Donate1e29 11 14 2

Page 1

ปกนอก


ปกใน ด้ านหน้ า เต็มหน้ า 30,000.- บาท


ศาสนา


ความรู้พืน้ ฐานศาสนา ความหมาย : ความผูกพันระหว่างมนุษย์กบั สิ่งสูงสุดหรื อพระเจ้าหรื อลัทธิความ เชื่ออันนําไปสู่การปฏิบตั ิเพื่อพ้นทุกข์ และพบสุข

มูลเหตุการเกิดศาสนา : ความกลัว , ความไม่รู้ และต้องการที่ยดึ เหนี่ยวจิตใจ องค์ ประกอบ 1. ศาสดา

2. คําสอนหรื อคัมภีร์

3. ผูส้ ื บทอดศาสนา

4. พิธีกรรม

5. ศาสนสถาน

ประเภท 1. อเทวนิยม (ไม่เชื่อในพระเจ้า) : ศาสนาพุทธ ศาสนาเชน 2. เทวนิยม (เชื่อในพระเจ้า) 2.1 เอกเทวนิยม (พระเจ้าองค์เดียว) 

ซิกข์

ยิวหรื อยูดาย & คริ สต์ & อิสลาม : พระเจ้าองค์เดียวกัน ต่างเวลา

พระเจ้ามอบไบเบิลพันธสัญญาเดิมให้โมเสส : ยูดายหรื อยิว

พระเจ้ามอบไบเบิลพันธสัญญาใหม่ให้พระเยซู : คริ สต์

พระเจ้ามอบอัลกุรอานให้มูฮมั หมัด : อิสลาม

2.2 พหุเทวนิยม (พระเจ้าหลายองค์) 

พราหมณ์-ฮินดู : ตรี มูรติ

โซโรแอสเตอร์ (ในเปอร์เซีย)


พุทธ

คริสต์

อิสลาม

พราหมณ์ ฮินดู ศาสนาอัน เป็ นนิรันดร์

ความหมาย

ผูร้ ู ้ ผูต้ ื่น ผูเ้ บิกบาน

ผูไ้ ด้รับการเจิม จากพระเจ้า

สันติ การยินยอม

ถิ่นกําเนิด

อินเดีย

อิสราเอล

ซาอุดิอาระเบีย

อินเดีย

พระเจ้ า

-

พระยะโฮวาห์

พระอัลเลาะฮ์

ตรี มูรติ

ศาสดา

พระพุทธเจ้า

พระเยซู

มูฮมั หมัด

ไม่ปรากฏ

คัมภีร์

พระไตรปิ ฎก

ไบเบิล

อัลกุรอาน

พระเวท

จุดมุ่งหมาย

นิพพาน

อาณาจักรพระ เจ้า

เข้าถึงพระอัล เลาะฮ์

โมกษะ

ศาสนาคริสต์ ศาสดา : พระเยซู ประสูติเมื่อ พ.ศ.543 (เริ่ ม ค.ศ.1) อายุ 30 ปี ประกาศศาสนา ถูก ตรึ งไม้กางเขน อายุ 35 ปี

พิธีกรรม : ศีล 7 ข้อ (นิกายโปรแตสแตนท์ มีเฉพาะศีลล้างบาปและศีลมหาสนิท) 1. ศีลล้างบาป : พิธีลา้ งบาปให้เด็กแรกเกิด เพราะเชื่อว่ามนุษย์มีบาปติดตัว มา 2. ศีลกําลัง : พิธียนื ยันว่าเป็ นคริ สต์ศาสนิกชน ทําเมื่ออายุ 9 ปี เป็ นต้นไป 3. ศีลแก้บาป : พิธีสารภาพบาปต่อบาทหลวง 4. ศีลมหาสนิท : พิธีที่ทาํ เพื่อระลึกถึงอาหารมื้อสุดท้าย 5. ศีลเจิมคนไข้ : พิธีลา้ งบาปให้ผปู ้ ่ วยใกล้เสี ยชีวติ เพื่อให้มีกาํ ลังใจ


6. ศีลบวช : จะต้องอุทิศชีวติ เพื่อศาสนาตลอดชีวติ 7. ศีลสมรส : สัญญาต่อหน้าพระเจ้าจะรักกันตลอดชีวติ จะหย่ากันเองไม่ได้

นิกายสํ าคัญ โรมันคาทอลิก มีมาแต่ตน้

การแยก นิกาย

ลักษณะ -นับถือสันตะปาปา เป็ นประมุขทาง ศาสนา -บาทหลวงห้าม แต่งงาน

กรีกออร์ โธด็อกซ์ แยกเหตุผลทาง การเมือง สังคม และวัฒธรรม เมื่อ คริ สต์ศตวรรษที่ 5 - มีประมุขในแต่ละ ประเทศ เรี ยก “เพทริ อาค” -บาทหลวงชั้นผูน้ อ้ ย แต่งงานได้

โปรแตสแตนท์ ค.ศ.1517 แยกออกมาจาก โรมันคาทอลิก เนื่องจาก มาร์ ติน ลูเธอร์ ไม่พอใจในการขาย ใบไถ่บาปของพระสันตะปาปา -นับถือพระคัมภีร์เท่านั้น -ไม่นบั ถือสันตะปาปา -เชื่อว่าทุกคนติดต่อกับพระเจ้า ได้เอง (ไม่ตอ้ งผ่านบาทหลวง) ดังนั้น จึงไม่มีบาทหลวง แต่มี ผูส้ อนศาสนา -มีเพียง 2 ศีล

หลักคําสอนสํ าคัญ 

ตรี เอกานุภาพ : พระเจ้าสูงสุดองค์เดียว แบ่งเป็ น 3 สภาวะ 2.

พระบิดา (พระยะโฮวาห์)

3.

พระบุตร (พระเยซู)

4.

พระจิต (ดวงจิตในใจเรา)

รักพระเจ้า (ไม้แนวดิ่ง) รักเพื่อนมนุษย์ (ไม้ในแนวนอน) = ไม้กางเขน

ความรัก หมายถึง การให้ การเสี ยสละ การให้อภัย


* กฎทองคําของศาสนาคริ สต์ “ จงรักพระเจ้ าด้ วยสิ้นสุ ดจิตใจ สุ ด ความคิดและสุ ดกําลังของท่ าน และจงรักเพื่อนมนุษย์ เหมือนรักตนเอง” อาณาจักรพระเจ้า ดินแดนคานาอัน หรื อ สวรรค์

ศาสนาอิสลาม ศาสดา : นบีมูฮมั หมัด คัมภีร์อลั กุรอาน 

อัลกุรอาน เป็ นคัมภีร์เล่มสุดท้าย สมบูรณ์สุด ที่พระเจ้าประทานให้มนุษย์

ซุนนะห์ หรื อซุนนี่ห์ เป็ นคําสอนของนบีมูฮมั หมัด

หลักธรรมทีส่ ํ าคัญ 

หลักปฏิบตั ิ 5 1.

ปฏิญาณตน : ♡ของชาวมุสลิม ทําทุกครั้งที่มีการละหมาด เพื่อ แสดงความศรัทธาในพระเจ้าอัลเลาะห์และนบีมูฮมั หมัด

2.

ละหมาด : นมัสการพระเจ้าวันละ 5 เวลา หันไปทางหิ นกาบาห์ ที่

เมืองเมกกะ 3.

ซะกาต : บริ จาคเงิน 2.5% ของรายได้ เป็ นหน้ าทีข่ องชาวมุสลิมทุก คน คือการทําทานเพื่อชําระจิตใจ ช่วยเหลือมนุษย์ที่ลาํ บาก

4.

ศีลอด : ถือศีลอด 1 เดือน ใน 1 ปี ในเดือนรอมฎอน งดการกินทุก อย่าง การทําชัว่ ตั้งแต่พระอาทิตย์ข้ ึนถึงตก เพื่อให้เห็นใจและ ช่วยเหลือคน

5. 

ฮัจญ์ : ไปแสวงบุญที่นครเมกกะในซาอุดิอาระเบีย (ไม่บงั คับ)

หลักศรัทธา 6


1.

ศรัทธาต่อพระอัลเลาะห์ : ห้ามกราบสิ่ งใดนอกจากพระเจ้า

2.

ศรัทธาต่อพระลิขิต : เชื่อในเทวทูต ศาสนทูต

3.

ศรัทธาต่อวันพิพากษาโลกหรื อวันกียามะห์ : หลังจากโลกศูนย์สิ้น ไป มนุษย์ทุกคนจะถูกตัดสิ นการกระทําของตนเมื่อมีชีวติ อยู่

4.

ศรัทธาต่อศาสนทูต : ex. โมเสส อิซา มูฮมั หมัด

5.

ศรัทธาต่อบรรดาคัมภีร์ : พระเจ้าประทานให้ เปลี่ยนแปลงไม่ได้

ข้ อห้ าม 

ห้ามนําสิ่ งใดมาเทียบพระอัลเลาะห์

ห้ามกราบไหว้ บูชารู ปปั้น

ห้ามเชื่อเรื่ องดวง ดูหมอ

ห้ามเล่นการพนัน

ห้ามฆ่าสัตว์ กินสัตว์ที่ตายเอง มีโรค

ห้ามกินหมู หรื อสัตว์ที่เชือดโดยไม่กล่าวนามอัลเลาะห์

ห้ามเสพของมึนเมา

ห้ามผิดประเวณี กบั หญิงใด

ห้ามประกอบอาชีพผิดศีลธรรม

ศาสนาพราหมณ์ -ฮินดู สมัยศาสนาพราหมณ์ 

ไม่ปรากฏศาสดา ก่อตั้งโดยชาวอารยัน (ผิวขาว)


แบ่งออกเป็ น 2 สมัย คือ สมัยพระเวทที่นบั ถือเทพเจ้า 33 พระองค์ ยกย่อง พระอินทร์เป็ นเทพเจ้าสูงสุด เกิดคัมภีร์พระเวท สมัยต่อมาคือสมัย พราหมณ์ เชื่อว่าพรหมเป็ นผูส้ ร้างทุกสรรพสิ่ ง

ในสมัยพราหมณ์มีการแบ่ง 4 วรรณะ คือ พราหมณ์ กษัติรย์ แพศย์ ศูทร

สมัยศาสนาฮินดู 

นับถือตรี มูรติเป็ นเทพเจ้าสูงสุด

มนุษย์สามารถแยกสสารออกจากวิญญาณได้โดยบรรลุโมกษะ

ความเชื่อเรื่ องกรรมและการเวียนว่ายตายเกิด (สังสารวัฏ)

คัมภีร์ที่แสดงอวตารได้ดี คือ คัมภีร์ปุราณะ รามายณะ และมหาภารตะ

มหากาพย์มหาภารตะ สอนปรัชญาภควัทคีตา (หลักปรมาตมัน และ อาตมัน)

ตรีมูรติ 

พระพรหม : ผูส้ ร้าง

พระศิวะ (อิศวร) : ผูท้ าํ ลาย

พระนารายณ์ (วิษณุ) : ผูร้ ักษา

1 กัลป์ : 4 ยุค 1. กฤตยุค : ดี 4 ส่วน (ใน 4 ส่วน) 2. ไตรดายุค : ดี 3 ชัว่ 1 3. ทวาปรยุค : ดี 2 ชัว่ 2 4. กลียคุ : ดี 1 ชัว่ 3 -> ยุดปั จจุบนั เมื่อครบ โลกจะถูกทําลาย


คัมภีร์ศรุติ : คัมภีร์ที่ได้รับประทานจากพระเจ้าโดยตรง = คัมภีร์พระเวท 1. ฤคเวท : บทอ้อนวอนพระเจ้า 2. ยชุรเวท : คู่มือบูชาเทพเจ้า 3. สามเวท : บทถวายนํ้าโสมแด่พระอินทร์ , บทขับกล่อมเทพเจ้า 4. อาถรรพเวท : เกี่ยวกับไสศาสตร์ต่างๆ

คัมภีร์สมฤติ : คัมภีร์ทีร่มนุษย์สร้างขึ้น 1. คัมภีร์อิติหาสะ ปุราณะ รามายณะ มหาภารตะ 2. คัมภีร์ธรรมศาสตร์

อาศรม 4 : แบ่งชีวติ เป็ น 4 วัย 1. พรหมจารี : เล่าเรี ยนหนังสื อ 2. คฤหัสถ์ : ครองเรื อน 3. วานปรัสถ์ : แก่แล้ว หาความสงบในป่ า 4. สันยาสี : แก่มากๆ สละซึ่งทุกอย่าง

ปุรุษารณะ : จุดมุ่งหมายของชีวติ 1. อรรถ : ความสมบูรณ์ทางวัตถุ เช่น ชื่อเสี ยง เงินทอง 2. กาม : ความสุข ความรัก 3. ธรรม : การถึงพร้อมด้วยคุณธรรม ละชัว่ ทําความดี 4. โมกษะ : การหลุดพ้น

วรรณะ : 4 วรรณะ 1. พราหมณ์ : ปากของพรหม : สี ขาว : ทําพิธีกรรมทางศาสนา


2. กษัตริ ย ์ : แขนของพรหม : สี แดง : ปกครองประเทศ กษัตริ ย ์ ขุนนาง 3. แพศย์ : ขาของพรหม : สี หลือง : อาชีพทัว่ ไป 4. ศูทร : เท้าพรหม : สี ที่เหลือ : กรรมกร

ศาสนาพุทธ พุทธประวัติ 

พระนามเดิม เจ้าชายสิ ทธัตถะ โคตมะ เป็ นโอรสพระเจ้าสุทโธทนะแห่ง กรุ งกบิลพัสดุ์ และพระนางสิ ริมหามายาแห่งกรุ งเทวทหะ ประสูติที่สวน ลุมพินีวนั (ปั จจุบนั คือ ตําบลรุ มมินเด ประเทศเนปาล)

ประสูติได้ 7 วัน พระนางสิ ริมหามายาสวรรคต เจ้าชายสิ ทธตถะอยูใ่ น ความดูแลของพระนางปชาบดีโคตรมี (น้า)

มีคาํ ทํานายว่า จะได้เป็ นศาสดา หรื อเป็ นกษัตริ ยท์ ี่ยงิ่ ใหญ่

พระชนมายุ 7 พรรษา ศึกษากับครู วศิ วามิตร

พระชนมายุ 16 พรรษา อภิเษกกับพระนางยโสธรา (พิมพา)

พระชนมายุ 29 พรรษา มีโอรสนามว่า ราหุล (แปลว่า บ่วง)

พระชนมายุ 29 พรรษา ออกบวช โดยวิธีอธิษฐานบรรพชา เรี ยก ‘เสด็จ ออกมหาภิเนสกรมณ์’ (เสด็จออกเพื่อแสวงหาคุณอันยิง่ ใหญ่)

ศึกษา อาฬารดาบส กาลามโคตร, อุทกดาบส รามบุตร (ศึกษาฌาน สมาบัติ)

บําเพ็ญทุกรกิริยา

พระชนมายุ 35 พรรษา ตรัสรู ้ ที่ริมฝั่งแม่น้ าํ เนรัญชรา ตําบลอุรุเวลาเสนา นิคม เมืองพุทธคยา ที่ประเทศอินเดีย ทรงบรรลุญาณในเวลาต่าง 1. ปฐมยาม : ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ : ระลึกชาติได้


2. มัชฌิมยาม : จุตูปปาตญาณ : มีตาทิพย์ 3. ปจฉิ มยาม : อาสวักขญาณ : ตัดกิเลสได้หมดสิ้น บรรลุอริ ยสัจ 4 

ปริ นิพพานที่สาลวโนทยาน กรุ งกุสินารา แคว้นมัลละ (ปั จจุบนั คือ กา เซียร์)

ปั จฉิ มโอวาท คือความไม่ประมาท (อัปปมาทะ)

การเผยแพร่ พุทธศาสนา 

แบ่งคนที่จะสอนเป็ นดอกบัว 4 ประเภท 1. อุคฆติตญั �ู (พ้นนํ้า)

2. วิปัจจิตญั �ู (ปริ่ มนํ้า)

3. เนยยะ (ใต้น้ าํ )

4. ปทปรมะ (ติดโคลนตม)

การโปรดพุทธบริ ษทั 1. ทรงแสดงปฐมเทศนาโปรดปั ญจวัคคีย ์ : ธัมมจักกัปปวัตนสูตร •

ทางสุดโต่ง : กามสุขลั ลิกานุโยค (หย่อนเกินไป) อัตตกิลมถา นุโยค (ตึงเกินไป)

ทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) : มรรค 8

อริ ยสัจ 4

*** ปั ญจวัคคียท์ ้ งั 5 บรรลุอรหันต์ดว้ ย อนันตลักขณสูตร 2. พุทธศาสนาประดิษฐานอย่างมัน่ คงในชมพูทวีป •

โปรดยศกุลบุตรและบริ วาร 55 คน : อนุปุพิกถา อริ ยสัจ4

โปรดชฎิล 3 พี่นอ้ งและบริ วาร 1000 คน : อาทิตตปริ ยายสูตร

โปรดพระเจ้าพิมพิสาร : อนุปุพิกถา ทรงถวายวัดเวฬุวนั 1st

โปรดพระโมคคัลลานะ และพระสารี บุตร


• 

โปรดอนาถบิณฑิกเศรษฐี สร้างวัดพระเชตะวันถวาย

สังเวชนียสถานฃ 1. ประสูติ : ลุมพินี (รุ มมินเด) เนปาล 2. ตรัสรู ้ : พุทธคยา อินเดีย 3. ปฐมเทศนา : ป่ าอิสิปตนมฤคทายวัน (สารนาถ) 4. ปริ นิพพาน : สาลวโนทยาน กุสินารา (กาเซียร์) อินเดีย

การเผยแพร่ พุทธศาสนาเข้ ามาประเทศไทย 

พระเจ้าอโศกมหาราชส่งสมณทูต พระโสณเทระ และ พระอุตตรเถระ เข้า มาในสุวรรณภูมิ

การเผยแพร่ พุทธศาสนา 1. เถรวาท (หี นยาน) : ยึดมัน่ เคร่ งครัด ไม่เปลี่ยนแปลง นับถือมากที่ภาคใต้ อินเดีย (ทักษิณนิกาย) เจริ ญรุ่ งเรื องในไทย ศรี ลงั กา พม่า กัมพูชา ลาว 2. อาจิริยวาท (มหายาน) : เชื่อว่าหลักธรรมควรเปลี่ยนไปตามยุคสมัย นับ ถือมากที่ภาคเหนืออินเดีย (อุตตรนิกาย) เจริ ญรุ่ งเรื องในจีน เกาหลี ญี่ปุ่น ทิเบต

พระไตรปิ ฎก 1. พระวินยั ปิ ฎก : เกี่ยวกับความประพฤติ ระเบียบกฎเกณฑ์ของสงฆ์ 2. พระสุตตันตปิ ฎก : พระธรรมเทศนา คําบรรยายต่างๆ ชาดก 3. พระอภิธรรมปิ ฎก : หลักธรรมที่เป็ นหลักวิชาล้วนๆ


หลักธรรมที่ควรรู้ โลกบาลธรรม : ธรรมที่คุม้ ครองโลก 1. หิ ริ : ละอายใจต่อบาป

2. โอตัปปะ : เกรงกลัวต่อบาป

สติ สั มปชั ญญะ : ธรรมที่มีอุปการะมาก 1. สติ : ระลึกได้

2. สัมปชัญญะ : รู ้สึกตัว

ขันติ โสรัจจะ : ธรรมที่ทาํ ให้บุคคลงาม 1. ขันติ : อดทน

2. โสรัจจะ : สงบเสงี่ยม

โอวาทปาติโมกข์ : หัวใจพระพุทธศาสนา 1. ทําความดี

2. ละเว้นชัว่

3. ทําจิตใจให้ผอ่ งใส

ไตรสิ กขา : กระบวนการปฏิบตั ิ 1. ศีล

2. สมาธิ

3. ปั ญญา

ไตรลักษณ์ : ลักษณะของธรรมชาติ 1. อนิจจัง : ความไม่เที่ยง

2. ทุกขัง : สภาพที่ทนอยูไ่ ด้ยาก

3. อนัตตา : ความไม่มีตวั ตน

ปปัญจธรรม 3 : อุปสรรคที่ขดั ขวางจิต 1. ตัณหา : ความอยาก 3. ทิฐิ : การยึดมัน่ ในความคิดของตน

2. มานะ : ความถือตัว


ปัญญา 3 : ความรู ้ทวั่ 1. สุตมยปั ญญา : ฟัง

2. จินตามยปั ญญา : คิด

3. ภาวนามยปั ญญา : ปฏิบตั ิ

สั ทธรรม 3 : แก่นของพระพุทธศาสนา 1. ปริ ยตั ิ : เล่าเรี ยนทฤษฎี

2. ปฏิบตั ิ : ปฏิบตั ิจริ ง

3. ปฏิเวธ : ผลจากการปฏิบตั ิ

อิทธิบาท 4 : ธรรมแห่งความสําเร็ จ 1. ฉันทะ : ความชอบ พอใจ

2. วิริยะ : พยายาม

3. จิตตะ : ตั้งใจ เอาใจใส่

4. วิมงั สา : ปรับปรุ ง

ภาวนา 4 : การผึกอบรม การพัฒนา 1. กายภาวนา : พัฒนากาย

2. สี ลภาวนา : พัฒนาประพฤติ

3. จิตตภาวนา : พัฒนาจิต

4. ปั ญญาภาวนา : พัฒนาปั ญญา

สั งคหวัตถุ 4 : ธรรมที่ยดึ เหนี่ยวจิตใจ 1. ทาน : การให้

2. ปิ ยวาจา : พูดจาไพเราะ

3. อัตถจริ ยา : ทําตนเป็ น

4. สมานัตตา : วางตัวเหมาะสม

ประโยชน์

พรหมวิหาร 4 : ธรรมสําหรับผูป้ กครอง 1. เมตตา : ปรารถนาให้ผอู ้ ื่นมีความสุข 2. กรุ ณา : ปรารถนาให้ผอู ้ ื่นพ้นทุกข์ 3. มุทิตา : ยินดีเมื่อผูอ้ ื่นได้ดี


4. อุเบกขา : วางใจเป็ นกลาง

อริยสั จ 4 : ความจริ งอันประเสริ ฐ 1. ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู ้) : สภาพที่ทนได้ยาก 

สภาวทุกข์ : ทุกข์ประจํา (เกิด แก่ ตาย)

ปกิณทุกข์ : ทุกข์จร

2. สมุทยั (ธรรมที่ควรละ) : เหตุแห่งทุกข์ = ตัณหา 

กามตัณหา : อยากได้ในรู ปรสกลิ่นเสี ยง

ภวตัณหา : อยากเป็ น อยากให้คงอยู่

วิภวตัณหา : ไม่อยากมี ไมอยากเป็ น

3. นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ) : ความดับทุกข์ 4. มรรค (ธรรมที่ควรเจริ ญ) : ทางปฏิบตั ิสู่ความดับทุกข์ 

สัมมาวาจา : เจรจาชอบ

สัมมากัมมันตะ : กระทําชอบ

สัมมาอาชีวะ : เลี้ยงชีพชอบ

สัมมาสติ : ระลึกชอบ

สัมมาสมาธิ : ตั้งใจชอบ

สัมมาวายามะ : พยายามชอบ

สัมมาทิฏฐิ : เห็นชอบ

สัมมาสังกัปปะ : ดําริ ชอบ

ศีล

สมาธิ

ปั ญญา

ฆราวาสธรรม 4 : ธรรมสําหรับผูค้ รองเรื อน 1. สัจจะ : ซื่อสัตย์

2. ทมะ : ข่มใจจากกิเลส

3. ขันติ : อดทน

4. จาคะ : เสี ยสละ


ทิฏฐธัมมิกตั ถะประโยชน์ 4 : หัวใจเศรษฐี ‘อุ อา กะ สะ’ 1. อุฏฐานสัมปทา : ขยันหมัน่ เพียร 2. อารักขสัมปทา : ประหยัดและรักษาทรัพย์สิน 3. กัลยาณมิตตตา : คบคนดี 4. สมชีวติ า : พอเพียง

วุฒิธรรม 4 : ธรรมเป็ นเครื่ องเจริ ญ 1. สัปปุริสสังเสวะ : เลือกคบคนดี 2. สัทธัมมัสสวนะ : ฟังสัทธรรม 3. โยนิโสมนสิ การ : การคิดพิจารณา 4. ธัมมานุธมั มปฏิปัตติ : ประพฤติธรรม

ขันธ์ 5 : องค์ประกอบของชีวติ 1. รู ป : ร่ างกาย

2. เวทนา : ความรู ้สึก

3. สัญญา : ความจําได้

4. สังขาร : สิ่ งปรุ งแต่งจิต

5. วิญญาณ : การรับรู ้

นิยาม 5 : กฎธรรมชาติ 1. อุตุนิยาม : ลม ฟ้า อากาศ

2. พีชนิยาม : การสื บพันธุ์

3. จิตตนิยาม : การทํางานจิต

4. กรรมนิยาม : พฤติกรรม

5. ธรรมนิยาม : ความเป็ นเหตุเป็ นผล

พละ 5 : ธรรมอันเป็ นกําลัง 1. สัทธา : ความเชื่อ


กัมมสัทธา : เชื่อว่ากรรมมีจริ ง

วิปากสัทธา : เชื่อผลของกรรม ว่าทุกอย่างเกิดจากเหตุ

กัมมัสสกตาสัทธา : เชื่อว่าสัตว์มีกรรมเป็ นของตน

ตถาคตโพธิสทั ธา : เชื่อในการตรัสรู ้ของพระพุทธเจ้า

2. วิริยะ : ความเพียร 3. สติ : ความระลึกได้ 4. สมาธิ : ใจตั้งมัน่ 5. ปั ญญา : ความรู ้

ทิศ 6 : บุคคลต่างๆที่เราเกี่ยวข้องด้วย 1. บน : พระสงฆ์

2. ล่าง : คนรับใช้

3. หน้า : พ่อแม่

4. หลัง : ลูก สามี ภรรยา

5. ขวา : ครู

6. ซ้าย : เพื่อน

สั ปปุริสธรรม 7 : ธรรมของคนดี 1. ธัมมัญ�ุตา : รู ้จกั เหตุ

2. อัตถัญ�ุตา : รู ้จกั ผล

3. อัตตัญ�ุตา : รู ้จกั ตนเอง

4. มัตตัญ�ุตา : รู ้จกั ประมาณ

5. กาลัญ�ุตา : รู ้จกั กาลเวลา

6. ปริ สญ ั �ุตา : รู ้จกั สถานที่

7. ปุคคลปโรปรัญ�ุตา : รู ้จกั เลือกคน

โลกธรรม 8 : เรื่ องธรรมดาในโลก 1. ฝ่ ายอิฏฐารมณ์ 

ลาภ

ยศ

สรรเสริ ญ

สุข

2. ฝ่ ายอนิฏฐารมณ์


เสื่ อมลาภ

นินทาว่าร้าย

เสื่ อมยศ

ทุกข์

ทศพิธราชธรรม 10 : ธรรมสําหรับพระราชา 1. ทาน : การให้ 2. บริ จาค : เสี ยสละ 3. ศีล : ประพฤติดี 4. อาชวะ : ซื่อตรง 5. ตบะ : ความเพียร 6. ขันติ : อดทน 7. มัทวะ : อ่อนโยน 8. อโกธะ : ความไม่โกรธ 9. อวิหิงสา : ไม่เบียดเบียน 10. อวิโรธนะ : ตั้งมัน่ ธรรม


เศรษฐศาสตร์

18


ความรู้ทั่วไปเศรษฐศาสตร์ ความหมาย : จัดสรรทรัพยากรที่จาํ กัดเพื่อสนองความต้องการที่ไม่จาํ กัดของ มนุษย์

บิดาแห่ งเศรษฐศาสตร์ : Adam Smith ขอบข่ าย 1. เศรษฐศาสตร์จุลภาค : ศึกษาระดับย่อย เช่น ราคาสิ นค้าชิ้นเดียว 2. เศรษฐศาสตร์มหภาค : ศึกษาใรระดับหน่วยใหญ่ เช่น GDP

การผลิต ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ 1. What จะผลิตอะไร จํานวนเท่าไร จึงตรงความต้องการของคนในสังคม 2. How จะผลิตอย่างไร เพื่อลดต้นทุน และได้สินค้ามากสุด 3. Who จะผลิตเพื่อใคร กลุ่มลูกค้าคือใคร จะจัดแบ่งสิ นค้าและบริ การ อย่างไร

ปัจจัยการผลิต : สิ่ งที่ตอ้ งนํามาใช้มาใช้ในกระบวนการผลิต 1. ที่ดิน : ที่ดิน + ทรัพยากรบนที่ดินนั้นๆ ผลตอบแทน : ค่าเช่า 2. แรงงาน : ใช้แรงกาย + สติปัญญาในการผลิต ผลตอบแทน : ค่าจ้าง 3. ทุน : สิ่ งที่ใช้ในการผลิต

เงินไม่ใช่ทุน 19


ผลตอบแทน : ดอกเบี้ย 4. การประกอบการ : ผูน้ าํ 3 ข้อแรกมาผลิตสิ นค้าบริ การ ผลตอบแทน : กําไร

ขั้นตอนการผลิต 1. ปฐมภูมิ / ขั้นต้น 

ดั้งเดิม ใช้เครื่ องมือง่ายๆ อาศัยทรัพยากรธรรมชาติเป็ นหลัก

ปรากฏในรู ปวัตถุดิบ

2. ทุติยภูมิ / ขั้นแปรรู ป 

ใช้เทคโนโลยี เครื่ องจักรสมัยใหม่

สิ นค้าสําเร็ จรู ป (นําวัตถุดิบมาแปรรู ป)

3. ตติยภูมิ / ขั้นบริ หาร 

ใช้เทคโนโลยี + การให้บริ การ

ประเภท 1. เจ้าของคนเดียว : ธุรกิจขนาดเล็ก แรงงานจากครอบครัว 2. ห้างหุน้ ส่วน >2 : หุน้ สวนจํากัด – ผูถ้ ือหุน้ รับกําไรตามอัตราส่วน หุน้ ส่วนสามัญ – รับผิดชอบร่ วมกัน 3. บริ ษทั จํากัด >7 : เอกชน – จํากัดผูถ้ ือหุน้ , มหาชน

20


ระบบเศรษฐกิจ ระบบเศรษฐกิจ คือ หน่วยเศรษฐกิจและหน่วยธุรกิจรวมตัวกัน เพือ่ ดําเนิน กิจกรรมทางเศรษฐกิจ เพื่อช่วยตัดสิ นปั ญหาพื้นฐานของระบบเศรษฐกิจทุกระบบ ให้บรรลุเป้ าหมาย แบ่งเป็ น 3 ระบบ

ระบบทุนนิยม/เสรีนิยม 

จะให้สิทธิแก่เอกชนในการตัดสินใจดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจได้อย่าง เต็มที่ ว่าจะผลิตอะไร ผลิตเพื่อใคร และผลิตอย่างไร เอกชนเป็ นเจ้าของ ปั จจัยการผลิต

ข้อเสี ย 1. เกิดการเอารัดเอาเปรี ยบระหว่างคนรวยกับคนจน 2. การกระจายรายได้ไม่เป็ นธรรม --> เกิดช่องว่างทางเศรษฐกิจ

ระบบสั งคมนิยม 

ระบบสังคมนิยมแบบเสรี จะมีการวางแผนจากส่วนกลาง รัฐจะต้องเป็ นผู ้ กําหนดกิจกรรมทางเศรษฐกิจ เอกชนมีกรรมสิ ทธิ์ในทรัพย์สินและมี เสรี ภาพในการเลือกอาชีพ

ระบบสังคมนิยมแบบคอมมิวนิสต์ ทรัพย์สินทุกอย่างเป็ นของรัฐ ภาคเอกชนไม่มีสิทธิเป็ นเจ้าของปั จจัยการผลิต

ข้อเสี ย 1. การจัดสวัสดิการให้แก่สงั คมทําให้สูญเสี ยงบประมาณมาก 2. การแทรกแซงกลไกตลาดทําให้ไม่สามารถสะท้อนอุปสงค์และ อุปทานที่แท้จริ ง 3. ทําให้เกิดปั ญหาคอรัปชัน่

21


ระบบผสม 

ผสมระหว่างทุนนิยมกับสังคมนิยม

ประเทศไทยเป็ นระบบเศรษฐกิจแบบผสม

เอกชนและรัฐบาลมรส่วนร่ วมกัน แต่ส่วนใหญ่เอกชนเป็ นผูด้ าํ เนินการ

สามารถกําหนดทิศทางของเศรษฐกิจได้ล่วงหน้า

มีการกระจายสิ นค้า และเกิดความเป็ นธรรม

องค์ประกอบ 3 ส่วน : ครัวเรื อน ธุรกิจ และรัฐบาล

หน้าที่ของรัฐบาล 1. คุม้ ครองสวัสดิภาพ 2. ให้บริ การทางสาธารณูปโภค 3. จัดการศึกษา และสาธารณสุขแก่ประชาชน

การธนาคารและสถาบันการเงิน ธนาคาร 1. ธนาคารกลางหรื อธนาคารแห่งประเทศไทย 

ออกธนบัตร

นายธนาคารของธนาคารพาณิ ชย์ และรัฐบาล

นโยบายการเงิน

ควบคุมอัตราแลกเปลี่ยน

รักษาเสถียรภาพทางการเงินของประเทศ

2. ธนาคารพาณิ ชย์

22

แหล่งเงินออมเงินที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ ส่วนใหญ่เอกชน

รับฝากเงิน ให้กเู้ งิน โอนเงิน เช่าตูน้ ิรภัย


ซื้อขายเงินตราต่างประเทศ

ให้บริ การชําระค่านํ้า ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์

3. ธนาคารที่ต้ งั เพื่อวัตถุประสงค์พิเศษ 

ธนาคารออมสิ น : ส่งเสริ มการออมประชาชน เงินพัฒนาประเทศ

ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ธอส.) : ให้กเู้ งินซื้อ/ปลูกบ้าน

ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ (ธกส.) : ให้เกษตรกรกู้

ธนาคารเพื่อการส่งออกและนําเข้าแห่งประเทศไทย (ธสน.) : สนับสนุนผูป้ ระกอบการด้านการค้า

สถาบันการเงินทีไ่ ม่ ใช่ ธนาคาร 1. บริ ษทั ประกันชีวติ และบริ ษทั ประกันภัย : ระดมเงินออม ขายกรมธรรม์ 2. ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศ : ศูนย์กลางซื้อขายหลักทรัพย์ 3. บริ ษทั หลักทรัพย์ : นายหน้าในการซื้อขายหลักทรัพย์ 4. โรงรับจํานํา : กูย้ มื โดยเอาสังหาริ มทรัพย์ประกันไว้ 5. บริ ษทั เงินทุน : ให้กยู้ มื รับฝากเป็ นตัว๋ สัญญาใช้เงิน กําหนดระยะเวลา 6. บริ ษทั เงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย : ให้กู้ อุตสาหกรรม การเกษตร 7. บริ ษทั เงินทุนอุตสาหกรรมขนาดย่อม : ให้กู้ อุตสากรรมขนาดย่อม ไม่เกิน 1 ล้าน 8. บริ ษทั เครดิตฟองซิเอร์ : ให้กู้ โดยจํานองอสังหาฯ รับซื้อสังหาฯ 9. สหกรณ์ออมทรัพย์ : ฝาก กู้ ดอกเบี้ยตํ่า โดยให้สมาชิกผูอ้ ื่นคํ้าประกัน

สหกรณ์ : การรวมกลุ่มของบุคคลโดยไม่ได้ม่งุ แสวงหากําไร 23


ลักษณะ 1. เป็ นสมาชิกโดยสมัครใจ 2. กิจกรรมของคณะบุคคล 3. ดําเนินตามประชาธิปไตย 4. องค์ประกอบ 4 ข้อ : คน เงิน ทรัพยากร และการจัดการ 5. ช่วยเหลือสมาชิกทางด้านเศรษฐกิจ 6. มีฐานะเป็ นนิตบุคคล

1st Robert Owen (ที่องั กฤษ) : บิดาสหกรณ์โลก 2387

1st ในไทย “สหกรณ์ วดั จันทร์ ไม่จาํ กัดสินใช้ ” (สมัย ร.6 ) โดย พระ เจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ : บิดาสหกรณ์ไทย

ประเภท 1. จํากัด : รับผิดชอบหนี้สินตามจํานวนหุน้ ที่ถือ 2. ไม่จาํ กัด : รับผิดชอบหนี้สินร่ วมกัน 3. ออมทรัพย์ : ส่งเสริ มการออมทรัพย์ และให้กู้ 4. ร้านค้า : ให้ผบู ้ ริ โภคได้ซ้ือสิ นค้าราคูก 5. นิคม : จัดสรรที่ดินแก่เกษตรกร 6. บริ การ : แก้ปัญหาของผูป้ ระกอบอาชีพด้านบริ การ

กลไกทางเศรษฐกิจ อุปสงค์ : ความต้องการซื้อสิ นค้าและบริ การในระยะเวลาหนึ่ง ราคาสิ นค้า α 24

1

อุปสงค์


ผูบ้ ริ โภคมีความต้องการมาก เมื่อสิ นค้าราคาถูก

ผูบ้ ริ โภคมีความต้องการน้อย เมื่อสิ นค้าราคาแพง

อุปทาน : ความต้องการขายสินค้าและบริ การในระยะเวลาหนึ่ง ราคาสิ นค้า α อุปทาน 

ผูผ้ ลิตมีความต้องการขายมาก เมื่อสิ นค้ามีราคาแพง

ผูผ้ ลิตมีความต้องการขายน้อย เมื่อสิ นค้ามีราคาถูก

ราคาดุลยภาพ : ราคาสิ นค้าที่ผผู ้ ลิตและผูบ้ ริ โภคมีควมต้องการตรงกัน

การแทรกแซงราคา 1. การแทรกแซงราคาขั้นตํ่า (การประกันราคา) 

รัฐกําหนดราคาเพื่อไม่ให้ราคาสิ นค้าตํ่าเกินไป

 ช่วยผูผ้ ลิต

2. การแทรกแซงราคาขั้นสูง (การควบคุมราคา) 

รัฐกําหนดราคาเพื่อไม่ให้ราคาสินค้าสูงเกินไป

ช่วยผูบ้ ริ โภค

25


ภาวะการเงิน เงินเฟ้ อ : เงินในตลาดมากเกินไป (คนใช้เงินมากเกิน อาจเกิดภาวะฟองสบู่แตก) 

ผลกระทบ : คนมีเงินมาก แต่สินค้ าแพง

วิธีแก้ไข : 1. เพิ่มดอกเบี้ยเงินกู้ : คนไม่อยากกู้ 2. เพิ่มดอกเบี้ยเงินฝาก : คนอยากฝาก 3. เพิ่มภาษี : คนจ่ายเพิ่ม มีเงินน้อยลง 4. ขายพันธบัตรรัฐบาล : คนซื้อ มีเงินน้อยลง

เงินฝื ด : เงินในตลาดน้อยเกินไป 

ผลกระทบ : คนมีเงินน้อย แต่สินค้ าถูก

วิธีแก้ไข : 1. ลดดอกเบี้ยเงินกู้ : คนอยากกู้ ใช้เงินมากขึ้น 2. ลดดอกเบี้ยเงินฝาก : คนไม่อยากฝาก จึงใช้เงิน 3. ลดภาษี : คนจ่ายน้อย มีเงินใช้มากขึ้น 4. ลดการขายพันธบัตรรัฐบาล

ค่ าเงินบาทแข็งตัว : เงินต่างประเทศแลกเงินไทยได้นอ้ ยลง 

ผลกระทบ : 1. ต่างชาติมาเที่ยวน้อยลง เพราะราคาสิ นค้าแพงขึ้น 2. ส่งออกแย่ลง (ต่างชาติตอ้ งซื้อแพงขึ้น) 3. นําเข้าดีข้ ึน (เราซื้อได้ถูกลง)

ค่ าเงินบาทอ่ อนตัว : เงินต่างประเทศแลกเงินไทยได้มากขึ้น 

ผลกระทบ : 1. ต่างชาติมาเที่ยวมากขึ้น เพราะราคาสิ นค้าถูกลง 2. ส่งออกดีข้ ึน (ต่างชาติซ้ือถูกลง) 3. นําเข้าแย่ลง (เราซื้อแพงขึ้น)

26


ภาษีและงบประมาณแผ่นดิน ภาษี หมายถึง เงินที่รัฐบาลเรี ยกเก็บจากประชาชนที่มีรายได้ เป็ นหน้ าที่

ประเภทของภาษี 1. ภาษีทางตรง : ไม่สามารถผลักภาระการจ่ายภาษีไปสู่ผบู ้ ริ โภคได้ 

ภาษีเงินได้ - ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

- ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีที่ดิน / ภาษีบาํ รุ งท้องที่ : เก็บจากเจ้าของที่ดิน

ภาษีโรงเรื อน : เก็บจากเจ้าของโรงเรื อน / ผูม้ ีสิ่งก่อสร้าง ประกอบการค้า

2. ภาษีทางอ้อม : สามารถผลักภาระการจ่ายภาษีไปให้ผบู ้ ริ โภคเป็ นผูจ้ ่าย 

ภาษีศุลกากร : เก็บจากการนพเข้าส่งออกสิ นค้าและบริ การ

ภาษีสรรพสามิต : เก็บจากสิ นค้าบางชนิด เช่น สุรา นํ้าหอม

ภาษีสรรพากร : ภาษีมูลคาเพิ่ม 7%

การเสี ยภาษีจะคิดตามปี ภาษี คือ วันที่ 1 มกราคม ถึงวันที่ 31 ธันวาคมของทุก ปี ซึ่งต้องจ่ายภายในวันที่ 31 มีนาคม การเก็บภาษีของไทยใช้ระบบ ก้าวหน้า คือ ยิง่ มีรายได้สูง อัตราการเก็บภาษีจะสูงขึ้นเรื่ อยๆ (5-37%)

งบประมาณแผ่ นดิน 

แผนการเงินของรัฐบาลที่จดั ทําขึ้นเพื่อแสดงรายรับ-รายจ่ายของโครงการ ต่างที่รัฐบาลกําหนดทําในระยะเวลา 1 ปี 27


งบประมาณมีการจัดตั้ง 3 ลักษณะ

1. งบประมาณสมดุล : รายรับและรายจ่ายเท่ากัน 2. งบประมาณขาดดุล : รายรับน้อยกว่ารายจ่าย 3. งบประมาณเกินดุล : รายรับมากกว่ารายจ่าย ปี งบประมาณของไทย อยูร่ ะหว่างวันที่ 1 ต.ค. ของปี หนึ่ง ถึง 30 ก.ย. ปี ถัดไป

องค์ กรทางเศรษฐกิจทีส่ ําคัญๆ กองทุนการเงินระหว่ างประเทศ ( IMF ) 

รักษาเสถียรภาพของอัตราแลกเปลี่ยน

ให้สมาชิกกูย้ มื เงิน (ประเทศที่วกิ ฤตสุดๆ)

สหภาพยุโรป ( European Union – EU )  

ผลจากสนธิสญ ั ญามาสตริ สต์ ร่ วมมือทางเศรษฐกิจ สมาชิก 27 ประเทศ

APEC : ความร่ วมมือทางเศรษฐกิจในภูมภิ าคเอเชีย-แปซิฟิก ประกอบด้วย สมาชิก 21 เขตเศรษฐกิจ

OPEC : ความร่ วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างกลุ่มผู้ส่งออกนํา้ มัน WTO : องค์ กรการค้ าระหว่ างประเทศ ส่งเสริ มให้สมาชิกดําเนินการค้าเสรี

แผนพัฒนาเศรษฐกิจ แผนพัฒนาเศรษฐกิจ ใช้ฉบับละ 5 ปี ปัจจุบนั ใช้แผน11 ( 28


ฉบับที่ 1 : เน้นความเป็ นอยู่ ‘นํ้าไหล ไฟสว่าง ทางดี มีงานทํา’ ฉบับที่ 2 : พัฒนาสังคมให้คู่กบั การพัฒนาเศรษฐกิจ ฉบับที่ 3 : เน้นความร่ วมมือกันของส่วนภูมิภาค ราชการ และท้องถิ่น ฉบับที่ 4 : เน้นการกระจายรายได้ ฉบับที่ 5 : เน้นการพัฒนาชนบทแนวใหม่ การมีระบบการบริ หารงานพัฒนา ชนบทแห่งชาติ (กชช.)

ฉบับที่ 6 : เน้นการรักษาความเจริ ญเติบโตของประเทศให้มีอตั ราก้าวหน้าอย่ง สมํ่าเสมอ

ฉบับที่ 7 : เน้นการพัฒนาเชิงคุณภาพ คํานึงถึงการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่มีอยู่ ฉบับที่ 8 : 1st เน้นพัฒนาคนให้มีประสิ ทธิภาพมากกว่าพัฒนาเศรษฐกิจ ฉบับที่ 9 : 1st นําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้พฒั นาและบริ หารประเทศ ฉบับที่ 10 : ปรับปรุ งกฎหมายให้ทนั สมัยพร้อมรับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง ฉบับที่ 11 : 2555-2559 (ปั จุจุบนั ) 

พัฒนาสู่สังคมคุณภาพ

สร้างความเป็ นธรรม

พัฒนาเป็ นสังคมแห่งการเรียนรู้ ตลอดชีวติ

ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่ทิศทางการเติบโตรู ปแบบใหม่

สร้างความแข็งแรงภาคเกษตรกรรม

29


ประวัตศิ าสตร์ 30


ความรู้ทั่วไปประวัตศิ าสตร์ วิธีการทางประวัติศาสตร์ 1. กําหนดปั ญหา 2. รวบรวมหลักฐาน/ข้อมูล 3. ตรวจสอบ ประเมินคุณค่า (ภายนอก : จริ ง/ไม่จริ ง – ภายนอก : น่าเชื่อถือ) 4. ตีความหมาย 5. นําเสนอข้อมูล

หลักฐานทางประวัติศาสตร์ 

จําแนกตามความสําคัญ

1. ปฐมภูมิ (เกิดขึ้น ณ เหตุการณ์น้ นั ๆ) 2. ทุติยภูมิ (ได้รับถ่ายทอดมา) 

จําแนกตามลักษณะ

1. หลักฐานที่เป็ นลายลักษณ์อกั ษร : จารึ ก พงศาวดาร จดหมายเหตุ ตํานาน 2. หลักฐานที่ไม่เป็ นลายลักษณ์อกั ษร : วัตถุ คําบอกเล่า ประติมากรรม

การนับศักราช 

พุทธศักราช (ไทย ลาว เขมร เริ่ มนับหลังพระพุทธเจ้าปริ นิพพานแล้ว 1ปี )

มหาศักราช : พ.ศ. – 621

จุลศักราช : พ.ศ. – 1181

รัตนโกสิ นทร์ศก : พ.ศ. – 2324 (เริ่ มใช้สมัย รัชกาลที่5) 31


คริ สตศักราช : พ.ศ. – 543 (พระเยซูประสูติ)

ฮิจเราะห์ศกั ราช : พ.ศ. – 1164 (นบีมูอมั หมัด อพยพจากเมกกะไปเมดิ นะห์)

การแบ่ งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ แบบสากล 1. สมัยก่อนประวัติศาสตร์ : ยังไม่มีอกั ษร 

ยุคหิ น (500,000 – 4,000 ปี ) 1. เก่า : เร่ ร่อน อยูใ่ นถํ้า 2. กลาง : อยูร่ วมกันมากขึ้น 3. ใหม่ : รู ้จกั การเพาะปลูก ทําเครื่ องปั้ น

ยุคโลหะ (4,000 – 1,500 ปี ) 1. สําริ ด : ใช้โลหะสําริ ด (ทองแดง + ดีบุก) 2. เหล็ก : ใช้เหล็กทําอาวุธ ติดต่อค้าขาย

2. สมัยประวัติศาสตร์ 

สมัยโบราณ : เมโสโปเตเมีย อียปิ ต์ กรี ก โรมัน

สิ้นสุดเมื่อโรมันถูกบาบาเรี ยนตีแตก (ค.ศ. 476) สมัยกลาง : สิ้นสุดเมื่อ เติร์กตีกรุ งคอนสแตนติโนเปิ ล (ค.ศ. 1453)

สมัยใหม่ : สิ้นสุดเมื่อสิ้นสุด WWII (ค.ศ. 1945)

กรุงสุ โขทัย ปัจจัยทางภูมิศาสตร์ 1. ภูมิประเทศ : ที่ราบลุ่มแม่น้ าํ ปิ ง วัง ยม น่าน เจ้าพระยา -> ดินดี 32


2. ภูมิอากาศ : เขตมรสุม -> ลมมรสุมตะวันตกเฉี ยงใต้ (ฤดูฝน) และลมมรุ สุมตะวันออกเฉี ยงเหนือ (ฤดูหนาว) 3. ทรัพยากรธรรมชาติ : อุดสมบูรณ์ 4. การคมนาคม : เดินเท้า มีถนน และเส้นทางสัญจรตามแม่น้ าํ

ปัจจัยด้ านอารยธรรม 

ล้านน้า

ขอม

มอญ

พม่า

ปัจจัยทีเ่ อือ้ ต่ อการสถาปนากรุ งสุ โขทัย 1. ภายใน : มีผนู ้ าํ เข้มแข็ง รักความอิสระ ทําเลที่ต้ งั เหมาะสม 2. ภายนอก : ขอมเสื่ อมอํานาจ

ลักษณะการเมืองการปกครอง 1. ความสัมพันธ์ระหว่างกษัตริ ยก์ บั ราษฎร 

สมัยพ่อขุนรามคําแหง : พ่อปกครองลูก

สมัยพระมหาธรรมราชาที่1 : ธรรมราชา ตามหลักทศพิธราชธรรม

2. รู ปแบบการปกครอง 

ราชธานี : เมืองหลวง

เมืองลูกหลวง : เมืองหน้าด่าน โอรส/เจ้านายชั้นสูงปกครอง 33


เมืองชั้นนอก/เมืองพระยามหานคร : เจ้าเมืองปกครอง

หัวเมืองปะเทศราช : เมืองขึ้น ต้องส่งบรรณาการทุก 3 ปี

3. ความเสื่ อมอํานาจ 

พระธรรมราชาที่ 2 : เมืองขึ้นอยุธยา

พระธรรมราชาที่ 4 : ไม่มีรัชทายาท

พัฒนาการด้ านเศรษฐกิจ 1. เกษตรกรรม : แบบยังชีพ มีระบบชลประทาน 2. หัตถกรรม : เครื่ องสังคโลก 3. การค้าขาย : ดฃการค้าแบบเสรี ไม่เก็บจกอบ

ลักษณะทางสั งคม 1. ชนชั้นปกครอง : กษัตริ ย ์ เจ้านาย ขุนนาง พระสงฆ์ ชนชั้นใต้ปกครอง : ไพร่ ทาส 2. มีกฎหมายและการพิจารณาคดีความ 3. ยึดมัน่ ในพระพุทธศาสนา

ความเจริญด้ านศาสนา 

นับถือพระพุทธศาสนา ( เถรวาท , ลังกาวงศ์ ) และความเชื่อพราหมณ์ ฮินดู (ไสยศาสตร์)

34

จัดลานฟังธรรมแก่ราษฎร : สร้างแท่นมนังคศลาบาตร กลางดงตาล

พระพุทธศาสนามีความเจริ ญสูงสุด สมัยพระยาลิไท


ศิลปวัฒนธรรม 1. สถาปั ตยกรรม : เจดียท์ รงพุม่ ข้าวบิณฑ์ (ดอกบัวตูม) 2. จิตรกรรม : สี ที่ใช้เป็ นเอกรงค์ (ดํา แดง) 3. ภาษา : ลายสื อไทย (ดัดแปลงมจากอักษรขอม) 4. วรรณกรรม : ศิลาจารึ กหลักที่ 1 (พ่อขุนรามคําแหง) : ไตรภูมิพระร่ วง (พระมาหธรรมราชาที่ 1 ) -> นรก สวรรค์

ภูมิปัญญา 1. อักษรไทย 2. เครื่ องสังคโลก 3. สรี ดภงส์ (ทํานบกั้นนํ้า) ตระพัง (สระนํ้า) ทํานบพระร่ วง (คันดินกั้นนํ้า)

ความสั มพันธ์ ระหว่ างประเทศ 1. ขยายอํานาจ : เพื่อรักษาความมัน่ คง เพื่อผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ การค้า เพื่อรักษาสัมพันธไมตรี กบั รัฐอื่น 2. สมัยพ่อขุนรามคําแหง สร้างความสัมพันธ์กบั จีนในระบบรัฐบรรณาการ 3. สมัยพ่อขุนรามคําแหง รับเอาพุทธศาสนิกายเถรวาท ลัทธิลงั กาวงศ์จาก นครศรี ธรรมราชมาประดิษฐ์ในสุโขทัย

สาเหตุความเสื่ อมสุ โขทัย 1. ปั ญหาด้านการปกครองในอาณาเขตและภายในราชธานี 2. การแย่งชิงราชสมบัติ 3. สภาพภูมิประเทศที่ไม่เหมาะเป็ นราชธานี 35


4. กลุ่มเมืองในลุ่มแม่น้ าํ เจ้าพระยาตอนล่างแยกตัวเป็ นอิสระ 5. การขยายอิทธิพลของล้านนา

กรุ งศรีอยุธยา ปัจจัยทางภูมิศาสตร์   

เป็ นที่ราบลุ่มแม่น้ าํ ดินอุดมสมบูรณ์ อากาศร้อนชื้น ฝนตกชุก ตั้งอยูใ่ นเส้นทางเรื อค้าขายระหว่างจีนกับอินเดีย

ปัจจัยทีเ่ อือ้ ต่ อการสถาปนาอยุธยา 1. มีพ้นื ที่เหมาะเพาะปลูก (มีแม่น้ าํ 3 สายไหลผ่าน) 2. เป็ นศูนย์กลางคมนาม (อยูใ่ กล้แม่น้ าํ ) 3. ความมัน่ คงทางยุธศาสตร์ (แม่น้ าํ และลําคลองล้อมรอบ)

การปกครอง 1. แบบ ‘เทวราชา’ (สมมติเทพ) แต่ยงั คงเป็ น ‘ธรรมราชา’ (หลักพุทธรรม เหนี่ยวรั้งอํานาจกษัตริ ย)์ 2. ความสัมพันธ์ระหว่างกษัตริ ยก์ บั ประชาชน ‘ไม่ใกล้ชิด’

พัฒนาการด้ านการเมืองการปกครอง 1. สมัยอยุธยาตอนต้น (พระรามาธิบดีที่ 1 – พระราชาธิราช 2) 

การปกครองส่วนกลาง – จตุสดมภ์ 1. กรมเวียง : รักษาความปลอดภัย 2. กรมวัง : ดูแลราชสํานัก ตัดสิ นคดีความ

36


3. กรมคลัง : หารายได้จากการค้าและภาษีอากร ดูแลรักษา ผลประโยชน์ 4. กรมนา : ดูแลการทํางานของราษฎร เก็บภาษีค่านา สะสม เสบียง 

การปกครองหัวเมือง 1. เมืองลูกหลวง 2. หัวเมืองชั้นใน : แต่งตั้งในเจ้านายปกครอง 3. หัวเมืองชั้นนอก : เจ้าเมืองปกครอง 4. หัวเมืองประเทศราช

2. การปฏิรูปการปกครองสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ 

การปกครองส่วนกลาง 1. ฝ่ ายทหาร : สมุหกลาโหม 2. ฝ่ ายพลเรื อน : สมุหนายก -> จตุสดมภ์ • เวียง -> นครบาล • วัง -> ธรรมาธิกรณ์ • คลัง -> โกษาธิบดี • นา -> เกษตราธิการ

การปกครองหัวเมือง 1. เมืองชั้นจัตวา : หัวเมืองชั้นใน ผูร้ ้ ังปกครอง 2. เมืองชั้นเอก โท ตรี : แบ่งตามขนาด/ความสําคัญ : เจ้านาย จากราชธานีปกครอง 3. หัวเมืองประเทศราช 37


3. การปกครองสมัยอยุธยาตอนปลาย (พระเพทราชา) 

สมุหกลาโหม : คุมหัวเมืองฝ่ ายใต้

สมุหนายก : คุมหัวเมืองฝ่ ายเหนือ และจตุสดมภ์

เสนาบดีกรมพระคลัง : คุมหัวเมืองชายทะเลภาคตะวันออก และ รายได้แผ่นดิน

พัฒนาการด้ านเศรษฐกิจ 1. การเกษตร 

ส่วนใหญ่ : ทําหน้าข้าว รองลงมา : ปลูกผักผลไม้

การเกษตรแบบยังชีพ

แหล่งเพาะปลูกสําคัญอยูบ่ ริ เวณราบลุ่มแม่น้ าํ เจ้าพระยาตอนกลาง

สิ นค้าส่งออกสําคัญ : ข้าว ของป่ า

ปลายอยุธยา : ขายข้าวให้จีนและฮอลันดาเป็ นหลัก

2. หัตถกรรมและอุตสาหกรรม 

สิ นค้าส่งออก : เครื่ องปั้ นดินเผา เครื่ องสังคโลก

3. การพาณิ ชยกรรม 

รายได้ของอาณาจักร : จังกอบ (ภาษีผา่ นด่าน) , อากร (รายได้) , ฤชา (ค่าธรรมเนียม) , ส่วย

38

การค้ารุ่ งเรื องมาก เพราะมีระบบพระคลังสิ นค้าที่มีประสิ ทธิภาพ

จีน : การค้าระบบบรรณาการ


พัฒนาการด้ านสั งคม 1. ระบบศักดินา : กําหนดฐานะของคนในสังคม (โดย พระบรมไตรฯ) 

พระบรมวงศานุวงศ์ 100,000 ไร่

ขุนนาง

10,000 ไร่

ไพร่

10 – 25 ไร่

ทาส

5

ไร่

2. ระบบไพร่ : เกณฑ์แรงงานมาทํางานปี ละ 6 เดือน (ชายอายุ > 18 ปี ) 

ไพร่ หลวง : ของกษัตริ ย ์

ไพร่ สม : สังกัดมูลนาย (เจ้านาย/ขุนนาง)

3. ระบบทาส : มีค่าตัว เกิดจากความยากจน สามมารถซื้อขายได้ 

เป็ นอิสระได้ เมื่อเจ้าของอนุญาติให้บวช/นําเงินมาไถ่ตวั

พัฒนาการด้ านศิลปวัฒนธรรม 1. สถาปั ตยกรรม 

7 รัชกาลแรก : แบบลพบุรีและอูท่ อง เช่น วัดพระศรี รัตนมหาธาตุ

พระบรมไตรโลกนาถ : แบบสุโขทัย เช่น เจดีย ์ 3 องค์

พระเจ้าปราสาททอง : แบบเขมร เช่น เจดียย์ อ่ ไม้มุมสิ บสอง

พระนารายณ์มหาราช : แบบอูท่ อง

2. ประติมากรรม 

7 รัชกาลแรก : แบบอูท่ อง

พระบรมไตรโลกนาถ : สุโขทัย

3. จิตรกรรม 39


วาดภาพตามฝาผนังโบสถ์

แบบลพบุรี + สุโขทัย + ลังกา

4. วรรณกรรม 

ตอนต้น : ลิลิต + กาพย์ เกี่ยวกับศาสนา

ยุคทองวรรณกรรม : พระนารายณ์ กาพย์ห่อโคลง , นิราศ , ฉันท์

ตอนปลาย : กาพย์ เจริ ญรุ่ งเรื อง และไพเราะสุด

5. ละคร : ละครชาตรี , ละครใน , ละครดึกดําบรรพ์ 6. กฎหมาย : พระธรรมศาสตร์ (กฎหมายแม่บท) , ราชศาสตร์ (เปรี ยบได้ กับพ.ร.บ.)

อารยธรรมตะวันออกทีม่ ีอทิ ธิพลต่ อพัฒนาการสมัยอยุธยา 1. การเมืองการปกครอง : อินเดีย ลังกา มอญ เขมร 2. เศรษฐกิจ : จีน เปอร์เซีย 3. สังคม : ลังกา

สาเหตุความเสื่ อมโทรมของอยุธยา 1. สถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ สื่ อมอํานาจ 2. ปั ญหาการสื บราชสมบัติ 3. การแก่งแย่งอํานาจเจ้านายกับขุนนาง 4. ถูกปิ ดล้อมทางเศรษฐกิจ 5. ด้อยประสิ ทธิภาพในการทําสงคราม อ่อนแอเรื่ องกําลังคน 6. พม่าเปลี่ยนแผนยุทธศาสตร์ 40


กรุงธนบุรี ปัจจัยเกีย่ วกับการพัฒนา 1. 2. 3. 4.

ทําเลปลอดภัย ถึงคราวคับขันสามาถไปตั้งมัน่ ที่จนั ทบุรีได้ ฟื้ นฟูเศรษฐกิจได้รวดเร็ ว แก้ไขปัญหาความขาดแคลนอาหารได้ ปราบปรามชุมนุมคนไทย 5 ชุมนุม และรวมไทยให้เป็ นปึ กแผ่น ฟื้ นฟูพระพุทธศาสนา เพื่อเป็ นที่ยดึ เหนี่ยวทางจิตใจของราษฎร

พัฒนาการด้ านการเมืองการปกครอง   

กอบกูเ้ อกราชได้ภายใน 7 เดือน ปราบ 5 ชุมนุม (ธนบุรี, พิษณุโลก, เจ้าพิมาย, นครศรี ธรรมราช, พระฝาง) รู ปแบบการปกครอง : รู ปแบบเดิมขออยุธยา 1. ภายใน : สมุหนายก , สมุหพระกลาโหม 2. ส่วนภูมิภาค : ชั้นใน , ชั้นนอก(พระยามหานคร) , ประเทศราช

พัฒนาการทางด้ านเศรษฐกิจ 

การแก้ปัญหาเศรษฐกิจฝื ดเฝื อง 1. พระราชทานทรัพย์ซ้ือข้าวสาร เสื้ อผ้าแจกจ่ายราษําร 2. ส่งเสริ ทราษฎรเพาะปลูก 3. สนับสนุนพ่อค้าชาวจีนนําของที่จาํ เป็ นมาจําหน่าย การพัฒนาเศรษฐกิจระยะยาว 1. เกษตรกรรม : เกณฑ์แรงงานทําไร่ นา เพิ่มผลผลิตให้เพียงพอ 2. สนับสนนคนจีนไปค้าขาย ประกอบอาชีพทที่หวั เมือง เพื่อสร้าง ความแข็งแรงทางเศรษฐกิจ 3. ส่งสริ มการค้ากับต่างประเทศ สิ นค้าออก เช่น ดีบุก พริ กไทย ไม้หอม 41


พัฒนาการด้ านสั งคม 

ระบบศักดินา 1. มูลนาย : ปกครอง ควบคุมกําลังพล 2. ไพร่ : ต้องถูกเกณฑ์แรงงานมาทํางานให้รัฐปี ละ 6 เดือน 3. ทาส การฟื้ นฟูพระพุทธศาสนา 1. มีการแต่งตั้งพระสังฆราช ทั้งยังสร้างวัดวาอารามต่างๆ 2. มีการตรวจสอบและคัดลอกพระไตรปิ ฎก 3. จัดพิธีสมโภชพระแก้วมรกต

กรุงรัตนโกสินทร์

ปัจจัยเกีย่ วกับพัฒนาการ 1. ใกล้ทะเล จึงติดต่อค้าขายได้สะดวก และรับศิลปวัฒนธรรมจากชาติอื่นๆ 2. ตั้งอยูใ่ นเขตอากาศร้อนชื้น ฝนตกชุก มีแม่น้ าํ ไหลผ่าน เหมาะเพาะปลุก

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลกมหาราช (ร. 1) 

สร้างพระบรมมหาราชวัง สร้างวัดพระแก้ว

สงครามเก้าทัพ รบชนะพระเจ้าปดุงแห่งพม่า

ตรากฎหมายสามดวง และจารี ตนครบาล

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้ านภาลัย (ร. 2)

42

ยุคทองของวรรณคดี

อังกฤษส่ง ครอว์ฟอร์ด มาเจรจากาค้าแต่ไม่สาํ เร็ จ


การค้ารุ่ งเรื อง กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ (ร. 3) ทรงให้เก็บเงินถุงแดงใช้ยาม ฉุกเฉิ น

พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้ าเจ้ าอยู่หัว (ร. 3) 

อังกฤษส่ง เฮนรี่ เบอร์นี่ ทําสนธิสญ ั ญาเบอร์นี่

ตั้งโรงเรี ยนแห่งแรก : โรงเรี ยนกรุ งเทพคริ สเตียน

หมอบรัดเลย์ นําการพิมพ์มาเผยแพร่ -> นสพ. ฉบับแรก คือ บางกอกรี คอร์เดอร์

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หัว (ร. 4) 

อังกฤษส่ง เซอร์จอห์น เบาว์ริง (พระสยามานุกลู กิจสยามิตรมหายศ) ทํา สนธิสญ ั ญาเบาว์ริง ซึ่งไทยเสี ยเปรี ยบ คือ เสี ยสิ ทธิภาพนอกอาณาเขต และ ภาครัฐเก็บภาษีได้นอ้ ยลง แต่ทาํ ให้การค้าเสรี

ไทยเสี ยเขมรให้ฝรั่งเศส

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หัวมหาราช (ร. 5) 

ตั้งกระทรวง 12 กระทรวง สภาที่ปรึ กษาราชการแผ่นดิน และสภาที่ ปรึ กษาราชการส่วนพระองค์

ตั้ง รร. พระตําหนักสวนกุหลาบ

ตั้งหอรัษฎากรพิพฒั น์ : เก็บภาษี

พัฒนาสาธารณูปโภคต่างๆ เช่น รถไฟ ไฟฟ้า ประปา โทรเลข

ตั้งธนาคารแห่งแรก : บุคคลัภย์ ต่อมาเปลี่ยนเป็ น แบงก์สยามกัมมาจล และธนาคารไทยพาณิ ชย์ 43


ตั้งมณฑลเทศาภิบาล และสุขาภิบาล

เหตุการณ์ รศ. 112 ไทยเสี ยฝั่งซ้ายแม่น้ าํ โขง และเขมรส่วนในให้ผรั่งเศส

จัดทํางบประมาณแผ่นดินครั้งแรก

เริ่ มใช้ธนบัตรไทย

ประกาศเลิกทาส และระบบไพร่

เสี ยหัวเมืองมลายูให้องั กฤษ แลกกับเงินมาสร้างรถไฟ

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ าเจ้ าอยู่หัว (ร. 6) 

ใช้ พ.ศ. แทน จ.ศ. และ ร.ศ.

ตั้งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จาก รร.ข้าราชการพลเรื อน

สงครามโลกครั้งที่ 1

เปลี่ยนธงชาติเป็ นธงไตรรงค์

กบฏ. ร.ศ. 130 เรี ยกร้องประชาธิปไตย

ตั้ง ดุสิตธานี ทดลองประชาธิปไตย

ตรา พรบ.นามสกุล กําหนดคํานําหน้าชายหญิง

ตรา พรบ.ประถมศึกษาแห่งชาติ

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้ าเจ้ าอยู่หัว (ร. 7)

44

วิกฤติเศรษฐกิจทัว่ โลก

ตั้งอภิมนตรี สภา และสภาองคมนตรี เพื่อแก้ปัญหาเศรษฐกิจ

พ.ศ. 2475 เปลี่ยนแปลงการปกครอง


กรุ งรัตนโกสินทร์ (สมัยประชาธิปไตย) คณะราษฎร์ 

24 มิ.ย. 2475 คณะราษฎร์ยดึ อํานาจ

หลัก 6 ประการ

พรายามโนปกรณ์นิติธาดา เป็ นนายกฯคนแรก

นายปรี ดี พนมยงค์ ร่ างสมุดปกเหลือง เป็ นนโยบายเศรษฐกิจ

ต.ค. 2476 เกิดกบฏบวรเดช

จอมพล ป. พิบูลสงคราม 

ตั้งรัฐวิสาหกิจ และธนาคารชาติ (ธนาคารแห่งประเทศไทย)

เกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 ไทยเข้าร่ วมกับญี่ปุ่น

เกิดขบวนการเสรี ไทย

ทําสงครามอินโดจีน ยึดดินแดนบางส่วนคืนจากฝรั่งเศส

จอมพลสฤษฎิ์ ธนะรัชต์ 

ปกครองระบอบเผด็จการ

ส่งทหารไปร่ วมรบในสงครามเวียดนาม

ร่ างแผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับแรก

จอมพถนอม กิตติขจร 

7 ส.ค. 2508 วันเสี ยงปื นแตก รัฐบาลปะทะคอมมิวนิสต์

8 ส.ค. 2510 ไทยเข้าร่ วม ASEAN 45


14 ตุลาคม 2516 (วันมหาวิปโยค) 

นิสิตนักศึกษาไม่พอใจระบอบเผด็จการ เดินขบวนประท้วงจอมพล ถนอม

มีการปราบปรามผูป้ ระท้วงอย่างรุ นแรง

เหตุการณ์สงบเมื่อจอมพล ถนอม ลาออก

2516 – 2519 เป็ นยุคประชาธิปไตยเบ่งบาน

6 ตุลาคม 2519 

นักศึกษาไม่พอใจที่จอมพลถนอมกลับไทย

นักศึกษาจํานวนมากหนีเขาป่ า ไปร่ วมกับพรรคคอมมิวนิสต์

พฤษภาทมิฬ 

2534 มีการปฏิวตั ิ โดยคณะ ร.ส.ช. นําโดยพลเอกสุจินดา คราประยูร

2535 พลเอกสุจินดา เป็ นนายกฯ ทําให้หลายคนไม่พอใจ จึงประท้วง เพราะไม่รักษาคําพูด มี พล.ต.จําลอง ศรี เมือง เป็ นแกนนํา เรี ยกว่า ม็อบมือ ถือ

เหตุการณ์สงบเมื่อพลเอกสุจินดายอมลาออก

คณะรักษาความสงบแห่ งชาติ (คสช.) 

46

หัวหน้า : พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ปั จจุบนั เป็ นนายกฯ คนที่ 29


หน้ าที่พลเมือง 47


การจัดระเบียบทางสั งคม ความหมาย : กระบวนการทางสังคมที่จดั ขั้นเพื่อควบคุมสมาชิกให้มีความ สัมพันธ์กนั ภายใต้แบบแผนและกฎเกณฑ์เดียวกัน เพื่อให้เกิด ความเป็ นระเบียบเรี ยบร้อยในสังคม

สาเหตุทตี่ ้ องจัดระเบียบสั งคม 1. เพื่อให้การติดต่อสัมพันธ์กนั ทางสังคมเป็ นไปอย่างเรี ยบร้อย 2. เพื่อป้ องกันความขัดแย้งระหว่างสมาชิกในสังคม 3. ช่วยให้สงั คมดํารงอยูอ่ ย่างสงบสุขและมัน่ คงในสังคม

กระบวนการจัดระเบียบทางสั งคม : เครื่ องมือที่ใช้ในการจัดระเบียบ 1. ค่านิยม : สิ่ งที่คนในสังคมเห็นพ้องต้องกันว่าควรปฏิบตั ิหรื อไม่ 2. บรรทัดฐาน : มาตรฐานที่คนส่วนใหญ่ยดึ ถือเป็ นแนวทางปฏิบตั ิ 

วิถีประชา : แนวทางปฏิบตั ิที่เป็ นที่ยอมรับ ตามความเคยชิน

จารี ต : ระเบียบแบบแผนที่ปฏิบตั ิเคร่ งครัด เกี่ยวข้องกับศีลธรรม

กฎหมาย : ข้อบังคับควบคุมความประพฤติคนในสังคม

3. สถานภาพ : ตําแหน่งของบุคคลที่สงั คมกําหนดขึ้น 

สถานภาพทีติดตัวมาโดยสังคมกําหนด : เพศ อายุ เชื้อชาติ

สถานภาพที่ได้มาโดยความสามารถ : อาชีพ การศึกษา สมรส

4. บทบาท : การปฏิบตั ิหน้าที่ตามสถานภาพ 5. การขัดเกลาทางสังคม : กระบวนการปลูกฝังบรรทัดฐาน 48


การขัดเกลาโดยตรง : บอกว่าสิ่ งใดถูก สิ่ งใดควรกระทํา

การขัดเกลาโดยทางอ้อม : การสังเกตเรี ยนรู ้จากประสบการณ์

การปกครองระบอบต่ างๆ การปกครองระบอบประชาธิปไตย 

อํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศเป็ นของประชาชน

ประชาชนมีสิทธิ เสรี ภาพเท่าเทียมกัน

ออกกฎหมายผ่านกระบวนการทางรัฐสภา

ดําเนินนโยบายบริ หารภายใต้กฎหมาย มีการควบคุมตรวจสอบ จากฝ่ าย นิติบญั ญัติและประชาชน

การดํารงตําแหน่งของผูน้ าํ ทางการเมืองเป็ นไปตามวาระประชาชนเสี ยง ข้างมากให้ความเห็นชอบ

รัฐธรรมนูญเป็ นกฎหมายหลักในการปกครองประเทศกําหนดสิ ทธิ เสรี ภาพ ความเสมอภาคของประชาชน

เปิ ดโอกาสให้มีการตั้งพรรคการเมืองและมีการแข่งขันทางการเมือง เพื่อ เข้ามาบริ หารประเทศ

รู ปแบบการปกครอง 1. หลักประมุขของประเทศ • พระมหากษัตริ ยเ์ ป็ นประมุข • ประธานาธิบดีเป็ นประมุข 2. หลักการรวมและแยกอํานาจ 49


• แบบรัฐสภา : รัฐสภามีอาํ นาจสู งสุดในการออกกฎหมาย • แบบประธานาธิบดี : แยกนิติบญั ญัติ บริ หาร ตุลาการชัดเจน • แบบกึ่งประธานาธิบดี

การปกครองระบอบเผด็จการ 

ยึดถืออํานาจรัฐเป็ นอํานาจสูงสุด โดยผูน้ าํ เป็ นผูท้ ี่มีอาํ นาจสุงสุด

เน้นความสําคัญของรัฐและผูน้ าํ หากประชาชนดําเนินกิจกรมที่ขดั แย้งตอ นโยบายของผูน้ าํ จะได้รับการลงโทษอย่างรุ นแรง

ผูก้ าํ หนดนโยบายและตัดสิ นใจ คือ ผูน้ าํ ประเทศ

ประชาชนไม่มีอาํ นาจโค่นล้มหรื อถอดถอนรัฐบาลออกได้ การเปลี่ยนผูน้ าํ อยูภ่ ายใต้การคัดสรรของผูบ้ ริ หารพรรคการเมือง

จํากัดสิ ทธิเสรี ภาพของประชาชน การเคลื่อนไหว หรื อการประกอบ กิจกรรมทางการเมืองไม่สามารถหระทําได้ ต้องตกอยูภ่ ายใต้การควบคุม ของรัฐ

รู ปแบบการปกครอง 1. เผด็จการแบบอํานาจนิยม : ผูน้ าํ มีอาํ นาจเด็ดขาดในการปกครอง 2. เผด็จการแบบเบ็ดเสร็ จ : ผูน้ าํ มีอาํ นาจเด็ดขาดในการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม ควบคุมสิ ทธิเสรี ภาพประชาชน

50

เผด็จการฟาสซิสต์

เผด็จการนาซี

เผด็จการคอมมิวนิสต์


อํานาจอธิปไตย ฝ่ ายนิติบัญญัติ 

ออกกฎหมาย

พิจารณาเงินงบประมาณ

ตรวจสอบการทํางานของรัฐ

ฝ่ ายบริหาร 

นํากฎหมายมาบังคับใช้

ฝ่ ายตุลาการ 

ตีความตัวบทกฎหมายและรัฐธรรมนูญ

ตัดสิ นพิจารณาคดี

51


กฎหมายเบื้องต้ น ลักษณะกฎหมาย 1. เป็ นคําสัง่ หรื อข้อบังคับ 2. ตองมาจากรัฐาธิปัตย์หรื อผูท้ ี่กฎหมายให้อาํ นาจไว้ รัฐาธิปัตย์คือผูม้ ีอาํ นาจ สูงสุดของประเทศ 3. ต้องใช้บงั คับได้จนกว่าจะมีการยกเลิกหรื อเปลี่ยนแปลง 4. ต้องมีสภาพบังคับ

ประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ 1. กฎหมายแพ่ง : ว่าด้วยเรื่ องของสิ ทธิ 2. กฎหมายพาณิ ชย์ : ว่าด้วยเรื่ องของการค้าขาย

รัฐธรรมนูญ เจตนารมณ์ ของรัฐธรรมนูญ 1. คุม้ ครอง ส่งเสริ ม ขยายสิ ทธิ และเสรี ภาพของประชาชน 2. ลดการผูกขาดอํานาจรัฐ และเพิ่มอํานาจประชาชน 3. การเมืองมีความโปร่ งใส มีคุณธรรม และจริ ยธรรม 4. ทําให้องค์กรตรวจสอบมีความอิสระ เข้มแข็ง ทํางานอย่างมีประสิ ทธิภาพ

52


ภูมศิ าสตร์

53


ตัวอย่ างข้ อสอบ

54


1. ข้อใดเป็ นเอกลักษณ์ของพระพุทธศาสนา ก. กรรม ข. นรก-สวรรค์ ค. อนัตตา ง.

ศีล

2. ข้อใดคือวัตถุประสงค์ชอง AFTA ก. ขยายตลาดสิ นค้าให้กว้างขึ้น ข. พัฒนาและส่งเสริ มการค้าพหุภาคี ค. เพิ่มการแข่งขันสิ นค้าอาเซียนในตลาดโลก ง.

ขจัดอุปสรรคทางการค้าและบริ การระหว่างประเทศ

3. ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ของธนาคารแห่งประเทศไทย ก. กํากับดูแลสถาบันการเงินให้มีความมัน่ คงและได้มาตรฐาน ข. ให้ความร่ วมมือกับนโยบายทางมาตรการทางการเงินของรัฐบาล ค. เป็ นนายธนาคารและที่ปรึ กษาด้านนโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาล ง.

บริ หารเงินสํารองระหว่างประเทศ

4. สมาคมอาเซียนถือกําเนิดขึ้นตามคําประกาศในข้อใด ก. คําปฏิญญาฮานอย ข. คําปฏิญญาจาการ์ตา ค. คําปฏิญญาย่างกุง้ ง.

คําปฏิญญากรุ งเทพ

5. ธรรมสําหรับผูป้ กครองคือหลักธรรมใด ก. พรหมวิหาร 55


ข. ฆราวาสธรรม ค. สังควัตถุ ง.

อิทธิบาท

6. การแยกตัวออกไปปฏิบตั ิธรรมในป่ าหลังจากได้ครองเรื อนมาพอสมควร แล้ว คือขั้นตอนใด ก. สันยาสี ข. วานปรัสถ์ ค. คฤหัสถ์ ง.

พรหมจารี

7. กฎหมายใดที่ไม่ตอ้ งผ่านความเห็นของสภาไม่วา่ กรณี ใดๆ ก. พระราชบัญญัติ ข. พระราชกําหนด ค. พระราชกฤษฎีกา ง.

กฎกระทรวง

8. แบบแผนความประพฤติที่สมาชิกในสังคมปฏิบตั ิตามความเคยชิน เรี ยกว่า อะไร ก. กฎศีลธรรม ข. ค่านิยม ค. จารี ต ง.

วิถีประชา

9. หน่วยงานใดต่อไปนี้ไม่ได้รับฝากเงินจากประชาชนเป็ นการทัว่ ไป ก. ธนาคารเพื่อการส่งออกและนําเข้าแห่งประเทศไทย 56


ข. ธนาคารพัฒนารัฐวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศ ไทย ค. ธนาคารแห่งประเทศไทย ง.

ถูกทุกข้อ

10. ตําบลอุรุเวลาเสนานิคม เป็ นสถานที่สาํ คัญทางพระพุทธศาสนาอย่างไร ก. เป็ นสถานที่ประสูติ ข. เป็ นสถานที่ตรัสรู ้ของพระพุทธเจ้า ค. เป็ นสถานที่แสดงปฐมเทศนาครั้งแรกของพระพุทธเจ้า ง.

เป็ นสถานที่ปริ นิพพานของพระพุทธเจ้า

11. ข้อใดเป็ นกิจกรรมการผลิตขั้นที่สองหรื อขั้นทุติยภูมิ ก. การทําเหมืองแร่ ข. การทําสวนส้ม ค. การสี ขา้ ว ง.

การสอนหนังสื อ

12. เขตอุตสาหกรรมหนักของโลกและใช้ทรัพยากร พลังงาน อย่างสิ้นเปลือง คือเขตใด ก. โอเชียเนีย และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ข. คาบสมุทรสแกนดิเนเวีย และอเมริ กากลาง ค. แอฟริ กาเหนือ และลุ่มแม่น้ าํ ไนล์ ง.

รอบเกรตเลค ถึงชายฝั่งแอตแลนติก และยุโรปตะวันตก

13. ข้อใดไม่ใช่ระบอบเผด็จการแบบเบ็ดเสร็จ ก. เผด็จการทหาร 57


ข. เผด็จการฟาสซิสต์ ค. เผด็จการนาซี ง.

เผด็จการคอมมิวนิสต์

14. นายบีซ้ือรถยนต์โดยทําหนังสื อสัญญาผ่อนชําระเป็ นงวดๆ จนครบตาม กําหนด นายบีจึงได้เป็ นเจ้าของโดยสมบูรณ์ ก. สัญญาเช่าทรัพย์ ข. สัญญาเช่าซื้อ ค. สัญญาขายฝาก ง.

สัญญาซื้อขายผ่อนส่ง

15. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับใด อัญเชิญ ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง ตามพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั มาเป้น ปรัชญานําทางในการพัฒนาประเทศเป็ นฉบับแรก ก. แผนพัฒนาเศรษฐกิจ ฉบับที่ 7 ข. แผนพัฒนาเศรษฐกิจ ฉบับที่ 8 ค. แผนพัฒนาเศรษฐกิจ ฉบับที่ 9 ง.

แผนพัฒนาเศรษฐกิจ ฉบับที่ 10

16. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับเส้นขนาน ก. เส้นขนาน คือ เส้นที่ลากขนานกับเส้นศูนย์สูตร ทุกเส้นทีความยาว เท่ากัน ข. เส้นขนานที่อยูท่ างซีกโลกใต้ ได้แก่ เส้นอาร์กติกเซอร์เคิล และ แอนตาร์กติกเซอร์เคิล 58


ค. เส้นขนานที่แบ่งเขตอากาศหนาวและอบอุ่น คือ เส้นทรอปิ ค ออฟ แคนเซอร์ และเส้นทรอปิ ค ออฟ แคปริ คอร์น ง.

เส้นขนานที่ลากในแนวตะวันออก-ตะวันตก แบ่งโลกออกเป็ น สองส่วนเท่าๆกัน เป็ นเส้นวงกลมใหญ่ คือ เส้นศูนย์สูตร

17. รางวัลโนเบล ประกอบด้วย 6 สาขา ยกเว้นสาขาใด ก. เคมี ข. ฟิ สิ กส์ ค. วรรณกรรม ง.

บริ การสาธารณะ

18. การลดระดับลงของแม่น้ าํ โขงจนถึงขั้นวิกฤตในช่วงฤดูแล้ง องค์กรความ ร่ วมมือใดควรมีบทบาทเข้ามาแก้ปัญหา ก. ASEAN ข. GMS ค. EWEC ง.

ACMECS

19. ข้อใดมิใช่แนวทางการกระตุน้ เศรษฐกิจหลังภาวะนํ้าท่วม ก. การลดภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและนิติบุคคล ข. การลดรายจ่ายของภาครัฐ ค. การลดดอกเบี้ยเงินกู้ ง.

การลดดอกเบี้ยเงินฝาก

20. ข้อใดคือประเทศที่เข้าร่ วมก่อตั้งอาเซียน ก. ไทย สิ งคโปร์ บรู ไน อินโดนีเซีย 59


ข. สิ งคโปร์ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ ค. ไทย เวียดนาม ฟิ ลิปปิ นส์ อินโดนีเซีย ง.

มาเลเซีย เวียดนาม สิ งคโปร์ ฟิ ลลิปปิ นส์

21. เหตุการณ์ใดเริ่ มให้โลกปลี่ยนแปลงเข้าสู่ยคุ ใหม่ ก. การปฏิวตั ิวทิ ยาศาสตร์ ข. การปฏิวตั ิเกษตรกรรม ค. การปฏิวตั ิอุตสาหกรรม ง.

การปฏิรูปศาสนา

22. โครงการพัฒนาป่ าชุมชนในประเทศไทยเป็ นการดําเนินงานที่สอดคล้อง กับอนุสญ ั ญาฉบับใด ก. อนุสญ ั ญาไซเตส ข. อนุสญ ั ญาเวียนนา ค. อนุสญ ั ญาว่าด้วยการอนุรักษ์พ้ืนที่ชุ่มนํ้า ง.

อนุสญ ั ญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ

23. ข้อใดไม่ใช่หลักธรรมในการอยูร่ ่ วมกันอย่างสันติสุขของศาสนาต่างๆ ก. หลักศรัทธา ข. หลักพรหมวิหาร ค. หลักความรัก ง.

หลักไตรลักษณ์

24. ประเทศไทยมีรูปแบบรัฐเหมือนกับประเทศใด ก. ฝรั่งเศส ข. อินเดีย 60


ค. มาเลเซีย ง.

ออสเตรเลีย

25. ความร่ วมมือใดไม่เกี่ยวข้องกับการลดการปล่อยแก๊สเรื อนกระจก ก. พิธีสารเกียวโต ข. พิธีสารมอนทรี ออล ค. อนุสญ ั ญาแรมซาร์ ง.

อนุสญ ั ญาเวียนนา

26. ข้อใดแสดงถึงภูมิปัญญาไทยสมัยโบราณในการวางระเบียบของอาณาจักร ให้สงบสุข ก. กฎหมายตราสามดวง ข. พระไอยการพลเรื อนและทหารหัวเมือง ค. กฎมณเฑียรบาล ง.

การจัดระเบียบสงฆ์

27. หากต้องการศึกษาหาความรู ้เกี่ยวกับวิชาเภสัชสมุนไพร วิชาสมมติฐาน โรค ตําราวิธีรักษาเด็กและผูใ้ หญ่ของไทยสมัยรัตนโกสิ นทร์ควรไปที่ใด ก. วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ข. วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร ค. วัดอรุ ณราชวรารามราชวรวิหาร ง.

วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรวหาร

28. ข้อใดไม่ใช่การแก้ไขความขัดแย้งระหว่างประเทศโดยวิธีการบีบบังคับ ก. การตัดความสัมพันธ์ทางการทูต ข. การทําสงครามสัง่ สอนเวียดนามของจีนในปี ค.ศ. 1979 61


ค. มาตรการควํ่าบาตรไม่ซ้ือสิ นค้าจากประเทศนั้น ง.

การซ้อนรบใกล้พรมแดนรัฐฝ่ ายตรงข้าม

29. การทําบุญในข้อใดเรี ยกว่าเป็ น กาลทาน คือมีกาํ หนดระยะช่วงเวลาที่จะ ทําได้แน่นอน หากพ้นระยะเวลาไปแล้วไม่สามารถทําได้ ก. ทอดผ้าป่ า ข. ทอดกฐิน ค. ถวายสังฆทาน ง.

เจริ ญพระพุทธมนต์

30. กองทัพเรื อไม่สามารถจับกุมเรื อบรรทุกนํ้ามันเถื่อน ที่อยูห่ ่างจากชายฝั่ง ทะเลของไทยเกินกว่ากี่ไมล์ทะเล ก. 3 ไมล์ทะเล ข. 6 ไมล์ทะเล ค. 9 ไมล์ทะเล ง.

12 ไมล์ทะเล

31. พระพุทธศาสนาสอนหลักความจริ งที่เป็ นสากลในเรื องใด ก. ตนเป็ นที่พ่ งึ แห่งตน ข. การทําลายชีวติ เป็ นบาป ค. ทุกชีวติ ต้องเผชิญปั ญหาด้วยความไม่ประมาท ง.

มนุษย์ใช้ปัญญาหาสาเหตุเพื่อแก้ปัญหาได้

32. ข้อใดส่งผลให้เงินคงคลังเพิ่ม ก. รัฐบาลจัดเก็บภาษีอากรได้เพิ่มขึ้น ข. ดุลรายได้หกั รายจ่ายของรัฐบาลเกินดุล 62


ค. รัฐวิสาหกิจส่งผลกําไรให้รัฐบาลมกขึ้น ง.

รัฐบาลเลื่อนการไถ่ถอนพันธบัตรที่ครบกําหนด

33. ประเทศสุดท้ายในอาเซียนที่ได้เข้าเป็ นสมาชิกองค์การการค้าโลก คือ ประเทศใด ก. ลาว ข. กัมพูชา ค. เวียดนาม ง.

พม่า

34. สมุดปกเหลือง ว่าด้วยเรื่ องอะไร ก. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับแรก ข. คําวิพากษ์วจิ ารณ์เค้าโครงเศรษฐกิจของรัชกาลที่ 7 ค. เค้าโครงเศรษฐกิจของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม ง.

เค้าโครงเศรษฐกิจของพระยามโนปกรณ์นิติธาดา

35. หลักการจัดระเบียบบริ หารราชการในข้อใด เปิ ดโอกาสให้ประชาชนมี ส่วนร่ วมในการปกครองตามวิถีทางประชาธิปไตย ก.

หลักการกระจายอํานาจ

ข.

หลักการแบ่งอํานาจ

ค.

หลักการมอบอํานาจ

ง.

หลักการรวมอํานาจ

36. ข้อใดไม่ใช่สาเหตุของภัยแล้งในประเทศไทย ก. ปรากฏการณ์ลานีญา ข. ปรากฏการณ์เอลนีโญ 63


ค. ปรากฏการณ์เรื อนกระจก ง.

การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก

37. กิจกรรมใดขัดแย้งกับมาตรฐานด้านสิ ทธิมนุษยชนตามปฏิญญาสากลว่า ด้วยสิ ทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติมากที่สุด ก. การกักขัง ข. การค้าทาส ค. การเนรเทศ ง.

การประหารชีวติ

38. กรรมสิ ทธิ์ในทรัพย์สินจะตกเป็ นของผูซ้ ้ือ เมื่อได้มีการทําสัญญาแบบใด ก. สัญญาเช่าซื้อ ข. สัญญาขายฝาก ค. สัญญาซื้อขายผ่อนส่ง ง.

สัญญาขายฝากและสัญญาซื้อขายผ่อนส่ง

39. การที่รัฐบาลกูเ้ งินจากต่างประเทศมาลงทุนแทนการกูเ้ งินจากประชาชน ก่อให้เกิดผลอย่างไร ก. หนี้สาธารณะเพิ่มขึ้นน้อยกว่า ข. อัตราดอกเบี้ยในประเทศสูงขึ้น ค. งบประมาณแผ่นดินขาดดุลน้อยลง ง.

สภาพคล่องภายในประเทศเพิ่มขึ้น

40. นโยบายการส่งเสริ มการลงทุนจากต่างประเทศเกิดขึ้นครั้งแรกในรัฐบาล ใด ก. จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ 64


ข. จอมพลถนอม กิตติขจร ค. พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ง.

จอมพลแปลก พิบูลสงคราม

41. ในการวิเคราะห์สถานการณ์น้ าํ เพื่อการวางแผนป้ องกันอุทกภัยบริ เวณที่ ราบลุ่มแม่น้ าํ เจ้าพระยา ควรใช้เครื่ องมือใด ก.

แผนที่การใช้ที่ดิน

ข. แผนที่ภูมิประเทศ ค. ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ ง.

ระบบกําหนดตําแหน่งบนพื้นโลก

42. พระพุทธเจ้าทรงบรรลุญาณใดที่ทาํ ให้ตรัสรู ้อริ ยสัจ 4 ก. ปุพเพนิวาสานุสสติ ข. จุตูปปาต ค. อาสวักขย ง.

อานาปานสติ

43. ข้อใดไม่ใช่ลกั ษณะของการปกครองระบอบประชาธิปไตยในระบบ ประธานาธิบดี ก. ประธานาธิบดีเป็ นประมุขของรัฐ ข. ประธานาธิบดีมีอาํ นาจยุบสภา ค. ประธานาธิบดีมาจากการเลือกตั้งของประชาชน ง.

ประธานาธิบดีมีอาํ นาจยับยั้งกฎหมาย

44. ข้อใดแสดงถึงสถาบันหรื อหน่วยงานซึ่งไม่มีอาํ นาจในการตรากฎหมาย ก. รัฐสภา กระทรวง 65


ข. กรุ งเทพมหานคร เทศบาล ค. องค์การบริ หารส่วนตําบล รัฐบาล ง.

คณะกรรมการกฤษฎีกา ศาลปกครอง

45. ข้อใดทําให้เกิดอุปสงค์ส่วนเกิน ก.

ราคาสิ นค้าตํ่ากว่าราคาดุลยภาพ

ข. ผูบ้ ริ โภคมีความต้องการสิ นค้าเพิม่ ขึ้น ค. จํานวนผูผ้ ลิตสิ นค้าลดลง ง.

ผูบ้ ริ โภคมีรายได้เพิม่ ขึ้น

46. ภัยธรรมชาติใดที่ไม่สามารถรู ้ล่วงหน้าได้ ก. วาตภัย ข. สึ นามิ ค. แผ่นดินไหว ง.

ภูเข้าไฟระเบิด

47. เงินจํานวนใดไม่รวมอยูก่ บั งบประมาณรายรับของรัฐบาล ก. เงินรายได้จากภาษีมูลค่าเพิ่ม ข. เงินรายได้จากการไฟฟ้าฝ่ ายผลิต ค. เงินกูย้ มื จากสถาบันการเงินในประเทศ ง.

เงินกูย้ มื จากรัฐบาลต่างประเทศ

48. เหตุการณ์ใดเริ่ มให้โลกเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ยคุ ใหม่ ก. การปฏิวตั ิวทิ ยาศาสตร์ ข. การปฏิวตั ิเกษตรกรรม ค. การปฏิวตั ิอุตสาหกรรม 66


ง.

การปฏิรูปศาสนา

49. หลักธรรมในข้อใดที่สอดคล้องกับหลักเศรษฐกิจพอเพียงมากที่สุด ก. ทศพิธราชธรรม ข. ทิฏฐธัมมิกตั ถะ ค. สังคหวัตถุ ง.

สัปปุริสธรรม

50. พวกเลือดผสมระหว่างชาวผิวขาวกับอินเดียนแดง เรี ยกว่าอะไร ก. เมสติโซ ข. มูแลตโต ค. แซมโบ ง.

คาริ บ

67


เฉลยข้ อสอบ

68


1. ค

2. ค

3. ข

4. ง

5. ก

6. ข

7. ค

8. ง

9. ง

10. ข

11. ค

12. ง

13. ก

14. ข

15. ค

16. ง

17. ง

18. ข

19. ข

20. ข

21. ก

22. ค

23. ง

24. ก

25. ค

26. ข

27. ง

28. ข

29. ข

30. ง

31. ง

32. ข

33. ก

34. ค

35. ก

36. ก

37. ข

38. ง

39. ค

40. ก

41. ค

42. ค

43. ข

44. ง 69


70

45. ก

46. ค

47. ค

48. ก

49. ข

50. ก


รองปกหลัง

รองปกหลัง

¼

¼

5,000.- บาท

5,000.- บาท

รองปกหลัง

รองปกหลัง

¼

¼

5,000.- บาท

5,000.- บาท


รองปกหลัง ครึ่งหน้ า 10,000.- บาท

รองปกหลัง ครึ่งหน้ า 10,000.- บาท


รองปกหลัง ครึ่งหน้ า 10,000.- บาท

รองปกหลัง ครึ่งหน้ า 10,000.- บาท


รองปกหลัง เต็มหน้ า 20,000.- บาท


รองปกหลัง เต็มหน้ า 20,000.- บาท


ปกใน ด้ านหลัง ครึ่งหน้ า 15,000.- บาท

ปกใน ด้ านหลัง ครึ่งหน้ า 15,000.- บาท


ปกใน ด้ านหลัง เต็มหน้ า 30,000.- บาท



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.