คู่มือข้าวกล้องงอกหอมมะลิวัดท่าสะแบง ตำบลมะบ้า อำเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด ปศท.๒

Page 1

ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

1


ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

2

คานา คูํมือการเรียนรู๎เลํมนี้ จัดทาขึ้นเพื่อประกอบการเรียนรู๎โครงการวิถีชีวิตไทยสูํสุขภาวะ 3 วัย ในชุมชนวัดทําสะแบง กิจกรรมที่ 3 เรื่อง สํงเสริมอาชีพข๎าวกล๎องงอกหอมมะลิชุมชนวัดทําสะแบง เป็นสะท๎อนวิถีชีวิตการทานาของชาวอีสานที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษ ของคนในชุมชนวัดทําสะแบง หมูํที่ 4 และ หมูํที่ 7 บ๎านทําสะแบง ตาบลมะบ๎า อาเภอทุํงเขาหลวง จังหวัดร๎อยเอ็ด โดยยึดหลัก เศรษฐกิจแบบพอเพียงเป็นแนวทางการดาเนินชีวิตและประยุกต์ใช๎กับภูมิปัญญาพื้นบ๎านของเกษตรกร ในการทาข๎าวกล๎องงอกหอมมะลิ เพื่อเป็นอาชีพเสริมการสร๎างรายได๎เพิ่มให๎กับครอบครัว ทาให๎บุคคล ในชุมชนทําสะแบงรู๎จักพึ่งพาตนเอง การมีสํวนรํวมชํวยเหลือ ซึ่งกันและกันของชุมชนในการสร๎าง มูลคําเพิ่ม สํงผลให๎ชุมชนเข๎มแข็ง เกิดความสามัคคี และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น คูํมื อการเรียนรู๎เลํม นี้ ได๎ส าเร็จสมบูรณ์และเป็นรูปเลํมที่ส วยงาม คณะผู๎จัดทาขอกราบ นมั ส การพระภิก ษุ สามเณร วัดทํ า สะแบงทุก รูป ขอขอบคุณภูมิปัญญาพื้ นบ๎านและผู๎รู๎ที่มีสํวน เกี่ยวข๎องทุกทําน ขอขอบคุณ อาจารย์ ดร.วัชรินทร์ แสนรุํงเมือง ที่ปรึกษาโครงการและถอดบทเรียน ให๎สาเร็จลุลํวงด๎วยดี หวังเป็นอยํางยิ่งวําคูํมือการเรียนรู๎เลํมนี้ คงจะเกิดประโยชน์แกํผู๎ศึกษาเรียนรู๎และผู๎ที่สนใจ ในการผลิตข๎าวกล๎องงอกหอมมะลิให๎ดารงอยูํคูํกับสังคมไทยอยํางยั่งยืนตลอดไป

คณะผู๎จัดทา ชุมชนวัดทําสะแบง


ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

3

สารบัญ เรื่อง คานา สารบัญ ประวัติวัดทําสะแบง หลักการและเหตุผล จุดประสงค์ เป้าหมาย วิธีดาเนินการ ประโยชน์ที่คาดวําได๎รับ โครงสร๎างหลักสูตรการเรียนรู๎ ประวัติความเป็นมาของข๎าวหอมมะลิ ประโยชน์และคุณคําทางอาหารของข๎าว การปลูกข๎าวหอมมะลิ การเก็บเกี่ยวข๎าวหอมมะลิ การเลือกข๎าวเปลือกหอมมะลิ การสีข๎าวเปลือกหอมมะลิ การผลิตข๎าวกล๎องงอกหอมมะลิ การแชํข๎าวและการตากข๎าวกล๎องหอมมะลิ สารอาหารในข๎าวกล๎องงอกหอมมะลิ ประโยชน์ของข๎าวกล๎องงอกหอมมะลิ การบรรจุภัณฑ์ การจาหนํายผลผลิต แหลํงอ๎างอิง ภาพกิจกรรมการเรียนรู๎ในชุมชนวัดทําสะแบง คณะผู๎จัดทา

หน้า 1 2 3 6 6 7 8 10 11 12 13 16 27 28 30 31 33 37 39 45 46 47 48 51


ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

4

วัดท่าสะแบง คาขวัญวัดท่าสะแบง ขันหมากเบ็งท่าสะแบง แหล่งเรียนรู้วัฒนธรรม งามเลิศล้าประเพณี แม่น้าชีแข่งเรือยาว หลวงปู่ขาวตระการตา ศูนย์การศึกษา ICT ประวัติความเป็นมา วัดทําสะแบง ตั้งอยูํเลขที่ 97 บ๎านทําสะแบง หมูํที่ 4 ตาบลมะบ๎า อาเภอทุํงเขาหลวง จังหวัดร๎อยเอ็ด สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 6 ไรํ 50 ตารางวา ส.ค. 1 เลขที่ 329 ตั้งขึ้นปี พ.ศ. 2405 เดิมชื่อ “วัดตาลทําสะแบง” ตํอมาปี พ.ศ. 2481 เปลี่ยนชื่อเป็น “วัดทําสะแบง” และได๎รับพระราชทานวิสุงคามสีมา ในวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481 นับตั้งแตํนั้นมา จนถึงปัจจุบัน มีเขตวิสุงคามสีมา ขนาดกว๎าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร ที่ธรณีสงฆ์ จานวน 1 แปลง เนื้อที่ 3 ไรํ 15 ตารางวา ในอดีตได๎สร๎างไว๎เป็นศาลา กลางหมูํบ๎านทําสะแบง ปัจจุบันได๎สร๎างเป็นแหลํงการเรียนรู๎ ศูนย์ปฐมวัย และศูนย์รวม กลุํมแมํบ๎าน ในชุมชนวัดทําสะแบง

อาณาเขต ทิศเหนือ ทิศใต๎ ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก

มีเนื้อที่ 2 เส๎น 18 วา มีเนื้อที่ 4 เส๎น 2 วา มีเนื้อที่ 4 เส๎น 6 วา มีเนื้อที่ 4 เส๎น 4 วา

ติดกับถนนสาธารณะบ๎านทําสะแบง ติดกับที่ดินของนางอิน ศิริสาร ติดกับแมํน้าชี ติดกับถนนสาธารณะบ๎านทําสะแบง

อาคารเสนาสนะ ประกอบด๎วย 1. อุโบสถ ขนาดกว๎าง 6 เมตร ยาว 16 เมตร เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก สร๎างเมื่อ พ.ศ. 2529 2. ศาลาการเปรียญ ขนาดกว๎าง 15 เมตร ยาว 20 เมตร สร๎างเมื่อ พ.ศ. 2533 3. กุฎีสงฆ์ จานวน 3 หลัง เป็นอาคารครึ่งตึกครึ่งไม๎ 4. ปูชนียวัตถุ มีพระประธานในอุโบสถ เนื้อโลหะ สร๎างเมื่อปี พ.ศ. 2526 มีพระประธานที่ศาลา การเปรียญ จานวน 1 องค์ และพระประธานที่กุฎี จานวน 1 องค์


ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

5

การบริหารและการปกครอง มีเจ๎าอาวาสเทําที่ทราบนาม ดังนี้ 1. 2. 3. 4.

พระครูขันติภิรมย์ เป็นเจ๎าอาวาสระหวํางปี พ.ศ. 2441 – พ.ศ. 2498 เจ๎าอธิการคูณ ฐิตปญฺโญ เป็นเจ๎าอาวาสระหวํางปี พ.ศ. 2499 – พ.ศ. 2528 พระอธิการรัศมี ปญฺญวโร เป็นเจ๎าอาวาสระหวํางปี พ.ศ. 2529 – พ.ศ. 2537 พระครูสิทธิวโรภาส (สะอาด ปภสฺสโร) เป็นเจ๎าอาวาสระหวํางปี พ.ศ. 2538 – ปัจจุบัน

สิ่งก่อสร้างถาวรวัตถุ ประกอบด๎วย 1. ศาลาการเปรียญ 2 ชั้น มีขนาดกว๎าง 12 เมตร ยาว 32 เมตร วางศิลาฤกษ์ ในวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2548 เริ่มดาเนินการกํอสร๎าง เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2548 และสร๎างเสร็จในปี พ.ศ. 2552 2. พระพุทธสิรินทรมหามุนี (หลวงปู่ขาว) เป็นพระพุทธรูปปูนปั้นสีขาว ขนาดหน๎าตักกว๎าง 7.85 เมตร สูง 11.50 เมตร สร๎างเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน – วันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2549 ใช๎เวลาในการกํอสร๎าง รวม 29 วัน ใช๎งบประมาณกํอสร๎างประมาณ 800,000 บาทเศษ 3. หอระฆัง สร๎างเมื่อวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2551 สร๎างเสร็จวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2552 ใช๎งบ กํอสร๎างประมาณ 500,000 บาท


ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

6

4. ศูนย์การเรียนรู๎ ICT ได๎รับงบสนับสนุนเครื่องคอมพิวเตอร์ จานวน 21 เครื่อง จากกระทรวง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยใช๎งบประมาณของทางวัดทําสะแบง ในการกํอสร๎างศูนย์ การเรียนรู๎ ICT ประมาณ 350,000 บาท กํอสร๎าง เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน – 24 สิงหาคม พ.ศ. 2553 เพื่อใช๎เป็นแหลํงเรียนรู๎ในชุมชนวัดทําสะแบง 5. กุฎีสงฆ์ จานวน 1 หลัง เป็นอาคารครึ่งตึกครึ่งไม๎ สร๎างเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ – 30 เมษายน พ.ศ. 2554 ใช๎งบกํอสร๎างประมาณ 450,000 บาท 6. ห๎องน้า จานวน 5 ห๎อง สร๎างเมื่อเดือนมีนาคม – เมษายน พ.ศ. 2554 ใช๎งบกํอสร๎างประมาณ 100,000 บาท

เขตการปกครอง ในอดีต วัดทําสะแบงอยูํในเขตการปกครองของอาเภอธวัชบุรี แบํงเขตการปกครองเป็น 2 กิ่ง ได๎แกํ กิ่งอาเภอเชียงขวัญและกิ่งอาเภอทุํงเขาหลวง ตํอมาทางราชการจึงได๎แตํงตั้งยกกิ่งอาเภอทั้ง 2 กิ่ง เป็นอาเภอ คือ อาเภอเชียงขวัญ และอาเภอทุํงเขาหลวง เมื่อวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2550 วัดทําสะแบง จึงได๎อยูํเขตการปกครองของอาเภอทุํงเขาหลวง นับตั้งแตํนั้นมาจนถึงปัจจุบัน.


ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

7

โครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย (ปศท.2) ชื่อโครงการ วิถีชีวิตไทยสูํสุขภาวะ 3 วัยในวัดทําสะแบง Thai Way of Life on Holistic Health of 3 Ages in Tha Sabang Temple. กิจกรรมที่ 3 สํงเสริมอาชีพข๎าวกล๎องงอกหอมมะลิวัดทําสะแบง หลักการและเหตุผล ข๎าวเป็นธัญญาหารที่สาคัญที่สุดของคนอีสาน เป็นสายใยร๎อยความสัมพันธ์ระหวํ างมนุษย์กับ สัตว์ สิ่งแวดล๎อมและทรัพยากรธรรมชาติอยํางลึกซึ้ง การเกื้อกูลซึ่งกันและกัน อันเป็นหนทางที่จะนา ไปสูํความราบรื่นในการดาเนินชีวิตภายใต๎ความสมดุลทางธรรมชาติ ชุมชนบ๎านทําสะแบงตั้งอยูํริมฝั่ง แมํน้าชี ซึ่งเป็นแมํน้าสายหลักที่อุดมสมบูรณ์หลํอเลี้ยงชีวิตสรรพสิ่งในพื้นที่ ภาคอีสาน ดังนั้นชุมชน บ๎านทําสะแบงจึงยึดการทานาเป็นอาชีพหลัก เพราะสามารถทานาได๎ปีละ 2 ครั้ง เมื่อถึงฤดูกาลทานา เกษตรกรในชุมชนบ๎านทําสะแบงจะเตรียมตัวจัดการกับขั้นตอนการปลูกข๎าวให๎ดีที่สุด และได๎ผลผลิต ตํอไรํมากที่สุด ข๎าวที่ปลูกสํวนใหญํเป็นข๎าวเหนียวและข๎าวหอมมะลิ เกษตรกรในชุมชนวัดทําสะแบง ได๎ประยุกต์ใช๎หลักเศรษฐกิจพอเพียงควบคูํกับภูมิปัญญาพื้นบ๎านในการผลิตข๎าวกล๎องงอกหอมมะลิ โดยยึดหลักการพึ่งตนเอง ความสามัคคีในชุมชน การชํวยเหลือซึ่งกันและกัน การพัฒนาแบํงเป็น 3 ขั้นตอน ได๎แกํ ขั้นตอนการผลิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงที่เกษตรกรสามารถเลี้ยงตัวเองได๎กํอนแล๎ว พัฒนาไปสูํ การพออยูํ พ อกิ น ขั้ น ตอนการรวมพลั งในรูปกลุํมหรือสหกรณ์ใ นการผลิต การตลาด ความเป็ นอยูํ เพื่ อ สร๎า งชุ มชนให๎เข๎ ม แข็ ง สมาชิก มีสํวนรํวมในการพัฒนา และขั้นตอนการสร๎าง เครือขํายกลุํม กิจกรรมให๎หลากหลายโดยประสานความรํวมมือกับ ชุมชน เพื่อนาไปสูํการลดต๎นทุน และเพิ่มผลประโยชน์ โดยยึดตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ทาให๎เกษตรกรในชุมชนบ๎านทําสะแบง มีกิจกรรมการผลิต ข๎าวที่ตํอเนื่องตลอดปี มีอาหารเพี ยงพอตํอการบริโภคในครัวเรือน มีผลผลิต การเกษตรจาหนํายเป็นอาชีพเสริมสร๎างรายได๎เพิ่มของครัวเรือน สํงผลให๎ชุมชนเข๎มแข็ง มีสุขภาวะที่ดี และมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสํงเสริมภูมิปัญญาพื้นบ๎านการทานาโดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช๎ในชีวิตประจาวัน 2. เพื่อสํงเสริมการผลิตข๎าวกล๎องงอกหอมมะลิในชุมชนวัดทําสะแบง 3. เพื่อสํงเสริมอาชีพให๎เกษตรกรในชุมชนวัดทําสะแบงมีรายได๎เพิ่มในครัวเรือน


ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

8

เป้าหมาย เชิงปริมาณ เด็ก ผู๎ใหญํ และ ผู๎สูงอายุ หมูํที่ 4 และ หมูํที่ 7 บ๎านทําสะแบง ตาบลมะบ๎า อาเภอทุํงเขาหลวง จังหวัดร๎อยเอ็ด จานวน 30 คน เชิงคุณภาพ กลุํมเป้าหมาย จานวน 30 คน ได๎เรียนรู๎เกี่ยวกับวิธีการผลิตข๎าวกล๎องงอกหอมมะลิ ในชุมชนวัดทําสะแบง คิดเป็นร๎อยละ 80 ระยะเวลาดาเนินการ เริ่มตั้งแตํ 1 เมษายน 2554 – 1 เมษายน 2555 สถานที่ดาเนินการ ชุมชนวัดทําสะแบง ตาบลมะบ๎า อาเภอทุํงเขาหลวง จังหวัดร๎อยเอ็ด หน่วยงานที่รับผิดชอบ วัดทําสะแบง ตาบลมะบ๎า อาเภอทุํงเขาหลวง จังหวัดร๎อยเอ็ด

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1. วัดทําสะแบง ตาบลมะบ๎า อาเภอทุํงเขาหลวง จังหวัดร๎อยเอ็ด 2. บ๎านทําสะแบง หมูํที่ 4 ตาบลมะบ๎า อาเภอทุํงเขาหลวง จังหวัดร๎อยเอ็ด 3. บ๎านทําสะแบง หมูํที่ 7 ตาบลมะบ๎า อาเภอทุํงเขาหลวง จังหวัดร๎อยเอ็ด

ผู้รับผิดชอบ คณะทางานโครงการ ประกอบด๎วย 1. พระครูสุทธิวโรภาส เจ๎าอาวาสวัดทําสะแบง ประธาน 2. พระอนุสรณ์ ปภัสฺสโร วัดทําสะแบง รองประธาน 3. พระมหา ดร.ทองจันทร์ กมโล วัดทําสะแบง ผู๎ประสานงาน 4. คณะสงฆ์วัดทําสะแบงทุกรูป วัดทําสะแบง กรรมการ 5. นายบุญเสริม เครือน้าคา กานันตาบลมะบ๎า กรรมการ 6. นายประพันธ์ ดิลกศรี ผู๎ใหญํบ๎านหมูํ 4 กรรมการ 7. นายธารง ทิพยสาร ผู๎ใหญํบ๎านหมูํ 7 กรรมการ 8. นายประดิษฐ์ ฤทธิวุฒิ ผู๎ชํวยผู๎ใหญํบ๎านหมูํ 4 กรรมการ 9. นางวิภา ชุดขุนทด ผู๎ชํวยผู๎ใหญํบ๎านหมูํ 7 กรรมการ 10. นางคมทอง จานงค์จิตร สารวัตรกานันตาบลมะบ๎า กรรมการ 11. นางสุปรียา ทิพยสาร สารวัตรกานันตาบลมะบ๎า กรรมการ 12. นายสุพจน์ จันทภูมิ บ๎านทําสะแบง กรรมการ 13. นายประจันทร์ ใจขาน บ๎านทําสะแบง กรรมการ 14. นางสาวกัตติกา ชุดขุนทด บ๎านทําสะแบง กรรมการ 15. นายพิบูลย์ เกษเพชร บ๎านทําไคร๎ กรรมการ 15. ดร.วัชรินทร์ แสนรุํงเมือง นักวิชาการ ที่ปรึกษาและถอดบทเรียน


ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

9

วิธีดาเนินการ กิจกรรมที่ 3 สํงเสริมอาชีพข๎าวกล๎องงอกหอมมะลิชุมชนวัดทําสะแบง มีรายละเอียดดังนี้ กิจกรรม ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมคณะทางาน 2. แตํงตั้งคณะทางาน 3. วางแผนการทางาน ขั้นดาเนินการ 1.จัดทาคูํมือสํงเสริมอาชีพ ข๎าวกล๎องงอกหอมมะลิวัดทําสะแบง 2. ประสานกับองค์กรที่เกี่ยวข๎อง 3. ประชาสัมพันธ์การทางาน 4. ดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู๎ 4.1 ประชุมกลุํมเป้าหมาย 4.2 การปลูกข๎าวหอมมะลิ 4.3 การจัดซื้อข๎าวเปลือกหอมมะลิ 4.4 การผลิตข๎าวกล๎องงอกหอมมะลิ 4.5 การบรรจุภัณฑ์ 4.6 การจาหนํายผลิตภัณฑ์ 4.7 การจัดนิทรรศการ ขั้นประเมินผล 1. สังเกตการเข๎ารํวมกิจกรรม 2. การตอบแบบสอบถาม 3. สรุปผลการดาเนินงาน 4. รายงานผลการจัดทาโครงการ และถอดบทเรียน

ระยะเวลา

งบประมาณ

ผู้รับผิดชอบ

1 เมษายน 2554 – 30 เมษายน 2554

2,000 1,500 -

1 พฤษภาคม 2554 – 31 พฤษภาคม 2554

3,000

1. ประธานโครงการ 2. คณะทางานโครงการ 3. ผู๎ประสานงาน โครงการและเหรัญญิก 4. ที่ปรึกษาโครงการ และถอดบทเรียน

4,000 1 มิถุนายน 2554 – 24 ธันวาคม 2554

13,500

30 ธันวาคม 2554

3,000

1 มิถุนายน 2554 – 29 กุมภาพันธ์ 2555 30 ธันวาคม 2554 – 29 กุมภาพันธ์ 2555

3,000


ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

10

กิจกรรมที่ 3 สํงเสริมอาชีพข๎าวกล๎องงอกหอมมะลิวัดทําสะแบง ได๎รับงบประมาณ สนับสนุน 30,000 บาท มีรายละเอียดในการดาเนินกิจกรรม ดังนี้

รายการ 1. คํารับรองการประชุมคณะทางาน 2. คําตอบแทนพิจารณาโครงการ 3. คําจัดทาคูํมือสํงเสริมอาชีพการทาข๎าวกล๎องงอก วัดทําสะแบง จานวน 100 เลํม 4. คําตอบแทนวิทยากร 5. คําตอบแทนบุคคลภายนอกมาชํวยงาน 6. คําวัสดุในการฝึกปฏิบัติ 7. คําสถานที่ประชุม 8. คําจัดทาสื่อและแผํนป้ายประชาสัมพันธ์ 9. คําวัสดุสานักงาน 10. คําพาหนะเดินทาง 11. คําจัดนิทรรศการ รวม

จานวนเงิน/ บาท 2,000 1,500 3,000 --

3,000 2,000 6,500 2,500 4,000 500 1,000 4,000 30,000

ผู๎รับผิดชอบ 1. ประธานโครงการ 2. คณะทางานโครงการ 3. ผูป๎ ระสานงานโครงการ และเหรัญญิก 4. ที่ปรึกษาโครงการและ ถอดบทเรียน

-


ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

11

การวัดและประเมินผล ตัวบ่งชี้สภาพความสาเร็จ ด้านผลผลิต (OUTPUT) 1. เพื่อสํงเสริมภูมิปัญญาพื้นบ๎านการ ทานาโดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง มาปรับใช๎ในชีวิตประจาวัน 2. เพื่อสํงเสริมการผลิตข๎าวกล๎องงอก หอมมะลิในชุมชนวัดทําสะแบง 3. เพื่อสํงเสริมอาชีพให๎เกษตรกร ในชุมชนวัดทําสะแบงมีรายได๎เพิ่ม ในครัวเรือน

การจัดกิจกรรม การเรียนรู้

การวัดและ ประเมินผล

-การอธิบาย -การบรรยาย -การสาธิต -การปฏิบัติ -การจัดนิทรรศการ

-การสังเกต -การเข๎ารํวมกิจกรรม -การทากิจกรรม -การถามคาถาม -การตอบคาถาม -ประเมินผลงาน

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. เพื่อสํงเสริมภูมิปัญญาพื้นบ๎านการทานาโดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง 2. เพื่อสํงเสริมการผลิตข๎าวกล๎องงอกหอมมะลิในชุมชนวัดทําสะแบง 3. เพื่อสํงเสริมอาชีพให๎เกษตรกรมีรายได๎เพิ่มในครัวเรือน 4. บุคคลในชุมชนวัดทําสะแบงอยูํรํวมกันอยํางสันติสุขและพึ่งพาตนเองได๎ 5. บุคคลในชุมชนวัดทําสะแบงมีสุขภาวะที่ดี และมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น

เครื่องมือที่ใช้

-แบบสังเกต -คาถาม/คาตอบ -แบบประเมิน ผลงาน


ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

12

โครงสร้างหลักสูตรการเรียนรู้ โครงการวิถีชีวิตไทย สู่สุขภาวะ 3 วัย ในชุมชนวัดท่าสะแบง กิจกรรมที่ 3 เรื่อง ส่งเสริมอาชีพการทาข้าวกล้องหอมมะลิวัดท่าสะแบง ครั้งที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12

วัน เดือน ปี 7 พ.ค. 54 14 พ.ค. 54 4 – 25 มิ.ย. 54 2 ก.ค. – 30 ก.ค. 54 6 – 13 ส.ค. 54 20 – 27 ส.ค. 54 3 ก.ย. – 24 ก.ย. 54 1 ต.ค. – 29 ต.ค. 54 5 พ.ย. – 26 พ.ย. 54 3 ธ.ค. – 24 ธ.ค. 54 30 ธ.ค. 54 30 ธ.ค. 54

กิจกรรมการเรียนรู้ ประวัติความเป็นมาของข๎าวหอมมะลิ ประโยชน์และคุณคําทางอาหาร การปลูกข๎าวหอมมะลิ การเกี่ยวข๎าวหอมมะลิ วิธีการผลิตข๎าวกล๎องหอมมะลิ การเลือกข๎าวเปลือก การสีข๎าวกล๎องหอมมะลิ การแชํข๎าวและการตากข๎าว การบรรจุภัณฑ์ การจาหนําย การจัดนิทรรศการ การประเมินผล รวม

เวลา/ชม. 2 2 3 3 2 2 4 6 6 8 5 2 45


ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

13

ประวัติความเป็นมาของข้าวหอมมะลิ ข้าวหอมมะลิ (Thai jasmine rice) เป็นสายพันธุ์ข๎าวที่มีถิ่นกาเนิดในประเทศไทย มีลักษณะ กลิ่นหอมคล๎ายใบเตย เป็นพันธุ์ข๎าวที่ปลูกที่ไหนในโลกไมํได๎คุณภาพดีเทํากับปลูกในไทย และเป็น พันธุ์ข๎าวที่ทาให๎ข๎าวไทยเป็นสินค๎าสํงออกที่รู๎จักไปทั่วโลก ในปี พ.ศ. 2497 นายทรัพธนา เหมพิจิตร ผู๎จัดการบริษัทการสํงออกข๎าว จังหวัดฉะเชิงเทรา ได๎รวบรวมพันธุ์ข๎าวหอมในเขตอาเภอบางคล๎า ได๎ จานวน 199 รวง ดร.ครุย บุณยสิงห์ (ผู๎อานวยการกองบารุงพันธุ์ข๎าวในขณะนั้น) ได๎สํงไปปลูกคัดพันธุ์ บริสุทธิ์และเปรียบเทียบพันธุ์ที่ สถานีทดลองข๎าวโคกสาโรง (ขณะนี้เป็นสถานีข๎าวลพบุรี) ดาเนินการ คัดพันธุ์โดยนักวิชาการเกษตรชื่อนายมังกร จูมทอง ภายใต๎การดูและของนายโอภาส พลศิลป์ หัวหน๎า สถานีทดลองข๎าวโคกสาโรง จนกระทั่งปี พ.ศ. 2502 ได๎พันธุ์บริสุทธิ์ข๎าวขาวดอกมะลิ 4-2-105 และ คณะกรรมการพิจารณาพันธุ์ ข๎าวได๎อนุมัติให๎เป็นพันธุ์สํงเสริมแกํเกษตรกร เมื่อ วันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2502 โดยเกษตรกรทั่วไปเรียกวํา ขาวดอกมะลิ 105 ตํอมาได๎มีการปรับปรุงพันธุ์ข๎าวขาวดอกมะลิ 105 จนได๎ข๎าวพันธุ์ กข 15 ซึ่งกระทรวงพาณิชย์ประกาศให๎ ข๎าวทั้ง 2 พันธุ์เป็นข๎าวหอมมะลิไทย

ด๎วยประเทศไทยเป็นประเทศเดียวในโลกที่สามารถผลิตข๎าวหอมมะลิคุณภาพดี และพื้นที่ ที่สามารถปลูกข๎าวหอมมะลิเกรดดีได๎ก็ยังจากัด เฉพาะบางจังหวัดใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย เทํานั้น ถึงแม๎ทุกวันนี้เราสามารถหาข๎าวหอม มะลิบริโภคในชีวิตประจาวันได๎อยํางงํายดาย แตํเป็นที่นํา เสียดายที่ข๎าวหอมมะลิ ที่กวําจะมาถึงให๎เราได๎บริโภคนั้น ผํานการขัดสีมานานจนความหอมอันเป็น เสนํห์ ของข๎าวหอมมะลิได๎สูญหายไปหมดแล๎ว เราจึงรู๎จักแตํเพียงบริโภคข๎าวที่ขาวแตํ ไมํเคยสัมผัสถึง กลิ่นหอมของข๎าวหอมมะลิเลย ซ้ายังอาจจะต๎องรับประทานสาร ปนเปื้อนประเภทกันมอดกันแมลงที่ ทางผู๎ค๎าข๎าวใสํลงไปเพื่อป้องกันไมํให๎มีมอด และแมลงลงไปกินข๎าวสารอีกด๎วย


ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

14

ลักษณะเฉพาะของกลิ่นข้าวหอมมะลิ ความหอมของข๎าวหอมมะลิ เกิดจากสารระเหยชื่อ 2-acetyl-1-pyroline ซึ่งเป็นสารที่ระเหย หายไปได๎ การรักษาความหอมของข๎าวหอมมะลิให๎คงอยูํนานนั้นจึงควรเก็บข๎าวไว๎ในที่เย็น อุณหภูมิ ประมาณ 15 องศาเซลเซียส เก็บข๎าวเปลือกที่มีความชื้นต่า 14-15% ลดความชื้นข๎าวเปลือกที่อุณหภูมิ ไมํสูงเกินไป นักการเกษตรกรบางทํานกลําววํา การใช๎ปุ๋ยโปตัสเซียมในการปลูก มีแนวโน๎มชํวยให๎ข๎าว มีกลิ่นหอมมากขึ้น

ประโยชน์และคุณค่าทางอาหารของข้าว ข้าว นอกจากจะใช๎เป็นอาหารหลักของมนุษย์แล๎ว ในวงการแพทย์แผนโบราณตั้งแตํอดีต ก็ยังมีการนาสํวนตํางๆ จากรากข๎าวถึงซังข๎าวมาใช๎เป็นยาบารุงกาลัง หรือรักษาอาการ ของโรค ดังนี้ รากข้าว ใช๎รากของต๎นข๎าวที่ต๎นสูงประมาณ 10 นิ้ว มาประกอบทาเป็นยาแก๎โรคซาง โรคตานขโมย ในเด็ก รวงข้าว ใช๎รวงข๎าวที่กาลังออกเป็นน้านม บีบเอาแตํน้า นามากวนเจือน้าตาลเล็กน๎อย ใช๎เป็นยาบารุง กาลังคนไข๎อาการหนัก ซังข้าว คือ ต๎นข๎าวที่เก็บเกี่ยวเมล็ดไปแล๎วนามาใช๎ทาเป็นยาขับ ประจาเดือนในสตรี ข้าวเปลือก ข๎าวเปลือกใหมํๆ มีละอองสีขาวปน นามาต๎มดื่มแก๎โรคกษัย ข้าวสาร ใช๎ข๎าวสารตาให๎เมล็ดข๎าวแตกละเอียด ผสมน้าเปลําเทํากับปริมาณข๎าวสาร คนให๎เข๎ากันดี แล๎วเอามาทาตามบริเวณที่มีลมพิษขึ้น นอกจากนั้นถ๎าตาจนละเอียดแล๎วผสมน้าจนเหนียวใช๎พอกที่ปวด บวมตามรํางกาย ใช๎ประกอบพิธีกรรม ด๎วยเวทมนต์คาถาเพื่อพอกตามรํางกายแก๎คุณไสยตํางๆ


ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

15

ข้าวกล้องและราข้าว นาทั้งสองอยํางมาเทําๆ กัน ตาให๎เข๎ากัน ละลายน้าหรือสุรา ใช๎พอกบริเวณที่เป็น ฝีเพื่อเรํงให๎หนองแตกเร็วขึ้น ข้าวใหม่ คือ ข๎าวที่เพิ่งเก็บเกี่ยว และสีออกใหมํๆ นามาหุงกินทาให๎เจริญกาลัง จะเห็นวําในชนบท เมื่อถึงฤดูเก็บเกี่ยว เมื่อได๎ข๎าวใหมํๆ จะต๎องเอาไปฝากผู๎หลักผู๎ใหญํที่นับถือ หรือตักบาตร เพราะเชื่อวํา ข๎าวใหมํๆ เป็นข๎าวที่ดีที่สุด และของที่ดีต๎องตักบาตร หรือให๎ผู๎ใหญํกํอน ข้าวยาคู นาเมล็ดข๎าวอํอนที่เรียกวํา น้านมมาตาคั้นเอาน้าผสมกับน้านมวัว น้าตาล เตยหอม กวนให๎ เข๎ากัน ใช๎รับประทานเป็นยาชูกาลัง แก๎ไขอํอนเพลียในคนที่ฟื้นไข๎ใหมํๆ ข้าวสารดา นาข๎าวสารที่มีสีดามาแชํกับน้าฝนกลางหาว (คือน้าฝนที่รองจากกลางแจ๎งไมํผํานหลังคา) ใช๎หยอดรักษาโรคตา ข้าวสารข้างครก คือ ข๎าวสารที่ตกอยูํข๎าวครกในเวลาที่ตาข๎าวซ๎อมมือ นามาบด ใสํเกลือเล็กน๎อย บีบน้ามะนาวเป็นกระสายใช๎กวาดลิ้นเด็กแก๎โรคทราง ข้าวสารคั่ว คือ ข๎าวสารที่นามาคั่ว ใช๎ไฟพอไหม๎เกรียม นาไปแชํน้าดื่มบารุงกาลัง แก๎กระหายน้า หรือ ใช๎ทาเป็นกระสายยา ใช๎ข๎าวสารกับเกลือปนอยํางละเทําๆ กัน คั่วจนข๎าวสารออกเป็นสีน้าตาลเข๎มเกือบ ไหม๎ แล๎วนาไปต๎มจนเดือด ทิ้งไว๎พออุํน ดื่มแก๎ปวดท๎อง นอกจากนั้นข๎าวสารที่คั่วร๎อนๆ นามาหํอผ๎าทา เป็นลูกประคบใช๎ประคบคนเป็นลม มือเท๎าเย็น หรือคนที่ตกน้าตัวเย็น ข้าวตอก คือ ข๎าวเปลือกคั่วจนเมล็ดพอง เปลือกแตกหลุดออก รับประทานบารุงกาลัง เจริญธาตุ ข้าวไหม้ คือ ข๎าวที่หุงติดก๎นหม๎อไหม๎ รับประทานบารุงกาลัง แก๎กระหายน้า ข้าวติดหน้าตะโพน คือ ข๎าวสุกผสมขี้เถ๎า ปั้นติดที่หน๎าตะโพน (เครื่องพิณพาทย์) นามาต๎มน้าดื่ม แก๎ โรคบิค แก๎ตกเลือด ข้าวตากคั่ว คือ ข๎าวที่หุงสุกแล๎วตากแห๎งนาไปคั่ว ปรุงเป็นยาแก๎โลหิต ขับประจาเดือน ข้าวบูด คือ ข๎าวสุกบูด เคล๎ากับน้าจนเหนียว ใช๎พอกหัวฝีดูดหนอง แก๎ปวดฝี ข้าวเคี้ยว คือ ข๎าวสุกที่ใสํปากเคี้ยวให๎แหลก ใช๎ป้อนเด็กอํอนที่ไมํมีแมํ (แตํในกรณีนี้ไมํขอแนะนา เพราะถ๎าหากคนที่เคี้ยวมีการติดเชื้อหรือเป็นโรคเกี่ยวกับชํองปาก จะทาให๎เกิดการแพรํเชื้อไปสูํเด็กได๎) ข้าวเผา คือ ข๎าวสุกปั้นเป็นก๎อนขนาดเทําลูกมะกรูด เผาไฟให๎เป็นถําน แชํน้าปูนใส 1 คืน รินเอาน้า ดื่มแก๎โรคกระเพาะ น้าซาวข้าว คือ น้าที่ได๎จากการซาวข๎าวสารเวลาหุง ใช๎เป็นน้ากระสายยาแผนโบราณหลายชนิด ใช๎มือ จุํมน้าแชํ แก๎อาการปวดแสบร๎อน จากการถูกพริก น้าข้าว คือ น้าที่ได๎จากการหุงข๎าวแบบเช็ดน้า ใสํเกลือนิดหนํอย ใชํดื่มแทนน้านมวัว ชํวยบารุง กาลัง คนมีครรภ์ใช๎ดื่มแก๎คลื่นไส๎ แพ๎ท๎องได๎ ใช๎แก๎โรคกาเดาออกบํอยๆ


ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

16

ฟองน้าข้าว คือ ฟองของน้าข๎าว ที่กาลังหุง และเดือด ช๎อนเอาทาบริเวณมุมปากที่เปื่อย หรือแก๎โรค ปากเปื่อยได๎ น้ามันราข้าว เป็นน้ามันที่สกัดได๎จากราข๎าว ใช๎ทาแก๎โรคขี้กลากน้านม ข้าวซ้อมมือ เป็นข๎าวที่กะเทาะเปลือกโดยใช๎ครกกระเดื่อง หรือครกไม๎ตา แล๎วนามา ฝัดแยกแกลบออก ข๎าวอาจมีการแตกหักบ๎าง ข้าวกล้อง คือ ข๎าวที่สีหรือตาพอเปลือกหลุดออก แล๎วนามาหุงกิน บารุงรํางกาย และป้องกันโรค เหน็บชา สมัยกํอนมีข๎าวตา หรือ “ข๎าวซ๎อมมือ” ซึ่งมีคุณคําทางอาหารใกล๎เคียงกัน (ซึ่งได๎จากการตา ด๎วยครกกระเดือง) ข้าวมันปู เป็นข๎าวที่มีสีน้าตาลแดงแม๎วําผํานการขัดสีหลายครั้ง ทาให๎ผู๎บริโภคเข๎าใจผิดวําเป็นข๎าวกล๎อง ถ๎าเป็นข๎าวมันปูกล๎องต๎องมีคัพภะข๎าวติดอยูํ จึงจะเป็นข๎าวที่มีคุณคําอาหารสูง ข้าวหอมมะลิแดง เป็นข๎าวที่มีเยื่อหุ๎มเมล็ดสีแดง ทาให๎ได๎ประโยชน์จากสารให๎สีแอนโทไซยานินอีก ด๎วย ซึ่งคุณคําโภชนาการจะสูงก็ต๎องทาเป็นข๎าวกล๎องหอมมะลิแดงเชํนกัน

ข้าวกาบา (GABA-rice) เป็นผลิตภัณฑ์ข๎าวกล๎องไทยที่ได๎รับรางวัลจากสานักงานนวัตกรรมแหํงชาติ เป็นข๎าวกล๎องที่นามาทาให๎เริ่มงอก และควบคุมให๎เกิดสาร GABA สูงสุด สูงมากกวําในข๎าวกล๎องและ ข๎าวขาว ทั้งยังมีใยอาหาร วิตามินอีวิตามินบี 1 บี 2 บี 6 แคลเซียม เหล็ก แมกนีเซียม กรดอะมิโนสูงขึ้น อีกด๎วย กาบาจัดเป็นสารสื่อประสาทประเภทยับยั้งในระบบประสาทสํวนกลาง ทาหน๎าที่รักษาสมดุล ในสมอง ป้องกันการนอนไมํหลับและอาการกระวนกระวายใจ ชํวยรักษาความดันของเลือด ชํวยให๎ รํางกายสะสมไขมันน๎อยลง จากการกระตุ๎นให๎มีการหลั่งฮอร์โมนที่ชํวยในการเจริญเติบโต นอกจากนี้ ข๎าวกาบายังหุงงําย มีเนื้อสัมผัสนุํม รับประทานงํายกวําข๎าวกล๎องธรรมดา หากรับประทานข๎าวกล๎อง ดูเป็นเรื่องยากสาหรับผู๎ที่ไมํคุ๎นเคย อาจเริ่มจากข๎าวกาบากํอนก็ชํวยได๎ ข้าวนึ่ง เป็นข๎าวที่ได๎จากการสีข๎าวเปลือกที่ผํานการแชํน้า นึ่งและอบแห๎ง ผลดี ของการทาข๎าวนึ่ง คือ ลดปริมาณข๎าวหักระหวํางการขัดสี เพิ่มคุณคําทางโภชนาการ เชํนวิตามินบี และแรํธาตุบางชนิดซึมเข๎า สูํเมล็ดข๎าวขณะแชํข๎าวเปลือกข๎าวนึ่งมีลักษณะรํวนแข็งจึงนิยมกันแถบอินเดีย แอฟริกา และตะวันออก กลางแม๎วําข๎าวนึ่งเป็นข๎าวที่ผํานการขัดสี แตํก็มีคุณคําอาหารมากกวําข๎าวขาว


ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

17

ข้าวฮาง หรือข้าวหอมทอง เป็นข๎าวนึ่งชนิดหนึ่งที่ทาจากข๎าวขาวดอกมะลิ 105 หรือข๎าวเหนียว นิยมทา ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยเฉพาะจังหวัดสกลนคร ข้าวก่า เป็นข๎าวเหนียวดาที่มีสารต๎านอนุมูลอิสระสูง มีคุณคําโภชนาการมาก ข้าวโภชนาการสูง ข๎าวเจ๎าหอมนิล ข๎าวธาตุเหล็กสูง ข๎าวดัชนีน้าตาลต่าข๎าวที่มีสารต๎านอนุมูลอิสระสูง

การปลูกข้าว เบื้องแรกมนุษย์ค๎นพบวิธีปลูกข๎าวแบบทาไรํเลื่อนลอย ดัง ปรากฏหลัก ฐานในวัฒนธรรม ลุงซาน ประเทศจีนและ วัฒนธรรมฮัวบิเนียน ประเทศเวียดนาม เมื่อประมาณ 10,000 ปี มาแล๎ว ตํอมามนุษย์ค๎นพบการทานาหวําน ดังปรากฏหลักฐาน ในวัฒนธรรมยางเชา บริเวณลุํมแมํน้าเหลือง ในวัฒนธรรมลุง ซาน ประเทศจีนและวัฒนธรรมฮัวบิเนียน ประเทศเวียดนาม เมื่อ 5,000 – 10,000 ปีมาแล๎ว ภูมิปัญญาด๎านการปลูกข๎าว พัฒนาสูํการปักดา พบหลักฐานในวัฒนธรรมบ๎านเชียงประเทศไทย เมื่อไมํต่ากวํา 5,000 ปีมาแล๎ว ในประเทศไทย เมล็ดข๎าวที่เกําแกํที่สุดที่พบมีลักษณะคล๎ายข๎าวปลูก ของชุมชนสมัยกํอนประวัติศาสตร์ อายุราว3,000 – 3,500 ปีกํอนคริสต์ศักราช ได๎แกํ รอยแกลบข๎าว ซึ่งเป็นสํวนผสมของดินที่ใช๎ปั้น ภาชนะดินเผาที่โนนนกทา ตาบลบ๎านโคก อาเภอภูเวียง จังหวัดขอนแกํน เป็นหลักฐานที่ยอมรับกัน โดยทั่วไปวําเกําแกํที่สุดคือประมาณ 3,500 ปีกํอนคริสต์ศักราช หลักฐานอื่น ที่แสดงให๎เห็นวําสยาม ประเทศเป็นแหลํงปลูกข๎าวมาแตํโบราณ อาทิ เมล็ดข๎าวที่ขุดพบที่ถ้าปุงฮุง จังหวัดแมํฮํองสอน แสดงวํา มีการปลูกข๎าวในบริเวณนี้เมื่อ 3,000 – 3,500 ปี กํอนคริสต์ศักราชหรือ ราว 5,400 ปีมาแล๎ว แกลบข๎าว ที่ถ้าปุงฮุงมีทั้งลักษณะของข๎าวเหนียวเมล็ดใหญํที่เจริญงอกงามอยูํในที่สูง เป็นข๎าวไรํและข๎าวเจ๎า แตํไมํ พบลักษณะของข๎าวเหนียวเมล็ดป้อมหรือข๎าวพวก Japonica เลย แหลํงโบราณคดีที่บ๎านเชียง จัง หวัด อุดรธานี พบรอยแกลบข๎าวผสมอยูํกับดินที่นามาปั้นภาชนะดินเผา กาหนดอายุได๎ใกล๎เคียงกับแกลบข๎าว ที่ถ้าปุงฮุง คือ ประมาณ 2,000 – 3,500 ปีกํอนคริสต์ศักราช ลักษณะเป็นข๎าวเอเชีย (Oryza sativa) หลั ก ฐานการค๎ น พบเมล็ ด ข๎ า ว เถ๎ า ถํ า นในดิ น และรอบแกลบ บนเครื่ อ งปั้ น ดิ น เผา ที่โคกพนมดี อาเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี แสดงให๎เห็นถึงชุมชนปลูกข๎าวสมัยกํอนประวัติศาสตร์ ชายฝั่งทะเล นอกจากนี้ยังพบหลักฐานคล๎ายดอกข๎าวป่าเมืองไทยที่ ถ้าเขาทะลุ จังหวัดกาญจนบุรี อายุ ประมาณ 2,800 ปีกํอนคริสต์ศักราช (อาจกํอนหรือหลังจากนั้นประมาณ 300 ปี) ซึ่งเป็นชํวงรอยตํอ ยุคหินใหมํตอนปลายกับยุคโลหะตอนต๎น


ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

18

สํวนหลักฐานภาพเขียนบนผนังถ้าหรือผนังหิน อายุไมํน๎อยกวํา 2,000 ปี ที่ผาหมอนน๎อน บ๎านตากุํม ตาบลห๎วยไผํ อาเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี บันทึกการปลูกธัญพืชอยํางหนึ่งมีลักษณะ เหมือนข๎าว ภาพควายในแปลงพืชคล๎ายข๎าว อาจตีความได๎วํามนุษย์สมัยนั้นรู๎จักข๎าวหรือการเพาะปลูก ข๎าวแล๎ว ศาสตราจารย์ชิน อยูํดี สรุปไว๎เมื่อปี พ.ศ. 2535 วํา “ประเทศไทย ทานาปลูกข๎าวมาแล๎ว ประมาณ 5,471 ปี ผลของการขุดค๎นที่โนนนกทาสนับสนุนสมมติฐานที่วํา ข๎าวเริ่มปลูกในทวีปเอเชีย อาคเนย์ ในสมัยหินใหมํ จากนั้นแพรํขึ้นไปที่ประเทศอินเดีย จีน ญี่ปุ่น และเกาหลี

ข้าว จัดเป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวในตระกูลหญ๎า (Family Gramineae) สกุล (Genus) Oryza

มี อยูํประมาณ 23 ชนิด (Species) ในจานวนนี้สามารถแบํงชนิดข๎าวออกได๎เป็น 2 พวก ดังนี้ ข้าวปลูก (Cultivated Rice) มี 2 ชนิด คือ 1. Oryza Sativa มีถิ่นกาเนิดอยูํทางตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย ทางเหนือของบังคลา เทศ และบริเวณติดตํอระหวํางพมํา ไทย เวียตนามและตอนใต๎ของจีน ข๎าวขนิดนี้มีความสาคัญทาง เศษฐกิจมาก แบํงออกได๎เป็น 3 พวก 1.1 อินดิคา (Indica Type) เป็นต๎นข๎าวสูง แตกกอน๎อย ใบกว๎าง มีสีเขียวอํอน ลาต๎น คํอนข๎างอํอน เมล็ดมีลักษณะเรียวยาวถึงปานกลาง ขนที่เปลือกเมล็ดบางและสั้น เมล็ดรํวงงําย มีความ สามารถในการปรับตัวให๎เข๎ากับสภาพแวดล๎อมได๎งําย ปลูกมากในประเทศเขตร๎อนของทวีปเอเชีย เชํน ไทย ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย อินเดีย และจีน

1.2 จอปอนิคา (Japonica Type) เป็นข๎าวต๎นเตี้ยหรือคํอนข๎างเตี้ย แตกกอมาก ใบแคบ สี เขียวเข๎ม ลาต๎นแข็ง เมล็ดป้อมสั้นมีปริมาณอะไมโลสต่า เมล็ดรํวงยาก ทนตํออากาศหนาวเย็น ให๎ ผลผลิตสูง มีการตอบสนองตํอปุ๋ยดีมาก ปลูกมากในประเทศเขตอบอุํนหรือกึ่งร๎อน เชํน จีน เกาหลี ญี่ปุ่น และอเมริกา 1.3 จาวินิคา (Javanica Type) เป็นข๎าวที่มีลักษณะเมล็ดระหวํางอินดิคา และจาปอดิคา ต๎นสูง แตกกอน๎อย ใบกว๎าง สีเขียวอํอน ลาต๎นแข็ง เมล็ดข๎าวคํอนข๎างป้อมและอ๎วน เมล็ดรํวงยาก ขนที่เปลือกเมล็ดยาว มีปลูกเฉพาะในอินโดนีเซียและพมําเป็นข๎าวที่ไมํมีความสาคัญทางเศรษฐกิจ


ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

19

2. Oryza glabberrima มีถนิ่ กาเนิดในอาฟริกา และมีแหลํงปลูกอยูํในแอฟริกาตะวันตก ข๎าว ทั้ง 2 ชนิดคือ O. sativa และ O. glabberrima มีลักษณะใกล๎เคียงกันมากแตกตํางกันที่รวงข๎าวของ O. glabberrima จะไมํมีการแตกระแง๎ที่สอง จากระแง๎ที่หนึ่งของรวงข๎าวและลูกผสมที่เกิดจากข๎าว ทั้งสองชนิดนี้มีความเป็นหมันสูง ข้าวป่า (Wild Rice) มีลักษณะเป็นวัชพืช เมล็ดเล็ก รํวงงํายมาก เมล็ดมีหาง (awa) เทําที่พบในประเทศไทย มีอยูํ 5 Species คือ O.perennis, O. fatua, O. offcinalis, O. granulate และO. Ridleyi การแบ่งชนิดของพันธุ์ข้าวที่แนะนาให้ปลูก การแบํงพันธุ์ข๎าวตามสภาพน้าในพื้นที่ปลูกข๎าว สามารถแบํงพันธุ์ข๎าวออกได๎ 3 พวกด๎วยกัน 1. ข๎าวไรํ หมาถึง พันธุ์ข๎าวที่ใช๎ปลูกในสภาพที่นาซึ่งไมํมีน้าขัง อาจจะเป็นพื้นที่การปลูกพืช ไรํหรือพื้นที่ตามไหลํเขาหรือพื้นที่วํางในสวนยางที่ปลูกใหมํ สํวนมากมักจะเป็นพันธุ์ข๎าวต๎นสูง (130150 เซนติเมตร) 2. ข๎าวนาสวน หมายถึง พันธุ์ข๎าวที่ใช๎ปลูกในสภาพพื้นที่ซึ่งมีน้าขังในนาเพียงเล็กน๎อยจนถึง ระดับน้าในนาประมาณ 50 เซนติเมตร พันธุ์ข๎าวประเภทนี้มีความสูงตั้งแตํ 100-มากกวํา 150 เซนติเมตร 3. ข๎าวขึ้นน้า หรือข๎าวนาเมือง หมายถึง พันธุ์ที่ใช๎ปลูกสภาพพื้นที่ที่มีระดับน้าสูงมากกวํา 50 เซนติเมตร พันธุ์ข๎าวที่สามารถปลูกได๎ในระดับน้าไมํเกิน 1 เมตร เรียกวํา ข๎าวทนน้าลึก ถ๎าสามารถ ปลูกได๎ในระดับน้ามากกวํา 1 เมตร ถึง 2-3 เมตร เรียกวํา ข๎าวขึ้นน้า พันธุ์ข๎าวพวกนี้มีความสามารถ ในการยืดปล๎องได๎ การแบ่งพันธุ์ข้าวตามลักษณะการตอบสนองต่อช่วงแสง แบ่งออกเป็น 2 พวก คือ 1. พันธุ์ข๎าวไวตํอชํวงแสง เป็นพันธุ์ที่ต๎องการชํวงแสงหรือชํวงระยะเวลากลางวันสั้นในการ เปลี่ยนการเจริญเติบโตทางลาต๎นและใบ มาเป็นการเจริญเติบโตทางสร๎างชํอดอก พันธุ์ข๎าวพวกนี้วจะ ให๎กาเนิดชํอดอกก็ตํอเมื่อมีชํวงแสงตํอวันน๎อยกวํา 12 ชั่วโมง ความต๎องการชํวงแสงสั้นของข๎าวแตํละ พันธุ์จะมีความแตกตํางกัน ทาให๎พันธุ์ข๎าวออกดอกไมํพร๎อมกันแบํงออกเป็น 1.1 พันธุ์ข๎าวอายุเบา เป็นพันธุ์ที่ต๎องการชํวงแสง สั้นกวํา 12 ชั่วโมง ไมํมากนักก็จะเริ่มมี การสร๎างชํอดอก พันธุ์ข๎าวพวกนี้จะออกดอกประมาณเดือนกันยายนถึงเดือนตุลาคม 1.2 พันธุ์ข๎าวอายุกลาง เป็นข๎าวที่ต๎องการชํวงแสงสั้นกวําข๎าวอายุเบาในการที่จะสร๎างชํอดอก พันธุ์ข๎าวพวกนี้จะออกดอกประมาณเดือนกันยายนถึงเดือนตุลาคม


ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

20

1.3 พันธุ์ข๎าวอายุหนัก เป็นข๎าวที่ต๎องการชํวงแสงอายุสั้นมากในการที่จะสร๎างชํอดอก จะออก ดอกในชํวงเดือนธันวาคมถึงเดือนมกราคม 2. พันธุ์ข๎าวไมํไวตํอชํวงแสง เป็นพันธุ์ที่ชํวงแสงไมํมีผลตํอการกาเนิดชํอดอก จึงมีอายุตั้งแตํ วันปลูกถึงวันเก็บเกี่ยวที่คํอนข๎างแนํนอน ดังนั้นจึงสามารถกาหนดอายุของข๎าวได๎วําเป็นข๎าวอายุ ประมาณ 100 วัน หรือ 120 วัน เป็นต๎น ทาให๎ข๎าวชนิดนี้สามารถปลูกได๎ตลอดปี แตํอยํางไรก็ตาม อายุข๎าวไมํไวตํอชํวงแสง อาจเปลี่ยนแปลงได๎ ขึ้นอยูํกับปัจจัยหลายอยําง เชํน วิธีการปลูก การปลูก แบบหวํานน้าตม อายุข๎าวจะสั้นกวําการปลูกแบบปักดาประมาณ 7-10 วัน การปลุกในดินที่มีความ อุดมสมบูรณ์สูงอายุข๎าวจะยาวกวําการปลูกในดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่า และฤดูปลูกก็มีผลกับอายุ ของข๎าวเชํนกัน

การปลูกข้าวหอมมะลิ 1. การเตรียมดิน การทานาหว่านน้าตม การทานาหวํานน้าตมจะให๎ได๎ผลดีนั้นจะต๎องปรับพื้นที่ให๎สม่าเสมอ มีคันดินล๎อมรอบและ สามารถควบคุมน้าได๎ การเตรียมดินเพื่อกาจัดวัชพืช ปรับดินให๎อยูํในสภาพที่เหมาะสมตํอการงอกและเจริญเติบโต ของข๎าว เริ่มจาก 1. การไถดะแล๎วปลํอยน้าเข๎าพอให๎ดินชุํมอยูํเสมอ ประมาณ 5-10 วัน เพื่อให๎วัชพืชงอก ขึ้นมาเป็นต๎นอํอนเสียกํอนจึงปลํอยน้าเข๎านา 2. ไถแปรและคราดหรือใช๎ลูกทุบตีจะชํวยทาลายวัชพืชได๎หากทาเชํนนี้ 1-2 ครั้งหรือ มากกวํานั้นโดยทิ้งระยะหํางประมาณ 4-5 วันจะทาลายวัชพืชได๎มาก 3. หลังจากไถดะ ไถแปร และคราดเสร็จแล๎วเอาน้าขังแชํไว๎ประมาณ 3 สัปดาห์ เพื่อให๎ ลูกหญ๎าที่เป็นวัชพืชน้าเชํน ผักตบ ขาเขียด ทรงกระเทียม ผักปอดและพวกกกเล็ก เป็นต๎น งอก เสียกํอน เพราะเมล็ดวัชพืชปกติจะงอกภายใน 5-7 วันหลังจากน้านิ่งโดยเฉพาะนาที่น้าใส เมื่อลูกหญ๎า ขึ้นแล๎ว จึงคราดให๎ละเอียดอีกครั้งหนึ่ง ลูกหญ๎าก็จะหลุดลอยไปติดคันนาทางใต๎ลม ก็จะสามารถช๎อน ออกได๎หมด เป็นการทาลายวัชพืชวิธีหนึ่ง 4. เมื่อคราดแล๎วจึงระบายน้าออกและปรับเทือกให๎สม่าเสมอ ปัจจุบันมีผลใช๎ลูกทุบหรือ อีขลุก ย่าฟางข๎าวให๎จมดินแทนการไถ หลังจากย่าแล๎วควรจะเอาน้าแชํไว๎ให๎ฟางเนําเปื่อย จนหมดความ ร๎อนเสียกํอน อยํางน๎อย 3 สัปดาห์แล๎วจึงย่าใหมํ เพราะแก๏สที่เกิดจากเนําเปื่อยของฟางจะเป็นอันตราย ตํอต๎นข๎าวจะทาให๎รากข๎าวดาไมํสามารถจะหาอาหารได๎ หลังจากนั้นจึงระบายน้าออกเพื่อปรับเทือก


ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

21

การปรับพื้นที่นาหรือปรับเทือกให๎สม่าเสมอจะทาให๎ควบคุมน้าได๎สะดวก เมล็ดข๎าวจะงอก และเจริญเติบโตอยํางสม่าเสมอดี เมล็ดข๎าวมักจะตายถ๎าตกลงในแอํงน้าที่มีน้าขังอยูํเว๎นแตํกรณีที่ดิน เป็ นกรดจัด ละอองดินตกตะกอนเร็วท าให๎น้าใสแสงแดดสามารถสํองลงไปถึงต๎นข๎าวได๎ต๎นข๎า ว สามารถขึ้นได๎ นอกจากนี้การปรับพื้นที่ให๎สม่าเสมอยังชํวยควบคุมการงอกของเมล็ดวัชพืชซึ่ง เป็น ปัญหาสาคัญของการทานาแบบหวํานน้าตมแผนใหมํด๎วย การปรับพื้นที่ให๎ราบเรียบสามารถกระทาได๎ สะดวกในขณะที่คราดทาเทือกด๎วยการใช๎น้าในนาเป็นเครื่องวัด โดยให๎น้าในนามีระดับเพียงตื้นๆ ขนาดเพียงทํวมหลังปูก็จะเห็นพื้นที่นาราบเรียบเพียงใดอยํางชัดเจน เมื่อเห็นวําสํ วนใดยังไมํสม่าเสมอ ก็ควรจะปรับเสียใหมํ ในการปรับพื้นที่ ทาเทือกนี้ควรทากํอนหวํานข๎าว 1 วัน เพื่อให๎ตะกอนตกดี เสียกํอน เมื่อจะหวํานข๎าวจึงระบายน้าออก แล๎วแบํงกระทงนาออกเป็นแปลงยํอยขนาดกว๎าง 3-5 เมตร ยาวไปตามทิศทางลมทั้งนี้แล๎วแตํความสามารถของคนหวําน ถ๎ าคนหวํานมีความชานาญอาจจะแบํง แปลงยํ อ ยให๎ ก ว๎ า ง แตํ ถ๎ า ยั ง ไมํ คํ อ ยช านาญก็ แ บํ ง กระทงนาให๎ แ คบแทนที่ จ ะหวํ า นก็ ใ ช๎ วิ ธี โ รย เชํนเดียวกับตกกล๎า ระหวํางแปลงยํอยทารํ องน้าแคบๆ ทั้งในแปลงและรอบแปลงอาจจะใช๎แหวกรํอง หรือใช๎ไหกระเทียมผูกเชือกลากให๎เป็นรํองก็ได๎เพื่อให๎น้าตกลงแปลงให๎หมด รํองนี้ยังใช๎เป็นทางเดิน ในขณะหวํานข๎าว หวํานปุ๋ย พํนยาได๎ตลอดแปลงโดยไม๎ต๎องเข๎าไปในแปลงยํอยอีกด๎วย การทานาดา การเตรียมดินเพื่อปักดาต๎นกล๎ามีวัตถุประสงค์เพื่อการกาจัดวัชพืชปรับดินให๎อยูํในสภาพที่ปัก ดางําย ซึ่งวิธีการเตรียมดินเหมือนกับการเตรียมดินเพื่อการหวํานน้าตม ฉะนั้นการไถไมํจาเป็นต๎องลึก มากเกินความจาเป็น คราดกลบเศษหญ๎าหรือตอซังข๎าวเพื่อหมักเศษหญ๎าและตียํอยดินแตํถ๎าไมํมีเวลา หมักเศษหญ๎านานนัก ควรเก็บเศษหญ๎าออกจากแปลงให๎หมด เพราะไมํเชํนนั้นจะเกิดการเนําของเศษ หญ๎าที่ยังไมํสมบูรณ์ทาให๎เกิดก๏าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) หรือก๏าซไขํเนํา ทาให๎ต๎นข๎าวที่ปักดาใหมํๆ


ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

22

ตั้งตัวช๎า การเจริญเติบโตไมํสม่าเสมอ กํอนการปักดาควรมีการหวํานปุ๋ยตามคาแนะนาและคราดกลบ ระดับน้าในแปลงควรมีประมาณ 2-3 เซนติเมตร เพื่อสะดวกในการปักดา

การเตรี ย มดิ น เพื่ อ การปั ก ด าด๎ ว ยเครื่ อ งปั ก ด า ควรเตรี ย มดิ น ให๎ มี ห น๎ า ดิ น เลนลึ ก ไมํ เ กิ น 5เซนติเมตร เพื่อการปักดาได๎สะดวก ถ๎าเตรียมดินลึกกวําน้าจะทาให๎เครื่องดานาทางานไมํได๎

การจัดการน้า ความต๎องการน้าของพืชแตํละชนิดไมํเทํากัน Brown (1969) รายงานวํา ปริมาณฝนเฉลี่ย ประมาณปีละ 1,000 มม. และปริมาณฝนเฉลี่ยในชํวงฤดูปลูกเดือนละ 200 มม. นับวําเพียงพอสาหรับ การปลูกข๎าวไรํ ถ๎าปริมาณฝนในชํวงฤดูปลูกเดือนละ 200 มม. และมีจานวนวันที่ฝนตกมากกวํา 15 วัน จะเพียงพอตํอความต๎องการของข๎าว ทั้งนี้ขึ้นอยูํกับชนิดดินและภูมิอากาศ การปลูกข๎าวในประเทศไทย โดยเฉลี่ยแล๎วตลอดฤดูการทานาต๎องการน้าเพื่อให๎ข๎าวเจริญเติบโตอยํางสมบูรณ์ประมาณ 1,240 มม. แบํงเป็นน้าที่ใช๎ในการตกกล๎า 40 มม. ใช๎ในการเตรียมแปลงประมาณ 200 มม. และใช๎ในนาข๎าวตลอด ฤดูปลูกประมาณ 1,000 มม.


ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

23

การทานาในประเทศไทยมีการใช๎น้าเกินความจาเป็น โดยเฉพาะการทานาในเขตชลประทาน การให๎น้าแกํข๎าวมากเกินไปไมํเป็นผลดี การปลํอยน้าขังอยูํในแปลงนาตลอดเวลาจะทาให๎ดินขาด ออกซิเจน การปลํอยให๎ข๎าวขาดน้าในบางชํวง นอกจากจะชํวยลดสารพิษและเพิ่มออกซิเจนให๎แกํราก ข๎าวแล๎ว ยังทาให๎สภาพแวดล๎อมไมํเหมาะสมตํอการระบาดของโรคที่เกิดจากเชื้อรามีผลทาให๎การ เจริญเติบโตของข๎าวสมบูรณ์ดี จากการทดลอง ของสถาบันวิจัยข๎าวระหวํางประเทศ (IRRI) พบวํา การ ปลูกข๎าวลูกผสมพันธุ์ใหมํ โดยใช๎ระดับน้าประมาณ 5 ซม. ตลอดฤดูปลูกจะให๎ผลผลิตสูงกวําที่ระดับน้า 15-20 ซม. ถ๎าให๎น้าสูงกวํา 60 ซม. อาจทาให๎ไมํได๎ผลผลิตเลย เพราะหนํอที่แทงออกมาจากต๎นแมํ สาลักน้าตายกํอนที่สามารถโผลํให๎พ๎นน้าได๎ ทาให๎ไมํมีการแตกกอข๎าวพันธุ์พื้นเมืองของไทยหลายพันธุ์ เชํน เล็บมือนางสามารถทนระดับน้าได๎สูง จึงไมํทาให๎ผลผลิตแตกตํางกันที่ระดับน้า 5 หรือ 15-20 ซม. อยํางไรก็ตามการรักษาระดับน้าไว๎เพียง 5 ซม.

นอกจากจะไมํทาให๎เปลืองน้า และคําใช๎จํายในการสูบน้าเข๎าแปลงนา ยังเป็นผลดีต๎นข๎าว เนื่องจากที่ระดับน้า 5 ซม. การทาลายของปูนาจะน๎อยกวําที่ระดับน้า 10-20 ซม. เนื่องจากที่ระดับน้า 5 ซม. เวลากลางวันน้าจะร๎อนเพราะแสงแดด ปูนาไมํชอบ แตํที่ระดับน้า 10-20 ซม. แสงแดดไมํทาให๎ ปูนาเดือดร๎อน จึงกัดกันต๎นข๎าวได๎ทั้งวัน ผลของการขาดน้าในระยะต่างๆ ของการเจริญเติบโตของข้าว ผลของการขาดน้าที่มีตํอข๎าวจะแตกตํางกันไปตามระยะตํางๆ ของการเจริญเติบโต การที่มีน้า เพียงพอในบางชํวงของการเจริญเติบโตจึงมีความจาเป็นอยํางยิ่งและถ๎าขาดในชํวงนั้นๆ จะทาให๎ผลผลิต ข๎าวลดลง 1. ระยะกล๎า ข๎าวต๎องการน้าน๎อย ถ๎าเมล็ดอยูํในน้าจะมีผลกระทบตํอการเจริญเติบโตของราก (radical) เพราะขาดออกซิเจน


ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

24

2. ระยะแตกกอ ควรมีน้าที่เพียงพอเพื่อที่จะทาให๎รากเจริญเติบโตได๎ดีและเป็นการป้องกัน วัชพืชไปในตัว การขังน้าไมํมากจะทาให๎ข๎าวแตกกอได๎ดี การมีน้ามากเกินไปในระยะนี้จะมีผลเสีย มากกวําผลดี 3. ระยะกาเนิดชํอดอก-ออกดอก รวมตั้งแตํระยะกาเนิดชํอดอก ตั้งท๎อง แทงชํอดอก จนถึง ระยะออกดอก เป็นระยะที่ข๎าวใช๎น้ามากจึงควรมีน้าขังในนา โดยเฉพาะที่ระยะ 20 วันกํอนข๎าวแทงชํอ ดอก – 10 วันหลังข๎าวแทงชํอดอกจะเป็นระยะที่ไวตํอการขาดน้ามากเพราะระยะนี้จะเป็นระยะที่ข๎าวใน น้ามากที่สุด ถ๎ามีการขาดน้าตั้งแตํชํวงกาเนิดชํอดอก (panicle initiation : PI) จนถึงออกดอก (Flowering stage) จะทาให๎เมล็ดลีบ แตํถ๎ามีน้ามากเกินไปในชํวงนี้ โดยเฉพาะอยํางยิ่งในระยะข๎าวตั้งท๎อง (booting stage) จะทาให๎ความแข็งแรงของต๎นข๎าวมีน๎อยลง ข๎าวจะล๎มได๎งําย 4. ระยะติดเมล็ดแกํเต็มที่ ข๎าวต๎องการน้าพอสมควรหรือต๎องการน้าน๎อยเพียงแตํให๎ดินชื้นโดย ไมํต๎องมีน้าขังก็ได๎ ควรหยุดการให๎น้าหรือระบายน้าออก 10 วันกํอนที่จะเก็บเกี่ยว จะทาให๎การเก็บเกี่ยว สะดวกขึ้น แตํอยํางไรก็ตามควรระวังความเสียหายที่อาจจะเกิดจากการทาลายของหนูในขณะที่ไมํมีน้า การจัดการน้าในนาข้าว 1. การให้น้าขังนาตลอดฤดูปลูก การขังน้าในนาตลอดปลูกที่ระดับความลึก 2.5-7.5 เซนติเมตร (Shallow continuous flooding) การขังน้าในลักษณะนี้มีศักยภาพที่จะให๎ผลผลิตคํอนข๎างสูงสาหรับข๎าวพันธุ์ใหมํ (high yielding varieties) จากการทดลองที่สถาบันวิจัยข๎าวระหวํางประเทศ ที่ประเทศฟิลิปปินส์ พบวํา การขังน้าโดยมี ระดับน้า ระหวําง 2.5-7.5 เซนติเมตร ไมํทาให๎ผลผลิตแตกตํางกันปริมาณน้าที่ใช๎อยูํ ระหวําง 60-80 เซนติเมตร ในชํวง 85-90 วันของการปลูกข๎าว ประสิทธิภาพการใช๎น้าของข๎าว น้าหนักของเมล็ดเป็น กรัมตํอปริมาณน้าที่ใช๎ไป 1 ลิตร) มีคําอยูํประมาณ 1.1-1.2 กรัมตํอลิตร ซึ่งขึ้นอยูํกับความลึกของน้า สํวนหนึ่งด๎วย 2. การจัดการน้าแบบประหยัด การจัดการน้าแบบนี้จะถึงหลักวํา จะมีน้าในนาก็ตํอเมื่อมีความจาเป็น เทํานั้น ดังนั้นบางระยะ จะมีน้าขัง และบางระยะจะไมํมีน้าขังในนาเลย การจัดการน้าแบบนี้จะได๎ผลหรือไมํขึ้นอยูํกับกับวํา ชาวนามีความรู๎เรื่องความสัมพันธ์ระหวํางน้ากับข๎าวเพียงใด เพื่อเป็นหลักเกณฑ์ในการพิจารณา หลักเกณฑ์ในการพิจารณาเวลาและปริมาณน้าที่ต๎องการจะต๎องให๎กับข๎าว สาหรับข๎าวนั้นหากปลูกใน สภาพที่ปริมาณ ความชื้นในดินมีเพียงครึ่งหนึ่งของปริมาณน้าที่ดินสามารถดูดซับไว๎ได๎แล๎ว ผลผลิตจะ ลดลงประมาณ 30-50 % ของการปลูกข๎าวในสภาพน้าขังตลอกฤดูปลูกข๎าวถ๎าข๎าวขาดน้าในระยะตั้ง


ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

25

ทองและออกดอกผลผลิตจะลดลงอยํางมาก ฉะนั้นในระยะดังกลําวควรมีน้าขังในนาเพื่อป้องกันความ เสียหายทีเกิดขึ้นเนื่องจากการขาดน้า แตํการปลํอยน้าออกจากแปลงหลังการแตกกอเต็มที่จะทาให๎ ผลผลิตข๎าวเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะดินนาที่มีอินทรียวัตถุสูง หรือมีการใสํปุ๋ยอัตราสูง

2.1 การให้น้าแบบเปียกสลับแห้ง (Intermittent irrigation) คือ การให๎น้าในนาข๎าวที่ระยะ 5 เซนติเมตรหลังจากหวํานข๎าวแล๎ว 7-10 วัน จากนั้นปลํอยให๎น้าแห๎งไปเองตามธรรมชาติจนดิน แตกระแหงซึ่งจะใช๎เวลาประมาณ 5-10 วัน ขึ้นอยูํกับสภาพแวดล๎อมของบรรยากาศและชนิดของดิน จึงให๎น้าอีกครั้งที่ระดับ 5 เซนติเมตร เชํนเดิม ทาเชํนนี้สลับกันไปจึงถึงระยะกาเนิดชํอดอก จึงปลํอย ให๎น้าขังนา การทาเชํนนี้จะทาให๎ข๎าวมีความแข็งแรงมากขึ้น โดยเฉพาะในพื้นที่ที่ดินมีปัญหา เชํน ดินกรด ซึ่ง Hanhart and Ni (1991) พบวํา ข๎าวที่ปลูกในสภาพดินกรดภายใต๎การให๎น้าเป็นระยะ จะมีระบบรากที่สมบูรณ์มากกวํา และมีเมล็ดลีบน๎อยกวําการปลูก ภายใต๎การให๎น้าขังตลอดฤดูปลูก เป็นเพราะการที่มีเวลาปลํอยให๎ดินแห๎งแตกระแหงบ๎าง และในบางชํวงของการเจริญเติบโตของข๎าวจะ ชํวยลดความเข๎มข๎นของ Reducing substances ตําง ๆ รวมทั้งเหล็กและคาร์บอนไดออกไซด์ลง เพราะถ๎ามี Reducing substances ในปริมาณที่มากจะเป็นพิษตํอการปลูกข๎าว นอกจากนี้ยังชํวยให๎ราก ข๎าวได๎รับออกซิเจนและชํวย Oxidized สารประกอบที่เป็นพิษเหลํานี้ด๎วย ชํวยให๎จุลินทรีย์ตํางๆ สามารถทางานได๎ ชํวยสํงเสริมให๎ข๎าวเจริญเติบโตและให๎ผลผลิตสูง และเป็นการประหยัดน้าได๎ 50 % ของการให๎น้าขังนาตลอดฤดูปลูกอีกด๎วย 2.2 การให้น้าแบบดินอิ่มตัวด้วยน้า (Saturated soils) เป็นการให๎น้าที่ระดับผิวดินตลอดปี ฤดูปลูก พบวํา การรักษาระดับน้าที่ระดับผิวดินในระยะแรกของการเจริญเติบโตของข๎าว มีผลให๎ข๎าว สามารถแตกกอได๎มากกวําการขังน้า นอกจากนี้ยังเป็นการประหยัดน้าได๎ 50 % ของการใช๎น้าขังนา ตลอดฤดูปลูกอีกด๎วย


ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

26

การจัดการปุ๋ย 1. ปุ๋ยเคมี คาแนะนาการซื้อปุ๋ยเคมี ดังนี้ 1. ซื้อจากร๎านที่นําเชื่อถือ อยําซื้อจากผู๎มาเรํขาย 2. ควรรวมกลุํมกันซื้อปุ๋ยเป็นจานวนมากๆ และเชิญเจ๎าหน๎าที่ชํวยดูแล 3. ควรซื้อปุ๋ยตามสูตรที่พืชต๎องการในราคาที่เหมาะสม อยําซื้อโดยเชื่อถือคาโฆษณา 4. ควรชั่งน้าหนักปุ๋ยให๎ถูกต๎องเวลาซื้อ 5. อยําซื้อปุ๋ยที่บรรจุกระสอบที่ถูกต๎อง 6. ควรตรวจสอบดูกระสอบปุ๋ยเคมีวําถูกต๎องหรือไมํ ดังนี้ - ฉลากต๎องเป็นภาษาไทยและมีคาวํา “ปุ๋ยเคมี” และต๎องมีสูตร เชํน 16-20-0,16-16-8 - ต๎องมีชื่อการค๎าและเครื่องหมายการค๎า - ต๎องแจ๎งน้าหนักหรือปริมาตรของปุ๋ย - ต๎องแสดงปริมาณธาตุอาหารรับรอง เชํน สูตร 16-20-0 แสดงวํามีธาตุอาหาร ไนโตรเจน 16 % มีฟอสฟอรัส 20 % และโพแทสเซียม 0% - ต๎องแจ๎งชื่อและสถานที่ผลิตปุ๋ย ข้อควรปฏิบัติสาหรับเกษตรกรในการใส่ปุ๋ยเคมีให้มีประสิทธิภาพ 1. ควรปรับระดับดินนาให๎ราบเรียบสม่าเสมอ ซึ่งจะชํวยให๎ควบคุมระดับน้าได๎งําย และชํวย ให๎ปุ๋ยกระจายได๎ดี 2. ควรมีน้าขังในนา 5-10 เซนติเมตร ในระยะเวลาหวํานปุ๋ย อุดคันนาไมํให๎รั่วไหล และเก็บ กักน้า หลังหวํานปุ๋ยไว๎ 7-10 วัน กํอนปลํอยน้าไปแปลงอื่น 3. ควรทราบขนาดแปลงนาที่แนํนอน เพื่อคิดน้าหนักปุ๋ยที่จะใสํได๎ถูกต๎องตามต๎องการไมํมาก หรือน๎อยเกินไป 4. ต๎องรู๎ลักษณะดินนาวําเป็นดินเหนียว ดินรํวนหรือดินทราย เพื่อจะเลือกใสํสูตรปุ๋ยได๎ถูกต๎อง 5. ต๎องรู๎เรื่องพันธุ์ข๎าวที่จะปลูกวําเป็นพันธุ์ข๎าวไวตํอชํวงแสง (ต๎นสูง) หรือพันธุ์ข๎าวไมํไวตํอ ชํวงแสง (ต๎นเตี้ย) และควรรู๎อายุข๎าวด๎วย เพื่อกาหนดอัตราและเวลาการใสํปุ๋ยได๎ถูกต๎อง 6. ควรป้องกันกาจัดโรค แมลง และวัชพืชให๎ดี เพื่อทาให๎ข๎าวได๎รับปุ๋ยเต็มที่


ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

27

2. ปุ๋ยอินทรีย์ อิ น ทรี ย วั ต ถุ ใ นดิ น มี ป ระโยชน์ ห ลายประการแตํ ที่ ส าคั ญ คื อ อิ น ทรี ย วั ต ถุ เ มื่ อ สลายตั ว จะปลดปลํอยธาตุอาหารให๎กับพืชและเป็นตัวจับยึดธาตุอาหารจากปุ๋ยเคมีที่ใสํลงไปในดินไมํให๎สูญเสีย รวดเร็วเกิ นไป แตํเนื่องจากอินทรีย วัตถุจะคํอย ๆ ลดลง เมื่อปลูก ข๎าวไปนาน ๆ ดังนั้น ควรใสํ อินทรียวัตถุเพิ่มเติมลงในดิน ซึ่งทาได๎โดยการใสํปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์ที่จะใสํลงไปในดินนานั้นควร หาได๎งํายในท๎องถิ่น มีราคาถูก การขนย๎ายทาได๎งําย ละที่สาคัญปุ๋ยอินทรีย์ชนิดนั้นควรมีศักยภาพใน การเพิ่มผลผลิตข๎าวได๎สูง หรือมีธาตุอาหารอยูํมากใช๎ทดแทนปุ๋ยเคมีได๎เลย ขอแนะนา 2 ชนิด คือ 1. ปุ๋ยมูลไกํ ใสํแล๎วไถกลบระยะเตรียมดิน กํอนปลูก 15 วัน อัตรา 600 กก./ไรํ 2. ปุ๋ยพืชสด เชํน โสน พืชตระกูลถั่ว ปลูกกํอนปลูกข๎าว ใช๎อัตราเมล็ดพันธุ์ 7-10 กก./ไรํ ไถกรบเมื่ออายุได๎ 30-45 วัน และควรไถกลบกํอนปลูกข๎าว 15 วัน ในกรณีที่ไมํสามารถหาปุ๋ย อินทรีย์มาใสํได๎ อยํางน๎อยที่สุดที่เกษตรกร ควรปฏิบัติเพื่อรักษาความอุดมสมบูรณ์ของดินไว๎คือให๎ไถ กลบตอซังและฟางข๎าว อยําเผาทิ้ง โดยใช๎น้าขังอยูํในนาแชํฟางไว๎ประมาณ 1 สัปดาห์ ฟางจะนุํมและ ไถกลบได๎งําย 3. ไถกลบตอซังและฟางข้าว 3.1 ปลํอยแปลงให๎แห๎งกํอนการเก็บเกี่ยว 10 วัน 3.2 หลังเก็บเกี่ยวข๎าว - ถ๎าแปลงมีความชื้นพอให๎ใช๎รถแทรกเตอร์ไถกลบฟางทันทีแล๎วทิ้งไว๎ 2 สัปดาห์ - ถ๎าแปลงมีความชื้นไมํพอให๎ปลํอยแปลงแห๎งอีก 2 สัปดาห์เพื่อให๎ตอซังและฟางแห๎ง 3.3 เอาน้าเข๎าแปลงให๎ทํวมฟางทิ้งไว๎ 1สัปดาห์


ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

28

3.4 กรณีฟางน๎อยกวํา 1,200 กก./ไรํ (ดูจากฤดูที่แล๎วได๎ผลผลิตข๎าวไมํเกิน 80 ถังตํอไรํ) ให๎ใช๎รถไถเดินตามไถกลบฟางแล๎วตามด๎วยเตรียมแปลงหวําน กรณีมีฟางกวํา 1,200 กก./ไรํ (ฤดูที่แล๎วได๎ผลผลิตข๎าวมากกวํา 80 ถังตํอไรํ) - ใช๎แทรกเตอร์ติดโรตารี่ปั่นฟาง หมักไว๎อยํางน๎อย 3 สัปดาห์ - เพื่อยํนระยะเวลาในการหมักฟางให๎สั้นลงให๎ใช๎จุลินทรีย์ชํวยยํอยสลายฟางโดย 1. หลังไถกลบฟางหรือย่าฟางด๎วยรถไถยนต์ให๎แบนราบกับพื้นดินแล๎วปลํอยฟางให๎ ยํอยสลายบนพื้นดินให๎ใช๎ปุ๋ยอินทรีย์นา พด. 2 อัตรา 5 ลิตรตํอไรํพร๎อมกับกากน้าตาล 5 กก.ตํอไรํ ผสมนา 200 ลิตร แล๎วปลํอยนาลงในแปลงพอทํวมเพื่อให๎ตอซังข๎าวที่อํอนนุํมดี แล๎วเกิดการยํอยสลาย 2. หลังจากปลํอยนาลงแชํแปลงแล๎วหวํานปุ๋ยยูเรียเพิ่มอีก 5 กก.ตํอไรํและรักษาระดับ นาไว๎อยําให๎แปลงแห๎ง หมักฟางไว๎ประมาณ 2 สัปดาห์จึงเตรียมดินเพื่อปลูกข๎าวตามปกติ

การเกี่ยวข้าวหอมมะลิ การเก็บเกี่ยวข๎าวหอมมะลิในระยะที่เหมาะสม คือ เมล็ดไมํอํอนหรือแกํจนเกินไป จะทาให๎ ข๎าวเปลือกเมื่อนาไปสีได๎เปอร์เซ็นต์ ต๎นข๎าวสูงสุด และลดการสูญเสีย เนื่องจากเมล็ดรํวงหลํนในนา ทั้งนี้โดยการสังเกตข๎าวสุกเหลืองเกือบทั้งรวง เหลือเมล็ดสีเขียวโคนรํวง 5-6 เมล็ด ดูวําข๎าวจะมีรวง ที่โน๎มลง เรียกระยะนี้วํา ระยะพลับพลึงหรือระยะเหลืองกล้วย หากจาวันที่ข๎าวออกดอกได๎ ก็ให๎นับ วันเก็บเกี่ยวหลังจากวันที่ออกดอกประมาณ 28-30 วัน การนับวันออกดอกให๎ดูวําข๎าวทั้ง แปลงร๎อยละ 80 มีการออกดอกแล๎ว โดยกํอนเก็บเกี่ยว 15 วัน ควรระบายน้าออกจากแปลงนากํอน ในการเก็บเกี่ย ว ถ๎าใช๎เครื่องจักรกลเก็บเกี่ยวให๎ปรับรอบการทางานไมํให๎เร็วเกินไปเพื่อมิให๎เมล็ดแตกป่น และรํวงหลํน เสียหายมาก แตํถ๎าเก็บเกี่ยวด๎วยมือ (ใช๎เคียว) หรือเครื่องเกี่ยวชนิดไมํได๎นวดในตัว ควรจะหลีกเลี่ยง การกองฟ่อนข๎าวรวมกันเป็นกองโต หลีกเลี่ยงการวางรวงข๎าวกับพื้นนาที่มีน้าจะทาให๎รวงข๎าวเสียหาย


ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

29

การจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าว 1. การนวดข้าว เมื่อเก็บเกี่ยวแล๎วนวดทันที จึงคํอยนาเมล็ดข๎าวไปตาก หรืออบลดความชื้น การนวดข๎าวมีหลายวิธี แตํเดิมนิยมใช๎การฟาดรวงข๎าว หรือใช๎สัตว์ หรือรถไถนาย่า ในปัจจุบันมีการ ใช๎เครื่องเกี่ยว และนวดข๎าวทันทีในตัว หรือนาฟ่อนข๎าวมานวดด๎วยเครื่อง สิ่งที่จะต๎องคานึงในการ นวดข๎าวคือ ต๎องนวดให๎เมล็ดข๎าวสะอาด ปราศจากสิ่งเจือปน เชํน เศษฟาง เศษระแง๎ ดิน หิน ข๎าวลีบ แกลบ ตลอดจนวัชพืช ดังนั้นควรปรับรอบการทางานลูกนวดให๎เหมาะสม แตํหากนวดด๎วยการฟาด หรือการย่า ก็ควรจะต๎องมีการใช๎สีฝัด เพื่อชํวยในการทาสะอาดข๎าวเปลือกทุกครั้ง


ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

30

การจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวด้วยมือและเครื่องจักรกล 2. การลดความชื้นข้าวเปลือก ข๎าวที่มีคุณภาพดีต๎องมีการลดความชื้นหลังการเก็บเกี่ยวทันที ให๎เหลือ 14-15 เปอร์เซ็นต์ มิฉะนั้นข๎าวเปลือกจะไมํสามารถเก็บรักษาไว๎ได๎นาน จะสูญเสียทางด๎าน คุณภาพ เมื่อนาไปสีจะแตกหักมาก เกษตรกรจะจาหนํายข๎าวเปลือกได๎ในราคาต่า การลดความชื้น ข๎าวเปลือก กระทาได๎ 2 วิธี คือ 2.1 การตากแสงแดด ถ๎าเกี่ยวข๎าวแบบวางราย และไมํสามารถนวดได๎ทันที ให๎ตากรวงข๎าว ไว๎ในพื้นที่นาที่แห๎ง 2-3 แดด ระวังอยําให๎ถูกน้าฝน หรือหากมีน้าค๎าง หรือหมอกแรง ควรหลีกเลี่ยง วิธีนี้ หากนวดข๎าวได๎เมล็ดทันที แนะนาให๎ตากเมล็ดข๎าวบนพื้นสะอาด เชํน ลานซีเมนต์ หรือใช๎ ตาขํายพลาสติกรองตาก โดยเกลี่ยข๎าวเปลือกเป็นสัน หรือเป็นคลื่นๆ ทิ้งไว๎ 2-3 แดด และต๎องระวัง ฝนน้าค๎างหรือหมอก การตากแสงแดดควรมีการเกลี่ยกลับข๎าวเปลือกที่ตากทุกครึ่งชั่วโมง และความ หนาไมํควรเกิน 5 เซนติเมตร ถ๎าเป็นไปได๎ควรกองรวม แล๎วคลุมด๎วยผ๎าใบ หรือพลาสติก ในตอน กลางคืนด๎วย

2.2 การอบด้วยเครื่อง ปัจจุบันมีเครื่องอบลดความชื้นข๎าวเปลือกใช๎อยํางแพรํหลาย การอบ ด๎วยเครื่องจะได๎เปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าวดีกวําการตากด๎วยแสงแดด เนื่องจากความร๎อนจะมีความสม่าเสมอ ไมํต๎องเสี่ยงตํอการมีฝนตก การอบแตํละครั้งใช๎เวลา 4-8 ชั่วโมง แล๎วแตํชนิดเครื่องอบ ปัจจุบันมี เครื่องชนิดลดความชื้นได๎อยํางรวดเร็วภายใน 5 นาที แตํลดความชื้นได๎เหลือ 18 เปอร์เซ็นต์ แทนที่ จะเป็น 14 เปอร์เซ็นต์ ตามมาตรฐาน ข๎อควรระวังในการใช๎เครื่องอบ คือ ต๎องไมํให๎เมล็ดข๎าวเปลือก มีความร๎อนสูงเกิน 43 องศาเซลเซียส


ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

31

3. การเก็บรักษา ข๎าวเปลือกที่ผํานการนวดแล๎ว ถ๎าหากไมํจาหนํายทันที ก็จะต๎องเก็บรักษา ให๎ถูกวิธี ข๎อสาคัญในการเก็บรักษาคือ จะต๎องเป็นข๎าวแห๎งความชื้น 12-14 เปอร์เซ็นต์ หากมีจานวน น๎อย ก็อาจใสํกระสอบวางไว๎ในสถานที่คุ๎มแดด ฝน สูงจากพื้นไมํต่ากวํา 50 เซนติเมตร หรือเทกอง ในยุ๎งฉาง โดยยุ๎งฉางต๎องสะอาด ป้องกันนก หนู และแมลงศัตรูข๎าวเปลือกได๎อยํางดี มีอากาศถํายเท ได๎ดี ไมํอับชื้น และมีสภาพเย็น ถ๎าหากต๎องการเก็บรักษาข๎าวไว๎ทาพันธุ์ ก็ให๎เก็บรักษาแบบเดียวกัน แตํถ๎ามีปริมาณน๎อย ให๎เก็บไว๎ในภาชนะปิดสนิท เชํน ปี๊บ ถุงปุ๋ย ถุงพลาสติก กระสอบป่าน หรือ ถุงผ๎าดิบ (กรมสํงเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, 2545 : 4-34)

การสีข้าวเปลือกหอมมะลิ


ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

32

การผลิตข้าวกล้องงอกหอมมะลิชุมชนวัดท่าสะแบง


ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

33

ข้าว คือ ชีวิตของคนไทย เนื่องจากข๎าวกลําวได๎วําเป็นสํวนหนึ่งของชีวิตคนไทย มีความผูกพัน กับวิถีชีวิตขนบธรรมเนียมประเพณีของคนอีสานมาช๎านาน ในทางโภชนาการข๎าวเป็นธัญพืชชนิดเดียว ที่คนนิยมบริโภค ดังนั้น ข๎าวจึงเปรียบเสมือนเม็ดยา ซึ่งข๎าวเมล็ดเล็กๆ มีอะไรมากกวําที่คิด ข๎าวกล๎องงอก หรือข๎าวกาบา ภาษาอังกฤษเรียกวํา “Germinated Brown Rice” หรือ “GABA -Rice” มีคุณคําทางโภชนาการ มีกรดอะมิโนที่ผลิตได๎โดยกระบวนการของกรดกลูตามิก ความสาคัญ ของกาบา (GABA) มีบทบาทในระบบประสาทสํวนกลาง ชํวยลดความเครียด มีคุณสมบัติลดความ ดันโลหิตและชํวยป้องกันโรคมะเร็ง เบาหวาน และชํวยในการควบคุมน้าหนักตัว พบวํา มีการใช๎กรด GABA ในการรักษาโรคเกี่ยวกับระบบประสาทหลายโรค เชํน โรควิตกกังวล นอนไมํหลับ โรคลมชัก และยังมีคุณสมบัติในการลดความดันโลหิตด๎วย ลดปริมาณคอเลสเตอรอล และระดับน้าตาลในเลือด ชํวยยับยั้งความเสี่ยงจากการเกิดอัลไซเมอร์ กรด GABA ในข๎าวเรียกวํา คัพภะข้าว หรือ จมูกข้าวกล้อง การสํงเสริมให๎เกษตรกรผู๎ปลูกข๎าวได๎พัฒนาข๎าวให๎มีคุณภาพรู๎จักการนาประโยชน์จากข๎าวมาเพิ่มคุณคํา ที่สาคัญโรคตํางๆ ที่กลําวมาไมํสามารถระคายเคืองได๎ เพราะเป็นข๎าวที่มีกรดอะมิโนชํวยตํอต๎านรักษา โรคเบาหวาน ความดันโลหิตได๎ และปัญหาการเจ็บป่วยของชาวบ๎านก็จะลดลง


ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

34

วิธีการผลิตข้าวกล้องงอกหอมมะลิ กระบวนการผลิตข้าวกล้องงอกหอมมะลิเป็นสิ่งที่ไม่ยุ่งยาก เพียงแตํนาเอาข๎าวเปลือกหอมมะลิ ที่ต๎องการทาข๎าวกล๎องงอก ไปแชํน้า 1-2 วัน จากนั้นนาขึ้นมาตากไว๎ 1-2 วัน ให๎สังเกตที่จมูกข๎าวจะมี สิ่งงอกออกมาคล๎ายกับปากนกกระจอก ก็นามานึ่งแล๎วนาไปตากแดดหรืออบ ถ๎ามีแดดให๎ตากแดด จากนั้นเมื่อแห๎งนาไปเข๎าเครื่องสีข๎าวกล๎อง เพียงครั้งเดียวก็จะได๎ข๎าวกล๎องงอกคุณภาพ จากการทดลอง สีด๎วยเครื่องสีข๎าวกล๎องพบวํา ข๎าวเปลือก 30 กิโลกรัม เมื่อนาไปทาเป็นข๎าวกล๎อง จะเหลือประมาณ 25 กิโลกรัม หรือหายไป 5 กิโลกรัม ชาวภาคอีสานนั้นมักนิยมชั่งน้าหนักข๎าวเรียกกันเป็นหมื่น เทํากับ 12 กิโลกรัม หากเทียบจาก 12 กิโลกรัม แล๎วเมื่อนาไปสีข๎าวกล๎องจะเหลือเพียง 8.7 กิโลกรัม เราสามารถทาข๎าวกล๎องงอกได๎อยํางงํายดาย โดยเริ่มจากการนาข๎าวกล๎องมาแชํน้าทิ้งไว๎เพื่อให๎ รากงอกออกจากจมูกข๎าวกล๎อง ชํวงนี้เป็นชํวงที่ข๎าวมีคุณคําทางอาหารสูงสุดกํอนนาไปหุง อยําให๎ราก งอกมากเกินไปเพราะไมํอยํางนั้นจะสูญเสียคุณคําทางอาหารไป

วิธีการทาข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ในปัจจุบันนิยมทา 2 วิธี คือ 1. การทาจากข้าวเปลือกหอมมะลิ มีขั้นตอน ดังนี้ 1. เลือกใช๎ข๎าวเปลือกหอมมะลิ 105 2. นาข๎าวเปลือกไปล๎างน้าและแชํน้าไว๎ 24 ชั่วโมง 3. นาข๎าวเปลือกไปอบประมาณ 40 องศา นาน 48 ชั่วโมง 4. นาข๎าวเปลือกไปนึ่งที่อุณหภูมิ 100 องศา นาน 40 นาที 5. นาข๎าวเปลือกไปลดความชื้นโดยการตากแดด หรืออบลดความชื้นให๎เหลือประมาณ 15% 6. นาไปสีด๎วยเครื่องสีข๎าวกล๎อง 7. นาไปบรรจุ วิธีนี้จะได๎ทาให๎ได๎สารกาบา (GABA) 95.6 มิลลิกรัมตํอ 100 กรัม เป็นวิธี ที่ทาให๎ได๎ข๎าวกล๎องงอกสูงที่สุด โดยเฉพาะข๎าวหอมนิลงอก จะมี กาบา (GABA) สูงถึง 116.0 มิลลิกรัม ตํอ 100 กรัม


ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

35

2. การทาจากข้าวกล้อง มีขั้นตอน ดังนี้ 1. นาข๎าวกล๎องข๎าวหอมดอกมะลิ 105 มาล๎างน้าเพื่อทาความสะอาดเอาสิ่งสกปรกออก ช๎อนข๎าวที่ลอยอยูํเหนือน้าออกเพราะเป็นเมล็ดข๎าวที่ไมํสมบูรณ์และจะไมํงอก

2. แชํน้าเป็นเวลาประมาณ 4 ชั่วโมง เทน้าให๎ทํวมข๎าว 3. เทน้าทิ้งและล๎างทาความสะอาด สะเด็ดน้า ทิ้งไว๎ประมาณ 6 ชั่วโมง 4. นามาล๎างน้าอีกครั้งและสะเด็ดน้า ใสํภาชนะทิ้งไว๎อีกประมาณ 14 ชั่วโมง ในชํวงเวลานี้ เมล็ดข๎าวจะงอกเป็นตุํมขึ้นมา มีการสร๎างสารที่มีประโยชน์ตํอรํางกาย คือ สารกาบ๎าที่มีประโยชน์ตํอ ระบบประสาทชํวยป้องกันโรคความจาเสื่อม

5. นามาหุงรับประทานได๎ทันที อยํารอให๎รากข๎าวยาวเกินไป เพราะสารกาบ๎าจะเหลือน๎อย 6. ข๎าวกล๎องงอกสามารถเก็บใสํกลํองพลาสติกแชํเย็น เก็บไว๎ได๎ไมํเกิน 5 วัน เพราะจะเสีย ความสดใหมํ


ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

36

การเปรียบเทียบระหว่างเมล็ดข้าวกล้องธรรมดา (แถวบน) กับ เมล็ดข้าวกล้องงอก (แถวล่าง)

การทาข้าวกล้องงอกเพื่อบริโภคในครัวเรือน ข้าวกล้องงอก เป็นข๎าวที่กะเทาะเปลือกออกแตํไมํมีการขัดสี จึงทาให๎เยื่อหุ๎มเมล็ดคัพภะ หรือจมูกข๎าว และมีสารอาหารอยูํครบ แล๎วนาข๎าวกล๎องที่ได๎ไปเพาะให๎งอก เรียกวํา “ข๎าวกล๎องงอก”

เมล็ดข๎าวที่กาลังงอกจะมีการเปลี่ยนแปลงทางเคมีเกิดสารอาหารที่เป็นประโยชน์ตํอรํางกาย เชํน แกมมาออริซานอล วิตามินอี สารฟีโนลิค ไลซีนและสารกาบ๎า (Gamma amino butyric acid) ในข๎าวกล๎องงอกมีมากเป็น 10 เทํา ของข๎าวสาร

การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ 1. ข๎าวกล๎องที่สีอายุไมํข๎ามปี ถ๎าข๎ามปีความงอกจะลดลง โดยข๎าวเปลือกทุกชนิดสามารถนามาสี เป็นข๎าวกล๎องเพื่อทาเป็นข๎าวกล๎องงอกเพิ่มคุณคําได๎ 2. ผ๎าฝ้ายขาวสาหรับหํอข๎าวบํม 3. ถังพลาสติกหรือตะกร๎าสาหรับบํมข๎าวกล๎อง ถ๎าเป็นถังพลาสติกให๎เจาะรูด๎านลางให๎ระบายน้า และควรมีตะแกรงรองก๎น เพื่อไมํให๎ข๎าวสัมผัสกับก๎นถัง 4. ถังพลาสติกสาหรับแชํข๎าว


ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

37

5. ตะแกรงรํอนหรือเขิง เพื่อคัดเมล็ดข๎าวที่หักและสิ่งเจือปน 6. กระด๎งหรือที่ตากข๎าว

ขั้นตอนการทาข้าวกล้องงอกสดหอมมะลิ 1. นาข๎าวกล๎องที่สีมาใหมํ ไมํควรเกิน 1 เดือน มาคัดสิ่งเจือปนและเมล็ดข๎าวที่หักออกด๎วยตะแกรงรํอน 2. นาข๎าวที่ได๎ไปล๎างให๎สะอาด 1 – 2 ครั้ง 3. แชํข๎าวในถังให๎มีน้าเหนือข๎าวประมาณ 10 เซนติเมตร แชํไว๎นาน 12 ชั่วโมง 4. นาข๎าวที่แชํใสํในถังพลาสติกที่มีฝาปิด โดยรองด๎วยผ๎าขาวให๎รอบถัง

5. นาน้าที่สะอาดราดให๎ชุํม ขมวดผ๎าปิดข๎าวและบํมไว๎ประมาณ 36 ชั่วโมง ถ๎าอากาศหนาวจะบํม นานขึ้นเป็น 48 ชั่วโมง โดยให๎ราดน้าในถังข๎าวทุก 12 ชั่วโมง เพื่อกระตุ๎นให๎ข๎าวงอกและไมํให๎เกิด การหมักจากความร๎อน

6. นาข๎าวกล๎องงอกที่ได๎ไปหุงเป็นข๎าวกล๎องงอกสด โดยล๎างเบา ๆ ด๎วยน้าให๎สะอาด 1- 2 ครั้ง 7. การหุงข๎าวกล๎องงอกให๎ใสํน้าสูงแคํระดับทํวมเมล็ดข๎าวพอดี หรือจะนาไปทาน้าข๎าวกล๎องงอก โดยใช๎ข๎าวกล๎องงอก 100 กรัม ตํอน้า 1 ลิตร ต๎มให๎เดือดด๎วยไฟอํอน ๆ เติมใบเตย เกลือหรือน้าตาล 8. การเก็บรักษาข๎าวกล๎องงอดสดให๎ได๎หลายวัน ต๎องบรรจุถุงเก็บไว๎ในตู๎เย็นจะเก็บได๎นาน 1 สัปดาห์ หรือถ๎าจะเก็บให๎นานขึ้นเพื่อจาหนําย จะต๎องนาข๎าวกล๎องงอกสดมาล๎างเบา ๆ ให๎สะอาด 1-2 ครั้ง


ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

38

และนาข๎าวไปตากแดดหรือผึ่งลมให๎แห๎ง แล๎วจึงบรรจุภัณฑ์เพื่อจาหนําย - ราคาจาหนําย ข๎าวกล๎องงอกสดหอมมะลิ 105 กิโลกรัมละ 60 บาท - ราคาจาหนําย ข๎าวกล๎องงอกชนิดแห๎งหอมมะลิ 105 กิโลกรัมละ 100 บาท

คัพภะหรือจมูกข้าวกล้องงอกหอมมะลิ


ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

39

การหุงข้าวกล้องงอกหอมมะลิชุมชนวัดท่าสะแบง สารอาหารในข้าวกล้องงอกหอมมะลิ สารอาหารในข๎าวขาวน๎อยกวํา กับสารอาหารในข๎าวกล๎องงอก 10 เทํา ปริมาณกาบา (GABA) ในข๎าวกล๎องงอก (GBR) จากประเทศญี่ปุ่น จากตารางการผลิตข๎าวกาบาในประเทศญี่ปุ่น ในปี 2002 จะได๎ปริมาณสารกาบา 13.6 มิลลิกรัม ทั้งนี้เนื่องจาก ข๎าวที่ปลูกในแตํละพื้นที่ ให๎สารกาบา ไมํเทํากัน นอกจากนั้น การผลิตข๎าวกาบาในญี่ปุ่นจะนาข๎าวที่ผํานการสีเป็นข๎าวสารแล๎ว มาเพาะเป็นข๎าวกล๎องงอก เมื่อเทียบกับข๎าวกล๎องงอกที่ผลิตในประเทศไทย โดยกรรมวิธีทางธรรมชาติ คือ การนาเอาข๎าวเปลือก ไปเพาะจนงอก จะมีสารกาบาสูงมากกวํา 80 มิลิกรัม ตํอข๎าว 100 กรัม ซึ่งสูงมากกวํา การนาข๎าวกล๎อง (ข๎าวสาร) มาเพาะให๎งอก เนื่องจากข๎าวที่สีเป็นข๎าวกล๎องแล๎วจะมีปริมาณการงอกน๎อยมาก หรือไมํงอก โดยเฉพาะอยํางยิ่ง ถ๎าเป็นข๎าวกล๎องเกําเมล็ดข๎าวได๎ตายแล๎ว จึงไมํสามารถทาให๎งอกได๎ การรับประทานข้าวกล้องงอก ข๎าวกล๎องงอก มีคุณคําทางอาหารสูง ในสมัยโบราณเรียกข๎าวกล๎องงอก วํา "ข๎าวยา" การรับประทาน ข๎าวกล๎องงอก ไมํเพียงเพื่อการอิ่มท๎อง แตํเป็นการรับประทานเพื่อ สุขภาพที่ดี หรือเรียกวํา "การรักษา กํอนการเจ็บป่วย" สิ่งแรกที่เห็นได๎ทันที อยํางชัดเจน เมื่อได๎รับประทานข๎าวกล๎องงอกคือการขับถําย การขับถํายที่ดี จะเป็นการขับสิ่งไมํพึงประสงค์ออกจากรํางกาย รวมทั้งขับสารพิษตํางๆ ออกมาด๎วย ถ๎ารับประทานข๎าวกล๎องงอกทุกวัน ก็จะทาให๎รํางกายได๎ขับถํายเป็นอยํางดี อยํางตํอเนื่อง สารกาบา เป็นสารที่มีประโยชน์ตํอระบบประสาท การรับประทานข๎าวกล๎องงอก มื้อละ 1-2 ขีด ก็ถือวําได๎รับ สารกาบาที่เพียงพอแล๎ว โดยเฉพาะการเลือกข๎าวกล๎องงอกที่ มีประมาณสารกาบาจานวนมากๆ ก็จะ ทาให๎ไมํต๎องรับประทานข๎าวจานวนมาก เชํน ข๎าวกล๎องงอก บีทูอี มีสารกาบา 95.6 มิลลิกรัม ตํอข๎าว 1 ขีด ถ๎ารับประทานข๎าวบีทูอี 2 ขีด ตํอวัน ก็จะได๎รับสารกาบา 193 มิลลิกรัม ตํอวัน ซึ่งถือวํามี ปริมาณสูงมากแล๎ว ข๎าวกล๎องงอกสามารถนาไปทาอาหารรับประทานได๎หลายหลายวิธี เชํน วิธีรับประทาน ขนาดรับประทาน หุงเป็นข๎าวสวย ข๎าวต๎ม ข๎าวโจ๏ก ข๎าวผงชง

1 จาน 1 ถ๎วย 1 ถ๎วย (ซอง) 1 ถ๎วย (ซอง)

ปริมาณข้าว 50 15 30 15

กรัม กรัม กรัม กรัม

ปริมาณกาบา (1) มิลลิกรัม

ปริมาณกาบา (2) มิลลิกรัม

15 มิลลิกรัม 4.5 มิลลิกรัม 9.0 มิลลิกรัม 4.5 มิลลิกรัม

45 มิลลิกรัม 13.5 มิลลิกรัม 27.0 มิลลิกรัม 13.5 มิลลิกรัม


ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

น้าข๎าวกล๎อง

1 ถ๎วย

10 กรัม

40 3 มิลลิกรัม

9 มิลลิกรัม

ปริมาณกาบา (1) คานวณ จากปริมาณกาบา ที่ 30 มิลลิกรัม / ข๎าว 100 กรัม ปริมาณกาบา (2) คานวณ จากปริมาณกาบา ที่ 90 มิลลิกรัม / ข๎าว 100 กรัม น้าหนักของข้าวกล้องงอกหอมมะลิ โดยประมาณดังนี้ 1. ข๎าว 1 ถ๎วยตวง น้าหนัก 150 กรัม 2. ข๎าว 1 ช๎อนกาแฟ (ช๎อนชา) น้าหนัก 5 กรัม 3. ข๎าว 1 ช๎อนคาว-ช๎อนโต๏ะ น้าหนัก 10 กรัม 4. ข๎าว 1 กิโลกรัม หุงเป็นข๎าวสวยได๎ ประมาณ 20 จาน (ขนาดข๎าวราดแกง)

- การหุงข๎าวกล๎องงอก เป็นข๎าวสวย รับประทานแทนข๎าววิธีนี้งํายที่สุด และจะได๎รับสารกาบา จานวนมากเพราะเรามักจะรับประทานข๎าว ประมาณ มื้อละ 1-2 ขีด - ข๎าวต๎มข๎าวกล๎องงอก การต๎มข๎าวต๎ม จะใช๎ข๎าวจานวนน๎อยกวํา แตํละมื้อ อาจรับประทานข๎าวต๎ม 1-2 ถ๎วย ก็จะใช๎ข๎าวน๎อยกวํา 1 ขีดตํอเมื่อ - นึ่งข๎าวกล๎องงอก เหมือนกับการหุงข๎าวสวยรับประทาน - โจ๏กข๎าวกล๎องงอก ปริมาณใกล๎เคียงกับการทาข๎าวต๎ม - น้าข๎าวกล๎องงอก ใช๎ข๎าวกล๎องงอก เพียงไมํเกิน 1 ช๎อน หรือประมาณ 10-15 กรัม - เปียกข๎าวกล๎องงอก โดยประมาณเทํากับข๎าวการทาข๎าวต๎ม - ข๎าวต๎มมัด-ข๎าวหลาม ผสมข๎าวกล๎องงอก ขึ้นอยูํกับปริมาณที่ใช๎ข๎าวกล๎องงอกผสม โดยทั่วไป จะผสมข๎าวกล๎องงอก 10-20% เทํานั้น


ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

41

- ไอสครีมข๎าวกล๎องงอก ใช๎ข๎าวกล๎องงอกเพียงเล็กน๎อยเทํานั้นนําจะน๎อยที่สุดในกระบวนการ ทั้งหมด อยํางไรก็ตามวิธีที่ดีและงํายที่สุด ในการรับประทานข๎าวกล๎องงอก คือการหุง เป็นข๎าวสวย รับประทานทุกวัน ถ๎าต๎องการให๎ข๎าวกล๎องงอกนุํม ก็ควรแชํข๎าวกล๎องงอกไว๎กํอน จะนานแคํไหน ก็แล๎วแตํวําความต๎องการให๎ข๎าวนุํมมากหรือน๎อย เชํน เวลา 1-3 ชั่วโมง เป็นต๎น

ประโยชน์ของข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ข๎าวกล๎องงอกมีสารตําง ๆ ที่มีคุณประโยชน์มากมายสาหรับผู๎ที่บริโภคอยํางตํอเนื่อง สารที่ สาคัญที่สุดคือ สารกาบ๎า หรือ กรดแกมมาอะมิโนบิวทิริก (Gamma Aminobutyric Acid, GABA) ชํวยป้องกันโรคอัลไซเมอร์ ชํวยผํอนคลาย ทาให๎จิตใจสงบ หลับสบาย ลดความเครียด วิตกกังวล ลดความดันโลหิต นอกจากนี้ยังมีสารแกมมาออรีซานอลที่ชํวยลดไขมันในเส๎นเลือด ปรับสมดุลความ ดันโลหิต และระดับน้าตาล ในเลือด กรดไขมันไลโนเลอิกและโอเลอิก ชํวยบารุงระบบประสาทและ สมองเสริมสร๎างเซลล์ผิวหนังและระบบสืบพันธุ์ให๎ดีขึ้น สารอนุมูลอิสระกลุํมฟิโนลิก ชํวยยับยั้งการ เกิดฝ้า ชะลอรอยเหี่ยวยํน กรดไฟติก ชํวยตํอต๎านเซลล์มะเร็ง มีวิตามินชนิดตําง ๆ อาทิ วิตามินอี ชํวยต๎านอนุมูลอิสระ ซํอมแซมเซลล์ตําง ๆ ในรํางกาย ชํวยลดความเหี่ยวยํนของผิว วิตามินบี ชํวย ป้องกันโรคเหน็บชา อาการปากนกกระจอก และยังมีกากใยอาหารที่และแรํธาตุตํางๆ ที่ชํวยในการ ขับถํายลดอาการท๎องผูกป้องกันมะเร็งลาไส๎ได๎อีกด๎วย

โรคอัลไซเมอร์ (Alxheimer’s disease) โรคอัลไซเมอร์ ถูกพบโดยจิตแพทย์ชาวเยอรมันชื่อวํา อาลอย อัลไซเมอร์ (Alois Alxheimer) เมื่อ พ.ศ. 2449 (ค.ศ. 1906) โดยได๎พบวําโรคอัลไซเมอร์เกิดขึ้นมากในผู๎ป่วยที่มีอายุมากกวํา 65 ปี แตํพบวําโรคอัลไซเมอร์ชนิดเกิดเร็ว (early-onset Alzheimer’s) ในคนอายุน๎อยกวําซึ่งก็มีไมํมากนัก ประมาณการวําในปัจจุบันมีประชากรทั่วโลกที่ป่วยเป็นโรคอัลไซเมอร์มากกวํา 20 ล๎านคนและจะเพิ่ม มากขึ้นเรื่อยๆ เมื่อประชากรผู๎สูงวัยในโลกนี้มีมากขึ้น โรคอัลไซเมอร์เป็นภาวะสมองเสื่อมที่พบได๎ บํอยที่สุด จัดเป็นโรคความเสื่อมที่รักษาไมํหายและจัดเป็นอาการป่วยระยะสุดท๎าย หลายครั้งอาการ แรกสุดที่พบ คือ การมีความเครียด เพราะผู๎ป่วยมักจะเข๎าใจผิดวําเป็นอาการที่เกิดขึ้นเองตามอายุขัย เมื่ออายุมากขึ้นก็อาจหลงลืมบ๎างเป็นเรื่องธรรมดา แตํจริง ๆ แล๎ว ผู๎ที่ป่วยเป็นโรคนี้จะเริ่มแสดงอาการ มากขึ้นหากไมํได๎รับการรักษา ถึงแม๎วําแตํละคนอาจจะมีอาการแตกตํางกันออกไป แตํอาการที่พบบํอย ในระยะแรกคือการการสูญเสียความจา เชํน พยายามจาข๎อมูลที่เรียนรู๎ไมํได๎ ลืมงํายกวําเดิม ตํอมาอาจ เริ่มหลงลืมจาญาติพี่น๎องคนสนิทใกล๎ตัวไมํได๎ หากผู๎ป่วยเริ่มเข๎ารับการรักษาในระยะต๎น แพทย์ที่สงสัย


ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

42

วําผู๎ป่วยเป็นโรคนี้อาจจะสอบถามพฤติกรรมที่ผํานมาและยืนยัน การวินิจฉัยโดยการประเมินพฤติกรรม เหลํานั้นหรือที่เกิดขึ้นใหมํ อาจมีการทดสอบการรับรู๎ และสแกนสมองเพื่อหาสาเหตุที่ชัดเจนขึ้น หากผู๎ป่วยเป็นโรคนี้และไมํได๎รับการรักษาตั้งแตํเนิ่น ๆ เมื่อโรคดาเนินไประยะหนึ่งอาจจะมี อารมณ์แปรปรวน เกิดอาการสับสน หงุดหงิดงํายและก๎าวร๎าว เสียความสามารถทางภาษา สู ญเสีย ความทรงจาระยะยาวและเพิกเฉยตํอสิ่งตําง ๆ เนื่องจากผู๎ป่วยเสียการรับความรู๎สึก ตํอมาจะสูญเสีย ความสามารถในการทางานตํางๆ ของรํางกาย และเสียชีวิตในที่สุด ปัจจุบันการพยากรณ์โรคในผู๎ป่วยแตํละรายนั้นทาได๎ยาก เนื่องจากระยะเวลาของโรคมีความ หลากหลายมาก การดาเนินโรคของโรคนี้จะมีชํวงระยะเวลาที่ไมํแสดงอาการแนํชัดกํอนจะปรากฏ อาการชัดเจน ในทางสถิติความหมายการคงชีพหลังได๎รับการวินิจฉัยวําเป็นโรคอัลไซเมอร์โดยเฉลี่ยอยูํ ประมาณ 7 ปี สาหรับผู๎ที่มีชิตอยูํได๎มากกวํา 14 ปี หลังได๎รับการวินิจฉัยนั้นมีน๎อยกวําร๎อยละ 3 เทํานั้น

สาเหตุของโรคอัลไซเมอร์ แม๎จะมีงานวิจัยทางด๎านนี้อยูํมาก แตํสาเหตุและการดาเนินโรคของโรคอัลไซเมอร์ยังไมํเป็น ที่เข๎าใจดีมากนักในปัจจุบัน การรักษาในปัจจุบันชํวยเกี่ยวกับอาการของโรคเพียงเล็กน๎อย แตํยังไมํมี การรักษาที่ชํวยชะลอ หรือหยุดการดาเนินโรคอยํางแท๎จริง มีการทดลองทางคลินิกทั่วโลกมากมายเพื่อ ทดสอบความเป็นไปได๎ในการรักษา แตํก็ยังไมํมีงานวิจัยใดที่ประสบความสาเร็จ สามารถรักษาโรคนี้ ให๎หายขาดได๎ จากผลงานวิจัยที่ได๎ พบวํา โรคอัลไซเมอร์ มีความสัมพันธ์กับพันธุกรรม ซึ่งเป็นปัจจัยสาคัญ หนึ่งของการเกิดโรคอัลไซเมอร์กํอนวัยอันควร เนื่องจากพบความผิดปกติในยีนต์ที่กาหนดโครโมโซม ในตาแหนํงตํา ง ๆ อาจสํงเสริมให๎เกิ ดโปรตีนบางชนิดในสมอง ซึ่งมีผลทาให๎เซลล์สมองตายแล๎ว รวมตัวกันทาให๎สูญเสียความทรงจาและเสียชีวิตในที่สุด สาหรับผู๎ป่วยอัลไซเมอร์ที่อายุยังน๎อย สํวนใหญํ พบวํา เคยประสบอุบัติเหตุทางสมองมากํอน ถ๎าหากสมองได๎รับการกระทบกระเทือนอยํางรุนแรง ผู๎ป่วยในกลุํมนี้มีสิทธิเป็นอัลไซเมอร์สูง และเมื่อ มีพันธุกรรมมาเกี่ยวด๎วย ยิ่งทาให๎เป็นอัลไซเมอร์ได๎เร็วและมากกวําคนปกติหลายเทําตัว นอกจากนี้ผลจาการวิจัยพบวําผู๎ที่ป่วยเป็นโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง หรือผู๎มีคอเล สตอรอลในเลือดสูงก็มีความเสี่ยงเป็นโรคนี้เชํนกัน ผู๎ป่วยเบาหวานมีการตอบสนองในเรื่องของความจา และความเร็วน๎อยกวําคนธรรมดาทั่วไปยังพบอีกวํา รํางกายของผู๎ป่วยอัลไซเมอร์ไมํสามารถนาอินซูลิน ที่ผลิตมาใช๎ได๎อยํางเหมาะสม ซึ่งคล๎ายคลึงกับการต๎านอินซูลินในผู๎ป่วยเป็นโรคเบาหวาน เมื่อมีปริมาณ สารอินซูลินมากเป็นการเพิ่มการอักเสบและความเครียด ผู๎มีความดันโลหิตสูงหรือ ผู๎มีคอเลสเตอรอล


ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

43

ในกระแสเลือดสูงมีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคหลอดเลือดในสมองเมือ่ สมองได๎รับออกซิเจนน๎อยลง ทาให๎ ความเชื่อมโยงของประสาทถูกทาลาย จนนาไปสูํการเป็นโรคอัลไซเมอร์ สาหรับปัจจัยอื่น ความเครียดก็เป็นตัวการสาคัญในการทาลายเซลล์สมอง เพราะความเครียด ไปเปลี่ยนแปลงการทางานการทางานของสมองและการทางานของตํอมไร๎ทํอ ทาให๎เกิดสารอะดีนาลิน หลั่งมากเกินไป ทาให๎ความสมดุลของรํางกายและจิตใจเปลี่ยนไป ดังนั้น ผู๎ป่วยในระยะต๎นมักมีอาการ เครียดและเข๎าใจผิดวําเป็นอาการที่เกิดขึ้นเองตามอายุขัยและทาให๎เกิดการหลงลืมขึ้นงําย

อาการของโรคอัลไซเมอร์ ผู๎ป่วยโรคอัลไซเมอร์จะมีความผิดปกติในด๎านตําง ๆ หลายด๎านด๎วยกัน ดังตํอไปนี้ 1) ความผิดปกติทางด๎านความทรงจา ผู๎ป่วยมักบํนวําจาอะไรไมํได๎เมื่อมีการเรียนรู๎สิ่งใหมํ ๆ หรือลืมความทรงจาในอดีต เชํน ชื่อญาติพี่น๎อง หรือลืมวําเปิดประตูอยํางไร 2) ความผิดปกติของความเฉลียวฉลาด ความสามารถของผู๎ป่วยที่เคยมี จะขาดหายไป เชํน ความมีเหตุมีผล การชํวยเหลือตนเอง การคานวณ 3) การเปลี่ยนแปลงทางจิตเวช มีอาการของโรคจิต อาจพบได๎ตอนเริ่มต๎น ตอนกลาง ตอนท๎าย หรือเป็นตลอดระยะเวลาของการเป็นอัลไซเมอร์หรือเป็น ๆ หาย ๆ บุคลิกภาพที่พบบํอยมาก ที่สุดคือ ไมํสนใจสิ่งแวดล๎อม ไมํมีเหตุผล ซึมเศร๎า เฉี่อยชา กังวล หงุดหงิด หวาดระแวง และ พฤติกรรมที่ผิดปกติ เชํน ทาอะไรซ้าซาก ไมํยอมอยูํกับที่การแสดงออกทางสังคมไมํเหมาะสม เห็น ภาพหลอน หูแวํว 4) ความผิดปกติเกี่ยวกับการใช๎ภาษา ระยะแรกหาคาพูดทีเหมาะสม กับคาที่จะพูดไมํได๎ ตํอมาอาจจะเรียกชื่อสิ่งของผิดและไมํมีสมาธิทาให๎ไมํสามารถสนทนาหรือสร๎างประโยคได๎จึงทาให๎พูด ประโยคสั้นลง จนในที่สุดอาจจะพูดซ้า ๆ หรือไมํพูดเลย 5) ความผิดปกติเกี่ยวกับการรู๎ทิศทางและเวลา ผู๎ป่วยอาจหลงทาง ไมํรู๎วัน เวลา สถานที่ บุคคลและกลางคืนไมํยอมนอนเปลี่ยนมานอนกลางวันแทน 6) ความผิดปกติทางระบบการเคลื่อนไหวและระบบประสาทสํวนอื่น ๆ ความผิดปกติเหลํานี้ เกิดขึ้นในระยะหลังของโรค ซึ่งได๎แกํ อาการเคลื่อนไหวช๎า เรียกวํา กลุํมอาการคล๎ายโรคพาร์กินสัน ซึ่งทาให๎มีอาการชักและอาการกระตุก บางคนมีอาการเกร็ง

ลักษณะของโรคอัลไซเมอร์ ลาดับการเกิดโรคอัลไซเมอร์ มีลักษณะของความบกพรํองของหน๎าที่และการรับรู๎ที่แยํลงเรื่อยๆ ตามอาการ โดยสามารถแบํงออกเป็น 4 ระยะ ดังนี้ 1) ระยะก่อนสมองเสื่อม (Predementia)


ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

44

อาการแรกสุดมักจะเข๎าใจผิดวําผู๎ป่วยโรคนี้มีอาการที่เกิดขึ้นเองจากความชราภาพหรือเกิดจาก ภาวะเครียด การทดสอบทางประสาทจิตวิทยาพบวําความบกพรํองทางการเรียนรู๎เล็กน๎อยซึ่งอาจกิน เวลานานเกือบถึง 10 ปีกวําที่ผู๎ป่วยจะมีลักษณะครบตามเกณฑ์ การวินิจฉัยโรคอัลไซเมอร์ ความบกพรํองที่เห็นได๎ชัดคือ การสูญเสียความจา คือพยายามจาข๎อมูลที่ได๎เรียนรู๎ เมื่อเวลา ไมํนานมานี้ไมได๎และไมํสามารถรับข๎อมูลใหมํๆ ได๎ อาการเริ่มแรกนี้ จะมีผลกระทบตํอชีวิตประจาวัน ที่ซับซ๎อนสํวนใหญํซึ่งก็เป็นปัญหาเกี่ยวกับหน๎าที่การบริหารจัดการ อาทิ ความใสํใจตํอสิ่งหนึ่ง ๆ การ วางแผน ความยืดหยุํน และความคิดเชิงนามธรรม หรืออาจเกิดความบกพรํองของการจาความหมาย และความสัมพันธ์เชิงแนวคิด เชํน ปลาวาฬเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด๎วยนม หรือขนุนมีสีเหลือง เป็นต๎น 2) สมองเสื่อมระยะแรก (Early dementia) ในระยะนี้ ผู๎ป่วยโรคอัลไซเมอร์จะมีความบกพรํองของความจาและการเรียนรู๎จนสามารถ วินิจฉัยอยํางแนํนอนได๎ ผู๎ป่วยบางสํวนมีอาการบกพรํองทางภาษา การบริหาร การกาหนดรู๎หรือการ จัดการเคลื่อนไหว ผู๎ป่วยจะมีผลกระทบของความจาชนิดตําง ๆ ไมํเทํากัน ความจาหรือความรู๎ใหมํจะ ได๎รับผลกระทบมากกวําความทรงจาระยะยาว ที่เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเฉพาะตัวของผู๎ป่วย อาทิ เชํน ความจาเชิงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น หรือประสบการณ์ของผู๎ป่วย ความรู๎ทั่วไป ความจาของรํางกายวําทา สิ่งตําง ๆ อยํางไร เชํน การใช๎ช๎อนส๎อมรับประทานอาหาร เป็นต๎น นอกจากนี้ปัญหาทางภาษาที่อาจเกิดขึ้น คือ การรวบคาให๎สั้น และการพูดหรือใช๎คาศัพท์ที่ ไมํฉะฉานหรือคลํองแคลํวเหมือนเดิม ทาให๎พูดหรือเขียนภาษาได๎น๎อยลง ระยะนี้ผู๎ป่วยโรคอัลไซเมอร์ ยังสามารถสื่อสารบอกความคิดพื้นฐานของตนได๎ เมื่อผู๎ป่วยมีการเคลื่อนไหวโดยละเอียด เชํน การเขียน การวาดภาพ หรือการแตํงตัว อาจพบความบกพรํองของการประสานการเคลื่อนไหว และการวางแผน ทาให๎ผู๎ป่วยดูเงอะงะหรือซุํมซําม เมื่อโรคดาเนินตํอไป ผู๎ป่วยอัลไซเมอร์มักสามารถทางานหลายอยําง ได๎ด๎วยตนเอง แตํอาจต๎องอาศัยผู๎ชํวยหรือผู๎ดูแลในกิจกรรมที่จะต๎องอาศัยกระบวนการคิดหรือการรับรู๎ อยํางมาก 3) สมองเสื่อมระยะปานกลาง (Moderate dementia) ในระยะนี้จะพบวําความเสื่อมของสมองทาผู๎ป่วยไมํสามารถทากิจกรรมตําง ๆ ได๎ดว๎ ยตนเอง มีความบกพรํองด๎านการพูดปรากฏชัดเจน เนื่องจากไมํสามารถนึกหาคาศัพท์ได๎ ทาให๎ใช๎ศัพท์ผิดหรือ ใช๎คาอื่นมาแทนทักษะการอํานและการเขียนคํอย ๆ หายไปเรื่อย ๆ นอกจากนี้ความทรงจาระยะยาว ซางแตํเดิมยังคงอยูํก็จะคํอย ๆ บกพรํองไป และมีพฤติกรรม เปลี่ยนแปลงของอาการที่พบบํอยคือ ความรู๎สึกผิดปกติ สับสน หรือเห็นภาพหลอนในเวลาโพล๎เพล๎


ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

45

หรือกลางคืน หงุดหงิดโมโหงําย และอารมณ์แปรรวน เชํน ร๎องไห๎ ก๎าวร๎าวอยํางไมํมีเหตุผล หรือดื้อ ตํอผู๎ดูแล การหนีออกจากบ๎าน เป็นต๎น ประมาณร๎อยละ 30 ของผู๎ป่วยอาจมีอาการหลงผิดอื่น ๆ บางคนอาจมีอาการเชื่อวําบุคคล สิ่งของ หรือสถานที่เปลี่ยนแปลงไป และอาจมีอาการกลั้นปัสสาวะไมํได๎อาการดังกลําวทาให๎ เกิด ความเครียดตํอผู๎ดูแล ครอบครัวหรือญาติพี่น๎อง ซึ่งอาจต๎องตัดสินใจสํงผู๎ป่วยไปยังสถานรับดูแลผู๎ป่วย ระยะยาวอื่นๆ เพื่อลดความเครียด เมื่อเวลาผํานไป ผู๎ป่วยจะประสบปัญหาด๎านความคลํองตัวของการประสานงานเพื่อการ เคลื่อนไหวที่ซับซ๎อนลง ทาให๎ไมํสามารถทากิจกรรมในชีวิตประจาวันสํวนใหญํได๎อยํางปกติ ในระยะ นี้ปัญหาความทรงจาของผู๎ป่วยจะแยํลงเรื่อย ๆ และผู๎ป่วยไมํสามารถจาญาติพี่น๎องที่สนิทของตนเองได๎ 4) สมองเสื่อมระยะสุดท้าย (Advanced dementia) ในระยะสมองเสื่อมระยะสุดท๎ายนี้ผู๎ป่วยต๎องพึ่งพาผู๎ดูแลตลอดเวลา ทักษะทางภาษาของผู๎ป่วย ลดลงแม๎เพียงการพูดวลีงํายๆ หรือคาเดี่ยวๆ จนกระทั่งไมํสามารถพูดได๎เลย แม๎วําผู๎ป่วยจะไมํสามารถ พูดจาตอบโต๎เป็นภาษาได๎ แตํผู๎ป่วยมักสามารถเข๎าใจคาพูดและตอบสนองกลับมาด๎วยการแสดงอารมณ์ ถึงแม๎ผู๎ป่วยอาจจะยังมีลักษณะก๎าวร๎าวแตํลักษณะของภาวะไร๎อารมณ์และอํอนเพลียจะเดํนกวํา ในที่สุดผู๎ป่วยจะไมํสามารถทากิจกรรมใดได๎เลยหากขาดผู๎ชํวยเหลือ มวลกล๎ามเนื้อและการเคลื่อนไหว รํางกายลดลงจนผูป๎ ่วยต๎องนอนนิ่งอยูํเฉยๆ และไมํสามารถป้อนอาหารด๎วยตนเองได๎ และสุดท๎ายผู๎ป่วย อาจเสียชีวิตจากปัจจัยภายนอกอื่น ๆ โดยตรง อาทิ แผลกดทับหรือโรคปอดบวม แตํไมํได๎เสียชีวิต จากโรคอัลไซเมอร์โดยตรง วิธีการบาบัดโรคอัลไซเมอร์ แม๎จะมีวิธีตํางๆ มากมายที่เชื่อวําป้องกันโรคอัลไซเมอร์ แตํก็ยังไมํได๎รับการพิสูจน์วําจะชํวย ชะลอการดาเนินโรคและลดความรุนแรงของโรคไดแตํแนวทางแนะนาเชื่อวําจะชํวยป้องกันและจัดการ โรคได๎นั้นคือกระตุ๎นทางจิตใจ การออกกาลังกายและการรับประทานอาหารครบทุกหมูํที่เป็นประโยชน์ ตํอระบบประสาทและสมอง เนื่องจากโรคอัลไซเมอร์เป็นโรคความจาเสื่อมที่รักษาไมํหาย การจัดการ ผู๎ป่วยจึงนับเป็นสิ่งที่สาคัญอยํางยิ่ง โดยเฉพาะบทบาทของผู๎ดูแล ซึ่งมักจะเป็นคูํสมรส หรือญาติใกล๎ชิด เป็นที่รู๎กันวําผู๎ป่วยโรคนี้จะสร๎างภาระให๎แกํผู๎ดูแลอยํางมาก ทั้งในทางกายสังคม ทางจิต ทางสังคม และเศรษฐกิจ ในประเทศที่กาลังพัฒนาโรคนี้นับเป็นหนึ่งในโรคที่กํอคําใช๎จํายทางเศรษฐกิจตํอสังคม มากที่สุด สาหรับตัวผู๎ป่วยเป็นโรคอัลไซเมอร์มักจะไมํรู๎ตัววําตัวเองกาลังป่วย ดังนั้น หากคนใกล๎ชิด สังเกตเห็นความผิดปกติที่เข๎าขํายกับอาการข๎างต๎น ควรนาไปพบแพทย์และให๎ความรํวมมือด๎วยดี


ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

46

การดูแลอาการที่เกี่ยวกับกิจกรรมและการดาเนินชีวิตประจาวัน ผู๎ดูแลควรให๎โอกาสผู๎ป่วยได๎ออกกาลังกายตามสมควร บางครั้งอาจพาเข๎าสังคมบ๎าง ปลํอยให๎ ชํวยเหลือตนเองบ๎าง พาไปเที่ยวเพื่อลดความเครียด และให๎เกิดการเรียนรู๎สิ่งใหมํๆ อยูํบํอย ๆ การช่วยเหลือเรื่องความจาที่บกพร่อง ผู๎ป่วยโรคอัลไซเมอร์มักจะมีอาการหลงลืม ดังนั้น การใช๎ปฎิทินในเรื่องของวัน เวลา จะชํวย ได๎มาก การเขียนชื่อ ที่อยูํ สิ่งของเครื่องใช๎ที่จาเป็นในชีวิตประจาวัน เพื่อไมํให๎ผู๎ป่วยลืมของตนเอง ก็จะทาให๎ปัญหาเรื่องนี้บรรเทาลง

การติดต่อสื่อสารกับผู้ป่วย การติดตํอสื่อสารเป็นสิ่งสาคัญและจาเป็นสาหรับผู๎ป่วย เวลาสื่อสารกับผู๎ป่วยให๎สบตามองหน๎า อยํางใกล๎ชิด ควรพูดช๎า ๆ ชัด ๆ ใช๎ประโยคที่สั้นและเข๎าใจงําย พยายามเรียกชื่อผู๎ป่วยเพื่อให๎เกิด ความรู๎สึกสนิทกับผู๎ป่วย และเป็นการเตือนความทรงจาของผู๎ป่วยด๎วย พยายามชวนคุยถึงเรื่องในอดีต และลาดับเหตุการณ์มาจนถึงปัจจุบัน เพื่อกระตุ๎นความทรงจาในสํวนนี้ การป้องกัน อัลไซเมอร์ เป็นโรคที่ไมํสามารถจะรักษาให๎หายขาดได๎ การป้องกันตัวเองจึงเป็นหนทางหนึ่ง ที่หลีกเลี่ยงการป่วยจากโรคนี้ได๎ ดังนั้น เราจึงควรรับประทานอาหารที่เปี่ยมไปด๎วยแรํธาตุ วิตามิน ที่ชํวยบารุงรักษาระบบประสาทและสมองอยูํเสมอ เชํน ข๎าวกล๎องงอกที่มีสารกาบ๎า หรือกรดอะมิโน บิวทิอิกที่ชํวยบารุงระบบประสาท ใบแปะก๏วย เนื่องจากมีสารสกัดคือสารแอนติออกซิแดนท์ จะชํวย ในการไหลเวียนไปเลี้ยงสมองได๎ดี วิตามินอี ชํวยลดอัตราเสี่ยงของการเกิดโรคหลอดเลือดสมองและ ลดระดับคอเลสตอรอท น้ามันปลาหรือโอเมก๎า -3 ชํวยบารุงสมองด๎านความทรงจา และการเรียนรู๎ โคลีนเป็นสํวนประกอบของเลซิทินและเป็นสํวนหนึ่งของสารอะเซทิลโคลีน ที่เป็นสารสื่อขําวในสมอง ที่รํางกายสามารถผลิตได๎เอง พบได๎มากในถั่วเหลือง ไขํแดง ตับ ข๎าวโอ๏ต กระหล่าปลี กระหล่าดอก เนื้อสัตว์ และปลา เป็นต๎น นอกจากนี้การทากิจกรรมตําง ๆ ที่เป็นประโยชน์ตํอระบบประสาทและสมอง ก็จะมีสํวนลด ความเสื่อมของโรคอัลไซเมอร์ได๎ การออกกาลังกายบํอย ๆ ก็จะทาให๎เลือดไหลเวียนดีและได๎รับ ออกซิเจนเป็นผลดีตํอระบบประสาท การฝึกเซลล์สมองโดยการเลํนเกมปริศนาตําง ๆ เป็นการทาให๎ สมองได๎ออกกาลังกายเชํนเดียวกับการเรียนรู๎สิ่งใหมํ ๆ การเพิ่มและสร๎างความกระตือรือร๎นให๎มากขึ้น


ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

47

ผู๎ที่ดาเนินชีวิตหรือกิจกรรมตํางๆ ด๎วยความกระตือรือร๎นมีโอกาสน๎อยกวําที่จะเป็นโรคอัลไซเมอร์ และ ความพยายามทาจิตใจให๎เบิกบานและผํอนคลายอารมณ์อยูํเสมอ ไมํเครียด เพื่อทาให๎รํางกายและจิตใจ สมดุล ไมํมีการกระตุ๎นทาให๎เกิดสารอะดรีนาลีนหลั่งจนไปรบกวนการทางานของระบบประสาท

การประกอบกิจกรรมร่วมกันและวิถีชีวิตในชุมชนวัดท่าสะแบง การบรรจุภัณฑ์ข้าวกล้องงอกหอมมะลิวัดท่าสะแบง


ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

48

การจาหน่ายผลิตภัณฑ์ข้าวกล้องงอกหอมมะลิในจังหวัดร้อยเอ็ด


ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

49

แหล่งอ้างอิง กรมการข๎าว. เอกสารเผยแพร่ ปี 2552. สานักงานเกษตรอาเภอแวงใหญํ, ขอนแกํน : 2552. กรมสํงเสริมการเกษตร. การปลูกข้าวที่ถูกต้องและเหมาะสม. สํวนสํงเสริมการผลิตข๎าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ : 2545. ต๎นกล๎า นาตรัง. ข้าวกล้องงอกและผลิตภัณฑ์แปรรูปจากข้าวกล้องงอก. กรุงเทพฯ : บริษัท ไพลิน บุ๏คเน็ต จากัด, 2552. ภูมิปัญญาพื้นบ๎าน ชุมชนวัดทําสะแบง ตาบลมะบ๎า อาเภอทุํงเขาหลวง จังหวัดร๎อยเอ็ด. วัชรินทร์ แสนรุํงเมือง. ภูมิปัญญาพื้นบ้านในการพัฒนาการผลิตข้าวหอมมะลิมาตรฐานเพื่อการส่งออก


ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

50

ของเกษตรกรในเขตทุ่งกุลาร้องไห้. วิทยานิพนธ์ ปร.ด. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัย มหาสารคาม, 2551. วารสาร สมุนไพรเพื่อสุขภาพ. ข้าวเมล็ดน้อย แต่มีร้อยพันค่า. สานักพิมพ์ ยูทิไลซ์ จากัด, กรุงเทพฯ : 2546. ศูนย์วิจัยข๎าวอุบลราชธานี http://ubn.ricethailand.go.th/ สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดร๎อยเอ็ด. พื้นที่ปลูกข้าวจังหวัดร้อยเอ็ด. งานศูนย์ข๎อมูล การเกษตรและสหกรณ์, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. กรุงเทพฯ : 2549. http://th.wikipedia.org/ http:// thairice.org www.patomsit.net www.b2eoryza.com


ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

51

กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมอาชีพการทาข้าวกล้องงอกหอมมะลิชุมชนวัดท่าสะแบง


ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

52

การทากิจกรรมร่วมกันของบุคคล 3 วัยในชุมชนวัดท่าสะแบง


ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

53

การทากิจกรรมร่วมกันของบุคคล 3 วัยในชุมชนวัดท่าสะแบง


ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ชุมชนวัดท่าสะแบง

54

คณะผู้จัดทา 1. พระครูสุทธิวโรภาส 2. พระอนุสรณ์ ปภัสฺสโร 3. พระมหา ดร.ทองจันทร์ กมโล 4. คณะสงฆ์วัดทําสะแบงทุกรูป 5. นายบุญเสริม เครือน้าคา 6. นายประพันธ์ ดิลกศรี 7. นายธารง ทิพยสาร 8. นายประดิษฐ์ ฤทธิวุฒิ 9. นางคมทอง จานงค์จิตร 10. นางสุปรียา ทิพยสาร 11. นางสาวกัตติกา ชุดขุนทด 12. นางวิภา ชุดขุนทด 13. นายประจันทร์ ใจขาน 14. นายพิบูลย์ เกษเพชร 15. ดร.วัชรินทร์ แสนรุํงเมือง

เจ๎าอาวาสวัดทําสะแบง ประธาน วัดทําสะแบง รองประธาน วัดทําสะแบง ผู๎ประสานงาน วัดทําสะแบง กรรมการ กานันตาบลมะบ๎า กรรมการ ผู๎ใหญํบ๎านหมูํ 4 กรรมการ ผู๎ใหญํบ๎านหมูํ 7 กรรมการ ผู๎ชํวยผู๎ใหญํบ๎านหมูํ 4 กรรมการ สารวัตรกานันตาบลมะบ๎า กรรมการ สารวัตรกานันตาบลมะบ๎า กรรมการ บ๎านทําสะแบง กรรมการ ผู๎ชํวยผู๎ใหญํบ๎านหมูํ 7 ภูมิปัญญาพื้นบ๎าน บ๎านทําสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ๎าน บ๎านทําไคร๎ ภูมิปัญญาพื้นบ๎าน นักวิชาการ ที่ปรึกษาและถอดบทเรียน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.