อยอ่อน หมดแรง และ รู้สึกผิดหวังมาก ๆ แต่ค่าสั่งของพระเยซูเจ้าซึ่งเป็นลูกช่างไม้ไม่สอดคล้องกับประสบการณ์ของชาวประมงอาชีพของพวกเขา การหย่อนอวนจับปลาตอนนี้ไม่ใช่เวลาเหมาะ แต่อย่างไรก็ตาม ชาวประมงยอมรับค่าสั่งของลูกช่างไม้ ผลที่ตามมาคือ พวกเขาสามารถจับปลาได้เต็มสองล่าเรือ ซีโมนได้เห็น “พระหัตถ์ของพระเจ้า” ในการจับปลาครั้งนัน้ และ ในเวลาเดียวกันท่านมองเห็นตนเองว่าเป็น “คนบาป” (ลก 5:8) ท่านรู้สึกว่าตนเองไม่เหมาะสม เมื่ออยู่ต่อหน้าอ่านาจที่ยิ่งใหญ่ของพระเยซูเจ้า “โปรดไปจากข้าพเจ้าเสียเถิด พระเจ้าข้าเพราะข้าพเจ้าเป็นคนบาป” (ลก 5:8) แต่พระเยซูเจ้าไม่ยอมรับค่าขอร้องของชาวประมง ทั้งนี้เพราะพระองค์เสด็จมาในโลกนี้เพื่อแสวงหาคนบาป “เราไม่ได้มาเพื่อเรียกคนชอบธรรมแต่มาเพื่อเรียกคนบาปให้กลับใจ” (ลก 5:32) ซีโมนโชคดีที่นบนอบต่อค่าสั่งของพระเยซูเจ้าท่านจึงจับปลาได้จ่านวนมาก ท่านยังโชคดีมากกว่านัน้ อีก เมื่อพระเยซูเจ้าไม่ยอมท่าตามค่าข้อร้องของท่านที่ให้จากท่านไป เพราะถ้าเป็นอย่างนั้นชีวิตที่เหลือของท่านคงเป็น ชีวิตที่นา่ สงสาร ปราศจากพระเยซูเจ้า ท่านคงจมปลักอยู่กับชีวติ เก่า ๆ กลางท้องทะเลสาบ หาปลาเลี้ยงชีพไปวัน ๆ ความล้มเหลวในงานที่เรามีความช่านาญ ในแง่หนึ่งเป็นเสียงเรียกของพระเจ้าให้เรากลับใจ และ มีความสุภาพถ่อมตนในความรู้สึกว่าตนเองอ่อนแอ เช่นนี้แหละ พระเจ้าจะทรงเผยแสดงพระองค์เองแก่เรา และ ประทานแสงสว่างแก่เรา เพื่อเราจะตระหนักว่า จริง ๆ แล้วเราเป็นใครอะไรคือตัวตนที่แท้จริงของเรา ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี
enen ข้อคิดยามเช้า วันพุธ ที่ 11 กุมภาพันธ์ 2015 ความศักดิ์สิทธิ์ และ ความผิดบาปไม่สามารถไป ด้วยกันได้ ไม่ใช่เรื่องแปลกเลย เมื่ออยู่ต่อหน้าความศักดิ์สิทธิ์ ของพระเป็นเจ้า มนุษย์จะรู้สึก ว่าตนเองเป็นคนบาปหนา ตนเองมีจุดบกพร่องหลายอย่าง อับราฮัมรู้สึกว่าตนเองเป็นเพียง “ฝุ่นผงและขี้เถ้า” (ปฐก 18:27) เมื่อท่านอ้อนวอนพระ เจ้าให้ละเว้นชีวิตของผูช้ อบ ธรรมในเมืองโสโดม โมเสสรู้สึกว่าตนเองต่่าต้อยต่อหน้าพุ่มไม้ที่ก่าลังลุกไหม้อยู่ ก่อนที่จะถูกส่งออกไปเพื่อท่าพันธกิจที่ได้รับ มอบหมาย ท่านทัง้ สองตระหนักถึงความไม่เหมาะสมของตนเอง เมื่ออยู่ต่อหน้าองค์พระผู้ศักดิ์สิทธิ์ ถ้าเราอ่านชีวประวัติ ของนักบุญต่างๆ จะทราบว่า พวกท่านล้วนตระหนักถึงความผิดบาปของตนเอง ซึ่งยิ่งท่าให้พวกท่านก้าวหน้าในชีวิต ภายในมากขึ้นเรื่อย ๆ จนบรรลุถึงความเป็นหนึ่งเดียวกับพระเจ้าในที่สุด “ยิ่งเราอยู่ใกล้พระเป็นเจ้ามากเท่าใด เราก็จะยิ่งรู้สึกว่าเราเป็นคนบาปมากขึ้นเท่านั้น” อย่างไรก็ตาม เราควรระลึกว่า พระเจ้าทรงช่าระล้างความผิดบาป และ ทรงอภัยให้ทุกคนที่ยอมรับว่าตนเอง เป็นคนบาป พระเยซูเจ้าพร้อม และ เต็มใจให้อภัยเราเสมอ เพราะพระองค์เสด็จมาในโลกนี้เพื่อช่วยเราคนบาปทุกคน “เราไม่ได้มาเพื่อเรียกคนชอบธรรมแต่มาเพื่อเรียกคนบาปให้กลับใจ” (ลก 5:32) ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี
enen ข้อคิดยามเช้า วันพฤหัสบดี ที่ 12 กุมภาพันธ์ 2015 เมื่อเราปล่อยให้พระเจ้า นาทางเรา เราจะเห็น และสัมผัส ความยิ่งใหญ่ของพระองค์เหมือนที่ นักบุญเปโตรทาตามคาแนะนาของ พระเยซูเจ้า และ สามารถจับปลา ได้จานวนมาก (เทียบ ลก 5:4-7) เมื่อเราทาตามคาแนะนา ของพระเยซูเจ้า ซึ่งบางครั้งอาจ เป็นเรื่องที่ค้านความรูส้ ึก และ ดูเหลวไหลในสายตาของมนุษย์ แต่ผลที่ตามมาคือ ความสาเร็จที่ เกินกว่าจะจินตนาการได้ ถ้าเรารู้สึกว่าตนเองไม่เหมาะสม และ ไร้ความสามารถ ที่จะทางานที่พระเจ้าทรงมอบหมาย จงรู้ไว้เถอะว่า คนที่รู้สึกแบบนี้แหละ ที่พระเจ้าทรงใช้เป็นเครื่องมือของพระองค์ สิ่งที่เราต้องทาคือ บอกกับพระองค์ว่า “ข้าพเจ้าอยู่ที่นี่ โปรดส่งข้าพเจ้าไปเถิด” (อสย 6:8) ส่วนที่เหลือปล่อยให้พระองค์จัดการให้เรา แล้วพระองค์จะทรงทาให้เราเหมาะสมสาหรับภารกิจที่พระองค์ ทรงต้องการให้เราทาเพื่อพระองค์ ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี
enen ข้อคิดยามเช้า วันศุกร์ ที่ 13 กุมภาพันธ์ 2015 ถ้าเรารู้สึกว่า ตนเองไม่เหมาะสม และ ไร้ความสามารถ ที่จะ ทางานที่พระเจ้าทรง มอบหมาย ให้เรายอมรับ และ สารภาพต่อพระองค์ ด้วยใจซื่อสัตย์ถ่อมตน พระองค์จะทรงช่วยเรา ให้หลุดพ้นจากสภาพ ความผิดบาป และ ความไม่เหมาะสม เพื่อเราจะสามารถ รับใช้พระองค์ ในกรณีของนักบุญเปโตร พระเยซูเจ้าตรัสกับท่านว่า “อย่ากลัวเลย ตั้งแต่นี้ไปท่านจะเป็นชาวประมงหามนุษย์” (ลก 5:10) คุณสมบัติที่ทาให้เราเหมาะสม สาหรับกระทาภารกิจต่าง ๆ ซึ่งเราได้รับมอบหมายจากพระเจ้าไม่ได้มาจาก ตัวของเราเอง ความเก่งกาจสามารถของเราแต่ทั้งหลายทั้งปวงนั้น ล้วนแต่มาจากพระเจ้าไม่ใช่ความสาเร็จส่วนตัว แต่เป็นพระหรรษทานของพระเจ้านี่คือเหตุผลที่ทาให้นักบุญเปาโลพูดว่า “แต่ข้าพเจ้าเป็นอย่างที่เป็นอยู่นี้ด้วยเดชะพระหรรษทานของพระเจ้า” (1 คร 15:10) ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี
enen ข้อคิดยามเช้า วันเสาร์ ที่ 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ.2015 “ซีโมน บุตรของยอห์น ท่านรักเราไหม” พระเยซูเจ้าทรงถาม นักบุญเปโตรถึงสามครั้งว่า ท่านรักพระองค์หรือไม่? เมื่อท่านยืนยันสามครั้งว่า รักพระองค์ พระองค์ทรงมอบภารกิจ ให้ท่านสามครั้งเช่นกัน พระองค์ทรงสั่งว่า “จงเลี้ยงลูกแกะของเราเถิด” (ยน 21:15-17) นักบุญเปโตรได้ปฏิเสธว่าไม่รู้จักพระเยซูเจ้าถึงสามครั้งในคืนที่พระองค์ถูกทรยศและถูกมอบแก่บรรดาศัตรู พระองค์จึงทรงถามท่านสามครัง้ เพื่อแน่ใจว่าท่านรักพระองค์จริง ๆ และอย่างไร้เงื่อนไขใด ๆ ทัง้ สิ้น ในภารกิจที่พระ เยซูเจ้าทรงมอบหมายแก่นักบุญเปโตร เราสามารถมองเห็นความรัก และ ความห่วงใยที่พระองค์ทรงมีต่อเราผู้ซึ่งเป็น ฝูงแกะของพระองค์ได้อย่างชัดเจน เมื่อนักบุญเปโตร ยืนยันความรักที่ท่านมีต่อพระองค์ พระองค์ไม่ได้ทรงบอกให้ท่าน คุกเข่าลง และ นมัสการพระองค์ พระองค์ไม่ได้ทรงเรียกร้องสิ่งใดเพื่อพระองค์เอง พระองค์ไม่ได้ทรงคิดถึงพระองค์เอง แต่ทรงคิดถึงเรา เพราะว่าพระองค์เสด็จมาในโลกนี้เพื่อความรอดพ้นของเรา พระองค์ทรงถวายพระองค์เองเป็นยัญ บูชาเพื่อว่าโดยการสิน้ พระชนม์ พระองค์จะทรงทาลายความตาย และ โดยการกลับคืนพระชนมชีพ พระองค์จะทรง ทาให้ชีวิตของเราได้รับการฟืน้ ฟูขึ้นใหม่ พระเยซูเจ้าตรัสว่า “จงเลี้ยงลูกแกะของเราเถิด” (ยน 21:15) เพราะพระองค์ทรงทราบดีว่า เราแต่ละคนต้องการอาหารบารุงเลี้ยงชีวิตฝ่ายจิต เพื่อว่าความเชื่อของเราจะ เจริญเติบโตขึ้นเรื่อย ๆ ไม่ใช่เป็นความเชื่อที่อ่อนแอหรือตายไปแล้ว
ทุกครั้งที่เรามาร่วมพิธีบชู าขอบพระคุณชีวิตฝ่ายจิต และ ความเชื่อของเราจะได้รับการหล่อเลี้ยงด้วยพระ วาจา และ ศีลมหาสนิท ทั้งสองเป็นพละกาลังแห่งความเชื่อ และ อาหารเลี้ยงวิญญาณของเรา พระศาสนจักรไม่เคย และ จะไม่เคยล้มเหลวในการทาหน้าทีบ่ ารุงเลี้ยงเราด้วยพระวาจา และ ศีลศักดิ์สิทธิ์ ด้วยเหตุนี้ เราจึงไม่ควรปฏิเสธ พระคริสตเจ้า หรือมองไม่เห็นคุณค่า หรือไม่ยอมรับอาหารฝ่ายจิตที่พระองค์ทรงนาเสนอแก่เราผ่านทางพระศาสนจักร ในการร่วมพิธีบูชาขอบพระคุณ ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี
enen ข้อคิดยามเช้า วันอาทิตย์ ที่ 15 กุมภาพันธ์ ค.ศ.2015 ในสมัยพระเยซูเจ้า โรคเรื้อน ถือว่าเป็นโรคติดต่อร้ายแรง น่ากลัว มากที่สุด และ ยังไม่มีทางรักษาให้ หายขาดได้ คงไม่ต่างจากโรคเอดส์ใน สมัยปัจจุบันเท่าใดนัก คนที่เป็นโรคนี้ จึงต้องถูกแยกออกจากครอบครัวและ ชุมชนต้องไปอาศัยอยู่ที่ในสถานที่ ห่างไกลจากผู้คน เป็นที่เฉพาะสาหรับ เขา เพื่อป้องกันโรคร้ายไม่ให้ติดต่อกับ คนอื่น พวกเขาถูกถือว่าเป็นคนมีมลทิน และถูกตัดสิทธิ์จากพิธีกรรมทางศาสนา ทุกอย่าง ชาวยิวถือว่าโรคนี้เป็นการลงโทษจากพระเจ้าอีกด้วย พระวรสารวันนี้นาเสนอภาพ และ ท่าทีตอ่ โรคเรื้อนที่ ค่อนข้างแตกต่างโรคเรื้อนเป็นการลงโทษจากพระเจ้าจริงหรือเปล่า? การปฏิบัติต่อคนโรคเรื้อนราวกับว่าเขาไม่ใช่ มนุษย์ที่ถูกกาหนดไว้ในหนังสือเลวีนิติเป็นพระประสงค์ของพระเจ้าจริงหรือไม่? ถ้าสิ่งเหล่านี้เป็นพระประสงค์ของพระ เจ้าจริง เป็นไปได้หรือที่พระเยซูเจ้า พระบุตรหนึ่งเดียวของพระเจ้าจะพอพระทัยรักษาโรคร้ายนี้ เพราะการกระทาของ พระองค์จะขัดกับพระประสงค์ของพระเจ้าไม่ได้ แต่ถ้าโรคเรื้อนเป็นเพียงโรคร้ายชนิดหนึ่งทีส่ ามารถติดต่อคนทั่วไปได้ ถ้าเขาไม่ระมัดระวังตัว เป็นไปได้ที่พระเยซูเจ้า ผู้ทรงรักษาคนเจ็บป่วยมากมายนับไม่ถ้วนจะยินดีรักษาคนป่วยเป็นโรค เรื้อนด้วย คนโรคเรื้อนในพระวรสารวันนี้คงมีคาถามเหล่านี้ในใจ จึงตัดสินใจค้นหาความจริงให้กับตนเอง และ คนอื่น ที่โชคร้ายเหมือนท่าน ท่านมองข้ามข้อกาหนดที่เรียกร้องให้ท่านเก็บตัวอยู่ตามลาพังในถิน่ ทุรกันดาร ห่างจาก ครอบครัว เพื่อนฝูง และ ประชาชนคนอื่น ท่านเข้ามาเฝ้าพระเยซูเจ้าและคุกเข่าเฉพาะพระพักตร์พระองค์ แทนที่ทา่ นจะร้องตะโกนว่า “มีมลทิน มีมลทิน” (ลนต 13:45) ท่านกลับอ้อนวอนพระองค์ว่า “ถ้าพระองค์พอพระทัย พระองค์ย่อมทรงรักษาข้าพเจ้าให้หายได้” (มก 1:40)
ด้วยความสงสารในชะตากรรมของชายโรคเรื้อนคนนัน้ พระเยซูเจ้าไม่ทรงเพียงต้อนรับท่าน แต่พระองค์ทรงยื่นพระหัตถ์ออกไปสัมผัสท่านพร้อมกับตรัสว่า “เราพอใจ จงหายเถิด” (มก 1:41) คาตอบของพระองค์ต่อคาอ้อนวอนของท่าน ก่อให้เกิดผลสองประการในเวลาเดียวกัน ประการแรก มันทาให้ท่านกลับมามีสุขภาพดีดงั เดิม สามารถร่วมส่วนในพิธีกรรมทางศาสนาต่าง ๆ และ กลับไปอาศัยอยู่กับครอบครัวและ ชุมชนของท่านได้ตามปรกติ ประการที่สอง มันพิสูจน์ให้ท่าน และ ทุกคนที่มีชะตากรรมเดียวกันกับท่านเห็นว่า โรคเรื้อนไม่ใช่เป็นการ ลงโทษจากพระเจ้า แต่เป็นเพียงโรคร้ายชนิดหนึ่งที่ขัดขวางท่านไม่ให้มีชีวิตทีส่ มบูรณ์เหมือนทีพ่ ระเจ้าทรงปรารถนาให้ มนุษย์ทุกคนมีเท่านัน้ เอง ตามความเชื่อของชาวยิวสมัยโบราณ การสัมผัสคนโรคเรื้อนทาให้คนที่ทาเช่นนัน้ กลายเป็น คนมีมลทินไปด้วย ดังนั้น พวกเขาต้องระวังตัวเพื่อจะไม่เข้าไปใกล้ และ รักษาระยะห่างทีป่ ลอดภัยจากคนโรคเรื้อน การที่พระเยซูเจ้าทรงยื่นพระหัตถ์ออกไปสัมผัสชายโรคเรื้อนจึงเป็นเหตุการณ์ที่ทาให้ชาวยิวในสมัยของพระองค์ตก ใจมาก และ ไม่คาดคิดว่าจะมีเรื่องแบบนี้เกิดขึ้น คนที่อยู่ในเหตุการณ์คงคิดในใจว่าพระองค์ไม่กลัวติดโรคร้ายนี้หรือ? มันกาลังเกิดอะไรขึ้นที่น?ี่ พระเยซูเจ้ากาลังท้าทายและพยายามสร้างทัศนคติหรือมุมมองใหม่ต่อสิ่งที่ชาวยิวในสมัยนัน้ ถือว่า “สะอาดหรือไร้มลทิน” และ “ไม่สะอาดหรือมีมลทิน” พระองค์กาลังท้าทายความเชื่อที่ผิด และ อคติที่ถือว่า บางคนมีมลทินเนื่องมาจากสุขภาพไม่ดี หรือ สถานภาพทางสังคมที่ต่าของเขา โดยการต้อนรับ สัมผัส และ ทาให้ชาย โรคเรื้อนกลายเป็นผูส้ ะอาด และ ไร้มลทินอีกครั้งหนึ่ง พระเยซูเจ้ากาลังสอนเราทุกคน ผู้เป็นศิษย์ของพระองค์ไม่ให้เบือนหน้าหนี แต่ต้อนรับคนที่สงั คมรังเกียจที่อยู่ ท่ามกลางเรา การแสดงความเป็นหนึ่งเดียวกันกับพวกเขาเหล่านี้ไม่ได้ทาให้เรากลายเป็นคนน่ารังเกียจไปด้วย แต่เป็น การช่วยให้พวกเขาได้รับศักดิ์ศรี และ ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ของพวกเขากลับคืนมา ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี
enen ข้อคิดยามเช้า วันจันทร์ ที่ 16 กุมภาพันธ์ ค.ศ.2015 ปัจจุบนั นีโ้ รคเรื้อนเป็นโรคที่ สามารถรักษาให้หายขาดได้ ไม่ได้เป็น โรคร้ายที่อันตราย และน่าสะพรึงกลัว เหมือนในอดีต อย่างไรก็ตาม ในทุก วันนี้ พวกเราหลายคน ยังมีทัศนคติ และ ท่าทีที่มองโรคร้ายบางอย่างเป็น เหมือนการลงโทษจากพระเจ้า รวมทั้ง การประณามคนที่ต้องทุกข์ทรมาน เพราะโรคร้ายต่าง ๆ เหล่านัน้ เป็นคน ไม่ดี บางคนประณามคนทีป่ ่วยเป็น โรคเอดส์ว่าเป็นคนสาส่อน และ มัก มากในกามรมย์ พวกเขาได้รับสิง่ ที่ พวกเขาสมควรได้รับแล้ว พระเยซูเจ้าทรงท้าทายเราทุกคนให้ละทิ้งความเชื่อแบบเก่าทีไ่ ม่ถูกต้องรวมทั้งท่าทีที่มีอคติต่อผูซ้ ึ่งสังคม รังเกียจ และ ดูถูกเหยียดหยาม พระองค์ทรงปรารถนาให้เราพยายามเข้าใจพวกเขาเห็นอกเห็นใจพวกเขา และ ร่วม เป็นหนึ่งเดียวในความทุกข์ทรมานที่พวกเขากาลังประสบ ศิษย์ที่แท้จริงของพระเยซูเจ้าต้องมีทัศนคติ และ ท่าทีต่อคนที่เป็นทุกข์เดือดร้อน และ ผู้ที่ต้องการความ ช่วยเหลือเป็นพิเศษ เหมือนทัศนคติ และ ท่าทีของพระเยซูเจ้า พระองค์ต้อนรับ สัมผัส และ ทาให้ชายโรคเรื้อน กลายเป็นผู้สะอาด และ ไร้มลทินอีกครั้งหนึ่ง เราจึงต้องไม่เบือนหน้าหนีผู้คนทีส่ ังคมรังเกียจ แต่ต้องเปิดหัวใจ อ้าแขน ออกต้อนรับพวกเขาเหมือนดังเช่นพระเยซูเจ้า พระอาจารย์แต่เพียงผู้เดียวของเรา ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี
enen ข้อคิดยามเช้า วันอังคาร ที่ 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ.2015 วันพุธก่อนวันอาทิตย์ แรกของเทศกาลมหาพรต สัตบุรุษจะรับเถ้าเป็นการ เริ่มต้นเทศกาลมหาพรต พิธีเสก และ โรยเถ้า จะทาใน พิธีมิสซาหลังอ่านพระวรสาร และ เทศน์ ซึ่งให้ความหมายว่า พระวาจาของพระเจ้า เป็นพลัง สาคัญในการปลุกเร้าจิตใจ ของคริสตชนให้สานึกตน กลับใจ และ ใช้โทษบาปใน เทศกาลมหาพรตนี้ บทอ่านแรกจากหนังสือประกาศกโยเอล (ยอล 2 : 12-18) กล่าวว่า “เจ้าทั้งหลายจงเต็มใจกลับมาหาเราด้วยการอดอาหาร ร้องไห้ และเป็นทุกข์คร่่าครวญ ณ บัดนี้เถิด” บทอ่านที่สองจากจดหมายของนักบุญเปาโลอัครสาวก ถึงชาวโครินธ์ ฉบับที่ 2 กล่าวถึงการกลับใจว่า “จงคืนดีกับพระเจ้าเถิด บัดนี้แหละเป็นเวลาที่เหมาะสม” (2 คร 5 : 20 – 6 : 2) พระวรสารโดยนักบุญมัทธิวให้ความหมายของการกลับใจในภาคปฏิบัติตามคาสอนของพระเยซูเจ้าในเรื่อง “การทาทาน” “การอธิษฐานภาวนา” และ “การจาศีลอดอาหาร” “จงระวังอย่าประกอบกิจการดีของท่านต่อหน้ามนุษย์เพื่ออวดเขา มิฉะนั้น ท่านจะไม่ได้รบั บ่าเหน็จจากพระบิดาของท่านผู้สถิตในสวรรค์” (มธ 6 : 1-6,16-18)
คริสตชนจึงควรปฎิบัติตนในเทศกาลมหาพรต ดังนี้ 1.การสวดภาวนา ถ้าบาปหมายถึงการตัดความสัมพันธ์กับพระเจ้า และ บาปเป็นสิ่งที่ทาลายชีวติ พระใน ตัวเรา การสวดภาวนาเป็นวิธีการสาคัญในการสร้างความสัมพันธ์กับพระเจ้า 2. การพลีกรรมใช้โทษบาปและการจาศีลอดอาหาร คริสตชนต้องควบคุมใจของตนให้ใฝ่หาพระเจ้า ตลอดเวลา การพลีกรรมใช้โทษบาปและการจาศีลอดอาหารเป็นเครื่องมือที่จะปราบกิเลสหรือบาป การพลีกรรมแรกที่ เราจะต้องเริ่มต้นคือ การหลีกเลี่ยงจากโอกาสที่จะกระทาบาป และ ต่อสู้กับการประจญล่อลวงอย่างสุดความสามารถ 3. กิจการแห่งความรัก การบริจาคทานให้คนยากจนเป็นรูปแบบหนึ่งของการแสดงความรักต่อเพื่อนมนุษย์ แต่ก่อนอื่นใดทั้งหมด การให้อภัยแก่กันและกัน ถือเป็นความรักที่ยิ่งใหญ่ซึ่งเราต้องเริ่มต้นกระทาโดยทันที การปฏิบัติตนของคริสตชนในเทศกาลมหาพรตเป็นการติดตามเส้นทางแห่งไม้กางเขนเพื่อมุ่งสู่การกลับคืน พระชนมชีพของพระเยซูเจ้า ผู้ทรงเป็นหนทาง ความจริง และ ชีวิต เส้นทางมหาพรตเป็นเส้นทางของการกลับใจ กิจการต่างๆ ที่คริสตชนปฏิบัติในเทศกาลมหาพรต ไม่ว่าจะเป็นการสวดภาวนา การพลีกรรมใช้โทษบาป การจาศีลอด อาหาร และ กิจการแห่งความรักเป็นความดีซึ่งมีรากฐานอยู่ที่ความรักต่อพระเจ้า และ เพื่อนมนุษย์ ดังเช่นพระเยซูเจ้า ผู้มิได้ทรงหวงแหนชีวิตของพระองค์ แต่ได้ทรงมอบชีวิตของพระองค์บนไม้กางเขนเพื่อความรอดพ้นของมนุษย์ทุกคน ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี
enen ข้อคิดยามเช้า วันพุธ ที่ 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ.2015 วันพุธรับเถ้า เริ่มเทศกาลมหาพรต วันนี้เราเข้าสู่ เทศกาลใหม่ซึ่งเป็นช่วงเวลา แห่งการกลับใจ ใช้โทษบาป และ การทาพลีกรรม ในเทศกาลนี้เราทุกคนถูก เรียกให้คืนดีกับพระเจ้า เรื่องราวใน พระคัมภีร์ เวลาใครทาบาป และ สานึกผิด เขามักจะสวมผ้า กระสอบ เอาฝุ่นดินและ ขี้เถ้าโรยบนศรีษะ เพื่อ แสดงว่าเขากลับใจ และ ต้องการคืนดีกับพระเจ้า การรับเถ้าของเราในวันนี้จึงเป็นสัญลักษณ์แสดงว่า เราตระหนักว่าเราเป็นคนบาปต้องการพระหรรษทาน และ พระเมตตาจากพระเจ้า เพื่อจะได้หลุดพ้นจากสภาพที่นา่ สงสารนี้ พระเจ้าทรงเรียกร้องเราทุกคนให้กลับไปหา พระองค์ด้วยสุดจิตสุดใจด้วยการจาศีลอดอาหาร และ ด้วยการร่าไห้และไว้ทุกข์คร่าครวญ ให้เราฉีกใจของเรา ไม่ใช่ฉีก เสื้อผ้าซึ่งเป็นสิ่งของภายนอก พระองค์ทรงเรียกร้องให้เราเปลี่ยนแปลงจากภายในซึ่งเป็นการเอาสิ่งทีไ่ ม่ดีตา่ ง ๆ ซึ่งอยู่ ในส่วนลึกของจิตใจของเราออกไปให้หมด พระเจ้าของเรา “ทรงเมตตาและกรุณา ไม่ทรงโกรธง่าย ทรงเปี่ยมด้วยความรักมั่นคง” (ยอล 2:13) พระองค์จะไม่ทรงลงโทษเรา ถ้าเราหันหนีจากบาป และ กลับมาหาพระองค์ด้วยจริงใจ พระเจ้าของเราไม่ได้ ทรงเป็นพระเจ้าแห่งการลงโทษ แต่ทรงเป็นพระเจ้าแห่งความรักสาหรับผู้พยายามเดินในหนทางแห่งความชอบธรรม อย่างซื่อสัตย์ ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี
enen ข้อคิดยามเช้า วันพฤหัสบดี ที่ 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ.2015 นักบุญเปาโลเรียกร้อง เราในนามของพระเยซูเจ้า ให้กลับมาคืนดีกับพระเจ้า ท่านบอกว่าพระบิดาเจ้าทรงส่ง พระเยซูคริสตเจ้า พระบุตรเพียง พระองค์ลงมาเพื่อสิ้นพระชนม์ บนไม้กางเขนเพื่อความรอดพ้น ของเรา พระองค์ผู้ปราศจากบาป ทรงแทนที่เรา และ ทรงถูกกระทา ประหนึ่งว่าเป็นคนบาป เพื่อว่าเรา จะกลายเป็นผูช้ อบธรรม ในสายพระเนตรของพระเจ้า (เทียบ 2 คร 5:21) ความตายบนไม้กางเขนของพระเยซูเจ้าได้ชดเชย และ ทดแทนความตาย ซึ่งเป็นผลของบาปที่เราแต่ละคน สมควรจะได้รับดังนัน้ เวลานี้จึงเป็น “เวลาที่เหมาะสม” (2 คร 6:2) ที่เราจะแสดงความกตัญญูรู้คุณต่อพระองค์ โดยการพยายามเดินในหนทางแห่งความชอบธรรม เพื่อว่าสักวันหนึ่งเราจะมีส่วนร่วมในความรอดพ้นที่พระองค์นามา ให้เราด้วยพระทรมาน และ การสิ้นพระชนม์บนไม้กางเขน จงคืนดีกับพระเจ้า หันหนีจากบาป และ กลับมาหา พระองค์ สิ่งเหล่านี้แหละคือสิง่ ที่เราต้องทาในเทศกาลมหาพรต ให้เราใช้ช่วงเวลา 40 วัน ที่พระเจ้าประทานแก่เราเป็นพิเศษนี้ เตรียมตัวเราให้พร้อมสาหรับการฉลอง การกลับคืนพระชนมชีพของพระเยซูเจ้าในวันปัสกา ถ้าเรามีส่วนในพระทรมานของพระเยซูเจ้า เราจะมีส่วนในพระสิริ รุ่งโรจน์แห่งการกลับคืนพระชนมชีพของพระองค์ด้วยเช่นเดียวกัน ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี
enen ข้อคิดยามเช้า วันศุกร์ ที่ 20 กุมภาพันธ์ ค.ศ.2015 ในเทศกาล มหาพรต เราทุกคนถูก เรียกให้คืนดีกับพระเจ้า เป็นช่วงเวลาแห่งการ กลับใจใช้โทษบาป และ การทาพลีกรรม เพื่อว่าเราจะกลายเป็น ผู้ชอบธรรม ในสายพระ เนตรของพระเจ้า (เทียบ 2 คร 5:21) เราสามารถเดินในหนทางแห่งความชอบธรรมโดยดาเนินตามทีพ่ ระเยซูเจ้าทรงชี้ให้เห็นว่า ศิษย์ของพระองค์ ต้องไม่ปฏิบัติศาสนาแต่เพียงภายนอก แต่ต้องเข้าถึงจิตตารมณ์ของข้อกาหนดทางศาสนาเหล่านั้นด้วย ไม่ใช่การปฏิบัติ ศาสนาเพื่อแสดงให้คนอื่นได้เห็น เพราะหากเราทาเช่นนัน้ เท่ากับว่าเราได้รบั รางวัลผ่านทางคาชม และ คาสรรเสริญ จากคนอื่นแล้ว เราจะไม่ได้รับรางวัลจากพระบิดาเจ้าสวรรค์อีกต่อไป ในฐานะศิษย์ของพระเยซูเจ้า เราทากิจศรัทธาต่าง ๆ เพราะกิจการเหล่านั้นเป็นสิ่งที่ดี และ ควรทา เราทา เพราะเรารักพระเจ้า อยากคืนดีกับพระองค์ และ อยู่ใกล้ชิดกับพระองค์มากยิ่งขึ้น หลายสิ่งหลายอย่างสามารถทา แบบส่วนตัวได้ เช่น ถ้าจะทาบุญให้กับวัดหรือให้ทานแก่คนที่เป็นทุกข์เดือดร้อน มือซ้ายของเราต้องไม่รู้ว่ามือขวากาลังทาอะไร นั่นคือ ทาแบบเงียบ ๆ และ ลืมสิ่งนัน้ ไปซะ ถ้าเราต้องการอธิษฐานภาวนาเพิ่มขึ้นในช่วงเทศกาลมหาพรตเราไม่จาเป็นต้องไปสวดในวัดช่วงที่มีคนเยอะ ๆ ให้คนอื่นเห็น เราสามารถสวดแบบส่วนตัวในห้องนอนของเรา หรือในสถานที่เงียบ ๆ ตามลาพัง แน่นอนว่า การอธิษฐานภาวนาของเราจะไม่เล็ดลอดไปจากสายพระเนตรของพระบิดาเจ้าสวรรค์อย่างแน่นอน ถ้าเราต้องการจาศีลอดอาหาร ก็ไม่ต้องทาจนซูบผอมผิดสังเกต เพื่อแสดงให้คนอื่นรู้ว่าเรากาลังทาพลีกรรม นี้อยู่ ไม่ต้องป่าวประกาศว่า เราจะทาสิ่งโน้นสิ่งนี้ในเทศกาลมหาพรตแต่เราทาเพราะต้องการคืนดีกับพระเจ้า หันหนี จากบาปและกลับมาหาพระองค์อย่างจริงใจ ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี
enen ข้อคิดยามเช้า วันเสาร์ ที่ 21 กุมภาพันธ์ ค.ศ.2015 นักบุญยอห์น ครีโซสโตม สอนว่า “การภาวนารวมเราเป็นหนึ่ง เดียวกับพระเจ้า ดวงตาของเราสว่าง เมื่อเราเห็นแสงสว่างฉันใด จิตใจของเราก็จะได้รับ การส่องสว่างไม่มีขอบเขต เมื่อเราจดจ่ออยู่ใน พระเป็นเจ้าฉันนั้น” การสวดภาวนาเป็นกิจการที่สาคัญในเทศกาลมหาพรต ถ้าบาปหมายถึงการตัดความสัมพันธ์กบั พระเจ้า เป็นสิ่งทีท่ าลายชีวิตพระในตัวเรา การสวดภาวนาจึงเป็นวิธีการสาคัญในการสร้างความสัมพันธ์กับพระเจ้า บทอ่าน จากพระคัมภีร์ และ บทภาวนาในพิธีบูชาขอบพระคุณตลอดเทศกาลมหาพรตจะช่วยเราให้ราพึงไตร่ตรอง และ เป็นแนวทางในการเจริญชีวิตของเรามุ่งสู่การสมโภชปัสกา เราจะต้องให้ความสาคัญทีจ่ ะไปร่วมมิสซา และ รับศีลมหา สนิทไม่เฉพาะในวันอาทิตย์ แต่ในวันธรรมดาที่เราสามารถไปร่วมพิธีได้ตลอดเทศกาลมหาพรต เราควรรับศีลอภัยบาป เป็นประจาเมื่อมีโอกาสซึ่งจะได้ชาระจิตใจให้เราเหมาะสมยิ่งขึน้ สาหรับการมีส่วนร่วมในการฉลองธรรมล้าลึกปัสกา กิจศรัทธาอื่น ๆ เช่น พิธีเดินรูป 14 ภาค รวมทั้งการภาวนาด้วยความศรัทธาส่วนตัว จะทาให้จติ ใจของเราใฝ่หาพระเ จ้าเสมอ และ ทากิจการต่าง ๆ ในชีวิตเพราะความรักต่อพระองค์ ดังเช่น นักบุญยอห์น ครีโซสโตม สอนเราว่า “จิตใจของเราต้องมุ่งหาพระเจ้าเสมอมิใช่ในเวลาราพึงภาวนาเท่านั้น แต่ในเวลาอื่นด้วยจิตใจเราควรใฝ่หาพระเจ้าและคิดถึงพระองค์อยู่เสมอ เพื่อเราจะได้หล่อเลี้ยงกิจการต่าง ๆ ด้วยความรักและการคิดถึงพระองค์อยู่เสมอ”
ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี
enen ข้อคิดยามเช้า วันอาทิตย์ ที่ 22 กุมภาพันธ์ ค.ศ.2015 บ่อยครั้งในชีวิต เราพบว่าการได้หยุดพัก และ ออกไปไกล ๆ จากกิจวัตรซ้้าซากประจ้าวัน ท้าให้เรารู้สึกสดชื่น มีชีวิตชีวา มีพลัง และ มีมุมมองใหม่ ๆ เกิดขึ้น ในท้านองเดียวกัน เทศกาลมหาพรตเป็นช่วงเวลาทีด่ ีและเหมาะสม ที่เราจะปลีกตัวออกจากสิ่งที่เราท้าเป็นประจ้า และ หันกลับมามองตัวเองอย่างจริงจัง เพื่อเรา จะสามารถปรับปรุงแก้ไขตนเอง และ ติดตาม พระเยซูเจ้าได้อย่างใกล้ชิดและดียิ่งขึ้น พระวรสารวันนี้ให้ค้าแนะน้าแก่เรา เกี่ยวกับเรื่องนี้ หลังจากที่พระเยซูเจ้าทรงรับพิธี ล้างจากนักบุญยอห์นบัพติสที่แม่น้าจอร์แดนแล้ว พระองค์ทรงเข้าไปในถิน่ ทุรกันดารโดยการน้าทาง ของพระจิตเจ้า และ ประทับอยูท่ ี่นั่นเป็นเวลา สี่สิบวัน ในถิ่นทุรกันดารนี้เองทีพ่ ระเยซูเจ้าได้รับ พละก้าลังให้เข้มแข็งส้าหรับภารกิจที่ก้าลัง รอคอยพระองค์อยู่เบื้องหน้า ในถิ่นทุรกันดารนี้เองที่ซาตานมาประจญพระองค์ พระองค์ทรงถูกทดลองมากพอๆ กับที่เราทุกคนเคยถูก ทดลองในชีวติ ไม่วา่ จะเป็นฝ่ายกาย ฝ่ายจิตใจ และ อารมณ์ความรู้สึก ในช่วงเวลาที่ยากล้าบากนั้น บรรดาทูตสวรรค์ ของพระเจ้าได้มาปรนนิบัติรับใช้พระองค์ (เทียบ มก 1:12-13) เช่นเดียวกัน ทูตสวรรค์ของพระเจ้าจะคอยดูแลเอาใจ ใส่เราในช่วงเวลาที่ยากล้าบากของการถูกทดลอง หรือ ถูกประจญล่อลวงจากปีศาจ ถ้าเราเปิดตัวเองรับความ ช่วยเหลือจากพวกท่าน พระศาสนจักรเชื้อเชิญเราให้เดินทางเข้าไปในถิ่นทุรกันดารพร้อมกับพระเยซูเจ้า นี่เป็นช่วงเวลาที่เราแต่ละคนสามารถเผชิญหน้ากับสัตว์ป่าต่าง ๆ หรือสิ่งไม่ดีต่าง ๆ ที่อยู่ในจิตใจหรือในนิสัย ของเรา มันเป็นช่วงเวลาที่เราสามารถเปิดโอกาสให้ทูตสวรรค์ของพระเจ้ามาปรนนิบัติรับใช้เรา และ ช่วยเราให้ สามารถท้าตามพระประสงค์ของพระเจ้าได้อย่างดี มันยังเป็นช่วงเวลาที่เราจะฟื้นฟูก้าลังขึ้นมาใหม่ และ เผชิญหน้ากับ สัตว์ร้ายต่าง ๆ เช่น ความจองหอง ความอิจฉาริษยา ความเคียดแค้นชิงชัง ซึ่งอาจซ่อนอยู่ในตัวเรา
หลังจากสี่สบิ วันในถิ่นทุรกันดาร พระเยซูเจ้าทรงเริ่มภารกิจของพระองค์อย่างเปิดเผย พระองค์ ทรงประกาศว่า “พระอาณาจักรของพระเจ้าอยู่ใกล้แล้ว” (มก 1:15) และทรงแสดงให้เห็นว่าพระอาณาจักรได้เข้ามาในโลกนี้แล้ว ด้วยการกระท้าการอัศจรรย์หลายอย่าง เช่น ทรงรักษาคนตาบอด คนเจ็บไข้ได้ป่วย และ ขับไล่ปีศาจ ทั้งหมดนี้ล้วนเป็นแบบอย่างที่เราควรท้าตาม กล่าวคือ หลังจากที่เราได้รบั พลัง และ ความเข้มแข็ง โดยผ่านทางประสบการณ์ และ การเสียสละในระหว่างเทศกาล มหาพรตแล้ว เราต้องพร้อมที่จะแบ่งปันข่าวดีกบั คนอื่น ทั้งด้วยค้าพูดและการด้าเนินชีวิตที่ดีของเรา ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี
enen ข้อคิดยามเช้า วันจันทร์ ที่ 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ.2015 “ถิ่นทุรกันดาร” สาหรับชาวอิสราเอล มีความหมายหลายอย่าง นอกจากเป็น “สถานที่หลบภัยจากผูป้ องร้าย และ สถานที่ซึ่งพวกเขาได้สัมผัสความรัก ของพระเจ้าเป็นพิเศษ” ยังเป็น “ที่พานักของอานาจชั่วร้ายทั้งหลาย เป็นสถานที่แห่งการทดสอบจากพระเจ้า และการประจญล่อลวงจากปีศาจ” อีกด้วย ส่วนคาว่า “สี่สิบ” เป็นจานวนเลขที่ เราคุ้นเคย และ ปรากฏหลายครั้งในพระคัมภีร์ ในสมัยโนอาห์ พระเจ้าตรัสกับท่านว่า “เราจะทาให้ฝนตกบนแผ่นดิน สี่สิบวันสี่สิบคืน” (ปฐก 7:4) ซึ่งส่งผลให้เกิด “น้าวินาศท่วมแผ่นดินอยู่สี่สิบวัน” (ปฐก 7:17) หลังจากได้รับอิสรภาพจากการเป็นทาสในประเทศอียิปต์แล้ว ชาวอิสราเอลต้องระหกระเหินในถิ่นทุรกันดาร เป็นเวลานานถึง “สี่สิบปี” (อพย 16:35; ฉธบ 8:2-4) ก่อนที่พวกเขาจะเข้าไปในแผ่นดินพันธสัญญา โมเสสอยู่กับพระเจ้าบนภูเขาซีนาย “เป็นเวลาสี่สิบวันสี่สิบคืน โดยไม่ได้กินหรือดื่มอะไรเลย” (อพย 34:28) ประกาศกเอลียาห์ได้ใช้เวลา “สี่สิบวันสี่สิบคืน” (1 พกษ 19:8) ในการเดินทางผ่านถิน่ ทุรกันดารไปยังภูเขา โฮเรบเพื่อหนีการแก้แค้นของพระนางเยเซเบล มเหสีของกษัตริย์อาหับ
การเน้น “ถิ่นทุรกันดาร” และ ช่วงเวลา “สี่สิบวัน” นักบุญมาระโกต้องการชี้ให้เราเห็นว่า ทันทีที่พระเยซู เจ้าเสด็จขึ้นจากแม่นาจอร์ ้ แดน พระองค์ทรงเริ่มทาการต่อสู้กับอานาจชั่วร้ายต่าง ๆ ซึ่งพยายามนาพระองค์ให้ออก จากเส้นทางที่พระบิดาเจ้าสวรรค์ได้ทรงมีพระประสงค์ให้พระองค์ก้าวเดิน พระองค์ได้ทรงถูกทดลองโดยพวกศัตรู โดย ประชาชน และ แม้แต่โดยบรรดาศิษย์ของพระองค์เอง นี่เป็นสิง่ ที่พระเยซูเจ้า มหาสมณะผู้ยิ่งใหญ่ และ พระอาจารย์ แต่เพียงผู้เดียวของเราได้ทรงประสบ และ เอาชนะมาแล้ว ดังนั้น ในฐานะศิษย์ของพระองค์ เราต้องมั่นใจในการอยู่เคียงข้างและความช่วยเหลือของพระองค์ เมื่อเรา ประสบการทดลองซึ่งอาจมาในรูปของความยากลาบาก หรือ ปัญหาต่าง ๆ ที่เรากาลังเผชิญในแต่ละวัน เหมือนที่ ผู้เขียนจดหมายถึงชาวฮีบรูบอกเราว่า “เรามีมหาสมณะผู้ทรงผ่านการทดลองทุกอย่างเหมือนกับเรา ยกเว้นบาป” (ฮบ 4:15) และ “ในฐานะที่พระองค์ทรงรับการทรมาน และ ทรงผ่านการทดลองมาแล้ว พระองค์จึงทรงช่วยเหลือผู้ที่ถกู ทดลองได้ด้วย” (ฮบ 2:18) เทศกาลมหาพรตจึงเป็นโอกาสดีที่เราจะเริ่มเอาตัวของเราออกห่างจากทัศนคติ ท่าที หรือนิสัยไม่ดีต่าง ๆ ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อความสัมพันธ์ของเรากับพระเจ้า เป็นโอกาสดีที่เราจะพบพลังและความเข้มแข็ง ในการอุทิศตนเพื่อ ทาตามพระประสงค์ของพระเจ้า ถ้าเราทาเช่นนีท้ ุกวันไปเรื่อย ๆ จนจบเทศกาลมหาพรต เราจะพบว่าชีวิตฝ่ายจิตของ เราได้รับการฟื้นฟูขนึ้ ใหม่ และ เราจะสามารถร่วมส่วนในความยินดีของวันปัสกาได้อย่างดีและเต็มไปด้วยความหมาย
ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี
enen ข้อคิดยามเช้า วันอังคาร ที่ 24 กุมภาพันธ์ ค.ศ.2015 กิจกรรมต่าง ๆ ที่คริสตชน ถือปฏิบัติในเทศกาลมหาพรตเป็น กิจกรรมพระเยซูเจ้าได้กล่าวไว้ใน พระวรสาร คือ การสวดภาวนา (มธ 6 : 5-15) การพลีกรรมใช้โทษบาป และ การจาศีลอดอาหาร (มธ 6 : 16-18) และ กิจการแห่งความรัก การบริจาคทาน (มธ 6 : 2-4) การพลีกรรมใช้โทษบาป และ การจาศีลอดอาหารนั้น เป็นการกระทาควบคู่ไปกับการภาวนาเสมอ บรรดาคริสตชนเมืองอันทิโอกเลือกนักบุญเปาโล และ นักบุญบารนาบัสเพื่อส่งไปประกาศข่าวดีนนั้ เขาได้อดอาหารและอธิษฐานร่วมกัน (กจ 13 : 1-3) เวลาที่พวกท่านไป เยี่ยมกลุ่มคริสตชนในที่ต่าง ๆ ได้เลือกผู้นากลุ่มนัน้ หลังจากได้ภาวนาและอดอาหารแล้ว (กจ 14 : 23) การอดอาหาร จึงเป็นวิธีการภาวนาอย่างจริงจังวิธีหนึ่งซึ่งพระเยซูเจ้า และ คริสตชนสมัยแรกปฏิบัตสิ ืบต่อกันมา การอดอาหาร รวมทั้งการสละสิ่งจาเป็น หรือ ละเว้นการกระทาบางอย่างที่เป็นเรื่องปกติในชีวิตของเรานับได้ว่าคือการร่วมเป็นหนึ่ง เดียวกับพี่น้องของเราที่กาลังอดอยาก ขาดอาหารบริโภค ขาดความสะดวกสบายที่จาเป็นสาหรับชีวิตมนุษย์ ในยุคปัจจุบนั ซึ่งนับได้ว่าอยู่ในสังคมบริโภค เราแต่ละคนมักมีทรัพย์สมบัติ สิง่ ของมากมายเกินความจาเป็น และ ได้รับการเร้าใจให้สะสมสิ่งของฟุ่มเฟือยมากขึ้น ในขณะมนุษย์จานวนมากมายยังไม่มีอาหารพอกิน เราจึงเป็น ส่วนของสังคมทีไ่ ม่ยุติธรรม การพลีกรรมใช้โทษบาปเป็นการยอมรับผิดว่าเรามีส่วนรับผิดชอบในความอยุติธรรมนี้ เราจะต้องเปลี่ยนค่านิยม และ วิธีการดาเนินชีวิตของเราใหม่
การอดอาหารตามกฎของพระศาสนจักรนัน้ มีจุดประสงค์ก็เพียงให้เราเสียสละบ้างเล็กน้อย แต่สาหรับเราซึ่ง ต้องการดาเนินชีวิตตามแนวทางของพระเยซูนั้นจะต้องทามากกว่าที่กฎเกณฑ์กาหนดนัน้ เช่น การงดเว้นกระทาสิ่ง ต่าง ๆ ที่เราติดใจ หรือทาให้น้อยลง การงดซื้อของฟุ่มเฟือย งดซื้อเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย งดดูหนัง ดื่มเหล้า สูบบุหรี่ เป็นต้น การกระทาสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ เราจะกระทาด้วยใจร่าเริง และ ชื่นบานตามที่พระเยซูได้แนะนา (มธ 6 : 16-18) “ท่านทั้งหลายจงอย่าสะสมทรัพย์สมบัติบนแผ่นดินนี้เลย.. แต่จงสะสมทรัพย์สมบัติในสวรรค์เถิด.. เพราะทรัพย์สมบัติของท่านอยู่ที่ใด ใจของท่านก็จะอยู่ที่นั่นด้วย” (มธ 6 : 19-21) ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี
enen ข้อคิดยามเช้า วันพุธ ที่ 25 กุมภาพันธ์ ค.ศ.2015 กิจการแห่งความรักที่คริสตชน ถือปฏิบัติในเทศกาลมหาพรตนัน้ นักบุญเลโอ พระสันตะปาปา เทศน์สอนว่า การให้อภัยแก่กัน เป็นความรักที่ยิ่งใหญ่ซึ่งต้องถือ ปฎิบัติเป็นสิ่งแรก “เราจงยกโทษแก่ผู้อื่น เพื่อเราจะได้รับการยกโทษ เราจงอภัยให้เขาดังที่เราแสวงหา เราจงสวดภาวนาเพื่อขอการอภัยโทษ เราต้องไม่แสวงหาการแก้แค้น” ผู้ที่จะฉลองปัสกาของพระเจ้าด้วยจิตใจ และ ร่างกายที่บริสทุ ธิ์ ต้องมีใจกว้างขวาง ต้อนรับคนยากจน และ คนตกทุกข์ได้ยากด้วยความเต็มใจ ไม่มีความจงรักภักดีใด ๆ เป็นที่พอพระทัยพระเจ้าเท่ากับ การทุ่มเทกาลังช่วยเหลือคนยากจน ซึ่งเป็นภาพสะท้อน ความเอาใจใส่ของพระองค์เยี่ยงบิดา ในการให้ทานนี้ ไม่ต้องกังวลว่าไม่มีเงินทองจิตใจที่กว้างขวางนัน่ แหละเป็นขุมทรัพย์อันยิ่งใหญ่ ด้วยใจที่ กว้างขวาง ไม่มีคาว่าขัดสนข้าวของเงินทองเพราะพระคริสตเจ้าเองทรงเป็นผู้เลี้ยงดู และ ทรงเป็นผู้รบั การเลี้ยงดู
นักบุญเปโตร คริสโซโลโก พระสังฆราช สอนว่า “การจาศีลอดอาหารจะต้องควบคู่ไปกับเมตตาธรรมเสมอ การถือศีลอดอาหารมีประสิทธิภาพไม่ได้นอกจากจะได้รับการชุบชูด้วยน้าแห่งเมตตาธรรม แม้ท่านจะฝึกฝนน้าใจ ถอนรากพยศชั่ว หว่านคุณธรรมต่าง ๆ แต่ถ้าท่านไม่ปล่อยให้เมตตาธรรมผลิดอกออกผล การถือศีลอดอาหารของท่านก็ไม่บังเกิดผล” การปฏิบัติตนของคริสตชนในเทศกาลมหาพรตนัน้ เป็นการติดตามเส้นทางแห่งไม้กางเขน เพื่อมุ่งสู่การ กลับคืนชีพของพระเยซูเจ้า ผู้เป็นหนทาง ความจริง และ ชีวิต เส้นทางมหาพรตเป็นเส้นทางของการกลับใจ เป็นการ เดินทาง “กลับบ้าน” สู่บ้านเทีย่ งแท้ในเมืองสวรรค์ ที่มีพระเจ้า พระบิดาผู้พระทัยดีทรงรอคอยเรา
ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี
enen ข้อคิดยามเช้า วันพฤหัสบดี ที่ 26 กุมภาพันธ์ ค.ศ.2015 ในช่วงเวลา 3 ปีแห่งการ เทศนาสั่งสอนของพระเยซูเจ้า พระองค์ทรงใช้ชีวิตส่วนใหญ่อยู่ กับการเดินทาง พระองค์ทรงเป็น นักเทศน์ที่เดินทางไปเรื่อย ๆ เป้าหมายสุดท้ายของการเดินทาง ของพระองค์บนโลกนี้คือ กรุงเยรูซาเล็ม นครศักดิ์สิทธิ์ .. สถานที่ซงึ่ พระองค์จะทรงทาให้ ภารกิจแห่งการช่วยมนุษยชาติให้ รอดพ้นสาเร็จไป โดยการ สิ้นพระชนม์ และ การกลับคืน พระชนมชีพของพระองค์ ก่อนที่จะเริ่มภารกิจอันยิ่งใหญ่นี้ พระองค์เสด็จเข้าไปใน “ถิ่นทุรกันดาร” (ลก 4:1) เพื่อเตรียมตัวสาหรับ การเดินทางฝ่ายจิตของพระองค์ ปกติแล้วการเดินทางไปที่ใดก็ตาม หากสัมภาระของเรามีน้อยย่อมจะทาให้เรา เดินทางได้สะดวก และ รวดเร็วมากยิ่งขึ้น อะไรที่ไม่จาเป็นควรเอาออกเสียเพื่อจะได้ไม่เป็นภาระกับเราในถิ่น ทุรกันดารนี้เองที่พระองค์สอนเราถึงการละทิ้งสัมภาระแห่งการประจญซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตทิ้งไป ก่อนอื่นหมด พระองค์ทรงโยน “ความเห็นแก่ตัว” ทิ้งไป “ถ้าท่านเป็นบุตรพระเจ้าจงสั่งให้หินก้อนนี้กลายเป็นขนมปังเถิด” (ลก 4:3) สัมภาระแห่งความสะดวกสบาย คิดเห็นแต่เพียงเพื่อตัวเอง ในทางกลับกัน พระเยซูเจ้าทรงเปลีย่ นขนมปัง ให้กลายเป็นพระกายและเหล้าองุ่นให้กลายพระโลหิตของพระองค์เพื่อเป็นการระลึกถึงการพลีบูชาของพระองค์บนไม้ กางเขนเพื่อไถ่เราให้รอดพ้นจากอานาจของบาป และ ความตาย จากนั้น พระเยซูเจ้าทรงโยน “การนมัสการที่จอมปลอม” ซึ่งเป็นที่รู้จักกันในนามของ “วัตถุนิยม” ทิ้งไป ปีศาจสัญญาจะให้อานาจและความรุ่งเรืองบนโลกนี้แก่พระองค์ เพียงแค่พระองค์ทรงคุกเข่าและนมัสการมัน อาณาจักรของพระเจ้าไม่ใช่อานาจหรือชื่อเสียงจอมปลอมของโลกนี้ แต่คืออาณาจักรแห่งความรักและการแบ่งปันซึ่ง กัน และ กัน
สุดท้าย พระเยซูเจ้าทรงโยนสัมภาระ “ความหยิ่งจองหอง” ทิง้ ไปปีศาจได้ประจญให้พระองค์กระโจนลง จากยอดพระวิหารเพื่อแสดงอานาจยิ่งใหญ่ต่อหน้าฝูงชนที่มารวมตัวกัน แต่พระเยซูเจ้ากลับประกาศคาสอนแห่งความ เรียบง่าย ความสุภาพ ความอ่อนน้อมถ่อมตน ซึ่งเป็นลักษณะพิเศษของผู้ที่เป็นเหมือนเด็กเล็ก ๆ ในพระอาณาจักร ของพระบิดาเจ้าสวรรค์ ลองถามตัวเองดูสิว่า แต่ะวันในชีวิต เราได้พยายามละทิ้งสัมภาระแห่งการประจญต่าง ๆ ที่เป็นภาระหนักอึ้ง ในการเดินทางสู่ชีวติ นิรันดร์บ้างหรือยัง เราต้องใช้เวลาทุกวัน โดยเฉพาะในเทศกาลมหาพรตนี้เตรียมจิตใจ เตรียมชีวิต ให้พร้อมในการเดินบนเส้นทางแห่งไม้กางเขนของพระคริสตเจ้า เส้นทางที่จะนาเราไปสู่ความรอดพ้นพร้อมกับการ กลับคืนพระชนมชีพของพระองค์นี่คือ การเดินทาง “กลับบ้าน” ชีวิตของเราคือการเดินทางกลับสูบ่ ้านเที่ยงแท้ ในเมืองสวรรค์
ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี
enen ข้อคิดยามเช้า วันศุกร์ ที่ 27 กุมภาพันธ์ 2015 การเดินทางของชีวติ คริสตชน เริ่มตั้งแต่เมื่อเราได้รับศีลล้างบาป เราได้รับพระหรรษทานที่ช่วย เราแต่ละ คนให้สามารถโยนบาป ทิ้งออกไปจาก กระเป๋าเดินทาง และ เติมเต็มด้วย พระพรแห่งความเชื่อ ความหวัง และ ความรัก แม้ว่าหลายครั้งในชีวิต เรายังคงเลือกที่จะใส่สิ่งทีไ่ ม่ดี กลับเข้า ไปในกระเป๋าเดินทางของชีวิต ครั้งแล้วครั้งเล่า .. ซ้้าแล้วซ้้าอีก แต่พระเจ้าทรงพระทัยดีและเข้า ใจความอ่อนแอตามประสามนุษย์ พระองค์ทรงอดทนต่อความผิดพลาดต่าง ๆ ของเราเสมอ ทุกปีพระองค์ประทาน “เทศกาลมหาพรต” ให้แก่เรา เปิดโอกาสให้เราละทิง้ ค่านิยมที่เหลวไหลไม่ถูกต้อง และ เลือกที่จะด้าเนินชีวิตด้วยคุณค่าที่ถูกต้อง มหาพรตจึงเป็นช่วงเวลาที่ต้องมองเข้าไปในกระเป๋าเดินทางของเรา พิจารณาไตร่ตรองอย่างลึกซึ้งเป็นพิเศษว่า สิ่งใดส้าคัญที่เราควรจะรักษาเก็บไว้ในชีวิต และ สิ่งใดจ้าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทิ้งออกไปโดยทันที ไม่ว่าเราจะ อายุมาก หรือ น้อย ไม่ใช่เรื่องส้าคัญ เพราะเราไม่รู้หรอกว่าพระเจ้าจะทรงเรียกเราให้จบการเดินทางนี้เพื่อไปพบ พระองค์เมื่อใด แต่ละปี มหาพรตจึงเป็นช่วงเวลาแห่งการเดินทางส้าหรับเราทุกคนที่จะก้าวบนเส้นทาง แห่งกางเขนมุ่งตรงไปยังปัสกา จนกระทั่งเราผ่านประตูแห่งความตายและเข้าสู่ชีวิตนิรันดร ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี
enen ข้อคิดยามเช้า วันเสาร์ ที่ 28 กุมภาพันธ์ 2015 ในเทศกาลมหาพรตเป็น “เวลาที่เหมาะสม” (2 คร 6:2) และเป็น “เวลาแห่งความรอดพ้น” (2 คร 6:2) พระศาสนจักรเรียกร้อง เราแต่ละคนให้เป็นทุกข์กลับใจอีก ครั้งหนึ่ง “จงฉีกใจของท่าน มิใช่ฉีกเสื้อผ้า” (ยอล 2:13) มนุษย์ทุกคนล้วนอ่อนแอ และ เป็นคนบาปด้วยกันทั้งนัน้ สิ่งจาเป็นเร่งด่วนที่เราต้องทาคือเป็นทุกข์กลับใจ เรารู้ว่าสักวันหนึ่งเราต้องจากโลกนี้ไป แต่ไม่มีใครรู้ว่าตนเองจะไปวันไหน และ เวลาใด ด้วยเหตุนี้ เราต้องเตรียมตัวให้ พร้อมอยู่เสมอ ด้วยการหันหนีจากบาป และ หันกลับไปหาพระเจ้า มิสซาแต่ละวันในระหว่างเทศกาลมหาพรตจะช่วยเราให้เป็นทุกข์กลับใจได้อย่างแท้จริง เพราะในบทอ่าน ประจาวันเราจะได้ยินสิ่งที่พระเจ้าทรงมีประสงค์สาหรับเราแต่ละคน ในมิสซาเราสามารถวอนขอพระพร และ พระหรรษทานจากพระเจ้า เพื่อเราจะสามารถดาเนินชีวิตตามสิง่ ที่เราเรียนรู้จากบทอ่านต่าง ๆ เหล่านั้น
ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี