C H A N D R A T I E
โครงการออกแบบบรรจุภัณฑ กลองใสเนคไท Chadratie
1.แรงบันดาลใจและทีม่ าของการออกแบบ ( inspiration and background) ที่มาของเนคไทอยูในชวงศตวรรษแรกกอนคริสตกาล สมัยนั้นพออากาศรอนทหารโรมัน จะใชผาซับบน้ําพันคอ (เรียกวา focale) เพื่อบรรเทาความรอนแตก็ชว ยอะไรไมไดมากนักทั้งยัง ไมไดกอใหเกิดความสวยงามพอจะเปนทีน่ ิยมกันกวางขวางได และแลวเรื่องราวแหลงกําเนิดของ เนกไทก็ไมพน วงการทหารอีกแตเปนทหารอีกกลุมหนึง่ ในป ค.ศ. 1668 ชาวโครแอทสวนหนึ่ง รับจางเปนทหารใหออสเตรียโดยประจําการที่ประเทศฝรั่งเศสทหารรับจางกลุมนี้มีเครื่องแบบเปน ผาพันคอทําดวยผามัสลินและผาลินินอยางไรก็ดี ผาพันคอของทหารทั้งสองกลุมมีวัตถุประสงคใน การใชตางกันคือเพื่อประโยชนใชสอย และเปนสัญลักษณของหมูเหลาหรือเครื่องแบบนั่นเองแตยงั เขาไมถึงสังคมแฟชั่นจนเมือ่ ชาวฝรั่งเศสทั้งชายและหญิงซึ่งไดชื่อวาหายใจเขาออกเปนแฟชัน่ ได ไอเดียมาและเริ่มนิยมใชผาลินินและผาลูกไมพันรอบคอ แลวผูกไวตรงกลางดานหนาของคอโดย ปลอยชายยาว แฟชั่นนีเ้ ผยแพรไปถึงอังกฤษอยางรวดเร็วชาวอังกฤษนิยมกันจนถึงขั้นคลั่งไคล โดยเฉพาะเมื่อพระเจาชารลสที่ 2 แหงอังกฤษทรงแตงนําและพสกนิกรพากันทําตามนอกจากนี้ ขณะนัน้ เปนขวงที่วงการแฟชั่นเฟองฟูอยางยิ่ง กอนหนานั้นป ค.ศ.1665 เกิดโรคระบาดในเมือง ลอนดอน และปถัดมาเกิดไฟไหมครั้งใหญแตแฟชัน่ ผาผูกคอนี้กลาวไดวาแพรระบาดเร็วพอๆกับไฟ ลามทุงทีเดียว เนกไทวิวฒ ั นาการมาจาก คราแวท (cravat) โดยชางตัดเสือ้ ชาวอเมริกัน JesseLangsdorf ไดออกแบบโดยการตัดผาเฉียงๆและจดสิทธิบัตรไวในป ค.ศ. 1924 จนยุค 50s เนกไทไดรับความนิยมสูงสุดจนเปนที่มาของประโยค “a man was't fully dressed until he had put onhis tie.” (ผูชายยังแตงตัวไมเต็มที่ถาไมไดผูกไท)" เนกไทเริ่มกลายเปนแฟชั่นในยุค 70s โดย Ralph Lauren หองเสื้อชื่อดังแหงอเมริกาไดออกแบบเนกไทที่มีความกวาง10เซนติเมตร ยุค 80s มี การวาดและพิมพงานศิลปะของศิลปนลงบนเนกไท ถึงแมวาเนกไทจะไดรับความนิยมไปทั่วทุกมุม โลกแตชาวตะวันออกกลางไมเคยสนใจวัฒนธรรมตะวันตกเลยสวนมากจะสวมเพียงเสื้อเชิ้ตและ สูทหนึ่งตัวก็เปนทางการแลวแมแตประเทศโบลิเวียซึ่งอยูทางตอนกลางของทวีปอเมริกาใตก็ไมได หลงใหลวัฒนธรรมตะวันตกทั้งหมด ศตวรรษตอมา แฟชั่นดังกลาวไดแรงหนุนอยางดีจาก โบบรูม
เมลผูโดงดัง เพราะมีเนคไทในครอบครองจํานวนมาก และมีวิธีการผูกเนกไทแบบตางๆมากมายจน กลายเปนประเด็นถกเถียงโตแยงอภิปรายกันทั้งในสภากาแฟและสื่อมวลชนวาควรจะผูกแบบใดจึง จะถูกแตนาสังเกตวามาถึงชวงนี้เรื่องดังกลาวเปนหัวขอสนทนาในหมูผชู ายเทานัน้ สื่อมวลชนในยุค นั้นทํารายการวิธีผูกเนกไทออกมาไดถึง ๓๒ แบบถาไดพบปะบุคคลที่มีชื่อเสียง หรือพาตัวไปอยูใน ที่ชุมนุมของแฟชั่นหลากแบบเชนสนามแขงมา จะเห็นผาผูกคอจนลานตายุคนี้เองทีแ่ ฟชั่นผาผูกคอ มีหลายแบบ เชน แบบหอยชายยาวลงมาแบบหูกระตาย ผาที่ใชก็มีตาง ๆกัน เปนผาพืน้ ผาลายขนาด ของผามีทั้งเปนเสนผอมๆ หรือขยายบานออกตรงปลาย ปจจุบันเนกไทไมไดเปนเพียงเรื่องของ แฟชั่นอยางเดียวเพราะกลายเปนสัญลักษณแสดงความสุภาพเรียบรอยในการแตงกายแบบสากล นิยม
2.โจทย/วัตถุประสงค/สมมุติฐาน(problem/objective/hypothesis) 1.ตองการออกแบบศึกษากราฟกบนบรรจุภณ ั ฑ และพัฒนาแบบโดยการนําเอาแบบหรือบรรจุภัณฑ เดิมๆมาพัฒนาลวดลายรวมถึง โลโก ใหเกิดการพัฒนาที่โดดเดนและมีคุณคามาตรฐานที่มากขึ้น 2.ออกแบบบรรจุภัณฑสําหรับกลิ่งใสเนคไท เปนผลิตภัณฑที่พัฒนาขึ้นใหม เปนการออกแบบ ใหกับทาง มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม 3.ตองการใหเนคไทที่บรรจุภัณฑเกาเปนเพียงซองใสพัฒนาใหดุแปลกใหมยิ่งขึ้นและเปนที่ดึงดูดใจ เพื่อเพิ่มมูลคาใหกับผลิตภัณฑ
3.การกําหนดคุณลักษณะที่ตองการ
4.การนําเสนอแบบรางทางความคิด
5.การศึกษาขอมูลเบื้องตน 5.1 ศึกษาเกี่ยวกับกลองบรรจุภัณฑเนคไท
5.2 ศึกษาเกี่ยวกับตัวเนคไท ประวัติความเปนมาของเนคไท ที่มาของเนคไทอยูในชวงศตวรรษแรกกอนคริสตกาล สมัยนั้นพออากาศรอนทหารโรมัน จะใชผาซับบน้ําพันคอ (เรียกวา focale) เพื่อบรรเทาความรอนแตก็ชว ยอะไรไมไดมากนักทั้งยัง ไมไดกอใหเกิดความสวยงามพอจะเปนทีน่ ิยมกันกวางขวางได และแลวเรื่องราวแหลงกําเนิดของ เนกไทก็ไมพน วงการทหารอีกแตเปนทหารอีกกลุมหนึง่ ในป ค.ศ. 1668 ชาวโครแอทสวนหนึ่ง รับจางเปนทหารใหออสเตรียโดยประจําการที่ประเทศฝรั่งเศสทหารรับจางกลุมนี้มีเครื่องแบบเปน ผาพันคอทําดวยผามัสลินและผาลินินอยางไรก็ดี ผาพันคอของทหารทั้งสองกลุมมีวัตถุประสงคใน การใชตางกันคือเพื่อประโยชนใชสอย และเปนสัญลักษณของหมูเหลาหรือเครื่องแบบนั่นเองแตยงั เขาไมถึงสังคมแฟชั่นจนเมือ่ ชาวฝรั่งเศสทั้งชายและหญิงซึ่งไดชื่อวาหายใจเขาออกเปนแฟชัน่ ได ไอเดียมาและเริ่มนิยมใชผาลินินและผาลูกไมพันรอบคอ แลวผูกไวตรงกลางดานหนาของคอโดย ปลอยชายยาว แฟชั่นนีเ้ ผยแพรไปถึงอังกฤษอยางรวดเร็วชาวอังกฤษนิยมกันจนถึงขั้นคลั่งไคล โดยเฉพาะเมื่อพระเจาชารลสที่ 2 แหงอังกฤษทรงแตงนําและพสกนิกรพากันทําตามนอกจากนี้ ขณะนัน้ เปนขวงที่วงการแฟชั่นเฟองฟูอยางยิ่ง กอนหนานั้นป ค.ศ.1665 เกิดโรคระบาดในเมือง ลอนดอน และปถัดมาเกิดไฟไหมครั้งใหญแตแฟชัน่ ผาผูกคอนี้กลาวไดวาแพรระบาดเร็วพอๆกับไฟ ลามทุงทีเดียว เนกไทวิวฒ ั นาการมาจาก คราแวท (cravat) โดยชางตัดเสือ้ ชาวอเมริกัน JesseLangsdorf ไดออกแบบโดยการตัดผาเฉียงๆและจดสิทธิบัตรไวในป ค.ศ. 1924 จนยุค 50s เนกไทไดรับความนิยมสูงสุดจนเปนที่มาของประโยค “a man was't fully dressed until he had put onhis tie.” (ผูชายยังแตงตัวไมเต็มที่ถาไมไดผูกไท)" เนกไทเริ่มกลายเปนแฟชั่นในยุค 70s โดย Ralph Lauren หองเสื้อชื่อดังแหงอเมริกาไดออกแบบเนกไทที่มีความกวาง10เซนติเมตร ยุค 80s มี การวาดและพิมพงานศิลปะของศิลปนลงบนเนกไท ถึงแมวาเนกไทจะไดรับความนิยมไปทั่วทุกมุม โลกแตชาวตะวันออกกลางไมเคยสนใจวัฒนธรรมตะวันตกเลยสวนมากจะสวมเพียงเสื้อเชิ้ตและ สูทหนึ่งตัวก็เปนทางการแลวแมแตประเทศโบลิเวียซึ่งอยูทางตอนกลางของทวีปอเมริกาใตก็ไมได หลงใหลวัฒนธรรมตะวันตกทั้งหมด ศตวรรษตอมา แฟชั่นดังกลาวไดแรงหนุนอยางดีจาก โบบรูม เมลผูโดงดัง เพราะมีเนคไทในครอบครองจํานวนมาก และมีวิธีการผูกเนกไทแบบตางๆมากมายจน กลายเปนประเด็นถกเถียงโตแยงอภิปรายกันทั้งในสภากาแฟและสื่อมวลชนวาควรจะผูกแบบใดจึง จะถูกแตนาสังเกตวามาถึงชวงนี้เรื่องดังกลาวเปนหัวขอสนทนาในหมูผชู ายเทานัน้ สื่อมวลชนในยุค นั้นทํารายการวิธีผูกเนกไทออกมาไดถึง ๓๒ แบบถาไดพบปะบุคคลที่มีชื่อเสียง หรือพาตัวไปอยูใน ที่ชุมนุมของแฟชั่นหลากแบบเชนสนามแขงมา จะเห็นผาผูกคอจนลานตายุคนี้เองทีแ่ ฟชั่นผาผูกคอ
มีหลายแบบ เชน แบบหอยชายยาวลงมาแบบหูกระตาย ผาที่ใชก็มีตาง ๆกัน เปนผาพืน้ ผาลายขนาด ของผามีทั้งเปนเสนผอมๆ หรือขยายบานออกตรงปลาย ปจจุบันเนกไทไมไดเปนเพียงเรื่องของ แฟชั่นอยางเดียวเพราะกลายเปนสัญลักษณแสดงความสุภาพเรียบรอยในการแตงกายแบบสากล นิยม
จะดูแลรักษาเนคไทของคุณอยางไร -มวนเนคไทและเก็บไวในลิ้นชัก หรือวาจะแขวนไวก็ได ซึ่งจะไมทําใหเนคไทเกิดรอยยับ -ไมเก็บเนคไทไวในที่ ที่มีแดดสองถึง -จัดเนคไทในกระเปาเดินทางโดยการมวนหลวมและเก็บไวในถุงเทาหรือถุงใสเนคไท จะไมทําใหเนคไทยับ -ตัดเสนดายที่ลุยออกมาจากเนคไทออก เพราะวาจะตนเหตุใหเนคไทเสียและเกิดรอยขาดได -อยาสวมเนคไทซ้ําในเวลาใกลๆกัน เพราะเนคไทก็เหมือนคนตองการเวลาพักผอนเพื่อที่จะปรับสภาพของตัวมันเอง และเนื้อผาใหคืนสูสภาพเดิม -ทุกครั้งที่ถอดเนคไท ควรถอดปมเนคไทออกดวย อยาแขวนมันไวทั้งปม เพราะนอกจากจะทําใหเนคไทของคุณเสีย แลว ยังทําใหมันเกิดรอยยับที่แกไมหายอีกดวย -ผูชายหลายทานมีอาการขี้เกียจชอบขยําเนคไทแลวจับมันยัดเขาไปในลิ้นชัก อยาทําแบบนี้เปนอันขาดเพราะมันจะทํา ใหเสนใยของเนื้อผาเกิดการบิดตัวและสรางความเสียหายใหกับเนคไทของคุณ -ถาจะรีดเนคไทใหใชไอน้ํารีด (เตารีดไอน้ํา) เพราะถาใชเตารีด รีดเนคไทโดยตรงจะทําใหเนื้อผาเนคไทเกิดเงาได -กรณีที่จําเปนตองรีดเนคไท ใหนําผามาวางทับตัวเนคไทเอาไว และใชเตารีด รีดบนผาโดยใชไฟออนๆ -อยา ซักเนคไทเปนอันขาด เพราะเนคไทสวนใหญจะหด แตจะหดมากหรือนอยนั้นขึ้นอยูกับชนิดของผาที่ใชทําเนค ไท -อยาสงเนคไทไปซักแหงเปนอันขาด เพราะกระบวนการซักแหงจะทําใหยางในตัวไทเสีย นอกจากนั้นถาเปนไทดผา ไหมจะทําใหผาไหมไมเปนเงา -ระวังอยาให cologne ไปโดนเนคไท เพราะจะทําใหสีลอกออกมาได
-กรณีที่เนคไทมีคราบเปอน ไมใหใชแปรงขัด เพราะจะทําใหเสนใยและสีของผาเสียได นอกจากนั้นทําใหบริเวณที่อยู รอบๆ รอยเปอนเสียไปดวย แตใหทําความสะอาดโดยนิ้วมือถูที่คราบเปอนเบาๆ หรืออาจจะใชปลายเนคไทดานที่แคบ กวาถูตรงรอยเปอน -กรณีที่เปนคราบฝงแนนใหใชน้ํายาทําความสะอาดรอยเปอนแบบออนๆ แคควรทดสอบกอนวาน้ํายาที่ใชไมทําใหเนค ไทเสียหรือเปลี่ยนสี โดยใหลองกับดานหลังของเนคไทกอน
รูปภาพเนคไทตางๆ
6.การออกแบบและพัฒนาแบบ
Pattern product chandratie
7.การทดลองทดสอบการใชงานจริง
8.สรุปผลงานการออกแบบ 8.1 แรงบันดาลใจในการสรางสรรคผลงาน(inspiration) ในการออกแบบผลิตภัณฑกลองบรรจุภัณฑใสเนคไท chandratie ในครั้งนี้ขาพเจาไดแรงบันดาลใจมา จากพระจันทร หรือ จันทรา ซางรวมกับ รูปภาพเนคไท นํามาผสมผสานกันจึงเปนที่มาของโลโกและผลิตภัณฑ ดังกลาว ซึ่งเปนสัญลักษณของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมและเนคไทผูกติดกับพระจันทรซึ่งสื่อความหมายถึง ผลิตภัณฑไดอยางลงตัว
8.2 ความคิดสรางสรรค(creative idea) ในการออกแบบผลิตภัณฑชิ้นนี้คือการผสมผสานลวดลาย abstract ซึ่งสื่อความหมายถึงการปลิวไสว ของเนคไทเมื่อกระทบกับสายลม บนสีพื้นผิวสีดําของบรรจุภัณฑตัดกับสีของลวดลายไดเปนอยางดีแสดงถึงความ หรูหราและเรียบงาย
8.3 การออกแบบโครงสรางที่ลงตัว สวยงาม (desigh andaesthetics) -ออกแบบตราผลิตภัณฑหรือโลโกสอดคลองกับตัวผลิตภัณฑ -ทําใหเกิดความแตกตางจากบรรจุภัณฑของเดิมอยางสิ้นเชิง -ศึกษาขอมูลของผลิตภัณฑและบรรจุภัณฑไดมาเปนอยางดี จึงมีความนาสนใจ และดึงดูดความสนใจ ของผูบริโภค
8.4 คุณคาและประโยชนที่ไดรับจากตัวผลงาน(value and benefit ) - ไดทราบและรับรูถึงขอมูลของบทเรียนหลักการกราฟกบนบรรจุภัณฑ หลักการทางความคิดกอนการ ลงมือสรางสรรคงานกราฟกตางๆ -ไดฝกฝนและพัฒนาฝมือเกี่ยวกับการออกแบบกราฟกบนบรรจุภัณฑ ดวยหลากหลายโปรแกรม - ไดรูจักการพัฒนาตนเองเกี่ยวกับการออกแบบใหกาวหนา ใหมีขั้นตอน รูปแบบ การวางแผนอยาง ถูกตอง -ไดพัฒนาบรรจุภัณฑและผลิตภัณฑเดิมๆที่มีอยูแลวใหมีความกาวหนาและมีคุณภาพมากยิ่งขึ้น - ทราบถึงปญหาตางๆมากมายในระหวางการทํางานและเรียนรูวิธีแกไข - ฝกฝนประสบการณเพื่อการพัฒนาตนเองตอไป
8.5 ขอเสนอแนะตางๆ
-ตองมีการทํางานที่มีระบบแบบแผนและระยะเวลาตามที่กําหนดใหมากกวานี้ -ตองมีการศึกษาและรวบรวมขอมูลทุกครั้ง -คนหาวิเคราะหพัฒนาจุดมุงหมายในเปนไปตามที่ตองการ -ควรรูจักการพัฒนาออกแบบและวิธีตอยอดทางความคิดเพื่อการพัฒนาตอๆไป -ศึกษาขอมูลตางๆจากแหลงความรูจากที่อื่นใหเปนประจํา
คํานํา
งานออกแบบผลงานชุดนี้เปนสวนหนึ่งของการเรียนการสอนวิชา ออกแบบกราฟกบนบรรจุภัณฑ graphic desigh on package โดยมีจุดประสงคเพื่อการพัฒนาและออกแบบกราฟกบนบรรจุภัณฑสําหรับผลิตภัณฑเนคไทใน มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมซึ่งภายในรายงานเลมนี้นั้นประกอบไปดวย ขอมูลตางๆ เนื้อหาการวิเคราะห การ ดําเนินงาน และปญหา การพัฒนา รวมกับเนื้อหาอื่นๆที่เกี่ยวของ ขาพเจามีความประสงคเลือกงานออกแบบชิ้นนี้ เนื่องจากภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมนั้นมีบรรจุภัณฑ ของผลิตภัณฑเนคไทนั้นเปนแคซองพลาสติกใสธรรมดาและยังไมมีบรรจุภัณฑที่มีคุณภาพขาพเจาจึงพัฒนาบรรจุ ภัณฑของผลิตภัณฑเนคไทในมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมในมีคุณคาเหมาะสมกับเปนเนคไทประจํามหาวิท ลัยราชภัฏจันทรเกษมมากยิ่งขึ้นผลงานชิ้นนี้จะไมเกิดขึ้นเลยถาขาดการแนะแนว และชี้แนะ ความรูตางๆจาก ผศ. ประชิด ทิณบุตร ผูสอนประจําวิชาออกแบบกราฟกบนบรรจุภัณฑ graphicdesigh on package และหวังเปนอยาง ยิ่งวารายงานฉบับนี้ จะมีประโยชนแกทานผูที่มีความสนใจในงานออกแบบกราฟกบนบรรจุภัณฑ graphicdesigh on package ถาขอมูลที่กลาวมานั้นมีขอผิดพลาดประการใด ขาพเจาตองขออภัยไว ณ ที่นี้
ผูจัดทํา นาย วิวัฒน พรเฉลิมชัย รหัสนักศึกษา 5111311840 Email viwatj4ck@gmail.com
สารบัญ
เรื่อง
หนา
แรงบันดาลใจและที่มาของการออกแบบ
1-2
โจทย/วัตถุประสงค/สมมุติฐาน
3
การกําหนดคุณลักษณะที่ตองการ
4
การนําเสนอแบบรางทางความคิด
5
การศึกษาขอมูลเบื้องตน
6-19
การออกแบบและพัฒนาแบบ
20-25
การทดลองทดสอบการใชงานจริง
26-31
สรุปผลงานการออกแบบ
32-33