Directory05

Page 1

TP convergence ทีพีคอนเวอร์เจนซ์

Directory

of University in Thailand No. 5

Free copy



สอบถามขอ้ มูลโทร 0-2549-3613-15 หรือ www.rmutt.ac.th






ศิลปศาสตร์ PIM ปั้นบัณฑิตเป็นมืออาชีพ ด้วยการเรียนควบคู่ท�ำงานจริง

อ.ทิพวรรณ อภิวันท์วรรัตน์

คณะศิลปศาสตร์ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ มุ่งสอนนักศึกษาให้เป็นมืออาชีพด้วยการเรียนรู้ควบคู่ การท�ำงานจริง ภายใต้การเรียนการสอนแบบ Work-based Education มั่นใจเรียนจบมีงานท�ำ 100% อาจารย์ทิพวรรณ อภิวันท์วรรัตน์ คณบดีคณะศิลปศาสตร์ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ กล่าวว่า คณะเริ่มด�ำเนินการจัดการเรียนการสอน ในหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีนธุรกิจ ซึ่งได้การรับรองหลักสูตรจาก ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เมื่อปี พ.ศ. 2551 สาเหตุที่เปิดสาขานี้เนื่องจากซีพีออลล์ มีฐานธุรกิจที่จีน และซีพีกรุ๊ปมี ความร่วมมือกับจีน และต่อมาสินค้าที่วางขายใน 7-SEVEN ส่วนใหญ่เป็นสินค้าจากญี่ปุ่น จึงเป็นที่มาของการเปิดสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่นธุรกิจในปี พ.ศ. 2556 และล่าสุดปี พ.ศ. 2558 เปิดสาขาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ ซึ่งเป็นภาษาพื้นฐานของอาเซียน เพราะ เมื่อเปิดประชาคมอาเซียนจะใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลาง เราต้องการเปิด ภาษาอังกฤษเพื่อไปใช้งานได้จริง โดยปัจจุบันคณะมีนักศึกษา 240 คน และปี พ.ศ. 2558 คาดว่าจะมีนักศึกษาเพิ่มอีกประมาณกว่า 400 คน ประกอบด้วย สาขาภาษาจีนธุรกิจ 100 คน สาขาภาษาญี่ปุ่นธุรกิจ 50 คน ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ 100 คน


ส�ำหรบั จุดเดน่ ของคณะคอื มีรปู แบบการเรยี น การสอนแบ บ Work-based Education มุง่ เนน้ การเรียนภายในห้องเรีย น การฝึกอบรม การฝึกปฏิบัต ิงานจริงในองค์กรธุรกิจอย่าง เข้มข้น โดยให้นักศึกษาเรียนค วบคู่กับการฝึกงานตั้งแต่ปี 1 ซึ ่งจะเรียน 9 เดือน และ 3 เดือน สุดท้ายไปฝึกงาน เพื่อปูพื้นฐานใ ห้แน่นก่อน จากนั้นในปี 2 และป ี 3 นักศึกษาจะเรียน 3 เดือน และฝึกงาน 3 เดือน และปี 4 จะฝึกงานยาว 9 เดือนโดยสอ นค�ำศัพท์ วลี สอนวัฒนธรรม แล้วค่อยไปฝึกงาน ซึ่งนักศึกษ าจะได้เรียนรู้จริงและน�ำปัญหาอ ุปสรรคมาคุยกับอาจารย์ และ อาจารย์น�ำกลับมาพัฒนาการ เรียนการสอนทันที ถือเป็นสิ่ง ที่แตกต่างจากมหาวิทยาลัยอื่น อีกทั้งนักศึกษา มีอัตลักษณ์ 5 อย่าง คือ พูดภาษาไทยรู้เรื่อง มีทักษะทางด้านภาษาอังกฤษ ด้านไอทีต้องใช้คอมเป็น ประ มวลผลได้ ต้องคิดวิเคราะห์เ ป็น และมีระเบียบวินัยความ ซอื่ สัตย์ โยงไปถึงการทำ� งานเป น็ ใชช้ วี ติ เปน็ เดน่ ในสาขาวิชาเ อกทเี่ ลือกเรียนและนอกจาก นั้นต้องรู้เพิ่มอีก 1 ภาษาที่เป ิดสอนควบคู่กัน ในส่วนกระบ วนการพัฒนาให้เชี่ยวชาญคือ โครงการ “LA STAR” เป็นกา รสร้างดาวของคณะ สร้างทั้งเร ื่องของภาษา การคิดวิเคราะห ทมี เวริ ค์ นวตั กรรม โดยอบรมส ์ ร้างภาวะผนู้ ำ� เชญ ิ วิ ท ยา กร ภา ยน อก มา ใหค้ วามรู้ พานกั ศึกษา ไปเรียนรู้สถานที่จริง ส�ำหรับกา รประกอบอาชีพมองว่าในโลกป ัจจุบันนี้ธุรกิจที่มีการเติบโต มาก คือ ธุรกิจ Modern trade management (MTM) ธุรกิจ ที่เกี่ยวข้องกับ SERVICE เช่น การทอ่ งเทยี่ วการโรงแรม ธุรกิจ ทเี่ กีย่ วขอ้ งกบั Health & Medic al และ Spa ซึง่ ทงั้ 3 อยา่ งกอ็ ยู ในหลกั สูตรการเรยี นการสอนข ่ องทางคณะทจี่ ะสอนการใช้ภาษ าจนี ภาษาญปี่ นุ่ ภาษาองั กฤษ เพื่อการสื่อสารที่เกี่ยวข้องกับธุ รกิจข้างต้น นอกจากนีใ้ นปี พ.ศ. 2562 ทา งคณะจะเปิดหลกั สูตรนานาชาต ิ และเปิดสาขาภาษาอาเซียน ด้วย ซึง่ ในปีนจี้ ะเปิดภาษาพม่า เขมร เกาหลี ภายใต้ศนู ย์อารยป ญ ั ญาเป็นการสอนเสริมช่วงเย็น ให้บุคลากรภายในสถาบันเรียน 30 ชั่วโมงต่อคอร์ส และในปี พ.ศ. 2563 เป็นยุคดิจิตอล ทางคณะจะน�ำเรื่องของ e-lear ning มาใช้ในบทเรียน อยู่ที่ไห นก็เรียนได้ หรือตอนฝึกงานก็ ดาวน์โหลดไปเรียนได้ “PIM เปน็ สถาบนั การศกึ ษ าทเี่ ปน็ Cooperate Univers ity และมกี ารเรยี นการสอนท เป็น work-based Educatio ี่ n คือได้เรียนรู้ภาคทฤษฏีในห อ ้ งเ รี ย น แล เพอื่ นำ� ทฤษฎไี ปเรยี นรใู้ นโลกแห ะฝึกปฏิบัติงานจริง ง่ ความเปน็ จรงิ ซงึ่ ทำ� แบบนที้ กุ ชัน้ ปตี งั้ แตป่ ี 1 เมอื่ เรยี นจบก็ สามารถปฏบิ ตั งิ านไดท้ นั ที เราก ล้าบอกว่านกั ศึกษาของเราจบแล ว้ มีงานทำ� 100% ดังนนั้ ถ้า น้องๆ มัธยมทสี่ นใจการเรยี นก ารสอนแบบ work-based Ed ucation และถา้ อยากจบแลว้ งานท�ำทันทีขอให้นึกถึง PIM มี และขอให้นึกถึงคณะศิลปะศาส ตร ์ถ้าคุณสนใจในเรื่องของ ภาษาต่างประเทศ” คณบดีก ล่าวในที่สุด


หลักสูตรการศึกษา ปีการศึกษา 2558 คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) - ปวส.สาขาวิชาการบัญชี - ปวส.สาขาวิชาการตลาด - ปวส.สาขาวิชาการจัดการ - ปวส.สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ระดับปริญญาตรี • หลักสูตรบัญชีบัณฑิต • หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต - สาขาวิชาการตลาด - สาขาวิชาการจัดการ - สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ - สาขาวิชาระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์ • International Business Management (IBM) (หลักสูตรนานาชาติ) • หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต - สาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม - สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สากล คณะวิศวกรรมศาสตร์ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) - ปวส.สาขาวิชาช่างยนต์ - ปวส.สาขาวิชาช่างกลเกษตร - ปวส.สาขาวิชาช่างจักรกลหนัก - ปวส.สาขาวิชาช่างไฟฟ้า - ปวส.สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ - ปวส.สาขาวิชาเทคนิคคอมพิวเตอร์ - ปวส.สาขาวิชาช่างโลหะ - ปวส.สาขาวิชาช่างกลโรงงาน - ปวส.สาขาวิชาเทคนิคอุตสาหกรรม - ปวส.สาขาวิชาช่างก่อสร้าง ระดับปริญญาตรี • หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต - สาขาวิชาวิศวกรรมเกษตรและชีวภาพ - สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ - สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล

- สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า - สาขาวิชาวิศวกรรมแม่พิมพ์ - สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา - สาขาวิชาวิศวกรรมเหมืองแร่ - สาขาวิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ - สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ - สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม - สาขาวิชาวิศวกรรมโลจิสติกส์ • หลักสูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต - สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา (5 ปี) - สาขาวิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และ โทรคมนาคม (5 ปี) - สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล(5 ปี) - สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า (5 ปี) - สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ (5 ปี) • หลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต - สาขาวิชาเทคโนโลยีเครือ่ งกล (ต่อเนือ่ ง) - สาขาวิชาเทคโนโลยีโทรคมนาคม (ต่อเนือ่ ง) - สาขาวิชาเทคโนโลยีอตุ สาหการ (ต่อเนือ่ ง) - สาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้า (ต่อเนื่อง) คณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์ ระดับปริญญาตรี • หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต - สาขาวิชาสถาปัตยกรรม (5 ปี) - สาขาวิชาสถาปัตยกรรมภายใน (5 ปี) • หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต - สาขาวิชาสิ่งทอและเครื่องประดับ - สาขาวิชาออกแบบสื่อสาร - สาขาวิชาออกแบบอุตสาหกรรม • หลักสูตรศิลปบัณฑิต - สาขาวิชาทัศนศิลป์ - สาขาวิชาเซรามิก • หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชา เทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ สูง (ปวส.)

- ปวส.สาขาวิชาเทคโนโลยีภูมิทัศน์ - ปวส.สาขาวิชาพืชศาสตร์ - ปวส.สาขาวิชาสัตวศาสตร์ - ปวส.สาขาวิชาประมง - ปวส.สาขาวิชาเทคโนโลยีเครื่องจักรกล เกษตร - ปวส.สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร ระดับปริญญาตรี • หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต - สาขาวิชาพืชศาสตร์ - สาขาวิชาสัตวศาสตร์ - สาขาวิชาประมง - สาขาวิชาเครื่องจักรกลเกษตร - สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการ อาหาร - สาขาวิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร - สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ - สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ • หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชา เทคโนโลยีภูมิทัศน์ • หลักสูตรคหกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา คหกรรมศาสตร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีและสหวิทยาการ ระดับปริญญาตรี • หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา วิศวกรรมกระบวนการอาหาร ผู ้ ที่ ส นใจสามารถสอบถามเพิ่ ม เติ ม ที่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา โทร.0-5392-1444 โทรสาร 0-5321-3183 หรือ www.rmutl.ac.th


บทบรรณาธิการ

Directory of University in Thailand 5 น้องๆ เคยได้ยิน 10+3 นั่นคือ 10 ประเทศในอาเซียนและอีก 3 ประเทศได้แก่ ประเทศจีน ประเทศ ญี่ปุ่น และประเทศเกาหลีใต้ ซึ่งในปี พ.ศ. 2558 นี้ เป็นปีที่ 10 ประเทศในอาเซียนจะเปิดประชาคม อาเซียนอย่างเต็มตัว และนอกจากนี้ยังมีอีก 3 ประเทศดังกล่าวที่จะมาเป็นคู่ค้ากับประเทศในอาเซียน ทั้งนี้ น้องๆ บางคนคงจะพอทราบกันบ้าง แต่ก็ยังมีอีกหลายคนที่ยังไม่ทราบถึงข้อมูลรายละเอียด ต่างๆ มากนัก ดังนั้น เพื่อเป็นการเพิ่มพูนความรู้ให้กับน้องๆ รวมถึงข้อมูลเกี่ยวกับหลักสูตรของสถาบัน อุดมศึกษาเปิดสอนที่เป็นภาษาต่างประเทศและเกี่ยวเนื่องกับต่างประเทศ ทางทีมงานฯ จึงได้รวบรวม ข้อมูลเบื้องต้นจัดท�ำเป็นหนังสือ Directory of University in Thailand เล่ม 5 ส่งตรงถึงมือน้องๆ นักเรียนให้ได้อ่านกันฟรีๆ ที่อยู่ในมือของท่าน ส�ำหรับเนือ้ หาของหนังสือ Directory of University in Thailand เล่ม 5 ฉบับนีจ้ ะครอบคลุมเรือ่ งของ ความเป็นมาของอาเซียน ข้อมูลพื้นฐานของอาเซียน 10 ประเทศรวมถึงประเทศจีน ประเทศญี่ปุ่น และ ประเทศเกาหลีใต้ 7 อาชีพเสรีในกลุ่มอาเซียน ข้อตกลงยอมรับร่วมในคุณสมบัตินักวิชาชีพของอาเซียน ข้อมูลเกีย่ วกับรายชือ่ สถาบันอุดมศึกษาและหลักสูตรทีเ่ ปิดสอนภาษาต่างประเทศ บทสัมภาษณ์ผบู้ ริหาร สถาบันอุดมศึกษาและหลักสูตรที่เปิดสอนภาษาต่างประเทศ และรายชื่อมหาวิทยาลัยภายในประเทศ พร้อมทีต่ งั้ เบอร์โทรศัพท์รวมถึงเว็บไซต์ของสถาบันการศึกษาภายในประเทศทัง้ รัฐบาลและเอกชน เพือ่ ให้น้องๆ ได้หาข้อมูลเพิ่มเติมในการเลือกศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาอย่างครบถ้วน ทางทีมงานฯ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือ Directory of University in Thailand เล่ม 5 นี้คงเป็น ประโยชน์ให้กับน้องๆ ทุกคนไม่มากก็น้อยเกี่ยวกับข้อมูลประชาคมอาเซียน รวมถึงประเทศจีน ประเทศ ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ ที่มีผลต่ออนาคตในการเลือกเรียน เลือกประกอบอาชีพในอนาคตภายภาคหน้า ขอให้น้องๆ ทุกคนโชคดี และท้ายสุดนีท้ างทีมงานฯ ต้องกราบขอขอบพระคุณผูใ้ หญ่ใจดีทใี่ ห้การสนับสนุนในการจัดท�ำหนังสือ Directory of University in Thailand เล่ม 5 นี้ ท�ำให้จัดพิมพ์ออกมาสู่มือน้องๆ อย่างสมบูรณ์ ได้แก่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์, มหาวิทยาลัย หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา และมหาวิทยาลัยรังสิต บริษัท ทีพี คอนเวอร์เจนซ์ จ�ำกัด


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

chapter 3 7 อาชีพเสรี ในกลุ่มอาเซียน

53

chapter 1 ความเป็นมา ของอาเซียน

13

chapter 2 ข้อมูลพื้นฐาน ของ 10+3 ประเทศ ที่ควรรู้

chapter 4 รายชื่อ สถาบันอุดมศึกษาและ หลักสูตรที่เปิดสอน ภาษาต่างประเทศ

67

21 chapter 6 สารบัญรายชื่อ สถาบันอุดมศึกษา ภายในประเทศ

108

12

chapter 5 สัมภาษณ์ผู้บริหาร สถาบันอุดมศึกษา และหลักสูตรที่เปิดสอน ภาษาต่างประเทศ

97


1 ความเป็นมาของอาเซียน 13


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

ความเป็นมา ของอาเซียน

สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of Southeast Asian Nations หรือ ASEAN) ก่อตัง้ ขึน้ โดยปฎิญญากรุงเทพ (The Bangkok Declaration) เมือ่ วันที่ 8 สิงหาคม 2510 โดยสมาชิกผูก้ อ่ ตัง้ มี 5 ประเทศ ได้แก่ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย ซึ่งมีผู้แทนทั้ง 5 ประเทศ ประกอบด้วย นายอาดัม มาลิก (รัฐมนตรีตา่ งประเทศอินโดนีเซีย) ตุน อับดุล ราชัก บิน ฮุสเซน (รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีกลาโหม และรัฐมนตรีกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติมาเลเซีย) นายนาซิโซ รามอส (รัฐมนตรีตา่ งประเทศฟิลปิ ปินส์) นายเอส ราชารัตนัม(รัฐมนตรีตา่ งประเทศสิงคโปร์)และพันเอก(พิเศษ)ถนัดคอมันตร์(รัฐมนตรีตา่ งประเทศไทย)ในเวลาต่อมา

14


chapter

1

ได้มีประเทศต่าง ๆ เข้าเป็นสมาชิกเพิ่มเติมได้แก่ บรูไนดารุสซาลาม (เป็นสมาชิกเมื่อ 7 มกราคม 2527) เวียดนาม (วันที่ 28 กรกฎาคม 2538) ลาว พม่า (วันที่ 23 กรกฎาคม 2540) และกัมพูชา (เมือ่ วันที่ 30 เมษายน 2542) ตามล�ำดับ จากการรับกัมพูชาเข้าเป็นสมาชิก ท�ำให้อาเซียนมีสมาชิกครบ 10 ประเทศในภูมภิ าคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ อาเซียนก่อตัง้ เพือ่ ส่งเสริมความร่วมมือทางด้านการเมือง เศรษฐกิจและสังคม ส่งเสริมสันติภาพและความ มั่นคงของภูมิภาค ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับต่างประเทศและองค์กรระหว่างประเทศ นโยบายการด�ำเนินงานของอาเซียนจะเป็นผลจากการประชุมหารือในระดับหัวหน้ารัฐบาล ระดับรัฐมนตรี และเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียน ทั้งนี้ การประชุมสุดยอด (ASEAN Summit) หรือ การประชุมของผู้น�ำประเทศ สมาชิกอาเซียนเป็นการประชุมระดับสูงสุดเพื่อก�ำหนดแนวนโยบายในภาพรวม และเป็นโอกาสที่ประเทศ สมาชิกจะได้ร่วมกันประกาศเป้าหมายและแผนงานของอาเซียนในระยะยาวซึ่งจะปรากฏเป็นเอกสารใน รูปแบบต่าง ๆ อาทิ แผนปฏิบัติการ (Action Plan) แถลงการณ์รวม (Joint Declaration) ปฏิญญา (Declaration) ความตกลง (Agreement) หรือ อนุสัญญา (Convention) ส่วนการประชุมในระดับรัฐมนตรี และเจ้าหน้าที่อาวุโสจะเป็นการประชุมเพื่อพิจารณาทั้งนโยบายในภาพรวมและนโยบายเฉพาะด้าน ด้านการเมืองและความมั่นคง อาเซียนได้จัดท�ำปฏิญญาก�ำหนดให้ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็น เขตสันติภาพ เสรีภาพความเป็นกลาง (Zone of Peace, Freedom and Neutrality-TAC) ในปี 2519 และ จัดท�ำสนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Treaty on the Southeast Asian Nuclear Weapon-Free Zone-SEANWFZ) ในปี 2538 รวมทั้งได้ริเริ่มการประชุมอาเซียนว่าด้วย ความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก (ASEAN Regional Forum-ARF) ซึ่ง ไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมระดับรัฐมนตรีครั้งแรกเมื่อปี 2537 ด้านเศรษฐกิจอาเซียนได้ลงนามจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area-AFTA) ในปี 2535 เพื่อลดภาษีศุลกากรระหว่างกัน เพื่อช่วยส่งเสริมการค้าภายในอาเซียนให้มีปริมาณเพิ่มขึ้น ลดต้นทุน การผลิตสินค้า และดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ กับทั้งได้ขยายความร่วมมือด้านเศรษฐกิจเพิ่มเติม เพื่อ ให้การรวมตัวทางเศรษฐกิจสมบรูณ์แบบและมีทิศทางชัดเจน ด้วยการจัดตั้งเขตลงทุนอาเซียน (ASEAN Investment Area-AIA) ด้านสังคม อาเซียนมีความร่วมมือเฉพาะด้าน เพือ่ ให้ประชาชนมีความสภาพความเป็นอยูท่ ดี่ แี ละมีการพัฒนา ในทุกด้าน เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต

ความเป็นมาของอาเซียน

15


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

หน่วยงานที่ท�ำหน้าที่ประสานงานและติดตามผลการด�ำเนินงาน ในกรอบอาเซียนประกอบด้วย 1. ส�ำนักเลขาธิการอาเซียน (ASEAN Secretariat) ที่กรุงการ์ตา ประเทศอินโดนีเซียน เป็นศูนย์กลางใน การติดต่อระหว่างประเทศสมาชิก โดยมีเลขาธิการอาเซียน (Secretary-General of ASEAN) เป็นหัวหน้า ส�ำนักงาน ที่ผ่านมาผู้แทนจากประเทศไทยด�ำรง ต�ำแหน่งเลขาธิการอาเซียนแล้ว ท่าน คือ ฯพณฯ นายแผน วรรณเมธี ระหว่างปี 2527 – 2529 ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ ระหว่างปี 2551 – 2555 2. ส�ำนักงานเลขาธิการแห่งชาติ หรือ ASEAN National Secretariat เป็นหน่วยงานระดับกรมในกระทรวง การต่างประเทศของประเทศสมาชิกอาเซียน มีหน้าทีป่ ระสานกิจการอาเซียนและติดตามผลการด�ำเนินงนใน ประเทศนั้น 3. ส�ำหรับประเทศไทยหน่วยงานที่รับผิดชอบ คือ กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ และคณะ กรรมการผู้แทนถาวรประจ�ำอาเซียน (Committee of Permanent Representatives-CPR) ซึ่งประกอบ ด้วยผูแ้ ทนระดับเอกอัครราชทูตทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ มาจากประเทศสมาชิก มีภารกิจในการสนับสนุนการท�ำงาน ของคณะมนตรีประชาคมอาเซียนและองค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขา รวมทัง้ ประสานงานกับส�ำนัก เลขาธิการอาเซียนและส�ำนักเลขาธิการอาเซียนแห่งชาติ ตลอดจนดูแลความร่วมมือของอาเซียนกับหุ้นส่วน ภายนอก ในโลกที่เต็มไปด้วยความท้าทายไปพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงและการแข่งขันสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ประเทศสมาชิกเห็นพ้องต้องกันที่จะให้ความส�ำคัญของการมีความร่วมมืออย่างใกล้ชิด เพื่อประโยชน์ใน การพัฒนาศักยภาพในการร่วมมือกันปัญหาและความท้าท้าย ตลอดจนเพื่อความสร้างความแข็งแกร่ง และอ�ำนาจต่อรอให้แก่ประเทศสมาชิกผู้น�ำอาเซียนได้ลงนามร่วมกันในปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมือ ในอาเซียน ฉบับที่ 2 (Declaration of ASEAN Concord II หรือ Ball Concord II) เพื่อประกาศจัด ตั้งประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ภายในปี 2563 (ค.ศ. 2020) โดยสนับสนุนการรวมตัว และความร่ ว มมื อ อย่ า งรอบด้ า น โดยในด้ า นการเมื อ งให้ จั ด ตั้ ง "ประชาคมการเมื อ งและความมั่ น คง อาเซียน” หรือ ASEAN Political-Security Community (APSC) ด้านเศรษฐกิจให้จัดตั้ง "ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน” หรือ ASEAN Economic Community (AEC) และด้านสังคมและวัฒนธรรมให้ จัดตัง้ "ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน” หรือ ASEAN Socio-Cultural Community (ASCC) ซึง่ ต่อมา ผูน้ ำ� อาเซียนได้เห็นชอบให้เร่งรัดการรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียนให้เร็วขึน้ กว่าเดิมอีก 5 ปี คือภายในปี 2558 (ค.ศ. 2015) โดยเล็งเห็นว่าสถานการณ์โลกเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ว อาเซียนจะเป็นต้องปรับตัวเพือ่ ให้สามารถ คงบทบาทน�ำในการด�ำเนินความสัมพันธ์ในภูมภิ าคและตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างแท้จริง 16


chapter

1

ข้อมูลพื้นฐานอาเซียน ชื่อองค์การ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of Southeast Asian Nations) หรืออาเซียน (ASEAN) เครื่องหมาย/สัญลักษณ์องค์การ

• • • • •

ธงอาเซียน และดวงตราอาเซียน แสดงถึงเสถียรภาพ สันติภาพความสามัคคี และพลวัตรของอาเซียน สีของธง ได้แก่ น�้ำเงิน แดง ขาว และเหลือง แสดงถึงสีหลักในธงชาติของบรรดารัฐสมาชิกอาเซียน ทั้งหมดโดยสีน�้ำเงิน หมายถึง สันติภาพและเสถียรภาพ สีแดง หมายถึง ความกล้าหาญและความ ก้าวหน้า สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์ และสีเหลือง หมายถึงความเจริญรุ่งเรือง รวงข้าวสีเหลือง 10 มัด แสดงถึงความใฝ่ฝันของบรรดาผู้ก่อตั้งอาเซียนให้มีอาเซียนที่ประกอบด้วย บรรดาประเทศทั้งหมดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ผูกผันกันอย่างมีมิตรภาพและเป็นหนึ่งเดียว วงกลมสีแดง ขอบสีขาวและน�้ำเงิน ซึ่งแสดงถึงความเป็นเอกภาพของอาเซียน มีตวั อักษรค�ำว่า "asean” สีนำ�้ เงินอยูใ่ ต้ภาพ อันแสดงถึงความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะท�ำงานร่วมกันเพือ่ ความมัน่ คง สันติภาพ เอกภาพ และความก้าวหน้ของประเทศสมาชิกอาเซียน (กฎบัตรอาเซียน ภาคผนวก 3 และ 4)

ความเป็นมาของอาเซียน

17


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

สมาชิก

มี 10 ประเทศ ได้แก่ บรูไนดารุสซาลาม ราชอาณาจักรกัมพูชา สาธารณรัฐอินโดนีเซีย สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว มาเลเซีย สหภาพพม่า สาธารณรัฐฟิลปิ ปินส์ สาธารณรัฐสิงคโปร์ ราชอาณาจักรไทย และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (กฎบัตรอาเซียน ข้อ 4) หลักการพื้นฐานในการตัดสินใจของอาเซียน อยู่บนพื้นฐานของการปรึกษาหารือและฉันทามติ (กฎบัตรอาเซียน ข้อ 20) ค�ำขวัญของอาเซียน "วิสัยทัศน์เดียว อัตลักษณ์เดียว ประชาคมเดียว” (One Vision, One Identity, One Community) (กฎบัตรอาเซียน ข้อ 36)

18


chapter

1

ภาษาที่ใช้ในการท�ำงานของอาเซียน ภาษาอังกฤษ (กฎบัตรอาเซียน ข้อ 34) วันอาเซียน วันที่ 8 สิงหาคม ของทุกปี (กฎบัตรอาเซียน ข้อ 39) สถานที่ตั้ง ส�ำนักเลขาธิการอาเซียน (ASEAN Secretariat) ตั้งอยู่ที่กรุงการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย สถานที่ติดต่อ The ASEAN Secretariat 70A, JI. Sisingamangarja Jakarta 12110, Indonesia Tel : 6221-7262991 Fax : 6221-7398234, 7243504 ผู้รับผิดชอบด้านการเกษตรของส�ำนักเลขาธิการอาเซียน Dr. Somsak Pipoppinyo Director Finance, Industries and Infrastructure Directorate (FIID) AEC Department ASEAN Secretariat 70 A, JI. Sisingamangarja Jakarta 12110, Indonesia Tel : 6221-7262991 ext 396 Fax : 6221-7398234 E-mail : somsak@asean.org

ความเป็นมาของอาเซียน

19


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

Mr. Suriyan Vichitlekarn Assistant Director Agriculture Industries and Naturl Resource Division (AINRD) ASEAN Secretariat 70 A, JI. Sisingamangarja Jakarta 12110, Indonesia Tel : 6221-7262991 ext 367 Fax : 6221-7398234 E-mail : suriyan@asean.org

20


2

ข้อมูลพื้นฐาน ของประเทศ 10+3 ที่ควรรู้

21


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

ประเทศบูรไน ดารุสซาลาม (Brunei Darussalam)

1. ข้อมูลทั่วไป พื้นที่ 5.765 ตารางกิโลเมตร โดยเป็น 70 % ของพื้นที่เป็นป่าเขตร้อน ภูมิอากาศ อากาศโดยทั่วไปค่อนข้างร้อนชื้น มีปริมาณฝนตกค่อนข้างมากและมีอุณหภูมิ อบอุ่น โดยมีอุณหภูมิเฉลี่ย 28 องศาเซลเซียส เมืองหลวง กรุงบันดาร์ เสรี เบกาวัน (Bandar Seri Begawan) เวลา GMT+8 เท่ากับประเทศไทย ประชากร 397,000 ล้านคน(ปี 2551) อัตราเพิ่มของประชากร : 1.9 เปอร์เซ็นต์ต่อปี เชื้อชาติ มาเลย์ 67 เปอร์เซ็นต์ จีน 15 เปอร์เซ็นต์ ชาวพื้นเมือง 6 เปอร์เซ็นต์ และอื่นๆ 12 เปอร์เซ็นต์ ศาสนา อิสลาม 67 เปอร์เซ็นต์ พุทธ 13 เปอร์เซ็นต์ คริสต์ 10 เปอร์เซ็นต์ และอื่นๆ 10 เปอร์เซ็นต์ ภาษา ภาษามาเลย์(Malay หรือ Bahasa Malayu) เป็นภาษาราชการ รองลงมาเป็นภาษาอังกฤษ และจีน ระบบการปกครอง ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ 2. เครื่องชี้วัดทางเศรษฐกิจ (ปี 2551) ผลิตภัณฑ์มวลรวม 14,147 ล้านเหรียญสหรัฐ จ�ำแนกเป็น ภาคการเกษตร 0.9 เปอร์เซ็นต์ ภาคอุตสาหกรรม 71.6 เปอร์เซ็นต์ และภาคบริการ 27.5 เปอร์เซ็นต์ 22


chapter

2

ผลิตภัณฑ์มวลรวมต่อหัว 35,623 เหรียญสหรัฐฯ อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ 0.4 เปอร์เซ็นต์ 3. การค้าระหว่างประเทศ (ปี 2551) มูลค่าการส่งออก สินค้าส่งออกที่ส�ำคัญ แหล่งส่งออกที่ส�ำคัญ มูลค่าการน�ำเข้า แหล่งน�ำเข้าที่ส�ำคัญ สกุลเงิน อัตราแลกเปลี่ยน

8,754 ล้านเหรียญสหรัฐฯ น�้ำมันดิบ ก๊าซธรรมชาติ ปิโตรเลียมกลั่น และเสื้อผ้า ญีป่ นุ่ (36.8 เปอร์เซ็นต์) อินโดนีเซีย (19.3 เปอร์เซ็นต์) เกาหลีใต้ (12.7 เปอร์เซ็นต์) สหรัฐอเมริกา (9.5 เปอร์เซ็นต์) และออสเตรเลีย( 9.3 เปอร์เซ็นต์) 3,106 ล้านเหรียญสหรัฐฯ สิงคโปร์ (32.7 เปอร์เซ็นต์) มาเลเซีย (23.3 เปอร์เซ็นต์) ญีป่ นุ่ (6.9 เปอร์เซ็นต์) สหราชอาณาจักร(5.3เปอร์เซ็นต์)ไทย(4.5เปอร์เซ็นต์)และเกาหลีใต้(4.0เปอร์เซ็นต์) ดอลลาร์บรูไน (Rruneian Dollar หรือ BND) อัตราแลกเปลี่ยน 1.39 ดอลลาร์บูรไน/ 1 เหรียญสหรัฐฯ หรือประมาณ 22.98 บาท/ 1 ดอลลาร์บรูไน

4. ข้อควรรู้ 1) ประชาชนของประเทศในกลุ่มอาเซียนสามารถท�ำวีซ่าที่ ตม.ที่ประเทศบรูไนฯ มีระยะเวลาอยู่ในบรูไนฯ ได้ 2 สัปดาห์ 2) ควรหลีกเลี่ยงเสื้อผ้าสีเหลืองเพราะถือเป็นสีของพระมหากษัตริย์ 3) การทักทายจะจับมือกันเบาๆ และสตรีจะไม่ยื่นมือให้บุรุษจับ 4) การใช้นิ้วชี้ไปที่คนหรือสิ่งของถือว่าไม่สุภาพ แต่จะใช้หัวแม่มือชี้แทน 5) จะไม่ใช้มือซ้ายในการส่งของให้ผู้อื่น 6) สตรีเวลานั่งจะไม่ให้เท้าชี้ไปทางผู้ชายและไม่ส่งเสียงหรือหัวเราะดัง

ข้อมูลพื้นฐานของ 10+3 ประเทศที่ควรรู้

23


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia)

1. ข้อมูลทั่วไป พื้นที่ ภูมิอากาศ เมืองหลวง เมืองส�ำคัญ เวลา ประชากร เชื้อชาติ ศาสนา ภาษา 24

181.035 ตารางกิโลเมตร (พืน้ ที่ 176,525 ตารางกิโลเมตร พืน้ น�ำ้ 4,520 ตารางกิโลเมตร) หรือมี ขนาดประมาณ 1 ใน 3 ของประเทศไทย กว้าง 500 กิโลเมตร ยาว 450 กิโลเมตร ร้อนชื้น มีฤดูฝนยาวนาน อุณหภูมิโดยเฉลี่ย 20-36 อาศาเซลเซียส กรุงพนมเปญ (Phnom Penh) มีประชากรประมาณ 1,000,000 คน เป็นแหล่งการค้า การลงทุน ที่ส�ำคัญ ก�ำปงจาม เป็นเมืองท่าการค้า มีประชากรประมาณ 1,513,500 คน เสียมราฐ เป็นศูนย์ของการท่องเทีย่ วและธุรกิจโรงแรม เนือ่ งจากเป็นทีต่ งั้ ของนครวัด นครธม ซึ่งเป็นสิ่งมหัศจรรย์ของโลก พระตะบอง เป็นเมืองกระจายสินค้า เกาะกง เป็นที่ตั้งของท่าเรือจามเยี่ยม ซึ่งเป็นเมืองท่าที่ส�ำคัญของประเทศ สีหนุวิลล์ (ก�ำปงโสม) เป็นเมืองท่าการค้าและการท่องเที่ยว GMT+7 เท่ากับประเทศไทย 14,656,600 ล้านคน(ปี2551) ประชากรร้อยละ 80 อาศัยอยู่ในชนบทมีอัตราเพิ่มของ ประชากร1.7 เปอร์เซ็นต์ต่อปี กัมพูชา 90 เปอร์เซ็นต์ เวียดนาม 5 เปอร์เซ็นต์ จีน 1 เปอร์เซ็นต์ และอื่นๆ 4 เปอร์เซ็นต์ พุทธศาสนานิกายเถรวาท 95 เปอร์เซ็นต์ (มี 2 นิกายย่อย ได้แก่ ธรรมยุติและมหานิกาย โดยมี สมเด็จพระสังฆราช 2 องค์) ศาสนา (หรือเขมรจาม ซึ่งมีประมาณ 200,000 คน) และ ศาสนาคริสต์ ภาษาเขมร ส่วนภาษาที่ใช้ทั่วไป ได้แก่ ภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส เวียดนาม จีน และไทย


chapter

2

ระบบการปกครอง ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา โดยมีพระมหากษัตย์เป็นประมุขภายใต้รัฐธรรมนูญ 2. เครื่องชี้วัดทางเศรษฐกิจ (ปี 2551) ผลิตภัณฑ์มวลรวม 11,082 ล้านเหรียญสหรัฐฯ จ�ำแนกเป็นเกษตรกรรม 33.7 เปอร์เซ็นต์ ภาคอุตสาหกรรม 27.1 เปอร์เซ็นต์ และภาคบริการ 39.1 เปอร์เซ็นต์ ผลิตภัณฑ์มวลรวมต่อหัว 765 เหรียญสหรัฐฯ อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ 6.0 เปอร์เซ็นต์ 3. การค้าระหว่างประเทศ (ปี 2551) ประเทศคู่ค้าที่ส�ำคัญ สหรัฐอเมริกา ไทย จีน ฮ่องกง และสิงคโปร์ มูลค่าการส่งออก 4,249 ล้านเหรียญสหรัฐฯ สินค้าส่งออกที่ส�ำคัญ เครื่องนุ่งห่ม ไม้ซุง ยางพารา ข้าว ปลา ใบยาสูบ รองเท้า แหล่งส่งออกที่ส�ำคัญ สหรัฐอเมริกา ( 53.3 เปอร์เซ็นต์) ฮ่องกง (15.2 เปอร์เซ็นต์) เยอรมนี (6.6 เปอร์เซ็นต์) และสหราชอาณาจักร ( 4.3 เปอร์เซ็นต์) มูลค่าการน�ำเข้า 4,476 ล้านเหรียญสหรัฐฯ สินค้าน�ำเข้าที่ส�ำคัญ ผลิตภัณฑ์ปโิ ตรเลียม ยาสูบ ทองค�ำ วัสดุกอ่ สร้าง เครือ่ งจักร ยานพาหนะ และเภสัชภัณฑ์ แหล่งน�ำเข้าที่ส�ำคัญ ฮ่องกง (18.1 เปอร์เซ็นต์) จีน (17.5 เปอร์เซ็นต์) ไทย (13.93 เปอร์เซ็นต์) ไต้หวัน (12.7เปอร์เซ็นต์) และเวียดนาม ( 9.0 เปอร์ฌซ็นต์) สกุลเงิน เรียล (Riel หรือ KHR) อัตราแลกเปลี่ยน อัตราแลกเปลี่ยน 4,121 เรียล / 1 เหรียญสหรัฐฯ หรือ ประมาณ 118.4 เรียล /1 บาท 4. ข้อควรรู้ 1) เมื่อเดินทางถึงท่าอากาศยานกรุงพนมเปญ โดยกรอกแบบฟอร์ม Visa on Arrival พร้อมยื่นรูปถ่ายและ ค่าธรรมเนียม 20 ดอลลาร์สหรัฐ 2) ผูท้ เี่ ดินทางเข้ากัมพูชา และประสงค์จะอยูท่ ำ� ธุรกิจเป็นระยะเวลาเกิน 3 เดือน ควรฉีดยาป้องกันโรคไทฟอยด์ และไวรัสเอและบี ข้อมูลพื้นฐานของ 10+3 ประเทศที่ควรรู้

25


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

สาธารณรัฐอินโดนีเซีย ( Republic of the Indonesia)

1.ข้อมูลทั่วไป พื้นที่ 1,919,440 ตารางกิโลเมตร (พืน้ ดิน 1,826,440 ตารางกิโลเมตร และพืน้ น�ำ้ 93,000 กิโลเมตร) ภูมิอากาศ เขตร้อนชื้นแบบศูนย์สูตร มี 2 ฤดู คือ ฤดูแล้ง (พ.ค.-ต.ค.) และฤดูฝน (พ.ย.-เม.ย.) เมืองหลวง จาการ์ตา (Jakarta) เมืองส�ำคัญ สุราบายา บันดุง เมดาน และบาหลี เวลา GMT+7 (เท่ากับประเทศไทย) ประชากร 228,523,000 ล้านคน (ปี 2551) โดย 61 เปอร์เซ็นต์ อาศัยอยูบ่ นเกาะชวา มีอตั ราการเพิม่ ของ ประชากร 1.41 เปอร์เซ็นต์ เชื้อชาติ จาวา 40.6 เปอร์เซ็นต์ ซุนดา 15 เปอร์เซ็นต์ มาดู 3.3 เปอร์เซ็นต์ มาเลย์ 7.5 เปอร์เซ็นต์ และอืน่ ๆ 1.7 เปอร์เซ็นต์ ศาสนา อิสลาม 87 เปอร์เซ็นต์ คริสต์นกิ ายโปรเตสแตนต์ 6 เปอร์เซ็นต์ นิกายคาทอลิก 3.5 เปอร์เซ็นต์ ฮินดู 1.8 เปอร์เซ็นต์ และพุทธ 1.3 เปอร์เซ็นต์ ภาษา Bahasa Indonesia เป็นภาษาราชการ (ดัดแปลงมาจากภาษามาเลย์) อังกฤษ ดัตซ์ และภาษา พื้นเมืองกว่า 583 ภาษา (ส่วนใหญ่พูดภาษาจาวา) ระบบการปกครอง ประชาธิปไตยที่มีประธานาธิปดีเป็นประมุข และหัวหน้าฝ่ายบริหาร

26


chapter

2

2. เครื่องชี้วัดทางเศรษฐกิจ (ปี 2551) ผลิตภัณฑ์มวลรวม 511,174 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ผลิตภัณฑ์มวลรวมต่อหัว 2,237 เหรียญสหรัฐฯ อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ 6.1 เปอร์เซ็นต์ 3.การค้าระหว่างประเทศ(ปี 2551) มูลค่าการส่งออก 137,020 ล้านเหรียญสหรัฐฯ สินค้าส่งออกที่ส�ำคัญ น�้ำมันและก๊าซ เครื่องใช้ไฟฟ้า ไม้อัด เสื้อผ้าส�ำเร็จรูปและยางพารา แหล่งส่งออกที่ส�ำคัญ ญี่ปุ่น (21.6 เปอร์เซ็นต์) สหรัฐอเมริกา(11.2 เปอร์เซ็นต์) สิงคโปร์ (8.9 เปอร์เซ็นต์) จีน (8.3 เปอร์เซ็นต์) และเกาหลีใต้ (7.6 เปอร์เซ็นต์) มูลค่าการน�ำเข้า 129,197 ล้านเหรียญสหรัฐฯ แหล่งน�ำเข้าที่ส�ำคัญ สิงคโปร์(16.4 เปอร์เซ็นต์) ญี่ปุ่น (9เปอร์เซ็นต์) จีน (10.9 เปอร์เซ็นต์) สหรัฐอเมริกา (6.7 เปอร์เซ็นต์) เกาหลีใต้ (7.6 เปอร์เซ็นต์) และไทย ( 6เปอร์เซ็นต์) สกุลเงิน รูเปียร์ (Indonesian Rupiah : IDR) อัตราแลกเปลี่ยน 10,950 รูเปียห์ / 1 เหรียญสหรัฐฯ 4. ข้อควรรู้ 1) ไม่ควรใช้มือซ้ายในการรับ-ส่งของ หรือรับประทานอาหารคนมุสลิมอินโดนีเซียถือว่ามือซ้ายไม่สุภาพ 2) ไม่จับศีรษะคนอินโดนีเซียรวมทั้งการลูบศีรษะเด็ก 3) การครอบครองยาเสพติด อาวุธ หนังสือรูปภาพอนาจาร มีบทลงโทษหนัก อาทิ การน�ำเข้าและครอบครอง ยาเสพติดมีโทษถึงประหารชีวิต 4) บทลงโทษรุนแรงเกี่ยวกับการค้าและส่งออกพืชและสัตว์กว่า 200 ชนิด จึงควรตรวจสอบก่อนซื้อหรือน�ำ พืชและสัตว์ออกนอกประเทศ

ข้อมูลพื้นฐานของ 10+3 ประเทศที่ควรรู้

27


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) (The Lao People’s Democratic Republic of Lao PDR)

1. ข้อมูลทั่วไป พื้นที ่ 236,800 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณครึ่งหนึ่งของประเทศไทย ภูมิอากาศ แบบเขตร้อน มีฝนตกชุกระหว่าง พค.-ก.ย. อุณหภูมเิ ฉลีย่ ทีน่ ครหลวงเวียงจันทน์ 25 องศาเซลเซียส (ม.ค.) และ 36-37 องศาเซลเซียส (เม.ย.) ปริมาณฝนเฉลี่ย 1,715 มิลลิเมตรต่อปี เมืองหลวง นครหลวงเวียงจันทน์ อยู่ตรงข้ามกับจังหวัดหนองคาย มีประชากร 606,000 คน เมืองส�ำคัญ แขวงสะหวันนะเขต มีประชากรมากทีส่ ดุ ในประเทศ 690,000 คน อยูต่ รงข้ามกับจังหวัดมุกดาหาร แขวงจ�ำปาสัก มีประชากรมากเป็นอันดับสาม 500,000 คน มีพนื้ ทีต่ ดิ ต่อกับจังหวัดอุบลราชธานี แขวงค�ำม่วน มีประชากร 280,000 คน และมีปา่ ไม้และแร่ธาตุอดุ มสมบูรณ์อยูต่ รงข้ามกับจังหวัด นครพนม เวลา GMT+7 (เท่ากับประเทศไทย) ประชากร 5,763,000 ล้านคน(ปี 2551) อัตราเพิ่มของประชากร 2.4 เปอร์เซ็นต์ต่อปี เชื้อชาติ ลาวสุม่ 68 เปอร์เซ็นต์ ลาวเทิง 22 เปอร์เซ็นต์ ลาวสูง 9 เปอร์เซ็นต์ และอืน่ ๆ รวมประมาณ 68 ชนเผ่า ศาสนา พุทธ 75 เปอร์เซ็นต์ นับถือผี 16-17 เปอร์เซ็นต์ คริสต์ประมาณ 100,000 คน อิสลามประมาณ 300 คน ภาษา ภาษาราชการคือ ภาษาลาว ภาษาทีใ่ ช้ในการติดต่อธุรกิจได้แก่ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และภาษา ฝรั่งเศส ระบบการปกครอง สังคมนิยมคอมมิวนิสต์ (ทางการลาวใช้ค�ำว่า ระบบประชาธิปไตยประชาชน)

28


chapter

2

2. เครื่องชี้วัดทางเศรษฐกิจ (ปี 2551) ผลิตภัณฑ์มวลรวม 5,289 ล้านเหรียญสหรัฐฯ จ�ำแนกเป็น ภาคเกษตรกรรม 49 เปอร์เซ็นต์ ภาคอุตสาหกรรม 26 เปอร์เซ็นต์ และภาคบริการ 25 เปอร์เซ็นต์ ผลิตภัณฑ์มวลรวมต่อหัว 918 เหรียญสหรัฐฯ อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ 8.4 เปอร์เซ็นต์ 3.การค้าระหว่างประเทศ(ปี 2551) มูลค่าการส่งออก สินค้าส่งออกที่ส�ำคัญ แหล่งส่งออกที่ส�ำคัญ ไทย มูลค่าการน�ำเข้า สินค้าน�ำเข้าที่ส�ำคัญ แหล่งน�ำเข้าที่ส�ำคัญ สกุลเงิน อัตราแลกเปลี่ยน

828 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เครื่องนุ่งห่ม ไม้และผลิตภัณฑ์ กาแฟ กระแสไฟฟ้า ดีบุก (41.0 เปอร์เซ็นต์) เวียดนาม (9.7เปอร์เซ็นต์) จีน(4.1 เปอร์เซ็นต์) และ มาเลเซีย(4.0 เปอร์เซ็นต์) 1,803 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เครื่องจักร ยานพาหนะ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม สินค้าอุปโภคบริโภค ไทย(69.0 เปอร์เซ็นต์) เวียดนาม (5.6 เปอร์เซ็นต์) กีบ(Kip หรือ LAK) อัตราแลกเปลี่ยน 8,531 กีบ/ 1 เหรียญสหรัฐฯ หรือ 280 / 1 บาท

4. ข้อควรรู้ 1) ลาวมีตัวอักษรคล้ายของไทย ท�ำให้คนไทยอ่านหนังสือลาวได้ไม่ยากนักส่วนคนลาวอ่านหนังสือไทยได้ คล่องมาก 2) ลาวขับรถทางขวา

ข้อมูลพื้นฐานของ 10+3 ประเทศที่ควรรู้

29


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

ประเทศมาเลเซีย (Malaysia)

1. ข้อมูลทั่วไป พื้นที่ 330,257 ตารางกิโลเมตร ภูมิอากาศ เป็นเขตร้อนชื้น มีลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ในเดือน เม.ย.-ต.ค. และตะวันออกเฉียงเหนือ ในเดือน ต.ค.-ก.พ. อุณหภูมิเฉลี่ย 28 องศาเซลเซียส เมืองหลวง กรุงกัวลาลัมเปอร์(Kuala Lumur) เมืองส�ำคัญ เมืองปุตราจายา (Putrajaya) เป็นเมืองราชการ เวลา GMT+8 เร็วกว่าประเทศไทย 1 ชั่วโมง ประชากร 27,863,000 ล้านคน (ปี 2551) อัตราเพิ่มของประชากร 1.76 เปอร์เซ็นต์ต่อปี เชื้อชาติ มาเลย์ 50.4 เปอร์เซ็นต์ จีน 23 เปอร์เซ็นต์ ชาวพืน้ เมือง 11 เปอร์เซ็นต์ อินเดีย 7.1 เปอร์เซ็นต์ และอื่นๆ 7.8 เปอร์เซ็นต์ ศาสนา อิสลาม 60.4 เปอร์เซ็นต์ พุทธ 19.25 เปอร์เซ็นต์ คริสต์ 11.6 เปอร์เซ็นต์ ฮินดู 6.3 เปอร์เซ็นต์ และอื่นๆ 2.5 เปอร์เซ็นต์ ภาษา ภาษา Bahasa Malayu เป็นภาษาราชการ ภาษาอังกฤษและจีน(ส�ำเนียง Cantonese Mandarin Hokkien Hakka Hainan Foochow) Telugu Malaya Panjabi และไทย ส่วน ภาคตะวันออกของประเทศ ใช้ภาษาท้องถิ่นจ�ำนวนมาก โดยส่วนใหญ่พูดภาษา Iban และ Kadazan ระบบการปกครอง ประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา 30


chapter

2

2. เครื่องชี้วัดทางเศรษฐกิจ (ปี 2551) ผลิตภัณฑ์มวลรวม 222,674 ล้านเหรียญสหรัฐฯ จ�ำแนกเป็น ภาคการเกษตร 8.4 เปอร์เซ็นต์ ภาคอุตสาหกรรม 48 เปอร์เซ็นต์ และภาคบริการ 43.6 เปอร์เซ็นต์ ผลิตภัณฑ์มวลรวมต่อหัว 7,992 เหรียญสหรัฐฯ อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ 4.6 เปอร์เซ็นต์ 3. การค้าระหว่างประเทศ (ปี 2551) มูลค่าการส่งออก 194,496 ล้านเหรียญสหรัฐฯ สินค้าส่งออกที่ส�ำคัญ เครื่องจักรอิเล็กทรอนิกส์ เครื่องจักรกลปิโตรเลียมและก๊าซธรรมชาติเหลว ไม้และ ผลิตภัณฑ์ไม้ น�้ำมันปาล์ม ยางพารา สิ่งทอ และผลิตภัณฑ์เคมี แหล่งส่งออกที่ส�ำคัญ สหรัฐอเมริกา (15.6 เปอร์เซ็นต์) สิงคโปร์ ( 14.6 เปอร์เซ็นต์) ญี่ปุ่น (9.1 เปอร์เซ็นต์) จีน (8.8 เปอร์เซ็นต์) และไทย (5.0 เปอร์เซ็นต์) มูลค่าการน�ำเข้า 144,299 ล้านเหรียญสหรัฐฯ สินค้าน�ำเข้าที่ส�ำคัญ อิเล็กทรอนิกส์ เครือ่ งจักร ผลิตภัณฑ์ปโิ ตรเลียม เหล็ก และผลิตภัณฑ์เหล็กกล้า พลาสติก เคมีภัณฑ์ และยานพาหนะ แหล่งน�ำเข้าที่ส�ำคัญ ญีป่ นุ่ (13.0 เปอร์เซ็นต์) จีน (12.9 เปอร์เซ็นต์) สิงคโปร์ (11.5 เปอร์เซ็นต์) สหรัฐอเมริกา (10.9 เปอร์เซ็นต์) และไทย (5.4 เปอร์เซ็นต์) สกุลเงิน ริงกิต (Ringgits หรือ MYR) อัตราแลกเปลี่ยน อัตราแลกเปลี่ยน 3.55 ริงกิต / 1 เหรียญสหรัฐฯ หรือประมาณ 10.65 บาท / 1 ริงกิต 4. ข้อควรรู้ 1) ผู้ที่นับถือศาสนาอิสลามจะได้รับสิทธิพิเศษ คือ เงินอุดหนุนทางด้านการศึกษา สาธารณสุข การคลอดบุตร งานแต่งงานและงานศพ 2) มาเลเซียมีปัญหาประชากรหลากหลายเชื้อชาติ ชาติพันธุ์ในมาเลเซียประกอบด้วยชาวมาเลย์ กว่าร้อยละ 40 ที่เหลืออีกกว่าร้อยละ 33 เป็นชาวจีนร้อยละ10 เป็นชาวอินเดีย และ อีกร้อยละ 10 เป็นชนพื้นเมืองบน เกาะบอร์เนียว ข้อมูลพื้นฐานของ 10+3 ประเทศที่ควรรู้

31


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

สหภาพพม่า (Union of Myanmar)

1.ข้อมูลทั่วไป พื้นที ่ ภูมิอากาศ เมืองหลวง เมืองส�ำคัญ เวลา ประชากร เชื้อชาติ ศาสนา ภาษา 32

678,500 ตารางกิโลเมตร ประมาณ 1.3 เท่าของประเทศไทย มรสุมเขตร้อน เมืองเนปิดอ(Naypyidaw)เป็นเมืองหลวงใหม่ตั้งอยู่ตอนกลางของประเทศ อยู่ห่างจาก กรุงย่างกุ้งไปทางตอนเหนือราว 320 กิโลเมตร ย่างกุ้ง เมืองหลวงเก่าของประเทศและเป็นเมืองศูนย์กลางการคมนาคม มัณฆะเลย์ ศูนย์กลางธุรกิจการค้าในประเทศทางตอนบน เมียวดี เมืองค้าขายสินค้าชายแดนกับไทย ตรงข้ามอ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ท่าขี้เหล็ก เมืองค้าขายสินค้าชายแดนกับไทย ตรงข้ามอ�ำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย เกาะสอง เมืองค้าขายสินค้าชายแดนกับไทย ตรงข้ามจังหวัดระนอง มูเซ เมืองค้าขายสินค้าชายแดนกับจีน ตรงข้ามเมืองลุยลี่ GMT+6.30 (เร็วกว่าประเทศไทย 30 นาที) 58,510,000 ล้านคน (ปี 2551) อัตราเพิ่มประชากร 0.8 เปอร์เซ็นต์ต่อปี มีเผ่าพันธุ์ 135 เผ่าพันธุ์ ประกอบด้วยเชื้อชาติหลักๆ 8 กลุ่ม คือ พม่า (68 เปอร์เซ็นต์) ไทยใหญ่( 8 เปอร์เซ็นต์) กะเหรี่ยง(7 เปอร์เซ็นต์) ยะไข่ ( 4 เผอร์เซ็นต์) จีน (3 เปอร์เซ็นต์) มอญ (2 เปอร์เซ็นต์) และอินเดีย ( 2 เปอร์เซ็นต์) พุทธ 90 เปอร์เซ็นต์ คริสต์ 4 เปอร์เซ็นต์ อิสลาม 3 เปอร์เซ็นต์ ฮินดู 0.7 เปอร์เซ็นต์ และ นับถือผีไสยศาสตร์ 2.3 เปอร์เซ็นต์ ใช้ภาษาพม่า 85 เปอร์เซ็นต์ อีก 15 เปอร์เซ็นต์ พูดภาษากะเหรี่ยง มอญ และจีนกลาง ส่วน ภาษาราชการภาษาพม่า


chapter

2

ระบบการปกครอง เผด็จการทางทหาร ปกครองโดยรัฐบาลทหารภายใต้สภาสันติภาพและการพัฒนา แห่งรัฐ 2.เครื่องชี้วัดทางเศรษฐกิจ(ปี 2551) ผลิตภัณฑ์มวลรวม 27,182 ล้านเหรียญสหรัฐฯ จ�ำแนกเป็น ภาคการเกษตร 53.9 เปอร์เซ็นต์ ภาคอุตสาหกรรม 10.6 เปอร์เซ็นต์ และภาคบริการ 35.5 เปอร์เซ็นต์ ผลิตภัณฑ์มวลรวมต่อหัว 465 เหรียญสหรัฐฯ อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ 4.5 เปอร์เซ็นต์ 3.การค้าระหว่างประเทศ (ปี 2551) มูลค่าการส่งออก 6,621 ล้านเหรียญสหรัฐฯ สินค้าส่งออกที่ส�ำคัญ ก๊าซธรรมชาติ ไม้และผลิตภัณฑ์ ถั่วต่างๆ สินค้าประมง และข้าว แหล่งส่งออกที่ส�ำคัญ ไทย (48.8 เปอร์เซ็นต์) อินเดีย (12.7 เปอร์เซ็นต์) จีน (5.2 เปอร์เซ็นต์) และญี่ปุ่น (5.2 เปอร์เซ็นต์) มูลค่าการน�ำเข้า 3,795 ล้านเหรียญสหรัฐฯ สินค้าน�ำเข้าที่ส�ำคัญ ผ้าผืน ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ปุ๋ย พลาสติก เครื่องจักรกล อุปกรณ์ขนส่ง แหล่งน�ำเข้าที่ส�ำคัญ จีน(35.1 เปอร์เซ็นต์) ไทย(22.1เปอร์เซ็นต์) สิงคโปร์(16.4 เปอร์เซ็นต์) และมาเลเซีย (4.8 เปอร์เซ็นต์) สกุลเงิน จ๊าต (Kyat หรือ MMK) = 100 Pyas อัตราแลกเปลี่ยน อัตราแลกเปลี่ยน 6 จ๊าต / 1 เหรียญสหรัฐฯ 37.8 จ๊าต / 1 บาท

ข้อมูลพื้นฐานของ 10+3 ประเทศที่ควรรู้

33


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (The Republic of the Philippines)

1.ข้อมูลพื้นฐาน พื้นที่ ภูมิอากาศ เมืองหลวง เมืองส�ำคัญ เวลา ประชากร เชื้อชาติ ศาสนา ภาษา 34

298,170 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยเกาะขนาดต่างๆ 7,107 เกาะ เกาะที่ส�ำคัญได้แก่ เกาะลูซอน (Luzon) หมู่เกาะวิสซายา (Visayas) และเกาะมินดาเนา (Mindanao) มรสุมเขตร้อนได้รบั ความชุม่ ชืน้ จากลมมรสุมทัง้ 2 ฤดู ช่วงระหว่าง พ.ย.-เม.ย. มีมรสุมตะวัน ออกเฉียงเหนือระหว่าง พ.ค.-ต.ค. มีมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ได้รับฝนจากลมพายุไต้ฝุ่นและ ดีเปรสชั่น บริเวณที่มีฝนตกมากที่สุด คือ เมืองบาเกียว เป็นเมืองที่ฝนตกมากที่สุดในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ กรุงมะนิลา (Metro Manila) เมืองเซบู ดาเวา บาเกียว GMT+8 (เร็วกว่าประเทศไทย 1 ชั่วโมง) 90,457,000 ล้านคน(ปี 2551) อัตราเพิ่มประชากร 1.8 เปอร์เซ็นต์ต่อปี ตากาล็อก 28.1 เปอร์เซ้นต์ Cebuano 13.1 เปอร์เซ็นต์ llocano 9 เปอร์เว็นต์ Bisayai Binisaya 7.6 เปอร์เซ็นต์ Hillgaynon llonggo 7.5 เปอร์เซ็นต์ Bikol 6 เปอร์เซ็นต์ Waray 3.4 เปอร์เซ้นต์ และอื่นๆ 25.3 เปอร์เซ็นต์ ฟิลปิ ปินส์เป็นประเทศทีม่ ปี ระชากรนับถือศาสนาคริสต์ นิกายโรมันคาทอลิก อันดับ 4 ของโลก ศาสนาอิสลามอันดับที่ 40 ของโลก ศาสนาฮินดูอันดับที่ 7 ของโลก และพระพุทธศาสนา อันดับที่ 17 ของโลก 92 เปอร์เซ็นต์ของชาวฟิลิปปินส์ทั้งหมดนับถือศาสนาคริสต์ โดย 83 เปอร์เซ็นต์ นับถือนิกายโรมันคาทอลิกและ 9 เปอร์เซ็นต์เป็นนิกายโปรเตสแตนด์ ภาษาราชการคือ ภาษาอังกฤษ และภาษาตากาล็อก (ภาษาฟิลปิ ปิโน) มีการใช้ภาษามากกว่า 170 ภาษา โดยส่วนมากเกือบทั้งหมดนั้นเป็นตระกูลภาษา ย่อยมาลาโยโปลิเวียนตะวันตก


chapter

2

ส่วนภาษาต่างประเทศอื่นๆ ที่ใช้กันมากในฟิลิปปินส์มีทั้งหมด 8 ภาษา ได้แก่ สเปน จีน ฮกเกี้ยน จีนแต้จิ๋ว อินโดนีเซีย ซินด์ ปัญจาบ เกาหลี และอาหรับ ระบบการปกครอง ประชาธิปไตยแบบประธานาธิปดีเป็นประมุขและหัวหน้าฝ่ายบริหาร 2.เครื่องชี้วัดทางเศรษฐกิจ(ปี 2551) ผลิตภัณฑ์มวลรวม 166,773 ล้านเหรียญสหรัฐฯ จ�ำแนกเป็น ภาคบริการ 48.4 เปอร์เซ็นต์ ภาคอุตสาหกรรม 32.8 เปอร์เซ็นต์ และเกษตรกรรม 18.8 เปอร์เซ็นต์ ผลิตภัณฑ์มวลรวมต่อหัว 1,844 เหรียญสหรัฐฯ อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ 3.6 เปอร์เซ็นต์ 3.การค้าระหว่างประเทศ (ปี 2551) มูลค่าการส่งออก 49,025 ล้านเหรียญสหรัฐฯ สินค้าส่งออกที่ส�ำคัญ ผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ เครื่องจักรกล เสื้อผ้าส�ำเร็จรูป แหล่งส่งออกที่ส�ำคัญ สหรัฐอเมริกา(17.1 เปอร์เซ็นต์) ญี่ปุ่น ( 14.5 เปอร์เซ็นต์) ฮ่องกง (11.6 เปอร์เซ็นต์) จีน (11.4 เปอร์เซ็นต์) และเนเธอร์แลนด์ (8.2 เปอร์เซ็นต์) มูลค่าการน�ำเข้า 56,646 ล้านเหรียญสหรัฐฯ สินค้าน�ำเข้าที่ส�ำคัญ ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ เครื่องจักรกล น�้ำมันเชื้อเพลิง เครื่องจักรกลเหล็ก ยานพาหนะ และพลาสติก แหล่งน�ำเข้าที่ส�ำคัญ สหรัฐอเมริกา (14.4 เปอร์เซ็นต์) ญี่ปุ่น ( 12 เปอร์เซ็นต์) สิงคโปร์(11.5 เปอร์เซ็นต์) ไต้หวัน ( 7.4 เปอร์เซ็นต์) จีน ( 7.3 เปอร์เซ็นต์) และ ซาอุดิอาระเบีย ( 6.7 เปอร์เซ็นต์) สกุลเงิน ฟิลิปปินส์ เปโซ (Phillippine peso หรือ PHP ) อัตราแลกเปลี่ยน อัตราแลกเปลี่ยน 48.09 เปโซ/ 1 เหรียญสหรัฐฯ หรือ 1.5 / 1 บาท 4.ข้อควรรู้ 1) การเข้าไปประกอบธุรกิจในฟิลปิ ปินส์ในลักษณะต่างๆ เช่น การลงทุนร่วมกับฝ่ายฟิลปิ ปินส์จำ� เป็นต้องมีการ ศึกษาข้อมูลให้ละเอียด โดยเฉพาะในด้านกฎหมาย การจดทะเบียนภาษี และปัญหาทางด้านแรงงาน เป็นต้น ข้อมูลพื้นฐานของ 10+3 ประเทศที่ควรรู้

35


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

สาธารณรัฐสิงคโปร์ ( the Republic of the Singapore)

1. ข้อมูลทั่วไป พื้นที ่ 699 ตารางกิโลเมตร ภูมิอากาศ อากาศร้อนชื้น และฝนตกตลอดทั้งปี เมืองหลวง สิงคโปร์ เวลา GMT+8 (เร็วกว่าประเทศไทย 1 ชั่วโมง) ประชากร 4,839,000 ล้านคน (ปี 2551) อัตราเพิ่มประชากร 3.3 เปอร์เซ็นต์ต่อปี เชื้อชาติ จีน 76 เปอร์เซ็นต์ มาเลย์ 14 เปอร์เซ็นต์ อินเดีย 8.3 เปอร์เซ็นต์ และอื่นๆ 1.7 เปอร์เซ็นต์ ศาสนา พุทธ 42.5 เปอร์เซ็นต์ อิสลาม 14.9 เปอร์เซ็นต์ คริสต์ 14.54 เปอร์เซ็นต์ และฮินดู 4 เปอร์เซ็นต์ ภาษา ภาษาประจ�ำชาติ คือ ภาษามาเลย์ ภาษาที่ใช้เป็นทางการ คือ ภาษาอังกฤษ ภาษาราชการ มี 4 ภาษา คือ ภาษามาเลย์ จีนกลาง ทมิฬ และอังกฤษ ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ (ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีสภาเดียว) โดยมีประธานาธิปดีเป็นประมุข และ นายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าฝ่ายบริหาร 2. เครื่องชี้วัดทางเศรษฐกิจ(ปี 2551) ผลิตภัณฑ์มวลรวม 184,120 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ผลิตภัณฑ์มวลรวมต่อหัว 38,046 เหรียญสหรัฐฯ 36


chapter

2

อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ 1.1เปอร์เซ็นต์ 3. การค้าระหว่างประเทศ(ปี2551) มูลค่าการส่งออก สินค้าส่งออกที่ส�ำคัญ แหล่งส่งออกที่ส�ำคัญ มูลค่าการน�ำเข้า สินค้าน�ำเข้าที่ส�ำคัญ แหล่งน�ำเข้าที่ส�ำคัญ สกุลเงิน อัตราแลกเปลี่ยน

241,405 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เครื่องจักรกล เครื่องใช้ไฟฟ้า เคมีภัณฑ์ และเสื้อผ้า มาเลเซีย(12.9 เปอร์เซ็นต์) ฮ่องกง (10.5 เปอร์เซ็นต์) อินโดนีเซีย ( 9.8 เปอร์เซ็นต์) จีน (9.7 เปอร์เซ็นต์) และสหรัฐอเมริกา (10.0 เปอร์เซ็นต์) 230,760 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เครื่องจักรกล ชิ้นส่วนอุปกรณ์ไฟฟ้า น�้ำมันดิบ เคมีภัณฑ์ และเสื้อผ้า มาเลเซีย(13.1 เปอร์เซ็นต์) สหรัฐอเมริกา( 12.3 เปอร์เซ็นต์) จีน ( 12.1 เปอร์เซ็นต์) และญี่ปุ่น ( 8.2 เปอร์เซ็นต์) สิงคโปร์ดอลลาร์ (SGD) 1.44 เหรียญสิงคโปร์ / 1 เหรียญสหรัฐฯ หรือ 21.9 บาท / 1 เหรียญสิงคโปร์

4. ข้อควรรู้ 1) หน่วยราชการเปิดท�ำการวันจันทร์ – ศุกร์ ระหว่างเวลา 08.30 น.-13.00 น. และ 14.00 น. – 16.30 น. และวันเสาร์ เปิดท�ำการระหว่างเวลา 08.00 น. – 13.00 น. 2) การหลบหนีเข้าสิงคโปร์และประกอบอาชีพเร่ขายบริการผิดกฎหมาย จะถูกลงโทษอย่างรุนแรง 3) การลักลอบน�ำยาเสพติด อาวุธปืนและสิ่งผิดกฎหมายอื่นๆ จะได้รับโทษอย่างรุนแรงถึงขั้นประหารชีวิต

ข้อมูลพื้นฐานของ 10+3 ประเทศที่ควรรู้

37


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

ราชอาณาจักรไทย (Kingdom of Thailand)

1.ข้อมูลทั่วไป พื้นที ่ 513,254 ตารางกิโลเมตร ภูมิอากาศ เป็นเขตร้อนชืน้ มี 3 ฤดู ได้แก่ ฤดูรอ่ นเริม่ ตัง้ แต่เดือน ก.พ.-เม.ย. ฤดูฝนในช่วงเดือน พ.ค.-ต.ค. ฤดูหนาวจะเริ่มต้นเดือน พ.ย.-ม.ค. พื้นที่ทั้งหมดอยู่ภายใต้อิทธิพลของลมมรสุม คือ มรสุม ตะวันตกเฉียงใต้จากแถบมหาสมุทรอินเดียในฤดูฝน และมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือจาก ทะเลจีนใต้ในฤดูหนาว อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปี ประมาณ 18-34 องศาเซลเซียส เมืองหลวง กรุงเทพมหานคร ( Bangkok) เวลา GMT+7 ประชากร 66,482,000 ล้านคน (ปี 2551) อัตราเพิ่มประชากร 0.82 เปอร์เซ็นต์ต่อปี เชื้อชาติ ไทย 75 เปอร์เซ็นต์ จีน 14 เปอร์เซ็นต์ และอื่นๆ 11 เปอร์เซ็นต์ ศาสนา พุทธ 94.6 เปอร์เซ็นต์ อิสลาม 4.6 เปอร์เซ็นต์ คริสต์ 0.7 เปอร์เซ็นต์ และอืน่ ๆ 0.1 เปอร์เซ็นต์ ภาษา ไทย อังกฤษ และภาษาท้องถิ่น ระบบการปกครอง ระบบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 2.เครื่องชี้วัดทางเศรษฐกิจ (ปี2551) ผลิตภัณฑ์มวลรวม 273,666 ล้านเหรียญสหรัฐฯ จ�ำแนกเป็น ภาคการเกษตร 10.7 เปอร์เซ็นต์ ภาคอุตสาหกรรม 44.6 เปอร์เซ็นต์ และภาคบริการ 44.7 เปอร์เซ็นต์ 38


chapter

2

ผลิตภัณฑ์มวลรวมต่อหัว 4,116 เหรียญสหรัฐฯ อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ 2.6 เปอร์เซ็นต์ 3.การค้าระหว่างประเทศ (ปี 2551) มูลค่าการส่งออก 174,967 ล้านเหรียญสหรัฐฯ สินค้าส่งออกที่ส�ำคัญ เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบรถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ น�้ำมันส�ำเร็จรูป อัญมณีและเครื่องประดับ ยางพารา แหล่งส่งออกที่ส�ำคัญ สหรัฐอเมริกา (13.2 เปอร์เซ็นต์) ญี่ปุ่น ( 12.7 เปอร์เซ็นต์) จีน (8.9 เปอร์เซ็นต์) และ ฮ่องกง ( 4.7 เปอร์เซ็นต์) มูลค่าการน�ำเข้า 177,568 ล้านเหรียญสหรัฐฯ สินค้าน�ำเข้าที่ส�ำคัญ น�ำ้ มันดิบ เครือ่ งจักรและส่วนประกอบ เคมีภณ ั ฑ์ เครือ่ งจักรไฟฟ้า และส่วนประกอบ เหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ แผงวงจรไฟฟ้า แหล่งน�ำเข้าที่ส�ำคัญ ญี่ปุ่น( 20.7 เปอร์เซ็นต์)จีน (11.5 เปอร์เซ็นต์) สหรัฐอเมริกา (7.0 เปอร์เซ็นต์) และ มาเลเซีย ( 6.3 เปอร์เซ็นต์) สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (4.4เปอร์เซ็นต์) สกุลเงิน บาท ( Baht หรือ THB) อัตราแลกเปลี่ยน อัตราแลกเปลี่ยน 33.36 บาท / 1 เหรียญสหรัฐฯ

ข้อมูลพื้นฐานของ 10+3 ประเทศที่ควรรู้

39


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (The Socialist Republic of Vietnam)

1.ข้อมูลทั่วไป พื้นที ่ ภูมิอากาศ เมืองหลวง เมืองส�ำคัญ 40

331,689 ตารางกิโลเมตร ประมาณ 0.645 เท่าของประเทศไทย มีความแตกต่างตามลักษณะทางพืน้ ทีภ่ มู ศิ าสตร์ของเวียดนาม คือ ภาคเหนือ มีอากาศค่อนข้างหนาวเย็น แบ่งออกเป็น 4 ฤดู ได้แก่ ฤดูใบไม้ผลิ ฤดูรอ้ น ฤดูใบไม้รว่ งและฤดูหนาว ขณะที่ ภาคกลางและภาคใต้มสี ภาพภูมอิ ากาศทีค่ อ่ นข้างร้อนตลอดทัง้ ปี ซึง่ มีเพียง 2 ฤดู ได้แก่ ฤดูฝน และฤดูแล้ง กรุงฮานอย (Hanoi) เมืองไฮฟอง เป็นเมืองท่าทีส่ ำ� คัญ และเขตอุตสาหกรรมหนัก โดยเฉพาะอุตสาหกรรมต่อเรือ เคมีภัณฑ์และวัสดุก่อสร้าง เมืองกว่างนินห์ เป็นเมืองทีอ่ ดุ มสมบูรณ์ดว้ ยทรัพยากรธรรมชาติปา่ ไม้และเป็นแหล่งถ่านหิน ที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ เมืองเว้ เป็นเมืองประวัติศาสตร์และแหล่งท่องเที่ยวที่ส�ำคัญ เมืองกว่างนัม-ดานัง เป็นศูนย์กลางทางธุรกิจการค้า และเมืองท่าส�ำคัญ นครโฮจิมินห์ เป็นศูนย์กลางทางธุรกิจการค้า และเมืองท่าส�ำคัญ เมืองด่องไน เป็นเมืองที่ต้ังของนิคมอุตสาหกรรมมากที่สุดของประเทศและเป็นแหล่งผลิต วัตถุดิบเกษตรเพื่อป้อนอุตสาหกรรมการเกษตร เช่น ยางพารา ถั่วเหลือง กาแฟ ข้าวโพด อ้อยและยาสูบ เมืองเกิ่นเธอ เป็นเมืองอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารและแหล่งเพาะปลูกข้าวที่ใหญ่ที่สุด ของประเทศ


chapter

2

เมืองเตี่ยงยาง เป็นแหล่งผลิตข้าวและผลไม้ต่างๆ เช่น ทุเรียน มะม่วง และผลไม้เมืองร้อน เมืองบาเรีย-วุน่ เต่า เป็นเมืองทีม่ กี ารผลิตน�ำ้ มันดิบ และก๊าซธรรมชาติ รวมทัง้ เป็นเมืองตากอากาศ ชายทะเลที่ส�ำคัญของเวียดนาม เวลา GMT+7เท่ากับประเทศไทย ประชากร 86,160,000 ล้านคน(ปี2551) อัตราเพิ่มประชากร 1.0 เปอร์เซ็นต์ต่อปี เชื้อชาติ เวียดนาม 85-90 เปอร์เซ็นต์ ที่เหลือเป็น จีน ไทย เขมร ชาวเขาเผ่าต่างๆ ศาสนา 70 เปอร์เซ็นต์นบั ถือศาสนาพุทธนิกายมหายาน ทีเ่ หลือนับถือศาสนาคริสต์ ซึง่ ส่วนใหญ่นบั ถือ นิกายโรมันคาทอลิก ศาสนาอิสลาม และความเชื่อที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษ ภาษา ภาษาราชการคือ ภาษาเวียดนาม ภาษาที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารทางธุรกิจ คือ ภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส และจีน ระบบการปกครอง ระบบสังคมนิยม โดยพรรคคอมมิวนิสต์เป็นพรรคการเมืองเดียว 2. เครื่องชี้วัดทางเศรษฐกิจ (ปี2551) ผลิตภัณฑ์มวลรวม 90,701 ล้านเหรียญสหรัฐฯ จ�ำแนกเป็น ภาคการเกษตร 19.4 เปอร์เซ็นต์ ภาคอุตสาหกรรม 42.3 เปอร์เซ็นต์ และภาคบริการ 38.3 เปอร์เซ็นต์ ผลิตภัณฑ์มวลรวมต่อหัว 1,053 เหรียญสหรัฐฯ อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ 6.3 เปอร์เซ็นต์ 3. การค้าระหว่างประเทศ (ปี 2551) มูลค่าการส่งออก 61,778 ล้านเหรียญสหรัฐฯ สินค้าส่งออกที่ส�ำคัญ น�้ำมันดิบ ผลิตภัณฑ์ประมง ข้าว กาแฟ ยางพารา ชา เสื้อผ้าส�ำเร็จรูปและรองเท้า แหล่งส่งออกที่ส�ำคัญ สหรัฐอเมริกา(21.1เปอร์เซ็นต์) ญีป่ นุ่ ( 12.3 เปอร์เซ็นต์) ออสเตรเลีย (9.4 เปอร์เซ็นต์) จีน ( 5.7เปอร์เซ็นต์) และเยอรมัน (5.2 เปอร์เซ็นต์) มูลค่าการน�ำเข้า 79,579 ล้านเหรียญสหรัฐฯ สินค้าน�ำเข้าที่ส�ำคัญ เครื่องจักร ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ปุ๋ย ผลิตภัณฑ์เหล็ก ฝ้าย เมล็ดธัญพืช ปูนซีเมนต์ จักรยานยนต์

ข้อมูลพื้นฐานของ 10+3 ประเทศที่ควรรู้

41


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

แหล่งน�ำเข้าที่ส�ำคัญ สกุลเงิน อัตราแลกเปลี่ยน

จีน (17.7เปอร์เซ็นต์) สิงคโปร์(12.9เปอร์เซ็นต์) ไต้หวัน (11.5 เปอร์เซ็นต์) และ ญี่ปุ่น (9.8เปอร์เซ็นต์) ดอง(Dong หรือ VND) อัตราแลกเปลี่ยน 16,977 ดอง / 1 เหรียญสหรัฐฯ 467.2 / 1 บาท

4.ข้อควรรู้ 1) หน่วยงานราชการ ส�ำนักงาน และองค์กรให้บริการสาธารณสุข เปิดท�ำการระหว่างเวลา 08.00 น. – 16.30 น. ตั้งแต่วันจันทร์ – ศุกร์ 2) เวียดนามไม่อนุญาตให้ถ่ายภาพอาคารที่ท�ำการต่างๆ ของรัฐ 3) หากน�ำเงินตราต่างประเทศติดตัวเข้ามามากกว่า 7,000 ดอลลาร์สหรัฐ ต้องแจ้งให้ศุลกากรเวียดนาม ทราบการน�ำเงินตราออกประเทศมากกว่า 7,000 ดอลลาร์สหรัฐ ต้องได้รับอนุญาตจากธนาคารแห่งชาติ หรือธนาคารกลางในท้องถิ่นก่อน มิเช่นนั้นจะถูกยึดเงิน 4) บทลงโทษของเวียดนามในคดียาเสพติดการฉ้อโกงหน่วยงานของรัฐมีโทษประหารชีวิต

42


chapter

2

ญี่ปุ่น

ญีป่ นุ่ เป็นประเทศหมูเ่ กาะ ซึง่ ประกอบไปด้วยเกาะต่าง ๆ กว่า 6,800 เกาะ เรียงรายเป็นแนวยาวจากด้าน ตะวันตกเฉียงเหนือ ของมหาสมุทรแปซิฟกิ และตัง้ อยูท่ างตะวันออกสุดของโลก จึงเป็นทีม่ าของชือ่ "ดินแดน อาทิตย์อุทัย" ญี่ปุ่นมีขนาดเล็กกว่าไทยประมาณ 0.7 เท่า แต่มีประชากรมากกว่าประมาณ 2 เท่า ญี่ปุ่นประกอบไปด้วยเกาะหลัก 4 เกาะคือ ฮอกไกโด ฮอนชู ชิโกกุ และคิวชิว เกาะฮอนชูซงึ่ เป็นเกาะทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ยังแบ่งเป็น 5 ภาค เรียงจากเหนือลงมาคือ โทโฮะกุ คันโต จูบุ คิงคิ และ จูโงกุ มีจงั หวัดต่าง ๆ ทัง้ หมด 47 จังหวัด ( Prefecture ) แบ่งเป็นเมืองต่าง ๆ รวมทัง้ หมดมากกว่า 650 เมือง โดยมีโตเกียวเป็นเมืองหลวงของประเทศมาตั้งแต่ปีพ.ศ. 2411 สภาพภูมิอากาศ มี 4 ฤดูหลัก ที่มีความแตกต่างกันอย่างชัดเจน คือ • ฤดูใบไม้ผลิ: (มีนาคม-พฤษภาคม) อากาศอบอุ่น อุณหภูมิโดยเฉลี่ยประมาณ 13-25 องศาเซลเซียส • ฤดูร้อน : (มิถุนายน-สิงหาคม) อากาศร้อนชื้นโดยมีช่วงฤดูฝนสั้นๆ ประมาณ 1 เดือน ในช่วงต้นฤดู อุณหภูมิโดยเฉลี่ยประมาณ 30-35 องศาเซลเซียส • ฤดูใบไม้รว่ ง: (กันยายน-พฤศจิกายน) อากาศอบอุน่ โดยมีพายุไต้ฝนุ่ มากในช่วงเดือนกันยายน อุณหภูมิ โดยเฉลี่ยประมาณ 22-27 องศาเซลเซียส • ฤดูหนาว : (ธันวาคม-กุมภาพันธ์) อากาศหนาว มีหมิ ะตกมากทางภาคเหนือของประเทศและฝัง่ ทะเลญีป่ นุ่ ส่วนทางใต้และฝัง่ มหาสมุทรแปซิฟกิ อากาศจะอบอุน่ กว่า อุณหภูมโิ ดยเฉลีย่ ประมาณ 05-07 องศาเซลเซียส

ข้อมูลพื้นฐานของ 10+3 ประเทศที่ควรรู้

43


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

เวลา ประเทศญี่ปุ่นเวลาเร็วกว่าประเทศไทย 2 ชั่วโมง ภาษา ประชากรญี่ปุ่นส่วนใหญ่ใช้ภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาหลัก ส่วนภาษาอังกฤษตามสถานที่ส�ำคัญ เช่น โรงแรม, สนามบิน, สถานทีท่ อ่ งเทีย่ ว หรือ ตาม เคาน์เตอร์ประชาสัมพันธ์ให้ขอ้ มูลท่องเทีย่ วสามารถพูดภาษาอังกฤษได้ เงินตรา สกุลเงินญีป่ นุ่ คือ เงินเยน ในท้องตลาดใช้ได้แต่เงินเยนเท่านัน้ ดอลล่าร์สหรัฐแลกได้ตามธนาคาร และโรงแรม อัตราแลกเปลี่ยน 100 เยน = ประมาณ 36-38 บาท (ข้อมูลจาก ธนาคารกรุงเทพ ณ วันที่ 27 สิงหาคม 2553) ธนบัตร ประกอบด้วย ธนบัตรใบละ 1,000 2,000 , 5,0000 , 10,000 เยน เงินเหรียญ ประกอบด้วย 1 , 5 , 10 , 50 , 100 , 500 เยน ระบบไฟฟ้า ญี่ปุ่น ใช้กระแสไฟฟ้า แบบ 110 V. (ไม่เหมือนประเทศไทย) ปลั๊กเสียบเป็นแบบ ขาแบน 2 ขา ฉะนั้นท่าน ที่มีเครื่องใช้ไฟฟ้า เช่น กล้องวิดิโอ โทรศัพท์เคลื่อนที่ เครื่องเป่าผม ควรมีปลั๊กแบบใช้ได้ทั่วโลก (Universal Adaptor) ติดตัวไปด้วย เพื่อความสะดวกของท่านกรุณาเตรียม ฟิล์มถ่ายรูป, แบตเตอร์รี่ ไปให้เพียงพอจาก ประเทศไทย การใช้โทรศัพท์ บัตรโทรศัพท์มขี ายทัว่ ไปตามเคาน์เตอร์โรงแรม, ซุปเปอร์มาร์เก็ต และสถานทีท่ อ่ งเทีย่ ว ราคาเริม่ 1,000 เยน วิธีโทรกลับประเทศไทย กรุงเทพฯ : กด 001-010-662 ตามด้วยหมายเลขโทรศัพท์เจ็ดหลัก ต่างจังหวัด : กด 001-010-66 ตามด้วยรหัสเมืองโดยตัดศูนย์ออก-หมายเลขโทรศัพท์หกหลัก โทรภายในญี่ปุ่น : กด รหัสเมือง / มือถือ ตามด้วยหมายเลขโทรศัพท์

44


chapter

2

สิ่งที่ควรทราบ เหตุฉกุ เฉินติดต่อหมายเลข ต�ำรวจหมายเลข 110 / ดับเพลิง, รถพยาบาล 119 หน่วยงานต�ำรวจให้ขา่ วสาร ภาษาอังกฤษทัว่ ไป 3501-0110 / แจ้งของหาย-รับของหายคืน 03-3814-4151 ในกรณีฉกุ เฉิน ท่านใช้โทรศัพท์ โดยไม่ต้องหยอดเหรียญ 10 เยน ที่ตู้โทรศัพท์สาธารณะ เพียงแต่กดปุ่มสีแดงที่เครื่องโทรศัพท์ก่อนหมุนเรียก, หากท่านต้องการแพทย์หรือปฐมพยาบาล โปรดติดต่อโรงแรมที่เคาน์เตอร์รับแขกด้านหน้า ญี่ปุ่นเป็นประเทศหมู่เกาะ ซึ่งประกอบไปด้วยเกาะต่าง ๆ กว่า 6,800 เกาะ เรียงรายเป็นแนวยาวจากด้าน ตะวันตกเฉียงเหนือ ของมหาสมุทรแปซิฟิก และตั้งอยู่ทางตะวันออกสุดของโลก จึงเป็นที่มาของชื่อ "ดินแดน อาทิตย์อุทัย" ญี่ปุ่นมีขนาดเล็กกว่าไทยประมาณ 0.7 เท่า แต่มีประชากรมากกว่าประมาณ 2 เท่า

ข้อมูลพื้นฐานของ 10+3 ประเทศที่ควรรู้

45


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

จีน

เขตการปกครองในประเทศจีน ที่มา:วิกิพีเดีย มณฑล : กว่างตง (กวางตุ้ง) • กานสู้ (กานซู) • กุ้ยโจว • จี๋หลิน • เจ้อเจียง • เจียงซี • เจียงซู • ส่านซี • ซาน ซี • ซานตง • ชิงไห่ • ซื่อชวน (เสฉวน) • ฝูเจี้ยน • หยุนหนาน (ยูนนาน) • หูเป่ย์ • หูหนาน • เหลียวหนิง • เหอเป่ย์ • เหอหนาน • ไห่หนาน (ไหหล�ำ) • อานฮุย (อันฮุย) • เฮย์หลงเจียง เขตปกครองตนเอง : กว่างซีจ้วง (กวางสี) • ซินเจียงอุยกูร์ • ทิเบต (ซีจ้าง) • มองโกเลียใน • หนิงเซี่ยหุย เขตบริหารพิเศษ : มาเก๊า • ฮ่องกง เทศบาลนคร : ฉงชิ่ง (จุงกิง) • ช่างไห่ (เซี่ยงไฮ้) • เป่ย์จิง (ปักกิ่ง) • เทียนจิน (เทียนสิน) เขตปกครองตนเอง กว่างซีจ้วง หรือ กวางสีจ้วง ที่ตั้งและอาณาเขต เขตปกครองตนเองกวางซีจ้วงมีพื้นที่ติดต่อดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ มณฑลกุ้ยโจว และมณฑลหูหนาน ประเทศจีน ทิศใต้ ติดต่อกับ ประเทศเวียดนาม และทะเลจีนใต้ ทิศตะวันออก ติดต่อกับ มณฑลกวางตุ้ง ประเทศจีน ทิศตะวันตก ติดต่อกับ มณฑลยูนนาน ประเทศจีน และประเทศเวียดนาม 46


chapter

2

การแบ่งเขตการปกครอง เขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วงแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 14 เมือง หรือจังหวัด 7 เทศมณฑลระดับเมือง 56 เทศมณฑล 34 เขต และ 12 เขตปกครองตนเอง ชื่อเรียก ภาษาไทย เขตปกครองตนเองกว่าง ซีจ้วง ภาษาจ้วง - อักษรโรมัน Gvangjsih Bouxcuengh Swcigih - ภาษาอังกฤษ Guangxi Zhuang Autonomous Region ข้อมูลทั่วไป ความหมายของชื่อ กว่าง - ชื่อภูมิภาค ซี - ตะวันตก "กว่างตะวันตก" ประเภทเขตปกครอง เขตปกครองตนเอง เมืองเอก หนานหนิง เมืองส�ำคัญ กุ้ยหลิน หลิวโจว พื้นที่ 236,700 ตร.กม. (อันดับที่ 9) ประชากร (ข้อมูลปี พ.ศ. 2547) - จ�ำนวน 48,890,000 (อันดับที่ 10) - ความหนาแน่น 207 คน/ตร.กม. (อันดับที่ 20)

ข้อมูลพื้นฐานของ 10+3 ประเทศที่ควรรู้

47


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

GDP (พ.ศ. 2547) - 332 พันล้านเหรินหมินปี้ (อันดับที่ 17) - ต่อหัว 6,790 เหรินหมินปี้ (อันดับที่ 28) กลุ่มชาติพันธุ์ - ฮั่น - 62 % - จ้วง - 32 % - เย้า - 3 % - ม้ง - 1 % - ต้ง - 0.7 % - เกาเหล่า - 0.4 % - จ�ำนวนจังหวัด 14 - จ�ำนวนเมือง/อ�ำเภอ 109 - จ�ำนวนต�ำบล 1396 ภูมิประเทศ กว่างซีมลี กั ษณะพืน้ ทีเ่ ป็นทีร่ าบแอ่งกระทะและเทือกเขาขนาดเล็กทีย่ าวคดเคีย้ วติดต่อกันเทือกเขาส�ำคัญ ได้แก่ ภูเขาต้าหมิงซันและต้าเหยาซัน เป็นต้น ภูมิอากาศ สภาพอากาศแบบเขตร้อน โดยทางเหนือเป็นเขตร้อนแถบเอเชียกลาง ทางใต้เป็นเขตร้อนแถบเอเชียใต้ อุณหภูมเิ ฉลีย่ 16-23 องศาเซลเซียส มีฝนตกชุก ฤดูรอ้ นยาวนานกว่าฤดูหนาว อุณหภูมสิ งู สุดในเดือนกรกฎาคม ประมาณ 27-29 องศาเซลเซียส และต�่ำสุดในเดือนมกราคมประมาณ 5.5-15.2 องศาเซลเซียส ปริมาณ น�้ำฝนเฉลี่ย 1,000-2,800มิลลิเมตรต่อปี

48


chapter

2

ทรัพยากร กว่างซีเป็นหนึง่ ในสิบเขตมณฑลทีผ่ ลิตแร่ทสี่ ำ� คัญของประเทศทีม่ กี ารส�ำรวจพบปริมาณสะสมมากติดอันดับ 1 ใน 10 ของประเทศ เศรษฐกิจ ปี พ.ศ. 2546 ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (จีดีพี) มีมูลค่าถึง 273,321 ล้านหยวน เพิ่มขึ้น 10.2% มูลค่าการเติบโตในภาคเกษตรกรรม 62,818 ล้านหยวน เพิ่มขึ้น 4.0% ภาคอุตสาหกรรม 100,592 ล้านหยวน เพิ่มขึ้น 14.5% ภาคบริการ 109,911 ล้านหยวน เพิ่มขึ้น 10.0% สัดส่วนจีดีพีในการผลิตทั้งสามภาคคิดเป็น 23.0 : 36.8 : 40.2 เกษตรกรรม ปี พ.ศ. 2546 มูลค่าการผลิตโดยรวมของสินค้าเกษตรกรรม ปศุสัตว์และประมงรวม 96,558 ล้านดอลลาร์ สหรัฐ เพิ่มขึ้น 4.0% มีการลดพื้นที่การเพาะปลูกลง 3.6 % ปริมาณการผลิตตลอดปี 14.84 ล้านตัน ลดลง 645,600 ตัน คิดเป็น 4.2 % การใช้พื้นที่ส�ำหรับพืชเศรษฐกิจเ พิ่มขึ้น 2.4 % โดยเฉพาะพื้นที่ปลูกข้าว เพิ่ม ขึ้น 70 % น�้ำตาลเพิ่มขึ้น 32.8 % ขณะที่มูลค่าการผลิตด้านการปศุสัตว์และประมง มีสัดส่วนเป็น 44.9 % ผลผลิตหลักคือ ข้าวนาน�้ำ ข้าวโพด มัน เป็นต้น อุตสาหกรรม อุตสาหกรรมหลัก ได้แก่ พลังงานไฟฟ้า รถยนต์ เครื่องจักรกล การถลุงโลหะ ท�ำน�้ำตาล อาหาร เป็นต้น อุตสาหกรรมที่ได้รับการสนับสนุนพิเศษได้แก่ อุตสาหกรรมอะลูมิเนียม

ข้อมูลพื้นฐานของ 10+3 ประเทศที่ควรรู้

49


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

เกาหลีใต้

มีจ�ำนวนประชากรประมาณ 50 ล้านคน ตั้งอยู่บนคาบสมุทรเกาหลี ปกครองด้วยระบบประชาธิปไตย เกาหลีใต้ ถือได้วา่ เป็นต้นแบบของการพัฒนาคุณภาพชีวติ ของประชาชน และสร้างศักยภาพทางเศรษฐกิจได้ อย่างรวดเร็ว และมั่นคง คนในชาติมีความรักชาติสูง และเคารพในผู้อาวุโสกว่าเสมอ คนที่แต่งงานแล้วจะมี ความเป็นอาวุโสกว่าด้วยเช่นกัน โดยหลักด�ำเนินชีวติ จะใช้ปรัชญาขงจือ้ สร้างความสมดุลให้กบั ทุกสัพสิง่ ดังจะ เห็นได้จากธงชาติ มีรูปหยิน และหยางที่เป็นวงกลมอยู่ตรงกลาง คนเกาหลียังรักษาขนบธรรมเนียมประเพณี ต่างๆไว้อย่างดี ดังจะเห็นได้จากงานเทศกาลที่มีเกือบทั้งปี วัฒนธรรม ประเพณีบางอย่างของชาวเกาหลี จะได้รบั อิทธิพลมาจากประเทศจีน และญีป่ นุ่ เนือ่ งจากมีพนื้ ทีต่ ดิ กัน และมีประวัตศิ าสตร์ทรี่ วมกันมายาวนาน หลายพันปี ทั้งการท�ำสงคราม ติดต่อค้าขาย ความร่วมมือระหว่างประเทศ ธงประจ�ำชาติของเกาหลีใต้ เป็นรูปของหยิน และหยาง แสดงถึงด้านสว่าง (สีแดง) และด้านมืด (สีนำ�้ เงิน) หรือจะเปรียบเทียบเป็นร้อน และเย็นก็ได้ โดยภาพจะสมมาตร ทั้ง 2 ส่วน แต่ละมุมจะแสดงถึง สวรรค์ โลก ไฟ และน�้ำ ด้านศาสนา คนเกาหลีสามารถเลือกนับถือศาสนาได้อย่างอิสระเสรี โดยส่วนใหญ่จะนับถือศาสนาพุทธ และลัทธิขงจื้อ เป็นต้นแบบของปรัชญาที่น�ำมาพัฒนาสังคม และวัฒนธรรมของประเทศเกาหลี ตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 เริ่มมี การเผยแพร่ศาสนาคริสต์ ทีม่ าจากทางฝัง่ ตะวันตก ท�ำให้คนเกาหลีบางส่วนหันไปนับถือศาสนาคริสต์เพิม่ ขึน้ เรื่อยๆ 50


chapter

2

ภูมิประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ ตั้งอยู่บนคาบสมุทรเกาหลี ทอดตัวไปทางทิศใต้ สู่มหาสมุทรแปซิฟิก ซึ่งอยู่ทางฝั่งตะวันออก ของทวีปเอเชีย มีความยาวประมาณ 1,000 กิโลเมตร และกว้างประมาณ 200 กว่ากิโลเมตร ด้านบนติดกับ เกาหลีเหนือ บนคาบสมุทรเกาหลี จะแบ่งออกเป็นเกาหลีเหนือ (ปกครองระบอบคอมมิวนิสต์) และเกาหลีใต้ (ปกครองระบอบประชาธิปไตย) มีเส้นขนานที่ 38 กั้นระหว่าง 2 ประเทศด้วยเขตปลอดทหาร สภาพภูมิประเทศของเกาหลีใต้ ราว 70% เป็นเทือกเขา ท�ำให้เกาหลี ถือว่าเป็นประเทศทีม่ เี ทือกเขามากทีส่ ดุ ประเทศหนึง่ ทีม่ คี วามสวยงาม ทางธรรมชาติอย่างมาก ดังจะเห็นได้จากสถานที่เที่ยวต่างๆ โดยตลอด ชายฝั่งด้านตะวันออกจะอยู่ติดกับทะเลจีนตะวันออก หรือทะเลญี่ปุ่น แนวตะวันออกจะเป็นเทือกเขาสูง ชัน ลาดตัวลงสู่ทะเล ด้านซ้ายติดกับทะเลเหลือง (Yellow sea) พื้นที่ค่อยๆลาดลงสู่ฝั่ง ฝั่งตะวันตก และทางด้านใต้ จะเป็นพื้นที่ท�ำเกษตรกรรมหลักของประเทศ ประกอบด้วย 9 จังหวัด (โด) เมืองหลวง กรุงโซล และมีเมืองทั้งหมด 77 เมือง (ซี) 88 มณฑล (กุน) ประกอบด้วยเมืองส�ำคัญ 6 เมือง คือ พูซาน แทกู อินชอน ควางจู แทจอน และอุลซาน ฤดูกาลต่างๆในเกาหลีใต้ ภูมิอากาศ ของประเทศเกาหลีใต้ จะแบ่งออกเป็น 4 ฤดู แต่ละฤดูจะมีความยาวนานประมาณ 3 เดือน คือ ฤดูหนาว Winter (ช่วงเดือนธันวาคม – กุมภาพันธ์) เป็นช่วงทีห่ มิ ะตก ถือได้วา่ เป็นฤดูอนั แสนโรแมนติก ของหนุม่ สาวชาวเกาหลี เพราะมีหนังเกาหลีหลายเรือ่ งจะถ่ายท�ำฉากทีห่ มิ ะก�ำลังตก โดยส่วนใหญ่จะตกหนัก ในช่วงเดือนมกราคม และเป็นช่วงที่หนาวที่สุดเช่นกัน อุณหภูมิอาจจะลดลงต�่ำ -10 ถึง -20 องศาได้เลย ส�ำหรับบางวัน ช่วงนี้จะเป็นช่วงเหมาะกับการเล่นสกี โดยสกีรีสอร์ทที่เกาหลีหลายแหล่งจะเปิดให้บริการ ใน อัตราค่าทีพ่ กั และค่าเช่าอุปกรณ์ไม่แพงนัก ทัวร์เกาหลีสว่ นใหญ่ของช่วงนีจ้ ะพาไปสัมผัสกับการเล่นสกี อีกทัง้ ยังมีเทศกาลน�้ำแข็ง และตกปลาเทร้าท์ภูเขาของเมืองฮวาซองเป็นที่ชื่นชอบของนักท่องเที่ยวเป็นอย่างมาก เนื่องจากจะได้ตกปลา และน�ำมารับประทานกันสดๆแล้ว ยังได้เห็นวิธีการตกปลาแบบที่ไม่เคยเห็นมาก่อน

ข้อมูลพื้นฐานของ 10+3 ประเทศที่ควรรู้

51


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

(จัดประมาณเดือนมกราคม ของทุกปี ขึ้นอยู่กับสภาพอากาศ) ฤดูใบไม้ผลิ Spring (ช่วงเดือนมีนาคม – พฤษภาคม) อากาศจะประมาณ 5-20 องศา เป็นช่วงที่ดอกไม้ ใบไม้เริม่ ผลิบาน ชาวเกาหลี ถือว่าเป็นฤดูแห่งการเริม่ ต้น และสดใส ทุกทีจ่ ะเต็มไปด้วยสีสนั สดใส ของดอกไม้ โดยจะเริ่มได้เห็นดอกทิวลิปในช่วงปลายเดือนมีนาคม ถึง ต้นพฤษภาคม และเทศกาลที่หลายคนตั้งตารอ คือ เทศกาลดอกซากุระเกาหลี (Cherry Blossom) โดยปกติจะจัดขึ้นในสัปดาห์ที่ 2 ของเดือนเมษายน ทั้งนี้ดอกซากุระจะบานตามสภาพอากาศ ต้องเช็คใกล้ๆวันเดินทางอีกทีว่าจะบานช่วงไหน ซึ่งจะบานไม่เกิน 2 สัปดาห์ก็จะร่วงหมด โดยดอกซากุระจะเริ่มบานจากทางใต้ของประเทศ ขึ้นมาทางเหนือ ฤดูร้อน Summer (ช่วงเดือนมิถุนายน – สิงหาคม) เป็นฤดูที่อากาศจะร้อนสุดในเกาหลี อุณหภูมิ อาจ จะสูงถึง 30 องศา และเป็นช่วงที่เหมาะกับการท�ำเกษตร เพราะมีความชุ่มชื่นของฝนตกเป็นระยะๆ นักท่อง เที่ยวที่เดินทางมาช่วงนี้ ต้องเตรียมตัว และดูพยากรณ์อากาศไว้ก่อน อย่างไรก็ตามช่วงนี้ถือได้ว่าเป็นช่วงที่ ราคาทัวร์เกาหลี หรือตั๋วเครื่องบินราคาถูกสุด และมักมีโปรโมชั่นส่งเสริมการขายดีๆออกมาให้นักท่องเที่ยว ในช่วงนี้ ฤดูใบไม้ร่วง Autumn (ช่วงเดือนกันยายน – พฤศจิกายน) อากาศช่วงนี้จะเย็นสบาย ประมาณ 10-20 องศา เป็นฤดูที่ถือได้ว่าสวยงามที่สุด ของเกาหลี ฤดูกาลท่องเที่ยวที่ส�ำคัญ นักท่องเที่ยวทั้งในเกาหลี และ ต่างชาติ จะตั้งตาคอย ชมปรากฏการณ์ธรรมชาติ คือใบไม้เปลี่ยนสี โดยใบเมเปิ้ล จะเปลี่ยนเป็นสีแดง และ ใบแปะก๊วย จะเปลี่ยนเป็นสีเหลือง ก่อนจะร่วงหมด ปกติแล้ว ช่วงที่ใบไม้เปลี่ยนสี จะเริ่มประมาณวันที่ 15 ตุลาคม – 15 พฤศจิกายน แล้วแต่สภาพอากาศด้วย จะมีสสี นั สดใส ประมาณ 2-3 สัปดาห์ จุดชมใบไม้เปลีย่ น สีที่ขึ้นชื่อที่สุด คือ อุทยานแห่งชาติซอรัคซาน แถวขึ้นกระเช้าจะยาวเหยียดหลายร้อยเมตรทีเดียว และอีกที นึงคือ เกาะนามิ จะได้ภาพบรรยากาศที่สุดแสนโรแมนติกทีเดียว

52


3

7 อาชีพเสรี ในกลุ่มอาเซียน

53


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

7 อาชีพเสรี ในกลุ่มอาเซียน

จากผลการประชุมสุดยอดอาเซียนครัง้ ที่ 9 ณ เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ได้มกี ารท�ำข้อตกลงยอมรับ ร่วมกัน เกีย่ วกับการเคลือ่ นย้ายการบริการ สินค้า แรงงาน การลงทุนอย่างเสรี โดยก�ำหนดให้ผมู้ คี ณ ุ สมบัติใน สาขาวิชาชีพ หรือแรงงานทีม่ คี วามเชีย่ วชาญในวิชาชีพ 7 สาขาสามารถเคลือ่ นย้ายไปท�ำงานทีป่ ระเทศอืน่ ๆ ในอาเซียนได้อย่างเสรีและถูกกฎหมาย เพือ่ เป็นการเพิม่ อัตราการแข่งขันทางเศรษฐกิจในภูมภิ าคโลก ส่งเสริม อาเซียนให้เป็นตลาดเดียว และมีฐานการผลิตร่วมกัน โดยจะเริ่มในปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ.2015) ในเบื้องต้นนี้ ประเทศสมาชิกอาเซียนได้จัดท�ำข้อตกลงยอมรับร่วมกัน ใน 7 สาขาวิชาชีพ คือ

54


chapter

3

1. อาชีพวิศวกร (Engineering Services) ลักษณะทั่วไปของอาชีพ วิศวกร คือ ผู้น�ำเอาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้กับปัญหาต่าง ๆ ในลักษณะการคิดค้น การออกแบบ การปรับปรุงการเปลี่ยนแปลงทรัพยากรธรรมชาติต่าง ๆ ที่มีอยู่ เพื่อส่งเสริมสภาวะแวดล้อม ให้เหมาะสมกับความเป็นอยู่ของมนุษย์ การท�ำงานในวิชาชีพวิศวกรรมแยกได้ดังนี้ 1. งานประเภทการส�ำรวจ ได้แก่ งานแขนงวิศวกรรมส�ำรวจ วิศวกรรมโยธาทั่วไป 2 .งานประเภทออกแบบ เป็นงานท�ำในส�ำนักงาน ถือเป็นหน่วยสมองของงานวิศวกรรมเพราะ มีหน้าที่ ออกแบบ สิ่งก่อสร้างทุกประเภท ทั้งอาคารบ้านเรือน สะพาน เขื่อนตลอดจนออก แบบเครื่องจักรกลต่าง ๆ 3. งานประเภทควบคุมและบ�ำรุงรักษา ควบคุมระบบการท�ำงานของเครื่องกลในสถานที่ต่าง ๆ ตลอดจน การควบคุมการวางแผนปฏิบัติงานด้านวิศวกรรมทุกชนิด 4. งานประเภทวิจัย เป็นงานที่ค้นหว้าแสวงหาความรู้ความก้าวหน้าใหม่ ๆ ในทางวิศวกรรม หรือหาวิธีใหม่ ๆ 5. งานประเภทเผยแพร่ความรู้ หมายถึงการสอนของครู- อาจารย์ ในสถาบันการศึกษา คุณลักษณะของผู้ประกอบอาชีพ 1. ควรเป็นผู้ที่มีใจรักงานช่าง มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และถนัดในเครื่องยนต์โลก 2. ควรมีความรู้พื้นฐานที่ดีในหมวดคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์โดยเฉพาะวิชาฟิสิกส์และ การค�ำนวณ 3. มีการถ่ายทอดความคิดออกมาได้อย่างชัดเจน และเป็นรูปธรรม 4. ควรมีลักษณะเป็นผู้น�ำ สุขุมเยือกเย็น รอบคอบ และมีความอดทน มีเหตุผลและเชื่อมั่นในตนเอง 5. มีความส�ำนึกในการรับผิดชอบต่อสังคมส่วนรวม 6. มีคุณธรรม จริยธรรม รายได้ วิศวกรสามารถท�ำงานควบคุมงานระบบในอาคารต่างๆ ของงานราชการงานเอกชนและงานส่วนตัว, ทางหลวง,เขื่อนต่างๆ ท�ำงานในโรงงานอุตสาหกรรม, ครู-อาจารย์ในมหาวิทยาลัย ,รับราชการในกรม และ องค์กรต่างๆ,ท�ำงานรัฐวิสาหกิจเช่น การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย รายได้ต่อเดือน (จบใหม่) เดือนละ 14,532 - 20,900 บาท

7 อาชีพเสรี ในกลุ่มอาเซียน

55


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

2. อาชีพพยาบาล (Nursing Services) ลักษณะทั่วไปของอาชีพ มีหน้าที่ให้บริการพยาบาลระดับวิชาชีพแก่ผู้ป่วยทางการหรือทางจิต ผู้ที่ได้รับบาดเจ็บ หรือทุพพลภาพ และผูส้ งู อายุในสถาบันทีม่ กี ารรักษา การป้องกันโรค การส่งเสริมสุขภาพ วางแผนและให้บริการด้านพยาบาล สมบูรณ์แบบตามหลักวิทยาศาสตร์ โดยค�ำนึงถึงความต้องการของแต่ละคนตามลักษณะของโรคทีเ่ ป็น สังเกต และบันทึกความเปลีย่ นแปลงในคนไข้ รายงานให้แพทย์ทราบ การเกิดอาการผิดธรรมดาของร่างกาย อารมณ์ และจิตใจ ซึ่งมีความส�ำคัญในการวินิจฉัยโรค จัดให้คนไข้ได้มีสิ่งแวดล้อมที่ถูกหลักอนามัย เรียบร้อยและ ปลอดภัย ป้องกันและควบคุมการเผยแพร่ของโรคติดเชื้อ สอนคนไข้ ครอบครัวคนไข้และประชาชนทั่วไปให้ รู้จักรักษาและส่งเสริมสุขภาพอนามัย คุณลักษณะของผู้ประกอบอาชีพ 1. ควรเป็นผู้มีสติปัญญาดีพอควร เพราะการเรียนจะต้องมีพื้นฐานมาจากวิขาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 2. เป็นผู้มีจิตใจเมตตากรุณา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เห็นอกเห็นใจเพื่อนมนุษย์ที่ถูกโรคภัยไข้เจ็บเบียดเบียน รายได้ มีโอกาสท�ำงานทางด้านการบริการสุขภาพอนามัยของประชาชนได้มากมายเช่น เป็นพยาบาลอนามัยใน ชุมชน,เป็นพยาบาลในโรงพยาบาล, เป็นพยาบาลในโรงเรียนพยาบาล, เป็นพยาบาลประจ�ำองค์การ, เป็น พยาบาลประจ�ำสถานศึกษา, เป็นพยาบาลประจ�ำคลีนิคเอกชน, เป็นพยาบาลประจ�ำโรงงานอุตสาหกรรม, เป็นพยาบาลประจ�ำสายการบินต่างๆ, เป็นพยาบาลในราชการทหารทุกกองทัพ,เป็นพยาบาลพิเศษเฉพาะผู้ ป่วยแต่ละราย,ตั้งสถานพยาบาลผดุงครรถ์ส่วนตัว ฯลฯ รายได้ต่อเดือน(จบใหม่)เดือนละ 14,457 - 21,622 บาท

56


chapter

3

3. อาชีพสถาปนิก (Architectural Services) ลักษณะทั่วไปของอาชีพ เป็นบุคคลผู้เกี่ยวข้องในการออกแบบ และ วางแผน ในการก่อสร้าง หรือที่เรียกว่างานสถาปัตยกรรม โดย สถาปนิก จะเป็นผูท้ เี่ ข้าใจในมาตรฐานการก่อสร้างของอาคาร เข้าใจถึงหน้าทีใ่ ช้สอยของอาคารนัน้ รวมถึงวัสดุ ที่จะน�ำมาเป็นส่วนประกอบของสิ่งก่อสร้างนั้น สถาปนิกจ�ำเป็นต้องได้รับการศึกษาทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ และได้ัรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรม ถึงจะสามารถท�ำงานในวิชาชีพสถาปนิกได้ ซึ่งคล้ายกับ การท�ำงานในสาขาวิชาชีพอื่น คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชีพ 1. มีคุณวุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ 2. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เป็นคนมีความละเอียดรอบคอบ และถี่ถ้วน 3. มีความสามารถในการรู้จักประยุกต์ใช้วัสดุ เพื่อประโยชน์ใช้สอยสูงสุด 4. มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์โปรแกรมในการช่วยวาดรูปหรือออกแบบ 5. มีระเบียบวินัย เข้าใจถึงการบริหารธุรกิจ 6. มีมนุษยสัมพันธ์ดี ให้ความร่วมมือกับ ทีมงานดี 7. มีวิสัยทัศน์ที่ดี และปรับปรุงความรู้ความสามารถอยู่ตลอดเวลา 8. มีความสามารถเป็นทั้งผู้น�ำและผู้ตาม 9. มีสุขภาพแข็งแรง สามารถไปท�ำงานต่างจังหวัดหรือต่างประเทศได้ 10. มีความซื่อสัตย์ รายได้ รับราชการในหน่วยงานต่างๆในต�ำแหน่งสถาปนิกผู้ช่วยสถาปนิก หรือเป็นที่ปรึกษางานสถาปัตยกรรม ครู-อาจารย์ท�ำงานในบริษัทสถาปนิกต่างๆของเอกชน และองค์การระหว่างประเทศรายได้ต่อเดือน (จบใหม่) เดือนละ 15,756 - 19,781 บาท

7 อาชีพเสรี ในกลุ่มอาเซียน

57


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

4. อาชีพการส�ำรวจ (Surveying Qualifications) ลักษณะทั่วไปของอาชีพ ทดลองในเรื่องราวต่าง ๆ ตามที่ผู้วิจัยสนใจ เพื่อศึกษาหาความจริงเรื่องนั้น ๆ มี การเก็บรวบรวมข้อมูล การสร้างเครื่องมือ การทดลอง การเขียนรายงาน อาชีพนักวิจัย แบ่งออกเป็นหลายสาขาตามวิชาชีพต่าง ๆ โดยการวิจัยแบ่งออกเป็นวิจัยเพื่อศึกษาพื้นฐาน วิจัยเพื่อประยุกต์ วิจัยเพื่อการทดลอง ส�ำหรับการวิจัย -ทางวิทยาศาสตร์ เช่น วิจยั เรือ่ งยารักษาโรค เรือ่ งเชือ้ โรคต่าง ๆ เรือ่ งเทคโนโลยี เรือ่ งการส�ำรวจพืน้ ทีต่ า่ งๆ ฯลฯ -การวิจยั ทางสังคม เช่น ศึกษาพฤติกรรมมนุษย์ สัตว์ วัฒนธรรม สภาพแวดล้อม ความต้องการ ความพึงพอใจ ต่างๆ ฯลฯ -การวิจัยทางการศึกษา เช่น การทดลองเครื่องมือส�ำหรับพัฒนาการศึกษา การวิจัยในชั้นเรียน การวิจัยเพื่อ ศึกษาข้อมูล ฯลฯ คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชีพ 1. ความรู้ความสามารถตามสาขาการวิจัยนั้น ๆ 2. มีความละเอียดรอบคอบ 3. มีความซื่อสัตย์ สุจริต 4. ชอบศึกษาค้นคว้า 5. รักการเรียนรู้ 6. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 7. มีความรู้ทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 8. มีความคิดเป็นระบบ และท�ำงานเป็นระบบ 9. ชอบการทดลอง 10. มีความเป็นนักพัฒนา 11. มีความมุ่งมั่น 12. มีความอดทน

58


chapter

3

รายได้ ผู้จบการศึกษาระดับปริญญาตรีที่เข้าท�ำงานในภาครัฐกับในภาคเอกชนโดยผู้รับราชการจะได้รับค่า จ้างเริ่มต้นที่เดือนละ7,260 บาท พร้อมทั้งสวัสดิการต่างๆ ตามระเบียบของราชการ ส่วนในกรณีปฏิบัติงาน กับภาคเอกชน ซึ่งเป็นกิจการร่วมทุนขนาดใหญ่ท่ีด�ำเนินการส�ำรวจแหล่งพลังงานและทรัพยากรเหมืองแร่ ต่างๆจะได้รบั อัตราเงินเดือนเริม่ ต้นประมาณ 20,000 – 29,000บาทต่อเดือน โดยอัตราค่าจ้างจะแตกต่างตาม ประสบการณ์การท�ำงานที่ผ่านมารวมทั้งสวัสดิการต่างๆ ค่อนข้างดีเป็นพิเศษโดยเฉพาะ ในเรื่องการประกัน ชีวิตสุขภาพและโบนัส (พิเศษ) ประจ�ำปี

5. อาชีพนักบัญชี (Accountancy Services) ลักษณะทั่วไปของอาชีพ เป็นผูใ้ ห้บริการทางบัญชีแก่สถานประกอบการธุรกิจ สถาบันเอกชน หรือหน่วยงานรัฐบาลรวมถึงการควบคุม ดูแลการท�ำบัญชี การตรวจสอบบัญชี การวิเคราะห์รายการธุรกิจและบันทึกผลในทางการเงิน การวางแผนทาง บัญชีและวางรูประบบบัญชีแก่สถานประกอบการต่างๆ คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชีพ 1. ควรเป็นบุคคลที่มีความละเอียดรอบคอบ มีความถนัดในเรื่องคณิตศาสตร์ 2. ชอบการติดต่อประชาสัมพันธ์กบั คนทัว่ ไป รักความก้าวหน้า มีความคิดริเริม่ มีความสามารถวิเคราะห์ปญ ั หา วิเคราะห์งานได้อย่างเป็นระบบ รายได้ สมุหบ์ ญ ั ชี หรือต�ำแหน่งเกีย่ วกับบัญชีขององค์การธุรกิจ หรือองค์การรัฐบาลท�ำหน้าทีเ่ กีย่ วกับงบประมาณ หรือแผนกการเงิน ในบริษัทเอกชนหรือห้างร้านต่างๆท�ำงานในธนาคาร บริษัทประกันภัย ท�ำงานในองค์การ รัฐบาลในหน้าทีผ่ บู้ ริหารการเงินผูอ้ ำ� นวยการบัญชี นักวิเคราะห์และวางแผนทางการเงิน ประกอบอาชีพอิสระ เป็นผู้ตรวจสอบบัญชีอนุญาติ รายได้ต่อเดือน(จบใหม่) เดือนละ 9,000บาทขึ้นไป

7 อาชีพเสรี ในกลุ่มอาเซียน

59


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

6. อาชีพทันตแพทย์ (Dental Practitioners) ลักษณะทั่วไปของอาชีพ ให้การรักษาโรค และความผิดปกติของฟันและช่องปากด้วยการศัลยกรรม ให้ยา และวิธกี ารอืน่ ๆ ตรวจปาก และฟันของผูป้ ว่ ย ใช้เครือ่ งเอ็กซเรย์และทดสอบตามความจ�ำเป็น เพือ่ จะได้ทราบถึงลักษณะของความผิดปกติ พิจารณาผลของการตรวจและการทดสอบ และตกลงใจเลือกวิธกี ารรักษา หารูฟนั ผุ ท�ำความสะอาดและอุดรู ฟันผุ และถอนฟันที่เป็นโรคหรือไม่ได้ใช้ให้เกิดประโยชน์ พิมพ์ปากและจ�ำลองแบบของเหงือก และส่วนอื่นๆ ของปาก เพือ่ ใช้ในการประดิษฐ์ฟนั ปลอม และใส่ฟนั ปลอม ใส่เครือ่ งยึดเพือ่ จัดฟันทีม่ ลี กั ษณะผิดปกติ หรือเก ให้อยูใ่ นต�ำแหน่งทีถ่ กู ต้อง รักษาโรคฟัน ปากหรือเหงือกด้วยการใช้ยาหรือศัลยกรรม ให้ยาชาหรือวางยาสลบ ตามความจ�ำเป็น อาจท�ำเฉพาะทางในการรักษาอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือมากกว่า คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชีพ 1. ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีทางทันตแพทย์ 2. มีความรู้ทางวิทยาศาสตร์และภาษาอังกฤษเป็นอย่างดี 3. มีความรู้ในการค้นและการประดิษฐ์ 4. มีสุขภาพแข็งแรง บุคลิกดี รู้หลักจิตวิทยา คล่องแคล่ว พูดจาเก่ง 5. มีฐานะทางการเงินดีพอสมควร 6. มีความซื่อสัตย์ในวิชาชีพของตน มีคุณธรรมและจริยธรรมทางการแพทย์ ไม่ใช้ความรู้ทางวิชาการของตน ไปหลอกลวงหรือท�ำลายผู้อื่น รายได้ ท�ำงานในหน่วยงานของรัฐบาลรัฐวิสาหกิจ เอกชน หรือเปิดคลินิกอิสระของตนเอง ดังนั้นรายได้ของ ทันตแพทย์จึงขึ้นอยู่กับการเลือกแหล่งงานที่ประกอบอาชีพ รายได้ต่อเดือน(จบใหม่) เดือนละ 48,359บาท ขึ้นไป

60


chapter

3

7. อาชีพแพทย์ (Medical Practitioners) ลักษณะทั่วไปของอาชีพ ตรวจร่างกาย วินิจฉัยโรค สั่งยา ผ่าตัดเล็ก รักษาอาการบาดเจ็บ โรค และอาการผิดปกติต่างๆ ของผู้ป่วย ตรวจผู้ป่วยและตรวจหรือสั่งตรวจทางเอ็กซเรย์หรือการทดสอบพิเศษ ถ้าต้องการรายละเอียดเพิ่มเติม พิจารณาผลการตรวจและผลการทดสอบ ปรึกษาแพทย์เฉพาะทางหรือแพทย์อนื่ ตามความจ�ำเป็น และวินจิ ฉัย ความผิดปกติ สัง่ ยา ท�ำการผ่าตัดเล็กหรือการรักษาอย่างอืน่ และแนะน�ำผูป้ ว่ ยในเรือ่ งการปฏิบตั ติ นทีจ่ ำ� เป็น ส�ำหรับการทะนุถนอมสุขภาพหรือการกลับคืนสู่สภาพปกติ บริหารยาและยาสลบตามต้องการ ท�ำการดูแล หญิงตั้งครรภ์ในระยะก่อนคลอด ท�ำการคลอด และให้การดูแลรักษามารดา และทารก หลังคลอด เก็บรักษา บันทึกเกี่ยวกับผู้ป่วยที่ได้ตรวจโรคที่เป็นและการรักษาที่ได้ให้หรือสั่ง อาจผสมยา อาจรับผิดชอบและสั่งงาน ส�ำหรับพยาบาลในโรงพยาบาลหรือสถาบันอื่น คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชีพ 1. ส�ำเร็จการศึกษาทางสาขาวิชาแพทย์ศาสตร์ 2. ขยันสนใจในการศึกษาหาความรู้ทางวิทยาการแพทย์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษเป็นอย่างดี 3. มีสุขภาพสมบูรณ์ ทั้งร่างกาย และจิตใจไม่พิการหรือทุพพลภาพ ปราศจากโรค 4. สามารถอุทิศตนยอมเสียสละเวลา และความสุขส่วนตัว เพื่อช่วยเหลือผู้อื่นที่เดือดร้อนจากการ เจ็บป่วย มีจิตใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ไม่รังเกียจผู้เจ็บป่วย มีความเมตตา และมีความรักในเพื่อนมนุษย์มีความเสียสละที่จะ เดินทางไปรักษาพยาบาลผู้คนในชุมชนทั่วประเทศ 5. มีมารยาทดี สามารถเข้ากับบุคคลอื่นได้ทุกระดับมีความอดทน อดกลั้น และมีความกล้าหาญ 6. มีความซื่อสัตย์ในวิชาชีพของตน มีคุณธรรมและจริยธรรมทางการแพทย์ ไม่ใช้ความรู้ทางวิชาการของตน ไปหลอกลวงหรือท�ำลายผู้อื่น รายได้ รับราการในโรงพยาบาลของรัฐหรือกระทรวงสาธารณสุขท�ำงานในโรงพยาบาลเอกชน เปิดคลีนกิ ส่วนตัว รักษาโรค หรือตัง้ โรงพยาบาลเอกชนของตนเองท�ำงานนอกเวลาในโรงพยาบาลเอกชนทัว่ ไป หลังจากเลิกงาน ประจ�ำแล้วรายได้ต่อเดือน(จบใหม่) เดือนละ 51,285 บาทขึ้นไป

7 อาชีพเสรี ในกลุ่มอาเซียน

61


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

ข้อตกลงยอมรับร่วมในคุณสมบัตินักวิชาชีพของอาเซียน

ความเป็นมา ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครัง้ ที่ 9 เมือ่ วันที่ 7 ตุลาคม 2003 ณ เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ผูน้ ำ� อาเซียนทั้ง 10 ประเทศได้ร่วมลงนามในแถลงการณ์ Bali Concord II โดยในแถลงการณ์ได้มีการก�ำหนด ให้จดั ท�ำความตกลงยอมรับร่วม (ASEAN Mutual Recognition Arrangement : MRA) ด้านคุณสมบัตใิ น สาขาวิชาชีพหลักภายในปี 2008 เพือ่ อ�ำนวยความสะดวกในการเคลือ่ นย้ายนักวิชาชีพ/แรงงานเชีย่ วชาญ/ ผู้มีความสามารถพิเศษของอาเซียนได้อย่างเสรี ซึ่งต่อมารัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนได้มีการลงนามใน ข้อตกลงสาขาต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1. ข้อตกลงยอมรับร่วมของอาเซียนด้านบริการวิศวกรรม ลงนามในปี 2005 2. ข้อตกลงยอมรับร่วมสาขาวิชาชีพการพยาบาลของอาเซียน ลงนามในปี 2006 3. ข้อตกลงยอมรับร่วมของอาเซียนด้านบริการสถาปัตยกรรม และกรอบข้อตกลงการยอมรับในคุณสมบัติ ด้านการส�ำรวจ ลงนามในปี 2007 4. ส�ำหรับข้อตกลงยอมรับร่วมสาขาวิชาชีพแพทย์ของอาเซียน ข้อตกลงยอมรับร่วมสาขาวิชาชีพ ทันตแพทย์ของอาเซียน และกรอบข้อตกลงยอมรับร่วมในสาขาบัญชีของอาเซียน ล่าสุดในการประชุม รัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน ครั้งที่ 40 เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม 2008 นั้น สามารถตกลงกันได้ในสาระส�ำคัญ แล้ว และในการประชุม อาเซียนทั้ง 9 ประเทศ ได้ลงนามในข้อตกลงยอมรับร่วมทั้ง 3 สาขา จะมีเพียง ประเทศไทยเท่านั้นที่ยังไม่ได้ลงนามในข้อตกลงดังกล่าว

62


chapter

3

ส�ำหรับรายละเอียดของข้อตกลงยอมรับร่วมทั้ง 7 สาขา สามารถสรุปได้ดังต่อไปนี้ สาระส�ำคัญของข้อตกลงยอมรับร่วมในคุณสมบัตินักวิชาชีพของอาเซียนในแต่ละสาขา 1. ข้อตกลงยอมรับร่วมของอาเซียนด้านบริการวิศวกรรม (ASEAN Mutual Recognition Arrangement on Engineering Services) หลักการ เปิดให้วิศวกรที่มีคุณสมบัติตามที่ก�ำหนดสามารถจดทะเบียนเป็น วิศวกรวิชาชีพอาเซียน (ASEAN Chartered Professional Engineer) ซึ่งการจดทะเบียนจะช่วยอ�ำนวยความสะดวกในการขอใบอนุญาต ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมในประเทศอาเซียนอื่นได้ โดยต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบภายในของประเทศนั้นๆ ทั้งนี้ในบางประเทศรวมทั้งไทยได้ก�ำหนดให้วิศวกรอาเซียนต้องปฏิบัติงานร่วมกับวิศวกรท้องถิ่น ส่วนวิศวกร ที่ต้องการจดทะเบียนจะต้องผ่านการประเมินจากคณะกรรมการก�ำกับดูแล (Monitoring Committee) ใน แต่ละประเทศ โดยของประเทศไทยจะด�ำเนินการโดยสภาวิศวกร 2. ข้อตกลงยอมรับร่วมสาขาวิชาชีพการพยาบาลของอาเซียน (ASEAN Mutual Recognition Arrangement on Nursing Services) หลักการ เปิดให้พยาบาลที่มีคุณสมบัติตามที่ก�ำหนดสามารถจดทะเบียน หรือ ขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการ พยาบาลในประเทศอาเซียนอืน่ ได้ โดยต้องปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบภายในของประเทศนัน้ ๆ โดยพยาบาลต่างชาติ ที่ขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพในประเทศอื่น ต้องผ่านการประเมินและอยู่ภายใต้การดูแลของหน่วยงาน ก�ำกับดูแลในประเทศที่รับให้ท�ำงาน ส�ำหรับหน่วยงานที่ก�ำกับดูแลของประเทศไทย คือ สภาการพยาบาล 3. ข้อตกลงยอมรับร่วมของอาเซียนด้านบริการสถาปัตยกรรม (ASEAN Mutual Recognition Arrangement on Architectural Services) หลักการ เปิดให้สถาปนิกที่มีคุณสมบัติตามที่ก�ำหนดสามารถจดทะเบียนเป็นสถาปนิกอาเซียน (ASEAN Architect)

7 อาชีพเสรี ในกลุ่มอาเซียน

63


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

ซึง่ จะช่วยอ�ำนวยความสะดวก ในการขอใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรมในประเทศอาเซียนอืน่ ได้ โดยต้องปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบภายในของประเทศนัน้ ๆ โดยในบางประเทศรวมทัง้ ไทยได้กำ� หนดให้สถาปนิก อาเซียนต้องปฏิบัติงานร่วมกับสถาปนิกท้องถิ่น และสถาปนิกที่ต้องการจดทะเบียนจะต้องผ่านการประเมิน จากคณะกรรมการก�ำกับดูแล (Monitoring Committee) ในแต่ละประเทศ 4. กรอบข้อตกลงยอมรับร่วมในคุณสมบัติ ด้านการส�ำรวจของอาเซียน (Asean Framework Arrangement for The Mutual Recognition of Surveying Qualifications) หลักการ ก�ำหนดแนวทางเพื่อใช้เป็นพื้นฐานในการเจรจาข้อตกลงยอมรับร่วมในคุณสมบัติด้านการส�ำรวจใน อนาคตของอาเซียน ไม่ว่าจะเป็นการเจรจา สองฝ่ายหรือหลายฝ่าย โดยวางหลักเกณฑ์พื้นฐานส�ำหรับการ ยอมรับ ซึง่ ประกอบด้วยหลักเกณฑ์เรือ่ ง การศึกษา การสอบ ประสบการณ์ กระบวนการให้การยอมรับ ระบบ ข้อมูลเอกสาร ระเบียบวินัยและหลักจริยธรรม มาตรฐานและแนวปฏิบัติสากล ซึ่งข้อตกลงยอมรับร่วมใน คุณสมบัติด้านการส�ำรวจ ที่จะจัดท�ำขึ้นในอนาคตจะต้องไม่ลดทอนสิทธิ อ�ำนาจ หน้าที่ของสมาชิกอาเซียน แต่ละประเทศในการก�ำกับดูแล และออกกฎ ระเบียบ หรือกฎหมายภายใน และต้องไม่สร้างอุปสรรค ที่เกิน จ�ำเป็น ส่วนการออกใบอนุญาตและการขึ้นทะเบียนของนักส�ำรวจ อาเซียนจะต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบ ภายในของแต่ละประเทศด้วย นอกจากนี้กรอบข้อตกลงได้ก�ำหนดกรอบการด�ำเนินการและขอบเขตความ รับผิดชอบของหน่วยงานที่รับผิดชอบสาขาการส�ำรวจไว้ด้วย แม้ว่ากรอบข้อตกลงยอมรับร่วมนี้จะยังไม่ใช่ ข้อตกลงยอมรับร่วมในคุณสมบัตขิ อง วิชาชีพส�ำรวจ แต่กเ็ ป็นการวางกรอบแนวทางเพือ่ อ�ำนวยความสะดวก ในการเข้าไปท�ำงานในวิชาชีพนีใ้ นอนาคต เมือ่ สมาชิกอาเซียนใดมีความพร้อมก็สามารถเข้าร่วมเจรจายอมรับ คุณสมบัตขิ องกันและกันได้ โดยใช้กรอบข้อตกลงนีเ้ ป็นพืน้ ฐานในการเจรจา ซึง่ ในระหว่างนีป้ ระเทศอาเซียน ที่ยังไม่พร้อมก็สามารถศึกษากรอบข้อตกลงนี้ และใช้เป็นแนวทางในการเตรียมความพร้อมของตนทั้งในแง่ การส่งบุคลากรออกไปและการรับมือกับบุคลากรจากอาเซียนอาจจะเข้ามาท�ำงานในไทย 5. ข้อตกลงยอมรับร่วมสาขาวิชาชีพแพทย์ของอาเซียน (ASEAN Mutual Recognition Arrangement on Medical Practitioners ) หลักการ เปิดให้แพทย์ที่มีคุณสมบัติตามที่ก�ำหนดสามารถจดทะเบียนหรือขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพแพทย์ ในประเทศอาเซียนอื่นได้ โดยต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบภายในของประเทศนั้น ซึ่งแพทย์ต่างชาติที่ขอรับ

64


chapter

3

ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพในประเทศอืน่ ต้องผ่านการประเมินและ อยูภ่ ายใต้การดูแลของหน่วยงานก�ำกับดูแล ในประเทศที่รับให้ท�ำงาน ในส่วนของหน่วยงานที่ก�ำกับดูแลของประเทศไทย คือ แพทยสภา และ กระทรวง สาธารณสุข และการด�ำเนินงานในเรื่องนี้ของอาเซียนจะอยู่ภายใต้การดูแลของ ASEAN Joint Coordinating Committee on Medical Practitioners ซึง่ ประกอบด้วยผูแ้ ทนจากหน่วยงานก�ำกับดูแลของประเทศสมาชิก 6. ข้อตกลงยอมรับร่วมสาขาวิชาชีพทันตแพทย์ของอาเซียน (ASEAN Mutual Recognition Arrangement on Dental Practitioners ) หลักการ เปิดให้ทันตแพทย์ที่มีคุณสมบัติตามที่ก�ำหนดสามารถจดทะเบียนหรือขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ทันตแพทย์ในประเทศอาเซียนอื่นได้ โดยต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบภายในของประเทศนั้นๆ ซึ่งทันตแพทย์ ต่างชาติที่ขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพในประเทศอื่น ต้องผ่านการประเมินและอยู่ภายใต้การดูแลของ หน่วยงานก�ำกับดูแล ในประเทศที่รับให้ท�ำงาน หน่วยงานที่ก�ำกับดูแลของประเทศไทย คือ ทันตแพทยสภา และกระทรวงสาธารณสุข 7. กรอบข้อตกลงยอมรับร่วมในสาขาบัญชีของอาเซียน (ASEAN Mutual Recognition Arrangement Framework on Accountancy Services) หลักการ ก�ำหนดแนวทางเพือ่ ใช้เป็นพืน้ ฐานในการเจรจาข้อตกลงยอมรับร่วมด้านบัญชีในอนาคตของอาเซียน ไม่วา่ จะ เป็นการเจรจาสองฝ่ายหรือหลายฝ่าย โดยวางหลักเกณฑ์พนื้ ฐานส�ำหรับการยอมรับ ซึง่ ประกอบด้วยหลักเกณฑ์ เรื่อง การศึกษา การสอบ ประสบการณ์ กระบวนการให้การยอมรับ ระบบข้อมูลเอกสาร ระเบียบวินัยและ หลักจริยธรรม มาตรฐานและแนวปฏิบัติสากล ทั้งนี้ ข้อตกลงยอมรับร่วมที่จะจัดท�ำขึ้นในอนาคตจะต้องไม่ ลดทอนสิทธิ อ�ำนาจ หน้าที่ของสมาชิกอาเซียนแต่ละประเทศในการก�ำกับดูแลและออกกฎ ระเบียบ หรือ กฎหมายภายใน แต่ตอ้ งไม่สร้างอุปสรรคทีเ่ กินจ�ำเป็น และการออกใบอนุญาตและการขึน้ ทะเบียนของวิชาชีพ บัญชีอาเซียนจะต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบภายในของแต่ละประเทศ

7 อาชีพเสรี ในกลุ่มอาเซียน

65


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

ประโยชน์ที่ประเทศสมาชิกอาเซียนจะได้จากการด�ำเนินการตามข้อตกลงยอมรับร่วมในแต่ละสาขา จะ ช่วยให้ผทู้ มี่ ใี บอนุญาตในประเทศเดิมและมีประสบการณ์สามารถขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพในประเทศ อาเซียนอื่นได้สะดวกขึ้น โดยจะช่วยลดขั้นตอนในการตรวจสอบ ในการรับรองวุฒิการศึกษา หรือความรู้ทาง วิชาชีพ แต่ทั้งนี้ยังคงต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบภายในของประเทศนั้นๆ ส่วนการด�ำเนินงานของทั้ง 7 สาขา จะอยูภ่ ายใต้การดูแลของคณะกรรมการประสานงานในแต่ละสาขา ซึง่ ประกอบด้วยผูแ้ ทนจากประเทศสมาชิก และหลังจากการลงนามในข้อตกลงแล้ว ประเทศสมาชิกทีพ่ ร้อมด�ำเนินการตามข้อตกลงจะต้องมีหนังสือแจ้ง วันที่จะมีผลใช้บังคับให้สมาชิกอื่นทราบ โดยผ่านฝ่ายเลขาธิการอาเซียน ส่วนประเทศสมาชิกที่ยังไม่พร้อม ด�ำเนินการตามข้อตกลงจะต้องมีหนังสือแจ้งให้สมาชิกอื่นทราบโดยผ่านฝ่ายเลขาธิการอาเซียนด้วยเช่นกัน ที่มา : กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ

66


ซาลามัต ดาตัง กูมุสตา

สะบายดี

หนีห่าว สวัสดี

ซัวสเด ซาลามัต เซียง

ชินจ่าว

มิงกาลาบา

4

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษา และหลักสูตรที่เปิดสอน ภาษาต่างประเทศ ข้อมูลหลักสูตรที่ สกอ. รับทราบการให้ความเห็นชอบหลักสูตรแล้ว (ข้อมูล ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2554)

67


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลักสูตร สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประกาศนียบัตรบัณฑิต ธุรกิจแฟชั่น ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง การจัดการอุดมศึกษา ครุศาสตรบัณฑิต(5ปี) มัธยมศึกษา-ภาษาฝรั่งเศส (เอกคู่) ครุศาสตรบัณฑิต มัธยมศึกษา-ภาษาเยอรมัน(เอกคู่) ครุศาสตรบัณฑิต มัธยมศึกษา-ภาษาอังกฤษ(เอกคู่,เอกคู่) นิเทศศาสตรบัณฑิต การจัดการการสื่อสาร บริหารธุรกิจบัณฑิต การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ บริหารธุรกิจบัณฑิต การบัณชี วิทยาศาสตรบัณฑิต การออกแบบสถาปัตยกรรม วิทยาศาสตรบัณฑิต เคมีประยุกต์ วิทยาศาสตรบัณฑิต วิทยาศาสตร์จิตวิทยา วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมการออกแบบและการผลิตยานยนต์ วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมสารสนเทศและกาสื่อสาร วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมนาโน วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมอากาศยาน ศิลปศาสตรบัณฑิต การออกแบบนิเทศศิลป์ ศิลปศาสตรบัณฑิต เศรษฐศาสตร์ อักษรศาสตรบัณฑิต ภาษาจีน อักษรศาสตรบัณฑิต ภาษาญี่ปุ่น อักษรศาสตรบัณฑิต ภาษาบาลีและสันสกฤต อักษรศาสตรบัณฑิต ภาษาฝรั่งเศส อักษรศาสตรบัณฑิต ภาษาเยอรมัน อักษรศาสตรบัณฑิต ภาษาและวัฒนธธรรม

ประเภทหลักสูตร ภาษาอังกฤษ นานาชาติ

ภาษาอังกฤษ นานาชาติ นานาชาติ นานาชาติ นานาชาติ นานาชาติ นานาชาติ นานาชาติ นานาชาติ นานาชาติ นานาชาติ นานาชาติ

นานาชาติ

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หลักสูตร สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประกาศนียบัตรบัณฑิต วิศวกรรมโยธา วิทยาศาสตรบัณฑิต เกษตรเขตร้อน วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมซอฟต์แวร์และความรู้ วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาจีน ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาญี่ปุ่น ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสําหรับชาวต่างประเทศ ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาฝรั่งเศส ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาเยอรมัน ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษ ศิลปศาสตรบัณฑิต เศรษฐศาสตร์การประกอบการ

68

ประเภทหลักสูตร นานาชาติ นานาชาติ นานาชาติ นานาชาติ นานาชาติ นานาชาติ

นานาชาติ


chapter

4

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หลักสูตร สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประเภทหลักสูตร ประกาศนียบัตรบัณฑิต การสอนภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ ประกาศนียบัตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพ ภาษาอังกฤษ ประกาศนียบัตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษสาหรับธุรกิจและการจัดการ วารสารศาสตรบัณฑิต สื่อสารมวลชนศึกษา ภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตรบัณฑิต เทคโนโลยีการจัดการ นานาชาติ วิทยาศาสตรบัณฑิต เทคโนโลยีสารสนเทศ นานาชาติ วิทยาศาสตรบัณฑิต เทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม นานาชาติ วิทยาศาสตรบัณฑิต เมคคาทรอนิกส์ นานาชาติ วิทยาศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมการจัดการ นานาชาติ วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมเคมี โครงการความร่วมมือกับมหาวิทยาลัย น็อตติ้งแฮม วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมเคมี นานาชาติ วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมเคมี ภาษาอังกฤษ วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมเครื่องกล โครงการความร่วมมือกับมหาวิทยาลัย น็อตติ้งแฮม วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมเครื่องกล นานาชาติ วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมเครื่องกล ภาษาอังกฤษ วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมไฟฟ้า โครงการความร่วมมือกับมหาวิทยาลัย น็อตติ้งแฮม วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมไฟฟ้า โครงการความร่วมมือ กับมหาวิทยาลัย แห่งรีไจน่า วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมไฟฟ้า ภาษาอังกฤษ วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมไฟฟ้าก�ำลัง นานาชาติ วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมโยธา นานาชาติ วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมโยธา ภาษาอังกฤษ วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมระบบสิ่งก่อสร้าง นานาชาติ วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และการสื่อสาร นานาชาติ วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมอุตสาหการ โครงการความร่วมมือ กับมหาวิทยาลัย น็อตติ้งแฮม วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมอุตสาหการ โครงการความร่วมมือ กับมหาวิทยาลัย แห่งรีไจน่า วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมอุตสาหการ นานาชาติ วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมอุตสาหการ ภาษาอังกฤษ ศิลปศาสตรบัณฑิต จีนศึกษา นานาชาติ ศิลปศาสตรบัณฑิต/อนุปริญญาสาขาวิชา การสื่อสารภาษาอังกฤษเชิงธุรกิจ นานาชาติ ศิลปศาสตรบัณฑิต/อนุปริญญาสาขาวิชา ภาษาจีน ศิลปศาสตรบัณฑิต/อนุปริญญาสาขาวิชา ภาษาญี่ปุ่น ศิลปศาสตรบัณฑิต/อนุปริญญาสาขาวิชา ภาษาฝรัง่ เศส ศิลปศาสตรบัณฑิต/อนุปริญญาสาขาวิชา ภาษาเยอรมัน

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาและหลักสูตรที่เปิดสอนภาษาต่างประเทศ

69


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

หลักสูตร สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประเภทหลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต/อนุปริญญาสาขาวิชา ภาษารัสเซีย ศิลปศาสตรบัณฑิต/อนุปริญญาสาขาวิชา ภาษาและวรรณคดีองั กฤษ ศิลปศาสตรบัณฑิต/อนุปริญญาสาขาวิชา ภาษาศาสตร์ ศิลปศาสตรบัณฑิต/อนุปริญญาสาขาวิชา ภาษาอังกฤษ ศิลปศาสตรบัณฑิต/อนุปริญาสาขาวิชา รัสเซียศึกษา ศิลปศาสตรบัณฑิต/อนุปริญญาสาขาวิชา สหวิทยาการสังคมศาสตร์ ศิลปศาสตรบัณฑิต/อนุปริญญาสาขาวิชา ภาษาอังกฤษ-อเมริกนั ศึกษา นานาชาติ ศิลปศาสตรบัณฑิต/อนุปริญญาสาขาวิชา เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง หลักสูตร สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประเภทหลักสูตร วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมซอฟต์แวร์ นานาชาติ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ หลักสูตร สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประเภทหลักสูตร ประกาศนียบัตรบัณฑิต การสอนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต่างประเทศ ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู นานาชาติ การศึกษาบัณฑิต(5 ปี) ภาษาอังกฤษ ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาตะวันออก (วิชาเอกภาษาจีน วิชาเอก ภาษาญี่ปุ่น วิชาเอกภาษาเกาหลี วิชาเอก ภาษา เขมร และวิชาเอกภาษาเวียดนาม) ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาฝรั่งเศส ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาเพื่ออาชีพ ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยศิลปากร หลักสูตร สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประเภทหลักสูตร ประกาศนียบัตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษธุรกิจ ประกาศนียบัตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว ประกาศนียบัตรบัณฑิต เภสัชเวท นานาชาติ บริหารธุรกิจบัณฑิต การจัดการโรงแรม นานาชาติ เภสัชศาสตรบัณฑิต นานาชาติ ศิลปบัณฑิต การออกแบบมัลติมีเดีย นานาชาติ ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาตะวันออก ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาฝรั่งเศส ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษ ศึกษาศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษ

70


chapter

หลักสูตร อักษรศาสตรบัณฑิต อักษรศาสตรบัณฑิต อักษรศาสตรบัณฑิต อักษรศาสตรบัณฑิต อักษรศาสตรบัณฑิต อักษรศาสตรบัณฑิต บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา

ภาษาเกาหลี ภาษาจีน ภาษาญี่ปุ่น ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน ภาษาอังกฤษ การจัดการโรงแรมและการท่องเที่ยว ธุรกิจระหว่างประเทศ

มหาวิทยาลัยบูรพา หลักสูตร สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา การศึกษาบัณฑิต (5 ปี) การสอนภาษาต่างประเทศ บริหารธุรกิจบัณฑิต วิทยาศาสตรบัณฑิต วาริชศาสตร์ วิทยาศาสตรบัณฑิต วิทยาการคอมพิวเตอร์ วิทยาศาสตรบัณฑิต วิทยาศาสตร์การอาหาร ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาจีน ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาเกาหลี ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาญี่ปุ่น ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาฝรั่งเศสเพื่อการสื่อสาร ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยนเรศวร หลักสูตร สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา นิติศาสตรบัณฑิต บริหารธุรกิจบัณฑิต การจัดการทรัพยากรมนุษย์ บริหารธุรกิจบัณฑิต การจัดการท่องเที่ยว พยาบาลศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต พม่าศึกษา ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาเกาหลี ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาจีน ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาญี่ปุ่น ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาฝรั่งเศส ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษ ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารธุรกิจ

4

ประเภทหลักสูตร

นานาชาติ นานาชาติ

ประเภทหลักสูตร นานาชาติ นานาชาติ นานาชาติ นานาชาติ

ประเภทหลักสูตร นานาชาติ นานาชาติ นานาชาติ นานาชาติ

นานาชาติ

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาและหลักสูตรที่เปิดสอนภาษาต่างประเทศ

71


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

มหาวิทยาลัยแม่โจ้ หลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิค

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ภาษาอังกฤษ

ประเภทหลักสูตร

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ หลักสูตร สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประเภทหลักสูตร พยาบาลศาสตรบัณฑิต นานาชาติ วิทยาศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมซอฟต์แวร์ นานาชาติ วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมเครื่องกล นานาชาติ ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาจีน ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาญี่ปุ่น ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างชาติ นานาชาติ ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาฝรั่งเศส ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาเยอรมัน ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษ ศึกษาศาสตรบัณฑิต ภาษาฝรั่งเศส ศึกษาศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยขอนแก่น หลักสูตร สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประกาศนียบัตรบัณฑิต ระบบเกษตรเชิงชีวภาพ ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาจีน ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาญี่ปุ่น ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาฝรั่งเศส ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาเยอรมันเพื่ออาชีพ ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาสเปน ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษ ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษธุรกิจ ศึกษาศาสตรบัณฑิต การสอนภาษาอังกฤษให้ผู้มีพื้นฐานภาษาอื่นนอกจากภาษาอังกฤษ ศึกษาศาสตรบัณฑิต(5 ปี) การสอนภาษาจีนในฐานะภาษาต่างประเทศ ศึกษาศาสตรบัณฑิต(5 ปี) การสอนภาษาญี่ปุ่น ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาจีนธุรกิจ ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษ เภสัชศาสตรบัณฑิต นานาชาติ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี หลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต

72

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ภาษาจีนและการสื่อสาร ภาษาญี่ปุ่น ภาษาเวียดนามและการสื่อสาร ภาษาอังกฤษและการสื่อสาร

ประเภทหลักสูตร นานาชาติ

นานาชาติ

นานาชาติ

ประเภทหลักสูตร


chapter

4

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม หลักสูตร สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประเภทหลักสูตร การศึกษาบัณฑิต อังกฤษ การศึกษาบัณฑิต(5 ปี) ภาษาอังกฤษ บริหารธุรกิจบัณฑิต ธุรกิจระหว่างประเทศ นานาชาติ ศิลปศาสตรบัณฑิต การจัดการท่องเที่ยวและการโรงแรม นานาชาติ ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาเขมร ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาจีน ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาญี่ปุ่น ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ นานาชาติ ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาลาว ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาเวียดนาม ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษ ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษธุรกิจ ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารนานาชาติ นานาชาติ ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาเกาหลี วิชาโทภาษาเกาหลี ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาฝรั่งเศส มหาวิทยาลัยทักษิณ หลักสูตร การศึกษาบัณฑิต การศึกษาบัณฑิต (5 ปี) การศึกษาบัณฑิต (5 ปี) ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ภาษาอังกฤษ การศึกษา (วิชาเอกการวัดและประเมินทาง การศึกษา วิชาเอกการศึกษาปฐมวัย วิชาเอก คณิตศาสตร์ วิชาเอกจิตวิทยาการแนะแนว วิชาเอก พลศึกษา วิชาเอกภาษาไทย วิชาเอกภาษาอังกฤษ วิชาเอกวิทยาศาสตร์-เคมี วิชาเอกวิทยาศาสตร์- ชีววิทยา วิชาเอกวิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์ และวิชาเอกสังคมศึกษา) ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษามลายู ภาษาอังกฤษ

ประเภทหลักสูตร

มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ หลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ภาษาอาหรับ

ประเภทหลักสูตร

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษธุรกิจ

ประเภทหลักสูตร

มหาวิทยาลัยนครพนม หลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาและหลักสูตรที่เปิดสอนภาษาต่างประเทศ

73


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ หลักสูตร สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา บริหารธุรกิจบัณฑิต การจัดการ บริหารธุรกิจบัณฑิต การจัดการการการท่องเที่ยว บริหารธุรกิจบัณฑิต การจัดการการท่องเที่ยว บริหารธุรกิจบัณฑิต การจัดการในอิสลาม บริหารธุรกิจบัณฑิต การจัดการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ บริหารธุรกิจบัณฑิต การตลาด บริหารธุรกิจบัณฑิต การประกันภัย บริหารธุรกิจบัณฑิต การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ บริหารธุรกิจบัณฑิต (ต่อเนื่อง) การบัญชี บัญชีบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต จีนศึกษา ศิลปศาสตรบัณฑิต ไทยศึกษา ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาเกาหลี ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาจีน ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาจีน ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาญี่ปุ่น ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาไทย ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาฝรั่งเศส ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาเพื่อการพัฒนา ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษามลายูและมลายูศึกษา ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาเยอรมัน ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาและวรรณคดีไทย ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษ ศิลปศาสตรบัณฑิต วิเทศธุรกกิจ (จีน ) ศิลปศาสตรบัณฑิต(ศึกษาศาสตร์) ภาษาอังกฤษ ศิลปศาสตรบัณฑิต ไทยศึกษา

ประเภทหลักสูตร ภาษาอังกฤษ นานาชาติ สองภาษา สองภาษา สองภาษา สองภาษา สองภาษา สองภาษา สองภาษา นานาชาติ นานาชาติ สองภาษา นานาชาติ สองภาษา

สองภาษา นานาชาติ นานาชาติ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี หลักสูตร ประกาศนียบัตรบัณฑิต

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ภาษาอังกฤษศึกษา

ประเภทหลักสูตร

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี หลักสูตร สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประเภทหลักสูตร ศิลปมหาบัณฑิต/วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ทวิปริญญาโท) การออกแบบโดยเน้นมนุษย์เป็นศูนย์กลาง นานาชาติ วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต/วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(ทวิปริญญาโท) เทคโนโลยีและการจัดการพลังงาน นานาชาติ วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต/วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(ทวิปริญญาโท) เทคโนโลยีและการจัดการสิ่งแวดล้อม นานาชาติ วิทยาศาสตรบัณฑิต วิทยาการคอมพิวเตอร์ ภาษาอังกฤษ วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ นานาชาติ

74


chapter

หลักสูตร วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต ศิลปบัณฑิต สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา วิศวกรรมเคมี วิศวกรรมโยธา วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม วิศวกรรมอัตโนมัต ออกแบบนิเทศศิลป์ การออกแบบอุตสาหกรรม สถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรมมภายใน

มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง หลักสูตร สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา กายภาพบบ�ำบัดบัณฑิต บริหารธุรกิจบัณฑิต การจัดการธุรกิจการบิน บริหารธุรกิจบัณฑิต การจัดการอุตสาหกรรมการบริการ บริหารธุรกิจบัณฑิต บริหารธุรกิจ บัญชีบัณฑิต วิทยาศาสตรบัณฑิต การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาศาสตรบัณฑิต เคมีประยุกต์ วิทยาศาสตรบัณฑิต เทคโนโลยีความงาม วิทยาศาสตรบัณฑิต เทคโนโลยีมัลติมีเดียและการสร้างภาพเคลื่อนไหว วิทยาศาสตรบัณฑิต วิทยาการคอมพิวเตอร์ วิทยาศาสตรบัณฑิต วิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ วิทยาศาสตรบัณฑิต วิทยาศาสตร์เครื่องส�ำอาง วิทยาศาสตรบัณฑิต วิทยาศาสตร์ชีวภาพ วิทยาศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมซอฟต์แวร์ วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาจีนธุรกิจ ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาและวัฒนธรรมไทย ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษ ศึกษาศาสตรบัณฑิต (5 ปี) การสอนภาษาจีน เศรษฐศาสตรบัณฑิต สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาจีน มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง หลักสูตร สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู บริหารธุรกิจบัณฑิต การเงินและการธนาคาร บริหารธุรกิจบัณฑิต การตลาด บริหารธุรกิจบัณฑิต การบริหารทั่วไป บริหารธุรกิจบัณฑิต ธุรกิจระหว่างประเทศ

4

ประเภทหลักสูตร นานาชาติ นานาชาติ นานาชาติ นานาชาติ นานาชาติ นานาชาติ นานาชาติ นานาชาติ ประเภทหลักสูตร สองภาษา สองภาษา สองภาษา สองภาษา สองภาษา สองภาษา สองภาษา สองภาษา สองภาษา สองภาษา สองภาษา สองภาษา สองภาษา สองภาษา สองภาษา สองภาษา สองภาษา สองภาษา สองภาษา สองภาษา สองภาษา ประเภทหลักสูตร ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาและหลักสูตรที่เปิดสอนภาษาต่างประเทศ

75


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

หลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศึกษาศาสตรบัณฑิต ( 5 ปี) ศึกษาศาสตรบัณฑิต (5 ปี) ศึกษาศาสตรบัณฑิต (5 ปี)

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ธุรกิจระหว่างประเทศ วารสารศาสตร์สื่อประสม วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ การสื่อสารบูรณาการ ภาษาจีน ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน ภาษารัสเซีย ภาษาสเปน ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ วิชาเอกภาษาจีน เอกภาษาอังกฤษ เอกภาษาฝรั่งเศส

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช หลักสูตร สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประกาศนียบัตร ประกาศนียบัตรวิชาภาษาอังกฤษเฉพาะอาชีพ ประกาศนียบัตร ประกาศนียบัตรวิชาภาษาอังกฤษเฉพาะอาชีพ ประกาศนียบัตร ประกาศนียบัตรวิชาภาษาอังกฤษเฉพาะอาชีพ ประกาศนียบัตร ประกาศนียบัตรวิชาภาษาอังกฤษเฉพาะอาชีพ ประกาศนียบัตร ประกาศนียบัตรวิชาภาษาอังกฤษเฉพาะอาชีพ ประกาศนียบัตร ประกาศนียบัตรวิชาภาษาอังกฤษเฉพาะอาชีพ ประกาศนียบัตร ประกาศนียบัตรวิชาภาษาอังกฤษเฉพาะอาชีพ ประกาศนียบัตร ประกาศนียบัตรวิชาภาษาอังกฤษเฉพาะอาชีพ ประกาศนียบัตร ประกาศนียบัตรวิชาภาษาอังกฤษเฉพาะอาชีพ ประกาศนียบัตร ประกาศนียบัตรวิชาภาษาอังกฤษเฉพาะอาชีพ ศิลปศาสตรบัณฑิต/ อนุปริญญาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา หลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต

ภาษาอังกฤษ

ประเภทหลักสูตร กฎหมาย การเกษตร การท่องเที่ยว การโรงแรม การสาธารณสุข คอมพิวเตอร์ งานส�ำนักงาน ช่าง ธุรกิจ ครู ภาษาอังกฤษ

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประเภทหลักสูตร ภาษาจีน เป็นหลักสูตรเดิมของมหาวิทยาลัยนเรศวร ภาษาญี่ปุ่น เป็นหลักสูตรเดิมของมหาวิทยาลัยนเรศวร ภาษาอังกฤษ เป็นหลักสูตรเดิมของมหาวิทยาลัยนเรศวร

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย หลักสูตร สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ศาสนศาสตรบัณฑิต การสอนภาษาอังกฤษ ศาสนศาสตรบัณฑิต ภาษาบาลีและสันสกฤต ศาสนศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษ

76

ประเภทหลักสูตร ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ

ประเภทหลักสูตร


chapter

4

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย หลักสูตร สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประเภทหลักสูตร พุทธศาสตรบัณฑิต (5 ปี) การสอนภาษาอังกฤษ พุทธศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษ พุทธศาสตรบัณฑิต มหายานศึกษา นานาชาติ สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์ หลักสูตร ประกาศนียบัตรบัณฑิต ประกาศนียบัตรบัณฑิต

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประเภทหลักสูตร พิษวิทยาสิ่งแวดล้อม นานาชาติ วิทยาศาสตร์ชีวภาพประยุกต์ นานาชาติ

มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย หลักสูตร ประกาศนียบัตรบัณฑิต ครุศาสตรบัณฑิต (5 ปี) ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประเภทหลักสูตร การจัดการโครงการ นานาชาติ ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาญี่ปุ่น ภาษาฝรั่งเศสธุรกิจ ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษธุรกิจ ภาษาอังกฤษศึกษา ภาษาอังกฤษศึกษา นานาชาติ ภาษาจีน และวิชาโท ภาษาญี่ปุ่นและวิชาโท ภาษาฝรั่งเศสธุรกิจ และวิชาโท ภาษาอังกฤษ วิชาโทภาษาอังกฤษ ภาษาจีน และวิชาโท ภาษาญี่ปุ่นและวิชาโท

มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ หลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต ครุศาสตรบัณฑิต ครุศาสตรบัณฑิต ครุศาสตรบัณฑิต(5 ปี) ครุศาสตรบัณฑิต(5 ปี) ครุศาสตรบัณฑิต (ต่อเนื่อง) ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ภาษาจีน ภาษาฝรั่งเศส ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ ภาษาเกาหลี ภาษาจีน ภาษาญี่ปุ่น ภาษาฝรั่งเศสธุรกิจ ภาษาอังกฤษ

ประเภทหลักสูตร

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาและหลักสูตรที่เปิดสอนภาษาต่างประเทศ

77


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

หลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ภาษาอังกฤษธุรกิจ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารระหว่างประเทศ ภาษาอังกฤษธุรกิจระหว่างประเทศ

ประเภทหลักสูตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏล�ำปาง หลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต(5 ปี) ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาอังกฤษ

ประเภทหลักสูตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ หลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต ครุศาสตรบัณฑิต(5 ปี) ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประเภทหลักสูตร ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ ภาษาจีนธุรกิจ ภาษาญี่ปุ่น ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษธุรกิจ ภาษาอังกฤษธุรกิจ นานาชาติ ภาษาอังกฤษธุรกิจ

มหาวิทยาลัยราชภัฏก�ำแพงเพชร หลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต (5 ปี) ครุศาสตรบัณฑิต (5 ปี) ศิลปศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ภาษาจีน ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษธุรกิจ

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ หลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต (5 ปี) วิทยาศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประเภทหลักสูตร วิชาเอกภาษาอังกฤษ วิทยาการคอมพิวเตอร์ นานาชาติ ภาษาจีน ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ นานาชาติ ภาษาอังกฤษ-ภาษาจีน

78

ประเภทหลักสูตร


chapter

มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม หลักสูตร สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ครุศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษ ครุศาสตรบัณฑิต(5 ปี) ภาษาอังกฤษ ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษธุรกิจ ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาจีน และวิชาโทภาษาจีน

ประเภทหลักสูตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ หลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต ครุศาสตรบัณฑิต (5 ปี) ครุศาสตรบัณฑิต (ต่อเนื่อง) ศิลปศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ

ประเภทหลักสูตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย หลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต(5 ปี) ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษธุรกิจ

ประเภทหลักสูตร

มหาวิยาลัยราชภัฏสกลนคร หลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต ครุศาสตรบัณฑิต (5 ปี) ครุศาสตรบัณฑิต (ต่อเนื่อง) ศิลปศาสตรบัณฑิต อนุปริญญา

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประเภทหลักสูตร ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ อนุปริญญาศิลปศาสตร์ ภาษาอังกฤษธุรกิจ

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี หลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต (5 ปี) บริหารธุรกิบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประเภทหลักสูตร ภาษาอังกฤษ การจัดการทั่วไป นานาชาติ ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษธุรกิจ

มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม หลักสูตร สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ครุศาสตรบัณฑิต (5 ปี) ภาษาอังกฤษ

4

ประเภทหลักสูตร

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาและหลักสูตรที่เปิดสอนภาษาต่างประเทศ

79


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา หลักสูตร สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ครุศาสตรบัณฑิต(5 ปี) ภาษาอังกฤษ ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาจีน ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาญี่ปุ่น ศลปศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษ ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษธุรกิจ

ประเภทหลักสูตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ หลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต (5 ปี) ศิลปศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประเภทหลักสูตร ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ (แขนงวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ และแขนงวิชา ภาษาอังกฤษ)

มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ หลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต (5 ปี) ศิลปศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี หลักสูตร สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ครุศาสตรบัณฑิต ภาษาจีน ครุศาสตรบัณฑิต ภาษาฝรั่งเศส ครุศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษ ครุศาสตรบัณฑิต (ต่อเนื่อง) ภาษาอังกฤษ ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาจีน ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาญี่ปุ่น ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาฝรั่งเศสธุรกิจ ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษ ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษธุรกิจ ครุศาสตรบัณฑิต (5 ปี) ภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ หลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต

80

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาญี่ปุ่น ภาษาอังกฤษธุรกิจ

ประเภทหลักสูตร

ประเภทหลักสูตร

ประเภทหลักสูตร


chapter

มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ หลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต(5 ปี) ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ภาษาอังกฤษ ภาษาญี่ปุ่น ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษธุรกิจ

ประเภทหลักสูตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์ หลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ภาษาอังกฤษ

ประเภทหลักสูตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด หลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต (5 ปี) ศิลปศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประเภทหลักสูตร ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน สองภาษา

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ หลักสูตร สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ครุศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษ ครุศาสตรบัณฑิต (5 ปี) ภาษาจีน ครุศาสตรบัณฑิต (5 ปี) ภาษาอังกฤษ ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาญี่ปุ่น ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษ

มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี หลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต (5 ปี) ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต

4

ประเภทหลักสูตร

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประเภทหลักสูตร ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาญี่ปุ่น ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาและหลักสูตรที่เปิดสอนภาษาต่างประเทศ

81


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา หลักสูตร สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาญี่ปุ่น ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษ

มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์ หลักสูตร สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ครุศาสตรบัณฑิต (5 ปี) ภาษาอังกฤษ ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษธุรกิจ

ประเภทหลักสูตร

ประเภทหลักสูตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏร�ำไพพรรณี หลักสูตร ครุศาสตบัณฑิต (5 ปี) ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาอังกฤษธุรกิจ

ประเภทหลักสูตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี หลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต ครุศาสตรบัณฑิต(5 ปี) ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ ภาษาญี่ปุ่น ภาษาอังกฤษธุรกิจ ภาษาอังกฤษธุรกิจท่องเที่ยว

ประเภทหลักสูตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม หลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต ครุศาสตรบัณฑิต (5 ปี) ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษธุรกิจ

ประเภทหลักสูตร

82


chapter

มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี หลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ครุศาสตรบัณฑิต (5 ปี)

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษธุรกิจ ภาษาอังกฤษ

มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง หลักสูตร สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ครุศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษ ครุศาสตรบัณฑิต (5 ปี) ภาษาอังกฤษ ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาจีน ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษธุรกิจ

4

ประเภทหลักสูตร

ประเภทหลักสูตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต หลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต บริหารธุรกิจบัณฑิต

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประเภทหลักสูตร ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร ภาษาอังกฤษ การจัดการท่องเที่ยวและบริการ นานาชาติ

มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา หลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต (5 ปี) ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาอังกฤษ

ประเภทหลักสูตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา หลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต (5ปี) ศิลปศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ

ประเภทหลักสูตร

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาและหลักสูตรที่เปิดสอนภาษาต่างประเทศ

83


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช หลักสูตร สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ครุศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษ ครุศาสตรบัณฑิต (5 ปี) ภาษาอังกฤษ ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาญี่ปุ่น ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษ ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษธุรกิจ

มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี หลักสูตร สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ครุศาสตรบัณฑิต (5 ปี) ภาษาอังกฤษ ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาจีน ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษธุรกิจ

ประเภทหลักสูตร

ประเภทหลักสูตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต ครุศาสตรบัณฑิต (5 ปี) ครุศาสตรบัณฑิต (5 ปี) ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาอังกฤษ ภาษาญี่ปุ่นธุรกิจ ภาษาฝรั่งเศสธุรกิจ ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษธุรกิจ ภาษาญี่ปุ่นธุรกิจ ภาษาไทย ภาษาฝรั่งเศสธุรกิจ ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษธุรกิจ

มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี หลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประเภทหลักสูตร ภาษาจีน ภาษาไทย ภาษาอังกฤษธุรกิจ วัฒนธรรมนานาชาติศึกษาเพื่อการท่องเที่ยว นานาชาติ

84

ประเภทหลักสูตร


chapter

4

มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา หลักสูตร สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประเภทหลักสูตร ประกาศนียบัตรบัณฑิต ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู นานาชาติ ครุศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษ ครุศาสตรบัณฑิต (5 ปี) ภาษาอังกฤษ ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาจีน ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาญี่ปุ่น ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษ ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษธุรกิจ

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร หลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต (5 ปี) ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศสธุรกิจ และวิชาโท ภาษาอังกฤษ และวิชาโท ภาษาอังกฤษธุรกิจ

ประเภทหลักสูตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต หลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ภาษาฝรั่งเศสธุรกิจ ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษธุรกิจ

ประเภทหลักสูตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา หลักสูตร ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู ครุศาสตรบัณฑิต(5ปี) บริหารธุรกิจบัณฑิต บริหารธุรกิจบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา การสอนคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ศิลปกรรม การศึกษา ปฐมวัย และการศึกษาพิเศษ การจัดการโรงแรมและการท่องเที่ยว บริหารธุรกิจระหว่างประเทศ ธุรกิจการบิน ธุรกิจภัตตาคารและที่พัก ภาษาจีน และวิชาโท ภาษาญี่ปุ่นและวิชาโท ภาษาอังกฤษและวิชาโทภาษาอังกฤษ วิชาโท ภาษาอังกฤษธุรกิจ อุตสาหกรรมท่องเที่ยว

ประเภทหลักสูตร นานาชาติ สังคมศึกษา นานาชาติ นานาชาติ นานาชาติ นานาชาติ ฝรั่งเศส นานาชาติ

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาและหลักสูตรที่เปิดสอนภาษาต่างประเทศ

85


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี หลักสูตร สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประเภทหลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต การตลาด นานาชาติ บริหารธุรกิจบัณฑิต การบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ นานาชาติ บริหารธุรกิจบัณฑิต การบัญชี นานาชาติ บริหารธุรกิจบัณฑิต ภาษาอังกฤษธุรกิจ นานาชาติ บริหารธุรกิจบัณฑิต ระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์ นานาชาติ บริหารธุรกิจบัณฑิต (ต่อเนื่อง) ภาษาอังกฤษธุรกิจ ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ หลักสูตร สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประเภทหลักสูตร บริหารธรธุรกิจบัณฑิค การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ นานาชาติ บริหารธุรกิจบัณฑิต ภาษาอังกฤษธุรกิจ บริหารธุรกิจบัณฑิต ระบบสารสนเทศ นานาชาติ บริหารธุรกิจบัณฑิต (ต่อเนื่อง) ภาษาอังกฤษธุรกิจ ศิลปศาสตรบัณฑิต การท่องเที่ยวและการบริการ นานาชาติ ศิลปศาสตรบัณฑิต การโรงแรม ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาญี่ปุ่น ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล บริหารธุรกิจบัณฑิต การตลาด นานาชาติ บริหารธุรกิจบัณฑิต การบัญชี นานาชาติ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก หลักสูตร สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล

ประเภทหลักสูตร

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร หลักสูตร สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประเภทหลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต ธุรกิจระหว่างประเทศ ภาษาอังกฤษ บริหารธุรกิจบัณฑิต ภาษาอังกฤษธุรกิจ บริหารธุรกิจบัณฑิต ภาษาอังกฤษธุรกิจ ภาษาอังกฤษ บริหารธุรกิจบัณฑิต (ต่อเนื่อง) ภาษาอังกฤษ ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล

86


chapter

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย หลักสูตร สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล

4

ประเภทหลักสูตร

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา หลักสูตร สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประเภทหลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ นานาชาติ ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ หลักสูตร สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา บริหารธุรกิจบัณฑิต ภาษาอังกฤษธุรกิจ บริหารธุรกิจบัณฑิต (ต่อเนื่อง) ภาษาอังกฤษธุรกิจ ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาจีน ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาญี่ปุ่น ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน หลักสูตร สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล

มหาวิทยาลัยกรุงเทพ หลักสูตร เทคโนโลยีบัณฑิต นิเทศศาสตรบัณฑิต บริหารธุรกิจบัณฑิต บริหารธุรกิจบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต

ประเภทหลักสูตร

ประเภทหลักสูตร

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประเภทหลักสูตร คอมพิวเตอร์กราฟิกส์และมัลติมีเดีย นานาชาติ นิเทศศาสตร์ นานาชาติ การตลาด นานาชาติ ความเป็นผู้ประกอบการ นานาชาติ ภาษาจีนเพื่อ การท่องเที่ยวและการโรงแรม ภาษาจีนเพื่อ ธุรกิจระหว่างประเทศ ภาษาไทยเพื่อ การสื่อสาร ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษธุรกิจ นานาชาติ

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาและหลักสูตรที่เปิดสอนภาษาต่างประเทศ

87


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี หลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประเภทหลักสูตร ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร สองภาษา ภาษาอังกฤษ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน หลักสูตร สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประเภทหลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต การจัดการ นานาชาติ

มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต หลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต บริหารธุรกิจบัณฑิต บริหารธุรกิจบัณฑิต บริหารธุรกิจบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประเภทหลักสูตร การจัดการ ภาษาอังกฤษ การตลาด ภาษาอังกฤษ คอมพิวเตอร์ธุรกิจ ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษธุรกิจ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ภาษาอังกฤษ

มหาวิทยาลัยเกริก หลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต(ต่อเนื่อง) ศิลปศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประเภทหลักสูตร ภาษาจีน ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ภาษาอังกฤษเพื่อกาสื่อสารทางธุรกิจ ภาษาอังกฤษกฤษเพื่อธุรกิจและอาชีพ นานาชาติ

มหาวิทยาลัยคริสเตียน หลักสูตร นิเทศศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประเภทหลักสูตร นิเทศศาสตร์ สองภาษา การจัดการโรงแรม สปาและการท่องเที่ยว นานาชาติ ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ นานาชาติ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร นานาชาติ

88


chapter

มหาวิทยาลัยชินวัตร หลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต วิทยาศาสตรบัณฑิต บริหารธุรกิจบัณฑิต

4

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประเภทหลักสูตร เทคโนโลยีการจัดการ นานาชาติ วิทยาการคอมพิวเตอร์ นานาชาติ การจัดการ นานาชาติ

มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ หลักสูตร สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประเภทหลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต นานาชาติ บริหารธุรกิจบัณฑิต การจัดการการบริการและการท่องเที่ยว นานาชาติ บริหารธุรกิจบัณฑิต ธุรกิจระหว่างประเทศ นานาชาติ วิทยาศาสตรบัณฑิต เทคโนโลยีสารสนเทศ นานาชาติ ศิลปศาสตรบัณฑิต การออกแบบเชิงโต้ตอบและการพัฒนาเกม นานาชาติ ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารธุรกิจ นานาชาติ

มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ หลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ภาษาจีนธุรกิจ ภาษาอังกฤษธุรกิจ

ประเภทหลักสูตร

มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ หลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

ประเภทหลักสูตร

มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร์ด หลักสูตร สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประเภทหลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต วิชาเอกการจัดการ วิชาเอกการตลาด วิชาเอกการบัญชี วิชาเอกการเงิน วิชาเอกธุรกิจระหว่างประเทศ วิชาเอก การจัดการธุรกิจการบิน และวิชาเอกการจัดการระบบสารสนเทศ นานาชาติ วิทยาศาสตรบัณฑิต วิชาเอกวิทยาการคอมพิวเตอร์และวิชาเอกคอมพิวเตอร์ แอนนิเมชั่น นานาชาติ ศิลปศาสตรบัณฑิต วิชาเอกนิเทศศาสตร์ วิชาเอกการจัดการธุรกิจบริการ และการท่องเที่ยว และวิชาเอกภาษาอังกฤษเพื่อการ สื่อสารทางธุรกิจ นานาชาติ

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาและหลักสูตรที่เปิดสอนภาษาต่างประเทศ

89


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

มหาวิทยาลัยนานาชาติเอเชีย-แปซิฟิก หลักสูตร สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประเภทหลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต (กลุ่มวิชาการบัญชีและการเงิน กลุ่มวิชาการบัญชี กลุ่มวิชาระบบ สารสนเทศคอมพิวเตอร์ กลุม่ วิชาการจัดการและการประกอบการธุรกิจ และกลุ่มวิชาการจัดการและการตลาด) นานาชาติ วิทยาศาสตรบัณฑิต วิทยาศาสตร์ชวี ภาพ และวิชาโทวิทยาศาสตร์ชวี ภาพ (กลุม่ วิชา ชีววิทยา กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม และกลุ่มวิชา วิทยาศาสตร์สุขภาพ) นานาชาติ ศิลปศาสตรบัณฑิต คริสต์ศาสนศึกษา (วิชาเอกศาสนศึกษาประยุกต์ และวิชาเอก ศาสนศึกษา) นานาชาติ ศิลปศาสตรบัณฑิต จิตวิทยาและการศึกษา นานาชาติ ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษ ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สอง นานาชาติ ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษ (กลุ่มวิชาการสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สอง กลุ่มวิชาการสื่อสารภาษาอังกฤษ และกลุ่มวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ และการท่องเที่ยว

มหาวิทยาลัยพายัพ หลักสูตร นิเทศศาสตรบัณฑิต บริหารธุรกิจบัณฑิต บริหารธุรกิจบัณฑิต วิทยาศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา นิเทศศาสตร์ การจัดการธุรกิจบริการระหว่างประเทศ การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ ระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์ การสื่อสารภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาญี่ปุ่น ภาษาเยอรมันเพื่อการท่องเที่ยวและวิชาโทภาษาเยอรมันเพื่อการท่องเที่ยว ภาษาและวัฒนธรรมจีน ภาษาอังกฤษ

มหาวิทยาลัยพิษณุโลก หลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต

90

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

ประเภทหลักสูตร สองภาษา นานาชาติ นานาชาติ นานาชาติ นานาชาติ

สองภาษา

ประเภทหลักสูตร


chapter

มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น หลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประเภทหลักสูตร ภาษาจีนธุรกิจ ภาษาญี่ปุ่นธุรกิจ ภาษาอังกฤษธุรกิจ ภาษาอังกฤษธุรกิจ สองภาษา

มหาวิทยาลัยเนชั่น หลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต บริหารธุรกิจบัณฑิต บริหารธุรกิจบัณฑิต (ต่อเนื่อง) บริหารธุรกิจบัณฑิต (ต่อเนื่อง)

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประเภทหลักสูตร การจัดการ นานาชาติ การจัดการ ภาษาอังกฤษ การจัดการ นานาชาติ การจัดการ ภาษาอังกฤษ

4

มหาวิทยาลัยรังสิต หลักสูตร สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา นิเทศศาสตรบัณฑิต บริหารธุรกิจบัณฑิต บริหารธุรกิจบัณฑิต การจัดการธุรกิจการบริการระหว่างประเทศ บริหารธุรกิจบัณฑิต การท่องเที่ยวและอุตสาหกรรมบริการ บริหารธุรกิจบัณฑิต ธุรกิจระหว่างประเทศ บริหารธุรกิจบัณฑิต(ต่อเนื่อง) ธุรกิจระหว่างประเทศ พยาบาลศาสตรบัณฑิต ทวิภาษา วิทยาศาสตรบัณฑิต เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ศิลปศาสตรบัณฑิต ความสัมพันธ์และการพัฒนาระหว่างประเทศ ศิลปศาสตรบัณฑิต ปรัชญา การเมือง และเศรษฐศาสตร์ ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาจีน ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาญี่ปุ่น ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาฝรั่งเศส ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษ

ประเภทหลักสูตร นานาชาติ นานาชาติ นานาชาติ นานาชาติ นานาชาติ นานาชาติ นานาชาติ นานาชาติ นานาชาติ

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาและหลักสูตรที่เปิดสอนภาษาต่างประเทศ

91


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต หลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประเภทหลักสูตร ธุรกิจระหว่างประเทศ ภาษาอังกฤษ

มหาวิทยาลัยเว็บสเตอร์ (ประเทศไทย) หลักสูตร สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประเภทหลักสูตร นิเทศศาสตรบัณฑิต การโฆษณาและการสื่อสารการตลาด นานาชาติ นิเทศศาสตรบัณฑิต การประชาสัมพันธ์ นานาชาติ บริหารธุรกิจบัณฑิต การจัดการ นานาชาติ บริหารธุรกิจบัณฑิต ธุรกิจระหว่างประเทศ นานาชาติ บริหารธุรกิจบัณฑิต บริหารธุรกิจ นานาชาติ วิทยาศาสตรบัณฑิต เทคโนโลยีสารสนเทศ นานาชาติ วิทยาศาสตรบัณฑิต วิทยาการคอมพิวเตอร์ นานาชาติ ศิลปศาสตรบัณฑิต การสื่อสารด้วยสื่อ นานาชาติ ศิลปศาสตรบัณฑิต ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ นานาชาติ ศิลปศาสตรบัณฑิต พฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ (จิตวิทยา) นานาชาติ

มหาวิทยาลัยสยาม หลักสูตร นิเทศศาสตรบัณฑิต นิเทศศาสตรบัณฑิต นิเทศศาสตรบัณฑิต บริหารธุรกิจบัณฑิต บริหารธุรกิจบัณฑิต บริหารธุรกิจบัณฑิต บริหารธุรกิจบัณฑิต

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประเภทหลักสูตร การโฆษณา สองภาษา การประชาสัมพันธ์ สองภาษา การหนังสือพิมพ์และสิ่งพิมพ์ สองภาษา การจัดการการท่องเที่ยวและการโรงแรม นานาชาติ การจัดการโรงแรมและการท่องเที่ยว นานาชาติ การบริหารการโรงแรมและการท่องเที่ยว นานาชาติ ธุรกิจระหว่างประเทศ นานาชาติ

หลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประเภทหลักสูตร วิทยาศาสตร์การแพทย์ นานาชาติ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ภาษาอังกฤษสื่อสารธุรกิจ สองภาษา ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสาร

92


chapter

มหาวิทยาลัยศรีปทุม หลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต วิทยาศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประเภทหลักสูตร การจัดการโรงแรม นานาชาติ การสื่อสารธุรกิจระหว่างประเทศ นานาชาติ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร นานาชาติ

มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย หลักสูตร สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา บัญชีบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาจีน ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาญี่ปุ่น ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารธุรกิจ ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษและการแปล บริหารธุรกิจบัณฑิต กลุ่มวิาการบริหารธุรกิระหว่างประเทศและกลุ่มวิชาการตลาด

มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ หลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต

4

ประเภทหลักสูตร นานาชาติ

นานาชาติ

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประเภทหลักสูตร การจัดการธุรกิจระหว่าางประเทศ นานาชาติ ภาษาจีนธุรกิจ สองภาษา ภาษาอังกฤษธุรกิจ ภาษาอังกฤษธุรกิจ นานาชาติ มัลติมีเดียและกราฟิกดีไซน์ สองภาษา

มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ หลักสูตร สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประเภทหลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต นานาชาติ ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาจีน ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษ ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษ-ภาษาจีน นานาชาติ ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษ-ภาษาไทย

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาและหลักสูตรที่เปิดสอนภาษาต่างประเทศ

93


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ หลักสูตร นิเทศศาสตรบัณฑิต นิเทศศาสตรบัณฑิต นิเทศศาสตรบัณฑิต นิเทศศาสตรบัณฑิต บริหารธุรกิจบัณฑิต บริหารธุรกิจบัณฑิต บริหารธุรกิจบัณฑิต บริหารธุรกิจบัณฑิต บริหารธุรกิจบัณฑิต บริหารธุรกิจบัณฑิต บริหารธุรกิจบัณฑิต บริหารธุรกิจบัณฑิต บริหารธุรกิจบัณฑิต บริหารธุรกิจบัณฑิต วิทยาศาสตรบัณฑิต วิทยาศาสตรบัณฑิต วิทยาศาสตรบัณฑิต วิทยาศาสตรบัณฑิต วิทยาศาสตรบัณฑิต วิทยาศาสตรบัณฑิต วิทยาศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต ศิลปบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต เศรษฐศาสตรบัณฑิต สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต ศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต ศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต

94

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประเภทหลักสูตร การโฆษณา นานาชาติ การประชาสัมพันธ์ นานาชาติ การสื่อสารการแสดง นานาชาติ การสื่อสารผ่านสื่อใหม่ นานาชาติ การเงินและการธนาคาร นานาชาติ การจัดการ นานาชาติ การจัดการการท่องเที่ยวและการบริการ นานาชาติ การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ นานาชาติ การจัดการอุตสาหกรรม นานาชาติ การตลาด นานาชาติ การบัญชี นานาชาติ การประกันภัย นานาชาติ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ นานาชาติ ระบบสารสนเทศธุรกิจ นานาชาติ การจัดการเทคโนโลยี นานาชาติ การวิเคราะห์ข้อมูลธุรกิจ นานาชาติ เทคโนโลยีการอาหาร นานาชาติ เทคโนโลยีสนเทศศาสตร์ นานาชาติ วิทยาการคอมพิวเตอร์ นานาชาติ วิทยาการโทรคมนาคม นานาชาติ อุตสาหกรรมเกษตร นานาชาติ วิศวกรรมคอมพิวเตอร์และเครือข่าย นานาชาติ วิศวกรรมโทรคมนาคมและอิเล็กทรอนิกส์ นานาชาติ วิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ นานาชาติ วิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์ นานาชาติ การแสดงดนตรี นานาชาติ ธุรกิจดนตรี นานาชาติ ภาษาจีนธุรกิจ นานาชาติ ภาษาจีนเพื่อเศรษฐกิจและการค้า นานาชาติ ภาษาญี่ปุ่นธุรกิจ นานาชาติ ภาษาฝรั่งเศสธุรกิจ นานาชาติ ภาษาอังกฤษธุรกิจ นานาชาติ เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ นานาชาติ สถาปัตยกรรมภายใน นานาชาติ สถาปัตยกรรมศาสตร์ นานาชาติ วิศวกรรมการบิน นานาชาติ การออกแบบผลิตภัณฑ์ นานาชาติ การออกแบบภายใน นานาชาติ


chapter

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา หลักสูตร เทคโนโลยีบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประเภทหลักสูตร วิทยาการคอมพิวเตอร์ นานาชาติ ภาษามลายู นานาชาติ ภาษาอังกฤษ นานาชาติ ภาษาอาหรับ นานาชาติ อุศูลุดดีน (หลักการศาสนาอิสลาม) นานาชาติ

มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย หลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประเภทหลักสูตร การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ ภาษาอังกฤษ จีนศึกษา ภาษาอังกฤษธุรกิจ

มหาวิทยาลัยเอเชียน หลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต บริหารธุรกิจบัณฑิต บริหารธุรกิจบัณฑิต บริหารธุรกิจบัณฑิต บริหารธุรกิจบัณฑิต วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประเภทหลักสูตร การเงินและการธนาคาร นานาชาติ การตลาด นานาชาติ จัดการ นานาชาติ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ นานาชาติ เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ นานาชาติ วิศวกรรมเครื่องกล นานาชาติ วิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ นานาชาติ วิศวกรรมระบบสารสนเทศ นานาชาติ ภาษาอังกฤษสื่อสารธุรกิจ นานาชาติ มัลติมีเดีย นานาชาติ

สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ หลักสูตร สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาจีนธุรกิจ ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ

4

ประเภทหลักสูตร

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาและหลักสูตรที่เปิดสอนภาษาต่างประเทศ

95


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

สถาบันรัชต์ภาคย์ หลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประเภทหลักสูตร การท่องเที่ยวและโรงแรม นานาชาติ ภาษาอังกฤษธุรกิจ ศาสตร์แห่งภูมิปัญญาสร้างสรรค์เพื่อการจัดการ นานาชาติ

วิทยาลัยเซนต์หลุยส์ หลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษเชิงวิชาชีพ

วิทยาลัยดุสิตธานี หลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต บริหารธุรกิจบัณฑิต บริหารธุรกิจบัณฑิต บริหารธุรกิจบัณฑิต

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประเภทหลักสูตร การจัดการครัวและภัตตาคาร นานาชาติ การจัดการโรงแรม นานาชาติ การจัดการโรงแรม ภาษาอังกฤษ การจัดการโรงแรมและรีสอร์ท นานาชาติ

มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น หลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล

วิทยาลัยพุทธศาสนานานาชาติ หลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประเภทหลักสูตร ภาษาและวรรณคดีบาลีและสันสกฤต ภาษาอังกฤษและภาษาจีน ศาสนาศึกษา ภาษาอังกฤษและภาษาจีน

วิทยาลัยลุ่มน�้ำปิง หลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิค วิทยาลัยอินเตอร์เทคล�ำปาง หลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ภาษาอังกฤษธุรกิจ

ประเภทหลักสูตร

ประเภทหลักสูตร

ประเภทหลักสูตร

สาขาวิชา/วิชาเอก/แขนงวิชา ประเภทหลักสูตร การประยุกต์ใช้ภาษาจีน สองภาษา

ข้อมูลหลักสูตรที่ สกอ. รับทราบการให้ความเห็นชอบหลักสูตรแล้ว (ข้อมูล ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2554)

96


5

สัมภาษณ์ผู้บริหาร สถาบันอุดมศึกษา และหลักสูตรที่เปิดสอน ภาษาต่างประเทศ

97


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

สัมภาษณ์และเรียบเรียง : อลงกรณ์ รัตตะเวทิน

มทร.ธัญบุรี สนับสนุนอาจารย์ ผนึกก�ำลังเอกชน

สร้างงานวิจัยให้ภาคอุตสาหกรรม สู่พาณิชย์ รองรับอาเซียน

รศ.ดร.ประเสริฐ ปิ่นปฐมรัฐ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

นโยบายส�ำคัญของการขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ที่จับมือกับภาคเอกชน และภาคอุตสาหกรรม ส่งอาจารย์เข้าท�ำงานในสถานประกอบการ เพิ่มพูนความรู้ความเชี่ยวชาญ และ น�ำความรู้นั้นมาถ่ายทอดนักศึกษา และผลิตผลงานวิจัย เพื่อตอบโจทย์ในการยกระดับภาคอุตสาหกรรม ดันงานวิจัยสู่เชิงพาณิชย์ อันจะน�ำไปสู่การพัฒนาประเทศ และรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน รศ.ดร.ประเสริฐ ปิ่นปฐมรัฐ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) ธัญบุรี เปิดเผยว่า มทร.ธัญบุรี มีนโยบายให้อาจารย์ทำ� งานวิจยั ร่วมกับภาคเอกชน – ภาคอุตสาหกรรม ด้วยการเข้าไปฝังตัวอยูใ่ น สถานประกอบการ หรือที่เรียกว่า Talent Mobility ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่าง มทร.ธัญบุรี กับส�ำนักงาน คณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สวทน.) และภาคเอกชน เพื่อให้อาจารย์มหาวิทยาลัย ได้เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ โดยตรงจากภาคอุตสาหกรรม พร้อมกับท�ำงานวิจัย แล้วน�ำประสบการณ์จากการลงมือ ปฏิบัติของอาจารย์มาถ่ายทอดให้กับนักศึกษาในห้องเรียน “อาจารย์ต้องรวบรวมโจทย์ หรือปัญหาที่ไปพบเจอมาระหว่าง ปฏิบัติงานในสถานประกอบการ มาเป็นโปรเจกท์ให้กับนักศึกษา เพือ่ ให้พวกเขาได้เรียนรูส้ ำ� หรับการผลิตผลงานด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ซึ่งโครงการ Talent Mobility นี้มีระยะเวลา 6 เดือน ถึงหนึ่งปี โดยที่อาจารย์ไม่ต้องจัดการเรียนการสอน แต่อาจารย์ ต้องท�ำผลงานวิจัยร่วมกับภาคอุตสาหกรรม ทั้งนี้เพื่อให้อาจารย์ 98


chapter

5

ได้นำ� ความรูไ้ ปใช้ในภาคอุตสาหกรรมและได้พฒ ั นาตนเองผ่านโจทย์ วิจัยใหม่ ๆ” “ขณะเดียวกัน ภาคอุตสาหกรรม สามารถต่อยอดงานวิจัยสู่ การพัฒนาขีดความสามารถในการท�ำธุรกิจและการแข่งขันทางการ ตลาด ซึ่งส่งผลดีต่อการแข่งขันของประเทศในภาพรวม โดยเฉพาะ เมื่อประเทศไทยเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ยิ่งต้อง เร่งพัฒนาศักยภาพงานวิจัย เนื่องจากไทยพบปัญหา หลายงานวิจัยที่มีอยู่นั้นไม่สามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ได้ อย่างแท้จริง ในส่วนของ มทร.ธัญบุรี ก�ำลังเร่งผลิตผลงานวิจัยที่เกิดประโยชน์ต่อชุมชน วิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม (SMEs) รวมถึงภาคอุตสาหกรรมให้มากขึน้ และสามารถใช้งานได้จริง โดยแบ่งผลงานออกเป็น 5 กลุม่ งานวิจยั คือ การวิจยั และพัฒนา การแก้ปญ ั หาเชิงเทคนิคและวิศวกรรม การวิเคราะห์ทดสอบและระบบ มาตรฐาน การจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม และการบริหารจัดการองค์กรหรือผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง” “หลายงานวิจยั ของ มทร.ธัญบุรี ในขณะนี้ ถูกน�ำไปใช้ในภาคอุตสาหกรรมและเชิงพาณิชย์ อาทิการพัฒนา กล่องควบคุมไฟฟ้าอัจฉริยะ ทีม่ คี วามปลอดภัยทีส่ ดุ เครือ่ งแรกในโลก เป็นงานวิจยั ร่วมกับการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค ซึ่งภาคเอกชนน�ำไปพัฒนาต่อในเชิงพาณิชย์ โดยร่วมมือกับ บริษัท ครีเอทีฟ พาวเวอร์ จ�ำกัด ซึ่งทางบริษัท จะน�ำนวัตกรรมที่ได้จากการพัฒนาผลงานวิจัยของอาจารย์และนักศึกษา มทร.ธัญบุรี มาพัฒนาสร้าง มูลค่าเพิ่มในเชิงการค้าพาณิชย์ ที่ผู้บริโภคซื้อแล้วสามารถน�ำไปใช้งานได้จริง ภายใต้ แบรนด์ HEMan (Home Electric Manager) ในรุ ่ น The OHE : กล่ อ งควบคุ ม ไฟฟ้ า อั จ ฉริ ย ะ หรื อ ตั ว อย่ า งของ งานวิจัย การคิดค้นสารเพิ่มรสชาติอาหาร แทนการใช้ผงชูรส โดยใช้ยีสต์ที่เหลือจากการผลิตเบียร์เป็นวัตถุดิบ ตอนนี้อยู่ในขั้นตอนของการยื่นจดสิทธิบัตร เพื่อเข้าสู่เชิงพาณิชย์และอุตสาหกรรมต่อไปเช่นกัน” “มทร.ธัญบุรี ยังร่วมมือกับสถานประกอบการทั้งในและต่างประเทศเพือ่ ให้นกั ศึกษาและอาจารย์ได้เข้าไป ฝึกงานและท�ำงานจ�ำนวนหนึง่ แล้วเพราะภาคอุตสาหกรรมหรือสถานประกอบเป็นส่วนหนึง่ ของห้องปฏิบตั กิ าร เป็นโรงเรียนบ่มเพาะทีด่ ที สี่ ดุ ส�ำหรับนักศึกษาสายวิชาชีพ เนือ่ งจากได้เรียนรูข้ องจริงจากภาคอุตสาหกรรม และ ท�ำให้เกิดการเรียนรู้สังคมในภาคอุตสาหกรรมไปพร้อม ๆ กัน” รศ.ดร.ประเสริฐ กล่าว นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยฯ ยังเน้นและเสริมสร้างทักษะด้านไอที ภาษาอังกฤษ เพื่อให้นักศึกษามทร.ธัญบุรี เป็นบัณฑิตนักปฏิบตั มิ อื อาชีพ มีคณ ุ สมบัตติ รงตามทีส่ ถานประกอบการต้องการ พร้อมเข้าสูต่ ลาดแรงงาน โดย ตั้งเป้าหมายในปีการศึกษา พ.ศ. 2560 คือ นักศึกษาต้องมีประสบการณ์การฝึกงานในต่างประเทศประมาณ 500 คน หรือคิดเป็น 10 % ของจ�ำนวนนักศึกษาที่จบการศึกษา “อยากเห็นนักศึกษา มทร.ธัญบุรี เข้าไปท�ำงานในภาคอุตสาหกรรม 5 ปี - 8 ปี หรือมากกว่านั้น แล้ว เปลี่ยนไปเป็นเจ้าของธุรกิจ เจ้าของกิจการ ออกไปรับใช้ภาคอุตสาหกรรม รู้จักปรับตัวให้เข้ากับสภาพ ปัจจุบัน เตรียมพร้อมเข้าสู่ AEC ทั้งยังมีความรู้ความสามารถ ไอที ภาษา และทักษะทางสังคม” รศ.ดร. ประเสริฐ กล่าว สัมภาษณ์ผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาและหลักสูตรที่เปิดสอนภาษาต่างประเทศ

99


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

คณะศิลปศาสตร์ บพิตรพิมุข จักรวรรดิ จัดการศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตร์บัณฑิต 3 สาขาวิชา

คณะศิ ล ปศาสตร์ บพิ ต รพิ มุ ข จั ก รวรรดิ จั ด การศึ ก ษาหลั ก สู ต รศิ ล ปศาสตรบั ณ ฑิ ต 3 สาขาวิ ช า ได้แก่ สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น สาขาวิชาภาษาจีน สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล ก่อเกิดจาก รากฐานที่เข้มแข็งของการจัดการเรียนการสอนทางด้านภาษา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2477 เริ่มแรกเปิดสอนในระดับ ชั้นมัธยม ปีที่ 7 – 8 แผนกวิสามัญ ภาษาต่างประเทศ โดยเรียนภาษาอังกฤษเป็นวิชาบังคับและเลือกเรียน ภาษาฝรั่งเศส เยอรมัน จีน หรือญี่ปุ่น เป็นวิชาเลือก ส่วนการจัดการเรียนการสอนสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น และ สาขาวิชาภาษาจีน นั้นเปิดสอนรุ่นแรกในปี พ.ศ. 2545 และสาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล เปิดสอนรุน่ แรกปี พ.ศ. 2548 ตามการเปลีย่ นแปลงฐานะเป็นมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ บพิตรพิมุข จักรวรรดิ นับว่าเป็นสถาบันการศึกษาแห่งแรกในประเทศไทย ที่มีการจัดการเรียนการสอน ภาษาญีป่ นุ่ ในระบบการศึกษาไทย ได้ผลิตบุคลากรทีม่ ศี กั ยภาพทางด้านภาษาญีป่ นุ่ ต่อเนือ่ งมาอย่างยาวนาน จนกระทั่งปัจจุบันได้ปรับเปลี่ยนมาเป็นสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น โดยเปิดสอนระดับปริญญาตรี ซึ่งมีอาจารย์ ชาวญี่ปุ่นเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้แก่นักศึกษาโดยตรง พร้อมด้วยสื่อการเรียนการสอนและห้องปฏิบัติการ ทางภาษาที่ทันสมัยนอกจากนี้ทางสาขาวิชาได้สนับสนุนนักศึกษาเข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ วั ฒ นธรรมไทย - ญี่ ปุ ่ น ณ ประเทศญี่ ปุ ่ น เป็ น ประจ� ำ ทุ ก ปี และมหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคล รัตนโกสินทร์ ร่วมกับมูลนิธิร่มฉัตรและส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้จัดโครงการแข่งขัน 100


chapter

5

“ภาษาญี่ ปุ ่ น เพชรยอดมงกุ ฎ ” ตั้ ง แต่ ร ะดั บ ประถมศึ ก ษา ระดั บ มัธยมศึกษา จนถึงระดับอุดมศึกษา เป็นประจ�ำทุกๆ ปี เพื่อชิงถ้วย รางวัลพระราชทานสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร และถ้วยรางวัลพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พร้อมทุนการศึกษาพระพรหมมังคลาจารย์ (ธงชัย ธมฺมธโช) ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร ประธานมูลนิธิร่มฉัตร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เยาวชนไทยได้เรียนรู้ และพัฒนาด้านภาษา และวัฒนธรรมญี่ปุ่น การจัดการเรียนการสอนของสาขาวิชาภาษาจีนของ บพิตรพิมุข จักรวรรดิ เน้นการจัดการเรียนการสอนที่ให้นักศึกษาได้สัมผัสวิถีชีวิต และวัฒนธรรมชาวจีนตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันบนถนนสายมังกร โดยอาจารย์ชาวไทยซึ่งส�ำเร็จการศึกษา จากประเทศจีน และอาจารย์เจ้าของภาษา ยิ่งไปกว่านั้น ทางสาขาวิชาภาษาจีนยังมีโครงการแลกเปลี่ยน สานสัมพันธ์ความร่วมมือกับ Lingnan Normal University ที่เปิดโอกาสให้นักศึกษามีกิจกรรมเพื่อพัฒนา ทักษะทางด้านภาษาจีนและเพิ่มพูนความรู้ด้านวัฒนธรรมกับนักศึกษาชาวจีน รวมทั้งการเข้าร่วมกิจกรรม ตรุษจีนย่านเยาวราช การบริการวิชาการด้านการสอนภาษาจีนให้แก่บุคคลภายนอก และการฝึกปฏิบัติ งานในองค์กรระบบสหกิจ เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้การท�ำงานจริง ประสบการณ์จริง พร้อมทั้งสามารถ รับมือกับปัญหาด้วยตนเอง ส่งผลให้คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ เป็น เพียงมหาวิทยาลัยฯ หนึ่งเดียวในเขตสัมพันธวงศ์ ที่สร้างบัณฑิตนักปฏิบัติ มีความเชี่ยวชาญทางด้าน ภาษาจีน ผ่านการเรียนรู้ทางด้านสังคม การท�ำงานและการใช้ชีวิตจากประสบการณ์ตรงอย่างแท้จริง สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากลได้จัดการเรียนการสอนมาแล้ว 3 หลักสูตร ได้แก่ หลักสูตร พ.ศ.2548 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2552 และหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2555 ในแต่ละหลักสูตรมีวิชาภาษา อังกฤษให้เลือกศึกษากว่า 60 รายวิชา แต่ละรายวิชามีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาทักษะ ทางภาษาทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน โดยอาจารย์ผู้สอนทั้งชาวไทยและ ชาวต่างชาติที่ได้รับการพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษจากสถาบันภาษาทั้งภายในและต่างประเทศ ทั้งยังมี กิจกรรมการจัดแข่งขันวิชาการ ด้านภาษาอังกฤษกับนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยต่างๆ จัดนักศึกษาเข้าค่าย ภาษาอังกฤษ ส่งนักศึกษาที่มีทักษะการสื่อสารไปเข้าค่ายฝึกภาษา ณ ประเทศเดนมาร์ค ประมาณ 3 สัปดาห์ นอกจากนีน้ กั ศึกษายังมีโอกาสไปเพิม่ พูนการใช้ภาษาอังกฤษจัดการท่องเทีย่ วรอบเกาะรัตนโกสินทร์ ซึง่ ถือเป็น การจัดการเรียนการสอนที่ได้ทั้งความรู้และลงมือปฏิบัติจริง แม้ว่า บพิตรพิมุข จักรวรรดิ จะมีชื่อเสียงด้านการสอนภาษามายาวนาน ปัจจุบันคณะศิลปศาสตร์ ก็ยังคง มุ่งมั่นที่จะพัฒนาการเรียนการสอนต่อไป

สัมภาษณ์ผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาและหลักสูตรที่เปิดสอนภาษาต่างประเทศ

101


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ วิถีคุณภาพสู่ความส�ำเร็จที่ยั่งยืน (HCU Lifelong Quality)

รองศาสตราจารย์ ดร.ประจักษ์ พุ่มวิเศษ อธิการบดีมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

Model

บทบาทใหม่ ใ นการวางรากฐานให้ ม หาวิ ท ยาลั ย หั ว เฉี ย วเฉลิ ม พระเกี ย รติ เ ป็ น มหาวิ ท ยาลั ย ที่ มี ความหมาย (Meaningful University) ด้วยการน�ำวิถคี ณ ุ ภาพมาพัฒนามหาวิทยาลัยมุง่ สูค่ วามส�ำเร็จทีย่ งั่ ยืน ภายใต้วิถีทาง “HCU Lifelong Quality” รองศาสตราจารย์ ดร.ประจักษ์ พุม่ วิเศษ อธิการบดีมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ มีเจตนารมณ์ ที่จะให้นักศึกษา อาจารย์ เจ้าหน้าที่ และบุคลากรทุกคนที่อยู่ในรั้วมหาวิทยาลัยมีคุณภาพ เก่ง ดี มีสุข และ มีคุณธรรม จึงได้น�ำวิถีคุณภาพ 3 ประการส�ำคัญมาเป็นแนวทางในการพัฒนามหาวิทยาลัย ประกอบด้วย ประการที่ 1 การมีคุณภาพการศึกษาที่ยั่งยืน (Lifelong Learning Quality) ดังจะเห็นได้จากการ พัฒนาด้านการศึกษาอย่างต่อเนื่องทั้งด้านหลักสูตรการเรียนการสอนที่รองรับความต้องการที่หลากหลาย ของนักศึกษา การจัดอุปกรณ์การเรียนทีค่ รบครัน อาจารย์ผสู้ อนทีร่ กั และเอาใจใส่ลกู ศิษย์อย่างใกล้ชดิ และทีส่ ำ� คัญ คือการพัฒนามหาวิทยาลัยให้เป็นสถาบันทางการศึกษาที่สมบูรณ์แบบมีความมั่นคงด้วยการทุ่มงบประมาณ กว่า 2 พันล้านบาท สร้างอาคารเรียน อาคารหอพัก อาคารปฏิบตั กิ าร และอาคารต่าง ๆ ขึน้ ใหม่กว่า 10 อาคาร มีพนื้ ทีใ่ ช้สอยรวมทัง้ สิน้ 101,176 ตารางเมตร ในโครงการพืน้ ทีส่ ว่ นขยายมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

102


chapter

5

เพื่อรองรับการขยายหลักสูตร จ�ำนวนนักศึกษาที่เพิ่มขึ้น และการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในอนาคต ประการที่ 2 การมีสุขภาพที่ดี (Lifelong Health Quality) ซึ่งเป็นองค์ประกอบที่ส�ำคัญควบคู่กับ การพัฒนาการเรียนรู้ โดยมหาวิทยาลัยได้มกี ารดูแลเรือ่ งสิง่ แวดล้อมภายในมหาวิทยาลัยให้สวยงาม ลดมลพิษ และส่งเสริมการออกก�ำลังกาย ประกอบด้วยโครงการและกิจกรรมมากมาย อาทิเช่น โครงการจักรยานสีขาว ซึง่ เป็น จุดเริม่ ต้นของการสร้างจิตส�ำนึกรักษาสิง่ แวดล้อม ลดปริมาณการใช้พลังงาน ส่งเสริมให้ทกุ คนออกก�ำลังกาย ด้วยการใช้จักรยานสัญจรภายในมหาวิทยาลัยบนเส้นทางพิเศษส�ำหรับจักรยาน การรณรงค์เดินขึ้นบันได

ไท้เก๊ก

นกหงัง

เพื่อเผาผลาญพลังงานแทนการใช้ลิฟต์ โครงการแข่งขันลดน�้ำหนัก HCU Low Fat เพื่อลดการบริโภคแป้ง น�ำ้ ตาล และไขมัน การจัดระบบร้านอาหารและการปรุงอาหารให้สะอาดถูกสุขลักษณะ การใช้กล่องชานอ้อย บรรจุอาหารแทนกล่องโฟมและพลาสติก การปลูกผักปลอดสารพิษภายในรัว้ มหาวิทยาลัย นอกจากสุขภาพดี ไร้สารพิษแล้ว ความปลอดภัยของชีวติ ก็สำ� คัญจึงมีโครงการขับขีป่ ลอดภัยสวมหมวกนิรภัย 100% เพือ่ ลดมลพิษ และสร้าง ความปลอดภัยให้แก่บุคลากร นักศึกษา ผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์เข้า-ออกมหาวิทยาลัย และชุมชน โดยรอบมหาวิทยาลัย ซึ่งมหาวิทยาลัยได้ร่วมมือกับองค์การบริหารส่วนต�ำบลบางโฉลง และสถานีต�ำรวจ ภูธรบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ เพื่อสร้างความตระหนักถึงการใส่ใจต่อการสวมหมวกนิรภัยก่อนการขับขี่ ทุกครั้ง และประการสุดท้ายการเป็นคนดีมีคุณธรรม (Lifelong Human & Social Quality) มหาวิทยาลัย ได้ใช้เวลาบ่มเพาะคุณธรรมให้แก่บุคลากรและนักศึกษามาเป็นเวลานาน และได้ก�ำหนดเป็นคุณธรรมหลัก 6 ประการ ได้แก่ ขยัน อดทน ประหยัด เมตตา ซื่อสัตย์ และกตัญญู ซึ่งได้สอดแทรกอยู่ในการเรียนการสอน และการปฏิบตั งิ านจนกลายเป็นวัฒนธรรมองค์กร รวมถึงการน�ำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวมาเป็นหลักในการด�ำเนินงานและบริหารงานของมหาวิทยาลัย การมุง่ สูม่ หาวิทยาลัยคุณภาพเป็นบทบาทใหม่ทที่ า้ ทายของมหาวิทยาลัยซึง่ เราจะด�ำเนินการ อย่างต่อเนือ่ ง และยั่งยืน เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพและคุณธรรมออกมารับใช้สังคมและประเทศชาติต่อไป

สัมภาษณ์ผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาและหลักสูตรที่เปิดสอนภาษาต่างประเทศ

103


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

PIM พร้อมสร้างมืออาชีพด้านภาษาอังกฤษธุรกิจ เน้นเรียน-ประสบการณ์จริง การันตีจบแล้วมีงานท�ำชัวร์

ดร.ศิรินันท์ กฤษณจินดา

อาจารย์พิชญา ติยะรัตนาชัย

คณะศิลปศาสตร์ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ เปิดหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษา อังกฤษ เพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ เป็นหลักสูตรใหม่ปี 2558 เน้นผลิตบัณฑิตให้มีประสบการณ์ท�ำงานจริง เมื่อส�ำเร็จแล้วได้งานท�ำแน่นอน ดร.ศิรนิ นั ท์ กฤษณจินดา หัวหน้าสาขาวิชาภาษาอังกฤษเพือ่ การสือ่ สารธุรกิจ คณะศิลปศาสตร์ สถาบันการจัดการปัญญาภิวฒ ั น์ กล่าวว่า เป็นทีท่ ราบกันดีวา่ ภาษาอังกฤษเป็นทีต่ อ้ งการของตลาด ยิง่ ประเทศไทย จะเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปลายปีนี้ ทุกสถานประกอบการยิ่งต้องการบุคลากรที่สามารถใช้ภาษาอังกฤษ ในการสือ่ สารได้ ทางสาขาฯ จึงจัดการเรียนการสอนวิชาเอกเป็นภาษาอังกฤษเกือบ 100% โดยเรียนกับทัง้ อาจารย์ ชาวไทยและชาวต่างชาติทั้งแถบเอเชีย ยุโรป และอเมริกา เพราะในอนาคตนักศึกษาจะต้องพูดภาษาอังกฤษ กับหลายเชือ้ ชาติ ทางสาขาฯ จึงเตรียมความพร้อมตรงจุดนีด้ ว้ ย นอกจากนีย้ งั มีอาจารย์ทอี่ ยูใ่ นสถานประกอบการ จริง ที่เป็นผู้มีประสบการณ์สามารถหล่อหลอมเตรียมความพร้อมตั้งแต่ในชั้นเรียน บวกกับการเรียนการสอน แบบ work-based Education ที่เน้นความเชี่ยวชาญการสื่อสารภาษาอังกฤษเชิงธุรกิจ ประยุกต์ใช้ความรู้ เชิงธุรกิจ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ผสานวัฒนธรรมการท�ำงานที่แตกต่าง มีคุณธรรมในการประกอบอาชีพ ควบคู่กับการเรียนแบบ learning by doing ที่ต้องการหล่อหลอมให้มีมิติทั้งการเรียนและการท�ำกิจกรรม โดยมีกิจกรรมเสริมหลักสูตรภายในเช่น PIM & LA Toastmasters Club ซึ่งนักศึกษาทุกคนต้องเข้าร่วม กิจกรรม ตลอดหลักสูตร เพือ่ ฝึกทักษะทางภาษา การพูดในทีส่ าธารณะ และความเป็นผูน้ ำ� English Contest Day เป็นการแข่งขันเพื่อเพิ่มพูนและเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ค�ำศัพท์ภาษาอังกฤษที่จ�ำเป็นต่อการศึกษา Fun Fair and Festival เป็นกิจกรรมการสือ่ สาร โดยใช้ภาษาอังกฤษผ่านวัฒนธรรม มีการจัดบูธให้ความรูแ้ ต่ละประเทศ 104


chapter

5

โดยทุกคนทีม่ าเข้าร่วมกิจกรรมต้องใช้ภาษาอังกฤษทัง้ หมด เพือ่ ให้เห็นว่าภาษาเป็นเรือ่ งส�ำคัญ ทัง้ ในชีวติ จริง และชีวติ การท�ำงานในอนาคต และมีทนุ การศึกษาจ�ำนวน 4000, 3000, 2000 บาทตามล�ำดับ Edutainment English Club เป็นชมรมที่นักศึกษาใช้ภาษาอังกฤษในกิจกรรมต่างๆ นอกเหนือจาก 3 กิจกรรม ข้างต้น นอกจากนี้ ยังมีกจิ กรรมทีเ่ ผยแพร่ตอ่ ประชาคมภายนอก ได้แก่ PIM Language Competition เป็นกิจกรรม ระดับประเทศ จัดปีละ 1 ครัง้ โดยเชิญสถาบันอุดมศึกษา ทีส่ นใจเข้าร่วมแข่งขัน เพือ่ เป็นการวัดว่า ผูแ้ ข่งขันของ สาขาฯ มีทกั ษะภาษาอยูใ่ นระดับใด เมือ่ เทียบกับนักศึกษาจากสถาบันอืน่ ส่วน Story-telling Competition เป็นกิจกรรมที่เชิญนักเรียนมัธยมเข้าร่วมแข่งขัน เพื่อเป็นเวทีการพัฒนาภาษาอังกฤษให้แก่โรงเรียน และเพื่อ เป็นการประชาสัมพันธ์สถาบันฯ ไปพร้อมกัน อาจารย์พชิ ญา ติยะรัตนาชัย อาจารย์ประจ�ำสาขาวิชาภาษาอังกฤษเพือ่ การสือ่ สารทางธุรกิจ กล่าวเสริมว่า จากการวิจยั พบว่าภาษาอังกฤษเป็นทักษะแรกทีเ่ ยาวชนไทยขาดและเป็นความต้องการของตลาดอย่างแท้จริง ปัจจุบันมีสถาบันที่เปิดภาษาอังกฤษทั้งหมด 108 แห่ง สอนเกี่ยวกับภาษาอังกฤษธุรกิจ 58 แห่ง ดังนั้นเราต้อง สร้างความแตกต่าง เพือ่ ให้นกั ศึกษาของสาขาฯ มีความสามารถตอบสนองตลาดได้อย่างแท้จริง โดยนักศึกษาจะ ศึกษาภาษาอังกฤษทีใ่ ช้ในธุรกิจการค้าสมัยใหม่ (MTM) ในธุรกิจการบริการ (Services) และในธุรกิจสุขภาพและ การแพทย์ (Heath & Medical Business) และฝึกงานในสถานประกอบการใน 3 ด้าน ทางสาขาฯ มีเครือข่าย กับสถานประกอบการระดับคุณภาพสูงสุด (Hi-End) ทีใ่ ห้โอกาสแก่นกั ศึกษาไปฝึก ปฎิบัติงานเป็นจ�ำนวน 30 แห่ง ไม่รวมสถานประกอบการที่คณะฯ และสถาบันฯ มีเครือข่ายอยู่แล้ว สถานประกอบการที่นักศึกษาฝึกปฎิบัติงาน แบ่งเป็นด้าน MTM 10 แห่ง ด้าน Services 12 แห่ง ด้าน Health & Medical Business 8 แห่ง โดยให้นกั ศึกษาเริม่ ฝึกทักษะการท�ำงาน ตัง้ แต่ชนั้ ปีที่ 1 เช่น ฝึกที่ True Touch ทีนกั ศึกษาจะต้องเรียนรู้ การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ ในชั้นปีที่ 2 นักศึกษาฝึกทักษะการบริการ เช่น ฝึกที่ ปัญญ์ปรุ ิ ออร์แกนิก สปา ทีเ่ กษรพลาซ่า โรงแรมระดับ 5 ดาว เป็นต้น ในชัน้ ปีที่ 3 นักศึกษาฝึกทักษะการจัดการ เช่น ร้าน 7-Eleven ซึง่ ถือเป็นแม่แบบในการหล่อหลอมทุกคนในซีพอี อลล์ ซึง่ จะ ฝึกให้นกั ศึกษารูจ้ กั การตรงต่อเวลา ความอดทน การใช้ภาษากับลูกค้า ฝึกทักษะการท�ำงานจริง เพื่อรองรับชั้นปีที่ 4 ที่นักศึกษาจะฝึกปฎิบัติงาน เป็นเวลา 9 เดือน ทุกครั้งที่นักศึกษา กลับมาจากการฝึกปฎิบัติงาน อาจารย์ในสาขาฯ จะประเมินผลการฝึก ปฎิบัติงาน โดยพิจารณาจากการน�ำเสนอประสบการณ์ที่ได้รับการวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็งในการปฎิบัติงาน ของตนเอง และวิธีการแก้ไขปัญหา “ภาษาอังกฤษเป็นลมหายใจ ต้องยอมรับว่าทุกอาชีพถ้าได้ภาษาอังกฤษปริมาณเงินในกระเป๋าจะเพิม่ ขึน้ เพราะจะได้คา่ ทักษะทางวิชาชีพด้วย บางสถานทีห่ ากคุณใช้ภาษาอังกฤษไม่ได้อาจไม่มสี ทิ ธิกรอกใบสมัครเลย ที่นี่จะให้สิ่งที่แปลกและแตกต่าง ได้เรียนรู้และสามารถไปใช้งานได้จริง ได้ประสบการณ์ด้วยตนเอง ในแบบที่ไม่ซ�้ำใคร” อาจารย์พิชญากล่าวทิ้งท้าย

สัมภาษณ์ผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาและหลักสูตรที่เปิดสอนภาษาต่างประเทศ

105


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

ปรับพื้นฐานภาษาอังกฤษ ก้าวแรกสู่บัณฑิตนวัตกรธุรกิจ บทความโดย อาจารย์ภู่มณี ศิริพรไพบูลย์

โยฮันน์ โวล์ฟกัง ฟอน เกอเธ่, นักปรัชญาชาวเยอรมันเคยกล่าวว่า คนที่ไม่รู้ภาษาอื่น คือคนที่ไม่รู้จัก ตัวเอง[1] ค�ำกล่าวของเกอเธ่สะกิดให้เราสดับตรับฟังถึงความส�ำคัญของภาษาในฐานะสือ่ กลางของการสือ่ สาร เพราะเราไม่ได้อาศัยอยูโ่ ดดเดีย่ วบนโลกใบนี้ หรือพูดให้เฉพาะจงคือ เราไม่ได้อาศัยอยูเ่ ดียวดายในอุษาคเนย์ เรามีเพื่อนบ้านอย่าง กัมพูชา ลาว พม่า เวียดนาม มาเลเซีย บรูไน อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร์ ที่ สามารถพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันได้ ดังสุภาษิต ‘น�้ำพึ่งเรือเสือพึ่งป่า’ ภาษาจึงเป็นตัวแปรส�ำคัญ โดยเฉพาะ เมื่อประเทศในอาเซียนทั้ง 10 ประเทศต่างตกลงใช้ภาษาอังกฤษ เป็นภาษากลาง ประเทศไทยจึงต้องเร่งพัฒนาศักยภาพของคนในชาติ ให้สามารถใช้ภาษาอังกฤษได้อย่าง ช�ำนาญกันท่วนทั่ว ซึ่งเป็นนิมิตหมายอันดีที่ประชากรในประเทศไทยมีแนวโน้มความสามารถในการใช้ ภาษาอังกฤษสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง[2] ผมในฐานะอาจารย์สอนภาษาอังกฤษ แผนกวิชาภาษาตะวันตก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ ได้มีโอกาสเป็นส่วนหนึ่งในการจัดโครงการปรับพื้นฐานภาษาอังกฤษส�ำหรับนักศึกษา ชั้นปีที่ 1 ปีการศึกษา 2557 เพื่อวางพื้นฐานการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนภาษาอังกฤษ ซึ่งโครงการ ดังกล่าวยังสอดรับกับเป้าหมายของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ทีต่ อ้ งการยกระดับมหาวิทยาลัย สูส่ ากล ตามโครงการปฏิรปู การเรียนการสอนภาษาอังกฤษแก่นกั ศึกษาและบุคลากร เพือ่ รองรับการก้าวเข้าสู่ ประชาคมอาเซียนอย่างเต็มตัวในปี พ.ศ. 2558 ในส่วนของโครงการปรับพื้นฐานภาษาอังกฤษส�ำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ปีการศึกษา 2557 นั้น ประกอบ ไปด้วย 2 โครงการย่อย ได้แก่ "โครงการสอนปรับพื้นฐานภาษาอังกฤษโดยใช้วีดีทัศน์" มีวัตถุประสงค์เพื่อ พัฒนาไวยกรณ์ภาษาอังกฤษของนักศึกษา และ "โครงการอบรมการเข้าใช้งานโปรแกรม Tell Me More" มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาพัฒนาทักษะด้านการฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาอังกฤษด้วยตนเอง

106


chapter

5

ซึ่ง ณ ตอนนี้ ทั้งสองโครงการดังกล่าวได้ด�ำเนินการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ไปพร้อม ๆ กัน และมีเสียงตอบรับจาก ผู้เข้าร่วมโครงการเป็นอย่างดี เช่นที่ จิรายุส หล้าแก้ว นักศึกษาชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล คณะบริหารธุรกิจ และศิลปศาสตร์ บอกกับผมว่า เขาดีใจที่มหาวิทยาลัยจัดโครงการปรับพื้นฐานภาษาอังกฤษ เพราะมันเปิด โอกาสให้เขาพัฒนาทักษะทางอังกฤษทั้ง 4 ด้าน ถึงแม้ว่าตอนนี้ เขาอาจจะยังตามเพื่อน ๆ บางคนในสาขา ที่มี พื้นฐานภาษาอังกฤษที่สูงกว่าไม่ทัน แต่เขาก็เชื่อ ภายในไม่เกิน 4 ปี ก่อนเรียนจบ เขาต้องมีความสามารถใน การใช้ภาษาอังกฤษได้อย่างเชี่ยวชาญ ไม่เพียงแต่นักศึกษาที่จะต้องมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและแนวทางการเรียนภาษาแต่ยังได้หมายรวม ไปถึงครูอาจารย์ ผู้ถ่ายทอดวิชาความรู้ก้ต้องมีการพัฒนาแนวทางการสอนภาษาอังกฤษไปพร้อมๆกันด้วย มหาวิทยาลัยจึงได้จัดกิจกรรม "สัมมนาเชิงปฏิบัติการการพัฒนาเอกสารประกอบการสอนภาษาอังกฤษ 6 รายวิชาหลัก" โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อระดมสมองและจัดท�ำเอกสารในการพัฒนาเอกสารประกอบการสอน รายวิชาภาษาอังกฤษ 6 รายวิชา ซึ่งจากการด�ำเนินโครงการดังกล่าว คณาจารย์ของแผนกวิชาภาษาตะวันตก ได้รับแนวทางในการปรับปรุงเอกสารการสอน ให้สอดคล้องไปกับประเด็นยุทธศาสตร์ด้านการเรียนการสอน ในการสร้างบัณฑิตนวัตกรที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ และหากมหาวิทยาลัยมุ่งเน้นให้เกิดการพัฒนาแล้วอีกส่วนส�ำคัญที่จะลืมไม่ได้ก็เห็นจะเป็นบุคลากรใน มหาวิทยาลัยทุกส่วนงานที่จะได้รับการพัฒนาทักษะด้านภาษาอังกฤษไปพร้อมๆกันบุคลากรในมหาวิทยาลัย ก็มกี ารปรับเปลีย่ นพฤติกรรมเช่นกันจึงมีการส่งเสริมให้มกี ารเรียนภาษาอังกฤษในทุกๆสัปดาห์เพือ่ ให้เกิดการ เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ เมือ่ วันที่ 23 ถึง 26 เมษายน พ.ศ. 2557 คณาจารย์ของแผนกวิชาภาษาตะวันตก มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ทั้ง 6 เขตพื้นที่ ยังได้เข้าร่วมโครงการ ‘สัมมนาเชิงปฏิบัติการการพัฒนาเอกสาร ประกอบการสอนภาษาอังกฤษ 6 รายวิชาหลัก’ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อระดมสมองและจัดท�ำเอกสารในการ พัฒนาเอกสารประกอบการสอนรายวิชาภาษาอังกฤษ 6 รายวิชา ซึง่ จากการด�ำเนินโครงการดังกล่าว คณาจารย์ ของแผนกวิชาภาษาตะวันตกได้รับแนวทางในการปรับปรุงเอกสารการสอน ให้สอดคล้องไปกับประเด็น ยุทธศาสตร์ด้านการเรียนการสอน ในการสร้างบัณฑิตนวัตกรที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ จากที่ผมได้เล่ามาทั้งหมดนี้ นับเป็นเรื่องดี ๆ ที่ก�ำลังเกิดขึ้นในบ้านหลังที่สองของเรา ผมมั่นใจว่า ในอีก ไม่เกิน 4 ปีขา้ งหน้า ทุกคนในบ้านจะมีความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษอย่างช�ำนาญ ยกระดับมหาวิทยาลัย สู่สากลตามที่ได้ตั้งเป้าหมายเอาไว้อย่างชัดเจน

[1] Goethe, Johann Wolfgang von. (2010). Maxims and Reflections. Retrieved from http://www.gutenberg.org/files/33670/33670h/33670-h.htm [2] EF English Proficiency Index. (2013). EF English Proficiency Index 2013. Retrieved from http://www.ef.co.th/__/~/media/efcom/ epi/2014/full-reports/ef-epi-2013-report-master-new.pdf สัมภาษณ์ผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาและหลักสูตรที่เปิดสอนภาษาต่างประเทศ

107


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

108


6

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษา ภายในประเทศ

109


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาภายในประเทศ รายชื่อสถาบันการศึกษาภายในประเทศ

สถาบันอุดมศึกษารัฐบาล

110


chapter

6

สถาบันอุดมศึกษารัฐบาล

รายชื่อสถาบันการศึกษาภายในประเทศ

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาภายในประเทศ

111


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

สถาบันอุดมศึกษารัฐบาล

112


chapter

6

สถาบันอุดมศึกษารัฐบาล

รายชื่อสถาบันการศึกษาภายในประเทศ

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาภายในประเทศ

113


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

สถาบันอุดมศึกษารัฐบาล

114


66

chapter chapter

สถาบันอุดมศึกษารัฐบาล

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ ( Uttaradit Rajabhat University)

่อสถาบั อุดกมศึ กษาภายในประเทศ รายชืรายชื ่อสถาบั นอุดนมศึ ษาภายในประเทศ

115115


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

สถาบันอุดมศึกษารัฐบาล

116


chapter

6

สถาบันอุดมศึกษารัฐบาล

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาภายในประเทศ

117


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

สถาบันอุดมศึกษารัฐบาล

ธ์ุ

118


chapter

6

สถาบันอุดมศึกษารัฐบาล

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาภายในประเทศ

119


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

สถาบันอุดมศึกษารัฐบาล

บล

120


chapter

6

สถาบันอุดมศึกษารัฐบาล

www.nstru.ac.th

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาภายในประเทศ

121


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

สถาบันอุดมศึกษารัฐบาล

มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา Bansomdejchaopraya Rajabhat University

122


chapter

6

สถาบันอุดมศึกษารัฐบาล

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาภายในประเทศ

123


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

สถาบันอุดมศึกษารัฐบาล

0-2

124


chapter

6

สถาบันอุดมศึกษารัฐบาล ส

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาภายในประเทศ รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาภายในประเทศ

125


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

รายชื่อสถาบันการศึกษาภายในประเทศ

สถาบันอุดมศึกษาเอกชน

126


6 6 666 6

chapter chapter chapter chapter

chapte

chapter chapter

นอุกดษาเอกชน มศึกษาเอกชน สถาบัสถาบั นอุดมศึ สถาบั ดมศึ กษาเอกชน สถาบั นอุนดอุมศึ กษาเอกชน สถาบันอุดมศึกษาเอกช สถาบั นอุนดอุมศึ กษาเอกชน สถาบั ดมศึ กษาเอกชน

วิทยาลัย

College)

มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์ (Rajapruk University)

เลขที่ 9 หมู่ 1 ถ.นครอินทร์ ต.บางขนุน อ.บางกรวย จ.นนทบุรี 11130 โทร.02-432-6101 โทรสาร.02โทร. 0-2432-6101 โทรสาร.0-2432-6107 432-6107 www.rpu.ac.th

เลขที่ 51 หมู 1 ถนนเชื่อมสัมพันธ เขตหนองจอก กรุงเทพฯ 10530 เลขที่ 51 หมู 1 ถนนเชื่อมสัมพันธ เขตหนองจอก กรุงเทพฯ 10530 พท 0-2988-3655 เลขที่ 51 หมู 1 ถนนเชื่อโทรศั มสัมพัพนทโทรศั ธ0-2988-3655 เขตหนองจอก กรุ งเทพฯโทรสาร 105300-2988-4040 โทรสาร 0-2988-4040 เลขที่ 51 หมู 1 ถนนเชืโทรศั ่อมสัพมทพัน0-2988-3655 ธ เขตหนองจอกโทรสาร กรุงเทพฯ 10530 0-2988-4040 เลขที ่ 51 หมู  1 ถนนเชื อ ่ มสั ม พันธ เขตหนองจอก กรุงเทพฯ 10530 โทรศัพท 0-2988-3655 โทรสาร 0-2988-4040 โทรศักรุพงกรุ ทเทพฯ 0-2988-3655 ่ 51่ 51 หมูหมู  1 ถนนเชื ่อมสั่อมมสัพัมนพัธ นเขตหนองจอก 10530 1สถนนเชื ธ Technology เขตหนองจอก งเทพฯ 10530 โทรสาร 0-2988-4040 วิทยาลัเลขที ยเลขที เทคโนโลยี ยาม (Siam College) โทรศั พทพ0-2988-3655 โทรสาร 0-2988-4040 โทรศั ท 0-2988-3655 โทรสาร 0-2988-4040

เลขที่ 46 ถนนจรัญสนิทวงศ์ แขวงวัดท่าพระ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ 10600 โทร. 0-2878-5000-5 โทรสาร 0-2878-5002 รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาภายในประเทศ 127 รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาภายในประเทศ www.siamtechu.net

127

127 รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาภายในประเทศ 127 รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาภายในประเทศ รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาภายในประเทศ รายชื ่อสถาบั นอุดนมศึ ษาภายในประเทศ รายชื ่อสถาบั อุดกกมศึ กษาภายในประเทศ รายชื ่อสถาบั นอุดมศึ ษาภายในประเทศ

127127


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

สถาบันอุดมศึกษาเอกชน

128


chapter

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาภายในประเทศ

6

129


DIRECTORY DIRECTORY OF UNIVERSITY OFDIRECTORY UNIVERSITY IN THAILAND IN THAILAND

OF UNIVERSITY IN THAILAND

สถาบั สถาบั นอุดนมศึ สถาบั นอุดอุกมศึ ดษาเอกชน มศึกษาเอกชน กษาเอกชน

มหาวิทยาลัยเนชั่น (Nation University) www.nation.ac.th มหาวิมหาวิ ทยาลัทยยาลั ราชธานี ยราชธานี มหาวิทยาลัยราชธานี

130 130 130


chapter

6

สถาบันอุดมศึกษาเอกชน

SIAM

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาภายในประเทศ รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาภายในประเทศ

131


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

สถาบันอุดมศึกษาเอกชน

132


chapter

6

สถาบันอุดมศึกษาเอกชน

สถาบันการจัดการปัญญาภิวฒ ั น์ Management) 0-2648-2977-79

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาภายในประเทศ รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาภายในประเทศ

133


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

สถาบันอุดมศึกษาเอกชน

134


chapter

6

สถาบันอุดมศึกษาเอกชน

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาภายในประเทศ

135


DIRECTORY

OF UNIVERSITY IN THAILAND

สถาบันอุดมศึกษาเอกชน

136


chapter

6

สถาบันอุดมศึกษาเอกชน

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาภายในประเทศ

137


บรรณานุกรม กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ASEAN Economic Community : AEC 2552 หน้า 54-67 เว็ปไซต์ iiu.oie.go.th/IUasean/Shared%20Documents/ข้อตกลงอาเซียน.doc www.thai-aec.com/ http://th.wikipedia.org www.jamjung.com http://moac2aec.moac.go.th/ewt_news.php?nid=30 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ www.thaigoodview.com www.thaifta.com http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=52e90614d463c479 http://119.63.84.110/lampang/data/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E 0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%A2% E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%81%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%87 %E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B9%83 %E0%B8%99%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%84 %E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%B5%E0%B8%A2 %E0%B8%99%20(%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%88%E0%B8%A1).pdf http://www.mua.go.th/users/bhes/front_home/Go%20U/Cur_mua/ind_Cur.htm http://www.mua.go.th/ http://www.thaitravelcenter.com/travel-info/japan.asp http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%9 7%E0%B8%A8%E0%B8%88%E0%B8%B5%E0%B8%99 http://www.photoontour.com/outbound/guilin/data_zhuang.htm http://www.letgokorea.com/korea-information/korea-seasons.html ขอขอบคุณ ส�ำนักมาตรฐานและประเมินผลอุดมศึกษา ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ไทยทราเวลเซ็นเตอร์ดอทคอม และ บริษัท ไทยทราเวล อินโฟเซอร์วิส จ�ำกัด Photoontour โฟโต้ออนทัวร์ เลททาโก แทรเวล แอนด์ ทัวร์


www.facebook.com/ujunctionmagazine

www.twitter.com/ujunctionmag

เรามีพื้นที่สำหรับคุณ โทรมาคุยกัน

09-8261-6916


PUBLIC RELATION


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.