สาหร่ายและแพลงก์ตอน

Page 1

บทที่ 1 บทนา 1.1สาหร่ าย สาหร่ า ย (algae) เป็ นกลุ่ ม ของสิ่ ง มี ชี วิ ต ที่ พ บแพร่ ก ระจายอยู่ ทั่ว ไปตามธรรมชาติ ดํารงชีวิตอยู่ได้ หลายรู ปแบบ ไม่ว่าจะเป็ นแพลงก์ ตอน (plankton) ที่ล่องลอยอยู่ในมวลนํ า้ และดํารงชีวิตแบบยึดติดกับพื ้น หรื อวัสดุอื่นเช่น สาหร่ายทะเล (seaweeds) นอกจากนี ้ยังสามารถ พบสาหร่ ายในสภาพแวดล้ อมอื่น ๆ เช่น ในดิน หิมะ นํา้ พุร้อน และสาหร่ ายที่ใช้ ชีวิตอยู่ร่วมกับ สิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ในลักษณะความสัมพันธ์แบบพึง่ พา ตัวอย่างได้ แก่ ไลเคน (Lichen) ซึ่งเป็ นสาหร่าย ที่ ดํ า รงชี วิ ต อยู่ ร่ ว มกั บ รา และสาหร่ า ย Zooxanthellae ที่ อ าศัย อยู่ ใ นเนื อ้ เยื่ อ ของปะการั ง และหอยมือเสือ เป็ นต้ น เนื่องจากสาหร่ายไม่มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้ างของเซลล์ กลายเป็ นราก ลําต้ น และใบ ที่แท้ จริ ง จึงเรี ยกส่วนที่คล้ ายราก ลําต้ น และใบของสาหร่ ายว่า ทัลลัส (thallus) กระบวนการ สังเคราะห์ แสงของสาหร่ ายจะมี ลักษณะคล้ ายกับพืช ชัน้ สูง คือ ใช้ คลอโรฟิ ลล์ -เอ เป็ นตัวรั บ พลังงานจากแสง (antenna molecules) และมีการปลดปล่อยออกซิเจน ซึง่ จะมีความแตกต่างจาก กระบวนการสัง เคราะห์ แ สงของสิ่ ง มี ชี วิ ต ในกลุ่ม แบคที เ รี ย สัง เคราะห์ แ สง (phytosynthetic bacteria) อย่างไรก็ตามยังมีข้อยกเว้ นให้ กบั สาหร่ายบางชนิดที่สามารถดํารงชีวิตในรูปแบบอื่น ๆ นอกเหนือไปจาก ออโตโทรฟิ ค (autotrophic) เช่น สาหร่ ายหลายชนิดสามารถเจริ ญได้ ทงั ้ แบบ ออโตโทรฟิ ค (สร้ างอาหารเองได้ โดยการสังเคราะห์แสง) และแบบเฮเทอโรโทรฟิ ค (heterotrophic หมายความว่า สร้ างอาหารเองจากสารอนินทรี ย์ไม่ได้ จึงต้ องมีการบริ โภคสารอินทรี ย์เข้ าสู่เซลล์ ) หรื อบางชนิดอาจดํารงชีวิตแบบ เฮเทอโรโทรฟิ คเพียงอย่างเดียว ตัวอย่างเช่น Schizochytrium เป็ นจุลชีพในกลุ่ม Thraustochytrids ที่ไม่สงั เคราะห์แสง แต่บางครัง้ ก็ถกู จัดอยู่ในกลุ่มสาหร่าย แม้ กระทัง่ ผลิตภัณฑ์อาหารสัตว์นํ ้าที่ผลิตจาก Schizochytrium ก็ถกู เรี ยกว่า สาหร่ายจุลชีพ กลุ่มนี ้ เคยถูกจําแนกอยูใ่ นกลุม่ ของราชันตํ ้ ่า (lower fungi) แต่ที่ได้ รับการจําแนกว่าเป็ นสาหร่ายเนื่องจาก มีสายวิวฒ ั นาการร่วมกับสาหร่ายในกลุ่ม Chromophyta การที่สาหร่ายแต่ละชนิดมีขนาดและการ ดํารงชีวิตที่แตกต่างกัน ตังแต่ ้ สาหร่ าย Chlorella vulgaris ขนาดเส้ นผ่าศูนย์กลางเพียง 3 µm จนถึงสาหร่าย Macrocystis pyrifera ที่มีความยาวมากกว่า 50 เมตร ทําให้ ผ้ ศู กึ ษาวิจยั เกี่ยวกับ สาหร่ า ย มั ก จะแยกความสนใจออกเป็ นสองกลุ่ ม คื อ กลุ่ ม ของจุ ล สาหร่ า ย (microalgae) และมหสาหร่ าย (macroalgae) โดนจุลสาหร่ ายนัน้ มีความหมายครอบคลุมสาหร่ ายขนาดเล็กที่ 4


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.
สาหร่ายและแพลงก์ตอน by value chain - Issuu