ปกนอก
ปกใน ด้ านหน้ า เต็มหน้ า 30,000.- บาท
เ
ตรียมอุดมศึกษา มักอยู่ในกรอบเป้าหมายในการเรียนต่อในชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 ของน้องๆ มัธยมศึกษาปีที่ 3 หลายๆคน จากคาแนะนาของ รุ่นพี่บ้างก็ดี จากผลงานของรุ่นพี่เตรียมฯบ้างก็ดี แต่คงปฏิเสธไม่ได้ว่า การที่
น้องจะเข้าเรียน ณ ที่แห่งนี้ การจะได้มาซึ่งพระเกี้ยวที่ประดับบนอกนั้นยากเพียงใด เพราะน้องต้องใช้ความรู้ที่กว้างและหลากหลาย ทั้งยังต้องแข่งขันกับเพื่อนต่างโรงเรียน อีกเป็นจานวนมาก หนังสือ EPITOME – the perfect example RECALL เล่มนี้ เป็นหนังสือสรุปเนื้อหาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 3 วิชา คือ ภาษาอังกฤษ,ภาษาไทย และสังคม พร้อมตัวอย่างโจทย์ในแต่ละวิชา รวมถึงเคล็ดลับการเตรียมความพรอม ในการสอบเขาของรุนพี� ที่พี่ๆสายการเรียนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ ห้อง 943 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาไดจัดทําขึ้น เพื่อใหนองๆนําไปเปนแนวทาง ในการเตรียมความพรอม เพื่อการสอบคัดเลือกเขาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา และโรงเรียนชั้น นําอื่นๆ พี่ๆหวังเป็นอย่างยิ่งว่าน้องๆจะได้ประโยชน์จากหนังสือเล่มนี้ไม่มากก็น้อย หากมีข้อผิดพลาดประการใด น้องๆสามารถติดต่อมาได้ที่อีเมลล์ epitome@tu77943.com เพื่อเป็นการแก้ไขและพัฒนาในการพิมพ์ครั้งต่อไป คณะผู้จัดทา EPITOME
THE PERFECT EXAMPLE
วิชาภาษาอังกฤษ
1-59
Summary (หัวข้อ)
2
Agreement of Subject and verb
3
Direct and Indirect Speech
4-7
If Clauses Non-Finite Verb Tense
8 9-11 12-16
Which Clauses
17
Meaning in Context (เทคนิคการทาโจทย์)
18
Odd one out, Synonym-Antonym (เทคนิคการทาโจทย์)
19
Exercise EPITOME I
20-23
Answer Key
24-25
EPITOME II
26-31
Answer Key
32-33
EPITOME III
34-39
Answer Key
40-42
EPITOME IV
43-47
Answer Key
48-49
THE PERFECT EXAMPLE EPITOME V
50-57
Answer Key
58-59
วิชาภาษาไทย
60-107
ศิลปะการประพันธ์ในวรรณคดีไทย
61-67
คาประพันธ์ชนิดต่างๆ
68-72
สานวนไทยที่ควรรู้
73-74
คาไวพจน์
75-76
การอ่านคา
77-78
คาราชาศัพท์และการใช้
79-80
เสียง สระ พยัญชนะ แต่อักษรในภาษาไทย
81-82
คามูล คาประสม คาซา คาซ้อน
83
คายืมจากภาษาต่างประเทศ
84-86
คาสมาส คาสนธิ
87
ชนิดของประโยค
88
โจทย์ชุดที่ 1
89-96
โจทย์ชุดที่ 2
97-104
เฉลยโจทย์ชุดที่ 1
105-106
เฉลยโจทย์ชุดที่ 2
107
THE PERFECT EXAMPLE
วิชาสังคม
111-190
ศาสนา
112-131
เศรษฐศาสตร์
132-141
ประวัติศาสตร์
142-155
หน้าที่พลเมือง
156-160
ภูมิศาสตร์
161-174
ตัวอย่างข้อสอบ+เฉลยข้อสอบ
175-190
1 | ห น้ า
วิชาภาษาอังกฤษ
2
|
ห น้ า
ในสวนวิชาภาษาอังกฤษ พี่ๆจะแบ่งให้น้องดังนี้ 1. เนื้อหา 1.1 Grammar 1.1.1 Agreement of subject and verb 1.1.2 Direct and Indirect speech 1.1.3 If-clauses 1.1.4 Non-finite verb 1.1.5 Tense 1.2 Vocabulary – สรุปแนวทางในการทาข้อสอบ vocabulary part 1.2.1 Meaning in Context 1.2.2 Odd one out 1.2.3 Synonym - Antonym 2. EPITOME Test มีทั้งหมด 5 ชุด ชุดละ 30 ข้อ
วิชาภาษาอังกฤษ
3 | ห น้ า
♥Agreement of Subject and Verb♥ 1. One of the + N.พหูพจน์ + V.เอกพจน์= หนึ่งในจานวนมากๆ เช่น One of the boys is sick. 2. Both 1 and 2 + V.พหูพจน์= ทั้ง 1 และ 2 เช่น Both the captain and the crew are having dinner. 3. Neither 1 nor 2 + V.ตามประธานตัวที่2 = ไม่ทั้งคู่ เช่น Neither Ann nor her friends have gone home. 4. Either 1 or 2 + V.ตามประธานตัวที่2 = ไม่อันใดก็อันหนึ่ง เช่น Either the waiter or the maids have to be responsible. 5. Not only 1 but also 2 + V.ตามประธานตัวที่2= ไม่เพียงแต่ 1 แต่ยัง 2 เช่น Not only him but also his friends have to be punished. 6. 1 as well as 2 + V.ตามประธานตัวที่1= เช่นเดียวกันกับ accompanied by with together with เช่น John, accompanied by his friends, has gone fishing. 7. The number of + N.พหูพจน์ + V.เอกพจน์ = จานวน เช่น The number of cars is increasing. 8. A number of + N.พหูพจน์ + V.พหูพจน์ = จานวน เช่น A number of students were late this morning. 9. Someone Everyone Anyone None Somebody Everybody Anybody Nobody + V Something Everything Anything Nothing เช่น Nobody is perfect. 10. The + old , blind , dumb , rich + V. พหูพจน์ sick, deaf , handicapped , poor เช่น The wounded were taken to the hospital.
วิชาภาษาอังกฤษ
4
|
ห น้ า
♥Direct and Indirect Speech♥ สำหรับบทนี้นะคะ เป็นเรื่องที่ว่ำด้วยกำรเอำคำพูดที่พูดไปแล้วมำคุยกันอีกครั้งอำจเป็นกับ คนอื่นที่ไม่ได้อยู่ในเหตุกำรณ์ด้วย เช่น เรำบอกเพื่อนว่ำเมื่อคืนณเดชน์ชมเรำว่ำสวยอย่ำงนั้นอย่ำงนี้ อิอิ>_< Direct Speechคือ กำรยกคำพูดจริงๆของผู้พูดทั้งหมดมำเล่ำให้ฟังโดยไม่เปลี่ยนแปลง โดยใส่คำพูดนั้นไว้ในเครื่องหมำยคำพูด “…” โดยมี comma ,คั่นกลำงระหว่ำงประโยคที่ยกมำพูด ถึง และ ประโยคหลัก โดยประธำนที่อยู่ในเครื่องหมำยคำพูดจะต้องเป็นตัวใหญ่เสมอ เช่น He said, “I will clean the house.” “My name is Mike”, he said. Indirect Speech (Reported Speech)คือ กำรนำคำพูดมำรำยงำนให้ผู้อื่นฟัง หรือ กำรดัดแปลงคำพูดมำให้เป็นคำพูดของผู้เล่ำนั่นเอง (กำรเอำเฉพำะใจควำมมำบอกไม่ได้ใส่ประโยค ไว้ในเครื่องหมำยคำพูดเหมือนอันแรกอ่ะค่ะ ^_____^) เช่น He said he would clean the house. โดยกำรพูดแบบ Indirect speech นั้นอำจต้องมีกำรเปลี่ยนแปลงในหลำยๆจุด ดังต่อไปนี้ ตำรำงกำรเปลี่ยน Tense ใน Indirect Speech Direct Speech Indirect Speech Present simple Tense
Past simple Tense
Present continuous Tense
Past continuous Tense
Past simple Tense
Past perfect Tense
Past Continuous Tense
Past Perfect Continuous Tense
Present perfect Tense
Past perfect Tense
Future simple Tense (will) Future in past forms Tense (would)
Direct Speech
Indirect Speech
Can
Could
วิชาภาษาอังกฤษ
5 | ห น้ า May
Might
Shall
Should
Must
Had to
คำระบุเวลำที่ต้องเปลี่ยนรูปใน Indirect Speech Direct Speech Indirect Speech ago
before, earlier
a year/month ago
a year/month before, the previous year/month
last… (night/week/moth/year)
the…before, the previous…
next… (night/week/moth/year)
the following…, the…after
now
then, at that time
the day before yesterday
two days before
the day after tomorrow
Later in two days time, two days late
today
that day
tomorrow
the following day, the next day
tonight
that night
yesterday
the day before, the previous day
วิชาภาษาอังกฤษ
60 |
วิชาภาษาไทย
หน้า
61 |
หน้า
ศิลปะการประพันธ์ในวรรณคดีไทย 1. การเล่นเสียง คือการสรรคาให้มีเสียงสัมผัสกัน เช่น การสัมผัสสระ พยัญชนะ และวรรณยุกต์
สัมผัส คือ ลักษณะที่ใช้บังคับให้คาคล้องจองกัน สัมผัสสระ : เล่นเสียงสระเดียวกันของคาที่อยู่ติดกันหรือใกล้กัน สัมผัสอักษร : การเล่นเสียงพยัญชนะต้นของคาที่อยู่ติดกันหรือใกล้กัน (บางครั้งเรียกว่า “เล่นอักษร”) จิบจับเจาเจ่าเจ้า
รังมา
จอกจาบจัน่ จรรจา
จ่าจ้า
เค้าค้อยค่อยคอยหา
เห็นโทษ
ซอนซ่อนซ้อนริว้ หน้า
นิ่งเร้าเอาขวัญ
(โคลงอักษรสามหมู่ ประพันธ์โดย พระศรีมโหสถ , รัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์ มหาราช)
วิชาภาษาไทย
62 |
หน้า
- สัมผัสใน /จ/ จิบ จับ เจา เจ่า เจ้า, จอก จาบ จัน่ จรร จา จ่า จ้า /ค/ เค้า ค้อย ค่อย คอย /ซ/ ซอน ซ่อน ซ้อน สัมผัสวรรณยุกต์ : การเล่นเสียงวรรณยุกต์ของคา - สัมผัสใน เจา-เจ่า-เจ้า, จั่น-จรร, จ่า-จ้า, ค้อย-ค่อย-คอย, ซอน-ซ่อน-ซ้อน 2. การเล่นคา คือ การใช้คาพ้องรูปพ้องเสียง การซาคา การใช้คาถามเชิง วาทศิลป์เพือ่ ให้เกิดความหมายพิเศษและแปลกออกไป การเล่นคาพ้อง “ถึงบางพูดพูดดีเป็นศรีศักดิ์ มีคนรักรถถ้อยอร่อยจิต” (เล่นคาว่า “พูด”) (นิราศภูเขาทอง ประพันธ์โดย สุนทรภู่) “จากพรากจับจากจานรรจาเหมือนจากนางสการะวาตี” (เล่นคาว่า “จาก”) (อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง ประพันธ์โดย พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า นภาลัย)
วิชาภาษาไทย
63 |
หน้า
การซ้าคา “คุณ แม่หนาหนักเพียงพสุธา คุณ บิดรดุจอากาศกว้าง คุณ พีพ่ ่างศิขราเมรุมาศ คุณ พระอาจารย์อ้างอาจสู้สาคร ” (ซาคาว่า “คุณ”) (โคลงโลกนิติ ประพันธ์โดย พระยาศรีสุนทรโวหาร) - การใช้คาถามเชิงวาทศิลป์ คือ คาถามทีไ่ ม่ต้องการคาตอบ เพราะทราบ คาตอบดีอยู่แล้ว เช่น “ กระนีหรือพระบิดามิน่าหนีทังท่วงทีไม่สภุ าพทาหยาบหยาม” “ยักขิณีผสี างหรืออย่างไรมาพาไปไม่เกรงข่มเหงกู” (พระอภัยมณี ประพันธ์โดย สุนทรภู่) 3. การใช้ภาพพจน์ ( กวีโวหาร ) คือ การใช้ถ้อยคาเพือ่ สร้างภาพในใจ (จินต ภาพ) แก่ผู้อ่านโดยการใช้โวหารกล่าวอย่างไม่ตรงไปตรงมา
อุปมา คือ การเปรียบเทียบด้วยคาว่าเหมือน หรือคาที่มคี วามหมายว่า เหมือน เช่น ดุจ ดัง ดั่ง เหมือน ราวกับ คล้าย เฉก เช่น เพี้ยง เพียง เป็นต้น “สัตว์ในนาจาแพ้แก่ผีเสือเปรียบเหมือนเนือเห็นพยัคฆ์ให้ชักหลัง” “สามสิบสามเศียรโสภา เศียรหนึ่งเจ็ดงา ดั่งเพชรรัตน์รูจี” (มีคาว่า “ดั่ง” แปลว่า เหมือน) อุปลักษณ์ คือ การเปรียบเทียบโดยใช้คาว่า “คือ” “เป็น” หรือละคา เปรียบเทียบไปเลย (เปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเป็นสิ่งหนึ่งโดยตรงเลย)
วิชาภาษาไทย
64 |
หน้า
“ขอลาแก้วแววตาไปธานีอย่าราคีขุ่นข้องให้หมองมัว” “ความรู้คเู่ ปรียบด้วยกาลัง กายแฮ (อุปมา) สุจริตคือเกราะบังศาสตร์พ้อง (อุปลักษณ์) ปัญญาประดุจดังอาวุธ (อุปมา) สติต่างโล่ปอ้ งอาจแกล้วกลางสนาม” (อุปมา) ให้น้องๆจาไว้ว่า อุปมา มีคาที่ใช้เปรียบเทียบ อุปลักษณ์ มีการให้นิยามของคานั้นๆเลย
บุคคลวัต หรือ บุคลาธิษฐาน คือการกล่าวถึงสิง่ ที่มิใช่มนุษย์ให้มีความ เป็นมนุษย์ ( มีกิรยิ าอาการ, มีความรูส้ ึกนึกคิดเหมือนมนุษย์ ) “โทสะอาจจะโดดโลดข้ามรัวไม่เกรงกลัวบัญญัติเลย” “สัตภัณฑ์บรรพตทังหลายอ่อนเอียงเพียงปลาย ประนอมประนมชมชัย” ( ภูเขาสัตภัณฑ์นอ้ มไหว้) “กระต่ายตัวหนึ่งยิมเยาะเต่าว่า เท้าสัน เดินก็ช้า” ( ยิมเยาะ หมายถึง หัวเราะเยาะเย้ย )
สัทพจน์ คือ การใช้คาเลียนเสียงธรรมชาติ เช่น โครมๆ เปรียงๆ แปร๊นๆ โฮกๆ ฯลฯ “ดูงูขฟู่ ูดฟู่พรูพรู” “ถ้วยชามกลิงฉิ่งฉ่างเสียงกร่างโกรงนาวาโคลงโคลนเลอะตลอดแคม” “บ้างโก่งคอคูคูกุกกูไปฝูงเขาไฟฟุบแฝงทีแ่ ฝกฟาง”
วิชาภาษาไทย
65 |
หน้า
(คาประพันธ์ที่มีการเลียนเสียงธรรมชาติ จะเด่นด้านสัมผัสสระ สัมผัส อักษรด้วยนะ)
อธิพจน์ คือ การกล่าวเกินความจริง ( OVERACTING ว่างัน 555+) เช่น “เสียงพลโห่ร้องเอาชัยเลื่อนลั่นสนั่นใน พิภพเพียงทาลาย” ( ไพร่พลโห่รอ้ งจนแผ่นดินสะเทือน --- OVER -0- ) “เรียมรา่ น่าเนตรถ้วมถึงพรหม พาเทพเจ้าจ่อมจมชีพม้วย พระสุเมรุเปื่อยเป็นตมทบท่าว ลงนา หากอกนิฏฐ์พรหมฉ้วยพีไว้จึงคง” (โคลงเบ็ดเตล็ด ประพันธ์โดย ศรีปราชญ์) ( แปลความหมายตรงๆคือ ร้องไห้จนนาท่วมถึงพรหมโลก คือที่สถิตแห่ง พระพรหมก็คอื สวรรค์ นาตาที่ไหลรินทาให้เขาพระสุเมรุซึ่งเป็น ศูนย์กลางของจักรวาลและเป็นทีส่ ถิตของพระอินทร์เปื่อย ...OVER อีก นั่นแหละ ความจริงคือผู้แต่งต้องการอธิบายอารมณ์ตัวละคร ว่ามีความ โศกเศร้าเสียใจมาก มากเสียจนนาตาท่วมแผ่นดิน )
วิชาภาษาไทย
66 |
หน้า
“อายุยืนหมื่นเท่าเสาศิลาอยู่คู่ฟ้าดินได้ดังใจปอง” ( เสาศิลาเปรียบเหมือนสิ่งที่มั่นคง ที่จะอยูย่ งเป็นเวลานาน ...ช่าง เปรียบเทียบ )
อวพจน์ คือ การกล่าวสิง่ ที่น้อยกว่าความจริง เช่น“มีทองเท่าหนวดกุ้ง” “ชั่วพริบตาเดียว” ปฏิภาคพจน์ คือการใช้ถ้อยคาความหมายตรงข้าม ขัดแย้งกันเช่น “เสียงกระซิบแห่งความเงียบ” ...แตกต่างเหมือนกัน รสวรรณคดี ๑ เสาวรจนี–บทชมความงามธรรมชาติหรือสิ่งต่างๆเช่น “พงกษัตริย์ทศั นานางเงือกน้อย
ประไพพักตร์ลักษณ์ลาล้วนขาคม
ดูแช่มช้อยโฉมเฉลาทังเผ้าผม ทังเนือนมนวลเปล่งออกเต่งทรวง”
(พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีได้นางเงือก , สุนทรภู)่ ๒ นารีปราโมทย์–บทเกียวพาราสี จีบหญิง “ถึงม้วยดินสินฟ้ามหาสมุทร แม้นเกิดในใต้ฟ้ามุทธาธาร
ไม่สินสุดความรักสมัครสมาน ขอพบพานพิศวาสไม่คลาดคลา”
(พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีเกียวนางละเวง , สุนทรภู่)
วิชาภาษาไทย
67 |
หน้า
เสาวรสนี อาจชมความงามของหญิงสาวก็ได้ แต่หากมีการพูดถึงความรัก หรือตัวพระบอกกับตัวนาง มักเป็น นารีปราโมทย์
๓ พิโรธวาทัง –บทโกรธ ตัดพ้อ ไม่พอใจ เสียดสี เช่น “จะเจ็บจาไปถึงปรโลก จะเกิดกี่ฟ้ามาตรมตาย
ฤๅรอยโศกรู้รา้ งจางหาย อย่าหมายว่าจะให้หัวใจ”
(บทกวีเสียเจ้า , อังคาร กัลยาณพงศ์)
๔ สัลลาปังคพิสยั –บทโศกเศร้าเสียใจ เช่น “เคยหมอบใกล้ได้กลิ่นสุคนธ์ตลบ สินแผ่นดินสินรสสุคนธา
ละอองอบรื่นชื่นนาสา วาสนาเราก็สินเหมือนกลิ่นสุคนธ์”
(นิราศภูเขาทอง , สุนทรภู่)
วิชาภาษาไทย
68 |
หน้า
คาประพันธ์ชนิดต่างๆ โคลงสี่สภุ าพ
-คาเอกโทษ คือการนาคาที่ปกติใช้วรรณยุกต์โทกากับมาใช้วรรณยุกต์เอกกากับ แทน เพือ่ ใช้แทนที่คาเอก ในตาแหน่งบังคับของโคลง เช่นเขียวคมเขียนเป็น เคี่ยวคมเคี่ยวเป็นคาเอกโทษ -คาโทโทษ คือการนาคาที่ปกติใช้วรรณยุกต์เอกกากับมาใช้วรรณยุกต์โทกากับ แทน เพือ่ ให้ใช้แทนคาโทในตาแหน่งบังคับ เช่นมั่นคง เขียนเป็นหมัน คง หมัน เป็นคาโทโทษชมพู่ เขียนเป็น ชมผู้ ผู้ เป็นคาโทโทษ -เราสามารถใช้คาตาย แทนคาต้องใช้คาที่ประสมด้วยไม้เอกได้
วิชาภาษาไทย
69 |
หน้า
(น้องๆควรจาตาแหน่งของการใช้รูปเอก โท ของกลอนสีส่ ุภาพให้ได้นะครับ โดยนิยมใช้บทประพันธ์ต่อไปนี เนื่องจากมีเอก โท ตรงตาแหน่งโดยไม่ใช้ เอก โทษ โทโทษ) “เสียงลือเสียงเล่าอ้าง
อันใด พี่เอย
เสียงย่อมยอยศใคร
ทั่วหล้า
สองเขือพี่หลับใหล
ลืมตื่น ฤๅพี่
สองพีค่ ิดเองอ้า อย่าได้ถามเผือ” (ลิลิตพระลอ ไม่มีการระบุผู้ประพันธ์ ประพันธ์ในสมัยสมเด็จพระ นารายณ์มหาราช)
การใช้คาเอกโทษ โทโทษ มักใช้ตาแหน่งของคาว่า เล่า-อ้าง ในบาทที่ 1 และในตาแหน่งของคาว่า ใด ใคร ใหล เผือ มักไม่ใช้ คาที่มีรูปวรรณยุกต์
วิชาภาษาไทย
70 |
กลอนแปด
วรรคสดับ=วรรคที่๑ วรรครับ=วรรคที๒่ วรรครอง=วรรคที่๓ วรรคส่ง=วรรคที่๔ กาพย์ยานี ๑๑
วิชาภาษาไทย
หน้า
71 |
หน้า
โคลงสองสุภาพ
โคลงสามสุภาพ
ร่ายสุภาพ
คาครุ ลหุ และ คาเป็น คาตาย ครุ ( ั ) มีลักษณะดังนี ๑. คาทีม่ ีตัวสะกด ๒. คาที่ประสมด้วยสระ อา ใอ ไอ เอา ๓. คาที่ประสมด้วยสระเสียงยาวไม่มีตัวสะกด
วิชาภาษาไทย
72 |
หน้า
ลหุ ( ุ ) มีลักษณะดังนี ๑. คาที่ประสมด้วยสระเสียงสันไม่มีตัวสะกด ถ้าเป็นคาที่มีสระเสียงสั้น ไม่มีตัวสะกด จะเป็นคาลหุ นอกจากนั้นเป็นคาครุ
คาเป็น ๑สระยาว อา อี อู อือ แอ อัว เออ ๒ตัวสะกดแม่ กง กม กน เกย เกอว (ถ้าลงด้วยแม่เหล่านีไม่ว่าจะเป็นสระเสียง สันหรือยาวก็ตามจัดเป็นคาเป็น) ๓อา ไอ ใอ เอา ฤๅ ฦๅ คาตาย ๑ เสียงสันอะอิ อุ เอะเอาะแอะ ๒แม่ กก กด กบ ฤ ฦ
วิชาภาษาไทย
73 |
หน้า
สานวน กินนาใต้ศอก กินบนเรือนขีบนหลังคา เกี่ยวแฝกมุงป่า ใกล้เกลือกินด่าง
สานวนไทยที่ควรรู้ ความหมาย จาต้องยอมเป็นรองเขา, ไม่เทียมหน้าเทียมตาเท่า เนรคุณ ทาอะไรเกินกาลังความสามารถของตัว ไม่รู้ค่าของดีที่อยู่ใกล้ตัวซึ่งจะเป็นประโยชน์แก่ตน กลับไปแสวงหาสิ่งอื่นที่ดอ้ ยกว่า ต่างฝ่ายต่างรู้ความลับของกันและกัน ทาอะไรแล้วผลร้ายกลับมาสู่ตัวเอง โผงผางไม่เกรงใจใคร ลงทุนมากแต่ได้ผลน้อย ของที่ต้องระมัดระวังทะนุถนอมอย่างยิ่ง ได้ดีถึงที่สุดแล้ว มีความสามารถ แต่เมื่อยังไม่ถึงเวลาก็ไม่แสดงออกมาให้
ไก่เห็นตีนงู งูเห็นนมไก่ ขว้างงูไม่พ้นคอ ขวานผ่าซาก ขี่ช้างจับตั๊กแตน ไข่ในหิน ขึนต้นไม้สุดยอด คมในฝัก เห็น ตักนาใส่กะโหลก ชะโงกดูเงา ให้รู้จักฐานะของตนและเจียมตัว ตัดช่องน้อยแต่พอตัว เอาตัวรอดแต่ผู้เดียว ถี่ลอดตาช้าง ห่างลอดตาเล็น ดูเหมือนรอบคอบถี่ถ้วน แต่ไม่รอบคอบถี่ถ้วนจริง เถรส่องบาตร คนที่ทาอะไรตามเขาทัง ๆ ที่ไม่รู้เรื่องราว ทองไม่รู้รอ้ น เฉยเมย,ไม่กระตือรือร้น, ไม่สะดุ้งสะเทือน นายว่าขีข้าพลอย พลอยพูดผสมโรงติเตียนผู้อนื่ ตามนายไปด้วย นาท่วมทุ่ง ผักบุ้งโหรงเหรง พูดมากแต่ได้เนือหาสาระน้อย นามาปลากินมด นาลดมดกินปลา ทีใครทีมัน นาร้อนปลาเป็น นาเย็นปลาตาย คาพูดที่ตรงไปตรงมา อาจไม่ถูกใจผู้ฟัง แต่ไม่เป็น พิษเป็นภัย คาพูดที่ไพเราะอ่อนหวาน ซึ่งถูกใจผู้ฟัง แต่ อาจเป็นโทษเป็นภัยได้ บัวไม่ให้ชา นาไม่ให้ขุ่น รู้จักผ่อนปรนเข้าหากัน มิให้กระทบกระเทือนใจกัน
วิชาภาษาไทย
74 |
หน้า
สานวน ความหมาย ปลาใหญ่กินปลาเล็ก คนที่มีอานาจหรือผู้ใหญ่ที่กดขี่ข่มเหงผู้อ่อนแอหรือผู้นอ้ ย ปากปราศรัยใจเชือดคอ พูดดีแต่ใจคิดร้าย ปากหวานก้นเปรียว พูดจาอ่อนหวานแต่ไม่จริงใจ ปิดประตูตีแมว รังแกคนไม่มีทางสู้ และไม่มีทางหนีรอดไปได้ ไปไหนมาสามวาสองศอก ถามอย่างหนึ่งตอบไปอีกอย่างหนึ่ง ผ้าขีริวห่อทอง คนมั่งมีแต่แต่งตัวซอมซ่อ ฝนทั่งให้เป็นเข็ม เพียรพยายามสุดความสามารถจนกว่าจะสาเร็จผล พูดไปสองไพเบีย นิ่งเสียตาลึงทอง พูดไปไม่มีประโยชน์ นิ่งเสียดีกว่า ไม้หลักปักขีควาย, ไม้หลักปักเลน โลเล, ไม่แน่นอน ยกเมฆ เดาเอา, นึกคาดเอาเอง; กุเรื่องขึน รีดเลือดกับปู เคี่ยวเข็ญหรือบีบบังคับเอากับผู้ที่ไม่มีจะให้ รู้หลบเป็นปีก รู้หลีกเป็นหาง รู้จักเอาตัวรอดหรือปรับตัวให้เข้ากับเหตุการณ์ ลางเนือชอบลางยา ของสิ่งเดียวกัน คนหนึ่งชอบแต่อีกคนหนึ่งกลับไม่ชอบ ลูกไม้หล่นไม่ไกลต้น ลูกย่อมไม่ต่างกับพ่อแม่มากนัก เลือดข้นกว่านา ญาติพี่น้องย่อมดีกว่าคนอื่น วัดรอยเท้า คอยเทียบตัวเองกับผู้ทเี่ หนือกว่าเพื่อชิงดีชิงเด่น วันพระไม่มีหนเดียว วันหน้ายังมีโอกาสอีก วัวสันหลังหวะ คนที่มีความผิดติดตัวทาให้มีความหวาดระแวง สินไร้ไม้ตอก ยากไร้, ขัดสนถึงที่สุด, ไม่มีทรัพย์สมบัติติดตัว สิบเบียใกล้มือ ของหรือประโยชน์ที่ควรได้ก็เอาไว้ก่อน ใส่ตะกร้าล้างนา ทาให้หมดราคี, ทาให้หมดมลทิน หมาเห่าใบตองแห้ง คนที่เก่งแต่พูด หัวมังกุท้ายมังกร ไม่เข้ากัน, ไม่กลมกลืนกัน เหยียบขีไก่ไม่ฝ่อ ทาอะไรไม่จริงจัง, ไม่เอาการเอางาน อาบนาร้อนมาก่อน เกิดก่อนจึงมีประสบการณ์มากกว่า เอาทองไปรู่กระเบือง โต้ตอบหรือทะเลาะกับคนพาล หรือคนที่มีฐานะต่ากว่า
วิชาภาษาไทย
75 |
หน้า
คาไวพจน์ คาไวพจน์ คือคาที่มีความหมายเหมือนกัน แต่ใช้ในบริบทต่างๆกัน กษัตริย์ คน ควาย ช้าง ดอกบัว ดอกไม้ ตาย นา ปลา ผู้หญิง
แผ่นดิน พระอินทร์ ภูเขา ม้า พระพาย ลิง วัว ศัตรู
ขัตติยะ บดี บดินทร์ บพิตร นฤบดี ภูวไนย ภูมินทร์ นฤบดี นฤบดินทร์ มหิดล บพิตร ชน นิกร นร ราษฎร์ กาสร กระบือ มหิงสา กรี กุญชร คช คชา พลาย สาร หัตถี ไอยรา โกมุท โกมล ปทุม อุบล โกสุม บุปผา บุษบา มาลี ผกา สินชีพ เสีย อาสัญ มรณะ วายปราณ กระแสสินธุ์ คงคา ชลธี ชลธาร ธารา ชลสินธุ์ อุทก วาริน อาโป วารี ชล มัจฉา มัสยา กัลยา เยาวมาลย์ ยุพิน นงคราญ สตรี อิตถ นารี กามินี กัญญา กันยา กัลยาณี กานดา นงเยาว์ นงพะงา อิตถิ อิสตรี อรไท อนงค์ บังอร นรี นารี ยุพเยาว์ ยุพเรศ วนิดา วธู สุดา ไผท พสุธา หล้า พิภพ ธรณี ภูมิ ปฐพี ธาตรี ธรา อมรินทร์ สหัสนัยน์ เพชรปาณี มัฆวาน โกสีย์ สักกะ สุชัมบดี คีรี ไศล บรรพต ภูผา สิงขร อาชา อาชาไนย สินธพ พาชี ดุรงค์ หัย อัศวะ แสะ พระพาย วาโย วายุ กระบี่ วานร โค พฤษภาคม ข้าศึก ดัสกร ริปู ปัจจามิตร ไพรี ปัจนึก อริ
วิชาภาษาไทย
76 |
พระจันทร์
รัชนีกร แข บุหลัน นิศากร ศศิธร นิศากร วราลี ตมิ สา ตารเกศ ศศิธร รัชนี บุหลัน พระอาทิตย์ ทินกร ประภากร ทิวากร สุริยา ไถง สุริยา สุริยัน สุรีย์ ทองคา สุวรรณ เหม กนก มาศ อุไร เมือง บุรี ธานี นคร ปุระ กรุง ภูเขา คีรี สิงขร บรรพต ไศล ศิขรินทร์ ไฟ อัคคี เตโช เพลิง อัคนี บาพก ช้าง ไอยรา ดารี กุญชร สาร คช ท้องฟ้า นภา เวหา อัมพร คัคนานต์ ทิฆัมพร วรัมพร โพยม เวหา คัคนางค์ นก สกุณา ปักษา สุโนก วิหค ชากร ปักษี สกุณี บุหรง ทวิชาติ ยักษ์ อสูร รากษส แทตย์ ทานพ มาร เทวดา อมร เทพ สุร เทพยดา นิรชร เทวา อมร นางฟ้า อัจฉรา อัปสร รัมภา เทพธิดา ต้นไม้ พฤกษ์ รุกข์ ตรุ เฌอ ทุม สวยงาม ประไพ อาไพ วิลาวัณย์ วิไล โสภา ใจ - กมล หทัย ฤดี ฤทัย แด ป่า อรัญ ชัฎ ไพร พงพี พนา ไพรสัณฑ์ พนาสณฑ์ พนัส พนาดร เถื่อน อารัญ ไพร พนาวัน ไพรวัน พนัส พนาดร เถื่อน อารัญ ไพร พนาวัน ไพรวัน เพชร มณี พัชร พชระ วิเชียร วชิร วชิระ วัชระ
วิชาภาษาไทย
หน้า
77 |
หน้า
ตัวอย่างการอ่านคาที่ควรรู้ คาศัพท์
คาอ่าน
คาศัพท์
คาอ่าน
กฤดาภินิหาร
กริ-ดา-พิ-นิ-หาน
เดียรดาษ
เดีย-ระ-ดาด
กเฬวราก
กะ-เล-วะ-ราก
กุลสตรี
กุน-ละ-สัด-ตรี
กอปร
กอบ
ครรภธาตุ
คับ-พะ-ทาด
กากภาษา
กา-กะ-พา-สา
ภูมิลาเนา
พูม-ลา-เนา
กามวิถาร
กาม-วิด-ถาน
กายทุจริต
กาย-ยะ-ทุด-จะหริด
ภูมิปัญญา
พูม-ปัน-ยา
กุณฑี
กุน-ที
พลีกรรม
พะ-ลี-กา
นพปฎล
นบ-พะ-ปะ-ดน
นักษัตร
นัก-สัด
ปราชัย
ปะ-รา-ชัย
กุลสตรี
กุน-ละ-สัด-ตรี
คุณค่า
คุน-ค่า, คุน-นะ-ค่า มหาตมะ
มะ-หาด-ตะ-มะ
คุณวุฒิ
คุน-นะ-วุด,
รอมร่อ
รอม-มะ-ร่อ
พูม-มิ-ลา-เนา
คุน-นะ-วุด-ทิ โฆษณา
โฆษณา
เศรณี
เศรณี
จักจั่น
จัก-กะ-จั่น
สุจริต
สุด-จะ-หริด
จันทรคติ
จัน-ทระ-คะ-ติ
อุณหภูมิ
อุน-หะ-พูม
จิตวิสัย
จิด-ตะ-วิ-ไส
อุตราวัฏ
อุด-ตะ-รา-วัด
วิชาภาษาไทย
78 | คาศัพท์
คาอ่าน
คาศัพท์
คาอ่าน
โอปปาติกะ
โอ-ปะ-ปา-ติ-กะ
ฉกษัตริย์
ฉ้อ-กะ-สัด ,ฉอ-กะ-สัด
อัปราชัย
อับ-ปะ-รา-ไช
ชนมายุ
ชน-นะ-มา-ยุ
โอสถกรรม
โอ-สด-ถะ-กา
อินทรธนู
อิน-ทะ-นู
ให้น้องๆระวังคำบำงคำที่อ่ำนได้มำกกว่ำ 1 แบบด้วยนะครับ
วิชาภาษาไทย
หน้า
156 | P a g e
หน้าที่พลเมือง
วิชาสังคม
157 | P a g e
การจัดระเบียบทางสังคม ความหมาย : กระบวนการทางสังคมที่จัดขั้นเพื่อควบคุมสมาชิกให้มีความสัมพันธ์กันภายใต้ แบบแผนและกฎเกณฑ์เดียวกัน เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อยในสังคม
สาเหตุที่ต้องจัดระเบียบสังคม 1. เพื่อให้การติดต่อสัมพันธ์กันทางสังคมเป็นไปอย่างเรียบร้อย 2. เพือ่ ป้องกันความขัดแย้งระหว่างสมาชิกในสังคม 3. ช่วยให้สังคมดารงอยู่อย่างสงบสุขและมั่นคงในสังคม
กระบวนการจัดระเบียบทางสังคม :
เครื่องมือที่ใช้ในการจัดระเบียบ
1. ค่านิยม : สิ่งที่คนในสังคมเห็นพ้องต้องกันว่าควรปฏิบัติหรือไม่ 2. บรรทัดฐาน : มาตรฐานที่คนส่วนใหญ่ยึดถือเป็นแนวทางปฏิบัติ วิถีประชา : แนวทางปฏิบัติที่เป็นที่ยอมรับ ตามความเคยชิน จารีต : ระเบียบแบบแผนที่ปฏิบัติเคร่งครัด เกี่ยวข้องกับศีลธรรม กฎหมาย : ข้อบังคับควบคุมความประพฤติคนในสังคม 3. สถานภาพ : ตาแหน่งของบุคคลที่สังคมกาหนดขึ้น สถานภาพทีติดตัวมาโดยสังคมกาหนด : เพศ อายุ เชื้อชาติ สถานภาพที่ได้มาโดยความสามารถ : อาชีพ การศึกษา สมรส 4. บทบาท : การปฏิบัติหน้าที่ตามสถานภาพ 5. การขัดเกลาทางสังคม : กระบวนการปลูกฝังบรรทัดฐาน การขัดเกลาโดยตรง : บอกว่าสิ่งใดถูก สิ่งใดควรกระทา การขัดเกลาโดยทางอ้อม : การสังเกตเรียนรู้จากประสบการณ์
การปกครองระบอบต่างๆ การปกครองระบอบประชาธิปไตย
อานาจสูงสุดในการปกครองประเทศเป็นของประชาชน ประชาชนมีสิทธิ เสรีภาพเท่าเทียมกัน ออกกฎหมายผ่านกระบวนการทางรัฐสภา
วิชาสังคม
158 | P a g e
ดาเนินนโยบายบริหารภายใต้กฎหมาย มีการควบคุมตรวจสอบ จากฝ่ายนิติบัญญัติและ ประชาชน การดารงตาแหน่งของผู้นาทางการเมืองเป็นไปตามวาระประชาชนเสียงข้างมากให้ความ เห็นชอบ รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายหลักในการปกครองประเทศกาหนดสิทธิ เสรีภาพ ความเสมอ ภาคของประชาชน เปิดโอกาสให้มีการตั้งพรรคการเมืองและมีการแข่งขันทางการเมือง เพื่อเข้ามาบริหาร ประเทศ รูปแบบการปกครอง 1. หลักประมุขของประเทศ พระมหากษัตริย์เป็นประมุข ประธานาธิบดีเป็นประมุข 2. หลักการรวมและแยกอานาจ แบบรัฐสภา : รัฐสภามีอานาจสูงสุดในการออกกฎหมาย แบบประธานาธิบดี : แยกนิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการชัดเจน แบบกึ่งประธานาธิบดี
การปกครองระบอบเผด็จการ
ยึดถืออานาจรัฐเป็นอานาจสูงสุด โดยผู้นาเป็นผู้ที่มีอานาจสุงสุด เน้นความสาคัญของรัฐและผู้นา หากประชาชนดาเนินกิจกรมที่ขัดแย้งตอนโยบายของ ผู้นาจะได้รับการลงโทษอย่างรุนแรง ผู้กาหนดนโยบายและตัดสินใจ คือ ผู้นาประเทศ ประชาชนไม่มีอานาจโค่นล้มหรือถอดถอนรัฐบาลออกได้ การเปลี่ยนผู้นาอยู่ภายใต้การคัด สรรของผู้บริหารพรรคการเมือง จากัดสิทธิเสรีภาพของประชาชน การเคลื่อนไหว หรือการประกอบกิจกรรมทางการเมือง ไม่สามารถหระทาได้ ต้องตกอยู่ภายใต้การควบคุมของรัฐ
วิชาสังคม
159 | P a g e
รูปแบบการปกครอง 1. เผด็จการแบบอานาจนิยม : ผู้นามีอานาจเด็ดขาดในการปกครอง 2. เผด็จการแบบเบ็ดเสร็จ : ผู้นามีอานาจเด็ดขาดในการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม ควบคุมสิทธิเสรีภาพประชาชน เผด็จการฟาสซิสต์ เผด็จการนาซี เผด็จการคอมมิวนิสต์
อานาจอธิปไตย ฝ่ายนิติบัญญัติ
ออกกฎหมาย พิจารณาเงินงบประมาณ ตรวจสอบการทางานของรัฐ
ฝ่ายบริหาร
นากฎหมายมาบังคับใช้
ฝ่ายตุลาการ
ตีความตัวบทกฎหมายและรัฐธรรมนูญ ตัดสินพิจารณาคดี
วิชาสังคม
160 | P a g e
กฎหมายเบื้องต้น ลักษณะกฎหมาย 1. เป็นคาสั่งหรือข้อบังคับ 2. ตองมาจากรัฐาธิปัตย์หรือผู้ที่กฎหมายให้อานาจไว้ รัฐาธิปัตย์คือผู้มีอานาจสูงสุดของ ประเทศ 3. ต้องใช้บังคับได้จนกว่าจะมีการยกเลิกหรือเปลี่ยนแปลง 4. ต้องมีสภาพบังคับ
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ 1. กฎหมายแพ่ง : ว่าด้วยเรื่องของสิทธิ 2. กฎหมายพาณิชย์ : ว่าด้วยเรื่องของการค้าขาย
รัฐธรรมนูญ เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ 1. 2. 3. 4.
คุ้มครอง ส่งเสริม ขยายสิทธิ และเสรีภาพของประชาชน ลดการผูกขาดอานาจรัฐ และเพิ่มอานาจประชาชน การเมืองมีความโปร่งใส มีคุณธรรม และจริยธรรม ทาให้องค์กรตรวจสอบมีความอิสระ เข้มแข็ง ทางานอย่างมีประสิทธิภาพ
วิชาสังคม
161 | P a g e
ภูมิศาสตร์
วิชาสังคม
162 | P a g e
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลก การหมุนและการเคลื่อนที่ของโลก
การหมุนรอบตัวเอง : โลกหมุนรอบตัวเองในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา จากทิศตะวันตกไป ออก ซึ่งทาให้เกิดกลางวันและกลางคืน
การหมุนรอบดวงอาทิตย์ : โลกหมุนรอบดวงอาทิตย์เป็นลักษณะวงรี ในทิศทางทวนเข็ม นาฬิกา ซึ่งทาให้เกิดฤดูกาลต่างๆ
พิกัดภูมิศาสตร์
เส้นละติจูด/เส้นรุ้ง/เส้นขนาน : เส้นสมมติในแนวนอน มี 180 เส้น ซีกโลกเหนือ 90 เส้น และซีกโลกใต้ 90 เส้น ใช้แบ่งเขตภูมิอากาศ
เส้นลองจิจูด/เส้นเมอริเดียน/เส้นแวง : เส้นสมมติในแนวตั้ง มี 360 เส้น ใชแบ่งเขต เวลา
เส้นเมอริเดียนที่ 0 องศา ลากผ่านเมืองกรีนิช ,อังกฤษ เป็นการกาหนดมาตรฐานเวลาโลก เรียก เวลาสากลหรือเวลามาตรฐานกรีนิช (G.M.T)
เส้นเมอริเดียนที่ 180 องศา อยู่ตรงข้ามเส้นเมอริเดียน 0 องศา ตัดผ่านตอนกลางของ มหาสมุทรแปซิฟิก เป็นเส้นวันที่ ซึ่งเมื่อมีการเดินทางข้ามเส้นวันที่จากทิศตะวันออกไปทิศ ตะวันตก จะต้องลดวันลง 1 วัน และเส้นลองจิจูดสามรถคานวณเวลาของตาแหน่งต่างๆได้ โดย 1 ลองจิจูด หรื อ 1 องศา = 4 นาที 15 ลองจิจูด หรื อ 15 องศา = 1 ชัว่ โมง
ประเทศไทยตั้งอยู่ที่ลองจิจูด 105 องศา ตะวันออก
วิชาสังคม
163 | P a g e
เวลาของประเทศไทยจะเร็วกว่า G.M.T. อยู่ 7 ชั่วโมง
เมื่อความสูงเพิ่มขึ้น 180 เมตร อุณหภูมิลดลง 1 องศาเซลเซียส
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับแผนที่ แผนที่ หมายถึง สิ่งที่แสดงลักษณะผิวโลกด้วยวิธีย่อส่วนลงบนพื้นราบ โดยใช้ ส่วนประกอบของแผนที่ แผนที่มีหลายชนิด แต่ละชนิดมีหน้าที่แตกต่างกัน เช่น แผนที่ทางหลวง แผนที่เศรษฐกิจ
ส่วนประกอบของแผนที่
ชื่อแผนที่
มาตราส่วน : การย่อระยะทางของพื้นที่จริงแสดงไว้ในแผนที่ - มาตราส่วนคาพูด - มาตราส่วนเศษส่วน - มาตราส่วนแบบเส้น
พิกัดภูมิศาสตร์ : เส้นบอกตาแหน่งที่เกิดจากการตัดกันของเส้นละติจูดและเส้นลองจิจูด
วิชาสังคม
164 | P a g e
ทวีปเอเชีย อาณาเขต
เหนือ : มหาสมุทรอาร์กติก
ใต้ : มหาสมุทรอินเดีย
ตะวันออก : มหาสมุทรแปซิฟิก
ตะวันตก : ทะเลแดง ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทะเลดา คลองสุเอช ทะเลแคแคสเปียน เทือกเขาคอเคซัส เทือกเขาอูราล
ลักษณะภูมิประเทศ
เขตที่ราบต่าภาคเหนือ : ที่ราบไซบีเรียตะวันตก
เขตที่ราบสูงเก่า : ที่ราบสูงอาหรับ เดกกัน
เขตที่ราบลุ่มแม่น้า : แม่น้าหวางเหอ สินธุ คงคา
รูปแสดง ทวีปเอเชีย
วิชาสังคม
165 | P a g e
ทวีปยุโรป อาณาเขต
เหนือ : มหาสมุทรอาร์กติก
ใต้ : ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน
ตะวันออก : ทวีปเอเชีย เทือกเขาคอเคซัส เทือกเขาอูราล แม่น้าอูราล ทะเลดา ทะเล แคสเปียน
ตะวันตก : มหาสมุทรแอตแลนติก
ลักษณะภูมิประเทศ
เทือกเขาภาคเหนือ : คาบสมุทรสแกนดิเนเวีย ชายฝั่งเว้าแหว่ง = ฟยอร์ด
ที่ราบสูงภาคกลาง : ป่าดาในเยอรมนี
ที่ราบภาคกลาง : แหล่งเกษตรกรรม แม่น้าหลายสายไหลผ่าน
เทือกเขาสูงภาคใต้ : เทือกเขาหินใหม่
ลักษณะภูมิอากาศ
บริเวณที่ติดทะเลเมดิเตอร์เรเนียนมีภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน
ไม่มีบริเวณที่ห่างทะเลมาก
เป็นทวีปเดียวที่ไม่มีภูมิอากาษแบบทะเลทราย
วิชาสังคม
166 | P a g e ลักษณะทางเศรษฐกิจ
เพาะปลูก - ข้าวสาลี : ยูเครน - ส้ม มะกอก องุ่น : บริเวณเมดิเตอร์เรเนียน
ประมง - ทะเลเหนือ ในบริเวณ Dogger bank - ทะเลดาและแคสเปียน : ปลาสเตอร์เจียน
เหมืองแร่ - เหล็ก : นอร์เวย์ - ถ่านหิน : อังกฤษ เยอรมนี เบลเยียม รัสเซีย
วิชาสังคม
167 | P a g e
ทวีปอเมริกาเหนือ อาณาเขต
เหนือ : มหาสมุทรอาร์กติก
ใต้ : ทวีปอเมริกาใต้ ที่คอคอดปานามา
ตะวันออก : มหาสมุทรแอแลนติก ทะเล แคริบเบียน
ตะวันตก : มหาสมุทรแปซิฟิก
ลักษณะภูมิประเทศ
เทือกเขาสูงภาคตะวันตก : เทือกเขาร็อคกี้ มีแร่ทองแดง เกรตเพลน
เทือกเขาสูงภาคตะวันออก : เทือกเขาแอปปาเลเชียน มีแร่ถ่านหิน
เขตที่ราบภาคกลาง : เกษตรกรรม เขตที่ราบแพรรี่ในแคนาดา
เขตหินเก่าแคนาดา : รอบอ่าวฮัดสัน
ลักษณะภูมิอากาศ
มีภูมิอากาศครบทุกชนิด
กระแสน้าอุ่นอะแลสกา ทาให้อบอุ่นในฤดูหนาว
กระแสเย็นแคลิฟอร์เนีย
วิชาสังคม
168 | P a g e ลักษณะทางเศรษฐกิจ
เพาะปลูก - ข้าวโพด (อันดับ 1 ของโลก) : ทางใต้ของ great lake - ถั่วเหลือง (อันดับ 1 ของโลก) : ที่ราบกลางอเมริกา - ยาสูบ (ทองคาเขียว) : ตะวันออกอเมริกา
ประมง : grand bank
เหมืองแร่ - ถ่านหิน : เทือกเขาแอปปาเลเชียน - เหล็ก : great leg เรียกว่า ย่านเมซาบี
ป่าไม้ (อันดับ 2 ของโลก) : ตะวันตกของแคนาดา อเมริกา
วิชาสังคม
169 | P a g e
ทวีปอเมริกาใต้ อาณาเขต
เหนือ : ทวีปอเมริกาเหนือ ทะเลแคริบเบียน
ใต้ : ช่องแคบเดรค
ตะวันออก : มหาสมุทรแอแลนติก
ตะวันตก : มหาสมุทรแปซิฟิก
ลักษณะภูมิประเทศ
เทือกเขาสูงทางตะวันตก : เทือกเขาแอนดีส (ยาวสุดในโลก)
ที่ราบลุ่มแม่น้า : ที่ราบลุ่มแม่น้าแอมะซอน โอริโนโก ริโอเดลาพลาตา
ที่ราบสูงทางตะวันออก : ที่ราบสูงบราซิล กิอานา ปาตาโกเนีย
ลักษณะภูมิอากาศ
พื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ในเขตอากาศร้อน
พื้นที่ตอนในอากาศแห้งแล้ง เป็นเขตทุ่งหญ้าและทะเลทราย
วิชาสังคม
170 | P a g e ลักษณะทางเศรษฐกิจ
เพาะปลูก - โกโก้ กาแฟ : บราซิล - ข้าวสาลี : ทุ่งหญ้าแปมปัส
ประมง : เปรู ชิลี เพราะมีกระแสน้าเย็นเปรู ทาให้ปลาชุม
เหมืองแร่ - น้ามัน : เวเนซุเอลา - เหล็ก : บราซิล (ที่ 2 ของโลก) - ทองแดง : ชิลี (ที่ 1 ของโลก) - ไนเตรต : ชิลี - ดีบุก : โบลิเวีย (ที่ 2 ของโลก) - ทองคา : บราซิล
ป่าไม้ (อันดับ 2 ของโลก) : ตะวันตกของแคนาดา อเมริกา
วิชาสังคม
171 | P a g e
ทวีปแอฟริกา อาณาเขต
เหนือ : ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน
ใต้ : มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทร แอตแลนติก
ตะวันออก : มหาสมุทรอินเดีย
ตะวันตก : มหาสมุทรแอตแลนติก
ลักษณะภูมิประเทศ
เทือกเขาด้านตะวันตกเฉียงเหนือ : เทิอกเขาแอตลาส
ที่ราบสูงภาคใต้ : Witwatersrand แหล่งผลิตทองคา
ทะเลทรายซาฮาร่า : ใหญ่สุดในโลก
เขตหินเก่าแคนาดา : รอบอ่าวฮัดสัน
ลักษณะภูมิอากาศ
ป่าดิบชื้น : ร้อน ฝนตกชุก
ทุ่งหญ้าสะวันนา : เลี้ยงสัตว์ ท่องเที่ยว
ทะเลทราย : ร้อนและแห้งแล้งมากสุด
ทุ่งหญ้ากึ่งทะเลทราย : ทุ่งหญ้าสเตปป์
เมดิเตอร์เรเนียน : ฤดูร้อน ร้อน ฤดูหนาว อบอุ่น ฝนตกชุก
วิชาสังคม
172 | P a g e
อบอุ่นชื้น : ชื้นกึ่งร้อน
ลักษณะทางเศรษฐกิจ
เกษตรกรรม - การเพาะปลูกแบบยังชีพ : ข้าวโพด ข้าวฟ่าง มันสาปะหลัง - การทาไร่ขนาดใหญ่ : ยางพารา ปาล์มน้ามัน ชา - การเกษตรแบบเมดิเตอร์เรเนียน : องุ่น มะกอก
เหมืองแร่ - เพชร ทองคา : สาธารณรัฐแอฟริกาใต้ - ทองแดง : ซาอีร์
วิชาสังคม
173 | P a g e
ทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนีย ออสเตรเลีย อาณาเขต
เหนือ : ทะเลอาราฟูรา ทะเลติมอร์
ใต้ : ทวีปมหามุทรอินเดีย
ตะวันออก : มหาสมุทรแปซิฟิก
ตะวันตก : มหาสมุทรแปซิฟิก
ลักษณะภูมิประเทศ
เทือกเขาสูงทางตะวันออก : เกรตดิไวดิง
ที่ราบสูง : ส่วนใหญ่เป็นทะเลทราย กิบสัน เกรตแซนดี เกรตวิคตอเรีย
ที่ราบภาคกลาง : รอบอ่าวต่างๆ ที่ราบลุ่มแม่น้า
ชายฝั่งตะวันออก
ลักษณะภูมิอากาศ
ทะเลทราย
ภาคพื้นสมุทรชายฝั่งตะวันตก
ลักษณะทางเศรษฐกิจ
เลี้ยงสัตว์ : แกะ ขนส่งมากสุดในโลก
วิชาสังคม
174 | P a g e นิวซีแลนด์ ลักษณะภูมิประเทศ
เกาะเหนือ : ทะเลสาบเทาโป อ่าวเพลนตี ภูเขาเอ็กมองต์ น้าพุร้อน
เกาะใต้ : ฟยอร์ด เทือกเขาแอลป์ใต้ ที่ราบแคนเทอร์เบอร์รี อ่าวแทสมัน
ลักษณะภูมิอากาศ
ภาคพื้นสมุทรชายฝั่งตะวันตกทั้งเกาะ
ลักษณะทางเศรษฐกิจ
เลี้ยงแกะพันธ์เนื้อมาก บริเวณที่ราบแคนเทอร์เบอร์รี
แกะบริเวณที่ราบแคนเทอเบอร์รี่ในออสเตรเลีย
วิชาสังคม
175 | P a g e
ตัวอย่างข้อสอบ
วิชาสังคม
190 | P a g e
เฉลยข้อสอบ 1. ค
2. ค
3. ข
4. ง
5. ก
6. ข
7. ค
8. ง
9. ง
10. ข
11. ค
12. ง
13. ก
14. ข
15. ค
16. ง
17. ง
18. ข
19. ข
20. ข
21. ก
22. ค
23. ง
24. ก
25. ค
26. ข
27. ง
28. ข
29. ข
30. ง
31. ง
32. ข
33. ก
34. ค
35. ก
36. ก
37. ข
38. ง
39. ค
40. ก
41. ค
42. ค
43. ข
44. ง
45. ก
46. ค
47. ค
48. ก
49. ข
50. ก
วิชาสังคม
รองปกหลัง
รองปกหลัง
¼
¼
5,000.- บาท
5,000.- บาท
รองปกหลัง
รองปกหลัง
¼
¼
5,000.- บาท
5,000.- บาท
รองปกหลัง ครึ่งหน้ า 10,000.- บาท
รองปกหลัง ครึ่งหน้ า 10,000.- บาท
รองปกหลัง ครึ่งหน้ า 10,000.- บาท
ครึ่งหน้ า 10,000.- บาท
รองปกหลัง เต็มหน้ า 20,000.- บาท
รองปกหลัง เต็มหน้ า 20,000.- บาท
ปกใน ด้ านหลัง ครึ่งหน้ า 15,000.- บาท
ปกใน ด้ านหลัง ครึ่งหน้ า 15,000.- บาท