กรมศุลกากร วิสัยทัศน ศุลกากรมาตรฐานโลกเพื่อ เพิ่มความสามารถในการแขงขันของประเทศและปกปอง สังคม พันธกิจ -
ใหบริการทางศุลกากรที่ทันสมัย สะดวก รวดเร็ว ไดมาตรฐานโลก สงเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจและการแขงขันของประเทศดวยมาตรการทางศุลกากร เพิ่มประสิทธิภาพในการควบคุมทางศุลกากรเพื่อปกปองสังคม จัดเก็บภาษีอยางมีประสิทธิภาพดวยความเปนธรรมและโปรงใส
-
พัฒนาระบบงานศุลกากรใหเปนมาตรฐานโลก พัฒนามาตรการทางศุลกากรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถทางการแขงขันของประเทศ พัฒนาศักยภาพการควบคุมทางศุลกากรดวยมาตรฐานสากล บริหารจัดการะบบจัดเก็บภาษีอากรโดยยึดหลักการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี
ยุทธศาสตร
ภารกิจ -
จัดเก็บภาษีอากรจากการนําสินคาเขา และสงสินคาออก เสนอแนะเพื่อกําหนดนโยบายการจัดเก็บภาษีอากรตอกระทรวงการคลัง การปองกันและปราบปรามการกระทําผิดทางศุลกากร สงเสริมและสนับสนุนการผลิตและการสงออกตามกฎหมายวาดวย ศุลกากร กฎหมายวาดวยพิกดั อัตราศุลกากร และกฎหมายอืน่ ที่เกี่ยวของ - อํานวยความสะดวกดานการคาระหวางประเทศแกผูนําเขาและผูสงออก และเพิ่ม ศักยภาพการแขงขันทางการคาของประเทศ
2
เอกสารที่ควรเตรียมไว ในการปฏิบัติพิธีการศุลกากร (1) (2) (3) (4) (5) (6) (7) (8) (9)
ใบรับรองลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส (ดูรายละเอียดการลงทะเบียนในภาคผนวก) บัญชีราคาสินคา (INVOICE) ใบตราสงสินคา (Bill of Lading ) บัญชีรายละเอียดบรรจุหีบหอ (Packing List) ใบแจงยอดเบีย้ ประกัน (Insurance Premium Invoice) ใบแจงยอดคาขนสง( Freight Invoice) ใบอนุญาตหรือหนังสือรับรองสําหรับสินคาควบคุมการนําเขา/สงออก (ถามี) ใบรับรองแหลงกําเนิดสินคา (Certificate of Origin) กรณีขอลดอัตราอากร เอกสารทางการคา เชน Catalogue, ภาพถายสินคา, คูมือ หรือเอกสารเกี่ยวกับ คุณลักษณะของสินคา (10) เอกสารอื่น ๆ เชน หนังสือมอบอํานาจ เปนตน
3
แผนภูมิแสดงขั้นตอนการนําเขาสินคาทางเรือทั้งกระบวนการ 1. ผูประกอบการ/ตัวแทนออก
2. บริษัทเรือ/ตัวแทน - เตรียมขอมูลรายงานเรือเขา/ บัญชีสินคาสําหรับเรือขาเขา - สงขอมูลทางอิเล็กทรอนิกส มายัง ระบบ computer ของกรมศุลกากร - รับเลขที่รายงานเรือเขา
- ติดตอสั่งซื้อสินคาจากตางประเทศ - ตกลงราคา เงื่อนไขการสงมอบ, การชําระเงิน, การประกันภัย - ติดตอบริษัทเรือ/ตัวแทน เพื่อจองระวางเรือ - นัดหมาย วันเวลาเรือเขา/ออก กับบริษัทเรือ/ตัวแทน - ตรวจสอบเอกสาร B/L, Invoice, Packing list และเอกสารที่เกี่ยวของจาก ผูขาย/บริษัท/ตัวแทน เพื่อจัดทําขอมูลใบขนฯ
3. เมื่อเรือเขาเทียบทา - รับใบสั่งปลอยสินคา D/O กับ Agentเรือ - สงขอมูลทางอิเล็กทรอนิกส มายัง ระบบ computer ของกรมศุลกากร - รับเลขที่ใบขนสินคาและเลขที่ชําระอากร
4. ระบบคอมพิวเตอร กรมศุลกากร
ebxml
-
ตรวจสอบความถูกตอง กําหนดเลขที่ รับรายงานเรือเขา ออกเลขที่ใบขนสินคา รับชําระคาภาษีอากร* เลขที่ชําระอากร ตรวจสอบตัดบัญชีสินคา กําหนดการสั่งการตรวจ
* ผูประกอบการสามารถเลือกชําระที่สํานักงานศุลกากร หรือชําระผานธนาคารได
4
5. ผูประกอบการ/ตัวแทนออก - ผูประกอบการติดตอทาที่นําเขา เพื่อชําระคาเชาโรงพักสินคา พรอมแสดงใบสัง่ ปลอยสินคา(D/O) - ผูป ระกอบการเตรียมยานพาหนะเพื่อบรรทุกสินคา - ผูป ระกอบการดําเนินการตามสั่งการตรวจ * ยกเวนการตรวจ (GREEN LINE) * ใหเปดตรวจ (RED LINE)
ยกเวนการตรวจ*
ใหเปดตรวจ พบเจาหนาที่
- ติดตอหนวยงานตรวจปลอย - ดําเนินการตามสั่งการตรวจ
เปดตรวจ / X - ray
ปลอยของออกจากอารักขาศุลกากร * กรณีเปนของที่ตองมีเอกสารประกอบการนําเขาใหยนื่ เอกสารตอหนวยบริการศุลกากรเพื่อตรวจสอบ ความถูกตองกับขอมูลในระบบคอมพิวเตอร
5
ขั้นตอนการปฏิบัติพิธีการศุลกากรนําเขาทางอิเล็กทรอนิกส (e-Import) การผานพิธีการศุลกากรอิเล็กทรอนิกสดานการนําของเขา เปนการปรับปรุงกระบวนงาน ลดขั้นตอนในการปฏิบัติงานใหสะดวก และมีการเชื่อมโยงขอมูลการสั่งปลอยสินคาไปยังโรงพักสินคา หรือทาเทียบเรือ เพื่อผูประกอบการสามารถออกของไดรวดเร็วยิ่งขึ้น การยื่นผานพิธีการศุลกากร การชําระคาภาษีอากร การตรวจปลอยสินคา เปนการใหบริการ เบ็ดเสร็จ โดยผูประกอบการ/ตัวแทนออกของสามารถจัดเตรียมใบขนสินคาที่สํานักงานของตนเอง แลว สงขอมูลใบขนสินคาผานผูใหบริการ (Van Provider) มายังระบบคอมพิวเตอรของกรมศุลกากร ระบบ คอมพิวเตอรกรมฯ จะตรวจสอบแฟมขอมูลอางอิง ขอมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ และตัดบัญชีสินคาสําหรับเรือ อัตโนมัติผานระบบคอมพิวเตอร ในสวนการตรวจปลอยสินคาจะนําระบบบริหารความเสี่ยง (Risk Management) มาใชใน การสั่งการตรวจ ตามเงื่อนไขที่หนวยงานศุลกากรกําหนดไวในระบบ Profile เพื่อจัดกลุมใบขนสินคา เปน 2 กลุม คือใหเปดตรวจ (Red Line) หรือใหยกเวนการตรวจ (Green Line) เมื่อระบบตรวจสอบเสร็จ แลว จะกําหนดเลขที่ใบขนสินคา กําหนดการสั่งการตรวจใหอัตโนมัติ แลวแจงตอบกลับไปยังผูประกอบการ ทราบผานทางอิเล็กทรอนิกส รวมทั้งแจงโรงพักสินคาหรือทาเทียบเรือทราบถึงผลการสั่งการตรวจจาก ศุลกากร - กรณียกเวนการตรวจ ผูประกอบการสามารถติดตอโรงพักสินคาหรือทําเนียบทาเรือ รับมอบสินคาไดทันที - กรณีใหเปดตรวจ ผูประกอบการติดตอโรงพักสินคา หรือทําเนียบทาเรือ เตรียมของ เพื่อตรวจ แลวติดตอเจาหนาที่ศุลกากร ทําการตรวจปลอยสินคา การชําระคาภาษีอากร ผูประกอบการสามารถเลือกชําระที่สํานักงานศุลกากร หรือชําระผานธนาคารได การตรวจปลอยสินคาขาเขา เปนการตรวจปลอย ณ ทา หรือ ที่ หรือสนามบินศุลกากรที่ระบุในบัญชีสินคาวามีชื่อ สงของถึง แตผูประกอบการสามารถแจงความประสงคขอขนยายสินคาไปตรวจปลอยนอกเขตทา หรือ สนามบินที่นําเขาได แตตองแจงลวงหนาในขั้นตอนจัดเตรียมใบขนสินคากอนสงมายังระบบคอมพิวเตอร ของกรมศุลกากร
6
แผนภูมิแสดงการปฏิบัติพิธีการศุลกากรนําเขาทางอิเล็กทรอนิกส (e-Import) บริษัทเรือ/ตัวแทนเรือ
c จัดเตรียมขอมูลยื่น รายงานเรือเขา/บัญชี สินคาสําหรับเรือ
ระบบคอมพิวเตอร กรมศุลกากร
หนวยงานทา/ ที่นําเขา
e
- ตรวจสอบรายงาน เรือเขา และบัญชี สินคา สําหรับเรือ - ออกเลขที่รับ รายงาน เรือเขา
- ผูประกอบการติดตอโรงพักสินคา - ดําเนินการตามสั่งการตรวจ GREEN LINE เพื่อรับมอบของ RED LINE ใหเตรียมของเพื่อตรวจ
GREEN LINE
RED LINE
ไมติดเงื่อนไข ติดเงื่อนไขเสี่ยงสูง ผูประกอบการ/ ตัวแทนออกของ
d
- จัดเตรียมขอมูล ใบขนสินคา ยื่นผานพิธกี าร ศุลกากร ทาง อิเล็กทรอนิกส
เลขที่ใบขนสินคา และ เลขที่ชําระอากร
ระบบคอมพิวเตอร กรมศุลกากร
ติดตอหนวยงานตรวจ ปลอยดําเนินการตาม สั่งการตรวจ เปด ตรวจหรือ X - Ray
- ตรวจสอบตัดบัญชีสินคา
สําหรับเรือ - ตรวจสอบระบบบริหาร ความเสี่ยง - กําหนดสั่งการตรวจ - ออกเลขที่ใบขนสินคา และชําระเงินผานธนาคาร
f ติดตอ ทาเรือ/ โรงพักสินคา สงมอบของจากอารักขาศลกากร บริ6/ษกระบวน... ัท / โรงงาน
Message
7
แผนภูมิแสดงขั้นตอนการสงออกสินคาทางเรือทั้งกระบวนการ 1. ผูประกอบการ/ตัวแทนออกของ
2.ระบบคอมพิวเตอรกรมศุลกากร
- ติดตอรับ Order จาก ตางประเทศ - ตกลงเงื่อนไขการสงมอบ, การชําระเงิน , การประกันภัย - ติดตอบริษัทเรือ/ตัวแทน เพื่อ จองระวางเรือ - เตรียมขอมูลบัญชีราคาสินคา และใบขนสินคาขาออก - รับเลขที่ใบขนสินคา - รับเลขที่ชําระอากร
- ตอบกลับออกเลขที่ ใบขนสินคา - ออกเลขที่ชําระอากร
3.ธนาคาร รับขอมูล การตัด บัญชี ธนาคาร
5. สถานีรับบรรทุก ณ ทาที่สงออก บันทึกการตัดบัญชีใบกํากับการขนยาย และตรวจสอบเงื่อนไข ความเสี่ยง
4. ผูรับผิดชอบการบรรจุ Green Line
บรรจุสินคาเขาตูคอนเทนเนอร
เตรียมขอมูลใบกํากับ การขนยายสินคา
พิมพใบกํากับฯ และเคลื่อนยาย ตคอนเทนเนอรไปยังทาที่สงออก
ตอบกลับ เลขที่ใบกํากับ การขนยาย สินคา
Red Line
- ทําการ X-ray - เปดตรวจ 6. หนวยควบคุมเรือออก -รับรายงานเรือออกและ
บันทึกวันที่เรือออกจริง ประมวลผลการรับบรรทุก/รับรองการ สงออก
8
ขั้นตอนการปฏิบัติพิธีการศุลกากรสงออกทางอิเล็กทรอนิกส(e-Export) เมื่อผูสงออกติดตอหรือรับใบสั่งซื้อสินคาจากตางประเทศ และไดตกลงในเงื่อนไขการ สงมอบสินคา การชําระเงิน การจัดทําประกันภัย การติดตอบริษัทเรือ/ตัวแทนเรือ เพือ่ จองระวางเรือ และ รายละเอียดตาง ๆ ในการสงมอบสินคาเสร็จแลว จะตองเตรียมขอมูลบัญชีราคาสินคา(INVOICE) เพื่อ จัดทําขอมูลใบขนสินคาขาออกตามมาตรฐานที่ศุลกากรกําหนด การจัดสงขอมูลเขาสูระบบคอมพิวเตอรของศุลกากร โดยจัดสงขอมูลอิเล็กทรอนิกสพรอมลงลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส (Digital Signature) ของเจาของลายมือชื่อ ผานบุคคลที่เปนสื่อกลางผูใหบริการรับสงขอมูลทางอิเล็กทรอนิกส (VANS) เขาสูระบบคอมพิวเตอรของศุลกากรทางอิเล็กทรอนิกสตามมาตรฐานทีศ่ ุลกากรกําหนด (ebXML) แทน การจัดทํา ยืน่ สง รับเอกสาร และการลงลายมือชื่อในกระดาษ ระบบคอมพิวเตอรของศุลกากรจะ ตรวจสอบความถูกตองเบื้องตน หากตรวจสอบพบความผิดพลาดจะตอบรหัสขอผิดพลาดทุกขอกลับไปให ผูสงขอมูล หากไมพบขอผิดพลาดจะกําหนดเลขที่ใบขนสินคา ออกเลขที่ชําระอากร(ถามี) และตอบ กลับไป เมื่อผูสงออกตอบรับแลวก็สามารถยื่นชําระอากรที่สํานักงานศุลกากรหรือ ผานธนาคารตาง ๆ ที่ กรมศุลกากรไดระบุไว เพื่อทําการรับขอมูลและตัดบัญชีธนาคารตอไป การบรรจุสินคาและการจัดทําใบกํากับการขนยายสินคา - ผูสงออกรายเดียว (FCL) ไมวาจะมีใบขนสินคาขาออกฉบับเดียวหรือหลายฉบับก็ตาม ใหทําการบรรจุสินคานอกเขตอารักขาของศุลกากรได - ผูสงออกหลายราย (LCL) บรรจุสินคาภายในเขตอารักขาศุลกากร เวนแตผูสงออกตอง มีความจําเปนในการบรรจุของในตูคอนเทนเนอรเดียวกัน ผูรับผิดชอบการบรรจุตองเตรียมขอมูลใบกํากับการขนยายสินคาตามมาตรฐานที่ ศุลกากรกําหนด และเปนผูสงขอมูลทางอิเล็กทรอนิกสเขาสูระบบคอมพิวเตอรของศุลกากร เมื่อผูสง ขอมูลไดรับการตอบกลับมาพรอมเลขที่ใบกํากับการขนยายสินคาแลว ใหเคลื่อนยายตูไปยังทาที่จะทํา การสงออก การขนยายสินคาผานสถานีรับบรรทุก ณ ทาที่สงออก เมื่อขนสงสินคามาถึงสถานีรับบรรทุกใหผูขนสงทําการแจงเลขที่ใบกํากับการขนยาย สินคาพรอมแนบใบตรวจรับสภาพตู หรือใบชั่งสินคาของทาที่สงออก (EIR) เจาหนาที่จะตรวจสอบเลขที่ ตูคอนเทนเนอร ระบบคอมพิวเตอรจะตัดบัญชีใบกํากับการขนยายสินคาและตรวจสอบเงื่อนไขความเสี่ยง ถาไมติดเงื่อนไข (Green line) ระบบจะทําการประมวลผลเปนสถานะพรอมรับบรรทุกโดยอัตโนมัติ แตถาติดเงื่อนไข (Red line) จะตองไปพบเจาหนาที่เพื่อตรวจของ หรือ สงตูสินคาไปทําการเอกซเรย
9
การรับบรรทุกของสงออก ระบบคอมพิวเตอรของศุลกากรจะทําการประมวลผลการรับบรรทุกโดยอัตโนมัติเพื่อ รับรายงานเรือออกและบันทึกวันที่เรือออกจริง และจะตอบกลับขอมูลที่ทําการประมวลผลการรับ บรรทุกไปใหผูสงขอมูลใบขนสินคาขาออก ขอความ Goods Loaded เพื่อใหทราบถึงสถานะ การรับ บรรทุกสงออกไปนอกราชอาณาจักร หากผูสงขอมูลใบขนสินคาขาออกไมไดรับขอมูลตอบกลับสถานะ การรับบรรทุกภายใน เวลาอันควร ใหตรวจสอบขอมูลกับบุคคลที่เปนสื่อกลางผูใหบริการรับสงขอมูลทางอิเล็กทรอนิกส (Value Added Network Services: VANS)
10
แผนภูมิแสดงการปฏิบัติพิธีการศุลกากรสงออกทางอิเล็กทรอนิกส (e-Export) ผูสงออกสงขอมูล - ใบขนสินคา, Invoice
ชําระคาภาษีอากร(ถามี) ผานการตัดบัญชีธนาคาร
ระบบ Computer ของกรมศุลกากร
*** ขอมูล ถูกตอง ไดรับเลขที่ใบขนฯ
ผูรับผิดชอบการบรรจุ จัดทําใบกํากับการขนยาย
ผานสถานีรับบรรทุก
*** ขอมูลถูกตองไดรับเลขที่ใบกํากับการขนยายสินคา Green Line
Red Line พบเจาหนาที่เพื่อ ตรวจของ / X-ray
รับบรรทุกโดยอัตโนมัติและแจงผลการ รับบรรทุกกลับบริษัทฯ ทางอิเล็กทรอนิกส
11
พิธีการการนําเขาของใชสวนตัวและของใชในบานเรือน ของใชสวนตัว หมายถึงของสวนตัวทีเ่ จาของนําเขามาพรอมกับตน สําหรับใชเองหรือใชในวิชาชีพ และมี จํานวนพอสมควรแกฐานะ ไดรับยกเวนอากร เวนแต รถยนต อาวุธปน กระสุนปน และเสบียง แตสุรา หรือ บุหรี่ หรือ ซิการ หรือยาเสน ซึ่งเปนของสวนตัวที่เดินทางนําเขามาพรอมกับตนนั้น อธิบดีกรม ศุลกากรอาจออกขอยกเวนอากรใหไดตามที่เห็นสมควรเปนแหง ๆ ไป แตตองไมเกินปริมาณ ดังนี้ 1. บุหรี่ จํานวน 200 มวน หรือ ซิการ หรือยาเสน อยางละ 250 กรัม หรือ หลาย ชนิดรวมกันมีน้ําหนัก ทั้งหมดรวม 250 กรัม 2. สุรา จํานวน 1 ลิตร หมายเหตุ นําเขาพรอมกับตน ใหหมายความรวมถึง การนําเขามาถึงประเทศไทยไมเกิน 1 เดือน กอน ผูนําของเขามาถึง หรือไมเกิน 6 เดือนนับแตวนั ที่ผูนําของเขาเขามาถึง บุคคลซึ่งจะไดรับการพิจารณายกเวนอากรของใชสวนตัว บุคคลซึ่งจะไดรับยกเวนคาอากรตามภาค 4 ประเภทที่ 5 แหงพระราชกําหนดพิกัดฯ ไดแก คนตางดาว หรือคนไทยที่เดินทางไปมาระหวางประเทศไมวาจะเปนการชั่วคราว หรือเปนการยาย ภูมิลําเนา แตสงิ่ ของนั้นจะตองมีจํานวนพอสมควรแกฐานะของบุคคลนั้น ๆ
ของใชในบานเรือน หมายถึง ทรัพยสินอื่น ๆ ที่ไมใชของใชสวนตัวซึ่งผูเดินทางเขามาในหรือออกไปนอก ราชอาณาจักร นําติดตัวเขามาในหรือออกไปพรอมกับตน และเปนของที่ผูนําเขาใชสอยตามปกติระหวาง อยูตางประเทศ โดยผูนําเขาของใชในบานเรือนตองมีกรรมสิทธิ์ในของนั้น ๆ อยูกอนการยายภูมิลําเนา เชน โทรทัศน ตูเย็น เครื่องปรับอากาศ เครื่องประดับ ฯลฯ ของใชในบานเรือนที่ใชแลวดังกลาวเจาของตอง นําเขามาพรอมกับตน เนื่องจากในการยายภูมิลําเนา และมีจํานวนพอสมควรแกฐานะ จะไดรับสิทธิ ยกเวน อากร 1. หลักเกณฑการพิจารณายกเวนอากรของใชในบานเรือนที่ใชแลว ของใชในบานเรือนที่จะไดรบั การยกเวนอากรขาเขาไดผนู ําเขาจะตองเปนบุคคลที่ไดยาย ภูมิลําเนาเขามาตั้งในประเทศไทย ไมวาเปนคนไทยหรือชาวตางประเทศ และจํานวนของใชในบานเรือน ที่จะยกเวนอากรใหได จะพิจารณาเทาที่เปนจํานวนพอสมควรที่พึงมีพงึ ใชตามปกติวสิ ัย และผานการใช งานแลว โดยตองเปนของที่นาํ เขามาจากประเทศซึ่งผูนําเขามีภูมิลําเนาอยูกอนทีจ่ ะยายเขามามีภูมลิ ําเนาใน
12
ประเทศไทย สําหรับของใชในบานเรือนทีเ่ ปนเครื่องใชไฟฟา เชน “วิทยุ” ถามีการนําเขามาก็จะยกเวนให เพียง 1 เครื่อง ถามีมากกวา 1 เครื่อง จะยกเวนอากรใหเพียง 1 เครื่องเทานั้น ยกเวนการยายภูมลิ ําเนา ทั้งครอบครัว ใหไดรับยกเวนอากรไดอยางละ 2 เครื่อง และเครื่องที่ยกเวนคาอากรใหนนั้ ตองเปนเครื่อง ที่มีคาอากรต่ําสุด นอกจากวิทยุแลวอาจมีตเู ย็น เครื่องรับโทรทัศน ฯลฯ ใหถือเกณฑเดียวกับวิทยุ ของใช ในบานเรือนดังกลาว จะตองนําเขามาถึงประเทศไทยไมเกิน 1 เดือน กอนผูนําของเขามาถึง หรือไมเกิน 6 เดือนนับแตวันที่ผูนําของเขาเขามาถึง อธิบดีกรมศุลกากรมีอํานาจขยายกําหนดเวลาที่กลาวขางตนได เมื่อเห็นวามีพฤติการณพิเศษ การยายภูมิลําเนานั้น ใหถอื เกณฑการพิจารณา ดังตอไปนี้ 1.1 ชาวตางประเทศ (1) ชาวตางประเทศที่ยายภูมิลําเนาเขามาอยูในราชอาณาจักร ตองเปนผูไดรับโควตาเขา เมืองตามที่ปรากฏในหนังสือเดินทางหรือใบประจําตัวคนตางดาว หรือ (2) ชาวตางประเทศไดรับอนุญาต ใหเขามาประกอบอาชีพในราชอาณาจักร จะไดรับ การอนุโลมใหถือวายายภูมิลาํ เนาตองไดรบั อนุญาตจากสํานักงานตรวจคนเขาเมือง วาบุคคลผูนจี้ ะใหอยูไ ดไมต่ํากวา 1 ป กรณีที่ยงั ไมไดรบั อนุญาตแตเปนเรื่องรีบดวน ตองยื่นเอกสารอยางใดอยางหนึ่งประกอบการพิจารณา คือ - หนังสือสํานักงานตรวจคนเขาเมืองรับรองวาจะไดรับอนุญาตใหอยูชั่วคราวเปนป ๆไป - หนังสืออนุญาตของกรมแรงงานวา ไดรับอนุญาตใหประกอบอาชีพในประเทศแลว ไมนอยกวา 1 ป (3) ชาวตางประเทศทีเ่ ขามาในฐานะผูเชีย่ วชาญ ผูชํานาญการพิเศษ หรือภายใตสัญญาจาง ของหนวยราชการ ตองมีหนังสือหนวยราชการนัน้ ๆ รับรองวาบุคคลผูนั้นไดรับ อนุญาตจากสํานักงานตรวจคนเขาเมืองใหอยูในประเทศในประเภท NON IMMIGRANT แลว และจะอยูปฏิบัติงานไมนอยกวา 1 ป (4) กรณีชาวตางประเทศ ตาม (2) และ (3) มีสามีหรือภรรยาของตนติดตามมาดวย และ ไดรับอนุญาตจากสํานักงานตรวจคนเขาเมืองใหอยูใ นประเทศไทยไดครัง้ แรก 90 วัน ก็ ใหถือวาผูติดตามนั้นยายภูมิลาํ เนาเขามาอยูใ นประเทศไทย หมายเหตุ ชาวตางประเทศที่เดินทางเขามาในราชอาณาจักรประเภท NON IMMIGRANT ที่เขามาใชชวี ติ บั้นปลาย หรือติดตามภรรยาชาวไทยเขามาไมอยูใ นหลักเกณฑตาม (1) 1.2 ชาวไทย (1) ชาวไทยหรือขาราชการไทยที่ไปทํางาน หรือดํารงตําแหนงหรือดูงานใน ตางประเทศ ตองอยูประจะเปนเวลาไมนอยกวา 1 ป กรณีที่ตองเดินทางกลับกอน กําหนด 1 ป ตองมีหลักฐานมาแสดงวาไดเดินทางกลับเนื่องจากสิ้นสุดสัญญาการ จาง หรือไดรบั คําสั่งใหยายกลับมาปฏิบัติหนาที่ในราชอาณาจักร หรือเสร็จสิ้นการ ดูงานกอนกําหนด
13
(2) ชาวไทยที่ไปอยูประจําในตางประเทศในกรณีอนื่ เปนระยะเวลาไมนอยกวา 1 ป ตองใหคํารับรองตอพนักงานเจาหนาที่วาจะกลับเขามามีภูมิลําเนาในประเทศไทย (3) นักเรียนไทย หรือขาราชการไทยที่ไปศึกษาวิชาหรือดูงานในตางประเทศ และคน ไทยที่ออกไปอยูตางประเทศ ใหไดรับยกเวนอากรของใชในบานเรือนได ในกรณี ที่มีกรรมสิทธิ์ในของนั้น และไดใชสอยอยูใ นตางประเทศตามปกติกอนจะเขามา ในประเทศไทย และของนัน้ จะตองมีจํานวนเทาที่พอสมควรตามฐานะของบุคคล นั้น ๆ และตองมีหลักฐานแสดงวาไดไปอยูในตางประเทศไมต่ําวา 1 ป 2. เอกสารที่ควรจัดเตรียมในการนําเขาของใชในบานเรือน และ/หรือ ของใชสวนตัว 2.1 ใบขนสินคาขาเขา กศก. 99/1 2.2 หนังสือเดินทาง (Passport) 2.3 กรณีเปนชาวตางประเทศทีย่ ายภูมิลําเนามาอยูในประเทศไทยตองมีหลักฐานอยางใดอยาง หนึ่ง ดังตอไปนี้ - หนังสือสํานักงานตรวจคนเขาเมืองรับรองวาจะไดรับอนุญาตใหอยูช ั่วคราวเปนป ๆไป - หนังสืออนุญาตของกรมการจัดหางานวาไดรับอนุญาตใหประกอบอาชีพในประเทศไทย แลวไมนอยกวา 1 ป - ชาวตางประเทศที่เขามาในฐานะผูเชี่ยวชาญ ผูชํานาญการพิเศษ หรือภายใตสัญญาจาง ของหนวยราชการ ตองมี่หนังสือของหนวยราชการนั้น ๆ รับรองวาบุคคลผูนั้นไดรับ อนุญาตจากสํานักงานตรวจคนเขาเมือง ใหอยูในประเทศไทย ในประเภท NON IMIGRANT แลว และจะอยูปฏิบัติงานไมนอยกวา 1 ป 2.4 กรณีชาวไทยตองแสดงหลักฐานแสดงวามีการยายภูมิลาํ เนา เชน ใบรับรองจบการศึกษา คําสั่งยาย หนังสือสัญญาสิ้นสุดการจาง 2.5 ใบตราสงสินคา (Bill of Lading) 2.6 บัญชีราคาสินคา (Invoice) (ถามี) 2.7 ใบสั่งปลอยสินคา (Delivery Order) 2.8 บัญชีรายการสิ่งของ (Packing List) หรือเอกสารซื้อขาย (ถามี) 2.9 ใบอนุญาต กรณีเปนสินคาควบคุมการนําเขา 2.10 แบบคํารองขอยกเวนอากร 2.11 เอกสารอื่น ๆ เชน หนังสือมอบอํานาจ เปนตน 3. ขั้นตอนการปฏิบัตพิ ิธีการนําเขาของใชในบานเรือน และ/หรือ ของใชสวนตัว ผูนําเขาหรือตัวแทนยื่นคํารองขอยกเวนอากร ใบขนสินคาและเอกสารประกอบตอฝายพิธีการ กลาง สวนบริการกลาง หรือดานศุลกากรทีน่ ําเขา เพื่อตรวจสอบและอนุมัติการไดรบั สิทธิยกเวนอากร
14
พิธีการนําเขายานพาหนะสวนบุคคล 1. การนําเขายานพาหนะสวนบุคคลชั่วคราว รถยนต รถจักรยานยนต เรือสําราญและกีฬา หรือเรือประมงที่เจาของนําเขามาพรอมกับตนเปน การชั่วคราวและจะสงกลับออกไปนอกราชอาณาจักรภายใน 6 เดือน จะไดรับการยกเวนอากรขาเขา โดย ผูที่ประสงคจะนํายานพาหนะสวนบุคคลประเภทรถยนต รถจักรยานยนต เรือสําราญ และกีฬา หรือ เรือประมง เขามาพรอมกับตนเองเปนการชั่วคราวตองปฏิบัติตามหลักเกณฑและเงื่อนไขที่กรมศุลกากร กําหนดไวใหครบถวน 1.1 เอกสารที่ควรจัดเตรียมในการนําเขายานพาหนะสวนบุคคลชั่วคราว (1) ใบขนสินคาขาเขาพิเศษ และมีสําเนา 5 ฉบับ (2) ทะเบียนยานพาหนะ (3) บัตรประจําตัวและหนังสือเดินทางของผูควบคุมยานพาหนะ (4) หนังสือมอบอํานาจ กรณีผูควบคุมยานพาหนะมิใชเจาของ (5) คํารองขอนํายานพาหนะสวนบุคคลเขามาเพื่อการทองเที่ยวเปนการชั่วคราว (6) หลักฐานการซื้อขาย เชน Performa Invoice, Invoice (7) สําเนาหนังสือรับรองนิติบุคคล (8) สัญญาประกันการสงกลับ (9) เอกสารแจงเรือเขา(แบบที่ 186 และใบแนบ 1) และเอกสารเกีย่ วกับเรือ รูปพรรณเรือ (กรณีเปนเรือสําราญและกีฬา) (10) เอกสารอื่น ๆ (ถามี) 1.2 ขั้นตอนการปฏิบัติพิธีการนําเขาชั่วคราวยานพาหนะสวนบุคคล (1) ผูนําเขาหรือตัวแทนยื่นใบขนสินคาพรอมเอกสารประกอบตอฝายพิธีการกลาง สวนบริการกลาง กรณีมีสิ่งของอื่นหรือผูโดยสารและสิง่ ของติดตัวผูโดยสารเขามา พรอมกับยานพาหนะ ผูนําเขาหรือตัวแทนตองแจงกรมศุลกากรดวย (2) กรมศุลกากรตรวจสอบขอมูลในใบขนสินคาและเอกสารประกอบ หากเอกสาร ถูกตองครบถวนแลว จะออกเลขที่ใบขนสินคา และกําหนดวงเงินค้ําประกันสําหรับ การนําเขานั้น ๆ (3) ผูนําเขาหรือตัวแทนนําหลักประกัน (เงินสดหรือธนาคารค้ําประกัน) ไปชําระที่ฝาย บัญชีและอากร (4) ผูนําเขาหรือตัวแทน นําหลักฐานการวางประกันมาแสดงตอเจาหนาที่ศลุ กากร
15
(5) กรมศุลกากรจะตรวจยานพาหนะและสิ่งของติดตัวผูโดยสาร เมื่อเสร็จสิ้นแลว จะ มอบสําเนาใบขนสินคาขาเขาพิเศษใหผูนําเขาไว 1 ฉบับ เพื่อใชกํากับยานพาหนะ และแสดงตอเจาหนาที่ศุลกากรเมื่อนํายานพาหนะออกไปนอกประเทศไทย 1.3 ขั้นตอนการปฏิบัตพิ ิธีการสงออกยานพาหนะสวนบุคคล (1) ผูสงออกยื่นใบขนสินคาขาเขาพิเศษที่กรมศุลกากรออกใหขณะนําเขาและสําเนา 1 ฉบับ ตอเจาหนาที่ศุลกากร (2) กรมศุลกากรจะตรวจยานพาหนะและสิ่งของติดตัวผูโดยสาร เมื่อเสร็จสิ้นแลวจะ ถอนประกันทัณฑบนที่ผูนําเขาทําไวกับกรมศุลกากรขณะนําเขา 1.4 ขอควรทราบในการนําเขาชั่วคราวยานพาหนะสวนบุคคล (1) หากผูนําเขาไมนํารถกลับออกไปในระยะเวลาที่กําหนดไวในสัญญาประกันทัณฑ บน กรมศุลกากรจะบังคับสัญญาทัณฑบนเต็มจํานวนที่กาํ หนดไว โดยไมมีการ ลดหยอนทั้งสิน้ (2) กรณีผูนําเขาตองการขอขยายเวลาการนํารถออกนอกประเทศไทยตามทีร่ ะบุไวใน สัญญาประกันทัณฑบน ก็สามารถขอขยายเวลากับกรมศุลกากรไดอกี แตไมเกิน 6 เดือน เวนแตในกรณีทจี่ ําเปน เชน เครื่องยนตเสีย หรือรถยนตถูกชนตองเสียเวลา ในการซอม ก็อาจขยายเวลาออกไปใหเกินกวา 6 เดือนได แตรวมแลวตองไมเกิน 8 เดือน นับแตวันนําเขา (3) การประกันและการค้ําประกัน - ผูนําเขาสามารถวางประกันดวยเงินสด หรือหนังสือค้ําประกันของธนาคาร แต สําหรับรถจักรยานยนตที่นกั ทองเที่ยวชาวตางประเทศนําเขาทางสํานักงาน ศุลกากรทาเรือกรุงเทพ สํานักงานศุลกากรกรุงเทพ สํานักงานศุลกากรทาอากาศ ยานกรุงเทพ ใหค้ําประกันตนเองได - ในกรณีที่ผนู ําเขาไมสามารถจะวางประกันดวยเงินสด หรือหนังสือค้ําประกัน ของธนาคารไดจริง ๆ กรมศุลกากรก็อาจพิจารณาอนุมตั ิใหผูนําเขาค้าํ ประกัน ตนเองได - การกําหนดเงินประกันและเงินค้ําประกัน กรมศุลกากรจะกําหนดโดยถือตาม ราคาบวกคาภาษีอากรทุกประเภทของรถทีน่ ําเขาเปนยอดเงินประกัน (4) การบังคับตามสัญญาประกัน
16
- เมื่อครบกําหนดตามที่ระบุไวในสัญญาประกัน หรือผูนําของเขาไดแสดงความ จํานงกอนครบกําหนดดังกลาววาไมประสงคจะนํารถกลับออกไป กรมศุลกากรจะ บังคับสัญญาประกันเต็มตามจํานวนที่กําหนดไว โดยไมมีการลดหยอนใด ๆ ทั้งสิ้น - ในกรณีที่มีผูนํารถยนต หรือรถจักรยานยนตเขามาในประเทศทางเขตแดนทาง บกเปนการชัว่ คราว และจะนํากลับออกไป แตนํากลับออกไปไมทันภายในเวลาที่ กําหนดตามทีร่ ะบุไวในสัญญาประกัน โดยไมมีเจตนาฝาฝนการปฏิบัติตามสัญญา ประกันนัน้ ผูน ําเขาจะตองชําระคาปรับวันละ 100 บาท นับจากวันที่ครบกําหนด ในสัญญาประกัน แตไมเกิน 1,000 บาท - ในกรณีที่ผูนําเรือเขามาในราชอาณาจักรเปนการชั่วคราว และจะนํากลับออกไป แตนํากลับออกไปไมทันภายในเวลาที่กําหนดตามที่ระบุไวในสัญญาประกัน โดย ไมมีเจตนาฝาฝนการปฏิบัติตามสัญญาประกันนั้น ผูนําเขาจะตองชําระคาปรับวัน ละ 500 บาท นับจากวันที่ครบกําหนดในสัญญาประกัน แตไมเกิน 5,000 บาท (5) คําวา “เรือสําราญและกีฬา” หมายถึง เรือที่ใชสําหรับหาความสําราญ หรือเรือที่ ใชเพื่อการเลนกีฬาโดยเฉพาะ และไมไดใชเพื่อการคา การทหาร หรือการคนควา ทางวิทยาศาสตร เรือสําราญและกีฬา หรือเรือประมงที่เขามาจากตางประเทศนั้น นายเรือจะตองมารายงานเรือเขาเชนเดียวกับเรือทั้งหลายที่มาจากตางประเทศ สวนเรือสําราญและกีฬาหรือเรือประมงที่เดินทางไปตางประเทศจะตองยื่นใบ สําแดงรายงานเรือออก และขอรับใบปลอยเรือขาออกจากกรมศุลกากรดวย 2. การนําเขายานพาหนะสวนบุคคลแบบถาวร การนําเขารถยนตสวนบุคคลหากในลักษณะนี้ผูนําเขาจะตองชําระคาภาษีอากรตามปกติ หาก เปนรถยนตใหมก็ใหปฏิบัติพธิ ีการนําเขาเชนเดียวกับการนําเขาสินคาอื่น ๆ แตหากเปนรถยนตนั่งเกาใช แลว จะถือเปนสินคาควบคุมการนําเขามาในประเทศไทย ในหลักการไมอนุญาตใหนําเขา เวนแตเปนการ นําเขาชั่วคราวหรือการนําเขาเฉพาะตัวที่เปนไปตามหลักเกณฑทกี่ ระทรวงพาณิชยกําหนดไวเทานัน้ รถยนตนงั่ ใหมทุกประเภท ที่ยังไมไดจดทะเบียนใชงานในตางประเทศ สามารถนําเขาไดโดยไมตองขอ อนุญาตจากกระทรวงพาณิชย และไมจํากัดจํานวน ยกเวนรถที่มีน้ําหนักไมเกิน 3,500 กก. ผูนาํ เขาตองขอ ใบอนุญาตนําเขาจากสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ (สมอ.) รถยนตนงั่ ใชแลว ตองขออนุญาตกอนการนําเขาจากกรมการคาตางประเทศ กระทรวงพาณิชย และถารถ มีน้ําหนักไมเกิน 3,500 กก. ตองขอใบอนุญาตนําเขาจากสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ (สมอ.) ดวย
17
คําเตือน รถยนตนั่งใชแลวจะตองไดรับใบอนุญาตการนําเขาจากกรมการคาตางประเทศ กระทรวง พาณิชย กอนวันเรือเขา มิฉะนั้นจะถูกปรับรอยละ 10 ของราคาของ ไมนอยกวา 1,000 บาท แตไมเกิน 20,000 บาท 2.1 หลักเกณฑการนําเขารถยนตนงั่ เกาใชแลวแบบถาวร (1) นําเขามาใชไดเองเพียงคนละ 1 คัน (2) กรณีเปนชาวตางประเทศจะตองเปนผูที่จะเขามาอยูในประเทศไทยไมต่ํากวา 1 ป โดยมีหนังสืออนุญาตการเขาเมืองจากกองตรวจคนเขาเมือง สํานักงานตํารวจแหงชาติ และใบอนุญาตทํางานของกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมมาแสดงในการนําเขา ดวย (3) กรณีชาวไทยมีคูสมรสเปนชาวตางประเทศ จะตองมีหลักฐานแสดงวาเปนคูสมรสและ นํารถยนตเขามาเพื่อมีภูมิลําเนาในประเทศไทย รวมทั้งผูน ําเขาตองถือกรรมสิทธิ์หรือ ครอบครองรถยนตคันนั้น ระหวางอยูใ นตางประเทศไมนอยกวา 1 ป 6 เดือน นับตั้งแต วันที่จดทะเบียนเปลี่ยนแปลงกรรมสิทธิ์ จนถึงวันที่เดินทางเขามาอยูในประเทศไทย (4) กรณีเปนชาวไทย ตองเปนชาวไทยที่ไปอยูตางประเทศติดตอกันเปนเวลาเกินกวา 1 ป 6 เดือน แลวเดินทางกลับมามีภูมิลําเนาในประเทศไทย และถือกรรมสิทธิ์ครอบครอง รถยนตคันนั้นอยู ในระหวางอยูตางประเทศไมนอยกวา 1 ป 6 เดือน และมีใบอนุญาต ขับขี่รถยนต 2.2 เอกสารที่ควรจัดเตรียมการนําเขารถยนตแบบถาวร (1) เอกสารทั่วไป - ใบขนสินคาขาเขา กศก.99/1 ประกอบดวยตนฉบับและสําเนา 1 ฉบับ(สงขอมูล ระบบอิเลคทรอนิกส) - ใบตราสงสินคา (Bill of Lading) - เอกสารการซื้อขายรถยนต (ถามี) - ใบแจงยอดเบีย้ ประกัน (Insurance Premium Invoice) - เอกสารอื่น ๆ เชน หนังสือมอบอํานาจ (2) เอกสารเพิ่มเติมกรณีเปนรถยนตเกาใชแลว - ทะเบียนบานและบัตรประจําตัวประชาชน - หนังสือเดินทางกรณียายภูมิลําเนา - ทะเบียนรถยนตทจี่ ดทะเบียนการใชงานที่ตางประเทศมาแลว - ใบอนุญาตการนําเขาจากกรมการคาตางประเทศ กระทรวงพาณิชย
18
2.3 ขั้นตอนปฏิบัติพิธีการ *** (ปฏิบัติพิธีการเชนเดียวกับการนําของเขาตามปกติ)
ตารางแสดงอัตราภาษีอากรรถยนตนั่ง/ รถจักรยานยนต ประเภท
รถยนตนั่ง
(พิกัด 87.03)
รถจักรยานยนต (พิกดั 87011) รถจักรยานยนตไฟฟา รถจักรยานไฟฟา
ขนาดเครื่องยนต
ไมเกิน 2,000 CC ไมเกิน 220 แรงมา 2,001 CC ไมเกิน 2,500CC “ 2,501 CC ไมเกิน 3,000 CC “ 3,001 CC ขึ้นไป เกิน 220 แรงมา
อากรศุลกากร อัตราภาษีอากรรวม (รอยละ) ประมาณ (รอยละ) 80 80 80 80 60 60 60
188 213 244 328 77.04 72 72
หมายเหตุ (1) อัตราภาษีอากรรวมของรถยนต และรถจักรยานยนต หมายถึง อากรศุลกากร + ภาษี สรรพสามิต + ภาษีเพื่อมหาดไทย + ภาษีมลู คาเพิ่ม 7 % (2) อัตราภาษีอากรรวมของรถจักรยานยนตไฟฟา รถจักรยานไฟฟา หมายถึงอากรศุลกากร + ภาษีมูลคาเพิ่ม 7 % (3) รถยนตนั่ง และรถจักรยานยนตใชแลว ตองไดรับใบอนุญาตนําเขาจากกรมการคา ตางประเทศ กอนการนําเขา
19
การชําระคาภาษีอากร การชําระคาภาษีอากร สามารถชําระได 2 วิธี 1 ผูประกอบการนําเขา-สงออกและตัวแทนออกของ สามารถมาชําระไดที่ ฝายบัญชีอากร ของสํานักงานศุลกากร หรือดานศุลกากรทีน่ ําเขา โดยสามารถชําระดวย เงินสด เช็คของธนาคารและบัตร ภาษี 2 กรมศุลกากรรวมมือกับธนาคารพาณิชยตาง ๆ พัฒนาบริการรับชําระภาษีอากรนําเขา และสงออก ผานทางอิเล็กทรอนิกส โดยการใหบริการชําระคาภาษีอากรทางอิเล็กทรอนิกส ผานระบบหัก บัญชีอัตโนมัติของธนาคาร (e – Payment) การรับชําระเงินเปนเช็ค 1 การรับชําระเงินเปนเช็ค 1.1 1.2 1.3 1.4
ใชเช็คของธนาคารแหงประเทศไทย ใชเช็คที่มีธนาคารค้ําประกัน ใชเช็คที่ธนาคารเซ็นสั่งจาย ใชเช็คที่ผูมีหนาที่ชําระเงินผลประโยชนเปนผูเซ็นสั่งจายและใชชําระ โดยตรงโดยทํา สัญญาประกันกับกรมศุลกากร
2 เช็คตองมีลักษณะดังนี้ 2.1 มีรายการถูกตองตามมาตรา 988 แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย 2.2 เปนเช็คทีล่ งวันที่ที่ใชเช็คนั้นชําระตอเจาหนาที่ หรือกอนวันชําระตอเจาหนาทีไ่ มเกิน 30วัน สําหรับเช็คประเภทที่ 1.1, 1.2 และ 1.3 หรือกอนวันชําระไมเกิน 15 วัน สําหรับเช็คประเภทที่ 1.4 หากเกิน 30 วัน หรือ 15 วัน ตามลําดับ แตไมเกิน กําหนดเวลาตามกฎหมาย ก็ใหเปนอํานาจและความรับผิดชอบของหัวหนาฝายบัญชี อากร หรือผูทําการแทนที่จะพิจารณาเปนแตละรายไป มิใหรับเช็คลงวันที่ลวงหนา 2.3 เปนเช็คขีดครอมและขีดฆาคําวาหรือผูถือออก โดยสั่งจายใหแก กรมศุลกากร (พักรายได) โดยบริษัท..........ชื่อผูนาํ เขาหรือสงออก.......... 3 การใชเช็คชําระเปนเงินผลประโยชนตอ กรมศุลกากรนั้น จะใชชําระเงินผลประโยชนประเภทใดก็ได แตหามมิใหใชเช็คฉบับเดียวชําระเงินผลประโยชนหลายประเภทรวมกัน เวนแตในกรณีที่มีระเบียบ ของกรมศุลกากรใหใชใบเสร็จฉบับเดียวรับเงินผลประโยชนรวมกันไดหลายประเภท ก็ผอนผันใหได
20
ในกรณีทชี่ ําระเงินเปนเช็คตอกรมศุลกากร เช็คดังกลาวเรียกเก็บเงินไมได ไมวาในกรณีใดๆ เปนเหตุใหธนาคารตองคืนเช็คใหแกกรมศุลกากร ในกรณีเชนนี้ใหฝายบัญชีอากรเรียกเก็บคาภาษี อากรที่ตองชําระหรือชําระเพิ่มนั้น ใหครบถวนพรอมเงินเพิ่มตามกฎหมายศุลกากรรอยละ 1 ตอเดือน และตามประมวลรัษฎากรรอยละ 1.5 ตอเดือน ของคาภาษีอากรทีน่ ํามาชําระโดยไมคิดทบตน เศษ ของเดือนใหถือเปน 1 เดือน ทั้งนี้ นับแตวนั ที่ไดสงมอบหรือสงของออกจนถึงวันที่นําเงินมาชําระ และใหเรียกเก็บเบี้ยปรับรอยละ20 ของจํานวนคาภาษีอากรที่ตองชําระหรือชําระเพิ่มตามกฎหมาย หาก ผูชําระเงินเปนเช็คตอกรมศุลกากร ดังกลาว ไมนําเงินไปชําระภายใน 15 วัน นับแตวันที่ธนาคารปฏิเสธ การชําระเงินตามเช็ค ก็ใหสงงานคดีดําเนินการตอไป 4 ในกรณีที่บริษัท หาง รานนําเช็คมาชําระเงินผลประโยชนใหกับกรมศุลกากร แตจาํ นวนเงินในเช็คฉบับ ดังกลาวนัน้ มีจํานวนสูงกวาที่จะตองชําระจริงแลว ใหฝายบัญชีอากรรับเช็คฉบับดังกลาวนัน้ ไดใน เงื่อนไขตอไปนี้ คือ 4.1 บริษัท หางราน ที่เปนเจาของเช็ค และที่ไดนําเช็คฉบับนัน้ มาใชชําระแกฝายบัญชีอากร ไดสละสิทธิ์ทจี่ ะขอรับเงินสวนเกินคืนและยินยอมยกเงินสวนเกินนัน้ ใหแกกรมศุลกากร 4.2 การสละสิทธิ์และการยินยอมยกเงินสวนเกินนั้น ใหกับกรมศุลกากร ผูจัดการบริษัท หางรานหรือตัวแทนทีไ่ ดรับมอบอํานาจของบริษัท จะตองทําเปนหนังสือแจงการสละ สิทธิ์และยกเงินสวนเกินนัน้ ใหกับกรมศุลกากร ยื่นตอหัวหนาฝายบัญชีอากร หรือผูที่ ไดรับมอบหมายกอน และใหเปนอํานาจหนาที่ของผูอํานวยการสํานักงานศุลกากรหรือ ผูที่ไดรับมอบหมายที่จะสั่งการอนุมัติและใหถือวาเช็คฉบับนั้นมีผลใชชําระเงินคาอากร และเงินรายไดเบ็ดเตล็ด 4.3 เงินสวนเกินดังกลาวนั้นใหฝายบัญชีอากรรับเปนรายไดเบ็ดเตล็ด การรับชําระเงินคาภาษีอากรดวยบัตรภาษี บัตรภาษีที่จะนํามาชําระเปนคาภาษีอากรแทนเงินสดหรือเช็คนั้น ตองมีลักษณะดังนี้ 1 เปนบัตรภาษีทยี่ ังไมหมดอายุในวันที่นําบัตรมาใช หรือถามีการตออายุตองมีคําสั่ง อนุมัติที่ดานหลังบัตรภาษี โดยผูมีอํานาจลงลายมือชื่อในบัตรภาษี ลงลายมือชื่อกํากับ 2 เปนบัตรภาษีที่ระบุใหใชชําระคาภาษีอากร ณ กรมศุลกากร กรมสรรพากร และกรม สรรพสามิต 3 ผูมีอํานาจลงลายมือชื่อในบัตรภาษีถูกตองตามตัวอยางลายเซ็นที่กรมศุลกากร มอบหมาย
21
4 ชื่อที่ระบุไวในบัตรภาษีตรงกับชื่อผูนําของเขา หรือชื่อผูสงของออกในใบขนสินคาขา เขาหรือขาออก และตองไมเปนบัตรภาษีทฝี่ ายชดเชยอากร สวนคืนอากร ไดมีหนังสือ แจงมาวา เปนบัตรภาษีชํารุด สูญหาย หรือถูกทําลาย 5 ไมรับบัตรภาษี กรณีที่บตั รภาษีจํานวนเงินมากกวาเงินคาภาษีอากรที่ตองชําระ
การจัดเก็บคาธรรมเนียมของกรมศุลกากร คาธรรมเนียมที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติพิธีการศุลกากรที่สําคัญ ไดแก 1 คาธรรมเนียมศุลกากร 2 คาธรรมเนียมใบรับรองการนําเขา 3 คาธรรมเนียมใบรับรองการขนขึ้นบก 4 คาธรรมเนียมจําลองใบเสร็จรับเงิน 5 คาธรรมเนียมจําลองใบขนสินคา 6 คาธรรมเนียมออกเช็คใหม 7 คาธรรมเนียมโรงพักสินคาขาออก 8 คาธรรมเนียมคลังสินคาทัณฑบน 9 คาธรรมเนียมโรงพักสินคาเพื่อบรรจุเขาคอนเทนเนอร เพื่อการสงออก 10 คาธรรมเนียมโรงพักสินคาขาเขา 11 คาธรรมเนียมตออายุใบอนุญาตตาง ๆ 12 คาธรรมเนียมขนถายเกิน 21 วัน 13 คาธรรมเนียมรับรองเอกสาร 14 คาธรรมเนียมวิเคราะหตัวอยางสินคา 15 คาธรรมเนียมรับรองใบขน 16 คาธรรมเนียมรับของไปกอน 17 คาธรรมเนียมใบสุทธินาํ กลับ 18 คาธรรมเนียมประภาคาร 19 คาธรรมเนียมปลอยเรือ 20 คาธรรมเนียมคุมเฝา 21 คาธรรมเนียมประจําการนอกเขตที่ทําการศุลกากร 22 คามัดลวดประทับตรา กศก. 23 คาซีลแถบเหล็ก ฯลฯ
22
การขออนุญาตทําการลวงเวลา กรมศุลกากร เปนหนวยงานที่ใหบริการตลอด 24 ชั่วโมง ไมเวนวันหยุดราชการ เพื่อ อํานวยความสะดวกแกผูประกอบการนําเขาและสงออก โดยมีการจัดเก็บคาลวงเวลา ในการทําการ ลวงเวลาหลังเวลาราชการ 16.30 น. และในวันหยุดราชการ โดยมีขั้นตอนการปฏิบัติ ดังตอไปนี้ 1 การขออนุญาตทําการในวันหยุดราชการ ใหยนื่ คําขอตอพนักงานศุลกากรภายใน เวลาราชการ ในวันกอนวันที่ประสงคจะทําการหนึ่งวัน สวนการขออนุญาตทําการ กอนหรือหลังเวลาราชการใหยื่นคําขอภายในเวลาราชการ 2 ถามิไดดําเนินการตามใบอนุญาต ใหคืนคาธรรมเนียมที่ไดชําระแลวกึ่งหนึ่ง 3 คําขออนุญาตใหยนื่ โดยมีสาํ เนา 1 ฉบับ
23
ภาคผนวก - คําศัพท, คํานิยามทางการคาระหวางประเทศ - เขตการคาเสรี (Free Trade Area : FTA) - การคํานวณภาษีศุลกากร - การลงทะเบียนเปนผูผานพิธีการศุลกากรหรือดําเนินการในกระบวนการทางศุลกากร (Paperless) - แผนภูมิโครงสรางสํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง - ที่ตั้งสํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบังและพื้นที่รับผิดชอบ - หมายเลขโทรศัพท ผูประกอบการทาเรือแหลมฉบังและหนวยงานทีเ่ กีย่ วของ - การติดตองานราชการสํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง
24
คํานิยามทางการคาระหวางประเทศ Purchase Order (P/O) : คําสั่งซื้อหรือสัญญาทางการคา Invoice : ใบกํากับราคาสินคา Packing List : ใบกํากับหีบหอสินคา / ใบกําหนดรายละเอียดของสินคา Bill of Lading (B/L) : ใบตราสงสินคา เชน การสงสินคาทางอากาศ เรียก Air Way Bill , ทางรถไฟ เรียกวา Rail Way Bill, ทางรถบรรทุก เรียกวา Truck Way Bill และทางเรือ เรียกวา Bill of Lading Delivery order (D/O) : ใบสงมอบสินคา Certificate of Origin (C/O) : หนังสือรับรองแหลงกําเนิดสินคา - C/O Form A : ใชสําหรับสินคาที่อยูในรายการที่ไดรับสิทธิลดหยอนภาษีนําเขา เมื่อมี การสงออกไปยังประเทศผูใหสิทธิพิเศษ GSP เชน สหภาพยุโรป สวิตเซอรแลนด ญี่ปุน แคนาดา นอรเวย เปนตน - C/O Form D : ใชสําหรับสินคาที่อยูในรายการที่ไดรับสิทธิลดหยอนภาษีนําเขา เมื่อมี การสงออกไปยังกลุมประเทศอาเซียน 10 ประเทศ ที่มีขอตกลงทางอัตราภาษีศลุ กากร พิเศษรวมกัน ไดแก ไทย พมา ลาว เวียดนาม ฟลิปปนส กัมพูชา มาเลเซีย สิงคโปร บรูไน และอินโดนีเซีย - C/O Form E : ใชสําหรับสินคาที่อยูในรายการที่ไดรับสิทธิลดหยอนภาษีนําเขา เมื่อมี การสงออกไปยังจีน ตามขอตกลงวาดวยเขตการคาเสรีอาเซียน – จีน - C/O Form GSTP : ใชสําหรับสินคาที่อยูในรายการที่ไดรับสิทธิลดหยอนภาษีนําเขา เมื่อมีการสงออกไปยังประเทศกําลังพัฒนารวม 40 ประเทศที่มีการแลกเปลี่ยนสิทธิพิเศษ ทางการคารวมกัน เชน แอลจีเรีย อารเจนตินา บังกลาเทศ เบนิน โบลิเวีย บราซิล แคเมอรูน ซิลี คิวบา เกาหลีเหนือ เปนตน - C/O Form FTA : ใชสําหรับสินคาที่อยูในรายการทีไ่ ดรับสิทธิลดหยอนภาษีนําเขา เมือ่ มีการสงออกไปยังประเทศทีม่ ีขอตกลงวาดวยเขตการคาเสรีกับไทย ซึ่งในปจจุบนั มี 4 ประเทศ ไดแก ออสเตรเลีย นิวซีแลนด อินเดีย และจีน INCOTERMS (International Commercial TERMS) : เปนกฎขอตกลงทางการคาที่กลาวในเรื่องสิทธิ และความรับผิดชอบของระหวางผูซื้อ และผูขาย ในกระบวนการคาระหวางประเทศที่เกีย่ วกับการสง มอบสินคาจาก ผูขาย ไปใหผูซื้อวาแตละฝายตองรับผิดชอบมีภาระหนาที่ตองกระทําอะไรบางในการสง
25
มอบ ตลอดจนถึงคาใชจายในการขนสงตาง ๆ ดังกลาวหากเกิดขึ้น
และความรับผิดชอบในเรื่องความเสียหายของสินคา
EXW – Ex works (...named place) : เงื่อนไขการสงมอบนี้ ผูขายจะสิ้นสุดภาระการสงมอบสินคา เมื่อ ผูขายไดเตรียมสินคาไวพรอมสําหรับสงมอบใหกับผูซื้อ ณ สถานที่ของผูขายเอง โดยผูซื้อจะตอง รับผิดชอบคาใชจายตาง ๆ ในการขนสงสินคาไปยังคลังสินคาของผูซื้อเอง FOB – Free ON Board (...named port of shipment) : เงื่อนไขการสงมอบนี้ ผูขายจะสิ้นสุดภาระการ สงมอบสินคา เมื่อผูขายไดสงมอบสินคาขามกาบเรือขึ้นไปบนเรือสินคา ณ ทาเรือตนทางที่ระบุไว ผูขาย เปนผูรับผิดชอบการทําพิธีการสงออกดวย สวนคาใชจา ยในการขนสงสินคา และคาใชจายอืน่ ๆ รวมทั้ง ความเสี่ยงภัยในการขนสงสินคาเปนภาระของผูซื้อในทันทีที่ของผานกาบระวางเรือไปแลว C&F - Cost And Freight (...named port of destination) : เงื่อนไขการสงมอบนี้ ผูขายจะสิ้นสุด ภาระการสงมอบสินคาเมื่อ ผูขายไดสง มอบสินคาขามกาบเรือขึ้นไปบนเรือสินคา ผูขายเปนผูรบั ผิดชอบ ในการทําพิธีการสงออก และจายคาระวางขนสงสินคา สวนคาใชจายอื่น ๆ รวมทัง้ ความเสี่ยงภัยในการ ขนสงสินคาเปนภาระของผูซอื้ ในทันทีที่ของผานกาบระวางเรือไปแลว CIF – Cost Insurance and Freight (... named port of destination) : เงื่อนไขการสงมอบนี้ ผูขายจะ สิ้นสุดภาระการสงมอบสินคาเมื่อ ผูขายไดสงมอบสินคาขามกาบเรือขึ้นไปบนเรือสินคา ผูขายเปน ผูรับผิดชอบในการทําพิธีการสงออกจายคาระวางเรือ และคาประกันภัยขนสงสินคาเพื่อคุมครองความ เสี่ยงภัยในการขนสงสินคาจนถึงมือผูซื้อใหแกผูซื้อดวย NOTIFY PARTY หมายถึง ผูรับสินคา หรือผูรับโอนสิทธิ์ในสินคาจาก Consignee
26
เขตการคาเสรี (Free Trade Area : FTA) เขตการคาเสรี (FTA) คืออะไร? FTA เปนความตกลงระหวาง 2 ประเทศขึ้นไป โดยมีวัตถุประสงคเพื่อจะลดอุปสรรคทางการคา ระหวางกันใหเหลือนอยที่สดุ เพื่อใหเกิดการคาเสรีระหวางกัน และปจจุบันประเทศตางๆ ก็ไดขยาย ขอบเขตของ FTA ใหครอบคลุมการคาดานบริการ อาทิ บริการทองเที่ยว การรักษาพยาบาล การสื่อสาร การขนสง ฯลฯ พรอมกับความรวมมือในดานตางๆ เชน การลงทุน การคุมครองทรัพยสินทางปญญา และการอํานวยความสะดวกทางการคาดวย วัตถุประสงคของ FTA FTA สะทอนแนวคิดสําคัญทางเศรษฐศาสตรที่วา "ประโยชนจากการคาระหวางประเทศจะ เกิดขึ้นสูงสุดเมื่อประเทศตางๆ ผลิตสินคาที่ตนมีตนทุนในการผลิตต่ําที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศ อื่นๆ แลวนําสินคาเหลานั้นมาคาขายแลกเปลี่ยนกัน" ซึ่งในโลกแหงความเปนจริงนัน้ ประโยชนสูงสุด ดังกลาวจะไมเกิดขึ้น หากยังมีการเก็บภาษีขาเขาและมีการใชมาตรการกีดกันทางการคาตางๆ ซึ่งสงผล บิดเบือนราคาที่แทจริงของสินคา และทําใหการคาขายไมเปนไปอยางเสรีและมีประสิทธิภาพ พรอมกันนี้ FTA ถือเปนเครื่องมือทางการคาสําคัญที่ประเทศตางๆ สามารถใชเพื่อขยายโอกาสในการคา สราง พันธมิตรทางเศรษฐกิจพรอมๆกับเพิ่มความสามารถในการแขงขันดานราคาใหแกสินคาของตน เนือ่ งจาก สินคาที่ผลิตใน FTA จะถูกเก็บภาษีขาเขาในอัตราที่ต่ํากวาสินคาที่ผลิตในประเทศอื่นๆ ที่ไมใชสมาชิก FTA จึงทําใหสินคาที่ผลิตภายในกลุมได เปรียบในดานราคากวาสินคาจากประเทศนอกกลุม ลักษณะสําคัญของ FTA FTA จะมีรูปแบบเปนอยางไรนั้นก็ขึ้นอยูก ับประเทศคูส ัญญา FTA จะตกลงกัน ไมมีกฎเกณฑ กําหนดตายตัววา FTA จะตองมีลักษณะอยางไร แตถงึ กระนั้นก็ดี ทุก FTA จะมีลักษณะพื้นฐานที่ เหมือนกันอยู 3 ประการ คือ - มีวัตถุประสงคเพื่ออํานวยความสะดวกทางการคา และไมสรางอุปสรรคทางการคาเพิ่มตอ ประเทศอื่นๆ ที่ไมใชสมาชิก (No fortress effects) - ครอบคลุมการคาระหวางประเทศมากพอ (Substantial coverage) ซึ่งเปนกติกาที่ WTO กําหนดไวเพื่อปกปองและปองกันผลกระทบของ FTA ที่จะมีตอประเทศอื่นๆ ที่ไมใชสมาชิก ของ FTA นั้นๆ - มีตารางการลดภาษีหรือเปดเสรีที่ประเทศคูสัญญา FTA เจรจากันวาจะลดภาษีใหแกกันใน สินคาใดบาง จะลดอยางไร และจะใชระยะเวลายาวนานเทาไรในการลด
ขอมูลจาก
www.thaifta.com , www.dtn.moc.go.th
27
เขตการคาเสรีกับการใชสิทธิพิเศษทางศุลกากร เพื่อเปนการปฏิบัติตามความตกลงที่ประเทศไทยไดลงนามกับประเทศภาคี กรมศุลกากร จึง ไดมีประกาศกรมฯ เพื่อกําหนดระเบียบปฏิบัติในการใชสิทธิลดหยอนหรือยกเวนอากร โดยในที่นี้จะ กลาวถึงเฉพาะความตกลงที่สําคัญ ดังนี้ 1 ขอตกลงองคการการคาโลก (WTO) สําหรับของตามภาค 2 แหงพระราชกําหนดพิกดั อัตราศุลกากร พ.ศ.2530 ยกเวนสินคาเทคโนโลยีสารสนเทศ 1.1 หลักการทั่วไป ตองปฏิบัติตามระเบียบพิธีการที่กรมศุลกากรกําหนดไวตาม ประกาศกรมศุลกากร ที่ 118/2549 1.2 เอกสารที่ตองยื่นกอนการนําของออกจากอารักขาของศุลกากร - หนังสือรับรองแสดงการไดรับสิทธิชําระภาษีตามพันธกรณีฯ สําหรับภาษี ในโควตา (แบบ ร.2) หรือภาษีนอกโควตา (แบบ ร.4) ที่ออกโดยกรมการคา ตางประเทศ หรือแสดงหนังสือรับรองที่ออกโดยกรมสรรพสามิต สําหรับใบยาสูบ - เอกสารแสดงถิ่นกําเนิดสินคา ในรูปแบบบัญชีราคาสินคาหรือเอกสารอื่นใด 2 ขอตกลงองคการการคาโลก (WTO) สําหรับสินคาเทคโนโลยีสารสนเทศ 2.1 หลักการทั่วไป ตองปฏิบัติตามระเบียบพิธีการที่กรมศุลกากรกําหนดไวตาม ประกาศกรมศุลกากร ที่ 119/2549 2.2 เอกสารที่ตองยื่นกอนการนําของออกจากอารักขาของศุลกากร - เอกสารแสดงถิ่นกําเนิดสินคา ในรูปแบบบัญชีราคาสินคาหรือเอกสารอื่นใด - เอกสารทางการคา เชน แคตตาล็อก คูมือ หรือเอกสารเกี่ยวกับคุณลักษณะของ สินคา 3 เขตการคาเสรีอาเซียน AFTA 3.1 หลักการทั่วไป ตองปฏิบัติตามระเบียบพิธีการที่กรมศุลกากรกําหนดไวตาม ประกาศกรมศุลกากร ที่ 61/2551 3.2 เอกสารที่ตองยืน่ กอนการนําของออกจากอารักขาของศุลกากร - หนังสือรับรองถิ่นกําเนิดสินคา (Form D) - เอกสารทางการคา เชน แคตตาล็อก คูมือ หรือเอกสารเกี่ยวกับคุณลักษณะของ สินคา 4 เขตการคาเสรีอาเซียน-จีน 4.1 หลักการทั่วไป ตองปฏิบัติตามระเบียบพิธีการที่กรมศุลกากรกําหนดไวตาม ประกาศกรมศุลกากร ที่ 122/2549 4.2 เอกสารที่ตองยืน่ กอนการนําของออกจากอารักขาของศุลกากร หนังสือรับรองถิ่นกําเนิดสินคา (Form E)
28
5 ไทย-จีน 5.1 หลักการทั่วไป ตองปฏิบัติตามระเบียบพิธีการที่กรมศุลกากรกําหนดไวตาม ประกาศกรมศุลกากร ที่ 125/2549 5.2 เอกสารที่ตองยืน่ กอนการนําของออกจากอารักขาของศุลกากร หนังสือรับรองถิ่นกําเนิดสินคา (Form E) 6 ไทย-อินเดีย 6.1 หลักการทั่วไป ตองปฏิบัติตามระเบียบพิธีการที่กรมศุลกากรกําหนดไวตาม ประกาศกรมศุลกากร ที่ 126/2549 6.2เอกสารที่ตองยืน่ กอนการนําของออกจากอารักขาของศุลกากร หนังสือรับรองถิ่นกําเนิดสินคา (Form FTA India – Thailand) 7 ไทย- ออสเตรเลีย 7.1 หลักการทั่วไป ตองปฏิบัติตามระเบียบพิธีการที่กรมศุลกากรกําหนดไวตาม ประกาศกรมศุลกากร ที่ 127/2549 7.2 เอกสารที่ตองยื่นกอนการนําของออกจากอารักขาของศุลกากร - เอกสารรับรองถิ่นกําเนิดสินคา - หนังสือรับรองแสดงการไดรับสิทธิชําระภาษีตามความตกลงฯ สําหรับภาษี ในหรือนอกโควตา จากกรมการคาตางประเทศ 8 ไทย-นิวซีแลนด 8.1 หลักการทั่วไป ตองปฏิบัติตามระเบียบพิธีการที่กรมศุลกากรกําหนดไวตาม ประกาศกรมศุลกากร ที่ 128/2549 8.2 เอกสารที่ตองยืน่ กอนการนําของออกจากอารักขาของศุลกากร - เอกสารแสดงถิ่นกําเนิดสินคา ในรูปแบบบัญชีราคาสินคาหรือเอกสารอื่นใด - หนังสือรับรองแสดงการไดรับสิทธิชําระภาษีตามความตกลงฯ สําหรับภาษี ในหรือนอกโควตา จากกรมการคาตางประเทศ 9 ไทย-ญี่ปุน 9.1 หลักการทั่วไป ตองปฏิบัติตามระเบียบพิธีการที่กรมศุลกากรกําหนดไวตาม ประกาศกรมศุลกากร ที่ 83/2550 9.2 เอกสารที่ตองยืน่ กอนการนําของออกจากอารักขาของศุลกากร - เอกสารแสดงถิ่นกําเนิดสินคา - หนังสือรับรองแสดงการไดรับสิทธิชําระภาษีตามความตกลงฯ สําหรับภาษี ในหรือนอกโควตา จากกรมการคาตางประเทศ หรือ - หนังสือรับรองแสดงการไดรับสิทธิชําระภาษีฯ จากกระทรวงอุตสาหกรรม
ขอมูลจาก www.thaifta.com , www.dtn.moc.go.th
29
การคํานวณภาษีศุลกากร ภาษีศุลกากร ราคา CIF อัตราภาษีอากร พิกัดอัตราภาษีอากร
=
ราคา CIF
x
อัตราภาษีอากร
ราคาสินคา + คาประกันภัย + คาขนสง คํานวณเปนเงินบาท (ใชอัตราแลกเปลี่ยนตามประกาศของกรมศุลกากร) ตามที่กําหนดในภาค 2 แหงพระราชกําหนดพิกดั อัตราศุลกากร พ.ศ. 2530 การแบงกลุมสินคาทั้งหมดทีม่ ีการซื้อขายหรือมีการนําเขาสงออกระหวาง ประเทศ ออกเปนประเภทยอย โดยใชรหัสกํากับ และกําหนด อัตราคาอากรศุลกากรของแตละประเภทยอยนั้นไว ระบบ Harmonized
ภาษีอื่นๆ ที่เกี่ยวของ ภาษีมูลคาเพิ่ม
ภาษีมูลคาเพิ่ม (Value Added Tax : VAT) หมายถึง ภาษีที่จัดเก็บจากมูลคาของ สินคาหรือบริการที่เพิ่มขึ้นในแตละขั้นตอนของการผลิตและการจําหนายสินคา หรือบริการนัน้ ๆ ฐานภาษีสําหรับการนําเขามูลคาของสินคานําเขาโดยใหใช ราคา C.I.F. ของสินคาบวกดวยอากรขาเขา ภาษีสรรพสามิตตามที่กําหนด คาธรรมเนียมพิเศษตามกฎหมายวาดวยการสงเสริมการลงทุน และภาษีหรือ คาธรรมเนียมอื่นที่กฎหมายจะกําหนด
ภาษีสรรพสามิต
ภาษีตามกฎหมายวาดวยภาษีสรรพสามิตซึ่งเรียกเก็บตามพิกัดอัตราทาย พระราชบัญญัติพิกัดอัตราภาษีสรรพสามิต พระราชบัญญัติสุรา พระราชบัญญัติ ยาสูบ และพระราชบัญญัติไพ
ภาษีเพื่อมหาดไทย
ภาษีที่เก็บเพิ่มตามพระราชบัญญัติจัดสรรเงินภาษีสรรพสามิตและ พระราชบัญญัติจัดสรรเงินภาษีสุรา เพื่อนําไปจัดสรรใหแกกรุงเทพมหานคร และราชการสวนทองถิ่นซึ่งผูนําของเขาจะแสดง โดยคํานวณในอัตรา 10% ของยอดภาษีสรรพสามิต
คาธรรมเนียม ภาษีอื่น คาธรรมเนียมหรือภาษีอื่นที่มีพระราชกฤษฎีกากําหนด ซึ่งจะตองนํามารวม เปนฐานภาษีในการคํานวณภาษีสรรพสามิต และภาษีมูลคาเพิ่ม
30
ตัวอยางการคํานวณคาภาษีอากร บริษัท ก จํากัด นําเขาสินคามายังประเทศไทย ราคาสินคา และอัตราภาษีอากรศุลกากรและภาษี อื่น ๆ ตามรายละเอียดดังนี้ • ราคา CIF = 200 • อัตราภาษีอากร = 60 % • ภาษีสรรพสามิต = 30 % • ภาษีเพื่อมหาดไทย = 10 % • ภาษีมูลคาเพิม่ = 7 % วิธีการคํานวณภาษีอากร 1 ภาษีศุลกากร = (ราคา CIF x อัตราภาษีอากร) = (200 x 0.6) = 120 (หมายเหตุ : มูลคา 120 จะถูกนํามาใชในการคํานวณคาภาษีสรรพสามิต และภาษีมูลคาเพิ่ม) 2 ภาษีสรรพสามิต = (ราคา CIF + ภาษีอากร) x
อัตราภาษีสรรสามิต 1-(1.1x อัตราภาษีสรรพสามิต)
= (200+120) x
0.3 1-(1.1x0.3) = 320 x 0.4477612 = 143 3 ภาษีเพื่อมหาดไทย = ภาษีสรรพสามิต x อัตราภาษีเพื่อมหาดไทย = 143 x 0.1 = 14 4 ฐานภาษีมูลคาเพิ่ม = ราคา CIF + ภาษีศุลกากร + ภาษีสรรพสามิต + ภาษีเพื่อมหาดไทย = 200 + 120 + 143 + 14 = 477 5 ภาษีมูลคาเพิ่ม = ฐานภาษีมูลคาเพิ่ม x อัตราภาษีมูลคาเพิ่ม = 477 x 0.07 = 34 อัตราภาษีอากรทุกประเภท รวม ( 1 + 2 + 3 + 5 ) 120 + 143 + 14 + 34 = 311
31
การลงทะเบียนเปนผูผานพิธีการศุลกากรหรือดําเนินการในกระบวนการทางศุลกากร(Paperless) ผูประกอบการสามารถกรอกแบบฟอรมการลงทะเบียนจากเว็บไซตของกรมศุลกากร ตามขั้นตอนปฏิบัติ ดังนี้ 1 Download http://www.customs.go.th 2 เลือกหัวขอ “การลงทะเบียนเปนผูผานพิธีการศุลกากร” 3 เลือกกรอกแบบฟอรมตามประเภทของการลงทะเบียน ตามแบบแนบทายหมายเลข 1 ถึง แบบแนบทายหมายเลข 6 4 แนบสําเนาหลักฐานประกอบการลงทะเบียนตามที่ระบุไวทายแบบคําขอลงทะเบียน 5 ยื่นแบบคําขอลงทะเบียนฝายบริหารงานทัว่ ไป สํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง 6 เจาหนาทีต่ รวจสอบแบบคําขอลงทะเบียนและเอกสารหลักฐาน ดังนี้ 6.1 เอกสารหลักฐานครบถวน/ถูกตอง - เจาหนาที่ออกใบตอบรับการลงทะเบียน - เจาหนาที่บันทึกขอมูลลงทะเบียน - อนุมัติใหผูลงทะเบียนเปนผูผานพิธีการศุลกากรหรือดําเนินการใน กระบวนการ ทางศุลกากร ระยะเวลาแลวเสร็จภายใน 30 นาที 6.2 เอกสารหลักฐานไมครบถวน/ไมถูกตอง - สงคืนเพื่อดําเนินการแกไขใหถูกตอง อนึ่ง กรณีการขอเปลี่ยนแปลงขอมูลทะเบียนผูผานพิธีการศุลกากร หรือดําเนินการใน กระบวนการทางศุลกากร (Paperless) ผูประกอบการ สามารถดําเนินการตามขั้นตอนดังกลาวได ยกเวน ในขอ 3 กรณีการขอเปลี่ยนแปลง/เพิ่มเติมตามประเภทของการลงทะเบียน ใหเลือกแบบแนบทายหมายเลข 7 และตามเลขทีห่ นาของแบบแนบทายประเภทของการลงทะเบียน ผูประกอบการ (ผูผานพิธีการศุลกากรหรือดําเนินการในกระบวนการทางศุลกากร) หมายถึง 1. ผูผานพิธีการศุลกากร (ผูนําเขา – ผูสงออก) 2. ตัวแทนออกของ 3. ผูรับผิดชอบการบรรจุ 4. ตัวแทนผูรายงานยานพาหนะเขา – ออก 5. ธนาคารศุลกากร (Customs Bank) 6. เคานเตอรบริการ
32
การเขาสูระบบ e-Customs (Paperless) ผูประกอบการลําดับที่ 1- 5 ที่จะเขาสูระบบ e-Customs สามารถเลือกวิธีการรับ-สงขอมูลไดดังนี้ 1 ผูประกอบการมีความประสงคจะรับ – สงขอมูลและลงลายมือชื่อทางอิเล็กทรอนิกส ตอง ดําเนินการจัดหา Software, Vans และใบรับรองลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส และทดลองการ รับ – สงขอมูลพรอมจัดสงรายงานตามแบบที่สํานักเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กําหนด เมื่อผานการทดสอบแลว จะไดรบั รหัส(USER) สําหรับใชในการรับ – สงขอมูลเขา สูระบบ e-Customs 2 ผูประกอบการไมประสงคจะรับ – สงขอมูลเอง แตเลือกใชบริการของตัวแทนออกของ ซึ่ง เลือกปฏิบัติได 2 แนวทาง 2.1 ผูประกอบการลงลายมือชื่อทางอิเล็กทรอนิกสเอง และตองจัดหาใบรับรอง ลายมือ ชื่ออิเล็กทรอนิกส 2.2 ผูประกอบการมอบอํานาจใหตัวแทนออกของเปนผูลงลายมือชื่อทาง อิเล็กทรอนิกส แทน โดยตองกรอกแบบ “คําขอลงทะเบียนผูผานพิธีการ ศุลกากรทางอิเล็กทรอนิกสแบบ ไรเอกสาร” 3 ผูประกอบการที่ตองลงทะเบียนตามประกาศกรมศุลกากรที่ 20/2550 ใบรับรองลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส ไดแก
แตไมตองจัดหา
3.1 กรณีมอบอํานาจใหตวั แทนออกของเปนผูรับ–สงขอมูลและลงลายมือชื่อ อิเล็กทรอนิกสแทน 3.2 กรณีใชเคานเตอรบริการ ผูประกอบการตองนําขอมูลใบขนสินคา และเอกสารที่ เกี่ยวของกับการนําเขาทั้งหมดมาใหเคานเตอรบริการบันทึกขอมูลเขาสูระบบคอมพิวเตอร ของ กรมศุลกากร และจะทําการพิมพใบขนสินคาใหผูประกอบการลงลายมือชื่อ 3.3 กรณีเปนผูรับโอนบัตรภาษี
33
ขั้นตอนแนวทางการลงทะเบียนเปนผูผานพิธีการสํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง 1. Download www.customs.go.th
2.
ลงทะเบียน
3. กรอกแบบฟอรม ตามประเภท 4. แนบสําเนา หลักฐาน 5. ยื่นแบบคําขอ ลงทะเบียน
6. ตรวจสอบ แบบคําขอ
34
โครงสรางสํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง ฝายบริหารงานทั่วไป สวนบริการกลาง
สวนบริการศุลกากร
สวนควบคุมทางศุลกากร
ฝายพิธีการกลาง
ฝายสืบสวนและปราบปราม
ฝายบัญชีอากร
ฝายทบทวนและตรวจสอบ
ฝายวิเคราะหสินคา ฝายบริการศุลกากรที่ 1 (Ao, B1, B2, B3) ฝายบริการศุลกากรที่ 2 (B4 , B5, C3) ฝายบริการศุลกากรที่ 3 (A1, A2, A3, A4, A,5) คลังสินคาอันตราย, ทาเรือเอกชน ฝายบริการศุลกากรที่ 4 (Co, C1, C2)
ฝายคดี ฝายของกลางและของตกคาง ฝายบริการศุลกากรที่ 5 (ปโตรเลียม/เคมีภัณฑ) ฝายบริการศุลกากรที่ 6(นิคมฯ/เขตปลอดอากร/ทัณฑบน) ศูนยเอ็กซเรยและเทคโนโลยีทางศุลกากร
35
สํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง ใน พ.ศ. 2525 รัฐบาลมีนโยบายโครงการสรางทาเรือน้ําลึกคือ ทาเรือพาณิชยแหลมฉบัง เพื่อพัฒนาพืน้ ที่ชายฝงทะเลภาคตะวันออกรวมทั้งรองรับความแออัดของทาเรือกรุงเทพ กรมศุลกากร จึง ไดเริ่มใหบริการดานพิธีการศุลกากรตั้งแตวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2534 ตอมากระทรวงการคลังไดออก กฎกระทรวงฉบับที่ 89 (พ.ศ. 2534) ลงวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2534 กําหนดใหทาเรือแหลมฉบัง อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี เปนเขตศุลกากร และเปนทาเรือทีส่ ําหรับการนําเขาหรือสงออกของทุก ประเภท กรมศุลกากรจึงจัดตั้งดานศุลกากรขึ้น ใหชื่อวา “ดานศุลกากรแหลมฉบัง” หลังจากการปฏิรูประบบราชการ ดานศุลกากรแหลมฉบัง ไดรับการยกฐานะใหเปน สํานักงานศุลกากรแหลมฉบัง ตามกฎกระทรวงแบงสวนราชการ กรมศุลกากร กระทรวงการคลัง พ.ศ. 2545 ลงวันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2545 ตอมากรมศุลกากรโดยยกเลิกการใชระบบEDI และใหสํานักงานศุลกากรทาเรือแหลม ฉบังเปนหนวยงานนํารองบริการผานพิธีการสงออกทางอิเล็กทรอนิกสแบบไรเอกสาร(e-Export) สําหรับ ใบขนสินคาขาออกที่สําแดงทารับบรรทุกทั้งหมด อยางเต็มรูปแบบ ตั้งแตวนั ที่ 1 กรกฎาคม 2550 และ เริ่มใชระบบผานพิธีการนําเขาทางอีกเล็กทรอนิกสแบบไรเอกสาร (e-Import) ตั้งแตวนั ที่ 1 มกราคม 2551 เปนตนไป ผูประกอบการที่จะติดตอราชการ จะตองยืน่ คํารองขอทําการลงทะเบียนผานพิธีการศุลกากร หรือดําเนินการในกระบวนงานทางศุลกากร โดยปฏิบัติตามหลักเกณฑและวิธีการในการขอลงทะเบียน ตามที่กําหนดไวในแบบคําขอลงทะเบียนแนบทายประกาศกรมศุลกากรที่ 20/2550 เขตพื้นที่รับผิดชอบ สํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง ตั้งอยู ณ เลขที่ 919 ต.ทุงสุขลา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี 02230 ในทาเรือแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี รับผิดชอบในเขตพื้นที่จังหวัดชลบุรี ยกเวนอําเภอสัตหีบ มี ผูประกอบการทาเรือ (Terminal) ทาเรือเอกชน, คลังสินคาอันตราย, เขตปลอดอากร, เขตประกอบการเสรี (เขตอุตสาหกรรมสงออก), คลังสินคาทัณฑบน, คลังสินคาอันตราย, คลังอูซอมสรางเรือ, ที่ทอดเรือ ภายนอก ที่อยูใ นความดูแลและรับผิดชอบ ดังนี้ 1 ผูประกอบการทาเรือ (Terminal) และทาเรือเอกชน (1.1) ทาเทียบเรือ A0 บริษัทแอล ซี เอ็ม ที จํากัด (1.2) ทาเทียบเรือ A1 บริษัทแหลมฉบัง ครูซ เซ็นเตอร จํากัด (1.3) ทาเทียบเรือ A2 บริษัทไทยแหลมฉบัง เทอรมินัล จํากัด (1.4) ทาเทียบเรือ A3 บริษัทฮัทชิสัน แหลมฉบัง เทอรมินัล จํากัด (1.5) ทาเทียบเรือ A4 บริษัทอาวไทยคลังสินคา จํากัด (1.6) ทาเทียบเรือ A5 บริษัทนามยง เทอรมนิ ัล จํากัด (1.7) ทาเทียบเรือ B1 บริษัทแอล ซี บี คอนเทนเนอร เทอรมินัล จํากัด
36
2 3
4
5 6
7
(1.8) ทาเทียบเรือ B2 บริษัทเอเวอรกรีน คอนเทนเนอร เทอรมินัล (1.9) ทาเทียบเรือ B3 บริษัทอิสเทิรน ซี แหลมฉบัง เทอรมินัล จํากัด (1.10) ทาเทียบเรือ B4 บริษัททีไอ พี เอส จํากัด (1.11) ทาเทียบเรือ B5,C3 บริษัทแหลมฉบัง อินเตอรเนชั่นแนล เทอรมินลั จํากัด (1.12) ทาเทียบเรือC0 บริษัทฮัทชิสัน โร-โรเทอรมินัล(ประเทศไทย) จํากัด (1.13) ทาเทียบเรือ C1, C2 บริษัทฮัทชิสัน แหลมฉบัง เทอรมินัล จํากัด (1.14) ทาเรือเอกชน บริษัทเคอรรี่ สยามซีพอรต จํากัด (1.15) ทาเรือเอกชน บริษัทศรีราชา ฮาเบอร จํากัด (มหาชน) คลังสินคาอันตราย - บริษัท เจ ดับเบิ้ลยู ดี อินโฟโลจิสติกส จํากัด เขตปลอดอากร 7 แหง (3.1) เขตปลอดอากรอมตะนคร (3.2) เขตปลอดอากรเจดับเบิ้ลยูดี แหลมฉบัง (3.3) เขตปลอดอากรไทยพับลิคพอรต เกาะสีชัง (3.4) เขตปลอดอากรบริษัทมิตซูบิชิ มอเตอร (3.5) เขตปลอดอากร ปตท. จํากัด(มหาชน) (3.6) เขตปลอดอากรนามยง เทอรมนิ อล (3.7) เขตปลอดอากร เคอรรี่ โลจิสติกส เขตประกอบการเสรี 2 แหง (4.1) เขตประกอบการเสรี นิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง (4.2) เขตประกอบการเสรี นิคมอุตสาหกรรมเหมราชชลบุรี คลังสินคาทัณฑบน(ทัว่ ไป, โรงผลิตสินคาและนิทรรศการ) 11 บริษัท 13 คลังฯ คลังสินคาทัณฑบนสําหรับอูซอมหรือสรางเรือ (6.1) บริษัท ชีโบต จํากัด (6.2) บริษัท ยูนไิ ทย ชิปยารด แอนด เอนจิเนียริ่ง จํากัด ที่ทอดเรือภายนอกเกาะสีชัง
37
หมายเลขโทรศัพท ผูประกอบการทาเรือแหลมฉบังและหนวยงานที่เกี่ยวของ ลําดับ 1 2 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18
บริษัท ทาเรือแหลมฉบัง (Laem Chabang Port)
ทาเรือ
โทรศัพท
โทรสาร
A0 A-1 A-2 A-3 A-4 A-5 B-1
(038)490000 (038)491200 (038)401620 (038)408700 (038)408700 (038)401640 (038)401062-4 (038)491200
(038)490146 (038)491209 (038)401635 (038)408714-5 (038)408714-5 (038)401644 (038)401061 (038)491209
บริษัท แอล ซี เอ็ม ที จํากัด บริษัท แหลมฉบัง ครูซ เซ็นเตอร บริษัท ไทยแหลมฉบัง เทอรมินัล จํากัด บริษัท ฮัทชิสนั แหลมฉบัง เทอรมินัล จํากัด บริษัท อาวไทยคลังสินคา บริษัท นามยง เทอรมินัล จํากัด บริษัท แอล ซีบี คอนเทนเนอร เทอรมินัล 1 จํากัด บริษัท เอเวอรกรีน คอนเทนเนอร เทอรมินัล B-2 (038)490052 (038)490070 (ประเทศไทย) จํากัด B-3 (038)491255 (038)490081 บริษัท อีสเทิรนซี แหลมฉบัง เทอรมินัล จํากัด B-4 (038)490111 (038)490182 บริษัท ที ไอ พี เอส จํากัด บริษัท แหลมฉบัง อินเตอรเนชั่นแนล เทอรมินัล B-5 , C-3 (038)408200 (038)408281 จํากัด (038)773069-80 (038)773082,312630 บริษัท ศรีราชาฮารเบอร (มหาชน) จํากัด (038)352325-9 (038)352340 บริษัท เคอรี่สยาม ซีพอรต จํากัด บริษัท ฮัทชิสนั โร-โร เทอรมินัล (ประเทศไทย) จํากัด C0 (038) 408900 (038) 408900 บริษัท ฮัทชิสนั แหลมฉบัง เทอรมินัล จํากัด C1&C2 (038) 408900 (038) 408900 สํานักงานนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง (038) 490425 (038) 490940 ศูนยเศรษฐกิจการลงทุนภาคที่ 4 (038) 491820 (038)490479 คลังฯ บริษัท เจดับเบิ้ลยู ดี อินโฟโลจิสติกส จํากัด อันตราย (038) 492492 (038)409324
38
การติดตอราชการสํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง การใหบริการที่ สทบ. 1 เคานเตอรประชาสัมพันธใหขอมูล ขาวสารเบื้องตน 2 การคืนอากรทัว่ ไป 3 เก็บภาษีที่ฝายบัญชี และการเงิน 4 ใหคําปรึกษาเกี่ยวกับการสงออกที่ศูนยบริการนําเขา และสงออก 5 ใหบริการรับรายงานเรือเขา, ไปรษณีย, งานควบคุมการเติมน้ํามันสําหรับเรือที่เดินทางไป ตางประเทศ ที่ฝายรับเรือ ชั้น 2 6 มีเจาหนาที่ประจําเพื่อทําการตรวจปลอยสินคาในแตละทา 7 บริการตรวจสินคาดวยเครื่อง X-ray จํานวน 2 ศูนย หนวยงานที่ตงั้ อยูภายในอาคาร ติดตอผูบริหาร : - ผูอํานวยการสํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง ติดตอ ชั้น 4 - ผูอํานวยการสวนบริการกลาง ติดตอ ชั้น 1 - ผูอํานวยการสวนบริการศุลกากร ติดตอ ชั้น 2 - ผูอํานวยการสวนควบคุมทางศุลกากร ติดตอ ชั้น 3 ติดตองานพิธกี ารศุลกากร * ชั้น 1 - ฝายพิธีการกลาง (งานพิธีการ 1,2, 3) หองประชุม - ฝายบัญชีอากร - ฝายบริการศุลกากรที่ 1 (สินคาขาเขา) - ฝายบริการศุลกากรที่ 2 (สินคาขาเขา) - เคานเตอรประชาสัมพันธ * ชั้น 2 - ฝายพิธีการกลาง (งานตรวจรับเรือ, งานไปรษณีย, งานควบคุมการเติมน้ํามัน สําหรับเรือที่เดินทางไปตางประเทศ) - ฝายบริการศุลกากรที่ 3 (สินคาขาเขา) - ฝายบริการศุลกากรที่ 4 (สินคาขาออก) - ฝายบริการศุลกากรที่ 5 (ปโตรเลียมเคมีภณ ั ฑ) - ศูนยรับเรื่องราวรองทุกข
39
การติดตอหนวยงานที่ตองการทราบ เรื่องงานทีต่ องการติดตอ
หนวยงานที่รับผิดชอบ
หมายเลขโทรศัพท
สํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง
งานประชาสัมพันธ
ติดตามหนังสือ รับ-สงเอกสาร การลงทะเบียน Paperless งานรับเรือ งานไปรษณีย งานควบคุมการเติมน้ํามันสําหรับเรือฯ การชําระคาภาษีอากร, ขออนุญาตทําลวงเวลา การวิเคราะหและทดสอบตัวอยางสินคา งานที่ทอดเรือภายนอกเกาะสีชัง การปฏิบัติพิธีการศุลกากร - พิจารณาและอนุมัติคําขอยกเวน/ลดหยอนอากร - ควบคุมและขนถาย/ตรวจปลอยสินคา - การตรวจสอบ รับรองและนําสงใบอนุญาต ทําหนาที่เชนเดียวกับฝายบริการศุลกากรที่ 1-3 - เช็คสถานะใบขนฯ ตรวจสอบขอมูลขาออก ทําหนาที่เชนเดียวกับฝายบริการศุลกากรที่ 1- 3 - ควบคุมการขนถายผลิตภัณฑปโตรเลียม ทําหนาที่เชนเดียวกับฝายบริการศุลกากรที่ 1 – 5 เกี่ยวกับคลังสินคาทัณฑบน/เขตปลอดอากร ตรวจสอบสินคาดวยเครื่องเอกซเรย การกระทําผิดตามกฎหมายศุลกากร การทบทวนขอมูลเอกสารหลังผานพิธีการ งานคดี / การขอเบิกจายเงินสินบนรางวัล การจําหนายของกลางและของตกคาง
ฝายบริหารงานทั่วไป ฝายบริหารงานทั่วไป ฝายพิธีการกลาง ฝายพิธีการกลาง ฝายพิธีการกลาง ฝายบัญชีอากร ฝายวิเคราะหสินคา ฝายพิธีการกลาง ฝายบริการศุลกากรที่ 1 ฝายบริการศุลกากรที่ 2 ฝายบริการศุลกากรที่ 3
038 – 407777 www.lcbcustoms.net 038 - 407717 038 - 407716 038 - 407820 038 - 407827 038 - 407824 038 - 407885 038 - 407726 038 - 216175 038 - 407829 038 - 407855 038 - 407769
ฝายบริการศุลกากรที่ 4
038 - 407723
ฝายบริการศุลกากรที่ 5
038 - 407803
ฝายบริการศุลกากรที่ 6
038 - 400189
ศูนยเอกซเรยฯ ฝายสืบสวน ฯ ฝายทบทวนฯ ฝายคดี ฝายของกลาง ฯ
038 - 407894 038 - 407891 038 - 407746 038 - 407743 038 - 407889
40
สารบัญ หนา กรมศุลกากร : วิสัยทัศน, พันธกิจ, ยุทธศาสตร, ภารกิจ พิธีการศุลกากร : เอกสารที่ควรเตรียมไว ในการปฏิบัติพิธีการศุลกากร พิธีการนําเขา แผนภูมแิ สดงขั้นตอนการนําเขาสินคาทางเรือทั้งกระบวนการ ขั้นตอนการปฏิบัติพิธีการศุลกากรนําเขาทางอิเล็กทรอนิกส (e-Import) แผนภูมแิ สดงการปฏิบัติพิธีการศุลกากรนําเขาทางอิเล็กทรอนิกส (e-Import) พิธีการสงออก แผนภูมแิ สดงขั้นตอนการสงออกสินคาทางเรือทั้งกระบวนการ ขั้นตอนการปฏิบัติพิธีการศุลกากรสงออกทางอิเล็กทรอนิกส(e-Export) แผนภูมแิ สดงการปฏิบัติพิธีการศุลกากรสงออกทางอิเล็กทรอนิกส (e-Export) พิธีการศุลกากรอื่น ๆ : พิธีการการนําเขาของใชสวนตัวและของใชในบานเรือน พิธีการนําเขายานพาหนะสวนบุคคล การชําระคาภาษีอากร การจัดเก็บคาธรรมเนียมศุลกากร การขออนุญาตทําการลวงเวลา ภาคผนวก : คํานิยามทางการคาระหวางประเทศ เขตการคาเสรี (Free Trade Area : FTA) การคํานวณภาษีศุลกากร การลงทะเบียนเปนผูผานพิธีการศุลกากรหรือดําเนินการในกระบวนการทางศุลกากร(Paperless) โครงสรางสํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง หมายเลขโทรศัพท ผูประกอบการทาเรือแหลมฉบังและหนวยงานทีเ่ กีย่ วของ การติดตองานราชการสํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง