เบญจมาศกระถาง

Page 1

เบญจมาศกระถาง นายธนวัฒน รอดขาว เบญจมาศ (Dendrantheme grandiflora Tzvelev) จัดอยูในวงศ Compositae เปนไมดอกที่ไดรับ ความนิยมทั้งในรูปของการผลิตเปนไมตัดดอกและไมกระถาง ซึ่งปจจุบันธุรกิจเกี่ยวกับไมดอกระถางใน เมืองไทยไดมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นอยางมาก นอกจากไมดอกระถางที่มกี ารปลูกจําหนายกันเองในประเทศ แลว ยังมีผูนําไมดอกกระถางชนิดตาง ๆ จากตางประเทศเขามาจําหนายใหแกผูที่สนใจและหลงใหลความ สวยงามของมันอยางมากมาย หลากหลายชนิด ซึ่งคิดเปนมูลคาในปหนึ่ง ๆ เปนเงินจํานวนไมนอยทีเดียว แสดงใหเห็นวาไมดอกกระถางเปนที่นิยมใชกันอยางแพรหลายมากขึ้น

ภาพ 1 ลักษณะกลีบดอกซอน สีเหลือง

ภาพ 2 ลักษณะกลีบดอก แบบเดซี่สีสม

ภาพ 3 ลักษณะกลีบดอกซอน สีขาว

การขยายพันธุ เบญจมาศสามารถขยายพัน ธุ ไ ด ห ลายวิธี ที่นิ ย มทําคื อ การปก ชํ ายอดออนจากต น แมพัน ธุ (Mother plant) ที่ปลอดเชื้อโดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช ทําใหกิ่งชําที่ไดปราศจากเชื้อโรคและมีความ สม่ําเสมอ

ภาพ 4 ใชสวนของยอดเบญจมาศ ยาว 2 เซนติเมตร นํามาใสอาหารสูตร MS เพื่อใหยอดเกิดราก


การปลูกตนแมพันธุ การเตรียมดิน โดยการปรับปรุงดินดวยปุยหมัก แกลบดิบ โดโลไมท ขึ้นแปลงกวาง 1 เมตร นําตน แมพัน ธุปลู ก ระยะ 20 x 15 เซนติเมตร เมื่อมีอายุ 10 วัน ทําการเด็ ด ยอดเพื่อใหยอดแตกกิ่ง แขนง หลังจากเด็ดยอดได 20 วัน ก็สามารถเด็ดกิ่งพันธุไปปกชําได การดูแลตนแมพันธุหลังจากการปลูก ใหแสงไฟในเวลากลางคืนเปนเวลา 3 ชั่วโมง ในชวงเวลา 22.00 น – 01.00 น. ใสปุยสูตร 15-15-15 ทุก 7 – 10 วัน และพนสารเคมีเพื่อปองกั นกําจัด โรคและ แมลงอยางสม่ําเสมอ

ภาพ 5 การนําตนกลาเบญจมาศปลูกลงแปลงแมพันธุ

ภาพ 6 การใหแสงสวางจากหลอดไฟฟาในเวลากลางคืน

การปกชํา เก็บกิ่งชําจากตนแมพันธุ ใหมีความยาว 2.5 เซนติ เมตร จุมในฮอรโมน IBA ความเขมขน 0.1 เปอรเซ็นต นําไปปกชําบนขี้เถาแกลบ ภายใตโรงเรือนที่ควบคุมการใหน้ําระบบพนฝอย และเพิ่มแสงไฟใน เวลากลางคืน เปนเวลา 15 วัน จะไดกิ่งพันธุที่มีรากสมบูรณพรอมที่จะนําไปปลูกตอไป

ภาพ 7 กิ่งพันธุพรอมที่จะนําไปปกชํา

ภาพ 8 การใหไฟฟาแกกิ่งปกชําเบญจมาศ


สายพันธุเบญจมาศกระถาง เบญจมาศที่จ ะปลู ก เปน ไมก ระถาง จะต องเปน พัน ธุไมก ระถางโดยเฉพาะ มีลั ก ษณะทรงพุม กะทัดรัด ดอกดก และมีดอกขนาดเล็ก แตกกิ่งมาก

ภาพ 9 พันธุ Fiamma Bronze

ภาพ 10 พันธุ Ginger

การดูแลรักษา หลังจากปลูกประมาณ 7 วัน ทําการเด็ดยอดเพื่อใหแตกแขนง และรดปุยในรูปของปุยน้ํา โดยมี ปริมาณธาตุอาหารดังนี้ ปุยสูตร ปริมาณ (กรัม) 1. 12-60-0 25 2. 13-0-46 150 3. 15-0-0 120 4. แมกนีเซียมซัลเฟต 45 5. ธาตุอาหารเสริมยูนเิ ลท 2.5 การละลายใหแยกปุยสู ต ร 15-0-0 ละลายในถั งน้ํ า 10 ลิต ร 1 ถั ง ส วนปุยที่เหลือใหละลาย รวมกันอีกหนึ่งถัง แลวนําปุยทั้ง 2 ถังไปผสมกับน้ําอีก 200 ลิตร รดเบญจมาศสัปดาหละ 2 ครั้ง

ภาพ 11 ผสมปุยใสถัง 200 ลิตร ใชปม ดูดน้ําขนาดเล็กดูดปุยใหกับเบญจมาศ

ภาพ 12 รดปุยใหกับเบญจมาศทีละกระถาง


การจัดวางกระถาง หลังจากปลูกลงกระถางแลว ทําการเปดไฟเพื่อใหแสงสวาง ประมาณ 2 สัปดาห หลังจากนั้นเปด ไฟ และยายหรือแยกกระถางใหมีระยะหางระหวางกระถาง 30 x 30 เซนติเมตร เพื่อใหตนไดรับแสง เต็มที่ แตกกิ่งไดดีมีทรงพุมสวยงาม

ภาพ 13 ระยะในการจัดวางกระถาง

ภาพ 14 แปลงกวาง 2 เมตร วางได 7 แถว

การใชสารชะลอการเจริญเติบโต เพื่อ ใหต น เบญจมาศมีท รงพุ ม กะทั ด รั ด สวยงาม แตกกิ่ ง ก านสาขามาก ไม สู ง จนเกิ น ไปให เหมาะสมกับขนาดของกระถาง สารควบคุมการเจริญเติบโตที่ใช ไดแก 1. ดามิโนไซด (daminozide) ความเขมขน 1,200 – 5,000 มิลลิกรัม/ลิตร พนหลังจากเด็ดยอด แล ว และปล อ ยใหกิ่ ง แขนงเจริ ญออกมายาวประมาณ 1.5 – 2 เซนติ เ มตร พน 2 – 3 ครั้ ง หางกั น 2 – 3 สัปดาห 2. พาโคลบิวทาโซล (paclobutrazol) ฉีดพน 2 ครั้ง พนครั้งแรกหลังจากเด็ดยอดกิ่งแขนงมีความ ยาว 2 นิ้ว ใช ความเข ม ขน 50 มิล ลิ ก รั มต อลิ ต ร หลั ง จากนั้ น 7 วัน พ น สารครั้ ง ที่ 2 ความเขม ข น 100 มิลลิกรัมตอลิตร

ภาพ 15 ฉีดพนฮอรโมนดวยเครื่องพน อัดแรงดัน

ภาพ 16 พนฮอรโมนครั้งที่ 1 เมื่อตน ภาพ 17 พนฮอรโมนครั้งที่ 2 มีความสูง 5 เซนติเมตร หลังจากพน ครั้งที่ 1 ได 7 วัน


อายุการจําหนาย เบญจมาศกระถางสามารถจําหนายไดเมื่อดอกเริ่มเห็นสี มีอายุประมาณ 70 วัน

ภาพ 18 ดอกเบญจมาศแยมเห็นสี สามารถสง จําหนายได

ภาพ 19 เบญจมาศกระถางจําหนายได มีอายุ ประมาณ 70 วัน

การบรรจุหีบหอและการขนสง เมื่อดอกเบญจมาศเริ่มเห็นสี ทําการหอดวยกระดาษหนังสือพิมพกอนการขนสงไปจําหนาย

ภาพ 20 หอกระถางดวยกระดาษหนังสือพิมพ

ภาพ 21 ขนกระถางเบญจมาศเรียงซอนกระถางกัน ใสรถบรรทุกได 2,000 กระถาง


แมลงศัตรูเบญจมาศและการปองกันกําจัด 1. แมลงวันหนอนใบ (Leaf miner flies) ลักษณะการทําลาย ตัวหนอนจะกัดกินเนื้อเยื่อและชอนไชอยูภายในใบ ใบแหงเปนสีน้ําตาล การปองกันกําจัด 1. การติดกับดักกาวเหนียวสีเหลือง เพื่อลดตัวเต็มวัน 2. ใชสารเคมี เชน อะลาเม็กติน ไซเปอรเมธริน

ภาพ 22 แมลงวันหนอนชอนใบ

2. เพลี้ยไฟ (Thrips) ลักษณะการทําลาย ดูดกินน้ําเลี้ยง ทําลายสวนของยอดออน ดอกออน และดอกที่บานแลว ทําใหดอกแคระแกรน กลีบดอกมีสีน้ําตาลไหม การปองกันกําจัด สารเคมีที่ใช เชน อะบาเม็กติน อิมดิ าโคพริด

ภาพ 23 ลักษณะการทําลายของเพลี้ยไฟ


3. หนอนกระทูผัก (Cut worme) ลักษณะการทําลาย กัดกินใบ ยอด ยอดออน และดอกทีก่ ําลังบาน การปองกันกําจัด ทําลายไข ตัวหนอน และใชสารเคมี เชน ไซเปอรเมธริน และเชื้อแบคทีเรีย

ภาพ 24 ลักษณะการทําลายของหนอนกระทูผัก

โรคที่สําคัญและสารปองกันกัด 1. โรคใบจุด สาเหตุ เกิดจากเชื้อรา Septoria sp. อาการ ใบเปนจุดสีน้ําตาล และขอบใบไหม การปองกันกําจัด ตัดแตงใบที่เปนโรค ฉีดพนสารเคมี เชน แมนโคแซบ สลับกับคารเบนดาซิม

ภาพ 25 โรคใบจุดสีน้ําตาล


2. โรคราสนิมขาว สาเหตุ เกิดจากเชื้อรา Puccinia horiana. อาการ เปนรอยดางบนใบ พลิกดูใตใบจะพบตุมนูนสีขาว การปองกันกําจัด ใชสารเคมี เชน ไดฟโนโคนาโซล อะซ็อกซี่สโตรบิน

ภาพ 26 โรคราสนิมขาว


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.