ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
2
คานา คู่มือการเรียนรู้ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง จัดทาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการเรียนรู้ โครงการวิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในชุมชนวัดท่าสะแบง กิจกรรมที่ 2 เรื่อง ส่งเสริมภูมิปัญญา และ วัฒนธรรมพื้นบ้านในชุมชนวัดท่าสะแบง คู่มือการเรียนรู้เล่มนี้เป็นการถ่ายทอดวิถีชีวิต ภูมิปัญญา และวัฒนธรรมพื้นบ้านในชุมชนวัดท่าสะแบง หมู่ที่ 4 และ หมู่ที่ 7 บ้านท่าสะแบง ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด โดยการนาเอาทรัพยากรธรรมชาติและวัสดุที่มีอยู่ในท้องถิ่น มาท าเป็ นขั นหมากเบ็ง โบราณห้าแปด ขันหมากเบ็งโบราณเกี้ย วสิบสองซ้ายขวาและขันหมากเบ็ง โบราณเกี้ยวสามสิบสองซ้ายขวา เพื่อใช้ประกอบพิธีกรรมตามความเชื่อในพระพุทธศาสนาที่สืบทอด มาจากบรรพบุรุษได้ปลูกฝังให้ประชาชนในชุมชนทั้งเด็ก ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ มีความรัก ความสามัคคี มีคุ ณธรรม จริย ธรรม ด้วยการมี ส่วนร่วมของคนในหมู่บ้าน โรงเรีย น และชุมชน มาทากิจกรรม ร่วมกันที่วัดบ้านท่าสะแบง ซึ่งเป็นศูนย์รวมพลังทั้งกายและจิตใจของชุมชนบ้านท่าสะแบง คู่ มื อ การเรีย นรู้ ขั น หมากเบ็ ง โบราณวั ดท่ าสะแบงเล่ม นี้ ส าเร็จ สมบู รณ์ และเป็น รูป เล่ ม ที่สวยงาม คณะผู้จัดทาขอกราบนมัสการพระภิกษุ สามเณร วัดท่าสะแบงทุกรูป ขอขอบคุณภูมิปัญญา พื้นบ้าน และผู้รู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่าน ขอขอบคุณ อาจารย์ ดร.วัชรินทร์ แสนรุ่งเมือง ที่ปรึกษา โครงการและถอดบทเรียน ให้สาเร็จลุล่วงด้วยดี หวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือการเรียนรู้เล่มนี้ ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้ศึกษาเรียนรู้ และผู้ที่สนใจ เป็นการอนุรักษ์ และส่งเสริมการทาขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง ให้ ดารงอยู่คู่กับสังคมไทยอีสาน อย่างยั่งยืน
คณะผู้จัดทา ชุมชนวัดท่าสะแบง
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
3
สารบัญ เรื่อง คานา สารบัญ ประวัติวัดท่าสะแบง หลักการและเหตุผล จุดประสงค์ เป้าหมาย วิธีดาเนินการ ประโยชน์ที่ได้รับ โครงสร้างหลักสูตรการเรียนรู้ ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง ขันหมากเบ็งโบราณห้าแปด ขันหมากเบ็งโบราณเกี้ยวสิบสองซ้ายขวา ขันหมากเบ็งโบราณเกี้ยวสามสิบสองซ้ายขวา แหล่งอ้างอิง ภาพกิจกรรมการเรียนรู้ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง พิธีกรรมและความเชื่อการใช้ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง คณะผู้จัดทา
หน้า
1 4 4 5 7 10 11 12 13 27 40 52 53 55 56
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
4
วัดท่าสะแบง คาขวัญวัดท่าสะแบง ขันหมากเบ็งท่าสะแบง งามเลิศล้าประเพณี หลวงปู่ขาวตระการตา
แหล่งเรียนรู้วัฒนธรรม แม่น้าชีแข่งเรือยาว ศูนย์การศึกษา ICT
ประวัติความเป็นมา วัดท่าสะแบง ตั้งอยู่เลขที่ 97 บ้านท่าสะแบง หมู่ที่ 4 ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 6 ไร่ 50 ตารางวา ส.ค. 1 เลขที่ 329 ตั้งขึ้นปี พ.ศ. 2405 เดิมชื่อ “วัดตาลท่าสะแบง” ต่อมาปี พ.ศ. 2481 เปลี่ยนชื่อเป็น “วัดท่าสะแบง” และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา ในวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481 นับตั้งแต่นั้นมา จนถึงปัจจุบัน มีเขตวิสุงคามสีมา ขนาดกว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร ที่ธรณีสงฆ์ จานวน 1 แปลง เนื้อที่ 3 ไร่ 15 ตารางวา ในอดีตได้สร้างไว้เป็นศาลา กลางหมู่บ้านท่าสะแบง ปัจจุบันได้สร้างเป็นแหล่งการเรียนรู้ ศูนย์ปฐมวัย และศูนย์รวม กลุ่มแม่บ้าน ในชุมชนวัดท่าสะแบง
อาณาเขต ทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก
มีเนื้อที่ 2 เส้น 18 วา มีเนื้อที่ 4 เส้น 2 วา มีเนื้อที่ 4 เส้น 6 วา มีเนื้อที่ 4 เส้น 4 วา
ติดกับถนนสาธารณะบ้านท่าสะแบง ติดกับที่ดินของนางอิน ศิริสาร ติดกับแม่น้าชี ติดกับถนนสาธารณะบ้านท่าสะแบง
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
5
อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย 1. อุโบสถ ขนาดกว้าง 6 เมตร ยาว 16 เมตร เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก สร้างเมื่อ พ.ศ. 2529 2. ศาลาการเปรียญ ขนาดกว้าง 15 เมตร ยาว 20 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2533 3. กุฎีสงฆ์ จานวน 3 หลัง เป็นอาคารครึ่งตึกครึ่งไม้ 4. ปูชนียวัตถุ มีพระประธานในอุโบสถ เนื้อโลหะ สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2526 มีพระประธานที่ศาลา การเปรียญ จานวน 1 องค์ และพระประธานที่กุฎี จานวน 1 องค์
การบริหารและการปกครอง มีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนาม ดังนี้ 1. 2. 3. 4.
พระครูขันติภิรมย์ เป็นเจ้าอาวาสระหว่างปี พ.ศ. 2441 – พ.ศ. 2498 เจ้าอธิการคูณ ฐิตปญฺโญ เป็นเจ้าอาวาสระหว่างปี พ.ศ. 2499 – พ.ศ. 2528 พระอธิการรัศมี ปญฺญวโร เป็นเจ้าอาวาสระหว่างปี พ.ศ. 2529 – พ.ศ. 2537 พระครูสิทธิวโรภาส (สะอาด ปภสฺสโร) เป็นเจ้าอาวาสระหว่างปี พ.ศ. 2538 – ปัจจุบัน
สิ่งก่อสร้างถาวรวัตถุ ประกอบด้วย 1. ศาลาการเปรียญ 2 ชั้น มีขนาดกว้าง 12 เมตร ยาว 32 เมตร วางศิลาฤกษ์ ในวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2548 เริ่มดาเนินการก่อสร้าง เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2548 และสร้างเสร็จในปี พ.ศ. 2552 2. พระพุทธสิรินทรมหามุนี (หลวงปู่ขาว) เป็นพระพุทธรูปปูนปั้นสีขาว ขนาดหน้าตักกว้าง 7.85 เมตร สูง 11.50 เมตร สร้างเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน – วันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2549 ใช้เวลาการก่อสร้างรวม 29 วัน ใช้งบประมาณก่อสร้างประมาณ 800,000 บาทเศษ 3. หอระฆัง สร้างเมื่อวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2551 สร้างเสร็จวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2552 ใช้งบ ก่อสร้างประมาณ 500,000 บาท
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
6
4. ศูนย์การเรียนรู้ ICT ได้รับงบสนับสนุนเครื่องคอมพิวเตอร์ จานวน 21 เครื่อง จากกระทรวง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยใช้งบประมาณของทางวัดท่าสะแบง ในการก่อสร้างศูนย์ การเรียนรู้ ICT ประมาณ 350,000 บาท ก่อสร้าง เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน – 24 สิงหาคม พ.ศ. 2553 เพื่อใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ในชุมชนวัดท่าสะแบง 5. กุฎีสงฆ์ จานวน 1 หลัง เป็นอาคารครึ่งตึกครึ่งไม้ สร้างเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ – 30 เมษายน พ.ศ. 2554 ใช้งบก่อสร้างประมาณ 450,000 บาท 6. ห้องน้า จานวน 5 ห้อง สร้างเมื่อเดือนมีนาคม – เมษายน พ.ศ. 2554 ใช้งบก่อสร้างประมาณ 100,000 บาท
เขตการปกครอง ในอดีต วัดท่าสะแบงอยู่ในเขตการปกครองของอาเภอธวัชบุรี แบ่งเขตการปกครองเป็น 2 กิ่ง ได้แก่ กิ่งอาเภอเชียงขวัญและกิ่งอาเภอทุ่งเขาหลวง ต่อมาทางราชการจึงได้แต่งตั้งยกกิ่งอาเภอทั้ง 2 กิ่ง เป็นอาเภอ คือ อาเภอเชียงขวัญ และอาเภอทุ่งเขาหลวง เมื่อวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2550 วัดท่าสะแบง จึงได้อยู่เขตการปกครองของอาเภอทุ่งเขาหลวง นับตั้งแต่นั้นมาจนถึงปัจจุบัน.
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
7
โครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย (ปศท.2) ชื่อโครงการ วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง Thai Way of Life on Holistic Health of 3 Ages in Tha Sabang Temple. กิจกรรมที่ 2 ส่งเสริมภูมิปัญญา ศิลปะ และวัฒนธรรมพื้นบ้านในชุมชนวัดท่าสะแบง หลักการและเหตุผล ภูมิปัญญาไทย ศิลปะ และวัฒนธรรมพื้นบ้านในชุมชนบ้านท่าสะแบง หมู่ที่ 4 และหมู่ที่ 7 ได้เรียนรู้ สืบสาน และถ่ายทอดสืบต่อกันมาเรื่อยๆจากรุ่นปู่ ย่า ตา ยาย มาถึงลูกหลาน ให้รู้จักคุณค่า ความส าคั ญ มองเห็นประโยชน์ ข องภูมิ ปัญญาด้า นศิล ปะและวัฒนธรรมพื้ นบ้าน ที่ ส ามารถนาเอา ทรัพยากรธรรมชาติและวัสดุอุปกรณ์ที่มีอยู่ในท้องถิ่น มาปรับประยุกต์ ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการ ดาเนินชีวิต เพื่อประกอบพิธีกรรมตามความเชื่อทางพระพุทธศาสนาของพุทธศาสนิกชน ในชุมชนวัด ท่าสะแบง ด้วยการทาขันหมากเบ็งโบราณ การสานตาแหลว และการทาฮังมดแดง โดยนาเอา ภูมิ ปัญญาพื้ นบ้านและผู้รู้ใ นชุมชนถ่ายทอดความรู้ให้กั บเด็ก ผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ และผู้ที่ส นใจมาเรียนรู้ วิธีการทาขันหมากเบ็งโบราณ การสานตาแหลวและการทาฮังมดแดง ซึ่งเป็นการสืบทอดภูมิปัญญา ไทย ศิลปะ และวัฒนธรรมพื้นบ้านในชุมชนวัดท่าสะแบง โดยการมีส่วนร่วมกิจกรรมของบ้าน วัด โรงเรียนและชุมชน เพื่ อให้เด็ก ผู้ใหญ่และ ผู้สูงอายุ เกิดความรัก ความสามัคคี ความสมานฉันท์ สามารถนาทักษะการเรียนรู้มาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดารงชีวิตประจาวัน และทากิจกรรม ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข รวมทั้งเป็นการส่งเสริมภูมิปัญญา ศิลปะ และวัฒนธรรมพื้นบ้านใน ชุมชนวัดท่าสะแบง ให้อยู่คู่กับสังคมไทยอีสานอย่างยั่งยืน
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมเด็ก ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุในชุมชนวัดท่าสะแบง ได้นาเอาหลักแนวคิดของเศรษฐกิจ พอเพียงมาปรับประยุกต์ใช้กับภูมิปัญญาพื้นบ้านในการดาเนินชีวิต 2. เพื่อส่งเสริมการคิดค้นพัฒนาสู่สังคมการเรียนรู้ตลอดชีวิต สามารถนาเอาทรัพยากรที่มีในท้องถิ่น มาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้ อย่างเหมาะสม 3. เพื่อส่งเสริมการทากิจกรรมร่วมกันของชุมชนอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้เกิดความรัก ความสามัคคีและ อยู่ในสังคมอย่างสันติสุข
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
8
เป้าหมาย เชิงปริมาณ เด็ก ผู้ใหญ่ และ ผู้สูงอายุ หมู่ที่ 4 และ หมู่ที่ 7 บ้านท่าสะแบง ตาบลมะบ้า อาเภอ ทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด จานวน 50 คน
เชิงคุณภาพ กลุ่มเป้าหมายในชุมชนวัดท่าสะแบง จานวน 50 คน ได้เรียนรู้การทาขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง การสานตาแหลว และการทาฮังมดแดง สามารถนาวัสดุอุปกรณ์ที่มีในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้ประโยชน์ ได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง คิดเป็นร้อยละ 80
ระยะเวลาดาเนินการ เริ่มตั้งแต่ 1 เมษายน 2554 – 1 เมษายน 2555 สถานที่ดาเนินการ
วัดท่าสะแบง ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด
หน่วยงานที่รับผิดชอบ วัดท่าสะแบง อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1. วัดท่าสะแบง หมู่ที่ 4 ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด 2. บ้านท่าสะแบง หมู่ที่ 4 ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด 3. บ้านท่าสะแบง หมู่ที่ 7 ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด 4. โรงเรียนบึงงามพัฒนา ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด 5. โรงเรียนบ้านขว้างท่าสะแบง ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด 6. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
9
ผู้รับผิดชอบ คณะทางานโครงการ ประกอบด้วย 1. พระครูสุทธิวโรภาส 2. พระอนุสรณ์ ปภัสฺสโร 3. พระมหา ดร.ทองจันทร์ กมโล 4. คณะสงฆ์วัดท่าสะแบงทุกรูป 5. นายบุญเสริม เครือน้าคา 6. นายประพันธ์ ดิลกศรี 7. นายธารง ทิพยสาร 8. นายประดิษฐ์ ฤทธิวุฒิ 9. นางวิภา ชุดขุนทด 10. นางคมทอง จานงค์จิตร 11. นางสุปรียา ทิพยสาร 12.นางบัวบาน ประวิเศษ 13. นางทองทรัพย์ ปัตโต 14. นางสาวพิมพ์สร พันทวี 15. นางลาพอง วิลัยศิลป์ 16. นางวัน วจีภูมิ 17. นางพูน ธุหา 18. นางพร จิตรวุธ 19. นางบุญนอง สนองผัน 20. นางทองเลี่ยม นิลภักดิ์ 21. นางลาไย ฤทธิวุธ 22. นางจาลอง เอกวุธ 23. ดร.วัชรินทร์ แสนรุ่งเมือง
เจ้าอาวาสวัดท่าสะแบง ประธาน วัดท่าสะแบง รองประธาน วัดท่าสะแบง ผู้ประสานงาน วัดท่าสะแบง กรรมการ กานันตาบลมะบ้า กรรมการ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 4 กรรมการ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 7 กรรมการ ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านหมู่ 4 กรรมการ ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านหมู่ 7 กรรมการ สารวัตรกานันตาบลมะบ้า กรรมการ สารวัตรกานันตาบลมะบ้า กรรมการ ผอ.กศนทุ่งเขาหลวง กรรมการ ครู.กศนทุ่งเขาหลวง กรรมการ ครู.กศนทุ่งเขาหลวง กรรมการ บ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน บ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน บ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน บ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน บ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน บ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน บ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน บ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน นักวิชาการ ที่ปรึกษาและถอดบทเรียน
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
10
วิธีดาเนินการ กิจกรรมที่ 2 ส่งเสริมภูมิปัญญา ศิลปะและวัฒนธรรมพื้นบ้านในชุมชนวัดท่าสะแบง รายละเอียดดังนี้ กิจกรรม ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมคณะทางาน 2. แต่งตั้งคณะทางาน 3. วางแผนการทางาน ขั้นดาเนินการ 1. จัดทาคู่มือการเรียนรู้ 2. ประสานกับองค์กรที่เกี่ยวข้อง 3. ประชาสัมพันธ์การทางาน 4. ดาเนินการจัดกิจกรรม ดังนี้ 4.1 ประชุมกลุ่มเป้าหมาย 4.2 การทาขันหมากเบ็งโบราณ วัดท่าสะแบง 4.3 การสานตาแหลว 4.4 การทาฮังมดแดง 4.5 การจัดนิทรรศการ ขั้นประเมินผล 1. สังเกตการเข้าร่วมกิจกรรม 2. การตอบแบบสอบถาม 3. สรุปผลการดาเนินงาน 4. รายงานผลการจัดทาโครงการ และถอดบทเรียน
ระยะเวลา
งบประมาณ
ผู้รับผิดชอบ
1 เมษายน 2554 – 30 เมษายน 2554
1,000 1,500
1 พฤษภาคม 2554 – 31 พฤษภาคม 2554
4,500
1. ประธานโครงการ 2. คณะทางานโครงการ 3. ผู้ประสานงาน โครงการและเหรัญญิก 4. ที่ปรึกษาโครงการ และถอดบทเรียน
-
4,000 1 มิถุนายน 2554 – 24 ธันวาคม 2554
1,1000
30 ธันวาคม 2554
5,000
1 มิถุนายน 2554 – 29 กุมภาพันธ์ 2555 30 ธันวาคม 2554 – 29 กุมภาพันธ์ 2555
3,000 -
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
11
งบประมาณ กิจกรรมที่ 2 ส่งเสริมภูมิปัญญา ศิลปะและวัฒนธรรมพื้นบ้านในชุมชนวัดท่าสะแบง ได้รับงบประมาณ 30,000 บาท รายละเอียดค่าใช้จ่ายในการดาเนินกิจกรรม ดังนี้ รายการ
จานวนเงิน/ บาท
1. ค่าอาหารคณะทางาน 2. ค่าตอบแทนพิจารณาโครงการ 3. ค่าจัดทาคู่มือขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง จานวน 50 เล่ม 4. ค่าจัดทาคู่มือการสานตาแหลว จานวน 50 เล่ม 5. ค่าจัดทาคู่มือการทาฮังมดแดง จานวน 50 เล่ม 6. ค่าตอบแทนอาจารย์ให้ความรู้ 7. ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานคณะทางาน 8. ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการฝึกปฏิบัติ 9. ค่าสถานที่ประชุมและจัดกิจกรรม 10. ค่าสื่อและแผ่นป้ายประชาสัมพันธ์ 11. ค่าจัดทาแบบสอบถาม 12. ค่าวัสดุสานักงาน 13. ค่าพาหนะเดินทาง 14. ค่าจัดนิทรรศการ
1,000 1,500 1,500
รวม
30,000
1,500 1,500 3,000 2,000 5,000 2,500 4,000 500 500 500 5,000
ผู้รับผิดชอบ 1. ประธานโครงการ 2. คณะทางานโครงการ 3. ผู้ประสานงานโครงการ และเหรัญญิก 4. ที่ปรึกษาโครงการและ ถอดบทเรียน
-
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
12
การวัดและประเมินผล ตัวบ่งชี้ สภาพความสาเร็จ ด้านผลผลิต (OUTPUT) 1. เพื่อส่งเสริมเด็ก ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ ในชุมชนวัดท่าสะแบง นาเอาหลัก แนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับ ประยุกต์ใช้กับวิถีการดาเนินชีวิตโดยใช้ ภูมิปัญญาพื้นบ้านในการทาขันหมากเบ็ง โบราณ การสานตาแหลว และการทา ฮังมดแดงในชุมชนวัดท่าสะแบง 2. เพื่อส่งเสริมการคิดค้นพัฒนาสู่สังคม การเรียนรู้ตลอดชีวิต สามารถนาเอา ทรัพยากรที่มี ในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้ ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้ 3. เพื่อส่งเสริมการทากิจกรรมร่วมกัน ของชุมชนอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้เกิด ความรัก ความสามัคคี และอยู่ในสังคม อย่างสันติสุข
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ -การอธิบาย -การบรรยาย -การสาธิต -การปฏิบัติ -การจัดนิทรรศการ
การวัดและ ประเมินผล -การสังเกต -การเข้าร่วม กิจกรรม -การทากิจกรรม -การถามคาถาม -การตอบคาถาม -การทดสอบ -ประเมินผลงาน
เครือ่ งมือที่ใช้
-แบบสังเกต -คาถาม/ คาตอบ -แบบทดสอบ -แบบ ประเมิน ผลงาน
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
ตัวบ่งชี้สภาพความสาเร็จ ด้านผลลัพธ์ (OUTCOME) 1. บุคคลในชุมชนวัดท่าสะแบงมีนิสัย ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน คิดริเริ่มสร้างสรรค์แบบ เศรษฐกิจพอเพียง นาเอาทรัพยากร วัสดุ อุปกรณ์ที่มีในท้องถิ่นมาปรับ ประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์กับวิถี ดาเนินชีวิตโดยใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้าน ในการทาขันหมากเบ็งโบราณ การ สานตาแหลว และการทาฮังมดแดง ในชุมชนวัดท่าสะแบง 2.บุคคลในชุมชนวัดท่าสะแบงมีส่วน ร่วมการสืบสานภูมิปัญญา ศิลปะและ วัฒนธรรมพื้นบ้านให้อยู่คู่กับสังคม ไทยอีสานอย่างยั่งยืนตลอดไป 3. บุคคล 3 วัยในชุมชนวัดท่าสะแบง มีคุณธรรม จริยธรรม มีสุขภาวะที่ดี อยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข
13
การจัดกิจกรรม
การวัด ประเมินผล
-การอธิบาย -การบรรยาย -การสาธิต -การปฏิบัติ -จัดนิทรรศการ
-การสังเกต -การเข้าร่วม กิจกรรม -การทากิจกรรม -การถามคาถาม -การตอบคาถาม การทดสอบ -ประเมินผลงาน
เครื่องมือ -แบบสังเกต -คาถาม/คาตอบ -แบบทดสอบ -แบบประเมิน ผลงาน
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. บุคคลในชุมชนวัดท่าสะแบงดาเนินวิถีชีวิตโดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับประยุกต์ใช้กับ ภูมิปัญญาพื้นบ้านได้อย่างเหมาะสม 2. บุคคลในชุมชนวัดท่าสะแบง มีส่วนร่วมการสืบสานภูมิปัญญาไทย ศิลปะและวัฒนธรรมพื้นบ้าน ในการทาขันหมากเบ็งโบราณ การสานตาแหลวและการทาฮังมดแดง ให้อยู่คู่กับชุมชนวัดท่าสะแบง และสังคมไทยอีสานอย่างยั่งยืนตลอดไป 3. บุคคลทั้ง 3 วัยในชุมชนวัดท่าสะแบง มีคุณธรรม จริยธรรม มีสุขภาวะที่ดี และอยู่ร่วมกันในสังคม อย่างมีความสุข
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
14
โครงสร้างหลักสูตรการเรียนรู้ โครงการวิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัย ในวัดท่าสะแบง กิจกรรมที่ 2 เรื่อง ส่งเสริมภูมิปัญญา ศิลปะ และวัฒนธรรมพื้นบ้านในชุมชนวัดท่าสะแบง กิจกรรมที่ 2.1 การทาขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง ครั้งที่
วัน เดือน ปี
กิจกรรมการเรียนรู้
เวลา/ชม.
1
7 พ.ค. 54
ความเป็นมาของการทาขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
2
2
14 พ.ค. 54
- พิธีกรรมและความเชื่อเกี่ยวกับขันหมากเบ็ง - ประโยชน์และคุณค่าของขันหมากเบ็ง
2
3
21 พ.ค. 54
วัสดุและอุปกรณ์ในการทาขันหมากเบ็งโบราณ
2
4
28 พ.ค. 54
การเลือกใบตองและดอกไม้สดประดับ
2
5
4 – 25 มิ.ย. 54
การประดิษฐ์ใบตองและดอกไม้ประดับ
6
6
2 ก.ค. – 27 ส.ค. 54 การทาขันหมากเบ็งโบราณห้าแปด
8
7
3 ก.ย. – 29 ต.ค. 54 การทาขันหมากเบ็งโบราณเกี้ยวสิบสองซ้ายขวา
8
8
5 พ.ย. – 17 ธ.ค. 54 การทาขันหมากเบ็งโบราณเกี้ยวสามสิบสองซ้ายขวา
8
9
30 ธ.ค. 54
การจัดนิทรรศการ
5
10
30 ธ.ค. 54
การประเมินผล
2
รวม
45
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
15
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง ขันหมากเบ็ง หรือ ขันหมากเบญจ์ คือ พานพุ่มดอกไม้ที่ใช้เป็นพานพุ่มบูชาในพิธีกรรมและบูชา พระรัตนตรัยในวันอุโบสถหรือวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา รวมทั้งการนาไปบูชาวิญญาณบรรพบุรุษ ที่ล่วงลับไปแล้ว นิยมใช้ในวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา วันสาคัญของประเพณีไทยและวันสงกรานต์ ขันหมากเบ็ง คือพานพุ่มใส่ดอกไม้ หรือเครื่องบูชา 5 อย่าง ได้แก่ หมาก พลู ธูป เทียน และ ดอกไม้ อย่างละ 5 คู่ ใช้ใบตองทาเป็นกรวย รีดซ้อนกันให้เป็นรูปคล้ายเจดีย์ ทาเป็นสี่มุมรวมทั้งตรง กลางเป็น 5 ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 6 นิ้ว สูง 6- 8 นิ้ว ประดับประตูด้วยเครื่อง 5 อย่าง ดังได้ กล่าวแล้ว ไว้บนยอดแหลมของกรวย เรียงลดหลั่นลงมาตามลาดับเพื่อความสวยงาม ดอกไม้เป็นที่ นิยมใช้ประดับ ได้แก่ ดอกดาวเรือง เชื่อกันว่าจะทาให้เกิดความเจริญรุ่งเรือง ดอกบานไม่รู้โรยหรือดอก สามปี เชื่อกันว่าจะทาให้มีอายุยืนยาว ในยุคปัจจุบันมักนิยมใช้ดอกรัก เชื่อกันว่าทาให้เกิดความรักและ ความสามัคคี พิธีกรรมและความเชื่อเกี่ยวกับขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง 1. เป็นเครื่องสักการบูชาพระรัตนตรัย 2. เป็นเครื่องสักการะอยู่ในเครื่องพลีกรรม ไหว้ครูอาจารย์ หรือเซ่นสรวงดวงวิญญาณ 3. เป็นเครื่องบูชาวิญญาณบรรพบุรุษ 4. เป็นเครื่องให้พิจารณาเตือนคนได้พิจารณาเบญจขันธ์ ได้แก่ รูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ รูป หมายถึง ร่างที่คลุมรวมกันไว้ด้วยธาตุ 4 อันเป็นส่วนที่ปรากฏด้วยตา เวทนา หมายถึง การเสวยอารมณ์ รู้สึกสุข เดือดร้อน เจ็บ แค้นใจ เบิกบาน เฉยๆ สัญญา หมายถึง รู้และจาอารมณ์ที่ผ่านอวัยวะทั้ง 6 เข้ามาแล้วบันทึกไว้ในใจ สังขาร หมายถึง สภาวะปรุงแต่งวิญญาณ ผู้ก่อกรรมเกิดรูปนามติดต่อไป วิญญาณ หมายถึง รู้แจ้งอารมณ์ภายในที่สัมผัสปัจจัยภายนอก การกราบบูชาด้วยขันหมากเบ็ง จึงเปรียบเสมือนการกราบด้วยเบญจางคประดิษฐ์ เป็นเครื่อง เบญจขันธ์ การสักการบูชาด้วย ขันหมากเบ็ง ชาวอีสานได้ยึดถือเป็นประเพณี และปฏิบัติสืบเนื่องมา ตลอดถึงปัจจุบัน ถือว่าเป็นเอกลักษณ์ที่ทรงคุณค่ายิ่งของชาวอีสาน ปัจจุบันผู้รู้ในการจัดทาขันหมากเบ็ง มีจานวนน้อยและมีอายุมากขึ้น จึงควรมีการถ่ายทอดความรู้ด้วยการจัดกิจกรรม เพื่ออนุรักษ์ศิลปะและ
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
16
วัฒนธรรมจากภูมิปัญญาพื้นบ้านอีสาน โดยการนาภูมิปัญญาพื้นบ้านมาประยุกต์ใช้กับศิลปะในยุคใหม่ ให้เกิดความประณีตสวยงาม เป็นการสร้างอาชีพให้เกิดรายได้แบบยั่งยืน อีกทั้งเป็นการอนุรักษ์ และ ส่งเสริมภูมิปัญญาไทยพื้นบ้าน ส่งผลให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมอีสานตลอดไป ความสาคัญในการทาขันหมากเบ็ง สิ่งที่ต้องใช้มากที่สุดคือใบตอง ต้องใช้ฝีมือ ความชานาญ ความประณีตเป็นพิเศษในการเลือกใบตองจะต้องอ่อนแก่พอๆ กัน สีจะได้เสมอกัน ต่อด้วยการพับ การ รีดใบตองให้เป็นรูปตามต้องการ การพับใบตองที่สวยงาม การใช้ภูมิปัญญาเอาใบตองแช่น้าสารส้มเพื่อ ไม่ให้ใบตองเปลี่ยนสี ถึงเวลาเอามาผึ่ง แล้วทาน้ามันมะกอกให้ใบตองขึ้นเงา รวมทั้งการใช้ดอกไม้สด และเครื่องบูชา 5 อย่าง ที่บ่งบอกถึงความสาคัญและมีความหมายในการใช้ประดับขันหมากเบ็งโบราณ สภาวะของ ใบตอง ใน ขันหมากเบ็ง เป็นสิ่งที่บ่งบอกคติธรรมทางพุทธศาสนา 2 ประการ ได้แก่ สัจธรรม หมายถึงความจริงแท้แน่นอน และ อนิจจัง หมายถึงความไม่เที่ยงแท้ ไม่แน่นอน ไม่ถาวร มั่นคง และไม่จีรังยั่งยืน ดังบทกวีของสุนทรภู่ ที่กล่าวไว้ว่า
เหมือนบายศรี มีงาน ท่านถนอม พอเสร็จงาน ท่านทิ้ง ลงคงคา
เจิมแป้งหอม กระแจะจันทร์ เครื่องหรรษา ต้องลอยมา ลอยไป เป็นใบตอง
ความหมายของบทกวีเปรียบเสมือนช่วงเป็นใบตองมีระยะเวลายาวนาน แต่ช่วงเป็นขันหมากเบ็ง มีระยะเวลาสั้น เพราะฉะนั้น อย่าทะนงตัวหรือทะนงศักดิ์ ในช่วงที่เป็นขันหมากเบ็ง
ความหมายของขันหมากเบ็งโบราณห้าแปดวัดท่าสะแบง ขันหมากเบ็งห้า หมายถึง เครื่องให้พิจารณาเตือนคน ได้พิจารณาเบญจขันธ์ 5 ประการ คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ มีความหมายดังนี้ 1. รูป หมายถึง ร่างที่คลุมรวมกันไว้ด้วยธาตุ 4 อันเป็นส่วนที่ปรากฏด้วยตา 2. เวทนา หมายถึง การเสวยอารมณ์ รู้สึกสุข เดือดร้อน เจ็บ แค้นใจ เบิกบาน เฉยๆ 3. สัญญา หมายถึง รู้และจาอารมณ์ที่ผ่านอวัยวะทั้ง 6 เข้ามาแล้วบันทึกไว้ในใจ 4. สังขาร หมายถึง สภาวะปรุงแต่งวิญญาณ ผู้ก่อกรรมเกิดรูปนามติดต่อไป 5. วิญญาณ หมายถึง รู้แจ้งอารมณ์ภายในที่สัมผัสปัจจัยภายนอก
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
17
ขันหมากเบ็งแปด หมายถึง เครื่องให้พิจารณาเตือนคนได้พิจารณาเบญจขันธ์ คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ พระพุทธองค์ทรงแยกย่อยในการพิจารณาในส่วนประกอบของร่างกาย มนุษย์ ได้แก่ อาการ 32 ดังนี้ 1. เกสา หมายถึง ผม 2. โลมา หมายถึง ขน 3. นะขา หมายถึง เล็บ 4. ทันตา หมายถึง ฟัน 5. ตะโจ หมายถึง หนัง 6. มังสัง หมายถึง เนื้อ 7. นะหารู หมายถึง เอ็น 8. อัฏฐิ หมายถึง กระดูก 9. อัฏฐิมิญชัง หมายถึง เยื่อกระดูก 10. วักกัง หมายถึง ม้าม 11. หะทะยัง หมายถึง หัวใจ 12. ยะกะนัง หมายถึง ตับ 13. กิโลมะกัง หมายถึง พังผืด 14. ปิหะกัง หมายถึง ไต 15. ปัปผาสัง หมายถึง ปอด 16. อันตัง หมายถึง ไส้ใหญ่ 17. อันตะคุณัง หมายถึง ไส้น้อย 18. อุทริยัง หมายถึง อาหารใหม่ 19. กะรีสัง หมายถึง อาหารเก่า 20. ปิตตัง หมายถึง น้าดี 21. เสมหัง หมายถึง เสลด 22. ปุพโพ หมายถึง น้าหนอง 23. โลหิตัง หมายถึง เลือด 24. เสโท หมายถึง เหงื่อ 25. เมโท หมายถึง น้ามันข้น 26. อัสสุ หมายถึง น้าตา 27. วะสา หมายถึง น้ามันเหลว 28. เขโฬ หมายถึง น้าลาย 29. สิงฆาณิกา หมายถึง น้ามูก 30. ละสิกา หมายถึง น้าไขข้อ 31. มุตตัง หมายถึง น้าปัสสาวะ 32. มัตถะเก มัตถะลุง หมายถึง มันสมองศรีษะ
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
18
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง ขันหมากเบ็งโบราณห้าแปด การเตรียมวัสดุและอุปกรณ์ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.
ใบตองกล้วยตานี ดอกพุดสีขาว ดอกบานไม่รู้โรย มีด กรรไกร คีมตัดลวด ลวด ลวดเย็บกระดาษ ไม้กลัด ไม้ม้วนโอ้
การเตรียมวัสดุและอุปกรณ์การทาขันหมากเบ็งโบราณห้าแปด
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
19
ส่วนประกอบขันหมากเบ็งโบราณห้าแปด 1. 2. 3. 4. 5. 6.
โอ้หมากเบ็ง จานวน 1 อัน นิ้วหมากเบ็ง แบบ 5 ชั้น จานวน 20 อัน นิ้วหมากเบ็ง แบบ 8 ชั้น จานวน 32 อัน กาบหมากเบ็ง จานวน 11 อัน ตีนหมากเบ็ง จานวน 1 อัน ดอกไม้ประดับ
โอ้หมากเบ็ง
กาบหมากเบ็ง
นิ้วหมากเบ็ง
ตีนหมากเบ็ง
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
20
วิธีทาโอ้หมากเบ็ง 1. 2. 3. 4.
เช็ดใบตองให้สะอาด ฉีกใบตองขนาด 12x12 นิ้ว จานวน 2 – 3 แผ่น นาใบตองมาวางซ้อนกัน และหงายด้านในของใบตองขึ้น ใช้ไม้ยาววางไว้กึ่งกลางใบตองที่วางซ้อนทับกัน ม้วนเฉียงประมาณ 40 องศา จนสุดใบตอง จัดโอ้เป็นรูปกรวยให้สวยงาม แล้วใช้ลวดเย็บติดให้แน่น
ฉีกใบตองขนาด 12x12 นิ้ว
ไม้ยาววางไว้กึ่งกลางและม้วนใบตอง
จัดโอ้เป็นรูปกรวยให้สวยงาม
ใช้ลวดเย็บโอ้ติดให้แน่น
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
21
วิธีทากาบหมากเบ็ง 1. เช็ดใบตองให้สะอาด ฉีกใบตองขนาด 5x12 นิ้ว จานวน 11 แผ่น 2. หงายด้านในของใบตอง พับใบตองด้านขวาพับครึ่ง แล้วพับไปด้านซ้ายอีกครั้ง 3. พับใบตองส่วนที่เหลือเข้าหากัน แล้วใช้ลวดเย็บส่วนล่างให้ติดกันเป็นกาบ
ฉีกใบตองขนาด 5x12 นิ้ว
พับใบตองด้านขวาพับครึ่ง
พับไปด้านซ้ายอีกครั้งและพับเข้าหากัน
ใช้ลวดเย็บให้ติดกันเป็นกาบ
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
22
วิธีทานิ้วหมากเบ็ง 1. เช็ดใบตองให้สะอาด ฉีกใบตองขนาด 2x8 นิ้ว จานวน 52 แผ่น 2. หงายด้านในของใบตองแล้วม้วนใบตองจากกึ่งกลาง 3. วางดอกพุดไว้ตรงปลายนิ้ว ม้วนใบตองให้พันก้านดอกพุด โดยเหลือเฉพาะส่วนที่เป็นดอกพุด ม้วนให้หมดใบตอง แล้วใช้ลวดเย็บจนครบ จานวน 52 อัน 4. แช่นิ้วหมากเบ็งในน้าสะอาดเพื่อให้ใบตองสดเสมอ
ฉีกใบตองขนาด 2x8 นิ้ว
ม้วนใบตองให้พันก้านดอกพุด
วางดอกพุดไว้ตรงปลายนิ้ว
ม้วนให้หมดใบตองแล้วใช้ลวดเย็บ
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
23
วิธีทาตีนหมากเบ็ง 1. เช็ดใบตองให้สะอาด 2. ฉีกใบตอง ขนาด 4x8 นิ้ว จานวน 1 แผ่น
วิธีประกอบนิ้วหมากเบ็ง แบบ 5 ชั้น การประกอบนิ้วหมากเบ็งแบบ 5 ชั้น มีจานวน 4 แถว ๆ ละ 5 นิ้ว รวมจานวนนิ้ว 20 นิ้ว การประกอบนิ้วหมากเบ็งแต่ละแถว เริ่มจากนิ้ว 1 ข้างบนลงมาหานิ้ว 5 ข้างล่างตามลาดับ ดังนี้ 1. นานิ้ว 1 และ นิ้ว 2 วางซ้อนกัน โดยให้นิ้ว 2 อยู่ด้านหลังและอยู่ต่ากว่านิ้ว 1 เล็กน้อย ใช้ใบตอง ห่อนิ้ว พันรอบนิ้วทั้ง 2 ไว้ตรงกึ่งกลางใบตอง 2. นานิ้ว 3 วางซ้อนด้านหลังนิ้ว 2 และอยู่ต่ากว่านิ้ว 2 เล็กน้อย ใช้ใบตองห่อนิ้ว พันรอบนิ้วทั้ง 3 ไว้ตรงกึ่งกลางใบตอง 3. นานิ้ว 4 วางซ้อนด้านหลังนิ้ว 3 และอยู่ต่ากว่านิ้ว 3 เล็กน้อย ใช้ใบตองห่อนิ้ว พันรอบนิ้วทั้ง 4 ไว้ตรงกึ่งกลางใบตอง 4. นานิ้ว 5 วางซ้อนด้านหลังนิ้ว 4 และอยู่ต่ากว่านิ้ว 4 เล็กน้อย ใช้ใบตองห่อนิ้ว พันรอบนิ้วทั้ง 5 ไว้ตรงกึ่งกลางใบตอง ใช้ลวดเย็บติดให้แน่น แล้วตัดปลายใบตองห่อนิ้วให้สวยงาม
การประกอบนิ้วหมากเบ็ง แบบ 5 ชั้น
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
24
นานิ้ว 1- 5 วางซ้อนกันแล้วใช้ใบตองห่อนิ้วพันนิ้วแต่ละรอบ
ใช้ลวดเย็บติดให้แน่น
นิ้วหมากเบ็งแบบ 5 ชั้น จานวน 4 แถว
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
25
การประกอบนิ้วหมากเบ็ง แบบ 8 ชั้น
วิธีประกอบนิ้วหมากเบ็ง แบบ 8 ชั้น การประกอบนิ้วหมากเบ็งแบบ 8 ชั้น มีจานวน 4 แถว ๆ ละ 8 นิ้ว รวมจานวนนิ้ว 32 นิ้ว การประกอบนิ้วหมากเบ็งแต่ละแถวเริ่มจากนิ้ว 1 ข้างบน ลงมาหานิ้ว 8 ข้างล่างตามลาดับ ดังนี้ 1. นานิ้ว 1 และ นิ้ว 2 วางซ้อนกัน โดยให้นิ้ว 2 อยู่ด้านหลังและอยู่ต่ากว่านิ้ว 1 เล็กน้อย ใช้ใบตอง ห่อนิ้ว พันรอบนิ้วทั้ง 2 ไว้ตรงกึ่งกลางใบตอง 2. นานิ้ว 3 วางซ้อนด้านหลังนิ้ว 2 และอยู่ต่ากว่านิ้ว 2 เล็กน้อย ใช้ใบตองห่อนิ้ว พันรอบนิ้วทั้ง 3 ไว้ตรงกึ่งกลางใบตอง 3. นานิ้ว 4 วางซ้อนด้านหลังนิ้ว 3 และอยู่ต่ากว่านิ้ว 3 เล็กน้อย ใช้ใบตองห่อนิ้ว พันรอบนิ้วทั้ง 4 ไว้ตรงกึ่งกลางใบตอง 4. นานิ้ว 5 วางซ้อนด้านหลังนิ้ว 4 และอยู่ต่ากว่านิ้ว 4 เล็กน้อย ใช้ใบตองห่อนิ้ว พันรอบนิ้วทั้ง 5 ไว้ตรงกึ่งกลางใบตอง 5. นานิ้ว 6 วางซ้อนด้านหลังนิ้ว 5 และอยู่ต่ากว่านิ้ว 5 เล็กน้อย ใช้ใบตองห่อนิ้ว พันรอบนิ้วทั้ง 6 ไว้ตรงกึ่งกลางใบตอง 6. นานิ้ว 7 วางซ้อนด้านหลังนิ้ว 6 และอยู่ต่ากว่านิ้ว 6 เล็กน้อย ใช้ใบตองห่อนิ้ว พันรอบนิ้วทั้ง 7 ไว้ตรงกึ่งกลางใบตอง 7. นานิ้ว 8 วางซ้อนด้านหลังนิ้ว 7 และอยู่ต่ากว่านิ้ว 7 เล็กน้อย ใช้ใบตองห่อนิ้ว พันรอบนิ้วทั้ง 8 ไว้ตรงกึ่งกลางใบตอง ใช้ลวดเย็บติดให้แน่น แล้วตัดปลายใบตองห่อนิ้วให้สวยงาม
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
26
นานิ้ว 1- 8 วางซ้อนกันแล้วใช้ใบตองห่อนิ้วพันนิ้วแต่ละรอบ
ใช้ลวดเย็บติดให้แน่น
นิ้วหมากเบ็งแบบ 8 ชั้น จานวน 4 แถว
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
27
ขันหมากเบ็งโบราณห้าแปดวัดท่าสะแบง
วิธีประกอบขันหมากเบ็งโบราณห้าแปดวัดท่าสะแบง จัดเตรียมส่วนประกอบขันหมากเบ็งโบราณห้าแปดให้พร้อม ได้แก่ โอ้หมากเบ็ง จานวน 1 อัน นิ้วหมากเบ็ง แบบ 5 ชั้น จานวน 20 อัน นิ้วหมากเบ็ง แบบ 8 ชั้น จานวน 32 อัน กาบหมากเบ็ง จานวน 11 อัน และตีนหมากเบ็ง จานวน 1 อัน มีวิธีประกอบตามลาดับ ดังนี้
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
28
1. นากาบหมากเบ็ง จานวน 3 กาบพันรอบกึ่งกลางโอ้ ใช้ลวดเย็บติดให้แน่น 2. นากลีบหมากเบ็งแปดชั้นแถว 1 มาวางประกอบกับตัวโอ้ ใช้ไม้กลัดยึดติดกับตัวโอ้ให้แน่น 3. นากลีบหมากเบ็งแปดชั้นแถว 2 มาวางประกอบกับตัวโอ้ให้อยู่ตรงข้ามกับแถว 1 ใช้ไม้กลัด ยึดติดกับตัวโอ้ให้แน่น 4. นากลีบหมากเบ็งแปดชั้นแถว 3 มาวางประกอบกับตัวโอ้ ให้อยู่ตรงกลางระหว่างแถว 1–2 ใช้ไม้กลัดยึดติดกับตัวโอ้ให้แน่น 5. นากลีบหมากเบ็งแปดชั้นแถว 4 มาวางประกอบกับตัวโอ้ให้อยู่ตรงข้ามกับแถว 3 ใช้ไม้กลัด ยึดติดกับตัวโอ้ให้แน่น แล้วจัดกลีบหมากเบ็งแปดชั้นทั้ง 4 แถวให้สวยงาม
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
29
6. นากาบหมากเบ็ง จานวน 4 อัน มาเย็บปิดรอบฐานนิ้วหมากเบ็งแบบแปดชั้นทั้ง 4 แถว 7. นากาบหมากเบ็ง จานวน 4 อัน มาเย็บปิดสับหว่างรอบฐานทั้ง 4 แถวใช้ลวดเย็บติดให้แน่น 8. นาตีนหมากเบ็งมาพันปิดรอบฐานใช้ลวดเย็บติดให้แน่น ใส่หมากพลูและตกแต่งให้สวยงาม
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
30
ขันหมากเบ็งโบราณเกี้ยวสิบสองซ้ายขวา
ความหมายของขันหมากเบ็งเกี้ยวสิบสองซ้ายขวา 1. 2. 3. 4.
สิบสอง หมายถึง กลุ่มดาวประจาราศีเกิด 12 ราศี กลีบหมากเบ็งเกี้ยวซ้าย หมายถึง แขนซ้ายหรืออวัยวะซีกซ้ายของร่างกาย กลีบหมากเบ็งเกี้ยวขวา หมายถึง แขนขวาหรืออวัยวะซีกขวาของร่างกาย ยอดหมากเบ็ง หมายถึง พระรัตนตรัย
กลุ่มดาว 12 ราศี
กลุ่มดาวแกะ (Aries or Ram) กลุ่มดาววัว (Taurus) กลุ่มดาวคนคู่ (Gemini) กลุ่มดาวปู (Cancer) กลุ่มดาวสิงโต (Leo) กลุ่มดาวหญิงพรหมจารีย์ (Virgo) กลุ่มดาวคันชั่ง (Libra ) กลุ่มดาวแมงป่อง (Scorpius ) กลุ่มดาวคนถือธนู (Sagittarius) กลุ่มดาวมังกร (Capriconus) กลุ่มดาวคนถือหม้อน้า (Aquarius) กลุ่มดาวปลา (Pisces)
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
31
กลุ่มดาว 12 ราศี คือ กลุ่มดาวฤกษ์ 12 กลุ่ม ที่ปรากฏอยู่ตามแนวเส้น Ecliptic กลางท้องฟ้า กลุ่มดาว 12 ราศี บางทีเรียกว่า กลุ่มดาว 12 นักษัตร เพราะ 11 กลุ่ม เป็นสัตว์จริงหรือสัตว์สมมุติ ส่วนอีก 1 กลุ่ม เป็นสิ่งของคือตาชั่ง กลุ่ม 12 ราศี มีชื่อตามเดือนทั้ง 12 เริ่มนับจากราศีเมษแกะตัวผู้ ไปตามลาดับ และ ราศีมีน กลุ่มดาวปลาเป็นราศีสุดท้าย
ราศีแกะ อีกทั้งปู ตาชั่ง มกราคม
ราศีวัว สิงห์ นางงาม แมงป่อง ธนู โถจารี
และคนคู่ อร่ามสม คู่น่าชม มีปลาเอย
กลุ่มดาว 12 ราศี (ZODIAC) การหมุนรอบตัวเองของโลก ทาให้เกิดกลางวัน กลางคืน การโคจรของโลก รอบดวงอาทิตย์ ทาให้เวลาและฤดูกาลผ่านไป โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์หนึ่งรอบ กินเวลา 1 ปี ขณะที่โลกโคจรรอบ ดวงอาทิตย์ จากทิศตะวันตกไปทาง ทิศตะวันออก เมื่อเราสังเกตดูการเคลื่อนที่ของดวงอาทิตย์ จะเห็น ดวงอาทิตย์เคลื่อนที่ไปตามกลุ่มดาวกลุ่มต่าง ๆ กลางท้องฟ้า เส้นทางที่ ดวงอาทิตย์ปรากฏโคจรไปบน ท้องฟ้าผ่านกลุ่มดาวต่าง ๆ ในรอบปีหนึ่งนั้น เรียกว่า เส้นอี่คลิพติค (Ecliptic) เส้นนี้พาดจากขอบฟ้า ทิศตะวันออก ผ่านกลางฟ้าเหนือศีรษะไปทางขอบฟ้าทิศตะวันตก บรรดาดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และ ดวงนพเคราะห์ ต่างก็เคลื่อนที่ในแนวแถบเส้น Ecliptic นี้ทั้งสิ้น กลุ่มดาว 12 ราศี คือกลุ่มดาวฤกษ์ 12 กลุ่ม ที่ปรากฏอยู่ตามแนวเส้น Ecliptic โดยแบ่งแถบเส้น Ecliptic ซึ่งเป็นแถบกว้าง 16 องศา (กว้างวัด จากเส้น Ecliptic ไป ข้างละ 8 องศา ) รอบท้องฟ้าออกเป็น 12 ส่วน แต่ละส่วนกว้าง 30 องศา ทุกราศี มีดาวฤกษ์ประจาอยู่ 1 กลุ่มจึงเรียกกลุ่มดาว 12 ราศี เวลาดูบนท้องฟ้าจะเห็นกลุ่มดาว 12 ราศีเรียงตาม ลาดับจากทิศตะวันตก ไปทิศตะวันออก กลุ่มดาว 12 ราศีนี้เป็นจักรวงกลมของสัตว์ เพราะว่า 11 กลุ่ม เป็นกลุ่มดาวที่ แทนสัตว์จริงหรือสัตว์สมมุติ กลุ่มดาวที่ไม่ใช่สัตว์ คือกลุ่มดาวราศีตุลย์ หรือกลุ่มดาว คันชั่ง (Libra) หมายถึงตราชูแห่งความเที่ยงธรรม ประมาณ 150 ปีก่อนคริสตศักราช นักดาราศาสตร์ ชาติกรีก ชื่อ ฮิปปาวัส (Hipparchus) ได้แบ่งกลุ่มดาวแถบเส้น Ecliptic ออกเป็น 12 กลุ่ม โดยตั้งแต่ จุดตัดจุดแรกกับศูนย์สูตรท้องฟ้า เมื่อนับไปทางทิศตะวันออก ช่องละ 30 องศา จะได้ 12 ช่องพอดี ช่องแรก คือ ราศีที่ 1 คือ ราศีเมษ กลุ่มดาวแกะ กลุ่มดาวกลุ่มนี้ได้ชื่อว่า “ผู้นาแห่งกลุ่มดาว 12 ราศี” กลุ่มดาวราศีที่ 12 คือ กลุ่มดาวปลา หรือ ราศีมีน
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
32
กลุ่มดาวประจาราศีเกิด 12 ราศี
ราศีมังกร (14 ม.ค.-13 ก.พ.) เป็นคนธาตุดินกลาง เปรียบได้กับดินในถ้าหิน จึงทาให้ชาวราศีนี้ ไม่ค่อยแสดงอารมณ์อะไร ออกมามากนัก เพราะคุณจะไม่สามารถดูออกได้เลยว่าเขากาลังอยู่ในอารมณ์ไหน ถึงแม้เขาจะโมโห ปานใดก็ตาม เขาจะไม่ระบายออกกับใครทั้งสิ้นอย่างมากก็บ่นนิดๆหน่อยๆ แล้วก็จะเก็บไว้เองคนเดียว ราศีกุมภ์ (14 ก.พ.-13 มี.ค.) เป็นคนธาตุลมเล็ก เปรียบได้กับ ลมที่พัดธรรมดา จึงทาให้ชาวราศีนี้อารมณ์ไม่ค่อยแปรปรวน เท่าไร จึงไม่ค่อยมีปัญหาสาหรับอารมณ์ของชาวราศีนี้ แต่ถ้าเขาโมโหเมื่อไร เขาจะไม่พูดกับคุณเลย และทาหน้าบึ้งใส่คุณอีกต่างหาก ราศีมีน (14 มี.ค.-13 เม.ย.) เป็นคนธาตุน้าใหญ่ เปรียบได้กับคลื่นน้าในมหาสมุทร จึงทาให้ชาวราศีนี้ไม่ค่อยแสดงอารมณ์ มากนัก เหมือนราศีมังกร แต่รุนแรงกว่า ซึ่งถ้าจะระบาย ชาวราศีนี้จะระบายเพียงแค่คนรู้จักเท่านั้น แต่เขาจะไม่โกรธแค้นหรือเกลียดคุณแม้ว่าคุณจะทาให้เขาโมโหขนาดไหนก็ตาม ราศีเมษ (14 เม.ย.–13 พ.ค.) เป็นคนธาตุไฟใหญ่ หรือไฟต้นธาตุ เปรียบได้กับไฟของดวงอาทิตที่ร้อนแรง จึงทาให้เขาเป็นคน ที่ใจร้อน (โคตร) ซึ่งถ้าเขาโมโหเมื่อไร เป็นได้พังกันไปข้าง
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
33
ราศีพฤษภ (14 พ.ค.-13 มิ.ย.) เป็นคนธาตุดินใหญ่ เปรียบได้กับดินของภูเขา จึงทาให้ชาวราศีนี้เป็นคนที่อารมณ์นิ่งมาก ไม่หวั่นไหวง่าย จึงไม่ค่อยมีปัญหาเรื่องอารมณ์เท่าไรนักกับชาวราศีนี้ ราศีเมถุน (14 มิ.ย.-13 ก.ค.) เป็นคนธาตุลมกลาง เปรียบได้กับลมมรสุม จึงทาให้ชาวราศีนี้เป็นคน 2อารมณ์ และแปรปรวน ค่อนข้างง่าย ซึ่งถ้าชาวราศีนี้กาลังอารมณ์ไม่หรืออยู่ในช่วงอารมณ์แปรปรวน กรุณาอย่าเข้าใกล้ เพราะ เขาจะพาลคุณไปด้วย เหมือนลมมรสุม ที่พัดพาสิ่งของให้ปลิวว่อนแล้ว และบังเกิดฝนตามมา ราศีกรกฏ (14 ก.ค.-13 ส.ค.) เป็นคนธาตุน้าเล็ก เปรียบได้กับน้าที่อยู่ในบึงทะเลสาบ จึงทาให้ชาวราศีนี้เป็นคนมีอารมณ์ที่บอก ได้ชัดเลยว่า จะมาแนวไหน เช่นถ้าเขาโมโห คุณสามารถรู้ได้ทันทีว่า เขากาลังโมโหอยู่ จึงไม่ค่อยเป็น ปัญหากับคนรอบข้างเท่าไรนัก เพราะคนรอบข้างจะปล่อยให้เขาหายโมโหก่อน แล้วเข้าไปคุยด้วยได้ ราศีสิงห์ (14 ส.ค.-13 ก.ย.) เป็นคนธาตุไฟกลาง เปรียบได้กับไฟในกองเพลิง จึงทาให้ชาวราศีนี้ เป็นคนใจร้อนปานกลางถึง ขั้นมาก แต่ไม่ถึงกับโมโหรุนแรงมากเท่ากับราศีเมษ แต่อย่าไปพยายามเติมอารมณ์ของเขาให้โมโหมาก ขึ้นกว่าล่ะ เพราะเหมือนเป็นการเติมเชื้อไฟเข้าไป อาจทาให้ลุกลามใหญ่โตได้ ราศีกันย์ (14 ก.ย.-13 ต.ค.) เป็นคนธาตุดินเล็ก เปรียบได้กับดินธรณีธรรมดา จึงทาให้ชาวราศีนี้อารมณ์คงที่ แต่ไม่มากนัก แต่อย่าทาให้เธอโกรธ เพราะเธอจะไม่แยแสว่าคุณจะง้อด้วยวิธีไหนจนกว่าเธอจะคลายความโกรธลงได้ ราศีตุลย์ (14 ต.ค.-13พ.ย.) เป็นคนธาตุลมใหญ่ เปรียบได้กับลมพายุ จึงทาให้ชาวราศีนี้เป็นคนที่ แปรปรวนที่สุด ในบรรดา 12 จักรราศีทั้งหมด เพราะเมื่อใดก็ตามที่ เขาโมโห เขาจะเดินหายไปจากคุณเลยในวันนั้น แต่วันต่อมา เขาจะกลับมาดีกับคุณเหมือนว่าไม่เคยโกรธกันมาก่อนเลยในชาตินี้ ราศีพิจิก (14 พ.ย.-13 ธ.ค.) เป็นคนธาตุน้ากลาง เปรียบได้กับน้าจากลาธารหรือน้าตก ทาให้ชาวราศีนี้อารมณ์รุนแรงขึ้นอยู่กับ สถานการณ์ที่ประสบอยู่ในตอนนั้น เช่น คุณทาผิดเล็กน้อย ก็อาจโกรธไม่มาก แต่ถ้าผิดอย่างใหญ่หลวง ฤทธิ์เดชของชาวราศีนี้อะไรอยู่ใกล้มือเป็นขว้างใส่หมด ขึ้นชื่อมากเรื่องทาลายเมื่ออยู่ในอารมณ์บ้าคลั่ง ราศีธนู (14 ธ.ค.-13 ม.ค.) เป็นคนธาตุไฟเล็ก เปรียบได้กับไฟจากคบเพลิง จึงทาให้ชาวราศีนี้อารมณ์ไม่ค่อยรุนแรงเท่าใดนัก แต่เมื่อเขาโมโห อารมณ์เขาก็ออกน่ากลัวหน่อยนึง ไม่ถึงกับฆ่ากันตาย แต่อาจไประบายออกกับสิ่งอื่นๆ
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
34
ขันหมากเบ็งโบราณเกี้ยวสิบสองซ้ายขวา
การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.
ใบตองกล้วยตานี ดอกรักตูม ดอกรักบาน มีด กรรไกร ลวด ลวดเย็บกระดาษ ไม้กลัด ไม้เสียบ ทางมะพร้าว
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
35
ส่วนประกอบขันหมากเบ็งโบราณเกี้ยวสิบสองซ้ายขวา การทาขันหมากเบ็งโบราณเกี้ยวสิบสองซ้ายขวา ต้องเตรียมส่วนประกอบพร้อมกันทั้ง 2 ขัน ได้แก่ ขันหมากเบ็งเกี้ยวซ้าย และขันหมากเบ็งเกี้ยวขวา มีส่วนประกอบ ดังนี้ 1. 2. 3. 4.
โอ้หมากเบ็ง จานวน 2 อัน (ขันซ้าย 1 อัน และ ขันขวา 1 อัน) กลีบหมากเบ็ง จานวน 24 อัน (ขันซ้าย 12 อัน และ ขันขวา 12 อัน) ตีนหมากเบ็ง จานวน 2 อัน (ขันซ้าย 1 อัน และ ขันขวา 1 อัน) ยอดหมากเบ็ง จานวน 2 อัน (ขันซ้าย 1 อัน และ ขันขวา 1 อัน)
ส่วนประกอบขันหมากเบ็งโบราณเกี้ยวสิบสองซ้ายขวา
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
36
วิธีทาโอ้หมากเบ็ง 1. 2. 3. 4.
เช็ดใบตองให้สะอาด ฉีกใบตองขนาด 8x8 นิ้ว จานวน 2 – 3 แผ่น นาใบตองมาวางซ้อนกัน และหงายด้านในของใบตองขึ้น ใช้ไม้ยาววางไว้กึ่งกลางใบตองที่วางซ้อนทับกัน แล้วม้วนเฉียงประมาณ 40 องศา จนสุดใบตอง จัดโอ้เป็นรูปกรวยให้สวยงาม แล้วใช้ลวดเย็บติดให้แน่น
ฉีกใบตองขนาด 8x8 นิ้ว
ไม้ยาววางไว้กึ่งกลางและม้วนใบตอง
จัดโอ้เป็นรูปกรวยให้สวยงาม
ใช้ลวดเย็บโอ้ติดให้แน่น
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
37
วิธีทากลีบหมากเบ็ง 1. 2. 3. 4.
เช็ดใบตองให้สะอาด ฉีกใบตองขนาด ขนาด 1-2x6 นิ้ว จานวน 24 แผ่น หงายด้านในของใบตอง พับใบตองด้านซ้ายและด้านขวาเข้าหากึ่งกลางของใบตอง พับใบตองทั้งสองข้างเข้าหากันเป็นกลีบหมากเบ็ง ใช้ทางมะพร้าวเสียบกลีบหมากเบ็งซ้ายและกลีบหมากเบ็งขวา แยกไว้ข้างละ 12 อัน
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
38
วิธีทาตีนหมากเบ็ง 1. เช็ดใบตองให้สะอาด 2. ฉีกใบตอง ขนาด 2x8 นิ้ว จานวน 2 แผ่น
วิธีทายอดหมากเบ็ง 1. นาดอกรักบาน ใช้ไม้กลัดเสียบ ประมาณ 10-15 ดอก 2. นาดอกรักตูมดอกใหญ่ - เล็ก ใช้ไม้กลัดเสียบ ประมาณ 20-30 ดอก 3. ดอกรักประดับยอดหมากเบ็ง ใช้ไม้ยาวเสียบดอกบาน ดอกตูมและดอกเล็ก จานวน 3 ดอก
วิธีประกอบขันหมากเบ็งโบราณเกี้ยวสิบสองซ้ายขวาวัดท่าสะแบง จัดเตรียมส่วนประกอบขันหมากเบ็งโบราณเกี้ยวสิบสองซ้ายขวา ได้แก่ โอ้หมากเบ็ง จานวน 2 อัน กลีบหมากเบ็งซ้าย จานวน 12 อัน กลีบหมากเบ็งขวา จานวน 12 อัน ตีนหมากเบ็ง จานวน 2 อัน ยอดหมากเบ็ง จานวน 2 อัน ดอกรักตูม และดอกรักบาน มีวิธีประกอบตามลาดับ ดังนี้
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
39
วิธีประกอบขันหมากเบ็งโบราณเกี้ยวสิบสองซ้าย 1. นากลีบหมากเบ็ง จานวน 12 กลีบ เรียงซ้ายซ้อนกันและใช้ลวดเย็บติดกันเป็นแถวเดียว (ด้านซ้าย) 2. นากลีบหมากเบ็งซ้ายที่เย็บติดกันเป็นแถวเดียว พันไปทางซ้ายรอบตัวโอ้ส่วนบน และพันลดต่าลง ไปถึงฐานโอ้ 3. นาใบตองพันรอบฐานโอ้เป็นตีนหมากเบ็ง ใช้ลวดเสียบติดให้แน่น และตกแต่งให้สวยงาม
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
40
4. นาดอกรักบานใช้ไม้กลัดเสียบก้นดอก แล้วเสียบปิดฐานหมากเบ็ง 1 รอบ 5. นาดอกรักตูมใช้ไม้กลัดเสียบก้นดอก โดยเรียงจากดอกใหญ่ – ดอกเล็ก ใช้เสียบที่กลีบหมากเบ็ง ต่อจากดอกรักบาน แล้วเสียบซ้ายวนรอบโอ้ไปจนถึงกลีบสุดท้าย 6. ใช้ไม้ยาวเสียบดอกรักประดับยอดหมากเบ็ง 7. จัดตกแต่งขันหมากเบ็งเกี้ยวสิบสองซ้ายให้สวยงาม
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
41
วิธีประกอบขันหมากเบ็งโบราณเกี้ยวสิบสองขวา 1. นากลีบหมากเบ็ง จานวน 12 กลีบ เรียงขวาซ้อนกันและใช้ลวดเย็บติดกันเป็นแถวเดียว (ด้านขวา) 2. นากลีบหมากเบ็งขวาที่เย็บติดกันเป็นแถวเดียว พันไปทางขวารอบตัวโอ้ส่วนบน และพันลดต่าลง ไปถึงฐานโอ้ 3. นาใบตองพันรอบฐานโอ้เป็นตีนหมากเบ็ง ใช้ลวดเสียบติดให้แน่น และตกแต่งให้สวยงาม
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
42
4. นาดอกรักบานใช้ไม้กลัดเสียบก้นดอก แล้วเสียบปิดฐานหมากเบ็ง 1 รอบ 5. นาดอกรักตูมใช้ไม้กลัดเสียบก้นดอก โดยเรียงจากดอกใหญ่ – ดอกเล็ก ใช้เสียบที่กลีบหมากเบ็ง ต่อจากดอกรักบาน แล้วเสียบขวาวนรอบโอ้ไปจนถึงกลีบสุดท้าย 6. ใช้ไม้ยาวเสียบดอกรักประดับยอดหมากเบ็ง 7. จัดตกแต่งขันหมากเบ็งเกี้ยวสิบสองขวาให้สวยงาม
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
43
ขันหมากเบ็งโบราณเกี้ยวสามสิบสองซ้ายขวา
ความหมายของขันหมากเบ็งเกี้ยวสามสิบสองซ้ายขวา 1. 2. 3. 4.
สามสิบสอง หมายถึง อวัยวะมนุษย์ 32 ประการ กลีบหมากเบ็งเกี้ยวซ้าย หมายถึง แขนซ้ายหรืออวัยวะซีกซ้ายของร่างกาย กลีบหมากเบ็งเกี้ยวขวา หมายถึง แขนขวาหรืออวัยวะซีกขวาของร่างกาย ยอดหมากเบ็ง หมายถึง พระรัตนตรัย
พระพุทธองค์ทรงแยกย่อย การพิจารณาส่วนประกอบของร่างกายมนุษย์ คือ อาการ 32 ดังนี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.
เกสา หมายถึง ผม โลมา หมายถึง ขน นะขา หมายถึง เล็บ ทันตา หมายถึง ฟัน ตะโจ หมายถึง หนัง มังสัง หมายถึง เนื้อ นะหารู หมายถึง เอ็น
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
8. อัฏฐิ หมายถึง กระดูก 9. อัฏฐิมิญชัง หมายถึง เยื่อกระดูก 10. วักกัง หมายถึง ม้าม 11. หะทะยัง หมายถึง หัวใจ 12. ยะกะนัง หมายถึง ตับ 13. กิโลมะกัง หมายถึง พังผืด 14. ปิหะกัง หมายถึง ไต 15. ปัปผาสัง หมายถึง ปอด 16. อันตัง หมายถึง ไส้ใหญ่ 17. อันตะคุณัง หมายถึง ไส้น้อย 18. อุทริยัง หมายถึง อาหารใหม่ 19. กะรีสัง หมายถึง อาหารเก่า 20. ปิตตัง หมายถึง น้าดี 21. เสมหัง หมายถึง เสลด 22. ปุพโพ หมายถึง น้าหนอง 23. โลหิตัง หมายถึง เลือด 24. เสโท หมายถึง เหงื่อ 25. เมโท หมายถึง น้ามันข้น 26. อัสสุ หมายถึง น้าตา 27. วะสา หมายถึง น้ามันเหลว 28. เขโฬ หมายถึง น้าลาย 29. สิงฆาณิกา หมายถึง น้ามูก 30. ละสิกา หมายถึง น้าไขข้อ 31. มุตตัง หมายถึง น้าปัสสาวะ 32. มัตถะเก มัตถะลุง หมายถึง มันสมองศรีษะ
44
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
45
คาว่า “ ครบสามสิบสอง” พจนานุกรม ฉบับมติชน แปลความหมายว่า มีอวัยวะครบทุกส่วน ไม่มีส่วนใดขาดหรือเกิน ที่ว่า ครบ 32 ประการ มาจากการฝึกจิต ในหัวข้อ กายคตาสติ คือให้ระลึก ถึงส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ที่เรียกว่า โกฏฐาส 32 ประการ แบ่งเป็น 6 หมวด ได้แก่ ปฐวีธาตุ เป็นอาการ 20 และ อาโปธาตุ เป็นอาการ 12
ปฐวีธาตุ คือ อาการ 20 มีดังนี้ 1.เกสา-ผม 4. ทันตา-ฟัน 7. นะหารู-เอ็น 10. วักกัง-ม้าม 13. กิโลมะกัง-พังผืด 16. อันตัง-ไส้ใหญ่ 19. กะรีสัง-อาหารเก่า (อุจจาระ)
2. โลมา-ขน 3. นะขา-เล็บ 5. ตะโจ-หนัง 6. มังสัง-เนื้อ 8. อัฏฐิ-กระดูก 9. อัฏฐิมิญชัง-เยื่อในกระดูก 11. หะทะยัง-หัวใจ 12. ยะกะนัง-ตับ 14. ปิหะกัง-ไต 15. ปัปผาสัง-ปอด 17. อันตะคุณัง-ไส้น้อย 18. อุทะริยัง-อาหารใหม่ 20. มัตถะลุงคัง-มันสมอง
อาโปธาตุ คือ อาการ 12 มีดังนี้ 1. ปิตตัง-น้าดี 4. โลหิตัง-น้าเลือด 8. วะตา-มันเหลว 11. ละสิกา-น้าไขข้อ
2. เสมหัง-เสมหะ 5. เสโท- เหงื่อ6. เมโท-มันข้น 9. เขโฬ-น้าลาย 12. มุตตัง-มูตร (ปัสสาวะ)
3. ปุพโพ-น้าเหลือง 7. อัสสุ-น้าตา 10. สิงคาณิกา-น้ามูก
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
46
ขันหมากเบ็งโบราณเกี้ยวสามสิบสองซ้ายขวา
การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.
ใบตองกล้วยตานี ดอกรักตูม ดอกรักบาน มีด กรรไกร ลวด ลวดเย็บกระดาษ ไม้กลัด ไม้เสียบ ทางมะพร้าว
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
47
ส่วนประกอบขันหมากเบ็งโบราณเกี้ยวสามสิบสองซ้ายขวา การทาขันหมากเบ็งโบราณเกี้ยวสามสิบสองซ้ายขวา จะต้องเตรียมส่วนประกอบพร้อมกัน ทั้ง 2 ขัน ได้แก่ ขันหมากเบ็งเกี้ยวสิบสองซ้าย และขันหมากเบ็งเกี้ยวสิบสองขวา มีส่วนประกอบดังนี้ 1. 2. 3. 4.
โอ้หมากเบ็ง จานวน 2 อัน (ขันซ้าย 1 อัน และ ขันขวา 1 อัน) กลีบหมากเบ็ง จานวน 64 อัน (ขันซ้าย 32 อัน และ ขันขวา 32 อัน) ตีนหมากเบ็ง จานวน 2 อัน (ขันซ้าย 1 อัน และ ขันขวา 1 อัน) ยอดหมากเบ็ง จานวน 2 อัน (ขันซ้าย 1 อัน และ ขันขวา 1 อัน)
ส่วนประกอบขันหมากเบ็งโบราณเกี้ยวสิบสองซ้ายขวา
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
48
วิธีทาโอ้หมากเบ็ง 1. 2. 3. 4.
เช็ดใบตองให้สะอาด ฉีกใบตองขนาด 10x10 นิ้ว จานวน 2 – 3 แผ่น นาใบตองมาวางซ้อนกัน และหงายด้านในของใบตองขึ้น ใช้ไม้ยาววางไว้กึ่งกลางใบตองที่วางซ้อนทับกัน ม้วนเฉียงประมาณ 40 องศา จนสุดใบตอง จัดโอ้เป็นรูปกรวยให้สวยงาม แล้วใช้ลวดเย็บติดให้แน่น
ฉีกใบตองขนาด 10x10 นิ้ว
ไม้ยาววางไว้กึ่งกลางและม้วนใบตอง
จัดโอ้เป็นรูปกรวยให้สวยงาม
ใช้ลวดเย็บโอ้ติดให้แน่น
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
49
วิธีทากลีบหมากเบ็ง 1. 2. 3. 4.
เช็ดใบตองให้สะอาด ฉีกใบตองขนาด ขนาด 1-2x6 นิ้ว จานวน 64 แผ่น หงายด้านในของใบตอง พับใบตองด้านซ้ายและด้านขวาเข้าหากึ่งกลางของใบตอง พับใบตองทั้งสองข้างเข้าหากันเป็นกลีบหมากเบ็ง ใช้ทางมะพร้าวเสียบกลีบหมากเบ็งซ้ายและกลีบหมากเบ็งขวา แยกไว้ข้างละ 32 อัน
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
50
วิธีทาตีนหมากเบ็ง 1. เช็ดใบตองให้สะอาด 2. ฉีกใบตอง ขนาด 2x10 นิ้ว จานวน 2 แผ่น
วิธีทายอดหมากเบ็ง 1. นาดอกรักบาน ใช้ไม้กลัดเสียบ ประมาณ 15 -20 ดอก 2. นาดอกรักตูมดอกใหญ่ - เล็ก ใช้ไม้กลัดเสียบ ประมาณ 35-40 ดอก 3. ดอกรักประดับยอดหมากเบ็ง ใช้ไม้ยาวเสียบดอกบาน ดอกตูมและดอกเล็ก จานวน 3 ดอก
วิธีประกอบขันหมากเบ็งโบราณเกี้ยวสามสิบสองซ้ายขวาวัดท่าสะแบง จัดเตรียมส่วนประกอบขันหมากเบ็งโบราณเกี้ยวสามสิบสองซ้ายขวา ได้แก่ โอ้หมากเบ็ง จานวน 2 อัน กลีบหมากเบ็งซ้าย จานวน 32 อัน กลีบหมากเบ็งขวา จานวน 32 อัน ตีนหมากเบ็ง จานวน 2 อัน ยอดหมากเบ็ง จานวน 2 อัน ดอกรักตูม และดอกรักบาน มีวิธีประกอบตามลาดับ ดังนี้
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
51
วิธีประกอบขันหมากเบ็งโบราณเกี้ยวสามสิบสองซ้าย 1. นากลีบหมากเบ็ง จานวน 32 กลีบ เรียงซ้ายซ้อนกันและใช้ลวดเย็บติดกันเป็นแถวเดียว (ด้านซ้าย) 2. นากลีบหมากเบ็งซ้ายที่เย็บติดกันเป็นแถวเดียว พันไปทางซ้ายรอบตัวโอ้ส่วนบน และพันลดต่าลง ไปถึงฐานโอ้ 3. นาใบตองพันรอบฐานโอ้เป็นตีนหมากเบ็ง ใช้ลวดเสียบติดให้แน่น และตกแต่งให้สวยงาม
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
52
4. นาดอกรักบานใช้ไม้กลัดเสียบก้นดอก แล้วเสียบปิดฐานหมากเบ็ง 1 รอบ 5. นาดอกรักตูมใช้ไม้กลัดเสียบก้นดอก โดยเรียงจากดอกใหญ่ – ดอกเล็ก ใช้เสียบที่ กลีบหมากเบ็ง ต่อจากดอกรักบาน แล้วเสียบซ้ายวนรอบโอ้ไปจนถึงกลีบสุดท้าย 6. ใช้ไม้ยาวเสียบดอกรักประดับยอดหมากเบ็ง 7. จัดตกแต่งขันหมากเบ็งเกี้ยวสามสิบสองซ้ายให้สวยงาม
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
53
วิธีประกอบขันหมากเบ็งโบราณเกี้ยวสามสิบสองขวา 1. นากลีบหมากเบ็ง จานวน 32 กลีบ เรียงขวาซ้อนกันและใช้ลวดเย็บติดกันเป็นแถวเดียว (ด้านขวา) 2. นากลีบหมากเบ็งขวาที่เย็บติดกันเป็นแถวเดียว พันไปทางขวารอบตัวโอ้ส่วนบน และพันลดต่า ลงไปถึงฐานโอ้ 3. นาใบตองพันรอบฐานโอ้เป็นตีนหมากเบ็ง ใช้ลวดเสียบติดให้แน่น และตกแต่งให้สวยงาม
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
54
4. นาดอกรักบานใช้ไม้กลัดเสียบก้นดอก แล้วเสียบปิดฐานหมากเบ็ง 1 รอบ 5. นาดอกรักตูมใช้ไม้กลัดเสียบก้นดอก โดยเรียงจากดอกใหญ่ – ดอกเล็ก ใช้เสียบที่กลีบหมากเบ็ง ต่อจากดอกรักบาน แล้วเสียบขวาวนรอบโอ้ไปจนถึงกลีบสุดท้าย 6. ใช้ไม้ยาวเสียบดอกรักประดับยอดหมากเบ็ง 7. จัดตกแต่งขันหมากเบ็งเกี้ยวสามสิบสองขวาให้สวยงาม
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
55
แหล่งอ้างอิง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน ชุมชนวัดท่าสะแบง อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด http://www.baanmaha.com http://www.cruroj.com
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
56
ภาพกิจกรรมการเรียนรู้ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
57
ภาพกิจกรรมการเรียนรู้ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
58
55
พิธีกรรมและความเชื่อการใช้ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
59
คณะผู้จัดทา
1. พระครูสุทธิวโรภาส 2. พระมหา ดร.ทองจันทร์ กมโล 3. พระอนุสรณ์ ปภัสฺสโร 4. นางลาพอง วิลัยศิลป์ 5. นางวัน วจีภูมิ 6. นางพูน ธุหา 7. นางพร จิตรวุธ 8. นางบุญนอง สนองผัน 9. นางทองเลี่ยม นิลภักดิ์ 10. นางลาไย ฤทธิวุธ 11. นางจาลอง เอกวุธ 12. นางคมทอง จานงค์จิตร 13. นางปราณี 14. ดร.วัชรินทร์ แสนรุ่งเมือง
เจ้าอาวาสวัดท่าสะแบงและประธานโครงการ ผู้ประสานงานและเหรัญญิก ผู้ทรงคุณวุฒิ ภูมิปัญญาพื้นบ้าน ภูมิปัญญาพื้นบ้าน ภูมิปัญญาพื้นบ้าน ภูมิปัญญาพื้นบ้าน ภูมิปัญญาพื้นบ้าน ภูมิปัญญาพื้นบ้าน ภูมิปัญญาพื้นบ้าน ภูมิปัญญาพื้นบ้าน ภูมิปัญญาพื้นบ้าน ภูมิปัญญาพื้นบ้าน ที่ปรึกษาและถอดบทเรียน
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
60
ผญาอธิฐานบูชาขันหมากเบ็ง สาธุเด้อ...คุณท่าน พระศรีอารยราช ขันหมากเบ็ง ข้าน้อย...ยอไหว้ใส่หัว ขอพระภูมินทร์ไท้ มิ่งขวัญไทย อย่าหมองหม่น คนบาปหลายคึดฮ้าย ขอให้พ่ายหลีกไป. เพิ่นว่าบุญบาปนี่ มันหากห่างกันไกล ไผดวงใจมีธรรม ต่อนบุญสิหนุนไว้ ซื่อว่าคนบุญนี่ แม่นฝังดินกะหม่นออก ซาดที่คนบาปฮ้าย แม่นแขนฟ้าห่ากะกิน.
ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
61
สิบเอ็ดประตูเมืองงาม เรืองนามพระสูงใหญ่ ผ้าไหมสาเกต
บุญผะเหวดประเพณี
มหาเจดีย์ชัยมงคล
งามน่ายลบึงพลาญชัย
เขตกว้างไกลทุ่งกุลา
โลกลือชาข้าวหอมมะลิ