หลักสูตรการเรียนรู้วิถีชุมชน”ลงแขก”
ศูนย์ตุ้มโฮมลูกหลาน บ้านเหล่าลิง “แหล่งเรียนรู้ตามอัธยาศัยของคนหลายวัย” โครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย โดยศูนย์โฮมลูกหลาน บ้านเหล่าลิง ร่วมกับมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ สสส.
1
หลักสูตรการเรียนรู้วิถีชุมชน”ลงแขก” ชื่อหลักสูตร การเรียนรู้วิถชี ุมชนปลูกข้าวอินทรีย์ ”ลงแขก” หลักการ เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และเข้าใจหลักการทาการเกษตรทฤษฎีใหม่ ตามแนวพระราชดาริ ของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สามารถดาเนินชีวิตในลักษณะเศรษฐกิจพอเพียง พอเลี้ยงครอบครัว ปลอดภัยจากสารเคมี พึ่งตนเองได้ รู้จักการจัดการและวางแผนการใช้ที่ดินในการทาการเกษตร ใช้ ทรัพยากรที่มีอยู่ตามธรรมชาติให้เกิดประโยชน์สูงสุด ได้แก่การทาปุ๋ยหมักชีวภาพ การไม่ใช้สารเคมี ในการเกษตร และใช้สารธรรมชาติแทน เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ไม่ทาลายสุขภาพของผู้บริโภค ลด ต้นทุนการผลิตโดยการช่วยกัน(ลงแขก)
จุดมุ่งหมาย เพื่อให้ผู้เรียนสามารถ 1. อธิบายเรื่องการทาเกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดาริได้ 2. เขียนแผนผังและอธิบายโครงสร้างแปลงตัวอย่างได้ 3. ปรับปรุงดินให้มีคุณภาพเหมาะแก่การปลูกพืชได้ 4. ปลูกพืชผัก ข้าวปลอดสารพิษ การดูแลรักษาและขยายพันธุ์ได้ 5. ทาปุ๋ยหมักและนาสกัดชีวภาพเพื่อใช้ในการบารุงดินได้ 6. ผลิตสมุนไพรเพื่อการบริโภคและการเกษตรปลอดสารพิษได้
2
โครงสร้างหลักสูตร เรื่องที่ 1
เนื้อหา
ชม. ทฤษฎี
ชม. ปฏิบัติ
-การทาเกษตรทฤษฎีใหม่ และการจัดการผังที่ดิน
4
4
2
-การทาบัญชีต้นทุนเพื่อเพิ่มผลผลิต
3
3
3
การปรับปรุงบารุงดิน -การปรับปรุงคุณภาพทางเคมี -การปรับปรุงคุณภาพทางชีวภาพ -การปรับปรุงคุณภาพทางกายภาพ -ปุ๋ยหมัก และปุ๋ยชีวภาพ การทาแปลงผัก การปลูกพืชหมุนเวียน และการปลูกข้าวอินทรีย์
5
5
3
3
การผลิตสมุนไพรเพื่อการบริโภค เพื่อ การเกษตรปลอดสารพิษ และกาจัดศัตรูพืช - สารสะเดา ตะไคร้หอม บอระเพ็ด -ยาสูบ ขมิ้นชัน ฯลฯ รวม
5
5
20
20
4
5
สื่ออุปกรณ์ 1. สื่อบุคคล ภูมิปัญญา วิทยากร หัวหน้ากลุ่ม 2. สื่อเอกสารประกอบการเรียนรู้ 3. สื่อ CD VCD 4. สถานที่จริง แปลงผัก โรงเรือนทาปุ๋ย 5. สถานที่ที่เป็นแหล่งเรียนรู้เรื่องการเกษตรแบบพึ่งตนเอง
หมายเหตุ -บอกเล่าประสบการณ์ ตรง -นาชมสถานที่จริง -อธิบายตัวอย่าง -ลงมือฝึกปฏิบัติ -สาธิต -ลงมือปฏิบัติจริง
-สาธิตและปฏิบัติจริง ไปพร้อมๆกันในสถานที่ จริง -สาธิตและปฏิบัติจริง ไปพร้อมๆกันในสถานที่ จริง
3
การวัดผลประเมินผล 1. การสังเกต 2. ผลงานจากการลงมือปฏิบัติจริง 3. การตอบคาถาม และการซัดถาม
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) 1. ความเป็นมาของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปัญหาของการพัฒนาที่ผ่านมา หนี้สินเพิ่ม / สัดส่วนเงินออมลด ความไม่เท่าเทียมกันของรายได้ ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม / ภัยธรรมชาติ ความสัมพันธ์ของครอบครัวและชุมชน ค่านิยม / ศีลธรรม / จรรยาบรรณ เสื่อมลง ความเป็นมาของเศรษฐกิจพอเพียง • • • •
ยุคสมัยแห่งการพัฒนา รูปแบบของการพัฒนามีความเสี่ยงค่อนข้างสูง สาธิตแนวทางการพัฒนาที่แตกต่าง แสดงผลของการดาเนินงานเพื่อเป็นทางเลือกที่เหมาะสมกับระดับขั้นของการพัฒนาของ ประเทศ พระปฐมบรมราชโองการณ พระที่นั่งไพศาลทักษิณ วันศุกร์ที่ ๕ พฤษภาคม ๒๔๙๓ เนื่องในวันบรมราชาภิเษกพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว “เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม”
4
พอเพียง คือ ไม่เบียดเบียน ความพอเพียงนี้ อาจจะมีของหรูหราก็ได้แต่ว่าต้องไม่ เบียดเบียนคนอื่นต้องให้พอประมาณตามอัตภาพ พูดจาก็พอเพียงทาอะไรก็พอเพียง ปฏิบัติตนก็พอเพียง “พระราชดารัส (๔ ธ.ค. ๒๕๔๑)” โลภน้อย คือ พอเพียง คนเราถ้าพอในความต้องการ ก็มีความโลภน้อยเมื่อมีความโลภน้อย ก็เบียดเบียนคนอื่นน้อย.ถ้าทุกประเทศมีความคิด-อันนี้ไม่ใช่เศรษฐกิจมีความคิดว่าทาอะไรต้อง พอเพียงหมายความว่า พอประมาณ ไม่สุดโต่งไม่โลภอย่างมาก คนเราก็อยู่เป็นสุข “พระราชดารัส (๔ ธ.ค. ๒๕๔๑)”
เศรษฐกิจพอเพียงมีหลายระดับ“....ไฟดับถ้ามีความจาเป็น หากมีเศรษฐกิจพอเพียงแบบไม่ เต็มที่ เรามีเครื่องปั่นไฟก็ใช้ปั่นไฟ หรือถ้าขั้นโบราณว่า มืดก็จุดเทียน คือมีทางที่จะแก้ปัญหาเสมอ ฉะนั้นเศรษฐกิจพอเพียง ก็มีเป็นขั้นๆแต่จะบอกว่าเศรษฐกิจพอเพียงนี้ ให้พอเพียงเฉพาะตัวเองร้อย เปอร์เซ็นต์นี่เป็นสิ่งที่ทาไม่ได้ จะต้องมีการแลกเปลี่ยน ต้องมีการช่วยกัน ถ้ามีการช่วยกัน แลกเปลี่ยนกัน ก็ไม่ใช่พอเพียงแล้ว แต่ว่าพอเพียงในทฤษฎีในหลวงนี้ คือ ให้สามารถที่จะ ดาเนินงานได้…”จากกระแสพระราชดารัสวันที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๒ สหกรณ์ “สหกรณ์ แปลว่า การทางานร่วมกัน การทางานร่วมกันนี้ลึกซึ้งมาก เพราะว่าต้อง ร่วมมือกันในทุกด้าน ทั้งในด้านงานที่ทาด้วยร่างกาย ทั้งในด้านงานที่ทาด้วยสมอง และงานการที่ทา ด้วยใจ ทุกอย่างนี้ขาดไม่ได้ต้องพร้อม”(พระราชดารัสพระราชทานแก่ผู้นาสหกรณ์การเกษตร สหกรณ์นิคม และสหกรณ์ประมงทั่วประเทศ ณ ศาลาดุสิดาลัย ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๒๖)
พระราชดารัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จออกมหาสมาคม ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม เมื่อวันศุกร์ที่ ๙ มิถุนายน ๒๕๔๙ ประการแรก
คือการที่ทุกคนคิดพูดทาด้วยความเมตตา มุ่งดีมุ่งเจริญ ต่อกายต่อใจต่อกัน
5
ประการที่สอง คือการที่แต่ละคนต่างช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ประสานงานประสานประโยชน์กัน ให้ งานที่ทาสาเร็จผลทั้งแก่ตนแก่ผู้อื่น และแก่ประเทศชาติ ประการที่สาม คือการที่ทุกคน ประพฤติปฏิบัติตนสุจริตในกฎกติกา และในระเบียบแบบแผนโดย เท่าเทียมเสมอกัน ประการที่สี่
การที่ต่างคนต่างพยายามทาความคิดความเห็นของตนให้ถูกต้องเที่ยงตรง และ มั่นคง อยู่ในเหตุในผล หากความคิดจิตใจและการประพฤตปฏิบัติที่ลงรอยเดียวกัน ในทางที่ดีที่เจริญนี้ยังมีพร้อมมูลในกายในใจคนไทย ก็มั่นใจว่าประเทศชาติไทยจะ ดารงมั่นคงอยู่ไปได้
เปูาหมายของการพัฒนา การพัฒนาคนให้ พออยู่พอกิน → อยู่ดีมีสุข คนต้องพึ่งตนเองได้ระดับหนึ่ง มีศักยภาพ / มีทางเลือก สุขภาพ ความรู้ ทักษะ อาชีพ เสรีภาพ คนต้องอยู่กับผู้อื่นในสังคม ได้อย่างสันติสุข ไม่เบียดเบียน แบ่งปัน คนต้องอยู่ร่วมกับธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ได้อย่างยั่งยืน ไม่ทาลาย เห็นคุณค่า อนุรักษ์
6
2. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร สรุปปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แนวคิดหลัก เป็นปรัชญาที่ชี้ถึงแนวการดารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับ ครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนินไปในทางสาย กลางโดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ เปูาหมาย มุ่งให้เกิดความสมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งทางวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรม จากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี หลักการ ความพอเพียง หมายถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว พอสมควร ต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน
เงื่อนไขพื้นฐาน (ความรู้คู่คุณธรรม) จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนาวิชาการ ต่างๆ มาใช้ในการวางแผน และการดาเนินการทุกขั้นตอน การเสริมสร้างจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุก ระดับ ให้มีสานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดาเนิน ชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ
7
เศรษฐกิจ/สังคม/สิ่งแวดล้อม/วัฒนธรรม สมดุล/พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลง
นำสู่ ทางสายกลาง
พอเพียง
พอประมาณ มีภูมคิ ุ้มกัน
มีเหตุผล
เงื่อนไขความรู้ รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง
ในตัวที่ดี
เงื่อนไขคุณธรรม ซื่อสัตย์สุจริต อดทน เพียร มีสติ ปัญญา
8
เศรษฐกิจพอเพียง และทฤษฎีใหม่ เศรษฐกิจพอเพียง เป็นกรอบแนวคิดที่ชี้บอกหลักการและแนวทางปฏิบัติของทฤษฎีใหม่ ทฤษฎีใหม่หรือเกษตรทฤษฎีใหม่ เป็นตัวอย่างการใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในทางปฏิบัติ ความพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
ระดับบุคคล
แบบพื้นฐาน
ความพอเพียง ระดับชุมชน/องค์กร
ทฤษฎีใหม่ขั้นที่ ๑
ทฤษฎีใหม่ขั้นที่ ๒
เศรษฐกิจพอเพียง แบบก้าวหน้า
ทฤษฎีใหม่ขั้นที่ ๓
ความพอเพียงระดับประเทศ
สรุปหลักการทรงงาน ระเบิดจากข้างใน ปลูกจิตสานึก เน้นให้พึ่งตนเองได้ คานึงถึงภูมิสังคม ทาตามลาดับขั้น ประหยัด เรียบง่ายประโยชน์สูงสุด บริการที่จุดเดียว แก้ปัญหาจากจุดเล็ก ไม่ติดตารา ใช้ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ การมีส่วนร่วม
คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา
ปฏิบัติอย่างพอเพียง
9
รู้ รัก สามัคคี มุ่งประโยชน์สุขคนส่วนใหญ่
เปูาหมายคือสังคมพอเพียง
สรุปเศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร เป็นวิถีการดาเนินชีวิต ที่ใช้คุณธรรมนาความรู้ เป็นการพัฒนาตัวเอง ครอบครัว องค์กร ชุมชน สังคม ประเทศชาติ ให้ก้าวหน้าไปพร้อมกับ ความสมดุล มั่นคง ยั่งยีน เป็นหลักปฏิบัติเพื่อให้อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ระหว่างคนกับคนในสังคม และคนกับ ธรรมชาติ 3. การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยพื้นฐานก็คือ การพึ่งตนเอง เป็นหลักการทาอะไรอย่างเป็นขั้นเป็นตอน รอบคอบ ระมัดระวัง พิจารณาถึงความพอดี พอเหมาะ พอควร ความสมเหตุสมผล และการพร้อมรับความ เปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ การสร้างสามัคคีให้เกิดขึ้น บนพื้นฐานของความสมดุลในแต่ละสัดส่วน แต่ละระดับ ครอบคลุมทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมถึงจิตใจ และวัฒนธรรม
10
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงในด้านต่างๆ ด้านเศรษฐกิจ
ด้านจิตใจ
ด้านสังคม
ด้านทรัพยากร ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
ลดรายจ่าย/เพิ่มรายได้/ใช้ชีวิตอย่างพอควร/คิดและวางแผนอย่าง รอบคอบ/มีภูมิคุ้มกันไม่เสี่ยงเกินไป/การเผื่อทางเลือกสารอง มีจิตใจเข้มแข็ง พึ่งตนเองได้ /มีจิตสานึกที่ดี /เอื้ออาทร ประนีประนอม /นึกถึงผลประโยชน์ส่วนรวมเป็นหลัก ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน /รู้รักสามัคคี /สร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัว และชุมชน รู้จักใช้และจัดการอย่างฉลาดและรอบคอบ /เลือกใช้ ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด / ฟื้นฟูทรัพยากรเพื่อให้เกิดความยั่งยืนสูงสุด รู้จักใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการและ
ด้านเทคโนโลยี
สภาพแวดล้อม (ภูมิสังคม) /พัฒนาเทคโนโลยีจากภูมิปัญญาชาวบ้าน เองก่อน /ก่อให้เกิดประโยชน์กับคนหมู่มาก
ตัวอย่างแนวทางการวิเคราะห์ความพอเพียงโดยใช้ หลักสัปปุริสธรรม ๗
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.
รู้เหตุ รู้ผล รู้ตน รู้ประมาณ รู้กาล รู้บุคคล รู้ชุมชน
ความมีเหตุมีผล ความพอประมาณ
มีภูมิคุ้มกันที่ดี
11
คุณลักษณะของกิจกรรมตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
ความพอประมาณ
ความมีเหตุมีผล
•
พอเหมาะกับสภาพของตน (ปัจจัยภายใน)
•
• •
พอควรกับภูมิสังคม (ปัจจัยภายนอก)
• (สมดุล)
มีภูมิคุ้มกันที่ดี
รู้สาเหตุ – ทาไม
•
รู้ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง วิชาการ/กฏหมาย
คานึงถึงการเปลี่ยนแปลง ในด้านต่างๆ
•
/ความเชื่อ/ประเพณี
รู้เท่าทัน และ เตรียมความพร้อม (วางแผน/รอบคอบ/
รู้ผลกระทบที่จะ เกิดขึ้นในด้านต่างๆ
เรียนรู้ /พัฒนาตน/ทา ประโยชน์ให้กับสังคม/ รักษ์สิ่งแวดล้อม)
(รอบรู้/สติ ปัญญา)
สามารถพึง่ ตนเองได้ และเป็นที่พึ่งของผู้อื่นได้ในที่สุด
ตัวอย่างการใช้จ่ายอย่างพอเพียง พอประมาณ : รายจ่ายสมดุลกับรายรับ มีเหตุมีผล :
ใช้จ่ายอย่างมีเหตุผล /มีความจาเป็น /ไม่ใช้สิ่งของเกินฐานะ /ใช้ของอย่างคุ้มค่า ประหยัด
มีภูมิคุ้มกัน :
มีเงินออม /แบ่งปันผู้อื่น /ทาบุญ
ความรู้คู่คุณธรรม :
ประกอบอาชีพที่สุจริต ด้วยความขยันหมั่นเพียร ใช้สติปัญญาในการ ตัดสินใจและดาเนินการต่างๆ เพื่อให้เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลง
12
สรุปข้อสังเกตเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง • การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เกิดได้หลายด้าน และหลายรูปแบบ ไม่มี สูตรสาเร็จ แต่ละคนจะต้องพิจารณาปรับใช้ ตามความเหมาะสม ให้สอดคล้องกับเงื่อนไข และสภาวะที่ตนเผชิญอยู่ • ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จะช่วยให้เรา “ฉุกคิด” ว่ามีทางเลือกอีกทางหนึ่ง ที่จะช่วย ให้เกิดความยั่งยืน มั่นคง และสมดุลในระยะยาว การเกษตร “ทฤษฎีใหม่” ตามแนวพระราชดาริ ประเทศไทยเป็นประเทศที่อยู่ในเขตร้อนชื้น มีฝนตกค่อนข้างชุก มีค่าเฉลี่ยทั่วประเทศ ประมาณ 1,500 มิลลิเมตร และมีฤดูฝนนานประมาณ 5 – 6 เดือน ในอดีตเมื่อปุาไม้ยังอุดมสมบูรณ์ อยู่ น้าฝนส่วนหนึ่งจะถูกดูดซับไว้ในปุาส่วนหนึ่งจะไหลลงสู่ใต้ดิน อีกส่วนหนึ่งจะถูกเก็บกักไว้ตามที่ ลุ่ม เช่น ห้วย หนอง คลอง บึง และลาธารตามธรรมชาติ ส่วนที่เหลือจะระเหยสู่บรรยากาศและไหล ลงสู่ลาห้วย ลาธาร แม่น้า และออกสู่ทะเล น้าที่ถูกกักเก็บไว้ในปุาและในแหล่งน้าธรรมชาติเหล่านี้ จะค่อย ๆ ไหลซึมซับออกมาทีละน้อยตลอดปี ส่วนที่ขังอยู่ในหนอง คลอง บึง และแอ่งน้าต่าง ๆ ก็ จะเป็นประโยชน์แก่ประชาชนในช่วงฤดูแล้ง ต่อมาระบบนิเวศน์เปลี่ยนไป ปุาไม้ถูกทาลาย ถูกถากถางเพื่อการเกษตรและกิจกรรมต่าง ๆ ห้วย หนอง คลอง บึงสาธารณะจะตื้นเขิน และถูกบุกรุกเข้าถือครองกรรมสิทธิ์บริเวณทางระบายน้า ออกสู่ทะเลตามธรรมชาติ ถูกใช้ประโยชน์ในการก่อสร้างอาคาร ถนน ทางรถไฟ บ่อเลี้ยงกุ้ง เลี้ยง ปลา และอื่น ๆ เมื่อฝนตกลงมา น้าไหลสู่ที่ต่าอย่างรวดเร็วเพราะไม่มีที่เก็บกัก แต่เมื่อกระทบสิ่งกีด ขวางก็ทาให้เกิดน้าท่วมฉับพลันอย่างรุนแรง เมื่อน้าท่าไหลลงทะเลหมดและไม่มีน้าจากปุามาเติม แหล่งน้าธรรมชาติก็เหือดแห้ง จึงทาให้เกิดแห้งแล้งและขาดน้าอุปโภค บริโภคอยู่เสมอ เกษตรกรที่ อยู่ในสภาวะดังกล่าว โดยเฉพาะชาวนาที่อยู่ในเขตใช้น้าฝน จึงได้รับความเดือดร้อน ผลิตผล เสียหายเป็นประจาและไม่พอเลี้ยงชีพ ต้องอพยพทิ้งถิ่นฐานไปหารายได้ในเมืองใหญ่ ๆ และเกิด ปัญหาด้านสังคมตามมา นับตั้งแต่เสด็จขึ้นครองสิริราชสมบัติเมื่อปีพุทธศักราช 2489 เป็นต้นมา พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จฯ แปรพระราชฐานและเสด็จพระราชดาเนินไปเยี่ยมพสกนิกรทั่ว ราชอาณาจักรเรื่อยมา พระองค์ได้ทรงประสบกับสภาพดิน ฟูา อากาศ และภูมิประเทศในภูมิภาค
13
ต่าง ๆ และทอดพระเนตรความทุกข์ยากแร้นแค้นตลอดจนปัญหาอุปสรรคของการดารงชีวิตของ ประชาชนทั่วประเทศด้วยพระองค์เอง จึงทรงตระหนักถึงปัญหาและอุปสรรคเหล่านี้อย่างถ่องแท้ และได้ทรงมีพระราชดาริริเริ่มโครงการต่าง ๆ เพื่อแก้ไข เพื่อบรรเทาปัญหาเหล่านี้ โดยเฉพาะ โครงการอนุรักษ์ปุาไม้ต้นน้าลาธาร และโครงการพัฒนาแหล่งน้าขนาดต่าง ๆ จานวน มาก สาหรับในด้านการพัฒนาอาชีพของประชาชนในชนบท พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ พระราชทานแนวทางครั้งสาคัญเมื่อปี พ.ศ. 2532 ซึ่งต่อมาประชาราษฎร์ได้รู้จักกันอย่างดีในนาม การเกษตร “ทฤษฎีใหม่” แนวการพัฒนาชีวิตและอาชีพตามแนวทฤษฎีใหม่นี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ พระราชทานพระราชดาริไว้ 3 ขั้น คือ ขั้นที่ 1) การผลิต ขั้นที่ 2) การรวมพลังกันในรูปกลุ่มหรือ สหกรณ์ และขั้นที่ 3) การร่วมมือกับแหล่งเงิน (ธนาคาร) และกับแหล่งพลังงาน สาหรับในบทความนี้จะขอกล่าวเน้นรายละเอียดเฉพาะขั้นที่ 1) การดาเนินการผลิตในที่ดิน ของเกษตรกรซึ่งเป็นการเริ่มต้นขั้นแรกเท่านั้น ซึ่งถือว่าเป็นขั้นที่สาคัญที่สุด ทฤษฎีใหม่ ขั้นที่หนึ่ง พื้นฐานที่สาคัญของเกษตรกรที่จะปฏิบัติทฤษฎีใหม่ขั้นที่หนึ่ง ได้แก่ มีพื้นที่ค่อนข้างน้อย ประมาณ 15 ไร่ ค่อนข้างยากจน จานวนสมาชิกปานกลาง (ไม่เกิน 6 คน ) อยู่ในเขตใช้น้าฝน ธรรมชาติ ฝนไม่ชุกมากนัก ดินมีสภาพขุดสระเก็บกักน้าได้ ในระยะแรกจะผลิตพอเพียงเลี้ยงตัวได้ แต่จะต้องกินอยู่อย่างประหยัด มีความขยันหมั่นเพียร มีความสามัคคี และช่วยเหลือเกื้อกูลกันกับ เพื่อนบ้าน หลักการที่สาคัญของการปฏิบัติ คือรู้จักการบริหารและจัดการดินและน้า ซึ่งเป็น ทรัพยากรธรรมชาติร่วมกับการบริหารเวลา บริหารเงินทุน และกาลังคนเพื่อได้บังเกิดผลผลิตเป็น อาหารและรายตลอดปี และผลจากการที่ได้ทรงคิดและคานวณ พระองค์ได้ทรงแนะนาให้แบ่งพื้นที่ ออกเป็นสัดส่วนร้อยละ 30:30:30:10 (ภายหลังสัดส่วนนี้ทรงมีพระราชวินิจฉัยให้ยืดหยุ่นได้บ้าง) และทากิจกรรมดังนี้ 1. ร้อยละ 30 ส่วนแรก ให้ขุดสระประมาณ 4.5 ไร่ สาหรับเก็บน้าฝนธรรมชาติที่มีอย่าง เหลือเฟือในฤดูฝนปกติ เพื่อใช้สาหรับรดน้าพืชที่ปลูกในฤดูฝนยามเมื่อฝนทิ้งช่วงแห้งแล้ง การใช้น้า จะต้องเป็นไปอย่างประหยัด โดยใช้วิธีการและเลือกพืชกับวิธีปลูกแต่ละพืชที่เหมาะสม วิธีการให้น้า โดยประหยัด เช่น การตักรด การสูบส่งตามท่อยาง หรือการใช้ระบบน้าหยดแบบพื้นบ้าน เป็นต้น ส่วนพืชและวิธีปลูกที่เหมาะสม เช่น เลือกพืชที่ใช้น้าน้อย เช่น พืชยืนต้นหรือพืชอายุสั้น โดยปลูก ผสมผสานกันหลาย ๆ ชนิด ระหว่างพืชต้นใหญ่และพืชล้มลุกเพื่อใช้พื้นที่และน้าอย่างมี ประสิทธิภาพที่สุดและมีเสถียรภาพ
14
น้าที่เก็บในสระหากเหลือไปถึงฤดูแล้งให้ใช้ปลูกพืชอายุสั้นและราคาดี เช่น ถั่วเหลือง ถั่ว เขียว ถั่วลิสง และผักต่าง ๆ ไม่ควรนาไปใช้ปลูกข้าวนาปรังเป็นอันขาด นอกจากปีใดน้าท่วม แปลง ข้าวเสียหายหมด จึงจะพิจารณาปลูกข้าวนาปรังได้เพื่อให้มีข้าวบริโภค แต่ต้องประมาณพื้นที่ปลูก ข้าวให้เหมาะสมกับปริมาณน้าที่มีอยู่ในสระ รูปร่างและขนาดของสระอาจยืดหยุ่นได้บ้าง เช่น ในพื้นที่ที่ฝนมีปริมาณทั้งปีมาก หรือมีน้า ชลประทานมาเติมได้ ขนาดสระอาจจะน้อยกว่าร้อยละ 30 และถ้าพื้นที่บังคับ หรือต้องการเลี้ยง สัตว์น้าอาจขุดสระและบ่อหลาย ๆ บ่อก็ได้ (สระสาหรับเก็บน้าเพื่ออุปโภคบริโภค การชลประทาน และบ่อสาหรับเลี้ยงสัตว์น้า ) แต่เมื่อรวมพื้นที่ทั้งหมดแล้วจะต้องใกล้เคียงร้อยละ 30 นอกจากนี้ อาจจะรวมนับพื้นที่ร่องน้าที่ยกคันขึ้นเพื่อปลูกไม้ยืนต้นด้วย หากสามารถเก็บน้าในร่องได้ตลอดปี ใน กรณีที่สามารถส่งน้ามาจากแหล่งชลประทานได้ ต้องส่งมาในระบบท่อปิดเพื่อลดการสูญเสีย และส่ง มาเติมในสระตามช่วงเวลาที่จาเป็นเท่านั้น การใช้น้าจากสระต้องเป็นไปตามหลักประหยัดดังที่กล่าว ข้างต้น และพึ่งตัวเองให้มากที่สุด หากไม่ได้รับความช่วยเหลือการขุดสระจากราชการ หรือแหล่งเงินทุนอื่นและต้องการขุดเอง ควรทยอยขุดสระแต่ละปีตามกาลังเงิน และกาลังกายจนกว่าจะครบพื้นที่ร้อยละ 30 รูปร่างของสระ คาดว่ารูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ายาว ๆ น่าจะลดการระเหยของน้าได้ดีกว่าบ่อกว้าง ดินที่ขุดมาจากสระใช้ ถมเป็นพื้นดินรอบพื้นที่เพื่อกันน้าท่วม หากไม่ใช้ทาคันดิน จะต้องแยกดินส่วนบนไว้ส่วนหนึ่ง สาหรับนามาเกลี่ยทับดินชั้นล่าง 2. ร้อยละ 30 ส่วนที่สอง ใช้ปลูกข้าวเนื้อที่ประมาณ 4.5 ไร่ เนื่องจากทรงมีพระราชวินิจฉัย ว่า ข้าวเป็นอาหารหลัก และอาหารประจาวันของคนไทยมาแต่ดึกดาบรรพ์และเป็นส่วนหนึ่งของ ความมั่นคงและมั่นใจในการดารงชีวิต เกษตรกรไทยไม่ว่าจะโยกย้ายไปอยู่ที่ใดหรือเปลี่ยนอาชีพไป อย่างใด อย่างน้อยจะต้องมั่นใจว่ามีข้าวกินและพยายามปลูกข้าวให้พอกินตลอดปี เพื่อให้มี เสถียรภาพด้านอาหารครอบครัวที่มีสมาชิก 6 คน ถ้าบริโภคข้าวเฉลี่ยประมาณคนละ 200 กิโลกรัม ต่อปี จะต้องบริโภคข้าวไม่ต่ากว่าปีละ 1,200 กิโลกรัม และถ้าทานาปีในสภาพที่ควบคุมน้าไม่ให้ ขาดช่วงได้เมื่อฝนแล้ง ก็จะได้ผลผลิตไม่ต่ากว่าปีละ 4.5 x325 = 1,462.5 กิโลกรัม แต่ถ้า บารุงรักษาดีอาจจะผลผลิตเพิ่มมากกว่านี้ เมื่อเก็บเกี่ยวข้าวนาปีแล้วหากยังมีฝนและน้าในสระเหลือ ควรเลือกปลูกพืชอายุสั้นและ ราคาดีในสภาพนาดังที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น 3. ร้อยละ 30 ส่วนที่ 3 เนื้อที่ 4.5 ไร่ ให้ปลูกพืชสวน ไม้ยืนต้นและพืชไร่อย่างผสมผสาน โดยมีวิธีการและชนิดของพืชที่แตกต่างกันหลากหลายกันไปแต่ละพื้นที่และขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ เช่น ภูมิภาค ฤดูกาล ตลาด และเส้นทางคมนาคม ตลอดจนประสบการณ์และภูมิปัญญาของ
15
เกษตรกร เป็นต้น ไม่มีสูตรตายตัว ยืดหยุ่นได้ การปลูกพืชให้หลากหลายเช่นนี้จะเป็นการช่วยการ กระจายเงินทุน แรงงาน น้า และปัจจัยการผลิต่าง ๆ กระจายความเสียหายจากศัตรูพืช และความ ปรวนแปรของดิน ฟูา อากาศ ตลอดจนกระจายรายได้ด้วย พืชที่ปลูกระยะแรกควรเป็นกล้วย เพื่อบังร่มและเก็บความชื้นในดินต่อไปควรเป็นผลไม้และ ไม้ยืนต้น ระหว่างที่ไม้ยืนต้นยังไม่โต ก็ปลูกพืชล้มลุกอายุสั้นระหว่างแถว เช่น พริก มะเขือ ถั่วต่าง ๆ จนกว่าจะปลูกไม่ได้ จึงเปลี่ยนไปปลูกไม้ทนร่ม เช่น ขิง ข่า และพืชหัว เป็นต้น พื้นที่ปลูกพืชผสมผสานเหล่านี้มีพื้นที่รวมกันประมาณ 4.5 ไร่ แต่ในบางท้องที่ขนาดของ สระ และพื้นที่ปลูกข้าวรวมกันอาจน้อยกว่า 9 ไร่ พื้นที่ที่ลดลงอาจใช้ปลูกพืชผสมได้ รวมทั้งบริเวณ รอบที่อาศัย คันดิน ทางเดิน และขอบสระอาจใช้ปลูกพืชต่าง ๆ ได้ นับพื้นที่รวมกันเป็นพื้นที่ปลูก พืชผสม พืชผสมเหล่านี้ส่วนใหญ่จะใช้เป็นอาหารประจาวัน ได้แก่ ผัก ผลไม้ สมุนไพร และ เครื่องเทศ ซึ่งเป็นอาหารหลักของคนไทยที่กินกับข้าวมาเป็นเวลาช้านาน เช่นเดียวกับข้าว และปลา โดยเฉพาะพืชผักพื้นเมือง ปัจจุบันมีมากกว่า 160 ชนิด บางชนิดมีพบทั่วทุกภาค ส่วนที่เหลือก็ สามารถจาหน่ายเป็นรายได้ ตัวอย่างของพืชที่ควรเลือกปลูกได้แก่ 3.1 พืชสวน ( ไม้ผล ) เช่น มะม่วง มะพร้าวแก่ มะพร้าวอ่อน มะพร้าวน้าหอม มะขาม ขนุน ละมุด ส้มเขียวหวาน ส้มโอ ส้มโชกุน ฝรั่ง น้อยหน่า กระท้อน มะละกอ ชมพู่ และกล้วย เป็น ต้น 3.2 พืชสวน ( ผักยืนต้น ) เช่น แคบ้าน มะรุม สะเดา ชะอม ขี้เหล็ก ผักหวาน กระถิน เหลี ยง เนียง สะตอ หมุ่ย ทามัง ชะมวง มันปู มะอึก มะกอก ย่านาง ถั่วมะแฮะ ตาลึง ถั่วพู และมะเขือ เครือ เป็นต้น 3.3 พืชสวน ( ผักล้มลุก ) เช่น พริก กระเพราะ โหระพา ตะไคร้ ขิง ข่า กระชาย ชะพลู แมงลัก สะระแหน่ บังบก มันเทศ มันสาปะหลัง เผือก บุก ถั่วฝักยาว ถั่วพุ่ม มะเขือ ฟักเขียว ฟักทอง ผักบุ้งไทย ผักบุ้งจีน ผักคะน้า ผักกาดขาว ผักกาดหอม ผักไผ่ หอม กระเทียม และมะละกอ เป็นต้น 3.4 พืชสวน ( ไม้ดอกและไม้ประดับ ) เช่น มะลิ ดาวเรือง บานไม่รู้โรย กุหลาบ รัก ซ่อนกลิ่น ปทุมมา กระเจียว และดอกไม้เพื่อทาดอกไม้แห้ง เป็นต้น 3.5 เห็ด เช่น เห็ดฟาง เห็ดนางฟูา เห็ดเป๋าฮื้อ เป็นต้น 3.6 สมุนไพรและเครื่องเทศ บางชนิดจัดอยุ่ในกลุ่มพืชผักแล้ว เช่น พริก พริกไทย กระเพรา สะระแหน่ แมงลัก และตะไคร้ เป็นต้น แต่ยังมีบางประเภทที่ใช้เป็นยารักษาโรคและน้ามันหอม เช่น ขมิ้นชัน (โรคกระเพาะ) พญายอหรือเสลดพังพอน (โรคเริม) ไพล (ปวดเมื่อย) ฟูาทะลายโจร (แก้ ไข้) มะแว้ง (แก้ไข้ และแก้ไอ) ชุมเห็ด และมะขามแขก (ยาระบายอ่อน ๆ ) ทองพันชั่ง (ความดัน
16
สูง) กระเทียม (ความดันสูง) ตะไคร้หอม (ยากันยุง) และแฝกหอม เป็นต้น 3.7 พืชน้า ปลูกในสระ เช่น ผักกระเฉด ผักบุ้งไทย กระจับ หน่อไม้ บัวสาย ผักกูด และโสน เป็นต้น 3.8 ไม้ยืนต้น (ใช้สอยและเชื้อเพลิง แต่บางชนิดมีส่วนที่กินได้) เช่น ไผ่ มะพร้าว ตาล เสียว กระถิน สะแก ยูคาลิปตัส สะเดา ขี้เหล็ก สัก ยางนา และหลายชนิดมีคุณสมบัติบารุงดินด้วย เช่น ประดู่บ้าน ประดู่ปุา พยุง ชิงชัน กระถินณรงค์ กระถินพิมาน กระถินเทพา มะค่าโมง ทิ้งถ่อน จามรี ปุา จามจุรี ทองหลาง กระถิ่นไทย และมะขามเทศ เป็นต้น 3.9 พืชไร่ พืชไร่หลายชนิดไม่เหมาะกับการปลูกผสมกับพืชอื่น เพราะต้องการแสงแดดมาก และไม่ชอบการเบียดเสียด แต่อาจปลูกได้ในช่วงแรก ๆ ที่ไม้ยืนต้นยังไม่โตไม่แย่งร่มเงามากนัก บาง ชนิดอาจเก็บเกี่ยวเมื่อผลผลิตที่ยังสดอยู่และรับประทาน หรือจาหน่ายเป็นพืชผักซึ่งจะมีราคาดีกว่า เก็บผลผลิตแก่ พืชไร่เหล่านี้ ได้แก่ ข้าวโพด ถั่วเหลือง ถั่วลิสง ปอกระเจา อ้อยคั้นน้า และมัน สาปะหลัง เป็นต้น บางชนิดเป็นพืชยืนต้น อาจปลูกตามริมแปลง หัวไร่ ปลายนาได้ เช่น นุ่น ละหุ่ง และฝูายสาลี เป็นต้น ส่วนดีของพืชไร่ คือผลผลิตเก็บไว้ได้นานต่างกับพืชสวนที่ผลิตผลเก็บไว้ไม่ได้ นาน จะต้องรีบจาหน่ายรีบบริโภค หรือแปรรูปทันที 3.10 พืชบารุงดิน และพืชคลุมดิน ชนิดที่เป็นพืชล้มลุก ควรปลูกแซมผลไม้ หรือไม้ยืนต้น ขณะที่ต้นยังเล็กอยู่ หรือปลูกตามหลังข้าว เช่น ถั่วมะแฮะ ถั่วฮามาต้า โสนอัฟริกัน โสนพื้นเมือง ปอ เทือง ถั่วพร้า รวมทั้งถั่วเหลือง ถั่วเขียว ถั่วลิสง และถั่วพุ่ม เป็นต้น แต่บางชนิดเป็นพืชยืนต้น อาจ ปลูกผสมกับพืชอื่น หรือปลูกตามหัวไร่ปลายนาไว้ บางอย่างอยู่ในกลุ่มพืชสวนที่บริโภคได้บางอย่าง อยู่ในกลุ่มไม้ใช้สอยและเชื้อเพลิง เช่น ขี้เหล็ก กระถิน ชะอม ถั่วมะแฮะ สะตอ หางไหล มะขาม มะขามเทศ มะขามแขก ประดู่บ้าน ประดู่ไทย ทองหลาง และสะเดาช้าง เป็นต้น สาหรับพื้นที่ที่มี ความลาดเท หรือริมบ่อ ริมค้นดิน ควรปลูกแฝกเป็นแถวขวางแนวลาดเอียง เพื่อปูองกันการชะล้าง พังทลายของดิน 3.11 แนวทางประกอบการพิจารณาเลือกปลูกพืชผสม พืชหลายชนิดใช้ทาประโยชน์ได้ มากกว่าหนึ่งอย่าง หรือเอนกประสงค์ หากเลือกปลูกพืชผสมหลายอย่างในพี้นที่เดียวกันต้องอาศัย คาแนะนาทางวิชาการ และประสบการณ์ หรือภูมิปัญญาชาวบ้าน เพราะพืชบางชนิดจะปลูกร่วมกัน ได้ บางชนิดไม่ได้ หลักการพิจารณาทั่ว ๆ ไป เลือกปลูกพืชที่มีความสูงของเรือนยอดต่าง ๆ อยู่ในบริเวณ ใกล้เคียงกัน โดยแบ่งเป็นความสูงออกเป็น 3 ระดับ ดังนี้ 1. สูง เช่น มะพร้าว มะขาม ประดู่ ไผ่ ขนุน เหลียง สะตอ เนียง มะตูม เป็นต้น 2. ปานกลาง เช่น มะม่วง ส้ม มะนาว มะรุม ผักหวาน ขี้เหล็ก มะดัน กระท้อน
17
น้อยหน่า กล้วย มะละกอ อ้อย สะเดา มะกรูด ชะมวง หมุ่ย ชะอม มะยม ทองหลาง มะกอกปุา มะเฟือง มะอึก ยอ เป็นต้น 3. ชั้นล่าง เช่น ขิง ข่า ตะไคร้ สะระแหน่ บัวบก บอน กระชาย ขมิ้น ชะพลู สับปะรด บุก มันต่าง ๆ มะเขือต่าง ๆ พริก กระเจี๊ยบมอญ กระเจี๊ยบแดง ผักโขม เป็นต้น 3.12 กุศโลบายในการปลูกพืชผสมหลายอย่าง ปัจจุบันหน่วยงานต่าง ๆ มีแนวทางส่งเสริม การปลูกพืชอาหารด้วยวิธีการแบ่งเป็นกลุ่มต่าง ๆ เช่น 1. พืชสวนครัว เช่น พริก กระเพราะ โหระพา แมงลัก ตะไคร้ มะกรูด พริกไทย มะอึก มะนาว (กะปิ น้าปลา น้าตาล) เป็นต้น 2. รั้วกินได้ เช่น ตาลึง ขจร โสน ถั่วพู มันปู กระถิน มะขามเทศ บวบ ฟักเขียว มะระ มะเขือเครือ ไผ่ น้าเต้า ฟักข้าว ผักแป๋ม เป็นต้น 3. ผักส้มตา เช่น มะละกอ ถั่วฝักยาว ถั่วพุ่ม มะนาว พริก (กระเทียม น้าตาล น้าปลา ปู กุ้งแห้ง น้าปลาร้า) 4. ผักข้าวยา เช่น กระถิน ส้มโอ มะดัน มะขาม สะตอ ถั่วฝักยาว ตะไคร้ มะม่วง ข่า มะกรูด มะพร้าว (น้าตาล น้าปลา น้าบูดู) 5. ผักแกงแค เช่น ชะอม ชะพลู กระเพราะขาว ตาลึง ฝักชีฝรั่ง ผักขี้หูด มะเขือ เปราะ หน่อไม้ ผักเผ็ด ถั่วฝักยาว มะเขือพวง ตะไคร้ (พริกแห้ง กระเทียม หอมแดง กะปิ น้าปลาร้า น้ามัน เกลือ) (หมายเหตุ) องค์ประกอบในวงเล็บเป็นส่วนที่ผลิตจากพืชและสัตว์น้า ซึ่งมีการผลิตเป็น การค้า จาหน่ายอย่างแพร่หลายอยู่แล้วและราคาไม่แพงนัก ใช้จานวนไม่มากถึงแม้จะผลิตได้เองแต่ การซื้อจากตลาดบ้างน่าจะสะดวกกว่า 4. ร้อยละ 10 เป็นที่อยู่อาศัย ถนน คันดิน และสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ รวมประมาณ 1.5 ไร่ พื้นที่ ส่วนนี้จะรวมคอกสัตว์เลี้ยง เรือนเพาะชา ฉางเก็บผลิตผลเกษตร ปัจจัยการผลิต และเครื่องมือ เครื่องทุ่นแรง ฯลฯ อาจรวมสวนรอบบ้านด้วย 5. การเลี้ยงสัตว์ ควรเลือกเลี้ยงสัตว์บก เช่น วัวนม หมู ไก่ เป็ด และสัตว์น้า เช่น ปลา ตะเพียน ปลาสลิด ปลานิล ปลาทับทิม กุ้งก้ามกราม หอยขม ฯลฯ ได้เหมาะสมกับแรงงาน เงินทุน และพื้นที่ที่เหลือ ตลอดจนอาหารบางส่วนที่ได้จากในแปลงพืช (ต้นพืช ราข้าว ฟางข้าว มูลสัตว์ ฯลฯ ) โดยไม่เน้นเป็นรายได้หลัก แต่เพื่อเป็นรายได้เสริม และอาหารประจาวัน โดยเฉพาะปลาซึ่ง เป็นอาหารประจาวันของคนไทยที่บริโภคร่วมกับข้าวและผักมาตั้งแต่โบราณกาล สาหรับเทคนิคของ การเลี้ยงคงจะต้องเป็นไปตามคาแนะนาของนักวิชาการเช่นเดียวกับการปลูกพืช เช่น การสร้างคอก หรือเล้าสัตว์คล่อมริมบ่อปลา เพื่อใช้มูลสัตว์เป็นอาหารปลา หรือการขุดบ่อปลา ให้มีระดับความลึก ต่าง ๆ กัน เป็นต้น
18
การเกษตร “ทฤษฎีใหม่” ตามหลักการที่ได้กล่าวมานี้ จะมุ่งเน้นในเขตเกษตรน้าฝน ไม่มีน้า ชลประทาน ส่วนใหญ่จะเป็นชาวนา และชาวไร่ ปัจจุบันเขตดังกล่าวมีพื้นที่รวมกันประมาณ 102.6 ล้านไร่ หรือร้อยละ 69.0 ของพื้นที่การเกษตรทั้งหมด (แบ่งเป็นนาในเขตเกษตรน้าฝน ประมาณ 48.5 ล้านไร่ หรือร้อยละ 12.6 ข้าวและพืชในที่ดอน ประมาณ 35.7 ล้านไร่ หรือร้อยละ 24.0 ที่ เหลือเป็นทุ่งหญ้าและที่รกร้างอีกประมาณ 18.4 ล้านไร่ หรือร้อยละ 12.4 ) เขตเหล่านี้เป็นเขตที่ ผลิตผลการเกษตรค่อนข้างปรวนแปรไม่แน่นอน มีความเสี่ยงจากความเสียหายเนื่องจากศัตรูพืช และฝนฟูาอากาศแปรปรวนอยู่เสมออาจมีฝนแล้งและน้าท่วมภายในปีเดียวกันห่างไกลชุมชน การ คมนาคมไม่ค่อยสะดวกหลายรายยังไม่ได้รับเอกสารกรรมสิทธิ์ที่ดิน และมักจะได้รับความสนใจจาก เจ้าหน้าที่ทางราชการ ธนาคาร และธุรกิจเอกชนค่อนข้างน้อย ดังนั้นควรจะเป็นเขตเปูาหมายอันดับ แรกของโครงการเกษตร “ทฤษฎีใหม่” และควรได้รับการสนับสนุนจากทางราชการและธนาคารใน ระยะเริ่มแรก โดยเฉพาะการขุดสระน้าสาหรับเก็บน้าฝนตามธรรมชาติ การเกษตร “ทฤษฎีใหม่” ในเขตใช้น้าฝน ถึงแม้จะหวังพึ่งน้าจากการเก็บกักน้าฝนตาม ธรรมชาติ แต่ถ้ามีแหล่งน้าชลประทานของรัฐเสริมให้บ้างบางครั้งบางคราว ถึงแม้จะปริมาณน้อยแต่ ก็ทาให้เป็นระบบการเกษตร “ทฤษฎีใหม่” ที่สมบูรณ์ยิ่งขึ้น สาหรับเขตชลประทาน และเขตพืชอุตสาหกรรม ซึ่งปัจจุบันมีพื้นที่รวมกันประมาณ 46.1 ล้านไร่ หรือร้อยละ 31.0 (นาชลประทานประมาณ 25.7 ล้านไร่ หรือร้อยละ 17.3 และเขตปลูกพืช อุตสาหกรรม เช่น ยางพารา ปาล์มน้ามัน สวนผลไม้ สวนกาแฟ ผัก และไร่สับปะรดส่งโรงงาน เป็น ต้น ประมาณ 20.4 ล้านไร่ หรือร้อยละ 13.7 ) เป็นเขตที่มีผลิตผลการเกษตรที่ค่อนข้างไม่ปรวนแปร มีความเสี่ยงจากสภาพฝนฟูาอากาศน้อย การคมนาคมค่อนข้างสะดวก ใกล้ชุมชน และได้รับการ สนับสนุนจากภาครัฐ ธนาคาร และธุรกิจภาคเอกชนค่อนข้างมาก มีกรรมสิทธิ์ที่ดินหรือเอกสารการ ถือครองที่ดินค่อนข้างแน่นอน จึงเป็นเขตที่ไม่ค่อยเดือดร้อน ช่วยตัวเองได้อยู่แล้ว เกษตรกรในเขต ดังกล่าวนี้ จึงอาจจะทาการเกษตรแบบก้าวหน้าเช่นนี้ต่อไปอีกระยะหนึ่ง แต่ควรจะต้องปรับใช้ วิธีการที่พึ่งตนเองให้มากขึ้น ลดการนาเข้าเทคโนโลยีจากต่างประเทศให้น้อยลง เช่น พันธุ์พืชและ วัสดุการเกษตร เป็นต้น นอกจากนี้ ควรพยายามปลูกพืชผสมผสานให้มากกว่าหนึ่งชนิด และอย่า เสี่ยงการเพิ่มทุนหรือเพิ่มหนี้สินที่เกินกาลัง สาหรับพื้นที่ที่อยู่ในเขตชลประทาน หรือมีแหล่งน้าธรรมชาติสมบูรณ์หรือมีปริมาณฝนตก ชุก เช่น ภาคใต้หรือภาคตะวันออก โดยทั่วไปจะมีการเกษตรกรรมแบบผสมผสานคล้ายคลึงกับ การเกษตร “ทฤษฎีใหม่” อยู่บ้างแล้ว และเกษตรกรรู้จักกันมาช้านานอย่างดี แต่สมมติฐานเบื้องต้น ยังมิได้ตรงกับการเกษตร “ทฤษฎีใหม่” นัก เช่นมีน้าชลประทานสมบูรณ์ ใช้น้าอย่างเต็มที่ มีพื้นที่ มาก บางแห่งใช้เครื่องมือทุ่นแรง จ้างแรงงานทางานแทน ข้อสาคัญคือไม่เดือดร้อนและไม่ยากจนนัก หากจะทาการเกษตร “ทฤษฎีใหม่” ก็ทาได้ แต่เป็นการทาแบบประยุกต์ โดยจะต้องยึดหลักการ
19
ปฏิบัติที่สาคัญ 2 ประการ คือ 1 แบ่งพื้นที่ทากิจกรรมออกเป็นสัดส่วน 30: 30: 30:10 โดยประมาณ และอาจจะแบ่งเป็นแปลงย่อย ๆ หลายแปลงหรือแปลงใหญ่น้อยแปลงก็ได้ และ 2 จะต้องใช้น้า อย่างประหยัด น้าที่เคยได้รับจากธรรมชาติหรือจากโครงการชลประทานของรัฐบาลอย่างสมบูรณ์ จะต้องเปลี่ยนไปสร้างสระเก็บไว้ใช้ส่วนตัว แล้วบริหารจัดการน้าโดยตัวเอง โดยไม่หวังพึ่งน้าจาก รัฐบาลมากนัก ตลอดจนการช่วยเหลือด้านปัจจัยการผลิตอื่น ๆ ทั้งนี้เพื่อเปิดโอกาสให้เกษตรกรราย อื่น ๆ ที่อยู่ห่างคลองส่งน้าของรัฐบาลมีโอกาสได้รับประโยชน์จากน้าชลประทานเพิ่มมากขึ้น ดังนั้น การเกษตร “ทฤษฎีใหม่” ไม่ว่าจะอยู่ในเขตใช้น้าฝนหรือเขตใช้น้าชลประทาน ถ้า หากหวังอาศัยน้าชลประทานของรัฐบาลมาเสริม ก็ต้องยึดหลักการใช้น้าและจัดการน้าโดยประหยัด ดังกล่าวมาแล้ว และหลักการเช่นนี้จะทาให้ประโยชน์ของน้าชลประทานมีคุณค่าแก่ประชาชนมาก ขึ้น และทาให้เขตพื้นที่ชลประทานขยายเพิ่มขึ้นกว่าการใช้น้าชลประทานแบบดั้งเดิม ตั้งแต่ 3-6 เท่า จึงเป็นการขยายความชุ่มชื้น ความสุข และความสมบูรณ์พูลสุขให้แก่ประชาชนเพิ่มมากขึ้น และเป็นการก่อให้เกิดความเป็นธรรมแก่เกษตรกรและสังคมในเขตชลประทาน และในเขตชนบท มากขึ้นกว่าเดิม ทฤษฎีใหม่ ขั้นที่สอง เมื่อการทาเกษตร “ทฤษฎีใหม่” ขั้นที่หนึ่งมีมากรายขึ้น และผ่านไปหลาย ๆ ปีผลผลิตและ รายได้จะมีเพิ่มขึ้น เกษตรกรจาเป็นจะต้องปรับปรุงตัวเองรวมกลุ่มกันในรูปกลุ่มหรือสหกรณ์ และ ร่วมแรงกันในเรื่องต่างๆ เช่น 1) การผลิต (พันธุ์พืช เตรียมดินชลประทาน ฯลฯ ) 2) การตลาด (ลานตากข้าว ยุ้ง เครื่องสีข้าว การจาหน่ายผลผลิต) 3) การเป็นอยู่ (กะปิ น้าปลา อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ฯลฯ ที่ผลิตไม่ได้เอง) 4) สวัสดิการ (สาธารณสุข ยารักษาโรค เงินกู้ ฯลฯ ) 5) การศึกษา (โรงเรียน ทุนการศึกษา ฯลฯ ) 6) สังคม และศาสนา เป็นต้น สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้เป็นความจาเป็นของชีวิตประจาวัน แต่ไม่อาจลงทุนลงแรงเพียงลาพังได้ จะต้องอาศัยความร่วมมือกันระหว่างเพื่อนบ้าน และของหน่วยราชการมูลนิธิและเอกชน ทฤษฎีใหม่ ขั้นที่สาม เมื่อกิจการขั้นที่หนึ่งและขั้นที่สองเจริญเติบโตขึ้น จาเป็นจะต้องพัฒนากิจกรรมต่าง ๆ เพิ่มขึ้นอีก โดยติดต่อร่วมมือกับแหล่งเงินทุน (ธนาคาร) และแหล่งพลังงาน (บริษัทน้ามัน) หรือ
20
เอกชน เพื่อดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ เช่น ตั้งและบริหารโรงสี ตั้งและบริหารร้านสหกรณ์ (1.3) ช่วย การลงทุน (1.2) ช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิต (4,5,6) เป็นต้น ทั้งนี้ทั้งฝุายเกษตรกร และฝุายธนาคารและบริษัทจะได้รับประโยชน์เกษตรกรขายข้าวใน ราคาถูก (ไม่กดราคา) ธนาคารและบริษัทซื้อข้าวในราคาต่า (ซื้อข้าวเปลือกตรงจากเกษตรกรมาสี เอง) (2) เกษตรกรซื้อเครื่องอุปโภคในราคาต่า เช่น สหกรณ์ ราคาขายส่ง (1.3) ธนาคารกับบริษัท (เอกชน) จะสามารถขยายบุคลากร
การปูองกันและแมลงกาจัดศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน การปูองกันและกาจัดศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน เป็นการเลือกใช้วิธีการตั้งแต่ 2 วิธีขึ้นไป ผสานกันให้เหมาะสม เมื่อใช้แล้วจะทาให้เกิดผลเสียอย่างน้อย 3 ประการ คือ 1. ทาให้ศัตรูพืชลดลงในระดับที่ไม่ทาให้พืชผลเสียหายไปในเศรษฐกิจ 2. ประหยัดค่าใช้จ่ายในการควบคุมพืชชนิดนั้น 3. ปลอดภัยต่อเกษตรกร (ผู้ผลิต) ผู้บริโภค และสิ่งแวดล้อม การผลิตข้าวในปัจจับัน เกษตรกรเน้นการเพิ่มผลผลิตต่อหน่วยพื้นที่ โดยการเพิ่มปัจจัยการ ผลิต เช่น ปุ๋ยและสารเคมีกาจัดศัตรูพืช ซึ่งการกระทาดังกล่าวต่อเนื่องเกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศ ในนาข้าวและสิ่งแวดล้อม ทาให้ศัตรูพืชระบาดมากขึ้น และผลผลิตก็มิได้เพิ่มขึ้นตามที่คาดการณ์ไว้ จึงได้มีการนาวิธีปูองกันและกาจัดศัตรูข้าวโดยวิธีผสมผสานมาใช้ในการผลิตข้าวอินทรีย์ 1. หลักการปูองกันและกาจัดศัตรูข้าวโดยวิธีผสมผสาน 1.1 ปลูกพืชและดูแลให้แข็งแรงสมบูรณ์ ได้แก่ - ใช้เมล็ดพันธุ์ดี ปราศจากเมล็ดพืชอื่นปะปน ต้านทานโรคและแมลง - ปรับปรุงบารุงดิน เตรียมดินและกาจัดวัชพืชอย่างถูกต้อง - ใช้ปุ๋ยอินทรีย์ให้เหมาะสมกับชนิดดินและพันธุ์ข้าว - ระดับน้าประมาณ 15 เซนติเมตร 1.2 ลงสารวจแปลงนาทุกอาทิตย์ จาเป็นอย่างยิ่งที่เกษตรกรจะต้องลงแปลงนา อย่างน้อยอาทิตย์ละ 1 ครั้ง โดยสารวจตรวจตราอย่างใกล้ชิดว่าสภาพของข้าวเป็นอย่างไร ระดับน้า
21
ปุ๋ยเพียงพอเหมาะสมแล้วหรือยัง ประมาณสัดส่วนของศัตรูพืชและศัตรูธรรมชาติ สภาพดินฟูา อากาศเพื่อประกอบการพิจารณาตัดสินใจดาเนินการอย่างใดอย่างถูกต้อง การสารวจนี้เพื่อประเมิน สภาพนิเวศวิทยาในแต่ละช่วงการเจริญเติบโตของข้าว 1.3 อนุรักษ์ศัตรูธรรมชาติโดยปกติในนาข้าวเขตร้อนทั่วๆ ไปปริมาณสัตรูธรรมชาติ ของศัตรูพืช เช่น แมงมัม แมลงปอ มวนดูดไข จิงโจน้า แตนเบียน เชื้อจุลินทรีย์และสัตว์อื่น ๆ อีก มากมายหลายชนิด มีอยู่อย่างเพียงพอที่จะควบคุมศัตรูข้าวซึ่งมีชนิดที่สาคัญอยู่ไม่กีร่ชนิดเท่านั้น ความสมดุลของธรรมชาตินี้จะถุกทาลายลงหากเกษตรกรใช้สารเคมีอย่างไม่ถุกต้อง โดยเฉพาะสาร กลุ่มไพรีทอยส์และออกาโนฟอตเฟต ซึ่งมีพิษกว้างขาวง ทาลายสิ่งมีชีวิตทุกชนิดในนาข้าว ซึ่งใน ที่สุดจะมีผลให้เกิดการระบาดเพิ่มมากขึ้น ในช่วง 30 - 31 วัน หลังจากปลูกข้าวแล้วไม่ควรใช้สาร ฆ่าแมลงใด ๆ ทั้งสิ้น 1.4 ให้เกษตรกเป็นผู้จัดการที่ดีหรือเป็นผู้เชี่ยวชาญในการดาเนินงานกิจการด้วย ตนเอง เมื่อเกษตรกรสามารถวิเคราะห์สภาพนิเวศวิทยาในนาข้าวและมีการตัดสินใจอย่างถูกต้อง ก็จะมีผล ให้การผลิตประสบผลสาเร็จ ต้นทุนการผลิตลดลง ไม่มีผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม เกษคร กรสามารถยืนอยู่ได้ด้วยตนเองและเป็นการผลิตที่ยั่งยืนในที่สุด 2. วิธีปูองกันและกาจัดศัตรูพืช เช่น 2.1 วิธีเขตกรรม คือ การดัดแปลงวิธีการเพาะปลูกหรือวิธีการทางเขตกรรม เพื่อ สนับสนุนขบวนการทางธรรมชาติ ตามระบบนิเวศที่ทาให้ไม่เอื้ออานวยต่อการระบาดของศัตรูพืช เช่นการเก็บผลไม้ที่เน่าเสียที่อยู่คาต้นหรือตามพื้นดินออกไปทาลาย การตัดแต่งกิ่งตามหลักวิชาการ ของไม้ผลแต่ละชนิดช่วยให้แดดส่องถึงลาต้นตามพื้นดินจะลดปัญหาการระบาดของศัตรูพืชได้มาก การกาหนดช่วงเวลาปลูกและเก็บเกี่ยวที่เหมาะสมเพื่อหลีกเลี่ยงการทาลายของศัตรูพืช การให้น้า ใส่ปุ๋ย หรือปรับปรุงบารุงดินเพื่อให้พืชแข็งแรงสมบูรณ์ จะลดการระบาดของศัตรูพืช นอกจากนี้ยัง รวมถึง การปลูกพืชหมุนเวียนและการปลุกพืชผัก ฯลฯ เป็นต้น วิธีเขตกรรมนี้ไม่จาเป็นต้องลงทุน อะไรมากมายแต่ได้ผลเกินคาด อาจมากกว่าวิธีอื่น ๆ ด้วยซ้าไป 2.2 วิธีพันธุ์ต้านทาน การใช้พันธุ์ต้านทานจะช่วยแก้ไขการระบาดของศัตรูพืชได้ อย่างเด่นชัด แต่บางครั้งฤดูกาลและสภาพการปลูกพืชอาจทาให้ความต้านท่านนั้นเปลี่ยนไปหรือเกิด ปัญหาศัตรูพืชชนิดอื่นขึ้นมาแทนที่อีกก็ได้และอาจจะใช้พันธ์พืชที่ต้านทานหรือค่อนข้างต้านทานที่
22
สังเกตุพบในท้องถิ่นนามาปลูกได้อีก การใช้พันธุ์พืชที่มีอยู่หลากหลายตามธรรมชาตินั้นจะช่วยลด ปัญหาของสัตรูพืชได้มาก หรือใช้เมล็ดพันท้องถิ่น เพราะมีความเหมาะสมกับสภาพของท้องถิ่น 2.3 ชีววิธี คือการใช้สิ่งมีชีวิตเกิดขึ้นตามธรรมชาติหรือสิ่งที่มนุษย์เพาะเลี้ยงผลิต ขยายขึ้นมาให้มีจานวนมาก ๆ เพื่อช่วยในการควบคุมศัตรูพืช ได้แก่ ตัวห้า ตัวเบียน และเชื้อโรค " อนรักษ์ศัตรูธรรมชาติ" เป็นเรื่องที่เกษตรกรควรให้ความสนใจมาก เพียงแต่ได้รับการชี้แนะให้เห็น คุณค่าของศัตรูธรรมชาติจะทาให้เกิดความรักและหวงแหนสิ่งมีชีวิตเหล่านี้ อย่างน้อยที่สุดก็ทาให้ การตัดสินใจใช้สารปูองกันและกาจัดสัตรูพืชรอบคอบยิ่งขึ้น 2.4 วิธีกลและฟิสิกส์ทางกายภาพ คือการกาจัดศัตรูพืชโดยใช้เครื่องมือกลต่าง ๆ เช่น กับดักหรือศัตรูพืชอื่น ๆ การสร้างเครื่องกีดขวาง โดยตาข่ายหรือการห่อหรือการปลูกพืชในมุ้ง ในล่อนหรือการขุดร่องเพื่อดักหนอนกระทู้ ฯลฯ เป็นต้น และใช้ปัจจัยทางกายภาพ เช่น ความร้อน ความเย็น แสง เสียง หรือคลื่นความถี่ต่างๆ ซึ่งส่วนมากอุปกรณ์เหล่านี้ราคาค่อนข้างเพียง จึงควร ดัดแปลงใช้วิธีการที่ราคาถูก สามารถทาเองได้ เช่น การใช้น้าร้อนแช่เมล็ดพันธุ์พืชก่อนปแลก 2.5 การใช้สารปูองกันและกาจัดศัตรูพืช สารปูองกันกาจัดศัตรูพืชประกอบด้วย 2.5.1 สารอนินทรีย์ (Inorganic compound) ได้มาจากแร่ธาตุในธรรมชาติ ไม่มี คาร์บอนเป็นองค์ประกอบ มีคุณสมบัติไม่สลายตัวได้ง่ายส่วนมากจะมีพิษตกค้างนาน และมีพิษสูง ต่อมนุษย์ จึงไม่นิยมใช้ในปัจจุบัน เช่น ไซยาไนด์ อาเซนิค เมอคิวริคอ้อกไซด์ คอปเปอร์ ไฮดร็อก ไซด์ คอปเปอร์อ็อกซี่คลอไรด์ และคอปเปอร์ซัลเฟต ฯลฯ เป็นต้น 2.5.2 สารจากธรรมชาติ ( natural pestioide) ได้แก่ สารสกัดจากพืช เช่น สะเดา หางไหล ใบยาสูบ ฯลฯ และสารตากธรรมชาติอื่น ๆ การตัดสินใจใช้สารปูองกันและกาจัดศตรูพืชต้องรอบคอบและคานึ่งถึงเหตุผลความจาเป็น หาก จาเป็นต้องใช้ควรเลือกใช้สารจากธรรมชาติก่อน ส่วนสารชนิดอื่นๆ ควรเลือกเป็นอันดับสุดท้ายและ ใช้ชนิดที่มีพิษเฉพาะเจาะจงเท่านั้น แต่ทั้งนี้ต้องยึดกฏมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ เช่น สานักงาน มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ (มกท.) สานักงานมาตรฐานยสินค้าเกษตรและอาหารแห้งชาติ (มก.อช.) และสานักงานมาตรฐานเกษตรอินทรีย์สุรินทร์ (มก.สร.) เป็นหลัก
23
เชื้อราเฮอร์ซุเทลล่า (ทาลายเพลี้ย กระโดดสี่น้าตา
เชื้อราเมตตาไรเซียน (ทาลายเพลี้ยกระโดดเพลี้ยจักจั่น ในสภาพที่มีความชื้นสูง
แมลงตัวเบียน (แตนเบียนแซมพิมปล้า) เป็น แตนเบียนสเนลเลียส (ทาลายหนอนกระทู้โดย แตนเบียนของหนอนห่อใบข้าวและหนอนกอ เพศเมียวางไข่และเจริญเติมโตในตัวหนอน และ หญ้า มันเกาะตามใบข้าวตั้งแต่ระยะแรกถึง กัดผนังตัวหนอนมาเข้าดักแด้ข้าวนอกแล้วสร้าง ระยะข้าตั้งท้อง สร้างเส้นใยหุ้มดักแด้
แมลงมุมตาหกเหลี่ยม (อยู่ตามกอข้าวและผิวน้า มดคันไฟ (ทารังอยู่ในนาสภาพข้าวไร่หรือ กินเพลี้ยกระโดด เพลี้ยจักจั่น หนอนแมลงวันข้าว ตามคันนา สภาพนาสวน กินแลงและสัตว์ หนอนห่อใบข้าวและผีเสื้อหนอนกอข้าว ตัวเล็กๆได้หลายชนิด
24
วิธีการทาปุ๋ยดินหมักชีวภาพสาหรับเพาะต้นกล้า วัสดุที่ใช้ 1. ดินแห้งทุบให้ละเอียด ใช้ดินได้ทุกชนิด แต่ดินดาเชิงขาหรือดินขุยไผ่ จะดี 2. ปุ๋ยคอกแห้งทุบละเอียด 3. แกลบดา 4. ราละเอียด 5. ขุยมะพร้าวหรือขี้เค้กกากอ้อย 6. น้าสกัดชีวภาพ 1 ส่วน + น้าตาล 1 ส่วน + น้า 100 ส่วน คนให้เข้า กันดี
5 2 2 1-2 2
ส่วน ส่วน ส่วน ส่วน ส่วน
วิธีทา 1. ผสมวัสดุทั้งหมด คลุกเคล้าจนเข้ากันดี 2. ราดน้าสกัดชีวภาพผสมลงบนกองดิน ผสมคลุกเคล้าจนได้ความชื่นพอหมาดๆ พอปั้นเป็น ก้อนได้ไม่แฉะ 3. เกลี่ยบนพื้นซีเมนต์ให้กองหนาประมาณ 1-2 ฝุามือ คลุมด้วยกระสอบปุานหมักไว้ 4-5 วัน นาไปใช้ได้ 4. ปุ๋ยดินหมักชีวภาพที่ดีจะมีราสีขาวเกิดขึ้น มีกลิ่นหอม สามารถเก็บไว้ใช้ได้นานๆ วิธีใช้ 1. ผสมปุ๋ยดินหมักชีวภาพกับดินแห้งทุบละเอียดและแกลบดา อย่างละเท่าๆ กัน คลุกจนเข้ากันดี เพื่อนาไปกรอกถุงหรือถาดเพาะกล้า หรือนาไปใส่ในแปลงสาหรับเพาะกล้าจะช่วยให้ได้ต้นกล้าที่ เจริญเติบโตสมบูรณ์แข็งแรง 2. นาไปเติมในกระถางต้นไม้ดอกไม้ประดับได้ดี กระถางละ 1-2 กามือ
25
ปุ๋ยหมักชีวภาพคืออะไร มีวิธีการทาอย่างไร ปุ๋ยหมักชีวภาพ คือ ปุ๋ยอินทรีย์ที่ผ่านกระบวนการหมักกับน้าสกัดชีวภาพ ช่วยในการ ปรับปรุงดิน ย่อยสลายอินทรียวัตถุในดินให้เป็นอาหารแก่พืช
วัสดุทาปุ๋ยหมักชีวภาพ 1. มูลสัตว์แห้งละเอียด 2. แกลบดา 3. อินทรีย์วัตถุอื่นๆ ที่หาได้ง่าย เช่น แกลบ ชานอ้อย ขี้เลื่อย เปลือก ถั่วลิสง เปลือกถั่วเขียว และขุยมะพร้าว เป็นต้น อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างรวมกัน 4. ราละเอียด 5. น้าสกัดชีวภาพ 1 ส่วน + น้าตาล 1 ส่วน + น้า 100 ส่วน คนจน ละลายเข้ากันดี
3 1
ส่วน ส่วน
3 3
ส่วน ส่วน
วิธีทาปุ๋ยหมักชีวภาพ 1. นาวัสดุต่างๆ มากองซ้อนกันเป็นชั้นๆ แล้วคลุกเคล้าจนเข้ากันดี 2. เอาส่วนผสมของน้าสกัดชีวภาพน้าตาลและอ้อย ใส่บัวราดบนกองวัสดุปุ๋ยหมัก คลุกให้ เข้ากันทั่วให้ได้ความชื้นพอหมาดๆ อย่าให้แห้งหรือชื้นเกินไป 3. หมักกองปุ๋ยหมักไว้ 4-5 วัน ก็นาไปใช้ได้ 4. วิธีหมักทาได้ 2 วิธีคือ 4.1 เกลี่ยกองปุ๋ยหมักบนพื้นซีเมนต์ หนาประมาณ 1-2 คืบ คลุมด้วยกระสอบปุานทิ้งไว้ 4-5 วัน ตรวจดูความร้อนในวันที่ 2-3 ถ้าร้อนมากอาจต้องเอากระสอบที่คลุมออก แล้วกลับกองปุ๋ย เพื่อระบายความร้อน หลังจากนั้นกองปุ๋ยจะค่อยๆ เย็นลง นาลงบรรจุกระสอบเก็บไว้ใช้ต่อไป
26
4.2 บรรจุปุ๋ยหมักที่คลุกเข้ากันดีแล้ว ลงในกระสอบปุ๋ยไม่ต้องมัดปากถุง ตั้งทิ้วไว้บนท่อน ไม้หรือไม่กระดานที่สามารถถ่ายเทอากาศใต้พื้นถุงได้ ทิ้งไว้ 5-7 วัน จะได้ปุ๋ยหมักชีวภาพที่ประกอบด้วยจุลินทรีย์และสารอินทรีย์ต่างๆ เช่นเดียวกับน้าสกัด ชีวภาพในรูปแห้ง ปุ๋ยหมักชีวภาพที่ดีจะมีกลิ่นหอม มีใยสีขาวของเชื้อราเกาะกันเป็นก้อน ใน ระหว่างการหมักถ้าไม่เกิดความร้อนเลยแสดงว่าการหมักไม่ได้ผล อุณหภูมิในระหว่างการหมักที่ เหมาะสมอยู่ระหว่าง 40-50 องศาเซลเซียส ถ้าเราได้ความชื้นสูงเกินไปจะเกิดความร้อนสูงเกินไป ฉะนั้นความชื่นที่ให้ต้องพอดีประมาณ 30% ปุ๋ยหมักชีวภาพเมื่อแห้งดีแล้ว สามารถเก็บไว้ได้นาน หลายเดือน เก็บไว้ในที่แห้งในร่ม วิธีใช้ 1. ผสมปุ๋ยหมักชีวภาพกับดินในแปลงปลูกผักทุกชนิดในอัตรา 1 กิโลกรัมต่อพื้นที่ 1 ตาราง เมตร 2. พืชผักอายุเกิน 2 เดือน เช่น กะหล่าปลี ถั่วฝักยาว แตง และฟักทอง ใช้ปุ๋ยหมักชีวภาพ คลุกกับดิน รองก้นหลุมก่อนปลูกกล้าผัก ประมาณ 1 กามือ 3. ไม้ผลควรรองก้นหลุมด้วยเศษหญ้า ใบไม้แห้ง ฟาง และปุ๋ยหมักชีวภาพ 1-2 กิโลกรัม สาหรับไม่ที่ปลูกแล้วใส่ปุ๋ยหมักชีวภาพแนวทรงพุ่ม 1-2 กามือ ต่อ 1 ตารางเมตร แล้วคลุมด้วยหญ้า แห้งใบไม้แห้งหรือฟาง แล้วรดน้าสกัดชีวภาพให้ชุ่ม 4. ไม้ดอก ไม่ประดับ ไม้กระถาง ควรใส่ปุ๋ยหมักชีวภาพ เดือนละ 1 ครั้งๆ ละ 1 กามือ หมายเหต ุ ปุ๋ยหมักชีวภาพไม่ใช่ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก แต่เป็นหมักจุลินทรีย์ เมื่อใส่ลงดินที่มีความชื่น พอ เชื่อจุลินทรีย์ที่ได้จากน้าสกัดชีวภาพ จาทาหน้าที่ย่อยสลายอินทรีย์วัตถุ ให้เป็นสารอินทรีย์ที่เป็น ประโยชน์ต่อต้นไม้ จึงไม่จาเป็นต้องให้ในปริมาณมากๆ และในดินต้องมีอินทรีย์วัตถุ พวกปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก หญ้าแห้ง และใบไม้แห้งและมีความชื้นอย่างเพียงพอ เป็นต้น จึงจะได้ประโยชน์เต็มที่จาก การใส่ปุ๋ยหมักชีวภาพ และบ่อยครั้งเท่าไรเพื่อให้ได้ประโยชน์สูงสุดนั้น ท่านต้องให้ความสังเกตเอา เอง เพราะพืชแต่ละชนิด และในแต่ละพื้นที่มีการตอบสนองต่อปุ๋ยหมักชีวภาพไม่เหมือนกัน การนาปุ๋ยหมักไปใช้อย่างประหยัดและได้ผลอีกวิธีหนึ่งคือ ก่อนนาไปใช้ควรผสมปุ๋ยหมัก ชีวภาพกับปุ๋ย หรือปุ๋ยคอกเสียก่อน ในอัตราส่วนปุ๋ยหมักชีวภาพ 1 ส่วนต่อปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคือก 10 ส่วน คลุกให้เข้ากันดี แล้วนาไปใช้เช่นเดียวกับการใช้ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก โดยวิธีนี้จะใช้มากเท่าไหร่
27
ก็ไม่เป็นผลเสีย อย่าลืมด้วยว่าด้วยเทคนิคจุลินทรีย์เราไม่จาเป็นต้องใช้ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกปริมาณ มาก เช่นที่เราเคย ปฏิบัติมา ใช้เพียง 1 ใน 4 ส่วนก็พอแล้ว หรือขึ้นอยู่กับปริมาณอินทรีย์ที่มีอยู่แล้ว ในดิน ถ้ามีอยู่มากเราก็ใส่แต่น้อย ถ้ามีอยู่น้อยเราก็ใส่มากหน่อยหรือบ่อยหน่อย
น้าสกัดชีวภาพเพื่อปูองกันและกาจัดศัตรูพืช น้าสกัดชีวภาพอยางเดียวไม่ใช่ยาปราบศัตรูพืช แต่จะให้ความต้านทานแก่พืชเพื่อสู้กับศัตรู โรค และแมลงไม่มารบกวน ถ้าได้ให้อย่างสม่าเสมอ น้าสกัดชีวภาพที่ได้จากการหมักผลไม้ผสม สมุนไพรจะช่วยให้การปัองการกาจัดศัตรูพืชได้ผลดียิ่งขึ้น
วิธีทา 1. วิธีทาน้าสกัดชีวภาพเพื่อปูองกันและกาจัดศัตรูพืช ก็ทาเช่นเดียวกับการทาน้าสกัด ชีวภาพ เพียงแต่ใช้ผลไม้หมักทั้งหมด ผลไม้ใช้ได้ทั้งดิบและสุก หรือเปลือกผลไม้ ถ้าเป็นผลไม้ที่มี ฤทธิ์ทางยาสมุนไพร เช่น ผลมะม่วงหิมพานต์จะยิ่งดี 2. สมุนไพรที่ต้องการใช้ร่วมกันน้าสกัดชีวภาพได้แก่ ใบสะเดา ตะไคร้หอม ฟูาทลายโจร กระเทียม พริกขี้หนู ว่างหางจระเข้ ขิง ข่า และยาสูบ เป็นต้น นามาทุบหรือตาให้แตก ใส่น้าให้ท่วม หมักไว้ 1 คืน เพื่อสกัดน้าสมุนไพร นาไปกรองเอาแต่น้า วิธีใช้ 1. ผสมน้าสกัดชีวภาพ กับน้าสมุนไพรและน้า ในอัตราน้าสกัด 1 ส่วน น้าสมุนไพร 1 ส่วน และน้า 200-500 ส่วน
28
2. ฉีดพ่นต้นพืชให้เปียกทั่ว ควรเริ่มใช้หลังต้นพืชเริ่มงอกก่อนที่โรคและแมลงจะมารบกวน 3. ควรให้ในตอนเช้า หรือหลังฝนตก และให้อย่างสม่าเสมอ
การผลิตน้าสกัดชีวภาพ น้าสกัดชีวภาพ คือ น้าที่ได้จากการหมักดองพืชอวบน้า เช่น ผัก ผลไม้ ด้วยน้าตาลในสภาพ ไร้อากาศ น้าที่ได้จะประกอบด้วยจุลินทรีย์และสารอินทรีย์หลากหลายชนิด จุลินทรีย์ส่วนใหญ่จะ เป็นพวกยีสต์ แบคทีเรียสร้างกรดเลกติก และพวกรา แบคทีเรียสังเคราะห์แสงก็เคยพบในน้าสกัด ชีวภาพ
วัสดุและอุปกรณ์ 1. ถังหมักที่มีฝาปิดสนิท จะเป็นถังพลาสติก ถังโลหะ หรือกระเบื้องเคลือบ หรือจะใช้ถุง พลาสติกก็ได้ 2. น้าตาลสามารถใช้น้าตาลได้ทุกชนิด ถ้าได้กากน้าตาลยิ่งดี เพราะมีราคาถูกและมีธาตุ อาหารอื่นๆ ของจุลินทรีย์ นอกจากน้าตาลอยู่ด้วย 3. พืชอวบน้าทุกชนิด เช่น ผัก ผลไม้ ทั้งแก่และอ่อน รวมทั้งเปลือกผลไม้อวบน้าที่สดไม่เน่า เปื่อย เช่น เปลือกแตงโม เปลือกสับปะรด เปลือกขนุน และเปลือกมะม่วง เป็นต้น 4. ของหนัก เช่น อิฐบล็อก หรือก้อนหิน วิธีทา 1. นาพืช ผัก ผลไม้ ลงผสมกับน้าตาลในภาชนะที่เตรียมไว้ในอัตราน้าตาล 1 ส่วนต่อพืช ผัก ผลไม้ 3 ส่วน คลุกให้เข้ากัน หรือถ้ามีปริมาณมากจะโรยทับสลับกันเป็นชั้นๆ ก็ได้ 2. ใช้ของหนักวางทับบนผักที่หมัก เพื่อกดไล่อากาศที่อยู่ระหว่างผัก ของหนักที่ใช้ทับควรมี
29
น้าหนักประมาณ 1 ใน 3 ของน้าหนักผัก วางทับไว้ 1 คืน ก็เอาออกได้ 3. ปิดฝาภาชนะที่หมักให้สนิท ถ้าเป็นถึงพลาสติกก็มัดปากถุงพลาสติกให้แน่น เพื่อปูองกัน ไม่ให้อากาศเข้าไปได้ เป็นการสร้างสภาพที่เหมาะสมใก้แก่จุลินทรีย์หมัดดองลงไปทางาน หมักทิ้งไว้ 3-5 วัน จะเริ่มมีของเหลวสีน้าตาลอ่อนถึงแก่เกิดขึ้นจากการละลายตัวของน้าตาล และน้าเลี้ยงจาก เซลล์ของพืชผัก น้าตาลและน้าเลี้ยงเป็นอาหารของจุลินทรีย์ จุลินทรีย์หมักดองก็จะเพิ่มปริมาณ มากมายพร้อมกับผลิตสารอินทรีย์หลากหลายชนิดดังกล่าวข้างต้น ของเหลวที่ได้เรียกว่า "น้าสกัด ชีวภาพ" 4. เมื่อน้าสกัดชีวภาพมีปริมาณมากพอประมาณ 10-10 วัน ก็ถ่ายน้าสกัดชีวภาพออกบรรจุ ลงในภาชนะพลาสติกอย่ารีบถ่ายน้าสกัดชีวภาพออกเร็วเกินไป เพราะเราต้องกให้มีปริมาณจุลินทรีย์ มากๆ เพิ่มเร่งกระบวนการหมัก น้าสกัดชีวภาพที่ถ่ายออกมาใหม่ๆ กระบวนการหมักยังไม่สมบูรณ์ จะมีก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เกิดขึ้น ต้องคอยเปิดฝากภาชนะบรรจุทุกวันจนกว่าจะหมดก๊าซ ปริมาณของน้าสกัดชีวภาพที่ได้จากการหมักจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับชนิดของผัก ผลไม่ที่ใช้หมัก ซึ่งจะมีน้าอยู่ 95-98% สีของน้าสกัดชีวภาพก็ขึ้นอยู่กับชนิดของน้าตาลที่ใช้หมัก ถ้าเป็นน้าตาล ฟอกขาวก็จะมีสีอ่อนถ้าเป็นกากน้าตาบ น้าสกัดชีวภาพจะเป็นสีน้าตาลแก่ 5. ควรเก็บถังหมักและน้าสกัดชีวภาพไว้ในที่ร่ม อย่าให้ถูกฝนและแสงแดดจัดๆ น้าสกัด ชีวภาพที่ผ่านการหมักสมบูรณ์แล้ว ถ้าปิดฝาสนิทสามารถเก็บไว้ได้หลายๆ เดือน 6. กากที่เหลือจากการหมัก สามารถนาไปฝังเป็นปุ๋ยบริเวณทรงพุ่มของต้นไม้ หรือจะคลุก กับดินหมักเอาไว้ในเป็นดินปลูกต้นไม้ก้ได้ หมายเหตุ : ในกรณีที่มีการหมักต่อเนื่องก็ไม่จาเป็นต้องเอากากออก สามารถใส่พืชผักลงไปเรื่อยๆ ก็ ได้ หรือในกรณีที่หมักยังไม่เต็มถังก็สามารถเติมจนเต็มถังก็ได้ทุกครั้ง หลังจากเปิดถังต้องเปิดฝาหรือ มัดถงให้แน่นเหมือนเดิม เพื่อปูองกันอากาศเข้ามากๆ จะมีจุลินทรีย์อื่นๆ ที่เราไม่ต้องการให้ลงไปทา ให้เสียมีกลิ่นเหมือนเน่าได้ น้าสกัดชีวภาพที่มีคุณภาพจะมีกลิ่นหมักดองและมีกลิ่นแอลกอฮอร์บ้าง มากน้อยขึ้นอยู่กับปริมาณน้าตาล และปริมาณผลไม้ที่หมัก ถ้าชิมดูน้าสกัดชีวภาพจะมีรสเปรี้ยว วิธีใช้ในพืช 1. ผสมน้าสกัดชีวภาพ กับน้าในอัตรา 1 ส่วนต่อน้า 50-1,000 ส่วน รดต้นไม้หรือฉีดพ่น 2. เริ่มฉีดพ่นเมื่อเริ่มงอกก่อนที่โรคและแมลงจะมารบกวน และควรทาในตอนเช้า หรือ
30
หลังจากฝนตกหนัก 3. ควรให้อย่างสม่าเสมอ และในดินต้องมีอินทรีย์วัตถุอย่างเพียงพอ เช่น ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก หญ้าแห้ง ใบไม้แห้งหรือฟาง เป็นต้น 4. ใช้ได้กับพืชทุกชนิด 5. น้าสกัดชีวภาพเจือจางใช้แช่เมล็ดพืชก่อนนาไปเพาะปลูก จะช่วยให้เมล็ดงอกเร็วขึ้น และจะได้ต้นกล้าที่แข็งแรงและสมบูรณ์ ประโยชน์ ในน้าสกัดชีวภาพ ประกอบด้วยสารอินทรีย์ตางๆ หลากหลายชนิด เช่น เอนไซม์ ฮอร์โมน และธาตุอาหารต่างๆ เอนไซม์ บางชนิดจะทาหน้าที่ย่อยสลายอินทรีย์วัตถุให้เป็นสารอินทรีย์ เป็น อาหารของจุลินทรีย์เอง และเป็นอาหารของต้นพืช ฮอร์โมนหลายชนิดที่จุลินทรีย์สร้างขึ้นก็เป็น ประโยชน์ต่อพืช ถ้าให้ในปริมาณเล็กน้อยแต่จะมีโทษถ้าให้ในปริมาณที่เข้มข้นเกินไป ฉะนั้น ในการ ใช้น้าสกัดชีวภาพในพืช จาเป็นต้องให้ในอัตราเจือจาง สามารถอินทรีย์บางชนิดที่จุลินทรีย์สร้างขึ้น เป็นสารที่เพิ่มความต้านทางต่อโรค แมลง และทนทานต่อสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงอย่าง กระทันหัน
เกษตรอินทรีย์ด้วยเทคนิคจุลินทรีย์ท้องถิ่น เกษตรอินทรีย์ด้วยเทคนิคจุลินทรีย์ก็คือการทาการเกษตรอินทรีย์ที่ใช้ปุ๋ยอินทรีย์ คือ ปุ๋ย หมัก ปุ๋ยคอก และปุ๋ยพืชสดเป็นหลัก ไม่ใช้ปุ๋ยเคมีและยาปราบศัตรูพืชที่เป็นสารเคมีนั้นเอง ต่างกันที่ เกษตรธรรมชาติด้วยเทคนิคจุลินทรีย์ ท้องถิ่นการใส่จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ที่ผลิตขึ้นในท้องถิ่น ลงใน ไปดินและฉีดพ่นให้แก่พืชด้วย
31
กลุ่มจุลินทรีย์หมัก-ดอง ตามประวัติความเป็นมาของเกษตรธรรมชาติของประเทศเกาหลีมีว่า ได้มีผู้นาเอาน้าที่ได้ จากการทาผักดอกของเกาหลีที่เรียกว่า "กิมจิ" ไปรดต้นไม้ ปรากฏว่าทาให้ต้นไม้งามดี ต่อมาเรา ทราบว่า ในน้าผักดองนั้นประกอบด้วยจุลินทรีย์หมักดอง และสารอินทรีย์ต่างๆ ที่จุลินทรีย์ผลิตขึ้น มากมาย สารอินทรีย์เหล่านั้นล้วนเป็นประโยชน์ต่อพืช ทั้งทางตรงและทางอ้อม ซึ่งได้แก่ เอนไซม์ ฮอรโมน และธาตุอาหารต่างๆ เช่น กรดอะมิโน และไวตามิน เป็นต้น เอนไซม์ คือสารอินทรีย์ที่พืชและสัตว์ รวมทั้งจุลินทรีย์ที่สร้างขึ้น มีหน้าที่ช่วยมการทางาน ของทุกระบบในสิ่งที่มีชีวิตทั้งหมด สิ่งมีชีวิตจะมีชีวิตอยู่ไม่ได้ถ้าขาดเอนไซม์ เอนไซม์ บางชนิดทาหน้าที่ย่อยอาหารในคนและสัตว์ จุลินทรีย์ผลิตเอนไซม์เพื่อย่อย อินทรีย์วัตถุให้เป็นสารอินทรีย์ที่เป็นประโยชน์ต่อจุลินทรีย์เองและต้นไม้ ในการทาไวน์ ทาเนยแข็ง ก็ ต้องอาศัย เอนไซม์เปลี่ยนน้าองุ่นให้เป็นไวน์ เปลี่ยนนมสดให้เป็นเนยแข็ง ผงซักฟอกบางยี่ห้องมี ผสมเอนไซม์บริสุทธิ์ที่สกัดได้จากจุลินทรีย์ เพื่อช่วยในการย่อยสลายโปรตีน และไขมันที่เปรอะเปื้อน เสื้อผ้า ยางมะละกอมีเอนไซม์ช่วยในการย่อยโปรตีน เมื่อนาไปคลุกกับเนื้อจะช่วยให้เนื้อนุ่ม แสงหิ่งห้อยก็ เกิดจากการทางานของเอนไซม์ และสิ่งมหัศจรรย์อีกมากมายของธรรมชาติที่เกิดจากการทางานของ เอนไซม์ ฮอร์โมน เป็นสารอินทรีย์อีกชนิดหนึ่งที่พืช สัตว์ และจุลินทรีย์สร้างขึ้น เพื่อทาหน้าที่กระตุ้นการ ทางานของส่วนต่างๆ ของสิ่งมีชีวิต ในคนและสัตว์เรารู้จกั ฮอร์โมนเพศ และฮอร์โมนกระตุ้นการ เจริญเติบโต ฮอร์โมนในพืชที่เราคุ้นเคยกันดี ได้แก่ ฮอร์โมนเร่งราก ฮอร์โมนเร่งการงอกของเมล็ด จุลินทรีย์ก็สามารถผลิตฮอร์โมนต่างๆ ได้เช่นเดียวกับพืชและสัตว์ ในอดีตเราต้องสกัดฮอร์โมน กระตุ้นการเจริญเติบโตจากต่อมใต้สมองของสัตว์เพื่อนาไปใช้ในการแพทย์ ปัจจุบันด้วย เทคโนโลยีชีวภาพ เราสามารถสกัดได้จากจุลินทรีย์ ธาตุอาหารต่างๆ สัตว์ไม่สามารถสังเคราะห์เอง ได้ จาเป็นต้องกินธาตุอาหารครบทั้ง 5 หมู่ คืออาหารพวกแปูง ไขมัน โปรตีน ไวตามิน และแร่ธาตุ ผิดกับพืชและจุลินทรีย์ ที่สามารถสังเคราะห์อาหารขึ้นเองได้ โดยไม่จาเป็นต้องมีธาตุอาหารครบทั้ง 5 หมู่ พืชที่เจริญเติบโตได้ 90% ได้รับอาหารจากการสังเคราะห์แสงของสารสีเขียว หรือคลอโรฟีล กับก๊าซคาร์บอนไดออกไซต์ และน้า และพลังงานจากแสงแดด พืชได้รับแร่ธาตุจากดิน แร่ธาตุ ส่วน ใหญ่จะทาหน้าที่เป็นส่วนประกอบของเอนไซม์ต่างๆ หลายชนิดในต้นพืช จุลินทรีย์เป็นสิ่งมีชีวิตที่มี
32
ความสามารถพิเศษ สามารถมีชีวิตและขยายพันธุ์ได้โดยอาศัยอินทรีย์วัตถุเป็นแหล่งอาหาร จุลินทรีย์หลายชนิดอย่รวมกันและอาศัยพึ่งพาซึ่งกันและกัน จุลินทรีย์มีความทนทานเป็นพิเศษ สามารถมีชีวิตอยู่ได้แม้ในสภาพแวดล้อมที่ร้อนจัด หรือเย็นจัด หรือแห้งแล้งจัดด้วยเทคนิคจุลินทรีย์ การปลูกพืชไม่จาเป็นต้องใช้ปุ๋ยอินทรีย์ เพราะพืชสามารถสังเคราะห์อาหารเองได้เกือบทั้งหมด ส่วน ที่ขาดก็จะได้จากการย่อยสลายของอินทรีย์วัตถุที่ได้จากซากพืช ซากสัตว์ในดิน ด้วยการทางานของ จุลินทรีย์เอง และพืชก็จะได้รับประโยชน์ด้วยจากการดูดเข้าไปทางรากในรูปของสารอินทรีย์ต่างๆ เช่น กรดอะมิโน, กลูโคลส, ไวตามิน, ฮอร์โมนและแร่ธาตุ เป็นต้น จุลินทรีย์บางชนิดยังเข้าไปอยู่ใน ปมรากของพืชตระกูลถั่ว และสามารถตรึงธาตุไนโตรเจนจากอากาศ มาสร้างเป็นส่วนประกอบของ อาหารโปรตีนให้แก่พืชได้อีก จึงทาให้พืชตระกูลถั่วประกอบด้วยโปรตีนในปริมาณที่สูงกว่าพืชชนิด อื่นๆ
33
ตัวอย่างบัญชีรายรับ – รายจ่ายอย่างง่าย ว/ด/ป
รายการ
รายร าท สต
ราย าย าท สต
าท
สต
มิย.
........
ตัวอย่างบัญชีหุ้นและสัจจะ ลาดั บที่
ชื่อ – สกุล
บ้านเลข หุ้น ที่ แรกเข้า มค.
สัจจะรายเดือน กพ.
มีค.
เมย.
พค.
34
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม”ลงแขก”กิจกรรมเรียนรู้วิถีชุมชน ปลูกข้าวอินทรีย์ ลาดับที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21
ชื่อ – สกุล นายพัฒนชัย ธรรมที่ชอบ นางสมบูรณ์ วิเศษการ นางอ้วน มหามาตย์ นางน้าฝน ชาระมาตย์ นายสุข กันฮะ นายทองเลื่อน ไชยมีสุข นางนันทา โสปะติ นายสมชาย สามารถกุล นายสาเนียง ซาชิโย นางจุฑารัตน์ บุตรราช นางบุญสม มาตย์ชารี นายมานิต สมบูรณ์พันธ์ นางทองมา แถวพินิจ นายมานิตย์ ซาชิโย นายสม ซาชิโย นายนิวัฒ กุลสีดา นายสมพงษ์ มาตย์ชารี นางจารูญ เชื้อลิ้นฟูา นายอานวย นนทฤทธิ์ นายทองใบ ศรีทอง นางเทวี ไชยมีสุข
บ้านเลขที่ 73 84 64 88 28 39 6 79 9 90 83 32 81 2 90 60 83 59 13 62 41
ลายมือชื่อ ประธานกลุ่ม กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ รองประธาน กรรมการ กรรมการ กรรมการ เหรัญญิก ผช.เหรัญญิก กรรมการ กรรมการ เลขานุการ กรรมการ ผช.เลขานุการ รองประธาน กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
35
ภาคผนวก
36
รายชื่อผู้ร่วมกิจกรรม วันที่..............เดือน................................พ.ศ............................... ลาดับที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21
ชื่อ – สกุล นายพัฒนชัย ธรรมที่ชอบ นางสมบูรณ์ วิเศษการ นางอ้วน มหามาตย์ นางน้าฝน ชาระมาตย์ นายสุข กันฮะ นายทองเลื่อน ไชยมีสุข นางนันทา โสปะติ นายสมชาย สามารถกุล นายสาเนียง ซาชิโย นางจุฑารัตน์ บุตรราช นางบุญสม มาตย์ชารี นายมานิต สมบูรณ์พันธ์ นางทองมา แถวพินิจ นายมานิตย์ ซาชิโย นายสม ซาชิโย นายนิวัฒ กุลสีดา นายสมพงษ์ มาตย์ชารี นางจารูญ เชื้อลิ้นฟูา นายอานวย นนทฤทธิ์ นายทองใบ ศรีทอง นางเทวี ไชยมีสุข
บ้านเลขที่ 73 84 64 88 28 39 6 79 9 90 83 32 81 2 90 60 83 59 13 62 41
ลายมือชื่อ
รายชื่อวิทยากร วันที่...............เดือน.......................พ.ศ....................... ลาดับที่ ชื่อ – สกุล ลายมือชื่อ 1 นายจรรยา สมมาตย์ 2 นายมานิตย์ ซาชิโย
37
ตารางอบรม หลักสูตรการเรียนรู้วิถีชุมชน”ลงแขก” โครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย โดยศูนย์โฮมลูกหลาน บ้านเหล่าลิง ร่วมกับมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ สสส. วัน/เดือน/ปี 10 ธ.ค.54
เนื้อหา -การทาเกษตรทฤษฎีใหม่ และการจัดการผังที่ดิน -การทาบัญชีต้นทุนเพื่อเพิ่มผลผลิต
เวลา วิทยากร 09.00-12.00 น. นายมานิตย์ ซาชิโย 13.00-16.00 น. 11 ธ.ค.54 09.00-12.00 น. นายมานิตย์ ซาชิโย 13.00-16.00 น. 17-18 ธ.ค.54 การทาแปลงผัก การปลูกพืช 09.00-12.00 น. นายมานิตย์ ซาชิโย หมุนเวียน และการปลูกข้าวอินทรีย์ 13.00-15.00 น. 24-25 ธ.ค.54 การผลิตสมุนไพรเพื่อการบริโภค เพื่อ 09.00-12.00 น. นายจรรยา สมมาตย์ การเกษตรปลอดสารพิษ และกาจัด 13.00-15.00 น. ศัตรูพืช - สารสะเดา ตะไคร้หอม บอระเพ็ด -ยาสูบ ขมิ้นชัน ฯลฯ 7-8 ม.ค.55 การปรับปรุงบารุงดิน 09.00-12.00 น. นายจรรยา สมมาตย์ -การปรับปรุงคุณภาพทางเคมี 13.00-15.00 น. -การปรับปรุงคุณภาพทางชีวภาพ -การปรับปรุงคุณภาพทางกายภาพ -ปุ๋ยหมัก และปุ๋ยชีวภาพ หมายเหตุ : มีอาหารกลางวัน และ อาหารว่าง 1 มือ ตารางนี้อาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม
38
ตัวอย่างภาพกิจกรรมการเรียนรู้
ทานาแบบเอาแรง(ลงแขก) ประหยัดได้วิถีชุมชนเดิม
39
นวดก็ต้องช่วยกัน ยังขาดทุน
40
มาเรียนรู้ร่วมกันโดยมีวิทยากรจรรยา มาช่วย
41
ได้สูตรแล้วอะไรมีที่บ้านเอามาช่วยกัน อันไหนไม่มีเราค่อยซื้อ
42
มีความรู้แล้วมาช่วยกันทา(ลงแขก)
43
แบ่งกันไปใช้ต่อไปปีหน้าจะได้ไม่ขาดทุน
44
สมาชิกได้ปุ๋ยไว้ใช้คนละ1000 กก.เป็นอย่างน้อย
45
ขอคุณทีมงาน จากโครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะ คนไทย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ และ สสส. ที่ให้การสนับสนุน
46
อนาคตจะได้ยืนด้วยขาตนเอง มาร่วมกันลงหุ้น และออมด้วย นะ
ระเบียบข้อบังคับ กลุม่ เรียนรู้วิถีชุมชน”ลงแขก”บ้านเหล่าลิง ตาบลบ้านดู่ อาเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด (สถาบันเรียนรู้วิถีชุมชนบ้านเหล่าลิง) ………………………………….. หมวดที่ 1 ข้อความทั่วไป ข้อ.1 ชื่อระเบียบข้อบังคับนี้เรียกว่า ระเบียบข้อบังคับกลุ่มเรียนรู้วิถีชุมชน”ลงแขก” บ้านเหล่าลิง ตาบลบ้านดู่ อาเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด ข้อ.2 ที่ตั้งกลุ่ม ตั้งอยู่ที่ ศูนย์ตุ้มโฮมลูกหลานบ้านเหล่าลิง บ้านเหล่าลิง ตาบลบ้านดู่ อาเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด ข้อ.3 ระเบียบข้อบังคับนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2555 หมวดที่ 2 วัตถุประสงค์ ข้อ.4 กลุม่ เรียนรู้วิถีชุมชน”ลงแขก”บ้านเหล่าลิง ตาบลบ้านดู่ อาเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด จัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 4.1 เพื่อเพิ่มรายได้ให้แก่ครัวเรือน เป็นการเสริมสร้างเศรษฐกิจชุมชนให้พึ่งตนเอง ได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ โดยนาทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในชุมชน 4.2 เพื่อเป็นตัวอย่างที่ดีแก่ชุมชน ในหมู่บ้านในการประกอบอาชีพอย่างพอเพียง 4.3 เพื่อให้เข้าใจการทางานระบบกลุ่ม และสร้างความเข้มแข็งในชุมชน 4.4 เพื่อสร้างความสามัคคีในหมู่บ้านและชุมชน 4.5 เพื่ออนุรักษ์ และควบคุมคุณภาพ ผลผลิตทางการเกษตร (ข้าว) ให้อยู่เป็น เอกลักษณ์ในท้องถิ่น ปลอดสารพิษ 4.6 มีส่วนร่วมในการประชาสัมพันธ์ ให้ผู้บริโภคได้เข้าใจและเลือกซื้อสินค้าได้ ถูกต้อง หมวดที่ 3 สมาชิกภาพ ข้อ.5 คุณสมบัติของสมาชิก
47
5.1 เป็นผู้มีภูมิลาเนาและถิ่นอาศัยอยู่ในหมู่บ้านเหล่าลิง ตาบลบ้านดู่ อาเภออาจ สามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด ซึ่งเป็นที่ตั้งกลุ่ม 5.2 มีความรู้ความเข้าใจ เห็นชอบด้วยหลักการของกลุ่ม และ สนใจงานพัฒนา อาชีพ ของกลุ่มอย่างจริงจัง 5.3 เป็นผู้พร้อมที่จะปฏิบัติตามระเบียบและข้อตกลงของกลุ่ม 5.4 เป็นผู้ที่คณะกรรมการบริหารกลุ่มฯ ได้มีมติเห็นชอบให้รับเข้าเป็นสมาชิกกลุ่ม ข้อ.6 การสมัครเข้าเป็นสมาชิก 6.1 ต้องยื่นคาขอตามแบบใบสมัครของกลุ่ม 6.2 ต้องชาระค่าสมัคร / ค่าธรรมเนียม จานวน 20 บาท 6.3 ค่าสมัคร / ค่าธรรมเนียม ผู้สมัครเป็นสมาชิกจะเรียกคืนไม่ได้ ไม่ว่าด้วยเหตุใด ข้อ.7 การพ้นจากสมาชิก 7.1 ตาย 7.2 ลาออกและได้รับอนุมัติให้ลาออกจากคณะกรรมการบริหารกลุ่ม 7.3 ที่ประชุมใหญ่สมาชิกมีมติให้ออกด้วยคะแนนเสียง สองในสาม ของผู้เข้า ประชุม ข้อ.8 การลาออกจากสมาชิก 8.1 ให้ทาหนังสือยื่นต่อคณะกรรมการบริหารกลุ่ม 8.2 ผู้ประสงค์จะลาออกต้องชาระหนี้ ทีต่ นยังผูกพันต่อกลุ่ม ข้อ.9 การให้ออกจากสมาชิก 9.1 จงใจฝุาฝืน ระเบียบข้อตกลง มติของกลุ่ม หรือแสดงตนเป็นปรปักษ์ หรือไม่ให้ ความช่วยเหลือ ความร่วมมือแก่กลุ่ม ไม่ว่าด้วยประการใดๆ หมวดที่ 4 เงินทุนของกลุ่ม ข้อ.10 การแสวงหาเงินทุนของกลุ่ม 10.1 รับเงินค่าหุ้น 10.2 เงินอุดหนุนจากส่วนราชการ องค์กรเอกชน และผู้มีจิตศรัทธา ฯลฯ 10.3 เงินรายได้อื่นๆ สมาชิกทุกคนต้องลงหุ้นอย่างน้อยหนึ่งหุ้น และลงหุ้นได้มาก ที่สุด ไม่เกิน 20 หุ้น หนึ่งหุ้นเท่ากับ 100 บาท ในกรณีที่มีสมาชิกจะขอเพิ่มหรือลดจานวนหุ้นที่มีอยู่ใน กลุ่มให้นาเข้า ที่ประชุมใหญ่สมาชิก โดยมติที่ประชุมใหญ่ให้ถือสองในสามของที่ประชุมเป็นที่สุด
48
และใน กรณีที่สมาชิกที่มีหนี้สินต่อกลุ่ม และหนี้สินอันเกิดจากการค้าประกัน ซึ่งมีมูลค่าเท่ากับหุ้นที่ ตน ถืออยู่ สมาชิกจะถอนเงินค่าหุ้นไม่ได้ หมวดที่ 5 การดาเนินงานของกลุ่ม ข้อ.11 เพิ่มพูนทักษะแก่สมาชิก มุ่งหวังให้สมาชิกเกิดความชานาญสูงสุด พร้อมที่จะ ประกอบการในกิจกรรมนั้นๆ ข้อ.12 ดาเนินกิจกรรมในอาชีพ โดยการให้เกิดซึ่งผลิตภัณฑ์ต่างๆ เพื่อแสวงหา ผลประโยชน์ให้ เกิดแก่กลุ่มและสมาชิก หมวดที่ 6 คณะกรรมการบริหารกลุ่ม ข้อ.13 คณะกรรมการประกอบด้วย 13.1 คณะกรรมการอานวยการ (ประธาน,รองประธาน,เลขานุการเหรัญญิก) 13.2 คณะกรรมการฝุายผลิต 13.3 คณะกรรมการฝุายควบคุมคุณภาพ 13.4 คณะกรรมการฝุายตลาด 13.5 คณะกรรมการฝุายการเงิน ข้อ.14 ที่ปรึกษา คณะกรรมการบริหาร มีอานาจที่จะเชิญบุคคลภายนอก ซึ่งมีวุฒิ ความสามารถ และความเหมะสม เป็นที่ปรึกษาของกลุ่ม เพื่อแนะนาหรือให้ความเห็นในการ ดาเนินงานทั่วไปของกลุ่ม ข้อ.15 คุณสมบัติของกรรมการ 15.1เป็นสมาชิกกลุ่ม 15.2 สมาชิกที่เคยถูกถอดออกจากตาแหน่งจากคณะกรรมการบริหารไม่ว่าคณะใด จะ ไม่มีสิทธิ์รับเลือก เป็นกรรมการอีกภายในกาหนด 12 เดือน นับแต่วันถูกถอดถอน ข้อ.16 กาหนดเวลาของกรรมการ กรรมการแต่ละคนมีอายุการเป็นกรรมการได้คราวละสอง ปี กรรมการที่ออกตามวาระมีสิทธิ์ได้รับเลือกให้เข้ามาเป็นกรรมการได้อีก แต่ต้องไม่เกินสองวาระ ติดต่อกัน ข้อ.17 การออกจากตาแหน่งกรรมการ 17.1 ตาย 17.2 ออกตามวาระ 17.3 ลาออกโดยทาหนังสือยื่นต่อคณะกรรมการบริหารและได้รับอนุมัติแล้ว 17.4 ขาดจากสมาชิกภาพ
49
17.5 ขาดจากการประชุมกรรมการสามครั้งติดต่อกัน โดยไม่ชี้แจงเหตุผลที่สมควร ให้ที่ ประชุมทราบที่ประชุมใหญ่มีมติถอดถอนรายบุคคลหรือทั้งคณะ ข้อ.18 อานาจหน้าที่ของกรรมการ คณะกรรมการบริหาร มีหน้าที่รับผิดชอบในนโยบาย ของกลุ่มโดยตรงต่อสมาชิกและมีหน้าที่ดูแลให้กิจกรรมของกลุ่มดาเนินไปตามข้อบังคับระเบียบของ กลุ่มและทาหน้าที่ตัวแทนของกลุ่ม ให้คณะกรรมการบริหารมีอานาจที่จะกาหนดระเบียบต่างๆ โดย ความเห็นชอบและมติของที่ประชุมใหญ่สมาชิกในการประชุมครั้งแรกของคณะกรรมการบริหาร ให้ กาหนดยี่สิบวันนับแต่วันได้รับเลือกตั้งเพื่อกาหนดบทบาหน้าที่ งบประมาณของกลุ่ม แผนการดา เนินงานและตั้งงบประมาณรายรับ- รายจ่ายของกลุ่ม ข้อ.19 การประชุมคณะกรรมการ คณะกรรมการสามารถเรียบประชุมได้ตามความจาเป็น แต่ต้องมีการประชุมอย่างน้อยเดือนละครั้ง ตามวัน เวลา และสถานที่ผู้มีหน้าที่นัดการประชุม กาหนด หมวดที่ 7 การแก้ไขหรือเพิ่มเติมระเบียบข้อบังคับ ข้อ.20 ระเบียบข้อบังคับนี้ สามารถปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติมได้โดยมติที่ประชุมเกินครึ่งหนึ่ง ของคณะกรรมการ หมวดที่ 8 บทเฉพาะกาล ข้อ.21 ให้ประธานคณะกรรมการอานายการเป็นผู้ลงนามในระเบียบข้อบังคับและมีผล บังคับใช้ในวันที่ประธานลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ.255
(ลงชื่อ)........พัฒนชัย ธรรมที่ชอบ ............. (นายพัฒนชัย ธรรมที่ชอบ ) ประธานกลุ่มเรียนรู้วิถีชุมชน”ลงแขก”บ้านเหล่าลิง