คู่มือส่งเสริมศาสนาวัดท่าสะแบง ตำบลมะบ้า อำเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด ปศท.๒

Page 1

วัดท่าสะแบง

1


วัดท่าสะแบง

2

คานา คู่มือการเรียนรู้เล่มนี้ จัดทาขึ้นเพื่อประกอบการเรียนรู้โครงการวิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัย ในชุมชนวัดท่าสะแบง กิจกรรมที่ 1 เรื่อง ส่งเสริมการเรียนรู้ศาสนา คุณธรรมและจริยธรรมในชุมชน วัดท่าสะแบง เป็นการถ่ายทอดวิถีชีวิตไทยแบบพื้นบ้านของคนอีสานที่อาศัยอยู่ในชุมชน วัดท่าสะแบง หมู่ที่ 4 และหมู่ที่ 7 บ้านท่าสะแบง ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด โดยการนาเอา หลักธรรมะทางพระพุทธศาสนายึดเป็นแนวทางการดาเนินชีวิต ในการประกอบพิธีกรรมและความเชื่อ ทางศาสนพิ ธี ข องชาวอีส านที่ สืบ ทอดมาจากบรรพบุรุษ ได้ปลูก ฝังให้ประชาชนในชุ มชนทั้งเด็ ก ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ ให้มีความรัก ความสามัคคี มีคุณธรรม และจริยธรรม ด้วยการมีส่วนร่วมของคน ในหมู่บ้าน โรงเรียนและชุมชน มาทากิจกรรมร่วมกันที่วัดบ้านท่าสะแบง อันเป็นศูนย์รวมพลังทางกาย และจิตใจของชุมชนบ้านท่าสะแบง คู่มื อการเรียนรู้เล่ม นี้ ได้ส าเร็จสมบูรณ์และเป็นรูปเล่มที่ส วยงาม คณะผู้จัดทาขอกราบ นมั ส การพระภิก ษุ สามเณร วัดท่ า สะแบงทุก รูป ขอขอบคุณภูมิปัญญาพื้ นบ้านและผู้รู้ที่มีส่วน เกี่ยวข้องทุกท่าน ขอขอบคุณ อาจารย์ ดร.วัชรินทร์ แสนรุ่งเมือง ที่ปรึกษาโครงการและถอดบทเรียน ให้สาเร็จลุล่วงด้วยดี หวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่ มือการเรียนรู้เล่มนี้ คงเกิดประโยชน์แก่ผู้ศึกษาเรียนรู้และผู้ที่สนใจ ให้พุทธศาสนาดารงอยู่คู่กับสังคมไทยอีสานอย่างยั่งยืน

คณะผู้จัดทา ชุมชนวัดท่าสะแบง


วัดท่าสะแบง

3

สารบัญ เรื่อง คานา สารบัญ ประวัติวัดท่าสะแบง หลักการและเหตุผล จุดประสงค์ เป้าหมาย วิธีดาเนินการ ประโยชน์ที่คาดว่าได้รับ โครงสร้างหลักสูตรการเรียนรู้ พุทธประวัติ การแสดงความเคารพพระ การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ การอาราธนา การถวายทาน การประเคนของพระ การกรวดน้า การทาสมาธิ – แผ่เมตตา การกล่าวบทระลึกคุณ การทาวัตรเช้า – การทาวัตรเย็น บทสวดสะระภัญญ์กราบลา การจัดโต๊ะหมู่บูชา แหล่งอ้างอิง ภาพกิจกรรมการเรียนรู้ในชุมชนวัดท่าสะแบง พิธีกรรมและความเชื่อในพุทธศาสนพิธี คณะผู้จัดทา

หน้า 1 2 3 6 6 7 9 12 13 14 25 29 36 38 44 45 49 54 61 77 78 83 84 87 88


วัดท่าสะแบง

4

วัดท่าสะแบง คาขวัญวัดท่าสะแบง ขันหมากเบ็งท่าสะแบง งามเลิศล้าประเพณี หลวงปู่ขาวตระการตา

แหล่งเรียนรู้วัฒนธรรม แม่น้าชีแข่งเรือยาว ศูนย์การศึกษา ICT

ประวัติความเป็นมา วัดท่าสะแบง ตั้งอยู่เลขที่ 97 บ้านท่าสะแบง หมู่ที่ 4 ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 6 ไร่ 50 ตารางวา ส.ค. 1 เลขที่ 329 ตั้งขึ้นปี พ.ศ. 2405 เดิมชื่อ “วัดตาลท่าสะแบง” ต่อมาปี พ.ศ. 2481 เปลี่ยนชื่อเป็น “วัดท่าสะแบง” และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา ในวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481 นับตั้งแต่นั้นมา จนถึงปัจจุบัน มีเขตวิสุงคามสีมา ขนาดกว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร ที่ธรณีสงฆ์ จานวน 1 แปลง เนื้อที่ 3 ไร่ 15 ตารางวา ในอดีตได้สร้างไว้เป็นศาลา กลางหมู่บ้านท่าสะแบง ปัจจุบันได้สร้างเป็นแหล่งการเรียนรู้ ศูนย์ปฐมวัย และศูนย์รวม กลุ่มแม่บ้าน ในชุมชนวัดท่าสะแบง

อาณาเขต ทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก

มีเนื้อที่ 2 เส้น 18 วา มีเนื้อที่ 4 เส้น 2 วา มีเนื้อที่ 4 เส้น 6 วา มีเนื้อที่ 4 เส้น 4 วา

ติดกับถนนสาธารณะบ้านท่าสะแบง ติดกับที่ดินของนางอิน ศิริสาร ติดกับแม่น้าชี ติดกับถนนสาธารณะบ้านท่าสะแบง

อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย 1. อุโบสถ ขนาดกว้าง 6 เมตร ยาว 16 เมตร เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก สร้างเมื่อ พ.ศ. 2529 2. ศาลาการเปรียญ ขนาดกว้าง 15 เมตร ยาว 20 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2533 3. กุฎีสงฆ์ จานวน 3 หลัง เป็นอาคารครึ่งตึกครึ่งไม้


วัดท่าสะแบง

5

4. ปูชนียวัตถุ มีพระประธานในอุโบสถ เนื้อโลหะ สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2526 มีพระประธานที่ศาลา การเปรียญ จานวน 1 องค์ และพระประธานที่กุฎี จานวน 1 องค์

การบริหารและการปกครอง มีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนาม ดังนี้ 1. 2. 3. 4.

พระครูขันติภิรมย์ เป็นเจ้าอาวาสระหว่างปี พ.ศ. 2441 – พ.ศ. 2498 เจ้าอธิการคูณ ฐิตปญฺโญ เป็นเจ้าอาวาสระหว่างปี พ.ศ. 2499 – พ.ศ. 2528 พระอธิการรัศมี ปญฺญวโร เป็นเจ้าอาวาสระหว่างปี พ.ศ. 2529 – พ.ศ. 2537 พระครูสิทธิวโรภาส (สะอาด ปภสฺสโร) เป็นเจ้าอาวาสระหว่างปี พ.ศ. 2538 – ปัจจุบัน

สิ่งก่อสร้างถาวรวัตถุ ประกอบด้วย 1. ศาลาการเปรียญ 2 ชั้น มีขนาดกว้าง 12 เมตร ยาว 32 เมตร วางศิลาฤกษ์ ในวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2548 เริ่มดาเนินการก่อสร้าง เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2548 และสร้างเสร็จในปี พ.ศ. 2552 2. พระพุทธสิรินทรมหามุนี (หลวงปู่ขาว) เป็นพระพุทธรูปปูนปั้นสีขาว ขนาดหน้าตักกว้าง 7.85 เมตร สูง 11.50 เมตร สร้างเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน – วันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2549 ใช้เวลาการก่อสร้างรวม 29 วัน ใช้งบประมาณก่อสร้างประมาณ 800,000 บาทเศษ 3. หอระฆัง สร้างเมื่อวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2551 สร้างเสร็จวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2552 ใช้งบ ก่อสร้างประมาณ 500,000 บาท


วัดท่าสะแบง

6

4. ศูนย์การเรียนรู้ ICT ได้รับงบสนับสนุนเครื่องคอมพิวเตอร์ จานวน 21 เครื่อง จากกระทรวง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยใช้งบประมาณของทางวัดท่าสะแบง ในการก่อสร้างศูนย์ การเรียนรู้ ICT ประมาณ 350,000 บาท ก่อสร้าง เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน – 24 สิงหาคม พ.ศ. 2553 เพื่อใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ในชุมชนวัดท่าสะแบง 5. กุฎีสงฆ์ จานวน 1 หลัง เป็นอาคารครึ่งตึกครึ่งไม้ สร้างเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ – 30 เมษายน พ.ศ. 2554 ใช้งบก่อสร้างประมาณ 450,000 บาท 6. ห้องน้า จานวน 5 ห้อง สร้างเมื่อเดือนมีนาคม – เมษายน พ.ศ. 2554 ใช้งบก่อสร้างประมาณ 100,000 บาท

เขตการปกครอง ในอดีต วัดท่าสะแบงอยู่ในเขตการปกครองของอาเภอธวัชบุรี แบ่งเขตการปกครองเป็น 2 กิ่ง ได้แก่ กิ่งอาเภอเชียงขวัญและกิ่งอาเภอทุ่งเขาหลวง ต่อมาทางราชการจึงได้แต่งตั้งยกกิ่งอาเภอทั้ง 2 กิ่ง เป็นอาเภอ คือ อาเภอเชียงขวัญ และอาเภอทุ่งเขาหลวง เมื่อวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2550 วัดท่าสะแบง จึงได้อยู่เขตการปกครองของอาเภอทุ่งเขาหลวง นับตั้งแต่นั้นมาจนถึงปัจจุบัน.


วัดท่าสะแบง

7

โครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย (ปศท.2) ชื่อโครงการ วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง Thai Way of Life on Holistic Health of 3 Ages in Tha Sabang Temple.

กิจกรรมที่ 1 ส่งเสริมการเรียนรู้ศาสนา คุณธรรม และจริยธรรมในชุมชนวัดท่าสะแบง หลักการและเหตุผล การพัฒนาคุณภาพการศึกษา ในการเร่งรัดการปฏิรูปการศึกษาโดยยึดคุณธรรมนาความรู้ ตาม หลักเศรษฐกิจพอเพียง ความสมานฉันท์ สันติวิธี วิถีประชาธิปไตย จากการประเมินในด้านนักเรียน จุดด้อยที่ควรแก้ไขและพัฒนา คือ การกากับดูแลแก้ไขพฤติกรรมนักเรีย นที่ไม่พึงประสงค์ ให้เป็น มาตรฐานและเป็นแบบอย่างที่ดีของโรงเรียน ด้านคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียน เพื่อเป็น การปลูกฝัง คุณธรรม จริยธรรมและส่งเสริมนักเรียนได้เรียนรู้การปฏิบัติตนให้เหมาะสมในสถานภาพของนักเรียน และเป็นคนดีของสังคม รู้จักนาเอาทักษะความรู้ ประสบการณ์ที่ได้รับมาประยุกต์ใช้ ปฏิบัติตนให้ เหมาะสมกับ วัยและสถานการณ์ในสังคมยุ คปัจจุบัน อาจมีบุคคลบางส่วนที่ประพฤติปฏิบัติตนไม่


วัดท่าสะแบง

8

เหมาะสม ขาดความยั้งคิด และขาดคุณธรรม จริยธรรม จึงทาให้เกิดปัญหาทางสังคม ควรได้รับการ เรียนรู้และแนวทางการปฏิบัติตนให้ถูกต้อง โดยใช้กิจกรรมทางพุทธศาสนพิธี เพื่อประกอบพิธีกรรม ตามความเชื่อทางพระพุทธศาสนาของพุทธศาสนิกชน ในชุมชนวัดท่าสะแบง ซึ่งเป็นการสืบทอด ประเพณี ไ ทยและวั ฒ นธรรมพื้ น บ้ า นในชุ ม ชนวั ด ท่ า สะแบง โดยการมี ส่ ว นร่ ว มกิ จ กรรมของคน ในหมู่บ้าน วัด โรงเรียนและชุมชนวัดท่าสะแบง ทั้งวัยเด็ก ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ เกิดความรัก ความ สามัคคี และความสมานฉันท์ สามารถนาเอาทักษะการเรียนรู้มาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการ ดารงชีวิตประจาวัน และการทากิจกรรมร่วมกันในได้สังคมอย่างมีความสุข รวมทั้งเป็นการส่งเสริม พุทธศาสนา คุณธรรมและจริยธรรมในชุมชนวัดท่าสะแบง ให้อยู่คู่กับสังคมไทยอีสานอย่ างยั่งยื น ตลอดไป

วัตถุประสงค์ ผลผลิต (Out put) 1. เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้พุทธศาสนาโดยนาเอาหลักธรรมคาสอนของพระพุทธศาสดามาประยุกต์ใช้ กับหลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียงในการดาเนินชีวิตประจาวันในชุมชนวัดท่าสะแบง 2. เพื่อส่งเสริมการปฏิบัติตนให้เป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม ตามขนบธรรมเนียมประเพณีไทย 3. เพื่อส่งเสริมการทากิจกรรมพุทธศาสนพิธีร่วมกัน ส่งผลให้เกิดความรัก ความสามัคคี และอยู่ใน สังคมอย่างสันติสุข

ประโยชน์ที่ได้รับ ผลลัพธ์ (Out come) 1. บุคคลในชุมชนวัดท่าสะแบง ดาเนินวิถีชีวิตประจาวันอยู่อย่างพอเพียง 2. บุคคลในชุมชนวัดท่าสะแบงมีคุณธรรม จริยธรรม และมีส่วนร่วมการสืบสานขนบประเพณีไทย ให้อยู่คู่กับชุมชนอีสานและสังคมไทยอย่างยั่งยืนตลอดไป 3. บุคคลทั้ง 3 วัยในชุมชนวัดท่าสะแบงทากิจกรรมพุทธศาสนพิธีร่วมกัน ส่งผลให้เกิดความรัก ความสามัคคี และอยู่ในสังคมอย่างสันติสุข

เป้าหมาย เชิงปริมาณ เด็ก ผู้ใหญ่ และ ผู้สูงอายุ หมู่ที่ 4 และ หมู่ที่ 7 บ้านท่าสะแบง ตาบลมะบ้า อาเภอ ทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด จานวน 100 คน


วัดท่าสะแบง

9

เชิงคุณภาพ กลุ่มเป้าหมาย จานวน 100 คน ได้เรียนรู้เกี่ยวกับพระพุทธศาสนา ส่งผลให้มีคุณธรรม จริยธรรม และปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีของสังคม คิดเป็นร้อยละ 80

ระยะเวลาดาเนินการ เริ่มตั้งแต่ 1 เมษายน 2554 – 1 เมษายน 2555

สถานที่ดาเนินการ ชุมชนวัดท่าสะแบง ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด หน่วยงานที่รับผิดชอบ วัดท่าสะแบง ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1. 2. 3. 4. 5. 6.

วัดท่าสะแบง หมู่ที่ 4 ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด บ้านท่าสะแบง หมู่ที่ 4 ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด บ้านท่าสะแบง หมู่ที่ 7 ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด โรงเรียนบึงงามพัฒนา ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด โรงเรียนบ้านขว้างท่าสะแบง ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด

ผู้รับผิดชอบ คณะทางานโครงการ ประกอบด้วย 1. พระครูสุทธิวโรภาส 2. พระอนุสรณ์ ปภัสฺสโร 3. พระมหา ดร.ทองจันทร์ กมโล 4. คณะสงฆ์วัดท่าสะแบงทุกรูป 5. นายบุญเสริม เครือน้าคา 6. นางบัวบาน ประวิเศษ 7. นายธงชัย โพธิรุกข์ 8. นายเสนอ แก้วนาคูณ 9. นางทองทรัพย์ ปัตโต 10 นางกอบแก้ว สุดเสน่ห์

เจ้าอาวาสวัดท่าสะแบง วัดท่าสะแบง วัดท่าสะแบง วัดท่าสะแบง กานันตาบลมะบ้า ผอ.กศนทุ่งเขาหลวง ผอ.รร.บึงงามพัฒนา ผอ.รร.บ้านขว้างท่าสะแบง ครู.กศนทุ่งเขาหลวง ครู รร.บึงงามพัฒนา

ประธาน รองประธาน ผู้ประสานงาน กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ


วัดท่าสะแบง

11. นางนวลจันทร์ ชะยุมาตร์ 12. นายประพันธ์ ดิลกศรี 13. นายธารง ทิพยสาร 14. นายประดิษฐ์ ฤทธิวุฒิ 15. นางวิภา ชุดขุนทด 16. นางคมทอง จานงค์จิตร 17. นางสุปรียา ทิพยสาร 18. นางลาพอง วิลัยศิลป์ 19. นางวัน วจีภูมิ 20. นางพูน ธุหา 21. นางพร จิตรวุธ 22. นางบุญนอง สนองผัน 23. นางทองเลี่ยม นิลภักดิ์ 24. นางลาไย ฤทธิวุธ 25. นางจาลอง เอกวุธ 26. เรือเอกอานวย ภูมิภักดิ์ 27. นายสารอง มาลาขันธ์ 28. นายดวน เอกวุธ 29. ดร.วัชรินทร์ แสนรุ่งเมือง

10

ครู รร.บ้านขว้างท่าสะแบง กรรมการ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 4 กรรมการ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 7 กรรมการ ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านหมู่ 4 กรรมการ ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านหมู่ 7 กรรมการ สารวัตรกานันตาบลมะบ้า กรรมการ สารวัตรกานันตาบลมะบ้า กรรมการ บ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน บ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน บ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน บ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน บ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน บ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน บ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน บ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน บ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน บ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน บ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน นักวิชาการ ที่ปรึกษาและถอดบทเรียน

วิธีดาเนินงาน กิจกรรมที่ 1 ส่งเสริมการเรียนรู้ศาสนา คุณธรรมและจริยธรรมในชุมชนวัดท่าสะแบง งบประมาณ 70,000 บาท รายละเอียดดังนี้ กิจกรรม ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมคณะทางาน 2. แต่งตั้งคณะทางาน 3. วางแผนการทางาน ขั้นดาเนินการ 1. จัดทาคู่มือส่งเสริมการเรียนรู้

ระยะเวลา

งบประมาณ

ผู้รับผิดชอบ

1 เมษายน 2554 – 30 เมษายน 2554

3,000

1. ประธานโครงการ 2. คณะทางาน โครงการ 3. ผู้ประสานงาน โครงการและ

1,500 1 พฤษภาคม 2554 –

3,000


วัดท่าสะแบง

ศาสนา คุณธรรมและจริยธรรม ในชุมชนวัดท่าสะแบง 2. ประสานกับองค์กรที่เกี่ยวข้อง 3. ประชาสัมพันธ์การทางาน 4. ดาเนินการจัดกิจกรรมตามโครงการ 4.1 ประชุมกลุ่มเป้าหมาย 4.2 จัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ ศาสนา คุณธรรม และจริยธรรม ในชุมชนวัดท่าสะแบง 4.3 จัดนิทรรศการ ขั้นประเมินผล 1. สังเกตการเข้าร่วมกิจกรรม 2. การตอบแบบสอบถาม 3. สรุปผลการดาเนินงาน 4. รายงานผลการจัดทาโครงการและ ถอดบทเรียน

11

31 พฤษภาคม 2554 1 มิถุนายน 2554 – 24 ธันวาคม 2554

5,000

เหรัญญิก 4. ที่ปรึกษาโครงการ และถอดบทเรียน

44,500 -

30 ธันวาคม 2554

10,000

1 มิถุนายน 2554 – 29 กุมภาพันธ์ 2555 30 ธันวาคม 2554 – 29 กุมภาพันธ์ 2555

3,000 -

งบประมาณ กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ศาสนา คุณธรรมและจริยธรรมในชุมชนวัดท่าสะแบง ได้รับงบประมาณสนับสนุน จานวน 70,000 บาท ตามรายละเอียดต่อไปนี้

รายการ 1. ค่าอาหารการประชุมคณะทางาน 2. ค่าตอบแทนพิจารณาโครงการ 3. ค่าจัดทาคู่มือส่งเสริมการเรียนรู้ศาสนา คุณธรรมและคุณธรรมในชุมชนวัดท่าสะแบง 4. ค่าตอบแทนครูผู้สอน 5. ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานคณะทางาน

จานวนเงิน /บาท 3,000 1,500 3,000 12,000 3,000

ผู้รับผิดชอบ 1. ประธานโครงการ 2. คณะทางานโครงการ 3. ผู้ประสานงานโครงการ และเหรัญญิก 4. ที่ปรึกษาโครงการและ ถอดบทเรียน


วัดท่าสะแบง

6. ค่าดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 7. ค่าสถานที่ประชุม 8. ค่าสื่อและแผ่นป้ายประชาสัมพันธ์ 9. ค่าจัดทาแบบสอบถาม 10. ค่าวัสดุสานักงาน 11. ค่าพาหนะเดินทาง 12. ค่าจัดนิทรรศการ

12

25,000 5,000 5,000 500 1,000 1,000 10,000 70,000

การวัดและประเมินผล ตัวบ่งชี้ สภาพความสาเร็จ

วิธีการจัด กิจกรรมการเรียนรู้

วิธีการวัดและ ประเมินผล

-การอธิบาย -การบรรยาย -การสาธิต -การปฏิบัติ -การจัดนิทรรศการ

-การสังเกต -การเข้าร่วม กิจกรรม -การทากิจกรรม -การถามคาถาม -การตอบคาถาม -การทดสอบ -ประเมินผลงาน

เครื่องมือที่ใช้ วัดและประเมินผล

ด้านผลผลิต (OUTPUT) 1. เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้พุทธศาสนา โดยนาเอาหลักธรรมคาสอนของ พระพุทธศาสดามาประยุกต์ใช้กับ หลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง ในการดาเนินชีวิตประจาวันในชุมชน วัดท่าสะแบง 2. เพื่อส่งเสริมการปฏิบัติตน ให้เป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม ตามขนบธรรมเนียมประเพณีไทย 3. เพื่อส่งเสริมการทากิจกรรม พุทธศาสนพิธีร่วมกัน ส่งผลให้ เกิดความรัก ความสามัคคี และ อยู่ในสังคมอย่างสันติสุข

-แบบสังเกต -คาถาม/คาตอบ -แบบทดสอบ -แบบประเมิน ผลงาน


วัดท่าสะแบง

ตัวบ่งชี้ สภาพความสาเร็จ

13

วิธีการจัด กิจกรรมการเรียนรู้

วิธีการวัดและ ประเมินผล

-การอธิบาย -การบรรยาย -การสาธิต -การปฏิบัติ -การจัดนิทรรศการ

-การสังเกต -การเข้าร่วม กิจกรรม -การทากิจกรรม -การถามคาถาม -การตอบคาถาม -การทดสอบ -ประเมินผลงาน

เครื่องมือที่ใช้ วัดและประเมินผล

ด้านผลลัพธ์ (OUTCOME) 1. บุคคลในชุมชนวัดท่าสะแบง ดาเนินวิถีชีวิตประจาวันอยู่อย่าง พอเพียง 2. บุคคลในชุมชนวัดท่าสะแบง มีคุณธรรม จริยธรรม และมีส่วนร่วม การสืบสานขนบประเพณีไทยให้อยู่ คู่กับชุมชนอีสานและสังคมไทย อย่างยั่งยืนตลอดไป 3. บุคคล 3 วัยในชุมชนวัดท่าสะแบง ทากิจกรรมพุทธศาสนพิธีร่วมกัน ส่งผลให้เกิดความรัก ความสามัคคี และอยู่ในสังคมอย่างสันติสุข

-แบบสังเกต -คาถาม/คาตอบ -แบบทดสอบ -แบบประเมิน ผลงาน

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. บุคคลในชุมชนวัดท่าสะแบง ดาเนินวิถีชีวิตประจาวันโดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับ ประยุกต์ใช้ให้อยู่อย่างพอเพียงได้อย่างเหมาะสม 2. บุคคลในชุมชนวัดท่าสะแบงมีคุณธรรม จริยธรรม และมีส่วนร่วมการสืบสานขนบประเพณีไทย ให้อยู่คู่กับชุมชนอีสานและสังคมไทยอย่างยั่งยืนตลอดไป 3. บุคคล 3 วัยทั้งเด็ก ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุในชุมชนวัดท่าสะแบง ได้ทากิจกรรมพุทธศาสนพิธีร่วมกัน ส่งผลให้เกิดความรัก ความสามัคคี และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติสุข 4. บุคคลทั้ง 3 วัยในชุมชนวัดท่าสะแบง มีคุณธรรม จริยธรรม มีสุขภาวะที่ดี และมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น


วัดท่าสะแบง

14

โครงสร้างหลักสูตรการเรียนรู้ โครงการวิถีชีวิตไทย สู่สขุ ภาวะ 3 วัย ในชุมชนวัดท่าสะแบง กิจกรรมที่ 1 เรื่อง ส่งเสริมการเรียนรู้ศาสนา คุณธรรมและจริยธรรม ครั้งที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

วัน เดือน ปี 7 – 14 พ.ค. 54 21 – 28 พ.ค. 54 4 – 11 มิ.ย. 54 18 – 25 มิ.ย. 54 2 – 9 ก.ค. 54 16 – 23 ก.ค. 54 30 ก.ค. 54 6 – 27 ส.ค. 54 3 – 24 ก.ย. 54 1 – 29 ต.ค. 54 5 – 26 พ.ย. 54 3 – 10 ธ.ค. 54 17 – 24 ธ.ค. 54 30 ธ.ค. 54 30 ธ.ค. 54

กิจกรรมการเรียนรู้ พุทธประวัติ การแสดงความเคารพพระ การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ การอาราธนา การถวายทาน การประเคนของพระ การกรวดน้า การทาสมาธิ - แผ่เมตตา การกล่าวบทระลึกคุณ การทาวัตรเช้า การทาวัตรเย็น บทสวดสะระภัญญ์กราบลา การจัดโต๊ะหมู่บูชา การจัดนิทรรศการ การประเมินผล รวม

เวลา/ชม. 2 2 2 2 2 2 2 4 4 4 4 4 4 5 2 45


วัดท่าสะแบง

15

พุทธประวัติ พุทธประวัติ พระพุทธเจ้า หมายถึง ผู้ตื่น หรือ ผู้ตรัสรู้ธรรม พระพุทธเจ้าเป็นศาสดาของศาสนาพุทธ แต่แท้จริงแล้ว พระองค์ไม่ใช่พระเจ้า หรือศาสดาผู้พยากรณ์ใด ๆ เลย แต่พระองค์ทรงเป็นมนุษย์ ผู้ประเสริฐคนหนึ่งเท่านั้น

ประสูติ พระเจ้าสุทโธทนะมีพระอัครมเหสีทรงพระนามว่า มหามายาเทวี ทั้งสองพระองค์ทรงอยู่ ร่วมกันมาด้วยความผาสุก จนกระทั่งพระเทวีทรงมีพระครรภ์ และเมื่อพระครรภ์แก่จวนจะประสูติ พระนางจึงได้รับพระบรมราชานุญาตจากพระสวามี ให้แปรพระราชฐานไปประทับที่กรุงเทวทหะ เป็นการชั่วคราว ทั้งนี้ก็เพื่อประสูติในตระกูลของพระนางตามประเพณีนิยมสมัยนั้น พระเทวีเสด็จ ออกจากกรุงกบิลพัสดุ์พร้อมด้วยข้าราชบริพารในเวลาเช้า ของวันเพ็ ญเดือน 6 ก่อนพุทธศักราช 80 ปี เมื่อขบวนเสด็จผ่านมาถึงสวนลุมพินี ตั้งอยู่กึ่งกลางทางระหว่างกรุงกบิลพัสดุ์และกรุงเทวทหะต่อกัน พระนางทรงมีพระประสงค์จะประพาสอุทยาน ข้าราชบริพารจึงเชิญเสด็จประทับพักผ่อนอิริยาบถใต้ ต้นสาละ ขณะประทับอยู่ที่สวนลุมพินีนั้น พระนางได้ประสูติ พระโอรสภายใต้ต้นสาละ เมื่อพระเจ้า สุทโธทนะทรงทราบข่าวประสูติ จึงตรัสสั่งให้เชิญเสด็จ พระนางพร้อมด้วยพระราชกุมารกลับคืน กรุงกบิลพัสดุ์โดยด่วน


วัดท่าสะแบง

16

ข่าวการประสูติแพร่ไปถึงอสิตดาบส ผู้อาศัยอยู่ในอาศรมเชิงเขาหิมาลัย ดาบสท่านนี้ มีความคุ้นเคยกับราชสานักของพระเจ้าสุทโธทนะ พอทราบข่าวประสูติของพระราชกุมาร ดาบสจึงลง จากเขาเข้าไปเยี่ยมเยียนราชสานัก ท่านมีความรู้เกี่ยวกับการทานายมหาปุริสลักษณะ พอเป็นพระราช กุมารก็ทานายได้ทันทีว่านี่คือผู้จะตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า จึงกล่าวพยากรณ์ว่า "พระราชกุมารนี้ จักบรรลุพระสัพพัญญุตญาณ เห็นแจ้งพระนิพพานอันบริสุทธ์อย่างยิ่ง ทรงหวังประโยชน์แก่ ปวงชน เป็นอันมาก จะประกาศธรรมจักรพรหมจรรย์ของพระกุมารนี้จักแพร่หลาย" แล้วกราบลงแทบพระบาท ของพระกุมาร พระเจ้าสุทโธทนะทรงทอดพระเนตรเห็นเหตุการณ์ทรงรู้สึกอัศจรรย์ และเปี่ยมล้นด้วย ปีติ ถึงกับทรุดพระองค์ลงอภิวาทพระราชกุมารตามอย่างดาบส

เมื่อพระกุมารประสูติได้ 5 วัน พระเจ้าสุทโธทนะโปรดให้ประกอบพิธีเฉลิมฉลองรับขวัญ และขนานพระนาม โดยเชิญพราหมณ์ 108 คน ผู้เชี่ยวชาญไตรเพทมาบริโภคโภชนาหาร ที่ประชุ ม พราหมณ์ได้ถวายพระนามว่า "สิทธัตถะ" แปลว่า "สมประสงค์" คือพระราชกุมารจะทรงปรารถนา สิ่งใด ก็จะได้สิ่งนั้นตามความปรารถนา แต่คนส่วนมากมักเรียกพระองค์ตามชื่อโคตรว่า "โคตมะ" ต่อจากนั้นพราหมณ์ทั้ง 8 คน ผู้รู้การทานายลักษณะได้ตรวจสอบลักษณะของพระกุมารแล้ว พบว่า พระกุมารมีลักษณ์มหาบุรุษ 32 ประการ จึงให้คาทานายชีวิตในอนาคตของพระกุมาร พราหมณ์ 7 คน ทานายว่าพระสิทธัตถราชกุมาร ถ้าอยู่ครองเพศฆราวาสจะได้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ แต่ถ้าออกผนวช จะได้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ศาสดาเอกของโลก แต่พราหมณ์คนที่ 8 ชื่อว่า โกณฑัญญะ ได้ให้ คาทานายยืนยันหนักแน่นเป็นคติเดียวว่า พระกุมารจะต้องทรงออกผนวช และตรัสรู้เป็นพระสัมมา สัมพุทธเจ้า


วัดท่าสะแบง

17

ตรัสรู้ ในเวลาเช้าของวันเพ็ญเดือน 6 พระสิทธัตถะประทับนั่งใต้โคนต้นไทร นางสุชาดาได้นาถาด อาหารมาเพื่อแก้บนรุกขเทวดาประจาต้นไทร พบพระสิทธัตถะ นางก็เข้าใจว่าเป็นเทวดา นั่งรอเครื่อง พลีกรรมจึงนาข้าวมธุปายาสไปถวายทั้งถาด พระสิทธัตถะรับของถวายแล้วถือถาดไปยังริมฝั่งแม่น้า เนรัญชรา สรงสนานพระวรกาย แล้วขึ้นมาประทับนั่งเสวยข้าวมธุปายาส จานวน 49 ปั้น จนหมด จากนั้นเสด็จไปประทับในดงไม้สาละ จนเวลาเย็นจึงเสด็จไปที่ต้นมหาโพธิ์ ทรงปูลาดหญ้าคา 8 กา ที่โสตถิยพราหมณ์ถวายในระหว่างทางลงใต้ต้นมหาโพธิ์ ประทับนั่งขัดสมาธิ หันพระพักตร์ไปทางทิศ ตะวันออก หันประปฤษฎางค์เข้าหาต้นมหาโพธิ์ แล้วทรงอธิษฐานว่า "แม้เนื้อและเลือดจะเหือดแห้งไป เรายังไม่บรรลุสัมมาสัมโพธิญาณตราบใด จะไม่ลุกขึ้นจากที่นี่ตราบนั้น" จากนั้น ทรงเจริญสมาธิภาวนาจนจิตเป็นสมาธิได้ฌานที่ 4 แล้วบาเพ็ญภาวนาต่อไป จนได้ฌาน 3 คือ ในยามที่หนึ่งของคืนนั้นทรงได้ปุพเพนิ วาสนุสติญาณ คือ ระลึกชาติปางก่อนของ พระองค์เองได้ ในยามที่ 2 ทรงได้จุตูปปาตญาณ คือมีตาทิพย์สามารถเห็นการจุติและอุบัติของวิญญาณ ทั้งหลาย และในยามสุดท้า ย ทรงได้อาสวักขยญาณ คือ ตรัสรู้อริยสัจ 4 ว่าอะไร คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค ความรู้นี้ทาให้กิเลสาสวะหมดสิ้นไปจากจิตใจ พระพุทธเจ้าตรัสเล่าถึง สภาพจิตของ พระองค์ขณะที่เข้าถึงความหลุดพ้นไว้ว่า "เมื่อเรารู้เห็น (อริยสัจ 4) อย่างนี้ จิตจึงหลุดพ้นทั้งจาก กามาสวะ ภวาสวะ และอวิชชาสวะ เมื่อจิตหลุดพ้นแล้ว เราได้มีญาณหยั่งรู้ว่า ตัวเองหลุดพ้นแล้ว เรารู้แจ่มชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว ประพฤติพรหมจรรย์จบแล้ว ทาหน้าที่สาเร็จแล้ว ไม่มีอะไรให้เป็นอย่างนี้ อีกแล้ว" พระองค์ทรงตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในเวลาที่แสงเงินแสงทองเริ่มจับขอบฟ้า รวม ระยะเวลาที่บาเพ็ญเพียร ตั้งแต่ออกผนวชจนตรัสรู้ ได้ 6 ปี ขณะที่ ตรัสรู้พระองค์ทรงมีพระชนมายุ 35 พรรษา


วัดท่าสะแบง

18

"พระเจดีย์ ศรีมหาโพธิ์-พุทธคยา" ที่ประทับตรัสรู้ตั้งอยู่ที่ ตาบลพุทธคยา อาเภอคยา จังหวัด คยา รัฐพิหาร ประเทศอินเดีย มีลักษณะเป็นรูปเจดีย์สี่เหลี่ยม สูง 170 ฟุต วัดโดยรอบฐาน 121.29 เมตร มีรูปทรงเรียวรี สมส่วน สง่างาม ประทับตา ประทับใจแก่ผู้ที่ได้เห็น และน้อมนมัสการเป็นอย่างมาก เดิมนั้น บริเวณพุทธคยา ที่ประทับตรัสรู้ สมัยพระเจ้าอโศกมหาราช ได้สร้างเป็นมหาวิหารที่สง่างาม และใหญ่โต ทั่วรัฐพิหาร ซึ่งเป็นรัฐที่กว้างใหญ่รัฐหนึ่งของอินเดีย มีพลเมืองถึง 60 ล้านเศษ (มากกว่า จานวนพลเมืองในประเทศไทย ทั้งประเทศ) ในยุคสมัยพระพุทธศาสนารุ่งเรือง ต่างก็ได้สร้าง "วิหาร" ไว้อย่างมากมายทั่วทั้งรัฐ มีลักษณะเหมือนเมืองไทยเราที่สร้างวัดไว้อย่างมากมาย ไปบ้านไหนเมืองใด ก็จะพบแต่วัดที่สวยงาม ดังนั้น "รัฐพิหาร" ของอิ นเดียในปัจจุบัน ที่ได้นามนี้เป็นชื่อรัฐ ก็เพราะรัฐนี้มี "วิหาร" เต็มทั่วไปหมด เมื่ อปี พุท ธศั ก ราช 694 กษั ตริย์ ชาวพุ ทธ พระนามว่า "หุวิชกะ" ได้พิ จารณาเห็น ความสาคัญของพระพุทธศาสนา และเพื่อเป็นศูนย์รวมศรัทธา ในฐานะที่พุทธคยา เป็นพุทธสถานต้น กาเนิดของพระพุ ท ธศาสนา จึง ได้ใ ห้ช่ างออกแบบสร้าง "เจดีย์ศรีมหาโพธิ์พุ ทธคยา" เพื่ อเป็น อนุสรณ์ถึงองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เป็นรูปเจดีย์สี่เหลี่ยม ทรงรี สวยงาม สร้างเป็น 2 ชั้น โดยชั้น ล่างเป็นที่กราบน้อมนมัสการ และชั้นบนเป็นห้องภาวนาเพื่อสงบจิตใจ

ปรินิพพาน พรรษาที่ 45 เป็นพรรษาสุดท้ายของพระพุทธเจ้าผู้มีพระชนมายุในขณะนั้น ได้ 80 พรรษา ในพรรษานี้ พระองค์ได้เสด็จประทับจาพรรษา ณ เวฬุวคาม ใกล้เมืองเวสาลี แคว้นวัชชี ในระหว่าง


วัดท่าสะแบง

19

พรรษานี้ พระองค์ทรงประชวรอย่างหนัก มีความเจ็บปวดอย่างรุนแรงถึงกับจะปรินิพพาน แต่พระองค์ ทรงระงับความเจ็บปวดทรมาน ด้วยการเข้าเจโตสมาธิอันไร้นิมิต ในวันเพ็ญเดือน 3 ภายหลังพรรษา นั้น พระพุทธเจ้าเสด็จไปประทับ ณ ปาวาลเจดีย์ ตรัสบอกพระอานนท์ว่า พระองค์ได้ตัดสิ นพระทัย แล้วว่าจะปรินิพพานในเวลา 3 เดือน นับแต่วันนั้น การตัดสินพระทัยเช่นนี้ เรียกว่า ปลงพระชนมายุ สังขาร ตั้งแต่วันนั้นเป็นต้นมา พระพุทธองค์เสด็จออกจากเมืองเวสาลีแสดงธรรมในที่ต่าง ๆ จนถึง วันขึ้น 14 ค่า เดือน 6 เหลืออีกเพียง 1 วัน จะครบ 3 เดือน พระองค์เสด็จถึงเมืองปาวา ประทับอยู่ใน สวนมะม่วงของนายจุนทะ ทรงแสดงธรรมโปรดนายจุนทะให้ได้บรรลุโสดาปัตติผล และนายจุนทะ ได้อาราธนาพระพุทธองค์ พร้อมด้วยพระภิกษุสงฆ์ให้ไปฉันภัตตาหารที่บ้านของตนเองในวันรุ่งขึ้น พระพุทธองค์ทรงรับอาราธนา วั น รุ่ ง ขึ้ น ตรงกั บ วั น เพ็ ญเดื อ น 6 เสด็จ ไปฉั น ภัต ตาหารที่ บ้ า นนายจุ น ทะ ซึ่ ง เป็น การรั บ บิ ณฑบาตครั้ง สุดท้ า ย พระองค์ ฉั นสูก รมัททวะ ที่น ายจุน ทะทาถวาย ทรงห้ามมิใ ห้ภิก ษุ อื่นฉัน สู กรมัททวะนั้น หลังจากอนุโมทนาแล้ว เสด็จออกจากบ้านนายจุนทะ ในระหว่างทางทรงประชวรหนัก ขึ้นถึงลงพระโลหิต แต่ทรงบรรเทาทุกขเวทนานั้นด้วยกาลังอธิวาสนขันติและฌานสมาบัติ แล้วเสด็จ เดินทางต่อไป ทรงพักเหนื่อยเป็นระยะ ๆ จนลุถึงเมืองกุสินารา ทรงเสด็จเข้าไปยังดงไม้สาละ รับสั่ง ให้ปูลาดเสนาสนะ ระหว่างไม้สาละคู่หนึ่งแล้วเสด็จบรรทมสีหไสยาโดยมิได้ คิดจะลุกขึ้นอีก เวลานั้น ต้นสาละทั้งคู่ผลิดอกบานเต็มต้นโปรยดอกหล่นต้องพระพุทธสรีระ ประดุจเป็นการบูชาพระพุทธองค์ เมืองกุสินาราขณะประทับในอิริยาบถนั้น ทรงแสดงธรรมตลอดเวลาทรงแนะนาพระอานนท์ ให้ปฏิบัติต่อพุทธสรีระ เช่นเดียวกับการปฏิ บัติพระบรมศพของพระเจ้าจักรพรรดิ ในคืนนั้นสุภัทท ปริพาชกได้ขอเข้าเฝ้า ทูลถามปัญหาต่าง ๆ และพระองค์ทรงตอบปัญหาให้เป็นที่พอใจ สุภัทท ปริพาชกเลื่อมใสทูลขอบรรพชาอุปสมบท พระองค์ทรงอนุญาตการอุปสมบทให้เป็นพิเศษ สุภัททะจึง ได้บวชเป็นพระภิกษุ นับเป็นสาวกองค์สุดท้าย อันนี้เป็นหลักฐานยืนยันว่าพระพุทธองค์ทรงบาเพ็ญ พุทธกิจ จนนาทีสุดท้ายแห่งพระชนม์ชีพ ต่อจากนั้น พระพุทธองค์ทรงเปล่งวาจาเป็นปัจฉิมโอวาทว่า "ภิกษุทั้งหลาย บัดนี้ เราขอเตือนพวกเธอว่า สังขารทั้งหลายมีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา พวกเธอจง ยังประโยชน์ให้ถึงพร้อมด้วยความไม่ประมาทเถิด" สิ้นพระสุรเสียงนี้ก็มีแต่ความเงียบสงบ พระองค์ เสด็จดับขันธปรินิพพานใต้ต้นสาละ ณ สาลวโนทยาน ของเหล่ามัลลกษัตริย์ เมืองกุสินารา แคว้น มัลละ ในยามสุดท้ายแห่งคืนพระจันทร์เต็มดวง วันขึ้น 15 ค่า เดือน 6 รวมพระชนม์ 80 พรรษา และ วันนี้ถือเป็นการเริ่มต้นของพุทธศักราช


วัดท่าสะแบง

20

สังเวชนียสถาน สังเวชนียสถานสี่ตาบล คือ ดินแดนที่องค์พระผู้มีพระภาคเจ้า เคยตรัสบอกกับพระอานนท์ ก่อนที่พระองค์จะเสด็จดับขันธ์ปรินิพพานว่า “ดูก่อนอานนท์ ชนทั้งหลายเหล่าใดเที่ยวจาริกไปยังเจดีย์ 4 สถานเหล่านั้น แล้วมีจิตเลื่อมใส ชนเหล่านั้นทั้งหมดเบื้องหน้าแต่ตายเพราะกายแตก จักเข้าถึงสุคติ โลกสวรรค์” สังเวชนียสถาน 4 หมายถึง สถานที่ที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธเจ้า 4 แห่ง ได้แก่ สถานที่ประสูติ สถานที่ตรัสรู้ สถานที่ทรงแสดงธรรมครั้งแรก และสถานที่ปรินิพพาน สถานที่ดังกล่าวมีความสาคัญ ทางประวัติศาสตร์ของพระพุทธศาสนา ดังนี้ 1. สถานที่ประสูติ พระพุทธเจ้าประสูติในวัน ขึ้น 15 ค่า เดือน 6 ที่ใต้ร่มไม้รังหรือต้นสาละ แห่งสวนลุมพินีวัน อันเป็นสถานที่ท่องเที่ยวพักผ่อนหย่อนใจของชาวเมืองกบิลพัสดุ์ และชาวเมือง เทวทหะ ปัจจุบันอยู่ชายแดนประเทศเนปาล ที่วิหารลุมพินี

ลุมพินีวัน เขตประเทศเนปาล สถานที่ประสูติ อาคารสีแดงคือมายาเทวีวิหาร ด้านข้างคือเสาอโศก ด้านหน้าเป็นสระโบกขรณี


วัดท่าสะแบง

21

2. สถานที่ตรัสรู้ ในวันขึ้น 15 ค่า เดือน 6 ปีระกา ก่อนพุทธศักราช 45 ปี พระพุทธองค์ทรง ตรัสรู้เป็นพระอรหันต์ ณ โคนต้นโพธิ์ ใกล้ริมฝั่งแม่น้าเนรัญชรา ด้านตะวันตก วิหารพุทธคยา จังหวัด คยา รัฐพิหาร ประเทศอินเดียปัจจุบัน

วิหารพุทธคยา ในประเทศอินเดีย อันเป็นสถานที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้ เนื่องจากองค์พระเจดีย์มีอายุยืนนาน ได้มีการบูรณะปฏิสังขรณ์โดยลาดับมา เมื่อปลายปี พ.ศ. 2519 (6 ธันวาคม 2519) คณะกรรมการองค์พระเจดีย์ได้ขอร้องให้ พระธรรมมหาวีรานุวัตร (บุญ เลิศ ท. คล่องสั่ งสอน) เจ้าอาวาสวัดไทยพุทธคยา และหัวหน้าพระธรรมฑูตไทย-ในอินเดีย (ใน สมัยนั้น) ในนามชาวพุทธไทยบูรณะชั้นบนองค์พระเจดีย์ (สร้างเป็นห้องไทย) และช่วยกันสร้างกาแพง แก้วรอบองค์พระเจดีย์ ทั้งหมด 80 ช่อง พร้อมทั้งซุ้มประตูศิลปแบบอโศก 2 ซุ้ม ทาให้องค์พระเจดีย์ ได้รับการดูแลสะอาดเรียบร้อยดีสวยงามขึ้น ส่วนยอดองค์พระเจดีย์ (ตรัสรู้) ชาวพุทธไทย ได้ขอติดตั้ง ไฟแสงจันทร์ให้งามสว่างไสว แก่องค์พระเจดีย์มาจนบัดนี้


วัดท่าสะแบง

22

3. สถานที่ทรงแสดงธรรมเทศนาครั้งแรก พระพุทธเจ้าทรงแสดงพระธรรมเทศนาครั้งแรก แก่ปัญจวัคคีย์ ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน ในวันเพ็ญ ขึ้น 15 ค่า เดือน 8 ธรรมที่ทรงแสดงครั้งแรก คือ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร ปัจจุบันที่แสดงธรรมแห่งนี้ มีพระสถูป เรียกว่า ธัมเมกขสถูป ตั้งอยู่ที่ป่า อิสิปตนมฤคทายวัน ที่สารนาถ ใกล้เมืองพาราณาสี รัฐพิหาร ประเทศอินเดีย

ธัมเมกขสถูป เมืองสารนาถ ที่ซึ่งพระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนา และนาโกณฑัญญะ ให้เห็นธรรม อุปสมบทเป็นภิกษุองค์แรกในพระพุทธศาสนา 4. สถานที่ปรินิพพาน พระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพพาน ในวันเพ็ญ ขึ้น 15 ค่า เดือน 6 สถานที่ที่พระพุทธเจ้าปรินิพพาน ได้จัดทาเป็นสถูปปรินิพพาน ตั้งอยู่ ณ สาลวโนทยาน เมืองกุสินารา รัฐอุตรประเทศ ประเทศอินเดีย

มกุฎพันธนเจดีย์ เมืองกุสินารา ที่ถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระ คนท้องถิ่นเรียกว่า “รามภาร์-กา-ดีลา”


วัดท่าสะแบง

23

พระพุทธไสยาสน์ปางปรินิพพาน ที่เมืองกุสินารา

มหาปรินิพพานสถูป สังเวชนียสถาน ทั้ง 4 แห่งนี้ เป็นสถานที่สาคัญของพระพุทธศาสนา เป็นสถานที่ที่ พุทธศาสนิกชนควรไปสักการะ เพื่อราลึกถึงพระพุทธองค์ รัฐบาลไทยได้จาลองสถานที่ดังกล่าว ที่บริเวณพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม เมื่อถึงวันสาคัญหรือพิธีกรรมทางศาสนา พระมหากษัตริย์ หรือผู้แทนพระองค์จะเสด็จไปเป็นประธาน ณ บริเวณพุทธมณฑลนี้


วัดท่าสะแบง

24

คาบูชาพระรัตนตรัย โย โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด ทรงเป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้ด้วยพระองค์เองโดยชอบ สวากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธัมโม พระธรรมที่พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด ตรัสไว้ดีแล้ว สุปะฏิปันโน ยัสสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด เป็นผู้ปฏิบัติดีแล้ว ตัมมะยัง ภะคะวันตัง สะธัมมัง สะสังฆัง อิเมหิ สักกาเรหิ ยะถาระหัง อะโรปิเตหิ อะภิปูชะยามะ ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอบูชาอย่างยิ่ง ซึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น พร้อมทั้งพระธรรม พร้อมทั้งพระสงฆ์ ด้วยเครื่องสักการะเหล่านี้ ที่พวกข้าพเจ้าทั้งหลาย ยกขึ้นไว้ตามสมควรแล้ว สาธุ โน ภันเต ภะคะวา สุจิระปะรินิพพุโตปิ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ดังพวกข้าพเจ้าขอโอกาส ขอพระผู้มีพระภาคเจ้าทั้งหลาย แม้ปรินิพพาน ไปนานแล้ว ปัจฉิมาชะนะตานุกัมปะมานะสา, มีพระหฤทัยอนุเคราะห์แก่ประชุมชนที่เกิดมาภายหลัง อิเมสักกาเร ทุคคะตะปัณณาการะภูเต ปะฏิคคัณหาตุ โปรดทรงรับเครื่องสักการะเหล่านี้ อันเป็นบรรณาธิการของคนยาก อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ ฯ เพื่อประโยชน์ เพื่อความสุข แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย สิ้นกาลนานเทอญ อะระหัง สัมมาสัมพุธโธ ภะคะวา, พระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นพระอรหันต์ ดับเพลิงกิเลสเพลิงทุกข์สิ้นเชิง ตรัสรู้ชอบได้ โดยพระองค์เอง พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ. ข้าพเจ้าอภิวาทพระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน. (กราบ) สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, พระธรรม เป็นธรรมที่พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสไว้ดีแล้ว ธัมมัง นะมัสสามิ.


วัดท่าสะแบง

25

ข้าพเจ้านมัสการพระธรรม (กราบ) สุปะฎิปันโณ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า ปฏิบัติดีแล้ว สังฆัง นะมามิ. ข้าพเจ้านอบน้อมพระสงฆ์ (กราบ)

คานอบน้อมพระพุทธเจ้า (หันทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปุพพะภาคะ นะมะการัง กะโรมะ เส.) นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต ขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้าผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์นั้น อะระหะโต ซึ่งเป็นผู้ไกลจากกิเลส สัมมาสัมพุทธัสสะ ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง (3 ครั้ง)


วัดท่าสะแบง

26

การแสดงความเคารพพระ ตามประเพณีนิยมสืบกันมา เราชาวพุทธยกระดับฐานะของพระไว้ในชั้นสูงเป็นผู้ควรเคารพ และบูชา จะแสดงความเคารพนับถือด้วย กาย วาจา และใจจริง พระในที่นี้ หมายถึง พระพุทธรูป รวมทั้ง ปูชนียวัตถุ มีสถูป เจดีย์ เป็นต้น 1 พระภิกษุ สามเณร ผู้ทรงเพศอุดมกว่าตน 1 ในที่นี้จะแสดง วิธีการแสดงความเคารพพระ 3 วิธี คือ 1. การประนมมือ 2. การไหว้ 3. การกราบ

การประนมมือ การประนมมือ คือ การกระพุ่มมือทั้งสองประนมตั้งไว้ในระหว่างอก ให้ตั้งตรงขึ้นไป ข้างบน มีลักษณะคล้ายดอกบัวตูม ตรงกับคาภาษาบาลีว่า “อัญชลี” เป็นการแสดงความเคารพ เวลาสวดมนต์หรือฟังพระสวดและฟังเทศน์ เป็นต้น ใช้การประนมมือแบบเดียวกันทั้งชายและหญิง

การประนมมือ


วัดท่าสะแบง

27

การประนมมือ


วัดท่าสะแบง

28

การไหว้ การไหว้ คือ การยกมือที่ประนมมือแล้วขึ้นพร้อมกับก้มหัวลงเล็กน้อย ให้มือประนมจรด หน้าผาก นิ้วหัวแม่มืออยู่ระหว่างคิ้ว ตรงกับคาที่กล่าวไว้ในภาษาบาลีว่า “นมัสการ” ใช้แสดงความ เคารพพระเวลาท่านยืนหรือนั่งเก้าอี้ ไม่ใช้นั่งราบกับพื้น ใช้เหมือนกันทั้งชายและหญิง


วัดท่าสะแบง

29

การไหว้ การกราบ การกราบ คือ การแสดงอาการกราบลงพื้นด้วยเบญจางคประดิษฐ์ ได้แก่ การกราบครบ องค์ 5 คือ หน้าผาก 1 ฝ่ามือ 2 เข่า 2 จดพื้น ซึ่งตรงกับคาในภาษาบาลีว่า “อภิวาท” ใช้กราบพระ เวลานั่งราบกับพื้น ผู้ชายให้นั่งคุกเข่า ตั้งฝ่าเท้าชัน ใช้นิ้วเท่านั้นพับยันพื้นและนั่งทับลงบนส้นทั้งคู่ การนั่งอย่างนี้เรียกว่า “นั่งท่าพรหม” ผู้หญิงพึงนั่งคุกเข่าราบ คือไม่ชันเท้าอย่างฝ่ายชาย นั่งอย่างนี้ เรียกว่า “นั่งท่าเทพธิดา” และเวลาก้มกราบอย่าให้ก้นยกขึ้นเป็นอันขาดจึงจะสวยงาม


วัดท่าสะแบง

30

การกราบแบบเบญจางคประดิษฐ์

การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ คือ การประกาศแสดงตนว่าเป็นผู้ถึงพระพุทธเจ้าว่าเป็นที่พึ่ง หมายถึง ยอมรับนับถือพระพุทธเจ้าไว้ประจาใจตนเองพระองค์เดียวเท่านั้น โดยไม่ยอมรับนับถือ ศาสดา ใดๆ อีก การแสดงตนเป็นพุทธมามกะนั้นทามาตั้งแต่สมัยพุทธกาลดังเช่น ตปุสสะและภัลลิกะ เป็นพ่อค้า 2 คนพี่น้องได้เดินทางผ่านมาพบพระพุทธเจ้า ได้ถวายข้าวสัตตุผงก้อนแล้วปฏิญาณตน นับ ถือพระพุทธเจ้าและพระธรรมว่าเป็นที่พึ่ง เป็นต้น แล้วก็มีผู้ยึดถือปฏิบัติสืบต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน ในประเทศไทย พุทธบริษัทโดยทั่วไปนิยมทาพิธีดังกล่าวนี้ด้วยวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1. เมื่อบุตรหลานของตนมีอายุพ้นเขตเป็นทารก ระหว่างอายุ 12-15 ปี ก็ประกอบพิธีให้ บุตรหลานได้แสดงตนเป็นพุทธมามกะ เพื่อให้เด็กได้สืบทอดเป็นชาวพุทธต่อไป 2. เมื่อส่งบุตรหลานของตน ซึ่งเป็น ชาวพุทธไปอยู่ในดินแดนที่ไม่นับถือพุทธศาสนา เป็น การจากไปแรมนาน ก็ให้บุตรหลานได้แสดงตนเป็นพุทธมามกะ เพื่อให้เด็กได้ราลึกอยู่เสมอว่าตนเป็น พุทธศาสนิกชน 3. เพื่ อปลุก ฝัง ให้เยาวชนมั่ นคงในพระพุ ทธศาสนา ดังนั้น โรงเรีย นต่าง ๆ จึงนิย มให้ นักเรียนแสดงตนเป็นพุทธมามกะ 4. เมื่อมีบุคคลต่างศาสนาต้องการจะประการตนว่าเป็นผู้นับถือพระพุทธศาสนา ระเบียบพิธีในการแสดงตนเป็นพุทธมามกะ


วัดท่าสะแบง

31

การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ การมอบตัว ผู้ประสงค์จะประกอบพิธี ต้องไปมอบตัวกับพระอาจารย์ที่ตนนับถือและมุ่งหมายจะให้เป็น ประธานสงฆ์ในพิธีเสียก่อน ถ้ายังเป็นเด็กอยู่ให้ผู้ปกครองนาไปหาพระอาจารย์ แต่ถ้ามีหลายคน หรือ เป็นหมู่คณะ ก็ให้จัดผู้ใดผู้หนึ่งให้เป็นผู้นาบัญชีรายชื่อของผู้ประสงค์จะประกอบพิธีไปเท่านั้นก็พอ เช่น นักเรียนก็ให้ครูใหญ่หรือผู้แทนโรงเรียนนาไป การมอบตัวจะต้องเตรียมดอกไม้ ธูป เทียน ไปถวายพระอาจารย์ตามธรรมเนียมด้วย และ พึงปฏิบัติดังนี้ 1. เข้าไปหาพระอาจารย์แล้วทาความเคารพ ถ้าไปถวายกับผู้นาก็ทาความเคารพพร้อมผู้นา 2. แจ้งความประสงค์ให้พระอาจารย์ทราบ เมื่อพระอาจารย์รับทราบแล้วจึงมอบตัว 3. ให้ผู้แสดงตนเป็นพุทธมามกะ ถือพานถวายพานดอกไม้ธูปเทียนที่เตรียมไว้ เข้าไปหา พระอาจารย์ นั่งคุกเข่ายกพานดอกไม้ถวาย เมื่ออาจารย์รับแล้ว ให้ถอยออกมาเล็กน้อย แล้วกราบแบบ เบญจางคประดิษฐ์ 3 ครั้ง ในกรณีที่เป็นตัวแทนมอบตัวเป็นหมู่คณะ ก็ให้ปฏิบัติเช่นเดียวกัน แล้ว ถวายบัญชีรายชื่อของผู้ที่จะประกอบพิธีด้วย 4. กราบเสร็จแล้วนั่งพับเพียบคอยฟังคาแนะนา และกาหนดนัดหมายจากพระสงฆ์จนเป็น ที่ เข้าใจ 5. เมื่อตกลงกาหนดกันเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ขอนิมนต์พระสงฆ์ที่จะนั่งเป็นพยาน ไม่ควร ต่ากว่า 3 รูป รวมทั้งพระอาจารย์ด้วยเป็น 4 เสร็จแล้วกราบ 3 ครั้ง จึงลากลับ


วัดท่าสะแบง

32

การมอบตัว

การเตรียมการ การเตรียมการให้พร้อมทั้ง 2 ฝ่าย คือ พระสงฆ์และฝ่ายผู้แสดงตน ดังนี้ 1. ฝ่ายพระอาจารย์ผู้เป็ นประธาน จะต้องจัดเตรียมบริเวณพิ ธีภายในวัดไว้ให้พร้อมก่อน กาหนด ควรจัดในบริเวณวัด ตั้งโต๊ะบูชา ถัดหน้าโต๊ะบูชาออกมาตั้งหรือปูอาสนะสงฆ์ หันหน้าออก ตามพระประธาน จัดอาสนะพระอาจารย์อยู่หน้าองค์เดียว นอกนั้นนั่งหลังพระอาจารย์จัดที่ปักธูปเทียน สาหรับผู้จะแสดงตนเป็นหมู่คณะไว้ด้วย หรือจัดอาสนะพระอาจารย์ไว้ด้านขวาของพระประธานก็ได้ 2. ฝ่ายผู้แสดงตน ต้องเตรียมผ้าขาวสาหรับนุ่งผืนหนึ่ง สไบเฉียงอีกหนึ่งผืน และเสื้อขาว ถ้า เป็นนักเรียน หรือข้าราชการ เป็นต้น ก็ให้แต่งเครื่องแบบนักเรียนหรือข้าราชการของตนให้เรียบร้อย ทุกประการ เตรียมเครื่องสักการะไปถวายพระอาจารย์ในพิธีเฉพาะตนด้วย ถือพานใส่ดอกไม้ 1 ที่ และธูปที่จะจุดบูชา 1 ที่ นอกนั้น จะมีไทยธรรมถวายพระก็แล้วแต่ศรัทธา


วัดท่าสะแบง

33

พิธีการแสดงตนเป็นพุทธมามกะ พิธีการ เมื่อเตรียมการพร้อมทั้งฝ่ายสงฆ์และฝ่ายผู้แสดงตนแล้ว ควรปฏิบัติดังนี้ 1. ให้ผู้จะแสดงตนนุ่งขาวห่มขาว หรือแต่งเครื่องแบบของตนเรียบร้อยแล้ว ไปยังบริเวณพิธี ก่อนกาหนด นั่งรอพระอาจารย์ในที่ที่ทางฝ่ายสงฆ์จัดไว้ 2. ถึงเวลากาหนด พระอาจารย์และพระสงฆ์เข้าสู่บริเวณพิธี กราบพระพุทธรูป แล้วเข้านั่ง ประจาอาสนะ

3. ให้ผู้แสดงตนเข้าไปคุกเข่าหน้าโต๊ะบูชา จุดธูปเทียนและวางดอกไม้บูชาพระ ระลึกถึงคุณ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ แล้วเปล่งวาจาว่า อิมินา สกฺกาเรน, พุทฺธ ปูเชมิ. ข้าพเจ้าขอบูชาพระพุทธเจ้า ด้วยเครื่องสักการะนี้ (กราบ) อิมินา สกฺกาเรน ธมฺม ปูเชมิ. ข้าพเจ้าขอบูชาพระธรรม ด้วยเครื่องสักการะนี้ (กราบ) อิมินา สกฺกาเรน สงฺฆ ปูเชมิ. ข้าพเจ้าขอบูชาพระสงฆ์ ด้วยเครื่องสักการะนี้ (กราบ) 4. เข้าไปตรงหน้าพระอาจารย์ ถวายพานเครื่องสักการะแก่พระอาจารย์ แล้วกราบพระสงฆ์ ด้วยเบญจางคประดิษฐ์ 3 ครั้ง ถ้าแสดงตนเป็นหมู่ ให้ผู้แทนเข้าไปถวายคนเดียว แต่กราบพร้อมกับ ผู้ แทนที่เป็นหัวหน้า


วัดท่าสะแบง

34

5. กราบเสร็จแล้ว คงคุกเข่าประนมมือและเปล่งวาจาปฏิญาณตนเริ่มต้นกล่าวนมัสการก่อน

คานมัสการ นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส ข้าพเจ้าขอนอบน้อม แด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้านั้น ข้าพเจ้าขอนอบน้อม แด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้านั้น ข้าพเจ้าขอนอบน้อม แด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้านั้น

คาปฏิญาณตน เอสาห ภนฺเต สุจิรปรินิพฺพุตมฺปิ, ต ภควนฺต สรณ คจฺฉา, ธมฺมญฺจ สงฺฆญฺจ, พุทธมามโกติม สงฺโฆ ธาเรตุ ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าถึงพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น แม้ปรินิพพาน ไปนานแล้ว ทั้งพระธรรมและพระสงฆ์ เป็นสรณะที่ระลึกนับถือ ขอพระสงฆ์จงจาข้าพเจ้าไว้ ว่าเป็นพุทธมามกะ ผู้รับเอาพระพุทธเจ้าเป็นของตน คือ ผู้นับถือพระพุทธเจ้า หมายเหตุ : ถ้าปฏิญาณพร้อมกันหลายคนทั้งชายหญิง ให้เปลี่ยนคาปฏิญาณเฉพาะที่ขีดเส้นใต้ ดังนี้ เอสาห เป็นชายว่า เอเต มย, หญิงว่า เอตา มย คจฺฉามิ เป็น คจฺฉาม (ทั้งชายและหญิง) พุทฺธมามโกติ ชายว่า พุทฺธมามกาติ หญิงว่า พุทฺธมามิกาติ ม เป็น โน (ทั้งชายและหญิง) คาแปลก็เปลี่ยนเฉพาะคา “ข้าพเจ้า” เป็นว่า “ข้าพเจ้าทั้งหลาย” เท่านั้น นอกนั้น เหมือนกัน สาหรับหญิงผู้ปฏิญาณคนเดียวว่า เอสาห ฯลฯ พอถึง พุทฺธมามโกติ เปลี่ยนเป็นว่า พุทฺธมามิกาติ เท่านั้น เมื่อผู้ปฏิญาณกล่าวคาปฏิญาณจบแล้ว พระสงฆ์ทั้งหมดรับว่า “สาธุ” 6. พระอาจารย์ให้โอวาทตามสมควร


วัดท่าสะแบง

35

7. เมื่อจบโอวาทแล้วผู้แสดงตนกล่าวคาว่า “สาธุ” แล้วนั่งคุกเข่า กล่าวคาอาราธนาเบญจศีล และสมาทานศีล โดยว่าตามพระอาจารย์ ดังนี้

คาอาราธนาเบญจศีล อห ภนฺเต วิสุง วิสุง รกฺขนตฺ ถาย ติสรเณน สห ปญฺจ สีลานิ ยาจามิ ทุติยมฺปิ อห ภนฺเต วิสุง วิสุง รกฺขนตฺ ถาย ติสรเณน สห ปญฺจ สีลานิ ยาจามิ ตะติยมฺปิ อห ภนฺเต วิสุง วิสุง รกฺขนตฺ ถาย ติสรเณน สห ปญฺจ สีลานิ ยาจามิ หมายเหตุ : ว่าเหมือนกันทั้งชายและหญิง แต่ถ้าอาราธนาพร้อมกันหลาย ๆ คน ให้เปลี่ยนคา อห เป็น มย และ เปลี่ยนคา ยาจามิ เป็น ยาจามะ

คาสมาทานเบญจศีล (พระอาจารย์เป็นผู้บอก ผู้ปฏิญาณตนว่าตาม) นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส ข้าพเจ้าขอนอบน้อม แด่พระผู้มีพระภาค อรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น ข้าพเจ้าขอนอบน้อม แด่พระผู้มีพระภาค อรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น ข้าพเจ้าขอนอบน้อม แด่พระผู้มีพระภาค อรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น (พระอาจารย์ว่า) “ยมห วทามิ ต วเทหิ” (ผู้ปฏิญาณรับว่า) “อาม ภนฺเต” (พระอาจารย์บอก ผู้ปฏิญาณว่าตาม ต่อ) พุทฺธ สรณ คจฺฉามิ ธมฺม สรณ คจฺฉามิ สงฺฆ สรรณ จฺฉามิ ทุติยมฺปิ พุทฺธ สรณ คจฺฉามิ ทุติยมฺปิ ธมฺม สรณ คจฺฉามิ ทุติยมฺปิ สงฺฆ สรณ คจฺฉามิ ตติยมฺปิ พุทฺธ สรณ คจฺฉามิ

ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้าว่าเป็นที่พึ่ง ข้าพเจ้าขอถึงพระธรรมว่าเป็นที่พึ่ง ข้าพเจ้าขอถึงพระสงฆ์ว่าเป็นที่พึ่ง แม้ครั้งที่ 2 ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้าว่าเป็นที่พึ่ง แม้ครั้งที่ 2 ข้าพเจ้าขอถึงพระธรรมว่าเป็นที่พึ่ง แม้ครั้งที่ 2 ข้าพเจ้าขอถึงพระสงฆ์ว่าเป็นที่พึ่ง แม้ครั้งที่ 3 ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้าว่าเป็นที่พึ่ง


วัดท่าสะแบง

ตติยมฺปิ ธมฺม สรณ คจฺฉามิ ตติยมฺปิ สงฺฆ สรณ คจฺฉามิ

36

แม้ครั้งที่ 3 ข้าพเจ้าขอถึงพระธรรมว่าเป็นที่พึ่ง แม้ครั้งที่ 3 ข้าพเจ้าขอถึงพระสงฆ์ว่าเป็นที่พึ่ง

(พระอาจารย์ว่า “ติสรณคมน นิฏฺฐิต” ผู้ปฏิญาณรับว่า “อาม ภนฺเต”) (พระอาจารย์บอกต่อ ผู้ปฏิญาณว่าตาม) ปาณาติปาตา เวรมณี สิกฺขาปท สมาทิยามิ ข้าพเจ้าสมาทานสิกขาบท เว้นจากการฆ่าสัตว์ อทินฺนาทานา เวรมณี สิกฺขาปท สมาทิยามิ ข้าพเจ้าสมาทานสิกขาบท เว้นจากถือเอาของที่เขาไม่ได้ให้ กาเมสุมิจฉาจารา เวรมณี สิกฺขาปท สมาทิยามิ ข้าพเจ้าสมาทานสิกขาบท เว้นจากประพฤติผิดในกาม มุสาวาทา เวรมณี สิกฺขาปท สมาทิยามิ ข้าพเจ้าสมาทานสิกขาบท เว้นจากการพูดเท็จ สุราเมรยมชฺชปมาทฏฺฐานา เวรมณี สิกฺขาปท สมาทิยามิ ข้าพเจ้าสมาทานสิกขาบท เว้นจากการดื่มน้าเมา คือสุราและเมรัย อันเป็นฐานแห่งความ ประมาท อิมานิ ปญฺจ สิกฺขา ปทานิ สมาทิยามิ ข้าพเจ้าสมาทานสิกขาบท 5 เหล่านี้ (พระอาจารย์บอกบทนี้แล้ว ผู้ปฏิญาณพึงว่า 3 จบ)

สุดท้ายพระอาจารย์บอกบทต่อไป (ผู้ปฏิญาณไม่ต้องว่าตาม) สีเลน สุคตึ ยนฺติ สีเลน โภคสมฺปทา สีเลน นิพฺพุตึ ยนฺติ ตสฺมา สีล วิโส ธเย 8. เมื่อพระอาจารย์บอกอานิสงค์ศีลจบแล้ว ผู้ปฏิญาณกราบ 3 ครั้ง ถ้ามีเครื่องไทยธรรม ถวาย ก็นาเข้าถวาย เสร็จแล้วเตรียมกรวดน้า เมื่อพระสงฆ์อนุโมทนา 9. พระสงฆ์อนุโมทนา ด้วยบท - ยถา ... - สพฺพีติโย ... - ภวตุ สพฺพมงฺคล ...


วัดท่าสะแบง

37

10. ขณะประธานสงฆ์เริ่มขึ้ น ยถา... ผู้ปฏิญาณตนเริ่มกรวดน้าลงในภาชนะที่เตรีย มไว้ โดยกะให้น้าที่ใช้กรวดหมดพอดี เมื่อพระสงฆ์สวดยะถาจบ พอพระสงฆ์เริ่มสวด สพฺพีติโย ...ให้วาง ภาชนะกรวดน้าลง ยกมือขึ้นประนมฟังพระสวดจนกระทั่งพระสงฆ์อนุโมทนา จบแล้วกราบ 3 ครั้ง เป็นอันเสร็จพิธี

การกรวดน้า

การอาราธนาศีล การอาราธนาพระปริตร และการอาราธนาธรรม การอาราธนา คือ การเชื้อเชิญให้พระภิกษุสงฆ์ทาตามคาขอในพิธีกรรมต่าง ๆพุทธศาสนิกชน เวลาจะให้พระทาอะไร จะต้องอาราธนาเสียก่อนจนเป็นประเพณีสืบมา วิธีการอาราธนา ถ้าพระสงฆ์นั่งบนอาสนะยกสูง ให้ผู้อาราธนาเข้าไปยืนหันหน้าเข้าหาพระ ประนมมือไหว้พระพุทธรูปก่อน แล้วยืนประนมมือกล่าวคาอาราธนา ถ้าพระสงฆ์นั่งอาสนะต่า ธรรมดาให้ผู้อาราธนาเข้าไปนั่งคุกเข่า หันหน้าเข้าหาพระสงฆ์ให้ห่างพอประมาณ แล้วกราบ พระพุทธรูปที่โต๊ะบูชา 3 ครั้งก่อน แล้วประนมมือกล่าวคาอาราธนาที่ต้องการตามแบบที่ต้องการ คือ - พิธีสวดมนต์เย็น : อาราธนาศีล อาราธนาพระปริตร


วัดท่าสะแบง

38

- พิธีเลี้ยงพระ : อาราธนาศีล - พิธีถวายทานทุกอย่าง : อาราธนาศีล

การกล่าวคาอาราธนาศีล

พิธีเทศน์ ถ้าเทศน์ต่อจากสวดมนต์ เริ่มต้นด้วยอาราธนาพระปริตร แล้วจึงอาราธนาศีล ถ้า เป็นคนละพิธีตอนสวดมนต์ก็อาราธนาพระปริตร ตอนเทศน์ให้เริ่มอาราธนาศีลก่อนจบรับศีลแล้ว จึง อาราธนาธรรม พิธีสวดศพ เช่น สวดแจ้ง พระอภิธรรม เป็นต้น ถ้าไม่มีพิธีอื่นนาหน้าให้อาราธนาศีลก่อน ถ้ามีพิธีอื่นนาหน้าไม่ต้องอาราธนาศีล

คาอาราธนาศีล 5 มย ภนฺเต วิสุง วิสุง รกขณตฺ ถาย, ติสรเนน สห , ปญฺจ สีลานิ ยาจาม


วัดท่าสะแบง

39

ทุติยมฺปิ มย ภนฺเต วิสุง วิสุง รกขณตฺ ถาย , ติสรเนน สห , ปญฺจ สีลานิ ยาจาม ตติยมฺปิ มย ภนฺเต วิสุง วิสุง รกขณตฺ ถาย , ติสรเนน สห , ปญฺจ สีลานิ ยาจาม

คาอาราธนาพระปริตร วิปตฺติปฏิพาหาย สพฺพสมฺปตฺติสิทธิยา สพฺพทุกฺขวินาสาย ปริตฺต พฺรูถ มงฺคล วิปตฺติปฏิพาหาย สพฺพสมฺปตฺติสิทธิยา สพฺพภยวินาสาย ปริตฺต พฺรูถ มงฺคล วิปตฺติปฏิพาหาย สพฺพสมฺปตฺติสิทธิยา สพฺพโรควินาสาย ปริตต พฺรูถ มงฺคล

คาอาราธนาธรรม พฺรหมา จ โลกาธิปติ สหมฺปติ กตฺ อญฺชลี อนฺธวร อยาจถ สนฺตีธ สตฺ ตาปฺ ปรชกฺขชาติกา เทเสตุ ธมฺมฺ อนุกมฺปิม ปช

การถวายทาน การถวายทาน คือ การถวายวัตถุที่ควรให้เป็นทานด้วยความเต็มใจ ในพระพุทธศาสนา เรียกว่า “ทานวัตถุ” จาแนกไว้ 10 ประการ ดังนี้ 1. ภัตตาหาร 2. น้ารวม ทั้งเครื่องดื่มอันควรแก่สมณบริโภค 3. ผ้าเครื่องนุ่งห่ม 4. ยานพาหนะ สงเคราะห์ ปัจจัยค่าโดยสารเข้าด้วย


วัดท่าสะแบง

40

5. มาลัยและดอกไม้เครื่องบูชาชนิดต่าง ๆ 6. ของหอม หมายถึง ธูปเทียนบูชาพระ 7. เครื่องลูบไล้ หมายถึง เครื่อง สุขภัณฑ์สาหรับชาระร่างกายให้สะอาด มี สบู่ถูกตัว เป็นต้น 8. เครื่องที่นอนอันควรแก่สมณะ 9. ที่อยู่อาศัย มีกุฏิเสนาสนะ และ เครื่องสาหรับเสนาสนะเช่น เตียง ตู้ โต๊ะ เก้าอี้ เป็นต้น 10. เครื่องตามประทีป มีเทียน ตะเกียงน้ามัน ไม้ขีด ไฟฟ้า และอุปกรณ์ไฟฟ้าสาหรับให้ แสงสว่างทุกชนิด เป็นต้น ทั้ง 10 ประการนี้ควรถวายแก่ภิกษุสามเณร เพื่อใช้สาหรับบูชาพระตามสมควร

การถวายภัตตาหาร


วัดท่าสะแบง

41

การถวายทานมาลัยและดอกไม้เครื่องบูชา

การถวายทานในพระพุทธศาสนา มี 2 อย่าง คือ 1. ปาฏิบุคลิกทาน หมายถึง การถวายทานเจาะจงเฉพาะรูปนั้น รูปนี้อย่างหนึ่ง สาหรับ ปาฏิบุคลิกทานไม่จาต้องมีพิธีกรรมอะไรในการถวาย เพียงแต่ผู้ถวายเกิดศรัทธาจะถวายสิ่งใดแก่ภิกษุ สามเณรรูปใด ก็จัดสิ่งนั้นมอบถวายเฉพาะพระภิกษุสามเณรรูปนั้นเป็นรายบุคคลก็สาเร็จเป็นทานแล้ว ส่วนผู้รับปาฏิบุคคลทาน จะอนุโมทนาอย่างไรนั้นก็เป็นเรื่องส่วนบุคคลเช่นกัน

การถวายปาฏิบุคลิกทาน


วัดท่าสะแบง

42

2. สังฆทาน หมายถึง การถวายไม่เจาะจง มอบถวายเป็นของสงฆ์จัดเฉลี่ยกันใช้สอย หรือเป็นส่วนรวมภายในวัด จัดเป็นการสงฆ์ไม่ใช่การบุคคลดังกล่าว จึงเป็นเรื่องเกี่ยวกับพิธีกรรม โดยเฉพาะ และทานที่ถวายสงฆ์นั้นแม้มีกาหนดวัตถุเป็น 10 ชนิดแล้ว ก็มีนิยมถวายวัตถุใน 10 ชนิดนั้น เป็นอย่าง ๆ แยกคาถวายต่างกันออกไปอีกมากมาย แต่ก็อยู่ในปัจจัยเครื่องอาศัยของบรรพชิต 4 คือ จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และเภสัช ทั้งนั้น

การถวายสังฆทาน


วัดท่าสะแบง

43

การถวายทานวัตถุ นิยมเป็น 2 อย่าง คือ 1. กาลทาน หมายถึง ถวายในกาลที่ควรถวายสิ่งนั้น 2. อกาลทาน หมายถึง ถวายไม่เนื่องด้วยกาล คือ นอกกาล ทั้งหมดนี้ย่อมมีระเบียบวิธีในการถวาย ส่วนใหญ่พิธีการถวายคล้าย ๆ กันโดยหลักการมีดังต่อไปนี้

ระเบียบพิธีและวิธีการถวาย 1. การถวายสังฆทานทุกอย่าง ต้องตั้งใจถวายจริง ๆ คือ ต้องทาใจให้เป็นสมาธิ ไม่ส่งจิตไปใน ที่อื่น มุ่งถวายเป็นของสงฆ์ด้วยความเคารพและเลื่อมใสในพระสงฆ์จริง ๆ 2. ตระเตรียมทานวัตถุที่ต้องการถวายให้เสร็จเรียบร้อย และต้องให้ทันเวลา 3. เผดียงสงฆ์ คือ แจ้งความประสงค์ที่จะถวายทานให้สงฆ์ทราบ และนัดหมายเวลาให้เรียบร้อย 4. ในการถวายทาน ถ้ามีพิธีอื่นประกอบด้วย ก็เป็นเรื่องของพิธีแต่ละพิธีไป เฉพาะพิธีถวายทาน เมื่อถึงเวลากาหนด ฝ่ายทายกพึงปฏิบัติ ดังนี้ 1. จุดธูปเทียนที่โต๊ะหมู่บูชา 2. อาราธนาศีล และรับศีล 3. ประนมมือกล่าวว่าคาถวายทานนั้น ๆ ตามแบบ ต่อจากนั้นถ้าเป็นของควรประเคน ก็ประเคน แต่จะประเคนสิ่งของประเภทอาหารเลยเที่ยงไม่ได้ อนึ่ง เสนาสนะที่ใหญ่โต ถ้าประสงค์ จะประเคน ใช้น้าหลั่งลงบนมือของพระภิกษุผู้เป็นประธานในพิธี ก็ถือว่าได้ประเคนแล้ว

พระสงฆ์อนุโมทนา


วัดท่าสะแบง

44

5. พระสงฆ์ที่ได้รับอาราธนา เพื่อรับทาน พึงปฏิบัติดังนี้ ในขณะที่ทายกกล่าวคาถวายทาน พึงประนมมือ เมื่อทายกกล่าวคาถวายจบแล้วพึงเปล่งวาจาว่า สาธุ พร้อมกัน เมื่อเสร็จการประเคนแล้ว พึงอนุโมทนาด้วยบท ดังนี้ - ยถา .................................................................................. - สพฺพีติโย ......................................................................... - บทอนุโมทนาโดยควรแก่ทาน ........................................ - ภวตุ สพฺพมงฺคล .............................................................. 6. ขณะพระสงฆ์อนุโมทนา ทายกพึงกรวดน้า เมื่อพระสงฆ์เริ่มบท ยถา... พอถึงบท สพฺพีติโย... เป็นต้นไป พึงประนมมือรับพรไปจนจบ แล้วกราบ 3 ครั้ง เป็นอันเสร็จพิธี

การกรวดน้าอุทิศส่วนกุศล


วัดท่าสะแบง

45

การกล่าวคาถวายสังฆทาน คาถวายสังฆทาน (ประเภทสามัญ) อิมานิ มย ภนฺเต ภตฺตานิ, สปริวารานิ, ภิกฺขุสงฺฆสฺส, โอโณชยาม, สาธุ โน ภนฺเต, ภิกฺขุสงฺโฆ, อิ มานิ, ภตฺตานิ, สปริวารานิ, ปฏิคฺคณฺหาตุ, อมฺหาก, ทีฆรตฺต, หิตาย, สุขาย.

คาแปล ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอน้อมถวาย ภัตตาหารพร้อมด้วยของบริวารเหล่านี้ แก่พระภิกษุสงฆ์ ขอพระภิกษุสงฆ์จงรับภัตตาหารพร้อมด้วยของบริวารเหล่านี้ ของข้าพเจ้าทั้งหลาย เพื่อประโยชน์และความสุขแก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย สิ้นกาลนาน เทอญฯ

คาถวายสังฆทาน (ประเภทมตกภัตอุทิศผู้ตาย) อิมานิ มย ภนฺเต มตกภตฺตานิ, สปริวารานิ, ภิกฺขุสงฺฆสฺส โอโณชยาม, สาธุ โน ภนฺเต, ภิกฺขุสงฺโฆ, อิมานิ, มตกภตฺตานิ, สปริวารานิ, ปฏิคฺคณฺหาตุ, อมฺหากญฺเจว, มาตาปิตุ อาทีนญฺจ ญาตกาน, กาลกตาน, ทีฆรตฺต, หิตาย, สุขาย.

คาแปล ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอน้อมถวายมตกภัตตาหาร กับทั้งของบริวาร เหล่านี้ แก่พระภิกษุสงฆ์ ขอพระภิกษุสงฆ์จงรับมตกภัตตาหาร กับทั้งของบริวารเหล่านี้ ของข้าพเจ้าทั้งหลาย เพื่อประโยชน์และความสุข แก่ข้าพเจ้าทั้งหลายด้วย แก่ญาติของข้าพเจ้าทั้งหลาย มีมารดาบิดา เป็นต้น ผู้ทากาละล่วงลับไปแล้วด้วย สิ้นกาลนานเทอญ ฯ


วัดท่าสะแบง

46

การประเคนของพระ การประเคนของพระ คือ การถวายทานทุกสิ่งทุกอย่างแก่พระโดยการถวายให้พระรับกับมือ ไม่อยู่ใกล้นัก ไม่อยู่ไกลนัก ให้พอดีกับการที่เราจะยกแล้วยื่นมือไปประเคนพระ สิ่งของที่จะประเคน จะต้องไม่ใหญ่ และไม่หนักจนเกินไป ทั้งไม่เป็นวัตถุอนามาส ถ้าเป็นอาหารต้องถวายในเวลาก่อน เทีย่ ง เวลาเลยเที่ยงเที่ยงไปรับประเคนไม่ได้ ข้อที่พึงปฏิบัติในการประเคน มีดังนี้ 1. พึงนาของเข้าไปประเคนอยู่ห่างจากพระประมาณ 1 ศอก จะนั่งหรือยืนแล้วแต่พระผู้รับ 2. จับของที่จะประเคนด้วยมือทั้งสอง ยกขึ้นสูงนิดหนึ่งแล้วน้อมไปประเคนพระ ซึ่งท่าน จะยื่นมือมารับ ถ้าผู้ประเคนเป็นผู้หญิง พระผู้รับท่านปูผ้ารับประเคนแล้ว ผู้ประเคนก็เอาวางบนผ้า ประเคนนั้น เสร็จแล้วพึงกราบหนหนึ่ง เป็นอันเสร็จการประเคน หลักสาคัญของการประเคนของ คือ ต้องแสดงออกถึงความเคารพไม่ใช่เสือกไสให้ หรือ ทิ้งให้โดยอาการไม่แสดงความเคารพ


วัดท่าสะแบง

47

การประเคนของพระ การกรวดน้า การกรวดน้า คือ การรินน้าจากภาชนะด้วยความตั้งในในย่างใดอย่างหนึ่ง จุดมุ่งหมาย ของการกรวดน้าก็คือ เพื่ออุทิศส่วนกุศลไปให้แก่ผู้ตาย และเพื่อเป็นสักขีพยาน ข้อปฏิบัติของวิธีกรวดน้า คือ เตรียมน้าสะอาดใส่คณฑี ขวดเล็ก แก้วน้า หรือ ขันอะไรก็ได้ ตามแต่ จะหาได้พ ร้อมภาชนะรองที่สะอาดไว้ให้พร้อม เมื่อพอพระสงฆ์เริ่มสวดอนุโมทนาคาถา ขึ้นต้นว่า ยถา... ก็เริ่มกรวดน้า โดยระลึกนึกอุทิศส่วนกุศล มือขวาจับภาชนะน้าริน ใช้ มือซ้ายประคอง แล้วว่าบทกรวดน้าไปจนจบ ข้อพึงระวังในการกรวดน้า คือ ต้องใช้ภาชนะที่สะอาดและที่สมควร น้าที่กรวดแล้วต้องเท ลงบนดิน หรือบริเวณโคนต้นไม้ที่สะอาด คากรวดที่นิยมว่ากันทั่ว ๆ ไป มีอยู่ 3 แบบ คือ แบบสั้น แบบย่อ และแบบยาว ดังนี้

การกรวดน้าเพื่ออุทิศส่วนกุศล คากรวดน้าแบบสั้น (เป็นคาอุทิศของพระเจ้าพิมพิสาร) “อิท เม ญาตีน โหตุ” (ว่า 3 จบ) คาแปล “ขอบุญนี้จงสาเร็จแก่ญาติทั้งหลายของข้าพเจ้าเถิด” หมายเหตุ : หากจะเดิมพุทธภาษิตต่อท้ายว่า “สุขิตา โหนฺตุ ญาตโย” “ขอญาติทั้งหลายจงเป็นสุข ๆ เถิด” ก็ได้


วัดท่าสะแบง

48

คากรวดน้าแบบย่อ (ติโลกวิชัยคาถา) ยงฺกิญฺจิ กุสล กมฺม กาเยน วาจามนสา เย สตฺตา สญฺญิโน อตฺถิ กต ปุญฺญผล มยฺห เย ต กต สุวิทิต เย จ ตตฺถ น ชานนฺติ สพฺเพ โลกมฺหิ เย สตฺตา มนุญฺญฺโภชน สพฺเพ

กตฺตพฺพ กิริย มม ติทเส สุคต กต เย จ สตฺตา อสญฺญิโน สพฺเพ ภาคี ภวนฺตุ เต ทินฺน ปุญฺญผล มยา เทวา คนฺตฺวา นิเวทยุ ชีวนฺตาหารเหตุกา ลภนฺตุ มม เจตสา.

คาแปล กุ ศ ลกรรมซึ่ง เป็ นกิ ริย าควรท าอันหนึ่ง ด้วยกาย วาจา ใจ อั นจะเป็นเหตุนาไปให้ เกิ ดใน สวรรค์ชั้นไตรทศเทพ ข้าพเจ้าได้ทาแล้ว ขอสัตว์ซึ่งมีสัญญา และไม่มี สัญญาทุกหมู่เหล่า จงเป็นผู้มีส่วน ได้รับผลบุญที่ข้าพเจ้ากระทาแล้วนั้น เหล่าสัตว์ที่รู้ผลบุญอันที่ข้าพเจ้ากระทาแล้ว ขอจงเป็นผู้มีส่วน ได้รับผลบุญที่ข้าพเจ้าอุทิศให้ ในบรรดาสรรพสัตว์จาพวกใด ไม่รู้ข่าวถึง บุญข้าพเจ้ากระทาแล้ว ขอ เทพยดาทั้งหลายจงนาไปบอกแก่สัตว์จาพวกนั้น ขอสัตว์ทุกหมู่ ในชีวโลก ซึ่งเสพอาหารเป็นเครื่องเลี้ยง ชีพ จงได้เสวยซึ่งโภชนะอันพึงใจ ด้วยอานาจเจตนา อุทิศของ ข้าพเจ้านี้เถิด ฯ

คากรวดน้าแบบยาว (เป็นคาถาของเก่า) อิมินา ปุญฺญกมฺเมน อุปชฺฌายา คุณุตฺตรา อาจริยูปการา จ มาตา ปิตา จ ญาตกา (ปิยา มม) สุริโย จนฺทิมา ราชา คุณวนฺตา นราปิ จ พฺรหฺมมารา จ อินฺทา จ โลกปาลา จ เทวตา ยโม มิตฺตา มนุสฺสา จ มชฺฌตฺตา เวริกาปิ จ สพฺเพ สตฺตา สุขี โหนฺตุ ปุญฺญานิ ปกตานิ เม สุขญฺจ ติวิธ เทนฺตุ ขิปฺปํ ปาเปถ โว มต


วัดท่าสะแบง

อิมินา ปุญฺญกมฺเมน ขิปฺปาห สุลเภ เจว เย สนฺตาเน หินา ธมฺมา นสฺสนฺตุ สพฺพทาเยว อุชุจิตฺต สติปญฺญา มารา ลภนฺตุ โนกาส พุทฺธาธิปวโร นาโถ นาโถ ปจฺเจกพุทฺโธ จ เตโสตฺตมานุภาเวน

49

อิมินา อุทฺทิเสน จ ตณฺหุปาทานเฉทน ยาว นิพฺพานโต มม ยตฺถ ชาโต ภเว ภเว สลฺเลโข วิริยมฺหินา กาตุญฺจ วิริเยสุ เม ธมฺโม นาโถ วรุตฺตโม สงฺโฆ นาโถตฺตโร มม มาโรกาส ลภนฺตุ มา.

คาแปล ด้วยผลบุญที่ข้าพเจ้ากระทานี้ ขอพระอุปัชฌาย์ผู้มีพระคุณอันยิ่งใหญ่ไพศาล อีกทั้ง อาจารย์ ผู้ ได้สั่งสอนข้าพเจ้ามา ทั้งมารดาบิดาและคณาญาติทั้งสิ้น ตลอดจน พระอาทิตย์พระจันทร์ และพระเจ้า แผ่นดินผู้เป็นใหญ่ในเอกเทศแห่งเมทนีดล และนรชนผู้มีคุณงามความดี ทั้งหลาย ทุก ถิ่นฐาน อีกท้าว มหาพรหมกับหมู่มาร และท้าวมัฆวานเทวราช ทั้งเทพเจ้าผู้ฉกาจรักษา โลกทั้ง สี่ทิศ และพญายามราช อีกมวล มิตรสหาย ทั้งผู้ขวนขวายวางตนเป็นกลาง และผู้เป็นศัตรู ของข้าพเจ้าทุก ๆ เหล่า จงมีความ เกษมสุขนิราศภัย ขอบุญที่ข้าพเจ้ากระทาไว้ด้วยไตรทวาร จงบันดาลให้สาเร็จไตรพิธสุข ถึงความเกษม ปราศจากทุกข์ คือ พระอมตมหานฤพานโดยพลัน อีกโสดหนึ่งนั้น ด้วยบุญกรรมนี้และอุทิศเจตนานี้ ขอให้ข้าพเจ้าบรรลุทันที ซึ่งการตัดขาด ตัณหาอุปาทาน ธรรมอันชั่วในสันดาน จงพินาศไปหมดจน ตราบเท่าถึงนิพพาน สิ้นกาลทุกเมื่อ เทียว แม้ว่าข้าพเจ้ ายังจะท่องเที่ยวไปเกิดในภพใด ๆ ก็ขอให้มีจิต ซื่อตรง ดารงสติปัญญาไว ชาญฉลาด ให้มีความเพียรกล้าสามารถขัดเกลากิเลสให้สูญหาย ขอหมู่มาร เหล่าร้ายอย่าได้ กล้ากรายสบโอกาส เพื่อทาให้ข้าพเจ้าพินาศคลายความ เพียรได้ อนึ่ง พระพุทธเจ้า ผู้เป็น ที่พึ่งอันยิ่งอย่างประเสริฐ พระธรรมเป็นที่พึ่งอัน ล้าเลิศยิ่งประมาณ พระปัจเจกพุทธเจ้าเป็นที่พึ่ง อันไพศาล และพระสงฆ์เป็นที่พึ่งอัน อุดมประมาณของข้าพเจ้านี้ ด้วยอานุภาพอันอุดมดีพิเศษ สูงสุด ของพระรัตนตรัย ขออย่าให้หมู่มารได้โอกาสทุกเมื่อไป เทอญ ฯ


วัดท่าสะแบง

50

คากรวดน้าพิเศษ (พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 4) นอกจากคากรวดน้าทั้ง 3 แบบตามที่กล่าวมาแล้ว ยังมีคากรวดน้าอีกแบบหนึ่ง เป็น พระราช นิพนธ์ในรัชกาลที่ 4 เรียก สัพพปัตติทานคาถา ดังนี้ ปุญฺญสฺสิทานิ กตสฺส ยานญฺญานิ กตานิ เม เตสญฺจ ภาคิโน โหนฺตุ สตฺตานนฺตาปฺปมาณกา เย ปิยา คุณวนฺตา จ มยฺห มาตาปิตาทโย ทิฏฺฐา เม จาปฺยทิฏฺฐา วา อญฺเญมชฺฌตฺตเวริโน สตฺตา ติฏฺฐนฺติ โลกสฺมึ เตภุมฺมา จตุโยนิกา ปญฺเจกจตุโวการา สสรนฺตา ภวาภเว ญาต เย ปตฺติทานมฺเม อนุโมทนฺตุ เต สย เย จิม นปฺปชานนฺติ เทวา เตส นิเวทยุ มยา ทินฺนาน ปุญฺญาน อนุโมทนเหตุนา สพฺเพ สตฺตา สทา โหนฺตุ อเวรา สุขชีวิโน เขมปฺปทญฺจ ปปฺโปนฺตุ เตสาสา สิชฺฌต สุภา.

คาแปล สัตว์ทั้งหลายไม่มีที่สุด ไม่มีประมาณ จงเป็นผู้มีส่วนแห่งบุญอันข้าพเจ้าทาแล้ว ณ บัดนี้ ด้ ว ย แห่ ง บุ ญ ทั้ ง หลายอื่ น อั น ข้ า พเจ้ า ท าแล้ ว ด้ ว ยเหล่ า ใดเป็ น ที่ รั ก และมี คุ ณ มี ม ารดาและบิ ด า ของข้าพเจ้าเป็นต้น เหล่าที่ข้าพเจ้าเห็นแล้ว หรือแม้ที่ข้าพเจ้าไม่ได้เห็น แล้วเหล่าอื่น ที่เป็นผู้มัธยัสถ์ เป็นกลาง และเป็นผู้มีเวร สัตว์ทั้งหลายตั้งอยู่ในโลก เป็นไปในภูมิ 3 เป็นไป ในกาเนิด 4 มีขันธ์ 5 มี ขันธ์ 1 มีขันธ์ 4 ท่องเที่ยวอยู่ในภพน้อยและภพใหญ่ ความให้ส่วนบุญ ของข้าพเจ้าอันสัตว์ทั้งหลาย เหล่าใดรู้แล้ว สัตว์ทั้งหลายเหล่านั้น จงอนุโมทนาเองเถิด ส่วนสัตว์ ทั้งหลายเหล่าใดยังไม่รู้ซึ่งความ ให้ส่วนบุญของข้าพเจ้านี้ ขอเทพยดาทั้งหลาย พึงบอกแก่สัตว์ ทั้งหลายเหล่านั้นให้รู้ (แล้วอนุโมทนา) เพราะเหตุคืออนุโมทนาซึ่งบุญทั้งหลายอันข้าพเจ้าได้ให้แล้ว ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวงจงเป็นผู้ไม่มีเวร


วัดท่าสะแบง

51

เป็นผู้ดารงชีพโดยสุขทุกเมื่อเถิด จงถึงซึ่งบทอันเกษม คือพระนิ พพาน ขอความปรารถนาที่ดีงามของ สัตว์ทั้งหลายทั้งปวงเหล่านั้น จงสาเร็จ เถิด ฯ

การทาสมาธิและการแผ่เมตตา สมาธิ คืออาการที่ใจตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์เดียว อย่างต่อเนื่อง หรือ อาการที่ใจหยุดนิ่งแน่วแน่ ไม่ซัดส่ายไปมา เป็นอาการที่ใจสงบรวมเป็นหนึ่งแน่วแน่ มีแต่ความบริสุทธิ์ผ่องใส สว่างไสวผุดขึ้นใน ใจ จนกระทั่งสามารถเห็นความบริสุทธิ์นั้นด้วยใจตนเอง อันจะก่อให้เกิดทั้งกาลัง ใจ กาลังขวัญ กาลัง ปัญญา และความสุขแก่ผู้ปฏิบัติในเวลาเดียวกัน คนเราทุกคนสามารถปฏิบัติสมาธิได้ง่าย ดังวิธีปฏิบัติที่พระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หลวงปู่วัดปากน้าภาษีเจริญ ได้เมตตาสั่งสอนไว้ ดังนี้ 1. กราบบู ช าพระรัต นตรัย เป็นการเตรีย มตัว เตรีย มใจให้นุ่ม นวลไว้เป็ นเบื้ องต้ นแล้ ว สมาทานศีล 5 หรือ ศีล 8 เพื่อย้าความมั่นคงในคุณธรรมของตนเอง 2. คุกเข่าหรือนั่งพับเพียบสบาย ๆ ระลึกถึงความดีที่ได้กระทาแล้ว ในวันนี้ ในอดีต และ ที่ตั้งใจจะทาต่อไปในอนาคต จนราวกับว่าร่างกายทั้งหมด ประกอบขึ้นด้วยธาตุแห่งคุณงามความดี ล้วนๆ


วัดท่าสะแบง

52

การกราบบูชาพระรัตนตรัยและการอาราธนาศีล

การนั่งสมาธิ 3. นั่งขัดสมาธิ เท้าขวาทับเท้าซ้าย มือขวาทับมือซ้าย นิ้วชี้ของมือข้างขวาจรดนิ้วหัวแม่มือ ข้างซ้าย นั่งให้อยู่ในท่าที่พอดี ไม่ฝืนร่างกายมากจนเกินไป ไม่ถึงกับเกร็ง แต่อย่าให้หลังโค้งงอ หลับตาพอสบายคล้ายกับกาลังพักผ่อน ไม่บีบกล้ามเนื้อตา หรือขมวดคิ้ว แล้วตั้งใจมั่น วางอารมณ์ สบาย สร้างความรู้สึกให้พร้อม ทั้งกายและใจว่ากาลังจะเข้าไปสู่ภาวะแห่งความสงบสบายอย่างยิ่ง 4. นึกกาหนดนิมิตเป็น ดวงแก้วกลมใส ขนาดเท่าแก้วตาดา ใสบริสุทธิ์ปราศจากรอยตาหนิใด ๆ ขาวใส เย็นตา เย็นใจ ดังประกายของดวงดาว ดวงแก้วกลมใสนี้เรียกว่า บริกรรมนิมิต นึกสบายๆ นึก เหมือนดวงแก้วนั้นมานิ่งสนิท อยู่ ณ ศูนย์กลางกาย ฐานที่ 7 นึกไปภาวนาไปอย่างนุ่มนวล เป็น


วัดท่าสะแบง

53

พุทธานุสติว่า "สัมมา อะระหัง" หรือค่อย ๆ น้อมนึกดวงแก้วกลมใส ให้ค่อย ๆ เคลื่อนเข้าสู่ศูนย์กลาง กาย ตามแนวฐาน โดยเริ่มต้นตั้งแต่ฐานที่ 1 เป็นต้นไป น้อมนึกอย่างสบาย ๆ ใจเย็น ๆ ไปพร้อม ๆ กับ คาภาวนา อนึ่ง เมื่อนิมิตดวงแก้วกลมใสปรากฏแล้ว ณ กลางกาย ให้วางอารมณ์สบายๆ กับนิมิตนั้น จนเหมือนกับว่า ดวงนิมิตเป็นส่วนหนึ่งของอารมณ์ หากดวงนิมิตนั้น อันตรธานหายไป ก็ไม่ต้องนึก เสียดาย ให้วางอารมณ์สบาย แล้วนึกนิมิตนั้นขึ้นมาใหม่แทนดวงเก่า หรือเมื่อนิมิตนั้นไปปรากฏที่อื่นที่ มิใช่ศูนย์กลางกายให้ค่อย ๆ น้อมนิมิตเข้ามาอย่างค่อยเป็นค่อยไปไม่มีการบังคับ และเมื่อนิมิตมาหยุด สนิท ณ ศูนย์กลางกาย ให้วางสติลงไปยังจุดศูนย์กลางของดวงนิมิต ด้วยความรู้สึกคล้าย ๆ มีดวงดาว ดวง เล็กๆ อีกดวงหนึ่งซ้อนอยู่ตรงกลางดวงนิมิตดวงเดิม แล้วสนใจเอาใจใส่แต่ดวงเล็กๆ ตรงกลางนั้น ไปเรื่อย ๆ ใจจะปรับจนหยุดได้ถูกส่วนเกิดการตกศูนย์ และเกิดดวงสว่างขึ้นมาแทนที่ ดวงนี้เรียกว่า "ดวงธรรม" หรือ "ดวงปฐมมรรค" อันเป็นประตูเบื้องต้นที่จะเปิดไปสู่หนทางแห่งมรรคผลนิพพาน การระลึกนึกถึงนิมิตสามารถทาได้ในทุกแห่งทุกที่ ทุกอิริยาบถไม่ว่าจะนั่ง นอน ยืน เดิ น หรือขณะทา ภารกิจใด ๆ ข้อควรระวัง 1. อย่าใช้กาลัง คือ ไม่ใช้กาลังใดๆทั้งสิ้น เช่น ไม่บีบกล้ามเนื้อตา เพื่อจะให้เห็นนิมิตเร็ว ๆ ไม่เกร็งแขน ไม่เกร็งกล้ามเนื้อหน้าท้อง ไม่เกร็งตัว ฯลฯ เพราะการใช้กาลังตรงส่วนไหนของร่างกาย ก็ ตาม จะทาให้จิตเคลื่อนจากศูนย์กลางกายไปสู่จุดนั้น 2. อย่า อยากเห็น คื อ ทาใจให้เป็นกลาง ประคองสติมิให้เผลอจากบริก รรมภาวนา และ บริกรรมนิมิต ส่วนจะเห็นนิมิตเมื่อใดนั้นอย่ากังวล ถ้าถึงเวลาแล้วย่อมเห็นเอง การบังเกิดของดวง นิมิตนั้น อุปมาเสมือนการขึ้นและตกของดวงอาทิตย์ เราไม่อาจจะเร่งเวลาได้ 3. อย่ากังวลถึงการกาหนดลมหายใจเข้าออก เพราะการฝึกสมาธิเพื่อให้เข้าถึงพระธรรมกาย ภายใน อาศัยการนึกถึง "อาโลกกสิณ" คือ กสิณ ความสว่างเป็นบาท เบื้องต้น 4. เมื่อเลิกจากนั่งสมาธิแล้วให้ตั้งใจไว้ที่ศูนย์กลางกายที่เดียว ไม่ว่าจะอยู่ในอิริยาบถใดก็ตาม เช่น ยืน เดิน นอน นั่ง ก็ดี อย่าย้ายฐานที่ตั้งจิตไปไว้ที่อื่นเป็นอันขาด ให้ตั้งใจบริกรรมภาวนา พร้อม กับนึกถึงบริกรรมนิมิตเป็นดวงแก้วใสควบคู่กันตลอดไป 5. นิมิตต่างๆที่เกิดขึ้นจะต้องน้อมไปตั้งไว้ที่ศูนย์กลางกายทั้งหมด ถ้านิมิตเกิดขึ้นแล้วหายไป ก็ไม่ต้องตามหา ให้ภาวนาประคองใจต่อไปตามปกติ ในที่สุดเมื่อจิตสงบ นิมิตย่อมปรากฏขึ้นใหม่อีก


วัดท่าสะแบง

54

การฝึกสมาธิเบื้องต้นเท่าที่กล่าวมาทั้งหมดนี้ ย่อมเป็นปัจจัยให้เกิดความสุขได้พอสมควร เมื่อปฏิบัติอยู่เสมอ ๆไม่ทอดทิ้ง จนได้ดวงปฐมมรรคแล้ว ก็ให้หมั่นประคองรักษาดวงปฐมมรรคนั้ น ไว้ตลอดชีวิต ดารงตนอยู่ในศีลธรรมอันดี ย่อมเป็นหลักประกันได้ว่า ได้ที่พึ่งของชีวิตที่ถูกต้อง ดีงาม ที่ จะส่งผลให้เป็นผู้มีความสุข ความเจริญ ทั้งในภพนี้และภพหน้า เด็กเคารพผู้ใหญ่ ผู้ใหญ่เมตตาเด็ก ทุก คนมีความรักใคร่สามัคคีเป็นน้าหนึ่งใจเดียวกัน ข้อแนะนา คือ ต้องทาให้สม่าเสมอเป็นประจา ทาเรื่อยๆ ทาอย่างสบายๆ ไม่เร่ง ไม่บังคับ ทาได้แค่ไหนให้พอใจแค่นั้น ซึ่งจะเป็นการป้องกันมิให้เกิดความอยากจนเกินไปจนถึงกับทาให้ใจต้อง สูญเสีย ความเป็นกลาง และเมื่อการฝึกสมาธิบังเกิดผลจนได้ "ดวงปฐมมรรค" ที่ใสเกินใส สวยเกินสวย ติดสนิทมั่นคงอยู่ที่ศูนย์กลางกายแล้ว ให้หมั่นระลึกนึกถึงอยู่เสมอ จะทาให้สมาธิ ละเอียดลุ่มลึกไป ตามลาดับอีกด้วย การแผ่เมตตา คือ การตั้งความปรารถนาดีไปในมวลสรรพสัตว์ ตลอดจนเทพเทวา ภูติ ผี ปีศาจทั้งหลาย ไม่มีประมาณ ไม่มีขอบเขต ไร้พรมแดนขีดขั้น ไม่ว่าเขาผู้นั้นหรือสัตว์นั้น จะเป็นเชื้อ ชาติ ศาสนาอะไร จะเกี่ยวข้องกับเราโดยความเป็นญาติ โดยความเป็นประเทศเชื้อชาติศาสนาหรือไม่ก็ ตาม ให้มีจิตกว้างขวางไร้พรมแดน ไม่มีขอบเขตขีดขั้น ขอให้เขาได้มีความสุข อย่าได้มีความทุกข์ ระทมขมขื่นใจ ตามหลักการแผ่เมตตาในทางพระพุทธศาสนานั้น ในชีวิตของมนุษย์คนหนึ่ง มีสิ่งที่ ทุกคนปรารถนาก็คือความสุข และต้องการหลีกเลี่ยงจากภัยอันตรายต่าง ๆ ซึ่งจะทาให้ชีวิตเป็นทุกข์ เราต้องการความสุขอย่างไร คนอื่นและสัตว์อื่นก็ต้องการความสุขอย่างนั้น พระพุทธเจ้าจึงสอนให้เอาความรู้สึกตัวเราเองเป็นเครื่องเปรียบเทียบ วัดความรู้สึกของคนอื่น และสัตว์อื่น จะได้เห็นอกเห็นใจมีเมตตาต่อคนอื่นและสัตว์อื่นมากขึ้น แล้วไม่เบียดเบียนซึ่งกันและกัน การแผ่เมตตาจึงควรแผ่ให้ทั้งแก่ตนเอง และคนอื่น ตลอดจนสรรพสัตว์ทั้งหลายตั้งความปรารถนาให้ ทุกสรรพชีวิตมีความสุขเสมอกัน


วัดท่าสะแบง

55

การแผ่เมตตา

คาแผ่เมตตาให้สรรพสัตว์ สัพเพ สัตตา อะเวรา โหนตุ สัพเพ สัตตา อะนีฆา โหนตุ

สัพเพ สัตตา อัพยาปัชฌา โหนตุ สัพเพ สัตตา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ

สัพเพ สัตตา สัตว์ทั้งหลายที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้น อะเวรา โหนตุ จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีเวรแก่กันและกันเลย อัพยาปัชฌา โหนตุ จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้เบียดเบียนซึ่งกันและกันเลย


วัดท่าสะแบง

56

อะนีฆา โหนตุ จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีความทุกข์กายทุกข์ใจเลย สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ จงมีความสุขกาย สุขใจ รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งสิ้น เถิดฯ

คาแผ่เมตตา (ภาษาไทย) ของสมเด็จพรพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น ชุตินฺธรมมหาเถร) วัดสามพระยา กรุงเทพมหานคร ขอให้ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ จงยืนยงดารงมั่นเป็นหลักไท ปราศจากภัยพิบัติอุปัทวันตรายทั้งสิ้น ขอให้ประชาชนบนผืนแผ่นดินไทย จงอยู่เย็นเป็นสุข ปราศจากความอยู่ร้อนนอนทุกข์ จงมั่งมีศรีสุข ปราศจากความยากเข็ญใจ พ้นจากภัยพิบัติอปัทวันตรายทั้งปวง เทอญฯ

บทระลึกถึงคุณบิดามารดา

ท่านว่าพ่อแม่นั้นเปรียบได้เป็นทั้งครูของลูก เทวดาของลูก พรหมของลูกและอรหันต์ของลูก ความหมายโดยละเอียดมีดังต่อไปนี้ - ที่ว่าเป็นครูของลูก เพราะว่าท่านได้คอยอบรมสั่งสอนลูก เป็นคนแรกก่อนคนอื่นใดในโลก - ที่ว่าเป็นเทวดาของลูก เพราะว่าท่านจะคอยปกป้อง คุ้มครอง เลี้ยงดู ประคบประหงมมา ตั้งแต่อ้อนแต่ออก บารุงให้เติบใหญ่เป็นอย่างดี และไม่ให้เกิดอันตรายต่อลูกในทุกด้าน


วัดท่าสะแบง

57

- ที่ว่าเป็นพรหมของลูก เพราะว่าท่านมีพรหมวิหาร 4 นั่นก็คือ มีเมตตา หมายถึงความเอ็นดู ความปรารถนาดีต่อลูกในทุกๆ ด้าน ไม่มีที่สิ้นสุด มีกรุณา หมายถึงให้ความกรุณาต่อลูก ลูกอยากได้ อะไรก็หามาให้ลูก ให้การศึกษาเล่าเรียน ส่งเสียเท่าที่มีความสามารถจะให้ได้ มีมุทิตา หมายถึงความรัก ที่ยอมสละได้แม้ชีวิตของตัวเองเพื่อลูก ยอมเสียสละได้ทกุ อย่าง และมีอุเบกขา หมายถึง การวางเฉย ไม่ถือโกรธเมื่อลูกประมาท ซน ทาผิดพลาดเพราะความไร้เดียงสา หรือเพราะความไม่รู้ - ที่ว่าเป็นอรหันต์ของลูก เพราะว่าท่านมีคุณธรรม 4 ประการอันได้แก่ - เป็นผู้มีอุปการะคุณต่อลูก คืออุปการะเลี้ยงดูมาด้วยความเหนื่อยยาก กว่าจะเติบโต เป็นผู้ใหญ่ - เป็นผู้มีพระเดชพระคุณต่อลูก คือ ให้ความอบอุ่นเลี้ยงดู ปกป้องจากภยันตรายต่าง ๆ นานา - เป็นเนื้อนาบุญของลูก คือ ลูกเป็นส่วนหนึ่งของกรรมดีที่พ่อแม่ได้ทาไว้ และเป็นผู้รับ ผลบุญที่พ่อแม่ได้สร้างไว้แล้วทางตรง - เป็นอาหุไนยบุคคล คือ เป็นเหมือนพระที่ควรแก่การเคารพนับถือและรับของบูชา เพื่อเทิดทูนไว้เป็นแบบอย่าง

การทดแทนพระคุณบิดามารดา สามารถทาได้ดังนี้ ระหว่างเมื่อท่านยังมีชีวิตอยู่ ก็เลี้ยงดูท่านเป็นการตอบแทน ช่วยเหลือเป็นธุระเรื่องการงานให้ ท่าน ดารงวงศ์ตระกูลให้สืบไปไม่ทาเรื่องเสื่อมเสีย รวมทั้งประพฤติตนให้ควรแก่การเป็นสืบทอดมรดก จากท่าน ครั้นเมื่อท่านล่วงลับไปแล้ว ก็ทาบุญอุทิศกุศลให้ท่าน ส่วนการเป็นลูกกตัญญูต่อพ่อแม่ในคา สอนของพระพุทธเจ้าท่านกล่าวว่าไว้ ดังนี้ 1. ถ้าท่านยังไม่มีศรัทธา ให้ท่านถึงพร้อมด้วยศรัทธา คือ พยายามให้ท่านมีความศรัทธา ในพระพุทธศาสนา เชื่อในเรื่องการทาดี 2. ถ้าท่านยังไม่มีศีล ให้ท่านถึงพร้อมด้วยศีล คือพยายามให้ท่านเป็นผู้รักษาศีล 5 ให้ได้ 3. ถ้าท่านเป็นคนตระหนี่ ให้ท่านถึงพร้อมด้วยการให้ทาน คือพยายามให้ท่านรู้จักการให้ด้วย เมตตาโดยไม่หวังผลตอบแทน 4. ถ้าท่านยังไม่ทาสมาธิภาวนา ให้ท่านถึงพร้อมด้วยปัญญา คือพยายามให้ท่านหัดนั่งทา สมาธิภาวนาให้ได้


วัดท่าสะแบง

58

ครูบาอาจารย์ ครู มีความหมายดังนี้ 1. “ครู” มา จากรากศัพท์เดิมในภาษาบาลี ว่า “ครุ” หรือ “คุรุ” มาจากภาษาสันสกฤต ซึ่งเป็นรากศัพท์เดิมของคาว่า “คารวะ” หรือคาว่า “เคารพ” ที่คนไทยแผลงคามาใช้นั้นเอง 2. การเคารพ หรือการให้การคารวะ หมายถึง การตระหนักซึ่งหมายถึงอาการ “จิต” เอาใจ จดจ่อในความดีอันมีอยู่ในตัวตนหรือสิ่งที่ครู เป็นผู้ตระหนักที่จะใช้ “สติปัญญา” พิจารณาใคร่ครวญ ในสิ่งที่ดีงาม ชั่วร้าย ความถูก ความผิด ควร – ไม่ควร และเป็น ผู้ที่ศิษย์ควรตระหนัก (ที่จะให้ความ เคารพยกย่องนับถือครู) 3. “ครู” ในสมัยก่อน หมายถึง ผู้นา เป็นผู้เปิดประตูทางจิตวิญญาณของศิษย์ไปสู่ความเป็น คนมีคุณธรรม จริยธรรม ประกอบสัมมาชีพ ประพฤติแต่ความดีงาม 4. โดยทั่วๆไป “ครู” ก็คือผู้สอนนักเรียนให้รู้หนังสือผู้ที่ทาหน้าที่อบรมสั่งสอน ถ่ายทอด ความรู้ให้แก่ศิษย์ สมควรที่ศิษย์จะให้ความเคารพบูชา 5. “ครู” คือ ผู้ประกอบอาชีพ อาชีพหนึ่งที่ทาหน้าที่สอน (หนังสือ) ให้แก่คน เพื่อให้เป็น คนมีคุณสมบัติ มีความรู้ ตามที่หลักสูตรกาหนด และส่วนมากจะใช้กับผู้สอนในระดับที่ต่ากว่า สถาบันอุดมศึกษา


วัดท่าสะแบง

59

อาจารย์มีความหมายดังนี้ 1. “อาจารย์” มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตว่า “อาจารย ,อาจาริย” ซึ่งมาจากภาษาอังกฤษ ใช้คาว่า “instructor” 2. เดิมใช้เรียกพระภิกษุสงฆ์ ที่เป็นหัวหน้าพระหรือทาหน้าที่สอนนักธรรม หรือเปรียญ ธรรมแก่พระภิกษุ 3. ความหมายดั้งเดิม อาจารย์ หมายถึง ผู้ฝึกมารยาท หรือผู้ควบคุมให้อยู่ในระเบียบวินัย เป็นผู้รักษากฎเกณฑ์ต่าง ๆ 4. ความหมายในปัจจุบัน อาจารย์หมายถึง ผู้สั่งสอนวิชาความรู้ ผู้อบรมความประพฤติ ของลูกศิษย์เป็นผู้ที่สอน (หนังสือ) หรือเป็นผู้ค้นคว้าบุกเบิกหาความรู้ใหม่ ๆ หรือที่เรียกว่า “วิจัย” 5. เป็นผู้สอนในสถาบันอุดมศึกษา และเมื่อทาผลงานตามที่ ก.ค. หรือ ก.ม. กาหนด จะได้เลื่อนตาแหน่งทางวิชาการ ตามลาดับ

สรุปลักษณะของครูดีที่ดี 3 ด้าน 1. ภูมิรู้ ลักษณะของครูที่ดีในด้านนี้ ได้แก่ คุณสมบัติส่วนตัวที่เกี่ยวข้องกับความรู้ ความสามารถทางด้านวิชาการที่จะสอน ตลอดถึงสติปัญญาดี เฉลียวฉลาด เชื่อมั่นในตัวเอง รู้จัก แสวงหาความรู้ใหม่ ๆ เป็นต้น 2. ภูมิธรรม ได้แก่ การประพฤติดี เว้นจากอบายมุขทั้งปวง กระทาแต่สิ่งที่ดี ที่สุจริต ทั้งกาย วาจา ใจ นอกจากนี่ครูยังต้องมีจรรยาบรรณและคุณธรรมสูง ซื่อสัตย์ เสียสละ มีเมตตา กรุณา ยุติธรรมและมานะอดทน เป็นต้น 3. ภูมิฐาน บุคลิกภาพ ดี รูปร่างท่าทางดี แต่งกายสะอาดเรียบร้อย พูดจาไพเราะ นุ่มนวล


วัดท่าสะแบง

60

น้าเสียงชัดเจน มีลักษณะเป็นผู้นา นอกจากนี้ครูยังต้องเป็นผู้ที่มีมนุษยสัมพันธ์ดี มีอัธยาศัยไมตรี กับบุคคลทุกเพศ ทุกวัย ทุกชนชั้น

ครูกับนักเรียนในปัจจุบัน ในทางพระพุทธศาสนา ได้จาแนกอาจารย์ไว้ 5 ประเภท ดังนี้ 1. บรรพชาจารย์ ได้แก่ อาจารย์ผู้ให้ศีลเวลามีการพรรพชาสามเณร หรือกุลบุตรคนใดที่มี ศรัทธาจะอุปสมบทในพระพุทธศาสนา ก่อนบวชเป็นเป็นพระภิกษุสงฆ์จะต้องผ่านการบรรพชาเป็น สามเณรก่อนเสมอ ต่อจากนั้นเป็นหน้าที่ของอุปสัมปทาจารย์ 2. อุปสัมปทาจารย์ ได้แก่ พระอาจารย์ผู้เป็นผู้สวดกรรมวาจา หรือสวดประกาศกิจกรรม ใน ท่ามกลางสงฆ์ เพื่อให้ผู้ผ่านการบรรพชาเป็นสามเณร ได้เป็นพระภิกษุที่ถูกต้องตามพระวินัยต่อไป 3. นิสสยาจารย์ ได้แก่ พระอาจารย์ที่พระภิกษุยอมตนเป็นศิษย์อยู่ในความ ปกครอง ได้แก่ พระอุปัชฌาย์หรือพระที่เป็นผู้บวชให้นั่นเอง 4. อุเทศาจารย์หรือธรรมาจารย์ ได้แก่ อาจารย์ที่สอนธรรม ให้ความรู้ เช่น เจ้าอาวาส หรือ พระอาจารย์ที่เป็นครูสอนนักธรรม ถ้าเป็นฆราวาส ก็เทียบได้กับครูที่สอนตามสถานศึกษาต่าง ๆ


วัดท่าสะแบง

61

5. โอวาทาจารย์ เทียบได้กับอาจารย์ที่ได้รับอาราธนาหรือเชิญมาเป็นวิทยากร หรือให้การ อบรมเป็นครั้งคราว

อาจารย์ในทางพระพุทธศาสนา พระรัตนตรัย พระรัตนตรัย พระรัตนตรัย หมายถึง พระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ มีความสาคัญที่สุดสาหรับ พุทธศาสนิกชน เพราะเป็นเสมือนประตูที่จะเข้ามาสู่พระพุทธศาสนา และผู้ที่เข้ามาสู่พระพุทธศาสนา จะเป็นมนุษย์หรือเทวดา จะเข้ามาในฐานะเป็นภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก หรืออุบาสิกา ก็ตาม ล้วนแต่ ต้องเข้ามาทางพระรัตนตรัยทั้งสิ้น ด้วยความเคารพนับถือ บูชาและศรัทธาในพระพุทธเจ้า พระธรรม หรือพระสงฆ์จึงได้เข้ามา และการจะได้เป็นภิกษุ ภิกษุณี อุบาสกและอุบาสิกา ก็ล้วนแต่ต้องเปล่ง วาจาว่า พุ ทฺธ สรณ คจฺฉามิ ธมฺม สรณ คจฺฉ ามิ สงฺฆ สรณ คจฺฉ ามิ ทั้งสิ้น เพราะฉะนั้นพระ รัตนตรัยจึงเป็นเรื่องที่พุทธศาสนิกชนควรศึกษาเพื่อความเข้าใจและปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง

บทระลึกถึงคุณพระรัตนตรัย


วัดท่าสะแบง

62

(หัวหน้านา) หันทะ มะยัง ระตะนะคุณัง ก ะโรมะ เส (รับ) อิมินา สักกาเรนะ ข้าพระองค์ขอนอบน้อมบูชา แด่องค์สมเด็จพระศาสดา ทรงปัญญาและบารมี ทรงสง่าด้วยราศี ประเสริฐเลิศดีมีพระคุณ ทรงมีพระเมตตาเกื้อหนุน แผ่บุญค้าจุนให้พ้นภัย พระองค์เป็นประทีปสดใส ให้กาเนิดรัตนตรัยดวงงาม องค์แห่งรัตนะมีสาม ระบือนามไปทั่วธานี องค์พระพุทธชินศรี ตรัสรู้ชอบดีซึ่งพระธรรม ชาวพุทธทุกคนจงจดจา ช่วยกันแนะนาให้แพร่ไป ทุกคนจะเกิดเลื่อมใส พระธรรมนาสุขใจสถาพร ผู้แนะนาซึ่งคาสั่งสอน คือศิษย์พระชินวรทุกองค์ มวลหมู่พระภิกษุสงฆ์ ได้ดารงพระศาสนามา ลูกขอก้มกราบวันทา พระพุทธศาสนาจงถาวรแด่ เทอญ ฯ

บทระลึกถึงคุณบิดามารดา (หัวหน้านา) หันทะ มะยัง มาตาปิตุคุณัง กะโรมะ เส (รับ) อิมินา สักกาเรนะ ลูกขอกราบสักการบูชา แด่พระบิดามารดา อันลูกยาขอน้อมระลึกถึงคุณ ท่านมีเมตตาและการุณ อุปการคุณต่อบุตรธิดา ได้ให้กาเนิดลูกมา ทั้งการศึกษาและอบรม ถึงแม้นลาบากขื่นขม ทุกข์ระทมสักเพียงไร ท่านไม่เคยหวั่นไหว ต่อสิ่งใดที่ได้เลี้ยงมา พระคุณท่านล้นฟ้า ยิ่งกว่าธาราและแผ่นดิน ลูกขอบูชาเป็นอาจิณ ตราบจนสิ้นดวงชีวา ขอปวงเทพไท้จงรักษา พระบิดามารดาของข้าเทอญ ฯ


วัดท่าสะแบง

63

บทระลึกถึงคุณครูบาอาจารย์ (หัวหน้านา) หันทะ มะยัง อาจะริยะคุณัง กะโรมะ เส) (รับ) อิมินา สักกาเรนะ เกล้า ฯ ขอน้อมคารวะบูชา คุแด่อาจารย์อุปัชฌายา ผู้ให้การศึกษาและอบรม เริ่มต้นจากวัยประถม ให้วิทยาคมเสมอมา เพิ่มพูนสติปัญญา อีกวิชาศีลธรรมประจาใจ ท่านชี้ทางสว่างสดใส ทั้งระเบียบวินัยประจาตน ศิษย์ที่ดีต้องหมั่นฝึกฝน ให้ประพฤติตนแต่ดีตลอดไป จงสังวรสารวมเอาไว้ ทั้งกายใจของเราให้มั่นคง ตั้งจิตไว้ให้เที่ยงตรง เพื่อจรรโลงในพระคุณ ขอผลบุญโปรดจงเกื้อหนุน อาจารย์ผู้มีพระคุณทุกท่านเทอญ ฯ

การทาวัตรเช้า พุทธาภิถุติ (หันทะ มะยัง พุทธาภิถุติง กะโรมะ เส.) โย โส ตะถาคะโต, พระตถาคตเจ้านั้น พระองค์ใด ; อะระหัง เป็นผู้ไกลจากกิเลส ; สัมมาสัมพุทโธ , เป็นผู้ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง ; วิชชาจะระณะสัมปันโน, เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ ; สุคะโต, เป็นผู้ไปแล้วด้วยดี ; โลกะวิทู,


วัดท่าสะแบง

64

เป็นผู้รู้โลกอย่างแจ่มแจ้ง ; อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ, เป็นผู้สามารถฝึกบุรุษที่สมควรฝึกได้ อย่างไม่มีใครยิ่งกว่า ; สัตถา เทวะมะนุสสานัง, เป็นครูผู้สอน ของเทวคาและมนุษย์ทั้งหลาย ; พุทโธ, เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานด้วยธรรม ; ภะคะวา, เป็นผู้มีความจาเริญ จาแนกธรรมสั่งสอนสัตว์ ; โย อิมัง โลกัง สะเทวะกัง สะมาระกัง สะพรหมะกัง, สัสสะมะณะพราหมะณิง ปะชัง สะเทวะ มะนุสสัง สะยัง อะภิญญา สัจฉิกัตวา ปะเวเทสิ, พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด, ได้ทรงทาความดับทุกข์ให้เเจ้งด้วยพระปัญญาอันยิ่งเองแล้ว ทรงสอนโลกนี้ พร้อมทั้งเทวดา มาร พรหม และหมู่สัตว์ พร้อมทั้งสมณพราหมณ์ พร้อมทั้ง เทวดาและมนุษย์ให้รู้ตาม ;

โย ธัมมัง เทเสสิ, พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด, ทรงแสดงธรรมแล้ว ; อาทิกัลยาณัง, ไพเราะในเบื้องต้น, มัชเฌกัลยาณัง, ไพเราะในท่ามกลาง, ปะริโยสานะกัลยาณัง, ไพเราะในที่สุด, สาตถัง สะพยัญชะนัง เกวะละปริปุณณัง ปะริสุทธัง พรหมะจะริยัง ปะกาเสสิ, ทรงประกาศพรหมจรรย์ คือแบบแห่งการปฏิบัติอันประเสริฐ บริสุทธิ์ บริบูรณ์ สิ้นเชิง, พร้อม ทั้งอรรถะ (คาอธิบาย) พร้อมทั้งพยัญชนะ (หัวข้อ) ; ตะมะหัง ภะคะวันตัง อะภิปชู ะยามิ ข้าพเจ้าบูชาอย่างยิ่ง เฉพาะพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ; มะหัง ภะคะวันตัง สิระสา นะมามิ.


วัดท่าสะแบง

65

ข้าพเจ้านอบน้อมพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ด้วยเศียรเกล้า (กราบราลึกพระพุทธคุณ)

ธัมมาภิถตุ ิ (หัวหน้านา) หันทะ มะยัง ธัมมาภิถุติง กะโรมะ เส. โย โส สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, พระธรรมนั้นใด, เป็นสิ่งที่พระผู้มีพระภาคเจ้า ได้ตรัสไว้ดีแล้ว ; สันทิฏฐิโก, เป็นสิ่งที่ผู้ศึกษาและปฏิบัติ พึงเห็นได้ด้วยตนเอง ; อะกาลิโก, เป็นสิ่งที่ปฏิบัติได้ และให้ผลได้ ไม่จากัดกาล ; เอหิปัสสิโก, เป็นสิ่งที่ควรกล่าวกะผู้อื่นว่า ท่านจงมาดูเถิด ; โอปะนะยิโก, เป็นสิ่งที่ควรน้อมเข้ามาใส่ตัว ; ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิ, เป็นสิ่งที่ผู้รู้ก็รู้ได้เฉพาะตน ; ตะมะหัง ธัมมัง อะภิปูชะยามิ, ข้าพเจ้าบูชาอย่างยิ่ง เฉพาะพระธรรมนั้น ; ตะมะหัง ธัมมัง สิระสา นะมามิ, ข้าพเจ้านอบน้อมพระธรรมนั้น ด้วยเศียรเกล้า ; (กราบราลึกพระธรรมคุณ)

สังฆาภิถุติ (หัวหน้านา) หันทะ มะยัง สังฆาภิถุติง กะโรมะ เส. โย โส สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้านั้น หมู่ใด, ปฏิบัติดีแล้ว ; อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,


วัดท่าสะแบง

66

สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าหมู่ใด, ปฏิบัติตรงแล้ว ; ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าหมู่ใด, ปฏิบัติเพื่อรู้ธรรมเป็นเครื่องออกจากทุกข์แล้ว ; สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าหมู่ใด, ปฏิบัติสมควรแล้ว ; ยะทิทัง, ได้แก่บุคคลเหล่านี้คือ : จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา, คู่แห่งบุรุษ ๔ คู่, นับเรียงตัวบุรุษ ได้ ๘ บุรุษ ; เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, นั่นแหละ สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า ; อาหุเนยโย, เป็นสงฆ์ควรแก่สักการะที่เขานามาบูชา ; ปาหุเนยโย, เป็นสงฆ์ควรแก่สักการะที่เขาจัดไว้ต้อนรับ ; ทักขิเณยโย, เป็นผู้ควรรับทักษิณาทาน ; อัญชะลิกะระณีโย, เป็นผู้ที่บุคคลทั่วไปควรทาอัญชลี ; อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสะ, เป็นเนื้อนาบุญของโลก, ไม่มนี าบุญอื่นยิ่งกว่า ; ตะมะหัง สังฆัง อะภิปูชะยามิ, ข้าพเจ้าบูชาอย่างยิ่ง เฉพาะพระสงฆ์หมู่นั้น ; ตะมะหัง สังฆัง สิระสา นะมามิ, ข้าพเจ้านอบน้อมพระสงฆ์หมู่นั้น ด้วยเศียรเกล้า ; (กราบราลึกพระสังฆคุณ)

รตนัตตยัปปณามคาถา (หัวหน้านา)


วัดท่าสะแบง

67

หันทะ มะยัง ระตะนัตตะยัปปะณามะคาถาโย เจวะสังเวคะปะริกิตตะนะปาฐัญจะ ภะณามะ เส. พุทโธ สุสุทโธ กะรุณามะหัณณะโว พระพุทธเจ้าผู้บริสุทธิ์ มีพระกรุณาดุจห้วงมหรรณพ ; โยจจันตะสุทธัพพะระญาณะโลจะโน, พระองค์ใด มีตาคือญาณอันประเสริฐหมดจดถึงที่สุด ; โลกัสสะ ปาปูปะกิเลสะฆาตะโก, เป็นผู้ฆ่าเสียซึ่งบาป และอุปกิเลสของโลก ; วันทามิ พุทธัง อะหะมาทะเรนะ ตัง, ข้าพเจ้าไหว้พระพุทธเจ้าพระองค์นั้น โดยใจเคารพเอื้อเฟื้อ. ธัมโม ปะทีโป วิยะ ตัสสะ สัตถุโน, พระธรรมของพระศาสดา สว่างรุ่งเรืองเปรียบดวงประทีป ; โย มัคคะปากามะเภทะภินนะโก, จาแนกประเภท คือ มรรค ผล นิพพาน, ส่วนใด โลกุตตระ โย จะ ตะทัตถะทีปะโน, ซึ่งเป็นตัวโลกุตตระ, และส่วนใดที่ชี้แนวแห่งโลกุตตระนั้น ;

วันทามิ ธัมมัง อะหะมาทะเรนะ ตัง, ข้าพเจ้าไหว้พระธรรมนั้น โดยใจเคารพเอื้อเฟื้อ. สังโฆ สุเขตตาภยะติเขตตะสัญญิโต, พระสงฆ์เป็นนาบุญอันยิ่งใหญ่กว่านาบุญอันดีทั้งหลาย ; โย ทิฏฐะสันโต สุคะตานุโพธะโก, เป็นผู้เห็นพระนิพพาน, ตรัสรู้ตามพระสุคต, หมู่ใด ; โลลัปปะหีโน อะริโย สุเมธะโส, เป็นผู้ละกิเลสเครื่องโลเล เป็นพระอริยเจ้า มีปัญญาดี ; วันทามิ สังฆัง อะหะมาทะเรนะ ตัง, ข้าพเจ้าไหว้พระสงฆ์หมู่นั้น โดยใจเคารพเอื้อเฟื้อ. อิจเจวะเมกันตะภิปูชะเนยยะกัง, วัตถุตตะยัง วันทะยะตาภิสังขะตัง, ปุญญัง มะยา ยัง มะมะ สัพพุปัททะวา, มา โหนตุ เว ตัสสะ ปะภาวะสิทธิยา.


วัดท่าสะแบง

68

บุญใด ที่ข้าพเจ้าผู้ไหว้อยู่ซึ่งวัตถุสาม, คือพระรัตนตรัย อันควรบูชายิ่งโดยส่วนเดียว, ได้กระทา แล้ว เป็นอย่างยิ่งเช่นนี้นี้, ขออุปัททวะ (ความชั่ว) ทั้งหลาย, จงอย่ามีแก่ข้าพเจ้าเลย, ด้วยอานาจ ความสาเร็จ อันเกิดจากบุญนั้น.

สังเวคปริกิตตนปาฐะ อิธะ ตะถาคะโต โลเก อุปปันโน พระตถาคตเจ้าเกิดขึ้นแล้ว ในโลกนี้ ; อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ เป็นผู้ไกลจากกิเลส ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง ; ธัมโม จะ เทสิโต นิยยานิโก, และพระธรรมที่ทรงแสดง เป็นธรรมเครื่องออกจากทุกข์ ; อุปะสะมิโก ปะรินิพพานิโก, เป็นเครื่องสงบกิเลส, เป็นไปเพื่อปรินิพพาน ; สัมโพธะคามี สุคะตัปปะเวทิโต ; เป็นไปเพื่อความรู้พร้อม, เป็น ธรรมที่พระสุคตประกาศ ; มะยันตัง ธัมมัง สุตวา เอวัง ชานามะ : พวกเราเมื่อได้ฟังธรรมนั้นแล้ว, จึงได้รู้อย่างนี้ว่า : ชาติปิ ทุกขา, แม้ความเกิดก็เป็นทุกข์ ; ชะราปิ ทุกขา, แม้ความแก่ก็เป็นทุกข์ ; มะระณัมปิ ทุกขัง แม้ความตายก็เป็นทุกข์ ; โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสาปิ ทุกขา, แม้ความโศก ความร่าไรราพัน ความไม่สบายกาย ความไม่สบายใจความคับแค้นใจก็เป็นทุกข์ ; อัปปิเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข ความประสบกับสิ่งไม่เป็นที่รักที่พอใจ ก็เป็นทุกข์ ; ปิเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข, ความพลัดพรากจากสิ่งเป็นที่รักที่พอใจ ก็เป็นทุกข์ ;


วัดท่าสะแบง

69

ยัมปิจฉัง นะ ละภะติ ตัมปิ ทุกขัง, มีความปรารถนาสิ่งใด ไม่ได้สิ่งนั้น นั่นก็เป็นทุกข์ ; สังขิตเตนะ ปัญจุปาทานักขันธา ทุกขา, ว่าโดยย่อ อุปาทานขันธ์ทั้ง 5 เป็นตัวทุกข์ ; เสยยะถีทัง, ได้แก่สิ่งเหล่านี้ คือ :รูปูปาทานักขันโธ, ขันธ์ อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่น คือรูป ; เวทะนูปาทานักขันโธ, ขันธ์ อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่น คือเวทนา ; สัญญูปาทานักขันโธ, ขันธ์ อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่น คือสัญญา ; สังขารูปาทานักขันโธ, ขันธ์ อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่น คือสังขาร ; วิญญาณูปาทานักขันโธ, ขันธ์ อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่น คือวิญญาณ ; เยสัง ปะริญญายะ, เพื่อให้สาวกกาหนดรอบรู้อุปาทานขันธ์ เหล่านี้ เอง, ธะระมาโน โส ภะคะวา, จึงพระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เมื่อยังทรงพระชนม์อยู่, เอวัง พะหุลัง สาวะเก วิเนติ, ย่อมทรงแนะนาสาวกทั้งหลาย เช่นนี้เป็นส่วนมาก ; เอวังภาคา จะ ปะนัสสะ ภะคะวะโต สาวะเกสุ อะนุสาสะนี พะหุลา ปะวัตติตะติ, อนึ่ง คาสั่งสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้านั้น, ย่อมเป็นไปในสาวกทั้งหลาย, ส่วนมาก, มีส่วนคือ การจาแนกอย่างนี้ว่า :รูปัง อะนิจจัง, รูปไม่เที่ยง ; เวทะนา อะนิจจา, เวทนาไม่เที่ยง ; สัญญา อะนิจจา,


วัดท่าสะแบง

70

สัญญาไม่เที่ยง ; สังขารา อะนิจจา, สังขารไม่เที่ยง ; วิญญาณัง อะนิจจัง วิญญาณไม่เที่ยง ; รูปัง อะนัตตา, รูปไม่ใช่ตัวตน ; เวทะนา อะนัตตา, เวทนาไม่ใช่ตัวตน ; สัญญาอะนัตตา, สัญญาไม่ใช่ตัวตน ; สังขาราอะนัตตา, สังขารไม่ใช่ตัวตน ; วิญญาณัง อะนัตตา, วิญญาณไม่ใช่ตัวตน ; สัพเพ สังขารา อะนิจจา, สังขารทั้งหลายทั้งปวง ไม่เที่ยง.. สัพเพ ธัมมา อะนัตตาติ, ธรรมทั้งหลายทั้งปวง ไม่ใช่ตัวตน ดังนี้. เต (ตา) มะยัง โอติณณามหะ, พวกเราทั้งหลาย เป็นผู้ถูกครอบงาแล้ว ; ชาติยา, โดยความเกิด ; ชะรามะระเณนะ, โดยความแก่และความตาย ; โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปยาเสหิ, โดยความโศก ความร่าไรราพัน ความไม่สบายกาย ความไม่สบายใจ ความคับแค้นใจทั้งหลาย ; ทุกโขติณณา, เป็นผู้ถูกความทุกข์ หยั่งเอาแล้ว ; ทุกขะปะเรตา, เป็นผู้มีความทุกข์ เป็นเบื้องหน้าแล้ว ; อัปเปวะนามิมัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขันขันธัสสะ อันตะกิริยา ปัญญาเยถาติ.


วัดท่าสะแบง

71

ทาไฉน การทาที่สุดแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ . จะพึ่งปรากฏชัด แก่เราได้. (สาหรับอุบาสก-อุบาสิกาสวด) จิระปะรินิพพุตัมปิ ตัง ภะคะวันตัง สะระณัง คะตา, เราทั้งหลายผู้ถึงแล้วซึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้า แม้ปรินิพพานนานแล้ว พระองค์นั้น เป็นสรณะ ; ธัมมัญจะ สังฆัญจะ, ถึงพระธรรมด้วย, ถึงพระสงฆ์ด้วย ; ตัสสะ ภะคะวะโต สาสะนัง ยะถาพะลัง มะนะสิกะโรมะ อะนุปะฏิปัชชามะ, จักทาในใจอยู่ ปฏิบัติตามอยู่ ซึ่งคาสั่งสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้านั้นตามสติกาลัง ; สา สา โน ปะฏิปัตติ, ขอให้ความปฏิบัตินั้น ๆ ของเราทั้งหลาย ; อิมัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิริยายะ สังวัตตะตุ. จงเป็นไปเพื่อการทาที่สุดแห่งกองทุกข์ ทั้งสิ้นนี้ เทอญ.

(จบคาทาวัตรเช้า)

(สาหรับภิกษุ-สามเณรสวด) จิระปะรินิพพุตัมปิ ตัง ภะคะวันตัง อุททิสสะ อะระหันตัง สัมมาสัมพุทธัง, เราทั้งหลายอุทิศเฉพาะพระผู้มีพระภาคเจ้า, ผู้ไกลจากกิเลสตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง, แม้ ปรินิพพานนานแล้ว พระองค์นั้น, สัทธา อะคารัสฺมา อะนะคาริยัง ปัพพะชิตา, เป็นผูม้ ีศรัทธาออกบวชจากเรือน ไม่เกี่ยวข้องด้วยเรือนแล้ว, ตัสฺมิง ภะคะวะติ พรัหมะจะริยัง จะรามะ, ประพฤติอยู่ซึ่งพรหมจรรย์ ในพระผู้มีพระภาคเจ้า, พระองค์นั้น, ภิกขูนัง สิกขาสาชีวะสะมาปันนา, ถึงพร้อมด้วยสิกขาและธรรมเป็นเครื่องเลี้ยงชีวิตของภิกษุทั้งหลาย, ตังโน พรัหมะจะริยัง อิมัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิริยายะ สังวัตตะตุ. ขอให้พรหมจรรย์ของเราทั้งหลายนั้น, จงเป็นไปเพื่อการทาที่สุดแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้เทอญ.


วัดท่าสะแบง

72

(จบคาทาวัตรเช้า)

การทาวัตรเช้า

การทาวัตรเย็น


วัดท่าสะแบง

73

การทาวัตรเย็นในวัดท่าสะแบง

พุทธานุสสติ (หัวหน้านา) หันทะ มะยัง พุทธานุสสตินะยัง กะโรมะ เส. ตัง โข ปะนะ ภะคะวันตัง เอวัง กัลฺยาโณ กิตติสัทโท อัพภุคคะโต, ก็กิตติศัพท์อันงามของพระผู้มีพระภาคเจ้านั้น, ได้ฟุ้งไปแล้วอย่างนี้ว่า อิติปิ โส ภะคะวา เพราะเหตุอย่างนี้ ๆ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น อะระหัง, เป็นผู้ไกลจากกิเลส สัมมาสัมพุทโธ, เป็นผู้ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง วิชชาจะระณะสัมปันโน, เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ สุคะโต, เป็นผู้ไปแล้วด้วยดี โลกะวิทู, เป็นผู้รู้โลกอย่างแจ่มแจ้ง อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ , เป็นผู้สามารถฝึกบุรุษที่สมควรฝึกได้อย่างไม่มีใครยิ่งกว่า สัตถา เทวะมะนุสสานัง, เป็นครูผู้สอนของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย พุทโธ, เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานด้วยธรรม ภะคะวา ติ. เป็นผู้มีความจาเริญ จาแนกธรรมสั่งสอนสัตว์ดังนี้

พุทธาภิคีติง (หัวหน้านา) หันทะ มะยัง พุทธาภิคีติง กะโรมะ เส. พุทธะวาระหันตะวะระตาทิคุณาภิยุตโต, พระพุทธเจ้าประกอบด้วยคุณ มีความประเสริฐแห่งอรหันตคุณ เป็นต้น สุทธาภิญาณะกะรุณาหิ สะมาคะตัตโต, มีพระองค์อันประกอบด้วยพระญาณ และพระกรุณาอันบริสุทธิ์ โพเธสิ โย สุชะนะตัง กะมะลังวะ สูโร, พระองค์ใด ทรงกระทาชนที่ดีให้เบิกบาน ดุจอาทิตย์ทาบัวให้บาน วันทามะหัง ตะมะระณัง สิระสา ชิเนนทัง. ข้าพเจ้าไหว้พระชินสีห์ ผู้ไม่มีกิเลส พระองค์นั้น ด้วยเศียรเกล้า พุทโธ โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง,


วัดท่าสะแบง

74

พระพุทธเจ้าพระองค์ใด เป็นสรณะอันเกษมสูงสุด ของสัตว์ทั้งหลาย ปะฐะมานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง. ข้าพเจ้าไหว้พระพุทธเจ้าพระองค์นั้น อันเป็นที่ตั้งแห่งความระลึกองค์ที่หนึ่ง ด้วยเศียรเกล้า พุทธัสสาหัสฺมิ ทาโส*(ทาสี) วะ พุทโธ เม สามิกิสสะโร, ข้าพเจ้าเป็นทาสของพระพุทธเจ้า, พระพุทธเจ้าเป็นนายมีอิสระเหนือข้าพเจ้า พุทโธ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม. พระพุทธเจ้าเป็นเครื่องกาจัดทุกข์ และทรงไว้ซึ่งประโยชน์แก่ข้าพเจ้า พุทธัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง, ข้าพเจ้ามอบกายถวายชีวิตนี้ แด่พระพุทธเจ้า วันทันโตหัง*(ตีหัง) จะริสสามิ พุทธัสเสวะ สุโพธิตัง, ข้าพเจ้าผู้ไหว้อยู่จักประพฤติตาม ซึ่งความตรัสรู้ดีของพระพุทธเจ้า นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง พุทโธ เม สะระณัง วะรัง, สรณะอื่นของข้าพเจ้าไม่มี พระพุทธเจ้าเป็นสรณะอันประเสริฐของข้าพเจ้า เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุสาสะเน, ด้วยการกล่าวคาสัตย์นี้ ข้าพเจ้าพึงเจริญในพระศาสนาของพระศาสดา พุทธัง เม วันทะมาเนนะ*(นายะ) ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ, ข้าพเจ้าผู้ไหว้อยู่ซึ่พระพุทธเจ้า ได้ขวนขวายบุญใด ในบัดนี้ สัพเพปิ อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา. อันตรายทั้งปวง อย่าได้มีแก่ข้าพเจ้า ด้วยเดชแห่งบุญนั้น. (หมอบกราบลงกล่าวคาพร้อมกัน) กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา, ด้วยกายก็ดี ด้วยวาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี พุทเธ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง, กรรมน่าติเตียนอันใด ที่ข้าพเจ้ากระทาแล้ว ในพระพุทธเจ้า พุทโธ ปะฏิคคัณฺหะตุ อัจจะยันตัง, ขอพระพุทธเจ้า จงงดซึ่งโทษล่วงเกินอันนั้น กาลันตะเร สังวะริตุง วะ พุทเธ . เพื่อการสารวมระวัง ในพระพุทธเจ้า ในกาลต่อไป


วัดท่าสะแบง

75

ธัมมานุสสติ (หัวหน้านา) หันทะ มะยัง ธัมมานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส. สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม พระธรรม เป็นสิ่งที่พระผู้มีพระภาคเจ้า ได้ตรัสไว้ดีแล้ว สันทิฏฐิโก เป็นสิ่งที่ผู้ศึกษาและปฏิบัติ พึงเห็นได้ด้วยตนเอง อะกาลิโก, เป็นสิ่งที่ปฏิบัติได้ และให้ผลได้ ไม่จากัดกาล เอหิปัสสิโก, เป็นสิ่งที่ควรกล่าวกับผู้อื่นว่า ท่านจงมาดูเถิด โอปะนะยิโก, เป็นสิ่งที่ควรน้อมเข้ามาใส่ตัว ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ. เป็นสิ่งที่ผู้รู้ก็รู้ได้เฉพาะตน ดังนี้

ธัมมาภิคีติ (หัวหน้านา) หันทะ มะยัง ธัมมาภิคีติง กะโรมะ เส. สฺวากขาตะตาทิคุณะโยคะวะเสนะ เสยโย, พระธรรมเป็นสิ่งที่ประเสริฐเพราะประกอบด้วยคุณคือความที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ดีแล้ว เป็นต้น โย มัคคะปากะปะริยัตติวิโมกขะเภโท, เป็นธรรมอันจาแนกเป็น มรรค ผล ปริยัติ และนิพพาน ธัมโม กุโลกะปะตะนา ตะทะธาริธารี, เป็นธรรมทรงไว้ซึ่งผู้ทรงธรรม จากการตกไปสู่โลกที่ชั่ว วันทามะหัง ตะมะหะรัง วะระธัมมะเมตัง, ข้าพเจ้าไหว้พระธรรมอันประเสริฐนั้น อันเป็นเครื่องขจัดเสียซึ่งความมืด ธัมโม โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง, พระธรรมใด เป็นสรณะอันเกษมสูงสุด ของสัตว์ทั้งหลาย ทุติยานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง,


วัดท่าสะแบง

76

ข้าพเจ้าไหว้พระธรรมนั้น อันเป็นที่ตั้งแห่งความระลึกองค์ที่สองด้วยเศียรเกล้า ธัมมัสสาหัสฺมิ ทาโส*(ทาสี) วะ ธัมโม เม สามิกิสสะโร, ข้าพเจ้าเป็นทาสของพระธรรม พระธรรมเป็นนายมีอิสระเหนือข้าพเจ้า ธัมโม ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม, พระธรรมเป็นเครื่องกาจัดทุกข์และทรงไว้ซึ่งประโยชน์แก่ข้าพเจ้า ธัมมัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง, ข้าพเจ้ามอบกายถวายชีวิตนี้แด่พระธรรม วันทันโตหัง*(ตีหัง) จะริสสามิ ธัมมัสเสวะ สุธัมมะตัง, ข้าพเจ้าผู้ไหว้อยู่จักประพฤติตาม ซึ่งความเป็นธรรมดีของพระธรรม นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง ธัมโม เม สะระณัง วะรัง, สรณะอื่นของข้าพเจ้าไม่มี พระธรรมเป็นสรณะอันประเสริฐของข้าพเจ้า เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุสาสะเน, ด้วยการกล่าวคาสัจจ์นี้ ข้าพเจ้าพึงเจริญในพระศาสนาของพระศาสดา ธัมมัง เม วันทะมาเนนะ*(นายะ) ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ, ข้าพเจ้าผู้ไหว้อยู่ซึ่งพระธรรม ได้ขวนขวายบุญใด ในบัดนี้ สัพเพปิ อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา. อันตรายทั้งปวง อย่าได้มีแก่ข้าพเจ้า ด้วยเดชแห่งบุญนั้น (หมอบกราบลงกล่าวคาพร้อมกัน) กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา, ด้วยกายก็ดี ด้วยวาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี ธัมเม กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง, กรรมน่าติเตียนอันใด ที่ข้าพเจ้ากระทาแล้ว ในพระธรรม ธัมโม ปะฏิคคัณฺหะตุ อัจจะยันตัง, ขอพระธรรม จงงดซึ่งโทษล่วงเกินอันนั้น กาลันตะเร สังวะริตุง วะ ธัมเม. เพื่อการสารวมระวัง ในพระธรรม ในกาลต่อไป

สังฆานุสสติ


วัดท่าสะแบง

77

(หัวหน้านา) หันทะ มะยัง สังฆานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส. สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า หมู่ใด, ปฏิบัติดีแล้ว อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า หมู่ใด, ปฏิบัติตรงแล้ว ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า หมู่ใด, ปฏิบัติเพื่อรู้ธรรมเป็นเครื่องออกจากทุกข์แล้ว สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า หมู่ใด, ปฏิบัติสมควรแล้ว ยะทิทัง, ได้แก่บุคคลเหล่านี้ คือ จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา, คู่แห่งบุรุษ 4 คู่, นับเรียงตัวบุรุษ ได้ 8 บุรุษ เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, นั่นแหละ สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า อาหุเนยโย, เป็นสงฆ์ควรแก่สักการะที่เขานามาบูชา ปาหุเนยโย, เป็นสงฆ์ควรแก่สักการะที่เขาจัดไว้ต้อนรับ ทักขิเณยโย, เป็นผู้ควรรับทักษิณาทาน อัญชะลิกะระณีโย, เป็นผู้ที่บุคคลทั่วไปควรทาอัญชลี อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสา ติ. เป็นเนื้อนาบุญของโลก, ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า ดังนี้

สังฆาภิคีติ (หัวหน้านา) หันทะ มะยัง สังฆาภิคีติง กะโรมะ เส. สัทธัมมะโช สุปะฏิปัตติคุณาทิยุตโต, พระสงฆ์ที่เกิดโดยพระสัทธรรม ประกอบด้วยคุณมีความปฏิบัติดี เป็นต้น โยฏฐัพพิโธ อะริยะปุคคะละสังฆะเสฏโฐ, เป็นหมู่แห่งพระอริยบุคคลอันประเสริฐ แปดจาพวก สีลาทิธัมมะปะวะราสะยะกายะจิตโต, มีกายและจิต อันอาศัยธรรม มีศีลเป็นต้น อันบวร วันทามะหัง ตะมะริยานะคะณัง สุสุทธัง. ข้าพเจ้าไหว้หมู่แห่งพระอริยเจ้าเหล่านั้น อันบริสุทธิ์ด้วยดี สังโฆ โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง, พระสงฆ์หมู่ใด เป็นสรณะอันเกษมสูงสุด ของสัตว์ทั้งหลาย ตะติยานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง.


วัดท่าสะแบง

78

ข้าพเจ้าไหว้พระสงฆ์หมู่นั้น อันเป็ที่ตั้งแห่งความระลึกองค์ที่สามด้วยเศียรเกล้า สังฆัสสาหัสฺมิ ทาโส*(ทาสี) วะ สังโฆ เม สามิกิสสะโร, ข้าพเจ้าเป็นทาสของพระสงฆ์ พระสงฆ์เป็นนาย มีอิสระเหนือข้าพเจ้า สังโฆ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม. พระสงฆ์เป็นเครื่องกาจัดทุกข์ และทรงไว้ซึ่งประโยชน์แก่ข้าพเจ้า สังฆัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง, ข้าพเจ้ามอบกายถวายชีวิตนี้ แด่พระสงฆ์ วันทันโตหัง*(ตีหัง) จะริสสามิ สังฆัสโสปะฏิปันนะตัง, ข้าพเจ้าผู้ไหว้อยู่จักประพฤติตาม ซึ่งความปฏิบัติดีของพระสงฆ์ นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง สังโฆ เม สะระณัง วะรัง, สรณะอื่นของข้าพเจ้าไม่มี พระสงฆ์เป็นสรณะอันประเสริฐของข้าพเจ้า เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุสาสะเน, ด้วยการกล่าวคาสัจจ์นี้ ข้าพเจ้าพึงเจริญในศาสนา ของพระศาสดา สังฆัง เม วันทะมาเนนะ*(นายะ) ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ, ข้าพเจ้าผู้ไหว้อยู่ซึ่งพระสงฆ์ ได้ขวนขวายบุญใด ในบัดนี้ สัพเพปิ อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา. อันตรายทั้งปวง อย่าได้มีแก่ข้าพเจ้า ด้วยเดชแห่งบุญนั้น

(หมอบกราบลงกล่าวคาพร้อมกัน) กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา, ด้วยกายก็ดี ด้วยวาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี สังเฆ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง, กรรมน่าติเตียนอันใด ที่ข้าพเจ้ากระทาแล้วในพระสงฆ์ สังโฆ ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง, ขอพระสงฆ์ จงงดซึ่งโทษล่วงเกินอันนั้น กาลันตะเร สังวะริตุง วะ สังเฆ. เพื่อการสารวมระวัง ในพระสงฆ์ ในกาลต่อไป


วัดท่าสะแบง

79

(จบคาทาวัตรเย็น

บทสวดสะระภัญญ์กราบลา

การสวดสะระภัญญ์กราบลาพระ ตั้งใจให้พร้อมกัน เวลามาถึงแล้ว อาจารย์ท่านทั้งหลาย พระธรรมที่สอนไว้ พระสงฆ์ผู้เมตตา อาจารย์ผู้สั่งสอน จาใจไปวันนี้ ต่อท้ายด้วยวาจา

พวกดิฉัน (กระผม) จะขอลา ขอลาแก้วสามประการ น้อมถวายคุณพระพุทธ ยกมือไหว้ขออาลา ไหว้วันทาขอลาก่อน ประนมกรสวัสดี กิจข้ามีเหลือคณานา เป็นภาษาพระบาลี


วัดท่าสะแบง

อาจารย์ผู้เมตตา

80

จงสุขีทุกท่านเทอญ.

การจัดโต๊ะหมู่บูชา โต๊ะหมู่บูชา คือ กลุ่มหรือชุดของโต๊ะ ที่ใช้ตั้งพระพุทธรูปหรือสิ่งอันเป็นที่เคารพสักการะ เช่นพระบรมฉายาลักษณ์ พระบรมสาทิสลักษณ์หรือพระบรมรูปหล่อของพระมหากษัตริย์ พระฉายา ลักษณ์หรือพระสาทิสลักษณ์ของพระบรมวงศานุวงศ์ หรือรูปของบรรพบุรุษ ประกอบด้วยเครื่องบูชา อันเป็นการแสดงออกซึ่งความเคารพอย่างสูงของผู้ที่สักการะ และเป็นการแสดงถึงความกตัญญูที่พึงมี ต่อผู้มีอุปการคุณ ซึ่งเป็นวัฒนธรรมอันดีงามที่มีคุณค่ายิ่งของสังคมไทย

วัตถุประสงค์ของการจัดโต๊ะหมู่บูชา การจัดโต๊ะหมู่บูชา เพื่อเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูป พร้อมทั้งตั้งเครื่องบูชาตามคตินิยม ของชาวพุทธตามที่ปรากฏในพุทธประวัติว่า เมื่อพุทธบริษัทมีความประสงค์จะบาเพ็ญกุศลอย่างหนึ่ง อย่างใด มักจะนิมนต์พระสงฆ์ โดยมีพระพุทธเจ้าเสด็จมาเป็นประธานสงฆ์ในงานกุศลนั้น ๆ ดังนั้น เพื่อให้มีความสมบูรณ์ในพระรัตนตรัย คือ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ ตามคตินิยมดังกล่าว ในการจัดงานที่เกี่ยวข้องกับศาสนพิธีทางพระพุทธศาสนา พุทธศาสนิกชนจึงนิยมอัญเชิญพระพุทธรูป มาประดิษฐานเป็นนิมิตแทน องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในพิธีนั้น ๆ ด้วย เพื่อให้มีพระรัตนตรัย ครบบริบูรณ์พุทธศาสนิกชน จึงได้มีการตั้งโต๊ ะหมู่บูชา และอัญเชิญพระพุทธรูปประดิษฐานบนโต๊ะ หมู่บูชาโต๊ะสูงสุดแถวกลาง พร้อมทั้งตั้งเครื่องบูชาที่โต๊ะในลาดับที่รองลงมาตามความเหมาะสม

ความสาคัญของโต๊ะหมู่บูชา ปัจจุบันในพิธีที่เกี่ยวข้องกับพระสงฆ์ในพระราชพิธี รัฐพิธี หรือราษฎร์พิธีไม่ว่าจะเป็นงาน มงคลหรืองานอวมงคลก็ตาม นิยมตั้งโต๊ะหมู่บูชาทั้งสิ้น โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้เป็นที่ประดิษฐาน พระพุทธรูป พร้อมเครื่องบูชาตามคตินิยมของชาวพุทธ ดังนั้น โต๊ะหมู่บูชาจึงมีความสาคัญในแง่ของ การเสริมแรงศรัทธาและสร้างความเชื่อมั่นของบุคคล ซึ่งสามารถจาแนกความสาคัญของโต๊ะ หมู่บูชาได้ หลายประการ ดังนี้ 1. เป็นสัญลักษณ์เตือนพุทธศาสนิกชน (ทั้งในกลุ่มของพระสงฆ์และฆราวาส) ให้มีจิต สานึก และเกิดศรัทธาเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา เนื่องจากการจัดโต๊ะหมู่บูชาที่ใช้ในพิธีกรรมทาง ศาสนา ต้องอัญเชิญพระพุทธรูปประดิษฐานบนโต๊ะหมู่ตรงกลางที่สูงที่สุด เสมือนหนึ่งพระพุทธเจ้า ได้ประทับอยู่ตลอดเวลาและเป็นประธานในพิธีด้วย เป็นการย้าเตือนให้พุทธศาสนิกชนได้ซาบซึ้งถึง พระปัญญาของพระพุทธองค์ที่ทรงตรัสรู้ได้ด้วยพระองค์เอง


วัดท่าสะแบง

81

2. เป็นสัญลักษณ์ที่แสดงถึงการถวายความจงรักภักดี ความเคารพบูชาในพระมหากษัตริย์ และพระบรมวงศานุวงศ์ โต๊ะหมู่บูชาที่จัดตั้งเครื่องสักการบูชา ดังเช่น การจัดโต๊ะหมู่บูชาในวันเฉลิม พระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ และพระบรม วงศานุวงศ์ รวมทั้งบุคคลอันเป็นที่เคารพนับถือแห่งตน 3. เป็นสัญลักษณ์แสดงถึงวัฒนธรรมและประเพณีไทยที่มีมายาวนานไม่ว่าจะเป็นลวดลาย การแกะสลัก ลงรักปิดทอง และการฝังมุกของชุดโต๊ะหมู่บูชาเป็นลวดลายวิจิตรสวยงาม หรือการจัด ตกแต่งพานพุ่มบูชาพระรัตนตรัย พานพุ่มเฉลิมพระเกียรติ และการจัดแจกันดอกไม้แบบไทยที่สะท้อน ให้เห็นถึงภูมิปัญญาไทย ศิลปะการประดิษฐ์ดอกไม้แบบไทย ซึ่งมีความประณีตงดงาม

การจัดตั้งโต๊ะหมู่บูชา ในปัจจุบันนิยมจัดตั้งโต๊ะหมู่บูชาในกิจกรรมต่างๆดังนี้ 1. การตั้งโต๊ะหมู่บูชาในพิธีทางพระพุทธศาสนา 2. การตั้งโต๊ะหมู่บูชาในพิธีถวายพระพร 3. การตั้งโต๊ะหมู่บูชาในพิธีรับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์หรือของพระราชทาน 4. การตั้งโต๊ะหมู่บูชาในการรับเสด็จฯหรือตามเส้นทางเสด็จฯ 5. การตั้งโต๊ะหมู่บูชาในพิธีถวายสักการะเนื่องในวันสาคัญเกี่ยวกับสถาบัน พระมหากษัตริย์ 6. การตั้งโต๊ะหมู่บูชาในการประชุมหรือสัมมนา 7. การตั้งโต๊ะหมู่บูชาเพื่อการประกวด การจัดสถานที่บูชาที่บ้าน เป็นการจัดสถานที่บูชาไม่เป็นพิธีการมากนัก แต่ควรจะมีสถานที่ บูชาพระไว้ ในบ้าน ในฐานะที่เป็นพุทธศาสนิกชน ซึ่งบางบ้านจะใช้สถานที่บูชาพระ ที่ มีลักษณะเป็น หิ้งพระ (คือ การใช้เหล็กหรือไม้ที่มีลักษณะมุมฉากติดกับฝาผนังและมีพื้นด้านบนแล้วนาพระพุทธรูป ประดิษฐานไว้บนหิ้งพร้อมด้วยเครื่องบูชาหลักได้แก่ดอกไม้ธูปและเทียน) แต่บ้านที่มีสถานที่กว้างพอ ก็ควรใช้ โต๊ะหมู่บูชาเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปพร้อมด้วยเครื่องบูชา และชุดโต๊ะหมู่บูชาที่นิยมใช้ เป็นโต๊ะหมู่สาหรับบูชาพระในบ้าน ได้แก่ โต๊ะหมู่ 5 และ โต๊ะหมู่ 7


วัดท่าสะแบง

82

การตั้งโต๊ะหมู่บูชาในพิธีทางพระพุทธศาสนา การตั้งโต๊ะหมู่บูชาในพิธีทางพระพุทธศาสนา การบาเพ็ญกุศลทางพระพุทธศาสนา ต้องมี การจัดตั้งโต๊ะหมู่บูชาทั้งงานกุศลพิธีและบุญพิธีงานกุศลพิธี คือพิธีกรรมต่าง ๆ อันเกี่ยวด้วยการอบรม เพื่อให้เกิดความดีงามทางพระพุทธศาสนาเฉพาะตัวบุคคล รวมทั้งการปฏิบัติศาสนพิธีของพระสงฆ์ และงานบุญพิธี คือ พิธีกรรมที่พุทธศาสนิกชนปรารภทาความดี เนื่องด้วยประเพณีในครอบครัว หรือ ประเพณีที่เกี่ยวกับวิถีชีวิตของคนทั่วไป ไม่ว่าจะเป็นงานมงคล หรืองานอวมงคล ก็จะมีการตั้งโต๊ะหมู่ บูชาในลักษณะประยุกต์ โดยไม่จาเป็นจะต้องจัดเต็มรูปแบบเหมือนกับการจัดโต๊ะหมู่บูชา เพื่อใช้ใน การประกวด การจัดโต๊ะหมู่บูชาในพิธีทางพระพุทธศาสนาจะมีการจัดตั้งโต๊ะหมู่บูชาตามแบบอย่าง ดังต่อไปนี้

การจัดโต๊ะหมู่บูชาในพิธีทางพระพุทธศาสนา

ภาพการจัดโต๊ะหมู่ 2


วัดท่าสะแบง

83

ภาพการจัดโต๊ะหมู่ 4

ภาพการจัดโต๊ะหมู่ 5

ภาพการจัดโต๊ะหมู่ 6


วัดท่าสะแบง

ภาพการจัดโต๊ะหมู่ 7

84

ภาพการจัดโต๊ะหมู่ 9


วัดท่าสะแบง

85

แหล่งอ้างอิง พระครูสมุห์สุวรรณ เหมวณฺโณ. ทาวัตรแปล ฉบับบวชบาเพ็ญพรต. วัดมหรรณนาราม (คณะ 2) กรุงเทพฯ : หจก.รุ่งเรืองสาส์นการพิมพ์, 2540. พระธรรมสิงหบุราจารย์ (หลวงพ่อจรัญ ฐิตธมฺโม). อานิสงส์ของการสวดพระพุทธคุณ. วัดอัมพวัน อาเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงห์บุรี, 2552. ภูมิปัญญาพื้นบ้าน ชุมชนวัดท่าสะแบง ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด. โรงพิมพ์เลี่ยงเชียง. ศาสนพิธี เล่ม 1 ฉบับมาตรฐาน. พิมพ์ครั้งที่ 3. คณาจารย์แห่งโรงพิมพ์ เลี่ยงเชียง กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์เลี่ยงเชียง, 2550. http://www.dhamboon.com/board/index.php?topic=189.0 DhAmBooN.com > http://www.dhammathai.org/day/visaka.php http://www.geocities.com/sakyaputto/wisakhaday.htm http ://www.jarun.org http ://www.kalyanamitra.org http://www.learntripitaka.com/History/Buddhist.html http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php http://www.phutti.net/visaka/index.html http://www.Watkoh.com/watsai/India_mainmanu.html http://www.watthaidc.org/visakha09_article.htm


วัดท่าสะแบง

86

ภาพกิจกรรมการเรียนรู้ศาสนา คุณธรรมและจริยธรรมในชุมชนวัดท่าสะแบง


วัดท่าสะแบง

87

ภาพกิจกรรมการเรียนรู้ศาสนา คุณธรรมและจริยธรรมในชุมชนวัดท่าสะแบง


วัดท่าสะแบง

88

ภาพกิจกรรมการเรียนรู้ศาสนา คุณธรรมและจริยธรรมในชุมชนวัดท่าสะแบง


วัดท่าสะแบง

89

พิธีกรรมและความเชื่อทางพระพุทธศาสนาในชุมชนวัดท่าสะแบง


วัดท่าสะแบง

90

คณะผู้จัดทา 1. พระครูสุทธิวโรภาส 2. พระอนุสรณ์ ปภัสฺสโร 3. พระมหา ดร.ทองจันทร์ กมโล 4. คณะสงฆ์วัดท่าสะแบงทุกรูป 5. นายประพันธ์ ดิลกศรี 6. นายธารง ทิพยสาร 7. นายประดิษฐ์ ฤทธิวุฒิ 8. นางวิภา ชุดขุนทด 9. นางคมทอง จานงค์จิตร 10. นางสุปรียา ทิพยสาร 11. นางลาพอง วิลัยศิลป์ 12. นางวัน วจีภูมิ 13. นางพูน ธุหา 14. นางพร จิตรวุธ

เจ้าอาวาสวัดท่าสะแบง วัดท่าสะแบง วัดท่าสะแบง วัดท่าสะแบง ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 4 ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 7 ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านหมู่ 4 ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านหมู่ 7 สารวัตรกานันตาบลมะบ้า สารวัตรกานันตาบลมะบ้า บ้านท่าสะแบง บ้านท่าสะแบง บ้านท่าสะแบง บ้านท่าสะแบง

ประธาน รองประธาน ผู้ประสานงาน กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ


วัดท่าสะแบง

15. นางบุญนอง สนองผัน 16. นางทองเลี่ยม นิลภักดิ์ 17. นางลาไย ฤทธิวุธ 18. นางจาลอง เอกวุธ 19. เรือเอกอานวย ภูมิภักดิ์ 20. นายสารอง มาลาขันธ์ 21. นายดวน เอกวุธ 22. ดร.วัชรินทร์ แสนรุ่งเมือง

91

บ้านท่าสะแบง บ้านท่าสะแบง บ้านท่าสะแบง บ้านท่าสะแบง บ้านท่าสะแบง บ้านท่าสะแบง บ้านท่าสะแบง นักวิชาการ

กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ไวยาวัจกร ที่ปรึกษาและถอดบทเรียน

ฮักษาศีล คองธรรม ฮักษาศีล เอาไว้ สลึงเดียว กะบ่ได้ซื้อ สมถะ วิปสั สนาพร้อม ละให้หลุด ลดให้เกลี้ยง ศีลกับธรรม พาเฮาดีได้ พระรัตนตรัย หน่วยแก้ว ไผบ่ถือ ศีลธรรมพระพุทธเจ้า ไผบ่เชื้อ ธรรมพระพุทธเจ้า

ภาวันนา เฮ็ดใจเที่ยง เสียเงินซ้า จั่งแม่นบุญ เป็นการ ไกลกิเลส ผลได้ แม่นนิพพาน ควรตัดสินใจ น้อมเข้าเพิ่ง แนวพายั้ง อยู่จั่งเย็น เป็นคน เสียชาติเปล่า ตายทิ่ม ค่าอยู่ไส


วัดท่าสะแบง

92


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.