สรุปรายงานผลการพิจารณาศึกษา ปั ญหาการบังคับใช้พระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ และพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ คณะกรรมาธิการวิสามัญ ศึกษาปั ญหาการบังคับใช้พระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ และพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔
สภานิติบญั ญัติแห่งชาติ
ขอบเขตการศึกษาเพื่อเสนอแนวทางแก้ไขปั ญหา ภายใต้ ระบบสั มปทานปิ โตรเลียม กฎหมายที่ใช้ ในการควบคุมกากับและจัดเก็บรายได้ มีจานวน ๒ ฉบับ ได้ แก่ พระราชบัญญัตปิ ิ โตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ซึ่งมีการแก้ ไขเพิม่ เติม รวม ๕ ครั้ง ครั้งสุ ดท้ ายแก้ ไขเพิม่ เติมโดยพระราชบัญญัตปิ ิ โตรเลียม (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๕๐ พระราชบัญญัตภิ าษีเงินได้ ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ซึ่งมีการแก้ ไขเพิม่ เติมรวม ๕ ครั้ง ครั้งสุ ดท้ ายแก้ ไขเพิม่ เติมโดยพระราชบัญญัตภิ าษีเงินได้ ปิโตรเลียม (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๕๐
ขอบเขตการศึกษาเพื่อเสนอแนวทางแก้ไขปั ญหา คณะอนุกรรมาธิการวิสามัญศึกษาปัญหาการบังคับใช้ พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ ปิ โตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ได้ รับมอบหมายหน้ าที่ให้ ทาการศึกษาประเด็นปัญหาที่เกี่ยวกับ การจัดเก็บรายได้ รัฐจากกิจการปิ โตรเลียมทั้งระบบ ได้ แก่
ค่าภาคหลวง และ ผลประโยชน์ ตอบแทนพิเศษ (๙ ประเด็น) ภาษีเงินได้ ปิโตรเลียม (๑๕ ประเด็น) ข้ อเสนอแนะทางกฎหมายอืน่ ๆ (๑๓ ประเด็น) การนาระบบแบ่ งปันผลผลิต (PSC) และระบบสัญญาอืน่ ๆ มาใช้ กบั การสารวจและผลิตปิ โตรเลียม ในประเทศไทย
ค่าภาคหลวง และ ผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษ ๑) มาตรา ๘๒ การเสี ยค่าภาคหลวง ณ จุดขาย อาจรั่วไหล ไม่อนุรักษ์พลังงาน ทาให้รัฐต้อง รับผิดชอบต่อการสู ญเสี ย ไม่เป็ นธรรมต่อรัฐ (หน้า ๔๒) ข้ อเสนอตามรายงานกรรมาธิการ สนช. ให้เก็บค่าภาคหลวง ณ แหล่งผลิตเพือ่ ป้ องกันการ รั่วไหล ๒) มาตรา ๘๒ การยกเว้นภาคหลวง ขึ้นกับดุลพินิจเจ้าหน้าที่ได้อย่างไม่มีขอ้ จากัด กระทบต่อ การจัดเก็บรายได้รัฐ (หน้า ๔๔) ข้ อเสนอตามรายงานกรรมาธิการ สนช. แนวทางที่ ๑ ให้ยกเลิกการยกเว้นการเก็บค่าภาคหลวง ณ แหล่งผลิตเพือ่ ป้ องกันการ รั่วไหล แนวทางที่ ๒ อาจคงไว้แนวเดิม แต่ตอ้ งแก้ให้รัดกุม ลดการใช้ดุลพินิจ โดยให้ออกเป็ น กฎกระทรวงแทน เพราะเป็ นกฎหมายที่สูงกว่าประกาศกรมเชื้อเพลิง
ค่าภาคหลวง และ ผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษ (ต่อ) ๓) มาตรา ๘๔ ให้เสี ยค่าภาคหลวงตามมูลค่าที่ขายหรื อจาหน่ายเป็ นขั้นบันไดในรอบเดือน (หน้า ๔๙) มีประเด็นข้อสังเกตดังนี้ ๓.๑ การคิดค่าภาคหลวงจากมูลค่าขาย อาจได้รับผลกระทบจากการควบคุมการผลิตและ กระบวนการขายของผูร้ ับสัมปทาน ๓.๒ การคิดค่าภาคหลวงเป็ นปิ โตรเลียม ที่อุณหภูมิ ๖๐ องศาฟาเรนไฮต์ ความดัน ๑๔.๗ ปอนด์ ต่อตารางนิ้ว มีความเหมาะสมหรื อไม่ ๓.๓ การคิดค่าภาคหลวงเป็ นเงิน มีประเด็นเรื่ องราคาที่ใช้และสถานที่ที่เสี ยค่าภาคหลวง ๓.๔ รมต.สามารถให้ส่วนลดราคามาตรฐานได้ร้อยละ ๗ เป็ นเวลา ๙ ปี แต่หากเป็ นแหล่งผลิตใน น้ าลึกเกิน ๒๐๐ เมตรสามารถลดราคามาตรฐานได้ถึงร้อยละ ๓๐ เป็ นเวลา ๙ ปี ๓.๕ ราคาก๊าซตกลงกับ คณะกรรมการฯ โดยมีกาไรพอสมควร เกิดปัญหาว่าคาว่า “พอสมควร” คืออะไร (หน้า ๕๒)
ค่าภาคหลวง และ ผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษ (ต่อ) ๔) การเสี ยค่าภาคหลวง และอัตราค่าภาคหลวงตามมาตรา ๘๔ ๔.๑ การคิดจากมูลค่าขาย ทาให้ผรู้ ับสัมปทานสามารถควบคุมการขายในรอบเดือน เพื่อเสี ย ค่าภาคหลวงให้นอ้ ยที่สุดได้ ข้ อเสนอตามรายงานกรรมาธิการ สนช. ให้คิดค่าภาคหลวงจากราคาตลาดของก๊าซและ น้ ามันที่อา้ งอิง โดยกาหนดเป็ นอัตราก้าวหน้า ๔.๒ อัตราค่าภาคหลวง มีแต่ตารางน้ ามันดิบเพียงอย่างเดียว ทาให้ตอ้ งคานวณแปลงปริ มาณ ก๊าซธรรมชาติเทียบเท่าน้ ามันดิบ ทาให้รัฐได้ค่าภาหลวงต่าลงเนื่องจากตัวแปลงค่าตาม พรบ.จะใช้ ๑๐ ล้านบีทียตู ่อ ๑ บาร์เรล(เทียบเท่าน้ ามันดิบ) ซึ่ งไม่ตรงกับมาตรฐานของ กรมเชื้อเพลิงฯเองที่กาหนดให้ใช้ ๕.๗๓ ล้านบีทียตู ่อ ๑ บาร์เรล(เทียบเท่าน้ ามันดิบ) ข้ อเสนอตามรายงานกรรมาธิการ สนช. เพิ่มตารางอัตราค่าภาคหลวงสาหรับก๊าซ ธรรมชาติ
ค่าภาคหลวง และ ผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษ (ต่อ) ๔.๓. อัตราค่ าภาคหลวงแบบขั้นบันได คิดเป็ นรายแปลง ข้ อเสนอตามรายงานกรรมาธิการ สนช. เพื่อป้ องกันการกระจายสัดส่ วนมูลค่าการ ขายในแต่ละแปลง จึงให้เสี ยค่าภาคหลวงรวมของผูร้ ับสัมปทานแต่ละราย ข้ อสั งเกต - การเสี ยภาษีแบบรวมแปลง ทาให้เอกชนนาค่าใช้จ่ายในแปลงที่ขาดทุนมาหัก จากแปลงที่กาไรได้ รัฐจึงได้ภาษีนอ้ ยลง - ค่าภาคหลวงแบบขั้นบันไดที่คิดแยกแปลง ทาให้ยอดขายของผูร้ ับสัมปทาน ต่าลง เอกชนจึงบริ หารค่าภาคหลวงให้ต่าลงได้
ค่าภาคหลวง และ ผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษ (ต่อ) ๕) การลดค่าภาคหลวง ตามมาตรา ๙๙ ทวิ, ๙๙ ตรี รัฐมนตรี มีอานาจลดหย่อน ค่าภาคหลวงถึงร้อยละ ๙๐ (แก้ไขในปี ๒๕๕๐) จากเดิมร้อยละ ๓๐ ข้ อเสนอตามรายงานกรรมาธิการ สนช. ค่าภาคหลวงสามารถนามาหักเป็ น ค่าใช้จ่ายได้ ให้ปรับอัตราลดหย่อนเป็ นร้อยละ ๓๐ ตามเดิม และการลดหย่อนมี กระจายอยูใ่ น พรบ.ทั้งสองฉบับ จึงควรรวมไว้ในหมวดเดียวกัน เพื่อให้ง่ายต่อ การปฏิบตั ิและการตรวจสอบ
ค่าภาคหลวง และ ผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษ (ต่อ) ๖) การคานวณผลประโยชน์ ตอบแทนพิเศษ ตามมาตรา ๑๐๐ มีความซับซ้อน การใช้ ความยาวท่อใต้ดินมาเป็ นตัวแปร โดยให้ประโยชน์ต่อเอกชน ด้วยการเพิ่มค่า K คือ ความยาวท่อสมมติอีก ๖ แสนเมตร และให้ค่าลดหย่อนพิเศษ Special Reduction (SR) อีกร้อยละ ๓๕ มีความเหมาะสมและเป็ นประโยชน์ต่อรัฐหรื อไม่ ข้ อเสนอตามรายงานกรรมาธิการ สนช. กาหนดหลักเกณฑ์การคานวณใหม่ให้มีความ เหมาะสม ลดความยุง่ ยากซับซ้อน เพื่อความสะดวกในการบังคับใช้และการปฏิบตั ิตาม กฎหมายเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิภาพมากขึ้น เช่น ให้เสี ยผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษ เป็ นร้อยละจากค่าภาคหลวง หรื อ จากจานวนค่าภาษีที่ตอ้ งเสี ย
ค่าภาคหลวง และ ผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษ (ต่อ) ๗) หน่ วยงานจัดเก็บรายได้ มาตรา ๑๐๐ ปั จจุบนั การควบคุมการให้สัมปทาน การสารวจ การผลิต การขนส่ งและการเก็บรักษา การผลิตและจาหน่าย การจัดเก็บค่าภาคหลวง และผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษ เป็ นอานาจหน้าที่ของกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ อาจทา ให้การบริ หารและจัดเก็บรายได้เป็ นไปอย่างไม่มีประสิ ทธิภาพเท่าที่ควร ข้ อเสนอตามรายงานกรรมาธิการ สนช. ให้กรมสรรพสามิตมีอานาจและหน้าที่ในการ จัดเก็บค่าภาคหลวงและผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษโดยตรง เนื่องจากปั จจุบนั กรม สรรพสามิตเป็ นหน่วยงานที่มีหน้าที่จดั เก็บภาษีจากสิ นค้าน้ ามัน และผลิตภัณฑ์น้ ามัน อีกทั้งมีหน่วยงานทางด้านวิศวกรรม ซึ่ งมีวิศวกรที่มีความชานาญในการควบคุมการ จัดเก็บภาษีจากผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมอยูแ่ ล้วโดยตรง
ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม ๑) การคานวณยอดเงินได้ จากการขายปิ โตรเลียมเพือ่ เสี ยภาษี รัฐมนตรี สามารถกาหนดส่ วนลดได้ โดยแปลงบนบกและในน้ าตื้น สามารถลดได้ไม่ เกินร้อยละ ๗ ของราคาประกาศ เป็ นเวลาไม่เกิน ๙ ปี ส่ วนแปลงสารวจในทะเลที่มีน้ า ลึกเกินสองร้อยเมตร สามารถกาหนดส่ วนลดไม่เกินร้อยละ ๓๐ ของราคาประกาศ เป็ น เวลาไม่เกิน ๙ ปิ โตรเลียม จึงเห็นได้วา่ ในกฎหมายปั จจุบนั เอกชนสามารถมีส่วนลดได้ ในหลายส่ วนได้แก่ จานวนค่าภาคหลวง อัตราค่าภาคหลวง และส่ วนลดเพื่อคานวณ การขาย
ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (ต่อ) ๒) การหักรายจ่ าย ๒.๑ ขอบเขตของรายจ่ าย กฎหมายระบุวา่ หากเป็ นรายจ่ายที่สามารถพิสูจน์ได้วา่ เป็ นรายจ่ายตามปกติและ จาเป็ นในจานวนไม่เกินสมควร และได้จ่ายไปทั้งหมดเฉพาะในกิจการปิ โตรเลียม ไม่วา่ จะจ่ายในหรื อ นอกราชอาณาจักรก็สามารถนามาหักเป็ นรายจ่ายในการคานวณกาไรสุ ทธิ เพื่อเสี ยภาษีได้ท้ งั จานวน โดยสรุ ปคือ กฎหมายระบุรายการเกี่ยวกับรายจ่ายตามปกติและจาเป็ นในกรณี ต่างๆ ไว้แต่มไิ ด้ กาหนดว่ า ต้ องเป็ นรายจ่ ายที่เกีย่ วกับกิจการปิ โตรเลียมในราชอาณาจักร จึงอาจทาให้เกิดปั ญหาในการตีความว่าจะ หักเป็ นรายจ่ายได้หรื อไม่ และในส่ วนของรายจ่ายที่เกิดขึ้นในต่างประเทศก็มิได้กาหนดการปฏิบตั ิ เกี่ยวกับการแสดง หรื อการรับรองหลักฐานหรื อเอกสารที่เกี่ยวข้องกับรายจ่ายนั้นไว้ จึงอาจเกิดปั ญหา เรื่ องความน่าเชื่อถือในความถูกต้องแท้จริ งของเอกสารได้ ข้ อเสนอตามรายงานกรรมาธิการ สนช. ควรมีการแก้ไขกฎหมายโดยกาหนดว่ารายจ่ายตามปกติและ จาเป็ นให้จากัดอยูเ่ ฉพาะแต่รายจ่ายที่สามารถพิสูจน์ได้วา่ เป็ นรายจ่ายในจานวนที่ไม่เกินสมควร และได้ จ่ายไปทั้งหมดเฉพาะที่เกี่ยวกับกิจการปิ โตรเลียมในราชอาณาจักร อาจกาหนดให้รายจ่ายที่มาจากหรื อที่ เกี่ยวข้องกับดินแดนปลอดภาษี (Tax Haven) เป็ นรายจ่ายที่มิให้ถือเป็ นรายจ่ายทางภาษีดว้ ย
ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (ต่อ) ๒.๒ ค่ าเช่ า บริ ษทั สามารถเช่าทรัพย์สินในหรื อนอกราชอาณาจักร เพือ่ นามาใช้ในกิจการปิ โตรเลียมและ สามารถนามาหักเป็ นรายจ่ายได้ หากบริ ษทั ลงทุนโดยการเช่าทรัพย์สินเป็ นส่ วนใหญ่และเป็ น จานวนมาก ก็จะทาให้รายจ่ายในการประกอบกิจการมีจานวนที่สูง เมื่อนามาหักเป็ นรายจ่ายก็ ย่อมทาให้เหลือกาไรสุ ทธิที่จะต้องเสี ยภาษีเป็ นจานวนน้อยลง ส่ งผลกระทบต่อรายได้ โดยรวมของรัฐ หากบริ ษทั ผูร้ ับสัมปทานเช่าทรัพย์สินจากบริ ษทั ในเครื อเดียวกันในต่างประเทศ ก็สามารถ กาหนดค่าเช่าในลักษณะที่เป็ นการถ่ายโอนกาไรไปยังบริ ษทั ในเครื อได้โดยวิธีการตั้งราคา โอน (Transfer Price) ผ่านทางช่องทางการจ่ายค่าเช่าดังกล่าวให้แก่กนั ได้อีกทางหนึ่ง นอกจากนี้ การนาทรัพย์สินที่เช่าจากต่างประเทศเข้ามาในประเทศไทย ผูร้ ับสัมปทานก็มีสิทธิที่จะนาเข้า มาในราชอาณาจักโดยได้ รับยกเว้นการเสี ยอากรขาเข้ า ส่ งผลให้ผรู ้ ับสัมปทานได้รับสิ ทธิ ท้ งั ยกเว้นภาษีอากรและนาค่าเช่าไปหักเป็ นรายจ่ายได้โดยไม่ จากัดจานวน
ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (ต่อ) ๒.๓ ค่ ารับรอง ไม่มีการจากัดจานวนค่ารับรอง ซึ่ งแตกต่างจากค่ารับรองที่กาหนดไว้ตาม ประมวลรัษฎากร ข้ อเสนอตามรายงานกรรมาธิการ สนช. แก้ไขกฎกระทรวง เพื่อให้มีการกาหนด ลักษณะของค่ารับรองและจานวนค่ารับรองสูงสุ ดที่จะหักเป็ นรายจ่ายที่จาเป็ นและ สมควร เช่นเดียวกับที่กาหนดไว้ตามประมวลรัษฎากร ๒.๔ การจาหน่ ายหนีส้ ู ญ กฎหมายกาหนดไว้เพียงลักษณะกว้าง ๆ ว่าให้จาหน่ายได้ต่อเมื่อ ได้ปฏิบตั ิการโดยสมควรเพื่อให้ได้รับชาระหนี้แล้ว และหลักเกณฑ์ในการจาหน่ายหนี้ สูญก็ไม่มีกาหนดไว้ในอนุบญั ญัติระดับกฎกระทรวง แตกต่างจากประมวลรัษฎากร
ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (ต่อ) ๒.๕ รายจ่ ายที่จัดสรรจากสานักงานใหญ่ เป็ นเรื่ องที่บริ ษทั ต่างประเทศที่ได้รับสัมปทานและ มีสาขาหรื อสานักงานอยูใ่ นประเทศไทย มีการจัดสรรหรื อปั นส่ วนรายจ่ายมายังประเทศ ไทย จึงมีปัญหาว่ารายจ่ายนั้น เป็ นการจัดสรรมาเป็ นจานวนตามปกติและจาเป็ นในการ ประกอบกิจการในประเทศไทยหรื อไม่ ซึ่ งเรื่ องนี้กป็ รากฏเป็ นคดีฟ้องร้องกันและอยูใ่ น ระหว่างการพิจารณาของศาลฎีกาด้วย ดังนั้น หากมีการจัดสรรค่าใช้จ่ายในลักษณะนี้จากสานักงานใหญ่ให้แก่สาขาในประเทศ ไทยก็จะส่ งผลต่อการคานวณกาไรสุ ทธิเพื่อเสี ยภาษีของสาขาในประเทศไทย การที่ กฎหมายกาหนดไว้ในลักษณะนี้ อาจทาให้เกิดปั ญหาการใช้ดุลพินิจว่าจานวนที่จดั สรร มาเหมาะสมหรื อไม่ (หน้า ๙๐) ข้ อเสนอตามรายงานกรรมาธิการ สนช. ควรต้องมีการแก้ไขกฎหมายเพิ่มเติม โดย กาหนดให้รายจ่ายของสานักงานใหญ่เท่าที่จดั สรรได้โดยสมควรว่า ต้องเกี่ยวกับกิจการ ปิ โตรเลียมในประเทศไทยเท่านั้น
ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (ต่อ) ๒.๖ รายการที่มิให้ ถือเป็ นรายจ่ ายตามปกติ กรณีที่บริ ษทั ผูป้ ระกอบกิจการปิ โตรเลียมต้องจ่ายไป เกี่ยวกับการบาบัดหรื อแก้ไขเยียวยา ความเสี ยหายที่เกิดขึ้นต่อสิ่ งแวดล้อม มลภาวะ หรื อ ผลกระทบต่อสุ ขภาพอนามัยของประชาชนที่อาจจะเกิดขึ้นจากการประกอบกิจการ ก็มิควรจะ ให้ถือเป็ นรายจ่ายในการคานวณกาไรสุ ทธิ เพือ่ เสี ยภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (หน้า ๙๒) ๒.๗ การลดหย่ อนผลขาดทุน และการโอนกิจการปิ โตรเลียม มาตรา ๔๘ ของ พรบ.ปิ โตรเลียม ระบุวา่ หากมีการถือหุ น้ เกินร้อยละ ๕๐ ระหว่างผูโ้ อนและผูร้ ับโอนสัมปทาน สามารถโอน สัมปทานกันได้โดยไม่ตอ้ งขออนุญาต ปั ญหาที่จะต้องพิจารณาคือ การโอนกิจการปิ โตรเลียม ให้บริ ษทั ผูร้ ับโอนถือเอาผลขาดทุนประจาปี คงเหลือของบริ ษทั ผูโ้ อนเพือ่ ประโยชน์ในการหัก ลดหย่อนได้ ซึ่งจะส่ งผลให้สามารถเคลื่อนย้ายผลขาดทุนระหว่างบริ ษทั ผูโ้ อนกับผูร้ ับโอนได้ โดยสะดวก (หน้า ๙๗) ข้ อเสนอตามรายงานกรรมาธิการ สนช. ควรต้องแก้ไขกฎหมายเพิม่ เติม เพือ่ ป้ องกันการโอน กิจการในลักษณะเป็ นการนาผลขาดทุนสุ ทธิไปใช้ประโยชน์ในทางภาษีอากร
ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (ต่อ) ๒.๘ สิ ทธิยกเว้นภาษีอากรอื่นในการประกอบกิจการ พระราชบัญญัติปิโตรเลียมฯ มาตรา ๗๑ ให้สิทธิแก่ผรู้ ับสัมปทานในการได้รับยกเว้นการเสี ยภาษีอากร และเงินที่ราชการ ส่ วนกลาง ราชการส่ วนภูมิภาค และราชการส่ วนท้องถิ่นเรี ยกเก็บทุกชนิด เว้นแต่ภาษี เงินได้ตามกฎหมายว่าด้วยภาษีเงินได้ปิโตรเลียม หมายความว่าภาษีหรื อค่าธรรมเนียมอื่นใด นอกเหนือจากที่กล่าวมานี้ เช่น ผูร้ ับ สัมปทานนาสิ นค้ามาใช้ในกิจการปิ โตรเลียมก็จะได้รับยกเว้นภาษีสรรพสามิต หรื อ กรณี ที่ผรู้ ับสัมปทานมีที่ดิน โรงเรื อนหรื อสิ่ งปลูกสร้าง ตลอดจนป้ าย ที่ใช้ในกิจการ ปิ โตรเลียม ก็จะได้รับสิ ทธิยกเว้นภาษีโรงเรื อนและที่ดิน ภาษีบารุ งท้องที่ และภาษีป้าย เป็ นต้น ข้ อเสนอตามรายงานกรรมาธิการ สนช. แก้ไขกฎหมายให้ยกเลิกการยกเว้นภาษีหรื อ ค่าธรรมเนียมทุกชนิดที่ตอ้ งจ่ายให้แก่รัฐโดยยกเลิกบทบัญญัติมาตรา ๗๐ และมาตรา ๗๑ แห่งพระราชบัญญัติปิโตรเลียมฯ
ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (ต่อ) ๒.๙ ราคาขายน้ามันดิบและก๊ าซธรรมชาติเพือ่ ใช้ ในราชอาณาจักร ให้ผรู้ ับสัมปทานขายน้ ามันดิบ กรณี ไม่มีการส่ งออกเป็ นประจา ให้ขายไม่เกินราคา น้ ามันดิบที่สงั่ ซื้ อจากต่างประเทศส่ งถึงโรงกลัน่ ส่ วนการขายก๊าซธรรมชาติเพื่อใช้ ภายในราชอาณาจักรนั้น กาหนดให้ผรู้ ับสัมปทานขายในราคาที่ตกลงกับ คณะกรรมการปิ โตรเลียม แต่หากผลิตได้เกินความต้องการให้ขายในราคาที่มีกาไร ตามสมควร (หน้า ๑๐๖) ข้ อเสนอตามรายงานกรรมาธิการ สนช. ราคาขายปิ โตรเลียมในประเทศและส่ งออกมี การกาหนดไว้แตกต่างกันไม่เป็ นไปตามหลักสากล และปิ โตรเลียมมีหลายประเภทแต่ วิธีกาหนดราคามีเพียงน้ ามันดิบและก๊าซธรรมชาติ จึงสมควรแก้ไขให้สอดคล้องกัน และเป็ นไปตามหลักสากล
ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (ต่อ) ๒.๑๐ ช่ องทางการโยกย้ ายกาไรออกไปจากประเทศไทยโดยใช้ อนุสัญญาภาษีซ้อน การส่ งเงินกาไรจากกิจการปิ โตรเลียมในประเทศไทยให้แก่บริ ษทั ในเครื อเดียวกันใน ต่างประเทศ บริ ษทั อาจวางแผนภาษีโดยการทาสัญญากูย้ มื เงิน หรื อการให้สินเชื่อ ทางการค้าระหว่างตนกับบริ ษทั ในเครื อ และส่ งกาไรออกไปในลักษณะของการจ่าย ดอกเบี้ย โดยสามารถเลือกใช้ช่องทางสิ ทธิประโยชน์ตามความตกลงทางภาษีระหว่าง ประเทศ ข้ อเสนอตามรายงานกรรมาธิการ สนช. ให้ปรับปรุ งหลักเกณฑ์ในการรับรู้รายจ่ายให้ รัดกุมยิง่ ขึ้นว่า การทาธุรกรรมกูย้ มื เงินหรื อการให้สินเชื่อระหว่างบริ ษทั ในเครื อ เดียวกัน ซึ่ งมีการจ่ายดอกเบี้ยออกไปต่างประเทศนั้น จะต้องมีการพิสูจน์ทางเอกสาร ให้ได้ขอ้ เท็จจริ งว่าเป็ นธุรกรรมในทางพาณิ ชย์ที่แท้จริ ง หากไม่สามารถแสดงหรื อ พิสูจน์ได้กใ็ ห้ถือว่าดอกเบี้ยดังกล่าวเป็ นการจาหน่ายเงินกาไรไปต่างประเทศ
ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (ต่อ) ๒.๑๑ มูลค่ าตลาดของรายจ่ ายในการคานวณกาไรสุ ทธิ ไม่มีบทนิยามที่ชดั แจ้งถึงคา ว่า “ราคาตลาด”ในกรณี ของค่าใช้จ่ายไว้ การไม่กาหนด มูลค่าราคาตลาดสาหรับด้านรายจ่ายไว้โดยเฉพาะอาจเป็ นเหตุ ที่นาไปสู่การวางแผน ภาษีผา่ นการกาหนดราคาของค่าใช้จ่ายที่เรี ยกเก็บระหว่างกันภายในกลุ่มบริ ษทั หรื อที่ เรี ยกว่า “การตั้งราคาโอน (Transfer Pricing)” ข้ อเสนอตามรายงานกรรมาธิการ สนช. ควรกาหนดกรณี น้ ีเพิ่มเติม เพื่อป้ องกันปั ญหา การตั้งราคาโอน (Transfer Pricing) ที่มีการถ่ายโอนกาไรออกไปต่างประเทศใน รู ปแบบของค่าใช้จ่ายต่าง ๆ อันเป็ นแนวทางการแก้ไขปั ญหาที่สอดคล้องกับกรณี การ กาหนดราคาโอนในการเสี ยภาษีเงินได้นิติบุคคลตามประมวลรัษฎากร
ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (ต่อ) ๒.๑๒ สิ ทธิประโยชน์ ภายใต้ อนุสัญญาภาษีซ้อนระหว่างประเทศไทยกับสหรัฐอเมริกา อนุสัญญาภาษีซอ้ นระหว่างประเทศไทยกับสหรัฐอเมริ กานั้น ปรากฏว่ามีความพิเศษที่ แตกต่างไปจากบทบัญญัติเรื่ องสถานประกอบการถาวรในอนุสัญญาภาษีซอ้ นฉบับ อื่นๆ อนุสัญญาภาษีซอ้ นระหว่างประเทศไทยกับ สหรัฐอเมริ กาว่าด้วยนิยามของ “สถานประกอบการถาวร” กาหนดให้กรณี การติดตั้งเรื อหรื อแท่นขุดเจาะที่ใช้ในการ สารวจที่ได้ดาเนินกิจกรรมระยะเวลาหนึ่งหรื อหลายระยะเวลารวมกันแล้วเกินกว่า ๑๒๐วัน ภายในระยะเวลา ๑๒ เดือนใดๆ เท่านั้น จึงจะถือว่ามีสถานประกอบการถาวร ในประเทศไทย ที่จะทาให้ประเทศไทยจัดเก็บภาษีได้ ข้ อเสนอตามรายงานกรรมาธิการ สนช. เนื่องจากข้อความดังกล่าวเป็ นข้อผูกพันตาม สนธิสัญญาที่ประเทศไทยเสี ยเปรี ยบ สมควรพิจารณาทบทวนโดยให้กรมสรรพากรขอ เปิ ดการเจรจาแก้ไขกับประเทศสหรัฐอเมริ กาต่อไป
ข้อเสนอแนะอืน่ หน้า ๑๑๑ ๑) ควรเพิ่มเติมหลักเกณฑ์เรื่ องการเปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับกิจการปิ โตรเลียมต่อสาธารณะ ๒) แก้ไขเรื่ องสิ ทธิในการถือสัมปทานไม่อยูใ่ นความรับผิดแห่งการบังคับคดี โดยไม่ควรจากัดให้ ยกเว้นการบังคับคดีทุกกรณี เช่น ถ้าหากมีการค้างชาระค่าภาคหลวงรวมทั้งเงินหรื อ ผลประโยชน์อื่น ก็จะต้องกาหนดให้รัฐมีอานาจบังคับชาระได้เช่นเดียวกับมาตรการบังคับ ชาระภาษีคา้ งของกรมสรรพากร ๓) ควรปรับปรุ งเรื่ องอานาจของคณะกรรมการปิ โตรเลียม อานาจรัฐมนตรี และอานาจอธิบดีให้ สอดคล้องกับกฎหมายที่จะมีการแก้ไขเพิม่ เติม ๔) ควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายในเรื่ องความเป็ นเจ้าของปิ โตรเลียมของรัฐให้มีความชัดเจน โดยเฉพาะความในมาตรา ๒๓ แห่งพระราชบัญญัติปิโตรเลียมฯ ต้องกาหนดเพิ่มเติมว่า แม้จะ มีการให้สมั ปทานไปแล้ว ความเป็ นเจ้าของปิ โตรเลียมก็ยงั เป็ นของรัฐตลอดไปไม่วา่ จะอยูใ่ น ขั้นตอนการสารวจ ผลิต ขนส่งและเก็บรักษา ตลอดจนการขายหรื อจาหน่าย จนกว่าจะมีการ โอนกรรมสิ ทธิ์ไปยังผูซ้ ้ือปิ โตรเลียมหรื อผูท้ ี่ได้รับปิ โตรเลียมจากการจาหน่าย
ข้อเสนอแนะอืน่ หน้า ๑๑๑ (ต่อ) ๕) คุณสมบัติของผูข้ อสัมปทาน ต้องไม่เป็ นบริ ษทั ที่จดทะเบียนจัดตั้ง หรื อมีสถานที่บริ หาร จัดการและควบคุมของบริ ษทั นั้นตั้งอยูใ่ นพื้นที่หรื อดินแดนปลอดภาษี (Tax Haven Jurisdictions) รวมถึงบริ ษทั ที่มีแหล่งเงินทุนอยูใ่ น หรื อได้มาจากพื้นที่หรื อดินแดนดังกล่าว ไม่วา่ โดยทางตรงหรื อทางอ้อม เนื่องจากบริ ษทั เหล่านี้ อาจจะใช้พ้นื ที่หรื อดินแดนดังกล่าว เป็ นช่องทางในการหลีกเลี่ยงภาษีหรื อกระทาธุรกรรมที่มิชอบด้วยกฎหมาย ๖) การโอนสัมปทาน จะต้องไม่มีผลกระทบอันเป็ นนัยสาคัญต่อการจัดเก็บรายได้ของรัฐ เพื่อ ป้ องกันความเสี ยหายต่อรายได้ของรัฐที่อาจจะเกิดขึ้นจากการกระทาดังกล่าว ๗)การเก็บรักษาเงินตราต่างประเทศ และการนาหรื อส่งออกนอกราชอาณาจักรซึ่งเงินตรา ต่างประเทศ ควรต้องอยูภ่ ายใต้การกากับของกฎหมายที่อยูใ่ นความรับผิดชอบของธนาคาร แห่งประเทศไทย
การจัดเก็บรายได้จากกิจการปิ โตรเลียม ในระบบอืน่ ๆ
การจัดเก็บรายได้จากกิจการปิ โตรเลียม ในระบบอืน่ ๆ กรณี ก ารน าระบบแบ่ ง ปั น ผลผลิต (Production Sharing Contract - PSC) มาใช้ ในประเทศไทย ต้ องมีการพิจารณาแก้ ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติปิโตรเลียม และ พระราชบัญญัตภิ าษีเงินได้ ปิโตรเลียมเพือ่ ให้ สอดคล้ องกับระบบดังกล่ าว สั ญญาบริ การ (Service Contract) อาจพิจารณานาการจัดเก็บภาษีเงินได้ ตามประมวล รัษฎากรมาปรับใช้ โดยไม่ จาต้ องออกกฎหมายเป็ นการเฉพาะ และไม่ มีความจาเป็ นต้ อง แก้ไขกฎหมายใดๆ รู ปแบบกิจการร่ วมค้ า (Joint Venture) อาจพิจารณานาการจัดเก็บภาษีเงินได้ ตาม ประมวลรัษฎากรมาปรับใช้ โดยไม่ จาต้ องออกกฎหมายเป็ นการเฉพาะ อย่ างไรก็ดี ต้ องมี การแก้ ไขกฎหมายให้ มีความเหมาะสม และเพื่อให้ การจัดเก็บภาษีเป็ นการจัดเก็บจากผู้ ร่ วมค้ าในส่ วนภาคเอกชนโดยตรงเท่ านั้น พิจารณาทบทวนเพื่อให้ สัดส่ วนรายได้ โดยรวมของประเทศไทย ดีกว่ า หรื ออย่ างน้ อย ที่สุด ไม่ ตา่ กว่ าระบบสั มปทานปัจจุบัน
ข้อเสนอแนวทางการปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยปิ โตรเลียมในระยะเร่งด่วน (หน้า ๑๖๙) ควรชะลอการเปิ ดสัมปทานไปจนกว่าจะมีการแก้ไขปรับปรุ งกฎหมายที่ เกี่ยวข้องกับรู ปแบบธุรกรรมที่ยงั ไม่บญั ญัติน้ ีให้เรี ยบร้อยก่อนทาสัญญา ถ้ามีความ จาเป็ นเร่ งด่วนต้องเปิ ดประมูลแปลงปิ โตรเลียมเพื่อไม่ให้เกิดความเสี ยหายในด้าน พลังงานของประเทศ คณะกรรมาธิการวิสามัญ เห็นควรให้ทาการเปิ ดประมูลใน ระบบแบ่งปั นผลผลิตคราวละ ๔-๕ แปลง ในแปลงที่มีขอ้ มูลมากพอสาหรับ ผูเ้ ข้าร่ วมการประมูล เพื่อให้มีการแข่งขันที่เป็ นธรรมและรัฐได้ผลประโยชน์ตอบ แทนที่สูงขึ้น หรื อดาเนินการสารวจในเบื้องต้นในแปลงที่มีศกั ยภาพสูง โดยเป็ นการ สารวจเพื่อความมัน่ คง ซึ่งอาจมอบหมายให้หน่วยงานภาครัฐที่มีขีดความ สามารถ และประสบการณ์ร่วมกับกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ เป็ นผูด้ าเนินการ
คณะกรรมาธิการวิสามัญ ศึกษาปัญหาการบังคับใช้ พระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ และพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔
สภานิตบิ ัญญัตแิ ห่ งชาติ