การพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและชุมชนเข้มแข็ง : ระบบการผลิตสัตว์น้า (กบ ปลานิล ปลา สลิด) และการสร้าง Brand สัตว์น้าอินทรีย์ต้นแบบเพื่อวิสาหกิจชุมชนจังหวัดเชียงใหม่ จงกล พรมยะ บทน้า จังหวัดเชียงใหม่ และประเทศไทย เป็นเมืองท่องเที่ยวและเป็นประเทศที่สามารถผลิตอาหาร เป็นครัวของโลกได้ มีผู้ต้องการบริโภคสัตว์น้าจากการเพาะเลี้ยงเพิ่มขึ้นเป็นจ้านวนมาก เนื่องจากเป็นอาหาร สุขภาพตลอดจนสัตว์น้าจากธรรมชาติลดลง การเพาะเลี้ ยงสั ตว์น้าเป็นอาชีพนับวันมีความส้ าคัญมากขึ้น ปัจจุบันผู้บริโภคหันมาสนใจอาหารสัตว์น้าที่ปลอดภัยและสัตว์น้าอินทรีย์มากขึ้น หลักการใช้วัตถุดิบส้าหรับ การเพาะเลี้ยงสัตว์น้าอินทรีย์ คือ ต้องมีองค์ประกอบที่เป็ นวัตถุดิบธรรมชาติหรือเกษตรอินทรีย์ไม่ต่้ากว่า ร้อย ละ 60 รวมทั้งต้องเป็นวัตถุดิบที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด การเพาะเลี้ยงสัตว์น้าอินทรีย์ เป็น กระบวนการผลิ ต สั ต ว์ น้ า เพื่ อ ให้ ไ ด้ ผ ลิ ต ผลหรื อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ตามหลั ก การ และมาตรฐานเกษตรอิ น ทรี ย์ (มาตรฐาน มกท, 2555 (IFOAM); มาตรฐาน กรมประมง, 2550) จังหวัดเชียงใหม่มีเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้าที่ขึ้นทะเบียนจ้านวน 12,468 ราย มีพื้นที่เพาะเลี้ยง สัตว์น้าประมาณ 9,355 ไร่และมีพื้นที่ท้าการประมงน้้าจืด ประมาณ 1,394,515 ไร่ ผลผลิตสัตว์น้าของจังหวัด เชียงใหม่ ประมาณ 18 ตัน/วัน (จากการเพาะเลี้ยง 11 ตัน จับจากแหล่งน้้าธรรมชาติ 7 ตัน) ปริมาณความ ต้องการบริโภคสัตว์น้าในจังหวัดเชียงใหม่ ประมาณ 40 ตัน/วัน ส่วนที่เหลือน้าเข้าจากต่างจังหวัด (ประมาณ 50 เปอร์เซ็นต์) ได้แก่ เชียงราย ล้าปาง นครสวรรค์ สุพรรณบุรี พิษณุโลก อุตรดิตถ์ เป็นต้น สั ตว์น้าจืดที่นิยม บริโภคได้แก่ ปลานิล ปลาทับทิม ปลาดุก ปลาช่อน ปลาสวาย ปลาหมอไทย กบ ปลาสลิด และกุ้ง ชนิดสัตว์ น้้าที่เกษตรกรนิยมเลี้ยงมากที่สุด ได้แก่ ปลานิล ปลาทับทิม ปลาดุก ปลาหมอไทย ปลาสลิด ปลาตะเพียน ปลากดหลวง ปลาสวาย กบฯลฯ จะเห็นได้ว่าปลานิล ปลาหมอไทย ปลาดุก ปลาสลิด กบ เป็นปลาที่ผู้บริโภค ต้องการ (ประมงจังหวัดเชียงใหม่ , 2550) การจัดระบบการผลิตให้สอดคล้องกับศักยภาพพื้นที่และความ ต้องการของตลาดตั้งแต่ต้น น้้าถึงปลายน้้ า การส่งเสริมการรวมกลุ่มเพื่อวิสาหกิจชุมชน ในการผลิตทาง การเกษตร การสร้างโอกาสในการเข้าถึงนวัตกรรมและเทคโนโลยีทันสมัย และการเพิ่มมูลค่าผลผลิตภาค เกษตร (ส้านักงานคณะกรรมการการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2558) ในส่วนภูมิภาค การผลิตสัตว์น้าอินทรีย์ 1. การผลิตปลานิลอินทรีย์ - เตรียมบ่อเพาะพันธุ์เพื่อใช้ผลิตลูกปลานิล และท้าการผลิตปลานิลตลอดระยะ 12 เดือน อัตราการปล่อยพ่อ: แม่พันธุ์ 1:3 ตัว/ตารางเมตร ให้ 3% ต่อน้้าหนักตัว/วัน สมมุติมี 12 ตัว x 100 กรัม/ตัว = 1,200/1,000 = 1.2 กก. X 3% =0.036 กก./วัน ๆ ให้ 2 มื้อ =0.018 x 1000 กรัม=18 กรัม/มื้อ เมื่อเลี้ยง พ่อ-แม่พันธุ์ ครบ 1เดือน จะสามารถเคาะไข่จากปากทุก ๆ 7 วัน ตลอดระยะเวลาการเลี้ยงได้ผลผลิ ตลูกปลา จ้านวน 1,200,000 ตัว - ระบบการฟักไข่ปลาและการอนุบาล เคาะไข่จากปากทุก ๆ 7 วัน แต่ในช่วงฤดูหนาว ทุก ๆ 9 วัน แล้วน้าไข่มาใส่ใน กรวยฟักไข่ ขนาดเส้นผ่าน ศูนย์กลาง 20 ซม. สูง 30 ซม.บรรจุไข่ได้ 5,000 - 30,000
ฟอง หลังออกจากไข่ จะไหลลงถาดขนาด ยาว 40 ซม. กว้าง 25 ซม. สูง 7 ซม. อนุบาลในถาดประมาณ 3,000 ตัว รอถุงไข่แดงยุบน้าลูกปลาไปสู่ขั้นตอนการอนุบาล
ภาพที่ 1 อนุบาลในกระชังแขวนในบ่อบ่อซีเมนต์จนลูกปลามีขนาด 3-4 นิ้ว และน้าไปเลี้ยงต่อไปในบ่อดิน หรือบ่อปูนที่เตรียมไว้ต่อไป โดยอัตราปล่อย 500-1,000 ตัว/ตารางเมตร . 2. การผลิตปลาสลิดอินทรีย์ ปลาสลิดเมื่ออายุประมาณ 6-7 เดือน จะเริ่มวางไข่เดือนเมษายน–กันยายน แม่ปลาตัวหนึ่งมี ไข่ประมาณ 18,000-36,000 ฟอง วางไข่ในน้้านิ่ง โดยตัวผู้จะก่อหวอดที่พรรณไม้น้า ไข่จะฟักออกเป็นตัว
ภายในระยะเวลา 18-24 ชั่วโมง ลูกปลาที่เพิ่งฟักจะรวมกลุ่มกันลอยเป็นแพบริเวณผิวน้้า ลูกปลาจะเริ่มกิน อาหารเมื่ออายุ 3 วัน โดยกินโรติเฟอร์/ลูกไรแดง ลูกปลาอายุ 8 วันจึงจะสามารถกินอาหารอย่างอื่นได้
ภาพที่ 2 การเพาะพันธุ์ปลาสลิดโดยขั้นตอนแรก (1) จะเตรียมพ่อแม่พันธุ์ปลาสลิดที่พร้อม ลงปล่อยในบ่อที่ท้า ใส่พรรณไม้น้าเตรียมไว้แล้ว (2) ปลาสลิดตัวผู้จะก่อหวอดใกล้ ๆ กับพรรณไม้น้าแล้วไล่ตัวเมียเข้าไปใต้หวอด เพื่อวางไข่ และเมื่อเวลาผ่านไป 18-24 ชั่วโมงลูกปลาจะฟักเป็นตัวและเกาะอยู่ที่หวอดก่อน จนกระทั่ง (4) ลูก ปลาสามารถหากินเองได้แล้วจึงจะว่ายออกจากหวอด 3. การผลิตกบ การขยายพันธุ์กบในธรรมชาติเกิดขึ้นช่วงเดือน เมษายน – กันยายน ของทุกปี ใช้พ่อแม่พันธุ์ ในอัตราส่วน 1 คู่ ต่อ 1 ตารางเมตร โดยใช้ เพศผู้:เพศเมีย 1:1 เวลาที่เหมาะสมในการเพาะขยายพันธุ์ คือ บ่าย-ค่้า หลังจากปล่อยพ่อแม่พัน ธุ์ 8-12 ชั่วโมง เพศเมียวางไข่เพศผู้ปล่อยน้้าเชื้อผสม และไข่ฟักออกเป็นตัว ใช้เวลา 24-48 ชั่วโมง และลูกกบลอยตัวหลังฟักออกเป็นตัวประมาณ 2 วัน และลูกกบหรือลูกอ๊อดจะเริ่ม พัฒนามีขาหลังเมื่ออายุ 1-2 สัปดาห์ พอเข้าสัปดาห์ที่ 3 มีขาครบทั้ง 4 ขา
ภาพที่ 3 พัฒนาการของกบนา 4. การผลิตตะกอนจุลินทรีย์ และชนิดสาหร่าย แพลงก์ตอนและแบคทีเรีย - การผลิตตะกอนจุลินทรีย์ไบโอฟลอค
ภาพที่ 4 สารอาหารผลิตตะกอนจุลินทรีย์ไบโอฟลอค
ภาพที่ 5 ขั้นตอนการผลิตตะกอนจุลินทรีย์ไบโอฟลอค - ชนิดสาหร่าย แพลงก์ตอนและแบคทีเรีย
ภาพที่ 6 ตะกอนจุลินทรีย์ (scale bar 0.2 mm.)
ภาพที่ 7 Arthrospira (scalebar 0.02 mm)
ภาพที่ 8 Copepod (scale bar 0.1 mm)
ภาพที่ 9 Chironomus sp. (scalebar 10 mm)
ภาพที่ 10 โปรโตซัว (scale bar 10 µm)
ภาพที่ 11 Scenedesmus sp. (scale bar 10 µm)
ภาพที่ 12 Pediastrum sp. (scale bar 10 µm)
.
ภาพที่ 13 พืชน้้า (แหนเป็ด)
5. การผลิตอาหารปลา เนือปลานิลอินทรีย์ และผลิตภัณฑ์ปลานิลอินทรีย์ - การผลิตอาหารปลาอินทรีย์ อาหารปลากินพืช ใช้ได้กับปลากินพืชทุกชนิด ส่วนผสมเหมือนกันกับสูตรอาหาร ปลากินเนื้อแต่ใช้ปริมาณไม่เท่ากัน ในส่วนของอาหารปลากินพืชจะใส่พืชค่อนข้างมาก อาหารปลากิน เนื้อจะใช้อ าหารเสริ มโปรตีนหรือใช้เนื้อค่อนข้างมาก ตามธรรมชาติของปลา สู ตรอาหารปลานิล อินทรีย์ จงกล 01 ปริมาณโปรตีน 26% มีส่วนผสมดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 สูตรอาหารปลานิลอินทรีย์ชนิดลอยน้้า (จงกล 01) สูตรอาหารปลานิลอินทรีย์ โปรตีน 26% วัตถุดิบ (กก.) ปลายข้าว 22 เปลือกถั่วดาวอินคา 27 ร้าละเอียด 28 ปลาป่น 15 สไปรูลิน่าผง 5 น้้ามัน 3
ภาพที่ 14 การผลิตอาหารปลานิลปลอดภัยพัฒนาสู่อาหารปลานิลอินทรีย์ต่อไปเป็นอาหารลอยน้้า
การผลิตเนือปลานิลอินทรีย์ น้าลูกปลาอายุ 2 เดือน มาเลี้ยงในระบบ biofloc อัตราการปล่อย 30 ตัว/ตารางเมตร และ เลี้ยงในบ่อดินระบบอินทรีย์ อัตราการปล่อย 3 ตัว/ตารางเมตร โดยการเลี้ยงปลาหมอไทยในกระชัง และใน กระชังเลี้ยงแหนเป็ดเล็ก เพื่อตักเป็นอาหารแก่ปลานิล
ภาพที่ 15 น้าลูกปลาอายุ 2 เดือน มาเลี้ยงในระบบ biofloc อัตราการปล่อย 30 ตัว/ตารางเมตร
ภาพที่ 16 น้าลูกปลาอายุ 2 เดือน เลี้ยงในบ่อดินระบบอินทรีย์ อัตราการปล่อย 3 ตัว/ตารางเมตร โดยการเลี้ยงปลาหมอไทยในกระชัง และในกระชังเลี้ยงแหนเป็ดเล็ก เพื่อตักเป็นอาหารแก่ปลานิล
ตารางที่ 2 คุณค่าทางโภชนาการของเนื้อปลานิล โดยน้้าหนักแห้ง โภชนาการ (%) ความชื้น 67.97 โปรตีน 26.56 คาร์โบไฮเดรต
1.68
ไขมัน
2.67
เยื่อใย เถ้า เบต้า-แคโรทีน ซี-ไฟโครไซยานิน กรดไขมัน(GLA) การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากปลานิลอินทรีย์ 1. ปลานิลเส้นปรุงรส วัตถุดิบ 1. ปลานิลหั่นเป็นเส้น 2. ซีอิ๊วญี่ปุ่น (kikoman) 3. น้้าตาลทราย 4. พริกไทยป่น 5. งาคั่ว 6. น้้าเกลือ อุปกรณ์-เครื่องมือ 1. มีด 2. เขียง 3. กะละมัง 4. เครื่องชั่ง 5. ทัพพี 6. ถุงสุญญากาศ 7. เครื่องปิดผนึกสุญญากาศ 8. ตะแกรงหรือมุ้งลวดตากปลา 9. ตู้อบหรือลานกลางแจ้ง 10. ถุงมือยา’
0.04 1.08 0.06 มิลลิกรัม/กรัม 6.46 มิลลิกรัม/กรัม 0.13 มิลลิกรัม/กรัม
1 กิโลกรัม 40 กรัม 25 กรัม 7.5 กรัม 15 กรัม 4%
วิธีท้ามีดังนี้ 1. ปลานิลทั้งตัว 2. ขอดเกล็ด 3. ล้างน้้าให้สะอาด 4. แล่เอาเฉพาะเนื้อ แล้วล้างน้้าให้สะอาด 5. หั่นเป็นเส้นตามความยาวของตัวปลา 6. ล้างเนื้อปลาด้วยน้้าเกลือ 4% (เนื้อปลาต่อน้้าเกลือ 1:1 โดยน้้าหนัก) 7. ล้างผ่านน้้าสะอาดอีกครั้ง แล้วผึ่งแดดให้สะเด็ดน้้า 8. ผสมเครื่องปรุงให้เป็นเนื้อเดียวกันแล้วน้าเนื้อปลาผสมคลุกเคล้าให้เข้ากัน 9. หมักไว้ 20-30 นาที 10 เรียงปลาเส้นบนตะแกรงตากแดดจัด 1 วัน บรรจุถุงสุญญากาศและปิดผนึก 2. คางนิลปลาแดดเดียว วัตถุดิบ 1. คางปลานิล 2. น้้าเกลือ
1 กิโลกรัม 10 % (น้้า 100 ซีซี ต่อเกลือ 10 กรัม)
อุปกรณ์-เครื่องมือ 1. มีด 2. เขียง 3. กะละมัง 4. เครื่องชั่ง 5. ทัพพี 6. ถุงสุญญากาศ 7. เครื่องปิดผนึกสุญญากาศ 8. ตะแกรงหรือมุ้งลวดตากปลา 9. ตู้อบหรือลานกลางแจ้ง 10 ถุงมือยา’ วิธีท้า 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.
ปลานิลทั้งตัว ขอดเกล็ด + แล่เนื้อปลาออก ตัดใต้คางไปจนถึงส่วนท้อง แล้วควักไส้ออก ล้างน้้าให้สะอาด แช่ในน้้าเกลือ 10% นาน 10-15 นาที ล้างน้้าให้สะอาดอีกครั้ง ใส่ตะแกรงผึ่งแดดจัด 3-6 ชั่วโมง บรรจุถุงสุญญากาศและปิดผนึก
ภาพที่ 17 ผลิตภัณฑ์ปลานิลที่ได้จากการแปรรูป
ปัญหาและอุปสรรค ในการเลี้ยงสัตว์น้าระบบอินทรีย์ ถึงแม้ต้นทุนจะต่้าและมีความปลอดภัยที่สูง แต่ระยะเวลาที่ใช้จะต้อง เพิ่มขึ้น เนื่องเพราะปริมาณอาหารและโปรตีนที่สัตว์น้าจะได้รับจะมาจากธรรมชาติ เป็นหลัง โดยแทบจะไม่มี ส่วนจากอาหารที่ได้จากการคิดค้นสูตรแบบทางบริษัทใหญ่ ๆ จัดท้าขึ้น การเพิ่มโปรตีนและแร่ธาตุต่าง ๆ ให้ สัตว์น้าจึงต้องปล่อยให้เกิดเองตามธรรมชาติด้วยเช่นกัน และเนื่องเพราะต้องใช้เวลาที่มากกว่าปกติบวกกับการ ที่ไม่สามารถคัดสรรเพศของสัตว์น้าได้ตามต้องการ เกษตรที่เน้นไปทางด้านธุรกิจที่เน้น ท้าก้าไรมหาศาลจึงยัง ไม่ให้ความส้าคัญมากเท่าที่ควร
สรุป การผลิตสัตว์น้าอินทรีย์มีความเหมาะสมส้าหรับผู้ที่เน้นในด้านความปลอดภัยเป็นหลัก แม้จะสามารถ ขายสัตว์น้าในราคาที่สูงกว่าสัตว์น้า ทั่วไป แต่เรื่องระยะเวลาที่จะสามารถจับขายได้นั้นกลับต้องใช้เวลาที่นาน กว่า แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นการลงทุนเกี่ยวกับสัตว์น้าอินทรีย์กลับต่้ากว่าอย่างเห็นได้ชัด โดยอุตสากรรมเกี่ยวกับกรผลิต สัตว์ส่วนใหญ่จะตกอยู่ที่ต้นทุนด้านอาหาร แร่ธาตุและยารักษาโรค ในส่วนของสัตว์น้าอินทรีย์จะสามารถลด ต้นทุนด้านอาหารได้ค่อนข้างมาก และภูมิคุ้มกันของสัตว์ น้าจะเกิดขึ้นเองโดยธรรมชาติ แม้จะใช้เวลานานกว่า ปรกติ แต่มีความปลอดภัยสูง เหมาะแก่ผู้ที่รักสุขภาพอย่างมาก