The reckon epitome 2

Page 1


ปกใน ด้ านหน้ า เต็มหน้ า 30,000.- บาท



ตรียมอุดมศึกษา มักอยู่ในกรอบเป้าหมายในการเรียนต่อในชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 ของน้องๆ มัธยมศึกษาปีที่ 3 หลายๆคน จากคาแนะนาของ รุ่นพี่บ้างก็ดี จากผลงานของรุ่นพี่เตรียมฯบ้างก็ดี แต่คงปฏิเสธไม่ได้ว่า การที่

น้องจะเข้าเรียน ณ ที่แห่งนี้ การจะได้มาซึ่งพระเกี้ยวที่ประดับบนอกนั้นยากเพียงใด เพราะน้องต้องใช้ความรู้ที่กว้างและหลากหลาย ทั้งยังต้องแข่งขันกับเพื่อนต่างโรงเรียน อีกเป็นจานวนมาก หนังสือ EPITOME – the perfect example เล่มนี้ เป็นหนังสือสรุปเนื้อหา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น วิชา คือ วิทยาศาสตร์และ คณิตศาสตร์ พรอมตัวอยาง โจทย์ในแต่ละวิชา รวมถึงเคล็ดลับการเตรียมความพร้อมในการสอบเข้าของรุ่นพี่ ที่พี่ๆสายการเรียนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร หอง 943 โรงเรียน เตรียมอุดมศึกษาจัดทําขึ้นเพื่อเปนแนวทางในการเตรียมความพรอมเพื่อการสอบคัดเลื อกเขาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา และโรงเรียนชั้น นาอื่นๆ พี่ๆหวังเป็นอย่างยิ่งว่าน้องๆจะได้ประโยชน์จากหนังสือเล่มนี้ไม่มากก็น้อย หากมีข้อผิดพลาดประการใด น้องๆสามารถติดต่อมาได้ที่อีเมลล์ epitome@tu77943.com เพื่อเป็นการแก้ไขและพัฒนาในการพิมพ์ครั้งต่อไป คณะผู้จัดทา EPITOME


Perfect Example

THE RECKON สารบัญ วิชาคณิตศาสตร์

1-49

จานวนจริง

2

พีชคณิต

5

เรขาคณิต

17

สถิติ

26

ความน่าจะเป็น

31

แบบฝึกหัดชุดที่ 1

36

แบบฝึกหัดชุดที่ 2

43

วิชาชีววิทยา

52-112

สารอาหาร

53

กล้องจุลทรรศน์

64

เซลล์

66

โครงสร้างและระบบต่างๆในสัตว์

72


Perfect Example

THE RECKON พันธุศาสตร์

92

พืช

98

ความหลากหลายทางชีวภาพ

105

วิชาเคมี

113-133

สารและสสาร

114

ธาตุและตารางธาตุ

118

การเปลี่ยนแปลงของสาร

121

ธาตุและสารประกอบ

122

กรด-เบส

125

ไฟฟ้าเคมี

128

วิชาฟิสิกส์

134-154

บทนา

136

การเคลือ่ นที่แนวตรง

137

กฎของนิวตัน

138

แรงเสียดทาน

139


Perfect Example

THE RECKON สมดุลกล

140

งานและพลังงาน

141

กลศาสตร์

142

ความร้อน

143

ของเหลว

144

คลื่น

145

ไฟฟ้า

152

วิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ

155-184

เมฆ

156

บรรยากาศ

158

โลกและการเปลีย่ นแปลง

156

ดิน หิน แร่

162

ลม

172

ระบบสุริยะ

175

แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1

185


Perfect Example

THE RECKON แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 2

202

แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 3

218

แบบฝึกหัดคณิตศาสตร์ ชุดที่ 1

235

แบบฝึกหัดคณิตศาสตร์ ชุดที่ 2

248

เฉลย

258



1


2

จํานวนจริง จํานวนจริง จํานวนตรรกยะ

จํานวนอตรรกยะ

จํานวนตรรกยะที่ไมใช จํานวนเต็ม

จํานวนเต็ม

เต็มบวก

เต็มศูนย

เต็มลบ

จํานวนอตรรกยะ คือจํานวนที่ไมสามารถเขียนใหอยูในรูปเศษสวนของจํานวนเต็ม

;a,b

หรือ

ทศนิยมซ้ําได เชน Ӣ√2 , √3

จํานวนตรรกยะ คือจํานวนที่สามารถเขียนใหอยูในรูปเศษสวนของจํานวนเต็ม หรือทศนิยมซ้ําได เชน , , 2 , 4 , 0.9

จํานวนตรรกยะที่ไมใชจํานวนเต็ม คือจํานวนที่สามารถเขียนใหอยูในรูปเศษสวนหรือทศนิยมซ้าํ ได แตไมเปนจํานวนเต็ม เชน , ,

คณิตศาสตร


3

จํานวนเต็ม จํานวนเต็มบวก ( ) (N) (จํานวนนับ) เชน 1, 2, 3, … จํานวนเต็มศูนย มี 0 ตัวเดียว จํานวนเต็มลบ ( ) เชน -1, -2, -3, …

สมบัติของจํานวนจริง กําหนด , , ϵ 1. สมบัติการสะทอน

=

2. สมบัติการสมมาตร ถา = แลว

=

3. สมบัติการถายทอด ถา = และ = แลว = 4. สมบัติการบวกดวยจํานวนที่เทากัน ถา = แลว + = 5. สมบัติการคูณดวยจํานวนทีเ่ ทากัน ถา = แลว

คณิตศาสตร

=

+


4

, , ϵ

สมบัติการบวก

สมบัติการคูณ

เมื่อ ,

เมื่อ ,

สมบัติปด

+ ϵ

สมบัติการสลับที่

ϵ

เมื่อ , +

สมบัติการเปลี่ยนกลุม

เมื่อ , , =b + a

เมื่อ , ,

เมื่อ a, b, c ϵ

+( + )= ( + )+

เอกลักษณ

เมื่อ 0+

=

+0

กลาวไดวา 0 คือ เอกลักษณการบวกในระบบจํานวน จริง

อินเวอรส

เมื่อ

⋀−

กลาวไดวา จะมี − เปนอินเวอรสของการบวก ในระบบจํานวนจริง เมื่อ , , ( + )=

)=(

)

⋀1

(1) =

= (1)

กลาวไดวา 1 คือ เอกลักษณการคูณใน ระบบจํานวนจริง เมื่อ

+ (− ) = 0 = (− ) +

การแจกแจง

( เมื่อ

⋀0 =

=

1

⋀− =

1

1 =1

กลาวไดวา จะมี เปนอินเวอรสของ การคูณในระบบจํานวนจริง เมื่อ , ,

+

คณิตศาสตร

( + )=

+


5

พีชคณิต(Algebra) เปนแขนงวิชาหนึ่งในวิชาคณิตศาสตร ศึกษาการแกโจทยปญ  หาทางคณิตศาสตรดวย กระบวนการที่อาจสรางขึ้นในรูปของนิพจนที่ประกอบดวยสัญลักษณในรูปตัวแปรซึ่งแทนดวย สัญลักษณทางพีชคณิตคือในรูปของสมการ Ex.การใชพีชคณิตในการแกปญหา จงหาเลขสามหลักabcซึ่ง a > b >c,a+b+c=16และ a+c=3b

วิธีทําabcคือเลข 3 หลัก ประกอบดวยเลขโดด a b c จาก a+b+c=16

---(1)

a+c=3b

---(2)

แทน(2) ใน(1)จะได 4b=16 b=4 แทนbใน(2)จะได a+c=12 12=9+3 =8+4 =7+5 =6+6 =5+7 แต a>b>c a=9 c=3 เลข3หลักนี้คือ 943

คณิตศาสตร


6

เพิ่มเติม เทคนิค telescope เปนการจัดรูปผลบวกใหมีพจนซ้ําซอนแตตางเครื่องหมายกันซึ่งจะหักลางกันหมดไปจนเหลืออยู เพียงไมกพี่ จนซึ่งทําใหเราสามารถหาคาผลบวกไดงายๆ เชน Ex. จงหาคาของ พิจารณา

×

×

+

= 1−

×

+ +

×

+

×

×

+ ⋯+

+⋯+

×

×

1 1 1 1 1 1 1 + − + − + ⋯+ − 2 2 3 3 4 99 100

= 1− =

Ex.จงหาคาของ 1-1+1-1+1-1+… ให s=1-1+1-1+1-1+… 1-s=1-[1-1+1-1+1-1+…] =1-1-1+1-1+1-1+… =s ∴ 2s=1 S= ∴1-1+1-1+1-1+…=

คณิตศาสตร


7

ระบบสมการ กําหนด ax+by = c และdx+ey = f เมื่อ a,b,c,d,eและ f เปนจํานวนจริง โดยที่ a,b≠0 พรอมกัน และ d,e≠0 พรอมกัน x,yจะเปนคําตอบของสมการทั้งสองนี้ก็ตอเมื่อแทน x,yลงในสมการแลวทําใหสมการทั้งสองนี้ เปนจริง

คําตอบของสมการ 1. มี 1 คําตอบ 2. มีหลายคําตอบ(ตั้งแต 2 คําตอบ) 3. ไมมีคําตอบ(คําตอบไมเปนจํานวนจริง) มีรูปแบบทั่วไปคือ เมื่อ a≠0,b และ c เปนคาคงที่ใดๆ การแกสมการกําลังสอง 1.แยกตัวประกอบ 2.จัดรูปกําลังสองสมบูรณ 3.ใชสูตร X=

±√

คณิตศาสตร


8

±√

พิสูจนถา ax2+bx+c=0 โดยที่ a≠0 แลว X = จาก ax2+bx+c=0 +

+

=0

จัดรูปกําลังสองสมบูรณ +

+

4

+ 2(1)

(

+

2

=0 +

2

− = 4 √ −4 + =± 2 2 2

X=

+

+

)=

4 −4 4

+

+0

±√

เพิ่มเติม ทุกสมการพหุนามโมนิกกําลังสอง รูปแบบทั่วไปคือ x2+ax+b สามารถเขียนไดในรูป x2-(ผลบวกของราก)x+(ผลคูณของราก)=0

คณิตศาสตร


9

Discriminant จากสูตร จากสูตรดานบน นิพจนที่อยูภายใตเครือ่ งหมายรากที่สอง จะเรียกวาdiscriminant ของ สมการกําลังสอง o b2-4ac > 0 o b2-4ac = 0 o b2-4ac < 0

สมการจะมี 2 คําตอบ สมการจะมีคําตอบเดียว สมการไมมีคําตอบที่เปนจํานวนจริง

แตถาเปนของอสมสารกําลังสอง b2-4ac< 0 จะเปน redundant termคือพจนที่มีคาเปนบวกเสมอ (อยูในเรื่องอสมการพหุ นาม)

คณิตศาสตร


10

โจทย จงหาคาของ + + + + + เมื่อ a+b+c= 4 และ + + = 3

วิธีทํา พิจารณา + + + + + =

+

จาก a+b+c=4 a+c=4-b

------(*)

b+a=4-c

------(*)

c+b=4-a

------(*)

จาก(1)

+

+

จาก(*)

+

+

= −1+ −1+ −1

=4

+ +

−3

=4(3)-3=9

โจทย ให a+b+c=0 จงพิสจู นวา a3+b3+c3=3abc a+b+c=0 a+b=-c a3+3a2b+3ab2+b3=-c3 a3+3ab(a+b)+b3=-c3 a3+b3+c3=3abc

คณิตศาสตร

+

-----(1)


11

อสมการพหุนาม กําลังหนึ่ง (M.3) ex. 3x+1 ≥ 13 Sol. 3x+1 ≥ 13 < x+8 3x ≥ 12 x≥ 4 เซตคําตอบคือ [4,∞)

ex. Sol.

2x-3 ≤ 3x-4 < x+8 2x-3 ≤ 3x-4 และ3x-4 1 ≤ x และ x< 6 1≤x<6 เซตคําตอบคือ [1,6)

กําลังสูงกวาหนึ่ง หลัก

1. ฝงขวา = 0 2. แยกตัวประกอบฝง ซาย ทําใหสัมประสิทธิ์หนาตัวแปรของทุกวงเล็บเปนบวก 3. + - + เริ่มจากบวกฝง ขวา 3.1> ,≥เอาดานบวก 3.2 ≤, <เอาดานลบ

แบบ 1 ปกติ ex. x2-5x > -6 x2-5x+6 > 0 (x-3)(x-2) > 0

แบบ 2 หนาตัวแปรติดลบ ex. (3-2x)(x-3)> 0 (2x-3)(x-3) < 0 1.5 3

2 3 เซตคําคอบคือ (-∞,2) U (3,∞)

คณิตศาสตร

เซตคําตอบคือ (1.5,3)


12

แบบ 3 กําลังสองสัมบูรณ หลักคิดแบบตัวเลขสองตัวปกติ ex. (x-3)2> 0 (x-3)(x-3) > 0 ≤0

3

แบบ 4 ยกกําลังมาก ๆ หลัก - กําลังคู -->กําลังสอง - กําลังคี่ -->กําลังหนึง่ - คิดแบบแบบที่ 3 ex. (x-3)200(x+1)101(x+4)51

3 -4

3 เซตคําตอบคือ R – {3}

-1

3

เซตคําตอบคือ [-4,-1] U {3}

แบบ 5 Redundant term >พจนที่มีคาเปนบวกเสมอ 1. เห็นจะ ๆ

Note:จงหาคําตอบของอสมการและสมการ 1. x2-2x+5 < 0 {} 2 2. x -2x+5 ≤ 0 {}

x2+5 , x + 8 , |x| + 2 … 2. ax2+bx+c ; b2-4ac < 0

3. x2-2x+5 > 0 4. x2-2x+5 ≥ 0

R R

x2+2x+3  b2-4ac = -8

5. x2-2x+5 = 0

{}

ex. (x-5)(x+3)(2x2+3x+5) > 0 “ปนตัวอื่น กอนไหนเปน redundant term ใหตัดทิ้งไดเลย” เนื่องจาก 2x2+3x+5 เปน redundant term เพราะฉะนั้น (x-5)(x+3) > 0 -3 5

3

เซตคําตอบคือ (-∞,-3) U (5,∞)

คณิตศาสตร


13

แบบ 6 เศษสวน “หามนําตัวแปรคูณไขวยกเวนมั่นใจวาเปนบวกแน ๆ” x2 ≤2 x3 x2 -2 ≤0 x3 x  2  2x  6 ≤ x3

ex.

0

(x-3)2คูณตลอดทั้งสมการ ; x ≠ 3 (-x+4)(x-3) ≤ 0 (x-4)(x-3) ≥ 0 3

4

เซตคําตอบคือ (-∞,3] U [4,∞)

อสมการคาสัมบูรณ หลัก

1. ถอด | | กอน 2. แกอสมการ

ทฤษฎีบทที่ 1 1. |P(x)| <เลข  - เลข < P(x) <เลข ; เลข > 0 2. |P(x)| ≤ เลข - เลข ≤ P(x) ≤ เลข ; เลข ≥ 0 3. |P(x)| >เลข  P(x) >เลข หรือ P(x) < - เลข ; เลข > 0 4. |P(x)| ≥ เลข  P(x) ≥ เลข หรือ P(x) ≤ - เลข ; เลข ≥ 0 ทฤษฎีบทชวยเหลือ (ควรใชกับ P(x) ที่กําลัง ≥ 2 ขึ้นไป) P(x) <เลข P(x)2<เลข2 P(x) ≤เลข P(x)2 ≤ เลข2 P(x) >เลข P(x)2>เลข2 P(x) ≥ เลข P(x)2 ≥ เลข2

คณิตศาสตร


14

ex.

|2x-1| < 3 -3 < 2x-1 < 3 -2 < 2x < 4 -1 < x < 2 เซตคําตอบคือ (-1,2)

ex.

|2x2-8x+3| ≥ 3 (2x2-8x+3)2 ≥ 32 (2x2-8x)(2x2-8x+6) ≥ 0 x(x-4)(x-3)(x-1) ≥ 0

0 1 3 4 เซตคําตอบคือ (-∞,0] U [1,3] U [4,∞) ทฤษฎีบทที่ 2 1. |P(x)| <q(x) -q(x)< P(x) <q(x);q(x)> 0

ตองตรวจคําตอบ

2. |P(x)| ≤ q(x)- q(x)≤ P(x) ≤ q(x);q(x)≥ 0 3. |P(x)| >q(x) P(x) >q(x) หรือ P(x) < - q(x); q(x)> 0 4. |P(x)| ≥ q(x) P(x) ≥ q(x) หรือ P(x) ≤ - q(x); q(x)≥ 0 ex.

|12x-7| < 5x+2 -(5x+2) < 12x-7 < 5x+2 -5x-2 < 12x-7 และ 5 < 17x และ x>

5 17

ตรวจคําตอบ

และ

12x-7 < 5x+2 7x < 9 x<7 9

5x+2 > 0 x >- 2 5

เซตคําตอบคือ ( -2 5

5 17

7 9

5 7 , ) 17 9

คณิตศาสตร


15

ทฤษฎีบทที่ 3 P(x) < |q(x)| P(x)2< (q(x))2 P(x) ≤|q(x)| P(x)2 ≤ (q(x))2 P(x) > |q(x)| P(x)2> (q(x))2 P(x) ≥ |q(x)| P(x)2 ≥ (q(x))2 ex. |5x-3| < |3x-2| (5x-3)2–(3x-2)2< 0 (5x-3-3x+2)(5x-3+3x-2) < 0 (2x-1)(8x-5) < 0 1 2

5 8

เซตคําตอบคือ ( 1 , 5 ) 2 8

ทฤษฎีบทที่ 4 |x|2 = x2 ex. x2+2|x|-35 > 0 |x|2+2|x|-35 > 0 (|x|+7)(|x|-5) > 0 -7 |x| < -7

5 หรือ

|x| > 5 x> 5 หรือ x < -5 เซตคําตอบคือ (-∞,-5) U (5,∞)

คณิตศาสตร


16

นิยาม 1. ถาแทนคาใน | | เปน + เปด | | แลวเครื่องหมายเหมือนเดิม 2. ถาแทนคาใน | | เปน - เปด | | แลวเครื่องหมายตรงขามเดิม ex. |x+1|+|x-1|< 1 -1

1

ชวงที่ 1; แทนคา x = 2 x+1+x-1 < 1 2x < 1

ชวงที่ 2 ; แทนคา x = 0 x+1-x+1 < 1 2 < 1เปนเท็จ

x<1

 ไมมีคา x ในชวงคําตอบนี้

2

 ไมมีคา x ในชวงคําตอบนี้

ชวงที่ 3; แทนคา x = -2 -x-1-x+1 < 1 x>-1 2

 ไมมีคา x ในชวงคําตอบนี้

ดังนั้นเซตคําตอบของอสมการนี้คือ { }

คณิตศาสตร


17

เรขาคณิต ระยะระหวางเสนตรงและจุด 1. ระยะระหวางจุด 2 จุด ระยะระหวางจุด (a,b) และ (c,d) เทากับ ( − ) + (b − d) 2.ระยะระหวางจุดกับเสน (ระยะตั้งฉาก) ระยะระหวางจุด (p,q) และ Ax + By + C =0 เทากับ เชน (1,2) .

|

| √

x - 2y = 4 ; จัดรูปได x- 2y - 4 =0 d

ได d

=

| ( ) (

) (

( )

)|

=

3.ระยะระหวางเสนตรง 2 เสน (ที่ขนานหรือความชันเทากัน) ระยะระหวางเสนตรง Ax + By + C1 = 0 , Ax + By +C2 =0 เทากับ |

|

*นองๆตองจัดสมการใหอยูในรูปดังกลาวกอน

คณิตศาสตร


18

พื้นที่ผิวและปริมาตร รูปทรงสามมิติ

ปริมาตร

พื้นที่ผิว

1. ปริซึม

พื้นที่ฐาน x สูง

ฐาน + ฝา + ผิวขาง

2

2. ทรงกระบอก 3. พีระมิด

1 πr h 3 4 πr 3 1 π(R + Rr + r )h 3 1 (a + ab + b ) 3

5. ทรงกลม *6. ทรงกรวยยอดตัด *7. พีระมิดฐานสี่เหลี่ยม จัตุรสั ยอดตัด

+ 2 rh

พื้นที่ฐาน + ผิวขาง

x พื้นที่ฐาน x สูง

4. กรวย

2

2

πrl 4πr

พื้นที่ฐาน + พื้นที่ยอด + ผิวขาง พื้นที่ฐาน + พื้นที่ยอด + ผิวขาง

การหาพื้นที่รูปทรงตางๆ

A

- พื้นที่สามเหลี่ยมใดๆ = × ฐาน × สูงb =

c

( − )( − )( − ) C

เมื่อs = =

sin ° =

sin ° =

= ดานกาง sin มุมกาง

คณิตศาสตร

sin °

a

B


19

- วงกลมแนบในสามเหลี่ยม

- สามเหลี่ยม

a

a

แนบในวงกลม

b

b

c

พท. สามเหลี่ยม = r(

c

)พท.สามเหลี่ยม =

-วงกลมแนบในสี่เหลี่ยม ไดวา a + d = c + ba (จากทฤษฎีของวงกลม) พท.สีเ่ หลี่ยม = √ c

b

d d √

-พท. สามเหลี่ยมดานเทา =

ดาน

-พท. แปดเหลี่ยมดานเทา = (2 + 2√2 )ดาน -พท. Segment และ sector r

พท. Sector = พท. Segment =

คณิตศาสตร

= -

sin


20

- ทฤษฎีเมเนลอส

ได้

×

3 4

5

× =1 6

เรขาคณิตเบื้องตน 1. ดานและมุมของสามเหลี่ยม 1.1) ผลรวมของ 2 ดานใดๆยอมมากกวาดานที่เหลือ 1.2) ผลรวมของมุมภายในได 180 1.3) ผลรวมของมุมภายในรูป n เหลี่ยม = 180(n-2) 1.4) ผลรวมมุมภายนอกรูป n เหลี่ยม ใดๆ มีคา 360 1.5) มุมภายนอกรูปสามเหลี่ยม มีคาเทากับผลรวมของมุมภายในที่ไมใชมุม ประชิดมุมนั้น 1.6) ในสามเหลี่ยมรูปหนึง่ ดานที่ตรงขามมุมที่ใหญกวายอมมีขนาดยาวกวา ดานตรงขามมุมที่เล็กกวา กลับกันก็เชนกัน 2. พื้นที่และอัตราสวนพื้นที่ หากสามเหลี่ยม 2 รูป มีจุดยอดรวมกัน และมีฐานอยูบนสวนของเสนตรงเดียวกัน อัตราสวนของพื้นที่สามเหลี่ยมทั้ง 2 รูปยอมเทากับอัตราสวนของความยาวฐานของสามเหลี่ยม ทั้ง 2 รูปนั้น

ได้อตั ราส่วน พท. สามเหลียมรู ปที1 : สามเหลียมรู ปที2= M : N M

N

คณิตศาสตร


21

3. สามเหลี่ยมเทากันทุกประการ มีหลักที่ควรจําดังนี้ 3.1) ดาน-มุม-ดาน 3.2) มุม-มุม-ดาน 3.3) ดาน-ดาน-ดาน 3.4) มุม-ดาน-มุม 3.5) ฉาก-ดาน-ดาน 4. ความคลายของรูปสามเหลี่ยม สามเหลี่ยมคลาย คือ สามเหลี่ยมที่มีอัตราสวนดานตอดานเทากัน โดยมีรปู แบบที่ควร จําดังนี้ 4.1) สามเหลี่ยม 2 รูป มีมุมเทากัน 3 มุม 4.2) สามเหลี่ยม 2 รูป ดานสมนัยกันมีอัตราสวนเทากัน และ มุมระหวาง 2 ดานนั้นกางเทากัน 4.3) สามเหลี่ยม 2 รูป มีดาน 3 ดาน เปนอัตราสวนเทากันเปนคูๆ 5. เสนมัธยฐานของรูปสามเหลี่ยม เสนมัธยฐานคือ เสนทีล่ ากจากมุมไปแบงครึ่งดานทีอ่ ยูตรงขามมุม โดยจุดตัดเสนมัธย ฐาน จะแบงเสนมัธยฐานทุกเสนเปนอัตราสวน 1:2

คณิตศาสตร


22

วงกลม นองๆควรจําสมบัติตางๆของวงกลมตอไปนี้ได *ขอ 1-4 สําคัญมากนะครับ เพราะออกบอย 1. สามเหลี่ยมภายในวงกลมที่มีฐานเปนเสนผานศูนยกลาง จะมีมมุ ยอด = 90 2. มุมบนสวนโคงเดียวกันยอมกางเทากัน มุมที่มจี ุดยอดบนวงกลม และ ความยาวสวนโคงที่ติดกับแขนมุมยาวเทากัน ยอมกาง เทากัน (ในวงกลมเดียวกันหรือวงกลมทีร่ ัศมีเทากัน) 3. มุมที่จุดศูนยกลางมีขนาดเทากับ 2 เทาของมุมที่เสนรอบวงโดยรองรับสวนโคงเดียวกัน 4. สี่เหลี่ยมที่แนบในวงกลม มุมตรงขามจะรวมกันได 180 *สี่เหลี่ยมที่แนบในวงกลมจะมีมุมทั้งสี่อยูบนเสนรอบวง 5. รัศมีจะลากไปตั้งฉากกับเสนสัมผัสวงกลม 6. รัศมีหรือเสนตรงทีล่ ากจากจุดศูนยกลางมาตัง้ ฉากกับคอรดจะแบงครึ่งคอรดนั้น 7. มุมที่เสนสัมผัสทํากับคอรด ณ จุดสัมผัส เทากับมุมภายในที่รองรับดวยคอรดนั้น 8. เสนทีล่ ากจากภายนอกวงกลมมาสัมผัสวงกลมจะมี 2 เสนและยาวเทากัน

คณิตศาสตร


23

Trigonometry 1. sine

→sinθ =

=

ขาม ฉาก

→→ cosecant →cosecθ =

ชิด

2. cosine →cosθ = = →→ secant →secθ = ฉาก ขาม

3. tangent→tanθ = = =

→→cotangent →cotθ=

ชิด

สามเหลี่ยมที่ควรทองจํา– หากจําอัตราสวนของสามเหลีย่ มไดจะชวยใหคิดไดไวขึ้น .

สามเหลี่ยมที่อัตราสวนดานลงตัว 3-4-5 5-12-13 2

7-14-15

9-40-41

12-35-37

8-15-17

11-60-61

20-21-29 +

= 90° ( , )

= 1 sin cos

=

tan

=

=

=

=

=1

2 = 360° = 180°

เอกลักษณ์

+

=1 −

มุมมาตรฐาน

3 = 270° 2

− =1

- degree -เรเดียน(si) → π = 180°

คณิตศาสตร

=1


24

Co-function มุมที่ + กันไดแลว 90° = (90° − )

cos

= sin(90° − ) ↔ sin

= cos(90° − )

cot

= tan(90° − ) ↔ tan

= cot(90° − )

cosec

= sec(90° − ) ↔ sec

= cosec(90° − )

มุมตาง ๆ sin 30° =

1 1 → sin 150° = sin(180° − 30°) = cos 30° 2 2 √3 = 2 → cos 150° 1 √3 = cos(180° − 30°) = − tan 30° = 2 √3 1 → tan 150° = tan(180° − 30°) = − √3

Laws of Sine sin

=

→ℎ=

sin sin sin

sin

=

sin

=

=

→ ℎ = sin

= sin

sin

คณิตศาสตร


25

เพิ่มเติม

1 sin(A ± B) = sin cos ± cos sin cos(A ± B) = cos cos ∓ sin sin tan ± tan tan(A ± B) = 1 ∓ tan tan

2 sin 2 = 2 sin cos cos 2 = 2cos 2 tan A tan 2 = 1 − tan A

−1 ,

3 sin = 2

1 − cos 2

cos = 2

1 + cos 2

คณิตศาสตร

1 − 2sin


26

สถิติ สถิติ หมายถึง ตัวเลขที่เปนจํานวนขอมูล เกิดจากการศึกษาขอเท็จจริงตางๆที่คน บางกลุมตองการศึกษา เชน สถิติของนักเรียน ม.4ที่สอบตกปลายภาคโรงเรียนเตรียม อุดมศึกษาระหวางป 2555-2557, สถิติของผูป วยโรคเบาหวานในประเทศไทย เปนตน นอกจากนีส้ ถิติยังถือเปนวิชาทางวิทยาศาสตรแขนงหนึง่ โดยมีระเบียบวิธกี ารทางสถิติ 4 ขั้นตอน ไดแก 1.การเก็บรวบรวมขอมูล 2.การนําเสนอขอมูล 3.การวิเคราะหขอมูล 4.การตีความหมายขอมูล ขอมูล หมายถึง รายละเอียด และขอเท็จจริงของสิง่ ทีผ่ ูศึกษาตองการทราบ อาจเปนขอมูลแบบ ตัวเลขเชน ความสูงของนักเรียนหอง 943 หรือเปนขอมูลทีเ่ ปนขอความก็ได การนําเสนอขอมูล เปนการนําขอมูลมานําเสนอเพื่อใหสามารนําไปใชงานไดในดานตางๆ โดยทั่วไปมีการนําเสนอขอมูลไดหลากหลายรูปแบบ เชน ตาราง แผนภูมิแทง กราฟ และตาราง แจกแจงความถี่ เปนตน คากลางของขอมูล

มี 3 ชนิด คือ

1.คาเฉลี่ยเลขคณิต (Mean) หาจากสูตร X

โดย

= X

แทนคาเฉลี่ยเลขคณิต

X

แทน ขอมูลแตละตัว

N

แทนจํานวนของขอมูล

คณิตศาสตร


27

ตัวอยาง จงหาคาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูลตอไปนี้ 15 จากสูตร

จะได

45

X

X

=

62

38

20

= = = 36

ดังนั้นคาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูลชุดนี้คือ 36 ** เมื่อเจอ ∑( − ) ใหรูวา ผลรวมจะมีคานอยสุดก็ตอเมื่อ M เปนคาเฉลี่ยเลข คณิตของขอมูลทุกตัวในชุดนั้น 2.ฐานนิยม(Mode) คือ ขอมูลที่มจี ํานวนความถี่มากที่สุดในขอมูลทัง้ หมด หรือมีจํานวนมาก ที่สุดนั่นเอง เชน กําหนดขอมูล 2 2 3 5 5 6 6 6 ฐานนิยมของขอมูลชุดนี้คือ 6 เนื่องจากมีจํานวนมากที่สุด -ขอมูลบางชุดอาจไมมีฐานนิยมเลย เชน 1 2 3 4 5 -ขอมูลบางชุดอาจมีฐานนิยม 2 คาเชน 21 21 35 35 40 65 ฐานนิยมคือ 21 และ 35 เนื่องจากมีจํานวน2ตัว *ฐานนิยม สามารถมีไดสูงสุดไมเกิน 2 คา เชน ขอมูล 45 50 ถือวาไมมีฐานนิยม เพราะมีขอมูลที่ซ้ํากัน 2 ตัว ถึง3คา

คณิตศาสตร

10 10 20 20 30 30


28

3.มัธยฐาน(Median) คือ คาที่อยูตรงกลางของขอมูลทัง้ หมด โดยขอมูลนั้น ตองเรียงจากคา นอยไปคามากกอนเสมอ -กรณีขอมูลมีจํานวนเปนจํานวนคี่ มัธยฐาน จะอยูตรงตําแหนงขอมูลที่ เมื่อ N คือจํานวนขอมูล เชน กําหนดขอมูล ดังนี้ 21 49 30 5 12 30 15 เมื่อเรียงขอมูลจากนอยไปมากจะได มัธยฐานจะอยูตําแหนงที่

5 12 15 21 30 30 49 นั่นคือ

= 4 ซึ่งมีคาเทากับ 21 นั่นเอง

-กรณีขอมูลมีจํานวนเปนจํานวนคู มัธยฐานจะอยูร ะหวางตําแหนงขอมูลที่

และ + 1

และมัธยฐานจะมีคาเทากับ ขอมูลตําแหนงที่ รวมกับขอมูลตําแหนงที่ +1 และหารดวย 2 เชน กําหนดขอมูลดังนี้ 15 12 27 39 11 32 เมื่อเรียงขอมูลจากนอยไปมากจะได

11 12 15 27 32 39

มัธยฐานจะอยูร ะหวางตําแหนงที่ = 3 และตําแหนงที่ 3+1= 4 และมัธยฐานจะมีคาเทากับ ** เมื่อเจอ ∑ ทุกตัวในชุดนั้น

X M

= 21 นั่นเอง ใหรูวา ผลรวมจะมีคานอยทีส่ ุดเมื่อ M เปนมัธยฐานของขอมูล

คณิตศาสตร


29

การวัดการกระจาย (Measure of Dispersion) บางครัง้ ขอมูล 2 ชุด อาจมีคากลางของขอมูลทัง้ สามเทากัน แตเมื่อสังเกตขอมูลแตละชุดพบวา ชุดหนึ่งมีการเกาะกลุม กันของขอมูลมากกวาอีกชุดหนึง่ เพราะขอมูลดิบของแตละชุดมีความ แตกตางกัน เรานิยมแกปญหาโดยใช พิสัยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.พิสัย(Range)หาไดจากการนําขอมูลที่มีคาสูงทีส่ ุดลบออกดวยขอมูลที่มีคาต่ําทีส่ ุด ใช ประโยชนในการบอกวาความกวางของขอมูลชุดนั้นมีคาประมาณใด เชน

กําหนดขอมูลดังนี้

21 23 26 28 35

พิสัยของขอมูลชุดนี้คือ 35-21 = 14 2.สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน(Standard Deviation) ใชวัดวาขอมูลชุดนั้นมีคาหางจากคากลาง มากนอยเพียงไร โดยขอมูลชุดทีม่ ีสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานนอยกวาจะมีการเกาะกลุมของขอมูล ดีกวาหรือมีความนาเชื่อถือมากกวานั่นเอง -สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานหาไดจากสูตร S.D. =

∑(

x)

เมื่อ

S.D. แทนสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน X แทน ขอมูลแตละตัว x

แทน คาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูลทุกตัว

N แทน จํานวนขอมูล

คณิตศาสตร


30

ตัวอยาง

จงหาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของขอมูล

คาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูลชุดนี้ =

= 15

(

สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน =

5 10 15 30

)

(

)

(

)

(

)

= =√87.5 -นอกจากนี้สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานยังสามารถหาไดจากสูตร S.D. =

X

โดยสูตรนี้นิยมใชในกรณีที่คาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูลชุดนั้น เปนเลขทศนิยมซึง่ ยากตอ การคํานวณ

คณิตศาสตร


31

ความนาจะเปน หลักการคูณ ถามีเหตุการณEที่แยกออกเปนr เหตุการณยอย (มีE1,E2,…….,Er)โดยที่ เหตุการณ E1เกิดได n1วิธี เหตุการณ E2เกิดได n2วิธี . . . .

. .

เหตุการณ Erเกิดได nrวิธี เพราะฉะนั้นจํานวนวิธีการเกิดเหตุการณ E=n1 x n2 x….x nrวิธี ตัวอยาง : นางภาสพล จะไปซือ้ เสื้อกับกระโปรงที่รานคาแหงหนึ่งมีเสื้อ อยู 3ตัว คือ สีชมพู สีเหลีอง สีฟา และ มีกระโปรง อยู 4ตัวคือ สีแดง สีมวง สีเขียว สีดํา นางภาสพลจะซื้อเสื้อและ กางเกงสลับไปมาเปนชุดไดทั้งหมดกี่ชุด วิธีทํา : เหตุการณท1ี่ เลือกซื้อเสื้อได 3วิธี เหตุการณท2ี่ เลือกซื้อกระโปรงได 4วิธี ดังนั้นจํานวนวิธีซื้อสลับไปมา =3 x 4=12วิธี

คณิตศาสตร


32

หลักการบวก ถามีเหตุการณ E1,E2,….,Erโดยที่แตละเหตุการณไมมีสวนเกีย่ วของกัน .ซึ่ง เหตุการณ E1เกิดได n1วิธี เหตุการณ E2เกิดได n2วิธี . .

. .

. . เหตุการณ Erเกิดได nrวิธี แลวจํานวนวิธีที่จะเกิดเหตุการณตั้งแตE1ถึงEr=n1+n2+….+nr วิธี ตัวอยาง: นายภาสพลตองการไปซื้อรองเทามาคูห นึ่ง โดยนายภาสพลไดไปซือรองเทาทีร่ านคาแหง หนึ่ง มีรองเทา สนสูง 3คูแตกตางกัน มีรองเทาผาใบ4คูแตกตางกัน และมีรองเทาแตะ 2คู แตกตางกัน นายภาสพลจะซือ้ รองเทาไดทั้งหมดกี่วิธี วิธีทํา: เหตุการณที่ 1 เลือกซื้อสนสูงได 3 วิธี เหตุการณที่ 2เลือกซื้อผาใบได 4 วิธี เหตุการณที่ 3เลือกซื้อรองเทาแตะได 2 วิธี เพราะฉะนั้นนายภาสพลสามารถเลือกซื้อรองเทาได 3+4+2=9 วิธี ***ควรแยกใหออกวาตองใชหลักการบวกหรือการคูณ***

คณิตศาสตร


33

หลักการเรียงของ เรียงของ r สิ่ง จาก n สิ่ง ==>การเรียงสับเปลี่ยน (Permutation) - เสนตรง

มี n ชิ้น เรียงทีละ n จํานวนวิธี = Pn,n = nPn = n! มี n ชิ้น เรียงทีละ r จํานวนวิธี = Pn,r = nPr = (

! )!

เรียงสิ่งของทีซ่ ้ํากันทัง้ หมด จํานวนวิธี = เมื่อ

! ( !)( !)…( !)

n

คือ

จํานวนสิ่งของทั้งหมด

a

คือ

จํานวนซ้ําสิง่ ของที่ 1

b

คือ

จํานวนซ้ําสิง่ ของที่ 2

k

คือ

จํานวนซ้ําสิง่ ของที่ r

- วงกลมมี n ชิ้น เรียงทีละ n ชิ้น จํานวนวิธี = (n-1)! มี n ชิ้น เรียงทีละ r ชิ้น จํานวนวิธี = (

! )!

คณิตศาสตร


34

การจัดหมู จัดหมูท ี่ละ r สิ่งจากของที่แตกตางกัน nสิ่งโดยที่ 0 ≤ จํานวนวิธี =nCr=

=

=(

! )! !

ความนาจะเปน คือการคาดคะเนโอกาสทีจ่ ะเกิดเหตุการณใดเหตุการณหนึง่ นิยมเขียนแทนดวยP(E) =

( ) ( )

จํานวนเหตุการณn(E) คือ จํานวนเหตุการณที่เราสนใจ แซมเปลสเปซ หรือปริภูมิตัวอยาง n(S) คือ จํานวนเหตุการณทั้งหมดที่เปนไปได

คณิตศาสตร


35


36

แบบฝกหัดชุดที่ 1 ขอสอบชุดนี้แบงออกเปน 2 ตอน คือขอกาตัวเลือก 20 ขอ และขอเขียนอีก 5 ขอ

ตอนที่ 1จงเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียง 1 ตัวเลือก แลวทําเครื่องหมาย X ลอมรอบ ตัวเลือกนั้นๆ 1) ผลบวกของ 1) 2) 3) 4)

( ( ( (

( (

)(

− 1)(10 + 1)(10 − 1)(10 + 1)(10

2) จํานวนเต็มบวกทีห่ าร

)

)

และ

+ 6 + 3) + 6 + 3) + 12 + 3) + 12 + 3)

×√ (√

)

ไดลงตัวมีทั้งหมดเทาใด

1) 1 จํานวน 2) 2 จํานวน 3) 3 จํานวน 4) 0 จํานวน 3) กําหนดระบบสมการ

=2

+

+3

= −3 +2 มีคําตอบเดียวแลว k มีคาสอดคลองกับขอใด 1) < −6 2) 0 < < 6 3) −6 < < 0 4) > 6

คณิตศาสตร

ตรงกับขอใด


37

4) กําหนดให 3

= 6, 2

= 1จะไดวา 3

+3

เทากับขอใด

1) 4.5 2) 5 3) 5.5 4) 6 5) กําหนดให x เปนจํานวนจริงบวก และ + = จงหาคาของ kที่ทาํ ให ( 1 3)2=2704

+

1) 0 2) 4 3) 8 4) 12 6) กําหนดใหเศษเหลือที่ไดจากการหาร จะไดวา − 21 เทากับขอใด

− 8x + 19x +

1) -21 2) 21 3) 420 4) 426 7) จงหาจํานวนนับ ที่นอยทีส่ ุดซึง่ 247|( + 1)( + 2) 1) 11

3) 76

2) 37

4) 245

คณิตศาสตร

ดวย − 6เปน 21


38

8) จํานวนเต็มทีเ่ ปนคําตอบของอสมการ ( − 12 + 11)( มีทั้งหมดเทากับขอใด

− 4 + 3) < 0

1) 4 จํานวน 2) 5 จํานวน 3) 6 จํานวน 4) 7 จํานวน 9) ถา a และ b เปนจํานวนจริงซึ่ง 0 <

< และ

+4

=5

แลวคาของ

เทากับขอใด 1) -5 2) -4 3) -3 4) -2 10) ถา

=

0 2) 2 3) 4 4) 6 11) จงหาเศษจากการหาร

+

เมื่อ A, Bเปนจํานวนเต็ม แลว A-2B เทากับขอใด

1)

1) 2 2) 2 3) 2

− 1 ดวย

−2

−1 −1 −1 4) 2

คณิตศาสตร

−1


39

12) ให , , เปนจํานวนจริง โดยที่ , , ≠ 0 โดยที่ และ + + = 0 จงหา 1) 2) 3) 4)

+ + = 111

+b +c

12323 12312 13223 12321

13) ให P, Q เปนจุดตัดของกราฟของพาราโบลา

=3

และเสนตรง 2 = 3 +

3สวนของเสนตรง PQ ยาวเทากับขอใดตอไปนี้

1) 2) 3) 4)

√ √ √ √

14) จงหาคาของ 4 6 4√6 … …

2 √12 2) 2√12 3) 4 √6 4) 0 15) ในบานหลังหนึ่งมีสมาชิกทั้งหมด 4 คน มีนายเอ นายบี นายซี และ นายดี ซึ่งในปจจุบัน 1)

คณิตศาสตร


40

สมาชิกทุกคนมีอายุเฉลี่ยเทากับ 22.5 ป โดยที่นายเออายุมากกวานายบีอยู 2 ป นายซีมีอายุ มากกวานายดีอยู 4 ป เมื่อ 7 ปที่แลว อายุของนายเอ บี ซีและดีรวมกันได 64 ป จงหาวานาย เอแกกวานายดีกี่ป 1) 30 2) 32 3) 34 4) 36 16) กําหนดให ( ) =

จงหาผลบวกของ ( )ที่นอยที่สุดกับ

คา ที่ทําให ( ) มีคานอยที่สุด 1) 1 2) 2 3) 3 4) 4 17) ให , , เปนจํานวนเต็มซึ่งสอดคลองกับระบบสมการ ___________________ (1)

+2

=0

+2

+ 81 = 0 ___________________ (2)

+2

= 0___________________ (3)

จงหา + 1) 0

+

2) 9 3) -9 4) ไมมีคําตอบ

คณิตศาสตร


41

18) ขอสอบชุดหนึง่ มี 30 ขอ โดยที่ถาตอบคําถามถูกจะได 4 คะแนน แตถาตอบผิดจะถูกหัก 3 คะแนน แตถาไมตอบจะไมไดคะแนน โดยนายสมชาย ไมตอบ 2 ขอแลวได 0 คะแนน จงหาวา นายสมชายตอบถูกกี่ขอ 1) 6 2) 12 3) 18 4) 24 19) กําหนดให

เปนรูปสามเหลี่ยมที่มsี in

= 0.6 cos

=

คาของ cos 1) 2) 3) 4) 20) สามเหลี่ยม

มีความยาวรอบรูป 25 หนวย จงหาจํานวนสามเหลี่ยม

ทั้งหมดซึ่งมีความยาวดานเปนจํานวนเต็ม 1) 14 2) 15 3) 16 4) 17 __________

คณิตศาสตร

แลว จงหา


42

ตอนที่ 2 1.ให ABC เปนรูปสามเหลี่ยม และ M เปนจุดกึง่ กลางดาน AB ถา CM=AM=5 หนวย และ BC= 4√5 หนวย แลว พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม ABC เทากับกี่ตารางหนวย 2.กะลาสีเรืออยูบ นยอดเสากระโดงเรือ ซึ่งอยูส ูงจากระดับน้าํ ทะเล7√3 เมตร มองเห็นเรือ A อยูทางทิสเหนือเปนมุมกม 60° และมองเห็นเรือ B อยูทางทิศใตเปนมุมกม 30° เรือAและเรือ B อยูหางกันกีเ่ มตร 3. จํานวนเต็ทบวกตั้งแต1000 ถึง 9999 มีทั้งสิ้นกี่จํานวน ที่ผลตางระหวางหลักหนวยกับหลัก พันเทากับ 2 4.(เตรียมอุดม) ให xy + yz = 18 , yz + xz =20 และxz + xy = 14 แลว มีคาตรงกับขอใด 5.ให

,

,

+

เปนรากทั้งสามของสมการ

(11 − ) + (13 − ) = (24 − 2 ) จงหา __________

คณิตศาสตร

+

+

+


43

แบบฝกหัดชุดที่ 2 ขอสอบชุดนี้แบงออกเปน 2 ตอน คือขอกาตัวเลือก 20 ขอ และขอเขียนอีก 5 ขอ

ตอนที่ 1จงเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียง 1 ตัวเลือก แลวทําเครื่องหมาย X ลอมรอบ ตัวเลือกนั้นๆ 1) จงหาคาของ sin 45 × sin 15 1) √

2) 3)

4)

2) จากรูปดานลางมีสามเหลี่ยมทั้งหมดกีร่ ูป

1) 9 2) 13 3) 16 4) 20

คณิตศาสตร


44

3) ขอมูลชุดหนึ่งแสดงผลดังนี้ 7, 8, 9, 9, a, b, c, 11 ซึ่งเรียงจากมากไปนอย ถาเราทราบวา ขอมูลนี้มีคาเฉลี่ยเลขคณิตเทากับ 9.5 และขอมูลทุกจํานวนเปนจํานวนเต็ม นอกจากนั้น ฐาน นิยมของขอมูลชุดนี้คือ 11 จงหาคาของa+b+c 1) 32 2) 33 3) 34 4) 35 4) สี่เหลี่ยม และ

มีดาน

= 10หนวย

= 7หนวย

= 5 หนวย ถากําหนดใหความยาวเสนทแยงมุม

= 20หนวย

เปนจํานวนเต็มจงหาความ

ยาวของ 1) 15 2) 16 3) 17 4) 24 5) กําหนดให , , ขนาดมุม <ACB’ 1) 2) 3) 4)

เปนดานของสามเหลี่ยมซึ่ง

=

30 45 60 90

คณิตศาสตร

+

− √3

จงหา


45

6) ให x, yเปนจํานวนเต็มบวกซึง่ 2555(73 ) − 2012(73 ) = 39639จง หาคาของ 3x + 7y 1) 1 2) 5 3) 10 4) 12 7) กําหนดให xเปนจํานวนจริงซึง่ สอดคลองกับสมการ จงหาคาทีเ่ ปนไปไดทั้งหมดของ x

+

=

1) 6,-4 2) 6,4 3) -6,4 4) -6,-4

8) จงหาจํานวนของคูอันดับ(a, b)โดยที่ a, bเปนจํานวนเต็ม ซึง่ a! b! = a! + b! 1) 0 2) 1 3) 2 4) 3

คณิตศาสตร


46

9) กําหนดให a , a , a , … เปนตํานวนนับโดยที่ a |a สําหรับทุกจํานวนนับ n และมีทกุ พจนมีคาตางกันหมดจงหาคาต่ําสุดของa + a + a + ⋯ + a 1) 2) 3) 4)

2 2 2 2

+1 −1 +1 −1

10) ขอใดตอไปนี้มีคาเทากับ 6x + 5y − 13xy + 17x − 19y + 12 1) 2) 3) 4)

(2x − y + 4)(3x − y + 3) (3x − y + 4)(2x − 5y + 3) (2x − y + 3)(3x − 5y + 4) (3x − y + 3)(2x − 5y + 4)

11) จงหาคําตอบของสมการ x − 4x x − 4x x − 4x√… = √21 1) 2) 3) 4)

√21(√5 ± 2) √21(2 + √5) √21(2 ± √5) √21(2 − √5)

12) กําหนดให 2 = , 2

= 36และ 2 =

จงหาคาของ 2x + y + z

1) -3 2) -1 3) 1 4) 0

คณิตศาสตร


47

13) กําหนดลําดับ a , a , a , a , … โดย a = a แลว a มีคาเทาใด

+ 2n, a = 2009

1) 2550 2) 3284 3) 4559 4) 7059 14) ให k ∈ R หา kที่มากทีส่ ุดที่ทําให √k − 2 + √7 − kมากกวาหรือเทากับ k 1) 2 2) 3 3) 6 4) 4 15) จงหาคาของ

เมื่อ x =

1) −4√3 2) 4√3 3) − 4)

คณิตศาสตร

19 − 8√3


48

16) กําหนดx เปนจํานวนจริง จงพิจารณาแกสมการตามลําดับตอไปนี้ สมการ : x + x + x + x + 1 = 0 ______(1) x + x + x + 1 _____________(2) (x + x + x + x) + 1 = 0_____(3) (x + x + x + 1)x + 1 = 0_____(4) (−x )(x) + 1 = 0________________(5) x = 1_____________________________(6) ∴ x = 1____________________________(7) แตเมื่อนํา x = 1ไปแทนในสมการที่1 แลวไมเปนจริง ขั้นตอนตามลําดับขอใดตอไปนี้ไม ถูกตอง 1) บรรทัด 3 2) บรรทัด 5 3) บรรทัด 6 4) บรรทัด 7 17) สี่เหลี่ยม ABCDเปนสี่เหลี่ยมคางหมูซงึ่ AB CD, DAB = 90 และเสนทแยง มุมตัดกันเปนมุมฉาก ถา AB = 2 และ CD = 8 จงหาความยาว BD

1) 3 2) √5 3) 4 4) 2√5

คณิตศาสตร


49

18) 2 − เทาใด

2−

2−

… (2 −

) มีคาเทากับ

1) 205 2) 683 3) 945 4) 1331 19) กําหนดให p(x) = x + ax + bx + cx + dโดยที่ a, b, c, d เปน จํานวนจริง จงหาP(−1) = p(4) = p(14) = 2555 1) 5411 2) 5441 3) 5541 4) 5141 20) มีจํานวนเต็มสามหลักทั้งหมดกีจ่ ํานวน ที่มีคาเปน 25 เทาของผลบวกของตัวเลขทั้งสาม 1) 1 2) 2 3) 3 4) 4 __________

คณิตศาสตร


50

ตอนที่ 2 1. จากรูป ABCD เปนสี่เหลี่ยมดานขนาน มีพื้นที่เทากับ 60 ตารางนิ้ว จุด E เปนจุดบน ดานAB ลาก CE ตัด DB ที่จุด F ทําให AE : EB = 1:2 และ EF:FC = 2:3 แลว พื้นที่สามเหลี่ยม COF เทากับกี่ตารางนิ้ว A

E

B O

D

F C

2.ใหสามเหลี่ยม ABC มีพื้นที่ 25 ตารางเมตร จุด D และ E อยูบนดาน AB และ AC ตามลําดับ โดยที่ DE ขนานกับ BC ถา AD ยาวเปน เทาของสวนของเสนตรงAB แลว พื้นที่ ของสามเหลี่ยมADE เทากับเทาใด 3. คาของ(√2 + 1) − (√2−1) เปนเทาใด 4. กําหนด A (-1,-1), B (3,-1), C (3,4), D (-1,4) พื้นที่วงกลมที่ผานจุด ABCD เทากับขอใด

__________

คณิตศาสตร



52


53

สารอาหาร (Nutrients) คารโบไฮเดรต น้ําตาลโมเลกุลเดี่ยว(C6H12O6) 1. กลูโคส (Glucose) -

มีจํานวนของธาตุคารบอน 6 อะตอม

-

ใหพลังงานไดเร็ว และเปนแหลงพลังงานหลักของรางกาย

-

พบในองุน และเปนน้ําตาลที่พบไดมากที่สุดในธรรมชาติ

2. ฟรุกโตส (Fructose) -

มีจํานวนของธาตุคารบอน 6 อะตอม

-

เปนแหลงพลังงานหลักของอสุจิ

-

สามารถสรางไดจากการนํากลูโคสผานกระบวนการไกลโคไลซิส

3. กาแลคโตส (Galactose) -

มีจํานวนของธาตุคารบอน 6 อะตอม

-

พบในน้ํานม แตมักพบในรูปของแลคโตส

-

เปนน้ําตาลที่พบนอยที่สุดในธรรมชาติ

ภาพแสดงโครงสรางโมเลกุลของน้ําตาลโมเลกุลเดี่ยว

!!!Note:ลําดับความหวาน ฟรุกโตสกลูโคส กาแลคโตส☺

ชีววิทยา


54

น้ําตาลโมเลกุลคู(C12H22O11) 1. มอลโตส(Maltose) = กลูโคส + กลูโคส 2. ซูโครส (Sucrose/น้าํ ตาลทราย)= กลูโคส + ฟรุกโตส 3. แลคโตส(Lactose) = กลูโคส + กาแลคโตส

ภาพแสดงการเกิดน้ําตาลโมเลกุลคู (เกิดปฏิกิริยา Dehydration)

น้ําตาลโมเลกุลซอน 1. แปง

» เกิดจากกลูโคสรวมกันเปนสายยาว » เปนอาหารสะสมในพืช » โมเลกุลแตกกิ่งกานเล็กนอย

2. ไกลโคเจน

» อาหารสะสมในสัตว (ในตับและกลามเนื้อ) » เกิดจากกลูโคสรวมกันเปนสายยาว » โมเลกุลแตกกิ่งกานมาก

3. เซลลูโลส

» เกิดจากกลูโคสรวมกันเปนสายยาว » เปนผนังเซลลของพืชและสาหราย » โมเลกุลไมมีการแตกกิง่ กาน

ชีววิทยา


55

4. อินูลิน » เกิดจากฟรุกโตสรวมกันเปนสายยาว 5. ไคติน » เปนโพลิเมอรของ N-acetyl glucosamine » เปนเปลือกของสัตวขาขอ และผนังเซลลของเห็ด ,รา , ยีสต

การทดสอบแปง × ทดสอบดวยสารละลายไอโอดีน

แปง สีน้ําเงินมวง

ไกลโคลเจน สีแดง

ชีววิทยา


56

การทดสอบน้ําตาล × ทดสอบดวยสารละลายเบเนดิกต

น้ําตาลโมเลกุลเดี่ยวและน้ําตาลโมเลกุลคู (ยกเวนซูโครส) สีเขียวจนถึงตะกอนสี แดงอิฐ

ทําไม? นําตาลซูโครสจึงไม่ทาํ ปฏิกิริยากับสารละลายเบเนดิ กต์ สารละลาย Benedict ไม่ทาํ ปฏิกิริยากับนําตาล sucrose เนื องจากสารละลายนี จะทําปฏิ กิริยากับ สารทีมี aldehyde groupทีสามารถทําปฏิกิริยาได้ ซึ งจะพบในกลุ่มนําตาลโมเลกุลเล็กคือพวกทีมี carbon 6อะตอม เช่น glucose เป็ นต้น CuSO4ในสารละลายนี จะทําปฏิกิริยา โดย glucose จะเป็ นreducing agent ,Cu2+ถูก reduced เป็ น Cu+ตกตะกอนเป็ น Cu2O เห็นเป็ นตะกอนสี เหลืองหรื อสี ส้ม เราใช้ตรวจนําตาลในปั สสาวะ เพือตรวจภาวะเบาหวานในผูป้ ่ วย เบืองต้น ปั จจุบนั ไม่คอ่ ยนํามาใช้แล้วเพราะมีวิธีทีสะดวกกว่า

ชีววิทยา


57

ไขมัน o ไตรกลีเซอไรด=กลีเซอรอล + 3 กรดไขมันเชื่อมกันดวยพันธะเอสเตอร (ester bond) o กรดไขมันอิ่มตัว( saturated fatty acid ): พบมากในไขมันจากสัตว , น้ํามันมะพราว และน้ํามันปาลม

o กรดไขมันไมอิ่มตัว : พบมากในพืช

ชีววิทยา


58

สเตียรอยด(Steroid) o เปนอนุพันธของไขมัน o โครงสรางเปนวง carbon เชื่อมกัน 4 วง ขนาด 6 อะตอม 3 วง และขนาด 5 อะตอม 1

วง o ไดแก คลอเลสเตอรอล, ฮอรโมนสเตียรอยด (ฮอรโมนเพศ+ฮอรโมนจากตอมหมวกไต) , วิตามิน D

การทดสอบไขมัน × นําสารที่ตอ งการตรวจสอบหยดลงบนกระดาษ ถากระดาษโปรงแสง แสดงวามีไขมัน อยู

ชีววิทยา


59

โปรตีน o มีโมโนเมอรคือ กรดอะมิโน (amino acid) o กรดอะมิโนมี 20 ชนิด แบงเปน 2 ประเภท ไดแก

ปลายcarboxy Carboxyl end, C-terminus)

1. กรดอะมิโนจําเปน: รางกายไมสามารถสรางเองได ตอง รับประทานเขาไป 2. กรดอะมิโนไมจําเปน: รางกายสามารถสรางเองได ไมจําเปนตองรับประทานเขามา

ภาพแสดงโครงสรางของกรดอะมิโนทั่วไป

ชีววิทยา


60

ปลายamino ( Nภาพแสดงโครงสรางของโปรตีนโดยโปรตีนจะเหลือปลายอยู2 ปลาย ปลายaminoเรียก N-terminal ปลายcarboxyl เรียกC-terminal

การทดสอบโปรตีน × ทดสอบดวยสารละลายไบยูเร็ต (CuSo4 + NaOH)

*ตองมีพันธะเปปไทดอยางนอย 2 พันธะ ถามีโปรตีน สีมวง

!!Note :สารอาหารที่ถกู ใชพลังงานกอนเปนอันดับแรกคือ คารโบไฮเดรต , ไขมัน และโปรตีน ตามลําดับ

ชีววิทยา


61

วิตามินและเกลือแร Vitamin A (Retinol, Carotene)

แหลงที่พบ น้ํามันตับปลา ตับ นม ไขแดง ผัก ผลไม

D (Calciferol)

น้ํามันตับปลา สังเคราะหจาก cholesterolใต ผิวหนัง ผักกาด ขาวสาลี ไขมันพืช

E (Tocopherol)

K(Menaquinone) กะหล่ําปลี เห็ด ขาวโพด สังเคราะหไดจาก แบคทีเรียในลําไส ใหญ B1 (Thiamine) ตับ นม ไข ขาว ซอมมือ ธัญพืช ยีสต B2 (Riboflavin)

ตับ นม ไข ธัญพืช ถั่ว

ประโยชน สรางสาร rhodopsin เกี่ยวกับการ เจริญเติบโตและการ มองเห็น ควบคุมสมดุล แคลเซียมและ ฟอสฟอรัส

ความผิดปกติเมื่อขาด ตาแหง แผนตาขุน มองไมเห็นในทีม่ ืด

โรคกระดูกพรุน กระดูก ออน

ปองกันการแตกของ ในเด็กRBCจะแตกงาย เม็ดเลือดแดง เปนโรคโลหิตจาง ในผูใหญจะเปนหมัน เปนสวนประกอบใน เลือดไมแข็งตัว การสรางโปรตีน prothrombin

Glucose metabolism

มีอาการชาบริเวณมือ และเทา

เปนองคประกอบ ของFAD

ปากนกกระจอก ลิ้น อักเสบ

ชีววิทยา


62

B3 (Niacin)

ตับ นม ไข ธัญพืช ถั่ว C (Ascorbic acid) ผัก ผลไมตางๆ รางกายตองการมาก โดยเฉพาะสม ที่สุด

Mineral Nitrogen

Calcium Phosphorus

Sodium

Potassium

เปนองคประกอบ ของNAD ชวยในการสราง collagen ชวยในการดูดซึม Fe2+

แหลงที่พบ พบในโปรตีน (หมูอะมิโน)

ประโยชน ธาตุองคประกอบ หลักของสารชีว โมเลกุล เนื้อสัตว นม ไขงา สรางกระดูกและฟน ดํา ชวยใหเลือดแข็งตัว เนื้อสัตว นม ไข สรางกระดูกและฟน ผักใบเขียว เปนสวนประกอบ ของสารพันธุกรรม เกลือแกง อาหาร ควบคุมปริมาณน้ํา ทะเล ในสัตว คุมความเขมขนของ เลือด เนื้อสัตว นมผลไม ควบคุมปริมาณน้ํา ในใบพืช คุมการเปด ปดปาก ใบ คุมการทํางานของ หัวใจและกลามเนื้อ

ชีววิทยา

ประสาทหลอน ออนเพลีย เสนเลือดเปราะ เลือดออกตามไรฟน

ความผิดปกติเมื่อขาด ไมสามารถดํารงชีวิตได

กระดูกออน กระดูกพรุน กลามเนื้อเกร็ง กระดูกออน ขาด พลังงาน เปนตะคริว สมองทํางาน ผิดปกติ

หัวใจเตนผิดปกติ


63

Magnesium

อาหารทะเล

คุมการสรางโปรตีน คุมการทํางานของ กลามเนื้อ เปนองคประกอบ ของchlorophyll

ชีววิทยา

สมองทํางานผิดปกติ มีอาการชัก


64

กลองจุลทรรศนและเซลล กลองจุลทรรศน กลองจุลทรรศนแบบใชแสง × ศึกษาไดทั้งสิ่งมีชีวิตและไมมีชีวิต × กําลังขยายกลอง = กําลังขยายเลนสใกลตา x กําลังขยายเลนสใกลวัตถุ × ยิ่งกําลังขยายของเลนสใกลวัตถุต่ํา สนามภาพกวาง , ภาพสวาง × ยิ่งกําลังขยายของเลนสใกลวัตถุสงู สนามภาพแคบ , ภาพมืด

1. กลองจุลทรรศนใชแสงแบบธรรมดา เกิดภาพเสมือนหัวกลับขนาดขยาย เมื่อเลื่อนแทนวางสไลดไปทางใด ภาพจะเคลื่อนไปในทางตรงกันขามเสมอ

2. กลองจุลทรรศนแบบสเตอริโอ – จะเห็นภาพเปนภาพ 3 มิติ

ชีววิทยา


65

กลองจุลทรรศนอิเล็กตรอน ใชลําแสงอิเล็กตรอน , เลนสแมเหล็กไฟฟา × ภายในลํากลองเปนสุญญากาศ × ใชศึกษาแตสิ่งที่ไมมีชีวิตเทานั้น

1. กลองจุลทรรศนอเิ ล็กตรอนแบบสองผาน (transmission electron microscope : TEM) ใชศึกษาโครงสรางภายในเซลล จะเห็นภาพเปนภาพ 2 มิติ 2. กลองจุลทรรศนอเิ ล็กตรอนแบบสองกราด (scanning electron microscope : SEM) ใชศึกษาโครงสรางภายนอกของเซลล จะเห็นภาพเปนภาพ 3 มิติ

ภาพจาก TEM

ภาพจาก SEM

ชีววิทยา


66

เซลลและออรแกนเนลล cell membrane สวนที่หอหุม

cell coat

glycocarlyxในสัตว capsuleในแบคทีเรีย พืช + สาหราย : cellulose

cell wall เซลล

เห็ด , รา , ยีสต : chitin แบคทีเรีย : peptidoglycan

nucleus protoplasm cytoplasm

ไมมีเยื่อหุม cytoskeleton ribosome

cytosol organelle เยื่อหุม 1 ชั้น ER lysosome peroxisome vacuole

ชีววิทยา

เยื่อหุม 2 ชั้น chloroplast mitochondria


67

Organelle 1. ไรโบโซม (ribosome)– สังเคราะหโปรตีน × Free ribosome – ลอยอิสระใน cytosol สรางโปรตีนไวใชในเซลล × อยูบน RER – สรางโปรตีนเพื่อสงออกนอกเซลล × อยูใน mitochondria และ chloroplast – สรางโปรตีนไวใชในนั้น 2. รางแหเอนโดพลาสมิก(ER) × แบบขรุขระ (RER) – มีไรโบโซมมาเกาะ ใชสรางโปรตีนสงออกนอกเซลล × แบบเรียบ (SER) – ไมมีไรโบโซมมาเกาะ สังเคราะหlipidทั้ง triglycerideและ steroidและทําหนาที่กําจัดสารพิษ 3. กอลจิบอดี (golgi body) × ตรวจสอบโปรตีนทีส่ รางจาก RER แลวบรรจุโปรตีนใน vesicle เตรียมสงออก นอกเซลล × สังเคราะหสารอื่น ๆ เชน enamel (สารเคลือบฟน) , root cap , nematocyst (เข็มพิษ) 4. ไรโซโซม (lysosome)เปน vesicle ชนิดหนึ่งที่บรรจุน้ํายอย × ทําหนาที่ยอยภายในเซลลที่ food vacuole × กําจัดเชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอม × การยอยสลายตัวเอง Autophagy=ยอย organelle autolysis=cellหรือtissueถูกทําลายจากการรั่วของenzyme 5. แวคิวโอล (vacuole) ทําหนาที่เก็บสารตาง ๆ ที่ไมใชโปรตีน แบงเปน 5.1 sap vacuole – พบเฉพาะในพืช ซึ่งมีขนาดใหญขึ้นตามอายุ ทําหน้ าทีเก็บของเสียและรงควัตถุ anthocyanin

5.2 contractile vacuole – พบเฉพาะในโปรโตซัวน้ําจืด ทําหนาที่ขับน้ําสวนเกิน 5.3 food vacuole – ทําหนาที่เก็บอาหาร เตรียมยอยภายในเซลล

ชีววิทยา


68

6. ไมโดคอนเดรีย (mitochondria) × ทําหนาทีส่ รางพลังงาน (ATP) ใหแกเซลล × มีโรโบโซม 70s , RNA และ DNA แบบวงแหวน อยูใน matrix 7. คลอโรพลาส (chloroplast) × เกี่ยวกับกระบวนการสังเคราะหดวยแสงในพืช × มีโรโบโซม 70s , RNA และ DNA แบบวงแหวน อยูใน stroma ทฤษฏี endosymbiosis:เปนแนวคิดที่อธิบายการวิวัฒนาการของออรแกนเนลลในยูคาริโอต คือ mitochondria และ chloroplast โดย mitochondria เดิมคือ แบคทีเรียที่ใชออกซิเจน ที่มาอยูรวมกับอีกเซลลหนึง่ ที่มีขนาดใหญ ในขณะที่ chloroplast คือแบคทีเรียที่สงั เคราะห แสงได !!Note : mitochondria และ chloroplast สามารถถูกยับยั้งไดดวยยาปฏิชีวนะเพราะ ออรแกนเนลล2ชนิดนี้เปนแบคทีเรียจากทฤษฎีendosymbiosis

ชีววิทยา


69

การแบงเซลล 1. การแบงเซลลแบบ mitosis » นิวเคลียสจะถูกแบงโดยจํานวนชุดโครโมโซมเทาเดิม (2n 2n) » มี genotype และ phenotype เหมือนเดิม » เมื่อแบงเซลลจะไดเซลลลูกจํานวน 2 เซลล » ใชแบงเซลลรางกายของสัตว และแบงเซลลสืบพันธุของพืช

ระยะอินเตอรเฟส (interphase) มีการสรางสวนประกอบตางๆของเซลลเพื่อเตรียมพรอมสําหรับ การแบงตัว ครอบคลุมตั้งแตระยะ G1, Sและ G2 ระยะโพรเฟส (prophase) ระยะนี้ในนิวเคลียส สารพันธุกรรมจะพันกันแนนเขาจนเริ่มเห็นเปนรูป โครโมโซมเซนตริโอลเคลื่อนที่ไปยังแตละขั้วของเซลล เมื่อถึงชวงสุดทายของระยะนี้จะมีการสราง เสนใยสปนเดิล (spindle fiber) ไปจับยังบริเวณไคนีโตคอร (kinetochore) ของโครโมโซม เยื่อหุม นิวเคลียสสลายไป ระยะเมตาเฟส (metaphase) เสนใยไมโตติกสปนเดิลสรางเสร็จสมบูรณ โครโมโซมเรียงตัวตรงกลาง เซลล ระยะแอนาเฟส (anaphase) ซิสเตอร โครมาติด (sister chromatid) ของโครโมโซมแตละอันถูกดึง แยกจากกันไปยังขั้วของเซลล สิ้นสุดเมื่อโครโมโซมทั้งหมดไปถึงขั้วของเซลล ระยะเทโลเฟส (telophase) และการแบงไซโตพลาสซึม (cytokinesis) เปนระยะที่ตรงขามกับโพ รเฟส คือโครโมโซมคลายตัวเปนเสนใยโครมาตินเหมือนเดิม มีการสรางเยื่อหุมเซลลใหม จากนั้นจึง ตามมาดวยการแบงไซโตพลาสซึม

ชีววิทยา


70

ในสัตว : Cleavage furrow ในพืช : cell plate 2. การแบงเซลลแบบ meiosis » มีจํานวนชุดโครโมโซมลดลงครึ่งหนึ่ง (2n  n) » เมื่อแบงเซลลจะไดเซลลลูกจํานวน 4 เซลล » ใชแบงเพื่อสรางเซลลสบื พันธุ ( sex chromosome ) เพื่อการสืบพันธุแบบ อาศัยเพศ แบงออกเปน 2 ระยะคือ 1. meiosis 1 (Prophase 1 – Metaphase 1 – Anaphase 1 – Telophase 1) 2. meiosis 2 (Prophase 2 – Metaphase 2 – Anaphase 2 – Telophase 2)

× × × × × × ×

สิ่งที่ควรรู Prophase 1 จะมีการแลกเปลี่ยนชิ้นสวนของ sister chromatid เรียกวา crossing over Anaphase 1 มีการดึง Homologous Chromosome – เกิดการลดจํานวน โครโมโซม Telophase 1 แตละขั้วของเซลลมีโครโมโซมเปนแฮพลอยด (n) 2 ชุด (แตยังมี sister chromatid อยู) Prophase2 เปนระยะทีส่ รางเสนใยสปนเดิลเพือ่ ดึง sister chromatid ออกจาก กัน Anaphase2 เปนระยะที่ดึงซิสเตอรโครมาติดออกจากกัน Telophase2 มีการสรางเยื่อหุมนิวเคลียสและแบงไซโตพลาสซึมตามมา ไดเซลลลกู 4 เซลล ซึ่งมีโครโมโซมเปนแฮพลอยด (n)

ชีววิทยา


71

รูปภาพแสดงการแบงเซลลแบบ ไมโอซิส

รูปภาพแสดงการแบงเซลลแบบ ไมโทซิส

ชีววิทยา


72

โครงสรางและหนาที่ของระบบตาง ๆ ในสัตว การยอยอาหาร × การยอยอาหารแบงออกเปน

1)การยอยเชิงกล (Mechanical Digestion) คือ การทําใหอาหารชิ้นใหญ ชิ้นเล็กลงโดยอาจ เกิ ด จากการบดเคี้ ย วของฟ น การบี บ ตั ว ของหลอดอาหารและกระเพาะอาหาร การทํางานของน้ําดี เปนตน 2)การยอยเชิงเคมี(Chemical Digestion) คือ การเปลี่ยนโครงสรางทางโมเลกุลของ สารอาหาร เชน การยอยโดยเอนไซม เปนตน × ทางเดินอาหารในสัตว

1) ทางเดินอาหารไมสมบูรณ (Incomplete Digestive Tract) คือ ทางเดินอาหารที่มีทาง เป ด ทางเดี ย ว (ปากกั บ ทวารหนั ก ใช ร ว มกั น ) พบในพวก ฟองน้ํ า ไฮดรา แมงกะพรุ น หนอนตัวแบน 2) ทางเดินอาหารสมบูรณ (Complete Digestive Tract) คือ ทางเดินอาหารที่ชองทางเขา กับชองทางออกคนละทางกัน พบตัง้ แตหนอนตัวกลมจนถึงสัตวมีกระดูกสันหลัง

ทางเดินอาหารของไฮดรา

ทางเดินอาหารของนก

ชีววิทยา


73

ระบบยอยอาหารในสัตวที่ควรรู ไสเดือนดิน  ปาก (Mouth) - มีสวนชวยในการเคลือ่ นที่ - ไมมีฟนและตอมน้ําลาย - กินดินชวยในการยอย  คอหอย (Pharynx) - มี nerve ring (สมอง)ลอมรอบ  หลอดอาหาร (esophagus) - มี pseudoheart(หัวใจเทียม) - มีการยอยเชิงกล คือ peristalsis  กระเพาะพักอาหาร (Crop)  กึ๋น (Gizzard) - เปนถุงใชบดอาหาร (เกิดการยอยเชิงกล)  ลําไส(Intestine) - มี Typhlosole ชวยเพิ่มพื้นที่ผิวในการดูดซึม และมีการยอยเชิงเคมี  ทวารหนัก (Anus)

!!Note :ในไสเดือนดิน แมลงและนก จะใชกึ๋นในการบดอาหาร จัดเปนการยอยเชิงกล สัตวเคี้ยวเอื้อง (วัว , ควาย , แพะ , แกะ , มา) มี 4 กระเพาะ แบงเปน 3 กระเพาะเทียม และ 1 กระเพาะจริง - Rumen กระเพาะผาขี้ริ้วเปนกระเพาะหมัก มีขนาดใหญมาก - Reticulum กระเพาะรังผึ้งชวยขยอกหญาขึ้นมายอยในปากอีกครั้ง

ชีววิทยา


74

- Omasumกระเพาะสามสิบกลีบ มีการรีดน้ําออกและคลุกอาหารเพื่อเตรียมยอย - Abomasum กระเพาะแท มีการหลั่งเอนไซมตาง ๆ มีการยอยเชิงกล

ระบบยอยอาหารในมนุษย(Human digestive system) Digestive Tract ทางผานของอาหาร

o ปาก (Mouth) × มีการยอยเชิงกลโดยฟน และการยอยเชิงเคมีโดยเอนไซม Amylase จากตอมน้ําลาย ซึ่งมี 3 คูคือ ตอมน้ําลายใตลิ้น , ตอมน้ําลายใตขากรรไกร และตอมน้ําลายขางกกหู o หลอดอาหาร (Esophagus) × ทําหนาทีบ่ ีบตัวเพือ่ ใหอาหารเคลื่อนลงไป เรียกวา Peristalsis เปนการยอยเชิงกล

กระเพาะอาหาร (Stomach) × มี 3 สวนไดแก 1. Cardiac

2. Fundus

3. Pylorus

× หนาที่ของกระเพาะอาหาร 1. สรางฮอรโมน Gastrin กระตุนการ

สรางเอนไซม (Inactive Form) และ HClกระตุนการทํางานของเอนไซม 2. เอนไซม(Active Form) ยอยโปรตีน peptide สายยาว

3. มีเมือก (Mucus)เคลือบอยู ทําหนาที่ ปองกันกรดไฮโดรคลอริกยอยกระเพาะ

ชีววิทยา


75

4. มีการบีบตัวเพือ่ คลุกเคลาอาหาร 5. HClสามารถฆาเชื้อโรคที่ติดมากับอาหารได 6. เปนที่ดูดซึมยา , แอลกอฮอล ,วิตามินและเกลือแรบางชนิด × เอนไซมทพี่ บไดในกระเพาะอาหาร ไดแก Pepsin , Rennin และ Lipase (ไมทํางาน

เพราะคา pH ไมเหมาะสม) !!Note:เอนไซมในตอนแรกจะอยูในสภาพทํางานไมได หรือ Inactive Form ตองไดรับการกระ กระตุนจากกรดเกลือหรือ HClกอน จึงจะทํางานได ดังสมการ Pepsinogen HCl Pepsin Prorennin HCl

Rennin

o ลําไสเล็ก (Small Intestine)

1. ดูโอดีนัม (Duodenum)ลําไสเล็กสวนตน เปนสวนที่การยอยเกิดขึ้นมากทีส่ ุด โดยใชเอนไซมทสี่ รางเองและจากตับออน นอกจากนี้ยังสรางฮอรโมน Secretin กระตุนตับสรางน้ําดี 2. เจจูนัม (Jejunum) เปนสวนทีม่ ีการดูดซึมมากทีส่ ุด โดยที่ผนังลําไสเล็กสวนนี้ จะมี Villi จํานวนมาก ชวยเพิ่มพื้นที่ผิวในการดูดซึม 3. ไอเลียม (Ileum)ดูดซึมสารอาหารเล็กนอย

ชีววิทยา


76

o ลําไสใหญ (Large Intestine) × ไมมีการยอยอาหารเกิดขึ้น แตดูดซึมน้ําและแรธาตุจากกากอาหารแทน × มีแบคทีเรีย E.Coliทําหนาที่ชวยสังเคราะหวิตามิน B12และ วิตามิน K o ทวารหนัก (Anus)

Accessory digestive Glands

ตับ (Liver) × ผลิตน้ําดี (สารตั้งตนในการสรางคือ คอเลสเตอรอล)

ซึ่งเปน Emulsifier ของน้ําและน้ํามัน ชวยทําใหไขมัน แตกตัว ซึ่งน้ําดีจะถูกเก็บไวในถุงน้ําดี (Bile Bladder) โดยจะถูกหลัง่ ออกจากถุงน้ําดีไปยังลําไสเล็กสวนตน o ตับออน (Pancreas) × มีการผลิตเอนไซม เรียกวา Pancreatic Juice × ผลิต NaHCO3 ซึ่งเปนเบส เพื่อลดความเปนกรดของอาหารที่มาจากกระเพาะอาหาร × บริเวณ Islet of Langerhans ผลิตฮอรโมน Insulin และ Glucagon ทําหนาที่

ควบคุมระดับน้ําตาลในกระแสเลือด Glucose

Insulin Glucagon

ชีววิทยา

Glycogen


77

สรุป ตอมน้ําลาย – มี Amylase ยอยแปงใหเปน Dextrin และ Maltose คารโบไฮเดรต

Amylase

Dextrin และ Maltose

กระเพาะอาหาร – มี Pepsin , Rennin , Lipase แตถูกทําลายโดย HCl Pepsin โปรตีน Peptide โปรตีนในน้ํานม (Casein) Rennin

Paracasein

o ตับออน – มี Amylase ยอยแปงใหเปน Maltose

คารโบไฮเดรต Trypsinogen - Chymotrypsin

Enterokinase*

Amylase

Trypsin

Maltose

ยอยโปรตีนเปน Peptide

- Carboxypeptidase

Protein

Trypsin Chymotrypsin

Peptide

- Lipase ยอย Lipid เปนกรดไขมันและกลีเซอรอล Lipase Lipid Fatty acid + Glycerol น้ําดี o ลําไสเล็ก– มี Aminopeptidaseยอย Peptide ไดกรดอะมิโน

ชีววิทยา


78

Peptide - Disaccharase

Aminopeptidase Amino acid

Maltase ยอย maltose  glucose + glucose Sucraseยอย sucrose  glucose + fructose Lactase ยอย lactose  glucose + galactose

- Enterokinase ** - สรางจากเยื่อบุลําไสเล็กสวนตน ทําหนาที่เปลี่ยน Trypsinogenเปน

Trypsin !!Note:วิธีจําเอนไซมจากลําไสเล็กงายนิดเดียว เอนไซมตัวไหนยอยแลวไดโมเลกุลเล็กสุด นั่น แหละ เอนไซมจากลําไสเล็กเพราะลําไสเล็กเปนอวัยวะสุดทายที่มีการยอยกอนถูกขับออกจาก รางกาย☺

ชีววิทยา


79

ระบบหายใจ(Respiratory System) โครงสรางแลกเปลี่ยนแกสตาง ๆ × คุณสมบัติ 1. ชุมชื้น 3.

บาง พื้นที่ผิวมาก

4.

มีเสนเลือดมาเลี้ยงมาก

2.

อวัยวะใชในการแลกเปลี่ยนแกส

ตัวอยางสัตวที่พบ

เยื่อหุม เซลล(Cell membrane)

สิ่งมีชีวิตเซลลเดียว เชน อะมีบา , พารามีเซียม, ยูกลีนา

ผิวตัวดานนอก (Skin)

สัตวชั้นต่ํา เชน ฟองน้ํา , ไฮดรา , พลานาเรีย

ผิวหนังและระบบเลือด

ไสเดือนดิน , สัตวครึ่งบกครึง่ น้ํา (ผิวหนังชุมชื้นเสมอ)

เหงือก (Gill)

แมเพรียง , กุง , กั้ง , ปู , หอย , หมึก , ดาวทะเล , ปลา

ปอด (Lung)

หอยทาก , สัตวมีกระดูกสันหลัง

ระบบทอลม(Tracheal System)

แมลงสวนใหญ

ปอดแผง (Book Lung)

แมงมุม , แมงปอง

เหงือกแผง (Book Gill)

แมงดาทะเล

Respiratory tree

ปลิงทะเล

!!Note:แมลงไมใชเลือดในการลําเลียงแกสเพราะมีทอ ลมแลว ดังนั้นเลือดแมลงจึงไมมสี ี เลือด จะใชลําเลียงสารอาหารและฮอรโมน

ชีววิทยา


80

ถุงลมในนกไมไดใชแลกเปลี่ยนแกส แตใชสํารองอากาศในการบินนะ 

ระบบหายใจของมนุษย o Respiratory Tract

อวัยวะที่เปนชองทางผานของอากาศ เรียงลําดับตามนี้ รูจมูก (Nostril)

ชองจมูก (Nasal Cavity)

คอหอย (Pharynx) ถุงลมปอด (Alveolus)

กลองเสียง (Larynx)

หลอดลม (Trachea)

แขนงขั้วปอด (Bronchiole)

ขั้วปอด (Bronchus)

o กลไกการหายใจเขาและออก

การหายใจ

กลามเนื้อยึดซี่โครง แถบนอก

กะบังลม

ความดันภายในปอด

ปริมาตรปอด

หายใจเขา

หดตัว

หดตัว

ต่ํา

เพิ่มขึ้น

หายใจออก

คลายตัว

คลายตัว

สูง

ลดลง

ชีววิทยา


81

ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System) ประเภทของระบบหมุนเวียนโลหิต 1. ไมมีระบบหมุนเวียนเลือด – ไดแก ฟองน้ํา , ไฮดรา , พลานาเรีย และหนอนตัวกลม 2. ระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปด (Open circulation system) – เลือดไมไดอยูใน หลอดเลือดตลอดเวลา และจะออกมารวมกับน้ําเหลืองซึ่งเรียกวา Hemolymphไดแก Arthropod , Mollusk , Echinoderm 3. ระบบหมุนเวียนเลือดแบบปด (Closed circulation system) – ไดแก Annelid , Chordate , Mollusk (เฉพาะหมึกและหอยงวงชาง)

ชีววิทยา


82

ระบบหมุนเวียนโลหิตในมนุษย 1. หองหัวใจ

บนขวา : รับเลือดเสียจากสวนตาง ๆ ของรางกาย ลางขวา : สูบเลือดจากหองบนขวาไปยังปอด บนซาย : รับเลือดดีจากปอด ลางซาย : สูบเลือดที่ดจี ากหองบนซายไปยังสวนตาง ๆ ของรางกาย

2. ลิ้นหัวใจ  Atrioventricular valve » Tricuspid: กั้นหองบนขวากับลางขวา » Bicuspid: กั้นหองบนซายกับลางซาย  Semi lunar valve » Pulmonary: กั้นหองลางขวากับ Pulmonary artery » Aortic: กั้นหัวใจหองลางซายกับเสนเลือด Aorta

3. อัตราการเตนของหัวใจ (ชีพจร) - มีอัตราคงที่ที่ 72 ครั้ง/นาที วัดที่เสนเลือดอารเทอรีท่ ี่ขอมือ - อัตราการเตนของชีพจรจะเพิ่มขึ้นเมื่อ อุณหภูมิรางกายสูงขึน้ , ความแข็งแรงของรางกาย

นอย , อายุนอย - ชีพจรในเพศหญิงจะมากกวาในเพศชาย

4. ความดันเลือด (Blood Pressure) นิยมวัดจากเสนเลือดอารเทอรีบ่ ริเวณตนแขน โดยใชเครื่อง Sphygmomanometer โดยปกติจะมีคาความดันอยูที่ 120/80 mmHg – ตัวเลข 120 เปนคาความดันเลือดสูงสุดขณะ หัวใจบีบตัว (Systolic pressure) และตัวเลข 80 เปนคาความดันเลือดต่ําสุดขณะหัวใจคลายตัว (Diastolic pressure) และภาวะความดันโลหิตสูงจะมีความดันเลือดอยูท ี่ 140/90 mmHg

ชีววิทยา


83

5. การเดินทางของเลือดในรางกาย Body  Vena cava  Right Atrium  Right Ventricle  Pulmonary Artery  Lungs  Pulmonary vein  Left Atrium  Left Ventricle  Aorta 

Body

!!Note :ระหวางที่หัวใจปมเลือดนั้น จะไมมีการสูญเสียเลือดใหกลามเนื้อหัวใจ แตจะมีเสน เลือดแดงที่เลี้ยงกลามเนื้อหัวใจโดยเฉพาะคือ coronary artery นั่นเอง  6. เสนเลือด (Blood vessel) ชนิดเสนเลือด ทิศทางการไหล ขนาดของผนัง หลอดเลือด ลิ้น

Artery

Vein

Capillaries รับเลือดจาก artery

ไหลออกจากหัวใจ

ไหลเขาหัวใจ

ผนังหนาที่สุด

ผนังหนาปานกลาง

ผนังบางทีส่ ุด

X

/

X

ชีววิทยา

แลวสงให vein


84

ภาพเปรียบเทียบเสนเลือด artery และเสนเลือด vein

ชีววิทยา


85

ระบบขับถาย (Excretory System) » คือ ระบบที่รางกายใชกําจัดของเสียที่ไดจากกระบวนการ metabolism ของรางกาย

ประเภทของของเสีย 1. แอมโมเนีย » มีสถานะเปนแกส สามารถละลายในน้ําไดดี จึงตองอาศัยน้ําในการขับ ออกมาก มีความเปนพิษมากที่สุด พบใน โพรโทซัวน้ําจืด , ปลากระดูกแข็ง 2. ยูเรีย » มีสถานะเปนของเหลว ละลายน้ําไดปานกลาง มีพิษต่ํากวาแอมโมเนีย ถูกสราง ขึ้นที่ตับ และถูกขับออกทางไตโดยการปสสาวะ พบใน ไสเดือนดิน , ปลากระดูกออน (ฉลาม) , สัตวสะเทินน้ําสะเทินบก , สัตวเลี้ยงลูกดวยนม 3. ยูริก » มีสถานะเปนของแข็ง ไมละลายน้ํา มิพิษต่ําสุด ถูกขับออกทางอุจจาระ พบใน สัตวสงวนน้ํา เชน สัตวเลือ้ ยคลาน , สัตวปก และแมลง !!Note: ความสามารถในการละลายน้ําและความเปนพิษ Ammonia> Urea > Uric พลังงานที่ใชในการกําจัดสารพิษ Uric > Urea > Ammonia โครงสรางกําจัดสารพิษของสิง่ มีชีวิตตาง ๆ อวัยวะ Flame cell

สิ่งมีชีวิต พลานาเรีย

อวัยวะ

สิ่งมีชีวิต

Green gland

กุง , กั้ง , ปู

Nephridium* ไสเดือนดิน

Malpighian tubule**

แมลง

Kidney

Coxal gland

แมงมุม

Mammal

*โครงสรางเหมือนหนวยไต (Nephron) ของคนมากที่สุด เพราะมีการดูดกลับสารมี ประโยชน **เปนโครงสรางขับถายที่มสี วนเกี่ยวของกับระบบยอยอาหาร

ชีววิทยา


86

ระบบประสาท (Nervous System) » ระบบประสามสวนกลาง (CNS) แบงเปน 1. สมอง และ 2. ไขสันหลัง

สมอง 1. สมองสวนหนา (Forebrain) เซรีบรัม (Cerebrum): เปนศูนยกลางการเรียนรู เชน ความจํา , การ ตัดสินใจ เปนศูนยกลางการรับรูไดแก การมองเห็น , ไดยิน , การดม กลิ่น , การรับสัมผัส เปนศูนยควบคุมการทํางานของกลามเนื้อลาย ทาลามัส (Thalamus): เปนทางผานเขา – ออกของสมองสวนหนา และเปนศูนยการรับรูความเจ็บปวด ไฮโพทาลามัส (Hypothalamus): เปนศูนยกลางควบคุมระบบ ประสาทอัตโนวัติ เชน การหายใจ , ควบคุมสมดุลน้ําและอุณหภูมิ , ควบคุมอารมณและความรูสกึ ทางเพศ Olfactory bulb :ทําหนาที่ควบคุมเกี่ยวกับการดมกลิ่น 2. สมองสวนกลาง (Midbrain) ควบคุมการเคลื่อนไหวของนัยนตาและการเปด-ปดมาน ตา

ชีววิทยา


87

3. สมองสวนทาย (Hindbrain) เซรีเบลลัม (Cerebellum): ควบคุมการทรงตัวของรางกาย พอนส (Pons): ควบคุมการเคี้ยว , การหลั่งน้ําลาย และการเคลือ่ นไหว บริเวณใบหนา และยังเปนศูนยควบคุมการหายใจ (รอง) อีกดวย เมดัลลาออบลองกาตา (Medulla Oblongata): เปนสวนที่ทําให เกิดปฏิกริ ิยารีเฟล็กซ ไดแก การไอ , จาม และเปนศูนยคาบคุมระบบ ประสาทอัตโนวัติ ไดแก การเตนของหัวใจ , การหายใจ (หลัก) และความ ดันเลือด !!Note:กานสมอง = สมองสวนกลาง + pons + medulla oblongata

กานสมอง

ขนาดของสมองสวนหนา เรียงจากใหญ เล็ก : สัตวเลี้ยงลูกดวยนม >นก >สัตวเลื้อยคลาน >สัตวครึ่งบกครึ่งน้ํา >ปลา

ชีววิทยา


88

การรักษาดุลยภาพอุณหภูมิ สัตวเลือดอุน

สัตวเลือดเย็น

- รักษาอุณหภูมริ างกายใหคงที่ โดยใช - ใชวิธีปรับอุณหภูมิรางกายตามสิ่งแวดลอม กระบวนการ Metabolism เมื่ออุณหภูมิ โดยถาอุณหภูมิภายนอกสูง อุณหภูมิรางกาย

สิ่งแวดลอมเพิม่ ความรอนจะเขารางกาย ก็จะลดอัตรา metabolism แตถา

ก็จะสูงตาม อัตรา metabolism ก็จะเพิ่ม ดวย ในทางกลับกัน ถาอุณหภูมิภายนอกลด

อุณหภูมิสงิ่ แวดลอมลด ความรอนจะออก รางกาย อัตรา metabolism จะเพิม่ ขึ้น

อุณหภูมิรางกายและอัตรา metabolism ก็ จะลดลงดวย

- พบใน สัตวปกและสัตวเลี้ยงลูกดวยนม

- พบในปลา , สัตวครึ่งบกครึ่งน้ํา , สัตวเลื้อยคลาน

ระบบสืบพันธุ (Reproductive System) » มีการแลกเปลี่ยนสารพันธุกรรม เพือ่ เพิม่ ความสามารถในการดํารงชีวิตในรุนลูกหลาน

ตอไป » แบงออกเปน 2 ประเภท คือ

1) การสืบพันธุแบบอาศัยเพศ (Sexual reproduction)  ลูกทีเ่ กิดมามีความแปรผันทางพันธุกรรม

การปฏิสนธิ (Fertilization) : มีการรวมกันของเซลลสืบพันธุ กลายเปนไซโกต - ภายนอก : ปลากระดูกแข็ง, สัตวครึ่งบกครึ่งน้ํา - ภายใน : ปลากระดูกออน,สัตวเลื้อยคลาน , สัตวปก , สัตว เลี้ยงลูกดวยนม

ชีววิทยา


89

การถายโอน DNA (Conjugation): พบในแบคทีเรีย 2) การสืบพันธุแบบไมอาศัยเพศ (Asexual reproduction)  ลูกทีเ่ กิดมาไมมีความแปรผันทางพันธุกรรม เหมือนพอแมทุกประการ

2.1) Binary fission : แบงเซลลออกเปน 2 เซลล พบใน อะมีบา 2.2) Sporulation : การสรางสปอร 2.3) Parthenogenesis : การที่เซลลไขสามารถเจริญเปนตัวออนได โดยไมตองอาศัย อสุจิ ลูกทีเ่ กิดจะมีโครโมโซมเปน haploid (n) พบใน ผึ้ง , มด , ตอ , แตน 2.4) Regeneration : เกิดในสภาวะที่เหมาะสม (ตัวเต็มวัย) พบใน พารามีเซียม, ดาว ทะเล ระบบสืบพันธุในมนุษย o อวัยวะสืบพันธุเพศหญิง ประกอบดวย × รังไข (Ovary): มี 2 ขาง ทําหนาที่ผลิตไขและฮอรโมนเพศ (estrogen +

progesterone) × ทอนําไข (Oviduct) หรือปกมดลูก (Fallopian tube): เปนทางเชื่อมระหวางรังไข ทั้ง 2 ฝงกับมดลูก เปนทางผานของไข และจะเกิดเกิดการปฏิสนธิบริเวณนี้ × มดลูก (Uterus): เปนที่ฝง ตัวของไขหลังการผสมแลว และเปนที่เจริญเติบโตของ ทารก × ชองคลอด (Vagina) : ทางผานของอสุจิและทางออกของทารก มีสภาวะเปนกรด

ชีววิทยา


90

o อวัยวะสืบพันธุเพศชาย ประกอบดวย × อัณฑะ (Testis): ภายในมีหลอดสรางอสุจิ และสรางฮอรโมนเพศชาย

(Testosterone)จัดเปน ตอมเพศ ( Gonad ) จะถูกหุมดวย ถุงอัณฑะ ( Scrotum) × หลอดสรางอสุจิ (Seminiferous tubule) และ ทอนําอสุจิ (Vasdeferens) ภายในหลอดสรางอสุจิบรรจุ 1. เซลลทเี่ กี่ยวของกับการสรางอสุจิ

2. Sertoli cell เซลลที่นําสารที่จําเปนมาเลี้ยงอสุจิ 3.Leydig cell สราง Testosterone × หลอดเก็บอสุจิ ( Epididymis )

บริเวณที่พกั และกระตุนการทํางานของเซลลอสุจิ ตอมในระบบสืบพันธุเพศชาย × ตอมน้ําเลี้ยงอสุจิ (Seminal vesicle): สรางอาหาร (fructose , Vitamin C , protein globulin) × ตอมลูกหมาก (Prostate gland): หลั่งเบสออน × ตอมคาวเปอร(Cowper’s gland): หลั่งของเหลวใส ๆ หลอลื่นทอปสสาวะ × องคชาติ (Penis): ทอเปดของน้ําปสสาวะและน้ําอสุจิ

ชีววิทยา


91

!!Note :สารจากระบบสืบพันธุเพศชาย (อสุจิ , อาหารเลี้ยง , เบส , สารหลอลื่น) เรียกรวมวา Semen สามารถตรวจคนเปนหมันจากปริมาณอสุจิใน semen การที่ปริมาณอสุจินอย เปน สาเหตุหนึ่งของการเปนหมัน

การตกไขและการเกิดประจําเดือน » การตกไข คือ การที่ไขสุกและออกจากรังไขสทู อนําไข

มีขั้นตอนดังนี้ 1. FSH จากตอมใตสมองสวนหนา กระตุนรังไข 2. รังไขสราง estrogen ไขสุก , ลักษณะทางเพศหญิง 3. LH จากตอมใตสมองสวนหนากระตุนใหไขตก 4. รังไขหลั่ง progesterone ผนังมดลูกหนาตัว - มีอสุจิ ปฏิสนธิ ตัวออนฝงตัวที่ผนังมดลูก - ไมมีอสุจิ ไมปฏิสนธิ เกิดประจําเดือน

!!Note :รกของตัวออนสรางฮอรโมน HCG ซึ่งใชตรวจการตัง้ ครรภได โดยออกมาปนกับ ปสสาวะแม

ช่วงของการมี ประจําเดือน

1

7

14

Follicular phase

วันแรกของการมี ประจําเดือน

ชีววิทยา

21 Luteal phase

28


92

พันธุศาสตร (Genetics) o ลักษณะทางพันธุกรรม (Geneticcharacter) » การถายทอดลักษณะของสิง่ มีชีวิตที่

ควบคุมโดยยีนจากรุนหนึ่งสูร ุนหนึง่ โดยในแตละสิ่งมีชีวิตอาจไมเหมือนกัน เกิดการแปรผัน ทางพันธุกรรม แบงเปน 1) ความแปรผันแบบตอเนือ่ ง ถูกควบคุมดวยยีนหลายคู แยกเปนรูปแบบยาก ( สีผิว สีตา ความสูง เปนตน ) 2) ความแปรผันแบบไมตอเนื่อง แยกออกเปนแตละรูปแบบไดชัดเจน ( หมูเลือด การมีตงิ่ หู ลักยิ้ม เปนตน ) o หนวยพันธุกรรม (Gene)» หนวยกําหนดลักษณะตาง ๆ เชน สีผม , สีตา , โรคทาง พันธุกรรมตาง ๆ ( ยีนเปนสวนหนึง่ ของ DNA ) o ภายในนิวเคลียส จะมีโครโมโซมกระจายอยูเ ปนคู ๆ บนโครโมโซมแตละคูจะมียีนควบคุม ลักษณะตาง ๆ มนุษยมีโครโมโซมทั้งหมด 46 แทง 23 คู แบงเปน 1. ออโตโซม (Autosome) หรือโครโมโซมรางกาย คูที่ 1-22 เหมือนกันทั้งชายและ หญิง 2. โครโมโซมเพศ (Sex chromosome) คูที่ 23 หญิงเปน xx / ชายเปน xy o สารพันธุกรรม (nucleic acid) เปน polymer ของ nucleotide o นิวคลีโอไทด (nucleotide) = นิวคลีโอไซด (nucleoside) + หมูฟอสเฟส o นิวคลีโอไซด = น้ําตาลเพนโทส (ribose , deoxyribose) + ไนโตรจีนัสเบส

ชีววิทยา


93

o DNA – ในนิวเคลียสจะเปนแหลงเก็บสารพันธุกรรม (DNA) ที่ใชในการควบการสังเคราะห โปรตีน โดย DNA ของมนุษยที่อยูในนิวเคลียส จะพันรอบโปรตีนฮิสโทน (Histone

protein) เรียกวา โครมาติน และในสภาวะแบงเซลล เสนใยโครมาติน จะหดตัวเรียกวา โครโมโซม DNA + Histone Chromatin

Chromatin Chromosome

รู ปภาพแสดง ลักษณะของ chromosome

» เกรกเกอร เมนเดล“บิดาแหงวิชาพันธุศาสตร” กฎขอที่ 1: กฎการแยกตัว (Laws of segregation) – ยีนอยูเปนคู เมื่อสรางเซลล สืบพันธุ จะแยกออกจากกันอยางอิสระ กฎขอที่ 2: กฎการรวมกลุมอิสระ (Laws of independent assortment) – ยีนใน เซลลสืบพันธุจ ะมารวมกันอยางอิสระ เมือ่ มีการปฏิสนธิ

ชีววิทยา


94

คําศัพทที่ควรรูเกี่ยวกับ การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม คําศัพท

ความหมาย

ยีนสgene

หนวยที่ทําหนาที่ในการกําหนดลักษณะทาง พันธุกรรม ซึ่งเปนสวนหนึ่งของ DNA

อัลลีลalleles

รูปแบบในแตยีน โดยทั่วไปจะกําหนดโดยใช ตัวอักษรภาษาอังกฤษโดยยีนที่เปนคูอัลลีล (allele gene) จะมีตําแหนง (locus) ตรงกันบน homologous chromosome

จีโนไทป genotype

ชุดของอัลลีลของสิ่งมีชีวิต มักอยูเปนคูๆ เชนยีนกําหนดความสูงของตนถั่ว คือ Tt เปนตน

ฟโนไทป phenotype

ลักษณะที่แสดงออกเนื่องจากจีโนไทป

Homozygous allele

คูอัลลีลทีป่ ระกอบดวยรูปแบบอัลลีล เดียวกัน เชน TT เปนยีนที่มลี ักษณะเดนทั้ง คู ( Homozygous dominant ) ttจะเปนยีนทีล่ ักษณะดอยทัง้ คู (Homozygous recessive)

Heterozygous allele

คูอัลลีลทีป่ ระกอบดวยรูปแบบที่แตกตางกัน ลักษณะเดนจะขมลักษณะดอย เชน Tt

ลักษณะเดน dominant

ลักษณะที่แสดงออกมาเมื่อเปน heterozygote

ชีววิทยา


95

คําศัพท

ความหมาย

ลักษณะ recessive

ลักษณะที่ถูกขมไมใหแสดงออกมาเมือ่ เปน heterozygote การนําสิง่ มีชีวิตที่สงสัยวาเปนลักษณะเดน

× Test cross

หรือไมไปผสมกับลักษณะดอยของสิ่งมีชีวิต นั้น (tester) แลวสังเกตอัตราสวนของลูกที่ ได × Backcross : เหมือนกับ Test

Cross แตเปนการนํารุน F1 กลับไปผสมกับพอหรือแมดังนั้น

เหมือนกับ Test Cross แตเปนการนํารุน F1 กลับไปผสมกับพอหรือแมดังนั้นจึงนิยม ใชในพืช

จึงนิยมใชในพืช NOTE!! : Backcross ไมใชการตรวจสอบ genotype แตการผสมลักษณะนี้เปนการปรับปรุง พันธุพืชหรือสัตว ตัวอยางการคํานวณพันธุศาสตร ( เปนไปตามกฎของเมนเดล ) -ชายหญิงคูหนึ่งเปนพาหะของโรคธาลัสซีเมียทัง้ คู แตงงานกันและมีบุตรดวยกันจงหาโอกาสที่ จะไดลูกไมเปนโรคธาลัสซีเมีย รุนพอแม:Tt x Tt รุนลูก: T

t

T

TT

Tt

t

Tt

tt

ชีววิทยา


96

จากตารางpunnet square มีลกู ที่ไมเปนโรคคิดเปน75%

ลักษณะที่ไมเปนไปตามกฎของเมนเดล(Extension of Mendelian Genetics) 1. การขมแบบไมสมบูรณ (incomplete dominance) - เกิดจากลักษณะทางพันธุกรรมหนึง่ ขมอีกลักษณะหนึง่ ไดไมสมบูรณ - สิ่งมีชีวิตที่เปน heterozygous จะก้ํากึ่งระหวางสองลักษณะ - อัตราสวนไมเทากับ 3 : 1 เชน ดอกลิ้นมังกรสีชมพู ( CPCp) เกิดจากการผสมระหวาง ดอกลิ้นมังกรสีแดง (CPCP) กับ ดอกลิ้นมังกรสีขาว (CpCp) 2. การขมรวม (co-dominance) - สิ่งมีชีวิตที่เปน heterozygote แสดงออกทั้งสองลักษณะของอัลลีล ระบุไมไดวาอันไหนเดน อันไหนดอย 3. multiple allele - ควบคุมดวยยีนเดี่ยว แตมีรูปแบบอัลลีลมากกวา 2 แบบ - เชนระบบหมูเลือด ABO ถูกควบคุมโดยอัลลีลIA, IB , i 4. Polygene - ลักษณะที่ถูกควบคุมดวยยีนมากกวา 1 คู --- เปนความแปรผันแบบตอเนื่อง 5. pleiotropy - ยีน 1 ยีนควบคุมไดมากกวา 1 ลักษณะ - เชน ยีนควบคุมสีดอกของถั่วลันเตา สามารถควบคุมสีของเมล็ดถั่วไดดวย Sex-linked geneยีนบนโครโมโซมเพศ

ชีววิทยา


97

โดยทั่วไปหมายถึงยีนบนโครโมโซม X เพราะพบไดทงั้ สองเพศ แบงออกเปน 2 กลุม คือ 1. X-linked recessive แสดงออกเมื่อจีโนไทปเปน homozygous recessive (ตาบอดสี ฮีโมฟเลีย(เลือดไมแข็งตัว) G-6 PD deficiency เปนตน) 2. X-linked dominance แสดงออกเมื่อจีโนไทปเปน homozygous dominance หรือ heterozygous, พบไดนอยในธรรมชาติ เชน congenital hypertrichosis

ชีววิทยา


98

พืช (Plant) แบงเปน 1. พืชใบเลี้ยงเดี่ยว - เสนใบเรียงกันแบบขนาน - มีระบบรากฝอย - ลําตนเปนขอปลองชัดเจน - ไมมีเนื้อเยื่อเจริญ cambium ไมมีการเจริญดานขาง - กลับดอกมีจํานวนเปน 2 หรือ ทวีคูณของ 3

2. พืชใบเลี้ยงคู - มีใบเลี้ยง 2 ใบ - ลักษณะเสนใบเปนรางแห - มีระบบรากแกว - ไมมีขอปลองชัดเจน - มีเนื้อเยือ่ เจริญ cambium มีการเจริญออกดานขาง - กลีบดอกมีจํานวนเปน 4-5 หรือ ทวีคูณของ 4-5

ภาพ โครงสรางภาคตัดขวางของลําตนพืชใบเลี้ยงเดี่ยว (ขวา) และใบเลี้ยงคู (ซาย) ลักษณะเสนใบ

พืชใบเลี้ยงเดี่ยว

พืชใบเลี้ยงคู

เสนใบเรียงกันแบบขนาน

เสนใบเรียงกันเปนรางแหและมี ใบเลี้ยง2ใบ

ระบบราก ขอปลองทีล่ ําตน เนื้อเยื่อcambium

ระบบรากฝอย

ระบบรากแกว

ลําตนเห็นขอปลองชัดเจน

ลําตนไมมีขอปลองชัดเจน

ไมมีเนื้อเยื่อcambiumและไมมี

มีเนื้อเยื่อcambiumและมีการ

การเจริญดานขาง

เจริญออกดานขาง

ชีววิทยา


99

จํานวนกลีบดอก

กลีบดอกมีจํานวนเปน 2 หรือ ทวีคูณของ 3

กลีบดอกมีจํานวนเปน 4-5 หรือ ทวีคูณของ 4-5

!!Note :พืชใบเลี้ยงเดี่ยวมีวิวัฒนาการสูงกวาพืชใบเลี้ยงคู (ทอลําเลียงกระจาย ตัดไมตาย)

การลําเลียงสารในพืช × การลําเลียงน้ํา (Water transport)

- จากในดินเขาสูท อลําเลียงในราก ในสมัยกอน นักวิทยาศาสตรเชื่อวาน้ําแพรเขาสูร ากพืชดวยการ diffusion ทั่วไป แตปจจุบันพบวา บริเวณ cell membrane ของ root hair มีโปรตีน aquaporin อยูจํานวนมาก (นําน้ําเขาสูในรากพืชโดย facilitated diffusion) เสนทางในการไปตอ 1. transmembrane route (ผานเยือ่ หุมเซลลตางๆในราก) 2. Apoplast route (ผานผนังเซลลและสวนที่อยูนอกเซลล) 3. Symplast route (ผานพลาสโมเดสมาตาบนผนังเซลล) Plasmodesmataคือรู ขนาดเล็กทีเชือมเซลล์พืชสองเซลล์เข้าด้วยกัน ทําหน้าทีสื อสาร และ

ส่งสารต่างๆระหว่างเซลล์

ชีววิทยา


100

-

-

ภาพแสดงการดู มนํยาจากในดิ นเข้ าสูร่ าก จากหนังสือ essential biology จากทอลํดาซึเลี งในรากไปยอด(ใบ)

ปจจัยหลัก คือแรงดึงจากการคายน้ํา (Transpiration pull) จากการคายน้ําของพืช และ adhesion และ cohesion จึงเกิดการดูดน้ําเขาสูร าก เพื่อทดแทนโมเลกุลน้ําทีเ่ สียไป Note!! : การคายน้ําเปนปจจัยสําคัญของการลําเลียงน้ํา Guttationคือการคายนําในรูปหยดนําทีเกิดจากแรงดันราก แรงดันรากเกิดภายในพืชขนาดเล็กที

อยู่ในสภาพอากาศเย็นและความชืนสูง จะมีการลําเลียงแร่ธาตุเกิดขึนตลอดเวลาถึงแม้ จะไม่มีการ คายนํา ทําให้ ความเข้ มข้ นภายในท่อลําเลียงสูง นําจึงแพร่เข้ ามาอย่างต่อเนืองทําให้ เกิดเป็ นแรงดัน ขึน นะจ๊ ะ

- จากใบออกสูส ิ่งแวดลอม --- การคายน้ํา transpiration เปนการสูญเสียน้ําในรูปของไอน้ํา เกิดได 2 บริเวณ คือ ปากใบ และ lenticels (รอยแตกของเปลือกไม)

ชีววิทยา


101

ภาพแสดงขั้นตอนการเปดปากใบเพื่อคายน้ํา จากหนังสือ essential biology

ปจจัยที่มผี ลตอการคายน้ํา - อุณหภูมิ - ความชื้นสัมพัทธ - ลม - ปริมาณน้ําในดิน - ความเขมแสง - ปริมาณ CO2ในใบ

× การลําเลียงอาหาร (Phloem translocation) 1. เซลลที่มีน้ําตาลจะสงน้ําตาลไปสู companion cell และ sieve tube ตามลําดับ 2.ความเขมขนภายในเซลลเพิม่ ขึ้น น้ําจากไซเลมออสโมซิสเขาสู sieve tube 3. น้ําและน้ําตาลเกิดการแพรไปยังเซลลอื่น

ชีววิทยา


102

รูปแสดงการลําเลียงน้ําตาลใน phloem

การสืบพันธุของพืชดอก 1. กลีบเลี้ยง (Sepal)เปนสวนของดอกทีอ่ ยูนอกสุด เจริญเปลีย่ นแปลงมาจากใบ จึงมักมีสี เขียว ทําหนาที่หอหุมปองกันอันตรายตางๆ ใหแกสวนในของดอก 2. กลีบดอก (Petal)เปนสวนของดอกที่อยูถัดจากกลีบเลี้ยงเขาไปขางใน มักมีสสี ันตางๆ สวยงาม เนื่องจากมีรงควัตถุชนิดตาง ๆ ละลายอยูในแวคิวโอล 3. เกสรตัวผู (Stamen)เปนสวนของดอกที่จําเปนในการสืบพันธุทําหนาที่สรางเซลลสืบพันธุ เพศผู 4. เกสรตัวเมีย (Pistil or carpel)เปนสวนของดอกที่อยูในสุด และจําเปนในการสืบพันธุ ทําหนาทีส่ รางเซลลสบื พันธุเพศเมีย 1. ดอกสมบูรณ (complete flower) มีโครงสรางหลักครบ 4 ไดแก กลีบเลี้ยง , กลีบ ดอก , เกสรตัวผู และเกสรตัวเมีย 2. ดอกไมสมบูรณ (incomplete flower) ขาดโครงสรางหลักอยางใดอยางหนึง่

ชีววิทยา


103

3. ดอกสมบูรณเพศ (perfect flower) มีเกสรตัวผูและตัวเมียในดอกเดียวกัน 4. ดอกไมสมบูรณเพศ (imperfect flower) ดอกมีการแยกเพศ !!Note :ดอกไมสมบูรณอาจเปนดอกสมบูรณเพศ แต ดอกไมสมบูรณเพศเปนดอกไมสมบูรณ » การสรางเซลลสืบพันธุเพศเมีย เกิดภายในรังไข (อาจมี 1 หรือหลายออวุล) โดย

megaspore mother cell (2n) แบงเซลลแบบ meiosis ได 4 เซลล หลังจากนั้นจะ สลายไป 3 เซลล อีกเซลลที่เหลือเรียก megaspore ตอมา megaspore แบงแบบ mitosis 3 ครั้ง ได 8 นิวเคลียส และมี cytoplasm ลอมรอบไวเปน 7 เซลล ในระยะ นี้ 1 megaspore จะพัฒนาเปน embryo sac หรือ female gametophyte » การสรางเซลลสืบพันธุเพศผู เกิดในอับเรณู (anther) โดยมี microspore mother

cell (2n) แบงเซลลแบบ meiosis ได 4 microspore แตละเซลลจะมีโครโมโซม n จากนั้น microspore จะแบงเซลลแบบ mitosis ได 2 nucleus คือ generative n. และ tube n. เรียกวาละอองเรณู (pollen gain) หรือ male gametophyte !!Note :ปรากฏการณที่ละอองเรณูตกลงสูยอดเกสรตัวเมีย เรียก การถายละอองเรณู (pollination) » หลังการถายละอองเรณู tube nucleus งอกหลอดไปตามกานเกสรตัวเมีย » generative nucleus 2 sperm » 1st sperm ปฏิสนธิกบั เซลลไขได zygote (2n) » 2nd sperm ปฏิสนธิกบั polar nuclei ได endosperm (3n) » หลังการปฏิสนธิ ออวุลเจริญเปนเมล็ด และรังไขเจริญเปนผล

ชีววิทยา


104

» แตมีผลที่เกิดจากฐานรองดอก ไดแก ชมพู , แอปเปล, สาลี่ , ฝรั่ง  “ผลเทียม”

1. ผลเดี่ยว (simple fruit) : เกิดจากดอกเดี่ยวหรือดอกชอทีม่ ี 1 รังไข 2. ผลกลุม (aggregate fruit) : เกิดจาก 1 ดอก หลายรังไข อยูแ ยกหรือติดกันก็ได บน ฐานรองดอกเดียวกัน เชน นอยหนา , จําป , จําปา , กระดังงา ,สตรอเบอรร,ี่ การเวก, นมแมว 3. ผลรวม (multiple fruit) : เกิดจากรังไขของดอกแตละดอกของดอกชอเชื่อมรวมกัน แนน รังไขเหลานี้จะหลายเปนผลยอย ๆ เชื่อมรวมกันแนน คลายผลเดี่ยว เชน สัปปะ รด , ขนุน , สาเก , ลูกยอ , หมอน , มะเดื่อ

ชีววิทยา


105

อนุกรมวิธาน (Taxonomy) - Domain - Kingdom - Phylum - Class - Order - Family - Genus - Species โดเมนของสิ่งมีชีวิต ปจจุบันแบงได3โดเมน ไดแก 1.Eubacteria คือ แบคทีเรียที่พบทั่วไป 2.Archeaคือ แบคทีเรียโบราณทีพ่ บในสภาพแวดลอมทีร่ ุนแรง 3.Eukaryaคือ กลุมของพวก โปรติสต ฟงไจ พืช และสัตว อาณาจักรของสิง่ มีชีวิตแบงออกเปน5อาณาจักร 1.Kingdom monera 2.Kingdom Protista 3.KingdomFungi 4.KingdomPlantae 5.KingdomAnimalia

ชีววิทยา


106

Monera o สิ่งมีชีวิตเปนพวกโปรคาริโอต o การสืบพันธุ - แบบไมอาศัยเพศ = binary fission - แบบอาศัยเพศ = conjugation o ไดแก แบคทีเรีย , สาหรายสีน้ําเงินแกมเขียว (cyanobacteria) : spirulira , nostoc ,

anabaena Protista สิ่งมีชีวิตเปนพวกยูคาริโอต o ไมมีเนื้อเยื่อและระยะเอ็มบริโอ o มีความหลากหลายสูง ดนื่องจากเปนอาณาจักรที่มีคุณสมบัติไมตรงกับอาณาจักรทัง้ 3 อาณาจักร คือ Fungi Plantae Animaliaมารวมกันอยู o ตัวอยางสิ่งมีชีวิต กลุมคลายสัตว Protozoa : Amoeba sp. ,Paramecium sp. ,vorticella sp.

กลุมคลายพืช Algae :Sargassum ,Diatom

Tips สาหร่ ายไฟ(Char asp.)เป็ น

สาหร่ ายทีใกล้ ชิดกับพืชมากทีสุด Fungi o สิ่งมีชีวิตเปนพวกยูคาริโอต o ไมมีเนื้อเยื่อและระยะเอ็มบริโอ

ชีววิทยา


107

o มีผนังเซลลเปนสารพวกไคติน o ไมมีคลอโรพลาสต o ดํารงชีวิตเปนผูยอยสลายหรือปรสิต o ไดแก เห็ด รา และยีสต

แบงออกเปน5ไฟลัม ไดแก 1.PhylumChytridiomycota 2.Phylum Zygomycota 3.Phylum Glomeromycota 4.Phylum Ascomycota 5.Phylum Basidiomycota o บทบาทของฟงไจ 1.เปนผูยอยสลายของระบบนิเวศ 2.ใชประโยชนทางดานอุตสาหกรรม เชน ยีสตถูกนํามาใชในการผลิตขนมปง 3.ใชประโยชนทางการแพทย เชน ราPenicilium sp. ผลิตยาpenicilin Tips ไลเคนส์ คือ กลุม ่ ของสิงมีชีวิตทีอาศัยอยู่ร่วมกันแบบพึงพา (mutualism) ระหว่าง2อาณาจักร คือกลุม ่ ของฟั งไจกับกลุม่

สาหร่ ายสีเขียว หรื อ กลุม่ ของฟั งไจกับกลุม่ ของไซยาโนแบคทีเรี ย ราไมคอร์ ไรซา เป็ นราทีอยู่ร่วมกันแบบพึงพากับรากพืชตระกูล สน

ชีววิทยา


108

Plantae o สิ่งมีชีวิตเปนพวกยูคาริโอต o ผนังเซลลมcี elluloseเปนองคประกอบหลัก o มีคลอโรพลาสตในบางเซลลดํารงชีวิตเปนผูผ ลิต o เปน multicellular และทําหนาที่รวมกันเปนเนื้อเยื่อ จึงมีระยะเอ็มบริโอ o มีวงชีวิตแบบสลับ (Alternation of Generation) o ดํารงชีวิตเปนผูผลิต Non-vascular

Phylum Hepatophyta Phylum Bryophyta Phylum Anthocerophyta

Kingdom Plantae seedless

Phylum Lycophyta Phylum Pterophyta

gymnosperm

Phylum Coniferophyta Phylum Ginkophyta

vascular

Phylum Cycadophyta Phylum Gnetophyta angiosperm

Monocot Dicot

ชีววิทยา


109

Animalia แบงการจัดหมวดหมูส ิ่งมีชีวิต 1.การรวมกันเปนเนื้อเยื่อ 2.จํานวนชั้นของเนื้อเยือ่ (ในสัตวกลุมทีม่ ีเนื้อเยื่อแทจริง) 3.ชองวางในรางกาย (coelom) (ในสัตวที่มีเนือ้ เยื่อ 3 ชั้น) การจําแนกสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรสัตวแบงได 9 phylum หลักดังนี้ 1. P.Porifera

เชน ฟองน้ํา

2. P.Cnidaria เชน ไฮดรา , ดอกไมทะเล , ปะการัง , กัลปงหา 3. P. Platyhelminthesเชน พลานาเรีย, หนอนตัวแบน , พยาธิใบไม , ตัวตืด 4. P. Nematoda เชน หนอนตัวกลม 5. P. Mollusca 6. P. Annelida

เชน หอย , หมึก , ลิ่นทะเล เชน ไสเดือนดิน , แมเพรียง , ทากดูดเลือด

7. P. Arthropoda 8. P. Echinodermata

เชน แมงมุม , แมงดาทะเล , กุง , กั้ง , ปู เชน ดาวทะเล , ปลิงทะเล

9. P. Chordata เชน เพรียงหัวหอม , amphioxus, สัตวมีกระดูกสันหลัง

ชีววิทยา


110

ระบบนิเวศ (Ecosystem) × ระบบความสัมพันธของสิง่ มีชีวิตที่อาศัยอยูในแหลงใดแหลงหนึ่ง แบงเปน 2 ลักษณะ

1.) ความสัมพันธทางชีวภาพ » กลุมสิ่งมีชีวิตดวยกัน 2.) ความสัมพันธทางกายภาพ» สภาพแวดลอมในบริเวณนั้น เชน แสง , อากาศ , น้ํา เปน ตน 1. ระดับประชากร (population): ระบบที่มีสงิ่ มีชีวิตชนิดเดียวกัน ตั้งแต 2 ตัวขึ้นไป อยูใน บริเวณและชวงเวลาเดียวกัน เชน นักเรียนหอง 943 ในคาบชีววิทยา , มดในรัง , นก 2 ตัว บนตนไม เปนตน 2. ระดับชุมนุมสิ่งมีชีวิต (community): ระบบที่สงิ่ มีชีวิตตั้งแต 2 ชนิดขึ้นไป อยูในบริเวณ และชวงเวลาเดียวกัน เชน ปูและปลาในน้ํา , นกเอี้ยงเกาะบนหลังควาย เปนตน 3. ระดับระบบนิเวศ (ecosystem) : ระบบทีม่ ีความสัมพันธของชุมนุมสิง่ มีชีวิตและ สิ่งแวดลอม มีการหมุนเวียนของสสารและพลังงานเปนวัฏจักร 4. ระดับชีวภาค (biosphere) : ความสัมพันธของสิง่ มีชีวิตทุกชนิดบนโลก o ผูผลิต (producer): เปลี่ยนสารอนินทรียเ ปนสารอินทรีย ไดแก พืชและสาหรายทุก ชนิด , แบคทีเรียและโปรโตซัวบางชนิด o ผูบริโภค (consumer): สัตวทุกชนิด , โปรโตซัวบางชนิด o ผูย อยสลาย (decomposer): สิ่งมีชีวิตจําพวก fungi

!!Note :แรง , ไสเดือนดิน , กิ้งกือ เปนสัตวบริโภคซาก (Scavenger) เปนสวนหนึ่งของ consumer นะ

ชีววิทยา


111

1. ภาวะลาเหยื่อ (predation) (+,-) » เหยื่อตายในทันที เรียก pray » เชน เสือกับกวาง , สิงโตกับมาลาย

2. ภาวะปรสิต (parasite) (+.-) » เหยื่อไมตายทันที เรียก host » เชน พยาธิตาง ๆ , กาฝาก/ฝอยทองบนตนไม 3. ภาวะพึ่งพา (mutualism) (+,+) » แยกกันแลวตาย » เชน ไลเคน (รา+สาหราย) , โปรโตซัวในลําไสปลวก , E.coliในลําไสคน , โปรโต

ซัวที่รากตระกูลสน , แบคทีเรียที่ปมรากพืชตระกูลถั่ว 4. ภาวะอิงอาศัย (commensalism) (+,o) » เชน กลวยไมบนตนไม , เหาฉลามกับฉลาม 5. ภาวะไดประโยชนรวมกัน (protocooperation) (+,+) » แยกกันแลวไมตาย » เชน แมลงกับดอกไม , ปูเสฉวนกับดอกไมทะเล , นกเอี้ยงกับควาย 6. ภาวะแขงขัน (competition) (-,-) » เชน เสือกับสิงโต , ตนถั่วในกระถางเดียวกัน 7. ภาวะเปนกลาง (neutralism) (o,o) o เปนตามกฎ 10%(นําไปสรางเนื้อเยื่อ) พลังงานที่เสียออกไปเปนความรอนจากการ หายใจมากที่สุด o Food chain หวงโซอาหาร o Food web สายใยอาหาร : หวงโซอาหารทีม่ ีความซับซอนมาก ยิ่งซับซอน ระบบ นิเวศยิ่งสมบูรณ

ชีววิทยา


112


113

เคมี


114

บทที่ 1 สารและสสาร สสาร คือ สิ่งที่ มีมวล และ ตองการทีอ่ ยู เชน อากาศ, น้ํา, โตะ สาร คือ สสารทีท่ ราบสมบัติแนชัด เชน ธาตุ, สารประกอบ การแบงสารตามลักษณะตางๆ

1. แบงตามสถานะ 1.1 ของแข็ง - รูปราง และ ปริมาณคงที,่ ยึดเหนี่ยวกันแข็งแรง 1.2 ของเหลว - รูปรางไมแนนอน, ปริมาณคงที,่ เคลื่อนที่ได 1.3 แก็ส - รูปราง และ ปริมาตร ไมแนนอน 2. แบงตามลักษณะเนื้อสาร 2.1 สารเนื้อผสม - เห็นความแตกตางขององคประกอบ 2.2 สารเนื้อเดียว - ดูเปนเนื้อเดียวกัน 2.2.1 สารละลาย - สารผสมดูเปนเนื้อเดียวกัน 2.2.2 สารบริสทุ ธิ์ 2.2.2.1 ธาตุ - ธาตุชนิดเดียวกันอยูดวยกันอยางนอย 2 โมเลกุล เชนH2, 2.2.2.2 สารประกอบ - ธาตุชนิดตางกันรวมตัวกัน เชน Na2CO3, H2O

เคมี


115

3. แบงตามขนาดอนุภาค 3.1 สารละลาย - ขนาดเล็กวา 10 3.2 คอลลอยด - ขนาด 10

อนุภาคผานเซโลเฟนและกระดษกรอง ถึง10 ไมผานเซโลเฟน แตผานกระดาษ

กรอง 3.3 แขวนลอย - ขนาดใหญกวา 10

ไมซึมผานเยื่อเซโลเฟน และ ไมผาน

กระดาษกรอง

สารละลาย สารละลาย = ตัวถูกละลาย + ตัวทําละลาย ความเขมขน - %โดยมวลตอมวล -%โดยมวลตอปริมาตร -%โดยปริมาตรตอปริมาตร -ppm = หนวยตอลาน(10 ) -ppb = หนวยตอพันลาน(10 ) มวลตัวถูกละลาย มวลสารละลาย มวลตัวถูกละลาย - %โดยมวลตอมวล = ปริมาณสารละลาย ปริมาณตัวถูกละลาย - %โดยปริมาตรตอปริมาตร = ปริมาณสารละลาย Note : มวลตัวถูกละลาย + มวลตัวทําละลาย = มวลสารละลาย (กฎทรงมวล) แต ใชกับ ปริมาตรไมไดเนื่องจากไมมีกฎทรงปริมาตร - %โดยมวลตอมวล =

เคมี


116

เพิ่มเติมกับสารละลาย สารละลายไมอิ่มตัว =สารละลายยังสามารถละลายตัวถูกละลายไดอีกในสภาวะเดิม สารละลายอิ่มตัว = สารละลายไมสามารถละลายตัวถูกละลายไดอีกในสภาวะเดิม สารละลายอิ่มตัวยิ่งยวด=สารละลายอิ่มตัวที่มีตัวถูกละลายมากกวาปกติในสภาวะ ละลายอิ่มตัว แต เมื่อไดรับการกระทบกระเทือน อาจตกผลึกทันที

ปจจัยที่มีผลตอสภาพการละลาย 1.ธรรมชาติของตัวทําละลาย/ถูกละลาย = สารมีขั้ว ละลายน้ําดี,สารไมมีขั้ว ละลายน้ํา มันดี 2. อุณหภูมิ = สารบางชนิดจะละลายไดดีเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึน้ บางชนิดก็ละลายไดดี เมื่ออุณหภูมิลดลง 3. ความดัน = ของแข็ง, ของเหลวสงผลเล็กนอย แตจะสงผลแตแก็สมาก

ปจจัยที่มีผลตอการละลาย(เร็ว/ชา) 1. การคน = ทําใหละลายเร็วขึ้น 2. อุณหภูมิ = อุณหภูมิสงู จะละลายเร็วขึ้น 3. พื้นที่ผิว = พื้นที่ผิวมากจะละลายเร็วขึ้น

การละลาย พลังงานกับการละลาย - พลังงานที่ดูดเขาไป เพื่อที่จะแยกอนุภาคของแข็งออกจากกัน (Lattice) - พลังงานที่คายออกมา เพื่อที่จะใหอนุภาครวมตัวกับน้ํา (Hydration) การละลายมี 2 ประเภท ดูดความรอน - สังเกตไดวา อุณหภูมิสิ่งแวดลอมจะต่ําลง - พลังงาน Lattice > Hydration - ละลายไดดีเมื่ออุณหภูมิสงิ่ แวดลอมสูงขึ้น

เคมี


117

คายความรอน - สังเกตไดวาอุณหภูมิสงิ่ แวดลอมจะสูงขึ้น - พลังงาน Hydration > Lattice - ละลายไดดีเมื่ออุณหภูมิต่ําลง temperature

A

A :ละลายแบบดูดพลังงาน B :ละลายแบบคายพลังงาน

B สภาพการละลาย

เคมี


118

บทที่ 2 ธาตุ และ ตารางธาตุ

http://www.tempstreet.com/periodic-table-3/

ธาตุ และ ตารางธาตุ การจําแนกโลหะ กึ่งโลหะ และ อโลหะ สามารถพิจารณาไดจากตารางธาตุโดยขั้นบันไดหมู 3A ถึง 4A จะเปนกึ่งโลหะ ธาตุดายซายเปนโลหะ ดานขวาเปนอโลหะ 1.โลหะ (Metal) = หมู 1A ถึง 2A ธาตุทรานซิชัน และ หมู 3A ถึง 4A สมบัตทิ ี่สําคัญ -นําความรอน และ ไฟฟาไดดี -ความหนาแนนสูง -สามารถรีดเปนแผนได -มันวาว สถานะเปนของแข็ง ยกเวน ปรอทเปนของเหลว -สวนใหญเสีย ( ไอออนบวก)

เคมี


119

2. อโลหะ (Nonmetal) = หมู 4A ถึง 8A สมบัตทิ ี่สําคัญ -นําความรอน และ ไฟฟาไดไมดียกเวน C และ P -มีทั้ง 3 สถานะ เชน S (solid), Br2 (liquid),O3 (gas) 3. กึ่งโลหะ (semi - metals) = ขั้นบันได สมบัตทิ ี่สําคัญ -สารกึ่งตัวนํา -สถานะเปน ของแข็ง

ออกซิเดชัน

* H มีเลขออกซิเดชัน 2 คา = +1 และ -1 ขึ้นอยูกับวาอยูกับโลหะ หรือ อโลหะ

สารประกอบ - คือสารบริสุทธิ์ ประกอบดวยธาตุมากกวา 1 ชนิด - ถาอยูในรูปโมเลกุล เรียก โควาเลนต - ถาอยูในรูปติดประจุ เรียก ไอออน

เคมี


120

สารประกอบโควาเลนต คือสารประกอบของโมเลกุลที่แรงระหวางอะตอมเปนพันธะโควาเลนต อิเล็กตรอน ทัง้ 2อะตอมใชรวมกัน สารประกอบไอออนิก - คือสารประกอบที่ประกอบดวย ไอออนบวก(โลหะ) และ ไอออนลบ(อโลหะ) - จุดเดือด และ จุดหลอมเหลว สูง แข็งแตเปราะ และ *นําไฟฟาไดเมื่อหลอมเหลว

สารประกอบไอออนิกทีล่ ะลายน้ําได -ไอออนบวก เปนโลหะหมู 1A -ไอออนลบ เปน CH3COO−และNO3− -ไอออนลบ เปนธาตุหมู 7A ยกเวน transition Ag+, Hg2+, Pb2+

เคมี


121

บทที่ 3 การเปลี่ยนแปลงของสาร การเปลี่ยนแปลงของสาร

ทางกายภาพ

ทางเคมี

-ไมทําใหเกิดสารใหม

-ทําใหเกิดสารใหม

-คงสภาพเดิม เปลี่ยนแตสมบัตทิ าง กายภาพ (ขนาด, ปริมาตร, สถานะ) เชน การฉีกกระดาษ

-มักเกิดจากการทําปฏิกริยากันโดยดูได จาก สีทเี่ ปลี่ยน กลิ่นที่เกิด เกิดฟองแกส

การเปลี่ยนสถานะของสาร

EXTRA:การเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร

เคมี


122

บทที่ 4 ธาตุและสารประกอบ ประวัตินกั เคมี 1.ดาลตัน(บิดาแหงอะตอม) 1.1อะตอมมีลักษณะเปนทรงกลมตัน ภายในวางเปลาเปนกลาง ทางไฟฟา 1.2ทฤษฎีอะตอมของดาลตัน -หนวยที่เล็กที่สุดของสารเรียกวา อะตอม แบงแยกไมไดแลว -อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันมีคุณสมบัติเหมือนกัน -อะตอมไมสามารถแบงแยกหรือทําใหสญ ู หายได -สารประกอบเกิดจากอะตอมของธาตุตั้งแต2ชนิดขึ้นไปรวม ตัวกันใน อัตราสวนเลขคงตัวอยางต่ํา ★ที่ดอลตันกลาวมาผิดหมดเลย

เนื่องจาก

1. มีหนวยเล็กกวาอะตอม คือ อิเล็กตรอน โปรตรอน นิวตรอน 2. พวกสารไอโซโทปอะตอมของธาตุเหมือนกันแตสมบัติตาง เชน 1 H(protium) 2H(deuterium) มีสมบัติของมวลตางกันแม เลขอะตอมจะ เทากัน 3. อะตอมสามารถสรางขึ้นมาไดโดยวิธีการทางนิวเคลียร 4. สารประกอบไมจําเปนตองรวมกันในอัตราสวนอยางต่ํา เชน C6H12O6สารประกอบไมจําเปนตองรวมกันในอัตราสวนอยางต่ํา Extra: การจะบอกวาเปนอะตอมของธาตุชิดเดีวกันหรือไมใหดูที่ เลขอะตอมเทานั้นถาเลข อะตอมเทากันยังถือวาเปนธาตุชนิดเดียวกัน อะตอมรวมกันเรียกโมเลกุล เชน O = อะตอม แต O2 = โมเลกุล =2อะตอม

เคมี


123

2. เซอรโจเซฟ จอหน ทอมสัน -พบวาอะตอมประกอบดวยอนุภาคลบ (จากการศึกษาของหลอด รังสีแคโทด)และเนื่องจากอะตอมเปนกลางทางไฟฟาจึงตองมีประจุบวก อยูดวยจะไดหักลางกัน จึงเสนอแบบจําลองอะตอมคลายกับ plumpudding โดยเนื้อ พุดดิ้งทั้งหมด คือประจุบวก และประจุลบคือเม็ดบวย ที่ติดอยูในเนื้อพุดดิ้ง

3.รัทเทอรฟอรด -อะตอมมีนิวเคลียสซึง่ ประกอบดวยอนุภาคบวกและมีอิเล็กตรอน ลอมรอบ

4.เซอรเจมสแชดวิก -คนพบวาในนิวเคลียสมีอนุภาคที่ไมมปี ระจุคือ นิวตรอน โดยจะมีมวลใกลเคียงกับ โปรตอน

5.นีลสโบร -อิเล็กตรอนจะเคลือ่ นทีร่ อบนิวเคลียสเปนชั้นๆ (ไดจากการศึกษาเรื่องสเปกตรัมของ อะตอมทีม่ 1ี อิเล็กตรอนเทานั้น)

6.แบบจําลองอะตอมกลุมหมอก -ไดจากการคํานวณคณิตศาสตรขั้นสูงพัฒนามาจากโบรคือโบรทํากับอะตอมทีม่ ี 1 อิเล็กตรอน โดยหลักการของกลุม หมอกมีดงั นี้

เคมี


124

1.อิเล็กตรอนเคลื่อนที่รอบนิวเคลียสเปนรูปทรงตางๆดวยความเร็ว 2.เราไมสามารถบอกตําแหนงอิเล็กตรอนไดเพราะมันเคลือ่ นที่ดวยความ เร็วและมี ขนาดเล็ก 3.อะตอมประกอบดวยกลุมหมอกอิเล็กตรอน ถาหมอกทึบแสดงวาบริเวณ นั้นมี อิเล็กตรอนหนาแนน มวล(g)

ประจุ(C)

ประจุอางอิง

โปรตอน

1.66x10-24

+1.76x10-19

+1

อิเล็กตรอน

9.11x10-28

-1.76x10-19

-1

นิวตรอน

1.67x10-24

0

0

สรุปสิ่งทีอ่ ยูในอะตอม Extra:อะตอมที่เปนกลาง จํานวนโปรตอนเทากับอิเล็กตรอน ไอออนลบ มีจํานวนอิเล็กตรอน มากกวาโปรตอน ไอออนบวก มีจํานวนโปรตอนมากกวาอิเล็กตรอน

เคมี


125

บทที่ 5 กรด-เบส 1.นิยามของกรด-เบส 1.1 นิยามของอารเรเนียส กรด=สารที่ละลายน้ําแลวใหโปรตอน H+ /มีH+อยูในสูตร เบส=สารที่ละลายน้ําแลวให OH/มีOHในสูตร 1.2 นิยามของบรอนสเตด-เลารี กรด=สารที่ใหH+ เบส=สารที่รบั H+ Arrhenius อธิบายความเปนกรด-เบสของสารบางชนิดไมได เชน NH มีฤทธิ์เปน เบสแตมOี Hในสูตร กรด=แตกตัวให H แกสารอื่น NH4 + H2O NH4+ +OHOH-+H+

H 2O

และยังไมสามารถอธิบาย AlCl,BF ที่ให H ไมไดแตเปนกรด 1.3 นิยามของ Lewis กรด=สารที่รบั คู e เบส=สารที่ใหคู e เชน BF3รับคูe - = กรด NH3ใหคeู -= เบส

2.สมบัติกรด-เบส

เคมี


126

กรด -มีฤทธิ์กัดกรอน,นําไฟฟาได,pHนอยกวา 7 กรดแก 6 ชนิด = HCl,HBr ,HI,HNO,HSO,HClO กรดออน=กรดอื่นๆ เชน CHCOOH ,HF เปนตน เบส เบสแก=แตกตัวเปนไอออนทั้งหมด OH ของหมู 1 และ หมู 2 เบสออน = แตกตัวเปนไอออนไม 100 เปอรเซ็นต

3.อินดิเคเตอร คาpH=power of Hที่บอกปริมาณความเขมขนของH2Oในสารละลาย H+มาก pH ต่ํา(กรด) H+ต่ํา pH สูง อินดิเคเตอร สามารถประมาณคาpHของสารไดโดยสารจะเปลี่ยนสีในชวงคาpH ตางๆ บางสาร จะเปลี่ยนสีชวงกรด บางก็เปลี่ยนชวงเบส

4. Amphoteric และ Amphiprotic Amphoteric= ทําปฎิกริ ิยาไดทั้งกรดและเบส(มีสมบัติเปนทั้งกรดและเบส) Amphiprotic= Amphoteric ที่รบั และจาย e- เชน HCO3-

เคมี


127

# Amphiprotic ทุกชนิดเปนสาร Amphoteric แต AmphotericทุกขนิดไมใชAmphiprotic # Ex. Al2O3ทําปฎิกิริยาไดทงั้ กรดและเบส แตรับ/จาย p+เองไมไดเนื่อง จากไมละลายน้ํา

เกลือ สารประกอบไอออนิกทีล่ ะลายน้ําไดปฎิกริ ิยาการสะเทินระหวางกรด-เบสโดยจะไดผลิตภัณฑ เปนเกลือและน้ํา เชน HCl +NaOHNaCl+H/O การพิจารณาฤทธิ์ของเกลือถาเปน ไอออนลบที่เกิดจากสารที่เปนกรด ไอออนนั้นจะมีฤทธิ์ปน เบส Ex. HF

H++F-(เบส)

F-+H2O

HF+OH-

ถาเปนไอออนบวกที่เกิดจากสารที่เปนเบสไอออนนั้นจะมีฤทธิ์เสมือนกรด Ex. NH3 +H2O

NH4+(กรด) +OH-

เคมี


128

บทที่ 5 ไฟฟาเคมี ปฏิกริ ิยารีดอกซ -ปฏิกิริยามีการถายโอน e- หรือมีการเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชั่น -แบงเปน2 ปฏิกิริยา ปฏิกิริยาออกซิเดชั่น= ใหe-หรือเลขออกซเดชั่นเพิม่ ขึ้น ปฏิกิริยารีดกั ชั่น= รับe-หรือเลขออกซเดชั่นลดลง -สารตั้งตนในปฏิกิริยารีดอกซ ไดแก Oxidizer (สารที่รบั e-หรือเลขออกซิเดชั่นลดลง) และ Reducer(สารที่ให e- หรือเลขออกซิเดชั่นเพิ่มขึ้น) EXTRA: ความแรงของ

OxidizerแปรผันตามความสามารถในการรับeReducer แปรผันตามความสามารถในการให e-

ปฏิกริยานอนรีดอกซ การถายโอนe-หรือมีการเปลี่ยนเลขออกซเดชั่น

-ปฏิกริยาไมมี

เซลลไฟฟาเคมี2แบบ -กัลวานิก= เปลี่ยนพลังงานเคมีเปนไฟฟา -อิเล็กโตรไลต = เปลี่ยนพลังงานไฟฟาเปนเคมี

เคมี


129

สวนประกอบของเซลไฟฟาเคมี 1.ขั้วไฟฟา ประกอบดวย แอโนด(เกิดปฏิกริยาOxidation) แคโทด(เกิดปฏิกริยาReduction) 2.สารอิเล็กโตรไลต= ของเหลวนําไฟฟาเพราะมีไอออนเคลือ่ นไปมา ex.สารละลาย กรด-เบส-เกลือ สรุปสาระสําคัญของเซลลไฟฟาเคมี 1.ปฏิกิริยาเปนแบบรีดอกซ กระแสไฟฟาเปนกระแสตรง (กระแสอิเล็กตรอน) 2.การนํามาใชประโยชนเชน ถานไฟฉาย เซลลสะสมไฟฟาแบบตะกั่ว การชุบโลหะดวยไฟฟา การทําโลหะใหบริสทุ ธิ์ เซลลกลั ปวานิกหรือเซลลวอลตาอิก เปลี่ยนพลังงานเคมีเปนไฟฟา ประกอบดวย ครึ่งเซลล ระบบของสารอยูร วมกับไอออนของสารนั้นหรือระบบทีเ่ กิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน สะพานเกลือ ตัวเชื่อมตอวงจรภายในของแตละครึ่งเซลลดวยกันใหครบวงจร สารที่ใชทําตอง เปนสารประกอบไอออนิก ละลายน้ําแตกตัวเปนไอออนไดดี ไมทําปฏิกิริยากับสารใดสารในครึง่ เซลล ใชในรูปสารละลายอิม่ ตัว หนาที่ของสะพานเกลือ 1.ทําใหครบวงจร 2.ดุลประจุไมใหเกิดการสะสมประจุในครึ่งเซลล

เคมี


130

สรุปสาระสําคัญของเซลลกัลปวานิก 1.ใหกระแสอิเล็กตรอนไหลในวงจร ขั้วที่อิเล็กตรอนไหลออกเปนขั้วลบ และขั้วที่อิเล็กตรอนไหลเขาเปนขวบวก 2.เกิดปฏิกริ ิยารีดอกซ เพราะมีการถายโอนe3.อิเล็กตรอนจะไหลจากครึ่งเซลลที่มีศักยต่ําไปสูง 4.ถามีการใชขั้ววองไวจะเกิดการสึกกรอนของขั้วลบ 5.เมื่อกระแสไฟฟาไหลไปนานๆจะมีการสะสมประจุที่ขั้วไดทําใหกระแสหยุดไหล ประเภทเซลลกัลปวานิก 1.เซลลปฐมภูมิ เซลลจายไฟหมด มสามารถนํามาใชใหมได เชน เซลลแหงทถานไฟฉาย ถาน แอลลคาไลน เซลลปรอท เซลลเงิน เซลลเชื้อเพลิง 2.เซลลทุติยภูมิ เซลลกอ นใชตองนําไปอัดไฟกอน จึงนําไปใชจายไฟไดนานๆ สามารถอัดไฟใช ใหมได เชน เซลลสะสมไฟฟาแบบตะกั่ว เซลลนิกเกิล แคดเมียม เซลลอิเล็กโทรไลต คือเซลลไฟฟาเคมีที่ใชพลังงานไฟฟาทําใหเกิดปฏิกิริยาเคมี โดยเรียกกระบวนการวา อิเล็กโทร ไลซิส

เคมี


131

ตารางเปรียบเทียบเซลลไฟฟา เซลลกลั วานิก

เซลลอเิ ล็กโตรไลต

1.เปนเซลลไฟฟาเคมีทเี่ ปลี่ยน พลังงานเคมีใหเปนพลังงานไฟฟา

1.เปนเซลลไฟฟาเคมีทเี่ ปลี่ยน พลังงานไฟฟาใหเปนพลังงานเคมี

2.ขั้วแอโนดเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน 2.ขั้วแอโนดเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน 3.ขั้วลบเกิดปฏิกิริยารีดักชัน

3.ขั้วลบเกิดปฏิกิริยารีดักชัน

4.ขั้วลบเปนขั้วที่อิเล็กตรอนไหลออก 4.ขั้วลบเปนขั้วที่ตอกับขั้วลบของ 5.ขั้วบวกเปนขั้วที่อิเล็กตรอนไหล แหลงกําเนิดไฟฟา 5.ขั้วบวกเปนขั้วที่ตอเขากับขั้วบวก ของแหลงกําเนิดไฟฟา

เขา 6.ศักยไฟฟาของเซลลเปนบวก

6.ศักยไฟฟาของเซลลเปนลบ

7.ปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้นเอง

7.ปฏิกิริยาเคมีจะเกิดขึ้นไดตองอาศัย กระแสไฟฟา การชุบโลหะดวยไฟฟา 1. จัดชิ้นงานที่ชุบเปนแคโทด 2.ตองการชุบโลหะโดยใชโลหะเปนขั้วแอโนด 3.สารละลายอิเล็กโทรไลตตอ งมีไอออนของโลหะที่เปนแอโนด 4.ใชกระแสตรงและใหศักยไฟฟาของเซลลทเี่ หมาะสมสําหรับการชุบหนึ่งๆนั้น

เคมี


132

พื้นที่สําหรับจดบันทึก

เคมี



134

ฟสิกส


135

ฟสิกส


136

ฟสิกส


137

ฟสิกส


138

ฟสิกส


139

ฟสิกส


140

ฟสิกส


141

ฟสิกส


142

ฟสิกส


143

ฟสิกส


144

ฟสิกส


145

ฟสิกส


146

ฟสิกส


147

ฟสิกส


148

ฟสิกส


149

ฟสิกส


150

ฟสิกส


151

ฟสิกส


152

ฟสิกส


153

ฟสิกส


154

ฟสิกส


155

วิทยาศาสตรกายภาพ


156

เมฆ เมฆ คือ ละอองน้ําและเกล็ดน้ําแข็งที่รวมตัวกันเปนกลุมกอนลอยอยูบนทองฟา คําที่ใชในการบอกลักษณะเมฆ 1.เซอรรสั (cirrus) หมายถึง ลักษณะเปนลอน คลายขนนก 2.สเตรตัส(stratus) หมายถึง ลักษณะเปนแผน เปนชั้น 3.คิวมูลัส(cumulus) หมายถึง ลักษณะเปนกอน 4.นิมบัส(nimbus) หมายถึง ฝน เราสามารถแบงเมฆตามระดับความสูงได4ประเภท คือ

1.เมฆชั้นสูง คือ เมฆที่กอตัวในระดับความสูงมากกวา 5,000 เมตร เปนผลึกน้ําแข็ง นําหนาชื่อ ดวยคําวาเซอโร(cirro) -เมฆเซอรัส(cirrus)เปนฝอยๆริ้วๆ มีสีขาว มีรูปรางคลายขนนก มักเกิดในวันที่อากาศ ดี ทองฟาเปนสีฟาเขม -เมฆเซอโรสเตรตัส(cirrostratus)เปนแผนบางสีขาว ปกคลุมทองฟาบริเวณกวาง โปรงแสงหรือบางครั้งหักเหแสง ทําใหเกิดพระอาทิตยทรงกลดและพระจันทรทรง กลด -เมฆเซอโรคิวมูลัส(cirrocumulus) เปนเมฆสีขาว รูปผลึกน้ําแข็ง เปนริ้วคลื่นเล็กๆ ปกคลุมทองฟาเปนบริเวณกวาง

วิทยาศาสตรกายภาพ


157

2.เมฆชั้นกลาง คือ เมฆที่กอตัวในระดับความสูงระหวาง 2,000-5,000 เมตร ประกอบดวย ละอองน้ํา นําหนาชื่อดวยคําวา อัลโต(alto) -เมฆอัลโตสเตรตัส(altostratus) เปนแผนหนา เรียบเปนปุยหรือฝอยละเอียดแผเปน คลื่น มีสีเทาเนื่องจากบังแสงจากดวงอาทิตย ปกคลุมทองฟาเปนบริเวณกวางหรือ ทั้งหมด อาจมี แสงทรงกลด(corona) -เมฆอัลโตคิวมูลัส(altocumulus) เปนกอนสีขาว คลายฝูงแกะ มีการจัดตัวเปนแถว หรือคลื่นลอยเปนแพ มีชองวางระหวางกอนเล็กนอย 3.เมฆชั้นต่ํา คือ เมฆที่กอตัวในระดับความสูงต่ํากวา 2,000 เมตร นําหนาชื่อดวยคําวา สเตรโต (strato) -เมฆสเตรตัส(stratus) เปนแผนบางลอยเหนือพื้นไมมาก บางครัง้ ลอยต่ําปกคลุม พื้นดินเรียกวา หมอก ทําใหเกิด ทะเลหมอก ละอองหมอก และฝนละออง -เมฆสเตรโตคิวมูลัส(stratocumulus)เปนกอน ติดเปนแพ มีสีเทา มักเกิดในเวลาที่ อากาศไมดี -เมฆนิมโบสเตรตัส(nimbostratus) เปนแผนหนาสีเทาดํา แผปกคลุมทั่วฟา ทําให เกิดฝนพรําๆ ไมมพี ายุฝนฟาคะนอง ฟารองฟาแลบ เรียกวา เมฆฝน เกิดเฉพาะเขต อบอุนเทานั้น 4.เมฆแนวตั้ง คือ เมฆที่กอตัวในแนวตั้ง -เมฆคิวมูลัส(cumulus)เปนเมฆกอน ปุกปุย รูปรางเหมือนกะหล่ํา เกิดในวันที่ อากาศดี ทองฟาเปนสีเขม ฐานเมฆเปนสีเทาเพราะมีความหนามากพอจะบัง แสงอาทิตย ถาเมฆมีขนาดใหญอาจมีฝนตกใตกอนเมฆ -เมฆคิวมูโลนิมบัส(cumulonimbus)เปนเมฆกอนใหญ ฐานเมฆต่ํามีสีดํามืด ทําให เกิดฝนฟาคะนอง ฝนตกไมทั่วฟา มีฟาแลบฟารอง มักมีฝนตกลงมา เปนเมฆที่ทําให เกิดลูกเห็บได

วิทยาศาสตรกายภาพ


158

บรรยากาศ บรรยากาศ หมายถึง อากาศทีห่ อหุมโลกเราอยูห รืออากาศทีอ่ ยูรอบตัวเรา ไมมสี ี ไมมีกลิ่นไม สามารถมองเห็นได ความสําคัญ -มี O2และ CO2 ซึ่งจําเปนตอสิง่ มีชีวิต -ปองกันรังสีอัลตราไวโอเลตและอนุภาคตางๆที่มาจากนอกโลก -ทําใหเกิด ลม เมฆ พายุฝน และกระบวนการตางๆทีจ่ ําเปนตอสิ่งมีชีวิต -เปนตัวกลางในการสื่อสารและชวยในการทํากิจกรรมตางๆ -ชวยควบคุมอุณหภูมิใหพอเหมาะตอการดํารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต สวนประกอบประกอบดวยไอน้ํา ฝุนละออง ควัน แกสตางๆเชน แกสไนโตรเจน79%แกส ออกซิเจน21%แกสอารกอน1%และแกสอื่นๆ0.04%

วิทยาศาสตรกายภาพ


159

การแบงชั้นบรรยากาศ แบงโดยใชอุณหภูมิเปนเกณฑ

แบงโดยใชแกสเปนเกณฑ

1.โทรโพสเฟยรสูง0-10กม. อุณหภูมิลดลง ตามความสูงทีเ่ พิ่มเปนบริเวณที่มฝี น หิมะ เมฆ พายุ เปนชั้นที่สําคัญที่สุดตอ สิ่งมีชีวิต

1.โทรโพสเฟยร สูง0-10กม. กาซทีส่ ําคัญคือไอน้ํา สวนที่สงู ที่สุดเรียกโทรโพพอส

2.โอโซโนสเฟยร (ชั้นโอโซน)สูง 2.สตราโตสเฟยร สูง10-50กม. อุณหภูมิ 10-55กม. มีแกสโอโซน(O3) คงที่จนถึง20กม.จากนั้นจะคอยๆสูงขึ้น มี เปนสวนสําคัญทําหนาทีป่ องกัน อากาศเบาบาง มีเมฆนอยมาก เปนชั้นที่มี รังสี UV โอโซนเครื่องบินมักจะบินในชั้นนี้ 3.ไอโอโนสเฟยร สูง95-600กม. 3.มีโซสเฟยรสงู 50-80กม. อุณหภูมลิ ดลง อากาศบางมาก มีไอออนเปน ตามความสูงทีเ่ พิ่ม อุกกาบาตสวนใหญเผา สวนสําคัญ ใชประโยชนในการ ไหมในชั้นนี้ สะทอนคลื่นวิทยุและคลืน่ แมเหล็กไฟฟา 4.เทอรโมสเฟยร สูง80-500กม. อุณหภูมิ สูงขึ้นอยางรวดเร็ว ความหนาแนนของ อากาศนอยมาก

4.เอกโซสเฟยร สูง600กม.ขึ้น ไปจนกลืนหายไปกับอวกาศ บรรยากาศเบาบางมาก เปน แกสทีเ่ บาเชน ไฮโดรเจน

*สารCFCทําลายชั้นโอโซน ทําใหUVลงสูผ ิวโลกมาก

วิทยาศาสตรกายภาพ


160

ความหนาแนนอากาศคืออัตราสวนระหวางมวลของอากาศกับปริมาตร คํานวณไดจากสูตร D= เมื่อ D คือ ความหนาแนนหนวย kg/m3 Mคือ มวลหนวย kg V คือ ปริมาตร หนวย m3 *ความหนาแนนของอากาศทีร่ ะดับน้ําทะเล = 1.225 kg/m3 *เมื่อระดับความสูงเพิ่มขึ้นจากระดับน้ําทะเล ความหนาแนนของอากาศจะลดลง ความดันอากาศ คือ แรงดันของอากาศตอหนึง่ หนวยพื้นทีร่ องรับ คํานวณไดจากสูตร P= เมื่อ P คือ ความดันอากาศหนวย N/m2 Fคือ แรงดันอากาศ หนวย N Aคือ พื้นที่หนวย m2

วิทยาศาสตรกายภาพ


161

*ความดัน1บรรยากาศ(atm)=760 มม.ปรอท=76ซม.ปรอท=1 บาร =1×105 N/m2=105 Pascal = 10.3 เมตร.น้ํา ความดันบรรยากาศ1มม.ปรอท ความสูง11เมตร ความดันบรรยากาศ27มม.ปรอท จุดเดือดน้ํา1°C *เครื่องมือวัดความดันบรรยากาศ เรียกวา บารอมิเตอร -ระดับปรอทสูงกวา76cm = อากาศดี ทองฟาปลอดโปรง -ระดับปรอทต่ํากวา76cm =อุณหภูมิสูง อาจเกิดลมพัดแรง ฟามืด *แอลติมิเตอร เครื่องมือวัดความสูง ใชหลักของความดันอากาศ

วิทยาศาสตรกายภาพ


162

โลกและการเปลี่ยนแปลง โลก ประกอบดวย 1.ธรณีภาค 2.อุทกภาค 3.อากาศภาค 4.ชีวภาค โครงสรางของโลก(ธรณีภาค) 1.เปลือกโลก(crust) ลึกประมาณ6-35 กิโลเมตร แบงได2สวน คือ -เปลือกโลกสวนบน/เปลือกโลกทวีป(Continental Crust)ประกอบดวยหิน Sial (Silica+Alumina) -เปลือกโลกสวนลาง/เปลือกโลกสมุทร(Oceanic Crust)ประกอบดวยหิน Sima (Silica+Magnesia) 2.เนื้อโลก(Mantle)ลึกประมาณ2900กิโลเมตรถัดจากเปลือกโลกมีอุณหภูมปิ ระมาณ1600ºc ประกอบดวยหิน Ultrabasic (Si+Al+Fe) *ธรณีภาค คือ เนื้อโลกชั้นบนรวมกับเปลือกโลก มีความหนา 100 กิโลเมตร *ฐานธรณีภาค คือ ชั้นที่อยูถัดจากธรณีภาคนับจากผิว มีความลึก 100-350 กิโลเมตร มี ลักษณะเปนหินหลอมละลาย เรียกวา แมกมา(ตัวการทําใหเกิดการเคลื่อนที่ของแผนเปลือก โลก) 3.แกนโลก(Core) ชั้นในสุดของโลก หนาประมาณ 3500 กิโลเมตร มีความหนาแนนมาก ประกอบดวย Fe และ Ni -แกนโลกชั้นนอก(Outer Core) เปนของเหลวหนืด เคลื่อนที่ได ทําใหเกิดสนามแมเหล็ก ของโลก -แกนโลกชั้นใน(Inner Core) เปนของแข็ง เพราะมีอุณหภูมสิ ูงและความดันสูงมาก TIPS อุณหภูมิ –สูงสุดคือ แกนโลกชั้นใน -ต่ําสุด คือ เปลือกโลก รอยตอระหวางเนื้อโลกกับเปลือกโลกเรียกวา Moho รอยตอระหวางเนื้อโลกกับแกนโลกชั้นนอก เรียกวา Gutenburg *ธรณีสัณฐาน คือ รูปรางหนาตาของธรณีที่เราเห็น

วิทยาศาสตรกายภาพ


163

แผนเปลือกโลก มีแผนสําคัญขนาดใหญ 6 แผน คือ 1. ยูเรเซีย(ยุโรป+เอเชีย) 2. อเมริกา 3. แปซิฟก 4. ออสเตรเลีย 5. แอนตารกติกา 6. แอฟริกา ทฤษฎีการเลือ่ นไหลของทวีป ของ อัลเฟรดเวเจเนอร กลาววา เมื่อราวๆ200ลานปกอน ผิวโลก สวนที่เปนแผนดินทีพ่ นน้ําติดกันเปนทวีปเดียว เรียกวา แพนเจีย ตอนเหนือชื่อ ลอเรเซีย ตอน ใตชื่อ กอนดวานา เมื่อเวลาผานไปจะคอยๆแยกเปนหลายสวน *หลักฐานสนับสนุน เชน รูปรางของทวีปตางๆทีส่ วมกันไดพอเหมาะ พบซากสิง่ มีชีวิต และหินชนิดเดียวกันในสองทวีปที่ใกลเคียง

การเคลื่อนที่ของแผนเปลือกโลกแบงได3ลักษณะ คือ 1. แบบเคลื่อนผานกัน 2. แบบเคลือ่ นแยกจากกัน 3. แบบเคลือ่ นเขาหากัน

วิทยาศาสตรกายภาพ


164

ผลจากการเคลื่อนที่ของแผนเปลือกโลก เชน 1. เกิดรอยเลือ่ นและรอยคดโคง เชน แผนออสเตรเลียชนกับยูเรเซีย เกิดเปน ภูเขา หิมาลัย 2. เกิดภูเขาและเทือกเขา 3. แผนดินไหว ภูเขาไฟ เกิดจากการที่หินละลาย กอตัวและทับถมกัน 1. กรวยภูเขาไฟสลับชั้น ลาวาหนืดมาก ไหลไดไมไกล 2. ภูเขาไฟรูปโล ลาวามีความหนืดต่ํา ไหลไดไกล จึงกวางและเตี้ย 3. กรวยกรวดภูเขาไฟ ปะทุแรง เย็นตัวเร็ว จึงมีขนาดเล็กที่สุด *วงแหวนแหงไฟ เปนบริเวณในมหาสมุทรแปซิฟกทีเ่ กิดแผนดินไหวและภูเขาไฟบอยครัง้ มี ลักษณะเปนเสนเกือกมา วางตัวตามแนวรองสมุทร แนวภูเขาไฟและบริเวณขอบแผน เปลือกโลก ประเทศที่ตั้งอยูห รือมีพื้นที่บางสวนอยู เชน ญี่ปนุ นิวซีแลนด เปรู ฟลิปปนส อินโดนีเซีย ชิลี โคลัมเบีย

แผนดินไหว เกิดจากเปลือกโลกดานลางขยายตัวมากกวาดานบน รวมทั้งผิวโลกมีอุณหภูมิ เปลี่ยนแปลง ทําใหเกิดการขยายตัวหดตัวไมสม่ําเสมอ แผนเปลือกโลกเคลื่อนที่ หากเกิดโดย ฉับพลันจะทําใหเปลือกโลกบริเวณนั้นกระทบกระเทือนหรือฉีกขาดในแนวระดับพลังงานที่ เกิดขึ้นจะแผกระจายโดยรอบในรูปคลื่น ทําใหแผนดินบริเวณนั้นสั่นสะเทือนทรุดตัว

วิทยาศาสตรกายภาพ


165

-อุปกรณวัดแผนดินไหว : ไซโมกราฟ -การวัดความรุนแรง 1.ริกเตอร วัดจากแรงสั่นสะเทือน 1-4 รูสึกไดวาสั่น ,5-7 กอใหเกิดความเสียหาย , 8-12 เสียหายรายแรงมาก 2.เมอรคัลลี วัดจากขนาดความรุนแรงที่เกิดกับอาคาร/มนุษย 1-3 นอยมากจนแทบไมรูสึก ,4-6 ของในบานเริ่มสั่น , 7-9 อาคารเสียหาย , 10-11 สิ่งกอสรางพังทลาย , 12 ทําลายทุกอยาง สึนามิเกิดจากการที่แผนเปลือกโลกสะสมพลังงานแลวปลดปลอยออกมาจนเกิดเปน แผนดินไหว เมื่อแผนดินใตทะเลเกิดการเปลี่ยนรูปรางกะทันหัน ทําใหน้ําทะเลเกิดการเคลื่อนที่ เพื่อปรับระดับใหเขาสูจุดสมดุล สาเหตุการเกิดสึนามิ เชน แผนดินไหว อุกกาบาตพุงชน การทดลองระเบิดนิวเคลียรใตน้ํา

วิทยาศาสตรกายภาพ


166

ดินหินแร ดิน - การเกิดดิน สร้ าง หินและแรธาตุตางๆ สลายตัวและทับถม วัตถุตนกําเนิดดิน

ดิน

- องคประกอบดิน อนินทรียวัตถุ (แรธาตุ) 45 %

น้ํา 25 %

อินทรียวัตถุ (ซากพืช สัตว) 5 %

อากาศ 25 %

- สีดิน ดํา น้ําตาลเขม สีแดง สีเทาน้ําเงิน

ดินดี อุดมสมบูรณมาก มีMn มีออกไซดของเหล็ก ผุพัง สลายตัวมาก น้ําขัง มี Fe

-ชนิดของดิน ดินเหนียว เนื้อเล็กละเอียดมาก ชองวางนอย ไมระบายน้ํา ดินรวนน้ําซึมผานไดดี เหมาะเพาะปลูก ดินทราย เนื้อใหญหยาบ ไมเกาะกัน น้ําซึมเร็ว -การอนุรักษพัฒนาดิน ปลูกพืชคลุมดิน รากแนน เชนพืชตระกูลถั่ว หญาแฝก ปลูกพืชหมุนเวียน ปองกันการสูญเสียแรชนิดเดียว ปลูกพืชตามแนวระดับ ขั้นบันได ปองกันการพังทลายของหนาดิน

วิทยาศาสตรกายภาพ


167

- ชั้นดิน ดินชันบน เม็ดใหญ่ พรุ นมาก มี อินทรี สารมาก สี เข้ม อุดมสมบูรณ์ ดินชันล่าง เม็ดเล็ก พรุ นน้อย สี อ่อน แร่ ธาตุนอ้ ย

ชั้น O มีอินทรีวัตถุ มีฮิวมัส ชั้น A มีการสะสมอินทรียวัตถุอินทรียวัตถุสลายตัวดิน ชั้น B มีการสะสมของแร ชั้น C หินเริม่ ผุ เศษหินดาน - ปญหาดินและการแกไข ปญหา

ลักษณะ

สาเหตุ

ดินเปรี้ยว

เปนกรด

อินทรียวัตถุสลายตัว

ดินฝาด

เปนเบส

มีหินปูน มีการเผาหนาดิน

เติมผงกํามะถัน

ดินเค็ม

มีเกลือมาก

มีเกลือปน ทํานาเกลือ

น้ําชะ/เติมกํามะถัน

ดินจืด

แรธาตุนอย

ปลูกพืชซ้ํา หนาดินพังทลาย

ใสอินทรียวัตถุทําใหดูด ซับน้ําและเนื้อดินเกาะ กัน

เนื้อหยาบ

วิทยาศาสตรกายภาพ

วิธีแก เติม CaCo3 /น้ําชะ


168

หิน 1.หินอัคนี - อัคนีแทรกซอน แมกมาแทรกตัวใตผิวโลก เย็นตัวชาๆ มีผลึกใหญหยาบ เชน แกรนิต แกบโบร ไดออไรต - อัคนีพุคือลาวาที่พุออกมา เย็นตัวอยางรวดเร็วบนโลก ผลึกเล็กละเอียด เชน บะซอลต ไรโอไลท แอนดีไซตออบซิเดียน(ละเอียดเหมือนแกว) บางชนิดมีรพู รุน เชน พัมมิซสคอเรีย 2. หินชั้น/หินตะกอน (เกิดจากการสะสมทับถมของตะกอน) - มีซิลากาเปนตัวประสาน เชน หินกรวด หินทราย(ใชทําหินลับมีด) - มีดินเหนียวเปนตัวประสาน เชน หินดินดาน หินโคลน - มี CaCO3/หินปูนประสาน เชน หินปูน(มักพบซากสัตว เชน สุสานหอย ภูกุมขาว) - มีองคประกอบของเหล็กออกไซดและหินปูน เชน ศิลาแลง 3.หินแปร - ทราย

ควอตไซต ทําหินลับมีด

- หินปูน

หินออนใชประดับ ปูพื้น

- หินดินดาน

หินชีสต หินชนวน หินฟลไลต

- หินแกรนิต/หินทราย

หินไนส ทําครก โม

วิทยาศาสตรกายภาพ


169

วัฏจักรหิน ผานความรอนความดัน

หินแปร

ผุกรอนพัดพา

ตะกอน

สะสมทับถม

หินชั้น

หลอมละลาย

หินหนืด

เย็นตัว

วิทยาศาสตรกายภาพ

หินอัคนี


170

แร สมบัติของแร 1. สี สีภายนอกทีเ่ ราเห็น 2. สีผงละเอียด สีจากการขูดกับกระเบื้อง(streak plate) หรือบดแร โดยอาจเปนคนละสีกับ สีแรก็ได เชนแรเหล็กสีเทาดํา สีผงเปนสีเลือดหมู 3. ความหนาแนนเปนสมบัตเิ ฉพาะตัว 4. ความวาว วาวแบบ โลหะ กึ่งโลหะ ตัวอยาง ตะกั่ว

-

เพชร

แกว

ใยไหม

มุก

ยางสน

คอรันดัม ควอตซ ใยหิน ยิปซัม

ทัลค

กํามะถัน โอปอล

5.ความแข็ง ใชสเกลของโมห (Moh’s scale) ระดับความแข็งแร 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ทัลค ยิปซัม แคลไซต ฟลูออไรต อะพาไทต ออรโทแคลส ควอตซ โทแพส คอรันดัม เพชร

ทองแดงแข็ง3.5

ตะไบเหล็กแข็ง6.5

วิทยาศาสตรกายภาพ


171

ชนิดของแร - แรโลหะ (ตองถลุงกอนใช) เชน ทองแดงทําสายไฟ ตะกั่วทําขั้วแบตเตอรี่ สังกะสีมุงหลังคา ทังสเตนเปนไสหลอดไฟ - โลหะผสม เชน นาก = Cu +Au ทองเหลือง = Cu + Zn นิโครม = Ni + Cr ฟวส = Sn + Pb + Bi - แรอโลหะ (ไมตอ งถลุง) เชน ใยหินทําผาทนไฟ ยิปซัมทําปูนปลาสเตอร กํามะถันทําปุย แกรไฟตทําไสดินสอ - แรรัตนชาติ เชน เพชร พลอยคอรันดัม(ทับทิม มรกต ไพลิน) ควอตซ - เชื้อเพลิง ถานหิน พีท ลิกไนต ซับบิทูมินสั บิทูมินสั แอนทราไซต เรียงจากคุณภาพต่ําไปสูง โดยพีทมีคุณภาพต่ําที่สุด แอนทราไซตคุณภาพดีที่สุด ยิ่งมีปริมาณคารบอนมาก ก็ยิ่งมีคุณภาพดี -แกสธรรมชาติ(ซากพืช ซากสัตว) NGV = มีเทน+ อีเทน,หินน้ํามัน - ปโตรเลียม LPG>เบนซิน>กาด>ดีเซล>หลอลื่น>น้ํามันเตา>ยางมะตอย เรียงจากบนสุดของหอกลั่นไปลางสุด - แรกัมมันตรังสี เชน I-131 ตรวจตอมไทรอยด C-14 ตรวจอายุวัตถุ Co-60 ถนอมอาหาร Ra-226 ยับยั้งเซลลมะเร็ง Na-24 ตรวจการไหลเวียนโลหิต U-238 เตาโรงไฟฟา

วิทยาศาสตรกายภาพ


172

ลม ลม เคลือ่ นทีจ่ ากความกดอากาศสูง

ต่ํา

จากอุณหภูมิต่ํา

สูง

อากาศร้ อนลอยตัวขึนสูง อากาศเย็นเคลือนไปแทนที อากาศร้ อน

อากาศเย็น

ลมประจํา ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ทําใหอากาสเย็น แหงแลง ลมมรสุมตะวันออกเฉียงใต ทําใหฝนตก ลมบก-ลมทะเล - ลมบก คือลมทีเ่ คลื่อนจากบกไปสูทะเล เกิดในเวลากลางคืนเพราะน้ําจะคายความรอนได ชากวาพื้นดิน ทําใหมีอุณหภูมิสูงกวา ลมจึงเคลื่อนจากบกไปสูทะเล - ลมทะเล คือ ลมที่เคลื่อนจากทะเลสูบก เกิดในเวลากลางวัน เพราะพื้นดินจะรับความรอน จากแสงอาทิตยไดดีกวาน้ํา ทําใหมีอุณหภูมสิ ูง ลมจึงเคลื่อนจากทะเลมาสูบ ก พายุ วัดความเร็วลมบริเวณใกลจุดศูนยกลาง(ตาพายุ) เพราะตาพายุจะลมสงบ - ดีเปรสชั่นความเร็วลมนอยกวา 62 km/hr(เขาไทยสวนใหญเปนดีเปรสชั่น ) - โซนรอนความเร็วลม ตั้งแต 62-117 km/hr - ไตฝุน ความเร็วลมมากกวา 72 km/hr ชื่อพายุ ทอนาโด อเมริกาเหนือวิลลี-วิลลี ออสเตรเลีย เฮอริเคน แอตแลนติกไตฝุน แปซิฟก ไซโคลน อาวเบงกอล มหาสมุทรอินเดีย บาเกียว ฟลิปปนส

วิทยาศาสตรกายภาพ


173

การคํานวณความชื้น ความชื้นสัมบูรณ = มวลไอนําจริ งในอากาศ (g) ปริมาตรอากาศ (m3)

ความชื้นสัมพัทธ (%) = มวลไอนํ x 100าจริง(g) มวลไอนําอิ มตัว(g)

*ความชิ้นสัมพัทธ 60% ดีที่สุด ถามากกวา 60%อากาศจะชื้น ผาแหงยาก ถานอยกวา 60% อากาศจะแหง ผาแหงเร็ว *ความชื้นสัมพัทธ 100% ฝนจะเริ่มตก เครื่องมือวัดความชื้น - ไฮโกรมิเตอรเสนผม ถาชื้นจะยืด แหงจะหด - ไฮโกรมิเตอรกระเปาะเปยกกระเปาะแหง วัดความชื้นสัมพัทธ หาคากระเปาะแหง และ ผลตางระหวางกระเปาะเปยกกับกระเปาะแหง(ผลตางมากจะแหง ผลตางนอยจะชื้น)

ตัวอยางตารางไฮโกรมิเตอร แบบกระเปาะเปยกกระเปาะแหง

แหลงน้ํา

โดนกัดเซาะ

ออบเกิดจากนํากัดเซาะภูเขา ผาแต้ม เกิดจากการผุพงั ทางกายภาพ+เคมี แพะเมืองผี เกิดจากการถล่มของหน้าดิน

มีการตกตะกอน

ซุ้มหิน นํากัดหินจนเป็ นโพรง สะพานหิน ซุ้มหินทีนําไหลผ่านได้

วิทยาศาสตรกายภาพ


174

เอลนีโญลานีญา** (ขอสอบเตรียมอุดมป57 ออกเรื่องนี้) จะเกิดขึ้นทุก 2-10ป มหาสมุทรแปซิฟก บริเวณเสนศูนยสูตร สภาวะปกติ

อินโดนีเซีย

ลมสินคา

อเมริกาใต

( ฝนตก ) เอลนิโญ

อินโดนีเซีย

( แหงแลง) ลมสินคาออนกําลัง

อเมริกาใต

( แหงแลง) ลานีญา

อินโดนีเซีย

(ฝนตก) ลมสินคาแรงขึ้น

อเมริกาใต

( ฝนตกหนัก)

(แหงแลงจัด)

วัดคา

ความดัน อากาศ

ความสูง

ความชื้น

ความเร็วลม ทิศทาง ลม

เครื่องมื อ

บารอมิเตอร

อัลติมเิ ตอร ไฮโกรมิเตอร แอนิโม มิเตอร

ศรลม

เพิ มเติม หย่อมความกดอากาศสู ง H คือ มีความหนาแน่อากาศสู ง ความกดอากาศสู งกว่าบริ เวณ รอบๆ อากาศจะเย็น ท้องฟ้ าแจ่มใส หย่อมความกดอากาศตํา L คือมีความหนาแน่นตํา ความกดอากาศตํากว่าบริ เวณโดยรอบ อากาศร้อน เมฆมาก ลมแรง

วิทยาศาสตรกายภาพ


175

ระบบสุริยะ ระบบสุริยะ (The Solar System) ระบบสุริยะหมายถึง กลุมดาวกลุม หนึง่ ที่หมุนรอบๆ ดวงอาทิตย ในแตละกลุม จะ ประกอบดวยดวงอาทิตยเปนแกนกลาง มีดาวเคราะห และดวงจันทรหมุนรอบ ๆ ยกเวน ดาว พุธ และดาวศุกร ที่ไมมีดวงจันทรเปนบริวาร นอกจากนี้อาจจะมีดาวหาง (comets) ดาวตก หรือผีพุงไต (metors) และดาวเคราะหนอย (asteroid) ตลอดจนกลุมฝุนและแกส ซึ่งเคลื่อนที่ อยูในวงโคจรภายใตอิทธิพลแรงดึงดูดจากดวงอาทิตย

การเกิดทิศบนโลก การหมุนรอบตัวเองของโลกทําใหเกิดดวงอาทิตยขึ้นตก หรือเกิดทิศตะวันออกและทิศ ตะวันตก การเกิดทิศบนโลกสามารถอธิบายไดดังนี้ สมมติวาเราออกไปนอกโลกทางขั้วโลกเหนือแลวมองลงมาจะเห็นโลกดังภาพ

วิทยาศาสตรกายภาพ


176

ทิศตะวันออกจะอยูตรงขามกับทิศตะวันตกเสมอ ถายืนหันหนาไปทางทิศตะวันออก แลวกางแขนออกใหตรง แขนซายจะชี้ไปทางทิศเหนือ ในขณะที่แขนขวาชี้ไปทางทิศใต โลก ดวงจันทร ดวงอาทิตย โลกมีลักษณะกลมคลายสมเขียวหวาน คือ มีสวนบนสวนลางคอนขางจะแบนเล็กนอย โลกประกอบไปดวยสวนที่เปนพื้นดิน พื้นน้ํา และบรรยากาศหอหุมโลก ซึ่งเปนสวนประกอบที่ สําคัญในการดํารงชีวิตอยูของสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยูภายในโลก

การหมุนรอบตัวเองของโลก เปนการหมุนของโลกรอบแกนของมัน ซึ่งจะหมุนจากทิศตะวันตก ไปทางทิศตะวันออก (หมุนทวนเข็มนาฬิกา) การหมุนรอบตัวเองของโลกนอกจากจะกอใหเกิด กลางวันและกลางคืนแลว ยังมีเหตุการณอื่น ๆ เกิดขึ้นอีก เชน 1. เนื่องจากโลกหมุนจากทิศตะวันตกไปยังทิศตะวันออก ดังนัน้ ดวงอาทิตย หรือดาว อื่น ๆ บนทองฟาจึงปรากฏขึ้นทางทิศตะวันออกกอนเสมอ 2. ทําใหเกิดการไหลของกระแสน้ําในทะเลและเกิดลมพัดขึ้น 3. ทําใหระดับน้ําทะเลเปลี่ยนแปลง 4. ทําใหเกิดทิศ

วิทยาศาสตรกายภาพ


177

ปรากฏการณน้ําขึ้น-น้ําลง ปรากฏการณน้ําขึ้น-น้ําลง (Tides) เปนปรากฏการณที่เกิดขึ้นจากแรงดึงดูดของดวง จันทร ซึง่ กระทําตอบริเวณตาง ๆ ของโลกไมเทากัน ทําใหนา้ํ บนผิวโลกในบริเวณที่อยูในแนว เดียวกับดวงจันทร “โปง” ออกจากผิวโลก

ดิถีของดวงจันทร ดิถีของดวงจันทร คือ ปรากฏการณที่เรามองเห็นลักษณะของดวงจันทรเปลี่ยนแปลง ไปทุกคืน ถาเราสังเกตดวงจันทรในแตละคืนจะพบวาในเวลาเดียวกันของทุกคืน ตําแหนงของ ดวงจันทรบนทองฟาจะไมอยูทเี่ ดิม และสวนสวางหรือรูปรางของดวงจันทรก็ไมเหมือนเดิม ทั้งนี้เกิดจากการที่ดวงจันทรโคจรรอบโลกขณะโคจรไดรบั แสงจากดวงอาทิตยดวย ทําให มองเห็นดวงจันทรมีลกั ษณะเปลี่ยนแปลงไป การเปลี่ยนแปลงนี้นํามานับเปนวันขางขึ้นขางแรม โดยวันขางขึ้น เสี้ยวสวางของดวงจันทรจะอยูทางทิศตะวันตก และขางแรม เสี้ยวสวางของดวง จันทรจะอยูท างทิศตะวันออก

ดาวเคราะหในระบบสุริยะ ดาวเคราะห (Planet) มีทั้งหมด 8 ดวง เรียงตามลําดับจากดวงที่อยูใกลดวงอาทิตยจน ไกลสุด คือ ดาวพุธ ดาวศุกร โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร ดาวยูเรนัส และดาว เนปจูน

วิทยาศาสตรกายภาพ


178

ดาวเคราะหทเี่ ราสามารถมองเห็นไดดวยตาเปลามีเพียง 5 ดวงเทานั้น ไดแก ดาวพุธ ดาวศุกร ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี และดาวเสาร อาจแบงดาวเคราะหตามวงโคจรของดวง อาทิตยออกไดเปน 2 กลุมใหญ ๆ ไดแก “ดาวเคราะหชั้นนอก” ไดแก ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน เปนดาวเคราะหยักษ หรือ “ดาวเคราะหแกส” “ดาวเคราะหชั้นใน” ไดแก ดาวพุธ ดาวศุกร โลกและดาวอังคาร เปน “ดาวเคราะห หิน” ถาแบงดาวเคราะหตามวงโคจรของโลก แบงออกไดเปน 2 กลุมเชนกัน คือ “ดาวเคราะหวงนอก” ไดแก ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร ดาวยูเรนัส และดาว เนปจูน “ดาวเคราะหวงใน” ไดแก ดาวพุธ และดาวศุกร ดาวเคราะหนอย ( Asteroid)

คือ กอนหินขนาดตาง ๆ ตั้งแตไมกี่กิโลเมตรไปจนถึงหลายรอยกิโลเมตร ที่โคจรอยูรอบดวง อาทิตย ดาวเคราะหนอยดวงแรกไดรบั การคนพบในป ค.ศ.1801 และตั้งชื่อวา เซเรส (Ceres) ตามชื่อของเทพีแหงการเพาะปลูกในตํานานของชาวโรมัน ดาวหาง (Comets)

วิทยาศาสตรกายภาพ


179

โครงสรางของดาวหาง - นิวเคลียส เปนใจกลางหัวดาวหาง มีน้ําเปนองคประกอบสําคัญ - โคมา สวนหัวดาวหาง - หางฝุน หรือหางพลาสมา เปนแกสและฝุนออกจากหัวดาวหาง แรงดันอยูในแนว

ตรงขาวกับดวงอาทิตย - หางแกส หรือหารอิออน แกสในหางดาวทําปฏิกิริยากับลมสุริยะ (Stellar wind)

จากดวงอาทิตย ทําใหแกสตาง ๆ แตกตัวเปนอนุภาคที่มปี ระจุไฟฟา หรือไอออน ดาวตก (Meteor)

ดาวตก หรือผีพงุ ใต (Meteor) เปนเพียงอุกกาบาต (Meteoroids) เศษวัตถุเล็ก ๆ หรือฝุนที่ เกิดตามทางโคจรดาวหาง เมือ่ เศษวัตถุเหลานี้ตกผานชั้นบรรยากาศโลก ก็จะถูกเสียดสีและเผา ไหมเกิดเปนแสงใหเห็นในยามค่ําคืน ในบางครั้งวัตถุขนาดใหญสามารถลุกไหมผานชั้น บรรยากาศ และตกถึงพื้นโลกได เราเรียกวา “กอนอุกกาบาต” (Meteorite)

วิทยาศาสตรกายภาพ


180

อุกกาบาต (Meteori)

อุกาบาต (Meteori) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผานบรรยากาศโลกระยะสูงราว 120 กิโลเมตร และเสียดสีกับบรรยากาศทําใหเกิดความรอนมากพอที่จะทําใหวัตถุนั้นกลายเปนไอสวางวาบ คืนเดือนมืด ทองฟากระจาง เราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยง คืน ดวงดาวในทองฟา ในการสังเกตดาวในแตละคืนจะพบวา ดาวมีการเคลื่อนที่ไปบนทองฟาจากทิศ ตะวันออกไปทางทิศตะวันตก เนื่องจากโลกหมุนจากทิศตะวันตกไปทิศตะวันออก มุมเงย (Altitude) หมายถึงมุมทีเ่ กิดจากเสนตรงที่ลากจากผูสงั เกตไปยังดาวนั้นบน ทองฟา กับเสนตรงที่ลากจากผูสงั เกตไปยังจุดตัวเสนขอบฟากับเสนดิ่งที่ลากผานดาวนั้น จุดสูงสุดของทองฟาที่มมุ เงย 90 องศา เรียกวา จุดเหนือศีรษะ มุมทิศหรือ มุมอาซิมทุ (Azimuth) หมายถึง มุมราบตัง้ แต 0 องศา ถึง 360 องศาโดย วัดจากจุดทิศเหนือไปทางทิศตะวันออกตามแนวขนานกับขอบฟาหรือแนว

วิทยาศาสตรกายภาพ


181

มีดาวอีกประเภทหนึ่งเปนดาวคลาย ๆ ดวงอาทิตย มีแสงสวางในตัวเอง คือ ดาวฤกษ ซึ่งแสงจากดาวฤกษตองเดินทางเปนเวลาหลายปจงึ ถึงโลกของเรา เราจึงเห็นดาวฤกษเปนจุด สวาง มีแสงระยิบระยับเรียงรายเปนรูปรางที่ไมเปลี่ยนแปลง และไดชื่อวาเปน ดาวประจําที่ ดาวฤกษที่เรียงรายเปนรูปคลายสัตว คน หรือเครื่องใชในบริเวณแคบ ๆ บนทองฟา ซึง่ พอจะ มองเห็นไดเรียกวา กลุมดาว บางครั้งเรียกวา หมูดาว บางครั้งก็เรียกวา ดาว โดยเฉพาะกลุม

ดาวที่เปนชื่อไทย เชน ดาวเตา ดาวไถ ดาวธง ดาวจระเข เปนตน กลุมดาวจักรราศี กลุมดาวจักรราศี แตละกลุม มีความสัมพันธกับชื่อเดือน คือเมื่อดวงอาทิตยเคลื่อนที่ ปรากฏเขาไปอยูในกลุม ดาวกลุมใด จะเปนชวงเวลาที่ดวงอาทิตยอยูในราศีนั้น และมี ความสัมพันธกับชื่อเดือน คนบนโลกเห็นดวงอาทิตยเคลื่อนผานกลุม ดาวจักรราศี จากทิศตะวันตกไปทางทิศ ตะวันออก เพราะโลกโคจรรอบดวงอาทิตยไปทางทิศตะวันออก กลุมดาว 12 กลุม ที่ดวงอาทิตยเคลื่อนผานในรอบปนั้น ดวงอาทิตยจะเคลื่อนผานกลุม ดาวแตละกลุมโดยใชเวลาประมาณ 1 เดือน การที่ดวงอาทิตยอยูในเขตกลุม ดาวใด แสดงวา กลุมดาวนั้นจะโผลพนจากขอบฟาพรอมกับดวงอาทิตย (ขึ้นในเวลากลางวัน) เราจึงไมสามารถ สังเกตวัตถุทองฟาในกลุมดาวนั้นได

วิทยาศาสตรกายภาพ


182

กลุมดาวจักรราศีที่อยูบนสุริยะวิถี มี 12 กลุม ไดแก 1. กลุมดาวปลา (ราศีมีน) 2. กลุมดาวแกะ (ราศีเมษ) 3. กลุม ดาววัว (ราศีพฤษภ) 4. กลุมดาวคนคู (ราศีมิถุน) 5. กลุม ดาวปู (ราศีกรกฎ) 6. กลุม ดาวสิงโต (ราศีสิงห) 7. กลุมดาวหญิงพรหมจารีย (ราศีกันย) 8. กลุม ดาวคันชั่ง (ราศีตุล) 9. กลุมดาวแมงปอง (ราศีพฤศจิก) 10. กลุมดาวคนยิงธนู (ราศีธนู) 11. กลุมดาวแพะทะเล (ราศีมงั กร) 12. กลุมดาวคนแบกหมอน้ํา (ราศีกุมภ)

วิทยาศาสตรกายภาพ


183

เนื่องจากโลกเคลื่อนทีร่ อบดวงอาทิตย จากทิศตะวันตกไปทางทิศตะวันออก รอบละ 1 ป ทําให คนบนโลกเห็นวาดวงอาทิตยเคลือ่ นที่ผานกลุม ดาวจักรราศี จากทิศตะวันตกไปทางทิศ ตะวันออก บริเวณทองฟาทีเ่ รามองเห็นดวงอาทิตย ดวงจันทร และดาวเคราะหตาง ๆ เคลื่อนที่ปรากฏผาน กลุมดาวจักรราศี เรียกวา แถบจักรราศี เมื่อดวงอาทิตยปรากฏอยูในกลุมดาวใด เราจะมองไม เห็นกลุมดาวนั้นในชวงนั้น เพราะดวงอาทิตยและดาวกลุมนัน้ ขึ้นตกพรอม ๆกัน จึงเหลือกลุม ดาวจักรราศีอยางมาก 11 กลุม ทีจ่ ะมีโอกาสเห็นไดใน 1 คืน

วิทยาศาสตรกายภาพ


184

วิทยาศาสตรกายภาพ


185

แบบฝกหัดชุดที่ 1 คําสั่งขอสอบชุดนีม้ ีทั้งสิ้น 50 ขอ จงเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียง 1 ตัวเลือก แลว ทําเครื่องหมาย X ลอมรอบตัวเลือกนั้นๆ 1. กระจกในขอใดที่ทําใหเกิดภาพเสมือนมีขนาดใหญกวาวัตถุ และกระจกใดให ภาพเสมือน หัวตั้ง ขนาดเทาวัตถุ ตามลําดับ 1.กระจกเวา กระจกเงาระนาบ 3.กระจกเวา กระจกนูน

2.กระจกนา กระจกเงาระนาบ 4.1 และ 2

2. นําวัตถุวางหางจากกระจกโคงบานหนึง่ ปรากฏวาไดภาพขนาดขยาย 4 เทา ถาเลื่อน วัตถุใหออกหางจากเดิม 10 cm จะไดภาพขนาดขยาย 4 เทาอีกครั้งหนึ่ง จงหาความ ยาวโฟกัสของกระจกโคงนี้ และระยะหางระหวางภาพทีเ่ กิดทั้ง 2 ครั้ง ตามลําดับ 1. 20 cm , 120 cm 2. 20 cm , 160 cm 3. 40 cm , 120 cm 3. 40 cm , 160 cm 3. จงพิจารณาวาขอความใดไมถูกตอง 1.คลื่นตามยาวเปนคลื่นที่อนุภาคของตัวกลางสั่นตามแนวทิศทางการเคลื่อนที่ ของคลื่น 2. คลื่นตามขวางเปนคลื่นที่อนุภาคของตัวกลางสั่นตามแนวติดตั้งไดตั้งฉาก กับการเคลือ่ นที่ของคลื่น 3. คลื่นแมเหล็กไฟฟาไมจําเปนตองอาศัยตัวกลางในการเคลือ่ นที่ แตก็จัดเปน คลื่นตามขวาง 4. ในตัวกลางอันเดียวกัน อนุภาคของตัวกลางจะสั่น ในทิศตั้งฉากหรือขนาน กับการเคลือ่ นที่ของคลื่น ไดเพียงอยางใดอยางหนึ่งเทานั้น

วิทยาศาสตร


186

4. นายเกง ซื้อเลนสนูน ซึ่งทางผูขายไมสามารถบอกคาความยาวโฟกัสของเลนสนูนนั้นได จึงนํามาทดลองเพือ่ คํานวณหาคาความยาวโฟกัสของเลนสนนู นั้น เขาพบวา ถาวาง เลนสนูน ใหจุดกึ่งกลางหางจากจอภาพ40 cm ตองเลือ่ นวัตถุซึ่งอยูหนาเลนสไปมา จนกระทั่งวัตถุอยูหางจากผิวบริเวณตรงบริเวณหนาสุดของเลนส 10 cm จึงจะไดภาพ บนจอชัดเจนทีส่ ุด ถาบริเวณหนาสุดของเลนสหนา 1 cm เขาจะคํานวณไดวาเลนสนูน มีความยาวโฟกัสกี่ เซนติเมตร 1.6.38 3.8.32

2.6.83 4.8.63

5. นาย พี วางวัตถุหางจากฉาก 90 cm แลวนําเลนสนูนอันหนึง่ เลือ่ นไปเลื่อนมาระหวาง วัตถุกับฉาก พบวาเมื่อวางเลนสหางจากวัตถุ 30 cm จะเกิดภาพคมชัดบนฉาก ถาเขา วางวัตถุหางฉาก 70 cm แลวเลื่อนเลนสระหวางวัตถุกับฉาก จะใหผลดังขอใด ก.ไดตําแหนงที่วางเลนสนูนแลวไดภาพบนฉากเล็กกวาวัตถุ ข.ไดตําแหนงที่วางเลนสนูนแลวไดภาพบนฉากโตกวาวัตถุ ค. ไมพบตําแหนงที่วางเลนสนูนแลวเกิดภาพบนฉาก 1.ขอ ก 2.ขอ ข 3.ขอ ค

4.ขอ ก และ ข

6. กลองถายรูปอันหนึ่ง มีระยะเลือ่ นของเลนสเขา-ออกได 1 cm ถา กลองนี้ใชถายรูปได ไกลสุดทีร่ ะยะอนันตและใกลสุดที่ระยะ 30 cm จงหาคาความยาวโฟกัสของเลนสที่ใช 1.5 cm 2.6 cm 3.10 cm

4.30 cm

วิทยาศาสตร


187

7. จงพิจารณาขอความตอไปนี้ ก.แวนขยายตองทําจากเลนสนูน ถาระยะภาพอยูท ี่ระยะใกลสุดที่ตาคนปกติจะเห็น ได เลนสนูนที่มีความยาวโฟกัสยาวจะใหกําลังขยายมากกวาเลนสนูนที่มีความยาว โฟกัสสั้น ข. กลองโทรทรรศนชนิดหักเหแสงอยางงาย เลนสวัตถุจะมีความยาวโฟกัสมากกวา เลนสตา ค. กลองจุลทรรศน เลนสตาจะมีความยาวโฟกัสมากกวาเลนสวัตถุ และภาพสุดทายจะ เปนภาพเสมือน ขนาดขยายหัวตั้งเหมือนวัตถุเดิม ง. ระยะหางระหวางเลนสนูนของกลองถายรูปกับฟลม ประมาณความยาวโฟกัสของ เลนสนูนที่ใช จ. คนสายตาสั้นตองสวมแวนทําจากเลนสเวาที่มีความยาวโฟกัสเทากับระยะไกลสุดที่ มองเห็นชัดกอนสวมแวน คําตอบที่ถูกตอง มีกี่ขอ 1.2 ขอ 3.4ขอ

2.3ขอ 4.5ขอ

8. เด็กหญิงซินดีม้ ีเลนสอยูอันหนึง่ เมื่อวางเทียนไขหนาเลนสเปนระยะ 40 cm จะ มองเห็นภาพอยูห นาเลนสเชนเดียวกับเทียนไข แตภาพมีขนาดเพียง 3/4 เทาของของ จริง อยากทราบวาเลนสอันนีเ้ ปนเลนสชนิดใดและมีความยาวโฟกัสเทาไร 1.เลนสนูน f = 130 cm 2.เลนสเวา f = 120 cm 3.เลนสนูน f = 110 cm 4.เลนสเวา f = 110 cm

วิทยาศาสตร


188

9. ลําแสงขนานมากระทบกับเลนสนูน x ซึ่งมีความยาวโฟกัส 0.2 เมตร ถาลําแสงออก จากเลนสนูนแลวมากระทบเลนสเวา y ทําใหเกิดเปนลําแสงขนานที่ออกจากเลนสเวา y ซึ่งมีความยาวโฟกัส 0.15 เมตร เลนสเวา y จะตองวางหางจากเลนสนูน x เทาใด 1.0.050 m 2.0.200 m 3.0.175 m 4. 0.10 m 10. นองกานนําน้ําเดือดจํานวน 0.2 กิโลกรัม รินลงไปในทอทองแดงมวล 2 กิโลกรัม และ มีอุณหภูมิเริ่มตนเปน 18 องศาเซลเซียส (◦C) หลังจากถายเทปริมาณความรอนแลว ปรากฏวาอุณหภูมิของน้ําลดลงเปน 60 องศาเซลเซียส (◦C) จงหาความจุความรอน ของทอทองแดง(กําหนดให ความจุความรอนจําเพาะของน้ําคือ 1 แคลอรี่ตอ กรัม) 1.400 J/◦C 3.800 J/◦C

2.600 J/◦C 4.1000 J/◦C

11. โลหะกอนหนึ่งมีมวล 0.5 กิโลกรัม มีอุณหภูมิเพิม่ ขึ้นในอัตรา 1 องศาเซลเซียสตอ วินาที(◦C/S) โดยใชเครื่องทําความรอนขนาด 200 วัตต (W) สมมุติวาความรอนไมมี การสูญเสียใหแกสิ่งแวดลอม จงหาความจุความรอนของโลหะกอนนี้ 1.200 J/kg•K 3.400 J/kg•K

2.300 J/kg•K 4.500 J/kg•K

วิทยาศาสตร


189

12.

ถาทําใหของเหลวชนิดหนึง่ เกิดการเปลี่ยนแปลง อุณหภูมิจาก A ไปยังอุณหภูมิ 20 ◦C ปรากฏวาสาร เกิดการคายความรอนเปน 24,000 จูล จงหาอุณหภูมิ เริ่มตนของสารทีจ่ ุด A กําหนดใหคาคงที่ความจุความรอนตางๆ เปนดังนี้ Cของเหลว = 2 J/g•K , lเยือกแข็ง = 100 J/g Cของแข็ง = 1 J/g•K

อุณหภูมิ (◦C) A 80 20

พลังงานความร้ อน (J) มวลของสารทีใช้ 100 กรัม

1.100 ◦C

2.200 ◦C

3.150 ◦C

4.180 ◦C

13. เมื่อตมน้ํา 200 กรัม อุณหภูมิ 40 ◦C ใหเดือดกลายเปนไอ อยากทราบวาจะตองใช พลังงาน ความรอนทั้งหมดเทาใด ถาปรากฏวายังมีน้ําเหลืออยู 50 กรัมที่ 100 ◦C( กําหนดให ความจุความรอยจําเพาะของน้ําคือ 1 แคลอรี่ตอ กรัม) 1. 390,600 จูล

2.386,000 จูล

3.340,200 จูล

4.93,000 จูล

วิทยาศาสตร


190

14. สาร ก คือน้ําแข็งที่อุณหภูมิ 0 ◦C มวล 200 กรัม สาร ข คือ น้ําอุณหภูมิ 10 ◦C มวล 400 กรัม สาร ค คือ น้ําอุณหภูมิ 90 ◦C มวล 300 กรัม ผสม สาร ก ข ค เขาดวยกัน อุณหภูมิผสมมีคากีอ่ งศาเซลเซียส(โดยที่ ความจุความรอยจําเพาะของน้ําคือ 1 แคลอรี่ ตอ กรัมและความรอนแฝงของการหลอมเหลวคือ 80 แคลอรี่ ตอ กรัม , ความรอน แฝงของการกลายเปนไอ คือ 540แคลอรี่ ตอ กรัม) 1. 8.4 3. 23.5

2. 16.7 4. 30.0

15. ทุนลอยน้ํารูปสี่เหลี่ยมยาว 4 เมตร กวาง 2 เมตร มีมวล 12 ตัน ลอยอยูในน้ําทะเลที่ สภาวะสมดุล ซึ่งน้ําทะเลมีความถวงจําเพาะ 1.03 จงคํานวณหาสวนที่จมน้ํา (d) ให ความหนาแนนของน้ําเทากับ 1,000 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร และคาความเรง เนื่องจากแรงโนมถวงโลก (g) เทากับ 10 เมตรตอวินาที2 2m ผิวของเหลว d

วิทยาศาสตร

1. d = 1.15 เมตร 2. d = 1.25 เมตร 3. d = 1.45 เมตร 4. d = 1.55 เมตร


191

16. ทรงกระบอกโลหะมวล 80 กิโลกรัม ยาว 2 เมตร ปลายแตละขางมีพื้นทีห่ นาตัดเปน 25 ตารางเซนติเมตร วางตั้งในแนวดิ่งบนปลายดานหนึ่ง จงคํานวณหาความดันที่ ทรงกระบอกกระทําตอพื้นทีม่ ีคาเปนกี่กิโลนิวตันตอตารางเมตร (กําหนดให g = 9.8 เมตรตอวินาที2) 1.31.4 3.140

2.314 4.130

17. วัตถุหนึ่งเมื่อชั่งในอากาศจะหนัก 80 g. แตหากนําไปชั่งในน้าํ จะหนัก 50 g. ถานําวัตถุ นี้ไปชั่งในของเหลวทีม่ ีความถวงจําเพาะ 1.2 จะหนักกีก่ รัม(ใหวัตถุจมน้ําทัง้ หมด) 1.38 g.

2.40 g.

3.44 g.

4.46 g.

18. กราฟแสดงความเร็วกับเวลาของการเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวตรง

วิทยาศาสตร


192

พิจารณาขอความตอไปนี้ ก. เมื่อเวลาผานไป 8 วินาที วัตถุจะเคลื่อนที่เปนระยะทาง 16 เมตร ข. ความเร็วเฉลี่ยในชวง 8 วินาที คือ 0.5 เมตรตอวินาที ค. วัตถุเคลื่อนที่กลับทิศทางที่วินาทีที่ 2 ขอใดถูกตอง 1. ก และ ข

2. ก และ ค

3. ข และ ค

4. ถูกทุกขอ

19. ขอใดไมถูกตอง 1. ถาตองการสกัดไอโอดีนออกจากโพแทสเซียมไอโอไดดนสารละลายควรใช คารบอนเตตระคลอไรดละลายไอโอดีนออกมา 2. การแยกเอทานอลออกจากน้ําควรใชวิธีกลั่น 3. สารละลานโซเดียมไฮโดรเนคารบอเนตและน้ําขี้เถาเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัส จากสีแดงเปนสีน้ําเงินเหมือนกัน 4. ทดลองเติมแอมโมเนียมไนเตรตลงในหลอดแกวที่มสี ารละลายโซเดียมไฮ ดรอกไซดจะไดกาซกลิ่นฉุนและทําใหน้ําปูนใสขุน

วิทยาศาสตร


193

20. ความเปนกรด-เบสเปนสมบัติสําคัญของดินที่ใชในการเกษตรประการหนึ่ง เพราะคา pHของดินมีผลตอการเจริญเติบโตของพืชแตละชนิด ถาไรแหงหนึง่ ตองเพิ่มสมบัติ ของดินใหมีชวงpH 5-6 ปจจัยขอดทีจ่ ะเพิ่มสมบัติดงั กลาว 1. การใสปูนขาวลงไป 2. การเนาเปอยของสารอินทีรียหรือปุยหมัก 3. การปลูกพืชชนิดเดียวซ้ําในที่เดิม 4. การใสการสมและคอปเปอรซัลเฟตลงไป

21. ใครใชวิธีการทดลองโดยการยิงอนุภาคแอลฟาผานแผนทองคํา 1.นีลสโบรห 3.รัทเธอรฟอรด

2.ทอมสัน 4.มิลิแกน

22. แบบจําลองอะตอมของทอมสันประกอบดวยอะไรบาง 1. โปรตอน อิเล็กตรอน 2.โปรตอน นิวตรอน 3.ประจุลบ 4.โปรตรอน อิเล็กตรอน นิวตรอน

วิทยาศาสตร


194

23. ขอความใดถูกตองเกี่ยวกับจุดเดือดและจุดเยือกแข็งของน้ํา เมื่อลดความดัน บรรยากาศลง 1. จุดเดือดและจุดเยือกแข็งลดลง 2.จุดเดือดลดลงและจุดเยือกแข็งสูงขึ้น 3.จุดเดือดสูงขึ้นและจุดเยือกแข็งลดลง 4.จุดเดือดและจุดเยือกแข็งสูงขึ้น

24. ใครเปนผูคิดแบบจําลองอะตอมเปนคนแรก 1.ดอลตัน

2.ทอมสัน

3.มิลลิแกน

4.ไมมีขอใดถูก

25. น้ําในหลอดใดใหฟองนอย หลอดที่ 1 น้ํา+แคลเซียมคารบอเนต+สบู หลอดที่ 2 น้ํา+แคลเซียมซัลเฟต+โซดาแอช+สบู หลอดที่ 3 น้ํา+โซเดียมไนเตรท+แมกนีเซียมคลอไรด+สบู หลอดที่ 4 น้ํา+แคลเซียมคลอไรด+ตม+สบู หลอดที่ 5 น้ํา+โซเดียมไฮโดรเจนคารบอเนต+แมกนีเซียมซัลเฟต+สบู 1. 2 3

2. 3 4 5

3. 1 5

4. 1 2 4

วิทยาศาสตร


195

26. 2A+(g) + B2-(g)

A2B(s)+ H1

2A+(g) + B2-(g)

2A+(aq) + B2(aq) +

H2

1.

H1 < 0 ,

H2< 0 และ

H1 > H2

2.

H1 < 0 ,

H2< 0 และ

H1 < H2

3.

H1 > 0 ,

H2> 0 และ

H1 > H2

4.

H1 > 0 ,

H2> 0 และ

H1 < H2

27. พิจารณาขอความตอไปนี้ ขอใดถูกตอง ก. โมเลกุลC2H2 มีความแข็งแรงของพันธะระหวาง CกับC มากกวาC2H4และ มีความยาวพันธะระหวางCกับC นอยกวาC2H6 ข.การละลายของNaCl พบวาพลังงานแลคทิชมากกวาพลังงานไฮเดรชัน ดังนั้น การละลายนีเ้ ปนกระบวนการคายความรอน ค.สารประกอบไออนิกที่เปนของแข็งไมนําไฟฟา แตเมื่อหลอมเหลวจะนํา ไฟฟาได 1. ก และ ข เทานั้น

2. ข และ ค เทานั้น

3. ก ข และ ค

4. ก และ ค เทานั้น

28. เปลือกของกุง มีสารใดเปนองคประกอบหลักมากที่สุด และจัดเปนสารชีวโมเลกุล ประเภทใด 1.Cutin – Lipid 3.Cellulose – Carbohydrate

วิทยาศาสตร

2.Chitin – Carbohydrate 4.Suberin – Protein


196

29. การเคลื่อนที่แบบ peristalsis ไมพบในอวัยวะใด ก. หลอดเลือด ข. ลําไสใหญ

ค. หลอดอาหาร ง. หลอดลม

1. ก,ข

2. ก,ค

3. ก,ง

4. ข,ค

30. สารคัดหลั่งจากอวัยวะใดในทางเดินอาหาร เมื่อผสมกับน้ํามันพืชแลวเกิดกรดไขมัน และกลีเซอรอล ก. ถุงน้ําดี

ข. กระเพาะอาหาร

ค. ดูโอดีนัม

1. ก,ค

2. ก,ง

3. ข,ง

4. ค,ง

31. การขับถายของเสียที่ไดจากโปรตีนของสัตวขอใดถูกตอง ปลา

ไก

วาฬ

1.

ยูเรีย

แอมโมเนีย

ยูริก

2.

ยูเรีย

ยูริก

แอมโมเนีย

3. แอมโมเนีย

ยูริก

ยูเรีย

4.

ยูเรีย

แอมโมเนีย

ยูริก

วิทยาศาสตร

ง. ตับออน


197

32. เมื่อนําแผนสไลดที่มีตัวอักษร T ไปสองดูดวยกลองจุลทรรศนแบบใชแสง ภาพที่ มองเห็นจะเปนอยางไร 1.

2.

3.

4.

33. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับผนังเซลล ก. พบในโปรคาริโอต และยูคาริโอตบางชนิด ข. ยอมใหสารผานไดอสิ ระโดยไมตองอาศัยพลังงาน ค. มีสวนประกอบหลักเปนเซลลูโลสเทานั้น 1.ก,ค

2.ข,ค

3.ก,ค

4.ก,ข,ค

34. Contractile vacuole ที่พบในสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว ทําหนาที่ใด 1. ยอยอาหาร

2. กําจัดกากอาหาร

3. กําจัดน้ําสวนเกิน

4. ขอ 2 และ 3

35. ออรแกนแนลลที่สราง ATP คือออแกนแนลลในขอใด 1. ไมโทคอนเดรีย

2. ไมโทคอนเดรียและคลอโรพลาสต

3. ไรโบโซม

4.SER

วิทยาศาสตร


198

36. การหลั่งเพปซิโนเจนออกจากเซลลผนังกระเพาะอาหาร อาศัยกระบวนการใด 1. การแพร

2. เอกโซไซโทซิส

3.ฟาซิลเิ ทต

4. แอกทีฟทรานสปอรต

37. เมื่อแชสาหรายในน้ําจืด สาหรายจะมีการปรับตัวอยางไร เพื่อใหความเขมขนกลับมา เปนปกติ 1. เพิ่มความเขมขนของน้ํา

2. นํา K+ออกจากเซลล

3. เพิ่มการสังเคราะหแสงมากขึ้น

4. เติม K+ลงไปในน้ํา

38. การยอยแปงและน้ําตาล ตองอาศัยน้ํายอยจากอวัยวะใดบาง 1. กระเพาะอาหาร , ตับ , ตับออน 2. ตอมน้ําลาย , ตับออน , ลําไสเล็ก 3. ตอมน้ําลาย ,ตับ , ตับออน 4. ตับ , ตับออน , ลําไสเล็ก

39. เมื่อหายใจเขา อวัยวะใดบางทีม่ ีการหดตัว A. กลามเนื้อซีโ่ ครงแถบใน

B. กลามเนื้อซี่โครงแถบนอก

C. ทอง

D. กะบังลม 1.B , D

2.A , C

วิทยาศาสตร


199

3.B ,C ,D

4.A , B ,D

40. ขอใดถูกตองเกี่ยวกับอัตราการเตนของหัวใจ และความดันเลือดในคนปกติ อัตราการเตนของหัวใจ

ความดันเลือด

1.

แปรตามอายุ

ผกผันกับอายุ

2.

ผกผันกับอายุ

แปรตามอายุ

3.

ผกผันกับอายุ

คงที่ตลอด

4.

คงที่ตลอด

แปรตามอายุ

41. สัตวมีกระดูกสันหลัง ขอใดที่มสี ัดสวนของสมองสวนกลางตอสมองทั้งหมดสูงสุด 1. ฉลาม

2. จระเข

3. งู

4. วาฬ

42. เมื่อรางกายเปนไข จะมีอุณหภูมิสงู ผิดปกติ เนื่องมาจากการทํางานของสมองสวนใด 1. ซีรีบรัม

2. ซีรีเบลลัม

3.ไฮโพทาลามัส

4. ทาลามัส

43. ผลิตภัณฑในขอใดถือเปนของเสียจากการขับถาย 1. น้ํามูก

2. ขี้หู

วิทยาศาสตร

3. เหงื่อ

4. กากอาหาร


200

44. ขอใดเปนการแกปญ  หาดินที่ไมถูกตอง 1.แดงพบวาดินที่บานเปนดินเปรี้ยวจึงเติมแคลเซียมคารบอเนต 2.เขียวพบวาดินจืด จึงเติมอินทรียวัตถุเพิม่ 3.ดําพบวาดินฝาด จึงเติมกํามะถัน 4.มวงพบวาดินเค็มจึงเติมปยและCaCo3 45. ขอใดถูกตอง 1. หินออนแปรสภาพมาจากหินทราย ใชประดับ ปูพื้นได 2. หินอัคนีแทรกซอนบางชนิดมีรูพรุน เชนพัมมิซสคอเรีย 3. สุสานหอย เปนหินตะกอนที่มีซากสัตวอยู 4.หินตะกอนเกิดจากการทับถมของตะกอน โดยผานความรอนและความดัน 46. พิจารณาขอความตอไปนี้ ก.แดงขูดแรx ไดสีผงละเอียดสีน้ําตาล แสดงวาแรxมีสีน้ําตาล ข.ประเทศไทยบางจังหวัดมีถานหินแอนทราไซดซึ่งมีคุณภาพสูงที่สุด ค.แรชนิดเดียวกัน บางครัง้ ก็มีความหนาแนนไมเทากัน มีขอถูกตองกี่ขอ 1. 1ขอ

2. 2ขอ

3. 3ขอ

4. ไมมีขอใดถูก

47. ขอใดถูกตอง 1. ลมเคลือ่ นทีจ่ ากอุณหภูมสิ ูงไปต่ํา 2. ลมบกคือลมที่พัดจากทะเลสูบก เกิดในเวลากลางคืน 3.ลมทะเล คือลมที่พัดจากทะเลไปสูบก เกิดในเวลากลางคืน 4.ไมมีขอถูก

วิทยาศาสตร


201

48. การวัดความเร็วพายุจะวัดที่บริเวณใด 1. บริเวณจุดศูนยกลางของพายุ 2. บริเวณสวนนอกของพายุ 3.บริเวณใกลกบั จุดศูนยกลางของพายุ 4.วัดสวนใดก็ได แลวแตสถานการณ 49. พิจารณาขอความตอไปนี้ 1. ความชื้นสัมพัทธที่เหมาะสมทีส่ ุดคือ70% 2.ยิ่งคาความชื้นสัมพัทธมาก อากาศยิง่ ชื้น ตากผาแหงยาก 3. ไฮโกรมิเตอรแบบกระเปาะเปยกกระเปาะแหง ใชหาคาความชื้นสัมพัทธได โดยหาอุณหภูมกระเปาะเปยก กับผลตางของอุณหภูมกิ ระเปาะเปยกและ กระเปาะแหง มีขอถูกตองกี่ขอ 1. 1ขอ

2. 2ขอ

3. 3ขอ

4. ไมมีขอใดถูก

50. สภาวะที่ลมสินคาบริเวณศูนยสูตรที่พัดจากอเมริกาใตไปอินเดียออนกําลังลง จนทําให ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงไปอยางมากเรียกวาอะไร 1. เอลนิโญ 2.ลานิญา 3.ทอรนาโด 4.ดีเปรสชั่น

วิทยาศาสตร


202

แบบฝกหัดชุดที่ 2 คําสั่งขอสอบชุดนีม้ ีทั้งสิ้น 50 ขอ จงเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียง 1 ตัวเลือก แลว ทําเครื่องหมาย X ลอมรอบตัวเลือกนั้นๆ 1. ปนใหญ กและขมีลักษณะเหมือนกันทุกประการวางอยูบนพื้นราบ โดยมุมที่ปาก กระบอกปนใหญทั้งสองทํามุมกันอยูระหวาง 0o – 90oถามุมที่ปากกระบอกปนใหญ กทํากับแนวราบนั้นมากกวาปนใหญ ขและเริ่มยิงปนทัง้ สองพรอมๆ กัน ขอใดสรุปไม ถูกตอง 1. กระสุนปนใหญ กตกไกลจากตัวปนในแนวราบมากกวากระสุนปนใหญ ข 2. อัตราเร็วของกระสุนปนใหญทั้งสองขณะกอนชนพื้นดินมีคาเทากัน 3. ในขณะที่กระสุนปนใหญอยูสงู สุดจากพื้นดิน ความเร็วของกระสุนปนใหญ กจะนอยกวากระสุนปนใหญ ข 4. กระสุนปนใหญ กจะตกถึงพื้นชากวากระสุนปนใหญ ข 2. วัตถุเคลื่อนที่เปนวงกลมในแนวระดับดวยอัตราเร็วคงที่ จงพิจารณาขอความตอไปนี้ ก. วัตถุจะมีความเรงเขาหาจุดศูนยกลางตลอดเวลา ข. แรงลัพธจะตองไมเปนศูนย และมีทิศขนานกับความเร็ว v ค. ความเรงกับความเร็วมีทิศทางเดียวกัน ง. วัตถุอยูในสภาพสมดุล ขอใดถูกตอง 1. ก และ ข

2. ค และ ง

3. ก เทานั้น

4. ก,ข,ค

วิทยาศาสตร


203

3. พิจารณาขอความดังตอไปนี้ ก. วัตถุเคลื่อนที่เปนวงกลมดวยอัตราเร็วคงที่ จะพบวา ทิศของความเรงจะตั้งฉากกับ ทิศของความเร็ว และความเรงนีจ้ ะตัง้ ฉากกับแรงลัพธบนวัตถุนี้ ข. วัตถุที่แกวงเปนวงกลมระนาบดิง่ ดวยแรงเชือก งานของแรงตึงเชือกมีคาเทากับศูนย ค. งานของน้ําหนักของวัตถุที่กําลังเคลือ่ นที่ขึ้นในแนวดิ่ง จะมีคาเปนลบ ง. รถยนตเลี้ยวโคงดวยอัตราเร็วคงที่ ความเรงจะมีคาเทากับศูนย ขอใดถูกตอง 1. ก, ข และ ค 3. ข และ ค

2. ข, ค และ ง 4. ถูกทุกขอ

4. ในขณะหนึ่งเครือ่ งบินลําหนึ่งอยูตรงตําแหนงของระบบแกน x-y เปน (x,y)=(100,400) โดยมีหนวยเปนกิโลเมตร เมื่อเวลาผานไป 1 ชั่วโมง ตําแหนงของเครื่องบินลํานี้ จะอยูตรงตําแหนง (500,100)ความเร็วเฉลี่ยของเครื่องบินลํานี้จะมีขนาดกี่กิโลเมตร/ ชั่วโมง 1.770

2.500

3.510

4.640

วิทยาศาสตร


204

5. การเคลื่อนที่ของวัตถุในขอใดไมมีความเรง กขับรถยนตเลี้ยวโคงตามเสนทางคดเคี้ยวดวยอัตราเร็วสม่ําเสมอ ขนักโดดรมเคลื่อนที่ดวยความเร็วคงที่ใกล ๆ กับผิวโลก คแกวงวัตถุผูกเชือกกลับไปมาดวยคาบคงที่ งรถไฟฟากําลังเคลื่อนที่ดวยความเร็วลดลงอยางสม่ําเสมอ

ขอใดถูกตอง 1.ขอ 1, 2 3.ขอ 3, 4

2.ขอ 2 เทานั้น 4.ขอ 1, 3, 4

6. ปาวัตถุจากพื้นดินขึ้นไปในแนวดิ่ง ปรากฏวาวัตถุผานหลังคาตึกเมื่อเวลาผานไป 1 และ 2 วินาที ตามลําดับ จงหาวาตึกนั้นสูงกีเ่ มตร กําหนดให g=10 m/s^2 1.5

2.10

3.15

4.20

7. น้ําหยดลงมาจากกอกน้ําซึ่งสูงจากพื้น h อยางสม่ําเสมอ ถาในขณะที่น้ําหยดที่ 5 กําลังเริม่ ตกลง น้ําหยดแรกก็ตกถึงพื้นพอดี ขณะนั้นน้ําหยดที่ 2 และ หยดที่ 3 อยูหาง กันเทาไหร 1. h/16 3.5h/16

2.3h/16 4.7h/16

วิทยาศาสตร


205

8. จงพิจารณาขอความตอไปนี้วามีขอถูกกี่ขอ ก.ถามีอนุภาค 2 อนุภาคกําลังเคลื่อนที่เขาหากันดวยอัตราเร็ว 3 m/s และ 4 m/s ตามลําดับ โดยมีแนวการเคลือ่ นที่เปนเสนตรงในทิศตรงขามกัน พบวา 3 วินาที กอนที่ วัตถุจะชนกันวัตถุทั้งสองหางกัน เทากับ 1 เมตร ข.นาย ก. และ นาย ข. ออกแรงดึงเชือกดวยแรงทีเ่ ทากันในทิศทางตรงกันขามเทากับ F พบวาแรงตึงเชือกที่เกิดขึ้นจะมีคา 2F ค.ชายคนหนึ่งมีมวล 50 kg ยืนอยูบนตาชั่งในลิฟตที่กําลังเคลื่อนทีล่ งดวยความเร็วคงที่ 2 m/s ตาชั่งน้ําหนักที่ชายคนนี้ยืนอยูจะอานคาไดเทากับ 500 N 1. 0ขอ

2. 1 ขอ

3. 2 ขอ

4.3 ขอ

9. ลูกเทนนิสลูกหนึ่งเคลื่อนที่กอนชนกําแพงดวยอัตราเร็ว 10 m/s โดยภายหลังการชน พบวาลูกเทนนิสไดสะทอนกลับในทิศทางตรงกันขามดวยอัตราเร็วเทาเดิม ถาชวงเวลา ที่กระทบกําแพงเปน 0.1 วินาที จงหาความเรงเปลี่ยนขณะกระทบกําแพง 1.0 m/s^2

2.100 m/s^2

3.200 m/s^2

4.150 m/s^2

10. ลิงตัวหนึง่ ขึ้นตนไม ปรากฏวาทุก ๆ 2 นาที ลิงขึ้นไปไดสูง 8 เมตร แลวลื่นไถลลงมา 2 เมตรเสมอ จงหาอัตราเร็วเฉลี่ยเมื่อสิ้นสุดเวลา 2 นาที (ตอบในหนวยเมตร/วินาที) 1/12 m/s 3. 3 m/s

2. 1/30 m/s 4. 5 m/s

11. มวล 5.0 kg เคลื่อนที่ดวยความเร็ว 3.0 m/s ไปทางทิศตะวันออก หลังจากนั้นเปน

วิทยาศาสตร


206

เวลา 5.0 s พบวามวลกอนนี้เคลื่อนที่ดวยอัตรา 4.0m/s ไปทางทิศใต จงหาคาของ ความเรงเฉลี่ยของมวลนี้ชวงเวลา 5.0 s 1.0.2 m/s^2

2. 0.4 m/s^2

3. 0.6 m/s^2

4. 1.0 m/s^2

12. ถาปลอยวัตถุใหตกลงมาอยางอิสระโดยที่ x เปนระยะทางของวัตถุที่ตกลงมาอยาง อิสระ ภายใตแรงโนมถวงของโลกในชวงวินาทีที่ 2 และ y เปนระยะทางของวัตถุที่ตก ลงมาอยางอิสระ ภายใตแรงโนมถวงของโลกในชวงวินาทีที่ 1 ดังนั้น 1.x = 1/2y

2. x=y

3. x=2y

4. x=3y

13. การขับรถดวยอัตราเร็ว 42 กิโลเมตรตอชั่วโมง ประสานงากับรถอีกคันหนึ่งที่แลนสวน มาดวยอัตราเร็ว 30 กิโลเมตรตอชั่วโมง จะเกิดความรุนแรงใกลเคียงกับการตกตึก ประมาณ กี่ชั้น กําหนดให ตึก 1 ชั้น สูง 4 เมตร 1.4 2.5 3.10

4.15

14. หลอดไฟมีความตานทาน 3 โอหม ตอกับแบตเตอรี่ 12 โวลต แลวจึงตอกับฟวส

วิทยาศาสตร


207

ดังรูป จงเรียงลําดับวงจรที่ใชฟวสจากมากไปนอย

1.A,B,C 3. C,A,B

2. B,C,A 4. C,B,A

15. จากวงจรไฟฟาตามที่กําหนดดังรูป ก,ข,ค,ง,จ และ ฉ เปนเครื่องใชไฟฟา

ถาถอดเครื่องใชไฟฟา จ ออกจะมีผลอยางไร 1.เครื่องใชไฟฟาอื่นๆทํางานไดปกติ 2.เครื่องใชไฟฟา ก เทานั้นที่ทํางานไดตามปกติ 3.เครื่องใชไฟฟา ก,ข และฉ เทานั้นที่ทํางานได 4.เครื่องใชไฟฟาทุกชนิดสามารถทํางานได 16. จากรูป วงจรไฟฟามีขอมูลดังนี้

วิทยาศาสตร


208

ก. กระแสไฟฟาในวงจรเปน 1 แอมแปร ข.ความตางศักยระหวาง Vbcและ Vcdตางกัน 8 โวลต ค.ความตางศักยที่ขั้วมีคาเปน 18 โวลต ง.ความตางศักยระหวาง bcมีคาเปน 12 โวลต จงพิจารณาขอมูลขอใดถูกตอง 1. ถูก 1 ขอ 2. ถูก 2 ขอ 3. ถูก 3 ขอ 4.ถูก 4 ขอ 17. เตารีดของซินดี้และแท็กซี่มกี ําลังไฟฟา 750 วัตตเทากัน ถาซินดี้รีดผาเฉพาะวันหยุด รวม 12 วัน วันละ 2.5 ชั่วโมง สวนแท็กซี่รีดผาทุกวันวันละ 50 นาที ถาจายคา ไฟยูนิตละ 1 บาท ในเดือนมกราคม (งดรีดผาในวันปใหม 1 วัน) ซินดีห้ รือแท็กซี่ จะจายคาไฟฟามากกวากันและเปนจํานวนเทาใด 1. บานซินดี้จายคาไฟมากกวาแท็กซี่ 3.75 บาท 2. บานซินดี้จายคาไฟมากกวาแท็กซี่ 11.25 บาท 3. บานซินดี้จายคาไฟมากกวาแท็กซี่ 1.25 บาท 4.บานซินดี้จายคาไฟมากกวาแท็กซี่ 6.25 บาท 18. ขอใดไมถูกตองเมือ่ แยกน้ําดวยกระแสไฟฟา 1. ตองใชไฟฟากระแสตรง 2.มีแกสออกซิเจนที่ขั้วบวกปริมาตรเปนครึ่งหนึง่ ของแกสไฮโดรเจนที่ขั้วลบ 3. ปริมาณน้ําจะลดลงเรื่อยๆ ขณะผานกระแสไฟฟาเขาไป 4. น้ําที่แยกตองเปนน้ําบริสุทธิ์ ไมเติมสารใดๆ

วิทยาศาสตร


209

19. เกลือชนิดใดไมละลายน้ําที่อุณหภูมหิ อง 1. โพแทสเซียมคลอไรด 2. แคลเซียมซัลเฟต 3.โซเดียมไนเตรต 4.เลดไนเตรต 20. คําจํากัดความที่วามีขนาดเล็กที่สุด ไมสามารถแบงแยกไดอกี 1.อะตอม

2.โมเลกุล

3.โปรตอน

4.ธาตุ

21. ขอใดจัดเปนขั้นตอนในกระบวนการทําน้ําประปาที่ถูกตองทีส่ ุด 1. ตกตะกอน กรอง ฟอกสีและกําจัดกลิ่น ฆาเชื้อโรค 2. กรอง ฟอกสีและกําจัดกลิ่น ฆาเชื้อโรค ตกตะกอน 3.ตกตะกอน ฆาเชื้อโรค กรอง ฟอกสีและกําจัดกลิ่น 4. กรอง ฆาเชื้อโรค ตกตะกอน ฟอกสีและกําจัดกลิ่น

22. เมื่อหยดกรดลงบนพื้นหินออน จะมีฟองแกสเกิดขึ้นทันที แตเมื่อหยดกรดความเขมขน เทาเดิมลงบนเหล็ก ตอง ใชเวลานานจึงจะเกิดฟองแกส จากปรากฏการณดังกลาว แสดงวาอัตราการเกิดปฏิกิริยาขึ้นอยูก ับปจจัยใด 1.อุณหภูมิ 2.ความเขมขนของสารตั้งตน 3.พื้นที่ผิวของสารตัง้ ตน 4.ธรรมชาติของสารตัง้ ตน

วิทยาศาสตร


210

23. ขอใดไมจัดเปนขอดีของเทคนิคโครมาโตกราฟ 1.ใชแยกสารทีม่ ีปริมาณนอยไดดี 2.สามารถตรวจสอบหาปริมาณสารได 3.การตรวจสอบวิเคราะหทําไดโดยคํานวณจากคาระยะทางที่สารเคลื่อนที่ 4.ใชวิเคราะหหาสารที่มสี ีไดเทานั้น

24. สมบัติใดของโลหะแทรนซิชันที่แตกตางตางจากสมบัติของโลหะหมู I และ II
 1.ความหนาแนน 2.มีความวองไวในการเกิดปฏิกิริยาเคมี 3.เกิดสารประกอบทีม่ ีสเี ฉพาะตัว 4.เมื่อกลายเปนไอออนจะมีประจุไฟฟาบวก

25. ขอใดไมเปนคุณสมบัติของเสื้อนาโน 1. กันน้ํา 2. กันรังสีUV 3. กันไฟ 4. กันแบคทีเรีย

วิทยาศาสตร


211

26. จากกราฟแสดงความสัมพันธระหวางอุณหภูมิรางกายและอุณหภูมิสิ่งแวดลอมของก และ ข

ก และ ขเปนสัตวชนิดใด ตามลําดับ 1. ฉลามและกบ

2. นกและกิ้งกา

3. หมูและเพนกวิน

4. เตาและโลมา

27. สิ่งมีชีวิในขอใดตอไปนี้ เรียงลําดับวิวัฒนาการไดถูกตอง 1. เห็ด แบคทีเรีย อะมีบา 2. สาหรายสีเขียว สาหรายสีเขียวแกมน้ําเงิน มอส 3. หนอนตัวแบน ฟองน้ํา ดาวทะเล 4. สาหรายสีน้ําตาล สนสองใบพืชใบเลี้ยงคู

28. สิ่งมีชีวิตในขอใดที่นักวิทยาศาสตรไมจัดเปนเซลล 1.ไวรัส

2. ฟงไจ

วิทยาศาสตร

3. โปรติส

4. แบคทีเรีย


212

29. โปรตีน มีความแตกตางจากแปงอยางไร 1. มีแรธาตุที่มีความจําเปนตอรางกายมากกวา 2. ใหพลังงานมากกวา 3. มีวิตามินสะสมในโมเลกุลมากกวา 4. มีสวนประกอบหลักหลากหลายชนิดมากกวา

30. สัตวชนิดใดมีหัวใจ 2 หอง และ 4 หองสมบูรณ ตามลําดับ 1. กบ , คน

2. โลมา , จระเข

3. ปลาสวาย , มา

4. เขียด , ไก

31. หากทอน้ําของเรามีปญ  หา จะมีผลตอกระทบตอระบบยอยอาหารอยางไร 1. เอนไซมบางสวนจะไมถูกสงมาทีล่ ําไสเล็ก 2. การยอยไขมันที่ลําไสเล็กจะไมเกิดขึ้น 3. การยอยไขมันจะเกิดอยางชา ๆ 4. เอนไซมในลําไสเล็กจะเสียสภาพการทํางาน เนื่องจากมีคา pH ที่ไม เหมาะสม

วิทยาศาสตร


213

32. ขอใดถูกตองเกี่ยวกับเซลลสัตว 1. เซลลสัตวบางเซลลไมจําเปนตองมีนิวเคลียส 2. เซลลสัตวทมี่ ี secondary cell wall จะตองมี primary cell wall มา กอน 3. มีชองระหวางเซลลที่เรียกวา plasmodesmata 4. นิวเคลียส ควบคุมการทํางานของออรแกนแนลลตาง ๆ ผานทางการสราง ไขมัน

33. ในเซลลเม็ดเลือดขาวจะมีออรแกนแนลลชนิดใดอยูมาก ก. RER

ข. SER

1. ข

2. ก ,ข

ค. Mitochondria 3. ก , ง

ง. Golgi body 4. ก , ค

34. กระบวนการทําลายออรแกนแนลลทหี่ มดสภาพแลวของไลโซโซม เรียกกระบวกการนี้ วาอะไร 1.autophagy

2.autolysis

3.autonomic

4. cell eating

35. ขอใดเปนสิง่ มีชีวิตประเภทโปรคาริโอต 1. อะมีบา

2. รา

3. สาหรายสีเขียว

4. สาหรายสีเขียวแกมน้ําเงิน

วิทยาศาสตร


214

36. การแลกเปลี่ยนแกสของอวัยวะใดไมเกี่ยวของกับblood circulation 1.lung

2.gill

3.trachea

4.book lung

37. ขอใดกลาวผิดเกี่ยวกับxylem 1. การคายน้ําจะอาศัยแรงดึงของโมเลกุลน้ําและผนังxylem 2. รากลําเลียงน้ําโดยอาศัย osmotic pressure 3. เกี่ยวกับแรงดึงจากการคายน้ํา 4.ลําเลียงน้ํารวมกับphloem

38. สมองสวนใดคือ สวนของการทําใหอวัยวะทํางานประสานงานกันได 1.cerebrum

2.cerebellum

3.hypothalamus

4.medulla oblongata

39. ถาเปรียบเทียบสารอาหารที่อยูในเซลลเปนธนาคาร แลวสิ่งใดคือเงินสดหมุนเวียน 1.กลูโคส

2.ไขมัน

3.กรดอะมิโน

4.แปงหรือไกลโครเจน

วิทยาศาสตร


215

40. เมื่อรับประทานขาวเหนียว รางกายจะยอยจนดูดซึมไปใชไดโดยสงเอนไซมมาจาก แหลงใดบาง 1. ตอมน้ําลาย , กระเพาะอาหาร 2. กระเพาะอาหาร , ลําไสเล็ก 3. ตอมน้ําลาย , ตับออน และลําไสเล็ก 4. ตอมน้ําลาย , ตับ , ตับออน และลําไสเล็ก

41. กําหนดให ก = พารามีเซียม ข = ยุง ค = กุง ง = งูดิน เลือดของสิง่ มีชีวิตพวกใดไมมีสี 1.ก และ ข

2.ข และ ค

3.ค และ ง

4.ก และ ค

42. การปลูกกลวยไมตระกูลหวาย เมื่อปลูกไปนานๆ จะออกดอกชิดกันมากจนดอกเบียด กัน ควรใชสารเคมีชนิดใดยืดชอกลวยไม 1.ออกซิน

2.เอทีลีน

3. ไซโตไคนิน

4.จิบเบอเรลลิน

43. เมฆในขอใดทําใหเกิดพระอาทิตยทรงกลด 1. เมฆเซอโรสเตรตัส 3. เมฆสเตรตัส

วิทยาศาสตร

2. เมฆอัลโตสเตรตัส 4. เมฆสเตรโตคิวมูลสั


216

44. หมอก เกิดจากเมฆชนิดใด 1. เมฆสเตรโตคิวมูลสั 3. เมฆเซอรัส

2. เมฆคิวมูโลนิมบัส 4. เมฆสเตรตัส

45. ชายคนหนึ่งกําลังเงยหนามองบนทองฟาเพื่อสังเกตเมฆ เขาเห็นเมฆชนิดหนึง่ เปน ฝอยๆริ้วๆ มีสีขาว มีรปู รางคลายขนนก เมฆชนิดนั้นเรียกวาอะไร 1. เมฆอัลโตคิวมูลสั 2. เมฆสเตรตัส 3. เมฆเซอรัส 4.เมฆเซอโรสเตรตัส 46. อุกกาบาตจะถูกเผาไหมที่ชั้นบรรยากาศใด 1. โทรโพสเฟยร 3. เทอรโมสเฟยร

2. มีโซสเฟยร 4. เอกโซสเฟยร

47. ขอใดเปนหลักฐานที่บอกวาประเทศไทยเคยมีภูเขาไฟมากอน 1.หินแกรนิต 2.หินบะซอลต 3.น้ําพุรอน 4.หินกรวดมน 48. .ปรากฎการณใดที่เกิดฝนตกหนักกวาปกติ และแหงแลงกวาปกติ 1.เอลนิโญ 3.เอลนิญา

2.ลานิญา 4.ลานิโญ

วิทยาศาสตร


217

49. ดาวหางเจมินีมักเห็นในชวงวันที่ 13-14 ธันวาคมของทุกป เราจะเห็นดาวหางเจมินีชัด สุดชวงเวลาใด 1.กลุมดาวคนยิงธนูกําลังขึ้น 3.กลุมดาวนายพรานกําลังขึ้น

2.กลุมดาวคนคูกําลังตก 4.กลุมดาวคนแบกหมอน้ํากําลังตก

50. ดาวเคราะหดวงใดทีม่ ีการเคลื่อนตําแหนงบนทองฟาเร็วที่สดุ 1. ดาวพลูโต 2. ดาวพุธ 3. ดาวศุกร 4. ดาวอังคาร

วิทยาศาสตร


218

แบบฝกหัดชุดที่ 3 คําสั่งขอสอบชุดนีม้ ีทั้งสิ้น 50 ขอ จงเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียง 1 ตัวเลือก แลว ทําเครื่องหมาย X ลอมรอบตัวเลือกนั้นๆ 1. จงหาวา A1 และ A2 จะอานคาไดเทาใด ถาแอมมิเตอรมคี วามตานทานนอยมาก

1. 0.5 A, 0.5 A 3. 1.0 A, 1.0 A

2. 1.0 A, 0.5 A 4.1.5 A, 0.5 A

2. เสนลวดตัวนําไฟฟาโตสม่ําเสมอมีความตานทาน 2 โอหม เมื่อนําลวดไปรีดใหมี ความยาวเปน 4 เทาของความยาวเดิม จงหาความตานทานลวดตัวนําภายหลังรีด 1. 8 โอหม 2. 16 โอหม 3. 24 โอหม 4. 32 โอหม 3. จงหาวา Aอานคาไดเทาใด 1. 2.5 A 2.5.0 A 3.7.5 A 4.1.0 A

วิทยาศาสตร


219

4. จงหาจํานวนเซลลไฟฟาที่นํามาใชในการตอกับวงจร เพื่อใหหลอดไฟทํางานใหไดความสวางมากทีส่ ุด 1. 12 เซลล 2.24 เซลล 3. 36 เซลล 4. 48 เซลล

5. หมอแปลงไฟฟาอันหนึ่งมีอัตราสวนของลวดปฐมภูมิ ตอขดลวดทุติยภูมิเปน 4 : 1 ถาหมอแปลงนี้ตอกับแบตเตอรี่ขนาด 24 V ถามวาใน 1 นาที จะเกิดพลังงานที่ ตัวตานทาน 10 โอหม เปนเทาใด

1.0 จูล 3. 216 จูล

2. 350 จูล 4. 320 จูล

วิทยาศาสตร


220

6. พิจารณาวาขอใดไมถูกตอง 1. เทอรมิสเตอร เปนตัวตานทานที่เปลี่ยนคาไดตามอุณหภูมิที่อยูรอบๆ 2. หลอด LDR เมื่อมีแสงสวางมากระทบนอย จะมีความตานทานนอย 3. ทรานซิสเตอร เปนอุปกรณทําจากสารกึง่ ตัวนําที่พฒ ั นามาจากไดโอด สามารถทีจ่ ะขยายสัญญาณไฟฟาใหมีขนาดมากขึ้นได 4. หลอด LED เปนไดโอด ที่ขาตอมี 2 ขา โดยขาอาโนดจะยาวกวาขาคา โทด 7. จากรูปเปนวงจรไฟฟาอยางงาย โดยมี A1, A2 V1 ,V2 เปนเครื่องมือวัดอุดมคติ ถาความตานทาน R มากขึ้นผลจะเปนอยางไร ก. A1จะมีคาเทาเดิม ค. V2จะมีคาเพิ่มขึ้น

ข. V1 จะมีคาลดลง ง. A2 จะมีคาเพิ่มขึ้น

ขอใดถูกตอง 1. ก และ ข 3. ก เละ ค

2. ข และ ต 4. ค เละ ง

8. แอมมิเตอร A1 , A2 และ A3ไมมีความตานทานภายใน ถาสวิตซ S ปดลง คา แอมมิเตอรทงั้ สาม อานคาเทาไร เมื่อเทียบกับกอนสับสวิตซ

วิทยาศาสตร


221

1. A1 เพิ่มขึ้นA3 เปนศูนย 3. A2คงที่A3เปนศูนย

2. A1คงที่A2 เพิ่มขึ้น 4. A1ลดลง A2เพิ่มขึ้น

9. หลอดไฟ 100 วัตต 50 โวลต และหลอดไฟ 50 วัตต 100 โวลต ตออนุกรมกัน แลวตอเขากับฟวส ดังรูป จงหาขนาดฟวสที่นํามาตอในวงจรเพื่อไมใหหลอดขาด ขณะทํางาน

1. 0.25 A

2. 0.50 A

3. 1.0 A

4. 2.0 A

10. ถามุมระหวางแรงสองแรง(ชวง 0-180 องศา) ที่กระทําตอกันมีขนาดเพิ่มขึ้น ขนาด ของแรงลัพธจะเปนอยางไร 1.เพิ่มขึ้น 2.ลดลงแลวเพิม่ ขึ้น 3.เพิ่มขึ้นแลวลดลง 4.ลดลง 11. มีแรงขนาด X และขนาด Y กระทําตอวัตถุในแนวระดับโดยแรงทัง้ 2 มีทิศทางตั้งฉาก กัน และวัตถุวางบนพื้น(ที่มีแรงเสียดทานระหวางพื้นกับวัตถุ) เริ่มเคลื่อนที่ จงหา คาแรงเสียดทานทีเ่ กิดขึ้นวา มีคาเทาใด 1.X+Y

2.√X + Y

3.

4.

วิทยาศาสตร


222

12. ขอใดตอไปนี้เปนแรงคูปฏิกริ ิยา (Action-Reaction Forces) 1.แกวน้ําวางบนโตะ :แรงที่โลกดึงดูดแกวน้ําบนโตะกับแรงทีโ่ ตะดันแกวน้ํา 2.เข็นวัตถุบนพื้นราบฝด : แรงทีม่ ือเข็นวัตถุกับแรงเสียดทานดานการ เคลื่อนทีจ่ ากพื้น 3.เตะฟุตบอลกระทบกําแพง : แรงที่ฟุตบอลชนกําแพงกับแรงทีก่ ําแพงทําให ฟุตบอลสะทอนกลับ 4.ถูกทุกขอ 13. กลองมวล 2 กิโลกรัม ถูกดึงจากหยุดนิ่งดวยแรงคงที่ขนาด 22 นิวตัน ในทิศทํามุม 60 องศากับแนวราบใหเคลื่อนที่ไปตามพื้นราบโดยมีความเรงเทากับ 2.5 เมตร/วินาที2 ถา คิดวาแรงเสียดทานคงที่ แรงเสียดทานจะมีคากี่นิวตัน 1. 4 นิวตัน

2. 6 นิวตัน

3. 11 นิวตัน

4. 17 นิวตัน

14. จงพิจารณาขอความตอไปนี้

F 5kg

3kg

2kg

ก.ความเรงของมวล 5 kg มีคานอยกวา 3 kg และ 2 kg ข.ความเรงของวัตถุทั้ง 3 เทากันหมด ค.แรงปฏิกริ ิยาระหวางวัตถุ 5 kg กับ 3 kg มากกวาแรงปฏิกิริยาระหวางวัตถุ 3 kg กับ 2 kg

วิทยาศาสตร


223

ง.แรงปฏิกิริยาระหวางวัตถุเทากันหมด ขอความขางตนใดถูกตอง 1. ก และ ค 3. ข และ ง

2. ข และ ค 4. ก และ ง

15. วัตถุกอนหนึ่งมวล 2 กิโลกรัม ถูกดันติดกับกําแพงซึ่งอยูในแนวดิ่งดวยแรง F ดังรูป ขางลางนี้ ถาสัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหวางวัตถุกับพื้นกําแพงมีคา 0.1 จงหา ขนาดของ F ที่ทําใหวัตถุเคลื่อนที่ลงดวยความเรง 1 เมตร/วินาที2 1.200 นิวตัน 2.180 นิวตัน 3.160 นิวตัน 4.140 นิวตัน

16. กลองขนาดกวาง 3 m สูง 6 m วางอยูบนพื้นเอียงที่มีแรงเสียดทานฝดมาก จงหามุม พื้นเอียงที่นอยทีส่ ุดที่ทําใหกลองลมลงมา 1.30 องศา 2.37 องศา 3.45 องศา 4.60 องศา

วิทยาศาสตร


224

17. วัตถุขนาด 20 cm x 20 cm ไดรับแรงกระทํา 4 แรง ดังรูป จงหาโมเมนตลัพธของ แรงทัง้ 4 รอบจุดศูนยกลางมวลของวัตถุ 30 N

20 N

20N 30N

1.5N.m

2.10 N.m

3.15 N.m

4.20 N.m

18. ขอใดเปนสมบัติของโลหะ 1. จุดเดือดสูง 2. มีความมันวาว 3.นําไฟฟา 4. ถูกทุกขอ

19. เมื่อแสงทีม่ ีความถี่เหมาะสมตกกระทบผิวหนาโลหะ เกิดปรากฎการณโฟโตอเิ ล็กตริก ขอใดเปนสิง่ ทีเ่ กิดจากปรากฏการณโฟโตอิเล็กตริก 1. นิวตรอน

2. นิวเคลียส

3. โปรตอน

4. อิเล็กตรอน

วิทยาศาสตร


225

20. เพชรมีลักษณะพันธะชนิดใด 1. โลหะ

2. มีขั้ว

3.ไมมีขั้ว

4.โครงผลึกรางตาขาย

21. สูตรทางเคมีของไขมุกและเพชรคือขอใด 1.CaCo3 , C 2. CaC2 , CS2 3. Al2O3 , C 4. ZnO ,CS2 22. จากชอความที่กําหนดให 1. คา Rfเปนคาทีส่ ามารถนําไปวิเคราะหชนิดสารได 2. คา Rfของสารใดๆ จะมีคามากกวาหรือนอยกวา 1.0 ก็ได 3. คา Rfของสารใดสารหนึง่ จะมีคาเทากันเสมอทุกระบบการทดลอง 4. คา Rfของสารใดๆจะหาไดจากการทดลองเทานั้น ขอใดถูกตอง 1. 1 , 2

2. 3 , 4

3. 1 , 3

4. 1 , 4

วิทยาศาสตร


226

23. ปจจัยใดที่มผี ลตอสภาพการละลาย 1. ธรรมชาติของตัวทําละลายและตัวละลาย 2. ความดัน 3. อุณหภูมิ 4. การคน 1. 1 , 2

2. 1 , 2 , 3

3. 3 , 4

4. 1 , 2 , 3 , 4

24. ANaOH + B Al ->C Na3 AlO3 + D H2 จากการดุลสมการเคมี จงหาคา A , B , C , D 1. A= 2 , B = 1, C = 1 ,D = 2 2. A = 3 , B = 4, C = 5 , D= 1 3. A = 6 , B = 2 , C = 2, D = 1 4. A = 6 , B = 2 , C = 2 , D = 3

25. การแยกสารวิธีใดตอไปนี้เหมาะสมทีส่ ุด 1. การแยกสารสีเหลืองจากขมิ้นดวยวิธีการกลั่น 2. การแยกน้ํามันหอมระเหยจากน้ําโดยวิธีสกัดดวยน้ํา 3. การแยกผลิตภัณฑเชื้อเพลิงโดยวิธีกลั่นลําดับสวน 4. ถูกทุกขอ

วิทยาศาสตร


227

26. สารละลายของสารในขอใดทีส่ ามารถเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสเปนสีน้ําเงิน 1.HCN 3.C6H5NH2

2.C2H5OH 4.KCl

27. มดดําและเพลี้ยอาศัยอยูร วมกันบนตนมะมวง” ขอใดเกี่ยวของกับขอความนี้มากทีส่ ุด 1.ประชากร

2.แหลงที่อยู

3.ระบบนิเวศ

4.กลุมสิ่งมีชีวิต

28. ความสัมพันธระหวางสิง่ มีชีวิตคูใดที่เหมือนกัน ก. กบบนใบบัว

ข. แบคทีเรียในลําไสใหญ

ค.เห็บบนตัวสุนัข

ง.นกเขาบนตนมะมวง

1.ก และ ข

2.ก และ ค

3. ก และ ง

4.ก, ข และ ค

29. ลักษณะของการออกดอกที่ยอดเปนลักษณะเดน ออกดอกทีล่ ําตนเปนลักษณะดอย แลวสงสัยวาตนที่มีอยูเ ปนheterozygousหรือไม ตองทําอยางไร 1. นํามาผสมกับลักษณะดอกที่ยอด 2.นํามาผสมกับลักษณะออกดอกที่ลําตน 3.นํามาผสมกับตัวเอง 4. นํามาจัดเรียงkaryotype

วิทยาศาสตร


228

30. ไคทิน คิวทิน เพกทิน จัดเปนสารประเภทใดตามลําดับ 1. คารโบไฮเดรต ,ลิพิด, โปรตีน 2. คารโบไฮเดรต , โปรตีน , ลิพิด 3. ลิพิด, ลิพิด , โปรตีน 4. คารโบไฮเดรต , ลิพิด , คารโบไฮเดรต 31. ในการถายทอดพลังงานในหวงโซอาหาร พลังงานจะสูญเสียไปในกระบวนการใดมาก ที่สุด 1.การเจริญเติบโต หายใจ

2.การเคลื่อนไหว 4.การขับถาย

32. ศึกษาแผนภาพตอไปนี้ Aและ B หมายถึงขอใด ตามลําดับ กระบวนการหายใจของพืช A + O2

CO2 + B การสังเคราะหดวยแสง

1.น้ําและพลังงาน

2. กลูโคสและน้ํา

3.น้ําและออกซิเจน

4.กลูโคสและพลังงาน

วิทยาศาสตร

3. การ


229

33. ขอใดถูกตอง 1.ภูมิคุมกันที่ทารกไดจากพอแมสามารถคุมกันโรคไดทุกชนิด 2.วัคซีนปองกันโรคไทฟอยดผลิตจากจุลินทรียท ี่มีชีวิต 3. มามเปนอวัยวะน้ําเหลืองที่ขนาดใหญทสี่ ุดของคน 4.สวนประกอบหลักของเซรุมคือสารพิษของจุลินทรียทหี่ มดสภาพความเปน พิษแลว

34. การที่คนเราสามารถกลั้นหายใจไดขณะดําน้ําเปนผลมาจากการทํางานของสมองสวน ใด 1.พอนส

2. ซีรีบรัลคอรเทกซ

3.เมดัลลาออบลองกาตา

4.ถูกทุกขอ

35. บริเวณทีม่ ีการแลกเปลี่ยนแกสคือขอใด ก. ถุงลมของแมลง

ข. ถุงลมของคน

ค.ทอลมฝอยของแมลง

ง.นกเขาบนตนมะมวง

1.ก 3.ข, ค

2. ก ,ข 4. ก , ข, ค

วิทยาศาสตร


230

36. ขอใดถูกตองเกี่ยวกับตับ ก.ภูมิคุมกันทีท่ ารกไดจากพอแมสามารถคุมกันโรคไดทุกชนิด ข.วัคซีนปองกันโรคไทฟอยดผลิตจากจุลินทรียทมี่ ีชีวิต ค. มามเปนอวัยวะน้ําเหลืองที่ขนาดใหญทสี่ ุดของคน 1.ก 3.ก , ข

2. ก ,ค 4.ข, ค

37. การแบงเซลลในระยะใดที่มีผลตอการเกิดการกลายพันธุนอยที่สุด 1.prophase I

2.prophase II

3.metaphase I

4.metaphase II

38. ขอใดเปนบทบาทการทํางานของ intermediate filament 1.การงอกของpollen tube 2.การเกิดcyclosis 3.องคประกอบของไมโครวิลไลในduodenum 4. องคประกอบของเสนใยเคราตินในสัตว

วิทยาศาสตร


231

39. โรคพันธุกรรมชนิดหนึง่ เกิดจากยีนดอยบนโครโมโซมรางกาย หากพอและแมเปน พาหะของโรคนี้ จงหาโอกาสทีล่ ูกคนแรกจะเปนผูชายที่ไมเปนโรค 1.1/8

2.3/8

3.½

4.¾

40. เซลลในขอใดมีลิกนินอยูเ ปนสวนประกอบของผนังเซลล 1.collenchyma cell

2.parenchyma cell

3. sieve tube cell

4.sclerenchyma cell

41. ไฮดราสามารถสืบพันธุแบบใดไดบาง ก. binary fission 1.ก

42.

ข. budding

2.ข

จํานวนประชากร

ค.regeneration

3.ก ,ข

4.ข , ค

A

B เวลา

วิทยาศาสตร


232

จากกราฟ อธิบายตามหลักชีววิทยาตามขอใด 1.ภาวะแกงแยง

2.ภาวะ symbiosis

3.ภาวะปรสิต

4. อัตราการเกิดการตายของประชากร

43. ในแตละวันหลอดเลือดใดมีการเปลี่ยนแปลงของระดับกลูโคสในเลือดมากที่สุด 1. จากหัวใจไปตับ

2. จากหัวใจไปลําไสเล็ก

3. จากลําไสเล็กไปตับ

4. จากลําไสเล็กไปหัวใจ

44. วัตถุทองฟาใดไมมีในรายการของ Messier 1. M100 3. M150

2. M13 4. M31

45. เมื่อผูสงั เกตอยูที่ขั้วโลกเหนือจะเห็นดาวบนทองฟาเคลือ่ นทีอ่ ยางไร 1. ขึ้นจากทิศตะวันออกและผานเมอริเดียน 2. วนรอบตัวไปทางขวามือ 3. วนรอบตัวไปทางซายมือ 4. หยุดอยูกับที่ 46. ในเดือนธันวาคมประเทศใดจะมีชวงกลางวันยาวนานที่สุด 1. นอรเวย 2. บราซิล 3. อินโดนีเซีย 4. แอฟริกา 47. ดาวฤกษที่มีความสวางมากทีส่ ุดเมื่อมองจากโลกคือดาวอะไร 1. ดวงอาทิตย

2. ดาวโจร

วิทยาศาสตร


233

3. ดาวดวงแกว 4. ดาวปาริชาติ 48. ดาวเคราะหดวงหนึ่งหางจากดวงอาทิตย 1.52 A.U. จะมีระยะทางใกลโลกทีส่ ุดกี่ กิโลเมตร 1. 150 ลานกิโลเมตร 3. 26 ลานกิโลเมตร

2. 228 ลานกิโลเมตร 4. 78 ลานกิโลเมตร

49. ในเวลา 1 ป มี 366 วัน เรียกปนี้วาอยางใด 1. Tropical year 3. Anomalistic year

2. Sidereal year 4. Leap year

50. ความดันบรรยากาศบนยอดเขาลูกหนึง่ มีคาเทากับ 637มม.ปรอท ยอดเขาลูกนีส้ ูงกวา ระดับน้ําทะเลกี่เมตร 1. 1430 เมตร 2. 2321 เมตร 3. 1452 เมตร 4.1353 เมตร

วิทยาศาสตร


234

วิทยาศาสตร


235

เฉลยวิชาศณิตศาสตร เฉลยแบบฝกหัดชุดที่ 1 ตอนที่ 1 1.ตอบ 2) พิจารณา ( (

)( (

(

=

(

)(

)

) )(

)(

)(

)

)

( (

)(

=

+ )

+

)(

)(

)( )

)

+ (

=( + 1)(9

+ 6 + 4) +

=( + 1)(9

+ 6 + 4) +

=( + 1)(9

+ 6 + 4) +

=( + 1)(9

+ 6 + 4) + ( + 1)(

=( + 1)(9

+6 +4+

=( + 1)(10

+ 6 + 3)

(

(

) )

)(

)

− 1)

− 1)

2.ตอบ 3) คาของ

×√ (√

)

×

= (

)

= 121

เฉลยแบบฝกหัด

=

= 11

= 11


236

จํานวนเต็มบวกที่หาร 121 ลงตัวมี 1, 11, 121 คือ

3 ตัว

3.ตอบ 3) =2 =

+

+ 3 _____________________________(1)

− 3 + 2 ______________________________(2)

(1) - (2); 0 =

+ ( + 3) + 1________________(3)

จากโจทย มีไดคําตอบเดียวแสดงวา สมการ (3) มีคา เพียงคาเดียวและเปนกําลังสอง สมบูรณ จะไดวา ( + 3) = 2(1)(1) = 2 = 2 − 3 = −1ซึ่งอยูในชวง −6 <

<0

4.ตอบ 1) กําหนดให 3

= 6______________________ (1)

2

= 1______________________ (2)

จาก (2) พิจารณา 2 = 1เพราะฉะนั้น 2 =2 =1 2 + =0 = −2 ______________ (3)

แทน (3) ใน (1):3

(

3

=6

3

=

)

=6

__________________ (4)

จากโจทย; แทน (3) และ (4)ใน 3

+3 3

+3

เฉลยแบบฝกหัด

=3 × 3 +


237

=3 ×3+ = ×3+

( )

= +

= 4.5

5.ตอบ 2) จากโจทย

=

+

ยกกําลังสามทั้งสองขาง +

+

+3

=

+

+

+

+3 +

= 1

=

+ (

−3

=

+

)

จากโจทย ( แสดงวา (

)

+ −3 )

เพราะฉะนั้น

=

(

−3 )

=

2704

=

52

− 3 = 52ไดคาเดียวเพราะ X เปนจํานวนจริงบวก

แทนคา = 4 จะได

− 3 = 52

ดังนั้น = 4 6.ตอบ 3) จากทฎษฏีเศษเหลือเราสามารถหาเศษไดโดยการแทน 6 ลงใน 8x + 19x + ซึ่งเทากับ 21 จากโจทย 216 − 288 + 114 + = −21

เฉลยแบบฝกหัด

= 21


238

ดังนั้นจะไดวา

− 21 = 441 − 21 = 420

7.ตอบ 2) 247 = 13 × 19จํานวนนับที่ใกลเคียงกันและหาร 13 กับ 19 ลงตัว นอยที่สุดไดแก 38, 39ดังนั้น min = 37 8.ตอบ 4)

(

− 12 + 11)(

− 4 + 3) < 0

( − 1)( − 11)( − 1)( − 3) < 0 สามารถหาคําตอบของอสมการไดโดยใชเสนจํานวนและหาชวงคําตอบที่ตองการ ดังนี้ +

-

+

-

+ 1

1

3

11

จากโจทย มีคําตอบทีเ่ ปนจํานวนเต็มดังนี้ 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10 คือ 7 จํานวน 9.ตอบ 3)

+4

=

5

−4 +4 = ( − ) = ____________________ (1) +4 +4 =9 ( + ) = 9 __________________ (2) (

นํา (2) หาร (1): (

) )

=

=9

= ±3แตจากโจทยไดระบุไววา 0 < คาของ 10.ตอบ 3)

<

ตองเปนลบซึง่ เทากับ −3 = =

+ (

)

+

เฉลยแบบฝกหัด

(

)

แสดงวา


239

= 5 +1 = (A − 3B)x + A + B จะไดวา A − 3B = 5 และ A + B = 1 ได A = 2, B = −1 เพราะฉะนั้น − 2 = 4 11.ตอบ1) เนื่องจาก x − 2หารx พิจารณา x

−2

− 1 = (x

นั่นคือ x

ลงตัว )+2

−2

− 1หารดวย x − 2 เหลือเศษ2

−1 −1

12.ตอบ 4) จากโจทย + + = 0 = 0และ abc ≠ 0นั่นคือab + bc + ac = 0

จะไดวา ____________ (1) +

จาก + + = 111จะไดวา ( + + ) = + + 2( + + ) ดังนั้น + + + 2( + + ) = 111

แทน =12321

+

+

= 0 จะได

13.ตอบ 2) พิกัด , หาไดโดยเอา 3

+

= 111

=

6

−3 −3=0

2

− −1=0 (2 + 1)( − 1) ได

เพราะฉะนั้นจะไดวามีพิกัด

+

,

เฉลยแบบฝกหัด

= 1,

ดังตอไปนี้ (1,3), (− , )


240

ดังนั้นระยะหางของสองพิกัดนี้คือระยะของเสนตรง PQ คือ ( − 3) + (− − 1) =

14.ตอบ 1) กําหนดให 4 6 4√6 … … =

จะได

=

4 6 4√6 … … นั่นคือ 4√6 ดังนั้น 96

= =

= 96 ได

= 2 √12

15.ตอบ 3) พิจารณาอายุเฉลี่ยของคนในบานเปน 22.5 ป แสดงวาปจจุบันคนเหลานี้มีอายุ รวมกัน 22.5 × 4 = 90 ป ดังนั้นเมื่อ 7 ป ที่แลวอายุของ แตละคนตองนอยกวาปจจุบันคนละ 7 ป นั่นคืออายุรวมตองนอยกวาปจจุบัน 28 ป จะไดวาเมื่อ 7 ปที่แลว คนเหลานี้มีอายุรวมกัน 90 − 28 = 62 ปแตโจทยบอกวาเมื่อ 7 ปที่แลวคนเหลานี้มีอายุรวมกัน 64 ป เปนเพราะวาเมือ่ 7 ปที่แลว นายดียังไมเกิดนั่นเอง กําหนดใหปจจุบัน นายเออายุ ป นายซีอายุ ป จะไดวาปจจุบัน

นายบี − 2 ป นายดี

− 4 ป

อายุรวมในปจจุบันเปน 90 ปจะไดวา 2x + 2 − 6 = 90 นั่นคือ + = 48

เฉลยแบบฝกหัด


241

เมื่อ 7 ปที่แลว

นายเออายุ

− 7 ป

นายบีอายุ

− 9 ป

นายซีอายุ

− 7 ป

ผลรวมอายุเมื่อ 7 ปที่แลวเปน 64 ป จะไดวา 2 + − 23 = 64 นั่นคือ2 + = 87จะไดวา = 39, = 9 นั่นคือปจจุบันนายเอ อายุ 39 ป และนายดีอายุ 9 − 4 = 5 ป ดังนั้น นายเอมีอายุตางกับนายดี 39 − 5 = 34 ป 16.ตอบ 4) จากโจทย จะได ( ) = =

+ −4

=

+ 2( )

−4 +9− +

+

+9

+

+4

+

+9−

2( ) =( + ) −4 =

+ −2

+

+7

+3

คาต่ําสุดของ ( ) เกิดเมื่อ + − 2 = 0 จะได ( ) = 3 นั่นคือ + ( ) = 4

= 1 และ

17.ตอบ 4) จาก (1) + (2) + (3) จะไดวา + + + 2( + + 𝑥𝑧)=−3 ซึ่ง ( + + ) = −3 ไมไดเพราะคากําลังสองในระบบจํานวนจริง ตองมากกวาหรือเทากับศูนย ดังนั้น จึงไดวาระบบสมการในขอนี้ไมมีคําตอบ 18.ตอบ 2) ใหนายสมชายตอบถูก ขอ และตอบผิด ขอ จะไดวา + 30 นั่นคือ = 28 −

เฉลยแบบฝกหัด

+2 =


242

สรางสมการคะแนนจะไดวา 4 − 3 + 2(0) = 0 นั่นคือ ดังนั้น 28 −

=

จะได

=

= 12

นั่นคือนายสมชายตอบถูก 12 ขอ 19.ตอบ 2) จากโจทย พิจารณา (cos A) = 1 − (sin A) = 1 − (0.6) = 0.64 นั่นคือ cos A = 0.8 (sin B) = 1 − (cos B) = 1 − ( ) = นั่นคือ sin B = Cos C= cos (180 − A− B) = − cos(A + B) = −(cos A cos B − sin A sin B) = − 0.8

− 0.6

= 20.ตอบ 3) กําหนดให , , เปนความยาวของดาน จากสมบัติของรูปสามเหลี่ยม จะไดวา + จากโจทยจะไดวา

,

,

ตามลําดับ

> ____________ (1)

+ + = 25

พิจารณาอสมการ (1) บวกดวย ทั้งสองขางของอสมการ จะไดวา + + > 2 นั่นคือ 25 > 2 จะไดวา ≤ 12 (เพราะวา เปนจํานวนเต็ม) ในทํานองเดียวกัน จะไดวา

≤ 12 และ

≤ 12

เนื่องจากถาเกิดการหมุน จะยังถือวาเปนรูปแบบเดียวกันหมายถึง ( , , ), ( , , ) ถือวาเปนรูปเดียวกัน

เฉลยแบบฝกหัด

13


243

และโดยไมเสียนัยจึงกําหนดให

ถา = 1จะไดวา

=

ถา = 2 จะไดวา

= 12,

ถา = 3 จะไดวา

= 12, = 10 หรือ

ถา = 4 จะไดวา

= 12, = 9 หรือ

= 12 = 11 =

= 11

= 11, = 10

ถา = 5 จะไดวา = 12, = 8 หรือ = 11, = 9 หรือ = = 10 ถา = 6 จะไดวา = 12, = 7 หรือ = 11, = 8 หรือ = 10, = 9 ถา = 7 จะไดวา = 11, = 7 หรือ = 10, = 8 หรือ = =9 ถา = 8 จะไดวา = 9, = 8 เพราะฉะนั้นได 16 รูป

เฉลยแบบฝกหัด


244

ตอนที่ 2 C

1.

5

4√5

B

A 5

ไดวา

M

5

ABC อยูในครึ่งวงกลม

ไดมุม C เปนมุมฉาก +

= = 100-80

AC พื้นที่

= √20 = ( √20 ) ( 4√5 ) = 20

เฉลยแบบฝกหัด


245

2.

B

A D

tan 60=

= √3

AD = 7 tan30 =

=

DB= 21 ดังนั้น ระยะหางระหวางเรือทั้งสอง = 21+7=28 3. 1000 ถึง 9999 ขึ้นตนดวย 1

1*10*10*1 = 100 แบบ หลักพันคือ 1 หลักหนวยไดตัวเดียวคือ 3

ขึ้นตนดวย 2

1*10*10*2 = 200 แบบ

หลักพันคือ 2 หลักหนวยไดสองตัวคือ 4 ,0 ขึ้นตนดวย 3

1*10*10*2 = 200 แบบ

ขึ้นตนดวย 4

1*10*10*2 = 200 แบบ

ขึ้นตนดวย 5

1*10*10*2 = 200 แบบ

ขึ้นตนดวย 6

1*10*10*2 = 200 แบบ

ขึ้นตนดวย 7

1*10*10*2 = 200 แบบ

เฉลยแบบฝกหัด


246

ขึ้นตนดวย 8

1*10*10*1 = 100 แบบ

ขึ้นตนดวย 9

1*10*10*1 = 100 แบบ รวม 1,500 ตัว

4.

XY+ YZ =18

-------------- 1

YZ+ XZ =20

---------------2

XZ+XY=14 จากสมการ

---------------3

1+2+3 ได

XY+YZ+XZ = 26

4-1

ได

XZ=8

------------5

4-2

ได

XY=6

-----------6

4-3

ได

YZ=12

5.

+

ให

+

------------7

5*6

= 48

,

=4

5*7

=96

,

=16

6*7 =9

--------------4

=72

,

= 29

11 – x = a 13 – x = b ได

ไดวา

24 -2x = a+b +

=( + )

( + )( − 0=( + ) −( 0 = ( + )[ ( + 0=(

+ )=( + ) + )( − + ) ) −( − + )] + )[3 ] 0 = ( + )[

เฉลยแบบฝกหัด

]


247

0= (24 -2x )(13 – x)(11 – x) ไดราก x=11 ,13,12 ดังนั้น ผลบวกรากทั้งสาม = 36

เฉลยแบบฝกหัด


248

เฉลยวิชาคณิตศาสตร เฉลยแบบฝกหัดชุดที่ 2 ตอนที่ 1 1.ตอบ 3)

จาก cos 30 = cos(15 + 15) = 1 − 2(sin 15)

ดังนั้น

= 1 − 2(sin 15) จะไดวา 2(sin 15) = √

(sin 15) = sin 15 = ±

√ √

=

(√ )

=(

( √ )

แตเนื่องจากอยูใน

จะไดวา sin 15 × sin 45 = 2.ตอบ 3)

( )

√ √

)

ที่ 1ทําใหคาเปนบวก √ √

×

=

สามารถพบไดดังตอไปนี้ รูปสามเหลี่ยม 6 รูป 1 แบบ รูปสามเหลี่ยม 3 รูป 6 แบบ รูปสามเหลี่ยม 2 รูป 3 แบบ รูปสามเหลี่ยม 1 รูป 6 แบบ รวมเปน 16 รูป

3.ตอบ 1) ฐานนิยมเปน 11 ดังนั้นตองมี 11 อยางนอย 3 ตัว จะไดขอมูลเปน ดังนี้ 7, 8, 9, 9, a, 11, 11, 11 คาเฉลี่ยเปน 9.5 จะได ดังนั้น 4.ตอบ 2)

7 8 9 9

= 9.5ได

= 10

+ + = 10 + 11 + 11 = 32

ทุกๆสามเหลี่ยม ดานทั้งสองดานบวกกันจะยาวกวาดานที่สามเสมอ พิจารณา สามเหลี่ยม

จะได

+

>

เฉลยแบบฝกหัด


249

นั่นคือ

>

เพราะฉะนั้น

> 15

พิจารณาสามเหลี่ยม

จะได

คือ 17 >

เปนจํานวนเต็ม เพราะฉะนั้น

5.ตอบ 1)

แต

โดยกฎของโคไซน

คือ 2 cos cos 6.ตอบ 3)

=

+

+ −2

> cos

= 16 =

= √3 √

ดังนั้น

= 30°

2555(73 ) − 2012(73 ) = 39639 สังเกตูวาถา y > แลวทางซายมือจะติดลบ ดังนั้น y < ดึงตัวรวม

ออกมา 73 (2555(73 ) − 2012) = 543 × 73 แตเนื่องจาก 73 (2555(73 ) − 2012) ไมมี 73เปนตัว ประกอบ เพราะฉะนั้น y = 1แทนคาได x = 1 ดังนั้น 3x + 7y = 10 7.ตอบ 1)

= 75x + 150x + 175 = 79x + 158x + 79 4x + 8x − 96 = 0 x + 2x − 24 = 0 (x + 4)(x − 6) = 0 ดังนั้น x = 6, −4

8.ตอบ 2) สมการจะไดวา

พิจารณาจาก a! b! = a! + b!บวกหนึง่ เขาทัง้ สองขางขางของ a! b! − a! − b! + 1 = 1

เฉลยแบบฝกหัด


250

(a! + 1)(b! − 1) = 1 ซึ่งหากเราพิจารณา a!, b!ตองเปนจํานวนนับเสมอ ดังนั้น a! − 1 = 1 และ b! − 1 = 1ซึ่งจะมี (a, b) เพียงคูอันดับเดียวเทานั้นทีส่ อดคลองคือ (2,2) 9.ตอบ 4) หากเราลองพิจารณา a , a , a , … เปนจํานวนนับ ดังนั้น คา a , ที่เปนไปไดคือมีคาเทากับ 1 และจาก a |a และสําหรับทุกๆ จํานวนนับ n ซึ่ง a ≠ a ทําใหเราไดขอสรุปวาคา a ที่นอยที่สุดตองมีคามากกวาเทากับสอง เนื่องจาก a เปน 1ไมไดเพราะ ดังนั้น a = 2 และหากเราพิจารณาความสัมพันธแบบนี้ไปเรื่อยๆ

a ≠a เราจะไดวา a = 2 ,a = 2 ,…,a = 2 เพราะฉะนั้น a + a + a + ⋯+ a =1+2+ 2 …+ 2 = (2 − 1)(1 + 2 + 2 … + 2 ) = 2 − 1 10.ตอบ 3) พิจารณา 6x + 5y − 13xy + 17x − 19y + 12 = 6x − x(13y − 17) + 5y − 19y + 12 = 6x − x(13y − 17) + (5y − 4)(y − 3) = 6x − 2(5y − 4)x − 3(y − 3)x + (5y − 4)(y − 3) = 2x 3x − (5y − 4) − (y − 3)(3x − (5y − 4)) = 3x − (5y − 4) (2x − (y − 3)) = (2x − y + 3)(3x − 5y + 4) 11.ตอบ 3)

เฉลยแบบฝกหัด


251

x − 4x x − 4x x − 4x√… = √21 x − 4x x − 4x x − 4x√… = √21 x − 4x√21 = 21 (x − 2√21) − 5 × 21 = 0ไดวา (x − 2√21) = 105 ∴ x = 2√21 ± √105 = √21(2 ± √5) 12.ตอบ 1)

จากโจทย 2 = ∴ 2 และ 2

=2 ×

=( ) =

= 36 ∴

_______(1)

=

ดังนั้น 2 = จะไดวา 2

×2 ×2 =

× ×

=

∴2 =2 จะไดวา 2x + y + z = −3 13.ตอบ 3)

a = a + 2(1) = 2009 + 2(1) a = a + 2(1) = 2009 + 2(1) + 2(2) a = a + 2(1) = 2009 + 2(1) + 2(2) +

2(3) ดังนั้น a = 2009 + 2(1 + 2 + 3 + 4 + ⋯ + n) = 2009 + 2

n a = 2009 + n + n ∴ a = 2009 + 50 + 50 = 4559

เฉลยแบบฝกหัด


252

14.ตอบ 2)

(k − 2)(7 − k) ≥ k โดย k ∈ [2,7] k − 2 + 2 (k − 2)(7 − k) + 7 − k ≥ k 2 (k − 2)(7 − k) ≥ k − 5 (k − 3) (k + 1) − √28 [(k + 1) +

√28(k + 1) + √28 ≤ 0 อสมการเปนจริงในชวง [ √28 − 1,3] kϵ[ √28 − 1,3] k =3 15.ตอบ 3)

(

=

(

) )

x = 19 − 8√3 = 4 − √3 x − 8x + 13 = 0 ดังนั้น 16.ตอบ 4)

=

=−

จาก x = 1เปน x − 1 = 0 จะไดวา (x − 1)(x + x + x + x + 1) = 0

แตจากสมการที่ (1) : (x + x + x + x + 1) = 0 ดังนั้น x − 1 = 0ไมจําเปนตองเปนจริง 17.ตอบ 4)

AB‖CD ∴ =

A

2

B

= X

=

= _______(1)

และจาก ∆ABX~∆DBE

C

3

เฉลยแบบฝกหัด

D


253

ไดวา BX × BD = BA = 4__________(2) 18.ตอบ 2)

พิจารณา2 − 2−

จะไดวา

=

2−

… 2−

=

×

×… = 19.ตอบ 1)

= 683 พิจารณา p(x) − 2555 พบวา

p(−1) − 2555 = p(4) − 2555 = p(14) − 2555 = p(24) − 2555 = 0 นั่นคือ −1, 4, 14, 24เปนรากของพหุนาม p(x) − 2555จะได p(x) − 2555 = (x + 1)(x − 4)(x − 14)(x − 24 p(7) − 2555 = (8)(3)(−7)(−17) = 2856 p(7) = 5411 20.ตอบ 2)

ใหจํานวนสามหลักแทนดวย abcจะไดวา 100a + 10b + c = 25a + 25b + 25c จาก 5หาร 75a, 15b ลงตัวนั้นคือ 5 ตองหาร 24c ลงตัวดวยเชนกัน

นั่นคือ c=0, 5 ถา c = 0จะไดวา b = 5aนั่นคือ a = 1, b = 5 ถา c = 5จะไดวา a = 3, b = 7รวมมี 3 จํานวน

8 + b = 5aนั่นคือ a = b = 2หรือ

เฉลยแบบฝกหัด


254

ตอนที่ 2 1.

A

E X

B 2x

2y

O D

F 3y

C

พื้นที่สามเหลี่ยม COF =

COB - CFB

จากสีเ่ หลี่ยมดานขนาน เสนทแยงมุมจะแบงครึ่งซึ่งกันและกัน ดังนั้น พื้นที่

COB = (60) ตารางนิ้ว

พื้นที่สามเหลี่ยม พื้นที่สามเหลี่ยม พื้นที่สามเหลี่ยม พื้นที่สามเหลี่ยม พื้นที่สามเหลี่ยม

=

=

=

=

=

พื้นที่สามเหลี่ยม

พื้นที่สามเหลี่ยม CFB = (30) = 12 ตารางนิ้ว ดังนั้น พื้นที่สามเหลี่ยม COF = 15-12 = 3 ตารางนิ้ว 2.

C E A

2x

D

3x B

พื้นที่สามเหลี่ยม ABC = 25 ตารางเมตร จาก

ADE

~

เฉลยแบบฝกหัด

ABC


255

ได

=

=

=

จาก อัตราสวนพื้นที่สามเหลี่ยมคลาย = (อัตราสวนดาน) พื้นที่สามเหลี่ยม

=

พื้นที่สามเหลี่ยม พื้นที่สามเหลี่ยม

=

=

พื้นที่สามเหลีย่ ม

=4

3. √2 + 1 - √2 − 1 =

- √2 − 1

√2 + 1

= √2 + 1

− √2 − 1

= √2 + 1 − √2 − 1 1+2−122+1+2−1 √2 + 1

√2 + 1 √2 + 1

+ √2 − 1 + √2 + 1 √2 −

− √2 + 1 √2 − 1 + √2 − 1

= 2 (7) 2√2 (5) = 140√2

เฉลยแบบฝกหัด


256

เพิ่มเติม จงหาคาของ 4 4 4√4... ให X แทน 4 4√4... X = √4 =4 −4 =0 (4 ) = 0 X=0,4 X=4 4y. (-1,4) D

C (3,4)

(-1,-1) A ได

B (3,1) = AD + AB

= 25+16 = 41 BD = √41

เฉลยแบบฝกหัด


257

ไดวาวงกลมทีผ่ านจุด ABCD มี เสนผานศุนยกลาง = √41 รัศมี =

พื้นที่วงกลม = ¶

= ¶

เฉลยแบบฝกหัด


258

วิชาวิทยาศาสตร เฉลยแบบฝกหัดชุดที่ 1 1.1

2. 2

3. 4

4. 3

5. 3

6.1

7. 2

8. 2

9. 1

10. 3

11. 3

12. 2

13. 1

14. 2

15. 3

16. 2

17. 3

18. 1

19. 4

20. 2

21. 3

22. 1

23. 2

24. 1

25. 2

26. 4

27. 4

28. 2

29. 3

30. 4

31. 3

32. 2

33. 1

34. 3

35. 2

36. 2

37. 2

38. 2

39. 1

40. 2

41. 1 46. 4

42. 3 47. 4

43. 3 48. 3

44. 4 49. 1

45. 3 50. 1

เฉลยแบบฝกหัด


259

เฉลยแบบฝกหัดชุดที่ 2 1.1

2. 3

3. 3

4. 4

5. 2

6.2

7. 3

8. 2

9. 3

10. 1

11. 4

12. 4

13. 2

14. 1

15. 2

16.3

17. 1

18.

19. 2

20. 1

21. 1

22. 4

23. 2

24. 3

25. 3

26. 2

27. 4

28. 1

29. 4

30. 3

31. 3

32. 1

33. 3

34. 1

35. 4

36. 3

37. 4

38. 2

39. 1

40. 3

41. 1 46. 2

42. 4 47. 2

43. 1 48. 2

44. 4 49. 1

45. 3 50. 2

เฉลยแบบฝกหัด


260

เฉลยแบบฝกหัดชุดที่ 3 1. 1

2. 4

3. 2

4. 2

5. 1

6. 2

7. 3

8. 2

9. 2

10. 4

11. 2

12. 3

13. 2

14. 2

15. 2

16.1

17. 2

18. 4

19. 4

20. 4

21. 1

22. 4

23. 2

24. 4

25. 3

26. 3

27. 1

28. 3

29. 2

30. 4

31. 3

32. 2

33. 3

34. 2

35. 3

36. 3

37. 4

38. 4

39. 2

40. 4

41. 2 46. 4

42. 1 47. 1

43. 3 48. 4

44. 3 49. 4

45. 2 50. 4

เฉลยแบบฝกหัด










รองปกหลัง

รองปกหลัง

¼

¼

5,000.- บาท

5,000.- บาท

รองปกหลัง

รองปกหลัง

¼

¼

5,000.- บาท

5,000.- บาท


รองปกหลัง ครึ่งหน้ า 10,000.- บาท

รองปกหลัง ครึ่งหน้ า 10,000.- บาท


รองปกหลัง ครึ่งหน้ า 10,000.- บาท

ครึ่งหน้ า 10,000.- บาท


รองปกหลัง เต็มหน้ า 20,000.- บาท


รองปกหลัง เต็มหน้ า 20,000.- บาท


ปกใน ด้ านหลัง ครึ่งหน้ า 15,000.- บาท

ปกใน ด้ านหลัง ครึ่งหน้ า 15,000.- บาท



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.