เศรษฐกิจสรางสรรค โอกาสและอุปสรรคสําหรับประเทศไทย โดย ซีดาร ไรลลี่
หลายคนกลาววาในขณะนี้เราอยูในยุคเศรษฐกิจ ‘ขอมูล’ หรือเศรษฐกิจ ‘ความรู’ แตสิ่งที่เปนจริงยิ่งกวาคือเราอยูในเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนดวยความคิดสรางสรรค ของมนุษย เพราะความคิดสรางสรรคเปนแหลงขอไดเปรียบในการแขงขัน แต ไมใชสินคา ความคิดสรางสรรคมาจากคน และนั่นหมายความวา คนเปน ทรัพยากรที่สําคัญยิ่งในยุคใหมนี้ ริชารด ฟลอริดา, “The Rise of the Creative Class”
1
บทนํา
ปริมาณมากอันมีแรงงานมนุษยเปนแหลงมูลคาหลัก ไปสูยุคสมัยใหมของ ‘การผลิตโดยมีนวัตกรรมเปนสื่อ’ ซึ่งมีความรูเปนองคประกอบหลักของ การสรางมูลคา การเพิ่มผลผลิต และความเติบโตของเศรษฐกิจ” เปนคํา กลาวของริชารด ฟลอริดา ในป 1993 ที่พิมพไวในบทความของวารสาร Futures – The Journal of Forecasting and Planning1] สิบหกปตอมา ความรูไดกลายมาเปนสินคา แรงงานคุณภาพสูงสามารถหา ไดดวยเพียงแคเศษตนทุนของสหรัฐอเมริกาในประเทศที่กําลังเติบโตอยาง บราซิล รัสเซีย อินเดีย และจีน (ประเทศกลุม BRIC) บริษัทตางๆนําเอางาน ที่ตองอาศัยความรูอ อกจากอเมริกา ยุโรป และญี่ปุน โดยมาจัดจางประเทศ อื่น เพื่อใชประโยชนจากแรงงานราคาถูก เปนการลดตนทุนโดยรวมของ บริษัทรัฐบาลของสหรัฐอเมริกา และอังกฤษตางก็เปนกังวลในเรื่องนี้ และ ไดดําเนินการเพื่อเสริมสรางความสามารถของกลุมแรงงานในประเทศของ ตน ในชวงตนยุค 1980 มูลคาตลาดของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหุนเปน มูลคาตามบัญชี อันหมายถึงสินทรัพยที่มีตัวตน 95% ยี่สิบปตอมา เพียง 23% ของมูลคาตลาดเทานั้นที่เปนมูลคาตามบัญชี แสดงใหเห็นถึงความ เปลี่ยนแปลงครั้งใหญในวิธีที่ใชประเมินคาบริษัท สินทรัพยที่ไมมีตัวตน เปนสิ่งที่ทดแทนสวนตางนั้น และสาเหตุหลักอยางหนึ่งของมูลคาที่เพิ่มขึ้น นั้นเกิดจาก การที่บทบาทของความคิดสรางสรรคและนวัตกรรมความคิด นั้นมีคามากกวาสิ่งที่ทําไดดวยมือหรือเครื่องจักร เปนความสามารถที่จะ สรางไอเดีย ผลิตภัณฑและบริการใหมไดอยางตอเนือ่ ง ซึ่งเปนสิ่งที่มีคุณคา ในเศรษฐกิจสรางสรรค ดังนั้นสําหรับประเทศที่มีการเติบโตทางเศรษฐกิจอยางมัน่ คง สิ่งที่สําคัญ ที่สุดคือความสามารถในการผลิตไอเดียไดอยางตอเนื่อง แนวคิดเรื่องเศรษฐกิจสรางสรรคนี้เปนเรื่องที่คอนขางใหม และไดรับความ สนใจจากหลายฝาย เชน ผูออกนโยบาย นักคิด นักวิชาการ และนักวารสาร และทุกคนไดรวมกันถกเถียงเรื่องเศรษฐกิจสรางสรรค มีการอภิปราย พูดคุย ถกเถียงกันมากมาย แตความเขาใจที่เกิดขึ้นจริงนั้นนอยนิด [2] มีการตีความโมเดล และไอเดียมากมายในเรื่องเดียวกันนี้ บางคนใช แนวทางวัฒนธรรม บางคนใชแนวทางเทคโนโลยี บางคนใชแนวทาง ศิลปะและการออกแบบ ซึ่งลวนแตแสดงถึงหนทางใหมในการสรางความ มั่งคั่งในโลก ‘ใหม’
มีการสันนิษฐานวาการสรางนโยบายที่สนับสนุนแนวคิดใหมนี้ จะทําให พนจากปญหาทางเศรษฐกิจไดทั้งหมด เพิ่มการจางงาน และสรางความสุข ใหกับประเทศทั้งมวล มุมมองและขอสันนิษฐานเหลานี้องิ จากความเขาใจ ที่ตื้นเขินของแนวคิดนี้ ลักษณะที่แนชัดของเศรษฐกิจสรางสรรคนั้นยังไมมีการนิยามอยางชัดเจน ยังมีความสับสนในหนวยงานรัฐและเอกชนหลายหนวยทั่วโลก นิยามก็ ตางกันไปในแตละประเทศ แตสิ่งที่ทุกหนวยงานและรายงานทั้งหลายเห็นพองกันคือคําเปรียบเทียบ อยาง ยุคสรางสรรค (Creative Age) และเศรษฐกิจสรางสรรค (Creative Economy) นั้นลวนแตพยายามจะอธิบายปรากฎการณเดียวกันที่ทั่วโลก กําลังเห็น นั่นคือมูลคาเพิ่มในโลกที่พัฒนาแลวไดเปลี่ยนจากเกษตรกรรม สู อุตสาหกรรม ความรู และความสรางสรรค ตามลําดับโลกกําลังพัฒนา สามารถตามใหทันไดคอนขางรวดเร็ว และสามารถหาประโยชนไดจาก ‘ระบบเศรษฐกิจใหม’ นี้ สิ่งสําคัญคือตองจําไววาความคิดสรางสรรคอยางเดียวนั้นไมทําใหเกิด มูลคา แตตองนําไปใชในบริบทธุรกิจที่ถูกตองและมีเทคโนโลยีที่เหมาะสม เปนเครื่องมือชวย ในการที่จะสรางมูลคาได ตองอาศัยทักษะและวัฒนธรรมที่ผสนผสานกัน อยางลงตัว ความสามารถในดานความคิดของมนุษยเปนสิง่ ที่สําคัญยิ่ง สําหรับเศรษฐกิจสรางสรรค
เศรษฐกิจสรางสรรคในกลุมประเทศพัฒนาแลว เรากําลังอยูในยุคทีผ่ สมผสานระหวางเกษตรกรรม อุตสาหกรรม ขอมูล ความรู และความคิดสรางสรรค[fig1] Creative
Growth in social & economic sophistication
KnowledgeSolution
Value Add
“ระบบทุนนิยมกําลังอยูในชวงเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ จากระบบการผลิตใน
Information Industrial Agricultural
Maturing of various ages over time
ค
All of these contributions are equally important for a nation to flourish.
present
Fig.1 : Evolution of the Global Economy
ประเทศสวนใหญที่พัฒนาแลว ซึ่งรวมถึงสหรัฐอเมริกา ยุโรปตะวันตก และญี่ปุน ไดพัฒนาไปเปนสังคมที่มคี วามรูและความคิดสรางสรรคเปนสิ่ง 2
หลักในอุตสาหกรรม ประเทศเหลานี้ไดพัฒนาไปเปน ‘กลุมประเทศ ความคิด’ ที่มีพลังอยางสรางสรรค ประเทศเหลานี้ไมจาํ เปนตองผลิตสินคาและบริการที่ตนสราง แตนําการ ผลิตสวนใหญออกไปดําเนินการยังประเทศกําลังพัฒนาทีถ่ ูกกวาในเอเชีย หรืออเมริกาใต ซึ่งยังคงติดอยูในยุคอุตสาหกรรมหรือเกษตรกรรม ประเทศดอยพัฒนาเชนในแถบแอฟริกาเหนือและกลาง ยังไมมีความรูและ ทักษะที่จําเปนสําหรับการยกระดับจากเศรษฐกิจชนบทไปเปนเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม นี่อาจจะเปนการเหมาในภาพรวมทั่วโลก แตในความเปนจริงแลว ความ เจริญไมไดแผออกไปอยางเทาเทียมกันทั่วทวีป มีเพียงบางภูมิภาคหรือบาง เมืองในแตละประเทศเทานั้นที่พิสูจนแลววาขับเคลื่อนดวยความรู และมี สีสันทั้งในดานความคิดสรางสรรคและดานเศรษฐกิจ ตัวอยางเชน บางสวนในอเมริกาก็ยังคงติดอยูในยุคเกษตรกรรมหรือ อุตสาหกรรม และไดถดถอยลงไปในอยางมากในภาวะวิกฤติเศรษฐกิจใน ปจจุบัน ในขณะที่จริงๆ แลวภูมิภาคที่เต็มไปดวยความคิดสรางสรรคนั้น เติบโตทามกลางเศรษฐกิจถดถอย งานวิจัยที่ริชารด ฟลอริดาทําเมื่อไมนานนี้พยายามที่จะทําความเขาใจความ ออนแอของเมืองเมือ่ ประสบสภาวะถดถอย และไดพบหลักฐานที่นาตกใจ ซึ่งสนับสนุนเศรษฐกิจสรางสรรค เมืองในอเมริกาที่มี ‘ดัชนีสรางสรรค’ ที่สูงกวาซึ่งหมายถึงมีการผลิตงาน ดานความรูและความคิดสรางสรรคไดมากกวานั้น กลับเติบโตตลอดเดือน ตุลาคม 2008 ในขณะที่เมืองซึ่งมีอุตสาหกรรมหรือเกษตรกรรมเปนหลัก และมีคะแนนดัชนีต่ํานั้นตกอยูในภาวะลําบาก ศูนยอุตสาหกรรมที่เกาแกอยางบัฟฟาโล ดีทรอยท เซนตหลุยส และคลีฟ แลนด หรือศูนยบริการ ศูนยสําหรับผูเกษียณอายุ หรือศูนยกลางการ ทองเที่ยว เชน ไมอามีและฟนิกซ ซึ่งมีคะแนน ‘ดัชนีสรางสรรค’ ณ จุด กลางอยูที่ 0.598 ตางอยูในภาวะถดถอยอยางหนักทั้งสิ้น มหานครอุตสาหกรรมและการแสดงสรางสรรคเชนซานดีเอโก และซาน ฟรานซิสโก ซึ่งมีคะแนนดัชนีสรางสรรค ณ จุดกลางอยูท่ี 0.698 อยูใน “กลุมเสี่ยง” มหานครซึ่งมีคะแนนดัชนีสรางสรรคในระดับสูงนั้นอยูในลําดับตนๆ ของ รายชื่อเมืองใหญที่ “กําลังขยายตัว” อันไดแก ซีแอตเติล ซานโฮเซ ออสติน วอชิงตัน ดีซี บอสตัน และรอลีห พรอมกับมหานครที่เต็มไปดวยทรัพยากร
Fig.2 : Industrial vs. Creative cities during recession in USA
ในเท็กซัสและโอกลาโฮมา คะแนนดัชนีสรางสรรค ณ จุดกึ่งกลาง สําหรับ มหานครเหลานี้คือ 0.750 เนื่องจากวัตถุดิบหลักของเศรษฐกิจสรางสรรคนั้นไมใชโครงสรางพื้นฐาน ทางกายภาพ เชน ถนน โรงงาน ไรนา หรือกระทั่งตนทุน กฎของเกมนี้จึง แตกตางออกไป เมื่อพิจารณาถึงรายงานและกรณีศึกษาทุกชิ้นของนโยบายที่มีอยูในปจจุบัน ของกลุมประเทศทีพ่ ัฒนาแลว และขอมูลที่หาได ทางเดียวที่จะกาวไป ขางหนาไดคือการปรับปรุงโมเดลการสรางความมั่งคั่งในปจจุบันอยางเปน ระบบครั้งใหญ แนวทางการแกไขอยางรวดเร็วอาจจะงายที่จะดําเนินการ แตไมทาํ ใหเกิดการฟนฟูเศรษฐกิจอยางที่คาดหวังไว 3
วิวัฒนาการของยุคสมัย (Evolution of Eras) Value Add
Growth in social & economic sophistication
Creative Knowledge No S.Korea Information
ยุคเกษตรกรรม (The Agricultural era.)
ในชวง
Industrial UK
Agricultural
Maturing of various ages over time
All of these contributions are equally important for a nation to flourish.
present
Fig.3: Current state of Thai Economy
เมื่อเปรียบเทียบกับกลุมประเทศพัฒนาแลว ประเทศไทยยังคงเปนระบบ เศรษฐกิจที่มีเกษตรกรรมและการผลิตเปนหลัก แตตองการที่จะกาว กระโดดไปยังเศรษฐกิจสรางสรรคที่มีพื้นฐานบนความรู นี่เปนไอเดียที่เยีย่ มยอด แตอะไรคือปจจัยที่จะทําใหโมเดลใหมสําหรับ เศรษฐกิจสรางสรรคนี้ประสบความสําเร็จได สามารถนําไปทําซ้ําที่ใดใน โลกก็ไดหรือไม สามารถที่จะนําโมเดลที่ประสบความสําเร็จที่อื่น แลว “นําเขา” มาในประเทศเพื่อมาทําซ้ําในประเทศไทยไดหรือไม อะไรคือ เงื่อนไขที่ตองมีอยูก อนดําเนินการอันจําเปนสําหรับความสําเร็จ ประเทศ ไทยมีสวนผสมผสานขององคประกอบตางๆ ที่ลงตัวหรือไม อะไรคือ อุปสรรค และตองทําอะไรเพื่อใหไดประโยชนจากกระบวนทัศนที่กําลัง เบงบานนี้ รายงานชิ้นนี้คือความพยายามที่จะเขาใจแนวคิดบางอยางของคําถามเหลานี้ อยางมีวิจารณญาณ เพื่อใหเห็นวามีอุปสรรคใดรออยู รายงานนี้มีสมมติฐาน ที่วาหากประเทศไทยไมสามารถดําเนินการเพื่อแกไขอุปสรรคเหลานี้ได ก็ ยังคงจะเปนไดเพียงแคผูบริโภคไอเดียที่เกิดจากประเทศทีเ่ ต็มไปดวย ความคิดสรางสรรคซึ่งสามารถที่จะหาประโยชนเชิงพาณิชยจากไอเดีย เหลานี้ได รายงานนี้ใชแนวทางแบบ ‘นอกเขาใน’ โดยเปรียบเทียบประเทศไทยกับ ประเทศเพื่อนบานตางๆ ในเอเชีย เนื่องจากขาดขอมูลที่เชื่อถือไดและการวิจัยที่เหมาะสมเรื่องภาคสรางสรรค และแงมุมที่เกี่ยวกับเศรษฐกิจไทย จึงมีการที่แหลงอางอิงเพื่อการปรึกษาที่ หลากหลายในรายงาน
ราวหมื่นปกอน ความมั่งคั่งเกิดจาก ‘ขอไดเปรียบทางธรรมชาติ’ ของแตละ ประเทศ ที่ดินเปนแหลงความมั่งคั่งอันดับหนึ่ง การคาโลกนั้นเกิดจาก การคาผลิตผลทางธรรมชาติอยางเครื่องเทศ ธัญญาหาร หรือวัสดุแปรรูป เชน ผาฝายหรือผาไหม ใชเครื่องมืองายๆ ควบคูไ ปกับแรงงานมนุษยและ สัตวในการผลิตและขนสง โดยใชเทคนิคการบริหารเพียงเล็กนอย เปนการ รวมพลังของชุมชนซึ่งอยูรวมกัน
ยุคอุตสาหกรรม (The Industrial era.) ยุคนี้เริ่มตนขึ้นในอังกฤษราวชวงทศวรรษ 1860 ดวยการเริ่มใชแรงงาน เครื่องจักร วัสดุที่สกัดมาจากธรรมชาติ เชน ถานหิน เหล็ก น้ํามัน แรธาตุ และแรงงานราคาถูก เปนทรัพยากรหลัก แรงงานมนุษยและสัตวนั้น ทดแทนดวยเครื่องจักร ชวยเพิ่มปริมาณในการผลิตไดหลายเทา มนุษยเคลื่อนไหวและติดตอกันไดมากขึ้นจากการเริ่มใชโทรศัพท เรือกล รถไฟ และพาหนะเครื่องยนต เทคนิคและกระบวนการจัดการไดเกิดขึ้นเพื่อนํามาใชบริหารโรงงานที่มี แรงงานจํานวนมาก เพื่อใหไดปริมาณผลผลิตและกําไรที่ดี
ยุคขอมูล (The Information era.) ในป 1956 นักวิจัยในอเมริกาพบวาจํานวนผูคนที่มีงานนั่งโตะ เชน พนักงานรานคา พนักงานออฟฟศ ครู พยาบาลฯลฯ มีจํานวนเกินกวาผูใช แรงงาน อันเปนจุดจบของยุคอุตสาหกรรม โลกตะวันตกเริ่มเปลี่ยนไปเปน เศรษฐกิจที่มีการบริการเปนหลัก ในทศวรรษถัดมา มีการสรางไมโครคอมพิวเตอรขึ้น ธุรกิจและ อุตสาหกรรมหลายประเภทไดเปลีย่ นไปอยางมาก เครื่องจักรมี ‘สมอง’ และทดแทนมนุษยในการเพิ่มปริมาณผลผลิตของบริษัท ในเวลาตอมา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร คอมพิวเตอร เครื่องจักรที่ดําเนินการ โดยคอมพิวเตอร ไฟเบอรออปติก ดาวเทียมสื่อสาร อินเตอรเน็ท ได กลายเปนสวนสําคัญของเศรษฐกิจโลก การสรางและจําหนายขอมูลนั้นไดกลายเปนแหลงความมัง่ คั่งแหงใหมใน ยุคนี้ บริษัทอเมริกา ยุโรป และญี่ปุนตางเริ่มใชประโยชนดวยการจัดจาง ประเทศอื่นที่มีคาแรงต่ําในการทํากระบวนการที่เนนแรงงานเปนหลักและ มีมูลคานอยในชวงทศวรรษที่ 1970 เริ่มมีการนํางานโรงงานหลายประเภท ออกมาจัดจางประเทศอื่นทํา สินคาประเภทเสือ้ ผา เหล็ก ของเลน โทรทัศน 4
และฮารดแวรและชิปคอมพิวเตอร รถยนต ถูกยายไปผลิตในประเทศที่มี แรงงานราคาถูกและฝมือต่ํา ประเทศแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใตและเอเชียสวนอื่นๆ ตางไดรับ ประโยชนดวยการเปดรับโอกาสเหลานี้ ทําใหเศรษฐกิจเบงบานตลอดสาม ทศวรรษ จนกระทั่งเกมเปลี่ยนอีกครั้ง ประเทศเหลานี้ไดเห็นผลกระทบ ของปรากฏการณยายแรงงานทั่วโลก ซึ่งเปนเหตุใหหลายโรงงานตองปด ตัวเพื่อยายไปยังประเทศที่มีแรงงานราคาต่ํากวา
ยุคความรู (Knowledge era.)
อเมริกา DOW ดั้งเดิมในป 1896 มีบริษัทอยู 12 แหง บริษัท GE (General Electric) เปนเพียงบริษัทเดียวที่ยังคงอยูใน DOW ในปจจุบัน สิ่งที่ GE แตกตางจากบริษัทอื่นใน DOW 12 คือบริษัทอื่นนั้นไมสามารถ เปลี่ยนแปลงตัวเองใหเรียนรูความสามารถใหมๆ แตกลับติดอยูกับที่ ทําให ตองปดตัวไปในเวลาตอมา บริษัทไทยหลายๆ แหงกําลังอยูในชวงนี้ จะมีแตบริษัทที่เรียนรูที่จะ เปลี่ยนตัวเองจากการมีความคิดแบบอุตสาหกรรมเปนแบบความรู/ความคิด สรางสรรคเทานั้นที่จะไปไดดีในยุคสรางสรรค
ชวงเปลี่ยนจากยุคความรูไปเปนยุคสรางสรรค เรากําลังเห็นยุคนี้กา วเขาสูจุดอิ่มตัว ในชวงสองทศวรรษที่ผานมา อุตสาหกรรมประเภทใหมๆ เชน ไมโครซอฟท แอปเปล อเมซอน อีเบย ล้ํา หนาบริษัทยุคอุตสาหกรรมในแงมูลคาตลาด และความสามารถในการ สรางความมั่งคั่ง บริษัทเหลานี้ขึ้นอยูกับความสามารถทางปญญาของผูเชี่ยวชาญในอาชีพที่มี ทักษะสูงเปนหลัก เชน นักเศรษฐศาสตร นักวิทยาศาสตร วิศวกร ซอฟตแวร นักเทคโนโลยีชีวภาพ นักการเงิน ฯลฯ ในชวงเปลี่ยนตอระหวางยุค ผูที่เพิ่มพูนทักษะตนเองจะไดรับการจางงาน และไตเตาไดเร็วกวาผูอื่น ความรูใหมนั้นเปนเรื่องสําคัญมากสําหรับ ความกาวหนา ตัวอยางเชน ในเมืองบังกาลอรซึ่งอยูทางใตของอินเดียนั้น แรงงานในสาขาเฉพาะทางที่ไมใชดานไอทีจํานวนมาก เชน แพทย นัก กฎหมาย นักออกแบบ นักธนาคาร ฯลฯ ตางลงทะเบียนเรียนการเขียน โปรแกรมซอฟตแวรชวงกลางทศวรรษ 90 บริษัทที่ตองการผูที่มี ‘ความรูในสาขาเฉพาะทาง’ ควบคูไปกับทักษะการ เขียนโปรแกรมไดตามตัวบุคคคลเหลานี้ เนื่องจากมีโอกาสใหมที่เกิดขึ้น จากการเขียนโปรแกรมซอฟตแวรสําหรับการบริหารจัดการโรงพยาบาล ธนาคาร กฎหมาย การออกแบบเว็บ ฯลฯ การใฝหาทักษะใหมนั้นเกิดขึ้นโดยรัฐบาลมิไดเขามาของเกี่ยว นักนโยบาย เพิ่งจะตระหนักถึงศักยภาพอยางเต็มทีห่ ลังจากที่อุตสาหกรรมซอฟตแวร เปนตัวทํารายไดในสัดสวนที่คอนขางใหญใหกับผลิตภัณฑมวลรวม ภายในประเทศ ความรูและทักษะใหมๆ ก็เปนสิ่งสําคัญสําหรับบริษัทเชนกัน บริษัทที่ เรียนรูความสามารถใหมๆ และสามารถปรับตัวใหเขากับความ เปลี่ยนแปลงไดรวดเร็วกวานั้นจะยังคงทํากําไรไดดี ตัวอยางเชน ลองดูที่ DOW 30 ซึ่งเปนดัชนีที่สําคัญในการวัดสภาวะโดยรวมของตลาดหุน
ความรูกําลังคอยๆ กลายเปนสินคา มีการนํางานดานความรูจากประเทศ ตะวันตกมาจัดจางในประเทศบราซิล อินเดีย จีน และประเทศแถบยุโรป ตะวันออก อินเตอรเน็ทมีบทบาทที่สําคัญมาก การโทรคมนาคมความเร็วสูงทําให ผูคนสามารถทํางานหลายๆ อยางไดทใี่ ดก็ได แมกระทั่งในตางประเทศ บริษัทอเมริกาที่จัดจางประเทศอื่นเริ่มตนจากงานการจัดการเครือขาย คอมพิวเตอร แลวจึงตามดวยงานประเภท ‘สนับสนุน’ เชน การเรียกเก็บ เงิน การคียขอมูล บัญชี การสมัครกูเงิน การเรียกเก็บคาสินไหมประกัน การจายภาษี ซึ่งประเทศอื่นๆ ทั่วโลกมักจะมาจัดจางประเทศอื่นอยางเชน อินเดีย ในปจจุบัน การจัดจางบุคคลภายนอกสําหรับงานบริการที่มีความรูเปน พื้นฐานนั้นไดแผขยายไปถึงงานดานไฮเทคและงานที่ตองอาศัยความ เชี่ยวชาญในอาชีพ มีการจัดจางประเทศที่มีผูเชี่ยวชาญในอาชีพที่มีทักษะ สูงซึ่งมีคาแรงถูกกวาสําหรับงานการเขียนโปรแกรม งานของเสมียนทนาย การวิเคราะห X-Ray และ CAT scan การวิจัยดานการลงทุนทางการเงิน การวิจัยและทดลองยา การวิจัยและพัฒนารถยนต งานดานความรูก็ไดเคลื่อนที่ไปยังประเทศที่มีระดับไอคิวที่สูงดวย ตัวอยางเชน ชิป MP3 ที่ใชใน Apple iPod นั้นออกแบบในเมืองไฮเดอรา บัด ประเทศอินเดีย แตสวนประกอบอื่นๆ นั้นนํามาประกอบในจีน แรงานราคาถูกและระดับไอคิวไมใชปจ จัยเพียงอยางเดียว นักเขียน โปรแกรมซอฟตแวรชาวอินเดียเผชิญความเสี่ยงของการพายแพตอนัก โปรแกรมชาวบราซิล เพราะชาวบราซิลทํางานออกมาคุณภาพดีกวาและมี ‘วัฒนธรรมการทํางาน’ ที่ดีกวาและเนนเชิงรุกมากกวา
5
เราเริ่มจะเห็นแนวโนมที่คลายคลึงกันในภาคธุรกิจสรางสรรคที่เนนความรู เปนหลัก งานที่เนนแรงงานเปนหลักของอุตสาหกรรมสรางสรรค เชน การ ทําโมเดลคอมพิวเตอรสามมิติ การทําหนังการตูน การตัดตอและผลิต ภาพยนตร การถายภาพ การออกแบบบรรจุภัณฑ และการพิมพ ไดถูกนํา ออกจากประเทศตะวันตกเพื่อมาจัดจางประเทศที่มีแรงงานสรางสรรคที่ ราคาต่ํากวา
ยุคสรางสรรค (The Creative era) ยุคนี้เปนปรากฎการณที่ทั้งโลกกําลังเห็นอยูในขณะนี้ ในขณะที่ยคุ ความรู เริ่มเขาสูจุดอิ่มตัว กลุมประเทศพัฒนาแลวโดยมีสหรัฐอเมริกา ยุโรป ตะวันตก และญี่ปุนเปนผูนํา ไดเริ่มกาวเขาสูยคุ สรางสรรคโดยมีบราซิล รัสเซีย จีน และอินเดีย (กลุม BRIC) ตามหลังอยูไมไกล ในศตวรรษที่ 21 ประเทศที่จะเกิดความมั่งคั่งไดนั้นจะตองมี ‘ขอไดเปรียบ ทางความคิดสรางสรรค’ นั่นคือ ประเทศที่สามารถใชทักษะดานความคิด สรางสรรค เทคโนโลยี และธุรกิจในหนทางใหมๆ และสรางสรรคสิ่ง ใหมๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพมากกวาประเทศอื่นๆ โมเดลการทําธุรกิจและวัฒนธรรมการทํางานในปจจุบัน ซึ่งยังคงติดอยูใน ยุคเกษตรกรรมหรืออุตสาหกรรมนั้นเริ่มจะใชประโยชนไมไดแลว ในยุค ใหมของความคิดสรางสรรคนี้ ความเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอยางสม่ําเสมอ งานวิจัยที่ กองทุนเพื่อการรพัฒนาวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และศิลปะ (NESTA) แหงสหราชอาณาจักร เปนผูจัดทําแสดงใหเห็นวา ตั้งแตป 2009 – 2013 อุตสาหกรรมสรางสรรคซึ่งผลิตภาพยนตร ดนตรี แฟชั่น โทรทัศน และวิดีโอเกม จะเติบโตขึ้น 4% โดยเฉลี่ย ซึ่งมากกวาสองเทาของอัตรา เศรษฐกิจภาคอื่นๆ ภายในป 2013 คาดวาภาคเศรษฐกิจสรางสรรคจะจาง งานคนจํานวน 1.3 ลานคน ซึ่งมีแนวโนมที่จะมากกวาภาคการเงิน และคาด วาจะสรางมูลคาเพิม่ ไดถึง 85 พันลานปอนดใหกับสหราชอาณาจักร เพิ่มขึ้นจาก 57 พันลานปอนดในป 2006 สิ่งเหลานี้คงไมสามารถเกิดขึ้นไดเมื่อสองทศวรรษกอน ในวันที่ กระบวนการผลิตยังไมเหมาะสมเพียงพอ กระบวนการโลกาภิวัฒนและการ จัดจําหนายยังไมมคี วามซับซอนเพียงพอ กระบวนการธุรกิจก็ยังไมแข็งแรง พอ การปกปองทรัพยสินทางปญญา กฎหมาย เทคโนโลยี และปจจัยอีก หลายอยางลวนแตยังไมเพียพอตอการที่ภาคอุตสาหกรรมสรางสรรคจะ เติบโตไปได
อินเทอรเน็ตและการประมวลผลราคาถูกตางสงผลดีอยางใหญหลวงแก ภาคอุตสาหกรรมสรางสรรคซึ่งอาจทําใหเจริญเติบโตอยางมากและรวดเร็ว ได ความสัมพันธระหวางกระบวนทัศนเหลานี้ เมื่อกระบวนทัศนใหมเกิดขึ้นมา ก็มักจะเกิดผลกระทบขึน้ ทีละนอย ในชวงหลายปที่ผานมา ยุคที่เกิดใหมทุกยุคไดสรางประโยชนขึ้นมหาศาล ความรู ทักษะ และหนทางใหมๆ ไดคอยๆ คืบคลานเขาสูอ ุตสาหกรรมและ ภาคเศรษฐกิจที่ยังติดอยูในยุคเกา ยุคอุคสาหกรรมไดสรางใหเกิดความรวดเร็วและความสามารถในการผลิต ในปริมาณมากแกภาคเกษตรกรรม ในทางเดียวกัน การที่มีคอมพิวเตอรใชก็ทําใหสามารถกําหนดให เครื่องจักรทํางานเอง เกิดผลดีตออุตสาหกรรมตางๆ และแมกระทั่ง เกษตรกรรมก็ไดรับประโยชน ดังจะเห็นไดจากการปฏิวัติสิ่งแวดลอมของ อิสราเอล อิสราเอลใชนวัตกรรมไฮเทคและการวิจัยและพัฒนา จนทําให กลายปนผูนําการปฏิวัติดานเกษตรกรรมของโลก และไดกาวไปสูยุค ความรูแลว
ภาคเศรษฐกิจสรางสรรคที่เนนความรูและไมเนนความรู ภาคเศรษฐกิจสรางสรรคบางอยาง เชน การออกแบบ การโฆษณา สถาปตยกรรม สื่อ ซอฟตแวร ผลผลิตวัฒนธรม ตางเนนที่ความรูเปนหลัก และมีความเปนปจเจกนอย ซึ่งหมายความวาไมแสดงถึงตัวตนของผูสราง มีการใชเทคโนโลยีขั้นสูง และจัดอยูในประเภทภาคทีเ่ นนความรูเปนหลัก Knowledge Sectors Creative Sectors Non-knowledge intensive:
Knowledge intensive:
Art, Craft, Music, Fashion
Design, Advertising, Architecture, Media Software, Cultural
Professionals: Economists, Mathematicians, Scientists, Engineers, Psychologists Knowledge Services: Business, Financial, Communication, Computer
ภาคอื่นๆ เชน ศิลปะ แฟชั่น ดนตรี และงานฝมือขึ้นอยูกับความสามารถใน การสรางสรรคของผูทําทั้งหมด จัดอยูในประเภทภาคที่ไมเนนความรูเปน หลัก
6
ยังไมมีการตกลงรวมกันอยางชัดเจนวากลุมใดอยูในประเภท ‘ภาค เศรษฐกิจสรางสรรค’ โดยกวาง ตัวอยางเชน รัฐบาลอังกฤษจัดให อุตสาหกรรมซอฟตแวรอยูในภาคเศรษฐกิจสรางสรรค ในขณะที่สวีเดน รวมการทองเที่ยวใหเปนสวนหนึ่งของ ‘เศรษฐกิจประสบการณ’ ภายใต เศรษฐกิจสรางสรรค ประเทศไทยยังไมไดเริ่มกระบวนการวิจัยเพื่อทําความเขาใจภาคเศรษฐกิจ สรางสรรคใหดีขึ้น และยังไมไดจัดทําโมเดลเพื่อสนับสนุน การทํา โครงการโดยไมไดศึกษาใหถองแทกอนจะเกิดความเสี่ยง โดยโครงการอาจ กลายเปนเพียงนโยบายสั้นๆ งายๆ ที่ในระยะสั้นอาจทําใหสื่อสนใจเปน อยางมาก แตในระยะยาวแลวอาจไมไดเปนการตอบประเด็นและกาวขาม ผานอุปสรรคที่ประเทศไทยประสบ
โมเดล 3T ของฟลอริดา และอื่นๆ ริชารด ฟลอริดา ศาสตรจารยวิชาธุรกิจและความคิดสรางสรรค และ European Ambassador for Creativity & Innovation กลาววา “เมืองและ ประเทศที่จะประสบความสําเร็จในอนาคตคือพวกที่เห็นความสําคัญของ การพัฒนาเทคโนโลยี ดึงดูดบุคคลผูมคี วามสามารถ และสามารถรับความ หลากหลายและไอเดียใหมๆ ไดดีที่สุด” ซึ่งรวมออกมาเปนโมเดล 3T ของ การเติบโตทางเศรษฐกิจ Talent
Technolo gy
Toleranc e
Fig.5 : Florida’s 3T model - for Creative Economy
ความสามารถ (Talent) ผูมีทักษะความสามารถเปนกุญแจสําคัญสูความ เจริญเติบโตที่อยูเบื้องหลังกลยุทธดานเศรษฐกิจใดๆ ของบริษัท ชุมชน และแมกระทั่งประเทศ หนทางเดียวทีจ่ ะยังสามารถแขงขันกับผูอื่นไดคือ ตองมีจัดอบรมทักษะฝมือและการศึกษาที่จําเปนใหแกกลุมคนทํางานใน ปจจุบัน หรือคิดคนกลยุทธที่จะดึงดูดผูม ีความสามารถจากตางประเทศ ความสามารถในการดึงดูดและรักษาผูที่มีความสามารถมากที่สุดเปน ประเด็นที่สําคัญมากในยุคสรางสรรค เทคโนโลยี (Technology) เทคโนโลยีและนวัตกรรมเปนสิ่งที่จะชวย สงเสริมการเติบโตของเศรษฐกิจในระดับชุมชนหรือองคกร ในการที่จะ สําเร็จได จะตองมีชองทางสําหรับการถายทอดงานวิจัย ความคิด และ
นวัตกรรมใหกลายเปนผลิตภัณฑที่ขายไดและยั่งยืน มหาวิทยาลัยและศูนย การวิจัยและพัฒนาควรจัดเตรียมโครงสรางนวัตกรรมที่จําปนสําหรับ ความคิดสรางสรรคทางดานวัฒนธรรม การประกอบการ พลเมือง วิทยาศาสตร และศิลปะ และการถายทอดเทคโนโลยี การยอมรับผูอ ื่น (Tolerance) คือการเปดรับความคิดใหมๆ วัฒนธรรมที่ แตกตาง วิธีการทํางานที่แตกตาง และความหลากหลายในดานเชื้อชาติ เผาพันธุ และภูมิหลัง ชุมชนและองคกรที่เต็มใจรับการอพยพ วิธีการใช ชีวิตแบบทางเลือก และมุมมองใหมๆ ในแงของสถานะทางสังคม และ โครงสรางอํานาจ จะสามารถประสบความสําเร็จไดอยางงายดายใน เศรษฐกิจสรางสรรค ซึ่งเปนไปตามที่รชิ ารด ฟลอริดา ไดระบุไว นอกเหนือจากสามขอที่ไดกลาวไปแลว ยังมีอีกหลายปจจัยที่ตองพิจารณา เมื่อจัดทํานโยบายในระดับบริษัทหรือระดับประเทศ เชน นวัตกรรม ความคิดสรางสรรคอยางเดียวนั้นไมเพียงพอ ไมวาจะเปน ดนตรี สถาปตยกรรม การออกแบบเกม ผลิตภัณฑเพื่อการบริโภค หรืองาน ฝมือ หากนํามาประกอบกับนวัตกรรมใหมลาสุดและการตลาดเชิงกลยุทธ แลว จะสามารถสรางมูลคาแกผูใชขั้นสุดทายได ความสําเร็จในเศรษฐกิจ สรางสรรคขึ้นอยูกับความสามารถของแตละบุคคลในการสรางนวัตกรรม ความสามารถในการซึมซับและสรางสรรคสิ่งใหม ความสามารถในการ ซึมซับคือความสามารถของชุมชน บริษัท มหาวิทยาลัย กลุม ภูมิภาค หรือ กระทั่งประเทศ ในการดึงความคิดใหมๆ ออกมาจากที่ใดสักแหง ทําความ เขาใจ ปรับเปลี่ยน และซึมซับความคิดนั้น เพื่อสรางมูลคาเศรษฐกิจภายใน พื้นที่ของตน ผูคนที่ความสามารถสูงที่อยูในสถานทํางานที่มีวัฒนธรรม การสรางนวัตกรรมที่มีชีวิตชีวา จะสามารถตอยอดไอเดียที่มีอยูแลว และ สรางนวัตกรรมใหมๆ ขึ้นมาได ขนาด เปนที่ทราบดีแลววาในการที่จะประสบความสําเร็จระดับสากล ความสําเร็จในตลาดภายในประเทศนัน้ เปนสิ่งสําคัญมาก การพยายาม ปรับปรุงผลิตภัณฑที่เปนนวัตกรรมใหมในตลาดภายในประเทศเปนเวลา หลายปนั้น ไดทําใหเกิดความเขาใจเบือ้ งลึกวาอะไรที่ไดผล และอะไรที่ ลมเหลว ซึ่งสามารถนํามาใชพัฒนาผลิตภัณฑสําหรับตลาดสากลได วัฒนธรรมการสรางนวัตกรรม มักจะเปนปจจัยที่ถูกมองขามเมื่อคํานึงถึง ปจจัยความสําเร็จของบริษัท บริษัทที่สงเสริมการสรรสรางนวัตกรรมนั้น กลาเสี่ยงและไมเกรงกลัวความผิดพลาด สงผลใหเกิดทรัพยากรมากมาย สําหรับการวิจัยเบื้องลึกและสงผลกวางไกล
7
สิ่งแวดลอมที่สงเสริมการติดตอสื่อสารและการรวมงานกัน ความไวเนือ้ เชื่อใจ ความเปดเผย สงเสริมใหเกิดการอภิปรายประเด็นอันนําไปสูไอเดียที่ หลากหลาย เราสามารถสนับสนุนความเปดเผย และเสรีภาพในการพูดได ดวยการใหรางวัลผูที่คิดนอกกรอบ สิ่งแวดลอมสําหรับผูประกอบการ รัฐบาลอาจสรางสิ่งแวดลอมที่สนับสนุน การกลาเสี่ยง การสํารวจหาความคิดใหมๆ ดวยการอภิปราย ถกเถียง และ การระดมความคิด และกอตั้งหนวยงานดานการเงินที่สนับสนุนการสรรหา ไอเดียใหมๆ คุณภาพ ประเด็นในดานความคิดและการกระทําในประเทศไทย มีการพูด ถึงเรื่องคุณภาพกันมากแตการนําไปปฏิบัติจริงนั้นมีอยูนอย ซึ่งคนมักมอง เปนเรื่องนารําคาญและมักจะหลีกเลี่ยงเพราะการผลักดันใหเกิดคุณภาพนั้น อาจทําใหเกิดความยุงยากในแงของแนวคิดและการปฏิบัติ การศึกษา ควรมีมาตรฐานการศึกษาที่สูงเพื่อใหมั่นใจไดวามีผูมีทักษะ ภายในประเทศ ความคิดสรางสรรคที่ไมสอดคลองกัน (Creative Dissonance) คือการ สนทนาอยางชาญฉลาดที่ทาทายสภาพที่เปนอยู พยายามรักษาความขัดแยง แทนที่จะหลีกเลี่ยง มีหลักฐานที่แสดงวาวัฒนธรรมที่ยินยอมใหเกิดความ ขัดแยงนั้นเปนวัฒนธรรมที่สรางสรรคและเกิดนวัตกรรมใหมๆ มากมาย ขบวนการเคลื่อนไหววัฒนธรรมยุค Renaissance ซึ่งมีผลกระทบตอวิถีชีวิต ของปญญาชนยุโรป เริ่มตนขึ้นในอิตาลีและขยายตอไปจนครอบคลุมทั้ง ยุโรปในชวงศตวรรษที่ 16 อิทธิพลของขบวนการนี้มีผลกระทบตอดาน วรรณกรรม ปรัชญา ศิลปะ การเมือง วิทยาศาสตร ศาสนา และดานอื่นๆ เชนเดียวกัน ขบวนการเคลื่อนไหว Bauhaus ซึ่งเกิดขึ้นในเยอรมนีหลัง สงครามโลกครั้งที่ 1 ก็เปนแรงผลักดันที่สําคัญในการกําหนดแนวทาง การศึกษาและแนวคิดดานการออกแบบทั่วโลก ขบวนการนี้เกิดจากการ ทดลองศิลปะทุกแขนงอยางสุดโตง ซึง่ มีความไมสอดคลองกันในระดับสูง วัฒนธรรมระดับชาติหรือบริษัทใดก็ตามที่รักษาความสามัคคีไวโดยไม ยอมรับความคิดฝายตรงขามเลย ยอมไมใชสภาพแวดลอมที่อํานวยใหเกิด ความคิดสรางสรรคอยางแนนอน
3 T สําหรับประเทศไทย – ความทาทาย ความสามารถ (Talent)
ผูมีความสามารถนั้นเปนปจจัยผลักดันหลักสําหรับการสรางความมั่งคั่ง ใหกับประเทศในเศรษฐกิจความรูและสรางสรรค ซึ่งเกิดจากระบบ การศึกษาที่ดีเปนหลัก ในปจจุบันนี้ประเทศไทยลาหลังประเทศอื่นในเอเชียในแงระบบการศึกษา ซึ่งอาจเกิดจากปญหาหลายอยางดวยกัน เชน นักเรียนไมอยากแขงขันกัน โรงเรียนและมหาวิทยาลัยไมมีระดับมาตรฐานที่สูง ไมมีครูที่ดี นักเรียน ขาดความเขาใจถึงความสําคัญของการเรียนรู ไมใชเพียงแคตองการ Mathematics Achievement[15] 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30
Country Taiwan S Korea Singapore Hong Kong Japan England Russia USA Lithuania Czech Republic Slovenia TIMMS Scale Average Armenia Australia Sweden Malta Scotland Serbia Italy Malaysia Norway Cyprus Bulgaria Israel Ukraine Romania Bosnia & Herzegovina Lebanon Thailand Turkey Jordan
Score 598 597 593 572 570 513 512 508 506 504 510 500 499 496 491 488 487 486 480 474 469 465 464 463 462 461 456 499 441 432 427
Science Achievement[14] 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30
Country Singapore Taiwan Japan S. Korea England Hungary Czech Republic Slovenia Hong Kong Russia USA Lithuania Australia Sweden TIMMS Scale Average Scotland Italy Armenia Norway Ukraine Jordan Malaysia Thailand Serbia Bulgaria Israel Bahrain Bosnia & Herzegovina Romania Iran Malta
Score 567 561 554 553 542 539 539 538 530 520 520 519 515 511 500 496 495 488 487 485 482 471 471 470 470 468 467 466 462 459 457
Fig.6 : TIMMS 2007 Mathematics & Science Achievement
ปริญญา ผลสํารวจของ TIMMS 2007 ที่ International Association for the Evaluation of Educational Achievement (IEA) เปนผูจัดทําขึ้นนั้น ชี้ใหเห็นวาเด็กนักเรียนชั้น ป.4 และ ม.2 ทําคะแนนไดคอนขางนอยเมือ่ เทียบกับประเทศเอเชียอื่นๆ (หมายเหตุ: จีนและอินเดียไมไดเขารวมการทํา แบบสํารวจนี้) ความสามารถในดานวิทยาศาสตรและระดับผลผลิตดานเศรษฐกิจของ ประเทศนั้นมีความเชื่อมโยงกันอยางมาก การศึกษาดานคณิตศาสตรและ 8
วิทยาศาสตรมีแนวโนมที่จะมีอิทธิพลตอความคิดและขยายขอบเขตความรู ไปยังสถานการณใหมๆ ซึ่งอาจรวมถึงการออกแบบผลิตภัณฑ ออกแบบ โมเดลธุรกิจใหมๆ หรือสรางบริการระดับโลก เห็นไดวานักเรียนทีท่ ําคะแนนไดสูงนัน้ มีความสามารถสูงในการสังเกต วิเคราะห และตีความขอมูล นํามาสรุปความ ทําการอนุมานไดอยางมี ตรรกะโดยอิงจากขอสันนิษฐานและกฎที่เฉพาะเจาะจง และสามารถแกไข ปญหาได
ความคิดเห็น: บริษัทตางชาติ (ที่มีออฟฟศอยูในประเทศไทย) มองหาสิ่งใดในตัว บัณฑิตไทย[17] “การสื่อสาร ประสบการณทางเทคนิคแบบประยุกต และทักษะการคิด
อยางมีวิจารณญาณ เปนสามสิ่งที่บัณฑิตไทยควรปรับปรุงการศึกษาใน ประเทศไทยเนนการเรียนการสอนจากตํารา Ford ตองการผูที่มี ประสบการณดานการปฏิบัติจริง และสามารถอธิบายไอเดียของตนได อยางมีประสิทธิภาพ” - ชัค โคลัมบัส รองประธานฝาย
HR ตลาดเอเชีย บริษัท Ford
เนด รัสเซล อางอิงคําพูดของ ชัค โคลัมบัส โดยเขียนไววา จุดดอยของ ระบบการศึกษาไทยคือการที่ไปพึ่งพาการจดจําและองคความรูมาก เกินไป ระบบการศึกษาไทยเนนที่การสั่งสอน โดยละเลยการให นักเรียนไดฝกทักษาการคิดอยางอิสระ ซึ่งจําเปนสําหรับการแขงขันใน เศรษฐกิจโลกในปจจุบัน นักเรียนจําเปนที่จะตองสามารถคิดไดทั้งใน แนวดิ่งและแนวขวางจึงจะสรางประโยชนแกสภาพแวดลอมแบบนี้ได ธุรกิจๆ ในประเทศไทยกําลังตองการผูที่มีทักษะดานเทคนิคประยุกต มากขึ้นเมื่อประเทศไทยกําลังจะกลายเปนศูนยกลางการผลิตรถยนต แต ขอจํากัดในเรื่องทักษะบางดานอาจทําใหประเทศไทยไมสามารถทํางาน ไดเต็มศักยภาพ ระบบการศึกษาไทยจะพัฒนาขึ้นถามีการปรับปรุงสามดานดังตอไปนี้ - ทักษะดานภาษาและการติดตอสือ่ สาร พนักานที่สามารถสื่อสาร ดวยภาษาอังกฤษไดอยางมีประสิทธิภาพ ทั้งในดานการพูดและ เขียน
- การเรียนรูจากประสบการณ เชน การฝกงานซึ่งปฏิบัติกันอยาง แพรหลายในสหรัฐอเมริกา กวา 64% ของผูสําเร็จการศึกษาจาก สหรัฐอเมริกาในป 2006 ไดผานการฝกงานอยางนอยหนึง่ ครั้ง - การแกปญหาที่ซบั ซอน การออกแบบ ผลิต และทําการตลาดสําหรับ ยานพาหนะนั้นตองใชขบวนการคิดเชิงกลยุทธ การแกปญหาที่ซับซอน และการตัดสินใจและรวมงานกันของทีมงาน เนดสรุปวาประเทศไทยยังคงสามารถดึงดูดนักลงทุนตางชาติเพราะอยู ในตําแหนงที่ตั้งที่ดีและชีวิตเรียบงายของคนไทย อยางไรก็ตาม หาก ระบบการศึกษาประเทศไมเปนไปตามความตองการของระบบ เศรษฐกิจที่เนนทักษะเพิ่มขึ้นในปจจุบนั ประเทศไทยก็อาจไมสามารถ แขงขันกับประเทศเพื่อนบานได - ผูเขียน: เนด รัสเซล สําหรับหอการคาอเมริกา ประเทศไทย รายงานฉบับนี้ไดใหขอสรุปไววา “การที่ประสบความสําเร็จดาน คณิตศาสตรและวิทยาศาสตรจะสรางทัศนคติในเชิงบวก ความมั่นใจ และ คุณคาตอไปในภายภาคหนา” นี่เปนอุปสรรคใหญอยางแรกของผูออกนโยบาย ผูประกอบอาชีพในวงการ การศึกษา หรือวงการอุตสาหกรรม หากไรซึ่งแรงงานผูมีความสามารถและ ทักษะที่ดีเปนจํานวนมากแลว คงไมสามารถประสบความสําเร็จได เทาที่ควรในระบบเศรษฐกิจสรางสรรค สถาบันการศึกษาที่ผลิตผูมี ความสามารถระดับโลกนั้นเปน ‘โครงสราง’ หลักของเศรษฐกิจสรางสรรค สวนสิ่งที่สําคัญรองลงมาคือการที่บริษัทที่สามารถคงรักษาพนักงานของ ตนไวไดอยางตอเนือ่ ง
งานวิจัยระดับปริญญาเอก: เรื่องความรูและทักษะในบริษัท ไทย โดย ดร.มารติน เบอรเกอร ผูวิจัยนโยบายดานเทคโนโลยีและภูมิภาค แหง Joanneum Research สถาบันวิจัย(ที่ไมใชมหาวิทยาลัย)ที่ใหญที่สุด แหงหนึ่งในออสเตรีย ประเทศไทยเปนตัวอยางที่ดีของประเทศ ‘ธรรมดา’ ที่เปลี่ยนเปนระบบ อุตสาหกรรมชา ไมใชประเทศที่ประสบความสําเร็จดังเชนเกาหลีหรือ ไตหวัน และก็ไมไดเปนกรณีพิเศษ เชน ฮองกงหรือสิงคโปร
9
หลังจากที่เติบโตอยางมากในทศวรรษกอนที่จะเกิดวิกฤตการณใน เอเชียในป 1997 ประเทศไทยไมใชประเทศคาแรงต่ํา แตก็ไมใช เศรษฐกิจระบบความรูที่มีทักษะระดับสูงเชนกัน ความกดดันจาก ‘ดานลาง’ มีสูง หลายประเทศไดกาวเขามาสูเวที ตลาดโลก เชน จีนและอินเดีย ที่มีตลาดทองถิ่นขนาดใหญ คาแรง ต่ํา และแรงงานและโครงสรางพื้นฐานที่กําลังพัฒนาอยางรวดเร็ว ดังนั้น ประเทศไทยจะตองพัฒนาอยางรวดเร็ว เพื่อใหรักษาระดับ การเติบโต และปรับปรุงความสามารถดานการแขงขันใหกาวหนา ขึ้นอีก หากไมสามารถพัฒนาทักษะมนุษย ความสามารถดานเทคโนโลยี ของบริษัททองถิ่นและบริษัทขามชาติ และโครงสรางพื้นฐานได อีกไมนานจะตองเกิดมหันตภัยทางเศรษฐกิจที่รายแรง อันเกิดจาก การที่บริษัทขามชาติถอนเงินลงทุนจํานวนมหาศาล ทําใหสวน แบงในตลาดโลกของไทยลดลง อัตราการเติบโตและการบรรเทา ความยากจนลดลง นี่เปนอุปสรรคที่ประเทศไทยและประเทศอื่นๆ ที่เปลี่ยนเปนระบบอุตสาหกรรมชามีเหมือนกัน เชนเดียวกับประเทศที่เปลี่ยนเปนระบบอุตสาหกรรมชา บริษัทที่มี ฐานอยูในประเทศไทย ไมเนนดานเทคโนโลยีดวยการคิดคน ผลิตภัณฑและกระบวนการที่ ‘แปลกใหมในโลก’ สวนใหญแลว พยายามเพิ่มความสามารถดานการแขงขันดวยการตามใหทัน บริษัทชั้นนําในประเทศที่พัฒนาแลว ดวยการรับเทคโนโลยีที่มีอยู แลวจากประเทศที่พัฒนาแลวมาใช และพยายามพัฒนาใหดีขึ้น
นอกจากนี้ จํานวนและคุณภาพของนักศึกษาจบใหม โดยเฉพาะในดาน วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีนั้นไมเพียงพอ การขาดแรงงานที่มีความา สามารถ ทําใหความสามารถในการซึมซับของบริษัททองถิ่นในการซัม ซับเทคโนโลยีใหมๆ และโอกาสใสการดําเนินกิจกรรมสรางสรรค นวัตกรรม มีอยางจํากัด ในทางหนึ่ง บริษัทตางชาติซึมซับแรงงานที่มีความสามารถสูงซึ่งหา ไมไดงาย ดวยการจางบุคคลากรที่มีการศึกษาสูง ในทางตรงกันขาม บางบริษัทพยายามพัฒนาและขยายฐานทักษะมนุษยดวยการจัดอบรม พนักงานของตน และมีสวนรวมในโปรแกรมการศึกษาในมหาวิทยาลัย
ปรากฎการณราชินีแดง (The Red Queen Effect) เราอาจเรียกการที่ตองตามโลกใหทันอยางรวดเร็ววา ปรากฎการณราชินี แดง ในโลกแหงโลกาภิวัฒนที่มีการแขงขันสูง ทุกอยางเราเรียนรูในขณะนี้ อาจจะตกยุคไปแลวในอีกประมาณหาป! ดังนั้นการที่จะมีชีวิตรอดในยุค ความรูและสรางสรรคนี้ใหไดมีอยูทางเดียวเทานั้น นั่นคือ ตองเรียนรูอยู ตลอดเวลา
ในขณะที่บริษัททั่วโลกพยายามคงความสามารถในการแขงขัน ดวยการพัฒนาจนเอง กลาวคือ ผลิตสินคาที่ดีขึ้น ผลิตอยางมี ประสิทธิภาพมากขึน้ หรือเนนไปที่กิจกรรมที่เนนทักษะมากขึ้น บริษัทที่พัฒนาชากวา ตองพัฒนาตัวเองและเรียนรูใหเร็วยิ่งกวา บริษัทในประเทศที่พัฒนาแลว เพื่อลดชองวางและตามใหทัน หลายบริษัทขาดความสามารถในการพัฒนาสินคา การวิจัยและ พัฒนา การออกแบบและวิศวกรรม ในการเปรียบเทียบกับสถาบัน สากล สถาบันวิจัยและมหาวิทยาลัย ไมไดนําเสนอผลงานดาน วิทยาศาสตรที่แข็งแกรง และผลวิจัยที่ไดออกมานั้นก็ไมตรงกับ ความตองการของอุตสาหกรรม
Alice & the Red Queen. Image source: http://www.lealandeve.com
ลักษณะเฉพาะของเศรษฐกิจความรูคือการที่ความรูตกยุคไดอยางรวดเร็ว และหากตองการจะสามารถแขงขันกับผูอื่นได เราตองเรียนรูใหเร็วขึ้น
10
คําวาปรากฎการณราชินีแดงนั้นนํามาจากนิทานของลูอิส แครอล เรื่อง Through the Looking Glass ซึ่งสรุปความไดดังนี้ “ราชินีแดงพาอลิซวิ่งไปอยางรวดเร็วจนกระทั่งรูสึกเหมือนเทาไมได เหยียบพื้นเลย ในทีส่ ุดทั้งสองก็หยุดในขณะที่อลิซกําลังเหนื่อยพอดี อลิซพบวาทั้งสองอยูที่เดิมโดยไมไดเคลื่อนที่ไปไหนเลย จึงถามราชินีดวย ความแปลกใจวาในโลกของอลิซ ถาวิ่งเร็วขนาดนี้ก็ตองไปถึงที่อื่นแลว ทําไมอยูที่นี่ถึงไมไปไหนเลย ราชินีตอบวา โลกของอลิซนั้นเคลื่อนที่ชาเสีย จริง ในโลกแหงนี้ ตองวิ่งแบบที่วิ่งไปแลวจึงจะอยูที่เดิมได ถาตองการจะ ไปที่อื่น ก็ตองวิ่งใหเร็วเปนสองเทา” ทุกประเทศกําลังเผชิญกับปรากฎการณราชินีแดงนี้ ซึ่งสวนหนึ่งเกิดจาก แรงกดดันจากคูแขงตนทุนต่ําความสามารถสูงที่กําลังเพิ่มมากขึ้นทั้งใน ประเทศและตางประเทศ บริษัททั้งหลายตางกําลังเนนเรื่องสรางนวัตกรรม แตละเลยการตามโลกใหทัน ถาบริษัท (หรือประเทศ) ใดที่วิ่งชากวาคูแขง ก็จะลาหลังไปอยางเงียบๆ
ดัชนีบงชี้ความเกงระดับโลก (Global Talent Index) ป2012 ดัชนีบงชี้ความเกงระดับโลกป (Global Talent Index: GTI) จัดทําโดย Heidrick & Struggles รวมกับ Economist Intelligence Unit ประเมินระดับ ความสามารถใน 30 ประเทศโดยวิเคราะหปจจัยผันแปรเจ็ดประการ ไดแก สถิติประชากร คุณภาพของระบบการศึกษาภาคบังคับ คุณภาพของ มหาวิทยาลัยและสถาบันการศึกษาดานธุรกิจ คุณภาพของสภาพแวดลอมที่ ฟูมฟกทักษะความสามารถ ความเปดกวางและการเคลื่อนไหวของ ตลาดแรงงาน แนวโนมการลงทุนโดยตรงจากตางชาติ และแนวโนมที่จะ ดึงดูดผูมีความสามารถ ประเทศไทยอยูในอันดับที่ 22 ของโลก สามปจจัยหลักที่มีคะแนนต่ําลง ตั้งแตป 2007 ถึง 2012 คือคุณภาพของสภาพแวดลอมที่ฟูมฟกทักษะ ความสามารถ ความเปดกวางและการเคลื่อนไหวของตลาดแรงงาน และ แนวโนมการลงทุนโดยตรงจากตางชาติ
Analysis
Fig.9 : LBottom
Fig.13 : Globa
Quality of Environment to nurture talent • Increase percentage of Higher Education graduates in Social Sciences, Business & Law • Percentage of tertiary grads in the Sciences • Researchers & Technicians in R&D (% per m pop) • Increase R&D as % of GDP • Reduce the degree of restrictiveness of Labour Laws • Quality of workforce to be enhanced through consistent training. • Local managers retrained • Protection of IP • Protection of Private property • Meritocratic remuneration - (job and salary based on merit) Mobility & relative openess of labour market • Number of students studying overseas • Number of foreign students as a % in domestic educational establishments • Language skills of labour force • Hiring of foreign nationals to add diversity to its workforce • Openness to other cultures • Openness to trade (exports + imports % of GDP)
Fig.8 : Break up of the GTI rankings for Thailand
ตอไปนี้คือปจจัยทีก่ ารนํามาพิจารณาเมื่อวางแผนงานวิจัย ซึ่งอาจเปนขอมูล ที่นําไปกําหนดนโยบายในประเทศไทย
แรงงานทักษะและความรู บริษัทใหคําปรึกษาดานการบริหารจัดการ A.T. Kearney ไดจัดลําดับ สถานที่ที่ไดรับความนิยมในการจัดจางงานดานธุรกิจ ซึ่งประเทศไทยอยูใน ลําดับที่สี่ของสถานที่ที่ดีที่สุดในโลกสําหรับงานบริการ ปจจัยที่สงผลดีใหแกประเทศไทยคือดานการเงิน (แรงงานราคาถูก คา สาธารณูปโภคและภาษีต่ํา) และสภาพแวดลอมทางธุรกิจที่ดี อยางไรก็ตาม สิ่งที่รั้งอันดับของประเทศไทยคือคุณภาพของทักษะฝมอื ของกลุมแรงงาน ที่มีในประเทศ รายงานนี้เนนถึงความสําคัญของคุณภาพแรงงานแลว โดย กลาววา “ถึงแมวาตนทุนยังเปนปจจัยทีส่ ําคัญในการตัดสินใจวาจะจัดจาง
Fig.7 : Where will the hottest talent be in 2012 Source: Heidrick & Struggles & The Economist - 2007
11
ประเทศใด คุณภาพของกลุมแรงงาน (หรือแรงงานความรู) ก็เปนสิ่งที่มี ความสําคัญเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ”lobal T
ความสามารถในประเทศใหสามารถแขงขันกับผูอื่นไดในเศรษฐกิจ สรางสรรค
นี่เปนหลักฐานวาสาธารณูปโภคทางกายภาพนั้นไมมีคา มากเทาไหรใน เศรษฐกิจความรูและสรางสรรค ent Index - 2012
เทคโนโลยี ปจจัยที่สําคัญเปนอันดับสองของโมเดลของฟลอริดาคือ ความพรอมดาน เทคโนโลยีของบริษัท เมือง หรือประเทศ เทคโนโลยี: เทคโนโลยีและนวัตกรรมเปนสิ่งสําคัญที่จะชวยใหเศรษฐกิจ ของชุมชุนหรือองคกรเติบโต ในการที่จะสําเร็จได จะตองมีชองทาง สําหรับการถายทอดงานวิจัย ความคิด และนวัตกรรมใหกลายเปน ผลิตภัณฑที่ขายไดและยั่งยืน มหาวิทยาลัยและศูนยการวิจยั และพัฒนาควร จัดเตรียมโครงสรางนวัตกรรมที่จําเปนสําหรับความคิดสรางสรรคทางดาน วัฒนธรรม การประกอบการ พลเมือง วิทยาศาสตร และศิลปะ และการ ถายทอดเทคโนโลยี
Fig.9 : Location of talent for offshoring of knowledge work. Source: A.T. Kearney - 2009
The Global Talent Index (GTI), developed by Heidrick & [6] Struggles with the Economist Intelligence Unit, assesses
รายงาน Global Information Technology Report 2008-2009 จาก World Economic Forum กลาววา
มหาวิทยาลัยเปนแหลงผลิตความสามารถ
Fig.10 : Number of world class universities Source: BusinessWeek - 2009
BusinessWeek จัดอันดับโปรแกรมการศึกษาดาน MBA การออกแบบ และ การบริหารการออกแบบและนวัตกรรม โดยที่ไมมีมหาวิทยาลัยจาก ประเทศไทยติดอันดับเลย และไดระบุไวอยางชัดเจนวาการศึกษาที่ไดรับ จากมหาวิทยาลัยไทยในแงคุณภาพและความลึกซึ้งนั้นไมถึงระดับ มาตรฐานสากล นี่หมายความวาตองมีการปรังปรุงคุณภาพของผูมี 12
“เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and communication technologies: ICT) กําลังกลายเปนกลยุทธหลักสําหรับการแขงขัน ระดับชาติของประเทศตางๆ ทั่วโลก ขอมูลดานเศรษฐกิจเมื่อไมนานมานี้ แสดงใหเห็นวา ในขณะที่ประเทศที่พฒ ั นาแลวกําลังกาวสูการเปนแนวหนา ดานเทคโนโลยี ICT เปนสิ่งจําเปนในการสรางสรรคนวัตกรรมใน กระบวนการและผลิตภัณฑ และรักษาขอไดเปรียบในการแขงขัน”
ในการที่ประเทศไทยจะเลื่อนลําดับดานเทคโนโลยีใหสูงขึ้นเมื่อเทียบกับ ประเทศในเอเชียอืน่ ๆ นั้นเปนเรื่องที่ยากในหลายดานดวยกัน ดานที่สําคัญ ที่สุดไดแก เทคโนโลยีลาสุดที่เกิดขึ้นในประเทศ คุณภาพของวิศวกรรม การศึกษาดานบริหารและออกแบบ นักวิทยาศาสตรและวิศวกรที่มีอยูใน ประเทศ การที่มหาวิทยาลัยและอุตสาหกรรมไมเชื่อมโยงกันอยางแข็งแรง และความสามารถในการสรางนวัตกรรม
เห็นไดชัดวาประเทศไทยขาดแคลนผูมที ักษะดานเทคโนโลยีเปนอยางมาก ซึ่งมีผลโดยตรงตอความพรอมดานเทคโนโลยีของประเทศไทยในการเก็บ เกี่ยวผลประโยชนของเศรษฐกิจสรางสรรค ในอีกดานหนึ่ง รายงาน Creative Economy Report 2008 จัดทําโดย UNCTAD ไดจัดอันดับใหประเทศไทยอยูในอันดับที่ 17 ในดานการ สงออกสินคาดานวัฒนธรรม ซึ่งสวนใหญแลวไมไดใชเทคโนโลยีในการ ผลิต และเปนสิ่งประดิษฐดวยมือเปนหลัก จากที่เห็นหลักฐานจากเศรษฐกิจที่พัฒนาแลว สินคาไฮเทคกอใหเกิดมูล คาที่สูง ดังนั้นหากจะกําหนดนโยบายเศรษฐกิจโดยอิงจากรายงาน UNCTAD ทั้งหมดนั้น อาจทําใหเกิดความเสี่ยงสําหรับประเทศไทยใน ระยะยาว ในการที่ประเทศไทยจะเลื่อนลําดับดานเทคโนโลยีใหสูงขึ้นเมื่อเทียบกับ ประเทศในเอเชียอืน่ ๆ นั้นเปนเรื่องที่ยากในหลายดานดวยกัน ดานที่สําคัญ ที่สุดไดแก เทคโนโลยีลาสุดที่เกิดขึ้นในประเทศ คุณภาพของวิศวกรรม การศึกษาดานบริหารและออกแบบ นักวิทยาศาสตรและวิศวกรที่มีอยูใน ประเทศ การที่มหาวิทยาลัยและอุตสาหกรรมไมเชื่อมโยงกันอยางแข็งแรง และความสามารถในการสรางนวัตกรรม
Ra nk
Exporter
Value (M $)
1
China
61,360
2
Italy
28,008
3
Hong Kong
27,677
4
USA
25,544
5
Germany
24,763
6
UK
19,030
7
France
17,706
8
Canada
11,377
9
Belgium
9,343
10
Spain
9,138
11
India
8,155
12
Netherlands
7,250
13
Switzerland
6,053
14
Japan
5,547
15
Turkey
5,081
16
Austria
4,883
17
Thailand
4,323
18
Mexico
4,271
19
Poland
4,215
20
Denmark
3,449
Goods Design (Jewellery, Interior, Fashion, Toys & Graphic Design) Interior Toys Art & Craft Visual Arts Painting Sculpture Glassware Celebration Books New Media Wicker ware Video Games Audiovisuals Film Digital records Paper ware All Goods
Value (f o b M $)
Rank
3,673
5
1,809 1,137 359 199 107 301 189 94 93 61 58 36 15 11 10 8 8 5 2 4,323
4 6 9 5 7 8 6 2 6 5 4 9 8 5 7 4 4 8 5 5
Fig.12 : Creative Goods, top 20 exporters &Thailands share. Source: Creative Economy Report 2008-UNCTAD
ซึ่งมีผลโดยตรงตอความพรอมดานเทคโนโลยีของประเทศไทยในการเก็บ เกี่ยวผลประโยชนของเศรษฐกิจสรางสรรค ในอีกดานหนึ่ง รายงาน Creative Economy Report 2008 จัดทําโดย UNCTAD ไดจัดอันดับใหประเทศไทยอยูในอันดับที่ 17 ในดานการ สงออกสินคาดานวัฒนธรรม ซึ่งสวนใหญแลวไมไดใชเทคโนโลยีในการ ผลิต และเปนสิ่งประดิษฐดวยมือเปนหลัก จากที่เห็นหลักฐานจากเศรษฐกิจที่พัฒนาแลว สินคาไฮเทคกอใหเกิดมูล คาที่สูง ดังนั้นหากจะกําหนดนโยบายเศรษฐกิจโดยอิงจากรายงาน UNCTAD ทั้งหมดนั้น อาจทําใหเกิดความเสี่ยงสําหรับประเทศไทยใน ระยะยาว 13
กระแสเงินที่ใชในการวิจัยและพัฒนาระดับโลก
Fig.13 : Global flow of R&D money.
Source: Booz & Company analysis
Global Innovation 1000 ซึ่งเปนงานวิจยั คาใชจายในการวิจัยและพัฒนา ประจําปที่ไดรับรางวัลของ Booz & Company เปนการประเมินอิทธิพล ของการวิจัยและพัฒนาที่มีตอผลการดําเนินงานของบริษัทที่ครบถวน สมบูรณที่สุด เนื่องจากกิจการตางๆ เริ่มกลายเปนบริษัทระดับโลกมากขึ้นทุกที คาใชจาย ที่บริษัทใชในการวิจัยและพัฒนาก็ไดเพิ่มสูงขึ้น บริษัทที่ลงทุนใน นวัตกรรมขามชาติอยางชาญฉลาดไดรับผลตอบแทนจากการลงทุนดาน การวิจัยและพัฒนาที่ดีกวาบริษัทที่ปฏิบัติงานแตในหองทดลองในบาน ตัวเองเทานั้น บริษัทที่ติดอับดับ Global Innovation 1000 ใชเงินดานนวัตกรรม 55% นอก ประเทศของตน ซึ่งสะทอนใหเห็นความตองการที่จะประสบความสําเร็จ ในเศรษฐกิจระดับโลก เพื่อแขงขันกับผูประกอบการทั้งนอกและใน ประเทศที่มีความคลองแคลวและเติบโตอยางรวดเร็ว เพือ่ ครอบครองสวน แบงในตลาดใหมๆ ที่ไมคุนเคย เพือ่ เขาใจลูกคาในตลาดเหลานั้น เพื่อจาง นักวิทยาศาสตรและวิศวกรที่มีความสามารถ และเพื่อจับจองไอเดียที่ดีทสี่ ุด จากทั่วโลก มีหลายเหตุผลดวยกันที่บริษัทขามชาติควรยายสวนงานวิจัยและพัฒนาไป
นอกประเทศ ซึ่งไดแก ตนทุน ตนทุนที่ต่ําเปนสิ่งแรกที่กระตุนใหจัดทําการวิจัยในตางประเทศ เพื่อใหใชเงินนอยทีส่ ุด แตไมใชเหตุผลที่สําคัญที่สุดแลวในปจจุบันนี้ อันที่ จริงแลวมีความสําคัญนอยลงดวยซ้ําไป การเขาถึงผูมีความสามารถ ในขณะทีข่ อดีของแรงงานราคาถูกลด ความสําคัญลง เหตุผลอื่นๆ ในการลงทุนวิจัยและพัฒนาระดับนานาชาติก็ เพิ่มความสําคัญมากขึ้น บริษัทหลายแหงกําลังตั้งศูนยวิจัยและพัฒนาใน ประเทศอื่นๆ เพื่อหาทางเขาถึงวิศวกรและนักวิทยาศาสตรผูมีความสามารถ ที่กําลังเพิ่มจํานวนขึ้นเรื่อยๆ และเขาถึงความคิดที่พวกเขามี ความใกลชิดและความเขาใจตลาด เนื่องจากบริษัทขายผลิตภัณฑและ บริการในตลาดทั่วโลก จึงเห็นความสําคัญในการตั้งศูนยวิจัยและพัฒนาให ใกลกับตลาดที่กําลังเติบโตขึ้น จากรูป 13 แสดงใหเห็นจํานวนเงินที่ลงในการวิจัยและพัฒนาในประเทศ ไทย เห็นไดวานอยกวามาเลเซีย สิงคโปร และไตหวันอยางเห็นไดชัด ซึ่ง เหตุผลหลักคือขาดผูมีความสามารถที่มีคุณภาพ 14
เทคโนโลยีและผูมีความสามารถมีความเชื่อมโยงกัน ผูมีความสามารถสูง จะชวยเพิ่มความสามารถในการซึมซับของบริษัทใหมากขึ้น ดวยการชวย ทําใหบริษัทเห็นคุณคา ยอมรับ และนําความรูใหมมาประยุกตใช อยางไรก็ตาม รายงานไดเตือนไววา การทําตามอยางตางประเทศในดาน วิจัยและพัฒนานั้น ไมใชการประกันวาผลการดําเนินงานจะดีขึ้นเสมอไป ในการที่ประสบความสําเร็จนั้น บริษัทตองกําหนดกลยุทธดานวิจัยและ พัฒนาที่เปนไปในทางเดียวกับกลยุทธของบริษทั โดยรวม และตอง เหมาะสมกับสภาพแวดลอมทางธุรกิจที่ดําเนินงานอยูดวย
การยอมรับผูอื่น (Tolerance) การยอมรับผูอื่นเปนสิ่งที่สําคัญที่สุดในโมเดล 3T ของริชารด ฟลอริดา ซึ่ง ประเทศไทยนาจะไดในคะแนนสูงในขอนี้ ถึงแมวาจะไมมีขอมูลมา สนับสนุน แตดวยความที่คนไทยมีน้ําใจดีและยอมรับผูที่เปนเกยหรือผูที่มี วิถีชีวิตแปลกแยกจากขนบสังคม และวัฒนธรรมอื่นๆ อีกทั้งยังมีทัศนคติ แบบไมนิยมแซกแซงวิถีความเปนอยูข องผูอื่น ประเทศไทยจึงเปนจุดหมาย การทองเที่ยวที่ไดรับความนิยมมากทีส่ ุดแหงหนึ่งในเอเชีย ทําใหสามารถ กลายเปนแหลงที่จะเกื้อใหเศรษฐกิจสรางสรรครุงเรืองขึ้นได อยางไรก็ตาม ศ.อัลเลน เจ สก็อต แหงมหาวิทยาลัย UCLA เตือนไววา “โดยตองขออภัยริชารด ฟลอริดาไว ณ ที่นี้ แตความคิดสรางสรรคนั้น ไมใชสิ่งที่สามารถนําเขามาในเมืองโดยนักเลนสเก็ตบอรด เกย หรือผูมีวิถี ชีวิตแปลกแยก แตเปนสิ่งที่ตองพัฒนาขึ้นผานการเชื่อมโยงรอยเรียงอัน ซับซอนระหวางความสัมพันธของการผลิต การทํางาน และชีวิตทาง สังคม” การสรางสังคมที่ยอมรับผูอื่นนั้นเปนงานที่ยาก และไมมที างออกแบบงายๆ จะตองอาศัยความมุง มั่นพยายามของผูวางนโยบาย และการที่เหลา สาธารณชนตระหนักวาการเปลี่ยนแปลงดังกลาวนี้เปนสิ่งจําเปน ชุมชนปดที่ตอตานการเปลี่ยนแปลง จะไมไดรับฟงความคิดใหมและ วิธีการใหมในการทํางาน และในที่สุดจะคอยๆ กลายเปนผูตามที่ไมคิดทํา อะไรเอง และเปนเพียงผูที่ลอกเลียนแบบความคิดที่ดี จากประเทศอื่น พุดดิ้งอรอยหรือไม ตัดสินไดจากการกิน ในโลกที่การแขงขันสูง ผลลัพธคือสิ่งที่เปนตัววัด โดยตลาดโลกนั้นไรซึ่ง ความปราณี ผลิตภัณฑที่ไมเปนไปตามความตองการของผูบริโภคซึ่ง
เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ก็จะคางอยูที่ชนั้ วางของ และหายไปจากตลาดใน ที่สุด คุณภาพและมูลคาสกุลดอลลารของสินคาเปนตัววัดที่แทจริงถึง ความกาวหนาและความซับซอนของภาคธุรกิจสรางสรรคในประเทศไทย การสงออกทางวัฒนธรรมของไทยในขณะนี้ สวนใหญเปนผลจากทักษะที่ ต่ํา และเทคโนโยลีที่ต่ํา ผลิตภัณฑที่ออกมาไมไดมีความกาวหนาทาง เทคโนโลยี ประเทศจีน เวียดนาม หรือเศรษฐกิจทุนต่ําอื่นๆ สามารถทําซ้ํา ไดโดยไมยากลําบาก ผูออกนโยบายรัฐ อุตสาหกรรม และเหลาคนทํางานดานความคิด สรางสรรคของไทย ยังไมเขาใจอยางแทจริงถึงความสําคัญสิ่งที่จะทําให ประเทศกลายเปน ‘ประเทศแหงความคิด’ มิติวัฒนธรรมของ Geert Hofstede Gerard Hendrik Hofstede นักจิตวิทยาชาวดัตชที่มีความสําคัญคนหนึ่ง ได ศึกษาปฏิสัมพันธระหวางวัฒนธรรมชาติและวัฒนธรรมองคกร และได นําเสนอวามีการแบงกลุมทางวัฒนธรรมระดับชาติและระดับภูมิภาคที่มี ผลกระทบตอสังคมและองคกร ซึ่งคงอยูเปนเวลานาน ดัชนีความเหลื่อมล้าํ ของอํานาจ (Power Distance Index: PDI) คือระดับ การยอมรับและความคาดหวังของสมาชิกในองคกรหรือสถาบัน (เชน ครอบครัว) ที่มีอํานาจนอยตอความเหลื่อมล้ําของอํานาจ แสดงถึงความไม เทาเทียม (มีอํานาจมากกวา vs มีอํานาจนอยกวา) ซึ่งดูจากผูมีอํานาจนอย กวา เปนการบงบอกวาความไมเทาเทียมกันของระดับอํานาจในสังคมนั้น นับจากผูตามในระดับที่เดียวกับผูนํา อํานาจและความเหลื่อมล้ําจึงเปน ขอเท็จจริงพื้นฐานของทุกสังคม ซึ่งคนที่เคยมีประสบการณในตางประเทศ จะทราบดีวา ‘ทุกสังคมนั้นไมเทาเทียมกัน แตบางสังคมไมเทาเทียมกัน มากกวาสังคมอื่น’ ปจเจกนิยม (Individualism: IDV) และแนวคิดตรงขามนัน่ คือคติรวมหมู (Collectivism) ซึ่งหมายถึงระดับการที่ปจเจกบุคคลรวมตนเองเขากับกลุม เราจะพบปจเจกนิยมในสังคมที่ความเชื่อมโยงระหวางบุคคลตางๆ ใน สังคมนั้นไมแนนแฟน ทุกคนตางดูแลเฉพาะตนเองและพอแมพี่นองของ ตน ในขณะที่เราจะพบคติรวมหมูไดในสังคมที่ผูคนในสังคมรวมตัวเอง เขาไปในกลุม เชน ครอบครัวใหญ (รวมถึงลุง ปา และปู ยา ตา ยาย) อยาง แนนแฟนตั้งแตแรกเกิด ซึ่งลวนตางคุม ครองบุคคลนั้น โดยที่บุคคลนั้นก็ให ความจงรักภักดีโดยไมมีขอแมเปนการตอบแทน คําวา ‘คติรวมหมู’ ในแงนี้ นั้นไมมีความหมายที่เกี่ยวของกับการเมือง หมายถึงกลุม มิใชรัฐ ประเด็น 15
นี้ที่มิติกลาวถึงก็เปนขอเท็จจริงพื้นฐานสําหรับสังคมทุกแหงในโลกอีก เชนกัน ความเปนเพศชาย (Masculinity) และแนวคิดตรงกันขามนั่นคือ ความเปน เพศหญิง (Femininity) หมายถึงการแบงบทบาทหนาที่ระหวางสองเพศ ซึ่ง ไดผลลัพธออกมาหลายอยาง ผลวิจัยกลาวไววา (ก) คานิยมของผูหญิง แตกตางกันระหวางสังคมตางๆ นอยกวาคานิยมของผูชาย (ข) คานิยมของ ผูชายในประเททศตางๆ ประกอบไปดวยมิติจากขั้วหนึ่งซึ่งมีความแนวแน ชอบแขงขัน และแตกตางจากคานิมของผูหญิงอยางมาก ไปจนถึงอีกขั้ว หนึ่งซึ่งมีความออนนอมถอมตนและเอาใจใส คลายคลึงกับคานิยมของ ผูหญิง ขั้วนี่มีความแนวแนเรียกวา ‘ความเปนชาย’ สวนขัว้ ที่ออนนอมและ เอาใจใสเรียกวา ‘ความเปนหญิง’ ผูหญิงในประเทศที่มีความเปนหญิงมี ความออนนอมถอมตนและเอาใจใสผูอื่นเทาเทียมกับผูชาย สวนใน ประเทศที่มีความเปนชาย ผูหญิงจะมีความแนวแนและชอบแขงขัน แตไม มากเทากับผูชายในประเทศ ดังนั้นจึงเกิดชองวางระหวาคานิยมของผูหญิง และคานิยมของผูชายในประเทศเหลานี้ ดัชนีการหลีกเลี่ยงความไมแนนอน (Uncertainty Avoidance Index: UAI) คือการที่สังคมยอมรับความไมแนนอนและความกํากวม ซึ่งในที่สุดแลว หมายถึงการคนหาความจริงของคน บงชี้ถึงระดับที่วัฒนธรรมกําหนดให สมาชิกรูสึกสบายใจหรือไมสบายใจในสถานการณที่ไมมีกําหนดกฎเกณฑ อันหมายถึงสถานการณที่ใหม ไมมีใครรูรายละเอียด นาแปลกใจ และ แตกตางไปจากสถานการณปกติ วัฒนธรรมที่หลีกเลี่ยงความไมแนนอน พยายามที่จะเปดโอกาสใหเกิดสถานการณดังกลาวนอยทีส่ ุด โดยการตั้ง กฎหมาย กฎเกณฑและมาตรการรักษาปลอดภัยที่เขมงวด และในแงของ ศาสนา โดยการเชื่อในปรมัตถสัจจะ หรือความจริงสูงสุด (Absolute Truth) ‘ความจริงมีอยูเพียงหนึ่งเดียว ซึ่งเรามีอยูแลว’ ประชากรในประเทศที่ หลีกเลี่ยงความไมแนนอนจะใชแสดงอารมณสูง และกระตุนโดยพลังงาน จากขางใน ในประเภทตรงกันขาม นั่นคือวัฒนธรรมที่ยอมรับความไม แนนอน ผูคนจะยอมรับความคิดเห็นทีแ่ ตกตางไปจากสิ่งที่คุนเคยไดมก กวา มีกฎเกณฑมากําหนดใหนอยที่สุดเทาที่จะทําได และในแงศาสนา ยอมรับแนวคิดตางๆอยางเทาเทียม คนในวัฒนธรรมนี้จะสงบนิ่งและ ครุนคิด และไมถูกคาดหวังใหแสดงอารมณออกมา การมุงเนนเปาหมายระยะยาว (Long-term Orientation: LTO) และแนวคิด ตรงกันขาม นั่นคือ การมุงเนนเปาหมายระยะสั้น (Short-term Orientation) เปนมิติที่หาที่เกี่ยวกับคุณธรรม คานิยมของการมุงเนนเปาหมายระยะยาว คือความประหยัดมัธยัสถ และความมุมานะ สวนคานิยมของการมุงเนน เปาหมายระยะสั้นคือ การเคารพประเพณี ปฏิบัติหนาที่ทางสังคม การรักษา
‘หนา’ คานิยมทั้งในทางบวกและทางลบเหลานี้สามารถพบไดในคําสอน ของขงจื้อ นักปราชญจีนผูมีชื่อเสียง มีชีวิตในชวง 500 ปกอนคริสตศักราช อยางไรก็ตาม มิตินี้ก็ใชไดกับประเทศที่ไมมีมรดกคําสอนของขงจื้อ
China
Japan S.Korea Thailand
UK
Fig.14 : Geert Hofstede Cultural Dimentions
ระดับที่ประเทศไทยไดสูงที่สุดในมิติของ Hofstede คือ ดัชนีความเหลื่อม ล้ําของอํานาจ (PDI) และดัชนีการหลีกเลี่ยงความไมแนนอน (UAI) โดย ไดคะแนนเทากันที่ 64 คะแนนดัชนีความเหลื่อมล้ําของอํานาจที่สูงเปนเครื่องบงชี้วามีความไมเทา เทียมกันของอํานาจและความร่ํารวยในสังคมในระดับสูง ซึ่งไมไดเปนการ บังคับใหประชากรยอมรับ แตสังคมเปนฝายยอมรับเองในฐานะที่เปนสวน หนึ่งของมรดกทางวัฒนธรรม คะแนนที่ 64 นอยกวาคะแนนโดยเฉลี่ยของ ประเทศเอเชียซึ่งอยูที่ 71 สวนดัชนีการหลีกเลี่ยงความไมแนนอน (UAI) ซึ่งไดคะแนนสูงเทากันบงชี้ วาสังคมมีระดับการยอมรับความไมแนนอนต่ํา เพื่อที่จะลดระดับความไม แนนอนใหต่ําที่สุดเทาที่จะเปนไปได จึงมีการกําหนดกฎเกณฑ กฎหมาย นโยบาย และระเบียบขอบังคับทีเ่ ขมงวด เปาหมายของประชากรคือการ ควบคุมใหทุกอยางอยูในระเบียบเพื่อกําจัดหรือหลีกเลี่ยงสิ่งไมคาดฝน ดวยเหตุที่มีลักษณะการหลีกเลี่ยงความไมแนนอนระดับสูง สังคมจึไม พรอมรับความเปลีย่ นแปลง และไมกลาเสี่ยง ระดับคะแนน 64 ของ ประเทศไทยสูงกวาคาเฉลีย่ ของประเทศในเอเชีย ซึ่งอยูที่ 58 มิติที่ประเทศไทยไดคะแนนต่ําที่สุดคือปจเจกนิยม (Individualism: IDV) ไดเพียง 20 คะแนน ซึ่งบงชี้วาเปนสังคมที่เนนคติรวมหมู มากกวาการเปน ปจเจกบุคคล ซึ่งเปนจริงสําหรับความสัมพันธระยะยาวและใกลชิดกับ ‘กลุม’ ซึ่งหมายถึง ครอบครัว ครอบครัวใหญที่รวมญาติอื่นๆ ดวย ความ 16
จงรักภักดีในวัฒนธรรมคติรวมหมูนั้นมหาศาล ซึ่งอยูเหนือกฎระเบียบอื่นๆ ของสังคม สังคมแบบนี้เกื้อหนุนใหเกิดความสัมพันธที่แข็งแกรง ซึ่งทุก คนตองรับผิดชอบสมาชิกคนอื่นๆ ในกลุมดวย
ความสามารถทางความคิดสรางสรรคและนวัตกรรมที่มีอยูใน ‘คน ธรรมดา’ บริษัทบางแหงใชนวัตกรรม ‘จากภายนอก’ ในการทํางานถึง 50%
ประเทศไทยมีคะแนนความเปนเพศชายที่ต่ําที่สุดในประเทศเอเชีย ซึ่งได 34 คะแนน เมื่อเทียบกับคะแนนเฉลีย่ ของประเทศเอเชียที่ 53 และคะแนน เฉลี่ยของโลกที่ 50 ระดับคะแนนที่ต่ําบงชี้วาสังคมมีความแนวแนและ ความชอบในการแขงขันนอย และประชากรยังคงมีบทบาทที่แบงใหกบั เพศชายและหญิงตามแบบแผนดั้งเดิม
ทักษะความสรางสรรคมีสามระดับ ไดแก ระดับปฏิบัติ (operative) ยุทธวิธี (tactical) และกลยุทธ (strategic) คุณสมบติบนกระดาษนั้นเพียงแคสราง อํานาจใหแกผูที่มีทักษะระดับปฏิบัติ ซึ่งทักษะในระดับนี้ก็ถูกมองวาเปน เรื่องธรรมดามากขึ้นทุกทีในปจจุบัน สวนระดับที่เหลือนั้นสามารถเรียนรู ไดจากการทํางาน หรือการเรียนรูทักษะใหม ผูที่มีความคิดสราสรรคมักจะ มีสิ่งตางๆ ดังตอไปนี้
ความเชื่อ (ที่ทําใหเกิดความเขาใจที่ไมสมบูรณเกี่ยวกับเศรษฐกิจ สรางสรรค) ความเชื่อที1่ : กระบวนทัศนเศรษฐกิจสรางสรรคจะแทนที่โมเดลการสราง ความมั่งคั่งที่ออกมากอนหนาทั้งหมด ซึ่งมีบางสวนที่จริง แตกระบวนทัศนกอนหนานี้ก็ยังคงจะสรางความมั่งคั่ง ใหเกิดตอไปได สวนความสรางสรรคนั้นจะเปนแหลงการชุบชีวิตภาค เศรษฐกิจตางๆ อยางไรก็ตามตองจําไววา แคเพียงความคิดสรางสรรคอยางเดียวนั้นไมมี ประโยชนอันใด! ความรูที่เฉพาะทางในเชิงกลยุทธในการถายทอดความคิด สรางสรรคเปนสิ่งจําเปนยิ่ง ความรูในการประเมินโอกาสทางการตลาดทั่ว โลก การคิดคนหานวัตกรรมและรักษาวัฒนธรรมการสรางนวัตกรรมใหคง อยู ก็เปนเรื่องสําคัญเทาเทียมกัน ความเชื่อที่ 2: ทุกคนสามารถเปนสวนหนึ่งของเศรษฐกิจสรางสรรคได ซึ่งมีบางสวนที่จริง ในการที่จะใชประโยชนจากโอกาสที่มี ตองอาศัยทักษะ เฉพาะทางอันสามารถเรียนรูได การเรียนรูอยางตอเนื่องเปนดั่งคําสวดมนต ในยุคสมัยใหม คนทํางานถูกลดทักษะการทํางาน และจะถูกมองวาเปนสิ่ง ซ้ําซากในที่ทํางานหากไมเรียนรูทักษะใหมอยูเรื่อยๆ ความเชื่อที่ 3: การมีคุณสมบัติ (จากตางประเทศ) ในสาขาความสรางสรรค ใดๆ ก็เพียงพอแลว ในกระบวนทัศนใหมนี้ เกิดขอสงสัยในความเชื่อ (หรือตํานาน) นี้อยางมาก คนที่มีไอเดียที่ฉลาดหลักแหลมมีโอกาสมากกวาคนที่มีปริญญาสูง บริษัทอยาง BMW, Proctor & Gamble, Muji, Nesle, Starbucks, Lego, Nintendo และอีกหลายๆ แหง ตางตระหนักถึงความสําคัญของ
-
ระดับปฏิบัติ เปนสิ่งที่เรียนในมหาวิทยาลัย การวาด การราง ทฤษฎีสี การลงสี การสื่อสาร ฯลฯ
-
ระดับยุทธวิธี คือการบริหารโครงการไดอยางสําเร็จในเวลา งบประมาณ และเงือ่ นไขตลาดที่กําหนด
-
ระดับกลยุทธ คือทักษะ ‘วิสัยทัศนและการคิด’ การแกปญหา การทําความเขาใจความตองการและความปรารถนาของผูใช กระแสตลาด และการตีความขอมูลเพือ่ สรางนวัตกรรมใหมขึ้น
ความเชื่อที่ 4: การสรางเสริมเศรษฐกิจสรางสรรคเปนหนาที่ของรัฐบาล ในทุกยุคสมัย ตั้งแตยุคเกษตรกรรมจนถึงยุคสรางสรรค สิ่งที่เพิ่มองค ความรูคือการรวมมือกันอยางหลักแหลมและสรางสรรคของประชาชน ซิลิคอน วัลเลย อันเปนที่ที่ความคิดสรางสรรคเกิดขึ้นมากมาย ก็มิไดเปน ผลจากแผนยิ่งใหญของฝายรัฐ แตเริ่มตนจากตั้งแตยุค Great Depression เมื่อนักศึกษามหาวิทยาลัยสแตนฟอรดสองคน ไดแก เดฟ แพ็คการด และ บิล ฮิวเล็ท เริ่มแกะโนนซอมนี่อยูในโรงรถของแพ็คการดในพาโล อัลโต ควรสังเกตอีกอยางวาไมเคยมีโครงสรางที่แนชัดมาเชื่อมโยงจุดตางๆ ใน ซิลิคอน วัลเลย อันที่จริงแลว ระบบนิเวศนนี้ไดทําใหจุดตางๆ เชื่อมโยง กันเอง ผานทางเครือขายการทํางานหรือเครือขายสวนตัวที่เชื่อมโยงกันอยู ถาหากคนเหลานี้ไมหลักแหลมพอหรือไมตองการเพิ่มพูนความรูและ ทักษะอยางตอเนื่อง เงินลงทุนมหาศาลหรือนโยบายจากเบื้องบนก็ไม สามารถทําใหคนเหลานี้เปนผูประกอบการสรางสรรคขึ้นมาได รัฐบาล สามารถชวยไดเพียงทําใหเกิดสิ่งแวดลอมที่เอื้ออํานวยเทานั้น ความเชื่อที่ 5: การมี ‘ประวัติ’ ที่ดีเปนสิ่งสําคัญในความสําเร็จ 17
นาแปลกมากที่ตํานานนี้ไดรับการโฆษณาในประเทศไทยจนกลายเปนกาว สําคัญสําหรับความสําเร็จ เห็นไดชัดวาเปนสิ่งที่หลงเหลือมาจากระเบียบ สังคมในสมัยศตวรรษที่แลว ซึ่งวิถีชีวิตแบบเกษตรกรรมใหคุณคากับ สถานะทางสังคมมากกวาความสามารถ ในเศรษฐกิจระบบใหมนี้ แนวคิดนี้ ไมเปนจริงอีกแลว ปรัชญาเบื้องหลังเศรษฐกิจสรางสรรคคือ ทุกคน สามารถสรางสรรคไดไมวาจะมีประวัติมาอยางไร ความเชื่อที่ 6: รูอะไรไมสําคัญ ในประเทศไทยสิง่ สําคัญคือคุณรูจักใคร ตางหาก เรื่องนี้เชื่อมโยงมาจากตํานานเรื่องกอนหนานี้ ในสังคมที่วัดจากควม สามารถ แนวคิดนี้ไมเปนความจริง ความรูเปนสิ่งจําเปนยิ่งตอความเจริญ สังคมที่ไมใหคุณคาแกความสามารถจะไมสามารถพัฒนาไปเปนเศรษฐกิจ สรางสรรคได ไมมีที่สําหรับแนวปฏิบัติและความรูที่ลาหลังในเศรษฐกิจ สมัยใหม อันเปนทีท่ ี่ตลาดโลกไรความปราณีและผูมีความสามารถคือผู ชนะ ตํานานสองเรื่องสุดทายนี้เปนอุปสรรคที่ใหญที่สุดของประเทศไทยทีจ่ ะ กาวเขาสูเศรษฐกิจความรูและสรางสรรค ประเทศจะกาวหนาไดก็ตอเมื่อ เอาชนะอุปสรรคเหลานี้อยางเปนระบบ และนําวิธีคิดและวิธีทําใหมๆ มาใช ในระดับประเทศ
ชารลส แลนดรีย นักทฤษฎีและนักปฏิบัติดานชุมชนเมือง เตือนถึงอันตราย ของหลักการใชเหตุผลที่ใชในการออกนโยบายวา “ผูออกนโยบายพบวาการคิดในแงของคาใชจายสําหรับแผนพัฒนาทาง กายภาพ ทางดวน ลานจอดรถ นั้นงายกวาที่จะคิดถึงระบบโครงสรางที่ ไมใชกายภาพ เชน การอบรมการพัฒนาทักษะ ทุนที่ใหแกองคกรอาสาใน การพัฒนาเครือขายสังคม หรือดึงอํานาจจากสวนกลางมาเพื่อเสริมสราง ความสามารถในระดับทองถิ่น และสนับสนุนใหประชาชนมีสวนไดเสียใน การบริหารชุมชนของตน” แลนดรียเสริมวาหนึ่งในอาการที่แสดงถึงความคิดที่แคบของนักนโยบาย คือการไมยอมเนนที่ความปรารถนามากกวาความตองการ ความตองการเปนเหมือนวัตถุชนิดหนึ่ง ดังเชน โคมไฟ รถเมล ศูนยศิลปะ และวัฒนธรรม หรือพื้นที่ทางกายภาพทั่วไป ในทางตรงกันขาม ความปรารถนาเชื่อมโยงกับจิตใตสํานึก ความฝน ความรูสึก บรรยากาศของสถานที่ ความมั่นใจวามีความรูที่นําไปใช ประโยชนได
นี่อาจจะฟงดูแปลก แตเปนความจริงสําหรับสิ่งที่แตกตางอยางเชน การ วางแผนสําหรับพัฒนาความสามารถดานสรางสรรคของทั้งประเทศ
หลายโครงการที่สนับสนุนเศรษฐกิจสรางสรรคทั่วโลกก็ประสบกับ สถานการณเชนนี้ รัฐบาลและนักนโยบายทั้งหลายหันไปจัดงาน การแสดง งานออกราน แผนจัดหาเงินทุน และโครงการ ‘เร็วเฉพาะหนา’ โดยหวังวา จะสรางแรงบันดาลใจใหผูคนสรรสรางสิ่งตางๆ ไดโดยไมยอมหันมาดูที่ แกนแทของปญหา ซึ่งอาจเปนการขาดแนวทางธุรกิจที่สงเสริม ผูประกอบการรายยอย ขาดความสามารถในการคิดเชิงกลยุทธ ขาด วัฒนธรรมการสรางนวัตกรรม มีระดับความสามารถการเปน ผูประกอบการที่ต่ํา ระบบการศึกษาไมสงเสริมใหคิดเชิงวิจารณญาณ และ อีกหลายประเด็นดวยกัน
แนวทางที่ใชการแกปญหาเปนหลัก มีความเสี่ยงที่จะใชโมเดล “ลูกปน วิเศษ” ในการแกปญหา เปนการทํา ‘เฉพาะกิจ’ และไมใชกลยุทธเปนหลัก พยายามที่จะหาคําตอบกอนที่ตอบคําถามไดอยางแทจริง
งานออกราน งานเทศกาล และแผนเร็วเฉพาะหนามากมายแคไหน ก็ไม สามารถสรางกําลังใหแกชุมชนหรือประเทศชาติได เปนเพียงการ สนับสนุน ไมใชการเปลี่ยนแปลง
ในแนวทางการออกนโยบายและแนวปฏิบัติโดยทั่วไป เนนใหแกปญหา โดยเร็วและมีเรื่องการเมืองเปนเครื่องกระตุน มากกวาจะมองไปที่รากเหงา ของตัวปญหาเอง
สิ่งเหลานี้ไมสามารถเปลี่ยนใหตัวเองกลายเปนสังคมได แตก็ไมเปนจริง สําหรับประเทศไทย คนไทยชอบเลือกแนวทางที่มองเห็นไดชัด สรางการ โหมประชาสัมพันธ และโอกาสที่จะ ‘ดัง’ ได
คําพูดของอัลเบิรท ไอนสไตน ไดสรุปเอาไวสั้นๆ วา “เราไมสามารถ แกปญหาโดยใชวิธีคิดเดียวกับตอนทีเ่ ราสรางปญหาขึ้นมา” การแกปญหาไมใชคําตอบของปญหา!
Problem
Solution Research
Analysis
Fig.15 : Quick-fix ‘solutionism’
ในทางตรงกันขาม นโยบายที่สรางการเปลี่ยนแปลงนั้นมีแนวทางที่ผลักดัน โดยปญหา และมองบริบทโดยรวมของเวลา ประเด็นสังคมและวัฒนธรรม และปฏิสัมพันธระหวางสวนตางๆ ของโครงการ และในภาพรวม กอนที่จะ เริ่มตนวางแผน กําหนดมุมมองและแนวคิด 18
นโยบายประเภทนี้เริ่มตนจากการถามคําถามที่เหมาะสม และใชการวิจัย เพื่อวิเคราะหปญหา ตามดวยการกําหนดวัตถุประสงคทั้งระยะยาวและ ระยะสั้นที่วัดเพื่อประเมินได ซึ่งจะชวยใหสามารถตัดสินใจไดโดยมีขอมูล ครบถวน การที่ปญหาและทางออกไมเชื่อมโยงนัน้ ทวีความรุนแรงขึ้นอีกสําหรับ แนวคิดที่ไมไดรับการกําหนดอยางชัดเจน เชน เศรษฐกิจสรางสรรค ซึ่งไม มีโมเดลสากลใหนํามาทําซ้ํา หรือไมมีโมเดลที่นาเชื่อถือใหนํามา ลอกเลียนแบบโดยงาย สิ่งที่ประเทศอังกฤษหรือออสเตรเลียใชแลวดี อาจจะไมดีเมือ่ นํามาใชในประเทศไทยก็ได มีเงื่อนไขเบื้องตนหลายอยางในการสรางใหเศรษฐกิจสรางสรรคเติบโตใน ประเทศ ซึ่งหนวยงานในประเทศตองทําความเขาใจเงื่อนไขเหลานี้อยาง ถองแทกอนที่จะ ‘นําเขา’ หนวยงานจากตางประเทศมเพือ่ สรางความ นาเชื่อถือใหกับโครงการ แนวทางเชนนี้สามารถทําไดเพียงทําใหโครงการแลวเสร็จ แตไมประสบ ความสําเร็จในการตอบโจทยปญหา ในยุคเกาเชนในยุคอุตสาหกรรมหรือเกษตรกรรม แนวทางดังกลาวนี้สราง ผลประโยชนใหไดในระดับหนึ่ง แตสําหรับยุคสรางสรรคและยุคความรู แลว แนวทางเหลานี้อาจใชไมได เนื่องจากเราไมไดทํางานกับโครงสราง พื้นฐานอยางถนน อาคาร หรือสินคาที่จับตองได เชน ฝาย น้ํามัน หรือรถ แทรกเตอร แตเรากําลังทํางานกับสิ่งที่จับตองไมไดอยางความสามารถของ มนุษยในการคิดไอเดียที่สามารถนําไปคาขายเชิงพาณิชย และขายใน ตลาดโลกได โครงสรางพื้นฐานของเศรษฐกิจสรางสรรคคือทักษะความสามารถของ เหลาคนทํางานในการคิดคนหนทางใหมๆ แนวทางธุรกิจที่สงเสริมการกลา เสี่ยงและกลาลมเหลว สภาวะแวดลอมสําหรับผูประกอบการที่ประกอบไป ดวยความเชื่อใจและการแบงปน และสังคมที่เต็มไปดวยไอเดีย ในกระบวนทัศนเศรษฐกิจแบบใหมนี้ จะตองมาทบทวนแนวทางการ ทํางาน การแขงขัน การวัดความสําเร็จและความลมเหลว รวมถึงทักษะและ ความสามารถในปจจุบันใหมทั้งหมด ซึ่งเปนสิ่งที่ผูเชี่ยวชาญเรียกวา ‘การ เปลี่ยนจากการคิดดวยสมองดานซายเปนการคิดดวยสมองทั้งสองดาน’ เราไมสามารถเปลี่ยนแนวปฏิบัตทิ ี่ทําตอเนื่องมาหลายรอยปไดทั้งหมด ภายในเวลาไมกี่ป สิ่งที่ทําไดในระยะเวลาอันสั้นคือการเสริมสรางความ มั่นใจและสรางแรงบันดาลใจผานทางการออกนโยบายที่เหมาะสมซึ่งผาน การวิจัยมาแลวเปนอยางดี
หากชุมชนไรซึ่งความแข็งแกรงดานการคิดเชิงวิจารณญาณ นวัตกรรม และ ความคิดสรางสรรคแลว ไมวาจะมีเงินหรือแรงบันดาลใจมากแคไหนก็ไม สามารถชวยได ทางเดียวที่จะชวยไดคือการสรางทักษะขึ้นใหม แตคําถามตอมาก็คือทักษะ อะไร และจะสรางอยางไร ในการที่จะไดมาซึ่งคําตอบของคําถามพื้นฐานเชนนี้ จะตองทําการวิจัย ความตองการ ความปรารถนา และความสามารถที่ผูคนมีอยูในปจจุบัน อยางครบถวน และตอยอดความสามารถเหลานี้เพื่อพัฒนาทักษะ ซึ่งอาจ เปนทางภาพ ภาษา การวิเคราะห กระบวนการคิด (กลาวคือ ความสามารถ ในการเขาใจและแปลความหมายภาษาทางภาพที่ซับซอนออกมาได)
โอกาส เมื่อพิจารณาถึงอุปสรรคพื้นฐานทั้งหลายที่มีตอการสรางเศรษฐกิจ สรางสรรคแลว สิ่งแรกที่ควรทําคือการทําวิจัยโดยละเอียดในเรื่องลักษณะ และอุปสรรคที่ภาคธุรกิจสรางสรรคทุก 14 ภาคตองประสบ หากไมไดทําการวิจัย จะเปนเรื่องที่เสีย่ งมาก เพราะถาไมมีการวิจัยโดย ละเอียดแลว จะไมสามารถดําเนินการตัดสินใจโดยมีขอมูลครบถวนได ทํา ใหไมสามารถวางแผนที่มีประสิทธิภาพได การเนนหาทางออกโดยไมมี ความรูอยางแนชัดวาควรทําอะไร และจะวัดผลเมื่อสิ้นสุดโครงการอยางไร รังแตจะนําไปสูแผนและโปรแกรมที่ทําเฉพาะหนา ซึ่งไมไดเปลี่ยนแปลง เศรษฐกิจไทยใหกลายเปนเศรษฐกิจสรางสรรค ลองดูตัวอยางกรณีดังตอไปนี้ อุปสรรคที่บริษัทตองเจอสะทอนใหเห็นถึง อุปสรรคที่ทั้งประเทศตองเจอ กรณีที่พบไดบอยในประเทศไทย เมื่อไมนานมานี้ เราไดเขาเยี่ยมชมสถานทํางานของ ‘ผูรับจางผลิต’ ที่ ใหญที่สุดในประเทศไทยที่ผลิตใหกับแบรนดสากลหลายๆ แบรนดที่ ติดอันดับท็อป 50 ตามการจัดลําดับของ Interbrand ที่นี่มีทุกอยางที่จําเปน ทั้งศูนยวิจัยและพัฒนา แผนกการออกแบบ วิศวกรรม แผนกขายและการตลาด การไปตางประเทศเพือ่ เขารวมงาน และการจัดแสดงเทรนดลาสุด แตผลิตภัณฑของพวกเขาเองก็ยังขายได ในราคาที่ต่ํากวาหนึ่งในสิบของราคาผลิตภัณฑที่เปนแบรนดสากล ทั้งๆ ที่ผลิตในโรงงานเดียวกัน!
19
ในชวงที่ทําการสัมภาษณ ผูบริหารระดับสูงของบริษัทนี้ก็ยอมรับวาพวก เขาไมรูวิธีการพัฒนาผลิตภัณฑขายดีที่เปนแบรนดของตนเอง เห็นไดวา 30 ปแหงการเปน OEM (original equipment manufacturer) ใหกับบริษัทชั้นนําของโลกนั้น ไมไดสงผลใหเกิดการสงผานความรูจาก บริษัทสากลในดานการสรางผลิตภัณฑขายดีเลย สิ่งที่รูคือวิธีทํา ผลิตภัณฑจํานวนมากในราคาที่ต่ําใหเปนไปตามคําสั่งของลูกคาเทานั้น เอง สิ่งเหลานี้หายไปหมดเมื่อแบรนดสากลนั้นตัดสินใจยายฐานดําเนินการ ไปยังประเทศที่ถูกกวา สิ่งที่อาจจะสงผลตอการตัดสินใจก็คือการที่ ประเทศอื่นนั้นมีผมู ีความสามารถในดานการออกแบบ และเทคนิคดาน การวิจัยและพัฒนาซึ่งมีคาแรงต่ํากวาประเทศไทย อันทําให ความสัมพันธนาน 30 ปนี้จบลง กรณีดานบนนี้แสดงใหเห็นวา คําถามหลักไมใชการถามวาควรทําอะไร แต เปนการถามวา ทําอยางไร และตองทําใหไดเร็วอีกดวย จะตองสราง นวัตกรรมใหล้ําหนาคูแขง ไมอยางนั้นๆ จะคอยๆ กลายเปนบริษัทที่ไม กาวหนา
2.
3.
4.
5.
ปญหาหนักที่สุดสําหรับบริษัทสวนใหญคือ ไมมีความสามารถดาน ความคิดเชิงกลยุทธและวิสัยทัศนที่กวางไกลในการที่จะนําพาบริษทั ไปสู การเปลี่ยนแปลง
โอกาสในการระดมทุนเพื่อพัฒนา รายการดานลางนี้อาจไมละเอียด แตกําลังคอยเปนคอยไป ซึ่งตองอาศัยการ วิจัยขอมูลเพิ่มเติม 1.
การเพิ่มทักษะและความสามารถ ตองจัดโปรแกรมเพิ่มทักษะ ในหลายระดับ ทั้งชุมชน บริษัท ผูประกอบการ รัฐบาล และ มหาวิทยาลั เพื่อพัฒนาทักษะของแรงงานไทยและเตรียมพรอม สําหรับการทํางานในระบบเศรษฐกิจสรางสรรค นี่เปนสิ่งที่ ตองอาศัยแรงผลักดันและเงินทุนอยางมาก ทุกคนทราบดีวา ความคิดสรางสรรคและการออกแบบนั้นสามารถทําใหบริษัท สรางนวัตกรรมขึ้นมาได แตประเด็นคือเราจะพัฒนาทักษะและ ความสามารถดานเทคโนโลยีของแรงงานไดอยางไร นี่เปน ประเด็นสําคัญที่ตองไดรับการแกไขโดยเร็ว เราไมสามารถ นําเขาผูมีความสามารถจากที่อื่นดังที่ ริชารด ฟลอริดา กลาวไว ได เราตองพัฒนาคนในประเทศเราเอง
6.
7.
พัฒนาความเชือ่ มโยงระหวางมหาวิทยาลัยและอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยสวนใหญนั้นไมมีวาระการวิจัยและพัฒนาที่เดนชัด ในอีกดานหนึ่ง อุตสาหกรรมก็มักจะติดตอเฉพาะผูผลิตและ คนทํางานในภาคทีใ่ ชทักษะในระดับต่ํา เชน งานฝมือหรือ สินคาวัฒนธรรม หากมีการจัดหาเงินทุนเพื่อใหมหาวิทยาลัย และอุตสาหกรรมรวมมือกันดําเนินโครงการวิจัยและพัฒนา ก็ จะชวยเผยโฉมผูมีความสามารถที่อาจซุกซอนอยูในประเทศได เนนสิ่งแวดลอม แหลงพลังงานที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมและมี ประสิทธิภาพที่ดีนนั้ ไมใชเปนเพียงแคแฟชั่น แตเปนความเปน จริงที่โลกตองเผชิญ และยังเปนโอกาสใหองคกรและ ผูประกอบการดานวิจัยและพัฒนาคิดคนทางออกใหมอีกดวย เนนเทคโนโลยี หากประเทศไทยเนนผลักดันในดานนี้ จะไดรับ ผลตอบแทนมหาศาล หากหันมาลงทุนในดานเทคโนโลยีและ การออกแบบ หรือเทคโนโลยีและโครงการความรวมมือ ระหวางภาคธุรกิจสรางสรรค อาจสงผลใหความคิดสรางสรรค ที่เคยซุกซอนอยูโดดเดนขึ้นมา ยิ่งถาองคกรวิจัยและพัฒนาใน ประเทศไดรับความรวมมือจากองคกรตางประเทศ ก็จะยิง่ ชวย ใหพัฒนาความสามาถในการซึมซับของประเทศไทยไดอกี ดวย สรางวัฒนธรรมความคิด ไอเดียดีๆ มิไดเกิดในบริบทการ ทํางาน หรือสังคมที่เรียกรองใหผูคนดําเนินชีวิตเหมือนกันหมด ความเชื่อใจ อิสรภาพ การโตเถียงอยางเปดเผย การยอมรับความ ลมเหลว การกลาเสี่ยง การยอมรับความกํากวม ลวนแตเปน สวนประกอบที่สําคัญที่สังคมควรมี ควรลงทุนจัดตั้งแคมปและ การแขงขันดานความคิด โดยรวมมือกับมหาวิทยาลัยและ ผูประกอบการรุนเยาว รวมทั้งการจัดประชุมเครือขายและ สัมมนากับผูลงทุน การเพิ่มทวีคูณ สรางระบบใหแบงปนและเผยแพรความคิด ใช การทํางานแบบ โอเพนซอรซ เพื่อแบงปนความสามารถ ความรู และกระบวนการตางๆ ใหรางวัลกับการคิด อันเชื่อมโยงกับขอดานบนอยางมาก เรา ตองใหเครดิตแกการคิดซึ่งเปนสวนที่จาํ เปนมากในการสราง เศรษฐกิจสรางสรรค ชุมชนที่สงเสริมใหคนคิดเปนแหลงผลิต ไอเดียทีเ่ ปลี่ยนโลกมานับไมถวนแลว ตัวอยางเชน The Lunar Society ในประเทศอังกฤษ เปนการพบปะเพื่อรับประทาน อาหารอยางเปนกันเองของเหลานักอุตสาหกรรม นักปรัชญา และปญญาชนผูมีชื่อเสียง ซึ่งจะพบกันเปนประจําใน เบอรมิงแฮม ในชวยศตวรรษที่ 18 และ 19 สมาชิกรวมถึง Matthew Boulton, Erasmus Darwin, Samuel Galton Junior, James Keir, Joseph Priestley, Jonathan Stokes, Josiah 20
Wedgwood, James Watt, John Whitehurst และ William Withering สมาชิกในกลุมนี้มีสวนทําใหเกิดการปฏิวัติ อุตสาหกรรมซึ่งทําใหเกิดการไอเดียที่เปลี่ยนโลกขึ้น UAE ไดตระหนักถึงความสําคัญของวัฒนธรรมการคิด ใน เดือนพฤศจิกายน ป 2009 ไดมีการจัดเทศกาลนักคิดครั้งที่ 3 (3rd Festival of Thinkers) ขึ้นในอาบู ดาบี โดยหวังจะรวบรวม ผูไดรับรางวัลโนเบล นักวิชาการ ปญญาชน นักเรียน นักศึกษา จาก UAE และประเทศขางเคียง เพื่อเฉลิมฉลอง “พลังและ ความสําคัญของการคิด” งานนี้มีประเด็นหลักอยูเกาขอ ซึง่ เปน กุญแจสูการกําหนดอนาคตของตะวันออกกลางและชุมชนโลก เชน “ผานวิกฤตโลก” “จินตนาการถึงการพัฒนาแบบยั่งยืน” และ “สงเสริมวิทยาศาสตรและภาษา” นอกจากนั้นยังมี สุขอนามัยโลก โลกาภิวัฒนดานวัฒนธรรมและภาษา การ พัฒนาเศรษฐกิจและบรรเทาความยากจน การใชจายของ กองทัพ การวิจัยและนวัตกรรม ฯลฯ (http://festivalofthinkers.hct.ac.ae/index.asp) งานแบบนี้สงผลใหเกิดนโยบายที่ดีที่มผี ลอยางกวางขวาง เราไม อาจมองวาการอภิปราย โตเถียง และการคิดดูสวยหรูใน ความคิด แตหลีกเลี่ยงที่จะทํา ทั้งหมดนี้เปนสิ่งจําเปนใน เศรษฐกิจสมัยใหม 8.
9.
ทางการจากหนวยงานรัฐ หรือสํานักงานใหญขององคกรขนาด ใหญ) และนโยบายนวัตกรรมที่เกิดจากสถาบัน (เชน สถาบันวิจัยและพัฒนาที่เปนทางการ มหาวิทยาลัย) ใชแนวทาง ‘บนลงลาง’ เปนหลัก Policy Makers Trickle Down Disconnect Local Community Knowledge & Creativity
Sweet Spot
Institutional R&D Disconnect
Bottom Up Informal ‘Grasroots’ Movements
ในความเปนจริงแลว SME ชุมชนทองถิ่น และผูประกอบรายยอย เปนผูที่ สรางประโยชนใหแกเศรษฐกิจสรางสรรคอยางมาก มากกวานวัตกรรมที่ เกิดจากบริษัทใหญๆ ริชารด ฟลอริดา กลาวไวในบริบทของเศรษฐกิจสรางสรรควา “การพัฒนา เศรษฐกิจที่แทจริงควรตองเนนที่ประชาชน และชุมชนทองถิ่น ถึงแมวา นโยบายบางอยางอาจชวยกระตุนใหเกิดความคิดสรางสรรค แตอีกหลายๆ นโยบายเปนการทําลายความคิดสรางสรรค การพัฒนาสภาวะแวดลอมไม อาจจะวางแผนจากระดับบนได”
เนนจัดงานที่เชื่อมโยงกัน ไมใชจัดแยกกัน งานที่เชื่อมโยงกัน นั้นมีโอกาสที่จะสรางผลกระทบที่ดีกวา ทั้งในดานตนทุน ขอบเขต และประสิทธิภาพ ควรเชื่อมโยงผูมีสวนไดเสีย คนทํางานดานความคิดสรางสรรค ผูระดมเงินทุน และบริษัท เทคโนโลยีทั้งหมด เพื่อสรางภาคธุรกิจสรางสรรคใหดีขึ้น ตัวอยางเชน งาน CoFesta (Japan International Contents Festival) เปนเทศกาลดานเนื้อหาที่ครบถวนและใหญที่สุดใน โลก เปดโอกาสใหเกิดความรวมมือกันระหวางธุรกิจนานาชาติ และแลกเปลี่ยนเนือ้ หา แบงปนความคิดระหวางคนที่ทํางาน ดานเนื้อหาดิจิทัล แอนิแมชัน และเกม สรางพลังใหแกกลุม ภูมิภาคขนาดเล็ก ในยุคความรูและ สรางสรรค นวัตกรรมเกิดจากลางขึ้นบน นั่นคือจากคน (เชน ความคิดสรางสรรคอยางไมเปนทางการที่อาจมีอคติสวนตัวที่ เกิดจากบริษัท SME ผูประกอบการ และกลุมชุมชนตางๆ) ในขณะที่นักนโยบาย (เชน การกําหนดกลยุทธอยางเปน 21
Glossary
Community, or Creative Community (Source: Quick, L.,2004) in its broadest possible interpretation covers a group of people who are linked together in a network and participating in or sharing the same locality, interests, practices, organisation, or culture. They apply their knowledge and creativity to inspire people, to share information, ply their creativity, create and exchange ideas, and solve problems and create opportunity within their, and other’s communities – in order to bring into existence a thing, or people in a way that will develop and advantage their community. In doing so, a Creative Community may take on many different forms. They may be a Creative Community based on: Location: San Francisco, Melbourne, Oxford, Brunswick, Rhode Island. Practice: Doctors, artists, engineers, economic development Interests: Politics, history, astronomy Cultural group: Italian community, Buddhist community Organisation: Corporation, school, agency, small to medium business, department, unit. Cluster: A group of interdependent organizations acting together for their common good. Deskilling is the process by which skilled labour within an industry or economy is eliminated by the introduction of technologies operated by semiskilled or unskilled workers. Work is fragmented, and individuals lose the integrated skills and comprehensive knowledge of the crafts persons. Examples include CNC machine tools replacing machinists and assembly line workers replacing artisans and craftsmen. Dissonance (n): Lack of agreement. In this case it is referred to as maintaining a Creative Tension at work. Is based on the idea that dissonance between where we are and where we want to be motivates creative action. Data, Information, Knowledge: We can distinguish between information, data and knowledge. Data comes through research and collection. Information is organised data. Knowledge is built upon information. Data and information are easily transferrable; knowledge built by a person is rather difficult to transfer to another. Global labor arbitrage is an economic phenomenon where, as a result of the removal of or disintegration of barriers to international trade, jobs move to nations where labor is inexpensive and/or impoverished labor moves to nations with higher paying jobs. Skills (National Center for O*NET Development, - U.S. Department of Labor, Employment and Training Administration (USDOL/ETA)’s definition of Skills). Source: http://online.onetcenter.org/skills/, Accessed on 17th June 2009 1. Basic Skills: Developed capacities that facilitate learning or the more rapid acquisition of knowledge Active Learning: Understanding the implications of new information for both current and future problem-solving and decision-making. Active Listening: Giving full attention to what other people are saying, taking time to understand the points being made, asking questions as appropriate, and not interrupting at inappropriate times. Critical Thinking: Using logic and reasoning to identify the strengths and weaknesses of alternative solutions, conclusions or approaches to problems. Learning Strategies: Selecting and using training / instructional methods and procedures appropriate for the situation when learning or teaching new things.
Mathematics: Using mathematics to solve problems. Monitoring: Monitoring/Assessing performance of yourself, other individuals, or organizations to make improvements or take corrective action. Reading Comprehension: Understanding written sentences and paragraphs in work related documents. Science: Using scientific rules and methods to solve problems. Speaking: Talking to others to convey information effectively. Writing: Communicating effectively in writing as appropriate for the needs of the audience. 2. Complex Problem Solving Skills: Developed capacities used to solve novel, ill-defined problems in complex, real-world settings Complex Problem Solving — Identifying complex problems and reviewing related information to develop and evaluate options and implement solutions. 3. Resource Management Skills: Developed capacities used to allocate resources efficiently Management of Financial Resources — Determining how money will be spent to get the work done, and accounting for these expenditures. Management of Material Resources — Obtaining and seeing to the appropriate use of equipment, facilities, and materials needed to do certain work. Management of Personnel Resources — Motivating, developing, and directing people as they work, identifying the best people for the job. Time Management — Managing one's own time and the time of others. 4. Social Skills: Developed capacities used to work with people to achieve goals Coordination — Adjusting actions in relation to others' actions. Instructing — Teaching others how to do something. Negotiation — Bringing others together and trying to reconcile differences. Persuasion — Persuading others to change their minds or behavior. Service Orientation — Actively looking for ways to help people. Social Perceptiveness — Being aware of others' reactions and understanding why they react as they do. 5. Systems Skills: Developed capacities used to understand, monitor, and improve socio-technical systems Judgment and Decision Making — Considering the relative costs and benefits of potential actions to choose the most appropriate one. Systems Analysis — Determining how a system should work and how changes in conditions, operations, and the environment will affect outcomes. Systems Evaluation — Identifying measures or indicators of system performance and the actions needed to improve or correct performance, relative to the goals of the system. 6. Technical Skills: Developed capacities used to design, set-up, operate, and correct malfunctions involving application of machines or technological systems Equipment Maintenance — Performing routine maintenance on equipment and determining when and what kind of maintenance is needed. Equipment Selection — Determining the kind of tools and equipment needed to do a job. Installation — Installing equipment, machines, wiring, or programs to meet specifications. Operation and Control — Controlling operations of equipment or systems. Operation Monitoring — Watching gauges, dials, or other indicators to make sure a machine is working properly. Operations Analysis — Analyzing needs and product requirements to create a design. Programming — Writing computer programs for various purposes. Quality Control Analysis — Conducting tests and inspections of products, services, or processes to evaluate quality or performance. Repairing — Repairing machines or systems using the needed tools. Technology Design — Generating or adapting equipment and technology to serve user needs. Troubleshooting — Determining causes of operating errors and deciding what to do about it. 22
References 1.Richard Florida, M.K., The New Age of Capitalism: Innovation-Mediated Production. Futures, The Journal of Forecasting and Planning, 1993. July-August 1993: p. 637. 2.McKinney, P., The Creative Economy. 2008, Business Alliance Bootcamp for Growing Companies and Entrepreneurs-Tysons Corner, Virginia. 3.Florida, R. Resilience & Recession. 2008 3rd July 2009]; Available from: http://www.creativeclass.com/creative_class/2008/10/09/resilience-andrecession/. 4.Wikipedia, Global Labour Arbitrage, in Wikipedia. 2009. 5.Friedman, T.L. MNC Software Companies Are In India For IQ Suck. 2005 October 17, 2005 [cited 2009; Available from: http://www.outlookindia.com/article.aspx?228948. 6.Struggles, H., Mapping Global Talent, Essays and Insights. 2007, The Economist Intelligence Unit Ltd and Heidrick & Struggles International Inc. . 7.Kearney, A.T., The Shifting Geography of Offshoring. 2009. 8.Creative Economy Report 2008. 2008, UNCTAD: Geneva. p. 357. 9.Absorptive capacity. Available from: http://en.wikipedia.org/wiki/Absorptive_capacity. 10. Scott, A.J., Creative Cities: Conceptual issues and policy questions. Journal of Urban Affairs, 2006. 11. Hofstede, G. Geert Hofstede™ Cultural Dimensions. 2009 [cited 2009 20th October 2009]; Available from: http://www.geerthofstede.com/hofstede_dimensions.php. 12. Dobbins, M., Urban Design And People. 2009, New Jersey: John Wiley & Sons. 13. Charles Landry, F.B., The Creative City. 1995, Demos: London. 14. Martin, M.O., Mullis, I.V.S., & Foy, P., TIMSS 2007 International Science Report. 2008, TIMSS & PIRLS International Study Center, Boston College.: Chestnut Hill, MA. 15. Mullis, I.V.S., Martin, M.O., & Foy, P, TIMSS 2007 International Mathematics Report. 2008, TIMSS & PIRLS International Study Center, Boston College.: Chestnut Hill, MA. 16. Berger, M., Upgrading the System of Innovation in Late-Industrialising Countries – The Role of Transnational Corporations in Thailand’s Manufacturing Sector, in Faculty of Mathematics and Natural Sciences. 2005, Christian-Albrechts-Universität: Kiel. 17. Russel, N., What Foreign Companies Want from Thai Schools, in ThaiAmerican Business. 2007: Bnagkok. 18. Quick, L., Creating 21 st Century Capable Innovation Systems, Unleashing Creativity through Open Platform Innovation. 2004, New Commons. 19. Interbrand. Best Global Brands. 2009 [cited 2009 25th September]; Available from: http://www.interbrand.com/best_global_brands.aspx.
23