STAAD.RCDC STAAD Advanced Concrete design
Design | Detail | Drawing | Report
STAAD.RCDC workbook
สารบัญ บทที่ 1 : วิเคราะห์ โมเดลด้ วยโปรแกรม STAAD.Pro .................................................................... 1 วิเคราะห์ โมเดลด้ วยโปรแกรม STAAD.Pro .......................................................................................... 1
บทที่ 2 : ออกแบบคานคอนกรีตเสริมเหล็ก .................................................................................... 3 เปิ ดโมเดลในโปรแกรม STAAD Advanced Concrete Design RCDC ......................................................... 3 รีวิวข้ อมูลน ้ำหนักบรรทุก Loading information ...................................................................................... 4 กำรตั ้งค่ำคำนคอนกรีต ........................................................................................................................ 5 กำรตั ้งค่ำ Rebar Curtailment ............................................................................................................ 9 กำรตั ้งค่ำรำยละเอียดและแบบ (Detailing and Drawing) ........................................................................ 9 ระยะวำงและจำนวณเหล็กที่ต้องกำร (Preferred Bar Spacing Criteria) ................................................... 11 ออกแบบคำนคอนกรีตเสริ มเหล็ก ......................................................................................................... 12 กำรสร้ ำง
Beam Schedules and Drawings ....................................................................................... 14
แสดงกำรคำนวนออกแบบคำน ............................................................................................................ 16
บทที่ 3 : ออกแบบเสาคอนกรีตและกาแพงรับแรงเฉือน ............................................................. 19 ส่งเสำคอนกรีตให้ โปรแกรม STAAD Advanced Concrete Design RCDC.................................................. 19 รีวิวข้ อมูลน ้ำหนัก Loading information ............................................................................................. 20 กำรตั ้งค่ำออกแบบเสำคอนกรี ตเสริมเหล็ก .............................................................................................. 21 กำรตั ้งค่ำกำรเสริ มเหล็ก ..................................................................................................................... 22 กำรตั ้งค่ำรำยละเอียดและแบบ (Detailing and Drawing) ...................................................................... 24 กำรตั ้งค่ำโซนเหล็กเสริ ม ..................................................................................................................... 26 รีวิวกำรออกแบบเสำ ......................................................................................................................... 27 รีวิวผลลัพธ์ ของกำแพงต้ ำนแรงเฉือนคอนกรีต ......................................................................................... 28 กำรสร้ ำง
Column Schedule and Drawings ..................................................................................... 29
แสดงกำรคำนวนออกแบบเสำ ............................................................................................................. 33
บทที่ 4 : ออกแบบพื้นคอนกรีต ..................................................................................................... 36 ส่งพื ้นคอนกรีตให้ โปรแกรม STAAD Advanced Concrete Design RCDC .................................................. 36 โมเดลช่องเปิ ดในพื ้นและกำรระบุระดับพื ้น ............................................................................................. 37 กำรใส่ค่ำน ้ำหนักบรรทุกและควำมหนำพื ้น ............................................................................................. 38 กำรตั ้งค่ำออกแบบพื ้นคอนกรีตเสริมเหล็ก .............................................................................................. 39 ออกแบบพื ้นคอนกรี ตเสริมเหล็ก .......................................................................................................... 41 กำรสร้ ำงแบบให้ รำยละเอียดและแบบก่อสร้ ำง (Construction and Detail Drawings) ................................. 43 กำรสร้ ำงรำยงำนกำรคำนวณกำรออกแบบ ............................................................................................. 45
P age |1
หนังสื อคู่มือการทางานการออกแบบโครงสร้ างคอนกรีตเสริมเหล็กโดยใช้ โปรแกรม STAAD Advanced Concrete Design RCDC ในหนังสือคู่มือการทางานเล่มนี้ประกอบด้วย แบบฝึ กหัดแนะนาการใช้โปรแกรม STAAD Advanced Concrete Design RCDC ในการออกแบบคาน เสา กาแพง และพื้นคอนกรี ตเสริ มเหล็ก
บทที่ 1 : วิเคราะห์ โมเดลด้ วยโปรแกรม STAAD.Pro คาอธิบายบท: คุณจะได้เรี ยนรู ้วิธีการวิเคราะห์โครงสร้างคอนกรี ตในโปรแกรม STAAD.Pro เพื่อเป็ นการ เตรี ยมความพร้อมในการออกแบบโครงสร้างคอนกรี ตเสริ มเหล็กโดยใช้ STAAD Advanced Concrete Design RCDC วิเคราะห์ โมเดลด้ วยโปรแกรม STAAD.Pro ในแบบฝึ กหัดนี้คุณจะได้เรี ยนรู ้วิธีการเปิ ดโปรแกรม STAAD.Pro และทาการวิเคราะห์โมเดล สาหรับโมเดล โครงสร้างคอนกรี ตต้องทาการวิเคราะห์ (Run analysis) ก่อนทุกครั้งที่จะส่งชิ้นส่วนโมเดลไปออกแบบใน โปรแกรม STAAD Advanced Concrete Design RCDC 1. เปิ ดไฟล์ ConcreteDesign.std ใน STAAD.Pro
P age |2
2. ให้สงั เกตว่าใส่ ขอ้ มูลตามด้านล่างนี้ที่โมเดลใน STAAD.Pro เป็ นที่เรี ยบร้อยแล้ว ▪ ▪ ▪ ▪
คุณสมบัติ (Properties): คุณสมบัติหน้าตัดของทุกชิ้นส่วนในโมเดลได้ถูกกาหนดไว้หมดแล้ว วัสดุ(Materials): ทุกชิ้นส่วนในโมเดลเป็ นวัสดุคอนกรี ต ฐานรองรับ (Supports): ฐานรองรับทั้งหมดถูกหนดให้เป็ นแบบยึดแน่น (Fixed support) นา้ หนักบรรทุก (Loads): น้ าหนักจากแผ่นดินไหว(Seismic Load) น้ าหนักคงที่ (Dead Load) น้ าหนักจร (Live Load) และน้ าหนักหลังคา (Roof Live Load)
3. คลิกที่ไอคอน 3D Rendering
ใน แถบริ บบอน View กลุ่มริ บบอน Windows
4. ปิ ดหน้าต่าง Rendered View 5. คลิกที่ไอคอน Run Analysis
ที่แถบริ บบอน Analysis and Design เพื่อทาการวิเคราะห์โมเดล
6.ในหน้าต่าง STAAD Analysis and Design ให้เลือก Stay in Modeling Mode แล้วคลิกที่ปุ่ม Done 7.จากนั้นให้กดปิ ดโปรแกรม STAAD.Pro ไฟล์โมเดลที่ทาการวิเคราะห์แล้ว ต้องถูกปิ ดก่อนที่จะส่งต่อข้อมูล ไปสู่ STAAD Advanced Concrete Design RCDC
P age |3
บทที่ 2 : ออกแบบคานคอนกรี ตเสริ มเหล็ก คาอธิบายบท: คุณจะได้เรี ยนรู ้การออกแบบคานคอนกรี ตเสริ มเหล็กใน STAAD Advanced Concrete Design RCDC เปิ ดโมเดลในโปรแกรม STAAD Advanced Concrete Design RCDC คุณจะได้เรี ยนรู ้การส่งข้อมูลคานคอนกรี ตจากการทาการวิเคราะห์ใน STAAD.Pro สู่ STAAD Advanced Concrete Design RCDC 1. เปิ ดโปรแกรม
STAAD Advanced Concrete Design RCDC ในหน้าเดสก์ท็อป
2.ในหน้าต่าง Start ให้ใส่ขอ้ มูลตามด้านล่างนี้ Project: Concrete Beams Client: Training Engineer: ใส่ ชื่อตัวเอง Design Code: ACI 318M – 2011 Analysis Data: เลือกไฟล์ ConcreteDesign.std Design Element: Beam Levels: 2 m จากนั้นคลิกที่ปุ่ม Create New Project เพื่อเริ่ มโปรเจคใหม่
P age |4
3. ในหน้าต่างหลักให้สงั เกตข้อมูลตามด้านล่างนี้ปรากฏในรู ปแบบตาราง ▪ แถบ Design Grouping: สังเกตว่าคานคอนกรี ตได้ถูกย้ายมาสู่ในโปรแกรม STAAD Advanced Concrete Design RCDCและขนาดของคานคอนกรี ตทั้งหมดที่ระบุไว้ใน STAAD.Pro ได้ถกู นาเข้า มาด้วย ▪ แถบ Beam Continuum: สังเกตว่า STAAD Advanced Concrete Design RCDC สามารถรู ้ได้เลยว่า คานเป็ นคานต่อเนื่องและจัดกลุ่มเป็ นคานต่อเนื่องเพื่อถูกออกแบบต่อเนื่องกัน 4.. ให้เปิ ดโปรแกรมไว้สาหรับแบบฝึ กหัดต่อไป
รีววิ ข้ อมูลนา้ หนักบรรทุก Loading information คุณจะได้เรี ยนรู ้วิธีการรี วิวข้อมูลน้ าหนักดังนี้ ▪ เคสน้ าหนักบรรทุกพื้นฐาน (Basic Load Cases) ▪ การรวมน้ าหนักบรรทุก (Load Combinations) หมายเหตุ: ถ้าโมเดลถูกสร้างขึ้นจากโปรแกรม STAAD.Pro เคสน้ าหนักบรรทุกพื้นฐาน (Basic Load Cases) และการรวมน้ าหนักบรรทุก (Load Combinations) จะถูกนาเข้าเป็ นที่เรี ยบร้อย
P age |5
1. เริ่ มทางานต่อจากแบบฝึ กหัดที่แล้ว 2. ในแถบเมนูคลิกที่ Setting > Basic Load Cases 3. ในหน้าต่าง Basic Load Cases ให้ระบุชนิดของโหลดที่ถูกนาเข้ามาจาก STAAD.Pro ▪ ▪ ▪ ▪ ▪ ▪ ▪
LOAD 1: EX1: Earthquake X LOAD 2: EX2: Earthquake X LOAD 3: EZ1: Earthquake Z LOAD 4: EZ2: Earthquake Z LOAD 5: DL: Dead Load LOAD 6: LL: Live Load LOAD 7: RLL: Roof Live
4. ในหน้าต่าง Basic Load Cases ให้ไฮไลท์ทุกโหลดเคสแล้วคลิกที่ปุ่ม cases จากนั้นคลิก OK
เพื่อย้ายไปฝั่ง Primary Load
5. ใน Load Combinations ให้คลิกที่ไอคอน Add from Template จากนั้นเลือก For Regular Structure ในเมนูป๊ อบอัพ แล้วคลิก OK 6. ในแถบเมนู คลิก File > Save เพื่อบันทึกโปรเจค
การตั้งค่าคานคอนกรีต คุณจะได้เรี ยนรู ้วิธีการตั้งค่าคานคอนกรี ตด้านล่างนี้ ▪ ไม่สนใจการบิด (Ignore Torsion): การบิดที่เกิดขึ้นในคานถ้ามีค่าน้อยกว่าค่าที่ต้งั ไว้จะไม่ถูกคิดใน การออกแบบ ▪ ออกแบบเสริ มความเหนียว (Ductile Design): เลือกโครงต้านแรงดัดที่มีการให้รายละเอียดความ เหนียวเป็ นพิเศษหรื อความเหนียวปานกลาง ▪ ปี กคาน (Flanged Beams): สามารถออกแบบคานที่มีหน้าตัดเป็ นตัวทีหรื อตัวแอล ▪ สไตล์การให้รายละเอียด (Detailing Style): สไตล์การให้รายละเอียดมีอย่างหลากหลายเพื่อใช้ สาหรับเหล็กเสริ มด้านบนและล่าง
P age |6
▪ เปอร์เซนต์การเสริ มเหล็ก (Percentage Reinforcement): อัตราส่วนต่าสุดและสูงสุงของเหล็กเสริ ม สามารถใส่ค่าตั้งต้นได้ ▪ คุณสมบัติวสั ดุ (Material Properties): .ใส่คุณสมบัติของคอนกรี ตและเหล็ก ระยะหุม้ และขนาดใหญ่ สุดของมวลรวม ▪ การตั้งค่าเหล็กเสริ ม (Rebar settings): ใส่ค่าขนาดของเหล็กเสริ มที่ให้ใช้ และระยะห่างเหล็กปลอก 1. เริ่ มทางานต่อจากแบบฝึ กหัดที่แล้ว 2. ในแถบเมนูคลิก Setting > General and Reinforcement 3. ในหน้าต่าง General and Reinforcement Setting ให้ใส่ค่าตัวแปรตามด้านล่างดังนี้ ตั้งค่าออกแบบ Design Setting: ▪ Ignore Torsion: ไม่เลือก ▪ Ductile Design: ไม่เลือก ▪ Flanged Beams: ไม่เลือก ตั้งค่าให้รายละเอียด Detailing Settings: ▪ ▪ ▪ ▪ ▪
Top Detailing Style: Best Fit Bottom Detailing Style: Best Fit Minimum Steel: 1% Maximum Steel: 4% Nominal Steel: 1%
คุณสมบัติวสั ดุ Material Properties: ▪ ▪ ▪ ▪
Concrete Grade: C20 Steel Grade: Fy420 Clear Cover: 25 mm Max Aggregate 2 Size: 19 mm
P age |7
ตั้งค่าเหล็กเสริ ม Rebar Settings: Rebar Diameter: คลิกขวาที่ช่องว่างในกล่อง Rebar Diameter แล้วเลือก Switch to Rebar Diameter เพื่อ เปลี่ยนเป็ นขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของเหล็กเสริ ม ▪ เลือก 10, 12, 16, 20, 25, 28 และ 32 เหล็กเสริ มหลัก Main Steel Rebar: ▪ Minimum: 10 ▪ Maximum: 32 เหล็กเสริ มรับแรงเฉือน Shear Steel Rebar: ▪ Minimum: 10 ▪ Maximum: 13 เหล็กรับแรงเฉือนที่ผวิ หน้า SFR Rebar: ▪ Minimum: 10 ▪ Maximum: 16 เหล็กปลอก Stirrup Spacing: ▪ Minimum: 100 mm ▪ Maximum: 300 mm ▪ Spacing Round Off: 5 mm จากนั้นคลิก OK
P age |8
4. ในแถบเมนู คลิก File > Save เพื่อบันทึกโปรเจค
P age |9
การตั้งค่า Rebar Curtailment คุณจะได้เรี ยนรู ้วิธีการตั้งค่า Rebar Curtailment 1. เริ่ มทางานต่อจากแบบฝึ กหัดที่แล้ว 2. ในแถบเมนูคลิก Setting > Rebar Curtailment 3. ในหน้าต่าง Curtailment Settings ให้ใส่ค่าตัวแปรตามด้านล่างดังนี้ Top Steel Curtailment Location: ▪ End Support: L/4 ▪ Continuous Support: L/4 Bottom Steel Curtailment Location: ▪ Mid Span: L/6 ▪ End Support: L/4 ▪ Continuous Support: L/4 Shear Zones: ▪ Ductile Beam, Factor of Depth: D x 2 ▪ Non-Ductile Beam: Factor of Length: L/3 จากนั้นคลิก OK 4. ในแถบเมนู คลิก File > Save เพื่อบันทึกโปรเจค
การตั้งค่ารายละเอียดและแบบ (Detailing and Drawing) คุณจะได้เรี ยนรู ้วิธีการตั้งค่าแบบและการให้รายละเอียด 1. เริ่ มทางานต่อจากแบบฝึ กหัดที่แล้ว 2. ในแถบเมนูคลิก Setting > Detailing and Drawing Setting 3. ในหน้าต่าง Detailing and Drawing Setting ให้ใส่ค่าตัวแปรตามด้านล่างดังนี้
P a g e | 10
Rebar Anchorage: ▪ Cantilever Tie Back: L x 1 ▪ Bracket Anchorage: Ld x 1 ▪ Minimum Vertical for L Bend: 150 mm Secondary Beams End Anchorage: ▪ Development Length (Ld): เลือก Style: ▪ Development Length: None ▪ Lap Mark: None Rebar Couples: ▪ Use Couples for Laps and Splices: ไม่เลือก Options: ▪ Mark Unique Sections: ไม่เลือก ▪ Show Spacer Rebars: เลือก ▪ Curtailment Round Off: 5 mm Effective Span for Curtailment: ▪ Top: Clear Span ▪ Bottom: Clear Span Provide Curtailment From: ▪ Top: Support Face ▪ Bottom: Support Face Mark Curtailment From: ▪ Top: Support Face ▪ Bottom: Support Face
P a g e | 11
Mark Span From: ▪ Support Face: เลือก Dimensions: ▪ Mark Beam Span Dimensions: เลือก ▪ Mark Support Dimensions: เลือก จากนั้นคลิก OK 4. ในแถบเมนู คลิก File > Save เพื่อบันทึกโปรเจค
ระยะวางและจานวณเหล็กที่ต้องการ (Preferred Bar Spacing Criteria) คุณจะได้เรี ยนรู ้ของระยะว่างและจานวณเหล็กที่ตอ้ งการ 1. เริ่ มทางานต่อจากแบบฝึ กหัดที่แล้ว 2. ในแถบเมนูคลิก Setting > Preferred Bar Spacing 3. ในหน้าต่าง Preferred Rebar Spacing ให้ใส่ค่าตัวแปรตามด้านล่างดังนี้
P a g e | 12
▪ Provide Two Rebars in Zone with Zero Bending Moment: ไม่เลือก จากนั้นคลิก OK 4. ในแถบเมนู คลิก File > Save เพื่อบันทึกโปรเจค
ออกแบบคานคอนกรีตเสริมเหล็ก คุณจะได้เรี ยนรู ้วิธีการออกแบบคานคอนกรี ตเสริ มเหล็กใน STAAD Advanced Concrete Design RCDC ▪ คาสัง่ Design > Auto Design ▪ คาสัง่ Reports > Failure Diagnostics 1. เริ่ มทางานต่อจากแบบฝึ กหัดที่แล้ว 2. ในแถบเมนูคลิก Design > Auto Design
P a g e | 13
หมายเหตุ: ถ้ามีคานที่ออกแบบไม่ผา่ นให้คลิก Reports > Failure Diagnostics 3. ในตารางออกแบบให้ไฮไลท์กลุ่มคาน G1 4. ในแถบเมนูคลิก Modify > ได้
Design ในหน้าต่าง Redesign สามารถแก้ไขคุณสมบัติวสั ดุ ขนาดของคาน
5. ในแถบเมนูคลิก Modify >
Detail
▪ เส้นสีน้ าตาลแดงคือพื้นที่หน้าตัดเหล็กที่ตอ้ งการ ▪ เส้นสีน้ าเงินคือพื้นที่หน้าตัดเหล็กที่จดั ให้
6. ในหน้าต่าง Redetail ให้คลิกสองครั้งบริ เวณหน้าตัดใดก็ได้ เพื่อใส่จานวนและขนาดเหล็กเสริ มเองได้เลย
P a g e | 14
7. ในแถบเมนู คลิก File > Save เพื่อบันทึกโปรเจค
การสร้ าง Beam Schedules and Drawings คุณจะได้เรี ยนรู ้วิธีการสร้าง Beam Schedules and Drawings 1. เริ่ มทางานต่อจากแบบฝึ กหัดที่แล้ว 2. ในแถบเมนูคลิก Reports >
Text Schedule
3. ในหน้าต่าง Schedule Type ให้ใส่ค่าตัวแปรตามด้านล่างดังนี้ ▪ Schedule Type: Type 1 ▪ Display Style: Group Beams จากนั้นคลิก OK
4. ในแถบเมนูคลิก Reports >
Elevation and Section
5. ในหน้าต่าง Select Beams ให้ใส่ค่าตัวแปรตามด้านล่างดังนี้ ▪ All Beams: เลือก ▪ Draw: Elevation, Cross Section
P a g e | 15
จากนั้นคลิก OK
6. ในแถบเมนูคลิก Reports > Bill of Quantities 7. ในหน้าต่าง Bill of Quantities ▪ BOQ Summary: เลือก จากนั้นคลิก OK
P a g e | 16
8. ในแถบเมนูคลิก BBS > Generate BBS 9. ในหน้าต่าง Generate BBS ให้ใส่ค่าตัวแปรตามด้านล่างดังนี้ ▪ All Beams: เลือก จากนั้นคลิก OK
แสดงการคานวนออกแบบคาน คุณจะได้เรี ยนรู ้วิธีแสดงผลการคานวณ ▪ สรุ ปผลการออกแบบ Design Summary ▪ ขั้นตอนการคานวณออกแบบ Design Calculations 1. เริ่ มทางานต่อจากแบบฝึ กหัดที่แล้ว 2. ในแถบเมนูคลิก Report >
Design Summary
3. ในรายงานการออกแบบคานให้สงั เกตว่าข้อมูลตามด้านล่างนี้ได้ถูกแสดงให้กบั คานทุกคานในโมเดล ▪ Flexure Design ▪ Shear Design
P a g e | 17
4. ในแถบเมนูคลิก Report >
Design Calculations
5. ในหน้าต่าง Select Beams ให้ใส่ค่าตัวแปรตามด้านล่างดังนี้ ▪ All Beams: เลือก จากนั้นคลิก OK 6. ในรายงานการคานวณออกแบบคานให้สงั เกตว่าข้อมูลตามด้านล่างนี้ได้ถูกแสดงให้กบั คานทุกคานใน โมเดล ▪ Longitudinal Reinforcement Calculations ▪ Transverse Reinforcement Calculations
P a g e | 18
จากนั้นคลิก OK
P a g e | 19
บทที่ 3 : ออกแบบเสาคอนกรี ตและกาแพงรั บแรงเฉือน คาอธิบายบท: คุณจะได้เรี ยนรู ้วิธีการออกแบบเสาโดยโปรแกรม STAAD Advanced Concrete Design RCDC ส่ งเสาคอนกรีตให้ โปรแกรม STAAD Advanced Concrete Design RCDC คุณจะได้เรี ยนรู ้วิธีการส่งเสาคอนกรี ตที่ถูกวิเคราะห์โครงสร้างโดย STAAD.Pro ไปสู่ STAAD Advanced Concrete Design RCDC 1. เปิ ดโปรแกรม STAAD Advanced Concrete Design RCDC จากหน้าเดสก์ท็อป 2. ในหน้าต่างเริ่ มต้นให้ใส่ขอ้ มูลตามด้านล่างดังนี้ • Project: Concrete Columns • Client: Training • Engineer: ชื่อตัวเอง • Design Code: ACI 318M – 2011 • Analysis Data: เลือกไฟล์ ConcreteDesign.std • Design Element: Column & Wall จากนั้นคลิกที่ปุ่ม Create New Project เพื่อเริ่ มโปรเจคใหม่
3. เปิ ดโปรเจคนี้ไว้สาหรับแบบฝึ กหัดต่อไป
P a g e | 20
รีววิ ข้ อมูลนา้ หนัก Loading information คุณจะได้เรี ยนรู ้วิธีการรี วิวข้อมูลน้ าหนักดังนี้ ▪ เคสน้ าหนักบรรทุกพื้นฐาน (Basic Load Cases) ▪ การรวมน้ าหนักบรรทุก (Load Combinations) หมายเหตุ: ถ้าโมเดลถูกสร้างขึ้นจากโปรแกรม STAAD.Pro เคสน้ าหนักบรรทุกพื้นฐาน (Basic Load Cases) และการรวมน้ าหนักบรรทุก (Load Combinations) จะถูกนาเข้าเป็ นที่เรี ยบร้อย 1. เริ่ มทางานต่อจากแบบฝึ กหัดที่แล้ว 2. ในแถบเมนูคลิกที่ Setting > Basic Load Cases 3. ในหน้าต่าง Basic Load Cases ให้ระบุชนิดของโหลดที่ถูกนาเข้ามาจาก STAAD.Pro ▪ ▪ ▪ ▪ ▪ ▪ ▪
LOAD 1: EX1: Earthquake X LOAD 2: EX2: Earthquake X LOAD 3: EZ1: Earthquake Z LOAD 4: EZ2: Earthquake Z LOAD 5: DL: Dead Load LOAD 6: LL: Live Load LOAD 7: RLL: Roof Live
4. ในหน้าต่าง Basic Load Cases ให้ไฮไลท์ทุกโหลดเคส แล้วคลิกที่ปุ่ม จากนั้นคลิก OK
เพื่อย้ายไปฝั่งออกแบบ
5. ใน Load Combinations ให้คลิกที่ไอคอน Add from Template จากนั้นเลือก For Regular Structure ในเมนู ป๊ อบอัพ แล้วคลิก OK 6. ในแถบเมนู คลิก File > Save เพื่อบันทึกโปรเจค
P a g e | 21
การตั้งค่าออกแบบเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก คุณจะได้เรี ยนรู ้วิธีการตั้งค่าการออกแบบเสาคอนกรี ตเสริ มเหล็กดังนี้ ▪ Design Settings ▪ Shear Wall Settings ▪ Minimum Eccentricity Check 1. เริ่ มทางานต่อจากแบบฝึ กหัดที่แล้ว 2. ในแถบเมนูคลิก Setting > Design Settings 3. ในหน้าต่าง Design Setting ให้ใส่ค่าตัวแปรตามด้านล่างดังนี้ Design Settings: ▪ ▪ ▪ ▪ ▪ ▪
Ductile Design: ไม่เลือก Live Load Reduction: ไม่เลือก Effective Length Factor: เลือก Ignore Intermediate Beams for Merged Levels: ไม่เลือก Optimize Design: เลือก Consider Slenderness: เลือก
Shear Wall Settings: ▪ Shear Wall Definition (D/B) >= 4 ▪ Ductile Wall with Boundary Element: เลือก ▪ Detail with Equi-Spaced Rebar Arrangement: ไม่เลือก จากนั้นคลิก OK 4. ในแถบเมนู คลิก File > Save เพื่อบันทึกโปรเจค
P a g e | 22
การตั้งค่าการเสริมเหล็ก คุณจะได้เรี ยนรู ้วิธีการตั้งค่าการเสริ มเหล็ก 1. เริ่ มทางานต่อจากแบบฝึ กหัดที่แล้ว 2. ในแถบเมนูคลิก Setting > Reinforcement Setting ให้ใส่ค่าตัวแปรตามด้านล่างดังนี้ Column % Steel: ▪ Minimum: 1 ▪ Maximum: 4 Shear Wall % Steel: ▪ Minimum: 1 ▪ Maximum: 4 Longitudinal Rebar Spacing: ▪ Minimum: 75 mm ▪ Maximum: 300 mm Preferred Rebar Spacing: ▪ ▪ ▪ ▪
Equi Spaced: 125 mm Zone 1: 75 mm Zone 2: 100 mm Mid Zone: 250 mm
Link Spacing: ▪ Minimum: 125 mm ▪ Maximum: 300 mm Column Rebar: ▪ Minimum: 10 ▪ Maximum: 32
P a g e | 23
Shear Wall Rebar: ▪ Minimum: 10 ▪ Maximum: 32 Link: ▪ Minimum Rebar: 8 ▪ Use Bundled Ductile Link: เลือก Links: ▪ Column: Hoops ▪ Walls: Hoops ▪ Tie Style: Closed Main Link with Boundary Element: ▪ Master Link: เลือก Round Off Factor: ▪ Spacing Round Off: 25 ▪ Zone Round Off: 25 จากนั้นคลิก OK
P a g e | 24
3. ในแถบเมนู คลิก File > Save เพื่อบันทึกโปรเจค
การตั้งค่ารายละเอียดและแบบ (Detailing and Drawing) คุณจะได้เรี ยนรู ้การการตั้งค่ารายละเอียดและแบบ 1. เริ่ มทางานต่อจากแบบฝึ กหัดที่แล้ว 2. ในแถบเมนูคลิก Setting > Detailing and Drawing Setting 3. ในหน้าต่าง Detailing & Drawing Settings ให้ใส่ค่าตัวแปรตามด้านล่างดังนี้ Drawing: • Provide First Lap Below Plinth: ไม่ เลือก • Display Material Properties: ไม่เลือก • Display Lap Dimension: ไม่ เลือก • Provide Continuous Section Numbers: ไม่เลือก • Show Lap at Each Level: ไม่ เลือก
P a g e | 25
Reinforcement Label: • Use Both: ไม่ เลือก Level for Elevation: • Use Level Description: ไม่ เลือก • Reference Level: 4 m • Reduced Level: 4 m Laps and Splices: • Type: Rebar Splice Location: • At Mid Height: เลือก Style: • Staggered: เลือก • Use Legends: ไม่ เลือก จากนั้นคลิก OK 4.. ในแถบเมนู คลิก File > Save เพื่อบันทึกโปรเจค
P a g e | 26
การตั้งค่าโซนเหล็กเสริม คุณจะได้เรี ยนรู ้เกี่ยวกับการตั้งค่าขอบเขตเหล็กเสริ มดังต่อไปนี้ ▪ Zone and Bar Setting:
ออกแบบเสาคอนกรีต คุณจะได้เรี ยนรู ้วิธีการออกแบบเสาคอนกรี ตใน STAAD Advanced Concrete Design RCDC 1. เริ่ มทางานต่อจากแบบฝึ กหัดที่แล้ว 2. ในแถบเมนูคลิก Design > Auto Design ▪ Column Designs:
P a g e | 27
▪ Shear Wall Designs:
ทุกเสาและกาแพงถูกออกแบบโดยคานึ งถึงรายละเอียดดังต่อไปนี้ ▪ ▪ ▪ ▪ ▪
Bending Moments Slenderness Moments Combined Forces Shear Design Ductility Checks
หมายเหตุ: ถ้ามีส่วนที่ออกแบบไม่ผา่ นให้คลิก Reports >
Failure Diagnostics
รีววิ การออกแบบเสา คุณจะได้เรี ยนรู ้การรี วิวและปรับเปลี่ยนการออกแบบเสาคอนกรี ต 1. เริ่ มทางานต่อจากแบบฝึ กหัดที่แล้ว 2. ในตารางออกแบบ (Design table) ให้ไฮไลท์กลุ่มเสา C1 3. ในแถบเมนูคลิก Modify > และคุณสมบัติของวัสดุได้
Redesign Section ในหน้าต่าง Redesign ซึ่งสามารถปรับเปลี่ยนขนาดเสา
คลิ กตรงนี้
P a g e | 28
4. ในหน้าต่าง Redesign คลิกที่เหล็กเสริ มขนาด 13 และคลิกบนไอคอนเปลี่ยนขนาดเหล็กเสริ ม Bar Diameter) จากนั้นให้คลิกที่เหล็กเสริ มมุมหนึ่งบนหน้าตัดเสา เพื่อเปลี่ยนขนาดเหล็กเสริ ม
5. ในหน้าต่าง Redesign ให้คลิกที่เหล็กเสริ มขนาด 13 และคลิกบนไอคอนเพิ่มเหล็กเสริ ม จากนั้นคลิกบนจุดกริ ดที่มุมใดมุมหนึ่ง เพื่อเพิ่มเหล็กเสริ มตรงนั้น
(Change
(Add Bar)
คลิ กตรงนี้
6. ในหน้าต่าง Redesign ให้คลิกบนไอคอน
Redesign
7. ในหน้าต่าง Redesign ให้คลิกบนไอคอน
Accept
8. ในแถบเมนู คลิก File > Save เพื่อบันทึกโปรเจค
รีววิ ผลลัพธ์ ของกาแพงต้านแรงเฉือนคอนกรีต คุณจะได้เรี ยนรู ้การรี วิวและปรับเปลี่ยนการออกแบบกาแพงต้านแรงเฉือนคอนกรี ต 1. เริ่ มทางานต่อจากแบบฝึ กหัดที่แล้ว 2. ในตารางออกแบบ (Design table) ให้ไฮไลท์กลุ่มกาแพงต้านแรงเฉือนคอนกรี ต CW1 3. ในแถบเมนูคลิก Modify > Redesign Section ในหน้าต่าง Redesign จะสามารถปรับเปลี่ยนขนาด กาแพงและคุณสมบัติของวัสดุได้
P a g e | 29
4. ในหน้าต่าง Redesign ให้คลิก 2 ครั้งบนด้านในด้านหนึ่งของหน้าตัดกาแพง เพื่อแก้ไขแบบเหล็กเสริ มใน ด้านนั้น
5. ในโซนตารางเหล็กเสริ ม สามารถเลือกและเปลี่ยนขนาดได้ตามที่ตอ้ งการ จากนั้นคลิกบนไอคอน Redesign
คลิ กตรงนี้
6. ในหน้าต่าง Redesign ให้คลิกบนไอคอน
Accept
7. ในแถบเมนู คลิก File > Save เพื่อบันทึกโปรเจค
การสร้ าง Column Schedule and Drawings คุณจะได้เรี ยนรู ้วิธีการสร้าง Column Schedule and Drawings
P a g e | 30
1. เริ่ มทางานต่อจากแบบฝึ กหัดที่แล้ว 2. ในแถบเมนูคลิก Reports >
Text Schedule > Type 1 (Ductile) Section
3. ในแถบเมนูคลิก Reports >
Detailed Drawing
4. ในหน้าต่าง Select Column เลือก All column กับ All Combined Walls จากนั้นคลิก OK
5. ในแถบเมนูคลิก Reports > Elevation
P a g e | 31
6. ในหน้าต่าง Select Column เลือก All column กับ All Combined Walls จากนั้นคลิก OK
P a g e | 32
7. ในแถบเมนูคลิก Reports > Bill of Quantities 8. ในหน้าต่าง Bill of Quantities ให้ใส่ขอ้ ูมลตามด้านล่างนี้ ▪ BOQ Summary: เลือก จากนั้นคลิก OK
9. ในแถบเมนูคลิก BBS > Generate BBS 10. ในหน้าต่าง Generate BBS ให้ใส่ขอ้ ูมลตามด้านล่างนี้ ▪ All Columns: เลือก ▪ All Combined Walls: เลือก จากนั้นคลิก Generate
P a g e | 33
11. ในแถบเมนู คลิก File > Save เพื่อบันทึกโปรเจค
แสดงการคานวนออกแบบเสา คุณจะได้เรี ยนรู ้วิธีแสดงผลการคานวณ ▪ สรุ ปผลการออกแบบ Design Summary ▪ ขั้นตอนการคานวณออกแบบ Design Calculations 1. เริ่ มทางานต่อจากแบบฝึ กหัดที่แล้ว 2. ในแถบเมนูคลิก Report >
Design Summary
3. ในรายงานการออกแบบเสาให้สงั เกตว่าข้อมูลตามด้านล่างนี้ได้ถูกแสดงให้กบั ทุกๆเสาในโมเดล ▪ Applied Loads: Axial and Flexural ▪ Interaction Ratio.
P a g e | 34
▪ Main Reinforcement ▪ Links
4. ในแถบเมนูคลิก Reports >
Design Calculations
5. ในหน้าต่าง Select Columns ให้เลือกข้อมูลตามด้านล่างนี้ ▪ All Columns: เลือก ▪ All Combined Walls: เลือก จากนั้นคลิก OK 6. ในรายงานการคานวณออกแบบเสาให้สงั เกตว่าข้อมูลตามด้านล่างนี้ได้ถูกแสดงให้กบั ทุกๆเสาในโมเดล ▪ ▪ ▪ ▪ ▪ ▪ ▪ ▪ ▪
General Data Load Data Effective Length Calculations Check for Stability Index Slenderness Check Calculation of Design Moment Moment Capacity Check Design of Shear Design of Links
7. ในแถบเมนู คลิก File > Save เพื่อบันทึกโปรเจค
P a g e | 35
P a g e | 36
บทที่ 4 : ออกแบบพืน้ คอนกรี ต คาอธิบายบท: คุณจะได้เรี ยนรู ้วิธีการออกแบบพื้นคอนกรี ตโดยโปรแกรม STAAD Advanced Concrete Design RCDC ส่ งพื้นคอนกรีตให้ โปรแกรม STAAD Advanced Concrete Design RCDC คุณจะได้เรี ยนรู ้วิธีการส่งพื้นคอนกรี ตที่ถูกวิเคราะห์โครงสร้างโดย STAAD.Pro ไปสู่ STAAD Advanced Concrete Design RCDC 1. เปิ ดโปรแกรม STAAD Advanced Concrete Design RCDC จากหน้าเดสก์ท็อป 2. ในหน้าต่างเริ่ มต้นให้ใส่ขอ้ มูลตามด้านล่างดังนี้ • Project: Concrete Slabs • Client: Training • Engineer: ชื่อตัวเอง • Design Code: ACI 318M – 2011 • Analysis Data: เลือกไฟล์ ConcreteDesign.std • Design Element: Slab • Levels: 9 m จากนั้นคลิกที่ปุ่ม Create New Project เพื่อเริ่ มโปรเจคใหม่
P a g e | 37
หมายเหตุ: โปรแกรม STAAD Advanced Concrete Design RCDC อ่านรู ปร่ างคานและเสาจากโปรแกรม STAAD.Pro จากรู ปทรงที่ส่งมานั้น โปรแกรมจะรู ้ว่าพื้นที่ปิดต่างๆสามารถเป็ นพื้นได้ นอกจากนี้ RCDC ยัง สามารถรู ้ถึงชนิดของพื้นต่างๆทั้ง พื้นทางเดียว พื้นสองทาง หรื อ พื้นยืน่ รวมถึงความต่อเนื่องของพื้นนั้นๆ 3. เปิ ดโปรเจคนี้ไว้สาหรับแบบฝึ กหัดต่อไป
โมเดลช่ องเปิ ดในพื้นและการระบุระดับพื้น คุณจะได้เรี ยนรู ้วิธีการทาช่องเปิ ดในพื้น 1. เริ่ มทางานต่อจากแบบฝึ กหัดที่แล้ว 2. ในตารางข้อมูลออกแบบ (Design Data Table) เลือก Row 6 (S6) ▪ Is Cut Out: True
P a g e | 38
3. ในแถบเมนูคลิก Modify > Re-Evaluate Slab Continuity 4. ในแถบเมนูคลิก File > Save 5. ในหน้าต่าง Save As ให้ใส่ขอ้ มูลตามด้านล่างนี้ ▪ File Name: Slab Design จากนั้นคลิก Save เพื่อบันทึกโปรเจค
การใส่ ค่านา้ หนักบรรทุกและความหนาพืน้ น้ าหนักบรรทุกเพิ่มขึ้น (Imposed Load) และน้ าหนักบรรทุกจร (Live Load) ต้องใส่ให้พ้นื แต่ละพื้น ส่วน ความหนาพื้นเป็ นตัวเลือกถ้าระบุความหนาไว้แล้วโปรแกรมจะออกแบบและตรวจสอบให้สาหรับความ หนานั้น แต่ถา้ ไม่ได้ระบุความหนาพื้นไว้โปรแกรมจะออกแบบความหนาต่าสุดให้และผ่านข้อกาหนดที่ระบุ ไว้ 1. เริ่ มทางานต่อจากแบบฝึ กหัดที่แล้ว 2. ในแถบข้อมูลออกแบบ (Design Data)ให้ใส่ขอ้ มูลตามด้านล่างนี้ทุกพื้น ▪ Imposed Load: 1 kN/SqM
P a g e | 39
▪ Live Load: 2.5 kN/SqM ▪ Thickness: 300 mm 3. ในแถบข้อมูลออกแบบ (Design Data) ให้เลือก S9 และปรับเปลี่ยนตามข้อมูลด้านล่างนี้ ▪ Thickness: 250 mm ▪ Top of Slab: -50 mm
4. ในแถบเมนูคลิก Modify > Re-Evaluate Slab Continuity 5. แถบเมนูคลิก File > Save เพื่อบันทึกโปรเจค
การตั้งค่าออกแบบพื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก คุณจะได้เรี ยนรู ้วิธีการตั้งค่าการออกแบบพื้นคอนกรี ตเสริ มเหล็กดังนี้ ▪ ▪ ▪ ▪
Detailing Style Preferred Span / D Concrete and Steel Grade Minimum Slab Thickness
P a g e | 40
▪ ▪ ▪ ▪
Detailing Option Curtailment Location Available Rebar Diameters Rebar Spacing
1. เริ่ มทางานต่อจากแบบฝึ กหัดที่แล้ว 2. ในแถบเมนูคลิก Setting > Design Parameters 3. ในหน้าต่าง Design Setting ให้ใส่ขอ้ มูลตามด้านล่างนี้ ▪ Detailing Style: Bent Up Rebars Preferred Span/d: ▪ ▪ ▪ ▪ ▪
Cantilever: 7 Simply Supported: 20 Continuous: 26 Two-Way Slab, Simply Supported: 28 Two-Way Slab, Continuous: 32
Material Property ▪ ▪ ▪ ▪
Concrete Grade: C20 Steel Grade: Fy420 Cover (Main Reinf): 25 mm Minimum Thickness: 100 mm
Detailing Options: ▪ Rebar: เลือก ▪ Preferred Diameter: 10 Curtailment Location: ▪ Bottom End Support: L/6 ▪ Bottom Continuous Support: L/6
P a g e | 41
▪ Top End Support: L/4 ▪ Top Continuous Support: L/4 Rebar: ▪ Select the Following Bars: 10, 12, 16, 20, 25, 32 Rebar Spacing: ▪ Minimum Spacing: 100 mm ▪ Maximum Spacing: 300 mm ▪ Round Off: 5 mm จากนั้นคลิก OK 4. เปิ ดโปรเจคนี้ไว้สาหรับแบบฝึ กหัดต่อไป
ออกแบบพื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก คุณจะได้เรี ยนรู ้วิธีการออกแบบพืน้ คอนกรี ตเสริ มเหล็กใน STAAD Advanced Concrete Design RCDC ▪ คาสัง่ Design > Auto Design ▪ คาสัง่ Modify > Design 1. เริ่ มทางานต่อจากแบบฝึ กหัดที่แล้ว 2. ในแถบเมนูคลิก Design >
Auto Design
STAAD Advanced Concrete Design RCDC สามารถออกแบบพื้นทางเดียว พื้นสองทางและพื้นยืน่ โดยแต่ ละพื้นจะถูกออกแบบและตรวจสอบสาหรับ
P a g e | 42
▪ Flexure ▪ Shear ▪ Deflection 3. ในตารางออกแบบ Design Table ให้ไฮไลท์พ้นื S1 4. ในแถบเมนูคลิก Modify > คุณออกแบบพื้นได้ 3 วิธี
Design โปรแกรม STAAD Advanced Concrete Design RCDC อนุญาต
▪ Analysis and Design: ▪ Only Design: ▪ Multiple Imposed Loading: ในหน้าต่างออกแบบพื้น Design Slab ให้คลิกบนไอคอน
Can
5. ในตารางออกแบบ Design Table ให้ไฮไลท์พ้นื S1 6. ในแถบเมนูคลิก Modify > หลักตามด้านล่างนี้ Section
Detail ในหน้าต่างออกแบบพื้น Design Slab ให้ใส่ขอ้ มูลของเหล็กเสริ ม Ast
Dia
Spacing
Bot SS
16
300
Bot LS
16
300
Top SS Cont
16
300
Top SS End
16
300
Top LS Cont
16
300
Top LS End
16
300
Distribution
16
300
ในหน้าต่างออกแบบพื้นคลิกบนไอคอน Accept
Curtail
P a g e | 43
7. ในตารางออกแบบไฮไลท์ที่การเสริ มเหล็กของ S1 ให้คลิกขวาและจากนั้นเลือก Copy Reinforcement จาก หน้าต่างป๊ อบอัพ
8. ในตารางออกแบบไฮไลท์การเสริ มเหล็กที่เหลือบนตารางออกแบบพื้น ให้คลิกขวาและจากนั้นเลือก Paste Reinforcement จากหน้าต่างป๊ อบอัพ
9. ในแถบเมนูคลิก File > Save เพื่อบันทึกโปรเจค
การสร้ างแบบให้ รายละเอียดและแบบก่อสร้ าง (Construction and Detail Drawings) คุณจะได้เรี ยนรู ้วิธีการการสร้างแบบให้รายละเอียดและแบบก่อสร้าง 1. เริ่ มทางานต่อจากแบบฝึ กหัดที่แล้ว 2. ในแถบเมนูคลิก Reports > General Arrangement Plan ผังนี้คือแบบแสดงการจัดส่วนของพื้น-คาน
P a g e | 44
3. ในแถบเมนูคลิก Reports >
Text Schedule
4. ในหน้าต่าง STAAD RCDC ให้คลิก Yes เพื่อจัดกลุ่มพื้นที่คล้ายๆกัน
5. ในแถบเมนูคลิก Reports > In-Plan Detailing
P a g e | 45
6. ในแถบเมนูคลิก Reports > Bill of Quantities
7. ในหน้าต่าง Bill of Quantities คลิก OK 8. แถบเมนูคลิก File > Save เพื่อบันทึกโปรเจค
การสร้ างรายงานการคานวณการออกแบบ คุณจะได้เรี ยนรู ้การสร้างรายงานการคานวณการออกแบบพื้นคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 1. เริ่ มทางานต่อจากแบบฝึ กหัดที่แล้ว 2. ในแถบเมนูคลิก Reports >
Design Summary
3. ในรายงานสรุ ปการออกแบบพื้น ให้สงั เกตว่าข้อมูลตามด้านล่างนี้ได้ถูกแสดงให้กบั ทุกๆพื้นในโมเดล ▪ ▪ ▪ ▪ ▪ ▪ ▪ ▪ ▪ ▪
Length in each Horizontal Direction Live Load Imposed Load Thickness Span Type Design Code Grade of Concrete Panel Type Grade of Steel Reinforcement Results
P a g e | 46
4. ในแถบเมนูคลิก Reports > Design Calculations 5. ในหน้าต่าง Select Slabs ให้เลือกตามด้านล่างนี้ ▪ All Slabs: เลือก จากนั้นคลิก OK 6. ในรายงานการคานวณการออกแบบพื้น ให้สงั เกตว่าข้อมูลตามด้านล่างนี้ได้ถกู แสดงให้กบั ทุกๆพื้นใน โมเดล ▪ Design Moment Calculations: Short Span Positive and Negative Moments, Long Span Positive and Negative Moments, Distribution Reinforcement ▪ Shear Moment Calculations: Along the Short Span and Long Span 7. ในแถบเมนูคลิก File > Save เพื่อบันทึกโปรเจค
REI Software Co.,Ltd. 100/1 Vorasombat Building (14LB FL.), Rama IX Rd, Huay Kwang,Bangkok, 10310, Thailand TEL : +66 2 645 1018-9, FAX : +66 2 645 1017 www.reisoftwareth.com, www.reith-geo5.com