The reckon epitome 1

Page 1

ปกนอก


ปกใน ด้ านหน้ า เต็มหน้ า 30,000.- บาท



ตรียมอุดมศึกษา มักอยู่ในกรอบเป้าหมายในการเรียนต่อในชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 ของน้องๆ มัธยมศึกษาปีที่ 3 หลายๆคน จากคาแนะนาของ รุ่นพี่บ้างก็ดี จากผลงานของรุ่นพี่เตรียมฯบ้างก็ดี แต่คงปฏิเสธไม่ได้ว่า การที่

น้องจะเข้าเรียน ณ ที่แห่งนี้ การจะได้มาซึ่งพระเกี้ยวที่ประดับบนอกนั้นยากเพียงใด เพราะน้องต้องใช้ความรู้ที่กว้างและหลากหลาย ทั้งยังต้องแข่งขันกับเพื่อนต่างโรงเรียน อีกเป็นจานวนมาก หนังสือ EPITOME – the perfect example RECALL เล่มนี้ เป็นหนังสือสรุปเนื้อหาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 3 วิชา คือ ภาษาอังกฤษ,ภาษาไทย และสังคม พร้อมตัวอย่างโจทย์ในแต่ละวิชา รวมถึงเคล็ดลับการเตรียมความพรอม ในการสอบเขาของรุนพี� ที่พี่ๆสายการเรียนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ ห้อง 943 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาไดจัดทําขึ้น เพื่อใหนองๆนําไปเปนแนวทาง ในการเตรียมความพรอม เพื่อการสอบคัดเลือกเขาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา และโรงเรียนชั้น นําอื่นๆ พี่ๆหวังเป็นอย่างยิ่งว่าน้องๆจะได้ประโยชน์จากหนังสือเล่มนี้ไม่มากก็น้อย หากมีข้อผิดพลาดประการใด น้องๆสามารถติดต่อมาได้ที่อีเมลล์ epitome@tu77943.com เพื่อเป็นการแก้ไขและพัฒนาในการพิมพ์ครั้งต่อไป คณะผู้จัดทา EPITOME


THE PERFECT EXAMPLE

วิชาภาษาอังกฤษ

1-59

Summary (หัวข้อ)

2

Agreement of Subject and verb

3

Direct and Indirect Speech

4-7

If Clauses Non-Finite Verb Tense

8 9-11 12-16

Which Clauses

17

Meaning in Context (เทคนิคการทาโจทย์)

18

Odd one out, Synonym-Antonym (เทคนิคการทาโจทย์)

19

Exercise EPITOME I

20-23

Answer Key

24-25

EPITOME II

26-31

Answer Key

32-33

EPITOME III

34-39

Answer Key

40-42

EPITOME IV

43-47

Answer Key

48-49


THE PERFECT EXAMPLE EPITOME V

50-57

Answer Key

58-59

วิชาภาษาไทย

60-107

ศิลปะการประพันธ์ในวรรณคดีไทย

61-67

คาประพันธ์ชนิดต่างๆ

68-72

สานวนไทยที่ควรรู้

73-74

คาไวพจน์

75-76

การอ่านคา

77-78

คาราชาศัพท์และการใช้

79-80

เสียง สระ พยัญชนะ แต่อักษรในภาษาไทย

81-82

คามูล คาประสม คาซา คาซ้อน

83

คายืมจากภาษาต่างประเทศ

84-86

คาสมาส คาสนธิ

87

ชนิดของประโยค

88

โจทย์ชุดที่ 1

89-96

โจทย์ชุดที่ 2

97-104

เฉลยโจทย์ชุดที่ 1

105-106

เฉลยโจทย์ชุดที่ 2

107


THE PERFECT EXAMPLE

วิชาสังคม

111-190

ศาสนา

112-131

เศรษฐศาสตร์

132-141

ประวัติศาสตร์

142-155

หน้าที่พลเมือง

156-160

ภูมิศาสตร์

161-174

ตัวอย่างข้อสอบ+เฉลยข้อสอบ

175-190


1 | ห น้ า

วิชาภาษาอังกฤษ


2

|

ห น้ า

ในสวนวิชาภาษาอังกฤษ พี่ๆจะแบ่งให้น้องดังนี้ 1. เนื้อหา 1.1 Grammar 1.1.1 Agreement of subject and verb 1.1.2 Direct and Indirect speech 1.1.3 If-clauses 1.1.4 Non-finite verb 1.1.5 Tense 1.2 Vocabulary – สรุปแนวทางในการทาข้อสอบ vocabulary part 1.2.1 Meaning in Context 1.2.2 Odd one out 1.2.3 Synonym - Antonym 2. EPITOME Test มีทั้งหมด 5 ชุด ชุดละ 30 ข้อ

วิชาภาษาอังกฤษ


3 | ห น้ า

♥Agreement of Subject and Verb♥ 1. One of the + N.พหูพจน์ + V.เอกพจน์= หนึ่งในจานวนมากๆ เช่น One of the boys is sick. 2. Both 1 and 2 + V.พหูพจน์= ทั้ง 1 และ 2 เช่น Both the captain and the crew are having dinner. 3. Neither 1 nor 2 + V.ตามประธานตัวที่2 = ไม่ทั้งคู่ เช่น Neither Ann nor her friends have gone home. 4. Either 1 or 2 + V.ตามประธานตัวที่2 = ไม่อันใดก็อันหนึ่ง เช่น Either the waiter or the maids have to be responsible. 5. Not only 1 but also 2 + V.ตามประธานตัวที่2= ไม่เพียงแต่ 1 แต่ยัง 2 เช่น Not only him but also his friends have to be punished. 6. 1 as well as 2 + V.ตามประธานตัวที่1= เช่นเดียวกันกับ accompanied by with together with เช่น John, accompanied by his friends, has gone fishing. 7. The number of + N.พหูพจน์ + V.เอกพจน์ = จานวน เช่น The number of cars is increasing. 8. A number of + N.พหูพจน์ + V.พหูพจน์ = จานวน เช่น A number of students were late this morning. 9. Someone Everyone Anyone None Somebody Everybody Anybody Nobody + V Something Everything Anything Nothing เช่น Nobody is perfect. 10. The + old , blind , dumb , rich + V. พหูพจน์ sick, deaf , handicapped , poor เช่น The wounded were taken to the hospital.

วิชาภาษาอังกฤษ


4

|

ห น้ า

♥Direct and Indirect Speech♥ สำหรับบทนี้นะคะ เป็นเรื่องที่ว่ำด้วยกำรเอำคำพูดที่พูดไปแล้วมำคุยกันอีกครั้งอำจเป็นกับ คนอื่นที่ไม่ได้อยู่ในเหตุกำรณ์ด้วย เช่น เรำบอกเพื่อนว่ำเมื่อคืนณเดชน์ชมเรำว่ำสวยอย่ำงนั้นอย่ำงนี้ อิอิ>_< Direct Speechคือ กำรยกคำพูดจริงๆของผู้พูดทั้งหมดมำเล่ำให้ฟังโดยไม่เปลี่ยนแปลง โดยใส่คำพูดนั้นไว้ในเครื่องหมำยคำพูด “…” โดยมี comma ,คั่นกลำงระหว่ำงประโยคที่ยกมำพูด ถึง และ ประโยคหลัก โดยประธำนที่อยู่ในเครื่องหมำยคำพูดจะต้องเป็นตัวใหญ่เสมอ เช่น He said, “I will clean the house.” “My name is Mike”, he said. Indirect Speech (Reported Speech)คือ กำรนำคำพูดมำรำยงำนให้ผู้อื่นฟัง หรือ กำรดัดแปลงคำพูดมำให้เป็นคำพูดของผู้เล่ำนั่นเอง (กำรเอำเฉพำะใจควำมมำบอกไม่ได้ใส่ประโยค ไว้ในเครื่องหมำยคำพูดเหมือนอันแรกอ่ะค่ะ ^_____^) เช่น He said he would clean the house. โดยกำรพูดแบบ Indirect speech นั้นอำจต้องมีกำรเปลี่ยนแปลงในหลำยๆจุด ดังต่อไปนี้ ตำรำงกำรเปลี่ยน Tense ใน Indirect Speech Direct Speech Indirect Speech Present simple Tense

Past simple Tense

Present continuous Tense

Past continuous Tense

Past simple Tense

Past perfect Tense

Past Continuous Tense

Past Perfect Continuous Tense

Present perfect Tense

Past perfect Tense

Future simple Tense (will) Future in past forms Tense (would)

Direct Speech

Indirect Speech

Can

Could

วิชาภาษาอังกฤษ


5 | ห น้ า May

Might

Shall

Should

Must

Had to

คำระบุเวลำที่ต้องเปลี่ยนรูปใน Indirect Speech Direct Speech Indirect Speech ago

before, earlier

a year/month ago

a year/month before, the previous year/month

last… (night/week/moth/year)

the…before, the previous…

next… (night/week/moth/year)

the following…, the…after

now

then, at that time

the day before yesterday

two days before

the day after tomorrow

Later in two days time, two days late

today

that day

tomorrow

the following day, the next day

tonight

that night

yesterday

the day before, the previous day

วิชาภาษาอังกฤษ


6

|

ห น้ า คำที่ต้องเปลี่ยนจำกใกล้ให้เป็นไกลใน Indirect Speech Direct Speech Indirect Speech here

there

these

those

this

that

หลักกำรเปลี่ยนจำกประโยค Direct Speech เป็น Indirect Speech says เป็น says that say to เป็น tell said เป็น said that said to เป็น told ตัวอย่ำงกำรเปลี่ยนประโยค Direct Speech เป็น Indirect Speech Ask / asked (ถำม)

Direct Speech: He asked, “Can I borrow your pen?” Indirect Speech: He asked if he could borrow my pen.

Inquire / inquired (สอบถำม)

Direct Speech: She said to the customer, “Can I have your name, please?” Indirect Speech: She inquired the customer whether or not she could have his name.

Want to know / Wanted Direct Speech: He said to me, “Do you have children?” to know (อยำกรู้) Indirect Speech: He wanted to know whether I had children or not. Wonder / Wondered (สงสัย)

Direct Speech: He said, “Is it delicious?” Indirect Speech: He wondered if it was delicious.

วิชาภาษาอังกฤษ


7 | ห น้ า ประโยคคำถำมที่ขึ้นต้นด้วย Question Words (Wh- Questions) มีหลักกำรเปลี่ยนดังนี้ 1.) ใช้กริยำนำในประโยคหลัก เช่นเดียวกับกำรสร้ำง Indirect Question สำหรับประโยคคำถำมที่ ขึ้นต้นด้วยกริยำช่วย (Yes/No Questions) 2.) ใช้ Question words ซึ่งได้แก่ Who, Whom, What, Which, When, Why, Where และ Howเป็นตัวเชื่อม 3.) ทำประโยคให้อยู่ในรูปของประโยคบอกเล่ำ และตัดเครื่องหมำย “?” ออก ตัวอย่าง - Direct Speech: He said to me, “Where are the apples?” Indirect Speech: He asked me where the apples were. - Direct Speech: He asked, “Where are you going?” Indirect Speech: He asked where I was going. - Direct Speech: She said to him, “How did you make it?” Indirect Speech: She asked him how he had done it.

วิชาภาษาอังกฤษ


8

|

ห น้ า

♥If Clauses♥ 1.

พี่จะเน้นให้น้องๆได้เห็นตัวอย่ำงประโยคเยอะๆเพื่อช่วยในกำรจำนะคะ ;3 If + Present Simple, Present Simple

วิธีใช้ ใช้กับเหคุกำรณ์ที่เป็นควำมจริง เช่น If you get here before seven, we can catch the early train. (ถ้ำคุณมำถึงที่นี่ก่อน 7 โมง เรำก็สำมำรถขึ้นรถไฟไปได้เร็ว) I can’t drink alcohol if I have to drive. (ฉันไม่สำมำรถดื่มแอลกอฮอล์ถ้ำฉันต้องขับรถ) 2. If + Present Simple, Will + V1 วิธีใช้ ใช้กับเหคุกำรณ์ที่เป็นเหตุเป็นผลซึ่งกันและกัน เช่น If I have enough money, I will go to Japan. (ถ้ำฉันมีเงิน ฉันจะไปญี่ปุ่น) If he is late, we will have to start the meeting without him. (ถ้ำเขำมำสำย เรำจะต้องเริ่มกำรประชุมโดยไม่มีเขำ) 3.

If + Past Simple, would + V1 (would แปลว่า น่าจะ)

วิธีใช้ ใช้กับเหคุกำรณ์ที่ตรงข้ำมควำมจริงในปัจจุบัน หรือ อนำคต เช่น If I knew her name, I would tell you. (ถ้ำฉันรู้ชื่อเธอ ฉันก็น่ำจะบอกคุณ) → จริงๆ แล้วไม่รู้จักชื่อเธอ She would be safer if she had a car. (เธอน่ำจะปลอดภัยกว่ำนี้ ถ้ำเธอมีรถ) → จริงๆ แล้วเธอไม่มีรถ 4. If + Past perfect, would have + V3 (Past perfect -> Had + V3) วิธีใช้ ใช้กับเหคุกำรณ์ที่ตรงข้ำมควำมจริงในอดีต เช่น If you had worked harder, you would have passed your exam. (ถ้ำคุณขยันให้มำกกว่ำนี้ คุณก็น่ำจะสอบผ่ำน) →จริงๆสอบตกไปแล้ว I would have been in big trouble if you had not helped me. (ฉันน่ำจะมีปัญหำไปแล้ว ถ้ำคุณไม่ได้ช่วยฉันไว้) → จริงๆคุณช่วยฉันไว้

วิชาภาษาอังกฤษ


9 | ห น้ า

♥Non-Finite Verb♥ Non-Finite Verb ( กริยาไม่แท้ ) คือ คำกริยำที่ไม่ได้นำมำใช้เป็นคำกริยำแท้ แต่ถูก นำมำใช้เป็นอย่ำงอื่น เช่น แทนนำม ,แทนคำวิเศษณ์ ฯลฯ โดยส่วนใหญ่ กริยำแท้ จะอยู่หน้ำ กริยำ ไม่แท้Non-Finite Verb แบ่งได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่ • Infinitive :กริยำที่มี to นำหน้ำ อยู่ในรูป to + V.1 เช่น Pam agreed to leave this park. ( agreed เป็น V.แท้ อยู่หน้ำ to leave ที่เป็น Infinitive ) • Gerund :กริยำที่เติม –ingต่อท้ำย นิยมถูกใช้เป็นคำนำม เช่น Smoking is bad to your health. ( smoking เป็น gerund ถูกใช้แทนคำนำมเป็นประธำนของประโยค ) *** preposition ทุกตัว ใช้กิริยำเติม ing (gerund) ตำมหลัง*** • Participle :คำกริยำที่เติม ingและ กริยำช่องที่3 จำแนกตำมรูปแบบมี 2 ชนิด - Present Participle : กริยำ+ingเช่น walking ,jumping ,having หลักการใช้= ประธำนเป็นผู้กระทำเอง ตัวอย่างประโยค=The girl sleeping on the bed is my sister. (เด็กผู้หญิงที่นอนอยู่บนเตียงคือน้องสำวของฉัน) - Past Participle : กริยำช่อง3 เช่น walked ,jumped ,had หลักการใช้= ประธำนเป็นผู้ถูกกระทำ ตัวอย่างประโยค= The house built by Jim was collapse. (บ้ำนหลังที่ถูกสร้างโดยจิมพังแล้ว) Verb ส่วนใหญ่นั้นจะแบ่งเฉพำะเลยว่ำ verb ตัวไหน เติม to เป็น infinitive, ตัวไหน เติม ingเป็น gerund, แต่ก็จะมีบำงตัวที่ เติมได้ทั้ง to และ ing, และก็ยังมีบำงตัวที่เติม V.infinitiveไม่เติม to หรือ ingพี่ได้ทำกำรรวบรวมสรุป verb ในแต่ละส่วนที่สำคัญและพบบ่อยไว้ ให้แล้ว น้องๆเอำสำมหน้ำนี้ถ่ำยเก็บไว้ในโทรศัพท์มือถือ หรือ ถ่ำยเอกสำรแปะกำแพง ท่องบ่อยๆ ได้จะดีมำกเลยค่ะ ̴ ปล. พี่รวม Gerund ไว้ให้ พี่แนะนำว่ำให้ท่องเฉพำะgerundที่เหลือเป็นinfinitiveเพื่อที่ น้องๆจะได้มีพื้นที่ว่ำงในสมองสำหรับจำเรื่องอื่นๆนะคะ จุ้บๆ♥

วิชาภาษาอังกฤษ


10

|

ห น้ า

Gerund ( Verb+ing )ได้แก่ Gerund Meaning admit ยอมรับ compar เปรียบเทียบ e delay ทำให้ช้ำ dislike ไม่ชอบ excuse แก้ตัว forgive ยกโทษ mentio อ้ำงถึง n practice ฝึกฝน resist ต้ำนทำน stop หยุด put off postpone can't help can't stand It's no use

Gerund Meaning appreciate ซำบซึ้ง confess สำรภำพ

Gerund avoid consider

Meaning หลีกเลี่ยง พิจำรณำ

deny enjoy fancy imagine mind

ปฏิเสธ สนุก จินตนำกำร จินตนำกำร รังเกียจ

detest escape finish involve miss

รังเกียจ หลบหนี เสร็จ เกี่ยวข้อง พลำด

postpone risk give up

เลื่อน เสี่ยง (=stop)

recognize suggest carry on

จำได้ แนะนำ / go on

can't bear to be worth keep or keep on (= do something continuously or repeatedly) Verb กลุ่มนี้ ตามด้วย-ingหรือตามด้วย object to +… advise (แนะนำ) recommend (แนะนำ) permit (อนุญำต) encourage (สนับสนุน) allow (อนุญำต) forbid (ห้ำม) Verb กลุ่มนี้ ตามได้ทั้ง Infinitive และ gerund advise (แนะนำ) attempt (พยำยำม) bear (ทน) begin (เริ่มต้น) cease (หยุด) continue (ทำต่อ) dislike (ไม่ชอบ) fear (กลัว) hate (เกลียด) intend (ตั้งใจ) learn (เรียนรู้) like (ชอบ)

วิชาภาษาอังกฤษ


11 | ห น้ า love (รัก) plan (วำงแผน) propose (เสนอ)

omit prefer start

(ละเลย) (ชอบ) (เริ่มต้น)

Verbที่เมื่อเป็น gerund หรือ infinitive มีความหมายต่างกัน forget to write = ลืมที่จะเขียน forget writing = ลืมกำรเขียนนั้นไป I forget to write to her. ฉันลืมเขียนไปหำเธอ (ยังไม่ได้เขียน) I forget writing the letter. ฉันลืมกำรเขียนจดหมำยนั้น (เขียนแล้วแต่ลืมไปว่ำได้เขียน) remember to write = จำว่ำจะเขียน remember writing = ยังจำกำรเขียนนั้นได้ He remembered to write her. เขำยังจำได้ว่ำจะเขียนถึงเธอ (ยังไม่ได้เขียน) He remembered writing her. เขำยังจำกำรเขียนจดหมำยไปถึงเธอได้ (เขียนแล้วจำได้) regret to write = เสียใจที่จะเขียน regret writing = เสียใจที่เขียนไปแล้ว I regret to write to her. ฉันเสียใจที่จะเขียนจดหมำยไปถึงเธอ (แต่ฉันก็จะเขียน) I regret writing to her. ฉันเสียใจที่ได้เขียนจดหมำยไปถึงเธอ (เขียนไปแล้วจึงเสียใจ) try to write = พยำยำมจะเขียน try writing = ลองเขียนดู He tried to write to her.เขำพยำยำมจะเขียนจดหมำยถึงเธอ (แต่ยังไม่ได้เขียน) He tried writing to her.เขำลองเขียนจดหมำยถึงเธอ (เขียนแล้วเผื่ออำจจะมีควำมหวัง)

วิชาภาษาอังกฤษ


12

|

ห น้ า

♥Tense♥ สำหรับเรื่อง Tense นี้ จะมีอยู่ด้วยกัน12 tense อย่ำงที่น้องๆเคยเรียนกันไปนะคะ โดย แต่ละ tense เนี่ยก็จะมีโครงสร้ำงแล้วก็รูปแบบกำรใช้ในโอกำสต่ำงๆกันไปนะคะ โดยส่วนใหญ่เนี่ย ประโยคในภำษำอังกฤษก็มักจะมีตัวระบุเวลำที่คอยบอกว่ำเรำควรจะต้องใช้ tense ไหน เช่น yesterday, next week นั่นเอง ☺ 12 Tense ก็จะแบ่งเป็นสำมกำล หรือก็คือสำมกลุ่มใหญ่ๆ ได้แก่ • Present Tense = ปัจจุบัน • Past Tense = อดีต • Future Tense = อนำคต โดยที่สำมกลุ่มนี้นะคะก็จะสำมำรถแยกออกได้อีกกลุ่มละ 4 กลุ่มย่อย รวมเป็น 12กลุ่ม 12tenseนั่นเอง - Simple :แสดงเวลำที่ไม่ได้กำหนดว่ำจะทำเสร็จตอนไหน - Continuous :แสดงเวลำเมื่อกำลังทำอยู่ ( continue = ทำต่อไป ก็เหมือนกำลังทำอ่ะอิอิ:D ) - Perfect :แสดงเวลำเมื่อทำเสร็จไปแล้ว - Perfect Continuous :แสดงเวลำเมื่อได้เริ่มทำไปแล้ว และยังทำอยู่ 1.Present Simple Tense S + V1 (s/es) - ใช้กับเหตุกำรณ์ที่เป็นจริงเสมอ เป็นสัจธรรม เช่น พี่ๆห้อง943หน้ำตำดีที่สุดในสำย วิทย์-คอมเอ้ยๆผิดๆ555 ต้องแบบพระอำทิตย์ขึ้นทำงทิศตะวันออก หรือ น้ำเดือดที่ 100 องศำเซลเซียส เป็นต้นนะคะXD - ใช้กับสิ่งที่ทำเป็นประจำในปัจจุบัน เช่น ฉันไปโรงเรียนทุกวัน ( ส่วนใหญ่จะมีคำบอก เช่น always , usually , often )

วิชาภาษาอังกฤษ


13 | ห น้ า 2. Present Continuous Tense S + V. to be + V.ing - ใช้กับเหตุกำรณ์ที่กำลังดำเนินอยู่ ( แต่นิยมไม่ใช้กับ verb of feeling เช่น smell ) - ใช้กับเหตุกำรณ์ที่กำลังจะเกิดในอนำคตอันใกล้ เช่น I’m going to theatre tonight. 3. Present Perfect Tense S + has/have + V3 - ใช้กับเหตุกำรณ์ในอดีตที่ทำต่อเนื่องมำถึงปัจจุบันแบบพึ่งจะจบลงตะกี้แบบสดๆร้อนๆ ( มักมีคำว่ำ since ,for ,ever ,never ,already ,just ,yet ,lately ,recently ) 4. Present Perfect Continuous Tense S + has/have + been + V.ing - ใช้กับเหตุกำรณ์ในอดีต ดำเนินมำถึงปัจจุบัน และอำจดำเนินต่อไปอีกในอนำคต

*** น้องๆอำจจะสงสัยว่ำ present perfect กับ present perfect continuosต่ำงกันตรงไหน ก็ทั้ง 2 อันเนี่ย จะ คล้ำยๆกันเลยค่ะ เพียงแต่ถ้ำเป็น present perfect continuosเนี่ยจะเน้นควำมต่อเนื่องมำกกว่ำ เช่น เวลำน้องนัด กับแฟนแล้วแฟนน้องมำสำย น้องก็บ่นกับแฟนว่ำ “ เนี่ย! เรำรอ ตะเองมำตั้งแต่บ่ำยโมงแล้วนะ “ ก็จะนิยมใช้ present perfect continuous เพื่อแสดงให้เห็นว่ำแบบรอมำอย่ำงยำวนำน ต่อเนื่องตั้งแต่บ่ำยโมงไม่ได้ไปไหนเลยนะ ***

วิชาภาษาอังกฤษ


14

|

ห น้ า

5. Past Simple Tense S + V2 - ใช้กบั เหตุกำรณ์ที่จบไปแล้วในอดีต - ใช้กับเหตุกำรณ์ที่เคยทำในอดีต “used to” เช่น I used to sing that song when I was nine. ( มักมีคำบอกเวลำ yesterday ,ago ,in 1998 ,the other day เป็นต้น ) ** แต่ถ้ำเป็น Verb to be +get used to + V.ingแปลว่ำเคยชิน 6. Past Continuous Tense S + was/were + V.ing - ใช้กับเหตุกำรณ์ที่กำลังดำเนินอยู่ในอดีต - ใช้เป็นคู่หูดูโอ้กับ Past Simple Tenseเมื่อมีเหตุกำรณ์หนึ่งกำลังดำเนินอยู่ในอดีต (ใช้ past continuous tense) ก็มีอีกเหตุกำรณ์หนึ่งเข้ำมำแทรก (ใช้ past simple tense) >>past/conกาลังดาเนิน โอ๊ะ! past/simก็เข้ามาแทรก << ท่องเป็นจังหวะจะช่วย ให้จำง่ำยขึ้นนะคะ ( past/con หมำยถึง past continuous tense และ past/sim หมำยถึง past simple tense นะคะ ) เช่น While I was sleeping, my father left home. 7. Past Perfect Tense S + had + V3 - ใช้เป็นคู่หูดูโอ้กับ Past simple Tense เมื่อมีเหตุกำรณ์ 2 เหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต เหตุกำรณ์ที่เกิดก่อนหรือเป็นอดีตมำกกว่ำจะใช้ past perfect tense ส่วนเหตุกำรณ์ ที่เกิดหลังหรือเป็นอดีตน้อยกว่ำจะใช้ past simple tense >>past/perเกิดก่อน past/simเกิดตามมา <<จำไว้ว่ำรำกศัพท์คำว่ำper แปลว่ำ ก่อน เพรำะฉะนั้น past/per จึงเกิดก่อน past/sim XD ( past/per หมำยถึง past perfect tense และ past/sim หมำยถึง past simple tense นะคะ ) เช่น He had finished his homework before his mom got home.

วิชาภาษาอังกฤษ


15 | ห น้ า 8. Past Perfect Continuous Tense S + had + been + V.ing - ใช้กับเหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้นในอดีตและดำเนินมำเรื่อย และอำจดำเนินต่อไปอีก คล้ำย past perfect tense แต่เน้นควำมต่อเนื่องมำกกว่ำ 9. Future Simple Tense S + will/shall + V. infinitive - ใช้กับเหตุกำรณ์ที่จะเกิดในอนำคต ( มักมีคำบอกเวลำ tomorrow ,next week ,soon ) - เมื่อมี Main clause ให้ใช้ future simple tense แต่ถ้ำมี subordinate clause ให้ใช้ present perfect จะมีคำเชื่อม ได้แก่ if ,unless ,when ,until ,as soon as ,before ,after ,now that ,by the time that S + V. to be + going to + V.infinitive - แสดงควำมตั้งใจ หรือคำดคะเนจำกสัญญำณ,หลักฐำน เช่น The snow is going to ruin my plants. I have to recall what I am going to pack. 10. Future Continuous Tense S + will/shall + be + V.ing - ใช้เพื่อบอกว่ำจะเกิดเหตุกำรณ์ ณ จุดเวลำ จุดหนึ่งในอนำคต เป็นกำรเจำะจงเวลำใน อนำคตอย่ำงชัดเจน เช่น I will be flying to Singapore at this time tomorrow. 11. Future Perfect Tense S + will/shall + have + V3 - ใช้กับเหตุกำรณ์ที่จะเกิดในอนำคต และจะจบในช่วงเวลำหนึ่งในอนำคตข้ำงหน้ำ ( มักมีคำบอกเวลำ by next week , by next 3 years เป็นต้น ) เช่น Bob will have finished his first novel by tomorrow night.

วิชาภาษาอังกฤษ


16

|

ห น้ า

12. Future Perfect Continuous Tense S + will/shall + has/have + been + V.ing - ใช้กับเหตุกำรณ์ที่ทำมำยำวนำนเว่อๆแบบทำตลอดๆไม่ได้หยุดแล้วก็จะดำเนินต่อไปอีก ในอนำคต เช่น By May of this year, I will have been teaching for 10 years.

Others Another + N.เอกพจน์ Other + N.พหูพจน์ The other + N.เอกพจน์ / พหูพจน์ Othersไม่มีนำมตำมมำ The othersไม่มีนำมตำมมำ

อื่น,อีก อื่น ที่เหลือสุดท้ำย พวกที่เหลือ พวกที่เหลือ (เจำะจง)

☺ค่ะ วันนี้พี่ๆก็มี Tips การจามาให้น้องๆนะคะ คือ ถ้ำเป็น other ที่เติม s ทั้งหลำย ไม่ว่ำจะมี the หรือไม่ ->ไม่มีนำมตำมมำ ส่วนพวกตัวที่ไม่เติม s ต่อท้ำย another ขึ้นต้นด้วย a ->นำมเอกพจน์ (เหมือนแบบนำมเอกพจน์มีอันเดียวก็ a cat ,a dog คือมี a อ่ะค่ะ 5555) otherขึน้ ต้นด้วย o ก็ “ โอ้ ! มีเยอะเหลือเกิน “ ->นำมพหูพจน์ -..-555 the other ปกติ article “the” จะเติมได้ทั้งเอก+พหู ->นำมเอกพจน์/พหูพจน์ การเรียงลาดับ : One…. ,another….. ,another….. ,the other. สานวนเพิ่มเติม เช่น every other day = วันเว้นวัน☺

วิชาภาษาอังกฤษ


17 | ห น้ า

♥Wish Clauses♥ สรุปหลักการใช้และโครงสร้างของ Wish Wish หมำยถึง กำรแสดงควำมปรำรถนำซึ่งตรงข้ำมกับควำมเป็นจริง 1. แสดงความปรารถนาในอดีต had + V3 คือ เกิดเหตุกำรณ์ในอดีตซึ่งปรำรถนำหรือหวังให้เป็นอย่ำงหนึ่ง แต่ควำมจริงไม่เป็นเช่นนั้น เช่น NadechwishesYayahad paid attention to him last night. ( ณเดชน์ปรำรถนำให้ญำญ่ำให้ควำมสนใจแก่เขำเมื่อคืนนี้ ความจริงญำญ่ำไม่ให้ควำมสนใจแก่ณเดชน์เมื่อคืนนี้ ) 2. แสดงความปรารถนาในปัจจุบัน V.2 หรือ was/were + V.ing เช่น I wish I kissed Lee min ho. They wish they were swimming now. 3. แสดงความปรารถนาในอนาคต would + V.1 เช่น I wish this relationship would end tomorrow. ( ฉันปรำรถนำให้ควำมสัมพันธ์นี้จบลงพรุ่งนี้ อยำกให้ควำมสัมพันธ์จบแต่ในควำม เป็นจริงคงไม่ง่ำยขนำดนั้น จึงตรงข้ำมกับควำมจริง ) Blow out = extinguish =ดับไฟ Blow up = send up = explode =ระเบิด

วิชาภาษาอังกฤษ


18

|

ห น้ า

♥Meaning in context♥ บทนี้วัดควำมเข้ำใจของน้องในเรื่องของบริบทของคำศัพท์ ซึ่งขึ้นอยู่กับว่ำน้องรู้จักคำศัพท์ มำกแค่ไหน ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับประสบกำรณ์ของน้องเอง น้องอำจเจอตำมสื่อ เช่น หนังสือพิมพ์ นว นิยำย เรื่องสั้น เป็นต้น คำว่ำบริบท (Context) คืออะไร? บริบท คือคำหรือข้อควำมแวดล้อมที่ช่วยให้เข้ำใจควำมหมำยของคำบำงคำ อำจอยู่ในรูป ประโยคSentence หรือวลี phrase แนวทำงในกำรทำข้อสอบ Meaning in context

วิชาภาษาอังกฤษ


19 | ห น้ า

♥Odd one out♥

Odd one out ส่วนใหญ่แล้วจะออกเกี่ยวกับMeaning in context, prefix-suffix, part of speech etc.

♥Synonym – Antonym♥ น้องอำจจะคุ้นเคยกันดีอยู่แล้วกับบทนี้ เพรำะเป็นบทที่นิยมในกำรออกข้อสอบ Synonym– Antonym ที่เลือกใช้ก็ขึ้นอยู่กับระดับที่เรียน ถ้ำระดับสูง คำก็ยิ่งซับซ้อน(แต่ในชีวิตประจำวันเรำก็ มักใช้คำง่ำยๆกัน) เช่น คำว่ำพยำยำม (try) เวลำใช้ง่ำยๆ ก็ใช้เป็น I’d tried to do something. ตัวอย่ำง Synonym ของ try คือ attempt หรือ effort (An attempt; an effort to accomplish something)

วิชาภาษาอังกฤษ


20

|

ห น้ า

EPITOME I Directions: Complete the conversation by filling in the gaps with the MOST appropriate phrases. At the Chemist's A: Can you 1 this prescription for me, please? B: Certainly, madam. Will you 2 or will you 3 later? A: How long will it take? I am not 4 . B: Only five minutes. Perhaps there's 5 you'd like while you're here. A: Yes, there is, 6 . I need a sponge, 7 toothpaste and some 8 . Oh, and can you recommend something for headaches? B: These tablets are very good. 9 doctors are prescribing them nowadays. A: All right. I'll take the 10 those. B: Will that be all, madam? A: Yes, 11 the medicine from the prescription. Will it be ready now? B: Not quite, but it won't be a minute. Why don't you 12 ? 1. a.make up b.make out c.make off d.make for 2. a.wait at it b.wait for it c.wait it d.waiting for it 3. a.call up b.call on c.call for d.call back 4. a.in hurry b.in any a hurry c.in any hurry d.hurry 5. a.anything else b.something for c.something else d.anything for

วิชาภาษาอังกฤษ


21 | ห น้ า 6. a.as fact c.therefore 7. a.a roll of c.a piece of 8. a.toilet soap c.soap in toilet 9. a. A great deal of c. A good deal of 10.a.cup of c.amount of 11.a.except that c.except for 12.a.take a seat c.pick a seat

b.as a matter of fact d.however b.a bottle of d.a tube of b.soap toilet d.soap of toilet b. A lot of d. Plenty b.pair of d.bottle of b.apart for d.anyway b.make a seat d.reserve a seat

Directions: Identify the four underlined parts of each sentence below that makes the sentence incorrect. 13.It a.is a different story in b.the northeast of the country, where drought is destroying thousands of people's livelihoods and c.forces another wave of d.emigrants to abandon their homes to the countryside. 14.a.Served as b.either business tools or c.recreational devices, computers d.are increasingly popular. 15.During the a.1980's, the b.incoming gap between the richest and the poorest Americans c.widened significantly, and it d.continued to expand in the 1990's. 16.a.Because of the workers approached their jobs with very little b.interest and almost c.no energy, their productivity was, not d.surprisingly, very low.

วิชาภาษาอังกฤษ


22

|

ห น้ า

17.The practice of a.renaming a street Martin Luther King Boulevard b.has been adopted c.through many cities tod.honor the civil rights leader. 18. Many changes a.occurred while sheb.was president of the college; these changes increased c. both the educational quality and d. effectivity of the college. 19.a.Although the global food crisis b. isc.the most obvious in the tropics, the d.temperate zones may have a similar problem soon. 20.a.Even though the situation is changing so rapidly, b. any plans we make c. to deal with the emergency can be d.no more than tentative. Directions: choose the right answer from the four alternatives given below. 21.She rang _____. I must have said something to upset her. a. up b. round c. back d. off 22.Anything I can help you _____? a. in b. on c. for d. with 23.Make sure you arrive in Bangkok _____ day. a. by b. in c. on d. at 24.Last month we sold a lot of air-conditioners. This was _____ a very hot summer. a. because b. due to c. the reason why d. on condition that 25.The _____ of his father made him so miserable. a. loss b. lost c. lose d. loose

วิชาภาษาอังกฤษ


23 | ห น้ า Direction : Choose the word which does not relate to other three words. 26.Meaning a. enormous b. gigantic c. abnormal d. huge 27.Meaning a. forecast b. imply c. anticipate d. predict 28.Which word has different vowel pronouncing from the others? a. Sweet b. Squeeze c. Speed d. Suite 29.Which word has the different sound from the others? a. Score b. More c. Door d. Moor 30.Which word is the odd one? a. Luxurious b. Economical c. Convenient d. Happy RESULT : ___ / 3

วิชาภาษาอังกฤษ


24

|

ห น้ า

Answer Key (EPITOME 1) b - เพรำะเรำใช้ write out สำหรับกำรเขียนใบสั่งยำ 2. b - verb ที่ต้องใช้เป็นรูป infinitive 3. d 4. c - เพรำะเรำไม่ใช้ in hurry โดดๆหรือว่ำ hurry ธรรมดำ (in any a hurry ก็ไม่ถูกหลัก Grammar ) 5. c - เป็นกำรเลือกใช้คำในบทสนทนำเรำใช้ is there something else 6. b - เป็นตัวเลือกที่ดีที่สุด (ถึงแม้ว่ำในปกติเรำอำจไม่คุ้นเคย) เวลำเจอกับข้อสอบแบบนี้ต้อง เลือกตัวเลือกที่ดีที่สุดโดย therefore และ however ไม่เข้ำกับบทสนทนำเลยและ as fact ฟังดูก็แปลกมำกๆและถ้ำหำกจะใช้ก็ต้องเป็น as a fact เพรำะ fact เป็น countable noun 7. d - เพรำะยำสีฟันเป็นหลอด 8. a - เพรำะ toilet ขยำย soap (เป็น compound word) และ soap toilet จะแปลว่ำ ห้องน้ำสบู่และตัวเลือก c กับ d ก็ฟังแล้วตลกมำกๆ 9. b - a lot of เหมำะสมที่สุดใน 4 ตัวเลือกสำหรับกำรนับคน 10. d - ยำน่ำจะเก็บในขวด (เพรำะในตัวเลือกไม่มีแผงให้เลือก 555) 11. c - เพรำะตรงกับบทสนทนำมำกที่สุดโดยสังเกตว่ำตัวเลือก b. apart for ต้องเป็น apart from นะ 12. a - เป็นกำรบอกให้นั่งลงก่อนเรำใช้ take a seat 13. c - force -> forcing เพื่อคงรูป parallel structure ของประโยคคือ is v+ing and v+ing 14. a - Served -> Serving เพรำะว่ำ computers ไม่ได้ถูก serve แต่ computers serve 15. b - incoming -> income เพรำะจำกประโยคเรำต้องใช้คำนำม (income) ที่แปลว่ำรำยรับ โดย incoming เป็น adjective ที่แปลว่ำกำลังมำ 16. a - Because of -> Because เพรำะว่ำ because of + noun โดยที่ because + sentence 17. c - through -> by เพรำะเป็น passive voice เรำใช้ by กับผู้กระทำเสมอ 18. d - effectivity -> effectiveness เพรำะ effectivity ไม่มีควำมหมำย 555 19. c - the most -> most 20. a - Even though -> As เพรำะว่ำประโยคให้ใจควำมคล้อยตำมกัน (อำจเป็น Since หรือ อะไรก็ได้บลำๆ) 21. d - rang off = ตัดสำย 22. d - help someone with something 1.

วิชาภาษาอังกฤษ


25 | ห น้ า 23. a 24. b

- due to เพรำะว่ำในประโยคต้องเป็นกำรสนับสนุนกันโดย because + sentece 25. a - loss เป็น noun ซึ่งต้องกำรในช่องว่ำง 26. c - abnormal แปลว่ำไม่ปกติโดยทั้งสำมตัวที่เหลือแปลว่ำใหญ่(มำก) 27. b - imply = indicate the truth or existence of (something) แปลก็ประมำณว่ำบ่งบอก อะไรสักอย่ำงโดยทั้งสำมตัวที่เหลือแปลว่ำคำดกำรณ์ล่วงหน้ำ 28. c 29. a – a, b และ c อ่ำนออกเสียง ออร์ แต่ d. moor อ่ำนออกเสียง มัวร์

30. b - economical แปลว่ำคุ้มค่ำรำคำถูกโดยทั้งสำมตัวที่เหลือแปลได้ในเชิงว่ำสบำย มีควำมสุขสะดวก

วิชาภาษาอังกฤษ


26

|

ห น้ า

EPITOME II Directions: Complete the conversation by filling in the gaps with the MOST appropriate phrases. Jane: Have you made the decision to which university you'll make a transition yet? Adam: No. It's my hardest decision ever. 1_ Jane: No, I haven't either. 2_ Adam: Who shall we talk to, then? Jane: I've no idea. Adam: 3_ Jane: Aw. Well! What about posting a topic on Pantip.com for some suggestions? Adam: 4_Two heads are better than one. Jane: Exactly. 5_ 1. a. By the way, have you? b. Do you think I should go talk with someone? c. Well, well. d. Isn't it? 2. a. Let it go. b. Shouldn't we ask for some advices? c. I don't think it's of any importance since it's not important. d. Well, well. 3. a. Neither do I. b. That's too bad. c. I wish you had one. d. Better luck next time, then.

วิชาภาษาอังกฤษ


27 | ห น้ า 4. a. Really? I don't think it will work. b. Shouldn't you think about it again? c. Of course! d. I think we'd rather post on Yahoo.com. 5. a. Your words can't be more true. b. That's what I'm going to say. c. Of course. d. Without any doubts, with any? Directions: Identify the four underlined parts of each sentence below that makes the sentence incorrect. 6. High school graduates usually do not a.end up earning as much income as college graduates do; thisb.fact explains why so c.many high school students go on to d.pursuing college degrees. 7. a.Despite only two b.inches long, c.the shrew is a mammal and d.therefore a relative of elephants and giraffes. 8. Although courageous, he always a.findsb.himself frightened in c.environmentsd.lacking of light and noise. 9. No matter how nice Adam has always been, Sarah seems a.to not haveb.anyinterestsc.in him regardless of his sincere love d.for her. 10.According to the school's new policy, the gate a.connected to Pathum Wan Schoolb.was shutdown c.so as to prevent the students d.not to leave the school without written permissions. 11.World's climate a.change has always been a serious problem and is b.gettingc.very severe that actions should d.be taken immediately. 12.TriamUdomSuksa School, a school a.thousands of students dream of b.being a student c.of, was d.found in 1937.

วิชาภาษาอังกฤษ


28

|

ห น้ า

13.Children today have a a.great chance of b.growing up in a family c.split by divorce than in any other d.period in American history. 14.Elasticity refers to an a.object’s ability to return b.to its original shape after c.been deformed by d.external pressure. 15.Hollywood was only one of a.several players in the world film market b.until the First World War, c.which film production in Europe almost d.came to a stop. Directions: choose the right answer from the four alternatives given below. 16. Dan said his second-hand car was worth _____. He loved it so much. a. bought b. to buy c. to buying d. buying 17. _____ the tiger, the lion is a member of the cat family. a. Like b. Alike c. Liking d. Likely 18. _____ he is popular, I don't like him. a. Though b. Whether c. Despite d .As 19. In the winter, many animals hibernate, but others, _____ stay active. a. the elk b. are like the elk c. such as the elk d. yet the elk 20. Salt _____ obtained in various ways. a. can be b. when c. when it can be d. that is

วิชาภาษาอังกฤษ


29 | ห น้ า Directions : Choose the choice with the most meaningful for the sentences. 21. Telephone is one of the most important ……. used in homes and offices. a. stuff b. characteristics c. tools d. appliances 22. The score shown that the 1st prize belongs to Samuel, then Sally, Yuji and Ruby ……. . a. confidently b. respectively c. sensitively d. effectively 23. The speakers at the graduation ceremony are always among the most ……. people in the city. a. disgusted b. disliked c. disappointed d. distinguished 24. The criminal was ……. because the judge found a ……. in evidences. a. set free, conflict b. be free, relation c. set free, contradiction d. be free, contradiction 25. After a little girl saw a horror movie, she was ……. with fear. a. shivering b. complaining c. trembling d. convulsing

วิชาภาษาอังกฤษ


30

|

ห น้ า

26. All the players accept the referee’s verdict except the manager who ……. rudely. a. shown up b. acted c. protested d. done Direction : Choose the correct synonyms for the following words. 27.Little a. A lack of b. Significant c. major d. enormous 28.conflict a. b. c. d.

detect cooperative illusion clashing

วิชาภาษาอังกฤษ


31 | ห น้ า Directions : Choose the correct antonym for the following words. 29. Hostile a. Helpful Have something done b. Friendly Get something done c. Cooperative Have someone do d. Ignorant 30. Savage a. Cruel b. Barbaric c. Primitive d. Civilized

something Get someone to do

RESULT : ___ / 30

วิชาภาษาอังกฤษ


32

|

ห น้ า

Answer Key EPITOME 2 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18.

a - เป็นกำรถำมกลับว่ำแล้วเธอล่ะ b - แปลว่ำไม่ลองหำคำแนะนำดูเหรอ a - แปลว่ำฉันก็ไม่รู้เหมือนกัน c - เพรำะในบทสนทนำเป็นกำรสนับสนุนกัน a - เป็นกำรเน้นย้ำ Exactly โดย b และ d ตลกและ c จะซ้ำกับ Exactly d - pursuing -> pursue เพรำะ go on to do something!! a - Despite ->Althoughเพรำะ“only two inches long”ตรงนี้เป็น adjective โดย despite + noun และ although + sentence/adj. d - lacking of -> lacking เพรำะ lack (v) ไม่ต้องตำมด้วย of คือ lack sth. ได้เลยแต่ถ้ำ lack of sth. จะเป็น noun a - to not -> not to d - not to -> from เพรำะ prevent someone from doing sth.!! c - very -> so เพรำะ so + adj. + that + sentence!! d - found -> founded เพรำะ found เป็นช่องสำมของ find ที่ แปลว่ำค้นหำโดย founded เป็นช่องสำม found ที่แปลว่ำก่อตั้ง a - great chance -> greater change (โหดจุง) เพรำะมันเป็น “than”กำรเปรียบเทียบ !!! c - been deformed -> having been deformed เพรำะ after + v.ing ! c - which -> in which / where d - worth doing sth. a - เพรำะ like เป็น preposition ใช้ตรงนี้แล้วให้ควำมหมำยโอเคโดย ที่ alike เป็น adjective นะ a/d - ที่จริงจะให้ถูกที่สุดต้องเป็น a ก็คือถึงแม้ว่ำเขำจะดังฉันก็ไม่ชอบ เขำแต่ในกรณีที่น้องๆตอบ d ก็โอเคนะถ้ำน้องๆหมำยควำมว่ำไม่ชอบ

วิชาภาษาอังกฤษ


33 | ห น้ า

19. 20. 21. 22. 23. 24. 25. 26. 27. 28.

เขำเพรำะว่ำเขำดัง (ประมำณว่ำไม่ชอบคนดัง) ฮ่ำๆๆ c - เป็นกำรยกตัวอย่ำงเช่น the elk ไรแบบนี้ 555 a - แปลว่ำเกลือสำมำรถหำได้จำกหลำยๆช่องทำง d b - แปลว่ำตำมลำดับ d - แปลว่ำโดดเด่น b - โดย set free แปลว่ำปลดปล่อยโดย to be set free (was set free) ก็จะแปลว่ำได้รับกำรปล่อยและ contradiction แปลว่ำหลักฐำน (หรือควำมคิด) ที่ขัดแย้งต่ออีกสิ่งหนึ่งซึ่งให้ควำมหมำยได้ดีที่สุด a - แปลว่ำสั่นเนื่องจำกควำมกลัว c - (เชคประโยคคำถำมหน่อยเหมือนใช้ tense ผิดหรือเปล่ำ) a - แปลว่ำไม่พอ (lack of sth. (นำม)) โดยที่เหลือแปลว่ำเยอะมำกเกิน พอทั้งนั้น d - แปลว่ำควำมขัดแย้ง

29. b - แปลว่ำเป็นมิตรตรงกันข้ำมกับ hostile ที่แปลว่ำไม่ค่อยชอบ (ไม่เป็นมิตร) 30. a.

วิชาภาษาอังกฤษ


34

|

ห น้ า

EPITOME III Directions: Complete the conversation by filling in the gaps with the MOST appropriate phrases. Cherry: I'm so nervous about the upcoming summative exams. Adam: 1_What should we do? Cherry: What about asking the kind John for some of his shortened notes? Adam: 2_ He's in the class next to ours! Cherry: Let's go. ( Adam and Cherry walk to John. ) Cherry: Hi, John! 3_ John: I'm just fine these days. What about you guys? Don't you guys have something to talk to me? Adam: We're fine, and yes. 4_Could you please share us some of your shortened notes? John: Sure! 5_ ( The conversation goes on. ) 1. a. Meh. b. Sadly, so am I. c. Really? d. Me too! 2. a. Are you hungry? b. I’m fine. c. That's not a bad idea. d. Are you okay?

วิชาภาษาอังกฤษ


35 | ห น้ า 3. a. Could you please give us your shortened notes? b. We're buying your sheets. c. How are you lately? d. Send us your shortened notes. 4. a. We really have no idea how we'll deal with the upcoming exams. b. I'm sure there'll be some ways to get us prepared for the upcoming tests. c. Let's get to the point. d. I beg. 5. a. But that costs some money. Would you care to pay some? b. Here you go. Take these! c. But first, lemme take a selfie. d. Anything more? Directions: Identify the four underlined parts of each sentence below that makes the sentence incorrect. 6. Dreams can't be a.achieved in days or months, and b.insome c.circumstances, it could take one years tod.go over the goals. 7. a.Some of the crocodiles b.are c.found in the river of Sarawak d.are very large. 8. Although it is a.apparent that knowledge of Latin b.is helpful c.to build a good English vocabulary, d.individuals with English as their second language imply they don't have enough time for it. 9. Scientific advances over the last fifty years have a.led to b.revolutionary changes in health, agriculture and communication, and generally c.enhancing socio-economic development and the quality of our d.lives. 10.a.Waiting for the results of the final examination, the student's nerves were b.on edge; she c.could not sleep properly or d.eat normally.

วิชาภาษาอังกฤษ


36

|

ห น้ า

11.He is not sure a.if he should buy the new computer now or wait b.until he c.receives his d.next bonus. 12.I a.prefer Marlene to b.any hairdressers I c.have visited in the past because she has d.such a good understanding of her clients' needs. 13.These days the social stigmas attached a.to being single are b.much weaker, and many women c.of their late 20s show d.no signs of wanting to settle down. 14.a.According to modern irrigation, crops now b.grow abundantly in areas c.where once nothing d.but cacti and sagebrush could live. 15.The a.primary aim of b.science horticultural is c.to develop plants of the highest quality that offer the d.promise of high yields. Directions: choose the right answer from the four alternatives given below. 16. I’ve just had the radio _____ . It’s too loud. a. to turn down b. turn down c. turning down d. turned down 17. Please _____ somebody to arrange these files. They are so messy. a. get b. to get c. have d. to have 18. My aunt _____ her son drives her to the supermarket last Sunday. a. got b. had got c. had d. had had 19. I had everything _____ in this box. a. pack up b. packed up c. packing up d. to pack up 20. Why don’t we call the police and have them _____ this car ? a.tow away b. towed away c. to tow away d. towing away

วิชาภาษาอังกฤษ


37 | ห น้ า Directions: Read the passage below then answer the question by choosing the best alternative. Suez Canal fees to go up in 2007 By Rob Woollard AFP ISMAILIYA, Egypt The Suez Canal Authority said Wednesday it will raise transit fees for ships using the waterway by an average 2.84 percent in 2007. Its chairman Ali Fadel told the reporters that the increase, to take effect on April 1, would range from 1.14 percent for passenger ships to 3.73 percent for oil tankers. Egypt's revenues from transit fees on the canal, which links the Mediterranean with the Red Sea, soared to a record 3.82 billion dollars in 2006, up from around 3.4 billion dollars the previous year. Cargo loads for 2006 are expected to reach 680 million tons, up from 671 million tons in 2005. The rise was spurred mainly by higher fees and soaring global trade with India and China. Egypt is currently in talks with China to ensure that close to 100 percent of Chinese exports to Europe pass through the Suez Canal -- up from the current 60 percent -- in exchange for lower transit fees. The Suez Canal, which opened in 1869, is Egypt's third largest source of revenue, after tourism and remittances from expatriate workers. 21. From what country does the news report come? a. China b. Thailand c. Egypt d. India

วิชาภาษาอังกฤษ


38

|

ห น้ า

22. What is the name of the news agency ? a. Thairat b. Reuters c. AP d. AFP 23. From what city does the news report come ? a. New York b. Cairo c. Ismailiya d. Bangkok 24. What is the Headline of the news ? a. Suez Canal fees to go up in 2007 b. By Rob Woollard c. AFP d. ISMAILIYA, Egypt 25. Who is Ali Fadel ? a. chairman b. president c. tourist d. journalist 26. The rise was spurred mainly by higher fees and soaring global trade with ... a. Malaysia b. India c. China d. both b. and c.

วิชาภาษาอังกฤษ


39 | ห น้ า Direction : Choose the correct synonyms for the following words. 27. foreign a.internal b. outlandish c. native d. local 28. offer a. indicate b. propose c. commute d. consequence Directions : Choose the correct antonym for the following words. 29. Appendix a. Lump b. Projection c. External d. Outgrowth สู้ๆหน่อยนะคะน้องๆ !!ค่อยๆ ขยันอ่าน ขยันทาแบบฝึกหัด 30. Regret ไปเรื่อยๆ แล้วน้องจะบรรลุ a. Poor เป้าหมายได้ในที่สุดNo pain b. Pitiful no gain ถ้าไม่ขยันก็ไม่ c. Sorrow ประสบความสาเร็จนะคะ! d. Reply RESULT : ____ / 30

วิชาภาษาอังกฤษ


40

|

ห น้ า

ANSWER KEY EX.3

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

b - แปลว่ำฉันก็เหมือนกันซึ่งตรงกับบรรยำกำศกำรสนทนำที่สุด c - แปลว่ำเป็นควำมคิดที่โอเคเลย (ไม่ได้แย่) และอีก 3 ตัวเลือกตลกมำกๆ c - เพรำะคำตอบเป็น I’m just fine these days. โดยข้อ ab d ไม่เข้ำกับกำรสนทนำ a - เป็นคำตอบที่ดีที่สุดใน 4 ตัวเลือกและเข้ำกับบทสนทนำ b c d จะดูไม่ friendly b - แปลว่ำเอำไปเลยโดย a และ d ไม่เป็นมิตร (บทสนทนำออกแนวเป็นมิตร) c ไม่เกี่ยว d - go over ->achieve, reach, etc. เพรำะ go over ไม่เข้ำกับควำมหมำยที่ต้องกำร b - ตัด are ทิ้งเพรำะประโยคคือจระเข้บำงส่วน“ที่ถูกพบ”ในแม่น้ำ... ซึ่งเป็นส่วนขยำย และประโยคมี main verb หลำยตัวไม่ได้ 8. c - to build -> in building (to be helpful in v+ing) 9. c - enhancing -> have enhanced เพื่อคงรูปparalel structure ของประโยค 10. a - Waiting -> As she waited เพรำะถ้ำเรำใช้ Waiting ประโยคจะให้ควำมหมำยว่ำ หลังจำกรอแล้วจะ... แต่ประโยคคือระหว่ำงที่รอใช้ As she waited เพื่อแสดงกำรเกิดขึ้น พร้อมๆกัน (simultaneous actions) จะดีกว่ำ 11. a - if -> whether เพรำะเปรียบเทียบระหว่ำงสองสิ่ง 12. b - any -> any other เพรำะประโยคต้องกำรเปรียบเทียบ Marlene กับช่ำงทำผมคน อื่นๆซึ่งไม่นับ Marlene จึงต้องใช้ any other เพรำะถ้ำเป็น any จะนับรวมช่ำงทำผม ทุกๆคนรวมถึง Marlene ด้วย (ยำกหน่อยนะ 555) 13. c - of -> in เวลำเรำใช้ในช่วงอำยุต่ำงๆเรำจะใช้ in his/her xx’sเช่น in his 30’s ในช่วงอำยุ 30-39 14. a - According to -> Thanks to เพรำะเรำไม่ได้อ้ำงอิงจำก modern irrigation แต่เรำ จะบอกว่ำเนื่องจำก 15. b - science horticultural -> science horticulture เพรำะว่ำต้องเป็น noun (horticultural เป็น adjective!) 16. d เพรำะ have something +v3 เช่น have your homework done 17. aเพรำะ get someone to do sth. โดยb,dไม่มี Please to, c have someone do something ไม่มี to 18. cเพรำะ have someone do something!! (ระวัง had him “kill” her ไม่ต้องเติม s หรือ ed นะ) 19. d เพรำะ have something done !!! 20. a เพรำะ have someone do something !!!! 21. c - Egypt

วิชาภาษาอังกฤษ


41 | ห น้ า 22. d - AFP 23. c - Ismalaiya 24. a - Suez Canal fees to go up in 2007 25. b 26. c 27. b เพรำะอีก 3 คำแปลว่ำภำยในหมดเลย 28. b เพรำะแปลว่ำเสนอ (offer) โดย indicate = ระบุ, commute = เดินทำง, consequence = ผลที่ตำมมำ 29. a 30. d เพรำะแปลว่ำตอบกลับโดย b และ c แปลได้ตรงๆเลยว่ำเศร้ำเสียใจ โดย a อำจจะต้องตีควำมนิดหน่อยเพรำะ poor แปลว่ำแย่ เหมือนในสำนวนอังกฤษเช่น A poor girl หมำยถึง เด็กหญิงผู้น่ำสงสำร

วิชาภาษาอังกฤษ


42

|

ห น้ า

วิชาภาษาอังกฤษ


EPITOME IV

43 | ห น้ า

Directions: Identify the four underlined parts of each sentence below that makes the sentence incorrect. 1.We a.have no choice but b.to appoint Mary, the c.best of the two candidates, and there is no d.prospect of finding more applicants. 2.a.The reason I'm going to England this year b.is c.because I'm going tod.see Mary, my long-lost sister. 3.a.If you were to work at least four b.hours a day on the project, we c.would complete it in a shorter time, and with d.less problems. 4.TheApplaresque'sa.1-inch-longiPhonealae, a b.newly released smart phone, is undoubtedly spectacular, and no one can disagree that its ability is c.far better than d.the old iPhoneae. 5.a.I and my friends are working on a very big, world-influential project and b.as soon as it c.finishes we will immediately register it as our d.intellectual property so that our big work won't be stolen. 6.a.Having played by the rules, the members of the teams b.were given a standing ovation although c.it didn't d.win. 7.None of us a.knows b.what the outcome of the negotiation between our company and d.Adam's. 8.An a.omnivorous animal has a b.greater chance c.of survival than d.onesthat depends on a single food source. 9.The Swiss have been studying a tunnel scheme which might a.success in protecting the fragile Alpine environment b.permanently from the c.dense road traffic that passes d.through it. 10.With television a.provides a b.heavy quotient of entertainment for the American home, many magazines discovered a c.strong demand for nonfiction articles, their almost d.exclusive content today.

วิชาภาษาอังกฤษ


44

|

ห น้ า

Directions: choose the right answer from the four alternatives given below. 11. May I have your brother _____ my car out of the corner? I couldn’t make it myself. a. move b. moved c. to move d. moving 12. Shall we get someone _____ dinner for us? We are too tired to do any cooking after work. a. to preparing b. to prepare c. prepared d. prepare 13. Ask her whether she had the plumber _____ the leaking pipe. a. mending b.to mend c. mended d. mend 14. My dad asked mom to get his typewriter _____ before noon. a. clean b. cleaned c. cleaning d. to clean 15. We get our van _____ before going to Pattaya. a. check b. checking c. to check d. checked Directions: Read the passage below then answer the question by choosing the best alternative. Miracle Mud Some years ago, when my father became partially paralyzed, I bought him a motorized wheelchair, In nice weather he enjoyed riding it around the Hague, where he lived, but in winter he stored it in my brother-in-law’s garage several miles away. One spring day I decided to drive the wheelchair to my father’s house, so a friend took me to the garage on his motorcycle and waited to lead me home. I practiced with the wheelchair for a few minutes, and when I had the hang of it, we started down a road that had a canal on each side. Things went well for the first half mile, but when I came off a bridge, I encountered and oncoming car and

วิชาภาษาอังกฤษ


45 | ห น้ า panicked. I lost control of the wheelchair and plunged into a canal, where I ended up standing in waist-deep water beside the wheelchair which was stuck in the mud. As I turned around, I saw my friend waving to me. About 20 cars had stopped and people were running my way. They started to pull the wheelchair free, and when I began to walk out of the water, I heard cries of, “Where’s the invalid?” and “It’s a miracle!” We told my father that his wheelchair had nearly been famous for finding mud that heals. 16. The word “paralyzed” in line 1 means ………………………… . a. getting older b. being less courage c. being alone and upset d. having no feeling in part of the body 17. 17. The narrator’s father would use a wheelchair depended on………………. a. where he lived b. how the weather was c. who he stayed with d. how healthy he was 18. The word “it” (line 2) refers to………….……. a. the car b. the house c. the weather d. the wheelchair 19. The word “panicked” (line 10) can be replaced by…………………… a. hurt b. fun c. shocked d. careful 20. The narrator ended up in the canal because he……………… a. bumped into a car b. was knocked out c. became over excited d. crossed over the bridge

21. The passage was entitled

วิชาภาษาอังกฤษ


46

|

ห น้ า

“Miracle Mud” because……………….. . a. the mud was thought to cure paralysis b. the motorized wheelchair got stuck there c. people thought the narrator was an invalid d. the mud stirred up excitement in the onlookers 22. The tone of this story is……………… a. depressing b. sarcastic c. serious d. humorous 23. After the accident, when the people saw the narrator walk out of the water, they….. a. were frightened of mud b. couldn’t believe their eyes c. thought he was playing a joke d. were sympathetic towards him 24. According to the story, which statement is true? a. The writer could not walk. b. The mud could cure paralysis c. The writer wanted to play a joke. d. The writer did not know how to control the wheelchair. 25. What could happen next if the narrator was really paralyzed? a. The people who came to help him would laugh at him. b. The narrator would be blamed for discovering this mud. c. The other invalids would try to have an accident like this. d. The other invalids would come to cure themselves with this mud.

วิชาภาษาอังกฤษ


47 | ห น้ า Direction : Choose the correct synonyms for the following words. 26. provoke a. encourage b. authorize c. synthetic d. sustain 27. disaster a. impact b. distract c. tragedy d. influence 28. abbreviate a. impression b. forsake c. ample d. shorten Directions : Choose the correct antonym for the following words. 29. Zenith a. High Vouloirc'estpouvoir b. Sphere ความพยายามอยู่ที่ไหน ความสาเร็จอยู่ที่นั่น c. Pinnacle d. Nadir 30. Typical a. Abnormal b. Widespread c. Simple d. Average RESULT : _____ / 30

วิชาภาษาอังกฤษ


48

|

ห น้ า

ANSWER KEY EPITOME 4 1. c - best -> better เพรำะ best เป็น superlative ใช้เปรียบเทียบตั้งแต่ 3 สิ่งขึ้นไป 2. c - because -> that เพรำะ reason แปลว่ำเหตุผลแล้วไม่ต้องใช้คำว่ำ because ให้ redundant 3. d - less -> fewer เพรำะ problem นับได้ less ใช้กับนำมนับไม่ได้ (ระวังออกบ่อย มำก!) 4. d - the old iPhoneaea -> that of the old iPhoneaea เพรำะว่ำเรำต้องกำร เปรียบเทียบ ability ของ iPhoneaea ไม่ได้เปรียบเทียบตัวเครื่องโดยตรง!! ^_^ 5. I and my friends -> My friends and I เพรำะเวลำเรำจะใช้ตัวเรำและคนอื่นๆจะต้อง เอำ I ไว้หลังเสมอ 6. c - it -> they เพรำะเรำกำลังพูดถึงสมำชิกของทีม!! 7. b/d - ตัด what ออกหรือ Adam’s -> Adam’s will be โดยต้องเป็น know something เลยหรือว่ำ know what something will be ก็ได้ 8. d - ones -> one เพรำะว่ำหลังจำกนั้นเป็น that depends เรำเลยต้องจำใจให้ ones เป็นเอกพจน์คือ one 9. a - success in -> succeed in เพรำะว่ำ success เป็น adjective เรำต้องใช้ succeed ซึ่งเป็นกริยำแทน 10. a - provides -> providing เพรำะว่ำ with + noun เรำจึงต้องให้ television provides เป็น television providing เพื่อให้กลำยเป็นก้อนเดียวทำหน้ำที่เป็นนำมได้ใส่ ไว้ในประโยคได้เหมือนกำรใช้คำว่ำกำรทำกริยำเป็นนำม 11. a - เพรำะ have someone do something / have something done !! 12. b - เพรำะget someone to do something!! 13. d - เพรำะ have someone do something (mend = repair) 14. b - เพรำะ get something done 15. d - เพรำะ get something done 16. d 17. b 18. d 19. c 20. c

วิชาภาษาอังกฤษ


49 | ห น้ า 21. a 22. d 23. b 24. d - ถ้ำหำกตัวคนเล่ำเรื่องตอนแรกเป็นคนพิกำรจริงแล้วหำยด้วยเหตุกำรณ์นี้ จะต้องมีคน มำทำตำมเพื่อรักษำตัวเองแน่นอน 25. a - เพรำะ encourage = กระตุ้นและ provoke = กระตุ้น 26. c - เพรำะแปลได้ว่ำเป็นสิ่งที่ก่อให้เกิดควำมเสียหำยเหมือนกัน 27. d - เพรำะ abbreviate = shorten ตรงๆเลย 28. d - เพรำะ Nadir เป็นจุดต่ำสุดแต่ Zenith เป็นจุดสูงสุด 29. a - เพรำะ Typical = ทั่วๆไปแต่ Abnormal = แปลกๆไม่ปกติ

วิชาภาษาอังกฤษ


50

|

ห น้ า

EPITOME V Directions: Identify the four underlined parts of each sentence below that makes the sentence incorrect. 1. Almost all of the people who a.visit Singapore are b.impressed by its cleanliness, which is mainly a c.result of rigorous implementation of d.their strict laws. 2.a.While he b.insists he won the competition because of his own ability, I believe he c.bribed the judge into d.making him the winner. 3. Since it seems that thousands of people are interested in joining the event, it is not wise for you to wait until the last date of registration period; reserve yourself a spot on the first day the registration system is open, instead. 4. President of a world-leading university told the Press Association that the university is about to discover an effective way to stop Ebola virus and that the university will hold a seminar regarding the topic shortly. 5. Bangkok Mass Transit System, rather known as BTS, is now having difficulty in maintaining its train flow and is currently being severely criticized by thousands of Thais on Social Media. 6. He and I are of the will to be students of TriamUdomSuksa School. 7. Despite having known how hard it is to surpass thousands of other students in the admissions of TriamUdomSuksa School, John has never lost his determination and has always been working hard; his hard work will pay off, for sure. 8. a.Since centuries, people b.have hoped to find the “fountain of youth”, magical water c.that makes them d.stay healthy and young for a very long time.

วิชาภาษาอังกฤษ


51 | ห น้ า 9. DNA, the material a.of inheritance, b.is found in the cell nucleus in the form of very long and thin molecules c.consist of two d.spiral strands. Directions: choose the right answer from the four alternatives given below. 10. Never have I heard such __ exaggerative speech. a. a b. an c. the d. none is needed 11. Russia has always been focusing on developing its weaponry technology so as to stand against __ United States. a. a b. an c. the d. none is needed 12. Deep in the forest ____________ many beautiful women. a. live b. lives c. living d. is living 13. A: I don't like it. B: _______ do I. a. Either b. Neither c. Not d. So 14. There is a crowd of people in front of this place and I'm sure the killer is among _______. a. them b. it c. those d. which Directions: Read the passage below then answer the question by choosing the best alternative. When another old cave is discovered in the south of France, it is not usually news. Rather, it is an ordinary event. Such discoveries are so frequent these days that hardly anybody pays heed to them. However, when the Lascaux cave complex was discovered in 1940, the world was amazed. Painted directly on its walls were hundreds of scenes showing how people lived thousands of years ago. The scenes show people hunting animals, such as bison or wild cats. Other images depict birds and, most noticeably, horses, which appear in more than 300 wall images, by far outnumbering all other animals.

วิชาภาษาอังกฤษ


52

|

ห น้ า

Early artists drawing these animals accomplished a monumental and difficult task. They did not limit themselves to the easily accessible walls but carried their painting materials to spaces that required climbing steep walls or crawling into narrow passages in the Lascaux complex. Unfortunately, the paintings have been exposed to the destructive action of water and temperature changes, which easily wear the images away. Because the Lascaux caves have many entrances, air movement has also damaged the images inside. Although they are not out in the open air, where natural light would have destroyed them long ago, many of the images have deteriorated and are barely recognizable. To prevent further damage, the site was closed to tourists in 1963, 23 years after it was discovered. 15. Which title best summarizes the main idea of the passage? a. Wild Animals in Art b. Hidden Prehistoric Paintings c. Exploring Caves Respectfully d. Determining the Age of French Caves 16. In line 3, the words pays heed to are closest in meaning to a. discovers b. watches c. notices d. buys

วิชาภาษาอังกฤษ


53 | ห น้ า 17. Based on the passage, what is probably true about the south of France? a. It is home to rare animals. b. It has a large number of caves. c. It is known for horse-racing events. d. It has attracted many famous artists. 18. According to the passage, which animals appear most often on the cave walls? a. Birds b. Bison c. Horses d. Wild cat 19. In line 7, the word depict is closest in meaning to _______. a. show b. hunt c. count d. draw

วิชาภาษาอังกฤษ


54

|

ห น้ า

20. Why was painting inside the Lascaux complex a difficult task? a.It was completely dark inside. b. The caves were full of wild animals. c. Painting materials were hard to find. d. Many painting spaces were difficult to reach.

21. In line 11, the word They refers to _______. a. walls b. artists c. animals d. materials 22. According to the passage, all of the following have caused damage to the paintings EXCEPT _______ . a. temperature changes b. air movement c. water d. light

วิชาภาษาอังกฤษ


55 | ห น้ า 23. What does the passage say happened at the Lascaux caves in 1963? a. Visitors were prohibited from entering. b. A new lighting system was installed. c. Another part was discovered. d. A new entrance was created

Direction : Choose the correct synonyms for the following words. 24. Heavy storm has broken up the birthday party, the light has gone, and everyone was scared to death. a. Interrupted b. Appreciate c. Realize d. Klonk (put, cop-out)

25. Specific epithet is the most important thing when you classify living things in taxonomy. a. Satisfaction b. Expert c. only d. Exclusive

วิชาภาษาอังกฤษ


56

|

ห น้ า

26. Sufficiency economy, his majesty King Rama IX’s royal observation given to all Thai people, is one of excellent life guidelines you should take as an example. a. Mind b. Preserve c. Notify d. Give Directions : Choose the correct antonym for the following words. 27. Obvious a. Unlawful b. Hazardous c. Safe d. Dangerous 28. Deceive a. mislead b. fool c. receive d. trick 29. Envy a. b. c. d.

jealousy greed crave unenviable

วิชาภาษาอังกฤษ


57 | ห น้ า 30. Reduce a. diminish b. reunion c. decrease d. abate มากเสียจน So + adj./adv. + that So + many + N.พหูพจน์ + that So + much + N.นับไม่ได้ + that Such + a,an + adj. + N.เอกพจน์ Such + adj. + N.พหูพจน์ + that

RESULT ____ / 30

วิชาภาษาอังกฤษ


58

|

ห น้ า

ANSWER KEY EPITOME 5 1. d - their -> its เพราะเรา refer ถึง Singapore (singular noun) 2. b - insists -> insists that เพราะว่า insist เฉยๆจะไม่ให้ความหมาย ต้องมี preposition มารองรับ 3. b - date -> day เพราะเวลาพูดถึงเรื่องพวกนี้เราต้องการสื่อถึง “วันสุดท้าย” ไม่ใช่ “วันที่สุดท้าย” 4. c - ตัด in ออก เพราะเป็น regarding เป็น verb ไม่แท้ ไม่ต้องมี in นาหน้า (มีแต่ in regards นะ) 5. c - to maintain -> in maintaining เพราะว่า difficulty in doing something 6. a - He and me -> He and I เพราะว่า “ฉัน” ในการเป็นประธาน ต้องอยู่ในรูป I เท่านั้น (ระวัง ถ้าต้องการพูดถึงคนอื่นกับเราเป็นประธานร่วมกัน ต้องให้ตัวเองตามหลัง เสมอ (ในรูป I) เช่น He and I, You and I เป็นต้น) 7. a - Although -> Despite เพราะว่า although + sentence/adjective และ despite + noun โดยในที่นี้ v+ing ทาหน้าที่เป็น noun 8. a - Since -> For เพราะว่า centuries บอกความนานของเวลา (1 century = 100 years) ต้องใช้ For 9. c - consist of -> consisting of / that consist of เพราะว่าต้องทาหน้าที่ขยาย molecules 10. b - เพราะว่า exaggerative ต้องใช้ an นาหน้า (ระวัง ในบางกรณี such ไม่จาเป็นต้องมี a เมื่อตามด้วยนามเอกพจน์ ลองศึกษาดูนะ) 11. c - เพราะ การเรียกสหรัฐอเมริกาต้องมี the นาหน้า the “United States” 12. a - เพราะ เป็น inversion ของประโยค Many beautiful women live deep in the forest. 13. b - เพราะเป็นการใช้คาปฏิเสธว่าเช่นกัน 14. a - เพราะว่า other + plural noun และ that กับ this ไม่เหมาะสมกับประโยค 15. b

วิชาภาษาอังกฤษ


59 | ห น้ า 16. c 17. b 18. c 19. a 20. d 21. b 22. d 23. a 24. a - เพราะแปลว่าก่อกวนเหมือนกัน 25. d - เพราะ specific = เฉพาะเจาะจง = exclusive 26. d 27. c - เพราะ obvious = ชัดเจน แต่ safe = ปลอดภัย ข้อนี้อาจจะต้องตีความหมายลึก หน่อย ชัดเจนคือเข้าถึงได้ง่าย ไม่ปลอดภัย 28. b - เพราะ deceive = หลอกให้เชื่อในสิ่งที่ผิด = fool 29. a - เพราะ jealousy และ envy ให้ความหมายว่าอยากได้“ของของคนอื่น” 30. c - เพราะ reduce = decrease = ลด

วิชาภาษาอังกฤษ



60 |

วิชาภาษาไทย

หน้า


61 |

หน้า

ศิลปะการประพันธ์ในวรรณคดีไทย 1. การเล่นเสียง คือการสรรคาให้มีเสียงสัมผัสกัน เช่น การสัมผัสสระ พยัญชนะ และวรรณยุกต์

สัมผัส คือ ลักษณะที่ใช้บังคับให้คาคล้องจองกัน สัมผัสสระ : เล่นเสียงสระเดียวกันของคาที่อยู่ติดกันหรือใกล้กัน สัมผัสอักษร : การเล่นเสียงพยัญชนะต้นของคาที่อยู่ติดกันหรือใกล้กัน (บางครั้งเรียกว่า “เล่นอักษร”) จิบจับเจาเจ่าเจ้า

รังมา

จอกจาบจัน่ จรรจา

จ่าจ้า

เค้าค้อยค่อยคอยหา

เห็นโทษ

ซอนซ่อนซ้อนริว้ หน้า

นิ่งเร้าเอาขวัญ

(โคลงอักษรสามหมู่ ประพันธ์โดย พระศรีมโหสถ , รัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์ มหาราช)

วิชาภาษาไทย


62 |

หน้า

- สัมผัสใน /จ/ จิบ จับ เจา เจ่า เจ้า, จอก จาบ จัน่ จรร จา จ่า จ้า /ค/ เค้า ค้อย ค่อย คอย /ซ/ ซอน ซ่อน ซ้อน สัมผัสวรรณยุกต์ : การเล่นเสียงวรรณยุกต์ของคา - สัมผัสใน เจา-เจ่า-เจ้า, จั่น-จรร, จ่า-จ้า, ค้อย-ค่อย-คอย, ซอน-ซ่อน-ซ้อน 2. การเล่นคา คือ การใช้คาพ้องรูปพ้องเสียง การซาคา การใช้คาถามเชิง วาทศิลป์เพือ่ ให้เกิดความหมายพิเศษและแปลกออกไป การเล่นคาพ้อง “ถึงบางพูดพูดดีเป็นศรีศักดิ์ มีคนรักรถถ้อยอร่อยจิต” (เล่นคาว่า “พูด”) (นิราศภูเขาทอง ประพันธ์โดย สุนทรภู่) “จากพรากจับจากจานรรจาเหมือนจากนางสการะวาตี” (เล่นคาว่า “จาก”) (อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง ประพันธ์โดย พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า นภาลัย)

วิชาภาษาไทย


63 |

หน้า

การซ้าคา “คุณ แม่หนาหนักเพียงพสุธา คุณ บิดรดุจอากาศกว้าง คุณ พีพ่ ่างศิขราเมรุมาศ คุณ พระอาจารย์อ้างอาจสู้สาคร ” (ซาคาว่า “คุณ”) (โคลงโลกนิติ ประพันธ์โดย พระยาศรีสุนทรโวหาร) - การใช้คาถามเชิงวาทศิลป์ คือ คาถามทีไ่ ม่ต้องการคาตอบ เพราะทราบ คาตอบดีอยู่แล้ว เช่น “ กระนีหรือพระบิดามิน่าหนีทังท่วงทีไม่สภุ าพทาหยาบหยาม” “ยักขิณีผสี างหรืออย่างไรมาพาไปไม่เกรงข่มเหงกู” (พระอภัยมณี ประพันธ์โดย สุนทรภู่) 3. การใช้ภาพพจน์ ( กวีโวหาร ) คือ การใช้ถ้อยคาเพือ่ สร้างภาพในใจ (จินต ภาพ) แก่ผู้อ่านโดยการใช้โวหารกล่าวอย่างไม่ตรงไปตรงมา 

อุปมา คือ การเปรียบเทียบด้วยคาว่าเหมือน หรือคาที่มคี วามหมายว่า เหมือน เช่น ดุจ ดัง ดั่ง เหมือน ราวกับ คล้าย เฉก เช่น เพี้ยง เพียง เป็นต้น “สัตว์ในนาจาแพ้แก่ผีเสือเปรียบเหมือนเนือเห็นพยัคฆ์ให้ชักหลัง” “สามสิบสามเศียรโสภา เศียรหนึ่งเจ็ดงา ดั่งเพชรรัตน์รูจี” (มีคาว่า “ดั่ง” แปลว่า เหมือน) อุปลักษณ์ คือ การเปรียบเทียบโดยใช้คาว่า “คือ” “เป็น” หรือละคา เปรียบเทียบไปเลย (เปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเป็นสิ่งหนึ่งโดยตรงเลย)

วิชาภาษาไทย


64 | 

หน้า

“ขอลาแก้วแววตาไปธานีอย่าราคีขุ่นข้องให้หมองมัว” “ความรู้คเู่ ปรียบด้วยกาลัง กายแฮ (อุปมา) สุจริตคือเกราะบังศาสตร์พ้อง (อุปลักษณ์) ปัญญาประดุจดังอาวุธ (อุปมา) สติต่างโล่ปอ้ งอาจแกล้วกลางสนาม” (อุปมา) ให้น้องๆจาไว้ว่า อุปมา มีคาที่ใช้เปรียบเทียบ อุปลักษณ์ มีการให้นิยามของคานั้นๆเลย

บุคคลวัต หรือ บุคลาธิษฐาน คือการกล่าวถึงสิง่ ที่มิใช่มนุษย์ให้มีความ เป็นมนุษย์ ( มีกิรยิ าอาการ, มีความรูส้ ึกนึกคิดเหมือนมนุษย์ ) “โทสะอาจจะโดดโลดข้ามรัวไม่เกรงกลัวบัญญัติเลย” “สัตภัณฑ์บรรพตทังหลายอ่อนเอียงเพียงปลาย ประนอมประนมชมชัย” ( ภูเขาสัตภัณฑ์นอ้ มไหว้) “กระต่ายตัวหนึ่งยิมเยาะเต่าว่า เท้าสัน เดินก็ช้า” ( ยิมเยาะ หมายถึง หัวเราะเยาะเย้ย )

สัทพจน์ คือ การใช้คาเลียนเสียงธรรมชาติ เช่น โครมๆ เปรียงๆ แปร๊นๆ โฮกๆ ฯลฯ “ดูงูขฟู่ ูดฟู่พรูพรู” “ถ้วยชามกลิงฉิ่งฉ่างเสียงกร่างโกรงนาวาโคลงโคลนเลอะตลอดแคม” “บ้างโก่งคอคูคูกุกกูไปฝูงเขาไฟฟุบแฝงทีแ่ ฝกฟาง”

วิชาภาษาไทย


65 |

หน้า

(คาประพันธ์ที่มีการเลียนเสียงธรรมชาติ จะเด่นด้านสัมผัสสระ สัมผัส อักษรด้วยนะ)

อธิพจน์ คือ การกล่าวเกินความจริง ( OVERACTING ว่างัน 555+) เช่น “เสียงพลโห่ร้องเอาชัยเลื่อนลั่นสนั่นใน พิภพเพียงทาลาย” ( ไพร่พลโห่รอ้ งจนแผ่นดินสะเทือน --- OVER -0- ) “เรียมรา่ น่าเนตรถ้วมถึงพรหม พาเทพเจ้าจ่อมจมชีพม้วย พระสุเมรุเปื่อยเป็นตมทบท่าว ลงนา หากอกนิฏฐ์พรหมฉ้วยพีไว้จึงคง” (โคลงเบ็ดเตล็ด ประพันธ์โดย ศรีปราชญ์) ( แปลความหมายตรงๆคือ ร้องไห้จนนาท่วมถึงพรหมโลก คือที่สถิตแห่ง พระพรหมก็คอื สวรรค์ นาตาที่ไหลรินทาให้เขาพระสุเมรุซึ่งเป็น ศูนย์กลางของจักรวาลและเป็นทีส่ ถิตของพระอินทร์เปื่อย ...OVER อีก นั่นแหละ ความจริงคือผู้แต่งต้องการอธิบายอารมณ์ตัวละคร ว่ามีความ โศกเศร้าเสียใจมาก มากเสียจนนาตาท่วมแผ่นดิน )

วิชาภาษาไทย


66 |

หน้า

“อายุยืนหมื่นเท่าเสาศิลาอยู่คู่ฟ้าดินได้ดังใจปอง” ( เสาศิลาเปรียบเหมือนสิ่งที่มั่นคง ที่จะอยูย่ งเป็นเวลานาน ...ช่าง เปรียบเทียบ ) 

อวพจน์ คือ การกล่าวสิง่ ที่น้อยกว่าความจริง เช่น“มีทองเท่าหนวดกุ้ง” “ชั่วพริบตาเดียว” ปฏิภาคพจน์ คือการใช้ถ้อยคาความหมายตรงข้าม ขัดแย้งกันเช่น “เสียงกระซิบแห่งความเงียบ” ...แตกต่างเหมือนกัน รสวรรณคดี ๑ เสาวรจนี–บทชมความงามธรรมชาติหรือสิ่งต่างๆเช่น “พงกษัตริย์ทศั นานางเงือกน้อย

ประไพพักตร์ลักษณ์ลาล้วนขาคม

ดูแช่มช้อยโฉมเฉลาทังเผ้าผม ทังเนือนมนวลเปล่งออกเต่งทรวง”

(พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีได้นางเงือก , สุนทรภู)่ ๒ นารีปราโมทย์–บทเกียวพาราสี จีบหญิง “ถึงม้วยดินสินฟ้ามหาสมุทร แม้นเกิดในใต้ฟ้ามุทธาธาร

ไม่สินสุดความรักสมัครสมาน ขอพบพานพิศวาสไม่คลาดคลา”

(พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีเกียวนางละเวง , สุนทรภู่)

วิชาภาษาไทย


67 |

หน้า

เสาวรสนี อาจชมความงามของหญิงสาวก็ได้ แต่หากมีการพูดถึงความรัก หรือตัวพระบอกกับตัวนาง มักเป็น นารีปราโมทย์

๓ พิโรธวาทัง –บทโกรธ ตัดพ้อ ไม่พอใจ เสียดสี เช่น “จะเจ็บจาไปถึงปรโลก จะเกิดกี่ฟ้ามาตรมตาย

ฤๅรอยโศกรู้รา้ งจางหาย อย่าหมายว่าจะให้หัวใจ”

(บทกวีเสียเจ้า , อังคาร กัลยาณพงศ์)

๔ สัลลาปังคพิสยั –บทโศกเศร้าเสียใจ เช่น “เคยหมอบใกล้ได้กลิ่นสุคนธ์ตลบ สินแผ่นดินสินรสสุคนธา

ละอองอบรื่นชื่นนาสา วาสนาเราก็สินเหมือนกลิ่นสุคนธ์”

(นิราศภูเขาทอง , สุนทรภู่)

วิชาภาษาไทย


68 |

หน้า

คาประพันธ์ชนิดต่างๆ โคลงสี่สภุ าพ

-คาเอกโทษ คือการนาคาที่ปกติใช้วรรณยุกต์โทกากับมาใช้วรรณยุกต์เอกกากับ แทน เพือ่ ใช้แทนที่คาเอก ในตาแหน่งบังคับของโคลง เช่นเขียวคมเขียนเป็น เคี่ยวคมเคี่ยวเป็นคาเอกโทษ -คาโทโทษ คือการนาคาที่ปกติใช้วรรณยุกต์เอกกากับมาใช้วรรณยุกต์โทกากับ แทน เพือ่ ให้ใช้แทนคาโทในตาแหน่งบังคับ เช่นมั่นคง เขียนเป็นหมัน คง หมัน เป็นคาโทโทษชมพู่ เขียนเป็น ชมผู้ ผู้ เป็นคาโทโทษ -เราสามารถใช้คาตาย แทนคาต้องใช้คาที่ประสมด้วยไม้เอกได้

วิชาภาษาไทย


69 |

หน้า

(น้องๆควรจาตาแหน่งของการใช้รูปเอก โท ของกลอนสีส่ ุภาพให้ได้นะครับ โดยนิยมใช้บทประพันธ์ต่อไปนี เนื่องจากมีเอก โท ตรงตาแหน่งโดยไม่ใช้ เอก โทษ โทโทษ) “เสียงลือเสียงเล่าอ้าง

อันใด พี่เอย

เสียงย่อมยอยศใคร

ทั่วหล้า

สองเขือพี่หลับใหล

ลืมตื่น ฤๅพี่

สองพีค่ ิดเองอ้า อย่าได้ถามเผือ” (ลิลิตพระลอ ไม่มีการระบุผู้ประพันธ์ ประพันธ์ในสมัยสมเด็จพระ นารายณ์มหาราช)

การใช้คาเอกโทษ โทโทษ มักใช้ตาแหน่งของคาว่า เล่า-อ้าง ในบาทที่ 1 และในตาแหน่งของคาว่า ใด ใคร ใหล เผือ มักไม่ใช้ คาที่มีรูปวรรณยุกต์

วิชาภาษาไทย


70 |

กลอนแปด

วรรคสดับ=วรรคที่๑ วรรครับ=วรรคที๒่ วรรครอง=วรรคที่๓ วรรคส่ง=วรรคที่๔ กาพย์ยานี ๑๑

วิชาภาษาไทย

หน้า


71 |

หน้า

โคลงสองสุภาพ

โคลงสามสุภาพ

ร่ายสุภาพ

คาครุ ลหุ และ คาเป็น คาตาย ครุ ( ั ) มีลักษณะดังนี ๑. คาทีม่ ีตัวสะกด ๒. คาที่ประสมด้วยสระ อา ใอ ไอ เอา ๓. คาที่ประสมด้วยสระเสียงยาวไม่มีตัวสะกด

วิชาภาษาไทย


72 |

หน้า

ลหุ ( ุ ) มีลักษณะดังนี ๑. คาที่ประสมด้วยสระเสียงสันไม่มีตัวสะกด ถ้าเป็นคาที่มีสระเสียงสั้น ไม่มีตัวสะกด จะเป็นคาลหุ นอกจากนั้นเป็นคาครุ

คาเป็น ๑สระยาว อา อี อู อือ แอ อัว เออ ๒ตัวสะกดแม่ กง กม กน เกย เกอว (ถ้าลงด้วยแม่เหล่านีไม่ว่าจะเป็นสระเสียง สันหรือยาวก็ตามจัดเป็นคาเป็น) ๓อา ไอ ใอ เอา ฤๅ ฦๅ คาตาย ๑ เสียงสันอะอิ อุ เอะเอาะแอะ ๒แม่ กก กด กบ ฤ ฦ

วิชาภาษาไทย


73 |

หน้า

สานวน กินนาใต้ศอก กินบนเรือนขีบนหลังคา เกี่ยวแฝกมุงป่า ใกล้เกลือกินด่าง

สานวนไทยที่ควรรู้ ความหมาย จาต้องยอมเป็นรองเขา, ไม่เทียมหน้าเทียมตาเท่า เนรคุณ ทาอะไรเกินกาลังความสามารถของตัว ไม่รู้ค่าของดีที่อยู่ใกล้ตัวซึ่งจะเป็นประโยชน์แก่ตน กลับไปแสวงหาสิ่งอื่นที่ดอ้ ยกว่า ต่างฝ่ายต่างรู้ความลับของกันและกัน ทาอะไรแล้วผลร้ายกลับมาสู่ตัวเอง โผงผางไม่เกรงใจใคร ลงทุนมากแต่ได้ผลน้อย ของที่ต้องระมัดระวังทะนุถนอมอย่างยิ่ง ได้ดีถึงที่สุดแล้ว มีความสามารถ แต่เมื่อยังไม่ถึงเวลาก็ไม่แสดงออกมาให้

ไก่เห็นตีนงู งูเห็นนมไก่ ขว้างงูไม่พ้นคอ ขวานผ่าซาก ขี่ช้างจับตั๊กแตน ไข่ในหิน ขึนต้นไม้สุดยอด คมในฝัก เห็น ตักนาใส่กะโหลก ชะโงกดูเงา ให้รู้จักฐานะของตนและเจียมตัว ตัดช่องน้อยแต่พอตัว เอาตัวรอดแต่ผู้เดียว ถี่ลอดตาช้าง ห่างลอดตาเล็น ดูเหมือนรอบคอบถี่ถ้วน แต่ไม่รอบคอบถี่ถ้วนจริง เถรส่องบาตร คนที่ทาอะไรตามเขาทัง ๆ ที่ไม่รู้เรื่องราว ทองไม่รู้รอ้ น เฉยเมย,ไม่กระตือรือร้น, ไม่สะดุ้งสะเทือน นายว่าขีข้าพลอย พลอยพูดผสมโรงติเตียนผู้อนื่ ตามนายไปด้วย นาท่วมทุ่ง ผักบุ้งโหรงเหรง พูดมากแต่ได้เนือหาสาระน้อย นามาปลากินมด นาลดมดกินปลา ทีใครทีมัน นาร้อนปลาเป็น นาเย็นปลาตาย คาพูดที่ตรงไปตรงมา อาจไม่ถูกใจผู้ฟัง แต่ไม่เป็น พิษเป็นภัย คาพูดที่ไพเราะอ่อนหวาน ซึ่งถูกใจผู้ฟัง แต่ อาจเป็นโทษเป็นภัยได้ บัวไม่ให้ชา นาไม่ให้ขุ่น รู้จักผ่อนปรนเข้าหากัน มิให้กระทบกระเทือนใจกัน

วิชาภาษาไทย


74 |

หน้า

สานวน ความหมาย ปลาใหญ่กินปลาเล็ก คนที่มีอานาจหรือผู้ใหญ่ที่กดขี่ข่มเหงผู้อ่อนแอหรือผู้นอ้ ย ปากปราศรัยใจเชือดคอ พูดดีแต่ใจคิดร้าย ปากหวานก้นเปรียว พูดจาอ่อนหวานแต่ไม่จริงใจ ปิดประตูตีแมว รังแกคนไม่มีทางสู้ และไม่มีทางหนีรอดไปได้ ไปไหนมาสามวาสองศอก ถามอย่างหนึ่งตอบไปอีกอย่างหนึ่ง ผ้าขีริวห่อทอง คนมั่งมีแต่แต่งตัวซอมซ่อ ฝนทั่งให้เป็นเข็ม เพียรพยายามสุดความสามารถจนกว่าจะสาเร็จผล พูดไปสองไพเบีย นิ่งเสียตาลึงทอง พูดไปไม่มีประโยชน์ นิ่งเสียดีกว่า ไม้หลักปักขีควาย, ไม้หลักปักเลน โลเล, ไม่แน่นอน ยกเมฆ เดาเอา, นึกคาดเอาเอง; กุเรื่องขึน รีดเลือดกับปู เคี่ยวเข็ญหรือบีบบังคับเอากับผู้ที่ไม่มีจะให้ รู้หลบเป็นปีก รู้หลีกเป็นหาง รู้จักเอาตัวรอดหรือปรับตัวให้เข้ากับเหตุการณ์ ลางเนือชอบลางยา ของสิ่งเดียวกัน คนหนึ่งชอบแต่อีกคนหนึ่งกลับไม่ชอบ ลูกไม้หล่นไม่ไกลต้น ลูกย่อมไม่ต่างกับพ่อแม่มากนัก เลือดข้นกว่านา ญาติพี่น้องย่อมดีกว่าคนอื่น วัดรอยเท้า คอยเทียบตัวเองกับผู้ทเี่ หนือกว่าเพื่อชิงดีชิงเด่น วันพระไม่มีหนเดียว วันหน้ายังมีโอกาสอีก วัวสันหลังหวะ คนที่มีความผิดติดตัวทาให้มีความหวาดระแวง สินไร้ไม้ตอก ยากไร้, ขัดสนถึงที่สุด, ไม่มีทรัพย์สมบัติติดตัว สิบเบียใกล้มือ ของหรือประโยชน์ที่ควรได้ก็เอาไว้ก่อน ใส่ตะกร้าล้างนา ทาให้หมดราคี, ทาให้หมดมลทิน หมาเห่าใบตองแห้ง คนที่เก่งแต่พูด หัวมังกุท้ายมังกร ไม่เข้ากัน, ไม่กลมกลืนกัน เหยียบขีไก่ไม่ฝ่อ ทาอะไรไม่จริงจัง, ไม่เอาการเอางาน อาบนาร้อนมาก่อน เกิดก่อนจึงมีประสบการณ์มากกว่า เอาทองไปรู่กระเบือง โต้ตอบหรือทะเลาะกับคนพาล หรือคนที่มีฐานะต่ากว่า

วิชาภาษาไทย


75 |

หน้า

คาไวพจน์ คาไวพจน์ คือคาที่มีความหมายเหมือนกัน แต่ใช้ในบริบทต่างๆกัน กษัตริย์ คน ควาย ช้าง ดอกบัว ดอกไม้ ตาย นา ปลา ผู้หญิง

แผ่นดิน พระอินทร์ ภูเขา ม้า พระพาย ลิง วัว ศัตรู

ขัตติยะ บดี บดินทร์ บพิตร นฤบดี ภูวไนย ภูมินทร์ นฤบดี นฤบดินทร์ มหิดล บพิตร ชน นิกร นร ราษฎร์ กาสร กระบือ มหิงสา กรี กุญชร คช คชา พลาย สาร หัตถี ไอยรา โกมุท โกมล ปทุม อุบล โกสุม บุปผา บุษบา มาลี ผกา สินชีพ เสีย อาสัญ มรณะ วายปราณ กระแสสินธุ์ คงคา ชลธี ชลธาร ธารา ชลสินธุ์ อุทก วาริน อาโป วารี ชล มัจฉา มัสยา กัลยา เยาวมาลย์ ยุพิน นงคราญ สตรี อิตถ นารี กามินี กัญญา กันยา กัลยาณี กานดา นงเยาว์ นงพะงา อิตถิ อิสตรี อรไท อนงค์ บังอร นรี นารี ยุพเยาว์ ยุพเรศ วนิดา วธู สุดา ไผท พสุธา หล้า พิภพ ธรณี ภูมิ ปฐพี ธาตรี ธรา อมรินทร์ สหัสนัยน์ เพชรปาณี มัฆวาน โกสีย์ สักกะ สุชัมบดี คีรี ไศล บรรพต ภูผา สิงขร อาชา อาชาไนย สินธพ พาชี ดุรงค์ หัย อัศวะ แสะ พระพาย วาโย วายุ กระบี่ วานร โค พฤษภาคม ข้าศึก ดัสกร ริปู ปัจจามิตร ไพรี ปัจนึก อริ

วิชาภาษาไทย


76 |

พระจันทร์

รัชนีกร แข บุหลัน นิศากร ศศิธร นิศากร วราลี ตมิ สา ตารเกศ ศศิธร รัชนี บุหลัน พระอาทิตย์ ทินกร ประภากร ทิวากร สุริยา ไถง สุริยา สุริยัน สุรีย์ ทองคา สุวรรณ เหม กนก มาศ อุไร เมือง บุรี ธานี นคร ปุระ กรุง ภูเขา คีรี สิงขร บรรพต ไศล ศิขรินทร์ ไฟ อัคคี เตโช เพลิง อัคนี บาพก ช้าง ไอยรา ดารี กุญชร สาร คช ท้องฟ้า นภา เวหา อัมพร คัคนานต์ ทิฆัมพร วรัมพร โพยม เวหา คัคนางค์ นก สกุณา ปักษา สุโนก วิหค ชากร ปักษี สกุณี บุหรง ทวิชาติ ยักษ์ อสูร รากษส แทตย์ ทานพ มาร เทวดา อมร เทพ สุร เทพยดา นิรชร เทวา อมร นางฟ้า อัจฉรา อัปสร รัมภา เทพธิดา ต้นไม้ พฤกษ์ รุกข์ ตรุ เฌอ ทุม สวยงาม ประไพ อาไพ วิลาวัณย์ วิไล โสภา ใจ - กมล หทัย ฤดี ฤทัย แด ป่า อรัญ ชัฎ ไพร พงพี พนา ไพรสัณฑ์ พนาสณฑ์ พนัส พนาดร เถื่อน อารัญ ไพร พนาวัน ไพรวัน พนัส พนาดร เถื่อน อารัญ ไพร พนาวัน ไพรวัน เพชร มณี พัชร พชระ วิเชียร วชิร วชิระ วัชระ

วิชาภาษาไทย

หน้า


77 |

หน้า

ตัวอย่างการอ่านคาที่ควรรู้ คาศัพท์

คาอ่าน

คาศัพท์

คาอ่าน

กฤดาภินิหาร

กริ-ดา-พิ-นิ-หาน

เดียรดาษ

เดีย-ระ-ดาด

กเฬวราก

กะ-เล-วะ-ราก

กุลสตรี

กุน-ละ-สัด-ตรี

กอปร

กอบ

ครรภธาตุ

คับ-พะ-ทาด

กากภาษา

กา-กะ-พา-สา

ภูมิลาเนา

พูม-ลา-เนา

กามวิถาร

กาม-วิด-ถาน

กายทุจริต

กาย-ยะ-ทุด-จะหริด

ภูมิปัญญา

พูม-ปัน-ยา

กุณฑี

กุน-ที

พลีกรรม

พะ-ลี-กา

นพปฎล

นบ-พะ-ปะ-ดน

นักษัตร

นัก-สัด

ปราชัย

ปะ-รา-ชัย

กุลสตรี

กุน-ละ-สัด-ตรี

คุณค่า

คุน-ค่า, คุน-นะ-ค่า มหาตมะ

มะ-หาด-ตะ-มะ

คุณวุฒิ

คุน-นะ-วุด,

รอมร่อ

รอม-มะ-ร่อ

พูม-มิ-ลา-เนา

คุน-นะ-วุด-ทิ โฆษณา

โฆษณา

เศรณี

เศรณี

จักจั่น

จัก-กะ-จั่น

สุจริต

สุด-จะ-หริด

จันทรคติ

จัน-ทระ-คะ-ติ

อุณหภูมิ

อุน-หะ-พูม

จิตวิสัย

จิด-ตะ-วิ-ไส

อุตราวัฏ

อุด-ตะ-รา-วัด

วิชาภาษาไทย


78 | คาศัพท์

คาอ่าน

คาศัพท์

คาอ่าน

โอปปาติกะ

โอ-ปะ-ปา-ติ-กะ

ฉกษัตริย์

ฉ้อ-กะ-สัด ,ฉอ-กะ-สัด

อัปราชัย

อับ-ปะ-รา-ไช

ชนมายุ

ชน-นะ-มา-ยุ

โอสถกรรม

โอ-สด-ถะ-กา

อินทรธนู

อิน-ทะ-นู

ให้น้องๆระวังคำบำงคำที่อ่ำนได้มำกกว่ำ 1 แบบด้วยนะครับ

วิชาภาษาไทย

หน้า


79 |

หน้า

คาราชาศัพท์ 1.คากริยาที่เป็นราชาศัพท์อยู่แล้ว ไม่ต้องใช้ ทรงนาหน้า เช่น ตรัส โปรด สรง เสวย ประทับ สวรรคต มีพระปฏิสันถาร ทอดพระเนตร แย้มสรวล 2.ใช้ ทรงนาหน้าคานามราชาศัพท์ เพื่อทาหน้าที่เป็นคากริยาเช่น ทรงพระประชวร ทรงพระพิโรธ ทรงพระอักษร 3.ใช้ทรงนาหน้าคาธรรมดา เช่น ทรงม้า ทรงดนตรี ทรงศีล ทรงธรรม ทรงธรรม 4.การใช้คาว่าทูลเกล้าฯ และน้อมเกล้าฯ (ออกบ่อยมาก)

น้อมเกล้าฯถวาย ใช้กบั ของที่มีขนาดใหญ่ ถือไม่ได้ ทูลเกล้าฯใช้กบั ของขนาดเล็ก สามารถให้กับมือได้ การแบ่งชันของคาราชาศัพท์ ชันที่1 King ใช้ บรม นาหน้าคาราชาศัพท์ ใช้คำว่ำพระรำชทำน ชันที่2 Queen เจ้าฟ้าชาย สมเด็จพระเทพ ชันที่3 เจ้าฟ้าหญิงจุฬาภรณ์ ชันที่4 พระองค์เจ้า สมเด็จพระสังฆราช(เทียบเท่าวรวงศ์) ชันที่5 หม่อมเจ้า ใช้คำว่ำประทำน ชันที่6 หม่อมราชวงศ์ ใช้คาว่า พระชนมพรรษา.....พรรษา กับ King และ Queen พระชนมายุ.............พรรษา กับ เจ้าฟ้าชาย สมเด็จพระเทพ พระชันษา................ปี กับชั้นที่ 3 - 4

วิชาภาษาไทย


80 |

หน้า

การใช้คาขึ้นต้น คาลงท้าย ในการเขียนจดหมาย ผู้รับ

คาขึ้นต้น

คาสรรพนาม

สมเด็จเจ้าฟ้า

ขอพระราชทาน ใต้ฝ่าพระบาท กราบทูล(ออกพระ ข้าพระพุทธเจ้า นาม)ทราบฝ่าพระ บาท

คาลงท้าย ควรมิควรแล้วแต่จะ โปรดเกล้าโปรด กระหม่อม ข้าพระพุทธเจ้า(ลง ชื่อ)จ่าหน้าซองว่า ขอพระราชทาน กราบทูล ควรมิควรแล้วแต่จะ โปรดจ่าหน้าซองว่า กราบทูล(ระบุพระ นาม)

สมเด็จพระสังฆราช กราบทูล

ฝ่าพระบาท ชายใช้เกล้า กระหม่อมหญิงใช้ เกล้ากระหม่อมฉัน

พระราชาคณะ

นมัสการ

พระคุณท่าน กระผม/ดิฉัน

ขอนมัสการด้วย ความเคารพอย่างสูง จ่าหน้าซองว่า นมัสการ(ออกนาม)

นายกรัฐมนตรี

กราบเรียน

ท่าน ข้าพเจ้า/กระผม ผม/ดิฉัน

ขอแสดงความนับ ถืออย่างยิ่ง จ่าหน้า ซองว่า กราบเรียน

วิชาภาษาไทย


81 |

หน้า

เสียง สระ พยัญชนะ และอักษร ในภาษาไทย เสียงในภาษาไทยมี 3 ชนิดคือ 1. เสียงแท้ คือ เสียงสระ 2. เสียงแปร คือ เสียงพยัญชนะ 3. เสียงดนตรี คือ เสียงวรรณยุกต์ (เป็นเอกลักษณ์ของภาษาไทย ที่แตกต่างจาก ภาษาส่วนใหญ่)

การนักส่วนประกอบของพยางค์ มีอย่างน้อยสามส่วน คือ พยัญชนะ สระ เสียงวรรณยุกต์ หากเป็นคาสี่ส่วน คือ มี ตัวสะกดมาเพิ่ม หากเป็นคาสี่ส่วนพิเศษคือมีตัวการันต์ ห้าส่วนคือมีทั้งตัวสะกดและตัวการันต์ สระลดรูปและเปลีย่ นรูป สระ ลดรูป สระอะ ณ ธ พณ สระเอะ สระแอะ สระโอะ จน บน ซน สระออ บ่ พร จร กร สระเอาะ วอกแวก สระเออ เนย เลย เชย สระเออะ สระอัวะ พวก บวก ปลวก สระอัว กวน สวน สวย

เปลี่ยนรูป ขัน วัน บัน เจ็บ เล็บ เป็ด แข็ง ก็ ช็อก ล็อก เดิน เทิน เกิน เงิน เนิ่น เปิ่น -

คงรูป กะ จะ นะ เละ เตะ แกะ แงะ แตะ โละ โป๊ะ รอ พอ กอ เกาะ เพราะ เงาะ เจอ เธอ เถอะ เลอะ เปรอะ ผัวะ กลัว มัว รัว

วิชาภาษาไทย


82 |

พยัญชนะ 1.พยัญชนะเดี่ยวมี44รูปแบ่งตามฐานกาเนิดเสียงดังนี กัณฐชะ คอ ก ขฃ คฅฆ ตาลุชะ เพดาน จ ฉ ชซฌ มุทธชะ ปุ่มเหงือก ฎ ฏ ฐ ฑฒ ทันตชะ ฟัน ดต ถ ทธ โอฏฐชะ ปาก บป ผฝ พฟภ 2.พยัญชนะประสม 2.1 อักษรควบแท้ในภาษาไทยมี 15 รูป 11 เสียงคือ 1./กร/ 2./กล/ 4./คร/ /ขร/ 5./คล/ /ขล/ 7./ตร/ 8./ปร/ 10. /พร/ 11./พล/ /ผล/

ง ญ ณ น ม

หน้า

หอฮ ศย รษฬ ลส ว

3./กว/ 6. /คว/ /ขว/ 9./ปล/

หลักจา พยัญชนะที่นาหน้าให้จาว่า ก่อนค่าไปพบเตี่ย (ก ค ป พ ต) ตามด้วย รู้แล้วโว้ย (ร ล ว) 555 หรือจาเป็นกลอนก็ได้ กรกลกวัดแกว่งไกว ขรโคลนใครขลับความควาย ตริตรองปรับขวนขวาย เปลี่ยนพลางพรายผลัดคาไทย 2.2 อักษรควบไม่แท้ เช่น จริง สร้าง อย่า อยู่ อย่าง อยาก เศร้า หญ้า หนู

วิชาภาษาไทย


83 |

หน้า

คามูล คาประสม คาซ้า คาซ้อน คามูล คือ คาที่มีมาในภาษาแต่เดิม อาจเป็นคาเดียวโดดๆมีความหมายชัดเจนในตัวมัน เองเช่น พ่อ แม่ ครู ไฟ ดิน นา หรือเป็นคาหลายพยางค์ ถ้าแยกพยางค์ออกจะไม่มี ความหมายหรือมีความหมายบางพยางค์เช่น นาฬิกา กระดาษ ปรารถนา คาประสม คือ คามูลตังแต่ 2 คาขึนไปรวมกันกลายเป็นคาใหม่มีลักษณะดังนี 1.เมื่อประสมกันแล้วกลายเป็นคาใหม่ที่มีความหมายคล้ายคามูลเดิม เช่น แม่+บ้าน เป็น เเม่บ้าน เตา+ไฟ เป็น เตาไฟ 2.เมื่อประสมแล้วกลายเป็นคาใหม่ที่มีความหมายต่างไปจากคามูลเดิม เช่น ยก+เมฆ เป็น ยกเมฆ (กล่าวอ้างสิ่งที่ไม่เป็นความจริง) ตัวอย่างคาประสม เช่น ช่างเขียน ที่นอน ตกใจ ตังมั่น เล่นนา อ่อนใจ แดงเลือดนก ระวัง วลีอาจมีลักษณะคล้ายคาประสม เช่น ลูกนก ในขณะที่คา ประสม คือ ลูกเจี๊ยบ คาซ้า เป็นการนาคาคาเดียวมากล่าวซาเพื่อเน้นคาหรือคลายนาหนักคาให้เบาลง ตัวอย่างเช่น เด็กๆ น้องๆ ใครๆ ดีๆ เป็นๆ ซ้วยสวย ด๊าดา ใกล้ๆ เก่าๆ โอ่งๆ ปรอยๆ ฯลฯ ระวัง!!!!! คาว่า นานา ไม่ใช่คาซา คาซ้อน เป็นการนาคาที่มีความหมายเหมือนกันหรือคล้ายกันหรืออาจตรงข้ามกันมา เรียงซ้อนกันแต่ยังคงเค้าความหมายเดิมอยู่ แบ่งเป็น ซ้อนเสียง และซ้อนความหมาย ตัวอย่างเช่น ซากศพ รูปร่าง ข้าทาส จิตใจ แก่นสาร เสือสาง เสื่อสาด ห้างร้าน แบบ แปลน เขียวขจี ทรวงอกเจ็บไข้ ดูดดื่ม คล้ายคลึง ดือดึง เท็จจริง หนักแน่น เอร็ดอร่อย ทิ่มตา เร่อร่า เกะกะ พูดเพิด แร้นแค้น ลักลั่น ขโมยขโจร กระโดดโลดเต้น ติดอกติดใจ การซ้อนความหมาย มีได้สามรูปแบบ คือ ความหมายเหมือนกัน ความหมายใกล้เคียงกัน และความความตรงกันข้าม

วิชาภาษาไทย


84 |

คายืมภาษาต่างประเทศมาใช้ในภาษาไทย 1. คาภาษาบาลีและสันสกฤต บาลี สันสกฤต 1.ใช้สระ อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ

1.ใช้สระ อา อิ อี อุ อู เอ โอ ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ไอ เอา 2.ใช้ ศ ษ เช่น ศูนย์ ศาสนา 3.ใช้ ฑ เช่น จุฑา กรีฑา 4.ใช้อักษรควบกลา พยัญชนะประสม 5.ใช้ รร แทน ร (ร เรผะ)

2.ใช้ ส เช่น สูญ สาสนา 3.ใช้ ฬ เช่น จุฬา กีฬา 4.ใช้พยัญชนะเรียงพยางค์ 5.ใช้พยัญชนะสะกดและตัวตาม เดียวกัน หลักตัวสะกดตัวตามในการสังเกตคาภาษาบาลี พยัญชนะวรรค แถว1 แถว2 วรรค กะ กัณฐชะ ก ข วรรค จะ ตาลุชะ จ ฉ วรรค ฏะ มุทธชะ ฏ ฐ วรรค ตะ ทันตชะ ต ถ วรรค ปะ โอษฐชะ ป ผ เศษวรรค ย ร ล ว

แถว3 แถว4 แถว5 ค ฆ ง ช ฌ ญ ฑ ฒ ณ ท ธ น พ ภ ม (ศ ษ) ส ห ฬ ๐

-พยัญชนะแถวที1่ เป็นตัวสะกดตามด้วยพยัญชนะแถวที่1, 2 เช่น ภิกขุ มิตตะ ปัจฉิม อิตถี หัตถี วัตถุ นิจจะ อัตตา -พยัญชนะแถวที3่ เป็นตัวสะกดตามด้วยพยัญชนะแถวที่3,4 เช่น สัพพะ นิพพาน ยุทธ สุทธิ มิคคะ วิชชา พยัคฆ์ -พยัญชนะแถวที่ 5 เป็นตัวสะกดตามด้วยพยัญชนะแถวที่5ในวรรคเดียวกัน เช่น สันติ พิมพ์ สงฆ์ บุญญ ชงฆ์ กัญญา กุณฑล -ตัว ย ตามด้วย ย ล ตามด้วย ล ส ตามด้วย ส

วิชาภาษาไทย

หน้า


85 |

หน้า

เช่น วัลลภ วัลลิ บัลลังก์ พัสสะ อัสสะ หัสสะ อุยยาน อัยยิกา เวเนยย เปรียบเทียบคาในภาษาบาลีและสันสกฤต บาลี สันสกฤต ข เช่น เขต เขม กษ เช่น เกษตร เกษม ตถ เช่น วัตถุ วิถภาร สัตถา สด เช่น วัสดุ พิสดาร ศาสดา ป เช่น ปทุม ปัญญา ปร เช่น ประทุม ปรัชญา ต เช่น มิต จตุ ตร เช่น มิตร จตุร ถฐ เช่น ฐาน ถาวร สถ เช่น สถาน สภาวร ส เช่น อัสสวะ ศ เช่น อัศวะ ตัวเบิล เช่น วัลลภ รร เช่น ภรรยา จรรยา ฬ เช่น กีฬา คุฬ ฑ เช่น กรีฑา ครุฑ ชช เช่น วิชชา วิชชุ ทย เช่น วิทยา วิทยุ 2.คาภาษาเขมร ๑.คาโดดที่มีความหมายเข้าใจยาก หรือต้องแปล เช่น อวย(ให้) แข(พระจันทร์) ได(มือ) นัก(เจ้า) เลิก(ยก) แสะ(ม้า) มาน(มี) ทูล(บอก) บาย(ข้าว) ๒. คาเขมรมักสะกดด้วยตัว จ ญ ร ล ส เช่น เสด็จ เจริญ เดิร (ไทย ใช้เดิน) เถมิร (ไทยใช้ เถมิน = ผู้เดิน) จรัล จรัส จัส (ไทยใช้ จัด = มาก, แรง, เข้ม, แก่) ๓.คาเขมรมักเป็นคาราชาศัพท์ในภาษาไทย เช่น บรรทม (นอน) เสด็จ (ไป ) เขนย (หมอน) ๔. คาเขมรมักเป็นคาแผลง เช่น บังเกิด (เกิด) ชาร่วย (ช่วย) ขจาย (กระจาย) ๕. คาเขมรมักขึนต้นด้วย กระ (แผลงจาก ข) ประ (แผลงจาก ผ และ บรร) สระอา (แผลงจากสระอื่น) เช่น กระดาน (ขดาน) กระโดง (ขโดด) กระจอก (ขจอก) กระจาย (ขจาย) ประสม (ผสม) ประสาน (ผสาน) ประจญ (ผจญ) ประกาย (ผกาย) ประทม (บรรทม) ประทุก (บรรทุก) บรรจุ (ประจุ) สารวล (สรวล) สาเร็จ (เสร็จ) สาราญ (สราญ) อานาจ (อาจ)

วิชาภาษาไทย


86 |

หน้า

๖. คาเขมรมักขึนต้นด้วย บัง บัน บา เพราะคาเดิมมีคาว่า บ อยู่หน้าไทยใช้เป็น บัง บัน หรือ บา เช่น บังคับ บังคม บังเกิด บังอาจ บันได บันดาล บันลือ บาเพ็ญ บาเหน็จ บาบัด ๗. คาที่มี ๒ พยางค์ มีลักษณะเหมือนอักษรนาและอักษรควบของไทย เช่น แขนง จมูก ฉนา (ปี) ไพร กระบือ ฉลอง ขลัง ไถง เสวย ขลาด ๘. คา ๒ พยางค์ ที่ขึนต้นด้วย คา กา จา ชา ดา ตา ทาและสามารถ แผลงเป็นตัวอื่นได้มักเป็นคาเขมรเช่น คารบ(ครบ) กาเนิด(เกิด) จาหน่าย(จ่าย) จาแนก (แจก) ชานาญ(ชาญ) ดาเนิน(เดิน) ดาริ(ตริ) ตารว(ตรวจ) ทานบ (ทบ) ภาษาจีน กงเต๊ก กะหล่า ซีอิว ฮื่อฉี่ แฮ่กึ๊น อังโล่ โอเลียง เป๋าฮือ เปาะเปี๊ยะ แป๊ะเจี๊ยะ โป๊ยเซียน เซ้งลี เซียมซี โจ๊ก กวยจั๊บ กวยจี๊ เกี๊ยะ กอเอี๊ยะ กะลอจี๊ กุยช่าย ปุ้งกี๋ ลังถึง ต๋ง บ๊วย เจี๋ยน กาน้า โสหุ้ย ภาษาอังกฤษ ริบบิน เชิต โอ๊ก เซรุ่ม ทอฟฟี่ เค้ก ก๊อกนา โค้ช แท็กซี่ บรั่นดี ลอตเตอรี่ แบตเตอรี่ ม็อบ ชอล์ก โควตา เต็นท์ แท็งก์นา ดรัมเมเยอร์ ฟาล์ว ช็อกโกแลต เทคนิค เดลินิวส์ แสตมป์ แบงก์ สวิตซ์ไฟ อพาร์ตเมนท์ บาสเกตบอล ก๊าซ คุกกี แก๊ง ปรู๊ฟ แฟชั่น โคม่า ก๊อบปี้ กีตาร์ บัสเลน ภาษามลายู ตะเบ๊ะ กอและ โสร่ง ภาษาชวา ซ่าหริ่ม สะตาหมัน ปั้นเหน่ง ภาษาเปอร์เซีย ชุกชี ยี่หร่า สุหร่าย เยียรบับ ปสาน

วิชาภาษาไทย


87 |

หน้า คาสมาส คาสนธิ

คาสมาส 1.เป็น คาบาลี,สันสกฤต หรือ บาลี+สังสกฤต 2.แปลจากหลังมาหน้า เช่น อัคคีภัย แปลว่า ภัยที่เกิดจากอัคคี(ไฟ) 3.อ่านเนื่องเสียง(มีการออกเสียงระหว่างคา) และตัด สระ อะ และการันต์ เช่น พละ+ ศึกษา =พลศึกษา ข้อควรระวัง คาที่เกิดจากคาอื่นที่ไม่ใช่บาลีสันสกฤต เช่น คริสตจักร ( Eng ) เคมีภัณฑ์ ( Eng ) ราชดาเนิน ( เขมร ) จะไม่นับเป็นคาสมาส เพราะ คาสมาสเกิดจาก คาบาลีสันสกฤตเท่านัน ! คาสนธิ คือ คาสมาสที่นาเอาพยัญชนะตัวสุดท้ายของคาหน้า ไปแทนที่ อ ตัวแรก ของคาหลัง 1. สระสนธิ - ตัดตัว อ ในคาหลังแล้วสนธิ เช่น สุข+อุทัย =สุโขทัย นร+อิศวร=นเรศวร ปรม+อินทร์=ปรมินทร์ -สระอุ สระ อูเปลี่ยนเป็น ว สระอิ สระอี เปลี่ยนเป็น ย เช่น ธนู+อาคม >>> ธนว+อาคม >>> ธันวาคม สินธุ+อานนท์>> สินธว+อานนท์ >> สินธวานนท์ สามัคคี+อาจารย์ >>> สามัคคย+อาจารย์ >>> สามัคยาจารย์ 2.พยัญชนะสนธิ เปลี่ยน ส เป็น สระโอ หรือ ตัว ร เช่น รหัส+ฐาน=รโหฐาน ทุส+ชน=ทุรชน นิส+ภัย=นิรภัย 3.นิคหิตสนธิ สนธิกับวรรคต่างๆให้เปลี่ยนเป็นพยัญชนะสุดท้ายในวรรคนัน เช่น ส+อ เป็น ม เช่น ส+อิทธิ=สมิทธิ ส+อาส=สมาส ส+พันธ์=สัมพันธ์ ส+จร=สัญจร ศ+เศษวรรค เป็น ง เช่น ส+วร=สังวร วิธีการดูว่าคาไหนเป็น สมาสหรือ สนธิ (สมาสชนิดสนธิ) โดยแยกคาสองคาออกจากกัน

วิชาภาษาไทย


88 |

หน้า

ถ้าแยกออกได้เป็นคาเลย --- สมาส ถ้าแยกแล้วต้องเติม อ หน้าตัวหลัง --- สนธิ ชนิดของประโยค 1.ประโยคความเดียว เป็นประโยคที่มีใจความสาคัญเพียงใจความเดียว เช่น ฝนตก ลมพัด นาไหล เขาเดินอย่างว่องไว 2.ประโยคความรวม เป็นประโยคที่รวมเอาประโยคความเดียวตังแต่2ประโยคขึนไป โดยมีสันธานเป็นตัวเชื่อมเช่น และ ถ้า..แล้ว แต่ ก็ หรือ เช่น ถ้าเขาตายแล้วฉันจะเสียใจมาก ฉันและเธอไปเที่ยวด้วยกัน กว่าถั่วจะสุก งาก็ไหม้ ทังๆที่ฝนตกแต่เขาก็ยังออกไปวิ่งเล่น 3.ประโยคความซ้อน เป็นประโยคที่มีใจความหลักประโยคหนึ่งแล้วมีประโยคย่อยอีก ประโยคหนึ่งซ้อนอยู่ (ถ้ามีคาเชื่อม มักเป็นคาว่า ผู้ ว่า ให้ ที่ ซึ่ง อัน เมื่อ จน) เช่น บ้านหลังใหญ่อยู่ริมแม่นา คุณครูที่เป็นชาวต่างประเทศคนนันได้ลาออกไปแล้ว

ระวัง คาเชื่อม เพราะ สามารถเป็นได้ทั้งประโยคความรวม และประโยคความซ้อน ตามตาแหน่งของคาว่า เพราะ เช่น เขาสอบตกเพราะไม่อ่านหนังสือ เป็นประโยคความซ้อน เพราะฝนตกเขาจึงไม่ออกไปวิ่ง เป็นประโยคความรวม เพราะฝนตกเขาจึงไม่ออกไปวิ่ง เป็นประโยคความรวม

วิชาภาษาไทย


89 |

หน้า โจทย์ ชุดที่ ๑

๑.ข้อใดไม่ปรากฎเสี ยงธรรมชาติในคาประพันธ์ ก.โอรสรี บจับชุดจุดปื นใหญ่

เสี ยงฟันไฟฟูตูมสนัน่

ข.ยิงประดังตัง่ ตึงเสี ยงผึ้งผาง

ทั้งสองข้างคัง่ คับสัประยุทธ์

ค.ผลทมิฬสิ นสมุทรจุดปี นหลัง ง.ผลลังกาหนาแน่นแล่นตลบ

บ่างเยื้องยังยิงบ้างเสี ยงผางผิง เข้ารุ กรบกันเสี ยงหวัน่ ไหว

๒.ข้อใดใช้เสี ยงเลียนเสี ยงธรรมชาติ ก.นกบินกรวดพรวดพราดประกายพราย พลุกระจายช่อช่วงดังดวงเดือน ข.ปี่ ระนาดฆ้องกลองประโคมดัง

ระฆังหงัง่ หวัง่ หว่างลงครางครึ ม

ค.เสนาะเสี ยงเทศนาปุจฉาถาม

ในสนามเสี ยงสนัน่ เนินสิ งขร

ง.บ้างขายของสองข้างตามทางป่ า

จานรรจาจอแจออกแซ่เสี ยง

๓.ในข้อใดใช้โวหารภาพพจน์ชนิดบุคคลวัต ก.น้ าค้างหยดลงเผาะๆ

เป็ นหยาดน้ าตาแห่งสวรรค์

ข.เรี ยมร่ าน้ าเนตรท่วม

ถึงพรหม

ค.หากลูกและเมียมี

ก็ถนอมประหนึ่งตน

ง.หางนกยูงระย้าเรี่ ยคลอเคลียน้ า

แพนดอกฉ่ าช้อยช่อวรวิจิตร

วิชาภาษาไทย


90 |

หน้า

๔.ข้อใดไม่มีความเปรี ยบ ก.พี่เป็ นดินถวิลฟ้าเหมือนกาต่า คงต้องช้ าหมายชิดหงส์คงผิดหวัง ข.แม้ราตรี ก็จะมีผอ่ งประภา

ประหนึ่งว่ากลางวันเป็ นมัน่ คง

ค.อันมนุษย์สุดฉลาดทั้งอาจอง อย่างวยงงให้เหมือนสัตว์ปัดสี เอย ง.เสี ยงดังหว่างเหง่งวังเวงแว่ว

สะดุง้ แล้วเหลียวแลชะแง้หา

๕.ข้อใดไม่มีความเปรี ยบ 1.ไม่คลาดเคลื่อนเหมือนองค์พระทรงเดช 2.แต่ดวงเนตรแดงดูดงั สุ ริยฉ์ าย 3.ทรงกาลังดังพระยาคลาพลาย 4.มีเขี้ยวคล้ายชนนีมีศกั ดา ก.1,2

ข.2,3

ค.3,4

ง.1,4 ๖.”ดนตรี มีสนัน่ บันลือลัน่ ครั่นครื้ นโครมบรรเลงเพลงบรรโลมประนังโน้มกาหนัดชม” เมื่อ แบ่งแวรรคแล้วเป็ นคาประเภทใด ก.กาพย์ยานี

ข.กาพย์ฉบัง

วิชาภาษาไทย

ค.กาพย์สุรางคนางค์

ง.กลอนสุ ภาพ


91 |

หน้า

๗.ข้อความต่อไปนี้สอนใจเรื่ องใด “อันเสาหินแปดศอกเป็ นหลัก จงฟังหูไว้หูคอยดูไป

ไปมาผลักบ่อยเข้าเสายังไหว เชื่อน้ าใจดีกว่าอย่าเชื่ อยุ”

ก.ฟังไม่ได้ศพั ท์จบั ไปกระเดียด

ข.ฟังความข้างเดียว

ค.ฟังขึ้น

ง.รับฟังไว้ แต่ไม่เชื่อทั้งหมด

๘.ข้อใดมีความรู ้สึกต่างจากข้ออื่น ก.อย่าโศกนักพักตร์ นอ้ งจะหมองสี

เจ้าผันหน้ามานี่จะบอกให้

ข.ทรงพระชรานักหนาแล้ว

ทูลประหม่อมเมียแก้วจงหนักใจ

ค.ลูกเอ๋ ยมีกรรมก็จาไป

เงินเฟื้ องเบี้ยไพก็ไม่มี

ง.ถึงวัดแจ้งแสงจันทร์ จารัสเรื อง

แลชาเลืองเหลียวหลังหลัง่ น้ าตา

๙.ภริ ยาผูว้ า่ ราชการจังหวัด.....ถวายช่อดอกไม้และ......แค่สมเด็จพระนางเจ้าฯพรพบรม ราชินีนาถ ก.ทูลเกล้าฯ,ผ้าซับพระพักตร์

ข.ทูลเกล้าฯ,ผ้าเช็ดหน้า

ค.น้อมเกล้าฯ,ผ้าซับพระพักตร์

ง.น้อมเกล้าฯ,,ผ้าเช็ดหน้า

วิชาภาษาไทย


92 | ๑๐.ข้อใดใช้ทรงไม่ถูกต้อง ก.ทรงเสด็จ ทรงประทาน

ข.ทรงดนตรี ทรงศีล

ค.ทรงเป็ นอาจารย์ ทรงเปิ ดอาคาร

ง.ทรงพระกรุ ณา ทรงพระดาริ

๑๑.ข้อใดใช้ลกั ษณะนามถูกต้องทุกคา ก.ขิม ๑ ตัว ซอ ๒ เล่ม ระนาด๓ราง ข.ถนน ๓สาย ตัดผ่านแม่น้ า๑เส้น ค.ในกล่องขนมไทยมี ทองหยอด๕เม็ด ทองหยิบ๓ดอก ทองพลุ๔ก้อน ง.ขายนกหวีด ๑๐ อัน ธง ๒ ผืน ๑๒.ข้อใดมีคาที่เขียนผิด ก.นายไทยเป็ นมัคคุเทศก์ที่มธั ยัสถ์ และมีมุกตลกมาเล่าให้คนอื่นฟังเสมอ ข.เราควรขะมักเขม้นในการอ่านหนังสื อ และมีความกระตือรื อร้นในหาความรู ้ ค.ประติมากรรมชิ้นนี้เป็ รงานที่ศิลปิ นสร้างขึ้นด้วยความประณี ต ง.เกล็ดความรู ้ในวันนี้คือ ปลามีเกร็ ด

วิชาภาษาไทย

หน้า


93 |

หน้า

๑๓.เขา.....หนังสื อ เกี่ยวกับการ.....สมุทร ตอนที่เขา.....วายุไปแล้ว ก.เกษียณ,เกษียน,เกษียร

ข.เกษียน,เกษียณ,เกษียร

ค.เกษียร,เกษียน,เกษียณ

ง.เกษียน,เกษียร,เกษียณ

๑๔.ข้อใดใช้สานวนผิด ก.เขาทะเลาะกัน ไม่มีใครยอมใคร เหมือนสานวนที่วา่ ขิงก็รา ข่าก็แรง ข.พ่อแม่ดูแลเขาอย่างดีเหมือนไข่ในหิ น ค.เธอว่ากล่าวสั่งสอนปากเป็ นชักยนต์เลย ง.ไม่เป็ นไรน่า ถึงวันนี้ เธอจะพลาดโอกาสไปแต่คราวหน้ายังมีโอกาส เหมือนชัว่ เจ็ดที ดีเจ็ดหนไง ๑๕.ข้อใดเป็ นคาบาลีทุกคา ก.นฤพาน ดารดาษ

ข.ไวยากรณ์ รุ กข์

ค.พฤกษ์ อิสิ

ง.กระดาษ อุปมัย

วิชาภาษาไทย


94 | ๑๖.ข้อใดไม่ประกฏคาซ้อน ก.แม่รักลูกลูกก็รู้อยูว่ า่ รัก ข.ก้มกราบกรานระลึกถึงพระคุณครู ค.ถึงโซ่ตรวนพันผูกสักร้อยหุ น

ใจมัน่ มุ่งจะหักทาลายได้

ง.แต่ใยรักบางเขาสักเท่าใด

ผูกพันไว้แนบสนิทนิจนิรันดร์

๑๗.ข้อใดอ่านผิด ก.นักษัตร อ่านว่า นัก-สัด ข.ซอมซ่อ อ่านว่า ซอม-มะ-ซ่อ ค.มหาตมะ อ่านว่า มะ- หา-ตะ-มะ ง.ชุกชี อ่านว่า ชุก-กะ-ชี ๑๘.ข้อใดมีคาจากภาษาต่างประเทศที่สะกดผิด ทุกคา ก.ไฟแช็ค นิกเกิล เชลเล็ก

ข.โน้ต ลิฟต์ ริ บบิน

ค.บักเตรี กีตาร์ เอ็กซเรย์

ง.เต็นท์ ช็อกโกแล็ต สเปกตรัม

วิชาภาษาไทย

หน้า


95 |

หน้า

๑๙.ข้อใดมีคาลหุมากที่สุด ก.หนาวโศกวิโยคโศกหนาว ข.ลาแสงทองพราวราวทองฉาย ค.บุปผารอวันพร่ างพราย ง.ขวัญฝ้านไกลสู่ อนันตกาล ๒๐.ข้อใดมีคาเป็ นมากที่สุด ก.ว่าพลางชมทางคณานก ข.โผนผกจับไม้อึงมี่ ค.เบญวรรณจับวัลย์ชาลี ง.เหมือนวันพี่ไกลสามสุ ดามา ๒๑.คาว่า”ราชินี-อนุสรณ์” สนธิเป็ นคาใด ก.ราชินานุสรณ์

ข.ราชินยานุสรณ์

ค.ราชินีนุสรณ์

ง.ราชินีอนุสรณ์

๒๒.ข้อใดสนธิผดิ ก.ส+อาคม = อาคม

ข.นิสฺ+นาม=นิรนาม

ค.นร+อิศวร=นเรศวร

ง.สุ ร+อังค์=สุ รางค์

วิชาภาษาไทย


96 |

หน้า

๒๓.ข้อใดไม่มีการหลากคา ก.ทรงกาลังดังพระยาพลาย

ข.ต้องหาม้ามโนมัยใหญ่ยาวรี

ค.สุ ริยนั จันทร์ กระจ่าง

ง.สายชลเชี่ยววนในธารา

๒๔.”ต้องหาม้ามโนมัยใหญ่ยาวรี สาหรับขี่เป็ นม้าอาชานัย”

ข้อความที่วา่ “ม้ามโนมัยใหญ่

ยาวรี ” หมายถึงข้อใด ก.ม้าที่ฝึกอย่างดี

ข.ม้าที่รู้ใจเจ้าของ

ค.ใจที่รู้ทนั กิเลศ

ง.ใจที่สงบ

๒๕.ข้อใดมีวรรณยุกต์ครบทั้งห้าเสี ยง ก.ฝ่ ายพวกผีที่อยูท่ ิศทักษิณ

ข.ครั้นได้ยนิ จึงแจ้งแถลงไข

ค.เห็นเงือกพามนุษย์รีบรุ ดไป

ง.ข้างทิศใต้แต่เมื่อวานซื นนี้

วิชาภาษาไทย


97 |

หน้า โจทย์ ชุดที่ ๒

๑.ข้อใดไม่มีคาพ้อง ก.คางเบือนเบือนหน้ามา

ไม่งามเท่าเจ้าเบือนชาย

ข.ฉันรักเธอเออใช่ใครก็รู้

ฉันเคยอยูค่ ู่เธอเออก็ใช่

ค.ทั้งจากทีจากคลองเป็ นสองข้อ

ยังจากกอก็มาขึ้นที่คลองขวาง

ง.กันมีเพื่อนรักกันไม่กนั เพื่อน

กันกันเพื่อนรักกันกันไม่ได้

๒.คาประพันธ์ต่อไปนี้คาต่างประเทศกี่คา ก.๑๐ คา

ข.๑๑ คา

ค.๑๒ คา

ง.๑๓ คา

๓.ข้อใดมีความลหุ นอ้ ยที่สุด ก.พระทรงอุปถัมภ์

ไม่เหลื่อมล้ าศาสตร์ นานา

ข.ตลอดพระชนมา

อัคราภูวดล

ค.ทั้งศาสตร์ และศิลป์ เปรื่ อง

พระประเทืองปั ญญาชน

ง.ดาริ ประสิ ทธิ์ พล

นิกรชนยลโครงการ

วิชาภาษาไทย


98 | ๔.

“พระราชบุตรฉุดลากลาบากเหลือ

ดังหนังเนื้อนี้จะแยกแตกสลาย

ทั้งลูกเต้าเผ่าพงศ์ก็พลัดพลาย

ยังแต่กายเกือบจะดิ้นสิ้ นชี วนั

คาประพันธ์ขา้ งต้นใช้โวหารภาพพจน์ตรงกับข้อใด

๕.

หน้า

ก.อุปมา อติพจน์

ข.อุปมา สัทพจน์

ค.บุคคลวัต อติพจน์

ง.บุคคลวัต สัทพจน์

“เมื่อวานนี้ ตีขา้ น้อยไปหรื อ

ระบมมัวเหมือนกระดูกลูกจะหัก

ซึ่ งรักลูกลูกก็รู้อยูว่ า่ รัก

มิใช่จกั ลืมคุณกรุ ณา

ถึงตัวไปใจลูกยังผูกติด

พอปลดปลิดเรื่ องธุระจะมาหา

อย่ากริ้ วโกรธโปรดปรานเถอะมารดา

ไปไสยาอยูใ่ นถ้ าให้สาราญ”

คาประพันธ์ขา้ งต้น มีรสวรรณคดีใด ก.เสาวรจนี

ข.นารี ปราโมทย์

ค.พิโรธวาทัง

ง.สัลลาปังคพิสัย

วิชาภาษาไทย


หน้า

99 |

“ถึงอินทเภรี ตีระงม

๖.

แตรสังข์เสี ยงประสม

ประสานเสนาะในไพร เสี ยงพลโห่ร้องเอาชัย

เลือนลัน่ สนัน่ ใน

พิภพเพียงทาลาย” คาประพันธ์ขา้ งต้น ปรากฏโวหารในข้อใด ก. สัทพจน์

ข.อติพจน์

ค.อุปมา

ง.อุปลักษณ์

๗.ข้อใดเป็ นประโยคความซ้อน ก.ในแจกันมีดอกกุหลาบและดอกพลับพลึง ข.คุณครู ที่เป็ นชาวต่างประเทศ ลาออกจากโรงเรี ยนนี้ไปแล้ว ค.ผูช้ ายคนนั้นเดินเร็ วมาก ง.คุณครู ทุกท่านมีพระคุณต่อฉันอย่างล้นเหลือ ๘.ข้อใดมีลกั ษณ์นามต่างกัน ก.โฉนด ธนบัตร หนังสื อพิมพ์

ข.ธนู เบ็ด แร้ว

ค.พัด เกวียน กริ ซ

ง.คนธรรพ์ ยมราช ยักษ์

วิชาภาษาไทย


100 |

หน้า

๙.ข้อใดมีความหมายเหมือนกันทุกคา ก.บรรพต สิ งขร พนม

ข.อาโป อุทก ดิตย์

ค.บุหงา บุหลัน บุหรง

ง.เมฆินทร์ โพยม วลาหก

๑๐.ข้อใดมีการสร้างคาต่างจากข้ออื่น ก.ขับคเชนทร์ สาวก้าว

ส่ ายเสื้ องเทาทาง

ข.สถานที่พุทธบาทสร้าง

สื บไว้แสวงบุญ

ค.โดยเสด็จดาเนินแคล้ว

คลาดคล้อยบทจร

ง.สุ ธารรับพระเต้า

เครื่ องต้นไปตาม

๑๑.ข้อใดใช้บรรยายโวหาร ก.ถ้าอยากติดเตรี ยมอุดมต้องมุ่นมัน่ ตั้งใจอ่านหนังสื อ อย่าท้อถอย ข.ถึงวันสอบผูค้ นหลัง่ ไหลกันมามากมาย เสี ยงดังจอแจ ค.ถึงเวลาสอบ มองจากโต๊ะตัวแรกไปถึงตัวสุ ดท้ายไกลสุ ดลูกหูลูกตา ง.วันประกาศผลเหมือนใจหล่นวูบ จนแทบต้องกลั้นหายใจตอนคลิ๊กดูผลการสอบ ๑๒.ข้อใดเขียนผิดทุกคา ก.คาณวน คะนึง

ข.งบดุล ขะมักขะเขม้น

ค.จาละเม็ด จัก๊ จัน่

ง.ตลบตะแลง ขมุกขมัว

วิชาภาษาไทย


101 |

หน้า

๑๓.ข้อใดอ่านไม่ถูกต้อง ก.ข่าวโฆษณาวันนี้ น่าเบื่อที่สุด อ่านว่า โค-สะ-นะ ข.พวกเด็กๆชอบเล่นวิตถาร อ่านว่า วิด-ถาน ค.เวลาที่นงั่ สมาธิ ตอ้ งนัง่ ขัดสมาธิ อ่านว่า ขัด-สะ-หมาด ง.บ้านหลังนี้ดูซอมซ่ อมากๆเลย อ่านว่า ซอม-มะ-ซ่อ ๑๔.ข้อใดเป็ นคาสมาสทุกคา ก.ราชการ ราชดาริ ราชรถ

ข.พลศึกษา พลการ พลขับ

ค.โจรภัย อุบตั ิภยั ปลอดภัย

ง.อนิจกรรม กายกรรม หัตถกรรม

๑๕.ข้อใดเป็ นคาเขมรทั้งหมด ก.เดิน ชงฆ์ องค์

ข.สัทธา วัยยกา พัสสะ

ค.สรรเสริ ญ กระจาย ขจร

ง.ผกา เผอิญ สัญจร

๑๖.ข้อใดสนธิผดิ ก.มีคค+อุเทศก์=มัคคุเทศก์

ข.มหา+อัศจรรย์=มหัสจรรย์

ค.จักขุ+อาพาธ=จักขาพาธ

ง.ส+ภพ=สมภพ

วิชาภาษาไทย


102 |

หน้า

๑๗.ข้อใดใช้ลกั ษณนามไม่ถูกต้อง ก.ฝอยทอง-แพ

ข.ทองหยิบ-ดอก หยิบ

ค.ทองหยอด-เม็ด ลูก

ง.ข้าวเม่าทอด-ชิ้น

๑๘.ข้อใดใช้ลกั ษณะนามไม่ถูกต้อง ก.ภูเขา-ลูก

ข.ฝน-เม็ด ห่า

ค.แม่น้ า-สาย

ง.รุ ้งกินน้ า-เส้น ”สู งอย่าให้สูงกว่าฐานนานไปล้ม

๑๙.

คนสามขามีปัญญาหาไว้ทกั

จะเรี ยนคมเรี ยนเถิดอย่าเปิ ดฝัก ที่ไหนหลักแหลมคาจงจาไว้”

คาว่า “คนสามขา” หมายถึงข้อใด ก.คนแก่

ข.คนฉลาด

ค.คนถือไม้เท้า

ง.คนพิการ

๒๐.เมื่อแบ่งคาประพันธ์น้ ีแล้วจะเป็ นคาประพันธ์ปนะเภทใด “อินทรชิตบิดเบือนกายินเหมือน องค์อมริ นทร์ทรงคชเอราวัณ” ก.กาพย์ยานี ๑๑

ข.กาพย์ห่อโคลง

ค.กลอนสุ ภาพ

ง.กาพย์ฉบัง ๑๖

วิชาภาษาไทย


103 |

หน้า

๒๑.เมื่อคราที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เสด็จพระราชดาเนินไปจังหวัดเชียงใหม่ ผูว้ า่ ราชการ ได้จดั ให้มีการแสดงละคร..... ก.เฉพาะพระพักตร์

ข.หน้าพระพักตร์

ค.หน้าพระที่นงั่

ง.เบื้องหน้าพระพักตร์

๒๒.ข้อใดเป็ นคาราชาศัพท์ท้ คั ู่ ก.ทรงดนตรี ทรงกลด

ข.ราชรถ ราชการ

ค.ช้างต้น เพื่อนต้น

ง.ห้องเครื่ อง พระเครื่ อง

๒๓.ข้อใดใช้ราชาศัพท์ถูกต้องทุกคา “สมเด็จพระสังฆราชมี.....๑๐๐..... ก.พระชนมายุ,พรรษา

ข.พระชันษา,ปี

ค.พระชันษา ,พรรษา

ง.พระชนมายุ.ปี

วิชาภาษาไทย


104 |

หน้า

๒๔.ข้อใดใช้สานวนไม่ถูกต้อง ก.พวกเขาทะเลาะกันรุ นแรงจนกระทัง่ เด็ดดอกไม้ไม่ไว้ข้ วั กันเลยล่ะ ข.ดูคนนั้นสิ บ้านเขาจนมาก ยังใจดีเก็บเด็กกาพร้ามาเลี้ยง เหมือนสานวนเตี้ยอุม้ ค่อม ค.เบลต่อว่าเบสที่มาสายโดยไม่รู้วา่ เบสมาสาย เพราะต้องไปเยีย่ มญาติที่ป่วยกะทันหัน เหมือนสานวนที่วา่ ติเรื อทั้งลา ง.เขาพูดจากลับกลอกไม่น่าฟัง เหมือนน้ ากลิ้งบนใบบอน ๒๕.

“เห็นกวางย่างเยื้องชาเลืองเดิน เหมือนอย่างนางเชิญ ข้างเคียง”

พระแสงสาอาง

เป็ นคาประพันธ์ประเภทใดและมีการใช้ศิลปะการประพันธ์ในข้อใด

ก.กาพย์ฉบัง ๑๖,อุปมาและสัทพจน์

ข.กาพย์ยานี ๑๑,อุปลักษณ์และสัทพจน์

ค.กาพย์ฉบัง ๑๖,อุปมาและสัญลักษณ์

ง.กาพย์ยานี ๑๑,อธิพจน์และอุปลักษณ์

วิชาภาษาไทย


105 |

หน้า เฉลยโจทย์ ชุดที่ ๑

๑.ง. เนื่องจาก ก.คาว่า ฟูและตูมเป็ นเสี ยงธรรมชาติ ข.คาว่า ตัง่ ตึ่งและผึ้งผางเป็ นเสี ยงธรรมชาติ ค.มีคาว่า ผางผึงเป็ นเสี ยงธรรมชาติ ๒.ข. เนื่องจาก หงัง่ เหง่งหง่างเป็ นเสี ยงธรรมชาติ ที่เลียนเสี ยงระฆัง ๓.ง. เนื่องจาก ง.หางนกยูงเป็ นชื่ อดอกไม้แต่มีการคลอเคลีย ซึ่ งเป็ นบุคคลวัต ๔.ง. เนื่องจาก ในข้อนี้ น้องต้องระวังคาว่า ดัง ในง. แปลว่าเสี ยงดัง ซึ่ งไม่ใช่อุปมา ๕.ง. เนื่องจาก ในข้อ 1และ4 แม้จะมีคาเปรี ยบ แต่ก็ไม่ใช่การเปรี ยบ เป็ นการกล่าวตรงๆ เช่น พ่อของลูก ๖.ก. เนื่องจาก ในข้อนี้ เราจะแบ่งได้เป็ น หน้า ๕ หลัง ๖ คือ กาพย์ยานี แบ่งได้ “ ดนตรี มีสนัน่

บันลือลัน่ ครั่นครื้ นโครม

บรรเลงเพลงบรรโลง

ประนังโน้มกาหนัดชม”

๗.ง. ๘.ง. เนื่องจาก ข้ออื่นๆเป็ นการปลอบใจ แต่ขอ้ ง. เป็ นการแสดงความโศกเศร้า ๙.ข. เนื่องจาก ทูลเกล้า ใช้กบั สิ่ งที่ใส่ พานถวายได้ และใช้ใช้เช็ดหน้า เพราะยังไม่ถวาย จึงใช้ คาสามัญ

วิชาภาษาไทย


106 |

หน้า

๑๐.ก. เนื่องจาก

ไม่ใช้ทรงกับคากริ ยาราชาศัพท์

๑๑.ค. เนื่องจาก

ก.ซอ ต้องใช้คนั ข.แม่น้ า ต้องใช้สาย ง.นกหวีดใช้ตวั

๑๒.ง. เนื่องจาก

ต้องแก้เป็ น เกร็ ดความรู ้ เกล็ดปลา

๑๓.ง. เนื่องจาก

ต้องสะกดดังนี้ เกษียนหนังสื อ เกษีนรสมุทร

๑๔.ง. เนื่องจาก

ต้องแก้เป็ นวันพระไม่ได้มีหนเดียว

๑๕.ข. เนื่องจาก

คาบาลีในข้อนี้ได้แก่ นฤพาน อิสิ อุปมัย ไวยากรณ์ และรุ กข์

๑๖.ก. เนื่องจาก

กราบกราน พันผูก และบางเบา ในข้อ ข ค ง ตามลาดับ เป็ นคาซ้อน

๑๗.ค. เนื่องจาก

มหาตมะ ต้องอ่านว่า มะ-หาด-ตะ-มะ

๑๘.ค. เนื่องจาก

มีคาผิดดังนี้ (จะเขียนแบบที่ถูก) ไฟแช็ก ริ บบิน้ บัคเตรี กีตาร์ เอกซเรย์ ช็อกโกแลต

๑๙.ง. เนื่องจาก

คาลหุ ในแต่ละข้อ มีดงั นี้ ก.วิ ข.-

ค.-

ง.อ ต

(จากคาว่าอนันตกาล) ๒๐.ง. เนื่องจาก

คาเป็ นในแต่ละข้อ มีดงั นี้ ก.ว่าง พลาง ชม ทาง ณา ข.โผน ไม้ อึง มี่ ค.เบญ วรรณ วัลย์ ชา ลี ง.เหมือน วัน พี่ ไกล สาม สุ ดา มา ง.มีคาเป็ นมากที่สุด

๒๑.ข. เนื่องจาก

ราชินี+อนุสรณ์=ราชินยานุสรณ์

วิชาภาษาไทย


107 |

หน้า

๒๒.ก. เนื่องจาก

ส+อาคม=สมาคม และ ส+คม=สังคม

๒๓.ค. เนื่องจาก

ในแต่ละข้อ มีการหลากคา ดังนี้ ก.คชา-พลาย ข.ม้า-มโนมัย

ง.ชล-ธารา

๒๔.ค. ๒๕.ข. เฉลยโจทย์ ชุดที่ ๒ ๑.ข. เนื่องจาก ข้อ ก ค ง มีการเล่นคาพ้อง คาว่า “เบือน จาก กัน” ตามลาดับ ๒.ก ๓.ก. เนื่องจาก ในแต่ละข้อ มีคาลหุ ดงั นี้ ข.ต(ตลอด)

พระ ค(อัครา)

ค.และ พระ ประ

ง.ริ ประ นิ

๔.ก. เนื่องจาก อุปมา สังเกตได้จากคาว่า ดัง

ก.พระ ป(อุปถัมถ์) ว(ภูวดล)

อติพจน์ สังเกตได้จาก เกือบดิ้นสิ้ นชีวนั

๕.ง. เนื่องจาก เนื่องจากมีความหมายที่โศกเศร้า ๖.ข. เนื่องจาก เป็ นการกล่าวเกินจริ งว่า เสี ยงโห่ร้องดังจนพิภพจะทลายลง

วิชาภาษาไทย


108 | ๗.ข เนื่องจาก ข้อ ก.เป็ นประโยคความรวม ประเภทคล้อยตามกัน ข้อ ข.เป็ นประโยคความซ้อน คาเชื่อม คือ ที่ ข้อ ค.และง. เป็ นประโยคความรวมที่มีส่วนขยาย ๘.ง. เนื่องจาก ข้อ ก.ใช้ ฉบับ

ข้อ ข.ใช้ คัน

ข้อ ค.ใช้ เล่ม

ข้อ ง.ใช้ ตน องค์ ตน ตามลาดับ ๙.ก. เนื่องจาก

ข้อ ก. บรรพต สิ งขร พนม แปลว่า ภูเขา

๑๐.ก. เนื่องจาก

ข้อ ก. เป็ นการสนธิ ข้ออื่นๆเป็ นการสมาธ

๑๑.ก. เนื่องจาก

ข้อ ก. เป็ นบรรยายโวหาร ข้ออื่นๆเป็ นพรรณาโวหาร

๑๒.ค. เนื่องจาก

คาที่เขียนผิดในแต่ละข้อ มีดงั นี้ (จะเขียนแบบที่ถูก) ข้อ ก. คานวณ ข้อ ค. จะละเม็ด จักจัน่

๑๓.ก. เนื่องจาก

โฆษณา อ่านว่า โคด-สะ-นา

๑๔.ง. ๑๕.ค. เนื่องจาก

ในแต่ละข้อมีคาเขมรดังนี้ ข้อ ก. เดิน

ข้อ ข. -

ข้อค. ทุกคา

๑๖.ค. เนื่องจาก

จักขุ+อาพาธ=จักขาพาธ

๑๗.ง. เนื่องจาก

ข้าวเม่าทอด ต้องใช้ลกั ษณะนาม ลูก แพ

วิชาภาษาไทย

ข้อ ง.ผกา

หน้า


109 |

หน้า

๑๘.ง. เนื่องจาก

รุ ้งกินน้ า ต้องใช้ลกั ษณะนาม ตัว

๑๙.ข. ๒๐.ง. เนื่องจาก

คาประพันธ์ เป็ นกาพย์ฉบัง ๑๖ แบ่งได้ดงั นี้ อินทรชิตบิดเบือนกายิน

เหมือนองค์อมริ นทร์

ทรงคชเอราวัน ๒๑.ก. เนื่องจาก

ต้องใช้ คาว่า เฉพาะพระพักตร์ เสมอ ยกเว้นหน้าพระที่นงั่ จักรี มหา ปราสาทจะใช้คาว่า หน้าพระที่นงั่

๒๒.ค. เนื่องจาก

ข้อ ก. ทรงกลด ไม่เป็ นคาราชาศัพท์

ข้อ ข. ราชการ ไม่เป็ นคาราชาศัพท์ ข้อ ง. พระเครื่ อง

ไม่เป็ นคาราชาศัพท์

๒๓.ข. เนื่องจาก

พระสังฆราชใช้ พระชันษา และ ปี

๒๔.ค. เนื่องจาก

ต้องใช้สานวน “ติเรื อทั้งโกลน” หมายถึง ติพล่อยๆโดยไม่รู้อะไร

๒๕.ก. เนื่องจาก

อุปมา เพราะมีการใช้ “เหมือน”

นาฏการ คือ การแสดงการ

เคลื่อนไหว ดูจาก “ย่างเยื้อง”

วิชาภาษาไทย


110 | ฝากถึงน้องๆสุดท้ำยนี้พี่ๆอยำกบอกน้องๆว่ำ พยำยำม......ฟันฝ่ำให้ถึงฝัน ใจมุ่งมั่น......ทำตำมควำมมุ่งหมำย อย่ำท้อถอย.....ต้องทุ่มเทสุดแรงกำย สักวัน.......ฝันจะกลำยเป็นควำมจริง จำกพี่ๆ EPITOME 

วิชาภาษาไทย

หน้า


111 | P a g e

วิชาสังคม


112 | P a g e

ศาสนา

วิชาสังคม


113 | P a g e องค์ประกอบของศาสนา มี 5 อย่าง 1.ศาสดาหรือผู้นาศาสนา 3.ผู้สืบทอดศาสนาหรือสาวก 5.พิธีกรรม

2.คาสอนหรือคัมภีร์ 4.ศาสนสถาน 6.สัญลักษณ์

ประเภท 1. อเทวนิยม (ไม่เชื่อในพระเจ้า) : ศาสนาพุทธ ศาสนาเชน 2. เทวนิยม (เชื่อในพระเจ้า) 2.1 เอกเทวนิยม (พระเจ้าองค์เดียว)  ซิกข์  ยิวหรือยูดาย & คริสต์ & อิสลาม : พระ เจ้าองค์เดียวกัน ต่าง เวลา  พระเจ้ามอบไบเบิลพันธสัญญาเดิมให้โมเสส : ยูดายหรือยิว  พระเจ้ามอบไบเบิลพันธสัญญาใหม่ให้พระเยซู : คริสต์  พระเจ้ามอบอัลกุรอานให้มูฮัมหมัด : อิสลาม 2.2

พหุเทวนิยม (พระเจ้าหลายองค์)  พราหมณ์-ฮินดู : ตรีมูรติ  โซโรแอสเตอร์ (ในเปอร์เซีย)

วิชาสังคม


114 | P a g e พุทธ

คริสต์

อิสลาม

พราหมณ์ฮินดู

ความหมาย

ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน

สันติ การ ยินยอม

ศาสนาอัน เป็นนิรันดร์

ถิ่นกาเนิด

อินเดีย

ผู้ได้รับการ เจิม จากพระเจ้า อิสราเอล

ซาอุดิอาระเบีย

อินเดีย

พระเจ้า

-

พระอัลเลาะฮ์

ตรีมูรติ

ศาสดา

พระพุทธเจ้า

พระยะโฮ วาห์ พระเยซู

มูฮัมหมัด

ไม่ปรากฏ

คัมภีร์

พระไตรปิฎก

ไบเบิล

อัลกุรอาน

พระเวท

จุดมุ่งหมาย

นิพพาน

อาณาจักร พระเจ้า

เข้าถึงพระอัล เลาะฮ์

โมกษะ

วิชาสังคม


115 | P a g e

ศาสนาคริสต์ ศาสดา : พระเยซู ประสูติเมื่อ พ.ศ.543 (เริ่ม ค.ศ.1) อายุ 30 ปี ประกาศศาสนา ถูก ตรึงไม้กางเขน อายุ 35 ปี พิธีกรรม : ศีล 7 ข้อ (นิกายโปรแตสแตนท์ มีเฉพาะศีลล้างบาปและศีลมหาสนิท) 1. ศีลล้างบาป : พิธีล้างบาปให้เด็กแรกเกิด เพราะเชื่อว่ามนุษย์มีบาปติดตัวมา 2. ศีลกาลัง : พิธียืนยันว่าเป็นคริสต์ศาสนิกชน ทาเมื่ออายุ 9 ปีเป็นต้นไป 3. ศีลแก้บาป : พิธีสารภาพบาปต่อบาทหลวง 4. ศีลมหาสนิท : พิธีที่ทาเพื่อระลึกถึงอาหารมื้อสุดท้าย 5. ศีลเจิมคนไข้ : พิธีล้างบาปให้ผู้ป่วยใกล้เสียชีวิต เพื่อให้มีกาลังใจ 6. ศีลบวช : จะต้องอุทิศชีวิตเพื่อศาสนาตลอดชีวิต 7. ศีลสมรส : สัญญาต่อหน้าพระเจ้าจะรักกันตลอดชีวิต จะหย่ากันเองไม่ได้

วิชาสังคม


116 | P a g e นิกายสาคัญ โรมันคาทอลิก การแยกนิกาย

มีมาแต่ต้น

ลักษณะ

-นับถือสันตะปาปา เป็นประมุขทาง ศาสนา -บาทหลวงห้าม แต่งงาน

กรีกออร์โธด็อกซ์

โปรแตสแตนท์

แยกเหตุผลทาง ค.ศ.1517 แยกออกมาจากโรมันคาทอลิก การเมือง สังคม เนื่องจาก มาร์ติน ลูเธอร์ ไม่พอใจในการขาย และวัฒธรรม เมื่อ ใบไถ่บาปของพระสันตะปาปา คริสต์ศตวรรษที่ 5

- มีประมุขในแต่ละ ประเทศ เรียก “เพทริอาค” -บาทหลวงชั้นผู้น้อย แต่งงานได้

-นับถือพระคัมภีร์เท่านั้น -ไม่นับถือสันตะปาปา -เชื่อว่าทุกคนติดต่อกับพระเจ้าได้เอง (ไม่ต้องผ่านบาทหลวง) ดังนั้น จึงไม่มี บาทหลวง แต่มีผู้สอนศาสนา -มีเพียง 2 ศีล

วิชาสังคม


117 | P a g e หลักคาสอนสาคัญ  ตรีเอกานุภาพ : พระเจ้าสูงสุดองค์เดียว แบ่งเป็น 3 สภาวะ 2. พระบิดา (พระยะโฮวาห์) 3. พระบุตร (พระเยซู) 4. พระจิต (ดวงจิตในใจเรา)

 

รักพระเจ้า (ไม้แนวดิ่ง) รักเพื่อนมนุษย์ (ไม้ในแนวนอน) = ไม้กางเขน ความรัก หมายถึง การให้ การเสียสละ การให้อภัย * กฎทองคาของศาสนาคริสต์ “จงรักพระเจ้าด้วยสิ้นสุดจิตใจ สุดความคิดและสุดกาลังของท่าน และจงรัก เพื่อนมนุษย์เหมือนรักตนเอง”

อาณาจักรพระเจ้า ดินแดนคานาอัน หรือ สวรรค์

วิชาสังคม


118 | P a g e

ศาสนาอิสลาม ศาสดา : นบีมูฮัมหมัด คัมภีร์อัลกุรอาน  อัลกุรอาน เป็นคัมภีร์เล่มสุดท้าย สมบูรณ์สุด ที่พระเจ้าประทานให้มนุษย์  ซุนนะห์ หรือซุนนี่ห์ เป็นคาสอนของนบีมูฮัมหมัด หลักธรรมที่สาคัญ  หลักปฏิบัติ 5 1. ปฏิญาณตน : ♡ของชาวมุสลิม ทาทุกครั้งที่มีการละหมาด เพื่อแสดง ความศรัทธาในพระเจ้าอัลเลาะห์และนบีมูฮัมหมัด 2. ละหมาด : นมัสการพระเจ้าวันละ 5 เวลา หันไปทางหินกาบาห์ ที่เมือง เมกกะ 3. ซะกาต : บริจาคเงิน 2.5% ของรายได้ เป็นหน้าที่ของชาวมุสลิมทุกคน คือการทาทานเพื่อชาระจิตใจ ช่วยเหลือมนุษย์ที่ลาบาก 4. ศีลอด : ถือศีลอด 1 เดือน ใน 1 ปี ในเดือนรอมฎอน งดการกินทุกอย่าง การทาชั่ว ตั้งแต่พระอาทิตย์ขึ้นถึงตก เพื่อให้เห็นใจและช่วยเหลือคน 5. ฮัจญ์ : ไปแสวงบุญที่นครเมกกะในซาอุดิอาระเบีย (ไม่บังคับ)

วิชาสังคม


119 | P a g e 

หลักศรัทธา 6 1. ศรัทธาต่อพระอัลเลาะห์ : ห้ามกราบสิ่งใดนอกจากพระเจ้า 2. ศรัทธาต่อพระลิขิต : เชื่อในเทวทูต ศาสนทูต 3. ศรัทธาต่อวันพิพากษาโลกหรือวันกียามะห์ : หลังจากโลกศูนย์สิ้นไป มนุษย์ ทุกคนจะถูกตัดสินการกระทาของตนเมื่อมีชีวิตอยู่ 4. ศรัทธาต่อศาสนทูต : ex. โมเสส อิซา มูฮัมหมัด 5. ศรัทธาต่อบรรดาคัมภีร์ : พระเจ้าประทานให้ เปลี่ยนแปลงไม่ได้

ข้อห้าม  ห้ามนาสิ่งใดมาเทียบพระอัลเลาะห์  ห้ามกราบไหว้ บูชารูปปั้น  ห้ามเชื่อเรื่องดวง ดูหมอ  ห้ามเล่นการพนัน  ห้ามฆ่าสัตว์ กินสัตว์ที่ตายเอง มีโรค  ห้ามกินหมู หรือสัตว์ที่เชือดโดยไม่กล่าวนามอัลเลาะห์  ห้ามเสพของมึนเมา  ห้ามผิดประเวณีกับหญิงใด  ห้ามประกอบอาชีพผิดศีลธรรม

วิชาสังคม


120 | P a g e

ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู สมัยศาสนาพราหมณ์  ไม่ปรากฏศาสดา ก่อตั้งโดยชาวอารยัน (ผิวขาว)  แบ่งออกเป็น 2 สมัย คือ สมัยพระเวทที่นับถือเทพเจ้า 33 พระองค์ ยกย่องพระ อินทร์เป็นเทพเจ้าสูงสุด เกิดคัมภีร์พระเวท สมัยต่อมาคือสมัยพราหมณ์ เชื่อ ว่าพรหมเป็นผู้สร้างทุกสรรพสิ่ง  ในสมัยพราหมณ์มีการแบ่ง 4 วรรณะ คือ พราหมณ์ กษัติรย์ แพศย์ ศูทร สมัยศาสนาฮินดู  นับถือตรีมูรติเป็นเทพเจ้าสูงสุด  มนุษย์สามารถแยกสสารออกจากวิญญาณได้โดยบรรลุโมกษะ  ความเชื่อเรื่องกรรมและการเวียนว่ายตายเกิด (สังสารวัฏ)  คัมภีร์ที่แสดงอวตารได้ดี คือ คัมภีร์ปุราณะ รามายณะ และมหาภารตะ  มหากาพย์มหาภารตะ สอนปรัชญาภควัทคีตา (หลักปรมาตมัน และอาตมัน) ตรีมูรติ   

พระพรหม : ผู้สร้าง พระศิวะ (อิศวร) : ผู้ทาลาย พระนารายณ์ (วิษณุ) : ผูร้ ักษา

1 กัลป์ : 4 ยุค 1. กฤตยุค 2. ไตรดายุค 3. ทวาปรยุค 4. กลียุค

: : : :

ดี 4 ส่วน (ใน 4 ส่วน) ดี 3 ชั่ว 1 ดี 2 ชั่ว 2 ดี 1 ชั่ว 3 -> ยุคปัจจุบัน เมื่อครบ โลกจะถูกทาลาย

วิชาสังคม


121 | P a g e คัมภีร์ศรุติ : คัมภีร์ที่ได้รับประทานจากพระเจ้าโดยตรง = คัมภีร์พระเวท 1. ฤคเวท : บทอ้อนวอนพระเจ้า 2. ยชุรเวท : คู่มือบูชาเทพเจ้า 3. สามเวท : บทถวายน้าโสมแด่พระอินทร์ , บทขับกล่อมเทพเจ้า 4. อาถรรพเวท : เกี่ยวกับไสศาสตร์ต่างๆ คัมภีร์สมฤติ : คัมภีร์ทีร่มนุษย์สร้างขึ้น 1. คัมภีร์อิติหาสะ ปุราณะ รามายณะ มหาภารตะ 2. คัมภีร์ธรรมศาสตร์ อาศรม 4 : แบ่งชีวิตเป็น 4 วัย 1. พรหมจารี : เล่าเรียนหนังสือ 2. คฤหัสถ์ : ครองเรือน 3. วานปรัสถ์ : แก่แล้ว หาความสงบในป่า 4. สันยาสี : แก่มากๆ สละซึ่งทุกอย่าง ปุรุษารณะ : จุดมุ่งหมายของชีวิต 1. อรรถ : ความสมบูรณ์ทางวัตถุ เช่น ชื่อเสียง เงินทอง 2. กาม : ความสุข ความรัก 3. ธรรม : การถึงพร้อมด้วยคุณธรรม ละชั่ว ทาความดี 4. โมกษะ : การหลุดพ้น

วิชาสังคม


122 | P a g e วรรณะ : 4 วรรณะ 1. พราหมณ์ : ปากของพรหม : สีขาว : ทาพิธีกรรมทางศาสนา 2. กษัตริย์ : แขนของพรหม : สีแดง : ปกครองประเทศ กษัตริย์ ขุนนาง 3. แพศย์ : ขาของพรหม : สีหลือง : อาชีพทั่วไป 4. ศูทร : เท้าพรหม : สีที่เหลือ : กรรมกร

พระเจ้าในศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู ได้แก่ พระพรหม (ผู้สร้าง), พระวิษณุ (ผู้ดูแล) และพระศิวะ (ผู้ทาลาย)

วิชาสังคม


123 | P a g e

ศาสนาพุทธ พุทธประวัติ  พระนามเดิม เจ้าชายสิทธัตถะ โคตมะ เป็นโอรสพระเจ้าสุทโธทนะแห่งกรุง กบิลพัสดุ์ และพระนางสิริมหามายาแห่งกรุงเทวทหะ ประสูติที่สวนลุมพินีวัน (ปัจจุบันคือ ตาบลรุมมินเด ประเทศเนปาล)  ประสูติได้ 7 วัน พระนางสิริมหามายาสวรรคต เจ้าชายสิทธตถะอยู่ในความดูแล ของพระนางปชาบดีโคตรมี (น้า)  มีคาทานายว่า จะได้เป็นศาสดา หรือเป็นกษัตริย์ที่ยิ่งใหญ่  พระชนมายุ 7 พรรษา ศึกษากับครูวิศวามิตร  พระชนมายุ 16 พรรษา อภิเษกกับพระนางยโสธรา (พิมพา)  พระชนมายุ 29 พรรษา มีโอรสนามว่า ราหุล (แปลว่า บ่วง)  พระชนมายุ 29 พรรษา ออกบวช โดยวิธีอธิษฐานบรรพชา เรียก ‘เสด็จออก มหาภิเนสกรมณ์’ (เสด็จออกเพื่อแสวงหาคุณอันยิ่งใหญ่)  ศึกษา อาฬารดาบส กาลามโคตร, อุทกดาบส รามบุตร (ศึกษาฌานสมาบัติ)  บาเพ็ญทุกรกิริยา  พระชนมายุ 35 พรรษา ตรัสรู้ ที่ริมฝั่งแม่น้าเนรัญชรา ตาบลอุรุเวลาเสนานิคม เมืองพุทธคยา ที่ประเทศอินเดีย ทรงบรรลุญาณในเวลาต่าง 1. ปฐมยาม : ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ : ระลึกชาติได้ 2. มัชฌิมยาม : จุตูปปาตญาณ : มีตาทิพย์ 3. ปจฉิมยาม : อาสวักขญาณ : ตัดกิเลสได้หมดสิ้น บรรลุอริยสัจ 4  ปรินิพพานที่สาลวโนทยาน กรุงกุสินารา แคว้นมัลละ (ปัจจุบันคือ กาเซียร์)  ปัจฉิมโอวาท คือความไม่ประมาท (อัปปมาทะ)

วิชาสังคม


124 | P a g e

การเผยแผ่พระพุทธศาสนา แบ่งคนที่จะสอนออกเป็น 4 ประเภท 1. อุคฆติตัญญู (พ้นน้า) 2. วิปัจจิตัญญู (ปริ่มน้า) 3. เนยยะ (ใต้น้า) 4. ปทปรมะ (ในโคลนตม) การโปรดพุทธบริษัท 1. ทรงแสดงปฐมเทศนาโปรดปัญจวัคคีย์ : ธัมมจักกัปปวัตนสูตร  ทางสุดโต่ง : กามสุขัลลิกานุโยค (หย่อนเกินไป) อัตตกิลมถานุโยค (ตึงเกินไป)  ทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) : มรรค 8  อริยสัจ 4 *** ปัญจวัคคีย์ทั้ง 5 บรรลุอรหันต์ด้วย อนันตลักขณสูตร *** 2.

พุทธศาสนาประดิษฐานอย่างมั่นคงในชมพูทวีป  โปรดยศกุลบุตรและบริวาร 55 คน : อนุปุพิกถา อริยสัจ4  โปรดชฎิล 3 พีน ่ อ้ งและบริวาร 1000 คน : อาทิตตปริยายสูตร st  โปรดพระเจ้าพิมพิสาร : อนุปุพิกถา ทรงถวายวัดเวฬุวัน 1  โปรดพระโมคคัลลานะ และพระสารีบุตร  โปรดอนาถบิณฑิกเศรษฐี สร้างวัดพระเชตะวันถวาย

วิชาสังคม


125 | P a g e 

สังเวชนียสถาน 1. ประสูติ 2. ตรัสรู้ 3. ปฐมเทศนา 4. ปรินิพพาน

: ลุมพินี (รุมมินเด) เนปาล : พุทธคยา อินเดีย : ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน (สารนาถ) : สาลวโนทยาน กุสินารา (กาเซียร์) อินเดีย

การเผยแพร่พทุ ธศาสนาเข้ามาประเทศไทย  พระเจ้าอโศกมหาราชส่งสมณทูต พระโสณเทระ และ พระอุตตรเถระ เข้ามาใน สุวรรณภูมิ การเผยแพร่พุทธศาสนา 1. เถรวาท (หินยาน) : ยึดมั่นเคร่งครัด ไม่เปลี่ยนแปลง นับถือมากที่ภาคใต้อินเดีย (ทักษิณนิกาย) เจริญรุ่งเรืองในไทย ศรีลังกา พม่า กัมพูชา ลาว 2. อาจิริยวาท (มหายาน) : เชื่อว่าหลักธรรมควรเปลี่ยนไปตามยุคสมัย นับถือมากที่ภาคเหนืออินเดีย (อุตตรนิกาย) เจริญรุ่งเรืองในจีน เกาหลี ญี่ปุ่น ทิเบต พระไตรปิฎก 1. พระวินัยปิฎก : เกี่ยวกับความประพฤติ ระเบียบกฎเกณฑ์ของสงฆ์ 2. พระสุตตันตปิฎก : พระธรรมเทศนา คาบรรยายต่างๆ ชาดก 3. พระอภิธรรมปิฎก : หลักธรรมที่เป็นหลักวิชาล้วนๆ

วิชาสังคม


126 | P a g e

หลักธรรมที่ควรรู้ โลกบาลธรรม : ธรรมที่คุ้มครองโลก 1. หิริ : ละอายใจต่อบาป

2. โอตตัปปะ : เกรงกลัวต่อบาป

สติ สัมปชัญญะ : ธรรมที่มีอุปการะมาก 1. สติ : ระลึกได้

2. สัมปชัญญะ : รู้สึกตัว

ขันติ โสรัจจะ : ธรรมที่ทาให้บุคคลงาม 1. ขันติ : อดทน

2. โสรัจจะ : สงบเสงี่ยม

โอวาทปาติโมกข์ : หัวใจพระพุทธศาสนา 1. ทาความดี 2. ละเว้นความชั่ว

3. ทาจิตใจให้บริสุทธิ์

ไตรสิกขา : กระบวนการปฏิบัติ 1. ศีล 2. สมาธิ

3. ปัญญา

ไตรลักษณ์ : ลักษณะของธรรมชาติ 1. อนิจจัง : ความไม่เที่ยง 2. ทุกขัง : สภาพที่ทนอยู่ได้ยาก 3. อนัตตา : ความไม่มีตัวตน ปปัญจธรรม 3 : อุปสรรคที่ขัดขวางจิต 1. ตัณหา : ความอยาก 2. มานะ : ความถือตัว 3. ทิฐิ : ความยึดมั่นตัวเอง ปัญญา 3 : ความรู้ทั่ว 1. สุตมยปัญญา : ฟัง 2.จินตมยปัญญา : คิด 3. ภาวนามยปัญญา :กระทา สัทธรรม 3 : แก่นของพระพุทธศาสนา 1. ปริยัติ : เล่าเรียนทฤษฎี 2. ปฏิบัติ : ปฏิบัติจริง 3. ปฏิเวธ : ผลจากการปฏิบัติ

วิชาสังคม


127 | P a g e อิทธิบาท 4 : ธรรมแห่งความสาเร็จ 1. ฉันทะ : ความชอบ พอใจ 2. วิริยะ : พยายาม 3. จิตตะ : ตั้งใจเอาใจใส่ 4. วิมังสา : ปรับปรุง ภาวนา 4 : การผึกอบรม การพัฒนา 1. กายภาวนา : พัฒนากาย 2. ศีลภาวนา : พัฒนาประพฤติ 3. จิตตภาวนา : พัฒนาจิต 4. ปัญญาภาวนา : พัฒนาปัญญา สังคหวัตถุ 4 : ธรรมที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ 1. ทาน : การให้ 2. ปิ ยวาจา : พูดจาไพเราะ 3. อัตถจริยา : ทาตนเป็นประโยชน์ 4. สมานัตตา : วางตัวเหมาะสม พรหมวิหาร 4 : ธรรมสาหรับผู้ปกครอง 1. เมตตา : ปรารถนาให้ผู้อื่นมีความสุข 2. กรุณา : ปรารถนาให้ผู้อื่นพ้นทุกข์ 3. มุทิตา : ยินดีเมื่อผู้อื่นได้ดี 4. อุเบกขา : วางใจเป็นกลาง

วิชาสังคม


128 | P a g e อริยสัจ 4 : ความจริงอันประเสริฐ o ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้) : สภาพที่ทนได้ยาก สภาวทุกข์ : ทุกข์ประจา (เกิด แก่ ตาย) ปกิณทุกข์ : ทุกข์จร o สมุทัย (ธรรมที่ควรละ) : เหตุแห่งทุกข์ = ตัณหา กามตัณหา : อยากได้ในรูปรสกลิ่นเสียง ภวตัณหา : อยากเป็น อยากให้คงอยู่ วิภวตัณหา : ไม่อยากมี ไม่อยากเป็น o นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ) : ความดับทุกข์ o มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) : ทางปฏิบัติสู่ความดับทุกข์  สัมมาวาจา : เจรจาชอบ ศีล  สัมมากัมมันตะ : กระทาชอบ  สัมมาอาชีวะ : เลี้ยงชีพชอบ  สัมมาสติ : ระลึกชอบ สมาธิ  สัมมาสมาธิ : ตั้งใจชอบ  สัมมาวายามะ : พยายามชอบ  สัมมาทิฏฐิ : เห็นชอบ ปัญญา  สัมมาสังกัปปะ : ดาริชอบ

ฆราวาสธรรม 4 : ธรรมสาหรับผู้ครองเรือน สัจจะ : ซื่อสัตย์ ขันติ : อดทน

ทมะ : ข่มใจจากกิเลส จาคะ : เสียสละ

วิชาสังคม


129 | P a g e ทิฏฐธัมมิกัตถะประโยชน์ 4 : หัวใจเศรษฐี ‘อุ อา กะ สะ’ 1. อุฏฐานสัมปทา : ขยันหมั่นเพียร 2. อารักขสัมปทา : ประหยัดและรักษาทรัพย์สิน 3. กัลยาณมิตตตา : คบคนดี 4. สมชีวิตา : พอเพียง วุฒิธรรม 4 : ธรรมเป็นเครื่องเจริญ 1. สัปปุริสสังเสวะ : เลือกคบคนดี 2. สัทธัมมัสสวนะ : ฟังสัทธรรม 3. โยนิโสมนสิการ : การคิดพิจารณา 4. ธัมมานุธัมมปฏิปัตติ : ประพฤติธรรม ขันธ์ 5 : องค์ประกอบของชีวิต

1. รูป : ร่างกาย 2. 3. 4. 5.

เวทนา : สัญญา : สังขาร : วิญญาณ

ความรู้สึก ความจาได้ สิ่งปรุงแต่งจิต : การรับรู้

นิยาม 5 : กฎธรรมชาติ 1. อุตุนิยาม : ลม ฟ้า อากาศ 2. พีชนิยาม : การสืบพันธุ์ 3. จิตตนิยาม : การทางานจิต 4. กรรมนิยาม : พฤติกรรม 5. ธรรมนิยาม : ความเป็นเหตุเป็นผล

วิชาสังคม


130 | P a g e พละ 5 : ธรรมอันเป็นกาลัง 1. สัทธา : ความเชื่อ  กัมมสัทธา : เชื่อว่ากรรมมีจริง  วิปากสัทธา : เชื่อผลของกรรม ว่าทุกอย่างเกิดจากเหตุ  กัมมัสสกตาสัทธา : เชื่อว่าสัตว์มีกรรมเป็นของตน  ตถาคตโพธิสัทธา : เชื่อในการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า 2. วิริยะ : ความเพียร 3. สติ : ความระลึกได้ 4. สมาธิ : ใจตั้งมั่น 5. ปัญญา : ความรู้

ทิศ 6 : บุคคลต่างๆที่เราเกี่ยวข้องด้วย 1. 2. 3. 4. 5. 6.

บน : พระสงฆ์ ล่าง : คนรับใช้ หน้า : พ่อแม่ หลัง : ลูก สามี ภรรยา ขวา : ครู ซ้าย : เพื่อน

สัปปุริสธรรม 7 : ธรรมของคนดี 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

ธัมมัญญุตา : รู้จักเหตุ อัตถัญญุตา : รู้จักผล อัตตัญญุตา : รู้จักตนเอง มัตตัญญุตา : รู้จักประมาณ กาลัญญุตา : รู้จักกาลเวลา ปริสัญญุตา : รู้จักสถานที่ ปุคคลปโรปรัญญุตา : รู้จักเลือกคน

วิชาสังคม


131 | P a g e โลกธรรม 8 : เรื่องธรรมดาในโลก 1. ฝ่ายอิฏฐารมณ์  สุข  ลาภ  ยศ  สรรเสริญ 2. ฝ่ายอนิฏฐารมณ์  เสื่อมลาภ  เสื่อมยศ  นินทาว่าร้าย  ทุกข์ ทศพิธราชธรรม 10 : ธรรมสาหรับพระราชา 1. ทาน : การให้ 2. บริจาค : เสียสละ 3. ศีล : ประพฤติดี 4. อาชวะ : ซื่อตรง 5. ตบะ : ความเพียร 6. ขันติ : อดทน 7. มัทวะ : อ่อนโยน 8. อโกธะ : ความไม่โกรธ 9. อวิหิงสา : ไม่เบียดเบียน 10. อวิโรธนะ : ตั้งมั่นธรรม

วิชาสังคม


132 | P a g e

เศรษฐศาสตร์

วิชาสังคม


133 | P a g e

ความรู้ทั่วไปเศรษฐศาสตร์ ความหมาย : จัดสรรทรัพยากรที่จากัดเพื่อสนองความต้องการที่ไม่จากัดของมนุษย์ บิดาแห่งเศรษฐศาสตร์ : Adam Smith ขอบข่าย 1. เศรษฐศาสตร์จุลภาค : ศึกษาระดับย่อย เช่น ราคาสินค้าชิ้นเดียว 2. เศรษฐศาสตร์มหภาค : ศึกษาใรระดับหน่วยใหญ่ เช่น GDP การผลิต ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ 1. What จะผลิตอะไร จานวนเท่าไรจึงตรงความต้องการของคนในสังคม 2. 3.

How จะผลิตอย่างไร เพื่อลดต้นทุน และได้สินค้ามากสุด Who จะผลิตเพื่อใคร กลุ่มลูกค้าคือใคร จะจัดแบ่งสินค้าและบริการอย่างไร

ปัจจัยการผลิต : สิ่งที่ต้องนามาใช้มาใช้ในกระบวนการผลิต 1. ที่ดิน : ที่ดิน + ทรัพยากรบนที่ดินนั้นๆ ผลตอบแทน : ค่าเช่า 2. แรงงาน : ใช้แรงกาย + สติปัญญาในการผลิต ผลตอบแทน : ค่าจ้าง 3. ทุน : สิ่งที่ใช้ในการผลิต เงินไม่ใช่ทุน ผลตอบแทน : ดอกเบี้ย 4. การประกอบการ : ผู้นา 3 ข้อแรกมาผลิตสินค้าบริการ ผลตอบแทน : กาไร

วิชาสังคม


134 | P a g e ขั้นตอนการผลิต 1. ปฐมภูมิ / ขั้นต้น  ดั้งเดิม ใช้เครื่องมือง่ายๆ อาศัยทรัพยากรธรรมชาติเป็นหลัก  ปรากฏในรูปวัตถุดิบ 2. ทุติยภูมิ / ขั้นแปรรูป  ใช้เทคโนโลยี เครื่องจักรสมัยใหม่  สินค้าสาเร็จรูป (นาวัตถุดิบมาแปรรูป) 3. ตติยภูมิ / ขั้นบริหาร  ใช้เทคโนโลยี + การให้บริการ ประเภท 1. เจ้าของคนเดียว : ธุรกิจขนาดเล็ก แรงงานจากครอบครัว 2. ห้างหุ้นส่วน >2 : หุน้ สวนจากัด – ผู้ถือหุ้นรับกาไรตามอัตราส่วน

หุ้นส่วนสามัญ – รับผิดชอบร่วมกัน 3. บริษัทจากัด >7 : เอกชน – จากัดผู้ถือหุ้น , มหาชน ระบบเศรษฐกิจ ระบบเศรษฐกิจ คือ หน่วยเศรษฐกิจและหน่วยธุรกิจรวมตัวกัน เพื่อดาเนินกิจกรรมทาง เศรษฐกิจ เพื่อช่วยตัดสินปัญหาพื้นฐานของระบบเศรษฐกิจทุกระบบให้บรรลุเป้าหมาย แบ่งเป็น 3 ระบบ ระบบทุนนิยม/เสรีนิยม  จะให้สิทธิแก่เอกชนในการตัดสินใจดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจได้อย่างเต็มที่ ว่าจะผลิต อะไร ผลิตเพื่อใคร และผลิตอย่างไร เอกชนเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต  ข้อเสีย 1. เกิดการเอารัดเอาเปรียบระหว่างคนรวยกับคนจน 2. การกระจายรายได้ไม่เป็นธรรม --> เกิดช่องว่างทางเศรษฐกิจ ระบบสังคมนิยม  ระบบสังคมนิยมแบบเสรี จะมีการวางแผนจากส่วนกลาง รัฐจะต้องเป็นผู้กาหนดกิจกรรม ทางเศรษฐกิจ เอกชนมีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินและมีเสรีภาพในการเลือกอาชีพ

วิชาสังคม


135 | P a g e 

ระบบสังคมนิยมแบบคอมมิวนิสต์ ทรัพย์สินทุกอย่างเป็นของรัฐ ภาคเอกชนไม่มีสิทธิเป็น เจ้าของปัจจัยการผลิต ข้อเสีย 1. การจัดสวัสดิการให้แก่สังคมทาให้สูญเสียงบประมาณมาก 2. การแทรกแซงกลไกตลาดทาให้ไม่สามารถสะท้อนอุปสงค์และ อุปทานที่แท้จริง

ทาให้เกิดปัญหาคอรัปชั่น

ระบบผสม       

ผสมระหว่างทุนนิยมกับสังคมนิยม ประเทศไทยเป็นระบบเศรษฐกิจแบบผสม เอกชนและรัฐบาลมรส่วนร่วมกัน แต่ส่วนใหญ่เอกชนเป็นผู้ดาเนินการ สามารถกาหนดทิศทางของเศรษฐกิจได้ล่วงหน้า มีการกระจายสินค้า และเกิดความเป็นธรรม องค์ประกอบ 3 ส่วน : ครัวเรือน ธุรกิจ และรัฐบาล หน้าที่ของรัฐบาล 1. คุ้มครองสวัสดิภาพ 2. ให้บริการทางสาธารณูปโภค 3. จัดการศึกษา และสาธารณสุขแก่ประชาชน

การธนาคารและสถาบันการเงิน ธนาคาร 1. ธนาคารกลางหรือธนาคารแห่งประเทศไทย  ออกธนบัตร  นายธนาคารของธนาคารพาณิชย์ และรัฐบาล  นโยบายการเงิน  ควบคุมอัตราแลกเปลี่ยน  รักษาเสถียรภาพทางการเงินของประเทศ

วิชาสังคม


136 | P a g e 2. ธนาคารพาณิชย์  แหล่งเงินออมเงินที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ ส่วนใหญ่เอกชน  รับฝากเงิน ให้กู้เงิน โอนเงิน เช่าตู้นิรภัย  ซื้อขายเงินตราต่างประเทศ  ให้บริการชาระค่าน้า ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์ 3. ธนาคารที่ตั้งเพื่อวัตถุประสงค์พิเศษ  ธนาคารออมสิน : ส่งเสริมการออมประชาชน เงินพัฒนาประเทศ  ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ธอส.) : ให้กู้เงินซื้อ/ปลูกบ้าน  ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ (ธกส.) : ให้เกษตรกรกู้  ธนาคารเพื่อการส่งออกและนาเข้าแห่งประเทศไทย (ธสน.) : สนับสนุน ผู้ประกอบการด้านการค้า สถาบันการเงินที่ไม่ใช่ธนาคาร 1. บริษัทประกันชีวิตและบริษัทประกันภัย : ระดมเงินออม ขายกรมธรรม์ 2. ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศ : ศูนย์กลางซื้อขายหลักทรัพย์ 3. บริษัทหลักทรัพย์ : นายหน้าในการซื้อขายหลักทรัพย์ 4. โรงรับจานา : กู้ยืม โดยเอาสังหาริมทรัพย์ประกันไว้ 5. บริษัทเงินทุน : ให้กู้ยืม รับฝากเป็นตั๋วสัญญาใช้เงิน กาหนดระยะเวลา 6. บริษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย : ให้กู้ อุตสาหกรรมการเกษตร 7. บริษัทเงินทุนอุตสาหกรรมขนาดย่อม : ให้กู้ อุตสากรรมขนาดย่อม ไม่เกิน 1 ล้าน 8. บริษัทเครดิตฟองซิเอร์ : ให้กู้ โดยจานองอสังหาฯ รับซื้อสังหาฯ 9. สหกรณ์ออมทรัพย์ : ฝาก กู้ ดอกเบี้ยต่า โดยให้สมาชิกผู้อื่นค้าประกัน

วิชาสังคม


137 | P a g e สหกรณ์ : การรวมกลุ่มของบุคคลโดยไม่ได้มุ่งแสวงหากาไร  ลักษณะ 1. เป็นสมาชิกโดยสมัครใจ 2. กิจกรรมของคณะบุคคล 3. ดาเนินตามประชาธิปไตย 4. องค์ประกอบ 4 ข้อ : คน เงิน ทรัพยากร และการจัดการ 5. ช่วยเหลือสมาชิกทางด้านเศรษฐกิจ 6. มีฐานะเป็นนิตบุคคล  1st Robert Owen (ที่อังกฤษ) : บิดาสหกรณ์โลก 2387  1st ในไทย “สหกรณ์วัดจันทร์ไม่จากัดสินใช้” (สมัย ร.6 ) โดย พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ : บิดาสหกรณ์ไทย  ประเภท 1. จากัด : รับผิดชอบหนี้สินตามจานวนหุ้นที่ถือ 2. ไม่จากัด : รับผิดชอบหนี้สินร่วมกัน 3. ออมทรัพย์ : ส่งเสริมการออมทรัพย์ และให้กู้ 4. ร้านค้า : ให้ผู้บริโภคได้ซื้อสินค้าราคูก 5. นิคม : จัดสรรที่ดินแก่เกษตรกร 6. บริการ : แก้ปัญหาของผู้ประกอบอาชีพด้านบริการ กลไกทางเศรษฐกิจ อุปสงค์ : ความต้องการซื้อสินค้าและบริการในระยะเวลาหนึ่ง 1 ราคาสินค้า α อุปสงค์

 

ผู้บริโภคมีความต้องการมาก เมื่อสินค้าราคาถูก ผู้บริโภคมีความต้องการน้อย เมื่อสินค้าราคาแพง

อุปทาน : ความต้องการขายสินค้าและบริการในระยะเวลาหนึ่ง ราคาสินค้า α อุปทาน

วิชาสังคม


138 | P a g e  

ผู้ผลิตมีความต้องการขายมาก เมื่อสินค้ามีราคาแพง ผู้ผลิตมีความต้องการขายน้อย เมื่อสินค้ามีราคาถูก

ราคาดุลยภาพ : ราคาสินค้าที่ผู้ผลิตและผู้บริโภคมีควมต้องการตรงกัน

การแทรกแซงราคา 1. การแทรกแซงราคาขั้นต่า (การประกันราคา)  รัฐกาหนดราคาเพื่อไม่ให้ราคาสินค้าต่าเกินไป  ช่วยผู้ผลิต 2. การแทรกแซงราคาขั้นสูง (การควบคุมราคา)  รัฐกาหนดราคาเพื่อไม่ให้ราคาสินค้าสูงเกินไป  ช่วยผู้บริโภค

ภาวะการเงิน เงินเฟ้อ : เงินในตลาดมากเกินไป (คนใช้เงินมากเกิน อาจเกิดภาวะฟองสบู่แตก)  ผลกระทบ : คนมีเงินมาก แต่ สินค้าแพง  วิธีแก้ไข : 1. เพิ่มดอกเบี้ยเงินกู้ : คนไม่อยากกู้ 2. เพิ่มดอกเบี้ยเงินฝาก : คนอยากฝาก 3. เพิ่มภาษี : คนจ่ายเพิ่ม มีเงินน้อยลง 4. ขายพันธบัตรรัฐบาล : คนซื้อ มีเงินน้อยลง เงินฝืด : เงินในตลาดน้อยเกินไป  ผลกระทบ : คนมีเงินน้อย แต่ สินค้าถูก  วิธีแก้ไข : 1. ลดดอกเบี้ยเงินกู้ : คนอยากกู้ ใช้เงินมากขึ้น

วิชาสังคม


139 | P a g e 2. ลดดอกเบี้ยเงินฝาก : คนไม่อยากฝาก จึงใช้เงิน 3. ลดภาษี : คนจ่ายน้อย มีเงินใช้มากขึ้น 4. ลดการขายพันธบัตรรัฐบาล ค่าเงินบาทแข็งตัว : เงินต่างประเทศแลกเงินไทยได้น้อยลง  ผลกระทบ : 1. ต่างชาติมาเที่ยวน้อยลง เพราะราคาสินค้าแพงขึ้น 2. ส่งออกแย่ลง (ต่างชาติต้องซื้อแพงขึ้น) 3. นาเข้าดีขึ้น (เราซื้อได้ถูกลง) ค่าเงินบาทอ่อนตัว : เงินต่างประเทศแลกเงินไทยได้มากขึ้น  ผลกระทบ : 1. ต่างชาติมาเที่ยวมากขึ้น เพราะราคาสินค้าถูกลง 2. ส่งออกดีขึ้น (ต่างชาติซื้อถูกลง) 3. นาเข้าแย่ลง (เราซื้อแพงขึ้น)

ภาษีและงบประมาณแผ่นดิน ภาษี หมายถึง เงินที่รัฐบาลเรียกเก็บจากประชาชนที่มีรายได้ เป็น หน้าที่

ประเภทของภาษี 1. ภาษีทางตรง : ไม่สามารถผลักภาระการจ่ายภาษีไปสู่ผู้บริโภคได้  ภาษีเงินได้ - ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา - ภาษีเงินได้นิติบุคคล  ภาษีที่ดิน / ภาษีบารุงท้องที่ : เก็บจากเจ้าของที่ดิน  ภาษีโรงเรือน : เก็บจากเจ้าของโรงเรือน / ผู้มีสิ่งก่อสร้างประกอบการค้า 2. ภาษีทางอ้อม : สามารถผลักภาระการจ่ายภาษีไปให้ผู้บริโภคเป็นผู้จ่าย  ภาษีศุลกากร : เก็บจากการนพเข้าส่งออกสินค้าและบริการ  ภาษีสรรพสามิต : เก็บจากสินค้าบางชนิด เช่น สุรา น้าหอม  ภาษีสรรพากร : ภาษีมูลคาเพิ่ม 7% การเสียภาษีจะคิดตามปีภาษี คือ วันที่ 1 มกราคม ถึงวันที่ 31 ธันวาคมของทุกปี ซึ่ง ต้องจ่ายภายในวันที่ 31 มีนาคม การเก็บภาษีของไทยใช้ระบบ ก้าวหน้า คือ ยิ่งมีรายได้ สูง อัตราการเก็บภาษีจะสูงขึ้นเรื่อยๆ (5-37%)

วิชาสังคม


140 | P a g e งบประมาณแผ่นดิน แผนการเงินของรัฐบาลที่จัดทาขึ้นเพื่อแสดงรายรับ-รายจ่ายของโครงการต่างที่รัฐบาล กาหนดทาในระยะเวลา 1 ปี  งบประมาณมีการจัดตั้ง 3 ลักษณะ 1. งบประมาณสมดุล : รายรับและรายจ่ายเท่ากัน 2. งบประมาณขาดดุล : รายรับน้อยกว่ารายจ่าย 3. งบประมาณเกินดุล : รายรับมากกว่ารายจ่าย 

ปี งบประมาณของไทย อยูร่ ะหว่างวันที่ 1 ต.ค. ของปี หนึ่ง ถึง 30 ก.ย. ปี ถัดไป

องค์กรทางเศรษฐกิจที่สาคัญๆ กองทุนการเงินระหว่างประเทศ ( IMF )  

รักษาเสถียรภาพของอัตราแลกเปลี่ยน ให้สมาชิกกู้ยืมเงิน (ประเทศที่วิกฤตสุดๆ)

สหภาพยุโรป ( European Union – EU )  

ผลจากสนธิสัญญามาสตริสต์ ร่วมมือทางเศรษฐกิจ สมาชิก 27 ประเทศ

APEC :

ความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก ประกอบด้วยสมาชิก 21 เขต

เศรษฐกิจ

OPEC : ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างกลุ่มผู้ส่งออกน้ามัน WTO : องค์กรการค้าระหว่างประเทศ ส่งเสริมให้สมาชิกดาเนินการค้าเสรี

วิชาสังคม


141 | P a g e

แผนพัฒนาเศรษฐกิจ แผนพัฒนาเศรษฐกิจ ใช้ฉบับละ 5 ปี ปัจจุบันใช้แผนฉบับที่ 11 ฉบับที่ 1 : เน้นความเป็นอยู่ ‘น้าไหล ไฟสว่าง ทางดี มีงานทา’ ฉบับที่ 2 : พัฒนาสังคมให้คกู่ ับการพัฒนาเศรษฐกิจ ฉบับที่ 3 : เน้นความร่วมมือกันของส่วนภูมิภาค ราชการ และท้องถิ่น ฉบับที่ 4 : เน้นการกระจายรายได้ ฉบับที่ 5 : เน้นการพัฒนาชนบทแนวใหม่ การมีระบบการบริหารงานพัฒนาชนบทแห่งชาติ (กชช.) ฉบับที่ 6 : เน้นการรักษาความเจริญเติบโตของประเทศให้มีอัตราก้าวหน้าอย่งสม่าเสมอ ฉบับที่ 7 : เน้นการพัฒนาเชิงคุณภาพ คานึงถึงการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่มีอยู่ ฉบับที่ 8 : 1st เน้นพัฒนาคนให้มีประสิทธิภาพมากกว่าพัฒนาเศรษฐกิจ ฉบับที่ 9 : 1st นาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้พัฒนาและบริหารประเทศ ฉบับที่ 10 : ปรับปรุงกฎหมายให้ทันสมัยพร้อมรับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง ฉบับที่ 11 : 2555-2559 (ปัจุจุบัน)     

พัฒนาสู่สังคมคุณภาพ สร้างความเป็นธรรม พัฒนาเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่ทิศทางการเติบโตรูปแบบใหม่ สร้างความแข็งแรงภาคเกษตรกรรม

วิชาสังคม


142 | P a g e

ประวัติศาสตร์

วิชาสังคม


143 | P a g e

ความรู้ทั่วไปประวัติศาสตร์ วิธีการทางประวัติศาสตร์ กาหนดปัญหา รวบรวมหลักฐาน/ข้อมูล ตรวจสอบ ประเมินคุณค่า (ภายนอก : จริง/ไม่จริง – ภายนอก : น่าเชื่อถือ) ตีความหมาย นาเสนอข้อมูล

1. 2. 3. 4. 5.

หลักฐานทางประวัติศาสตร์ จาแนกตามความสาคัญ 1. ปฐมภูมิ (เกิดขึ้น ณ เหตุการณ์นั้นๆ) 2. ทุติยภูมิ (ได้รับถ่ายทอดมา)

การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์แบบสากล 1. สมัยก่อนประวัติศาสตร์ : ยังไม่มีอักษร  ยุคหิน (500,000 – 4,000 ปี) 1. เก่า : เร่ร่อน อยู่ในถ้า 2. กลาง : อยู่รวมกันมากขึ้น 3. ใหม่ : รู้จักการเพาะปลูก ทาเครื่องปั้น  ยุคโลหะ (4,000 – 1,500 ปี) 1. สาริด : ใช้โลหะสาริด (ทองแดง + ดีบุก) 2. เหล็ก : ใช้เหล็กทาอาวุธ ติดต่อค้าขาย 2. สมัยประวัติศาสตร์  สมัยโบราณ : เมโสโปเตเมีย อียิปต์ กรีก โรมัน สิ้นสุดเมื่อโรมันถูกบาบาเรียนตีแตก (ค.ศ. 476)  สมัยกลาง : สิ้นสุดเมื่อ เติร์กตีกรุงคอนสแตนติโนเปิล (ค.ศ. 1453)  สมัยใหม่ : เริ่มขึ้นเมื่อสิ้นสุด WWII (ค.ศ. 1945)

วิชาสังคม


144 | P a g e

กรุงสุโขทัย ปัจจัยทางภูมิศาสตร์ 1. ภูมิประเทศ : ที่ราบลุ่มแม่น้า ปิง วัง ยม น่าน เจ้าพระยา -> ดินดี 2. ภูมิอากาศ : เขตมรสุม -> ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ (ฤดูฝน) และลมมรุสุม ตะวันออกเฉียงเหนือ (ฤดูหนาว) 3. ทรัพยากรธรรมชาติ : อุดสมบูรณ์ 4. การคมนาคม : เดินเท้า มีถนน และเส้นทางสัญจรตามแม่น้า

ปัจจัยด้านอารยธรรม    

ล้านน้า ขอม มอญ พม่า

ปัจจัยที่เอื้อต่อการสถาปนากรุงสุโขทัย 1. ภายใน : มีผู้นาเข้มแข็ง รักความอิสระ ทาเลที่ตั้งเหมาะสม 2. ภายนอก : ขอมเสื่อมอานาจ

ลักษณะการเมืองการปกครอง 1. ความสัมพันธ์ระหว่างกษัตริย์กับราษฎร  สมัยพ่อขุนรามคาแหง : พ่อปกครองลูก  สมัยพระมหาธรรมราชาที่1 : ธรรมราชา ตามหลักทศพิธราชธรรม 2. รูปแบบการปกครอง  ราชธานี : เมืองหลวง  เมืองลูกหลวง : เมืองหน้าด่าน โอรส/เจ้านายชั้นสูงปกครอง  เมืองชั้นนอก/เมืองพระยามหานคร : เจ้าเมืองปกครอง  หัวเมืองปะเทศราช : เมืองขึ้น ต้องส่งบรรณาการทุก 3 ปี

วิชาสังคม


145 | P a g e 3. ความเสื่อมอานาจ  พระธรรมราชาที่ 2 : เมืองขึ้นอยุธยา  พระธรรมราชาที่ 4 : ไม่มีรัชทายาท

พัฒนาการด้านเศรษฐกิจ 1. เกษตรกรรม : แบบยังชีพ มีระบบชลประทาน 2. หัตถกรรม : เครื่องสังคโลก 3. การค้าขาย : การค้าแบบเสรี ไม่เก็บจกอบ

ลักษณะทางสังคม 1. ชนชั้นปกครอง : กษัตริย์ เจ้านาย ขุนนาง พระสงฆ์ ชนชั้นใต้ปกครอง : ไพร่ ทาส 2. มีกฎหมายและการพิจารณาคดีความ 3. ยึดมั่นในพระพุทธศาสนา

ความเจริญด้านศาสนา   

นับถือพระพุทธศาสนา ( เถรวาท , ลังกาวงศ์ ) และความเชื่อพราหมณ์ฮินดู (ไสยศาสตร์) จัดลานฟังธรรมแก่ราษฎร : สร้างแท่นมนังคศลาบาตร กลางดงตาล พระพุทธศาสนามีความเจริญสูงสุด สมัยพระยาลิไท

ศิลปวัฒนธรรม 1. 2. 3. 4.

สถาปัตยกรรม : เจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ (ดอกบัวตูม) จิตรกรรม : สีที่ใช้เป็นเอกรงค์ (ดา แดง) ภาษา : ลายสือไทย (ดัดแปลงมจากอักษรขอม) วรรณกรรม : ศิลาจารึกหลักที่ 1 (พ่อขุนรามคาแหง)

: ไตรภูมิพระร่วง (พระมหาธรรมราชาที่ 1 ) -> นรก สวรรค์

วิชาสังคม


146 | P a g e ภูมิปัญญา 1. อักษรไทย 2. เครือ่ งสังคโลก 3. สรีดภงส์ (ทานบกั้นน้า) ตระพัง (สระน้า) ทานบพระร่วง (คันดินกั้นน้า)

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ 1. ขยายอานาจ : เพื่อรักษาความมั่นคง เพื่อผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจการค้า เพื่อรักษา สัมพันธไมตรีกับรัฐอื่น 2. สมัยพ่อขุนรามคาแหง สร้างความสัมพันธ์กับจีนในระบบรัฐบรรณาการ 3. สมัยพ่อขุนรามคาแหง รับเอาพุทธศาสนิกายเถรวาท ลัทธิลังกาวงศ์จากนครศรีธรรมราช มาประดิษฐ์ในสุโขทัย

สาเหตุความเสื่อมสุโขทัย 1. 2. 3. 4. 5.

ปัญหาด้านการปกครองในอาณาเขตและภายในราชธานี การแย่งชิงราชสมบัติ สภาพภูมิประเทศที่ไม่เหมาะเป็นราชธานี กลุ่มเมืองในลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาตอนล่างแยกตัวเป็นอิสระ การขยายอิทธิพลของล้านนา

กรุงศรีอยุธยา ปัจจัยทางภูมิศาสตร์   

เป็นที่ราบลุ่มแม่น้า ดินอุดมสมบูรณ์ อากาศร้อนชื้น ฝนตกชุก ตั้งอยู่ในเส้นทางเรือค้าขายระหว่างจีนกับอินเดีย

ปัจจัยที่เอื้อต่อการสถาปนาอยุธยา 1. มีพื้นที่เหมาะเพาะปลูก (มีแม่น้า 3 สายไหลผ่าน) 2. เป็นศูนย์กลางคมนาม (อยู่ใกล้แม่น้า) 3. ความมัน่ คงทางยุธศาสตร์ (แม่น้าและลาคลองล้อมรอบ)

วิชาสังคม


147 | P a g e การปกครอง 1. แบบ ‘เทวราชา’ (สมมติเทพ) แต่ยังคงเป็น ‘ธรรมราชา’ (หลักพุทธรรมเหนี่ยวรั้งอานาจ กษัตริย์) 2. ความสัมพันธ์ระหว่างกษัตริย์กับประชาชน ‘ไม่ใกล้ชิด’

พัฒนาการด้านการเมืองการปกครอง 1. สมัยอยุธยาตอนต้น (พระรามาธิบดีที่ 1 – พระราชาธิราช 2) 

การปกครองส่วนกลาง – จตุสดมภ์ 1. กรมเวียง : รักษาความปลอดภัย 2. กรมวัง : ดูแลราชสานัก ตัดสินคดีความ 3. กรมคลัง : หารายได้จากการค้าและภาษีอากร 4. กรมนา : ดูแลการทางานของราษฎร เก็บภาษีค่านา เสบียง การปกครองหัวเมือง 1. เมืองลูกหลวง 2. หัวเมืองชั้นใน : แต่งตั้งในเจ้านายปกครอง 3. หัวเมืองชั้นนอก : เจ้าเมืองปกครอง 4. หัวเมืองประเทศราช

2. การปฏิรูปการปกครองสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ 

การปกครองส่วนกลาง 1. ฝ่ายทหาร : สมุหกลาโหม 2. ฝ่ายพลเรือน : สมุหนายก -> จตุสดมภ์  เวียง -> นครบาล  วัง -> ธรรมาธิกรณ์  คลัง -> โกษาธิบดี  นา -> เกษตราธิการ

วิชาสังคม


148 | P a g e การปกครองหัวเมือง 1. เมืองชั้นจัตวา : หัวเมืองชั้นใน ผู้รั้งปกครอง 2. เมืองชั้นเอก โท ตรี : แบ่งตามขนาด/ความสาคัญ : เจ้านายจากราชธานี ปกครอง 3. หัวเมืองประเทศราช 3. การปกครองสมัยอยุธยาตอนปลาย (พระเพทราชา)  สมุหกลาโหม : คุมหัวเมืองฝ่ายใต้  สมุหนายก : คุมหัวเมืองฝ่ายเหนือ และจตุสดมภ์  เสนาบดีกรมพระคลัง : คุมหัวเมืองชายทะเลภาคตะวันออก และรายได้แผ่นดิน 

พัฒนาการด้านเศรษฐกิจ 1. การเกษตร  ส่วนใหญ่ : ทาหน้าข้าว รองลงมา : ปลูกผักผลไม้  การเกษตรแบบยังชีพ  แหล่งเพาะปลูกสาคัญอยู่บริเวณราบลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาตอนกลาง  สินค้าส่งออกสาคัญ : ข้าว ของป่า  ปลายอยุธยา : ขายข้าวให้จีนและฮอลันดาเป็นหลัก 2. หัตถกรรมและอุตสาหกรรม  สินค้าส่งออก : เครื่องปั้นดินเผา เครื่องสังคโลก 3. การพาณิชยกรรม  รายได้ของอาณาจักร : จังกอบ (ภาษีผ่านด่าน) , อากร (รายได้) , ฤชา (ค่าธรรมเนียม) , ส่วย  การค้ารุ่งเรืองมาก เพราะมีระบบพระคลังสินค้าที่มีประสิทธิภาพ  จีน : การค้าระบบบรรณาการ

วิชาสังคม


149 | P a g e พัฒนาการด้านสังคม 1. ระบบศักดินา : กาหนดฐานะของคนในสังคม (โดย พระบรมไตรฯ)  พระบรมวงศานุวงศ์ 100,000 ไร่  ขุนนาง 10,000 ไร่  ไพร่ 10 – 25 ไร่  ทาส 5 ไร่ 2. ระบบไพร่ : เกณฑ์แรงงานมาทางานปีละ 6 เดือน (ชายอายุ > 18 ปี)  ไพร่หลวง : ของกษัตริย์  ไพร่สม : สังกัดมูลนาย (เจ้านาย/ขุนนาง) 3. ระบบทาส : มีค่าตัว เกิดจากความยากจน สามมารถซื้อขายได้  เป็นอิสระได้ เมื่อเจ้าของอนุญาติให้บวช/นาเงินมาไถ่ตัว พัฒนาการด้านศิลปวัฒนธรรม 1. สถาปัตยกรรม  7 รัชกาลแรก : แบบลพบุรีและอู่ทอง เช่น วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ  พระบรมไตรโลกนาถ : แบบสุโขทัย เช่น เจดีย์ 3 องค์  พระเจ้าปราสาททอง : แบบเขมร เช่น เจดีย์ย่อไม้มุมสิบสอง  พระนารายณ์มหาราช : แบบอู่ทอง 2. ประติมากรรม  7 รัชกาลแรก : แบบอู่ทอง  พระบรมไตรโลกนาถ : สุโขทัย 3. จิตรกรรม  วาดภาพตามฝาผนังโบสถ์  แบบลพบุรี + สุโขทัย + ลังกา 4. วรรณกรรม  ตอนต้น : ลิลิต + กาพย์ เกี่ยวกับศาสนา  ยุคทองวรรณกรรม : พระนารายณ์ กาพย์ห่อโคลง , นิราศ , ฉันท์

วิชาสังคม


150 | P a g e ตอนปลาย : กาพย์ เจริญรุ่งเรือง และไพเราะสุด 5. ละคร : ละครชาตรี , ละครใน , ละครดึกดาบรรพ์ 6. กฎหมาย : พระธรรมศาสตร์ (กฎหมายแม่บท) , ราชศาสตร์ (เปรียบได้กับพ.ร.บ.) 

อารยธรรมตะวันออกที่มีอิทธิพลต่อพัฒนาการสมัยอยุธยา 1. การเมืองการปกครอง : อินเดีย ลังกา มอญ เขมร 2. เศรษฐกิจ : จีน เปอร์เซีย 3. สังคม : ลังกา สาเหตุความเสื่อมโทรมของอยุธยา 1. สถาบันพระมหากษัตริย์เสื่อมอานาจ 2. ปัญหาการสืบราชสมบัติ 3. การแก่งแย่งอานาจเจ้านายกับขุนนาง 4. ถูกปิดล้อมทางเศรษฐกิจ 5. ด้อยประสิทธิภาพในการทาสงคราม อ่อนแอเรื่องกาลังคน 6. พม่าเปลี่ยนแผนยุทธศาสตร์

กรุงธนบุรี ปัจจัยเกี่ยวกับการพัฒนา 1. 2. 3. 4.

ทาเลปลอดภัย ถึงคราวคับขันสามาถไปตั้งมั่นที่จันทบุรีได้ ฟื้นฟูเศรษฐกิจได้รวดเร็ว แก้ไขปัญหาความขาดแคลนอาหารได้ ปราบปรามชุมนุมคนไทย 5 ชุมนุม และรวมไทยให้เป็นปึกแผ่น ฟื้นฟูพระพุทธศาสนา เพื่อเป็นที่ยึดเหนี่ยวทางจิตใจของราษฎร

พัฒนาการด้านการเมืองการปกครอง   

กอบกู้เอกราชได้ภายใน 7 เดือน ปราบ 5 ชุมนุม (ธนบุรี, พิษณุโลก, เจ้าพิมาย, นครศรีธรรมราช, พระฝาง) รูปแบบการปกครอง : รูปแบบเดิมขออยุธยา 1. ภายใน : สมุหนายก , สมุหพระกลาโหม 2. ส่วนภูมิภาค : ชั้นใน , ชั้นนอก(พระยามหานคร) , ประเทศราช

วิชาสังคม


151 | P a g e พัฒนาการทางด้านเศรษฐกิจ 

การแก้ปัญหาเศรษฐกิจฝืดเฝือง 1. พระราชทานทรัพย์ซื้อข้าวสาร เสื้อผ้าแจกจ่ายราษาร 2. ส่งเสริทราษฎรเพาะปลูก 3. สนับสนุนพ่อค้าชาวจีนนาของที่จาเป็นมาจาหน่าย การพัฒนาเศรษฐกิจระยะยาว 1. เกษตรกรรม : เกณฑ์แรงงานทาไร่นา เพิ่มผลผลิตให้เพียงพอ 2. สนับสนนคนจีนไปค้าขาย ประกอบอาชีพทที่หัวเมือง เพื่อสร้างความแข็งแรงทาง เศรษฐกิจ 3. ส่งสริมการค้ากับต่างประเทศ สินค้าออก เช่น ดีบุก พริกไทย ไม้หอม

พัฒนาการด้านสังคม 

ระบบศักดินา 1. มูลนาย : ปกครอง ควบคุมกาลังพล 2. ไพร่ : ต้องถูกเกณฑ์แรงงานมาทางานให้รัฐปีละ 6 เดือน 3. ทาส

การฟื้นฟูพระพุทธศาสนา 1. มีการแต่งตั้งพระสังฆราช ทั้งยังสร้างวัดวาอารามต่างๆ 2. มีการตรวจสอบและคัดลอกพระไตรปิฎก 3. จัดพิธีสมโภชพระแก้วมรกต

กรุงรัตนโกสินทร์ ปัจจัยเกี่ยวกับพัฒนาการ 1. ใกล้ทะเล จึงติดต่อค้าขายได้สะดวก และรับศิลปวัฒนธรรมจากชาติอื่นๆ 2. ตั้งอยูใ่ นเขตอากาศร้อนชื้น ฝนตกชุก มีแม่น้าไหลผ่าน เหมาะเพาะปลุก

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (ร. 1)   

สร้างพระบรมมหาราชวัง สร้างวัดพระแก้ว สงครามเก้าทัพ รบชนะพระเจ้าปดุงแห่งพม่า ตรากฎหมายสามดวง และจารีตนครบาล

วิชาสังคม


152 | P a g e พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (ร. 2)   

ยุคทองของวรรณคดี อังกฤษส่ง ครอว์ฟอร์ด มาเจรจากาค้าแต่ไม่สาเร็จ การค้ารุ่งเรือง กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ (ร. 3) ทรงให้เก็บเงินถุงแดงใช้ยามฉุกเฉิน

พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร. 3)   

อังกฤษส่ง เฮนรี่ เบอร์นี่ ทาสนธิสัญญาเบอร์นี่ ตั้งโรงเรียนแห่งแรก : โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียน หมอบรัดเลย์ นาการพิมพ์มาเผยแพร่ -> นสพ. ฉบับแรก คือ บางกอกรีคอร์เดอร์

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร. 4) 

อังกฤษส่ง เซอร์จอห์น เบาว์ริง (พระสยามานุกูลกิจสยามิตรมหายศ) ทาสนธิสัญญาเบาว์ ริง ซึ่งไทยเสียเปรียบ คือ เสียสิทธิภาพนอกอาณาเขต และภาครัฐเก็บภาษีได้น้อยลง แต่ ทาให้การค้าเสรี

ไทยเสียเขมรให้ฝรั่งเศส

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมหาราช (ร. 5) 

   

   

ตั้งกระทรวง 12 กระทรวง สภาที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน และสภาที่ปรึกษาราชการส่วน พระองค์ ตั้ง รร. พระตาหนักสวนกุหลาบ ตั้งหอรัษฎากรพิพัฒน์ : เก็บภาษี พัฒนาสาธารณูปโภคต่างๆ เช่น รถไฟ ไฟฟ้า ประปา โทรเลข ตั้งธนาคารแห่งแรก : บุคคลัภย์ ต่อมาเปลี่ยนเป็น แบงก์สยามกัมมาจล และธนาคารไทย พาณิชย์ ตั้งมณฑลเทศาภิบาล และสุขาภิบาล เหตุการณ์ รศ. 112 ไทยเสียฝั่งซ้ายแม่น้าโขง และเขมรส่วนในให้ผรั่งเศส จัดทางบประมาณแผ่นดินครั้งแรก เริ่มใช้ธนบัตรไทย

วิชาสังคม


153 | P a g e  

ประกาศเลิกทาส และระบบไพร่ เสียหัวเมืองมลายูให้อังกฤษ แลกกับเงินมาสร้างรถไฟ

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร. 6)        

ใช้ พ.ศ. แทน จ.ศ. และ ร.ศ. ตั้งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จาก รร.ข้าราชการพลเรือน สงครามโลกครั้งที่ 1 เปลี่ยนธงชาติเป็นธงไตรรงค์ กบฏ. ร.ศ. 130 เรียกร้องประชาธิปไตย ตั้ง ดุสิตธานี ทดลองประชาธิปไตย ตรา พรบ.นามสกุล กาหนดคานาหน้าชายหญิง ตรา พรบ.ประถมศึกษาแห่งชาติ

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร. 7)   

วิกฤติเศรษฐกิจทั่วโลก ตั้งอภิมนตรีสภา และสภาองคมนตรี เพื่อแก้ปัญหาเศรษฐกิจ พ.ศ. 2475 เปลี่ยนแปลงการปกครอง

กรุงรัตนโกสินทร์ (สมัยประชาธิปไตย) คณะราษฎร์     

24 มิ.ย. 2475 คณะราษฎร์ยึดอานาจ หลัก 6 ประการ พรายามโนปกรณ์นิติธาดา เป็นนายกฯคนแรก นายปรีดี พนมยงค์ ร่างสมุดปกเหลือง เป็นนโยบายเศรษฐกิจ ต.ค. 2476 เกิดกบฏบวรเดช

วิชาสังคม


154 | P a g e จอมพล ป. พิบูลสงคราม    

ตั้งรัฐวิสาหกิจ และธนาคารชาติ (ธนาคารแห่งประเทศไทย) เกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 ไทยเข้าร่วมกับญี่ปุ่น เกิดขบวนการเสรีไทย ทาสงครามอินโดจีน ยึดดินแดนบางส่วนคืนจากฝรั่งเศส

จอมพลสฤษฎิ์ ธนะรัชต์   

ปกครองระบอบเผด็จการ ส่งทหารไปร่วมรบในสงครามเวียดนาม ร่างแผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับแรก

จอมพถนอม กิตติขจร  

7 ส.ค. 2508 วันเสียงปืนแตก รัฐบาลปะทะคอมมิวนิสต์ 8 ส.ค. 2510 ไทยเข้าร่วม ASEAN

14 ตุลาคม 2516 (วันมหาวิปโยค)    

นิสิตนักศึกษาไม่พอใจระบอบเผด็จการ เดินขบวนประท้วงจอมพล ถนอม มีการปราบปรามผู้ประท้วงอย่างรุนแรง เหตุการณ์สงบเมื่อจอมพล ถนอม ลาออก 2516 – 2519 เป็นยุคประชาธิปไตยเบ่งบาน

6 ตุลาคม 2519  

นักศึกษาไม่พอใจที่จอมพลถนอมกลับไทย นักศึกษาจานวนมากหนีเขาป่า ไปร่วมกับพรรคคอมมิวนิสต์

พฤษภาทมิฬ  

2534 มีการปฏิวัติ โดยคณะ ร.ส.ช. นาโดยพลเอกสุจินดา คราประยูร 2535 พลเอกสุจินดา เป็นนายกฯ ทาให้หลายคนไม่พอใจ จึงประท้วง เพราะไม่รักษา คาพูด มี พล.ต.จาลอง ศรีเมือง เป็นแกนนา เรียกว่า ม็อบมือถือ

วิชาสังคม


155 | P a g e 

เหตุการณ์สงบเมื่อพลเอกสุจินดายอมลาออก

คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.)  หัวหน้า : พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ปัจจุบันเป็นนายกฯ คนที่ 29  สนช. (สภานิติบัญญัติแห่งชาติ) : 200 คน  สปช. (สภาปฏิรูปแห่งชาติ) : 250 คน **** ทั้ง สนช.และ สปช. ได้มาจากการทูลเกล้าเสนอรายชื่อ ****

วิชาสังคม


156 | P a g e

หน้าที่พลเมือง

วิชาสังคม


157 | P a g e

การจัดระเบียบทางสังคม ความหมาย : กระบวนการทางสังคมที่จัดขั้นเพื่อควบคุมสมาชิกให้มีความสัมพันธ์กันภายใต้ แบบแผนและกฎเกณฑ์เดียวกัน เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อยในสังคม

สาเหตุที่ต้องจัดระเบียบสังคม 1. เพื่อให้การติดต่อสัมพันธ์กันทางสังคมเป็นไปอย่างเรียบร้อย 2. เพือ่ ป้องกันความขัดแย้งระหว่างสมาชิกในสังคม 3. ช่วยให้สังคมดารงอยู่อย่างสงบสุขและมั่นคงในสังคม

กระบวนการจัดระเบียบทางสังคม :

เครื่องมือที่ใช้ในการจัดระเบียบ

1. ค่านิยม : สิ่งที่คนในสังคมเห็นพ้องต้องกันว่าควรปฏิบัติหรือไม่ 2. บรรทัดฐาน : มาตรฐานที่คนส่วนใหญ่ยึดถือเป็นแนวทางปฏิบัติ  วิถีประชา : แนวทางปฏิบัติที่เป็นที่ยอมรับ ตามความเคยชิน  จารีต : ระเบียบแบบแผนที่ปฏิบัติเคร่งครัด เกี่ยวข้องกับศีลธรรม  กฎหมาย : ข้อบังคับควบคุมความประพฤติคนในสังคม 3. สถานภาพ : ตาแหน่งของบุคคลที่สังคมกาหนดขึ้น  สถานภาพทีติดตัวมาโดยสังคมกาหนด : เพศ อายุ เชื้อชาติ  สถานภาพที่ได้มาโดยความสามารถ : อาชีพ การศึกษา สมรส 4. บทบาท : การปฏิบัติหน้าที่ตามสถานภาพ 5. การขัดเกลาทางสังคม : กระบวนการปลูกฝังบรรทัดฐาน  การขัดเกลาโดยตรง : บอกว่าสิ่งใดถูก สิ่งใดควรกระทา  การขัดเกลาโดยทางอ้อม : การสังเกตเรียนรู้จากประสบการณ์

การปกครองระบอบต่างๆ การปกครองระบอบประชาธิปไตย   

อานาจสูงสุดในการปกครองประเทศเป็นของประชาชน ประชาชนมีสิทธิ เสรีภาพเท่าเทียมกัน ออกกฎหมายผ่านกระบวนการทางรัฐสภา

วิชาสังคม


158 | P a g e 

ดาเนินนโยบายบริหารภายใต้กฎหมาย มีการควบคุมตรวจสอบ จากฝ่ายนิติบัญญัติและ ประชาชน การดารงตาแหน่งของผู้นาทางการเมืองเป็นไปตามวาระประชาชนเสียงข้างมากให้ความ เห็นชอบ รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายหลักในการปกครองประเทศกาหนดสิทธิ เสรีภาพ ความเสมอ ภาคของประชาชน เปิดโอกาสให้มีการตั้งพรรคการเมืองและมีการแข่งขันทางการเมือง เพื่อเข้ามาบริหาร ประเทศ รูปแบบการปกครอง 1. หลักประมุขของประเทศ  พระมหากษัตริย์เป็นประมุข  ประธานาธิบดีเป็นประมุข 2. หลักการรวมและแยกอานาจ  แบบรัฐสภา : รัฐสภามีอานาจสูงสุดในการออกกฎหมาย  แบบประธานาธิบดี : แยกนิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการชัดเจน  แบบกึ่งประธานาธิบดี

การปกครองระบอบเผด็จการ  

 

ยึดถืออานาจรัฐเป็นอานาจสูงสุด โดยผู้นาเป็นผู้ที่มีอานาจสุงสุด เน้นความสาคัญของรัฐและผู้นา หากประชาชนดาเนินกิจกรมที่ขัดแย้งตอนโยบายของ ผู้นาจะได้รับการลงโทษอย่างรุนแรง ผู้กาหนดนโยบายและตัดสินใจ คือ ผู้นาประเทศ ประชาชนไม่มีอานาจโค่นล้มหรือถอดถอนรัฐบาลออกได้ การเปลี่ยนผู้นาอยู่ภายใต้การคัด สรรของผู้บริหารพรรคการเมือง จากัดสิทธิเสรีภาพของประชาชน การเคลื่อนไหว หรือการประกอบกิจกรรมทางการเมือง ไม่สามารถหระทาได้ ต้องตกอยู่ภายใต้การควบคุมของรัฐ

วิชาสังคม


159 | P a g e 

รูปแบบการปกครอง 1. เผด็จการแบบอานาจนิยม : ผู้นามีอานาจเด็ดขาดในการปกครอง 2. เผด็จการแบบเบ็ดเสร็จ : ผู้นามีอานาจเด็ดขาดในการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม ควบคุมสิทธิเสรีภาพประชาชน  เผด็จการฟาสซิสต์  เผด็จการนาซี  เผด็จการคอมมิวนิสต์

อานาจอธิปไตย ฝ่ายนิติบัญญัติ   

ออกกฎหมาย พิจารณาเงินงบประมาณ ตรวจสอบการทางานของรัฐ

ฝ่ายบริหาร 

นากฎหมายมาบังคับใช้

ฝ่ายตุลาการ  

ตีความตัวบทกฎหมายและรัฐธรรมนูญ ตัดสินพิจารณาคดี

วิชาสังคม


160 | P a g e

กฎหมายเบื้องต้น ลักษณะกฎหมาย 1. เป็นคาสั่งหรือข้อบังคับ 2. ตองมาจากรัฐาธิปัตย์หรือผู้ที่กฎหมายให้อานาจไว้ รัฐาธิปัตย์คือผู้มีอานาจสูงสุดของ ประเทศ 3. ต้องใช้บังคับได้จนกว่าจะมีการยกเลิกหรือเปลี่ยนแปลง 4. ต้องมีสภาพบังคับ

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ 1. กฎหมายแพ่ง : ว่าด้วยเรื่องของสิทธิ 2. กฎหมายพาณิชย์ : ว่าด้วยเรื่องของการค้าขาย

รัฐธรรมนูญ เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ 1. 2. 3. 4.

คุ้มครอง ส่งเสริม ขยายสิทธิ และเสรีภาพของประชาชน ลดการผูกขาดอานาจรัฐ และเพิ่มอานาจประชาชน การเมืองมีความโปร่งใส มีคุณธรรม และจริยธรรม ทาให้องค์กรตรวจสอบมีความอิสระ เข้มแข็ง ทางานอย่างมีประสิทธิภาพ

วิชาสังคม


161 | P a g e

ภูมิศาสตร์

วิชาสังคม


162 | P a g e

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลก การหมุนและการเคลื่อนที่ของโลก 

การหมุนรอบตัวเอง : โลกหมุนรอบตัวเองในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา จากทิศตะวันตกไป ออก ซึ่งทาให้เกิดกลางวันและกลางคืน

การหมุนรอบดวงอาทิตย์ : โลกหมุนรอบดวงอาทิตย์เป็นลักษณะวงรี ในทิศทางทวนเข็ม นาฬิกา ซึ่งทาให้เกิดฤดูกาลต่างๆ

พิกัดภูมิศาสตร์ 

เส้นละติจูด/เส้นรุ้ง/เส้นขนาน : เส้นสมมติในแนวนอน มี 180 เส้น ซีกโลกเหนือ 90 เส้น และซีกโลกใต้ 90 เส้น ใช้แบ่งเขตภูมิอากาศ

เส้นลองจิจูด/เส้นเมอริเดียน/เส้นแวง : เส้นสมมติในแนวตั้ง มี 360 เส้น ใชแบ่งเขต เวลา

เส้นเมอริเดียนที่ 0 องศา ลากผ่านเมืองกรีนิช ,อังกฤษ เป็นการกาหนดมาตรฐานเวลาโลก เรียก เวลาสากลหรือเวลามาตรฐานกรีนิช (G.M.T)

เส้นเมอริเดียนที่ 180 องศา อยู่ตรงข้ามเส้นเมอริเดียน 0 องศา ตัดผ่านตอนกลางของ มหาสมุทรแปซิฟิก เป็นเส้นวันที่ ซึ่งเมื่อมีการเดินทางข้ามเส้นวันที่จากทิศตะวันออกไปทิศ ตะวันตก จะต้องลดวันลง 1 วัน และเส้นลองจิจูดสามรถคานวณเวลาของตาแหน่งต่างๆได้ โดย 1 ลองจิจูด หรื อ 1 องศา = 4 นาที 15 ลองจิจูด หรื อ 15 องศา = 1 ชัว่ โมง

ประเทศไทยตั้งอยู่ที่ลองจิจูด 105 องศา ตะวันออก

วิชาสังคม


163 | P a g e 

เวลาของประเทศไทยจะเร็วกว่า G.M.T. อยู่ 7 ชั่วโมง

เมื่อความสูงเพิ่มขึ้น 180 เมตร อุณหภูมิลดลง 1 องศาเซลเซียส

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับแผนที่ แผนที่ หมายถึง สิ่งที่แสดงลักษณะผิวโลกด้วยวิธีย่อส่วนลงบนพื้นราบ โดยใช้ ส่วนประกอบของแผนที่ แผนที่มีหลายชนิด แต่ละชนิดมีหน้าที่แตกต่างกัน เช่น แผนที่ทางหลวง แผนที่เศรษฐกิจ

ส่วนประกอบของแผนที่ 

ชื่อแผนที่

มาตราส่วน : การย่อระยะทางของพื้นที่จริงแสดงไว้ในแผนที่ - มาตราส่วนคาพูด - มาตราส่วนเศษส่วน - มาตราส่วนแบบเส้น

พิกัดภูมิศาสตร์ : เส้นบอกตาแหน่งที่เกิดจากการตัดกันของเส้นละติจูดและเส้นลองจิจูด

วิชาสังคม


164 | P a g e

ทวีปเอเชีย อาณาเขต 

เหนือ : มหาสมุทรอาร์กติก

ใต้ : มหาสมุทรอินเดีย

ตะวันออก : มหาสมุทรแปซิฟิก

ตะวันตก : ทะเลแดง ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทะเลดา คลองสุเอช ทะเลแคแคสเปียน เทือกเขาคอเคซัส เทือกเขาอูราล

ลักษณะภูมิประเทศ 

เขตที่ราบต่าภาคเหนือ : ที่ราบไซบีเรียตะวันตก

เขตที่ราบสูงเก่า : ที่ราบสูงอาหรับ เดกกัน

เขตที่ราบลุ่มแม่น้า : แม่น้าหวางเหอ สินธุ คงคา

รูปแสดง ทวีปเอเชีย

วิชาสังคม


165 | P a g e

ทวีปยุโรป อาณาเขต 

เหนือ : มหาสมุทรอาร์กติก

ใต้ : ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน

ตะวันออก : ทวีปเอเชีย เทือกเขาคอเคซัส เทือกเขาอูราล แม่น้าอูราล ทะเลดา ทะเล แคสเปียน

ตะวันตก : มหาสมุทรแอตแลนติก

ลักษณะภูมิประเทศ 

เทือกเขาภาคเหนือ : คาบสมุทรสแกนดิเนเวีย ชายฝั่งเว้าแหว่ง = ฟยอร์ด

ที่ราบสูงภาคกลาง : ป่าดาในเยอรมนี

ที่ราบภาคกลาง : แหล่งเกษตรกรรม แม่น้าหลายสายไหลผ่าน

เทือกเขาสูงภาคใต้ : เทือกเขาหินใหม่

ลักษณะภูมิอากาศ 

บริเวณที่ติดทะเลเมดิเตอร์เรเนียนมีภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน

ไม่มีบริเวณที่ห่างทะเลมาก

เป็นทวีปเดียวที่ไม่มีภูมิอากาษแบบทะเลทราย

วิชาสังคม


166 | P a g e ลักษณะทางเศรษฐกิจ 

เพาะปลูก - ข้าวสาลี : ยูเครน - ส้ม มะกอก องุ่น : บริเวณเมดิเตอร์เรเนียน

ประมง - ทะเลเหนือ ในบริเวณ Dogger bank - ทะเลดาและแคสเปียน : ปลาสเตอร์เจียน

เหมืองแร่ - เหล็ก : นอร์เวย์ - ถ่านหิน : อังกฤษ เยอรมนี เบลเยียม รัสเซีย

วิชาสังคม


167 | P a g e

ทวีปอเมริกาเหนือ อาณาเขต 

เหนือ : มหาสมุทรอาร์กติก

ใต้ : ทวีปอเมริกาใต้ ที่คอคอดปานามา

ตะวันออก : มหาสมุทรแอแลนติก ทะเล แคริบเบียน

ตะวันตก : มหาสมุทรแปซิฟิก

ลักษณะภูมิประเทศ 

เทือกเขาสูงภาคตะวันตก : เทือกเขาร็อคกี้ มีแร่ทองแดง เกรตเพลน

เทือกเขาสูงภาคตะวันออก : เทือกเขาแอปปาเลเชียน มีแร่ถ่านหิน

เขตที่ราบภาคกลาง : เกษตรกรรม เขตที่ราบแพรรี่ในแคนาดา

เขตหินเก่าแคนาดา : รอบอ่าวฮัดสัน

ลักษณะภูมิอากาศ 

มีภูมิอากาศครบทุกชนิด

กระแสน้าอุ่นอะแลสกา ทาให้อบอุ่นในฤดูหนาว

กระแสเย็นแคลิฟอร์เนีย

วิชาสังคม


168 | P a g e ลักษณะทางเศรษฐกิจ 

เพาะปลูก - ข้าวโพด (อันดับ 1 ของโลก) : ทางใต้ของ great lake - ถั่วเหลือง (อันดับ 1 ของโลก) : ที่ราบกลางอเมริกา - ยาสูบ (ทองคาเขียว) : ตะวันออกอเมริกา

ประมง : grand bank

เหมืองแร่ - ถ่านหิน : เทือกเขาแอปปาเลเชียน - เหล็ก : great leg เรียกว่า ย่านเมซาบี

ป่าไม้ (อันดับ 2 ของโลก) : ตะวันตกของแคนาดา อเมริกา

วิชาสังคม


169 | P a g e

ทวีปอเมริกาใต้ อาณาเขต 

เหนือ : ทวีปอเมริกาเหนือ ทะเลแคริบเบียน

ใต้ : ช่องแคบเดรค

ตะวันออก : มหาสมุทรแอแลนติก

ตะวันตก : มหาสมุทรแปซิฟิก

ลักษณะภูมิประเทศ 

เทือกเขาสูงทางตะวันตก : เทือกเขาแอนดีส (ยาวสุดในโลก)

ที่ราบลุ่มแม่น้า : ที่ราบลุ่มแม่น้าแอมะซอน โอริโนโก ริโอเดลาพลาตา

ที่ราบสูงทางตะวันออก : ที่ราบสูงบราซิล กิอานา ปาตาโกเนีย

ลักษณะภูมิอากาศ 

พื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ในเขตอากาศร้อน

พื้นที่ตอนในอากาศแห้งแล้ง เป็นเขตทุ่งหญ้าและทะเลทราย

วิชาสังคม


170 | P a g e ลักษณะทางเศรษฐกิจ 

เพาะปลูก - โกโก้ กาแฟ : บราซิล - ข้าวสาลี : ทุ่งหญ้าแปมปัส

ประมง : เปรู ชิลี เพราะมีกระแสน้าเย็นเปรู ทาให้ปลาชุม

เหมืองแร่ - น้ามัน : เวเนซุเอลา - เหล็ก : บราซิล (ที่ 2 ของโลก) - ทองแดง : ชิลี (ที่ 1 ของโลก) - ไนเตรต : ชิลี - ดีบุก : โบลิเวีย (ที่ 2 ของโลก) - ทองคา : บราซิล

ป่าไม้ (อันดับ 2 ของโลก) : ตะวันตกของแคนาดา อเมริกา

วิชาสังคม


171 | P a g e

ทวีปแอฟริกา อาณาเขต 

เหนือ : ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน

ใต้ : มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทร แอตแลนติก

ตะวันออก : มหาสมุทรอินเดีย

ตะวันตก : มหาสมุทรแอตแลนติก

ลักษณะภูมิประเทศ 

เทือกเขาด้านตะวันตกเฉียงเหนือ : เทิอกเขาแอตลาส

ที่ราบสูงภาคใต้ : Witwatersrand แหล่งผลิตทองคา

ทะเลทรายซาฮาร่า : ใหญ่สุดในโลก

เขตหินเก่าแคนาดา : รอบอ่าวฮัดสัน

ลักษณะภูมิอากาศ 

ป่าดิบชื้น : ร้อน ฝนตกชุก

ทุ่งหญ้าสะวันนา : เลี้ยงสัตว์ ท่องเที่ยว

ทะเลทราย : ร้อนและแห้งแล้งมากสุด

ทุ่งหญ้ากึ่งทะเลทราย : ทุ่งหญ้าสเตปป์

เมดิเตอร์เรเนียน : ฤดูร้อน ร้อน ฤดูหนาว อบอุ่น ฝนตกชุก

วิชาสังคม


172 | P a g e 

อบอุ่นชื้น : ชื้นกึ่งร้อน

ลักษณะทางเศรษฐกิจ 

เกษตรกรรม - การเพาะปลูกแบบยังชีพ : ข้าวโพด ข้าวฟ่าง มันสาปะหลัง - การทาไร่ขนาดใหญ่ : ยางพารา ปาล์มน้ามัน ชา - การเกษตรแบบเมดิเตอร์เรเนียน : องุ่น มะกอก

เหมืองแร่ - เพชร ทองคา : สาธารณรัฐแอฟริกาใต้ - ทองแดง : ซาอีร์

วิชาสังคม


173 | P a g e

ทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนีย ออสเตรเลีย อาณาเขต 

เหนือ : ทะเลอาราฟูรา ทะเลติมอร์

ใต้ : ทวีปมหามุทรอินเดีย

ตะวันออก : มหาสมุทรแปซิฟิก

ตะวันตก : มหาสมุทรแปซิฟิก

ลักษณะภูมิประเทศ 

เทือกเขาสูงทางตะวันออก : เกรตดิไวดิง

ที่ราบสูง : ส่วนใหญ่เป็นทะเลทราย กิบสัน เกรตแซนดี เกรตวิคตอเรีย

ที่ราบภาคกลาง : รอบอ่าวต่างๆ ที่ราบลุ่มแม่น้า

ชายฝั่งตะวันออก

ลักษณะภูมิอากาศ 

ทะเลทราย

ภาคพื้นสมุทรชายฝั่งตะวันตก

ลักษณะทางเศรษฐกิจ 

เลี้ยงสัตว์ : แกะ ขนส่งมากสุดในโลก

วิชาสังคม


174 | P a g e นิวซีแลนด์ ลักษณะภูมิประเทศ 

เกาะเหนือ : ทะเลสาบเทาโป อ่าวเพลนตี ภูเขาเอ็กมองต์ น้าพุร้อน

เกาะใต้ : ฟยอร์ด เทือกเขาแอลป์ใต้ ที่ราบแคนเทอร์เบอร์รี อ่าวแทสมัน

ลักษณะภูมิอากาศ 

ภาคพื้นสมุทรชายฝั่งตะวันตกทั้งเกาะ

ลักษณะทางเศรษฐกิจ 

เลี้ยงแกะพันธ์เนื้อมาก บริเวณที่ราบแคนเทอร์เบอร์รี

แกะบริเวณที่ราบแคนเทอเบอร์รี่ในออสเตรเลีย

วิชาสังคม



175 | P a g e

ตัวอย่างข้อสอบ

วิชาสังคม


176 | P a g e 1. ข้อใดเป็นเอกลักษณ์ของพระพุทธศาสนา ก. กรรม ข. นรก-สวรรค์ ค. อนัตตา ง. ศีล 2. ข้อใดคือวัตถุประสงค์ชอง AFTA ก. ขยายตลาดสินค้าให้กว้างขึ้น ข. พัฒนาและส่งเสริมการค้าพหุภาคี ค. เพิ่มการแข่งขันสินค้าอาเซียนในตลาดโลก ง. ขจัดอุปสรรคทางการค้าและบริการระหว่างประเทศ 3. ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ของธนาคารแห่งประเทศไทย ก. กากับดูแลสถาบันการเงินให้มีความมั่นคงและได้มาตรฐาน ข. ให้ความร่วมมือกับนโยบายทางมาตรการทางการเงินของรัฐบาล ค. เป็นนายธนาคารและที่ปรึกษาด้านนโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาล ง. บริหารเงินสารองระหว่างประเทศ 4. สมาคมอาเซียนถือกาเนิดขึ้นตามคาประกาศในข้อใด ก. คาปฏิญญาฮานอย ข. คาปฏิญญาจาการ์ตา ค. คาปฏิญญาย่างกุ้ง ง. คาปฏิญญากรุงเทพ

วิชาสังคม


177 | P a g e 5. ธรรมสาหรับผู้ปกครองคือหลักธรรมใด ก. พรหมวิหาร ข. ฆราวาสธรรม ค. สังคหวัตถุ ง. อิทธิบาท 6. การแยกตัวออกไปปฏิบัติธรรมในป่าหลังจากได้ครองเรือนมาพอสมควรแล้ว คือ ขั้นตอนใด ก. สันยาสี ข. วานปรัสถ์ ค. คฤหัสถ์ ง. พรหมจารี 7. กฎหมายใดที่ไม่ต้องผ่านความเห็นของสภาไม่ว่ากรณีใดๆ ก. พระราชบัญญัติ ข. พระราชกาหนด ค. พระราชกฤษฎีกา ง. กฎกระทรวง 8. แบบแผนความประพฤติที่สมาชิกในสังคมปฏิบัติตามความเคยชิน เรียกว่าอะไร ก. กฎศีลธรรม ข. ค่านิยม ค. จารีต ง. วิถีประชา

วิชาสังคม


178 | P a g e 9. หน่วยงานใดต่อไปนี้ไม่ได้รับฝากเงินจากประชาชนเป็นการทั่วไป ก. ธนาคารเพื่อการส่งออกและนาเข้าแห่งประเทศไทย ข. ธนาคารพัฒนารัฐวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ค. ธนาคารแห่งประเทศไทย ง. ถูกทุกข้อ 10. ตาบลอุรุเวลาเสนานิคม เป็นสถานที่สาคัญทางพระพุทธศาสนาอย่างไร ก. เป็นสถานที่ประสูติ ข. เป็นสถานที่ตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า ค. เป็นสถานที่แสดงปฐมเทศนาครั้งแรกของพระพุทธเจ้า ง. เป็นสถานที่ปรินิพพานของพระพุทธเจ้า 11. ข้อใดเป็นกิจกรรมการผลิตขั้นที่สองหรือขั้นทุติยภูมิ ก. การทาเหมืองแร่ ข. การทาสวนส้ม ค. การสีข้าว ง. การสอนหนังสือ 12. เขตอุตสาหกรรมหนักของโลกและใช้ทรัพยากร พลังงาน อย่างสิ้นเปลืองคือเขต ใด ก. โอเชียเนีย และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ข. คาบสมุทรสแกนดิเนเวีย และอเมริกากลาง ค. แอฟริกาเหนือ และลุ่มแม่น้าไนล์ ง. รอบเกรตเลค ถึงชายฝั่งแอตแลนติก และยุโรปตะวันตก

วิชาสังคม


179 | P a g e 13. ข้อใดไม่ใช่ระบอบเผด็จการแบบเบ็ดเสร็จ ก. เผด็จการทหาร ข. เผด็จการฟาสซิสต์ ค. เผด็จการนาซี ง. เผด็จการคอมมิวนิสต์ 14. นายบีซื้อรถยนต์โดยทาหนังสือสัญญาผ่อนชาระเป็นงวดๆ จนครบตามกาหนด นายบีจึงได้เป็นเจ้าของโดยสมบูรณ์ ก. สัญญาเช่าทรัพย์ ข. สัญญาเช่าซื้อ ค. สัญญาขายฝาก ง. สัญญาซื้อขายผ่อนส่ง 15. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับใด อัญเชิญ ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง ตามพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาเป้นปรัชญานา ทางในการพัฒนาประเทศเป็นฉบับแรก ก. แผนพัฒนาเศรษฐกิจ ฉบับที่ 7 ข. แผนพัฒนาเศรษฐกิจ ฉบับที่ 8 ค. แผนพัฒนาเศรษฐกิจ ฉบับที่ 9 ง. แผนพัฒนาเศรษฐกิจ ฉบับที่ 10

วิชาสังคม


180 | P a g e 16. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับเส้นขนาน ก. เส้นขนาน คือ เส้นที่ลากขนานกับเส้นศูนย์สูตร ทุกเส้นทีความยาวเท่ากัน ข. เส้นขนานที่อยู่ทางซีกโลกใต้ ได้แก่ เส้นอาร์กติกเซอร์เคิล และแอนตาร์ กติกเซอร์เคิล ค. เส้นขนานที่แบ่งเขตอากาศหนาวและอบอุ่น คือ เส้นทรอปิค ออฟ แคน เซอร์ และเส้นทรอปิค ออฟ แคปริคอร์น ง. เส้นขนานที่ลากในแนวตะวันออก-ตะวันตก แบ่งโลกออกเป็นสองส่วน เท่าๆกัน เป็นเส้นวงกลมใหญ่ คือ เส้นศูนย์สูตร 17. รางวัลโนเบล ประกอบด้วย 6 สาขา ยกเว้นสาขาใด ก. เคมี ข. ฟิสิกส์ ค. วรรณกรรม ง. บริการสาธารณะ 18. การลดระดับลงของแม่น้าโขง องค์กรใดควรมีบทบาทเข้ามาแก้ปัญหา ก. ASEAN ข. GMS ค. EWEC ง. ACMECS

วิชาสังคม


181 | P a g e 19. ข้อใดมิใช่แนวทางการกระตุ้นเศรษฐกิจหลังภาวะน้าท่วม ก. การลดภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและนิติบุคคล ข. การลดรายจ่ายของภาครัฐ ค. การลดดอกเบี้ยเงินกู้ ง. การลดดอกเบี้ยเงินฝาก 20. ข้อใดคือประเทศที่เข้าร่วมก่อตั้งอาเซียน ก. ไทย สิงคโปร์ บรูไน อินโดนีเซีย ข. สิงคโปร์ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ค. ไทย เวียดนาม ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย ง. มาเลเซีย เวียดนาม สิงคโปร์ ฟิลลิปปินส์ 21. เหตุการณ์ใดเริ่มให้โลกปลี่ยนแปลงเข้าสู่ยุคใหม่ ก. การปฏิวัติวิทยาศาสตร์ ข. การปฏิวัติเกษตรกรรม ค. การปฏิวัติอุตสาหกรรม ง. การปฏิรูปศาสนา 22. โครงการพัฒนาป่าชุมชนในประเทศไทยเป็นการดาเนินงานที่สอดคล้องกับ อนุสัญญาฉบับใด ก. อนุสัญญาไซเตส ข. อนุสัญญาเวียนนา

วิชาสังคม


182 | P a g e ค. อนุสัญญาว่าด้วยการอนุรักษ์พื้นที่ชุ่มน้า ง. อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ 23. ข้อใดไม่ใช่หลักธรรมในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขของศาสนาต่างๆ ก. หลักศรัทธา ข. หลักพรหมวิหาร ค. หลักความรัก ง. หลักไตรลักษณ์ 24. ประเทศไทยมีรูปแบบรัฐเหมือนกับประเทศใด ก. ฝรั่งเศส ข. อินเดีย ค. มาเลเซีย ง. ออสเตรเลีย 25. ความร่วมมือใดไม่เกี่ยวข้องกับการลดการปล่อยแก๊สเรือนกระจก ก. พิธีสารเกียวโต ข. พิธีสารมอนทรีออล ค. อนุสัญญาแรมซาร์ ง. อนุสัญญาเวียนนา

วิชาสังคม


183 | P a g e 26. ข้อใดแสดงถึงภูมิปัญญาไทยสมัยโบราณในการวางระเบียบของอาณาจักรให้ สงบสุข ก. กฎหมายตราสามดวง ข. พระไอยการพลเรือนและทหารหัวเมือง ค. กฎมณเฑียรบาล ง. การจัดระเบียบสงฆ์ 27. หากต้องการศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับวิชาเภสัชสมุนไพร วิชาสมมติฐานโรค ตาราวิธีรักษาเด็กและผู้ใหญ่ของไทยสมัยรัตนโกสินทร์ควรไปที่ใด ก. วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ข. วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร ค. วัดอรุณราชวรารามราชวรวิหาร ง. วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรวิหาร 28. ข้อใดไม่ใช่การแก้ไขความขัดแย้งระหว่างประเทศโดยวิธีการบีบบังคับ ก. การตัดความสัมพันธ์ทางการทูต ข. การทาสงครามสั่งสอนเวียดนามของจีนในปี ค.ศ. 1979 ค. มาตรการคว่าบาตรไม่ซื้อสินค้าจากประเทศนั้น ง. การซ้อนรบใกล้พรมแดนรัฐฝ่ายตรงข้าม

วิชาสังคม


184 | P a g e 29. การทาบุญในข้อใดเรียกว่าเป็น กาลทาน คือมีกาหนดระยะช่วงเวลาที่จะทาได้ แน่นอน หากพ้นระยะเวลาไปแล้วไม่สามารถทาได้ ก. ทอดผ้าป่า ข. ทอดกฐิน ค. ถวายสังฆทาน ง. เจริญพระพุทธมนต์ 30. กองทัพเรือไม่สามารถจับกุมเรือบรรทุกน้ามันเถื่อน ที่อยู่ห่างจากชายฝั่งทะเล ของไทย เกินกว่ากี่ไมล์ทะเล ก. 3 ไมล์ทะเล ข. 6 ไมล์ทะเล ค. 9 ไมล์ทะเล ง. 12 ไมล์ทะเล 31. พระพุทธศาสนาสอนหลักความจริงที่เป็นสากลในเรืองใด ก. ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน ข. การทาลายชีวิตเป็นบาป ค. ทุกชีวิตต้องเผชิญปัญหาด้วยความไม่ประมาท ง. มนุษย์ใช้ปัญญาหาสาเหตุเพื่อแก้ปัญหาได้

วิชาสังคม


185 | P a g e 32. ข้อใดส่งผลให้เงินคงคลังเพิ่ม ก. รัฐบาลจัดเก็บภาษีอากรได้เพิ่มขึ้น ข. ดุลรายได้หักรายจ่ายของรัฐบาลเกินดุล ค. รัฐวิสาหกิจส่งผลกาไรให้รัฐบาลมกขึ้น ง. รัฐบาลเลื่อนการไถ่ถอนพันธบัตรที่ครบกาหนด 33. ประเทศสุดท้ายในอาเซียนที่ได้เข้าเป็นสมาชิกองค์การการค้าโลก คือประเทศใด ก. ลาว ข. กัมพูชา ค. เวียดนาม ง. พม่า 34. สมุดปกเหลือง ว่าด้วยเรื่องอะไร ก. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับแรก ข. คาวิพากษ์วิจารณ์เค้าโครงเศรษฐกิจของรัชกาลที่ 7 ค. เค้าโครงเศรษฐกิจของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม ง. เค้าโครงเศรษฐกิจของพระยามโนปกรณ์นิติธาดา 35. หลักการจัดระเบียบบริหารราชการในข้อใด เปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วม ในการปกครองตามวิถีทางประชาธิปไตย ก. หลักการกระจายอานาจ ข. หลักการแบ่งอานาจ ค. หลักการมอบอานาจ ง. หลักการรวม อานาจ

วิชาสังคม


186 | P a g e 36. ข้อใดไม่ใช่สาเหตุของภัยแล้งในประเทศไทย ก. ปรากฏการณ์ลานีญา ข. ปรากฏการณ์เอลนีโญ ค. ปรากฏการณ์เรือนกระจก ง. การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก 37. กิจกรรมใดขัดแย้งกับมาตรฐานด้านสิทธิมนุษยชนตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิ มนุษยชนแห่งสหประชาชาติมากที่สุด ก. การกักขัง ข. การค้าทาส ค. การเนรเทศ ง. การประหารชีวิต 38. กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินจะตกเป็นของผู้ซื้อ เมื่อได้มีการทาสัญญาแบบใด ก. สัญญาเช่าซื้อ ข. สัญญาขายฝาก ค. สัญญาซื้อขายผ่อนส่ง ง. สัญญาขายฝากและสัญญาซื้อขายผ่อนส่ง 39. การที่รัฐบาลกู้เงินจากต่างประเทศมาลงทุนแทนการกู้เงินจากประชาชน ก่อให้เกิดผลอย่างไร ก. หนี้สาธารณะเพิ่มขึ้นน้อยกว่า ข. อัตราดอกเบี้ยในประเทศสูงขึ้น ค. งบประมาณแผ่นดินขาดดุลน้อยลง ง. สภาพคล่องภายในประเทศเพิ่มขึ้น

วิชาสังคม


187 | P a g e 40. นโยบายการส่งเสริมการลงทุนจากต่างประเทศเกิดขึ้นครั้งแรกในรัฐบาลใด ก. จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ข. จอมพลถนอม กิตติขจร ค. พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ง. จอมพลแปลก พิบูลสงคราม 41. ในการวิเคราะห์สถานการณ์น้าเพื่อการวางแผนป้องกันอุทกภัยบริเวณที่ราบลุ่ม แม่น้าเจ้าพระยา ควรใช้เครื่องมือใด ก. แผนที่การใช้ที่ดิน ข. แผนที่ภูมิประเทศ ค. ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ ง. ระบบกาหนดตาแหน่งบนพื้นโลก 42. พระพุทธเจ้าทรงบรรลุญาณใดที่ทาให้ตรัสรู้อริยสัจ 4 ก. ปุพเพนิวาสานุสสติ ข. จุตูปปาต ค. อาสวักขย ง. อานาปานสติ 43. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของการปกครองระบอบประชาธิปไตยในระบบ ประธานาธิบดี ก. ประธานาธิบดีเป็นประมุขของรัฐ ข. ประธานาธิบดีมีอานาจยุบสภา

วิชาสังคม


188 | P a g e ค. ประธานาธิบดีมาจากการเลือกตั้งของประชาชน ง. ประธานาธิบดีมีอานาจยับยั้งกฎหมาย 44. ข้อใดแสดงถึงสถาบันหรือหน่วยงานซึ่งไม่มีอานาจในการตรากฎหมาย ก. รัฐสภา กระทรวง ข. กรุงเทพมหานคร เทศบาล ค. องค์การบริหารส่วนตาบล รัฐบาล ง. คณะกรรมการกฤษฎีกา ศาลปกครอง 45. ข้อใดทาให้เกิดอุปสงค์ส่วนเกิน ก. ราคาสินค้าต่ากว่าราคาดุลยภาพ ข. ผู้บริโภคมีความต้องการสินค้าเพิ่มขึ้น ค. จานวนผู้ผลิตสินค้าลดลง ง. ผู้บริโภคมีรายได้เพิ่มขึ้น 46. ภัยธรรมชาติใดที่ไม่สามารถรู้ล่วงหน้าได้ ก. วาตภัย ข. สึนามิ ค. แผ่นดินไหว ง. ภูเข้าไฟระเบิด 47. เงินจานวนใดไม่รวมอยู่กับงบประมาณรายรับของรัฐบาล ก. เงินรายได้จากภาษีมูลค่าเพิ่ม ข. เงินรายได้จากการไฟฟ้าฝ่ายผลิต ค. เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินในประเทศ ง. เงินกู้ยืมจากรัฐบาลต่างประเทศ

วิชาสังคม


189 | P a g e 48. เหตุการณ์ใดเริ่มให้โลกเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ยุคใหม่ ก. การปฏิวัติวิทยาศาสตร์ ข. การปฏิวัติเกษตรกรรม ค. การปฏิวัติอุตสาหกรรม ง. การปฏิรูปศาสนา 49. หลักธรรมในข้อใดที่สอดคล้องกับหลักเศรษฐกิจพอเพียงมากที่สุด ก. ทศพิธราชธรรม ข. ทิฏฐธัมมิกัตถะ ค. สังคหวัตถุ ง. สัปปุริสธรรม 50. พวกเลือดผสมระหว่างชาวผิวขาวกับอินเดียนแดง เรียกว่าอะไร ก. เมสติโซ ข. มูแลตโต ค. แซมโบ ง. คาริบ

วิชาสังคม


190 | P a g e

เฉลยข้อสอบ 1. ค

2. ค

3. ข

4. ง

5. ก

6. ข

7. ค

8. ง

9. ง

10. ข

11. ค

12. ง

13. ก

14. ข

15. ค

16. ง

17. ง

18. ข

19. ข

20. ข

21. ก

22. ค

23. ง

24. ก

25. ค

26. ข

27. ง

28. ข

29. ข

30. ง

31. ง

32. ข

33. ก

34. ค

35. ก

36. ก

37. ข

38. ง

39. ค

40. ก

41. ค

42. ค

43. ข

44. ง

45. ก

46. ค

47. ค

48. ก

49. ข

50. ก

วิชาสังคม










รองปกหลัง

รองปกหลัง

¼

¼

5,000.- บาท

5,000.- บาท

รองปกหลัง

รองปกหลัง

¼

¼

5,000.- บาท

5,000.- บาท


รองปกหลัง ครึ่งหน้ า 10,000.- บาท

รองปกหลัง ครึ่งหน้ า 10,000.- บาท


รองปกหลัง ครึ่งหน้ า 10,000.- บาท

ครึ่งหน้ า 10,000.- บาท


รองปกหลัง เต็มหน้ า 20,000.- บาท


รองปกหลัง เต็มหน้ า 20,000.- บาท


ปกใน ด้ านหลัง ครึ่งหน้ า 15,000.- บาท

ปกใน ด้ านหลัง ครึ่งหน้ า 15,000.- บาท



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.