คู่มือหลักสูตรยุววิจัยแหล่งเรียนรู้บ้านเหล่าลิง จังหวัดร้อยเอ็ด ปศท.๒

Page 1

หลักสูตรยุววิจัย”สิ่งแวดล้อมชุมชน”

ศูนย์ตุ้มโฮมลูกหลาน บ้านเหล่าลิง “แหล่งเรียนรู้ตามอัธยาศัยของคนหลายวัย” โครงการนําร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย

โดยศูนย์โฮมลูกหลาน บ้านเหล่าลิง ร่วมกับมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ สสส.


1

หลักสูตรการเรียนรู้ยุววิจัย”สิ่งแวดล้อมชุมชน” ชื่อหลักสูตร การเรียนรู้ยุววิจัย “สิ่งแวดล้อมชุมชน” หลักการ เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และเข้าใจประวัติชุมชน ความเป็นมาของที่ตั้งชุมชนหมู่บ้าน การ ดํารงชีวิตในอดีตมาจนกระทั่งปัจจุบัน สืบค้นข้อมูลความรู้ในท้องถิ่นของตนเอง ผ่านครูภูมิปัญญา ท้องถิ่น รู้จักวิธีการสืบค้นหาความรู้ ตามขั้นตอน กระบวนการทํางานแบบโครงงาน ได้แก่ การตั้ง ปัญหา ออกแบบการดําเนินงาน ลงมือดําเนินการ ผลการศึกษาค้นคว้า และสรุปผลการศึกษา ตลอดจนรู้จักวิธีการนําเสนอความรู้ที่รวบรวมมา ผ่านการเขียนรายงาน จัดป้ายนิเทศ และ นําเสนอปากเปล่า จุดมุ่งหมาย เพื่อให้ผู้เรียนสามารถ 1. สืบค้นข้อมูลและบอกประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านเหล่าลิง ตําบลดู่ อําเภออาจ สามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด ได้ 2. สืบค้นข้อมูลพร้อมระบุครูภูมิปัญญาในท้องถิ่นของตนเอง ได้ 3. เพื่อรวบรวมข้อมูลองค์ความรู้ของครูภูมิปัญญาท้องถิ่น 4. เกิดทักษะกระบวนการทํางานแบบนักวิจัย ได้แก่ การตั้งปัญหา ออกแบบการ ดําเนินงาน ลงมือดําเนินการ ผลการศึกษา และสรุปผลการศึกษาค้นคว้า


2

โครงสร้างหลักสูตร เรื่อง ที่ 1

เนื้อหา

ชม. ชม. ทฤษฎี ปฏิบัติ

-ปฐมนิเทศ รู้เขา รู้เรา - กิจกรรม เรียนรู้กระบวนการทํางานแบบ นักวิทยาศาสตร์

2

4

หมายเหตุ - แนะนําตนเอง แนะนําผู้จัดกิจกรรม จับคู่เล่นเกมส์ทายใจ เพื่อน - อธิบายหลักการ เรียนรู้แบบ นักวิทยาศาสตร์ ทํา กิจกรรม ฝึกสังเกต ฝึก ตั้งปัญหา ตั้งสมมติฐาน ออกแบบการ ดําเนินการ ลงมือ ดําเนินการ ผล การศึกษา สรุปผล การศึกษา

2

-กิจกรรม เรียนรู้กระบวนการทํางานแบบ นักวิทยาศาสตร์

2

4

- ทบทวนความรู้เดิม -ลงมือฝึกปฏิบัติ กิจกรรมเรียนรู้ กระบวนการทํางาน แบบนักวิทยาศาสตร์


3

เรื่อง

เนื้อหา

ที่ 3

การเรียนรู้ชุมชน

ชม.

ชม.

ทฤษฎี ปฏิบัติ 4

4

-ความรู้ในการเก็บข้อมูลชุมชน

หมายเหตุ -อธิบาย -ลงมือปฏิบัติจริง

- เทคนิคการสัมภาษณ์ - แบ่งกลุ่ม เรียนรู้ชุมชน ได้แก่ กลุ่มที่ 1 หมอยา หมอแคน หมอสูตร กลุ่มที่ 2 จักสาน งานไม้ ทอผ้า พาขวัญ กลุ่มที่ 3 หมอน้ํามัน เครื่องหนัง สวัสดิการ ชุมชน กลุ่มที่ 4 ช่างไม้ สรภัญญะ สานแห,สวิง กลุ่มที่ 5 ประวัติหมู่บ้านเหล่าลิง - ระดมความคิดวางแผนเก็บข้อมูล 4

- ออกเก็บข้อมูล เรียนรู้ชุมชน

5

จัดกระทํากับข้อมูล

4

10

- ลงมือปฏิบัติจริง

4

- อธิบาย ยกตัวอย่าง

- เขียนรายงาน

- ลงมือปฏิบัติจริง

- จัดป้ายนิเทศ - วางแผนนําเสนอข้อมูล 6

นําเสนอข้อมูล

4 รวม

10

30

-ลงมือปฏิบัติจริง


4

สื่ออุปกรณ์ 1. สื่อบุคคล ภูมิปัญญา วิทยากร หัวหน้ากลุ่ม 2. สื่อเอกสารประกอบการเรียนรู้ 3. สื่อ CD VCD 4. สถานที่จริง ชุมชน หมู่บ้าน การวัดผลประเมินผล 1. การสังเกต 2. ผลงานจากการลงมือปฏิบัติจริง 3. การนําเสนอรายงาน 4. การตอบคําถามการซักถาม


5

แบบเก็บข้อมูลปราชญ์ชาวบ้าน 1. ชื่อ-สกุล……………………………………………………………………………………..อายุ ....................ปี 2. ความสามารถ ความถนัด (ภูมิปัญญา).............................................................................. 3. ที่อยู่....บ้านเลขที่.............หมู่ 4 ตําบลบ้านดู่ อําเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด 4. ชีวิต การศึกษา การเรียนรู้ และการทํางาน ...................................................................................... ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………….


6

………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. 5. องค์ความรู้ .......................................................................................................................................... ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………….


7

………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. 6. การถ่ายทอดความรู้ ............................................................................................................................


8

………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. 6.1. การศึกษาใน ระบบ………………………………………………………………………………………..... ............... ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. 6.2. การศึกษานอก ระบบ………………………………………………………………………………………… ………….. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………….


9

………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. 6.3. การศึกษาตาม อัธยาศัย……………………………………………………………………………………… ……….... ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. 7. วิธีการ ถ่ายทอด…………………………………………………………………………………………… ………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………….


10

………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. 8. ข้อมูลอื่น ๆ ....................................................................................................................................... ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. หมายเหตุ : ในการเก็บข้อมูล... ถ้ากระดาษไม่พอให้ใช้ใบแนบ ...ให้มภี าพถ่ายงานที่ทาํ และกระบวนการของ การถ่ายทอดองค์ความรู้...


11

รายชื่อปราชญ์ชาวบ้าน ที่ศึกษา

กลุ่มที่ 1

กลุ่มที่ 2

กลุ่มที่ 3

กลุ่มที่ 4 กลุ่มที่ 5

หมอยา : นายสุทัศน์ มหาหงษ์ หมอสูตรขวัญ : พ่อโพธิ์ วิเศษการ หมอแคน : พ่อสว่าง หวานอารมณ์ จักสาน : พ่อสม ซาชิโย งานไม้ : พ่อพัฒนชัย ธรรมที่ชอบ ทอผ้า พาขวัญ : แม่สุมาลี ธรรมที่ชอบ สวัสดิการชุมชน : พ่อชู อุทมุ พร เครื่องหนัง : นายแซนฉัตร ศรีแก้ว หมอน้ํามัน : พ่อจันทร์ ศรีแก้ว ช่างไม้ : พ่อสําเนียง ซาชิโย สรภัญญะ : แม่ทองจันทร์ แก้วเสน่ห์ใน สานแห สวิง : พ่อประเสริฐ มหามาตย์ ประวัติบ้านเหล่าลิง(สอบถามหลายคน)


12

ภาคผนวก


13

รายชื่อผู้ร่วมกิจกรรม วันที่...............เดือน.......................พ.ศ....................... ลําดับที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

ชื่อ – สกุล นางสาววิชุดา ตอนสันเทียะ นางสาวสุพัตรา มหามาตย์ นายวันเฉลิม ตอนสันเทียะ เด็กหญิงกาญจนา ศิริเวช เด็กหญิงพลอยไพลิน โพธิพ์ ล เด็กหญิงแก้วตา มีมานะ เด็กหญิงปวีณา ทองชํานาญ นางศศินา กุลรักษา เด็กหญิงพรนภา นนทฤทธิ์ เด็กหญิงลลนา สมบูรณ์พันธ์ นางจุฑารัตน์ บุตรราช นางบุญสม นนทฤทธิ์ นายพัชร กุลสีดา นางสาวคุณาภรณ์ ธรรมที่ชอบ นายอรรณพ ปันคํา เด็กชายประวิทย์ ธรรมที่ชอบ เด็กหญิงมนัญชยา ซาชิโย เด็กชายชยธร ซาชิโย เด็กชายปฏิภาณ ชาญสมร เด็กหญิงกุสุมา ใจอารีย์

กลุ่มที่ 1

2

3

4

5

ลายมือชื่อ


14

รายชื่อวิทยากร วันที่...............เดือน.......................พ.ศ....................... ลําดับที่ 1 2 3 4

ชื่อ – สกุล นางนรินทร์ เคหาบาล นางปาริชาติ ซาชิโย นายสถิตย์ ศรีถาวร นายมานิตย์ ซาชิโย

ลายมือชื่อ


15

ตารางอบรม หลักสูตรยุววิจัย”สิ่งแวดล้อมชุมชน” โครงการนําร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย โดยศูนย์โฮมลูกหลาน บ้านเหล่าลิง ร่วมกับมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ สสส. วัน/เดือน/ปี 1 ต.ค.54

เนื้อหา - ปฐมนิเทศ รู้เขา รู้เรา - กิจกรรม เรียนรู้กระบวนการ ทํางานแบบนักวิทยาศาสตร์ 2 ต.ค.54 -กิจกรรม เรียนรู้กระบวนการทํางาน แบบนักวิทยาศาสตร์ 8-9 ต.ค.54 การเรียนรู้ชุมชน -ความรู้ในการเก็บข้อมูลชุมชน - เทคนิคการสัมภาษณ์ - แบ่งกลุ่ม เรียนรู้ชุมชน ได้แก่ กลุ่มที่ 1 หมอยา หมอแคน หมอสูตร กลุ่มที่ 2 จักสาน งานไม้ ทอผ้า พา ขวัญ กลุ่มที่ 3 หมอน้ํามัน เครื่องหนัง สวัสดิการชุมชน กลุ่มที่ 4 ช่างไม้ สรภัญญะ สานแห ,สวิง กลุ่มที่ 5 ประวัติหมู่บ้านเหล่าลิง - ระดมความคิดวางแผนเก็บข้อมูล 15-16 ต.ค.54 - ออกเก็บข้อมูล เรียนรู้ชุมชน 22 ต.ค.54

23 ต.ค.54

จัดกระทํากับข้อมูล - เขียนรายงาน - จัดป้ายนิเทศ - วางแผนนําเสนอข้อมูล นําเสนอข้อมูล

เวลา วิทยากร 09.00-12.00 น. นางปาริชาติ ซาชิโย 13.00-16.00 น. 09.00-12.00 น. นางปาริชาติ ซาชิโย 13.00-16.00 น. 09.00-12.00 น. นายสิถิตย์ ศรีถาวร 13.00-15.00 น.

09.00-12.00 น. นายมานิตย์ ซาชิโย 13.00-15.00 น. 09.00-12.00 น. นางนรินทร์ เคหาบาล 13.00-15.00 น.

09.00-12.00 น. นางนรินทร์ เคหาบาล 13.00-15.00 น. หมายเหตุ : มีอาหารกลางวัน และ อาหารว่าง 1 มือ ตารางนี้อาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความ เหมาะสม


16

ตัวอย่างภาพกิจกรรมการเรียนรู้

ประชุมชี้แจ้งให้ความรู้ ก่อนเก็บข้อมูลจริง โดย วิทยาการมานิตย์ และคณะ


17

วิทยากรประจํากลุ่มติวเข้ม


18

ผู้เรียนออกเก็บข้อมูลจริง


19

เรียนรู้แบบสอบถามความรู้ (สัมภาษณ์)


20

ผู้เรียนได้เรียนรู้กับผู้รู้และลองทําดู

แต่กลุ่มรวมกันสรุป พร้อมนําเสนอ


21

รูปแบบการนําเสนอ


22


23

ปราชญ์ชาวบ้าน

เล่มที่ 1

หลักสูตรยุววิจัย”สิ่งแวดล้อมชุมชน”

หมอยา นายสุทัศน์ มหาหงษ์

หมอแคน พ่อสว่าง หวานอารมณ์

หมอสูตรขวัญ พ่อโพธิ์ วิเศษการ

ศูนย์ตุ้มโฮมลูกหลาน บ้านเหล่าลิง “แหล่งเรียนรู้ตามอัธยาศัยของคนหลายวัย” โครงการนําร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย

โดยศูนย์โฮมลูกหลาน บ้านเหล่าลิง ร่วมกับมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ สสส.


24

นายสุทัศน์ มหาหงษ์ อายุ 42 ปี ปราชญ์ชาวบ้าน หมอยาสมุนไพรไทย ที่อยู่ บ้านเลขที่ 99 หมู่ 4 ตําบลบ้านดู่ อําเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด ชีวิต การศึกษา การเรียนรู้และการทํางาน นาย สุทัศน์ มหาหงษ์ เกิดที่บ้านเหลาลิง ตําบลบ้านดู่ อําเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด ที่บ้านเลขที่ 99 หมู่ที่ 4 มีอาชีพหลักคือการทํานา ,เกษตรกรรมและมีอาชีพเสริม เป็นหมอยาสมุนไพรซึ่งสืบทอดมาจากบรรพบุรุษคือ นาย สาร มหาหงษ์ วัยเด็กหลังจากเรียนจบ ประถมศึกษาปีที่ 6 นาย สุทัศน์ มหาหงษ์ ก็ได้เรียนรู้การทํานาจนอายุครบ 16 ก็ได้เรียนรู้เกี่ยวกับ การการรักษาโรคจากตัวยาสมุนไพรจากบิดา เมื่ออายุครบ 20 ปี ก็ได้อุปบททดแทนบุญคุณบิดา มารดาได้ 1 พรรษา จึ่งได้สมรสกับ นาง จวง เสนานาม มีบุตรหญิง 1 คน มีบุตรชาย 2 คน ได้แก่ 1 นางสาว สุพัตรา มหาหงษ์ อายุ 18 ปี 2 นาย สันติ มหาหงษ์ อายุ 16 ปี 3 เด็กชาย สุจินดา มหาหงษ์ อายุ 14 ปี การศึกษาโรคด้วยยาสมุนไพรเป็นภูมิปัญญาที่มีคุณค่าคือช่วยรักและบรรเทาอาการ เจ็บป่วยจากโรคต่างๆได้ และยังเป็นการสืบทอดยาสมุนไพรให้คนรุ่นหลังได้นําไปศึกษาอีกด้วย

องค์ความรู้ นาย สุทัศน์ มหาหงษ์ เริ่มเรียนรู้วิธีรักษาโรคด้วยยาสมุนไพรมาตั้งแต่เด็กจากบิดาซึ่งถือ ว่าเป็นหมอยาสมุนไพรที่ประชาชนภาคอีสานรู้จักกันดี หลังจากนั้น นายสุทัศน์ หลังจากนั้นก็ได้ เริ่มพัฒนาการรักษาโรคขึ้นเรื่อยๆ จนสามารถรักษาคนไข้ให้หายจากอาการเจ็บป่วยได้หลายคน จนกระทั่งในปัจจุบันมีคนมารักษาโรคไม่ว่าจะอยู่ใกล้หรือใกล้และหลังจากนั้นตัวยาสมุนไพรของ นาย สุทัศน์ มหาหงษ์ ก็มีคนรู้จักมากขึ้นและเป็นที่ยอมรับของทางการแพทย์ ตัวยาที่นาย


25

สุทัศน์ มหาหงษ์ที่นํามาศึกษาและรักษาโรคมีทั้งในท้องถิ่นและไม่มีในท้องถิ่น ยาที่หาในท้องถิ่น เช่น ยาสองราก นางแดง ว่านพังคีน้อย ว่านพังคีใหญ่ นอกจากนั้นก็ได้ไปรับยาสมุนไพรที่อื่นตาม เขาเพราะยาส่วนมากจะเกิดตามภูเขายาที่ใช้รักษาโรคมีทั้งหมด 54 ชนิดตามโรคที่รักษา

ชื่อยาสมุนไพร เอียนดอน ยิกบ่ถอก รากพังคีน้อย-ใหญ่ นกสาวแดง รากหนาวเดือนห้า ตากทง กําแพงเจ็ดชั้น ประดงเลือด

สรรพคุณในการรักษา แก้กระไสเส้น ปวดเมื่อยตามร่างกาย ถอนพิษออกจากร่างกาย ขับลม เป็นยาระบายก็ได้ บํารุงโลหิต ขับถ่าย ขับถ่าย ท้องผูก แก้ประดง

วิธีการนํามารับประทาน นําสมุนไพรมาบดหรือฝนจากนั้นนํามาจุ่มน้ํารอจนน้ําเปลี่ยนเป็นสียา ก่อนที่จะนํายาไป รับประทานที่บ้านต้องให้ผู้ป่วยดื่มก่อนแล้วนํากลับไปดื่มต่อที่บ้านจนกว่าจะหายจากอาการป่วย

การถ่ายทอดความรู้ นายสุทัศน์ มหาหงส์ ถ่ายทอดความรู้ตามอัธยาศัยใครที่สนใจอยากศึกษาก็สอนโดยบอก คุณประโยชน์และโทษของตัวยา

การศึกษาตามอัธยาศัย ให้ความรู้กับชาวบ้านที่สนใจในยาสมุนไพร วิธีการถ่ายทอด -บอกสรรพคุณของยาสมุนไพร


26

-บอกวิธีใช้ยาสมุนไพร -สาธิตวิธีการฝนยาเพื่อนํามารับประทาน ตัวอย่างภาพประกอบการเตรียมยา และการรักษา


27


28


29


30

นายโสภา หวานอารมณ์ อายุ 68 ปี ปราชญ์ชาวบ้านหมอแคน ที่อยู่ บ้านเลขที่ 24 หมู่ 4 ตําบลบ้านดู่ อําเภออาสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด ชีวิต การศึกษา การเรียนรู้และการทํางาน นายโสภา หวานอารมณ์ เป็นชาวจังหวัดร้อยเอ็ด เติบโตในครอบครัวชาวบ้านซ้ง ตําบล หนองแก้ว อําเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด ซึ่งพ่อโสภามีอาชีพการทําเกษตรกรรมเป็นอาชีพหลัก และยังมีอาชีพเสริมด้านการทําไม้ไผ่ พ่อโสภา หวานอารมณ์ เป็นบุตรคนที่1 ของนายโด หวานอารมณ์ กับนางนาง หวาน อารมณ์ เกิดเมื่อวันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2486 ที่บ้านซ้ง และเมื่ออายุครบ 20 ปีพ่อโสภา หวาน อารมณ์ได้อุปสมบทได้ 1 พรรษา พอศึกออกมาก็ได้สมรสกับนางเสถียร หวาอารมณ์ และมีบุตร ด้วยกัน ทั้งหมด 3 คน คื่อ 1. นายบุญเรียน หวานอารมณ์ 2. นางบุญเพ็ง หวานอารมณ์ 3. นายประเพียร หวานอารมณ์ พ่อโสภา หวานอารมณ์ จบการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จึงได้เดินทางไปทํางานที่ จังหวัดหนองคาย พอถึงบุญประเพณีออกพรรษาได้ไปพบกับหมอแคนท่านหนึ่งได้เป่าแคนลาย โปงลางขึ้นภู จึงทําให้พ่อโสภาคิดถึงบ้านเกิดจึงและทําให้ชอบการเป่าแคนจากนั้นเป็นต้นมา

องค์ความรู้ พ่อสว่าง หวานอารมณ์ เริ่มเรียนรู้การเป่าแคนมาตั้งแต่วัยหนุ่มต่ออายุ 20 ปี ท่านได้เล่า ให้ฟังว่าตอนนั้นพ่อโสภาได้ไปเที่ยวงานประจําปีที่จังหวัดหนองคายเห็นหมอแคนท่านหนึ่งเป่า แคนลายโปงลางขึ้นภูพอได้ฟังพ่อโสภาจึงหวนคิดถึงบ้านเกิดที่จังหวัดร้อยเอ็ดจึงทําให้ท่านได้ กลับมาอีกครั้งพอกลับมาท่านจึงได้เริ่มเป่าแคนตามหนังสือที่เขียนอธิบายกับการเรียนเป่าแคนใน ลายต่างๆ ซึ่งพ่อโสภาได้บอกว่าลายแคนมีทั้งหมด 13 ลายแคน ขอยกตัวอย่างดังต่อไปนี้


31

1.ลายสุดสะแนน คําว่าสุดสะแนน เพี้ยนมาจากคําว่าสายแนน ที่ความหมายที่เกี่ยวข้อง ในสายใยความผูกพัน เช่น ถ้าเราได้เกิดมาเป็นพ่อแม่กันหรือสามีภรรยาในอดีตแล้วชาตินี้ได้เกิด มาเป็นสามีภรรยากันอีกเขาจึงเรียกว่าเกิดตาม สายแนน ซึ่งลายนี้เป็นลายที่มีความไพเราะมาก ที่สุดจึงได้ชื่อว่า สายลายครูแคน

ตัวอย่างภาพประกอบการสัมภาษณ์


32


33


34

พ่อโพธิ์ วิเศษการ ปราชญ์ชาวบ้าน หมอสูตรขวัญ (อยู่ระหว่างการจัดเก็บแก้ไขข้อมูล)


35


36


37

แบบเก็บข้อมูลปราชญ์ชาวบ้าน

9. ชื่อ-สกุล……………………………………………………………………………………..อายุ ....................ปี 10. ความสามารถ ความถนัด (ภูมิปัญญา).............................................................................. 11. ที่อยู่....บ้านเลขที่.............หมู่ 4 ตําบลบ้านดู่ อําเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด 12. ชีวิต การศึกษา การเรียนรู้ และการทํางาน ...................................................................................... ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………….


38

………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. องค์ความรู้ .......................................................................................................................................... ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………….


39

………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………….


40

การถ่ายทอดความรู้ ............................................................................................................................ ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. การศึกษาใน ระบบ………………………………………………………………………………………................... . ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. การศึกษานอก ระบบ……………………………………………………………………………………………………. . ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………….


41

………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. การศึกษาตาม อัธยาศัย……………………………………………………………………………………………….... ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. วิธีการ ถ่ายทอด……………………………………………………………………………………………… ……………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………….


42

………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ข้อมูลอื่น ๆ ....................................................................................................................................... ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. หมายเหตุ : ในการเก็บข้อมูล... ถ้ากระดาษไม่พอให้ใช้ใบแนบ ...ให้มภี าพถ่ายงานที่ทาํ และกระบวนการของ การถ่ายทอดองค์ความรู้...


43

รายชื่อปราชญ์ชาวบ้าน ที่ศึกษา

กลุ่มที่ 1

กลุ่มที่ 2

กลุ่มที่ 3

กลุ่มที่ 4 กลุ่มที่ 5

หมอยา : นายสุทัศน์ มหาหงษ์ หมอสูตรขวัญ : พ่อโพธิ์ วิเศษการ หมอแคน : พ่อสว่าง หวานอารมณ์ จักสาน : พ่อสม ซาชิโย งานไม้ : พ่อพัฒนชัย ธรรมที่ชอบ ทอผ้า พาขวัญ : แม่สุมาลี ธรรมที่ชอบ สวัสดิการชุมชน : พ่อชู อุทมุ พร เครื่องหนัง : นายแซนฉัตร ศรีแก้ว หมอน้ํามัน : พ่อจันทร์ ศรีแก้ว ช่างไม้ : พ่อสําเนียง ซาชิโย สรภัญญะ : แม่ทองจันทร์ แก้วเสน่ห์ใน สานแห สวิง : พ่อประเสริฐ มหามาตย์ ประวัติบ้านเหล่าลิง(สอบถามหลายคน)


44

รายชื่อผู้ร่วมกิจกรรม ลําดับที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

ชื่อ – สกุล นางสาววิชุดา ตอนสันเทียะ นางสาวสุพัตรา มหามาตย์ นายวันเฉลิม ตอนสันเทียะ เด็กหญิงกาญจนา ศิริเวช เด็กหญิงพลอยไพลิน โพธิพ์ ล เด็กหญิงแก้วตา มีมานะ เด็กหญิงปวีณา ทองชํานาญ นางศศินา กุลรักษา เด็กหญิงพรนภา นนทฤทธิ์ เด็กหญิงลลนา สมบูรณ์พันธ์ นางจุฑารัตน์ บุตรราช นางบุญสม นนทฤทธิ์ นายพัชร กุลสีดา นางสาวคุณาภรณ์ ธรรมที่ชอบ นายอรรณพ ปันคํา เด็กชายประวิทย์ ธรรมที่ชอบ เด็กหญิงมนัญชยา ซาชิโย เด็กชายชยธร ซาชิโย เด็กชายปฏิภาณ ชาญสมร เด็กหญิงกุสุมา ใจอารีย์

กลุ่มที่ 1

2

3

4

5

ลายมือชื่อ


45

ปราชญ์ชาวบ้าน

เล่มที่ 2

หลักสูตรยุววิจัย”สิ่งแวดล้อมชุมชน”

จักสาน พ่อสม ซาชิโย

งานไม้ พ่อพัฒนชัย ธรรมที่ชอบ

ทอผ้า พาขวัญ แม่สุมาลี ธรรมที่ชอบ

ศูนย์ตุ้มโฮมลูกหลาน บ้านเหล่าลิง “แหล่งเรียนรู้ตามอัธยาศัยของคนหลายวัย” โครงการนําร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย

โดยศูนย์โฮมลูกหลาน บ้านเหล่าลิง ร่วมกับมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ สสส.


46

พ่อสม ซาชิโย อายุ 67 ปี ปราชญ์ชาวบ้าน ทํานา จักสาน บ้านเลขที่ 2 หมู่ที่ 4 ตําบลบ้านดู่ อําเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด ชีวิต การศึกษา การเรียนรู้ และการทํางาน ประวัติ พ่อสม ซาชิโย อายุ 67 ปี เกิดวันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2488 มีบุตร 4 คน รับราชการ 2 คน ประกอบอาชีพอิสระ 1 คน เป็นแม่บ้าน 1 คน คุณตา ประกอบอาชีพทํานา อาชีพเสริม คือ การจัดสานผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่และทางมะพร้าวเป็น ของใช้ในครัวเรือน คุณตาเป็นบุตรของ นางอ่อน ซาชิโย และ นายสิง ซาชิโย การศึกษาจบชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านดู่ ต. บ้านดู่ อ. อาจสามารถ จ. ร้อยเอ็ด

องค์ความรู้ การทํานา ขั้นตอนการทํานา 1. ปั้นคู จกนา เอาควายไถหรือเตรียมดิน 2. หน้าฝนตกกล้า ถึงเวลาถอนกล้าดํานาถึงเวลาหญ้ามีก็ถอนหญ้าออกจากข้าวเพื่อ ไม่ให้หญ้าแย่งอาหารจากข้าว 3. ถึงเวลาข้าวออกรวงเกี่ยวข้าว 4. ขึ้นข้าวมานวดมาสีข้าว อาชีพเสริม จักสาน ไม้กวาด, ตะกร้า, ไม้กวาดมือเสือ, บุงกี๋ และสุ่มไก่

ขั้นตอนการทําไม้กวาด 1.เหลาก้านมะพร้าว ตากก้านมะพร้าวให้แห้ง 2.นํามาปักใส่ด้ามที่ทําด้วยไม้ไผ่ ใช้ลวดถักหรือใช้เชือกถักก็ได้


47

ขั้นตอนการทําไม้กวาดมือเสือ 1.ตัดไม้ไผ่มาเป็นนิ้ว 2.นําไม้ไผ่ไปเหลาให้บาง เหลาตรงกลางให้งอได้ 3.เหลาไม้ไผ่ให้บางแล้วมันจะงอได้แล้วนํามาสอดเข้ากับด้ามที่ทําด้วยไม้ไผ่ยาวประมาณ 1 เมตรครึ่ง 4.งอปลายไม้กวาดโดยใช้วิธีลนไฟให้ไม้อ่อนแล้วงอได้

ขั้นตอนการสานตะกร้าใส่ของ จากไม้ไผ่ 1.ตัดไม้ไผ่ให้ได้ตามต้องการ 2.เหลาไม้ไผ่ให้เป็นเส้นบางๆ 3.สานตะกร้าด้วยลาย 2 4.ใช้ไม้ขัดกันแล้วสานขึ้นในแนวตรงพอสวยงาม 5.ม้วนปากตะกร้าด้วยไม้ไผ่ที่เหลือจากนั้นทํารวงตะกร้า ( ที่จับ )

การถ่ายทอดความรู้ ได้สอนลูกหลานคนที่ต้องการจะทําโดยที่ไม่บังคับ สอนทุกคนที่สอนโดยวิธีปฏิบัติแล้วให้ ฝึกทํา ได้ความรู้เรื่องการทํานาและการจัดสานมาจากพ่อแม่และคนอื่นๆที่เขานํามาเป็นตัวอย่างและฝึก ทํา ทําเอาไว้ใช้ในบ้านโดยไม่ต้องซื้อเป็นการประหยัดค่าใช้จ่าย

วิธีการถ่ายทอด ได้สอนลูกหลานคนที่ต้องการจะทําโดยไม่บังคับสอนทุกคนที่อยากทําสอนโดยวิธีปฏิบัติ หรือทําเป็นตัวอย่างให้ดูก่อน ข้อมูลอื่นๆ -


48

ตัวอย่างภาพประกอบ


49


50


51


52

นายพัฒนชัย ธรรมที่ชอบ ปราชญ์ชาวบ้าน ช่างไม้ บ้านเลขที่ 73 หมู่ 4 ตําบลบ้านดู่ อําเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด ชีวิต การศึกษา การเรียนรู้ และการทํางาน ประวัติ พ่อพัฒนชัย ธรรมที่ชอบ อายุ 55 ปี เกิดเมื่อวันที่ 1 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2499 มีบุตร 3 คน เป็นหญิงทั้งหมด ประกอบอาชีพทํานา อาชีพเสริม คือ ช่างไม้ พ่อพัฒนชัยเป็นบุตรของ นางสุมาลี ธรรมที่ชอบ และ นายมา ธรรมที่ชอบ การศึกษาจบ ปวช. จากขอนแก่น อ.เมือง จ.ขอนแก่น ปัจจุบันเป็นผู้ใหญ่บ้าน บ้าน เหล่าลิง องค์ความรู้ อาชีพหลัก ทํานา และผู้ใหญ่บ้าน อาชีพเสริม เป็นช่างไม้ ( ทําเฟอร์นิเจอร์ )

ขั้นตอนการทําเฟอร์นิเจอร์จากรากไม้ 1.หาไม้ตามธรรมชาติ หรือ เศษไม้ 2.นํามาขัดให้สะอาด นํามาออกแบบตามลักษณะของไม้ เช่น โต๊ะ เก้าอี้ เครื่องใช้ใน ครัวเรือน 3.นํามาทาสีให้สวยงาม

อุปกรณ์ 1.เลื่อย 2.ขวาน 3.มีด 4.กาว

การถ่ายทอดความรู้

ให้คําแนะนําสําหรับคนสนใจและฝึกหัด ได้มาจากประสบการณ์ และการเรียนรู้ ทํามาใช้ในบ้านโดยไม่ต้องซื้อและเป็นการหารายได้อีก วิธีหนึ่งและใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์


53

วิธีการถ่ายทอด ให้คําแนะนําสําหรับคนสนใจและฝึกหัด ข้อมูลอื่นๆ -

ตัวอย่างภาพประกอบ


54


55


56

แม่สุมาลี ธรรมที่ชอบ อายุ 77 ปี ปราชญ์ชาวบ้าน ทอผ้าไหม มัดหมี่ ทําพาขวัญ บ้านเลขที่ 73 หมู่ 4 ตําบลบ้านดู่ อําเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด ชีวิต การศึกษา การเรียนรู้ และการทํางาน ประวัติ แม่สุมาลี ธรรมที่ชอบ อายุ 77 ปี เกิดเมื่อวันที่ 14 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2477 คุณยายเป็นบุตรของ นาย อ้วน พิมพ์สิง นาง สา พิมพ์สิง อาชีพหลัก ทํานา อาชีพเสริม คือ ทอผ้าไหม มัดหมี่ และทําพาขวัญ การศึกษาจบชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านดู่ อําเภออาจสามารถ จังหวัด ร้อยเอ็ด

องค์ความรู้ 1. การทอผ้าไหม เลี้ยงหม่อนใส่ใบม่อนจนกว่าตัวหม่อนจะสุกเต็มที่ ( ฝักหรอกลีบ ) แล้วเอาตัวหม่อนที่สุก แล้วเอาไปต้มแล้วดึงเป็นเส้นไหมออกมาจากตัวหม่อนเมื่อได้เป็นเส้นไหมออกแล้วเอาไหมไปทํา ออกเป็นปอยแล้วเอาไปฟอกเป็นไหมขาวแล้วเอาไปกวักเอาไปค้นใส่หลัก เป็นเครือยาวเอามา สืบเอาไปใส่กางกี่แล้วปั่นไหมใส่หลอดใส่สวยแล้วนําไปทอเป็นผืนตามขนาดที่เราต้องการ การทําผ้าไหมมีการเลี้ยงหม่อนใส่ใบม่อนจนสุกเป็นฝักหลอกแล้วเอาไปใส่หม้อต้มแล้วดึง เป็นเส้นไหมเหล่งเป็นปอยแล้วเอาไปฟอกเป็นไหมขาวแล้วเอาไปใส่กงแล้วกวักแล้วเอาไปค้นใส่ หลักเป็นเครืยยาวแล้วสืบใส่ฟืมแล้วเอาไปกางกี่แล้วปั่นหลอดทอเป็นฝืน ขั้นตอนการมัดหมี่ นําเส้นไหมสีขาวเหลืองค้นใส่ฮูกหมี่แล้วมัดหมี่ตามลายผ้าที่เราต้องการ นําหมี่ที่มัดเป็น ลายนําไปย้อมสีที่ต้องการ


57

ฟืม

อุปกรณ์การทําไหมมัดหมี่ 1. อัก 2. เล็ง 3. ใน 9.กง

4.หลักเพี๋ย 5.หลอด 6.สวย

7.ไม้คอนกวัก 8.

2. การทําพาขวัญ พาขวัญมีพานและใบตองเอามาหันเป็นกรวยแล้วเข้าเป็นหัวมีเข็ม หมุด และดอกไม้ด้วย อุปกรณ์การทําพาขวัญ 1.พาน 2.ดอกไม้

3.เข็มหมุด 4.ใบตอง การถ่ายทอดความรู้ ได้โดยทําเป็นตัวอย่างแล้วให้ทําตาม ทําใช้ในบ้านโดยไม่ต้องซื้อ และเป็นเอกลักษณ์ของชาวอีสานและเป็นการหารายได้ในตัว

วิธีการถ่ายทอด ได้โดยการทําเป็นตัวอย่างแล้วให้ทําตาม ข้อมูลอื่นๆ เคยเป็นหมอตําแยมาก่อน หมายเหตุ หมอตําแย หมายถึง คือ คนทําคลอดสมัยโบราณโดยการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น

ตัวอย่างภาพประกอบ


58


59


60


61


62


63


64


65

แบบเก็บข้อมูลปราชญ์ชาวบ้าน

ชื่อ-สกุล……………………………………………………………………………………..อายุ ....................ปี ความสามารถ ความถนัด (ภูมิปัญญา).............................................................................. ที่อยู่....บ้านเลขที่.............หมู่ 4 ตําบลบ้านดู่ อําเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด ชีวิต การศึกษา การเรียนรู้ และการทํางาน ...................................................................................... ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………….


66

………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. องค์ความรู้ .......................................................................................................................................... ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………….


67

………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………….


68

การถ่ายทอดความรู้ ............................................................................................................................ ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. การศึกษาใน ระบบ………………………………………………………………………………………................... . ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. การศึกษานอก ระบบ……………………………………………………………………………………………………. . ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………….


69

………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. การศึกษาตาม อัธยาศัย……………………………………………………………………………………………….... ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. วิธีการ ถ่ายทอด……………………………………………………………………………………………… ……………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………….


70

………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ข้อมูลอื่น ๆ ....................................................................................................................................... ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. หมายเหตุ : ในการเก็บข้อมูล... ถ้ากระดาษไม่พอให้ใช้ใบแนบ ...ให้มีภาพถ่ายงานที่ทํา และ กระบวนการของการถ่ายทอดองค์ความรู้...


71

รายชื่อปราชญ์ชาวบ้าน ที่ศึกษา

กลุ่มที่ 1

กลุ่มที่ 2

กลุ่มที่ 3

กลุ่มที่ 4 กลุ่มที่ 5

หมอยา : นายสุทัศน์ มหาหงษ์ หมอสูตรขวัญ : พ่อโพธิ์ วิเศษการ หมอแคน : พ่อสว่าง หวานอารมณ์ จักสาน : พ่อสม ซาชิโย งานไม้ : พ่อพัฒนชัย ธรรมที่ชอบ ทอผ้า พาขวัญ : แม่สุมาลี ธรรมที่ชอบ สวัสดิการชุมชน : พ่อชู อุทมุ พร เครื่องหนัง : นายแซนฉัตร ศรีแก้ว หมอน้ํามัน : พ่อจันทร์ ศรีแก้ว ช่างไม้ : พ่อสําเนียง ซาชิโย สรภัญญะ : แม่ทองจันทร์ แก้วเสน่ห์ใน สานแห สวิง : พ่อประเสริฐ มหามาตย์ ประวัติบ้านเหล่าลิง(สอบถามหลายคน)


72

รายชื่อผู้ร่วมกิจกรรม ลําดับที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

ชื่อ – สกุล นางสาววิชุดา ตอนสันเทียะ นางสาวสุพัตรา มหามาตย์ นายวันเฉลิม ตอนสันเทียะ เด็กหญิงกาญจนา ศิริเวช เด็กหญิงพลอยไพลิน โพธิพ์ ล เด็กหญิงแก้วตา มีมานะ เด็กหญิงปวีณา ทองชํานาญ นางศศินา กุลรักษา เด็กหญิงพรนภา นนทฤทธิ์ เด็กหญิงลลนา สมบูรณ์พันธ์ นางจุฑารัตน์ บุตรราช นางบุญสม นนทฤทธิ์ นายพัชร กุลสีดา นางสาวคุณาภรณ์ ธรรมที่ชอบ นายอรรณพ ปันคํา เด็กชายประวิทย์ ธรรมที่ชอบ เด็กหญิงมนัญชยา ซาชิโย เด็กชายชยธร ซาชิโย เด็กชายปฏิภาณ ชาญสมร เด็กหญิงกุสุมา ใจอารีย์

กลุ่มที่ 1

2

3

4

5

ลายมือชื่อ


73

ปราชญ์ชาวบ้าน

เล่มที่ 3

หลักสูตรยุววิจัย”สิ่งแวดล้อมชุมชน”

หมอน้ํามัน พ่อจันทร์ ศรีแก้ว

เครื่องหนัง นายแซนฉัตร ศรีแก้ว

สวัสดิการชุมชน พ่อชู อุทุมพร

ศูนย์ตุ้มโฮมลูกหลาน บ้านเหล่าลิง “แหล่งเรียนรู้ตามอัธยาศัยของคนหลายวัย” โครงการนําร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย

โดยศูนย์โฮมลูกหลาน บ้านเหล่าลิง ร่วมกับมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ สสส.


74

นายจันทร์ ศรีแก้ว ปราชญ์ชาวบ้าน(หมอน้ํามัน) ที่อยู่ บ้านเลขที่ 20 บ้านเหล่าลิงหมู่ 4 ตําบลบ้านดู่ อําเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด

ชีวิต การศึกษา การเรียนรู้ และการทํางาน พ่อจันทร์ ศรีแก้ว เกิดวันที่10 พฤศจิกายน พ.ศ.2480 ที่บ้านเหล่าลิง ตําบลบ้านดู่ อําเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด จบการศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่โรงเรียนวัดบ้านปัจ จิมดู่ เป็นบุตรคนที่ 7 ในจํานวนพี่น้อง9 คน ของนายบุญ และนางถ่อย ศรีแก้ว ครอบครัวมี อาชีพทํานาเป็นหลัก แต่บิดาของพ่อจันทร์ เป็นหมอยาสมุนไพร พ่อจันทร์จึงเรียนรู้และสืบทอด วิชาหมอยาสมุนไพร และพ่อจันทร์สนใจวิชาหมอน้ํามันน้ํา(น้ํามันน้ําหรือนํามันงา หมายถึง น้ํามนต์ซึ่งทําขึ้นด้วยวิธีการบริกรรมคาถาใส่น้ําธรรมดาให้เป็นน้ํามันน้ํา ใช้รักษาคนที่แขน ขาหัก โดยวิธีการอมน้ํามนต์เป่า หรือพ่นใส่ตรงที่กระดูก แขน ขาที่หัก และนําเอาน้ํามันน้ําฯไปดื่ม)ไป มากกว่า จึงศึกษาจากผู้เป็นบิดาและศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง สมัยพ่อจันทร์เป็นหนุ่มได้เดินทาง ไปท่องเที่ยงตามสถานที่ต่างๆ จึงได้วิชาสะเดาะห์มาจากพระ ซึ่งท่านอยู่บ้านจานทุ่ง อําเภอ เกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด ต่อมาพ่อจันทร์ได้รสสมกับนางสาวบัวพันธ์ ศรีน้ําเที่ยง มีบุตร – ธิดา ด้วยกัน 7 คน และพ่อจันทร์ก็ได้นําความรู้มาจากบิดาและการศึกษาเรียนรู้ มาช่วยเหลือ ชาวบ้านเหล่าลิงและหมู่บ้านใกล้เคียงเป็นจํานวนมาก เช่น คนเกิดอุบัติเหต แน ขาหัก ก็มาเอา น้ํามันน้ํากับพ่อจันทร์ ไปกิน ไปทาก็หาย แม้แต่ก้างปลาติดคอ พ่อจันทร์ก็ช่วยสะเดาะห์ให้ก้าง หลุดออกจากคอได้ อย่างน่าอัศจรรย์มาก

องค์ความรู้ พ่อจันทร์ ศรีแก้ว เริ่มเรียนรู้วิชาหมอน้ํามันแบบโบราณตั้งแต่เด็ก โดยเรียนรู้จากบิดา คือ นายบุญ ศรีแก้ว ซึ่งเป็นหมอยาสมุนไพรของบ้านเหล่าลิง เมื่อโตเป็นหนุ่มพ่อจันทร์ ศรี แก้ว ก็ได้เดินทางท่องเที่ยวไปตามสถานที่ต่างๆ และได้ศึกษาวิชาสะเดาะห์มาจากพระ ซึ่งท่าน อยู่บ้านจานทุ่ง อําเภอเกษตรวิสัย จังวัดร้อยเอ็ด พ่อจันทร์ก็นําวิชาความรู้มาช่วยเหลือชาวบ้าน เหล่าลิง และบ้านใก้ลเคียง วิชาสะเดาะห์ คือ การต่อกระดูกหัก, กระดูกแตก, กระดูร้าวแม้แต่ก้างติดคอ ก็ใช้วิชานี้ มีคายครู (คาย) เตรียม ขันธ์5 ขันธ์ 8 ผ้าซิ่น ผืน แพรวา เหล้า 1 ก้ง ไข่ 1 ฟอง เงินสตางค์ แดง เมื่อคายครบพ่อจันทร์ก็จะทําพิธีให้ เช่น


75

- คนที่ไฟลวก ต้องเตรียมขันธ์5 หรือขันธ์8 ผ้าซิ่นผืน แพรวา เงิน1 สตางค์ แล้วพ่อ จันทร์ก็ จะเริ่มท่องคาถา พุทธโทนะราย ธัมโมนะราย สังโฆอสูรระราย ท่อง 7 จบ แล้วเป่าแต่พ่อ จันทร์ต้องห่างจากแผลแค่ฝ่ามือเดียว - คนที่ก้างติดคอ ต้องเตรียมขันธ์5 หรือขันธ์8 เงิน6 สลึง แล้วพ่อจันทร์ก็จะท่องคาถาใส่ น้ํา แล้วให้ดื่ม คาถาที่พ่อจันทร์ท่อง คือ คัจฉะวิเนยยะ - คนที่กระดูก, กระดูกแตกและกระดูกร้าว จากอุบัติเหตุต้องเตรียมขันธ์5 หรือขันธ์8 ผ้าซิ่นผืน แพรวา เหล้า ไข่ 1 ฟอง เงิน 1 สตางค์แดง แล้วจะมีน้ํามันงาเอางามาตํา คันเอาแต่น้ํา บ้าน เราเรียกการจิกน้ํามันงา การจิกน้ํามันงาใช่ว่าจะจิกออกทุกคน เมื่อจิกเสร็จแล้วพ่อจันทร์จะลง คาถานําน้ํามันงาไปทาตรงที่เป็นแผลหรือกระดูกร้าว (หรือเรียกอีกอย่างว่าการต่อกระดูก) การจิกน้ํามันงา ใช้งาดํายิ่งดี แต่จิกไม่ค่อยออกเพราะเปลือกหนา งาขาว จะจิกง่ายกว่าส่วนมากจึงนิยมใช้ การจิกงาจะมีหญ้าคา 3 ต้นรวมในพิธีด้วย  การเตรียมขัน 5 การเตรียมขัน 5 คือการบวงสรวงสิ่งศักดิ์สิทธ์ เทวดา ฟ้าดิน เอาดอกไม้ (เอาเฉพาะดอก) - การรักษา มารักษาช่วงไหนก็ได้ ไม่จํากัดเวลา สิ่งศักดิ์สิทธ์ไหว้ได้ตลอดเวลา  ขั้นตอนการทําน้ํามนต์ 1. น้ํา 1 ถัง 2. เทียน 1 คู่ 3. ดอกไม้ 1 คู่ จุดเทียน น้ําตาเทียนก็จะหยดลงน้ํา พ่อจันทร์ ก็ท่องคาถาเสร็จแล้วนําไปดื่มหรืออาบ  คาถาน้ํามัน ต่อกระดูก อมอะมะ ปะติวะริวะรัง อมคงคัง อมสติโลเก


76

อมผีปาก อมผีผาก อมฝีปากหนอง กกบัวเบน โตนเติมออกจากปาก ทีลัวสะทับ น้ําสิลา ผญาซิแทบ นากคะเบน เดนกะออย อมจะลาจะมูล คิงกูพิกเปี้ยง เป็นดังคิงแดง อมศักดิ์สิ่งมาถัง อมสักหนังมาแถง อมสะหมติด

 คาถาเป่าไฟ เสียพิษไฟ พุทโทนะราย ธัมโมนะราย สังโฆอสูระราย (พูด 7 จบ) มีขัน 5 คาบซิ่นผืนแพรวา เงิน 1 สตางค์ มีขัน 8 ทายาเครือหมาน้อย  ปัสสวะไม่ออก เป็นนิ่ว 1. รากฝ้าย 2. รากสับปะรด 3. รากมะละกอสาย นํามาต้มรวมกัน  การไปเอาต้นไม้มาทํายา 1. ก่อนจะไปเอาต้นไม้ห้ามเงาทับต้นยา 2. ตอนเช้าเข้าทางตะวันตก 3. ตอนเย็นเข้าทางตะวันออก คาถา อมพญาทอน มึงจักขี่ม้าพรเข้ามาจอกพอกๆ ค้อนกูจักตอกหัวเทพพญา ทอน มึงอย่านอนอยู่ใต้ห่มไม้ มึงอย่ามาใกล้ใต้ห่มยา อมสะหมเพิก กระถืบเท้า 3 ครั้ง

 การมัดยารักษา การมัดยารักษา ใช้ตอก 2 เส้น มัด หัว ท้าย คาถาปลุกยา อมกะลุกกะลุก กูอยากปลูกพญายา ให้มากะมา


77

อมกะลุกกะลุก กูอยากปลูกพญายา ให้ตื่นกะตื่น อมกะลุกกะลุก กูปลุกแล้วให้มากะมา ให้มาเต้า ให้มาเข้าผสมยากู เด้อ อมสะหมติด

การถ่ายทอดความรู้ พ่อจันทร์ ศรีแก้ว ถ่ายทอดความรู้ผ่านการศึกษาตามอัธยาศัย คือ สอนลูกหลานคน ใกล้ชิด สนิทสนม และผูท้ ี่สนใจ ซึ่งผู้ที่มาเรียนกับพ่อจันทร์ ศรีแก้ว คือ - นายสมบูรณ์ สุระพินิจ อยู่บ้านดู่ ตําบลบ้านดู่ อําเภออาจ สามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด - นายกี๋ บ้านอีหมุน จังหวัดร้อยเอ็ด *** ลูกศิษย์ไม่มีข้อจํากัดในการเรียนวิชา

วิธีการถ่ายทอด พ่อจันทร์ ศรีแก้ว ได้ถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้ที่สนใจ คือ นายสมบูรณ์ สุระพินิจ - วิชาน้ํามัน การต่อกระดูก จากคนที่ได้รับบาดเจ็บ จากอุบัติเหตุ เช่น ตกต้นไม้ รถจักรยานยนต์ล้ม แขนหัก ขาหัก คนที่จะมารักษา ต้องเตรียมขันธ์ 5 หรือขันธ์ 8 ผ้าซิ่น 1 ผืน แพรวา 1 ผืน เงิน 1 สตางค์แดง - วิชาสะเดาะห์ เกิดอุบัติเหตุเล็กๆน้อยๆ เช่น ก้างติดคอ การมาสะเดาะห์ ต้องเตรียม ขันธ์ 5 หรือขันธ์ 8 เงิน 6 สลึง การเป่าไฟลวก เตรียมขันธ์ 5 หรือขันธ์ 8 เงิน 1 สตางค์ ผ้าซิ่น ผืน แพรวา

ข้อมูลอื่นๆ - ถ้าถูกไฟไหม้ใหม่ๆ หรือไฟลวกให้เอารากผักขน (เครือหมาน้อย) มาฝนทา - คนที่จะสืบทอดหรือเรียนรู้จะต้องไม่รังเกียจบาดแผลเพราะการเป่าจะต้องเป่าให้ ใกล้ บาดแผลมากที่สุดถึงจะหายเร็ว


78

นายแชนฉัตร ศรีแก้ว ปราชญ์ชาวบ้าน (เครื่องหนัง) ที่อยู่ บ้านเลขที่ 101 หมู่ 4 ตําบลบ้านดู่ อําเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด

ชีวิต การศึกษา การเรียนรู้ และการทํางาน นายแชนฉัตร ศรีแก้ว เกิดเมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2510 ปัจจุบันอายุ 44 ปี เกิดที่ บ้านเหล่าลิง ตําบลบ้านดู่ อําเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด จบการศึกษาระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนร้อยเอ็ดวิทยาลัย เป็นบุตรคนที่ 3 ในจํานวนพี่น้อง 7 คน ของนายจันทร์ และนางบัวพันธ์ ศรีแก้ว นายแชนฉัตรเติบโตมาในครอบครัวเกษตรกรรมมี อาชีพทํานาเป็นหลัก และบิดาก็เป็นหมอน้ํามันน้ํา แต่ลูก ๆ ไม่มีใครสนใจที่จะสืบทอดวิชา พอ จบ ม.ปลายนายแชนฉัตร ก็เข้ากรุงเทพฯเพื่อหางานทํา เนื่องจากพี่และน้องบางคนก็ทํางานที่ กรุงเทพฯ ซึ่งนายแชนฉัตร ได้งานทําที่โรงงานเครื่องหนัง จากนั้นก็ได้สมรสกับ นางสาวสงวน ศรีฤษดิ์ มีบุตรด้วยกัน 3 คนคือ เด็กชายธีรเมธ, เด็กชายธนพนธ์ และเด็กชายปฐพี ศรีแก้ว นายแชนฉัตรและภรรยาทํางานที่กรุงเทพฯนานกว่า 20 ปีจึงมีความชํานาญและมีใจรักงานด้านนี้ ช่วงปี 2540 เศรษฐกิจตกต่ําโรงงานก็ปิดตัวลงเป็นจํานวนมากรวมทั้งโรงงานที่ นายแชนฉัตรทํางาน อยู่ด้วย นายแชนฉัตรจึงตัดสินใจเดินทางกลับบ้านเกิดเพื่อมาประกอบอาชีพทํานา แต่ด้วยมีใจรัก งานการทํากระเป๋าหนังจึงตัดสินใจทํากระเป๋าหนังออกทดลองขายให้กับข้าราชการในเขตตําบล และอําเภอใกล้เคียง กระเป๋าได้รับความนิยมและเป็นที่ถูกใจลูกค้าหรือแม้แต่ลูกค้าต้องการแบบ ไหนก็สามารถทําให้ได้

องค์ความรู้ นายแชนฉัตร ศรีแก้ว ได้เรียนรู้การทํากระเป๋าหนังมาจากการทํางานที่กรุงเทพฯ นาน กว่า 20 ปี เนื่องจากนายแชนฉัตร มีใจรักงานด้านนี้ จึงสนใจที่จะศึกษาฝึกฝนปรับปรุงฝีมือ ตัวเองอยู่ตลอดเวลาจึงสามารถทํางานออกมาได้ดีถูกใจลูกค้า และในปัจจุบันนี้การทํากระเป๋าของ ครอบครัวถือว่าเป็นอาชีพหลักไปแล้วเพราะสมาชิกในครอบครัวทําได้ทุกคน และมีงานทํา ต่อเนื่องทุกฤดู


79

อุปกรณ์ในการทํากระเป๋าหนังมีดังนี้ จักรอุตสาหกรรม,หนังแท้หรือหนัง เทียม,เครื่องปอกหนัง,เครื่องปั้มโลโก้,กระดุม, ซิป,ผ้าซับใน,กระดาษแข็ง,ฟองน้ํา,ค้อน, กรรไกร,มีด,ไม้บรรทัด,แปรงทากาว,ซังกาว และกาวเหลือง(กาวเหลืองนี้สําคัญมาก เนื่องจากจะทําให้กระเป๋าติดแน่นเป็นกาว เฉพาะใช้สําหรับทํากระเป๋าหรือรองเท้า) นาย แชนฉัตรและภรรยาผลิตกระเป๋าแบบต่างๆ ตามความต้องการของลูกค้า มีทั้งกระเป๋า สตางค์แบบใบเล็ก ,ใบใหญ่ และกระเป๋าถือแบบใบใหญ่หรือตามแบบที่ลูกค้าสั่งทํา งานทํากระเป๋า ของครอบครัวนายแชนฉัตรจึงเป็นที่นิยม ขั้นตอนการทํากระเป๋า 1.ออกแบบกระเป๋า 2.วาดหนัง วาดชิ้นส่วนแล้วนําหนังไปปอกให้ได้ขนาดพอดี เสร็จแล้วทําตามแบบของกระเป๋า 3.ทําชิ้นส่วนตามแบบกระเป๋า 4.นําไปประกอบเป็นใบ เสร็จแล้วนําไปปั๊มโลโก้

จักรอุตสาหกรรม ไว้เย็บชิ้นส่วนและประกอบเป็นใบ

ค้อนเหล็ก สําหรับเอาไว้ทุบย้ําหนัง ติกกระดุม


80

กรรไกร ใช้ตัดแผ่นหนังผ้าทําซับ

ค้อนยาง ใช้ทุบหนังให้ไม่มีลอย

คัตเตอร์ ใช้กีดแผ่นหนัง ชิดขอบหนัง


81

กาวเหลือง ใช้ทากระเป๋าและรองเท้า

กาวขาว เอาไว้ผสมกับกาวเหลืองเพื่อเพิ่มปริมาณของกาวจะได้ไม่เปลือง

ไม้บรรทัด


82

แปลงทากาว เขียงไม้ ใช้รองในการทํางาน

ผ้าซับใน ใช้สําหรับซับในกระเป๋า


83

ฟองน้ํา ใช้สําหรับเสริมฝากระเป๋า

โฟม ใช้สําหรับเสริมหนังที่บางให้หนาขึ้นมีความยืดหยุ่นเฉพาะตัว

ด้ายไนล่อนเบอร์ 20 หรือ 40 เย็บกระเป๋า ทน


84

เข็มเย็บกระเป๋า เป็นเข็มปากฉลาม (ปากเฉียง)

กระดาษแข็งขาว ใช้สําหรับเสริมฝา

กระเป๋า

แผ่นยาง ใช้รับรองกรีดกระดาษ ผ้าซับใน


85

เครื่องปั๊มโลโก้ ใช้ปั๊มตรา ยี่ห้อ

เครื่องปอกหนัง ใช้ปอกหนังให้บาง หนาตามต้องการ

การถ่ายทอดความรู้ นายแชนฉัตร ศรีแก้ว ได้ถ่ายทอดความรู้ให้กับกลุ่มอาชีพของบ้านเหล่าลิงในปี 2550 และผู้ที่สนใจจะมาฝึกอาชีพการทํากระเป๋า และยังได้ถ่ายทอดความรู้ให้กับลูก ๆ ของตัวเองด้วย ทั้งที่ลูก ๆ ยังตัวเล็กๆอยู่ก็ตาม ลูกของนายแชนฉัตร ก็สามารถช่วยบิดาได้ในขั้นตอนการทําที่ไม่ ซับซ้อน

วิธีการถ่ายทอด นายแชนฉัตร ศรีแก้ว ได้สอนทั้งหมดว่าส่วนประกอบของกระเป๋าแต่ละแบบมี ส่วนประกอบใดบ้าง สาธิตการทําทุกขั้นตอน เน้นการฝึกปฏิบัติจริง ให้ผู้เรียนทําเองและถ้าทํา สําเร็จได้กระเป๋าที่ตัวเองทําสําเร็จกลับบ้านด้วย 1 ใบ


86

นายชู อุทุมพร ปราชญ์ชาวบ้าน (กองทุนธุรกิจชุมชน) ที่อยู่ บ้านเลขที่ 4 หมู่ 4 ตําบลบ้านดู่ อําเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด

ชีวิต การศึกษา การเรียนรู้และการทํางาน

พ่อชู อุทุมพร เกิดเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2488 ปัจจุบันอายุ 67 ปี จบการศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่โรงเรียนวัดปัจจิมบ้านดู่ และเป็นบุตรคนเดียวของ นายบุญ นางจั่น อุทุพร ครอบครัวมีอาชีพทํานาเป็นหลัก พ่อชูก็ช่วยบิดามารดาทํานามาตลอด และได้สมรสกับ นางสาวสมร ศรีตะวัน มีบุตรด้วยกัน 3 คน คือ นางเยาวลักษณ์ อาจพงษา นางสาว บุษบา อุทุมพร และนางวิภารัตน์ เตี้ยะเพชร ต่อมาในปี พ.ศ. 2520 พ่อชู ได้ทํางานที่บริษัทอดัมส์ (เป็นบริษัทฝรั่งที่เข้ามาใน เมืองไทยสมัยนั้นเป็นบริษัทรับซื้อใบยาสูบ) จนถึงปัจจุบัน การที่ได้ทํางานมานานทําให้พ่อชูเป็น ที่รู้จักของผู้คนและมีความรู้ความสามารถในการดูแลกลุ่มลูกค้าที่ปลูกยาสูบ การจัดเวทีประชาคม การพูดต่อสาธารณชน การบริหารจัดการ ทั้งที่จบเพียงแค่ ป. 4 เมือ่ ปี พ.ศ. 2544 รัฐบาลได้จัดตั้งกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองขึ้น ชาวบ้านเหล่าลิง ได้จัดตั้งกลุ่มกองทุนขึ้นเพื่อขานรับกับนโยบายของรัฐบาล จึงได้พ่อชูเป็นประธาน เนื่องจากท่าน เป็นผู้ที่มีจิตอาสามีความสนใจในเรื่องของชุมชน ชาวบ้านจึงพร้อมใจเลือกท่านให้ดูแลกองทุนและ มีการเลือกคณะกรรมการอีก 14 คน ตามหลักเกณฑ์ที่กําหนด การทํางานได้มีการประชุม สมาชิกทุกคน มีการวางระเบียบแบบแผนให้สมาชิกถือปฏิบัติในแนวเดียวกัน การทํางาน ของกองทุนหมู่บ้านระยะแรกจะมีปัญหาอยู่บ้างแต่ก็สามารถดําเนินการไปได้ ทางกองทุนได้รับ การสนับสนุนด้านวิชาการจากภาครัฐและองค์กรเอกชนเรื่อยมา

 องค์ความรู้ พ่อชู อุทุมพรเป็นผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญด้านกองทุนและธุรกิจชุมชน โดยการ แสวงหาความรู้การบริหารจัดการกองทุน การอบรมการจัดเวทีการทําแผนแม่บทชุมชน นํา ความรู้จากการร่วมเวทีไปขยายผลให้ประชากรในหมู่บ้านได้ปฏิบัติตามแผนที่ได้วางไว้ โดยการ นําเงินที่ได้ไปลงทุนให้เกิดประโยชน์และได้ผลกําไรให้มากที่สุด เช่น สมาชิกบางคนได้นําเงินทุน


87

ไปซื้อสุกรมาเลี้ยงเพื่อจําหน่าย การทําแปลงปลูกพืชผักสวนครัวไปขายตามตลาดนัดชุมชนเพื่อ เพิ่มรายได้ลดค่าใช้จ่ายและได้มีการสร้างจิตสํานึกในตัวบุคคลในเรื่องการรู้จักตนเอง การพึ่งพา ตนเอง และพึ่งพาอาศัยกันรวมทั้งการใช้ชีวิตอย่างพอเพียง นอกจากนี้ยังได้ร่วมกับชุมชนในการ ดําเนินการกําหนดยุทธศาสตร์และแผนงานของชุมชนในเรื่องของการแก้ไขปัญหาความยากจน สร้างชุมชนให้เข้มแข็ง การบริหารกองทุนในปัจจุบันนี้ได้มีผลกําไรเพิ่มมากถึง 2 ล้านบาท ทําให้ หมู่บ้านเหล่าลิงเป็นชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง

การถ่ายทอดความรู้

พ่อชู อุทุมพร ถ่ายทอดความรู้และธุรกิจชุมชนให้กับผู้สนใจมีการจัดเวทีประชาคมการ บริหารจัดการกองทุนเป็นวิทยากรให้กับประชาชนทั่วไปทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับองค์กรชุมชน

วิธีการถ่ายทอด

พ่อชู อุทุมพร ได้ถ่ายทอดความรู้ด้วยวิธีที่หลากหลายการบรรยายขั้นตอนในการจัดตั้ง การดําเนินกองทุนมีการนําเอกสารข้อมูลที่ใช้ในการดําเนินงานมาสาธิตให้แก่ผู้ที่สนใจได้ศึกษามี การแนะนําดําเนินงานที่มีประสิทธิภาพจนผู้สนใจมีความรู้มีความเข้าใจ สามารถนํากลับไปปฏิบัติ ได้และยึดหลักการบริหารชุมชนโดยการทําเป็นตัวอย่าง การทําเป็นแบบอย่างด้วยการสอนให้ทํา และการทําให้ดู

 ข้อมูลอื่นๆ การรายงานรายได้และค่าใช้จ่าย ปี 2545 สําหรับกิจกรรมกองทุน (1ล้านบาท) รายได้ หน่วย:บาท ดอกเบี้ยจากการให้กู้ยืม 57,900.00 ค่าปรับ 0 ดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร 3,965.14 รายได้อื่น 0 รวมรายได้ 61,865.14 ค่าใช้จ่ายไม่เกิด รวมรายได้สูง(ต่ํา)กว่าค่าใช้จ่าย 61,865.14

กําไรสุทธิเป็นเงิน 1. หุ้น

การจัดสรรกําไร ปี 2545 57,900.00 บาท จํานวน 25% เป็นเงิน

14,475 บาท


88

2. 3. 4. 5. 6. 7.

เฉลี่ยคืนผู้กู้ ทุนสํารอง ทุนการศึกษา สวัสดิการ ประกันความเสี่ยง ค่าตอบแทน

จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน รวม

25% เป็นเงิน 10% เป็นเงิน 10% เป็นเงิน 5% เป็นเงิน 15% เป็นเงิน 10% เป็นเงิน 100% เป็นเงิน 57,900บาท สรุปผลการดําเนินงานกองทุนหมู่บ้านเหล่าลิง ปี 2545

14,475 บาท 5,790 บาท 5,790 บาท 2,895 บาท 8,685 บาท 5,790 บาท

1.เงินกู้สามัญ จํานวนสมาชิกกู้ยืมเงินสามัญ

จํานวน

จํานวนเงินกู้ยืมเงินสามัญ ได้รับดอกเบี้ยเงินกู้

67 ราย จํานวน

900,000 บาท

จํานวน

54,000 บาท

จํานวน

46 ราย

2.เงินกู้ฉุกเฉิน จํานวนสมาชิกกู้ยืมเงินฉุกเฉิน จํานวนเงินกู้ยืมเงินฉุกเฉิน ได้รับดอกเบี้ยเงินกู้

จํานวน จํานวน

3.ดอกเบี้ยธนาคาร ปี 2544

จํานวน

2,945.21

ปี 2545

จํานวน

1,019.93

จํานวน

61,865.14

4.รวมรายได้ทั้งสิ้น

97,500 บาท 3,900 บาท


89

บัญชีรายชื่อคณะกรรมการ กองทุนหมู่บ้านเหล่าลิง หมู่ที่ 4 บ้านเหล่าลิง ตําบลบ้านดู่ อําเภออาจสามารถ จังหวัด ร้อยเอ็ด ลําดับที่ ชื่อ – สกุล ตําแหน่ง 1 นายชู อุทุมพร ประธาน 2 นายพิเชฐ นนทฤทธิ์ รองประธาน 3 นางประไพ วิเศษการ รองประธาน 4 นายสุทัศน์ มหาหงษ์ เหรัญญิก 5 นางน้ําฝน ชาระมาตย์ ผู้ช่วยเหรัญญิก 6 นายบุญธรรม นนทฤทธิ์ ผู้ช่วยเหรัญญิก 7 นางเสน มูลอําคา ปฏิคม 8 นางรัญจวน ศรีแก้ว ปฏิคม 9 นางอ้วน มหามาตย์ ปฏิคม 10 นายบุญมี เพ็งนาม ปฏิคม 11 นางลําพันธ์ จตุวิสัย ประชาสัมพันธ์ 12 นางทองมา แถวพินิจ ประชาสัมพันธ์ 13 นายสมชาย มหามาตย์ ประชาสัมพันธ์ 14 นายมานิตย์ ซาชิโย เลขานุการ 15 นายนิวัฒ กุลสีดา ผู้ช่วยเลขานุการ


90

แบบเก็บข้อมูลปราชญ์ชาวบ้าน

13. ชื่อ-สกุล……………………………………………………………………………………..อายุ ....................ปี 14. ความสามารถ ความถนัด (ภูมิปัญญา).............................................................................. 15. ที่อยู่....บ้านเลขที่.............หมู่ 4 ตําบลบ้านดู่ อําเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด 16. ชีวิต การศึกษา การเรียนรู้ และการทํางาน ...................................................................................... ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………….


91

………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. 17. องค์ความรู้ .......................................................................................................................................... ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………….


92

………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………….


93

18. การถ่ายทอดความรู้ ............................................................................................................................ ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. 18.1. การศึกษาใน ระบบ………………………………………………………………………………………..... ............... ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. 18.2. การศึกษานอก ระบบ………………………………………………………………………………………… ………….. ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………….


94

………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. 18.3. การศึกษาตาม อัธยาศัย……………………………………………………………………………………… ……….... ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. 19. วิธีการ ถ่ายทอด…………………………………………………………………………………………… ………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………….


95

………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. 20. ข้อมูลอื่น ๆ ....................................................................................................................................... ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. หมายเหตุ : ในการเก็บข้อมูล... ถ้ากระดาษไม่พอให้ใช้ใบแนบ ...ให้มภี าพถ่ายงานที่ทาํ และกระบวนการของ การถ่ายทอดองค์ความรู้..


96

รายชื่อปราชญ์ชาวบ้าน ที่ศึกษา

กลุ่มที่ 1

กลุ่มที่ 2

กลุ่มที่ 3

กลุ่มที่ 4 กลุ่มที่ 5

หมอยา : นายสุทัศน์ มหาหงษ์ หมอสูตรขวัญ : พ่อโพธิ์ วิเศษการ หมอแคน : พ่อสว่าง หวานอารมณ์ จักสาน : พ่อสม ซาชิโย งานไม้ : พ่อพัฒนชัย ธรรมที่ชอบ ทอผ้า พาขวัญ : แม่สุมาลี ธรรมที่ชอบ สวัสดิการชุมชน : พ่อชู อุทมุ พร เครื่องหนัง : นายแซนฉัตร ศรีแก้ว หมอน้ํามัน : พ่อจันทร์ ศรีแก้ว ช่างไม้ : พ่อสําเนียง ซาชิโย สรภัญญะ : แม่ทองจันทร์ แก้วเสน่ห์ใน สานแห สวิง : พ่อประเสริฐ มหามาตย์ ประวัติบ้านเหล่าลิง(สอบถามหลายคน)


97

รายชื่อผู้ร่วมกิจกรรม ลําดับที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

ชื่อ – สกุล นางสาววิชุดา ตอนสันเทียะ นางสาวสุพัตรา มหามาตย์ นายวันเฉลิม ตอนสันเทียะ เด็กหญิงกาญจนา ศิริเวช เด็กหญิงพลอยไพลิน โพธิพ์ ล เด็กหญิงแก้วตา มีมานะ เด็กหญิงปวีณา ทองชํานาญ นางศศินา กุลรักษา เด็กหญิงพรนภา นนทฤทธิ์ เด็กหญิงลลนา สมบูรณ์พันธ์ นางจุฑารัตน์ บุตรราช นางบุญสม นนทฤทธิ์ นายพัชร กุลสีดา นางสาวคุณาภรณ์ ธรรมที่ชอบ นายอรรณพ ปันคํา เด็กชายประวิทย์ ธรรมที่ชอบ เด็กหญิงมนัญชยา ซาชิโย เด็กชายชยธร ซาชิโย เด็กชายปฏิภาณ ชาญสมร เด็กหญิงกุสุมา ใจอารีย์

กลุ่มที่ 1

2

3

4

5

ลายมือชื่อ


98

ปราชญ์ชาวบ้าน

เล่มที่ 4

หลักสูตรยุววิจัย”สิ่งแวดล้อมชุมชน”

ช่างไม้ พ่อสําเนียง ซาชิโย

สรภัญญะ แม่ทองจันทร์ แก้วเสน่ห์ใน

สานแห สวิง พ่อประเสริฐ มหามาตย์

ศูนย์ตุ้มโฮมลูกหลาน บ้านเหล่าลิง “แหล่งเรียนรู้ตามอัธยาศัยของคนหลายวัย” โครงการนําร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย

โดยศูนย์โฮมลูกหลาน บ้านเหล่าลิง ร่วมกับมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ สสส.


99

พ่อสําเนียง ซาชิโย ปราชญ์ชาวบ้าน (ช่างไม้ )  ชีวิต การศึกษา การเรียนรู้ และการทํางาน พ่อสําเนียง ซาชิโย เกิดและโตในครอบครัวชาวบ้านเหล่าลิง หมู่บ้านเหล่าลิงเป็นหมู่บ้าน เล็กๆ ที่ตั้งอยู่ใน ตําบลบ้านดู่ อําเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด อาชีพหลักภายในหมู่บ้านคือการทํานา พ่อสําเนียง ซาชิโย เป็นบุคคลหนึ่งที่มีอาชีพทํานาและอาชีพเสริมคือการเป็นช่างไม้ที่มีความ ชํานาญ เป็นภูมิปัญญาที่สืบทอดต่อกันมาอย่างยาวนาน พ่อสําเนียง ซาชิโย เกิด พ.ศ.2495 ปัจจุบันอายุ 59 ปี อยู่บ้านเลขที่ 9 หมู่ 4 ตําบลบ้านดู่ อําเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด จบการศึกษาที่โรงเรียนวัดปัจจิมบ้านดู่ ในระดับประถมศึกษา ปีที่ 4 เมื่อจบการศึกษาออกมาก็ได้ประกอบอาชีพทํานาช่วยบิดา อายุประมาณ 20 ปี บิดาและ บรรพบุรุษได้ถ่ายทอดความรู้ในการเป็นช่างไม้ให้แก่พ่อสําเนียงเรื่อยมาและได้ฝึกประสบการณ์ ลองผิดลองถูกจนเกิดผลสําเร็จและเป็นช่างไม้อย่างชํานาญการถึง 30 ปีจนถึงปัจจุบัน ปัจจุบัน พ่อสําเนียง ได้รับงานการเป็นช่างไม้คือการรับเหมาก่อสร้างบ้านที่เป็นบ้านไม้ เนื่องจากประสบการณ์ที่ได้สั่งสมมาอย่างยาวนานทําให้ฝีมือพัฒนาไปไกลแม้จะจบการศึกษาเพียง ป. 4 เท่านั้นเองการรับก่อสร้างบ้านนั้นจะรับเฉพาะในหมู่บ้านและตําบลใกล้เคียงหรือสถานที่ที่ เดินทางได้สะดวก นอกจากการเป็นช่างไม้แล้วนั้น พ่อสําเนียง ได้พัฒนาตนเองเรียนรู้การทํางานที่ เกี่ยวกับงานปูนอีกด้วยและสามารถทํางานปูนและการปูกระเบื้องได้อย่างละเอียดและสวยงาม จน ได้รับความนิยมให้สร้างบ้านในละแวกนั้นอยู่บ่อยๆไม่ขาดสาย และสิ่งหนึ่งที่ขาดไม่ได้คือความมี น้ําใจเนื่องจากในการสร้างบ้านแต่ละครั้งนั้นไม่ได้ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงินเสมอไปเพราะใน


100

บางครั้ง พ่อสําเนียง ก็ไปช่วยสร้างบ้านโดยที่ไม่ได้ค่าแรงแต่เป็นการเลี้ยงข้าวที่ชาวบ้านเรียกกัน ว่าลงแขกเป็นการลงแขกกันสร้างบ้านที่ชาวอีสานมีให้กันอย่างท่วมท้น ดังนั้น พ่อสําเนียง จึงเป็นบุคคลหนึ่งที่มีความสําคัญและเป็นที่รู้จักกันดีไม่ว่าจะเป็นฝีมือใน การเป็นช่างไม้ การสร้างบ้าน และความมีน้ําใจ จึงเป็นปราชญ์ชาวบ้านที่มีความสําคัญ น่าชื่นชม และน่านับถือภายในหมู่บ้านเป็นอย่างมาก การที่มีการศึกษาที่สูงหากไม่กระตือรือร้นในการสรรหา สิ่งใหม่ไม่ขยันทํางานก็ไม่ทําให้เกิดประโยชน์กับตัวเอง 

องค์ความรู้

พ่อสําเนียง ซาชิโย มีความสามารถในการเป็นช่างไม้ที่ชํานาญการ ซึ่งจบการศึกษาเพียง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เท่านั้น จากที่ได้สั่งสมประสบการณ์มายาวนานและความรู้ที่ได้จากบรรพ บุรุษถ่ายทอดให้นั้น พ่อสําเนียงก็สามารถสร้างบ้านไม้ได้อย่างมาตรฐานและสมบูรณ์แข็งแรงอย่าง สถาปนิก ที่เรียนจบชั้นสูงๆเช่นเดียวกัน วัสดุ เครื่องมือ อุปกรณ์ ( ช่างไม้ )  กบไสไม้ (อดีต ) เป็นเครื่องมือขัดผิวไม้ให้เรียบเนียนและได้รูปทรงตามต้องการ เมื่ออดีตนั้นการทําไม้จะใช้กบไสไม้ซึ่งมีหลายชนิดด้วยกันแต่จะแตกต่างกับปัจจุบันมาก เพราะต้องใช้กําลังแขนเป็นอย่างมากงานก็เสร็จช้า กบไสไม้มีดังนี้ - กบคิ้ว ใช้แต่งวงกรอบประตูติดกับลูกฟูก - กบโค้ง ใช้ปรับให้มีความโค้งเฉพาะด้านในเท่านั้น - กบทวาย ใช้แต่งไม้เป็นรูปโค้ง - กบนาง ใช้ไสไม้ให้เรียบตรงที่ขรุขระ - กบบรรทัด ใช้ปรับผิวไม้เรียบตรงได้ระดับเดียวกัน - กบบังใบ ใช้แต่งขอบพื้น ฝ้าเพดาน - กบบัว ใช้ไสปรับไม้ให้เป็นรูปต่างๆได้ - กบราง ใช้ไสทํารางตามวงกรอบประตู กรอบหน้าต่าง ขั้นตอนการสร้างบ้านไม้


101

1.ตอกวางเสา คานคอดิน และตั้งเสาชั้นล่าง 2.ทําคานชั้นบน และเสาสําหรับรับหลังคาชั้น 2 3.มุงหลังคา ติดตั้งวงกบ ใส่ฝ้าเพดาน 4.ปูพื้นวัสดุด้วยไม้ ติดตั้งประตู ติดตั้งหน้าต่าง 5.ทาสีบ้าน เก็บรายละเอียดส่วนที่เหลือให้เรียบร้อย ปัจจุบันนี้เครื่องมือที่ใช้ได้เปลี่ยนแปลงไปตามยุกต์ตามสมัยได้พัฒนาเครื่องมือมา เป็น กบไสไม้ไฟฟ้า สามารถใช้งานได้สะดวกสบาย รวดเร็ว กว่าสมัยก่อนอย่างมาก ประเภทบ้านที่สร้าง 1.บ้านไม้ 2 ชั้น 2.บ้านปูน ระยะเวลาในการทํางานไม้  การสร้างบ้านไม้ - แบบยกพื้น 1 ชั้น ใช้เวลาในการดําเนินงานประมาณ 1 เดือน - แบบพร้อมอยู่ ใช้เวลาในการดําเนินงานประมาณ 2 – 3 อาทิตย์  ค่าแรงในการทํางาน - ในอดีตนั้นเริ่มต้นที่หลังละ 4,000-5,000 บาท - ปัจจุบันกว้าง 7 เมตร ยาว 8 เมตร เริ่มหลังละ 100,000 บาท เนื่องจาก ค่าครองชีพสูงขึ้น ณ ปัจจุบัน

 การถ่ายทอดความรู้ พ่อสําเนียง ซาชิโย ได้ถ่ายทอดความรู้ให้ได้เฉพาะคนงานที่ติดตามไปทํางานด้วย เท่านั้น เนื่องจากปัจจุบันเยาวชนมีโอกาสได้ศึกษาเล่าเรียนในระดับชั้นสูงจึงไม่ค่อยมีคน สนใจการใช้แรงงานมากนัก


102

 วิธีการถ่ายทอด - การถ่ายทอดคือจะค่อยๆสอนไปทีละขั้นตอน - การสอนวิธีการไสไม้ การสอนการใช้เครื่องมือทุกชนิด - แนะนําการใช้เครื่องมือด้วยการอธิบายและการสาธิตให้ปฏิบัติตาม

 ภาพกิจกรรม เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์

ค้อน ใช้สําหรับตอกตะปู

พลั่วเล็ก ใช้สําหรับตักปูนเพื่อนําไปฉาบ


103

ไม้ฉาก ใช้ทดสอบผิวของหน้าไม้

สิ่ว ใช้สําหรับเจาะ เซาะ บากไม้

เลื่อย ใช้ตัดไม้


104

ตลับเมตร ใช้สําหรับวัดความยาวต่างๆ

เครื่องเจียร ใช้เจียรเหล็กและไม้


105

เลื่อยมือ ใช้สําหรับตัดเหล็ก

พลั่ว ใช้สําหรับตักทราย หิน ปูนที่ผสม

บุ้งกี๋ ใช้สําหรับโกยดิน หิน เป็นต้น

ถัง ใช้สาํ หรับใส่ปูนทีผ่ สมแล้ว


106

กบไฟฟ้า ให้สาํ หรับไสไม้ให้เรียบ

เลื่อยลันดา ใช้สําหรับเลื่อยตัดไม้

การผสมปูน มีทราย ปูน หิน และน้ํา


107

คลุกเคล้าให้เข้ากัน

การเทคาน


108

ทําแบบที่จะเทคาน

เทปูนที่ผสมให้เต็มตามขนาดมาตรฐาน


109

แม่ทองจันทร์ แก้วเสน่ห์ใน นักปราชญ์ชาวบ้าน ( การร้องสรภัญญะ )  ชีวิต การศึกษา การเรียนรู้ และการทํางาน แม่ทองจันทร์ แก้วเสน่ห์ใน จากบ้านเหล่าลิง อําเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด เกิดและ เติบโตในครอบครัวชาวบ้านเหล่าลิง หมู่บ้านเหล่าลิงเป็นหมู่บ้านเล็กๆที่มากด้วยภูมิปัญญา ท้องถิ่นของชนรุ่นก่อน ชาวบ้านมีอาชีพหลักคือการทํานา แม่ทองจันทร์ แก้วเสน่ห์ใน เป็นอีก บุคคลหนึ่งที่มีความสามารถ มีอาชีพกลักคือการทํานาและความสามารถที่เกิดจากความชอบคือ การร้องสรภัญญะด้วยน้ําเสียงที่ไพเราะประจําหมู่บ้าน ที่เรียกว่าภูมิปัญญาชาวบ้านที่สืบทอดกัน มาอย่างยาวนาน แม่ทองจันทร์ แก้วเสน่ห์ใน เกิดเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2488 ปัจจุบันอายุ 66 ปี จบ การศึกษาที่โรงเรียนวัดปัจจิมบ้านดู่ ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เมื่อจบการศึกษาชีวิตก็หันมา เป็นชาวนาปลูกข้าวช่วยครอบครัว และที่สําคัญ แม่ทองจันทร์ มีพรสวรรค์ในการร้องสรภัญญะได้ ไพเราะภายในหมู่บ้านจึงได้เป็นตัวแทนในการไปแข่งขันร้องสรภัญญะอยู่เสมอ สมัยก่อน แม่ทอง จันทร์ ได้ไปแข่งขันร้องสรภัญญะที่วัดบ้านหนองอาราม และเมื่อมีงานบุญก็จะเป็นตัวแทนอุทิศตน ไปร้องสรภัญญะเพื่อเป็นสีสัน เกิดความไพเราะสนุกสนาน ภายในงานบุญ จากนั้นมา แม่ทอง จันทร์ จึงมีความชํานาญในการร้องสรภัญญะเพราะได้ออกงานร้องสรภัญญะอยู่บ่อยๆ ถือเป็นการ อนุรักษ์การร้องสรภัญญะพื้นบ้านอีสานมานานถึง 40 ปี ปัจจุบันนี้ แม่ทองจันทร์ ก็ยังยึดถือการทํานาเป็นหลักการร้องสรภัญญะนั้นก็ไปตามงาน ประเพณีพื้นบ้านที่ทางตําบลจัดขึ้นเท่านั้น ไปแข่งขันเพื่อความสนุกสนานมีรางวัลเล็กๆน้อยๆตอบ แทนเพื่อเป็นกําลังใจในการอนุรักษ์สิ่งดีงาม สุดท้ายแม่ทองจันทร์ก็กล่าวว่าจะอนุรักษ์และร้อง สรภัญญะไปเรื่อยๆเพื่อที่จะให้ชนรุ่นหลังได้เรียนรู้สืบทอดต่อกันไปไม่มีที่สิ้นสุด


110

 องค์ความรู้ แม่ทองจันทร์ แก้วเสน่ห์ใน มีความชํานาญในด้านการร้อง ทํานอง สรภัญญะเป็นอย่างดี และยังมีน้ําเสียงที่ไพเราะก้องเสนาะหู บทกลอนที่ร้องเป็นประจํามีอยู่หลายบทกลอนซึ่งแต่ละ บทกลอนจะแตกต่างกัน มีบทกลอนเกี่ยวกับละครเรื่องสั้น บทกล่อมลูก ธรรมะ และบทกลอน ต่างๆ  ชื่อบทร้องสรภัญญะ 1.บูชาดอกไม้ 2.พระเวช 3.มัชทรี 4.พิมพา 5.แผ่นดินทําแผ่นดินทอง ฯลฯ  บทร้องสรภัญญะ

บูชาดอกไม้ มาลาดวงดอกไม้ (ซ้ํา) มาตั้งไวัเพื่อบูชา ขอบูชาคุณพระพุทธ (ซ้ํา) ผู้ได้ตรัสรู้มา ขอบูชาคุณพระธรรม (ซ้ํา) ผู้ชักนําและพร่ําสอน ขอบูชาคุณพระสงฆ์ (ซ้ํา) ผู้ดํารงพระวินัย มาลาดวงดอกไม้ (ซ้ํา) มาตั้งไวัเพื่อบูชา ขอบูชาคุณพระพุทธ ขอบูชาคุณพระธรรม


111

แผ่นดินธรรม ผู้ใหญ่เป็นผู้นํา

แผ่นดินธรรมจึงวิไล

สุราหรือเมรัย

ควรให้เลิกทุกทุกคน

สูบฝิ่นสูบกัญชา

ให้เลิกสาอย่าไปสน

ชีวิตจะมืดมน

อย่ากังวลการพนัน

เล่นโบกหรือไฮโล

เฮโรอินอย่ากินมัน

เป็นโจรก็เหมือนกัน

ยิ่งสําคัญกรรมสนอง

ตายไปจะเป็นทุกข์

อบายมุกทุกข์เป็นกอง

หัวใจก็ปัดป้อง

ยิ่งเศร้าหมองทุกเช้าเย็น

ทําชั่วย่อมได้ชั่ว

พานําตัวมีกรรมเวร

ทําดีชื่อเสียงเด่น

ชื่อเสียงเป็นสิริมงคล

ทําตนเป็นคนดี

มีศีลธรรมนําพาตน

จิตใจได้ฝึกฝน

เหมียนหนทางได้ลาดยาง

ทางดีก็เจริญ

เมื่อเราเดินไปตามทาง

จงมองไปจุดกลาง

หนทางดีไม่มีภัย

คนเราก็เหมือนกัน

ตัวสําคัญอยู่ที่ใจ

จะอยู่หรือจะไป

ช้าหรือไวใจนั้นเอา


112

แผ่นดินทอง แผ่นดินธรรมก็เรืองรอง

แผ่นดินทองก็งดงาม

รวงข้าวเหลืองอร่าม

ทุ่งนางามตามท้องนา

ทรัพย์ในดินก็จะงาม

สินในน้ําจะมีปลา

พืชไร่ก็งามตา

ข้าวในนาเขียวขจี

ปูปลามีมากมาย

พากันขายราคาดี

สมบูรณ์พูนทวี

บ่ให้มีอนาทร

ชีวิตจะเรืองรอง

แผ่นดินทองต้องแน่นอน

เจริญสถาพร

นิรันดรตลอดกาล

ทํางานต้องขยัน

ทุกทุกวันไม่เกียจงาน

รายได้เหลือประมาณ

ประสบการณ์ให้มากมาย

ทําไร่และไถนา

หาสินค้ามาค้าขาย

มีเงินแสนก็สบาย

ไม่อดตายดอกท่านเอย

ทุกคนให้ตื่นตัว

อย่าเมามัวหรือนิ่งเฉย

ทุกคนอย่าเฉย

อย่าละเลยให้รีบทํา

เวลาก็ผ่านไป

อายุนับมันมาตาม

ความตายมันมานํา

ให้ทําความดีเด้อ


113

กลอนมัทรี บัดนี้จะได้กล่าวเป็นเรื่องราวนางมัทรี เป็นชีกับพระเวช อยู่ในเขตอารัญวา พร้อมด้วยสองบุตราไกลพาราเมืองสีพี ทุกวันนางมัทรีเดินขีรีเป็นประจํา ช่วยหาเอาหัวมัน ผลไม้มาใส่เพล จําเป็นต้องสั่งลา สองบุตราผ่องอาลัย ลูกแก้วสองกลอยใจ อย่าหนีไกลพระบิดา พร้อมทั้งสั่งลูกแล้วนาง ขอก็จําไกล รีบด่วนเข้าในไพร หาผลไม้ทั้งพาลา นางเคยหาได้ง่ายดาย วันนี้หายสูญสิ้น ทั้งพระอินทร์ให้สั่งหรณ์ ขาม ป้อม หมู่ส้มมอ ไม่เหลือหลอในพงไพร มัทรีเพียรเอาได้ ผลผลา พอกระเช้า หวลถึงลูกอ่อนน้อย เจ้าจะรอท่าแม่มา พอเมื่อสายัณต์ พ่าย สุริยา จะลับเหลียม สกุณาบินแซวๆ ร้องแจ้วๆ ในกลางไพร มัทรีศรีกันยาหามกระต่า กลับอาสม เสือลายกลายมากล้ํา เทวดาแลงร่างมา มัทรี ขออ้อนวอน ชูริกรลงกราบไหว้ ช่างมีลางเหตุร้าย มาคาหนทางไป พอนางพญาทัยกลับจากป่าหาหัวมัน


114

มาถึงอาศรมบทเกิดรันทดในหัวใจ แต่ก่อนพระนางไท้กลับจากไร่ลูกวิ่งต้อน วันนี้มิดออนซอนสองบังอรไม่เห็นมา ชาลีกับกัณหาสองบุตราแม่มาแล้ว ทุกวันเห็นหน้าลูกสองมาลาหล่าของแม่ วันนี้ไปไหนแท้ลูกแม่เอยไปใหนหนอ ร้องไห้ทั้งกู่หา สองบุตราทั้งอาลัย กัญหาแม่นี้เอยกับชาลีแม่นี้เอย


115

กลอนพิมพา ฟังเถิดฟังเรื่องราว

จะได้กล่าวเป็นเรื่องราว

กาลนั้นนางพิมพา

ส่งไสยาแล้วตื่นฟื้น

ไม่เห็นพัดสะดา

พ่อราหุลลูกแม่เอ่ย

ราหุลเอ๋ยพ่อของเจ้า

ไม่เห็นแล้วลูกแก้วตา

พิมพาอกกระสัน

หัวใจนั้นเกิดหวั่นไหว

หนีไปไม่รู้เหตุ

ไม่สมเพสแก่ลูกเมีย

ราหุลนั้นเหลือใจ

ทั้งร้องไห้แลหนทาง

ทิ้งฉันไห้เป็นฮ้าง

อยู่โดดเดี่ยวเปรี่ยว

เอกา อกเอ๋ยสิททัตถะ ครั้งเป็นนางมัทรี

ทั้งพิมพามาหลายที บวชเป็นชีอยู่ในธรรม

ทานลูกและทานเมีย

ให้แก่พราหมน่าสงสาร

โอนสิตทัตถะ

จากพิมพาไม่ห่วงใย

ปล่อยฉันไว้กับราหุล

บําเพ็ญบุญไม่ห่วงใย

กําเอยวัดถะวน

กรรมพะจันพิมพาเอ๋ย


116

อีสานเขียว 1 สมเด็จภูมิพล

ห่วงปวงชนถิ่นอีสาน

อดอยากแสนกันดาร

พระองค์ท่านทรงเมตตา

ท่านคิดอยู่ในใจ

ตั้งใจไว้จะพัฒนา

บัดนี้ได้เวลา

จะตั้งหน้าทําเสียที

ต่อไปอีสานมี

ให้อยู่ดีและกินดี

อีสานจะสุขี

เป็นทวีให้คนลือ

สั่งให้รัฐบาล

พร้อมทหารเริ่มลงมือ

เอกชนคนนับถือ

ได้ลงชื่อร่วมน้ําใจ

อีสานบ่หน้าเหี่ยว

บ่ ซีดเชียวดอกต่อไป

อีสานทันสมัย

ศิวิไลได้เจริญ

น้ําโขงและน้ํามูล

บริบูรณ์บ่ขาดเขิน

น้ําชีหลายเหลือเกิน

ไหลจนเพลินน้ําใจนอง


117

อีสานเขียว 2 อีสานเขียวที่สอง

รัฐบาลต้องหามา

ปลูกไม้ยางพารา

หรือเลี้ยงปลาอย่าง

ถาวร อาชีพให้แน่นอน

ไม่ต้องจรไปเมืองกรุง

อีสานบ้านเราเด่น

ไม่จําเป็นจากป้าลุง

รัฐบาลจะปรับปรุง

อีสานรุ่งทั่วดินแดน

ขุดบ่อเจาะบาดาล

ทั่วอีสานบ่ขาดแคลน

โครงการมีแบบแปลน

ทําตามแผนพระราชา

ปลูกหม่อนเลี้ยงไหม

สายใจไทยประทานมา

ผ้าซิ่นผินแพรวา

เป็นราคาผ้าไหมไทย

เผยแพร่ศิลปะ

วัฒนาพาสุขใจ

ชื่อเสียงก็เกริกไกล

หมอนขิดไทยชื่อเสียงดัง

ส่งออกนอกประเทศ

ไปถึงเขตเมืองฝรั่ง

มาเลและปีนัง

ได้สั่งซื้อจากไทยเรา

ญี่ปุ่นสิงคโปร์

ซื้อไปโซว์มิไซ่เบา

สินค้าซื้อจากเรา

เขาได้เหมาเอาหมดเลย


118

บทกล่อมลูก อื่อ อือ่ อือ้ อือ๊ นอนสาหล้า

หลับตาแม่สิกล่อม

นอนอ้อมล้อม

ในผ้าอย่าติง

แม่ไปไฮ่

สิจี่ไก่มาหา

แม่ไปนา

สิจี่ปลามาป้อน

แม่เลี้ยงม้อน

อยู่เหล่าสวนมอน

อื่อ อือ่ อือ้ อือ๊ นอนสาหล้า เพิ่นมาขายกล้วย

หลับตาจ้อย จ้อย แม่สิซื้อให้กิน

เพิ่นมาขายดิน

แม่สิซื้อให้เล่น

มาขายตาเวน

แม่สิซื้อให้เบิ่ง

มาขายกุมเกิ้ง

สิซื้อให้หัว

อื่อ อือ่ อือ้ อือ๊ นอนสาหล้า

หลับตาแม่สิกล่อม

เจ้าบ่นอน

บ่ให้กินกล้วย

แม่เฮาไปห้วย

ไปส่อนปลาซิว

เก็บผักติ้ว

มาใส่แกงเห็ด

ไปใส่เบ็ด

เอาปลาค่อใหญ่

มาแกงให้

ลูกหล้าแม่กิน

เจ้าบ่นอน

แมวโพงสิจกตา


119

เจ้านอนซ้า

แมวโพงสิจกหํา

เจ้านอนค่ํา

แมวโพงสิจกกัน

อื่อ อือ่ อือ้ อือ๊

 การร้องสรภัญญะ ในอดีตนั้นการร้องสรภัญญะ ทํานอง การร้องจะเป็นเสียงสูง ช้า ลากเสียงยาว จะเป็นเสียง คําร้อง ทํานองที่มีความไพเราะมาก แต่การร้องในปัจจุบันนี้การร้องได้เปลี่ยนแปลงไป ตามยุกต์ตามสมัยจะมีการร้องที่แตกต่างคือเสียงไม่ลากยาวเหมือนเมื่อก่อน เสียงไม่สูง ร้องเร็ว กว่าสมัยก่อน เนื่องจากเยาวชนทุกวันนี้เกียจคร้านกันรีบร้องรีบเสร็จ ดั้งนั้นแม่ทองจันทร์ จึง แนะนําว่าอยากให้ลูกหลานในปัจจุบันนี้ให้ร้องสรภัญญะในทํานองดั้งเดิมเมื่อครั้งก่อนให้มากที่สุด เพื่อเป็นการอนุรักษ์ได้อย่างคงเดิม

 การศึกษาตามอัธยาศัย ถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้ที่สนใจในโอกาสต่างๆ แม่ทองจันทร์ แก้วเสน่ห์ใน มีเอกสารที่ น่าสนใจเพื่อเผยแพร่สิ่งที่เป็นศิลปกรรมพื้นบ้านคือการร้องสรภัญญะให้เกิดประโยชน์และเป็นสิ่ง แพร่หลายให้คนทั่งโลกได้รับรู้สิ่งที่ดีงามของประเทศไทย

 วิธีการถ่ายทอด

-

การแนะนําให้รู้จักบทกลอนต่างๆ บอกแนะนําการร้อง เสียง และทํานองให้กับเยาวชน สาธิตการร้องสรภัญญะให้ได้ฟัง และลีลาท่าทาง คอยแนะนําเป็นพี่เลี้ยง คอยสอนอย่างเข้าใจท่วงทํานองต่างๆ


120

พ่อประเสริฐ มหามาตย์ ปราชญ์ชาวบ้าน ( การจักสาน )

 ชีวิต การศึกษา การเรียนรู้ และการทํางาน พ่อประเสริฐ มหามาตย์ เกิดวันอาทิตย์ ที่ 8 เดือน เมษายน พ.ศ. 2487 ที่บ้านเหล่าลิง บ้านเลขที่ 12 หมู่ 4 ตําบลบ้านดู่ อําเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด จบจากโรงเรียนบ้านดู่ ใน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีบุตรร่วมสมรส กับ นางปั่น มหามาตย์ ทั้งหมด 4คน บุตรหญิง 2 คน คือ นางหวัน กับ นางอ๊อด มหามาตย์ และบุตรชาย 2 คน คือ นายสุบัน กับ นายสุบิน มหา มาตย์ ชาวบ้านมีอาชีพหลักคือการทํานาและมีอาชีพเสริมคือการทําเครื่องจักรสานซึ่งเป็นภูมิ ปัญญาชาวบ้านที่สืบทอดกันมาตั้งแต่บรรพบุรุษ พ่อประเสริฐ มหามาตย์ เริ่มสานแห สวิง ตั้งแต่ ยังเด็ก โดยเรียนรู้มาจาก รุ่นปู่ รุ่นย่า การทําเครื่องมือจักรสานแบบโบราณ เป็นภูมิปัญญาที่มีคุณค่า คือ วิชาจักสานที่ทําด้วย มือทุกขั้นตอน โดยการใช้ด้ายสานในการทําแหสวิงสานแบบเกี้ยวเก้าสอด จากปี 2535 – ปัจจุบัน พ่อประเสริฐ มหามาตย์ เริ่มทําอาชีพจักรสานเป็นอาชีพหลัก นอกจากการทํานา พ่อประเสริฐ ยังช่วยถ่ายทอดความรู้ให้กับลูกหลานทุกคนที่สนใจในงานจักร สาน เพื่ออนุรักษ์สืบทอดความรู้ของบรรพบุรุษไม่ให้เลือนหายไป 

องค์ความรู้

พ่อประเสริฐ มหามาตย์ มีความสามารถในการจักรสานที่ชํานาญการ ซึ่งจบการศึกษา จากโรงเรียนบ้านดู่ เพียงแค่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เท่านั้น จากที่ได้สั่งสมประสบการณ์มายาวนาน


121

และความรู้ที่ได้จากบรรพบุรุษ โดยเริ่มทําเครื่องจักรสานเป็นอาชีพอีกอาชีพหนึ่งนอกจากการทํา นาเมื่ออายุ 48 ปี สมัยก่อนจะใช้ด้ายเมืองในการสานแห ปัจจุบันมีการพัฒนามาเป็นการใช้เชือกเอ็น (คล้าย เชือกเอ็นที่ใช้สําหรับตกเบ็ด) ความแตกต่างระหว่างแหเอ็นและแหด้ายเมือง ก็คือการดูแลแหด้าย เมืองจะดูแลยาก เพราะเมื่อใช้งานแล้วต้องนํามาผึ่งให้แห้งก่อนจึงเก็บได้  ขนาดแห จะมีตั้งแต่ 5 ศอก 6 ศอก และขาดใหญ่สุด 7 ศอก  อุปกรณ์การสานแห - กิม (ซูน) - ปาน - เชือก - ด้าย กิม คือไม้ไผ่เหลาให้แบนหนาประมาณ 3-4 มิลลิเมตร กว้าง 1 นิ้ว ยาว 8 นิ้ว หัวแหลม มน ประมาณ 1 ใน 3 ส่วนของความยาว เจาะทะลุยาวตามส่วนหนึ่งในสามทีเดือยตรงกลาง ส่วนท้ายใช้มีดควงให้เป็นตัวยู ปาน เหลาไม้ไผ่ให้แบนคล้ายไม้บรรทัดยาว 5-6 หนาประมาณ 2-3 มิลลิเมตร ความกว้าง ขึ้นอยู่กับตาของแหที่ต้องการ  วิธีสาน เอาด้ายในล่อนสีขาวมาทําเป็นจอม คือจุดเริ่มต้นในการสาน ลักษณะการทําจอมมี บ่วงไว้สําหรับห้อยแขวนระหว่างสาน เมื่อสานให้มีความยาวประมาณ 3 เมตร แล้วทําแห่งสําหรับลูกเพลาปล่อยตาลงอีกประมาณ 50 เซนติเมตร แล้วค่อยเอา โซ่หรือลูกตะกั่วหรือลูกแหมาสานต่อจากด้ายเป็นเสร็จ  วิธีการย้อม เอาเปลือกไม้ มาต้มเคี่ยวให้แดง พอน้ําร้อนแดงได้ที่ ยกลงปล่อยให้อุ่น พอประมาณให้เอาแหลงแช่ประมาณ 2-3 ชั่วโมง จึงนําออกตากแดดให้แห้ง จากนั้นนําไปแช่น้ําโคลนประมาณ 2-3 ชั่วโมง 

การถ่ายทอดความรู้

พ่อประเสริฐ มหามาตย์ ได้ถ่ายทอดความรู้ให้ลูกหลานและผู้ที่สนใจทั่วไป เนื่องจาก ปัจจุบันเยาวชนมีโอกาสได้ศึกษาเล่าเรียนในระดับชั้นสูงจึงไม่ค่อยมีคนสนใจการจักรสานมากนัก


122

 วิธีการถ่ายทอด - การถ่ายทอดคือจะค่อยๆสอนไปทีละขั้นตอน - การสอนวิธีการสาน การสอนการใช้ด้ายหรือเอ็นที่จะนํามาสาน - แนะนําการสานด้วยการอธิบายและการสาธิตให้ปฏิบัติตาม 

การศึกษาตามอัธยาศัย

ถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้ที่สนใจในโอกาสต่างๆเพื่อสืบทอดงานจักรสานให้เกิดประโยชน์และ เป็นสิ่งแพร่หลายให้คนทั่งโลกได้รับรู้สิ่งที่ดีงามของประเทศไทย

รูปภาพอุปกรณ์ และแห

กิม ภาษาอิสานเรียก ซูน


123

ปาน

การเก็บแห

จอมแห


124

ลูกแหเป็นลูกโซ่ ล่างเป็นเพลา

อุปกรณ์การสานแห ลูกแหเป็นโซ่  อุปสรรคในการทํางาน  เนื่องจากการเดินทางไปสัมภาษณ์นั้น บุคคลที่จะสัมภาษณ์ไม่ค่อยมีเวลาว่างมาก นัก และไม่ค่อยอยู่บ้าน เพราะต้องออกไปทุ่งนาทํานา เลี้ยงไก่ หมู ตามวิถีชีวิต ชาวนา  การถ่ายทอดภาษาซึ่งเป็นภาษาพื้นบ้าน สมัยก่อนบ้าง ลําบากแก่การเจ้าใจใน ศัพท์ บางคํา  ไม่สามารถเก็บข้อมูลได้อย่างสมบูรณ์ เนื่องจากการถ่ายข้อมูลเป็นไปด้วยความ ลําบาก เพราะตัวผู้ถ่ายทอดความรู้อธิบายข้อมูลได้อย่างไม่เป็นทางการ


125

ภาคผนวก คําศัพท์ท้องถิ่น ด้านสรภัญญะ  เสียงหอง

หมายถึง

เสียงสูง การร้องให้เสียงสูง

หมายถึง

ทอดแห

ด้านการสานแห  ตึกแห

 หมากเกลือ หมายถึง

ต้นมะเกลือ ทีน่ ําไปย้อมสีได้


126

แบบเก็บข้อมูลปราชญ์ชาวบ้าน 21. ชื่อ-สกุล……………………………………………………………………………………..อายุ ....................ปี 22. ความสามารถ ความถนัด (ภูมิปัญญา).............................................................................. 23. ที่อยู่....บ้านเลขที่.............หมู่ 4 ตําบลบ้านดู่ อําเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด 24. ชีวิต การศึกษา การเรียนรู้ และการทํางาน ...................................................................................... ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………….


127

………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. 25. องค์ความรู้ .......................................................................................................................................... ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………….


128

………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………….


129

26. การถ่ายทอดความรู้ ............................................................................................................................ ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. 26.1. การศึกษาใน ระบบ………………………………………………………………………………………..... ............... ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. 26.2. การศึกษานอก ระบบ………………………………………………………………………………………… …………..


130

………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. 26.3. การศึกษาตาม อัธยาศัย……………………………………………………………………………………… ……….... ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. 27. วิธีการ ถ่ายทอด…………………………………………………………………………………………… ………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………….


131

………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. 28. ข้อมูลอื่น ๆ ....................................................................................................................................... ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………….


132

หมายเหตุ : ในการเก็บข้อมูล... ถ้ากระดาษไม่พอให้ใช้ใบแนบ ...ให้มภี าพถ่ายงานที่ทาํ และกระบวนการของ การถ่ายทอดองค์ความรู้...

รายชื่อปราชญ์ชาวบ้าน ที่ศึกษา

กลุ่มที่ 1

กลุ่มที่ 2

กลุ่มที่ 3

กลุ่มที่ 4 กลุ่มที่ 5

หมอยา : นายสุทัศน์ มหาหงษ์ หมอสูตรขวัญ : พ่อโพธิ์ วิเศษการ หมอแคน : พ่อสว่าง หวานอารมณ์ จักสาน : พ่อสม ซาชิโย งานไม้ : พ่อพัฒนชัย ธรรมที่ชอบ ทอผ้า พาขวัญ : แม่สุมาลี ธรรมที่ชอบ สวัสดิการชุมชน : พ่อชู อุทมุ พร เครื่องหนัง : นายแซนฉัตร ศรีแก้ว หมอน้ํามัน : พ่อจันทร์ ศรีแก้ว ช่างไม้ : พ่อสําเนียง ซาชิโย สรภัญญะ : แม่ทองจันทร์ แก้วเสน่ห์ใน สานแห สวิง : พ่อประเสริฐ มหามาตย์ ประวัติบ้านเหล่าลิง(สอบถามหลายคน)


133

รายชื่อผู้ร่วมกิจกรรม ลําดับที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

ชื่อ – สกุล นางสาววิชุดา ตอนสันเทียะ นางสาวสุพัตรา มหามาตย์ นายวันเฉลิม ตอนสันเทียะ เด็กหญิงกาญจนา ศิริเวช เด็กหญิงพลอยไพลิน โพธิพ์ ล เด็กหญิงแก้วตา มีมานะ เด็กหญิงปวีณา ทองชํานาญ นางศศินา กุลรักษา เด็กหญิงพรนภา นนทฤทธิ์ เด็กหญิงลลนา สมบูรณ์พันธ์ นางจุฑารัตน์ บุตรราช นางบุญสม นนทฤทธิ์ นายพัชร กุลสีดา นางสาวคุณาภรณ์ ธรรมที่ชอบ นายอรรณพ ปันคํา เด็กชายประวิทย์ ธรรมที่ชอบ เด็กหญิงมนัญชยา ซาชิโย เด็กชายชยธร ซาชิโย เด็กชายปฏิภาณ ชาญสมร เด็กหญิงกุสุมา ใจอารีย์

กลุ่มที่ 1

2

3

4

5

ลายมือชื่อ


134

เล่มที่ 5 หลักสูตรยุววิจัย “สิ่งแวดล้อมชุมชน” ประวัตบิ ้านเหล่าลิง หมู่ 4 ตําบลดู่ อําเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด

ศูนย์ตุ้มโฮมลูกหลาน บ้านเหล่าลิง “แหล่งเรียนรู้ตามอัธยาศัยของคนหลายวัย” โครงการนําร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย

โดยศูนย์โฮมลูกหลาน บ้านเหล่าลิง ร่วมกับมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ สสส.


135

1. อดีต 1.1 ประวัติการตั้งหมู่บ้านและวัด

รูปที่ 1 แสดงป้ายหมู่บ้านเหล่าลิง ชาวบ้านจากบ้านหนองฮู(บ้านหนองอาราม หมู่ 3 ในปัจจุบัน) โดยการนําของ แม่ใหญ่ดํา มหามาตย์, แม่ใหญ่ม้อ นิวาสวงศ์, แม่ใหญ่สอน นิวาสวงค์ และแม่ใหญ่ภา นิวาส วงศ์ ได้นําพาชาวบ้านมาตั้งถิ่นฐาน ณ บ้านเหล่าลิงในปัจจุบัน(ประมาณก่อนปี พ.ศ. 2485) มี บ้านเรือนในตอนนั้น 12 หลังคาเรือน โดยบ้านเหล่าลิงเดิมเป็นป่าและมีหนองน้ําเล็กๆอยู่ มีคน เล่าว่า(อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพ พระครูศิริวรรณาภรณ์. 2549) แต่ก่อนเป็นป่าซึ่งเป็นที่ อยู่อาศัยของลิงป่าเป็นจํานวนมาก ชาวบ้านที่ผ่านป่าแถวนั้น ลิงจะแย่งอาหารจากชาวบ้านไปกิน เมื่อเวลาผ่านไปความเจริญเริ่มเข้ามา ลิงป่าเหล่านั้นก็ลดหายไปจากป่า เมื่อชาวบ้านเข้ามาตั้งถิ่น ฐานจึงตั้งชื่อว่า หมู่บ้านเหล่าลิง อีกกระแสหนึ่งเล่าว่า (นายจันทร์ ศรีแก้ว อายุ 76 ปี) บริเวณที่ ใกล้ที่ตั้งหมู่บ้านมีหนองน้ําเล็กอยู่ และมีต้นไม้ชนิดหนึ่งมีผลคล้ายหูของลิง จึงเรียกว่า ต้นหูลิง และเรียกหนองน้ําว่า หนองหูลิง จนเพี้ยนมาเป็นเหล่าลิง และเป็นที่มาของชื่อ หมู่บ้านเหล่าลิง เมื่อ พ.ศ. 2504 บ้านเหล่าลิงได้ย้ายเขตการปกครองจากตําบลขี้เหล็กมาเป็นตําบลดู่ และได้ เปลี่ยนจาก บ้านเหล่าลิง หมู่ 11 ตําบลขี้เหล็ก อําเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด เป็น บ้านเหล่า ลิง หมู่ 4 ตําบลดู่ อําเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด วัดประจําหมู่บ้านเหล่าลิง ชื่อว่าวัดประชาสันติ ได้ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม


136

2518 โดยออกมาจากวัดบึงหนองอาราม โดยการนําของพระจันทร์ วรทินโน สาเหตุที่แยก เนื่องมาจากสมัยก่อนที่บ้านเหล่าลิงแยกออกจาก บ้านหนองอาราม แต่ไม่มีวัดประจําหมู่บ้าน ต้อง ไปทําบุญที่วัดบึงหนองอารามซึ่งไม่สะดวกในการเดินทางไปทําบุญ จึงก่อตั้งวัดขึ้นในเวลาต่อมา รักษาการแทนเจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน คือ พระประพนธ์ มุทุจิตโต

รูปที่ 2 แสดงวัดประชาสันติ หมู่บ้านเหล่าลิง 1.2 การปกครอง บ้านเหล่าลิงมีผู้ใหญ่บ้านปกครองมาจํานวน 9 คน ได้แก่ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

ผู้ใหญ่พา นิสัยเสริม ผู้ใหญ่มงคล มหามาตย์ ผู้ใหญ่บุญ อุทุมพร ผู้ใหญ่ช่วย ชัยมีสุข ผู้ใหญ่ประเสริฐ มหามาตย์ ผู้ใหญ่ไทย แสนบุญ ผู้ใหญ่ทองเลื่อน ชัยมีสุข ผู้ใหญ่แก่นจันทร์ ศรีสนอง ผู้ใหญ่พัฒนชัย ธรรมที่ชอบ


137

1.3 อาชีพ ในอดีต ชาวบ้านเหล่าลิงประกอบอาชีพทํานาเพียงอย่างเดียว เพราะไม่มีแหล่งน้ํา โดยการปลูกข้าวไร่ โดยจะทําแต่พอกิน ไม่รู้จักทําอาชีพอื่น และทําไร่ฝ้าย จะทอผ้าฝ้ายนุ่งห่มเป็น เสื้อผ้าใช้เอง และทําสวนหม่อน เลี้ยงไหม ทอผ้าไหมไว้ใส่ และเลี้ยงสัตว์ วัว ควาย ไว้ใช้งาน รู้จัก การจักสาน เพื่อทําของไว้ใช้ เช่น ตระกร้า กระบุง เป็นต้น

1.4 ทรัพยากรธรรมชาติ อดีตมีความอุดมสมบูรณ์มาก ทิศตะวันตกและทิศตะวันออกของหมู่บ้าน จะเต็ม ไปด้วยป่า มีผักธรรมชาติให้เก็บมารับประทาน เช่น ผักกระถิน ผู้คนรู้จัก ปลูกพริก ปลูกพืชผัก สวนครัว ไว้กินเองในบริเวณบ้านของตนเอง เห็ดก็มีให้เก็บเยอะ จะไม่มีการเก็บเห็ดตอนกลางคืน เหมือนปัจจุบัน(ไต้เห็ด) ทําให้มีเห็ดเกิดขึ้นเยอะ คนจะเก็บของป่าแต่พอกิน จะไม่เก็บจนหมด จึง ทําให้มีของป่ากินได้ตลอดปี

รูปที่ 3 แสดงบริเวณป่าดงหนองห้างที่คนจากหมู่บ้านเหล่าลิง นิยมไปเก็บของป่ามามาใช้ประกอบอาหาร


138

2. ปัจจุบัน 2.1 สภาพทั่วไป หมู่บ้านเหล่าลิงในปัจจุบัน มีประชากรจํานวน 95 ครอบครัว จํานวน 487 คน (รวมกับบ้านดอนม่วย ที่แยกตัวออกไปตั้งห่างจากตัวหมู่บ้านประมาณ 500 เมตร) แบ่งเป็นชาย 258 คน หญิง 259 คน สภาพบ้านเรือน มีทั้งการสร้างบ้านแบบสมัยใหม่ ใช้ปูนซีเมนต์ และบ้าน ไม้ ใต้ถุนสูง หรือใช้สังกะสีทําฝาบ้าน หรือบ้านครึ่งตกครึ่งไม้ ตามฐานะของเจ้าของบ้าน

รูปที่ 4 แสดงบ้านแบบครึ่งตึกครึ่งไม้

รูปที่ 5 แสดงบ้านใต้ถุนสูงใช้ สังกะสีทําฝาบ้าน

2.2 อาชีพ ในยุคกลาง ( พ.ศ. 2500 – 2540 ) ชาวบ้านเหล่าลิงนิยมส่งบุตรหลานไปประกอบ อาชีพในกรุงเทพฯ เมื่อจบการศึกษาในระดับ ม.ต้น หรือ ระดับประถมศึกษาปีที่ 6 (เพราะมี โรงเรียนใกล้หมู่บ้านระดับมัธยมเปิดสอน จาก ม.1-ม.3 คือ โรงเรียนขี้เหล็กพิทยาคม และโรงเรียน บ้านดู่ เปิดสอน ป.1-ป.6) จึงทําให้หมู่บ้านเหลือเฉพาะคนสูงอายุและเด็ก แต่ในระยะ พ.ศ. 2541 – ปัจจุบัน คนที่เคยไปทํางานที่กรุงเทพกลับมาที่หมู่บ้าน เพราะตกงาน หรือบางคนก็มีปัญหา สุขภาพ จึงทําให้ชาวบ้านในหมู่บ้านเหล่าลิงเต็มไปด้วยผู้คนทั้งวัยชรา วัยผู้ใหญ่ วัยรุ่น และวัยเด็ก อาชีพคนในหมู่บ้านปัจจุบันนี้ มีหลายอาชีพ ดังนี้


139

- ทํานา ปลูกข้าวนาปี อาศัยน้ําฝนในการทํานา พันธุ์ข้าวที่ใช้คือ ข้าว กข6 ในการ ทํานามีทั้งนาดําและนาหว่าน แต่นาหว่านจะมีมากกว่านาดํา และมีการใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยใน การทํานา เช่น ใช้รถไถนาเดินตาม ในฤดูเก็บเกี่ยวก็จะใช้รถสีข้าว การใช้แรงงานคนและสัตว์ใน การทํานาจะมีน้อยลง ปัจจุบัน บุคคลที่ยังคงใช้ควายไถนา มีเพียงครอบครัวเดียวคือ ครอบครัว ของนายสม ซาชิโย ส่วนการเก็บเกี่ยวใช้แรงงานคนก็ยังคงมีอยู่ โดยจะมีในลักษณะการว่าจ้าง เกี่ยวข้าว และการลงแขกเกี่ยวข้าวก็ยังคงเหลืออยู่ประมาณ 10 ครอบครัว(แลกแรงงานกันจนครบ 10 ครอบครัว)

- การปลูกยาสูบ หลังฤดูเก็บเกี่ยว จากการที่บริษัทอดัมได้เข้ามาตั้งโรงงานรับซื้อ ยาสูบ ที่หมู่บ้านหัวหนอง เมื่อ ปี พ.ศ. 2525 และได้เข้ามาส่งเสริมให้ชาวบ้านเหล่าลิงปลูกยาสูบ จึงทําให้ ชาวบ้านมีอาชีพเสริมหลังฤดูเก็บเกี่ยว บางครอบครัวมีรายได้จากการขายยาสูบมากกว่าขายข้าว - ค้าขาย ในปัจจุบันในหมู่บ้านมีคนยึดอาชีพค้าขาย 4 ครอบครัว ได้แก่ ร้านขายของชําอย่างเดียว 1 ร้าน ร้านขายอาหารประเภทก๋วยเตี๋ยว อาหารตามสั่งจํานวน 1 ร้าน ร้านขายของชําพร้อมกับก๋วยเตี๋ยว อาหารตามสั่ง จํานวน 2 ร้าน - เย็บเครื่องหนัง นายเชนฉัตร ศรีแก้ว ไปทํางานที่กรุงเทพฯ ในยุคที่ฟองสบู่ แตก ปี พ.ศ. 2540 เขาตกงาน จึงต้องกลับมาอยู่ที่บ้าน ระยะแรกๆเขาประกอบอาชีพทํานา แต่เมื่อ เศรษฐกิจฟื้นตัว ทําให้บริษัทเดิมเรียกเขาไปทํางานอีก แต่ด้วยที่ต้องมีลูกเล็กที่ต้องดูแล และ ต้องการอยู่กับภรรยาที่บ้าน จึงทําให้เขารับงานจากบริษัทผลิตเครื่องหนัง ประเภททํากระเป๋า สตางค์ กระเป๋าสะพายของสุภาพสตรี มาเย็บที่บ้าน โดยมีแรงงานจากภรรยาช่วย และยังได้จ้าง เพื่อนบ้านอีกหนึ่งคนคอยช่วยงาน เนื่องจากเขาเป็นช่างฝีมือดี เย็บกระเป๋าประณีตสวยงาม จึงทํา ให้มีงานเข้ามาเรื่อยๆ บางทีมีงานเยอะจนทําให้มีรายได้มากกว่าการทํานา แต่ทุกวันนี้เขายังทํานา แต่ทําเพื่อบริโภคเท่านั้น รายได้หลักของครอบครัวมาจากการเย็บเครื่องหนังส่งบริษัทที่กรุงเทพ - รับราชการ ในบางครอบครัวที่มีกําลังส่งให้ลูกได้เรียนสูงจนถึงระดับปริญญาตรี ก็มี


140

ลูกหลานบางส่วนกลับมาสอบบรรจุทํางานรับราชการที่บ้านตนเอง เช่น รับราชการครู หรือมีบุตร เขยรับราชการตํารวจ - ไปทํางานที่ต่างจังหวัด ความนิยมที่ส่งบุตรหลานไปทํางานต่างจังหวัดใน ปัจจุบันก็ยัง มีอยู่ โดยส่วนมากจะส่งบุตรหลานไปศึกษาต่อยังกรุงเทพฯ เมื่อจบแล้วก็ทํางานที่นั่นและส่งเงิน ทองมาจุนเจือครอบครัว จะมีครอบครัวประมาณ 9-10 ครอบครัว ที่พ่อแม่ต้องไปทํางานที่อื่น ให้ ลูกอยู่บ้านตามลําพังกับญาติ หรือเพื่อนบ้าน แล้วส่งเงินมาให้ลูกเพื่อใช้จ่ายในการเล่าเรียน และ การบริโภค

2.4 ทรัพยากรธรรมชาติ ในปัจจุบันนี้ป่าที่มีลิงอาศัยอยู่ และต้นหูลิง ได้หมดไปจากหมู่บ้านเหล่าลิงนาน แล้ว ยังคงเหลือพื้นที่ป่าเพียงเล็กน้อย พื้นที่ป่าที่ยังพอมีเหลือจะอยู่ทางทิศใต้และทิศเหนือของ หมู่บ้าน แต่ก็มีเจ้าของจับจองพื้นที่และได้หักร้างถางพง ปลูกต้นยูคาลิปตัสไปเป็นบางส่วน 2.5 ศูนย์ตุ้มโฮมลูกหลานบ้านเหล่าลิง ศูนย์ตุ้มโฮมลูกหลานบ้านเหล่าลิง ตั้งอยู่ที่บ้านของพ่อสม-แม่จวน ซาชิโย บ้านเลขที่ 2,90 และ 106 หมู่ที่ 4 บ้านเหล่าลิง ตําบลดู่ อําเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด โดย ศูนย์แห่งนี้ เริ่มต้นดําเนินการในปี พ.ศ. 2551 โดยมีต้นกําเนิดจากการที่ อาจารย์มานิตย์ ซาชิโย ได้มีโอกาสทํางานร่วมกับ อาจารย์สถิตย์ ศรีถาวร ในโครงการเฝ้าระวังและดูแลสภาวการณ์ของ เด็กและเยาวชน ได้มีโอกาสทํางานร่วมกับ ดร. สมบัติ ฤทธิเดช และมีโอกาสได้รู้จักกับโครงการ บ้านหลังเรียนของ ดร. สมบัติ ฤทธิเดชและ ดร. ประสพสุข ฤทธิเดช ได้เห็นว่าเป็นโครงการที่ดีมี ประโยชน์ ประกอบกับตอนนั้น อาจารย์ปาริชาติ ซาชิโย ภรรยาของอาจารย์มานิตย์ ซาชิโยได้ สอนพิเศษให้กับเด็กๆและลูกของตนเองที่บ้านในวันเสาร์และอาทิตย์ จึงได้นําแนวคิดบ้านหลัง เรียนมาประยุกต์ใช้ในชุมชนของตนเอง เปิดเป็นศูนย์ตุ้ม โฮมลูกหลานบ้านเหล่าลิงขึ้น ที่บ้านของตนเองซึ่งเป็นพื้นที่ของคุณพ่อสม ซาชิโย ผู้เป็นบิดา ทุน สนับสนุนครั้งแรกจาก อาจารย์มานิตย์ ซาชิโย 3,000 บาท อาจารย์สถิตย์ ศรีถาวร 4,000 บาท อาจารย์นปดล นพเคราะห์ 2,000 บาท รวม 9,000 บาท และหลังจากนั้นจนถึงปัจจุบันก็ได้รับ


141

ทุนสนับสนุนจากผู้ใหญ่ใจดี จนสามารถสร้างห้องเรียน 1 หลัง สร้างห้องน้ําขนาด 4 ห้อง และมีทุน ใช้สําหรับดําเนินกิจกรรม ตามอัตภาพ

รูปที่ 6 สภาพห้องเรียนเริ่มก่อสร้าง

หลักการดําเนินการ จะจัดการเรียนรู้ตามอัธยาศัยให้กับคนทุกคน ตามคําขวัญ “แหล่งเรียนรู้ตามอัธยาศัยของคนหลายวัย” โดยเน้น 3 เรื่องหลัก คือ 1) ภาษา เพื่อการเรียนรู้ 2) ศิลปะ เพื่อขัดเกลาจิตใจ 3) อาชีพ เพื่อการดํารงชีวิต โดยจะจัดให้กับทุกคนทุกวัน สําหรับเด็กจะ จัดสอนในวันเสาร์และอาทิตย์ เวลา 09.00 – 12.00 น. โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย วิชาที่สอนจะเน้น ภาษาอังกฤษ และมีวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาไทย แทรกมาเป็นบางสัปดาห์ ใน สัปดาห์ที่มีการถอดบทเรียนก็จะมีกิจกรรมหลากหลายให้เด็กได้สนุกกับการเรียนรู้ เช่น การทํา กรอบรูป ทําพวงกุญแจ ทําเทียนหอม ทําเทียนเจล ทําแชมพูสระผม ทําครีมนวดผม ทําน้ํายาล้าง จาน เป็นต้น นอกจากนี้ ก็ยังมีกิจกรรมของศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนได้มีกิจกรรมมาให้นักเรียน ได้เรียนปนเล่น


142

รูปที่ 7 สภาพห้องเรียนในปัจจุบัน

รูปที่ 8 ห้องเรียนบนศาลาที่สร้างไว้ก่อนตั้งศูนย์

ในปัจจุบัน ศูนย์แห่งนี้ได้ดําเนินการมาเป็นเวลา 3 ปีแล้ว มีเด็กๆเยาวชน ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนมาใช้พื้นที่ บางสัปดาห์มากบ้าง น้อยบ้าง ตามอัธยาศัย และเนื่องจากศูนย์ แห่งนี้เป็นพื้นที่คุณภาพ จึงได้รับคัดเลือกจากชาวบ้านในหมู่บ้านเหล่าลิง และสถานีอนามัย ตําบลดู่ อําเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด ให้เป็นป้อมเบาหวาน(ศูนย์เบาหวาน) ของหมู่บ้าน เหล่าลิง โดยจะมีเจ้าหน้าที่จากสถานีอนามัยตําบลดู่ อสม. ประจําหมู่บ้าน และเจ้าหน้าที่จาก โรงพยาบาลอาจสามารถ มาตรวจร่างกายของผู้ป่วยเบาหวาน และให้ความรู้ คําแนะนําในการ ปฏิบัติตนของผู้ป่วยโรคเบาหวานในหมู่บ้านเหล่าลิง ที่มีจํานวน 6 ราย


143

รูปที่ 9 โฉมหน้าครูและนักเรียนในศูนย์ตุ้มโฮมฯ

รูปที่ 10 ขณะเรียนวิทยาศาสตร์ ไข่จมไข่ลอย


144

3. อนาคต 3.1) ด้านอาชีพ - คนในชุมชนเห็นว่าควรส่งเสริมอาชีพเกษตรกรรม เพราะชาวบ้านในหมู่บ้านมี ที่ดิน ทํากินทุกครัวเรือน แต่ควรแก้ไขปัญหาเรื่อง น้ํา เพราะยังขาดแคลนน้ํา การเกษตรในหมู่บ้านส่วน ใหญ่ยังคงพึ่งน้ําฝน - ต้องการให้คนในชุมชนทําการเกษตรแบบทฤษฎีใหม่ เศรษฐกิจพอเพียง ทําทุก อย่าง ด้วยตนเอง เช่น ปลูกพืชผักสวนครัวกินเอง ทําปุ๋ยขึ้นใช้เอง เป็นต้น 3.2) ด้านทรัพยากรธรรมชาติ - ต้องการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเอาไว้ให้ได้นานๆ อยากให้คนที่เก็บของป่า ไม่เก็บ เอาจนหมด ควรเหลือไว้ให้ได้เกิดหรือขยายพันธุ์บ้าง

3.3) ภูมิปัญญาท้องถิ่น ต้องการให้อนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นในหมู่บ้าน เช่น - การจักสานเครื่องใช้จากไม้ไผ่และการสานแห ได้แก่ นายสม ซาชิโย นาย ประเสริฐ มหามาตย์ - การทอผ้าไหมมัดหมี่ ได้แก่ นางบัวผัน ศรีแก้ว นางทองจันทร์ แก้วเสน่ห์ใน นางสงวน มหามาตย์ - หมอยาพื้นบ้าน ได้แก่ นายสม ซาชิโย นายสุทัศน์ มหาหงษ์ 3.4) ศูนย์ตุ้มโฮมลูกหลานบ้านเหล่าลิง


145

ทิศทางไปข้างหน้าของศูนย์ตุ้มโฮมลูกหลานบ้านเหล่าลิง มุ่งทํากิจกรรม สร้างสรรค์สังคม ทุกเพศ ทุกวัย โดยมีเป้าหมายของการพัฒนาที่ยั่งยืนที่ทุกคนสามารถยืนอยู่บน ขาตัวเองได้ เน้นการป้องกันปัญหามากกว่าแก้ไขเป็นประเด็นสําคัญ โดยยึดหลักการพัฒนา 3 ข้อ คือ รักษาสิ่งเดิม : สิ่งแวดล้อม

เสริมสร้างสิ่งใหม่ : สิ่งแวดล้อม

ใส่ใจแก้ปัญหา : สิ่งแวดล้อม

รูปที่ 11 ศูนย์ตุ้มโฮมลูกหลานบ้านเหล่าลิง

รูปที่ 12 คุณปู่สอนเด็กๆพับนกจากใบมะพร้าว


146

เอกสารอ้างอิง

เกล็ดแก้ว ทิพมาตย์. บ้านดู่ เรื่องเล่าจากเจ้าบ้าน. มหาสารคาม : โรงพิมพ์มหาสารคาม, 2548. คณะสงฆ์ตําบลบ้านดู่. อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพ พระครูศิริวรรณาภรณ์(พันธ์ ฉวิวณโณ น.ธ.เอก). ร้อยเอ็ด : ดาวรุ่งการพิมพ์, 2549. แผ่นพับศูนย์ตุ้มโฮมลูกหลานบ้านเหล่าลิง นายจันทร์ ศรีแก้ว อายุ 76 ปี ชาวบ้านเหล่าลิง นายประเสริฐ มหามาตย์ อายุ 67 ปี ชาวบ้านเหล่าลิง นางทองจันทร์ แก้วเสน่ห์ใน อายุ 65 ปี ชาวบ้านเหล่าลิง นายสม ซาชิโย อายุ 67 ปี ชาวบ้านเหล่าลิง นางจุฑารัตน์ บุตรราช อายุ 32 ปี ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านเหล่าลิง


147

ภาคผนวก


148

สัมภาษณ์ นายจันทร์ ศรีแก้ว อายุ 76 ปี

สัมภาษณ์ นายประเสริฐ มหามาตย์ อายุ 67 ปี


149

สัมภาษณ์ นางทองจันทร์ แก้วเสน่ห์ใน อายุ 65 ปี

สัมภาษณ์ นายสม ซาชิโย อายุ 67 ปี


150

ผู้ใหญ่บ้านคนปัจจุบัน นายพัฒนชัย ธรรมที่ชอบ

การจัดการหมู่บ้าน มีลักษณะเป็นคุ้ม ซึ่งมีคณะกรรมการประจําคุ้ม


151

อาชีพหลักของคนในชุมชน คือ ทํานา

ร้านค้าในชุมชน


152

มีพื้นที่ป่าชุมชนดงหนองห้าง ห่างจากหมู่บ้านประมาณ 1 กิโลเมตร


153

ประเพณีความเชื่อ งูเข้าบ้านไม่ดี ต้องสะเดาะเคราะห์ มีหมอสูตรขวัญทําพิธีสะเดาะเคราะห์ให้ แบบเก็บข้อมูลปราชญ์ชาวบ้าน

29. ชื่อ-สกุล……………………………………………………………………………………..อายุ ....................ปี 30. ความสามารถ ความถนัด (ภูมิปัญญา).............................................................................. 31. ที่อยู่....บ้านเลขที่.............หมู่ 4 ตําบลบ้านดู่ อําเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด 32. ชีวิต การศึกษา การเรียนรู้ และการทํางาน ...................................................................................... ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………….


154

………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. 33. องค์ความรู้ .......................................................................................................................................... ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………….


155

………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………….


156

………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. 34. การถ่ายทอดความรู้ ............................................................................................................................ ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. 34.1. การศึกษาใน ระบบ………………………………………………………………………………………..... ............... ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………….


157

34.2. การศึกษานอก ระบบ………………………………………………………………………………………… ………….. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. 34.3. การศึกษาตาม อัธยาศัย……………………………………………………………………………………… ……….... ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. 35. วิธีการ ถ่ายทอด…………………………………………………………………………………………… ……………………….


158

………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. 36. ข้อมูลอื่น ๆ ....................................................................................................................................... ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………….


159

หมายเหตุ : ในการเก็บข้อมูล... ถ้ากระดาษไม่พอให้ใช้ใบแนบ ...ให้มีภาพถ่ายงานที่ทํา และ กระบวนการของการถ่ายทอดองค์ความรู้...

รายชื่อปราชญ์ชาวบ้าน ที่ศึกษา

หมอยา : นายสุทัศน์ มหาหงษ์ กลุ่มที่ 1

หมอสูตรขวัญ : พ่อโพธิ์ วิเศษการ หมอแคน : พ่อสว่าง หวานอารมณ์ จักสาน : พ่อสม ซาชิโย

กลุ่มที่ 2

งานไม้ : พ่อพัฒนชัย ธรรมที่ชอบ ทอผ้า พาขวัญ : แม่สุมาลี ธรรมที่ชอบ สวัสดิการชุมชน : พ่อชู อุทมุ พร

กลุ่มที่ 3

เครื่องหนัง : นายแซนฉัตร ศรีแก้ว หมอน้ํามัน : พ่อจันทร์ ศรีแก้ว ช่างไม้ : พ่อสําเนียง ซาชิโย

กลุ่มที่ 4

สรภัญญะ : แม่ทองจันทร์ แก้วเสน่ห์ใน สานแห สวิง : พ่อประเสริฐ มหามาตย์

กลุ่มที่ 5

ประวัติบ้านเหล่าลิง(สอบถามหลายคน)


160

รายชื่อผู้ร่วมกิจกรรม ลําดับที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

ชื่อ – สกุล นางสาววิชุดา ตอนสันเทียะ นางสาวสุพัตรา มหามาตย์ นายวันเฉลิม ตอนสันเทียะ เด็กหญิงกาญจนา ศิริเวช เด็กหญิงพลอยไพลิน โพธิพ์ ล เด็กหญิงแก้วตา มีมานะ เด็กหญิงปวีณา ทองชํานาญ นางศศินา กุลรักษา เด็กหญิงพรนภา นนทฤทธิ์ เด็กหญิงลลนา สมบูรณ์พันธ์ นางจุฑารัตน์ บุตรราช นางบุญสม นนทฤทธิ์ นายพัชร กุลสีดา นางสาวคุณาภรณ์ ธรรมที่ชอบ นายอรรณพ ปันคํา เด็กชายประวิทย์ ธรรมที่ชอบ เด็กหญิงมนัญชยา ซาชิโย เด็กชายชยธร ซาชิโย เด็กชายปฏิภาณ ชาญสมร เด็กหญิงกุสุมา ใจอารีย์

กลุ่มที่ 1

2

3

4

5

ลายมือชื่อ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.