สรุปองค์ความรู้โครงการสัตว์น้ำอินทรีย์

Page 1

1 สรุปองค์ความรู้โครงการสัตว์น้าอินทรีย์ ปี 2558 โครงการระบบเพาะเลียงและสร้าง Brand สัตว์น้าอินทรีย์ต้นแบบเพื่อวิสาหกิจชุมชน กิจกรรมที่ 1 การผลิตอาหารสัตว์น้า สัตว์น้าควรได้อาหารที่มีความสมดุลทางโภชนาการ ตามความต้องการของสัตว์น้านันๆ วัตถุดิบที่เป็น อาหารสัตว์น้าต้องเป็นอาหารที่ไม่เหมาะสมต่อการบริโภคของมนุษย์ เพื่อไม่ให้เกิดการแย่งอาหารระหว่าง มนุษย์กับการเพาะเลียงสัตว์น้า การให้อาหารสัตว์น้าต้องค้านึงถึงพฤติกรรมการกินของสัตว์น้าตามธรรมชาติ และมีการป้องกันไม่ให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม สูตรอาหารสู่กุ้งอินทรีย์ 1. กากเหลือจากมูลสุกร 2. หัวอาหาร 3. ข้าวโพดป่น 4. ร้าละเอียด 5. ปลายข้าว 6. น้ามันปลา น้ามันตับปลา 7. วิตามิน

ภาพที่ 1 การท้าอาหารและลักษณะเม็ดของอาหารกุ้ง สูตรอาหารสู่อินทรีย์ (ปลานิล) 1. ปลาป่น 2. กากถั่วเหลือง 3. ร้าละเอียด 4. ปลายข้าว 5. น้ามันพืช


2 6. จุลินทรีย์อีเอ็ม 7. กากน้าตาล

ภาพที่ 2 การท้าอาหารและลักษณะเม็ดของอาหารปลานิล สูตรอาหารปลาบึกสู่อินทรีย์ (หญ้าเนเปียร์) 1. ปลาป่น 2. กากถั่วเหลือง 3. ร้าละเอียด 4. ปลายข้าว 5. หญ้าเนเปียร์ 6. น้ามันพืช 7. วิตามิน

ภาพที่ 3 ลักษณะของหญ้าเนเปียร์

สูตรอาหารปลาบึกสู่อินทรีย์ (น้ามันปลา) 1. ปลาป่น


3 2. กากถั่วเหลือง 3. ร้าละเอียด 4. ปลายข้าว 5. น้ามันปลา 6. วิตามิน

ภาพที่ 4 ลักษณะเม็ดของอาหารปลาบึกที่ผสมน้ามันปลา ขันตอนการผลิตอาหารผสมน้ามันปลาสู่อินทรีย์ Aquafeed®

ภาพที่ 5 การผลิตอาหารอินทรีย์ Aquafeed®


4

ภาพที่ 6 อาหารสัตว์น้าอินทรีย์ (Aquafeed®) กิจกรรมที่ 2 การผลิตปลาบึกอินทรีย์ การเพาะขยายพันธุ์และการอนุบาลลูกปลา

ภาพที่ 7 การเช็คความสมบรูณ์เพศของปลาพ่อแม่พันธุ์

ภาพที่ 8 การรีดไข่ปลา (ซ้าย) และการรีดน้าเชือ (ขวา)


5 ตารางที่ 1 การอนุบาลลูกปลาในบ่อซีเมนต์ อายุ (วันหลังการฟัก) 2 3

4

5

6

7

8

9

อาหาร 1. ไข่แดง 1. ไข่แดง 2. ปลาป่น:ร้าละเอียด 3. ไรแดงแช่แข็ง (ตัว เล็ก) 1. ไข่แดง 2. อาร์ทีเมีย 3. ปลาป่น:ร้าละเอียด 4. ไรแดงแช่แข็ง (ตัว เล็ก) 1. อาร์ทีเมีย 2. ปลาป่น:ร้าละเอียด 3. ไรแดงแช่แข็ง 1. อาร์ทีเมีย 2. ปลาป่น:ร้าละเอียด 3. ไรแดงแช่แข็ง 1. อาร์ทีเมีย 2. ปลาป่น:ร้าละเอียด 3. ไรแดงแช่แข็ง 1. อาร์ทีเมีย 2. ปลาป่น:ร้าละเอียด 3. ไรแดงแช่แข็ง 1. ปลาป่น:ร้าละเอียด 2. ไรแดงแช่แข็ง

ปริมาณอาหาร (กรัม/วัน) 1) 120 (6 ฟอง) 1) 140 (7 ฟอง) 2) 10:30 3) 30

หมายเหตุ -ไข่แดง 1 ฟอง มีน้าหนัก ประมาณ 20 กรัม -ถุงไข่แดงยุบ 100%

1) 100 (5 ฟอง) 2) 5 3) 20:10 4) 30

-ลูกปลาเริ่มกินกันเอง

1) 2 2) 5:10 3) 60 1) 5 2) 5:10 3) 60 1) 5 2) 5:10 3) 70 1) 2 2) 5:10 3) 80 1) 5:10 2) 100

-ปลาป่น:ร้าละเอียด ให้ 1 มือ/วัน (06.00 น.) -ลดช่วงเวลาการให้อาหารให้ เหลือ 4 มือ/วัน -คัดแยกลูกปลาที่แตก size -ย้ายลูกปลาบ่อที่หนาแน่น -คัดแยกลูกปลาที่แตก size -คัดแยกลูกปลาที่แตก size


6

ภาพที่ 9 ไข่แดงบดผ่านตะแกรง

ภาพที่ 10 ปลาป่น (ซ้าย) และร้าละเอียด (ขวา)

ภาพที่ 11 อาร์ทีเมีย (ซ้าย) และไรแดงแช่แข็ง (ขวา)


7 ตารางที่ 2 การอนุบาลลูกปลาบึกฯในบ่อดิน อายุ อาหาร (วันหลังการฟัก) 10-15 1. ปลาป่น:ร้าละเอียด 2. ไรแดง (มีชีวิต) 3. อาหารลูกกบ (ปั้น) 16-25 1. ปลาป่น:ร้าละเอียด 2. อาหารลูกกบ (ปั้น) 26-30 1. อาหารลูกกบ (ปั้น) 2. อาหารลูกกบ (เม็ด)

ปริมาณอาหาร (กรัม/วัน) 40:120 1,500 100 5%ของน้าหนัก ตัว 5%ของน้าหนัก ตัว

หมายเหตุ -อายุ 10-13 วันหลังการฟัก -ไรแดง (มีชีวิต) ให้วันที่ 10 หลังการฟัก (10.00 น.)

ภาพที่ 12 การให้อาหารลูกกบปั้นเป็นก้อนอนุบาลลูกปลาในบ่อดิน อายุ 12 วัน

ภาพที่ 13 ลูกปลาอายุ 30 วัน ที่อนุบาลในบ่อดิน

ตัวอย่างบ่อสาธิตการเลียงปลาลูกผสมบึกสยามฯ ที่ได้มาตรฐาน GAP


8

1. เกษตรกรหมู่บ้านหนองมะจับ ต้าบลแม่แฝก อ้าเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ การเลียงปลาบึกและลูกผสมบึกสยามฯ ในบ่อดินขนาด 300 ตารางเมตร ความลึก 1.8 เมตร จ้านวน 2 บ่อๆ ละ 400 ตัว ปล่อยปลาขนาด 2 นิว ในอัตรา 2 ตัว/ตารางเมตร ให้อาหารเม็ดที่เกษตรกรท้าเองมีระดับ โปรตีนประมาณ 30 เปอร์เซ็นต์ อัตราการให้อาหารประมาณ 2 เปอร์เซ็นต์ ต่อวัน เป็นการเลียง 2 รูปแบบ คือ ปล่อยปลาลูกผสมรุ่นที่ 2 ปลาลูกผสมบึกสยามฯ น้าหนักเฉลี่ย 16 กรัม อย่างเดียว 1 บ่อ หลังจากเลียงนาน 12 เดือน พบว่าปลาลูกผสมบึกสยามฯ มีน้าหนักเฉลี่ย 1.1 กิโลกรัม ส่วนบ่อที่ 2 ปล่อยปลาลูกผสมบึกสยาม น้าหนักเฉลี่ย 16 กรัม ร่วมกับปลาบึกขนาด 22 กรัม เมื่อเลียงนาน 11 เดือน พบว่าปลาลูกผสมบึกสยามฯ มี น้ าหนั กเฉลี่ ย ประมาณ 1 กิโ ลกรั ม ส่ ว นปลาบึกมีน้าหนักเฉลี่ ย 1.2 กิโ ลกรัม อัตราการเจริญต่อวันต่อตัว ประมาณ 4 กรัม และไม่พบการตายของปลา อย่างไรก็ตามยังไม่พบการเจริญพันธุ์ของปลาทัง 2 บ่อ

ภาพที่ 14 การเลียงปลาบึกและปลาลูกผสมบึกสยาม ณ ชุมชนบ้านหนองมะจับ อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ 2. บ่อสาธิตผู้ช่วยน้อย ต้าบลแม่แฝก อ้าเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ การเลียงลูกผสมบึกสยามฯ ร่วมกับปลานิลในบ่อดินขนาด 1.88 ไร่ ความลึก 2 เมตร อัตราการปล่อยปลา ลูกผสมบึกสยามฯ 350 ตัว : ปลานิล 6,000 ตัว ปล่อยปลาขนาด 30-40 กรัม ความยาว 10-15 เซนติเมตร ให้ อาหารเม็ดส้ าเร็ จ รู ป (ปลาดุกกลาง) มีร ะดับโปรตีนประมาณ 30 เปอร์เซ็นต์ อัตราการให้ อาหารประมาณ 3 เปอร์เซ็นต์ของน้าหนักตัว โดยให้ 2 มือ/วัน หลังการเลียงนาน 12 เดือน พบว่าปลาลูกผสมบึกสยามฯ มีน้าหนัก เฉลี่ยประมาณ 1.5 กิโลกรัม ส่วนปลานิลมีน้าหนักเฉลี่ย 0.8 กิโลกรัม


9

ภาพที่ 15 ลักษณะบ่อดินที่เลียงปลา และการเก็บเกี่ยวผลผลิตปลาลูกผสมบึกสยามฯ อายุ 12 เดือน เกรียงศักดิ์ และคณะ (2556) ได้ท้าการเลียงปลาลูกผสมบึกสยามฯ ในกระชังสาธิต ณ อ้าเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ อ้าเภอหล่มเก่า จังหวัดเพชรบูรณ์ และอ้าเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ (ภาพที่ 20) ผลการ เลียงในกระชังที่กางในบ่อดิน ขนาด 30 ตารางเมตร ความลึก 1.5 เมตร อัตราการปล่อยปลาขนาดประมาณ 4 นิว 30 ตัว/ตารางเมตร ให้อาหารเม็ดส้าเร็จรูป จ้านวน 3 มือ/วั น อัตราการให้อาหารประมาณ 4.5 เปอร์เซ็นต์ของ น้าหนัก/วัน เมื่อปลาอายุ 1 ปี ให้อาหารเม็ดมือเช้า มือเย็นให้ผักบุ้งสับละเอียด หลังจากเลียงนาน 16 เดือน ปลามี น้าหนักเฉลี่ย 2 กิโลกรัม อัตราการเจริญเติบโตต่อวัน 4-5 กรัม ไม่พบอัตราการตาย ปลามีเนือสีขาวอมชมพู 3. กระชังสาธิต อ้าเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่

ภาพที่ 16 การเลียงปลาบึกสยามที่ในกระชัง และสีเนือปลาเมื่ออายุ 16 เดือน 4. กระชังสาธิต บ้านเจดีย์แม่ครัว ต้าบลแม่แฝก อ้าเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ การเลียงปลาลูกผสมบึกสยามฯ ในกระชังขนาด 5x5x2 เมตร ปล่อยปลาลูกผสมบึกสยามฯขนาด 100 กรัม จ้านวน 80 ตัว ให้อาหารปลาดุกกลาง อัตรา 3% ของน้าหนักปลา 3 ครังต่อวัน มือเย็นเสริมด้วยผักบุ้งสับ ละเอียด เลียงนาน 4 เดือน ได้ปลาขนาดเฉลี่ย 1.5 กิโลกรัม อัตราการรอดตาย100 เปอร์เซ็นต์ (ภาพที่ 21) ได้ ผลตอบแทนการเลียงประมาณ 25 เปอร์เซ็นต์ต่อปี


10

ภาพที่ 17 ปลาลูกผสมบึกสยามแม่โจ้ อายุ 4 เดือน ขนาด 1.3 กิโลกรัม 5. กระชังสาธิต อ้าเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ การเลียงปลาลูกผสมบึกสยามฯ ในกระชังขนาด 5x5 เมตร ความลึก 5 เมตร อัตราการปล่อยปลา ลูกผสมบึกสยามฯ 30 ตัว/กระชัง ปล่อยปลาขนาด 68.7 กรัม ความยาว 16.15 เซนติเมตร อาหารเม็ดที่ เกษตรกรท้าเองมีระดับโปรตีนประมาณ 25 เปอร์เซ็นต์ วัตถุดิบประกอบด้วยหญ้าเนเปียร์ ร้าละเอียด กาก มะพร้าว และอาหารปลาดุก (เล็ก) อัตราการให้อาหารประมาณ 3 เปอร์เซ็นต์ของน้าหนักตัว สุ่มเช็คการ เจริญเติบโตโดยการชั่งน้าหนักและวัดความยาว เมื่ออายุ 3 เดือน พบว่าปลาลูกผสมบึกสยามฯ มีน้าหนักเฉลี่ย ประมาณ 0.16 กิโลกรัม

ภาพที่ 18 กระชังที่ใช้เลียงปลา การปล่อยปลา และการเก็บข้อมูลการเจริญเติบโต อายุ 3 เดือน 6. เกษตรกร อ้าเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ การเลียงปลาสวาย ในบ่อดินขนาด 40x80 เมตร ความลึก 3 เมตร อัตราการปล่อยปลาลูกผสมบึก สยามฯ 7,000 ให้เศษขนมปังเป็นอาหาร หลังการเลียงนาน 2 ปี พบว่าปลาสวาย มีน้าหนักเฉลี่ยประมาณ 3.07 กิโลกรัม


11

ภาพที่ 19 การเลียงปลาสวายในบ่อดิน อายุ 2 ปี กิจกรรมที่ 3 การผลิตปลานิลสู่อินทรีย์ การผลิตลูกปลานิลอินทรีย์ ณ แหล่งเรียนรู้สาธิตและฟาร์มต้นแบบ คณะเทคโนโลยีการประมงและ ทรัพยากรทางน้า มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ขันตอนการผลิตลูกปลานิลอินทรีย์ มีการเหนี่ยวน้าเพศจากเพศเมียเป็นเพศผู้ โดยใช้กาวเครือแดง 1. การผลิตสมุนไพรกาวเครือแดง ในอัตราอาหาร 1000 กรัม /กาวเครือแดง 300 กรัม

ภาพที่ 20 ต้นกาวเครือแดง ภาพที่ 21 เปลือกกาวเครือแดงแห้ง ภาพที่ 22 กาวเครือแดงบดผง 2. การผลิตลูกพันธุ์ปลานิลโดยการเหนี่ยวน้าให้ เป็นเพศผู้ เริ่มจากการเก็บไข่จากปากปลานิล น้ามาฟักไข่ในโรงเพาะฟักได้ลูกปลา น้าลูกปลาไปให้อาหารผสมสมุนไพรกาวเครือแดง ในอัตราอาหารผง 1,000 กรัม ผสมกาวเครือแดงบดผง 300 กรัม อนุบาลประมาณ 30 วัน ได้ลูกปลานิลเพศผู้ประมาณ 85-95% มีขันตอนดังนี


12 ภาพที่ 23 โรงเพาะฟักปลานิล

ภาพที่ 24 ไข่จากปากปลานิล

ภาพที่ 25 น้าไข่ฟักในกรวยฟักไข่

ภาพที่ 26 ถุงไข่แดงยุบให้อาหาร ภาพที่ 27 ลูกปลามีถุงไข่แดงรอถุงไข่ยุบ ภาพที่ 28 ลูกปลาฟักออกเป็นตัว การเลียงปลานิล น้าลูกปลานิลอินทรีย์ จากแหล่งเรียนรู้สาธิตและฟาร์มต้นแบบ คณะเทคโนโลยี การประมงและทรัพยากรทางน้า มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้ผลผลิตดังนี สรุปผลการเลียงดังตารางที่ 1 ระยะเวลา 7-8 เดือน ประมาณ 3,2752 กิโลกรัม 1. ผลผลิตปลานิล 1.1 ผลผลิตรวม สรุปผลผลิตจากเลียง เดือ 6บ่อ วีระกรฟาร์มมี 2 บ่อ ได้ผลผลิตรวม 1,140 กิโลกรัม บ่ออินทรีย์ใหม่ในพืนที่คณะเทโนลีการประมงฯ มี 2 บ่อ ได้ผลผลิตรวม 1,250 กิโลกรัม บ่ออินทรีย์ เก่าในพืนที่คณะเทโนลีการประมงฯ มี 2 บ่อ ได้ผลผลิตรวม 235 กิโลกรัม บ่อสมหมายฟาร์มได้ผลผลิตรวม 1,200 กิโลกรัม บ่อสมหมายฟาร์มได้ผลผลิตรวม 1,200 กิโลกรัม บ่อเทวินฟาร์มได้ผลผลิตรวม 150 กิโลกรัม สรุปผลผลิตจากเลียง เดือน 6 เท่ากับ 3,275 กิโลกรัม ตามแผนการด้าเนินงาน 1.2 น้าหนักเฉลี่ยของปลานิลอินทรีย์เริ่มมีความแตกต่างกันในเดือนที่ 4 เป็นต้นไป 1.3 ซึ่งในเดือนที่ 5 และเดือนที่ 6 น้าหนักปลาในพืนที่เทวินฟาร์มมีน้าหนักเฉลี่ย เท่ากับ 650 กรัม/ตัว และ 700 กรัม/ตัว มากกว่าฟาร์มอื่นๆ อย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ (p≤0.05) 1.4 อัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ยของปลานิลอินทรีย์ เทวินฟาร์มมีค่าเท่ากับ 3.73 กรัม/ตัว / วัน และมากกว่าฟาร์มอื่นๆ อย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ (p≤0.05) 1.5 อัตราการน้าหนักเพิ่ม (%/ตัว) เทวินฟาร์มมีค่าเท่ากับ 600%/ตัว และมากกว่าฟาร์มอื่นๆ อย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ (p≤0.05 1.6 อัตราการเจริญเติบโตจ้าเพาะของปลานิลอินทรีย์ สมหมายฟาร์มมีค่าเท่ากับ 2.47 %/วัน และมากกว่าฟาร์มอื่นๆ อย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ (p≤0.05) 1.7 อัตราการรอดตายของปลานิลอินทรีย์ วีระกรฟาร์มมีค่าเท่ากับ 95 % และมากกว่าฟาร์ม อื่นๆ อย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ (p≤0.05) 1.8 อัตราการแลกเนือของปลานิลอินทรีย์ บ่ออินทรีย์เก่ามีค่าเท่ากับ 1.10 และดีกว่าฟาร์ม อื่นๆ อย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ (p≤0.05) 1.9 ประสิทธิภาพการใช้โ ปรตีนของปลานิล อินทรีย์ บ่ออินทรีย์เก่ามีค่าเท่ากับ 5.20 และ มากกว่าฟาร์มอื่นๆ อย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ (p≤0.05)


13 1.10 ต้นทุนผันแปร ในการผลิตปลานิลอินทรีย์ บ่ออินทรีย์เก่ามีค่าเท่ากับ 45.80 บาท/กก. และมีต้นทุนผันแปร ดีกว่าฟาร์มอื่นๆ อย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ (p≤0.05) วีระกรฟาร์ ม

น้ำหนักเฉลีย (กรัม/ตัว)

อินทรี ย์ใหม่

อินทรี ย์เก่า

สมหมายฟาร์ ม

800.00 650.00

700.00

เทวินฟาร์ ม

700.00

600.00 450.00

500.00 400.00 300.00 150.00

200.00 100.00

28.50

200.00

75.00

0.00 เดือนที่ 0

เดือนที่ 1

เดือนที่ 2

เดือนที่ 3

เดือนที่ 4

เดือนที่ 5

เดือนที่ 6

ภาพที่ 29 น้าหนักปลานิลอินทรีย์เฉลี่ยในแต่ละฟาร์ม ตลอดระยะเวลาการเลียง 6 เดือน ในการ ปฏิบัติงานในรอบ 12 เดือน

ภาพที่ 30 อัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ยของปลานิลอินทรีย์ ตลอดระยะเวลาการเลียง 6 เดือน ในการปฏิบัติงาน ในรอบ 12 เดือน


14

ภาพที่ 31 อัตราการเจริญเติบโตจ้าเพาะของปลานิลอินทรีย์ ตลอดระยะเวลาการเลียง 6 เดือน ใน การ ปฏิบัติงานในรอบ 12 เดือน

ภาพที่ 32 อัตราการรอดตายของปลานิลอินทรีย์ตลอดระยะเวลาการเลียง 6 เดือน

ภาพที่ 33 อัตราการแลกเนือของปลานิลอินทรีย์ทเี่ ลียงนาน 6 เดือน ในการปฏิบัติงานในรอบ 12 เดือน


15

ภาพที่ 34 ต้นทุนผันแปร (บาท/กก.)ของปลานิลอินทรีย์ตลอดระยะเวลาการเลียง 6 เดือน ในการปฏิบัติงาน ในรอบ 12 เดือน กิจกรรมที่ 4 การผลิตกุ้งก้ามกรามอินทรีย์ การเลียงกุ้งก้ามกราม การเลียงกุ้งก้ามกรามเป็นอีกอาชีพหนึ่งที่ได้รับความสนใจและนิยมเลียงกันมาก เนื่องจากลงทุนไม่สูง แต่ให้ผลตอบแทนที่คุ้มค่า ภาคเหนือลักษณะภูมิประเทศเป็นพืนที่สูงและเป็นแหล่งต้นน้าล้าธาร พบว่ามีการ เลียงกุ้งก้ามกรามกระจายในหลายจังหวัด ได้แก่ เชียงราย เชียงใหม่ นครสวรรค์ และแพร่

ภาพที่ 35 การเลียงกุ้งก้ามกราม ของคณะเทคโนโลยีการประมงฯ มหาวิทยาลัยแม่โจ้

การเลือกสถานที่ และการออกแบบขนาดของบ่อที่ใช้เลียง


16 1. สภาพพืนที่ไม่ควรเป็นที่ลุ่มหรือที่ดอนจนเกินไป 2. คุณภาพของดินควรเป็นดินเหนียวหรือเหนียวปนทรายเล็กน้อย สามารถอุ้มน้าได้ดี 3. การปรับพืนบ่อควรมีความลาดเอียงเล็กน้อย เพื่อสร้างประตูน้า 4. จากนันท้าการก้าจัดศัตรูลูกกุ้งโดยการโรยปูนขาวหรือกากชาลงไปในบ่อ และท้าการวางระบบ อากาศ

ภาพที่ 36 การคัดลูกกุ้งก้ามกรามที่มีคุณภาพ ขันตอนการปล่อยลูกกุ้งลงเลียง 1. ควรปล่อยตอนเช้าหรือตอนเย็น โดยปรับอุณหภูมิและค่าความเป็นกรดเป็นด่างก่อน 2. พักถุงบรรจุกุ้งประมาณ 5 นาที แล้วเติมน้า 50% ในถุงพักไว้ 5-10 นาที จึงปล่อยอัตราการปล่อย 3. อัตราการปล่อยประมาณ 20-30 ตัว/ตารางเมตร 4. เมื่อลูกกุ้งมีขนาด 4-5 กรัม จึงท้าการย้ายลงบ่อเลียง ปล่อยอัตรา 10 ตัว/ตารางเมตร อาหารและการให้อาหาร 1. กุ้งก้ามกรามวัยอ่อน กินแพลงก์ตอนที่มีชีวิตเป็นอาหาร ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นแพลงก์ตอนสัตว์ ใน กรณีที่แพลงก์ตอนมีชีวิ ตไม่เพียงพอ ลูกกุ้งจะกินซากสัตว์และพืชที่เน่าเปื่อย ตามปกติลูกกุ้งจะเริ่มกินสิ่งเน่า เปื่อยเมื่อโตได้ขนาด 2-3 เซนติเมตร 2. กุ้งก้ามกรามโตเต็มวัย อาหารสด เช่น ปลาเป็ด อาหารผสมสด เช่น ปลาเป็ดผสมร้าละเอียด อาหาร ผสมอัดเม็ดส้าเร็จรูป หรืออาหารผสมอัดเม็ดที่ผลิตขึนใช้เอง ให้วันละ 3 ครัง โดยให้ตอนเช้า ตอนเย็นและตอน กลางคืน โดยพิจารณาจากขนาดและอายุ


17

ภาพที่ 37 การสุ่มชั่งน้าหนักกุ้งเพื่อเช็คการเจริญเติบโต

ภาพที่ 38 การเก็บเกี่ยวผลผลิตกุ้งก้ามกราม กิจกรรมที่ 5 การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์อินทรีย์

ภาพที่ 39 อาหารสัตว์น้าอินทรีย์ ได้รางวัลเหรียญทอง (Gold Prize) จากงาน KIWIE 2015 รางวัล พิเศษ (Special Prize) จาก TIIIA ประเทศไต้หวัน


18

ภาพที่ 40 การเพิ่มมูลค่าจากปลาบึกสยามแม่โจ้อินทรีย์

ภาพที่ 41 เมนูปลาลูกผสมบึกสยามฯ : ผู้ประกอบการร้านอาหาร

ภาพที่ 42 ผลิตภัณฑ์จากปลานิลอินทรีย์ เพื่อเป็นแนวทางสร้าง Brand ยื่นรับรองผลิตภัณฑ์


19 การพัฒนาฉลากบรรจุภัณฑ์สัตว์น้าอินทรีย์

ภาพที่ 43 ฉลากบรรจุภัณฑ์สัตว์น้าอินทรีย์ กิจกรรมที่ 6 การยื่นรับรองมาตรฐานฟาร์ม การยื่นรับรองมาตรฐานฟาร์มอินทรีย์ ในพืนที่ของคณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้า มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เชียงใหม่ เพื่อเป็นแหล่งยื่นรับรองฟาร์ม มาตรฐานอินทรีย์

ภาพที่ 44 การยื่นรับรองมาตรฐานฟาร์มปลาบึกอินทรีย์


20

ภาพที่ 45 การยื่นรับรองมาตรฐานฟาร์มกุ้งก้ามกรามอินทรีย์

ภาพที่ 46 การยื่นรับรองมาตรฐานฟาร์มปลานิลอินทรีย์ การเตรียมหลักฐานยื่นรับรองมาตรฐานฟาร์ม และการเข้ารับการฝึกอบรม เพื่อยื่นรับรองฟาร์ม มาตรฐานอินทรีย์

ภาพที่ 47 คณะกรรมการตรวจมาตรฐานฟาร์มสัตย์น้าอินทรีย์ เข้าตรวจมาตรฐานการเลียงปลาบึก


21

ภาพที่ 48 ตรวจฟาร์มเกษตรกรผู้เลียงปลาบึกสยามฯ อ.สารภี จ.เชียงใหม่ เพื่อขอมาตรฐาน GAP

ภาพที่ 49 ตรวจฟาร์มเกษตรกรผู้เลียงปลาบึกสยามฯ อ.แม่แฝก จ.เชียงใหม่ เพื่อขอมาตรฐาน GAP ปี 2559 โครงการโรงอาหารสัตว์น้าอินทรีย์เพื่อวิสาหกิจชุมชนต้นแบบ การจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการทัง 2 ครัง มีเนือหาหลัก 4 เรื่อง คือ การเพาะเลียงและขยายพันธุ์ปลา ลูกผสมบึกสยามแม่โจ้ การพัฒนาสูตรอาหารปลาให้มีคุณภาพส่งผลต่อคุณภาพเนือของปลาที่ดี เช่น มีไขมัน แทรกในเนือน้อย เนือแน่น สีเนือขาวอบชมพู รสชาติอร่อย และไม่มีกลิ่ นโคลน การเพิ่มมูลค่าก้อนไขมันปลา เพื่อพัฒนาและเพิ่มมูลค่าให้เป็นน้ามันปลา สามารถน้าไปพัฒนาต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้ เช่น ลิปสติก หรือผสมในอาหารปลา และการพัฒนาให้เป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ เช่น ไส้อั่วสุขภาพ โดยการจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการในครังนี มีข้อดี คือ ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถลงมือปฏิบัติไ ด้ด้ว ย ตนเอง มีเอกสารประกอบการอบรมที่ชัดเจน สามารถน้าไปปฏิบัติเองที่บ้านได้ อีกทังผู้ที่เข้าร่วมอบรมได้ ทดสอบคุณภาพของเนือปลาลูกผสมบึกสยามฯ ด้วยตนเอง จากการรับประทานอาหารกลางวันของทีมวิจัยที่ จัดให้ 3 วัน ได้แก่ สเต็ก ขนมจีนน้ายา ทอดกระเทียม และผัดฉ่า จากเนือปลาลูกผสมบึกสยามฯ ตลอดจนมี การเปิดโอกาสให้สอบถามข้อสงสัยหรือข้อเสนอแนะ และสรุปการบรรยายหรือปฏิบัติการทุกครังหลังการ อบรมในแต่ละวัน เมื่อเสร็จสินการฝึกอบรม พบว่าผู้ที่ผ่านการเข้าร่วมการอบรมเชิงปฏิบัติการมีการน้าความรู้ที่ ได้ไปพัฒ นาต่ อ ยอดเพื่ อ การใช้ ป ระโยชน์ ได้แก่ ผู้ ประกอบการด้ านอุ ตสาหกรรมอาหาร ผู้ ประกอบการ ร้านอาหาร ชุมชน เกษตรกร และผู้ที่สนใจ โดยบริษัท เอส แอนด์ พี ซินดิเคท จ้ากัด (มหาชน) ได้น้าเนื อปลา ไปพัฒ นาเป็ น เมนู อาหาร ได้แก่ ปลาทอดกระเทียม ผั ดฉ่า และต้มย้า ตลอดจนผู้ ประกอบการ ร้านสเต็ก คาวบอย แม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ ได้พัฒนาและตังเป็นเมนู “สเต็กปลาลูกผสมบึกสยามฯ” เป็นเมนูแนะน้าของ


22 ร้าน อีกทังเกษตรกรชุมชนหนองมะจับมีการน้าเนือปลาลูกผสมบึกสยามฯ ไปพัฒนาเป็นเมนูอาหาร เช่น แกงฮังเล และข้าวเกรียบปลา เป็นต้น นอกจากการพัฒนาและเพิ่มมูลค่าปลาลูกผสมบึกสยามฯ ผู้เข้าร่วมอบรมบางส่วน ยังมีความสนใจในเรื่องการเลียงปลาลูกผสมบึกสยามฯ ทังในบ่อดินละกระชัง โดยได้ลงทะเบียนเป็นเกษตรกร ในเครือข่าย และรับลูกพันธุ์ปลาลูกผสมบึกสยามฯ ไปเลียงเพื่อสร้างรายได้ให้กับครอบครัวอีกด้วย การจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการในครังนี มีผู้น้าความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์จริง จ้านวน 13 คน บรรลุตาม วัตถุประสงค์ของโครงการ และมีคุณค่าน้าไปสู่การพัฒนาการเลียงปลาให้มีประสิทธิภาพและคุณภาพตรงตาม ความต้องการของผู้บริโภคในปัจจุบันที่เน้นเรื่องอาหารปลอดภัยและเป็นมิตรกับสิงแวดล้อม การแปรรูปเพิ่มมูลค่า ผลิตภัณฑ์จากปลา สร้างผู้ประกอบการด้านอาหาร และสนับสนุนเศรษฐกิจภาคอุตสาหกรรมอาหารได้ ใน อนาคต การสร้างแหล่งเรียนรู้สาธิตและโรงงานอาหารต้นแบบ

ภาพที่ 50 การติดตามความก้าวหน้าการด้าเนินงานโรงอาหารสัตว์น้าอินทรีย์ ขันตอนการผลิตอาหารสัตว์น้าอินทรีย์ ที่เหมาะสมต่อการเพาะเลียงสัตว์น้าอินทรีย์ จ้านวน 3 สูตร 1. เตรียมวัตถุดิบในการท้าอาหารปลา

น้ามันปลา ปลาป่น

ปลายข้าว

ร้าละเอียด

สาหร่ายเตา

กากถั่วเหลือง

ภาพที่ 51 วัตถุดิบการท้าอาหารปลาอินทรีย์ 2. น้าวัตถุดิบที่เตรียมไว้ผสมให้เป็นเนือเดียวกันทัง 3 สูตร และน้าเข้าเครื่องบดละเอียดเพื่อสะดวกในการ อัดเม็ดอาหารปลา


23

ภาพที่ 52 การบดวัตถุดิบการท้าอาหารปลาอินทรีย์ 3. เมื่อวัตถุดิบอาหารผสมเป็นเนือเดียวกันแล้ว ท้าการประกอบอุปกรณ์ของเครื่องในส่วนของการอัดเม็ด และ เลือกขนาดรูของแม่พิมพ์ที่ต้องการ เช่น ขนาดเล็ก กลาง และใหญ่ เป็นต้น และน้าอาหารปลาที่อัดเม็ดแล้วไป ผึ่งลมจนแห้ง ระยะเวลาในการผึ่งลมประมาณ 2 วัน

ภาพที่ 53 การอัดเม็ดอาหารปลาอินทรีย์ ตารางที่ 3 องค์ประกอบทางเคมีของอาหารปลา 3 สูตร ที่ใช้เลียงปลาลูกผสมบึกสยามฯ องค์ประกอบทางเคมี ความชืน (%) เถ้า (%) โปรตีน (%) ไขมัน (%) เยื่อใย (%) คาร์โบไฮเดรต (%)

สาหร่ายเตา 10% 7.19±0.03b 10.91±0.07d 30.36±0.02b 3.70±0.05b 8.14±0.19a 39.71±0.17bc

น้ามันปลา 1.5% 7.19±0.02a 6.93±0.02b 30.34±0.04b 5.34±0.54c 6.23±1.03a 43.97±1.03d

สาหร่ายเตา 10% + น้ามันปลา 1.5% 10.07±0.04a 9.89±0.03c 30.43±0.52a 6.62±0.04d 10.29±0.63a 34.04±0.67a

หมายเหตุ : ค่าที่แสดง คือ ค่าเฉลี่ย (mean) ± ค่าคลาดเคลื่อนมาตรฐาน (SE), n = 20 a, b, c ตัวอักษรที่ต่างกันในแถวหมายถึงมีความแตกต่างกันทางสถิติที่ (p<0.05)


24

น้ามันปลา 1.5%

สาหร่ายเตา 10%

น้ามันปลา 1.5% + สาหร่ายเตา 10%

ภาพที่ 54 อาหารปลาอินทรีย์ 3 สูตร

ภาพที่ 55 สติกเกอร์อาหารปลาผสมน้ามันปลา (ซ้าย) สาหร่ายเตา (กลาง) และน้ามันปลา ผสมกับสาหร่ายเตา (ขวา) รางวัลที่ได้รับจากการเข้าร่วมงานประกวดนวัตกรรม

ภาพที่ 56 รองศาสตราจารย์ ดร.เกรียงศักดิ์ เม่งอ้าพัน และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดวงพร อมรเลิศพิศาล งาน แสดง: The 8 th European Exhibition of Creativity and Innovation 2016 (EURO INVENT) วันที่ 1921 พ.ค. 2559 ที่ประเทศโรมาเนีย หัวข้อในเข้าประกวด : Innovative Aquaculture System on Hybrid


25 Catfish Production for Community: HCPC system. ได้รับรางวัล Excellence Diploma และ Special Price ข อ ง Banat’s University of Agriculture Sciences and Veterinary Medicine “KING MICHAEL The 1 st of ROMANIA” จาก Timisoara และรางวั ล Gold Medal ของงาน EURO INVENT ประเทศ โรมาเนี ย และรางวั ล Special Award ของ Association of Polish inventors and Rationalizers จาก ประเทศโปแลนด์

ภาพที่ 57 รองศาสตราจารย์ ดร.เกรียงศักดิ์ เม่งอ้าพัน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดวงพร อมรเลิศพิศาล อาจารย์ ดร.สุดาพร ตงศิริ และทีมงานวิจัย ได้รับถ้วยรางวัลพระราชทาน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี รางวัล Platinum Award จาก ผลงานวิจัย เรื่อง "นวัตกรรมระบบการผลิตและการเพิ่มมูลค่าปลาหนัง ลูกผสมเพื่อชุมชน" ในงานมหกรรมวิจัยแห่งชาติ 2559 (Thailand Research Expo 2016) ในระหว่างวันที่ 17-21 สิงหาคม 2559 ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ และบางกอกคอนเวนชัน เซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพฯ ปี 2560 โครงการโรงงานแปรรูปเพิ่มมูลค่าสัตว์น้าอินทรีย์ต้นแบบเพื่อวิสาหกิจชุมชน การจั ดฝึ กอบรมเชิงปฏิบั ติ การทัง 1 ครัง ในวันที่ 19 พฤษภาคม 2560 มีเนือหาหลั ก คือ การ เพาะเลียงและขยายพันธุ์ปลาลูกผสมบึกสยามแม่โจ้ การพัฒนาสูตรอาหารปลาให้มีคุณภาพส่งผลต่อคุณภาพ เนือของปลาที่ดี เช่น มีไขมันแทรกในเนือน้อย เนือแน่น สีเนือขาวอบชมพู รสชาติอร่อย และไม่มีกลิ่นโคลน การเพิ่มมูลค่าก้อนไขมันปลาเพื่อพัฒนาและเพิ่มมูล ค่าให้เป็นน้ามันปลา สามารถน้าไปพัฒนาต่อยอดเป็น ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้ เช่น ลิปสติก หรือผสมในอาหารปลา และการพัฒนาให้เป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ เช่น ไส้ อั่วสุขภาพ ปลาส้มสมุนไพร ปลาแล่เนือ เป็นต้น โดยการจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการในครังนี มีข้อดีคือ ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถลงมือปฏิบัติไ ด้ด้ว ย ตนเอง มีเอกสารประกอบการอบรมที่ชัดเจน สามารถน้าไปปฏิบัติเองที่บ้านได้ ตลอดจนมีการเปิดโอกาสให้ สอบถามข้อสงสัยหรือข้อเสนอแนะ และสรุปการบรรยายหรือปฏิบัติการทุกครังหลังการอบรม เมื่อเสร็จสินการ ฝึกอบรม พบว่าผู้ที่ผ่านการเข้าร่วมการอบรมเชิงปฏิบัติการมีการน้าความรู้ที่ได้ไปพัฒนาต่อยอดเพื่อการใช้ ประโยชน์ ได้แก่ ผู้ประกอบการด้านอุตสาหกรรมอาหาร ผู้ประกอบการร้านอาหาร ชุมชน เกษตรกร และผู้ที่ สนใจ นอกจากการพัฒนาและเพิ่มมูลค่าปลาลูกผสมบึกสยามฯ ผู้เข้าร่วมอบรมบางส่วนยังมีความสนใจในเรื่อง


26 การเลียงปลาลูกผสมบึกสยามฯ ทังในบ่อดินละกระชัง โดยได้ลงทะเบียนเป็นเกษตรกรในเครือข่าย และรับลูก พันธุ์ปลาลูกผสมบึกสยามฯ ไปเลียงเพื่อสร้างรายได้ให้กับครอบครัว เมื่อสินสุดการด้าเนินโครงการ พบว่าได้ สูตรและผลิตภัณฑ์แปรรูปที่เหมาะสมต่อผู้บริโภคสัตว์น้าอินทรีย์ และ Brand เพื่อเผยแพร่แก่เกษตรกรที่สนใจ จ้านวน 5 ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ ปลาแล่เนือ ไส้อั่ว ปลาส้ม และอาหารปลาอินทรีย์ การประชาสัมพันธ์วิทยุ ทีวี ฝึกอบรม และจัดนิทรรศการ จ้านวน 5 ครัง การจัดนิทรรศการแนะน้าผลิตภัณฑ์และการตลาดอินทรีย์ จ้านวน 8 ครัง โดยการจ้าหน่ายผลิตภัณฑ์ที่กาด 2477 เป็นประจ้าทุกวันศุกร์และเสาร์ ได้จัดท้าคู่มือเอกสารแนะน้าที่ น้าไปใช้ประโยชน์ได้ จ้านวน 3 เรื่อง ได้แก่ เรื่องการจัดการองค์ความรู้และพัฒนาระบบการเพิ่มผลผลิต มูลค่า มาตรฐาน และ Brand ปลาลูกผสมส้าหรับวิสาหกิจชุมชน เรื่องการแปรรูปเพิ่มมูลค่าปลาบึกและปลาลูกผสม บึกสยามฯ อินทรีย์ เพื่อความมั่นคงทางอาหารและวิสาหกิจชุมชน และเรื่อ งนวัตกรรมระบบการพัฒนาปลา หนังลูกผสมเพื่อชุมชน รวมถึงการยื่นจดอนุสิทธิบัตรผลิตภัณฑ์อาหารปลาส้าหรับเลียงปลาบึกและปลาลูกผสม บึ ก สยามฯ จ้ า นวน 1 ผลิ ต ภั ณ ฑ์ นอกจากนี ทางที ม งานโครงการได้รั บ เชิญ ให้ เ ดิ นทางไปจั ดอบรมให้ กับ เกษตรกรของโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า จังหวัดนครปฐม เรื่อง การเลียงและการแปรรูปเพิ่มมูลค่าปลา ลูกผสมบึกสยามแม่โจ้ เพื่อต้นแบบวิสาหกิจชุมชน ในวันที่ 31 สิงหาคม 2560 เกษตรกรที่เข้ารับการอบรม จ้านวน 60 คน ซึ่งการจัดอบรมครังนีมีวัตถุประสงค์เพื่อขยายเครือข่ายเกษตรกรผู้เพาะเลียงปลาลูกผสมบึก สยามฯ ให้เพิ่มมากขึน เพื่อให้เกษตรกรของโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า จังหวัดนครนายก สามารถยึด เป็นอาชีพเสริมและสร้างรายได้ให้กับครอบครัว การจั ดฝึ กอบรมเชิงปฏิบั ติการของโครงการโรงงานแปรรูปเพิ่มมูลค่าสั ตว์น้าอินทรีย์ต้นแบบเพื่อ วิสาหกิจชุมชน ประจ้าปี 2560 มีเกษตรกรที่ได้รับมาตรฐานการเลียงสัตว์น้าที่ดี (GAP) จ้านวน 2 คน ได้แก่ นายดนุกิจ สายเกิด เกษตรกรอ้าเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ และนายภูกิจ มณีวรรณ์ เกษตรกรอ้าเภอแม่ แตง จังหวัดเชียงใหม่ บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ ด้านการจดอนุสิทธิบัตรอาหารปลา มีคุณค่าน้าไปสู่ การพัฒนาการเลียงปลาให้มีประสิทธิภาพและคุณภาพตรงตามความต้องการของผู้บริโภคในปั จจุบันที่เน้นเรื่อง อาหารปลอดภัยและเป็นมิตรกับสิงแวดล้อม การแปรรูปเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์จากปลา สร้างผู้ประกอบการด้าน อาหาร และสนับสนุนเศรษฐกิจภาคอุตสาหกรรมอาหารได้ในอนาคต

การแปรรูปและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ 1. การหาช่องทางการจ้าหน่ายปลาลูกผสมให้กับเกษตรกรในเครือข่าย


27

ภาพที่ 58 ปลาลูกผสมฯ ของเกษตรกรในอ้าเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ 2. หลักการพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปที่เหมาะสมต่อผู้บริโภคสัตว์น้าอินทรีย์

ภาพที่ 59 ปลาลูกผสมฯ (ซ้าย) การน็อคปลาด้วยน้าแข็ง (กลาง) และปลาแล่เนือ (ขวา)

ภาพที่ 60 เนือขูดน้าไปท้าไส้อั่ว (ซ้าย) เนือท้องน้าไปท้าปลาส้ม (กลาง) และไข่ปลา (ขวา)


28

ภาพที่ 61 ผลิตภัณฑ์ปลาแล่เนือ

ภาพที่ 62 ผลิตภัณฑ์ไส้อั่ว ที่ท้าจากเนือขูด

ภาพที่ 63 ผลิตภัณฑ์ปลาส้ม 3 สูตร ที่ท้าจากเนือท้องปลาลูกผสมบึกสยามฯ


29

ภาพที่ 64 การพัฒนาออกแบบกล่องบรรจุภัณฑ์ปลาส้มและไส้อั่ว

ภาพที่ 65 ผลิตภัณฑ์ไส้กรอกที่ท้าจากเนือขูดปลาลูกผสมบึกสยามฯ (ส้าหรับโชว์)

ภาพที่ 66 ผลิตภัณฑ์ปลาเชียงที่ท้าจากเนือขูดปลาลูกผสมบึกสยามฯ (ส้าหรับโชว์) ปี 2561 โครงการนวัตกรรมระบบการผลิตปลาลูกผสมบึกสยามแม่โจ้อินทรีย์ เพื่อเพิ่มูลค่าเศรษฐกิจและ ชุมชน การด้าเนิ น โครงการนวัตกรรมระบบการผลิ ตปลาลู กผสมบึ กสยามแม่โ จ้ สู่ อิน ทรีย์เ พื่อ เพิ่ ม มู ล ค่ า เศรษฐกิจและชุมชน มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูป เพิ่มมูลค่าสู่อาหารส้าหรับอนาคต (ส้าหรับ


30 ผู้ สู ง อายุ ) และสร้ า ง Brand ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ โดยเน้ น มาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ์ อิ น ทรี ย์ เ พื่ อ สุ ข ภาพ จ้ า นวน 5 ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ ปลาแดดเดียว ปลารมควัน ปลาแล่เนือ อาหารปลาผสม supper premix และลูกพันธุ์ปลา เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ต้นแบบสัตว์น้าอินทรีย์ที่มีความเป็นเลิศด้านปลาบึกให้แก่ชุมชน นักศึกษาและประชาชน ทั่วไป ในด้านบริการวิชาการให้ชุมชน การเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี โท และเอก ที่จะสามารถเลียง ตัวเองได้ในอนาคต ผู้บริโภคได้มีอาหารสัตว์น้าแปรรูปอินทรีย์และสุขภาพดีขึน สร้างความมั่นคงทางอาหาร และวิสาหกิจชุมชน ตลอดจนส่งเสริมโครงการกาด 2477 มหาวิทยาลัยแม่โจ้ และอุตสาหกรรมเกษตรอินทรีย์ จ.เชียงใหม่ เพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจให้กับผลิตภัณฑ์อาหารปลาและพัฒนาผลิต ภัณฑ์อาหารปลาจากผล พลอยได้การแปรรู ป เนื อปลาบึ กอิน ทรี ย์ อย่างน้อย 1 ชนิด มีเป้าหมาย จ้านวน 1,000 คน ประกอบด้ว ย เครือข่ายชุมชนและเอกชน เกษตรกรผู้เลียงสัตว์น้า นักเรียน นักศึกษา ผู้สนใจทังในประเทศและต่างประเทศ โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร. เกรียงศักดิ์ เม่งอ้าพัน คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้า เป็น ผู้รับผิดชอบโครงการฯ ผลการด้าเนินโครงการ พบว่าการพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปที่เหมาะสมต่อผู้บริโภคสั ตว์น้าอิน ทรีย์ จ้านวน 5 ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ ปลาแดดเดียว 10 กิโลกรัม ปลารมควัน 1 กิโลกรัม ปลาแล่เนือ 600 กิโลกรัม อาหารปลาผสม super premix 800 กิโลกรัม และลูกพันธุ์ปลา 4,000 ตัว การจัดการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “ระบบการเลียง การผลิตอาหารปลา และการแปรรูปเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์จากปลาบึกและปลาลูกผสม บึกสยามแม่โจ้อินทรีย์แบบครบวงจร” ระหว่างวันที่ 21-22 มิถุนายน พ.ศ. 2561 คณะเทคโนโลยีการประมง และทรัพยากรทางน้าและฐานเรียนรู้ปลาบึก มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มีผู้เข้าร่วม จ้านวน 50 คน เพศของผู้เข้าร่วม อบรมส่วนมากเป็นเพศชาย อาชีพส่วนมากเป็นเกษตรกร และจากภาพรวมของการจัดอบรมครังนี อยู่ในเกณฑ์ ที่ดีมาก ซึ่งมีเปอร์เซ็นต์สูงถึง 58 เปอร์เซ็นต์ โดยค้านวณจากแบบประเมิน ผลการด้าเนินงานมีการจัดนิทรรศการไปแล้วจ้านวน 3 ครัง 1) การประกวดนวัตกรรมและเผยแพร่ ผลงานวิจัย รศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เม่งอ้าพัน และคณะนักวิจัย (สุภาพร สัตตัง กรณ์ เม่งอ้าพัน และผศ.ดร.ดวงพร อมรเลิศพิศาล) เข้าร่วมการประกวด งานวิจัย นวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ์ในงาน XXI Moscow International Salon of Inventions and Innovation Technologies «ARCHIMEDES-2018» ณ กรุ ง มอสโคว์ ประเทศ สหภาพโซเวียตรัสเซีย ระหว่างวันที่ 5-8 เมษายน 2561 ผลงาน เรื่อง นวัตกรรมอาหารส้าหรับอุตสาหกรรม การเพาะเลียงปลาหนังสามารถคว้า 3 รางวัล ดังนี รางวัลเหรียญทอง (Gold medal) จาก ARCHIMEDES 2018 รางวั ล พิ เ ศษ (The best excellent of honor Specia) จาก ประเทศโรมาเนี ย และรางวั ล พิ เ ศษ (Special Awards) จากChinese Innovation & Invention Society (CIIS) จากประเทศไต้หวัน 2) วันที่ 1718 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 รศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เม่งอ้าพัน และทีมงาน เข้าร่วมจัดนิทรรศการ ประกวดนวัตกรรม และต้อนรับ พลอากาศเอก ดร.ประจิน จั่นตอง รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ใน งานประชุมวิชาการและประกวดนวัตกรรมบัณฑิตศึกษา ระดับชาติและนานาชาติ ณ ศูนย์ประชุมนานาชาติดิ เอ็มเพรส โรงแรมดิเอ็มเพรสเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 3) จัดนิทรรศการแสดงผลงานวิจัย ณ ศูนย์ประชุม นานาชาติคุ้มค้า (คุ้มขัน โตก) วัน ที่ 30 พฤษภาคม 2561 อีกทังการจัดนิทรรศการแนะน้าผลิตภัณฑ์และ


31 การตลาดอินทรีย์ จ้านวน 12 ครัง เช่น การจ้าหน่ายผลิตภัณฑ์ที่กาดแม่โจ้ 2477 โดยได้ยื่นรับรองมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์แปรรูปอาหารสัตว์น้า และด้าเนินการขอมาตรฐานการเลียงปลาที่ดีของเกษตรกร 1 ราย สรุปการด้าเนินโครงการนวัตกรรมระบบการผลิตปลาลูกผสมบึกสยามแม่โจ้สู่อินทรีย์เพื่อเพิ่มมูลค่า เศรษฐกิจและชุมชน ภายใต้โครงการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารอินทรีย์ จังหวัดเชียงใหม่ ประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 มีค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร คิดเป็น 40.11 เปอร์เซ็นต์ รางวัลที่ได้รับจากการเข้าร่วมงานประกวดนวัตกรรม

ภาพที่ 67 บรรยากาศการประกวดนวัตกรรม

ภาพที่ 68 ร่วมประกวดนวัตกรรมระดับบัณฑิตศึกษา เรื่องปลาส้มสมุนไพร Primium ในงานการ ประชุมวิชาการ วันที่ 17-18 พฤษภาคม 2561 และได้รับรางวัล Silver award


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.