เครื่องยนต์เบนซินหัวฉีดที่ควบคุมด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์

Page 1


ความรูเบือ้ งตนเกี่ยวกับเครื่องยนตเบนซินหัวฉีด

เนื้อเรือ่ ง องคประกอบการเผาไหมของเครื่องยนตเบนซิน..................................................1-1-13 ขอจํากัดในการทํางานของคารบูเรเตอร................................................................1-2-13 ระบบฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง...................................................................................... 1-5-13 ชนิดของระบบควบคุมการฉีดเบนซิน............................................................ 1-6-13 ระบบฉีดเบนซินอิเล็กทรอนิกส.......................................................................1-6-13 ระบบฉีดเบนซินอิเล็กทรอนิกสแบบ ดี.................................................. 1-7-13 ระบบฉีดเบนซินอิเล็กทรอนิกสแบบ แอล.............................................. 1-8-13 สวนประกอบของระบบฉีดน้ํามันเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส.................. 1-8-13 แบบฝกหัด............................................................................................................ 1-11-13

1


เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง เครื่องยนตเบนซินหัวฉีด ใบเนื้อหา 1-1-13

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับเครื่องยนตเบนซินหัวฉีด การทํางานของเครื่องยนตเบนซินจะเปนไปอยางถูกตองและมีประสิทธิภาพ ขึ้นอยูกับองคประกอบ หลายประการดังนี้

15 kg

อากาศ

1 kg

น้ํามันเบนซิน

องคประกอบการเผาไหมของเครื่องยนตเบนซิน • กําลังอัดในกระบอกสูบที่เหมาะสม • จังหวะการจุดระเบิดและกําลังไฟแรงสูงที่ เหมาะสม • อัตราสวนผสมของอากาศกับน้ํามัน เชื้อเพลิงพอเหมาะ

อัตราสวนผสมของอากาศและน้ํามันเชื้อเพลิง นับเปนสิ่งที่มีความสําคัญมากอยางหนึ่งที่มีผลตอ ประสิทธิภาพของเครื่องยนต หากอัตราสวนผสมที่ปอนเขากระบอกสูบไมเหมาะสม จะเปนสาเหตุให เครื่องยนตมีกําลังงานต่ํา สิ้นเปลืองน้ํามันเชื้อเพลิง และเกิดแกสคารบอนมอนนอกไซด (CO) มาก ซึ่งจะเปนอันตรายตอมนุษยและสิ่งแวดลอม


เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง เครื่องยนตเบนซินหัวฉีด ใบเนื้อหา 1-2-13

ขอจํากัดในการทํางานของคารบูเรเตอร เนื่องจากเครื่องยนตตองทํางานอยูภายใตสภาวะการทํางานตาง ๆ ที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา ตามสภาพการขับขี่ ดังนั้นคารบูเรเตอรที่ใชตองถูกออกแบบใหสามารถจายสวนผสมไอดีไดอยางถูกตอง แต อย า งไรก็ ต ามจะเห็ น ว า คาร บู เ รเตอร จ ะมี อุ ป กรณ แ ละกลไกต า ง ๆ จํ า นวนมากจึ ง ทํ า ให เ ครื่ อ งยนต ที่ ใ ช คารบูเรเตอรยังไมสามารถทํางานไดเต็มประสิทธิภาพ เนื่องจากคารบูเรเตอรยังมีขอจํากัดในการทํางานอยู หลายประการคือ 1. คารบูเรเตอรประกอบดวยอุปกรณกลไกตางๆ จํานวนมากทําใหการจายสวนผสมมีความลาชา สงผลใหการตอบสนองการเรงยังไมดีเทาที่ควร

2. เนื่องจากคารบูเรเตอรประกอบไปดวยวงจรการทํางานตาง ๆ เชน วงจรเดินเบา วงจรกําลัง วงจรปมเรง เปนตน ซึ่งในขณะที่มีการเปลี่ยนแปลงวงจรการทํางาน จําเปนที่จะตองมีการจายสวนผสมใหหนา เขาไวเพื่อปองกันเครื่องยนตสะดุด ทําใหเกิดการสิ้นเปลืองน้ํามันเชื้อเพลิง


เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง เครื่องยนตเบนซินหัวฉีด ใบเนื้อหา 1-3-13

3. ประสิทธิภาพของสวนผสมไอดี จะขึ้นอยูกับความเร็วของอากาศที่ไหลผานคอคอด ของคารบูเรเตอร เชน ในขณะความเร็วรอบเครื่องยนตต่ํา ความเร็วของอากาศที่ไหลผานคอคอดก็จะต่ําตามทําใหสวนผสมไอดี จะไมคอยดีนัก ทําใหสิ้นเปลืองน้ํามันเชื้อเพลิง

4. สวนผสมไอดีที่บรรจุเขาในแตละกระบอกสูบไมเทากันเนื่องจากความยาวของทอรวมไอดีที่ไม เทากันทําใหเกิดการลาชาในการบรรจุสวนผสมไอดี และมีการตกคางของไอดีในทอรวมไอดีมาก ซึ่งมีผลตอ กําลังของเครื่องยนตและสิ้นเปลืองน้ํามันเชื้อเพลิง


เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง เครื่องยนตเบนซินหัวฉีด ใบเนื้อหา 1-4-13

5. ขณะทําการลดการเรงเครื่องยนตอยางทันทีทันใด ซึ่งเปนสภาวะที่เครือ่ งยนตไมตองการ น้ํามันเชื้อเพลิง แตเครื่องยนตยังคงไดรับน้ํามันเชื้อเพลิงจากวงจรเดินเบาของคารบูเรเตอรอยูทําใหเกิดการ สิ้นเปลืองน้ํามันเชื้อเพลิง

6. ขณะที่ ร ถยนต วิ่ ง บนถนนที่ มี ค วามลาดเอี ย ง ระดั บ น้ํ า มั น ในห อ งลู ก ลอยของคาร บู เ รเตอร จ ะ เปลี่ยนแปลงไป เปนเหตุใหคารบูเรเตอรจายสวนผสมไอดีหนาหรือบางเกินไป จากที่เครื่องยนตตองการ


เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง เครื่องยนตเบนซินหัวฉีด ใบเนื้อหา 1-5-13

จากขอจํากัดในการทํางานของคารบูเรเตอร ทําใหบริษัทผูผลิตรถยนตไดพัฒนาอุปกรณสําหรับจาย น้ํามันเชื้อเพลิงใหกับเครื่องยนตแบบใหมที่เรียกวา “ระบบฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง” มาใชแทนคารบูเรเตอร โดยในระบบฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงนี้ จะไมมีวงจรจายสวนผสมหลายวงจรเหมือนคารบูเรเตอร ระบบฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง หลักการของระบบฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง จะใชหัวฉีด (Injector) ทําการฉีดน้ํามันเบนซินเขาไปผสมกับ อากาศในทอรวมไอดี แทนคารบูเรเตอรดังรูป


เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง เครื่องยนตเบนซินหัวฉีด ใบเนื้อหา 1-6-13

ชนิดของระบบควบคุมการฉีดเบนซิน ระบบฉีดเบนซินสามารถแบงออกไดเปน 3 แบบคือ 1. ระบบฉีดเบนซินแบบกลไก (K- Jetronic) 2. ระบบฉีดเบนซินแบบกลไกรวมกับอิเล็กทรอนิกส (KE-Jetronic) 3. ระบบฉีดเบนซินอิเล็กทรอนิกส (Elecetronic Fuel Injection System) ซึ่งระบบนี้สามารถแบงออกเปน 2 ชนิดคือ แบบ D-Jetronic และแบบ L-Jetronic ในที่นี้จะกลาวถึงเฉพาะระบบฉีดเบนซินอิเล็กทรอนิกส ระบบฉีดเบนซินอิเล็กทรอนิกส ระบบฉีดเบนซินอิเล็กทรอนิกส (Electronic Fuel Injection System) หรือที่เรียกวาระบบ EFI เปนการ จายน้ํามันใหกบั เครื่องยนตโดยมีหลักการทํางานดังนี้

น้ํามันจากถังจะถูกสงผานกรองน้ํามัน ไปยังหัวฉีดที่ติดตั้งอยูบริเวณทอไอดีของแตละสูบ โดยปมไฟฟา เมื่อมีสัญญาณไฟฟาจากคอมพิวเตอรไปยังหัวฉีด น้ํามันเบนซินที่มีความดันประมาณ 2.5 กก./ซม2 หรือ 2.5 บาร จะถูกฉีดเขาไปผสมกับอากาศในทอรวมไอดี และเขาไปยังกระบอกสูบ สําหรับปริมาณน้ํามันที่ฉีดออกมา จะมากหรือนอยขึ้นอยูกับปริมาณอากาศที่เขาเครื่องยนตและความเร็วรอบของเครื่องยนตโดยคอมพิวเตอร จะคํานวณระยะเวลาของสัญญาณไฟฟาที่สงไปยังหัวฉีดอยางเหมาะสม


เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง เครื่องยนตเบนซินหัวฉีด ใบเนื้อหา 1-7-13

ระบบฉีดเบนซินอิเล็กทรอนิกสแบบ ดี (D-Jetronic)

ระบบนี้เปนระบบที่มีการควบคุมระยะเวลาในการฉีดน้ํามันเบนซินของหัวฉีดดวยวิธีการวัดความ ดันของอากาศภายในหองประจุไอดี (Air Intake Chamber) แลวสงสัญญาณไฟฟาไปยังกลองคอมพิวเตอร (Elecetronic Control Unit:ECU) รวมกับสัญญาณความเร็วรอบของเครื่องยนต เพื่อกําหนดระยะเวลาในการ ฉีดน้ํามันเบนซิน เชน ในขณะที่เครื่องยนตมีความเร็วรอบต่ํา ลิ้นเรง จะเปดใหอากาศไหลเขากระบอกสูบนอย ภายในหองประจุอากาศจะเกิดสุญญากาศมาก ตัวตรวจจับสุญญากาศ (Vaccumm Sensor) จะสงสัญญาณไปยัง กลองคอมพิวเตอร เพื่อคํานวณและกําหนดระยะเวลาในการฉีดน้ํามันเบนซินใหสั้นลง ตรงกันขามถาลิ้นเรงเปดใหอากาศเขาเครื่องยนตมากขึ้น ภายในหองประจุอากาศจะเกิดสุญญากาศนอย ตัวตรวจจับสุญญากาศจะสงสัญญาณไปยังกลองคอมพิวเตอร เพื่อกําหนดระยะในการฉีดน้ํามันเบนซินให นานขึ้น


เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง เครื่องยนตเบนซินหัวฉีด ใบเนื้อหา 1-8-13

ระบบฉีดเบนซินอิเล็กทรอนิกสแบบ แอล (L-Jetronic)

ระบบนี้เ ปนระบบที่มี การควบคุ ม ระยะเวลาในการฉี ด น้ํามั น เบนซินของหัว ฉี ด ดว ยวิธีการวั ด ปริมาณของอากาศที่ไหลเขากระบอกสูบ โดยใชมาตรวัดการไหลของอากาศ(Air Flow Meter) แลวสง สัญญาณไฟฟาไปยังกลองคอมพิวเตอร รวมกับสัญญาณความเร็วรอบของเครื่องยนต เพื่อกําหนดระยะเวลาใน การฉีดน้ํามันเบนซินใหเหมาะสมกับปริมาณอากาศที่เขากระบอกสูบ สวนประกอบของระบบฉีดน้ํามันเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส ระบบฉีดน้ํามันเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส ทั้งแบบ ดี (D-Jetronic) และแบบ แอล (L-Jetronic) จะประกอบดวยอุปกรณที่ไมแตกตางกันมากนัก และเมื่อแบงแยกอุปกรณตามหนาที่การทํางานแลวสามารถแบง ออกได 3 ระบบ คือ 1. ระบบน้ํามันเชื้อเพลิง (Fuel System) 2. ระบบประจุอากาศ (Air Induction System) 3. ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส (Elecetronic Control System)


เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

สวนประกอบของระบบฉีดน้ํามันเบนซินแบบ ดี (D-Jetronic)

เรื่อง เครื่องยนตเบนซินหัวฉีด ใบเนื้อหา 1-9-13 1. ถังน้ํามันเชือ้ เพลิง 2. ปมน้ํามันเชือ้ เพลิง 3. ตัวตรวจจับสุญญากาศ 4. ลิ้นอากาศ 5. ตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศ 6. กรองอากาศ 7. กรองน้ํามันเชื้อเพลิง 8. หัวฉีดสตารทเย็น 9. ตัวตรวจจับลิ้นเรง 10. ลิ้นสุญญากาศ 11. ตัวปองกันการกระเพื่อม 12. ตัวควบคุมความดัน 13. สวิตชควบคุมหัวฉีดสตารทเย็น 14. หัวฉีดประจําสูบ 15. ตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ํา 16. จานจาย 17. มอเตอรสตารท 18. ความตานทานปรับคาได 19. กลองคอมพิวเตอร 20. คอมเพรสเซอร 21. ขั้วตรวจสอบ 22. หลอดไฟตรวจสอบ 23. แบตเตอรี่ 24. สวิตชเกียรวาง 25. สวิตชจุดระเบิด 26. ตัวตรวจจับความเร็วรถยนต


เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

สวนประกอบของระบบฉีดน้ํามันเบนซินแบบ แอล (L-Jetronic)

เรื่อง เครื่องยนตเบนซินหัวฉีด ใบเนื้อหา 1-10-13 1. ถังน้ํามันเชือ้ เพลิง 2. ปมน้ํามันเชือ้ เพลิง 3. ตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศ 4. ลิ้นอากาศ 5. มาตรวัดการไหลอากาศ 6. กรองอากาศ 7. กรองน้ํามันเชื้อเพลิง 8. หัวฉีดสตารทเย็น 9. ลิ้นสุญญากาศ 10. ตัวตรวจจับลิ้นเรง 11. ตัวปองกันการกระเพื่อม 12. ตัวควบคุมความดัน 13. สวิตชควบคุมหัวฉีดสตารทเย็น 14. หัวฉีดประจําสูบ 15. ตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ํา 16. จานจาย 17. มอเตอรสตารท 18. ตัวชวยจุดระเบิด 19.ตัวตรวจจับปริมาณออกซิเจน 20. คอมเพรสเซอร 21. กลองคอมพิวเตอร 22. หลอดไฟตรวจสอบ 23. ขั้วตรวจสอบ 24. แบตเตอรี่ 25. สวิตชเกียรวาง 26. สวิตชจุดระเบิด 27. ตัวตรวจจับความเร็วรถยนต


เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง เครื่องยนตเบนซินหัวฉีด ใบแบบฝกหัด 1-11-13

แบบฝกหัด หนวยที่ 1 ชื่อ-นามสกุล......................................................วันที่.........เดือน...............พ.ศ............. ตอนที่ 1 จงทําเครื่องหมาย U ทับหัวขอที่ถูกตองที่สุด 1. ขอใด ไมใช องคประกอบการเผาไหมของเครื่องยนตเบนซิน ก. กําลังอัดในกระบอกสูบทีเ่ หมาะสม ข. จังหวะจุดระเบิดและกําลังไฟแรงสูงที่เหมาะสม ค. อัตราสวนผสมน้ํามันกับอากาศพอเหมาะ ง. ขนาดของกระบอกสูบที่เหมาะสม 2. ระบบฉีดเบนซินอิเล็กทรอนิกสมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งวา ก. EFI ข. ECU ค. L-jetronic ง. D-jetronic 3. อุปกรณใดที่ไมมอี ยูในระบบฉีดเบนซินอิเล็กทรอนิกสแบบ ดี (D-jetronic) ก. มาตรวัดการไหลของอากาศ ข. ตัวตรวจจับสุญญากาศ ค. กลองคอมพิวเตอร ง.ตัวควบคุมความดันน้ํามันเชื้อเพลิง 4. อุปกรณใดที่ไมมีอยูในระบบฉีดเบนซินอิเล็กทรอนิกสแบบ แอล (L-jetronic) ก. มาตรวัดการไหลของอากาศ ข. ตัวตรวจจับสุญญากาศ ค. ตัวตรวจจับความเร็วรอบเครื่องยนต ง.ตัวควบคุมความดันน้ํามันเชื้อเพลิง 5. การควบคุมระยะเวลาในการฉีดน้ํามันเบนซินของหัวฉีด ในเครื่องยนตระบบฉีดเบนซินอิเล็กทรอนิกสแบบ ดี (D-jetronic) ใชวิธีการใด ก. วัดปริมาณของอากาศที่ไหลเขากระบอกสูบ + สัญญาณความเร็วรอบเครื่องยนต ข. วัดความดันอากาศในหองประจุไอดี + สัญญาณความเร็วรอบเครื่องยนต ค. วัดปริมาณของอากาศที่ไหลเขากระบอกสูบ + สัญญาณการฉีด ง. วัดความดันอากาศในหองประจุไอดี + สัญญาณการฉีด 6. การควบคุมระยะเวลาในการฉีดน้ํามันเบนซินของหัวฉีด ในเครื่องยนตระบบฉีดเบนซินอิเล็กทรอนิกสแบบ แอล (L-jetronic) ใชวิธกี ารใด ก. วัดปริมาณของอากาศที่ไหลเขากระบอกสูบ + สัญญาณความเร็วรอบเครื่องยนต ข. วัดความดันอากาศในหองประจุไอดี + สัญญาณความเร็วรอบเครื่องยนต ค. วัดปริมาณของอากาศที่ไหลเขากระบอกสูบ + สัญญาณการฉีด ง. วัดความดันอากาศในหองประจุไอดี + สัญญาณการฉีด


เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง เครื่องยนตเบนซินหัวฉีด ใบแบบฝกหัด 1-12-13

7. สวนประกอบของระบบฉีดเบนซินที่ควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส แบงออกไดกี่ระบบ ก. 2 ข. 3 ค. 4 ง. 5 ตอนที่ 2 จงเติมคําใหตรงกับรูปที่กําหนดให

2.1. สวนประกอบระบบฉีดเบนซินแบบ................................. 1....................................................... 2............................................................. 3....................................................... 4............................................................. 5....................................................... 6............................................................. 7....................................................... 8...............................................................


เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง เครื่องยนตเบนซินหัวฉีด ใบแบบฝกหัด 1-13-13

2.2. สวนประกอบระบบฉีดเบนซินแบบ................................. 1....................................................... 2............................................................. 3....................................................... 4............................................................. 5....................................................... 6............................................................. 7....................................................... 8............................................................


ระบบเชื้อเพลิง

เนื้อเรือ่ ง สวนประกอบของระบบน้ํามันเชื้อเพลิง................................................................... 2-1-14 วงจรการไหลของน้ํามันเชื้อเพลิง............................................................................. 2-1-14 กรองน้ํามันเชือ้ เพลิง................................................................................................ 2-1-14 ปมน้ํามันเชื้อเพลิง.....................................................................................................2-2-14 วงจรไฟฟาควบคุมปมน้าํ มันเชื้อเพลิง.................................................................. 2-3-14 วงจรไฟฟาควบคุมปมน้าํ มันเชื้อเพลิง แบบ ดี............................................... 2-3-14 วงจรไฟฟาควบคุมปมน้าํ มันเชื้อเพลิง แบบ แอล............................................2-5-14 ตัวควบคุมความดันน้าํ มัน.........................................................................................2-7-14 หัวฉีดประจําสูบ........................................................................................................2-8-14 วงจรไฟฟาควบคุมหัวฉีดประจําสูบ.........................................................................2-9-14 หัวฉีดสตารทเย็น......................................................................................................2-10-14 วงจรไฟฟาควบคุมหัวฉีดฉีดสตารทเย็น..................................................................2-11-14 แบบฝกหัด...............................................................................................................2-12-14

2


เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบเชื้อเพลิง ใบเนื้อหา 2-1-15

ระบบน้ํามันเชื้อเพลิง (Fuel System)

1

2

4

3

6

5

7

รูปสวนประกอบของระบบน้ํามันเชื้อเพลิง

1 4 2

5

3

สวนประกอบของระบบเชื้อเพลิง 1. ถังน้ํามันเชื้อเพลิง(Fuel Tank) 2. ปมน้ํามันเชื้อเพลิง(Fuel Pump) 3. กรองน้ํามันเชื้อเพลิง(Fuel Filter) 4. ทอจายน้ํามันเชื้อเพลิง(Delivery Pipe) 5. ตัวควบคุมความดันน้ํามัน(Pressure Regurator) 6. หัวฉีดประจําสูบ(Injector) 7. หัวฉีดสตารทเย็น(Cold Start Injector) วงจรการไหลของน้ํามันเชื้อเพลิง น้ํามันเชื้อเพลิงจะถูกดูดจากถังโดยปมน้ํามัน เชื้อเพลิงแลวสงผานไปยัง กรองปมน้ํามันเชื้อเพลิง ท อ จ า ยป ม น้ํ า มั น เชื้ อ เพลิ ง หั ว ฉี ด ประจํ า สู บ และ หัวฉีดสตารทเย็น

ความดันน้ํามันต่ํา ความดันน้ํามันสูง

6

7

ไสกรอง ออก

เขา

รูปกรองน้ํามันเชื้อเพลิง

กรองน้ํามันเชื้อเพลิง(Fuel Filter) มีหนาที่ กรองสิ่งสกปรกตาง ๆ ที่ปนมากับ น้ํ า มั น เชื้ อ เพลิ ง เพื่ อ ป อ งกั น การอุ ด ตั น ของระบบ เชื้อเพลิง กอนที่จะสงไปยังหัวฉีด โดยกรองน้ํามัน เชื้อเพลิง ดานทางออกของปมน้ํามันเชื้อเพลิง


เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบเชื้อเพลิง ใบเนื้อหา 2-2-15

ปมน้ํามันเชื้อเพลิง (Fuel Pump) ปมน้ํามันเชื้อเพลิง มีหนาที่ ปมน้ํามันจากถังสงไปยังหัวฉีดและหัวฉีดสตารทเย็น และสรางแรงดันในระบบ ประมาณ 2.5 – 3 กก./ซม2. ปมน้ํามันเชื้อเพลิงในเครื่องยนตฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส นิยมมีใช อยู 2 ชนิด คือ 1. ปมแบบลูกกลิ้ง 2. ปมแบบใบพัด

รูปแสดง สวนประกอบปมแบบลูกกลิ้ง

1.ปมแบบลูกกลิ้ง การทํางาน เมื่อมอเตอรขับใหโรเตอรหมุน ลูกกลิ้งที่อยูภายในโรเตอรจะถูกเหวี่ยงออกเนื่องจาก แรงเหวี่ยงหนีศูนยกลางออกมาสัมผัสกับผนังภายใน ของเสื้ อ ป ม ทํ า ให เ กิ ด การเปลี่ ย นแปลงขนาดของ ชองวางระหวางลูกกลิ้งกั บผนังของเสื้อปม รอบ ๆ อยูตลอดเวลา ทําใหเกิดการดูดในสวนที่มีปริมาตรมากแลวถูก อัดออกไปในสวนที่มีปริมาตรเล็กลงที่ชองทางออก ของปม 2. ปมแบบใบพัด การทํ า งาน เมื่ อ มอเตอร ขั บ ให ใ บพั ด หมุ น คลีบของใบพัดจะพาเอาน้ํามันจากชองทางเขาของปม และเหวี่ยงน้ํามันผานออกทางชองทางออกของปม ซึ่งใบพัดจะหมุนภายในเสื้อปมโดยไมสัมผัสกับเสื้อ ปม ดังนั้นขณะที่ปมทํางานจะมีเสียงคอนขางเงียบ

รูปแสดง สวนประกอบปมแบบใบพัด


เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบเชื้อเพลิง ใบเนื้อหา 2-3-15

วงจรไฟฟาควบคุมปมน้าํ มันเชื้อเพลิง วงจรไฟฟาควบคุมปมน้าํ มันเชื้อเพลิง แบบ ดี (D - Jetronic) (ตัดวงจร)

(ตัดวงจร) (ไมทํางาน)

E

ขณะดับเครื่องยนต(ปดสวิตช)

(ตอวงจร)

(ตอวงจร) (ทํางาน) สัญญาณความเร็ว รอบเครื่องยนต สัญญาณการสตารท

E

ขณะสตารทเครื่องยนต

ขณะสตารทเครื่องยนตสัญญาณไฟสตารทจะสงไปยังคอมพิวเตอรทําใหรีเลยการเปดวงจรตอ วงจรสงผลใหปมน้ํามันเชื้อเพลิงทํางาน


เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบเชื้อเพลิง ใบเนื้อหา 2-4-15

(ตอวงจร)

(ตอวงจร) (ทํางาน) สัญญาณความเร็ว รอบเครื่องยนต

E

ขณะเครื่องยนตทํางาน(เครื่องยนตติดแลว)

เมื่อเครื่องยนตติดแลวสัญญาณ สตารทจะถูกตัดไป แตปมน้ํามันเชื้อเพลิงจะทํางานตอไดโดย อาศัยสัญญาณจากความเร็วรอบของเครื่องยนตที่สงไปยังคอมพิวเตอรแทนสัญญาณการสตารท

ปมน้ํามันเชื้อเพลิงจะถูกควบคุมใหทํางานเฉพาะตอนที่เครื่องยนตทํางานเทานั้นหากเครื่องยนตดับ ปมน้ํามันจะหยุดการทํางานทันที(คอมพิวเตอรไมไดรับสัญญาณความเร็วรอบเครื่องยนต)แมวาสวิตชจุด ระเบิดจะยังเปดอยู เพื่อปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นจากการจายน้ํามัน ในกรณีรถยนตเกิดอุบัติเหตุและมี การแตกของทอทางน้ํามัน อาจทําใหเกิดไฟไหมขึ้นได


เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบเชื้อเพลิง ใบเนื้อหา 2-5-15

วงจรไฟฟาควบคุมปมน้าํ มันเชื้อเพลิง แบบ แอล (L – Jetronic) (ตัดวงจร)

(ไมทํางาน) (ตัดวงจร)

(ตัดวงจร)

ขณะดับเครื่องยนต(ปดสวิตช)

(ตอวงจร)

(ทํางาน) (ตอวงจร)

(ตัดวงจร)

ขณะสตารทเครื่องยนต

ขณะสตารทเครื่องยนตสัญญาณไฟสตารทจะเขาไปยังขดลวดรีเลยการเปดวงจรขั้ว STA และ ครบวงจรลงกราวดขั้ว E1 ทําใหหนาสัมผัส +B ตอกับ FP สงผลใหปมน้ํามันเชื้อเพลิงทํางาน


เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบเชื้อเพลิง ใบเนื้อหา 2-6-15

(ตอวงจร)

(ทํางาน) (ตอวงจร) (ตอวงจร)

อากาศเขา

ขณะเครื่องยนตทํางาน(เครื่องยนตติดแลว)

เมื่อเครื่องยนตติดแลวสัญญาณ สตารทจะถูกตัดไป แตปมน้ํามันเชื้อเพลิงจะทํางานตอไดโดย อาศัยสัญญาณไฟจากรีเลยหลักเขาขั้ว +B ออก FC ผานสวิตชปมน้ํามันเชื้อเพลิงที่มาตรวัดการไหลของ อากาศ(สวิตชจะตอวงจรเมื่อมีอากาศไหลผานมาตรวัด)ลงกราวด หนาสัมผัส +B ตอกับ FP สงผลให ปมน้ํามันเชื้อเพลิงทํางานตอไป

ปมน้ํามันเชื้อเพลิงจะถูกควบคุมใหทํางานเฉพาะตอนที่เครื่องยนตทํางานเทานั้นหากเครื่องยนตดับ ปมน้ํามันจะหยุดการทํางานทันที (สวิตชปมน้ํามันเชื้อเพลิงที่มาตรวัดการไหลของอากาศจะตัดวงจร) แมวาสวิตชจุดระเบิดจะยังเปดอยู เพื่อปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นจากการจายน้ํามัน ในกรณีรถยนตเกิด อุบัติเหตุและมีการแตกของทอทางน้ํามัน อาจทําใหเกิดไฟไหมขึ้นได


เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบเชื้อเพลิง ใบเนื้อหา 2-7-15

ตัวควบคุมความดันน้าํ มัน(Pressure Regulator) ตัวควบคุมความดันน้ํามัน มีหนาที่ ควบคุมความแตกตางระหวางความดันน้ํามันเชือ้ เพลิง กับความดันอากาศ ในทอรวมไอดีใหคงที่ เพื่อใหฉีดน้ํามันเชือ้ เพลิงมีปริมาณที่แนนอนตามสภาวะของเครื่องยนต

ลิ้นเรงเปดสุด

ทอสุญญากาศ

ความดันสุญญากาศ 2 -0.3 กก./ซม.

ตัวควบคุม ความดันน้ํามัน

ความดันน้ํามันเบนซิน 2 2.25 กก./ซม.

ความดันรวม 2 2.25-(-0.3) = 2.55 กก./ซม.

รูปแสดงการทํางานของตัวควบคุมความดันสภาวะปกติ

ลิ้นเรงปดสนิท

ทอสุญญากาศ

ความดันสุญญากาศ 2 -0.6 กก./ซม.

ตัวควบคุม ความดันระบายน้ํามัน กลับถัง

ความดันน้ํามันเบนซิน ลดลงเหลือ1.95 กก/ซม.2

การทํางาน เมื่ออากาศไหลเขาเครื่องยนตมากสุญญากาศ ในทอรว มไอดีลดลง สปริ ง ในตั ว ควบคุมความดัน น้ํามันจะดันใหแผนไดอะแฟรมปดชองระบายน้ํามัน ทําใหน้ํามันไมสามารถไหลกลับถังได ซึ่งจะทําให ความดันในระบบเพิ่มสูงขึ้นเพียงพอตอการฉีดน้ํามัน เชื้อเพลิง อากาศไหลเขามาก ความดันน้ํามันในระบบจะมาก

และเมื่ อ ขณะที่ อ ากาศไหลเข า เครื่ อ งยนต นอยลง สุญญากาศที่เกิดขึ้นในทอรวมไอดีจะเพิ่มขึ้น และดูดใหแผนไดอะแฟรมเปดชองระบายน้ํามัน ให น้ํามันสวนหนึ่งไหลกลับถัง ทําใหความดันในระบบ ลดลงเพื่อปองกันความดันน้ํามันในระบบสูงเกิน อากาศไหลเขานอย ความดันน้ํามันในระบบจะนอย

ความดันรวม 2 1.95-(-0.6) = 2.55 กก./ซม.

รูปแสดงการทํางานของตัวควบคุมความดันขณะระบายน้ํามัน

ขอควรรู ความดันน้าํ มันเชือ้ เพลิงจะถูกรักษาใหคงทีป่ ระมาณ 2.5 - 3 กก./ซม.2


เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบเชื้อเพลิง ใบเนื้อหา 2-8-15

หัวฉีดประจําสูบ(Injector) มีหนาที่ ฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงใหเปนฝอยละออง เขาไปผสมกับอากาศในทอรวมไอดี โดยหัวฉีดจะติดตั้ง ที่ทอรวมไอดี ในตําแหนงใกลกับลิ้นไอดี

ตําแหนงการ ติดตั้ง

ทางน้ํามันเขา ขั้วตอสายไฟ

ขดลวดโซลินอยด

เข็มหัวฉีด

การฉีด

รูปแสดงสวนประกอบและการทํางานของหัวฉีด

การทํางาน น้ํามันจากทอจายไหลเขาหัวฉีด อยูบริเวณ ปลายของหัวฉีด สปริงจะดันเข็มหัวฉีดใหแนบสนิท อยูกับบาลิ้นไมใหน้ํามันไหลออก เมื่อมีสัญญาณจาก กลองคอมพิวเตอร ปอนเขาขดลวดโซลินอยดทําให เกิดสนามแมเหล็กดึงใหเข็มหัวฉีดยกขึ้นจากบาลิ้น และน้ํามันจะถูกฉีดออกในลักษณะเปนฝอยละออง


เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบเชื้อเพลิง ใบเนื้อหา 2-9-15

วงจรไฟฟาควบคุมหัวฉีดประจําสูบ

ขณะดับเครื่องยนต

ขณะเครื่องยนตทํางาน

เมื่ อ เป ด สวิ ต ช ก ระแสไฟฟ า จะไหลผ า นสวิ ต ช จุ ด ระเบิ ด หั ว ฉี ด และเข า ไปยั ง กล อ ง คอมพิวเตอร ขั้ว # 20 และ # 10 เมื่อถึงจังหวะการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง กลองคอมพิวเตอรจะเปดทาง ใหกระแสไฟจากหัวฉีดลงกราวดครบวงจรที่ขั้ว E01 และ E02 ทําใหหัวฉีดทํางานฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง เขาเครื่องยนตตอไป


เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบเชื้อเพลิง ใบเนื้อหา 2-10-15

หัวฉีดสตารทเย็น (Cold Start Injector) มี ห น า ที่ ฉี ด น้ํ า มั น เชื้ อ เพลิ ง เพิ่ ม เข า ไปใน เครื่องยนตเพื่อชวยใหเครื่องยนตสตารทติดงายขึ้น ขณะที่เครื่องยนตมีอุณหภูมิต่ํา โดยหัวฉีด สตารทเย็น จะถูกติดตั้งอยูบริเวณทอรวมไอดี

ตําแหนงการ ติดตั้ง

รูปแสดงตําแหนงการติดตั้งของหัวฉีดสตารทเย็น ทางน้ํามันเขา ขั้วสายไฟ ขดลวดโซลินอยด ลูกสูบ

รูหัวฉีด การฉีด

รูปแสดงสวนประกอบและการทํางานของหัวฉีด

การทํางาน น้ํามันจากทอจายไหลเขาหัวฉีด อยูบริเวณหัวลูกสูบ สปริงจะดันลูกสูบใหแนบสนิท อยู กั บ บ า ลิ้ น ไม ใ ห น้ํ า มั น ไหลออก เมื่ อ สตาร ท เครื่ อ งยนต สั ญ ญาณไฟสตาร ท เข า ไปยั ง ขดลวด โซลินอยด ทํ า ให เกิดสนามแมเ หล็ก ดึง ใหลูก สูบลง เปดให น้ํามันฉีดออกจากหัวฉีด


เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบเชื้อเพลิง ใบเนื้อหา 2-11-15

วงจรไฟฟาควบคุมหัวฉีดสตารทเย็น

สวิตช จุดระเบิด

ST

น้ํามัน

STJ

STA ขดลวดความรอน 2

ขดลวดความรอน 1

เมื่อสตารทเครื่องยนตขณะที่อุณหภูมิของ เครื่องยนตต่ํา หัวฉีดสตารทเย็นจะทํางานโดยฉีด น้ํามันเชื้อเพลิงเพิ่มเขาไปในเครื่องยนตใหอัตรา สวนผสมไอดีหนาขึ้นใหเครื่องยนตติดงายขึ้น โดย มีสวิตชควบคุมเวลาหัวฉีดสตารทเย็นควบคุมการ ทํางานของหัวฉีด สตารทเย็น

สวิตชควบคุมเวลาหัวฉีดสตารทเย็น(ON)

ขณะเครื่องยนตมีอุณหภูมิต่ํา

สวิตช จุดระเบิด

ST

น้ํามัน

STJ

STA ขดลวดความรอน 2

ขดลวดความรอน 1 สวิตชควบคุมเวลาหัวฉีดสตารทเย็น(OFF)

ขณะเครื่องยนตมีอุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้น

และเมื่อเครื่องยนตมีอุณหภูมิสูงขึ้นหัวฉีด สตารทเย็นจะถูกควบคุมใหหยุดทํางาน โดยอาศัย อุณหภูมิของเครื่องยนตและกระแสไฟที่ไหลเขา ขดลวดความร อ น จะทํ า ให แ ผ น เหล็ ก ไบเมทั ล โก ง ตั ว งอขึ้ น ทํ า ให ไ ฟฟ า ที่ ไ หลผ า นหั ว ฉี ด สตารทเย็นถูกตัดวงจร ดังรูป


เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบเชื้อเพลิง ใบเนื้อหา 2-12-15

ตัวปองกันการกระเพื่อมของน้ํามันเชื้อเพลิง (Fuel Pulsation Damper)

มีหนาที่ ปองกันความดันน้ํามันเชื้อเพลิงในทอทางความดันสูง ลดลงต่ํากวาคาที่กําหนดในขณะที่ หัวฉีด ฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง

รูปแสดงสวนประกอบและการทํางานตัวปองกันการกระเพื่อมของน้ํามันเชื้อเพลิง

การทํางาน เมื่อความดันภายในทอสูงกวา 2.5 กก./ซม2 แผนไดอะแฟรมจะถูกยกตัวขึ้น(หัวสกูรยกขึ้น) และเมื่อหัวฉีดฉีดเชื้อเพลิง ความดันในทอจะลดลง แผนไดอะแฟรมจะถูกสปริงกดลงมาทําใหความดัน น้ํามันในทอเพิ่มสูงขึ้น หมายเหตุ ในเครื่องยนตบางรุนในปจจุบันจะไมมีตัวปองกันการกระเพื่อมติดตั้งอยู เนื่องจากปมน้ํามัน เชื้อเพลิงมีอัตราการจายปริมาณน้ํามันใหกับหัวฉีดอยางเพียงพอโดยความดันไมเปลี่ยนแปลง


เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบเชื้อเพลิง ใบแบบฝกหัด 2-13-15

แบบฝกหัด หนวยที่ 2 ชื่อ-นามสกุล......................................................วันที่.........เดือน...............พ.ศ............. ตอนที่ 1 จงทําเครื่องหมาย U ทับหัวขอที่ถูกตองที่สุด 1. อุปกรณใด ไมใช สวนประกอบของระบบเชื้อเพลิง ก. หัวฉีดประจําสูบ ข. กรองน้ํามันเชื้อเพลิง ค. ตัวควบคุมความดันน้ํามันเชื้อเพลิง ง. รีเลยควบคุมปมน้ํามันเชือ้ เพลิง 2. อุปกรณที่ทาํ หนาที่ปองกันการอุดตันของระบบเชื้อเพลิงคือ ก. กรองน้ํามันเชื้อเพลิง ข. ตัวควบคุมความดันน้ํามันเชื้อเพลิง ค. ตัวปองกันการกระเพื่อม ง. ทอจายน้ํามันเชื้อเพลิง 3. อุปกรณที่ทาํ หนาที่สรางความดันน้ํามันเชื้อเพลิงแกระบบคือ ก. ถังน้ํามันเชือ้ เพลิง ข. ปมน้ํามันเชือ้ เพลิง ค. หัวฉีดประจําสูบ ง.ตัวควบคุมความดันน้ํามันเชื้อเพลิง 4. ปมน้ํามันเชือ้ เพลิงแบบลูกกลิ้งใชหลักการใดในการดูดและสงน้ํามันเชื้อเพลิงในระบบ ก. แรงเหวี่ยงหนีศูนยกลาง ข. การหมุนของโรเตอร ค. การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ภายในเสื้อปม ง. ความดันแตกตางระหวางดานหนาและหลังปม 5. เมื่อเครื่องยนตดับปมน้ํามันเชื้อเพลิงจะไมทํางาน ดวยเหตุผลใด ก. ปองกันน้ํามันทวม ข. ปองกันน้ํามันรั่ว ค. ปองกันความดันน้ํามันในระบบสูงเกิน ง. ปองกันเพลิงไหมเวลาเกิดอุบัติเหตุ 6. อุปกรณที่ทาํ หนาที่ควบคุมความแตกตางระหวางความดันน้ํามันเชือ้ เพลิงกับความดันในทอรวมไอดี คือ ก. ตัวควบคุมความดันน้ํามันเชื้อเพลิง ข. ปมน้ํามันเชื้อเพลิง ค. ลิ้นกันกลับภายในปมน้ํามันเชื้อเพลิง ง. ตัวปองกันการกระเพือ่ ม 7. แผนไดอะแฟรมภายในตัวควบคุมความดันน้ํามันเชื้อเพลิงจะถูกควบคุมให เปด-ปดทางระบายน้ํามันกลับถัง โดยสิ่งใด ก. ความดันอากาศ+สปริง ข. ความดันภายในทอรวมไอดี+สปริง ค. ความดันน้ํามันเชื้อเพลิง+สปริง ง. ถูกทุกขอ 8. อุปกรณที่ทาํ หนาที่ควบคุมการทํางานของปมน้ํามันเชือ้ เพลิงคือ ก. สวิตชควบคุมเวลา ข. มาตรวัดการไหลของอากาศ ค. รีเลยเปดวงจร ง. รีเลยหลัก


เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบเชื้อเพลิง ใบแบบฝกหัด 2-14-15

9. ถาถอดทอสุญญากาศที่ตัวควบคุมความดันน้ํามันเชื้อเพลิงออกจะทําใหเกิด ก. ความดันน้ํามันในระบบจะคงที่ ข. ความดันน้ํามันในระบบจะเพิ่มขึน้ ค. ความดันน้ํามันในระบบจะลดลง ง. เครื่องยนตดับ 10. ระบบฉีดเชื้อเพลิงแบบ ดี (D-jetronic) จะใชสัญญาณใดควบคุมการทํางานของปมน้ํามันเชื้อเพลิ งขณะที่ เครื่องยนตทํางาน ก. กลองคอมพิวเตอร ข. สัญญาณการสตารท ค. มาตรวัดการไหลของอากาศ ง. สัญญาณความเร็วรอบจากจานจาย 11. อุปกรณใดในเครื่องยนตหัวฉีดที่ทําหนาที่เหมือนกับคารบูเรเตอร ก. เรือนลิ้นเรง ข. หัวฉีดประจําสูบ ค. ทอรวมไอดี ง. ถูกทั้ง ข และ ค 12. หัวฉีดประจําสูบจะถูกติดตั้งอยูบริเวณใดของเครื่องยนต ก. ทางเขาของทอรวมไอดี ข. ทอรวมไอดีใกลลิ้นไอดี ค. ทอรวมไอดี ง. ฝาสูบใกลลิ้นไอดี 13. เข็มหัวฉีดของหัวฉีดประจําสูบจะถูกยกเปดใหน้ํามันเชื้อเพลิงฉีดออกไปโดยสิ่งใด ก. กลองคอมพิวเตอร ข. ขดลวดโซลินอยด ค. สัญญาณมุมเพลาขอเหวีย่ ง ง. ความดันน้ํามันเชื้อเพลิงในระบบ 14. หัวฉีดสตารทเย็นมีหนาที่เหมือนกับระบบใดในคารบูเรเตอร ก. ระบบโชก ข. ระบบเดินเบา ค. ระบบกําลัง ง. ระบบลูกลอย 15. อุปกรณทที่ ําหนาที่ควบคุมการทํางานของหัวฉีดสตารทเย็นคือ ก. กลองคอมพิวเตอร ข. ขดลวดโซลินอยด ค. รีเลยหัวฉีดสตารทเย็น ง. สวิตชควบคุมเวลาหัวฉีดสตารทเย็น 16. อุปกรณทที่ ําหนาที่ปองกันความดันน้าํ มันเชื้อเพลิงในทอทางความดันสูง ลดลงต่ํากวาคาที่กําหนดในขณะที่ หัวฉีด ฉีดน้าํ มันเชื้อเพลิง คือ ก. ตัวเก็บเสียง ข. ลิ้นกันกลับภายในปม ค. ตัวปองกันการกระเพื่อม ง. ลิ้นระบาย 17. เมื่อความดันน้ํามันเชื้อเพลิงในระบบเพิม่ ขึ้นแผนไดอะแฟรมภายในตัวปองกันการกระเพื่อมจะอยูในลักษณะใด ก. ขยับยกตัวขึน้ ข. ขยับลง ค. คงที่ ง. ไมมีขอใดถูก


เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบเชื้อเพลิง ใบแบบฝกหัด 2-15-15

ตอนที่ 2 จงเติมคําใหตรงกับรูปที่กําหนดให

1

2

4

3

6

สวนประกอบของระบบเชื้อเพลิง 1....................................................... 3....................................................... 5....................................................... 7.......................................................

5

7

2............................................................. 4............................................................. 6.............................................................


ระบบประจุอากาศ

เนื้อเรือ่ ง สวนประกอบของระบบประจุอากาศ................................................................... 3-1-12 มาตรวัดการไหลของอากาศ................................................................................. 3-2-12 มาตรวัดการไหลของอากาศแบบแผนวัด................................................... 3-3-12 มาตรวัดการไหลของอากาศแบบลวดความรอน........................................ 3-4-12 มาตรวัดการไหลแบบคารมานเวอรเทค..................................................... 3-5-12 เรือนลิ้นเรง........................................................................................................... 3-6-12 ลิ้นอากาศ................................................................................................... 3-7-12 แบบฝกหัด............................................................................................................3-10-12

3


เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบประจุอากาศ ใบเนื้อหา 3-1-12

ระบบประจุ อากาศ System) ระบบประจุอากาศ (Air Induction ระบบประจุอากาศประกอบดวยอุปกรณตา ง ๆ ที่สําคัญดังนี้ กรองอากาศ (Air Cleaner) มาตรวัดการ ไหลของอากาศ(Air Flow Meter) เรือนลิ้นเรง(Throttle Body) ลิ้นอากาศ (Air Valve) ทอรวมไอดี (Intake Tube)

รูป1 แสดงสวนประกอบระบบประจุอากาศแบบ ดี-เจ็ททรอนิกส

รูป2 แสดงสวนประกอบระบบประจุอากาศแบบ แอล-เจ็ททรอนิกส คอมพิวเตอร ECU

มาตรวัดการ ไหลอากาศ

กรอง อากาศ

กรองอากาศ (Air cleaner) กรองอากาศมีหนาที่ กรองฝุนผง สิ่ง สกปรกออกจากอากาศที่จะเขาไปยังกระบอก สูบ


เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบประจุอากาศ ใบเนื้อหา 3-2-12

มาตรวัดการไหลของอากาศ (Air Flow Meter) มาตรวัดการไหลของอากาศมีหนาที่ ตรวจวัดปริมาณอากาศที่ไหลเขาเครื่องยนตและสงสัญญานไฟฟา กลับไปยังคอมพิวเตอรเพื่อกําหนดระยะเวลาในการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงของหัวฉีด ซึ่งมาตรวัดการไหลของอากาศจะมีใชในระบบควบคุมการฉีดเชื้อเพลิงแบบ แอล (L-Jetronic) ซึ่งนิยมใช กันอยู 3 ชนิด ดังรูป

รูป แสดงชนิดของมาตรวัดการไหลของอากาศ


เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบประจุอากาศ ใบเนื้อหา 3-3-12

มาตรวัดการไหลของอากาศแบบแผนวัด (Flap Type Air Flow Meter) สวนประกอบ 1.แผนวัดปริมาณอากาศ 2.แผนชดเชย 3.หองปองกันการสั่นของแผนวัด 4.ชองอากาศ 5.สกรูปรับสวนผสมเดินเบา

การทํางาน เมื่ออากาศไหลผานในปริมาณนอยแผนวัดก็ จะหมุนเปนมุมเพียงเล็กนอยความตานทานระหวาง ขั้ ว VB กั บ VS จะสู ง แรงเคลื่ อ นไฟฟ า จากกล อ ง คอมพิวเตอรที่ไหลเขาขั้ว VB ผานตัวตานทานออก ขั้ ว VS จะมี ป ริ ม าณไฟฟ า ออกมาน อ ยทํ า ให คอมพิวเตอรรูวาขณะนี้ปริมาณอากาศเขาเครื่องยนต นอยควรจะกําหนดระยะเวลาในการฉีด เชื้อเพลิงให สั้นลง และเมื่ออากาศไหลผานแผนวัดมากขึ้น แผน วัดก็จะหมุนเปนมุมมากขึ้นความตานทานระหวางขั้ว VB กับ VS จะลดนอยลง แรงเคลื่อนไฟฟาจากกลอง คอมพิวเตอรที่ไหลเขาขั้ว VB ผานตัวตานทานออก ขั้ว VS จะมีปริมาณไฟฟาออกเพิ่มมากขึ้นทําให คอมพิวเตอรรูวาขณะนี้มีปริมาณอากาศเขาเครื่องยนต เพิ่ ม มากขึ้ น ควรจะกํ า หนดระยะเวลาในการฉี ด เชื้อเพลิงใหนานขึ้นตาม


เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบประจุอากาศ ใบเนื้อหา 3-4-12

มาตรวัดการไหลของอากาศแบบลวดความรอน (Hot Wire Type Air Flow Meter) มาตรวัดการไหลของอากาศแบบลวดความรอน จะอาศัยหลักการเอาลวดความรอนไปขวางการไหล ของอากาศทําใหคาความตานทานของลวดลดลงหรือ เพิ่มขึ้นนั้นขึ้นอยูกับปริมาณอากาศที่ไหลผาน

สัญญานสงไปยังหัวฉีด สั้นลง

คอมพิวเตอร ECU

อุณหภูมิสูง

อากาศ เขานอย

ลวดความรอน

สัญญานสงไปยังหัวฉีด นานขึ้น

คอมพิวเตอร ECU

อุณหภูมิต่ํา

อากาศ เขามาก

ลวดความรอน

การทํางาน เมื่ อ อากาศไหลผ า นในปริ ม าณน อ ยอุ ณ หภู มิ ของลวดจะเพิ่ ม มากขึ้น จะทํ าใหค า ความต า นทาน ของลวดลดลงส ง ผลให สั ญ ญานไฟฟ า ที่ ส ง กลั บ คอมพิวเตอรจะเพิ่มมากขึ้น ทําใหคอมพิวเตอร ทราบ วาปริ มาณอากาศที่ไ หลเข าเครื่ อ งยนต นอย จึงตอง ควบคุมเวลาการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงของหัวฉีดใหสั้น ลง และเมื่ ออากาศไหลผานมากขึ้น อุณ หภูมิของ ลวดจะลดลง จะทํ า ให ค า ความต า นทานของลวด เพิ่มขึ้นสงผลใหสัญญานไฟฟาที่สงกลับคอมพิวเตอร ลดนอยลง ทําใหคอมพิวเตอรทราบวาปริมาณอากาศ ที่ไหลเขาเครื่องยนตเพิ่มมากขึ้น จึงตองควบคุมเวลา การฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงของหัวฉีดใหนานขึ้น


เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบประจุอากาศ ใบเนื้อหา 3-5-12


อุณหภูมิสูง

อุณหภูมิต่ํา

W

W

ความตานทานสูง

ความตานทานต่ํา

เมื่อลวดมีอุณหภูมิต่ํา คาความตานทานจะสูง

เมื่อลวดมีอุณหภูมิสูงคาความตานทานจะต่ํา

มาตรวัดการไหลแบบคารมานเวอรเทค (Karman Vortex Air Flow Meter) มาตรวั ด แบบนี้ จ ะอาศั ย หลั ก การนั บ จํ า นวน คลื่ น การหมุ น ของอากาศที่ ไ หลผ า นมาตรวั ด ถ า จํ า นวนคลื่ น การหมุ น วนของอากาศมาก แสดงว า ปริ ม าณอากาศที่ ไ หลเข า เครื่ อ งยนต ม าก และถ า จํ า นวนคลื่ น การหมุ น วนของอากาศน อ ย แสดงว า ปริมาณอากาศที่ไหลเขาเครื่องยนตนอยตาม สัญญานสงไปยังหัวฉีด สั้นลง

คอมพิวเตอร ECU

ตัวสงสัญญานนับคลื่น เสา

อากาศหมุนวน นอย

อากาศเขา นอย

การทํางาน เมื่ออากาศไหลผานผานมาตรวัดนอยคลื่นการ หมุนวนของอากาศนอย ทําใหคอมพิวเตอร ทราบวา ปริ ม าณอากาศที่ ไ หลเข า เครื่ อ งยนต น อ ย จึ ง ต อ ง ควบคุมเวลาการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงของหัวฉีดใหสั้น ลง

ตัวรับสัญญานนับคลื่น

เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบประจุอากาศ


ใบเนื้อหา สัญญานสงไปยังหัวฉีด นานขึ้น

คอมพิวเตอร ECU

ตัวสงสัญญานนับคลื่น เสา

อากาศหมุนวน มาก

อากาศเขา มาก

3-6-12

และเมื่ออากาศไหลผานผานมาตรวัดมากขึ้น คลื่นการหมุนวนของอากาศก็จะเพิ่มขึ้นตาม ทําให คอมพิ ว เตอร ท ราบว า ปริ ม าณอากาศที่ ไ หลเข า เครื่ อ งยนตเ พิ่ม มากขึ้ น จึ งตอ งควบคุม เวลาการฉี ด น้ํามันเชื้อเพลิงของหัวฉีดใหนานขึ้น

ตัวรับสัญญานนับคลื่น

เรือนลิ้นเรง (Throttle Body)

เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบประจุอากาศ


ใบเนื้อหา

3-7-12

ลิ้นอากาศ (Air Valve) ลิ้นอากาศมีหนาที่ เพิ่มความเร็วรอบเดินเบาเมื่อ เครื่องยนตมีอุณหภูมิต่ํา ลิ้นอากาศแบงออกเปน 2 ชนิดคือ 1. แบบขดลวดความรอนไฟฟา(Bi-metalAir Valve) 2. แบบไขขี้ผึ้ง (Wax Air Valve)

ลิ้นอากาศแบบขดลวดความรอนไฟฟา (Bi-metal Air Valve) ลิ้นอากาศแบบใชขดลวดความรอนไฟฟา จะเปดและปดชองอากาศโดยอาศัยความรอนจาก เครื่องยนตและความรอนจากขดลวดความรอน

การทํางาน ถ า อุ ณ หภู มิ ข องเครื่ อ งยนต ต่ํ า ลิ้ น จะเป ด กว า งทํ า ให อ ากาศเข า เครื่ อ งยนต ม าก รอบเดิ น เบา จะสูงขึ้น

เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบประจุอากาศ


ใบเนื้อหา

3-8-12

และเมื่ออุณหภูมิของเครื่องยนตสูงขึ้นความ รอนจากเครื่องยนตและขดลวดไฟฟาจะทําใหแผน เหล็ก ไบเมทัลโกงตัวมาปดชองทางอากาศทําใหรอบ เดินเบาของเครื่องยนตลดลงอยูในสภาวะปกติ

ลิ้นอากาศแบบไขขี้ผึ้ง (Wax Air Valve) การทํางานจะอาศัยความรอนจากน้ําหลอเย็น ของเครื่ อ งยนต ความร อนจะทํ า ให ขี้ ผึ้ ง หดตัว และ ขยายตัว ถาหดตัวก็จะเปดชองอากาศใหกวาง และถา ขี้ผึ้งขยายตัวชองอากาศก็จะถูกดันใหแคบลง

การทํางาน ถาอุณหภูมิของเครื่องยนตต่ํา ขี้ผึ้งจะหดตัว ลิ้นจะเปดกวางทําใหอากาศเขาเครื่องยนตมาก รอบ เดินเบาจะสูงขึ้น

เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบประจุอากาศ


ใบเนื้อหา

3-9-12

และเมื่ออุณหภูมิของเครื่องยนตสูงขึ้น(ประมาณ 80 องศาเซลเซียส)ไขขี้ผึ้งจะขยายตัว ลิ้นจะถูกดันให ปดชองอากาศใหแคบลงจนทําใหอากาศไหลผานชอง อากาศเขาเครื่องยนตไดนอยลง จะทําใหรอบเดินเบา ของเครื่องยนตลดลงอยูในสภาวะปกติ

เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบประจุอากาศ


ใบแบบฝกหัด

3-10-12

แบบฝกหัด หนวยที่ 3 ชื่อ-นามสกุล......................................................วันที่.........เดือน...............พ.ศ............. ตอนที่ 1 จงทําเครื่องหมาย U ทับหัวขอที่ถูกตองที่สุด 1. ระบบประจุอากาศแบบ D และ L แตกตางกันอยางไร ก. แบบ D ไมมีตัวตรวจจับสุญญากาศ ข. แบบ L ไมมีมาตรวัดการไหลของอากาศ ค. แบบ D ไมมีมาตรวัดการไหลของอากาศ ง. ถูกทั้งขอ ก และ ข 2. อากาศที่ไหลเขากระบอกสูบ สะอาดปราศจากฝุนผงเนื่องมาจาก ก. ไหลผานมาตรวัดการไหลของอากาศ ข. ไหลผานกรองอากาศ ข. ไหลผานเรือนลิ้นเรง ง. ไหลผานลิ้นอากาศ 3. มาตรวัดปริมาณการไหลของอากาศมีหนาที่ ก. วัดความหนาแนนของอากาศที่เขากระบอกสูบ ข. วัดความเร็วของอากาศที่เขากระบอกสูบ ค. วัดปริมาณของอากาศที่เขากระบอกสูบ ง. ถูกทุกขอ 4. มาตรวัดการไหลของอากาศมีกี่ชนิด ก. 2 ชนิด ค. 4 ชนิด

ข. 3 ชนิด ง. 5 ชนิด

5. ถาความตานทานระหวางขั้ว VB กับ VS ของมาตรวัดการไหลของอากาศแบบแผนวัดมีคามาก หมายความวา ก. อากาศไหลเขากระบอกสูบนอย ECU จะกําหนดเวลาการฉีดน้ํามันสั้นลง ข.อากาศไหลเขากระบอกสูบนอย ECU จะกําหนดเวลาการฉีดน้ํามันนานขึ้น ค.อากาศไหลเขากระบอกสูบมาก ECU จะกําหนดเวลาการฉีดน้ํามันนานขึ้น ง. อากาศไหลเขากระบอกสูบมาก ECU จะกําหนดเวลาการฉีดน้ํามันสั้นลง

เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบประจุอากาศ


ใบแบบฝกหัด

3-11-12

6. ถาความตานทานระหวางขั้ว VB กับ VS ของมาตรวัดการไหลของอากาศแบบแผนวัดมีคานอย หมายความวา ก. อากาศไหลเขากระบอกสูบนอย ECU จะกําหนดเวลาการฉีดน้ํามันสั้นลง ข. อากาศไหลเขากระบอกสูบนอย ECU จะกําหนดเวลาการฉีดน้ํามันนานขึ้น ค. อากาศไหลเขากระบอกสูบมาก ECU จะกําหนดเวลาการฉีดน้ํามันนานขึ้น ง. อากาศไหลเขากระบอกสูบมาก ECU จะกําหนดเวลาการฉีดน้ํามันสั้นลง 7. ขดลวดความรอนของมาตรวัดการไหลของอากาศแบบลวดความรอนจะมีการเปลี่ยนแปลงอยางไร เมื่อ อากาศไหลเขากระบอกสูบนอย ก. ความตานทานของขดลวดจะลดลง และอุณหภูมิของขดลวดจะเพิ่มขึน้ ข. ความตานทานของขดลวดจะเพิ่มขึน้ และอุณหภูมิของขดลวดจะลดลง ค. ความตานทานของขดลวดจะลดลง และอุณหภูมิของขดลวดจะลดลง ง. ความตานทานของขดลวดจะเพิ่มขึน้ และอุณหภูมิของขดลวดจะเพิ่มขึน้ 8. มาตรวั ด การไหลของอากาศแบบคาร ม านเวอร เ ทคใช ห ลั ก การใดในการวั ด ปริ ม าณอากาศที่ ไ หลเข า กระบอกสูบ ก. นับกระแสการไหลของอากาศ ข. นับคลื่นการไหลของอากาศ ค. นับคลื่นการหมุนวนของอากาศ ง. ถูกทั้งขอ ข และ ค 9. ลิ้นอากาศมีหนาที่ ก. ควบคุมความเร็วรอบเดินเบา ค. ชวยใหสตารทเครื่องยนตงายขึ้น 10. ลิ้นอากาศมีกี่ชนิด ก. 2 ชนิด ค. 4 ชนิด

ข. เพิ่มรอบเดินเบาเมื่อเครื่องยนตมภี าระ ง. เพิ่มรอบเดินเบาขณะเครือ่ งยนตมีอณ ุ หภูมิต่ํา ข. 3 ชนิด ง. 5 ชนิด

11. ลิ้นอากาศแบบขดลวดความรอนไฟฟาจะเปด-ปด ชองอากาศโดยอาศัยหลักการใด ก. ความรอนจากขดลวดไฟฟา ข. ความรอนจากเครื่องยนต ค. การโกงงอของแผนไบเมทัล ง. ถูกทุกขอ

เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบประจุอากาศ


ใบแบบฝกหัด 12. เมื่อขดลวดความรอนของลิ้นอากาศขาดจะทําให ก. เครื่องยนตเรงตลอด ข. เครื่องยนตเรงไมออก ค. เครื่องยนตเดินเบาสะดุด ง. เครื่องยนตเดินเบารอบสูงเปนเวลานาน ตอนที่ 2 จงเติมคําใหตรงกับรูปที่กําหนดให

2.1. สวนประกอบของระบบประจุอากาศแบบ ............................ 1................................................. 2.................................................... 3................................................. 4.................................................... 5................................................. 6.................................................... 7.................................................

2.2. สวนประกอบของลิ้นเรง 1................................................. 3................................................. 5.................................................

2.................................................... 4....................................................

3-12-12


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของระบบเชื้อเพลิง

ใบงาน ขอควรระวังกอนการปฏิบตั งิ านระบบเชื้อเพลิง ใบงานที่ 1 งานตรวจสอบการทํางานของปมน้ํามันเชื้อเพลิง ใบงานที่ 2 งานตรวจสอบวงจรไฟฟาควบคุมปมน้ํามันเชื้อเพลิง ใบงานที่ 3 งานตรวจสอบรีเลยเปดวงจร ใบงานที่ 4 งานตรวจสอบความดันน้าํ มันเชื้อเพลิง ใบงานที่ 5 งานตรวจสอบการทํางานของหัวฉีดประจําสูบ ใบงานที่ 6 งานตรวจสอบความตานทานของหัวฉีดประจําสูบ ใบงานที่ 7 งานตรวจสอบบวงจรไฟฟาควบคุมหัวฉีดประจําสูบ

5


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบเชื้อเพลิง ใบแนะนํา 5-1-1

1. กอนการปฏิบัติงานที่เกีย่ วของกับระบบน้ํามันเชื้อเพลิง จะตองปลดสายแบตเตอรีข่ ั้วลบออกจากแบตเตอรี่กอน เสมอ 2. อยาสูบบุหรี่หรือทําใหเกิดประกายไฟ ขณะที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับระบบน้ํามันเชื้อเพลิง 3. อยาใหน้ํามันเบนซินถูกชิน้ สวนที่เปนยาง หรือหนัง 4. เมื่อถอดทอทางน้ํามันเชื้อเพลิง ใหปฏิบัตติ ามขั้นตอนตอไปนี้ 1.เมื่ อปลดทอน้ํ า มั น เชื้ อ เพลิ ง แรงดัน สูง น้ํามั น สวนหนึ่งจะพุงออกมาใหปฏิบัติตามดังนี้ ก. วางถาดรองน้ํามันไวใตบริเวณขอตอ ข. คลายนัตขอตออยางชา ๆ ค. ปลดขอตอออก ง. อุดปลายขอตอดวยปลั๊กยาง หรือวัสดุอื่น 2.เมื่อประกอบทอน้ํามันเชื้อเพลิงแรงดันสูง ซึ่งขอ ตอเปนชนิดโบลทขอตอ ใหปฏิบัติตามดังนี้ ก. ใชประเก็นใหมเสมอเมื่อมีการถอด-ประกอบ ข. ขันโบลทใหแนนดวยมือ ค. ขันโบลทใหแนนดวยประแจ 3. เมื่อทําการถอด-ประกอบหัวฉีด ควรระวัง สิ่งตอไปนี้ ก. อยานําเอาโอ-ริงเกามาใชอีก ข. เมื่อเปลี่ยนโอ-ริงใหมควรระวังไมใหฉกี ขาด ค. เคลือบน้ํามันเบนซินบนโอ-ริงตัวใหม กอน ประกอบ หามใชน้ํามันเครื่อง เกียรหรือน้าํ มัน เบรค โดยเด็ดขาด


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบเชื้อเพลิง ใบงาน1 5-1-3

งานตรวจสอบการทํางานของปมน้ํามันเชื้อเพลิง วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ตรวจสอบการทํางานของปมน้ํามันเชื้อเพลิงได วัสดุ/อุปกรณฝก/เครื่องมือ 1. ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตหวั ฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส 2. สายไฟสําหรับลัดวงจร 3. น้ํามันเบนซิน 4. ผาเช็ดมือ ลําดับขั้นการปฏิบตั ิงาน 1. ตรวจสอบปริมาณน้ํามันเบนซินในถังของชุดฝก ฯ ตองมีเพียงพอ(อยางนอย 1/2 ของถังหรือมากกวา )

ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

กลองควบคุมอิเล็กทรอนิกส

ขั้วกลองควบคุมอิเล็กทรอนิกส

มาตรวัดรวม

เกจวัดความดันน้ํามันเชื้อเพลิง

เกจวัดสุญญากาศท อรวมไอดี

Diagnosis ขั้วตรวจสอบ

สวิตชสตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปดวงจร

รีเลยสตารท

2. ใชสายไฟลัดวงจรขั้ว +B และ FP ของขั้วตรวจสอบ


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบเชื้อเพลิง ใบงาน1 5-2-3

3. บิดสวิตชจดุ ระเบิดไปยังตําแหนง IG

กลองควบคุมอิเล็กทรอนิกส

ขั้วกลองควบคุมอิเล็กทรอนิกส

มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดันน้ํามันเชื้อเพลิง

เกจวัด สุญญากาศท อรวมไอดี

Diagnosi s ขั้วตรวจสอบ

สวิตชสตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยสตารท

4. ตรวจสอบว ามีค วามดันภายในทอน้ํ ามั น เชื้อเพลิงของกรองน้ํามันเชื้อเพลิง จะไดยินเสียง น้ํามันเชื้อเพลิงไหลภายในทอ หรือสังเกตจากเข็มของเกจวัดความดันน้ํามัน เชื้อเพลิงบนแผงของชุดฝกจะตองกระดิกขึ้น

ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

ขั้วกลองควบคุม อิเล็กทรอนิกส

กลอ งควบคุม อิเ ล็ก ทรอนิก ส

3

kg/cm มาตรวัด รวม

เ กจวัด ความดัน น้ํามัน เชื้อ เ พลิง

Dia gn osi

ขั้วตรว s จสอบ

เ กจวัด สุญ ญากาศทอ รวมไอดี

สวิต ชส ตารท

ฟวส

รีเ ลยหลัก

รีเ ลยเ ปด วงจร

รีเ ลยส ตารท

เครื่องยนต

ถังน้ํามัน

ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

กลองควบคุมอิเล็กทรอนิกส

ขั้วกลองควบคุมอิเล็กทรอนิกส

มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดันน้ํามันเชื้อเพลิง

เกจวัด สุญญากาศท อรวมไอดี

Diagnosi s ขั้วตรวจสอบ

สวิตชสตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยสตารท

5. บิดสวิตชจดุ ระเบิดไปยังตําแหนง OFF 6. ทําความสะอาดอุปกรณและบริเวณปฏิบัติงาน


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบเชื้อเพลิง ใบงาน1 5-3-3

ผลการปฏิบัตงิ าน F ปมน้ํามันเชื้อเพลิงทํางาน F ปมน้ํามันเชื้อเพลิงไมทํางาน การแกไข.......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... .........................................................................................................................................................................


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบเชื้อเพลิง ใบงาน2 5-2-4

ลําดับขั้นการปฏิบตั ิงาน ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

กลอ งควบคุม อิเล็ก ทรอนิก ส

ขั้วกลอ งควบคุม อิเล็ก ทรอนิก ส

1. ตรวจสอบให มั่ น ใจว า สวิ ต ช จุ ด ระเบิ ด ยู ใ น ตําแหนง OFF

มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดัน น้ํามัน เชื้อ เพลิง

เกจวัด สุญ ญากาศท อ รวมไอดี

Diagnosi s ขั้วตรวจสอบ

สวิต ชส ตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วง จร

รีเลยส ตารท

ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส 86

ขั้วกลอ งควบคุม อิเล็ก ทรอนิก ส

87

กลอ งควบคุม อิเล็ก ทรอนิก ส

มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดัน น้ํามัน เชื้อ เพลิง

85

2 . ใชมัลติมิเตอรวัดแรงเคลื่อนไฟฟาที่ขวั้ 85 86 87 และขั้ว 30 ของรีเลยเปดวงจรจะตองไมมี แรงเคลื่อนไฟฟา

เกจวัด สุญ ญากาศทอ รวมไอดี

30

Diagnosis ขั้วตรวจสอบ

สวิต ชส ตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยส ตารท

ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

3. บิดสวิตชจุดระเบิดไปยังตําแหนง IG

กลองควบคุมอิเล็กทรอนิกส

ขั้วกลองควบคุมอิเล็กทรอนิกส

มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดันน้ํามันเชื้อเพลิง

เกจวัด สุญญากาศท อรวมไอดี

Diagnosi s ขั้วตรวจสอบ

สวิตชสตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยสตารท

ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส 86

ขั้วกลอ งควบคุม อิเล็ก ทรอนิก ส

87

กลอ งควบคุม อิเล็ก ทรอนิก ส

มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดัน น้ํามัน เชื้อ เพลิง

85

เกจวัด สุญ ญากาศทอ รวมไอดี

30

Diagnosis ขั้วตรวจสอบ

สวิต ชส ตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยส ตารท

4 . ใชมัลติมิเตอรวัดแรงเคลื่อนไฟฟาที่ขวั้ 85 86 และขั้ว 30 ของรีเลยเปดวงจร จะตองมี แรงเคลื่อนไฟฟา ประมาณ 9-14 โวลท และขั้ว 87 จะตองไมมีแรงเคลื่อนไฟฟา


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส งานตรวจสอบวงจรควบคุมปมน้ํามันเชื้อเพลิง วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ตรวจสอบวงจรควบคุมปม น้ํามันเชื้อเพลิงได วัสดุ/อุปกรณฝก/เครื่องมือ 1. ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตหวั ฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส 2. รีเลยเปดวงจร 3. มัลติมิเตอร 4. สายไฟทดสอบ 5. ผาเช็ดมือ

วงจรควบคุมปมน้ํามันเชื้อเพลิง

เรื่อง ระบบเชื้อเพลิง ใบงาน2 5-1-4


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

ST

ขั้วกลองควบคุมอิเล็กทรอนิกส

กลองควบคุมอิเล็กทรอนิกส

มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดันน้ํามันเชื้อเพลิง

เกจวัด สุญญากาศท อรวมไอดี

เรื่อง ระบบเชื้อเพลิง ใบงาน2 5-3-4

5. บิดสวิตชจุดระเบิดยังตําแหนง ST จะตองไดยิน เสียงรีเลยเปดวงจรทํางาน หมายเหตุ ควรถอดขั้วสายไฟของจานจายออกเพื่อ ปองกันเครื่องยนตติด

Diagnosi s ขั้วตรวจสอบ

สวิตชสตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยสตารท

ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส 86

ขั้วกลอ งควบคุม อิเล็ก ทรอนิก ส

87

กลอ งควบคุม อิเล็ก ทรอนิก ส

มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดัน น้ํามัน เชื้อ เพลิง

85

6 . ใชมัลติมิเตอรวัดแรงเคลื่อนไฟฟาที่ขวั้ 85 86 87 และขั้ว 30 ของรีเลยเปดวงจรจะตองมีแรงเคลื่อน ไฟฟา ประมาณ 9-12 โวลท

เกจวัด สุญ ญากาศทอ รวมไอดี

30

Diagnosis ขั้วตรวจสอบ

สวิต ชส ตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยส ตารท

ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

กลอ งควบคุม อิเล็ก ทรอนิก ส

ขั้วกลอ งควบคุม อิเล็ก ทรอนิก ส

มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดัน น้ํามัน เชื้อ เพลิง

เกจวัด สุญ ญากาศท อ รวมไอดี

Diagnosi s ขั้วตรวจสอบ

สวิต ชส ตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยส ตารท

7. บิดสวิตชจุดระเบิดยูในตําแหนง OFF 8. ทําความสะอาดอุปกรณและบริเวณปฏิบัติงาน


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบเชื้อเพลิง ใบงาน2 5-4-4

ผลการปฏิบัตงิ าน ขั้ว สภาวะ 1. บิดสวิตชจุดระเบิดไปตําแหนง OFF 2 . บิดสวิตชจุดระเบิดไปตําแหนง I G 3. บิดสวิตชจดุ ระเบิดไปตําแหนง S T

คาแรงเคลื่อนไฟฟา(โวลท) 30 87 85 86

สรุปผล F ถูกตอง F ถูกตอง F ถูกตอง

F ไมถูกตอง F ไมถูกตอง F ไมถูกตอง

การแกไข......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... .........................................................................................................................................................................


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบเชื้อเพลิง ใบงาน3 5-1-2

งานตรวจสอบรีเลยเปดวงจร วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ตรวจสอบรีเลยเปดวงจรได วัสดุ/อุปกรณฝก/เครื่องมือ 1. รีเลยเปดวงจรของชุดฝกฯ 2. มัลติมิเตอร 3. สายไฟทดสอบ 4. ผาเช็ดมือ ลําดับขั้นการปฏิบตั ิงาน

W

1. เลื อ กย า นวั ด มั ล ติ มิ เ ตอร ไ ปที่ ก ารวั ด ค า ความ ตานทาน และวัดความตอเนื่องระหวางขั้ว 85 กับ 86 ของรีเลยจะตองตอเนื่อง และวัดความตอเนื่อง ระหวางขั้ว 30 กับ 87 ของรีเลยจะตองไมตอเนื่อง

ตอเนื่อง 30 85

86

W

87

ไมตอเนื่อง

W ตอเนื่อง 30 85

86 87

แบตเตอรี่

2. ตอสายไฟจากแบตเตอรี่ขั้วบวกไปที่ขั้ว 85 และ ลบที่ขั้ว 86 ของรีเลยเปดวงจร และใชมัลติมิเตอร วัดความตอเนื่องระหวางขั้ว 30 กับ 87 ของรีเลย จะตองตอเนื่อง 3. ทําความสะอาดอุปกรณและบริเวณปฏิบัติงาน


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบเชื้อเพลิง ใบงาน3 5-2-2

ผลการปฏิบัตงิ าน ระหวางขั้ว 85 - 86 30 - 87

คาความตอเนื่อง F ตอเนื่อง F ไมตอเนือ่ ง F ตอเนื่อง F ไมตอเนือ่ ง 30 – 87 ( เมื่อตอขั้ว 85 กับ 86 เขาแบตเตอรี่) F ตอเนื่อง F ไมตอเนือ่ ง

สรุปผล F ถูกตอง F ไมถูกตอง F ถูกตอง F ไมถูกตอง F ถูกตอง F ไมถูกตอง

การแกไข........................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบเชื้อเพลิง ใบงาน4 5-1-4

งานตรวจสอบความดันน้ํามันเชื้อเพลิง วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ตรวจสอบความดันน้ํามันเชื้อเพลิงได วัสดุ/อุปกรณฝก/เครื่องมือ 1. ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตหวั ฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส 2. สายไฟทดสอบ 3. ผาเช็ดมือ ลําดับขั้นการปฏิบตั ิงาน 1. ตรวจสอบปริมาณน้ํามันเบนซินในถังของชุดฝกฯ ตองมีเพียงพอ(อยางนอย 1/2 ของถังหรือมากกวา )

ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

2. ใชสายไฟลัดวงจรขั้ว +B และ FP ของขั้วตรวจสอบ

กลองควบคุมอิเล็กทรอนิกส

ขั้วกลองควบคุมอิเล็กทรอนิกส

มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดันน้ํามันเชื้อเพลิง

เกจวัด สุญญากาศท อรวมไอดี

Diagnosis ขั้วตรวจสอบ

สวิตชสตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยสตารท

ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

กลองควบคุมอิเล็กทรอนิกส

ขั้วกลองควบคุมอิเล็กทรอนิกส

มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดันน้ํามันเชื้อเพลิง

เกจวัด สุญญากาศท อรวมไอดี

Diagnosi s ขั้วตรวจสอบ

สวิตชสตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยสตารท

3. บิดสวิตชจดุ ระเบิดไปยังตําแหนง IG


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

กลองควบคุมอิเล็กทรอนิกส

ขั้วกลองควบคุมอิเล็กทรอนิกส

มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดันน้ํามันเชื้อเพลิง

เกจวัด สุญญากาศท อรวมไอดี

2

kg/cm Diagnosi s ขั้วตรวจสอบ

สวิตชสตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยสตารท

เรื่อง ระบบเชื้อเพลิง ใบงาน4 5-2-4

4. ตรวจดูคาความดันน้ํามันเชื้อเพลิงจากเกจบนแผง ชุดฝกฯ ซึ่งคาความดันน้ํามันจะอยูระหวาง 2.7 – 3.1 kg/cm2 (265-304 kpa , 38-44 lb/in2) ถาแรงดันสูง ใหเปลี่ยนตัวควบคุมความดัน ถาความดันต่ํา ใหตรวจสอบชิ้นสวนตอไปนี้ • ทอทางน้ํามันเชื้อเพลิง • ปมน้ํามันเชื้อเพลิง • กรองน้ํามันเชือ้ เพลิง • ตัวควบคุมความดันน้ํามันเชือ้ เพลิง 5. ถอดสายไฟออกจากขัว้ ตรวจสอบ 6. สตารทเครื่องยนต 7. ปลดทอสัญญาณสุญญากาศออกจากหอง ประจุอากาศและอุดปลายทอไวดังรูป

ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

กลองควบคุมอิเล็กทรอนิกส

ขั้วกลองควบคุมอิเล็กทรอนิกส

มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดันน้ํามันเชื้อเพลิง

เกจวัด สุญญากาศท อรวมไอดี

2

kg/cm Diagnosi s ขั้วตรวจสอบ

สวิตชสตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยสตารท

8. ตรวจดูคาความดันน้ํามันเชื้อเพลิงที่รอบเดินเบา จากเกจบนแผงชุดฝกฯ ซึ่งคาความดันน้ํามันจะอยู ระหวาง 2.7 – 3.1 kg/cm2 (265-304 kpa,)


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบเชื้อเพลิง ใบงาน4 5-3-4

9. ต อ ท อ สั ญ ญาณสุ ญ ญากาศเข า กั บ ตั ว ควบคุ ม ความดันน้ํามันเชื้อเพลิง

ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

กลองควบคุมอิเล็กทรอนิกส

ขั้วกลองควบคุมอิเล็กทรอนิกส

มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดันน้ํามันเชื้อเพลิง

เกจวัด สุญญากาศท อรวมไอดี

2

kg/cm Diagnosi s ขั้วตรวจสอบ

10. ตรวจดูคาความดันน้ํามันเชื้อเพลิงที่รอบเดินเบา จากเกจบนแผงชุดฝกฯ ซึ่งคาความดันน้ํามันจะอยู ระหวาง 2.1 – 2.6 kg/cm2 (206-304 kpa )

สวิตชสตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยสตารท

11. ดับเครื่องยนต และตรวจสอบวาความดันน้ํามัน เชื้อเพลิงยังคงอยูในคาที่กําหนดเปนเวลาประมาณ 5 นาที หลังจากดับเครื่องยนต (ประมาณ 1.5 kg/cm2 (147 kpa) ถาความดันไมอยูในคาที่กําหนดอาจจะ เกิ ด จากชิ้ น ส ว นดั ง นี้ คื อ ป ม น้ํ า มั น เชื้ อ เพลิ ง ตั ว ควบคุมน้ํามันเชื้อเพลิง หรือหัวฉีด 12. ทําความสะอาดอุปกรณและบริเวณปฏิบัติงาน


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบเชื้อเพลิง ใบงาน4 5-4-4

ผลการปฏิบัตงิ าน สภาวะ ตอขั้ว +B กับ FP ของขั้วตรวจสอบ ปลดทอสุญญากาศ(รอบเดินเบา) ตอทอสุญญากาศ(รอบเดินเบา)

ความดันน้ํามันเชื้อเพลิง kg/cm2 kg/cm2 kg/cm2

สรุปผล F ถูกตอง F ไมถูกตอง F ถูกตอง F ไมถูกตอง F ถูกตอง F ไมถกู ตอง

การแกไข............................................................................................................................................. ............. ............................................................................................................................................................. ............ ............................................................................................................................................................ ............. ............................................................................................................................................................ ............. ............................................................................................................................................................ ............. ............................................................................................................................................................. ............


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบเชื้อเพลิง ใบงาน5 5-1-2

งานตรวจสอบการทํางานของหัวฉีดประจําสูบ วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ตรวจสอบการทํางานของหัวฉีดประจําสูบได วัสดุ/อุปกรณฝก/เครื่องมือ 1. ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตหวั ฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส 2. น้ํามันเบนซิน 3. ผาเช็ดมือ ลําดับขั้นการปฏิบตั ิงาน ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

ST

ขั้วกลอ งควบคุม อ ิเล็ก ทรอนิก ส

1.ติดเครื่องยนตอยูที่รอบเดินเบา

กลอ งควบคุม อิเ ล็ก ทรอ นิก ส

มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดัน น้ํามัน เชื้อ เพลิง

เกจวัด สุญ ญากาศทอ รวมไอดี

Diagnosi s ขั้วตรวจสอ บ

สวิต ชส ตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยส ตารท

2. ใชนิ้วสัมผัสกับตัวหัวฉีด หรือฟงเสียงการทํางาน ของหัวฉีด เพือ่ ตรวจสอบการทํางานของหัวฉีด


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

กลอ งควบคุม อิเ ล็ก ทรอ นิก ส

ขั้วกลอ งควบคุม อ ิเล็ก ทรอนิก ส

เรื่อง ระบบเชื้อเพลิง ใบงาน5 5-2-2

3.ดับเครื่องยนต ทําความสะอาดอุปกรณและ บริเวณปฏิบัตงิ าน

มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดัน น้ํามัน เชื้อ เพลิง

เกจวัด สุญ ญากาศทอ รวมไอดี

Diagnosi s ขั้วตรวจสอ บ

สวิต ชส ตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยส ตารท

ผลการปฏิบัตงิ าน สูบที่ 1 2 3 4

การทํางานของหัวฉีด F ทํางาน F ไมทํางาน F ทํางาน F ไมทํางาน F ทํางาน F ไมทํางาน F ทํางาน F ไมทํางาน

F F F F

สรุปผล ถูกตอง F ถูกตอง F ถูกตอง F ถูกตอง F

ไมถูกตอง ไมถูกตอง ไมถูกตอง ไมถูกตอง

การแกไข.............................................................................................................................................. ............. ............................................................................................................................................................ ............. ............................................................................................................................................................ ............. ........................................................................................................................................................... .............. ........................................................................................................................................................... .............. ........................................................................................................................................................... .............


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบเชื้อเพลิง ใบงาน6 5-2-2

งานตรวจสอบความตานทานของหัวฉีดประจําสูบ วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ตรวจสอบความตานทานของหัวฉีดประจําสูบได วัสดุ/อุปกรณฝก/เครื่องมือ 1. ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตหวั ฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส 2. มัลติมิเตอร 3. ผาเช็ดมือ ลําดับขั้นการปฏิบตั ิงาน 1.ถอดขั้วตอสายไฟของหัวฉีดประจําสูบออกทุก ตัว

2. ใชมัลติมิเตอรวัดความตานทานระหวางขั้วของ หัวฉีด ขณะเย็นจะตองไดคาตามที่กําหนดไว คามาตรฐาน 13.4-14.2 โอหม (ขณะเย็น ) หมายเหตุ เย็น คือ อุณหภูมิอยูระหวาง –10 °C ถึง 50 °C รอน คือ อุณหภูมิอยูระหวาง 50 °C ถึง 100 °C


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบเชื้อเพลิง ใบงาน6 5-2-2

3.ใสขั้วตอสายไฟของหัวฉีดทุกตัว 4. ทําความสะอาดอุปกรณและบริเวณปฏิบัติงาน

ผลการปฏิบัตงิ าน สูบที่ คาความตานทานของหัวฉีด 1 โอหม 2 โอหม 3 โอหม 4 โอหม

อุณหภูมิของหัวฉีด F F F F

สรุปผล ถูกตอง F ถูกตอง F ถูกตอง F ถูกตอง F

ไมถูกตอง ไมถูกตอง ไมถูกตอง ไมถูกตอง

การแกไข............................................................................................................................................. .............. ............................................................................................................................................................ ............... ............................................................................................................................................................ ............... ............................................................................................................................................................. .............. ............................................................................................................................................................. .............. ............................................................................................................................................................. ..............


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส งานตรวจสอบวงจรไฟฟาควบคุมหัวฉีดประจําสูบ วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ตรวจสอบวงจรไฟฟาควบคุมหัวฉีดประจําสูบได วัสดุ/อุปกรณฝก/เครื่องมือ 1. ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตหวั ฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส 2. มัลติมิเตอร 3. ผาเช็ดมือ

วงจรควบคุมหัวฉีดประจําสูบ

เรื่อง ระบบเชื้อเพลิง ใบงาน7 5-1-6


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบเชื้อเพลิง ใบงาน7 5-2-6

ลําดับขั้นการปฏิบตั ิงาน ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

1.บิดสวิตชจุดระเบิดไปยังตําแหนง IG

ก ลอ งควบคุม อิเล็ก ทรอนิก ส

ขั้วกลอ งควบคุม อ ิเล็ก ทรอ นิก ส

มาตรวัด รวม

เก จวัด ความดัน น้ํามัน เชื้อ เพลิง

เก จวัด สุญ ญากาศทอ รวมไอ ดี

Diagnosi s ขั้วตรวจสอบ

สวิต ชส ตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยส ตารท

ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส #10

#20

E01

E02 กลองควบคุมอิเล็กทรอนิกส

ขั้วกลองควบคุมอิเ ล็กทรอนิกส

มาตรวัด รวม

V เกจวัด ความดันน้ํามันเชื้อเพลิง

เกจวัด สุญญากาศทอรวมไอดี

Diagnosi s ขั้วตรวจสอบ

สวิต ชสตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเ ลยเปด วงจร

รีเลยสตารท

ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

กลอ งควบคุม อิเ ล็ก ทรอ นิก ส

ขั้วกลอ งควบคุม อ ิเล็ก ทรอนิก ส

ม าตรวัด รวม

เกจวัด ความดัน น้ํามัน เชื้อ เพลิง

เกจวัด สุญ ญากาศทอ รวม ไอดี

Diagnosi s ขั้วตรวจสอ บ

สวิต ชส ตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยส ตารท

2.ใช มั ล ติ มิ เ ตอร วั ด แรงเคลื่ อ นไฟฟ า (ปรั บ มั ล ติ มิเตอรไปยานวัดแรงเคลื่อนไฟฟา) ระหวางขั้ว #10 กับ กราวด(E01 หรือ E02) และ ขั้ว #20 กับ กราวด (E01 หรือ E02) ของกลองคอมพิวเตอร จะตองได คาตามที่กําหนดไว คามาตรฐาน 9-14 V 3.ดั บ เครื่ อ งยนต ทํ า ความสะอาดอุ ป กรณ แ ละ บริเวณปฏิบัติงาน


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบเชื้อเพลิง ใบงาน7 5-3-6

4.ถอดขั้วตอสายไฟของหัวฉีดประจําสูบออกทุกตัว

ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

5.บิดสวิตชจุดระเบิดไปยังตําแหนง IG

ก ลอ งควบคุม อิเ ล็ก ทรอนิก ส

ขั้วกลอ งควบคุม อ ิเล็ก ทรอ นิก ส

ม าตรวัด รวม

เก จวัด ความดัน น้ําม ัน เชื้อ เพลิง

เก จวัด สุญ ญากาศทอ รวมไอ ดี

Diagnosi s ขั้วตรวจสอบ

สวิต ชส ตารท

ฟวส

รีเ ลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยส ตารท

V

สายไฟสีดําคาดแดง

6. ใชมัลติมิเตอรวัดแรงเคลื่อนไฟฟา(ปรับมัลติ มิเตอรไปยานวัดแรงเคลื่อนไฟฟา) ที่ขั้วตอสายไฟ ของหัวฉีดประจําสูบทั้ง 4 ขั้ว(สายไฟสี ดําคาดแดง กับ กราวด) จะตองไดคาตามที่กําหนดไว คามาตรฐาน 9-14 V


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบเชื้อเพลิง ใบงาน7 5-3-6

7. บิดสวิตชจุดระเบิดอยูในตําแหนง OFF

กลอ งควบคุม อิเล็ก ทรอนิก ส

ขั้วกลอ งควบคุม อิเล็ก ทรอนิก ส

มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดัน น้ํามัน เชื้อ เพลิง

เกจวัด สุญ ญากาศท อ รวมไอดี

Diagnosi s ขั้วตรวจสอบ

สวิต ชส ตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

E01 ขั้วกลองควบคุม อิเล็กทรอนิกส

E02

มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดัน น้ํามัน เชื้อ เพลิง

Dia gn osi ขั้วตรว s จสอบ

กลอ งควบคุม อิเล็ก ทรอ นิก ส

เกจวัด สุญ ญากาศทอ รวมไอดี

สวิต ชส ตารท

ฟวส

W รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยส ตารท

รีเลยส ตารท

8. ใชมัลติมิเตอร วัดความตอเนื่องของสายไฟ ระหวางขั้ว E01และ E02 กับ กราวด จะตอง ต อ เนื่ อ ง (ปรั บ มั ล ติ มิ เ ตอร ไ ปที่ ย า นวั ด ค า ความ ตานทาน)

เครื่องยนต

ถังน้ํามัน

#10 #20มดวยอิเล็กทรอนิกส ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนต เบนซินหัวฉีดควบคุ กลอ งควบคุม อิเล็ก ทรอ นิก ส

ขั้วกลองควบคุม อิเล็กทรอนิกส มาตรวัด รวม

W เกจวัด ความดัน น้ํามัน เชื้อ เพลิง

Dia gn osi ขั้วตรว s จสอบ

เกจวัด สุญ ญากาศทอ รวมไอดี

สวิต ชส ตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

สายไฟสีดํา

รีเลยเปด วงจร

รีเลยส ตารท

หัวฉีด สูบที่ 1 และ 2

ถังน้ํามัน

9. ใชมัลติมิเตอรวัดความตอเนื่องของสายไฟของ หัวฉีดประจําสูบที่ 1 และ 2 กับขั้ว # 10 ของกลอง คอมพิวเตอร จะตองตอเนื่อง (ปรับมัลติมิเตอรไปที่ ยานวัดคาความตานทาน)


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

#10 #20มดวยอิเล็กทรอนิกส ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนต เบนซินหัวฉีดควบคุ กลอ งควบคุม อิเล็ก ทรอ นิก ส

ขั้วกลองควบคุม อิเล็กทรอนิกส มาตรวัด รวม

W เกจวัด ความดัน น้ํามัน เชื้อ เพลิง

Dia gn osi

ขั้วตรว s จสอบ

เกจวัด สุญ ญากาศทอ รวมไอดี

สวิต ชส ตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

สายไฟสีดํา

รีเลยเปด วงจร

รีเลยส ตารท

หัวฉีด สูบที่ 3 และ 4

ถังน้ํามัน

เรื่อง ระบบเชื้อเพลิง ใบงาน7 5-5-6

10. ใชมัลติมิเตอรวัดความตอเนื่องของสายไฟของ หัวฉีดประจําสูบที่ 3 และ 4 กับขั้ว # 20 ของกลอง คอมพิวเตอร จะตองตอเนื่อง (ปรับมัลติมิเตอรไปที่ ยานวัดคาความตานทาน) 11. ใสขั้วตอสายไฟของหัวฉีดทุกตัว ทําความ สะอาดอุปกรณและบริเวณปฏิบัติงาน


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

ขั้ว #10 – กราวด(E01 หรือE02) #20 – กราวด(E01 หรือE02) ขั้วตอสายไฟของหัวฉีด สูบที่ 1 สูบที่ 2 สูบที่ 3 สูบที่ 4 ขั้ว E01- กราวด E02- กราวด ขั้วตอสายไฟของหัวฉีดสูบที่ 1 กับ ขั้วตอสายไฟของหัวฉีดสูบที่ 2 กับ ขั้วตอสายไฟของหัวฉีดสูบที่ 3 กับ ขั้วตอสายไฟของหัวฉีดสูบที่ 4 กับ

ผลการปฏิบัตงิ าน การวัดแรงเคลือ่ นไฟฟา การวัดแรงเคลือ่ นไฟฟา สรุปผล โวลท F ถูกตอง F ไมถูกตอง โวลท F ถูกตอง F ไมถูกตอง การวัดแรงเคลือ่ นไฟฟา โวลท โวลท โวลท โวลท

# 10 # 10 # 20 # 10

เรื่อง ระบบเชื้อเพลิง ใบงาน7 5-6-6

F F F F

สรุปผล ถูกตอง F ถูกตอง F ถูกตอง F ถูกตอง F

การวัดความตอเนื่องของสายไฟ ความตอเนื่อง F ตอเนื่อง F ไมตอเนือ่ ง F ตอเนื่อง F ไมตอเนือ่ ง F ตอเนื่อง F ไมตอเนือ่ ง F ตอเนื่อง F ไมตอเนือ่ ง F ตอเนื่อง F ไมตอเนือ่ ง F ตอเนื่อง F ไมตอเนือ่ ง

ไมถูกตอง ไมถูกตอง ไมถูกตอง ไมถูกตอง

สรุปผล F ถูกตอง F ไมถูกตอง F ถูกตอง F ไมถูกตอง F ถูกตอง F ไมถูกตอง F ถูกตอง F ไมถูกตอง F ถูกตอง F ไมถูกตอง F ถูกตอง F ไมถูกตอง

การแกไข............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................


เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบควบคุมเล็กทรอนิกส ใบเนื้อหา 4-1-20

ระบบควบคุ มอิเล็กกสทรอนิ กส System) ระบบควบคุ มอิเล็กทรอนิ (Electronics สวนประกอบของระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกสประกอบดวย ตัวตรวจจับสัญญาณ

หนวยควบคุมอิเล็กทรอนิกส

ตัวทํางาน

อุณหภูมิน้ําหลอเย็น อุณหภูมิอากาศ ตัวตรวจจับสุญญากาศ

หัวฉีด

ตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง ตัวตรวจจับปริมาณออกซิเจน ตัวตรวจจับมุมเพลาขอเหวี่ยง

คอมพิวเตอร (ECU)

คอยลจุดระเบิด ลิ้นควบคุมรอบเดินเบา

ตัวตรวจจับความเร็วรอบ สัญญาณการสตารท

ฯลฯ

ฯลฯ

ตัวตรวจจับสัญญาณ หมายถึง อุปกรณที่ทําหนาที่ ตรวจวัดสภาวะตาง ๆ ของเครื่องยนตแลวสงสัญญาณไป ยังกลองคอมพิวเตอรเพื่อกําหนดระยะและจังหวะในการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง เชน - ตัวตรวจจับอุณหภูมนิ ้ําหลอเย็น (Water Temperature Sensor) - ตัวตรวจจับอุณหภูมอิ ากาศ (AirTemperature Sensor) - ตัวตรวจจับสุญญากาศ (Vacumm Sensor) - ฯลฯ หนวยควบคุมอิเล็กทรอนิกส หรือคอมพิวเตอร มีหนาที่หลักคือ ประมวลผลขอมูลตาง ๆ ที่ไดจากตัว ตรวจจับสัญญาณ เพื่อกําหนดระยะเวลา และ จังหวะในการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง ใหเหมาะสมกับสภาวะตาง ๆ ของเครื่องยนต รวมถึงควบคุมจังหวะการจุดระเบิด รอบเดินเบา ระบบวิเคราะหปญ  หาตัวเอง เปนตน ตัวทํางาน หมายถึง อุปกรณที่ทํางานโดยการควบคุมของกลองคอมพิวเตอร เชน - ระบบจุดระเบิด มีตัวทํางานคือ คอยลจุดระเบิด - ระบบเชื้อเพลิง ตัวทํางานคือ หัวฉีด เปนตน


เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบควบคุมเล็กทรอนิกส ใบเนื้อหา 4-2-20

ตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ําหลอเย็น (Water Temperature Sensor) มีหนาที่ ตรวจวัดอุณหภูมิน้ําหลอเย็นแลว ส ง สั ญ ญาณไปยั ง กล อ งคอมพิ ว เตอร เพื่ อ เพิ่ ม ระยะเวลาในการฉี ด น้ํ า มั น เชื้ อ เพลิ ง ในขณะที่ เครื่องยนตมีอุณหภูมิต่ํา

สวนประกอบของตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ํา หลอเย็น จะประกอบดวยตัวตานทานที่เปลี่ยนคาได ตามอุณหภูมิ

ตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ําหลอเย็นตอเขากับ กลองคอมพิวเตอรดังรูป

อุณหภูมิน้ําหลอเย็นต่ําคาความตานทานมาก ระยะเวลาการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงจะนาน อุณหภูมิน้ําหลอเย็นสูงคาความตานทานนอย ระยะเวลาการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงจะสั้น


เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบควบคุมเล็กทรอนิกส ใบเนื้อหา 4-3-20

ตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศ (Air Temperature Sensor) มี ห น า ที่ ตรวจวั ด อุ ณ หภู มิ อากาศแล ว ส ง สัญญาณไปยังกลองคอมพิวเตอร เพื่อเพิ่มระยะเวลา ในการฉี ด น้ํ ามั น เชื้อ เพลิง ให เ หมาะสมกั บอุ ณ หภู มิ ของอากาศที่เปลี่ยนไป ตําแหนงของตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศ ที่ใชในระบบฉีดเชื้อเพลิง แอล-เจ็ททรอนิกส

ตําแหนงของตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศ ที่ใชในระบบฉีดเชื้อเพลิง ดี-เจ็ททรอนิกส

ตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศตอเขากับกลอง คอมพิวเตอรดงั รูป

อุณหภูมิอากาศต่ําคาความตานทานของตัวตรวจจับมาก อุณหภูมิอากาศสูงคาความตานทานของตัวตรวจจับนอย


เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบควบคุมเล็กทรอนิกส ใบเนื้อหา 4-4-20

ตัวตรวจจับสุญญากาศ (Vacuum Sensor)

มีหนาที่ ตรวจวัดความดันของอากาศในทอรวมไอดี แลวสงสัญญาณไปยังกลองคอมพิวเตอร เพื่อ กํา หนดระยะเวลาในการฉี ด พื้นฐานของหัว ฉีด โดยตั ว ตรวจจั บสุญญากาศมี ใ ชใ นระบบควบคุมการฉี ด เชื้อเพลิงแบบ ดี (D – Jetronic) ตัวตรวจจับสุญญากาศตอเขากับกลอง คอมพิวเตอรดงั รูป

ตัวตรวจจับจะใชในระบบฉีดเชื้อเพลิง ดี-เจ็ททรอนิกส

เมื่อเกิดสุญญากาศในทอรวมไอดีมาก ระยะเวลาในการฉีดเชื้อเพลิงจะสั้น (เพราะอากาศเขา เครื่องยนตนอ ย) เมื่อเกิดสุญญากาศทอรวมไอดีนอย ระยะเวลาในการฉีดเชือ้ เพลิงจะนาน (เพราะอากาศเขา เครื่องยนตมาก)


เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบควบคุมเล็กทรอนิกส ใบเนื้อหา 4-5-20

ตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง (Throttle Position Sensor) มีหนาที่ ตรวจจับตําแหนงการเคลื่อนที่ ของลิ้นเรง และ สงสัญญาณดังกลาวไปยังกลอง คอมพิวเตอรเพื่อเพิ่มระยะเวลาในการฉีดน้ํามัน เชื้อเพลิง และตัดการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงเมื่อรอบ เครื่องยนตสูงเกินไปหรือลิ้นเรงเปดมากเกินไป รู ป แสดงส ว นประกอบของตั ว ตรวจจั บ ตําแหนงลิ้นเรง

ตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรงถูกตอเขากับคอมพิวเตอรดังรูป


เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบควบคุมเล็กทรอนิกส ใบเนื้อหา 4-6-20

ตัวตรวจจับปริมาณออกซิเจน (Oxygen Sensor or Lambda Sensor) มีหนาที่ ตรวจวัดปริมาณออกซิเจน ใน แก ส ไอเสี ย และส ง สั ญ ญาณไปยั ง กล อ ง คอมพิวเตอร เพื่อใหกลองคอมพิวเตอรรูสภาวะ อัตราสวนผสมของอากาศและน้ํามันเชื้อเพลิง ว า หนาหรื อ บางเกิ น ไป ซึ่ ง คอมพิ ว เตอร จ ะ ควบคุมอัตราสวนผสมใหอยูในคาทางทฤษฎี (ประมาณ 14.7 : 1 โดยน้ําหนัก) ตัวตรวจจับออกซิเจนถูกตอเขากับ คอมพิวเตอรดงั รูป


เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบควบคุมเล็กทรอนิกส ใบเนื้อหา 4-8-20

ตัวตรวจจับมุมเพลาขอเหวี่ยง (Crank Angle Sensor) มีหนาที่ ตรวจจับและสงสัญญาณตําแหนงของลูกสูบหรือมุมเพลาขอเหวี่ยง และความเร็วรอบของ เครื่องยนตไปยังคอมพิวเตอรเพื่อกําหนดปริมาณการฉีดนํามันเชื้อเพลิง และควบคุมจังหวะการจุดระเบิด ในระบบฉีดเชือ้ เพลิงแบบธรรมดาจะใชสัญญาณจากขัว้ ลบของคอยลจุดระเบิดในการกําหนด จังหวะ ฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง และปริมาณการฉีดน้ํามันเชือ้ เพลิงดังรูป

ปจจุบันระบบฉีดเชื้อเพลิงแบบใหมจะ ใชตัวตรวจจับสัญญาณในการกําหนดปริมาณการ ฉีดเชื้อเพลิง จังหวะการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง และ ควบคุมการจุดระเบิดแทนสัญญาณขั้วลบคอยล จุดระเบิด โดยใชสัญญาณ G (G singnal) ในการแจง มุมเพลาขอเหวี่ยงไปยังคอมพิวเตอร เพื่อกําหนด จังหวะการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง และกําหนดจังหวะ การจุดระเบิด และใชสัญญาณ NE (NE singnal) ในการ แ จ ง ค ว า ม เ ร็ ว ร อ บ ข อ ง เ ค รื่ อ ง ย น ต ไ ป ยั ง คอมพิ ว เตอร เ พื่ อ กํ า หนดระยะเวลาในการฉี ด น้ํามันพื้นฐาน และควบคุมการจุดระเบิดลวงหนา


เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบควบคุมเล็กทรอนิกส ใบเนื้อหา 4-9-20

ตัวกําเนิดสัญญาณ G จะประกอบดวย ขดลวดและโรเตอร มีอยู 4 ฟน และตัวกําเนิดสัญญาณ NE จะประกอบไป ดวยขดลวดและโรเตอรเชนกั นแตมีจํานวนฟน มากกวาคือมีอยู 24 ฟน

ขณะที่ เ ครื่ อ งยนต ห มุ น 2 รอบ(1 จั ง หวะการ ทํางาน) จะมีสัญญาณ G เกิดขึ้น 4 คลื่น และ สัญญาณ NE เกิดขึ้น 24 คลื่น

สัญญาณสตารท (Starter Signal : STA Signal) มีหนาที่ สงสัญญาณไฟฟาไปยังกลอง คอมพิ ว เตอร ข ณะสตาร ท เครื่ อ งยนต เพื่ อ ให กล อ งคอมพิ ว เตอร กํ า หนดปริ ม าณการฉี ด น้ํ า มั น เชื้ อ เพลิ ง ให อั ต ราส ว นผสมหนาขึ้ น ในขณะ สตารทเครื่องยนต วงจรไฟฟาสัญญาณการสตารท(สําหรับรถยนตที่ใชเกียรอัตโนมัติ)


เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบควบคุมเล็กทรอนิกส ใบเนื้อหา 4-10-20

วงจรไฟฟาสัญญาณการสตารท(สําหรับรถยนตที่ใชเกียรธรรมดา)

ระบบควบคุมความเร็วรอบเดินเบา (Idle Speed Control : ISC) มีหนาที่ เพิ่มความเร็วรอบเดินเบาของเครื่องยนต เมื่อเครื่องยนตเกิดการเปลี่ยนแปลงรอบเดินเบา เชน ขณะที่เปดเครื่องปรับอากาศ หรือ เปดไฟหนารถยนต ซึ่งสาเหตุดังกลาวจะทําใหรอบเครื่องยนตต่ําลงหรือเดิน ไมเรียบ โดยกลองคอมพิวเตอรจะรับสัญญาณภาระเหลานี้จากตัวตรวจจับสัญญาณตาง ๆ แลวสงสัญญาณไฟฟาไป ควบคุมลิ้นควบคุมความเร็วรอบเดินเบา เพื่อเปดชองทางใหอากาศเขาเครื่องยนตมากขึ้น เพื่อรักษาความเร็วรอบ เดินเบาของเครื่องยนตใหเหมาะสม


เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบควบคุมเล็กทรอนิกส ใบเนื้อหา 4-11-20

วงจรไฟฟาควบคุมลิ้นควบคุมความเร็วรอบเดินเบา ระบบวิเคราะหปญหาขอบกพรอง (Self Diagnosis System) กลองคอมพิวเตอรจะมีระบบวิเคราะหปญหาขอบกพรองตัวเองอยูภายใน ซึ่งจะทําหนาที่ตรวจสอบ ขอบกพรองของ ตัวตรวจจับสัญญาณ(Seneor) และวงจรไฟฟาของตัวตรวจจับสัญญาณ เมื่อระบบวิเคราะห ปญหาขอบกพรองตรวจพบขอบกพรอง จะทําใหหลอดไฟตรวจสอบเครื่องยนต(Check Engine) สวางขึ้นเพื่อ แจงขอบกพรอง

กลองคอมพิวเตอร

- ตัวตรวจจับสัญญาณ - วงจรไฟฟา


เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบควบคุมเล็กทรอนิกส ใบเนื้อหา 4-12-20

วงจรไฟฟาระบบวิเคราะหปญหาขอบกพรองตัวเอง

ในระบบวิเคราะหปญหาขอบกพรองตัวเอง นั้ น เมื่ อ เป ด สวิ ต ช จุ ด ระเบิ ด และขณะสตาร ท เครื่องยนตหลอดไฟตรวจสอบเครื่องยนตจะสวางขึ้น

ถ า เครื่ อ งยนต อ ยู ใ นสภาวะปกติ เมื่ อ เครื่ อ งยนต ส ตาร ท ติ ด แล ว หลอดไฟตรวจสอบ เครื่องยนตจะตองดับ


เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบควบคุมเล็กทรอนิกส ใบเนื้อหา 4-13-20

แตถาเครื่องยนตมีการทํางานผิดปกติหรือมี ความบกพร อ ง เมื่ อ เครื่ อ งยนต ส ตาร ท ติ ด แล ว หลอดไฟตรวจสอบเครื่องยนตจะคงยังสวางอยู เพื่ อ เป น การเตื อ น และกล อ งคอมพิ ว เตอร จ ะ บั น ทึ ก ความบกพร อ งของเครื่ อ งยนต ไ ว ใ น หนวยความจํา

การอานรหัสวิเคราะหปญหาขอบกพรองของเครื่องยนต เมื่อตองการตรวจสอบเพื่อหาจุดบกพรองของเครื่องยนต วาเกิดความบกพรองตรงจุดไหนนั้น สามารถ กระทําไดโดยวิธีการดังนี้ ใหดับเครื่องยนต แลวใชสายไฟลัดวงจร ขั้ว TE1 กับ E1 ที่ขั้วทดสอบ และเปดสวิตชจุด ระเบิดไปยังตําแหนง IG

หลอดไฟตรวจสอบเครื่องยนตจะสวาง และกระพริ บ แสดงเป น รหั ส วิ เ คราะห ป ญ หา ออกมา


เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบควบคุมเล็กทรอนิกส ใบเนื้อหา 4-14-20

เ มื่ อ เ ค รื่ อ ง ย น ต อ ยู ใ น ส ภ า ว ะ ป ก ติ หลอดไฟตรวจสอบเครื่องยนตจะกระพริบเปน จังหวะดังภาพ

แต ถ า เมื่ อ เครื่ อ งยนต อ ยู ใ นสภาวะ ผิ ด ปกติ ห ลอดไฟตรวจสอบเครื่ อ งยนต จ ะ กระพริบเปนจังหวะดังภาพ โดยจะกระพริ บ แสดงรหัส จากนอ ยไปหา มากจนหมด และจะกลับมาแสดงรหัสตอไปอยาง นี้เรื่อย ๆ ดังภาพ แสดงรหัสขอบกพรอง 13 (เกิด จากไมมีสัญญาณ NE สงไปยัง ECU เปนเวลา 0.3 วินาทีหรือมากกวา) และ 21 (เกิดจากมีขอ บกพรองเกิดขึ้นกับตัวตรวจจับออกซิเจน)


เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบควบคุมเล็กทรอนิกส ใบเนื้อหา 4-15-20

รหัสการวิเคราะหปญหาเครื่องยนตทั่วไป(Conventional Engine) ของเครื่องยนต TOYOTA รุน 5A-FE รหัส

จํานวนการกระพริบของ หลอดไฟตรวจสอบเครื่องยนต

ระบบ

-

ปกติ

12

สัญญาณความเร็ว รอบ

13

สัญญาณความเร็ว รอบ

14

สัญญาณการ จุดระเบิด

21

สัญญาณการ ตรวจจับออกซิเจน

22

สัญญาณการ ตรวจจับอุณหภูมิ น้ํา

24

สัญญาณการ ตรวจจับอุณหภูมิ ไอดี

การวิเคราะห

จุดขัดของ

รหั ส นี้ จ ะปรากฏขึ้ น เมื่ อ ไม มี ร หั ส อื่ น ถู ก บันทึก ไมมีสัญญาณ G หรือ NE สงไปยัง ECU - ขาดหรือลัดในวงจร NE,G เปนเวลา 2 วินาที หรือมากกวา หลังจาก - จานจาย เครื่องยนตหมุน - ขาดหรือลัดในวงจรสตารท - ECU ไมมีสัญญาณ G หรือ NE สงไปยัง ECU - ขาดหรือลัดในวงจร NE เปนเวลา 0.3 วินาที หรือมากกวา เมื่อ - จานจาย เครื่องยนตมีความเร็วรอบ 1,500 rpm - ECU ไมมีสัญญาณ IGF จากตัวชวยจุดระเบิดไป - ขาดหรื อ ลั ด ในวงจร IGF ที่ ECU 4-5 ครั้งตอเนื่องกัน หรือ IGT จากตัวชวยจุดระเบิด ไปยัง ECU - ตัวชวยจุดระเบิด - ECU ขับขี่ความเร็วต่ํากวา 100 กม/ชม และ - มีการขาดหรือลัดวงจรในตัว ความเร็วรอบเครื่องยนตสูงกวา 1,500 rpm ออกซิเจนเซนเซอร สัญญาณออกซิเจนเซนเซอร ลดลงอยู - ECU ระหวาง 0.35-0.70 V ติดตอกันเปนเวลา 60 วินาที หรือมากกวา มี ก ารขาดหรื อ ลั ด วงจรในการตรวจวั ด -มีการขาดหรือลัดวงจรในการ อุ ณ หภู มิ น้ํ า เป น เวลา 0.5 วิ น าที หรื อ ตรวจวัดอุณหภูมิน้ํา มากกวา - ตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ํา - ECU มี ก ารขาดหรื อ ลั ด วงจรในการตรวจวั ด -มีการขาดหรือลัดวงจรในการ อุ ณ หภู มิ ไ อดี เ ป น เวลา 0.5 วิ น าที หรื อ ตรวจวัดอุณหภูมิไอดี มากกวา - ตัวตรวจจับอุณหภูมิไอดี - ECU


เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบควบคุมเล็กทรอนิกส ใบเนื้อหา 4-16-20

รหัสการวิเคราะหปญหาเครื่องยนตทั่วไป(Conventional Engine) ของเครื่องยนต TOYOTA รุน 5A-FE(ตอ) รหัส

ระบบ

การวิเคราะห

จุดขัดของ

25

สัญญาณสวนผสม บาง

แรงดันสงออกของตัวออกซิเจนเซนเซอร มีคานอยกวา 0.45 V เปนเวลา 90 วินาที หรือมากกวา เมื่อออกซิเจนเซนเซอรถูกทํา ใหรอนขึ้น (ที่ 2,000 rpm)

31

สัญญาณตัว มี ก ารขาดหรื อ ลั ด วงจรถู ก ตรวจจั บ เป น ตรวจจับสุญญากาศ เวลา 0.5 วิ น าที หรื อ มากกว า ในตั ว ตรวจจับสุญญากาศ

33

ระบบควบคุมรอบ เดินเบา

มีการขาดหรือลัดวงจรในระบบควบคุม รอบเดินเบา

41

สัญญาณการ ตรวจจับตําแหนง ลิ้นเรง

มี ก ารขาดหรื อ ลั ด วงจรถู ก ตรวจจั บ เป น เวลา 0.5 วิ น าที หรื อ มากกว า ในตั ว ตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง

42

- โบลทยึดสายดินเครื่องยนต ไมแนน - ขาดในวงจร E1 - ขาดในวงจรหัวฉีด - แรงดันน้ํามันเชื้อเพลิง - ขาดในวงจรออกซิเจน เซนเซอร - ระบบจุดระเบิด - ขาดในวงจรตัวตรวจจับ สุญญากาศ - ตัวตรวจจับสุญญากาศ - ECU - ขาดหรื อ ลั ด วงจรในระบบ ค ว บ คุ ม ร อ บ เ ดิ น เ บ า - ISC Valve - มีการขาดหรือลัดวงจรในตัว ต ร ว จ จั บ ตํ า แ ห น ง ลิ้ น เ ร ง - ตั ว ตรวจจั บ ตํ า แหน ง ลิ้ น เร ง - ECU - มี ก ารขาดหรื อ ลั ด วงจรใน วงจรตั ว ตรวจจั บ ความเร็ ว ร ถ ย น ต - ตัวตรวจจั บความเร็ วรถยนต -ECU

สัญญาณการตรวจจับ ไมมีสัญญาณตรวจจับความเร็วไปที่ ECU ความเร็วรถยนต อย า งน อ ย 8 วิ น าที เมื่ อ รถยนต มี ภ าระ - ความเร็ ว รอบรถยนต 2,500-5,000rpm - อุณ หภูมิ เ ครื่ อ งยนต ม ากกว า 80°C - สุญญากาศในทอรวม 60 kpa หรือ มากกวา สัญญาณมอเตอร ไมมีสัญญาณสตาร ท ไปยั ง ECU เมื่ อ - มี ก ารขาดหรื อ ลั ด วงจรใน สตารท สตารทเครื่องยนต ว ง จ ร สั ญ ญ า ณ ส ต า ร ท - ขาดหรือลัดวงจรในสวิตช IG ห รื อ ว ง จ ร รี เ ล ย ส ต า ร ท - ECU

43

จํานวนการกระพริบของ หลอดไฟตรวจสอบเครื่องยนต


เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบควบคุมเล็กทรอนิกส ใบเนื้อหา 4-17-20

รหัสการวิเคราะหปญหาเครื่องยนตทั่วไป(Conventional Engine) ของเครื่องยนต TOYOTA รุน 5A-FE(ตอ) รหัส

จํานวนการกระพริบของ หลอดไฟตรวจสอบเครื่องยนต

ระบบ

การวิเคราะห

จุดขัดของ

51

สัญญาณการ ตรวจจับการน็อก

มีการขาดหรื อ ลั ดวงจรในวงจรสั ญญาณ - มีการขาดหรือลัดวงจรใน น็อกเซนเซอร วงจรการตรวจจับการน็อก - ตัวน็อกเซนเซอร - ECU

52

สัญญาณสวิตช

เมื่อ A/C เปดหรือ NSW และ STA ปดเมื่อ - ระบบสวิตช ขั้วตรวจสอบ E1 แล เครือ่ งปรับอากาศ ะ TE1 ถูกลัดวงจรในขณะทํา Test mode - ตัวตรวจจับตําแหนงลิ้น เรงวงจร IDL - ขาคันเรง สาย - ECU

การลบรหัสขอบกพรองของเครื่องยนต เมื่ อ ทํ า การแก ไ ขข อ บกพร อ งเสร็ จ แล ว จึ ง เป น สิ่งจําเปนที่ตองลบรหัสขอบกพรองที่ถูกบันทึกอยูใน หนวยความจําของคอมพิวเตอร โดยถอดขั้วลบของ แบตเตอรี่ อ อกประมาณ 10 วิ น าที ก็ จ ะทํ า ให ร หั ส ขอบกพรองเดิมนั้นถูกลบออกจากหนวยความจําของ คอมพิวเตอร

ถาตองการลบลบรหัสขอบกพรองเดิมออกจากคอมพิวเตอรกระทําโดยโดยถอดขั้วลบของ แบตเตอรี่ออกประมาณ 10 วินาที


ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส

เนื้อเรือ่ ง สวนประกอบของระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส.................................................... 4-1-20 ตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ําหลอเย็น..................................................................4-2-20 ตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศ.........................................................................4-3-20 ตัวตรวจจับสุญญากาศ................................................................................4-4-20 ตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง........................................................................ 4-5-20 ตัวตรวจจับปริมาณออกซิเจน.................................................................... 4-6-20 ตัวตรวจจับการน็อก.................................................................................. 4-7-20 ตัวตรวจจับมุมเพลาขอเหวี่ยง.................................................................... 4-8-20 สัญญาณการสตารท................................................................................... 4-9-20 ระบบควบคุมความเร็วรอบเดินเบา............................................................ 4-10-20 ระบบวิเคราะหปญหาขอบกพรอง........................................................................4-11-20 การอานรหัสวิเคราะหปญหาขอบกพรองของเครื่องยนต.......................... 4-13-20 รหัสวิเคราะหปญหาขอบกพรองของเครือ่ งยนต................................................. 4-15-20 แบบฝกหัด........................................................................................................... 4-18-20

4


เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบควบคุมเล็กทรอนิกส ใบเนื้อหา 4-7-20

ตัวตรวจจับการน็อก (Knock Sensor) มีห นาที่ ตรวจจั บแรงสั่นสะเทือนที่เกิด จากการน็อกของเครื่องยนต แลวสงสัญญาณให คอมพิ ว เตอร ล ดองศาการจุ ด ระเบิ ด ล ว งหน า เพื่อใหการน็อกหยุดลง

โครงสร า งของตั ว ตรวจจั บ การน็ อ ก ประกอบดวย แผนไดอะแฟรมและผลึกแร ที่มี คุ ณ สมบั ติ ส ร า งแรงดั น ไฟฟ า เมื่ อ เกิ ด การ เปลี่ ย นแปลงรู ป ร า ง จากแรงสั่ น ของผนั ง กระบอกสูบ ที่เกิดจากเครื่องยนตน็อก

ตัวตรวจจับการน็อกจะสงสัญญาณเขาคอมพิวเตอรทางขั้ว KNK ดังแสดงในรูป


เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบควบคุมเล็กทรอนิกส ใบแบบฝกหัด 4-18-20

แบบฝกหัด หนวยที่ 4 ชื่อ-นามสกุล......................................................วันที่.........เดือน...............พ.ศ............. ตอนที่ 1 จงทําเครื่องหมาย U ทับหัวขอที่ถูกตองที่สุด 1. สวนประกอบของระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ประกอบดวย ก. ตัวตรวจจับสัญญาณ คอมพิวเตอร ตัวทํางาน ข. ตัวตรวจจับสุญญากาศ คอมพิวเตอร คอยลจุดระเบิด ค. ตัวตรวจจับสัญญาณ คอมพิวเตอร แบตเตอรี่ ง. ถูกทุกขอ 2. อุปกรณใดที่ทําหนาที่ ตรวจสภาวะการทํางานของเครื่องยนตและสงขอมูลตาง ๆ ไปยังคอมพิวเตอรเพื่อกําหนด ระยะและจังหวะในการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง ก. คอยลจุดระเบิด ข. ตัวตรวจจับสัญญาณ ข. หัวฉีด ง. ตัวตรวจจับสัญญาณความเร็วรอบเครื่องยนต 3. อุปกรณใดที่ทําหนาที่รับขอมูลสภาวะการทํางานของเครื่องยนตแลวประมวลผลเปนสัญญาณทางไฟฟา เพื่อสั่งและควบคุมการทํางานของเครื่องยนต ก. CPU ข. IC ค. ECU ง. ABS 4. เมื่อตัวตรวจจับสุญญากาศตรวจพบวาเกิดสุญญากาศในทอรวมไอดีมาก ปริมาณการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงจะ เปนอยางไร ก. น้ํามันเชื้อเพลิงจะจายมากขึ้นเนื่องจากคอมพิวเตอรรูวาอากาศเขาเครื่องยนตมากขึ้น ข. น้ํามันเชื้อเพลิงจะจายมากขึ้นเนื่องจากคอมพิวเตอรรูวาอากาศเขาเครื่องยนตนอยลง ค. น้ํามันเชื้อเพลิงจะจายนอยลงเนื่องจากคอมพิวเตอรรูวาอากาศเขาเครื่องยนตมากขึ้น ง. น้ํามันเชื้อเพลิงจะจายนอยลงเนื่องจากคอมพิวเตอรรูวาอากาศเขาเครื่องยนตนอยลง 5. ถาคาความตานทานของตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศมีคามาก มีความหมายอยางไร ก. อุณหภูมิอากาศต่ํา คอมพิวเตอรจะกําหนดใหจายน้ํามันเชื้อเพลิงมากขึ้น ข. อุณหภูมิอากาศต่ํา คอมพิวเตอรจะกําหนดใหจายน้ํามันเชื้อเพลิงนอยลง ค. อุณหภูมิอากาศสูง คอมพิวเตอรจะกําหนดใหจายน้ํามันเชื้อเพลิงมากขึ้น ง. อุณหภูมิอากาศสูง คอมพิวเตอรจะกําหนดใหจายน้ํามันเชื้อเพลิงนอยลง


เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบควบคุมเล็กทรอนิกส ใบแบบฝกหัด 4-19-20

6. ถาคาความตานทานของตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ําหลอเย็นมีคามากหมายความวาอยางไร ก. อุณหภูมิน้ําหลอเย็นต่ํา คอมพิวเตอรจะกําหนดใหจายน้ํามันเชื้อเพลิงมากขึ้น ข. อุณหภูมนิ ้ําหลอเย็นต่ํา คอมพิวเตอรจะกําหนดใหจายน้ํามันเชื้อเพลิงนอยลง ค. อุณหภูมนิ ้ําหลอเย็นสูง คอมพิวเตอรจะกําหนดใหจายน้ํามันเชื้อเพลิงมากขึ้น ง. อุณหภูมนิ ้ําหลอเย็นสูง คอมพิวเตอรจะกําหนดใหจายน้ํามันเชื้อเพลิงนอยลง 7. สัญญาณจากตัวตรวจจับสัญญาณใดที่ใชเปนขอมูลในการลดองศาการจุดระเบิดลวงหนาเพื่อปองกันการน็อก ของเครื่องยนต ก. ตัวตรวจจับสัญญาณมุมเพลาขอเหวี่ยง ข. ตัวตรวจจับสัญญาณความเร็วรอบของเครื่องยนต ค. ตัวตรวจจับสัญญาณการน็อก ง. ตัวตรวจจับสุญญากาศ 8. ขณะที่เครื่องยนตหมุน 1,500 รอบ สัญญาณ G (สัญญาณมุมเพลาขอเหวี่ยง)จะเกิดขึ้นกี่คลื่น ก. 1,500 คลื่น ข. 3,000 คลื่น ค. 4,500 คลื่น ง. 6,000 คลื่น 9. อุปกรณใดที่ทําหนาที่ เพิ่มหรือลดความเร็วรอบเดินเบาของเครื่องยนตเมื่อรอบเดินเบาเครื่องยนตเกิดการ เปลี่ยนแปลง ก. สกรูปรับรอบเดินเบา ข. ลิ้นอากาศ ค. เรือนลิ้นเรง ง. ลิ้นควบคุมความเร็วรอบเดินเบา 10. หลอดไฟตรวจสอบเครื่องยนต มีหนาที่ ก. เตือนเมื่อความเร็วเครื่องยนตสูงเกิน ข. แสดงถึงขอบกพรองของเครื่องยนตที่เกิดขึ้น ค. เตือนเมื่ออุณหภูมิของเครื่องยนตสูงเกิน ง. ตรวจสอบการทํางานของเครื่องยนต


เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบควบคุมเล็กทรอนิกส ใบแบบฝกหัด 4-20-20

11. ขั้วใดเปนขั้วสําหรับทําการทดสอบเพือ่ วิเคราะหหาขอบกพรองของเครื่องยนต ก. ขั้ว +B กับ E1 ข. ขั้ว IG กับ +NE ค. ขั้ว TE1 กับ E1 ง. ขั้ว IG กับ TE1 12. การวิเคราะหขอบกพรองของเครื่องยนตจะแสดงผลออกมาเปนอยางไร ก. เปนตัวเลข ข. เปนขอความ ค. สัญญาณเสียง ง. สัญญาณการกระพริบของหลอดไฟ 13. ถาตัวตรวจจับอุณหภูมนิ ้ําหลอเย็นบกพรองหรือเสีย รหัสขอบกพรองจะเปนอยางไร ก. 21 ข. 22 ค. 24 ง. 25 14. ถารหัสของขอบกพรองแสดงออกมาเปน 12 หมายถึงมีขอบกพรองในระบบหรืออุปกรณใด ก. ตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ําหลอเย็น ข. ตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศ ค. สัญญาณการจุดระเบิด ง. สัญญาณความเร็วรอบของเครื่องยนต 15. ถาตองการลบรหัสขอบกพรองออกจากหนวยความจําของคอมพิวเตอร(ECU) กระทําไดโดยวิธีใด ก. ถอดขั้วตอของอุปกรณทบี่ กพรองออก 10 วินาที ข. ถอดสายไฟทดสอบออกจากขั้วทดสอบ ค. ถอดขั้วลบของแบตเตอรี่ออก10 วินาที ง. ลัดวงจรขั้วตรวจสอบอีกครั้ง



งานตรวจวิเคราะหขอขัดของระบบประจุอากาศ

ใบงาน ขอควรระวังกอนการปฏิบตั งิ านระบบประจุอากาศ ใบงานที่ 1 งานตรวจสอบการทํางานของลิ้นอากาศ

6


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบประจุอากาศ ใบแนะนํา 6-1-1

1. การถอดเหล็กวัดน้ํามันเครื่อง ฝาเติมน้ํามันเครื่อง ทอลิ้นระบายไอน้ํามันเครื่อง(PVC valve) อาจทํา ใหรอบเครื่องสูงกวาปกติ หรือ จะทําใหปรับแตงเครื่องยนตไมได

2. การปลดทอ การหลวม หรือแตกราวของชิ้นสวนของระบบประจุอากาศ ระหวางเรือนลิ้นเรง และฝา สูบ จะทําใหอากาศรั่ว และเปนสาเหตุใหรอบเครื่องสูงกวาปกติ หรือ จะทําใหปรับแตงเครื่องยนตไมได 3. การทําความสะอาดเรือนลิ้นเรง หามทําความสะอาดตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง เพราะอาจทําให อุปกรณชํารุดเสียหายได


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบประจุอากาศ ใบงาน1 6-1-3

งานตรวจสอบการทํางานของลิ้นอากาศ วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ตรวจสอบการทํางานของลิ้นอากาศได วัสดุ/อุปกรณฝก/เครื่องมือ 1. ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตหวั ฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส 2. น้ํามันเบนซิน 3. ผาเช็ดมือ ลําดับขั้นการปฏิบตั ิงาน 1. ถอดทอกรองอากาศ และฝาครอบออก • ปลดขั้วตัวตรวจจับอุณหภูมิไอดีออก • คลายสกรูยึดทอกรองอากาศ • ปลดคลิ๊บยึดฝาครอบกรองอากาศ • ถอดท อ ยางกรองอากาศ และฝาครอบออก จากเรือนลิ้นเรง ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

กลองควบคุมอิเล็กทรอนิกส

ขั้วกลองควบคุมอิเล็กทรอนิกส

ST เกจวัด ความดันน้ํามันเชื้อเพลิง

มาตรวัด รวม

เกจวัด สุญญากาศท อรวมไอดี

2. สตารทเครื่องยนต 3. อานรอบเดินเบาของเครื่องยนตจากแผงของชุดฝก (ขณะที่อุณหภูมิน้ําหลอเย็นของเครื่องยนตต่ํากวา 80°C )

Diagnosi s ขั้วตรวจสอบ

สวิตชสตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยสตารท

4. ใชนิ้วมือปดชองทางอากาศที่เรือนลิ้นเรง และ สังเกตดูความเร็วรอบของเครื่องยนต (ถาลิ้นอากาศ ทํางานปกติรอบของเครื่องยนตจะตองลดลงหรือ เครื่องยนตดับ ) ถารอบเครื่องยนตปกติหรือไม เปลี่ยนแปลงอาจมีขอบกพรองที่ลิ้นอากาศ ให เปลี่ยนลิ้นอากาศใหม


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

ก ลอ งควบคุม อิเ ล็ก ทรอนิก ส

ขั้วกลอ งควบคุม อ ิเล็ก ทรอ นิก ส

มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดัน น้ํามัน เชื้อ เพลิง

เก จวัด สุญ ญาก าศทอ รวมไอดี

Diagnosi s ขั้วตรวจสอบ

เรื่อง ระบบประจุอากาศ ใบงาน1 6-2-3

5. เอานิ้วมือออกจากชองอากาศที่เรือนลิ้นเรงและ ปล อ ยให เ ครื่ อ งยนต ทํ า งานจนถึ งอุ ณ หภู มิ ทํา งาน (อุณหภูมิของน้ําหลอเย็นสูงกวา 80°C โดยสังเกต จากมาตรวัดความรอนบนแผงของชุดฝกฯ) 6. อานคาความเร็วรอบของเครื่องยนตและบันทึกไว

สวิต ชส ตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเ ลยเปด วงจร

รีเ ลยส ตารท

7. ใชนิ้วมือปดชองทางอากาศที่เรือนลิ้นเรง และ สังเกตดูความเร็วรอบของเครื่องยนตอีกครัง้ หนึ่ง (ถาลิ้นอากาศทํางานปกติรอบของเครื่องยนต จะตองคงที่หรือลดลงไมมาก) ถารอบเครื่องยนตมี การเปลี่ยนแปลงมากอาจเกิดขอบกพรองที่ลิ้น อากาศ ใหเปลี่ยนลิ้นอากาศใหม

ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

กลองควบคุมอิเล็กทรอนิกส

ขั้วกลองควบคุมอิเล็กทรอนิกส

มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดันน้ํามันเชื้อเพลิง

เกจวัด สุญญากาศท อรวมไอดี

Diagnosi s ขั้วตรวจสอบ

สวิตชสตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยสตารท

8. ดับเครื่องยนต และ ทําความสะอาดอุปกรณและ บริเวณปฏิบัตงิ าน


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบประจุอากาศ ใบงาน1 6-3-3

ผลการปฏิบัตงิ าน ขณะเครื่องยนตมีอณ ุ หภูมิต่ํา สภาวะ ความเร็วรอบของเครื่องยนตขณะเดินเบา กอนใชนิ้วมือปดชองอากาศ รอบ/นาที เมื่อใชนิ้วมือปดชองอากาศ รอบ/นาที

ขณะเครื่องยนตมีอณ ุ หภูมิสูง สภาวะ ความเร็วรอบของเครื่องยนตขณะเดินเบา กอนใชนิ้วมือปดชองอากาศ รอบ/นาที เมื่อใชนิ้วมือปดชองอากาศ รอบ/นาที F ใชได

F เปลี่ยนใหม


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส

ใบงาน ขอควรระวังกอนการปฏิบตั งิ านระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงานที่ 1 งานตรวจสอบไฟฟาเลี้ยงกลองควบคุมอิเล็กทรอนิกส (กลองคอมพิวเตอร) ใบงานที่ 2 งานตรวจสอบรีเลยหลัก ใบงานที่ 3 งานตรวจสอบรหัสวิเคราะหปญหาขอขัดของของเครื่องยนต ใบงานที่ 4 งานตรวจสอบความตานทานตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ําหลอเย็น ใบงานที่ 5 งานตรวจสอบวงจรไฟฟาตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ําหลอเย็น ใบงานที่ 6 งานตรวจสอบความตานทานตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศ ใบงานที่ 7 งานตรวจสอบวงจรไฟฟาตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศ ใบงานที่ 8 งานตรวจสอบความตานทานตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง ใบงานที่ 9 งานตรวจสอบวงจรไฟฟาตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง ใบงานที่ 10 งานตรวจสอบวงจรไฟฟาตัวตรวจจับปริมาณออกซิเจน ใบงานที่ 11 งานตรวจสอบตัวตรวจจับสุญญากาศ ใบงานที่ 12 งานตรวจสอบวงจรไฟฟาตัวตรวจจับสุญญากาศ ใบงานที่ 13 งานตรวจสอบตัวควบคุมรอบเดินเบา ใบงานที่ 14 งานตรวจสอบวงจรไฟฟาตัวควบคุมรอบเดินเบา ใบงานที่ 15 งานตรวจสอบวงจรไฟฟาระบบจุดระเบิด ใบงานที่ 16 งานตรวจสอบสัญญาณไฟฟา NE ใบงานที่ 17 งานตรวจสอบวงจรไฟฟาสัญญาณสตารท ใบงานที่ 18 งานตรวจสอบตัวตรวจจับการน็อก

7


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบแนะนํา 7-1-1

1. กอนถอดขั้วสายไฟในระบบ อี.เอฟ.ไอ และอื่นๆ จะตองปดสวิตชอยูในตําแหนง OFF หรือปลดขั้ว ลบของแบตเตอรี่ออก กอนเสมอ

2. เมื่อประกอบขั้วแบตเตอรี่ ระมัดระวังอยาใหตอขั้ว ( + ) และ ( - ) ของแบตเตอรี่สลับกัน 3. อยาปลอยใหชิ้นสวนอุปกรณ เกิดการกระแทก หรือตกหลน ในระหวางการถอด – ประกอบ ควรจับ ชิ้นสวนทุกชิน้ ในระบบ อี.เอฟ.ไอ อยางระมัดระวัง โดยเฉพาะกลองคอมพิวเตอร 4. อยามองขามจุดใดจุดหนึง่ ระหวางการแกไขปญหา เชนวงจรทรานซิสเตอร และการสัมผัสของขั้วตอ สายไฟที่ไมแนนซึ่งสามารถทําใหเกิดปญหาขึ้นได 5. อยาเปดฝาครอบกลองคอมพิวเตอร 6. ระวังอยาใหชิ้นสวนของระบบ ขั้วตอสายไฟ และอุปกรณที่เปนอิเล็กทรอนิกสโดนน้ํา 7. ชิ้นสวนที่เปลี่ยนไปแลวอยานํามาใชอกี 8. ควรระมัดระวังในการ ถอด – ใสขั้วตอสายไฟ


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน1 7-1-3

งานตรวจสอบวงจรจายกระแสใหกลองควบคุมอิเล็กทรอนิกส(กลองคอมพิวเตอร) วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ตรวจสอบวงจรไฟฟาเลี้ยงกลองควบคุมอิเล็กทรอนิกส(กลองคอมพิวเตอร)ได วัสดุ/อุปกรณฝก/เครื่องมือ 1. ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตหวั ฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส 2. มัลติมิเตอร 3. ผาเช็ดมือ

วงจรไฟฟาเลี้ยงกลองควบคุมอิเล็กทรอนิกส(กลองคอมพิวเตอร)


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน1 7-2-3

ลําดับขั้นการปฏิบตั ิงาน ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

1. บิดสวิตชจดุ ระเบิดยังตําแหนง IG

กลองควบคุมอิเล็กทรอนิกส

ขั้วกลองควบคุมอิเล็กทรอนิกส

มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดันน้ํามันเชื้อเพลิง

เกจวัด สุญญากาศท อรวมไอดี

Diagnosi s ขั้วตรวจสอบ

สวิตชสตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยสตารท

2. ใชมัลติมิเตอรวัดแรงเคลื่อนไฟฟา(ปรับมัลติ มิเตอรไปยานวัดแรงเคลื่อนไฟฟา) ระหวางขั้ว +B กับ E1 และ BATT กับ กราวด ของกลอง คอมพิวเตอร จะต องอยู ร ะหวาง 9 - 14 โวลท ถา แรงเคลื่อนไฟฟาไมเปนไปตามคากําหนด อาจเกิด จากการขาดของวงจรไฟฟา หรือรีเลยหลัก

ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

+B

BATT

กลอ งควบคุม อิเล็ก ทรอนิก ส

ขั้วกลองควบคุม อิเล็กทรอนิกส

E1

มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดัน น้ํามัน เชื้อ เพลิง

Dia gn osi

ขั้วตรว s จสอบ

เกจวัด สุญ ญากาศทอ รวมไอดี

สวิต ชส ตารท

ฟวส

V

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยส ตารท

เครื่องยนต

ถังน้ํามัน

ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

กลองควบคุมอิเล็กทรอนิกส

ขั้วกลองควบคุมอิเล็กทรอนิกส

มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดันน้ํามันเชื้อเพลิง

เกจวัด สุญญากาศท อรวมไอดี

Diagnosi s ขั้วตรวจสอบ

สวิตชสตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยสตารท

3. บิดสวิตชจดุ ระเบิดไปยังตําแหนง OFF


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

+B

BATT

กลอ งควบคุม อิเล็ก ทรอนิก ส

ขั้วกลองควบคุม อิเล็กทรอนิกส

E1

มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดัน น้ํามัน เชื้อ เพลิง

Dia gn osi

ขั้วตรว s จสอบ

เกจวัด สุญ ญากาศทอ รวมไอดี

ตอเนื่อง สวิต ชส ตารท

ฟวส

W รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยส ตารท

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน1 7-3-3

4. เลือกยานวัดมัลติมิเตอรไปที่การวัดคาความ ตานทาน และวัดความตอเนื่องระหวางขั้ว E1ของ กลอง คอมพิวเตอร กับกราวด จะตองตอเนื่อง 5. ทําความสะอาดอุปกรณและบริเวณปฏิบัติงาน

เครื่องยนต

ถังน้ํามัน

ระหวางขั้ว +B กับ E1 BATT กับ กราวด

ระหวางขั้ว E1 กับ กราวด

ผลการปฏิบัตงิ าน การวัดแรงเคลือ่ นไฟฟา คาแรงเคลื่อนไฟฟา สรุปผล โวลท F ถูกตอง F ไมถูกตอง โวลท F ถูกตอง F ตองแกไข

การวัดความตอเนื่องของสายไฟ คาความตอเนื่อง สรุปผล F ตอเนื่อง F ไมตอเนื่อง F ถูกตอง F ไมถูกตอง

การแกไข.............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน2 7-1-2

งานตรวจสอบรีเลยหลัก วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ตรวจสอบรีเลยหลักได วัสดุ/อุปกรณฝก/เครื่องมือ 1. รีเลยหลักของชุดฝกฯ 2. มัลติมิเตอร 3. สายไฟทดสอบ 4. ผาเช็ดมือ ลําดับขั้นการปฏิบตั ิงาน

W

1. เลื อ กย า นวั ด มั ล ติ มิ เ ตอร ไ ปที่ ก ารวั ด ค า ความ ตานทาน และวัดความตอเนื่องระหวางขั้ว 85 กับ 86 ของรีเลยหลักจะตองตอเนื่อง และวัดความตอเนื่อง ระหวางขั้ว 30 กับ 87 ของรีเลยจะตองไมตอเนื่อง

ตอเนื่อง 30 85

86

W

87

ไมตอเนื่อง

W ตอเนื่อง 30 85

86

2. ตอสายไฟจากแบตเตอรี่ขั้วบวกไปที่ขั้ว 85 และ ลบที่ขั้ว 86 ของรีเลยหลัก และใชมัลติมิเตอรวัด ความตอเนื่องระหวางขั้ว 30 กับ 87 ของรีเลยจะตอง ตอเนื่อง 3. ทําความสะอาดอุปกรณและบริเวณปฏิบัติงาน

87

แบตเตอรี่

หมายเหตุ ถาคาที่ไดจากการตรวจสอบไมเปนไป ตามคากําหนด ใหเปลี่ยนรีเลยเปดวงจรใหม


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน2 7-2-2

ผลการปฏิบัตงิ าน ระหวางขั้ว 85 - 86 30 - 87 30 – 87 ( เมื่อตอขั้ว 85 กับ 86 เขาแบตเตอรี่)

คาความตอเนื่อง F ตอเนื่อง F ไมตอเนือ่ ง F ตอเนื่อง F ไมตอเนือ่ ง F ตอเนื่อง F ไมตอเนือ่ ง

สรุปผล F ถูกตอง F ไมถูกตอง F ถูกตอง F ไมถูกตอง F ถูกตอง F ไมถกู ตอง

การแกไข.............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. .


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน3 7-1-4

งานตรวจสอบรหัสวิเคราะหปญหาขอขัดของของเครื่องยนต วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ตรวจสอบรหัสวิเคราะหปญหาขอขัดของของเครื่องยนตได วัสดุ/อุปกรณฝก/เครื่องมือ 1. ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตหวั ฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส 2. มัลติมิเตอร 3. ผาเช็ดมือ

วงจรวิเคราะหปญหา


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน3 7-2-4

ลําดับขั้นการปฏิบตั ิงาน ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

กลองควบคุมอิเล็กทรอนิกส

ขั้วกลองควบคุมอิเล็กทรอนิกส

มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดันน้ํามันเชื้อเพลิง

เกจวัด สุญญากาศท อรวมไอดี

Diagnosi s ขั้วตรวจสอบ

สวิตชสตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยสตารท

1. ตรวจสอบสภาพเบื้องตนกอนการปฏิบัติงานดังนี้ • แบตเตอรี่ ต อ งมี แ รงเคลื่ อ นไฟฟ า อย า งต่ํ า 11 โวลท • ลิ้นเรงตองปดสนิท • เกียรตองอยูในตําแหนงวาง (N) 2. บิดสวิตชจุดระเบิดตําแหนง IG 3. สังเกตหลอดไฟตรวจสอบ เครื่องยนต คามาตรฐาน ระบบปกติ หลอดไฟสวาง ระบบผิดปกติ หลอดไฟดับ

4. ติดเครื่องยนต และสังเกตหลอดไฟตรวจสอบ เครื่องยนต คามาตรฐาน ระบบปกติ หลอดไฟดับ ระบบผิดปกติ หลอดไฟสวาง


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

กลอ งควบคุม อิเล็ก ทรอนิก ส

ขั้วกลอ งควบคุม อิเล็ก ทรอนิก ส

มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดัน น้ํามัน เชื้อ เพลิง

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน3 7-3-4

5. ดับเครื่องยนต และใชสายไฟลัดวงจรระหวางขั้ว TE1 และ E1 ของขั้วตรวจสอบ 6. เปดสวิตชจุดระเบิดไปยังตําแหนง IG

เกจวัด สุญ ญากาศทอ รวมไอดี

Diagnosis ขั้วตรวจสอบ

สวิต ชส ตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยส ตารท

7. อานรหัสวิเคราะหปญหาจากหลอดไฟตรวจสอบ เครื่องยนต (ความหมายของรหัสดูไดจากใบเนื้อหา ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส หนา 4-15-20)

ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

กลองควบคุมอิเล็กทรอนิกส

ขั้วกลองควบคุมอิเล็กทรอนิกส

มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดันน้ํามันเชื้อเพลิง

เกจวัด สุญญากาศท อรวมไอดี

Diagnosi s ขั้วตรวจสอบ

สวิตชสตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยสตารท

8. บิดสวิตชจุดระเบิดไปตําแหนง OFF และถอด สายไฟลัดวงจรออกจากขั้วตรวจสอบ


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

กลอ งควบคุม อิเล็ก ทรอนิก ส

ขั้วกลอ งควบคุม อิเล็ก ทรอนิก ส

ฟวส EFI

10 วินาที

มาตรวัด รวม

EFI

STOP

TAIL

TURN

WIPER

ST

IGN

GAUGE

เกจวัด ความดัน น้ํามัน เชื้อ เพลิง

เกจวัด สุญ ญากาศท อ รวมไอดี

Diagnosis ขั้วตรวจสอบ

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน3 7-4-4

9. ลบรหัสวิเคราะหปญหาออกจากหนวยความจํา โดยถอดฟวส EFI หรือถอดขั้วลบของแบตเตอรี่ ออกอยางนอย 10 วินาที (หลังแกไขขอบกพรองของ เครื่องยนตเสร็จ) 10. ทําความสะอาดอุปกรณและบริเวณปฏิบัติงาน

สวิต ชส ตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วง จร

รีเลยส ตารท

ผลการปฏิบัตงิ าน การตรวจสอบรหัสวิเคราะหปญหา สภาวะ หลอดไฟตรวจสอบเครื่องยนต สวิตชจุดระเบิดอยูในตําแหนง IG F สวาง F ไมสวาง ติดเครื่องยนต F สวาง F ไมสวาง สรุปผล F ปกติ F มีขอบกพรอง กรณีมีขอบกพรอง สภาวะ การอานและวิเคราะหปญหา ลัดวงจรระหวางขั้ว TE1 กับ E1 รหัสวิเคราะหที่อานได......................................... ขอบกพรอง..........................................................

การแกไข...................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน4 7-1-2

งานตรวจสอบความตานทานตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ําหลอเย็น วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ตรวจสอบวงจรความตานทานตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ําหลอเย็นได วัสดุ/อุปกรณฝก/เครื่องมือ 1. ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตหวั ฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส 2. เครื่องมือประจําตัว 3. มัลติมิเตอร 4. ผาเช็ดมือ ลําดับขั้นการปฏิบตั ิงาน 1.ถายน้ําหลอเย็นออก 2. ถอดตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ําหลอเย็นออก

3. นําตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ําหลอเย็นไปตมในน้ํา ณ ที่อุณหภูมิตาง ๆ เชน 20 °C 40°C 80°C (ใช เทอรโมมิเตอรวัดอุณหภูมิ) และใช มัลติมิเตอรวัด คาความตานทานของตัวตรวจจับ โดยเทียบกับคาที่ กําหนดให ตามรูป


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน4 7-2-2

4. ประกอบตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ําหลอเย็น และ ขั้วตอสายไฟ 5. เติมน้ําหลอเย็น 6. ทําความสะอาดอุปกรณและบริเวณปฏิบัติงาน

อุณหภูมิ °C °C °C

ผลการปฏิบัตงิ าน การวัดคาความตานทาน คาความตานทาน สรุปผล โอหม F ถูกตอง F ไมถูกตอง โอหม F ถูกตอง F ไมถูกตอง โอหม F ถูกตอง F ไมถูกตอง

การแกไข.............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน6 7-1-2

งานตรวจสอบความตานทานตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศ วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ตรวจสอบความตานทานตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศได วัสดุ/อุปกรณฝก/เครื่องมือ 1. ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตหวั ฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส 2. เครื่องมือประจําตัว 3. มัลติมิเตอร 4. ผาเช็ดมือ ลําดับขั้นการปฏิบตั ิงาน 1. ถอดขั้ว สายไฟ และตัว ตรวจจับอุ ณ หภู มิอ ากาศ ออก

3. นําตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศไปตมในน้ํา ณ ที่ อุณหภูมิตาง ๆ เชน 20 °C 40°C 80°C (ใช เทอรโมมิเตอรวัดอุณหภูมิ) และใช มัลติมิเตอรวัด คาความตานทานของตัวตรวจจับ โดยเทียบกับคาที่ กําหนดให ตามรูป


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน6 7-2-2

4. ประกอบตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศและขั้วตอ สายไฟ 5. ทําความสะอาดอุปกรณและบริเวณปฏิบัติงาน

อุณหภูมิ °C °C °C

ผลการปฏิบัตงิ าน การวัดคาความตานทาน คาความตานทาน สรุปผล โอหม F ถูกตอง F ไมถูกตอง โอหม F ถูกตอง F ไมถูกตอง โอหม F ถูกตอง F ไมถกู ตอง

การแกไข........................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส งานตรวจสอบวงจรไฟฟาตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ําหลอเย็น วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ตรวจสอบวงจรไฟฟาตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ําหลอเย็นได วัสดุ/อุปกรณฝก/เครื่องมือ 1. ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตหวั ฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส 2. เครื่องมือประจําตัว 3. มัลติมิเตอร 4. ผาเช็ดมือ

วงจรไฟฟาตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ําหลอเย็น

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน5 7-1-4


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน5 7-2-4

ลําดับขั้นการปฏิบตั ิงาน 1 . ต ร ว จ ส อ บ อุ ณ ห ภู มิ ข อ ง น้ํ า ห ล อ เ ย็ น ด ว ย เทอรโมมิเตอร

ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

20 C

กลอ งควบคุม อิเล็ก ทรอนิก ส

ขั้วกลองควบคุม อิเล็กทรอนิกส มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดัน น้ํามัน เชื้อ เพลิง

Dia gn osi

ขั้วตรว s จสอบ

เกจวัด สุญ ญากาศทอ รวมไอดี

สวิต ชส ตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยส ตารท

เครื่องยนต

ถังน้ํามัน

ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

2. เปดสวิตชจุดระเบิดตําแหนง IG

กลองควบคุมอิเล็กทรอนิกส

ขั้วกลอง ควบคุมอิเล็กท รอนิกส

มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดันน้ํามันเชื้อเพลิง

เกจวัด สุญญากาศท อรวมไอดี

Diagnosi s ขั้วตรวจสอบ

สวิต ชสตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

THW ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซิ นหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส E2 กลอ งควบคุม อิเล็ก ทรอนิก ส

ขั้วกลองควบคุม อิเล็กทรอนิกส มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดัน น้ํามัน เชื้อ เพลิง

Dia gn osi

ขั้วตรว s จสอบ

V

เกจวัด สุญ ญากาศทอ รวมไอดี

สวิต ชส ตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยส ตารท

เครื่องยนต

ถังน้ํามัน

รีเลยสตารท

3. ใช มั ล ติ มิ เ ตอร วั ด แรงเคลื่ อ นไฟฟ า ระหว า งขั้ ว THW กับ E2 ของกลองคอมพิวเตอร ตองอยูในคาที่ กําหนดให อุ ณ ห ภู มิ น้ํ า ห ล อ เ ย็ น ที่ 2 0 °C แรงเคลื่อนไฟฟามาตรฐาน 0.5 – 3.4 โวลท อุ ณ ห ภู มิ น้ํ า ห ล อ เ ย็ น ที่ 8 0 °C แรงเคลื่อนไฟฟามาตรฐาน 0.2 – 1.0 โวลท


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

กลองควบคุมอิเล็กทรอนิกส

ขั้วกลอง ควบคุมอิเล็กท รอนิกส

มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดันน้ํามันเชื้อเพลิง

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน5 7-3-4

4. บิดสวิตชจุดระเบิดไปตําแหนง OFF 5. ปลดขั้วตอสายไฟของตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ําหลอ เย็นออก

เกจวัด สุญญากาศท อรวมไอดี

Diagnosi s ขั้วตรวจสอบ

สวิต ชสตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

THW ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซิ นหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส E2

กลอ งควบคุม อิเล็ก ทรอนิก ส

ขั้วกลองควบคุม อิเล็กทรอนิกส มาตรวัด รวม

W เกจวัด ความดัน น้ํามัน เชื้อ เพลิง

Dia gn osi ขั้วตรว s จสอบ

เกจวัด สุญ ญากาศทอ รวมไอดี

รีเลยสตารท

6. เลือกยานวัดมัลติมิเตอรไปที่การวัดคาความ ตานทาน และวัดความตอเนื่องระหวางขั้ว THW และE2ของกลอง คอมพิวเตอร กับขั้วสายไฟสายไฟ ของตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ําหลอเย็น จะตองตอเนื่อง

สวิต ชส ตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยส ตารท

เครื่องยนต

ถังน้ํามัน

7. ตอขั้วตอสายไฟของตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ําหลอ เย็นเขาตําแหนงเดิม และทําความสะอาดอุปกรณและ บริเวณปฏิบัติงาน


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน5 7-4-4

ผลการปฏิบัตงิ าน การวัดแรงเคลือ่ นไฟฟา อุณหภูมิน้ําหลอเย็น คาแรงเคลื่อนไฟฟาระหวางขัว้ THW กับ E2 สรุปผล โวลท F ถูกตอง F ไมถูกตอง °C

สภาวะ สายไฟระหวางขั้ว THW สายไฟระหวางขั้ว E2

การวัดความตอเนื่องของสายไฟ คาความตอเนื่อง สรุปผล F ตอเนื่อง F ไมตอเนื่อง F ถูกตอง F ไมถูกตอง F ตอเนื่อง F ไมตอเนื่อง F ถูกตอง F ไมถูกตอง

การแกไข........................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส งานตรวจสอบวงจรไฟฟาตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศ วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ตรวจสอบวงจรไฟฟาตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศได วัสดุ/อุปกรณฝก/เครื่องมือ 1. ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตหวั ฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส 2. เครื่องมือประจําตัว 3. มัลติมิเตอร 4. ผาเช็ดมือ

วงจรไฟฟาตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศ

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน7 7-1-4


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน7 7-2-4

ลําดับขั้นการปฏิบตั ิงาน ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

1. เปดสวิตชจุดระเบิดตําแหนง IG

กลองควบคุมอิเล็กทรอนิกส

ขั้วกลอง ควบคุมอิเล็กท รอนิกส

มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดันน้ํามันเชื้อเพลิง

เกจวัด สุญญากาศท อรวมไอดี

Diagnosi s ขั้วตรวจสอบ

สวิต ชสตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

THA ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซิ นหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส E2 กลอ งควบคุม อิเล็ก ทรอนิก ส

ขั้วกลองควบคุม อิเล็กทรอนิกส มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดัน น้ํามัน เชื้อ เพลิง

Dia gn osi

ขั้วตรว s จสอบ

V

เกจวัด สุญ ญากาศทอ รวมไอดี

สวิต ชส ตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยส ตารท

เครื่องยนต

ถังน้ํามัน

รีเลยสตารท

3. ใช มั ล ติ มิ เ ตอร วั ด แรงเคลื่ อ นไฟฟ า ระหว า งขั้ ว THA กับ E2 ของกลองคอมพิวเตอร ตองอยูในคาที่ กําหนดให อุณหภูมิอากาศที่ 20°C แรงเคลื่อนไฟฟา มาตรฐาน 0.5 – 3.4 โวลท อุณหภูมิอากาศที่ 80°C แรงเคลื่อนไฟฟา มาตรฐาน 0.2 – 1.0 โวลท


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

กลองควบคุมอิเล็กทรอนิกส

ขั้วกลอง ควบคุมอิเล็กท รอนิกส

มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดันน้ํามันเชื้อเพลิง

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน7 7-3-4

4. บิดสวิตชจุดระเบิดไปตําแหนง OFF 5. ปลดขั้วตอสายไฟของตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศ ออก

เกจวัด สุญญากาศท อรวมไอดี

Diagnosi s ขั้วตรวจสอบ

สวิต ชสตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

THW ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซิ นหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส E2

กลอ งควบคุม อิเล็ก ทรอนิก ส

ขั้วกลองควบคุม อิเล็กทรอนิกส มาตรวัด รวม

W เกจวัด ความดัน น้ํามัน เชื้อ เพลิง

Dia gn osi ขั้วตรว s จสอบ

เกจวัด สุญ ญากาศทอ รวมไอดี

สวิต ชส ตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยส ตารท

เครื่องยนต

ถังน้ํามัน

รีเลยสตารท

6. เลือกยานวัดมัลติมิเตอรไปที่การวัดคาความ ตานทาน และวัดความตอเนื่องระหวางขั้ว THA และE2ของกลอง คอมพิวเตอร กับขั้วสายไฟสายไฟ ของตัว ตรวจจับอุณหภูมิอากาศจะตองตอเนื่อง 7. ตอขั้วตอสายไฟของตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศ เขาตําแหนงเดิ ม และทํ าความสะอาดอุปกรณและ บริเวณปฏิบัติงาน


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

เรื่อง ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน7 7-4-4

ผลการปฏิบัตงิ าน การวัดแรงเคลือ่ นไฟฟา อุณหภูมิน้ําหลอเย็น คาแรงเคลื่อนไฟฟาระหวางขัว้ THA กับ E2 สรุปผล โวลท F ถูกตอง F ไมถูกตอง °C

สภาวะ สายไฟระหวางขั้ว THA สายไฟระหวางขั้ว E2

การวัดความตอเนื่องของสายไฟ คาความตอเนื่อง สรุปผล F ตอเนื่อง F ไมตอเนื่อง F ถูกตอง F ไมถูกตอง F ตอเนื่อง F ไมตอเนื่อง F ถูกตอง F ไมถูกตอง

การแกไข........................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส งานตรวจสอบความตานทานตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ตรวจสอบความตานทานตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรงได วัสดุ/อุปกรณฝก/เครื่องมือ 1. ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตหวั ฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส 2. เครื่องมือประจําตัว 3. มัลติมิเตอร 4. ผาเช็ดมือ

ตําแหนงของตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน8 7-1-4


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน8 7-2-4

ลําดับขั้นการปฏิบตั ิงาน ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

กลองควบคุมอิเล็กทรอนิกส

ขั้วกลอง ควบคุมอิเล็กท รอนิกส

1. ตรวจสอบสวิ ต ช จุ ด ระเบิ ด ต อ งอยู ใ นตํ า แหน ง OFF

มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดันน้ํามันเชื้อเพลิง

เกจวัด สุญญากาศท อรวมไอดี

Diagnosi s ขั้วตรวจสอบ

สวิต ชสตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

VTA ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซิ นหัวฉีดควบคุมดวยอิ VCเล็กทรอนิกส E2 กลอ งควบคุม อิเล็ก ทรอนิก ส

ขั้วกลองควบคุม อิเล็กทรอนิกส มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดัน น้ํามัน เชื้อ เพลิง

Dia gn osi

ขั้วตรว s จสอบ

W

เกจวัด สุญ ญากาศทอ รวมไอดี

รีเลยสตารท

2. เลือกยานวัดมัลติมิเตอรไปที่การวัดคาความ ตานทาน และวัดความตานทานระหวางขั้ว VTA และE2ของตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง ณ ที่ ตําแหนงลิ้นเรงปดสนิท และลิ้นเรงเปดสุด

สวิต ชส ตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยส ตารท

คามาตรฐาน สภาวะของลิ้นเรง ระหวางขั้ว คาความตานทาน ลิ้นเรงปดสนิท VTA - E2 0.2 - 5.7 kΩ ลิ้นเรงเปดสุด VTA - E2 2.0 – 10.2 kΩ

เครื่องยนต

ถังน้ํามัน

VTA ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซิ นหัวฉีดควบคุมดวยอิ VCเล็กทรอนิกส E2 กลอ งควบคุม อิเล็ก ทรอนิก ส

ขั้วกลองควบคุม อิเล็กทรอนิกส มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดัน น้ํามัน เชื้อ เพลิง

Dia gn osi

ขั้วตรว s จสอบ

W

เกจวัด สุญ ญากาศทอ รวมไอดี

3. เลือกยานวัดมัลติมิเตอรไปที่การวัดคาความ ตานทาน และวัดความตานทานระหวางขั้ว VC และ E2ของตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง คามาตรฐาน

สวิต ชส ตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยส ตารท

ระหวางขั้ว VC - E2

คาความตานทาน 2.5 - 5.9 kΩ

เครื่องยนต

4. ทําความสะอาดอุปกรณและบริเวณปฏิบัติงาน ถังน้ํามัน


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน8 7-3-4

ผลการปฏิบัตงิ าน การวัดคาความตานทานของตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง สภาวะของลิ้นเรง ลิ้นเรงปดสนิท ลิ้นเรงเปดสุด -

ระหวางขั้ว VTA - E2 VTA - E2 VC – E2

คาความตานทาน โอหม โอหม โอหม

สรุปผล F ถูกตอง F ไมถูกตอง F ถูกตอง F ไมถูกตอง F ถูกตอง F ไมถกู ตอง

การแกไข........................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส งานตรวจสอบวงจรไฟฟาตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ตรวจสอบวงจรไฟฟาตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรงได วัสดุ/อุปกรณฝก/เครื่องมือ 1. ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตหวั ฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส 2. เครื่องมือประจําตัว 3. มัลติมิเตอร 4. ผาเช็ดมือ

วงจรไฟฟาตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน9 7-1-3


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน9 7-2-3

ลําดับขั้นการปฏิบตั ิงาน ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

1. เปดสวิตชจุดระเบิดตําแหนง IG

กลองควบคุมอิเล็กทรอนิกส

ขั้วกลอง ควบคุมอิเล็กท รอนิกส

มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดันน้ํามันเชื้อเพลิง

เกจวัด สุญญากาศท อรวมไอดี

Diagnosi s ขั้วตรวจสอบ

สวิต ชสตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

VTA ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซิ นหัวฉีดควบคุมดวยอิ VCเล็กทรอนิกส E2 กลอ งควบคุม อิเล็ก ทรอนิก ส

ขั้วกลองควบคุม อิเล็กทรอนิกส มาตรวัด รวม

เกจ วัด ความดัน น้ํามัน เชื้อ เพลิง

Dia gn osi

ขั้วตรว s จสอบ

W

เกจ วัด สุญ ญากาศทอ รวมไอดี

สวิต ชส ตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจ ร

รีเลยส ตารท

เครื่องยนต

รีเลยสตารท

2. เลือกยานวัดมัลติมิเตอรไปที่การวัดแรงเคลื่อน ไฟฟา และวัดแรงเคลื่อนไฟฟาระหวางขั้ว VC และ E2 ของตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง คามาตรฐาน ระหวางขั้ว คาความตานทาน VC - E2 4.5 – 5.5 โวลท

ถังน้ํามัน

VTA ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซิ นหัวฉีดควบคุมดวยอิ เล็กทรอนิกส VC E2 กลอ งควบคุม อิเล็ก ทรอนิก ส

ขั้วกลองควบคุม อิเล็กทรอนิกส มาตรวัด รวม

เกจ วัด ความดัน น้ํามัน เชื้อ เพลิง

Dia gn osi

ขั้วตรว s จสอบ

W

เกจ วัด สุญ ญากาศทอ รวมไอดี

สวิต ชส ตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจ ร

รีเลยส ตารท

เครื่องยนต

ถังน้ํามัน

3. เลือกยานวัดมัลติมิเตอรไปที่การวัดแรงเคลื่อน ไฟฟา และวัดแรงเคลื่อนไฟฟาระหวางขั้ว VTA และ E2 ของตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง ณ ที่ ตําแหนงลิ้นเรงปดสนิท และลิ้นเรงเปดสุด คามาตรฐาน สภาวะลิ้นเรง ระหวางขั้ว แรงเคลื่อนไฟฟา ลิ้นเรงปดสนิท VTA - E2 0.3 – 0.8 โวลท ลิ้นเรงเปดสุด VTA - E2 3.2 – 4.9 โวลท 4. บิดสวิตชจุดระเบิด OFF ทําความสะอาดอุปกรณ และบริเวณปฏิบัติงาน


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

สภาวะของลิ้นเรง ลิ้นเรงปดสนิท ลิ้นเรงเปดสุด

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน9 7-3-3

ผลการปฏิบัตงิ าน การวัดแรงเคลื่อนไฟฟาของตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง ระหวางขั้ว แรงเคลื่อนไฟฟา สรุปผล VC – E2 โวลท F ถูกตอง F ไมถูกตอง VTA - E2 โวลท F ถูกตอง F ไมถูกตอง VTA - E2 โวลท F ถูกตอง F ไมถูกตอง

การแกไข........................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส งานตรวจสอบวงจรไฟฟาตัวตรวจจับปริมาณออกซิเจน วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ตรวจสอบวงจรไฟฟาตัวตรวจจับปริมาณออกซิเจนได วัสดุ/อุปกรณฝก/เครื่องมือ 1. ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตหวั ฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส 2. เครื่องมือประจําตัว 3. สายไฟลัดวงจร 4. มัลติมิเตอร 5. ผาเช็ดมือ

วงจรไฟฟาตัวตรวจจับปริมาณออกซิเจน

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน10 7-1-4


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน10 7-2-4

ลําดับขั้นการปฏิบตั ิงาน ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

ST

ขั้วกลอ งควบคุม อิเล็ก ทรอนิก ส

กลอ งควบคุม อิเล็ก ทรอนิก ส

1. สตารทเครื่องยนต อุนเครื่องยนต ใหถึงอุณหภูมิ ทํางาน

มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดัน น้ํามัน เชื้อ เพลิง

เกจวัด สุญ ญากาศทอ รวมไอดี

Diagnosi s ขั้วตรวจสอบ

สวิต ชส ตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยส ตารท

ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

กลองควบคุม อิเ ล็กทรอนิกส

ขั้วกลองควบคุม อิเล็กทรอนิกส

2. ใชสายไฟสําหรับลัดวงจร ลัดวงจรที่ขั้ว TE1 และ E1 ที่ขั้วตรวจสอบ

มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดัน น้ําม ัน เชื้อเพลิง

เกจวัด สุญ ญากาศทอรวม ไอดี

Diagnosis ขั้วตรวจสอบ

สวิต ชส ตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยส ตารท

ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

V กลองควบคุม อิเล็กทรอนิกส

ขั้วกลองควบคุม อิเล็กทรอนิกส

มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดัน น้ํามัน เชื้อเพลิง

เกจวัด สุญ ญากาศทอรวมไอดี

Diagnosis ขั้วตรวจสอบ

3. เรงเครื่องยนตไปที่ 2,500 รอบ/นาที และใช มัลติมิเตอรวัดแรงเคลื่อนไฟฟาระหวางขั้ว VF1-E1 ของขั้วตรวจสอบ สังเกตการเปลีย่ นแปลงของแรงเคลื่อนไฟฟาวา เกิดขึ้นกี่ครั้ง ในเวลาประมาณ 10 วินาที

สวิต ชส ตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเ ลยส ตารท

ระหวางขั้ว VF1 - E1

คามาตรฐาน การเปลี่ยนแปลงแรงเคลื่อนไฟฟา 8 ครั้ง หรือมากกวา


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

V กลองควบคุม อิเล็กทรอนิกส

ขั้วกลองควบคุม อิเล็กทรอนิกส

มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดัน น้ํามัน เชื้อเพลิง

สวิต ชส ตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

OXนหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซิ

ตอเนื่อง

กลอ งควบคุม อิเล็ก ทรอ นิก ส

ขั้วกลองควบคุม อิเล็กทรอนิกส มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดัน น้ํามัน เชื้อ เพลิง

Dia gn osi

ขั้วตรว s จสอบ

4. เรง เครื่ อ งยนต เ ต็ มที่ และใช มัล ติมิ เ ตอร วั ด แรงเคลื่อนไฟฟาระหวางขั้ว OX1 - E1 ของขั้ว ตรวจสอบ

เกจวัด สุญ ญากาศทอรวมไอดี

Diagnosis ขั้วตรวจสอบ

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน10 7-3-4

W

เกจวัด สุญ ญากาศทอ รวมไอดี

รีเ ลยส ตารท

คามาตรฐาน ระหวางขั้ว แรงเคลื่อนไฟฟา OX1 - E1 0.5 โวลท หรือมากกวา 5. ถอดขั้วตอสายไฟของตัวตรวจจับออกซิเจนออก และใช มั ล ติ มิ เ ตอร วั ด ความต อ เนื่ อ งของสายไฟ ระหว า งกล อ งคอมพิ ว เตอร กั บ ขั้ ว สายไฟของตั ว ตรวจจับออกซิเจน จะตองตอเนื่อง

สวิต ชส ตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยส ตารท

เครื่องยนต

ถังน้ํามัน

6. ตอขั้วสายไฟเขาตําแหนงเดิมและทําความสะอาด อุปกรณ


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

ระหวางขั้ว VF1 - E1 ระหวางขั้ว OX1 - E1

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน10 7-4-4

ผลการปฏิบัตงิ าน การวัดแรงเคลื่อนไฟ การเปลี่ยนแปลงแรงเคลื่อนไฟฟา สรุปผล ครั้ง F ถูกตอง F ไมถูกตอง แรงเคลื่อนไฟฟา โวลท

สรุปผล F ถูกตอง F ไมถูกตอง

การตอเนื่องของสายไฟ ระหวางขั้ว คาความตอเนื่อง OX - ขั้วตอสายไฟ F ตอเนื่อง F ไมตอเนื่อง

สรุปผล F ถูกตอง F ไมถูกตอง

การแกไข........................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส งานตรวจสอบตัวตรวจจับสุญญากาศ วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ตรวจสอบตัวตรวจจับสุญญากาศได วัสดุ/อุปกรณฝก/เครื่องมือ 1. ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตหวั ฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส 2. เครื่องมือประจําตัว 3. มัลติมิเตอร 4. ผาเช็ดมือ

ตัวตรวจจับสุญญากาศ

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน11 7-1-4


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน11 7-2-4

ลําดับขั้นการปฏิบตั ิงาน ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

1. บิดสวิตชจุดระเบิดไปยังตําแหนง IG

กลองควบคุมอิเล็กทรอนิกส

ขั้วกลอง ควบคุมอิเล็กท รอนิกส

มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดันน้ํามันเชื้อเพลิง

เกจวัด สุญญากาศท อรวมไอดี

Diagnosi s ขั้วตรวจสอบ

สวิต ชสตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยสตารท

VCนหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซิ

2. ใชมัลติมิเตอรวัดแรงเคลื่อนไฟฟาระหวางขั้ว VC – E2 ของตัวตรวจจับสุญญากาศ

E2 กลอ งควบคุม อิเล็ก ทรอ นิก ส

ขั้วกลองควบคุม อิเล็กทรอนิกส มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดัน น้ํามัน เชื้อ เพลิง

Dia gn osi

ขั้วตรว s จสอบ

V

เกจวัด สุญ ญากาศทอ รวมไอดี

สวิต ชส ตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยส ตารท

คามาตรฐาน ระหวางขั้ว คาแรงเคลื่อนไฟฟา VC – E2 4.5 - 5.5 โวลท

เครื่องยนต

ถังน้ํามัน

ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

กลองควบคุมอิเล็กทรอนิกส

ขั้วกลอง ควบคุมอิเล็กท รอนิกส

มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดันน้ํามันเชื้อเพลิง

เกจวัด สุญญากาศท อรวมไอดี

Diagnosi s ขั้วตรวจสอบ

สวิต ชสตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยสตารท

3. บิดสวิตชไปตําแหนง OFF


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

กลอ งควบคุม อิเล็ก ทรอ นิก ส

ขั้วกลองควบคุม อิเล็กทรอนิกส มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดัน น้ํามัน เชื้อ เพลิง

เกจวัด สุญ ญากาศทอ รวมไอดี

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน11 7-3-4

4. ปลดทอสุญญากาศของตัวตรวจจับสุญญากาศดาน ทอรวมไอดีออก และตอเขากับเครื่องทําสุญญากาศ และเปดสวิตชจุดระเบิดไปยังตําแหนง IG

Diagnosis สวิต ชส ตารท

ขั้วตรวจสอบ

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยส ตารท

เครื่องยนต

ถังน้ํามัน

ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

กลอ งควบคุม อิเล็ก ทรอนิก ส

ขั้วกลองควบคุม อิเล็กทรอนิกส มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดัน น้ํามัน เชื้อ เพลิง

เกจวัด สุญ ญากาศทอ รวมไอดี

Diagnosis สวิต ชส ตารท

ขั้วตรวจสอบ

ฟวส

PIM

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยส ตารท

E2 มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดัน น้ํามัน เชื้อ เ พลิง

V

เกจวัด สุญ ญากาศทอ รวม ไอดี

เครื่องยนต

ฟวส รีเลยหลั ก

รีเลยเปด วง จร

รีเลยส ตาร ท

ถังน้ํามัน

5. สร า งสุ ญ ญากาศและใช มั ล ติ มิ เ ตอร วั ด แรงเคลื่อนไฟฟาระหวางขั้ว PIM – E2 ของตัว ตรวจจับสุญญากาศที่กลองคอมพิวเตอร ที่ระดับตาง ๆ คามาตรฐาน สุญญากาศ kPa (มม.ปรอท) (นิ้ว.ปรอท) แรงเคลื่อน ไฟฟาที่ตกลง (โวลท)

13.3 (100) (3.94) 0.3-0.5

26.7 13.3 (200) (300) (7.87) (11.81) 0.7-0.9 1.1-1.3

13.3 (400) (15.75) 1.5-1.7

13.3 (500) (19.69) 1.9-2.1

6. ทําความสะอาดอุปกรณและบริเวณปฏิบัติงาน


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน11 7-4-4

ผลการปฏิบัตงิ าน การวัดแรงเคลื่อนไฟฟา แรงเคลื่อนไฟฟาระหวางขั้ว VC – E2 = โวลท ระดับสุญญากาศ (มม.ปรอท) 0 100 200 300 400 500 แรงเคลื่อนไฟฟาระหวางขั้ว PIM – E2 แรงเคลื่อนไฟฟาที่ตกลง สรุปผล F ถูกตอง F ไมถูกตอง หมายเหตุ แรงเคลื่อนไฟฟาที่ตกลง ไดจาก แรงเคลื่อนไฟฟาระหวางขั้ว PIM – E2 ที่ระดับ 0 ลบดวย แรงเคลื่อนไฟฟาระหวางขั้ว PIM – E2 ที่ระดับความดันตาง ๆ การแกไข.......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส งานตรวจสอบวงจรไฟฟาตัวตรวจจับสุญญากาศ วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ตรวจสอบวงจรไฟฟาตัวตรวจจับสุญญากาศได วัสดุ/อุปกรณฝก/เครื่องมือ 1. ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตหวั ฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส 2. เครื่องมือประจําตัว 3. มัลติมิเตอร 4. ผาเช็ดมือ

วงจรไฟฟาตัวตรวจจับสุญญากาศ

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน12 7-1-3


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน12 7-2-3

ลําดับขั้นการปฏิบตั ิงาน ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

1. ปลดขั้วตอสายไฟของตัวตรวจจับสุญญากาศออก

กลอ งควบคุม อิเล็ก ทรอนิก ส

ขั้วกลองควบคุม อิเล็กทรอนิกส มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดัน น้ํามัน เชื้อ เพลิง

เกจวัด สุญ ญากาศทอ รวมไอดี

Diagnosis ขั้วตรวจสอบ

สวิต ชส ตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยส ตารท

เครื่องยนต

ถังน้ํามัน

ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

PIM

ขั้วกลองควบคุม อิเล็กทรอนิกส

VC

กลอ งควบคุม อิเล็ก ทรอ นิก ส

มาตรวัด รวม

E2 เกจวัด ความดัน น้ํามัน เชื้อ เพลิง มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดัน น้ํามัน เชื้อ เ พลิง

เกจวัด สุญ ญากาศทอ รวมไอดี

W

เกจวัด สุญ ญากาศทอ รวม ไอดี

Diagnosis ขั้วตรวจสอบ

สวิต ชส ตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยส ตารท

ฟวส รีเลยหลั ก

รีเลยเปด วง จร

รีเลยส ตาร ท

เครื่องยนต

ถังน้ํามัน

2. ใชมัลติมิเตอรวัดความตอเนื่องของสายไฟระหวาง ขั้ ว ต อ สายไฟกั บ ขั้ ว กล อ งคอมพิ ว เตอร ข องตั ว ตรวจจับสุญญากาศ คามาตรฐาน ระหวางขั้ว คามาตรฐาน VC ตอเนื่อง PIM ตอเนื่อง E2 ตอเนื่อง

3. ใสขั้วตอสายไฟเขาตําแหนงเดิม ทําความสะอาด อุปกรณและบริเวณปฏิบัติงาน


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน12 3/3

ผลการปฏิบัตงิ าน การวัดความตอเนื่องของสายไฟ ระหวางขั้ว ผลที่วัดได VC F ตอเนื่อง F ไมตอเนื่อง PIM F ตอเนื่อง F ไมตอเนื่อง E2 F ตอเนื่อง F ไมตอ เนื่อง

สรุปผล F ถูกตอง F ไมถูกตอง F ถูกตอง F ไมถูกตอง F ถูกตอง F ไมถูกตอง

การแกไข........................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส งานตรวจสอบตัวควบคุมรอบเดินเบา วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ตรวจสอบตัวควบคุมรอบเดินเบาได วัสดุ/อุปกรณฝก/เครื่องมือ 1. ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตหวั ฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส 2. เครื่องมือประจําตัว 3. มัลติมิเตอร 4. ผาเช็ดมือ

ตําแหนงตัวควบคุมรอบเดินเบา

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน13 7-1-3


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน13 7-2-3

ลําดับขั้นการปฏิบตั ิงาน 1. ปลดขั้วตอสายไฟของตัวควบคุมความเร็วรอบเดิน เบาออก และใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทานของ ตัวควบคุมรอบเดินเบา ระหวางขั้ว +B – RSO และ +B - RSC คามาตรฐาน ระหวางขัว้ คาความตานทาน +B – RSO (เย็น) 17.0-24.5 โอหม +B – RSO (รอน) 21.5-28.5 โอหม +B – RSC (เย็น) 17.0-24.5 โอหม +B – RSC (รอน) 21.5-28.5 โอหม หมายเหตุ เย็น คือ อุณหภูมิอยูระหวาง –10 °C ถึง 50 °C รอน คือ อุณหภูมิอยูระหวาง 50 °C ถึง 100 °C

2. ใสขั้วตอสายไฟเขาตําแหนงเดิม ทําความสะอาด อุปกรณและบริเวณปฏิบัติงาน


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหวั ฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส ผลการปฏิบัตงิ าน การวัดคาความตานทานของตัวควบคุมรอบเดินเบา ระหวางขั้ว อุณหภูมิ คาความตานทาน +B – RSO โอหม +B – RSC โอหม

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน13 7-3-3

สรุปผล F ถูกตอง F ไมถูกตอง F ถูกตอง F ไมถูกตอง

การแกไข........................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส งานตรวจสอบวงจรไฟฟาตัวควบคุมรอบเดินเบา วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ตรวจสอบวงจรไฟฟาตัวควบคุมรอบเดินเบาได วัสดุ/อุปกรณฝก/เครื่องมือ 1. ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตหวั ฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส 2. เครื่องมือประจําตัว 3. มัลติมิเตอร 4. ผาเช็ดมือ

วงจรไฟฟาตัวควบคุมรอบเดินเบา

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน14 7-1-4


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน14 7-2-4

ลําดับขั้นการปฏิบตั ิงาน ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

ST

ขั้วกลอ งควบคุม อ ิเล็ก ทรอนิก ส

กลอ งควบคุม อ ิเล็ก ทรอนิก ส

1. สตารทเครื่องยนต อุนเครื่องยนต ใหถึงอุณหภูมิ ทํางาน

มาตรวัด รวม

เก จวัด ความ ดัน น้ําม ัน เชื้อ เพลิง

เกจวัด สุญ ญากาศทอ รวม ไอ ดี

Diagnosi s ขั้วตรวจสอบ

สวิต ชส ตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยส ตารท

ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

กลองควบคุม อิเ ล็กทรอนิกส

ขั้วกลองควบคุม อิเล็กทรอนิกส

2. ใชสายไฟสําหรับลัดวงจร ลัดวงจรที่ขั้ว TE1 และ E1 ที่ขั้วตรวจสอบ

มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดัน น้ําม ัน เชื้อเพลิง

เกจวัด สุญ ญากาศทอรวม ไอดี

Diagnosis ขั้วตรวจสอบ

สวิต ชส ตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยส ตารท

ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

กลองควบคุม อิเ ล็กทรอนิกส

ขั้วกลองควบคุม อิเล็กทรอนิกส

มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดัน น้ําม ัน เชื้อเพลิง

เกจวัด สุญ ญากาศทอรวม ไอดี

Diagnosi s ขั้วตรวจสอบ

สวิต ชส ตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยส ตารท

3. สังเกตดูความเร็วรอบของเครื่องยนตจะตองสูงขึ้น เปนเวลาประมาณ 5 วินาที หลังจากนั้นจะกลับลงสู สภาวะปกติ และดับเครื่องยนต


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

กลองควบคุม อิเ ล็กทรอนิกส

ขั้วกลองควบคุม อิเล็กทรอนิกส

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน14 7-3-4

4. ปลดขั้วตอสายไฟที่ขั้วกลองคอมพิวเตอรออก และเปดสวิตชจุดระเบิดไปยังตําแหนง IG

มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดัน น้ําม ัน เชื้อเพลิง

เกจวัด สุญ ญากาศทอรวม ไอดี

Diagnosi s ขั้วตรวจสอบ

สวิต ชส ตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

RSCนหัวฉีดควบคุมดRSO ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซิ วยอิเล็กทรอนิกส E2 กลอ งควบคุม อิเล็ก ทรอนิก ส

ขั้วกลองควบคุม อิเล็กทรอนิกส

รีเลยส ตารท

5. ใชมัลติมิเตอรวัดแรงเคลือ่ นไฟฟาระหวางขั้ว RSO – E1 และ RSC – E1

มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดัน น้ํามัน เชื้อ เพลิง

Dia gn osi ขั้วตรว s จสอบ

V

เกจวัด สุญ ญากาศทอ รวมไอดี

สวิต ชส ตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยส ตารท

เครื่องยนต

ถังน้ํามัน

คามาตรฐาน ระหวางขั้ว โวลท RSO – E1 12 RSC – E1 12 6. ปดสวิตชจดุ ระเบิด OFF และใสขั้วสายไฟของ กลองคอมพิวเตอร 7. ทําความสะอาดอุปกรณและบริเวณปฏิบัติงาน


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน14 4/4

ผลการปฏิบัตงิ าน การวัดความเร็วรอบของเครื่องยนต เมื่อลัดวงจรระหวางขัว้ T E 1 – ความเร็วรอบของเครื่องยนตเพิ่มขึน้ ที่...................รอบ/นาที เปนเวลาประมาณ 5

E 1 วินาที

สรุปผล F ถูกตอง F ไมถูกตอง

ระหวางขั้ว RSO – E1 RSC – E1

การวัดแรงเคลือ่ นไฟฟา คาแรงเคลื่อนไฟฟา สรุปผล โวลท F ถูกตอง F ไมถูกตอง โวลท F ถูกตอง F ไมถูกตอง

การแกไข........................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส งานตรวจสอบวงจรไฟฟาระบบจุดระเบิด วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ตรวจสอบวงจรไฟฟาระบบจุดระเบิดได วัสดุ/อุปกรณฝก/เครื่องมือ 1. ชุดฝกปฏิบตั ิเครื่องยนตหวั ฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส 2. เครื่องมือประจําตัว 3. มัลติมิเตอร 4. ผาเช็ดมือ

วงจรไฟฟาระบบจุดระเบิด

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน15 7-1-3


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน15 7-2-3

ลําดับขั้นการปฏิบตั ิงาน 1. ปลดขั้วตอสายไฟที่จานจายออก และเปดสวิตชจุด ระเบิดไปยังตําแหนง IG 2. ใชมัลติมิเตอรวัดแรงเคลือ่ นไฟฟาระหวางขั้ว 2 (สายไฟสีดาํ คาดแดง) กับกราวน

ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

กลอ งควบคุม อิเล็ก ทรอนิก ส

ขั้วกลองควบคุม อิเล็กทรอนิกส มาตรวัด รวม

เกจวัด ความดัน น้ํามัน เชื้อ เพลิง

เกจวัด สุญ ญากาศทอ รวมไอดี

V Diagnosis สวิต ชส ตารท

ขั้วตรวจสอบ

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยส ตารท

คามาตรฐาน ระหวางขั้ว คาแรงเคลื่อนไฟฟา 2 - กราวน 12 โวลท

เครื่องยนต

ถังน้ํามัน

ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส IGT

กลองควบคุม อิเล็กทรอนิกส

ขั้วกลองควบคุม อิเ ล็กทรอนิกส

มาตรวัด รวม

V เกจวัด ความดัน น้ํามัน เชื้อเพลิง

เกจวัด สุญ ญากาศทอรวม ไอดี

Diagnosi s ขั้วตรวจสอบ

สวิต ชส ตารท

ฟวส

รีเ ลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยส ตารท

ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส IGF

กลองควบคุมอิเล็กทรอนิกส

ขั้วกลองควบคุมอิเล็กทรอนิกส

มาตรวัด รวม

V เกจวัด ความดัน น้ํามัน เชื้อเพลิง

เกจวัด สุญ ญากาศทอรวมไอดี

Diagnosi s ขั้วตรวจสอบ

สวิต ชส ตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเ ลยส ตารท

3. ใช มัลติมิเตอรวัดแรงเคลื่อนไฟฟาขั้ว IGT ของ กล อ งพิ ว เตอร กั บ กราวน พร อ มกั บ สตาร ท เครื่องยนต (ควรถอดขั้วตอสายไฟรีเลยเปดวงจรออก เพื่อปองกันเครื่องยนตติด) คามาตรฐาน (ขณะสตารทเครื่องยนต) ระหวางขั้ว คาแรงเคลื่อนไฟฟา IGT - กราวน 0.1 - 1.5 โวลท 4. เปดสวิตชจุดระเบิดไปยังตําแหนง IG และใชมัลติ มิเตอรวัดแรงเคลื่อนไฟฟาระหวางขั้ว IGF กับ กราวน คามาตรฐาน (ขณะสตารทเครื่องยนต) ระหวางขั้ว คาแรงเคลื่อนไฟฟา IGT - กราวน 4.5 – 5.5 โวลท 5. ทําความสะอาดอุปกรณและบริเวณฝกงาน


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

ระหวางขั้ว 2 – กราวน

ระหวางขั้ว IGT – กราวน (ขณะสตารท) IGF – กราวน

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน15 7-3-3

ผลการปฏิบัตงิ าน การวัดแรงเคลือ่ นไฟฟาทีป่ อนเขาคอยลจุดระเบิด คาแรงเคลื่อนไฟฟา สรุปผล โวลท F ถูกตอง F ไมถูกตอง การวัดแรงเคลื่อนไฟฟา คาแรงเคลื่อนไฟฟา สรุปผล โวลท F ถูกตอง F ไมถูกตอง โวลท F ถูกตอง F ไมถูกตอง

การแกไข........................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส งานตรวจสอบวงจรไฟฟาสัญญาณ NE วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ตรวจสอบวงจรไฟฟาสัญญาณ NE+ และ NE-ได วัสดุ/อุปกรณฝก/เครื่องมือ 1. ชุดฝกปฏิบตั ิเครื่องยนตหวั ฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส 2. เครื่องมือประจําตัว 3. มัลติมิเตอร 4. ผาเช็ดมือ

วงจรไฟฟาสัญญาณ NE

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน16 7-1-3


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน16 7-2-3

ลําดับขั้นการปฏิบตั ิงาน 1. ปลดขั้ ว ต อ สายไฟที่ จ านจ า ยออก และใช มั ล ติ มิเตอรวัดคาความตานทานระหวางขั้ว NE+ กับ NEของจานจาย คามาตรฐาน ระหวางขั้ว คาความตานทาน NE+ กับ NE370 – 550 โอหม ที่ -10°C - 50°C NE+ กับ NE475 - 650 โอหม ที่ 50°C - 100°C ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

กลอ งควบคุม อิเล็ก ทรอ นิก ส

ขั้วกลองควบคุม อิเล็กทรอนิกส

NE+

NE-

มาตรวัด รวม

ตอเนื่อง

เกจวัด ความดัน น้ํามัน เชื้อ เพลิง

เกจวัด สุญ ญากาศทอ รวมไอดี

Diagnosis ขั้วตรวจสอบ

สวิต ชส ตารท

ฟวส

W

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยส ตารท

เครื่องยนต

ถังน้ํามัน

2. ใชมัลติมิเตอรวัดความตอเนื่องของสายไฟระหวาง ขั้ ว ต อ สายไฟจานจ า ยและขั้ ว ต อ สายไฟของกล อ ง คอมพิวเตอรทั้ง 2 เสน จะตองตอเนื่องกัน 3. ตอขั้วสายไฟจานจายเขาตําแหนงเดิม ทําความ สะอาดเครื่องมือ และบริเวณฝกงาน


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน16 7-3-3

ระหวางขั้ว NE+ กับ NE-

ผลการปฏิบัตงิ าน การวัดคาความตานทาน คาความตานทาน อุณหภูมิ สรุปผล โอหม °C F ถูกตอง F ไมถูกตอง

ระหวางขั้ว NENE+

การวัดความตอเนื่องของสายไฟฟา คาความตอเนื่อง สรุปผล F ตอเนื่อง F ไมตอเนื่อง F ถูกตอง F ไมถูกตอง F ตอเนื่อง F ไมตอเนื่อง F ถูกตอง F ไมถูกตอง

การแกไข........................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส งานตรวจสอบวงจรไฟฟาสัญญาณการสตารท วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ตรวจสอบวงจรไฟฟาสัญญาณการสตารทได วัสดุ/อุปกรณฝก/เครื่องมือ 1. ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตหวั ฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส 2. เครื่องมือประจําตัว 3. มัลติมิเตอร 4. ผาเช็ดมือ

วงจรไฟฟาสัญญาณการสตารท

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน17 7-1-3


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน17 7-2-3

ลําดับขั้นการปฏิบตั ิงาน ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส STA กลองควบคุมอิเล็กทรอนิกส

ขั้วกลองควบคุมอิเล็กทรอนิกส

มาตรวัด รวม

V

เกจวัด ความดัน น้ํามัน เชื้อเพลิง

เกจวัด สุญญากาศทอรวมไอดี

Diagnosi s ขั้วตรวจสอบ

สวิต ชสตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยสตารท

ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตเบนซินหัวฉีดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส STA

ตอเนื่อง กลองควบคุมอิเล็กทรอนิกส

ขั้วกลองควบคุมอิเล็กทรอนิกส

มาตรวัด รวม

W เกจวัด ความดัน น้ํามัน เชื้อเพ ลิง

เกจวัด สุญญากาศทอรวมไอดี

ST Diagnosi s ขั้วตรวจสอบ

สวิต ชสตารท

ฟวส

รีเลยหลัก

รีเลยเปด วงจร

รีเลยสตารท

1. สตาร ท เครื่ อ งยนต และใช มั ล ติ มิ เ ตอร วั ด แรงเคลื่อนไฟฟาระหวางขั้ว STA ของคอมพิวเตอร และกราวน (ใหถ อดขั้ ว สายจานจ า ยออกก อ นเพื่ อ ปองกันเครื่องยนตติด) คามาตรฐาน ระหวางขั้ว(ขณะสตารท) แรงเคลื่อนไฟฟา STA - กราวน 9 – 14 โวลท 2. ดับเครื่องยนตและใชมัลติมิเตอรวัดความตอเนื่อง ของสายไฟฟ า ระหว า งขั้ ว STA ของกล อ ง คอมพิวเตอรกับขั้ว ST ของสวิตชจุดระเบิด จะตอง ตอเนื่องกัน 3. ทําความสะอาดเครื่องมือ และบริเวณฝกงาน


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน17 7-3-3

ผลการปฏิบัตงิ าน ระหวางขั้ว STA – กราวน

ระหวางขั้ว STA – ST

การวัดแรงเคลื่อนไฟฟาขณะสตารท คาแรงเคลื่อนไฟฟา สรุปผล โวลท F ถูกตอง F ไมถูกตอง การวัดความตอเนื่องของสายไฟฟา คาความตอเนื่อง สรุปผล F ตอเนื่อง F ไมตอเนื่อง F ถูกตอง F ไมถูกตอง

การแกไข........................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน18 7-1-2

งานตรวจสอบตัวตรวจจับการน็อก วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ตรวจสอบตัวตรวจจับการน็อกได วัสดุ/อุปกรณฝก/เครื่องมือ 1. ชุดฝกปฏิบัติเครื่องยนตหวั ฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส 2. เครื่องมือประจําตัว 3. มัลติมิเตอร 4. ผาเช็ดมือ ลําดับขั้นการปฏิบตั ิงาน 1. ถอดขั้วตอสายไฟของตัวตรวจจับการน็อกออก 2. ถอดตัวตรวจจับการน็อกออกจากตัวเครือ่ งยนต หมายเหตุ จะถอดตัวตรวจจับการน็อกหรือไมก็ ไดแลวแตความสะดวกในการตรวจวัดคาความ ตานทาน

3. ใชโอหมมิเตอรวัดความตานทานระหวางขั้วตอ สายไฟกับตัวเรือนของตัวตรวจจับการน็อก คามาตรฐาน 1 เมกกะโอหม หรือมากกวา (1 เมกกะโอหม = 1,000,000โอหม)


งานตรวจวิเคราะหขอขัดของ เครื่องยนตหัวฉีดเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ใบงาน18 7-2-2

4. ประกอบตัวตรวจจับการน็อกเขาที่เดิม 5. ทําความสะอาดอุปกรณและบริเวณปฏิบัติงาน

ผลการปฏิบัตงิ าน คาความตานทานระหวางระหวางขั้วตอสายไฟกับตัวเรือนของตัวตรวจจับการน็อก..................โอหม สรุปผล F ถูกตอง F ไมถูกตอง

การแกไข.......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.