[Title will be auto-generated]

Page 1

โปรดแกคําผิด ใน การกลับมาแหงศีลธรรม ( การนับบรรทัด ใหนับลงมาตั้งแตบรรทัดบนสด คือบรรทัดของเลขหนา, ถามี (จล) ใหนับขึ้นมาจากลาง, เพื่อประหยัดเวลา.)

หนา ๑๗ ๓๑ ๖๙ ๙๔ ๙๖ ๑๑๓ ๒๒๓ ๒๓๗ ๒๕๗ ๒๖๐ ๒๖๓

บรรทัด ๘(จล) ๔ ๒(จล) ๓(จล) ๘ ๔(จล) ๒ ๑ ๘ ๓(จล) ๖ ๘ ๘(จล) ๖ ๔ ๗(จล) ๙ ๕ ๙(จล) ๘(จล) ๔(จล)

คําที่ผิด แกเปน ไมใช ไมใช สารพัด สารพัด ทจะเปน ที่จะเปน ผูกพัน ผูกพัน จะไดฝง ผูกพัน โลกนี้ โลกนี้ กระเพาะ กระเพาะ อันดับแหง อันดับสาม ? ? แตเมีพียง แตมีเพียง สามัญ ของ สามัญวา ของ ยถาภูตสมฺมปปญญา ยถาภูตสมฺมปฺปฺญา จริง ๆ วา จริงวา จุดตั้งตนได จุดตั้งตนได ฟง.) ฟง). เห็นดวยจิต คือเห็นดวยจิต แลวแตวา แลว; แตวา อณหภมิ อุณหภูมิ คนบา คนบา ลงอบาย ลงอบาย. ของ เพื่อน ของเพื่อน

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๒๗๐ ๒๗๑ ๒๗๖ ๒๗๗ ๒๗๘ ๒๙๗ ๓๐๒ ๓๑๒ ๓๑๔

www.buddhadassa.in.th


หนา ๓๒๒ ๓๓๖ ๓๔๓ ๓๖๓ ๓๖๔ ๓๖๖ ๓๗๐ ๓๘๕ ๓๘๗ ๓๙๐ ๓๙๘ ๔๒๐ ๔๒๖ ๔๓๑ ๔๔๐ ๔๕๑ ๔๕๓ ๕๑๙ ๕๒๕ ๕๓๑ ๕๓๒ ๕๓๕ ๕๓๗ ๕๕๔

บรรทัด คําที่ผิด แกเปน ๙ แผนกการ แผนการ ๕(จล) พิธีรีตอง, พิธีรีตอง ๔ อโมหะ อโมหะ; ๑๐(จล) เปนวิมุตติ เปนวิมุตติ. ๑๑(จล) ถูกตองตอ ถูกตองตอ ๑๒ศีล ขันธ ศีลขันธ ๘ กับความปรกติ กับ ความปรกติ ๒ -พยาบาท-ฟุง พยาบาท ฟุง ๔(จล) จะทํา แลาเราจะทํา ๕ แลวนี่ มันตางแลวนี่มันตาง ๗ คุณทอง คุณชวน ๑(จล) กันได; กันได. ๑(จล) ในครั้งนี้ดวย ตนเลมดวย ๑(จล) มีความรู มีความรู ๕(จล) แลวเรา แลวเรา ๘ หรือ นี้ หรือนี้, ๒ ธรรมก็ได. ธรรม ก็ได. ๗(จล) เกยยะที่ มา เกยยะ ที่มา ๖(จล) อาตมา อาตมา. ๕(จล) หัวเราะนา หัวเราะนา ๕(จล) ใหถูกตอง ใหถูกตองเปน ๑๑ , สําหรับ...๓ นี้ : สําหรับ...๓ นี้ ๔ ไปทําตาม , ทําไปตาม ๑(จล) นี้เปนตน อยางอยางนี้เปนตน. ๓ สันติภาพ. ตางหาก สันติภาพ ตางหาก. คําวา สีลธรรม แกเปน ศีลธรรม ทุก ๆ แหง

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม คําบรรยายประจําวันเสาร ที่ลานหินโคง ณ สวนโมกขพลาราม ไชยา ภาคมาฆบูชา ๒๕๑๙

ของ พุทธทาสภิกขุ

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ธรรมทานมูลนิธิ จัดพิมพดวยทุนของผูบริจาคตั้งไวทาง “สวนอุศมมูลนิธิ” เปนอันดับที่สี่แหงทุนนี้ เปนการพิมพครั้งแรก ของหนังสือ ธรรมโฆษณ อันดับ ๑๘ ก. บนพื้นแถมสีแดง จํานวน ๑.๕๐๐ ฉบับ พ.ศ. ๒๕๒๑ (ลิขสิทธิ์ไมสงวนสําหรับการพิมพแจกเปนธรรมทาน สงวนเฉพาะการพิมพจําหนาย)

www.buddhadassa.in.th


www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


คําปรารภ ในการสรางหนังสือชุดธรรมโฆษณขึ้นไวในพระพุทธศาสนา “การกลับมาแห งศีลธรรม” นี้ เป นหนั งสือชุดธรรมโฆษณ ของพุ ทธทาส อั น ดั บ ที่ ๑๘ ก บนพื้ น แถบสี แ ดง เป น คํ าบรรยายเกี่ ย วกั บ การส งเสริม ศี ล ธรรม ลําดับสาม ตอจากลําดับที่ตีพิมพไปแลว คือ ศีลธรรมกับมนุษยโลก และอริยศีลธรรม. หมวดศีลธรรมนี้กําลังอยูในระหวางจัดพิมพลําดับตอไปอีก ๓ เลม ไดแก ธรรมะกับ การเมือง, เยาวชนกับศีลธรรม, และ เมื่อธรรมครองโลก. ผู เ ปน ทานบดีบ ริจ าคเงิน คา ใชจ า ยในการพิม พ “การกลับ มาแหง ศีล ธรรม” คือ นางนวล เจริญ กุล และลูก หลาน ญาติม ิต ร มุ ง หมายอุท ิศ สวนกุศลถึง นายนิธรรม เจริญกุล ผูวายชนมไปแลว. ส วนการดํ าเนิ น งานจั ด พิ ม พ แจกจ าย จํ าหน าย คงจั ด ตามหลั ก ของธรรมทานมู ล นิ ธิ ซึ่ ง สวนอุ ศ มมู ล นิ ธิ ไ ด ร ว มมื อ ดํ า เนิ น การมาโดยลํ า ดั บ . หากมี ก ารบริ จ าค เพิ่ ม เติ ม หรื อมี รายได จากการจํ าหน ายหนั งสื อ นี้ “ในราคาที่ เอากุ ศ ลเป น กํ าไร” ก็ จั ก ได รวบรวมสมทบทุ น ไว สํ า หรั บ จั ด พิ ม พ ห นั ง สื อ ชุ ด ธรรมโฆษณ ข องพุ ท ธทาส เล ม อื่ น ๆ ต อไปอี ก. (การจั ดจ ายและคุ มครองเงิ นยอดสร างหนั งสื อชุ ดธรรมโฆษณ จะดู รายละเอี ยด ไดจากหนังสือ “สวนอุศม” แตละเลม ในภาคแถลงการณ)

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org คุ ณ ค าของคํ าบรรยายชุ ด “การกลั บมาแห งศี ลธรรม” นี้ จะชี้ แนวทางให แต ละชี วิ ต , สั งคมแต ละสั งคม, สามารถพบสั นติ ภ าวะได แน นอน ซึ่ งมี หนทางอยู ทางเดี ยว

www.buddhadassa.in.th


คือตองชวยกัน ชวนกันทุกคน ใหเห็นคุณคาแหงสัจจธรรม กระทั่งเห็น และใช ธรรมสัจจะอันสอดคลองตองกันวา “ทุกชีวิต เปนเพื่อรวมทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันทั้งหมดทั้งสิ้น “: แลวตั้งความเพียร “ถอยหลังเขาคลอง” เขาสูแนวปฏิบัติ อันถูกตองของศีลธรรม โดยลําดับ ทุกเพศ ทุกวัย ทุกหนาที่ ของแตละชีวิต, เริ่ม ดวย การบังคับกระแสแหงความรูสึก เปนตน ตามคลองแหงธรรม: แลวสันติสุข จะเปนที่หวังได. เพื่ อเรี ยกร องให “ศี ลธรรมกลั บมา” จึ งสมควรที่ จะได ชวนกั นศึ กษาพิ จารณา คํ าบรรยายเรื่ อ ง “การกลั บ มาแห งศี ล ธรรม” นี้ เพื่ อ เป น เครื่ อ งแนะนํ าตน หรื อ แนะนํ า ผูอื่น ใหหันมา “ถอยหลังเขาคลองธรรม” เพื่ อความอยูสันติของ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย คูประเทศไทย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สวนอุศมมูลนิธิ ๗๗ หมู ๖ ต.หนองบอน ถนนสุขุมวิท ซอย ๑๐๓ อ.พระโขนง ก.ท. ๑๑

www.buddhadassa.in.th


www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


สารบาญ การกลับมาแหงศีลธรรม ๑. ศีลธรรมคืออะไร [เมื่อกลาวโดยทางภาษาและรูปแบบ]

หนา. ๑

๒. ศีลธรรมคืออะไร (ตอ) [เมื่อกลาวโดยคานิยม]

๓๕

๓. ศีลธรรมคืออะไร (ตอ) [เมื่อกลาวโดยขอควรสังเกต โดยอุปมา ฯลฯ]

๗๑

๔. รากฐานของศีลธรรมอันดับหนึ่ง [ความรูสึกเปนเพื่อนทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย : แผนดิน]

๑๒๑

๕. รากฐานของศีลธรรมอันดับสอง [ความไมเปนทาสของอายตนะ : น้ํา]

๑๕๙

๖. รากฐานของศีลธรรมอันดับสาม [การบังคับกระแสแหงความรูสึก : อาหาร]

๒๐๓

๗. รากฐานของศีลธรรมอันดับสี่

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org [ยถาภูตสัมมัปปญญา : แสงสวาง]

๒๔๗

๘. รากฐานของศีลธรรมอันดับหา [สัทธาปสันนา : อุณหภูมิ]

๒๙๗

๙. ตนลําแหงศีลธรรม [สุปฏิปตติ]

๓๔๕

๑๐. ใบ ดอก ผล ของศีลธรรม [มรรค ผล นิพพาน]

๔๐๕

๑๑. การทําความเจริญงอกงามของศีลธรรม [ปลูก ฝง รักษา ออกผล แพรพันธุ]

๔๕๕

๑๒. การถอยหลังเขาคลอง [ปญหาศีลธรรมยุคปจจุบัน]

๕๐๙

ระดมธรรม

๕๖๕

ภาคผนวก โปรดดูสารบาญละเอียดในหนาตอไป

www.buddhadassa.in.th


สารบาญละเอียด การกลับมาแหงศีลธรรม ๑. ศีลธรรมคืออะไร [เมื่อกลาวโดยทางภาษาและรูปแบบ]

ภาคมาฆบูชา ๒๕๑๙ นี้จะบรรยายพรอมทั้งมีการทดสอบความรู ที่ไดฟงกันมาแลว จะพูดถึงเรื่องศีลธรรม วาเปนสิ่งที่ควรกลับมา หมวดที่ ๑ พิจารณาขอ ๑ ศีลธรรม ในแงของภาษาชาวบาน ในแงของภาษาศาสนา ในแงของภาษาบาลี ๓ นัยะ ขอ ๒ ศีลธรรมที่แสดงผลในสิ่งที่ไมมีชีวิต ขอ ๓ ศีลธรรมที่แสดงผลในสิ่งที่มีชีวิต ขอ ๔ ศีลธรรมที่แสดงผล ที่สภาพของจิต หมวดที่ ๒ ศีลธรรมในแงของรูปแบบ ขอที่ ๑ ศีลธรรมในรูปแบบของปรัชญา ขอที่ ๒ ศีลธรรมในรูปแบบของศาสนา ขอที่ ๓ ศีลธรรมในรูปแบบของสังคมศาสตร ขอที่ ๔ ศีลธรรมในรูปแบบของกฎธรรมชาติ ๒. ศีลธรรมคืออะไร (ตอ) [เมื่อกลาวโดยคานิยม] คําปรารภและทบทวน หมวดที่ ๓ วาดวยคานิยมของศีลธรรม

หนา ๑ ๒ ๓-๖ ๖-๗ ๘-๑๑ ๑๒ ๑๒-๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖-๑๙ ๑๙-๒๕ ๒๕-๒๘ ๒๙-๓๔

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๓๕-๔๒ ๔๒

[๒]

www.buddhadassa.in.th


[๓] สวนที่ ๑ ศีลธรรมเมื่อมองดูที่ปจเจกชน หัวขอที่ ๑ คุณคาของศีลธรรมที่มีอยูในรูปกรรมพันธุ ความมีเนื้อแหงศีลธรรมในสายเลือด การเลือกและบํารุงพันธุ การแวดลอมดวยการอบรม หัวขอที่ ๒ คุณคาที่แสดงออกมาใหเห็นชัด สิ่งแวดลอมสามารถเปลี่ยนแปลงกรรมพันธุ การตอนรับและพัฒนากรรมพันธุ หัวขอที่ ๓ คุณคาทางศีลธรรม ที่มนุษยจะตองมี การพัฒนาทารกใหมีศีลธรรมทุกอิริยาบถ สวนที่ ๒ คานิยมของศีลธรรมที่จะมองดูจากสังคม

๔๓ ๔๓ ๔๔-๔๕ ๔๖-๔๙ ๔๙–๕๐ ๕๑–๕๒ ๕๒-๕๕ ๕๕-๕๖ ๕๖ ๕๗-๕๙ ๕๙-๖๙

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๓. ศีลธรรมคืออะไร (ตอ)

[เมื่อกลาวโดยขอควรสังเกต โดยอุปมา ฯลฯ]

คําปรารภและทบทวน หมวดที่ ๔ วาดวยขอควรสังเกตเกี่ยวกับศีลธรรม หัวขอที่ ๑ : โดยอุปมาศีลธรรมกับรูปโครงของตนไม ก. อุปมาของรากโคน : อุดมคติที่ถูกตอง ข. อุปมาตน-กิ่ง : ความประพฤติการกระทําถูกตอง ค. อุปมาของใบ-ดอก-ผล : ผลที่ออกมาถูกตอง หัวขอที่ ๒ : ความถูกตองและความผิดพลาด ขอที่ ๑ มีการศึกษาถูกตอง ขอที่ ๒ มีมนุษยดํารงชีพอยางถูกตองตามความหมายแหงมนุษยหรือไม ขอที่ ๓ การชวยเหลือรวมมือกันและกันในโลกนี้ ถูกตองหรือไมถูกตอง

๗๑-๗๖

๗๗-๘๒ ๘๒-๙๒ ๙๓-๙๔ ๙๕-๙๙ ๙๙-๑๐๑ ๑๐๒-๑๐๕ ๑๐๕-๑๐๙ ๑๑๐-๑๑๔

www.buddhadassa.in.th


[๔] หัวขอที่ ๓ : โลกกําลังเสื่อมศีลธรรม การแสดงออกทางวัตถุ การแสดงออกทางรางกาย การแสดงออกทางจิตใจ

๑๑๔-๑๑๕ ๑๑๖ ๑๑๖-๑๑๘ ๑๑๙-๑๒๐

๔. รากฐานของศีลธรรมอันดับหนึ่ง [ความรูสึกเปนเพื่อนทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย : แผนดิน]

ทบทวนคําปรารภการกลับมาแหงศีลธรรม พูดถึงรากฐานแหงศีลธรรม จะดูความจําเปนที่ตองมีศีลธรรมกอน เปรียบเทียบรากฐานของศีลธรรมกับตนไม ปจจัยสําคัญอยางนอย ๕ ประการ ความสําคัญของรากฐานอันดับหนึ่ง (แผนดิน) ขอใหทําบุญที่ยิ่งกวาสรางโบสถ ๑๐ หลัง

๑๒๑-๑๒๙ ๑๒๙-๑๓๐ ๑๓๐-๑๓๗ ๑๓๗-๑๔๕ ๑๔๕-๑๕๖ ๑๕๖-๑๕๘

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๕. รากฐานของศีลธรรมอันดับสอง

[ความไมเปนทาสของอายตนะ : น้ํา ]

ทบทวนคําปรารภการกลับมาแหงศีลธรรม พิจารณาเปรียบเทียบรากฐานของศีลธรรมกับน้ํา ความไมเปนทาสของอายตนะเปรียบไดกับน้ํา ความเปนทาสของอายตนะระดับโลก คนครึ่งโลกเปนทาสของความโกรธ และอบายมุข เพราะผลประโยชนขัดกัน ยอมกันไมได จึงฆากัน ถาไมเปนทาสของอายตนะแลว โมหะจะไมเกิดขึ้น

๑๕๙-๑๗๔ ๑๗๔-๑๗๗ ๑๗๗-๑๘๖ ๑๘๖-๑๘๘

๑๘๙-๑๙๓ ๑๙๓-๑๙๔

www.buddhadassa.in.th


[๕] เปนทาสของอายตนะนั้น พูดงาย ๆ วา เปนทาสของความอรอย ตองรูจักน้ําก็คือ การบังคับอายตนะได จะรดศีลธรรมใหสดชื่น

๑๙๔-๒๐๐ ๒๐๑

๖. รากฐานของศีลธรรมอันดับสาม [การบังคับกระแสแหงความรูสึก : อาหาร]

ทบทวนคําปรารภการกลับมาแหงศีลธรรม รากฐานของศีลธรรมประเภทนี้เปรียบเทากับอาหารของตนไม โลกกําลังขาดคุณธรรมขอ "การบังคับความรูสึก" ตองศึกษาใหเขาใจเรื่องของเวทนากอใหรูสึกตอ ๆ ไป พิจารณาดูโทษของการไมบังคับความรูสึก สังคมปจจุบันไมเห็นความสําคัญของการบังคับความรูสึก จะบังคับความรูสึก ตองอบรมใหรูจักกลัวบาป และตองไมเปนทาสของอายตนะ เดี๋ยวนี้คนนิยม "การไมบังคับความรูสึก การบังคับความรูสึกตองระวังไมใหเกิด, ถาเกิดก็ไมใหลุกลาม ตองใชธรรมะขอ สติสัมปชัญญะ ทุกกรณี คนไมบังคับความรูสึกเพราะขาดสติ ทุกศาสนามุงหมายสอน การบังคับความรูสึกหรือไม พิจารณากันดูวา เรากําลังขาดการบังคับความรูสึกหรือไม ศาสนาก็จะวินาศเพราะการไมบังคับความรูสึกของภิกษุสามเณร

๒๐๔-๒๐๗ ๒๐๗-๒๑๐ ๒๑๐-๒๑๖ ๒๑๖-๒๒๐ ๒๒๐-๒๒๔ ๒๒๕ ๒๒๖-๒๒๗ ๒๒๘-๒๓๐ ๒๓๐ ๒๓๐-๒๓๑ ๒๓๒ ๒๓๓ ๒๓๔-๒๔๐ ๒๔๐-๒๔๓ ๒๔๓-๒๔๕

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๗. รากฐานของศีลธรรมอันดับสี่ [ยถาภูตสัมมัปปญญา : แสงสวาง]

คําปรารภและทบทวน แสงสวางเปนสิ่งจําเปนแกการตั้งตนของชีวิต

๒๔๘-๒๕๒ ๒๕๓-๒๕๖

www.buddhadassa.in.th


[๖] แสงสวางสําหรับสองแสงใหพฤกษาศีลธรรม ไดแกปญญา ตนไมธรรมดาตองการแสงแดด, ตนไมศีลธรรมใชปญญา ปญญาอันถูกตอง เรียกวา ยถาภูตสัมมัปปญญา ยถาภูตสัมมัปปญญานี้ไมมีโทษ ดังหลักกาลามสูตร สัมมาทิฏฐิ-ความเห็นถูกตอง ก็อยางเดียวกับ ยถาภูตสัมมัปปญญา ถามีความเห็นถูกตองในเรื่องตัวตนมี หรือไมมี ก็จะปฏิบัติไมผิด รูถูกตองในเรื่องกรรม จะปองกันโมหะได พึงเขาใจวา ดี-ชั่ว,บุญ-บาป,สุข-ทุกข เปนเพียงสักวา อิทัปปจจยตา และรูวา ทุกสิ่งวางจากตัวตน เปนสุญญตา มีสัมมาทิฏฐิสูงขึ้น จะสงเสริมศีลธรรมถึงขั้นนิพพาน แสงสวางที่ตนไมศีลธรรมตองการคือ ยถาภูตสัมมปปญญา การสอนตองใหสมแกวัย และใหรูเรื่อง สุญญตา อนัตตา อิทัปปจจยตา ไวบาง

๒๕๖-๒๖๐ ๒๖๑ ๒๖๒-๒๖๓ ๒๖๔-๒๗๖ ๒๗๗-๒๗๘ ๒๗๙-๒๘๒ ๒๘๓-๒๘๕ ๒๘๖-๒๘๘ ๒๘๘-๒๘๙ ๒๙๐-๒๙๑ ๒๙๒-๒๙๓

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๒๙๔-๒๙๕

๘. รากฐานของศีลธรรมอันดับหา

[สัทธาปสันนา : อุณหภูมิ]

ทบทวนการบรรยายครั้งที่แลวมา รากฐานที่ ๕ ของตนไมคือ อุณหภูมิ, ทางธรรมคือ สัทธาปสันนา คนมีการศึกษานอย มักมีศรัทธาที่งมงาย พุทธบริษัทถือพระรัตนตรัยดวยศรัทธาก็ยังดี แตถาเขาใจผิด จะกลายเปนศักดิ์สิทธิ์อยางงมงาย ถาศรัทธาประกอบดวยปญญา โลภะ โทสะ โมหะ ครอบไมได ตนไมศีลธรรมมีปจจัยสําคัญที่รากโคน ตองอาศัย น้ํา อาหาร แสงสวาง อุณหภูมิ ที่พอดี

๒๙๗-๓๓๐ ๓๓๑-๓๓๔ ๓๓๔-๓๓๗ ๓๓๗ ๓๓๘-๓๔๐ ๓๔๐-๓๔๓

๓๔๓-๓๔๔

www.buddhadassa.in.th


[๗]

๙. ตนลําแหงศีลธรรม [สุปฏิปตติ]

ทบทวนขอความครั้งที่แลวมา ตนไมศีลธรรม รากคืออุดมคติที่ถูกตอง ตนลําคือการปฏิบัติที่ถูกตอง,

๓๔๖-๓๕๘

ดอกผลคือสันติสุข ความถูกตองชั้นแรกคือ ศีลขันธ ความถูกตองชั้น ๒-๓ คือสมาธิขันธ ปญญาขันธ ตนพฤกษาศีลธรรมนี้ลําตนก็คือ ศีล สมาธิ ปญญา เปรียบเทียบความปรกติกับความถูกตอง วาแยกกันไมได มีรากฐานของศีลธรรมแลว จะไมทําผิดในสวนศีลธรรม ถาไมเปนทาสของอายตนะ ก็จะไมลวงศีล เด็กๆ หรือคนสมัยใหมไมชอบศาสนา หรือศีล; ตองชวยกันแกไข แมทางสมาธิก็ตองแกไขเพราะยังมีคนไมชอบ ไมเห็นประโยชน ตองชี้ใหเห็นประโยชนชั้นตนวา สมาธิชวยใหจิตไมฟุงซาน จิตแจมใส ไมมีนิวรณทั้ง ๕ ประการ แลวมีประโยชนมาก ปญญาเปนลําตนของศีลธรรมขั้นสุดทาย ปญญามีทั้งธรรมดา เฉโก และยถาภูตสัมมัปปญญา การศึกษาของมนุษยในโลกปจจุบัน ก็เปนปญญาชนิดสงเสริมกิเลส ภาระตกหนักในการศึกษาเชนนี้ เรียกวา กรรมแหงวัฎฎะ ปญญาของพวกนักการเมืองเปนชนิดเฉโก ปญญาอยางบริสุทธิ์ใจ ก็เปนเพียงโลกิยปญญา ปญญาที่เกิดทีละนอยตามควรแกอัตภาพเรียกยถาภูตสัมมัปปญญา ควรจะชี้ใหคนสมัยนี้รูจักปญญาที่แกความทุกขได

๓๕๘-๓๖๕ ๓๖๖ ๓๖๗ ๓๖๘ ๓๖๙-๓๗๑ ๓๗๒-๓๗๕ ๓๗๖ ๓๗๗-๓๗๙ ๓๘๐-๓๘๔ ๓๘๔ ๓๘๕-๓๘๗ ๓๘๗ ๓๘๘-๓๘๙ ๓๙๐ ๓๙๑ ๓๙๒ ๓๙๓ ๓๙๓-๓๙๔ ๓๙๕

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


[๘] ศีล สมาธิ ปญญา จะตองมีอยูพรอมกัน ศีล สมาธิ ปญญา เปนตนลําของศีลธรรม ที่แยกกันไมได ใหรูจักคําจํากัดความของคําวา "ความรูถูกตอง"

๓๙๕-๓๙๙ ๔๐๐ ๔๐๐-๔๐๓

๑๐. ใบ ดอก ผล ของศีลธรรม [มรรค ผล นิพพาน]

ทบทวนคําบรรยายครั้งที่แลวมา ประโยชนชั้นสําคัญจากตองไมศีลธรรมควรเปน มรรค ผล นิพพาน ปญหาหนักอยูที่วามนุษยแตละคนไมหวังมรรถ ผล นิพพาน เพราะไมตองการผลแหงตนไมศีลธรรมจึงไปปลูกตนไมพิษ ตนไมพิษเปนภาพปริศนาธรรมของโบราณ แสดงถึงความคิดนึก ที่เปนบาปธรรม (ดูภาพประกอบ) ตนไมธรรมดามีสวนสัมพันธกันตั้งแตราก โคน ถึงยอด ตนไมศีลธรรมก็มีความสัมพันธกันตั้งแตรากถึงยอด สรุปความสัมพันธของศีลธรรมไดแก ความรู-การกระทํา-ผล อุดมคติเปนความรูเริ่มตน ศีล สมาธิ ปญญา เปนการกระทํา ตอจากการกระทําจึงเปนมรรค ผล นิพพาน คําอธิบายแทรกเกี่ยวกับญาณ ซึ่งเกิดจากศีล สมาธิ ปญญา มรรค ผล นิพพาน นี้ ในเรื่องทั่วไปก็ใชได ฝายโลกุตตรธรรมก็มีมรรค ผล นิพพาน ชั้นสูงขึ้นไป คําวา "มรรค" หมายถึงหนทาง เมื่อใชในภาษาธรรม มรรคหมายถึง การประพฤติปฏิบัติ

๔๐๖-๔๑๔ ๔๑๕-๔๑๗ ๔๑๘-๔๑๙ ๔๒๐ ๔๒๐-๔๒๒

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๔๒๓-๔๒๔ ๔๒๕-๔๒๖ ๔๒๗ ๔๒๘ ๔๒๙ ๔๒๙-๔๓๑ ๔๓๒-๔๓๕ ๔๓๖ ๔๓๗ ๔๓๘

www.buddhadassa.in.th


[๙] ทางอันประเสริฐ เรียกมัชฌิมาปฏิปทาคือ อัฏฐังคิกมรรค มรรคในตนไมศีลธรรมหมายถึงมรรค ๔ ผล ๔ นิพพาน ๑ การปฏิบัติถึงกระแสพระนิพพานมี ๙ ทาง แต "มรรค" ของผูครองเรือนก็เดินทางใหถูกตองไปโดยลําดับ ปฏิบัติไดเพียงไร ผลก็เกิดขึ้นเพียงนั้น คํา "นิพพาน" แปลวาเย็นในทุกกรณี ทุกศาสนามุงหมายความเย็นสงบ, ความหมดปญหา จุดยอดของตนไมแหงศีลธรรมคือ "ความหมดปญญาทั้งปวง"

๔๓๙-๔๔๑ ๔๔๑-๔๔๒ ๔๔๓-๔๔๗ ๔๔๗ ๔๔๘ ๔๔๘-๔๕๑ ๔๕๒-๔๕๓ ๔๕๔

๑๑. การทําความเจริญงอกงามของศีลธรรม [ ปลูกฝง รักษา ออกผลแพรพันธุ ]

ทบทวนขอความครั้งที่แลวมา การบรรยายครั้งนี้จะพูดถึงการกระทําความเจริญงอกงามของศีลธรรม ทบทวนถึงรากฐานที่ ๑ ที่เปรียบดวยแผนดิน ตองยอมรับธรรมสัจจะที่วา สัตวทั้งหลายเปนเพื่อนทุกข เกิดแกเจ็บตาย ประโยชนของผูอื่นสําคัญกวาประโยชนของเรา จึงตองเริ่มตน อบรมศีลธรรม อบรมศีลธรรมโดยลําดับตั้งแตพอแมกระทั่งลูกเกิด ถึงวัยประกอบอาชีพจนเปนผูเฒา ตองใหมีศีลธรรม รากฐานที่ ๒ เปรียบดวยน้ําสําหรับตนไม ตองอบรมไมเปนทาสอายตนะ เริ่มดวยเวนอบายมุข ๖ โดยรูโทษของมัน คนโดยมากเปนทาสของอายตนะ ทั้งฝายต่ําฝายสูงจึงรอน รากฐานที่ ๓ เปรียบดวยปุย คือตองมีการบังคับจิต การบวชตามประเพณี เปนการฝกบังคับจิตที่ดี รากฐานที่ ๔ เปรียบดวยแสงสวางคือยถาภูตสัมมัปปญญา

๔๕๕-๔๖๒ ๔๖๒-๔๖๔ ๔๖๔ ๔๖๕

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๔๖๖-๔๗๐ ๔๗๑-๔๗๓

๔๗๓-๔๘๔ ๔๘๖ ๔๘๖ ๔๘๗-๔๘๙ ๔๘๙-๔๙๒

www.buddhadassa.in.th


[๑๐] เพราะไมมีปญญาอันถูกตองยอมเกิดความเสียหายรายแรง มีตัวอยางมาก ถามีปญญาถูกตองจะขจัดความงมงายเสียได รากฐานที่ ๕ เปรียบกับอุณหภูมิ คือศรัทธาที่ประกอบดวยปญญา ศรัทธาที่งมงายเปนอันตรายถึงกับทําลายศาสนา พุทธบริษัทควรปฏิบัติใหตรงคําวา "พุทธ" ผูตื่น ตองมีศรัทธาในองคมรรคใหถูกตอง ตองใชสัมมาทิฏฐิ, ยถาภูตสัมมัปปญญา ชวยแกปญหา

๔๙๒-๔๙๕ ๔๙๕-๔๙๗ ๔๙๗-๔๙๘ ๔๙๙-๕๐๑ ๕๐๑-๕๐๔ ๕๐๔-๕๐๖ ๕๐๗-๕๐๘

๑๒. การถอยหลังเขาคลอง [ปญหาศีลธรรมยุคปจจุบัน]

วิธีการและความหมายแหงการถอยหลังเขาคลอง ประการที่ ๑ ตองมีคานิยมที่ถูกตอง ประการที่ ๒ มีหลักตายตัวสําหรับปฏิบัติ ประการที่ ๓ มีรสนิยมอันถูกตอง การกลับมาแหงศีลธรรมก็คือการถอยหลังเขาคลองแหงความถูกตอง การกลับมาแหงศีลธรรมตองตอสูอ ยางสงบ ชี้ชวนกันใหเห็นชัดวา "สัตวทั้งหลายเปนเพื่อนทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย" สวนลําตนของศีลธรรมคือ ศีล สมาธิ ปญญา ตองกลับมา มรรคผล นิพพาน เทากับ ดอก ผล ของศีลธรรม

๕๑๐-๕๒๒ ๕๒๓-๕๒๖ ๕๒๗-๕๒๙ ๕๒๙-๕๓๑ ๕๓๒-๕๓๓ ๕๓๔-๕๓๕ ๕๓๖-๕๓๘ ๕๓๙-๕๕๔ ๕๕๔-๕๖๒

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ภาคผนวก ระดมธรรม ตองระดมธรรมในลักษณะถูกตองตามธรรม ในลักษณะตอตานเพื่อโลกนี้อยูรอด ในลักษณะประเทศไทยนี้อยูรอด ในลักษณะแตละคนอยูรอดดวยความสุขสวัสดี

๕๖๕-๕๙๘

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม - ๑ ๓ มกราคม ๒๕๑๙

ศีลธรรมคืออะไร [ เมื่อกลาวโดยทางภาษาและรูปแบบ ]

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทานสาธุชน ผูมีความสนใจในธรรม ทั้งหลาย,

การบรรยายประจํ า วั น เสาร แ ห ง ภาคมาฆบู ช า พ.ศ. ๒๕๑๙ นี้ ได ม าถึ ง เข า แล ว เป น วั น แ รก ใน วั น นี ้ ; แ ต ว  า จั ก ไม ม ี ก ารบ รรย าย โด ย ส ว น เดี ย วเห มื อ น กั บ ที ่ แ ล ว ๆ ม า ทั ้ ง นี ้ ก็ เ พื ่ อ เป น การท ด ส อ บ ค วาม รู ความเข า ใจบางอย า ง ที ่ ไ ด ย ิ น ได ฟ  ง กั น มาแล ว . ท า นทั ้ ง หลายก็ ค งจะ ประหลาดใจบ า งในตอนแรก ๆ แล ว ก็ เ ลิ ก ความประหลาดใจเสี ย ก็ แ ล ว กั น เพราะว า ถ า มั ว ประหลาดใจอยู ก็ ฟ ง ไม รู เ รื่ อ ง.

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

สํ า หรั บ เรื่ อ งที่ จ ะนํ า มาทดสอบเหมื อ นกั บ สอบไล แ ก ผู ฟ ง นั้ น ได พิจารณาเห็นวา ในวันแรกนี้จะพูดถึงเรื่อง “ศีลธรรม” อีก วา ศีลธรรมเปนสิ่ง ที่ค วรกลับ มา; เพราะฉะนั้นจึงใหหัวขอ วา “การกลับ มาแหงศีลธรรม” ซึ่งจะ ไดพูดกันในฐานะเปนปุจฉาและวิสัชนา เพื่อความละเอียดลออทุกแงทุกมุม. ถา ไมพูดไปในรูป ถาม-ตอบ ก็พูดขางเดียว ก็ไมคอยจะละเอียด ฉะนั้น จึงทําไปใน ลักษณะของการถามตอบ เพื่อจะใหละเอียด ... ... ... ... สํ า หรั บ เรื่ อ งศี ล ธรรมนี ้ ขอให เ ข า ใจว า “เป น เรื่ อ งเป น เรื ่ อ ง ตาย “; แลว สํา หรับ คนสมัย นี้ คือ วา โลกทั้ง โลก หรือ วา โลกแตบ างสว น หรือ บางคนก็ต าม กําลัง อยูในภาวะที่เรีย กวา “ตกหนัก ”, ตกในที่ลํา บากอยา งยิ่ง ถึง ขนาดเปน - ตายเอาทีเ ดีย ว. ถา แกปญ หาเรื่อ งศีล ธรรมไมไ ด ในไมน าน นี้เราก็จะถึงความวินาศ คือจะมีในการเบียดเบียนกันมากขึ้นจนทนไมไหว จนอยาก ตายเสียดีกวาอยู และเปนอยางนี้ดวยกันทั้งโลก; ประจักษพยานหลักฐานมันก็มี อยูแลว วากําลังมีอาชญากรรม คือการเบียดเบียนกันนั้น มากขึ้น ๆ อยางไมนา เชื ่อ . แลว ยัง มีค วามลํ า บากเหลือ ประมาณ ดว ยการเปน อยู  การครองชีพ , และลําบากในเรื่องโรคภัยไขเจ็บ ที่มันมีมากขึ้นในโลกนี้อยางไมนาเชื่อ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตัวอยางเชนวา โรคภัยไขเจ็บเกี่ยวกับอากาศเนาอากาศเสีย อยางนี้ เมื่อกอนไมเคยมี เพราะคนสมัยโนนไมไดทําใหอากาศเสียไดเหมือนอยางคนสมัยนี้ อยางนี้เปนตน เปนตัวอยาง.

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร

ทั้งหมดนั้ นมั น มาจากความไม มี ศีลธรรม ไม โดยตรงก็โดยออ ม จึง เกิดวิกฤติการณ เหลานี้ขึ้น; ฉะนั้นเรามาชวยกันพิจารณา แลวแกปญ หาเหลานี้ เพราะวาถาไมชวยกันแกไข มันก็คือวินาศ. และเราบางพวกบางคนก็มีโอกาส มีเ วลา มีส ติป ญ ญา พอที ่จ ะชว ยกัน แกไ ข; ฉะนั ้น จึง ชวนกัน มาศึก ษาปรับ ความเข า ใจ เพื ่ อ การแก ไ ขทั ้ ง โดยส ว นตั ว เอง เพื ่ อ ประโยชน แ ก ต ั ว เอง และสวนรวม. นี ่ข อปรับ ความเขา ใจในเบื ้อ งตน วา ปญ หาทางศีล ธรรม เปน ปญ หาที่ควรหยิบขึ้นมาชําระสะสาง แกไขเปนอยางยิ่งแลว; การที่เราจะพูดกัน ดวยเรื่องศีลธรรมนี้ จึงเปนเรื่องที่เหมาะสม คือมีเหตุผล. ทีนี้ก็อยางที่กลาวมาแลววา เราก็ไดพูดกันมาหลายครั้ง ไมนอยกวา ๓๐ ครั้ง ; เท า ที่ อ าตมาผู พู ด เองจํ า ได เราพู ด กั น มาแล ว ไม น อ ยกว า ๓๐ ครั้ ง และดูมันหาย ๆ ไปไหนหมดชอบกล ฉะนั้นจึงตองมาทบทวนกันดวยการสอบถาม เหมือนกับสอบไล.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เรื่อ งที่ จ ะพู ด นี้ มั น ยาวต อ งแบ งเป น ตอน ๆ เป น หมวด ๆ สํ าหรับ ใน วันนี้ จะพูดในตอนแรก หรือ : หมวดที ่ ๑ ว า ด ว ย สิ ่ ง ที ่ เ รี ย กว า ศี ล ธรรม ในแง ข อง ภาษาเปนตน. ปญหาที่จะสอบถามทานทั้งหลายในที่นี้ในวันนี้ก็คือ คําถามที่วาศีล ธรรมคื อ อะไร ? แต ไม ใช คํ า ตอบคํ าตอบเดี ย วพอ มั น ต อ งแจงออกไปในทุ ก แง

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

ทุก มุม วา มัน คือ อะไร? คือ อะไร? คือ อะไร? จนกวา จะเขาใจในสิ่งที่เรีย กวา “ศีลธรรม” นั้นอยางถูกตองและครบถวน ขอที่ ๑ ศีลธรรมในแงของภาษา คือคําวา “ศีลธรรม” นี้ก็เปนภาษาที่เราใชเรียกสิ่ง ๆ หนึ่ง. ถาจะดูกันในแงของภาษา ซึ่งอยางนอยก็จะมีสัก ๓ ภาษา : อยาง ที่ ๑. ศีลธรรมในแง ของภาษาชาวบาน ทั่ว ๆ ไป จะเปนภาษาไทย หรือภาษา ตางประเทศก็ต าม วาภาษาชาวบ านมั น หมายถึงอะไร? อยางที่ ๒. ในภาษา ของทางศาสนา ว า คํ า ว า “ศี ล ธรรม” นั้ น จะหมายถึ ง อะไร? อย า งที่ ๓. ใน ภาษาบาลี โดยเฉพาะคําวา “ศีลธรรม” นี้หมายถึงอะไร? [๑. ภาษาชาวบาน]

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : ฉะนั้นจะตองตั้งคําถามขอแรกวา ในภาษาชาวบานตามธรรมดาพูดกัน อยูทั่ว ๆ ไปนั้น คํา วา “ศีล ธรรม” หมายถึง อะไร? ขอใหคํา ตอบ มาเดี๋ยวนี้.

ตอบ :ศีลธรรมตามภาษาชาวบาน เขาหมายถึง กฎ ระเบียบ ประเพณี ที่เคยปฏิบัติกันมาแตเดิม เพื่อใหสังคมนั้นอยูเย็นเปนสุข มีความปรกติ ในสังคม; ความหมายเดิมของชาวบานที่เขาใจกันเปนอยางนี้. ถาม :เอา, ใครอีก ใครมีความเห็นอยางไรอีก? คุณสุพล, คําวา ศีลธรรม ในภาษาชาวบานทั่วไป หมายถึงอะไร?

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร

ตอบ : หมายถึงคนมีคุณธรรม อยูรวมกันในสังคมดวยความสุขสันติ. ถาม : หมายถึงการที่คนมีความประพฤติและอยูรวมกันดวยความสุข. เอา, ใครวาอยางไรอีก? ถาไมมีใครวาจะไดสรุปความวา ในภาษาชาวบาน รูกัน อยา งที ่รูก ัน อยู ทั ่ว ไป ไมม ีค วามหมายอะไรลึก ซึ้ง . เชน เรา ด า ใครสั ก คนหนึ่ ง ว า “ไม มี ศี ล ธรรม”; ก็ คื อ เท า นั้ น . ที่ เป น ภาษา กฎหมาย ใชอยูในตัวบทกฎหมาย วา ศีลธรรมอันดีของประชาชน มีความหมายไมสูจะกวางขวางอะไรนัก, และก็ยังไมไดอธิบายชัดเจน ดวย, เหมาๆ กันอยู. ที่ชาวบานเขารู คนไมมีศีลธรรม ไมมีธรรม ก็ เรีย กวา ไรศ ีล ธรรม, มีศีล ธรรมก็เ รีย กวา มีศ ีล ธรรม. ถือ เอา ตามความรูสึกสังเกตเห็นก็คือ คําพูดนี้มีการพูดสืบ ๆ กันมา ก็นับวา นานพอสมควรแลว คือ ประพฤติปฏิบัติตามศีลธรรมที่มีอยูในศาสนา ตามสมควรแกสภาพ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : ทีนี้จะพูดเลยไปถึงภาษาตางประเทศ เชน ภาษาอังกฤษ เปนตน; นี้ ก็เกิ ด เป น ป ญ หาขึ้น มา. เท าที่ นึ ก ได ในภาษาต างประเทศมี คํ าวา อะไรบาง ที่เล็งถึงศีลธรรม? ตอบ : มีคําวา morality เทาที่ผมนึกออก.

ถาม

: เอา, ใครอีก? ใครนึกไดอะไรอีก? ถานึกไมได เพียงเทานั้นก็พอ. คําวา moral ก็มี, morality ก็มี; แตจะขอบอกวาไมไดตรงกันทีเดียว สูงกวากันบาง ต่ํากวากันบาง หรือ แพรหลายกวากันบาง. คําวาmoral

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

ดู เหมื อ นวา ถ านอกไปจากเรื่องทํ ามาหากิ น อย างโลก ๆ ก็ดู จะเป น moral ไปหมด, มันกวาง: หรือ morality ก็เรียก. พูดกันลําบากตรง ที่ ค วามหมายไม ค อ ยเท ากั น หรือ ไม ค อยตรงกั น . เดี๋ ยวนี้ เรายั งไม มี ปญหาเกี่ยวกับภาษาตางประเทศนัก จะเวนไวกอนก็ได; เพียงแตจะ บอกใหรูวา ยังหาคําตางประเทศที่ตรงกับคําวา “ศีลธรรม” ในภาษา ไทยเราโดยตรงกัน ทุก กระเบีย ดนิ้ว นั้น ก็ยัง หายาก เดี๋ย วนี้เขาใช คําวา morality; เราเอาไวพูดกันวันหลังก็ไดโดยละเอียด นี้เปนภาษา ชาวบาน มีความหมายพรา ๆ. [๒. ภาษาศาสนา ] ถาม : ทีนี้ถาเปนภาษาทางศาสนา ของบุคคลผูเครงครัดในพระศาสนา ไมใช ภาษาชาวบานกลางตลาด คําวา ศีลธรรมนี้มีความหมายกวาอยางไร? ใครตอบได?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : ศีลธรรมตามภาษาทางศาสนา สวนมากก็หมายถึง การไมทําชั่ว ทํา แต ค วามดี ; ก็ อ ยู  ใ นพวกโลกิ ย ธรรม ผมเข า ใจว า ในศาสนา หมายถึงแตนี้ครับ, ศีลธรรมเปนโลกิยธรรม.

ถาม : เอา, ใครอีก ออกความเห็นกันมาไดตามพอใจ ตามสะดวก เทาที่มี ความรูอยูเดี๋ยวนี้, คําวา ศีลธรรม ในแงของศาสนาลวน ๆ หมายถึง อะไร? ตอบ : ศีลธรรมในแงของพุทธศาสนา หมายถึงสิ่งที่ หรือเครื่องทําความปกติ.

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร ถาม

: ก็ได, แตคําตอบอยางนี้จะกระเดียดไปทางลักษณะของภาษาบาลี. ภาษาศาสนาเราจะหมายถึงทุกศาสนาดีกวา :ศาสนาพุทธ ศาสนาคริสต ศาสนาอิสลาม; ที่นักศาสนาผูเครงครัดในศาสนา เขาเพงเล็งถึงอะไร ในเมื่อเขาพูดถึงศีลธรรม? ลองวามาดูซิ.

ผูตอบที่ ๑

: หมายถึงขอปฏิบัติที่ทําใหสมาชิกในสังคมอยูรวมกันอยางเปนสุข.

ผูตอบที่ ๒

: หมายถึงการไมกระทําความชั่ว.

ถาม : คําตอบนี้ก็ยังเวนการกระทําความดีอยู ยังไมรวมหรือ? ไปคิดดูใหม วา ภาษาศาสนา ในศาสนาทุกศาสนา คําวา “ศีลธรรม” อยางที่เรา พอจะสัง เกตเห็น ได ก็เ หมือ น ๆ กัน ทุก ศาสนา; เพราะวา ศาสนา มุงหมายจะใหอยูกันเปนปกติ แลวก็บัญญัติระเบียบปฏิบัติตาง ๆ ขึ้นมา เพื่อใหสําเร็จประโยชนตามนั้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org คํ า วา “ศาสนา” นี ้ต อ งหมายความถึง ศาสนาแรกมี ขึ ้น มาใน โลก ซึ่งเชื่อกันวา ประมาณสัก ๘,๐๐๐ ปมาแลว ที่พอจะเรียกไดวา ศาสนา. ทีนี ้ เมื ่อ หยิบ เอาขอ บัญ ญัต ิข องศาสนาโบรมโบราณเชน นั ้น มาดู ก็ยัง เห็น วา ยัง คงเปน หลัก เกณฑเดีย วกัน ยัง เหลือ อยู ก ระทั ่ง จนบัด นี ้ คือ “ไมป ระทุษ รา ย” คํ า เดีย วก็พ อ : ไมป ระทุษ รา ยตนเอง ไมป ระทุษ รา ยผู อื ่น , ใน ความหมายใด ๆ ก็เรียกวา ไมประทุษราย. เพราะเราไมอาจจะถือเอาภาษาแหง ศาสนานั้น ๆ ไดวา มันเปนภาษาอะไร เราก็เลยไมรูความหมายของตัวพยัญชนะ หรือตัวอักษรในภาษานั้นๆ; คงรูไดแตเพียงอรรถะ คือ ความหมายหรือความมุง หมายของขอบั ญ ญั ติในศาสนานั้น ๆ ซึ่งเห็ น ไดชัดวามุงหมายเพื่ อไม ให

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

เกิดการเบียดเบียนขึ้น แกผูอื่นเปนสวนใหญ; ที่จะเบียดเบียนตัวเองนั้น บางที ไม ได พู ด ถึ ง ก็ มี ในระบบของศี ล ธรรม บางระบบ บางศาสนา. แต ในพุ ท ธศาสนานี้ ก็จ ะมีห ลัก ที่ต ายตัว เหมือ นกัน วา ตอ งไมเ ปน ไปเพื่อ เบีย นเบีย ด ตนดวย, ไมเบียดเบียนผูอื่นดวย. [ ๓. ภาษาบาลี ] ถาม : ที นี้ จะดู ถึ ง สิ่ ง ที่ เ รี ย กว า “ศี ล ธรรม” ในแง ข องภาษาบาลี โ ดย เฉพาะ เพราะคํา วา “ศีล ธรรม” นี้ก็เ ปน ภาษาบาลี. ขอถามเปน การซอมความเขาใจวา คําวา “สีละ” กับคําวา “ธัมมะ” ภาษาบาลี แปลวาอะไร? ตอบ : คําวา สีละ แปลวา ปกติ , คําวา ธัมมะ แปลวา สิ่ง เพราะฉะนั้น คํ า ว า ศี ล ธรรม ความหมายตามภาษาบาลี ก็ คื อ “สิ่ ง ที่ ทํ า ให ปกติ”

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : ใครตอบอยางไรอีก? ตองตอวาสักหนอย คํานี้อธิบายไมนอยกวา ๑๐ ครั้ ง แล ว ยั ง จํา ไม ไ ด ยั ง นึ ก ไม อ อก. ใครนึ ก ออก, ใครว า ได ? ยังมีความหมายที่ตอไปอีกวาอยางไร ?

ตอบ : สิ่งที่ทําความปกติ. ถาม

: ก็เหมือนกับที่วามาแลว. ศีลธรรมแปลวาอะไรได?

ตอบ

: ศีลธรรมมีอยู ๓ ความหมาย.

ถาม :เอาตามตัวหนังสือ อยางเอาตามความหมาย.

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร

ตอบ : ที่แปลในแงเหตุก็วา สิ่งที่ทําใหปกติ, ถาแปลในแงผล ก็วา เปน ภาวะที่ปกติ, หรือวา ถาจะหมายถึงสิ่งที่อยูตามธรรมชาติ ตามปกติ ของมันตามธรรมดา ก็ไดอีกความหมายหนึ่ง ซึ่งใชรากศัพทบาลี จาก คําวาสีละ ที่แปลวา ปกติอยูตามธรรมชาติ; มี ๓ ประเด็นอยูดังนี้. ถาม : ถามซ้ําใหชัดอีกทีหนึ่งวา คําวา ศีลธรรม แปลวาอะไร ? มีกี่นัยะวามา อยางกระทัดรัดสั้น ๆ. ถาไมตอบ ก็จะตอบใหวา โดยนัยะที่ตางกัน ก็มีอยูเปน ๓ อยาง : อยางที่วา สีละ แปลวา ปกติ นี้ยืน พื้น. สวนคําวา ธมฺม หรือ ธรรมะ นั้น มันแปลไดหลายอยาง ตามธรรมดาก็แปลวา “สิ่ง” เฉยๆ; แตในที่นี้คําวา ธรรม นี่ก็แปลวา ภาวะที่ปรากฏอยูในฐานะเปนปรากฎการณตามธรรมดาของธรรมชาติ . ภาวะตามธรรมดาของธรรมชาติ นี ่ ก็ เ รี ย กว า ธรรม, สิ ่ ง ที่ เปนเหตุ ก็เรียกวา ธรรม, ขอปฏิบัติ สิ่งที่เปนผล ก็เรียกวา ธรรม, ขอปฏิบัติ เพื ่ อ จะให ไ ด เ ป น ผลนั้ น ขึ้ น มา ก็ เ รี ย กว า ธรรม. นี่ เ ป น การสอนบาลี กั น นิดหนอย :-

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นัย ที ่ ๑. ถา แปล ธรรม วา “ภาวะ”; ศีล ธรรมะ ก็คือ ภาวะ แหงความเปนปกติ ที่มีอยูตามธรรมชาติก็ได, หรือที่มนุษยจะทําใหมีขึ้นมาเอง ก็ได, นี่คือ ศีลธรรม ที่เปนภาวะแหงความปกติ.

นัย ที ่ ๒. ศีล ธรรม ในกรณีนี ้ ธรรม แปลวา เหตุ ; ศีล ธรรม แปลวา เหตุแ หง ความปกติ. นี้ก็เ ล็ง ไปยัง การประพฤติก ระทํา ของมนุษ ย

www.buddhadassa.in.th


๑๐

การกลับมาแหงศีลธรรม

โดยมาก เพราะสิ่ง อื ่น ทํ า ใหป กติไ มไ ด; ไดแ กอ ะไร ? ก็ไ ดแ กก ารปฏิบ ัติ ของมนุษ ยนั ่น เอง ที ่ป ฏิบ ัต ิแ ลว ทํา ใหเกิด ความปกติขึ้น มา ในตัว เขา และ กวางขวางออกไปถึงตัวผูอื่น. นัย ที่ ๓. ถา คํา วา ธรรมะ แปลวา ผล ; ศีล ธรรม ก็แ ปลวา ผลคือความปกติ ที่เกิดมาจากการปฏิบัติเพื่อความเปนอยางนั้น. ขอทบทวนใหมอีกครั่งหนึ่งอยางนี้ ใหจําไววา : สภาพตามธรรมชาติ ที ่ ป กติ ก็ ไ ด , การปฏิ บ ั ต ิ ใ ห ป กติ ก็ ไ ด , และผลที ่ เ กิ ด มาจากการ ปฏิบัตินั้น ก็ได, ศีลธรรมอยางนอยแปลเปน ๓ ความหมายอยางนี้. ทํ า ไมมาเสี ย เวลาแยกแยะกั น ให ม ากอย า งนี้ ? ก็ เพราะเป น เรื่อ ง สําคัญอยางที่กลาวมาแลว จึงตองรูจักกันทุกแงทุกมุม จะไดไปทําใหเกิดเปนผลดี ขึ้นมาอยางครบถวนทุกแงทุกมุม : ที่วาเปนภาวะปกติ ของธรรมชาติ ก็จะได ชว ยกัน รัก ษา. ที่วา เปน เหตุข องความปกติ ก็จ ะได ชว ยกัน ปฏิบัติ ชัก จูง กั น ให ป ฏิ บั ติ . ที่ เ ป น ผล, ภาวะปกติ ที่ เ ป น ผลนั้ น เราจะได รั บ ; เราจะ ไดอยูกันเปนผาสุก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เมื่อเรามีศีลธรรมครบทั้ง ๓ นัยะ ก็เปนอันวา มีความสมบูรณแหง ศีลธรรมเปนแนนอน ทําใหธรรมชาติเปนปกติ, อะไร ๆ ก็ปกติ ก็เลยสรุปความ ของคําวา “ผล” กันเสียอีกทีหนึ่ง ใหเสร็จไปในคราวเดียวกันนี้ :-

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร

๑๑

คําวา “ผล” ที่เกิดจากการปฏิบัติศีลธรรมนั้น มีผลเปนปรากฏ การณอ อกมา ใหเ ปน ที ่ส ัง เกตไดที ่อ ะไรบา งลองนึก ดู เรีย กวา เปน การ ทดสอบความจํา. ถาม : ถาเราปฏิบัติศีลธรรมจนเปนผลแลว ผลที่เปนปรากฎการณออกมานั้น พอสังเกตเห็นไดที่อะไรบาง? กี่อยาง? ตอบ : ที่ใจของเราเองอยางหนึ่ง ที่สภาพความปกติสุขของสังคมอีกอยางหนึ่ง. ถาม : ก็ได, ก็ถูก แลวแตจะมองไป; คนนี้วาที่จิตใจของเราเองนี้อยางหนึ่ง, ที่สภาพของสังคมอยางหนึ่ง, รวมมี ๒ อยาง. เอา, คนอื่นวาอยางไร? ตอบ : จุดเดนของศีลธรรมที่เห็นไดชัดก็คือ มิตรภาพ, เราจะมีมิตรภาพขึ้น ในสังคม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : นั้นก็เรียกวาแปลกออกไป : มิตรภาพ ; แตก็ตองไมยกเลิก ยกเวน สว นจิต ใจของตัว เอง. เอา , อะไรอีก ? จะเห็น ไดที ่ไ หนอีก ? จะ แสดงอยูที่ไหนอีก? ตอบ : จะแสดงอยูที่กาย และวาจา. ถาม : เอา, คนอื่นละ ไมมีอีกหรือ? ถา ไมม ีใ ครตอบอีก แลว ก็อ ยากจะสรุป ความขอ นี ้. มัน ก็เ นื ่อ งมา จาก ๓ นัยะขางตน ที่วา ภาวะปกติอยูที่อะไรบาง, ทางไหนบาง :-

www.buddhadassa.in.th


๑๒

การกลับมาแหงศีลธรรม ขอที่ ๒. ศีลธรรมที่แสดงผลในสิ่งที่ไมมีชีวิต

ขอ นี้ ก็อ ยากจะใหส ัง เกต มองกวางออกไปจนถึงภาวะความสงบ แมข องสิ ่ง ที ่ไ มม ีช ีว ิต ; วัต ถุที ่ไ มม ีช ีว ิต ทั ้ง หลาย มัน จะอยู ใ นภาวะปกติไ ด เหมือนกัน; ถามนุษยไมไปทําลายมัน ถามนุษยมีศีลธรรม ก็ยอมไมทําลายภาวะปกติของวัตถุทั้งหลาย อยาง ที่ เรีย กวาวิน าศ คื อ ไม เห็ น แก ตั วจนถึ งกั บ ทํ าลายความงามของธรรมชาติ หรือ ความมี อ ยู ของธรรมชาติ เท าที่ ควรจะมี . ฉะนั้ น ถ าเราเห็ น สภาวะของธรรมชาติ ที ่บา นไหน เมือ งไหน เปน ปกติดี เราก็พ อจะพูด ได วา ศีล ธรรมของ คนที่นั้นมันดี : ปาไมยังดี แมน้ํา ลําธาร ยังดี ยังสะอาด ทุก ๆ อยาง ปรากฏการณ ของธรรมชาติ ยั งอยูในลั กษณะของที่ น าดู น าเลื่อ มใส น าเจริญ ตา น า เจริญใจ; ลักษณะของศีลธรรมแสดงอยูที่นั่น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ขอที่ ๓. ศีลธรรมที่แสดงผลในสิ่งที่มีชีวิต

ที่มีชีวิตนี่ นับตั้งแตชีวิตอยางต่ําที่สุด เชน พืชพันธุธัญญาหาร ตนไม ตนไล, สูงขึ้นไปถึงสัตวเดรัจฉาน, กระทั่งถึงคน, แสดงอยูที่อาการ อากัปกิริยา ภาวะนั้น ๆ.

คน นี ่ ก ็ ค ื อ คนปรกติ มี ค วามเป น ปรกติ อ ยู  ที ่ ค น ก็ เ พราะมี ศีลธรรมนั่นเอง ที นี้ สั ต ว มั น ไม ได ศึ กษาเรื่อ งศี ล ธรรม ไม ได ตั้ งในปฏิ บั ติ เรื่อ งศี ล ธรรม; แต มั น ก็ มี ศี ล ธรรมของมั น ตามธรรมชาติ . ถ า มั น ไม มี ศี ล ธรรมตาม

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร

๑๓

ธรรมชาติ มั น ก็ ต  อ งตาย. แต เ ดี ๋ ย วนี ้ เ ราจะย อ นกลั บ ไปว า ถ า คนดี มี ศีล ธรรม สัตวก็จะพลอยเปน ปกติอยูไดดวย แลวก็จะมีปริมาณมากดวย. บานเมืองที่มีศีลธรรม จะเห็นสัตวทั้งหลายมีมากมายและอยูอยางนาดู; ถาบาน เมื องไหนไมมี ศีลธรรม สัตวมันก็จะถูกฆ าตายไป ถูกทํ าให พิการเจ็บปวด. นี่ เรียกวา แมที่สัตวนั้น ก็แสดงอยูซึ่งความมีศีลธรรมของมนุษย. อีก มุม หนึ ่ง สัต วม ัน ก็ต อ งมีศ ีล ธรรมตามแบบสัต ว ซึ ่ง ไม ตอ งสอน เพราะธรรมชาติมัน สอน มัน ควบคุม ; ฉะนั้น สัต วจึง มีชีวิต อยูไ ด อยางสงบสุข ไมเปนโรคภัยไขเจ็บมากเหมือนมนุษย. คิดแลวก็นาสังเวช ที่มนุษย เปนโรคภัยไขเจ็บมากมายเหลือประมาณแปลก ๆ ออกไป ; แตสัตวมันยังคงที่มี เทา ที ่ม ัน มีอ ยู  และก็ม ีเปน สว นนอ ย มัน มีศ ีล ธรรมอะไรก็ไ มท ราบ ไปตาม ธรรมชาติของมัน.

มนุษยเรามีความเปนอยูผิดธรรมชาติ ก็เลยมีโรคภัยไขเจ็บ

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org มาก; ขอที่มนุษยอยูอยางผิดธรรมชาตินี้ ก็ควรจะเรียกไดวา เสียหายในสวนศีล

ธรรมไดเ หมือ นกัน . สัต วมัน ยัง ไมเ สีย มัน จึง ยัง ไมคอ ยมีโ รคภัย ไขเ จ็บ เรา ไมคอยเห็นสุนัขหรือแมวปวดหัว หรือปวดฟน หรือเปนอะไรตาง ๆ เหมือนที่คน เขาเปนกัน; ยิ่งพืชพันธุธัญญาหารดวยแลว มันมีศีลธรรมตามธรรมชาติ เพราะ มันไมมีอะไรไปผลักดันปรุงแตง จึงเปนปกติอยูตามธรรมชาติ. อีก ทีห นึ่ง ถา มนุษ ยมีศีล ธรรม พืช พัน ธุธัญ ญาหารเหลา นี้

ก็อยูส บาย ไมคอยถูก เบียดเบีย น . เราจึงถือ วาปรากฏการณที่เปนผลทาง

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๑๔

ศีลธรรมนั้น ปรากฏอยูที่สิ่งที่มีชีวิต นับตั้งแตพืชพันธุไม ขึ้นมาถึงสัตวเดรัจฉาน ขึ้นมาถึงมนุษย ขอที่ ๔. ศีลธรรมที่แสดงผลที่สภาพของจิต. ถาม : ทีนี้อีกสิ่งหนึ่งเปนสิ่งที่ 3 ขอถามวา ลองทายดูซิวา มันยังมีอยูที่อะไรอีก ที่น อกไปจากที่ก ลาวมาแลวนี้? มัน ยังมีอ ยูต รงไหนที่เหลือ อยูอีก ที่ให มีศีลธรรม เปนที่แสดงอาการของศีลธรรมอีก? ถาตอบไดก็วามาเร็วๆ. ตอบ

: ก็ ม าถึ ง ศี ล ธรรมที่ มี ใ นคนที่ ลึ ก เข า ไปข า งใน เข า ไปถึ ง จิ ต ใจ และ ความคิดเห็น หรือความปรกติของความคิดเห็นอีกที ข อ นี้ จ ะถื อ ว า เป น ข อ ที่ ๔. คื อ สภาพของจิ ต ที่ ป ระกอบอยู ด ว ย

สติ ปญญา ศรัทธา ทิฏฐิ เปนตน

www.buddhadasa.in.th ทิ ฏ ฐิ ค วามคิ ด ความเห็ น ความเข า ใจ www.buddhadasa.org เป น ส ัม ม าท ิฏ ฐิ ข อ นี้ ไ ม พู ด ถึ ง ตั ว ค น ไ ม พู ด ถึ ง ชี วิ ต ข อ ง ค น แ ล ะ ไ ม พู ด ถึ ง ส ภ า พ จิ ต ข อ งค น ทั่ ว ๆ ไป ต า ม ธ รรม ด า ส า มั ญ . แ ต จ ะ พู ด ถึ งส ภ า พ จิ ต ข อ งบุ ค ค ล ที่ ได อ บ รม ดี เป น พิ เศษในทางศี ล ธรรม; สติ ป ญ ญาของเขาก็ ถู ก ต อ ง คื อ สติ ป ญ ญาของเขา

ประกอบอยู ด ว ยศี ล ธรรม,

ของเขาก็

ไม ว ิป ล า ส นั ่น ค ือ ท ิฏ ฐิข อ งเข า ม ีศ ีล ธ รรม , ค วา ม เชื ่อ ข อ งเข า

ก็เ ชื ่อ ถูก ตอ ง ไมง ม งาย ไมอ ะไรตา ง ๆ, เรีย กวา ศรัท ธาของเขาก็ม ีศ ีล ธรรม . นี ่เ ปน ตัว อยา ง สติ ปญ ญา ศรัท ธา ทิฏ ฐิ ที ่ป ระกอบอยู ก ับ จิต ของบุค คล

ที ่อ บ รม ด ีแ ล ว นั ้น แ ห ล ะ เป น ต ัว ศ ีล ธ ร ร ม ที ่น า เลื ่อ ม ใส , เป น ศ ีล ธ รร ม ใน ความหมายที่ดีที่สุด คืออยูที่สภาพแหงจิตใจของคน.

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร

๑๕

ถาทบทวนเฉพาะที่ ซึ่งแสดงลักษณะของศี ล ธรรมก็วา ๑. ศี ลธรรม อยูที่ วัตถุที่ไมมีชีวิต ทั่วๆ ไปก็ได; นี้ก็เปนธรรมดาธรรมชาติอยูมาก. ๒. ศีล ธรรมมีอ ยู ที ่ สิ ่ง ที ่ม ีช ีว ิต จะเปน คนเปน สัต วเ ปน ตน ไม อะไรก็ ต าม มั น ก็ ยั ง พอมองเห็ น ว า มั น มี ค วามปกติ ขึ้ น อยู กั บ การจั ด สรรของ มนุษยดวย. ๓. ศีล ธรรมที่ห าที่อื่นไมพ บ ไปดูที่อื่นไมเห็น ตอ งดูที่ ภาวะแหง จิต ของคนที ่อ บรมดีแ ลว เทา นั ้น : คน ๆ นี ้ม ีค วามสงบ ซึ ่ง เปน ผลของ ความถูกตองปรากฏอยูที่ สติ ปญญา ศรัทธา ทิฎฐิ เปนตนของเขา. ถาพูดภาษา ที่เราชอบพูดกันอีกที ก็วา ที่ดวง ”วิญญาณ” ของเขา. นี่เรียกวา ในแงของภาษา แลว สิ่งที่เรียกวา ศี ลธรรม ก็มี อ ยู หลายลักษณะ : ภาษาชาวบานก็ศีลธรรมอยางหนึ่ง, ภาษาศาสนาก็ศีลธรรม ก็มีความหมายอีกอยาง อยางหนึ่ง, เอาตามตัวภาษาบาลี คําวา สีลธมฺม หนึ่ ง ,แจกออกได เป น ๓ อย า ง. ถ า เป น ภาษาอื่ น ซึ่ ง มี อ ยู ก อ นพุ ท ธกาล ก็ มี หรือ ในพุท ธกาลก็ม ี; เขาใชคํ า อื ่น เราก็ไมรูภ าษาของเขา วา จะเปน รูป รา งตัว หนังสือหรือพยัญชนะวาอยางไร. ถาเอาตามพุทธศาสนาที่เปนภาษาบาลีแลว คําวา ศีลธรรมก็มีความหมายอยางนี้, มีคําแปลอยางนี้, มีคําอธิบายอยางนี้; แสดงผล ออกมาใหเปนที่สังเกตเห็นไดวา ศีลธรรมนั้นคืออยางนี้ ๆ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ที นี ้ ก็ ม าถึ ง หมวดที่ ๒ ว า ด ว ย ศี ล ธรรมในแง ข อง

รูปแบบที่มันปรากฏอยูเปนรูปแบบตาง ๆ กัน.

www.buddhadassa.in.th


๑๖

การกลับมาแหงศีลธรรม

ในโลกนี้ ในเวลานี้ ก็ไ ดเ ห็น แลว วา มัน มีอ ยูห ลายรูป แบบ : ศีลธรรมที่อยูในรูปของปรัชญาก็มี, ศีลธรรมที่อยูในรูปของศาสนาก็มี,ศีลธรรมที่ อยู  ใ นรู ป ของสั ง คมศาสตร คื อ วิ ช าสํา หรั บ สั ง คมโดยเฉพาะก็ ม ี , และ ในที่สุด ศีล ธรรมที่อ ยูใ นรูป ของกฎของธรรมชาติ เปน อํา นาจของธรรมชาติ เปนความศักดิ์สิทธิ์ของธรรมชาติ ซึ่งจะรวมเรียกกันวา กฎของธรรมชาติ ก็มี ; อย างน อ ยมั น มี อ ยู ใน ๔ รูป แบบ : คื อ รูป แบบของปรัช ญา รูป แบบของ

ศาสนา รูปแบบของสังคมศาสตร รูปแบบของกฎธรรมชาติ. ขอที่ ๑. ศีลธรรมในรูปแบบของปรัชญา ถาม : ที นี้ อยากจะถามว า ศี ล ธรรมที่ อ ยู ใ นรู ป ของปรั ช ญา ซึ่ ง เคย อธิบายมาหลายครั้งหลายหนแลวนั้นเปนอยางไร? ตอบ : ศีลธรรมในแงของปรัชญา ที่เขากลาวถึง มันเปนสิ่งดีสิ่งประเสริฐ ที่มนุษยควรจะไดรับในชีวิตนี้ เรียกวา Summum bonum, มันมีอยู ๔ ขอ แตไมไดบอกถึงวิธีปฏิบัติ เพื่อใหถึงขั้นสุดยอดของ ๔ อยางนี้ : ขอที่ ๑ คือความสุข, ขอที่ ๒ ก็คือการทํางานเพื่องาน, ขอที่ ๓ ก็ คือความเต็มความสมบูรณ, ขอที่ ๔ ก็คือ ความรักสากล; แตไมได พู ด ถึ ง วิ ธี ป ฏิ บั ติ เพื่ อ ให ไ ปสู จุ ด หมายปลายทางอั น นี้ ; เป น เพี ย ง ปรัชญาวาดวยสิ่งประเสริฐที่มนุษยควรจะไดรับในชีวิตนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม

:ใครจะวาอยางไรอีก ลองวามา ศีลธรรมที่อยูในรูปของปรัชญานั้นคือ อะไร?

ตอบ : เปนการถกเถียงและพูดคุย หาหนทางตาง ๆ ที่จะเขาสูเรื่องผลของ ศีลธรรม แตวาลงเอยกันไมไดสักที.

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร

๑๗

ถาม : ใครอีก, ยังมีคําตอบวาอยางไรอีก ? คุณยกละ คุณทองละ นิ่งเสียเรื่อย. ถาอยางนั้ นก็จะสรุปความเรื่องนี้อีกครั้งหนึ่ ง ซึ่งก็ไม อยากจะโทษใคร วาทําไมจึงตอบไดนอยนัก; ไมโทษตัวเอง, และไมโทษผูฟง. จะพูด ใหช ัด ลงไปอีก ครั้ง หนึ ่ง ซึ ่ง ผู ศ ึก ษาควรจะจํ า ไวใ หแ มน ยํ า วา ศีลธรรม ที่อยูในรูปของปรัชญา นั้น เปนการบัญ ญัติของคนสมัยปจจุบัน ซึ่งเมาปรัชญา. คนสมัยโบราณไมไดเมาปรัชญามากมายเหมือนคนสมัยปจจุบัน; คือ ความคิด นึก , ลํ า พัง ความคิด นึก ที ่เดิน ไปตามอํ า นาจของเหตุผ ล สํ า หรับ คนที่ไมรูจริงเขาเอามาเถียงกัน. นี ้ต อ งพูด เลยไปถึง ขอ ที ่ว า ถา คนรู เ รื ่อ งอะไรจริง ก็ไ มม ีท างที ่จ ะ เถียงกัน, จะพูดกันรูเรื่องงาย รูเรื่องเร็ว เพราะวาเอาสิ่งที่มีอยูแลวจริง ๆ มา พูดกัน. ทีนี ้ค นที ่ย ัง ไมรู เ รื ่อ งนั ้น แตว า อยากจะพูด ก็จํ า ตอ งพูด ดว ยการยก หรือ การ อา งเหตุผ ล เลยเปน เพีย งปรัช ญาของศีล ธรรม; ไมใ ชต ัว ศีล ธรรม. ถา ตัว ของศีล ธรรมคือ ตัว การปฏิบัติล ะก็ ไมตอ งเถีย งกัน ; มีผ ลอะไรออกมา ก็ รูได เอง. ที นี้ เมื่ อ ไม มี การปฏิ บั ติ แต อ ยากจะพู ด ถึ งเรื่อ งสิ่ งนั้ น ๆ ก็ ต อ งพู ด โดย การอางเหตุผล.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ยกตัว อยา งเชน วา ดี คือ อะไร? ชั่ว คือ อะไร? เขาก็อ า งเหตุผ ล ที่จะบัญญั ติวา ดีคืออยางนั้น ชั่วคืออยางนี้ ไปตามประสาของคนที่ไมเคยรูจักชั่ว หรือ ไมเคยรูจัก ดีดว ยใจจริง . แมเขาทําชั่ว อยู เขาก็ไมรูสึก วาชั่ว, ทําดีก็ไมรูจัก , ก็ทําไปตามที่คิดวาดี มันกลายเปนชั่วเสียก็มี ก็เลยเกิดการถกเถียงกันขึ้นมา วา

www.buddhadassa.in.th


๑๘

การกลับมาแหงศีลธรรม

อะไรดี อะไรชั่ว อะไรอยางไร จึงจะเรียกวาดี, อยางไรจึงจะเรียกวาชั่ว. เหตุผล ที่ยกขึ้นมาอางเหลานี้ เรียกวาวิธีการณปรัชญาในแงของศีลธรรม. ศีลธรรมในแงของปรัชญาแลวก็จะมีการพูดกันอยางพร่ําเพรื่อ จนถึง กับ เพอ เจอ วา เราควรจะมีศีล ธรรมไหม? เราควรจะประพฤติศีล ธรรมไหม? พวกที่ไมอยากประพฤติศีลธรรมก็มีเหตุผลมากมายเปนภูเขาเลากา วาเราไมตอง ประพฤติศีล ธรรม; เราไมมีศีล ธรรม เราก็อ ยูไ ดใ นโลกนี้ ดว ยวิธีก ารอยา ง นั้นๆ ๆ. พวกที่ยึดถือศีลธรรมก็บอกวาไมได, เราตองมีศีลธรรม ตองทําอยาง นั้น ๆ; ในที่สุดก็เถียงกันอยางไมรูจักจบจักสิ้น. นี่เปนลักษณะอาการของสิ่งที่เรียกวา ปรัชญา. สรุปความสั้นๆ วา: ยกเอาเหตุผลเปนกระบิ ๆ มาฟดกัน มาทําลายลางเอาชนะกัน มันก็เคียงคู

กั น ไปเรื่ อ ยอย า งไม รูจั ก จบ ลงเองไม ไ ด . อย า งนี้ คื อ สิ่ ง ที่ เขาเรี ย กกั น ว า ปรัชญา. คนที่มีมันสมองวองไวยอมชอบ และรูสึกเปนสุขเมื่อไดเถียงกัน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ศีล ธรรมที ่อ ยู ใ นรูป ของปรัช ญา ก็ค ือ คํ า ถามทั ้ง นั้น , มีแ ต

คําถามทั้งนั้น. สวนคําตอบมันไมยุติ เพราะตางคนตางตอบไปตามความพอใจ ของตน. ไปตรวจดูใ นสิ่ง ที่เรีย กวา ปรัช ญาของศีล ธรรม หรือ ศีล ธรรมในรูป ของปรัชญา จะมีแตคําถามทั้งนั้น . คําถามนั้น ก็คือ เหตุผลในทางตรรกะ ซึ่ง เปนอีกเรื่องหนึ่ง จะอธิบายก็ยืดยาว ไมตองอธิบายก็ได ; ถาเปนเหตุผลอยางที่ เด็ก ๆ มันถามกันเลน ก็เรียกวา ตรรกะ ทั้งนั้น.

ถา ปญ หาลึก ซึ ้ง ขึ ้น ไป ก็เปน ตรรกะที ่ล ึก ซึ ้ง ขึ ้น ไป; ถึง จะ คานก็คานดวยเหตุผลทางตรรกะ. เมื่อคนอีกฝายหนึ่งมีเหตุผลไมพอ หรือวานึก

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร

๑๙

ไมอ อก นึก ไมทัน มัน ก็จ น; ถา นึก ออก ก็แ กอ อกไปเปน ตุเ ปน ตะ; คนหนึ่ง ก็ถามอีก ก็ไลกันไปอีก. เดี ๋ ย ว นี ้ ศ ี ล ธ ร ร ม ม า อ ยู  ใ น รู ป ต ร ร ก ะ กั น เสี ย ห ม ด มี ไ ว สํา หรับ ซัก สํา หรับ ถาม สํา หรับ เปน ปรัช ญากัน เสีย หมด; โลกนี้ก็เ ลยไมมี ศีล ธรรม ที ่เปน ตัว แท หรือ เปน ตัว จริง มีแ ตศ ีล ธรรมพูด ศีล ธรรมเถีย งกัน กระทั่ งเป น ศี ล ธรรมแก ตั ว; ในเมื่ อ จะรัก ษาประโยชน ข องตน ๆ ก็ มี ขอ แก ตั ว ; ระหวางบุคคลก็เปนอยางนี้, ระหวางประเทศตอประเทศก็เปนอยางนี้. ฉะนั้น ศี ล ธรรมในรู ป แบบของปรั ช ญาจึ ง มี แ ต คํา พู ด หรื อ การบั ญ ญั ติ ให เ ป น ที่ น า สนใจ จนกระทั่งไมมีใครพู ดไดดีกวา และคํามันก็คางเติ่งอยูที่นั่น; ไม แสดงถึงการปฏิบัติ เพราะวามันเปนปรัชญา. ขอที่ ๒. ศีลธรรมในรูปแบบของศาสนา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ศี ล ธ ร ร ม ที ่ อ ยู  ใ น รู ป ข อ ง ศ า ส น า ที่ เ อาข อ นี้ ม าพู ด ความ ประสงคนี้ก็เพื่อจะ ใหเขาใจคําวา ศาสนา ดีขึ้น. ฉะนั้น ขอใหพินิจพิจารณา กันใหมากเปนพิเศษสักหนอย; เพราะวาคําวาศาสนานั้น มัวเต็มที สลัวเต็มที พราเต็มที มากแงมากมุมจนไมรูวาจะไปลงกันที่ตรงไหน วาศาสนานั้นคืออะไร?

ถาม

: ฉะนั้น อยากจะถามวา ศีลธรรมที่อยูในรูปแบบของศาสนา นั้นคืออะไร? ขอใหตอบมากอน.

ตอบ : ศีลธรรมในรูปแบบศาสนา ก็เปนทางปฏิบัติสายกลาง มัชฌิมาปฏิปทา เพื ่อ ไปสูค วามหมดทุก ข, คือ ไปสูค วามปกติขั้น สุด ทา ย, เปน เรื่อ ง ของการปฏิบัติเพื่อการหลุดพน, นี่เปนศีลธรรมในแงของทางศาสนา.

www.buddhadassa.in.th


๒๐

การกลับมาแหงศีลธรรม

ถาม : มีอะไรอีก ใครมีอะไรอีกวาไป? ศีลธรรมที่อยูในรูปแบบของศาสนา มันตางจากศีลธรรมที่อยูในรูปแบบของปรัชญาอยางไร? คิดอยางนั้น กอนก็ได แลวก็จะมองเห็นเอง. คนที่ ๑ ตอบ : เปนการปฏิบัติตามผูสืบทอดศาสนา ตามคําสอนของผูสืบทอด ศาสนา. คนที่ ๒ ตอบ : ศีลธรรมในแงของศาสนา หมายถึงการปฏิบัติ เพื่อยังใหสังคม นั้นและผูนั้น ถึงซึ่งความเปนปรกติ. ถาม

: เอา วามาอีก ใครมีอะไรวามาอีก. ถาไมมีใครตอบก็จะถาม, คําถาม ที่จะถามตอไป วา พุทธศาสนาของเรานี่เปนปรัชญาหรือเปลา?

ตอบ : พุทธศาสนา มิใชปรัชญาครับ เพราะมันอยูเหนือเหตุผล พุทธศาสนา เกี่ ย วกั บ ความรู สึ ก ที่ เกิ ด ขึ้ น ในตั ว ผู ป ฏิ บั ติ มั น อยู เหนื อ เหตุ ผ ลก็ มิ ใ ช ปรัชญา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : ถาอยางนั้น สิ่งที่เขาเรียกกันวา พุทธปรัชญานั้นคืออะไร?

ตอบ : พุทธปรัชญา หมายถึง ปญ ญา หรือความรูที่พ ระพุ ทธเจาไดบัญ ญั ติไว; ปรัชญาตัวนี้ คงจะแปลวา ปญญา. ถาม : มั น ก็ เ ป น เรื่ อ งเพ อ เจ อ ไม มี ก ารปฏิ บั ติ ไม มี จุ ด จบ หรื อ อย า งไร? พุทธปรัชญาเปนอยางไร ?

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร

๒๑

ตอบ : ไมไดเปนไปในเชิงเพอเจอ คือวาเปนแนวทางเพื่อการปฏิบัติ หาก แตวาผูประพฤติ หรือผูศึกษานั้นเพอเจอไปเอง ในทางปรัชญาอยาง เดียว ไมไดปฏิบัติ. ถาม : คือเราจะเอาพุทธศาสนา มาพูดใหเพอเจอไปเปนปรัชญาไดหรือไม? ไดหรือไม? ตอบ : ไดครับ. ถาม : นี่ใหสังเกตดูใหดีวา เราเอาพุทธศาสนามาพูดใหเปนปรัชญาเพอเจอก็ ได เพราะฉะนั้น พุทธศาสนา กับพุทธปรัชญา ตองตางกันใชไหม? ตอบ : ใชครับ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : ตางที่ตรงไหน? ตอบ

: พุท ธศาสนาหมายถึง ขบวนการ วิธีการปฏิบัติ; สว นพุทธปรัช ญา นั้ น หมายถึ ง ปริยั ติ คื อ การพู ด การเรีย น การศึ ก ษากั น ไม ได เน น หนัก ไปในทางปฏิบ ัต ิ. พุท ธศาสนาตอ งหมายถึง ตัว การปฏิบ ัต ิเพื ่อ การหลุดพนอยางพุทธศาสนา; ใชคําวา มีวิมุตติเปนแกนสาร.

ถาม : อยากจะถามวา ปริยัตินั้นมีจุดจบไหม? ตอบ : ปริ ยั ติ ใ นทางพระพุ ท ธศาสนา เอาแต แ ค ว า เพื่ อ วิ ช าที่ เกี่ ย วกั บ การ ปฏิบัติใหพนทุกข คืออริยสัจจ เทานั้นแหละครับ.

www.buddhadassa.in.th


๒๒

การกลับมาแหงศีลธรรม

ถาม : ถาปริยัติมีจุดจบ ปรัชญาไมมีจุดจบ แลวจะเอาปริยัติไปเปนปรัชญาได อยางไร? ตอบ : อันนี้ผมไดเรียนไวแลววา หากแตวาผูศึกษานั้นเพอเจอไปเองครับ. ถาม : หากแตวาผูศึกษาไดเอาปริยัติไปทําใหเพอเจอดังนั้นแลว ปริยัติสวนที่ เพอเจอนั้นจะเปนปริยัติของใคร? ตอบ : เปนเรื่องของคนนึกคิดนั่นเอง ครับ. นั่น แหละ มัน ตองไมใชของพุท ธศาสนา; ปริยัติตองเปน อุป กรณ หรือตองเปนบุพภาคของปฏิบัติ แยกกันไมได เพราะวาการที่เราจะปฏิบัติอะไร ลงไป ตองเปนความรูที่ถูกตอง สําหรับปฏิบัติ. ความรูที่เปนหลักถูกตอ งนั้น มันชวยใหปฏิบัติถูกตอง; ฉะนั้น จึงตองเอาความรู หรือปริยัตินี้มาอยูในฝาย ปฏิบัติ อยาเอาไปใหฝายปรัชญา; เวนแตจะถามวา คําอธิบายหรือ คําพูด ที่ เกี่ยวกับพุทธศาสนาอยางเพอเจอนั้น ก็มีอยู ก็ยกไปใหเปนเรื่องของปรัชญา เขาก็ อาจจะพูดไปดวยเจตนาดี เจตนาที่อยากรูอยางยิ่ง แตมันเปนไปในรูปของปรัชญา; เพราะวาเขาไมรูจักจุดตั้งตน หรือวาจุดจบของสิ่งที่มนุษยควรจะปรารถนา; บุคคล ประเภทนี้ ก็จะพูดใหเพอเจอเปนปรัชญาเรื่อยไป.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี ่ก ็พ อจะมองเห็น ไดแ ลว วา ถา เปน ปรัช ญา ก็พ ูด ไปดว ยการ คํ า นึง คํ า นวณ เพราะไมม ีก ารปฏิบ ัต ิ. ถา เปน ศาสนาในความหมายนี ้, ความหมายแห ง ศาสนาที ่ ถู ก ต อ งนี ้ เขาหมายถึ ง การปฏิ บ ั ต ิ ทั ้ ง นั ้ น ;

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร

๒๓

เพราะวา พระศาสดาของศาสนาไหนก็ตาม จะระบุออกมาเปนการปฏิบัติทั้งนั้น; แล วไม ต องเถี ยงกั น วาทํ าไมจึงต อ งปฏิ บั ติ อ ย างนั้ น , จะถูก หรือ จะผิ ด อย างไร. เพราะวาในรูปแบบของศาสนา ไดวางกฎเกณฑไวอยางนี้ วาพระศาสดาจะบอกระบุ ใหปฏิบัติ. ทีนี ้ มัน จะผิด หรือ จะถูก นั ้น ก็ล องปฏิบ ัต ิซ ิ มัน จะบอกวา ผิด หรือถูกเอง, โดยอาศั ยหลักที่ วา เป น สนฺทิ ฏ ิโก ปจฺจตฺตํ เวทิต พฺ โพ วิฺู หิ เปน ตน . พอปฏิบ ัต ิล งไปแลว มัน จะแสดงออกเองวา ถูก หรือ ไมถูก ; โดย ถื อ เป น หลั ก ว า ถ า มี ผ ลดั บ ทุ ก ข ได เป น ความสุ ข , เห็ น ขึ้ น มาอย า งนี้ แ ล ว ก็

เรียกวา ถูก. ฉะนั้น วิถีทางของศาสนาจึงไมตองอาศัยปรัชญา ซึ่งจะถามเสียตั้งแต แรกแลวอยางไมมีจุดจบ วาทําไปจึงตอ งปฏิบัติอ ยางนั้น , พอบอกแลว ก็ถาม อีกวาทําไมตองเปนอยางนั้น อีก, ทําไมตองเปนอยางนั้น อีก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถา เปน ศาสนาจริง ทุก ศาสดาจะไมส อนในรูป ของปรัช ญา,

แต จ ะสอนในรูป ของศาสนา. เท าที่ ท ราบและใช กั น อยู เดี๋ ย วนี้ ศาสนา นั้ น เขา เรีย กกั น ว า religion; พอไปเรี ย กเป น ภาษาฝรั่งเข า ก็ ทํ า ความลํ า บาก เพราะ religion อื่นๆ เขามีพระเจา ซึ่งฝากไวกับความเชื่อ เกินไป. สวนพุทธศาสนานี้ ไมตองมีพระเจาชนิดที่ฝากไวกับความเชื่อ; แตมีการปฏิบัติลงไปจริง ๆ , ไดผล เกิดขึ้นมาจริง ๆ , พิสูจนอยูดวยผลที่เกิดขึ้นมาจริง ๆ, นี่เปนรูปแบบของศาสนา พวกนี้รวมทั้งพุทธศาสนาดวย.

www.buddhadassa.in.th


๒๔

การกลับมาแหงศีลธรรม

ศาสนาที่เกี่ยวกับความเชื่อ ก็เปนศาสนา, ศาสนาที่เกี่ยว กั บ การปฏิ บั ติ ใ ห เห็ น ผลของการปฏิ บั ติ อ ยู ใ นตั ว การปฏิ บั ติ นี้ ก็ เป น ศาสนา. เราอยาเหมาใหศาสนาเปนปรัชญา ; แ ม ศ า ส น า นั ้น จ ะ มี รากฐานอยูที่ค วามเชื่อ . ความเชื่อ มีกัน ไดแ ตใ นแบบของศาสนา จะไมมี ในแบบของปรัชญา; เพราะปรัชญาไมตองเชื่อ และปรัชญาก็ฝากไวกับเหตุผล เรื่อยไป ไมตองเชื่อ ไมตองปลงความเชื่อ. ถาปลงความเชื่อ ก็เชื่ออยูที่เหตุผล ไมไดเชื่ออยูที่ผลของการปฏิบัติที่ปรากฏแกจิตใจ; โดยเหตุนี้เราจะแยกศาสนา ออกจากปรัชญา. แตข อใหเ ขา ใจวา คํา วา “ศาสนา” คํา นี้ หมายถึง ระบบเชน นี้

ซึ่ ง ไม กิ น ความลงไปถึ ง ศาสนาที่ เป น เรื่อ งงมงายก็ มี , หรื อ เอาไปทํ า เป น ปรัช ญาเสีย แลว ก็ม ี. ถา ทํ า อยา งนั ้น แลว จะแยกกัน ไมอ อก; เพราะวา

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ศาสนาที่พูดอยางปรัชญา อยางเพอเจอก็มี. เขาจะเอาพุทธศาสนาไปพูดใหเปน ปรัชญา ก็ทําไดอยางยิ่ง เพราะมีแงมุม ใหพูดใหทําไดอยางยิ่งมากมายเสียอีก; นั้นก็เปนปรัชญาไป ไมเปนพุทธศาสนา ทั้งที่วาเอาหลักของพุทธศาสนาไปพูด ในรูป ของปรัช ญา. พระศาสดาไมไ ดท รงมุง หมายจะใหพูด กัน ไป หรือ เชื่อ กันไป ปฏิบัติกันไป ในลักษณะของปรัชญา.

อย า งที่ มี ก ล าวไว ใน กาลามสู ต ร ว า มา ตกฺ ก เหตุ , มานยเหตุ เปน ตน ; แปลวา อยา เชื่อ ถือ เอาโดยเหตุผ ลทางตรรกะ, อยา เชื่อ ถือ เอาดว ย เหตุผลทางนัยะ คือปรัชญา อยางที่วา. ฉะนั้น พุทธศาสนาจึงไมใชตรรกะ, ไมใช

www.buddhadassa.in.th


๒๖

การกลับมาแหงศีลธรรม

ถาม : เดี๋ยวนี้อยากจะสอบถามความเขาใจ หรือความสังเกต วาตามความรูสึก หรือ ความสังเกตของท านทั้ งหลายนี้ ศี ลธรรมที่ อ ยูในรูป ของสั งคมศาสตร นั้นคืออยางไร? ตอบ : อยูในรูปของระเบียบ ประเพณี วัฒนธรรม ของสังคม แลวก็กฎ บัญญัติของสังคม เชน กฎหมาย. ถาม : เอา ใครอีก? ตอบ : ศีลธรรมในแงของสังคมศาสตร ก็ ใชหลักดั้งเดิมมาวา อยูรวมกัน ชวยเหลือกัน ไมเบียดเบียนซึ่งกันและกัน. คงจะใชหลักเพียงเทานี้. ถาม : เอา ใครอีก?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาไมมีใครตอบก็อยากจะแสดงความคิดเห็นใหฟง เพื่อจะใหเห็นชัด วา สิ่ง ที่เ ราเรีย กวา สัง คมศาสตร นี้ก็แ ยกตัว ออกมาจากศาสนา อยูใ น รูปแบบอันหนึ่ง ซึ่งเปนสิ่งที่จําเปนแกสังคม จึงเรียกวา สังคมศาสตร.

อยากจะพูดเอาเอง แตก็ยืนยันวาถูก หรือคนอื่นอาจจะไมเห็นดวย วา คําวา “ศาสตร”, ศาสตร ที่เราใชกันอยูในภาษาพูดจานี่ มันคือคําวา ศาสตรา; วิทยาศาสตร ภูมิศาสตร ประวัติศาสตร อะไรศาสตรก็ตาม คําวา ศาสตร นั้น แยกตัว มาจากคํา วา ศาสตรา (ของมีค ม) ซึ่ง มนุษ ยรูจัก กอ นวิช าความรู; พอทีหลังมารูจักวิชาความรู; ก็เอา, นี่ก็เปนศาสตราเหมือนกัน - ศาสตราทางจิต

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร

๒๗

ทางวิญญาณ; ก็เลยเอาคําวา ศาสตรา ของมีคมตามธรรมดา มาใชเปนชื่อของ วิชาความรู จึงเรียกวา วิทยาศาสตรบาง สังคมศาสตรบาง อะไรศาสตรบาง.

สั ง คมศาสตร ก็ คื อ ศาสตราที่ สั ง คมจะต อ งใช ในฐานะเป น ศาสตราคือ อาวุธ ที ่ม ีค ม สํ า หรับ ตัด ปญ หาของมนุษ ยนั ้น ๆ; ฉะนั ้น สัง คมศาสตร จึง มีม ากมายนับ แขนงไมถว น. แขนงสํา คัญ ๆ ที่ส นใจกัน อยู มีไมนอยกวา ๑๕ แขนง คือทุกแขนงที่มนุษยจะตองรู รวมทั้งศาสนา รวมทั้ง ปรัชญา รวมทั้งประวัติศาสตร อะไรดวยทั้งหมดเลย ที่สังคมจะตองรู และมี ประโยชน.

ทีนี้ ศีล ธรรมในฐานะที่เ ปน สัง คมศาสตร ก็ห มายความวา สิ่งที่จ ะตัด ปญ หาของสังคมไดต ามหนาที่ หรือ ตามวัต ถุประสงคของสิ่งนี้. เชนสังคมไมมีความสงบ เกิดเปนปญหาขึ้นมาวา สังคมไมสงบ ก็มีศาสตรอันหนึ่ง ที่จะชวยตัดปญหาอันนี้; เพราะฉะนั้นจึงเรียกวา สังคมศาสตรที่เปนศีลธรรม, หรือ วา ศีล ธรรมที่เ ปน สัง คมศาสตร. สว นเรื่อ งเศรษฐกิจ เรื่อ งการเมือ ง ก็เปนสังคมศาสตร สําหรับแกปญหาอยางอื่น ตามความมุงหมายนั้น ๆ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ศีล ธรรมซึ ่ง เปน สัง คมศาสตร ก็จ ะมุ ง หมายแกป ญ หาตาม ความหมายของคําวา “ศีล ธรรม” นั่น เอง ; ฉะนั้น ศีล ธรรมเทา ที่จํา เปน

แกสังคม นั่น คื อสังคมศาสตร หรือ ศีล ธรรมที่อ ยูในรูปของสังคมศาสตร. นั ก สังคมศาสตรไมตองการใหประชาชนเรียนศีลธรรม มากไปกวาที่จําเปนแกสังคม; ถาเรียนมากกวานั้น มันก็กลายเปนเรื่องศาสนา สูงขึ้นไปกวาศีลธรรม.

www.buddhadassa.in.th


๒๘

การกลับมาแหงศีลธรรม

นี ้คํ า พูด เกิด แตกแยกกัน ขึ ้น มาแลว และก็กํ า กวม; เราอยากจะ พู ด ว า ทั ้ ง ห ม ด เป น ศี ล ธรรม ; แต ถ  า ศี ล ธรรม ที ่ เ ป น สั ง คม ศาสตร นั ้ น จะเหลืออยูเพียงแตที่จําเปนแกสังคม จะเปนบทบัญญัติทางศาสนาโดยตรง หรือ โดยออมก็ได เทาที่สังคมจะตองมีจะตองรู, จะตองรูและจะตองมี, จะตองปฏิบัติ. นี้ เรียกวาศีลธรรมที่อยูในรูปแบบของสังคมศาสตร. เราไปเป ด ดู ห นั ง สื อ พวก social science ที่ มี อ ยู ม ากมาย หลายๆ ชนิ ด ; จะพบคํ า ว า ศี ล ธรรม นี้ อ ยู ด ว ยคํ า หนึ่ ง ในฐานะเป น ศาสตรอั น ดั บ หนึ่ ง ของสัง คม ก็ม องเห็น ไดไ มย าก. มองเห็น ไดว า ศีล ธรรมที ่ม าอยู ใ นรูป แบบ

ของสัง คมศาสตรนั ้น ก็ค ือ ศีล ธรรมเทา ที ่ส ัง คมตอ งการ, ควรจะตอ งการ, หรือ จํ าเป น ที่ จะต อ งการ, หรือ เท าที่ เป น ที่ ย อมรับ กั น ทั่ วไปก็ ได , แต นั่ น มั น จํากั ด อยูสําหรับทุกคนที่ลงความเห็นตรงกัน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาเกิดความเห็นไมตรงกัน คนหนึ่งก็อาจจะแยกออกมาใหมากกวานั้น ก็ได ลึ กไปกวานั้ น ก็ได อยาเอาเป น ประมาณเลย; เอาเป น ประมาณแต เพี ยงวา นักสังคมศาสตร เขาไดบัญญัติลงมติวาเทาไร จะถือวาเปนสังคมศาสตร.

แต แ ล ว ในที่ สุ ด เอาแน น อนไม ไ ด เพราะมั น หลายคน หลายพวก หลายความคิด หลายความเห็น แลวก็ยึดหลักศาสนาตาง ๆ กัน ศาสนาโนนบาง ศาสนานี้บาง ซึ่งไมคอยจะเขากันทีเดียว เลยบัญญัติเหมือนกับตวง หรือวัดเอาดวย เครื ่อ งวัด เครื ่อ งตวง; อยา งนี ้ม ัน ไมไ ด; ไดแ ตป ระเมิน เอาวา สัง คมตอ งการ เท า นี้ ก็ พ อ, เท า นี้ ก็ พ อ และเมื่ อ เป น เรื่อ งของสั งคมแล ว มั น ก็ เปลี่ ย นไปตามยุ ค ตามสมั ย ซึ่ ง สั ง คมมั น เปลี่ ย นแปลง. ศี ล ธรรมที่ อ ยู ใ นรู ป สั ง คมศาสตร ก็ ต อ ง

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร

๒๙

เปลี่ยนแปลงไปตามรูปแบบของสังคมที่มันเปลี่ยนแปลง มันจึงไมเหมือนกับที่อยู ในรูป ของศาสนา, หรือ ไม เหมื อ นกั บ แม ที่ อ ยู ในรูป ของปรัช ญาซึ่ งมั น เฟ อ หรือ มันเพอไปตามความคิด. ขอที่ ๔. ศีลธรรมที่อยูในรูปของกฎธรรมชาติ. คํ า พูด นี ้อ าจจะหาไมพ บในตํ า ราศีล ธรรมก็ไ ด เพราะวา เขาไมม อง กัน ถึง ขนาดนี ้; แตถ า เราเปน พุท ธบริษ ัท ศึก ษามาตามวิธ ีข องพุท ธบริษ ัท ก็ จ ะไปพบกฎของธรรมชาติ อ ั น ลึ ก ซึ ้ ง ; เช น กฎอิ ท ั ป ป จ จยตา เป น ต น . เราก็มองเห็น วา มัน เกี่ยวกัน กับ สิ่งที่ เรียกวา “ศีลธรรมของมนุษ ย” เราก็เลยรูวา อํานาจสูงสุดของกฎธรรมชาติ นี้บังคับใหมนุษยตองมีศีลธรรม. ถาม : อยากจะถามเพื่อตองการซอมความเขาใจ สักนิด วา ศีลธรรมที่อยูในรูป แบบของกฎธรรมชาติ อั น ตายตั ว นั้ น มี ค วามหมายว า อย า งไร? หรื อ หมายความวาอยางไร?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : ศี ล ธรรมในรู ป แบบของกฎธรรมชาติ มั น เป น กฎตายตั ว ที่ ไ ม เปลี ่ย นแปลง; ซึ ่ง หมายความ วา ธรรมชาติทั ้ง หมด และมนุษ ย ในโลกนี ้ห รือ อะไรก็ต าม จะตอ งทํ า ไมทํ า ไมไ ด แลว ก็ทํ า เพื ่อ ปรกติ ไปสู ค วามสงบ หรือ ความหยุด ทั ้ง นั ้น ครับ . เปน กฎตายตัว เปน ตน วาต อ งกิ น ถ าไม กิ น แล วจะหิ ว กระวนกระวายอยู เรื่อ ย; กิ น แล วปรกติ แล ว ธรรมชาติ มั น วางกฎไว ใ นพวกสั ต ว ชั้ น ต่ํ า เห็ น ได ชั ด มั น ทํ า

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๓๐

กระเพาะไวเ ทา นั ้น กิน เทา นั ้น แลว ก็พ อ แลว ก็จ บกัน นี ่เ ปน กฎ อยางหนึ่งของธรรมชาติ. ถาม

: นั่นเปนศีลธรรมสวนตัวสัตวหนึ่ง ๆ หรือบุคลหนึ่ง ๆ ใครวาอยางไร อีก? ใครมี ค วามเห็ น มี ค วามเขาใจวาอยางไรอีก ศี ลธรรมที่ เป น กฎ ธรรมชาติ มีความหมายวาอยางไร?

ตอบ

: เปนความปกติ เปนความหยุด; ถาหากวาไมปกติ มันเปนอยูไมได ตามธรรมชาติ.

ถาม

: เอา อะไรอีก? ไมมีใครวาอีก!

ถาอยางนั้น ก็จะพูดเสียเลย วาที่กลาวมานั้น ถูกตองแลว แตมัน หมดหรื อ ไม ห มด ก็ พ ิ จ ารณาดู เ อง. ศี ล ธรรมที ่ อ ยู  ใ นรู ป แห ง กฎของ ธรรมชาติ นี้มันลึกลงไปอีก และมันเขมแข็ง เฉียบขาด ยิ่งขึ้นไปอีก. ถาเรา จะพูด ใหฟงงาย เราก็พูด วา ธรรมชาติบังคับ ไวเด็ดขาดตายตัว วามนุษ ย หรือสัตวก็ตามจะตองทําอยางนั้น ๆ ใหถูกตามกฎของธรรมชาติ มิฉะนั้น แกจะตองตาย หรือไมถึงกับตาย ก็เกือบตาย หรือวา หาความสงบสุขมิได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ลองสังเกตดูเอาเอง ไมตองเชื่อใครก็ไดวา เราจะตองทําอยางไรบาง ในรูปแบบที่เขาถือกันวาเปนศีลธรรม ถาเราไมทําแลวอะไรจะเกิดขึ้น ตัวอยาง ที่ยกมาเมื่อตะกี้นั้นมันก็ถูกแลว แตมันถูกนิดเดียว เชนวา เราตองกิน ธรรมชาติ บัญญัติไววาตองกิน ไมกินมันก็ตาย นี้ก็เปนศีลธรรมไดเหมือนกัน แตคอนขาง หยาบ.

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร

๓๑

เราควรจะถามต่ํ าไปอี ก ว ากิ น อย างไรมั น จึ งจะไม มี โทษ? กิ น อย างไร มัน จะมีป ระโยชนถ ึง ที ่ส ุด ? หรือ กิน อยา งไรจึง จะนิพ พาน? อยา งนี ้เ ปน ตน . นี ่เ รื ่อ งกิน . แมเ รื ่อ งอาบ เรื ่อ งถา ย เรื ่อ งอะไรตา ง ๆ อีก สาระพัด อยา ง มัน ก็ อยา งเดีย วกัน อีก ; แตนี ้ม ัน เปน เพีย งเรื ่อ งสว นบุค คล. เมื ่อ มัน เปน เรื ่อ งของ สัง คม มัน ก็ต อ งมีว า สัง คมจะตอ งทํ า อยา งไรจึง จะไมว ิน าศ? สัง คมจะตอ ง ทํ า อยา งไรจึง จะสงบสุข หรือ เจริญ กา วหนา ? เพราะมนุษ ยจ ะวา เอาเองไมไ ด วาฉันตองการอยางนี้ ฉันตองการอยางนั้น, จะวาเอาเองอยางนั้นไมได. มนุษยตองทําใหถูกตามกฎของธรรมชาติ แลวมนุษยก็จะไดอยางนั้น ๆ ตามความประสงค ในสว นบุค คลก็ด ี ในสว นสัง คมทั ้ง หมดก็ด ี. ถา เราเรีย นรู เรื่อ ง กฎอิท ัป ปจ จยตา มาอยา งแจม แจง แลว ก็จ ะเขา ใจไดท ัน ทีว า ทุก อยา ง มัน อยู ใ ตอํ า นาจของกฎอิท ัป ปจ จยตา. กฎนี ้เ หมือ นกับ พระเจา ทีเ ดีย ว ตอ งการอะไรก็ไ ด : ตอ งการฉิบ หายก็ไ ด, ตอ งการเจริญ ก็ได, ตอ งการอยา งนั ้น ก็ไ ด, ตอ งการอยา งนี ้ก ็ไ ด. มัน เปน กฎที ่ม ีอ ยู สํ า หรับ ใชแ กท ุก สิ ่ง ไมย กเวน อะไร เมื่อตองการอยางนี้ ก็ตองทําวิธีนี้, เมื่อตองการอยางนั้นก็ตองทําตามวิธีนั้น เมื ่อ ตอ งการอยา งโนน ก็ทํ า ตามวิธ ีโนน ; ถูก ตอ งตามกฎของอิท ัป ปจ จยตาแลว ผลก็ยอมจะออกมาตามที่ตองการ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ที นี้ เมื่ อ เราพู ด กั น ถึ งเรื่อ ง ศี ล ธรรม คื อ ความสงบ ความปรกติ วา ของอะไร? ก็ว า ของสัง คม: ฉะนั ้น สัง คมก็ต อ งปฏิบ ัต ิใ หถ ูก ตามกฎของ ธรรมชาติ. ถา มามัว เถีย งกัน อยู ใ นรูป ปรัช ญามัน ก็ไ มเ กิด ขึ ้น เปน ความสงบ; แตถาเรามาปฏิบัติลงไปตามหลักเกณฑ ของศาสนาซึ่งทําไวดีแลวจัดสรรไวดีแลว ไม ต อ งคิ ด นึ ก อะไรอี ก ก็ ไ ด ทํ า ตามนั้ น ไปเถอะ แล ว มั น ก็ จ ะแสดงให เ ห็ น ว า

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๓๒

ถูกตอง ไดผล. นี้เปนอันวากฎธรรมชาตินี้มันก็ครอบงํามาถึงศาสนา, หลักเกณฑ ของศาสนา หรื อ การบั ญ ญั ติ ไว ในรู ป แบบของศาสนา, หรือ ครอบงํ า มาถึ ง การ ประพฤติกระทําของสังคม. ถา รูเ รื ่อ งนี ้, รู เ รื ่อ งศีล ธรรมในรูแ บบของกฎของธรรมชาติ ก็ก ลา วไดว า รู เ รื ่อ งศีล ธรรมอยา งลึก ซึ ้ง ที ่ส ุด ; มัน ไมจํ า เปน สํ า หรับ คน ทั ่ ว ไปก็ ไ ด ; แต ถ  า ยิ ่ ง รู ม ั น ก็ ยิ ่ ง ดี แ น . เป น หน า ที ่ ข องพระศาสดาทั ้ ง หลายที่ จะเอากฎของธรรมชาติ ม ากล าวไวเป น รูป แบบของศี ล ธรรม ในศาสนาของท า น แตละศาสนา ๆ ไป; เดี๋ยวนี้เรามองขางพระศาสดาเหลานั้นไปยังกฎธรรมชาติ เรา ก็ม องเห็น ศีล ธรรมอัน ลึก ซึ ้ง ที ่อ ยู ใ นรูป แบบของกฎธรรมชาติ; ซึ ่ง พระศาสดา จะบั ญ ญั ติ หรือ ไม บั ญ ญั ติ เราก็ ต อ งทํ า, พระศาสดาจะเกิ ด ขึ้น หรือ มิ ได เกิ ด ขึ้ น ในโลกก็ตาม เราก็ตองทํา; เราตองปฏิบัติใหถูกตองตามกฎเกณฑของศีลธรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org รูป แบบของกฎของธรรมชาติ กฎเกณฑ ข องศี ล ธรรมซึ่ งเป น ไปตามกฎของธรรมชาติ นี้ มั น ปรากฏ อยู ก อ นแล ว ตั้ ง แต ก อ นพระศาสดาองค ใดองค ห นึ่ ง จะเกิ ด ขึ้ น มาโดยสมบู ร ณ ; พระศาสดาคอยคนพบขึ้นมาทีละนิด ๆ จนรูมาก จนไดรับสมมติวา เปนพระศาสดา เลย. ฉะนั ้น ขอใหน ึก ถึง และกลัว เกรงใหม ากที ่ส ุด ตอ ศีล ธรรม ที ่อ ยู ใ น

วา มัน จะมีไ ปในที ่ท ุก หนทุก แหง อยา ง

ตลอดกาล เปนนิรันดรทีเดียว. นี่ เราได ท ดสอบความเข า ใจ เกี่ ย วกั บ สิ่ ง ที่ เรีย กว า ศี ล ธรรม คื อ อะไร มาไดเพียง ๒ หมวด ก็พอดีกับเวลา.

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร

๓๓

ขอสรุปความวา ศีลธรรมคืออะไร นั้น เราดูในรูปแบบของภาษาก็ได, จะดู ในรู ป แบบของรู ป แบบเองก็ ได ; ดู ใ นแง ข องภาษาก็ ได ดู ใ นแง ข องรู ป แบบ แหงศีลธรรมนั้น ๆ ก็ได. การดูในรูปแบบของภาษา ก็คือดูโดยภาษาชาวบานทั่วไปนี้อยางหนึ่ง, โดยภาษาศาสนาที่บัญญั ติไวเฉพาะศาสนา ซึ่งมันไมตรงกันทุกศาสนาก็ยังได, นี้ก็ อยางหนึ่ง. ทีนี ้ พวกเราพุท ธบริษ ัท ดูใ นรูป แบบของภาษาบาลี; ภาษา บาลีก ็จ ะมีอ ยา งที ่วา คือ สีล ะ - ปรกติ, ธัม มะ - สิ ่ง หมายถึง ภาวะ ก็ไ ด เหตุ ก็ไ ด ผล ก็ไ ด; เราจึง ไดค วามหมายของคํ า วา “ศีล ธรรม” จากตัว บาลี; จากคํ า บาลีวา สีลธมฺม นั้ นเปนสามรูปแบบ. และการดูที่ ผล ของมั นนั้น ดูไดที่ วัตถุ ที่ มี ชีวิตก็ได ที่ไม มีชีวิตก็ได และที่ ภาวะ แห ง จิตใจของมนุ ษ ย หรือ ตัวสติ ปญ ญา ความคิดความเห็นของมนุษยก็ได. นี่ในแงของภาษา. ศีลธรรม เปนอยางนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ที นี้ ในแง ข องรู ป แบบที่ ม นุ ษ ย ไ ด เกี่ ย วข อ งกั บ ศี ล ธรรมอยู แ ล ว ใน ปจ จุบัน นี้, ไดเกี่ย วขอ งกัน ในรูป แบบของปรัช ญา คือ การถกเถีย งที่เพอ เจอ ก็ม ี, ในรูปแบบของศาสนา ไมพูดอะไรมาก ตั้งหนาตั้งตาปฏิบัติตามคําสอนของพระศาสดาแหง ตนก็ม ี, และ ที ่จํา เปน สํ า หรับ โลกมนุษ ยต ลอดอนัน ตกาลนี้

ก็ น า จะกล าวว า ศี ล ธรรมที่ อ ยู ในรู ป แบบของสั ง คมศาสตร นั่ น เอง; แต ต อ ง เปนสังคมที่มีสติปญญา รูจักใชศีลธรรมถูกตอง มาเปนศาสตราสําหรับตัดปญ หา ของสังคมไดทุกอยาง ทุกประการ.

www.buddhadassa.in.th


๓๔

การกลับมาแหงศีลธรรม ในที่ สุ ดก็ จะเห็ น วา ศี ล ธรรมในรูป แบบเดิ ม รูปแบบแท รูป แบบ

เฉียบขาดตลอดอนันตกาลนั้น คือกฎธรรมชาติ นั่นเอง, และวาเขาตองทําอยาง นั้น ๆ จึงจะมีปรกติภาวะในสวนบุคคลบาง ในสวนสังคม คือรวมกันทุกคน หรือวา ทั้งโลกบาง. ในที่ สุ ดนี้ ขอรองว า อย าให การพู ดและการฟ งของเรา หายเป น อากาศธาตุไปเสียมาก ๆ เหมือนอยางที่แลวมา. ขอใหอยูในความจํา ใหมาอยู ในความเขา ใจแจม แจง แลว มาอยูใ นรูป ของการปฏิบัติเ ปน ประจํา วัน แลวเราก็จะไมรูจักลืมหัวขอหรือกฎเกณฑเหลานี้ ในวันนี้ขอยุติไวแตเพียงเทานี้กอน วันเสารหนาก็จะไดพูดตอ เพราะ วายังไมจบ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอไปนี้ก็เปนโอกาสใหพระสงฆทั้งหลาย ทานสวดบทสาธยายที่เปน เครื่องเกื้อกูลแกกําลังจิต ที่จะปฏิบัติศีลธรรม ตามรูปแบบแหงพระพุทธศาสนา. ขอนิมนต.

------------------------------

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

- ๒ ๑๐ มกราคม ๒๕๑๙

ศีลธรรมคืออะไร (ตอ) [ เมื่อกลาวโดยคานิยม ]

ทานสาธุชน ผูมีความสนใจในธรรม ทั้งหลาย,

การบรรยายประจํ าวั นเสาร ภาคมาฆบู ชา ครั้งที่ ๒ ในวั น นี้ ก็จ ะไดก ลา วโดยหัว ขอ วา ศีล ธรรมคือ อะไร ตอ ไปอีก ครั้ง หนึ ่ง เพราะ วา ยัง ไมจ บ และอยากจะมีก ารบรรยายในรูป ของการสอบถามความ เขาใจเหมือนครั้งที่แลวมา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org (คําปรารภและทบทวน)

ขอทํ า ความเข า ใจในเบื้ อ งต น สั ก เล็ ก น อ ย ว า ทํ า ไมจึ ง ได ส นใจ พิจ ารณากัน แตเ รื ่อ งศีล ธรรม จนดูค ลา ยกับ วา จะเปน บา เปน หลัง ไปแตใ น เรื่องของศีลธรรม.

๓๕

www.buddhadassa.in.th


๓๖

การกลับมาแหงศีลธรรม

ขอนี้เชื่อวาบางคน บางทาน คงจะพอตอบเองได วาทําไมจึงมัวพูด และพิจ ารณากัน แตเรื่อ งศีล ธรรมเชน นี ้ ; ทั ้ง นี ้ก ็เพราะวา เมื ่อ พิจ ารณาดูแ ลว โลกสมัยนี้ไมมีอะไรที่ขาดแคลนยิ่งไปกวาศีลธรรม จนจะกลาววามันตกต่ํา แทบจะหาไมพบ, จะหามาทํายาหยอดตาก็แทบจะไมได ทั้งที่ยาหยอดตานี่มัน ก็ตอ งการอะไรนอ ยอยูม ากทีเดียว. เดี๋ยวนี้เราก็รูสึก วา เมื่อ กลาวโดยเฉลี่ย กัน ทั้งโลกแลว ศีลธรรมมีนอยมาก จนจะหามาทํายาหยอดตาก็ไมพอ. ทานทั้งหลายคงจะมองไปถึง สภาพที่เปนความวุนวาย ระส่ําระสาย

หาความสงบสุข มิได เห็น ไดวา มัน มีอ ยูม ากนอ ยเพียงไร ; แสดงออกมาใน รูปของอาชญากรรม กระประทุษราย เบียดเบียน นี้ก็มาก, และแสดงอยูในความ เดือ ดรอ นเฉพาะตน เฉพาะคน อยู ภ ายในครอบครัว ของตน หรือ ในหัว ใจ ของตน อยางนี้ก็มีมาก ลวนแตเปน เรื่อ งของความปราศจากศีล ธรรม ทั้ง นั ้น . ในแตแ ลว คนในโลกนี ้ ในเวลานี ้ ก็ไ มม องกัน ในแงนี ้ คือ ไมม องไปใน ทางที่จะเห็นวา มันเปนผลของการปราศจากศีลธรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เขามองกัน ไปในแงอื ่น ซึ ่ง เปน เพีย งปลายเหตุ เชน มองใน รูปปญหาทางเศรษฐกิจบาง การเมืองบาง การปกครองไมดีบาง นานาประการ ดว ยกัน แตไ มม องใหล ึก ลงไปอีก สัก นิด วา สิ ่ง เหลา นั ้น เกิด ขึ ้น ก็เ พราะ ความไมมีศีลธรรมบาง มีศีลธรรมไมเพียงพอบาง ซึ่งเราเรียกวา ภาวะที่ปราศจาก ศีลธรรมอยูนั่นเอง. นี่ขอใหทบทวนความเขาใจอันนี้ไวเสมอ ๆ ก็จะเขาใจยิ่งขึ้น จนมอง เห็นความจริงในขอนี้ถึงที่สุด.

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร (ตอ)

๓๗

ขอให ร ะลึ ก ถึ ง ความหมายอั น ถู ก ต อ งของคํ า ว า ศี ล ธรรมไว เปน ประจํ า คือ วา สิ ่ง ที ่จ ะทํ า ความสงบ ในฐานะที ่เ ปน เหตุ ; และผล คือ ความสงบปรากฏออกมาในฐานะที่เปน ผล ; และอัน นี้เ ปน กฎของธรรมชาติ เปนความตองการของธรรมชาติ ดวยซ้ําไป.

ถา จะพูด สมมติใ หธ รรมชาติ หรือ กฎของธรรมชาติ เปน บุ ค คล ก็ ต  อ งเรี ย กว า เป น ความต อ งการของพระเจ า . พระเจ า คื อ กฎของธรรมชาติ มีกฎตายตัวอยูวา ถาไมทําอยางนี้ มันก็จะมีผลอีกอยางหนึ่ง ; ถาทําอยางนี้ก็มีผลออยางนี้. สําหรับพระเจาเองนั้น ก็ไมไดรูสึกวาตองการอะไร, ตองการอยางไหน, เปนเพียงแตเจาของกฎวา ถาทําลงไปในอยาง นี้ ผลมันก็เกิด ขึ้นอยางนี้ และก็ในที่ทุกหนทุกแหง ไมวาที่ไหนหมด พระเจาควบคุมอยูตลอด เวลา แมในนรก ก็มีพระเจาไปควบคุมอยู.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ศาสนา เช น ศาสนาคริส เตี ย น ก็ ยั ง กล า วเช น นี้ ว า แม ในนรกก็ มี พระเจา, บนสวรรคก็มีพระเจา, ในที่ทั่ว ๆ ไปก็มีพระเจา ; สวนเราก็พูดกันแบบ ของเราวา มีกฎของธรรมชาติควบคุมอยูในที่ทุกหนทุกแหงในฐานะที่เปนพระเจา, โดยเฉพาะอยางยิ่งกฎอิทัปปจจยตาควบคุมอยูในที่ทุกหนทุกแหง. พระเจานั้นไมมี ความหมายวาดีหรือชั่ว วาสุขหรือทุกข : ตัวพระเจาเองเปนกลางยิ่งกวากลาง ; เพราะฉะนั้น ในนรกก็อยูได บนสวรรคก็อยูได. ถายอมใหพูดอยางหยาบคายที่สุด ก็พูดไดวา ในกองมูลสุนัขก็อยูได. ถาพูดอยางนี้ พวกที่เขาถือพระเจาตามความรูสึกของเขาเอง เขาก็จะโกรธเอา ; แตความจริงมันก็เปนอยางนั้น. เมื่อเขายอมรับวาในนรกก็มีพระเจาไปควบคุมอยู

www.buddhadassa.in.th


๓๘

การกลับมาแหงศีลธรรม

ก็พูดไดอีกวา ของสกปรกเชนมูลสุนัขก็มีพระเจาควบคุมอยู ; ในกองดอกไมก็มี พระเจาควบคุมอยู พระเจาไมรูจักเหม็น ไมรูจักหอม ไมรูจักสุข ไมรูจักทุกข ไมรูจักดี ไมรูจักชั่ว ไมรูจักบุญ ไมรูจักบาป ไมรูจักแบงแยกอะไรอกไปเปนคู ๆ เชนนี้. แตวาเปนพระเจาที่เด็ดขาดที่สุด ในขอที่วา ถาทําลงไปอยางนี้ ผลมัน ก็เกิดขึ้นอยางนี้, ถาทําลงไปอยางนี้ ผลมันก็เกิดขึ้นอยางนี้ ครบทุกอยางทุก ประการ. นี่คือฝไมลายมือของพระเจา คือพระเจายอมรับไดทั้งนั้น ไมวาจะ เปนอะไร ; แตก็ไมค วรจะพูดวา พระเจาตองรับหรือ ตองยอมรับ เพราะเปน สิ่งที่อยูเหนือกฎ เปนสิ่งที่บรรดาลใหสิ่งทั้งปวงเปนไปตามกฎ. ทีนี้ เมื่อมนุษยเราทําลงไปอยางนี้ แลวผลก็เกิดขึ้นอยางนี้ ; อยาง เดี๋ยวนี้ ทํากันอยูในลักษณะที่เราเรียกกันโดยสมมติวา ปราศจากศีลธรรม,

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ผลก็เกิด ขึ้น มาในลัก ษณะที ่ส มกับ ที ่ป ราศจากศีล ธรรม คือ ไมมีค วาม

สงบ ไมมีค วามเปน ปรกติสุข ; เพราะวา ศีล ธรรม แปลวา เปน ปรกติ หรือ ปรกติสุข ดังที่กลาวแลว เมื่อทําลงไปในลักษณะที่ไมปรกติสุข มันก็ตองไม มี ปรกติสุข เปนของธรรมดาสามัญที่สุด. ถามนุษยทนไดเหมือนกับพระเจา ก็ไมมี ปญ หาอะไร อยูในนรกก็ได อยูในสวรรคก็ได อยูในกองมูล สุนัข ก็ได อยูใน กองดอกไมก็ได ; แตเดี๋ย วนี้ม นุษ ยจ ะทนไมไดกระมัง ถาลงอยูในนรก หรือ จมอยูในกองมูลสุนัข ; ฉะนั้น ก็ตองออกมาเสียจากสิ่งเหลานี้ มาอยูในสภาพ ที่ตัวชอบ ที่บัญญัติกันวา เปนความสุขสําหรับมนุษย ตามที่มนุษยก็มีอายตนะ สําหรับจะรูสึกคิดนึกอยางไร.

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร (ตอ)

๓๙

นี ่แ หละสรุป ความไดว า มัน เปน หนา ที ่ข องมนุษ ยที ่จ ะตอ งทํ า

ลงไป ในลักษณะที่มนุษยพอใจ หรือวา ทนอยูไดดวยความปรกติ. อยา ทํ า ให มั น ผิ ด ไปจากนั้ น , อย า ทํ า ไปในทางที่ ตั ว ทนไม ได จะมี ค วามทุ ก ข . ฉะนั้ น เราตอ งเอามาพิ จารณากันใหเหมาะสมสํารับ มนุษ ย วาจะตอ งทํ าอยางไร จึงจะ เกิ ด ภาวะปรกติ ขึ้ น มา. นี่ เรื่ อ งของศี ล ธรรมที่ เป น ใจความสั้ น ๆ ว า มั น เกี่ ย วกั บ มนุษยอยางนี้ และจะใหใครมาชวยทําใหก็ไมได ตองทําเอง.

ที ่ จ ะให พ ระเจ า ช ว ยนั ้ น มั น เป น ความละเมอเพ อ ฝ น ; พระเจานั้นยอมใหเราทําเองทั้งหมดทุกอยาง แลวแตจะเลือกทําอยางไร, อํานวย ให ทุ กอยาง ; เพราะวา พระเจ าเป นเพี ยงกฎ หรือเจ าของกฎ ดังที่กล าวแล ว จะไปออ นวอนวา ทํ า อยา งนี ้ ๆ แลว จนไดผ ลอยา งนี ้ ๆ ซึ ่ง มัน ผิด กฎนี ้ อยา งนี้ ทําไมได พระเจาไมยอม. ถายอมแลวก็เปนอันวา คนเราทําชั่วกันตามกิเลสของตน แลวก็เรียกรองเอาความดีได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อย า งเช น พวกโจร ก็ จ ะทํ า โจรกรรม แล ว ก็ เรี ย กร อ งเอาความชอบ ความดี ความสุข จนเพื่ อ นมนุ ษ ย ด วยกั น ทนไม ไหว ; นี้ เป น สิ่ งที่ พ ระเจาอํ านวย ใหไมได พระเจาจึงมีความเที่ยงตรงยิ่งกวาสิ่งที่เที่ยงตรงใด ๆ วา ทําลงไปอยางนี้ จะมีผ ลอยา งนี ้, ทํ า ลงไปอยา งนี ้ ก็จ ะตอ งมีผ ลอยา งนี ้, แลว แตม นุษ ยจ ะ เลือกเอา.

เมื่ อ มนุ ษ ย ไ ด ทํ า ไปด ว ยความโง เขลา ไม รู เท า ถึ ง การณ อ ย า งใด อย า งหนึ ่ ง แล ว ได ร ั บ ความทุ ก ข ขึ ้ น มา ; มนุ ษ ย ก ็ จ ะเข็ ด หลาบในเวลา อั น ควรจึ งมี ค วามเปลี่ ย นแปลงเกิ ด ขึ้น ในหมู ม นุ ษ ย ก็ ห มุ น ไปหาความสงบสุ ข .

www.buddhadassa.in.th


๔๐

การกลับมาแหงศีลธรรม

เดี๋ยวนี้ มั น เกิดมี สิ่งยั่วหรือลอให มนุ ษ ยเขาใจผิด ไปนิ ย มสิ่งที่ไมถู กตอ ง คือ ไม เป น ไปเพื่อความสงบสุขนั่นเองวาเปนสิ่งที่ดี ก็เลยทําอยางนั้น: อยางนี้เรียกวา ทําบาป เพราะพญามารหรือซาตานจูงจมูกเอาไป. มนุ ษ ย ทํ า บาปจะไปโทษมาร มั น ก็ ดู จ ะไม ไ ด อี ก เหมื อ นกั น ; เพราะ มารก็ ต องมี อยู , และก็ ต องทํ า หน าที่ ของมาร มาสอนให มนุ ษ ย ฉ ลาด ในเวลา อัน เร็ว : ทํ า ผิด ทีเ ดีย ว แลว อยา ทํ า อีก ; ก็ค วรจะขอบใจวา พญามารนี ้ม า ชว ยทํ า ใหม นุษ ยฉ ลาดขึ ้น ๆ. แตบ างคนไมย อมฉลาดขึ ้น มา ; นี ่ม ัน ก็ต อ งโทษ คนนั้นเอง อยาไปโทษพญามารเลย.

ความทุ ก ข นี่ มั น มาสอนให ฉ ลาด แต ค นไม รั บ เอา แล ว ก็ จ ะทํ า อยา งไร. แตค นที ่ม ีส ติป ญ ญา เขารู จ ัก ความทุก ข รู จ ัก เข็ด รู จ ัก หลาบ รู จ ัก กลั ว รู จั ก ละอาย ภายในเวลาอั น สั้ น ก็ เอาตั ว รอดได เร็ ว ก อ นคนอื่ น , มาอยู เหนื อ ความทุ ก ข ในระดั บ ที่ เรีย กว า เป น ที่ น า พอใจ กลายเป น พวกพระอริย เจ าไป พวกหนึ่งทีเดียว ; นี้ก็มีอยูมาก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org แต เดี๋ ยวนี้ มั นหมุ นไปในทางที่ ตรงกั นข าม คื อมี สิ่ งมายั่ วยวน หลอกลวง ให เ ห็ น แก ค วามรู สึ ก ทางผิ ว หนั ง ทางเนื้ อ หนั ง ความสุ ข ความสนุ ก สนาน เอร็ด อรอ ยทางผิว หนัง ; เหลือ บตาดูไ ปรอบ ๆ ก็พ อเห็น ไดว า มัน คือ อะไร. ขอ ให ล องเหลื อ บตาดู ไป วาคนเรากํ าลั งหลงความสุ ขทางเนื้ อ หนั ง ; แม ไม ใชเป น สิ่ ง ที่จะเปนสุขได ก็เห็นวามันเปนสุข ไปได.

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร (ตอ)

๔๑

เมื่อเขาใจผิดอยางนี้แลวก็ทําไปอยางนั้น ; เพราะฉะนั้น สิ่งที่เรียกวา ศีลธรรมจึงหายไป ๆจนหามาทํายาหยอดตาก็ไมพอ ดังกลาวแลว. เพราะฉะนั้น อาตมาจึงถือวา มันมีเหตุผลสมควรแลวที่เราจะพูดกันถึงเรื่องศีลธรรมนี้อยางซ้ํา ๆ ซาก ๆ จนบางคนชักจะเบื่อหนายเต็มที่แลว. อาตมาก็ยังฝน หรือขืนใหทําความ เขาใจกันในเรื่องนี้อีกตอไป. ....

....

....

....

ในครั้งที่แลวมา เมื่อวันเสารกอน เราพูดกันโดยหัวขอวา ศีลธรรม คืออะไร และยังไมทันจบ ก็หมดเวลาเสียกอน วันนี้ก็จะพูดในหัวขอนี้ตอไปจนจบ. ในครั้ง ที่แ ลว มาเมื่อ ถามวา ศีล ธรรมคือ อะไร ; ในหมวดที่ ๑ ก็ไดบอกใหดูกัน ในแงของภาษา วา ภาษาชาวบาน ศีลธรรม หมายถึงอะไร, ภาษาศาสนา ศีลธรรม หมายถึงอะไร, โดยเฉพาะอยางยิ่งภาษาบาลี ศีลธรรม หมายถึง อะไร. เราไดพูด กัน แลว ซึ่ง มีท างที่จ ะสัง เกตไดจ ากวัต ถุที่ไ รชีวิต จากสิ่งที่มีชีวิต จากสภาวะจิต หรือสติปญญาของคนเรา อันจะเปนเครื่องทําให สังเกตไดวา มันมีศีลธรรมหรือไมมี ดังที่ปรากฏอยูในการบรรยายนั้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org หมวดที่ ๒ ไดพูดกันถึง รูปแบบของศีลธรรมที่ปรากฏอยู ใน

ในโลกปจจุบัน วาศีลธรรมปรากฏอยูในรูปแบบของปรัชญา สําหรับพูดจากัน แตโดยเหตุผล ในทางตรรกลวน ๆ อยางนี้ก็มี, หรือวาศีลธรรมอยูในรูปแบบของ ศาสนาคือการปฏิบัติลงไปจริง ๆ ที่กาย ที่วาจา ที่ใจ ในวิถีทางหรือวิธีการของ วิทยาศาสตร ที่ไมตองมัวแตพูดกันอยูอยางไมรูจบ ก็มี, อีกอยางหนึ่ง ศีลธรรมที่

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๔๒

อยูในรูปแบบของสังคมศาสตร คือสิ่งที่จําเปน ที่สังคมจะตองรูและจะตองปฏิบั ติ เพื ่อ สรา งสัง คมนั ้น ๆ ใหเ ปน สัง คมของมนุษ ยที ่น า ปรารถนาคือ เปน สัต บุรุษ ผู ส ร า งสรรค ค วามสงบ ก็ มี , ที นี้ รู ป แบบสุ ด ท า ย ก็ คื อ ศี ล ธรรมที่ เป น กฎ

ตายตัว ของธรรมชาติ เปน กฎของธรรมชาติ วา อยา งนี ้ม ัน สงบ อยา งนี้ มัน ไมส งบ, และโดยปรกติจ ะตอ งอยูกัน อยา งนี้ ซึ่ง เปน กฎที่บ ุค คล หรือ สัง คม ก็ตาม จะตองรูและเอาไปใชใหเปนประโยชนแกมนุษยใหมากที่สุดเทาที่จะมากได. นี้เรียกวา เราไดพูดกันแลวในรูปแบบตาง ๆ ของสิ่งที่เรียกวา ศีลธรรม. [จบคําปรารภและทบทวน]

หมวดที่ ๓ วาดวย คานิยมของศีลธรรม ทีนี ้ก ็ม าถึง หมวดที ่ ๓ ในวัน นี ้ จะพูด กัน ถึง สิ ่ง ที ่เ รีย กวา

คุณ คา. ปทานุกรมจะออกเสียงวา คุณนะคา ; จะไมพูดวา คุณ – นะ - คา ;

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เพราะไมชอบ, หรือจะเรียกวา คานิยม ก็ตามใจ ก็ไดเหมือนกัน.

ค า นิ ย มก็ ห มายถึ ง ว า คุ ณ ค า ที่ เราได ม องเห็ น , และก็ บั ญ ญั ติ ไ ว อย า งไร ในรูป แบบต า ง ๆ กั น สํ าหรับ สิ่ งที่ เรีย กวา ศี ล ธรรม เท า ที่ มั น เกี่ ย วกั น

กับมนุษย.

ขอให ซั ก ซ อ มความเข า ใจดี ๆ ว า เรากํ า ลั ง จะพู ด กั น ถึ ง คุ ณ ค า ; หรือ จะเรียกอยางสมั ยใหม วา คานิย ม ก็ตามใจ ที่ ม องดู ในหลายรูปแบบ เทาที่ เกี่ยวกับมนุษยผูมีศีลธรรม อยางนี้ก็ได. คานิยมที่จะ มองดูไดที่บุคคลหนึ่งๆ

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร (ตอ)

๔๓

คือที่เอกชน นี่ก็มี อยู, อีกทางหนึ่งก็ที่จะ มองดู จ ากสั งคม คือ หลาย ๆ คน รวมกันอยู. ....

....

....

....

สวนที่ ๑. ศีลธรรมเมื่อมองดูที่ปจเจกชน. บุ ค คลแต ล ะคนมี ค า นิ ย มของศี ล ธรรมที่ ค วรนิ ย ม มี อ ยู ใ นรู ป แบบ อยา งไรบา ง ; เทา ที ่จ ะเอาพิจ ารณากัน ก็อ ยากจะเสนอใน ๓ รูป แบบ โดย สรุปจากขอความตาง ๆ ที่เราเคยบรรยายกันมาแลว เปนเวลาแรมป ; ๓ รูปแบบ คือ:-

รูป แบบที ่ ๑. คุณ คา ทางศีล ธรรมที ่ม ีอ ยู ใ นสายโลหิต หรือ ที ่เ รีย กวา กรรมพัน ธุ ข องคนแตล ะคน. รูป แบบที ่ ๒. ก็ค ือ คุณ คา ที ่แ สดง ออกมาใหเ ห็น ชัด ตามที ่ป จ จัย ภายนอกมัน จะแวดลอ มอยา งไร. รูป แบบ ที ่ ๓. ก็ค ือ วา ศีล ธรรมเปน สิ ่ง จํ า เปน ที ่จ ะตอ งมีอ ยู ที ่ท ุก อิร ิย าบท หรือ

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทุกการเคลื่อนไหวของมนุษย นับตั้งแตคลอดออกมาจากทองแม จนกระทั่งตาย ; เปน ๓ หัวขอ ดวยกันอยางนี้. ห ั ว ข อ ที ่ ๑. คุ ณ ค า ข อ ง ศี ล ธ ร ร ม ที ่ ม ี อ ยู  ใ น รู ป ข อ ง กรรมพันธุ หรือสายเลือด ถาม : อยากจะขอถามทานวา เปนสิ่งที่ยอมรับไดหรือไมวา แมในสายเลือดที่ เปนกรรมพันธุนั้น ก็มีสิ่งที่เรียกวาศีลธรรม หรือยางนอยก็ เชื้อแหง

www.buddhadassa.in.th


๔๔

การกลับมาแหงศีลธรรม

ศีลธรรม ปรากฏอยูในนั้น ยกตัวอยางมาดูดวย. ขอใหตอบมาในขอนี้ ก อ น คื อ จะยอมรั บ ไหมว า ศี ล ธรรมต อ งตั้ งต น มาแต ในสายเลื อ ดของ บิดามารดา ? ตอบ : เปนไปไดครับ, แลวก็เห็นไดในชีวิตครอบครัวของคนที่พอแมมีศีล มีธ รรม มีก ารปฏิบ ัต ิต ัว ที ่ส งบแลว ลูก หลานที ่อ อกมาก็ม ีจ ิต ใจรัก ความสงบเชนกัน. [ ความมีเชื้อแหงศีลธรรมในสายเลือด ]

นี ่ก ็เ ปน ตัว อยา ง ที ่พ อจะมองเห็น ได คือ ยอมรับ วา สิ ่ง ที ่เ รีย กวา ศีล ธรรม นั ้น จะตอ งมีเ ชื ้อ ขึ ้น มาจากสายเลือ ด. ดูต ัว อยา งที ่สิ ่ง ที ่ไ มใ ช มนุษ ย เชน มะมว ง มะละกอ ขนุน ทุเ รีย น อะไรก็ต าม ถา มัน มีพ ัน ธุ ด ีอ ยู ใน เม ล็ ด นั ้ น แ ล ว มั น ก็ อ อ ก ม าเป น ผ ล ไม ที ่ ด ี . นี ้ เ ข า ใจ ว า ค งไม ม ี ใ ค ร คัดคาน ; พอมาถึงมนุษย ทําไมไมยอมรับอยางนั้นบาง. ทําไมหาวาไมยอมรับ ? เพราะวา ไมส นใจที ่จ ะปรับ ปรุง พืช พัน ธุ นั ้น ใหด ี, หรือ ระมัด ระวัง รัก ษา พืชพันธุนั้นใหดี.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถา ทา นยอมรับ ก็ค งจะยอมรับ วา การที ่ม ีร ะเบีย บปฏิบ ัต ิป ระจํ า วงศต ระกูล ที ่ด ี ตลอดสายยาวยืด ของวงศต ระกูล นั ้น ๆ ก็เ ปน สิ ่ง ที ่ม ีเ หตุผ ล ดั ง ที่ เขาได เคยกระทํ า กั น มาแล ว ; หากแต ว า เดี๋ ย วนี้ ค นเรามั น เปลี่ ย นความคิ ด เปลี่ยนความเชื่อ ไมคอยจะคํานึงถึงเรื่องพืชพันธุที่ดี ; ไปเห็นเสียวาเราจะทําเอา ไดดวยการศึกษา เปนตน.

ถาม : ขอให ต อบสั้ น ๆ อีก ครั้งหนึ่ งวา ค านิ ย มทางศี ล ธรรมที่ อ ยู ในสายเลื อ ด หรือกรรมพันธุของมนุษยนั้น มันคืออะไร ?

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร (ตอ)

๔๕

ตอบ :คือความสํานึกรับผิดชอบ. ถาม : เชื้อแหงศีลธรรมที่มีอยูในสายเลือด ที่จะถายทอดไปยังผูสืบสายโลหิตนั้น มันคืออะไร ? ตอบ : คือการปฏิบัติครับ เกี่ยวกับการสั่งสอน ถายทอดกันในอิริยาบทที่ดีสืบไป. ถาม : เอา, คืออะไร ? ใครวาอยางไรอีก ? ตอบ : คือความรักที่ผูใหกําเนิดนั้น มีตอผูที่กําเนิดมาครับ. ถาม : ใครวาคืออะไรอีก ? ตอบ : เขาใจวาเปนสิ่งที่ถายทอดมาจากบิดามารดาถึงบุตรในแงของศีลธรรม ทางสายโลหิต , ซึ ่ง เขา ใจวา เปน ไปตามกฎแหง ธรรมชาติ กฎแหง อิทัปปจจยตา ; หรือตัววิชชาความรูที่ถากลาวตามหลักของชีววิทยาทาง แพทย มันถายทอดกันได ตอนที่แบงเซลลมาผสมกันแลว มีอุปนิสัยใจ คอถายทอดกันได. นั่นทางแงของวัตถุ ; แตทางดานนามธรรมผมไมคอย ทราบ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เพียงแตถามวา คืออะไร ? ก็ตอบไดหลายอยาง อยางที่วามาแลว ก็ถูกทั้งนั้นแหละ แตคงจะไมหมด. เมื่อถามวาคืออะไรนั้น มันตางจากที่ถามวา ทําอยางไร. ชั้นนี้อยากจะขอทราบแตเพียงวา คืออะไร.

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๔๖

อยากจะสรุ ป ความว า คื อ วิ ญ ญาณแห ง ความเป น มนุ ษ ย ที่ ถ า ย ทอดสืบ ตอ ๆ กัน ไปในลัก ษณะที่ม ัน ดีขึ้น ๆ ดีขึ้น ๆ ไมรูวากี ่รอ ยกี่พ ัน ชั่ว คน มาแล ว ; เป น สิ่ ง สิ่ ง หนึ่ ง ซึ่ ง มี ลั ก ษณะมองไม เห็ น ตั ว ตั้ ง อยู ใ นฐานะที่ เป น เชื้ อ สําหรับความเปนมนุษย ที่จะถายทอดตอ ๆ กันไปได ในลักษณะที่มันดีขึ้น ๆ ดีขึ้น ๆ. [ การเลือกและบํารุงพันธุ ]

ถาม : ที นี้ อ ยากจะถามว า ที่ อ อกมาจากพ อ แม ชั้ น แรกคู ห นึ่ ง นั้ น ทํ า ไมมั น ไม เหมื อนพ อแม หรือเท ากั บ ที่ พ อแม มี อ ยู แต เดิ ม ? ทํ าไมมั นจึ งดี ขึ้ นได ? มันดีขึ้นไดเพราะเหตุอะไร ? ตอบ : เหตุ ที่ ศี ล ธรรมในรู ป หรื อ ในคนรุ น หลั ง ดี ขึ้ น กว า พ อ แม ดี ก ว า เดิ ม นั ้น มัน เปน ไปตามกฎที ่วา มัน ตอ งเปน ไปตามปจ จัย ภายนอก สิ ่ง แวด ลอ มที ่ป รุง แตง ; มัน ไดค วามรู ไดค วามคิด ความเห็น ขึ ้น มาภายหลั ง จากบทเรียนในชีวิต.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : จะถ ายทอดลงไปในลู ก ได อ ย างไร ? ยั งเป น เพี ยงเชื้ อ ยั งไม มี ตั ว มี ต น เปนกอน เปนดุน จะถายลงไปไดอยางไร, แลวในลักษณะที่ดีขึ้น กวาเชื้อ ที่พอแมถายใหไป.

ถายังนึ กไม อ อกก็อ ยากจะให สังเกตดูเรื่องทางวัต ถุต อ ไปอีก. สมมติ วา ทุเรียนทีแรกก็มีแตพันธุปา ๆ มีคุณสมบัติอยางนั้น ๆ แลวทําไมมันจึงเกิดเปน ทุเรียนที่บาน ที่มันดีขึ้น ๆ จนมันแตกตางกันลิบลับ เหลือที่จะเปรียบกันได ; ทุเรียน พัน ธุ ป า กับ ทุเ รีย นสว นพัน ธุ บ า น ชั ้น ดีข องเขาก็เ ปน ที ่รู  และยอมรับ กัน วา มัน มาจากพัน ธุป า . หรือ วา สัต วที ่เอามาเลี ้ย ง : ไกป า เปน ไกบ า น, ควายปา

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร (ตอ)

๔๗

เปน ควายบา น, มา ปา เปน มา บา น ; ทํา ไมมัน จึง ตา งกัน ลิบ . แมแ ตสุนัข ซึ่งที่แททีแรกก็มีแตในปา จับมาเลี้ยงเปนสุนัขบานหลายชั่วเขา มันกลายเปน สุนัขที่แสนรู และงดงาม ; นี้เพราะอะไรมันจึงดีขึ้นได. ถาม : คําถามถามนิดเดียว วาทําไมมันจึงดีขึ้นได ทําไมมันจึงไมเทาเดิม. ตอบ : เกี่ย วกับ กฎของธรรมชาติที่วา มัน ตอ งวิวัฒ นา. ชีวิต สิ่ง ตา ง ๆ สังขารธาตุ มัน ตอ งปรุงแตงอยูเสมอ ตองวิวัฒ นาการ เปลี่ย นแปลง ไปสูจุดหมายปลายทางที่ดีขึ้นอยูเสมอ มันเปนกฎของธรรมชาติอยูแลว. ถาม : จะตองตอบใหชัดวา พอแมคูนั้น มันมีอะไรดี เพียงเทานี้ แลว พอคลอดลูกออกมา ทําไมมันจึงไมถายออกมาดีเพียงเทาที่พอแมคูนั้น มีอยู. อยางตนทุเรียน ตนที่ออกมาจากพอแมชนิดหนึ่ง ทําไมมันจึง ดีกวาพอแมได และมันจะแทรกเขาไปไดอยางไร จึงเกิดการเปลี่ยน แปลงขึ้น มา ? การผสมสัต วก็มีป รากฏอยูในขอ นี้ ทีทําใหลูก ดีก วา พอแมเรื่อย ๆ ไป จนไดรับรางวัลประกวดที่ ๑ หรือชั้นเลิศ นี่เพราะ เหตุอะไรมันจึงดีกวาพอแม ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : ผมเขา ใจวา ตอ งเลือ กพัน ธุผ สม ตอ งเลือ กพัน ธุ ตอ งหาพัน ธุที่ดี มาผสมกับพันธุที่ดี.

ถาม : ทําไมไมออกมาเทาพอและแมละ ? ทําไมดีกวาพอแมไปได ? ขอ นี้ สําคัญ มาก ถาเราจับความลับ ขอ นี้ได เราอาจทําใหคนนี่ดีขึ้น ๆ ได, ดีกวาพอแม และโดยเร็ว ; เพราะเหตุไรมันจึงดีขึ้นได ?

www.buddhadassa.in.th


๔๘

การกลับมาแหงศีลธรรม

ตอบ : ถาจะอาศัยหลักที่วา มนุษยชาตินั้น มาจากแหลงเดียวกัน และไป สิ ้น สุด ที ่แ ห ลง เดีย วกัน นั ่น เปน เรื ่อ งของธรรม ชาติ: เพ ราะฉ ะนั ้น ตอ ไป ขา งห นา ๆ นี ่ รุ น ห ลัง นี ่ มัน ตอ งดิ ้น รน เพื ่อ จะใหด ีขึ ้น ไป สู จุด จบของชีว ิต ที ่ว า จากสัง ขตะ ไปสู อ สัง ขตะตามเดิม . ขอ นี ้เ ปน กฎ ธรรม ชาติ วา ม นุษ ยช าตินี ้ม ัน ม าจากจุด แหง เดีย วกัน แล ะไป สู จ ุด หมายปลายทางแหง เดีย วกัน ; ดัง นั ้น ในระยะที ่เ ปน ชีว ิต อยู นี้ ก็ ต อ งมี ก ารปรุ ง แต ง เพื่ อ ให ไ ด ดี อ ยู เ องเสมอ ๆ นอกจากว า ใครจะ ไปถูก หรือไปผิดเทานั้นเอง. ถาม : ถาตอบอยางนั้น มันกลายเปนมีความหมายอยางอื่น คือเปลี่ยนเนื้อเรื่อง ไปแลว วา ทีแ รกมาจากสิ ่ง สูง สุด มาเลวลง ๆ แลว กลับ ไปดีขึ ้น ๆ จนเหมื อ นสิ่ งสู งสุ ด ตามเดิ ม ; นี่ ค นละป ญ หา. เดี๋ ยวนี้ เราจะพู ด ไปในทาง ที่ จ ะเกิ ด ประโยชน ว า เราจะปรั บ ปรุ ง คนให มี ศี ล ธรรมเพิ่ ม ขึ้ น ได

อยา งไร โดยอาศัย การถา ยทอดทางสายโลหิต หรือ กรรมพัน ธุ นี้กอน ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : ต อ งมี ก ารคั ด เลื อ กครั บ เพราะว า ทั้ ง ชายทั้ ง หญิ ง มี ส ว นดี ที่ ไ ม เหมื อ น กัน . ฉะนั ้น เราจะเลือ กสว นดีข องแตล ะฝา ยมารวมกัน ; ลูก ที ่อ อกมาจะ ไดส ว น เดน ขอ งแตล ะฝา ยไป มัน ก็ด ีก วา ทั ้ง พอ ทั ้ง แม เพ ราะวา ได สวนดีทั้งของพอทั้งแมมา. คํ า ต อ บ ว า “ต อ ง คั ด เลื อ ก ” นี ้ เ ป น คํ า ต อ บ ที ่ ถ ู ก ข อ ห นึ ่ ง แ น ว า ต อ งคั ด เลื อ กพื ช พั น ธุ ที่ ดี ; ฉะนั้ น ปู ย า ตา ยาย ที่ เขาเลื อ กคนที่ จ ะมาเป น

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร (ตอ)

๔๙

ลู ก เขย ลู ก สะใภ มั น ก็ มี เหตุ ผ ลอยู ; แม วาเขาจะไม ได มุ งหมายลึ ก ซึ้งถึ งอย างนี้ เขาก็ไดทําไปในลักษณะที่มีผลอยางนี้. การผสมสัต วก ็ต อ งเลือ กพัน ธุ . ทีนี ้ พัน ธุ ที ่ม ัน จะดีนี ่ มัน ก็ต อ ง เปน สัต วที ่เกิด อยู แ ลว ไดรับ การอบรมดี ; ตัว ที ่จ ะเปน พอ พัน ธุ  แมพ ัน ธุ  ก็ไ ด รับ การอบรมดีอ ยู เ รื ่อ ย แลว ผสมไขวพ ัน ธุ  ตา งพัน ธุ ก ัน มัน ก็ม ีก ารกระแทก กระทั้น หรือวา attack ตอกัน จนเกิดของใหมได คือไมเหมือนพออยางเดียวไม เหมือนแมอยางเดียว จึงเปลี่ยนไปไดในความไมเหมือน ก็เกิดเปนอยางอื่นขึ้นมา. [ การแวดลอมดวยการอบรม ]

การเปน อยา งอื ่น ขึ ้น มานี ้ เราทํ า อยา งไรจึง จะไดใ นทางที ่ด ี ไม เลวลง ? ก็ต อ งมีสิ ่ง ที ่จ ะตอ งประพ ฤติ กระทํ า แวดลอ ม อยู ด ว ยการ กระทํ า ที ่ด ี มัน จึง ใหสิ ่ง แวดลอ มทั ้ง หมด ปรากฏอยู ใ นลัก ษณะที ่เ ปน ปรกติ หรือเป นความสงบ ที่ เรียกกั นวาดี. ในสมั ยโบราณจึงมี ขนบธรรมเนี ย มประเพณี นานาแบบ ที่ จ ะให ก ารประคบประหงม แก ผู ที่ เ ป น สามี ภ รรยา ให อ ยู แ ต ใ น ลักษณะที่ดี :-

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org พอตั้ งครรภ ขึ้ น มา ก็ ให ทํ าพิ ธีการต าง ๆ ที่ จะกล อ มเกลาจิต ใจหญิ ง มีค รรภนั้น ใหเปน ไปแตในทางดี อยูแ ตในทางดี เขาเรีย กวา พิธีคัพ ภปริห าร ; ไมใชวัต ถุสิ ่ง ของ แตวา รวมทั ้ง วัต ถุสิ ่ง ของก็ได ; โดยเจตนานั ้น คือ การกระทํ า พิธ ีแ วดลอ มจิต ใจของหญิง มีค รรภนั ้น ใหรู ส ึก ไปแตใ นทางที ่ด ี. พบอยู แ ต ในพระบาลี ว า ทํ า พิ ธี คั พ ภปริ ห าร ซึ่ ง แต ก อ นก็ ค งจะเคยมี แม ใ นประเทศ

www.buddhadassa.in.th


๕๐

การกลับมาแหงศีลธรรม

ไทยเรา ซึ่งถายทอดวัฒนธรรมมาจากประเทศอินเดีย แลวมันก็คอยหายไป เลือนไป เพราะคนคอย ๆ หันมานิยมในทางวัตถุมากขึ้น ไมรักษาขนบธรรมเนียมประเพณี ในทางจิตใจเอาไว มันก็หายไป ๆ. ที่เรียกวาหายไปนี้ คือมันเปลี่ยนไป ๆ ก็เปลี่ยนไปในทางวัตถุ เห็น แตท างวัต ถุ ไมเ ปน ไปในทางศีล ธรรมอัน สงบ ; ฉะนั ้น ลูก ออกมาก็ส วย กวาพอแมได ฉลาดกวาพอแมได. แตการรักความสงบ รักความดี รักความจริง มันอาจจะนอยกวาพอแมก็ได ; เพราะสิ่งแวดลอม หรือการกระทําทั้งหลายมัน เปนไปในลักษณะอยางนั้น. พอแมที่นั่งอยูที่นี่ ก็ลองไปคิดดูเถอะวา ตัวมีความมุงหมายอยางไร อธิษฐานจิตอยางไรในการที่ลูกจะเกิดมาและเติบโต. ดูจะมีความมุงหมาย แตจะ ให ส วย ให เก ง ให อ ะไรไปด ว ยกั น เสี ย ทั้ ง นั้ น ไม ค อ ยจะนึ ก คิ ด ถึ ง ศี ล ธรรม ; ฉะนั้น เราไดลูกหลานสมัยนี้ แตในทางที่มันสวยงามเฉลียวฉลาด แตไมคอ ย มีศีล ธรรม. เพราะวา พอ แมเองไมคอ ยไดคิด ถึงศีล ธรรม ; เพราะมัน ยุง มากไป จนไมคอยมีเวลาคิดก็ได, หรือมีเวลา มันก็ไมคิดก็ได ; มันก็หลงไปในทางวัตถุ ทางเนื้อ หนัง ยิ่ง ๆ ขึ้น ไปเหมือ นกัน นี่มัน ทํา ใหพัน ธุเลวลงในสว นศีล ธรรม ; แตมันสวยงามขึ้นในฝายวัตถุธรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ขอนี้คนที่มีอายุสัก ๑๐๐ ป ก็พอจะสังเกตเห็นไดวา เด็ก ๆ สมัยนี้ มันสวยขึ้น สวยขึ้น ทุก ๆ ชั่วอายุคน ; นี่มันทางวัตถุ ทางเนื้อหนัง ; แลวเด็ก ๆ ก็ เรี ย นเก ง ขึ้ น เพราะพ อ แม ก็ เรี ย นเก ง มาก อ น. แต เรื่ อ งทางความสงบรํ า งั บ บั ง คั บ ความรู ส ึ ก ซึ ่ ง เป น รากฐานของศี ล ธรรมนั ้ น มั น ไม ค  อ ยมี ; นี ้ จ ึ ง

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร (ตอ)

๕๑

ไมเปนกรรมพันธุที่ดีเพื่อศีลธรรม, แตเปนกรรมพันธุสําหรับความยุงเหยิง สําหรับ กิเลส สําหรับความยื้อแยง สําหรับความระส่ําระสาย. ขอใหม องดูข อ ที ่ ๑ นี ้ว า คุณ คา ของศีล ธรรมที ่ถ า ยทอดทาง สายเลือดนั้น มันก็สําคัญที่สุดอยูขอหนึ่ง. ....

....

....

....

หั ว ข อ ที่ ๒. คุ ณ ค า ที่ แ สดงออกมาให เ ห็ น ชั ด ตามที่ ปจจัยภายนอกแวดลอม. ทีนี้เมื่อเกิดมาแลว มันก็มีการแวดลอม คือการใหการศึกษา ใหการ อบรม ใหการกระทําตาง ๆ เมื่อเกิดมาแลว ; นี่ก็มีอยูสวนหนึ่งตางหาก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : อันไหนจะสําคัญกวากัน คุณคาทางศีลธรรมที่มีมาในสายเลือดกับ คุณคาทางศีลธรรมที่เราจะอบรม เมื่อเขาเกิดออกมาแลว ; ๒ อยางนี้ อยางไหนมันสําคัญกวากัน ? มีความเห็นอยางไรลองวามา ?

ตอบ : เขาใจวา สิ่งแวดลอมที่อยูรอบ ๆ นี้ รูสึกวาจะมีความสําคัญมากกวา. แตวา ไมม ีห ลัก ฐานแนน อน แตรูส ึก วา จะมีค วามสํ า คัญ มากกวา . เพราะมีตัวอยางมาก ที่เด็กคลอดจากพอแมแลว พอแมไมเลี้ยงตั้งแต วันแรกเกิดใหม ๆ แลวไปอยูที่ไหน ไปอยูกับใคร พี่เลี้ยงเปนอยางไร แลวมันมักจะเปนอยางนั้น ซึ่งมีตัวอยางอยูมากมาย.

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๕๒

ถาม : เอา, ใครอีก ? มีความเขาใจเปนอยางไรอีก ? กรรมพันธุสําคัญกวา หรือวาการอบรมทีหลังสําคัญกวา ? ตอบ : ผมเขาใจวา ตนเหตุมันอยูที่กรรมพันธุ แตมันประกอบดวยการ อบรมดว ย. เรื่อ งสํา คัญ นี้ผ มเขา ใจวา เปน เรื่อ งความลึก ซึ้ง ของ จิตใจ ; นี่ผมเขาใจนะเปนกรรมพันธุมากกวา. ถาม : เอา, ใครอีก ? ตอบ : ผมรูสึก วา สิ่ง แวดลอ มจะมีอิท ธิพ ลมากครับ คือ วา สามารถที่จ ะ ใหเปลี่ยนแปลงได ทั้งภาวะของจิตใจ และสวนที่เปนรางกาย ;เพราะ เหตุอีกอยางหนึ่งวา ชีวิตนี้ตองการอยูรอด ; ฉะนั้น มันจะตองเปลี่ย น แปลงตามสิ่ง แวดลอ มใหได ; ผมจึงยืน ยัน วา สิ่ง แวดลอ มยังมีความ สําคัญกวา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : ใครอีก ?

ตอบ : ผมวามัน เทา ๆ กันครับ เพราะวาถาหากวาดีม าแตกรรมพันธุแลว มันก็ดีไปแลว ๕๐ แลวเหลืออีก ๔๐ คือการที่จะออกมาพบกับปจจัย ภายนอก ซึ่งก็มีความสําคัญเทา ๆ กัน. [ สิ่งแวดลอมสามารถเปลี่ยนแปลงกรรมพันธุ ]

ไดถามวา พวกที่เห็นวา เทา ๆ กันนี่ ออกจะไดเปรียบ เพราะเปน เรื่อ งที่พิสูจ นย ากพิสูจ นไ มไ ด ; แตใ หเ ขา ใจวา คํา วา “สํา คัญ เทา กัน ” นี่ มีขอยกเวนบางอยาง คือมาคนละ ๕๐ เปอรเซ็นต คือครึ่งตอครึ่งจริง แตวา

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร (ตอ)

๕๓

ครั้ง ที ่แ ลว มานั ่น มัน สิ ้น สุด ไปแลว มัน ผา นพน ไปแลว ; สว น ๕๐ หรือ ครึ่งหลังนี้ มันยังกําลังจะวิวัฒนาการ คือมันยังเปลี่ยนแปลงไดตามสิ่งแวดลอม. นี่เ ปน กฎเรื่อ งกรรม ; เมื ่อ ไดทํา กรรมอะไรลงไป มัน ก็ม ีผ ลเกิด ขึ้น ตามกฎ นั้น ๆ คือเทานั้นอยางถูกตอง. ทีนี้สวนที่คลอดออกมาแลว มันเปนโอกาสที่จะ อบรมไดมาก แมวาคาหรือน้ําหนักจะมีมาอยาง ๕๐ ตอ ๕๐ เทากัน แตซีกหลังนี้ มันมีโอกาสที่จะอบรมเรื่อย เพิ่มขึ้นไดเรื่อย, เพิ่มขึ้นไดเรื่อย, มันจึงเปลี่ยนแปลง ไปตามกฎแหงกรรม จนกระทั่งกลายเปนพระอรหันตไปก็ได. เราอย าลื ม วากรรมพั น ธุ เชื้ อ ที่ ถ ายทอดมาทางสายเลื อ ดนั้ น มั น ก็ สํ าคั ญ มาก ; เช น เดี ย วกั บ ทุ เรีย น ถ าเป น พั น ธุ ที่ ไม ดี แล ว จะมาให ปุ ย บํ ารุงกั น เดี ๋ย วนี ้ม ัน ก็ด ีไ ปไมไ ด. สว นทุเ รีย นพัน ธุ ด ีม าแลว พอปลูก แลว มีก ารบํ า รุง อยางใหม อยางแปลกออกไปอีก มันก็จะดีกวาพอแมเดิมได เพราะอํานาจแหง การกระทําในชั้นหลัง ที่เรียกวา สิ่งแวดลอม คือไดแกสิ่งที่เรียกวา กรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ดั ง นั้ น สํ า หรั บ มนุ ษ ย เ รา เมื่ อ มั น มี ค วามดี ม าในสายเลื อ ด ใน กรรมพันธุ ครึ่งหนึ่งคือ ๕๐…เปอรเซ็นต จากพอแม ; นี้ก็เปนสวนหนึ่งที่ดีแน. พอออกมาแล ว ได รับ การอบรมอย างไร ? ถ าได รับ การอบรมผิ ด มั น ก็ เลวได ; เหมือ นทุเรีย นใสปุย ผิด อะไรผิด มัน ก็เลวได. แตถาไดรับ การอบรมที่ดี มัน ก็ ดีก วาเดิม ได ดีจ นเปน พระอรหัน ตก็ได ; ความสําเร็จ ในระยะหลัง มัน จึงอยูที่ กฎของการกระทํา แลวแตวาจะเอาอะไรใสลงไป. รวมความวา การสํ า เร็จ ประโยชนใ นขั ้น สุด ทา ย นี ้อ ยู ที ่ก าร กระทํา หรือ การอบรม ที่จ ะทํา ใหเ ชื้อ เลวลงก็ไ ด, ใหเ ชื้อ ดีไ ปกวา เดิม ก็ไ ด ;

www.buddhadassa.in.th


๕๔

การกลับมาแหงศีลธรรม

แตก็ไมยกเลิกความดีที่มีมาในกรรมพันธุ ; ฉะนั้น เพื่อใหมนุษยดีในทางศีลธรรม ก็จะตองมีพื ชพั น ธุที่ ดี ที่ เลือกมาแลว ที่ อ บรมมาดี จนมีพื ชพั น ธุที่ ดี คลอดออก มาเปนลูก แลวยังไดรับการอบรมดีอีก มันก็เลยดีถึงที่สุด. ฉะนั้น ขอใหไปพิจารณาดูดวยวา มันเปนไปไดตามนี้หรือไม ? หรือ ถาไมเห็นดวย จะคัดคานเสียเดี๋ยวนี้เลยก็ได มีความเห็นอยางไรก็ลองวามา ในการ ที ่จ ะวางกฎลงไป วา ตอ งทํ า พืช พัน ธุ ใ หด ี ;และพอคลอดออกมาแลว ตอ ง อบรมให ดี ที่ สุ ด , ให เ ป น การกระทํ า ที่ ถู ก ต อ ง ก็ จ ะได ม นุ ษ ย ดี เ ต็ ม ตามที่ เ รา ปรารถนา. นี่เรื่องในสายเลือดหรือกรรมพันธุ คือ สิ่งที่จะถายทอดจากชั่วอายุคน ถึง ชั ่ว อายุค นในแงข อง คุณ สมบัต ิข องความเปน มนุษ ย เราจะตอ งแวดลอ ม ใหดีตลอดเวลา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : ที นี้ ในหั วขอ ที่ ๒ ;หั วขอ ที่ ๑ คื อ กรรมพั น ธุห รือ สายเลื อ ด, หั ว ขอ ที่ ๒ คือ เบิกบานออกมาเป นมนุษ ย เปนคนแลว ก็มีป จจัยแวดลอ ม เราลอง ทายดูซิวา สิ่งแวดลอมนี้คืออะไร ?

ตอบ : สิ่งแวดลอมนี้ก็คือ ที่เราเรียกเปนภาษาอยูเดี๋ยวนี้วา คุณคาทางสังคม นี ้ค ือ สิ ่ง แวดลอ ม, จะเรีย กวา เปน ประเพณีห รือ วัฒ นธรรม หรือ อะไรก็ได ที่ ทํ าอยู เดี๋ ย วนี้ ในการกิน การอยู การนอน การเที่ ย ว การ ใช ของอะไรต า ง ๆ ที่ เรีย กว า คุ ณ ค า ในสั งคม ว าอะไรมี ค า อะไรไม มี คา ; นี ่ค ือ สิ ่ง แวดลอ ม ที ่จ ะทํ า ใหเ ด็ก ที ่เ กิด มาใหมนี ้ เปลี ่ย นแปลง ไปตามคุณ คา พวกนี ้แ หละ ; ซึ ่ง ลว นแตม าจากความคิด ความเห็น ที่ เราใหคุณคาแกมันเทานั้นเอง.

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร (ตอ)

๕๕

ถาเราจะพูดวา การแวดลอมทางสังคม โดยสังคม นี่มันกระโดด เร็ว เกิน ไป ; จะตอ งนึก ถึง การศึก ษา, การอบรมกัน แตออ นแตอ อก เมื ่อ ยัง นอนอยูในเบาะ ใหเปน ขึ้น มาอยางถูก ตอ ง กอนจะไปมีการสัง คมนอกบาน. ขอนี้ก็ถูกแลว ตามตัวหนังสือ จะเรียกวา การสังคมก็ได คือพอเด็กเกิดออกมา ชั่วโมงเดียวเทานั้น มันก็เรียกวามีการสังคมได คือมีพอและแม หรือผูที่เขาไป แตะตอง ; นี่ก็เปนการสังคมได, จะเรียกวาสิ่งแวดลอมได จะเรียกวาสังคมก็ได ; แตยังไมเรียกดีกวา. คําวา “สังคม” เอาไปไวเรียกตอเมื่อเด็กโตแลวไปเลนหัวกับใครได, ไดรับการแวดลอมอยางไรภายในสังคมนั้น ; เพราะตองมีการอบรม ศึกษาอยาง สม่ําเสมออยางถูกตอง ตั้งแตออนแตออกไปจนกระทั่งตาย. แตวาเดี๋ยวนี้จะ ตั้งปญหาขึ้นมาวา การใหการแวดลอมอบรมอยางนี้ นั้นโดยใจความคืออะไร ? โดยใจความนั้น อยากจะใหเล็ง ไปถึง ในขอ ที่วา คือ การตอ นรับ กรรมพัน ธุ, แลวปรับปรุงขยับขยายพัฒนาใหกลายเปนพืชพันธุใหมที่ดี.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org [ การตอนรับและพัฒนากรรมพันธุ ]

การแวดลอ มนี ้ คือ การตอ นรับ กรรมพัน ธุ ที ่ม ีม าแลว ในสาย เลือดของเรา ที่ติดมาในทารกคนนั้น ; การที่เราแวดลอมมัน นั้นคือการตอนรับ คุณคาทางกรรมพันธุที่มีมาแลวในสายเลือด ;คือการยอมตอนรับใหเหมาะสม. ทีนี้ ตอ จากนั้นก็พัฒ นามัน. พัฒ นาคือ ทําใหดีขึ้น ๆ ตอไปใหม ใหเบิกบาน และใหเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี ใหสุดเหวี่ยง อยางนี้มากกวา ; จึงเรียกวา การตอนรับแลวพัฒนามัน. การศึกษาอบรมตั้งแตคลอดออกมา จนกระทั่ง ตายนี้ ก็คือสิ่งนี้.

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๕๖

ถาจะถามวา การทําการตอนรับ แวดลอมนี้คืออะไร ? ก็คือตอนรับ ความดี ที่มีมาในกรรมพันธุ, และทําใหวิวัฒนาการตอไปในทางที่ดีขึ้น. แลวเรา จะปฏิบัติอยางไรเกี่ยวกับขอนี้ ? ก็คือบิดามารดานั่นแหละจะตองรูเรื่องนี้ แลวก็ทาํ ใหมันเปนการตอนรับ.ถาตอนรับไมดี ก็อาจจะทําลายบางสวน บางอยางเสีย ก็ได ; เหมือนมือรับของไมดี ทําใหบี้แบนไป ทําใหสกปรกไปก็ได. การพัฒนาก็ตองพัฒนาอยาถูกตองตั้งแตออนแตออกมาอีกเหมือน กัน ; จนเปน เด็ก จนเปน หนุม สาว จนเปน ผูใหญเองแลวก็จะตองพัฒ นากัน เรื่อยไป. นี้คือคาของศีลธรรมที่แสดงออกมา ในเมื่อสัตวนั้นไดรับการตอนรับ และพัฒนา หลังจากที่คลอดมาแลว คือ เพาะปลูกกรรมพันธุนั้นใหเปนพันธุที่ดี เต็มที่ตอไป.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ....

....

....

....

หั ว ข อ ที ่ ๓. คุ ณ ค า ท างศี ล ธรรม ที ่ ม นุ ษ ย จ ะต อ งมี ท ุ ก

อิริยาบถ.

คุณ คาทางศีลธรรมที่มนุษยจะตองมีทุกอิริยาบถ นี้เราไมไดพูดถึง กรรมพันธุ หรือไมไดพูดถึงการอบรมที่แวดลอมโดยตรง ; แตเราพูดถึงความ จํ า เป น ที ่ ม นุ ษ ย จ ะต อ งประพฤติ ก ระทํ า ด ว ยตนเอง หรื อ ด ว ยการช ว ย เห ลื อ ข อ ง ผู  ช  ว ย เห ลื อ ก็ ต า ม ให ม ี สิ ่ ง ที ่ เ รี ย ก ว า ศี ล ธ รรม นั ้ น อ ยู  ท ุ ก อิริยาบถตั้งแตคลอดออกมา จนกระทั่งตาย.

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร (ตอ)

๕๗

ขอใหลองพิจารณาดูใหดี ใหมองเห็นความจริง เห็นขอเท็จจริงขอนี้ เพื่อวาจะไดทําอยางระมัดระวัง ละเอียดลออถึงที่สุด. เดี๋ยวนี้ตามที่สังเกตเห็นอยู ไดกระทํากันอยางหยาบ ๆ ไมระมัดระวังใหถูกตอง ใหนาชมทุกกระเบียดนิ้ว แลวก็ติดนิสัยเลวอันนี้มาจนกระทั่งโตเปนผูใหญ. บวชเปนพระเปนเถร แลวก็ยัง เลวถึงขนาดที่วาทําอะไรก็ทําหยาบ ๆ หวัด ๆ ; มองขาม ; ไมทําอยางละเอียดลออ ใหแสดงถึงความมีศีลธรรมอยูทุก ๆ อิริยาบถ. เปนผูนําทางธรรม ทางศาสนา อยูแลว ยังทํ าหยาบเสียเอง ไม มีลักษณะแหงศีลธรรมอยูทุ กอิริยาบถ ; แล ว ทําไมจะไปเกณฑใหชาวบานทํา. ขอนี้ตองขอรองเปนพิเศษ วาตองทํา. [ การพัฒนาทารกใหมีศีลธรรมทุกอิริยาบถ ]

คนทุก คนจะตอ งระมัด ระวัง ในการพัฒ นาทารก ที ่ค ลอดออกมา จากทองแม โดยมีหลักที่จะยึดถือทางศีลธรรมวา จะทําอยางละเอียดลออ สุขุม ถึงที่สุด ไมใหยกเวนแมแตกระเบียดนิ้วเดียว ที่จะเปนชองโหวสําหรับความไมมี ศีลธรรม จึงขอใหไปตรวจสอบกันเสียใหม สังคายนาเสียใหม นับตั้งแตวาคลอด ออกมาจากทองแม จะตองไดรับการอบรมแวดลอมใหมีศีลธรรมอยูตลอดเวลา อยาไปทําผิด คือไปแวดลอมดวยสิ่งที่ทําใหไมมีศีลธรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อย างไรก็ ดี ข อ นี้ ย อมรับ วา มั น เป น ของยาก ที่ ว าใครจะมี ค วามรู ความเขาใจถูกตองสมบูรณ จนถึงชั้นที่จะมาจัดมาทํา ใหทารกที่ออกมานั้น ไดรับ การแวดลอมดวยสิ่งที่สงเสริมศีลธรรม โดยดานเดียว. แตถึงอยางไรก็ดี บรรพบุรุษสมัยกอนโนน เขาก็มีขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดี ที่ไดทํากันมาแลว เพื่อมี ผลอยางนี้อยูไมนอย ; เราไปละทิ้งเสียบาง เปลี่ยนแปลงเสียบาง กระทั่งงมงาย โงเขลาไมรูวาจะทําอยางไร มันก็สูญหายไปเสีย. ควรจะรื้อฟนกันขึ้นมาใหม

www.buddhadassa.in.th


๕๘

การกลับมาแหงศีลธรรม

ม าทํ า ให ล ู ก ท ารก นั ้ น ได ร ั บ ก ารแ วด ล อ ม ที ่ ถ ู ก ต อ ง ใน ก ารที ่ จ ะ เป น ผู  มี ศีล ธรรมไปตั ้ง แตแ รกคลอดออกมา ; มัน เปน เรื่อ งยืด ยาว มีร ายละเอีย ดมาก พูดที่นี้ก็ลําบาก แตก็จะใหไวแตหัวขอ ซึ่งเอาไปคิดไดเอง. ทีนี ้ต อ มาก็ถ ึง ขั ้น ที ่จ ะมีช ีว ิต อยู  ตั ้ง แตเ กิด จนตาย อีก เหมือ นกัน จะต อ งบริห ารรางกาย หรือ เป น อยู ที่ เรีย กกั น ว า : เรื่อ งกิ น เรื่อ งอยู ; กิ น อยู ใช สอย อะไรก็ ต าม จะต องป ระกอบ อยู ด วยศี ล ธรรม จะต องเป น ผู มี หิร ิโ อตตัป ปะอยา งเต็ม ที ่ อยู ใ นจิต ใจ ในความคิด ความนึก . ตอ งไมทํ า ความชั ่ว เมื ่อ ไดโ อกาส คือ คนไมเ ห็น , ฉะนั ้น จะตอ งอบรมใหเ ขามีค วาม ละอาย แมอ ยู ค นเดีย ว ก็ไ มก ลา กระทํ า สิ ่ง ที ่ไ มน า ดู ; นี ้ม ีร ายละเอีย ดมาก ไปศึกษาเอาเอง :ตั้งแตกินอาหาร ถายอุจจาระ ปสสาวะ อาบน้ํา อาบทา อะไร ขอให ทํ า ด ว ยสติ ส ั ม ปชั ญ ญ ะ ที ่ ส  ง เสริ ม ศี ล ธรรม. อย า ไปทํ า ตามอะไรก็ ไ ม รู  ; ไมรูจะเรียกวาอะไรก็เรียกวา วัฒนธรรมใหม ๆ ,วัฒนธรรมสมัยใหม ซึ่งปราศจาก หิริแ ละโอตตัป ปะ. ในการพูด ในการจา การนุ ง การหม การอะไรตา ง ๆ ที ่ไมมี หิริแ ละโอตตัป ปะนั ้น อยา ใหม ัน มีเ ขา มา. และขอใหส ัง เกตดู จนถึง กับ ไม ดู ถู ก ดู ห มิ่ น วั ฒ นธรรมโบราณ โดยเฉพาะของคนไทยเรา ที่ มี หิ ริ แ ละโอตตั ป ปะ มาก ; เชน วา ขา งนอกนุ ง หม อยา งไร เขา ไปในหอ งน้ํ า หอ งสว มที ่ม ิด ชิด ก็ย ัง มี วั ฒ นธรรมที่ ร ะมั ด ระวั ง อย า งนั้ น อย า งนี้ เป น ต น . นี่ เรี ย กว า ในชี วิ ต ที่ เป น อยู ประจําวันก็มีศีลธรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร (ตอ)

๕๙

ทีนี้ อันสุดทาย ก็หนาที่การงาน เรามีชีวิตอยูนั้นสวนหนึ่ง และเรา ตองทําการทํางานโดยเฉพาะก็คืออาชีพ ซึ่งมีการขยายวงออกไป ถึงการเกี่ยวของ กับ ผูอื่น หรือ งานสัง คม เรามีห นา ที่ก ารงานจนตาย ; ทีนี้ก็เราก็ร ะมัด ระวัง การงานนั้น ใหมีศีลธรรมอยูในตัวการงาน. สรุปความขอนี้กันเสียทีวา คานิยมในรูปแบบตาง ๆ กัน ของศีลธรรม สํา หรับ มนุษ ย และที่เ กี่ย วกับ มนุษ ยนั้น ใหดูคา นิย มของมัน นับ ตั้ง ตน มา ตั้ง แตก รรมพัน ธุ ที ่ถา ยทอดมาจากบิด ามารดาทางสายโลหิต ; แลว ก็ม าดู ตอนที่คลอดออกมาแลว ไดรับการแวดลอมอยางมีศีลธรรม ; แลวก็ดูใหละเอียด ไมมีชองวางแมแตนิดเดียววา จะตองประกอบอยูดวยศีลธรรมนี้ทุก ๆ อิริยาบถ นับ ตั้งแตเกิด ออกมา นับ ตั้งแตการกิน การอยู เพื่อ มีชีวิต อยู กระทั่งถึงการมี การศึกษา ทําการทํางาน ตามที่มนุษยควรจะทําอยางมนุษยที่จะตองทํา ทําดวย ความมีมนุษยธรรม ; ไมใชวาจําเปนจะตองหาเลี้ยงชีพเพียงอยางเดียว หรือวา เพื่อความสุขสนุกสนาน ทางเนื้อทางหนัง ทางอายตนะอยางเดียว. นี่คือศีลธรรม ที่มีคุณคาในรูปแบบตาง ๆ กัน ที่เกี่ยวกับมนุษยคนหนึ่ง ๆ .

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทีนี้ สวนที่ ๒. คานิยมของศีลธรรมที่จะมองดู ....

....

....

....

จากสังคม. สิ่งที่เรียกวา ศีลธรรมที่เกี่ยวกับสังคมไดพูดมาแลว อธิบายใหฟง พิจารณาแยกแยะใหฟงจนจําไมไดวากี่สิบครั้งแลว จะยังจําไดอยูหรือไม ? คือ

www.buddhadassa.in.th


๖๐

การกลับมาแหงศีลธรรม

หัวขอที่วา สิ่งที่สังคมจะตองกระทํา ที่เรียกวา กิจของสังคม หรือสังคมกิจ ทุกชนิด นั้ น ไม มี อ ะไรที่ ไม ใ ช ศี ล ธรรม, เอ า , ทํ า ไมต อ งจดเล า ข อ นี้ พู ด มาหลายสิ บ ครั้ ง แลว. ทีนี้ก็เหลือแตจะสอบดู :ถาม : เขาใจวาอยางไรที่วาไมมีอะไรที่ไมใชศีลธรรม ในบรรดากิจที่สังคมจะ ตองทํา ; เห็นดวยหรือคัดคาน, ถามอยางนี้กอน ? ตอบ : ข อ นี้ เห็ น ด ว ย เพราะว าหลั ก ของสั งคมนั้ น คื อ ความปรกติ ; เช น เดี ย ว กับ ความหมายของคํ า วา ศีล ธรรม. เพราะฉะนั ้น นโยบาย หรือ วิธี หรื อ วิ ช าอะไรก็ ต ามในสั ง คม จะเป น วิ ช าเศรษฐกิ จ หรื อ วิ ช าทางการ เมื อ ง หรื อ อะไรก็ ต าม ถ า เป น วิ ช าที่ ถู ก ต อ ง วิ ช าที่ ดี ก็ ต อ งทํ า ให สั ง คม ป รกติ เมื่ อทํ าสั งค ม ป รกติ ได วิ ช านั้ น ก็ ต อ งมี แก น เป น ศี ล ธรรม . นั่ น คื อ ใจความสํ าคั ญ สรุป ได วา กิ จการที่ ม นุ ษ ย จะต อ งทํ าเกี่ ยวกั บ สัง คมทุก ชนิด ไมม ีอ ะไรที ่ม ิใ ชศ ีล ธรรม, ไมม ีอ ะไรที ่ไ มใ ชศ ีล ธรรม. ยอ น นึ ก ไปถึ งส ว นบุ ค คล ที่ ได พู ด มาหยก ๆ วา ไม มี อ ะไรที่ ไม ใช ศี ล ธรรม ตั้ งแต เกิ ด จนตาย ; ตอ งกระทําอะไรอยางที่มีคาทางศีล ธรรม.เดี๋ยวนี้เมื่อ เติบ โตเปนผูใหญ มีความผูกพันกันเปนสังคมมนุษยแลว กิจที่สังคมนั้นจะตองทํา ก็ไมมีอะไรที่มิใช ศีลธรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org แตเ ดี ๋ย วนี ้ มนุษ ยไ ดแ ยกหนา ที ่นั ้น ๆ ออกไปเปน หลาย ๆ อยา ง จนไมม ีคํ า วา ศีล ธรรมเหลือ อยู  ; เชน การศึก ษา การประกอบอาชีพ การ ปกครอง การเมือง การเศรษฐกิจ กระทั่งการทําสงครามรบราฆ าฟน เขาก็แยก ออกไปเป น อย า ง ๆ แล ว ความหมายของศี ล ธรรมก็ ห ายไปหมด. เดี ๋ ย วนี้

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร (ตอ)

๖๑

เรามากระตุกกลับมาใหมวา ทั้งหมดนั้น ทุกอยางนั้น ไมมีอะไรที่ไมใชศีลธรรม, มันเปนศีลธรรม ; การทําหนาที่ของมนุษยทุกอยางเปนเรื่องของศีลธรรม :ก. การศึกษาของมนุษ ย นับตั้งแตเริ่มมีการศึกษาของมนุษ ย, ก็ เปนเรื่องของศีลธรรม. ข. การทําหนาที่ทั่ว ๆ ไปของมนุษยเรา เชนการสงเคราะห, ก็เปน ศีลธรรม. ค. การประกอบอาชีพ ก็คือการดํารงอยูอยางมีศีลธรรม. ง. การดําเนินการปกครองบานเมืองประเทศ นี้ก็เปนศีลธรรม. จ. การเมืองที่ตองทําทั้งในประเทศ นอกประเทศ, นี้ก็เปนศีลธรรม. ฉ. ตัวการเศรษฐกิจนั่นแหละ คือตัวศีลธรรมที่จะตองทําใหดีที่สุด. ช. การทําสงครามกันก็เปนเรื่องศีลธรรม ; ถาทําถูกตองตามความ หมายอันนี้ ก็คือทําสงครามเพื่อความมีอยูแหงความถูกตอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org การทํ า สงครามไมใ ชฆ า กัน เลน ดว ยอํ า นาจของกิเ ลส เห็น ประโยชนของตัว แลวก็ฆ าผูอื่นอยางนั้นไมใชศีลธรรม, และไมใชสงครามใน ความหมายนี้ ; และไมใชสิ่งที่มนุษยจะตองทํา ; กระทั่งวา การประหารชีวิต คนกระทําผิด ใหตายไปโดยสมควรแกโทษ นี้ก็เปนศีลธรรม ; หรือการไปรบรา ฆาฟนกันใหเกิดความถูกตองขึ้นมา ในระหวางประเทศชาติในโลกนี้ ก็เรียกวา ศีลธรรม. แตวา เขาจะทําสงครามกันดวยความหมายอันนี้หรือไม มันอีกเรื่อง หนึ่งตางหาก.

www.buddhadassa.in.th


๖๒

การกลับมาแหงศีลธรรม

เดี ๋ ย วนี ้ เ รามาชี ้ เ ฉพาะแง ที ่ ว  า ถ า ทํ า อย า งถู ก ต อ งแล ว ก็ เ ป น ศี ล ธรรมไปหมด แม แต การต อ งรบราฆ าฟ น กั น เพราะไม มี ท างเลื อ กอย างอื่ น . เหมือนกับเราจะตองกินยาถาย หรือใหสัตวกินยาถาย ซึ่งจะตองมีสัตวพยาธิตายมาก, ถามันมีความถูกตอง หรือมีเหตุผลที่ถูกตอง หรือทําไปดวยเจตนาเพียงเทานั้น มัน ก็ยังเปน ศีล ธรรมอยูนั่น แหละ ; คือ มีขอ ยกเวน ทางศีล ธรรม ที่ทําใหม นุษ ย กินยาถายได. แมพระก็ฉันยาถายได ทั้ง ๆ ที่วายาถายมันทําใหตัวพยาธิตายไป ; แตถาแกลงฆาสัต วเล็กสัต วนอย อะไรก็ตาม เลนโดยไมมีเหตุผ ลทางศีล ธรรม มันก็ตองเปนบาปเปนกรรม, เปนปาณาติบาติอ ยางนี้. ใหรูจักแยกความหมาย ของคําพูด หรือการกระทําอยางเดียวกันออกเปน ๒ อยาง เพราะมันมีความหมาย เปน ๒ อยาง : ความหมายที่เปนไปในทางศีลธรรม มีเจตนาอยางหนึ่ง, ความ หมายที่ เป น ไปทางกิ เลส ก็ มี เจตนาอี ก อย างหนึ่ ง . สิ่ งที่ อ ยากจะพู ด แล วพู ด อี ก อยากจะใหเ ปน ที ่เ ขา ใจกัน ในขอ นี ้ก ็ส รุป ความอยา งนี ้วา ไมม ีอ ะไรที ่ไ มใ ช ศีลธรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org การศึก ษา ; นับ ตั ้ง แตว า ลูก เด็ก ๆ จะตอ งศึก ษา ผูก พัน กัน เปน หมู  เรีย นรว มกัน อะไรอยา งนี ้ มัน ก็ต อ งมีศ ีล ธรรม, ตอ งเปน ไปอยา ง ถูกตองตามเรื่องของศีลธรรม ; มิฉะนั้นก็จะเปนชอ ง เปนโอกาสแหงการทําชั่ว ทํ า เลว อย า งหาชิ ้ น ดี ไ ม ไ ด . ฉะนั ้ น ระวั ง เรื ่ อ งเพศศึ ก ษ า สหศึ ก ษ า อะไรต า ง ๆ ถ า ปราศจากความหมายเพื ่ อ ศี ล ธรรมแล ว ไม ใ ช ก ารศึ ก ษา ในที่นี้ ; ถาเปนการศึกษาในที่นี้ คือถูกตองแลว ตองมีหัวใจเปนศีลธรรม.

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร (ตอ)

๖๓

การทํา หนาที่ก ารงาน, พอเสร็จจากการศึก ษาแลว เราก็ตอ งทํา หนา ที ่ก ารงาน ; ถา ยัง มีค วามหมายอัน ถูก ตอ งอยู ก็จ ะเต็ม ไปดว ยศีล ธรรม นับตั้งแตวา มีหนาที่การงานที่เหมาะสม ปฏิบัติไดดี ไมมีใครเดือดรอน แมแต ตนเองไม เดื อ ดรอ น ผู อื่ น ไม เดื อ ดรอ น มี ความเจริญ สบายกั น พรอ ม ๆ กั น ไป อยางนี้เปนศีลธรรม. ทีนี้ ดูใหแคบเขามา วา การงานที่ทําเพื่ออาชีพ เลี้ยงปาก เลี้ยง ท อ งของตั ว แท ๆ ก็ ยั งเป น เรื่อ งของศี ล ธรรม ; เพราะว า ศี ล ธรรมมี ค วามหมาย มากมายหลายอยาง และแตละอยางมันกวางเหลือเกิน. ถายังไมลืมเสียใน คําวา สีละ แปลวา ปรกติ ละก็ คงจะเขาใจได ; เพราะมันมีความหมายรวมจุดอยูที่นั่น. เรามีอาชีพก็เพื่อใหมันเกิดการปรกติขึ้นมา ; ถาไมมีอาชีพแลว ก็ไมมีอะไรจะกิน แลวเกิดความลําบากระส่ําระสาย จนกระทั่งถึงตาย. ฉะนั้น บุคคลหรือครอบครัว ตองมีอาชีพ. การทําอาชีพใหรอดชีวิตอยู อยางผาสุก อยางสงบเรียบรอย นี้ก็ เปนศีลธรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เปน อัน วา การประกอบอาชีพ อยูนั่น แหละ คือ การประพฤติ ศีล ธรรม. ทําไปจะต องแยกเป นคนละอยาง เรียนเป นคนละอยาง แลวทํ ากัน คนละที ; นี ้ก ็ค ือ ความโงที ่ม ัน เพิ ่ง จะเกิด มา. เมื ่อ การศึก ษาเดิน ไปผิด แยก วิชาออกไปหลายแขนง จนไปสุดโตงสุดเหวี่ยงกันอยู แตละแขนง ๆ ไมมารวมจุด อยูที่ศีลธรรมคําเดียว มนุษยนี้ก็เลยไมมีความสงบสุข ไมสมกับวาเปนมนุษย การปกครองบ า นเมื อ ง แบบเผด็ จ การสมบู ร ณาญาสิ ท ธิ ร าช ก็ ด ี ประชาธิ ป ไตย ก็ ด ี ทุ ก แบบถ า เป น การถู ก ต อ งแล ว การครองเมื อ ง

www.buddhadassa.in.th


๖๔

การกลับมาแหงศีลธรรม

นั ้น จะเปน ศีล ธรรม คือ การกระทํ า ใหม ีค วามงา ย ความสะดวกในการที ่ท ุก คน จะอยู ก ัน เปน ผาสุก . เพราะฉะนั ้น การปกครองก็ค ือ การศีล ธรรม. วิช าการ ปกครอง คือ วิช าศีล ธรรมที ่อ ยู อ ยา งลึก จนไมม องกัน ; กระทั ่ง การเมือ ง ซึ่งเดี่ยวนี้ รูจักกันแตในแงสกปรก หลอกลวงทั้งนั้น เลยไมมีศีลธรรมในการเมือง และการเมืองก็เลยไมใชศีลธรรม. แต ถ  า เอ าต าม ธรรม ชาติ เ ดิ ม ๆ ของม นุ ษ ย ที ่ บ ริ ส ุ ท ธิ ์ แ ล ว กิจ กรรมที ่เ ปน การเมือ งนั ้น ก็เ ปน ศีล ธรรม ; เพราะวา ผู ที ่ฉ ลาด หรือ มี อํานาจ หรือวาทุ กคนมอบอํานาจ ก็ดํ าเนิน กิจการนี้ไป ในลั กษณะที่ ทุกคนจะมี ความสงบสุข ไดร ับ อิส รภาพ เสรีภ าพ อะไรอยา งถูก ตอ ง. เพราะฉะนั ้น การเมือ งคือ ศีล ธรรมอยา งยิ ่ง อยา งนา บูช า ; แตเ ดี ๋ย วนี ้ม ัน เปลี ่ย นรูป เปน การเมืองสกปรก การเมืองหลอกลวง ก็ไมควรจะเรียกวาการเมือง มันเปนการเมือง เลน ตลกอะไรอยา งหนึ ่ง มากกวา . ถา เรีย กวา การเมือ ง ก็แ ยกตัว ออกไป เปน การเมืองของกิเลส ; ไมใชการเมืองคือศีลธรรมอยางที่กําลังพูดอยูนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทีนี ้ มาดูสิ ่ง ที ่เ ปน ปญ หาอยา งมากที ่ส ุด ในโลกปจ จุบ ัน นี ้ คือ เรื่ อ ง เศรษฐกิ จ น้ํ า ตาลแพง ข า วสารแพง หมู แ พง อะไรก็ ยุ ง ไปหมด เรื่ อ ง เศรษฐกิจ นี ่. ทํ า นา ทํ า ไร ก็ร วมกัน เรีย กวา เศรษฐกิจ ; ที ่แ ทม ัน เปน เรื ่อ ง ศีล ธรรม. ถา ทุก คนทํ า ไปดว ยเจตนาดี แลว สิ ่ง เหลา นี ้จ ะไมส รา งปญ หาขึ ้น . ความหมายของคํ าวา เศรษฐกิจ ทํ าการค า โดยผู ค า นี้ ก็ เพื่ อ ให ค วามสะดวก ; เพราะว า ต อ งมี ก ารแลกเปลี่ ย น ต อ งเก็ บ รัก ษา ต อ งสนองความต อ งการเมื่ อ ถึ ง โอกาส มัน จึง ตอ งมีก ารคา หรือ การกระทํ า ที ่เกี ่ย วกับ การคา . ฉะนั ้น พอ คา ก็ ไมควรจะเปนผูที่คอยจองโอกาสแตจะหากําไรอยางตาถลน ; นั้นคือไมมีศีลธรรม.

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร (ตอ)

๖๕

ถาสํานึกตั ววา เราเป นผูจัดการค า เพื่ อใหเกิดการสะดวกในสังคม ใหสังคมไดรับความสะดวก ในการที่จะถายทอดถายเทอะไรซึ่งกันและกัน อยางนี้ แลวการคานั้นก็เปนศีลธรรมทางสังคม เพื่อประโยชนแกเพื่อนมนุษยจะไดสงบสุข. นี ่ , เศรษฐกิ จ ที ่ ป ระกอบไปด ว ยธรรม ก็ เ ป น ศี ล ธรรม ; แต ม ั น หาไม ไ ด ; มันกลายเปนแตโอกาสของบางคนบางพวกที่จะสรางกําไรมหาศาล ; เรื่องเศรษฐกิจ ก็เปนเรื่องเลวทรามไป เปนเรื่องที่ทําใหมนุษยปนปวนยุงยากที่สุด ในหมูมนุษย. โดยเฉพาะในป จ จุ บั น นี้ ที่ วา เกิ ด ฝ ายซ าย ฝ ายขวา เกิ ด นายทุ น เกิ ด ชนกรรมาชี พ อะไรขึ ้ น มา ก็ เ พราะการเศรษฐกิ จ มั น ไม ม ี ศ ี ล ธรรม เสีย เลย. ถา เศรษฐกิจ ยัง คงเปน ศีล ธรรมมีศ ีล ธรรม ปญ หาเหลา นี ้ก ็ม ีไ มไ ด แลวมนุษยก็อยูกันดวยความสงบสุข. การทะเลาะวิวาท ซึ่งขยายตัวเปนการสงครามนี่ ดูใหดีวา ทําไม จะตองทะเลาะวิวาท ? ทะเลาะวิวาทดวยกิเลส หรือวาทะเลาะกันดวยเหตุผล หรือ สติป ญ ญา ? สํ า หรับ การสงคราม ก็ค ือ การทะเลาะวิว าทนั ่น เอง. ถา ทํ า ไปดวยกิเลส มันก็เปนเรื่องฆาฟนกันอยางสัตวเดรัจฉาน ; ถาทําไปดวยสติปญญา ก็จะจัดการอะไรใหเรียบรอยไปได เพื่อความสงบสุขของมนุษย ซึ่งฝายหนึ่งจะตอง กระทํ า กับ ฝา ยหนึ ่ง ซึ ่ง เปน ฝา ยที ่เ ปน พาล หรือ เปน อัน ธพาล ; ฉะนั ้น การ ปองกันตัว หรือปองกันความเปนธรรม นี้ก็เปนศีลธรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org การทํ า ให เ กิ ด ความสงบสุ ข เด็ ด ขาด ราบคาบลงไปได นี ้ ก็ เปน ศีล ธรรม ; หากแตวา ตอ งทํ า ดว ยจิต ใจที่บ ริส ุท ธิ์ หรือ ประกอบอยูดว ย ศีลธรรมนั่นเอง.

www.buddhadassa.in.th


๖๖

การกลับมาแหงศีลธรรม

ดูจะหมดแลวกระมัง ถาพูดใหเห็นไดวา แมแตสงครามก็คือศีลธรรม ดูจะไมมีอะไร ที่จะเปนปญหาวามิใชศีลธรรม. ที นี้ ขนบธรรมเนี ย ม ประเพณี นั้ น เป น เครื่ อ งรองรั บ ศี ล ธ ร ร ม เ ป น เ ป ลื อ ก ข อ ง ศี ล ธ ร ร ม เ ป น ภ า ช น ะ ร อ ง รั บ ศี ล ธ ร ร ม . ศีลธรรมคือการกระทําเพื่อใหเกิดความสงบ หรือความปรกติอยูในรูปตาง ๆ กัน ; พอเราเห็นวาอยางนี้ดี ก็ทําเปนธรรมเนียมประเพณีขึ้นมา. คนทีหลังไมตองคิด ใหมันยุงหัว ทําไปไดตามขนบธรรมเนียมที่ไดมีอ ยูแลว ก็จะอยูกันเป นสุขได. อยางนี้เราเรียกวา ประเพณีหรือขนบธรรมเนียมนั้นเปนภาชนะ หรือเปนเปลือก ที่จะรักษาศีลธรรมไว ใหอยูอยางเดนชัด มั่นคงและงายสําหรับทุกคน แมคนที่ ไมมีสติปญญา. ในสมั ย โบราณ เราจะพบว า เขามี ข นบธรรมเนี ย มประเพณี ที่ดี ๆ มากมาย ซึ่งลวนแตทําใหคนเสียสละ ไมเห็นแกตัว ทําลายความเห็น แกตัว แลวไปสรุปอยูที่ความรูสึกวา เราทุกคนเปนเพื่อนทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันทั้งหมดทั้งสิ้น. เขาสอนใหคิดเชนนั้น ใหทองบนเชนนั้น ใหมีการ กระทําเพื่อความเปนอยางนั้น ; มีการทําบุญชนิดที่เจือจาน ในลักษณะที่ถือวา ทุกคนเปนเพื่อนทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันทั้งหมดทั้งสิ้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org การกระทํ า นั ้ น มั ก จะกระทํ า ในรู ป ของส ว นรวม เช น สร า ง อะไรขึ้น มา หรือ บํ า รุง อะไรขึ้น ไว, รัก ษาอะไรใหค งอยู : แมน้ํา ลํา คลอง หวยหนอง คลองบึงบาง ก็รักษากันไวอยางดี ไมรุกล้ํา ไมเอาเปรียบ ; มีการ

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร (ตอ)

๖๗

เสียสละ ไมเห็นแกตัว เห็นแกผูอื่น เห็นวาเปนมนุษยดวยกัน สรางวัดสรางวา ขึ้นมา สรางสิ่งนั้นสิ่งนี้ขึ้นมา เพื่อประโยชนแกทุกคน. ขนบธรรมเนียมประเพณีอันนี้มันหายไป หรือมันสูญไปโดยเจตนา เปลี่ยนเปนเรื่องรูปแบบสําหรับกอบโกย หรือเอาเปรียบกันเสีย เปนเรื่องการคา ไปเสีย. แมจะสรางวัดสักวัดหนึ่ง ก็กลายเปนเรื่องการหากําไรของคนหลาย ๆ ฝาย มันก็ผิดความมุงหมายเดิม. นี้ เราก็ ต อ งรูจั ก สิ่ งที่ เรีย กวา ขนบธรรมเนี ย มประเพณี นี้ ให ดี ๆ ; เพราะเดี๋ย วนี้มัก จะรวมเรีย กวา วัฒ นธรรม. ระวังใหดี ถา มีเจตนารมณผิด มัน ไมเ ปน ศีล ธรรม ; เปน วัฒ นธรรมเนื ้อ หนัง ตามใจกิเ ลส สง เสริม กิเ ลส เหมือนที่เรียกกันวา วัฒนธรรมใหม วัฒนธรรมตะวันตก วัฒนธรรมฝรั่ง ที่ทําลาย ศีลธรรม ; วัฒนธรรมเหลานั้นทําลายศีลธรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ขอทําความเขาใจแทรกตรงนี้สักนิดวา เมื่ออาตมาพูดวา “ฝรั่ง” นั่น คือพูดตามธรรมเนียม วาฝรั่งสวนมาก.

ฝรั่งสวนมากนี่นิยมทางวัตถุ รูจักแตวัตถุ สงเสริมกาวหนาแตเรื่อง ทางวัต ถุ ; นี่เ ปน เรื่อ งของฝรั่ง ใหม ๆ. ฝรั่ง เกา ๆ ที่ไ มห ลงนิย มวัต ถุก็ม ี ; เดี๋ย วนี้ฝ รั่งที่ยังดีอ ยูก็มี แตเปน สว นนอ ย. เพราะฝรั่ง เขาเกง ในทางกา วหนา ทางประดิษฐ แลวก็เปนไปในทางวัตถุมากขึ้น จนเกิดวัฒนธรรมลามกอนาจาร เชนที่นําเขามาในประเทศไทยเปนตน.

เมื่อเรียกวาฝรั่ง หมายถึงฝรั่งสวนหนึ่ง จําพวกหนึ่ง, ที่เปนวัตถุนิยม เกินไป ตามใจกิเลสมากเกินไป, ก็จะมีวัฒนธรรมเนื้อหนัง กามารมณ ปราศจาก

www.buddhadassa.in.th


๖๘

การกลับมาแหงศีลธรรม

ศีลธรรมโดยสิ้นเชิง. ฉะนั้น เมื่อพูดวาวัฒ นธรรม ก็ใหรูวา วัฒ นธรรมไหนละ ? วัฒนธรรมอยางไร ? วัฒนธรรมฝายไหน ? วัฒนธรรมฝายที่จะบังคับกิเลส หรือวา วัฒ นธรรมฝายที่จ ะตามใจกิเลส ? ขอใหระวังใหดี ๆ. เดี๋ย วนี้แ มแ ตก ารศึก ษา ก็ไปตามกนฝรั่งในสวนนี้เสียมาก ก็เลยทําใหเปนฝรั่งแบบนี้เลย ; เราก็สูญ เสีย วัฒนธรรมเดิม คือสูญเสียศีลธรรมนั่นเอง. นี่ แ หละการศึ ก ษาก็ คื อ ศี ล ธรรม, การประพฤติ ป ฏิ บั ติ ทุ ก อย า งทุ ก ประการ ก็คือ ศีล ธรรม ; แมก ระทั่ง การเมือ ง การเศรษฐกิจ การสงคราม ก็คือ ศีล ธรรมโดยเจตนารมณ. แตแ ลว มัน ทํ า ผิด หมด ก็เ ลยไมม ีศ ีล ธรรม ; แม วั ฒ นธรรมหรือ ประเพณี ที่ เป น เหมื อ นภาชนะสํ า หรับ รองรับ นั้ น ก็ เปลี่ ย นไป แตกทําลายไป หรือเนาไป ; ไมรักษาศีลธรรมอันดีไวได. ในที่สุดนี้ เปนอันวา เราไดพิจารณากันถึงคาหรือคานิยม ของสิ่งที่ เรี ย กว า ศี ล ธรรม ในรู ป แบบที่ ต า ง ๆ กั น เท า ที่ มั น เกี่ ย วข อ งกั น อยู กั บ มนุ ษ ย ; เดี๋ยวนี้เรามุงหมายจะพูด เทาที่มันเกี่ยวกันอยูกับมนุษย. เราจะตองมองดูสิ่งนั้น ให เ ห็ น ชั ด เสี ย ก อ น แล ว ต อ ไป เราจะเรี ย กมั น กลั บ ม าได ; เพ ราะเรา กําลังพูดกันถึงการกลับมาแหงศีลธรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เดี ๋ย วนี ้เรากํ า ลัง พูด วา ศีล ธรรมคือ อะไร ; พูด กัน ในรูป ของภาษา มาแลว, พูดกันในรูปแบบของวิทยาการก็แลว, และเดี๋ยวนี้พูดกันในรูปแบบของ คานิยม ในสวนเอกชนก็ดี ในสวนสังคมก็ดี มันมีอยูอยางนี้ ; ซึ่งสรุปความไดวา ไม มี อ ะไรซึ่ ง เป น การเคลื่ อ นไหวของมนุ ษ ย อ ย า งถู ก ต อ งแล ว จะไม

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร (ตอ)

๖๙

เรีย กวาศีล ธรรมเลย. ถา มองเห็น อยา งนี้ ก็เปน อัน วา ไดม องเห็น คานิย ม ของสิ่งที่เรียกวาศีลธรรมอยางครบถวน ไมมีสวนเหลือ. เปนการสมควรแกเวลาที่จะพิจารณากันในวันนี้ สําหรับสิ่งที่เรียกวา คานิยมของศีลธรรม. การบรรยายแบบมีการสอบถามนี้ ก็พอสมควรแกเวลาแลว.

ขอยุติไวแตเพียงเทานี้ ขอโอกาสใหพระคุณเจาไดสวดบทพระธรรม ที่จะเปนกําลังใจแกการประพฤติธรรม โดยเฉพาะสิ่งที่เรียกวา ศีลธรรม โดยสมควร แกเวลาสืบไป.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

๖๙

www.buddhadassa.in.th


www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม - ๓ ๑๖ มกราคม ๒๕๑๙

ศีลธรรมคืออะไร (ตอ) [ เมื่อกลาวโดยขอควรสังเกต โดยอุปมา ฯลฯ ]

ทานสาธุชน ผูมีความสนใจในธรรม ทั้งหลาย,

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org การบรรยายประจํ าวั นเสาร ภาคมาฆบู ชาเป นครั้งที่ ๓ ในวั นนี้ นั้ น อาตมาจะได ก ล า วโดยหั ว ข อ ว า ศี ล ธรรมคื อ อะไร ต อ จาก ๒ ครั้ ง ที่ แ ล ว มา เพราะวายังไมจบ [ คําปรารภและทบทวน ]

ทานทั้งหลายคงจะประหลาดใจบาง วาทําไมพูดแตเรื่องศีลธรรมคือ อะไร ไมรูจัก จบ ทั้ง นี ้ก็เ พราะวา เราอยากจะพูด กัน ใหล ะเอีย ดละออ ในทุ ก แงทุกมุมที่จะดูกันใหรูจักวา ศีลธรรมนี้มันคืออะไรกันแน.

๗๑

www.buddhadassa.in.th


๗๒

การกลับมาแหงศีลธรรม

ขอซักซอมความเขาใจอยูทุกครั้ง หรือตลอดไป วาเวลานี้เปนยุค เป น ส มั ย ที ่ เ ร า ต อ ง เอ า ใ จ ใ ส ก ั บ สิ ่ ง ที ่ เ รี ย ก ว า ศี ล ธ ร ร ม ; เ พ ร า ะ เหตุการที่ปรากฏอยูตลอดทั่วไปในโลก มีแตวิกฤติการณ คือความยุงยากลําบาก ระส่ําระสาย ถึงกับวินาศไปในบางอยางบางประการ. ทั้งหมดนี้ก็เพราะวาสิ่งที่ เรียกวา “ศีลธรรม” นั่นเอง มันเสื่อมไปในหมูมนุษย คือมนุษยไมมีศีลธรรม ; ถามนุษยเพียงแตมีศีลธรรมอยางเดียวเทานั้น จะแกปญหาตาง ๆ ได. เดี๋ยวนี้ เราไมยอมเขาใจกันเชนนั้น ; เพราะไมรูจักวา ศีลธรรมนั้นคืออะไร. ในวงการศึกษาของโลกทั่ว ๆ ไป รูสึกกันเสียวา ศีลธรรมเปนเรื่อง เล็ก ๆ นอย ๆ สําหรับลูกเด็ก ๆ จดไวในสมุด ก็เลยไมตองสนใจอะไรเกี่ยวกับ ศีลธรรม ในการที่จะทําใหมีขึ้นมา. นี้เ ราก็ไ ดพูด กัน มาแลว ตั้ง ๒ ครั้ง วา ศีล ธรรมคือ อะไร. ใน ครั้งแรกมองดูกันในแงของภาษา ภาษาชาวบาน ภาษาศาสนา ภาษาบาลี ภาษา อื่น ๆ ก็ตาม วาที่เรียกวา ศีลธรรมนั้นคืออะไร ; แลวก็ไดพิจารณากันในรูปแบบ ตาง ๆ ของสิ่งที่เรียกวา ศีลธรรม เพราะบางทีหรือบางแหง ก็เอาศีลธรรมมาพูด อยูในรูปแบบของปรัชญาบาง ของศาสนาบาง ของสังคมศาสตรบาง แมที่สุดแต ในฐานะที่เปนภาวะปรกติของธรรมชาติ ก็ยังเปนสิ่งที่พูดได ; แตสวนมากเขา ก็พูดกันแตในรูปแบบของปรัชญา คือสิ่งที่มีไวสําหรับจะพูดกันอยางเพอเจอเทานั้น เอง ไมมีการปฏิบัติลงไปจริง ๆ เพราะวารูปแบบของปรัชญามันไมใชรูปแบบของ การปฏิบัติ

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร (ตอ)

๗๓

ในครั้ ง ต อ มาอี ก เราก็ ได พู ด กั น ถึ ง คุ ณ ค า ของศี ล ธรรม ในหลายแง หลายมุม ซึ่ง สรุป ไดวา เปน คุณ คา ที ่เอกชนจะไดรับ อยา งหนึ ่ง คุณ คา ที ่ส ัง คม จะไดรับ อยา งหนึ ่ง . สํ า หรับ คุณ คา ที ่บ ุค คลหนึ ่ง ๆ จะไดรับ นั ้น ก็ไ ดม องดูก ัน ลึก ลงไป ถึง สิ ่ง ที ่เรีย กวา ศีล ธรรมในสายเลือ ด หรือ ศีล ธรรมที ่เปน กรรมพัน ธุ แลว ก็ม องออกมาถึง ศีล ธรรมที ่แ สดงอยู ที ่เนื ้อ ที ่ต ัว เปลี ่ย นแปลงไปตามเหตุ ตามปจ จัย ที ่แ วดลอ ม ; แลว ก็ม องกัน อยา งลึก ซึ ้ง อีก ทางหนึ ่ง วา ศีล ธรรมนั ้น เป น สิ่ ง ที่ ต อ งมี อ ยู ใ นที่ ทุ ก สถาน ทุ ก เวลา และทุ ก อิ ริ ย าบถของมนุ ษ ย ตั้ ง แต คลอดออกมาจากทองแมจนกระทั่งตาย ; แมที่สุดแตจะกินอาหาร จะอาบ จะถาย ก็ตองกระทําใหถูกตองตามหลักเกณฑ ของสิ่งที่เรียกวา ศีลธรรม ; มันมีคุณคาให ไดรับความเปนปรกติสุข ตั้งแตชั้นต่ําที่สุด ไปจนถึงชั้นสูงที่สุดที่มนุษยจะพึงมีได. ที นี้ ในส ว นสั ง คมนั้ น ก็ จ ะถื อ ว า หน า ที่ ข องสั ง คมทุ ก ชนิ ด ล ว นแต เปน ศีล ธรรม ; เพราะวามนุษ ยตั้งใจจะทําสิ่งที่นํามาซึ่งผล คือ ความเปน ปรกติ. คําวา ศีลธรรม แปลวา ความปรกติ ไมมียุงยากลําบาก ระส่ําระสาย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทีนี้อะไรบางที่มนุษยไมตองทําเพื่อความเปนอยูเปนปรกติ ? ถาพิจารณา ดู ใ ห ดี แ ล ว ก็ จ ะเห็ น ว า ไม มี อ ะไรเลย ที่ ม นุ ษ ย จ ะไม ต อ งทํ า เพื่ อ จะให เกิ ด ความ ปรกติ: โดยสวนตัวก็เพื่ อรางกาย หรือ จิตใจปรกติ, โดยสวนรวมก็เพื่ อ บานเมือ ง ประเทศชาติ หรือทั้งโลกเป นปรกติ . แม ที่สุด แตการทําสงคราม ถาเป นสงคราม ที่ถูกตอง มีเหตุผล ก็เปนการทําสงครามเพื่อมนุษยจะอยูเปนปรกติ ; เพราะเมื่อ เกิดความไม เป นธรรมหรือไม ถูกตองอะไรขึ้นมาก็ต องแกไข ; เมื่ อ พู ด กันไมรูเรื่อ ง มันก็ตองทํ าสงครามโดยตรง หรือโดยออมก็ตาม เพื่ อ ให ยุติสิ่งที่ขัดแยงเหลานั้ น เพื่อความปรกตินั่นเอง.

www.buddhadassa.in.th


๗๔

การกลับมาแหงศีลธรรม

เมื่อการสงครามก็เปนเรื่องของศีลธรรมแลว เรื่องอื่น ๆ มันก็ตองเปน เรื่องศีลธรรมยิ่งไปกวานั้น เชนการเศรษฐกิจ ถาทําไปดวยกิเลส มันก็เพื่อปาก เพื่ อทอง เพื่ อ ความร่ํารวยของคนนั้ นเอง ; แตถาเศรษฐกิจที่เป นไปตามเหตุผ ล ตามความตองการของคน ผูอยูกันในโลกแลว ก็คือการจัดการทําเพื่อใหเกิดการ สะดวกตาย กิ น อยู ส บาย เป น ปรกติ ไม ใช เพื่ อ ใช เป น โอกาสสํ า หรับ กอบโกย ความร่ํา รวย เหมือ นที ่ทํ า กัน อยู เ ดี ๋ย วนี ้. เศรษฐกิจ ที ่ทํ า ไปดว ยอํ า นาจกิเ ลส มัน ก็เ ปน เศรษฐกิจ ของภูต ผีป ศ าจ ; เศรษฐกิจ ที ่ทํ า ไปความบริส ุท ธิ ์แ ละสติ ปญญาก็เปนเศรษฐกิจของบุคคลที่ควรจะเรียกวามนุษย คือสัตวที่มีใจสูง. เรื่อ งการเมือ งก็เหมือ นกัน ถา เปน เรื่อ งที ่ทํ า อยา งถูก ตอ งบริส ุท ธิ์ แล วก็ ทํ าให บ านเมื อ งปรกติ สุข. ที นี้ คนผู มี อํานาจในการจัด หรือ การควบคุ ม การเมืองทําไปดวยกิเลส มันก็เปนการเมืองของภูตผีปศาจ เปนเรื่องสกปรก นา รังเกียจอยางยิ่ง จนถึงกับมีคนบางคนไดเคยพูดไววา ความเปนมนุษยสิ้นสุดลงที่ การเมือง อยางนี้เปนตน ตั้งหลายรอย หรือพันกวาปแลว. แตถาไดทําไปดวย สติปญ ญา ดวยเหตุผล ดวยความบริสุทธิ์แลว การเมืองก็คือการจัดบานเมือ ง ใหปรกติสุข ; และนี่ก็คือศีลธรรมนั่นเอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถึ ง แม ก ารปกครองเป น ภายในประเทศ ในจั ง หวั ด ในอํ า เภอ ใน ตําบลก็เพื่อ ความปรกติสุข ; ฉะนั้น การปกครองก็คือ ศีล ธรรม เปน สิ่งที่ทําให เกิดความเปนปรกติ ตรงตามความหมายของคําคํานี้ คือคําวา สีละ แปลวา ปรกติ ; คําวา ธรรม แปลวา ภาวะ ก็ได แปลวา เหตุ ก็ได แปลวา ผล ก็ได.

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร (ตอ)

๗๕

ศีล ธรรมในความหมายวา เปน เหตุข องความเปน ปรกติ, และก็ เปน ผลที่เกิด มาจากเหตุนั้น และก็ เปนภาวะที่อ ยูกัน อยางเปน ปรกติ : นี่คือ ศีล ธรรมสมบูร ณ. การปกครองที ่ถ ูก ตอ งที ่บ ริส ุท ธิ ์นั ้น ก็เ ปน ไปเพื ่อ ความปรกติ ดั ง นั้ น การปกครองนั้ น ก็ คื อ ศี ล ธรรม. เดี๋ ย วนี้ ก ารปกครอง ทํ า ไปโดยอํ า นาจ ของคนมีกิเลส มันก็เลยกลายเปนโอกาส สําหรับกอบโกยอํานาจ หรือประโยชน ใหแ กต น ก็เปน การปกครองของทุรราช หรือ ทรราช หรือ ภูต ผีปศ าจ หรือ อะไร ก็แลวแตจะเรียก ไมใชการปกครองสําหรับมนุษยที่เรียกวาสัตวที่มีใจสูง. ถ า ท า นเข า ใจข อ นี้ ก็ จ ะเห็ น ว า แม แ ต ก ารปกครองก็ เป น ศี ล ธรรม ; แตเ ดี ๋ย วนี ้เ ราไมม องกัน อยา งนี ้ ไมเ รีย กกัน อยา งนี ้. ไปแยกศีล ธรรมไวเ ปน วิ ช าเล็ ก ๆ สํ า หรั บ ลู ก เด็ ก ๆ จดไว ในสมุ ด . ส ว นการปกครอง การเมื อ ง การ เศรษฐกิจ หรือการทําสงคราม นี้กลับใหความหมายไปอยางอื่น : เปนเครื่องมือ สํ า หรับ ทํ า อย า งอื่ น โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง ก็ ทํ าไปเพื่ อ อํ านาจหรือ ประโยชน ของ กลุมแหงบุคคลนั้น ๆ อยางไมมีศีลธรรมเลย ทั้งที่ตัวแทของมันก็คือ ศีลธรรม กลาว คือสิ่งที่ทําความปรกติ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทีนี ้ อาชีพ ; ถา ทํ า ตามความประสงคอ ัน แทจ ริง ก็ทํ า เพื ่อ เกิด ความปรกติในครอบครัว ในประเทศชาตินั้นอีกเหมือนกัน. ถาแตละคนไมมีอาชีพ หรื อ แต ล ะประเทศไม มี อ าชี พ ให ถู ก ต อ งเพี ย งพอ มั น ก็ ไ ม มี ค วามปรกติ . การ ประกอบอาชีพทุกกระเบียดนิ้ว ถาทําดวยความสุจริตตามความเปนมนุษยที่ถูกตอง ; อาชีพก็คือศีลธรรม. แมแตจะทําไร ทํานา เหงื่อไหลไคลยอยอยูตามทุงนา มันก็ เปนศีลธรรม ; เพราะตองการกระทําไปดวยคุณธรรมหลายอยางหลายประการ เชน ความอดทน ความขยัน ความมีสติรอบคอบ ; มันก็ยังทําเพื่อใหเกิดความปรกติ.

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๗๖

มองใหดีจะเห็นวา การที่ประกอบอาชีพหาเลี้ยงชีวิต แมแตของสัตว เชนนก เชนหนู บนตนไม นี้ก็เปนศีลธรรมของมัน ถามันไมทํามันก็ไมอยูไดโดยปรกติ หรือมันจะตองตาย. เมื่อดูที่การศึกษา การศึกษาก็เปนเรื่องของศีลธรรม ไมใชเปนแต เพียงรูหนังสือแลวก็หาประโยชน หาอาชีพ จากการรูวิชาความรูนั้น ; พอเรา เรียนรู เพื่อจะไปทําอะไรอยางหนึ่งอยางใด แลวสิ่งที่ไปทํานั้น จะเปนศีลธรรม เสมอ ; จึงสงเคราะหการศึกษาไวในฐานะเปนศีลธรรมสวนบุพภาค หรือเบื้องตน ที่เราจะตองศึกษาใหรู เพื่อประโยชนแกความมีศีลธรรมทุกความหมาย ; ดังนั้น การศึกษาก็เปนเหตุเปนปจจัย เพื่อความอยูเปนปรกตินั่นเอง. เมื่ อศี ล ธรรมเป น ไปอยางแพรหลายทุ กหั วระแหง เราก็ไปเรียกวา วัฒ นธรรมบาง ขนบธรรมเนียมประเพณี บาง ฉะนั้นขอใหมองวัฒ นธรรมและ ขนบธรรมเนีย มประเพณีนั ้น วา เปน ศีล ธรรมดว ย ในฐานะที ่เ ปน เหตุแ หง ความสงบก็มี ในฐานะที่เปนผลคือความสงบแลวก็มี จึงเห็นไดวา ไมมีอะไรที่ ไมใชศีลธรรม ; จึงถือวา ศีลธรรม เปนสิ่งที่มีคุณคา หรือมีคานิยมของทุกสิ่ง ทุกอยางในบรรดากิจกรรมที่มนุษยจะพึงกระทําในโลกนี้ ในสวนที่เรียกวา สังคม ; แมในสวนที่เปนบุคคล คือปจเจกชนนั้น ก็ยังมีความหมายอยางเดียวกัน คือ ทําเพื่อความสงบ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี่คือขอความที่เราไดพูดกันมาแลว ๒ ครั้ง ของการบรรยายในชุดนี้ [จบคําปรารภและทบทวน]

.... .... .... ....

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร (ตอ)

๗๗

หมวดที่ ๔ วาดวย ขอควรสังเกตเกี่ยวกับสีลธรรม. หัวขอที่ ๑ : โดยการอุปมา ครูบ าอาจารยแต กาลกอ นท านชอบทํ าอุป มา ก็อ ยากจะพู ด ถึงคํ าวา “อุ ป มา” สั ก นิ ด หนึ่ งอี ก ตามเคย. อุ ป มา คื อ คํ าเปรีย บ ; การเปรีย บนี้ จ ะเปรีย บ จากสิ่งที่เขาใจดี เห็นอยูแลว รูจักดี ไปหาสิ่งที่เรายังไมคอยจะรูจัก หรือเพิ่งจะรูจัก ; หรือเอาสิ่งที่ยังลึกลับอยูมาทําใหเกิดความแจมแจง แลวก็จะหาที่เปรียบ หรือการ ฝากเอาไวก ัน ลืม , ลืม ไมไ ด ; แลว ก็จ ะเปน เครื ่อ งชว ยใหส อน บอกสอนตอ ๆ กั น ไป วิ ธี ก ารอย า งนี้ ทํ า ให ส อนธรรมะ หรื อ สิ่ ง อั น ลึ ก ซึ้ ง ได แม แ ก บุ ค คลที่ ไม รู หนังสือ. ทา นทั ้ง หลายที ่นั ่ง อยู ที ่นี ่ท ุก คน อยา ไดอ วดดีใ หม ัน มากไปเลย ; ใหรู เ สีย เถอะวา บรรพบุร ุษ ของเรานั ้น ไมเ คยรู ห นัง สือ กัน ทั ้ง นั ้น แหละ, เอ า ; ถอยหลั ง ไปหลาย ๆ ชั่ ว เข า มั น ก็ จ ะถึ ง บรรพบุ รุ ษ ที่ ไม รูห นั ง สื อ ; แต แ ล ว ทํา ไมทา นจึง ทําอะไรได และมอบหมายอะไรเปน มรดกตกทอดมา ไมรูกี่สิบ ชั่ว กี่รอยชั่วคน จนมีวิชาความรูดังที่ปรากฏอยูในปจจุบันนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org วิช าหนัง สือ นี ้เ ชื ่อ กัน วา เพิ ่ง จะมีม าไมเ กิน ๒๕๐๐ ป พ อ ๆ กั บ พุ ท ธศาสนา ; ก อ นแต นั้ น ก็ ไม ค อ ยได ใช ห นั งสื อ หรือ เพราะไม มี ห นั งสื อ ใช ; อยางมากก็ ๓๐๐๐ ป ตามหลักฐานที่ปรากฏอยู และก็ใชจารึกอะไรเล็ก ๆ นอย ๆ เท า นั้ น เอง ; ไม ไ ด ใ ช เป น เครื่ อ งมื อ การสื่ อ สาร หรื อ การเล า เรี ย นอย า งสมั ย นี้ เพราะไมมีก ระดาษ ไมมีน้ํา หมึก ไมมีดิน สอ, ทํา ไดแ ตส ลัก หิน สลัก แผน อิฐ ; ก็เปนอันวา บรรพบุรุษของเราไมเคยรูหนังสือ.

www.buddhadassa.in.th


๗๘

การกลับมาแหงศีลธรรม

เขามีวิธีอะไรที่จะสอนกัน หรือมอบหมายอะไรสืบ ๆ กันลงมา ? นั่นก็คือสอนดวยปาก. ถามันจํายากก็ผูกไวเปนคํากลอนใหฟงลื่น จํางาย ; แต ถา เปน เรื ่อ งลึก ซึ ้ง ก็สํ า เร็จ ดว ยการทํ า อุป มา ; ฉะนั ้น พระพุท ธภาษิต จํานวนมากในพระไตรปฎก จึงอยูในรูปของอุปมา. เปน อัน วาสิ่งที่เรียกวา “อุป มา” นั้น ก็ยังมีป ระโยชนอ ยู ; เดี๋ยวก็ ลองสังเกตดู อาจจะเขาใจไดวามันเปรียบเหมือนภาชนะใสอะไรไว ใหยังคงอยู ไมรั่ว ไมหายไปไหนเสีย หรือเปนเครื่องชวยใหงายแกการจดจํา. สํา หรับ อุป มาของสิ่ง ที่เ รีย กวา “ศีล ธรรม” นี่ ก็อ าจจะอุป มา ไดดวยสิ่งสิ่งหนึ่ง ซึ่งเขาชอบนํามาใชเปนวัตถุแหงการอุปมา มาตั้งแตโบราณ จนกระทั่งบัดนี้ ; แมการศึกษาแหงยุคปจจุบันนี้ เมื่อจะสรุปรูปโครงของวิชาใด วิชาหนึ่ง หรือทฤษฎีใดทฤษฎีหนึ่ง ก็จะทําเปนรูปโครงของอุปมา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : ที่ใชกันอยูมากที่สุดในโลกนี้ในปจจุบันนี้ คุณ นึกออกไหม วาเปนรูป โครงของอะไร ที่ นิ ย มใช เป น อุ ป มา ? คุ ณ สุ พ น, คุ ณ ประยู ร . ที่ คุ ณ มองขา มสิ ่ง ที ่ใ ชก ัน อยู ทั ่ว ๆ ไป ในวิช าการแทบทุก แขนง นั ่น คือ รูป โครงของตน ไม! นึก ออกแลว หรือ ยัง แมจ ะสอนเรื่อ งชีว วิท ยา เรื่อ งสั ต ว เรื่อ งอะไรต าง ๆก็ จ ะทํ าเป น รูป โครงของต น ไม แยกเป น สาย เปน แขนง เปน อะไรตา ง ๆ ; ใชรูป โครงของตน ไม แลว เรีย กวา ตน ไมข องวิช านั่น ของวิช านี่. เดี๋ย วนี้เ ราจะเอารูป โครงตน ไมม า ทําอุปมา สําหรับเรื่องราวของศีลธรรม.

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร (ตอ)

๗๙

เอา คุณมาซอมความเขาใจกันเสียกอนวา ตนไมมันมีรูปโครงอยางไร วาไป เร็ว ๆ. ตอบ : ตนไมมีราก มีแกน มีเปลือก มีกระพี้ มีใบ. ถาม : มีประโยชนอะไร ถาไมมีลูก ไมมีดอก ? ตอบ : ก็มีดอก มีลูก. ถาม : ดูใหดีวามันมีรากเพียงรากเดียวหรืออยางไร ? ตอบ : มีรากแกว และรากฝอย. ถาม : รากฝอยมันมีรากเดียวหรืออยางไร ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : รากฝอยมันมีแยกออกไปมากมาย.

ถาม : รากแกวเปนรากเดี่ยวลึกลงไป ; รากขาง ๆ ก็มีหลายราก เปนรากใหญ ๆ แลวแยกเป น รากฝอย. นี่ , ดู ให ดี ๆ แมแตคํ าวาราก มัน มี รากดิ่งลงไป สํ า หรับ จะหาน้ํ า หรื อ อะไรที่ มั น อยู ลึ ก ๆ หรื อ ว า ยึ ด ทรงต น ของมั น ไว . มั น มี รากออกไปข าง ๆหลายทิ ศ ทางเหมื อ นกั น เป น รากใหญ ๆ ทํ านอง รากแก วและที่ ป ลายของมั น ก็ มี รากฝอย ทํ าหน าที่ ต าง ๆ กั น . รากทุ ก รากมาสรุปรวมกัน อยูที่ตรงไหน ?

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๘๐ ตอบ : ที่รากแกว ที่โคนตน ครับ.

ถาม : ที่โคนจะตองถือวาที่จุดเดียว ที่โคน เปนที่รวมของรากทุกราก. หลับตา เห็นรากแกวดิ่งลงไป แลวรากขาง ๆ ออกไป กระทั่งจะเห็นรากฝอย ; นี่เรียกวาราก. สวนราก สรุปแลวก็คือสวนโคน ซึ่งอยูขางลาง. ที นี้ ต รงกลางเป น อย า งไร ? ก็ เ รี ย กว า ลํา ต น : ประกอบ ดวยเปลือก ประกอบดวยกระพี้ ประกอบดวยแกน ประกอบดวยทอ สําหรับ สงน้ํา สําหรับสงอาหารขึ้น สงอาหารลง มันอยูอยางมั่ นคง เปนลําตน. พนจากตัวลําตนขึ้นไป เปนอยางไร ? ตอบ :มีกิ่ง มีใบ. ตรงนี้เราเรียกวา สวนบน มีกิ่งหลาย ๆ กิ่ง เพื่อทําอะไรไดมาก เปนที่เกิดแหงใบ ทําหนาที่ตามหนาที่ของใบ เพื่อใหตนมันอยูได ; เมื่อมันมีใบ สมบูรณแลว มันก็จะมีโอกาสที่จะออกเปนดอกและออกเปนลูกขึ้นมา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สรุป ความวา ตน ไมตน หนึ่ง มี ๓ สว น : สว นโคน สว นกลาง และสวนปลาย ; ดอกผลไปอยูที่สวนปลาย. สวนโคนก็เปนสวนที่จะตั้งอยูได, สวนลําตนนี้ก็คือสวนที่จะทรงทุกอยางไว. เดี๋ยวนี้เราก็นั่งอยูทามกลางหมูตนไม ก็ควรจะเขาใจไดดี ; ฉะนั้น ขอใหหลับตามองเห็นตนไม แมสวนที่มันอยูใตดิน วามันมีรูปรางอยางไร ; ก็ลองคิดตอไปวา ถาไมมีสวนราก หรือสวนโคน มันจะ เปนอยางไร. ลูกเด็ก ๆ ก็คงจะทราบได วาถาไมมีรากและไมมีโคนตน แลว มันจะเปนอยางไร ?

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร (ตอ)

๘๑

ถาม : หนาที่ของรากหรือสวนโคนทั้งหมดนั้นคืออะไร ? ตอบ : คือฐานของชีวิต. ถาม : คือรากฐานของมันที่จะดํารงชีวิตอยูได ; ทีนี้สวนตนจะเรียกวาอะไร ? ตอบ : ถาเปรียบอยางนี้ สวนตนก็เปนตัวชีวิตของตนไม. ถาม : เปนตัวชีวิต ของตนไม ; สวนใบ ดอก ผล นั้นเปนอะไร ? ตอบ : สวนใบเปนที่สําหรับปรุงอาหาร. ถาม : รวมความวาเปนอะไร ใบ ดอก ผล ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ

: ใบ ดอก ผล ก็เปนผลิตผลของชีวิต.

นั่น แหละ เราดูวา มัน ตอ งมี รากฐาน ตอ งมีตัว การ และตอ ง มีตัวประโยชน หรือความมุงหมายของสิ่งทั้งหมด ที่เราจะตองมี.

ตน ไมโ ดยสรุป ก็พ ูด ไดสั ้น ๆ วา มัน มีผ ลไมนั ่น แหละเปน คา หรือเปนคานิยมของมัน ซึ่งก็มีความประหลาดในขอที่วา ไมไดมีความมุงหมาย แกตัวมันเองนัก นอกจากวาอยางใหสูญ พันธุ ; มีผลสําหรับกินได และมีคน หรือมีสัตว ชวยปลูกกันใหม ทําใหแพรหลาย อยาใหสูญ พันธุได. แตสําหรับ

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๘๒

คนเราแลว คําวา ผล นี้เป นประโยชน หรือมี คาอะไรมาก ; ซึ่งจะต องดู โดย เฉพาะก็คือ ผลของศีลธรรม. เอา ทีนี้ขอใหตอบคําถามที่สําคัญที่สุด และจะเกณฑใหตอบทั้ง ๔ คน ไมย กเวน วา อะไรเปน ราก หรือ เปน โคนของศีล ธรรม ? วา อะไรเปน ตน หรือ เปนกิ่งของศีลธรรม ? วาอะไรเปนใบ เปนดอกเปนผลของศีลธรรม ? คือ ๓ สวน ของตนไมนั้น เรารูดีอยูแลววา คืออะไร. [ ก. อุปมาของ ราก – โคน ] ถาม : ถามเป น ข อ แรกว า อะไรเป น ส ว นราก หรือ ส ว นโคนของสิ่ งที่ เรีย กว า ศีลธรรม ? หรือถามวา ตนไมศีลธรรม พฤกษาศีลธรรม มันมีอะไรเปน สวนโคน หรือเปนสวนราก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : กรรมพันธุครับ.

ถาม : อีกคนหนึ่ง ?

ตอบ : รากฐานของศีลธรรมก็นาจะเปนสถาบันของผูมีพระคุณ. ถาม : อีกคนหนึ่ง ตอบ ? คนที่ ๓ ตอบ

: การอบรม.

คนที่ ๔ ตอบ : ศาสนาเปนรากฐานของตนไมศีลธรรม.

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร (ตอ)

๘๓

ถาม : นี่ก็จะเห็นไดแลว คนหนึ่งก็ตอบไปอยางหนึ่ง ๆ ซึ่งยังไมตรงตามความ ประสงคที่ตองการ. ศาสนามันก็เปนตัว ศีลธรรมอยูแลว, การอบรม ก็เปนเครื่องมือชนิดหนึ่ง, กรรมพันธุ มันสวนนอย สวนแรก, คือสวน พืชพันธุที่จะถายทอด ไมใชทั้งหมด. คุณประยูรวาอะไรนะ ลืมแลว ? ตอบ : สถาบันผูมีพระคุณ, ครับ. ถาม : สถาบันผูมีพระคุณ มันก็คือรากฐานสวนหนึ่ง ไมใชทั้งหมด และยังไม ตรงกับที่ตองการ. ขอให นึกดูใหมวา เดี๋ยวนี้เราไมมีศีลธรรมกันแทบ ทั่วทั้งโลก จนพูดวา เมื่อสรุปกันทั้งโลกแลว ศีลธรรมนี้มีนอย จนหา ทํายาหยอดตาก็ไมคอยจะพอ อยาวาแตจะเอามาใชอยางอื่น. นี่มันขาด รากฐานอะไร ? มองดูกันอยางกวาง ๆ เพราะวาเดี๋ยวนี้เราจะพูดกัน ถึงศีลธรรม ที่เปนตัวปญหาอยูจริงในโลกนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : รากฐานของศีลธรรม เดี๋ยวนี้ก็เกี่ยวกับความเห็นผิด ความคิดเห็นผิด หลงติด ในวัต ถุนิย ม เปน การทํา ใหไ รศีล ธรรม เพราะฉะนั้น รากฐาน ที่แทจริงของศีลธรรม ตองมีความเห็นถูกตองตามธรรมชาติ.

ถาม : ตองมี ความเห็ นถูกตองตามธรรมชาติ ก็ไดเหมือนกัน ; หรือใครนึ ก อะไรไดอีก.

ตอบ : ตองมีความเอื้อเฟอเผื่อแผ มีเมตตากรุณา ไมมีความเห็นแกตัว.

www.buddhadassa.in.th


๘๔

การกลับมาแหงศีลธรรม

ถาม : ไปสรุปที่ความไมเห็นแกตัว นั่นแหละจะเขมขนขึ้น หรือจะใกลชิดเหตุ อันแทจริงยิ่งขึ้น, ในโลกนี้กําลังเต็มไปดวยความเห็นแกตัว. ตอบ : แตผมวาตองมีความอาย ความกลัว ตอบาปเปนที่ตั้ง. ถาม : นี่ก็ตองมี หิริโอตตัปปะ ความละอาย ความกลัวตอบาปเปนที่ตั้ง, และ จะตองมีความไมเห็นแกตัวเปนที่ตั้ง. แลวทั้งหมดนั้นมันจะมาจากอะไร ได อี ก ที ห นึ่ ง ? ความเมตตากรุ ณ าก็ ดี ความไม เห็ น แก ตั ว ก็ ดี , หิ ริ โอตตัปปะก็ดี. ตอบ : มาจากความเขาใจอันถูกตอง. ถาม : ความเขาใจอันถูกตองก็ดี มันตองมาจากธรรมสัจจะของไหนอีกที ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : มาจากการทําใจใหแยบคาย คือ โยนิโสมนสิการ.

ถาม : นั้นยังไมทราบวาทําอยางไร, ยังไมทราบวาทําอยางไร ; ตองบอกให ชัดวาทําอยางไร ที่เรียกวาโยนิโสมนสิการ. มันถูกเขาไปทุกทีแลว. ตอบ : เห็นจริงในอริยสัจจ ๔.

เห็น จริง ในอริย สัจ จ ๔ ก็เ ปน พระอรหัน ตเ ลย. นี ่ร ากฐานของ ศีลธรรมที่เคยพูดกันมาหลายครั้งแลว ตามความเห็นของอาตมา เปนความเห็น ของคนคนหนึ่ง จะถูกก็ได จะผิดก็ได ; แตยังอยากจะยืนยันอยูเสมอวา รากฐาน

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร (ตอ)

๘๕

ของศี ล ธรรมนั ้ น จะต อ งตั ้ ง ต น ด ว ยความจริ ง อั น สู ง สุ ด , ความจริ ง อั น เด็ดขาดอันหนึ่ง ซึ่งเรียกวา บรมสัจจะ หรือธัม มสัจจะ ที่มีอยูในรูปวา “สัตว ทั ้ง หลายเปน เพื ่อ นทุก ข เกิด แก เจ็บ ตาย ดว ยกัน ทั ้ง หมดทั ้ง สิ ้น ” ที่ ลูกเด็ก ๆ เขาบรรยายอะไรกันเมื่อตะกี้นี้. ประโยคที่วา “สัตวทั้งหลายที่เปนเพื่อนทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย ดว ยกัน ทั้ง หมดทั้ง สิ้น “นี่ใหดูเอาจาก ขอ เท็จ จริง ของสัต วทั้ง หลายนั่น เอง ; ถามองเห็น ก็เห็น, ถามองไมเห็นก็จะไมมองเห็น. ถาม : ไมมองเห็นวาสัตวทั้งหลายเปนเพื่อนทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกัน ทั้งหมดทั้งสิ้น, แลวมันจะเกิดความรูสึกอะไรขึ้นมา ? คุณวาจะเกิดความ รูสึ กอะไรขึ้น มา ถาคนนั้ น มั น ไม ม องเห็ น วา “สั ต วทั้ งหลายเป น เพื่ อ น ทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันทั้งหมดทั้งสิ้น” แลวในใจของคนนั้น จะเกิดความคิดเห็นอยางไรขึ้นมา ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : ความคิดเห็นที่จะเห็นแกตัว และรบราฆาฟนกันงาย.

ตอ งมีเ กิด การแบง แยง เปน ตัว ๆ ไป ; เพราะวา ไมใ ชเ ปน เพื ่อ น ดวยกันทั้งหมดทั้งสิ้น คือไมไดเปนตัวเดียวกันทั้งหมดทั้งสิ้น มันก็เลยแยกเปน ตัว ๆ ; นี้ก็เป นความเห็ นผิด . อยางที่ พู ดเมื่ อตะกี้ก็ถูกแลว รากของมั นมาจาก ความเห็นผิด หรือมันมีความเห็นผิดอยางนี้ วาตัวกู ตัวสู ; มันไมมาจากความ เห็น ถูก ที่วา โดยเนื้อ แทแ ลว ทุก คนเปน “เพื่อ นเกิด แก เจ็บ ตาย ดว ยกัน ทั้งหมดทั้งสิ้น”.

www.buddhadassa.in.th


๘๖

การกลับมาแหงศีลธรรม

ขอนี้ตองลดลงไปถึงสัตวเดรัชฉานดวย วาถึงแมสัตวเดรัจฉาน ก็เป น เพื่อนทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันทั้งหมดทั้งสิ้น. แล ว ยั งลดลงไปถึ งต น ไม พื ช พั น ธุ ที่ มี ชี วิต ทั้ งหลายด วย วา มั น เป น สิ่ ง ที่ มี ชี วิ ต ที่ อ ยากมี ชี วิ ต มั น ไม อ ยากตาย มั น ดิ้ น รนเพื่ อ จะอยู ดิ้ น รนเพื่ อ มี ความเปนปรกติดวยกันทั้งนั้น. นับวาสิ่งที่มีชีวิตทั้งหลาย ทั้งปวง ตั้งแตตนไมขึ้นมา ถึงสัตวเดรัจฉาน ขึ ้น มา ถึง มนุษ ย เทวดาดว ยก็ไ ด ถา มี ; วา สิ ่ง ที ่ม ีช ีว ิต ทั ้ง หลายเปน เพื ่อ น ทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันทั้งหมดทั้งสิ้น. นี่แหละคือ ราก หรือโคนราก ซึ่งเปนรากฐานที่สําคัญที่สุดของสิ่งที่เรียกวา ศีลธรรม ในฐานะที่เปนรากฐาน อันเปนประธาน เหมือนกับรากแกว. ถาม : เอ า , ที นี้ ร ากอื่ น ๆ ล ะ คุ ณ ว า อะไรบ า ง ? ยั ง มี อุ ด มคติ อ ะไรที่ จ ะเป น รากสี่ ทิ ศ ? สมมติ ว า มี ร ากสี่ ทิ ศ ; ก็ อ ย า งที่ เคยนิ ก ออกแล ว ลื ม แล ว .

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : สถาบันผูมีพระคุณ, ครับ.

ถาม : ก็ได อะไรก็ได ลองวาไปอีกซิ.

ตอบ : มีหิริโอตตัปปะ มีขันติ. ไดทั้งนั้น แตวามันจะไปรวมอยูที่ความหมายอะไรสักความหมายหนึ่ง เปนหัวขอที่สําคัญ ๆ ในขอที่วา สัตวทั้งหลายเปนเพื่อนทุกข เกิด แก เจ็บ ตายกัน

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร (ตอ)

๘๗

ทั ้ง หมดทั ้ง สิ ้น . มัน จะเปน รากฐานอยา งไรนั ้น เราไวพ ูด กัน วัน หลัง ดีก วา โดย หัวขอที่วา “รากฐานของศีลธรรม” โดยเฉพาะ. เดี๋ยวนี้ เราจะดูทั้ งหมด ไม เฉพาะรากฐานอยางเดียว ; คือ เมื่ อ ดูส วน ที ่เ ปน รากฐาน ก็จ ะดูอ ะไรอีก บา งสัก ๒-๓ อยา ง ซึ ่ง ลว นแตเปน อุด มคติ. ถา ไม มี อุ ด มคติ เหล านี้ แล วรากฐานจะมี ได ย าก ; แต อุ ด มคติ เหล านี้ ยั งถู ก รังเกี ย จ อยูเสมอ โดยเฉพาะในสมัยที่เปนวัตถุนิยม. พวกนี้เขาหาวาอุดมคตินี้มันกินไมได ; อุด มคติ นี้ จะไปซื้ออะไรก็ไม ได , กิ นเองก็ ไม ได จะไปซื้ออะไรกิ น ก็ไม ได เลยดู ถู ก อุ ด มคติ . นี้ ค งจะเป น เพราะว า เราให ค วามหมายแก คํ า ว า อุ ด มคติ นั้ น มั น ไม ตรงกัน. แตถ า วา โดยที ่แ ทแ ลว มัน ควรจะเขา ใจกัน ได ; อุด มคติ คือ ห ลั ก เก ณ ฑ  ที ่ ม ั น ดี ที ่ ส ุ ด ที ่ ค ว ร จ ะ ยึ ด ถื อ ไว เ ป น ห ลั ก ป ร ะ จํ า ใ จ ใ น ก า ร ปฏิบัติ. อุด มคติเ ชน วา มนุษ ยจ ะตอ งไดสิ่ง ที ่ดีที ่สุด ที ่ม นุษ ยค วรจะได ; เมื่อเกิดมาเปนมนุษย ไมเปนแตเพียงคน, จะตองไดสิ่งที่ดีที่สุด ที่มนุษยควรจะได. เดี๋ยวนี้ เขาก็วาเงิน วากิน วากาม วาเกียรติ นี่เปนสิ่งที่ดีที่สุด, เขาไปดีที่สุดอยูที่ นั ่น : เรื ่อ งกิน เรื ่อ งกาม เรื ่อ งเกีย รติ. อุด มคติข องเขามัน เปน อยา งนั ้น จะเปนอุดมคติหรือไม ; ก็ไปคิดดูเอาเอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : เราวางหลักกลาง ๆ วา สิ่งที่ดีที่สุดที่มนุษยควรจะได ; นี่คุณวาหมายถึง อะไร จึงจะถูกตอง ? สิ่งที่ดีที่สุดที่มนุษยควรจะได นั่นหมายถึงอะไร ? ตอบ : ควรจะไดความหมดทุกข.

www.buddhadassa.in.th


๘๘

การกลับมาแหงศีลธรรม

ถาม : ใครอีก ? ตอบ : การอยูรวมกันอยางเปนปรกติสุข. การอยู  ร ว มกั น อย า งปรกติ ส ุ ข เป น สิ ่ ง ที ่ ด ี ที ่ ส ุ ด ที ่ ม นุ ษ ย ค วร จะได ก็คือ ศีล ธรรมนั่น เอง. สิ่ง ที่ดีที่สุด ที่ม นุษ ยค วรจะได คือ มีศีล ธรรม ในความหมายที่ ๓ คือภาวะปรกติ. ความหมายที่ ๑ คือเหตุแหงความปรกติ, ความหมายที่ ๒ คือผลที่เกิดมาจากเหตุนั้น, ความหมายที่ ๓ คือภาวะปรกติ : โดยสวนตัวก็คือ ปรกติ, โดยสวนสังคมก็ปรกติ ไมมีปญ หา ไมมีความทุกข ; ถาระบุชื่อสูงสุดก็คือ “นิพพาน”. นิพ พาน แปลวา ไมรอ น หมดความรอ น . ตามตัว หนัง สือ , และความหมายที่แทจริงที่ใชอยูในครั้งสมัยพุทธกาลนั้น คําวา นิพพาน แปลวา หมดรอน, ความเย็นลงของสิ่งที่มีความรอน ; นั่นคือนิพพาน. ทีนี้มาบัญญัติ ทางศาสนา ใหลึกซึ้ง ไปจนฟงยาก เขาใจยาก ; แตก็ไมพนไปจากหลักเกณฑ อันเดิม วา นิพ พาน คือหมดรอน ; กิเลสเปนไฟ ของรอน ; หมดกิเลส ก็คือ นิพ พาน ; นิพ พานคือ เย็น ลงแหง ของรอ น. ทีนี ้ส ว นตัว บุค คล มีข องรอ น ตาง ๆ กัน เชน ความยากจน เปนตน ที่กําลังเปนปญหาอยูในเวลานี้ มันรอน ; ทํา ใหเ ย็น ลง ไมมีปญ หานั้น มัน ก็เ ปน นิพ พานได. หรือ โรคภัย ไขเ จ็บ เปน ของรอ น ไมมีไขเจ็บ ก็เปน นิพ พานได. ความไมเบีย ดเบีย นกัน ไมทํารา ยกัน ไมเปนของรอน ก็เปนนิพพานได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร (ตอ)

๘๙

ฉะนั้นศีลธรรมในความหมายที่ ๓ คือ ภาวะปรกติ นี่ เปนสิ่งที่ดี ที ่ส ุด ที ่ม นุษ ยค วรจะได, เปน อุด มคติ วา เกิด มาใหไ ดสิ ่ง ที ่ด ีที ่สุด ที ่ม นุษ ย ควรจะได คือศีลธรรมในความหมายที่ ๓. ถาม : ทีนี้อุดมคติที่รอง ๆ ลงมา ซึ่งจะถามวา มนุษ ยจะตองมีอะไรที่สูง กวาสัตว ? ตอบ : มนุษยตองมีใจที่สูงกวาสัตว. ถาม : ใจชนิดไหน ? ตอบ : ใจที่กิเลสทวมไมถึง. ใจที ่ ส ู ง จนกิ เ ลสท ว มไม ไ ด เรี ย กว า ใจมนุ ษ ย ที ่ ส ู ง กว า สั ต ว ; พูดกวาง ๆ ก็วา มนุษยจะตองมีอะไรที่สัตวไมมี หรือดีกวาที่สัตวมี ก็คือ ภาวะ แหงศีลธรรมนั่นแหละ ซึ่งจะมองเห็นไดงาย ๆ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ในครั้ง ที ่แ ลว มา เราไดพ ูด กัน วา ภาวะแหง ศีล ธรรมนั ้น มีโ ดย ธรรมชาติก็มี เชน กอ นหิน นี้มีภ าวะแหง ศีล ธรรม. สัต ว คน ก็เ หมือ นกัน ถาปลอยไปตามปรกติ ไมใหมีอะไรมาแทรกแซง ก็มีภาวะศีลธรรมตามธรรมชาติ ตามปรกติ.

ที นี้ ภาวะแห ง ศี ล ธรรมในอี ก ความหมายหนึ่ ง คื อ ที่ ม นุ ษ ย ไดสรางขึ้นมาเปนพิเศษ สรางความปรกติขึ้นมาเปนพิเศษ ซึ่งสัตวไมมีทางจะ สรางได. การที่จะมีกาย วาจา ใจ ปรกติเปนพิเศษนี้ สัตวทําไมได ; แตมนุษย

www.buddhadassa.in.th


๙๐

การกลับมาแหงศีลธรรม

ทําได. ความปรกติ ที่มีความสวยงามกวาธรรมชาติ, สัตวทําไมได ; มนุษ ย ทํา ได. ฉะนั้น จึง เกิด มีศีล ธรรมเปน ๒ ความหมาย คือ ที่มีอ ยูต ามธรรมชาติ นั้นอยางหนึ่ง เกือบจะไมมีปญหาอะไร ; และศีลธรรมที่มนุษยประพฤติปฏิบัติ ขวนขวายกระทําขึ้นมานี้ งดงามนาดูกวา ซึ่งเปนศีลธรรมที่ตองสรางขึ้นมา. มนุษยตองมีศีลธรรมชนิดนี้แหละ: ชนิดที่ตองสรางขึ้นมา ; มนุษย จึง จะสูง กวา สัต ว. ฉะนั้น ขอใหเ รามีอุด มคติวา เปน มนุษ ยจ ะตอ งสูง กวา สัตว และเราทําเหมือนสัตวไมได. เดี๋ยวนี้มีปญหาชนิดที่นาละอายสัตว มนุษยมี สิ่ง ที่นา ละอายตอ สัต วเ ดรัจ ฉานอยูม าก ซึ่ง เดี๋ย วนี้จ ะไดพูด กัน ; จะบอกแต ใจความก็วา สัตวยังคงมีสภาพปรกติตามธรรมชาติ, เปนศีลธรรมตามธรรมชาติ อยูตลอดกาล จนกระทั่งเดี๋ยวนี้ แตสัตวขาดศีล ธรรมชั้น ที่จะสรางขึ้นมาได ; นั้นไมมี. ที นี ้ มนุ ษ ย นั ้ น ขาดทั ้ ง ๒ อย า งเลย : ความปรกติ ต าม ธรรมชาติ มนุษ ยก็ทํา ลายเสีย หมด, ความปรกติช นิด ที่สูง ขึ้น มา ที่ม นุษ ย จะชวยกันสรางขึ้น มนุษยก็ไมสราง. มนุษยก็เลยไมมีศีลธรรมทั้ง ๒ ความหมาย นี้มันนาละอายสัตวเดรัจฉาน ซึ่งมันยังคงรักษาภาวะปรกติตามธรรมชาติอยูได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เอาละ, เราจะมองดูกันวา มนุษยควรจะถืออุดมคติวา เราจะตองมี อะไรที่สูงกวาสัตวจริงหรือไม ? ถามีอะไรสูงกวาสัตว มันคือมีอยางไร ? เรื่องกิน เรื่อ งกาม เรื่อ งเกีย รติ นี้สัต วมัน ก็มีกัน ตามความหมายนั้น ; มนุษ ยจ ะตอ ง มีอะไรใหดีกวานั้น.

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร (ตอ)

๙๑

อุดมคติตัวอยาง สักขอหนึ่งวา เราจะทําโลกนี้ใหงดงาม มนุษยนี่ มีมา เพื่อทําโลกนี้ใหงดงาม. คําวา “งดงาม” ในความหมายภาษาคน ก็วา สวยงาม อยางที่เห็น สวยงาม. ทีนี ้ งดงามอีก ชนิด หนึ ่ง งดงามภาษานามธรรม ภาษาธรรม ; มัน งามนา ดู นา ไหว นานับ ถือ นา เลื่อ มใส ; ไมใชส วยงาม เขีย ว ๆ แดง ๆ ; นั ่น คือ มนุษ ยม ีค วามงามดว ยการประพฤติ การกระทํ า การเปน อยู  ทุก ประการที ่เรีย กวา ศีล ธรรม และก็ร วมทั ้ง ความงามตามภาษาคนธรรมดา คือ สวยงาม นาดู ละมุนละไมแชมชอย ไมคลาย ๆ กับสัตวที่ดุราย. ถามนุษยมีอุดมคติยึดมั่นวา เกิดมาเพื่อจะทําโลกนี้ใหงดงาม มันจะ ขโมยไดไหม ? มันจะฆาเขาไดไหม ? มันจะประพฤติลวงละเมิดของรักของเขา ได ไหม ? จะโกหกไหม ? จะกิน เหลาไหม ? ถามนุ ษ ย ถือ วา เราเกิดมาเพื่ อ จะ สรา งโลกนี้ใ หง ดงาม. ถา หากวา อุด มคตินี้ หา มกัน สิ่ง ที่เ ปน อบายเหลา นั้น ได ก็เปนอันวาอุดมคตินั้นสําคัญ สําหรับเปนรากฐานใหมีศีลธรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org แม แ ต อุ ด มคติ ที่ ว า “เราจะต อ งมี อ ะไรที่ สู ง กว า สั ต ว ” ถ า ยั ง ยื ด ถื อ อุดมคตินี้อยู จะฆาเขาไหม ? จะลักขโมยไหม ? จะลวงของรักไหม ? จะโกหกไหม ? จะกินเหลาไหม ? หรือจะทําสิ่งที่ไมควรทําอื่น ๆ ไหม ? ถาเราอยากจะสูงกวาสัตว มันก็ทําสิ่งเหลานั้นไมได แตทําสิ่งที่ตรงกันขามได ; ฉะนั้นศีลธรรมมันก็ตองมี.

อุด มคติที ่ว า “มนุษ ยจ ะตอ งไดสิ ่ง ที ่ด ีที ่ส ุด ” นี ้ก ็เ หมือ นกัน : ถาเนนอยูในใจในขอนี้วา “มนุ ษ ยจะตอ งไดสิ่งที่ ดีที่สุดที่ มนุ ษ ยควรจะได” แลว

www.buddhadassa.in.th


๙๒

การกลับมาแหงศีลธรรม

มันจะไปฆาเขาทําไหม ? จะไปลักขโมยเขาไหม ? จะไปประพฤติผิดในของรักของเขา ไหม ? จะโกหกไหม ? จะกินเหลาไหม ? ยกตัวอยางเพียง ๕ อยาง ; อื่น ๆ ทั้งหมด นั้น เอามารวมไดใน ๕ อยางนี้. แมวา รากชั้น รากแกวของศีล ธรรมที่วา สัต วทั้ง หลายเปน เพื ่อ น ทุ ก ข เกิ ด แก เจ็ บ ตาย ด ว ยกั น ทั้ ง หมดทั้ ง สิ้ น นั บ ตั้ ง แต ต น ไม ขึ้ น มา ถึงสัต วเดรัจฉาน ถึงคน ; ถามัน นึกอยูอ ยางนี้จริง ๆ แลวมันจะฆาเขาไหม ? จะลักเขาไหม ? จะประพฤติผิดในกามไหม ? จะโกหกไหม ? จะกินเหลาไหม ? จะฆาสัตวเลน ๆ สนุกไหม ? จะทําลายปา จะเผาปาใหวินาศไปหมด ไดไหม ? ไปลองคิดดู. การทําธรรมชาติใหสกปรก ทั้งบนบก ทั้งในทะเล ทั้งบนฟา เดี๋ยวนี้ มันสกปรกไปหมดแลว ; เพราะไมนึกกันวา “สัตวทั้งหลายเปนเพื่อนทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย ด วยกัน ทั้งหมดทั้งสิ้น ; เขาเอาชีวิตของคนอื่น มาบํ ารุงความ ตองการของตนมากเกินไป.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ขอ นี้ จบกัน เสีย ที สรุป วา โคนรากของศีล ธรรมนั้น คือ สัจ จะ หรือบรมสัจจะ หรือธัมมสัจจะ ที่เปนอุดมคติอยางที่วามาแลว เอารากแกวของมัน ในข อ ที ่ ว  า ให ถ ื อ ว า ชี ว ิ ต ทุ ก ชี ว ิ ต เป น เพื ่ อ นทุ ก ข เกิ ด แก เจ็ บ ตาย ดวยกันทั้งหมดทั้งสิ้น, มีปญ หาอยางเดียวกัน มีความตองการอยางเดียวกัน มีหัวอกอยางเดียวกัน มีอะไร ๆ อยางเดียวกันหมดเลย. เรื่องรากเรื่องโคนยุติกันที .... .... .... ....

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร (ตอ)

๙๓ [ข. อุปมาของ ตน-กิ่ง ]

ถาม : ที นี้ ม าถึ ง เรื่ อ ง ลํา ต น และ กิ่ ง ที่ แ น น หนา ของต น ไม แ ห ง ศีล ธรรม มัน ไดแ กอ ะไร ? พฤกษาศีล ธรรมมีอ ะไรเปน ลํ า ตน และกิ ่ง อันมั่นคง ? มีอะไร ? ตอบ : ลําตนอันมั่นคงมันนาจะไดแก มัชฌิมาปฏิปทา คือ อริยมรรคมีองค ๘ หรือ ศีล สมาธิ ปญญา. ถาม : มัชฌิมาปฏิปทา ; แลวคนอื่นวาอยางไร ? ตอบ : การควบคุมความรูสึก, ครับ. ถาม : การควบคุมความรูสึก ; เอา, ใครวาอยางไรอีก ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : ตองมีเมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา.

ถาม : วาอยางไร ตอไป อีกคนวาอยางไร ?

ตอบ : ความละอาย, ครับ. หิ ริ โ อตตั ป ปะ ก็ ถู ก ; ตอบไม เหมื อ นกั น นี่ แ หละดี . หิ ริ โ อตตั ป ปะ เมตตากรุณา มัชฌิมาปฏิปทา การควบคุมความรูสึก ; รวมกันแลวอยากจะใชคําวา ถู ก ต อ ง, “ความถู ก ต อ ง” เพี ยงคํ าเดี ย ว ; ถื อ เอาความถู ก ต อ งเป น ลํ าต น และ กิ่งอันหนาแนนของมัน.

www.buddhadassa.in.th


๙๔

การกลับมาแหงศีลธรรม

มัชฌิ ม าปฏิ ป ทา นั้ น คื อ ตัวความถู กต อ ง ๘ ประการ ; อัฎ ฐังคิ ก มรรค ก็คือความถูกตอง ๘ ประการ. ที่ตอบวา ควบคุมความรูสึกไวใหได ไมโลภ ไมโกรธ ไมห ลง อะไรทํานองนี้ นั่นก็คือความถูกตองเหมือนกันแหละ. หิ ริ โ อตตั ป ปะ นี้ ก็ เ ป น ความถู ก ต อ ง ในชั้ น รากฐาน ; ถ า มี หิริโอตตัปปะแลว ทําผิดไมได ก็มีแตความถูกตอง. เมตตากรุณา นี้มันก็เขาหลักของความถูกตอง อยางนอยก็แงหนึ่ง มุมหนึ่ง. ฉะนั้น อยากจะระบุไ ปยัง ความถูก ตอ ง ; เรีย กเปน บาลีห นอ ย ก็วา สมฺมตฺต แปลวา ความถูกตอง ; อาจจะไมเคยไดยินก็ได สมฺมตฺต อานวา สัมมัตตะ แปลวา ความถูกตอง ; มีกี่อยางก็ตามใจ เอามาเปนความถูกตองหมด คือทั้งทางกาย ทางวาจา ทางจิต ก็ตามใจ เอามาเปนความถูกตองหมด.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ที นี้ จ ะแยกสั ก หน อ ยก็ ว า ส ว นบุ ค คล และส ว นสั ง คม : ต อ ง มี ค วามถู ก ต อ งทั้ ง ส ว นบุ ค คลและส ว นสั ง คม. ที่ ต อ งแยกก็ เ พราะว า มั น ไมคอ ยจะเหมือ นกัน : ความถูก ตอ งสว นบุค คลนั้น ไปไดไกลไดลึก กวา ที่จ ะ ผูกพันธกันเปนสังคม ; ความถูกตองทางสังคมยังหลวมกวา. แตถาถือเสียวา สังคมประกอบขึ้นดวยบุคคล ก็ไดเหมือนกัน บุคคลเปนชนิดไหน สังคมก็เปน ชนิดนั้น.

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร (ตอ)

๙๕

การที ่เ ราตั ้ง ใจจะประพฤติป ฏิบ ัต ิใ หส ุด ความสามารถนั ้น ถา เราแยกเปน สว นบุค คล ก็ทํ า ไดไ กลกวา ลึก กวา หรือ สูง กวา ; ฉะนั ้น จึง แยกวา มีความถูกตอง คือการประพฤติกระทําอยางถูกตองทั้งของบุคคลและสังคม ; นี่เปน ตัวลําตน ที่แ นน หนา. ตามความหมายธรรมดา ความถูก ตอ งก็ห มายถึง ศีลธรรมอยูแลว, ความมีศีลธรรมก็คือความถูกตอง. แตเดี๋ยวนี้เอาความหมาย กลาง ๆ ของมัน ก็คือ การประพฤติก ระทํ า ทางกาย ทางวาจา ทางจิต ที่ ถูกตอง ทั้งสวนบุคคลและสวนสังคม. เดี๋ยวนี้เรากําลังมีอะไรในโลกนี้ ;เรากําลังมีความประพฤติ กระทําที่ ถูกตองทั้งสวนบุคคล และสังคมหรือเปลา ? สงใจไปรอบ ๆ โลก ทั่ว ๆ โลกวา ทั้ง โลกกํา ลัง มีก ารประพฤติ กระทํา ที ่ถูก ตอ งหรือ เปลา ? หรือ โลกนั ่น แหละ มันไมประกอบดวยการประพฤติ กระทํา ที่ถูกตอง ก็เลยไมมีศีลธรรมในสวนที่เปน ลําตน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org [ ค. อุปมาของใบ-ดอก-ผล ]

ถาม : ที นี้ ส ว นยอด. ส ว นโคน และส ว นกลางเราก็ เห็ น กั น แล ว ; เหลื อ อยู สวนยอด คือ ใบ ดอก ผล ของศีลธรรมนั้นคืออะไร.

ตอบ : ใบ ดอก ผล ก็คือ มรรค ผล นิพพาน. ถาม : คืออะไร ? วากันทุกคนดีกวา. ตอบ : คือภาวะความเปนอยูกันอยางปรกติ ถาม : ก็ได ภาวะปรกติ.

www.buddhadassa.in.th


๙๖

การกลับมาแหงศีลธรรม

ตอบ : ก็คือความถูกตอง. ถาม : ความถู ก ต อ งเป น การกระทํ า เป น ตั ว ลํ า ต น เสี ย แล ว ; ผลของมั น คื อ อะไร ที่เปนผลของความ ถูกตอง. ตอบ : สันติสุขในโลกนี้. นี่ขอใหมองเห็นประโยชน ของการที่เอาคนหลายคนมาตอบคําถาม เพื่อจะไดชวยกันตอบใหมันครบถวน หรือใหมันแปลก ๆ ออกไป ; ถาไมแปลก ในสว นใจความ ก็แ ปลกในสว นพลความ ; ก็เปน อัน วา จะไดฝงใหค รบถว น. มัน ก็ถูก แนน อน ที่วา สว นยอดสุด ก็คือ ผล จะเปน ผลไม หรือ ผลของอะไร ก็ตาม จะตองเปนจุดหลายทางที่เราปรารถนา. เราปรารถนาอะไร สิ ่ง นั ้น แหละคือ ศีล ธรรมสว นยอดสุด ที ่ไ ดทํ า ใหเ กิด ขึ้น ; จะเรีย กวา มรรค ผล นิพ พาน ก็ไ ด. แตคํา เหลา นี้เ ปน ภาษา ที่บัญญัติไวเฉพาะในทางธรรมะชั้นสูงเสียแลว, ก็ลดใหต่ําลงมาถึงชั้นต่ํา ๆ ทั่ว ๆ ไป ก็ ใช คํ า ว า สั น ติ สุ ข ก็ คื อ สั น ติ ภ าพ. ความหมายที่ ใช กั น อยู ในเวลานี้ พ อที่ จ ะ กลาวไดวา เมื่อพูดถึง สันติสุข ก็คือ สวนบุคคล, สันติภาพ ก็คือ สวนโลก หรือ ส วนสั งคมทั้ งหมด ; ให บุ ค คลมี สั น ติ สุ ข กระทั่ ง มรรค ผล นิ พ พาน ; ให สังคมโลกนี้มีสันติภาพ คือเยือกเย็นเปนสุข ตามความหมายสําหรับโลกทั้งโลก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org จะเยือกเย็นเปนสุขไดอยางไร ? มันคงไมใชมรรค ผล นิพพานแน ; เพราะวา โลกนี้ ยังมี ความผู กพั น กัน มากนั ก : ยังมี เด็กอ อ น มี อะไร มี ค นเขลา

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร (ตอ)

๙๗

คนพาล อะไรอยู. แตถึงอยางนั้น เขาก็ควรจะมีสันติภาพได, ใหในโลกนี้มัน อยูกัน อยางสงบสุข ไมมีปญ หา นับตั้งแตลูกเด็ก ๆ ขึ้นไป กระทั่งคนเขลา คนพาล คนฉลาด คนทั ้ง หมดมัน อยู ก ัน เปน ปรกติส ุข ; อยา งนี ้เราเรีย กวา สัน ติภ าพของโลก ; สว นสัน ติส ุข ของบุค คล ใหล ึก ซึ ้ง ลงไปถึง มรรค ผล นิพพาน. นี่คือ ใบ ดอก ผล ของศีลธรรม ; แปลวาเรามองศีล ธรรมในรูป ของตนพฤกษา. ไปเขียนรูปตนไมเขา แลวก็บรรจุคําที่แสดงความหมายเหลานี้ ลงไปที่ ส วนหนึ่ ง ๆ ของต น ไม ; ส วนยอดมั น เป น ผลที่ พึ งปรารถนา มั น ก็ มี ทั้ ง อยางต่ํา อยางกลาง อยางสูงสุด. นี้จึงจัดวามันยังเปนใบอยู เปนดอกอยู และ เปนผลแลว, แลวผลก็ยังมีเมล็ดที่จะสืบพันธุตอไปอีก. ถาวาเมล็ดนั้นไดรับการ อบรมแวดลอมมาดี, เมล็ดนั้นก็จะกลายเปนพันธุที่ดีขึ้น ๆ สําหรับศีลธรรมใน อันดับตอไป.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อยาลืมวาตนไมก็ดี สัตวก็ดี หรือแมแตมนุษยก็ดี ทีแรกมันก็เปน พันธุปาทั้งนั้น คือมีคุณภาพนอย ; แลวมาอยูในการแวดลอมใหม เปลี่ยนแปลง ใหมมันดีขึ้น ๆ เชน ทุเรียนปา กับทุเรียนบาน. อยาอวดดีวาทุเรียนบานมันเกิด ขึ้นมาในบานได ; มันคือเอาทุเรียนปามาดัดแปลง ๆ ๆ มันก็ดีขึ้นจนถึงที่สุดที่มัน จะดีได. สัตว เชน ไก เชนนก เชนกระตาย ก็เคยอยูปา เปน สัตวปา ; แลว มันมาแวดลอมกันใหม มันก็มีการเปลี่ยนแปลง. คนปาก็เปลี่ยนแปลงมาจน เปนคนที่เรียกกันวาเจริญ.

ทีนี ้ ก็ใ ชค วามหมายของคํา เหลา นี ้ใ หถูก ตอ ง : ความเจริญ ที่ ถู ก ต อ ง ; ความถู ก ต อ งที่ มั น ถู ก ต อ ง. การพู ด ว า “ถู ก ต อ ง” ; ถ า เป น เรื่ อ ง

www.buddhadassa.in.th


๙๘

การกลับมาแหงศีลธรรม

ของคนโง ก็ไ มใ ชค วามถูก ตอ ง ; มัน ตอ ง ถูก ตอ งของคนที ่ม ีป ญ ญา มี ความรู. เดี๋ย วนี้เ ราไมรูค วามถูก ตอ งที่ต รงกัน : พวกโจร พวกขโมย เขา ก็ถือวาเขาถูกตองของเขาอยางนั้น ฉะนั้นเขาจึงทําการลักขโมย. อีกคนหนึ่งก็วา ถูกตองนั้นอยางอื่นไมใชอยางนั้น มันก็เลยไมลัก ไมขโมย. ความถูกตองนี่สําคัญ มาก, ความถูกตองแทจริง คือ สัมมาทิฏฐิ หรือวา มัชฌิม าปฏิปทา ก็ได ; เรียกวา ความถูกตองที่แทจริง จึงออกดอก ออกผลมา, แลว ก็ม ีเ ชื ้อ แหง ความถูก ตอ งเพิ ่ม ขึ ้น มัน ก็จ ะถึง จุด หมาย ปลายทางเขาสักวันหนึ่ง สักชั่วอายุคนหนึ่ง ชั่วอายุคนขางหนาโนน หลายชั่วเขา มันก็จะดีมาก ดีมาก จนกวาเกิดมาจากทองมารดา ก็ดีมาก ดีจนถึงที่สุด เพราะ พันธุมันดีขึ้น ๆ ; นี่ปลายสุดยอดของตนไมแหงศีลธรรม. สรุปความสั้น ๆ อีกทีหนึ่งวา อุปมาของตนพฤกษาแหงศีลธรรมนั้น ส ว น โค น ได แ ก อุ ด ม ค ติ ที ่ ถ ู ก ต อ ง, ส ว น ก ล าง ส ว น ต น ได แ ก ก า ร ประพฤติ ก ระทํา ที่ ถู ก ต อ ง, และส ว นปลายยอดก็ คื อ ผลที่ อ อกมาอย า ง ถูกตอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี่จะจริง หรือ ไมจ ริง ก็เ อาไปคิด ดู. ไปพิจารณาดู ; ถาเห็น จริง ก็ชวยกันเพาะปลูก รดน้ํา พรวนดิน ตนพฤกษาตนนี้ ใหมันเจริญงอกงาม แลว โลกนี้ก็จะมีสันติภาพ คนแตละคนมันก็จะมีสันติสุข ; นี้เปนสิ่งที่นาศึกษาคนควา ที่สุดแลวเอามาประพฤติปฏิบัติ ใหไดผลจริงตามนั้น. นี้เรียกวา อุปมา ; ศีลธรรม เปนอุปมัย คือสิ่งที่ควรทําอุปมา ;

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร (ตอ)

๙๙

แลวเราทําอุปมาเขากับตนไม ; ตนไมนั้นเปนอุปมา เปนเครื่องเปรียบของอุปมัย คือ ศีลธรรม. ....

....

....

....

ทีนี้ดูกันตอไป เพื่อจะเขาใจสิ่งที่เรียกวา ศีลธรรมคืออะไร ดียิ่งขึ้น ไปอี ก . นี่ เ ราจะต อ งรู คํา ว า “ถู ก ต อ ง” นั่ น แหละ ให มั น ถู ก ให มั น ตรง ยิ่ง ขึ้น . ฉะนั้น เราจะดูวา อะไรเปน ภาวะอัน ถูก ตอ ง, อะไรเปน ภาวะอัน ผิดพลาด ; ภาวะถูกตองกับภาวะผิดพลาด ถาเราเขาใจผิด เปนมิจฉาทิฏ ฐิ ก็ใหความหมายผิด มันก็กลับตรงกันขาม ถึงขนาดที่เรียกวา เห็นกงจักรเปน ดอกบัว, ดอกบัวเปนกงจักรกลับกันอยู.

หัวขอที่ ๒ : ความถูกตองและผิดพลาด.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทีนี้ถา เรา จะดูค วามถูก ตอ ง กับ ความผิด พลาด เราจะดูกัน ที่ ตรงไหน ? ดู กั น ที่ อ ะไร ? หรื อ ไปทดสอบกั น ที่ ต รงไหน ? ทดสอบกั น ที่ อะไร ? ฉะนั้น เราควรจะรูจักสิ่งที่เราจะใชสําหรับการดูหรือการทดสอบนั้นกอน เพื่อจะรูความถูกตอง และความไมถูกตอง. ถาม : ในป จ จุบั น นี้ ควรจะใชอ ะไรบ าง เป น ตั ววัต ถุป ระสงค เป น ตั ววัต ถุ ที่ เราจะดู จะทดสอบ ; มีอ ะไรกี่อ ยา ง ที่จ ะหยิบ ขึ้น มาเปน วัต ถุ,แต ไมใชเปนกอน, เปนเพียงวัตถุสําหรับทดลอบ เปนวัตถุสําหรับศึกษาคน ควา สําหรับจะพิจารณาหาความถูกตอง. ตอบ

: ก็ดูที่วา การกระทํานั้น ถากอใหเกิดทุกข หรือเพิ่มกิเลส การกระทํา นั้นก็ไมถูกตองแน.

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๑๐๐ ถาม : ถาตรงขามก็ถือวาถูกตอง, เอา! ใครอีก ?

ตอบ : ภาวะความเป นอยูของสังคมในป จจุบั น หรือสมั ยใดก็ ตาม หากวา อยูกันดวยความปรกติแลว ก็หมายความวา ภาวะนั้นเปนศีลธรรม,หาก ไมมีความปรกติก็หมายความวาเปนภาวะที่ไร ศีลธรรม. ถาม : เอา, ความเปนอยู ; แลวใครวาอะไรอีก ? ตอบ : ความประพฤติครับ. ถาม : ความประพฤติ , ใช ไ ด ; คล า ย ๆ กั บ ของคุ ณ ทอง. อะไรอี ก ? คุณสุพลวาอะไร ดูที่อะไร ? ตอบ : ดูที่ความปรกติครับ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถูก รอ งหรือ ไมถูก ตอ งดูกัน ที่วา ถา ปรกติมัน ก็ถูก ตอ งอยูแ ลว . นี่วัตถุสําหรับดูใหเห็นความถูกตอง หรือวาความผิดพลาด, วัตถุนั้นมันเปนที่ตั้ง แหง ความผิด พลาด หรือ ความถูก ตอ งก็ต าม เราจะไดเอามาดู ; มัน ไมใชมี กฎเกณฑอะไรที่ตายตัว หรือวา ที่มีอยูเปนแบบฉบับก็หามิได คือวาเราตองคิด เอาเอง เราดูเอาเอง.

ขอนี้ เรารวบรวมมา ศึกษา คนควา ดูเอาเองก็ได ; แลวมันอาจ จะไปตรงกันกับในตําราที่ผูเชี่ยวชาญการนั้น ๆ เขาบัญญัติไวแลวก็ได ; แมวาเรายัง

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร (ตอ)

๑๐๑

ไมทราบ. แตถาวาสิ่งที่เราเอามาดู มาศึกษา มาพูดกันนี้ มันมีเหตุผลอยูในตัว มันเอง วาถาทําแลวมันจะเกิดผลตามที่ตองการได เราก็ตองถือวาถูกตอง ; ไม จําเปนตองเปนนักปราชญ ศาสดาจารยที่ไหนมาพูด. แมวานักปราชญศาสดาจารยไหนมาพูดไว พระพุทธเจาก็ตรัสบอก วา อยา ไปเชื่อ ; ตอ งดูกอ นวา มัน เปน อยา งนั้น ไดจ ริง หรือ ไม ; จึง จะคอ ย เชื่อ. นี่พูดหยาบคายไปสักหนอยไหม ? จวงจาบถึงศาสตราจารย. แมวาใคร จะพูด ไวอยางไร ในตํา ราไหน โดยผูเชี่ยวชาญ มีชื่อ เสีย งทั่ว โลกก็ตาม เรา ไมเชื่อ ; เราจะดูกอนวาเปนอยางนั้นไดจริงหรือไม จึงคอยเชื่อ ; ถายังลังเลอยู ก็ลองทดสอบดู. ทีนี้ ความเห็นของอาตมา อยากจะพูดวา ขอ ที่ ๑ ดูที่การศึกษา เป น ข อ แรก ว า มั น ถู ก ต อ งหรื อ ไม ถ ู ก ต อ ง ; ข อ ที ่ ๒ ดู ที ่ ก ารดํ า รงชี พ เปนอยู การประพฤติ การกระทํา การดํารงชีพอยูวามันถูกตองหรือไมถูกตอง ; ขอ ที่ ๓ ก็ดูที่ การรว มมือ ชว ยเหลือ ซึ่ง กัน และกัน วา ถูก ตอ งหรือ ไมถูก ตอ ง. ดูเหมือ นจะพอแลว กระมัง ; ขอรอ งใหทุก คนวินิจ ฉัย ดู เพีย ง ๓ วัต ถุนี้ มัน จะพอหรือไมพอ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาเราเกิดกลัวขึ้นมา เราอยากคนควา แยกแยะดู ความผิดพลาด และความถูก ตอ ง ; เราจะดูที่วัต ถุ ๓ อยา งนี้ : ดูที่ก ารศึก ษาวา ถูก ตอ งหรือ ไมถูกตอง เสร็จแลวก็ดูที่บุคคลคนหนึ่งวา ดํารงชีวิตอยู อยางไร ? ถูกตองหรือ ไมถ ูก ตอ ง ? และดุที ่ รว มมือ ซึ ่ง กัน และกัน ชว ยเหลือ ซึ ่ง กัน และกัน เปน อยางไร ? วาถูกตองหรือไมถูกตอง ? เพียง ๓ วัตถุนี้ก็ควรจะพอ.

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๑๐๒

ดูวามีการศึก ษาอยา งมนุษ ยห รือไม ? มีการดํารงชีพ อยา งมนุษ ย หรือไม ? มีการชวยเหลือรวมมือกันอยางมนุษยหรือไม ? ลองคิดดูเพียง ๓ อยาง ก็พอละกระมัง ? ถาเปนอยางมนุษย หรือถูกตองอยางมนุษยก็พอแลว ; ถามันมี อีกมันก็เฟอ มันเกิน หรือไมจําเปน ไมตองไปเหนื่อยเปลากะมัน. ....

....

....

....

ข อ ที ่ ๑. มี ก า ร ศึ ก ษ า ถู ก ต อ ง ก็ เ ป น สิ ่ ง ที ่ ต  อ ง คิ ด ว า เดี๋ยวนี้โลกทั้งโลกมีการศึกษาถูกตองหรือเปลา ? ถาม : คุ ณ ทอง เป น ครู คุ ณ พู ด ที ว า การศึ กษาในโลกเดี๋ ย วนี้ มั น ถู ก ต อ ง หรือไมถูกตอง ? ตอบ : การศึ ก ษาในโลกนี้ ไม เป น การถู ก ต อ ง เพราะมั น เป น การสอนให ค น เห็น แกตัว ทั้ง นั้น . คนไหนที่มีค วามรูค วามสามารถสูง ก็มุง แตพ าตัว ของตัวไปใหรอด แตผูเดียวเทานั้น ; สวนบุคคลที่ลาหลังก็จะตองชวย ตนเองไปอยางเกือบจะชวยไมรอด.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : นี่ความรูสึกทางการเมือง มันกําลังกลัดกลุม นี่คุณ ก็เปนครูนะ แลว คุณสอนอยางไรคุณก็เปนครู อยูทุกวัน คุณสอนเด็ก ๆ อยางไร ? คุณ ใหการศึกษาเขาอยางไร ก็ไมถูกตองเหมือนกันหรือ ? คุณกําลังทําสิ่งที่ ถูกตองหรือ ? รับเงินเดือนเขามาใชอยู เพื่อทําสิ่งที่ไมถูกตองหรือ ?

ตอบ : กําลังฝกอบรมสั่งสอนใหไมเห็นแกตัวครับ.

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร (ตอ)

๑๐๓

ถาม : ก็ได, เมื่อเราเปนครู เราพยายามจะดึงการศึกษามาใหถูกตอง เพราะ เห็นอยูแลววา โลกกําลังมีการศึกษา ที่เปลี่ยนไปโดยไมรูสึกตัว สูความ ไมถูก ตอ ง นี้เปน ความเห็น ของคุณ ทอง. คุณ สุพ ลละ คุณ ก็กําลังจะ เปนครู เดี๋ยวนี้โลกมีการศึกษาถูกตองไหม ? การศึกษาของคุณที่เรียกมา แลวถูกตองไหม ? คุณเรียนจบปริญญามาแลว วาไป. ตอบ : การศึกษาในปจจุบัน สวนมากมักจะใหในแงของวิชาชีพ และความรู ที่จะไปประกอบอาชีพ ; ไมไดเนนการที่จ ะมีจิตใจชวยเหลือ ผูอื่นหรือ รับใชประเทศชาติอยางแทจริงเลย มันใหแตสิ่งที่จะพอกพูนสําหรับตัว เองทั้งสิ้นเลย. ถาม : รวมความวา ยังไมถูกตอง และไมถึงที่สุด. คุณประยูรละ ? ตอบ : การศึกษาเดี๋ยวนี้ก็คลาย ๆ อยางที่สองทานตอบแหละครับ คือวา สอน เนน หนัก ไปในทางวิช าชีพ และประดิษ ฐค ิด คน ของใหม แตไ มไ ด สอนในทางจิต ใจ สํา หรับ ควบคุม วา เมื่อ ไดข องพวกนั้น แลว เรา จะรักษาของเหลานั้นอยางไร, จะไปหาไดอ ยางไร,ในอาชีพขางหนา คือวิชาจริยธรรมนั้น ในโรงเรียนชักนอยลง ๆ ไปเรื่อยครับ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : คุณล้ําละ มีความเห็นขอนี้ไหม ? ตอบ : ผมเคยถามเด็ก ๆ ที่เรียนทุกระดับ โดยมากการศึกษาไมไดบรรจุวิชา ศีลธรรมเขาไป ตามที่ผมถามมา ไมคอยมีครับ แมระดับสูง ๆ ขึ้นไป.

www.buddhadassa.in.th


๑๐๔

การกลับมาแหงศีลธรรม

ถาม : เทาที่ไดฟงมานี้ก็ทําใหเกิดเปนปญหาขึ้นมา ๒ อยาง ๒ ประเด็น คือ วา ความถูก ตอ งนั ้น มัน จะถูก ตอ งอยา งไร ? สํ า หรับ อะไร ? นี้ อย า งหนึ่ ง ; และการที่ มั น ผิ ด พลาดไป ไม ถู ก ต อ งนั้ น มั น เป น เจตนา ของใคร ? หรือ ว า มี เจตนาดี ที่ สุ ด แล ว มั น ผิ ด พลาดไปโดยไม ได เจตนา เปนปญหาสองขออยางนี้. อยากจะถามวา การศึ กษาที่ เขาให อยู ในเวลานี้ ถู กต องแล ว สําหรับมนุษยจะไปประกอบอาชีพใหดีที่สุด ใชไหม ? ถาใชมันก็ถูกตอง ; การศึ ก ษาที่ เขาให มั น ก็ ถู ก ต อ ง มั น ถู ก ต อ งแต เพี ย งว า จะไปประกอบ อาชี พ เท า นั้ น เองให มั น ถู ก ต อ งได เงิ น มา ได เรื่ อ งกิ น เรื่ อ งกาม เรื่ อ ง เกี ย รติ ที่ ส มบู รณ มั น ก็ ถู ก ต อ งสํ าหรับ ข อ นี้ ที นี้ มั น ยั งไม ถู ก ต อ งสํ าหรับ ขอไหนละ ? ตอบ : สํ า หรั บ ด า นจิ ต ใจ ยั ง ขาดอยู ไม ไ ด ศึ ก ษ าด า นวิ วั ฒ นาการของ จิตใจ หรือความเจริญของจิตใจดวย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี ่เ ปน สิ ่ง ที ่ต อ งมองวา มัน ไมถ ูก ตอ ง ตรงตามวัต ถุป ระสงคที ่ค วร มุ ง หมาย หรือ ถู ก ต อ ง ชนิ ด ที่ นํ า มาซึ่ ง สั น ติ สุ ข หรื อ สั น ติ ภ าพ. การศึ ก ษาในโลก เวลานี้ ทํ า ให รู ห นั ง สื อ เร็ ว รู ห นั ง สื อ มาก, มี ค วามรู จ ริ ง คิ ด ประดิ ษ ฐ สิ่ ง ที่ น า มหัศ จรรยอ ยา งไมน า เชื ่อ ขึ ้น มาเรื่อ ย ๆ เปน เครื่อ งมือ เครื่อ งใชสํ า หรับ ทํ า สิ ่ง ที่ ไมเคยทํา ไดมาแตกอน ก็กลายเปนทําได แลวก็เจริญดวยวัตถุ ; อยางนอยที่สุด เขาก็ประกอบอาชีพได แมที่สุดแตคนตาบอด หูหนวก เขาก็จัดใหมีอาชีพไดดีกวา

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร (ตอ)

๑๐๕

แตก อ น ; นั ่น การศึก ษาเปน ไปเพื ่อ อาชีพ อยา งดีที ่ส ุด เปน ไปเพื ่อ อาชีพ ; แล ว พอเหลื อ จากนั้ น ก็ เป น ไปเพื่ อ ส ง เสริ ม กิ เลส. เขาไม พู ด ถึ ง ศี ล ธรรมกั น เลย. การศึ ก ษาในโลกเวลานี้ ช ว ยให ทํ า อาชี พ ได ดี ได ทุ ก คน แต ว า ถ า เหลื อ ไปจากที่ จํา เป น แล ว ก็ เ ป น ไปในส ว นกิ เ ลส คื อ ส ว นอบายมุ ข ; ฉะนั้นในโลกนี้มันก็เต็มไปดวยสวนที่เปนกิเลส หรือที่เปนอบายมุขมากขึ้น : เรื่อง สวย เรื่องงาม เรื่องสนุกสนาน เอร็ดอรอยทางวัต ถุ ทางเนื้อ ทางหนัง ; ทําสิ่ง ที่ไมตองทํามากมายมหาศาล: ในเรื่องเครื่องนุงหมก็ดี เรื่องอาหารก็ดี ที่อยูอาศัย ก็ ดี แม แ ต ย าแก โ รคนี้ ก็ ดี ยั ง ถื อ ได ว า เป น ส ว นที่ เฟ อ ; นี้ เรี ย กว า ถู ก ต อ งเพี ย ง ส วนหนึ่ ง คื อ ส วนอาชีพ ; แล วกลายเป น ผิ ด ในเมื่ อ มั น เฟ อ หรือ เหลื อ จากอาชี พ คือกลายเปนเหยื่อของกิเลส. ถ า การศึ ก ษาเป น อยู  อ ย า งนี ้ เ รื ่ อ งไป ไม ทํ า ให ค นในโลกนี ้ มี ศีล ธรรม โลกนี ้ก ็จ ะตอ งเดือ นรอ นระส่ํ า ระสาย หรือ ถึง กับ วิน าศในที ่ส ุด เหลืออยูไมกี่คน คอยมาตั้งตัวกันใหม ตามที่กลาวไวในคัมภีร.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เอาละ ยุ ติ เท านี้ วา การศึ ก ษากํ าลั งไม ถู ก ต อ ง. ใครจะด าก็ ต ามใจ, มาดาอาตมาคนเดียวก็ได ยืนยันขอนี้เสมอ. ....

....

....

....

ขอ ที่ ๒. มนุษ ยดํา รงชีพ อยา งถูก ตอ ง ตามความหมาย แหงมนุษยหรือไม ?

www.buddhadassa.in.th


๑๐๖

การกลับมาแหงศีลธรรม

คําวาดํ ารงชีพ นี้ ไม ใชหมายเพี ยงเรื่อ งกิน ; แต หมายถึงเรื่องเป น เรื่อ งอยู เรื่อ งทุก อยา ง ที ่ม ัน ดํ า รงชีวิต อยู . หลัก อัน นี ้ก ็ค ือ กิน อยู นุ ง หม ใชสอย ประพฤติ กระทํา อะไรก็ตาม ดํารงชีวิตอยูนี่ ถูกตองหรือไม ? มนุษย ดํารงชีวิตถูกตองแลว ผลอะไรจะเกิดขึ้น ? ถาดํารงชีวิตไมถูกตองแลว ผลอะไร จะเกิดขึ้น ? พิจารณาดูขอนี้แลวจะเขาใจ. ถาม : มองดูอยางคลุม ๆ ทีหนึ่งกอนวา มนุษยที่อยูในสภาพปจจุบันนี้ ดํารง ชีวิตอยูในลักษณะอยางนี้ เรียกวาถูกตองหรือยัง ? ผลเปนที่นาพอใจ หรือยัง ? จะเรียกวาดํารงชีวิตอยางมนุษยหรือไม ? คุณเห็นวาอยางไร ? มนุษยกําลังดํารงชีวิตถูกตองตามความหมายของคําวา มนุษยหรือไม ? ตอบ : ถาดูทุกวันนี้ มนุษยกําลังดํารงชีพโดยไมถูกตอง มีการเห็นแกตัวเปน สว นใหญ ทุก ระดับ ; แมแ ตพ อ คา ประชาชน ขา ราชการทุก ระดับ โดยมากดํ า รงชีพ ดว ยการเห็น แกต ัว ทํ า ใหป ระเทศชาติเ ดือ ดรอ น เกี่ยวกับทําเพื่อตัวทั้งนั้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : เอา, ถือวาเปนการดํารงชีวิตอยางไมถูกตอง ; ใครอีก ?

ตอบ : ทุกวันนี้ ทุกคนเกือบจะวาได ดํารงชีวิตอยางไมถูกตอ ง ; ขอให ดูตรงไปยังปจจัยสี่ ลวนแตทําเพื่อความฟุงเฟอ เกินความจําเปนกัน ทั้งนั้น.

ถาม : เพราะฉะนั้นจึงถือวา ไมถูกตอง. ใครอีก ? คนทั้งโลกเวลานี้ ดํารง ชีวิตอยางถูกตองหรือไม ?

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร (ตอ)

๑๐๗

ตอบ : อยูอยางไม ถูกตอง เพราะวาไปยึดถือ ในสวนเกิน ของปจจัยสี่ มาเป น สวนสําคัญของชีวิตครับ. ถาม : ดีมาก ใครอีก ? ตอบ : คนโดยมากเดี๋ ย วนี้ เห็ น ชัด ๆ อยูวา ไม ถู กต อ ง คื อ ไปใช ไปหลงติ ดใน วัตถุก็ เลยหาแตวัต ถุม ามาก แลวก็ ใชสวนเกิ นไป ไมไดมี ชีวิตอยางงาย ๆ แตกระทําอยางสูง ซึ่งจะไดผลในสังคมมาก. การดํารงชีวิต หมายถึง การเปน อยูห ลังจากมีก ารศึก ษา เสร็จ สิ้น มาแลว มนุษยก็มามีการดํารงตนอยูดวยอาชีพ และดํารงอยูดวยการประพฤติกระทํา ที่เนื่องกันอยูกับอาชีพ หรือในชีวิตนั้น. สรุป แลว เรามองเห็น ความไมถ ูก ตอ งในการดํ า รงชีวิต คือ วา ไปทํ า ในสิ่ง ที ่ไ มค วรทํา คือ สิ่ง ที่ไ มเ ปน ไปเพื่อ สัน ติสุข สัน ติภ าพ เสีย เปน ส วนใหญ . ที่ จ ริงวิ ช าความรูเท า ที่ เรีย นมานี้ มั น ก็ พ อจะทํ าให มี อ าชี พ อยู อ ย า ง ปรกติสุข ได ; ทีนี้เขาก็ทําเกิน นั้นไป เพราะเขาสามารถทําได ; และสวนที่เกิน นั้นมันกลายไปเปนสวนที่ผิด คือทําไปตามความเห็นแกตัว หรือกิเลส สวนเกิน นั้น มัน มากกวา สว นที ่จํา เปน ; การดํ า รงชีวิต ทํา อาชีพ ใหอ ยูไดเทา ที ่จํา เปน นี่ เปนสวนถูกตอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org มนุ ษ ย มี ค วามถู ก ต อ งอยู เ พี ย งเท า นี้ คื อ ดํา รงอาชี พ ให ต น อยูไ ด. ที่ไ ปทํา ปจ จัย สว นที่เ หลือ จากนั้น มัน ก็ไ มเ ปน สิ่ง ที่ค วรจะทํา , หรือ

www.buddhadassa.in.th


๑๐๘

การกลับมาแหงศีลธรรม

ทําแลวกลายเปนสิ่งที่ทําลายความปรกติสุขของมนุษย. ฉะนั้นลองพิจารณาดูวา ประโยชนเงิน เดือ นหรือ อะไรก็ตาม ที่ไดรับ มา ไดใชไปในทางอะไรเทาไร. ถา ใชไปแตใ นสว นที่จํา เปน จริง ๆ มัน ก็จ ะตอ งเหลือ ; ทีนี ้ก็ใชไปในสิ่งที ่ไมจํา เปน จะตองทํา ตองใช ; มันก็ไมพอ, ยิ่งไมพอ, ยิ่งไมพอ. ถา คนที ่ม ีร ายไดม าก ก็ไดกิน ไดใชต ามที ่รา งกายตอ งการ ; เหลือ นั ้น ก็เ อาไปทํ า สว นที ่เ รีย กวา ไมต อ งทํ า . ถา ไปทํ า เขา เชน นั ้น ก็เ รีย กวา เกิน หรือเฟอ หรือผิด ; แตเขาก็ตองทํา เพราะเขามีแตความเห็นแกตัว แปลวา ไปตะครุบเอาสวนเกินอันมหาศาลนั่น เพราะความเห็นแกตัว โลกนี้มันกําลังอยู ดว ยความเห็น แกต ัว ที ่เ ปน สว นเกิน ; ความเห็น แกต ัว ที ่เ ปน สว นพอดีนั ้น ไมเปนไร และก็รอดชีวิตอยูได. ทีนี ้สว นเกิน มีข องเลน ของกิน เลน ของสนุก สนาน มากเกิน , มีการประพฤติกระทําที่เกิน, โดยเฉพาะเรื่องกามารมณทั้งหลาย ที่กําลังนิยมกันอยู ในโลกเวลานี ้ เกิน ยิ ่ง กวา เกิน ; ยิ ่ง เกิน เทา ไรก็ยิ ่ง เห็น แกต ัว มากขึ้น , ยิ ่ง เห็น แกตัวมากขึ้น ก็ยิ่งทําสวนเกินมากขึ้นไปอีก. มันก็มีแตอยางนี้ จึงเกิดเศรษฐกิจ ที ่ ไ ร ศ ี ล ธ ร ร ม เกิ ด ก า ร ส ง ค ร า ม ที ่ ไ ร ศ ี ล ธ ร ร ม , เกิ ด ก า ร ดํ า เนิ น ท า ง การเมืองที่ไรศีลธรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เมื ่อ เห็น แกต ัว มากขึ ้น โลกทั ้ง โลกก็ร อ นระอุเ ปน ไฟ ดํ า รงชีว ิต อยู อ ย า งไม ถู ก ต อ งตามความหมายของคํ า ว า มนุ ษ ย ; แต อ าจจะถู ก ต อ งตาม ความหมายของคํา วา คน เพราะคนมัน ก็เปน สัต วช นิด หนึ่ง ยังไมคอ ยรูอ ะไร ยังทําไปตามอํานาจของกิเลส. เกิดมาแลวเปนคนแน แตยังไมเปนมนุษย จนกวา

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร (ตอ)

๑๐๙

ใจมัน จะสูง เสีย กอ น ; ฉะนั ้น เราจึง กลา พูด วา การดํ า รงชีว ิต ของเราไม ถูก ตอ งตามความหมายของคํ า วา มนุษ ย ; แตถ ูก ตอ งตามความหมายของ คําวา คน คือโลภมาก ตะกละมาก อยางไมตองมีขอบเขตจํากัด. เป น อั น ส รุ ป ได ว  า ม นุ ษ ย กํ า ลั ง ดํ า ร ง ชี พ อ ยู  อ ย า ง ไม ถ ู ก ต อ ง ตามอุ ด มคติ ข องมนุ ษ ย เช น เดี ย วกั บ การศึ ก ษาไม ถู ก ต อ ง ตามความหมายของ การศึก ษาอยา งมนุษ ย. เขาศึก ษาแตเ รื ่อ งปากเรื ่อ งทอ ง เพื ่อ ใหเ ฉลีย วฉลาด แตเ พื ่อ ปาก เพื ่อ ทอ ง เพื ่อ กิน เพื ่อ กาม เพื ่อ เกีย รติ, การศึก ษานั ้น ไมถ ูก ตอ ง คือ ไมมีสวนของศีลธรรม ; การดํารงชีพก็เลยพลอยไมถูกตองไปตามนั้น. ....

....

....

....

ข อ ที่ ๓. ที่ จ ะมองกั น อี ก สํ า หรั บ ศึ ก ษาค น คว า พิ นิ จ พิ จ ารณาคื อ การช ว ยเหลื อ ร ว มมื อ ซึ่ ง กั น และกั น ในโลกนี้ ในเวลานี้ กํา ลั ง ถู ก ต อ ง หรือไมถูกตอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : ตามความหมายของคํ าว า มนุ ษ ย , ถามสั้ น ๆ ว าเรากํ าลั งช วยเหลื อ กั น อยางมนุษยหรือไม ?

คนที่ ๑ ตอบ : ขณะนี้ ก ารช ว ยเหลื อ นั้ น เป น ไปอย า งไม ถู ก ต อ ง เพราะอยู ใ น ลั ก ษณะที่ ช วยเหลื อ เพื่ อ ทํ า ลายกั น , ไม ได ช ว ยเหลื อ เพื่ อ ให เป น อั น หนึ่ งอั น เดียวกัน.

คนที่ ๒ ตอบ : การช ว ยเหลื อ ในโลกทุ ก วั น นี ้ ยั ง ไม ก ล า วได ว  า เป น การ ชว ยเหลือ ที ่ถ ูก ตอ ง : สว นมากยัง มีก ารชว ยเหลือ เพื ่อ ตัว เองอยู ม าก.

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๑๑๐

เปนตนวา เพื่อชื่อเสียงของตัวเอง เพื่อเอาหนา นี้อยางหนึ่ง เทาที่ สังเกตเห็น. ถาม : ใครอีก ? คนที่ ๓ ตอบ : การชวยเหลือเดี๋ยวนี้โดยมาก เปนการชวยเหลือเพื่อประโยชน ตนมากกว า ; ทุ ก ระดั บ ครั บ แม แ ต รั ฐ บาลนี่ ก็ คิ ด ว า จะช ว ยเหลื อ ราษฎร แตโดยมากก็ยังหันเขาตัว เกือบทุกระดับไปเลย. คนที่ ๔ ตอบ : การชวยเหลือซึ่งกันและกันในปจจุบันนี้ ยังมีอีกอยางนอกไป จากที่ทุกทานไดกลาวมาแลว คือชวยเหลือใหหนักเขาไปอีก ไมไดชวย ใหเบาขึ้นมาไดเลย. ยกตัวอยางเชน การทําบุญบวชนาคอยางนี้หรือการ ไปชวยทํางานเพื่อผอนใหงานหนักเปนงานเบา, เปลา ไมไดเปนคนเชน นั้น ; ทําสิ่งที่มันเบาอยูแลว ใหมันหนักยิ่งขึ้น เปนเสียอยางนี้ครับ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เทาที่มองเห็นนี่ ก็สรุปวา การชวยเหลือซึ่งกันและกันยังไมถูกตอง ; ถึงอยางไรก็ดี เราควรจะจํากัดความหมายของคํานี้ ใหมันชัดลงไปอีกสักหนอย.

ถาพูดวา “ชวยเหลือ” ก็หมายความวา ชวยใหเขาไดรับประโยชน ; แตถาชวยไปเพื่อเราไดกําไรมากขึ้น อยางนี้ไมเรียกวาชวยเหลือ ; เรียกไดวา มัน เปน การลงทุน ลงทุน ไปเพื่อ กํา ไร, อยา งนั้น ไมเ รีย กวา ชว ยเหลือ . การ ชวยเหลือในโลก เวลานี้มันเปนอยางหลังเสียโดยมาก คือชวยในลักษณะที่เปน การลงทุน ใหตัวผูลงทุนนั้นไดกําไรมากมาย. สวนบุคคลก็เปนอยางนั้น, สวน สังคมก็เปนอยางนั้น, ระหวางประเทศ หรือทั้งโลกก็กําลังเปนอยางนั้น.

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร (ตอ)

๑๑๑

ถา ชว ยเหลือ ก็ค วรชว ยคนที ่ต อ งการความชว ยเหลือ กํ า ลัง ทุ ก ข ย ากลํ า บาก ให พ  น จากความทุ ก ข นั ้ น อย า งหนึ ่ ง . ที นี ้ ช ว ยเหลื อ อี ก อย า งหนึ ่ ง ก็ ช  ว ยเหลื อ ซึ ่ ง กั น และกั น เพื ่ อ ทํ า โลกนี ้ ใ ห ง ดงาม เพื ่ อ ทํา ใหโ ลกนี้เ จริญ ; อยา งนี้เ รีย กวา รว มมือ กัน เพื่อ ชว ยเหลือ ซึ่ง กัน และกัน ทําโลกนี้ใหงดงาม. อยางนี้ก็ไมใชลงทุนคา หรือเอาเปรียบอะไร แตเปนการ ชวยเหลือที่กวางขวางออกไป ยิ่งกวาชวยเหลือระหวางคนตอคน. การชวยเหลือ ชนิดที่เปนการลงทุนนั่น คือ การผูกพันกันเปนพวก แลวก็แสวงหาประโยชน โดยการเอาเปรียบตอพวกอื่น ไดกําไรมามากแลวก็แบงกัน ; คนที่เปนหัวหนา ชวยเหลือ ก็เอามาก. อยางเรื่อ งการเมือ งในโลกปจ จุบัน ก็เปน อยางนั้น แบงเปน พรรค เปนพวก คายนั้นคายนี้ แลวก็ชวยเหลือประเทศนั้น ชวยเหลือประเทศนี้ ; ชวยกัน อยางคุยโต คุยโว คุยโม วาเขาชวยเหลืออยางนั้น เขาชวยอยางนี้ ชวยนั้น ชวยนี้ ; แตพอไปดูเนื้อแทของการชวย มันเปนการลงทุน หาประโยชน หากําไร เรียกวา เอาอะไรมาบังหนา “เอาหนังลาไปคลุมราชสีห” อะไรทํานองนั้นมากกวา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org “การชวยอยางเอาหนังลาไปคลุมตัวราชสีห” ก็ตองเรียกวา การ ชวยเหลือซึ่งกันและกันในโลกนี้ ยังไมถูกตอ ง ยังไมสมกับความเปนมนุษ ย ; มัน ก็ล ดลงมาสูค วามเปน คนอีก คือ เห็น แกตัว เห็น แกป ระโยชนทั้ง นั้น . ถา ชว ยเหลือ ในความหมายที่ถูก ตอ ง มัน ตอ งดับ ทุก ขไ ด และก็มีป ระโยชน สุขรวมกัน อยางที่ไมเปนการเอาเปรียบแกกันและกันมากยิ่งขึ้นไป. ขอใหเขาใจ อยางนี้.

www.buddhadassa.in.th


๑๑๒

การกลับมาแหงศีลธรรม

ขอยกตัวอยาง ; อยาเขาใจวาเปนเรื่องมุงหมายตําหนิ หรือยกยอง ฝา ยใดฝา ยหนึ่ง วาเมื่อ คนมีค วามทุก ข คนอื่น ตอ งชว ย ; อยา งคุณ ทองวา พอเวลามีงานศพ, มีคนตายลง, เพื่อนมาชวยแตวามาชวยกินใหฉิบหาย ; นี่ ก็ชวยเหมือนกัน. ในบทบัญญัติทางศาสนาอิสลามนั้น เขาเขียนไวชัดเจน ดูจะดีกวา พวกเรา ; เชนวา พอมีคนตายลงในครอบครัวหนึ่ง เขาจะตองจัดงานศพใหเสร็จ ไปภายใน ๑๒ ชั่วโมง อะไรทํานองนี้. คนจะมาชวยนั้น ตองมาชวยจริง คือ เอาทุกอยางที่จําเปนมาชวยครอบครัวนี้ในวันนั้น ; เพราะตามบทบัญ ญัตินั้น เขาหามไววา ในครอบตัวที่มีคนตายนั้น ตองไมติดเตาไฟ หุงขางตมแกง. ที่ ไมตองติดเตาไฟ เพราะวาผูที่มาชวยจะนําเอามาใหหมด เปนขาวปลาอาหารอะไร ตาง ๆ ทุกอยาง, เอามาชวยใหไดกิน ไดอะไรเสร็จเรียบรอย ; ใหจัดงานศพเสร็จ ไปไดเร็วภายใน ๑๒ ชั่วโมง เปนตน ; ไมใชมารุมกินกันอยางเมามาย นอนกลิ้ง นอนเกลือกไปอยางนั้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org แตเดี๋ยวนี้ประชาชนชาวอิสลาม จะถือบทบัญญัตินี้หรือไม อาตมา ก็ไมทราบ ; แตถาถือบทบัญ ญัติเดิมจะตองทําอยางนั้น. บานที่ตายลงไปนั้น ติดเตาไฟไมได เพราะตองยุงแตเรื่องงานศพโดยเร็ว คนที่มาชวยจึงเอามาใหหมด ทั้งขาวทั้งแกง กับ อะไร ก็ไมตองทํา . ทุก คนชวยกัน ใหงานศพนั้น เสร็จ ไปใน เวลาที่กําหนดไว ; อยางนี้ก็เรียกวา ชวย, โดยประการทั้งปวง.

ทีนี ้ อีก พวกหนึ ่ง มาชว ยกิน ชว ยกิน ทั ้ง เหลา กิน ทั ้ง อะไรตา ง ๆ จนเมามายกลิ้งเกลือก ทําเอาเจาของบานเปนหนี้ตั้งหมื่นบาท สองหมื่นบาท ;

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร (ตอ)

๑๑๓

นี่ จะช วยให เป น อย างไร ? ก็ จ ะชวยให ล ม จม! นี้ เป น ตั วอย างที่ ให ความหมายวา ชวยกันอยางถูกตองหรือไมถูกตอง. ฉะนั้ น ขอให คิ ด กั น ดู ใหม เถอะ ว า มนุ ษ ย อ ยู ค นเดี ย วในโลกไม ได ; ตอ งชว ยกัน ; เรื ่อ งชว ยกัน นี ้ต อ งชว ยใหถ ูก ตอ ง หรือ ใหด ีขึ ้น ใหสํ า เร็จ ประโยชน ใหแ กป ญ หาตา ง ๆ ได ; อยา มาเพิ ่ม ปญ หา. ในการบวชนาค ก็ด ี ในงานศพก็ด ี แมที ่ส ุด แตก ารแตง งาน งานขึ ้น บา นใหม หรือ อะไรก็ดี อยาใหมาชวยกันทําความฉิบหาย หรือทําหนี้ทําสิน หรือทําการผูกพันยุงยากรุงรัง ไปหมด ; ขอให ม าช ว ยในลั ก ษณะที่ เป น ความเกลี้ ย งเกลา เป น ความเรีย บรอ ย เปนความเยือกเย็น เปนความสุข อยางนี้จึงจะเรียกวาชวยกันอยางถูกตอง. เรื่ อ งช ว ยกั น อย า งถู ก ต อ งนี้ เป น ธรรมะเก า แก โบรมโบราณ ก อ น พุทธกาล หรือวากอนที่จะพูดไดวาอยางไร. ที่จะชวยกันอยางถูกตองนั้น, เดี๋ยวนี้ ดู ก ารช ว ยเหลื อ ซึ่ ง กั น และกั น ของมนุ ษ ย ใ นโลกนี้ มิ ได เป น ไปอย า งถู ก ต อ งตาม ความหมายสําหรับมนุษย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สรุปวาเรามีวัตถุที่จะมาพิจารณาดูเกี่ยวกับความถูกตองหรือไมถูกตอง ของการกระทําอยางมนุษยในทางศีลธรรมนั้น มีสามอยาง อยางนี้ก็จะพอแลว : ดูวาการศึกษาถูกตองหรือไมถูกตอง ? การดํารงชีวิตหลังจากการศึกษาแลว ถูกตอง หรือ ไมถ ูก ตอ ง ? การชว ยเหลือ รว มมือ ผูก พัน กัน ในระหวา งมนุษ ยทั ้ง โลกนี ้. มัน ถูกตองหรือไม ถูกต อง ? ถาถูกต อ ง ก็กลาวอยางกําป นทุ บ ดิน ไดเลย วาจะมี แตส ัน ติส ุข สัน ติภ าพ ไมม ีว ิก ฤติก ารณอ ยา งที ่กํ า ลัง มีอ ยู  ในโลกเวลานี ้. การใหความรูกัน แลกเปลี่ยนวัฒ นธรรมกัน ชวยเหลือกันในการคนควา ไปโลก

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๑๑๔

พระจัน ทรไ ด อะไรไดก ็ต าม ; ถา ไมม ีป ระโยชนแ กส ัน ติภ าพตอ งถือ วา ไม ถูกตองทั้งนั้น ; ถาถูกตอง, ตองเปนไปเพื่อสันติภาพไมเปนไปเพื่อสงคราม. นี่เพราะวา เราไดถือเอาความหมายผิด : ความหมายของคําวาถูกตอง หรือไมถูกตองก็ดี ยังผิดกลับหนาเปนหลัง เห็นกงจักรเปนดอกบัว ดอกบัวเปน กงจั ก ร อยู อ ย า งนี้ ; นี้ ก็ เป น สิ่ ง สํ า คั ญ สิ่ ง หนึ่ ง ซึ่ ง จะต อ งหยิ บ ขึ้ น มาพิ จ ารณา ศึก ษา เพื ่อ ใหรูว า ตัว ศีล ธรรมที ่แ ทจ ริง นั ้น เปน อยา งไร ; ถา เปน ศีล ธรรม แลวตองถูกตอง ผิดไมได ; ถาผิด ก็ไมใชศีลธรรม. สรุป ความไดว า ศีล ธรรมก็ค ือ ความถูก ตอ ง ของการศึก ษา ของการดํารงชีวิตอยู และของการชวยเหลือซึ่งกันและกัน. ทีนี้เวลาที่เหลืออยูนิดหนึ่ง ก็จะขอพูดใหหมดไปเสียเลย เกี่ยวกับคําวา ศีลธรรมในขอที่วาเรากําลังอยูในสภาพเสื่อมทรามทางศีลธรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org หัวขอที่ ๓ : โลกกําลังเสื่อมศีลธรรม.

เทา ที ่พ ูด มาแลว นี ้ มัน ก็ส รุป ความไดแ ลว วา เราโดยสว นตัว หรือ สวนสังคมดวย กําลังอยูในสภาพไรศีลธรรม หรือวาเสื่อมทางศีลธรรม. เสื่อมก็คือ วามันเสื่อมไปมาก ; ถาไร ก็หมายความวาไมมีเหลือเลย. นี้เราอยูในสภาพที่เสื่อม ทางศี ล ธรรม หรือ ไรศี ล ธรรม ? ในบางอย างเราถึ งกับ ไรศี ล ธรรม, ในบางอย าง

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร (ตอ)

๑๑๕

เราเพียงแตเสื่อมศีลธรรม. รวมความแลวก็วา สภาพเสื่อมศีลธรรมนี้มันไดมีอยู ตามที่เราเขาใจกัน ; ทีนี้เราจะพิสูจนไดดวยอะไร ใหมันชัดยิ่งขึ้นไปอีกวา เรา กําลังอยูในสภาพแหงความเสื่อมของศีลธรรม. ถาม : มีอะไรเปนเครื่องพิสูจน, ลองตอบมาวา มีอะไรเปนเครื่องพิสูจน ? คนที่ ๑ ตอบ : มีสภาพแหงการเปนอยูในสังคม วามีการเปนอยูเปนปรกติสุข หรือไม, เปนเครื่องพิสูจน คนที่ ๒ ตอบ : ดูสิ่งแวดลอม เชน พวกอาชญากรรมตาง ๆ วามันมีมากนอย แคไหน ; ถามันมากขึ้นก็ แปลวา มีภาวะเสื่อมศีลธรรม. คนที่ ๓ ตอบ : ดูการที่สังคมเดือดรอนเพราะการเบียดเบียนซึ่งกันและกันมาก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org คนที่ ๔ ตอบ : ดู จากการกระทํ าของคนในสั งคม วาจะนํ าไปสู ความพิ น าศ หรือวานําไปสูสันติสุข

ถาม : เราดูแลว เห็นวาอยางไร ? เห็นวากําลังนําไปสูความพินาศ หรือนําไป สูสันติสุข. ตอบ : ดูเห็นแลว ; กําลังนําไปสูความพินาศยอยยับครับ.

ถูกแลว, รูสึกวากําลังนําไปสูความพินาศ ; เพราะฉะนั้นจึงถือวา เดี๋ยวนี้กําลังอยูในสภาพที่เสื่อมศีลธรรม. ที่วาดู ๆ นั้นดูที่อะไรบาง ? ที่วาดูแลว

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๑๑๖

เห็น วา นํ า ไปสู ค วามเสื ่อ มความพิน าศของมนุษ ยนั ่น เราดูที ่อ ะไรบา ง. ที ่ด ูนั ้น ดูที ่อ ะไรบา ง ? ก็ด ูที ่ก ารแสดงออกตา ง ๆ คือ แสดงออกทางวัต ถุที ่ป รากฏ อยูในภาวะของวัตถุนี้ก็ได, แลวดูการแสดงออกที่รางกาย ทีเนื้อ ที่ตัว ที่รางกาย ก็ไ ด, แลว ดูก ารแสดงออกของจิต ทางจิต ที ่แ สดงออกมา ซึ ่ง จะเห็น ได เหมือนกัน จะเห็นไดอยูเนื่อง ๆ ที่มันแสดงน้ําใจออกมา. สวนวาจานั้นเราพวงไว ที่รางกาย. [การแสดงออกทางวัตถุ ]

สิ่ง ที ่เ ราตอ งดู เพื่อ พิส ูจ นวา กํา ลัง เสื่อ มนี่ ดูที ่วัต ถุทั ่ว ๆ ไป ; ดู ที่ พื้ น แผ น ดิ น ก็ ได พื้ น แผ น ดิ น โลกทั้ ง โลก กํ า ลั ง เป น อย า งไร พื้ น แผ น ดิ น ของ บา นนี ้ จัง หวัด นี ้ ตํ า บลนี ้ กํ า ลัง เปน อยา งไร. เดี ๋ย วนี ้เรามีถ นน มีต ึก มีอ ะไร ตางๆ ; เราจะเรียกสิ่งเหลานี้วาสภาพเสื่อมศีลธรรม หรือสภาพเจริญทางศีลธรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org หรือวาดูเห็นวาตนไม ปาไม ลําธาร หวยหนอง คลอง บึงบาง กําลัง ถู ก ทํ า ลายไป อย า งนี้ มั น เป น สภาพที่ มี ศี ล ธรรม หรื อ ว า เสื่ อ มศี ล ธรรม ? ต อ ง บัญญัติความหมายของคําวา เสื่อม หรือ เจริญ กันใหถูกตองดวย ; จนถึงกับแยก ได ชั ด ว า เจริญ ทางศี ล ธรรมคื อ อย า งไร, เจริญ ทางวั ต ถุ คื อ อย า งไร, เดี๋ ย วนี้ พื้ น แผนดินของเรากําลังเจริญทางวัตถุหรือกําลังเจริญทางศีลธรรม ? หรือเมื่อเจริญทาง วัตถุแลว ทางศีลธรรมมันไดวินาศไปอยางไร ? ก็ไปตรึกตรองดู นี่เราดุกันที่วัตถุ. [การแสดงออกทางรางกาย ]

ทีนี ้ ดูก ัน ที ่เ นื ้อ ตัว ของคน คนกํ า ลัง เปน อยา งไร มีค วามเสื ่อ ม หรื อ ความเจริ ญ ? เสื้ อ ผ า สวย ๆ แปลก ๆ ใหม ๆ ที่ ปู ย า ตา ยาย ไม เคยใช นั้ น เดี ๋ย วนี ้ม ัน ก็ไ ดม ี เสื ้อ สวย กางเกงสวย อะไรสวย มัน เปน ความเสื ่อ ม หรือ

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร (ตอ)

๑๑๗

ความเจริญทางศีลธรรม ? กระทั่งกิริยาทาทาง แตงเนื้อแตงตัว การพูดจา การ เลนหัว การรองเพลง การอะไรตาง ๆ นี่ มันเปนลักษณะความเสื่อม หรือความ เจริญของอะไร ? เจริญทางวัตถุคืออยางไร ? เจริญทางศีลธรรมคืออยางไร ? มันจะ ไปพรอมกันไดหรือไม. ถาเจริญทางศีลธรรมแลว ความเจริญทางวัตถุมันจะเปน อยางไร มันจะลดลง หรือมันจะพอดี หรือมันจะเฟอ ? ขอใหไปดูอยางนั้น. อยากจะพูดถึงเสื้อสวย ๆ ลายแปลก ๆ นี้อีกครั้งหนึ่งวา เดี๋ยวนี้เขาไม คอยชอบเสื้อมอฮอมหรือวาเสื้อขาวลวน ๆ เขาขอบเสื้อที่มีสีสันแปลก ๆ ลวดลาย แปลก ๆ ; นั่น แสดงจิต ใจของบุค คลนั้น ไดห รือ ไม ? งานราตรี งานเชื้อ เชิญ กัน มากิ น เลี้ยงค่ําคืน ; เห็ น รูป ถายดอก, ไม เคยไปรวมกับ เขาหรอก ; เสื้ อ ผ า แปลก ๆ เสื้อบางตัวนากลัวยิ่งกวาเสือเสียอีก, ลวดลายของมันนั้น. นี่จะลองพิจารณากันใหมอีกทีวา ทําไปเสือจึงตองมีลายอยางนั้น ? เพราะมัน ไวขูค นอื่น , สัต วที ่มีล วดลายนา กลัว มัน เอาไวขูค นอื่น . นี ้เ ปน สัญชาตญาณอยางสัตว. สัตวบางชนิดไมมีกําลัง ไมมีพิษราย แตมันก็มีสีแปลก ๆ มีเสียงแปลก ๆ มีกลิ่นแปลก ๆ ไวขูคนอื่น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทีนี้ม นุษ ยเราพน จากความเปน สัต วขึ้น มา เราจึง ไมทํ า อยา งนั ้น เราจึง มีอ ะไรที่สุภ าพ มีสีไ มนา กลัว มีก ลิ่น ไมนา กลัว มีอ ะไรไมนา กลัว ; นี้เรากลับยอนไปหาความเปนอยางโนน. นี่เราหมดปญญาที่จะเปนมนุษยกันแลว หรืออยางไร จึงตองยอนไปใชระเบียบของสัตว ; มีสี มีกลิ่น มีทาทาง มีอะไร ที่ใหเหมือนกับสัตว.

www.buddhadassa.in.th


๑๑๘

การกลับมาแหงศีลธรรม

ขอใหม องกัน ใหล ึก ถึง ขนาดนี ้วา แมแ ตเสื ้อ ผา ที ่ใ สอ ยู  ที ่เนื ้อ ที ่ต ัว ที ่ป ระพฤติก ระทํ า อยู  แมแ ตก ารพูด จา มัน เปน อยา งไร คือ มัน เสื ่อ มศีล ธรรม หรือวาเจริญ ด วยศี ล ธรรม ? ถ ามั น เป น ไปเพื่ อ ประโยชน แ กกั น และกั น ก็ เรีย กวา ถูก ทางศีล ธรรม ; ถา มัน ไมเ ปน ไปเพื ่อ ประโยชนแ กก ัน และกัน ตอ งถือ วา ผิด . ถ า ไม เป น ประโยชน หรื อ ไม อ ธิ บ ายได ใ นข อ ที่ ว า เป น ประโยชน , หรื อ ไม เป น ประโยชนแ ลว ก็ย ัง ถามไดว า มัน จํ า เปน หรือ ไมจํ า เปน ? ถา เปลือ งเปลา เสีย เวลาเปลา เพีย งแตเอาความสนุก สนานเทา นั ้น นี่ก ็ไมม ีศ ีล ธรรม ; ทํ า สิ ่ง ที่ ไ ม ต  อ ง ทํ า สํ า ห รั บ สั น ติ ภ า พ แ ล ว ก็ ไ ป ทํ า สํ า ห รั บ ค ว า ม วุ  น ว า ย ห รื อ วิกฤติการณ : ก็เรียกวาไมมีศีลธรรม. นี่ ข อให ดู ที่ เรามี อ ะไรกั น อยู นี่ มี บ า น มี เรื อ น มี เครื่ อ งใช ไม ส อยใน บ า นในเรื อ น แล ว เราก็ ชั ก ชวนชี้ แ จงส ง เสริ ม แก กั น ให ป ระดั บ ประดา ตกแต ง บ านเรือ น ตกแต งห อ งนอน ตกแต งห อ งอาหาร ตกแต ง จานอาหาร ว า เหล า นี้ เปน ไปเพื ่อ ศีล ธรรมหรือ ไม ? ตรงนี ้ข องดไมต ัด สิน เดี ๋ย วจะถูก ดา มากเกิน ไป. ไปตัด สิน เอาเองก็แ ลว กัน วา ที ่ทํ า อยา งนั ้น มัน สง เสริม ศีล ธรรมหรือ ไม ; หรือ ตั้งปญหาวามันสงเสริมความเจริญทางวัตถุ หรือสงเสริมความเจริญทางจิตใจ คือ ศีลธรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เดี๋ ย วนี้ โลกกํ า ลั ง มี แ ต อ ย า งนี้ ชั ก ชวนกั น แต อ ย า งนี้ โฆษณากั น แต อย า งนี้ ไม ชั ก ชวนกั น ให กิ น ข า วราดน้ํ า ปลากั บ ถั่ ว ลิ ส ง ; มั น ชั ก ชวนกั น แต กิ น อยา งนี ้ กิน อยา งนั ้น จนไมรูจ ะกิน อยา งไร จนกิน ไมถ ูก . อาตมาจะกิน กับ เขา ไม ถู ก ไม รู ว า กิ น อย า งไร. เรามั ว ชั ก ชวนกั น ไปแต ใ นเรื่ อ งที่ มี ค วามเจริ ญ พรวด พราดหรือ เฟอ ไปทางวัต ถุ ไมช ัก ชวนกัน ไปทางความเจริญ เพื ่อ ปรกติใ น ทางจิตใจ. นี้เรียกวาดูกันที่การกระทํา ที่มันแสดงออกมาใหเห็น.

www.buddhadassa.in.th


ศีลธรรมคืออะไร (ตอ)

๑๑๙ [ การแสดงออกทางจิตใจ ]

ข อ สุ ด ท า ย ขอให ด ู สิ ่ ง ที ่ แ สดงออกมาทางจิ ต ใจ เช น คน หมูบ านนี้เป นอยางไร มันแสดงออกมาไดที่ถนนหนทาง ที่ศาลา ที่บอ น้ํา ที่การ ประพฤติก ารกระทํา ; นั่น มัน แสดงออกมาจากจิต ใจทั้งนั้น แหละ ไมตอ งพบตัว ผู ค นที ่ทํ า หรอก. เพีย งแตเ ราเดิน มาที ่ถ นนนี ้ เราเห็น อะไรวางอยู  อยา งนี้ มีอ ะไรวางอยู ส กปรกอยา งนี ้ แสดงอยู อ ยา งนี ้, เราก็รูไ ดว า จิต ใจของคน บ านนี้ มั น เป น อย างไร. ดู สิ่งที่ มั นแสดงออกมาทางจิตใจ เราก็ รูวา มีศี ลธรรม หรื อ ไม มี ศี ล ธรรม ; ศาลาบางศาลา เขี ย นกั น จนไม รู ว า จะเขี ย นอะไร ล ว นแต เรื ่อ งไมม ีศ ีล ธรรมทั ้ง นั ้น . การเขีย นนั ้น มัน ก็ไ มม ีศ ีล ธรรมอยู แ ลว ; แลว ภาพ หรือขอความที่เขียนมันก็แสดงความไมมีศีลธรรมอีก. นี้ก็แสดงใหรูถึงจิตใจของคน ในหมูบานนั้น. ที นี้ ป ระเทศไทย มี อ ะไรเจริ ญ ก า วหน า ? เรื่ อ ง อาบอบนวด เรื่ อ ง ลามกอนาจาร หรือ ยิ ่ง กวา ลามกอนาจาร ที ่แ สดงอยู ใ นที ่ทั ่ว ๆ ไป มัน ก็ ยอ มแสดงถึง จิต ใจของประชาชนคนไทย แหง ยุค ปจ จุบ ัน นี ้. นี ่ด ูท ีสิ ่ง ที ่ม ัน แสดงออกมาจากจิตใจก็รู, และอาจจะพิสูจนไดวา อยูในสภาพที่เสื่อมศีลธรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ดัง นั ้น เมื ่อ ตอ งการใหพ ิส ูจ นก ัน บา ง ก็พ ิส ูจ นด ูที ่สิ ่ง เหลา นี ้ ที ่แ สดง อยู ท างวัต ถุทั ่ว ๆ ไป, ที ่แ สดงที ่เนื ้อ ตัว ของคน, ที ่แ สดงอยู ที ่จ ิต ใจ ที ่ม ัน แสดง เห็นจิตใจของคน โดยไมเห็นตัวคน. ....

....

....

....

เปนอันวา เราพอจะยุติไดวา มีสภาพเสื่อมทรามทางศีลธรรม, และ พร อ ม ๆ กั น นั้ น คนพวกหนึ่ ง เขากลั บ ถื อ ว า นั้ น คื อ ความเจริ ญ . นั่ น คื อ ความ

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๑๒๐

ถู ก ต อ งสํ า หรั บ เขา, สํ า หรั บ พวกเขา พวกตามใจตั ว เอง ด ว ยเรื่ อ งกิ เลสก็ ดี พวก แสวงหากํ า ไรก็ ดี อะไรก็ ดี มั น เป น เรื่ อ งถู ก ต อ งสํ า หรั บ เขา. ความเจริ ญ ทางวั ต ถุ ทํ า ใหเ กิด นั ่น เกิด นี ่ขึ ้น ม าเต็ม ไป ห ม ด ; โด ยเฉ พ าะที ่ต ากอากาศ ก็ด ี ห รือ ที่ บั น เทิ ง เริ ง รื่ น อะไรก็ ดี เจริ ญ ๆ ๆ ทางวั ต ถุ และถู ก ต อ งตามแบบของเขา, แต มั น เสื่อมทางศีลธรรม ไมเจริญทางศีลธรรม. ฉะนั้ น จงแยกเอาเองว า อย า งไรเรี ย กว า ตั ว ศี ล ธรรม, อย า งไรเรี ย กว า มีศีลธรรม แลวจะรูไดในที่สุดวา ศีลธรรมนั้นคืออะไร. เราไดพ ูด กัน มาถึง ๓ ครั ้ง แลว ในหัว ขอ วา ศีล ธรรมคือ อะไร, รู ส ึก วา ก็ค วรจะพอกัน ที สํ า หรับ ปญ หาที ่ว า ศีล ธรรมคือ อะไร. ถา มีโ อกาสจะพูด กั น ต อ ไปอี ก คราวหลั ง ก็ จ ะพู ด โดยหั ว ข อ อื่ น เช น ว า รากฐานของศี ล ธรรมคื อ อะไรโดยรายละเอียด ในทุกแงทุกมุมเปนตน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org การบรรยายในวันนี้ก็พอสมควรแกเวลาแลว.

ขอยุติไว ใหโอกาสพระคุณเจาทั้งหลายไดสวดบทพระธรรมที่สงเสริม กําลังใจในการประพฤติปฏิบัติศีลธรรมตอไป. -----------------------------

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม - ๔ ๒๑ มกราคม ๒๕๑๙

รากฐานของศีลธรรมอันดับหนึ่ง [ ความรูสึกเปนเพื่อน เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันทั้งหมด : แผนดิน ]

ทานสาธุชน ผูมีความสนใจในธรรม ทั้งหลาย,

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org การบรรยายประจําวันเสารภาคมาฆบูชา เปนครั้งที่ ๔

ในวัน นี ้ ของคํ า บรรยายชุด ซึ ่ง ไดตั ้ง หัว ขอ ไวว า การกลับ มาแหง ศี ล ธรรม เป น การบรรยายในแบบอภิ ป ราย คื อ ช ว ยกั น ซั ก ไซร เ ผื ่ อ ว า จะมีอะไรขาดตกบกพรอง. [ตอไปนี้เปนการทบทวนคําปรารภการกลับมาแหงศีลธรรมไปจนถึงหนา ๑๒๙]

หั ว ข อ ใหญ ว า การกลั บ มาแห ง ศี ล ธรรม แบ ง ออกเป น หั ว ข อ ย อ ย ๆ ตามสมควรแกเรื่อง. ในครั้งที่ ๑ ครั้งที่ ๒ ครั้งที่ ๓ ไดพูดโดยหลักหรือประเด็น

๑๒๑

www.buddhadassa.in.th


๑๒๒

การกลับมาแหงศีลธรรม

ที่ ว า ศี ล ธรรมคื อ อะไร ในแง มุ ม ต า ง ๆ กั น ซึ่ ง จะต อ งทบทวนกั น บ า งในวั น นี้ เพราะวาไดเวนมาหลายวันแลว. ความมุ ง หมายนั้ น จะพู ด ถึ ง การกลั บ มาแห ง ศี ล ธรรม, ซึ่ ง จํ า เป น อย า งยิ ่ ง สํ า ห รั บ โล ก ส มั ย นี ้ โล กส มั ย นี ้ กํ า ลั ง จะวิ น าศ เพ ราะเห ตุ เ พี ย ง อยา งเดีย ว คือ ความไมม ีศ ีล ธรรมของมนุษ ยใ นโลก. เพราะวา ไดจัด การ ศึกษาหรืออะไร ทุก ๆ อยาง เปนไปในทางที่ไมสงเสริมศีลธรรม ; และยังเหยียบย่ํา ศีล ธรรมเสีย อีก จนมนุษ ยใ นระยะรอ ยปนี ่ มีศ ีล ธรรมเสื ่อ มลง ๆ, ในบางแหง หรือ บางพวก แทบจะไมม ีศ ีล ธรรมเหลือ อยู เลย. อาการนี ้กํ า ลัง เปน เหมือ นกับ โรคระบาด ซึ่งกําลังจะระบาดไปทั่วโลกอยางรุนแรง คือแรงขึ้นๆ จนในที่สุดโลกนี้ ก็จ ะถึง ความวิน าศ ; ดัง ที ่ไ ดม ีข อ ความกลา วไวใ นพระบาลี คือ ยุค ที ่ม นุษ ยไ ร ศี ล ธรรม จนถึ งกั บ คํ านวณได วา เขามี อ ายุ เพี ย ง ๑๐ ป เท า นั้ น แล วก็ จ ะฆ ากั น เหมือ นกับ ฆา เนื้อ ฆา ปลา ตายเกือ บหมดโลก แลว ที ่เหลือ ซอ นเรน กัน อยูบ า ง ก็อ อกมาพิ จารณาดูการกระทําของมนุษ ย มีความสังเวช แลวก็ตั้ งตน มีศีล ธรรม กันใหม จนกวาจะเจริญดวยศีลธรรมอีก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ใน โลกสมัย ที ่ศ ีล ธรรม กํ า ลัง เสื ่อ ม ล ง ๆ ห รือ เริ ่ม เสื ่อ ม ล งนั ้น เรีย กกัน วา กลีย ุค ; ในระยะนี ้ก ็ย ัง เปน ระยะกลีย ุค และก็จ ะเปน กลีย ุค ที ่ม าก ยิ ่ง ขึ ้น หรือ รุน แรงยิ ่ง ขึ ้น ทุก ที. ผู ที ่ไ ดอ า นเรื ่อ งราวอัน เกี ่ย วกับ พระพุท ธเจา ของเรา, ถา ยัง จํ า ได ก็ค งจะยัง จํ า ขอ ความที ่แ ปลกประหลาด หรือ พิเศษ อยู ขอ หนึ่ งวา พระพุ ท ธเจ าพระองค นี้ อุ บั ติ ขึ้น มาในโลกที่ กํ าลั งเป น กลี ยุ ค ;ท านทั้ ง หลายจะเขาใจความขอนี้วาอยางไร ก็ลองคิดดู.

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับหนึ่ง

๑๒๓

สํา หรับ อาตมานั้น มองเห็น วา พระพุท ธเจา ทรงอุบัติขึ้น มาใน โลกนี ้ ในยุค ที ่โ ลกจะเสื ่อ มดว ยศีล ธรรม. พระองคเ กิด ขึ้น เพื ่อ สั่ง สอนโลก คล า ย ๆ กั บ ว า เกิ ด ขึ ้ น เพื ่ อ ให เ ครื่ อ งคุ  ม ครองป อ งกั น ; ถ า สมมติ ว  า พระพุทธเจาไมไดเสด็จมาบังเกิดในยุคนี้ ยุคนี้จะไรศีลธรรมยิ่งไปกวานี้. โดย เหตุที่พระองคไดทรงอุบัติขึ้นมาในโลกเมื่อ ๒๕๐๐ ปมาแลว, และทรงแสดงธรรม ไวอยางครบถวนทุกอยางทุกประการ สําหรับจะเปนเครื่องคุมครองโลก แลวก็ คุมครองโลกไดจริง, โลกจึงไมไรศีลธรรมยิ่งไปกวานี้. แตโดยเหตุที่โลกมันเปนโลกในยุคที่เรียกวากลียุค ก็เริ่มเสื่อมจาก พระธรรมคําสอน ของพระผูมีพ ระภาคเจานั้น เปน ลําดับ มา ; จนจะถือ ไดวา เวลานี ้ กํา ลั ง เสื่ อ ม คื อ ไม ม ี ศี ล ธรรมยิ่ ง ขึ้ น เพราะฉลาดแต ใ นทางที ่ จ ะ เห็น แกตัว ; ไมฉ ลาดในทางที่จ ะเห็น แกพ ระธรรม. พระธรรมของพระองค ยังจําเปนสําหรับมนุษยในยุคนี้ ; แตมนุษยก็ยังไมเอาใจใส เพราะวาไปหลงไหล ในความสุข สนุก สนาน ความเจริญ กาวหนา ในทางวัต ถุ ซึ่ง เผอิญ มัน ได เกิดคนควาพบปะ ประดิษฐ สรางสรร ขึ้นมาอยางที่เรียกวานาประหลาด นา อัศ จรรย. สิ ่ง เหลา นั ้น เกิด ขึ้น มาแลว ก็ทํ า ใหม นุษ ยนี ้ห ลงไหล จนจะไมเปน มนุษยอยูแลว ศีลธรรมก็เสื่อมลง ๆ จนมาถึงวันนี้. เราไดเอาผลของความ เสื่อมศีลธรรมมาเปนเครื่องพิจารณาดู ก็รูสึกวามันเปนยุคแหงความเสื่อมทาง ศีลธรรมจริง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตัวอยางงาย ๆ ที่ทุกคนจะเห็นไดและยอมรับ วาเมื่อสัก ๔๐-๕๐ ป มานี่ มันยังไมยุงยากลําบากเหมือนอยางเดี๋ยวนี้ ; จะนอนหลับตามใตถุน ตาม โคนไมก็ยังสบาย ปลอดภัย ไมมีอันตราย. เดี๋ยวนี้มันทําไมได แมกลางเมือ ง

www.buddhadassa.in.th


๑๒๔

การกลับมาแหงศีลธรรม

หลวง กลางถนนหนทาง มันก็ยังมีอันตราย ; มีความเบียดเบียนกันโดยตรง โดยออม มากมายมหาศาล จึงเรียกวาเปนยุคที่เสื่อมศีลธรรมอยานาหวาดเสียว. ถาหากวา เหตุการณยังคงดําเนินไปในลักษณะอยางนี้ ก็จะถึงความวินาศเปน แนนอน, คือตางคนตางทนอยูไมได ; ตางฝายตางทนอยูไมได ก็เบียดเบียนซึ่ง กันและกันจนถึงกับวินาศไปในที่สุด. ทีนี ้ เมื ่อ เรามาคํ า นึง ถึง วา พระพุท ธองคไ ดท รงอุบ ัต ิขึ ้น มาใน โลกนี้ เพื่อจะโปรดสัตวในกลียุค ; เราก็ควรจะทําใหสําเร็จตามความมุงหมาย นั้น คือเอาธรรมมะของพระพุทธองคมาประพฤติปฏิบัติ ใหแนนแฟนมั่นคง สุดที่ เราจะกระทําได. เมื่อภาวะการณมันเลวรายลงไปถึงขนาดนี้แลว มันก็ตองกระทํา ไปในลั ก ษณะที่ เป น การต อ สู กั น , หรือ ที่ เขาชอบเรีย กกั น ในสมั ย นี้ วา ทํ า การ รณรงค. รณรงคมันก็คือรบกันนั่นแหละ แตวาตอสูเพื่อผลที่ดี ; ดวยเหตุนี้เอง การบรรยายในหัวขอวา การกลับมาแหงศีลธรรม จึงไดเกิดขึ้น ; หมายความ วา อาตมามุงหมายวา เราจะรณรงคตอสูใหศีลธรรมกลับมา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เดี ๋ ย วนี ้ ศ ี ล ธรรมมั น หายไป เราก็ จ ะต อ สู  ห รื อ ทํ า การรณรงค เพื ่อ ใหศีล ธรรมกลับ มา. ขอใหทา นทั้ง หลายเขา ใจความมุ ง หมายอัน นี้ไ ว เพื่อ เปน เครื่อ งประกัน ความฟน เฝอ ; เดี๋ย วจะเกิด ฟน เฝอ ขึ้น มาไดวา เราทํา ทําไมกัน.

ทีนี้ ก็อยากจะใหพิจารณาเปนพิเศษในขอ ที่วา การกลับมาแหง ศี ล ธรรมนี ้ จํา เป น ที ่ สุ ด แล ว ไม ม ี อ ะไรจํา เป น ไปกว า นี ้ ; พู ด ตรง ๆ ก็ ว า จํา เป น ยิ่ ง เสี ย กว า การมี ข า วปลาอาหาร. ถ า พู ด อย า งนี้ คนเขา

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับหนึ่ง

๑๒๕

ไมคอยยอมรับฟง เขาวาขาวปลาอาหารสําคัญกวา มันจะไดมีชีวิต ; มีศีลธรรมนี้ จะสําคัญกวาขาวปลาอาหารไดอยางไร ? ขอนี้มันก็มีความหมายนิดเดียว คือวา ถ า ชี ว ิ ต อยู  อ ย า งไม ม ี ศ ี ล ธรรมแล ว จะมี ช ี ว ิ ต อยู  ไ ปให เ ลวทรามทํ า ไม ตายเสียยังดีกวา ; ฉะนั้นการมีศีลธรรมนี้ สําคัญยิ่งกวาการมีขาวปลาอาหาร. มองดูใหกวางออกไปก็จะพบวา มันทําใหมนุษยมีความหมาย ให โลกนี้มีความหมาย : ใหมีธรรมะ ใหมีสันติสุขในโลก ไมตองอยูอยางที่เรียกวา เหมือนกับวานอนอยูในกองไฟ รอนอกรอนใจ รอนเนื้อ รอนตัว รอนไปหมด เพราะไมมีศีลธรรมซึ่งเปนความเย็น ; จึงอยากจะพูดอยางไมกลัวใครโกรธ วา การทํา ให ศี ล ธรรมกลั บ มานี่ แ หละ คื อ การบํา เพ็ ญ บุ ญ อั น สู ง สุ ด ในยุ ค นี้ , หรือในสมัยนี้. สรางโบสถ สรางวัด สรางนั่น สรางนี่ ก็เปนบุญเหมือนกัน ; แต ยังไมจําเปน ยังไมสําคัญเทากับการกลับมาแหงศีลธรรม, จึงอยากจะขอรองทาน ทั้งหลายวา ถาใครอยากจะทําบุญอะไรในยุคนี้ในปจจุบันนี้แลว ก็ขอใหนึกถึง การกลั บ มาแห ง ศี ล ธรรม นี่ แ หละก อ นสิ่ ง อื่ น . จงบํา เพ็ ญ บุ ญ ไปในทาง ที่ใหศีลธรรมกลับมา และใหมันโดยตรง หรือโดยเร็วยิ่งขึ้น ; โดยออมนั้นมันยัง ไกลนัก, หรือบางทีมันก็ไปตายดานเสียกอน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เชนวา เราจะตองสรางวัดขึ้นมาอยางนี้ ; ถาวัดนั้นไมไดทําใหมี ศีลธรรมดีขึ้น ก็ไมมีประโยชนอะไร, หรือวากวาจะสรางวัดเสร็จมันก็ตายเสียกอน ก็ไมไดสอนใหศีลธรรมกลับมา. เพราะฉะนั้น วางมือ เรื่องการสรางวัด สรางวา สร า งอะไรต า ง ๆ ไว ก อ น มาทํา ชนิ ด ที่ ทํา ให ศี ล ธรรมกลั บ มาทุ ก อย า ง

www.buddhadassa.in.th


๑๒๖

การกลับมาแหงศีลธรรม

ทุกทาง : นับตั้งแตการพูดจาชี้แจง ชักจูง, หรือการะทําอยางอื่น ที่มากไปกวานั้น ; เชน การทําตัวอยางใหดู บีบคั้นเพื่อนฝูง ที่พอจะบีบคั้นกันได ใหมีตั้งอยูใน รอ งรอยของศีล ธรรม, บังคับ ใหเขาชวยกัน เผยแพรวิธีการที่จะทําใหศีล ธรรม กลับมา. เวลานี้มีเรื่องขํา ๆ อยูเรื่องหนึ่ง คือ เขาเรียกกันวาอะไรก็ไมทราบ, เปนการบังคับใหเขียนจดหมายถึงกันทางไปรษณีย : คนหนึ่งไดรับฉบับหนึ่งแลว ตองเขียนถึงคนอื่นอีก ๕ ฉบับ ๑๐ ฉบับ แลวแตเขาตองการ ใหเขียนตอ ๆ กันไป อยางนั้น ; แลวถาใครไมเขียน เสนียดจัญ ไรจะตกอยูที่คนนั้น. คนโงงมงาย มันก็กลัว ก็เขียน ก็เขียนกันใหญ วนไปวนมาดวยการเขียนจดหมายอยางนี้ ; แตก็ยังไมรูวาจะไดประโยชนอะไร. ถาเราเอาวิธีการอันนี้มาใชเขียนจดหมาย ขอรองใหชวยกันทําให ศีลธรรมกลับมา, ตลอดถึงชี้แจงวา มันจะกลับมาไดอยางไร, เขียนสงกันไปให ใครคนหนึ่ง ไดรับแลว ยังขอรองหรือบังคับใหคนนั้น เขียนตอออกไปถึงผูอื่นที่ เปนเพื่อนฝูงของเขา ๓ ฉบับ, ๕ ฉบับ แลวแตจะทําได, ใหมันแพรหลายไป โดยเร็ว เพื่อใหมีความเขาใจในการกระทําและกระทําลงไปจริง ๆ เพื่อใหศีลธรรม กลับมา ; อยางนี้ก็ดูจะมีประโยชนกวา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ที่ เขี ย นกั น แต เพี ย งสั ก วาด วยความหวาดกลั ว วา จะเป น โชครา ย เปน ตน ; เปน เรื่อ งถือ โชค คือ ลาง หรือ งมงายไปเสีย อีก ไมไดรับ ประโยชน อะไรทางศีลธรรมแกบุคคลใด ; กรมไปรษณียไดแตคาแสตมปมากเทานั้นเอง มัน ยัง ไมคุม กัน , นี่ข อใหไ ปคิด ดูวา คนทุก วัน นี้ก็ก ลัว อะไรอยูอ ยา งงมงาย, กลัวความทุกขอยางงมงาย ; ทําอยางนี้กันก็ได

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับหนึ่ง

๑๒๗

ทีนี้เอามาปรับปรุงใหมันดีกวานั้น, และชักชวนกันใหทั่วถึงอยางนั้น แตเปนไปในทางที่จะทําใหศีล ธรรมกลับ มา ; อยางที่อ าตมาขอสรุป ความวา เวลานี ้ ถ  า ใครจะทํ า บุ ญ อะไร ขอให ทํ า ไปในลั ก ษณ ะที ่ ทํ า ให ศ ี ล ธรรม กลับ มาเถิด . บุญ อยางอื่น มันอาจจะเพอไปแลวก็ได คือ มันเกินไปแลว ; แต การทําใหศีลธรรมกลับมานี้ มันยังขาดอยู. ถา จะเสีย เวลาสัก นาทีห นึ่ง ใหเ ปน บุญ เปน กุศ ลละก็ เสีย เวลา ไปในการทําใหศีลธรรมกลับมา ; หรือวา ถาจะบริจาคทรัพยสักบาทหนึ่ง ก็ขอ ใหบ ริจ าคไปในลัก ษณะที่ทํา ใหศีล ธรรมกลับ มา. หรือ วา จะมีก ารเสีย สละ อยา งอื ่น ใดอีก ก็ต าม ก็เ สีย สละไปในทางที ่ทํ า ใหศ ีล ธรรมกลับ มา. นี ่ค ือ ความมุงหมายที่มีการบรรยายชุดนี้ และเปนคําขอรองพรอมกันไปในตัว วาสิ่งที่ สํ า คั ญ ที ่ ส ุ ด ที ่ ม นุ ษ ย ทั ้ ง โลกควรจะทํ า ในเวลานี ้ นั ้ น ไม ม ี อ ะไรยิ ่ ง ไปกว า การทําใหศีลธรรมกลับมา. นี่เปนหัวขอใหญของเรื่อง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ....

....

....

....

ทีนี้ เราจะทําความเขาใจในขอนี้กันโดยรายละเอียด จึงมีการบรรยาย ในครั้ง ที่ ๑ ที่ ๒ ที่ ๓ โดยหัว ขอ วา ศีล ธรรมนั้น คือ อะไร. บรรยายกัน ตั้ง ๓ ครั้ง ซึ่งก็นับวามากมาย แตเพียงใหรูวาศีลธรรมนั้นคืออะไรเทานั้น. ที่บ รรยายกัน อยางมากมายนั้น ก็เพื่อ ใหดูทุกแงทุก มุม . ถาทาน ทั้ง หลายระลึก ได วา ไดบ รรยายมาอยา งไร แลว ก็จ ะมีป ระโยชนม าก ; คือ ไดบ รรยายใหรูจัก ศีล ธรรม หรือ สิ่ง ที่เรีย กวา ศีล ธรรมในแงข องภาษา ในแง

www.buddhadassa.in.th


๑๒๘

การกลับมาแหงศีลธรรม

ของตัวหนังสือ ในแงของความหมาย และในแงของภาวะการณที่เปนอยูในโลกนี้ ตามธรรมชาติ. และมนุษ ยไดรูจัก สิ่งนี้ใ นหลายแงห ลายมุม : ไดรูจัก ศีล ธรรม ในแงของศาสนาก็มี, ในแงของปรัชญาก็มี ; ในแงของสังคมศาสตรก็มี ; แตแลว ก็ยังไม ชวยให มี ศี ล ธรรมขึ้น มากได เพราะวาไปรูในแงที่ ไม ค วรจะรู. เราจึ งต อ ง เอามาพูด กันใหห มดจดทุกแงทุก มุม เพื่อจะใหรูวา เราควรจะรูจัก ศีล ธรรมนั้น ในแงไหน ; อยางนี้เปนตน. ศีลธรรมมีรูปแบบตาง ๆ กัน มีที่ตั้งตาง ๆ กัน อยูในสายเลือด ก็มี, แสดงอยูทีเนื้อตัวของบุคคล ตามเหตุปจจัยแวดลอมก็มี, หรือแสดงอยูที่สิ่ง ตาง ๆ ที่เราอาจจะมองดูได จากสิ่งที่มนุษยไดทําขึ้น ; และใหเห็นความจําเปน ที่จะตองมีศีลธรรมอยูทุกลมหายใจเขาออก, และใหเห็นวา ศีลธรรมนั้น เปนทุกสิ่ง ที่ เกี่ ย วข อ งกั บ มนุ ษ ย ไม วาการศึ ก ษา การอาชี พ การปกครอง หรือ การเมื อ ง วัฒ นธรรมประเพณี ; แมที่สุด แตก ารทํา สงคราม ก็ข อใหก ระทํา ไปอยา งมี ศีลธรรม ; ถาไมมีศีลธรรมแลว ทุกสิ่งจะเปนเครื่องทําลายมนุษย, ถามีศีลธรรม แลว ทุกสิ่งจะกลายเปนเครื่องสงเสริมมนุษย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ในที ่ ส ุ ด สรุ ป ว า ความถู ก ต อ ง ซึ ่ ง เป น ตั ว ศี ล ธรรมนั ้ น เป น ใจความสําคัญ ; ถามีการกระทําถูกตอง ปญหาก็ไมเกิด, และจะมีความถูกตอง ในการศึก ษาเปน รากฐาน, มีก ารถูก ตอ งในการดํา รงชีวิต อยูข องเราเอง เปน รากฐาน, แลว ก็มีค วามถูก ตอ งในการชว ยเหลือ ซึ่ง กัน และกัน เปน รากฐาน ; คือ มีรากฐานเปน ความถูก ตอ งถึง ๓ ประการ ศีล ธรรมก็จ ะตั้ง อยูอ ยางมั ่น คง จนเปรียบกันไดกับตนไมตนนั้น.

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับหนึ่ง

๑๒๙

ต น ไม จ ะสมบู ร ณ ง อกงาม ก็ ต อ งมี ค วามถู ก ต อ งทั้ ง ที่ โคนต น ทั้ ง ที่ กลางต น ทั้ ง ที่ ป ลายต น ; สร า งต น ไม ศี ล ธรรมขึ้ น มา เป น ภาพอุ ป มา หรื อ เป น ภาพพจนเพื่อใหจดจํางาย วาศีลธรรมพฤกษานี่ มันมีอะไรเปนรากเปนโคน และ เปน ตน เปน กิ ่ง เปน ใบ เปน ดอก ก็ล ว นแตเ ปน ความถูก ตอ งทั ้ง นั ้น . ตน ไม ต น นี ้ มี อ ุ ด มคติ ที ่ ด ี เ ป น รากหรื อ เป น โคน. ต น ไม ต  น นี ้ ม ี ก ารประพฤติ ปฏิบัติที่ดี เปน ลํา ตน , และมีผ ลอานิส งคที่ดี เปน ใบ เปน ดอก เปน ลูก ในที่สุด. ขอใหพยายามหลับตาเห็นภาพนี้วา ตนไมตนนี้มันอยูในลักษณะอยางนี้ เรียกวา พฤกษาแหงศีลธรรม. เมื่ อมองเห็ นแล ว ก็จะต องพิ จารณาดู ต อไปวา มั นมี อยูที่ ไหน ? และ มีอยูในโลกนี้หรือไม ? เราอาจจะมองเห็นวา มันมิไดมีอ ยู มันเป นแตมโนภาพที่ เรามองเห็นและหวังอยูเทานั้น จึงจําเปนที่จะตองชวยทําใหมันมีขึ้นมา : ใหมีตน พฤกษาแห งศี ล ธรรมนี้ จ ริง ๆ ขึ้ น มา มี โคน มี ต น มี ป ลาย ที่ ชุ ม ชื้ น มี ชี วิต ชี วา. ทั้ ง หมดนี้ ก็ พ อจะเรี ย กได ว า เรารู จั ก สิ่ ง ที่ เรี ย กว า ศี ล ธรรม อย า งถู ก ต อ ง และ ครบถวนโดยใจความ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org [ จบคําปรารภทบทวน ]

เมื ่อ รู จ ัก วา ศีล ธรรมคือ อะไร ดัง นี ้แ ลว ; เรื ่อ งที ่จ ะกลา วกัน ตอ ไปนั ้น อาตมาคิด วา เราจะกลา วถึง รากฐานแหง ศีล ธรรม ในการ บรรยายครั้งที่ ๔ นี้.

รากฐานแหงศีล ธรรม มัน มีรายละเอีย ดมาก, มากชนิด ที่เรียกวา จะตองพิจารณากันหลายครั้งหลายหน. ที่จริงควรจะไปพูดคราวอื่น คือจะพู ดถึง

www.buddhadassa.in.th


๑๓๐

การกลับมาแหงศีลธรรม

ความจําเปนที่ตองมีศีลธรรม และ เราพยายามจะใหกลับมาอยางไร ; จึง ตองไปดูที่รากฐานของมัน แลวสรางใหมันมีขึ้น, อยางนั้นมากกวา. แต เ ดี๋ ย วนี้ ร วบรั ด เอาเรื่ อ งนี้ ม าพู ด ก อ น พอให เ ป น ที่ ตั้ ง แห ง การ พิจ ารณาวา เราก็ย ัง ขาดรากฐานแหง ศีล ธรรม พรอ มกัน ไปกับ ที ่เ รามอง เห็นวาเราขาดศีลธรรม ; หรือวาเราขาดศีลธรรมเทานั้น เพราะวาเขาขาดรากฐาน แหง ศีล ธรรม, จึง ชวนกัน มาดูใ หรูวา รากฐานของศีล ธรรมนั้น คือ อะไร ? และเรากําลังขาดรากฐานของศีลธรรมอยางไร ? เทานั้นเอง. ข อ นี้ ต อ งดู ด ว ยสติ ป ญ ญ า ; ไม ใ ช ดู ด ว ยการคาดคะเน, การคิ ด คํานวณ ; ตองดูดวยสติปญ ญาและเห็นเหมือนกับ วาดูดวยตา ; เชนวา เราขาด ตน ไมตน หนึ่ง ก็ห มายความวา เราก็ข าดรากหรือ โคนของตน ไมนั้น ดว ย. ฉะนั ้น คําที่เราพูดวาเราขาดอะไรไปนั้น มันยอมจะหมายถึงความจริงที่วา เราไดขาดราก ฐาน หรือสมุฏฐานแหงสิ่งนั้นดวยเปนธรรมดา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ยกตัว อยา งงา ย ๆ เชน วา เราขาดเงิน เราไมม ีเ งิน ; นี ้เ ราก็ต อ ง ขาดรากฐานของการมีเงิน , หรือ รากฐานที ่ทํ า ใหเรามีเงิน นั ้น ดว ยเปน ธรรมดา. เราจะขาดแต ก ารมี เงิน โดยไม ข าดรากฐานของการมี เงิน นั้ น เป น ไปไม ได ; แต ถึงอยางนั้นก็ยังตองดูกันใหละเอียดวา รากฐานนั้นมันคืออะไร.

เหตุ ป จ จั ย นี้ มั น มี ม าก ; อย า งเห็ น ต น ไม ต น หนึ่ ง ว า มั น ตั้ ง อยู ไ ด เพราะเหตุปจจัยอะไร ? มันคงไมใชเหตุปจจัยเพียงอยางเดียว ใคร ๆ ก็พอจะมอง เห็น ; เพราะฉะนั้นเราควรจะดูใหทั่วถึง.

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับหนึ่ง

๑๓๑

ยกตัว อยา งเหมือ นกับ วา ตน ไมที ่ม ีอ ยู ห นาแนน ในที ่นี ้ มัน มีอ ะไร เปนเหตุปจจัย, หรือจะเรียกวารากฐาน, หรือ ที่เรียกวา สมุฏ ฐาน ; ขอใหทาน ทั้งหลายทุก ๆ ทาน ลองนึกไปดวย. อยานึกกันอยางงาย ๆ เชนพูดแตเพียงวา ตนไมตองมีแผนดินเปนรากฐาน เปนที่ตั้งอาศัย ; อยางนี้มันถูกนอยเกินไป. ถา เรามีส ติป ญ ญา หรือ หู ตา ที่อ บรมไวดี มองเห็น รากฐานของ ตนไมไดอยางครบถวนแลวก็คงจะเปนคนฉลาดเพียงพอที่จะมองเห็นรากฐานแหง ศีล ธรรมไดอ ยา งครบถว นดว ยกัน อีก ; เพราะฉะนั ้น ในชั ้น นี ้ ก็ม าตั ้ง ปญ หา งาย ๆ กอน. ถาม : ต น ไม ต น หนึ่ ง ๆ มั น มี เหตุ ป จ จั ย ที่ เป น รากฐาน หรือ เป น สมุ ฏ ฐานนั้ น อะไรบาง ? กี่อยางดวยกัน ? ขอถามทานสามคนนี้. ตอบ : เหตุปจ จัย ของตน ไมใ นแงช องชีว วิท ยาก็มี อาหาร ซึ่ง แยกเปน น้ํา อากาศ ดิน ที่จะทําใหตนไมมีชีวิตได โดยเฉพาะก็คือแสงแดด มองให ลึ ก ไกลไปอี ก อาหารนี้ ม าจากอะไรอี ก ก็ ม าจากน้ํ า พื้ น ดิ น และแสดง แดดสํ า หรับ การปรุง อาหาร. แสงแดดมาจากไหน ก็โ ยงไปถึง พระ อาทิตย เปนเรื่องสําคัญ ผมก็นึกไดเชนนี้ครับ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : เอา,คุณ ทอง เปนครูนี่ไม ตอบไมได มี อะไรเปนรากฐานให ดํารงอยูได สําหรับตนไม. ตอบ : ผมยังไมมีคําตอบครับ.

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๑๓๒ ถาม : ทําไมไมมี ? คุณแกลงไมตอบนี่. ตอบ : คือตามแงชีวะ คุณหมอก็ไดวาไปหมดแลวครับ. ถาม : ก็ลองวาเปนลําดับใหเห็นงายสําหรับชาวบาน. ตอบ : ดิน อาหาร อากาศ น้ํา.

ถาม : ๔ อย างหมดแล ว ? คุ ณ ล้ํ า ว าตามลํ าดั บโดยสามั ญ สํ านึ ก มี เหตุ ผลถู กต อง ตามทางตรรกวิทยา ที่คนทั้งหลายพอจะมองเห็นได วาไป. ตอบ : ตามความจริงแลว ตนไมก็ตองอาศัยพื้นดิน อากาศ น้ํา ตามที่คุณหมอ ไดพูดมา ; แตจะอาศัย โดยใหยืดยาวหรือยืนนานอยูได จะยืนยงคงอยูได ดวยอาหารอยางเดียวนี้เปนไปไมได. มันตองอาศัยคุณธรรมที่ประกอบ ไปด ว ยสั ต ว โลกต า ง ๆ ที่ อ าศั ย อยู ตั ว อย า งมนุ ษ ย เป น ต น .เนื ่อ งจาก มนุษ ยข าดศีล ธรรม หรือ เห็น แกต ัว เสีย แลว ตน ไมนี ้จ ะอยู ไม ได จะ อาศัยอยูไมได อยางนี้ครับ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี ่ก ็ย ัง ดี ยัง มองเห็น ไกลออกไปกวา ๒ คนแรก ที ่ม องเห็น แตใ นสว น ที่เปนวัตถุเกี่ยวกับตนไมนั้น ; นี่มองเห็นไกลไปถึงสิ่งแวดลอม.

ที นี้ ขอโทษที่ จ ะพู ด ว า พวกเรานี้ ทํ า อะไรหยาบ ๆ หวั ด ๆ มองอะไร ผิว ๆ ; หรือ บางทีก ็ไ มม องเอาเสีย เลย นี ้เ ปน พื ้น ฐาน. หรือ ถา จะมอง ก็ไ มม อง ให มั น ถู ก ต อ งตามกฎเกณฑ คื อ มองตามลํ า ดั บ ของสิ่ ง ที่ มั น มาถึ ง ก อ น มี ก อ น

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับหนึ่ง

๑๓๓

กอ นสิ ่ง อื ่น แลว จึง มองถึง สิ ่ง ที ่ถ ัด ไป ๆ. นี ้เ ปน สิ ่ง สํ า คัญ มาก ที ่พ ุท ธบริษ ัท เรา ไมคอยจะรูจักธรรมมะ ทั้ง ๆ ที่พูดหรือเกี่ยวของกันอยูกับธรรมะ ; เพราะมันมีการ กระทํ า ที่ ห วั ด ที่ ห ยาบ : ในการศึ ก ษาก็ ดี ในการปฏิ บั ติ ก็ ดี , มั น หวั ด ๆ และ หยาบ ๆ มันเลยจึงไมรู และไมประสบความสําเร็จ.

จงคิดอยางวิธีพุทธบริษัท นี้จึงขอฝากไวในที่นี้ เปนประเด็นพิ เศษปลีกยอยออกไปวา อยาได ทําอะไรอยางหยาบ ๆ หวัด ๆ อยางนี้เลย ทั้งพระทั้งเณร ทั้งอุบาสก ทั้ง อุ บ าสิ ก า ที่ เ ป น พุ ท ธบริ ษั ท ทั้ ง หลาย ที่ แ ล ว มาแต ห นหลั ง นั้ น หยาบ เกิน ไป. มันไมสมกับเปนพุทธบริษัท คือพุทธบริษัทของพระพุทธเจา ผูรู ผูตื่น ผู เบิ ก บาน. เช น บอกว า ให อ ธิ บ ายออกมาว า ต น ไม มั น อยู ไ ด เพราะอะไรเป น ตามลําดับไปตามที่เห็น ; เราก็จะตองคิดตามวิธีการของพุทธบริษัท ผูรู ผูตื่น ผูเบิกบาน วามันมีเรื่องทั้งรูปธรรม, ทั้งนามธรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ฝ า ยรู ป ธรรม มี กี่ อ ย า ง, ฝ า ยนามธรรมมี กี่ อ ย า ง, หรื อ สิ่ ง แวดล อ ม อยางอื่น ๆ มากไปกวานั้น. ฉะนั้น ถือเอาเรื่องนี้แหละ เปนบทเรียนสําหรับฝกฝน การคิดนึกพิจารณา สิ่งทั้งหลายทั้งปวงใหครบถวน และถูกตองตามที่เปนจริง จน เรียกไดวา เห็นดวยปญญาอันชอบตามเปนจริง.

คํ า นี ้เ ปน คํ า สํ า คัญ ที ่ส ุด ในพระพุท ธศาสนา หรือ ในพระไตรปฎ ก ทั้งหมด คือคําวา ยถาภูตํ สัมมัปปญ ญา -ปญ ญาที่เห็นชอบถูกตอ งตามที่ มัน เปน จริง ; นี้ไมใชเรีย นหนังสือ ไมใชเรีย นปริยัติ ไมใชนัก เรียนธรรม ไมใช

www.buddhadassa.in.th


๑๓๔

การกลับมาแหงศีลธรรม

เรียนบาลี ; เรียนนักธรรม เรียนบาลี ไมเกิด “ยถาภูตสัมมัปปญญา” เลยก็ได ; ตอเมื่อเรียนจากสิ่งนั้น ๆ โดยตรง จากธรรมชาติโดยตรง จึงจะมียถาภูตสัมมัปปญญา. ฉะนั้น เราเริ่มวิธีการที่จะศึกษามันตามแนวนี้ นับตั้งแตสิ่งที่เปนวัตถุ งาย ๆ หรือเบื้องตนที่สุด อยางตนไม มีเหตุปจจัย อะไรบาง. ถาม : สิ่งแรกที่สุดที่จะหลุดออกมาเปนคําพูดนั้น เราจะตองตอบวาอะไร ใคร ลองตอบซิวาอะไร ตนไมมันจะตองอาศัยอะไร คุณประยูรวาอะไรกอน ? ตองนึกถึงอะไรกอน ? ตอบ : ตองอาศัยกฎของธรรมชาติกอน. ถาม : นั่นก็ไปไกลลิบไปเลย เอาทางวัตถุกอน, เหมือนกับที่ตอบทีแรกนี่นะ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : อาศัยพื้นดินครับ.

ถาม : ตองอาศัยพื้นดินกอน มานับเบอร ๑, เรียกวาหมายเลขหนึ่งก็วามันตอง อาศัยพื้นดินกอน. ทีนี้มีดินแลว จะตองมีอะไรตอไป ?

ตอบ : มีน้ํา. ถาม : ต องมี น้ํ า เพราะวาน้ํ าเป น ที่ ตั้ งแห งสิ่ งที่ เรีย กวาชีวิต หรือ หล อ เลี้ ย ง ชีวิต ; สิ่งที่ ๒ จึงไดแกน้ํา แลวที่ ๓ ควรจะไดแกอะไร ?

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับหนึ่ง

๑๓๕

ตอบ : อากาศ. ถาม : อยากใหมีอะไรมากอนอากาศ ; อาฯเหมือนกัน? อาหารรึ? เมื่อตะกี้คุณประยูรพูดไมคอยตรงนัก วาน้ําเปนอาหาร ; น้ําไมใช อาหาร น้ําเปนสื่อสําหรับชักจูงอาหาร. อาหารนั่นคือ สสาร อินทรียวัตถุอยางใด อยางหนึ่ง เปนแร เปนธาตุ เปนเกลือ เปน อะไรก็ต ามนั้น เปนอาหาร. น้ํานี้ เปนเครื่องชวยละลายอาหาร เปนเครื่องชวยใหอาหารแลนไปในลําตนของตนไม ; อาหารจึงไมใชน้ํา. ฉะนั้นเราจึงวาน้ําบริสุทธิ์ แลวก็อาหารที่จะอยูในน้ํา และ ไปเลี้ย งตนไมใหเจริญ เติบ โตได. หลัง จากอาหารแลวจะเปน อะไร ? อากาศ หมายถึงอะไร ? ตอบ : อากาศหมายถึงแสงแดด.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : หมายถึงแสงสวาง เพราะวาถาไมมีแสงสวาง ตนไมไมกินอาหารได ; ตนไมหุงขาวกินไดแตเฉพาะกลางวันเมื่อมีแสงแดด คือมันเอาอาหารที่ ดูดไปจากใตดิน ไปที่ใบ ใบถูกแสงแดด ก็แปรสภาพธาตุตาง ๆ เหลา นั้น ใหเปนอาหาร กลับมาเลี้ยงลําตน. ฉะนั้นจึงตองมีแสงแดดสําหรับ หุง อาหารเลี้ย งลํา ตน . นี่ ๔ อยา งแลว . ทีนี้ อะไรเปน ที่ ๕ ที่จําเปน กอนเสมอไป ; จะนึกถึงอะไรเปนสิ่งที่ ๕ ? ตอบ : เกี่ยวกับสิ่งแวดลอม. ถาม : สิ่งแวดลอม ?

www.buddhadassa.in.th


๑๓๖

การกลับมาแหงศีลธรรม

ตอบ : เปนตนวา มีพายุ หรือไมมี. ถาม : นั่นก็ได นั่นเปนสิ่งแวดลอมออกไป. สิ่งที่ไมใชแวดลอม แตจําเปนอยู อยางใกลชิด ยังมีอีกสักสิ่ง ซึ่งอยากจะระบุวา อุณหภูมิ, อุณหภูมิตาม ที ่ม ัน ตอ งการ ; อุณ หภูม ิน อ ยเกิน ไป คือ หนาวเกิน ไป มัน ก็อ ยู ไมไ หว ; ถา มัน มากเกิน ไป คือ รอ นเกิน ไปมัน ก็อ ยู ไ มไ หว. นี ่เ อา แตที ่วา มัน จํ า เปน เห็น ไดงา ย ๆ สว นวัต ถุที ่ม ัน เกี ่ย วเนื ่อ งกัน ก็ไ ด ๕ อย า งแล ว คื อ แผ น ดิ น น้ํ า อาหาร อากาศ คื อ แสงสว า ง แล ว ก็ อุณ หภูม ิ. ขาดไปอยา งหนึ ่ง อยา งใด แลว มัน ตาย, มัน อยู ไ มไ ด ผิ ด ไปอย า งใดอย า งหนึ่ ง แล ว มั น ตาย. ต น ไม ที่ เป น วั ต ถุ แ ท ๆ มั น ยั ง เปนอยางนี้ ที่โดยตรงเปนอยางนี้. ที่โดยออมก็สิ่งแวดลอม ประเภทสิ่ง แวดลอ มก็มีสิ่ง แวดลอ มที่ถูก ตอ ง ; เชน มนุษ ยไมเบีย ดเบีย น, แมลง ที่เป น โทษทั้ งหลายไม เบี ยดเบี ย น, ลมพายุไม เบี ยดเบี ย น,อะไรซึ่งเป น ขาศึกนั้น ไมเบียดเบียน ไมมีการเบียดเบียนจากสิ่งแวดลอม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี้เรียกวา มันเปนฝายรูปธรรม ; เหตุปจจัยที่เปนฝายนามธรรม ยัง มีกฎของธรรมชาติ ยังมีอะไรอื่น ๆ อีกมาก แมที่สุดมันจะตองมีพืชพันธุ อยางนี้ เปนตน จัดไวในฝายที่ละเอียดลึกลงไป. ทีนี้ เราพอจะเห็น รูป โครงของเรื่อ งไดวา ปจ จัย ที่ทํา ใหตน ไม อยู ไ ด นี้ แบ ง เป น พวกรู ป ธรรมก็ มี , นามธรรมก็ มี ; คื อ โดยตรงก็ มี โดยออมก็มี. ทีนี ้ เราจะพูด กัน แตโ ดยตรงดีก วา เปน ปจ จัย ๕ อยา ง คือ ตองมีแผนดิน ; ถาไมมีแผนดิน มันก็อยูไมได. ขอใหมองเห็นอยางนี้ มันเปน

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับหนึ่ง

๑๓๗

ฐานที่ตั้ง เปน วัต ถุที่ตั้ง คือ แผน ดิน ; จะมีน้ํา มีอ ะไรก็ต าม แตถาไมมีแ ผน ดิน ต น ไม มั น ก็ ไม รู จ ะตั้ ง อยู ที่ ไหน. เดี๋ ย วก็ จ ะไปค า นว า ต น ไม น้ํ า ลอยในน้ํ า ไม ได อาศัย แผน ดิน ; อยา งนี ้ก ็เรีย กวา ยัง ไมเขา ใจ. เพราะวา แมวา ไมบ างชนิด จะลอยอยู ใ นน้ํ า ; แตน้ํ า มัน ยัง ตั ้ง อยู บ นดิน . ในน้ํ า นั ้น มัน ก็ม ีธ าตุด ิน ธาตุน้ํ า ธาตุไฟ ธาตุลม ครบอยูในน้ําที่จะเลี้ยงตนไมตนนั้นได. เอาละ สรุ ป เสี ย ที ว า ต น ไม ต อ งอาศั ย แผ น ดิ น เป น หมายเลข ๑, อาศัย น้ํา คือความสดชื่นของชีวิต, และเปนสื่อสําหรับนําอาหาร ; แลวก็อาศัย อาหาร, ป จ จั ย โดยตรงที่ จ ะทํ า ให เป น ใบ เป น เนื้ อ ไม หรื อ อะไรก็ ต าม ; แล ว ก็ อาศัย แสงสวา ง ซึ ่ง ทํ า ใหเ กิด ความเจริญ ขยายตัว และปรุง อาหารกิน ได ; และตอ งมีอ ุณ หภูม ิที ่ถ ูก ตอ งดว ย. อยา งตน ไมเมือ งรอ น ถา เอาไปปลูก เมือ ง หนาวเขาก็ ต อ งทํ า ตู ก ระจกให ในนั้ น มี ค วามร อ น เหมื อ นกะที่ เมื อ งร อ น ; เขาก็ ปลูกมัน ได. ตน ไมเมื องหนาว มาปลูกเมื องรอนก็ลําบากอยางเดี ยวกัน ตอ งทํ า อุณหภูมิใหมันถูกตอง.

ปจจัยสําคัญอยางนอย ๕ ประการ www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ที นี ้ มาดู พ ฤกษ าแห ง ศี ล ธรรมกั น ดี ก ว า ต น ไม แ ห ง ศี ล ธรรม มันจะตองอาศัยเหตุปจจัยอะไรบางในลักษณะ ๕ อยาง ๕ ประการ ในอันดับแรก. ขอ นี ้จ ะแกต ัว วา ไมต อบไมไ ดน ะ ; เพราะวา ไดพ ูด มา ๓ ครั้ง แลว วา ตน ไมแ หง ศีลธรรมนี้ มันคืออะไร. นี่ก็จะตองหลับตาดูใหลึกลงไปวา ตนไมตนนี้ มั น อาศัย อะไรเปน แผน ดิน , ตน ไมนี้มัน อาศัย อะไรเหมือ นกับ น้ํา , ตน ไมตน นี้อ าศัย อะไรที่ เ หมื อ นกั บ อาหาร, อะไรที่ เ หมื อ นกั บ อากาศ, อะไรที่ เ หมื อ นกั บ

www.buddhadassa.in.th


๑๓๘

การกลับมาแหงศีลธรรม

อุณหภูมิ. แมจะไมละเอียดโดยตรงถูกตองนักก็ได ; แตขอใหมันพอเปนคาเงื่อน ที่มองเห็นและลืมยากก็แลวกัน. ถาม : ฉะนั้น จึงตั้งคําถามขอแรกที่สุดวา พฤกษาแหงศีลธรรมนี้มีอะไรเปน แผนดิน เปนปจจัยทีแรก คือแผนดิน ? คุณประยูรตอบ. ตอบ : ตนไมศีลธรรมมีพื้นดินสําหรับรองรับ ก็คือ บรมสัจจะ หรือธรรมสัจจะ ที่มีความหมายวา “สิ่งทั้งหลายทั้งปวง เปนเพื่อนทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันทั้งหมดทั้งสิ้น” จงมีความเมตตา. ถาม : เอา, ครูทอง ? ตอบ : มีความถูกตองเปนพื้นดิน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : มีความถูกตองเปนพื้นดิน. คุณล้ําละ อันแรกคืออะไร ?

ตอบ : พื้นฐานอันแรกก็คือสิ่งทั้งหลายทั้งปวงไมควรยึดมั่นถือมั่นเปนพื้นฐาน.

ก็ได, ก็ไมมีทางจะผิด ถูกทั้งนั้น, แตมันถูกตรง ๆ หรือถูกออม ๆ หรือมันถูกทีหลัง. คนหนึ่งตอบวา มีธรรมสัจจะ ในขอที่วา สิ่งที่มีชีวิตทั้งหลาย ทั้งปวง เปนสิ่งเดียวกัน เปนเพื่อนเกิด แกเจ็บ ตาย ดวยกัน อีกคนหนึ่งวา มีความถูกตองตาง ๆ ที่เปนเครื่องแวดลอม, และคนหนึ่งวา มีกฎเกณฑที่วาสิ่ง ทั้งหลายทั้งปวงไมควรยึดมั่นถือมั่น เปนหลักและรากฐานสําคัญ ; นี้มันถูกตอง

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับหนึ่ง

๑๓๙

ทั้ ง นั้ น แหละ ไม มี ผิ ด ; แต ว า ถ า เราจะพู ด ให ง า ยๆ ชั ด ๆ เหมื อ นกั บ วั ต ถุ ที่ ว า ต น ไม มีแผนดินเปนปจจัยทีแรก มันก็ตองไปพูดอีกอยางหนึ่ง. เอาละ, ขออนุ โ มทนาเสี ย ก อ น ในข อ ที่ ว า ต น ไม ศี ล ธรรมนี้ มี ก าร ถื อ ว า ชี วิ ต ทุ ก ชี วิ ต เป น คน ๆ เดี ย วกั น นี้ เ ป น รากฐาน นี่ ถู ก ; เดี๋ ย วจะอภิ ป ราย กันใหชัดเจนในขอนี้. ส ว นที่ ว า มี ค วามถู ก ต อ งในทุ ก ๆ แง ทุ ก ๆ มุ ม เป น เครื่ อ งแวดล อ ม นี ้ก ็ยิ ่ง ถูก , เพ ราะศีล ธรรมมัน คือ ความถูก ตอ ง ; แลว มัน ตอ งมีค วามถูก ตอ ง เปน เนื ้อ เปน ตัว เปน ราก เปน ฐาน ; เพ ราะวา ศีล ธรรม มัน ผิด ไมไ ด. สว น ที่ พูดวาศีลธรรมนี้ ตองมีห ลักวา สิ่ งทั้ งหลายทั้ งปวงยึด มั่ น ถือ มั่ น เป น ตั วเราของเรา ไมไ ด นี ้ม ัน ก็ถ ูก ตอ ง ; แตม ัน ลึก มัน ลึก ไกล ลึก ไปชั ้น ปรมัต ถเ ลย มัน จะไป ในทางที่ ค ล า ย ๆ ว า ใต ดิ น ลงไปอี ก . เหมื อ นต น ไม ต น นี้ ว างอยู บ นดิ น แล ว ใต ดิ น ลงไปอี ก ก็ ต อ งถื อ ว า เป น รากฐานของต น ไม นี้ ด ว ย มั น จะถู ก ชนิ ด ลึ ก อย า งนี้ ซึ่ ง มั น ก็ถ ูก ; ใตด ิน ล งไป มีอ ะไร มีไ ฟ ลุก อ ยู ที ่ใ ตโ ล ก มัน ก็ถ ือ เปน ราก ฐาน ที ่พ ยุง ต น ไม นี้ ไ ว ไ ด เหมื อ นกั น และก็ ถู ก เหมื อ นกั น ถู ก อย า งยิ่ ง . แต ถ า จะเอามาใช เ ป น ประโยชนทําความเขาใจแกคนทั่วไป โดยเฉพาะแกลูกเด็ก ๆ แลว มันก็ยังไมได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ที่ ว า ความไม ยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น เป น รากฐานนั้ น ก็ ถู ก เพราะว า พอยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น เป น ตั ว ตนของตนอะไรขึ้ น มา ก็ เ ห็ น แก ตั ว ; เห็ น แก ตั ว ก็ เ กิ ด โลภะ โทสะ โมหะ แล ว ศี ล ธรรมก็ ไ ม มี นี้ ก็ ถู ก อย า งยิ่ ง ไม ใ ช ผิ ด เลย ถู ก อย า งยิ่ ง หรื อ ถู ก เกิ น ธรรมดา ถูก ในชั ้น ปรมัต ถท ีเ ดีย ว. แตใ นชั ้น ศีล ธรรม นี ่เ อาแคแ ผน ดิน เอา แคเ ห็น วา สัต วทั้ง หลายเปน เพื่อ นทุก ข เกิด แก เจ็บ ตาย ดว ยกัน ทั้ง หมด

www.buddhadassa.in.th


๑๔๐

การกลับมาแหงศีลธรรม

ทั้ ง สิ้ น หรื อ ชี วิ ต ทุ ก ชี วิ ต เป น คนเดี ย วกั น ; นี้ ก็ ม าจากความไม เ ห็ น แก ตั ว ซึ่งมาจากความไมยึดมั่นถือมั่นนั้นอีกทีหนึ่ง. ถา จะเอาในระดับ ที่พ อดีใ นระดับ ศีล ธรรมในโลกนี้ก็ต อบวาเอาหลัก ที่วา ชีวิตทั้งหลายเปนชีวิตเดียวกัน คือ เปนเพื่อนทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย ดว ยกัน นี ่แ หละเหมือ นกับ แผน ดิน ; แมคํ า ตอบทั ้ง ๓ อยา งนี ้ มัน จะถูก ตอ ง เราก็เลือกเอามาอยางหนึ่ง สําหรับเปนกฎเกณฑ สําหรับศึกษากันอยางงาย ๆ ตอไปใน สังคมมนุษย ที่กําลังมีปญหาเรื่องศีลธรรม. ถาม : ที นี้ ลองว า กั น เสี ย ให ห มดสั ก ที เป น ไร ว า มี อ ะไรเป น น้ํ า ? มี อ ะไรเป น อาหาร ? มี อ ะไรเป น อากาศ ? มี อ ะไรเป น อุ ณ หภู มิ ? ตอบตามความ พ อใจเล ย ต น ไม ศ ี ล ธรรม มี อ ะไรเป น แผ น ดิ น , มี อ ะไรเป น น้ํ า , มีอ ะไรเปน อาหาร, มีอ ะไรเปน อากาศ, มีอ ะไรเปน อุณ หภูม ิ ? ตอบ เถอะ อยากลัว ไมผิดหรอก ไมมีผิดแน ๆ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : น้ํามาจากพรหมวิหาร ๔ คือ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา.

ถาม : นี้ก็ถูก, มีอะไรเปนอาหาร ?

ตอบ : อาหารก็คงจะใชธรรมะหมวดอื่น ๆ ตอมาอีก เปนตนวา หิริโอตตัปปะ เปนตน ถาม : คนเดียวตอบใหหมดเสียทั้ง ๕ ไมดีกวารึ ; คนเดียวตอบหมดทั้ง ๕ อยาง มีอะไรเปนแผนดิน ?

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับหนึ่ง

๑๔๑

ตอบ : ตกลงใชบรมสัจจะ ที่วา สัตวทั้งหลายเปนเพื่อน เกิด แก เจ็บ ตาย เปนแผนดินนะครับ. ถาม : มีอะไรเปนน้ํา ? ตอบ : ทีนี้ น้ําก็ควรจะใช พรหมวิหาร ๔ ที่กํานันวา ผมสนับสนุนดวยเต็มที่. ถาม : มีอะไรเปนอาหาร ? ตอบ : ทีนี้อาหารที่จะหลอเลี้ยงตอไป สําหรับทําใหศีลธรรมเจริญงอกงามขึ้น เรื่อย ๆ ก็ไดแกพวก ขันติ ดีกวา คือ ความอดกลั้น อดทน. ถาม : อะไรเปนอากาศ ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : อากาศ ก็ ข อให เป น หิ ริโอตตั ป ปะ. ที นี้ อุ ณ หภู มิ คื อ ความรอ นที่ ใหความอบอุนแกตนไมระยะหนึ่ง ทําใหมันมีความยั่งยืนอยูไดก็ขอให เปน… อะไรตอนนี้นึกไมออก.

ถาม : นี่ ขอใหดูเถอะ มันเหมือนกับสอบสัมภาษณ เราเรียนพุทธศาสนามา ตั้งมากมายหลายสิบปแลว วันนี้ก็เหมือนกับสอบสัมภาษณ คือ สอบตาม ปฏิภ าณ ไมใชดว ยตํา รา. เอา คุณ ทอง ธรรมพฤกษามีอ ะไรเปน แผนดิน ? ตะกี้ คุณวามีความถูกตองเปนแผนดิน, แลวมีอะไรเปนน้ํา ? ตอบ : มีความถูกตองเปนพื้นดิน ควรจะมีคุณธรรมเปนน้ํา.

www.buddhadassa.in.th


๑๔๒

การกลับมาแหงศีลธรรม

ถาม : คุณธรรม มันกวางนักกระมัง. ตอบ : คือวา โลกนี้หากขาดคุณธรรมเสียแลว ก็เหมือนกับขาดน้ํา, หาความ ชุมชื้นในชีวิตไมได. ถาม : แลวมีอะไรเปนอาหาร ? อยางนี้ ก็สอบสัมภาษณตกหมด ไมมีความรู ทางพุ ท ธศาสนา. เอ า , ให คุ ณ ทองคิ ด ไปพลาง, คุ ณ ล้ํา ก็ ว า มา มีอะไรเปนน้ํา ? คุณวา สพฺเพ ธมฺมา นาลํ อภินิเวสาย เปนแผนดิน แลวมีอะไรเปนน้ํา ? ตอบ : น้ําผมก็ตอบไปแลว พรหมวิหาร. ถาม : มีอะไรเปนอาหาร?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : อาหารผมวา ควรจะเปนศีล สมาธิ ปญญา ครับ.

ถาม : อะไรเปนอากาศ เปนแสงสวาง ?

ตอบ : แสงสวาง ผมวา ก็อยูในปญญาอยูแลว.

ถาม : มีอะไรเปนอุณหภูมิ ? ตอบ : อุณหภูมิคือ ธรรม ๒ อยาง ธรรมคุมครองโลก มีหิริโอตตัปปะครับ. ถาม : เอา, คุณทอง คุณยังไมไดตอบอยู ๒ อยาง หรือวายอมสอบตก

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับหนึ่ง

๑๔๓

ตอบ : ผมขอผานครับ. เปนอันวาที่เรากําลังพูดจากันอยูนี้ ทําใหไดรูความจริงเพิ่มขึ้นมาอีก อยางหนึ่งวา เราไมคอยเคยคิด เคยนึก ไมเคยพิจารณาธรรมะเหลานี้อยูเปนประจํา ; ถาเราเคยพูด เคยสนทนา เคยคิด เคยอะไรอยูเปนประจําแลว เราจะตอบไดเร็ว กวา นี้ แลว ก็ถูก ตอ งกวา นี้. ที่ต อบอยา งนี้ ไมใ ชผิด แตม ัน ถูก ตอ งนอ ย หรือ ถูกตองชนิดที่ไมเหมาะสมก็ได ; ถึงอยางนั้น มันก็ยังไมเสียหลาย เพราะวายัง เปนประโยชนแกทานทั้งหลาย หลายคนที่นั่งฟง ซึ่งคนเหลานั้นบางคนอาจจะตอบ ไมไดเลยก็ได นี่ยังเกงกวายังตอบได. ที นี้ อี ก ทางหนึ่ งนั้ น เราอย าละอายเลย เรายื น ยั น ไปเถอะว า เรา ตอบวาอยางไร มันก็แสดงภูมิแหงสติปญญาของเรา. ถาสมมติวา สิ่งเหลานี้ถูก บันทึกปรากฏอยูเปนตัวอักษร พิมพแพรหลายไปในที่ตาง ๆ มีใครไดอาน ไดพบ เขา ; เขาก็อ าจจะรู ไ ดท ัน ทีว า เรานี ้ม ีค วามรู เ ทา ไร, มีค วามรู อ ยา งไร. ที่ บานนอกคอกนา เขาคิดกันอยางไร, เขารูกันอยางไร, ที่เมืองหลวงเขารูกันอยางไร, เขาคิดกันอยางไร.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org แต ที่ จ ริ ง กว า นั้ น ก็ คื อ ว า ความรู ข องคนที่ คิ ด อยู เสมอ นั่ น มั น เป น อยา งไร ; ความรูข องคนที่ไ มคอ ยจะคิด มัน เปน อยา งไร. นี่ก็เ ลยมีป ระโยชน แกกันและกัน ทําใหคนเรารูจักซึ่งกันและกันดีขึ้น วามีสติปญญากันไปในแนวไหน, อยางไร. เอาละ, เปน อัน วา ไมเสียหาย, ที่พูด นี้ไมเสียหลาย และไมผิด ดวย มีแตถูกนอย ถูกมาก ถูกตรงเปาหมาย ถูกขาง ๆ คู ๆ ไป ; มันเปนอยางนี้เอง. ขอรองเปนขอสุดทายวา ตอไปนี้อยาขี้เกียจคิด อุตสาหไปคิด ไปนึก ไปทบทวน อะไรเลน ๆ กันอยูเสมอ, เปนของเลน เปนงานอดิเรกก็ได.

www.buddhadassa.in.th


๑๔๔

การกลับมาแหงศีลธรรม

เอาละ, อาตมาก็จะขอแสดงความคิดเห็น มติสวนตัวบาง ; เมื่อคน อื่นแสดงมติสวนตัวโดยมีอิสระอยางไร ; อาตมาก็ควรแสดงมติของตัวโดยอิสระ อยางนั้นบาง. เมื่อพูดถึงปจจัยของตนไมแหงศีลธรรม มันก็มีอยูหลาย ๆ อยาง เราก็จะเอากันแตอยางที่มันเปนชั้นตน ๆ ตรง ๆ, หรือในแงของวัตถุที่มองเห็นได ทั น ที . อย าให เป น ชั้ น ปรมั ต ถ เลย เป น ชั้น ศี ล ธรรมงาย ๆ มองเห็ น ได ทั น ที และ เอียงมาในทางฝายรูปธรรมมากกวาที่จะเปนนามธรรม เหมือนอยางที่เราพูดกับ ตนไม แตถาเราเอาไปพูดกับศีลธรรม ตนไมแหงศีลธรรม แลวมันเปนนามธรรม ไปหมด เพราะสิ่ ง ที่ เ ราเรี ย กว า ศี ล ธรรมนั้ น มั น ไม ใ ช วั ต ถุ สิ่ ง นั้ น มั น เป น นามธรรม. ฉะนั้น เปนเหตุปจจัยทั้งหลายของมันก็เปนนามธรรมไปหมด ; เพราะ ฉะนั ้ น เหตุ ป  จ จั ย ของต น ไม พ ฤกษาแห ง ศี ล ธรรม ก็ ค ื อ ธรรมะข อ ใด ขอหนึ่งนั่นเอง แงใดแงหนึ่ง ปริยายใดปริยายหนึ่งนั่นเอง.

ความสําคัญของรากฐาน อันดับหนึ่ง (แผนดิน)

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สําหรับ ขอ แรก ความรูสึก เกิด ขึ้น มาจากการที่ไดท บทวนอยูแ ลว อยูเลา เปนเวลาหลายป หลายสิบ ป รูสึกวารากฐานของศีลธรรมอันแรกที่สุด ที ่พ อจะเปรีย บไดก ับ แผน ดิน เปน รากฐานแกต น ไมนั ้น ก็ไ ดแ กค วามรูส ึก ที ่วา ชีวิต ทั ้ง หลายเปน ชีวิต เดีย วกัน , หรือ วา สัต วทั ้ง หลายเปน ชีวิต เดีย วกัน , สัต วทั ้ง หลายเปน เพื ่อ นทุก ข เกิด แก เจ็บ ตาย ดว ยกัน ทั ้ง หมดทั ้ง สิ ้น . นี่ขอใหเอาไปคิดดู อาตมามองเห็นอยางนี้ วาไมมีอันไหนจะเปนรากฐานอันแรก ยิ่งไปกวานี้. นี้ ก็ ค วรจะพิ จ ารณาดู กั น สั ก หน อ ย วาความรูสึก ที่ จะเกิ ด ขึ้น มา วา “สัตวทั้งหลายเปนชีวิตเดียวกัน” นี่มันคอนขางจะยาก. ถาเราดูสัตวเดรัจฉาน

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับหนึ่ง

๑๔๕

ดูจะมีไมได ที่จะเกณฑใหสัตวเดรัจฉานมีความรูสึกวาสัตวทั้งหลายคือชีวิตทั้งหลาย ทุก ตัว นี ้ เปน ชีว ิต เดีย วกัน กับ เรา ; นี ้ค งเปน ไปไมไ ด เพราะมัน คิด ไมเ ปน มัน ไมใ ชม นุษ ย. ฉะนั ้น อัน นี ้เปน จุด แบง แยกระหวา งมนุษ ยก ับ สัต วเ ดรัจ ฉาน เพราะมนุ ษ ย คิ ด ได มั นอาจจะคิ ด ได , มั น อาจจะมองเห็ น ด วยวา ในแงห นึ่ งเรา เปนเพื่อน เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันจริง ๆ เพราะมนุษยมันมีปญญา. เพราะฉะนั้ น ถื อ วา ธรรมะข อ นี้ เป น เครื่อ งแบ งแยกมนุ ษ ย ให แ ตกต า ง จากสั ตวเดรัจฉาน ควรจะถื อเอาเป นรากฐานอั นแรกที่ สุ ด ; เหมื อ นกั บ วาแผน ดิ น อัน หนาแนน มัน คง เปน ที ่ตั ้ง อาศัย แหง สิ ่ง ทั ้ง หลายทั ้ง ปวง. ถา ใครไมม ีค วาม รู สึ ก อย า งนี้ คื อ ไม มี ค วามรู สึ ก ว า “สั ต ว ทั้ ง หลายเป น เพื่ อ นทุ ก ข เกิ ด แก เจ็ บ ตาย” แลว คนนั ้น เรีย กวา ยัง ไมเ ปน มนุษ ยที ่ส มบูร ณ ดีก วา ควรจะถือ วา เขา ยั ง ไม เป น มนุ ษ ย ก็ ได ยั ง เหมื อ นกั บ สั ต ว เดรัจ ฉานทั่ ว ๆ ไป ที่ มั น ไม มี ค วามคิ ด ว า “สัตวทั้งหลายเปนเพื่อนทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันทั้งหมดทั้งสิ้น”.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี้ เป น การประเสริฐ ที่ สุ ด ที่ ค นแต ก อ นเขาสอนกั น อย างนี้ เขาท อ งกั น อยู อ ย า งนี้ , บิ ด ามารดา สอนลู ก สอนหลานให ท อ งบทนี้ . นี้ เป น วั ฒ นธรรม เป น ธรรมเนีย มในสมัย โบราณ. เดี ๋ย วนี ้ม ัน หายไป มัน นา เสีย ดาย. ฉะนั ้น ขอให บิ ดามารดาทั้ งหลาย ช วยสอนมนต บทนี้ ให ลู กหลานที่ เพิ่ งคลอดออกมาตาดํ า ๆ รูจั ก ทองมนตบทนี้กันเสียบางวา “สัตวทั้งหลายเปนเพื่อนทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันทั้งหมดทั้งสิ้น. มัน จะเขา ใจหรือ ไมเ ขา ใจ ไมสํ า คัญ ไมเ ปน ประมาณหรอก เรา ใหร ากฐานอัน สํ า คัญ ไวก ็แ ลว กัน มัน คอ ย ๆ รูเ องทีห ลัง ได ; สอนนกแกว นก

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๑๔๖

ขุน ทอง ใหรอ งอยา งนี้กัน บา งก็ยัง ดี. ถา นกแกว นกขุน ทองมัน รอ งอยา งนี้ไ ด มัน ก็เ ขา หูค น คนก็จ ะเกิด ความคิด ความนึก ขึ้น ได. ใหถ ือ วา นี ้เ ปน เสน เขต, เปนเขตแดน และเปนเครื่องแบงแยกใหคนตางจากสัตว เพราะวาสัตวคิดอยางนี้ ไมเปน คนคิดเปน. ....

....

....

....

ถาม : ทีนี้ จะถามปญหาที่ตอบงายที่สุด วาถาเรามีความรูสึกอยูวา สัตวทั้ง หลายเปนเพื่อน เกิด แก เจ็บ ตาย หัวอกเดียวกันทั้งหมดทั้งสิ้นแลว จะเกิด โลภะ โทสะ โมหะ ไดหรือไม ? ใครตอบกอนก็ได. ตอบ : ถาเรามีความรูสึกอยางนี้ ก็เกิดไมไดครับ. ถาม : วาเปนขอ ๆ ไปเลย วาถาเรามีความรูสึกอยางนี้ เราเกิดโลภะไมได เชน วาอะไรก็วาไปเลย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : เกิดโลภะไมได เพราะวา เพราะถาเราไปโลภแลว ก็ทําใหเพื่อนคนอื่น มันเดือดรอน นี่ขอหนึ่ง. ถาม : แลวไมเกิดโทสะได เปนอยางไร ? ตอบ : ไมเกิดโทสะได ก็หมายความวาเราเกิดความเห็นใจซึ่งกันและกัน มัน ก็ไมโกรธ. ถาม : ไมลืมบางหรือ ไมเผลอบางหรือ ?

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับหนึ่ง

๑๔๗

ตอบ : นอกจากวา มันจะเผลอสติ. ถาม : ถาเรามีความรูสึกอยางนี้อยู จะไมเกิดโมหะไดอยางไร ? ตอบ : ถามีความรูสึกอยางนี้อยูเรื่อย จะตองมีความรูสึกอยูตลอดเวลา ก็จะ ไมทําอะไรที่มันผิด ๆ โง ๆ ไปก็ไมเกิดโมหะ. ถาม : โอ ! มั น อาจจะทํ า โดยไม รู ก็ ได ก ระมั ง ? ไม รู ใ นสิ่ ง ที่ มั น ยั ง ไม รู แม จ ะ รูส ึก เมตตา กรุณ า เห็น เพื ่อ นเปน เพื ่อ นเกิด แก เจ็บ ตาย ดว ยกัน ทั้ ง หมดทั้งสิ้น แตทําอะไรผิด ๆ ไปก็ไดกระมัง อธิบายเสียใหมซิ. ตอบ : เมื่ อ คนเราไม เกิ ด โลภะ โทสะ ก็ จ ะไม ทํ า ในสิ่ ง ที่ เป น ส ว นเกิ น ; เมื่ อ ไม ทํ า ไปในสิ่ ง ที่ เป น ส ว นเกิ น คื อ จะไม เอามาเกิ น โดยการเห็ น ใจเพื่ อ น แลวไมโกรธคนอื่น ฉะนั้น ความเห็น แกตัว มัน ก็จ ะไมมี ; เมื่อ ความเห็ น แกตัวมันไมมี ก็จะไมทําในสิ่งที่โง ๆ ที่ตัวเองไมรู.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : นั่นแหละถูกแลว แตใชคําใหมันรวบรัดสักหนอย.

ตอบ : หมายความวา จะไมเห็นแกตัวครับ.

เมื่ อ ไม เ ห็ น แก ต ั ว แล ว จะเป น การถู ก ต อ งโดยอั ต โนมั ต ิ ; เพราะวาปญญาทั้งหลายซึ่งเปนคูมือของผูดับโมหะนั้น มันอยูที่ความไมเห็นแกตัว. ถาเราไมมีความเห็นแกตัวอยางเดียวแลว ก็เรียกวา มีปญญา. ป ญ ญาในพระพุ ท ธศาสนาโดยเฉพาะ มุ ง จะให ม องเห็ น ความ ที่ ไ ม มี ตั ว เพื่ อ จะเห็ น แก ตั ว , ที นี้ เ รามาในทางกลั บ ตรงกั น ข า ม คื อ รั ก สั ต ว

www.buddhadassa.in.th


๑๔๘

การกลับมาแหงศีลธรรม

ทั้งหลายทั้งปวงไมมีที่สุด ไมมีประมาณ วาเปนคนเดียวกัน เปนเพื่อนคนเดียวกัน มั น ก็ เกิ ด ความเห็ น แก ตั วไม ได . ต อ งให ไปในรูป นั้ น มั น จึงจะได ; เพราะวามั น อาจจะไปในทางที่เห็นแกตัว แลวก็ไปรักเขารัก เพื่อนของตัวนั้น. ถาอยางนี้มัน ก็เฉออกไปนอกทาง ฉะนั้น ความหมายที่รัดกุมมันมีอยูเปนสวน ๆ สวน ๆ ตอง แสดงออกมาใหมันชัด. ถาม : คุณทองเปนผูอธิบายอีกครั้งหนึ่งวา เมื่อเรามีความรูสึกวาสัตวทั้งหลาย เปนตัวเดียวกันกับเราอยางนี้แลว เราจะไมเกิดโลภะ ไมเกิดโทสะ ไมเกิด โมหะ ไดอยางไร ? ตอบ : เมื่ อ มี ค วามรู สึ ก ว า สั ต ว ทั้ ง หลายทั้ ง ปวงเป น เพื่ อ นรว มเกิ ด แก เจ็ บ ตาย ดว ยกัน ทั ้ง หมดทั ้ง สิ ้น แลว ความโลภจะไมเกิด ขึ ้น ; เพราะหาก วา ถาเราโลภแลว จะทําใหเพื่อนรวมโลกนี้จะตองขาดแคลน ความโลภ จะเกิดขึ้นมาไมได. โทสะจะไมเกิดขึ้นมา ; เพราะการที่จะบันดาลโทสะ ขึ ้น มา หรือ เกิด โทสะขึ ้น มานั ้น เราก็ร ะลึก วา เพื ่อ นจะตอ งเดือ ดรอ น ; เมื่อ มี ๒ อยา ง คือ ไมมีโลภะ ไมมีโทสะ แลว การที่จ ะมีโมหะขึ้นมาได นั้น ยอมเกิดขึ้นไมไดอยูเอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : เอา, ทีนี้คุณล้ํา อีกที เห็นชัดทั้ง ๓ ขอ.

ตอบ : มนุษยเมื่อมองเห็นถึงการเกิดมา โดยการที่เห็นวา สัตวโลกที่เกิดมามี ความทุ ก ข รว มกั น เกิ ด มารวมความทุ ก ข ความเกิ ด ความแก ความ เจ็บ ความตาย ดวยกันแลว จิตของคนที่มองไดอยางนี้เปนคนที่เห็นถึง ความทุ ก ข ทั่ ว ไปแล ว ความเมตตากรุ ณ าต อ สั ต ว ทั้ ง หลายก็ เกิ ด ขึ้ น ,

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับหนึ่ง

๑๔๙

และความไม เห็ นแก ตัวก็เกิ ด ขึ้น ความโลภก็ ไม เกิด ความโกรธก็ไม เกิ ด , และความหลงนี่ ถ า มองเห็ น ด วยป ญ ญาที่ ว า เป น เพื่ อ นรวม เกิ ด แก เจ็บ ตาย ด วยกั น ทั้ งหมดทั้ งสิ้ น แล ว ก็ จะไม มี ค วามหลง ด วยป ญ ญา อันนี้. เอาละ, ที่ ว า กั น มานี้ หรื อ ที่ อ ธิ บ ายกั น มานี้ ก็ เรี ย กว า ถู ก ต อ ง มั น เหลืออยูแตวามันไมชัด หรือวาถามันชัด ก็เปนคําพูดยืดยาด. อยากจะไดคําพูด ที่สั้นที่สุด ที่สะดวกที่จะนําไปอบรมสั่งสอน. คุณ ประยูร ก็เปน หมอ ก็ม ีท างที ่จ ะพูด จากับ คนเจ็บ คนปว ย คนไข ได ม าก ; คุ ณ ทองก็ เป น ครู ก็ มี ลู ก ศิ ษ ย มี นั ก เรี ย นมาก ก็ ค วรจะไปพู ด กั บ คน เหลานี้ใหมาก ; คุณล้ําก็เปนกํานัน ก็มีลูกบาน มียุวชน อยูในความปกครองมาก ; ก็ ล องคิ ด ดู ซิ ว า เราจะไปบอกคนเหล า นั้ น รวมทั้ ง เด็ ก ๆ วั ย รุน เหล า นั้ น ให เขา มองเห็นขอเท็จจริงอันนี้ไดอยางไร เพื่อวาศีลธรรมจะกลับมา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : เราจะไปบอกคนวัยรุนวาอยางไร ในประโยคสั้น ๆ วา “สัตวทั้งหลายเปน เพื่ อนทุ กข เกิ ด แก เจ็ บ ตาย ด วยกั นทั้ งหมดทั้ งสิ้ น”. เขาจะคิ ดอย างไร ความโลภจึ ง จะไม เกิ ด ขึ้ น ? หรือ วาเขาจะคิ ด อย างไรความโกรธจึ ง จะไม เกิดขึ้น ? และเขาจะคิ ดอย างไรความหลงจึงจะไม เกิ ดขึ้น ? เรียงความกั น ใหมใหสั้นที่สุด.

ตอบ : เราตอ งบอกวา ทุก คนนี ้จ ะตอ งรัก ชีวิต ซึ ่ง กัน และกัน ทุก คนตอ งรัก ชีวิตของตนเอง แลวเมื่อเราเปนเพื่อน เกิด แก เจ็บ ตายดวยกันก็ไมควร จะ, ....เดี๋ยวครับ อยางนี้ยิ่งยาวไปใหญ.

www.buddhadassa.in.th


๑๕๐

การกลับมาแหงศีลธรรม

ถาม : รวบรัดใหได ใหประโยคสั้น ๆ ๓ ประโยค หรือ ๔ ประโยค. ตอบ : ขอใหทุกคนจงรักชีวิตซึ่งกันและกัน และผูที่รักชีวิตเทานั้น จึงจะเปน ผูที่เปนเจาของชีวิต ถาเราไดนึกกันอยางนี้ ก็จะทําอะไรกันไมได. ถาม : ดูจะเฝอใหญแลว ตัดมาเหลือสักประโยคแรกวา ทําอยางไรจึงจะใหเด็ก วัยรุนทั้งหลายเกิดความรูสึกขึ้นมาได วาสัตวทั้งหลายเปนเพื่อนทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันทั้งหมดทั้งสิ้น ขอนี้กอน ? ตอบ : ชีวิตทุกชีวิตตองการความสุข ผมวา นาจะใหคิดอยางนี้. ถาม : วาทุกคนตองการความสุข มันก็อยูในสวนของความสุข ; ความทุกข ก็ไม ได พู ด . ทํ าไมจะสมบู รณ วา สั ต วทั้ งหลายเป น เพื่ อ นทุ ก เกิ ด แก เจ็บ ตาย ดว ยกัน ทั ้ง หมดทั ้ง สิ ้น ? ขอใหถ ือ วา อัน นี ้เปน แผน ดิน เปน เหตุปจจัยที่สําคัญที่สุดที่จะมีศีลธรรม ; ฉะนั้น เรายอมเสียเวลาคิดขอนี้ วา “สัต วทั้งหลายเปน เพื่อ นทุก ข เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกัน ทั้งหมด ทั ้ง สิ ้น ”. ถา มีค วามรู ส ึก อัน นี ้แ ลว ก็ เขาจะทํ า ใหผู อื ่น เสีย หายไมไ ด เลยเอาขอสําคัญนี้มาพิจารณากันกอน : ทําอยางไรจึงจะใหคนทั้งหลาย โดยเฉพาะพวกวัยรุนคะนอง เกิดความคิดขึ้นมาวาอยางนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : คื อ ชี้ ให เขาเห็ น วา เมื่ อ เรารัก ชี วิต คนอื่ น ก็ ต อ งรัก ชี วิ ต ด ว ย. เพราะ เรายึดหลักพูดกันอยูแลววา เราอยูเปนเพื่อนเกิดแกเจ็บตาย ดวยกัน ; เราก็ต อ งชี ้ใ หเ ขาเห็น วา ทุก คนรัก ชีว ิต เมื ่อ เราไปทํ า ลายชีว ิต กัน เมื่อเราเดือดรอนคนอื่นก็เดือดรอน ผมมีวิธีเดียวเทานี้.

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับหนึ่ง

๑๕๑

ถาม : คุ ณ ทองล ะ ว า อย า งไร, ทํ า อย า งไรจะให เด็ ก ๆ ของคุ ณ เกิ ด ความคิ ด อยางนี้ได สอนนักเรียนเปนจํานวนมากอยู. ตอบ : ชีวิตนี้ทุกชีวิตตองการความสุข ความสบาย แกกันและกัน เพราะฉะนั้น การไมเบีย ดเบีย นกัน ทั ้ง ในดา นทรัพ ยส ิน และชีว ิต ก็จ ะนํ า ใหท ุก ชีว ิต อยูกันอยางเปนสุขได. ถาม : นั่นแหละดูประโยค ดูตัวบทที่มันเปนหลักวา “สัตวทั้งหลายเปนเพื่อน ทุก ข เปน เพื ่อ นเกิด แก เจ็บ ตาย ดว ยกัน ทั ้ง หมดทั ้ง สิ ้น ” ไมไ ดพ ูด ถึงความสุขเลย ; คุณล้ําละ วาอยางไร พูดกับวัยรุนลูกบาง ? ตอบ : เราจะชี้แนวถึงตอนที่เราเกิดมา : สัตวทั้งหลายที่เกิดมาตองอาศัยกฎนี้ เป น ธรรมดา คื อ ความเกิ ด ความแก ความเจ็ บ ความตาย นี้ เป น ธรรมดา เราเกิด ขั ้น ตน , เราก็เนน หนัก ไปที ่ว า เราเกิด มาเปน มนุษ ย ยัง ดีก วา สัต วเดรัจ ฉาน. เราใหแ นวที ่วา เราเกิด มาเปน สัต วที ่ม ีใ จสูง ไมค วรปลอ ยใหใ จเปน สัต วเ ดรัจ ฉาน ; ถา เราทํ า ความชั ่ว อยา งมี ความโลภ ความโกรธ ความหลงขึ้นมา มั นก็จิตต่ํากวาสัตวเดรัจฉาน ไปอีก นี้ตอนหนึ่งการเกิด.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นั่ น มั น ไปถึ ง ประเด็ น หลั ง ประเด็ น ที ห ลั ง ที่ ว า ให เกิ ด โลภะ โทสะ โมหะ ; แต นี้ เราเอาประเด็ น แรก ที่ เป น พื้ น ฐาน เป น ที่ รวบรวมของทั้ ง หมด ว า เปน เพื ่อ นทุก ขด ว ยกัน . ทํ า อยา งไรจะใหผู ฟ ง เกิด ความรู ส ึก ขึ ้น มาวา เราเปน เพื่ อ นทุ ก ข ด ว ยกั น ? ขอให สั งเกตความแตกต างตรงนี้ วา ถ าได ยิ น คํ าวา “เป น เพื่อ นทุก ข หรือมีค วามทุกข” นั่น มัน สังเวช มัน เหี่ยวลง. แตพ อไดยิน คําวา เป น เพื่ อ นสุ ข มั น ฟู ขึ้ น ; ความหมายต า งกั น อยู , เพื่ อ นทุ ก ข กั บ เพื่ อ นสุ ข .

www.buddhadassa.in.th


๑๕๒

การกลับมาแหงศีลธรรม

เดี๋ยวนี้ทาน ตองการใหเกิดความสังเวช ; เพราะวา ความสังเวชนี้จะใชเปน พื้นฐานของศีลธรรม ไดดีกวาความคึกคะนอง ทานจึงใชความหมายของความ ทุกขนี่มาเปนเครื่องชักจูงใจ. ถาเรา “เปนเพื่อนทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันทั้งหมดทั้งสิ้น” ไมไดพูดวาเราะเปนเพื่อนสุข สนุกสนานอะไรเลย ; ฉะนั้น จะ ตองมีคําพูดที่ ทําใหเกิดความสังเวชแกบุคคลผูฟง. ถาม : เมื่อ คุณ ประยูร เปน หมอ จะมีคํา พูด ใหค นอยา งไร ? เมื่อ คุณ ทอง เปนครู จะมีคําพูดใหเด็ก ๆ ฟงอยางไร ? เมื่อคุณล้ําเปนกํานัน จะพูดให คนในปกครอง โดยเฉพาะเด็กวัยรุน ใหมันเกิดความสังเวชไดอยางไร ? เอาอยางนี้กันดีกวา ; ถาไมเกิดความสังเวชไดแลว ไมมีผลแนแลวคุณ จะใชคําพูดกันอยางไร.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : ตองใชคําวา เพื่อนรวมทุกข ; หมายความวา ถาเราไปทําใหใครมี ความทุกข เราเปนเพื่อนรวมทุกขกัน ลงสุดทายผูทํานี้ก็จะมีความทุกข ดวย.

ถาม : นั่ น ก็ ยั ง ไกลไปอี ก ชั้ น หนึ่ ง แล ว . เอาชั้ น ต น กว า นั้ น ซิ ว า อย า งไรล ะ ที่เรียกวาเราจะเปนเพื่อนรวมทุกขกันคือมันเปนอยางไร ? ใหเขาเห็นวา เราทุกคนในโลกนี้เปนเพื่อนมีความทุกขดวยกัน ? ตอบ : โดยชี้ใหเห็นวา ที่อยูเดี๋ยวนี้เรากําลังเปนทุกขดวยกันทั้งนั้น. ถาม : ทุกขอยางไรละ มันไมเห็นนี่ มันไมมองเห็น มันไมสังเวช ?

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับหนึ่ง

๑๕๓

ตอบ : เปนตนวา กลัวความตาย กลัวทุกข ๑๑ อยาง เราชี้ใหเขาเห็น. ถาม : มันยังสูงไป ยังตองเรียนอีกมาก พูดภาษาชาวบานคําสองคํากันดีกวา. ตอบ : อยางนั้น เอา ๕ อยาง เปนตนวาเรามีความทุกขเพราะตองไปหลงรัก โกรธ เกลียด กลัว และเศรา. ถาม : คุณทอง วาอยางไร ? ใหเด็กเขาเห็นวาเราทุกคนเปนเพื่อนทุกข กําลัง มีทุกข ไมใชแตงกลอน หรือคําประพันธ หรือวาคําเทศน แตเปนคําพูด ธรรมดา ที่ชาวบานใชพูดตามธรรมดา ใหผูฟงฟงแลวหวาดเสียว สลด สังเวช ลงไปทันที. ตอบ : ทุ กชีวิต ในโลกนี้ กํ าลั งพบ กํ าลั งต อ สูอ ยูกั บ อุป สรรค ในการที่ จะมี ชีวิตอยู ดวยกันทั้งนั้น ฉะนั้น ขออยางไดมีการเบียดเบียนเปนการซ้ํา เติมลงไปอีกเลย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : เอา, พูดใหมใหพอเหมาะสําหรับนักเรียนชั้นประถมลงมา ไมขึ้นถึง ชั้นมัธยม. เด็กชั้นประถมลงมานี่เราจะใชคําพูดอยางไร ใหเด็ก ๆ เหลา นี้ฟงออก ฟงถูก ใหยอมรับ และรูสึกสังเวชลงไปทีเดียววา เราทุก คน เปน เพื่อ นทุก ข. นึก ถึงขอ เท็จ จริงดูเถิด เด็ก ๆ ในโรงเรีย นมันไมรูจัก ความทุกข มันเลนหัว มันหยอก มันอะไรกัน ลวนแตเปนความสุข. เรา จะไปพูดอยางไรใหเขาเกิดนึกขึ้นมาวา เราเปนเพื่อนรวมความทุกขกัน มากกวา ที่จะเปนเพื่อนรวมสุข ?

www.buddhadassa.in.th


๑๕๔

การกลับมาแหงศีลธรรม

ตอบ : เราทุกคนตางมีชีวิตอยูในโลกนี้ดวยกัน โดยการที่จะตองตอสูดิ้นรน เพื ่อ จะใหอ ยู ใ นโลกนี ้อ ยา งปลอดภัย ; เมื ่อ ทุก คนตอ งรับ ภาระหนัก อยูแลว อันนี้ เราจึงไมควรจะเบียดเบียนซึ่งกันและกัน. ถาม : นี่มันจะฟงถูกกันเฉพาะคนที่เปนครูดวยกันกระมัง เด็กชั้นประถมจะฟง ไมถูกกระมัง มันสูง มันลึกมากไป วาใหมไดไหม สํานวนเด็กประถม เด็กชั้นประถมเลย ? ถายังนึกไมออก รอไวกอนก็ได คุณล้ําอีกที เราจะไปพูด อยางไร ? ใหวัยรุนที่เราพูดดวยอยูทุกวัน มันจะรูสึกไดวาสัตวทั้งหลาย เจาของเปดเจาของไก ที่เราไปขโมยของเขานั่น มันเปนเพื่อนทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกัน แลวมันจะไดหยุดไปขโมยเปดขโมยไกของเขาเสีย. ตอบ : เอาอย างนี้ ดี ก ว า เรามี ท างที่ จ ะพู ด ได วา เราไม ค วรจะเบี ย ดเบี ย นซึ่ ง กัน และกัน ; เพราะเราเกิด มาในโลกตอ งรับ ความทุก ขด ว ยกัน ทั ้ง นั ้น โดยความเกิ ด โดยความแก โดยความเจ็ บ ความตาย ถึ งใคร ๆ ก็ เป น อยางนั้น เราไมควรเบียดเบียนซึ่งกันและกัน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : นั่ น แหละ มั น เป น สํ านวนพู ด ที่ มี อ ยู ในพระคัม ภี รแล ว เด็ กเขาไม รูสึ ก เขาไมเกิดอารมณ อยางนั้น ; เราจะไปพูดเสียใหม ใหเขาเกิดอารมณ อยางนั้น ใหเขารูสึกสลด วูบวาบ ลงไปทีเดียว วาทุกคนเปนเพื่อนทุกข ; ตอ งใชคํ าพู ด เหมื อ นกับ วา จะไปคุ ยกั บ เด็ ก วัย รุน ตอนเย็น ๆ ที่ ราน แห งใดแห งหนึ่ ง พู ด กั น ไปจนให เด็ ก เหล านี้ เปลี่ ย นจิ ต ใจ ไม คิ ด จะ เบียดเบียนผูอื่น ใหเขาเกิดความรูสึกชัดเจนขึ้นมา เปนเพื่อนรวมทุกขกัน

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับหนึ่ง

๑๕๕

ไมควรจะไปเบียดเบียนกัน. อันนั้นมันสวนหนึ่ง ที่วาเปนเพื่อนรวมทุกข แลว ไมเ บีย ดเบีย น แตนี ้เราถามวา ทํ า อยา งไรใหเ ขารู ส ึก วา เรา เปน เพื ่อ นทุก ข เอาตรงนี ้ก อ น ; พูด ใหเ ด็ก วัย รุ น รู ส ึก วา เราทุก คน เปนเพื่อนทุกข ? ตอบ : ความจริงแลวผมก็เคยพูดบอย ๆ. ถาม : นั่นแหละพูดอยางไร ลองวามาใหชัดขึ้น คนอื่นเขาจะไดจําไปเปน ปทัสถาน. ตอบ : อยางเรื่องความเจ็บ ผมก็บอกวา แมแตเราโกรธใครเราก็ไมตองทํา มันถึงคราวมันก็เจ็บเอง ถึงวันตายมันก็ตายเอง. ผมเคยพูดอยางนี้. ถาม : แลวเปนเพื่อนทุกขอยางไรละ ? นี่มันไกลออกไปจากความหมายวา เพื่อนทุกข.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : เมื่อเราเกิดมาในโลกดวยกัน ตองอาศัยซึ่งกันและกัน แลวเราไดรับ ความทุกขดวยกัน เหตุตาง ๆ มันจะมาถึงเอง.

มัน ก็ถ ูก ที ่พ ูด นี ้ถ ูก แตม ัน ยัง ไมช ัด ตอ งการใหพ ูด ใหช ัด . ขอรอ ง ใหทุกคนชวยกันจํา เอาไปคิด ใหแตละคน ๆ เอาไปคิด เพื่อหาคําพูดที่มีน้ําหนัก มีค วามหมายที่พ ูด ออกไปแลว ลูก เด็ก ๆ เขามองเห็น เขารูส ึก และเขาเปลี่ย น จิตใจมาสูหลักเกณฑอันนี้ วาเราเปนเพื่อนทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันทั้งหมด ทั้งสิ้น.

www.buddhadassa.in.th


๑๕๖

การกลับมาแหงศีลธรรม

วันนี้จะพู ดกันใหหมดก็ไมได เพราะวาไมไดเคยคิดมากอน หรือวา เคยคิดเคยใชเคยพูดมากอน มันก็ยังไมสมบูรณ จึงฝากไวใหไปคิดดูใหม โดยเฉพาะ สําหรับ ๓ คนนี้ และคนนอกนั้น ผูฟงทั้งหลายก็จําเอาไปคิดดวย วาเราจะเอาไป พูดจากันอยางไรใหทุกคนเกิดความรูสึกขึ้นมาวา เราเปนเพื่อนทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย ดว ยกัน ทั ้ง หมดทั ้ง สิ ้น . ถา ใครทํ า สํ า เร็จ ในขอ นี ้ คนนั ้น แหละจะไดชื ่อ วา เปนผูทําบุญกุศลอันใหญหลวงยิ่งกวาสรางโบสถสัก ๑๐ หลัง ยอมใหใครดา ดาก็ ดาอาตมาก็แลวกัน.

ขอใหทําบุญที่ยิ่งกวาสรางโบสถ ๑๐ หลัง อาตมาจะพูด อยา งนี ้ วา ไปชว ยพูด ใหผู ใ หญ เด็ก หนุ ม สาว ทั ้ ง หลาย เกิ ด ความรู ส ึ ก ขึ ้ น มาได ว า “สั ต ว ทั ้ ง หลายเป น เพื ่ อ นทุ ก ข เกิ ด แก เจ็ บ ตาย ด ว ยกั น ทั้ ง หมดทั้ ง สิ้ น ” ได ผ ลจริ ง ๆ จนคนนั้ น เขามี จิ ต ใจสลด สังเวช วูบวาบลงไป จนเบียดเบียนใครไมได แลวจะทําใหผูพูดนั่นแหละไดบุญ ยิ่งกวาสรางโบสถสัก ๑๐ หลัง, หมายถึงสรางโบสถเฉย ๆ นะ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี ่ก ็เ พราะเหตุว า ถา ความรู ส ึก อัน นี ้ม ัน ไดเ กิด ขึ ้น มาในใจจริง ๆ แล ว คนนั้ น จะไม เ กิ ด ความโลภ, คนนั้ น จะไม เ กิ ด ความโกรธ, คนนั้ น จะ ไมเ กิด ความหลง. ทั้ง นี้ก็เ พราะวา ความโลภ ความโกรธ ความหลง นี้ มั น มาจากความเห็ น แก ต ั ว . ข อ นี ้ พ ู ด กั น หลายครั ้ ง แล ว ซ้ํ า ๆ ซากๆ ว า กิเ ลสทั้ง หลายมาจากความเห็น แกตัว ; เห็น แกตัว แลว มัน ก็โ ลภ ในกรณี ที ่ม ัน ชวนใหโ ลก, เห็น แกต ัว แลว มัน ก็โ กรธ ในกรณีที ่ม ัน ชวนใหโ กรธ, เห็นแกตัวแลว มันก็ชวนใหหลง ในกรณีที่มันชวนใหหลง.

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับหนึ่ง

๑๕๗

ฉะนั้ น เราตั ด บทมั น เสี ย โดยการทํ า ลายความเห็ น แก ตั ว ; เมื่ อ ทํา ลายความเห็น แกตัวได ก็เปน อัน วาตัด ตน ตอรากเงาของกิเลสได. ฉะนั้น จงขวนขวายกัน ใหสุด ฝไ มล ายมือ ในการที่จ ะตัด ตน ตอของกิเ ลส กลา ว คือ การไปทําใหเกิดความรูสึกขึ้นมาวา “สัตวทั้งหลายเปนเพื่อนทุกข เกิด แก เจ็ บ ตาย ด ว ยกั น ทั้ งหมดทั้ ง สิ้ น ”' ; นั บ ตั้ งแต ว า สอนให ลู ก เด็ ก ๆ เขาท อ ง ประโยคนี้ไว เชนเดียวกับโยมของอาตมาก็ไดสอนใหอาตมาทองประโยคนี้ตั้งแต เล็ก ๆ, เมื่อเล็ก ๆ พอจําความได มันเคยทอง. ทานทั้งหลายก็ควรจะนึกดู ไปทําใหเด็กเล็ก ๆ เขาทองได, ใหเขา คิด เปน , และใหรูส ึก อยา งนั ้น จริง ๆ. เดี ๋ย วนี ้ไฟมัน กํา ลัง จะไหมโลกอยูแ ลว และน้ํา ที่ จ ะดั บ ไฟนี้ ไ ม มี อ ะไรอื่ น นอกจาก ธรรมะข อ นี้ : เพื่ อ ให เ ขารู สึ ก ขึ้น มาวา “สัต วทั้ง หลายเปน เพื่อ นทุก ข เกิด แก เจ็บ ตายดว ยกัน ทั้ง หมด ทั้งสิ้น” แลวจะไมมีใครเอาเปรียบใครดวยความโลภ, หรือวา เมื่อนึกถึงขอนี้ อยูแลว มันโลภไมลง ? มันเต็มไปดวยสติปญญาที่ถูกตอง ซึ่งทําใหเกิดความ ไมเห็นแกตัว มันโลภไมลง โกรธไมลง หลงไมลง เพราะเขาถึงความจริงอันสูงสุด เสียแลว มันหลงอีกไมได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ขอใหถือ วา บทพระธรรมขอ นี้ เปน เหมือ นกับ แผน ดิน สํา หรับ ตนพฤกษาแหงศีลธรรม จะไดตั้งอาศัยอยู เหมือนกับแผนดินเปนที่ตั้งอาศัย แหงตนไมทั้งหลาย.

www.buddhadassa.in.th


๑๕๘

การกลับมาแหงศีลธรรม

ในวัน นี ้เราพิจ ารณากัน ไดแ ตเพีย ง รากฐานของศีล ธรรมอัน ดับ แรก คือรากฐานที่พอจะเปรียบไดวาเหมือนกับแผนดิน เวลามันก็หมดแลว เอาไว สําหรับพิจารณากันในโอกาสหลังถึงขอที่ยังเหลือ.

ในวันนี้ก็ขอยุติการบรรยายและการอภิปรายเรื่องรากฐานแหงศีลธรรม ไวเพียงเทานี้กอน เปนโอกาสใหพระคุณเจาทานสวดบทพระธรรมสําหรับสงเสริม กําลังใจใหคนมีความกลาหาญ พอในในการประพฤติธรรมนั้น ๆ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม -๕๒๘ กุมภาพันธ ๒๕๑๙

รากฐานของศีลธรรมอันดับสอง [ ความไมเปนทาสของอายตนะ : น้ํา ]

ทานสาธุชน ผูมีความสนใจในธรรม ทั้งหลาย,

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org การบ รรย ายป ระจํ า วั น เส าร ภ าค ม าฆ บู ช าเป น ค รั้ ง ที ่ ๕ ใน วั น นี ้ ยั ง คงกล า วโดยหั ว ข อ ว า การกลั บ มาแห ง ศี ล ธรรม ต อ ไปตาม เดิ ม , และแยกเป น หั ว ข อ ย อ ย ๆ มาถึ ง วั น นี ้ นั ้ น ก็ ค ื อ หั ว ข อ ที ่ ก ล า วถึ ง รากฐานของสิ่งที่เรียกวา ศีลธรรม. [ ตอไปนี้เปนการทบทวนคําปรารภการกลับมาแหงศีลธรรมจนถึงหนา ๑๗๔ ] เราไดกลาวถึงสิ่งที่เปนตัวศีลธรรมกันมาพอสมควรแลว คือพอที่จะ ใหรูวา เรายังขาดสิ่งที่เรียกวา ศีลธรรม อยูในโลกนี้ มันมีอันตรายตาง ๆ เกิดขึ้น, ๑๕๙

www.buddhadassa.in.th


๑๖๐

การกลับมาแหงศีลธรรม

และมีหวังวาโลกนี้จะวินาศ ถาหากวามันเป นไปถึงที่สุด. ดังนั้นเราจึงตองการ การกลับมาแหงศีลธรรม ซึ่งเปนของจําเปนที่สุด หรือจะเรียกวายิ่งกวาจําเปน ที่สุด หรือจะเรียกวายิ่งกวาจําเปนก็ได; คือหมายถึงความวินาศ และไมมีสิ่งใด ที่จําเปน ยิ่งกวาสิ่งนี้ในเวลานี้โดยเฉพาะ. ถาศีลธรรมไมกลับ มา โลกมนุษ ย ก็สูญสิ้นไป เหลือแตโลกของอะไร ยากที่จะกลาวได, ยากที่จะเรียกได. อยางที่เราเคยเปรียบเทียบกันมาแลว หลายครั้งหลายหนวา มนุษย กับ คน นั ้น มัน ตา งกัน : ผู ที ่ม ีค ุณ ธรรมตามความหมายของคํ า วา มนุษ ย จึง จะเรีย กวา มนุษ ย ถาสัก แตวา เกิด มา ก็เรีย กวาคนตามธรรมดาสามัญ สัต ว ทั้งหลายทั่วไป; เมื่อขาดศีลธรรมก็ไมมีความเปนมนุษย ก็เหลือแตคน. ทีนี้ถาคนฆาฟนกันเพราะความไมมีศีลธรรมนั้นมันก็เลวไปกวาสัตว; ก็ ก ลายเป น โลกของสั ต ว ช นิ ด หนึ่ ง ซึ่ ง เลวกว า สั ต ว เดรั จ ฉาน. เพราะว า สั ต ว เดรัจฉานไมเคยคิดจะฆา หรือวาไมสามารถที่จะฆากันใหวินาศ เหมือนกับคนที่ ไมมีศีล ธรรม; เมื่อ คนไมมีศีล ธรรมฆา กัน ยิ่ง กวา สัต วเดรัช ฉาน มีอ ยูใ นโลกนี้ ก็เ ลยไมรูจ ะเรีย กวา โลกนี ้ม ัน เปน โลกของอะไร; คิด ดูเ อาเองก็ไ ด; ดัง นั ้น การกลับมาแหงศีลธรรมจึงจําเปน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ขอใหมองใหเห็นขอเท็จจริงขอนี้ และจะรูสึกวา เผอิญ เรานี้ไดเกิด มาพอดีกันกับที่โลกกําลังเปนอยางนี้ และจะเปนอยางนี้ยิ่ง ๆ ขึ้นไป; เราจะคิด กันอยางไร ? จะปลอยใหเปนไปตามนั้นจนถึงที่สุด, หรือวาจะชวยกันตานทาน, หรื อ แก ไ ขเอาไว . ถ า ผู ใ ดเห็ น ว า มั น ควรจะช ว ยกั น ต า นทาน ก็ ค วรจะเห็ น

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสอง

๑๖๑

ต อ ไปว า การกลั บ มาแห ง ศี ล ธรรมนั่ น แหละเป น หน า ที่ ข องเรา เพื่ อ จะ ชวยโลกนี้ใหรอดอยูได. ดั งนั้ น อาตมาจึ งพู ด ดั ง ๆ วา ขอให ทุ ก คนบํ าเพ็ ญ บุ ญ กุ ศ ลด วยการ กระทําอยา งนี้เถิด การทําบุญ กุศ ลอยา งอื่น นั้น มัน ก็พ อหรือ เฟอ แลว ก็มี; หัน มาทํ า บุ ญ กุ ศ ลอั น นี้ คื อ ช ว ยกั น ให ศี ล ธรรมกลั บ มา; จะโดยวิ ธี ใ ดก็ ไ ด ด ว ยแรงก็ ได ด  ว ยเงิ น ก็ ไ ด ด ว ยสติ ป  ญ ญาหรื อ ป จ จั ย ใดๆก็ ไ ด ให ศ ี ล ธรรม กลั บ มา ;แลว ยัง ตีราคาของบุญ กุศ ลอัน นี ้ วา ถา ชว ยใหใครกลับ มาเปน ผู มีศ ีล ธรรมขึ ้น ไดสั ก คนหนึ่ ง โดยแท จ ริง นี้ จ ะได กุ ศ ลยิ่ งไปกว า จะสรา งโบสถ ขึ้ น ไว สั ก ๑๐ หลังเฉย ๆ แลวก็ไมไดทําอะไร. คําพู ดอยางนี้ คนที่ชอบสรางโบสถก็คงจะ โกรธมากทีเดียว;ขอนั้นไมเปนไร. ขอให ดู ต อ ไปถึ ง ประโยชน ที่ จ ะได รั บ : สร า งโบสถ ไ ม มี ป ระโยชน เพราะวาไมไดทําหนาที่ตามความมุงหมาย มักจะสักแตวาสรางไวเฉย ๆ หรือทํา พิธีรีต องไปเสีย หมด; อยา งนี้ไ มม ีผ ลที่จ ะทํ า ใหศ ีล ธรรมครองโลก. สมัย นี้เรา จะเห็น ไดวา ยิ ่ง สรา งโบสถก ัน มากขึ ้น ๆ, และศีล ธรรมก็ยิ ่ง หายไป ๆ ไมอ ยู คุ ม ครองโลก; คนเดื อ ดรอ นกั น ไปทั่ ง ทุ ก หั ว ระแหง โดยเฉพาะอย า งยิ่ งในจุ ด ที่ เรียกกันวา เจริญที่สุด เชนในเมืองหลวง ก็ยิ่งมีสภาพที่ไรศีลธรรมปรากฏอยูทั่วไป ไมมี ความปลอดภัย; จึงเห็นวาควรจะคิดกันเสียใหม แมจะตองทําใหกลับหลัง อยางที่เรียกวา “ถอยหลังเขาคลอง”.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org มั น ผิ ด ไป แล ว ก็ ต  อ งถอยห ลั ง ม าห าค วาม ถู ก , ค ล อ งนี ้ ค ื อ คลองแห ง ความถู ก . การ “ถอยหลั ง เข า คลอง” ชนิ ด นี้ เป น สิ่ ง ที่ จํา เป น

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๑๖๒

อย า งยิ ่ ง สํ า หรั บ สมั ย นี ้ . ฉะนั ้ น เรา ช ว ยกั น จั บ ตั ว เพื ่ อ นฝู ง ของเราให รู จัก ถอยหลัง เขา คลอง มาสู ค ลองของความถูก ตอ ง ศีล ธรรมก็จ ะกลับ มา. ทานทั้ง หลายก็เสีย เวลามามากมายแลว ที่ม านั่งที่นี่ มาฟงเรื่อ งนี้ ก็อยากจะขอรองวา อยาใหมันเสียเปลา. ขอใหเขาใจ และชวยกันทําใหได ใน ขอที่ใหมีศีลธรรมอยูในโลกนี้; แตโดยเฉพาะอยางยิ่งในสมัยปจจุบันนี้ มันมีกรณี รีบดวน ที่ตองทําใหรีบกลับมา มันกําลังจะหายไปอยางรวดเร็ว. ขอใหเขาใจขอ นี้อยางแจมแจง แลวทานก็จะยังคงฟงเรื่องนี้อยางเปนที่พออกพอใจ หรือสนุกสนาน สืบตอไป; ถามิฉะนั้นแลวก็คงจะเบื่อหนาย ระอาใจกันเปนอยางยิ่ง. ....

....

....

....

ที นี้ ก็ พู ด ถึ งเรื่อ งหั วขอ ที่ เรากํ าลั งพู ด เราได พู ด ถึ งเรื่อ งศี ล ธรรมคื อ อะไรมาแลว ๓ ครั้ง. เริ่ม พูดถึงเรื่องรากฐานของศีล ธรรมมาแลว ๓ ครั้ง . วัน นี้ ก็จ ะพูด เรื่อ งเดีย วกัน อีก คือ เรื่อ งรากฐานของศีล ธรรม, เพราะยัง ไมจ บ; สํ า หรั บ หั ว ข อ ของเรื่ อ งทั้ ง หมดนั้ น มั น มี ว า การกลั บ มาแห ง ศี ล ธรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถ า เราจะทํ า ศี ล ธรรมให ก ลั บ มา เราจะต อ งรู  จ ั ก สิ ่ ง ที ่ เ รี ย กว า ศีล ธรรมอยา งถูก ตอ ง ยา งสมบูร ณด ว ย; ไมใ ชส ัก วา ถูก แตใ นบางแงห รือ บางมุม , คําวา “ถูกตอง” นี้ ตอ งสมบู รณ ดวยเสมอ. เมื่อ เรารูจักศีลธรรมอยาง ถูกตองและสมบูรณ แมโดยใจความแลว ก็พอจะมองเห็นวา ศีลธรรมกําลังไมมี จริ ง ๆ ; ที นี ้ ก ็ ด ู ต  อ ไปถึ ง ข อ ที ่ ว  า ศี ล ธรรมไม ม ี นั ้ น เพราะรากฐานของ ศี ล ธรรมไม มี . ข อ นี้ จ ริ ง หรื อ เปล า ? ก็ ต อ งรู จั ก สิ่ ง ที่ เ รี ย กว า รากฐานของ

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสอง

๑๖๓

ศีล ธรรมนั้น อยา งแจม แจง อีก เรื่อ งหนึ่ง จึง จะรูวา มัน มีอ ยูห รือ ไมมี; ถา ไมรู วา มัน คือ อะไร มัน ก็ไ มอ าจจะรูว า มีห รือ ไม เราจึง ตอ งศึก ษาตอ ไป ถึง เรื่อ ง รากฐานของศีล ธรรมพอสมควรกอ น; “พอสมควร” ในที่นี้ก็คือ พอที่จ ะรูวา มัน ไมมีห รือ มี มัน มีห รือ ไมเทา นั้น เอง. สว นที่จ ะรูจ นถึง กับ วา จะสรา งมัน ขึ้น มาไดอยางไร ที่จะใหมันกลับมาโดยแทจริงอยางไรนั้น ไวคอยพูดกันในคราวหลัง ๆ ตอไปอีก. ในตอนนี ้จ ะพูด ถึง เรื่อ ง รากฐานของศีล ธรรม พอใหรูจ นเปน ที่ แนใจไดวา มันกําลังมีหรือไมมี, ที่แทก็คือใหรูวา มันกําลังไมมีนั่นเอง. ที นี ้ เพื ่ อ จะให รู  เ รื ่ อ งรากฐานของศี ล ธรรมให ช ั ด แจ ง เราจึ ง ทํา อุป มาวา ตน ไมศ ีล ธรรม หรือ พฤกษาแหง ศีล ธรรมนี้ มัน มีร ากอยา งไร มี ลําตนอยางไร มีใบ ดอกผล อยางไร; นี้ก็จะตองแจมแจงอยูในใจเสมอไป จึง จะมองเห็นสิ่งที่เรียกวารากนั้น อยางเต็มที่ คือ เต็มความหมาย จะไดชวยกัน รักษารากฐานของศีลธรรมนี้ไว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เรื่อ งที ่พ ูด มาแลว โดยสรุป เราสรุป วา โคนตน ไมนั ้น คือ อุด มคติข องศีล ธรรม เปน เรื่อ งความรู หรือ เปน เรื่อ งปรัช ญามากกวา ; แตเ ราไม เลยเถิ ด ไปถึ ง ปรัชญาเพ อ เจ อ เป น เพี ย งอุ ด มคติ ที่ พ อจะมองเห็ น วา ศี ล ธรรมนี้ เปน สิ่ง ที่จํา เปน อยา งยิ่ง โดยแทจ ริง , และยัง เห็น ลว งหนา ไปถึง ระดับ สูง สุด อันจะมีไดในอนาคตภายหลัง วาจะเปนสิ่งที่ประเสริฐที่สุดอยางไร.

ถาพูดกันตรงไปตรงมา ตัดลัดใหมันสั้น ไมกินเวลามาก ก็จะกลาว ได ว า ศี ล ธรรมสมบู ร ณ ที ่ ส ุ ด เมื ่ อ ใด; เมื ่ อ นั ้ น ก็ เ ป น โลก หรื อ เป น ศาสนา

www.buddhadassa.in.th


๑๖๔

การกลับมาแหงศีลธรรม

ของพระศรี อ าริ ย เมตไตรยเมื่ อ นั้ น . เอาไปคิ ด ดู , กล า ท า ให คิ ด ดู . ถ า ว า เรา สามารถทําใหศีลธรรมกลับมาโดยสมบูรณในวันนี้ โลกหรือศาสนาของพระศรีอาริย เมตไตรย ก็จ ะเกิด ขึ้น ในวัน นี้อ ยางผลุน ผลัน ทีเดีย ว; ไปคิด ดูใหดี ก็จ ะ เห็นไดเอง. คนโงจ ะเห็ น วาเป นการพู ด เพ อ เจอ ; เพราะเขาไม รูวาศี ล ธรรมคื อ อะไร, ศาสนาหรือโลกพระศรีอาริยเมตไตรยนั้นเปนอยางไร, มันไมรูไปเสียทั้งนั้น. มันไดยินแตวา อีกกี่หมื่นป อีกกี่แสนป ก็ไมรู จึงจะถึงศาสนาหรือโลกของพระศรีอาริยเมตไตรย. แตเดี๋ยวนี้อาตมา มาบอกวา ถาศีลธรรมเต็มเปยมเมื่อไร ก็จ ะมี โลกของพระศรีอาริยเมตไตรยเมื่ อ นั้ น ; ถ ามั วัน นี้ ก็ มี โลกพระศรีอาริย เมตไตรยวันนี้. เขาก็หาวาเราบา; ก็ไปดูเอาเองก็แลวกัน ใครมันบา. ถ า ศึ ก ษาให รู ก็ จ ะรู ไ ด ว า โลกของพระศรี อ าริ ย เมตไตรย คื อ ผลของความเต็ม เปย มทางศีล ธรรม คือ ไมมีกิเ ลสตัณ หา นอนหลับ สบาย ราวกับวาคนคนหนึ่งมีอายุยืนตั้งหมื่นป. ไปศึกษาดูรายละเอียดในเรื่องโลกพระพุทธเจาพระองคนี้ก็จะไดความวาอยางนั้น. เมื่อมนุษยมีอายุยืนแปดหมื่นป จึง เกิดโลกพระศรีอาริยเมตไตรย; นั้นมันเปน เรื่องสําหรับ การคํานวณและเทีย บ เคียง วาเมื่อคนไมมีกิเลสมีความรูสึกสบาย มันไมเรารอน ไมกระหายดวยกิเลส ตัณ หาแลว วัน คืน มัน จึง ดูชา ราวกับ วา เราคนหนึ่ง ๆ มีอ ายุยืน ตั้ง หมื่น ป. นี่เปนอุปมาแตเพียงขอเดียว สําหรับจะเปรียบเทียบก็พอ วาศีลธรรมกลับมาเมื่อไร โลกนี้จะเปลี่ยนแปลงไปอยางตรงกันขาม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ไดพู ดถึงเรื่องกลียุคมาพอสมควรแลว ในการบรรยายครั้งกอนวา พ ระพุ ทธเจ า ท า นทรงอุ บั ติ ขึ้ น มาในโลกนี้ ในยุ ค ที่ เ รี ย กกั น ว า กลี ยุ ค

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสอง

๑๖๕

คือ ศีล ธรรมเหลือ อยู เพีย ง ๑ ใน ๔ ของที ่ค วรจะมี; นี ่เขาเรีย กวา โลกกลียุค . พระพุทธเจาทานก็ไดเกิดขึ้นมา เพื่อจะแกไขปญหาอันนี้ เพื่อจะทรงแสดงธรรม ชวยโลกไว อยาใหถึงกับพินาศฉิบหายไปเสีย. ยุค ที ่เ รีย กวา กลีย ุค ก็ย ัง มีต อ มาจนถึง วัน นี ้ และจะมีต อ ไป ขา งหนา ; จึง เปน ปญ หาเกิด ขึ้น วา เราจะตอ งชว ยกัน อยา งไร มัน จึง จะไม เปนกลียุค จนถึงที่สุดคือวินาศ; แตมันจะคอยถอยหลังกลับ, ถอยหลังกลับ, หรืออยางนอยก็ทรงอยูในภาวะที่พอจะทนได. เปนอันวาศีลธรรมกลับมาเมื่อไร ยุคที่นาพอใจก็จะมีมาเมื่อนั้น; จึงหวังวาถาทานทั้งหลายเขาใจ ก็คงจะยินดี รวมมือกัน ทําใหศีลธรรมกลับมา. การบรรยายนี้ ก็ เ พื่ อ ศี ล ธรรมกลั บ มา. ท า นทั้ ง หลายที่ ม าฟ ง ก็จ งฟงเพื่อ ศีล ธรรมกลับ มา; คือ ฟงแลว เอาไปคิด ไปนึก เขาใจแลวก็ชว ยกัน ทุกอยางทุกทาง ตามที่ไดแสดงใหเห็นนี้ แลวศีลธรรมก็จะกลับมา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทําไมตองทําอยางนี้ ก็ขอทาทายเลยวา แลวทําอยางไหนเลาที่มันดี กวา ? คุณ จะทํ า อะไร ทํ า อยา งไหน ที ่จ ะดีก วา , ดีก วา ที ่จ ะทํ า ใหศ ีล ธรรม กลับมา ? และจะมีชีวิตอยูทําไป ในเมื่อเปนโลกที่ไมมีศีลธรรม ? ความปลอด ภัย ชีวิต รา งกาย ทรัพ ยส มบัติมัน จะมีไ ดอ ยา งไร ? ถา วา โลกนี้ มัน ไมมี ศี ล ธรรม; จึ งต อ งช ว ยกั น ให ศี ล ธรรมกลั บ มา แล ว ทุ ก อย า งจะมี ค วามหมาย. ประเทศชาติบานเมือง ทรัพยสมบัติ ชีวิต รางกายอะไรตาง ๆ ก็จะมีความหมาย; เพราะมีศีล ธรรมอยูใ นโลกนี้; จึง ของใหส นใจรากฐานของศีล ธรรม, รูจัก ตัวของศีลธรรม, รูจักผลของศีลธรรม. ....

....

....

....

www.buddhadassa.in.th


๑๖๖

การกลับมาแหงศีลธรรม

รากฐานของมันที่เราเรียกวา อุดมคติ อยูที่โคนนั้น; หมายความ วามันอาศัยอะไรอยู. พูดกันแลววา เปรียบเหมือนกับตนไม อาศัยปจจัยในภายใน ในตัว มัน เอง ที่ไมเรีย กวาสิ่งแวดลอ ม, ที่เรีย กวาตัวมัน เอง. ตน ไมอ าศัย ปจ จัย คือ แผนดิน; ตองตั้งอยูบนแผนดิน มันลอยอยูไมได. อาศัยปจจัยคือ น้ําสําหรับ ทําใหชีวิตยังคงเปนชีวิต คือสดอยูได และก็ละลายอาหาร ดูดซึมเขาไปเลี้ยงตน. แลวก็ยังตองอาศัย อาหาร คือแรธาตุทั้งหลายที่เปนอาหาร ที่ละลายอยูในน้ํา ที่เรา เรียกกันวา ปุย. แลวยังตองอาศัยอากาศ; โดยเฉพาะอยางยิ่ง ก็คือ แสงสวาง. ถาไมมีแสงสวาง ก็ไมมีความเจริญ งอกงามอะไร เพราะวามันไม อาจจะกินอาหาร, ตองมีอาหารมาชวยใหปรุง, ตองมีอากาศมาชวยใหเกิดการปรุง อาหารที่ใบเมื่อถูกแสงแดด ก็กลายเปนสิ่งที่เปนปจจัยหลอเลี้ยงชีวิตทั่วไปทั้งตน; ฉะนั้ น จึ งต อ งการแสงสวาง ขาดไม ได . ถ าขาดต น ไม ก็ ต าย เพราะไม ได กิ น อาหาร หรือกินอาหารไมได. แมวาจะมีน้ําหนักหรือมีอาหารอยูในลําตนของมัน แตก็กินไมได; เหมือนกับที่เราไมอาจจะกินขาวเปลือก ตองหุงเปนขาวสุกกอน จึงจะกินได ฉันใดก็ฉันนั้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นอกจากอากาศแลวยังจะตองมีอุณหภูมิ คือความรอนในระดับหนึ่ง ที่เหมาะสมแตชีวิต : ความรอนนอยไปคือเปนหนาวก็ไมได. ความรอนมากไป จนเปนไฟลุกก็ไมได. ตองมีอุณ หภูมิที่พอดีอยางที่มีอยูในโลกนี้ ในถิ่นที่เราจะ เห็นวา มีตนไมเขียวชะอุมไปหมด; แมวาอุณหภูมิจะผิดกันบาง มันก็ไมถึงกับ ใหตาย เปนเพียงแตทําใหเกิดตนไมที่ตาง ๆ กันไป ตามเขต หรือตามโซนของ

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสอง

๑๖๗

อุณ หภูม ิที ่ม ีอ ยู ใ นโลกนี ้. เปน อัน กลา วไดแ นน อนวา มัน ตอ งการอุณ หภูม ิที่ เหมาะสมดวย. .... .... .… .... ในครั้งที่ แ ล วมาเราก็ ได พู ด ถึ งป จ จั ย ที่ ๑ คื อ ดิ น วาต อ งมี ดิ น สํ าหรับ ตน ไม. ทีนี ้ม าถึง ตน ไมแ หง ศีล ธรรม ปจ จัย ของตน ไมแ หง ศีล ธรรมนี ้ ก็แ ยก ออกเปน ๕ อยาง เพื่องายแกการศึกษา. ปจ จัย อยา งแรกที่พ อจะเทีย บไดกับ พื้น ดิน นั้น เราเรีย กวา ศีล ธรรม ที ่ทํ า ใหม ีค วามรู ส ึก วา สัต วทั ้ง หลายเปน เพื ่อ นทุก ข เกิด แก เจ็บ ตาย ดว ยกัน ทั ้ง หมดทั ้ง สิ ้น ; อยา งที ่ปู  ยา ตา ยาย ของเรา เคยทอ งบน อยู เ ปน ประจํ า ในบทนี้ . แล ว ลู ก หลานสมั ย นี้ ก็ หั ว เราะว า ปู ย า ตา ยาย เป น คนโงเง า คร่ําครึ วาอะไรก็ไมรู.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ข อ นี้ มั น ก็ จ ริ ง อยู แ น น อนที เดี ย วว า ลู ก หลานสมั ย นี้ ไม อ าจจะเกิ ด ความรูสึกวา “สัตวทั้งหลายเปนเพื่อนทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันทั้งหมด ทั ้ง สิ ้น ”; เพราะวา ลูก หลานสมัย นี ้พ อเกิด ขึ ้น มา มัน ก็เห็น แตก ารทะเลาะวิว าท ขบกั ด กั น , ยิ่ งเรีย นมาก มั น ก็ ยิ่ งรูแ ต เรื่อ งการรบราฆ าฟ น การทํ าลายล าง การ จองลางจองผลาญซึ่งกันและกัน ในโลกนี้ระหวางประเทศ.

สิ่งที่เขาเอามาใหเรียนก็คือเรื่องที่จะทําลายลางกันทั้งนั้น : เศรษฐกิจ ก็เพื่อทําลายลาง, การเมืองก็เพื่อทําลายลาง, การทหารก็เพื่อทําลายลาง, อะไร ๆ

www.buddhadassa.in.th


๑๖๘

การกลับมาแหงศีลธรรม

ก็เพื่อทําลายลาง ผูอื่น หรือฝายตรงกันขาม เพื่อใหตัวเองไดเปรียบ หรือที่เขา เรียกกันวา เจริญ เจริญอยางไมมีศีลธรรม. นี่ เด็ ก ๆ ก็ ไม เขาใจความหมายที่ วา “สั ต วทั้ งหลายทั้ งปวง เป น เพื ่อ นหัว อกเดีย วกัน ในความทุก ข คือ เปน เพื ่อ นทุก ข เปน สหายแหง ความ ทุก ข”; เพราะขอ นี้เ ขาเล็ง ถึง ธรรมชาติเ ปน สว นใหญกอ น วา สัต วทั้ง หลาย หรือสิ่งที่มีชีวิตทั้งหลาย มัน เปนเพื่อนทุกขแกกันและกัน. เพราะสิ่งที่เรียกวา ชีว ิต นั ้น เปน การตอ สู  อยา งนอ ยก็ต อ สู ก ับ ความเจ็บ ความแก ความตาย ความขาดแคลนทั้งหลาย ไมไดปจจัยเกื้อ กูลแกชีวิตอยางเพียงพอ, และยังมี อันตรายตามธรรมชาติ : ความแก ความเจ็บ ความตาย สําหรับผูที่ไมมีปญญา ไมสามารถจะแกไขมันได และเปนเหมือนกันหมดทุกคน. แตอัน ตรายที่รา ยที่สุด เหนือ อัน ตรายทั้ง หลายนั้น สรุป ไดอ ยูที่ สิ่ง สิ่ง เดีย วคือ กิเลส. กิเลสเรีย กวา อัน ตราย, เรีย กวา ศัต รู, เรีย กวา สิ่ง เลวรายทั้งหมดเลย ไปสมบูรณอ ยูที่กิเลส. คนทุกคนมัน มีกิเลส, รบ สู กับ กิเลสดวยกันทุกคน; อยางที่เรียกวา พายแพแกกิเลสอยูตลอดเวลา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทํ า ไปไม ม องกั น ในแง นี ้ ว า เราทุ ก คนเป น เพื ่ อ นแพ แ ก ก ิ เ ลส, ทนทุกขทรมานเพราะอํานาจของกิเลสกันอยูตลอดเวลา. เรามามองเห็นความจริง ขอนี้ แลวก็มีความสมัครสมานสามัคคีกัน เพื่อจะเอาชนะศัตรูรวมกัน คือกิเลส และเราก็จะอยูเปนผาสุก. .... .... .... ....

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสอง

๑๖๙

เดี๋ยวนี้คนในโลกนี้มีการศึกษาเปนอยางอื่น, มองเห็นขาศึกอยางอื่น; ไมม องเห็น ขาศึก คือ กิเลส ก็เลยไปเพิ่ม กิเลสใหมัน มากขึ้น อีก : มีกิเลสสําหรับ จะฆาคนอื่น, จะฆาพวกอื่น, จะเอาเปรียบพวกอื่น. มันก็ยิ่งเพิ่มกิเลสยิ่งขึ้นไปทุกที จึง ไมม ีค วามสงบสุข หรือ สัน ติส ุข ไดใ นโลกนี ้ ก็ท นทุก ขม ากยิ ่ง ขึ ้น ทุก ที; แต พรอมกันนั้น ก็ยิ่งไมเห็นวา เปนเพื่อนทุกขแกกันและกันมากขึ้นทุกที เพราะมัน ไปฆาเพื่อนมนุษยดวยกัน ที่มีความทุกขนั่นแหละ เห็นเพื่อนมนุษยดวยกันที่มีความ ทุกขอยางเดียวกันนั่นแหละวาเปนขาศึก ก็มุงหมายแตจะฆาเพื่อนมนุษยดวยกัน อยางนี้ ก็เลยไมถูกขาศึกที่แทจริง คือ กิเลส ซึ่งมีอยูแลวในภายในของคนทุกคน. นี่เรียกวาคนยังโง มันไมเห็นขาศึกที่มีแทจริงที่มีอยูในภายใน; และ ขาศึก ภายในนั้ น มั น ก็ห ลอกให เห็ น ขาศึ ก ในภายนอก แล วมั น ก็ ไปมั วฆ าขาศึ ก ภายนอกกันเสียอยางหลับหูหลับตา; ไมยอนเขามาขางใน ใหมองแลเห็นกิเลส ซึ่ง เปน ขา ศึก อัน แทจ ริง . นี ่เ รีย กวา กิเ ลสมัน ก็ไ ดเ ปรีย บอยู เ รื่อ ย ก็ห นา แนนขึ้นมาเรื่อย; มนุษยก็เปนผูที่ทนทุกขมากขึ้นไปอีกเรื่อย ๆ ไป และก็ ยั งไม ม องเห็ น วา เราจมอยู ในกองทุ ก ข . นี่ เราก็ จ ะต อ งเป น เพื่ อ นทุ ก ข คื อ เป น เพื่อนที่จะชวยกันแกไขความทุกข.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ขอ นี ้ก ็เ ปน เพราะวา คนถูก กิเ ลสหลอกหรือ ปด บัง ไวเ สีย หมด ไมใ หม องเห็น ขอ เท็จ จริง จึง ไมไ ดก ลัว ขา ศึก คือ กิเลส; แตไ ปกลัว คน คนซึ่ง เปนผูขัดขวางประโยชนอยางวัตถุ อยางของโลก ๆ อยูในโลกดวยกันทั้งนั้น เลย ไมเห็นวาตัวเองนี้เปนทุกข หรือวาทุกคนนี้มีความทุกข.

อยากจะเลาใหฟงสักนิดหนึ่งวา นักศึกษาชั้นศาสตราจารยที่เปนฝรั่ง มาจากยุโรป มารองทุกขที่นี่ วาเขาศึกษาพุทธศาสนาเปนที่พอใจอยางยิ่ง; แต

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๑๗๐

พอบอกให เพื่ อ นนั ก ศึ กษาด วยกั น มาสนใจในพุ ท ธศาสนา, พวกเพื่ อ น ๆ ก็ ถ ามว า ศึกษาพุทธศาสนาทําไม ? อาจารยคนนั้นก็ตอบไปวา ศึกษาเพื่อจะดับทุกข ดับ ความทุกข: เพื่อน ๆ เขาพากันตบมือโหฮาปา หัวเราะใสหนาวา ศึกษาพุทธศาสนา เพื่อจะดับทุกข เพราะเขาไมรูสึกวา เขามีความทุกข ก็พูดกันไมรูเรื่อง. ศาสตราจารย ค นนั้ น อุ ต สาห ม าถึ ง ที่ นี้ เพื่ อ จะศึ ก ษาอะไรบางอย า ง, พรอมกับที่จะมาถามวา ถาเขาถามเราวาศึกษาพุทธศาสนาทําไม เราจะตอบเขา วา อยา งไรดี. ปญ หามัน เหมือ นกัน แมที่นี่ แมใ นเมือ งไทย ในหมู พ ุท ธบริษ ัท เรานี ่แ หละ ก็ไ มรูวา ศึก ษาพุท ธศาสนาทํ า ไม. ที่วา ศึก ษาพุท ธศาสนาเพื ่อ ดั บทุ กข นั้ น มั นวาตาม ๆ กั นไป คื อวาตามตั วหนั งสื อที่ สวดรองท องบ น แต ละคน ยังมิไดเห็นความทุกข ไมไดรูสึกวามีความทุกข. ทานทั้ งหลายที่ นั่ งฟ งอยูที่ นี่ ก็ ระวังให ดี กําลั งจะตกอยูในอาการอยางนี้ ก็ ได ; พวกพระเณรที่ นุ ง เหลื อ งห ม เหลื อ งเข า มาแล ว นี้ ก็ ดี อาจจะตกอยู ในสภาพ อยา งนี้ก็ไ ด คือ ไมม องเห็น ความทุก ข แลว มาศึก ษาพุท ธศาสนานี้เ พื ่อ ดั บ ทุ ก ข . เพราะฉะนั้ น มั น ไม จ ริ ง ไม จั ง ; แม จ ะเป น พระ เป น เณรก็ ยั ง ทะเลาะ วิ ว าทแก กั น และกั น ในระหว า งบุ ค คล; เพราะอํ า นาจของกิ เ ลสที ่ ทํ า ให ไมเห็นความทุกขนั้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org .... .... .... .... ขอให ส นใจในส ว นนี้ แ หละให เป น พิ เศษ ให เห็ น ความทุ ก ข ว า เป น อยา งไร, และใหเ ห็น วา เรากํ า ลัง จมอยู ใ นกองทุก ขนั ้น ในลัก ษณะอยา งไร, คือ กี่มากนอย; และ ใหรูสึกวาเราอยากจะพนจากความทุกขนั้นจริง ๆ.

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสอง

๑๗๑

ถาจะเปรียบก็เหมือนกับวา เมื่อเราดํารงไปในน้ําเต็มกลั้นแลว เรา อยากจะโผลขึ้น มาใหพน น้ํา นั้น ; มัน อยากกัน กี่ม ากนอ ย กระทํา ความรูสึก ดูใ หม. กลับ ไปนี ่ไ ปมุด ลงไปในน้ํ า ในคลองก็ไ ด; พอเต็ม กลั ้น แลว คํ า นวณ ดูความรูสึกวา มันอยากจะผุดโผลขึ้นมาใหพนน้ํานี่ มันอยากสักกี่มากนอย. หรื อ จะคํ า นวณดู อี ก อย า งหนึ่ ง ว า มี ค นจั บ เรากดลงไปในน้ํ า แช อ ยู อย า งนั้ น ; แล วเราอยากจะขึ้ น มาให พ น จากน้ํ า นั้ น สั ก กี่ ม ากน อ ย, มี ค วามอยาก กี่ ม ากน อ ยไปคํ า นวณดู , แล ว ก็ ไ ปทํ า จริ ง ๆ ดู จะรู สึ ก ว า มั น ต า งกั น มาก. การ คํ า นวณ มั น คํ า นวณอยู ใ นที่ ไม ถู ก กดอยู ในน้ํ า คํ า นวณมั น น อ ยเกิ น ไป; ต อ งไป คํ า นวณด ว ยการที่ จ มอยู ในน้ํ าจริง ๆ และมั น หายใจไม อ อก มั น จะตาย, และมั น อยากจะขึ้นพนน้ําจริง ๆ มันมีเทาไร. ที นี้ ก็ คํ า นวณดู ต อ ไปว า ถ า ใครมาทํ า กั บ เราอย างนี้ เราควรจะโกรธ เขาสั กเท าไร ? เราควรจะถื อวาเขาเป นศั ตรูกั บ เรากี่ มากน อ ย ? เราควรจะโกรธคน ที่จับเรากดลงไปในน้ํา ไมใหผุดขึ้นมาจนเราจะตายนั้น เราควรจะโกรธเขาสักเทาไร. นี่คือเกลียดกิเลสสักเทาไร.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถ า เรารู ข อ นี้ แ ล ว จะไม ย ากเลย ในการที่ จ ะเข า ใจคํ า ว า “ความทุ ก ข ” และก็ จ ะเข า ใจการที่ เราทุ ก คนจมอยู ใ นกองทุ ก ข หรื อ ว า เพื่ อ นทุ ก ข ด ว ยกั น และ กัน . พูด ในทางจิต ใจ หรือ ทางพระศาสนาแลว เพื ่อ นสุข นั ้น เกือ บจะไมม ี หรือ ไมม ีค วามหมายอะไร; เพราะวา ความทุก ขม ัน มากกวา . ภาวะของความทุก ข นั ้น มีม ากกวา : เปน ทุก ขด ว ยกัน เปน เพื ่อ นทุก ขด ว ยกัน มัน มาก มากจน

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๑๗๒

ลน ไปหมด ไมม ีโ อกาสเปน เพื ่อ นสุข ; จนกวา เมื่อ ไร จะปฏิบ ัติธ รรมสํา เร็จ บรรลุมรรคผลขั้นใดขั้นหนึ่ง จึงจะคอยพูดกันถึงเรื่องความสุข หรือมีเพื่อนสุข. นี้ ต อ งเล็ งถึ งพระอริย เจ า โดยเฉพาะพระอรหั น ต เป น อย างยิ่ งเท านั้ น ที่จะมานั่งมองกันวา เราเปนเพื่อนสุข; ถายังเปนปุถุชนธรรมดาแลว ไมมองเห็นใน แง ไ ห นว า จะเป น เพื่ อนสุ ข แก กั น และกั น โดยแท จริ ง นอกจากเพื่ อนสุ ข อยา งโงเ ขลาไปตามอํ า นาจของกิเ ลส. เพื ่อ นกิน เพื ่อ นเลน เพื ่อ นหัว เพื ่อ น คู ช ีว ิต ชีว า อะไรก็ต าม ที ่เ ขาพูด กัน นั ่น ลว นแตเ ปน เพื ่อ นทุก ขทั ้ง นั ้น ; ฉะนั ้น จึง ถือ วา ถา ยัง เปน ปุถุช นอยู ควรจะพูด วา เปน เพื่อ นทุก ขกัน นั่น แหละ ถูกตอง. ....

....

....

....

นี ้เ รา มองเห็น วา “สัต วทั ้ง หลายเปน เพื ่อ นทุก ข โดยเฉพาะ อยา งยิ่ง เพื่อ นเกิด แก เจ็บ ตาย” ซึ่ง เปน ผลของกิเ ลสทั้ง หลาย; ก็เ ปน อัน วา รูขอ เท็จ จริง ที่ลึก ซึ้ง สูง สุด อยา งยิ่ง เพื่อ เปน รากฐานแหง ศีล ธรรม. เพราะวา เมื ่อ เรารูเรื่อ งนี ้แ ลว หรือ เขา ถึง ความจริง อัน นี ้แ ลว เราเบีย ดเบีย นกัน ไมล ง : จะทํ า ปาณาติบ าต ฆา กัน ก็ไ มล ง, จะทํ า อทิน นาทานลัก ของเพื ่อ น กัน ก็ไมล ง, จะลว งเกิน ประทุษ รา ยของรัก ของผู อื่น ก็ทํ า ไมล ง, จะโกหกกัน ก็ทํ า ไมลง อะไรก็ลวนแตทําไมลง; เพราะวากําลังกลัวตอความทุกข.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เมื่ อ มองเห็ น ว า ชี วิ ต ทั้ ง หลายเป น ทุ ก ข , เป น เพื่ อ นทุ ก ข ; มั น ก็ เกิ ด ความโลภไมไ ด เกิด ความโกรธไมไ ด แลว ก็ห ลงใหลอะไรอีก ไมไ ด; เพราะวา

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสอง

๑๗๓

มัน เขาถึงความจริงนี้ เสียแลว. นี้ ก็เลยป อ งกันการเกิด แห งความโลภ ความโกรธ ความหลง; คนก็มีศีลธรรมเพราะเหตุนั้น. นี่เราไดพูดกันไปเสร็จแลว. ขอทบทวนอย า งนี้ อี ก ครั้ง หนึ่ ง เพื่ อ สรุป ใจความให จํ า งา ย ว า รากฐานของศี ล ธรรมอั น แรกนี้ เราจะถื อ ว า ความจริ ง ที่ ว า “สั ต ว ทั้ ง หลาย เป น เพื่ อ นทุ ก ข เกิ ด แก เจ็ บ ตาย ด ว ยกั น ทั้ ง หมดทั้ ง สิ้ น ” นั่ น แหละ เปน รากฐานอัน แรก เปรีย บเหมือ นกับ แผน ดิน . ชว ยกัน บอกใหล ูก หลาน ทราบขอ นี ้ ใหเขาทอ งไวก อ นก็ย ัง ดีแ มจ ะไมเขา ใจวา มีอ ะไรสัก เทา ไร; ทอ งได ก็ยังดี ตอไปโตขึ้น เด็ก ๆ ก็พอจะเอาไปคิดนึกไดเอง ในบางเวลาบางโอกาสที่มี ความสลดสังเวช. ตรงนี้ อ ยากจะบอกให ท ราบว า บทมนต ทั้ งหลาย หรือ ว าบทธรรมะ อะไรก็ต าม ตามธรรมดา ก็ย ัง ไมเขา ใจความหมายลึก ซึ ้ง แตถ า จํ า ไวไ ด เปน การดี มันจะออกมาเปนความหมายที่ลึกซึ้ง เมื่อถึงโอกาส. เมื่อมีอะไรสบเหมาะ มั น จะเข า ใจถึ งความหมายอั น นั้ น , หรือ เมื่ อ ความทุ ก ข เกิ ด ขึ้ น สิ่ งนั้ น จะออกมา เปน เครื่อ งแสดงความดับ ทุก ข; นี ่ช ว ยกัน จํ า ไว สอนใหล ูก เด็ก ๆ ทอ งไว เปน ของศัก ดิ ์ส ิท ธิ ์ คุ ม ครองอยา งศัก ดิ ์ส ิท ธิ ์ไ ปกอ นก็ไ ด. ใหภ าวนาวา สัต วทั ้ง หลายเปน เพื่อ นทุก ข เกิด แก เจ็บ ตาย ดว ยกัน ทั้ง หมดทั้ง สิ้น แลว ก็ ไปแยกเอาเองวา มันจะมีอะไรเกิดขึ้น. นี่คือการบรรยายในครั้งที่แลวมา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ที นี้ ท า นทั้ ง หลายก็ จ ะทราบได ทั น ที ว า รากฐานแห ง ศี ล ธรรมข อ นี้ กําลังขาดอยู หรือวาไมขาด ? คงจะตอบไดอยางเชื่อมันวา กําลังขาด.

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๑๗๔

ไมมีใครคนไหนที่มานั่งทําความรูสึกวา “สัตวทั้งหลายเปนเพื่อน รวมทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันทั้งหมดทั้งสิ้น” แมวามันมีอยูในบทสวด บทภาวนาที่ยังมีเหลืออยูบาง แตมันไมพอที่จะทําใหทุกคนรูสึกเชนนั้น. โดยเฉพาะ ในบานในเมืองที่มันกําลังยุงเหยิง ตอสูอยูดวยการแสวงหาผลประโยชนทางวัตถุ แล ว ไม มี โอกาสที่ จ ะรูสึ ก วา “สั ต วทั้ ง หลายเป น เพื่ อ นทุ ก ข เกิ ด แก เจ็ บ ตาย; มัน มีแ ต “เงิน ของกู ทองของกู ผัว ของมึง เมีย ของกู” ก็ไมม ีโอกาสที ่จ ะคิด วา ทุกคนนี่ มันเหมือนกันในขอนี้ คือเปนเพื่อนทุกขดวยกันทั้งหมดทั้งสิ้น. [ จบคําปรารภทบทวน ]

ทีนี้ก็มาถึง รากฐานขอที่ ๒ ของศีลธรรม. เราเคยกล า วว า ป จ จั ย ที่ ๒ ของต น ไม รองลงมาจากดิ น ก็ค ือ น้ํ า . ตน ไมศ ีล ธรรมจะมีอ ะไรเปน น้ํ า สํ า หรับ ทํ า ใหม ัน สดชื ่น ; ถา น้ํ า มัน ก็ต อ งตรงกัน ขา มกับ ไฟ. ถา ไฟก็ทํ า ใหแ หง ใหไ หม; ถา น้ํ า มัน ก็ต รงกัน ขา ม กับไฟ ก็คือไมแหง ไมไหม แตวาทําใหสดชื่น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี ่เ ราก็เ หลีย วหาดูว า อะไรที ่จ ะเปน รากฐานทางศีล ธรรม ที ่พ อ จะเปรียบกัน ได กับ น้ํ า ที่ทํ าให ตน ไม มี ความสดอยู มี ชีวิต อยู. อยากจะให ทุ กคน ใชค วามคิด ของตัวเอง; ถาบอกใหเสีย เรื่อ ยไป ไมตอ งใชค วามคิด กัน แลว ก็ค ง จะเปนคนที่คิดอะไรไมเปน.

ถาม : ขอถามทานทั้งหลายที่นั่งอยูตรงนี้ ๔ ทานนี่วาลองวามากอนวา ธรรมะ ขอ ไหนที ่เ ปน รากฐานของศีล ธรรม ? ขอ ไหนที ่พ อจะเปรีย บกัน ไดก ับ คําวาน้ํา ซึ่งเปนปจจัยของตนไมตามธรรมดา ? คุณประยูรกอน.

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสอง

๑๗๕

ตอบ : ความหมายของน้ํา ตามปจจัยของตนไม ก็สําหรับละลายอาหาร หรือเปนสื่อ นําอาหารในแงของทางวัตถุ ก็เปนสื่อ นําอาหารไปเลี้ย ง ทั่ว ไปของตน ไม. ทีนี้ใ นคุณ ธรรม ตน ไมข องศีล ธรรมในที่นี้ ผม ใครอ ยากจะเอาตัว สติม าใชเ ปน น้ํา สํา หรับ จะไดนํา เอาคุณ ธรรม ตาง ๆ มาใชใหทันทวงทีตามทุกกรณี ชีวิตจะสดชื่นอยู เพราะชีวิต นั้นมีสติครับ ถาไมมีสติแลวก็เหี่ยวแหง. ถาม : คุณทอง วาอะไร ? ตอบ : คุณธรรมความดีงาม เปนสิ่งที่เปรียบไดกับน้ํา ที่จะหลอเลี้ยงจิตใจ ของมนุษยใหเปนผูที่มีความเปนอยูอยางสดชื่น, และเปนรากฐานที่ จะทําใหมนุษยนี้มีความรูสึกวา เราตางก็รวมเกิด แก เจ็บ ตาย ดวย กันทั้งหมดทั้งสิ้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : สรุปสั้น ๆ วาคืออะไร ไดแกอะไร คุณธรรมนั้น ชื่ออะไร ? ตอบ : ความเมตตากรุณา.

ถาม : คือความเมตตากรุณา, คุณล้ํา?

ตอบ : คุณธรรมทางศีลธรรม ที่เกี่ยวกับตนไม ที่จะเปรียบกับน้ําที่เลี้ยงตนไม ก็คือ หิริ โอตตัปปะ คือความละอายกับความกลัวครับ. ถาม : คุณชวน ? ตอบ : กระผมมีความเห็นเหมือนคุณทองครับ คือเมตตากรุณา.

www.buddhadassa.in.th


๑๗๖

การกลับมาแหงศีลธรรม

คนหนึ่งตอบวา สติ จะเปนเหมือนน้ํา ก็ถูกไมผิดหมดหรอก. คนหนึ่ง วา เมตตา ก็มีความหมายถูกเห็นไดชัด. คนหนึ่งวา หิริโอตตัปปะความละอาย บาป กลัวบาป มั นก็พ อจะเป นรากบานของศีลธรรมได. แตเดี๋ยวนี้ อยากจะให เปนวา ทุกคนกลาวตามความรูสึกของตัว เราไมจําเปนจะตองกลาวเหมือนกัน คือไมตองตรงกันทุกคน เพื่อจะทดสอบดูวา ใครเคยคิดกันอยางไร. ทีนี้ ทางฝายอาตมาจะออกความคิดบาง ก็มีอิสระที่จะออกความคิด ไปตามความคิดของตัว; ถาออกมาไมเหมือนกัน มันก็ไมตองผิด เพราะมันถูกได ทุกคน แตเรียกวาตามมากนอยก็ได หรือจะเรียกวาตามที่มันจะเปนประโยชนแก สังคมในยุคนี้มากหรือนอยกวากันก็ได. ถ า หากว า จะมี ก ารแนะให เห็ น ว า ความคิ ด อั น ไหนของผู ใ ดยั ง ไม สมบูร ณ ก็อ ยา โกรธ, อยา เพิ ่ง โกรธ; โดยมากพอไดร ับ คํ า ทัก ทว ง หรือ คํ า ปฏิเ สธ วา ไมถูก แลว ก็มัก จะโกรธ, แลว ก็โ กรธจริง ๆ นั้น แหละมากกวา . ในบานในเมืองก็มีปญหาอยางนี้ ในวัดในวาก็มีปญหาอยางนี้, พอแมทักทวงลูก ก็ไมได, อุปชฌายอาจารยทักทวงลูกศิษยก็ไมได; เพราะมันโกรธเสียแลวและก็ ไมไ ดป ระโยชนอ ะไร และยิ ่ง มีม านะถือ ตัว แรงขึ้น อีก , และตอ ไปก็ยิ ่ง ทัก ทว ง ยากขึ้น อีก. ยิ่งทักทวงก็ยิ่งมีม านะขึ้นไปอีก ฉะนั้น จึงเจริญ ดวยมานะ ความ ลมเหลวมันอยูที่นี่ ความลมเหลวของการที่ไมงอกงามเจริญกาวหนาไปตามทางแหง พระศาสนานั้น มันอยูที่นี่.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ขอใหเปน อัน วา เราไมม ีค วามรู ส ึก อัน นี ้ จึง ควรจะวิจ ารณก ัน ได และถามีการเสนอที่แปลกออกไป ก็ควรจะรับฟงดวย.

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสอง

๑๗๗

ถา จะพูด วา สติม ัน ก็ม ีส ว นถูก ; แตว า โดยทั ่ว ๆ ไป คํ า วา สติ ถูกใชในลักษณะเปนเครื่องมือ เครื่องนําเสียมากกวา และมีความหมายกวางไปได ทุกสิ่งทุกอยางที่เปนประโยชน. เราควรจะมองสิ่งที่จํากัดกวานี้. เมตตาเปน เหมือ นน้ํ า นี ่ก ็ถ ูก ตามสํ า นวนโวหาร ที ่ก ลา วกัน อยู ทั่วไปในโลกนี้ หรือวาในยุคพุทธกาลในประเทศอินเดีย ก็ดูจะใหความหมายของ เมตตานี ้วา เย็น เหมือ นกับ น้ํ า ; แตวา มัน เปน ไปในทางเย็น ไมใ ชเ ปน ไปใน ทางหลอเลี้ยงใหสดชื่น หรือเปนสื่อนําอาหารอยางที่เรามุงหมาย ฉะนั้น จะยกเอา ไปไวในอันดับตอไป จะเอาอันดับที่ใกลชิดกวานี้ จะวาอะไร ก็คอยฟง. สํ า หรับ หิ ริและโอตตั ป ปะนี้ เป น ธรรมะที่ อ ยู ในฐานะเป น เครื่อ งมื อ เหมือนกัน , เปนเครื่องมือที่จะนํามาซึ่งสิ่งอื่น, เป นธรรมะที่จะนําธรรมะอื่นมา. คนมี ความละอายบาป มี ความกลั วบาป แล วก็ ประพฤติ ธรรมะ อย างใดอย าง หนึ่งเพราะอํานาจของความละอายบาป หรือกลัวบาป; จะวาเปนน้ําในที่นี้ ก็ได ความหมายถูกในบางสวน. เอาเปนอันวา ไดฟงความคิดเห็นที่อยูกันคนละระดับ หรือคนละทิศทาง พอเปนเครื่องพิจารณาตอไป.

www.buddhadasa.in.th ความไมเปนทาสของอายตนะ www.buddhadasa.org ทีนี้ก็อ ยากจะเปด เผยความเขาใจของตนเองบาง ปจ จัย หรือ ราก ฐานของศี ล ธรรมส ว นที่ ส อง ที่ จ ะเปรี ย บกั น ได กั บ น้ํา นั้ น . อาตมา อยากจะระบุไปยังสิ่งที่เอยถึงแลวๆ เลาๆ บอยๆ หลายครั้งหลายหน แลวก็ยัง จํากันไมได พอพูดออกมาก็รูทันทีวา ไดพูดกันมากี่ครั้งกี่หนแลว ๆ เลา ๆ อยางไร. ขอนั้นคือ ความไมเปนทาสของอายตนะ.

www.buddhadassa.in.th


๑๗๘

การกลับมาแหงศีลธรรม

ถาจะจดหรือจะจํา ก็จดเปนคําสั้น ๆ ประกอบดวยภาษาบาลีอยางนี้ไว ก็ด ี เพราะมัน กะทัด รัด ดี วา “ความไมเ ปน ทาสอายตนะ”. อายตนะ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เปนที่ตั้ง เปนประตู เปนที่ติดตอหรืออะไรก็ตาม กับ อารมณ ภายนอก คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธัมมารมณ แลวมันก็ทําให เกิดอัสสาทะขึ้นมา อยางใดอยางหนึ่งเปนธรรมดา, คือเปนเหยื่อที่ลอใหพอใจ. ถ า เราเป น ทาสของอายตนะ ก็ คื อ หลงใหลในรส ในอั ส สาทะอั น อรอยของอายตนะ; หมายถึงอายตนะภายใน อายตนะภายนอก ถึงกันเขาแลว มีผ ัส สะ มีเ วทนา เปน อัส สาทะ. จะตอ งดูใ หเ ห็น วา โลกปจ จุบ ัน นี ้เ ปน ทาส ของอายตนะรุน แรงยิ่ง ขึ้น ; อาชญากรรมทั้ง หลาย เกือ บทั้ง หมดมาจาก การที ่เ ปน ทาสของอายตนะ แลว จึง ไปประกอบอาชญากรรมนั ้น ; เพราะ ฉะนั ้น การเปน ทาสของอายตนะนั ้น มัน ก็เปรีย บคลา ยกับ ไฟ รอ นและไหม; ตรงกันขามจึงจะเปนน้ํา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ไม เ ป น ท า ส ข อ ง อ า ย ต น ะ จึ ง จ ะ เป น น้ํ า เย็ น ห ล อ เลี ้ ย ง สภ าพ ชี ว ิ ต ; เป น ทาสของอายตนะ คื อ ตา หู จมู ก ลิ ้ น กาย ใจ; เกี่ยวกับรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธัมมารมณ.

เดี ๋ย วนี ้ค นในโลกนี ้ก ็เ ปน ทาสของ ตา หู จมูก ลิ ้น กาย ใจ; แต ใ จนั้ น ไม ต อ งพู ด ถึ ง เพราะจะเห็ น ได ชั ด ว า ไปรุ น แรงอยู ที่ ก ารเป น ทาสของ อายตนะทางผิว หนัง คือ ทางกาย หรือ ทางโผฏฐัพ พะ, ระบุล งไปตรง ๆ วา เรื่องของกามารมณ ระหวางเพศตรงกั น ข าม. ส วน รูป เสี ย ง กลิ่ น รส นั้ น มั น เปนเพียงอุปกรณชวยเหลือเรื่องนี้เสียมากกวา.

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสอง

๑๗๙

แมจะแยกออกไปเปนแตละอยาง ๆ ก็ไมรุนแรงเทากับเปนทาสของ อายตนะในทางผิวหนัง คือสัมผัสในทางผิวหนัง และ โดยเฉพาะเรื่องระหวาง เพศ และสิ่งที่แวดลอมเกี่ยวของอื่น ๆ ซึ่งเปนอุปกรณของการประกอบกรรมทาง เพศ. เมื่อกําลังเสียวกระสันอยูดวย รสทางอายตนะนั้น มัน เปน ไฟที่เผา ผลาญอยางยิ่ง ; แตค นไมคอ ยรูสึก ตรงตามที่เปน จริงวาเปน ไฟ. เขาไปเห็น เปนความเอร็ดอรอย ก็เลยเปนสิ่งที่นารัก นาพอใจไป ไมมองเห็นวาเปนไฟ. ถ า ถื อ ตามหลั ก ทางพระศาสนา มาแต โ บราณก อ นพุ ท ธกาล ก็ไ ด : คนมีค วามรูสึก เสีย วกระสัน ในรสทางอายตนะทีไ ร ก็เ กิด ไฟกิเ ลส ชนิดหนึ่งขึ้นแผดเผา ใหชรา ใหรอยหรอไปครั้งหนึ่งเสมอไป; แลวจะตองหา มาทดแทน ชดเชย เสริมเติม เขาไวอีก สําหรับจะเปนเหยื่อของไฟ คือกิเลสนี้ ทุก ๆ คราวไป; เปนทาสของอายตนะทีไร ก็จะเกิดไฟขึ้นเผาผลาญชีวิตใหชรา ในภายใน อยางนี่เรื่อยไป ทุกคราวที่เปนทาสของอายตนะ, จะเปนเอร็ดอรอย ทางตาก็ได อรอยทางหูก็ได ทางจมูกก็ได ทางลิ้นก็ได ซึ่งเปนของไมรุนแรงนัก; แตถึงอยางนั้นก็เปนไฟ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ไปคิดดูเถอะ แมแตเอร็ดอรอยทางลิ้น เกี่ยวกับอาหารนี่; เรามั น อรอ ย เราก็ไ มรูส ึก วา มัน เปน ไฟ, มัน เปน ไฟเปย ก มัน เปน ไฟเย็น ไฟที่ ซอ นเรน มันก็เผาผลาญ. เปน ทาสของความอรอ ยทางลิ้น เปนไฟเผาจิต ใจ เทาไร ไปคิดดูกอน.

ถา เปน เรื่อ งสัม ผัส ผิว หนัง ระหวา งเพศตรงกัน ขา มแลว เปน ไฟอย า งยิ่ ง ยิ่ ง ไปกว า นั้ น อี ก มากมาย, เป น ไฟเผาให ชํา รุ ด ทรุ ด โทรม

www.buddhadassa.in.th


๑๘๐

การกลับมาแหงศีลธรรม

ลงไปในขณ ะนั ้น ซึ ่ง จะตอ งหาอะไรมาชดเชยมาก มากกวา ทางอายตนะ อื่น ๆ จึงจะฟ นคืนเขามาเปนชีวิตตามธรรมดา สําหรับจะเปนเหยื่อไฟในการกระทํา ครั้งตอไปอีก. ฉะนั ้น ขอใหจํ า ไวสํ า หรับ ไปคิด ดูว า ที ่ม ัน ไมใ ชไ ฟ มัน ตอ งตรง กั น ข า ม คื อ ความไม เ ป น ทาสของอายตนะ ไม เ ป น ทาสตา ไม เ ป น ทาสหู ไมเปน ทาสจมูก ไมเปน ทาสลิ ้น ไมเปน ทาสสัม ผัส ผิว หนัง และไมเปน ทาสใจ. ใจในที่ นี้ คื อ ใจที่ ป ระกอบอยูด วยกิ เลส อวิชชา สํ าหรับ จะไปหลงไหลธัม มารมณ อยา งนั ้น อยา งนี ้. จํ า คํ า คู ไ วว า เปน ทาสของอายตนะ และก็คํ า วา เปน นายเหนืออายตนะ. เราต อ งการความเป น นาเหนื อ อายตนะ จึ ง จะสดชื่ น , พอเป น ทาส ของอายตนะจะเหี ่ย วแหง ; พูด เชน นี ้บ างคนอาจจะเขา ใจความหมายไดท ัน ที ไม ม า ก ก็ น  อ ย . พ อ เป น ท า ส ข อ ง อ า ย ต น ะ แ ล ว ก็ จ ะ เห มื อ น กั บ ถู ก เผ า และจะเหี ่ย วแหง อยา งนอ ยก็ในภายใน กระทั ่ง ออกมาทางภายนอก ไมส ดชื่น ; แต เพราะว า มี อั ส สาทะ คื อ ความเอร็ด อรอ ย, เอร็ด อรอ ยซึ่ ง เขาเรีย กวา เหยื่ อ นั้ น หลอกเขาไวอ ยางรุนแรง คนก็ย อมเป น ทาสของอายตนะ, เป น ธรรมดาสามั ญ ใน โลกของปุถุชนคนธรรมดาทั่ว ๆ ไป.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สัต วเ ดรัจ ฉานก็เ ปน ทาสของอายตนะแตม ัน ชั ่ว ครู ชั ่ว ขณ ะ หรือ แวบเดี ย ว วู บ เดี ย ว; ส ว นคนนี ้ ม ั น เก ง มั น คิ ด เก ง มั น ระลึ ก ได มั น จํ า ได และมัน คิด แตกงอกงามออกไปได; คนจึง เปน ทาสของอายตนะ อยา งยืด เยื ้อ เรื้อ รัง เปน ชั ่ว โมง เปน วัน เปน เดือ น เปน ป หรือ ตลอดเวลา

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสอง

๑๘๑

ก็ไ ด, แลว ก็ไ ปหามาสะสมเขา ไว สํา หรับ จะไดเปน ทาสของอายตนะใหห นัก ใหยิ่งขึ้นไป และใหนาน ใหยาวมากขึ้น. ฉะนั้น ไปดูใ นบา นเรือ น หรือ แมใ นวัด วา ในกุฏ ิข องพระของเณร ก็ได วามีอะไรบางที่วางอยูเกะกะ ๆ นั้น ที่มันสงเสริมความเปนทาสของอายตนะ ที่เราไมเคยรูสึก ไมเคยคิด กลัว ; แลว ไปดูซิ จะไดรูส ึก จะไดรูวา มัน เปน สิ่ง ที่ นากลัว; ลวนแตเอามาสงเสริมความเปนทาสของอายตนะ เราจึงยากที่จะเปน นายเหนืออายตนะ. เมื ่อ แบง ออกเปน หมวดวัต ถุห รือ ทางรูป ธรรม ก็ค ือ รูป เสีย ง กลิ ่น รส สัมผัส, นี่พวกหนึ่งอายตนะฝายรูปธรรม. ที นี ้ อายตนะฝ า ยนามธรรม ก็ ค ื อ ใจ กั บ ธั ม มารมณ ; นี ่ ก็ อีกฝายหนึ่งเปนเรื่องใจ ที่ไมเกี่ยวกับเรื่องวัตถุ ถึงแมวา ครั้งแรกมันมีการตั้งตนไป จากวัตถุ แตแลวมันไปอยูที่จิตใจ สะสมไวเปนเรื่องทางจิตใจ ไมตองเกี่ยวของ กับวัตถุ มันก็ทําหนาที่ของมันได เพราะฉะนั้น เราจึงมีความรูสึกคิดนึกที่เลวรายได โดยประการตา ง ๆ โดยเหตุที ่ส ัก วา คิด นึก ขึ ้น มาเทา นั ้น แหละ. นั ่น ก็เปน จิต หรือ ใจ, มโน ได ธัม มารมณ ตามที่มัน สะสมไว สํา หรับ เปน ทาส, สํา หรับ ทําใหคนคนนั้น ใหเจาของของมันนั้นเปนทาส: เดี๋ยวก็เปนทาสแหงความโกรธ, เดี๋ยวก็เปนทาสแหงความรัก, เดี๋ยวก็เปนทาสแหงความกลัว ความเกลียด ความ อิจฉาริษยา มานะ ทิฏฐิ เยอหยิ่ง จองหอง ลวนแตไปเปนทาสของธัมมารมณ เหลานี้, เปนทาสทางนามธรรม ก็รายกาจไปตามแบบของนามธรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


๑๘๒

การกลับมาแหงศีลธรรม

ส ว น ทางรูป ธรรม คื อ ตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ก็ ไปหนั ก อยู ที่ ก าย เพราะขยายออกไปถึงโผฏฐัพพะทางเพศตรงกันขาม; แตจะเปนทางรูปธรรม ทางนามธรรม ก็ตามเถอะ เปนไฟทั้งนั้นแหละ. เมื่ อ ตกลงเป น ทาสของอายตนะเท า ไร, หรื อ เมื่ อ ไร, ก็ เ ป น ไฟเท า นั้ น หรื อ เมื่ อ นั้ น ; ฉะนั้ น จึ ง เห็ น ว า ความไม เ ป น ทาสทางอายตนะ นี่แหละ คือเปนสิ่งที่จะเปรียบไดกับความสดชื่นของน้ําหลอเลี้ยงชีวิตใหสดชื่นอยู. อยา เปน ทาสของอายตนะเลย ชีวิต นี ้จ ะสดชื่น เหมือ นกับ ถูก รด ดวยน้ํา ที่เย็นอยูเสมอ, แลวก็จะเปนสื่อนําสิ่งที่ดีงามออกไปตามทิศทางตาง ๆ และถา เราไมเปน ทาสของอายตนะแลว เราก็จ ะมีก ารประพฤติก ระทํา การ พูดจา หรืออะไรก็ตามที่ถูกตอง ทุกทิศทาง ทุกกระแส. ถาม

: ทีนี้ เกณฑใหมองและใหตอบ. เมื่อเราไมเปนทาสของอายตนะแลว จะกําจัดโลภะ โทสะ โมหะ ไดอยางไร, หรือจะปองกันโลภะ โมหะ โทสะ ได อยางไร, ยกตั วอยางป จจุบั น และไม ใชคาดคะเน. ไม เป น ทาสของอายตนะ ปองกันและกําจัดความโลภไดอยางไร? คุณประยูร.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : เมื่อเราไมเปนทาสของอายตนะ ก็หมายความวา ไมหลง เพลิดเพลิน ยินดีในรูป รส กลิ่น เสียง เชนนี้แลว เราจะหา จะทําสิ่งตางๆก็จะ ทํ า ดว ยอีก แบบหนึ ่ง ; จะเปน ปญ ญา รูจ ัก ทํ า แตค วามพอดีขึ้น ; เอามาใชแตความจําเปน มันจะไมทําใหมีสวนเกินแบบโลภ จนหนัก สมอง. มัน จะมีป ญ ญาเกิด ขึ้น เพราะเราไมไ ดห ลงติเ อามาเปน ทาสของตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ตาง ๆ, ไมหลงติดในความสนุกสนาน

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสอง

๑๘๓

เพลิด เพลิน ใน รูป รส กลิ่น เสีย ง. เมื่อ เราไมหลงติด เราก็ทํา แต พอดี. นี่ครับหลังใหญมีเทานี้ มันก็ตัดขอโลภไปไดขอหนึ่งแลว. ถาม : เอา , ทีนี้ เมื่อ ไมโ ลภแลว จะไดทํา สิ่ง ที่เ ปน ความไมโ ลภ ใหก วา ง ออกไปไดอ ยา งไร ? คุณ ทองวา . จะชว ยเหลือ ผู อื ่น ชว ยเหลือ โลก มนุษยไดตอไปอยางไร เมื่อตัวเองมันไมโลภแลว ? ตอบ : หากวาไมเปนทาสของอายตนะเสียเอง คือเราหมดเสียซึ่งความโลภ แลว ยังจะแผสวนที่มีจําเปนเฉพาะตัวใหกับ คนอื่น ก็เปนการชวยสง เสริมใหชีวิตอื่นเปนสุขขึ้นมาได. ถาม : นั่นแหละเราอยากจะใหมองเห็นวา คนในโลกนี้ปจจุบันนี้ โดยเฉพาะใน บ า นในเมื อ ง ที่ เขาว า เจริ ญ กั น นั ก นั้ น มั น ไม ช ว ยเหลื อ คนอื่ น โดย บริส ุท ธิ์ใ จเลย; ไมใ ชก ารชว ยเหลือ ที ่แ ทจ ริง เปน การชว ยเหลือ หลอก ๆ, เชนทําเอาหนานี่ เราไมเรียกวา ชวยเหลือ ; คนเหลานั้น ไมชวยเหลือคนอื่น เพราะวาเขากําลังเปนทาสของอายตนะ ยังไมอิ่ม. ใชไหม ? คนที่มันไมชวยคนอื่นนั้น เปนทาสของอายตนะ ยังไมอิ่ม. แลวเมื่อไรมันจะอิ่มอิ่ม จนพอที่จะไปชวย คนอื่นได ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : ในเมื่อเขายังไมเบื่อหนาย หรือยังไมพนไปจากความเปนทาส ความ ที่จะอิ่มที่จะพอนั้นยอมไมมี. ถาม : เพราะฉะนั้นเราจะไปรอใหคนที่เปนทาสของอายตนะหมดโลก และชวย ผูอื่น นั้น มัน เปน ไปไม ได. เราจึง ถือ วา เปน สิ่งที่จ ะตอ งแกไข เพื่อ จะใหมันไมโลภ และมันมีเหลือสําหรับชวยผูอื่น.

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๑๘๔

ทีนี ้ เมื ่อ ไมเปน ทาสของอายตนะแลว จะปอ งกัน หรือ แกไ ข โทสะ หรือ ความโกรธ ไดอ ยา งไร ? คุณ ล้ํา วา ที เมื่อ ไมเ ปน ทาส ของอายตนะแลว จะปองกันความโกรธ โทสะได อยางไร? ตอบ : เมื่อไมเปนทาสของอายตนะ ก็จะเกิดความรูถึงความเสงี่ยมของตัวเอง แลว ก็เห็น ทุก ขข องผูอื ่น . การเห็น ทุก ขข องผู อื่น นี ่ เปน อัน หนึ ่ง ที ่จ ะ มองถึงความพอดี ถึงปฏิปทาของคนทั่วไป. ถาม : คุณชวนยกตัวอยางคนที่เปนทาสของอายตนะแลวโกรธมาดู. ตอบ : กระผมยังไมแจมแจงในคําถามครับ. ถาม : วาเมื่อเราเปนทาสของอายตนะ ของตา หู จมูก ลิ้น กายแลว เกิดความ โกรธขึ้นมา ฆาฟนคนอื่นไดเชนอยางไร ? มีอยูทั่วไปตามทุงนา ในบาน ในเมือง ในอะไร ทั่วไปทั้งโลก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : สมมตินะครับ.

ถาม : ไมสมมติซิ, ตองพูดจริง อยาสมมติ.

ตอบ : เมื่ อ มี ค นมาล ว งเกิ น ของรัก ของใครข องเรา ก็ เกิ ด ความโกรธขึ้ น มา เลยทําใหฆาฟนเขาได.

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสอง

๑๘๕

ถาม : นั่น แหละ มัน ฆา เขาก็ไ ด เพราวา เรารัก ของเรา. เอาอยา งนี ้ดีก วา เอาลู กเด็ ก ๆ ในโรงเรียนของคุ ณ มั นทะเลาะวิวาทกั นอยู บ อย ๆ มั นเป น ทาสของอายตนะขอ ไหน ? อยางไร ? คุ ณ ลองวามาดู ซิ ไม ส มมติ น ะ. เอาเรื่อ งที่โรงเรีย นของคุณ จริง ๆ มัน ทะเลาะชกตอ ยกัน เด็ก คูนั้น ,คน นั้ น , มั น เป นทาสของอายตนะอย างไร ? คุ ณ จะได เขาใจ. เด็ กชกตอย กันในโรงเรียน มีอยูเปนประจํา นี่ เพราะมันเปนทาสของอายตนะอยางไร ? แงไหน ? ตอบ : สวนใหญในแงของความคิดเห็นผิดกัน เถียงหรือละเมิดสิทธิกันและกัน. ถาม : คนที่ไปลวงละเมิดสิทธิของผูอื่นนั้น เปนทาสของอายตนะอยางไร ? ตอบ : คือความอยากไดของของผูอื่น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : แลวมันจะไปโกรธกันอยางไร ความอยากได ? มันตองไมไดตามที่มัน อยากนั่ น มั นจึงจะโกรธ; แลวความที่ มั น ไม ได ตามที่ อยากนี่ มัน เป น ทาสของอายตนะอยางไร ? เอา, ถายังนึกไมออก ? ถาคุณทองนึกออก วา มากอ น เรื ่อ งจริง ในโรงเรีย น เด็ก มัน ชกตอ ยกัน นะ ในแงไ หน บ าง ? เป นทาสอายตนะอยางไร ? เรื่อ งมี ทิ ฏ ฐิม านะเห็ นหน ากัน แล ว ชอบหนา แลว ชกตอ ยกัน ก็เปน ทาสของอายตนะ แตมัน ชั้น สูง . เอา ใหต่ํากวานั้น.

ตอบ : เด็ ก ที่ แ ย ง ที่ เล น กั น หรื อ แย ง ของเล น ซึ่ ง กั น และกั น อย า งที่ เรี ย กว า แยงสิทธิกัน.

www.buddhadassa.in.th


๑๘๖

การกลับมาแหงศีลธรรม

ใช คํ าวา “สิ ท ธิ” มั น กวาง มั น สู ง; วาให ซั ด ลงไปซิ วามั น แย งอะไรกั น บาง ละ ที ่ม ัน ชกตอ ยกัน ในโรงเรีย นนะ . นี ่ถ า เราไมเ ขา ใจขอ นี ้ แลว เราก็ค ง จะไม ส ามารถสรางสรรศี ล ธรรมให กลั บมาในโรงเรียนของเราได. เด็กโกรธขึ้น มา เพราะไมไดอยางใจ ความไมไดอยางใจนั่น เพราะวามันอยากอะไรอยูอยางหนึ่ง ถึ ง ขนาดที่ เป น ทาสของอายตนะ; แล วเมื่ อ มั น ไม ได อ ย างที่ มั น อยาก มั น ก็ โกรธ. ถามันไมเปนทาสของอายตนะ มันก็ไมตองอยาก; เพราะมันตองการเทาที่ควรจะ ตอ งการ. ไมเ ปน ทาสของอายตนะมัน ก็ไ มโ กรธ; ถา มัน โกรธ มัน ก็เ ลย ความพอดี หรือความเหมาะสมมัน จึงตอ งโกรธ. นี่เราถือวาโรงเรียนเปนพื้ น ฐาน เบื้ อ งต น สํ า หรับ สรา งอุ ป นิ สั ย ใจคอของมนุ ษ ย ; เราต อ งรูเรื่อ งนี้ อย า ให เขาเป น ทาสของอายตนะหนัก ขึ้น ๆๆ. เด็ก ๆ ยังไมม ีเรื่อ งชูส าว หรือ เรื่อ งทางเพศอะไร นัก มัน ก็ยัง ทะเลาะกัน แกง มัน มีอ ะไร; ถามัน โตขึ้น มีเรื่อ งทางเพศ ทางชูส าว ก็ยิ่งรุนแรงมากขึ้น เปนทาสของอายตนะขนาดหนัก ความโกรธมันก็หนักไปตาม. [ ความเปนทาสอายตนะระดับโลก ]

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : ทีนี้ มองทั้งโลกดีกวา โลกระหวางซีกโลก คนละครึ่งโลกนี่แหละ มันคิดจะทําลายลางกันดวยความโกรธ ความอาฆาต; เพราะวาแตละ ซีกโลกนี้ มั นเป นทาสของอายตนะ จริงไหม ? ถาจริงยกตั วอยางมาทีวา เชนอะไร ?

ตอบ : ปญหาทางสองซีกโลก ที่ตองการกัน ก็เนื่องจากเปนทาสของอายตนะ หรือ หลงติด ในความสุข ทางเนื ้อ หนัง ; แปลอีก ทีก ็ว า สุข จากการได สัมผัสทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ, แลวเขาเพลิดเพลิน แลวสบายใจ; นี่คือสุขจากวัตถุ. เดี๋ยวนี้ก็พู ดคําวา วัตถุนิย มได หลายคําครับ เพราะ

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสอง

๑๘๗

เปน วัต ถุน ิย มดว ยกัน ทั ้ง นั ้น ยื ้อ แยง กัน ในความสุข ทางเนื ้อ หนัง ดว ย กัน ทั ้ง นั ้น ; ทั ้ง สองฝา ยจึง ทะเลาะกัน คือ ฝา ยหนึ ่ง ฝา ยนายทุน ฝา ย ผูมีเงิน ก็อยากจะมีเรื่อย ๆ ๆ เพลิดเพลินในการมีเงิน, เพลิดเพลินในการได ใช เงิน ให มั น เต็ ม ที่ ข องตั ว เอง ในการหาความสุ ข เป น ต น ว า เที่ ย วรอบ โลก ใครมีเงินมาก ก็เที่ยวมาก และใชมากกินมาก สรางบ านแขงเทวดา. ตัว อยา งที ่เห็น ๆ นั ่น แหละ คือ ความสุข ที ่ห ลงติด ในอายตนะของพวก มีเงินพวกนายทุน. ที นี้ อี ก ซี ก หนึ่ ง ฝ า ยตรงกั น ข า ม พวกที่ ไ ม ค อ ยจะมี เ งิ น พวก ตอ งใชแ รงงานพวกนี ้ ก็ห ลงเพลิด เพลิน ติด ในทางอายตนะเหมือ น กั น ติ ด ในทางอบายมุ ข ; และบางพวกก็ อ ยากจะได มี ค วามสนุ ก สนาน เพลิด เพลิน เหมือ นกับ พวกมีเ งิน เหมือ นกัน ก็ม ีก ารยื ้อ แยง กัน ; เลย มี ก ารยื้ อ แย ง ขึ้ น มา เพราะอยากจะได มี ค วามสุ ข ทางอายตนะด ว ยกั น ทั้งนั้น เพราะการติดเปนทาสของอายตนะดังกลาว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถ า หากว า ไม เป น ทาสเสี ย แล ว ก็ จ ะทํ า แต ส ว นพอดี : ฝ า ยโลกที่ เป น นายทุ น ที่ ว า ร่ํ า รวยก็ จ ะมี ส ว นช ว ยเหลื อ เอาส ว นเกิ น ที่ ห าได ม า ชว ยเห ลือ ท างดา น คน จน ไดอ ีก ม าก . สว น ดา น ค น จน ท างดา น กรรมกร ทางซีก โลกของกรรมกรนั้น ถา ไมเปน ทาสของอายตนะ แล ว ไม ติ ด ไปทางอบายมุ ขต าง ๆ ก็ จ ะไม ถึ งการยื้ อ แย ง จะมี ก ารขยั น หมั่ น เพี ย ร พยายามทํ างานไป แล ว ก็ ได รั บ ทานเมตตามาจากคนรวย พออีก หนว ยสองฝา ยนี ้จ ะเขา ใจกัน ได คนรวยกับ คนจนจะเขา มาอยู จุดยืดที่อยูใกล ๆ กันได สันติภาพก็เกิดขึ้น.

ถาม : อย า ลื ม ว า เรากํ า ลั ง พู ด กั น ในแง ข องเรื่ อ งกิ เลสที่ ๒ คื อ โกธะ หรื อ โทสะ หรื อ พยาบาท หรื อ อะไรก็ ต าม. การที่ ช าติ ใ หญ ๆ เขาสร า งกองทั พ

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๑๘๘

ใหญ ๆ สรา งอาวุธ มาก ๆ คอยจอ งจะฆา กัน อยู ใ นโลกนี ้ท ุก วัน ๆ นี้ มั น มี มู ล มาจากการเป น ทาสของอายตนะข อ ไหนอย างไร ให ชัด เฉพาะ ขอนี้เลย เปนคําตอบสั้นๆ ? คุณทองวาอยางไร ? ตอบ : คือความเห็นแกตัวชัด ๆ. ถาม : ความเห็นแกตัวนี่เปนทาสของอายตนะหรือเปลา ? ตอบ : ความเห็ น แก ตั ว ที่ ผ มจะพู ด นี้ เป น ทาสของอายตนะครั บ คื อ ว า ต อ ง การจะได ม าซึ่ ง อายตนะภายนอกทั้ ง หมดมาปรนเปรออายตนะภายใน; เมื ่อ ไมไ ดด ัง ใจก็โ กรธ ผมมองทั ้ง สองฝา ยอยา งนี ้ไ มว า จะเปน ฝา ย นายทุนหรือลูกจาง. ทีนี้ เอาประเทศใหญ ๆ ที่เขากําลังจะฆ ากันนั้น เปนทาสของอายตนะ อยางไร ? เมื่ อบุ คคลแต ล ะคนมั น มี อ ายตนะ แลวจะมี อายตนะรวมของคนตั้ งทั้ ง ประเทศ ตั้ งครึ่งโลกได อย างไร ชี้ ให เห็ นตรงนี้ หน อย. คนตั้ งหลาย ๆ ชาติ รวมกั น เปนครึ่งโลก เปนทาสของอายตนะเพื่อจะไปฆาฟนผูอื่นนั้น เปนทาสของอายตนะ อยา งไร ? ชี ้ใ หเ ห็น ตรงนี ้ห นอ ย. ถามอยา งนี ้ค ุณ ก็ง งไป; ก็อ ยา งที ่ว า มาแลว นั่น แหละ โดยสว นตัว บุค คลแตล ะคน มัน เปน ทาสของอายตนะ มัน ก็ตอ งการ จะได คนเดี ยวมั น เอาไม ได มั น ก็ ต อ งรวมหั วกั น ก็ เป น กลุ ม ใหญ ที่ จะไปแย งเอา ปจจัยแหงอายตนะมา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทีนี ้ เมื ่อ ทางหนึ ่ง ตอ ตา น อีก ทางหนึ ่ง มัน ก็โ กรธ มัน ก็ต อ สู  มัน ก็ ฆา ฟน นี ่ค ือ เรื่อ งการเบีย ดเบีย น; เพราะวา แตล ะหนว ย ๆ มัน เปน ทาสของ

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสอง

๑๘๙

อายตนะ มันก็มีผลเทากับวาทั้งประเทศ หรือทั้งกลุมหลาย ๆ ประเทศนั้น ลวนแต เปนทาสของอายตนะ. ทีนี้ประโยชนมันขัดแยงกัน ฝายโนนก็เปนทาส, ฝายนี้ ก็เปนทาส, มั นก็แยงที่จะไดป จจัยเพื่ อตนเอง มันจึงฆ ากัน ในความหมายของ คําวา โทสะ หรือโกธะ อไรก็แลวแต. ถาม : เอา, ทีนี้ ดูวา การที่เขาตกลงกันไมได, ในที่ประชุมเพื่ อสันติภาพ เขา ตกลงกั น ไม ได , มั น มี มู ล มาจากการเป น ทาสของอายตนะอย างไรบ าง? เขาใจป ญ หาไหม ? เดี๋ยวนี้เขามี ที่ ประชุมระหวางชาติ พิ จารณากั นในที่ ประชุมนั้น เพื่อจะแกไขสถานการณ เลวรายอยางนั้นอยางนี้, แลวมัน พูด กัน ไมรูเรื่อ ง มัน ตกลงกัน ไมไ ด มัน ยอมกัน ไมไ ด; เรีย กวา มันยอม กันไม ได ในที่ ประชุมนั่ น เพราะมั นเป นทาสของอายตนะอยางไร ?ใครนึ ก ออกกอนตอบกอน. ตอบ : เปนทาสของอายตนะ คือใจไมไดอยางใจ ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : ไมไดอยางใจ, เอาอะไรอีก ?

ตอบ : กระผมวา เนื่องมาจากโมหะของแตละฝาย.

ถาม : เรื่ อ งโมหะ เรายั ง ไม ไ ด พู ด นะ, เรากํ า ลั ง พู ด เรื่ อ งโทสะนะ, เรื่ อ ง โลภะที่๑, เรื่องโทสะที่ ๒, นั่นมีมูลมาจากโทสะอยางไร ? ตอบ : คือ ที ่ต กลงกัน ในที่ป ระชุม ตา ง ๆ แลว เราตกลงกัน ไมได ก็เนื ่อ งจาก ๑. มีโ ลภะ; ตา งฝา ยตา งอยากไดด ี ตอ งการใหม ีผ ลประโยชน

www.buddhadassa.in.th


๑๙๐

การกลับมาแหงศีลธรรม ของตนเอง. เมื่อ ผลประโยชนข องตนเองขาดไป หรือ วา มัน ทํา ให โลภะลดนอย คือมันไมยอม เพราะวาผลประโยชนของตนเอง มัน ถอยไป มัน จึง ตกลงกัน ไมไ ด เกี่ย วกับ ๑ โลภะ, และขอ ๒ เมื่อ แตละคนพยายามจะหากุศโลบายมาพูด เพื่อรักษาผลประโยชนของ ตนเอง เมื่อพูด กันไปพูดกัน มา เมื่อ ขัดผลประโยชน ไมไดอ ยางใจ ก็เกิดเปนโทสะขึ้นมาตามหลัง; ทั้ง ๒ อยางนี้ จึงตกลงกันไมได.

ถาม : ขอแทรกปญหาขอหนึ่งกอน ใหตอบดวยปฏิภาณวา การที่ไมยอมกัน ในที่ประชุมนั้น เพราะเหตุกี่อยาง ? นี่คุณเปนนักการเมืองที่ไมรูเรื่องการ เมืองใชไหม ? เพราะเหตุกี่อยาง ? ตอบ : เนื่องมาจากความขัดแยงกันในอุดมการ, เนื่องมาจากอุดมการทาง การเมืองของกันและกัน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อุดมการของการเมืองก็แยกใหเห็นซิวา มันมีอยางไร มันจึงเปนเหตุ ใหไมยอมกัน ? อุดมการมัน ขัด จึงไมย อมกัน อยางนั้นหรือ ? ก็ได; แตวา ที่จริงกวานั้น หรือมันกอนหนานั้นคืออะไร ? อุดมการทางการเมือ งนี้ มันยัง ดิ้น ได, ยืด หยุน ไดม าก. เอาที ่มัน ชัด ๆ เลยก็คือ ประโยชนม ัน ขัด กัน . ที่ม ัน ยอมไมได เพราะเขาเสียประโยชน, ขอแรก. ขอสองที่เขายอมไมได เพราะเขา เสียหนา; คําวา “เสียหนา” นี้ไดยินบอยที่สุดในที่ประชุมสหประชาชาติ “ยอม ไมได เพราะเสียหนา” ทั้ง ๆ ที่เห็นวานี่ถูกแลวควรแลว แตประเทศเรายอมไมได เพราะเสียหนา. อยางที่หนึ่งก็เพราะเสียประโยชน มันจึงไมยอม, อยางที่ ๒ เรียกวามันเสียหนามันไมยอม.

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสอง

๑๙๑

ทีนี้ คุณจะเติมอยางที่ ๓ เขามา วาเพราะอุดมการมันขัดกัน นี้มัน ไมมีความหมายที่ตายตัว; เพราะอุดมการมันอยูที่ประโยชน. อุดมคติ อุดมการณ อะไรก็ตาม ของแตละฝาย มันอยูที่ไดประโยชนทั้งนั้น. เมื่อเขาเสียประโยชน แลวเขาก็ไมยอม; อุดมคตินั้นทางการเมืองเปนเรื่องหลอกลวงทั้งนั้น เพราะมัน ไปอยูที่ประโยชน ตางคนตางมีอุดมการอุดมอะไรของตัว เปนฝายตัว ใหฝายตัว ไดประโยชน. ฉะนั้น อุดมการณ นี่จึงไมมีทางตรงกันได เพราะตางฝายตางหา ประโยชนและรักษาประโยชน. เราจึ งมองว าในการที่ เขาไม ย อมกั น ในที่ ป ระชุ ม นั้ น ๆ เพราะเสี ย ประโยชนอยางหนึ่ง, เพราะเสียหนาอยางหนึ่ง. เมื่อเสียประโยชนก็บันดาลโทสะ, เมื่อเสียหนากับบันดาลโทสะ. ถาม : ทีนี้ เหตุของการรูสึกวา เสียประโยชน หรือเสียหนา นี้คือการเปน ทาสของอายตนะ; เรารูสึกวาเสียประโยชน หรือ เรารูสึกวาเสียหน า เพราะเราเปน ทาสของอายตนะอยา งไร ? คุณ เขา ใจแลว หรือ ยัง ? คุณประยูร วาอยางไร ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : คําวาประโยชนก็คือการผูกพันกัน คือถาเราไปหลงติดสิ่งหนึ่งสิ่งใด ชอบสิ ่ง หนึ ่ง สิ ่ง ใดขึ ้น มา ชอบในรูป ของมัน วา สวย แลว เราชอบ อยากไดสิ่งนั้น ก็เปน ประโยชนกับ เรา. แตถาเราไมห ลงติด ในสิ่งนั้น คํา ว า ประโยชน ก็ เ กิ ด น อ ย. ถ า สิ่ ง นั้ น เราไม ห ลงติ ด แต เ ราใช ทําอะไร ไปตามเหตุต ามปจ จัย ; กับ ที่เราหลงติด มานั้น มัน ตางกัน . แตเดี๋ยวนี้คําวา “ประโยชน” ที่เราใช ที่เราเอามาใชกันนั้น เพราะเรา

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๑๙๒

เป น ทาสของอายตนะ; เป น ต น ว า สิ ่ ง ไหนที ่ เ ราว า มี ค ุ ณ ค า มาก ก็วาสิ่งนั้นมีประโยชนมาก; ซึ่งคุณ คานั้นก็แลวแตมนุษ ยที่บัญ ญั ติคาที่ สิ ่ง นั ้น จะหลงติด สิ ่ง นั ้น มากนอ ย แคไ หน. ถา หลงติด มาก เปน ทาสของอายตนะมาก วาสวยมากก็มีคามาก นี่มันเปนอยางนั้น. ถาม : เราพูดไดไหมวา เปนทาสของประโยชนกับเปนทาสของอายตนะ นั้น คือสิ่งเดียวกัน ? ตอบ : อันเดียวกัน ครับ. มัน ก็ต อบอยูใ นตัว เพราะเปน ทาสของประโยชน มัน ก็ห วงไว ซึ่งประโยชน; มันก็ไมยอม แมเพื่อความถูกตอง มันก็ดึงดันที่จะรักษาประโยชน; พอรู ว า จะต อ งเสี ย ประโยชน มั น ก็ ต อ สู ด ว ยความโกรธ. ฉะนั้ น การรั ก ษา ประโยชน อ ย างไม เป น ธรรมนั้ น ก็ คื อ ผิ ด ศี ล ธรรม, คื อ ไม มี ศี ล ธรรม เพราะเกิ ด ความโกรธ. ถ า อย า เป น ทาสของประโยชน มั น ก็ ไ ม เ กิ ด ความโกรธ; เพราะวา ความโกรธนั ้น มาจากความอยาก ความโง. หยุด อยากดว ยความโง เสีย มัน ก็ไ มเ กิด ความโกรธ. ทีนี ้ ไมย อมเพราะเสีย หนา , รูส ึก วา เสีย หนา ; อยางไร ๆ ก็ไมยอม : ผิดก็ไมยอม, ถูกก็ไมยอม, ถาเสียหนา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : การรูสึ ก วาเสี ย หน านี่ เป น ทาสของอายตนะข อ ไหน ? คุ ณ ล้ํ า นี่ เรีย น นั ก ธรรมมานานนั ก เลยลื ม เสี ย แล ว . เป น ทาสของอายตนะ ขอไหน ?

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสอง

๑๙๓

ตอบ : ขอ ใจ. ถูก , ทํ า ไมตอบชา นัก เลา ; เรีย นนัก ธรรมมาหลายสิบ ป แลว มัน ลืม เห็น ไหม. มัน เปน ทาสของอายตนะ สว นมโน; มัน รู ส ึก วา เสีย หนา ไม เกี่ ยวกั บ รู ป เสี ย ง กลิ่ น รส ในเวลานี้ . เสี ย หน าเป น ความรู สึ ก นั บ เป น ธั ม มารมณ ; จิ ต ใจของเรารู สึ ก เพราะจิ ต ใจของเรากํ า ลั ง เป น ทาสของธั ม มารมณ ข อ นี้ คื อ การ ไดห นา วา เราตอ งดี เราตอ งเดน เราตอ งหนึ ่ง เสมอ. ที ่จ ะใหค นชนิด นั ้น มัน ยอมในที ่ป ระชุม มัน ไมย อม แมผ ิด มัน ก็ไ มย อม แมถ ูก มัน ก็ย ัง ไมย อม; เพราะมั น จะเอาแต ห น า เสี ย เรื่อ ยไป, มั น มุ ง หมายแต จ ะเอาหน า . เราก็ พ อจะมอง เห็น ไดแ ลว วา โด ยเนื ้อ แท ใจค วาม สํ า คัญ นั ้น ; ถา เราไมเ ปน ท าส ข อ ง อายตนะแล ว ก็ ป อ งกั น โทสะ หรื อ ความโกรธ หรื อ พยาบาท หรื อ อะไรได, ในรูปใดก็ตาม. นี่เราควรจะสนใจ. ....

....

....

....

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : ข อ ต อ ไป คื อ ข อ โมหะ ถ า เราไม เป น ทาสของอายตนะแล ว โมหะ จะ ไมเกิดขึ้น, คุณประยูร ตองตอบกอนคนอื่น?

ตอบ : โมหะ ก็ค ือ ความโง, วา งา ย ๆ. ทีนี ้ถ า เราไมเ ปน ทาสของอายตนะ เราก็จะทําอะไรตามพอดี ที่ผมวามาแลวเมื่อตะกี้.

นั ่น มัน ออ มนัก ทํ า ไมไ มต อบวา ความเปน ทาสของอายตน ะ นั ่น แหละ คือ โมหะ. ทํ า ไมไมต อบอยา งนี ้ ? ความที ่ไ ปเปน ทาสของอายตนะ

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๑๙๔

นั ่น แหละ คือ โมหะ, โมหะเหลือ ประมาณ โมหะเหลือ ที ่จ ะเปรีย บแลว ; ฉะนั้น พอไมเปนทาสของอายตนะ ก็คือไมมีโมหะ โมหะก็จะไมเกิดขึ้น. เปน อัน วา เราควบคุม อายตนะได ไมเ ปน ทาสของอายตนะแลว มั น ก็ ป ด กั้ น ทางเกิ ด แห ง โลภะ โทสะ โมหะ, แล ว ก็ จ ะขจั ด โลภะ โทสะ โมหะ ออกไปไดทันที ในเมื่อเรากลับเปนฝายชนะแกอายตนะ. แม วาเรากําลังพายแพ แกอายตนะอยู, เกิด โลภะ โทสะ โมหะ อยาง ใดอยา งหนึ ่ง อยู ; ถา สติม ัน มามัน กลับ ได มัน ไมเปน ทาสขึ้น มาในขณะนั ้น แลว มัน ก็จ ะสลัด ออกไปไดท ัน ที; ฉะนั ้น เราจึง เห็น วา โลภะ ก็ด ี โทสะ โมหะ นี้ เราปองกันได เรากําจัดได เพราะการที่เราไมเปนทาสของอายตนะนั้น. นี่ คือความหมายส วนใหญ ที่ ต อ งการจะพู ด ให เห็ น และจะทํ าความ เขาใจซึ่งกันและกัน, และเป นหลักที่สําคัญ เป นหลักที่เพี ยงพอวา สิ่งนี้ส ามารถ จะปองกัน และแกไขโลภะ โทสะ โมหะ ไดเหมือนกัน จึงถือวาเปนรากฐานของ ศีลธรรมอยางยิ่ง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ....

....

....

....

ทีนี ้ ยัง เหลือ อีก เล็ก นอ ย จะพูด ถึง คํ า นี ่ โดยความหมายอื ่น อีก : เราเป น ทาสของอายตนะ นั้ น คื อ เป นทาสของสิ่ งทั้ ง ๖ คื อ ตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจ ซึ ่ง ไปเปน เครื ่อ งสัม พัน ธก ับ รูป เสีย ง กลิ ่น รส โผฏฐัพ พะ ธัม มารมณ; ถาเราอยากจะพูดดวยคําอื่น ทําใหเปนเพียงอยางเดียว ไมใช ๖ อยาง, ไมใชตอง

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสอง

๑๙๕

มากถึง ๖ อยาง ตามที่อายตนะมันมี ๖ อยาง; ทีนี้ไมอยากจะพูดถึง ๖ อยาง หรือจะไมใชคําที่มีความหมายแยกออกไปถึง ๖ อยาง, และทั้งยังเปนคําที่เขาใช พูดกันอยูทั่วไปตามถนนหนทาง ตามบาน ตามเมืองนี้ดวยแลว. ถาม : เราควรจะพูดวา เราไมเปนทาสของอะไร ? ตอบ : ไมเปนทาสของเนื้อหนังครับ. ถาม : เราไม เป น ทาสของเนื้ อ หนั ง แล วจิ ต ใจอยู ที่ ไหน ? คํ าวา มโน หรือ ธัมมารมณอยูที่ไหน ? ที่ตอบนี้ ถูกนะ; ไมใชไมถูก แตอธิบายไมไดเห็น ไหม. เพราะ แม จ ะใช “เนื้ อ หนั ง ” มั น ก็ กิ น ความไปถึ ง จิ ต ใจ เพราะ จิตใจมาเปนทาสของเนื้อหนัง; ธัมมารมณมันปรุงไปจากตนเหตุที่เปน เรื่องของวัตถุ ใจมันมาเปนทาสของวัตถุอีกทีหนึ่ง. เดี๋ยวนี้ที่พูดกันมาก ตามที ่ทั่ว ไปนั้น พูด ดว ยคํ า ไหน ? ถา พูด วา ไมเปน ทาสของเนื้อ หนัง นี่มันเปนคําในศาสนา พูดกันในวัด ในวา ในวงศาสนามากกวา. ถา เป น คํ าชาวบ าน แทนที่ จ ะพู ด วา เป น ทาสของเนื้ อ หนั ง เขาจะพู ด ว า เปนทาสของอะไร ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : เปนทาสของวัตถุ.

ถาม : เปนทาสของวัตถุ นี่เปนภาษาปจจุบันที่สุด เปนทาสของวัตถุนิยม เปน ทาสของความรูสึกที่เปนวัตถุนิยม นี่ถาพูดใหเด็ก ๆ ฟงงายจะพูดวาเปน ทาสของอะไร ? คุณ เปน ครูทั ้ง ๒ คน คุณ ตอ งไปพูด กับ เด็ก ๆ ที่ โรงเรียน คุณจะพูดวาอะไร ใหเด็ก ๆ เขาใจไดทันที ?

www.buddhadassa.in.th


๑๙๖

การกลับมาแหงศีลธรรม

ตอบ : เปนทาสของความอยาก. ถาม : ความอยากก็ ๖ อยาง; ไมเอา เอาคําอื่น, ความอยากทางตา ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย ทางใจ. คําที่เด็ก ๆ จะฟงถูกทันที หรือวาคน ที่มีความรูสึกอยางเด็ก ๆ จะฟงถูกไดทันที จะพูดวาไมเปนทาสของอะไร ? ตอบ : ไมเปนทาสของความชั่ว. ถาม : นี่ มั น แสดงผลเป น ความหมายได ไกลออกไปอี ก เด็ ก ก็ ยิ่ งฟ ง ยาก. คุ ณ ประยู ร ภาษาธรรมดา ตามถนนหนทางทั่ ว ไป เด็ ก ๆ ฟ ง ถู ก อย า เป น ทาสของอะไร ? แลวก็จะไมเปนทาสของอายตนะทั้ง ๖. ตอบ : อยาตามใจตนเอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : อย า เป น ทาสของอะไรล ะ ? ...เอ า , เห็ น ไหม พอที่ จ ะนึ ก มั น ก็ นึ ก ไม ได แตเวลาพูดมันก็พูดไดอยูบอย ๆ.

ตอบ : อยาเปนทาสของอารมณ.

ถาม : มัน ก็ ๖ นั ่น แหละ, อารมณก ็ ๖; แตพ อใชไ ด คอ นขา งจะใชไ ด. เวี ย นไปอี ก คุ ณ ล้ํ า อย า เป น ทาสของอะไร ? ภาษาเด็ ก ที่ สุ ด . คุ ณ ทอง คุณชวน ก็ตองไปหา ตองไปคิด. อาตมาอยากจะแนะสักคําวา ถาใหเด็ก ๆ ฟงงาย ก็วาอยาเปนทาสเงิน; เพราะวา เงิน นี ่ม ัน อยา งเดีย ว แลว มัน ไปซื้อ รูป เสีย ง กลิ ่น รส โผฏฐัพ พะ

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสอง

๑๙๗

ธัม มารมณ; เงิน อยา งเดีย ว ซื้อ วัต ถุไ ด; อาจจะซื้อ เนื้อ หนัง ได ไปซื้อ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธัมมารมณได. แตวา เด็กก็คงไมฟงออกทุกคน ตอง อธิบายอีกทีหนึ่ง. คําวา ไมเปนทาสของเงิน มันคืออะไร ขอนี้สําคัญ มากนะ, เพราะวาเด็ก ๆ ของเราทุกคนเปนทาสของเงิน โดยอัตโนมัติ และไมรูสึกตัว; จะขอ ถามใหตอบเสียอีกที, ไมบอกทันที. ถาม : เด็ก ๆ ของเราเปนทาสเงินโดยอัตโนมัติและไมรูสึกตัว คืออยางไร. ทุก คนมีลูกมีหลาน ไปชวยยกเขาหนอย; คือไปดูที่เด็กลูกของเรา เด็ก ๆ ของเราทั้งโรงเรียน. ตอบ : ที่เห็นอยูตอนเชา มักจะไหวพอแมเพราะไดเงิน พอไมไดเงินก็ไมไหว. นั่นปลีกยอยเกินไป. ลูกของเรามันอยากจะเรียนใหมาก อยากจะสอบ ใหสูงสุด มันอยากไดเงินเทานั้นแหละ จริงไหม ? มันไมนึกอะไรมากไปกวานั้น อยากจะไดแตเงินเดือนแพง ๆ ที่เรียนกันอยางเอาเปนเอาตาย และจะเรียนตอ ไปในที่สุด ก็เพราะอยากไดเงินเดือนแพง ๆ นี่มันเตรียมตัวเปนทาสเงิน ไปเสีย ตั้งแตเดี๋ยวนี้; แตเอาเถอะมันก็เปนกําลังแหงจิต ที่มันจะไดเรียนดี เรียนเกง; แตมันก็เปนทาสเงิน, อยากจะเปนทาสเงิน นี่ ชวยใหเรียนดี เรียนเกง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org แตใหเรารูไววา เด็กกําลังเปนทาสเงินอยูโดยอัตโนมัติ และไมรูสึก ตัว นับตั้งแตเรียนชั้นประถมทีเดียว แลวเปนทาสเงินเรื่อยขึ้นไป จนกระทั่งถึงชั้น มหาวิทยาลัย แลวมันก็ออกมาเปนทาสของเงิน จนกวามันจะรูสึกหรือรูจัก. นี่คือ สวนใหญหรือทั้งหมด. ขอปลีกยอยที่เด็กชกตอย ทะเลาะวิวาทกันนะ สวนมาก มันก็มีมูลมาจากอันนี้คือเงิน หรือวัตถุที่จะไดมาจากเงิน.

www.buddhadassa.in.th


๑๙๘

การกลับมาแหงศีลธรรม

เพราะวาเงินมันใชซื้อวัตถุได อะไรก็ได เดี๋ยวนี้ใชซื้อชื่อเสียงก็ยังได, สมัยนี้มันเลวมากขนาดเงินใชซื้อชื่อเสียงได; ฉะนั้น เรารูความที่เราและลูก ๆ หลาน ๆ ของเรากําลังเปนทาสของอายตนะอยูอยางลึกซึ้ง; เปนทาสของอายตนะทั้ง ๖ แลวมันก็มาสรุปรวมอยูที่ปจจัย ที่จะใหไดเหยื่ออายตนะทั้ง ๖ นั้นมา. เดี๋ยวนี้ เราเรียกกันงาย ๆ วา”เงิน”, เปนทาสของเงินคือของปจจัยที่จะใหไดสิ่งที่ตองการ. ถาม : ทีนี้ระวังอีกทีนะ ระวังอยางใหผิดอีกทีนะ ตองชวยตอบใหถูกที ถา เราไมพูดวาเปนทาสของเงิน เราจะพูดอะไรใหชัดกวานั้น งายกวานั้น ฟงงายกวานั้น เราจะพูดวาอะไร? ตอบ : เปนทาสของกิเลส. ถาม : เป น ทาสของกิ เลส! ถู ก แต สํ า นวนยั ง ไม ดี ไม ใ ช สํ า นวนเด็ ก เอ า ! เปนทาสของอะไร จึงจะฟงงายสําหรับเด็ก ๆ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : เปนทาสของความชั่ว.

ถาม : ออมออกไปไกลอีกแลว ก็ถูก แตมันออมไป. คุณล้ําตอบ.

ตอบ : เปนทาสของความเห็นแกตัว. ถาม : มั น ยิ่ งกว างไป คุ ณ ประยู รล ะ . เอ า , นี่ เห็ น ไหม มั น งา ยเหมื อ นกั บ ที่จ ะตอบวาเปน ทาสของเงิน แลวก็ไมต อบวา เปน ทาสของเงิน , พอ ไดตอบวาเปนทาสของเงินแลวยังจะใหมันชัดกวานั้น เปนทาสของอะไร ?

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสอง

๑๙๙

ตอบ : เปนทาสของปาก. ก็ อ ย า งเดี ย วกั น เสี ย อี ก มั น ก็ เป น เรื่อ งลิ้ น ; นี่ เป น ทาสของความ อรอ ย; นี้ยืม คําของพระพุท ธเจา มา. สัต วโลกนี่มัน เปน ทาสของความอรอ ย: อรอยทางตา ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย ทางใจ อะไรก็ตาม; เมื่อเปน เรื่องถูกใจมีความอรอย เราเห็นชัด. เมื่อสิ่งนั้นมันเปนอิฏฐารมณ มันก็ใหเกิด ความเอร็ดอรอย ทางตา ทางหู ทางจมูก ฯลฯ. แตถาสิ่งที่เราโกรธ เราไมชอบ จะเรียกวาเปนทาสของความอรอยไดอยางไร. ถาม

: เรื่องที่เราไมชอบ โกรธเปนฟนเปนไฟ แลวยังทําใหเราเปนทาสของ ความอรอยในกรณีอยางนั้น นั่นหมายความวาอยางไร ?

ตอบ : หมายความวา เราไมไดความอรอยตามตองการ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : มันยังออมอยู อยากจะถามวา โกรธนั้นมันอรอยไหม ?

ตอบ : เวลาโกรธมันอรอยเหมือนกัน.

เมื่อยินดีก็อรอยยินรายก็อรอย, เรียนวามนุษยนี้เปนทาสของความ อรอยทั้งในกรณี ของความยินดีและยินราย; นี่ภาษาของพระพุทธเจา ทานใช ภาษาบาลีก็วา เปน ทาสของอัสสาทะ.

ขอนี้เราตองเรียน เราตองศึกษา เพราะวาชาวบานมักจะถือวา สิ่งที่ เราไมชอบ มันไมอรอย; ความรูสึกของคนทั่วไป ภาษาของคนทั่วไป ถาเรา

www.buddhadassa.in.th


๒๐๐

การกลับมาแหงศีลธรรม

ไม ช อบแลวก็ไม อ รอย. ที่ เราไม ชอบจนเราโกรธนั้ น พอเราโกรธ มั นกลั บ อรอ ยขึ้ น มาอีก , นั ่น มัน เปน ความอรอ ยอีก นัย ะหนึ ่ง ; ไดต บ ไดต ี ไดด า ไดทํ า กับ เขา แลว มัน อรอ ย. คนที ่ม ีโ ทสะมาก มัน ยิ ่ง อรอ ย ไดด า คนใช ไดต ีค นใช แลว มันอรอย. ฉะนั้ น จึ ง รวมความได ว า เป น ความอร อ ยทั้ ง ในแง ที่ ยิ น ดี และใน แงที่ ยินราย; และเราก็เป น ทาสของความอรอ ย อยางคุ ณ ชวนหรือใครพู ด วา เป น ทาสของกิ เลส มั น ก็ ถู ก . ถ า เป น ทาสของกิ เลส มั น ก็ จ ะต อ งเป น ทาสของทั้ ง ฝ า ย ยิ น ดี แ ละยิ น รา ย : มี กิ เลสเกิ ด ขึ้ น ทํ า ให ยิ น ดี ก็ เป น ทาสมั น , ทํ า ให ยิ น รา ย ก็ เป น ทาสมัน. เราก็เปนทาสของความอรอย เพราะไดยินดี เพราะไดยินราย. คํ า ว า “อั ส สาทะ” เป น คํ า ที่ แ ปลยาก แปลเป น ไทยยาก; เท า ที่ นึ ก ออกว า “อร อ ย” เป น ทาสของความอร อ ย. ทุ ก อย า งจะให เกิ ด ความอรอ ย คื อ ถ า น า รัก ก็ มี “ความอรอ ย” ไปอย า งหนึ่ ง , ถ า น า ชั ง ก็ ให “ความอรอ ย” ไปอี ก อย า ง หนึ ่ง ; เราก็ม ัว แตร ัก แตช ัง ๆ, อยู ต ลอดชีว ิต . นี ่ธ รรมะตอ งการจะขจัด สิ ่ง นี่ แ หละ อย า ให ไ ฟจากความรั ก ไฟจากความชั ง มั น มาแผดเผาได ; เราต อ ง บังคับตัว อยาใหเปนทาสของอายตนะ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org การบั ง คั บ ตั ว ไม ใ ห เป น ทาสของอายตนะนี้ มั น ก็ ไ ม เป น ไฟ; เมื่ อ ไม เป น ไฟ, ที่ ต รงกั น ข า มจากไฟ ก็ ต อ งเป น น้ํ า , อาตมาจึ ง ว า การบั ง คั บ อายตนะ ใหค งปรกติอ ยู ไ ดนี ้ จะเปน น้ํ า ที ่ห ลอ เลี ้ย งความสดชื ่น ของชีว ิต ; ในที ่นี ้ห มาย ถึง ศีล ธรรม คือ ชีวิต ที่ป รกติ ที่ถูก ตอ ง จะตอ งหลอ เลี้ย งไวโ ดยน้ํา ที่แ ทจ ริง ซึ ่ง ไมเ ปน ไฟ คือ บัง คับ อายตนะใหย ัง คงเย็น อยู ไ ด, ไมว า จะเปน ในกรณีแ หง ความยินดีหรือกรณีแหงความยินราย ก็ตาม.

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสอง

๒๐๑

ขอใหท ุก คนรูจ ัก น้ํ า อัน นี ้ไ ว; น้ํ า นี ้แ หละเย็น แท น้ํ า คือ การที่ บัง คับ อายตนะได เปน น้ํา แท ๆ เย็น แท ๆ, จะรดจิต ใจ รดศีล ธรรมใหยัง คง สดชื่นอยูได; จึงจัดวาเปนรากฐานของสิ่งที่เรียกวาศีลธรรม, เปนอันดับสอง. การบัง คับ อายตนะไดเ ปน อัน ดับ ๒ ตอ มาจากอัน ดับ ๑ คือ ความรูสึกตอปรมัตถธรรม อยางสูงสุดลึกซึ้งวา “สัตวทั้งหลายเปนเพื่อนทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย ดว ยกัน ทั้ง หมดทั้ง สิ้น ”. แตถา เราไมบัง คับ อายตนะได เราคงรัก ษาอุด มคตินั้น เอาไวไ มได; เมื่อ บัน ดาลโทสะ หรือ โลภะเสีย เราก็ ไมยอมรับวาเปนเพื่อนทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย ของเรา. เพื ่อ ใหเ รายัง คงรัก ษาความจริง ที ่ว า ชีว ิต ทั ้ง หมดเปน เพื ่อ น ทุ ก ข เกิ ด แก เจ็ บ ตาย กั น ได แ ล ว เราก็ ต  อ งบั ง คั บ อายตนะ; หรื อ เรียกวาบังคับตัวเรา อยาใหไปเปนทาสของอายตนะ, หรือบังคับอายตนะไว อยาใหมันมาเปนนายของเราได. เลยเกิดเปนคําคูขึ้นมาคูหนึ่งวา เปนทาสของ อายตนะ, หรือวา เปนนายเหนืออายตนะ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เดี๋ยวนี้เราตองการความเปนนายเหนืออายตนะ สําหรับหลอเลี้ยง ศีล ธรรมในโลกนี้; เมื่อ ไรคนทั้ง โลกเขาบัง คับ ตัว เองได บัง คับ จิต ได ไมเปน ทาสของอายตนะ เขาก็ ไ ม เ ป น ทาสของวั ต ถุ นิ ย ม, ไม เ ป น ทาสของเงิ น ไมเ ปน ทาสของความอรอ ยดว ยอํา นาจของโมหะ, โลกนี้ก็มีสัน ติภ าพแน; แตยังมีขอปลีกยอยที่จะดูกันในแงอื่นอีกเปนเรื่องที่ ๓ ที่ ๔ ตอไป ไวพูดกันวันหลัง.

วันนี้สมควรแกเวลาแลว ก็ตองยุติไวที่กอน; ใหพระสงฆทานสวด บทพระธรรม เปนเครื่องสงเสริมกําลังใจ สําหรับผูปฏิบัติสืบตอไป.

www.buddhadassa.in.th


www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม - ๖ ๖ มีนาคม ๒๕๑๙

รากฐานของศีลธรรมอันดับสาม [ การบังคับกระแสแหงความรูสึก : อาหาร ]

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทานสาธุชน ผูมีความสนใจในธรรม ทั้งหลาย,

ในการบรรยายครั้ง ที ่ ๖ ประจํ า วัน เสาร ภาคมาฆบูช า โดย หั ว ข อ เรื่ อ งว า การกลั บ ม าแห ง ศี ล ธรรม ในวั น นี ้ นั ้ น อาตมาจะได กล า วโดยหั ว ข อ ย อ ยว า การบั ง คั บ กระแสแห ง ความรู สึ ก ในฐานะเป น รากฐานของศีลธรรมอันดับสาม.

๒๐๓

www.buddhadassa.in.th


๒๐๔

การกลับมาแหงศีลธรรม

ขอใหทานทั้งหลายทบทวนใจความสําคัญของการบรรยายครั้งที่แลว ๆ มา ใหแจม แจงอยูต ลอดเวลาดวย วาเรากําลังพูด กัน ถึงเรื่อ งเกี่ย วกับ ศีล ธรรม ในสวนที่ จําเป น ที่ สุด คือการกลับมาของศีลธรรม ; วาศี ลธรรมกําลังไมมี หรือ กําลังหายไป ๆ จากโลกนี้ ถายังเปนอยูในลักษณะเชนนี้ โลกนี้ก็จะถึงซึ่งความวินาศ. พู ด เพี ยงเท านี้ ทานทั้ งหลายก็พอจะสังเกตเห็ น ได หรือ รูสึก ไดด วยตนเอง. ที นี้ เราจะพูดกันโดยรายละเอียด ใหเขาใจแจมแจงยิ่งขึ้น เพื่อใหเกิดการกลับมาแหง ศีล ธรรม เราตอ งพูด กัน ถึง เรื่อ ง ศีล ธรรม, พอใหรูวา ศีล ธรรมนั ้น คือ อะไร จนกระทั่งรูไดวา มันกําลังไมมีศีลธรรม. [ ตอไปนี้เปนการทบทวนคําปรารภการกลับมาแหงศีลธรรม จนถึงหนา ๒๐๗ ] ในการบรรยายครั้งแรก และ ครั้งที่ ๒ นั้ น ได พู ด ถึ งเรื่อ งศี ล ธรรม โดยตรง. และครั้ง ที่ ๓ ไดพ ูด เกี่ย วไปถึง สิ่ง ที่เ รีย กวา รากฐานของศีล ธรรม ในแงตาง ๆ กัน ; แมกระนั้นก็พู ดเพียงเพื่อใหเห็นวา เรากําลังไมมีสิ่งที่เรียกวา รากฐานของศีล ธรรม เปน สวนใหญ. ยังไมไดมุงหมายจะพูด กัน ถึงการกระทํา ใหเกิดศีลธรรม หรือรากฐานของศีลธรรมโดยตรง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เราพูด กัน แตใ นขอ ที ่วา เราไมมีร ากฐานของศีล ธรรม, และเรา ก็ตองพูดกันถึงสิ่งนี้โดยละเอียดพอสมควร จึงจะรูวา เรากําลังไมมีรากฐานของ ศีลธรรม. และเกี่ยวกับเรื่องนี้ เราก็พูดเปรียบเทียบโดยทางวัตถุ คือเปรียบเทียบ กับตนไม วาตนไมมันจะตั้งอยูไดเพราะอะไร ? อะไรเปนรากฐานของการที่ทําให ตน ไมตั ้งอยูได ? จนกระทั ่ง เราพอมองเห็น โดยหลัก ใหญ ๆ ชั้น หนึ ่งกอ น วา ตนไมนี้ตองอาศัยแผนดิน ตองอาศัยน้ํา ตองอาศัยอาหาร ตองอาศัยอากาศ และตองอาศัยอุณหภูมิที่เหมาะสม ดังนี้เปนตน ; มันจึงจะอยูได.

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสาม

๒๐๕

ทีนี้ ตนไมแหงศีลธรรมของเรานี้ ก็อยางเดียวกันอีก มันจะตองอาศัย สิ่งที่เปนรากฐานโดยการเปรียบเทียบ กับตนไมนั้น คือวา จะตองอาศัยแผนดิน, จะต อ งอาศั ย น้ํ า , จะต อ งอาศั ย อาหาร อากาศ และอุ ณ หภู มิ . ในแง ข อง นามธรรม ตน ไมแ หง ศีล ธรรม จะอาศัย แผน ดิน คือ อะไร ? เราก็ไ ดพ ูด กัน แลว วาจะตองอาศัยแผนดินคือ ธัมมสัจจะ ขอสําคัญที่สุดขอหนึ่งซึ่งมีอยูวาสัตว ทั้งหลายเปนเพื่อนทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันทั้งหมดทั้งสิ้น, ธัมมสัจจะอันนี้ เปนรากฐานของศีลธรรม. ผูใดมีความรูสึกเปนธัมมสัจจะดังนี้แลว เรียกวามีรากฐานของ ศีลธรรมอยูในจิตใจของบุคคลนั้น ; ฉะนั้น เราจึงพยายามทุกอยางทุกประการ ที่ จ ะให เกิ ด มี ค วามรู สึ ก ชนิ ด นั้ น ; ซึ่ ง เมื่ อ เกิ ด แล ว จะป อ งกั น การเกิ ด แห ง โลภะ หรือราคะ โทสะ หรือโกธะ โมหะหรือมานะ อะไรตาง ๆ ได. ที นี้ แล ว เราก็ ม าดู ว า เดี๋ ย วนี้ เรายั ง ขาดรากฐานคื อ ธั ม มสั จ จะอั น นี้ ราวกับวา ตนไมไมมีแผนดินสําหรับจะตั้งอยู หรือมันมีอยูอยางนอยเกินไป อยาง ไมสมประกอบ นั้นอยางหนึ่ง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ....

....

....

....

ในการบรรยายครั้งตอมา ก็ไดพูดถึงรากฐานขอที่จะเปรียบเหมือน กับน้ํา ที่จะหลอเลี้ยงตนไม วาเราจะตองอาศัยความไมเปนทาสของอายตนะ คื อ ไม เป น ทาสของ ตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจ ; ซึ่ งสรุป แล วก็ ไม เป น ทาสแห งรส อรอ ยของกิเลส. แตเดี๋ย วนี้ค นบูช ารสอรอ ยของวัต ถุกัน เปน เบื้อ งหนา บูช าเงิน

www.buddhadassa.in.th


๒๐๖

การกลับมาแหงศีลธรรม

หรือ เป น ทาสของเงิน เพราะเห็ น วา เงิ น นี้ จ ะบั น ดาลความเอร็ด อรอ ยต าง ๆ ให ได ; และนั่ นก็ ยั งไม น ากลั ว หรือน าหวาดเสี ยวมาก เท ากั บว ามั นเป นทาสของความอรอย อั น เกิ ด จ า ก กิ เ ล ส : โล ภ ะ ก็ ใ ห ร ส อ ร อ ย , โท ส ะ ก็ ใ ห ร ส อ ร อ ย , โม ห ะ ก็ ใหร สอรอ ย. เมื ่อ คนไมรู จ ัก โทษของความอรอ ยอยา งนี ้ ก็ห ลงบูช าถึง กับ เปน ทาส เลยไม มี ร ากฐานของศี ล ธรรม คื อ ไม เอาศี ล ธรรมเป น หลั ก ; แต เอาความ อรอยทางอายตนะเปนหลัก. ถา จะสรุป อีก อยา งหนึ ่ง ก็ต อ งสรุป วา เปน ทาสของเวทนา ตาม ที่พระพุทธองคไดตรัสไว วาเรื่องสําคัญทุก ๆ เรื่องนั้น มันไปสรุปอยูที่เวทนา ; เพี ย งแต ไ ด เงิ น มาซื้ อ หาความเอร็ ด อร อ ยเป น สุ ข เวทนา นี้ มั น เป น เพี ย งอย า งเดี ย ว เทา นั ้น แตม ัน ก็เ ปน กัน มาก คือ ในโลกนี ้เ ปน กัน มาก หรือ เปน กัน แทบทั ้ง หมด ก็เปนทาสของสุขเวทนา อยางไมมีทางที่จะสรางซา มีแตจะรุนแรงยิ่งขึ้นทุกที. ที นี้ ส ว นทุ ก ขเวทนา มั น ก็ ยั ง เป น ทาสของทุ ก ขเวทนา เพราะมั น ไม รู ว า เป น อย า งไร ก็ ยั ง หลงทํ า ไปในทางที่ จ ะให เกิ ด ทุ ก ขเวทนา คื อ ทํ า สิ่ ง ที่ ไม ต อ งทํ า ทํ าให ลํ าบากเปล า ๆ มั นก็ ยั งทํ า. เพราะทุ กขเวทนามั นก็ มี รสอรอยล อหลอกอยู ข าง หน า ; เช น การทํ า ผิ ด ทํ า ชั่ ว ทั้ ง หลายเป น ทุ ก ขเวทนา มั น ก็ มี ร สอร อ ยฉาบไว ข า ง หน า คนจึ ง หลงบู ช าการทํ า ความชั่ ว . ถ า เป น คนพาลสั น ดานหยาบแล ว ได บั น ดาลโทสะ เป น ต น แล วก็ รู สึ ก ว าอร อ ย เพราะการได ด า เขา ได ตี เขา ได ฆ าเขา อย า งนี้ มั น ก็ อ ร อ ยไปตามประสาของคนอั น ธพาล ; นั้ น มั น ก็ เวทนาชนิ ด หนึ่ ง ด ว ย เหมือนกัน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสาม

๒๐๗

สุข เวทนาก็ยั่ว ยวนไปทางหนึ่ง , ทุก ขเวทนาก็ห ลอกใหทํ า ไปทาง หนึ่ง , แมอ ทุก ขมสุข เวทนา มัน ก็ยัง ชว ยใหเกิด ความโง ความสงสัย ความ หลงใหล มัวเมาอยูในสิ่งที่ตนยังไมแนใจวามันเปนอะไร. ขึ้นชื่อวาเวทนาแลว ยอมชวนใหเกิดความสนใจ ความรูสึกตอสิ่งนั้น ๆ เสมอไป ; เรื่องมันจึงไมรูจัก จบจัก สิ้น. คนก็เปนทาสของเวทนาอยูอ ยางนี้ มัน จึงไมมีแสงสวาง พอที่จ ะ รูวาอะไรเปนอะไร. การเปน ทาสของเวทนา มัน เปน ของรอ น ; ตอ เมื่อ ไมเ ปน ทาส ของเวทนา จึงจะเปนของเย็น ดังนั้นจึงเปรียบเทียบการไมเปนทาสของเวทนา นั้น วาเหมือนกับน้ํา หรือสิ่งซึ่งไมเปนของรอน. เมื ่อ พิจ ารณาดูอ ยา งนี้แ ลว เราก็ยัง เห็น วา ในโลกนี ้เต็ม ไปดว ย การเปน ทาสของอายตนะ : เปน ทาสของเวทนา, เปน ทาสของรสอรอ ยทุก ชนิด, และที่เปน กันโดยมาก หรือ สวนใหญนั้น ก็คือ เปนทาสของเงิน โดยที่ คิดวา เงินจะบันดาลอะไรใหไดทุกอยาง ; อยางนี้ก็แปลวา เปนทาสของอายตนะ ทั้งโดยตรง ทั้งโดยออม จึงมีแตความรอน. สรุปความวา เรากําลังขาดรากฐาน ของศีลธรรมในขอนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org [จบคําปรารภทบทวน ]

ที นี้ มาถึ ง ครั้ ง นี้ จะพู ด ถึ ง รากฐานของศี ล ธรรม ใน ส ว นที่ อ าจจะเปรี ย บกั น ได กั บ อาหารของต น ไม คื อ ต น ไม นอกจากจะมีแผนดินอาศัย แลวยังมีน้ํากิน ; แลวยังจะตองมีอาหาร คือแรธาตุ

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๒๐๘

ตาง ๆ ที่มีอยูในดิน ที่ตนไมจะละลายดวยน้ํา แลวก็ดูดขึ้นไปเปนปจจัย สําหรับ ปรุง แตง ลํ า ตน ของมัน ; นั ้น เราเรีย กวา อาหาร คือ สิ ่ง ที ่ล ะลายในน้ํ า ได ตน ไม ก็ดูดขึ้นไปใชใหเปนประโยชน. ทีนี ้ ม าดูถ ึง ตน ไมแ หง ศีล ธรรม ซึ ่ง มัน จะตอ งมีอ าห ารอะไร อยางถูกตองดวยเหมือนกัน ถามีอาหารไมถูกตองมันก็ตองเฉาเหี่ยวตาย ; เหมือน กับตนไมทั้งหลายที่ไมไดอาหาร หรือไมมีปุยเอาเสียเลย มีแตน้ําลวน ๆ มันก็อยู ไม ได มี แ ผ น ดิ น ล ว น ๆ ที่ ไม มี ธ าตุ ไม มี อ าหาร มั น ก็ อ ยู ไม ได ฉั น ใดก็ ฉั น นั้ น ; ฉะนั้น เรามาดูตนไมแหงศีลธรรม วามันตองการอาหารอะไร. อาตมาอยากจะระบุ สิ ่ง ที ่จ ะเปรีย บเทีย บกับ อาหารของตน ไมนี่ วาไดแ ก การบังคับ ความรูสึก หรือ วา ผูใ ดจะมีค วามเห็น วา มีอ ะไรเปน อาหาร ก็ลองวามาดู.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : คุณประยูร คิดออก หรือมองเห็น วาอะไรเปนอาหารของตนไมแหง ศีลธรรม ?

ตอบ : อาหารในความหมายที่ ทํ า ให ต น ไม แ ห ง ศี ล ธรรมเจริญ งอกงาม เท า ที่ ผมคิดไดก็นาจะเปนอุดมคติของความเปนมนุษย คือถาคนเรามีอุดม-คติ ของความเปน มนุษ ย ที ่ด ี ตน ไมศ ีล ธรรมก็จ ะเติบ โตเจริญ ไดอ ย า ง หนึ่ง เทาที่ผมนึกไดตอนนี้. ถาม : ลองระลุออกไปสักขอวา อุดมคตินั้นวาอะไร ?

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสาม

๒๐๙

ตอบ : เช น อุ ด มคติ ว า มนุ ษ ย เราต อ งมี ใ จสู ง กว า สั ต ว ดั งนี้ ค รับ ; แล วเรา ก็จะพยายามทําใหใจสูงกวาสัตว ก็คือมีศีลธรรมขึ้นมา. ถาม : เอา, ทีนี้คุณทอง ? ตอบ : ผมวาควรจะเปนสัมมาทิฏฐิที่มองเห็นความเปนจริงวา ทุกสิ่งทุกอยาง เปนทุกขัง อนิจจัง อนัตตา อันนี้จะเปนอาหารของตนไมศีลธรรม. ถาม : เอา, คุณล้ํา ? ตอบ : อาหารของศีลธรรมเบื้องตนผมเขาใจวา ไดแกความละอายและความ กลัว คือ หิริโอตตัปปะ. ตามที่ ระบุ มานี้ ก็ถู กทั้ งนั้ น ไม มี ทางจะผิด แลวแต วาจะมองกั น อยางไร. อุดมคติคือความเขาใจที่ถูกตอง อยางเดียวกับสัมมาทิฏฐิ. อุดมคตินั้น ก็ตองถูกตอง เพราะไดเห็นถูกเขาใจถูก หรือมีความเชื่อถือถูก ก็เรียกวา สัมมาทิฏฐิ และก็เปนอุดมคติ เปนอาหารแหงศีลธรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ในขอ ที่วา จะทํา ใหเขาเกิด หิริแ ละโอตตัป ปะเปน ตน ขึ้น มา, คน เดี ๋ ย วนี ้ ไ ม ม ี ห ิ ริ โ อตตั ป ปะ ไม ล ะอายความชั ่ ว ยิ่ ง ๆ ขึ้ น ทุ ก ที ทํ า ความ ชั่วโดยเปดเผยขึ้นทุกที ก็เพราะขาดคุณธรรมขอนี้ ; นี้ก็เพราะวาเขาไมมีสัมมาทิฏฐิ หรือไมมีอุดมคตินั่นเอง ; ก็จะเห็นไดวา เปนอาหารของตนไมศีลธรรม ไดดวย กันทั้งนั้น. มันก็เหมือนกับขอที่วา ตนไมธรรมดา ๆ นี้มันกินอาหารหลายอยาง. คนที่เคยทํานา หรือเคยขายปุยเขารูดีวา ตองมีปุยชนิดไหนบาง, จะใสในตนไม

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๒๑๐

ชนิ ด ไหน, ใส ต น ข า วชนิ ด ไหน ; ก็ เพราะว า มั น มี อ าหารอยู ห ลายอย า งที่ ต น ไม ตองการ. เทา ที ่ย กมานั ้น ก็ถ ูก ตอ ง ในความหมายที ่ม องเห็น ไดช ัด ๆ หรือ ตรง ๆ ; แลวก็แตกตางกันโดยชื่อ แตก็เปนอาหารไดดวยกันทั้งนั้น. เพราะฉะนั้น จะพิจ ารณากัน ในลัก ษณะอื่น คือ ในลัก ษณะที ่ล ึก ซึ้ง ลงไปกวา นั้น ; สิ่ง เหลา นี้ ก็จะหยิบขึ้นมาพิจารณาในโอกาสตอไป ไมใชจะมองขามไปเสีย หรือปดทิ้งไปเสีย. ขอใหจําไวดวยวา มันมีสิ่งซึ่งเกี่ยวของ เกี่ยวพันหรือสัมพันธกันอยูอยางนี้ คําตอบ นั้นถูกทั้งนั้น เพราะมันเกี่ยวพันกันอยางไมอาจจะแยกกันได ; แตถาพูดกันถึงสวน ที่มันสําคัญ ชั้นที่รุนแรง อยางที่เรียกวา เอาเปนเอาตายกัน มีอะไรบางนั่นแหละ เราจะนึกถึงสิ่งนั้นกอน. ....

....

....

....

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทีนี้ อาตมาอยากจะยกสิ่งที่เรีย กวา “การบังคับ ความรูสึกไวใหได” นี่เปนปจจัยอันสําคัญ หรือรุนแรง แลวก็เปนที่มาของอาหารชื่ออื่น หรือธรรมะชื่อ อื่ น ได อี ก มากมายหลายอย า ง. แต ที นี้ จ ะพู ด ถึ ง อาหารหลั ก ก็ แ ล ว กั น ; ว า ต น ไม ตอ งการอะไรบา ง ในฐานะเปน อาหารหลัก เราก็จ ะเอาสิ ่ง นั ้น มาพูด กัน กอ น. นอกนั้นก็จะมาถึงเขาตามลําดับเอง ; ฉะนั้น ขอใหสนใจ ทําความเขาใจเกี่ยวกับ สิ่งที่เรียกวาการบังคับความรูสึก. การบั งคับ ความรูสึ กนี้ ก็ไดพู ดกันมาบ างแลว เชื่อ วาบางคนคงจะ ยังจําได วาโลกนี้มันกําลังขาดคุณธรรมขอนี้.

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสาม

๒๑๑

ถาม : เอาความเขาใจที่มีอยูแลวกอ น ที่มีอยูแลวเปนพื้ นฐานกอ น การบังคับ ความรูสึกตามความรูสึกของทานทั้งหลายนั้นไดแกอะไร ? คนที่ ๑ ตอบ : การบังคับความรูสึกนี้ ก็คือการทําสมาธิ การทําจิตใหเปนหนึ่ง เปน จิต ที ่เ หมาะสมสํ า หรับ จะทํ า งานได เปน จิต ที ่ไ มม ีสิ ่ง เศรา หมอง เขามารบกวน. ถาม : ใครอีก คนที่ ๒ ตอบ

: เปนจิตที่มีความสะอาด ความสวาง ความสงบ.

ถาม : ใครอีก คนที่ ๓ ตอบ

: คือความอดกลั้น

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ก็ ดู ซิ ตอบได ค นละอย า ง; หลายคน อี ก หลายอย า งก็ ไ ด . บั ง คั บ ความรูสึ ก คื อ ความอดกลั้ น นั้ น เห็ น ความหมายใกล ชิ ด ได ม าก; เพราะอดกลั้ น จึงมีการบังคับความรูสึก

สว นจิต ที ่ส ะอาด สวา ง สงบ นั ้น มัน เปน ผลสุด ทา ย; แตถ า จะ ลดลงมา ก็วาเราพยายามทําใหจิตสะอาด สวาง สงบ เรียกวาบังคับความรูสึกอยางนี้ ก็ไดอยู; แตยังไมตรงจุดที่ตองการโดยทั่วไป. ถาบังคับไดสะอาด สวาง สงบ อยู ก็มาใกล หรือคลายกันกับที่วาทําสมาธิ; ทําสมาธิอยู จิตก็สะอาด สวาง สงบ อยู. การทําสมาธินั้น ใจความแทจริงไมไดมุงที่จะบังคับ จิตโดยตรง เพราะวา คําวา “ทําสมาธิ” นั้นความหมายของมันมากและกวาง หรือสูงไปกวาเพียงแตวาบังคับจิต.

www.buddhadassa.in.th


๒๑๒

การกลับมาแหงศีลธรรม

การทําสมาธินี้ มีการบังคับจิตรวมอยูดวยเปนแนนอน; เพราะวา การฝกฝนจิต มันก็ตองบังคับจิต ใหอยูในระเบียบหรือหลักเกณฑที่เราไดกําหนด ขึ้นไว วาจะใหทําอะไร ใหทําอยางไร. ฉะนั้นการทําสมาธิ ก็ยังมีใจความที่ สู งไป และดิ่ งไปในทางธรรมะชั้ น สู ง ; ยั งไม ต รงกั บ ป ญ หาเฉพาะหน าในโลก ปจจุบันของเรา ที่วา คนในโลกสวนใหญในเวลานี้ ยิ่งไมบังคับความรูสึก ยิ่งขึ้นทุกที คือปลอยไปตามความรูสึกของกิเลสยิ่งขึ้นทุกที. ฉะนั้น ไมใหเอาคํา ในพระคัม ภีรม ากลา ว หรือ ไมใหนึก ถึงคํา ใน พระคั ม ภี ร ก อ น; แต ใ ห นั ก ถึ ง ข อ เท็ จ จริ ง ที่ มี อ ยู จ ริ ง ในคนเรา ในบ า น ในเมือง หรือในโลกในเวลานี้ วาคนทั้งหลายกําลังไมบังคับความรูสึกกัน อยางไร; ถามองเห็น ขอนี้แลว ก็จ ะตอบไดทัน ทีวา การบังคับ ความรูสึก นั้น เปนอยางไร. ถาม : ฉะนั้นตองเกณฑใหทั้ง ๓ คนนี้ตอบใหม วาการบังคับความรูสึกนั้น มันคืออะไร ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : การบังคับความรูสึกในความหมายนี้ ผมวาคือการทําใจเย็น.

ถาม : เอา, คุณทอง ?

ตอบ : ผมก็ยังมีความรูสึกวา ความอดกลั้นอดทนเปนเรื่องสําคัญ เชนเมื่อมี ความโกรธเกิดขึ้น ก็รูจักอดกลั้นอดทนเอาไว. คนเดี๋ยวนี้เมื่อมีความ อยากอะไรเกิด ขึ ้น มา หรือ มีโ ทสะเกิด ขึ ้น มา ก็ทํ า ไปตามความรู สึกนั้นเลย ผมวา จึงทําใหเดือดรอนกันอยู ?

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสาม

๒๑๓

ถาม : เอา, คุณล้ํา ? ตอบ : คือการเห็นแกตัว. ถาม : นั่ น มั น เป น การไม บั งคั บ ความรูสึ ก . พู ด ให แคบเขา มา อย างคาดคะเน หรื อ ว า อย า งเหมา ๆ เอา. การบั ง คั บ ความรูสึ ก น า จะเป น สิ่ ง ที่ เข า ใจ กันเหลือเกินแลว คุณประยูรวาใหม. ตอบ : การบังคับความรูสึกในความหมาย ที่เราใชกันอยูเปนประจําทุกวัน ๆ ก็คือเราหัดเปนคนใจเย็น อยาผันผวนไปตามอารมณไดงายๆ. ก็ ได , อย า งผั น ผวนไปตามอารมณ ง า ย ๆ ก็ ใช ได ; ความหมายมั น เข า อยู ในรอ งรอยนี้ คื อ บั งคั บ ความรูสึ ก . แต อ ย า ใช คํ า จํ ากั ด เกิ น ไปวา ทํ าใจให เย็น; มันตองกินความกวางไปทั้งหมด. “บังคับความรูสึก” คํานี้มันมีความหมาย เฉพาะของมัน คือ มีค วามรู ส ึก ที ่ต อ งบัง คับ ; ไมใ ชบ ัง คับ วา อยา รู ส ึก อะไร เดี๋ยวก็เปนคนตายไป เปนคนสลบไป ไมมีความรูสึกอะไร.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ความรู สึ ก ในที่ นี้ หมายถึ ง ความรู สึ ก ที่ ต อ งบั ง คั บ ไว อย า ใหเ กิด ขึ ้น มา หรือ วา เกิด ขึ ้น มาแลว บัง คับ ใหห ยุด เสีย มิฉ ะนั ้น จะเปน อัน ตรายอยา งยิ ่ง ; ความรูส ึก อะไรเปน ไปในลัก ษณะอยา งนี ้แ ลว ตอ งบัง คับ ; จะเรียกกั นวา บั งคั บ อารมณ ก็ ได. คําใหม ๆ เขาเรียกกัน วา อาเวค ก็มี คื อ จิต ที่เคลื่อนไปดวยความผลักดันของอารมณอยางใดอยางหนึ่ง ซึ่งจะออกไปอยูในรูป

www.buddhadassa.in.th


๒๑๔

การกลับมาแหงศีลธรรม

ของความโลภ ความโกรธ ความหลง เรีย กว า ความรูสึ ก ในที่ นี้ . พู ด อย า ง ธรรมดา ที่เราพูดกันตามประสาชาวบาน ก็บังคับอารมณ บังคับพื้นเพ ของจิต ที่มันจะไหลไป; และรูวาความรูสึกของจิตนี้ ถาไมบังคับมันจะไหลไปทางไหน ไหลไปอยูในรูปของอะไร. ยกตัวอยางเชน เมื่อตาเห็นรูป รูปนั้นสวยก็มี นาเกลียดนาชังก็มี หรือเฉย ๆ ก็มี. เมื่อตาเห็นรูปแลว มันเกิดความรูสึกขึ้นตามสมควรแกการเห็น หรือ ตามสมควรแก ลั กษณะของรูป ที่ ได เห็ น นั้ น ๆ แลวความรูสึ กมั น จะไหลไป อยางไร. ถาม : เทาที่ทราบแลว ความรูสึกจะไหลไปอยางไร กี่อยาง วามาดูกอน? ตอบ : ตามธรรมดาของมนุษยเรา ความรูสึกมักจะไหลไปในทางต่ํา เปนตน วา ตาเห็นรูป มันจะมีความรูสึกวา สวยหรือไมสวย เอาหรือไมเอา จะอยูเฉย ๆ ไมไดครับ จะตองเอาหรือไมเอา ตองมีการเกลียด หรือมี ความรักตอรูปที่เราเห็นตลอดเวลาครบ; ตองเกลียด มิฉะนั้น ก็ตอง รัก ตองเปนไปในทางที่จะเอามาเปนของเราอยูเสมอ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : ทั้งทางเอาหรือไมเอาก็ตาม เราเรียกวา ทางต่ํา ทั้งนั้นเลยหรือ ? ตอบ : ก็ถาทําใหเกิดทุกข ก็เปนวา ทางต่ํา ทั้งนั้น. ถาม : คุณ ยืนยังใหชัดลงไปวา ความรูสึกจะเกิดขึ้นในทางที่จะรัก หรือจะ ไมรัก , จะเอาหรือ ไมเอาก็ด ี เรีย กวา เปน ทางต่ํ า ทั ้ง นั ้น . เอา , ทีนี้ คุณทองละ เมื่อเห็นรูปแลวมันจะเกิดความรูสึกอยางไร ?

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสาม

๒๑๕

ตอบ : ผมมีความเห็นเหมือนคุณหมอวา. ถาม : คุณล้ําละ; อยาตามเพื่อน อยาไปเอามาจากหนังสือ อยาไปจําอะไร ที่ไหนมา เอาจากที่รูสึกอยูจริง เห็นอยูจริง ? ตอบ : เหมือนตาสัมผัสรูป สวนมากก็ตองพิจารณาไปทางใดทางหนึ่ง แตโดย มาก ถาไมคุมจิตแลว มักจะไปฝายต่ํา. ถาม : ทีนี้ถาคุมจิตเปนอยางไร? ตอบ : ถาคุมจิต ก็เรามีความขมจิตไวไมใหตกไปตามอารมณที่ชั่วที่ต่ําไป. ก็ถูกแหละ, ทีนี้พู ดกันอยางใหเขาใจชัด : เมื่อตาเห็นรูปเปนตน; ความรูสึกจะเกิดขึ้นตามสมควรแกรูปที่ไดเห็น และตามสมควรแกภูมิ ชั้น แหง จิตใจของบุคคล นั้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เดี๋ยวนี้เราพูดเอาตามจิตใจของปุถุชนธรรมดาสามัญเปนหลัก เราจึง พูดไดอยางนั้น; วาเมื่อเห็นรูปเขาแลว มันจะยินดี เมื่อรูปนั้นเปนที่นาพอใจ, และยินรายในเมื่อรูปนั้นไมเปนที่นาพอใจ, หรือวา จะกระสับกระสายอยูโดยไมรู วาอยางไรในเมื่อรูปนั้นไมไดเปนที่นารัก นาพอใจ, หรือไมเปนที่นารัก นาพอใจ; แตมันมีอะไรชวนใหฉงนอยู.

เพราะฉะนั้น ในพระคัมภีรจึงแจกไว ๓ อยาง ตามหลักของเวทนา ว า สุ ข เวทนา ก็ ช วนให ห ลงรั ก หลงพอใจ, ทุ ก ขเวทนา ก็ ช วนให โ กรธ

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๒๑๖

ให เกลี ย ด ให คิ ด รายไปตามเรื่อ ง, และถ า อทุ ก ขมสุ ข เวทนา ก็ ชวนให ข อ งใจ สงสัยหรือบางทีถึงกับใหพะวงหลงไหลอยูก็มี เพราะอยากจะรูวามันจะเปนอะไร. สิ่ ง ที่ เราได รูสึ ก ทางตา ให เกิ ด เป น เวทนา ๓ คื อ สุ ข เวทนา, ทุ ก ขเวทนา, อทุกขมสุขเวทนา; ที่เกิด ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางผิวกาย ทางใจ ก็เหมือ นกัน อีก เหมือ นกัน ทั้ง ๖ อายตนะ. ฉะนั ้น เราพูด กัน สัก อายตนะเดีย ว ก็พ อ; วา พอเห็น รูป แลว มัน ก็จ ะตอ งเกิด ความรูส ึก ตามสมควรแกรูป ที ่ไ ดเห็น กับ จิต ใจของบุค คลผู ทํ า การเห็น . ถา เปน พระอรหัน ตแ ลว เห็น ก็รู ส ึก ไปอยา ง หนึ่ง, ถาเปนปุถุชนเห็นก็รูสึกไปอีกอยางหนึ่ง. ....

....

....

....

เดี ๋ย วนี ้เราพูด ถึง เรื่อ งของปุถ ุช น; เพราะวา เรากํ า ลัง พูด ถึง ศีล ธรรม ในโลกของปุถุช น ที่กํา ลัง นา อัน ตราย, หรือ ถา จะใหจํา กัด ความมากไปกวา นั้น ก็วา กํา ลัง พูด ถึง เรื่อ งของบุค คลที่กํา ลัง ตอ งการศีล ธรรม. พระอรหัน ต ท า นไม ต อ งการศี ล ธรรมแล ว เพราะอยู เหนื อ ศี ล ธรรม เหนื อ ความต อ งการศี ล ธรรม. เดี๋ ย วนี้ เ รากํา ลั ง พู ด เรื่ อ งศี ล ธรรม พู ด ถึ ง รากฐานของศี ล ธรรม ฉะนั ้น ความรูสึก ของบุค คลชนิด นี ้ จะรูส ึก อยา งไร; ขอใหศ ึก ษาใหด ี จึง จะเขาใจเรื่องที่จะพูดกันตอไป.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม

: เมื่อตาไดเห็นรูป เปนตน ยอมเกิดความรูสึกอันแรก คือเวทนา; ผัสสะ นั ้น ถือ การไดเ ห็น แลว ก็เ กิด เวทนา. เมื ่อ หลัง จากเกิด เวทนาแลว เกิดอะไร นี่สอบไล ?

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสาม

๒๑๗

ตอบ : เกิดตัณหา. ถาม : เกิดอยางไร วาไป ? ตอบ : ตัณหา ก็คือความอยาก ความอยากไดในสิ่งที่เราเห็น. ถาม : ไมหมด อยางนั้นไมหมด. ตอบใหหมด เกิดเวทนาแลวเกิดตัณหา เกิด อยางไร, เกิดเทาไร วาไปใหหมด ? ตอบ : ตั ณ หา ก็ คื อ ความอยากได . ตั ณ หามี ๓ อย า งครั บ ; กามตั ณ หา ภวตัณหา วิภวตัณหา; ตัณหาที่อยากไดนั่นไดนี่ มันเปนทุกขแรง. ถาม : ฟงมามากแลว ยังไมแนใจ ลองสอบไลดู. เอา, คุณประยูร ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : เมื่อเกิดเวทนาแลว ก็เกิดสัญญาจําไดหมายรูตามหลัง มีความมั่นหมาย ตามหลังขึ้นมา.

ถาม : เกิ ด เวทนาแล วนา; มาถึ งขั้ น ผั ส สะแล ว เกิ ด เวทนาแล ว รูสึ ก พอใจ ไมพ อใจอะไรไปแลว เกิด อะไรอีก ตอ ไป? ถา เกิด สัญ ญาจํ า ได หมายรูวาเปนรูปอะไรนั้น มันจะตองเกิดกอนเวทนา.

ตอบ : ทีนี้เกิดความสําคัญของสิ่งนั้น ในลักษณะแหงความสําคัญมั่นหมาย. ไมใชความจําไดหมายรูเสียแลว. ถาม : นั่นก็เรียกวาสัญญาอีกแบบหนึ่ง.

www.buddhadassa.in.th


๒๑๘

การกลับมาแหงศีลธรรม

ตอบ : เกิดสัญ ญาที่มีความสําคัญ มั่นหมาย แลวก็จึงเกิดสังขารปรุงแตง คิด วา เราควรจะเอา, เราตอ งเอา, หรือ เราจะตอ งทํ า อะไรกับ สิ ่ง นี ้; นี้ เรียกวาสังขาร. พอเกิด สังขารแล ว นี้เรียกวา เกิด ตัณ หาขึ้น มา คือ มี ใจ อยากจะเอาขึ้ น มา. พออยากจะเอาขึ้ น มา ก็ จ ะคิ ด ติ ด อยู กั บ สิ่ ง นั้ น ตลอดเวลา ยึด มั ่น ในสิ ่ง นั ้น ตลอดเวลา ตอนนี ้เ ปน อุป าทานแลว . ตั ณ หาแล วก็ อุปาทาน พอหลั งจากเกิดความยึ ดมั่ นในสิ่ งนั้ นขึ้นมา ก็จะ กอ ใหม ีภ าวะที ่จ ะเปน เจา ของสิ ่ง นั ้น ก็ค ือ เปน ภพ. พอไปเอาสิ ่ง นั ้น ขึ้นมาจริง ๆ หรือวาแสดงตัวตนเป นเจาของสิ่งนั้น จริง ๆ ก็คลอดออกมา เปน ชาติ. พอหลัง จากนั ้น ถา หากวา สิ ่ง นั ้น มัน เปลี ่ย นแปลงไปตาม กฎของสังขารก็กลายเปนชรา มรณะ จนเปนทุกข นั่นจบแลว. นั่นถูกแลว, เรื่องนี้ถาจะพูดใหละเอียดตามหลักเกณฑที่ลึกซึ้ง ก็พูด ตามกระแสแหงปฏิจจสมุปบาท; ฉะนั้น อยูที่วา จะชี้ใหเห็นกระแสแหงปฏิจจสมุป บาท อยา งชัด เจนไดห รือ ไม. เมื ่อ ถามวา เกิด เวทนาแลว จะเกิด อะไร? โดยปรกติก็จะตอบไปในทางวา เกิดตัณหา โดยจะชี้ใหเห็นวาเกิดตัณหาอยางไร ? ถ า เวท น านั ้ น เป น ที ่ ตั ้ ง ท างก าม ารม ณ ก็ เ กิ ด ตั ณ ห าที ่ เ รี ย กว า กาม ตัณ หา, ถา เวทนานั ้น ใหเ กิด ความรู ส ึก ทางความเปน นั ่น เปน นี ่ ก็เ กิด ภวตัณ หา อยากเปน นั่น เปน นี่, ถา เวทนานั่น มัน เลวรา ย ชวนใหไ มอ ยาก เปน อะไร หรือ อยากทํา ลายเสีย ก็เ รีย กวา เกิด ตัณ หาชนิด วิภ วตัณ หา. หลักเหลานี้ควรจะแมนยําอยูในจิตใจของพวกเรา ที่พูดกันมา และฟงกันมาเปนป ๆ แลว ก็ตองตอบอยางนักเลง : เวทนาทําใหเกิดตัณหา ๓ คืออยางนั้น ๆ ไปเลย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาจะไปใชคําวา สังขาร มันก็จะทําใหปนกันมากขึ้น คือ ตัณหามันก็ เปนสังขารชนิดหนึ่ง คือเปนสังขารขันธ; อุปาทาน ภพ ชาติ อะไรก็ลวนแตเปน

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสาม

๒๑๙

สังขาร, เป น สังขารขัน ธทั้ งนั้น ; ก็เลยพู ด ให ชัด ลงไปวาเป น ตั ณ หา แลวเป น อุปาทาน แลวเปนทุกข. คําวา สังขารขันธ รวมพวกนี้ไวหมดเลย. ....

.... .... ....

ทีนี้ มาพูดกัน ถึงตัวความรูสึกที่มุงหมายในวันนี้ดีกวา วา เมื่อ เห็นรูปแลว เปนการสัมผัสทางตาโดยสมบูรณแลว เกิดความรูสึกที่เปนเวทนา, เรีย กวา ความรูสึก ที่เปน เวทนา คือ สุข เวทนา ทุก ขเวทนา อทุก ขมเวทนา เกิด ขึ ้น แลว ; ความรูส ึก ที ่เปน เวทนานี ้ จะทํ า ใหเกิด ความรูส ึก ที ่เปน ตัณ หา: อยากไดไปในทางกามก็มี, ในทางเปนนั่นเปนนี่ก็มี, ไมเปนนั่น ไมเปนนี่, อยาก สูญไปเสียก็มี. นี่เปนความรูสึกอันหนึ่งที่จะนําไปสูอุปาทาน คือยึดมั่นถือมั่น. เมื ่ อ รู  ส ึ ก ยึ ด มั ่ น ถื อ มั ่ น แล ว ก็ จ ะรู  ส ึ ก เป น ตั ว ตนที ่ ส มบู ร ณ ; มัน ก็มีปญ หาเกี่ย วกับ ความเกิด แก เจ็บ ตาย ขึ้น มาทัน ที; ก็ก ลา วไดวา ไปจบลงที่ค วามทุก ข. กระแสแหง ความรูสึก นี้ ถา ปลอ ยใหมัน ไปตามเรื่อ ง ของมัน มันก็ไหลไป ๆ ไปจบลงที่ความทุกข.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี ่ เ ราจะต อ งรู จ ั ก บั ง คั บ กระแสแห ง ความรู ส ึ ก นี ้ ไ ว ; อย า ให เกิดขึ้น, หรืออยาใหไหลไปจนถึงความทุกข. ถามัน เกิดขึ้นแลว ก็หยุดเสียได กลางคัน; บังคับไว ก็ไมไปถึงความทุกข.

พอเกิด เวทนาแลว ก็ม ีส ติรู ส ึก ทัน บัง คับ , หรือ วา ปรับ ปรุง , หรือ วาบิดผันใหมันเลี้ยวไปเสียทางอื่น ไมใหเกิดตัณ หา; หรือวาแมวาจะเกิด ตัณหาขึ้นแลว มีสติขึ้นมา ตัณหานั้นก็อาจจะหยุดชะงักหรือดับไปได; แตมันยาก เสียแลว.

www.buddhadassa.in.th


๒๒๐

การกลับมาแหงศีลธรรม

ในพระพุท ธภาษิต ก็ม ีอ ยู ห ลายแหง ที ่ว า เกิด ตัณ หาแลว ก็ด ับ ตั ณ ห านั ้ น เสี ย ได ; เพ ราะส ติ ม ั น ม าทั น เรื ่ อ งก็ ว ก ก ลั บ เป น ไม ไ ห ล ไป หาความทุกข. แตความรูสึกอยางนี้เปนความรูสึกในทางธรรมอันละเอียด, เปน ความรู ส ึก ในธรรมะชั ้น สูง ของบุค คลเฉพาะคน ที ่ต อ งการจะไปสูง จนบรรลุ มรรค ผล นิ พ พาน; เรายั ง ไม พู ด ถึ ง เรื่อ งธรรมะชั้ น สู ง อย า งนี้ . ในเวลานี้ . ใน ปญหาขอนี้ จะพูดถึงเรื่องระดับศีลธรรม ของคนทั่วไปในโลก คือระดับคนสามัญ ธรรมดาหรือปุถุชน เพื่อจะคนใหพบวา เขาไมบังคับความรูสึกกัน ปญหาในสังคม จึงเกิดขึ้น อยางที่ปรากฏอยูอยางนาเกลียด นาชัง นาขยะแขยงที่สุด เต็มไปใน หนาหนังสือพิมพ เปนประจําวัน. ถาม : เพราะฉะนั้ น ให คุ ณ ทองอธิ บ ายว า สั ง คมป จ จุ บั น ชั้ น ทั่ ว ไปนี้ มั น ไม บังคับความรูสึกกันอยางไร ? เอาเด็ก ๆ ของคุณกอนในโรงเรียน. ตอบ : ในแงของความโลภ เห็นเพื่อนมีตุกตามา หรือมีหนังสือ มีภาพใหม ๆ สวย ๆ มา เมื ่อ มีค วามรูส ึก อยากจะดู หรือ อยากจะเอามาเปน เจา ของ ก็ เข าไปยื้ อ แย ง, หรือ ขณะที่ เพื่ อ นเล น ของเล น อยู นั้ น ตั วเองอยากจะได ก็ เข า ไปยื้ อ แย ง เอาเลย นี่ ใ นแง ข องความโลภ. ที นี้ ในแง ข องความ โกรธ โดยที่ ไม ได ยั บ ยั้ ง , เมื่ อ มี ค วามรูสึ ก เช น ว าเมื่ อ เพื่ อ นมากระแทก ลม ลง ไมไ ดส ืบ สาวเคา เงื ่อ นวา ที ่ม ากระแทกนั ้น เหตุม าจากอะไร; เมื่ อ สื บ ไป สื บ มา ได ค วามว า เขา เซถลามาโดยบั งเอิ ญ แต ก็ ถู ก คนที่ เขาเซไปถู ก นั้ น ชกต อ ยเอาแล ว มั น จึ ง ได เกิ ด เรื่ อ งขึ้ น . ที นี้ ในแง ข อง ความหลง ก็คือหลงอยากจะไดเชนนั้น จึงทําใหเกิดเรื่องขึ้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : นี่ของพวกลูกเด็ก ๆ ในโรงเรียนโดยมาก. เอา, คุณ ล้ํา ในฐานะที่เปน กํานัน ลูกบาน ประชาชน ตามถนนหนทาง ตามตลาด.

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสาม

๒๒๑

ตอบ : ความอยากได ข องคน ส ว นมากก็ มั น มี ห ลั ก อยู ที่ ก ารเห็ น แก ตั ว ; เมื่ อ เห็น สิ ่ง ที ่เราไมค วรไดก ็อ ยากได โดยไมไ ดค ิด ถึง สิท ธิข องผู อื ่น อัน นี ้ทํ า ให ค นเกิ ด ความโลภโดยไม มี เหตุ ผ ล ด ว ยความอยากได แล ว ก็ ไม ได คิ ด ถึงสิทธิของผูอื่น. ถาม : โดยรายละเดียดบางสวนมันเปนอยางนั้น ; แตเราควรจะพูดโดยหลักที่ กิ น ความรวบหมด ว าเราในฐานะที่ เป น กํ านั น จะปกครองคน เราค น หา มู ลเหตุ อันลึ กซึ้ง วาพวกอาชญากรทั้ งหลายเหล านั้ นประกอบอาชญากรรม เพราะวามันไมบังคับความรูสึก พูดอยางนี้ถูกไหม ? ตอบ : ถูกครับ. ถูก อยางยิ่ง, ถู ก โดยใจความด วยนะ ; ที นี้ ก็ ไปหารายละเอี ยดเอาซิ . ที่มันชกตอยกันก็ดี ที่มันขโมยกันก็ดี, ที่จองลางจองผลาญ กอเวรอะไรกันก็ดี, แม ที่สุดที่มันไมชวยเหลือซึ่งกันและกัน ในกรณี ที่ควรชวยเหลือซึ่งกันและกัน มันเปน อั น ธพาล เป น พลเมื อ งเลว เป น อะไรไปเสี ย หมดก็ ดี ; เพราะล ว นแต ไ ม บั ง คั บ ความรู ส ึก . จึง ขอรอ งใหค ุณ ยกตัว อยา งมาใหฟ ง ตามที ่ม ัน เปน อยู จ ริง ตาม ถนนหนทางทั่ว ๆ ไป มันมีอะไรบาง? เราจะไดรูจักการไมบังคับความรูสึกกันให ถูกตอง แลวเราก็จะไดเกลียดชัง สิ่งเลวรายนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : ที นี้ คุ ณ ประยู ร ในฐานะที่ เป น หมอ ต อ งแสดงโทษของการไม บั ง คั บ ความรูสึก สวนที่มันเกี่ยวกับหมอดูซิ วาอยางไร ? มีอะไรบาง ? ตอบ : เรื่อ งที ่เ กี ่ย วกับ การที ่ไ มรูจ ัก บัง คับ ความรูส ึก แลว มีผ ลมาถึง สุข ภาพ อนามั ย ที่ เห็ น ได ชั ด ๆ อยู เดี๋ ย วนี้ ก็ คื อ ข อ ๑ ยาเสพติ ด ให โทษ นี่ เห็ น

www.buddhadassa.in.th


๒๒๒

การกลับมาแหงศีลธรรม ได ชั ด ว า เราไม รูจั ก บั งคั บ ความรูสึ ก ตั้ ง แต ย าเสพติ ด อย างแรง ตั้ ง แต เฮโรอี น ลงมาจนกระทั ่ ง ถึ ง สุ ร า เสพติ ด อ อ น ๆ ; นี ่ เ ป น เพราะ ไม รูจั ก บั งคั บ ทั้ ง นั้ น จึ ง ทํ า ให ค นเสี ย สุ ข ภาพอนามั ย เพราะยาเสพติ ด จนมาถึงสุราแยะ นี่ขอที่ ๑. ขอ ที่ ๒. เกี่ ยวกั บ อาหารการกิ น เกี่ ย วกั บ เรื่อ งอาหาร ; เพราะ คนเราเป น ทาสของลิ้ น คื อ ไม รู จั ก บั ง คั บ ความรู สึ ก เกี่ ย วกั บ รสชาติ อาหาร หลงติ ด ในรสชาติ ข องอาหาร มี อ ะไรก็ อ ยากจะให มี ร สอร อ ย ตามที่ของสมัยใหมมันปรุงแตง สงมาขาย. เป น ตนวา ผงชูรส เดี๋ยวนี่กินไปกินมาจนชักจะประกาศวา เริ ่ม มีโ ทษ. นี ่ผ งชูร สปลอมก็ม ีเ ยอะแยะ แลว ก็ใ สเ ขา ไปใหม าก ๆ ยิ ่ง ใสม ากมัน ยิ ่ง หวาน ยิ ่ง อรอ ยเขา เรื่อ ย. เราไมรูจ ัก บัง คับ ความรูส ึก รสชาติใ นอาหารเลยวา แคนี ้ม ัน ก็พ อ ไมจํ า เปน ตอ งไปกิน รสชาติ มัน , อยา งนี ้ไ มเ อาก็ป ลอ ยไปตามรสชาติข องผงชูร ส ก็ใ สเ พิ ่ม เขา ทุ ก วั น ๆ ; จน เดี ๋ ย วนี ้ แม แ ต น้ํ า พ ริ ก ก็ ใ ส ผ งชู ร ส ค รั บ ใส ห ม ด ทุก อยา ง และใสม าก ๆ ดว ย ซึ ่ง ลว นแตจ ะใหโ ทษตอ ไปอีก นาน ที่เปนอยูชัด ๆ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อีกอยางหนึ่ง เกี่ยวกับความหิวของอาหาร ตามปรกติ มนุษย เราควรจะกิน อาหารใหเปน มื ้อ เปน เวลา ตามที ่คํ า โบราณ คนเฒา คนแก เขาเขี ยนไว ว า “ไม ควรซื้ อก็ อย าไปพิ ไรซื้ อ ให เป นมื้ อเป นคราว ทั้ งคาวหวาน”. แต เราไม ค อยบั งคั บความรู สึ กเกี่ ยวกั บอาหาร ; เพราะวา เดี๋ ยวนี้มี แม คาเรขายหรืออะไรตาง ๆ เปนอาหารที่ม าใหม ผานหน า บ า นเราสลอนได ทุ ก วั น . เมื่ อ เราเห็ น อะไรก็ จ ะกิ น เสี ย เรื่ อ ยทั้ ง วัน ซึ่ ง จะทํ า ให กิ น บ อ ย ก็ คื อ เด็ ก ในตลาด ทํ า ให กิ น บ อ ย ๆ. อาหารก็

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสาม

๒๒๓

ยอยไมคอยไหว, กะเพาะก็ยอยไมคอยไหว, กินไปกินมา ถึงยอยไหว ปริมาณมันก็เกิน จึงกลายเปนโรคอาหารเกิน, หรือไมอยางนั้น ก็เปน โรคอาหารเสีย ; เพราะไปชอบความรูสึกที่ชอบกินอาหารรสอรอย ๆ ซึ่งยังมีอีกหลายอยาง. ถาจะพูดก็ไปอีกนาน ผมขอแค ๓ อยางนี้กอน. ถาม : สามอยางคืออะไร ? ตอบ : คื อ ๑ เกี่ ย วกั บ ยาเสพติ ด ให โทษ ๒ เกี่ ย วกั บ รสอาหาร, สองครับ ไมใชสาม. ถาม : สุราละ, นี่กําลังพูดถึงสุราใชไหม ? ตอบ : ผมรวมไปไวในยาเสพติดอยางเบา ๆ ครับ ๑ ยาเสพติดใหโทษอยาง แรง ๒ สุรา ๓ รสชาติอาหาร.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : ตามสถิติของทางสาธารณสุข ที่ประกาศอยูปาว ๆ อยูแทบทุกวัน สถิติ เกี่ยวกับกามโรคมากหรือนอยกวาสถิติเกี่ยวกับยาเสพติด ? ตอบ : กามโรคเดี๋ยวนี้มากกวายาเสพติด.

ถาม : ทําไมคุณไมพูดกอน? ตอบ : แตนี้ผมเอาแตที่เห็นชัด ๆ งาย ๆ. ถาม : อันไหนละ ที่ไมเปนการบังคับความรูสึกยิ่งกวากัน ?

www.buddhadassa.in.th


๒๒๔

การกลับมาแหงศีลธรรม

ตอบ : ถาพูดถึงความรุนแรง กามโรคแรงกวาครับ ที่ไมบังคับความรูสึก ; เพราะว า กามโรคเป น โรคที่ ติ ด ต อ ได ท างเดี ย วเท า นั้ น คื อ ทางอวั ย วะ เพศ โดยการสืบ พัน ธ ; แตก ลายเปน วา โรคนี ้ยิ ่ง ระบาดมากขึ ้น ๆ โดยเฉพาะในเด็ก และตั้ง กองควบคุม โรคมาตั้งนานแลว ก็ไมสํา เร็จ สักที. โรคก็ระบาดเพิ่มมากขึ้น ก็แสดงวาบังคับความรูสึกไมไดเพราะ มันไปในทางนั้นทางเดียวครับ ทางอื่นติดตอไมได. ไดยินจากประกาศสารณสุขวา อันตรายจากกามโรคระบาดเขาไป ในโรงเรียนยิ่งกวายาเสพติด เชน เฮโรอีน เปนตนเสียอีก. เราออกชื่อ เอยแต ชื่อก็พอ รายละเอียดไมตองบรรยายก็ได ; เชน ไมบังคับความรูสึก ทางยาเสพติด ทางเพศ ทางกินอยู. นี่มันยังมีอีกมาก สําหรับคนธรรมดาสามัญทั่วไป. ถาอยางไรก็ลองนึกถึง, หลักที่นึกถึงกันไดงาย ๆ เชน อบายมุข ๖ ซึ่งเปนประตูแหงอบาย ถาไปทําเขาแลวก็พลัดตกลงไปในอบาย ดื่มน้ําเมา เที่ยว กลางคื น ดู ก ารเล น เล น การพนั น คบคนชั่ ว เป น มิ ต ร เกี ย จคร า น ทําการงาน อะไรก็ตามที่เปนประตูแหงอบาย แลวก็นํามาซึ่งอันตรายเหลานี้ คือ ยาเสพติดบาง กามโรคบาง การทะเลาะวิวาท ฆาฟนกันบาง ซึ่งเปนปญหาทาง ศีลธรรมโดยตรง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อย า ลื ม ว าเรากํ าลั งพู ด ถึ ง ป ญ หาทางศี ล ธรรมโดยตรง และโดย เฉพาะอยางยิ่งของสังคม ; ตองเหลือบตามองไปทางสังคม กอนที่จะมองมา ในปา หรือในวัด ซึ่งมันเปนระดับที่สูงขึ้นไป แลวก็จนเลยระดับของศีลธรรม ไปเสียแลวก็มี. ปญ หามันเกิดขึ้น จนเราตองเอามาอภิปรายกันนี้ คือ ปญ หา ของทางสัง คม ; ฉะนั้น เหลือ บตาดูท างสัง คมไวเ สมอวา สัง คมจะวิน าศ

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสาม

๒๒๕

เพราะวา ศีล ธรรมมัน ไมม ี. ศีล ธรรมนี ้กํา ลัง เหมือ นตน ไมที ่ข าดอาหารแลว กําลังจะตาย ; ศีลธรรมไมมีอยูในจิตใจของคนเหลานั้น. ....

....

....

....

วันนี้ก็ระบุกันถึงหัวขอพอสมควรแลว อาจจะเอาไปคิดนึกไดเองแลว ไปขยายออกไปอีกไดเอง จนรูทั่วถึงวา สังคมนี้มันขาดการบังคับความรูสึก. ทีนี้คนเขาใหความสําคัญแกธรรมะขอนี้นอยเกินไป ; คนสมัยนี้ใหความสําคัญแก ธรรมะขอ นี ้ที ่เรีย กวา บัง คับ ความรูส ึก นี ่ มัน นอ ยเกิน ไป, และนอ ยลงทุก ที, เรียกวานอยยิ่งขึ้นทุกที ก็ได. ถาม : มองเห็นขอนี้หรือเปลา วาเดี๋ยวนี้คนในสังคมนี้ ตลอดจนถึงผูจัดการ ศึกษาของสังคม หรือของโลก ใหความสําคัญแกธรรมะขอนี้นอยเกินไป หรือ จนกระทั ่ง ไมม ีเหลือ คือ ไมไ ดใ หค วามสนใจเสีย เลย, คุณ ทอง มองเห็นไหม ขอเท็จจริงอันนี้ ถามองเห็นคุณวาไปดูซิ ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : สังคมปจจุบัน ถาจะมองโดยเฉพาะในแงของการศึกษา เกือบจะไมได มองกันถึงปญหาเรื่องการระงับความรูสึกนี้เลย.

ถาม : เชน, เชนอะไรบอกมาเลย ? ตอบ : ในโรงเรี ย นเราไม มี ก ารสอนกั น ถึ ง วิ ช าศี ล ธรรมเหล า นี้ เ ลย ; โดย เฉพาะมุงไปในหลัก สูตรที่ทางกระทรวงเขาบังคับ ใหทําการสอน.เรา จะทํ า ไดก็โดยที ่เราทํ า ขึ้น เอง จัด สรรขึ้น มาเอง เพื ่อ ที ่จ ะระงับ ยับ ยั้ ง พวกเหล า นั้ น เสี ย . เขาไปส ง เสริ ม แต เ รื่ อ งที่ ทํ า อย า งไรจึ ง จะมี ,

www.buddhadassa.in.th


๒๒๖

การกลับมาแหงศีลธรรม ทําอยางไรจึงจะไดขึ้นมา ; ไปสงเสริมเสียอยางนั้นเปนสวนมาก. ทีนี้ ในสังคมก็เหมือนกัน อยางบางคนพูดออกมาเลยวา การทําอะไรตามความ รูสึกหรือความตองการของตัวนั้น เปนยอดปรารถนาของเขา ; สังคมเขามา มองอยางนี้.

นี่ถูกอยางยิ่ง. ขอใหทุกคนสังเกตเห็นอันตรายอันรายกาจขอนี้กันไว ว า กํ า ลั งระบาดรุน แรงขึ้ น ; ในโรงเรีย นไม มี เลยที่ จ ะสอน หรือ จะอบรมให เกิ ด ความรูส ึก กลัว สิ ่ง นี ้. แตโ บราณเขามี แมไมม ีก ารสอนโดยตรง ก็ม ีก ารอบรม โดยออม ; เขาสอนเด็ก อบรมเด็ก ใหรูจักกลัวบาป. กลั ว บาป คํ า เดี ย วก็ พ อ มั น จะบั ง คั บ ความรู ส ึ ก อย า งที ่ เ รี ย ก วาฉับพลันได ; พอมันนึก กลัวบาปขึ้นมาเทานั้น มันก็ระงับความรูสึกอันนั้นไว ได. แลวเด็ก ๆ เขาก็แสดงอาการกลัวบาป สะดุงตอบาป ชะงักทันที อยูบอย ๆ ให เพื่ อนเด็ก ๆ กันเห็น ; เด็ก ๆ เพื่ อน ๆ กัน มันก็พลอยติดนิสัยอยางนั้นไปดวย ; พอจะทํา อะไรลงไป เพื ่อ นทัก วา บาป ละก็ห ยุด ชะงัก ; นี ่ก็เลยติด นิสัย ตอ ๆ กันไปที่วา พอบาปแลวก็สะดุง กลัวบาป โดยไมตองมีเหตุผล ไมตองถามเหตุผล. นี้ก็เปนผลดีเรื่อย ๆ มา จนกวาจะมีการศึกษาอยางใหม ที่มุงหนาแตใหเกิดความ กาวหนาในการไดซึ่งผลิตผลอยางเดียว ฉะนั้นแทนที่จะบังคับความรูสึกอยางที่เรา ตองการ มันกลายเปนสงเสริมความรูสึกใหมากยิ่งขึ้นไปอีก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ฉะนั้น การศึกษา ในโรงเรียนปจจุบันนี้ ประถม มัธยม อุดม หรือ อะไรก็ ต าม ล ว นแต ส ง เสริ ม ความรู สึ ก ให รุ น แรงยิ่ ง ขึ้ น ไปทั้ ง นั้ น ไม บั ง คั บ ความรู สึ ก ไม ห า มล อ ความรู สึ ก จนกระทั่ ง เกิ ด เป น หลั ก ที่ ถื อ กั น อย า งยิ่ ง ว า “ปล อ ยตามความรู สึ ก ละก็ เป น ประชาธิ ป ไตย, ไม ป ล อ ยตามความรู ส ึ ก ละก็เปนเสียเสรีภาพ”.

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสาม

๒๒๗

เรื่อ งนี้ มั น เป น เรื่อ งของธรรมชาติ เรื่อ งของกิเลสอยู อ ย างเต็ ม ที่ แล ว เพราะกิเ ลสตามธรรมชาติ มัน อยากจะเอาตามความรูส ึก อยู อ ยา งเต็ม ที่ แลว ; นั่น คือ คนธรรมดาสามัญ . แตค นเดี๋ย วนี้เลวไปกวา ธรรมดาสามัญ คือ ไปสงเสริมความรูสึกเขาอีก ; ฉะนั้นจึงไดรับทุกข ไดรับโทษ ในสังคมนี่ ยิ่งกวา คนสมัยโบราณ ที่เขาปลอยไปตามธรรมดาสามัญ เพราะไมมีอะไรกระตุน หรือ สงเสริมความรูสึกเหมือนคนในสมัยนี้. นี้ถาจะพูดอีก เดี๋ยวก็จะหาวาดาอีก, ดา ก็ได, จะหาดาก็ได. อยากจะพู ด ถึ งสั ต ว เดรัจ ฉานนั่ น แหละ มั น ก็ ป ล อ ยตามความรู สึ ก ของมั น ; แต มั น ไม มี อ ะไรไปกระตุ น ให มั น มากไปกว า ธรรมชาติ ไม มี สิ่ ง อะไร ประดิษ ฐช นิด ที ่พ ิถ ีพ ิถ ัน วิเศษวิโสขึ้น มากวา ธรรมดา. ฉะนั ้น ความรูส ึก ของ สัตวเดรัจฉานก็ยังอยูในระดับธรรมดาไปตามเดิม มันจึงไมมีปญหาเรื่องบังคับความ รูสึกอะไรกี่มากนอย มันก็อยูตามสบายของมันได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org พอมาถึงมนุษ ยเรา ที่ เป นมนุษ ยสมั ยแรก ๆ ยังไมมี อะไรเจริญ ทาง วัต ถุ ไมม ีอ ะไรยั่ว ความรูส ึก เขาก็บ ัง คับ ความรูส ึก กัน เสีย แลว ; ศีล ธรรม ในชั้นแรกของมนุษย ชนิดที่เราเรียกวาปาเถื่อนนั้น ยังมีศีลธรรมดีกวาของมนุษย สมัยนี้ ที่เรียกวาคนเจริญ.

ถาเราศึกษาประวัติศาสตร ทางศีลธรรมของมนุษยมาตั้งแตแรกเริ่ม เดิม ที จะยิ่งพบวาคนปานั้นมี ศีลธรรมดีกวาคนที่เจริญ แหงยุคปจจุบัน นี้ ; หาม อะไรก็หามไว ในลัก ษณะที่เรีย กวา ตาบู คือ คําหา มของของที่ตอ งหา มอยา ง เด็ ด ขาด ไม ต อ งชี้ เหตุ ผ ล ; เพราะไม อ าจจะชี้ เหตุ ผ ลหรือ อะไร ให แ ก กั น และ

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๒๒๘

กันได แตเขาก็กลัวอยางเต็มที่ รักษากฎระเบียบเหลานี้ไวไดอยางเต็มที่ เลยมี ศีลธรรมดีกวาคนสมัยนี้. ฉะนั้น จึงขอแทรกตรงนี้สักหนอยวา อยาไดไปโงใหมาก จนถึงกับ ไปดาใครวาคนปา คนดง. ระวังใหดีเถอะ, คนปาคนดงนั่นแหละมีศีลธรรม ดีกวาคนสมัยนี้ ที่ไปดาใครวาคนปาคนดง ; อาตมาเองก็เคยชอบดาหรือวาเขา วา ชาติปา ชาติเถื่อ น ชาติค นปา คนดงนี่เหมือ นกัน มาแตกอ น. แตเดี๋ย วนี้ มาสังเกตเห็นวา เรามันผิดเสียแลว. ที่ปาดงยังมีศีลธรรมดีกวา ที่ไมปาดงอยางสมัยนี้ ซึ่งเปนทาสของ กิเลสมากเกินไป ; เพราะไมบังคับความรูสึกทางกิเลสกันเสียเลย โดยเฉพาะทาง กามารมณ ฉะนั้น จึงมีการทําผิด เปนอาชญากรรมขึ้นเต็มไปหมดในโลกนี้ ใน เวลานี้ และจะยิ่ง ขึ้น ไปทุก ที. ตน เหตุข องมัน ก็คือ การไมบัง คับ ความรูสึก อยา งที ่ไ ดก ลา วมาแลว ; ฉะนั ้น จึง ขอใหส นใจสิ ่ง ที ่เ รีย กวา การบัง คับ ความรูสึก นี้แหละใหดี ๆ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ....

....

....

....

ทีนี้ อยากจะใหสังเกตดูตอไปวา มันขึ้นอยูกับรากฐานขอแรก ขอที่ ก อ นหน า นี้ ที่ เ รี ย กว า การไม เ ป น ทาสทางอายตนะ, มั น เนื่ อ งกั น อยู อยางแยกกันไมได. ที่เรียกวาเปนทาสทางอายตนะ, เปนทาสทางตา ทางหู ทางจมูก นั้น ก็เพราะการไมบังคับความรูสึก หรือเพราะไมสามารถบังคับความ รูสึก ฉะนั้นเมื่อเราตองการจะใหมีความไมเปนทาสทางอายตนะนี้ เราก็ตองชี้ใหเห็น

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสาม

๒๒๙

ทางใหเขาเห็นวา จะตองทําอยางไร ; ดังนั้น เราจึงจะตองพูดถึงเรื่องนี้ติดกันไป โดยไมแยกกัน. ถ า เมื่ อ ต อ งการจะไม เ ป น ทาสของอายตนะแล ว เราก็ จ ะต อ ง มีการบังคับความรูสึก ฉะนั้นจึงตองเอามาเนื่องกัน ติดกัน แฝดตอกันไปเลย ; เมื่อบังคับความรูสึกไดแลว ก็จะไมเปนทาสทางอายตนะ. นี่พวกอาชญากรทั้งหลาย ไมวาชนิดไหนหมด ประกอบอาชญากรรมนั้น ๆ ก็เพราะวาเขาเปนทาสของอายตนะ ใด อายตนะหนึ่ง ในลักษณะใดลักษณะหนึ่งเสมอ. ถาจะปองกันอาชญากรรมนั้น ก็ตองปองกันความเปนทาสของอายตนะ, หรือจะใหไมเปนทาสของอายตนะ ก็ตองมีการบังคับความรูสึกอยางที่วานี้. ฉะนั ้น เราจะตอ งศึก ษาเรื่อ งของจิต ใจ ในแงนี ้ใ นมุม นี ้ เพื ่อ ให เขาใจไดวามันเกิดความรูสึกขึ้นมาอยางไร ในจิตใจของคนเรา, และมันจะเดินไป อยางไร, ตามปรกติมันจะเดินไปทางฝายต่ํานั้น มันเดินไปอยางไร ; รายละเอียด ก็ค ือ เรื่อ งปฏิจ จสมุป บาท. จงไปศึก ษาเรื่อ งนั ้น เปน พิเ ศษ ก็จ ะเขา ใจราย ละเอียดเปนพิเศษ ; แลวก็มาแยกแยะเอาเฉพาะเรื่อง เฉพาะกรณี เฉพาะยุคสมัย เฉพาะถิ่น ภูมิประเทศอะไรก็ตาม วาจะตองศึกษาฝกฝนเพื่อบังคับความรูสึกกัน อยางไร.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ....

....

....

....

ทีนี ้ก ็ม าถึง ปญ หาใหญ ที ่ว า เดี ๋ย วนี ้เ กิด นิย มการไมบ ัง คับ ความรูส ึก ; มัน ยิ่ง กวา แฟชั่น ไปเสีย อีก ที ่วา เราไมบ ัง คับ ความรูส ึก เราจะ ปลอยตามกิเลส จะเอาตามความสบายใจของเรา.

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๒๓๐

นี่เปนเรื่องที่อันตรายมาก เลวรายมากอยูอยางหนึ่งแลว ; ที่เลวราย ยิ่งไปกวานั้นอีก ก็คือวา การศึกษาที่เขาจัดขึ้นในสถานที่ศึกษานั้น ก็ไมมีการ สั่ง สอนเรื่อ งบัง คับ ความรูสึก อยา งที่เราพูด กัน มาแลว ; ซึ่ง ก็เปน อยา งนี้กัน ทั้ ง โลก และเกิ ด มิ จ ฉาทิ ฏ ฐิ อ ย า งแรงร า ย ว า มนุ ษ ย เราต อ งปล อ ยไปตาม ความรูสึก, อยาไปบังคับความรูสึกเขา มันจะหมดความสุขเสีย. นี่พวกลูกเด็ก ๆ ไมรูอิโหนอิเหนอะไร เกิดขึ้นมาถูกสอนอยางนี้ เขา ก็เอากันใหญ คือปลอยไปตามความรูสึก จนไมรูทิศเหนือใต ไมรูดีรูชั่ว รูผิด รู ถ ู ก ; โลกนี ้ จ ึ ง กํ า ลั ง เป น โลกที ่ ไ ม ม ี ก ารบั ง คั บ ความรู ส ึ ก ; มี แ ต จ ะ ส ง เส ริ ม ห รื อ ป ล อ ยไป ต าม ค วาม รู  ส ึ ก มั น จึ ง เป น โล ก ที ่ เ ต็ ม ไป ด ว ย อาชญากรรม. นี่ความมุงหมายที่จะพูดกันถึงรากฐานของศีลธรรมขอนี้คืออยางนี้. ....

....

....

....

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทีนี้ อยากจะพูดใหชัดเจนลงไปในขอที่วา การบังคับความรูสึกนี่ เราจะแบ ง เป น ๒ ระยะคื อ ระยะที่ จ ะไม ใ ห เ กิ ด ความรู สึ ก อั น เลวร า ย นั้ น นั่ น ก็ ต อ งบั ง คั บ ไว , แล ว ก็ บั ง คั บ ความรู สึ ก ที่ มั น ได เ กิ ด ขึ้ น มาแล ว อยา ใหมัน ลุก ลามตอ ไป จนถึง อัน ตราย จนถึง ขีด สุด , นี้ก็อีก ระยะหนึ่ง ; จึงเกิดเปน ๒ ระยะ.

ถาม : การบังคับความรูสึกทั้ง ๒ ระยะนี้ เทาที่เราศึกษาเลาเรียนกันมาแลว จะบังคับดวยอะไร ? ดวยธรรมะชื่ออะไร ? คุณ ทองวามากอนสําหรับ เด็ก ๆ ธรรมะชื่ออะไรที่จะชวยบังคับความรูสึกทั้ง ๒ ระยะ ? คุณประยูรก็ ได คุณทองยังนึกไมออก.

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสาม

๒๓๑

ตอบ :

ขันดี.

ถาม :

คุณล้ําละ ?

ตอบ :

โสรัจจะ ความเสงี่ยม.

ถาม :

นั่นมันหางเล็กของขันติ ; เอา, คุณทองอีกที ?

ตอบ :

สําหรับเด็ก ๆ ก็ การไมตามใจตัวเอง.

การไมตามใจตัวเองจะทําไดอยางไร. บังคับความรูสึกไมใหไปตาม ความรูส ึก ของกิเลส บัง คับ ดว ยอะไร, นี ่แ หละคือ การสอบไล ประจํา เดือ น ประจํา ป อะไรก็ตาม. เทา ที่เราไดฟง มาแลว ไดศึกษามาแลว หลายปแ ลว ก็ขอใหไปทบทวนดู จากหลักในพระบาลี ในพระคัมภีรที่อุตสาหนํามาสั่งสอนกัน ก็ดี, หรือวาจากการสังเกตจากภายในจิตใจของตนเองก็ดี มันยอมจะตรงกันถา ถูกตอง. ถาเราสังเกตถูกตอง จับฉวยไดถูกตองมันก็จะตรงกันกับในพระคัมภีรที่ พระพุทธเจาทานตรัสไว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : สํ า หรั บ การจะบั ง คั บ ความรู สึ ก นั้ น มี สิ่ ง แรกที่ จ ะต อ งนึ ก ถึ ง ก อ น สิ่งที่เรียกวา ขันติ, สิ่งนั้นคืออะไร.

ตอบ : การขมจิต.

www.buddhadassa.in.th


๒๓๒

การกลับมาแหงศีลธรรม

การข ม จิ ต ก็ คื อ สิ่ ง เดี ย วกั น กั บ ขั น ติ . นี่ เห็ น ไหมว า เราไม ได ฟ ง ให ดี , เราไมไ ดฟ ง ใหด ี, แลว เราก็ไ มไ ดป ญ ญา. อยา วา แตค ุณ แมพ ระเณรในวัด นี้ ก็เหมือ นกัน อยู ใ นสภาพอยา งเดีย วกัน ; ไมอ ยากฟง , หรือ ฟง ก็ฟ ง อยา งไมดี มั น จึ งไม รู หรือ จั บ ฉวยไม ได . ถ า ฟ งดี ม าสั ก หน อ ย มั น ก็ จ ะนึ ก ได ต ามแบบแผน กอ น แลว จะตรงกับ ความจริง ในใจ มัน ก็ต อ งตรงกัน แหละ, คือ สิ ่ง ที ่เรีย กวา สติ. สติ เปน หญา ปากคอกเกิน ไป จนถูก ลืม เสีย บอ ย ๆ. ใหจํ า ไวด ว ย วา สติ นี ่ม ัน ออกจะอาภัพ หรือ อยา งไร ที ่ม ีค า มาก วิเ ศษที ่ส ุด แตค นก็ใ ห ความสนใจนอ ยที ่ส ุด ; จึง ขอสั ่ง กัน ไวเ สีย แตเ ดี ๋ย วนี ้ วา ถา อยา งไร ๆ อยา ลืม คํา วา สติ, ใหนึก ถึง คํา วา สติ ; เพราะเหตุที่วา สตินี ่เ ปน ธรรมะ ที่จ ะแกปญ หาในทุก กรณี จนถึง กับ มีห ลัก ขึ้น มาวา สติ สพฺพ ตฺถ ปตฺถิย า - สติเปนธรรมที่พึงปรารถนาในทุกกรณี.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ที ่ ร ะบุ ไ ว โ ดยตรงก็ ว  า สติ เ ป น เครื ่ อ งหั ก ห า ม หรื อ ป ด กั ้ น , สติ นั ่ น และเป น เครื ่ อ งป ด กั ้ น กระแส. นี ่ เ ป น ธรรมะชั ้ น ลึ ก ชั ้ น สู ง ขึ ้ น ไป อย างในโสฬสป ญ หาปารายนวรรค พู ด ถึ งสติ ม าก ในฐานะเป น เครื่อ งป ด กั้ น ซึ่ ง กระแส ; กระแสนี ้ก ็ค ือ กระแสแหง ความรูส ึก . เราจะเกิด ความอดกลั ้น ไมไ ด ถา เราไมม ีส ติม ากอ น ; สติม ากอ น แลว จึง ทํ า ใหเ กิด ความอดกลั ้น ; ฉะนั ้น ตองพูดถึงสติกอน จึงจะเปนความยุติธรรม. สติส ัม ปชัญ ญ ะ รวมอยู ด ว ยกัน ทั ้ง ๒ อยา ง เรีย กวา สติ ; ถ า ป ญ หาอะไรเกิ ด ขึ ้ น สติ เ ป น สิ ่ ง ที ่ ต  อ งการทั น ที : ให ร ะลึ ก ขึ ้ น มาได ว  า

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสาม

๒๓๓

มัน เปน อยา งไร, มัน คือ อะไร, มัน มาจากอะไร, โดยวิธ ีใ ด, ใหร ะลึก ขึ ้น มาได ทัน ที แลว จึง ลงมือ ทํ า ไปตามนั ้น . อยา งจะไป โกรธ เขานี ่ ไมใ ชป อ งกัน ได ด ว ยความอดกลั้ น แต ป อ งกั น ได โ ดยมี ส ติ หรื อ คุ ม สติ ; พอมี ส ติ มั น ก็ อดกลั ้น ได ; หรือ มีโ อกาสที ่จ ะอดกลั ้น . ถา ไมม ีส ติ ไมม ีท างที ่จ ะอดกลั ้น , ความอดกลั้น ก็ไมมีป ระโยชน เพราะไมมีโอกาสจะใช. ถามีส ติแ ลวมัน มีโอกาส ที ่จ ะใชค วามอดกลั ้น หรือ อะไร ๆ ตอ ไปอีก . ฉะนั ้น เราเรีย นใหรู ว า กระแส แหงความรูสึกนั้นเปนอยางไร อยางที่พูดกันเรื่องปฏิจจสมุปบาท. ....

....

....

....

ที นี ้ ม าถึ ง ป ญ หาในสั ง คม, เกี ่ ย วกั บ ความรู  ส ึ ก ของคนใน สังคมที่ ไม ถู ก บั งคั บ ไว ไม ถูกควบคุม ไว ถูกปลอ ยไปตามความรูสึก นั่นเพราะ อะไร ? เพราะเขา ขาดความรูใ นเรื่อ งนี ้ ; แตนี ่ก็ไมคอ ยสํา คัญ หรือ ไมคอ ย จริงนักหรอก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ที ่ ว  า ขาด ค วาม รู  ใ น เรื ่ อ งนี ้ นั ้ น , ที ่ จ ริ ง ขาด ส ติ ที ่ จ ะเอ าค วาม รู ในเรื่ อ งนี้ ม าใช ม ากกว า ; อะไรดี อะไรชั่ ว อะไรผิ ด อะไรถู ก ก็ รู กั น อยู ทุ ก คน แหละ ไม มี ใครจะแก ตั ว ได . ที่ ไปทํ า ความชั่ ว ชนิ ด ไหนก็ ต าม รู กั น ทั้ งนั้ น ว า เป น ความชั่ว ; แตอดกลั้นไมไดเพราะไมมีสติ, บังคับตัวไวไมได เพราะไมมีสติพอ.

ความสํ า คัญ ไปรวมอยู ที ่สิ ่ง ที ่เ รีย กวา สติ ถา มีม ากพอ ; ยิ ่ง เราไมสอนเรื่องความผิด ถูก ชั่ว ดี แลวยังไมสอนเรื่องการใชสติ ใหถูกตามกาละ เทศะด วย คนในโลกนี้ ก็ เลยไม มี สิ่ งนี้ คื อ ไม มี การบั งคั บ ความรูสึ ก ให อ ยู ในรอ ง

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๒๓๔

ในรอย. โลกนี ้ก ็เ ลยไปกัน ในทางที ่จ ะ ตกต่ํ า หรือ เสื ่อ มเสีย , มีผ ลออกมา เป น ความทุ ก ข ย ากลํ า บากกั น ไปทั่ ว ทุ ก หั ว ระแหง เพราะต า งคนต า งไม บั ง คั บ ความรูสึก. ถาใหพูด เลยไปอีก สัก หนอ ยก็อ ยากจะพูด วา เพราะไปบา ประชาธิ ป ไตยกั น มากเกิ น ไป จึ ง เกิ ด ความคิ ด นึ ก ที่ จ ะไม บั ง คั บ อะไร ไม บั ง คั บ แมแ ตค วามรูสึก ของตัว เอง ; เลยหลงไป วา ถา บัง คับ ความรูสึก กัน แลว มันเสียเสรีภาพ เสียอิสรภาพ, มันไมสนุกสนานไมเอร็ดอรอย ตามที่ตัวจะตองการ ได . นี่ ค นเราก็ นิ ย มอิ ส รภาพ เสรี ภ าพในแบบนี้ ม ากขึ้ น ทุ ก ที ; โอกาสที่ จ ะมิ สติสัมปชัญญะ มันก็มีนอยเขาทุกที. นี่เรามองดูกันในฐานะที่เป นสิ่งที่นาเศรา นาสลด นาสังเวชอยางยิ่ง สําหรับ สมั ย นี้, หรือจะมองดูวา มัน เป นโชครายที่ สุด ของมนุ ษ ยแหงยุค นี้ ที่ ไม มี ศาสนา ก็ได ; ทุก ๆ ศาสนาเขาสอนใหมีสติในการบังคับความรูสึก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ....

....

....

....

ทีนี้ก็เลยพูดกันไปถึงเรื่องศาสนากันเสียเลยดีกวา คือขอที่ขอยืนยันวา ทุ ก ศาสนาล ว นแต มุ  ง หมายจะสอนการบั ง คั บ ความรู ส ึ ก ทั ้ ง นั ้ น แต เรียกชื่อแปลก ๆ ออกไป ตาง ๆ กันออกไป จนบางคนฟงไมรูเรื่อง. พุท ธศาสนา อยา งที่เ ราเรีย นกัน มามากมายแลว ก็ไ ปดูเ อาเอง ก็ จ ะพบว า ให บั ง คั บ ความรู สึ ก : ควบคุ ม อิ น ทรี ย คื อ ตา หู จมู ก ลิ้ น

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสาม

๒๓๕

กาย ใจ ๖ อย างนี้ , ๖ อย างนี้ เรียกว า อิ น ทรี ย ก็ เพราะว ามั น เป น ตั วรายตั วการ เปน ตัว ใหญ. คํา วา อิน ทรีย  มัน แปลวา ใหญ เปน ตัว รา ย ตัว การ ที ่จ ะเกิด เรื่องเกิดราว คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ; จะเกิดนรกที่นั่น จะเกิดสวรรค ที่ นั่ น ก็ เพราะว า มั น จั ด การเกี่ ย วกั บ ตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจ ถู ก ต อ งหรื อ ไม . ทางพระพุท ธศาสนาจึง สอน ใหบ ัง คับ ความรูส ึก คือ อิน ทรีย เ หลา นี ้ ใหค วบคุม ไว ใหอยูในรองรอยของความถูกตอง. การปฏิบ ัต ิที ่ถ ูก ตอ ง ทั ้ง หมดนี้ อยูที ่ก ารบัง คับ ตา หู จมูก ลิ ้น กาย ใจ ใหดํ า รงอยู ใ นภาวะที ่ม ัน ถูก ตอ ง, กิน ความไปถึง ไมป รุง ใหเ กิด กิ เลส ตั ณ หา ทางตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจ นั่ น เอง แล ว ก็ ไ ปเข า เรื่ อ งเดี ย วกั น กั บ ที่ เราบรรยายแล ว เมื่ อ วั น ก อ นนี้ ว า การไม เป น ทาสของอายตนะ เพราะเรา บังคับอินทรียได เราก็ไมเปนทาสของอายตนะ. ศาสนาคริ ส เตี ย น ก็ ด ี ศาสนาอิ ส ลาม ก็ ด ี เมื ่ อ ไปถึ ง เนื ้ อ หา สาระอั น แท จ ริ ง ของศาสนา แล ว ก็ อ ยู ที่ นี่ ทั้ ง นั้ น คื อ เป น เรื่ อ งการบั ง คั บ จิ ต ใจให อ ยู ใ จอํา นาจของความรู สึ ก ผิ ด ชอบชั่ ว ดี ด ว ยกั น ทั้ ง นั้ น ; แต ค น ก็ ไ ม ส นใจ ในส ว นที่ เป น หั ว ใจอย า งนี้ ไปสนใจเรื่ อ งปลี ก ย อ ย หรื อ ฝอย หรื อ แขนงน อ ย ๆ เอามาถื อ กั น เป น ใหญ เป น หลั ก เกณฑ เป น เรื่ อ งใหญ โ ต ก็ เลย เหมือนกับไมไดถือศาสนานั้น ๆ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาผู ที่ ถื อศาสนาคริสเตี ยน จะปฏิ บั ติ ให ตรงตามศาสนาคริสเตี ยน มั นก็ ตอ งบัง คับ อิน ทรีย  บัง คับ ความรู ส ึก อยา งที ่จ ะไมบ ัน ดาลโทสะ. อยา งพระเยซู

www.buddhadassa.in.th


๒๓๖

การกลับมาแหงศีลธรรม

สอน นี่ สอนรุน แรงไปกวา ของเกา , ของเดิม ๆ ; เชน วา เพีย งแตม องดูก็ผิด ศีลขอกาเมฯ สิกขาบทบัญญัติเดิม ๆ ของศาสนา กอนหนานั้น. ศาสนาพุทธนี่ก็เหมือนกัน มีวา ตองไปรวมประเวณีจึงจะเสียศีลขอ กาเมฯ ; สวนพระเยซูสอนวา เพียงแตมองดูแลวนึกชั่วเทานั้น ก็ผิดศีลขอนี้ แล ว โดยสมบู รณ , และมี อยางนี้ ทุ กขอ เพี ยงแตคิด เทานั้ น ก็ถือ วาผิดเสี ยแล ว. และโกรธไม ไ ด . ถ า เขาตบแก ม ซ า ย ให เ ขาตบแก ม ขวาด ว ย, ให เ ลิ ก ลั ท ธิ ที่วา เขาทํามาเทาไร เราทําไปเทานั้น เสีย. ศาสนาคริสเตียนก็เลยเปนหมันไปในขอนี้ ; เชนเดียวกับพุทธศาสนา ก็เป น หมั น ไปในขอ นี้ คื อ คนที่ ถือ ศาสนานั้ น ๆ ไม ป ระพฤติ ป ฏิ บั ติ ให ถู ก ตรงตาม หั ว ใจของศาสนานั ้ น ๆ คื อ การบั ง คั บ ความรู ส ึ ก ; ถ า บั ง คั บ ความรู ส ึ ก ได ก็ไมมีอะไรเกิดขึ้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : หนังสือแบบเรียนสําหรับลูกเด็ก ๆ สมัยเมื่อไมนามมานี้ มีนิทานอุปมา เรื่อ งการบั งคั บ ความรูสึ ก ดี อ ยู ห ลายเรื่อ ง. เรื่อ งหนึ่ งเช น เรื่อ งอะไรบ า ง ? คุ ณ ทองเช น เรื่ อ งอะไรบ า ง ? นิ ท านธรรมจริ ย า ๒ - ๓ บรรทั ด รู ไหม ? คุ ณ ประยู ร, คุ ณ ล้ํ า ? นี่ แหละเป น ผู ล ะเลย เป น ผู ไม นํ ามาสอนลู ก เด็ ก ๆ ให เ ขามี ศี ล ธรรม มี ร อ งรอยของศี ล ธรรม. ถามจริ ง ๆ เถอะ คุ ณ เคย อา นไหม หนัง สือ ธรรมจริย า เรื ่อ งนับ สิบ กอ น เคยอา นไหม ? ตอบ ไมไ ด. บางทีก ็ไ มเ คยอา น, ทํ า ไมจะไมม ี, สมัย อาตมาเรีย นยัง มีเรื ่อ ง จะโกรธใครใหนับสิบกอน แลวจึงคอยพูดออกไป :

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสาม

๒๓๗

เด็ ก ๒ คน ถื อ กระป อ งเมล็ ด ดอกไม จ ะไปปลู ก น อ งทํ า กระป อ งตก พี่ ข องเขาจะดุ ก็ นั บ หนึ่ ง ถึ ง สิ บ ก อ นเขาจึ ง พู ด . ไม เคยอ า นเลยหรื อ ก็ แ ปลกดี อ ยู ; แสดงวาเขาได ยกเลิ กหนั งสื อประเภทนี้ กั นเสี ยแล ว ก อนที่ คุ ณ จะเข ามาเป นนั กเรียน. สมัยอาตมายังมีเรียนเรื่องนับสิบกอน เขาถายมาจากของฝรั่ง. เราจะพบวา การศึก ษาของมนุษ ย ในสมัย ที ่ว ิท ยาศาสตรย ัง ไมเ จริญ นั ้น เขาฝากไวก ับ ศาสนา, เอาศาสนาเปน หลัก สํ า หรับ การศึก ษา จัด การศึก ษาโดยอนุโ ลมกับ ศาสนา ; ฉะนั ้น จึง เปน เรื ่อ งจริย ธรรม เปน ศีล ธรรม ไปหมด คือ ใหก ารบัง คับ ความรู ส ึก . นี ่เ ปน เรื ่อ งจุด ยอด หรือ เปน นิว เคลีย ส ของการศึกษา ; เขาเรียกวา ความเปนสุภาพบุรุษ. การศึ ก ษาเมื่ อ ๒ - ๓ ร อ ยป ม าแล ว มหาวิ ท ยาลั ย ออกซฟอร ด , เคมบริ ด จ , ให ป ริ ญ ญาสู ง สุ ด มุ ง การเป น สุ ภ าพบุ รุ ษ ;เรี ย นจบแล ว ก็ มี ค วามเป น สุ ภ าพบุ รุษ เป น ที่ มุ งหมาย คื อผู ที่ บั งคั บ ความรูสึ กได ไม ทํ าอะไรโดยบั นดาลกิ เลส ; นั่ น ต อ งเป น อย า งนั้ น เพราะว า โรงเรี ย นนั้ น พระจั ด ; พวกพระในศาสนาคริ ส ต จัดใหเปนอยางนั้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ที นี้ ออกซฟอร ด เคมบริ ด จ ในสมั ย ต อ ๆ มาอี ก มั น ก็ เ ปลี่ ย นไป ตามความก าวหน าของความเจริญ ทางวัตถุ . เดี๋ ยวนี้ พระไม ได จั ด ก็ มุ งแต เทคโนโลยี วิช าชีพ ชนิด ใดชนิด หนึ ่ง ตามที ่ต อ งการ ; ฉะนั ้น คํ า วา “สุภ าพบุร ุษ ” หรือ ความเปนสุภาพบุรุษที่เปนจุดยอดของการศึกษานั้น เขาเก็บไวในพิพธภัณฑ. นี ่ต อ งไปหาอา นดูจ ากหนัง สือ โบราณ ในครั ้ง กระโนน จึง จะพบวา การเปน

www.buddhadassa.in.th


๒๓๘

การกลับมาแหงศีลธรรม

สุ ภ าพบุ รุษ นั้ น เป น จุ ด หมายสู งสุ ด ของการศึ ก ษา ; แต แล วก็ ก ลายเป น อนุ ส าวรีย หรือเปนสิ่งที่เก็บไปไวในพิพิธภัณฑ. การศึ ก ษาในยุ ค ป จ จุ บั น ไม พู ด ถึ ง การบั ง คั บ ความรู สึ ก ; มี แตส ง เสริม ความรูส ึก ใหรุน แรง และรวดเร็ว ยิ ่ง ขึ ้น ใหท ัน สมัย ใหส มกับ ที ่ม ีก าร กา วหนา ทางวัต ถุ อัน เปน ไปอยา งรุน แรงรวดเร็ว . ฉะนั ้น ขอระบุต รง ๆ อยา วา นั่ น นี่ วาพวกฝรั่งสมั ย โน น เขาก็ บั งคั บ ความรูสึ ก เป น สุ ภ าพบุ รุษ เป น สาวก เป น คริส เตีย นที ่ด ีข องพระเยซู ; สว นฝรั ่ง เดี ๋ย วนี ่ไ มเ ปน อยา งนั ้น ตรงกัน ขา ม จะ ถือศาสนาคริสเตียน คริสตัง ก็แตปาก แตทะเบียน แตบัญชี. นี ่ถ า พูด วา จะตามกน ฝรั่ง ก็ค วรจะตามกน ฝรั่ง สมัย นู น ที ่ม ีศ าสนา มี ศี ล ธรรม มี ก ารบั งคั บ ความรูสึ ก เป น จุ ด หมาย. แต เราก็ ไม ต อ งไปตามก น ฝรั่ง ; เพราะวาพุทธศาสนาเราก็สอนอยางนี้ ปู ยา ตา ยาย ของเราก็ สอน อยางนี้ วัฒ นธรรมประจํา บา น ประจํา เดือ น มาแตเ ดิม ของเราก็ส อน อยา งนี้. เพราะฉะนั้น คนไทยเราจึง เปน คนมีศีล ธรรม บัง คับ กิเ ลส บัง คับ ตัว เอง ; อยางนี้ดีอยูแลว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org พ อถึ ง ป จ จุ บ ั น นี ้ คนไทยสมั ย นี ้ เกิ ด โง , โง อ ย า งเหลื อ จะโง โงอยางดักดาน ที่ กมหั วลงไปตามกนฝรั่ง ที่เขาทิ้งศาสนากันหมดแลว ไมมี การ บัง คับ ตัว เองเหลือ อยู  ในพวกฝรั่ง เหลา นั ้น แลว เราก็ไ ปตามเขา ; ก็พ อดีไ ด ลัทธิที่ไมบังคับความรูสึกมา แลวก็จะตองเดินตามกนเขาเรื่อยไป เดินตามหลังเขา เรื่อ ยไป เพราะสมัค รเอาความเจริญ ทางวัต ถุเ ปน จุด สูง สุด ของการศึก ษา ; มั น จึ งพู ด กั น ไม รูเรื่อ ง. ในประเทศไทยเรานี้ พู ด กั น ไม รูเรื่อ ง ที่ จะให จัด การศึ ก ษา

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสาม

๒๓๙

ชนิด ที ่จ ะทํ า ใหจ ิต ใจมีค วามถูก ตอ ง มีค วามเหมาะสมตามทางศาสนา ที ่จ ะไม กออาชญากรรมทั้งหลายขึ้นมา. ทีนี ้ เขาสมัค รไปเปน บริว ารของพวกตามใจความรู ส ึก , เห็น แต ความสุ ข ทางวั ต ถุ ทางเนื้ อ ทางหนั ง อย า งที่ เราเรี ย กว า เป น ทาสของอายตนะ ; เป น ทาสของอายตนะก็ ห มดเนื้ อ หมดตั ว ไม มี อ ะไรเหลื อ มาเป น ทาส ของพระพุ ท ธเจ า พระธรรม พระสงฆ เ ลย. นี ่ โ ทษของการที ่ ไ ม บ ั ง คั บ ความรูสึกก็เปนอยางนี้. อาตมาจึ ง ถื อ ว า นี้ เป น อาหารของต น ไม แ ห ง ศี ล ธรรม คื อ ถ า บั ง คั บ ความ รู สึ ก ได ก็ จ ะยั ง มี อ ะไรดี ๆ เห ลื อ อ ยู , ถ า ไม บั ง คั บ ค วาม รู สึ ก ก็ไมมีอะไรที่ดีที่จะเหลืออยู ที่จะเปนอาหารแหงศีลธรรมได. ถ า จะมี อ าหารหล อ เลี้ ย งจิ ต ใจได ต อ งมี ก ารบั ง คั บ ความรู สึ ก จึง เปน แมบ ทของอาหาร ของสิ ่ง ที ่เ รีย กวา ปุ ย สํ า หรับ ตน ไม. เคมีอ ัน ไหนที่ เป น ประธาน ของการเป น ปุ ย ของต น ไม มั น ก็ จ ะต อ งเที ย บได กั น กั บ การบั ง คั บ ความรู ส ึก อยา งที ่ก ลา วมานี ้ ; ฉะนั ้น จึง ยืน ยัน วา บัง คับ ความรู ส ึก เถิด แลว อะไร ๆ ที่คุณเอยถึงเมื่อตะกี้ก็จะมีมาเอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org บั ง คั บ ความรู สึ ก เถิ ด ขั น ติ จ ะมี ม าเอง หิ ริ โ อตตั ป ปะก็ จ ะมี มาเอง, อะไร ๆ ก็จ ะมีม าเอง ; เพราะวา อาหาร หรือ ปุ ย ที ่เ ปน อาหารนี ้ เรา แยกออกไดเ ปน หลายชนิด หลายระดับ . แตโ ดยสรุป โดยใจความสํ า คัญ แลว จะตอ งถือ เอาการบัง คับ ความรู ส ึก นี ้ เปน แมบ ทของสิ ่ง ที ่เ รีย กวา อาหาร, หรือ

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๒๔๐

ปจจัยอันเปนที่ตั้ง ที่อาศัย ของตนไมในชื่อเดิม ที่เรียกกันวา อาหารหรือปุยนั้น. ฉะนั้นขอใหพิจารณาดู ใหเห็นความจริงขอนี้กอน วา อันนี้เปนอาหาร ; และ ก็ยังดูในขอตอไปที่วา เรากําลังขาดอาหารนี้หรือไม ? ....

....

....

....

ถาม : ทีนี้ ตองขอถามความคิดเห็น ที่แถลงออกมาประกอบไปดวยเหตุผล ของคุณอีกทั้ง ๓ คน เรากําลังขาดอาหารขอที่เรียกวา การบังคับความรู สึกนี้หรือไม ? มากนอยเทาไร ? เปนการยืนยันครั้งสุดทายกันอีกสักครั้ง หนึ่ง เผื่อวา อาตมามองมันไมทั่วถึง มันมีอะไรเหลืออยู เอา,คุณลอง วาไป เรากําลังขาดอาหารขอนี้หรือไม ? ตอบ : ตอนนี้พูดถึง ขาด มันกําลังขาดแนนอน เพราะวา ดูในแงทั่ว ๆ ไป ทางดา นอาชญากร เมื ่อ กี ้ก ็พ ูด แลว รบราฆา ฟน กัน มาก็เพราะไมมี การยับ ยั ้ง ไมม ีก ารบัง คับ . ทีนี ้ ในแงข องการศึก ษาก็พ ูด แลว ผม เห็น วา ในแงข องการแพทย ยัง มีอ ยู อ ยา งหนึ ่ง ที ่ไมม ีก ารบัง คับ ทาง ดา นจิต ; แตก ลับ สง เสริม ใหจ ิต มีค วามรูส ึก รุน แรงยิ ่ง ขึ ้น ก็โ ดยวิธี การที ่ใ ชอ ยู เดี ๋ย วนี ้ คือ การคุม กํ า เนิด . แทนที ่จ ะใชว ิธ ีก ารบัง คับ จิต แบบสมัย กอ น ๆ โนน ใหเ กิด คุม กํ า หนัด ใหม ัน นอ ยลง ; กลาย เป น มาคุ ม กํ า เนิ ด โดยใช เครื่ อ งมื อ ; แต ก ลายเป น ว า ส ง เสริ ม ความ กําหนัดใหมากขึ้นนั่นเอง นี่เปนอยางหนึ่ง

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : ถ า พู ด กั น ในฐานะผู ป ฏิ บั ติ ธ รรม ปฏิ บั ติ ธ รรมะ พู ด กั น ในวั ด ก็ ถู ก อยา งยิ ่ง จริง อยา งยิ ่ง ; แตถ า คุณ ไปพูด นอกวัด ที ่อ อฟฟศ คุณ ก็จ ะ ถูกตัดเงินเดือน.

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสาม

๒๔๑

ตอบ : ใชครับ ผมขอพูดเฉพาะในที่นี้. ถาม : เอา, คุณทองละ วาอยางไร ? ตอบ : การระงั บ ความรู สึ ก สั ง คมกํ า ลั ง ขาดอยู อ ย า งยิ่ ง . ผมขอยกตั ว อย า ง ลู ก จ า ง หรื อ ผู ที่ มี เงิ น เดื อ นน อ ย จะว า น อ ย ก็ ไ ม ค อ ยถู ก ต อ ง ; เพราะ วา เขาไปเปรีย บกับ คนทีม ีเ งิน เดือ นมาก หรือ ไปเปรีย บกับ นายจา ง เห็น นายจา ง หรือ คนที ่ม ีเ งิน เขามีโ ทรทัศ น มีบ า นที ่อ ยู ผ ิด ไปกวา ตัว ก็ อ ยากมี ขึ้ น มาบ า ง ; เมื่ อ ตั ว อยากมี ขึ้ น มาบ า ง ก็ มี ร ายได น อ ย แต พยายามที ่จ ะใหม ีขึ ้น มาใหไ ด, เปน อยา งนี ้ จึง มีก ารเรีย กรอ งเอาคา จา งใหขึ ้น ใหม ากขึ ้น . แตเ มื ่อ ขึ ้น คา จา งมากขึ ้น เขาก็ไ มบ ัง คับ ความ รู ส ึก ของตน, เขายัง มีค วามอยากตอ ไปอีก แลว เรื ่อ งนี ้จ บกัน ไม ลงครับ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : ที่พูดนี้ก็ถูก แตทําไมไมพูดสรุปความสั้น ๆ วา การไมบังคับความรูสึก เป นตนเหตุแหงความปนป วนทางเศรษฐกิจ ทั้งทางฝายลูกจางและฝาย นายจาง พูดอยางนี้จริงไหม ? เอา, คุณล้ํา.

ตอบ : ในแนวของการปกครอง โดยมากก็ ก ารปกครอง เดี๋ ย วนี้ ที่ ว า ประชาธิป ไตยเฟอ นี ่ม ัน เปน เหตุสํ า คัญ อะไร ๆ ก็ป ระชาธิป ไตย. สว น มากคนทุกคนอยากใชสิทธิของตัวเอง โดยไมสงวนสิทธิของผูอื่น แลว โดยไมรู ห นา ที ่. เรื ่อ งของการเห็น แกเ งิน ของผู บ ริห ารประเทศ เป น เรื่อ งสํ า คั ญ นั บ ตั้ ง แต ขั้ น สู งถึ ง ขั้ น ต่ํ า ต า งคนต า งก็ พู ด ถึ ง แต เงิ น ; อยา งนอ ยขา ราชการก็พ ูด แตเ งิน เดือ น นี ่เ ปน ตน เหตุ, แลว เงิน เดื อ นของเจ า หน า ที่ ไม มี ค วามหมาย มั น มี ค วามหมายอยู ที่ เงิ น พิ เศษ

www.buddhadassa.in.th


๒๔๒

การกลับมาแหงศีลธรรม เงิน พิเ ศษมัน ไดม ากกวา เงิน เดือ น จึง ทํ า ใหทุก คนในชาติป น ปว น เดือดรอน เนื่องจาก คนเห็นแกเงิน.

ก็ ถู ก , เป น ปมใหญ ป มหนึ่ ง . ความป น ป ว นในทางการปกครอง ระหวางผูบังคับบัญชา กับผูอยูใตบังคับบัญชา เปนไปไมถูกตอง เปนไปไมราบรื่น หรือวาเปนไปไมไดเลย ; เพราะวาทั้ง ๒ ฝายเปนอยูอยางไมบังคับความรูสึกให ถูกตอง หรือพอดีกับการเปนอยู ก็เปนเหตุผลที่ดี เหตุผลที่ชัดเจนวา เรากําลัง มีการขาดแคลนรากฐานอันสําคัญของศีลธรรม คือการบังคับความรูสึก. ถาม : เอ า , คุ ณ ประยู ร อี ก ที ห นึ่ ง หมด มี อ ะไรอี ก บ า ง เท า ที่ ยั ง ไม ได พู ด เทาที่จะนึกได. เรากําลังขาดการบังคับความรูสึกในอะไรอีก ที่สําคัญ ๆ ในสังคมปจจุบัน ที่จะทําโลกใหวินาศ ? ตอบ : เดี่ยวนี้ที่เปนอยูในสังคม ที่กําลังเดือดรอนอยูทุกวันนี้ ก็เรื่องที่ วาแยง ในแงของแยงอํานาจความเปนใหญ หรือความรูสึกไมยอม. การยอมหรือไมยอมก็อยูที่การบังคับจิตเหมือนกัน. ถาหากวาเราเปน คนที่มีนิสัย ไมย อมอยูต ลอดเวลา แลว ก็จึง ไดมีก ารแกแ คน และ ไมยอม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ที ่ผ มจะพูด นี ่ หมายความในแง ไมรู จ ัด อดกลั ้น อดทนในแง โท ส ะ ที ่ม ัน เป น ค ด ีร ะเบ ิด ต ูม ต าม ๆ ใน ห น ัง ส ือ พ ิม พ  แต ผ ม พ ูด ไม คอ ย ถูก วา จ ะ อ ยา งไร. ม ัน มีค ดีพ วก นี ้ม าก ก ารฆ า ฆ า กัน อ ยา ง งา ย ๆ ไมน า จะฆ า ก็ฆ า กัน ; เพ ราะมัน ขาดการยับ ยั ้ง อารม ณ โ ม โห ชั่ ว วู บ เดี ย ว เดี๋ ย วนี้ ไ ม ค อ ยมี ก ารยั บ ยั้ ง พอโกรธก็ ทํ า เลย โกรธก็ ทํ า เลย แบบนั้น.

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสาม

๒๔๓

เดี๋ ยวนี้ มั น มี แฟชั่น พอคิ ด ได ก็ ทํ าเลย พอโกรธขึ้น มาทํ าเลย ไม ต อ ง พู ด ถึ ง บั ง คั บ ความรู สึ ก ; เพราะเขาถื อ ว า มั น ไม มี ป ระโยชน อ ะไร. จะเรี ย กว า โทสะ ก็ไ มค อ ยตรง เรีย กวา มานะทิฏ ฐิ นั ่น แหละตรง ; โลกเจริญ ดว ย มานะทฏฐิ ม ากขึ้ น เพราะไม บั ง คั บ ความรู สึ ก ในส ว นที่ เ กี่ ย วกั บ เกี ย รติ . เมื ่อ พน ปญ หาเรื่อ งกิน เรื่อ งกาม มาแลว ก็ม าถึง ปญ หาเรื่อ งเกีย รติ ; เกิด การ ไมบังคับ ความรูสึกเรื่องเกี่ยวกับเกียรติขึ้นมาแลว ก็จะทํ าอะไรที่เปนการลางโลก หรือทําลายโลกยิ่งไปกวาเรื่องกิน เรื่องกาม ก็ได. เปนอันวาเราไดพูดกัน เพื่อใหมองเห็นขอเท็จจริงอันนี้มาพอสมควรแลว ....

....

....

....

อาตมาก็จะพูดรวมกับคุณดวยเหมือนกันเปนแงที่สุดทาย คือ เกี่ยวกับ ศาสนา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ศาสนากํ า ลั ง จะวิ น าศ ไม ม ี เ หลื อ ก็ เ พราะการไม บ ั ง คั บ ความรู ส ึก ของภิก ษุส ามเณร ; ยกเวน อุบ าสก อุบ าสิก า ; ไมใ ชจ ะประจบ อุบาสก อุบ าสิกา ที่นั่งอยูแถวนี้. ศาสนาจะวินาศฉิบหาย ก็เพราะการไมบังคับ ความรูสึ ก ในจิ ต ใจของพวกภิ ก ษุ ส ามเณร ; เมื่ อ ภิ ก ษุ ส ามเณรเป น ผู นํ า อุ บ าสก อุบาสิกา เขาเปนผูตาม ; ฉะนั้นเราก็จะไมโทษผูตาม. เหลีย วมาดูที่ภิก ษุ สามเณร ยิ่ง ไมมีก ารบัง คับ ความรูสึก คือ ไมบังคับ กิเลสนั่น แหละมากขึ้น : โดยหลัก ของธรรมะก็ไมบังคับ ความรูสึก . โดยหลักของวินัยก็ไมบังคับความรูสึก.

www.buddhadassa.in.th


๒๔๔

การกลับมาแหงศีลธรรม

ทีนี ้ ความประพฤติท างวิน ัย ก็เ สีย ไป ๆ จนไมเ ห็น กัน วา เปน ของเสีย ; เพราะมัน เคยชิน กัน ไปเสีย มีม ูล มาจากการไมบ ัง คับ ความรู ส ึก . นี่ ก็อ ยางเดี ยวกัน กับ ฆราวาส เรื่อ งกิน เรื่อ งกาม เรื่องเกี ย รติ ก็ ยังมาครอบงําภิ ก ษุ สามเณร : อยากได เล น อยากได กิ น อยากได ส ะดวก อยากได อ ะไร ไปตาม กิเ ลส ในวัด ก็ด ี นอกวัด ก็ด ี บนรถ บนเรือ อะไรก็ด ี ; ไมบ ัง คับ ความรู ส ึก ใหอยูในวินัย มันก็เสียไปในสวนวินัย. ในส ว นธรรมะซึ่ ง ไม ได มี ห า มไว ใ นวิ นั ย มั น ก็ ม ากเหลื อ เกิ น เพราะ ตอ งบัง คับ ความรูส ึก จึง จะเจริญ ดว ยศีล สมาธิ ปญ ญา, หรือ จะเจริญ ดว ยอริย มรรคมีอ งค ๘ ประการ. เมื ่อ ไมบ ัง คับ ความรูส ึก มัน ก็ไมเจริญ ในสว น นี้ ; ฉะนั้ น ทางของการบรรลุ มรรค ผล นิ พ พาน มั น ก็ ป ด ตั น เข า ทุ ก ที คือมันอุดตันปดตันจนมองไมเห็นรูปรางของหนทางยิ่งขึ้นทุกที. ยิ ่ง ไปเห็น แกก ารไดล าภสัก การะ หรือ ไดเ งิน ไดอ ะไรมา ; แม จะได ม าเพื่ อ การปฏิ สั ง ขรณ บู ร ณะวั ด วาอารามก็ ต าม ก็ เป น โทษเท า กั น หมด ; เพราะเปนเหตุใหละเลยธรรมวินัยเหมือนกัน. ถายิ่งจะใหไดมาเพื่อประโยชนสวนตัว ดวยแลว ก็จะรายกาจะไปกวานั้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เดี ๋ย วนี ้ม ัน จึง มีแ ตส องอยา งนี ้ คือ ประพฤติผ ิด ธรรมวิน ัย เพื ่อ ใหไ ดล าภสัก การะมาเพื ่อ ประโยชนส ว นตัว ก็ม ี, หรือ แมเ พื ่อ ประโยชนแ ก การบูร ณะปฏิส ัง ขรณว ัด วาอาราม ในสว นที ่ไ มจํา เปน เลยก็ม ี ; นี ่ม ัน ก็ยิ ่ง ขึ ้น ทุ ก ที ; ก็ เลยไม มี ก ารบั ง คั บ ความรู สึ ก ที่ จ ะทํ า ให มี ศี ล สมาธิ ป ญ ญา เพื่ อ การ บรรลุ มรรค ผล นิพ พาน. ฉะนั ้น สรุป ความไดวา แมพ ระศาสนานี ้ก ็จ ะ

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสาม

๒๔๕

วิ น าศอั น ตรธานและสู ญ หายไป เพราะการไม บั งคั บ ความรู สึ ก ของ พุท ธบ ริษ ัท นั ้น ; ซึ ่ง ในบัด นี ้ก ็ม ีภ ิก ษุ สามเณ ร เปน ทัพ หนา เปน แนวหนา เปน ปอ มปราการ เปน ทัพ หลวง ทัพ อะไร เปน หมดแทบทุก อยา งเลย ; จึง เปน ที่นาหวาดเสียว วาพระศาสนาที่เปนที่พึ่งของมนุษยนี้ มันจะสูญหายไป. ศาสนากํ า ลัง จะสูญ หายไปเพราะเหตุเ พีย งอยา งเดีย ว คือ การ ไมบ ัง คับ ความ รู ส ึก คือ การไมบ ัง คับ ตัว ก็ค ือ การไมบ ัง คับ กิเ ลสของพุท ธบริษ ัท ; สมตามที ่พ ระพ ุท ธเจา ทา น ไดต รัส ไวว า ค วาม เสื ่อ ม ห รือ ค วาม อัน ตรธานแหง ศาสนานั ้น มิไ ดม าจากอื ่น เลย แตจ ะมาจากการกระทํ า ของ พุทธบริษัท ๔ ; อยางนี้. ที นี้ เดี๋ ย วนี้ จ ะแสดงให เห็ น ชั ด มากขึ้ น เรื่ อ ย ๆ ใกล เข า มา ๆ, ชั ด ยิ่ ง ขึ้ น ๆ ว า มั น เสื่ อ มไปในส ว นที่ เป น เนื้ อ ตั ว ของธรรมะและวิ นั ย จึ ง ขอกล า วเป น สิ่ ง สุ ด ท า ยว า ก า ร ไ ม  บ ั ง ค ั บ ค ว า ม รู  ส ึ ก นี ้ จ ะ ทํ า อั น ต ร า ย แ ม  แ ก พ ร ะ ศ า ส น า ใ ห ส ู ญ สิ ้ น วิ น า ศ ไ ป ดั ง นี ้ . ถ า เมื ่ อ ใ ด มี ก า ร บั ง คั บ ค ว า ม รู  ส ึ ก ; เมื ่ อ นั ้ น ค ว า ม ถู ก ต อ ง มัน จ ะ เกิด ขึ ้น . ค วาม ถูก ตอ งนั ้น เอ งจ ะ เป น เส มือ น อ าห าร ที ่เ ปน แ รธ าตุอั น สํ า คั ญ ที่ จ ะหล อ เลี้ ย งต น ไม แ ห ง ศี ล ธรรม หรื อ ต น ไม แ ห ง พระศาสนาให ยั ง คงอยู ได ; เหมือนแรธาตุทั้งหลาย บํารุงเลี้ยงตนไมบนพื้นผิวโลก ฉันใดก็ฉันนั้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org การบรรยายเรื่ อ งรากฐานของศี ล ธรรม โดยเปรี ย บเที ย บกั บ ป จ จั ย ของ ตนไม ในแงที่วา อะไรเปนอาหารของตนไมตนนี้ ในวันนี้ก็พอสมควรแกเวลาแลว.

ขอยุ ติ การบรรยายเรื่องไวเพี ยงเท านี้ เป นโอกาสให พระสงฆ ท านสวด คณสาธยายบทพระธรรม ที่จะใหเกิดกําลังใจในการประพฤติปฏิบัติ เพื่อแกไขปญหา เหลานั้นสืบตอไป. -----------------------------

www.buddhadassa.in.th


www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

- ๗ ๑๓ มีนาคม ๒๕๑๙

รากฐานของศีลธรรมอันดับสี่ [ ยถาภูตสัมมัปปญญา : แสงสวาง ]

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทานสาธุชน ผูมีความสนใจในธรรม ทั้งหลาย,

การบรรยายประจํ า วัน เสารใ นภาคมาฆบูช าเปน ครั ้ง ที ่ ๗ ใน วั น นี ้ ยั ง คงกล า วโดยหั ว ข อ ใหญ หรื อ หั ว ข อ ชุ ด เรื ่ อ งนี ้ ว  า การกลั บ ม า แห ง ศี ล ธรรม อยู  ต ามเคย. และในครั ้ ง ที ่ ๗ นี ้ จ ะได ก ล า วโดยหั ว ข อ ยอ ย คือ ยถาภูต สัม มัป ปญ ญา ไดแ กป ญ ญาเห็น ชอบ ถูก ตอ ง ตามที่ เป น จริ ง ซึ ่ ง จะเปรี ย บได ด  ว ยแสงสว า ง อั น เป น เครื ่ อ งหล อ เลี ้ ย งต น ไม ให ง อกงามเจริ ญ อยู ไ ด ; ซึ่ ง นั บ เป น รากฐานของศี ล ธรรมอั น ดั บ สี่ .

๒๔๗

www.buddhadassa.in.th


๒๔๘

การกลับมาแหงศีลธรรม [ คําปรารภทบทวนครั้งที่แลวมา ไปจนถึงหนา ๒๕๒ ]

ขอทบทวนคํ า บรรยายเรื่อ งนี ้อ ีก ตามสมควร วา การบรรยายชุด นี้ มุ งหมายจะทํ าความเขาใจเกี่ ยวกับการกลั บมาแห งศี ลธรรม คื อโลกกํ าบั งจะวินาศ เพราะปราศจากศี ล ธรรมยิ่ งขึ้ น ทุ ก ที . ถ า เป น ไปถึ งที่ สุ ด แล ว โลกนี้ จ ะถึ งซึ่ ง ความ วิน าศเปน แนน อน ; เราจะพยายามไมใ หเ ปน อยา งนั ้น จึง ตอ งพูด ถึง เรื ่อ การ กลับมาแหงศีลธรรม. ไดพูดถึงเรื่องศีล ธรรมโดยตรง วาคืออะไร มาหลายครั้ง ก็เพื่อจะใหไดรูจักศีลธรรม และเพื่อจะไดรูตอไปวา ศีลธรรมมันหายไป. ตอมาก็ไดพูดถึงสิ่งที่เรียกวา รากฐานของศีลธรรม เพียงเพื่อใหรูจัก สิ ่ง นั ้น เทา นั ้น ; ทั ้ง นี ้ก ็เ พื ่อ ประโยชนใ นขอ ที ่ว า เราจะไดรู ช ัด ลงไปอีก ชั ้น หนึ ่ง ว า สิ ่ ง ที ่ เ ป น รากฐานของศี ล ธรรมนั ้ น มั น ก็ กํ า ลั ง ไม ม ี กํา ลั ง หายไป จึง เปน เครื ่อ งตอบไดอ ยู ใ นตัว วา เพราะรากฐานแหง ศีล ธรรมไมม ี ศีล ธรรม มันจึงไมมี ; เปนของคูกันอยางนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เราพูด กัน ถึง เรื ่อ งรากฐานของศีล ธรรม แตเ พีย งเพื ่อ ใหรู จ ัก สิ ่ง นี้ เทา นั้น ยัง จะไมพูด ถึง เรื่อ งการปรับ ปรุง หรือ บํา รุง สง เสริม ศีล ธรรม หรือ รากฐานของศี ลธรรมนั้ นเป นอยางไร ; ฉะนั้ น ขอให ท านทั้ งหลายจงตั้ งใจฟ งให ดี ๆ วาเรากําลังพูดกันถึงสิ่งที่เรารูสึกวามันไมมี.

ในครั้ง กอ น ๆ ก็ไ ดทํ า อุป มาเรื่อ งของศีล ธรรมนี ้ วา เหมือ นกับ เรื่องของพฤกษาชาติ คือตนไมทั้งหลาย เพื่อสะดวกงายดายแกการที่จะทําความ เขาใจ. เรามองดู ตนไม ทั่ ว ๆ ไปในที่ นี้แลว ก็ พอจะเขาใจได วามั นดํารงอยู อยางไร,

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสี่

๒๔๙

จนถึงกับเราแบงตนไมออกเปน ๓ สวน : สวนลางสุดคือโคนหรือรากสวนหนึ่ง, ตรงกลางตน หรือ ลํา หรือ กิ่ง , ลํา ตน หรือ กิ่ง ก็สว นหนึ่ง , ขา งบนก็มีใ บ มีด อก มีลูก ก็สวนหนึ่ง. มันเปน ๓ สวนอยูอยางนี้ เมื่อเปนตนไมที่สมบูรณ. ทีนี้ พอมาถึง ตนไมแหงศีลธรรม เราก็ใหมันมีลักษณะที่แบงออก ไดเปน ๓ สวนอยางเดียวกัน: ที่ โ คน หรื อ ที่ ร าก ก็ คื อ อุ ด มคติ ข องศี ล ธรรมนั้ น เราต อ ง รูจักวามีอยูอยางไร จะไดพอใจ จะไดอยากมีศีลธรรม. สว นถัด ขึ ้น ไปที ่เ ปน ลํ า ตน นั ้น ก็ค ือ สุป ฏิป ต ติ ไดแ ก การ ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ ในสิ่งที่เรียกวาศีลธรรมนั่นเอง นั่นเปนตัวของศีลธรรม. ทีนี ้ สว นเบื ้อ งบนสุด คือ ผลอานิส งสที ่เ ราพึง จะไดร ับ จากการ ปฏิ บั ติ ศี ล ธรรม เชน ได รับ ความสงบสุ ขส วนบุ ค คล หรือ มี สั น ติ ภ าพในส วนรวม ของมนุ ษ ย ด ว ยกั น ทั้ ง โลก เรี ย กว า เป น ส ว นดอกผล ของตั น พฤกษาแห ง ศีลธรรม ดังนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตน ไมม ีโ คน มีต น มีย อด ฉัน ใด ตน ไมแ หง ศีล ธรรมก็ต อ งเปน

อยางนั้น. ทีนี้ มาดูกันขั้นรากฐานของตนไมนั้น เราจึงพบปจจัยที่ทําใหตนไม นั ้น ตั ้ง อยู ได ซึ ่ง ไดแ ยกออกใหเห็น เปน ๕ อยา ง พอเปน ตัว อยา ง : วา ตน ไม ตอง อาศัยดิน, แผนดินเปนที่ตั้งที่อาศัย.

www.buddhadassa.in.th


๒๕๐

การกลับมาแหงศีลธรรม

ต น ไม ต อ งอาศั ย น้ํ า เป น เครื่ อ งหล อ เลี้ ย งความสดชื่ น , และสํ า หรั บ ละลายอาหารดูดขึ้นไป. ตนไมตองอาศัยอาหาร คือแรธาตุตาง ๆ ที่อาจจะละลายน้ําได และ ดูดขึ้นไปได. ต น ไม ยั ง จะต อ งการแสงสว า ง โดยเฉพาะก็ คื อ แสงแดด หรื อ แสง สวางพอสมควรเทาที่มันตองการ มันจึงจะกินอาหารได. อันดับสุดทายยังจะตองมีอุณหภูมิที่พอเหมาะพอสม คือมีความรอน ในลักษณะที่พอเหมาะพอสม สําหรับการเจริญเติบโต. อะไรที่เปรียบไดกับ แผนดิน สําหรับตนไมทางศีลธรรม ก็ไดพูด ถึง ความรูสึกที่ถูกตรงตามธรรมชาติ ถึงขนาดที่เรียกไดวา ธัมมสัจจะ อันหนึ่ง คือความรูสึกที่วา สัตวทั้งหลายเปนเพื่อนทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย ดวย กัน ทั้งหมดทั้งสิ้น และความรูสึกอันนี้ในใจแหงมนุษยนั่นแหละ จะเปนเหมือ น กับวา แผนดิน สําหรับเปนที่งอกพฤกษาแหงศีลธรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ครั้ น มาถึ ง สิ่ ง ที่ เรี ย กว า น้ํ า เราก็ ไ ด พู ด กั น โดยละเอี ย ดถึ ง ความไม เป นทาสของอายตนะ. ถาเป นทาสของอายตนะ คือ ตา หู จมู ก ลิ้น กาย ใจ มัน ก็เปน กิเลส เปน ของรอ นไป ; ไมเปน น้ํ า ไมทํ า ความสดชื่น ได มัน ตอ งมีน้ํ า ใหตน ไมแห งศีลธรรม คือการที่ทุกคนไม เปนทาสของ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไมใหโอกาสแกกิเลส.

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสี่

๒๕๑

ที นี้ เมื่ อ มาถึ ง สิ่ ง ที่ เ รี ย กว า อาหารโดยตรง คื อ ตั ว แร ธ าตุ ที่ จ ะไป สรา งตน ไมนั ้น ; เรามองดูล งไปยัง การบัง คับ ความ รู ส ึก , วา ตอ งเปน ผู ที่ บั ง คั บ ความรู สึ ก , พร อ มที่ จ ะบั ง คั บ ความรู สึ ก ; ความรู สึ ก บางอย า งอย า ให เกิ ด ขึ ้น มา, ความรู ส ึก บางอยา งก็ใ หเ กิด แตพ อสมควร, อยา ใหค วามรู ส ึก เปน ไป ในทางผิ ด . ถ า บั ง คั บ ได อ ย า งนี้ แ ล ว ก็ มี ป ระโยชน แ ก ก ารที่ จ ะมี ศี ล ธรรมอย า งยิ่ ง ; เหมือ นกับ วา เปน อาหารทีเ ดีย ว. คนเราไมไ ดก ิน อาหาร มัน ก็ต าย ; ตน ไม ก็ เ ห มื อน กั น ; ต น ไม แห งศี ล ธรรม ก็ ต องกิ น อาห าร. ข อ นี้ คื อ “การบั งคั บ ความรูสึก” ใหมันถูกตองอยูเสมอ, มันก็เปนการกินอาหาร. สามอย า งนี้ ได พู ด กั น ไปแล ว อย า งที่ เรี ย กว า ชั ด เจนพอสมควร ที่ จ ะ มองเห็น ไดว า เดี ๋ย วนี ้ใ นโลกนี ้ มีสิ ่ง เหลา นี ้ห รือ ไม ? นี ่ก ็พ อเห็น กัน ไดว า เดี๋ยวนี้ในโลกนี้ มันไมมีความรูสึกที่วา สัตวทั้งหลายเปนเพื่อนทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย ดว ยกัน ทั ้ง หมดทั ้ง สิ ้น , มีแ ตค วามรูส ึก ประเภทตัว กู-ของกู เปน เรา เปน เขา พรอ มที ่จ ะทํ า ลายผู อื ่น เพื ่อ ประโยชนข องตน ; และเต็ม ไปดว ยความ พายแพแกอายตนะ เปนทาสของอายตนะ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ส รุ ป แ ล  ว เ ป  น ท า ส เ งิ น เ ป  น ท า ส วั ต ถ ุ แ ล ะ เ ป  น ท า ส ข อ ง ความเอร็ด อรอ ยทางอายตนะนั ้น . ขอใหส ัง เกตในขอ นี ้ไ วเ สมอไปวา ทุก อยา งสรุป อยู ที ่ค วามเอร็ด อรอ ย ที ่เรีย กวา อัส สาทะ ทางไหนก็ไ ด มัน เปน ความอรอ ย ; แล ว คนก็ พ า ยแพ แ ก สิ่ งนี้ ; เป น ทาสของสิ่ ง นี้ ; ความเป น นายเหนื อ อายตนะหาไมพบ.

www.buddhadassa.in.th


๒๕๒

การกลับมาแหงศีลธรรม

ทีนี้ สํา หรับ การบัง คับ กระแสแหง ความรูสึก ก็ยิ่ง หาไมพ บ ; เพราะวาสมัยปจจุบันในโลกนี้ เปนสมัยที่นิยมตามใจตัวเอง, มีความโงเขลาหรือ มืดบอดเขามาครอบงํามนุษยนี้ จนทําใหเกิดความรูสึกวา ถาเราบังคับนั่น นี่แลว มันเสียเสรีภาพ. เขาไมอยากจะเสียเสรีภาพ เขาจึงไมมีการบังคับแมแตตัวเอง ไม บั ง คั บ กิ เ ลส ; นี้ ก็ คื อ ความโง ห ลงเหลื อ ประมาณ. เขาอยากมี เ สรี ภ าพ แตแลวก็ไมบังคับ กิเลส คือ ไมบังคับ ตัวเอง ; มัน ก็เสียเสรีภ าพอยา งหมดสิ้น ไมมีเสรีภ าพอะไรเหลือ อยู คือ เปนทาสของกิเลสไปหมด. ในโลกนี้กําลังเปน อยางนี้ จึงพูดไดวา รากฐานแหงศีลธรรมเหลานี้ มิไดมีอยูในโลกนี้. [เริ่มการบรรยายดวยหัวขอแหงครั้งนี้ ] ทีนี้ จะดูตอไปถึงรากฐานขอที่ ๔ ที่เรียกวา แสงสวาง. เมื่อพูดถึง แสงสวาง เทาที่เกี่ยวกับตนไมตามธรรมชาติธรรมดา ทุ กคนก็พ อจะมองเห็ น ได วา มี ความจําเป น อย างไร. ถ ายิ่ งได เรีย นรูเรื่อ งทาง วิทยาศาสตร เกี่ยวกับชีววิทยามาพอสมควรแลว ก็ยิ่งรูมากขึ้น วาแสงสวางนี้ มันจําเปนแกชีวิตอยางไร.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ชีวิต ทางวัต ถุนี่แ หละ ไมตอ งชีวิต ชนิด ไหน. สํา หรับ สิ่ง มีชีวิต อั น แรกที่ สุ ด ก็ คื อ พื ช พั น ธุ พ ฤกษชาติ มั น ก็ ต อ งการแสงสว า ง ; ไม มี แสงสวา ง มัน ก็ไมเจริญ หรือ ถึง กับ ตายไดใ นที ่ส ุด . ชีวิต เชน สัต วเดรัจ ฉาน หรือ มนุษ ยนี้ก็อ ยา งเดีย วกัน อีก ; ถา ไมมีแ สงสวา งแลว ก็ตอ งตาย ; ไม ใชวา จะอยูอ ยา งไมส บาย เพีย งเทา นั้น ก็ห ามิได. มัน จะตอ งตาย ; แตเรา มองไมเห็น และเราก็ไมรูสึกวา มันมีความหมายมากถึงอยางนั้น.

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสี่

๒๕๓

นี้ ต อ งคิ ด กั น บ า ง ต อ งดู กั น บ า ง ว า ถ า ไม มี แ สงแดดเพี ย งอย า งเดี ย ว เทา นั ้น คนเราก็อ ยู ไ มไ ด, สัต วเ ดรัจ ฉานก็อ ยู ไ มไ ด, ตน ไมก ็อ ยู ไ มไ ด ; เมื ่อ ต น ไม อ ยู ไม ได , สั ต ว เดรั จ ฉานก็ อ ยู ไม ได , เมื่ อ สั ต ว เดรั จ ฉานและต น ไม อ ยู ไม ได , คนก็ อ ยู ไ ม ไ ด . แต เราจะไม เสี ย เวลาพิ จ ารณากั น ถึ ง ข อ นี้ ใ ห ม ากนั ก , เพราะเรา ตอ งการจะพูด ใจความอยา งอื ่น . ไปคน ควา หาศึก ษาดูก ็แ ลว กัน ; แตใ นที ่ส ุด ใหสรุปใจความใหไดวา แสงสวางนั้นเปนปจจัยแหงชีวิต. คัมภีรของชาวคริสเตียนก็วา แสงสวางนั้นคือพระเจาผูสรางโลก. แสงสวา งเปน เหตุ เปน ปจ จัย เปน เครื ่อ งเกื ้อ กูล พรอ มกัน ไปในตัว ที ่ทํ า ใหเ กิด สิ่งต าง ๆ ขึ้น มา จนเขากล าวไวในพระคั ม ภี รนั้ น วา พระเจาสรางแสงสวาง ก อ น แตส รา งดวงอาทิต ย หรือ ดวงจัน ทร เสีย อีก . อยา งนี ้ค นโงฟ ง ไมถ ูก แน ; เพราะเขารูจักแตแสงสวางของดวงอาทิตยและดวงจันทร. จะมีแ สงสวา งอะไรอีก ที่ส รา งไดกอ นสรา งดวงอาทิต ยแ ละดวง จั น ท ร ? นี ่ ค ื อ แสงส ว า งในค วาม ห ม าย ที ่ ว  า เป น เค รื ่ อ งป รุ ง แต ง ; คล า ย ๆ กั บ คํ า ว า “สั ง ข าร” ในพระพุ ท ธศาสนานี ้ , คื อ สิ ่ ง ที ่ จ ะบั น ดาล ใหสิ ่ง ตา ง ๆ เกิด ขึ ้น . อํ า นาจที ่ทํ า ใหเ ปน อยา งนั ้น ได ก็เ รีย กวา แสงสวา ง ; ไมจําเป นจะตองเป นแสงแดด. ฉะนั้น แสงแดด แสงอาทิตยนี้ เปนแสงสวางที่เพิ่ ง ถูก สรา งทีห ลัง , หลัง จากแสงสวา งชนิด โนน ชนิด ที ่เ ปน ตน ตอทั ้ง เดิม คือ อํานาจที่ทําใหเกิดความงอก หรือวิวัฒนาการ นั่นเอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ฉะนั ้ น แสงสว า ง จึ ง เป น สิ ่ ง จํ า เป น แก ก ารตั ้ ง ต น ของสิ ่ ง ที่ เรียกวา ชีวิต และวิวัฒ นาการตอไปจนกวาจะถึงที่สุด. นี่เราเรียกวา “แสงสวาง

www.buddhadassa.in.th


๒๕๔

การกลับมาแหงศีลธรรม

ทางวัต ถุ” จํ า เปน แกช ีว ิต ทางวัต ถุ ไมว า จะเปน ชีว ิต ในระดับ ไหน. ใหเปน อัน ไดค วามเสีย ชั ้น หนึ ่ง กอ น วา ในเรื ่อ งทางฝา ยวัต ถุ คือ มิใ ชเรื่อ งจิต ใจนั ้น สิ ่ง ที่ เรียกวา แสงสวาง ก็เปนตนตอแหงชีวิต หรือวิวัฒนาการ. เมื่ อ พู ด ถึ ง แสงสว า ง ก็ ค วรจะพู ด ถึ ง สิ่ ง ที่ ต รงกั น ข า ม คื อ ไม มี แ สง สวาง - ความมืด. ตรงนี้ก็อยากจะขอใหสังเกตวา กลางคืนที่ถือกันวา เดือนมืด มากที่สุดนั้น ; ถาพูดกันตามความรูสึกของเรา เราก็จะพูดวา ไมมีแสงสวางเลย, ตอเมื่อกลางวันจึงจะมีแสงสวาง. อยางนี้มันยังไมถูก ; เพราะแมจะมืดขนาดนั้น มันก็เปนแสงสวางอยูในระดับหนึ่ง. พิ สูจนได งาย ๆ วา ที่ วากลางคืนมื ดสนิ ทนั้ น มั นยังมี สัตวบางชนิดที่ ลู ก ตาของมั น เห็ น อะไรได ; ก็ ห มายความวา ยั งมี แ สงสว างอยู ช นิ ด หนึ่ งนั่ น เอง. เขาทําฟลมถายรูปชนิดที่ถายรูปเมื่อมีแสงสวางมืดอยางกลางคืน นี่เขาก็ยังทํากันได ; เพราะวาความมื ด เพี ยงขนาดนั้ น มั น ก็ยั งเป นแสงสวางที่ มี อ ยูในระดั บ หนึ่ ง. ต น ไมบ างชนิด หรือ เชื ้อ ราบางชนิด ก็ย ัง เจริญ ไดใ นความมืด ชนิด นั ้น ซึ ่ง เปน แสงสวางที่มีอยูในระดับหนึ่ง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ฉะนั้นเมื่อพูดกันแลว ตองพูดใหมันถูก ใหมันยุติธรรมวาที่เรา เรียกกันวา มืด ๆ นั้น ยังไมใชมืดโดยไมมีแสงสวางเอาเสียเลย ; มันยังมีอยู คือวัดไดวามีแสงสวางอยูเทาไร ; จึงไปคํานวณเอาเองวา ถามืดสนิทแลว มันคือ อยางไร หรือเทาไหน ซึ่งยากที่คนเราจะไปพบมันได. มืดสนิทนั้นตองถือวา มันไมมีแสงสวางเลย, หรือไมเห็นอะไรไดเลย. แตเดี๋ยวนี้เรายังเห็นอะไรอยู บาง ; ฉะนั้นความมืดนั้นยังไมใชมืดโดยสมบูรณ.

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสี่

๒๕๕

ถา วา ความมืด ในทางจิต ใจแลว ก็ห มายถึง ความมืด ในทาง อวิช ชา คือ ไมรู อ ะไรอยา งถูก ตอ งเสีย เลย ; นี ้เ รีย กวา เปน ความมืด โดย ส ม บูร ณ . แ ตถ า รู นั ่น รู นี ่ รู ผ ิด รู ถ ูก รู อ ะ ไร ไป ต า ม เรื ่อ ง ไมต รง ต า ม ความจริง มัน ก็ย ัง เปน แสงสวา งอีก ชนิด หนึ ่ง คือ เปน แสงสวา งที ่ห ลอกลวง, เปน แสงสวา งชนิด ที ่ล วงตา. ถา อยา งนี ้ก ็ถ ือ วา ไมใ ชสิ ่ง ที ่พ ึง ปรารถนา. ถา หากเป นแสงสว างทางวั ตถุ ก็ คงจะทํ าต นไม ให เจริญ อย างปรกติ ไม ได ; คงจะทํ าให ตนไมนั้น พิกลพิการไปในลักษณะใดลักษณะหนึ่งเปนแนนอน. แสงสว า งชนิ ด นี้ แ หละมั น ลวงตา ทํ า ให ค นเรามี อ าการชนิ ด ที่ เรี ย กว า “เห็น กงจัก รเปน ดอกบัว ” พูด แลว ก็น า กลัว ที ่ “เห็น กงจัก รเปน ดอกบัว ” ; แล ว คนที่ ห วั ว นั่ น แหละ กํ า ลั ง “เห็ น กงจั ก รเป น ดอกบั ว ” เสี ย เอง ; ฉะนั้ น อย า หวัวใหมากไปนักเลย. ค น ใน โล ก ส ม ัย นี ้ทั ้ง ห ล าย เอย อ ยา หัว เรา ะ ไป น ัก เล ย ตัว เอ ง กํ า ลัง “เห็น กงจัก รเปน ดอกบัว ”, เห็น สิ ่ง ที ่เ ปน อัน ตรายแกต ัว นั ่น วา เปน สิ ่ง ที่เปน ประโยชน ; ฉะนั้น จึง ไปหลงทํา ในสิ่ง นั้น จนถึง กับ โลกนี้เ ต็ม ไปดว ย สิ่งที่ทําลายโลก ไมมีความสงบสุขหรือสันติภาพ ; เพราะวาคนในโลกทั้งหมด “เห็นกงจักรเปนดอกบัว” ไมมากก็นอย. ถาใครไม “เห็นกงจักรเปนดอกบัว” ก็จะเริ่มอยูเหนือโลก ; นี้ใชคําพูดอยางนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทีนี้ แสงสวางชนิดที่ถูกตอ ง หรือบริสุทธิ์ ไมหลอกให “เห็น กงจักรเปนดอกบัว” นั่นคือแสงสวางแหงปญญา. ฉะนั้น ทานจึงกลาววา “ไมมีแสงสวางใดที่เสมอกับดวยแสงสวางแหงปญญา” ; ปญญาเลยกลาย

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๒๕๖

เปนแสงสวางที่จะตองสองแสงใหพฤกษาแหงศีลธรรมนี้เจริญงอกงาม. เป น อั น ว า เราจะต อ งพู ด กั น แล ว ถึ ง เรื่ อ งแสงสว า ง กล า วคื อ ป ญ ญานี้ ในฐานะที่ จะเปนอาหารของตนไมแหงศีลธรรม. ....

....

....

....

ถาม : จะตั ้ง ปญ หาขึ ้น มาในที ่นี ้ว า ทํ า ไมปญ ญ าจึง เปน แสงสวา ง ? ขอ ใ ห ท ุก ค น ต อ บ ใ ห ไ ด , ม อ ง ใ ห เ ห ็น ใ ห เ ขา ใ จ , แ ล ะ ใ ห ต อ บ ไ ด ว า ทําไมปญญาจึงเปนแสงสวาง คุณประยูรวากอน ? ตอบ : ถ า ฟ ง ตามความหมายของคํ า ว า “สว า ง”, สว า งก็ คื อ มองเห็ น ทาง เอา ใ น แ งที ่ว า ม อ ง เห ็น ม อ ง เห ็น ท า ง ก ็เ ด ิน ไ ด ถ ูก ต อ ง . ท ีนี ้ ป ญ ญ า , ค น เราถ าพ อ ม าถึ งด าน ชี วิ ต ด าน ม นุ ษ ย เรา ชี วิ ต ก็ คื อ ก ารเดิ น ท าง เห มือ น กัน . ต อ น นี ้ถ า ไมม ีป ญ ญ า ก็ไ มส าม ารถ ที ่จ ะ ทํ า อ ะ ไรไป ได ถูก ตอ ง คือ เห็น ไมห มด รู ไ มห มด รู ไ มจ ริง . ถา ไมม ีป ญ ญ า เปน อัน รู ไ ม ห มด รู ไ ม จ ริ ง ก็ ทํ า ไปผิ ด ๆ อย า งที่ ท า นอาจารย ไ ด ก ล า วแล ว ว า เห็น กงจัก รเปน ดอกบัว เมื ่อ ตะกี ้นี ้แ ลว ดัง นั ้น ปญ ญ าจึง เปรีย บเทีย บ ไดกับแสงสวาง ในแงของการเดินทางอยางหนึ่ง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : อี ก อย า งหนึ่ ง คื อ อย า งไร ? คุ ณ ทองว า อย า ให ซ้ํ า กั บ ที่ คุ ณ ประยู ร ว า ปญญาเปนแสงสวาง อยางไร ? ตอบ : ตน ไมต อ งใชแ สงสวา งเพื ่อ จะไดป รุง อาหาร มนุษ ยห รือ คนที ่เ กิด มา เมื่ อ ได รั บ อะไรมาแล ว ก็ จ ะต อ งเอามาปรุ ง เข า ที่ ป ญ ญา ; หากป ญ ญา

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสี่

๒๕๗

นั้นไมไดรูเห็นไปตามที่เปนจริง ก็ชักนําใหเปนไปในทางที่เรียกวา เห็นกงจักรเปนดอกบัว. ถาม

: ประเดี๋ยวก็ไปพองกันเสียอีก, มันกลายเปนแสงสวางสําหรับสองทาง เดินไปเสีย. เดี๋ยวนี้เราหมายถึงแสงสวางที่ทําใหเกิดขึ้นมา และเจริญ เบิกบาน เติบโตออกไป เหมือนตนไมไดแสงสวาง แลวเจริญ. คุณชวน ชี้ใหเห็นวา ทําไมปญ ญาจึงไดชื่อวา แสงสวาง ; แสงสวางชนิดที่ทํา ใหตนไมเติบโต หรือแสงแดดที่ทําใหตนไมเติบโต ?

ตอบ

: เมื่อเกิดมีแสงสวางขึ้นมา ตาของมนุษยเรายอมมองเห็นสิ่งตาง ๆ ได ทั่วไปหมด ; ปญ ญาก็เหมือนกัน ถาหากวาในดวงจิตดวงใจของเรา มีปญ ญาแลว เราสามารถมองทะลุปรุโปรงวา สิ่งใดถูก สิ่งใดไมถูก. เราอาจจะนํา สิ่งที่ถูก ตอ งมาใชใ นการดํา เนิน ชีวิต ทําใหชีวิต ของเรา ไปในทางที่ถูกตองได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี่, สังเกตใหดีวา แมเราจะพูดวา แสงสวางนี้สองทางเดิน, หรือวา เราจะพูดวา แสงสวางนี้ ทําใหเกิดการเปนอยูไดไมตองตาย นี้มันก็เหมือนกัน. ถาเราพูดกันอยางวัตถุ หรือการเดินทาง ; แสงสวางนี้ก็จะสองใหเดินถูกตอง ไปตามทาง ; แตผลของการเดินถูกตองไปตามทางนั้น คือการทําใหมีความเจริญ ขึ้นมาได.

ใจความสํา คั ญ มั น อยู ที่ มี ค วามเจริ ญ ; ถ า มี ป ญ ญา เราก็ รู วา อะไรเปน อะไร ; อะไรควรทํา อะไรไมค วรทํา , อะไรควรหลีก เสีย อะไร ควรเวนเสีย, นั่นแหละคือปญญา หรือแสงสวาง. มันก็ทําแตสิ่งที่ควรทํา ฉะนั้น ชีวิตนี้จึงรอดได ; เพราะไดปญ ญาชนิดนี้ จึงทําใหชีวิตรอดอยูได ตั้งแตออ น แตออก.

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๒๕๘

ถาม : ปญญานี้เราเอามาจากไหน, ตองถามคุณประยูรที่เปนหมอ เราไดแสง สวางชนิดนี้มาจากไหน ?. ตอบ : แสงสวางชนิดที่ทําใหชีวิตใหรอด มาตั้งแตเล็ก ๆ เปนแสงสวางที่ เรียกวา สัญ ชาตญาณ คือมันติดมาเองตามเชื้อสายของสิ่งที่มีชีวิต มัน สืบ ทอดกัน มา ตั ้ง แตพ ัน ธุพ อ แม, ถา ยทอดมาเปน เรื่อ งของ สัญ ชาตญาณ ที ่ไดม าเกี่ย วกับ ความรอดชีวิต ของรา งกายธรรมดา กอนครับ. ถาม : แลวอะไรตอไปอีก เด็ก ๆ เทานั้นไมพอ ? ตอบ

: แลวพอตอจากนั้นก็อาศัยสิ่งแวดลอม ; สิ่งแวดลอมมาชวยใหปญญา ตามหลัง เรียกวา ปญญาที่ฝกอบรมขึ้นมาภายหลังอีก เปนขั้น ๆ ไป จากประสบการณ จากสิ่ง แวดลอ ม จากพอ แม จากครูบ าอาจารย จากอะไรตา ง ๆ ที่รอบตัวเรา ทํ า ใหค นฉลาดขึ้น . เมื่อ โดนเจ็บ ปวด แลว ฉลาดขึ้น ตา ง ๆ นี ้ เรีย กวา ปญ ญาที ่เกิด ขึ้น ภายหลัง เปน การอบรมทีหลัง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : นั่ น ก็ เพี ย งเพื่ อ ชี วิ ต รอด ; ที นี้ ใ ห สู ง ขึ้ น มากกว า นั้ น อี ก จนถึ ง กั บ มี ศีลธรรม ?

ตอบ

: ที นี้ ต อมาพอรางกายรอดแลว จิตใจมั นจะรอดหรือ ไม รอด ก็ต อ ง อบรมทางจิตใจ คือวาทางดานจิต ทางดานวิญญาณ ก็ตองยกระดับ จิ ต ให มั น พ น ขึ้ น มาจากความทุ ก ข ; โดยการรู ศึ ก ษาวา ทุ ก ข นั้ น เป น อย า งไร, ทุ ก ข นั้ น เกิ ด อย า งไรจากประสบการณ ที่ ตั ว พบมา ; ก็ ห า

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสี่

๒๕๙

กลอุ บ ายเพื่ อ หาวิ ธี ที่ จ ะปฏิ บั ติ ต น เพื่ อ ให ห ลุ ด พ น จากความทุ ก ข ไ ด เปนปญญารอดสูงสุด ที่ยกวิญญาณใหสูงสุด พนจากความทุกข. ลองแสดงให เห็ น วา แสงสว า งของสั ญ ชาตญาณ กั บ แสงสวา งของ ภาวิต ญาณนั้น เปน แสงสวา งดว ยกัน . ถา ยัง ฟง ไมถูก จะบอกใหมวา : ความรู ที ่รูไดโดยสัญ ชาตญาณ สืบ ตอ ไปจากบิด ามารดา. เชน วา เด็ก ดูด นมเปน เอง กิน นมเปน เองได ไมต อ งมีอ ะไรสอน ; อยา งนี ้เ ราเรีย กวา ความรูอ ยา งสัญ ชาตญาณ. ทีนี ้ เมื ่อ เด็ก ไดสิ ่ง แวดลอ มนั ่น นี ่ รูอ ยา งนี ้ ๆ เขา มัน ก็ค อ ยรูอ ะไร ทีหลังตอมา ; นี่ก็เรียกวา ภาวิตญาณขั้นตน ๆ ขั้นออน ๆ. พอโตขึ้น กระทบนั่น กระทบนี ่ มัน สอนอยู ใ นตัว มัน เอง ก็รูอ ะไรมากขึ ้น ; นี ่ก ็เรีย กวา ภาวิต ญาณ ในระดับ กลาง. แลว ตอ มารูจ ัก สูง ขึ ้น ไปถึง เรื่อ งทางธรรม ทางศาสนา จนรูจ ัก ทําชีวิตนี้ใหเย็นได ไมมีความทุกขเลย ก็เปนภาวิตญาณอันสูงสุด.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : ทีนี้อยากจะใหชี้สักนิดหนึ่งวา แสงสวางอยางสัญชาตญาณ และแสงสวาง อยางภาวิตญาณนั้น มันเปนแสงสวางในความหมายเดียวกันอยางไร ? คุณทองก็ได, คุณชวนก็ได. ตอบ : เทาที่คิดได ก็คิดวา พอที่จะมีชีวิตอยูได. นั ่น แหละ ที ่เราตอ งการ. ที ่เราตอ งการอยา งยิ ่ง ก็เ พื ่อ ใหช ีว ิต มัน รอดอยู ไ ดเ พราะแสงสวา ง. ถา ในเรื่อ งฝา ยวัต ถุ ก็อ ยา งชีวิต ฝา ยวัต ถุ ฝา ย

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๒๖๐

เนื้อหนัง ; ถาเรื่องนามธรรม, เรื่องธรรมะ มันก็มีเรื่องชีวิตอยางธรรมะ อยาง ทางวิญญาณ ; ลวนแตตองการแสงสวาง มันจึงมีชีวิตเกิดขึ้น, และชีวิตเจริญ งอกงามตอไปได. ใหรูความหมายของคําวา แสงสวาง วา คือสิ่งที่ทําใหชีวิตตั้งขึ้นมา และเจริญ งอกงามตอไปได. เราตองการลูกคู ชวยขยายความ เหมือนกันกับ เลนลําตัด หรือเลนเพลงอะไร ก็มีลูกคู ชวยย้ําใหใจความมันชัดเจนขึ้น หรือ ชวยถาม ชวยตั้งแงสงสัยใหมันครบถวนบริบูรณ ; เราจึงตองการลูกคูมาชวย กันในการ ปุจฉา วิสัชนา. เพราะฉะนั้น ทานที่เปนลูกคู ก็ตองตั้งอกตั้งใจทํา หนาที่ของตนใหเต็มที่ ; คือทานตองคิดนึกอยูเสมอ. ....

....

....

....

เปน อัน วา ขึ้น ชื่อ วา แสงสวา งแลว จะเปน แสงสวา งชนิด ไหน คื อ ทางวัต ถุ หรือ ทางนามธรรม ก็ ดี ; เป นแสงสวางแห งตะเกีย ง, หรือ แสง สวา งแหง ปญ ญาก็ดี, มัน ทํา หนาที่สํา คัญ อยูอัน หนึ่ง คือ ทํา ชีวิต ใหอ อก มาได ใหเกิด ขึ้น มาได ตั ้ง อยู ไ ด เปน ไปได ; แลว แตวา จะเปน ชีวิต ในทาง รูป ธรรม หรือ ชีวิต ในทางธรรม คือ ทางฝา ยจิต ฝา ยวิญ ญาณ ฝา ยศาสนา หรือฝายศีลธรรม นั่นเอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org มนุษยมีชีวิตทางรางกาย ทางเนื้อหนังนั้น มันสวนหนึ่ง แตมีเพียง เทานั้นไมพอ ; และบางทีก็ถูกดาวาไมเปนคน เปนไอชาติอะไรก็ไมรู เพราะมัน มี แตชีวิตชนิ ด นั้ น . ต องมี ชีวิต อีก แบบหนึ่ ง จึงจะไม ถูก ด าทํ านองนั้ น คื อ ชีวิต

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสี่

๒๖๑

ทางศีลธรรม ชีวิตที่ถูกตองตามทางศีลธรรม ที่ทําใหเราไดชื่อ ไดนามขึ้นมาวา มนุษย คือสัตวที่มีใจสูง. ทีนี้ เราพูดถึง “ศีลธรรม”, ตนไมแหงศีลธรรมตองการแสงสวางคือ อะไร ? คุ ณ ทอง, เอ า, มั วงงแทนคนอื่ น หมด. นี่ ก็ กํ าลั งพู ด อยู ห ยก ๆ ว า มั น ตองการแสงสวางคือปญญา ; ตนไมทางศีลธรรมมันตองการแสงสวางคือปญญา ; ในเมื ่อ ตน ไมต ามธรรมดา มัน ตอ งการแสงสวา งจากแสงแดด เปน ตน . เอา , ยุติ กันที ในขั้นนี้ วาชีวิตต อ งการแสงสวาง ; ต นไมท างศีล ธรรมมี ชีวิตอยูรอดได ดวยแสงสวาง คือ ปญญา. ....

....

....

....

พูดถึงเรื่องปญญากันตอไป ใหมันละเอียดยิ่งขึ้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : สอบไลเสียหนอยวา ปญญาแปลวาอะไร ? คุณชวน ไมคอยมา ปญญา แปลวาอะไร ?

ตอบ : ปญญาคือความรู ความรูแจงในสิ่งตาง ๆ.

ถาม : คุณทอง ? ตอบ : เหมือนที่คุณชวนวา ? ถาม : เอา, คุณประยูร.

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๒๖๒ ตอบ : ปญญา ความหมายทั่ว ๆ ไป ก็ความรู ถาม

: ตัวหนังสือแปลวาอะไร ? โดยตัวหนังสือ คํานี้แยกออกเปนอยางไร ? แปลวา อยา งไร ? นี่แ สดงวา ไมจํา ไมฟง ให ไดปญ ญา แลว ก็จํา ไวไมได ; แมวาเคยบอกมาหลายหนแลววา ปญ ญานี้แยกออกเปน ป กับ ญา, ป แปลวา ทั ่ว ถึง , ญา แปลวา รู  ; ฉะนั ้น ป- ญา แปลว า รู อ ย า งทั่ ว ถึ ง เพี ย งพอ รู อ ย า งทั่ ว ถึ ง เพี ย งพอ นี่ ผิ ด ได ไหม

ตอบ : ถารูพอ แลวก็ไมผิด. ถาม

: ต อ งให มั น แน น อนลงไปว า ถ า เรี ย ก ป ญ ญา แล ว ผิ ด ไม ได ; มั น จะรูมากมายสักเทาไรก็ตาม ถามันผิดก็ไมอาจจะเรียกวา ปญญา. ที่วา เพี ย งพอนั้ น เพี ย งพอสํ า หรับ จะทํ า อะไร สํ า หรับ จะไปขโมย ? หรือ สําหรับไปทําอะไร ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : ในแงของศีลธรรม เพียงพอ ก็คือพอที่ใชดับความทุกขได.

ถาม : ตองเพียงพอสําหรับจะแกปญหาได คือจะดับความทุกขไดในทางที่ถูก ที่ควร เพราะวาถามันผิด แมจะแกปญ หาได มันก็ดับความทุกขไมได มันยิ่งจะผิดมากขึ้น. มันเปนปญหาที่ไมควรจะแกหรือปญหาที่มันผิด ; ตองแกปญหาที่ควรจะแก แกไดหมด แลวก็ไมมีปญหาเหลืออยู เรียก วา ปญญาที่ถูกตอง นี่ก็เลยมีคําวา “ถูกตอง “ มันถูกตองตามอะไร ?

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสี่ ตอบ

๒๖๓

: ถ า ถู ก ต อ งจริ ง ๆ ก็ ถู ก ต อ งตามกฎของธรรมชาติ , ถู ก ต อ งตาม ธรรมชาติ.

เพราะฉะนั้ น เขาจึ ง เรี ย กว า ยถาาภู ต สั ม มั ป ป ญ ญา – ป ญ ญาที่ ถู ก ตอ ง: ยถาภูต - ตามที ่เปน จริง , ตามที ่เปน จริง ของอะไร ? ก็ข องธรรมชาติ ; หรือจะเรียกอยางอื่นก็ได แตนี้เราเรียกตามธรรมดาสามัญ ของธรรมชาติ ถูกตอง ตามธรรมชาติ. บาลีคํานี้สําคัญ ที่สุด ชวยจํากันไวทุก ๆ คนวา ยถาภูตสมฺมปฺปฺ, จึง จะรับ ประกัน ไดห มดวา เพีย งพอ และถูก ตอ ง และสํ า เร็จ ประโยชน ; แตเรา มักจะเรียกกันวา ปญ ญา ปญ ญา เฉย ๆ สั้น ๆ ลุน ๆ ก็เลยทําใหไมคอยรูอะไร หรือ รูน อ ยเกิ น ไป. ช วยจํ าไวว า คํ า วา “ป ญ ญา” นี่ ถ า สมบู รณ แ บบ ต อ งขยาย ความออกไปเปน ยถาภูต สัม มัป ปญ ญา คือ ปญ ญาถูก ตอ งตามที ่เ ปน จริง ของสิ่งที่เปนจริง คือธรรมชาติ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ฉะนั ้น ความเปน แสงสวา งของปญ ญ าชนิด นี ้ ก็ค ือ ความถูก ตอ งตามที ่เ ปน จริง จึง เรีย กวา เปน แสงสวา ง ; ถูก ตอ งตามที ่เ ปน จริง สํ า หรับ อย า งอื่ น มั น ก็ มี ผ ลอย า งอื่ น : ถ า เป น เรื่ อ งการทํ า ความชั่ ว มั น ก็ ถู ก ต อ งตาม ความเปนจริงของการทําความชั่ว, และทําชั่วไดจริงเหมือนกัน. ถาถูกตองตามที่ เปนจริงในการทําความดี หรือทําความดับทุกข, มันก็จะดับทุกขได.

ศี ล ธรรมเหมื อ นกั บ ต น ไม ต อ งการแสงสว า งชนิ ด นี้ เป น เครื่ อ งหล อ เลี้ ยงชี วิต หรือ วาทํ าชี วิต ให เกิ ดมาก็ ได ; แต มั น จะเกิ น ความจํ าเป น , เราไม พู ด .

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๒๖๔

พูดวาชีวิตมันรอดอยูได หรือวาเกิดออกมาได นี่ก็เพราะวามันอาศัยปญญาขั้นตน อยางนั้น แลวตอมามันเจริญ ๆๆ, ก็เพราะอาศัยปญญา ที่มันเจริญ ๆๆ งอกงาม ตอไป. ....

....

....

....

ทีนี้ อยากจะใหเขาใจความหมายของคําวา “ยถาภูตสัมมัปปญญา” นี้พอสมควร เปนปญญาชนิดที่ปราศจากโทษ ๑๐ ประการ ; ดังที่พระพุทธเจา ทานไดตรัสไวในสูตรที่เรียกกันวา กาลามสูตร เวนจากโทษ ๑๐ ประการนั้น แลว ก็จะเปนยถาภูตสัมมัปปญญา. ถาม : ฉะนั้น ในฐานะที่เคยฟงมาหลายครั้งหลายหนแลว คุณประยูร วาโทษ ๑๐ ประการนั้นคืออะไร ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ

: โทษ ๑๐ ประการในกาลามสู ต รก็มี : พวกแรกก็ เกี่ ยวกับ ผูอื่ น ก็ มี ๑. อยาเชื่อในขาวลือ ๒. อยาเชื่อตามที่เรานึกวาควรจะเปน.

ถาม : พอที ลําดับไกลหมดแลว คุณทอง นี่สอบไล ?

ตอบ : ผมลําดับไมไดเหมือนกันครับ. ถาม : เอา, คุณชวน. ตอบ : ลําดับไมไดครับ.

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสี่

๒๖๕

ถาม : วาใหครบ ๑๐ ไดไหม ? ตอบ : ไมครบครับ. เป น อั น ว า ยั ง สอบไล ไ ม ไ ด ; เรี ย นมาหลายป แ ล ว ยั ง สอบไล เ รื่ อ งนี้ สํ า หรั บ คํ า คํ า นี้ ไม ได . เอาละก็ จํ า เป น จะต อ งว า ใหม เหน็ ด เหนื่ อ ย อย า งไรก็ ต อ ง วา กัน ตอ ไปอีก แหละ. ยัง จํ า ไมไ ด จะทํ า อยา งไรละ ; จะใหม ัน งา ยมากขึ ้น ก็คอยฟงใหดี ๆ โทษ ๑๐ ประการนั้น จะแจกเปน ๔ หมวด:หมวดแรก หรือ หมวดเกี่ยวกับการฟง มีอยู ๓ ประการ ๑. เชื ่อ รู ห รือ ถือ เอา ตามที ่ฟ ง บอกกัน มา คือ บอกกลา วตอ ๆ ตอ ๆ กันมา ตั้งแตครั้งไหนก็ไมรู นี่อยารับเอาวาเปนความจริง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๒. ทีนี ้พ ูด ไมบ อก แตไ ด ทํ า ตามกัน มา, ทํ า สืบ อยา งปรัม ปรา, คื อทํ าให เห็ นเป นตั วอย าง แล วทํ าสื บ ๆ กั นมา เช นประเพณี หรือวาอะไรทํ านองนั้ น.

๓. กํ า ลั ง ลื อ กระฉ อ น อยู เ ดี๋ ย วนี้ โจษจั น กั น ที่ นั่ น ที่ นี่ อย า งนั้ น อยางนี้ กระฉอนอยูเดี๋ยวนี้.

ถ า เราไปรั บ เอามาอย า งนี้ ไม เรี ย กว า ป ญ ญา. นี่ ก็ โทษ ๓ ประการ เกี่ ยวกั บ การฟ ง : ฟ งสื บ ๆ กั น มา, ทํ าตาม ๆ กั น มา, และก็ กํ าลั งมี เสี ยงกระฉ อ น อยูที่นี่และเดี๋ยวนี้.

www.buddhadassa.in.th


๒๖๖

การกลับมาแหงศีลธรรม

ทีนี้ หมวดที่ ๒. เปนเรื่องของ หมวดที่เกี่ยวกับตํารา วา อยาฝาก ไวกับตํารา คืออยายึดมั่นตํารา อยามัวอางตํารา ; มันไมรับประกันไดวาถูกตอง จะตองทําอยางอื่นตอไปอีก, คือทําใหมี ยถาภูตสัมมัปปญญา ; เดี๋ยวจะวาทีหลัง. นี่เกี่ยวกับตํารามีอยูขอเดียววา อยาฝากความรู หรือ ความเชื่อ ความถืออะไร ก็ตาม ไวกับตํารา. ทีนี้ หมวดที่ ๓. หรือ หมวดเกี่ยวกับการคํานวณ. ๑. อยา เชื ่อ ดว ยเหตุผ ลทางตรรกวิท ยา การใชเ หตุผ ลตามวิถี ทางตรรกวิทยา เหมือนกับที่เด็ก ๆ เขาก็พูดเปน. ๒. อย า เชื ่ อ ด ว ยเหตุ ผ ลทางปรั ช ญา ซึ ่ ง ใช ก ารอนุ ม านไปยั ง สิ่ง ที่ยัง ไกล ยัง มองไมเห็น ถา ทางตรรกเอาสิ่ง ที่ม องอยูต รงนี้ กลิ้ง ไปกลิ้ง มา อยูที่ตรงนี้ มาจับ มาวัด มาอะไรกัน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๓. อย า เชื ่ อ ด ว ยความรู  ส ึ ก สามั ญ สํ า นึ ก ชั ่ ว ขณ ะ คื อ ทุ ก คน จะมี ค วามรูสึ กคิ ด ชั่วขณะ ตามสามั ญ สํ านึ กของตน ๆ ด วยกั น ทั้ งสิ้ น อยาเชื่ อ หรือตัดสินใจเชื่อดวยความคิดนึกชนิดนี้.

๔. ก็ ว  า อย า เชื ่ อ เพราะเหตุ ว  า มั น ตรงกั บ ความคิ ด เห็ น ของ เรา เรายิ่ ง คิ ด ยิ่ ง เห็ น อย า งนั้ น , ยิ่ ง คิ ด ยิ่ ง เห็ น อย า งนั้ น . ข อ นี้ อ ธิ บ ายยากมาก เพราะวาคนเราจะเชื่อ เพราะเห็น วา มัน ตรงกับ ความคิด ของเราเสมอไป ; แต พระพุทธเจาทานยังกันไวอีกวา “อยา, อยาเอาอยางนั้น” เพราะวาทานตองการ

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสี่

๒๖๗

ใหเกิด ปญ ญาชั้น สูง ไปกวา นั้น . ขอ นี้จ ะเห็น ไดงา ย เชน วา คนพาล คนโง คนเขลา มันก็มีทางที่จะมีอะไรตรงกับความคิดของเขาได ความคิดนั้นก็ผิดหมด. ทีนี้ หมวดที่ ๔ หมวดเกี่ยวกับบุคคล มีอยู ๒ ขอ. ๑. ผู พ ูด อยู ใ นฐานะที ่ค วรเชื ่อ ได อยา เชื ่อ เพราะวา ผู พ ูด อยู ใ น ฐานะที่ควรจะเชื่อได. ยกตัว อยางกัน เดี๋ยวนี้เลย วาคุณ นะ อยาเชื่อ อาตมา วาอยูในฐานะที่ควรเชื่อได, หรือวาเห็นอยูที่ในฐานะที่ควรจะเชื่อไดก็เชื่อเสียเลย ; อยาทําอยางนั้น มันจะผิดขอนี้ มันจะมีโทษ. ๒. อีก ขอ หนึ ่ง ขอ สุด ทา ยวา อยา เชื ่อ เพราะวา สมณะผู นี้ เปนครูของเรา. ขอทบทวนอีก ทีว า หมวดแรกหรือ หมวด ก. เกี ่ย วกับ การฟง อยาเชื่อเพราะฟงตาม ๆ กันมา, อยาเชื่อเพราะเหตุวาทําตาม ๆ กันมา, อยา เชื่ อ เพราะเขาลื อ กระฉ อ นกั น อยู ทั้ งบ า นทั้ งเมื อ งเดี๋ ย วนี้ ; นี่ เกี่ ย วกั บ การฟ ง .

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org หมวด ข. เรื่อ งตํา ราอยา ฝากเนื้อ ฝากตัว ฝากความคิด จิต ใจ ทั้งหมดไวกับตํารา มันจะติดตัง ; นั่งเปดดูอยูนั่น.

หมวด ค. คือ คํา นวณ คํา นวณทางตรรก เห็น วา ตรงกับ ทาง ตรรกก็ อ ย าเพ อ, ตรงตามนั ยะ คื อ ปรัชญาก็ อ ย าเพ อ , ตรงตามความคิ ด นึ ก สามัญ สํานึกของเรา ก็อยาเพอ, ตรงกับ ที่เรายิ่งคิด แลวมันยิ่งเห็น วาจริง ยิ่ง คิดแลวมันยิ่งตรงกันระหวางความคิดของเรา กับสิ่งที่เขาใหเราเชื่อ, นี้ก็อยาเพอ.

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๒๖๘

หมวดสุด ทา ย ง. หมวดบุค คล อยา เชื่อ เพราะวา ผู พ ูด อยูใ น ฐานะที่ ค วรจะเชื่ อ ; อย า เชื่ อ เพราะวา ท า นเป น ครูของเรา ; ข อ นี้ น า กลั ว นะ. ทีนี้ ไลมาทีละขอ ก็จะเขาใจ : ๑. แรกที ่สุด ฟง บอกตาม ๆ กัน มา พูด ตอ ๆ กัน มา ตั้ง แต ครั้งไหนก็ไมรู. นี่มันมีปญหาเกิดขึ้นทันที คือเราเกิดมาในโลกนี้ เราไมอาจจะ รูเองได เราตองเชื่อตามที่ บิดามารดาบอก, บิดามารดาก็เชื่อตามที่บิดามารดา ของบิดามารดาบอก, ก็บอกกันมาเปนทอด ๆ อยางนี้. แลวทําไมพระพุทธเจา ทานยังวามันยังเปนโทษอยู ? ก็เพราะมันอาจจะผิดได โดยเฉพาะที่เปนเรื่อง สูงสุด : เรื่องมรรค ผล นิพพาน แลวมันผิดไดมากทีเดียว. ที่มันผิดไมไดก็เปนเรื่องงาย ๆ เรื่องเล็ก ๆ นอย ๆ ที่เปนมาไดอยาง งาย ๆ ตามที่ฟงบอกกันมาได ; แตคิดดูเถอะ มันมีมากเรื่องเหลือเกิน ที่มัน ไมจ ริง , เรื่อ งผี เรื่อ งสาง อะไรก็ต าม ที่มัน ไมจ ริง , ที่มัน บอก ๆ กัน มานี้ ก็มีอยูมาก ; ความรูชนิดนั้นไมชื่อวาปญ ญาในที่นี้ เพราะมันยังไมตรงตามที่ เปนจริง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๒. ทําตาม ๆ กันมา ซึ่งมักจะเปนเรื่องทางไสยศาสตร เปนเรื่อ ง โชคลาง. นี้ไมพูดกันกับ ปาก ; แตทําตาม ๆ กัน มา. ตัวอยางเขาลอ เรียกวา “เถรสองบาตร”. นี้ไม ตองพู ดกัน แตทําตาม ๆ กันมาอยางนั้น . ฉะนั้น เรื่อ ง

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสี่

๒๖๙

ตั้งพัน ๆ ป มันก็ยังเหลืออยูไดกระทั่งบัดนี้ ; เพราะทําตาม ๆ กันมา. ความรู ที่ไดจากสิ่งนี้ไมใชปญญา, ไมใชยถาภูตสัมมัปปญญา. ๓. เสี ยงลื อ กระฉ อ น ประเทศไทยก็ มี บ อ ย ประเทศไหนก็ มี บ อ ย เมืองไหนก็มีบอย, แตกตื่นกันอยางนั้นอยางนี้, ผูวิเศษที่นั่นที่นี่, น้ําศักดิ์สิทธิ์ ที่นั่น ที่นี่, แตกตื่น กัน อยูอ ยางนี้. ความเชื่อ หรือ ความรูอัน นั้นไมเปน ยถาภูต สัมมัปปญญา. ไมเปนรากฐานแหงศีลธรรมอยางบริสุทธิ์ได. แตขอนี้จะตองมีการพิจารณาดูใหดี ๆ ; เพราะศีลธรรมในบางระดับ อยูไดเพราะความเชื่ออยางนี้ ก็มีเหมือนกัน แตจะถูกตองอยางสมบูรณไมได. แตเดี๋ย วนี้เรามีห ลัก อยา งอื่น เขา มาชว ย คือ ถา เปน ไปเพื่อ ประโยชนอ ยูบา ง แลว ก็ย อมใหเ ชื่อ ได ; ดีก วา ที่จ ะไมรูจัก เชื่อ อะไรเสีย เลย. ฉะนั้น ศีล ธรรม ในขั้นต่ํา ๆ ตน ๆ มันอยูไดดวยความเชื่อชนิดที่ไมตองใชเหตุผล ไมตองวิพากย วิจ ารณ ; แตถึง อยา งนั ้น มัน จะเปน ศีล ธรรมชั้น สูง สุด ชั้น บริส ุท ธิ์ไ ปไมไ ด. ตองรูจักแบงไว เมื่อเรายังไมมีความรู หรือความเชื่อที่ดีกวา ; ก็ทําไปตามเทาที่ เห็นวาดี ที่เห็นประโยชนอยูชัด.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อยางเด็ก ๆ ที่เขาจะสอนไมใหทําอะไร เขาก็ตองพูดชนิดที่นากลัว : วาผีจะหลอกเอาบาง, วาเสือจะกัดบาง ; เด็กยังไมรูอะไรมันก็เชื่อ, เชื่อแลว มัน ก็ไ มทํา อยา งที่เ ขาหา ม มัน ก็ป ลอดภัย ไดเ หมือ นกัน . นี่ก็เรีย กวา ทํา ใหมี ศีล ธรรมในขั้น ชนิด นั้น ไดเ หมือ นกัน ; แตใ นที่สุด มัน ไมพ อ. พอโตขึ้น มัน ก็หัวเราะ เพราะมันไมพอ ; มันตองเขยิบขึ้นไปใหถึงระดับที่มันพอ มันจึงมา ถึงระดับที่พระพุทธเจาทานไดตรัสไว ; แลวมันสูงสุด.

www.buddhadassa.in.th


๒๗๐

การกลับมาแหงศีลธรรม

ยกตัวอยางเชน เรื่องลือกระฉอน มาอยางนี้ เรื่องยักษจะมา เรื่องผี จะมา อะไรจะมา ที่ตอ งทํา กัน วุน วายไปทั้ง บา นทั้ง เมือ ง ; แตเ รารูไ มไ ดวา ที่เขาลือกันนี้มันไมจริง, หรือจริง บางทีก็รูไมได ; ฉะนั้น ทําใหนาสงสารอยู มาก แตถาเปนการบอกกลาวจริง ๆ ไมใชเปนเสียงเลาลือทํานองนั้นแลว มัน ก็ไมอยูในขอนี้. เชน ถาเปนเรื่องจริง เขาจะมาทิ้งระเบิดเราอยางนี้ เปนเรื่องจริง อยางนี้ เราก็รับ รู แลวก็พยายามทําใหมัน ตรงตามเรื่อ งนั้น ๆ ; อยางนี้ไมใช เรียกวาลือกระฉอน ดวยความงมงาย เชื่อดวยความงมงาย ที่เขาเรียกวา มงคล ตื่นขาว หรืออะไรทํานองนี้ก็เรียก, คือวาเปนไปในหมูคนที่มีความกลัว มีการ ศึกษานอย รูนอย เต็มไปดวยความงมงาย เต็มไปดวยความขลาดกลัว ; มันก็ ตื่นเตนไปตามเสียงลือกระฉอน. นี่ก็ไมใชปญญาที่ถูกตองตามที่เปนจริง. แตก็อยาลืมวา ไดบอกไวแลวนะ วาบางทีบางอยางมันตรงกับเรื่อง มีประโยชน ก็ทําใหไดรับประโยชนไดเหมือนกัน ; อยางเขาลืออยางไมจริง ๆ วา อหิวาตมาแลว ฉีดยาเร็ว ๆ, ฉีดยาเร็ว ๆ, นี่ก็มีประโยชน ; แมอ หิวาตไมม า มันก็ยังไดประโยชน ; อยางนี้มันก็ไมใชรวมอยูในคําเลาลืออยางงมงาย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๔. ที่วา อยา ฝากไวกับ ตํา รา เพราะวา เราไมรูไ ดวา ตํา รานั ้น มันถูกหรือมันผิด. เราจะตองมีความคิดที่แบงไวสวนหนึ่ง ที่จะพิสูจนตํารานั้น อีกทีหนึ่ง. นี่ลองเอามาทําตาม ปฏิบัติตาม หรือคนควาดู ; จริงแลวจึงคอ ย รับ เอา. ฉะนั้น จึง เปน เพีย งวา ครั้ง แรกนี่เอามาลอง, ความรูใ นตํา รา รับ เอามาสําหรับทดลอง. พบความจริงมากขึ้น ๆ จึงกลายเปนความรูของเรา ; ไมใช

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสี่

๒๗๑

ความรูในตํารา. เมื่อเราไดคนควาทดลองจริง ๆ จนรูจริง มีอะไรจริง จนถึง ที่สุด แลว ก็เรีย กปญ ญาตามที่เปน จริงขึ้น มาได ; นี้ตอ งใชเวลาดวย. ถามัว แตอางตําราวาใชไดแลว ถาเกิดตํารามันผิด เราก็คงจะแย แลวก็ไดเคยแยกันอยู เพราะเหตุ ที่ ติ ด ตํา รา เชื่ อ ตํา ราหลั บ หู ห ลั บ ตา ก็ ไ ม เ ป น ศี ล ธรรมที่ ดี ไ ด ; แต อ าจจะเป น ศี ล ธรรมขั้ น ต น ๆ ที ่ พ อเป น จุ ด ตั ้ ง ต น ได . เพราะตํ า ราที่ เขาเขียนไวสวนมากมันก็พอถูกตอง ; เพราะเขาพยายามจะเขียนใหมันถูกตอง. แตวาเราจะเชื่อตามนั้นโดยที่ไมตองพิสูจนหรือใครครวญนี้ ก็ไมได มันจะทําให เราเปนคนโง คิดอะไรไมเปน ; ถาเราทองจําแตตําราแลว เราจะคิดอะไรไมเปน แลวเราจะฉลาดไมได. เราจะดื้อตํารา จะพิสูจนตํารา จนกวาจะพบความจริง ตรงตามที่ตําราเขียนไว ; ตําราหลอก ๆ ทั้งหลายก็ทําอะไรเราไมได. ขอ ถัด ไป ๕. อยา ถือ เอาดว ยเหตุผ ลตามทางตรรกะ นี ่คู ก ัน กับ อัน ดับ ถัด ไป คือ ๖. อยา ถือ เอาโดยเหตุผ ลทางนัย ะ. นัย ะนี ่ห มายถึง ปรัช ญา วิธีท างปรัช ญา. ตรรกะคือ วิธีท างตรรก. นี่เ อาเหตุผ ลที่เ ห็น อยู เปนหลัก สมกับหลักที่เห็น ๆ อยู ; แมแตเด็ก ๆ มันก็พูดเปน ที่พูดใหถูกตรรก พอพูด ขัด ตรรก เพื่อ นก็คา นได. สํา หรับ เด็ก ๆ เขาพูด ทดลองกัน ทดลอง มันสมองกัน นั้นก็คือ ตรรก ; แลวตอมามันก็สูงขึ้นไปกวานั้น มีเหตุผลที่สูง ขึ้นไปกวานั้น ; แมมันมีเหตุผลทางตรรก พูดโดยไมผิดทางตรรก แตก็ไมตรง ตามความจริงของธรรมชาติมันก็มี. ฉะนั้นเราจึงไมถือเอาเหตุผลทางตรรก เปน เครื่องตัดสิน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


๒๗๒

การกลับมาแหงศีลธรรม

ทางปรั ช ญาก็ คื อ อนุ ม าน มั น ไปไกล ถึ ง สิ่ ง ที่ ยั ง ไม รู ว า อะไร, ถึง สิ่ง ที่จ ะมาขา งหนา สิ่ง ที่ยัง มองไมเ ห็น ตัว ดว ยซ้ํา ไป, มัน คืบ ออกไปดว ย เหตุ ผ ล ด ว ยการอนุ ม านอย า งนั ้ น ก็ เ รี ย กว า ทางปรั ช ญา. เขาไม เ อา เปนหลักที่แนนอน วามันเปนอยางนั้นอยางนี้. พระพุทธเจาตรัสขอนี้ ก็เพื่อ วาใหรูอยูโดยประจักษ อ ยูในใจ และ เปนเรื่องของการดูใหเห็น ไมใชเปนเรื่องของการใชเหตุผลวา มันจะเปนอยางไร. นี่พ วกเราควรจะทราบขอ นี้ไวดว ย สํา คัญ มาก. ตัว หลัก พระพุท ธศาสนานั้น เป น ไปในทางดู ใ ห เ ห็ น ตามที ่ เ ป น จริ ง ลงไปที ่ สิ ่ ง นั ้ น . ไม ใ ช ใ ห คํ า นวณ ด ว ยการใช เหตุ ผ ล แล ว ฝากไว กั บ เหตุ ผ ล, ซึ่ ง ไม ไ ด ดู ล งไปจริ ง ๆ ที่ สิ่ ง นั้ น . เหตุผ ลมัน ผิด ได ; เพราะฉะนั้น ถา ไดเหตุผ ล หรือ ขอ มูล มาผิด ผลที่ออกจากขอมูลนั้น มันก็ผิดหมด ; การใชเหตุผลจึงตองอาศัยการดู จะฝาก เนื้อฝากตัวกับการใชเหตุผลตะพึดนั้นมันไมได ; มันตองมาเอาที่การดูลงไปตรง ๆ. เช น อนิ จ จั ง นี้ เห็ น อนิ จ จั ง ตรงๆ ; ไม ต อ งคํา นวณเอาโดยเหตุ ผ ลว า มัน ตอ งอนิจ จัง ซึ ่ง เราทํ า กัน มาก สอนกัน มากในโรงเรีย น : “มีเ หตุผ ล อย า งนั้ น ซิ จึ ง ถื อ ว า อนิ จ จั ง ;” อย า งนี้ ไ ม ไ ด . มั น ต อ งดู ล งไป เห็ น ลงไป จริง ๆ วามันเปนอนิจจังจึงจะได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอ งจํา ไววา ถา จะเปน พุท ธบริษ ัท แท แลว ตอ งดูล งไปตรง ๆ ใหเ ห็น อยา ฝากไวก ับ การคํ า นวณดว ยเหตุผ ล ทางตรรก ทางปรัช ญา เปนตน.

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสี่

๒๗๓

๗. ขอ ที ่วา อยา ตรึก ตามอาการ หรือ ตามที ่ส ามัญ สํ า นึก จะพา ไป ; นี ่ก ็ไ มป ลอดภัย , พอจะเขา ใจได. ที ่เ ราจะปลอ ยไปตามความคิด มัน จะพาไปตามธรรมดาสามั ญ นี้ ก็ ไม ได ; จึ ง ห า มไว เพราะมั น ไม เป น ป ญ ญา. แตวาบางอยางเราก็ตองใชอยางนั้น คือวาปญญาชนิดตื้น ๆ จนเคยชินตามสามัญ สํา นึก มัน ก็แ กปญ หาไดต ามสมควร ; แตจ ะเอาเปน เด็ด ขาด เปน หลัก สูง สุด ไมได มันไมใชตรงตามที่เปนจริง มันไมอาจที่จะตรงตามที่เปนจริงไดเสมอไป. ๘. ข อ ถั ด ไป คื อ ทนต อ การเพ ง พิ น ิ จ ของเรา เรายิ ่ ง คิ ด ยิ ่ ง เห็น จริง , ยิ่ง คิด ยิ ่ง เห็น จริง , ยิ ่ง คิด ยิ ่ง เห็น จริง ; อยา งนี ้ก ็อ ยา เพอ . เพราะวา เราอาจจะคิ ด ไม เป น ก็ ไ ด , เราคิ ด ผิ ด ทางก็ ไ ด , เพราะว า เรามั น เป น คนมี ห ลั ก เกณฑที่มันผิดมาเสียแลวตั้งแตตน ตลอดเวลา. เราตองฝากไวกอน ตองพิสูจน กันดวยผลที่เกิดขึ้นจริง ๆ เทานั้น. อย า เอาแต เพี ย งว า มั น ทนต อ การพิ นิ จ , แต จ ะไปเอาต อ เมื่ อ มั น มี ผลอยางนั้นจริง, มันตองมีผลอยางนั้นจริง ๆ จึงจะยอมรับวา เปนความรูที่ถูกตอง. ขอ นี ้อ ธิบ ายยาก และปฏิบ ัติย าก ; เพราะเราจะตอ งรับ หรือ เอาตามที ่เราคิด แลวมันมีเหตุผลใหแกเรา มันทนตอความคิดของเรา ; แตพระพุทธเจาทานก็ยัง ไมใหเอา ใหขยักไวอีกทีหนึ่งวา ไปเอาผลที่มันเกิดขึ้นจริง ๆ เปนหลัก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอ จากนี ้ก ็ไ ปถึง เรื ่อ งบุค คล วา ๙. ผู พ ูด อยู ใ นฐานะที ่ค วร เชื่อ ได. ฟง ผิว ๆ เผิน ๆ มัน ก็จ ะรูส ึก วา มัน คา นกับ ที ่เราสอนศีล ธรรม : ให เชื่อ บิด ามารดา ครูบ าอาจารย ; นั ้น ก็ไ มผ ิด . เราจะตอ งเชื่อ บิด ามารดา ครู บาอาจารย โดยไม มี ข อ แม , ไม ต อ งยกเว น ไม มี เงื่ อ นไขอะไร ; เพราะว า เรา

www.buddhadassa.in.th


๒๗๔

การกลับมาแหงศีลธรรม

ยังเปน เด็ก อยู. แตเมื่อ เราโตขึ้น มา เราก็มีสิท ธิ์ที่จะวินิจฉัย ดูวา คนที่เห็น วา ควรจะเชื่อไดนั้น เขาพูดตรงหรือไม ? จริงหรือไม ? ถูกตองหรือไม ? จะเอา แตทาทาง หรือเอาแตความนิยมของสังคม วาคนนี้มีความรู ควรจะเชื่อได นี้ก็ ไม พ อ. แต ในทางศี ล ธรรมชั้น แรก ๆ ก็ เอาไปก อ น : เชื่อ บิ ด ามารดา ครูบ าอาจารย แล ว ไปทํ า ตาม, ไปทํา ตาม, แล ว มั น ก็ พ ิ ส ู จ น เ องว า มี ผ ลจริ ง หรือไม. พอมีผลจริงตามนั้น ก็กลายเปน เชื่อ ตัวเรา เชื่อ ขอ เท็จจริงที่เรามอง เห็น โดยไมตองใชเหตุผล. ๑๐. ขอ สุด ทา ยนี ้น า กลัว ที ่ว า อยา เชื ่อ เพราะสมณะนี ้เ ปน ครู ของเรา. นี้แปลวา พระพุท ธเจา ทานใหเสรีภ าพไวอ ยางสูงสุด จนกระทั่งวา ไมต อ งเชื่อ แมแ ตที ่พ ระพุท ธเจา ทา นตรัส เอง. ผู นั ้น จะตอ งมองเห็น วา ที่ พระพุทธเจาทานตรัสไวนั้น มันเปนอยางนั้นจริง จนกวาเมื่อไรจะเปนอยางนั้นจริง ผูนั้นจะตองรูประจักษดวยใจของตน แลวความเชื่อมันก็เปลี่ยนมาเชื่อตัวเอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เพราะฉะนั้น มัน มีประโยคที่ไดตรัสไว ปรากฏอยูในพระคัมภีร อยูประโยคหนึ่ง ซึ่งนาอัศจรรยที่สุด, คือ ประโยคที่วา “ไมตองพูดตามคําพูด แหง ศาสดาตน” ; จํ า ตัว หนัง สือ ใหไ ดก อ นวา “ไมต อ งพูด ตามคํ า พูด แหง ศาสดาของตน” ; เมื่อ เรามีพ ระพุท ธเจา เปน ศาสดา เราไมตอ งพูด ตามที่ ทานพูด แตเราจะพูดตามที่เราเห็นวา มันเปนอยางนั้นจริง.

ทีแ รกเราก็ต อ งพูด ตามที ่ทา นพูด เพราะเราไมม ีป ญ ญาจะพูด ; ครั้นเราเขาถึงความจริงนั้นแลว เราก็พูดตามที่เราเขาถึงความจริงนั้น, และไมได พูดตามที่พระศาสดาพูด. นี้เปนขั้นสูงสุด หรือขั้นเปนพระอรหันตเทานั้น. เมื่อ

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสี่

๒๗๕

เปนพระอรหันตแลว ก็จะไมพูดตามที่พระศาสดาพูด แมวาไดรับเอามา หรืออะไร อยูต ลอดเวลา ; เดี๋ย วนี้ ทานไมไดพ ูด ตามที ่พ ระศาสดาพูด . ทา นพูด ออกมา จากความรูสึกของทาน ที่ไดเขาถึงความจริงแลว. นี่คือคําอธิบายที่วาเราไมถือเอาเพราะเหตุวา “สมณะนี้เปนครูของเรา”. ถา ในแงข องศีล ธรรม โดยเฉพาะในชั้น เด็ก ๆ หรือ ชั้น ผูใ หญ แตยัง เปน เด็ก ในแงข องพระศาสนา ในแงท างธรรมะ มัน ก็จ ะตอ งเชื ่อ และตอ งพูด ตาม พระศาสดาพูด กอ น ; เอามาสอนเอามาศึก ษา เอามาวิพ ากษวิจารณอ ะไรกัน ไป ตามที่พระศาสดาไดตรัสไว. เพราะฉะนั้น ตลอดเวลาที่ยังไมเปนพระอรหันต เราก็ตองพูดไปตาม คําของพระศาสดาไปกอ น, แล วก็พู ด จากความรูภ ายในของเรามากขึ้น ๆ, พู ด ตามคําของพระศาสดานั้นนอยลง ๆ ; จนถึงที่สุดเปนพระอรหันตแลว ก็ไมพู ด ตามคําของพระศาสดาอีกตอไป แตพูดออกมาจากจิตใจของตนเอง, ดังนี้เปน ขอสุดทาย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ฟง ดูแ ลว นา กลัว แตด ูเถอะแลว ก็จ ะเห็น วา นี ่ค ือ แสงสวา งสูง สุด ไดม ีแ ลว ในจิต ใจแหง บุค คลนั ้น ; บุค คลนั ้น จึง สามารถพูด ตามแสงสวา งนั ้น โดยไมตองพูดตามคําพูดแหงพระศาสดาของตน เปนอันจบกัน เพราะไดถึงแสง สวางอันสูงสุดในขอนั้น.

นี้ เรีย กว า กาลามสู ต ร เป น ป ญ ญาเห็ น ถู ก ต อ งตามที่ เป น จริง ไม ประกอบอยูด วยโทษ ๑๐ ประการ ดังที่กลาวแลว ถาไมเขาใจก็รีบไปทําความ เขาใจเสีย ถายังจําไมไดก็จําเสียใหได พูดกันงาย ๆ ทบทวนอีกครั้งหนึ่งก็วา : -

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๒๗๖ -อยาถือตามที่ไดฟงตามกันมา ; -อยาถือเอาตามที่ไดปฏิบัติตามกันมา ;

-อยาถือเอาตามที่ลือกระฉอนอยู ; [ นี้หมวดการฟง ] -อยาถือเอาเพราะมีเขียนไวในพระคัมภีร ; [ นี้หมวดตํารา ] -อยาถือเอาเพราะมันมีเหตุผลทางตรรก ไมมีใครคานไดในทางตรรก ; -อยาถือเอาเพราะวามีเหตุผลทางปรัชญา เพราะเอาหลักปรัชญา มาจับแลวมันถูกตอง ; -อยาถือเอาเพราะเหตุมันเปนสามัญสํานึกที่ทุกคนจะรูสึกอยางนี้ ; -อยาถือเอาเพราะวามันลงกับความเห็นของเราทุกทีไป ; [หมวดคํานวณ]. -อยาถือเอาเพราะวาผูบอกควรจะเชื่อได นาเชื่อ ; -อยาถือเอาเพราะวาผูพูดนั้นเปนครูของเขาเอง ; [หมวดบุคคล].

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org จะขอกําชับ สั กหน อยวา ถ าจะไปสอนลูก เด็ก ๆ อยางนี้ค งไม ได คง วิน าศกวา เดิม ไปก็ได จะไมมีศีล ธรรมเหลือ อยูเลยก็ได ; เด็ก ๆ เขาจะตอ งเชื่อ ไปตามที ่ค วรจะเชื ่อ กอ น จนกวา เขาจะโตขึ ้น ๆ. ฉะนั ้น เด็ก ๆ ก็ม ีแ สงสวา ง น อ ย ๆ ไปตามเรื่อ งของเด็ ก ๆ. โตขึ้ น แสงสวา งนั้ น ก็ จ ะขยายมากขึ้ น ๆ จนเป น แสงสวา งที ่ส มบูร ณ. เมื ่อ แสงสวา งนอ ยก็ม ีศ ีล ธรรมนอ ย หรือ ศีล ธรรมขั ้น ตน , แสงสวางมากก็มีศีลธรรมขั้นสูง. ที่เอามาพูดกันยืดยาว นี่ก็เพื่อจะใหเขาใจคําวา ปญญาที่ถูกตองตามที่เปนจริงนั้น เปนอยางไร. ....

....

....

....

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสี่

๒๗๗

ถาม : ที นี ้ จะพู ด ต อ ไปถึ ง เรื่ อ งที ่ ม ั น เนื ่ อ งกั น เรื่ อ งนั ้ น ก็ ค ื อ เรื่ อ งสิ ่ ง ที ่เ รีย กกัน วา สัม มาทิฏ ฐิ ; สัม มาทิฏ ฐิ แปลวา อะไร คุณ ทอง ลองวาไป สัมมาทิฏฐิแปลวาอะไร ? ตอบ : สัมมาทิฏฐิคือการที่มองเห็นสิ่งนั้นตามที่เปนจริง. ถาม : นั่นถูกแลว แตไมใชคําแปลนี่ นั้นมันความหมาย สัมมา แปลวาอะไร ? ตอบ : สัมมา แปลวา ถูกตอง หรือชอบ. ถาม : ทิฏฐิแปลวาอะไร ? ตอบ : ทิฏฐิแปลวาความเห็น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : ทิฏฐิแปลวาความเห็น แตไมไดเห็นดวยตา เห็นดวยจิต เห็นตามวิถีทาง ทางจิต . ความเห็น ถูก ตอ งนั้น คือ สัม มาทิฏ ฐิ สัม มาทิฏ ฐินี ้เ ปน แสงสวาง หรือมิใช ? คุณทองนั่นแหละตอบ.

ตอบ : สัมมาทิฏฐิก็เปนแสงสวาง.

ถาม : ความหมายก็อยางเดียวกันกับ ยถาภูตสัมมัปปญญา เปนผลออกมาเปน สัมมาทิฏฐิ เปนความเห็นที่ถูกตอง. ถูกตองตามอะไร ? ตอบ : ตามที่เปนจริง.

www.buddhadassa.in.th


๒๗๘

การกลับมาแหงศีลธรรม

ถาม : ตามที่เปนจริงของอะไร ? ตอบ : ของธรรมชาติ. ถาม : ของธรรมชาติฝายไหนละ คุณประยูร ? ตอบ : ฝายสูงครับ ฝายกุศลธรรม. นี่ จับ ไดแล ว ; ควรจะบอกวา ทุ กฝ าย ทั้ งฝ ายสูง ฝายต่ํ า ฝ ายผิ ด ฝายถูก ฝายเสื่อม ฝายเจริญ ก็ตามเถอะ วาถาทําอยางนี้ ผลจะเกิดขึ้นอยางนี้, ทําอยางนี้ แลวผลจะเกิดขึ้นอยางนี้. ที่วาผิดหรือถูก เสื่อมหรือเจริญนั้น มนุษย วาเอาเอง ตามประโยชนที่มนุษยตองการ. ตรงตามธรรมชาตินั่นพอแลว แตวา ยังมีฝายไหนอีก ? คือฝายที่เรามาวากันวาฝายถูกฝายผิด ฝายสูง ฝายต่ํา ฝายโลก ฝ ายอะไรต าง ๆ ตามที่ สั ม มาทิ ฏ ฐิ เห็ น ชอบตามที่ เป น จริงตามธรรมชาติ .

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : ทีนี้ มันจะสงเสริมศีลธรรมไดอยางไร ? เปนรากฐานของศีลธรรมได อยางไร ? ถาเห็นตามที่เปนจริงนี่ แลวจะสงเสริมศีลธรรมไดอยางไร ? เปนที่ตั้งแหงศีลธรรมไดอยางไร ? ลองวามาตามที่มองเห็นอยู ทําไม ตองคิดนานนักเลา ? ตอบ : ถาเห็นถูกตองแลว ก็จะตองทําไปตามความคิดเห็นที่ถูกตองครับ. นั่นแหละ ถาเราเห็นอยางไร ก็จะทําอยางนั้น : ถาเห็นผิดก็ตองทํา ไปอยางผิดใชไหม ? เดี๋ยวนี้เห็นถูกตอง มันก็ทําไปตามความเห็นที่ถูกตอง มันก็

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสี่

๒๗๙

คือ ศีล ธรรม สิ ่ง ที ่ทํ า ความปรกติ ไมโกลาหลวุ น วาย. ฉะนั ้น สัม มาทิฏ ฐิ จึง เป น สิ่ ง จํา เป น ที่ ม นุ ษ ย จ ะต อ งมี , เพื่ อ ความเป น มนุ ษ ย ที่ ถู ก ต อ ง หรื อ เปน มนุษยที่มีศีลธรรม. ....

....

....

....

ถาม : ทีนี้ ระวังใหดีจะถามคําถามที่สําคัญที่สุด ถาตอบผิดก็เสียภูมิพุทธบริษัท. ตัวตนมีหรือไมมี ? ตอบ : ไมมีครับ. ถาม : ตัวตนไมมี คุณทองละ ? ตอบ : ตัวตนไมมีครับ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : คุณประยูร วาตาม ๆ เขาใชไหม ? นี่ วาตาม ๆ เขาใชไหม ?

ตอบ : ไมทราบวา ทานอาจารยจะตั้งปญหาถามในขั้นไหน ? ถาม : ขั้นทั่วไป ครอบจักรวาล วาตัวตนมันมีหรือไมมี ?

ตอบ : คือ ถาขั้นตามความคิดเห็นของคนทั่วไป เขาก็วาตัวตนมีอยู. ถาม

: เอ า , ทํ า ไมต อ งเอาคนทั่ ว ไปล ะ ไปตามคนอื่ น อี ก , ไปฟ ง ตาม ๆ กั น มาตามเขาวา ตามเขาเล า ลื อ, ไม เอา ; เอาตามความรูสึ กที่ รูสึ กอยู จริง.

www.buddhadassa.in.th


๒๘๐

การกลับมาแหงศีลธรรม

ตอบ : ตามธรรมดาที่รูสึกอยูจริง ความรูสึกวามีตัวตนนั้น ไมมีครับ. ถาม : ความรูสึกของใครมี ? ตอบ : ความรูสึกของทุกคนที่อยูตามธรรมดาปรกติอยู ความรูสึกที่วามีตัวตน นี้ไมมี ตามธรรมดา. ถาม : นี่ไปวาตามคนอื่น ตามความรูสึกของคุณเอง เดี๋ยวนี้รูสึกวา วาตัวตน มีหรือไมมี ? ตอบ : ตอนนี้ไมมีครับ. ถาม : ตอนนี้ไมมี ตอนไหนละมี ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : ตอนเมื่อมีอะไรที่ไมถูกใจเขามาขวาง.

ถาม : “ตอนเมื่อมีอวิชชาครอบงํา”, ตองพูดอยางนี้ซิ ; คือเมื่อมีอารมณมา ถู ก ต อ งแล ว มี อ วิ ช ชาครอบงํา เมื่ อ นั้ น แหละ จะเกิ ด ความคิ ด นึ ก รูสึ ก ประเภทมีตัวตนขึ้นมา ; แตเดี๋ยวนี้ยังไมมี. แตถากลาวโดยหลักทั่วไป ความรูสึกของเรา มันรูสึกวามีตัวตนไหม ? ตอบ : ถากลาวโดยหลักทั่ว ๆ ไป ยังรูสึกวามีตัวตนอยู.

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสี่

๒๘๑

ตอ งถื อวา คนธรรมดาสามั ญ จะรูสึ กวามี ตั วตนอยู ; เพราะวาความ รูสึกวามีตัวตนนี้ เปนความรูสึกตามสัญชาตญาณ มีไดเอง เพราะสัญชาตญาณมัน เคยชิน มาอยางนั้ น ไม รูกี่ กัป ป กี่ กั ล ป ม าแล ว. สัญ ชาตญาณถ า ยทอดกั นมาทาง บิดามารดา เกิดความรูสึกวามีตัวตนไดงายที่สุด ; มันเปนสัญชาตญาณตลอดกาล สําหรับทําใหชีวิตนี้ ดิ้นรนขวนขวาย เพื่อความอยูรอดแหงชีวิตนั้น มันจึงมีความ รูสึ ก ว า ตั ว ตน มั น ก็ รั ก ตน มั น ก็ ต อ สู เพื่ อ ตนมี ชี วิ ต รอดอยู . เพราะฉะนั้ น เราจึ ง ตอ งมีค วามรู ส ึก วา ตัว ตนนั ้น เปน แนน อน, และเราก็ต อ งอดทน ทนตอ สู ทนทรมาน เรีย กวา ทนตอ สู น ะ อยู ต ลอดเวลา ; ฉะนั ้น จึง เปน ความรู ส ึก ที่ เปนทุกข. ถ า เราขจั ด ความรู สึ ก ว า ตั ว ตนนี้ อ อกไปเสี ย ได มั น ก็ ไ ม มี ก ารต อ สู และเป น ทุ ก ข ; แต ว า การที่ จ ะตั ด ความรูสึ ก ว า ตั วตนออกไปเสี ย ได นั้ น มั น ยาก. ฉะนั ้น มัน จึง เปน สิ ่ง ที ่ส ูง กวา ศีล ธรรม ; ถา จะจัด ใหเ ปน ศีล ธรรมก็ไ ด คํ า วา ศีล ธรรมมัน ขยายออกไปไดถ ึง นิพ พาน. ถา เราตัด ความรูส ึก วา ตัว ตนออกเสีย ไดก ็เ ปน นิพ พาน, เปน ศีล ธรรมชั ้น นิพ พาน ซึ ่ง ตามธรรมดาก็ไ มม ีใ ครเรีย ก ขั้ น นี้ ว า เป น ขั้ น ศี ล ธรรม ; เขาเรี ย กเป น ขั้ น โลกุ ต ตรธรรมไปหมด แต ต ามตั ว หนังสือนั้นเรียกได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : ทีนี้ เรามีศีลธรรมอยางธรรมดาสามัญ ก็ตองอาศัยตัวตน คือทําตัวตน ใหมีศีลธรรม ใชไหม ? ตอบ : ใช ครับ.

www.buddhadassa.in.th


๒๘๒

การกลับมาแหงศีลธรรม

ถา ไมม ีต ัว ตน แลว จะทํ า ใหม ีศ ีล ธรรมที ่ต รงไหนละ ? นี ่เราก็มี ความรูสึกวา เรามีตัวเรานี้เปนพื้นฐานกอน แลวจึงมีความรูสึกวา มีตัวเราอยาง ถูก ตอ ง, มีตัว เราไมผิด พลาด, ซึ่ง จะคอ ยวา กัน อีก ทีห นึ่ง . ฉะนั้น เราจึง เอาหลักงาย ๆ ในขั้นสัมมาทิฏฐิอยางโลก ๆ อยางโลกียะนี้วา ถาทําใหตัวตน ไมตอ งเปน ทุก ขไ ด ตามแบบโลก ๆ, ตามแบบสามัญ ในโลกนี้ ; คือ ทํา ให ตัวตนไมตองเปน ทุกข เดือ ดรอ น เหมือ นกับตกนรกแลว ; ก็เรียกวา “ถูก ” : การกระทํานั้นถูก การพูดนั้นถูก ความคิดนั้นถูก. ถาไปทําใหเปนทุกข เดือดรอน เหมือนกับตกนรก แลวก็วา “ผิด”, การกระทํ า นั ้ น ผิ ด , การพู ด นั ้ น ก็ ผ ิ ด , การคิ ด นั ้ น ก็ ผ ิ ด เรี ย กว า มั น ผิ ด , และการที ่ไ ปคิด อยา งนั ้น ก็เรีย กวา มิจ ฉาทิฏ ฐิอ ยา งโลก ๆ ; นี ่อ ยา ลืม วา อยา งภาษาโลก ๆ ภาษาคนธรรมดา ที่ยัง อยูใ ตสัญ ชาตญาณแหง ความมี ตัวตน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ความคิดไหนนําไปสูความทุกขตามธรรมดาสามัญ ก็เรียกวา ผิด อยางธรรมดาสามัญ, ทําใหมีความสุขอยางธรรมดาสามัญ ก็เรียกวา ถูกตาม ธรรมดาสามัญ . เพราะฉะนั้น สัมมาทิฏฐิในขั้นตนอยางนี้จึงมีตัวตน ; จะให มีตัวตนที่ดี ก็ตอ งทําตนใหเปน ที่พึ่งแกตน ก็ทํากรรมที่ดี, แลวก็มีตัวตนเปน ผูเสวยผลแหงกรรมนั้น . นี้เปน สัม มาทิฏ ฐิขั้น โลกิย ะ ชั้น โลก ๆ เปน รากฐาน แหงศีลธรรมอยางยิ่ง. ถาม : ถาเรามีความเห็นที่ถูกตองวา ทําดี ดี ทําชั่ว ชั่ว คนทํารับผลแหง กรรมนี้ จะสงเสริมศีลธรรมอยางไร ลองพูดมาใหชัด ?

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสี่ ตอบ

๒๘๓

: ถาในระดับโลกนี้ ที่เรายังยึดการกระทําวา ทําชั่ว, ชั่ว ; ทําดี, ดี ; ยังอยูในอํานาจของกรรม คนก็จะไมกลาทําความชั่ว กลัวตอความชั่ว ละอายตอความชั่ว ; ก็หันมาทําความดี ในดานนี้ ก็ทําใหคนนั้นเปน คนดี มีภาวะที่สงบขึ้น.

ถาม : ศีลธรรมในขั้นนี้ คือศีลธรรมในขั้นโลกิยะ มีความรูสึกที่ถูกตองวา ทํา ดี, ดี ; ทํา ชั่ว , ชั่ว ; นี้จ ะกํา จัด หรือ ปอ งกัน โลภะ ไดอ ยา งไร, คุณทอง ? ตอบ : ไมลักขโมยของเขา. ถาม

: จะกําจัดโลภะไดอยางไร ? ถารูวาทําดี ดี, ทําชั่ว ชั่ว ; เขาจะกําจัด ปองกันโลภะไดอยางไร ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : แลวก็บริจาคเพื่อชวยเหลือผูอื่นดวย. ถาม

: มันตองรูวาโลภะนั้นคืออะไร ? โลภะนั้นไปอยากชนิดที่ทําใหมันเปน ทุกข ใหมันเดือดรอน หรือไมควรจะอยาก. ทีนี้ เมื่อเขาไมอยากจะมี ความทุกข หรือเขาอยากจะดี มันก็ไมกลาทําอยางชนิดที่เรียกวาโลภะ.ที นี้จะปองกันโทสะไดอยางไร ? คุณ ทองวาตอไป สัมมาทิฏฐินี้จะปอง กันโทสะไดอยางไร ?

ตอบ

: ขั้นตน ก็เมื่อคนตองการเพียงเปนคนดี ก็รูวา การที่บันดาลโทสะ หรือ ไปทํ า ใหผูอื่น เดือ ดรอ นดว ยความโกรธนั ้น เปน การกระทํ า ที่ชั่ว ขั้นนี้คนก็เพียงแตไมเปนผูบันดาลโทสะ.

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๒๘๔

หมายความวา เขาจะตอ งรู ถ ึง ขนาดที ่ว า โทสะนี ้เ ปน ของชั ่ว ; ถายั งไม ม องเห็ น วาโทสะเป น ของชั่ ว คงจะป อ งกั น ไม ได . เขาจะได เคยเห็ น คนที่ มี โทสะ เพราะในที่ ทั่ ว ๆ ไปนี้ คงได เห็ น คนที่ มี โทสะ ในบางครอบครัว แม ก็ด าพ อ พ อ ก็ ด าแม , เด็ ก ๆ มั น ก็ เห็ น . ถ ารูวาโทสะนั้ น เป น อย างไร คงจะคิ ด ได วามั น ชั่ ว ; ฉะนั ้น ถา รูว า ทํ า ดี, ดี ; ทํ า ชั ่ว , ชั ่ว ; หรือ วา ทํ า ชั ่ว เขา ไปแลว มัน รอ นเปน ไฟ ก็ค งจะปอ งกัน การอยากมีโ ทสะ อยากลุอํ า นาจแกโ ทสะได ; พอมีโ ทสะขึ ้น มา มั น ก็ รีบ หยุ ด เสี ย ได ; ฉะนั้ น สั ม มาทิ ฏ ฐิ มั น ก็ ต อ งส งเสริม รัก ษาความมี อ ยู แ ห ง ศีลธรรมนี่. ถาม : สัมมาทิฏฐิเรื่องมีตัวมีตน มีดี มีชั่ว นี้ปองกันโมหะไดอยางไร คุณประยูร ? ตอบ

: โมหะ ก็ค ือ ความลัง เล ความโง ; สัม มาทิฏ ฐิขั ้น รู ด ีรู ชั ่ว นี ้ ก็ไ มทํ า เรื่ อ งชั่ ว ; การทํ าเรื่ อ งชั่ ว คื อ ค วาม โง . ถ าไม ทํ าค วาม ชั่ ว ค วาม โง ก็ไมมี.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : ความคิดวา มีตัวตนนี้เปนโมหะหรือเปลา ?

ตอบ

; ความคิดวามีตัวตนที่ดี ตอนนี้ไมเปนโมหะ

ถาม : เอาหลักอะไรมาวา ความคิดวามีตัวตนไมใชเปนโมหะนี้, เอาหลักอะไร มาวา ? ตอบ : เพราะวาระยะนี้ มั นระยะที่ ยั งนึ กถึ งตั วตนอยู และกําลังพยายามที่ จะทํ า ใหม ีต ัว ตนที ่ด ี เปน สัม มาทิฏ ฐิขั ้น โลกนี ้ ก็เ ปน อยา งเราถือ วา เปน สัมมาทิฏฐิ ก็ไมใชโมหะ.

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสี่

๒๘๕

ถาม : เมื่อสัมมาทิฏฐิมันแบงไดเปน ๒ ชั้น คําวา โมหะ ก็ควรจะแบงไดเปน ๒ ชั้นใชไหม ? ตอบ : ใชครับ. ถารูวา ทําดี, ดี ; ทําชั่ว, ชั่ว ; นี้ก็ไมใชโมหะอยูแลว มันก็เปนการ กํา จัด โมหะอยูโ ดยอัต โนมัติ ; เพราะมัน รูวา ทํา ดี, ดี ; ทํา ชั่ว , ชั่ว . สว นที่ มันถือวามีตัวตนนั้น อยาเพอไปพูดกับมันเลย ยกใหทีกอน ; เพราะเราพูดกัน ในขั้นที่วา เรามีตัวตน. ตอเมื่อขึ้นไปถึงขั้นที่ไมมีตัวตน จึงถือวาความรูสึกวามี ตัวตนเปนโมหะ ; เมื่อนั้นเราจึงจะพูดกันอีกระดับหนึ่ง ถึงสัมมาทิฏฐิประเภท ที่ ๒ คือสัมมาทิฏฐิประเภทโลกุตตระ. เอาเปน อัน ยุต ิไ ดว า สัม มาทิฏ ฐิ แมใ นขั ้น โลกิย ะนี ้ จะปอ งกัน แ ล ะ ข จั ด โ ล ภ ะ ก็ ไ ด , จ ะ ป อ ง กั น แ ล ะ ข จั ด โ ท ส ะ ก็ ไ ด ; จ ะ ป อ ง กั น และขจัด โมหะก็ได ; ฉะนั้น ถามีสัมมาทิฏ ฐิ หรือยถาภูต สัม มัป ปญ ญา แม ในขั้นโลกิยะนี้ ก็สงเสริมศีลธรรมได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เอาละ, ไหน ๆ จะพูดก็พูดเสียใหหมดในคราวเดียวนี้ มันลําบากที่จะ พูดกันหลายหน คือวา เมื่อมีสัมมาทิฏฐิอยางโลกิยะ มีตัวมีตนแลว มันก็ยังไม ดับ ทุก ขสิ้น เชิง ; เพราะไมดับ ตัว ตนนั่น เอง. เพราะฉะนั้น สัม มาทิฏ ฐิที่สูง ขึ้นไปก็คือสัมมาทิฏฐิ ที่จะดับความรูสึกยึดถือวาตัวตน มันจึงเปนสัมมาทิฏฐิ ในชั้นโลกุตตระ ที่จะใหพนตัวตน.

www.buddhadassa.in.th


๒๘๖

การกลับมาแหงศีลธรรม

ตั ว ต น ก็ ค ื อ โ ล ก , โ ล ก ก็ ค ื อ ตั ว ต น . ถ า จ ะ อ ยู  เ ห นื อ ตั ว ต น ก็ต อ งมีส ัม มาทิฏ ฐิชั ้น ที ่อ ยู เ หนือ โลก เปน โลกุต ตระ. โดยเปรีย บเทีย บกัน ดู จะเห็นวาอยางโลกิยะนี้มีตัวมีตน, มีอุปาทานวามีตัวตน ยังไมละอุปาทาน นี้จึง มีด ีม ีชั ่ว , มีบ ุญ มีบ าป, มีไ ดม ีเสีย , มีแ พม ีช นะ, อะไรเรื่อ ยไป ; แลว ก็ม ีก รรม เปน หลัก และวา มีผู ก ระทํ า กรรม แลว ก็ม ีผู รับ ผลแหง กรรมนั ้น , อยา ใหม ัน ผิด ในหลักขอนี้. แลวในที่สุด มาพบวา แมเราจะมีกรรมดีมีความสุข มันก็ไมใชดับทุกข สิ้น เชิง ; ยัง มีป ญ หาวา ความสุข นี ้ม ัน จะสูญ หายไป, บุญ กุศ ลนี ้จ ะหมดสิ้น ไป. มี ต ั ว ตนอยู  เ พี ย งไร ก็ ต  อ งเป น ห ว งตั ว ตนอยู  เ พี ย งนั ้ น ; แม จ ะเป น ตั ว ตน ชั้ น ดี ก็ ยิ่ ง ห ว ง ; ยิ่ ง รู สึ ก ว า เราดี ก็ ยิ่ ง รู สึ ก เป น ห ว งมาก ; เพราะกลั ว ว า มั น จะ หายไป ; ยิ่งรวย ก็ยิ่งหวงความรวย, มีชื่อเสียง ก็หวงชื่อเสียง. เพราะฉะนั้ น แม จ ะมี ดี -ดี -ดี นี้ ก็ ไ ม ใ ช ดั บ ทุ ก ข สิ้ น เชิ ง มั น ดั บ ทุ ก ข อยางโลก ๆ อยางชาวบ าน ; มันจึงตอ งเลื่อนชั้นขึ้นไปสูระดับ ที่เรียกวา เหนือ ดี. เหนือชั่วแลวมาติดอยูที่ดี สนุกสนานไปตามแบบดีนั้น. พอเบื่อเขาก็จะตองเหนือดี อีกชั้นหนึ่ง จึงจะเรียกวา เหนือโลก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถา เขา ใจขอ นี ้ ก็จ ะเขา ใจพุท ธศาสนาชั ้น หัว ใจของพุท ธศาสนา ซึ่งเป น หั วใจพุ ท ธศาสนาที่ แ ท จ ริง คื อ อยู เหนื อ ดี เหนื อ ชั่ว เหนื อ บุ ญ เหนื อ บาป เหนือสุขเหนือทุกข เหนือโดยประการทั้งปวง.

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสี่

๒๘๗

ถาม : มีทางที่จะคิดงาย ๆ ก็คือวา ทั้งดี ทั้งชั่ว ทั้งบุญทั้งบาปนี้ มันเปนเพียง อะไร ลองวาไป ? ตอบ : มันเปนเพียงความทุกข. ถาม : ทั้งดี ทั้งชั่ว ทั้งบุญ ทั้งบาป ทั้งสุข ทั้งทุกข นี่มันเปนเพียงสักวาอะไร ? ตอบ : มันเปนเพียงสักวาธาตุอยางเดียวเทานั้น. ถาม : สักวาธาตุมันก็ถูก ; แตเอาคําอื่น, คํานี้ยังไมชอบ. มันเปนเพียง สักวาอะไร ? คุณทอง ? ตอบ : เปนเพียงปรากฏการณอยางหนึ่งที่ผานเขามา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : นี่เปนนักวิทยาศาสตรมาก คุณชวนวาอยางไร ? นี่ไมคอยมาฟง. ตอบ : ตอบไมไดครับ.

ถาม : ตอบไม ไ ด ก็ ดี เ หมื อ นกั น . คุ ณ ประยู ร อี ก ที , มั น เป น สั ก ว า อะไร ? เช น เดี ยวกั บ วา อรอ ยหรือ ไม อ รอ ย มั น ก็ เพี ย งสั ก วา เวทนา นี้ ฟ งถู ก ไหม ? จะอรอยไมอรอยก็เปนเพียงสักวาเวทนา. ที่ดีหรือชั่ว, บุญบาปนี้ มันเปนแตเพียงสักวาอะไร ? ตอบ : สักแตวาความรูสึก ที่เรารูสึกเทานั้น.

www.buddhadassa.in.th


๒๘๘

การกลับมาแหงศีลธรรม

สัก วา เปน ความรูสึก เทา นั้น ก็ได ; สัก วา เปน ธัม มารมณอัน หนึ่ง . แตเมื่อ ๒- ๓ เดือนกอนนั้น คุณคลองปากวา มันเปนเพียง กระแสแหงอิทัปปจจยตา ใชไหม ? คํานั้นก็หายไปแลว. อิทัปปจจยตา ยนเขามาใหเหลือพยางค นอ ยที ่ส ุด เรีย กวา อะไร ? คุณ ทองเคยไดย ิน บา งไหม ? ตถาตา นี ่พ ูด กัน หลายหนแลวนา. สอบไลดูก็คือลืมคําวา “ตถาตา” ? มีความหมายอยางเดียว กับ อิทัปปจจยตา ; เพราะมันเปนอยางนั้น, เปนอยางอื่นไมไดจึงตองเรียกวา ตถาตา. ถาม : เมื่อมันเปนแตอยางนั้น เปนอยางอื่นไมได จะเรียกวา มีตัวตนไดไหม ? ตอบ : ไมได. ถาม : จะเปนตัวตนของคนไปไมได ; แตถาจะวาเปนตัวตนของธรรมะมันก็ไม ควรจะพูด เพราะ “ตัว ตน” มัน เปน ที ่ตั ้ง แหง ความยึด ถือ . เพราะ ฉะนั้ น จึงเป น สิ่ งที่ ไม มี ตัวตน. วางจากตั วตน วางจากของตน เขา เรียกวาอะไรอีกทีหนึ่ง ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : เรียกวาสุญญตา.

ถาม : ยังจําได, คอยยังชั่วหนอยที่ยังจําไดวา สุญญตา. คําวา “สุญญตา” ที่เราพูดกันมาก ในหมูชาวบานนั้นพูดวา อะไร ?

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสี่

๒๘๙

ตอบ : จิตวาง. ถาม : จิตวางนี้ไมคอยมีใครพูดกี่คน กําลังไมมีใครยอมรับกี่คน. ที่เปน คํ า พู ด ตามประเพณี ของประชาชนทั่ วไป เมื่ อ เราพู ด วา “สั ญ ญา” เขา จะพูดวาอะไร ? ตอบ : พูดวา “ธรรมดา” หรือ “เปนอยางนั้นเอง”. ถาม : เอา, “ธรรมดา”, นี้อยางหนึ่ง ; แลวคุณทองจะพูดวาอยางไร ? คน แกขนาดปู ยา ตา ยาย เมื่อเขาพูดถึงสิ่งที่เรียกวา สุญญตา เขาใชคํา อะไรแทน ? เขาใชคําวา อนัตตา แปลวา ไมมีอัตตา. ไมมีอัตตานั่นคือ วา งจากอัต ตา ; แตนี ่ ไมม ีต ัว ตน ไมม ีอ ัต ตา. แลว ใครทํ า กรรมดี หรือชั่ว แลวใครไดรับผลกรรม, ตอบไดไหม ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ

: ถามาถึงขั้นนี้แลว มีแตกรรม มีแตการกระทําอยางเดียวเทานั้น. ผูทํา และผูรับผลนั้นไมมี.

ถาม : ถาผูทําไมมีแลว กรรมจะมีไดอยางไร ?

ตอบ : กรรมนั้นมี แตวาเรียกเปนกิริยาไป. นั่นเมื่อเขาถึงสุญญตาแลว ก็กลายเปนกิริยาไป ไมมีใครกระทํากรรม ; ถามี การเคลื่อนไหวของผูที่ ไม มีเจตนา เพราะเขาถึงสุญ ญตา เรียกวา กิริยาไป.

www.buddhadassa.in.th


๒๙๐

การกลับมาแหงศีลธรรม

หรือจะเรียกใหถูกกวานั้น ก็วา มันมีเพียงกระแสแหงอิทัปปจจยตาเทานั้น ; มัน เปนไปตามกฎธรรมชาติ คือวามีการเคลื่อนไหวไปอยางนั้น ปฏิกิริยาก็เกิดขึ้น อยางนั้นไมมีความหมายแหงกรรมชนิดที่ทําโดยเจตนา และไมมีตัวผูกระทํากรรม. เพราะฉะนั้น เขาจึงไมเปนหวงอะไรเลย. ไมเปนหวงตัวตน, ตัวกูของกู ไมเ ปน หว งดีหว งชั่ว หว งบุญ หว งบาป เพราะไมมีตัว กูแ ละของกู ; เห็นถึงขนาดนี้ เรียกวา สัมมาทิฏฐิยอดสุด สัมมาทิฏฐิประเภทโลกุตตระ. สัมมาทิฏ ฐิอ ยา งแรกมีต ัว ตน, สัม มาทิฏ ฐิอ ยา งหลัง ไมม ีต ัว ตน สรุป ความได อยางนี้. ถาม : ขอถามวา สัมมาทิฏฐิประเภทที่ไมมีตัวตนนั้น จะสงเสริมศีลธรรมได อย า งไร, คุ ณ ประยู ร ? สั ม มาทิ ฏ ฐิ ที่ สู ง ขึ้ น ไปจนกระทั่ ง ไม มี ตั ว ตน จะสงเสริมศีลธรรมไดอยางไร ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ

: เพราะวา เมื่อคนนั้นไมมีตัวตนแลว เขาก็จะทําแตสิ่งที่ถูกตองถึงที่สุด ไมมีก ารทํา สิ่ง ที่ใ หค นอื่น เดือ ดรอ นไดเ ลย ; หรือ วา เขาไมม ีสิ่ง ที่ จะทําอะไร แลวก็ใหโทษแกผูอื่น เพราะตัวเขาเอง ไมมีค วามรูสึก ที่ จะเอาอะไรมาเปนของตน.

ถาม : ไมทําอะไรเพื่อเอาเปนของตน แลวเขาทําทําไม ? ตอบ : ก็ทําเพื่อสวนรวมทั้งหมด ทําตามหนาที่ ที่ตองกระทํา. ถาม : ถาอยางนั้น ก็มีหนาที่ของตน, และยอนไปมีตัวตนเสียอีก ?

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสี่

๒๙๑

ตอบ : เปนหนาที่ของธรรม คือธรรมชาติ. ถาเขาทําเพื่อสัมมาทิฏฐิ ทําเพื่อยถาภูตสัมมัปปญญาแลว ก็อยาพูดวา “เขา” ก็ได. ผู ทํ า ในบัด นี ้ก ลายเปน ยถาภูต สัม มัป ปญ ญา หรือ วา สัม มาทิฏ ฐิ ; คือ มีสัม มาทิฏ ฐิอ ยูใ นจิต , แลว ใหจิต กระทํา ใหก ายกระทํ า ใหว าจากระทํ า ก็เลยไมเรียกวากรรม ; แตเปนการเคลื่อนไหวไปตามอํานาจของปญญา. ถ าถามวา มั น ส ง เสริม ศี ล ธรรมอย างไร ? ก็ ต อ งตอบอย างที่ บ อกมา แล ว ว า มั น ส ง เสริ ม ศี ล ธรรมสู ง ขึ้ น ไปอี ก ชั้ น หนึ่ ง . ถ า ไม ส ง เสริ ม ศี ล ธรรมในขั้ น อยา งนี ้อ ีก เดี ๋ย วเขาก็โ หก ัน เลย คือ มัน กลับ ไปมีต ัว ตนอีก . นี ่ม ัน กลายเปน สงเสริมศีลธรรมอีกขั้นหนึ่ง คือขั้นนิพพาน ซึ่งเราไมคอยเรียกวา ศีลธรรม. แต ที่ จ ริง แล ว นิ พ พานเป น ศี ล ธรรมอย า งยิ่ ง เพราะศี ล ธรรมแปลว า สงบ หรือปรกติ ; ไมมีอะไรที่สงบหรือปรกติเทากับนิพพาน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เราเคยอ านหนั งสื อ ที่ ฝ รั่งเขี ย น เขาเขีย นลงไปชัด ๆ ประโยคหนึ่ งวา “นิพ พานเปน ยอดสุด ของศีล ธรรมในพุท ธศาสนา ; นี่ฝ รั่ง เขายัง เขีย นได อยา งนี ้น ะ. จะเขีย นดว ยความรูส ึก ผิด ถูก อยา งไรก็ไ มท ราบ ; แตเคยเห็น เขา เขียนอยางนี้. สวนฝายเรากลับไมรูจะพูดวาอยางไร, เห็นไหม ? ถานิพพานเปนศีลธรรมยอดสุดของพุทธศาสนา ก็ตองมองเห็นวา นิพพานเปนศีลธรรมอยางไร ? เปนศีลธรรมระดับที่ปกติจริง ๆ, ไมเปลี่ยนไป

www.buddhadassa.in.th


๒๙๒

การกลับมาแหงศีลธรรม

ตามเหตุปจจัยจริงๆ ; ถาทําดวยสัมมาทิฏฐิชนิดที่เห็นอิทัปปจจยตาสูงสุด ก็ยังคง สงเสริมศีลธรรมได ; แตจะเปนศีลธรรมในระดับสูงสุด. สรุปความสั้น ๆ วา สัมมาทิฏฐิโลกิยะ ก็สงเสริมศีลธรรมอยางโลกิยะ ; สัม มาทิฏ ฐิส ว นโลกุต ตระ ก็ส ง เสริม ศีล ธรรมสว นโลกุต ตระ. เพราะฉะนั ้น ขอใหมีสัมมาทิฏฐิกันเถิด ศีลธรรมก็จะกลับมา. เราพูด วา “ใหศ ีล ธรรมกลับ มา” ดว ยสัม มาทิฏ ฐิค ือ แสงสวา ง ดั ง ที่ ต น ไม ต อ งการทางฟ สิ ค ส คื อ แสงแดด ; แต แ สงสว า งที่ ต น ไม แ ห ง ศี ล ธรรม ตอ งการ ก็ค ือ แสงแหง ปญ ญา ในชั ้น ที ่เ รีย กวา ยถาภูต สัม มัป ปญ ญา ปราศจากโทษ ๑๐ ประการ ตามที่ไดตรัสไวในกาลามสูตรนั้น ก็เลยทําถูกหมด ; แมในสวนโลกิยะก็ทําถูก, ในสวนโลกุตตระก็ทําถูก. ถาเปนยถาภูตสัมมัปปญญา จริง ๆ แลว จะแบงไดเปนชั้นโลกิยะก็ทําถูกอยางโลกิยะ, ชั้นโลกุตตระก็จะทําถูก อยางโลกุตตระ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : ทีนี้ปญหาสุดทาย ที่จะตองคิดก็คือวา เรานี่จะเรียนจะศึกษา จะรู จะ ประพฤติ และปฏิ บั ติ นี้ จ ะเอาอย า งไหน ? คุ ณ จะเอาอย า งมี ตั ว ตน หรือเอาอยางไมมีตัวตน เดี๋ยวนี้นะ.

ตอบ

: เรื่อ งนี้ ก็ เป น บางโอกาส สํ าหรับ ตนเองตามธรรมดาทั่ ว ไป ก็ เอาอย า ง มีตัว ตนไวกอ น, อยา งแบบโลกิย ะไวก อ น. แตเ มื ่อ มีป ญ หาทุก ขห นัก เขา มาประสบกับ ตัว เองเขา บางครั้ง ก็ต อ งเอาขั ้น โลกุต ตระมาห า ม มาแก เปนครั้งคราวไปเหมือนกัน ; สลับกันไปเรื่อย ๆ.

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสี่ ถาม

๒๙๓

: ตอนนี้ตอบไดดีที่สุด ขอประกาศวา ตอบดีที่สุด ทีหนึ่ง. เมื่อเราอยู อยูอยางโลกิยะ อยูอยางชาวบาน มันก็ตองการอยูอยางชาวบาน ; จะหาดี เวน ชั่ว อยา งชาวบา น. แตถา ความทุก ขเ กิด ขึ้น เพราะเรื่อ งดี-ดี-ดี ดี นั่ น แหละ ; เราก็ แ หงนไปหาสั ม มาทิ ฏ ฐิ ช นิ ด ที่ ไ ม มี ตั ว ตน เอา อนัตตาเขามาดับปญหาเหลานั้น. สําหรับตัวเองก็เตรียมไว เหยียบเรือ สองแคมอยางนี้ใชไหม ?

ตอบ : ใชครับ. ถาม : ทีนี้จะสอนคนอื่น จะทําอยางไร ? ตอบ : เวลาจะไปสอนคนอื่น ก็ดูจังหวะ ดูผูฟง ดูกาละ ดูเทศะ. ถาอยูใน ฐานะที่จะพูดถึงโลกุตตระได ก็พูดทางโลกุตตระไปดวย ; แตถาบุคคล นั้นอยูในฐานะผูฟง ที่ยังเพิ่งเริ่มกันใหม ๆ ก็เอาเพียงโลกิยะ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : คุณทอง คุณชวน คุณสอนเด็กเปนฝูง ๆ คุณจะสอนเด็ก ๆ วาอยางไร ? จะสอนใหมีตัวตน หรือไมมีตัวตน.

ตอบ : สําหรับเด็ก ๆ ผมสอนใหมีตัวตนไวกอน ใหยึดความดีเขาไวกอน เพื่อตัวตนจะไดดี.

ถาม : พอเขาสอบไลตก รองไห ทีนี้เราจะวาอยางไร ? ตอบ : ผมก็ พู ด ไปในแงข องความจริงว า นี่ เป น ของธรรมดา. การสอบนั้ น ก็ตองมีการไดการตก อยางนี้เปนธรรมดา.

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๒๙๔

ถาม : นั่นเขาไปในเขตโลกุตตระหรือเปลา, ไอที่เรียกวาธรรมดานั้น ? ตอบ

: เขาไปแล วครับ . แต เด็ ก ๆ ก็ ค งยังฟ งออก เพราะอยางวา ตุ ก ตาของ เขาขาด แตกไป เราก็ บ อกว า มั น เป น อย า งนั้ น เอง, มั น ต อ งแตกได . เด็ก ๆ คงจะเขาใจวาเปนของธรรมดาได.

การสอนผูอื่นนี่มีหลายระดับ : เด็กก็อยางหนึ่ง, ผูใหญ ก็อยางหนึ่ ง. แตผู ใ หญที ่เ ปน อยา งเด็ก ก็ม ีเ หมือ นกัน ; ก็ส อนอยา งเด็ก . ผู ใ หญที ่ผ า นโลก มานาน พอที่จะรูวา ลาภยศ สรรเสริญ สุข นี้มันก็อยางนี้เอง ; ที่มันเกิดเปนพิษ ขึ้ น มาบ อ ย ๆ ก็ ใ ห มี เครื่ อ งรางป อ งกั น พิ ษ หรื อ โทษ ไว บ า ง คื อ เรื่ อ งสุ ญ ญตา, อนัตตา, หรือ อิทัปปจจยตา ; แลวแตวา คําไหนจะชวยเขาได. นี่ เรามี เรื่อ งโลกิ ย ะให เขาปฏิ บั ติ เป น พื้ น เพ แล ว มี เรื่อ งโลกุ ต ตระเป น เครื่องรางแขวนคอไว จะได นึ กได บ างในเมื่ อ เกิด ความทุ ก ขขึ้น มา เพราะวาเรื่อ ง ดี ๆ ชั่ ว ๆ นั้ น มั น ช ว ยไม ได แ ล ว . อย า งสอบไล ต ก นี้ มั น ก็ ต อ งนึ ก ถึ ง “ธรรมดา” กันแลว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี่คือ เรื่อ งที่เ ราจะตอ งชว ยกัน เพื่อ ใหศีล ธรรมกลับ มา. เราเอง มีหลักอยางไร ; แลวเมื่อจะสอนผูอื่นนั้นจะตองสอนอยางไร ; โดยเฉพาะอยางยิ่ง ในสมัย ปจ จุบ ัน นี ้ ซึ ่ง เต็ม ไปดว ยตัว ตนอยา งเขม ขน , อยา งรุน แรงทั ่ว ไปทุก หัวระแหง. ขอใหจําไวดวย. ....

....

....

....

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับสี่

๒๙๕

สรุปความวา ตนไมศีลธรรมที่มีรากฐานดี คือ มีอุดมคติวา “สัตว ทั้งหลายเปนเพื่อนทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันทั้งหมดทั้งสิ้น” ; นี้เทา กับ มีพื ้น ดิน สํ า หรับ ใหม ัน งอก ; มีค วามไมเ ปน ทาสแหง อายตนะ เปน เหมือ นน้ํา ที่จ ะรด ; มีก ารบัง คับ ความรูสึก อยูใ นทางที่ถูก ตอ ง, เปน อาหาร ที่จ ะหลอ เลี้ย งมัน ; แลว มีย ถาภูต สัม มัป ปญ ญา มีปญ ญาตามที่เ ปน จริง นี้เปนแสงแดด ; ที่ทําใหตนไมมีชีวิต เจริญงอกงามตอไป อีกอยางหนึ่ง. วันนี้ก็มุงหมายจะกลาวเพียงเทานี้ และก็ไดกลาวแลวตามลําดับมา ; เพราะฉะนั้น ไปทบทวนเรื่องโทษ ๑๐ ประการ ในกาลามสูตรนั่น ใหเขาใจ แจมแจงแมนยํากันตอไปอีก ก็คงจะมี “ยถาภูตสัมมัปปญ ญา” เปนแสงแดด หลอเลี้ยงตนไมแหงศีลธรรมได ทั้งเพื่อตนเองและผูอื่น. การบรรยายในวันนี้ ก็สมควรแกเวลาแลว ขอยุติไวที เปนโอกาส ใหพระคุณเจาทานสวดบทพระธรรม เพื่อสงเสริมกําลังจิตที่จะประพฤติปฏิบัติ ศีลธรรมนั้น ตอไปในบัดนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ---------------------

www.buddhadassa.in.th


www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม -๘๒๐ มีนาคม ๒๕๑๙

รากฐานของศีลธรรมอันดับหา [ สัทธาปสันนา : อุณหภูมิ ]

ทานสาธุชน ผูมีความสนใจในธรรม ทั้งหลาย,

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org การบรรยายประจํา วัน เสาร เปน ครั้ง ที่ ๘ แหง ภาคมาฆะบูช า ในวั น นี้ อาตมาก็ ยั ง คงกล า วโดยหั ว ข อ ใหญ ว า การกลั บ มาแห ง ศี ล ธรรม ไปตามเดิ ม และก็ จ ะได ก ล า วโดยหั ว ข อ ย อ ยว า รากฐานของศี ล ธรรม อั น ดั บ ที ่ ห  า ซึ ่ ง มี ชื ่ อ ว า สั ท ธ าป สั น น า ได แ ก ค วาม เชื ่ อ แ ล ะ ค วาม เลื่อมใสในสิ่งที่เปนที่ตั้งแหงความเชื่อ ความเลื่อมใส. [ ทบทวนการบรรยายครั้งที่แลว ๆมาไปจนถึงหนา ๓๓๐ ]

ทีนี้ก็จ ะขอทบทวน ขอ ความตามที่ก ลา วมาแลว เพื ่อ ใหเรื่อ งมัน ตอเนื่องกัน. บางอยางก็ตองทบทวนอยางซ้ําซาก โดยไมกลัววาทานผูฟงจะ ๒๙๗

www.buddhadassa.in.th


๒๙๘

การกลับมาแหงศีลธรรม

เบื ่อ หนา ย ; เพราะมัน เปน เรื่อ งที ่เขา ใจยากอยู บ างประการ. เราไดพ ูด กัน ปรารภกัน ปรึกษาหารือกัน ดวยเรื่องของศีลธรรม ในฐานะเปนสิ่งสําคัญที่สุด สําหรับความเปนมนุษย และสําหรับความเปนอยูอยางมีสันติสุข. ในปจจุบันนี้ มนุษยทั้งโลกไดทําความผิดพลาดเกี่ยวกับเรื่องนี้ จน กระทั่ง โลกนี้ไ มมีศีล ธรรม ยิ่ง ไปกวา นั้น ก็คือ วา คนรุน หลัง ไมรูจัก สิ่ง ที่เรีย ก วา “ศีล ธรรม” และโดยเฉพาะลูก เด็ก ๆ ตาดํา ๆ ที่กํา ลัง มีม า ; นี้ทํา ใหโลก เราไมมีศีลธรรมยิ่งขึ้น. เรื่องจะเปนอยางไร ; ก็ขอใหลองคิดดู วาเราไมรูจัก สิ่งที่ทําใหเราเปนมนุษย สําหรับจะอยูกันดวยความสงบสุข. คํา วา “ศีล ธรรม” ขอย้ํา อยูเ สมอ ; และขอบอกสํา หรับ ผูที่ยัง ไมทราบวา แปลวา สิ่งที่ทําความปรกติ. คําวา สีละ แปลวา ปรกติ, คําวา ธรรม ก็ แ ปลว า สิ่ ง เฉย ๆ ก็ พ อ ; สี – ล – ธมฺ ม หรื อ ศี ล ธรรม ; ธรรม หรือ สิ่ง ที่ทํา ความปรกติ ; พอไมมีศีล ธรรมก็เ กิด ความไมเ ปน ปรกติ ในทุก แงทุกมุม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org คํ า วา “ศีล ธรรม” มีใ จความสํ า คัญ สรุป ไดว า เปน ตัว แทข อง ธรรมชาติ อั น บริ สุ ท ธิ์ , ธรรมชาติ ที่ ไ ม มี ใ ครรบกวนเปลี่ ย นแปลงมั น แล ว ก็ จ ะเป น สิ่ งที่ มี ค วามปรกติ . เราจึ งถื อ ว า ความเป น ปรกติ นั้ น เป น ลั ก ษณะ เฉพาะของธรรมชาติอัน บริส ุท ธิ์ สํา หรับ ทุก สิ่ง ที ่เ ปน ธรรมชาติ หรือ เนื ่อ ง ด วยธรรมชาติ หรือ ต อ งอยู ภ ายใต ก ฎเกณฑ ของธรรมชาติ ; เช น มนุ ษ ย เรานี้ เปนตน.

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับหา

๒๙๙

ถาทานสังเกตดูใหดีแลว ก็จะพบใจความสําคัญวา ศีลธรรมนั้นคือ สิ ่ ง ที ่ ม นุ ษ ย ต  อ งกระทํ า , เป น สิ ่ ง ที ่ ม นุ ษ ย กํ า ลั ง กระทํ า จึ ง จะเป น มนุ ษ ย และเปน สิ ่ง ที ่ม นุษ ยจ ะตอ งทํ า ตอ ไป ไมม ีที ่สิ ้น สุด ; เพราะวา มนุษ ยก ็จ ะ ตองเกิดขึ้นมาใหม ๆ ไมมีที่สิ้นสุด. ศีลธรรมคือสิ่งที่มนุษยตองทํา กําลังทํา และจะทําตอไปใหถูกตองตามกฎเกณฑของธรรมชาติ. ขอใหน ึก ดูถ ึง กิจ ของมนุษ ย ซึ ่ง จะเรีย กมนุษ ยกิจ , คือ กิจ ของ มนุษ ย โดยสว นบุค คลก็ต าม ; หรือ จะนึก ถึง กิจ โดยสว นรวม คือ สัง คมกิจ กิจของสังคมก็ตาม ; ก็ไมเปนอะไรนอกไปจากศีลธรรม หรือสิ่งที่ทานตองทําให ถูก ตอ ง เปน ปรกติ ; ไมวา เพื่อ บุค คลหรือ เพื่อ สังคม. ตัว อยา งอัน แรก ก็คือ การดํารงชีวิตอยู ก็ตองเปนไปอยางมีศีลธรรม. ดํา รงชี วิ ต อย า งถู ก ต อ งนั้ น ต อ งเป น ไปตามกฎของศี ล ธรรม, ศีลธรรมก็คือกฎที่ทําใหมีความถูกตอง ในการดํารงชีวิต : นับตั้งแตวาเราจะหา มารับประทาน และจะรับประทาน จะเปน จะอยู จะนั่ง จะนอน จะยืน จะเดิน จะอาบ จะถาย ; แมแตในหองน้ํา ก็ตองมีศีลธรรมอยางถูกตองตามกิจอันนั้น. นี่เรียกวา มันเปนกฎเกณฑสําหรับการดํารงชีวิตอยู พอจะเห็นไดไมยากนัก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทีนี ้ เรื ่อ งการเมือ ง ก็ค ือ ศีล ธรรมที ่ม นุษ ยจ ะตอ งประพฤติ ปฏิบัติใ หถูก ตอ ง ในการที่จ ะเกี่ย วขอ งกัน และกัน ; ถา ไมมีศีล ธรรม ก็ไ มมี ผลในความสงบสุขของการเปนอยูที่เกี่ยวของแกกันและกัน. เดี๋ยวนี้มนุษยโงถึง ที่สุด จนถึงกับแยกการเมืองกับศีลธรรม ออกจากกันเปนคนละเรื่อง ทั้งที่ตัว การเมืองนั้น ก็คื อตัวศีลธรรมที่ มนุษ ยจะตองประพฤติกระทําให ถูกตอ ง. เขา

www.buddhadassa.in.th


๓๐๐

การกลับมาแหงศีลธรรม

แยกออกเปนคนละเรื่อง แลวก็ศึกษาแตการเมืองตามอํานาจของกิเลส มันก็ยิ่งไกล ออกไปจากกั น ทุ ก ที จนในเรื่อ งของการเมื อ งนั้ น ไม มี ศี ล ธรรม ; กลายเป น เพี ย ง เครื่อ งมือ สํ า หรับ เอาเปรีย บกัน เทา นั ้น . นี ่ค วามโงใ นขอ นี ้ คือ แยกสิ ่ง ที ่เรีย กวา ศีล ธรรมออกไปจากการเมือ ง ซึ ่ง มัน ทํ า ไมไ ด ; เพราะวา การเมือ งที ่ถ ูก ตอ งนั ้น ก็ ค ื อ ศี ล ธ รรม แข น งห นึ ่ ง ที ่ จ ะ ต อ งป ระ พ ฤ ติ ต  อ กั น ใน ระ ห ว า งห มู  ค ณ ะ หรือวาประเทศ ก็ตาม. ที นี้ มองดู ต อ ไปถึ ง เรื่ อ งเศรษฐกิ จ เราก็ ยั ง โง ถึ ง ที่ สุ ด ถึ ง กั บ แยก เรื ่อ งเศรษฐกิจ ออกจากเรื ่อ งศีล ธรรม. เรื ่อ งเศรษฐกิจ นั ้น ก็เ ปน เรื ่อ งศีล ธรรม สําหรับจะชวยใหมนุษยมีความสะดวกสบาย ในการที่เกี่ยวของกัน, เกี่ยวกับวิธีการ ที่ เรี ย กว า การค า , หรื อ การผลิ ต ขึ้ น มา สํ า หรั บ การค า . การค า เป น สิ่ ง ที่ ต อ งมี ตามธรรมชาติ เพราะว า เราไม ส ามารถทํ า อะไรด ว ยตนเองทุ ก อย า งทุ ก สิ่ ง ; จึ ง ตองมีการเกี่ยวของกันเพื่อการแลกเปลี่ยน เปนตน. มันก็จะตองมีศีลธรรมสําหรับ ประพฤติป ฏิบ ัต ิห นา ที ่อ ัน นี ้ ; ฉะนั ้น การคา หรือ การเศรษฐกิจ ในที ่ส ุด ก็ค ือ ตัวศีลธรรม ที่ตองประพฤติใหเปนอยางนั้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เดี๋ ย วนี้ ม นุ ษ ย แ ยกมั น ออกเป น คนละเรื่อ ง ; คื อ ศึ ก ษาเรื่อ งเศรษฐกิ จ ไป ตามวิถ ีท างเศรษฐกิจ ไมม ีศ ีล ธรรม ; ใครอยากมีศ ีล ธรรมก็ไ ปศึก ษา เรื่ อ งศี ล ธรรม, แยกออกไปต า งหาก จากเรื่ อ งเศรษฐกิ จ เป น ต น . มั น ก็ มี แ ต เศรษฐกิ จ ชนิ ด ที่ เป น เครื่ อ งมื อ สํ า หรั บ หากํ า ไร โดยไม ต อ งคํ า นึ ง ถึ ง ผู ใ ดหรื อ ไม คํานึงถึงศีลธรรม ; กลายเปนเศรษฐกิจที่เลวรายสําหรับมนุษยจะใชเปนเครื่องมือ เอาเปรียบกัน ดังนี้.

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับหา

๓๐๑

ที นี้ จ ะดู กั น ให ถึ ง ที่ สุ ด อี ก สั ก ตั ว อย า งหนึ่ ง ว า แม แ ต ก ารทํ า สงคราม ; ถ า ทํ า ถู ก ต อ งตามความหมายของคํ า คํ า นี้ ก็ ต อ งเป น ไปเพื่ อ รั ก ษาศี ล ธรรมให ยั ง คง มี อ ยู ใ นโลก. ฉะนั้ น จึ ง ทํ า สงครามกั น แต ใ นกรณี ที่ มี ผู ไ ม ป ระพฤติ ใ ห ถู ก ต อ งตาม ศีลธรรม ; และจะตองทําสงครามนั้น โดยอาศัยศีลธรรมเปนเหตุผล. เดี ๋ ย ว นี ้ เ รา ก็ ทํ า ส งค รา ม กั น เพี ย งเพื ่ อ เอ า ป ระ โย ช น เพื ่ อ จั บ กุ ม ผู อื่ น ไว ใ นอํ า นาจ ที่ จ ะบี บ คั้ น ได ต ามชอบใจ. และก็ อ า งเหตุ ว า ป อ งกั น ตั ว บ า ง อย า งอื่ น บ า ง ; และที่ เ ลวร า ยที่ สุ ด ก็ ว า ทํ า สงครามเพื่ อ สั น ติ ภ าพ ; ไม ม องเห็ น เลยว า มั น มี ส งครามชนิ ด ที่ ป ระกอบด ว ยศี ล ธรรม แล ว ยั งมาอ างว า ทํ าสงครามเพื่ อ สั น ติ ภ าพ. ข อ นี้ ค งจะเข า ใจยาก แต ก็ ไ ม เหลื อ วิ สั ย ที่ จ ะมองดู ใ ห เห็ น ว า สงคราม ที ่ถ ูก ตอ ง ก็เ ปน การประพฤติศ ีล ธรรมอัน หนึ ่ง ดว ยเหมือ นกัน , และเปน สิ ่ง ที่กระทําเพื่อใหศีลธรรมยังคงอยู. ถ า เป น เรื่ อ งภายใน เราก็ ทํ า สงครามกั บ กิ เ ลส ฆ า กิ เ ลสให ต ายไป ; ถ า เป น เรื่ อ งภายนอกก็ คื อ ปราบสิ่ ง ที่ ไม เป น ธรรม ให เหลื อ แต สิ่ ง ที่ เป น ธรรม ซึ่ ง เป น หนา ที ่ข องมนุษ ยที ่จ ะตอ งกระทํ า เพื ่อ รัก ษาความเปน ธรรมเอาไว. นี ่ข อใหม อง ถึงขนาดวา แมแตสงคราม ซึ่งเปนการทําลายชีวิตกัน ก็เปนศีลธรรมอันหนึ่ง ถา มัน ถูก ตอ งตามกฎเกณ ฑข องศีล ธรรม หรือ ธรรมชาติอ ัน บริส ุท ธิ ์ ; ฉะนั ้น เราจึ ง มี สิ ท ธิ์ ที่ จ ะกิ น ยาถ า ยตั ว พยาธิ หรื อ จะกํ า จั ด สิ่ ง ที่ ไม ค วรจะมี ที่ เป น อั น ตราย แก ชี วิ ต ; นี้ ไม ถื อ เป น เรื่ อ งผิ ด ศี ล ธรรม . เดี๋ ย วนี้ เราก็ ไ ม รู สึ ก อย า งนี้ ; จึ ง ทํ า สงครามเพียง เพื่อจะทําลายลางกัน เพื่อประโยชนของฝายใดฝายหนึ่ง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


๓๐๒

การกลับมาแหงศีลธรรม

ทีนี้ มองดูอีกทางหนึ่ง ถึงสิ่งที่เราเรียกกันอยูอีกหลาย ๆ ชื่อ เชน คํ า วา วัฒ นธรรม ขนบธรรมเนีย ม ประเพณี กระทั ่ง ถึง แมที ่ส ุด แต พิธ ี ; และเลยไปถึง พิธีรีต อง : นี้ก็เ ปน เรื่อ งของศีล ธรรม. ตามความมุง หมาย อัน แทจ ริง ก็เพื่อ จะใหมีศีล ธรรม ; แมวา จะเปน ศีล ธรรมในขั้น แรก ขั้น ตน ของคนสมัยปาเถื่อน ก็ตองเรียกวาเปนเรื่องของศีลธรรมทั้งนั้น. มันไมมีอะไรที่ไมใชศีลธรรม ; จึงกลาวไดวา ไมมีอะไรที่มนุษยจะ ตองประพฤติกระทํา นอกจากสิ่งสิ่งเดียวคือศีลธรรม นับตั้งแตตัวอยางที่ไดยก มาแล ว กระทั่ ง ถึ ง การแสวงหาอาหาร การกิ น อาหาร การดํ า รงชี วิ ต ให ถู ก ตองการสังคมกันใหถูกตอง เปนไปเพื่อประโยชนเกื้อกูล และมีระเบียบวินัย พิธี ที่จะทําสิ่งนี้ใหตั้งอยูอยางเปนปกแผน. อาตมาก็เลยพูดวา ไมมีอะไรที่ไมใช ศีลธรรม. คนที่ไดยินไดฟง บางคนเขาก็วาพูดอยางคนบา พูดอยางบา ๆ บอ ๆ วาไมมีอะไรที่ไมใชศีลธรรม. อาตมาก็ยังขอยืนยันอยูนั่นเองตลอดเวลา วาไมมี อะไรที ่ไ มใ ชศ ีล ธรรม ; แมแ ตจ ะกระดิก ตัว สัก นิด หนึ ่ง ก็ต อ งใหเ ปน ไป อยางถูกตองตามศีลธรรม ; มิฉะนั้น จะตองไดรับโทษ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี่ส รุป ความกัน เสีย ทีห นึ่ง วา ไมมีอ ะไรที่ไมใชศีล ธรรมในโลกนี้ ; แตเดี๋ยวนี้เขาก็ไมรูจักคํานี้ ในโลกนี้ไมมีการพูด กัน ถึงศีลธรรม : ในที่ประชุม สหประชาชาติก็ดี หรือ ที่ไ หนก็ดี ไมมีใ ครพูด ถึง ปญ หาศีล ธรรม ; เขาพูด ถึงปญหาการเมือง เรื่องสงคราม เรื่องเศรษฐกิจ เรื่องอะไรกันเปนคุงเปนแคว ; ไม เ คยหายใจด ว ยลมหายใจที่ มี ศี ล ธรรม มั น ก็ ทํ า โลกนี้ ใ ห ส งบสุ ข ไม ไ ด .

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับหา

๓๐๓

ภายในประเทศหนึ่ง ๆ ก็เหมือ นกัน , ในสภาผูแ ทนฯ ก็ไมพูด กัน ถึงศีล ธรรม, รัฐบาลแถลงนโยบายตอ สภาผูแทนฯ ก็ไมมีศีลธรรมสักคําหนึ่ง ในบรรดานโยบายที่แถลงออกไปนั้น. อาตมาอุตสาหทนฟงมาหลายยุค หลาย สมัยแลว. สมัยกอนยังมีคําวา “เพื่อศีลธรรมอันดีของประชาชน” ; มีแตคําพูด ก็ยังดี. เดี๋ยวนี้ไมมีเลย แมแตคําวา “ศีลธรรม”. นั่นแปลวา ไมไดสนใจเรื่อง ศีลธรรม, ก็เปนรัฐบาลที่ไมมีศีลธรรม, เปนสภาผูแทนราษฎรที่ไมมี ศีลธรรม, กระทั่งเปนพลเมืองที่ไมมีศีลธรรม ; แลวอะไรจะเกิดขึ้น ก็พอจะทราบกันไดเอง ; ก็คือสิ่งที่กําลังเกิดขึ้นนี่เอง เปนผลของความไมมีศีลธรรม. ขอสรุป ความวา กิจ ของสัง คม, สัง คมกิจ แลว แตจ ะเรีย ก ทุก ชนิด ทุก แขนง ตอ งเปน ตัว ศีล ธรรมทั้ง นั้น . ขอทบทวนใจความสํา คัญ ของ คําวาศีลธรรม ในลักษณะอยางนี้ไวเสมอ. เรื่อ งที ่เราเคยกลา วกัน มาแลว ตอ ไปก็ค ือ วา ศีล ธรรมอยูที ่ไหน ? ควรจะมองดูใหกวางใหลึกลงไป วามีศีลธรรมในสายโลหิต. คนแก ๆ อาจจะ เขาใจ ; พวกเด็ก ๆ คงจะเขาใจยาก. แตมันก็ไดมีอยูจริง โดยเฉพาะประชาชน ชาวไทยเรา มี ศ ี ล ธรรมอยู  ใ นสายเลื อ ด สายโลหิ ต จากบรรพบุ รุ ษ ; เพราะวาบรรพบุรุษของเรา เปนผูมีศีลธรรม และก็ถายมาโดยทางสายโลหิต ; ฉะนั้น ลูกเด็ก ๆ เหลานั้นจึงอบรมงาย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org มีขนบธรรมเนียมประเพณี ที่ใหมารดาผูตั้งครรภ ตั้งอยูในศีลธรรม อยา งยิ ่ง . ความขอ นี ้ม ีป รากฏอยู แ มใ นพระไตรปฎ ก วา พระพุท ธมารดา สมาทานศี ล ธรรมเป น อย า งยิ่ ง ในขณะที่ ดํ า รงครรภ . เขามี ข นบธรรมเนี ย ม

www.buddhadassa.in.th


๓๐๔

การกลับมาแหงศีลธรรม

ประเพณีอยางนี้เรื่อยมา ในประเทศอินเดีย, แลวก็ตองมีมาถึงประเทศไทยเราดวย ; เพราะวา ประเทศไทยเราก็มีวัฒ นธรรมอิน เดีย มาเต็ม ที่ รวมทั้งพุท ธศาสนาดว ย ซึ่ งก็ ค วรจะถื อ ว า เป น วั ฒ นธรรมอิ น เดี ย ด ว ยเหมื อ นกั น . ฉะนั้ น เราก็ มี อ ะไร ๆ อย างอิน เดีย ในทางวัฒ นธรรม, มี ศีลธรรมกั นมาเป น อยูในสายเลือ ด ; แตเวลา มันตั้ง ๒,๐๐๐ ปมาแลว มันก็มีการเปลี่ยนแปลง. ครั้นมาถึงยุคที่โลกบู ชาวัตถุ ก็หันไปสนใจกันแตในทางวัตถุ ; ความ สนใจในทางศี ล ธรรมก็ จ างไป. บางคนอยากจะเต น รํ า จนถึ ง วั น คลอดก็ ไ ด กระมัง , มีค รรภแ ลว ก็ย ัง อยากจะเตน รํ า ; เพราะวัฒ นธรรมใหม อยากจะ บํารุงบําเรอดวยวัตถุ, มีวัตถุเปนเครื่องบํารุงบําเรอ มันก็ตองเปลี่ยนแปลงไปมาก ในส ว นที่ ว า จะมี ศี ล ธรรมหรื อ ธรรมะ ในสายเลื อ ดสื บ ทอดกั น มา. ขอให ส นใจ สังเกตศึกษาไวสักอยางหนึ่งวา สิ่งที่เรียกวา ศีลธรรมนั้นตองตั้งตนมาตั้งแต ในสายโลหิต.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ที นี ้ พ อ ค ล อ ด อ อ ก ม า เป น ม นุ ษ ย ศี ล ธ ร ร ม ก็ จ ะ ต อ ง มี ใ น ระบบของการศึก ษาอบรม นับ ตั ้ง แตท ารกลืม ตาขึ ้น มาในโลกนี ้ ก็ต อ งใหเ ขา ไดถ ูก แวดลอ ม ดว ยสิ ่ง ที ่เ ปน ศีล ธรรม, หรือ แสดงออกซึ ่ง ศีล ธรรม ; เรีย กวา ในการศึ กษาการอบรม ตั้งแต ออ นแต อ อก มาจนกวาจะสํ าเร็จการศึ กษา ก็เต็ ม ไปดว ยศีล ธรรม. เดี ๋ย วนี ้เราไมท ราบ แลว เราไปทํ า ลายขนบธรรมเนีย ม ที ่เขา ทํ า ไวด ี ; ที ่ทํ า มีศ ีล ธรรมมาตั ้ง แตอ อ นแตอ อก. การศึก ษาของเด็ก ๆ สมัย นี้ เราก็ตัดศีลธรรมออกไป ตามแบบสมัยใหมของพวกที่ไมตองการศีลธรรม.

การศึ กษาของประเทศไทยเรา ไปตามกนพวกตะวันตก จนถึงกับตั ด ศี ล ธรรมออกไปจากระบบของการศึ ก ษา ซึ่ ง เขาถื อ ว า มั น เป น เรื่อ งส ว นตั ว ของ

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับหา

๓๐๕

บุคคล ; ใครอยากรูก็ไปเรียนรูเอาเอง ไมตองเอามาใสไวในการศึกษาบังคับของ ลูก เด็ก ๆ ; เขาเกิด ความคิด เปลี่ย นตรงกัน ขา มอยางนี้ การศึก ษาศาสนาหรือ ศีลธรรม มันก็หายไปจากการศึกษาของพวกลูกเด็ก ๆ. มันก็เปนความผิดพลาด ในการที่จะมีศีลธรรมอยางยิ่งไปตั้งแตเด็ก. อีกขั้นหนึ่ง ขั้นสุดทาย ก็คือวา เปนผูใหญแลว ตองมีศีลธรรม ในการดํารงชีวิตสืบตอไป จนถึงวาระสุดทายของการดับจิต. ขอใหมี ศีล ธรรมในลัก ษณะ ๓ สมัย ๓ ประเภท ( : ในครรภสมัยเด็ก - ผูใหญ ) ดวยกันอยางนี้. นี่ก็ขอย้ําอยูเสมอ และทบทวนกันอยูเสมอ. ทีนี้ เรามองเห็นแลววา ตองการจะมีศีลธรรม ก็ตองสนใจศึกษา ไปยังตัว สิ่งที่เรีย กวา ศีล ธรรมนั้น . มัน จะมีรูป โครงอยา งไร จะไดจัด การใหถูก ตั้งแตตนจนปลาย ซึ่งไดเปรียบรูปโครงของศีลธรรมนี้กับตนไมทั่ว ๆ ไป จนเรียก ชื่อวาพฤกษาแหงศีลธรรม ; ซึ่งก็ไดวินิจฉัยแลกเปลี่ยนความคิด ความเห็นกัน เป น อั น มากในเรื่อ งนี้ วา มี ต น พฤกษาแห งศี ล ธรรม ซึ่ งมี ต อนโคนหรือ ตอนราก ตอนหนึ ่ง , ตอนที ่เ ปน ลํ า ตน และกิ ่ง นั ้น ตอนหนึ ่ง , ตอนที ่เ ปน ใบเปน ดอก เปนลูก นั้นอีกตอนหนึ่ง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอนที ่เ ปน รากเปน โคน ก็ค ือ อุด มคติที ่ถ ูก ตอ งของศีล ธรรม, หรือความรู ความเขาใจที่ถูกตอง ของสิ่งที่เรียกวา ศีลธรรม ดังที่กลาวมาแลว นั่นเอง. ถาเราไมมองเห็นความจริงอันนี้ มันก็ไมมีอุดมคติอะไรเกิดขึ้น เกี่ยวกับ ศีลธรรม ; ความคิดก็จะเดินไปผิดทาง เพราะไมมีรากของตนไม แลวตนไมจะอยู

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๓๐๖

ได อ ย างไร. ที่ เป น ตอนลํ า ต น และเป น กิ่ ง ที่ เนื่ อ งอยู กั บ ลํ า ต น นั้ น เราหมายถึ ง การปฏิ บั ติ ดี ปฏิ บั ติ ช อบ ตามอุ ด มคติ นั้ น ๆ จนกว า จะถึ ง ตอนปลาย ยอด คือ ใบ ดอก ผล คือ อานิส งสต า ง ๆ ที ่เกิด ขึ ้น แกม นุษ ย. สรุป ความแลว ก็ค ือ สัน ติส ุข สว นบุค คล และสัน ติภ าพสว นสัง คมนั ่น เอง. ขอรอ งใหด ูล ัก ษณะ ที่ เป น ภาพพจน , หรือ ภาพอุ ป มา หรือ มโนภาพอะไรก็ สุ ด แท ว า ศี ล ธรรมของเรา ของมนุ ษ ยนี้ เปรีย บเหมื อ นกับ ต น ไม มี ราก มี โคน มี ต น มี กิ่ ง แล วก็ มี ใบ มี ด อก มีลูก ในลักษณะอยางนั้น. ปญ หาก็เ กิด ขึ ้น วา เรากํ า ลัง มีอ ยู ห รือ เปลา ? เรามีต น ไมแ หง ศีลธรรมอยูในใจของมนุษยหรือเปลา ? นี่กําลังทดสอบกันอยูในตอนนี้. ....

....

....

....

ที นี้ เพื่ อ ให ท ดสอบได ง า ยได ล ะเอี ย ดขึ้ น ก็ จ ะแยกเป น รายละเอี ย ด เป น ส ว น ๆ ไป ; ที่ เป น ส ว นรากฐานแท ๆ จะพิ จ ารณากั น ถึ ง ส ว นรากที่ ต น ไม จ ะ อาศัยอยูได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทุ ก ค น ม อ งเห็ น ได ว  า ต น ไม ต  อ งอ าศั ย แผ น ดิ น เป น ข อ แรก ; ไม มี แ ผ น ดิ น ต น ไม จ ะอาศั ย อะไร ; แม ไม มี แ ผ น ดิ น ก็ ต อ งมี อ ะไรทํ า หน า ที่ แ ทน แผ น ดิ น ให ต น ไม มั น เกาะอยู ไ ด ; ยั ง จะต อ งอาศั ย น้ํ า เพื่ อ ทํ า ความสดชื่ น ของ ชี วิ ต หรือ ละลายอาหารได ; ยั งจะต อ งอาศั ย อาหาร คื อ แรธ าตุ ทั้ ง หลายที่ ต น ไม จะไดร ับ ดูด ซึม เขา ไปเลี ้ย งตน ; ยัง จะตอ งอาศัย แสงสวา งที ่ถ ูก ตอ งที ่เ พีย งพอ ต น ไม จึ ง จะเจริญ อยู ได ; และยั ง จะต อ งอาศั ย อุ ณ หภู มิ คื อ ความรอ นที่ พ อเหมาะ

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับหา

๓๐๗

พอดี ต น ไม จึงจะเจริญ งอกงามอยู ได . นี่ เป น อุป มาแห งป จจั ย เป น ที่ ตั้ ง ที่ อาศั ย แหงตนไมของศีลธรรม. ในครั ้ง สุด ทา ยที ่แ ลว มา เราไดพ ูด ถึง เรื ่อ งแสงสวา ง ซึ ่ง ตน ไม ศีลธรรมตองการ ถาม : ฉะนั้ น ขอสอบความจํ า ความเข า ใจกั น ในตอนนี้ ว า อะไรที่ จ ะเปรีย บ ได ด วยแผ น ดิ น ? อะไรที่ จ ะเปรีย บได ด วยน้ํ า ? อะไรที่ จ ะเปรีย บได ด วย อาหาร ? อะไรที่จะเปรียบไดดวยแสงสวาง ? คุณประยูรวาไปที ? ตอบ

: สิ่ ง ที่ เปรี ย บได กั บ แผ น ดิ น สํ า หรั บ เป น รากฐานรองรั บ ต น ไม นั้ น ก็ คื อ บรมสั จ จะ ความจริ ง อั น สู ง สุ ด ที่ ว า สั ต ว โ ลกทั้ ง หลายนี้ เป น เพื่ อ น รวมทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันทั้งหมดทั้งสิ้น. เราควรมีความรัก ความเมตตากัน นั่นคือตัวแผนดิน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ส วนที่ จะเปรี ยบเที ยบได กั บ น้ํ าของต นไม ก็ คื อสิ่ งที่ ม าให ความเย็ น ซึ่งตรงกันขามกับความรอน สิ่งนั้นก็ไดแก ความไมเปนทาสของอายตนะ. การที่ เ ราเป น ทาสของวั ต ถุ หรื อ เป น ทาสของอายตนะนั ้ น เป รี ย บ ประดุ จ ความรอ น เพราะฉะนั้ น สิ่ งที่ เป น น้ํ า ตรงกั น ข า มกั บ ความร อ น ก็คือ ความไมเปนทาสของอายตนะนั้น ; เรียกวา น้ํา.

สิ่งที่เปนอาหารที่ละลายไปในน้ํา ก็คือ การบังคับความรูสึก. การบังคับ ค ว า ม รู  สึ ก นี้ เปรี ย บประดุ จ อาหาร สํ า หรั บ ไปหล อ เลี้ ย งใ ห ต  น ไ ม ศีลธรรมเจริญเติบโตได.

www.buddhadassa.in.th


๓๐๘

การกลับมาแหงศีลธรรม แล ว สิ่ ง ที่ ๔ ก็ คื อ ได แ ก อากาศ หรื อ เรี ย กว า แสงสว า ง นั้ น ก็ คื อ ป ญ ญาอั นถู กต อง, หรือป ญ ญาอั นชอบ ที่ เรียกวา ยถาภู ตสั มมั ปป ญ ญา เปน ปญ ญาที ่เ กิด ขึ ้น มาจากความรู ส ึก ของตนเอง มิไ ดเ ปน ปญ ญาที่ เกิด มาจากความเชื ่อ ดา นอื ่น ที ่พ ระพุท ธเจา ไดต รัส ไวใ นกาลามสูต ร ใหเ ราใชป ญ ญาหรือ แสงสวา งที ่ถ ูก ตอ งตามธรรมชาติ และเรารู ส ึก ของเราเองได เรียกวา ยถาภูตสัมมัปปญญา ; นี้เปนแสงสวาง.

นี ่ค ุณ จํ า ไดด ี, หรือ เขา ใจไดด ี ; นี ่เ ปน เพีย งทดสอบ. ขอใหท า น ผูฟงบางทาน ถาสมมติวายังไมเคยฟ ง ขอไดทําความเขาใจในขอนี้ใหมากเปนพิ เศษ เรื ่อ งรากฐานของตน ไมศ ีล ธรรม. ที ่เ ราพูด ถึง ตน ไมนี ่ ก็เ พื ่อ ชว ยใหจํ า งา ยวา ต น ไม ต  อ งการแผ น ดิ น ; ต น ไม ต  อ งการ น้ํ า ; ต น ไม ต  อ งการ อาหาร ; ตน ไมต อ งการแสงสวา ง. ตน ไมต อ งการแผน ดิน , แตต น ไมศ ีล ธรรมตอ งการ แผน ดิน คือ ความเขา ใจอัน ถูก ตอ งวา สัต วทั้งหลายเปน เพื ่อ นทุก ข เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันทั้งหมดทั้งสิ้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : เดี๋ยวนี้ในโลกนี้ เรามีความรูสึกวา ทุกคนเปนเพื่อนเกิด แก เจ็บ ตาย แกกันและกันทั้งหมดทั้งสิ้นหรือไม ? เอา คุณทอง, คุณวิจารณเรื่องนี้ซิ.

ตอบ : เดี๋ ย วนี้ โลกกํ า ลั ง ขาดความรู สึ ก ที่ ว า “สั ต ว ทั้ ง หลายเป น เพื่ อ น เกิ ด แก เจ็บ ตาย รว มสุข รว มทุก ขด ว ยกัน ทั ้ง หมดทั ้ง สิ ้น ”. พิส ูจ นไ ดโดยที ่ม อง ไป ยัง การเป น อ ยู ท ุก วัน นี ้. ค น ทุก วัน นี ้ มีค วาม โล ภ ไมม ีข ีด ขั ้น , ไม มี อาณาจั กรแห งความเป นโลภ. เมื่ อ ความโลภไม มี อ าณาจั กรเช น นี้ ก็ ย อ มจะมี ก ารขั ด กั น ซึ่ ง ผลประโยชน . เมื่ อ มี ก ารขั ด กั น ก็ ย อ มจะต อ งโกรธ ด ว ยเหตุ ที่ ว า เขาหลงในสิ่ ง ที่ จ ะเป น มาโดยทางวั ต ถุ นั้ น , เพราะฉะนั้ น กระผมจึง เรีย นวา โลกนี ้กํ า ลัง ขาดความรู ส ึก นั ้น ; เพราะวา ทุก คน ตางก็เห็นแกตัว.

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับหา

๓๐๙

ถาม : นักเรียนทุกคนในโรงเรียนของคุณมีความรูสึกวา สัตวทั้งหลายเปนเพื่อน ทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันหรือไม ; คุณ ทองอีก, ในโรงเรียน ของคุณ ? ตอบ : วาที่จริงแลว พื้ นเพของเด็ ก ๆ มี สิ่งนี้ นอ ยมากครับ ลําพั งความเห็ น แกตัว มีเหมือ นกัน แตวา นอ ยกวา ผูใหญม าก ; เพราะวา เด็ก นั้น มี แตเ รื่อ งเลน เรื่อ งกิน เปน สํ า คัญ . ทีนี ้เ รื่อ งเลน นั ้น การเลน ก็จ ะ ตองเขาพวก เขาหมู และการทะเลาะกันเพราะเรื่องเลนนั้นมีนอย ;แต ในหมูของผูใหญมีมาก. ถาม : ในโรงเรียนของคุณมีเด็กกี่คน ที่พูดประโยคนี้ไดวา “สัตวทั้งหลายเปน เพื่อนทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันทั้งหมดทั้งสิ้น ?” ตอบ : คําพูดอาจจะไมมี, คําพูดอาจไมมีประโยคนี้ ; แตวาในความรูสึก อาจจะมี ; คือ ที ่เ ขาชว ยเหลือ ซึ่ง กัน และกัน แบง ที ่เ ลน แบง ของ เลน กัน อยา งลูก ฟุต บอลลลูก หนึ่ง เด็ก รว มเลน กัน ไดป ระมาณสัก ๑๐ กวาคนได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : นั่นเขารวมกันเลนได เพราะหากเขาไมรวม เขาจะไมมีเพื่อนใชไหม ? ตอบ : ใชครับ. ถาม : หรือวาเขาแบงของใหเพื่อนดวยความรูสึกที่แทจริงวา เปนเพื่อนรวม เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกัน ?

www.buddhadassa.in.th


๓๑๐

การกลับมาแหงศีลธรรม

ตอบ : ก็มีพอ ๆ กัน ครับ เพราะเขารูสึกวา ถาหารเขาขาดเพื่อนแลว การ เลนนั้น จะไมมีรสชาติ, หรือจะเปนไปไมได. ตอ ไปนี ้ก ็ไ ปบอก ใหเ ขาทอ งประโยคนี ้ก ัน เสีย บา ง อยา งที่ สมั ยอาตมาเด็ก ๆ นั้ นท องประโยคนี้ เพราะวาโยมสอนให ทอง หรือบั งคับให ท อง, และก็ ไ ด ยิ น โยมท อ งทุ ก คื น เมื่ อ สวดมนต . เด็ ก ๆ ยั ง ไม ทั น หลั บ จะได ยิ น คํ า ว า “สัตวทั้งหลายเปนเพื่อนทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันทั้งหมดทั้งสิ้น” ; และอาตมาในฐานะเปน เด็ก ๆ เล็ก ๆ นี ่ก ็ท อ งได. พอมาถึง สมัย นี ้ ก็ด ูซ ิ, พอ สอบถามกันดู มันก็ไดความอยางนี้. ถาม : นี่คุณเห็นวา ความรูสึกวาสัตวทั้งหลายเปนเพื่อนทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย ด ว ยกั น ทั้ ง หมดทั้ ง สิ้ น นี้ มั น จะป อ งกั น ไม ใ ห เกิ ด โลภะ โทสะ โมหะได อย า งไร ? คุ ณ ล้ํ า ตอบสั ก ที เพราะว า เป น กํ า นั น ; มั น จะป อ งกั น ไม ใ ห เกิ ด โลภะ โทสะ โมหะ ได อ ย า งไร ? ถ า เรารูสึ ก ว า เราเป น เพื่ อ นทุ ก ข เกิด แก เจ็บ ตายดวยกัน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : ถาคนมองเห็นถึงความเปนเพื่อน เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันทั้งหมด ทั ้ง สิ ้น ; ถา มองเห็น อยา งนี ้ โดยเหตุที ่จ ะเห็น นี ่ผ มจะอธิบ ายไป มั น ก็ เป น เรื่ อ งเกี่ ย วโยงกั น มาก ; การเห็ น นี่ ถ า เห็ น มั น จึ ง จะดี . แต ทุ ก วั น นี้ ค นไม เห็ น , คนไม ได เห็ น ความเกิ ด แก เจ็ บ ตาย ด ว ยกั น ทั้ งหมด ทั ้ง สิ ้น . โดยสว นใหญ  ชนทุก ระดับ ไมไ ดม องเห็น ถึง เพื ่อ นทุก ข เกิ ด แก เจ็ บ ตาย ด วยกั น ทั้ งหมดทั้ งสิ้ น ; เพราะเหตุ ว า ต างคนต างก็ เห็นแกตัว.

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับหา

๓๑๑

อั น นี้ ถ า จะพู ด ให ดี แ ล ว ชนชั้ น ทุ ก ระดั บ ตั้ ง แต ชั้ น ปกครอง ระดับสูงลงมาจนถึงระดับต่ํานั้น ผมวาชนชั้นปกครองระดับสูง เปน ชั้น สําคัญ เพราะเปน ตัวอยางของชนระดับ ต่ํา. ถาชนระดับ สูง ไม ไดเห็นถึงเพื่อนเกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันแลว, ชนระดับต่ํา เปน ชนชั้นกรรมาชีพ เปนชนชั้นกรรมกร ก็ไมมีทางที่จะเห็นได. การไมมีทางเห็นไดนี้ จะไมมีทางใหบานเมืองสงบลงได และ จะไมเห็นถึงความเกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันทั้งหมดทั้งสิ้นได เพราะ ชนชั้น ปกครองระดับ สูง เปน ตัว จัก รสํา คัญ . ถา ชนชั้น ปกครอง ชั้นสูงไดเห็นถึงความทุกข ซึ่งมนุษยเกิดมาก็เพื่อความเกิด ความแก ความเจ็บ ความตาย ดวยกันทั้ งหมดทั้ งสิ้นด วยแลว ประชาชนทั่ ว ประเทศหรือทั่วโลก จะไดอยูกันเปนสุข. นี้ดีนี่ เพิ่งนึกขึ้นมาไดใหมวา เราควรจะสังเกตความหมายของคําวา “เพื่อน”. เมื่อคนคนนั้นเองเขาก็ไมรูสึกวา ตัวเองจะตองเกิด แก เจ็บ ตาย แลว เขาจะไปรูสึกวา คนทั้งหลายเปนเพื่อนเกิด แก เจ็บ ตาย ไดอยางไร ; เพราะไม มองเห็นวาตัวเองนี่ก็ตองเกิด แก เจ็บ ตาย. นี่เขาจึงไมนึกถึงการเปนเพื่อนแหง การเกิด แก เจ็บ ตาย กับผูใด ; แลวเขาหันไปอีกทางหนึ่ง ไปมีความเปนเพื่อน กันในลักษณะไหนละ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : คุณประยูรวาดูซิ เมื่อไมเปนเพื่อนเกิด แก เจ็บ ตาย กันแลว มันจะ เปนเพื่อนลักษณะไหนอีก ? โดยเฉพาะที่มีอยูจริงในโลกในเวลานี้. ตอบ : เปนเพื่อนที่คอยเอารัดเอาเปรียบซึ่งกันและกัน.

www.buddhadassa.in.th


๓๑๒

การกลับมาแหงศีลธรรม

ถาม : เรียกวา เพื่อน อยางไรละ ? ตอบ : เปนศัตรู. ถาม : เป นศัตรูก็ไมใชเพื่ อน ; เราตองการคําวา เพื่ อน ความหมายของคําวา เพื่อน ในอีกความหมายหนึ่ง. ตอบ : เปนเพื่อนเทียม. ก็ต องเรียกวา เพื่ อน เพื่ อ นกิ น เพื่ อ นเล น เพื่ อ นซ องสุม กัน เป น พวก เปน หมู ค ณะ ไปปลน คนอื ่น ไปเอาประโยชนข องประเทศอื ่น มา ; มัน เกิด เปนเพื่อนในอีกความหมายหนึ่งคือ ไมใชเพื่ อนเกิด แก เจ็บ ตาย ; แตเปนเพื่อน สําหรับจะไมรูจักความเกิด แก เจ็บ ตาย ; แลวก็เปนเพื่อนสําหรับใชกิเลสแกกัน และกัน เปนเพื่อนมีกิเลส, เปนเพื่อนใชกิเลส, เปนเพื่อนทําตามอํานาจของกิเลส ; ก็เปน เพื ่อ นลงอบาย. มัน ก็เปน เพื ่อ นเหมือ นกัน มัน ก็รัก กัน เปน ที ่สุด ในหมู ค น ที่ เป น มิ จ ฉาทิ ฏ ฐิ ; มั น ก็ เป น เพื่ อ นอย า งมิ จ ฉาทิ ฏ ฐิ . มั น เป น ๒ เพื่ อ นอยู ต อ ง จํากัดใหชัดลงไปวา เพื่อน เกิด แก เจ็บ ตาย กําลังไมมีในโลก ; แตวาเพื่อนที่จะ สุมหัวกันคิดราย ประทุษรายผูอื่น กําลังมีแนนอัดอยูในโลก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org พูด ไดไ หม ? วา ในโลกนี ้กํ า ลัง มีเพื ่อ นที ่ต รงกัน ขา ม จากเพื ่อ นเกิด แก เจ็บ ตาย, มีแ ตเพื ่อ นที ่จ ะใชก ิเลสชวนกัน ลงอบาย. ถา ไมอ ยา งนั ้น โลกนี้ ไมวิ ่ง เร็ว อยา งนี ้ด อก ; โลกกํ า ลัง วิ ่ง เร็ว ไปในทางวัต ถุ ในทางกิเ ลส ; เพราะ เขามีเพื่อนมาก.

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับหา

๓๑๓

ถาม : เมื่อตะกี้ยังไมไดตอบคําถาม ไดตรงตามคําถามวา ถาหากวาเรามีความรูสึก วา “ทุ กคนเปนเพื่อน เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันทั้งหมดทั้งสิ้นแลว” ความรูสึกอันนี้จะปองกัน หรือกําจัดโลภะไดอยางไร ? คุณประยูรเปน หมอตองตอบ. ตอบ : เมื่ อ เรามี ค วามรูสึ ก ว า ทุ ก คนเป น เพื่ อ นรวมทุ ก ข เกิ ด แก เจ็ บ ตาย ตองพึ่งพาอาศัยกันแลว เราจะทําสิ่งหนึ่งสิ่งใดที่จะเอามาเปนสวนเกิน หรือ เห็น แกตัว นั้น มัน ทํ าไปไมได ; เพราะจะตอ งเห็น แกค นอื่น ดว ย เทา กับ ตัว เราเอง หรือ อาจจะมากกวา เราเองก็ไ ด. เมื่อ เราเห็น แก คนอื่ น ด ว ย เราก็ ต อ งเจี ย ดส ว นเกิ น เอาส ว นเกิ น นั้ น ไปช ว ยคนอื่ น ; อยา งนี้ค วามโลภมัน ก็เ กิด ขึ้น มาไมไ ด. เมื่อ เราทํา อะไรตามพอดี ก็ไ มเ รีย กวา โลภะ ; ฉะนั ้น ถา เราเจีย ดสว นเกิน ของเราไปใหค น อื่นก็เทากับเปนการปองกันความโลภไปในตัว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : พอใชได ; มองเห็นลูทางวามันจะปองกัน และกําจัดโลภะได. ทีนี้ ความรูสึกวาสัตวทั้งหลายเปนเพื่อน เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันทั้งหมด ทั้งสิ้นนี้ จะปองกันหรือกําจัดโทสะหรือโกธะไดอยางไรละ คุณทอง ? ตอบ : ในเมื่ อ ทุ ก คนรู สึ ก ว า เป น เพื่ อ น ก็ คิ ด ว า ในโลกนี้ ชี วิ ต ก็ คื อ ชี วิ ต เดี ย ว ; เพราะวาสั ต วทั้ งหลายก็เป น เพื่ อ นกัน คิ ดเสียวาชีวิตนี้ ก็เป น ชีวิตเดีย ว ในโลก ยอ มมีค วามตอ งการอะไร ๆ เหมือ นกัน . การที่จ ะเกิด ขัด แยง กัน ในเรื ่อ งผลประโยชน อัน เกิด จากโลภะนั ้น ยอ มไมม ี ; ดัง ที ่ค ุณ หมอไดอ ธิบ ายมาแลว . ทีนี ้ โทสะ, ก็เ มื ่อ เราคิด วา เราเปน เพื ่อ นกัน อยู ร วมในโลกนี ้ด ว ยกัน การที ่จ ะเบีย ดเบีย นปองรา ยกัน นั ้น ก็ย อ ม ไมมีครับ.

www.buddhadassa.in.th


๓๑๔

การกลับมาแหงศีลธรรม

อยากจะใหมองความหมายที่ลึกกวานั้น ; ที่วาเราเปนเพื่อนกันเหมือน กับ วา เปน คนคนเดีย วกัน ในโลกนี้ ก็ถูก . แตอ ยากใหม องลึก กวา นั้น วา เรา เปนเพื่อนทุกข เพื่อนยาก. นี่ความหมายมันยังลึกลงไปอีก เพื่อนทุกข เพื่อนยาก เพื่อนลําบากเพราะการบีบคั้นของความเกิด แก เจ็บ ตาย. ถารูสึกวาเปนเพื่อน ยากดวยกันแลว ก็ยากที่จะโกรธ หรือยากที่จะประทุษรายกันลงคอ. ถาม : ทีนี้ มันคงจะตอบยากสักหนอยวา ถาเรารูสึกวา “สัตวทั้งหลายเปนเพื่อน ทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันทั้งหมดทั้งสิ้นแลว” จะปองกันหรือ กําจัดโมหะ ไดอยางไร, คุณล้ํา ? ตอบ : การปองกันโมหะนี่ ความจริงมันตองอาศัยปญญา. เกี่ยวกับการที่เรา เห็น เพื ่อ น เกิด แก เจ็บ ตาย ดว ยกัน แลว เราก็จ ะไดใ หส ติซึ ่ง กัน และกันชี้แนวในทางที่ถูกที่ควร โดยอาศัยความเอื้อเฟอในความเห็นที่ ถูกตองในโดยแนวทางซึ่งพูดยอ ๆ ก็คือ มรรค ๘ คือความเห็นที่ถูกให แกกันและกัน, แลวสังคมหรือบุคคลก็จะไดซึ่งปญญา แลวคนจะไม ตกอยูในความหลง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org พอฟงออก, สรุปความรูสึกของคุณ ไดวา ถาเรารูสึกวาทุกคนเปน เพื่ อนทุ กข เพื่ อ นยากแกกัน และกันแลว เราก็ชวยกันให เขาได มีค วามรู มีส ติ ปญญา ; เปนการกําจัดโมหะของ เพื่อนยากของเรา, ทุกคนก็จะมีปญญาขึ้นมา.

ถาม : นี้อยากจะใหมองอีกแงหนึ่ง ซึ่งเรียนวา มองยาก ; จะถามคุณวาการที่ เรารูวา “สัตวทั้งหลายเปนเพื่อนทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันทั้งหมด ทั้งสิ้น” นี้เปนปญญาหรือเปลา ?

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับหา

๓๑๕

ตอบ : ก็คือ ปญญา ครับ. ถาม : นั่นแหละคือ ปญญา ; ตองยอมรับอยางนี้เสียกอนวา การที่มองเห็นถึง ขนาดรูสึกวาสัตวทั้งหลายเปนเพื่อน เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันทั้งหมด ทั้งสิ้นนี้ ก็คือปญ ญาอยางยิ่งแลว ; และปญ ญานี้จะนําใหเกิดความรัก เมตตาสามั ค คี ไม ให เกิ ด โลภะ หรื อ โกธะ เป น ต น แล ว จะนํ า มา ซึ่ ง สันติภาพในโลกนี้ไดไหม ? ตอบ : ไดครับ. ถาม : ตองได! อยาลังเลนะ อยาตอบดวยความลังเล ตองมองเห็นจริง ๆ วา มันได. ทีนี้ สติปญญาทั้งหมดทั้งสิ้นของมนุษย จะมีกี่แขนง มีกี่ประเภท กี่รอยกี่พันประเภทก็ตาม ความมุงหมายของปญญานั้น มุงหมายจะสราง สันติภาพขึ้น ในหมูมนุษยใชไหม ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : ใชครับ.

ถาวาเรามี สัน ติ ภ าพ ขึ้น ในหมู ม นุ ษ ย แล ว เราก็ ควรถื อ วาเราประสบ ความสําเร็จในการมีปญ ญา ; ฉะนั้น เราไมตองมีปญ ญาไปเสียทุกสิ่งทุกอยาง : เรามีปญ ญาแตเพียงเพื่อเบียดเบียนกันไมลง ไมเกิดโลภะ โทสะ ใสกัน มันก็พอ แลว ; มันเปนปญ ญาอยูในตัว เรียกวา กําจัดโมหะที่เปนขาศึกของมนุษยเราได. ฉะนั ้น ขอใหถ ือ วา ถา เรามีพื ้น ฐานอัน นี ้แ หง จิต ใจวา “สัต วทั ้ง หลายเปน

www.buddhadassa.in.th


๓๑๖

การกลับมาแหงศีลธรรม

เพื ่อ นทุก ข เกิด แก เจ็บ ตายดว ยกัน ทั ้ง หมดทั ้ง สิ ้น ” ก็จ ะปอ งกัน หรือ กําจัดโลภะ โทสะ โมหะ ไดทั้งสามอยาง. ขอใหม องใหเ ห็น และถือ อยู เ ปน หลัก แลว ชว ยไปอบรมนัก เรีย น ลูก เด็ก ๆ ในโรงเรีย น, หรือ ประชาชนที ่เปน ลูก บา นของกํ า นัน , หรือ วา คนเจ็บ คนไขข องหมอในขณะที ่เขานอนเจ็บ อยู นั ่น แหละ ; ใหรูส ึก วา “เราเปน เพื ่อ น ทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันทั้งสิ้น” ; มันงายดี. นี่รากฐานแรกและสําคัญ ที่สุดของตนไมแหงศีลธรรมนั้น คือความ เขา ใจอัน นี ้ จะนํ า มาซึ่ง เมตตาเปน หลัก เปน ประธาน. คนเราถา มีเมตตารัก ใคร ซึ ่ง กัน และกัน แลว ปญ หาทางสัง คมจะหมดสิ ้น ; ไมม ีก ารเอาเปรีย บกัน ทางการเมือ ง ทางเศรษฐกิจ ทางสัง คม ทางสงคราม ทางอะไรเลย. มัน ก็มี สั น ติ ภ า พ สั น ติ ส ุ ข ; ถ า มี ศ ี ล ธ ร ร ม แ ล ว ทุ ก อ ย า ง จ ะ เป น ไ ป ด ว ย ดี , ถาไมมีศีลธรรมแลว ไมมีอะไรจะดีได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org การปกครองระบอบประชาธิป ไตยจะเลวที ่ส ุด ถา ประชาชนไมมี ศี ล ธ ร ร ม ; ยิ ่ ง มี เ ส รี ม า ก เท า ไร ยิ ่ ง เล ว ม า ก เท า นั ้ น ; เพ ร า ะ ค น ไม มี ศี ล ธ รรม มี แ ต ก ิ เ ล ส . ถ า มี ศ ี ล ธ รรม แ ล ว ก็ จ ะ เป น ป ระ ช า ธิ ป ไต ย ที ่ ดี เพราะคนมันรักใครกัน.

ถ า เราจะป อ งกั น หรื อ กํ า จั ด ลั ท ธิ อ ั น ไม พ ึ ง ป รารถนา ก็ ต  อ งมี สิ่งที่ดีกวา ; ถาเราตองการจะตองตอตานปราบปรามคอมมิวนิสต เราก็ตองเปน คอมมิว นิส ตที่ดีก วา หรือ เหนือ กวา . ศีล ธรรมนี่แ หละ จะสรา งคอมมิว นิส ต

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับหา

๓๑๗

ที่ดีกวา, หรือเหนือกวาคอมมิวนิสตปจจุบัน ที่เราไมพ อใจกัน, หรือแม แตสังคม นิยมในความหมายทั่ว ๆ ไปก็ตาม เราตองมีสังคมนิยมที่ดีกวา จึงจะตานทานหรือ ปองกันสังคมนิยม ซึ่งไมพึงปรารถนาได. ถ า มี ศ ี ล ธ ร ร ม แ ล ว จ ะ เกิ ด สั ง ค ม นิ ย ม ที ่ ด ี ก ว า เป น สั ง ค ม นิย มที ่ถ ือ ศีล ธรรมเปน หลัก , จะเปน สัง คมนิย มที ่ด ีก วา จะเปน สัง คมนิย ม ตามแบบของพระศาสนาทุ ก ศาสนา ; โดยเฉพาะอย า งยิ ่ ง พระพุ ท ธศาสนานี้ พระพุ ท ธเจ า เป น สั ง คมนิ ย ม คื อ ถื อ ชี วิ ต ทั้ ง หมดทั้ ง สิ้ น ในสากล จักรวาลเปนหน วยเดียวกัน ทําอะไรต อ งนึกถึงทุ กคน ไมเวนเป น พวกนั้น พวกนี้ พวกโนน . นี่สัง คมนิย มที่มีค วามหมายถูก ตอ ง อยา งนี้เ ราเรีย กวา สัง คมนิย ม ที่ดีกวา สําหรับมาใชกําจัดสังคมนิยมที่งมงาย ถึงกับแบงเปนซายหรือเปนขวา, แลวก็ไดตอสูกัน. สั ง ค ม นิ ย ม ของพ ระพุ ท ธเจ า จะไม ทํ า ให เ กิ ด ซ า ยห รื อ ขวา ขึ ้ น มาได ; ป ญ หามั น ก็ ไ ม ม ี ; เป น สั ง คมนิ ย มที ่ เ หนื อ กว า ดี ก ว า อย า งนี้ ก็จะปองกันและแกไขสังคมนิยมอื่น ๆ ทั้งหลายได, แมสังคมนิยมสุดเหวี่ยงเชน คอมมิวนิสต เปนตน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ฉะนั้น ขอใหพุ ทธบริษั ททั้ งหลาย มุงหมายมีป ณิ ธานวา เราตองมี ศี ล ธรรม เพื ่ อ ความเป น คอมมิ ว นิ ส ต ที ่ ด ี ก ว า จะป อ งกั น ต า นทานคอมมิว นิส ตไ ด, จะเปน สัง คมนิย มที ่ด ีก วา จะปอ งกัน สัง คมนิย มทั ้ง หลายได, ห รื อ เป น ป ระ ช า ธิ ป ไต ย ที ่ ด ี ก ว า คื อ ป ระ ช าธิ ป ไต ย ที ่ ม ี ศ ี ล ธ รรม ก็ จ ะ

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๓๑๘

กํ า จั ด โทษอั น เลวร า ยของประชาธิ ป ไตย ที่ กํ า ลั ง ทํ า ลายโลกอยู ใ นเวลา นี้ได. นี่, ไมมีอะไรแยกออกไปไดจากศีลธรรม หรือวาเราไมตองอาศัย ศีลธรรม ; ฉะนั้น ขอใหหันหนาไปสูศีลธรรม ซึ่งในชั้นนี้มีรากฐานอันแรกที่สุด อันเปรียบเหมือนกับแผนดิน เปนที่ตั้งที่อาศัยของตนไม. ....

....

....

....

ทีนี้ รากฐานขอ ที่ ๒ ตน ไมตอ งมีน้ํา . น้ํา เปน ตัว ละลายอาหาร ใหดูด ซึม ขึ้น ไปได และหลอ เลี้ย งความสดชื่น หรือ ความสดของชีวิต นั่น เอง. ตน ไมศ ีล ธรรมตอ งการน้ํ า รดใหส ด และละลายอาหารกิน ได. น้ํ า นั ้น คือ ความไมเปน ทาสทางอายตนะ. ฟง แตเสีย งอาจจะเขา ใจผิด . คํา วา ทาสนี้ ธา-ตุ ก็อา นวา ทาด, ทา-สะ ก็อา นวา ทาด. ในที่นี้เ ราหมายถึง ทา-สะ คือ ทาส บาว ขี้ขา นั้นเรียกวา ทาส ; อยาไปเปนบาว เปนทาส แกอายตนะ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : อายตนะคืออะไรละ คุณทอง ?

ตอบ : อายตนะ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ครับ.

ถาม : นั่นอายตนะขางใน. ตอบ : อายตนะภายนอกคือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธัมมาราณ ครับ.

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับหา

๓๑๙

เพราะฉะนั้นเรามีทางที่จะเปนทาสสิ่งถึง ๑๒ สิ่ง: เปนทาสตา ทาสหู ทาสจมูก ทาสลิ้น ทาสกาย ทาสใจ, เปนทาสรูป ทาสเสียง ทาสกลิ่น ทาสรส ทาสโผฏฐัพพะ ทาสธัมมารมณ ; รวมแลวก็คือเปนทาสของอายตนะที่ทําความ รูสึก ชนิด ที่เราถูก ใจ. เราถูก อกถูก ใจในความรูสึก ที่มีม าทางอายตนะ. เรา เปนทาสของความรูสึก นี่เรียกวา เปนทาสของอายตนะ ; แมวาคํานี้ จะเปน ภาษาบาลีมีมาแตโบราณ. ถาม : เดี๋ยวนี้คนกําลังเปนทาสของอายตนะหรือไม ? คุณประยูรวาอยางไร ? ตอบ : เดี๋ยวนี้คนในโลกสวนมากกําลังตกเปนทาสของอายตนะ พูดใหฟง งาย ๆ ก็คือกําลังตกเปนทาสของวัตถุ เรียกวาพวกวัตถุนิยม ; หรืออีก สํ า นวนหนึ ่ง ก็วา เดี ๋ย วนี ้ค นกํ า ลัง เปน ทาสของเงิน นับ ถือ เงิน เปน พระเจาอยูตลอดไป.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : รวมทั้งคุณเอง รวมอยูดวยคนหนึ่งหรือเปลา ?

ตอบ : ก็รวมทั้งผมดวยเปนบางครั้งบางคราว, บางคราวก็มีความรูสึก.

ถาม : ยกเวนใครบาง ?

ตอบ : ยกเวนพระอรหันตครับ. ขอใหเขาใจวา ถายังไม เป นพระอรหัน ตอ ยูเพี ยงใด การเปน ทาส อายตนะจะมีอยูตามสัดสวน. ขอแตอยาใหมากเกินไป จนไมรูจักอะไร นอกจาก จะบูชาแตความเอร็ดอรอยทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เทานั้นเอง.

www.buddhadassa.in.th


๓๒๐

การกลับมาแหงศีลธรรม

ถาม : ถาเราเปนทาสของอายตนะเสียแลว เราจะเปนทาสของพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ ไดไหมคุณ ทอง ? คุณ ชี้แ จงใหเห็น ที หากเราเปน ทาสของอายตนะเสียแลว จะเปนทาสของพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ ไดไหม ? ตอบ : หากวา ตกไปเปน ทาสขออายตนะ ยอ มจะเปน ทาสของพระพุท ธ พระธรรม พระสงฆไมได ; เพราะเหตุวา พระรัต นตรัยนั้น มีคําสอน มีสิ่งเตือนสติ เพื่อที่จะใหยกความคิดเห็นนั้น ใหพนจากกิเลสเหลานั้น อยู แ ลว . การที ่ต กไปเปน ทาสของกิเลสหรือ วัต ถุน ิย มแลว นั ้น ยอ ม จะเปนทาสของพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ ไมไดครับ. พระเยซูไดตรัสไวอยางดีวา คนใชคนเดียวรับใชนาย ๒ คนไมได. พระเยซูก็หมายความอยางนี้ : พอเราเปนทาสของซาตาน มาร หรือกิเลสตัณหา เสีย แลว รับ ใชซ าตานเสีย แลว เราก็รับ ใชพ ระเปน เจา ไมไ ด ; ฉะนั้น บา ว คนเดียวจะรับใชนาย ๒ คน หรือ ๒ ชนิดนั้นไมได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อย า งเราเป น ทาสของอายตนะเสี ย แล ว จะเป น ทาสของ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆไมได. ถาเราเปนทาสของพระพุท ธ พระธรรม พระสงฆ เราต อ งเชื่ อ ฟ งท า น เราต อ งปฏิ บั ติ ต ามท า น ; ถ า เราไม เชื่ อ ฟ ง ไม ปฏิบัติตาม เราก็เปนไมได เพราะวาเราไปเปนทาสของอายตนะเสียแลว. ถาม : ลูกเด็ก ๆ ที่มันไมเชื่อฟงพอแมนั่นนะ มันเปนทาสของอะไร หรือมันไม เปนทาสของอะไร ?

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับหา

๓๒๑

ตอบ : เปนทาสของอายตนะครับ. ถาม : เด็กนักเรียนของคุณทั้งโรงเรียน มันไมเชื่อฟงครู มันเปนทาสของอะไร ? ตอบ : ก็เปนทาสของกิเลส คือ การเลนสนุกสนาน. ถาม : เปนทาสของการเลนสนุกสนาน นี่ไมใชเปนทาสของอายตนะหรือ ? ตอบ : เปนครับ. ถาม : เปนทาสของอายตนะไหนละ ? ตอบ : รูป หรือ เสียง โดยมากครับ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถา เปน เรื ่อ งเลน หัว สนุก สนาน ไปสรุป อยู ที ่ใ ชด ีก วา มัน ก็ไ ปจาก ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ; แตเมื่อเล็งถึงความรูสึกสนุกสนาน และพอใจในความรู สึก สนุก สนาน ไมเ ชื ่อ ฟง ครูบ าอาจารย บิด ามารดา มัน ก็เ ปน ทาสของ อายตนะทางใจมากกวา. ถาม : เดี๋ยวนี้เราชักชวนคนในโลกนี้ ใหพนจากความเปนทาสของอายตนะนี้ คุณเห็นวาพอจะทําไดไหม ? ตอบ : เกือบจะไมคอยเชื่อในความรูสึกวาทําไดครับ.

www.buddhadassa.in.th


๓๒๒

การกลับมาแหงศีลธรรม

ถาม : คุณประยูรละ คิดวาทําไดไหม ? ตอบ : ในระยะนี้ ถาจะทํา จะทําไมใหคนเปนทาสของอายตนะ ก็รูสึกคลาย ๆ กับวา น้ําเชี่ยวเอาเรือไปขวาง. ถาม : คุณล้ําละ วาจะทําไดไหม ? มีทางทําไดไหม ? ตอบ : ผมว ามี ท างทํ าได แ น แต มั น อยู ที่ ก ารปกครองครับ . การปกครองนี่ ทุกระดับ : การปกครองบานเมืองสําคัญที่สุด เพราะทุกวันนี้อยาวา แต เด็ ก นั ก เรีย น แม แ ต ข าราชการยั งไม เอาไหนเลย ทั่ ว ไปเลยส ว น มาก.ทุกแผนกการก็เนื่องมาจากรัฐบาล แมแตเงินผัน โฆษกรัฐบาล ประกาศโครม ๆ วา ไมตองเสียภาษีอากรแมแตสตางค ; แตทุกวันนี้ เวลานี้ทางสรรพากรเขาเรียกเก็บไปแลว กําลังเรียกเก็บอยู. นี่ตางคน ตางก็เพียงแตทําประจบ เพื่อพรรคเพื่อพวก แลวเพื่อกิน เพื่อกาม เพื่อเกียรติ ของหมูคณะที่ทําไป ; ถาอยางนี้แลวยังทําไมได. แตถา การปกครองเรีย บรอ ย แมแ ตจ ะปกครองแบบไหนก็ต าม แตถา นักปกครองไมเห็นแกตัวแลว ทําไดทุกอยางครับ ทําไดทุกอยาง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี่คุณจะเปนนักปกครองมากเกินไปก็ได เพราะวาอายตนะนี้เปนเรื่อง ทางจิต บังคับ กัน ยาก. การบังคับ ทางการปกครองนั้น มัก จะบัง คับ กัน ไดแ ต ทางภายนอก หรือทางกาย ; สวนทางจิต มัน ลึก ซึ้งอยูขางใน แตะตองไมถึง จะตองนึกถึงเรื่องทางภายใน คือทางจิต ; หาวิถีทางอะไรก็ตามที่จะบังคับลึกลงไป ทางจิต ; บัง คับ แตท างภายนอก คงไมไ ด ; มัน เรื่อ งทางจิต . มัน ตอ งเปน เรื่องของการชักชวน การชี้แจงที่ดี ไมหวังพึ่งอํานาจบังคับ.

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับหา

๓๒๓

เมื่อถามวามันมีทางที่จะเปนไปไดไหม ? ทุกคนก็พอจะรูสึกและมอง เห็นวามันยากที่จะเปนไปได ; แตถึงอยางนั้นเราก็ยังไมยอมแพ, ยังตองพยายาม ตอไป ที่จะชักชวนเพื่อนเกิด แก เจ็บ ตาย ของเราทุกคน ใหเปนผูพยายาม อยางยิ่ง เพื่อ จะบังคับ อายตนะ ; เพราะวาทางออกทางอื่น มันไมมีเสีย แลว , ทางรอดมันมีอยูแตทางนี้ทางเดียว. ถาเราเปนทาสของอายตนะแลว เราก็ไมเปนทาสของความถูกตองได เพราะไปเปนทางของความเอร็ดอรอยเสียแลว ก็ไมยึดถือความผิด ชอบ ดี ชั่ว ; มันเปนอยางนี้. ที่วามันยาก ก็ยาก ; ควรจะเปรียบเหมือนกับวา กลิ้งครกขึ้น ภูเขา ; หรือวา ถายากกวากลิ้งครกขึ้นภูเขา ก็เหมือนกับวา “จูงชางลอดรูเข็ม” อยางนี้เปนตน. ถาม : ถาถึงขนาดจูงชางลอดรูเข็ม คุณยอมแพไหม ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : ยอมแพครับ ?

อยางนั้น เปนกํานันที่ดีไมได ; ตองตําหนิตอหนาประชาชน ; ยอม แพไมไ ด. คุณ เปน กํา นัน นะ ตอ งเปน กํา นัน ที่ด ี. แมวา มัน จะขนาด จูง ชา ง ลอดรูเข็ม , หรือ สํา นวนพระเยซูวา จูง อูฐ ลอดรูเข็ม ก็พ ยายามตอ ไปเถอะ. ขอใหทุกคนอยายอมแพ แมขนาดที่วา ตองจูงชางลอดรูเข็ม ซึ่งยากกวากลิ้งครก ขึ้นภูเขา.

www.buddhadassa.in.th


๓๒๔

การกลับมาแหงศีลธรรม

เดี๋ ย วนี้ มั น ถึ ง ขนาดนั้ น จริ ง ๆ ; ในโลกนี้ ที่ เราจะไปชั ก ชวนเพื่ อ น มนุษ ยทั ้ง โลก ใหเ อาชนะอายตนะ. อาตมาเองทั ้ง ถูก ลอ ทั ้ง ถูก ดา ทั ้ง ถูก เปรียบเปรย เมื่อพูดประโยคนั้นออกไปวา เราจะเข็นเพื่อนมนุษยของเรา ออกมา เสียจากอํานาจของวัตถุนิยม. คนเห็นดวยก็มี ที่จะเข็นเพื่อนมนุษยของเรา ออกมา เสียจากวัตถุนิยม. แตสวนมากเขาหาวาเปนไปไมได, บางคนก็หาวา พูดอยาง โงเขลา, พูดอยางหลับตาพูด. แตอ าตมาก็ยังยืน ยัน วา “ตอ งพยายามเข็น เพื่อ นมนุษ ยใ นโลกนี้ ออกมาเสี ย จากอํา นาจของวั ต ถุ นิ ย ม” เพราะว า เราเป น เพื่ อ นทุ ก ข เกิ ด แก เจ็บ ตาย ดว ยกัน ทั ้ง หมดทั ้ง สิ ้น ; เราตอ งทํ า หนา ที ่ ที ่ด ีที ่ส ุด สํ า หรับ เพื่อนของเรา. ฉะนั้น จึงขอใหศึกษาวา เรากําลังเปนทาสของอายตนะ คือ เปนทาสของความเอร็ดอรอย, และเปนทาสของเงินซึ่งเปนปจจัย ใหเกิดความ เอร็ดอรอย กันอยูกี่มากนอย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถา อยา เปน ทาสของความเอร็ด อรอ ยตามแบบของวัต ถุ มัน ก็ จะหมดปญหา. เดี๋ยวนี้วัตถุยั่วยวนกําลังสะพรั่งกันขึ้นมาในโลก ; เขาขวนขวาย ประดิษฐกันแตสวนนี้ มันจึงหนาแนนขึ้นมาในโลก, จับยึดคนในโลกเปนทาส ของความเอร็ดอรอย ไมมีเวลาสรางจนกระทั่งตาย.

นี ่ เ ราถื อ ว า ความไม เ ป น ทาสของอายตนะนั ้ น เป น ความ สงบเย็น ; ถา เปน ทาสของอายตนะ มัน เปน โทษ ไมใ ชป ระโยชน ; ตอ ง เอาชนะอายตนะ จึง จะเปน ประโยชน. อัน นี้คือ อาหารที่จ ะหลอ เลี้ย งตน ไม ศีลธรรม. ถาใครอยากใหอ าหารแกตนไมศีลธรรม ก็จงชวยกันเลิกความเป น

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับหา

๓๒๕

ทาสที ่แ ทจ ริง คือ เปน ทาสอายตนะ ; เปน ทาสอยา งอื ่น ไมน า กลัว , เลิก ทาส ตามธรรมดานั ้น จะเปน เรื ่อ งของเด็ก อมมือ ไป. ถา มาพูด ถึง เรื ่อ งเปน ทาส ขอ งกิ เ ล ส เป น ท าส ขอ งอ าย ต น ะนี ้ ให ญ ห ล วงนั ก . เดี ๋ ย วนี ้ กํ า ลั ง เป น ทาสกัน ทั ้ง โลก และก็ยัง ไมม ีใ ครเลิก ได ; แตเ ราก็ย อมแพไ มไ ด ; เพราะโลก ไม ม ี ท า ง รอ ด อ ย า ง อื ่ น . ต อ ง เอ า ช น ะ อ า ย ต น ะ นี ้ ใ ห ไ ด ต า ม สั ด ส ว น ที่ สมควร ; เอาชนะไดห มดก็เ ปน พระอรหัน ต, รอง ๆ ลงมาเปน พระอริย เจา , รอง ๆลงมาก็เปนปุถุชนชั้นดี ; อยาเปนปุถุชนชั้นเลวก็แลวกัน. ....

....

....

....

ถาม : รากฐานที่ ๓ ของตนไมศีลธรรม อันไดแกอาหารนั้น สอบถามความจํา วาไดแกอะไร คุณประยูร ? ตอบ : ไดแกการบังคับความรูสึกของเราเองครับ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org การบั ง คั บ ความรู  ส ึ ก ของเราเอง นี ่ ม ั น เนื ่ อ งกั น กั บ อายตนะ ; ถาจะไมเปนทาสแกอายตนะ เราตองบังคับความรูสึก. เดี๋ยวนี้มนุษยในโลกกลับ หลังหันจากที่เคยเปนมาแตยุคกอน ; ยุคกอนเขานิยมการบังคับความรูสึก, ยุคนี้ ไมบ ัง คับ ความรู ส ึก ; และนิย มการไมบ ัง คับ ความรู ส ึก นี ่แ หละ วา ยิ ่ง ดี ยิ่ง ถูก ตอ ง, ถือ เปน หลัก การศึก ษาในโรงเรีย น คือ ใหนัก เรีย นไมตอ งบัง คับ ความ รูสึก. นักเรียนอยากจะแสดงอะไรออกมา ก็เปนการถูกตอง ; ถาบังคับความรูสึก เขาวาเสียเสรีภาพ เสียอิสรภาพ ไมถูกตองตามหลักของประชาธิปไตย.

อาตมาไม เห็ น ด ว ย ขอแสดงความคั ด ค า นเกิ น ๑๐๐ เปอรเซนต ว า เป น หลั ก การศึ ก ษาที ่ ผ ิ ด ที ่ ส อนลู ก เด็ ก ๆ ไม ใ ห บ ั ง คั บ ความรู ส ึ ก . และขอ

www.buddhadassa.in.th


๓๒๖

การกลับมาแหงศีลธรรม

เปด เผยความรู ส ึก อัน หนึ ่ง ไวใ นที ่นี ้ ตอ หนา ทา นทั ้ง หลายา รู ส ึก เศรา สลดใจ เปนอันมากที่ผลแหงการไมบังคับความรูสึกไดเปนไปอยางไฟลามทุง. เมื่ อ พระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู หั ว ทรงปราศรัย ในวั น ที่ ๔ ธั น วาคม แก ผู ที่ ไปทู ล ถวายพระพรนั่ น ท านทรงปราศรัย ถึ ง ประโยคหนึ่ งวา “ประเทศไทย เดี ๋ย วนี ้เขาไมเรีย ก ไทยแลนดแ ลว เขาเรีย กตายแลนด” ; มีก ารฮาในหมู ค น สัก สองพัน คนเห็น จะได. และเมื ่อ ทา นตรัส ในตอนหลัง ถึง คํ า วา “ฟน ปลอม” ก็มีฮาอีก. คนเหลานั้นไมบังคับความรูสึก เปนผลมาจากการอบรมการไมบั งคับ ความรู ส ึก ; แมใ นเฉพาะพระพัก ตรป ูช นีย บุค คลขณะนั ้น ก็บ ัง คับ ความรูส ึก ไมได. นี่เราโทษการศึกษาที่สอนมาแลว ไมใหบังคับความรูสึก. ในหลวงทานตรัสเพื่อใหเกิดความสลดสังเวช ความจริงใจ ที่จะตอสู ตานทาน ; แลวไปฮาเสีย ; มันก็เลือนหมด เหมือนกับไมไดตรัส.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ขอใหช ว ยเอาไปพิจ ารณาวา ถูก ผิด อยา งไร ? วา โลกกํ า ลัง เดิน ไป ในทางที ่ถ ูก ตอ งหรือ ผิด อยา งไร ในการที ่ไ มบ ัง คับ ความรูส ึก และนิย มการ ที่ไมบังคับความรูสึกมากขึ้นทุกที ๆ.

ขอใหพ อ แมทั ้ง หลายนี ้ไ ปคิด ดู วา จะปลอ ยใหล ูก เด็ก ๆ เขานิย ม ลัท ธิก ารไมบ ัง คับ ความรู ส ึก กัน ตอ ไปอีก หรือ ไม ? ประจัก ษพ ยานอัน นี้ อาตมาทนฟงวิทยุดวยตนเอง, ไดยินเสียงฮาในวิทยุ ก็สงสัยวาวิทยุของเราจะไมดี. สอบถามคนอื่ น ก็ ได ยิ น อย างเดี ยวกั น ว ามี ค นฮา เมื่ อ ในหลวงท านตรัส ถึ งคํ าว า ตายแลนด และฟนปลอม.

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับหา

๓๒๗

ถาม : ถาเรามีการบังคับความรูสึก อะไรจะเกิดขึ้น คุณล้ํา ? ตอบ : การบังคับความรูสึกมันอยูที่ความอดทนของคนนั้น. ถาม : อะไรจะเกิดขึ้น ? อะไรจะเปนผลเกิดขึ้น ? ตอบ : ถาบังคับความรูสึก ก็ความสงบจะเกิดขึ้น ; ถาเราไมบังคับความรูสึก ก็ฟุงซานไป. ถาม : ความเห็นของคุณทองวาอยางไร ถาเราบังคับความรูสึกอะไรจะเกิดขึ้น ? ตอบ : เฉพาะตั ว ผู นั้ น ความขั ด แย งจะเกิ ด ขึ้ น เฉพาะตั ว ครับ ; คื อ ความ รูสึก ความตองการ ที่อยากจะไดสิ่งนั้น ก็มีความรูสึกขึ้นมา แตอีก อยางหนึ่ง มาระงับยับ ยั้ง ความขัดแยงในสวนตัวบุคคลนั้นจะเกิด ขึ้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : คุณประยูร วาอยางไร ถาเราบังคับความรูสึก อะไรจะเปนผลเกิดขึ้น ?

ตอบ : ถาเรารูจักบังคับความรูสึกแลว ผลที่เกิดขึ้นก็คือสติ และปญญา จะ ตามมาทัน จะทําใหเราทําสิ่งตาง ๆ ถูกตอง ไมเกิดผลเสีย หรือเกิด ความเสียหายขึ้นแกตัวเราเอง.

ถา เราบัง คับ ความรูส ึก ในชั้น แรกจะเปน โอกาสแหง สติสัม ปชัญ ญะ ไดเ กิด ขึ้น มา, และเกิด ขึ้น มาใครค รวญ ; และเราไมผ ลุน ผลัน ทํา ไปตามอํานาจของกิเลส ซึ่งมีแตจะทําในทางผิดเสมอ, แลวยับยั้งการทําอยาง

www.buddhadassa.in.th


๓๒๘

การกลับมาแหงศีลธรรม

ผลุน ผลัน ในทางผิด ; แลว ใหโอกาสแกส ติส ัม ปชัญ ญะ จะใครค รวญดูวา ควร จะทําอยางไร. ที่ เขาชกต อ ยตี รั น ฟ น แทงกั น นั้ น แทบทั้ ง หมดกล า วได ว า เพราะไม บั ง คั บ ความรู ส ึ ก ; ฉะนั ้ น จึ ง เกิ ด อาชญากรรมมาก เพราะการไม บ ั ง คั บ ความรูสึก . ถา บัง คับ ความรูสึก ได อาชญากรรมประเภทนี้จ ะหายไป ; จึง ขอ ใหพิจารณาเถอะวา การบังคับความรูสึกนั่นแหละ เปนทั้งหมดของความรอด. ศาสนาทุก ศาสนาสอนแตเ รื ่อ งบัง คับ ความรู ส ึก โดยเฉพ าะ พุท ธศาสนาแลว ก็ยิ ่ง ยืน ยัน มากถึง ที ่ส ุด วา เราตอ งควบคุม ความรู ส ึก ที ่จ ะ เกิดขึ้น โดยทางอายตนะทั้ง ๖ : ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ; ใหมีสติสัมปชัญญะ ในขณะแห งการสั มผัสกับ อารมณ นั้น ๆ ; อยาให มัน เปน อวิชชาสัม ผัส คือ สัมผั ส กับ อารมณด ว ยความโง ; แตใ หม ัน เปน วิช ชาสัม ผัส คือ สัม ผัส อารมณนั ้น ๆ ดวยความฉลาด. ถาทําอยางนี้เราก็ควบคุมความรูสึกได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ฉะนั้น เมื่อเกิดความเวทนาขึ้น เราก็ไมหลง : ไมหลงรักที่นารัก, ไมหลง เกลี ย ดที่ น าเกลี ยด ; มั น เป น กลาง เป น ปรกติ อ ยูเสมอ ก็ มี แต ทํ าอะไรถูก . อะไร ไม ต องทํ าก็ ไม ทํ า ; ถามี การทํ าก็ มี แต ทํ าถู ก . การบั งคั บ ความรูสึ ก จึงมี ค าสู งสุด . พ ระพุ ท ธอ งค ไ ด ท รงย้ํ า แล ว ย้ํ า อี ก ที ่ นั ่ น ที ่ นี ่ เต็ ม ไป ในพ ระไต รป ฎ ก คือ การควบคุมตัวเอง บังคับตัวเอง.

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับหา

๓๒๙

เดี ๋ย วนี ้ โลกเสรีป ระชาธิป ไตย เขาไมบ ัง คับ ความรูส ึก เพราะ เขาถือวา มันเสียเสรีภาพ ; โลกกําลังหันเหไปไกลกี่มากนอย ไปคํานวณดูจาก เหตุนี้. ถาม : ทําไมเราจึงถือวา การบังคับความรูสึกนี้ มีคุณสมบัติพอจะเปรียบกันได กับสิ่งที่เรียกวาอาหารของตนไม คุณประยูรวาซิ ? ตอบ : เพราะวาหนาที่ของอาหารก็คือ หนาที่ทําความเจริญ เติบโตแกตนไม . การบังคับความรูสึกที่เปรียบกับอาหารได ก็หมายความวา ถาเราบังคับ ความรูสึกได ; ศีลธรรมก็จะเจริญเติบโตงอกงามขึ้นมา จากสติปญญา ที่ มี โ อกาสเข า มาตามหลั ง . ถ า เราบั ง คั บ ได ม าก สติ ป ญ ญาก็ จ ะมี โอกาสเกิด ขึ ้น ไดม าก. มัน เปน สัด สว นกัน กับ ความสามารถบัง คับ ความรูสึกได จึงไดเปรียบการบังคับความรูสึกนี้วาเหมือนอาหาร.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : สรุปใหสั้นที่สุดก็วา เมื่อมีการบังคับความรูสึก มันก็มีแตความถูกตอง ; เห็นดวยไหม ? ถามีการบังคับความรูสึก จะมีแตความถูกตอง ไมมีการ ผิดพลาด ; ขอนี้เห็นดวยไหม ?

ตอบ : ใชครับ.

ฉะนั้น ความถูกตองเทานั้นแหละที่จะเปนอาหารได ; สวนความผิด พลาดมันก็เปนยาพิษเปนอันตราย. เมื่อมีการบังคับความรูสึกทางอายตนะแลว มัน ก็มีแตความถูกตอง ; ความถูกตองก็เปนอาหารหลอเลี้ยงจิตใจก็ได, หลอเลี้ยง ศี ล ธรรมก็ ได ; เช น เดี ย วกั บ ต น ไม มั น ดู ด เอาแต แ รธ าตุ ที่ เป น ประโยชน แ ก มั น .

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๓๓๐

มันรูจักเวนไมดูดเอาแรธาตุที่เปนพิษ เปนอันตรายแกมัน ตนไมจึงรอดชีวิตอยูได. ศีลธรรมของมนุษยก็เหมือนกัน มีจิตใจเปนหลัก จะตองใหอาหารที่เปนอาหาร ; อยา ใหเปน ยาพิษ เขา ไป ; จึง ตอ งมีก ารบัง คับ ความรูสึก ที่มัน จะกลั่น กรอง ใหออกมาแตความถูกตอง ซึ่งเปนอาหารของจิตใจ หรือศีลธรรมนั้นได ; ฉะนั้น มันจึงปองกันโลภะ โทสะ โมหะ ไดอีกตามเคย. ....

....

....

....

ทีนี้ รากฐานที่ ๔ แสงสวาง, ลองไมมีแสงสวางในโลกนี้ ตนไม ก็มีไ มไ ด, สัต วก็มีไ มไ ด. แสงสวา งเปน ปจ จัย สํา คัญ อยา งที่ม นุษ ยไ มคอ ย ใหความเปนธรรม ฉะนั้น ขอใหศึกษาแมในแงของวัตถุธรรม คือทางวัตถุวา แสงแดดนี ่ เ ป น สิ ่ ง จํา เป น ต อ ชี วิ ต . เมื ่ อ เห็ น แล ว ก็ จ ะเห็ น ว า แสงแดด แหงพระธรรม ก็จําเปนแกจิตใจในแงของศีลธรรม อยางเดียวกัน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : แสงแดดทางวิญญาณ ทางธรรมนั้นไดแกอะไร ?

ตอบ : ไดแกปญญาอันถูกตอง ที่เรียกวา ยถาภูตสัมมัปปญญา.

นี่ก็ยังจําไดดี, ปญ ญาเปนแสงสวาง. ในแงของพระธรรมทางจิต ทางวิญญาณ ตองมีแสงสวางคือปญญา ตนไมแหงศีลธรรมจึงจะเจริญงอกงาม เหมือนกับตนไมธรรมดาไดแสงแดด. เราจะมีปญญาไดอยางไร ก็ไปศึกษากัน เปนพิเศษ มันเปนรายละเอียดมาก ; วันนี้พูดเพียงวา ปญญา ก็พอแลว. [ ตอไปนี้ เริ่มการบรรยายโดยหัวขอแหงครั้งนี้ ]

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับหา

๓๓๑

ทีนี้มาถึง รากฐานที่ ๕ คืออุณหภูมิ, ซึ่งจะพูดตอไป. ตน ไมแ มมีแ สงแดดแลว มัน ก็ยัง ไมพ อ ; มัน ตอ งมีอุณ หภูม ิที่ พอเหมาะ ไมเย็น เกิน ไป ไมรอ นเกิน ไป. อุณ หภูมิอ ยางไรพอเหมาะสํา หรับ พืชพันธุทั้งหลายจะยังคงมีอยูในโลก ก็ตองมีอุณหภูมิอยางนั้น. หรือวาเพราะมี อุณหภูมิอยางนั้น ขนาดนั้น ; พืชพันธุพฤกษาชาติทั้งหลาย จึงตั้งตนมีขึ้นมา ในโลก. ตนไมศีลธรรมก็เหมือนกัน จะตองมีอุณหภูมิที่พอเหมาะพอดี. ถาม : ฉะนั้น เอาธรรมะอะไรชื่ออะไร มาเปนอุณหภูมิสําหรับหลอเลี้ยงตนไม แหงศีลธรรม คุณประยูร ใหวาคําเดียว เอาธรรมะขอไหน ? ตอบ : เอาขอมัตตัญุตา. ถาม : มัตตัญุตา ความรูประมาณ ; เอา, คุณทอง ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : ศรัทธาหรือความเชื่อ ครับ.

ถาม : เอา, คุณล้ํา ?

ตอบ : พรหมวิหาร ๔ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา. เอาพรหมวิห าร เมตตา กรุณ า มุทิต า อุเบกขา ใหเปน อุณ หภูมิ เพื่ อ ความดํา รงอยู แ ห ง ต น ไม ท างศี ล ธรรม ถู ก ทั้ ง นั้ น . มั น ได ทั้ ง นั้ น แหละ,

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๓๓๒

ธรรมะมันเนื่องกัน ในสวนความหมายในภายใน. แตถาจะระบุใหเปนชื่อออก มาตรง ๆ อาตมามีความเห็นพองกับคุณทอง วาอยากจะเล็งมุงไปยังสิ่งที่เรียกวา ศรั ท ธา. เราต อ งมี ศ รั ท ธาความเชื่ อ ความมั่ น ใจ เป น เหตุ ใ ห มี กํา ลั ง ในการกระทํา. ....

....

....

....

มาพูด ถึง ศรัท ธา กัน ตามสมควรแกเ วลา : ศรัท ธา แปลวา ความเชื่อ ; ในพระบาลีจะมาคูกับ คําวา ปสันนา ซึ่งแปลวา ความเลื่อมใส, หรือ ปสาทะ ความเลื่อ มใส. ศรัท ธาปสาทะ ถา เปน บุค คล ก็เปน ศรัท ธาปสันนา คือผูมีความเชื่อ ความเลื่อมใส. ถาม : ถาเชื่อแลว จะเลื่อมใส หรือไมเลื่อมใส ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : ถาเชื่อแลวเลื่อมใส ครับ.

ถาม : เพราะฉะนั้น จึงมาคูกันได ; ถาเชื่อแลวก็เลื่อมใส ; จะเลื่อมใสโดยไม เชื่อไดไหม ? ตอบ : ไมได ครับ.

ถาม : คุณทอง วาไดไหม เลื่อมใสโดยไมเชื่อ ? ตอบ : ไมไดครับ.

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับหา

๓๓๓

ถาม : ไมแนใจหรือ ? คุณล้ําละ ? ตอบ : ไดครับ เชื่อโดยหลง ๆ. เลื่ อ มใสโดยไม เชื่ อ ; แต ถ า หลงมั น เชื่ อ ; ความเชื่ อ มั น จึ ง มาก อ น ความเลื ่อ มใส. ความเชื ่อ นี ่ มัน จึง มีไ ดทั ้ง หลง, และไมห ลง ; แตเ ราก็ต อ ง เอาความเชื่ อ ชนิ ด ที่ ไ ม ห ลง. แต ข อให ดู ใ ห ดี ว า ความเชื่ อ อย า งหลงนี่ ถ า มั น บั ง เอิ ญ , ชาวบ า นว า ฟลุ ก , บั ง เอิ ญ ไปตรงกั บ เรื่ อ งที่ ถู ก ต อ ง มั น ก็ มี ป ระโยชน เหมือนกัน ; แตไมถูกตรงตามเรื่องของศรัทธา. ความงมงายอย างบั งเอิ ญ เท านั้ น แหละ ไปตรงกั น เข ากั บ ข อ เท็ จจริง ที ่ม ัน จะมีป ระโยชนไ ด แลว ถือ ตาม ๆ กัน ไป. เพราะฉะนั ้น เราจะตอ งแบง ชั ้น ของศรัท ธาใหเ ปน หลายชั ้น อยา งนอ ย ๒ - ๓ ชั ้น วา ศรัท ธาของผู ที ่ม ีก าร ศึก ษานอ ย ก็ม ีอ ยา งหนึ ่ง , มีก ารศึก ษามาก ก็ไ ปอยา งหนึ ่ง , ศรัท ธาของ ผู ที ่ย ัง มีต ัว ตน ยัง ยึด มั ่น ถือ มั ่น อะไรอยู  มัน ก็ม ีไ ปอีก รูป หนึ ่ง , ศรัท ธาของ ผู ที ่ไ มย ึด มั ่น ถือ มั ่น ไมม ีต ัว ตน ไมง มงาย มัน ก็ไ ปอีก แบบหนึ ่ง ; มัน มี หลายแบบ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เพราะฉะนั ้น ศรัท ธาแบบที ่ต าม ๆ กัน ไป มัน ก็ม ี ชว ยไมไ ด, มัน ตอ งมี ; เพราะมนุษ ยจ ะเชื ่อ ตัว เองเสมอ. เมื ่อ ไปพบอะไรเขา เปน ที ่พ อใจ เขาก็เชื่อ นี้ก็เรียกวา ศรัทธาเหมือนกัน ; แตเสี่ยงมาก ยากที่จะไปพบ หรือบังเอิญ ไปตรงกัน เขา กับ สิ ่ง ที ่ถ ูก ตอ ง และมีป ระโยชน. ฉะนั ้น จึง แบง บุค คลเปน ๒ พวก : ที่ มี การศึ กษามากและถูก ต อ ง ไม มี ค วามงมงาย, และไม มี ก ารศึ ก ษา หรือมีการศึกษานอย มีความงมงาย.

www.buddhadassa.in.th


๓๓๔

การกลับมาแหงศีลธรรม

แตถึงอยางไรก็ดี ยังมีตรงกลาง ๆ นั้นอีกหลายระดับ เพราะมันยาก ที่วา เราจะมีความงมงายโดยสวนเดียว, หรือไมมีความงมงายโดยสวนเดียว ; ฉะนั้ น เพื่ อ ประโยชน แก ค วามปลอดภั ย ต อ งมี สิ่ งที่ เรีย กวา การศึ ก ษา หรือ ปญญา ที่เต็มที่ ที่เรียกวา ยถาภูตสัมมัปปญญา มาชวย. ในขอที่แลวมา แสงสวางสําหรับตนไม คือ ยถาภูตสัมมัปปญญา อยูแลว, มียถาภูตสัมมัปปญญาเปนแสงสวางสวางอยูแลว ; ฉะนั้น ยถาภูตสัม มัป ปญ ญานี ่จ ะมาทํ า อุณ หภูม ิใ หพ อเหมาะพอดี. ดัง นั ้น ศรัท ธาจึง ตอ ง อาศัย ปญ ญาเปน เครื่อ งทํา ความพอเหมาะพอดีใ หแ กศ รัท ธานั้น . เมื่อ เรา มียถาภูตสัมมัปปญญานํามาแลว ก็ไมตองกลัว ; ศรัทธาจะเปนไปอยางถูกตอง ตามหลัก ของพุท ธศาสนา ที่วา “ศรัท ธาตอ งถูก นํ า โดยปญ ญา รวมกัน เขา เปนสัมมาทิฏฐิ”. สัมมาทิฏฐินั้นคือ ความเชื่อหรือศรัทธาที่นําไปโดยปญญา. ทีนี้ พูดถึง ศรัทธาที่งมงาย ในหมูคนที่มีการศึกษานอย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ในหมูคนที่มีสัญชาตญาณ แหงการยึดมั่นถือมั่นตัวตนมาก เขาก็ตอง เชื่อวา มีตัวมีตนไปกอน ; ฉะนั้น เราอยาไปโทษ อยาไปปรับเขาเลย วาเขา ไม รู เขาเป น คนโง เขามี ค วามผิ ด ในเรื่อ งนี้ ; ให เขามี ตั วตนไปก อ น ให เขามี ความรู ทําตัวตนใหประพฤติอยางถูกตองก็แลวกัน ; จะมีการกระทําถูกตอ ง และไดรับ ผลของการกระทํา ถูก ตอ ง เพื่อ ความมีตัว ตนที่ตั้ง ไวดี สงวนไวดี คุมครองไวดี. นี ่ค ือ ห ลัก ทั ่ว ไป สํ า ห รับ ค น ระดับ พื ้น ฐาน คือ ยัง ไมใ ช อริยบุคคล ตองมีตัวมีตน จึงตองมีระบบศีลธรรมที่วา ผูมีตัวตนนั้น จะตอ ง

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับหา

๓๓๕

ประพฤติ ป ฏิ บั ติ อ ย า งไร ; ท า นจึ ง ให มี ห ลั ก สํา หรั บ เชื่ อ สํา หรั บ ยึ ด ถื อ : ยึดถือ พระพุท ธเจา, ยึดถือการตรัสรูของพระพุท ธเจา, เชื่อ กรรม เชื่อ วิบาก, เชื่ออะไรตาง ๆ อยางผูมีตัวตน. นี่คือ ศรัทธาที่ค นธรรมดาสามัญ หรือ ปุถุช น จะตองมี ตองเชื่อกรรม เชื่อผลกรรม เชื่อความที่ตนจะตองเปนผูที่ตองรับผลกรรม โดยแนน อน, เชื่อ การตรัส รูข องพระพุท ธเจา . แมเ ชื่อ พระพุท ธเจา นี้ก็ยัง ไม ตรงตามหลักที่พระพุทธเจาทานตรัสไววา ใหเชื่อตัวเอง ; แตเมื่อเขายังไมอาจ จะเชื่ อ ตั ว เอง จะทํา อย า งไร ? ก็ เ ชื่ อ ผู ที่ ค วรเชื่ อ ไปก อ น ; เพราะฉะนั้ น เราจึง เชื่อ พระพุท ธ เชื่อ พระธรรม เชื่อ พระสงฆ ตามแบบฉบับ ที่ว างไวดี ; ก็มีการคิดถูก ทําถูก พูดถูก. ทีนี้ คําวา “ถูก” นี้ อยาลืมวา ตองมีความหมายวา พอดี ; ที่คุณ ประยู รใชคํ าวา ความรูความพอดี นั้ น มั น ก็ ถู กแล ว. พุ ท ธศาสนามี ห ลั ก อยู ที่ ความพอดี ใชคํา อีก คํา หนึ่ง ก็วา ตรงกลาง. พุท ธศาสนาไมซา ย ไมข วา, ไมเล็งในแงดี ไมเล็งในแงราย, ไมเล็งในแงปฏิเสธ ไมเล็งในแงรับ, ไมเล็งใน สวนสุด โตง ฝายโนน หรือฝายนี้ ; แตอ ยูต รงกลาง. ฉะนั้น พระพุท ธศาสนา ถาพูดอยางการเมืองก็ไมมีซาย ไมมีขวา มีแตความถูกตองที่อยูตรงกลาง, สูงสุด ขึ้นไปถึงวา เราจะไมพูดวาเรามีอยู หรือเราไมมีอยู. นี่เปนศรัทธาขั้นสูงสุดแลว อยูเหนือกรรมแลว ชั่วก็ไมตองการ ดีก็ไมตองการ ; แตอยูเหนือชั่วเหนือดีไปเสีย เลย มันเปนชั้นสูงสุด ยังไมพูดก็ได ; แตถามีคนสนใจในระดับสูงสุด ก็ไปศึกษา ได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ศรัท ธาอยา งโลกิย ศรัท ธา ก็เ ชื่อ อยา งมีตัว ตน ; ถา เปน อยา ง โลกุต ตรศรัท ธา พน จากความเปน ศรัท ธา ถึง ความเปน ปญ ญา มองเห็น ความไม มี ตั ว ตนแล ว , ป ญ ญารู สึ ก อย า งไร มั น ก็ มี ค วามเชื่ อ อย า งนั้ น เอง

www.buddhadassa.in.th


๓๓๖

การกลับมาแหงศีลธรรม

โดยอัตโนมัติ. ศรัทธานั้นก็ไดกลายเปนความรูสึกของปญญาไปเสีย ไมเปนเพียง ศรัท ธาที ่เชื ่อ หรือ อิง อยู ใ นสิ ่ง ใดสิ ่ง หนึ ่ง . ธรรมดาคนเราก็จ ะตอ งเชื ่อ ไปตาม ความรูสึกแหงภูมิ หรือชั้นแหงจิตใจของตน. ถาม : คุณประยูร ลองทายดูซิ มันจะมีสักกี่ชั้น, สิ่งที่เปนที่ตั้งแหงความ เชื่อ ? ตอบ : สิ่งที่เปนที่ตั้งแหงความเชื่อมีประมาณราวสัก ๓ ชั้น. ถาม : อะไรบาง ? ตอบ : ๑. ชั้นที่ยังมีตัวตนในทางโลก. ถาม : ยังไมตรงความหมาย ไมตรงคําถาม ; ถามวาวัตถุที่เปนที่ตั้งแหงความเชื่อ ถามีเปนชั้น ๆ จะมีสักกี่ชั้น คืออะไรบาง คุณทอง ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : ผมยังนึกไมออกครับ.

คุณล้ํา ก็ยังนึกไมออก. เทาที่อาตมานึกออกวาที่ตั้งแหงความเชื่อควร จะมีส ัก ๓ ชั ้น ฟง ใหด ี : วัต ถุศ ัก ดิ ์ส ิท ธิ ์ ชั ้น หนึ ่ง , พิธ ีร ีต อง, หรือ การ ก ร ะ ทํ า ที ่ เ นื ่ อ ง ด ว ย สิ ่ ง ศั ก ดิ ์ ส ิ ท ธิ ์ , แ ล ว ก็ บ ุ ค ค ล ศั ก ดิ ์ ส ิ ท ธิ ์ . สํ า ห รั บ พระรัต นตรัย จะเรีย กวาศัก ดิ์สิท ธิ์ หรือ ไมศัก ดิ์สิท ธิ์ ก็แลวแตคุณ ; ใครอยาก จะเรีย กว า ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ก็ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ . แต ค วามรูสึ ก ของอาตมานี่ ถื อ ว าเหนื อ ความ ศักดิ์สิทธิ์ไปเสียอีก ; สําหรับพระรัตนตรัยตองถือวาสูงไปกวาศักดิ์สิทธิ์.

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับหา

๓๓๗

วัต ถุศ ัก ดิ ์ส ิท ธิ ์ ก็เ หมือ นที ่ถ ือ ๆ กัน อยู  นั ่น นี ่ โนน ที ่เ ปน วัต ถุ ศัก ดิ์สิท ธิ์ ; พิธีก รรมศัก ดิ์สิท ธิ์ คือ พิธีก รรมตา ง ๆ ที่เ กี่ย วกับ วัต ถุศัก ดิ์สิท ธิ์ นั้น ๆ ; บุค คลศัก ดิ์สิท ธิ์ แลว แตเขาจะสมมติใ ครใหมัน ศัก ดิ์สิท ธิ์. พิธีก รรม ตาง ๆ ที่เนื่องดวยบุคคลนั้น ๆ มีทางที่จะงมงายไดดวยกัน ทั้งวัตถุศักดิ์สิทธิ์และ บุคคลศักดิ์สิทธิ์. แตถา พระรัตนตรัยแลว ไมมีทางที่จะงมงายไดเลย จะตอง เรียกวา ศักดิ์สิทธิ์แทจริง หรือพนจากความศักดิ์สิทธิ์ไปเสียอีก. ....

....

....

....

ศรัท ธา ในเวลานี้ม องดูไ ปทั่ว ๆ โลกแลว เขามีใ นวัต ถุศัก ดิ์สิท ธิ์ กันพวกหนึ่ง จนถึงกับลืมพระรัตนตรัยก็มี, และบางพวกก็ในบุคคลศักดิ์สิทธิ์ เอาเสียจนลืมสิ่งอื่นเลย ก็คือลืมพระรัตนตรัยอีกนั่นแหละ. พุ ท ธบริ ษ ั ท เราก็ ม ี พ ระพุ ท ธ พระธรรม พระสงฆ มาแล ว ตั้งแตบรรพบุรุษ ในสายเลือด, พอคลอดออกมา ก็มีการใหยึดถือพระรัตนตรัย ดวยศรัทธานั้น เปนเครื่องรับประกันไวกอน. ควรจะขอบพระคุณบรรพบุรุษที่ได เลือ กสิ่ง นี ้ไวใ หเรา ทั ้ง ที ่เรายัง ไมรูจัก , แลว เราก็ไ ปทํา เอง ใหเขา ใจใหรูจัก พระรัตนตรัย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สว นวัต ถุศ ัก ดิ ์ส ิท ธิ์นั ้น ตอ งดูก ัน กอ นวา มัน เนื ่อ งดว ยอะไร ; ถาเนื่องดวยความงมงาย ก็เปนสิ่งที่ตองละ. มีสิ่งที่เรียกวา สีลัพพัตตปรามาส ยึดถือในวัตถุหรือในบุคคล ในฐานะเปนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ปราศจากเหตุผล เปนไปใน ทางศักดิ์สิทธิ์ ; กระทั่งการถือโชคลาง. แตทีนี้มันมีวัตถุศักดิ์สิทธิ์อีกชนิดหนึ่ง

www.buddhadassa.in.th


๓๓๘

การกลับมาแหงศีลธรรม

ที่เนื่องมาจากพระรัตนตรัย. ระวังใหดี ; ถามีวัตถุอะไรที่เนื่องมาจากพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ มาตั้งอยูในฐานะเปนวัตถุศักดิ์สิทธิ์แลว เราตองเขาใจให ถูกตอง ; เชน พระพุทธรูปเปนตน. ถา เราเขา ใจพระพุท ธรูป ผิด จะกลายเปน วัต ถุศัก ดิ์สิท ธิ์อ ยา ง งมงาย ; ถาเราเขาใจพระพุทธรูปถูกตอง ก็จะกลายเปนวัตถุศักดิ์สิทธิ์ ที่จะเปน ประโยชนอยางยิ่งได จนกวาจะพนความจําเปนที่จะตองมีสิ่งนี้. ฉะนั้น วัตถุศักดิ์สิทธิ์ จะตองแยกกันเปน ๒ พวก : พวก งมงาย และไมงมงาย. บุคคลศักดิ์สิทธิ์ ก็เหมือนกัน ; ที่งมงายก็อ ยางที่เขาเรียกกัน ว า สมมติ คนนั่ น เป น นั้ น คนนี่ เ ป น นี่ คนนี้ เ ป น นี่ นี่ มั น งมงาย ; แต ถ า มีคุณสมบัติ พอสําหรับจะศักดิ์สิทธิ์ คือบันดาลสิ่งที่เปนประโยชนใหแกบุคคลได, ก็เปนบุคคลที่ศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งมีประโยชน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ที นี ้ ส ว น พระรั ต นตรั ย แท นั ้ น เป น ธรรมะทั ้ ง นั ้ น ไม ม ี ต ั ว บุค คล ; พระพุท ธเจา ที ่แ ทจ ริง ไมใ ชบ ุค คล. พระองคต รัส วา ผู ใ ดเห็น ธรรม ผูนั้น เห็น เรา ; ผูใ ดเห็น ปฏิจ จสมุป บาท ผูนั ้น เห็น ธรรม ; ผูใ ดเห็น ธรรมผูนั ้น เห็น เรา ; คือ เห็น ความจริง เกี่ย วกับ ความดับ ทุก ข เรีย กวา เห็น ธรรม, ที่วา “ผูใดเห็นธรรม ผูนั้นเห็นเรา”. พระธรรม ก็คือ ธรรม นั่นแหละ, พระสงฆ ก็คือผูที่มีจิตใจอยางเดียวกับพระพุทธเจานั่นแหละ ; ความหมายก็คือมี ตัวธรรมนั่นเอง ไป ๆ มา ๆ มารวมอยูที่คําวา ธรรม เพียงคําเดียว.

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับหา

๓๓๙

สิ ่ง ที ่เ ปน ที ่ตั ้ง แหง ความเชื ่อ ความเลื ่อ มใส ก็ค ือ พ ระธรรม แยกตั ว ออกเป น พระพุ ท ธ พระธรรม พระสงฆ ๓ อย า ง. ถ า รวมกั น เข า ก็ เป น อยา งเดีย วคือ พระธรรม จะเรีย กวา ศัก ดิ ์ส ิท ธิ์ก ็ได ; แตม ัน สูง สุด ของศัก ดิ ์ส ิท ธิ์ จนเกินศักดิ์สิทธิ์ เหนือคําพูดธรรมดา.

เราเชื่ อ ในวั ต ถุ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ก็ ไ ด แต ข อให วั ต ถุ นั้ น เนื่ อ งด ว ยสิ่ ง ที่ เ ป น ธรรม. ฟง ถูก ไหมคุณ ทอง ? แขวนพระเครื่อ งทํ า ไม ? ถา เรา มีวัต ถุศ ัก ดิ ์ส ิท ธิ์ ก็ ข อ ใ ห ว ั ต ถุ นั ้ น เนื ่ อ ง ด ว ย ธ ร ร ม , ถ า เร า มี บ ุ ค ค ล ศั ก ดิ ์ ส ิ ท ธิ ์ ก็ ข อ ใ ห บุคคลนั้นเนื่องดวยธรรม. ถาเราจะขามพนไป ก็ไปยังตัวธรรม. ธ รรม ที ่ แ ท จ ริ ง ก็ ค ื อ พ ระ พุ ท ธ พ ระ ธ รรม พ ระ ส ง ฆ อ ยู  ใ น ตัว ธรรมที ่แ ทจ ริง ; ปลงศรัท ธา ปลอ ยศรัท ธา วางศรัท ธาลงไปในธรรมนั ้น ไม ต  อ งมี เ หลื อ ไม ต  อ งขยั ก ไว . แต ถ  า ไม ใ ช ใ นธรรม หรื อ ในสิ ่ ง แท จ ริ ง นี้ จะตองขยักไวบาง เผื่อมันผิด ; เพราะวาศรัทธาของเรายังไมไดมีปญ ญาสมบูรณ มั น อ าจจะงม งายก็ ไ ด . ฉ ะนั ้ น ใน ขั ้ น แรก ๆ นี ้ จึ ง ต อ งใช ก าล าม สู ต ร ๑๐ ประการ อยางที่ไดวาใหฟงแลว ; ไปดูเอาเอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org มี ศ รั ท ธาที่ ถู ก ต อ ง, ประกอบด ว ยป ญ ญา ก็ จ ะเรี ย กได ว า ศรั ท ธาปสั น นา. ที นี้ ถ างมงายก็ เรีย ก มุ ทุ ป สั น นา -ความเชื่ อ ความเลื่ อ มใสที่ เป น มุ ทุ . มุท ุ แปลวา ออ น ออ นเปย ก, มีม ุท ุป สัน นา นี ้เ ขาวา อยา งไร เชื ่อ หมด ; เป น เหตุ ใ ห ภ ิ ก ษุ อ ั น ธพ าล ห ล อ ก ล วงท ายกท ายิ ก าจนสิ ้ น เนื ้ อ ป ระด าตั ว เพราะวาทายก ทายิกา นั้นมีแตมุทุปสันนา – ศรัทธา ความเชื่อ ความเลื่อมใส ที่มัน ออนเกินไป.

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๓๔๐

เรื่อ งอยางนี้ มั น มี ม าแล วแต ค รั้งพุ ท ธกาล เพราะเราเคยอาน พบใน พระบาลี ว า ภิ ก ษุ อ ลั ช ชี ไปหลอกลวงสตรีผู มี มุ ทุ ป สั น นา ให ทํ า บุ ญ ด ว ยเมถุ น ; อยางนี้เปนตน. โทษของมุทุปสันนาเปนอยางนั้น มีมาแลวตั้งแตครั้งพุทธกาล ; และก็ย ัง คงมีจ นถึง บัด นี ้ ที ่ท ายก ทายิก า ผู ม ีม ุท ุป สัน นา จะถูก หลอกลวง ตลอดไป ; จึงตองกันออกไป ไมอยูในคําวา ศรัทธา ไมอาจจะหลอเลี้ยงตนไม แหงศีลธรรมได. ถ า มี ศ รั ท ธาที ่ ป ระกอบไปด ว ยป ญ ญาถู ก ต อ ง ตามหลั ก เกณฑ ที่วา มาแลว ก็ไ มมีชอ งทางที่อ วิช ชา หรือ โมหะจะเขา มาครอบงํา ได ; ฉะนั้น ขอให ทุ กคนสะสาง สอบสวน ศรัท ธาของตนไวเสมอไป เพื่ อ วาศรัทธาที่ แท จะ เป น เหมื อ นอุ ณ หภู มิ คื อ ความรอ นที่ พอเหมาะพอดี ในระดั บ กลาง สํ า หรับ หล อ เลี้ ย งต น ไม ศี ล ธรรม, แล ว ศี ล ธรรมก็ จ ะเจริ ญ งอกงามเป น ที่ พึ่ ง แก เราได . ....

....

....

....

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : ถามีศรัทธาถูกตองตามหลักของพระพุทธศาสนา จะจํากัดโลภะไดอยางไร ? คุณ ล้ํา , ถามคุณ ดีก วา ถา มีศ รัท ธาอยา งถูก ตอ งในพระพุท ธศาสนา จะกําจัดโลภะไดอยางไร ?

ตอบ : จะกําจัดโลภะได โดยเหตุที่วา เรามีความเชื่อที่ถูกตองตามความเปน จริง แลวโลภะมันจะไมเกิด. ถาม : ทายกคนหนึ่ง ทําบุญทําทาน ปรารถนาวิมาน ๒ - ๓ หลัง เรียกวา โลภะไหม ?

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับหา

๓๔๑

ตอบ : โลภะ ครับ ถาม : การทําบุญของทายกคนนั้น เรียกวาทําดวยศรัทธาหรือเปลา ? ตอบ : ความจริงเขามีศรัทธา แตศรัทธาชนิดที่เรียกวา มุทุปสันนา. ถาม : นั่ น แหละ, ต อ งแบ ง แยกไว เ สมอ. ฉะนั้ น คนทํ า บุ ญ บาทหนึ่ ง จะเอา วิ ม านหลั ง หนึ่ ง เขาก็ มี ศ รั ท ธาตามความเชื่ อ ในแบบนั้ น ; ว า ทํ า บุ ญ บาทหนึ่ ง จะได วิ ม านหลั ง หนึ่ ง ; แล ว ความรู สึ ก นั้ น เป น ความโลภหรื อ ไม ? ตอบ : เปนความโลภ ครับ. ถาม : ศรัทธาชนิดนั้น กําจัดความโลภหรือไม ? คุณก็ตอบไดเอง. ถามีศรัทธา ถู ก ต อ ง คื อ อาศั ย ป ญ ญาแล ว จะพอดี พอเหมาะพอดี ; ก็ เ กิ ด ศี ล ธรรม มี บุ ญ อย างถู ก ต อ งตามแบบของศี ล ธรรม ไม มี อั น ตรายและกํ าจั ด โลภะได . ทีนี้ศรัทธาจะกําจัด โทสะ หรือ โกธะ ไดหรือไม, คุณประยูร ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : ถ า ศ รั ท ธาพ อ ดี ห รื อ ศ รั ท ธาป ระกอบ ด วยป ญ ญ าแล ว ย อ ม กํ า จั ด โทสะ ไดแ นน อน ; เพราะวา ศรัท ธาถา ถูก ตอ งพอดี จะประกอบ ดว ย ธ รรม . ถา ป ระ ก อ บ ดว ย ธ รรม ป ระ ก อ บ ดว ย ค ว าม ถูก ตอ ง แลวคนเราจะโกรธไปไมได.

ถาม : อธิ บ ายเหมา ๆ เกิ น ไป. ยกตั ว อย า งง า ย ๆ ลู ก เด็ ก ๆ มี ศ รั ท ธาอย า งไร ? กําจัดโทสะ โกธะ ไดอยางไร ?

www.buddhadassa.in.th


๓๔๒

การกลับมาแหงศีลธรรม

ตอบ : ถ า อย า งเด็ ก ๆ สมมติ ว า เขามี ศ รั ท ธา หรื อ เชื่ อ เชื่ อ ฟ ง ในตั ว พ อ แม ที ่ ถ ู ก ต อ ง แล ว ก็ เ ชื ่ อ โดยถู ก ต อ ง ; เขาก็ จ ะไม ม ี ก ารทะเลาะกั น ในระหวา งพี ่น อ ง เปน ตน วา พอ แมไ ดส อนวา ใหรัก ใครร ะหวา ง พี่นอง เปนตน. ถาม : ทีนี้ สูงขึ้นมาถึงทายก ทายิกา คนแกวัดแกวาทั้งหลาย มีศรัทธาแลวจะ กําจัดโทสะหรือโกธะไดอยางไร ? ตอบ : ทีนี้ พอสูงขึ้นมาถึงทายก ทายิกา ถาศรัทธากลายเปนศรัทธาที่ถูกตอง ศรั ท ธาต อ พระรั ต นตรั ย ก็ จ ะรู ห ลั ก ธรรมว า ความโกรธนั้ น มั น เกิ ด มา จากไหนอยา งไร, สาเหตุข องการโกรธ เปน ตน วา กิเลส เปน สาเหตุ ที่ทํ า ใหโ กรธ รูโ ทษของความโกรธ มัน จะรูแ ละเชื่อ ไปในทางถูก ตอ ง. ก็โกรธไมลง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ยัง ออ มคอ มนัก ยัง เปน ทายก ทายิก า ที ่ไ มส มบูร ณแ บบ. ถา เขา มี ศ รั ท ธาในพระพุ ท ธ พ ระธรรม พ ระส งฆ เขาละอาย ; พ อจะโกรธ เทา นั ้น ก็ล ะอาย ไมต อ งโกรธ. พอโกรธ เขาละอาย ไมรู จ ะเอาหนา ไปไว ไหน. การมี ศ รัท ธากั น ตามแบบพระพุ ท ธศาสนา ที่ ก ล าวไวในพระบาลี จะเป น อยางนี้ เขาโกรธไมได เขาละอาย, เขามีหิริโอตตัปปะ. ถาม : มีศรัทธาแลวกําจัดโมหะไหม ? ไดอยางไร คุณทอง ? ศรัทธากําจัด โมหะ ปองกันโมหะไดอยางไร คุณทอง ? ตอบ : ศรัทธาประกอบดวยปญญา ที่เรียกวา ยถาภูตสัมมัปปญญา ยอมรูเห็น ตามเปนจริงในสิ่งนั้น ๆ แลวโมหะเกิดไมได.

www.buddhadassa.in.th


รากฐานของศีลธรรมอันดับหา

๓๔๓

นั ่น แหละมัน มาจากอโมหะ, ศรัท ธาชนิด นั ้น มาจากอโมหะ ซึ ่ง เปน ยถาภูต สัม มัป ปญ ญา. ทีนี ้ เดี ๋ย วนี ้ ที ่เราพูด กัน อยู ทั ่ว บา นทั ่ว เมือ งวา ศรัทธา, ศรัทธา ; นี่ไมไดมาจากอโมหะ. แตมันมาจากโมหะ เสียเปนสวนมาก มัน จึงกําจัด โมหะไมได ; เพราะมัน มาจากโมหะเสียเอง. ฉะนั้น เมื่อ เราพูด กัน วา ศรัท ธากํา จัด โลภะ โทสะ โมหะ ได, ตอ งเปน ศรัท ธาอยา งถูก ตอ ง ตามหลักของพระพุทธศาสนา กลาวคือ ออกมาจาก “ยถาภูตสัมมัปปญญา”. ศรั ท ธาชนิ ด นี ้ เ ป น อาหารหล อ เลี้ ย งศี ล ธรรมในโลก ; โลกกํา ลั ง ไม มี ศีลธรรม เพราะเขาไมมีศรัทธาอยางนี้. พวกที่ถือพระเจา ก็ไปเปนทาสของอายตนะเสียแลว ; เขากลาพูดวา พระเจาตายแลว. ฝรั่งที่มาที่นี่หลายตอหลายคน พูดวาพระเจาตายแลว. ถาม วาคุณถือศาสนาอะไร ? เขาวา ขาพเจาไมไดถือศาสนาอะไร. เลนกับพวกนี้ซิ. ก็ไมรูจะไปจดศรัทธาที่ไหน มันไมมีอะไรเปน ที่ตั้ง ; ในที่สุดก็ตองถือ พระเจา เงินตรา หรือพระเจาฮิตาชิ ในเรื่องที่เคยเลาใหฟง. เขาถือฮิตาชิ เพราะเขาทํางาน กับบริษัทฮิตาชิ เขาก็มีฮิตาชิเปนพระเจา และเปนที่ตั้งแหงศรัทธา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เอาละ, เปนอันวา เรามีศรัทธาใหถูกตอง. ขอรองใหทานทั้งหลาย ชํา ระชะล า ง สะสาง สอบสวน สิ่ ง ที่ เ รี ย กว า ศรั ท ธากั น เสี ย ใหม จงทุ ก คนเถิด ; จะไดเปนปจจัยเกื้อกูลแกตนไมศีลธรรม เชนเดียวกับอุณหภูมิเกื้อกูล แกความงอกงามของพฤกษาชาติทั้งหลาย. ....

....

....

....

www.buddhadassa.in.th


๓๔๔

การกลับมาแหงศีลธรรม

ทบทวนอีก ทีห นึ ่ง วา ตน ไม ทางศีล ธรรมตอ งอาศัย แผน ดิน คือ ธัม มสัจ จะ ที ่ฝ ง แนน อยู ใ นใจวา “สัต วทั ้ง หลายเปน เพื ่อ นทุก ข เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันทั้งหมดทั้งสิ้น”. ต น ไม ศี ล ธรรมต อ ง อาศั ย น้ํ า , น้ํ า ในที่ นี้ คื อ ความไม เป น ทาสของ อายตนะ ; มันไมเปนกิเลส มันไมรอน น้ําเปนของเย็น หลอเลี้ยงความสดชื่น. ต น ไม ศ ี ล ธรรม อาศั ย อาหาร คื อ การบั ง คั บ ความรู  ส ึ ก ให อ ยู ในอํ า นาจของเรา ใหเ ราชนะความรูส ึก . มัน จะเปน อาหารหลอ เลี ้ย งจิต ใจ ใหเจริญดวยศีลธรรม. ตน ไมศ ีล ธรรม อาศัย แสงสวา ง คือ ยถาภูต สัม มัป ปญ ญ า ; ดัง เชน ตน ไมไ ดแ สงแดด ปรุง อาหารได ไดก ิน ไดเ จริญ งอกงามเติบ โตได, สรางของเขียวอะไร, ที่ใชใหเปนประโยชนได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตน ไมแ หง ศีล ธรรมตอ งอาศัย อุณ หภูม ิที ่พ อเหมาะ พอดี คือ มี ศรัทธาที่ถูกตองตามหลักของมัชฌิมาปฏิปทาในพระพุทธศาสนา.

เป น อั น ว า หลั ก การแห งการกลั บ มาของศี ล ธรรม ที่ เราได พิ จ ารณา กั น โดยเฉพาะเจาะจงถึ ง รากฐานของต น ไม ท างศี ล ธรรมนี้ อย า งน อ ยก็ มี ป จ จั ย อยู๕ ประการ ; สําคัญ อยูที่ราก หรือที่โคน ดังไดวิสัชนา วิพากย วิจารณ กันมา พอสมควรแล ว ก็ น ั บ ว า เป น สมควรแก เ วลาในวั น นี ้ . ขอให นํ า ไปพิ จ ารณา ใชใหเปนประโยชนแกทานทั้งหลาย ทุกคนเถิด.

ขอยุติการบรรยาย ; ใหพระสงฆทั้งหลายทานสวดสาธยายบทพระธรรม อันเปนเครื่องสงเสริมกําลังใจ ในการประพฤติศีลธรรมสืบตอไป ณ กาลบัดนี้.

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม - ๙ ๒๗ มีนาคม ๒๕๑๙

ตน ลํา แหงศีลธรรม [ สุปฏิปตติ ]

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทานสาธุชน ผูมีความสนใจในธรรม ทั้งหลาย,

การบรรยายประจํ า วั น เสาร ภ าคมาฆบู ช า เป น ครั้ ง ที่ ๙ ในวั น นี้ อาตมาก็ ยั ง คงกล า วโดยหั ว ข อ ใหญ ว า การกลั บ มาแห ง ศี ล ธรรม ต อ ไป ตามเดิ ม ; และจะได บ รรยายโดยหั ว ข อ ปลี ก ย อ ยเฉพาะวั น นี้ ถึ ง สิ่ ง ที่ เรียกวา ตน ลํา แหงศีลธรรม. เราไดพ ูด กัน ถึง สิ ่ง ที ่เ รีย กวา รากฐานแหง สิ่ง ที ่เ รีย กวา ศีล ธรรม โดยรายละเอียดมาเปนการเพียงพอแลว ; โดยเฉพาะอยางยิ่ง เพียงพอที่จะใหรู

๓๔๕

www.buddhadassa.in.th


๓๔๖

การกลับมาแหงศีลธรรม

วาเรากําลังขาดรากฐานแหงศีลธรรมโดยประการทั้งปวง ก็วาได ; ในวันนี้จึง ควรจะกลาวถึงสิ่งที่ถัดไป คือ ตัวตนลําแหงศีลธรรม นั่นเอง. [ทบทวนขอความครั้งที่แลวมา ไปจนถึงหนา ๓๕๘ ]

ทําไมเราตองพูดกันถึงการกลับมาแหงศีลธรรม ? ทานที่ไมเคยฟงมา ตั้ง แตค รั้ง แรก ๆ ก็ค งจะยัง ไมเ ขา ใจก็เ ปน ได ; ดัง นั้น จึง อยากจะทบทวน หรือ ขอย้ํา อยูเสมอวา ตอ งมีก ารกลับ มาแหงศีล ธรรม, และจะตอ งพยายาม อยา งยิ ่ง เพื ่อ การกลับ มาแหง ศีล ธรรม อยา งที ่เ ขาเรีย กกัน โดยศัพ ทส มัย ปจ จุบัน นี้วา การรณรงค คือ การขวนขวายตอ สูปอ งกัน ทุก อยางทุก วิถีท าง เพื่อใหเกิดสิ่งที่เราตองการ. เดี๋ยวนี้ เราก็ ตองการการกลับมาแหงศีลธรรม ; เราก็ตองทําทุก อยางในลักษณะที่เรียกวา เปนการรณรงค ตอสูกับอุปสรรคทั้งที่เปนบุคคล หรือ ไมใชบุคคล เชน กิเลส เปนตน ใหประสบความสําเร็จ. และการบบรรยายชุดนี้ ก็มีความมุงหมายใหเปนการรณรงคตอสูอยูในตัวมันเอง ตอตานสิ่งที่มิใชศีลธรรม ;ชักชวนสงเสริมที่เรียกวา ศีลธรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทําไมเราจึงตองทําอยางนี้ ? คําตอบก็งายนิดเดียววา เวลานี้กําลัง เป น เวลาที ่ ไ ร ศ ี ล ธรรม บางคนก็ ไ ม เ ชื่ อ ; เพราะไม รู จั ก ว า ศี ล ธรรมนั ้ น คือ อยา งไร, เลยไมรูจัก กระทั่งถึง วา เราจะตอ งมีศีล ธรรม. ภาวะปจ จุบัน นี้ เปน ภาวะที่ป ราศจากศีล ธรรม ; สภาพการณที่เ ลวรา ยตา ง ๆ ก็มีม ากขึ้น ตามความไมม ีศ ีล ธรรม. ศีล ธรรม คือ ภาวะปรกติ หรือ ความสงบสุข อนุ โลมตามหลั ก เกณฑ ของธรรมชาติ ; เมื่ อ ไม มี ศี ลธรรมก็ เกิ ด ภาวะที่ วุนวาย ระส่ําระสาย ซึ่งเราเรียกกันวา วิกฤติกาล

www.buddhadassa.in.th


ตนลําแหงศีลธรรม

๓๔๗

คําแปลก ๆ ใหม ๆ เหลานี้ จําไวบ างก็ยังดี เพราะวามั นเป นการ ประหยัดเวลา ไมตองใชคําพูดหลายคํา ก็รูไดวา หมายถึงอะไร ; เชน คําวา รณรงค หรือ วิกฤติกาล อะไรอยางนี้, คําสั้น ๆ แตมีความหมายมากควรจะ จํากันไวพูด เพื่อประหยัดเวลา. เดี ๋ ย วนี ้ เป น วิ ก ฤติ ก ารทางศี ล ธรรม, คื อ ศี ล ธรรมไม ม ี หรื อ ศีลธรรมถูกกระทบกระเทือนจนไมมี ; เปนยุคที่วา ศีลธรรมเหลืออยูนอยมาก จัดเปนกลียุค ซึ่งเดี๋ยวนี้มันก็ยิ่งเหลือนอยมากลงไปอีกทุกวัน ๆ จนจะมีผลคือ ความวิน าศของมนุษ ย. ถา จะปลอ ยใหภ าวะไรศีล ธรรมเปน ไปโดยทํา นองนี้ เรื ่อ ย ๆ ไป มัน ก็ถ ึง วัน หนึ ่ง แน ซึ ่ง ความวิน าศของมนุษ ย หรือ จะเรีย กวา ความพายแพของมนุษยก็ได. มนุษยไมไดวินาศเพราะเหตุอยางอื่น เชนเรื่องทาง การเมื อ ง เป น ต น ; แต ม นุ ษ ย จะวิ น าศโดยแท จ ริ ง เพราะความไม มี ศีลธรรม. ขอใหนึกถึงสวนนี้เปนเบื้องหนา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เพื่ อ ให เ ข า ใจง า ยขึ้ น ก็ ค วรจะมองถอยหลั ง ไปดู ว า ภาวะไร ศี ล ธรรมนี้ มั น ตั้ ง ต น ขึ้ น มาอย า งไร ? หรื อ ว า ศี ล ธรรมมั น ค อ ยเสื่ อ มลงไป ทีละเล็กละนอยนั้น มันเพราะเหตุอะไร ? เรื่องนี้ก็ไดพูดกันมามากแลว สรุปเอาแต ใจความก็คือ วา สิ่ง เอร็ด อรอ ย สนุก สนาน ที่ทํา ใหเ กิด ความเห็น แกตัว นั้น มัน ไดเ ริ่ม เกิด ขึ ้น มาในโลก และขยายตัว ยิ ่ง ขึ ้น ทุก ที ; กระทั ่ง มีก ารผลิต อยางมากมาย เพื่อความเปนอยูชนิดเอร็ดอรอย สนุกสนานสะดวกสบาย ซึ่งมัน ลวนแตเพิ่มความเห็นแกตัว

www.buddhadassa.in.th


๓๔๘

การกลับมาแหงศีลธรรม

สิ ่ง ที ่เ ปน ตน เหตุอ ัน แทจ ริง ก็ม ีเ พีย งสิ ่ง เดีย ว คือ ความเห็น แก ต ั ว .. ความเห็ น แก ต ั ว มากขึ ้ น เท า ไร ศี ล ธรรมก็ จ ะลดน อ ยถอยลง ไปเทา นั้น ; เพราะวา ความเห็น แกตัว ทํา ใหอ ะไร ผิด ไปจากที่ค วรจะทํา ตาม กฎเกณฑของธรรมชาติ ; แตมัน ทํา ไปตามกฎเกณฑข องกิเลส หรือ ความเห็น แกตัว. เมื่อมนุษยยังไมเจริญ ความเห็นแกตัวก็มีนอย และสิ่งทั้งหลายในโลก มันก็ยังมีอยูมาก พอที่มนุษยนั้นไมตองดิ้นรนขวนขวายอะไร เพราะคนมันก็ยัง มีน อ ย. พอความเจริญ มีขึ ้น รู จ ัก กิน ดีอ ยู ด ีม ากขึ ้น ติด ในรสอรอ ยของความ เจริญ นั ้น แลว ; จิต ใจของคนก็เ ริ ่ม เปลี ่ย นแปลง คือ เห็น แกต ัว มากขึ ้น เพราะความเอร็ดอรอยนั้นเปนเหตุ. ถา จะพูด กัน ตามภาษาพุท ธศาสนา หรือ ที ่ พระพุท ธเจา ทา น ใชต รัส มากที่สุด ก็ก ลา วไดวา เพราะสิ่ง สิ่ง เดีย ว คือ ผัส สะ, ผัส สะหมาย ถึง การกระทบ การถูก ตอ งของอายตนะ คือ ตากับ รูป หูก ับ เสีย ง จมูก กับ กลิ ่น ลิ ้น กับ รส ผิว หนัง กับ สิ ่ง ที ่ม าสัม ผัส ผิว หนัง และก็ใ จกับ สิ ่ง ที ่ม ารูส ึก ขึ ้น ทางใจ มีดว ยกัน ๖ คู. การกระทบกัน ระหวางสิ่งขา งนอกและขา งใน นี่เรีย ก วา “ผัส สะ” ; คํ า วา ผัส สะคํ า เดีย ว อธิบ ายไดทั ้ง เรื่อ งของโลก ๆ และเรื่อ ง ของธรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ผัสสะ เปนปญ หาอันแรกที่สุดของมนุษย เพราะวาคนตองอยูดวย ผัส สะ และตอ งเปน ไปอยา งถูก ตอ ง ; พอเกิด ผิด ขึ้น มา มัน ก็ส รา งปญ หา. พอมนุ ษ ย รู จั ก เอร็ ด อร อ ยเพิ่ ม ขึ้ น หมายความว า ความเปลี่ ย นแปลงทาง

www.buddhadassa.in.th


ตนลําแหงศีลธรรม

๓๔๙

ผั ส สะมั น ก็ เกิ ด ขึ้ น คื อ อยากจะมี ให ม ากยิ่ ง ๆ ขึ้ น ไป ; คนจึ ง เปลี่ ย นแปลงมา ตามลําดับยุคสมัย จะเปนเวลากี่หมื่นป กี่พันป กี่รอยปมานี้ ก็ตาม มันเปลี่ยน ไมม ีห ยุด ; เพราะความตอ งการในทางผัส สะนั ้น มัน เปลี ่ย น: อยากจะกิน อยางนั้น อยากจะอยูอยางนี้ อยากจะนุงหมอยางโนน มันก็เปลี่ยน ๆ ๆ. ที่นี้ ก็ตองดูวามันเปลี่ยนไปทางไหน ? มันเปลี่ยนในทางที่วา จะมี ศีลธรรม หรือเปลี่ยนไปในทางที่จะไรศีลธรรม ? มันจะเปนดวยเหตุใด ก็อยา ตอ งอธิบ ายใหม ากนัก เลย. มองเห็น ชัด อยูแ ลว วา มัน เปลี่ย นไปในทางที่ เห็น แกตัว : ทุก คนเห็น แกตัว , ทุก คนเห็น แกค วามสนุก สนาน เอร็ด อรอ ย ของตัว , มัน ก็เ ปลี่ย นแตใ นทางที่จ ะใหไ ดสิ่ง นั้น เพื่อ ตัว โดยไมตอ งคํา นึง ถึง ผูอื่น. นี้เรียกวา เปนมาตามธรรมชาติแหงกิเลส. ทีนี้ สิ่งที่จะเรงใหเร็วเขาก็คือ มนุษยมีความรูขยายตัวเพิ่มออกไป ในทางประดิษ ฐสิ ่ง ที ่ไ มเคยมี ใหม ีขึ ้น มา: ; ที ่ไ มยั ่ว ยวนกิเ ลส ก็ใ หยั ่ว ยวน กิเลสขึ้นมา, ที่ไมยั่วยวนกิเลสนัก ก็ใหยั่วยวนกิเลสยิ่งขึ้น ; ฉะนั้น ในโลกนี้ จึง เกิด สิ่ง ที่ยั่ว ยวนกิเ ลสสูง สุด . เมื่อ คนบัง คับ ความรูสึก ไวไ มไ ด ก็ไ ปหลง ในสิ่งตาง ๆเหลานี้ ; ก็เลยไมตองคํานึงวา อะไรผิด อะไรถูก อะไรมีศีลธรรม หรือไมมีศีลธรรม, เอาแตจะใหไดตามที่ตัวเองตองการ ; แลวก็มีการตอสูกันเปน การใหญ ในระหวางบุคคล หรือสังคม หรือหมูคณะ เพื่อใหไดตามที่ตัวเองตองการ ; อางอยางนั้น อางอยางนี้ อางอยางนูน ซึ่งเปนความเท็จทั้งนั้น : วาเพื่อความ ยุ ต ิ ธ รรมบ า ง, เพื ่ อ สั น ติ ส ุ ข บ า ง, จึ ง ได ต  อ สู  ดิ ้ น รนอย า งนั ้ น อย า งนี ้ ; แตที ่แ ทแ ลว มัน เพื ่อ ความเห็น แกต ัว ของตัว ที ่จ ะใหไ ดด ี มีอ ะไรตามที่ กิเลสของตัวตองการ

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


๓๕๐

การกลับมาแหงศีลธรรม

ฉะนั้น ผูที่ช อบอา งสัน ติภ าพ สัน ติสุข ขึ้น มาบัง หนา นั้น ควร จะคิด กัน เสีย ใหม ; เพราะคนเขารูเทา ทัน กัน ขึ้น มากแลว , และตัวเองก็ค วร จะรูจัก กิเลสของตัว เองใหม ากขึ้น กวา แตกอ น. ถา เปน ไดด ัง นี ้ ก็ม ีท างที ่จ ะ ยอนกลับไปหาความมีศีลธรรม. นี่คื อ ขอ เท็ จจริง ที่ มั น ไดมี อ ยูจริง ตลอดเวลาอัน ยื ด ยาวมาจนถึ ง กระทั่งทุกวันนี้. เมื ่อ กอ น มนุษ ยเ กือ บจะไมม ีค วามเห็น แกต ัว ; เปน ไปตาม ธรรมชาติ. จงดูในสัตวเดรัจฉานที่ยังคงมีอยูในบัดนี้ ไมไดเห็นแกตัวอะไรมาก มายนัก กินอิ่มก็พอแลว, ไมมีความคิดที่จะทําลายผูอื่น หรือแผนการณที่จะ ลม ลา งผูอื่น , และไมมีส ติปญ ญาที่จ ะประดิษ ฐสิ่งสวยงาม เอร็ด อรอ ยขึ้น มา มอมเมาตัวเอง. สัต วเดรัจฉานจึงมีค วามเห็นแกตัวนอ ย อยูกัน อยางเงีย บ ๆ งาย ๆ ผาสุกตามประสาเดรัจฉาน. สวนที่เรียกวาคนหรือมนุษย นั้น วิ่งไปไกล อยางที่วามาแลว มันจึงมีความเห็นแกตัวสูงสุด อยางที่เทียบกันไมได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี่ปญ หาของมนุษ ยจึงมีมาก ชนิด ที่ถาสัต วเดรัจฉานมันมองเห็น และมัน พูด ได มัน ก็จ ะหัว เราะเยาะ. เดี๋ย วนี้เ ราก็ย กไวใ หแ ตพ วกผี ปศ าจ นั่นแหละ ที่พอจะหัวเราะเยาะมนุษยได ; เพราะมันเปนคนที่ตายไปแลว มีสติ ปญญาพอที่จะหัวเราะเยาะคนที่อยูขางหลัง วามันชางทําอะไรที่ไมนาทํา คือทํา เพื่อทําลายความสงบสุขของตนเอง.

www.buddhadassa.in.th


ตนลําแหงศีลธรรม

๓๕๑

การที่อุปมาอยางนี้ ก็เพื่อจะฟงงาย ๆ เขาใจงาย ๆ และจําไวไดงาย ๆ วาเรามนุษยนี่กําลังทําสิ่งที่ใหผีหัวเราะเยาะ ; มีความสงบสุขนอยกวาสัตวเดรัจฉาน เพราะมีค วามเห็น แกตัว มาก. คํา พูด อยา งนี้ มิไ ดห มายความวา จะตอ งการ ใหไ ปเปน สัต วเ ดรัจ ฉาน ; แตต อ งการใหเ ทีย บดู วา กิเ ลสนั ้น มัน เกิด ขึ้น มา ไดอยางไรในสิ่งที่มีชีวิต ; เมื่อมีกิเลสมากแลว มันมีผลอะไรเกิดขึ้น. ถ า มี ส ติ ป  ญ ญ า ห รื อ ค ว าม รู  ไ ม ท ั ด เที ย ม กั น กั บ กิ เ ล ส แ ล ว ก็จ ะตอ งมีค วามทุก ขโ ดยสว นเดีย ว ; ถา เรากา วหนา ในทางของความสุข จากกิเลสตัณหามากเทาไร ก็ตองมีสติปญญาทัดเทียมกัน จึงจะแกปญหาเหลานี้ได. ฉะนั้น ในโลกปจจุบันนี้ หมายความวาเรามีความกาวหนาทางวัตถุเทาไร ก็จะตอง มีค วามรูท างธรรมใหท ัด เทีย มกัน ; เพื ่อ จะควบคุม ความกา วหนา ทางวัต ถุนั ้น อยาใหเปนพิษ เปนโทษ เปนอันตรายขึ้นมาไดนั่นเอง. เดี๋ยวนี้ เพราะความกาวหนาในทางจิตใจ หรือทางธรรมะมีไมพอ ; สว น ความกา วหนา ทางวัต ถุม ากเกิน ไป, โลกจึง มีส ภาพอยา งนี ้ คือ มีแ ต คนที่ ห ลงไหล ในความเอร็ด อรอ ย สนุ ก สนาน สวยงาม สรวลเสเฮฮา ถื อ สิ่ ง เหลานี้เปนสรณะ แลวก็หลงจนถึงขนาดที่ฆาฟนกันเพื่อไดสิ่งเหลานี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เปน อัน วา นี ้เปน เครื่อ งที ่ชี้ใหเห็น อยา งเพีย งพอแลว วา สภาพอัน เลวรา ย มัน มีอ ยู ใ นโลกนี ้ ในเวลานี ้ ในปจ จุบ ัน นี ้ เปน อยา งไร. แมใ นสว น บุ ค คลแท ๆ ก็ ม ี ว ิ ก ฤติ ก ารณ , ระหว า งสั ง คมกั บ สั ง คม ก็ ม ี ว ิ ก ฤติ ก ารณ , จนตลอดทั ้ง โลกมัน ก็เ ต็ม ไปดว ยวิก ฤติก ารณ ; ทํ า สิ ่ง ที ่ไ มจํ า เปน ตอ งทํ า มากขึ้น ไมไ ดตอ งการความสงบสุข ; แตตอ งการความสุข ชนิด ที่เ ปน เรื่อ ง

www.buddhadassa.in.th


๓๕๒

การกลับมาแหงศีลธรรม

ของกิเลส ซึ่งโดยที่แทแลวก็เปนเพียงความเพลิดเพลิน ; ไมรูจักแยกความหมาย ของคําวา เพลิด เพลินนั้นออกไป จากความหมายของคําวา สุข สงบ, แลวก็ ไปหลงเอาความเพลิด เพลิน นั่น แหละมาเปน ความสุข ; ตอ งการความสุข ; ที ่ แ ท ก ็ ค ื อ ต อ งการความเพลิ ด เพลิ น ; เลยพู ด กั น ไม รู เ รื่ อ ง สอนศี ล ธรรม กันไมรูเรื่อง เพราะใชคําพูดที่มีความหมายตางกัน แตวาเปนคําคําเดียวกัน. ขอให ช ว ยสั ง เกตข อ นี้ ไว ด ว ย ว า เรากํ า ลั ง พู ด กั น ไม รูเรื่อ ง ก็ เพราะ ภาษาเปนตนเหตุ คือภาษาของคนที่หลงในความเพลิดเพลิน นี้มันมีอยูระบบหนึ่ง ; และภาษาของคนที่ไมหลงในความเพลิดเพลินเหลานั้น มันก็มีอยูอีกระบบหนึ่ง ; แต โดยเหตุ ที่ ใช คํ าพู ด ปนกั น ไป ก็ เลยทํ าให เข าใจกั น ไม ได : ทั้ ง ๒ ฝ า ยบอกว า ตอ งการความสงบสุข ; แต แลวก็ทํ ากัน อยางตรงกันขาม ทั้ง ๆ ที่ วาตองการสิ่ ง เดียวกัน แตทําไปในลักษณะที่ตรงกันขาม. ขอใหไปคิดดูใหดี. ทีนี้ มาดูถึงสิ่งที่ควรจะดู หรือควรที่จะหยิบขึ้นมาพิจารณา วาโลกนี้ มี ค วามเลวรายทางศี ล ธรรมอย างนี้ จะต อ งทํ า กั น อย า งไร ? ถ า ต อ งการความ สงบสุข มัน ตอ งเปน ชนิด ไหน ? ทา นทั้ง หลายอาจจะนึก อยูใ นใจแลว ก็ไ ดวา “เราจะตอ งถอยหลัง เขา คลอง” ; แตวา คนไมช อบคํ า วา ถอยหลัง เขา คลอง ; เขาตองการใหมีของแปลกของใหมรุดไปขางหนา, นี่มันก็พูดกันไมรูเรื่องในขอนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สว นอาตมานั ้น ยืน ยัน วา เราตอ งถอยหลัง เขา คลอง ในแบบ หนึ่ง คือ ถอยหลัง ไปหาศีล ธรรม ซึ่ง เปน อยูอ ยา งปรกติ, เปน อยูอ ยา งมีค วาม เห็น แกตัวนอย, ซึ่งไดเคยพู ดมาแลวหลายครั้งหลายหน วาศีลธรรมเป นตัวแท ของธรรมชาติ อั น บริสุ ท ธิ์ , ธรรมชาติ ล ว น ๆ ธรรมชาติ อั น บริสุ ท ธิ์ อ ยู ด ว ยความ

www.buddhadassa.in.th


ตนลําแหงศีลธรรม

๓๕๓

ปรกติ สงบสุข ; ขอให ยังคงความหมายอันนี้ไวให ได. ถาเราอยากจะขยับขยาย อะไรออกไปบ าง เพื่ อความสะดวกสบาย ก็ตองคงความหมายเดิม คือปรกติและ สงบสุขไวใหได. อยา เห็น แกค วามสะดวกสบาย สนุก สนาน แลว สูญ เสีย ความ เป น ปรกติ ; ถ า สู ญ เสี ย ความปรกติ ก็ ห มายความว า ความทุ ก ข ย ากลํ า บาก ระส่ํา ระสายทางจิต จะเกิด ขึ้น อยา งที ่ห ลีก เลี่ย งไมไ ด แลว ความสะดวกสบาย นั้นมันจะมีประโยชนอะไร. ศี ล ธ ร ร ม ต อ ง เ ป น ค ว า ม ป ร ก ติ ส ุ ข ต า ม ห ลั ก เ ก ณ ฑ  ข อ ง ธรรมชาติ ; ถา มนุษ ยต อ งการความเปน มนุษ ย ก็ยิ ่ง ตอ งอาศัย ศีล ธรรม. ถาไมตองการความเปนมนุษยก็ตามใจไมไมใครวา ; แตถาตองการความเปนมนุษย ถูกตองตามความหมายของคําวา มนุษยแลว ก็ไมมีอื่น นอกจากจะตองยึดหลักของ ศีลธรรมไวใหไดนั่นเอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ม นุ ษ ย ต  อ ง ทํ า ใ น สิ ่ ง ที ่ เ รี ย ก ว า ศี ล ธ ร ร ม ; ไ ม อ ย า ง นั ้ น ก็ จ ะ หมดความเปนมนุษ ย ไมมีอะไรที่นาดู. มนุษยไดเคยทํามาแลว และตองกระทํา ตอ ไป ; แต นี่ ม นุษ ยเคยทํ ามาแลว แล วก็ละเสีย และก็ไม อยากจะทําอีก ป ญ หา มั น ก็ เกิ ด ขึ้ น คื อ จะไม มี ค วามสงบสุ ข หรื อ ไม มี ศี ล ธรรม. ศี ล ธรรมนี้ เป น ความ ปรกติ เมื่อไมทําความปรกติ มันก็ตองวุนวาย ตองเดือดรอนระส่ําระสาย. มนุษย สมัยหนึ่งจึงยึดมั่นในเรื่องของศีลธรรม ก็เปนยุคที่เรียกวามีศีลธรรม นาเลื่อมใส ; ตอมาก็เปลี่ยนแปลงไป.

www.buddhadassa.in.th


๓๕๔

การกลับมาแหงศีลธรรม

ม นุ ษ ย ย ุ ค นี ้ จ ะ ต อ ง เรี ย ก ว า มี โ ช ค ร า ย เพ ร า ะ ว า ม า ช ว น กั น เหยีย บย่ํ า ศีล ธรรมโดยไมรู ส ึก ตัว และก็ผ ลิต สิ ่ง ที ่เ ปน ขา ศึก แกศ ีล ธรรมขึ ้น มา มากมายเกินไป จนเรียกไดวามันเต็มไปดวยอบายมุข ; ที่พ ระพุ ท ธเจาท านตรัส สรุป ไว โดยหัวขอ ที่วา ดื่ม น้ําเมา เที่ย วกลางคืน ดูก ารเลน เลน การพนัน คบคนชั่ ว เป น มิ ต ร เกี ย จคร า นทํ า การงาน ; แม มี หั ว ข อ เพี ย ง ๖ ข อ แต ร าย ละเอี ย ดแจกลู ก ออกไปได เป น สิ บ ๆ เป น ร อ ย ๆ ที เดี ย ว ; ไม มี ช อ งทางแห ง ความ เลวรายอะไรนอกไปจากอบายมุขเหลานี้. ขอใหด ูก ัน ในขอ นี ้ใ หม ากเปน พิเ ศษ วา ทํ า ไมเราจึง ไปหลงชอบ และผลิต สิ ่ง ซึ ่ง เปน อบายมุข ขึ ้น มา, และพรอ มกัน นั ้น ก็จ ะตะโกนหาความ สงบสุข. ถาผี หั วเราะมั นก็ หั วเราะในขอที่ วา มั นเป นคนบ า เกิ นกวาที่ จะเรียกวา บา ; ตอ งการความสงบสุข แตผ ลิต สรา งสิ ่ง ที ่เ ปน ขา ศึก แกค วามสงบสุข . คนบ า ก็ ยั ง ไม ทํ า อย า งนั้ น ; นอกจากจะเป น คนบ า ที่ เกิ น ธรรมดาเท า นั้ น : บ า ไป ยิ่ ง กว า คนบ า ; และก็ ไม มี ใครมาว า เรา เพราะว า เราทุ ก คนนั้ น เป น อย า งนี้ กั น เสี ย เองทั ้ง หมด แลว ใครจะมาวา ใคร, แลว ใครจะมาตัก เตือ นใคร ; ในที ่ส ุด มัน ก็ ต  อ งจมลงไปในอบาย. คํ า ว า “อบาย” แปลว า หาความสงบสุ ข ไม ไ ด , ก็ตองจมลงไปในอบายยิ่งขึ้นทุกที.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เดี๋ ย วนี้ การผลิ ต ทางอบายมุ ข มั น ก า วหน า และวิ่ งเร็ว จี๋ ที เดี ย ว. ขอให เที ย บดู กั บ ระยะเวลาแต เพี ย งว า ๕๐ ป ม านี้ มั น ก็ ไม ม ากเหมื อ นเดี๋ ย วนี้ ; ยิ่ งวั น นี้ หรือ พรุง นี ้ ก็จ ะยิ ่ง มากจะยิ ่ง เร็ว ยิ ่ง ขึ ้น ไปอีก สํ า หรับ การผลิต ทางอบายมุข .

www.buddhadassa.in.th


ตนลําแหงศีลธรรม

๓๕๕

เราจะทํ า อยา งไรดี ? อาตมาจึง พูด วา ถา เห็น แกค วามสงบสุข ไมต อ งการ ความวินาศแลวก็ชวยกันเถิด ใหมีการกลับมาแหงศีลธรรม. นี่คือขอปรารภ และขอที่ตองขอทบทวนกันอยูเปนประจํา ใครจะเบื่อ ก็ตามใจ อาตมาเบื่อไมได ไมรูสึกเบื่อในการที่จะพูดถึงการกลับมาแหงศีลธรรม ; ฉะนั้น จึงตั้งความพยายามในการชี้แจง วิพากยวิจารณ ใหเปนที่เขาใจแจมแจง ในเรื่องของศีลธรรมมาหลายเวลาแลว. การบรรยายเปนชุด ๆ เรื่องศีลธรรมนี้ มีม าอยางนอ ยก็ ๕ ชุด ทั้งชุด นี้, ชุด หนึ่ง ก็ห ลาย ๆ ครั้ง ยัง จะตอ งพูด กัน ตอ ไปอีก. ใครจะวาบาก็ตามใจ รูสึกวาไมมีสิ่งอื่นที่จะควรทํานอกจากเรื่องนี้. ....

....

....

....

ทีนี้ การบรรยายในครั้งที่แลว ๆ มา เราพูดกันถึงเรื่องรากฐานของ ศีลธรรม ที่จะตองมีในสายเลือดของคน ติดมาจากบิดามารดาที่มีศีลธรรม ; แลวก็ตอ งมีศีล ธรรมอยูในการศึกษาอบรมลูก เด็ก ๆ ใหเขาไดรับ ความรูเรื่อ ง ศีลธรรมเพียงพอ และตองใหมีศีลธรรมอยูในการดํารงชีวิตของทุกคน จนกระทั้ง ตายเขาโลงไป, ใหมันตายลงไปดวยภาวะของความมีศีลธรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ขอทบทวนอี ก ที ห นึ ่ ง ว า ศี ล ธรรมนั ้ น ต อ งมี ใ นสายเลื อ ดที ่ ต ิ ด มาจากบิ ด ามารดา เป น ข อ แรก, และศี ล ธรรมนั้ น ต อ งมี ใ นการศึ ก ษา การอบรมลูกเด็ก ๆ ใหเขาลืมตา และเจริญขึ้นมาดวยสิ่งที่เรียกวา ศีลธรรม, ใหเขา มี ศี ล ธรรมอยู ที่ ก าย วาจา ใจ ตลอดไป จนกว า จะถึ ง วั น สุ ด ท า ยของ ชีวิต. นี่ศีลธรรมจะตองมีในลักษณะอยางนี้.

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๓๕๖

เมื่อเปนดังนี้เราก็จะตองลงทุนกันสักหนอย เพื่อจะศึกษาใหเขาใจ ; เพราะมันเปนเรื่องที่ลึกซึ้งอยูมาก จึงสมมติวาเหมือนกับตนไม ที่จะเจริญงอกงาม อยูได มันตองไดอะไรบาง. ศีลธรรมก็เหมือนกัน มันจะเจริญ รุงเรืองขึ้นมาได เพราะมันไดอะไร ? เมื่อดูกันโดยละเอียดก็เปรียบกับตนไม วา ตนไมนี้สวนที่เปนฐาน รากแท ๆ มัน ตอ งการแผน ดิน , มัน ตอ งการอาหาร ที่มีอ ยูใ นดิน , ตอ งการ น้ํา , ตอ งการแสงแดด, ตอ งการอุณ หภูมิ, ซึ่ง ไมคอ ยมีใ ครจะไปเอาใจใส กับมัน นอกจากผูที่เปนนักศึกษาคนควา. ชาวบานตามธรรมดาก็ไมคอยสนใจ ; เอาเมล็ดเพาะปลูกลงไปเปนตนไม งอกขึ้นมาก็กินลูกกินผล ก็เลยโงอยูมาก ; พูดเรื่องตนไมเองก็ไมเขาใจ. เรื่องของศีลธรรมก็คลาย ๆ กันอีก เมื่อเขาประพฤติป ฏิบัติอ ยูพ อ สมควร มีค วามสงบสุข ไดเปน ที่พ อใจแลว ก็ไ มตอ งรูวา มัน มีอ ะไรที่เ ปน ขอ ปลีกยอยโดยรายละเอียด. นี่เราจึงตองมาพูดกันใหม ; เพราะยิ่งเดี๋ยวนี้มันถึงยุค ที่เรียกวา วิกฤติกาล กําลังเปนปญหาหนัก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ....

....

....

....

แผน ดิน ของศีล ธรรม คือ อุด มคติ ที ่ถ ือ วา “สัต วทั ้ง หลาย เป น เพื ่ อ นทุ ก ข เกิ ด แก เจ็ บ ตาย ด ว ยกั น ทั ้ ง หมดทั ้ ง สิ ้ น ”. ถ า ยั ง มี ความรูสึกอยางนี้อยูในใจแลว ก็เรียกวามันมีแผนดินใหตนไมงอก ; หมายถึง ตนไมของศีลธรรมมัน จะงอกอยูบนแผน ดิน คือความรูสึก ของคนที่วา “สัต ว

www.buddhadassa.in.th


ตนลําแหงศีลธรรม

๓๕๗

ทั้งหลายเปนเพื่อนทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันทั้งหมดทั้งสิ้น “ดังมีรายละเอียด ที่เคยพูดกันมามากแลว. ทีนี้ ตนไมตองมีน้ํากิน ไมมีน้ํามันก็แหงตายหมด ; ตนไมศีลธรรมก็ ตอ งมีน้ํ า กิน คือ ความไมเปน ทาสแกก ิเลส ความไมเปน ทาสแกอ ายตนะ. ความเปน ทาสแกกิเลส มัน รอ น มัน เปน น้ํา ไมได ; ตอ งไมเปน ทาสของกิเลส จึง จะเปน ของเย็น เหมือ นกับ น้ํา ที่จ ะมารดตน ไมศีล ธรรม. เลิก ความเปน ทาส ของอายตนะกันเสีย ก็จะมีน้ํามาใหตนไมตนนี้กิน. ส ว นแร ธ าตุ ที่ เ ป น อาหารในดิ น นั้ น คื อ การบั ง คั บ จิ ต บั ง คั บ ความรูสึก ; อยา ใหค วามรูสึก มัน พลุง พลา นไปตามอารมณ. ฝา ยที่เ ลวรา ย ก็ บั งคั บ ไว โดยเด็ ด ขาด, แม ฝ า ยที่ เรีย กว า ไม เลวรา ย ก็ ต อ งบั ง คั บ ไว ให อ ยู ใน ลักษณะที่พอเหมาะพอดี ; อยางนี้เรียกวามันมีความถูกตองในความเปนอยู เปน เหมือนกับอาหารของตนไมศีลธรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตองมี แสงแดด ตนไมจึงจะอยูได ตนไมศีลธรรมก็ตองการปญญา ซึ ่ ง เป น แสงสว า ง คื อ ความรู  ค วามเข า ใจถู ก ต อ งในสิ ่ ง ทั ้ ง หลายทั ้ ง ปวง ตามที ่เปน จริง วา เปน อยา งไร. นี ้จ ะเปน แสงแดดเลี ้ย งตน ไมศ ีล ธรรมใหเจริญ งอกงาม.

ในที่สุด อุณหภูมิ ที่พอเหมาะพอดี ที่ตนไมจะเกิดจะงอกนี้ เราเล็งถึง ศรัท ธา ความเชื่อ ที่พ อดี หรือ ถูก ตอ ง. อยา มีค วามเชื่อ งมงายอีก ตอ ไปเลย ; มีสติปญญาอยางถูกตองตาที่เปนจริง ในธรรมชาติ ในตัวของธรรมชาติ แลวก็จะ

www.buddhadassa.in.th


๓๕๘

การกลับมาแหงศีลธรรม

มีความรูความเขาใจ ความเชื่อหรือความคิดเห็นอะไรที่ถูกตอง ที่หลอเลี้ยงตนไม ศีลธรรมนี้ใหเจริญได. นี้ สวนที่ เป นรากฐานมี อ ยูเป น หั วขอ ใหญ ๆ อย างนี้ แล วขอ ปลีก ยอ ย มันก็ออกมาอีกไดมาก คือออกมาจาก ๕ อยางนั้นไดอีกมากมายเปนขอปลีกยอย เรีย กวา สิ ่ง ที ่ม าดว ยกัน คือ จะมี หิริ - ความละอายตอ บาป, โอตตัป ปะความกลั ว บาป, เมตตา - ความรั ก เพื ่ อ นมนุ ษ ย , ขั น ติ - ความอดทน , สั จ จะ - ค วาม จริ ง ใจ, ท ม ะ - การบั ง คั บ ตั ว ไว ไ ด , จาคะ – ความ เสี ย สละสิ่งที่ควรเสียสละ, และอะไรอื่นอีกมากมาย กระทั่งสิ่งสุดทายที่จะเรียกก็คือ ความบริสุ ท ธิ์ ; แล ว จะมี ค วามบริสุ ท ธิ์ อ ยู ได ไม มี โทษ ไม มี ค วามผิ ด . ทั้ งหมดนี้ เปนเรื่องรากฐานของศีลธรรม ; ขอย้ําไวอยางนี้. [เริ่มการบรรยายโดยหัวขอแหงครั้งนี้ ]

ศีลธรรม. www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทีนี้ ก็มาถึงเรื่องที่ตั้งใจจะพูดกันในวันนี้ คือเรื่อง ต น ลํ า ของ

รากของต น ไม ศี ล ธรรม คื อ อุ ด มคติ ที่ ถู ก ต อ ง ต น ลํ า ของต น ไม ศี ล ธรรม นั้ น คื อ การปฏิ บั ติ ที่ ถู ก กต อ ง, ดอก ผล ของ ตนไมศีลธรรม คือ สันติสุขและสันติภาพ ; ขอใหจําไวเปนหลักทั่ว ๆ ไป.

ทีนี ้ จะพูด กัน เฉพ าะสว นที ่จ ะเปน ลํ า ตน ของศีล ธรรม . สิ ่ง ที่ เรียกวา ลําตน คืออะไร ของใหรูความหมาย.

www.buddhadassa.in.th


ตนลําแหงศีลธรรม

๓๕๙

ถาม : มี คํ า ที่ ใ ช กั น อยู ๒ คํ า : ลํ า ต น ก็ มี , ต น ลํ า ก็ มี ; คํ า ว า “ลํ า ต น ” กับคําวา “ตนลํา” นี่มันตางกันอยางไร คุณประยูรวาอยางไร ? ตอบ : ลําตน หรือตนลํา ตอนนี้ผมเขาใจวา มันนาจะเหมือนกัน. ถาม : คุณ ทองวาอยางไร นี่เป นครู คนที่เปนหมอบอกวาเหมือนกัน คนที่ เปนครูวามันตางกันอยางไรไหม ? ตอบ : ลํ าต น กั บ ต น ลํ า ผมวาเหมื อ นกั น คื อ ส วนที่ ต อ มากจากโคน และ ก็เปนทางเดินของอาหารสูปลายตนไม. ถาม : คุณชวน ตนลํา กับ ลําตน เหมือนกันไหม ? ถาตางกันอยางไรก็วาไป. ตอบ : กระผมมีความเห็นวาตางกันครับ. ถาลําตนจะตองมีกิ่ง มีกาน แตก สาขาออกไป แตถา ตน ลํา คงจะหมายถึงตน ไมป ระเภทมีขอ มีลํา มากกวา

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : คุณล้ํา ตนลํา กับ ลําตน ?

ตอบ : ตนลํา กับ ลําตน ผมเขาใจวา คงจะแตกตางกันบาง. ลําตนก็หมาย ถึง สิ ่ง ที ่ไ มม ีส าขาออกไป คือ เปน ลํ า ตน . ตน ลํ า ก็ห มายถึง สิ ่ง ที ่มี สาขาออกไป มีกิ่งกานสาขาออกไป. ไดทั้งนั้น แลวแตจะพูด ; พูดได. นี่คือความยากลําบากของภาษา มั น เป น เรื่ อ งของภาษา ; แต โดยที่ แ ท แ ล ว มั น จะเหมื อ นกั น ไม ได ; มั น ต อ งมี

www.buddhadassa.in.th


๓๖๐

การกลับมาแหงศีลธรรม

ความหมายตา งกัน . ทีนี้ เราเรีย นภาษาไมพ อ, เรารูภ าษาไมพ อ เราจึง ไมรูความตางของคําวา ตนลํา กับคําวา ลําตน. ลองไปนึกถึงคําพูดบางประโยค ที่เราใชคําเหลานี้พู ดซิ : “เปนตน เปน ลํา , เปน ลํา เปน ตน ”. ตน ลํา กับ ลํา ตน ไมไ ดเ ปน คํา เดีย วกัน แท ; มุง หมายพูด กัน ถึง ความหมายอื่น จากกัน . ตน ลํา ก็คือ วา มัน มีตน มีลํา , มัน ไม เหลวควางไป ในอากาศธาตุ ; มั นมีต น มีลํา ให เห็ นกันอยู, และเรา หมายถึง ตนลําที่มันเปนแกนสาร. เราจะไมเรียกผักบุงวาตนลําก็ได ไมเปน ต น ไม เ ป น ลํา ; แต ต น ไม เ ราเรี ย กมั น เป น ต น เป น ลํา . ที่ เ รี ย กว า ลํา ต น ก็คือ สวนที่มันเปนตน ที่มันใหญ เปนสวนสําคัญ ที่จะทรงตัวมันไว. เดี ๋ย วนี ้ เราจะพูด ถึง ลํ า ตน นี ่ มากกวา ที ่จ ะพูด ถึง ตน ลํ า . “ลํา ตนของศีล ธรรม” แตเราจะพูด วา ตน ลําของศีล ธรรมก็ไดเหมือ นกัน คือ เอาสวนที่มัน เปน ตน เปน ลํา มันไมเควง ควางเปนอากาศธาตุ. แตถาพูด วา ลําตน, เอาตรงที่มันล่ําสัน แนนหนา เขมแข็ง เปนของตั้งมั่นอยูได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาพูดวา “ลํา” เฉย ๆ ก็คือ แสดงถึงรูปราง เปนทรวดทรงที่ตรง ขึ้น ไป และโดยมากก็ห มายถึง กลม ; เชน ลํา ออ ย หมายถึงวา มัน เปน ลํา . แตถาตนไมใหญ ๆ ก็หมายถึงสวนกลางอยางที่เราเห็นอยูสะพรั่งไปในที่นี้ วาลําตน มันอยูตรงไหน. ถาม : ถาถามวา ลําตน อยูที่ตรงไหน ตอบวาอยางไร ? ตอบ : ระหวางโคนกับปลาย ครับ.

www.buddhadassa.in.th


ตนลําแหงศีลธรรม

๓๖๑

นั ่ น แหละถู ก ที ่ ส ุ ด ; ระหว า งรากกั บ กิ ่ ง คื อ ลํ า ต น . ส ว นนั ้ น มันใหญ มันแข็ง มันเปนที่ทรงตัว และควรจะเรียกไดวา ศูนยกลางดวย คือ ตรงกลาง. ขา งลางลงไปเปน รากอันมากมาย, ขางบนขึ้น ไปเปน กิ่ง เปน ใบ อันมากมาย. ที่อยูตรงกลางนี้ เปนลําตน. ถาม : แกนของตนไมอยูที่ตรงไหน คุณประยูร ? ตอบ : แกนของตนไมอยูตรงใจกลางของลําตนอีกทีหนึ่ง. ถาไมรูวา แกน ของตน ไมอ ยูที่ต รงไหน แลวก็ค งจะพูด เรื่อ งนี้กัน ไมได วาแกนของตนไม มันก็อยูที่ลําตนไม ; หมายถึงตนไมมีแกน ; จะแกน ขา งนอกหรือ แกน ขา งใน ก็ลว นแตอ ยูที่ลํา ตน ทั ้ง นั้น . ไมไ ผม ีแ กน ขา งนอก เปนไมประเภทมีแกนขางนอก เราตองเรียกวา มันมีแกนเหมือนกัน. ตนหมาก ตนมะพราว มีแกนขางนอก, ไมที่เขาเรียกกันวา ปาลมทั้งหลายมีแกนขางนอก, ไมธรรมดานี่มีแกนขางใน ขอแตใหมีแกนเปนใชได ; ถาไรแกนก็ใชไมได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ฉะนั ้ น แก น ของมั น เป น เครื่ อ งทรงตั ว ให แ น น หนา ให ถ าวร ใหดํารงอยูได ; เราจึงควรปรารถนาวา ตนไมศีลธรรมของเรานี้ จะตองมีแกน ; ตนไมแหงศีลธรรม “พฤกษาแหงศีลธรรม” เรียกใหเพราะสักหนอย. ....

....

....

....

ถาม : เมื่อตนไมธรรมดามีแกนอยางที่เราเห็น ๆ กันอยู พฤกษาแหงศีลธรรมนี่ มันมีอะไรเปนแกน ? ใหคุณวาเอาเองกอน นึกเอาเองกอน สันนิษฐาน

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๓๖๒

เอาเองกอน, ถารูจ ริงก็บ อกมาเลย วาตน ไมของศีลธรรมนี่ มีอะไร เปนแกน ? ตอบ : ต น ไม แ ห ง ศี ล ธรรมก็ มี วิ มุ ต ติ เป น แก น ; มี ก ารหลุ ด พ น เป น แก น . ถาม : เอา, คุณทอง ? ตอบ : ผมคิดวา หลักของศาสนายอมเปนแกน. ถาม : อะไรบาง เปนหลักของศาสนา ? ตอบ : อยางศาสนาพุทธก็จะตองมีอริยสัจจ ๔ เปนแกน. ถาม : คุณชวน ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : กระผมมีความเห็นวา เบ็ญ จศีล เบ็ญ จธรรม เปนแกนของศีลธรรม.

ถาม : เอา, คุณล้ําละ มีอะไรเปนแกน ?

ตอบ : มีความถูกตองเปนแกน. ถาม : มีความถูกตองเปนแกน, ถูกตองของอะไร ? ตอบ : ถูกตองของสัจธรรม. ถาม : ถูกตองของสัจธรรม. แลวมันเกี่ยวกับมนุษยอยางไรละ ?

www.buddhadassa.in.th


ตนลําแหงศีลธรรม

๓๖๓

ตอบ : เกี่ยวกับการปฏิบัติ. ก็พูดวา ความถูกตองของการปฏิบัติเสียใหมันรูแลวรูรอดไป ทําไม จึง มัว มาออ มอยูละ . มีค วามถูก ตอ งของการกระทํา ทางกาย ทางวาจา ทางใจเปน แกน . นี้จะพบความหมายเพิ่ม ขึ้น มาอีก อยางหนึ่งที่คุณ ประยูรวา ตามพระบาลี วา มีว ิม ุต ติเ ปน แกน , พรหมจรรยนี ้ม ีว ิม ุต ติเ ปน แกน ก็ หมายถึง ประโยชนสูงสุด ที่มีคา ที่สุด , ตน ไมถ ลกผิวออกไปแลว ถึง เปลือ ก, ถลกเปลือกออกแลวถึงกระพี้, ถลกกระพี้ออกแลว จึงถึงแกน ; ดีที่สุดอยูที่แกน. ส ว นพรหมจรรย นี ้ หรื อ พระพุ ท ธศาสนา มี วิ ม ุ ต ติ เ ป น แก น : มี ศี ล , ในศีลเขาไปเปนสมาธิ, ในสมาธิเขาไปเปนปญญา, ในปญญาเขาไปอีก จึงจะ เปนวิมุตติ นี่เปนการกลาวอยางเปรียบเทียบกับเรื่องของตนไม. เดี๋ยวนี้ เราไมเล็งถึงอยางนั้น เราจะเล็งถึงตัว การประพฤติ การ กระทํา ว า เป น ตั ว แก น ของศี ล ธรรม. ถ า ไปพู ด ถึ ง วิ มุ ต ติ แ ล ว มั น เป น ผล ที่ไดรับ เปนความสงบสุข.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : ถาพูดถึงผลที่ไดรับเปนความสงบสุขแลว ควรจะเปรียบดวยอะไรของ ตนไม ? คุณทอง ถาเล็งถึงผลคือความสงบสุข ควรจะเปรียบดวยอะไร ของตนไม ?

ตอบ : ดวยลูกของมัน. จะตองเปรียบดวยดอก ดวยลูกอะไรของมัน ที่เปนประโยชนสุดทาย. ถาพูดถึงลําตน เราควรจะเปรียบดวย การประพฤติ หรือ การกระทํา ที่จะทํา

www.buddhadassa.in.th


๓๖๔

การกลับมาแหงศีลธรรม

ให เกิ ด ลู ก เกิ ด ผล ออกมา. ฉะนั้ น ที่ คุ ณ ล้ํ าวานี้ ใกล ชิ ด ที่ สุ ด คื อ ความถู ก ต อ ง ของการกระทํ า นั่ น แหละเป น แก น หรื อ เป น ตั ว ลํ า ต น อั น แข็ ง แกรง ของต น ไม . เพราะฉะนั้น เราหันไปเพงดูความถูกตองของการประพฤติ หรือการกระทํา ใหมัน ยืนหยัดอยูอยางแนนหนาแนนแฟน อยางกะวาเปนลําตน. ถาม : การประพฤติ ก ระทํ า ให ถู ก ต อ งนี้ จะแบ ง ออกไปได สั ก กี่ อ ย า ง กี่ ชั้ น กี่ระดับ ? ตอบ : แบงไดเปน ๔ ชั้น. ถาม : อะไรบาง ? ตอบ : ๑. เอาจากภายนอกเข า ไป คื อ การประพฤติ ป ฏิ บั ติ ใ ห ถู ก ต อ งต อ . สิ่ง ที่เปน วัต ถุอ ยูร อบตัว เราและ, ๒. ถัด เขา ไปก็เ ปน ความประพฤติ ใหถูก ตอ งตอ รา งกายของเราแลว , ๓. เขา ไปขา งในอีก ก็ป ระพฤติ ใหถูกตองกับ จิต ที่เกี่ยวเนื่อ งกับกาย, แลว ๔. ขางในสุดทาย ก็เป น การปฏิ บั ติ ให ถู ก ต อ งต อ จิ ต ส ว นลึ ก ซึ่ ง ทางนี้ ช อบใช คํ า ว า วิ ญ ญาณ คื อ สติ ป ญ ญา ความคิ ด ความเห็ น . ปฏิ บั ติ ต อ จิ ต ส ว นนี้ ให มั น ถู ก ตองดวย ; รวมเปน ๔ ชั้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : คุณ ประยูรเขาแบ งออกเปน ๔ อยาง ใหมีความถูกตองตอวัตถุ หรือ ของวัตถุที่อยูรอบตัวเรา, ใหมีความถูกตองอยูที่เนื้อตัว รางกายของเรา, มีความถูกตองอยูที่จิตใจของเรา, และมีความถูกตองอยูที่วิญญาณหรือสติ ปญ ญาของเรา, ก็ถูก. ถาพูดอยางอื่นจะพู ดอยางไรไดอีก คุณ ทอง ?

www.buddhadassa.in.th


ตนลําแหงศีลธรรม

๓๖๕

ตอบ : มีความถูกตองอยู ๒ อยาง หรือ ๒ ระดับ : ระดับมีตัวตน กับระดับ ที่ความหมดจากมีตัวตน. นี่พูดในรูปแบบของปรัชญาไปแลว : ระดับที่มีตัวตนก็ถูกตองอยาง หนึ่ ง . คนพวกหนึ่ ง มี ตั ว ตน ; เขาก็ มี ค วามถู ก ต อ งของเขาไปแบบหนึ่ ง แน น อน. สวนคนพวกหนึ่งเขาเมองเห็น ความไม มี ตั วตน เห็ น เป น ขัน ธ ธาตุ อายตนะ ตาม ธรรมชาติ ก็ม ีก ารปฏิบ ัต ิที ่ถ ูก ตอ งของเขาอีก แบบหนึ ่ง นี ้ก ็ใ ชไ ด ; แตเปน หลัก ที ่ส ูง ไปสํ า หรับ ประชาชนทั ่ว ๆ ไปจะถือ เปน หลัก . ไมใ ชผ ิด ; แตม ัน ยัง อยู นอกวงของการที่ จ ะเอามาพู ด สํ า หรั บ การปฏิ บั ติ เรื่ อ งศี ล ธรรม ; มั น เป น รู ป แบบ ของปรัชญา. ถาม : คุณชวน จะพูดอยางไร, ความถูกตองของอะไร ? ตอบ : กระผมมี ค วามเห็ น ว า ความถู ก ต อ งมี อ ยู ๒ อย า งเหมื อ นกั น คื อ ถู ก ต อ งในทางปฏิ บั ติ เพื่ อ ตนเอง กั บ ความถู ก ต อ งในทางปฏิ บั ติ เพื่ อ ผู อื่น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : นี่ ก็ เป น นั ก สั งคม จึ งบอกว าปฏิ บั ติ ถู ก ต อ งมี อ ยู ๒ ชั้ น คื อ ถู ก ต อ งภายใน ตัวเอง และถูกตองที่มันเกี่ยวออกไปถึงสังคม. คุณล้ําละ ?

ตอบ : ความถูกตองนี่ตองใหพรอมดวย กาย วาจา ใจ, นี่พูดสั้น ๆ. คํ า ว า พร อ มด ว ยกาย วาจา ใจ นี้ เป น หลั ก พื้ น ฐานทั่ ว ไป, ยั ง ไม หมด ; เวนแตจะขยายคําวา “ใจ” ออกไปถึงสติปญญา หรืออะไรดวย.

www.buddhadassa.in.th


๓๖๖

การกลับมาแหงศีลธรรม

เราจะถือตามหลักของพระพุทธศาสนาสําหรับพูดจา งายกวา ไมตอง บั ญ ญั ติ ขึ้ น ใหม แล ว ก็ รู จั ก กั น ทั่ ว ไป ; เอาสิ่ ง ที่ ว า พู ด กั น ติ ด ปาก เป น หญ าปากคอก นั่ นแหละ วา ถูก ตองในที่ นี้ แบ งออกเป น สาม คือ เรื่อ ง ศี ล ขั น ธ - กองศี ล , สมาธิ ข ั น ธ - กองสมาธิ , ป ญ ญาขั น ธ - กองป ญ ญา. ขัน ธก็แ ปลวา ลํา ตน เหมือ นกัน คนที่เรีย นรูบ าลีไดเปรีย บคนที่ไมรู ใชไหม ? อย า ว า เราเอาเปรีย บนะ คื อ ว า พู ด ตามหลั ก พระบาลี ขั น ธ แปลว า ลํ า ต น เหมือ นกัน หรือ กลุ ม หรือ กอง หรือ วา ที ่ม ัน เปน ชิ ้น เปน อัน ได. ศีล ขัน ธ แปลว า กองศี ล , สมาธิ ขั น ธ กองสมาธิ , ป ญ ญาขั น ธ กองป ญ ญา. แตในที่บางแหงคําวา ขันธ แปลวา ลําตน ก็ได ; ก็หมายถึง ความถูกตอ ง ๓ ชั้น ; อยาแปลวา ๓ อยางเลย, แปลวา ๓ ขั้นดีกวา. ความถูกตองชั้นแรก คือ ศีล ขัน ธ หมายถึง ถูกตองทางกาย ทางวาจา, รวมทั้งวัต ถุภ ายนอก ที่เนื่อ งกัน อยูกับ กายและวาจา ; นี่เรีย กวา ชั้นศีล ลําตนในชั้นศีล. ถาจะวาเปนชั้นเปลือกก็ดูจะหยาบคายไปนัก ก็ไมคอย อยากจะพูด ; คือวาลําตนนี่เรามีชั้นเปลือก ชั้นกระพี้ และชั้นแกน. ตนไมตน หนึ่ง มันมีชั้นเปลือกนอก ชั้นกระพี้เนื้อออน, แลวจึงถึงแกน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ศีล นี ้จ ะเปรีย บดว ยชั ้น เปลือ ก ; เปลือ กมีค วามสํ า คัญ มากนะ ; เดี ๋ย วจะวา “เปลือ ก” แลว ไมม ีค า อะไร. ไมม ีเ ปลือ กแลว ตน ไมอ ยู ไ มไ ด ; ฉะนั้ น ความสํ า คั ญ ชั้ น เปลื อ ก ดู ได ที่ ต น ไม ต ามธรรมดา ว าเปลื อ กนี้ สํ า คั ญ สําหรับ ตนไม คือวา เปนทางเดินของอาหาร ของอะไรบางอยางก็มี ; และ ทําหนาที่สรางกระพี้ขึ้นมา เปลือกคอย ๆ สรางกระพี้ขึ้นมา, แลวกระพี้คอย ๆ สรา งแกน เขา ไป. ถา ไมมีเปลือ ก แลว มัน ไมมีอ ะไรที่จ ะสรา ง ๒ สิ่งนี้ ตน ไม

www.buddhadassa.in.th


ตนลําแหงศีลธรรม

๓๖๗

ก็ตาย ; โดยสวนใหญมันทําหนาที่เอาอาหารที่ปรุงจากใบมาหลอเลี้ยงลําตนทั่วไป กระทั่งราก. เปลือกทําหนาที่เปนชีวิต เปนทางเดินของชีวิต. ทีนี้เอาศีล เปรียบกับ เปลือก ก็อ ยาหาวาทารุณ หรือ วาตี ราคาศี ล น อ ยไปเลย ; ตี ร าคาอย า งสู ง สุ ด ด ว ยเหมื อ นกั น ว า ศี ล นี่ เ ปรี ย บเหมื อ น กับลําตน ชั้นเปลือก ; เอาอาหารที่ป รุงที่ใบโดยแสงแดดไปหลอ เลี้ยงทั่วตน , แลวก็สรางกระพี้ออน ๆ ขึ้นมาเรื่อย, แลวกระพี้คอย ๆ แกเขา แลวกลายเปน ชั้น แกน ; ฉะนั้น เราจึง ถือ วา ศีล ขัน ธ - กองศีล นี่เ ปน ความถูก ตอ งที่ก าย ที่ว าจา, และวัต ถุทั ้ง หลาย อัน แวดลอ มกาย วาจา อยู ; เครื่อ งใชไ มส อย เครื่องนุงหม อะไรก็ตามที่มันเปนวัตถุ ตองพลอยถูกตองไปดวย ตามกาย วาจา. ความถู ก ต อ งชั้ น ๒ ก็ คื อ สมาธิ ขั น ธ -ส ว นที่ เ ป น สมาธิ ; นี ่ค ือ ความถูก ตอ งสว นจิต ใจโดยตรง. มีค วามถูก ตอ งในทางจิต จิต มี สมรรถนะ ทําหนาที่ทางจิต โดยเฉพาะก็คือสิ่งที่เรียกวา สมาธิ นั่นเอง. ถามี สมาธิแลวก็ทําอะไรได ; นี้ก็หมายถึงชั้นกระพี้ที่รองมาจากแกน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ความถูก ตอ งชั ้น ๓ ก็ค ือ ปญ ญาขัน ธ -กองปญ ญา ; นี ้ค ือ ความถูก ตองทางความคิด ความเชื่อ หรือ ถูก ตอ งของปญ ญา ; ซึ่งเราเรีย ก กันเดี๋ยวนี้วา ทางวิญญาณ ไมไดใชคําวา จิต ; จิตเอาไปใชในเรื่องจิตโดยตรง. นี้เ ปน ปญ ญาของจิต ความรูข องจิต ความคิด ของจิต ก็เ ลยเปน แกน แข็ง อยูขางใน.

ไดลํ า ตน เปน ๓ ชั ้น : ชั ้น เปลือ ก ชั ้น กระพี ้ และชั ้น แกน ; สามอยางนี้แยกกันไมได ขืนแยกออกไปแลว มันก็ลมละลาย. ตนไมนี่แหละ

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๓๖๘

จะไปแยกแกนออกจากกระพี้ หรือแยกกระพี้ออกจากเปลือก ; นี้ไมได มันตอง ตายแน . เช น เดี ย วกั บ ศี ล แยกออกจากสมาธิ แ ละป ญ ญาไม ไ ด , สมาธิ แยกออกจากศีลและปญญาไมได ; ปญญาก็แยกออกจากศีลและสมาธิไมได, ทั้ง ๓ อยา งตอ งไปดว ยกัน เสมอ จึง จะเปน ลํา ตน ที่เขม แข็ง ที่ส มบูรณ ที่สําเร็จ ประโยชนได. รวมความวา ตน พฤกษาแหง ศีล ธรรมนี ้ เรามีลํ า ตน คือ ศีล สมาธิ ปญ ญา, อยา งที่เรีย กในพระพุท ธศาสนาวา ไตรสิก ขา, จะขยาย ออกไปเป น มรรคมี ๘ ประการก็ ไ ด , และอย า งอื่ น ๆ ก็ ไ ด อี ก มาก. แต ใจความสําคัญมันอยูที่คําเพียง ๓ คํา คือคําวา ศีล สมาธิ และปญญา ; ศีล คือ ถูกตองทางกาย ทางวาจา และวัตถุที่แวดลอม, สมาธิคือถูกตองทางจิต, ปญญาก็ถูกตองทางสติปญญา ความรู ความคิด ความเชื่อ. ฉะนั้นเราทํากาย วาจา ให ถู ก ต อ งและปรกติ , ทํา จิ ต ให ป รกติ และทํา ป ญ ญาให ป รกติ ; อยาใหเปนมิจฉาทิฏฐิ เราก็มีตนไมแหงศีลธรรม ที่จะพึ่งพาอาศัยได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ....

....

....

....

ถาม : ที นี้ คํ า ว า ศี ล แปลว า ปรกติ , คํ า ว า ปรกติ กั บ คํ า ว า ถู ก ต อ ง นี้ ตางกันอยางไร ? ชวยคิดดูใหดี ๆ.หนอย. อยาสะเพรา. ความปรกติ กับความถูกตอง นี้ตางกันอยางไร คุณประยูร ? ตอบ : ความถูกตองหมายไปถึงในแงเหตุของมันครับ แลวก็ความปรกตินั้น ควรจะเปนในแงของผล.

www.buddhadassa.in.th


ตนลําแหงศีลธรรม

๓๖๙

ถาม : เอา, คุณทอง ความปรกติกับความถูกตองตางกันอยางไร ? ตอบ : เหมือนกับที่คุณหมอวา. ถาม : คุณชวน ? ตอบ : กระผมมีความเห็นเหมือนกับคุณหมอ. ถาม : เอา, คุณล้ํา คนสุดทาย ? ตอบ : ความปรกติอยูที่ศีลกับสมาธิ, สวนความถูกตองอยูที่ปญญา. เราเรีย นภาษาพรอมกัน ไปในตัว. สามคนที่พูด วา ความถูก ตอ ง เปนเหตุใหเกิดความปรกติ ยอมแสดงอยูแลววา ความถูกตองกับความปรกตินั้น มิใ ชสิ่ง เดีย วกัน ; ตา งกัน โดยที่อัน หนึ่ง เปน เหตุ, อัน หนึ่ง เปน ผล. สํา หรับ ศี ล สมาธิ ป ญ ญา นั้ น ; ศี ล เป น เหตุ ข องสมาธิ , และสมาธิ ก็ เป น เหตุ ข อง ป ญ ญา, หรื อ เป น เหตุ ข องกั น และกั น ได จึ ง คํา ตอบนี้ ยั ง ไม ต รงกั บ ป ญ หา ที่จะชี้ใหเห็นวา ความถูกตองกับความปรกตินั้นตางกันอยางไร. ถาศีลกับสมาธิ เปนเหตุ ปญญาเปนความถูกตอง มันก็ยังไมถูกนักเพราะวามันยังมากกวานั้น ; คือตางฝายตางกลับเปนเหตุกันก็ได

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี่ขอถือโอกาสบอกเปนการสอดแทรกตรงนี้หนอยวา ธรรมะทั้งหลาย ไม อ าจจะเป น เพี ย งเหตุ โดยส วนเดี ย ว ไม อ าจจะเป น เพี ย งผลโดยส วนเดี ย ว ; ธรรมะอยางเดียว ชื่อเดียว บางเวลาบางกรณีมันเปนเหตุ, หรือบางกรณีบางเวลา

www.buddhadassa.in.th


๓๗๐

การกลับมาแหงศีลธรรม

มัน เปน ผล, เปน ผลแลว มัน กลายเปน เหตุ. ไมม ีอ ะไรที ่จ ะเปน ไดเ พีย ง อยางเดียว คือเปนเหตุอยางเดียว หรือเปนผลอยางเดียว. ใหจํ า ไวเ หมือ นกับ วา แมก ับ ลูก นั ่น แหละ : แมจ ะเปน เหตุใ ห เกิด ลูก , เดี ๋ย วลูก ก็เ ปน เหตุใ หเ กิด ลูก ตอ ๆ ไปอีก ; คือ ผลัด เปน แม ผลัด เปน ลูก . นั ่น คือ เหตุก ับ ผล : ไมม ีสิ ่ง ใดจะเปน เหตุโ ดยสว นเดีย ว, หรือ เปน ผลโดยสวนเดียวได, ในบรรดาสังขารธรรมทั้งหลาย. เดี๋ยวนี้ เราจะพู ดกันเฉพาะคูเปรียบเทียบวา ความถูกตอง กับความ ปรกตินั้นตางกันอยางไร. ถาจะใชคําวา ความถูกตองเปนเหตุ ความปรกติเปนผล ; มันก็พอจะไดอยู การปฏิบัติใหถูกตองก็จะมีผล คือความปรกติสุข. ถาม : ทีนี้ ๒ อยางนี้แยกกันไดไหม คุณประยูรวาแยกกันไดไหม ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : แยกกันไมได.

ถาม : แยกกันไมได ทําไมคุณจึงพูดกันไดคนละทีละ ?

ตอบ : ถ า จะแยกในแง ป ริ ยั ติ ในแง ท ฤษฎี พู ด ได ; แต ใ นแง ป ฏิ บั ติ แ ล ว แยก กันไมได เชนเดียวกับแสงสวางและดวงเทียน.

คื อ ว า ในแงของการพู ด จาอย างนี้ เราแยกกั น ได พู ด กั น คนละที ได ; แตโดยพฤติน ัย ที ่เปน ไปอยู จ ริง แยกกัน ไมได. ถา จะมีป รกติส ุข ก็ต อ งมีค วาม ถูก ตอ ง, ถา มีค วามถูก ตอ งก็ต อ งมีค วามปรกติส ุข ; ฉะนั ้น ความเปน อยู จ ริง นี้ ไม แ ยกกั น . แต ถ า จะเป น การพู ด จา หรื อ เป น ทฤษฎี เป น นิ ติ นั ย ก็ พ อจะแยก

www.buddhadassa.in.th


ตนลําแหงศีลธรรม

๓๗๑

กัน ไดว า อัน หนึ ่ง เปน เหตุ, อัน หนึ ่ง เปน ผล. แตเมื ่อ มัน สํ า เร็จ ประโยชนแ ทแ ลว มัน ไมแ ยกกัน , มัน ไมอ าจจะแยกกัน ; ถา แยกกัน มัน จะไมสํ า เร็จ ประโยชน. ถาเหตุอยูเสียทางหนึ่ง ผลอยูเสียทางหนึ่ง มันก็ไมสําเร็จประโยชนขึ้นมาได. ทีนี ้ศ ีล ธรรมมีส ว นที ่เ ปน เหตุ และในสว นที ่เ ปน ผลดว ยเหมือ นกัน ; เราต อ งการผลอะไร เราก็ ต อ งสรางเหตุ ข องสิ่ งนั้ น . ถ าเราต อ งการความสงบสุ ข ; เราก็ตองสรางเหตุของความสงบสุข. ถาม : เมื่อเราพูดวา การกลับมาแหงศีลธรรมนี่ เราหมายถึงศีลธรรมที่เปนเหตุ หรือหมายถึงศีลธรรมที่เปนผล คุณทองวาอยางไร ? ตอบ : ทั้ง ๒ อยางครับ. ถาม : ถูกแลวมันตองมีทั้ง ๒ อยาง. นี่ลองหยั่งถามดูวา ลืมหรือเปลาวา ถามั น แยกกัน แลว มัน ก็ม าไมไ ด เพราะมัน ตอ งมาดว ยกัน เสมอ ? คํ า วา ศี ลธรรมที่ จะต องกลั บมานี้ โดยเฉพาะอย างยิ่ งต องกลั บมาในส วนที่ เป น เห ตุ ก ล า ว คื อ รา ก ฐ า น แ ห ง ศี ล ธ ร ร ม นั ้ น แ ห ล ะ จ ะ ต อ ง ม า , แลว ตัว ศีล ธรรมก็จ ะตอ งมา. ทีนี ้ผ ลที ่จ ะเกิด อีก ในระยะหลัง ก็จ ะยัง มี มาอีก หลายทอด หรือหลายตอนดวยกัน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ....

....

....

....

ที นี้ จะมาดู ต อ ไปถึ ง เรื่ อ งสิ่ ง ทั้ ง ๓ นี้ คื อ ศี ล สมาธิ ป ญ ญา. นี่ ทั้ ง ๓ อย า งนี้ จํ า หั ว ข อ ให แ ม น ยํ า ก อ น : ศี ล ถู ก ต อ งทางกาย วาจา และวั ต ถุ

www.buddhadassa.in.th


๓๗๒

การกลับมาแหงศีลธรรม

ที่ เนื่ อ งอยู ด ว ย, สมาธิ ถู ก ต อ งทางจิ ต , ป ญ ญาถู ก ต อ งทางความรู ความคิ ด ความเห็น. ทีนี้ สิ่งที่เปนรากฐานของศีลธรรม ที่เปรียบเหมือนกับรากฐานของ ตนไม ขอที่ ๑. คือความยอมรับ ถือ หรือ วารูสึกแลวก็ถือ ยูในจิตใจวา “สัต ว ทั้ ง หลายเป น เพื ่ อ นทุ ก ข เกิ ด แก เจ็ บ ตาย ด ว ยกั น ทั้ ง หมดทั้ ง สิ้ น ” นี้เปนรากฐานของศีลธรรม. ถาม : เมื่อรากฐานอันนี้มีแลว ทําใหมีศีลไดอยางไร ? จะเกิดเปนตนขึ้นมาได อยางไร คุณประยูร ? ตอบ : เมื่ อ เรายอมรับ ความจริงวา “สัต วทั้งหลายเป นเพื่ อ น เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันทั้งหมดทั้งสิ้น” แลว ศีล ที่เราวาหมายถึงความถูกตอง ของกายและวาจานั้นก็จักมี ; มันจะไปเบียดเบียน ไปทํารายซึ่งกัน และกัน ไมไ ด ในความจริง ขอ นั้น . ฉะนั้น เมื่อ ไมเ บีย ดเบีย น ไม ทําใหคนอื่นเขาเดือดรอน อยางนี้มันก็อยูในความหมายของคําวา ศีล อยูแลว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : คําวา “ยอมรับวา” นี่หมายความวา เขาปฏิบัติหรือเปลา ?

ตอบ : การยอมรับอยางนี้ ตองปฏิบัติดวย. ถาม : เขายอมรับ แลวเขาไมปฏิบัติ ไดไหม ? ตอบ : อยางนั้นก็เปน ศรัทธา ที่งมงายอยางที่ไดกลาวเมื่อคราวที่แลว.

www.buddhadassa.in.th


ตนลําแหงศีลธรรม

๓๗๓

ควรจะรูความแตกตางระหวางของ ๒ อยาง : เชนศีล กับกฎหมาย. เรื่ อ งกฎหมายมั น เรื่ อ งบั ง คั บ ; เรื่ อ งศี ล เป น เรื่ อ งของความรู ส ึ ก ผิ ด ชอบ ชั่วดี, หรือความสมัครใจ. ทางกฎหมายนั้น มีกฎหมายแลวตองยอมรับกฎหมาย ; แต แ ล ว ก็ ไ ม ป ฏิ บั ติ ต าม นั่ น มั น ใช ไม ไ ด . แต ถ า เรื่ อ งศี ล ธรรมนั้ น เป น เรื่ อ งของ ความรู ส ึ ก ไม ไ ด เ พี ย งแต ต  อ งยอมรั บ ; คื อ มั น รู ส ึ ก ด ว ยใจจริ ง ว า “สั ต ว ทั้ง หลายเปน เพื ่อ นทุก ข เกิด แก เจ็บ ตาย ดว ยกัน ทั ้ง หมดทั ้ง สิ้น ” ; จึง สมัครปฏิบัติ. ถา เปน ความรู ส ึก จากใจจริง ๆ แลว มัน ปฏิบ ัต ิท ัน ที, มัน ตอ ง ปฏิบัติตามความรูสึกเสมอ. สวนการยอมรับนี่, เราอธิบายใหเขายอมรับ หรือเขา รับเพราะเขาไดคิด ไดยิน ไดฟง แตยังไมรูสึกก็ไดเหมือนกัน ; ฉะนั้น ใชคําวา “รูสึก” ปลอดภัยกวา “ยอมรับ” เราไมตองการแตเพียงใหทุกคนในโลกยอมรับ . ขอ นี ้ม ัน ไมพ อ : เราตอ งการใหท ุก คนรู ส ึก ดว ยใจจริง หมดทั ้ง จิต ใจเลยวา “สัตวทั้งหลายเปนเพื่อนทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันทั้งหมดทั้งสิ้น.”

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เมื่ อ มี ค วามรู สึ ก อย า งนี้ แ ล ว ก็ จ ะไม ก ระทํ า ผิ ด ในส ว นศี ล , คื อ ไม ประทุษ รา ยตอ สิ ่ง ใด. คํ า วา ศีล นี ้ มีใ จความที ่เ ราจะสรุป วา ไมป ระทุษ รา ยตอ สิ ่ง ใด จึง จะเปน แมบ ทของศีล ที ่ถ ูก ตอ ง กวา งขวางครอบงํา ไดห มด ; และ ศีล ๕ เปนแมบทของศีลทั้งหลาย. ถาม : การมีศีล ๕ นั้น คือ ไมประทุษรายตออะไรบางละ พูดทบทวนความจํา หรือสอบไลดูทีวา ศีล ๕ คืออะไร ? ตอบ : ศี ล ๕ ข อ ที่ ๑ คื อ การไม ป ระทุ ษ ร า ยต อ ชี วิ ต ของสั ต ว ทั้ ง หลายโดย เจตนา. ข อ ที่ ๒ เป น การไม ป ระทุ ษ ร า ยต อ ทรั พ ย สิ น ของผู อื่ น เขา

www.buddhadassa.in.th


๓๗๔

การกลับมาแหงศีลธรรม โดยเจตนา. ขอ ที่ ๓ เปน การไมป ระทุษ รา ยตอ ของรัก ของใครข อง ผูอื่น โดยเจตนา. ขอ ที่ ๔ เกี่ย วกับ การพูด ปด คือ การไมป ระทุษ รายตอความเที่ยงธรรมของโลก โดยใชวาจาเปนเครื่องมือ. ขอสุดทาย ขอที่ ๕ ก็คือการไมประทุษรายตอสติสัมปชัญญะของตน เอง.

นี่ถาจับใจความแทจริงของศีล ๕ ขอได มันจะออกมาในรูปอยางนี้. ที่พูดวา ไมฆาสัตว, ไมลักทรัพย, ไมทําชูนั้น มันไมสมบูรณ บางทีไมรัดกุม บางที ห ละหลวม ; ฉะนั ้ น ให ถ ื อ หลั ก ว า ไม ม ี ก ารประทุ ษ ร า ย ทั ้ ง ๕ ประการนี้ คื อ มี ศี ล ๕ โดยบริ บู ร ณ ; และศี ล ๕ เป น แม บ ทของศี ล ธรรม ทั้ง หลาย จะขยายออกไปจากศีล ๕ นี้ไ ปเปน ศีล เทา ไรก็ไ ด. ศีล ขอ ที่ ๕ วา ไม ป ระทุ ษ ร า ยต อ สติ สมปฤดี หรื อ สั ม ปชั ญ ญะของตนเอง เพราะว า กินเหลา หรือกินของเมาอะไรเขาไปแลว มันสูญเสียสติสัมปฤดี, เรียกวาคนนั้น มันประทุษรายตอสติสมปฤดีของตนเอง. นี่มันเปนเรื่องของศีล ๕ ขอที่ ๕.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : ทีนี้ ศีล ๘ เรื่อ งไมใ หป ระดับ ตกแตง ลูบ ทาของหอม ของสวย เปนตน นี่ มันเปนศีล ๕ ขอไหน ? มันออกมาจากศีล ๕ ขอไหน ? หรือมันประทุษรายอะไร ? ตอบ : มั น ออกมาจากศี ล ๕ ข อ ที่ ๕ ที่ ว า ประทุ ษ ร า ยต อ สติ ข องตนเอง.

ถูก นั่น แหละถูก , นี่เ ปน การแจกลูก ที่ถูก , เปน การขยายความ ที่ถูก. เราไปหลงในของหอม ของสวยของอะไรเหลานี้ มันประทุษ รายตอสติ ปญญา ตอสติสมปฤดี ตอสติสัมปชัญญะของตนเอง. ฉะนั้นถาใครผูใดก็ตาม เขาใจความหมายของศีล ๕ ประการแลว จะสามารถสงเคราะหศีล ๘ ศีล ๑๐.

www.buddhadassa.in.th


ตนลําแหงศีลธรรม

๓๗๕

ศีล ๒๒๗ หรือ ศีล อะไรก็ต าม ลงในศีล ๕ นี ้ไ ด ; เราจึง พูด ถึง ศีล ๕ เปน หลัก เปน ประธาน : ไมม ีก ารประทุษ รา ยตนเอง ไมม ีก ารประทุษ รา ยผู อื ่น ในแงข องกาย ของวาจา ของการเปน อยู  ; เปน เหมือ นกับ การปรับ พื ้น ฐาน ชั ้น ตน ชั ้น แรกใหด ี เรีย กวา สีล ขัน ธ. นี ้ค ิด ดูใ หค รบทั ้ง ๕ อยา ง ที ่เ รา ยอมรับ บรมสัจ จะวา “สัต วทั้ง หลายเปน เพื ่อ นทุก ข เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกัน ทั ้ ง ห ม ด ทั ้ ง สิ ้ น ” แ ล ว ทํ า ให เ รา มี ศ ี ล ๕ ใน ค วาม ห ม าย ไม ป ระ ทุ ษ ร า ย ๕ ประการ. ถาม : ทีนี้ ถาเราไม เป น ทาสทางอายตนะแลว เราจะมีศี ลไดอ ยางไร ? เรา ไมเป นทาสของกิเลส ไม เปนทาสของอายตะนี่ เราจะมีศีลไดอยางไรล ะ คุณทอง ? ตอบ : การตกเป นทาสของกิ เลส ยอ มทํ าให ผู นั้ น ทํ าทุ ก สิ่ งทุ ก อย าง เพื่ อ การ ตอบสนองโลภะ โทสะ และโมหะของตน ; ฉะนั ้น ผู ที ่ไ มต กเปน ทาสของอายตนะ ก็ยอมตั้งตัวอยูในความเปนปรกติ คือ ศีลทั้ง ๕ ขอ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : สรุปความใหสั้นที่สุดวาอยางไร ? คุณชวน, ไมเปนทาสของอายตะแลว ก็มีศีล สรุปความใหสั้นที่สุดวาอยางไร ?

ตอบ : สรุปความวา คนเราถาไมโลภ ไมโกรธ ไมหลง แลวก็อยูในศีล. เราใช คํ าวา ไม เป น ทาสอายตนะ, คื อ ตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจของ เราไมเปนทาสของความเอร็ดอรอยทางอายตะเราจะมีศีลไดอยางไร ? ตอบใหสั้น ที่สุดก็คือเราไมลุอํานาจของกิเลส ไมทําไปตามอํานาจของความเปนทาสของอายตนะ

www.buddhadassa.in.th


๓๗๖

การกลับมาแหงศีลธรรม

เราก็สํ า รวมไวไ ด. พอเปน ทาสของอายตนะ เราสํ า รวมไวไ มไ ด ก็ไ ปประพฤติ ลวงศีล ประพฤติผิด ประพฤติลวงในสิกขาบท ที่เปนศีล. ถั ด ไปอี ก เราบั ง คั บ ความรู สึ ก ได เราจะมี ศี ล ได อ ย า งไร ? นี่ ยิ่ ง เห็ น ชัด ไมถ าม ; ถา ถามเดี ๋ย วตอบถูก หมด. ที ่นี ้เ รามีย ถาภูต สัม มัป ปญ ญา ซึ ่ง เปรียบเหมือนแสงสวาง เราก็มีศีลได, คนมีปญ ญา มีศีล ไดงายที่สุด. อุณ หภู มิ ประกอบด วยศรัท ธา, เรามี ศ รัท ธาแล วก็มี ศี ล ได ; แต อ ยากจะระบุ ไปยั ง แผ น ดิ น ที ่ว า “สัต วทั ้ง หลายที ่เ ปน เพื ่อ นทุก ข เกิด แก เจ็บ ตาย ดว ยกัน ทั ้ง หมดทั ้ง สิ ้น ” นี้จะทําใหมีศีล นาดู นาบูชา นาพอใจ ที่สุดเลย. ที นี้ อยากจะให ม องไปอี ก นิ ด ว าจากรากฐาน ๕ อย างนั่ น มั น มี ธรรมะ เชน หิริโอตตัปปะ เมตตา อะไรออกมาอีกดวย ; ศีลก็เลยดีใหญ. ที นี้ ถ า จะให คํ า ว า “ศี ล ” มี ค วามหมายเป น ที่ พ อใจระหว า งชาติ คื อ เป น ศี ล สากล, อย า ให เป น ที่ เบื่ อ ระอาสํ า หรั บ คนสมั ย นี้ ; เราจะต อ งให ค วาม หมายของคําวา ศีลนี้อยางไร.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : เอ า , ถามใหม ว า ทํ า ไมเด็ ก ๆ เขาจึ ง ไม ช อบคํ า ว า ศี ล โดยเฉพาะเด็ ก วัยรุนเสมัยนี้, เด็กวัยรุนสมัยนี้ ทําไมจึงไมชอบคําวา ศีล ?

ตอบ : เพราะเขาเข า ใจศี ล เป น ภาษาทางวั ด ทางธรรม ซึ่ ง เรื่ อ งทางวั ด ทาง ธรรมนั้น เขาถือวาถวงความเจริญ เขาเลยไมสนใจ. ถาม : นั่นเขาใจวาศีลเปนเครื่องถวงความเจริญ. ทีนี้คนที่เขามีความกาวหนา สมัยใหมมีศิวิไลซอะไรสมัยใหม ทําไมเขาจึงไมชอบคําวา ศีล คุณทอง ?

www.buddhadassa.in.th


ตนลําแหงศีลธรรม

๓๗๗

ตอบ : เพราะเขาคิ ด ว า หากไปประพฤติ ป ฏิ บั ติ ใ นแง ข องศี ล ธรรมเสี ย แล ว นั้นยอมบั่นทอนความเอร็ดอรอยทางเนื้อหนัง. ถาม : ดั ง นั้ น ศี ล จึ ง ไม เ ป น ที่ พ อใจอย า งของสากลใช ไ หม ? เดี๋ ย วนี้ ศี ล สิ่ ง ที่ เรียกวา ศี ล กํ าลั งตกอยู ในภาวะ หรือในสถานะที่ เขาเบื่ อระอา ไม อยาก ไดย ิน ; อยา วา จะใหป ฏิบ ัต ิเ ลย, เขาไมอ ยากแมแ ตไ ดย ิน . ทีนี้ เราจะทํ า อย า งไร จึ ง จะทํ า ให คํ า ว า ศี ล นี้ มั น น า รั ก น า พอใจ แก ค น เหลานั้น, คุณประยูร ? ตอบ : ตองพยายามเปลี่ยนคําจํากัดความ หรือความหมายใหมของศีล. ถาม : วาอะไรละ ? ตอบ : ว า ศี ล นี้ เป น สิ่ ง ที่ นํ า ความเจริ ญ รุ ง เรื อ งมาให แ ก ชี วิ ต หรื อ เป น สิ่ ง จํ า เป น ตอชีวิต.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เขาก็ไ มเ ชื ่อ , หาวา พูด แตป าก ; มัน จะทํ า อยา งไรได ; เพราะวา คํ า ว า “ศี ล ” มั น ฝากไว กั บ ศาสนานี่ . คํ า ว า “ศี ล ” มั น มี อ ยู แ ต ในเรื่อ งของศาสนา. พอได ยิ น คํ า ว า ศี ล เขาก็ นึ ก ถึ ง ศาสนา แล ว เขาก็ ไม ช อบศาสนามาก อ น ; เขาก็ เลยไมชอบศีล.

เดี๋ยวนี้จะใหคําวา “ศีล” กลายมาเปนที่พอใจของคนสมัยใหมไดอยางไร ? ใครนึกออกกอน วากอน.

www.buddhadassa.in.th


๓๗๘

การกลับมาแหงศีลธรรม

ถ า อย า งไร ก็ เอาไปนึ ก ก็ ไ ด . มั น ยั ง มี ท างที่ จ ะต อ งนึ ก อี ก มาก ยั ง มี ความหมายที่เหลือไวสําหรับจะนึกตอไปอีกมาก และก็ตองนึกไดเอง จึงจะสามารถ เอามาใช พ ู ด จาให ม ี ป ระโยชน ได สํ า เร็ จ . ฝากไว ใ ห ท ุ ก คนช ว ยเอาไปคิ ด ว า จะเรี ย กศี ล นี ่ ก ั น เสี ย ใหม อ ย า งไร ; เด็ ก ๆ จึ ง จะชอบ . คนหนุ  ม คนสาว สมั ย ป จ จุ บั น จะชอบ, ชาวต า งประเทศจะชอบ, พวกที่ ร่ํ า รวยไปด ว ย ความสุขทางวัตถุนั้น เขาจะชอบ. เรามี คํ า บั ญ ญั ติ ว า ความถู ก ต อ งทางกาย วาจา และ วั ต ถุ ที่ เนื่ อ ง อยู ด ว ยกั น ; นี้ ก็ นั บ ว า ดี ม ากอยู แ ล ว . เขาคงจะสนใจบ าง คื อ คํ า ว า ความถู ก ต อ ง ทางกาย ทางวาจา และวัตถุ ที่ เนื่ องกั นนั้ น มั นมี กลิ่ นไอของศาสนาน อยลง คื อไม ค อ ยไปเนื่ อ งกั บ ศาสนานั ก ; เราพยายามจู ง ไปหาหลั ก ทั่ ว ไป หรือ ธรรมชาติ ข อง มนุษยวา เราจะตองมีความถูกตองของมนุษย แลวจะไมมีความทุกข. ถ า เขานิ ย มคํ า ว า “มารยาท” ซึ่ ง เขาพู ด กั น มากนะ เดี๋ ย วนี้ คํ า ว า “มรรยาท” ; เราก็จ ะพูด วา “ศีล ” คือ ความถูก ตอ งทางมารยาท คือ ทางกาย ทางวาจา ; สมาธิ คือ ความถูก ตอ งทางมรรยาทในทางจิต ; สว นปญ ญา นั้น คือความถูกตองในทางความรู.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org คําวา “มรรยาท” หมายถึงสิ่งที่ตองประพฤติตอกันและกัน อยาง เป น ระเบี ย บเดี ย วกั น หมด คํา ว า “มรรยาท” นี่ แ ปลว า แนวเส น ตรง เสน หนึ ่ง ซึ ่ง ทุก คนจะตอ งยึด ถือ ; หัว คัน นาที ่ค ุณ เดิน เหยีย บย่ํ า อยู บ อ ย ๆ ที่ ในทุ ง นา หั ว คั น นาก็ เ รี ย กว า มรรยาท เป น ศั พ ท บ าลี ว า “มริ ย าท” คื อ มัน เปน เสน เปน แนว เปน แถว ที ่จ ะขีด ขั ้น อะไรใหแ นน อนลงไป วา อะไรเปน อยางไร ; นั่นเขาเรียกวา มรรยาท.

www.buddhadassa.in.th


ตนลําแหงศีลธรรม

๓๗๙

เดี ๋ย วนี ้ มัน ม าม ีเ ส น ม ีแ น วม ีข ีด ขั ้น อ ยู ที ่ก าย ที ่ว าจา เรีย ก วา มรรยาททางกาย ทางวาจา นี ้ค ือ ศีล ; นี ่เ ราพูด ใหเ ขาฟง วา ศีล คือ สิ ่ง ที่ จะทํ า ให เ กิ ด ความถู ก ต อ ง เป น ระเบี ย บเรี ย บร อ ย เป น เส น เป น แนว ลงไปที ่ก าย ที ่ว าจา ; มัน ก็เ ลยกาลายเปน วิท ยาศาสตรไ ป, หรือ กลาย เป น วิ ช ามนุ ษ ยวิ ท ยา สั ง คมวิ ท ยา สากลอะไรไป ; เขาก็ ค งจะรั ง เกี ย จน อ ยลง, หรือไมรังเกียจเลย, สําหรับคําวาศีล. เดี๋ ย วนี้ เราไม ไ ด อ ธิ บ ายคํ า ว า ศี ล ให เขาเข า ใจว า มั น คื อ อะไร ฝากไว แตก ับ ศาสนา ; เมื ่อ เขาเบื ่อ ศาสนา เขาก็พ ลอยเบื ่อ สิ ่ง ที ่เ รีย กวา ศีล เขาก็เ ลย ทํ า ผิด ศีล แลว ก็ต กนรกทั ้ง เปน อยู  โดยที ่ไ มรู จ ัก ศีล ; ฉะนั ้น ตอ งชว ยกัน หนอ ย ให รู จั ก ศี ล ; ให ทุ กค น พ อ ใจที่ จะรั บ ศี ล ส ม าท าน ศี ล แล วก็ มี ศี ล . เราจะชี้ ประโยชนข องศีล ใหเ ขามองเห็น ใหจ นได, มัน ไมย าก มัน ไมล ึก ลับ อะไร, จน กระทั่วเขาจะมองเห็นไดวา เขาก็ชอบผลของการมีศีล.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เดี๋ ย วนี้ เขาก็ เกลี ย ดโทษของการที่ ไม มี ศี ล อยู ด ว ยกั น ทุ ก คนแหละ ; แต แล ว ทํ าไมเขาจึ ง เป น ผู ที่ ไม มี ศี ล เสี ย เองละ ? นี่ แ หละส ว น “ศี ล ” เป น ลํ า ต น ชั้ น นอก คื อ ชั ้ น เป ลื อ ก ; ค ว ร จ ะ ทํ า ให เ ป น ส าก ล เป น ค ว าม รู  ส าก ล เป น ก าร ปฏิบ ัต ิส ากล, หรือ เปน เหมือ นอะไร ที ่เ รีย กวา เปน ความนิย ม หรือ เปน คา นิยม อยางสากล ; โลกนี้ก็จะมีศีลธรรมกลับมาในชั้นแรก ชั้นศีล. ที นี้ เมื่ อ พู ด แล ว พู ด ให จ บเสี ย เลยดี ก ว า ว า ในชั้ น สมาธิ , สมาธิ ขั น ธ นี่ คื อ อะไร ? สมาธิ คื อ ความถู ก ต อ งในทางจิ ต ; จิ ต อบรมดี แ ล ว เป น จิ ต ที่ มี ส มรรถนะ ; สามารถทํ า หน า ที่ ข องจิ ต หรื อ ว า เราจะควบคุ ม จิ ต ได ให อ ยู ใ น

www.buddhadassa.in.th


๓๘๐

การกลับมาแหงศีลธรรม

ระเบียบ หรือในมรรยาทของจิต แลวมีผลลึกเขาไปกวาศีล. เมื่อมีสมาธิแลวก็ได รับประโยชนจากสมาธิ มากยิ่งขึ้นไปกวาที่ไดรับประโยชนจากศีลเสียอีก. แตแลว ทําไมคนเขาจึงเกลียดการเจริญสมาธิ, ไมอยากมายุงกับเรื่องของสมาธิ ของภาวนา ของกัมมัฏฐาน. ถาม : คุณทอง เห็นวาเปนเพราะอะไร คนจึงเกลียดสมาธิ ? ตอบ : การที่ ป ล อ ยจิ ต ให ล อ งลอยไปตามกระแสแห งความนึ ก คิ ด หรือ ที่ เรีย ก ว า ฝ น นั้ น มั น เป น ความสุ ข ชนิ ด หนึ่ ง ; ส ว นการที่ จ ะเหนี่ ย วรั้ ง ดึ ง บังคับมานี้ มันเกิดความรูสึกตองอดทน ตองตอสู. ถาม : คุณชวน ทําไมคนทั่วไปจึงเกลียดคําวาสมาธิ หรือการเจริญสมาธิ หรือ เจริญภาวนา ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : กระผมมีความเห็นวา คนเดี๋ยวนี้ไมมีความอดทนครับ คือมีความอดทน น อ ย. เมื่ อ แปลคํ า วาสมาธิไปในทางฝ ก ฝนตนเองให ห นั ก ขึ้ น คนก็ เลย เบื่อ, ไมอยากจะไดยินคํานี้ ไมอยากจะเอาไปปฏิบัติ.

ถาม : เขายังไมเคยทําสมาธิสักที ทําไมจึงไปรูวา ตองอดทนละ ?

ตอบ : ไดศึกษามาจากภาษา นะครับ. ถาม : ไดย ิน เขาวา , ไดย ิน เขาวา แลว ก็ก ลัว ไวเ สีย กอ น, กลัว วา เราจะ ทนไม ไหว, เราจะสู ไม ไหว. เอ า , คุ ณ ล้ํ า ทํ า ไมคนจึ ง เกลี ย ดสมาธิ ?

www.buddhadassa.in.th


ตนลําแหงศีลธรรม

๓๘๑

ตอบ : เนื่ อ งจากวั ฒ นธรรม มั น เปลี่ ย นแปลงไปมาก แล ว คนส ว นมากก็ ติ ด กับวัตถุ จึงเกลียดตอสมาธิครับ. ถาม : คุณสรุปสั้น ๆ วา คนเขาชอบฟุงซานใชไหม ? คุณประยูรวาอยางไร ? ตอบ : คนที่เกลียดสมาธิ หรือการเจริญภาวนาสมาธิ เพราะเขายังเขาใจความ หมายของคํ าวาสมาธิ ผิ ด ; อาจจะเขาใจจากการอ านตํ ารา หรือ ฟ ง เพื่ อ นว า หรือ จะไปเห็ น ใครเขานั่ งสมาธิ ตั ว แข็ ง ทื่ อ หรือ อะไรต า ง ๆ นั ่น แลว ก็น ึก วา ไออ ยา งนั ้น ไมเ ห็น ไดป ระโยชนอ ะไร. เขาก็เ ลย ไมสนใจ เลยชอบอยูตามสบาย ๆ โดยไมรูความหมายของสมาธิที่แท จริงนั้นเอง. ถาม : นี่คุณยังยืนยันวา สมาธินี้ ยังเปนของดีมีประโยชนอยู แมในยุคนี้หรือ ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : สมาธิที่แทจริง ในยุคไหน มันก็มีประโยชนตลอดไป แตวาคนไม เขาใจตางหาก.

ถาม : แลวความรูสึกของคุณเอง รูสึกวาสมาธิ ยังใชไดในยุคนี้ ยังมีประโยชน มีคาอยางยิ่งในยุคนี้รึ ?

ตอบ : ในยุคนี้ก็ยังใชไดอยู. ถาม : คุณทํากี่มากนอย ? ตอบ : ก็ ทํ าอยูเรื่อย ๆ. คํ าวา สมาธินี้ หมายความวา ถาพยายามที่ จะทํ าอยู เรื่อ ยไป ; ในเมื่ อ ทํ าอะไรทุ ก ๆ อย า ง ถ าทํ า โดยสมาธิ มี จิ ต ที่ ตั้ งมั่ น

www.buddhadassa.in.th


๓๘๒

การกลับมาแหงศีลธรรม อยู ใ นงานนั ้น มัน ก็ทํ า งานนั ้น ไดด ีขึ ้น . นี ่เ ปน การสมาธิที ่ไ มใ ชไ ปนั ่ง ฝ ก ภาวนา แต เป น สมาธิ ที่ ทํ า กั บ งาน. สมาธิ อ ย า งนี้ มี ป ระโยชน ต ลอด เวลา แลวผมก็พยายามทําอยูเรื่อย ๆ.

นี ้เ ปน สิ ่ง หนึ ่ง ซึ ่ง เราควรจะรื ้อ ฟ น ขึ ้น มา ; คือ คํ า วา “สมาธิ” นั ่น ไมไ ดห มายความวา ตอ งไป นั ่ง ตัว แข็ง อยู ใ นปา . สมาธิ คือ จิต เปน สมาธิ เมื ่อ ทํ า การงาน ; ฉะนั ้น เราฝก ใหจ ิต เปน สมาธิ. เมื ่อ ทํ า การทํ า งานทุก ชนิด งานนั้ น ก็ ทํ าได ดี และ มี ค วามสุ ข ในการงาน. อย า ให เห็ น เป น เรื่อ งของศาสนา ; เพราะวาเขาเกลียดศาสนาเสียแลว สิ่งใดที่เนื่องอยูกับศาสนา เขาก็พลอยเกลียด ; ทีนี้ เราก็ยังไมสามารถจะทํ าใหเขารักศาสนาได เราตองแยกออกมาวา เรื่องสมาธิ นี้ เปน เรื่อ งธรรมชาติ, เปน หลัก เกณฑข องธรรมชาติ ; เปน ความจริง อัน หนึ ่ง ที่ ธ รรมชาติ กํ า หนดไว ว า ถ า เรามี ส มาธิ แ ล ว เราจะเป น สุ ข และเราจะทํ า งานได ดี เราจะคิดดี จําดี อะไรไดดี.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org การทํ า งานทุ ก อย า ง ต อ งมี ส มาธิ อยู ใ นนั้ น ; แม ว า เราจะไม รู สึ ก หรือ ตอ งรู ส ึก วา เรามีส มาธิ มัน ก็ม ี. เชน คนจะตีห ัว ตะปู ใหล งไปบนหัว ตะปู ให ตะปู ลงอย างดี ; นี่ มี ความเป นสมาธิ ม ากเหลื อเกิ น . แต เขาไม รูวามี สมาธิ ; เขารู วา มือ ของเขาเกง ตา งหาก แลว เขาก็ต ีต ะปูล งไปได. โดยแทจ ริง แลว นั ่น คือ มี ค วามเป น สมาธิ โ ดยธรรมชาติ ; ธรรมชาติ ส ร า งให มี ส มาธิ เพิ่ ม ขึ้ น ๆ ตามที่ เรา ทํางานมากขึ้น. เราชํานาญอะไรมากขึ้น ความเปนสมาธิก็มีมากขึ้น.

ที นี้ ย กตั ว อย า ง แม แ ต เ พี ย งว า เด็ ก ๆ เขาจะยิ ง หนั ง สะติ๊ ก ; เขาก็ ต อ งการสมาธิ ในอั ตราที่ เต็ ม บริ บู รณ ที่ จะยิ งหนั งสะติ๊ ก ให มั น ถู ก ได . ขอให เขาเห็ น ประโยชน อ านิ ส งส ข องสมาธิ อ ย า งนี้ , เห็ น ว า เป น เรื่ อ งธรรมชาติ อ ย า งนี้ ไม เหลื อ

www.buddhadassa.in.th


ตนลําแหงศีลธรรม

๓๘๓

วิ สั ย . ที นี้ เราชวนให เขาสร า งสมาธิ ที่ ยิ่ งขึ้ น กว า นั้ น เขาก็ ค งจะพอเข า ใจ ; นี่ คื อ แยกตัวออกมาจากสิ่งที่เรียกวา ศาสนา เสียทีกอน. เพราะวาเขาเอื อมระอาต อสิ่ งที่ เรียกวาศาสนานั กแล ว, ชวนเขามาทํ า สมาธิจากธรรมชาติ, ของธรรมชาติ, ตามธรรมชาติ, กันเสียที เพื่อจะไดทํางาน ไดด ี ; เขาก็ค งจะสนใจ. ทีนี ้เ ราบอกเขาวา ถา จะฝก สมาธิใ หม าก ใหเ ร็ว ใหถ ึง ที ่ส ุด แลว ก็ม าฝก อยา งที ่เ ขาฝก กัน ในปา นั ่น แหละ ; เขาคงจะสนใจใน การฝ ก สมาธิ ในป า บ างไม ม ากก็ น อ ย. เมื่ อ เป น ดั ง นี้ จิ ต ของคนเราในโลกนี้ ก็ จ ะ เปนจิตที่ไดรับการอบรมดี ในสวนของสมาธิ. ทีนี้ อยาลืม วาจะตองทดสอบดวยหลัก ๕ ประการ นั้นเสมอ เชนวา ถาเรามีความรูสึกแทจริงอยูวา “สัตวทั้งหลายเปนเพื่อนทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย ดวย กันทั้งหมดทั้งสิ้น” ดังนี้แลว สมาธิจะเปนอยางไร ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : จะเปนขาศึกแกสมาธิ หรือวาจะสงเสริมสมาธิ คุณเห็นวาอยางไร คุณชวน ?

ตอบ : กระผมมีความเห็น วา ถาเรามี ความคิดเห็นวา สัตวทั้งหลายเปนเพื่ อ น ทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันทั้งหมดทั้งสิ้นแลว จะเป นการสงเสริม สมาธิไดอยางดีครับ.

ถาม : สงเสริมอยางไร วาใหชัดอีกสักหนอย ? ตอบ : คื อ ว า จะทํ า ให จิ ต ใจของเราสะอาด สว า ง สงบ ปราศจากความทุ ก ข เดือดรอนทางดานจิตใจ แลวก็จะทําใหจิตใจของ เรามีสมาธิดีขึ้น.

www.buddhadassa.in.th


๓๘๔

การกลับมาแหงศีลธรรม

ถาม : ตองอธิบายใหเห็นชัดลงไปจริง ๆ เชนถาเราไปเกิดรูสึกวา “สัตว ทั้งหลายเปนเพื่อน ทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันทั้งหมดทั้งสิ้น” ; แลวเราก็ไปกลัววา เราไมไดชวยเขา เราไมสามารถจะชวยเขา จิตใจ ของเราฟุงซานอยู ; อยางนี้มันจะเปนสมาธิไดอยางไร คุณประยูรวา อยางไร ? ถาเรามีความรูสึกอยางนั้น แลวจะสงเสริมสมาธิไดอยางไร หรือวาจะเปนอุปสรรค ? ตอบ : ถาเรามีความรูสึกวา “สัตวทั้งหลายเปนเพื่อนรวมเกิด แก เจ็บ ตาย” แลว เราก็ตั ้ง ใจทํ า ใหจ ิต ของเราเปน ไปในแนวเดีย วนั ้น อยู ต ลอด เวลา เปน การทํา ใหจิต ของเรานี้ไ มฟุง ซา น ; เพราะเราคิด อยูใ น แงเดียว. ฉะนั้น การทําอะไรถามีเปาหมาย มีอุดมการณอยูอยางนั้น อยูในแงเดียว โดยไมเขว, คือไมมีการลังเล เพราะความรูสึกอยาง ที่กลาวมาแลวเมื่อตะกี้ ; อยางนี้ ถาเมื่อจิตไมเขวไปคิดถึงเรื่องอยาง อื่นอยางหนึ่งอยางใด แลว มันก็เปนสมาธิอยูในตัวเสียแลว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี่กระทัด รัดดี และเห็ นงายหนอ ย เพราะฉะนั้ น จะต องไปเล็งถึ ง ลักษณะของความเปนสมาธิ ที่สรุปโดยยอที่สุด. ในชั้นตนก็ตองพูดวา สมาธิ คือความที่จิตไมฟุงซาน ดวยอํานาจแหงนิวรณ. ถาม : นิ ว รณ คื อ อะไร ? คุ ณ ทอง นิ ว รณ คื อ อะไร ลื ม แล ว หรื อ ? เอ า ! นิวรณ ไปเรียนเสียใหม. ลืมก็ได ไมเปนไร. กามฉัน ทะ พยาบาท ถีน มิท ธะ อุท ธัจ จะกุก กุจ จะ วิจ ิก ิจ ฉา คือความรูสึกฟุ งซานตามธรรมดาสามัญ ชนทั้งหลายนั่น เขาเรียกวา นิวรณ :

www.buddhadassa.in.th


ตนลําแหงศีลธรรม

๓๘๕

กามฉัน ทะ –ฟุ ง ซา นดว ยความรู ส ึก ทางกาม, - พยาบาท - ฟุ ง ซา นเพราะ ความไมช อบ, ความชัง คือ พยาบาท, ถีน มิท ธะ - ฟุ ง ซา นเพราะมัน ซึม เซา ไมแ จม ใส, อุท ธัจ จะกุก กุจ จะ - ฟุ ง ซา นเพราะมัน ฟุ ง เกิน กวา ปรกติ, วิจิก ิจ ฉา - ฟุงซานอยูดวยความไมแนใจ ในอะไรสักสิ่งเดียว ; นี่เรียกวานิวรณ. ความฟุ ง ซา นเหลา นี ้ เปน สิ ่ง ที ่ต รงกัน ขา มจากสมาธิ. รากฐาน อันแรก ที่ เราทํ าความรูสึก วา “สั ตวทั้ งหลายที่ เป น เพื่ อ นทุ กข เกิ ด แก เจ็บ ตาย ดว ยกัน ทั ้ง หมดทั ้ง สิ ้น ” นี ้ จะระงับ ความฟุ ง ซา นพื ้น ฐาน ๕ ประการเหลา นั ้น ; หรือมันเริ่มสรางจุดที่แนนอนขึ้นมา สําหรับจิตเราจะไดถือเปนหลัก ยุติวาอะไร. อย าง กามฉั น ทะ นี้ ถ าเห็ น อกเพื่ อ นมนุ ษ ย อ กเดี ย วกั น ด วยการเกิ ด แก เจ็ บตาย แล วกามฉั นทะมั นก็ เกิ ดยาก เป นต น. แล ว พยาบาท นี้ คื อความโกรธ ความเกลีย ด ความริษ ยา ประทุษ รา ย นี ้เ กิด ไมไ ด เพราะเห็น อยู ว า “สัต ว ทั้ งหลายเป น เพื่ อ นทุ ก ข เกิ ด แก เจ็ บ ตาย อยู ด วยกั น ทั้ งหมดทั้ งสิ้น . ถึงแม วา ความรูสึ ก ที่ ซึ ม เซา ก็ ดี ก็ เกิ ด ยาก. ถ าเราไปเห็ น อกเห็ น ใจผู อื่ น อยู ความฟุ งซ า น ไมเ กิด เพราะมัน รู พ อดี รู ถ ูก ตอ ง รู ห นา ที ่, ทํ า ใหส นใจปฏิบ ัต ิ ใหส มกับ ที ่ว า เราเปน เพื ่อ นทุก ข เกิด แก เจ็บ ตาย. เมื ่อ เรามีค วามแนใ จวา เราตอ ง เกิด แก เจ็บ ตาย นี ่เ ราก็ไ ม วิจ ิก ิจ ฉา ในขอ นี ้แ ละขอ อื ่น ที ่เ นื ่อ งกัน ; จะทํ า หนา ที่ ทุกอยาง ที่เปนหนาที่ของมนุษยเรา หรือวาเพื่อตัวเรา และเพื่อผูอื่นดวย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สรุ ป แล ว มั น ทํ า ให ใ จคอปรกติ แจ ม ใส มั่ น คงไม ฟุ ง ซ า น ; ก็ เ ป น สวนสงเสริมใหเกิดสมาธิ.

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๓๘๖

ส ว น ก า ร ไ ม เ ป น ท า ส ข อ ง อ า ย ต น ก็ ด ี ก า ร บั ง คั บ ค ว า ม รู  ส ึ ก ไว ในอํ า นาจก็ ดี ก็ ส งเสริม สมาธิ อ ยู ในตั ว เป น สมาธิ อ ยู ในตั ว แม ย ถาภู ต สั ม มั ป ป ญ ญาก็ ช ว ยให ทํ า สมาธิ ได ม ากขึ้ น เร็ ว ขึ้ น . ศรั ท ธาในสิ่ ง ที่ ต นจะต อ งทํ า ก็ ช ว ย ความเปนสมาธิมากขึ้น. ถาม : ถ าพู ดกับคนสมั ยป จจุบั นนี้ สมั ยใหม เจี๊ยบเลย เราจะพู ดกั บเขาวาสมาธิ มี ประโยชน อ ยางไร ? คุณ ประยู ร ตอบประโยคที่ สั้ น ที่ สุด ไม ยืดยาว ฟุมเฟอย. ตอบ : สมาธินี้เปนพลังจิตอยางหนึ่งที่จะใหทํางานสําเร็จประโยชน. ถาม : ก็ได, มันเปนการโฆษณาที่ดี วาสมาธินี้เปนพลังแหงความสําเร็จ ในการงานทั้งหมด, คุณทองพูดใหดีกวานี้อีก ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : สมาธินี้เปรียบเหมือนแกวสารพัดนึก.

ถาม : ใช ทํ า อ ะ ไรก็ ไ ด ; นี ้ ต  อ งพู ด มี ห ลั ก พ ระพุ ท ธ เจ า ท า น ได ต รั ส ไว อยา งนั ้น วา จิต สิ ่ง เดีย วนี ้ทํ า อะไรไดห มด. ขอใหอ บรมใหถ ูก ตอ ง และเต็ ม ที่ จะเป น เหมื อ นดั ง แก ว สารพั ด นึ ก ได . คุ ณ ชวนตอบที , พู ด อยางไรสมัยนี้ ประโยคเดียว ใหคนทําสมาธิกันเต็มบานเต็มเมืองเลย ?

ตอบ : สมาธิคืออํานาจในการทํางานใหสําเร็จลุลวงไปดวยดี. ถาม : มันคลาย ๆ กับเพื่อนตอบแลวนั่น, เอาคุณล้ํา !

www.buddhadassa.in.th


ตนลําแหงศีลธรรม

๓๘๗

ตอบ : ทุกวันนี้ตองพูดวา ทุกอยางตองใชสมาธิ แมแตการอานหนังสือ การ ทํางานทุกอยาง นี่ตองใชสมาธิ. เขายังไมมองเห็น เขายังไมยอมรับ เราตองทําใหเขารูสึกวามันตรง กับความประสงคของเขาใหชัดกวานั้น. ก็อยางที่ตอบแลวนี่. มันตางกันอยู แตเพียงวารัดกุมหรือไมรัดกุม. สมาธิ เ ป น เครื่ อ งมื อ ให ทํา อะไรได ทุ ก อย า ง, ค อ ย ๆ อธิ บ าย ไปใหเห็นวามันใชทําอะไรไดทุกอยาง : นับตั้งแตเรียนหนังสือ ไปจนถึงประกอบ อาชีพ กระทั่งประดิษฐ, กระทั่งเรื่องทางธรรม บรรลุ มรรค ผล นิพพาน เลย. ฉะนั้นลําตนสวนที่เปนสมาธิ คือเนื้อแข็งชั้นถัดเปลือกเขาไป แตยังไมถึงแกน. ทีนี้ มาถึงลําตนของศีลธรรมชั้นสุดทาย คือ ที่เปน แกนแท เรียก วาปญญา

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : ตองสอบไล เพราะไดฟงมาหลายหนแลว ; ปญญานี้มีกี่แบบ กี่ชนิด กี่ลักษณะ คุณทอง! ตอบ : ยังนึกไมออกครับ.

ถาม : คุณประยูร ? ตอบ : ปญญาตามตัว แปลวา รูพรอม ; ฉะนั้นมันก็คงจะมีสัก ๒ อยาง คือ ปญ ญาที ่รูพ อ กับ รูไ มพ อ, หรือ รูพ รอ มกับ รูไ มพ รอ ม, รูพ อดี หรือวารูเกิน ; คงจะมี ๒ อยาง อยางนี้.

www.buddhadassa.in.th


๓๘๘

การกลับมาแหงศีลธรรม

ถาม : ที่คุณเคยพูดอยูบอย ๆ ลืมแลวหรือ ? ตอบ : คือปญญาที่ถูกตอง กับไมถูกตอง. ถาม : คุณล้ํา ปญญามีสักกี่แบบ กี่ระดับ กี่ชั้น ที่จะทําใหเกิดความเขาใจผิดได ? ตอบ : ปญญา ผมวามีสองชั้น คือปญญาขั้นตนก็คือ. เอ า , นี่ ส อบไล ต กหมด ; เพราะว า พู ด กั น หลาย ๑๐ ครั้ ง แล ว ว า ปญ ญา นี้ตองระวัง. มันมีปญ ญาชนิดที่เรียกวา เฉโก อยูอันหนึ่ง คือ ปญ ญา สํา หรับ ตลบแตลง ; จะเรีย กวา ไมมีปญ ญาก็ไ มไ ด. ปญ ญาเฉโก คือ ปญ ญา ที ่ อ ยู  ภ ายใต อํ า นาจของกิ เ ลส. กิ เ ลสใช ใ ห เ ขาทํ า งาน เขาก็ ใ ช เ ฉโก. นี่ พูด ภาษาไทย, เฉโกที่เปน ภาษาไทย. นี้เรีย กวา เปน ระดับ ต่ํา สุด ของปญ ญา คือเฉโก, ปญญาที่ไปตามอํานาจของกิเลส, ปญญาชนิดไมซื่อตรง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทีนี้ ป ญ ญาสูงขึ้นมา คือ ป ญ ญาตามธรรมดา ที่ คนทั่ วไปจะต องมี , จะเรียกวาปญญาเฉย ๆ ก็ได. ป ญ ญาสู ง สุ ด ในพุ ท ธศาสนา เรีย กว า ยถาภู ต สั ม มั ป ป ญ ญา ; ชื่ อ ยาวเฟ อ ย ยถาภูต สัม มัป ปญ ญา, ปญ ญาที ่เห็น อยา งถูก ตอ งตามที ่เปน จริง อยางไร ของสังขารทั้งปวง. เรามี ปญ ญ าเฉโก ซึ ่ง ไมน า ไวใ จ อยา มีก ็ไ ด ; แลว ปญ ญ า ธรรมดา ทํา มาหากิน เลา เรีย นอะไรไป ที่จ ะไดเ ปน ไปโดยสุจ ริต ก็เ รีย กวา

www.buddhadassa.in.th


ตนลําแหงศีลธรรม

๓๘๙

ปญ ญา ; สูง ขึ้น ไป : ปญ ญาทางศาสนา จะเห็น อนิจ จัง ทุก ขัง อนัต ตา นี่เรียกวา ยถาภูตสัมมัปปญญา. ทีนี ้ เรื ่อ งเฉโก ไมูพ ูด , เรื ่อ งปญ ญาชาวบา น ก็ไ มพ ูด ; พูด แต เรื ่อ งปญ ญา อัน บริส ุท ธิ ์ท างศาสนา. เขาก็ย ัง แจกไปวา มีป ญ ญาชนิด ที่ ไดม าจากการศึก ษาเลา เรีย น, และปญ ญาที ่ไ ดม าจากการใชเ หตุผ ล และ ปญญาที่ไดมาจากการเจริญภาวนา. นี่มีถึง ๓ ชั้นอีกเหมือนกัน. เราเล า เรีย นจํ าได ก็ เป น ป ญ ญาชนิ ด หนึ่ ง , แล ว เราคิ ด ค น ก็ เป น ปญญาสูงขึ้นไป, สวนปญญาเพราะเจริญภาวนา เห็นประจักษตามที่เปนจริง คือ ยถาภูต สัม มัป ปญ ญา. อยา งทีแ รกเขาเรีย กวา สุต ามยปญ ญา - ปญ ญาที่ เกิด จาการศึก ษาเลา เรีย น. อยา งที ่ ๒. เขาเรีย กวา จิน ตามยปญ ญ า – ปญ ญ าที ่เ กิด มาจากการคิด คน โดยการใชเ หตุผ ล. อยา งที ่ ๓. เรีย กวา ภาวนามยป ญ ญ า -ป ญ ญ าที ่ ม าจากการเจริ ญ ภ าวนา. อย า งหลั ง สุ ด นี่แหละเปนยถาภูตสัมมัปปญญา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาพู ด ได ครอบหมดทั้ งโลก ก็ต อ งมี ป ญ ญา ๓ คื อ เฉโก, ป ญ ญา ธรรมดา, และยถาภูตสัมมัปปญญา. ยถาภูตสัมมัปปญญา นี้เราจะมีทางหามาได โดยการศึกษาเลาเรียน โดยการคิดคน โดยการเจริญ ภาวนา. นี่คําวา “ปญ ญา” ควรจะรูจักกันอยางนี้. ....

....

....

....

www.buddhadassa.in.th


๓๙๐

การกลับมาแหงศีลธรรม

ทีนี้จะตองพูดตรง ๆ หนอยวา การศึกษาของมนุษยในโลกยุคปจจุบันนี้ มันใหเกิดปญญาชนิดไหน. ถาม : ใครกล าพู ด ลองพู ด ที วาการศึ ก ษาของมนุ ษ ย ในโลกยุ ค ป จ จุ บั น นี้ มั น ใหปญญาชนิดไหน ? เอา, คุณทองนึกออกแลว. ตอบ : เปนปญญาที่อยูภายใตของกิเลส. ถาม : เปนปญญาที่อยูภายใตกิเลส. เอา, คุณทองละ ? ตอบ : ใหปญญาชนิดที่ใหเห็นแกตัวยิ่งขึ้น. ถาม : ปญญาที่เพิ่มความเห็นแกตัวยิ่งขึ้น, ปญญาที่สงเสริมกิเลส. คุณประยูร วาอยางไร ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : ก็คงจะไปแบบนั้น คือเปนปญญา ที่ทําใหคนหาวิธีที่จะกอบโกยได มาก ๆ ขึ้น นั่นแหละครับ. ถาม : นี่วากันโดยสวนมาก หรือทั้งหมด ; ที่คุณวานี้วากันโดยสวนมาก หรือทั้งหมด ?

ตอบ : ที ่ว า นี ้ จะวา โดยสว นมาก ก็จ ะไดแ ลว เดี ๋ย วนี ้ แตไ มถ ึง กับ ทั ้ง หมด คือ มัน เปน ปญ ญาที ่ศ ึก ษาในทางวัต ถุ ประดิษ ฐค ิด ของใหมอ ยู เ รื ่อ ย โด ย ไม ได มี ป ญ ญ าใน ท างรู เ ท าทั น ท างด าน จิ ต ใจ . ถ าค น ไห น

www.buddhadassa.in.th


ตนลําแหงศีลธรรม

๓๙๑

ไมเขาใจ ตามไมทัน มันก็ติดวัตถุ ฉะนั้น จึงเลยยุงกัน. การศึกษา เดี๋ยวนี้ ใหเกิดปญญาที่เปน ไปในทางวัตถุ ประดิษฐวัตถุใหม ๆ ขึ้น มาเรื่อย ; ฉะนั้น ปญญาที่จะนําไปสู ยถาภูตสัมปปญญาไมมีทางจะ เปนไปได ผมหมายถึงอยางนี้. ถาม : เปนความผิดของใคร ? ตอบ : อยางนี้พูดยากจัง ; ก็เปนความผิดของผูจัดระบบการศึกษา. กระผม พูดไดอยางนี้เทานั้นเอง. ถาม : เปนเจตนาของเขาหรือ ? ตอบ : ก็ ค งจะไม เจตนา, ไม ได เจตนา ; แต มั น เป น การรับ ช ว งมาจากผู ให กําเนิดระบบการศึกษาสมัยใหม อีกเปนทอดไปละครับ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : นี่รูไวเสีย ดว ยวา ลัก ษณะอยา งนี้เขาเรีย กวา เปน กรรมแหง วัฏ ฏะ ภาวะตกหนัก อยา งที่วา นี้เ ขาเรีย กวา เปน กรรมวัฏ ฏะ ; คุณ ทอง เขาใจหรือยัง ? กรรมแหงวัฏฏะคือ อยางไร ? คุณ ทอง นึกไมอ อก. ไมเคยไดยินคํานี้เสียเลยหรือ ?

ตอบ : วัฏฏะก็คือ อยากจะได -แลวก็ทํา -แลวก็ไดมา –แลวก็ทํากรรมตอไป อีก ; ก็คือกรรมแลวก็วิบาก. นั่นตัววัฏฏะ ; เดี๋ยวนี้เปนกรรมแหงวัฏฏะ. นี่อีกความหมายหนึ่ง จะพู ด ให ฟ ง , อาจจะยั ง ไม เ คยฟ ง . ถ า เขาพู ด ว า กรรมวั ฏ ฏะ, หรื อ กรรม

www.buddhadassa.in.th


๓๙๒

การกลับมาแหงศีลธรรม

ของวั ฏ ฏะ, หรื อ กรรมในวั ฏ ฏะ ; นั่ น คื อ ว า ไม ไ ด เ ป น เจตนาของใคร ; มันเปนเรื่องของวัฏฏะที่มันหมุนเวียนมาถึงราศีอันนี้ ไมใชเจตนาของใคร ฉะนั้น จะไปปรับแกใครโดยตรงก็ไมได ก็เลยปรับเปนของวัฏฏะ, หรือวาของสัตวโลก ทั้งหมด. สัตวโลกทั้งหมดกําลังเผลอเรอปลอยมาในลักษณะอยางนี้ จึงมาอยู ในสภาพอยางนี้ มาหลงการศึกษาแตทางวัตถุ อยางนี้, แลวก็เพิ่มปญญาชนิดที่ เห็นแกตัว จนกลายเปนเฉโก มีปญญาแตในทางที่จะแสวงประโยชน โดยไมคํานึง ถึงผิดชอบชั่วดี. นี่โลกนี้ก็กําลังเจริญแตปญญาอยางนี้ มันก็ไมถูกธรรมะ จึงไมมี สันติภาพ มีแตวิกฤติการณ. ถาม : ลองตั้ ง คํ า ถามอี ก คํ า หนึ่ ง นะ ; ขออภั ย หน อ ย ว า พวกนั ก การเมื อ ง เขามีปญญา ชนิดไหนกัน, คุณล้ํา ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : ปญญาชนิดเฉโกครับ.

เพราะว า คุ ณ เป น นั ก การเมื อ งในตั ว มี แ ต ป ญ ญาเฉโก ก็ แ ปลว า สารภาพวา นักการเมืองทั้งหลาย เขาชอบกันแตปญญาเฉโก. แมในที่ประชุม แหง นัก การเมือ งระดับ โลก, ระดับ โลกเลยนะ, อยูที่ไ หนก็ต ามใจ ; อยา ไปออกชื่อ ก็มีแ ตปญ ญาเฉโก, มุง แตจ ะปอ งกัน ประโยชนข องตน อยา งไม คํ า นึง ถึง ธรรมะ. “จะปอ งกัน ประโยชนข องตน” หมายความวา ใหไ ด ประโยชนมาโดยไมคํานึงถึงธรรมะ เพราะมันเปนเฉโก ไมใชปญญา.

www.buddhadassa.in.th


ตนลําแหงศีลธรรม

๓๙๓

ถาม : ปญ ญาของนักประดิษฐคนควา คิดคนสิ่งวิเศษขึ้นมาในโลกปจจุบันนี้ เป น ป ญ ญ าช นิ ด ไห น ? ไป โล ก พ ระ จั น ท ร ไ ด , ทํ า อ ะไรก็ ไ ด , เปนปญญาชนิดไหน ? จะเรียกวาปญญาคดโกง หรือปญญาซื่อตรง ; พูดอยางนั้นกอนดีกวา เฉโกหรือเปลา ? ตอบ : ไม ถึ ง กั บ คดโกง แต ห มายถึ ง หวั ง จะได ชื่ อ เสี ย งของตั ว เอง หรื อ เพื่ อ ประโยชน ; ไมเชนนั้นก็เพื่อประโยชนของสวนรวมก็ยังได. นั่นแหละ อยางบริสุทธิ์ใจ ก็เปนเพียงโลกิยปญ ญา คนควาพบสิ่ง ที่มั น ยังลึ กลั บ อยู ; แต ส วนมากมั กจะมี มู ลมาจากความเห็ นแกตั ว จึงไปดิ้น รน ขวนขวายสิ่งที่จะใชเปนเครื่องขมขู หรือวาย่ํายีผูอื่นได มักจะเปนเสียอยางนั้น. ถาเปน ความคิดบริสุท ธิ์ ก็จัด ใหเปน ปญ ญาบริสุท ธิ ; แตถึงอยางนั้น ก็ยังเปน โลกิยปญญา ใหประโยชนไดแตในเรื่องของโลก ๆ ไมนําไปสูความหลุดพน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : ป ญ ญา ที่ เกิ ด ขึ้ น มาที ล ะน อ ย ตามสมควรแก อั ต ภาพของคนที่ เกิ ด มาในโลกนี ้ มีอ ายุม ากขึ ้น ทุก วัน ๆ จนเดี ๋ย วนี ้ ก็ม ีอ ายุตั ้ง ๗๐, ๘๐, ๙๐ แลว ปญญาอยางนี้ เรียกวาปญญาชนิดไหน ?

ตอบ : ปญญาอยางนี้ ควรจะเรียกวา เปนยถาภูตสัมมัปปญญา.

ปญญาอยางนี้คือจุดตั้งตน หรือ ก.ข.ก.กา ของยถาภูตสัมมัปปญญา, ขอใหทานทั้งหลายทุกคน มองเห็นสิ่ง ๆ นี้ วา เราก็มีทางที่จะมียถาภูตสัมมัปปญญา. ขอใหตั้ง ขอสัง เกตไวใ หดี ๆ วา ตั้ง แตเกิด มาเรารูอ ะไร, เราเห็น อะไร, เรารูสึก

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๓๙๔

อ ะ ไ ร, อ ย า ง ไร ; “ค ว า ม ผิ ด ก็ เ ป น ค รู , ค ว า ม ถู ก ก็ เ ป น ค รู ” นั ่ น แ ห ล ะ คือ จุดตั้งตนของยถาภูตสัมมัปปญญา. เราเคยผิด มากี ่ร อ ยครั ้ง , เคยถูก มากี ่ร อ ยครั ้ง , จนเดี ๋ย วนี ้เ ราก็รู อะไรมาก, คนแก ๆ รู อ ะไรมาก พอที ่จ ะบอกใหเ ด็ก ๆ ฟง บา ง ; อยา งนี ้เ ปน ยถาภู ต สัม มั ป ป ญ ญา ตั้งต นมาจากโลก ๆ, แลวก็สู งขึ้นมาตามลํ าดั บ จนกระทั่ ง เห็ น วา “ดั บ ไม เหลื อ ” ดี ก วา ไม ต อ งเรีย นอะไรมาก ; แม ไม เคยเรีย นพระไตรป ฎ ก ก็ค งจะรูส ึก วา “ดับ ไมเหลือ ”ดีก วา . นี ้ก ็เปน ยถาภูต สัม มัป ปญ ญา ที ่อ ยู ใ นวิส ัย ในเงื้อมมือของคนธรรมดาทั่วไปทุกคน| ....

....

....

....

ถาม : ทีนี้ ก็จะสรุปความกันสักทีวา เราจะไปบอกคนสมัยนี้วาปญญานี้คืออะไร จึง จะเปน ที ่ส นใจแกเ ขาอยา งยิ ่ง . สิ ่ง ที ่เ รีย กวา ปญ ญ านั ่น คือ อะไร คุณประยูร ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : สิ่งที่เรียกวา ปญญา ก็คือ สิ่งที่สามารถแกปญหาในชีวิตของทานได ทุกสิ่งทุกอยาง.

ถาม : บ อ ก อ ย างนี้ เขาค งส น ใจ ; แต ยั ง ไม ได บ อ ก ว า ทํ าอ ย างไรน ะ ? แต เขาคงจะสนใจในขั้ น ต น ที่ ว า มั นจะแก ป ญ หาได ห มดทุ กอย าง. คุ ณ ทองวาอยางไร ? ปญญาคืออะไร ? ตอบ : ก็ยังนึกหาคําใหดีกวาที่คุณหมอวา ไมได.

www.buddhadassa.in.th


ตนลําแหงศีลธรรม

๓๙๕

ถาม : คุณชวน ? ตอบ : ปญญา คือความรูที่สามารถแกปญหาในชีวิตประจําวันได. ถาม : คุณล้ํา ? ตอบ : ปญญาคือความรอบรูตาง ๆ ในชีวิต. ถาม : มากไมมีประมาณ ? ตอบ : ครับ. อยางนี้เขาจะสั่นหัว เขาจะมองเห็นวาไมจําเปน หรือมันเหลือวิสัย. ตอ งจํา กัด ความเขา มา : ปญ ญาคือ ความรูที่ถูก ตอ งเพีย งพอ สํา หรับ สิ่ง ที่ ควรจะรู, เปนความรูในสิ่งที่ควรจะรูอยางถูกตองและเพียงพอ. ถาเกินไปนักมันก็ เหนื่อ ยเปลา คือ ไปทํา ในสิ่ง ที่ไ มตอ งทํา ; ฉะนั้น แมจ ะไปโลกพระจัน ทรไ ด เราก็ไมนับถือ เพราะไมทําก็ได ; เหนื่อยเปลา ๆ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เราจะเอาเพี ย งวา ป ญ ญาที่แกป ญ หาที่ มั นเป นความทุกข ไม พึ ง ปรารถนา ไดก็พอ ; แตถาเขาชอบมากกวานั้นก็ตามใจเขา. พุทธบริษัทตองการ ความรูที่ถูกตองและเพียงพอ เทาที่ควรจะรู คือแกปญหาที่แทจริง ที่มีอยูจริงได, คือ ดับ ทุก ขได ก็พ อ. อยาใหฉ ลาดถึงกับ เพิ่ม พูน ความสนุก สนานเอร็ด อรอ ย ใหมันมากไป มันจะวกกลับลงไปหาความทุกขอีก.

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๓๙๖

ทีนี้ คนที่เขาชอบความสุขทางวัตถุ ทางเนื้อหนัง เขาก็คงจะไมชอบ คงจะไมคอยพอใจนัก. แตเราก็ตอ งยืนยันวา ปญ ญาตามที่เปนจริงนี้ มันจะ บอกให แ ต ใ นขอบเขตที่ ว า ควรจะรู เ ท า นั้ น แหละ เกิ น นั้ น ไปไม ต อ งการ. ถาไมอยางนั้นแลวจะเรียกวา ไมใชรูตามที่เปนจริง. ถารูตามที่เปนจริง มันจะ มีขอบเขตวา ควรจะรูสักเทาไร ; นอกนั้นไมตองไปเหนื่อยใหเสียเวลา. ....

....

....

....

เป น อั น ว า เรามี ป ญ ญาเป น ลํา ต น ของพฤกษาแห ง ศี ล ธรรม ในฐานะเปน แกน , เปน แกน ของลํ า ตน , มีส มาธิเ ปน กระพี ้, มีศ ีล เปน เปลื อ กนอกทุ ก ๆ ชั ้ น ; เปลื อ กนี ้ ม ี ห ลายชั ้ น . แล ว เราก็ ไ ด ต  น ไม แ ห ง ศีลธรรม ที่แข็งแกรงที่สุด เหมือ นกับ ตน ไมที่มีแกนมากที่สุด . นี่เรามาถึงตน ไมแหงศีลธรรมแลว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทีนี้ ศีล สมาธิ ปญญา จํากัดความกันใหงาย ๆ ก็วา ปรกติ หรือ ความถูกตอง ๓ ชั้น : ความถูกตองของความปรกติ ของ กาย วาจา และวัตถุ ที่เนื่อ งกัน , นี้คือ ศีล . ความถูก ตอ งและปรกติข องจิต ที่มีธ รรมชาติอัน ลึก ซึ้ง เรนลับ, นี่เรียกวาสมาธิ. ความถูกตองและปรกติของปญญา คือวิชชา ที่จะมา เปนความรู ความคิด ความเห็น ความเชื่อของจิต นี้เรียกวาปญญา. รวมเรียก สั้น ๆ วา ศีล สมาธิ ปญญา, ถูกตองทางกายวาจา ใจ และทิฏฐิ.

ถาม

: ศีล สมาธิ ปญญา แยกกันได หรือไมอาจจะแยกกันได ? คุณทองวา อยางไร ?

www.buddhadassa.in.th


ตนลําแหงศีลธรรม

๓๙๗

ตอบ : แยกกันไมไดครับ. ถาม : ชี้ใหเห็นความที่มันแยกกันไมได ? ตอบ : คนที่มีสมาธิไดนั้น จะตองมีความปรกติ คือมีศีล ; เมื่อมีศีล มีสมาธิแลว ก็มีปญญาขึ้นมาเอง. ถาม : ถ า อย า งนั้ น มั น ก็ ค นละที อ ยู ซิ , คนละที มั น ก็ แ ยกกั น ได ซิ ; มี ศี ล สมาธิ ยังไมมีปญญาสักทีเลย ก็แยกกันได อยางคุณวามันคนละที. ถ า คนละที มั น แยกกั น ได น ะ. พู ด ให เ ห็ น ว า มั น แยกกั น ไม ไ ด ซิ , คือตองมาพรอมกันเหมือนกับเชือก ๓ เกลียว. คุณประยูรวาอยางไร ? ตอบ : ในขณะที่ เรามี ส มาธิ ตอนนั้ น ศี ล ก็ มี พ ร อ มอยู ใ นตอนนั้ น คื อ ไม สามารถจะประทุษรายอะไรตอสิ่งหนึ่งสิ่งใดได. หมายความวา มีความ ปรกติท างกาย ทางวาจา อยู ใ นตอนนั ้น ดว ย ในขณะที ่ม ีส มาธิ, และในขณะที่มีสมาธินั้นเอง จิตก็จะมีปญญาคลองวองไวสําหรับจะ ทําอะไรอยูไดตลอดเวลาแลว ในขณะที่กําลังมีสมาธิ คือ มีพรอมกัน ในเวลาเดียวกันหมดทั้ง ๓ อยาง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาจะพูดใหลึกซึ้ง ตองพูดใหมองเห็นวา มันมีอยูพรอมกัน ๓ อยาง, มีคนละทีไมได ; เชนวาจะมีศีล มันตองมีปญญารูวามีอยางไร. นี่ มันมีปญญา เสียแลว. ความที่ตั้งมั่น อยูในศีล มัน เปน สมาธิแ ลว ; ความตั้งใจจะรัก ษาศีล หรือ ความสัง วรระวัง ใหมัน มีอ ยูอ ยา งนี้ นี่ก็เ ปน ศีล , ฉะนั้น ในศีล นั้น ก็มี ทั้งศีล สมาธิ ปญญา.

www.buddhadassa.in.th


๓๙๘

การกลับมาแหงศีลธรรม

ทีนี ้ ในสมาธิก ็เ หมือ นกัน : ความตั ้ง ใจในการคุม จิต ใหเ ปน สมาธินี้ก็เปนศีล, เปนความหมายของศีล, จิตตั้งมั่นอยูในขณะนั้นก็เปนสมาธิ, และความรูวาเราจะตองทําอยางไรตั้งแตทีแรกมา แลวก็รูอยูตลอดเวลา หรือมี สัม ปชัญ ญะในขอ นี้ ก็เปน ปญ ญา. ฉะนั้น คนที่เจริญ สมาธิอ ยู มัน ก็มีทั้ง ศีล สมาธิ ปญญา. ทีนี้ คนที่เ จริญ ปญ ญาอยู นั้น ก็มีศีล เพราะวา จะทํา อะไรผิด ไมได โดยมีความระมัดระวังอยูตลอดเวลา ; แลวจิตเปนสมาธิก็คือเปนพื้นฐาน ของปญญานั่นแหละ ; ปญญามันจะรูได ในเมื่อจิตเปนสมาธิ ; เพราะวาความรู ตั้งอยู บ นสมาธิ คือ ความที่ จิต เป น อย างนั้ น เพี ยงอยางเดี ย ว ; ฉะนั้ น คนที่ มี ปญญา ก็มีทั้งศีล สมาธิ ปญญา. จะมองกันในแงไหน ชั้นไหน คนจะตองมีทั้งศีล สมาธิ ปญ ญา. แมวาเดี๋ยวนี้นั่งฟงการบรรยายอยู : การที่ตั้งใจฟง นี้เปนศีล, แลวจิตมันตั้งได สําเร็จ ก็เพราะอํานาจของสมาธิ, เมื่อมีสมาธิในการฟง แลวก็จะรู – รู – รู - ไป นี้เปนปญญา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org คนนั่งฟง เทศน นั่งฟง ปาฐกถาอยู ก็ยังมีทั้งศีล สมาธิ ปญ ญา: ในขณะที่เรียกวาประยุกตนั่น มันจะตองมีครบ ; แตในขณะพูดอยางทฤษฎีนั้น ไมต อ งมีค รบ, แยกออกจากกัน ก็ไ ด. เชน แยกพูด วา ศีล ชว ยใหเกิด สมาธิ, สมาธิชว ยใหเกิด ปญ ญา, ปญ ญาวกมาชวยใหเกิด ศีล สมาธิอีก ; อยางนี้ก็ พูดได. แตเมื่อถึงคราวที่มันทําหนาที่ของมันจริง ๆ มันไมเคยแยกกันได ;

www.buddhadassa.in.th


ตนลําแหงศีลธรรม

๓๙๙

ถา เอามาพูด อยา งวิช าความรู ก็พูด ใหแ ยกกัน ได ; แมใ นบาลี ก็ มี พู ด ว า “เมื่ อ ศี ล อบรมดี แ ล ว [ คื อ ช ว ยสมาธิ ดี แ ล ว ] สมาธิ ก็ มี ผ ลใหญ มีอ านิส งสใ หญ ; เมื่อ สมาธิอ บรมดีแ ลว ปญ ญาก็มีผ ลใหญ มีอ านิส งส ใหญ” คลายกับคนละที. แต โดยเนื้ อ แท นั้ น มั นจะทํ าอะไรลงไปสัก นิ ด หนึ่ ง ก็ต อ งมี ทั้ ง ศี ล สมาธิ ปญญา ขนาดเรียกวา ฟนเปนเกลียวกันไป, เหมือนกับเชือก ๓ เกลียว. หรือถาพูดใหถูกกวานั้นอีก ก็จะตองพูดเสียใหมวา มันหุมหอกันอยูเปน ๓ ชั้น เหมือนตนไมของเราตนหนึ่ง มันมีเปลือกอยูขางนอก, มีกระพี้อยูถัดไป, แลวมี แกนอยูขางใน. มันแยกออกจากกันไดเมื่อไร ถายังเปนตนไมเปน ๆ อยู. นี้ ข อให ทุ ก คนมอง ให เ ห็ น ศี ล สมาธิ ป ญ ญา ให ลึ ก ไปกว า ธรรมดา ใหลึกไปกวาที่ม องมาแลว, คือใหลึก ไปกวาที่เพียงแตทอ ง ๆ จํา ๆ ไวโ ดยตัว หนัง สือ . อยา งนั ้น เปน เรื ่อ งปริย ัต ิ ; เดี ๋ย วนี ้เ ปน เรื่อ งปรมัต ถค ือ ความจริง มองเห็นลึกซึ้งตามที่เปนจริง โดยเฉพาะในเวลาที่มันประยุกตกันอยู คือ ขณะใชการใชงานอยู แลวไมเคยแยกกันเลย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตัว อยา งในทางวัต ถุ ก็ดูเ ถอะ ; คนทีต ีต าปูล งไปในกระดาน นั่น แหละ มีทั้ง ศีล สมาธิ ปญ ญา. เจตนาที่จ ะตีต าปูล งไปนั้น เปน ศีล ; มันตองสํารวมอยางศีลสังวร. แลวสมาธิจิตก็ตอ งมี ; ไม อยางนั้นจะตีพ ลาด. ปญ ญาก็ตอ งมี, คือ รูวา จะตอ งตีอ ยา งไร, จะตอ งปอ งกัน อยา งไร . นี่ค น ตีตาปูก็ยังจะตองมีทั้งศีล สมาธิ ปญญา ครบไมแยกกันได. เรื่องที่ใหญกวานี้, แปลกไปกวานี้ ก็ยิ่งตองมีเปนแนนอน. ....

....

....

....

www.buddhadassa.in.th


๔๐๐

การกลับมาแหงศีลธรรม

เอา , เวลาลว งไปมากแลว , ก็จ ะขอสรุป วา ศีล สมาธิ ปญ ญา เป น สิ่ ง ที่ แ ยกกั น ไม ไ ด เป น เชื อ กสามเกลี ย ว ; เช น เดี ย วกั บ อริ ย มรรค มี อ งค แ ปด เป น สิ ่ ง ที ่ แ ยกกั น ไม ไ ด เหมื อ นเชื อ ก ๘ เกลี ย ว ; แล ว แต เ รา จะพูดกันในอุปมาอยางไหน. เปน อัน วา ศีล สมาธิ ปญ ญา นี ่ค ือ ความถูก ตอ ง ๓ อยา ง, ๓ ประการ ที ่ ไ ม อ าจจะแยกกั น ได ; แล ว ก็ จ ะตั ้ ง อยู  ใ นฐานะเป น ต น ลํ า แหง ศีล ธรรม, เปน ตน พฤกษาแหง ศีล ธรรม. ขอใหรูจัก ไวเ พื่อ จะรูวา เรามี หรือ ไมม ี ; ถา เราไมม ี เราจะตอ งทํ า อยา งไร, เราจะตอ งรูจ ัก ความหมาย ของคําวา “ถูกตอง”, เพราะทุกอยางตองถูกตอง. ถาม : คําวา “ถูกตอง” นี้ควรจะจํากัดความหมายวาอยางไรคุณประยูร ?จึงจะ เปนความถูกตองที่มีประโยชน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : คําวา “ถูกตอง” นี่ควรจะมีความหมายวา ถูกตองตามกฎเกณฑของ ธรรมชาติ จึงจะเปนความถูกตองที่แทจริง.

ถาม : ไมจํากัดปริมาณ ?

ตอบ : มีปริมาณเพียงพอดวยครับ. ถาม : เท า นั้ น พอแล ว หรื อ ? ยั ง ขาดอะไรอี ก คุ ณ ทอง ? ถู ก ต อ งและ เพียงพอนี้พอหรือยัง ? ถูกตองและเหมาะสม เพียงพอหรือยัง ?

www.buddhadassa.in.th


ตนลําแหงศีลธรรม

๔๐๑

ตอบ : ผมยังนึกไมออกครับ. ถาม : คุณชวน, คุณล้ํา ? สิ่งที่มีอยูตามธรรมชาติแท ๆ แลวคุณก็ไมมอง. ตอบ : คือความถูกตองและเหมาะสม. ถาม : แลวอะไรอีก ? ยังขาดสวนสําคัญอีกสวนหนึ่ง ซึ่งวินาศกันก็เพราะสวนนี้ ; คื อ อะไร คุ ณ ชวน ? อย า งที่ ๑ ถู ก ต อ ง, อย า งที่ ๒ เพี ย งพอ หรื อ เหมาะสม, อยางที่ ๓ อะไรคุณประยูร ? ตอบ : ตามเหตุการณ. ถาม : ตามเหตุการณ, ใกลจะถูกแลว. คุณทองละ ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : ตอบไมไดครับ.

คือ ตอ ง “ทัน แกเ วลา”. ถูก ตอ งนั ้น มัน ถูก ตอ งตามเหตุก ารณ อยูแลว ; ที่วาเพียงพอ ก็เพียงพอ แกเหตุผลอยูแลว ; แตสวนมากเราไมทําทัน แกเวลา ; มาทันในเวลา.

พูด ถึง ชีวิต , ชีวิต หนึ ่ง เราก็ไ มรูอ ะไรทัน แกเ วลา ; เราตาย เสีย กอ น เลยไมไ ดรับ ประโยชนเ ต็ม ที่ใ นการเกิด มา. ทีนี้เ รื่อ งเล็ก ๆ นอ ย ๆ ก็ เหมื อ นกั น , เรามั ก จะทํ า ไม ทั น แก เวลา ไม ต รงตามเวลา. ความล ม เหลว

www.buddhadassa.in.th


๔๐๒

การกลับมาแหงศีลธรรม

ที่มีอยูเปนประจําวัน ทั้งที่บาน ทั้งที่วัด ทั้งในทุงนา ในบานเมืองก็ตาม มันไม ตรงตามเวลา, ไมมาทันแกเวลา. ความรู ที่ ม าไม ทั น แก เ วลานั้ น ก็ เ หมื อ นกั บ ไม รู , แล ว ความ รูที ่รูจ นเกิน ไป มัน ก็ช วนใหผ ิด ได. อยา ชอบที ่ม ัน มากหรือ เกิน ไป ; เปน ความรูเฟอเสียก็มี. แตถึงอยางไรก็ดี เราใชคําวา “ถูกตองและก็พอดี”, ถูกตอง และเพียงพอ นี่คือพอดี. เอาเปน วา “ความรูนั้น ถูก ตอ ง และก็พ อดี” ; แตม าไมทัน เวลา นี่จะทําอยางไร ? รวมความว า ความถู ก ต อ งนี ้ ต อ งเป น สิ ่ ง ที ่ ม ี ค วามหมาย ๓ ประการ คื อ ว า : ตรงตามที ่ เ ป น จริ ง , แล ว ก็ เ พี ย งพอแก เ หตุ ก ารณ หรือ วัต ถุป ระสงค, แลว ตอ งทัน ในเวลา, พลาดนิด เดีย วก็ไ มไ ด, บางอยา ง ชาไป อึดใจหนึ่งก็ไมได ; บางอยาง ชาไปขณะจิตหนึ่ง ก็ไมได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เป น อั น ว า วัน นี้ เกิ น เวลาแล ว เลยเวลามามากแล ว ต อ งยุ ติ ก าร

บรรยาย.

สรุปความวา เราพูดถึงเรื่องตนลําของศีลธรรม ตอจากเรื่องรากฐาน ของศีล ธรรม, และรูว า ตน ลํ า แหง ศีล ธรรมในที ่นี ้ เปรีย บกับ ตน ไมแ ลว ก็ค ือ เปลือก คือกะพี้ และคือแกน ; ตอเมื่อไดรวมกันอยูเปน ๓ อยางสนิทสนมแลว

www.buddhadassa.in.th


ตนลําแหงศีลธรรม

๔๐๓

ตน ไมจึง จะมั่น คง และเจริญ งอกงามตอ ไปได. เราศึก ษาไวสํา หรับ ทดสอบ ในการแกไข เพื่อการกลับมาแหงศีลธรรมสืบไป.

อาตมาขอยุติการบรรยายวันนี้ไวเพียงเทานี้ เปนโอกาสใหพระคุณเจา ทั้งหลาย ไดสวดบทพระธรรม ที่จะสงเสริมใหเกิดกําลังใจในการประพฤติหนาที่ ของตน ๆ ตามสมควรแกความเปนพุทธบริษัทตอไป.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม -๑๐๓ เมษายน ๒๔๑๙

ใบ ดอก ผล แหงศีลธรรม [ มรรค ผล นิพพาน ]

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทานสาธุชน ผูมีความสนใจในธรรม ทั้งหลาย,

การบรรยายประจํ า วั น เสาร ภ าคมาฆ บู ช าชุ ด นี ้ ได ล  ว งเลย เข า มาถึ ง ภาควิ ส าขบู ช าแล ว ; แต เ นื่ อ งจากคํา บรรยายชุ ด การกลั บ มา แห ง ศี ล ธรรม นี้ ยั ง ไม จ บ เห็ น ว า สมควรที่ จ ะพู ด ต อ ไปจนจบ ; ดั ง นั้ น วันนี้จะไดกลาวดวยเรื่อง ใบ ดอก ผล ของศีลธรรม นี้สืบตอไป.

การบรรยายในวัน นี้ เป น ครั้งที่ ๑๐ จะได ก ล าวโดยหั วข อ สื บ ต อ จาก ครั้ ง ที ่ แ ล ว มา. ในครั้ ง ที่ แ ล ว มาพู ด ถึ ง ต น ลํา แห ง ศี ล ธรรม. ในวั น นี ้ จ ะ

๔๐๕

www.buddhadassa.in.th


๔๐๖

การกลับมาแหงศีลธรรม

ไดพูด ถึง ใบ ดอก ผล แหงศีลธรรม ; คําพูด เหลานี้เปน คําเปรีย บหรือ เปน อุปมา ดังที่ทานทั้งหลายก็เห็นไดอยูแลว วาเราเปรียบเทียบศีลธรรมเหมือนกับ ตนไม ตามวิธีเปรียบในการศึกษาสวนมาก เพื่อความเขาใจไดโดยงาย. [ทบทวนคําบรรยายครั้งที่แลวมาไปจนถึงหนา ๔๑๔ ] ตนไมมีรากสวนลาง, มีลําตนสวนกลาง, มีใบ ดอก ผล สวนสุด ; ก็เปนอันวา บัดนี้เรามาพูดกันถึงสวนสุด หรือเปาหมายขั้นสุดทายของศีลธรรม และอยาลืมเสียวา เราจะพูดกันเพียงเพื่อใหรูวาเรายังขาดสิ่งเหลานี้อยูเทานั้น. เรื่อ งนี้ เป น เรื่อ งที่ เอามาพู ด ในโอกาสที่ โลกอยู ในสภาพอย างนี้ ; กลา วไดวา เรามีก ารปรารภถึง วิก ฤติก ารณท างศีล ธรรม ทั่ว ๆ ไปในโลก แหงยุคปจจุบัน. ประเทศไทยเราก็ติดอยูในขายแหงภาวะอันเลวรายนั้น อยางที่ หลีก เลี่ย งไมพ น ดัง ที ่เ ราไดเ คยปรารภแลว ปรารภเลา ใหส ัง เกตดูใ หดี โดยเฉพาะสมัย นี้ วา โลกมัน เหมือ นกับ เล็ก นิด เดีย ว, มีอ ะไรก็เ นื่อ งถึง กัน ไปหมดทั้งโลก ไมเหมือนกับสมัยโบราณ ; ทั้งนี้ก็เพราะวาการคมนาคม หรือ เครื่องมือแหงการคมนาคมนั้น มันเจริญกาวหนามาก : ในทางการขนสงไปมา กันก็ดี, หรือแมการติดตอโดยไมตองมีการไปการมาก็ดี ทําไดสะดวกรวดเร็ว จึง รูอ ะไรถึง กัน รวดเร็ว ; มีอ ะไรเกิด ขึ้น ก็ก ระทบกระเทือ นถึง กัน ไปหมด. นี่เปนสิ่งที่ผิดกันอยูเปนอยางมากอยางหนึ่ง เมื่อเปรียบเทียบกันดูกับโลกในสมัย โบราณ ; ไมใชผิดกันเพียงเทาตัว หรือสองเทาตัว สามเทาตัว, มันผิดกันเปนรอย เทาพันเทา หมื่นเทา ; และก็จะยิ่งเปนอยางนี้ยิ่งขึ้นทุกที. ฉะนั้น ปญ หาของ มนุษยจึงมากกวาแตกอนมาก แลวก็รุนแรงรวดเร็ว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


ใบ ดอก ผล แหงศีลธรรม

๔๐๗

สํา หรับ เรื่อ งที ่ค วรนํ า มาปรารภก็ค ือ เรื่อ งจะอยู ร อดหรือ เรื่อ งจะ วินาศ ของสิ่งที่เรียกวา โลกนั้นเอง. เรายอมรับตรงกันเปนที่แนนอนในขอที่วา โลกกําลังอยูในภาวะที่เลวราย หรือถึงกับจะยอมรับไดเลยไปถึงวา กําลังจะวินาศ ; แตเราไมมีความเห็นตรงกันเลยในขอที่วา เพราะเหตุอะไร ? เรามองเห็น เหตุแ หง ความวิน าศนี้ตา ง ๆ กัน จนไมอ าจจะรว ม มือกันแกไขได ; นอกจากจะไมรวมมือกันแลว ยังไมไดอยูเฉย ๆ เสียอีก กลับ ขัดขวางซึ่งกันและกัน เพราะความเห็นไมตรงกัน : คนหนึ่งจะทําไปเพื่อสันติภาพ หรือ สัน ติสุข ตามความนึก คิดที่ดีที่สุด ของตน, อีกพวกหนึ่งกลับ ไมเห็น ดวย กลับทําไปในทางที่ตรงกันขาม และอางวาเพื่ อสันติภาพ เพื่อสันติสุขนั้นดวย เหมือนกัน. ฉะนั้น โลกนี้ แหงยุคปจจุบัน จึงมีแตการกระทบกระทั่ง. นี่ปรารภเหตุที่ทําใหเราตองพูดกันในหมูพุทธบริษัท หรือวาในหมู ศาสนิก บริษัทแหงศาสนาใด ก็ได มาพูด กัน ถึงเรื่อ งศีล ธรรม ; เพราะถาเปน นักศาสนาแมสักหนอยหนึ่ง ก็ยังจะตองนึกถึงศีลธรรมเปนเบื้องหนา จึงพอจะพูด กันรูเรื่องในระหวางนักศึกษาทางธรรมทางศาสนาคือถือศาสนาเปนหลัก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถ า ท า นทั ้ ง หลายไม ม องเห็ น ข อ เท็ จ จริ ง อั น นี ้ แ ล ว เชื ่ อ ว า คง จะเบื่อหนายหรือขี้เกียจ ที่จะมาปรึกษาหารือกันในเรื่องนี้ ถึงกับฟงไมรูเรื่อ ง นั ่ง โงก นั ่ง งว ง นั ่ง งง อยู ก ็ม ี, หรือ ไมย อมรว มมือ กัน แกไ ขสิ ่ง เหลา นี ้ ดัง ที่ กําลังเปนปญหาอยูในปจจุบันนี้ ; แลวการพูดเรื่องนี้ ก็จะกลายเปนสักวาการพูด เทานั้นเอง ไมมีประโยชนอะไรเกิดขึ้น ; จึงขอใหทานทั้งหลายพยายามสังเกตดู ใหดี ๆ ให เห็ นตามที่เปนจริงวา มั นอยูในฐานะที่เป นเรื่องเปน เรื่องตาย ของ

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๔๐๘

มนุ ษ ย เราทีเดี ยว. เราไปสนใจ หรือไปสาละวนทํ าเรื่อ งหลายเรื่อ ง อยางสุด ชีวิต จิตใจ ; แตมันไมเปนเรื่องเปนเรื่องตายของมนุษยหรือของโลกของเรา. สวนเรื่อง ที่เปนเรื่องเปน เรื่องตายนั้น กลับไมรูสึกกันวามีความสําคัญเชนนั้น ; เพราะฉะนั้น ภาวะอันเลวรายนี้ ก็จะมีมากยิ่งขึ้นทุกที. เมื่ อมี ความเขาใจขอ นี้ ก็คงจะกระตื อ รือรนหรือหูตาสวาง ในการที่จะคิด จะพูด จะสนทนา เพื่อชวยกันแกไข. ....

....

....

....

ทีนี ้ ก็จ ะขอทบทวนขอ ความสํ า คัญ บางอยา ง ที ่เ ห็น วา จะตอ ง ทบทวนกันอยูเสมอ วาศีลธรรมนั้นมีความหมายมาก หมายถึงหลายสิ่งหลายอยาง ; แต โ ดยเนื ้ อ ห าส าระแล ว ขอ ให ม อ งเห็ น ว า ศี ล ธรรม เป น ตั ว แท ข อ ง ธรรมชาติอัน บริสุท ธิ์ ; ธรรมชาติอัน บริสุท ธิ์ ไมมีอ ะไรนอกจากความสงบ ; ถาไมสงบก็ยังไมใชธรรมชาติ หรือธรรมชาติอันบริสุทธิ์.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ศี ล ธ ร ร ม เป น ตั ว แ ท ข อ ง ธ ร ร ม ช า ติ อ ั น บ ริ ส ุ ท ธิ ์ ก็ เ พ ร า ะ ว า ถ าไม มี ค วามสงบตามธรรมชาติ แ ล ว ก็ ชื่ อ ว า ยั งไม ถึ งหั ว ใจของศี ล ธรรม. แม ว า บุค คลจะประพฤติป ฏิบ ัต ิศ ีล ธรรม เพื ่อ ความประสงคข องตัว เอง ไมถ ึง ตัว แท ของธรรมชาติ ก็อ ยา ไดเขา ใจผิด ไปวา มัน ไมไ ดเกี ่ย วกับ ตัว แทข องธรรมชาติ. ถาเราทํ าถู กเรื่องของธรรมชาติ มั นก็ สงบไปตามกฎเกณฑ ของธรรมชาติ ; เดี๋ ยวนี้ มันผิดกฎเกณฑของธรรมชาติ ผิดและฝนกระแสแหงความสงบ ฝนภาวะแหงความ สงบ ไมไปสูความสงบ จึงไมมีสิ่งที่เรียกวา ศีลธรรม อันแทจริง.

www.buddhadassa.in.th


ใบ ดอก ผล แหงศีลธรรม

๔๐๙

ทีนี้ เราเคยย้ํากันอยูเสมอวา ศีลธรรม นี้เปนสิ่งที่มนุษยตองทํา, และยืน ยันในขอที่วา ไดเคยทํา และกําลังทําอยู, และแนน อนวา จะตอ ง ทําตอไปดวย. ทีเ รีย กวา “ตอ งทํ า ” นั ้น พอจะมองเห็น ไดแ ลว วา ถา ไมทํ า มันก็คือความวินาศ, หรือความไมมีความสงบอยูได ; ดังนั้นจึงเปนสิ่งที่ตองทํา. ที ่ว า “เคยทํ า ” นั ้น ก็ห มายความวา มนุษ ยใ นกาลกอ น หรือ บรรพบุรุษของเราไดเคยกระทํา, และกระทําเปนอยางดีเสียดวย. ที่วา “กํา ลังทํา” นั้น มัน เปน ปญ หาอยูบา ง เวลานี้ มองดูแ ลว ก็ รู ส ึ ก ว า น า สลดสั ง เวช คื อ การประพฤติ ศ ี ล ธรรม หรื อ แก ไ ขให ด ี ขึ้ น นี้ หาดูย ากยิ ่ง ขึ้น ทุก ที ; กํ า ลัง กระทํ า แตบ างสว น บางสิ ่ง บางอยา ง เทา ที่ ความจําเปนบังคับเหลือเกินเทานั้น ก็ยังไมคอยจะสําเร็จ. นี่เรียกวาเปนยุคที่ เลวราย ที่มีอะไรหลาย ๆ อยาง หลาย ๆ ประการ มาทําใหคนไมสนใจศีลธรรม, ไม เห็ นความสําคั ญ ของศี ลธรรม ; ไปเอาสิ่ งที่ ต รงกั น ขามมาเป น เครื่องยึ ด ถื อ เหมือนกับวาเราจะอยูเปนสุขไดเพราะเหตุนั้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ขอที่วา กําลังประพฤติกระทําตอศีลธรรมนี้ มันจึงเปนปญหาขึ้นมา ; ถาโชคดีอาจจะมีความเขาใจตรงกัน เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ก็ได และก็จะมีการประพฤติ ศีล ธรรมในยุค ปจ จุบัน นี้อ ยางเพีย งพอ. แตโชคดีนี้มัน จะมาเองคงจะไมไ ด ; คนเราจะตอ งชว ยกัน ทํา ใหมัน เกิด เปน โชคดี หรือ มีม า. ถา เราไมป ฤกษา

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๔๑๐

หารือกัน ก็ไมมีทางที่จะทําได ฉะนั้น จึงขึ้นอยูกับการที่ชวยกันปฤกษาหารือ ; แมที่สุดอยางนอยที่เขาเรียกกันวาทําสัมมนา อยางนี้ก็ยังดีกวา ที่จะไมทําเสียเลย. สวนที่วา “ทําตอ ไป” นั้น เปน การพูด ดวยอาศัยหลักวา มนุษ ยค ง จะถึง รอบหรือ จัง หวะที ่จ ะหัน ไปสนใจในทางศีล ธรรมกัน เปน แน, จึงหวังวา ใน กาลอนาคตนั ้ น จะมี ก ารประพฤติ ก ระทํ า ในศี ล ธรรม. ถ า ไม เ ป น ดั ง นั ้ น มัน ก็ต อ งวิน าศแน ; จึง หวัง วา คนในโลกคงจะตื ่น ตัว ในขอ นี ้ และหัน ไปหา พระเจา คือธรรมชาติอันบริสุทธิ์ คือความปรกติหรือความสงบอยางถูกตอง ตาม กฎเกณฑข องธรรมชาตินั ่น เอง. นี ่ข อใหจํ า ไวค ิด นึก กัน ตอ ไปวา เปน สิ ่ง ที่ ตอ งทํ า , ไดเคยกระทํ า มาแลว ดว ย, และกํ า ลัง กระทํ า อยู ด ว ย, และจะตอ ง กระทํ า ตอ ไปเปน แนน อน ; มิฉ ะนั ้น ก็จ ะสูญ เสีย มนุษ ยชาติ หรือ ไมม ีม นุษ ย เหลื อ อยู ในโลก มี แ ต สั ต วอ ะไรก็ ไม รู ซึ่งในที่ สุ ด ก็ ต อ งวอดวายไป โดยไม เหลื อ เปนแนนอน

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ....

....

....

....

ทีนี้ ก็พูดถึง การกระทํา ซึ่งตองกระทําใหถูกตอง

ขอใหเ ขา ใจหรือ สนใจคํ า วา “ถูก ตอ ง” ไวใ หม ากที ่ส ุด . คํ า วา ถู ก ต อ งนี ้ เป น คํ า สํ า คั ญ ที ่ ส ุ ด คํ า ห นึ ่ ง ใน พ ระพุ ท ธศ าส น า ; ใช คํ า ว า สัม มา, “สัม มา” บางทีก็แ ปลกัน วา โดยชอบ ; ตามธรรมดาทา นบัญ ญัติ ใหแ ปลกัน มาแตโ บราณวา โดยชอบ. เดี๋ย วนี้สัง เกตเห็น วา “โดยชอบ” นั้น ฟงยากกวา ที่จะแปลวา “โดยถูกตอง” หรือ “อยางถูกตอง”.

www.buddhadassa.in.th


ใบ ดอก ผล แหงศีลธรรม

๔๑๑

เชน คํา วา สัม มาทิฏ ฐิ -เห็น ชอบ ความเห็น ชอบ ; นี ่ฟ ง ยาก กวา ที่จ ะพูด วา ความเห็น ที่ถูก ตอ ง, สัม มาวาจา -พูด จาชอบ นี้ก็จ ะพูด วา วาจาที่ ถู ก ต อ ง นี่ ฟ ง ง า ยกว า ; จึ ง ขอให ถื อ ว า คํา ว า สั ม มา, สั ม มา นี้แปลวา ถูกตอง กันจะดีกวา. คําวา “ถูกตอง” นี่ มันมีความหมายแวดลอมตัวมันเองอยูอยาง เพีย งพอ : เชน วา ถา ถูก ตอ ง ก็ต รงตามเรื่อ ง ตรงตามเหตุผ ล และก็ เพีย งพอดว ย ; นอกจากเพีย งพอแลว ยัง จะตอ งทัน แกเ วลาดว ย ; ถา ไม ทันแกเวลา ก็ไมถูก ตอ ง. คําวา “ถูกตอ ง” ยังมีความหมายเพีย งพอ สําหรับ ไปใชแกปญ หาไดในทุกกรณี โดยขยายความออกไปชัดเจนทีเดียววา ถาถูก ตองแลว ก็ตองเพียงพอ และก็ตองทันแกเวลา. ทีนี ้ ถูก ตอ งที ่ไ หน ? จะมองเห็น ชัด ลงไปวา ถูก ตอ งในสว น บุค คล คือ สว นตัว บุค คล นั ้น ก็ต อ งใหถ ูก ตอ ง ในฐานะเปน รากฐาน ; และ ความถู ก ต อ งนั้ น จะต อ งขยายออกเป น ส ว นรวม, หรื อ ส ว นสั ง คม, หรื อ กิจ กรรมของสัง คมทั ้ง หมดดว ย. ถูก ตอ งอยู ค นเดีย ว โดยที ่ม ัน ไมถ ูก ตอ ง สํ าหรับ คนอื่ น ด วยแล วมั น ก็ ต อ งกระทบกระทั่ งกั น ในที่ สุ ด มั น ก็ เป น ไปไม ได ; เพราะวาเรายังตองอยูรวมกัน ฉะนั้น จึงมีความถูกตองทั้งทางสวนตัวบุคคล และ สวนสังคม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เดี๋ย วนี้ ความถูก ตอ งสว นตัว บุค คลก็ห ายาก เพราะวา ตกอยู ใต อํา นาจของกิ เ ลสมากขึ้ น ทุ ก ที ; ต า งคนต า งเห็ น แก ต ั ว ยกเอาความ เห็ น แก ตั วเป น เบื้ อ งหน า แล วก็ ไม เห็ น แก ค วามถู ก ต อ งของผู อื่ น ใด จึ งทํ า ให

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๔๑๒

เกิ ด การกระทบกระทั่ งกั น ขัด ขวางกั น ขัด แยงกั น . เพี ยงเท านี้ ก็ ไรความสงบสุ ข แลว ; จะทํา อะไรใหเปน ความเจริญ กา วหนา ของมนุษ ยม ัน ก็ทํ าไมได. ฉะนั ้น พระพุ ท ธเจ า ท า นจึ ง ได ต รั ส ถ อ ยคํ า ที่ เป น หลั ก ตายตั ว ว า ประโยชน ต นเอง ประโยชนผูอื่น ประโยชนทั้ง ๒ ฝาย คนละครึ่ง มันก็ใหถูกตองไปหมด. ....

....

....

....

ที นี้ ความถู ก ต อ งของศี ล ธรรม หรื อ ว า ตั ว ศี ล ธรรมนั้ น จะตองมีอยูที่ไหน ? จะพาพบที่ไหน ? นี่ก็ไดเคยพูด มาแลว วา ตอ งมีม าตั้ง แตในสายโลหิต : มีพ ืช พัน ธุ ที ่ด ี มีบ รรพบุรุษ ดี มีศ ีล ธรรมทั ้ง เนื ้อ ตัว , มีล ูก หลานออกมาก็ม ีศ ีล ธรรม อยูในสายเลือด นี่อยางหนึ่ง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอ มาก็ม ามีใ นการศึก ษาอบรม นับ ตั ้ง แตล ืม ตาขึ ้น มาในโลกนี้ จากทองของมารดา ก็มีการศึกษาอบรมเรื่อยมา จนกระทั่งเขาโรงเรียน หรือ มี การศึกษาถึงที่สุด ; นี้ตองมีศีลธรรมอยูในระบบการศึกษา.

ตอ จากนั ้น ไปก็ต อ ง มีศ ีล ธรรมอยู ใ นระบบของการดํ า รงชีว ิต : จะเปน เรื่อ งการทํา มาหากิน หรือ การทํา อะไรก็ไ ด. ทุก สิ่ง ทุก อยา งที่ทํา เพื่อ มีชีวิตอยูนั้น เขาเรียกวา การดํารงชีวิต ; จะตองมีศีลธรรมอยูในระบบของการ ดํารงชีวิต.

www.buddhadassa.in.th


ใบ ดอก ผล แหงศีลธรรม

๔๑๓

มองดูแ ลว ก็นาสังเวช เมื่อ มองยอ นหลังไป เห็น วา ในการดํารง ชี วิ ต ของแต ล ะคนนี้ หาศี ล ธรรมได ย ากขึ้ น ทุ ก ที เพราะเข า ใจผิ ด ต อ สิ่ ง นี้ . ที่ในระบบการศึกษาของโลกปจจุบัน นี้ หาศีลธรรมไดยากยิ่งขึ้น ทุกที เพราะ เข า ใจผิ ด มากขึ้ น . ดั ง นั้ น ในสายเลื อ ดของคน จึ ง มี ศี ล ธรรมที่ จ าง, มีพื้นเพ หรือเชื้อสายแหงศีลธรรมที่มันจาง จนมันอาจจะหมดไปก็ได ; เพราะ เมื่อบิดามารดาไมมีศีลธรรมแลว มันจะมีสายเลือดไหนที่จะมีศีลธรรมติดมา. ขอใหดู, แมวามันจะเปนเรื่องที่ชวนเศราเหลือประมาณ ; ยิ่งดูยิ่งสลดสังเวช วามันจะไปในลักษณะไหนกัน. ....

....

....

....

ที นี้ ก็ ม าถึ ง เรื่ อ งพฤกษาแห ง ศี ล ธรรม เป น ภาพพจน ที่ สรางขึ้นมาจากนามธรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สํ า หรับ ศีล ธรรมก็เ ปน นามธรรม มัน จะงอกขึ ้น อยา งไร, มัน จะ เจริญอยางไร, จะเติบโตเทาไร, จะตองมีอะไรหลอเลี้ยง ก็พูดกันมามากแลว. ที ่ร ากหรือ ที ่โ คนจะตอ งมีอ ะไร ? ก็พ ูด กัน ถึง สิ ่ง ที ่เ ปน แผน ดิน , สิ ่ง ที ่เ ปน เห มื อ น กั บ น้ํ า , สิ ่ ง ที ่ เ ป น เห มื อ น กั บ อ า ห า ร , สิ ่ ง ที ่ เ ป น เห มื อ น กั บ แสงสวาง, และสิ่งที่เปนเหมือนอุณหภูมิ.

นี่ก็ไปทบทวนดูใหม ในรายละเอียดวาตนไมแหงศีลธรรมมันตองการ สิ่ง แวดลอ ม อยา งที่ต น ไมต ามธรรมดามัน ตอ งการในสว นรากฐาน ซึ่ง สรุป แล ว ก็ เรีย กได ว า เป น อุ ด มคติ แ ห ง ศี ล ธรรม อย า งน อ ยที่ สุ ด ก็ ข อ ที่ ว า “สั ต ว

www.buddhadassa.in.th


๔๑๔

การกลับมาแหงศีลธรรม

ทั้งหลาย หรือชีวิตทั้งหลายมันเปนเพื่อนทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันทั้งหมด ทั ้ง สิ ้น ” นี ่เ ปน รากฐานอุด มคติ, หรือ อุด มคติชั ้น ที ่เ ปน รากฐาน. ถา ไมมี อุด มคติอ ัน นี ้แ ลว ยากที ่จ ะมีอ ุด มคติอ ัน อื ่น ได, เดี ๋ย วนี ้เ ราก็ไ มม ี. คํ า วา “เพื่อนเกิด แก เจ็บ ตาย” กําลังจะหายไปจากโลก. เมื ่อ พูด ถึง ลํ า ตน หรือ ตน ลํ า ของศีล ธรรม ก็ห มายถึง การ ปฏิบ ัต ิด ีป ฏิบ ัต ิช อบ ซึ ่ง ในหลัก ของศาสนา แจกเปน ศีล สมาธิ ปญ ญา. ปฏิบัติดีป ฏิบัติช อบในสว นรางกาย วาจา เรีย กวา ศีล , ปฏิบัติดีป ฏิบัติชอบ ในสว นที ่เ ปน จิต เรีย กวา สมาธิ, ปฏิบ ัต ิด ีป ฏิบ ัต ิช อบในสว นที ่เ ปน ความรู ความคิ ด ความเห็ น ก็ เรีย กวา ป ญ ญา, ซึ่ งได พู ด กั น มาอย างละเอี ย ด ในการ บรรยายครั้งที่แลวมานี้เอง. [เริ่มการบรรยายโดยหัวขอแหงครั้งนี้ ]

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ที นี้ จะมองเลยขึ้ น ไป ถึ งสิ่ ง ที่ เรี ย กว า ใบ ดอก ผล ของพฤกษา แหงศีลธรรม ซึ่งถาจะถามใหทานทั้งหลายตอบ ก็คงจะตอบได วา หลังจาก ศี ล สมาธิ ป ญ ญา มั น ก็ มี ม รรค ผล นิ พ พาน ; ฉะนั้ น ไม ถ าม.

ทีนี้ จะทําความเขาใจกันใหถูกตองวา เรามีจุดสุดยอดเปนที่มุงหมาย เหมือนกับวาเราปลูกตอนไมไวเอาผล. แตทีนี้อาจจะเกิดความเขาใจผิดหรือตีกันยุง ก็ ได ; เพราะว ามั น มิ ได ก ล า วเป น อย างนั้ น เสมอไป แม ในพระบาลี เอง แม ใน พระพุทธภาษิตเอง ก็มิไดกลาวไวในลักษณะอยางใดอยางหนึ่ง โดยสวนเดียว ; มันแลวแตวา ขอเท็จจริงหรือเรื่องจริงนั้นเรามุงหมายจะกลาวอยางไร.

www.buddhadassa.in.th


ใบ ดอก ผล แหงศีลธรรม

๔๑๕

ถาม : ฉะนั้น ขอใหทานทั้งหลายมองดูเสียกอน, มองใหเห็นเสียกอน วาที่เรา จะเอาประโยชนจากตนไมได ที่เปนชั้นสําคัญหรือเปนสวนสําคัญนั้น มีกี่อยาง ? คุณประยูรนึกไดก็วามากอน ? ตอบ : ประโยชนที่จะไดรับจากตนไม มันไดตั้งแตที่ลําตนขึ้นไป ตั้งแตยัง ไมทัน ออกผล ประโยชนจ ากลํา เราก็ไ ดรับ เอามาใชแ ลว แลว จนกระทั่งถึงกิ่งกาน และจนถึงผลของมันในที่สุด. ถาม : ขออภัย ที่จะตองบอกวา คําตอบนี้ไมตรงกับคําถาม เพราะวาถามไมชัด ก็ได, หรือฟงไมออกก็ได. ขอถามใหมวาในบรรดาตนไมทั้งหลายที่ เขามีกันอยูในโลกนี้ หวังผลแตกตางกันอยูเปนกี่อยาง ดีกวา, คุณทอง, เอา, คุณล้ํา ถานึกออกกอน ? ตอบ : โดยมากก็หวังผล.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : ตนไมธรรมดานะ หวังผลกี่อยาง เอาที่สวนใหญ ๆ ที่มองเห็นได แลว ก็ที่เรียกไดวา รับรองกันทั่วไป ?

ตอบ : ถาพูดถึงสวนของตนไมนี่มันมีประโยชนทุกอยาง ตั้งแตรากจนถึงผล.

ถาม : นี่คือคําตอบไมตรงความประสงคของคําถาม ที่ใหแยกอยางออกไปโดย เด็ดขาด แลวก็เปนสวนใหญ ๆ ดวย ไมใชโดยรายละเอียด.

www.buddhadassa.in.th


๔๑๖

การกลับมาแหงศีลธรรม

ตอบ : ถาแยกเปนสวนใหญก็มีลําตน กับผล, มี ๒ อยาง. นั่ น แหละอย า เอามารวมต น เดี ย วกั น เสี ย ซี . ไม ใ นป า หรื อ ไม ใ นโลก ประเภทหนึ่งเขาตองการใชเนื้ อไม, อีกประเภทหนึ่งตองการจะเอาผล จะเอามากิน หรื อ เอามาเป น หยู ก เป น ยา หรื อ อะไรก็ สุ ด แท . อย า ไปพู ด มั น เลย เล็ ง ประโยชน ใหญ ๆ เพี ย งว า อย า งหนึ่ ง มั น ต อ งการจะได เนื้ อ ไม , อี ก อย า งหนึ่ ง ต อ งการจะได ผลไม. เดี ๋ย วนี ้ เรากํ า ลัง พูด ถึง พฤกษาแหง ศีล ธรรมนี ้ เรามุ ง หวัง จะ ได ผ ลไม ไม ได มุ ง หวั ง จะเอาแก น ไม ; ถ า เอามาปนกั น มั น ก็ จ ะขั ด ขวางกั น หมด. เพราะเราต องการให มี รากมี ต น แล วก็ มี ใบ มี ดอก มี ลู ก แล วกิ นลู ก ก็ หมายความ ว า เป น ต น ไม ป ระเภทที่ ห วั ง ผลเป น ลู ก เราจึ ง ทํ า อย า งนี้ ; เอาลู ก เป น ผลสุ ด ท า ย. แต ถ าเป นต นไม ประเภทที่ เขาไม ต องการลู ก หรือไม มี ลู กให กิ นได ก็ กลายเป นต อง การแก น ; มั น กลายเป น ว า ของที่ ต อ งการที่ สุ ด มั น อยู ใ นลํ า ต น เสี ย มั น ก็ เป น อี ก ประเภทหนึ่ง. เอามาพูดรวมคราวเดียวกันไมได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ในบางสูต รพระพุท ธเจา ทา นก็ต รัส ถึง แกน ไม ; แลว กลายเปน วา ยอด หรือ ใบนี ้ เปน สิ ่ง ที ่ใ ชไ มไ ด, คือ มัน ยิ ่ง ไปไกลไปจากแกน . เอาใบออ น เอายอดออน มาทําแกน นี่ก็ตองพูดกันตรง ๆ วามันบา.

ที นี้ ขยั บ ลงมาถึ ง ผิ ว เปลื อ กว า เป น แก น มั น ก็ ไ ม ไ หว, เอาเปลื อ ก เปน แกน ก็ไ มไ หว, เอากระพี ้เ ปน แกน ก็ไ มไ หว, เอากระพี ้ชั ้น ในเปน แกน ก็ยัง ไมไ หว ; ตอ งเอาแกน จริง ๆ เปน แกน แลว ก็ห ยุด อยูที่นั่น . พรหมจรรย

www.buddhadassa.in.th


ใบ ดอก ผล แหงศีลธรรม

๔๑๗

นี้มีวิมุตติเปนแกนสาร นั่นเอง. เอาแกนนี้เปนเรื่องของตนไมเอาแกน. แตนี่ เราไมไดพูดกันถึงตนไมประเภทนี้. ฉะนั้น ทําความเขาใจกันเสียใหดี อยาใหมันปนกันยุง. เรากําลัง พูดถึงตนไมประเภทที่ตองการผลของมัน ; พอจะกลาวไดวา ตนไมทั้งหลาย ที่มีกันอยูในโลกนี้ มันมีอยู ๒ ประเภทอยางนี้ : ประเภทหนึ่งตองการใชเนื้อไม, ประเภทหนึ่งตองการลูกของตนไมผลของตนไมเปนประโยชน, ดู ๆ มันก็มีความ หมายพอ ๆ กั น ; แต เดี๋ ย วนี้ เรากํ า ลั ง พู ด ถึ ง ต น ไม ป ระเภทที่ ต อ งการผลเป น ประโยชน. นี้เราจะตองทําใหมัน มีผลตรงตามที่เราตองการ, เราจะตองปลูก ตนไมศีลธรรม ใหมันเจริญงอกงามจนมีดอกออกผลตามที่เราตองการ. ถาม : ขอย้ําสอบถามอีกทีวา เรามีอะไรเปน ใบ ดอก ผล ของตนไมแหงศีล ธรรม ? คุณ ทอง เรามีอ ะไรเปน ใบ, ดอก, ผล, ของตน ไมแ หง ศีลธรรม, คุณประยูร ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : ใบ ดอก ผล ก็ น า จะเป น มรรค ผล นิ พ พาน ที่ ได ก ล า วแล ว เมื่ อ ตะกี้.

ถาม : นั่น แหละ ขอย้ํา เทานั้น ไมใชเปลี่ยนอะไร. ใหเพงเล็งใหดีวา เรา ตอ งการ มรรค ผล นิพ พาน ในฐานะเปน ผลไมที ่ต อ งการ, หรือ เปนสิ่งสุดยอดของสิ่งที่ตองการเกี่ยวกับตนไม. ทีนี้ก็จะมองใหเห็นตอไป วา ในโลกนี้เขาตอ งการผลอัน นี้กัน หรือ เปลา ? ในโลกนี้ ปจ จุบัน นี้ เขาตองการผลอันนี้กันหรือเปลา ? ในฐานะที่เปนผลแหงตนไมศีลธรรม นี่เขาตองการ มรรค ผล นิพพาน กันหรือเปลา คุณประยูร ?

www.buddhadassa.in.th


๔๑๘

การกลับมาแหงศีลธรรม

ตอบ : ป จจุบั น นี้ในโลกนี้ จุดหมายปลายทางของชีวิต ของมนุษ ยแต ละคน ไมไดเคยนึกหวังในเรื่อง มรรค ผล นิพพาน ; นี่จากการสังเกตเห็น. ถาม : เอาละจากการสังเกต จากการคํานวณ จากการที่มองเห็นอยูนี่ เขาไมได ตองการผลแหงตนไมศีลธรรม เปนมรรค ผล นิพพาน กันใชไหม ? ตอบ : ใชครับ. ถาม : คุณทองละ ? ตอบ : เขาไมไดนึกถึง มรรค ผล นิพพาน. ถาม : ถึงขนาดที่วา หลับไมรู อยูก็ได ใชไหม ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : ครับ.

ถาม : คุณล้ํา ละ ?

ตอบ : คําวา มรรค ผล นิพพาน นี่มันปดประตูตายเลยสําหรับคนทั่วไป ครับ.

ถาม : ใชคํา วา ปด ประตูต ายเลย ก็ดีเหมือ นกัน . ทีนี้ปญ หามัน ก็เกิด ขึ้น วาเราละตองการหรือไมตองการ ; เราสามคนนี่ ตองการหรือไมตอง การ ละ ?

www.buddhadassa.in.th


ใบ ดอก ผล แหงศีลธรรม

๔๑๙

ตอบ : ตัวเราเอง ที่นั่งอยูสามคนนี้ รับรอง มีความตองการแนนอนครับ ; ถ า ไม ต อ งการ ก็ ไม ต อ งมากั น อะไรทํ านองนี้ แ หละครับ . เพราะเป น เจตจํ า นงที่ เห็ น ว า ความสงบ ที่ เป น แบบ มรรค ผล นิ พ พาน นั้ น เปนสิ่งจําเปนตอชีวิตครับ. ถาม : ถาอยางนั้นก็หมายความวา ความตองการนี้มันแตกตางกันอยางตรงกัน ขา มเหลือ ประมาณ ถา เราเปน คนดี เขาก็เ ปน คนบา ; ถา เขา เปน คนบา เราก็เ ปน คนดี หรือ วา เราเปน คนบา เขาเปน คนดี คุณ จะวา อยา งไร มัน ตรงกัน ขา มกัน ถึง ขนาดวา ถา คนหนึ่ง บา คนหนึ่ง ก็ตองดี ถาคนหนึ่งดี คนหนึ่งก็ตองบา อยางนั้นใชไหม ? ตอบ : มันก็ควรจะเปนอยางนั้น ถาม : ทําไมจะตองวาควรละ หรือยังไมแนใจ ทีนี้จะตองดูตอไปอีกวา ในโลก นี้ คนเป น อยางไหนกันมาก คื อ ต อ งการผลของศี ล ธรรม เป น มรรคผล นิพพาน มาก หรือตองการเปนอยางอื่นมาก ; มีคนตองการชนิดไหน มากในโลกนี้ ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : สวนมากในโลกนี้ ไมตองการมรรค ผล นิพพาน เปนสวนมาก.

ถาม : นั่ น แหละ เป น ข อ ที่ จ ะต อ งมองบ า ง เราจะต อ งมองบ า ง ว า จะทํ า ไป ไหวไหม ? มันมีปญหาหนัก หรือเบาอยางไร ? แลวก็สวนใหญหรือตั้ง ๙๕ เปอรเซ็น ต เขาไมต อ งการสิ่งนั้น แลว จะใหเราไปตอ งการสิ่งนั ้น จะไปพยายามทําใหสิ่งนั้นใหมันเกิดขึ้นมา มันก็ยาก ใชไหม ? นี่การ

www.buddhadassa.in.th


๔๒๐

การกลับมาแหงศีลธรรม กลับมาแหงศีลธรรม มันจึงยาก ; เพราะวาคนเขาไมตองการ มันผิด กัน ถึง กับ วา มัน ตอ งบา หรือ ตอ งดีกัน แตฝา ยหนึ่ง นี่โ ดยมรรยาท เราก็จ ะไมวา ใครดี ไมวา ใครบา ดูเ อาเองก็แ ลว กัน ; เพราะมัน ไมมีทางที่จะไปบังคับกันได ยิ่งสมัยเสรีประชาธิปไตยดวยแลวก็บังคับ กั น ไม ได . มั น มี อ ยู แต วาเราชอบอย างไร เห็ น ดี อ ย างไร เราก็ เอาไป อยางนั้น ทําไปอยางนั้น. ทีนี้เมื่อสวนใหญเขาไมตองการ มรรค ผล นิพพาน ในฐานะที่เปนผลแหงตนไมของศีลธรรม เขาก็ตองปลูกตนไม อยางอื่นกันใชไหม ?

ตอบ : ใชครับ ถาม : เขาก็ตองปลูกตนไมอยางอื่น แลวเขาก็รดน้ําพรวนดินใสปุยกันอยางอื่น และมันก็ออกลูกมาเปนอยางอื่น มีคําพิเศษประหลาดอยูคําหนึ่งใน สมุ ด ภาพปริ ศ นาธรรม ∗ เรี ย กว า ต น ไม พิ ษ ขอให ช ว ยจํา คํา นี้ ไวดวย ตนไมพิษ คือตนไมพิษนั่นแหละ แตเขาเรียกสั้น ๆ วา ตนไม พิษ แหงมนุษ ย ตน ไมพิษ ของมนุษ ย ; ตน ไมนั้น รูป รา งเปน อยา งไร คุณทอง ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : ผมยังไมเห็น.

ถาม : เอา, ไมเห็น, คุณล้ํา ? ตอบ : ตนไมพิษ ถาดูดวยตาแลวสวยมากครับ.

ดูภาพประกอบที่ตีพิมพ ในครั้งนี้ดวย

www.buddhadassa.in.th


ใบ ดอก ผล แหงศีลธรรม

๔๒๑

ถาม : รูปรางเปนอยางไร ? ตอบ : รูปรางก็นากิน นาชม. ถาม : เอา, คุณประยูร ? ตอบ : ตอนนี้ ผ มก็ ยั ง ไม ได เห็ น เหมื อ นกั น แต ว า ถ า จะมองไปทางตรงกั น ข า ม กั บ ต น ไม ศี ล ธรรมของเรา ที่ ว าดกั น แล ว น า จะมี ลํ า ต น เป น กิ น กาม เกี ย รติ อะไรแบบนั้ น แหละครั บ , แล ว ก็ ไปออกดอกออกผลเป น แบบ อาวุธยุทโธปกรณ รบราฆาฟนกัน มันนาจะเปนแบบนั้น. ถาม : จะผิดจังหวะแลว ออกดอกผลเปนกิน กาม เกียรติ ดูจะฟงงายกวา คุณ มาวัดนี้สัก ๕๐ ครั้งไดหรือยัง ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : กวาแลวครับ.

กวา อีก หรือ แลว ทํ า ไมจึง ไมเ ห็น รูป ภาพรูป นั ้น ในตึก โรงหนัง . นี่ ไมใ ชอ ะไรมาก ; เพีย งแตส อบถามกัน ดูบ า งเปน พิเ ศษ. เขามีเ ขีย นอยู แ ลว เราก็ไ มต อ งเขีย นขึ ้น มาอีก , หรือ ไมต อ งวาดภาพอะไรขึ ้น มาอีก ; เปน ตน ไม ออกกิ่ ง ออกไป ๑๔ กิ่ ง มี หั ว เป น พญานาคทั้ ง นั้ น . จํ า ได ว า เป น อย า งนั้ น เขา เขียนเปนเหมือนกับรูปตนไมเปนกิ่ง ๆ ออกไป ๑๔ กิ่ง, ปลายกิ่งเปนหัวพญานาค ทั้งนั้น. เขาเล็งถึงอกุศลเจตสิก ๑๔ ประการ ที่ปรุงจิตใหเปนอกุศลทั้งหลาย.

นี่ขอใหนึกดูความสนใจหรือความตั้งใจอันแทจริงของ ปู ยา ตา ยาย ของเรา แต ห นหลั ง ; เขาสนใจกั น ถึ ง กั บ คิ ด นึ ก กั บ มั น จนสํ า เร็ จ รู ป ออกมา

www.buddhadassa.in.th


๔๒๒

การกลับมาแหงศีลธรรม

เปนภาพพจน เปนอุปมา เปนอะไรตาง ๆ คือตนไมพิษสําหรับลางผลาญมนุษย, เปนตนไมที่มี ๑๔ กิ่ง, มีหัวเปนพญานาคทุกกิ่ง เปนชื่อของอกุศลเจตสิก นับ ตั้งแตโลภะ โทสะ โมหะ มานะ อะไรเรื่อยไป ๑๔ อยางนั่นแหละ. เขาปลูก ตน ไมพ ิษ ขึ ้น มาในโลก แลว ก็ห ลอ เลี ้ย งรัก ษามัน เปน อยา งดี อยู ใ นปจ จุบ ัน นี ้ ก็ค ือ ความรูส ึก คิด นึก ที ่เ ลวรา ยทั ้ง หลาย ; สรุป ความลงไปไดเปน ๑๔ ชื่อ เปนตนไมพิษแหงมนุษย, เขาปลูกกันแตตนไมพิษ อยางนี้. นี่โลกนี้จึงไมมีพฤกษาแหงศีลธรรม ; เพราะมันมีแตตนไมพิษ สําหรับ ทํา ลายศีล ธรรม เปน ปฏิป ก ษตอ ศีล ธรรม. ฉะนั้น เราจึงพูด กัน ไมรูเรื่อ ง : คน หนึ่งปลูกตนไมอยางนี้, อีกคนหนึ่งจะปลูกตนไมอยางโนน. เราจะปลู ก ต น ไม ที่ มี อุ ด มคติ เมตตา กรุ ณ า เป น รากต น ไม , มีศีล สมาธิ ปญญา เปนลําตนไม, มีมรรค ผล นิพพาน เปนใบ ดอก ผล ของ ต น ไม . แต อี ก พวกหนึ่ ง เขาจะปลู ก ต น ไม ค ล า ย ๆ ต น กะบองเพชร ออกมา เปน๑๔ หัวพญานาค ; นี่เปนภาพพจนจําติดตาไดโดยงาย ; ที่คนแก ๆ เขาใชคาํ วา “บาปพระธรรม” นั่นแหละ ; นาตกใจ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ปาปธมฺม ๑๔ ประการ, เขาเรีย กเพี ้ย นไปวา บาปพระธรรม ๑๔ ประการ. ในหนัง สือ เลม นั้น ก็เขีย นอยา งนั้น ใชคํา วา “บาปพระธรรม” อา นแลวสะดุง , บาปพระธรรมคลา ย ๆ กับ พระธรรมมีบ าป, หรือ มีบ าปของ พระธรรม. ถาเราจะรักษาคํานี้ไว เราจะตองเรียกวา บาปตอพระธรรม, บาป แกพระธรรมที่มีอยู ๑๔ ประการ. ตัวบาลีแท ๆที่ถูกนั้นคือ ปาปธมฺม ๑๔ ประการ. วันหลังคอยพูดกันเรื่องนี้.

www.buddhadassa.in.th


ใบ ดอก ผล แหงศีลธรรม

๔๒๓

เดี ๋ย วนี ้ม าดูว า เราหาไมพ บ ตน ไมอ ยา งที ่เ ราตอ งการในโลกนี ้ ; ไม พ บแต ต น ไม ช นิ ด นั้ น แล ว ก็ อ อกดอก ออกผลเป น อะไรต า ง ๆ กระทั่ ง จะเป น ความวินาศของโลกในที่สุด ....

....

....

....

ทีนี้ วันนี้เราตองการจะพูดเรื่องใบ เรื่องดอก เรื่องผล แหงศีลธรรม, พฤกษาศีลธรรมที่ถูกตอง ก็ดูกันไปตามเรื่องราวของพวกเรา. ถาม : ถามซอมความเขาใจอีกที ตนไมตนหนึ่งแบงเปนกี่สวน คุณทอง ? ตอบ : ๓ สวน คือ รากฐาน ลําตน และสวนยอดครับ. ถาม : สวนยอด ดอก ผล ในที่สุดนะ ตองเอาตนไมที่เปนผลนะ อยาลืมวาเรา กําลังพูดถึงตนไมที่เปนผล ไมใชตนไมที่ตองการจะใชแกน ฉะนั้นมันจึง มีส ว นราก สว นรากฐาน สว นลา งที ่โ คน แลว ก็ม ีส ว นลํ า ตน สูง ขึ ้น ไป จนถึง กิ ่ง แลว ก็ม ีใ บ มีด อก มีผ ลที ่ก ิน ได. สามสว นนี ้ส ัม พัน ธก ัน อยา งไร เปน สิ ่ง ที ่ต อ งมองใหเห็น ชัด . สามสว นนี ้ส ัม พัน ธก ัน อยา งไร คุณประยูร ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : สามส ว นนี้ ส ว นที่ สํ า คั ญ เป น พื้ น ฐานก็ คื อ ส ว นโคน ซึ่ ง หมายถึ ง เป น สวนที่ ถาเปนตนไมศีลธรรมก็หมายถึง ความคิดเห็นที่ถูกตอง ที่จะ ทํ า ใหเกิด ลํ า ตน ขึ ้น มาได. ลํ า ตน นี ้เราหมายถึง การปฏิบ ัต ิที ่ถ ูก ตอ ง ; เมื่ อ มี โ คน รากฐาน แล ว ก็ ป ฏิ บั ติ ดี , ย อ มนํ า ผลที่ ไ ด ม า ; เรี ย กว า

www.buddhadassa.in.th


๔๒๔

การกลับมาแหงศีลธรรม ผลจากการปฏิบ ัต ิที ่ถ ูก ตอ ง จะตอ งเกิด แนน อน ก็ค ือ มรรค ผล นิพพาน มีความสัมพันธเกี่ยวเนื่องกันมาอยางนี้ครับ.

ถาม : ถูกแลว แตขอใหตอบดวยคําพูดที่นอย ประโยคที่สั้นที่สุดอีกที สาม สวนนี้สัมพันธกันอยางไร ? ตอบ : เปนปจจัยตอเนื่องกัน สิ่งหนึ่งทําใหเกิดสิ่งหนึ่ง โคนทําใหเกิดลําตน ลําตนทําใหเกิดดอก ผล. ถาม : เอา, คุณทอง วาอยางไร สัมพันธกันอยางไร สามสวนนี้ ? ตอบ : ยอด คื อ ดอกใบ สื บ เนื่ อ งมาจากลํ าต น ลํ าต น สื บ เนื่ อ งมาจากราก หรือโคน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : คนหนึ่งลงมาแตทางปลาย, คนหนึ่งขึ้นมาจากทางโคน, ก็ถูกทั้งนั้น. คุณ ล้ําละ วาอยางไร ? มัน สัม พัน ธกัน อยางไร ระหวางรากกับ ตน กับสวนยอดดวย ? ตอบ : สวนราก นี่มันสัมพันธดวยการตั้งตนกันดวยพื้นฐาน. สวนราก ก็เปรีย บเหมือ นฐาน สว นศีล หมายถึง รากฐาน, ลํา ตน การทรงตัว อยูหมายถึงสมาธิ, สวนผลนี่หมายถึงปญญา.

ที่แลวมาเราไมไดพูดอยางนี้นะ. สวนรากฐานของตนไมนี้ หมาย ถึ ง หลั ก เกณ ฑ ห รื อ ธรรมสั จ จะทั ้ ง หลาย ที ่ ถ ู ก ต อ ง ที ่ จ ะยึ ด ถื อ เป น อุดมคติ. ทีนี้สวน ลําตน หมายถึงการปฏิบัติที่ถูกตอง คือศีล สมาธิ ปญญา. สวนปลาย คือวา มรรค ผล นิพพาน เปนใบ เปนดอก เปนผล.

www.buddhadassa.in.th


ใบ ดอก ผล แหงศีลธรรม

๔๒๕

ถามวาทั้งสามสวนนี้สัมพันธกันอยางไร ? โดยดูกันที่ตนไมธรรมดา กอน ; ใหเห็นชัดลึกพอ จากตนไมธรรมดา แลวก็จะเห็นชัดในตนไมศีลธรรม ไดโดยไมยาก. ตอบตามความรูสึกสามัญธรรมดาที่สุดก็ได ตามที่มองเห็นอยูดวยตา. ก็ถูกแลว, ที่ตอบมานี้ก็ถูกแลว รากนี่มันก็เปนพื้นฐาน ซึ่งจะแผออก ไปไกลโดยรอบ กวา งออกไปพอสมควร ไมอ ยา งนั้น มัน ทรงลํา ตน ไวไ มไ ด ; ถารากมั น สั้ น ๆ มั น ก็ล ม ทั้ งที่ มี ราก. มั น ต อ งมี รากที่ ยาว แข็งแรง แน น หนา กวางออกไปพอสมควรเปนฐาน. ทีนี้ก็มาถึงลําตน ผิดไปจากราก มันทําหนาที่คนละอยาง ที่จะทรง ตัวอยู มันไมตองแผกวางไปเหมือนราก. รากเปนรากฐานของลําตน, ลําตนก็ เปนรากฐาน หรือที่ตั้งที่อาศัยของกิ่ง ที่จะแยกออกไปหลาย ๆ กิ่ง. ถาไมแยกออก ไปหลาย ๆ กิ่ ง มั น เป น ใบไม ได มั น ก็ เป น ลู ก เป น ดอก ไม ได ; ลํ า ต น ก็ เป น เครื่องยึด ทรงใบ ดอก ผลไวอีกตอไป ; ใหเห็นวามันเนื่องกันอยางเหนียวแนน อยางแยกจากกันไมได, ดูดวยตา ก็มองเห็น ตนไมก็มีอยูทั่วไป มองดูที่ตนไมซิ วามันแยกขาดจากกันไมได เพราะความที่มันตองเนื่องกันอยูอยางเหนียวแนน อยางนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ....

....

....

....

ทีนี้เราก็อยากจะใหสิ่งที่เรียกวา พฤกษาแหงศีลธรรมนั้น มีความ สัมพันธกันในระหวาง ราก ตน ดอก ใบ อยางนี้เหมือนกัน. รากฐานของตนไม ศีลธรรม เราเรียกวา อุดมคติแหงศีลธรรม มีชื่อเรียกหลายรูปแบบ หรือเรียกวา

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๔๒๖

สัจจธรรม นี้ จะถู กที่ สุ ด ; แต ถามั นมามี อ ยูในจิต ใจของมนุ ษ ย มั นมามี อ ยู ในรูป ของสิ่ ง ที่ เราเรี ย กว า ศรั ท ธา เป น ต น . หรื อ ความรู สึ ก อะไรก็ ต าม ที่ มั น ออกมา จาก ธรรมสัจ จะพื ้น ฐาน ; เชน เรามีศ รัท ธา เชื ่อ วา “สัต วทั ้ง หลายเปน เพื่อนทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันทั้งหมดทั้งสิ้น,” แลวก็มีเมตตา ความ รูส ึก รัก หวัง ดี ตอ ทุก คน, มัน ก็เ ลยไปถึง ใหท าน ชว ยเหลือ เอื้อ เฟ อ เผื่อ แผ รักใคร สามัคคี อีกมากมายทีเดียว ; อันนี้เปนอุดมคติสําหรับยึดเปนรากฐาน. รากฐานออกมาเปน ลํ า ตน คือ การปฏิบ ัต ิจ ริง ปฏิบ ัต ิถ ูก ตอ ง, เปน ศีล สมาธิ ปญ ญ า ; ที ่ว า ตน นี ้ ก็ม ีทั ้ง เปลือ ก มีทั ้ง กระพี ้ มีทั ้ง แกน เป นชนิด ๆ อยู เราจึงแยกออกเปน ศีล สมาธิ ป ญ ญา หรือจะแยกเปนอะไรก็ได ตามที ่ม องเห็น อยู . ทีนี ้ต น ดี มัน ก็ม ีกิ ่ง ดี มีใ บดี ดอกดี ผลดี, ก็ม ีม รรค ผล นิ พ พาน เท า นั้ น แหละ, ขอให เห็ น ว า มั น สั ม พั น ธ กั น อยู อ ย า งเหนี ย วแน น สําหรับตนไมที่มันมีชีวิตอยู.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เดี ๋ย วนี ้เ ราไมไ ดทํ า เหมือ นกับ มัน เปน ตน ไมที ่ม ีช ีว ิต อยู  มัน เปน แต ตัวหนังสืออยูในกระดาษ เปนตัว ๆ ตัว ๆ ไปเลย, หรือเปนคําพูดก็แยกกันเปนคําพูด อยู เ ปน คํ า ๆ คํ า ๆ. ในพระไตรปฎ กหรือ ในอะไรก็ต าม ตัว แทแ หง ตน ไมนั ้น มันไมมี, พฤกษาแหงศีลธรรมมันยังไมมี ; ฉะนั้น เราจึงไมมีผลที่เราหวังกันนัก. ....

....

....

....

เอา, ทีนี้มาดูตามแนวที่บอกใหดูวา มันสัมพันธกันอยางเหนียวแนน เหมือนกับตนไมตนนี้ ตรงหนาเรานี่ มีราก มีตน มีกิ่ง มีใบ มีดอก มีผล. สรุป ให เป น คํ า พู ด ทั่ ว ไป เพี ย ง ๓ คํ า สํ า หรั บ สั ม พั น ธ กั น ด ว ยดี ก็ คื อ ว า มี ค วามรู

www.buddhadassa.in.th


ใบ ดอก ผล แหงศีลธรรม

๔๒๗

เป น อั น แรก มี ก ารกระทํา เป น อั น ที่ ส อง มี ผ ลของการกระทํา เป น อั น ที่สาม. นี้เปนหลักทั่วไป แมแตจะทํานา ทําไร หรือจะไปหาปลาหาหอย หรือวาจะทําบุญกุศล ที่วัดไหนก็ตามไมวาจะทําอะไร จะตองมีความรู, แลวมี การกระทํา , แลว จึง เกิด ผลของการกระทํา . ถา ความรูผิด การกระทํา ก็ผิด , ผลก็เกิดขึ้นผิด. ถาความรูถูก, การกระทํามันก็ถูก, ผลมันก็เกิดขึ้นถูก. เดี๋ยวนี้ เราอยูไ ดดว ยสิ่ง ทั้ง ๓ นี้ โดยไมรูสึก ตัว ; เราโงกี่ม ากนอ ย ก็คิด ดูเ อาเอง. แตล ะวัน ๆ ในชีวิต ประจํา วัน เราอยูดว ยสิ่ง ทั้ง ๓ นี้แ ท ๆ ทุก กระเบีย ดนิ้ว , ทุก วิน าทีแ หง เวลา ; เราอยู ด ว ยความรู และการกระทํ า ไปตามความรู, และก็ไดรับผลสมแกความรูนั้น ในการกระทํานั้น. ขอใหคิดดู ใครบางที่ไมอยูดวยสิ่งทั้ง ๓ นี้. นั่นแหละคือตัวพฤกษา แหง ศีล ธรรม. จะเปน ตน ไมแ ทห รือ ตน ไมพิษ , หรือ ตน ไมเ ปน พิษ ก็สุด แท มันอยูดวยสิ่งทั้ง ๓ นี้ : ความรูเปนรากฐาน, การกระทําเปนตรงกลางลําตน, และผลจากการกระทํา เปน ชั้น ยอดสุด . แตบ างอยา งเราทํา จนชิน จนไม ตองคิดตองนึก ; เราจึงลืมไปเสียวา เรามีความรู และเราทําตามความรู ; เชน เราจะรับประทานอาหาร จะไปอาบน้ํา จะไปถาน อยางนี้ไมตองนึกถึงความรู มันทําไปจนชินเสียแลว เพราะเปนของงายและตามธรรมดาเราทํากันอยู. แตถา สิ่งที่ไมใชงายอยางนั้น, ไมใชธรรมดาอยางนั้น มันก็ตองมาฟนความรูกันใหม ชําระสะสาง การกระทํากันเสียใหม ใหมันออกผลมาตรงตามที่เราตองการ ; นี่คือขอที่ตองปฏิบัติเกี่ยวกับตนไมแหงศีลธรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๔๒๘

เรามีอุดมคติในการเปนอยู ถือหลักอะไรเปนหลักประจําใจเปนความ เชื่ออยู แลวก็ทําอยางนั้น ; จะเปนของเด็ก ของคนหนุมสาว ของผูใหญ คนแก คนเฒา ก็มีหลักอยางนี้ทั้งนั้น. เขามีอุดมคติซึ่งจะผิดก็ได ; แตถาคนนั้นเขาชอบ แลวก็ตองเรียกวาอุดมคติของเขาทั้งนั้นแหละ; อาจถูกก็ได. ถาเผอิญ มันถูก ก็ดีไปถาอุด มคติมัน ผิด ก็ผิด สําหรับ คนนั้น เอง และก็ตอ งมีผ ลราย. แตไมมี ใครอยูโดยปราศจากอุดมคติ เพราะเขามีสิ่งสําหรับยึดถือเปนหลักเกณฑ สําหรับ ดื้อรั้น ; นี้ก็เปนอุดมคติของเขา สําหรับการกระทําจะอนุโลมตาม. เมื่อมันเปน อุดมคติของเขา, เขาก็ทําไปตามอุดมคตินั้น และผลก็เกิดขึ้นอยางเหมาะสม. ....

....

....

....

ทีนี้ เรามีศีล สมาธิ ปญญา เปนตัวการกระทํา. เมื่อพูดถึงคําวาศีล สมาธิ ปญญา ขอใหทานทั้งหลายมองเห็นใหชัดเจนแจมแจงและจําไววา เราเล็ง ถึงตัวการกระทํา, ยังมิใชผลของการกระทํา. อยามามัวคานเหมือนกับที่เคยพูดวา แตละสิ่งละอยางมันเปนเหตุเปนผล, เปนเหตุเปนผลของกันและกัน ; นั่นมัน ถูก แลว . แตใ นกรณีที ่เ ราจะพูด ถึง ตน ไมแ หง ศีล ธรรมนี ้ เราจะจัด ใหศ ีล สมาธิ ปญ ญา เปนแตเพียงตัวการกระทําเทานั้น ยังมิใชผลของการกระทํา ; ตอ เมื่อ เปน ผลของการกระทํา จึง จะเปน มรรค ผล นิพ พาน, ซึ่ง จะพูด ถึง มรรค ผล นิพ พาน กัน โดยชัด แจง ในวัน นี ้ ซึ ่ง เปน ความมุ ง หมาย ของการบรรยายในวันนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ค ว าม รู เ ป น จุ ด ตั ้ ง ต น สํ า หรั บ ก ระ ทํ า ; ที นี ้ พ อ ก ระ ทํ า แล ว ดู ให ดี ๆ เถิ ด มั น จะมี รูเพิ่ ม ขึ้ น อี ก มั น ช วยไม ได มั น ห ามไม ได . ถ าเราไปทํ า

www.buddhadassa.in.th


ใบ ดอก ผล แหงศีลธรรม

๔๒๙

อะไรเขา มัน จะมีค วามรูเพิ ่ม ขึ ้น อีก เสมอไป ; เรามีค วามรูเ ปน ทุน รอนนิด เดีย ว ทําลงไป, พอทําลงไป มันจะใหความรูสวนกลับออกมา แลวมากขึ้น ๆ ยิ่งทํามาก ก็ยิ่งรูมาก. ฉะนั้นแมในตัวการกระทํา ก็มีความรู และมีสิ่งที่คลาย ๆ กับวาเปนผล ; แตยังไมจัดเปนผล เรายังตองกระทําใหชํานาญยิ่งขึ้นไป ยังไมจัดเปนผลแท. เช น เราทํ า นา นี้ เราก็ มี ค วามรู ในการทํ า นามากขึ้ น ๆ ความชํ า นาญ มากขึ้ น ; อั น นี้ ยั ง ไม จั ด เป น ผล. เราไปเอาผลที่ ข า วเปลื อ กโน น คื อ การได ขาวเปลือก. ศีล สมาธิ ปญญา ก็ทําใหเกิดญาณ หรือปญญา ; ปญญาก็เปนญาณ อยูแลว. ปญญาเปนญาณสําหรับใหรูตามที่เปนจริงในสิ่งตาง ๆ ที่แวดลอมเราอยู. เมื่อมีญาณนี้แลว มันจึงจะมีญาณที่เปนผลอันแทจริงออกมา จากความรูตามที่เปน จริงนั้น อีกทีหนึ่ง ; นี่มรรค ผล นิพพาน จะอยูที่ตอนนี้ ....

....

....

....

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอนนี้ ข อแทรกหน อ ย ขอบอกกล า วหน อ ยว า หลั ก เกี่ ย วกั บ ญาณ ทานกลาวไวดีมากอยูอยางหนึ่งซึ่งเราไมคอยพูดกัน. ญาณทั้งหลายจะเปนมีกี่สิบ ญาณ กี่ รอ ยญาณ เท าไรญาณก็ ต ามเถอะ จะแจกออกไป เป น เพี ย ง ๒ ระดั บ เท านั้ น เรีย กกวา ธัม มฐิ ติ ญ าณ อยางหนึ่ ง, แล วก็ เรีย กวา นิ พ พานญาณ อี ก อยางหนึ่ ง. ฟ งดู แล วแปลกหูใชไหม ? ไมเคยไดยิน คําวา นิ พ พานญาณ. ญาณ ทั้งหลายจะถูกจัดออกเปน ๒ อยาง อยางนี้ ; อยางเราจะจัดวา ตน ไมทั้งหลาย กี ่รอ ย กี ่พ ัน กี ่ห มื ่น ในโลกนี ้ แบง มัน ออกเปน เพีย ง ๒ พวก, คือ ไมม ีแ กน กับ ไมไมมีแกน ; อยางนี้ มันก็หมดเหมือนกัน.

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๔๓๐

ทีนี้ เราจะมองดูที่ญาณ ความรูทั้งหลาย : ญาณประเภทแรก เรียก วา ธัมมฐิติญาณ คือ ญาณในธัมมฐิติ คือ ญาณในกฎของธรรมชาติ. ธัมม ก็ค ือ ธรรมชาติ, ฐิต ิ สิ่ง ที ่ท รงตัว อยู  ตั ้ง อยู  โดยไมเปลี ่ย นแปลง นี ่ค ือ กฎ. ธัม มฐิติญ าณ ก็คือ กฎของธรรมชาติ, ญาณที่รูจัก กฎของธรรมชาติ. เรื่อ ง หากิน บานเรือนก็ตองมีความรู ที่เปนกฎของธรรมชาติ, เรื่องประพฤติธรรม ในพระศาสนา ก็ ต  อ งมี ญ าณ ที่ รู จั ก กฎของธรรมชาติ เช น รู อ นิ จ จั ง ทุก ขัง อนัต ตา เปน ตน , รูวา ขัน ธเปน อยา งไร วา ธาตุเปน อยา งไร. เปลี่ย น แปลงอยา งไร, ปฏิบัติอ ยา งไร, เหลา นี้ก็เรีย กวา รูก ฎของธรรมชาติ. อยา ง เปน ชา งไม ก็ตอ งรู ธัม มฐิติญ าณ คือ รูก ฎของธรรมชาติที่เกี่ย วกับ ไม หรือ การกระทํา ไม หรือ การจะประกอบกัน ขึ้น . ญาณสว นนี้คือ รูต ามที่ธ รรมชาติ มีกฎเกณฑไวใหอยางไร เปนญาณประเภทที่ ๑. ญาณประเภทที ่ ๒ ที ่เ รีย กวา นิพ พานญาณ ก็ค ือ ญาณที ่ต อ ออกมา จากการรูธรรมชาติต ามที่เปน จริง . นี่คือ รูค วามไดรับ ผล เปน ความ สิ้นกิเลส เปนตัว มรรค ผล นิพพาน โดยตรง ; เหมือนกับวาเราไดรูผลที่เรา ไดรับ ; ไดเงิน ก็ดี, ไดขาวเปลือก ก็ดี, ไดเกียรติยศชื่อเสียงอะไร ก็ดี, ไดรู ในสวนนี้ เรียกวา “นิพพานญาณ” คือรูในผลที่เราปรารถนา, และไดรับผลที่ เราปรารถนา สืบตอมาจากญาณที่รูธรรมชาติทั้งหลายทั้งปวงตามที่เปนจริง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เอา, มันชักจะยาวหรือเฟอยลําบากจํายากเต็มทีแ ลว . ขอพูด ใหม สั้น ๆ วา ญาณแรกใหรูธรรมชาติตามที่เปนจริง, ญาณที่สองรูสิ่งที่เราทําไดถูก ตรง จนมีผลตามที่เราตองการ ; มีอยู ๒ ญาณเทานั้น. ....

....

....

....

www.buddhadassa.in.th


ใบ ดอก ผล แหงศีลธรรม

๔๓๑

ทีนี้ ที่ลําตนของตนไม เราจัดใหมีศีล สมาธิ ปญญา ; คําวาปญญานี้ เป น เพี ย งการกระทํ า ให รู บางที ยั งไม ทั น รูถึ งที่ สุ ด ก็ มี . แต เอาละ, เป น อั น ว า ปญญานี้ประสบความสําเร็จ รูสิ่งที่ควรจะรู ฉะนั้น จึงมีความรูประเภท ธัมมฐิติญ าณ เปน สว นใหญ : รูต ามที่เ ปน จริง วา อะไรเปน อะไร อะไรเปน อะไร ตามที่เ ปน จริง . นี่ปญ ญา แตยัง ไมมีนิพ พานญาณ คือ รูผ ลที่ทํา ไดสํา เร็จ ไดรับประโยชน หรือความสุข ; ฉะนั้นหลังจากปญญา จึงมี มรรค ผล นิพพาน. ตอนหลังนี้เปน นิพ พานญาณไปหมด แมวาสิ่งที่เรีย กกวามรรคนี้ มันอยูกึ่งกลางระหวางฝายโนนบาง ฝายนี้บาง ก็ไมเปนไร ; เพราะวาสวนใหญ มันเปนฝกฝายของนิพพานญาณ ทั้งนั้น คือฝายที่ประสบความสําเร็จทั้งนั้น. เมื่อ เรามีปญ ญาในการปฏิบัติ นี่ก็เ รีย กวา ญาณในการปฏิบัติ ; เรามีญ าณในการตัด กิเ ลส ก็เ รีย กวา มรรคญาณ ; เราไดรับ ผลของการ ตัดกิเลส ก็เรียกวา ผลญาณ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org คําวา ญาณ นี้ ใชไดหลายระดับ จะแจกเด็ดขาดกันลงไปไดตาม หนา ที่ข องมัน : ถา รูธ รรมชาติ แลว ก็เ ปน ธัม มฐิติญ าณ, ถา รูผ ลจากการ รูธ รรมชาติ ก็เรีย กวา นิพ พานญาณ. เรารูจัก มัน ไวจ ะไดสง เสริม พอกพูน พัฒ นาใหมัน มากขึ้น ในสว นญาณทั้ง ๒ นี้ เรารูตัว ปญ หา, แลว เรารูก าร แกปญ หา, แลว เราก็รูวา เราแกปญ หาสํา เร็จ . เพราะวา สิ่ง ที่เรีย กวา ชีวิต นี้ ไมมีอะไรนอกจากปญหา ; แตบางอยางมันงายเกินไป จนกลายเปนแกอยูในตัว มัน เองโดยอัต โนมัติ ; นั้น เปน เรื่อ งธรรมดาสามัญ ที่สัต วเ ดรัจ ฉานก็แ กไ ด. ที นี้ เมื่ อ เป น มนุ ษ ย จะมี อ ะไรอยางมนุ ษ ย สู งขึ้น ไปทุ ก ที แล วจะต องรูป ญ หา

www.buddhadassa.in.th


๔๓๒

การกลับมาแหงศีลธรรม

ที่มันลึกลงไปทุกที ; รูการแกปญหาที่มันลึกตอไปอีก เราจะไดรับผลแหงการแก ปญหาที่สูงสุด คือ มรรค ผล นิพพาน ได. ทีนี้ ก็มาถึงคําวา มรรค ผล นิพพาน ที่จะตองพิจารณากันตอไป ตามความมุงหมายของการบรรยายในวันนี้. ถาม : สอบถามความรูที่มีมาแลวแตหนหลังกันอีกที วามรรค นี่แปลวาอะไร คุณทอง ? ตอบ : มรรค แปลวา ทาง ครับ. ถาม : คําวา ผล ละแปลวาอะไร ? ตอบ : ผล คือ ผลจากการที่ไปตามทางครับ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : ผล คือ ผลจากการที่เดินไปตามทาง แลวการเดินทางอยูที่ไหนละ ? ตอบ : คือ ปฏิบัติตามมรรคที่มีองค ๘ ครับ.

ถาม : การปฏิบัตินั้นเรียกวา ผล หรือเรียกวามรรค ; การปฏิบัตินั้น เรียกวา ผล หรือเรียกวามรรค ? ตอบ : เรียกวา มรรค ครับ. ถาม : หนทางก็ดี การเดินทางก็ดี รวมอยูในคําวา มรรค ; ที่มีผลอะไรเกิดขึ้น เราเรียกวา ผล ; แลวนิพพานละ คืออะไร ?

www.buddhadassa.in.th


ใบ ดอก ผล แหงศีลธรรม

๔๓๓

ตอบ : คือผลสุดยอด. ถาม : ผลสุ ด ยอด, เดี๋ ย วนี้ ก็ เ รี ย กว า ได ผ ลแล ว นี่ ผลก็ ไ ด ผ ลอยู แ ล ว ผล สุดยอดอยางไรอีก แยกใหดีซิ แยกตัวหนังสือและแยกความหมายใหดี: มีหนทาง, มีการเดินทางไปตามทาง, แลวก็มี การถึงจุดหมายปลายทาง แลวมีอะไรอีก ? ตอบ : หมดครับ. ถาม : ไม ห มด, คุ ณ เดิ น ทางไปถึ ง ทํ า ไม ? เดิ น ไปถึ ง ปลายทาง เพื่ อ อะไร ? เพื่ อ จะทํ า อะไร ? มั น ต อ งมี อ ะไรที่ นั่ น ? แล วได อ ะไรที่ นั่ น ? มั น ได รั บ ผลของการที่ ได ไปถึ ง ปลายทาง แล ว เราก็ เป น สุ ข สบาย หรือ ว า ก็ ห มด ปญ หา หรือวาก็ปลอดภัย หรือวาอะไรทํานองนี้. ตอ งเขาใจ ๓ ระยะนี้ จึ ง จะเข า ใจ คํ า ว า มรรค ผล นิ พ พาน. มรรค คื อ การเดิ น ทาง หรือ ตัว ทางก็ต ามเถอะ, แลว ผล มัน เปน ผลของการเดิน ทางคือ ถึง . ทีนี้ เมื่ อ ถึ ง แล ว เราก็ ส บาย ก็ เป น เรื่ อ งที่ ถู ก ต อ ง ก็ เย็ น อก เย็ น ใจ สบาย ปลอดภัย ไมมีปญหาอีกตอไป. สามอยางนี้ ไมใชสิ่งเดียวกันใชไหม ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : ครับ ไมใชสิ่งเดียวกัน.

ถาม : แยกใหเห็นชัดซิ วามรรค ผล นิ พพาน นี่มั นตางกันอยางไร ? มันเกี่ยว ขอ งกั น อยู อ ย างไร ? ให เห็ น ชั ด ด วยคํ าพู ด ที่ สั้ น ที่ สุ ด . เอ า, คุ ณ ประยู ร วาไป ?

www.buddhadassa.in.th


๔๓๔

การกลับมาแหงศีลธรรม

ตอบ : มรรค คือทางและการเดินทาง, สวนผลนั้นหมายถึงการถึงปลายทาง ; สวนนิพพาน คือความรูสึกตอสิ่งที่เราถึง นั่นคือ การลิ้มรสพระนิพพาน คือความสบาย. ถาม : ไมเปนกลางพอ เปนคําพูดที่ไมเปนกลางพอ ที่จะใชไดในทุกกรณี ; เรื่องโลก เรื่องธรรม เรื่องหากิน เรื่องบรรลุ มรรค ผล อะไรก็ตาม ลองมองให ชัด ขึ้น มาอีก และพู ด ใหม ให ชัด กวานั้ น ได ไหม คุ ณ ล้ํ า ? เกี่ยวกับ มรรค ผล นิพพาน. ตอบ : มรรค คื อ ทางครั บ , ผล ก็ ห มายถึ ง การถึ ง , นิ พ พาน ก็ ห มายถึ ง ความเย็น. ถาม : เพราะถึงหรือ ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทีนี้ อยากจะพูดเปนเรื่องทั่วไป ไมใชเฉพาะเรื่องพระศาสนา. มรรค คื อ การกระทํ า , ผล คื อ การกระทํ า สํ า เร็ จ , แล ว นิ พ พาน ก็ ค ื อ การ บริโภคความสํ า เร็จ . ถ า มองเห็ น อั น นี้ ชั ด แล วก็ จ ะมองเห็ น คํ า ว า มรรค ผล นิพพาน เกี่ยวของกันอยางไร ; นี่ มันชัดขึ้นไปอีก.

มรรค คือ การกระทํ า เชน การฟน ไร, เปน การกระทํา ; แลว ผล คือการทําไรสําเร็จ เปนขาวโพด เปนอะไรออกมา เปนขาวเปลือกออกมา ; แลว นิพ พาน คือ การกิน ๆ ๆ : มัน ไมใชระยะเดีย วกัน , ไมใชต อนเดียวกัน หรื อ ขายก็ ไ ด กิ น ก็ ไ ด อะไรก็ ไ ด ได รั บ ความสุ ข ความพอใจ ไปทํ า อะไร

www.buddhadassa.in.th


ใบ ดอก ผล แหงศีลธรรม

๔๓๕

ต อ ไปอี ก ก็ ไ ด . นี้ เ ป น คํา อธิ บ ายที่ เ ราพยายามจะปรั บ ปรุ ง ขึ้ น , ให ชั ด เจน ใหงายแกการศึกษา. คํ า ใน พ ร ะ ศ า ส น า มี ค ว าม ห ม า ย สํ า ห รั บ ทุ ก ระ ดั บ อั น นี้ เปนสิ่งไมคอยจะยอมรับกัน ; เชนคําวา นิพพานนี้ เอาไวระดับสูงสุด ไมยอม เอาลงมาที่ระดับพื้นฐาน ก็เลยไมเขาใจนิพพานโดยสมบูรณ. คําวา มรรค ก็เหมือนกัน จะเอาไปเปนอริยมรรค คูกับอริยผล เสียเรื่อย ไมเอาลงมาที่พื้นฐานที่แผนดินนี่เลย ; แตเนื้อแท เนื้อหาของมันนั้น เป น คํ า ที ่ ม ี ค วามหมายแผ ก ว า ง และใช ไ ด ท ุ ก ระดั บ จึ ง พู ด ได ว า มรรค คือ การกระทํา, ทําอะไรก็ตาม ใหมันถูกก็แลวกัน, แลว ผล ก็คือวา สําเร็จ, ความสําเร็จของการกระทํานั้น, นิพพาน ก็คือ ชิม ชิมรสแหงผลของการกระทํา ใชในความหมายอะไรก็ได ; ไดยินคํานี้มาตั้งแตเด็ก ๆ โนน ที่บางคนเขาพูดวา คนนี้ทํางานไมเปนมรรคเปนผล ; ที่จริง ก็เรื่องคาขายอะไรชนิดหนึ่งเทานั้นแหละ, ไมใชปฏิบัติกัมมัฏฐาน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org “คนนี้ทํา งานไมเ ปน มรรค ไมเ ปน ผล” หมายความวา คนนั้น มัน ทํา งานไมสํา เร็จ ; เขาใชกัน อยา งนี้ก็ม ีน ะ คํา วา มรรค ผล. ทํ า ใหเปน มรรค เปน ผล ก็ห มายความวา ทํา ใหมัน สํา เร็จ ; มรรค ก็คือ ทํา ถูก ตอ ง, ผล ก็คือ ผลที่เกิดขึ้น, นิพพานก็คือการชิม กิน บริโภคผลที่เกิดขึ้น ; ในระดับ ทั่ ว ไป จะต อ งเป น อย า งนี้ . ที่ มั น เป น ตั ว ศี ล ธรรมก็ ว า เราต อ งประพฤติ ศี ล ธรรม, เราต อ งประสบความสํา เร็ จ ในการประพฤติ ศี ล ธรรม ; แล ว เราตองไดรับรส อันประเสริฐของความสําเร็จนั้น คือสันติสุข หรือสันติภาพ.

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๔๓๖

ถา เปรีย บดว ยการปลูก ตน ไมศีล ธรรมนี้ ; เราก็ป ลูก ตน ไมใ หม ัน เจริญ งอกงาม สําเร็จเปนออกดอก ออกผล ออกมา, แลวเราก็กินลูก กินผล เปนนิพพาน นี้เปนความหมายทั่วไปในระดับศีลธรรม. ทีนี้ คําวา มรรค ผล นิพพาน ที่เขาจัดไวสําหรับระดับโลกุตตระสูง สุด เหนือ โลกนั้น มัน ก็คํา นี้แ หละ, ๓ คํา นี้อีก เหมือ นกัน . โลกุต ตรธรรมมี ๙ นี่พ ระอาจารยใ นชั้น หลัง ก็วา ไวดี วา โลกุต ตรธรรมมี ๙ คือ มรรค ๔ ผล ๔ นิพ พาน ๑ ; หมายความวา คํา วา มรรค คํา วา ผล คํา วา นิพ พาน นี้ จั ด หมายเฉพาะการปฏิ บั ติ ธ รรมสู ง สุ ด ในพระพุ ท ธศาสนา ; ที่ เ รี ย กว า แกว ๙ ดวง ก็มี คือมรรค ๔ ผล ๔ นิพพาน ๑ เรียกวา แกว ๙ ดวง. เห็น มีอยูในสมุดภาพปริศนาธรรมอีกเหมือนกัน แกว ๙ ดวง มีอยูที่ปราสาท มีอยูที่ ยอดปราสาท ของปราสาทในเมืองยักษ. เขาจะตองฝกฝนการยิงธนู ที่ทําดวย หนวดเตา เขากระตา ย, เอาศรนอกบมายิง ใหไ ดแ กว ๙ ดวง ที ่อ ยู ที ่ย อด ปราสาทของเมืองยักษ แลวเรื่องมันก็จบเทานั้น ตอไปนี้ก็คือครองเมือง.∗

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สรุป ความวา เมื ่อ ไดยิน คํ า วา มรรค ผล นิพ พาน ก็ด ี หรือ คํ า อะไรที่ ค ล า ยกั น ก็ ดี ขอให รู จั ก แบ ง ความหมายออกไปได ทุ ก ระดั บ ชั้ น : ที ่ทํ า นาก็ไ ด, ทํ า สวน ทํ า ไร, คา ขาย ก็ไ ด, กระทั ่ง วา ปฏิบ ัต ิก ัม มัฏ ฐาน บรรลุมรรค ผล นิพพาน โดยแทจริงไปเลย ที่เรียกวา โลกุตตระ.

การทํานาเพื่อขาวเปลือกนี้ พระพุทธเจาทานยัง ตรัสอุปมาของการทํา นาออกมาเปนนิพพาน ก็มี ; วาการทํานาตามแบบของทาน ผลออกมาแทนที่จะ

ภาพปริศนาธรรมของโบราณ เขียนจําลองไวที่โรงมหรสพทางวิญญาณ สวนโมกขพลาราม อ.ไชยา. (ผูรวบรวม)

www.buddhadassa.in.th


ใบ ดอก ผล แหงศีลธรรม

๔๓๗

เปน ขา วเปลือ ก ; มัน เปน อมตะ คือ นิพ พาน อยา งนี ้ก ็ม ี. เพราะทา นเห็น วา ชาวนาคนนั้ น เขาใจการทํ านา หรือความหมายของการทํ านาดี อ ยู แล ว ก็ เลยตรัส ด ว ยอุ ป มานี้ ว า ทํ า นาแบบของตถาคตนี่ มั น ก็ มี ผ ลออกมาเป น อมตะ, เป น ที่ สุ ด แหงความทุกข, พนจากทุกขทั้งปวง ; ก็เรียกวา “ทํานา” เหมือนกัน. ....

....

....

....

ที นี้ ก็ ดู กั น ไป ที ล ะ อ ย าง ; ดู คํ าว า ม รรค กั น ก อ น : ต า ม ตั ว พยัญ ชนะ ตัว หนัง สือ นั ้น ตอ งแปลวา ทาง. ทีนี ้ อยากจะถามวา เมื ่อ คน ยังไมมีตัวหนังสือใช คําวา มรรค มีหรือไมมี คุณประยูร ? ตอบ : คําวา มรรค มีเปนคําพูดมากอน. มรรค มัน ตอ งมีเ ปน คํ า พูด มากอ น วา “มรรค” ; กอ นแตม นุษ ย จะมี ตั วหนั งสือใช ; ฉะนั้ นการที่ เราจะพู ดวา มรรค มี ความหมายตามตั วหนั งสือนี้ ดู มั น หลั บ ตาพู ด อยู ม าก เพราะว า มั น พู ด มาก อ นการมี ห นั ง สื อ . นี่ เรามั น เพิ่ ง มารู เมื ่อ มีห นัง สือ เปน มรดก ตกทอดกัน มา ก็ช อบอา งตามตัว พยัญ ชนะ ; มัน ก็รู แค นั้ น แหละ บางที จะแค หางอึ่งด วยซ้ํ าไป เพราะคํ าวา มรรค มั น มี ใชพู ดมากอ น การใช ห นั งสื อ กั น . มนุ ษ ย ไม รูจั ก ใช ห นั งสื อ มาเป น หมื่ น ๆ ป , แสน ๆ ป ล ะกระมั ง . เพิ่ ง มารู จั ก ใช ห นั ง สื อ กั น เมื่ อ ไม กี่ พั น ป ม านี่ เอง ถ า จะพู ด ให ดี ก็ ว า มรรค ตาม เสี ย งที่ ใ ช พู ด ของคน ธรรมดาสามั ญ ชาวบ า นทั่ ว ไปนั้ น , มั น หมายถึ ง หนทาง ; เขาก็มี ทางเดิ นกั นมาตั้งแตแรกสรางโลก เดิน ๆ เดิ น ๆ จนเป นทางเกิดขึ้นมาในโลก แล ว ก็ เ รี ย กมั น ว า “ทาง” ในภาษาไทย. ถ า เป น ภาษาบาลี ก็ เ รี ย กว า มรรค ;

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


๔๓๘

การกลับมาแหงศีลธรรม

ในภาษาอื่น ก็ ต อ งเรีย กอย างอื่ น แหละ. คํ านี้ คํ าเดี ยวนี้ มี ค วามหมายตรงกัน หมด คือ “ทาง”. ทีนี้ คําวา “ทาง” ตอมามันเปลี่ยนความหมายเปนเรื่องในภาษาธรรม, ภาษานามธรรม. ถาภาษาชาวบานพูดวา ทาง ก็คือถนนหนทาง ที่ชางเดิน มาเดิน ควายเดิน รถเดิน คนเดิน นั่นมันทางตามธรรมดา ; แตในภาษาธรรม มันหมายถึง ทางที่ จิ ตใจเดิ น หรือการกระทํ าเดิ น ก็ เลยมี ค วามหมายเล็ งถึงอั น อื่ น . แต ก็ ยั งคง เรียกวา ทาง ; คือแนวทาง สําหรับกาย วาจา ใจ เดิน นี่ก็เรียกวา ทาง. ทางสํ า หรับ จิต ใจจะพัฒ นาไกลขึ ้น ไป ไกลขึ ้น ไป ก็เรีย กวา ”ทาง” ; นี่ เกิ ด ทางในภาษาธรรมะขึ้ น มา ในอรรถะอย า งเดี ย วกั น ; หรือ วา โดยคํ า พู ด คํ า เดี ย วกั น มั น เกิ ด ความหมายในระดั บ สู ง ขึ้ น มา นี้ เรี ย กว า มรรค. แล ว ที่ ล ะเอี ย ด เบ็ด เตล็ด มีเ รีย กชื ่อ อยา งอื ่น เรีย กกัน มากมายเหมือ นกัน ; ไมจํ า เปน จะตอ ง เอามาพูดทั้งหมด.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เชน คํ า วา พรหมจรรย นี ้ก ็เ รีย กวา มรรค, การประพฤติป ฏิบ ัติ ศี ล สมาธิ ป ญ ญ า นั่ น ก็ เ รี ย กว า มรรค ; พ รหมจรรย ก็ เ รี ย กว า มรรค, อั ฏ ฐั ง คิ ก มรรค ก็ เรี ย กว า มรรค ; ในบางสู ต รระบุ โ พชฌงค ๗ ประการ ที่ เป น ไปเพื ่อ วิร าคะ นิโ รธะ นี ่ก ็เ รีย ก โพชฌงค ชนิด นี ้ว า มรรค, ในที ่บ างแหง เรี ย กโพ ธิ ป  ก ขิ ย ธรรม ทั ้ ง ชุ ด ทั ้ ง กลุ  ม ว า ม รรค . ฉะนั ้ น สิ ่ ง ใด ที ่ ทํ า ห น า ที่ เปน ทาง สิ ่ง นั ้น เรีย กวา “มรรค” ไดทั ้ง นั ้น ; รวมความวา เครื ่อ งใหถ ึง , เครื ่ อ งให เ กิ ด การถึ ง เรี ย กว า มรรค ; อย า ไปพู ด ว า ถนนหรื อ หนทาง เสียอยางเดียว มันจะไดแตเรื่องของวัตถุ.

www.buddhadassa.in.th


ใบ ดอก ผล แหงศีลธรรม

๔๓๙

ทีนี้ท างก็ยัง มีวา ทางถูก ทางผิด เปน ธรรมดา ; ที่จ ริง ทางผิด ไมควรจะเรียกวาทาง แตเขาก็ไดเรียกวา ทาง, แลวก็ตองเติมคําวา เปนทาง ที่ผิด. ทีนี้ ยังมีทางที่พิเศษ ยิ่งไปกวาถูกหรือผิด เปนภาษาคลาย ๆ กับวา ภาษาทางวิทยาศาสตรทางตรรกวิทยา ; พระพุทธเจาทานก็ไดใชคํานี้เรียกวา ทางสายกลาง คือ มัช ฌิม าปฏิป ทา ; นั่น แหละคือ ตัว ทางแท หรือ มรรค แท ม รรค อั น ป ระ เส ริ ฐ สุ ด , วิ เ ศ ษ ที่ สุ ด ไม มี ท างที่ จ ะผิ ด ได เรี ย ก ว า “มัชฌิมาปฏิปทา” ; นี้เรียกวา “ทาง”. ถาม : “มัชฌิมาปฏิปทา” ทรงแสดงไวดวยอะไร คุณประยูร ? ตอบ : ดวยอัฏฐังคิกมรรค.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี่เรีย กวา หญา ปากคอก ก็ล ืม กิน ไดเหมือ นกัน , ตอ งซอ มไวบ า ง ซอม ๆ ไว. โดยระดับทั่วไปหรือระดับโลกิยะ ทานแสดงไวดวย อัฏฐังคิกมรรคความเปน ไปอยางถูก ตอ ง ๘ ประการ รวมกัน เรีย กวา มรรค มีสัม มาทิฏ ฐิ สัม มาสัง กัป โป สัม มาวาจา สัม มากัม มัน โต สัม มาอาชีโ ว สัม มาวายาโม สัมมาสติ สัมมาสมาธิ, ทางเสนเดียวประกอบไปดวยองค ๘ ประการ. นี้ระดับ ทั่วไป และเปนอยางโลก ๆ และเปนหลักสําหรับผูที่ยึดถือมีตัวตนผูกระทํา, มีตัวตน ผูไดรับผลแหงการกระทํา, อะไรไป เปนทํานองนั้น. ถาม : ทีนี้ ถาเปนมัชฌิมาปฏิปทาชั้นสูงสุด นําไปสูโลกุตตระ ทานทรงแสดง ดวยอะไร ? ตอบไดจะใหรางวัล, คุณทอง.

www.buddhadassa.in.th


๔๔๐

การกลับมาแหงศีลธรรม

ตอบ : ผมตอบไมไดครับ. ถาม : เอา, คุณล้ํา, คุณประยูร ? ตอบ : แสดงโดยอริยมรรค. อริย มรรคก็อ ัน นี ้ อริย มรรคมีอ งค ๘ ก็อ ัน นี ้. เอา , เราไมต อ ง เสี ย รางวั ล แล ว หยุ ด หมดเวลาแล ว . พู ด กั น ตั้ ง หลายหนแล ว ว า ทรงแสดง ดวยปฏิ จจสมุปบาท คือไมใหพู ดวา มี ตั วตน หรือ ไม มี ตั วตน, ไม ให พู ดวามี อ ยู หรือ ไมม ีอ ยู , ไมใ หพ ูด วา นั ้น หรือ นี ้ ไมใ หพ ูด วา เอง ไมใ หพ ูด วา อื ่น ; นั้ น ทรงแสดงด ว ยปฏิ จ จสมุ ป บาท. มั ช ฌิ ม าปฏิ ป ทาระดั บ สู งสุ ด คื อ โลกุ ต ตระ ทา นทรงแสดงไวด ว ยปฏิจ จสมุป บาท นั ้น ก็ค ือ มรรค ; นี ่เ อามาพูด เสีย ให สิ้นกระแสความวา มรรคมันมีอะไรบาง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถา เดิน ต าม ม รรค ชั ้น สูง สุด ชั ้น โล กุต ต ระ แลว ค น นั ้น จะไมมี ค วาม รู  ส ึ ก ว า อ ยู  ห รื อ ต าย , เกิ ด ห รื อ ไม เ กิ ด , ฉั น ห รื อ ค น อื ่ น , ไม ม ี อ ะ ไร ที่เป นคู ๆ อยางนั้ น. นั่ นคื อทางกลาง, ทางสายกลาง ไปสูความหลุดพ น ; เรียกวา “ทาง” เหมือ นกัน มีแ ตเ หตุป จ จัย อาศัย กัน ปรุง แตง ไป : เพราะสิ ่ง นี ้ม ี, สิ ่ง นี้ จึง มี ; เพราะสิ ่ง นี ้ม ี สิ ่ง นี ้จ ึง มี. อยา เรีย กวา อัต ตา หรือ อยา เรีย กวา อะไร ซึ่งตรงกัน ขามกับ อัตตา ; ให เป น เพี ยงกระแสแห งธรรม ปรุงแตงไปตามกฎเกณฑ ของธรรมชาติที่เด็ดขาด. นี่เปนทางสําหรับจิต เดินไปดวยปญญา. นี่ คํ า ว า มรรค เห็ น ไหม คํ า เดี ย วเท า นั้ น หมายถึ ง ถนนที่ ใช เดิ น ด ว ย เท าก็ ได . ภ าษ าธรรม ห ม าย ถึ ง ระบ อ บ ป ฏิ บั ติ ที่ วางไว เ ป น ระบ อ บ ๆ เช น

www.buddhadassa.in.th


ใบ ดอก ผล แหงศีลธรรม

๔๔๑

พรหมจรรย, เชน อัฏ ฐัง คิก มรรค โพชฌงค โพธิปก ขิย ธรรมก็ไ ด. แตถา เปนชั้นสูงสุดเรียกวาโลกุตตระแลว เรียกวา มัชฌิมาปฏิปทาที่เปนโลกุตตระ ไดแกญาณในปฏิจจสมุปบาท ที่แสดงใหเห็นวาไมมีนั่น ไมมีนี่ มีแตกระแสแหง การเปนไปตามกฎเกณฑของธรรมชาติ, หรือวามีแตธรรมชาติที่ปรุงแตงกันไปตาม กฎเกณฑของธรรมชาติ. นี่เกินแลวนะ ; ที่เอาคําอธิบายหรือความหมายของ คําวา “มรรค” มาพูดกันถึงขนาดนี้. มันเกินระบบแหงศีลธรรมแลว ; แตโดยเหตุ ที่มันมีประโยชน จึงถือโอกาสพูดไปเสียในคราวเดียวกัน. ถาม : ทีนี้ ก็จะดูคําวา “มรรค” ที่จะมาเปนประโยชนในตนไมของเรา มรรค ผล นิพ พาน ; ในที่นี้ก็เ ล็ง ถึง มรรค ๔ ผล ๔ นิพ พาน ๑. มรรค ๔ มีชื่อวาอยางไร ซอมความเขาใจ คุณทอง ? ตอบ : มีสกิทาคามิมรรค อนาคามิมรรค โสดาปตติมรรค และ อรหัตตมรรค ครับ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : คุณประยูรละ ?

ตอบ : เริ่มโสดาปตติมรรค สกิทาคามิมรรค อนาคามิมรรค และอรหัตตมรรค.

ถาม : คุณล้ําละ เผื่อจะแปลกไปบาง ? ตอบ : ไมแปลกครับ. ถาม : เริ่มขึ้นดวยอะไร ?

www.buddhadassa.in.th


๔๔๒

การกลับมาแหงศีลธรรม

ตอบ : เริ่มตนดวย โสดาปตติมรรค ครับ. คุ ณ ทอง จํ า ฟ น เฝ อ ไปจั ด ลํ า ดั บ เสี ย ใหม ใ ห ถู ก ต อ ง. คํ า ว า มรรค ผลนิพ พาน นั ้น หมายความวา มรรค นี ่เ ริ่ม ตั้ง แตโ สดาปต ติม รรค สกิท าคามิม รรค อนาคามิม รรค อรหัต ตมรรค ; เรารู แ ตเ พีย งสัก มรรคแรกเทา นั ้น แหละมั นก็จะพอ เพราะถาเราถึงมรรคแรก คือ โสดาปต ติมรรคแลว ตอจากนั้ น มัน จะไปเอง, มัน จะไปเอง มัน ไหลกลับ ไมไ ด มัน มีน ิพ พานเปน เบื ้อ งหนา . พระพุทธเจาเปนผูรับประกัน ; ทานตรัสอยางนี้นะ มีพระสูตรที่ชัดอยางนี้ ; แตจะ เอามาอางอิงใหมันเสียเวลาก็ไมควร เพราะเราตองการจะพูดเรื่องศีลธรรม วาโสดาป ตติม รรค นั่ นแหละ ควรจะสนใจเป น อยางยิ่ง เพราะเป นจุดตั้ งต น, ถาถึงนั้ น แลว ไมมีถอยกลับ. โสตา มาเปน ไทยวา โสดา นี ้แ ปลวา กระแส ; โสตะ แปลวา กระแส, ปต ติ แปลวา ถึง หรือ การถึง ; โสตาปต ติม รรค แปลวา มรรคที่ เปน การถึง เปน การเดิน ที่ถึง กระแส. ทีนี้ก ระแสแหงอะไร ? ก็ก ระแสแหง ธรรม ที่นําไปสูความหลุดพน จุดหมายปลายทาง ; กระแสนี้มันเหมือนกับแนวอันหนึ่ง จากที ่นี ่ไ ปถึง จุด หมายปลายทาง คือ นิพ พาน. นี ้เ รีย กวา แนว หรือ กระแส. ถ าใครมาแตะเข าที่ ก ระแสนี้ คนนั้ น เรีย กวา ถึ ง โสดาป ต ติ ม รรค ; คนนั้ น จะต อ ง เดิ น มาถึ ง จุ ด จุ ด หนึ ่ ง นะ ที ่ จ ะเรี ย กได ว  า บรรลุ โ สดาป ต ติ ม รรค ; มี ก าร ถูก ตอ ง ๘ ประการ อยา งที ่วา มาแลว วา อัฏ ฐัง คิก มรรค ก็พ อที ่จ ะถึง กระแส แหงธรรม คือ นิพ พาน. ทีนี ้มีคํา ที่น า สนใจที่ส ุด เกี่ย วกับ พระโสดาบัน อยู ๙ คํ า ไม ค อ ยเอามาพู ด กั น ; พู ด ถึ ง พระโสดาบั น แต เพี ย งว า ผู ถึ ง กระแส คื อ กระแส แหงพระนิพพาน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


ใบ ดอก ผล แหงศีลธรรม

๔๔๓

การถึง กระแสแหง พระนิพ พานนี ้ข ยายความออกไปไดเ ปน ๙ คํา ตามที่ปรากฏอยูในพระบาลี :คํ า ที ่ ๑ ทิฏ ิส มฺป นฺโ น -ถึง พรอ มดว ยทิฏ ฐิ หมายความวา มี ทิฏ ฐิที ่ถ ูก ตอ ง จึง จะเรีย กวา ทิฏ ฐิส ัม ปน โน, มีท ิฏ ฐิที ่ถ ูก ตอ งสมบูร ณ ; ทิฏฐิสัมปนโน ถึงพรอมดวยทิฏฐิ, เวนมิจฉาทิฏฐิโดยประการทั้งปวง. คํ า ที ่ ๒ ทสฺส นสมฺป นฺโ น -ถึง พรอ มดว ยทัส สนะ คือ ถึง พรอ ม ด ว ยการเห็ น . อั น ที ่ ๑ ถึ ง พร อ มด ว ยความเห็ น , อั น ที ่ ๒ ถึ ง พร อ มด ว ย การเห็น . ดูภ าษาบาลีซิ มีเ ทคนิค ที่ไ มแ พภ าษาไหน ไมแ พภ าษาปจ จุบัน ; ถึงพรอมดวยความเห็นเสียทีกอน, แลวถึงพรอมดวยการเห็น ดวยความเห็นนั่น อีก ทีห นึ่ง . ความเห็น ชอบนะ. เห็น อยา งไรบา งละ ? เห็น วา อะไรเปน ทุก ข ; อะไรเปนเหตุใหเกิดทุกข ; หรืออะไรก็ตาม มีความเห็นที่สมบูรณ แลวมีการ เห็นสิ่งนั้นแหละโดยสมบูรณอีกทีหนึ่ง จึงเรียกวา ทัสสนะสัมปนโน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org คํ า ที่ ๓ เรี ย กว า อาคโต อิ มํ สทฺ ธ มฺ มํ -มาถึ ง แล ว ซึ่ ง สั ท ธรรมนี้ ; สัทธรรมนี้คือ พระศาสนานี้. แตไมใชหมายถึงตัวเปลือกนอก หรือตัววัตถุอะไร ของศาสนานี้ ไมใ ชวัด วาอาราม ; ไมใ ชโ บสถวิห าร. สัท ธรรมนี้ห มายถึง ตั ว การปฏิ บ ั ต ิ เ ป น แกนกลาง มี ป ริ ย ั ติ นํ า หน า มี ป ฏิ เ วธอ ยู รั้ ง ท า ย ; นี้เขาเรียกวาสัทธรรม ; มาถึงแลวซึ่งสัทธรรมนี้ คนนี้. สั ท ธรรม ท า นแจกไว เ ป น ๓ ว า ปริ ยั ติ สั ท ธรรม คื อ ความรู , ปฏิ ป ต ติ สั ท ธรรม คื อ การปฏิ บั ติ , ปฏิ เ วธสั ท ธรรม คื อ การรู ผ ลของการ

www.buddhadassa.in.th


๔๔๔

การกลับมาแหงศีลธรรม

ปฏิบ ัต ิ ; แตต ัว สัท ธรรมแท ๆ หมายถึง ตัว การปฏิบ ัต ิ. แตเมื ่อ มาถึง ตัว การ ปฏิบัติแลว มันยอมถึงตัวความรู และผลแหงการปฏิบัติอยูในตัวมันเองดวย. ฉะนั้น ทานจึงใชคําสั้น ๆ วา สัทธรรมก็พอ. มาถึงแลวซึ่งสัทธรรมนี้ คนนี้. ถา ไมอ ยา งนั ้น ก็แ ปลกัน สั ้น ๆ วา ธรรมะของสัต บุรุษ ; แลว ธรรมะของสัตบุรุษ ก็ขยายออกเปน ๓ ความหมายอีก. เรื่องก็เปนอยางเดียวกัน : พระโสดาบันคือผูที่มาถึงแลวซึ่งสัทธรรมนี้, สัทธรรมนี้ คือสัทธรรมที่พระพุทธเจา ทรงแสดงไวเปนระเบียบปฏิบัติสําหรับความดับทุกข. คํา ที่ ๔ ปสฺส ติ อิมํ สทฺธ มฺมํ -ยอ มเห็น ซึ่ง สัท ธรรมนี้, นี่ไ มย อม ใหเสีย logics ไมยอมใหเสียหลักทางตรรกะ, จึงวามาถึงแลวซึ่งสัทธรรมนี้ แลวยัง พูด ทับ อีก วา ยอ มเห็น ซึ่ง สัท ธรรมนี้. ไมตอ งอธิบ าย, เพราะสัท ธรรมมีอ ยู อยางนั้นมาถึงเขาแลว แลวก็เห็น เหมือนมาถึงวัดนี้แลวก็เห็นวัดนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org คํ าที่ ๕ เสกฺ เขน าเณน สมนฺ น าคโต –มาตามพรอ มแล วด วย ญาณอันเปนเสขะ. ญาณ คือความรู ความรูชั้นสูง ; ที่เปนเสขะ นั้นอธิบาย ยาก อธิบายไดมาก. แตพอสรุปความวาเปน บุคคลที่ควรไดรับการยกยองวา เปน นัก ศึก ษา คือ ผู ม ีก ารศึก ษา หรือ ผู ถึง การศึก ษา ; แตไ มใ ชก ารศึก ษา อยา งชาวบา นที่โ รงเรีย น ; หมายถึง การศึก ษาอยา งของพระพุท ธเจา คือ ศีล สมาธิ ปญญา นั่นแหละเรียกวาสิกขา. ทีนี้ก็มาถึง “มาตามพรอมดวยญาณ คือความรูที่เปนของนักศึกษา” ซึ่งในที่นี้หมายถึงพระโสดาบัน พระสกิทาคามี พระอนาคามี ; นั่นคือนักศึกษา, หรือการศึกษาที่ทานเหลานั้นไดรับ คืออยางนี้.

www.buddhadassa.in.th


ใบ ดอก ผล แหงศีลธรรม

๔๔๕

ที นี ้ พระโสดาบั น เป น ผู  ป ระกอบพร อ มแล ว ด ว ยญาณของ “นัก ศึก ษา”, หมายถึง นัก ศึก ษาที่แ ทจ ริง ตามแบบของพระพุท ธเจา . ถา ยัง ไมเปนพระโสดาบัน ยังไมเรียกวาเปนนักศึกษา ; คือมันยังไมเสร็จการศึกษา. ไมเขาถึงการศึกษา คือยังไมเขาถึงตัวการศึกษา. ไมใชวาเสร็จการศึกษา. เขา ยัง ไมมีก ารศึก ษาอัน แทจ ริง ; จนกวา จะเปน พระโสดาบัน เสีย กอ น จึง จะ เรียกวา มีการศึกษาอันแทจริง ; แมยังไมเสร็จการศึกษา แตก็ประกอบพรอมแลว ดวยญาณของนักศึกษาอันดับแรก. คํา ที ่ ๖ เสกฺข าย วิชฺช าย สมนฺน าคโต –ประกอบพรอ มแลว ดวยวิชชาของนักศึกษา. ขอกอนนี้ใชคําวา ญาณ, ขอ หลังนี้ใชคําวา วิชชา. นี้เอาความตามลําดับก็ไดวา มีความรู แลวก็มีวิชชา คือรูแจง ; ความรูที่เล็งถึง รูแจง คือถึงระดับที่เขากําหนดไว นี่เรียกวา วิชชา. คนนี้ ลุถึงวิชชานี้. คําที่ ๗ วาธมฺมโสตํ สมาปนฺโน -นี่คือความหมายแทของคําวา โสดาบัน . ธมฺม สสตํ สมาปนฺโ น -ถึง พรอ มซึ่ง กระแสแหง ธรรม. กระแส แหงธรรม นี้คือธรรมที่นําไปสูพระนิพพาน ; เดี๋ยวนี้ทานไดมาถึงโดยสมบูรณ แลว ซึ่ง กระแสแหง ธรรมนั ้น แตย ัง ไมถ ึง ปลายทางนะ ; เพีย งแตถ ึง แลว ซึ ่ง กระแสแหงธรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org คํ า ที่ ๘ ว า อริ โย นิ พฺ เพธิ ก ปฺโ -มี ป ญ ญาเจาะแทงกิ เลสชั้ น ประเสริฐ ; หมายความวาเมื่อมาถึงขั้นนี้แลว กลาวไดวา ผูนั้นเปนผูที่มีปญญา สําหรับเจาะแทงกิเลสคืออวิชชา ; ชั้นประเสริฐที่สุด. ถายังไมมาถึงนี้ ก็ยังไมมี ปญญาอยางนี้ ; ยังไมมีปญญาอยางนี้ ก็ยังไมเรียกวา พระโสดาบันนี้. พระ-

www.buddhadassa.in.th


๔๔๖

การกลับมาแหงศีลธรรม

โสดาบันก็คือผูที่เริ่มมีปญญาอยางนี้ คือเจาะแทงกิเลส เปนปญญาชนิดประเสริฐ ไมใชปญญาโลกิยะ. ขอสุดทายคําที่ ๙ วา อมตทฺวารํ อาหจฺจ ติฏติ -ยืนอยูจุดประตู แหงอมตะ ; ที่เขาชอบพูด ใหเปน วัตถุ ก็วา อมตนคร นครแหงอมตะ นี่เขา เติม ใหมัน เปน ความหมายอยางภาพพจน. ตัว บาลีก็วาประตูแ หง อมตะ คือ ประตู แห งพระนิ พ พาน คื อ ผู ที่ ม ายื น อยู จดประตู แ ห งอมตะ มาถึ งประตู แห ง อมตะแลวก็จะกาวเขาไปในเขตนั้น แลวก็จะไปถึงจุดปลายทางคือ นิพพาน. ถา จะเปรียบดวยเมือง ก็มาถึงประตูเมือง ขามธรณี ประตูเขาไปในเมือง. นี่พระโสดาบัน หรือโสตาปตติมรรค ก็คือการกระทําไดอยางนี้. ทีนี้ผลของการเปนอยางนี้ ก็อาศัยหลักที่วาแลว : มรรค คือการเดิน มา ; ผลก็คือการถึงแลวอยู ที่นั่นแลว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทีนี้พระนิ พพานสําหรับชั้นนี้ ก็มี ความเย็นไปตามประสาขอพระ-

โสดาบัน.

เปน อัน วา ทา นไดเดิน มา, แลว ก็ไดถึง , แลว ก็ไดรับ ผลแหง การ ถึง ตามระดับชั้นของทานที่เรียกวา มรรคในขั้นที่เปนโสดาบัน.

ทีนี้ถาต อไปจากนั้น ก็คือ วาเดินเรื่อยไป, เดินเรื่อยไป, ขามธรณี ประตู นั้ นแลว, เดิ น เขาไปเรื่อ ยเดิ น เขาไปเรื่อ ย กวาจะถึงจุด ที่ สุด ท าย. ไปได ระยะหนึ่ง เรีย กวา สกิท าคามี, ไปไดอีก ระยะหนึ่ง เรีย กวา อนาคามี, ไป

www.buddhadassa.in.th


ใบ ดอก ผล แหงศีลธรรม

๔๔๗

ไดอีกระยะหนึ่ง เรียกวา อรหันต คือ ถึงจุดหมายปลายทาง เปนนักศึกษา ที่สมบูรณ, ไมตองมีการศึกษาอีกตอไป. เราไมตองพูดโดยรายละเอียด เพราะเดี๋ยวนี้เรากําลังพูดเรื่องศีลธรรม จึงพูดแตแนวสําหรับใหสังเกตใหเขาใจ อยาใหหลงทางในคําพูด ที่พูดวา มรรค ผล นิพพาน เปนตน. ....

....

....

....

ทีนี้ ถาจะเอามาใชในความหมายทั่วไป แมแตฆราวาสผูครองเรือน คําวา “มรรค” ก็แปลวา การเดินทาง. ในที่นี้ ก็คือการกระทําที่กาวหนาไป, มีการกระทําที่กาวหนาไป เรียกวา การเดินทางโดยผูเดินทาง ; สงเคราะหอยูใน ความหมายของคํา วา มรรค ผล นิพ พาน. เขาทํา ไดเ ทา ไร ก็จ ะไดรับ ผล เท า นั้ น , แล ว เขาก็ จ ะได ชิ ม รสแห ง ผลเท า นั้ น ขอให รั บ เอาคํ า ว า มรรค ผล นิพ พาน ไปใชแมในกรณีธรรมดาสามัญ ทั่วไป สําหรับผูครองเรือ น. พอหมด เรื่องของครองเรือนก็จะมาสูเรื่องของผูไมครองเรือน ปฏิบัติสูงขึ้นไปเต็มอัตรา แหงความหมายของคําคํานี้ คือการบรรลุถึง มรรค ผล นิพพาน ที่แทจริง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทีนี้อยากจะใหสังเกตสักนิดหนึ่งวา ผล กับ มรรค นี้ก็เหมือนกัน, เมื่ อ มี ม รรคแล ว จะต อ งมี ผ ลโดยอั ต โนมั ติ . อย า เข า ใจว า มี ม รรค แล ว ยังจะตองพยายามใหเกิดผล. เมื่อมีการเดินทางเสร็จลงหรือถูกตอง มันก็มีการถึง ; เดิ น เท า ไร ก็ ถึ ง เท า นั้ น , เดิ น เท า ไรก็ ถึ ง เท า นั้ น , หรื อ ว า สว า งขึ้ น เท า ไร มืดก็หายไปเทานั้น, หรือวากินเทาไร มันก็มีความอิ่มขึ้นเทานั้น, หรือวา ความ เจ็บหายไปเทาไร ความสบายมันก็เกิดขึ้นเทานั้น โดยอัตโนมัติ.

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๔๔๘

ฉะนั ้น มีก ารปฏิบ ัต ิใ นสว นมรรคสํ า เร็จ เทา ไร สว นผลก็เ กิด ขึ ้น เทา นั ้น ; ถา ถึง ขนาดถึง ระดับ ก็เ รีย กวา โสดาปต ติม รรค ซึ ่ง คู ก ับ โสดาปต ติผ ล, สกิท าคามิม รรค ซึ ่ง คู ก ับ สกิท าคามิผ ล เปน ตน . เมื ่อ ถึง ระดับ นั ้น จึงจะเรียกชื่ออยางนั้ น ; ถายังไมถึงระดับนั้น ก็ยังเรียกชื่อวาเป นการเดินทาง หรือ การถึ ง ได ต ามสั ด ส ว น. นี่ เขาจึ ง ยื ม คํ า ว า มรรคผล นี้ ม าใช ได แม ใ นการกระทํ า อยา งชาวบา น, วา ทํ า การงาน ใหเ ปน มรรค ผล. เปน อัน วา เมื ่อ พูด ถึง มรรค ก็ ไ ม ต  อ งพู ด ถึ ง ผล ขอให ทํ า ให สํ า เร็ จ ในส ว นม รรคเถิ ด ผลมั น ก็ ม าเอ ง ; เช น เดี ย วกั น ที่ ว า ขอให เป น พระโสดาบั น เถอะ ต อ จากนั้ น ก็ เป น พระอรหั น ต เอง เพราะมัน เขา มาถึง เขตนี ้ ที ่ม ัน ไมถ อยหลัง กลับ ไดอ ีก ตอ ไป มีแ ตร ุด ไปขา งหนา มัน ก็ถ ึง เอง ; ฉะนั ้น จึง เปน จุด สํ า คัญ ของมรรค ที ่ต อ งเขา ใหถ ึง ในครั ้ง แรก คือโสดาปตติมรรค แลวก็มีไปเอง จนถึงที่สุดเขาวันหนึ่ง. ....

....

....

....

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ที นี้ ยั งเหลื อคํ าว า “นิ พพาน” เป นคํ าสุ ดท าย. นี่ ได อธิบายกั นหลายครั้ง แลว หรือ จะหลายสิบ ครั ้ง แลว . คํ า วา นิพ พาน นี ้แ ปลวา เย็น หากเปน คํ า ชาวบา น พ ูด อยู ก อ น มีก ารใชห นัง สือ อีก เห มือ น กัน . อ ยา พ ูด เอาต าม ตัว พยั ญ ชนะ ให มั น เสี ย ความยุ ติ ธ รรม ; เราพู ด เอาตามเสี ย งที่ พู ด เสี ย งที่ ช าวบ า น เขาพูด กัน มา กอ นพุท ธกาลโนน นิพ พาน แปลวา เย็น , เย็น ที ่ไ หน ปากก็พ ูด ออกไปว า นิ พ พานที ่ นั ่ น : ในครั ว ก็ พ ู ด , ที ่ ไ หนก็ พ ู ด , อะไรร อ น ๆ เย็ น ลง ก็เรียกวา นิพพาน ; เปนเรื่องของวัตถุ. เคยอธิ บ ายให ฟ งแล ว วา ถ า นไฟเย็ น ก็ เรีย กวา นิ พ พานของถ านไฟ, สั ต ว เดรั จ ฉานหมดพิ ษ ร า ย ก็ เรี ย กว า นิ พ พาน ของสั ต ว เดรั จ ฉาน, ที นี้ ค นเย็ น

www.buddhadassa.in.th


ใบ ดอก ผล แหงศีลธรรม

๔๔๙

ก็เรียกวา คนถึงนิพ พาน. แตเย็นของคนนี่ มันหลายระดับ : เย็นทางกายก็มี, เย็นทางจิตก็มี, เย็นทางวิญญาณก็มี, แตความหมายเดิม แทจริง เขามุงหมาย ถึงเย็นทางวิญญาณ คือหมดกิเลส. เย็น ทางกายนั ้น ชั ่ว คราว ซึ ่ง ก็ต อ งการเหมือ นกัน อยู ใ นความ หมายเดียวกันวา “เย็น”. เย็น ทางจิต นี ้ค ือ พวกสมาธิส มาบัต ิต า ง ๆ นี ่ก ็เ ย็น ทางจิต : เพราะกิเลสมันหยุดไปชั่วคราว ไมเกิดขึ้นชั่วคราว ไมรบกวน. เย็ น ทางวิ ญ ญาณ ; จํ า เป น ต อ งใช คํ า นี้ ซึ่ งเป น คํ า พิ เศษ ; ไม ใช วิญญาณทาง ตา หู ฯลฯ ; เย็นฝายวิญญาณ คือฝายสติปญญา. นี่เย็นเพราะ ไม มี กิ เ ลส ไม มี อุ ป ธิ นี่ เ ย็ น โดยสมบู ร ณ ก็ คื อ นิ พ พาน เพราะฉะนั้ น เรา จึงพูดไดวา คําวา นิพพานนี้มีความหมายวา “เย็น” แบงออกไดเปน ๒ ประเภท คือโดยตรง และโดยออม ; คือนิพพานโดยเด็ดขาด, หรือนิพพานยังไมเด็ดขาด. แตถา เย็น แลว เปน เรีย กวา นิพ พาน ไดทั้ง นั้น ; ในทางศีล ธรรมก็ค วรจะ กลา หรือวา อาจเอื้อม ยื่นมือเขาไปควาหาสิ่งที่เรียกวา นิพพาน, เพราะมันก็จะ ไดรับความเย็นมา ในลักษณะแหงศีลธรรม ตามลักษณะแหงศีลธรรม ในระบบ แห ง ศี ล ธรรม. เช น เราทํา ให มี ค วามถู ก ต อ งทางศี ล ธรรม ก็ มี ก ารเย็ น ขึ้ น มาในความรูสึก นี้, ทางกาย วาจา ใจนี้, ตามสมควร, หรือ ถา เย็น ไดท าง สังคมก็ยิ่งกวางออกไป.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๔๕๐

นี่ความหมายทางศีลธรรม แปลวา เย็น, ถาจะใชใหมีความหมายกลาง ๆ ที่ส ุด เราจะใชคํ า วา อะไรดี ; เพราะคํ า วา “เย็น ” นี ้ มัน เปน ภาษาเดิม ไมรูวา กี่แสนปมาแลวกระมัง. ถาม : “เย็น” พูดกันตั้งหลาย ๆ แสนปมาแลว. ยืมเอาความหมายนี้มาใชกัน เดี๋ยวนี้ คือวาเย็นเมื่อไมมีทุกข จะใชภาษาที่ใหมเอี่ยมสักทีจะไดไหม ? จะวาอยางไร ? ในความของคําวา เย็น หรือ นิพพาน จะใชคําวาอะไร ดี ? ลองคิ ด นึ ก ดู แล ว เอามาประกวดกั น คุ ณ ประยู รจะใช คํ า ว า อะไร แทนคําวาเย็น ? ตอบ : ควรจะใชคําวา สันติสุข. ถาม : เอา, คุณทอง ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : วา สงบ ครับ.

ถาม : วา สงบ, คุณล้ํา ละ ?

ตอบ : ผมก็วาสงบ.

ถาม

: มันก็ถูก เขาเคยใชมาแลวอยางนั้นทั้งนั้น. นิพพาน หมายถึง สงบอยาง ยิ่ง, สันติอยางยิ่ง ; และที่คุณ ประยูรวา ก็แปลวา สงบนี่แหละ ; สันติ แปลวาสงบ สั น ติ สุขก็ สงบสุ ข ไป ๆ มา ๆ อยู ที่ สงบสุ ข ในความหมาย ของคําวาเย็น ที่ยังมีกลิ่นไอหลายหมื่น หลายแสนปอยูนั่นแหละ, ไมใช

www.buddhadassa.in.th


ใบ ดอก ผล แหงศีลธรรม

๔๕๑

คําพูดปจจุบันแลวกระมัง ; ถาพูดปจจุบันหยก ๆ เดี๋ยวนี้จะใชคําวา อะไรดีใหใชไดทุกกรณี แกทุกคน ทุกระดับ ? ตอบ : ใชปรกติ. ปรกติ ก็ด ี ; แตเ กา ตั ้ง หมื ่น ๆ ปอ ีก นั ่น แหละ. ใชคํ า วา อะไรดี ? เอา, ทีนี้อยากจะตอบเอาเองบาง ที่วาคลายกับประกวดคําพูด. เมื่อถูกฝรั่งเขาซักไซ ไลเลียงหลายหน หลายคราวเขา ไดเคยตอบดวยคําวา “หมดปญหา” : ดูเหมือน เปนที่พอใจ และเขาใจ กวางถึงที่สุดเมื่อใชคําวาหมดปญ หา. นิพพานนั่น คือ หมดปญ หา ; ไมวา ปญ หาชนิด ไหน ปญ หาไมม ีกิน ไมม ีใ ช ปญ หาโรคภัย ไขเจ็บ ปญหาอะไรตาง ๆ นานา ปญหาทั้งหลายนั่นหมด. ถา หมดปญ หานั ่น คือ นิพ พาน ตั ้ง แตใ นโลกนี ้จ นถึง โลกอื ่น จน ถึ ง เหนื อ โลก เป น นิ พ พานโดยแท จ ริ ง คื อ มั น หมดป ญ หา : หมดป ญ หา โดยสวนตัว ก็เปนนิพ พานสวนตัว, หมดปญ หาผูอื่นดวย ก็หมดป ญ หาสิ้นเชิง. ถ า ทางวั ต ถุ ทางเนื้ อ หนั ง ร า งกาย สิ่ ง ของ ก็ ห มด ป ญ หา, และทางจิ ต ทาง วิญญาณ ก็หมดปญหา ; เรียกวา หมดปญหาโดยสิ้นเชิง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เดี๋ยวนี้ กําลั งมี ป ญ หาทั้ งทางวัตถุและทางจิต ในโลกนี้ ใชไหม ? ใน โลกนี ้ใ นปจ จุบ ัน นี ้ กํ า ลัง มีป ญ หารุน แรงขึ ้น ทั ้ง ทางวัต ถุ และทางจิต ใจ ไม ม ี น ิ พ พานเลย ; ไม ม ี ร อ งรอยแห ง นิ พ พานเลย. มั น เต็ ม ไปด ว ยป ญ หา อัน รอ นระอุเ ปน ไฟไปหมด. นี ้ส ว นบุค คลก็ม ีป ญ หา, สว นสัง คมทั ้ง โลกก็มี ปญหา, มันรอนไปดวยปญหา ยังไมมีนิพพานเลย.

www.buddhadassa.in.th


๔๕๒

การกลับมาแหงศีลธรรม

ความหมดปญ หา หรือ ความมีนิพ พาน อยา งนี้ คนเขาก็ห วัง กันมาก และหวังอยูตลอดเวลา. สังเกตดูแลวเปนความมุงหมายของทุกศาสนา ; และทุก ๆ ศาสนาไดวางเงื่อนไขอันนี้ เอาไวดวยกันทุกศาสนา คือวา ทุกศาสนา จะมี คํ ากล าวที่ ว า จะยั งมี พ ระศาสดาอี ก องค ห นึ่ ง มาตรัส รูเป น องค สุ ด ท า ย สําหรับยุคนี้ แลวเปนพระศาสดาที่ทําใหหมดปญหาโดยประการทั้งปวง. ถาม : พระพุทธเจาหรือพระศาสดาองคนั้น เขาเรียกชื่อวาอะไร คุณประยูร ? ตอบ : พระศรีอริยเมตไตรย. พระศรีอ ริย เมตไตรย เรีย กสั้น ๆ วา พระศรีอ าริย. เมื่อ ไรพระ ศรีอ าริยม า ปญ หาหมดทั ้ง ฝา ยวัต ถุ และทั้ง ทางฝา ยจิต ใจ. ดูจ ะไดเปรีย บ พระพุทธเจาที่แลว ๆ มา วาพระพุทธเจาที่แลว ๆ มา ปญหาทางจิตใจหมดเกลี้ยง ; แตปญหาทางวัตถุยังไมกลาวไดวา สิ้นไป. นี่คือขอแตกตางกันเล็กนอย. เมื่อ ทานไมตองการเรื่องทางวัตถุ มันก็ไมตองมีดวยเหมือนกัน. เดี๋ยวนี้มนุษยสมัยนี้ ก็ไมยอม เขาตองการความสมบูรณทางวัตถุ. เมื่อตองแกปญหาทางวัตถุ ก็เอา พระศรีอาริยไวให.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : ในศาสนาพุทธเรียกวา พระศรีอาริย ; ในศาสนาคริสเตียนเรียกวาอะไร เรียกชื่อพระศาสดาองคนั้นวาอะไร คุณทอง ?

ตอบ : ตอบไมไดครับ.

www.buddhadassa.in.th


ใบ ดอก ผล แหงศีลธรรม

๔๕๓

ตอบไมไ ด เพราะไมส นใจศาสนาของเพื ่อ นเสีย เลย. ศาสนายิว ซึ ่ง กอ นคริส เตีย น เขาก็ม ีพ ระศรีอ าริย  สํ า รองไว เรีย กวา เมสสิอ าห. พอ พระเยซู เกิ ด ขึ้ น พวกที่ นั บ ถื อ พระเยซู บอกว า พระเยซู นั่ น เองเป น พระศรี อ าริ ย เป น เมสสิอ าห ; พวกยิ วเขาไม ยอม เขาวาไม ใช พระเยซูเป น ตั วปลอม เขาจึงฆ า เสีย . เขารอ พ ระศ รีอ าริย ข อ งเขาตอ ไป คือ เขารอ เม ส สิอ าห ตอ ไป ใน อนาคต. ทีนี ้ ในศาสนาฮิน ดู หรือ ศาสนาพราหมณ  ใกล ๆ บา นเรา เขา เรี ย กชื่ อ พระศาสดาองค นั้ น ว า อะไร ? ไม เคยอ า นเสี ย เลยหรือ ? คุ ณ ประยู รอ า น หนั ง สื อ มากกว า เพื่ อ น เขาเรี ย กชื่ อ ว า อะไร ? (ไม มี ใ ครตอบ) ไปดู รู ป ในหนั ง สื อ นารายณ สิ บ ปาง ปางสุ ด ท า ย เขามี กรรติ เกยยะ ขี่ ม า ขาว มาตั ด ป ญ หาโดย ประการทั้งปวง. น าราย ณ ส ิบ ป าง ป างที ่ ๙ นี ้ คือ พ ระพุท ธเจา ; เขารวบ เอ า พระพุ ท ธเจ า ในพุ ท ธศาสนาไปเป น พระอวตารปางที่ ๙. แล ว มี อ วตารปางที่ ๑๐ คือมี กรรติเกยยะที่ มาในรูปของพระศรีอาริย, เป นบุ รุษที่ขี่ม าขาวมา ตัดป ญหาของ โลกทั้งหมดได เขามีพระศรีอาริยที่เขากําลังรออยู ในฝายฮินดูที่ถือพระนารายณ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เอาล ะ, เปน อัน วา ศาสนาไหนก็ต าม เข ายัง ทิ ้ง เงื ่อ น ไข ไว อั น หนึ่ ง ว า จะมี ค วามสู ง สุ ด ของความเจริ ญ หรื อ สิ่ ง ที่ ค วรปรารถนา ในอนาคต คื อ ความหมดเสี ย ซึ่ ง ป ญ หา ทั้ ง ทางฝ า ยวั ต ถุ แ ละฝ า ยจิ ต ใจ. ถ า ใน อนาคตทํ า ใหท างวัต ถุพ อดีส ะดวกสบาย แลว ก็ไ มลุ ม หลงกัน แลว ทางจิต ใจนี้ มัน ก็ห มดกิเลสดว ย ; คนที ่ห มดกิเลสเหลา นั ้น ก็ไดส ะดวกสบายดว ยวัต ถุเกื้ อ กู ล

www.buddhadassa.in.th


๔๕๔

การกลับมาแหงศีลธรรม

เต็มที่ เรียกวาหมดปญหาทั้งทางฝายวัตถุและจิตใจ ; เดี๋ยวนี้เรากําลังไมหมดปญหา ทั้งทางฝายวัตถุ และฝายจิตใจ ; ยิ่งเพิ่มปญหาทั้งฝายวัตถุและฝายจิตใจ. ถาม : พูดอยางนี้มองเห็นไหม ? อธิบายวาอยางไร ? เดี๋ยวนี้เรากําลังมีปญหา มากเพิ่มขึ้นทั้งทางฝายวัตถุและจิตใจ คุณประยูรวาอยางไร ? ตอบ : เดี๋ยวนี้เราทําอะไรไปตามอํานาจกิเลส, พอทําไปแลวก็เบียดเบียน ตนเอง อยู ต ลอดเวลา ; นั่ น คื อ ป ญ หาทางวั ต ถุ ที่ ต อ งแย งกั น ; และ ทางจิตใจก็คือเปนทุกข. ทางจิตใจ เรามีกิเลสมากขึ้น, ในทางฝายวัตถุ เราก็พั ฒ นาไปแตใน ทางส ง เสริ ม กิ เลสให ม ากขึ้ น ; เราจึ ง มี ป ญ หาทั้ ง ทางฝ า ยวั ต ถุ และฝ า ยจิ ต ใจ เพราะวาเรายังไมขึ้นไปถึงยอดสุดแหงพฤกษาของศีลธรรม. ถาเราจะพยายามทําไป ๆ ถึ งยอดสุ ด ของต น ไม แ ห งศี ล ธรรม เราก็ จ ะหมดป ญ หาทั้ ง ๒ อย างนี้ ฉะนั้ น จึ ง เปนอันวา เราไดพู ดถึง ใบ ดอก และผลของพฤกษาแหงศีลธรรม ในฐานะเป น มรรค ผล และนิพพาน คือที่จุดจบ หรือ ที่หมดสิ้นแหงปญหานั้นเอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เอาละพอกัน ที วา จุด ยอดของตน ไมแ หง ศีล ธรรม นั ่น คือ ความ หมดปญ หาโดยประการทั ้ง ปวง. นี ่ว ัน นี ้ก ็ไ ดพ ูด เลยเวลามากไป มัน เปน ความจําเปน ถาจะขยักไวสักนิดหนึ่ง มันก็คงจะลําบาก ในการที่จะพูดขึ้นมาอีก. เพราะฉะนั ้น ขอใหผู ฟ ง อดทนบา ง อยา เพอ โกรธ วา ทํ า ไมบางทีพ ูด ยาวไป, บางทีพ ูด สั้น ไป. มัน จํา เปน ที่จ ะตอ งพูด ใหห มดกระแสความ บางอัน จึงยาวไป. ขอใหเอาไปคิดใหไดรับประโยชนเต็มตามเรื่องที่ไดพูดไปทุกประการ. ขอยุ ติ ก ารบรรยายครั้ ง นี้ ไ ว เพี ย งเท า นี้ เป น โอกาสให พ ระคุ ณ เจ า สวด ธรรมสาธยาย ใหกําลังใจในการที่จะกาวขึ้นไปถึงจุดยอดสุด ของพฤกษาแหงศีลธรรม.

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม -๑๑๑๐ เมษายน ๒๕๑๙

การทําความเจริญงอกงามของศีลธรรม [ ปลูกฝง - รักษา - ดอกผล – แพรพันธุ]

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทานสาธุชน ผูมีความสนใจในธรรม ทั้งหลาย,

การบรรยายประจํ า วั น เสาร ใ นวั น นี้ คงกล า วไปตามหั ว ข อ ที่ เรี ย ก ว า ก ารก ลั บ ม าแ ห งศี ล ธ รรม ต อ ไป ต าม เดิ ม แต จั ก ได ก ล าว โดยหัวขอยอยวา การทําความเจริญงอกงามของศีลธรรม. [ทบทวนขอความครั้งที่แลวมา ไปจนถึงหนา ๔๖๒ ]

ท านทั้ งหลายจักต อ งทบทวน ถึงขอ ความที่ไดกลาวมาแลวในครั้ง กอ น วา เราไดก ลา วถึง ปญ หาทางศีล ธรรม ซึ่ง กํา ลัง มีอ ยูเฉพาะหนา ในที่นี้ ซึ่ง จะตอ งชว ยกัน แกไ ข เพื่อ ใหศีล ธรรมนั้น กลับ มา. เราจะ ตอ งรูจัก สิ่ง ที่ ๔๕๕

www.buddhadassa.in.th


๔๕๖

การกลับมาแหงศีลธรรม

เรียกวาศีลธรรม จนเพียงพอ ที่จะรูวาเปนความจําเปน ที่จะตองกลับมา ; เรา จึงไดพูดกันถึง ลักษณะของศีลธรรม และพูดถึงขอที่จะตองเขาใจอยางแจมแจง เกี ่ย วกับ ศีล ธรรม, และไดเ ปรีย บเทีย บเหมือ นกับ วา เปน ตน ไมต น หนึ ่ง ที ่จ ะ ตอ งชว ยกัน ทํ า ใหเ จริญ งอกงาม เปน เครื่อ งคุม ครองโลก. เพื ่อ ใหรูจัก ดีขึ้น ไปอีก ก็ไ ดพ ิจ ารณากัน เปน สว น ๆ วา ราก ของตน ไมม ัน เปน อยา งไร, ลํา ตน มัน เปน อยางไร, ใบ ดอก ผล เปน อยา งไร ; เพื่อ เราจะไดเขา ใจแจม แจง ถึง กับวา เรายังขาดสิ่งเหลานี้อยูหรือไม. เมื่อมองเห็นวาขาดอยูอ ยางไร ; ก็จะได ชวยกันทําใหเปนเหมือนกับวา ตนไมตนนี้จะเจริญดวยราก ดวยลําตน และดวยใบ ดวยดอก ดวยผล สําเร็จประโยชนแกมนุษยโลก. นี่คือ สิ่ง ที่ทา นทั้ง หลายจะตอ งทบทวน เพื่อ ใหเขา ใจ หรือ รูจัก สิ่ง ที ่จํ า เปน ที ่ส ุด ที ่ม นุษ ยจ ะตอ งมี. บางทา นอาจจะรู ส ึก เฉย ๆ เบื ่อ หนา ยหรือ เกียจคราน ที่จะสนใจกับสิ่งเหลานี้ ; แตแลวก็บนพร่ําอยูไมขาดปาก วาเดี๋ยวนี้ เต็มไปดวยความยุงยาก ความลําบาก เพราะการเบียดเบียนซึ่งกันและกัน มีความ ทารุณโหดรายเพิ่มมากขึ้นในสังคม ถึงกับวาไมนาจะอยู คือไมมีความปลอดภัย เอาเสียเลย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เราก็ม องเห็น ชัด เจนยิ่งขึ้น ดวยวา สภาพัน เลวทรามนี้ไดเพิ่มความ รุน แรงยิ ่ง ขึ ้น ทุก ที ; นี ่แ หละคือ สิ ่ง ที ่จ ะตอ งคิด กัน บา งวา ไมส นใจเรื ่อ ง ความมี ศี ล ธรรม แต แ ล ว ก็ บ น อยู ด ว ยโทษหรื อ อั น ตราย ที่ เกิ ด ขึ้ น เป น ประจํ า เพราะความไมมีศีล ธรรม ; อยางนี้มัน ก็ไมเปน ธรรม, ไมเปน ศีล ธรรม หรือ ไม ยุต ิธ รรม. ถา ไมต อ งการผลรา ยอัน เกิด จากความไมม ีศ ีล ธรรม ก็ต อ งชว ยกัน ปองกันแกไข หรือกําจัดสิ่งเหลานั้น.

www.buddhadassa.in.th


การทําความเจริญงอกงามของศีลธรรม

๔๕๗

เพราะฉะนั้ น อาตมาจึ งขอรอ งให ท านทั้ ง หลายสนใจ ให ส มกั บ ที่ ว า เป น ผู ส นใจในธรรม. การสนใจในธรรมในสมั ย นี้ ไม มี อ ะไรดี ก ว า เรื่อ งนี้ ; ไม มี อะไรจําเปน หรือเปนเรื่องดวนเทากับเรื่องนี้ คือเรื่องศีลธรรมที่กําลังหายไป และ เราจะตองชวยกันทําใหกลับมา. ....

....

....

....

เดี๋ ย วนี้ ก็ เป น ที่ ย อมรับ กั น แล ว ว า ทั้ ง โลกเป น เหมื อ น ๆ กั น หมดใน ขอนี้ คือขอที่ไมคอยจะมีศีลธรรมนั่นเอง ; โลกมีความเจริญ หรือจะเรียกวาความ รุงเรืองมากมาย แต เป น ไปในทางที่ ไม ทํ าให มี ศี ล ธรรม ยิ่งเจริญ ด วยความเจริญ ทํ า นองนั ้น ศีล ธรรมก็ยิ ่ง หายไป ; เราจึง เห็น ได หรือ แมแ ตไ ดย ิน ไดฟ ง ใน ลักษณะที่เชื่อได วาโลกนี้กําลังเปนโลกของวิกฤติการณ คือมีความระส่ําระสาย วุนวาย หาความสงบสุขมิไดทั่วไปทั้งโลก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org องค การระหวางชาติที่ จัดขึ้นเพื่ อแห ป ญ หาในโลก ก็ไม สามารถจะแก อะไรได เพราะว า คนในโลกไม ม ี ศ ี ล ธรรม ; แม แ ต เ จ า หน า ที ่ ที ่ ป ระจํ า องคการนั้น ๆ ก็ยังมีผูที่ไมมีศีลธรรม เพราะวาทําไปแตเพื่อประโยชนแกพวกของ ตัว หรือ วา แกป ระเทศของตัว . ในที ่ป ระชุม ที ่จ ะทํ า สัน ติภ าพใหแ กโลกนั ่น แหละ ถาไมมีศีลธรรมเสียเองแลวจะทําโลกนี้ใหมีสันติภาพไดอยางไร.

เราควรจะพูด กัน ไดเ สีย ทีแ ลว วา โลกนี ้กํ า ลัง ไมม ีที ่พึ ่ง . คนชว ย กัน ทํ า ใหเ ปน โลกที ่ไ มม ีศ ีล ธรรม, ไมม ีพ ระเจา , ไมม ีพ ระเปน เจา เขา มาชว ย คุมครองได ; และคนสวนใหญ ก็เกลียดพระเจา ถือเสียวาพระเจาตายแลว หรือ ไม มี ค วามหมาย ไม มี ป ระโยชน ไม มี ค วามจํ า เป น อะไรที่ เราจะต อ งมี พ ระเจ า .

www.buddhadassa.in.th


๔๕๘

การกลับมาแหงศีลธรรม

คนจํานวนมากเขาพูดกันอยางนี้ ; โชคดีอยูหนอยวา ในเมืองไทยนี้ยังไมเปนถึง อยางนั้น. แตในที่สุดก็ไดรับผลอันเลวรายนี้เสมอ ทั่ว ๆ กันไปหมด เพราะวา โลกสมัยนี้มันเล็กนิดเดียว ; ความกาวหนาทางคมนาคม เปนไปมากเทาไร โลก นี้ก็เล็กลงไปตามสัดสวนอันนั้น. โลกนี้ยิ่งเล็กลงทุกวัน ๆ ตามสวนแหงความกาวหนาของการคมนาคม การติ ด ต อ การแลกเปลี่ ย น, การสั ม พั น ธกั น โดยประการใด ๆ ก็ ต าม. เมื่ อ มี วิก ฤติ ก ารณ เกิด ขึ้น ที่ ไหนก็ แผ ซ านไปทั่ วโลกได ในเวลาอั น สั้ น ; ความกระทบ กระเทือ นเหลา นี้ ก็ถึง กัน หมด มีค วามเดือ ดรอ นถึง กัน หมด. เปน อัน วา สิ่ง เหลา นี้เปน ปญ หาของโลก ซึ่งไมมีใ ครจะปลีก ตัว ออกไปใหพน ได เราจึง สมควรที ่ จ ะหยิ บ ขึ้ น มาเป น ป ญ หา ที ่ จ ะช ว ยแก ไ ข. นี ่ ค ื อ ป ญ หาทาง ศีล ธรรม ซึ่งมีอยูในโลกนี้ใ นเวลานี้ ; เราอาจจะทาทายไดวา ไมมีท างอื่น ที่ จะทําโลกนี้ใหสงบสุขได นอกจากการแกไขทางศีลธรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทางการเมือ งก็ไ มมีท างที่จ ะชว ยใหโ ลกสงบสุข ได ; มีแ ตจ ะยิ่ง เลวราย เพราะวายิ่งมีคนไมมีศีลธรรมเปนผูดําเนินการเมือง. ทางเศรษฐกิจก็ไม อาจจะชวยโลกนี้ใหสงบสุขได ; เพราะวายิ่งมีคนไมมีศีลธรรมเปนผูดําเนินการ เศรษฐกิจ. แมจะมองไปยัง ความเจริญกาวหนาของการศึกษา ที่เปนเหตุของ การประดิษ ฐสรางสิ่งตาง ๆ ขึ้นมา นี้ก็ไมมองเห็นวา จะชวยใหโลกนี้มีสันติภาพได ; เพราะค น คว า ประดิ ษ ฐ กั น แต ใ นสิ่ ง ที่ ส  ง เสริ ม ความไม มี ศีล ธรรม คือ สงเสริม สิ่งเอร็ด อรอ ยทางเนื้อ หนัง ที่เราเรียกกัน วา กามารมณ นั่นเอง.

www.buddhadassa.in.th


การทําความเจริญงอกงามของศีลธรรม

๔๕๙

เขาผลิตกันแตสิ่งนี้ เพราะวาสิ่งนี้มันขายดี มีผูตองการมาก. ทําไม สิ่งนี้จึงขายดีมีผูตองการมาก ? ก็เพราะวามันตรงกันกับกิเลสของคนทุกคน ที่มี กิเลสหนายิ่งขึ้นทุกที. ทํ า ไมคนจึง มีก ิเ ลสหนายิ ่ง ขึ ้น ทุก ที ? เพราะมัน อบรมกัน อยู แ ต ในสิ ่ง เหลา นี ้ ; ไมม ีสิ ่ง ที ่จ ะควบคุม กิเ ลส ปราบปรามกิเ ลส แกไ ขกิเ ลส เอาเสีย เลย. คนในโลกก็ยิ่ง เปน ทาสของกิเ ลสมากขึ้น จนเต็ม ไปทั ้ง โลก ; ดังนั้น สินคาที่จะสงเสริมกิเลส จึงเปนสินคาที่ขายดี ; ผูมีปญญาในทางประดิษฐ ก็ประดิษฐแตสิ่งเหลานี้. อีก ทางหนึ ่ง ถา ไมเปน ไปอยา งนี ้ ก็ป ระดิษ ฐก ัน แตเครื่อ งมือ ที ่จ ะ บี บ คั้ น ผู อื่ น ทํ าลายผู อื่ น ให พ ายแพ แ ก ต น จนถึ งกั บ วา จะตั้ งตั วเป น เจาโลก. การทําอยางนี้ ทําอยางไร เทาไร มัน ก็ไมทําใหโลกนี้มีสัน ติสุขได ; เปน อัน วา เราไมมีหวังที่จะมีสันติสุข ดวยอํานาจของการประพฤติ หรือการกระทํา หรือความ กาวหนาในสิ่งตาง ๆ ที่เขากําลังทํา ๆ กันอยู อยางกาวหนา ราวกับวาวิ่งไปทีเดียว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ข อ นี้ ห มายความว า ไม ใช ก า วหน า อย า งช า ๆ ; แต ก า วหน า อย า ง รวดเร็ว เหมือนกับวิ่งไปเลยทีเดียว ; แตแลวมันก็วิ่งเขาไปสูวิกฤติการณ คือความ ยุ ง ยาก ลํ า บาก ระส่ํ า ระสาย โกลาหล วุ น วาย. นี ้เ รีย กวา สภาพปจ จุบ ัน ของโลกที่กําลังเปนอยูนี้. ถาผูใดยอมรับ ขอเท็จจริงอันนี้ ผูนั้นคงจะสลดสังเวช เปน แนน อน ; มีค วามรูส ึก สลดสัง เวชมนุษ ยนั ่น แหละ วา กํ า ลัง จะวิน าศ จะไมมีค วามเปน อยูอ ยา งมนุษ ย คือ อยูดว ยความสงบสุข หรือ อยูดว ยจิต ใจ ที่สูงอยูเหนือกิเลสได. ....

....

....

....

www.buddhadassa.in.th


๔๖๐

การกลับมาแหงศีลธรรม

อาตมาขอยืน ยัน อีก ครั ้ง หนึ ่ง วา ถา ทา นผู ใ ดไมม ีค วามรู ส ึก หรือ มองเห็ น ข อ นี้ ก็ จ ะไม ส ลดสั ง เวชในข อ นี้ ; แล ว ท า นก็ จ ะไม ส นใจในการแก ไ ข ป ญ หาทางศี ล ธรรม. แม ว า อาตมาจะพยายามพู ด ถึ ง สิ่ ง เหล า นี้ อย า งชั ด เจน ละเอี ยดลออสั กเท าไร ; ท านก็ จะหาวา เป นการพู ดที่ ละเมอเพ อฝ นบ า ๆ บอ ๆ ไป ไมรูจักสิ้นสุดเทานั้นเอง ; เรื่องมันก็จบกัน คือไมมีทางชวยกันแกไขปญหา ทางศีลธรรม. ฉะนั้ น จึ งหวั งอยู ได แต เพี ยงว า ท านผู ใดมองเห็ น ข อ เท็ จจริงอั น นี้ แล ว มี ค วามรูสึ ก ผิ ด ชอบชั่ ว ดี อ ยู ในตน รูจั ก รับ ผิ ด ชอบในส ว นที่ ค วรจะรั บ ผิ ด ชอบแล ว นั ่น แหละคงจะนึก สลดสัง เวชแลว ก็จ ะยิน ดีม ารว มมือ กัน แกไ ขสิ ่ง เลวรา ยใน โลกนี ้ ซึ ่ง เลวรา ยมากเกิน กวา ที ่จ ะเรีย กวา เสนีย ดจัญ ไร อุป ท วะ หรือ อะไร ๆ ที่ เคยเรี ย กกั น มาก็ ได เพราะว า มั น จะมี ค วามวิ น าศเอาที เดี ย ว, วิ น าศอย า งไม มี อะไรเหลือ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เมื่ อ โลกนี้ ไ ม มี ม นุ ษ ยธรรม คื อ ธรรมะสํ า หรั บ มนุ ษ ย แ ล ว มั น ก็ ไ ม มี มนุษ ย. นี้เ รีย ก โลกนี้มัน วิน าศ เพราะไมม ีม นุษ ย ; มีแ ตสัต วอ ะไร ก็ไ มรู ซึ่งทํ าความยุงยาก ลํ าบาก เดื อดรอน กระวนกระวาย ให แก โลกยิ่ งขึ้นทุ กที . นี้ เรา เรียกวา โลกวินาศในสวนจิตใจกอน ; ความเป นมนุษยก็หายไปแลว เหลื อแตสัตว อะไรก็ไมรู. ทีนี้สัตวทั้งหลายเหลานั้นแหละ จะฆาฟนจะทําลายลางกัน ในลักษณะ ที่เรียกกันวามิคสัญญี อีกสักครั้งหนึ่ง ; เหลือมีชีวิตรอดอยูในโลกนี้ไม กี่คน สําหรับ จะกลั บ ตั ว กั น เสี ย ใหม และตั้ ง ต น กั น เสี ย ใหม . ถ า เป น อย า งนี้ ก็ ต อ งเรี ย กว า มั น สายเกินไป สายเกินไปสําหรับการปองกัน.

www.buddhadassa.in.th


การทําความเจริญงอกงามของศีลธรรม

๔๖๑

เราไม ค วรจะปล อ ยให มั น เป น ไปถึ ง อย า งนั้ น มาร ว มมื อ กั น ป อ งกั น และแก ไ ขไปเรื่ อ ย ๆ จะเป น การถู ก ต อ งกว า . เพราะเหตุ นี้ แ หละ อาตมาจึ ง พยายามสุดความสามารถ สุดกําลัง สุดความคิด ที่จะพูดกันถึงเรื่องศีลธรรม ซึ่ง สรุป เปน ใจความสั้น ๆ วา การกลับ มาแหง ศีล ธรรม, และยัง ทา ทายตอ ไป อีกทางหนึ่ งวา ในการบํ าเพ็ ญ บุ ญ กุ ศลอะไรก็ ตาม ในเวลานี้ ในยุ คนี้ ไม มี บุ ญ กุ ศล ชนิ ดไหน จะดี จะสูง จะประเสริฐ เท ากั บ บุ ญ กุ ศ ลที่ ทํ าไป เพื่ อ การกลั บ มาแห ง ศีลธรรม. ขอ นี ้ข อใหเ ขา ใจใหถ ูก ตอ ง วา อาตมาไดก ลา ววา ไมม ีบ ุญ กุศ ล ชนิ ด ไหนจะดี จะประเสริ ฐ หรื อ สู ง สุ ด เท า กั บ บุ ญ กุ ศ ลที่ ทํ า ไปเพื่ อ การกลั บ มา แห ง ศี ล ธรรม ; ไม ไ ด พ ู ด ว า สิ ่ ง อื ่ น ๆ ไม เ ป น บุ ญ ไม เ ป น กุ ศ ล. ข อ นี้ เคยถู ก เขาด า เขาว า เขาหา มาหลายครั้ ง แล ว ว า อาตมาพู ด ว า สร า งวั ด ก็ ไ ม เปน บุญ สรา งโรงเรีย นก็ไ มเ ปน บุญ ทํ า อะไรก็ไ มเ ปน บุญ นอกจากทํ า ให บุคคลเปนสัมมาทิฏฐิ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ที ่ จ ริ ง ก็ ไ ด พ ู ด ว า ไ ม ม ี อ ะ ไ ร เ ป น กุ ศ ล สู ง สุ ด เ ท า กั บ ทํ า บุ ค ค ล ใ ห ม ี ส ั ม ม า ทิ ฏ ฐิ ; แ ต ก ็ ไ ม ไ ด พ ู ด ว า ส ร า ง โร ง เรี ย น ไม ไ ด บ ุ ญ สรา งโบสถไ มไ ดบ ุญ สรา งวัด ไมไ ดบ ุญ ไมไ ดพ ูด อยา งนั ้น . คนที ่เ มาบุญ ประเภทนั้ น หู เชื อ นแชไปเอง ก็ เลยได ยิ น ไปว า อาตมาว า สรา งวั ด ไม ได บุ ญ สร า ง โรงเรี ย นไม ไ ด บุ ญ . นี่ ก็ เหมื อ นกั น แหละ มั น จะเข า รู ป นั้ น อี ก ก็ ไ ด ; คื อ อาตมา กํ า ลั ง กล า วว า การบํ า เพ็ ญ บุ ญ อย า งอื ่ น นั ้ น ไม ด ี ไม เ ลิ ศ ไม ป ระเสริ ฐ ไมสูงสุด เทากับการทําใหศีลธรรมกลับมา.

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๔๖๒

ใครจะทําบุญ สมมติวาลงทุนสักรอยบาท ก็ทําไดตาง ๆ นานา ชนิด ซึ่งจะเรียกวาเปนบุญดวยกันทั้งนั้น ; แตถาใชเงินรอยบาทนั้นใหเปนไปในทางที่ ศีลธรรมจะกลับมาแลว จะถือวาเปนบุญกุศลอันสูงสุดสําหรับยุคนี้ สําหรับสมัยนี้ สําหรับแกปญหาของพวกเราในปจจุบันนี้ทีเดียว. ถา ทา นผูใ ดมองเห็น เขา ใจในขอ นี้แ ลว ก็ข อไดรีบ ทํา บุญ ทํา กุศ ล กัน ในลัก ษณะเชน นี ้เ ถิด คือ ทํา อะไรก็ส ุด แท ตามความรู ตามสติป ญ ญา หรือตามเหตุปจจัย ที่จะพึงแสวงหามาได ; ขอแตใหกระทําไปเพื่อการกลับมา แหงศีล ธรรม. จะกลับ มาไดอ ยางไร เราก็ไดวิพ ากษวิจารณ วินิจ ฉัย กัน มา มากพอสมควรแลว ; ขอใหทบทวนขอเท็จจริงเหลานั้น แลวก็กระทําไปตามที่ จะทําได. [เริ่มการบรรยายโดยหัวขอแหงครั้งนี้ ]

การทําความเจริญงอกงามของศีล www.buddhadasa.in.th ธรรม www.buddhadasa.org การบรรยายเรื่องนี้เปน ครั้งที่ ๑๑ ทั้ง ครั้งนี้ ลวนแตพูด กัน ถึงเรื่อ ง

ศีลธรรม ; มาในวันนี้ก็จะพูดถึง

ตอจากเรื่องที่ไดพูดแลวในวันกอน ๆ.

เรื่องสําคัญที่ไดพูดแลวก็คือวารากฐานของศีลธรรมเปนอยางไร, ตน ลําของศี ลธรรมเป น อยางไร, ใบ ดอก ผล ของศีลธรรมเป น อยางไร. สมมติ เปนตนไม แลวเรารูจักสวนตาง ๆ ของตนไมวาเปนอยางไร ตองการอะไร แลว ก็จะไดชวยกันทําใหมีความถูกตองแกสิ่งนั้น ๆ หรือสวนนั้น ๆ.

www.buddhadassa.in.th


การทําความเจริญงอกงามของศีลธรรม

๔๖๓

ในวั น นี้ ก็ จ ะได ก ล า วโดยสรุป รวมเข า ด ว ยกั น ว า จะทํ า ความเจริ ญ งอกงามแก ต  น ไม แ ห ง ศี ล ธรรมนั ้ น อย า งไร เช น จะตั้ ง ป ญ หาว า ข อ ที ่ ๑. ทํ า อย า งไรจึ ง จะเพาะปลู ก ต น ไม แ ห ง ศี ล ธรรมขึ ้ น มาได ใหม ? หลัง จากที ่ม ัน เหี ่ย วแหง ตายไปเกือ บจะหมดโลกอยู แ ลว . ขอ นี ้ต อ งรวม ถึง การเลือ กพัน ธุ  เลือ กดิน เลือ กปุ ย อะไร ๆ ดว ยเปน ธรรมดา ; เรีย กวา จะ เพาะปลูก มัน อยา งไร ; ขอ ที ่ ๒ จะบํ า รุง รัก ษามัน ไดอ ยา งไร ; ขอ ที ่ ๓ ก็ว า จะทํ า ใหม ัน ออกดอก ออกผล แลว ผลมัน ติด จนกระทั ่ง มัน สุก งอมกิน ไดนั ้น อยา งไร ; ขอ ที ่ ๔ ซึ ่ง เปน ขอ สุด ทา ยนั ้น ก็จ ะมีป ญ หาวา จะแพรพ ัน ธุ ข อง ตน ไมแ หง ศีล ธรรมนี ้ ใหแ พรห ลายตอ ไป ใหเ ต็ม ทั ้ง โลกไดอ ยา งไร ; นี ้เ ปน ขอสุดทายและเห็นวาควรจะพอกันที. ทบทวนอีก ครั ้ง หนึ ่ง ก็ค ือ วา เราจะเพาะปลูก มัน อยา งไร ? เรา จะบํ า รุ ง รั ก ษามั น อย า งไร ? เราจะทํ า ให มั น ผลิ ด อกออกผล และผลนั้ น ติ ด “ไม กระเทาะหน า แว น หล น เสี ย เปล า ๆ” นี้ อ ย า งไร ? ให มั น อยู ไ ด จ นสุ ก งอมกิ น ได ; และขอ สุด ทา ย ก็จ ะแพรพ ัน ธุ ผ ลไมนี ้ใ หม ัน ทั ่ว ไปทั ้ง โลก ไดอ ยา งไร ? นี ่ค ือ ขอที่จะตองวิสัชนากันใหละเอียดแจมแจง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เพื ่อ จะตอบปญ หาเหลา นี ้, ก็จ ะตอ งมองดูซ้ํ า ลงไปอีก ครั ้ง ที ่สิ ่ง ต า ง ๆ ที่ มั น เกี่ ย วเนื่ อ งกั น อยู ที่ เป น รายละเอี ย ดอยู อี ก ส ว นหนึ่ ง ซึ่ ง อาจจะลื ม กั น เสียแลวก็ได จึงจะขอทบทวนอยางยอ ๆ อยางไมรูจักเบื่อหนายในการทบทวนเชนนี้.

ตน ไมข อ งศีล ธ รรม นี ้ม ีร าก ฐ าน คือ อุด ม ค ติที ่ถ ูก ตอ ง ; ตน ไม ศี ล ธรรมมี ลํ า ต น หรื อ ต น ลํ า ของมั น คื อ การปฏิ บั ติ ที่ ถู ก ต อ ง ; และ ใบ ดอกผล

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๔๖๔

ของมัน ก็ค ือ สัน ติส ุข หรือ สัน ติภ าพชนิด ที ่แ ทจ ริง ไมใ ชช นิด ที ่ห ลอก ๆ กัน เหมือ นกับ ที ่กํ า ลัง พูด กัน อยู ใ นปจ จุบ ัน นี ้ ; วา ตน ไมข องเราตอ งมีร ากฐานเปน อุดมคติ คือความเขาใจที่ถูกตองจริง ๆ, มีลําตนเปนการปฏิบัติที่ถูกตองจริง ๆ, มีผล ออกมาเปนสันติสุข และสันติภาพอันแทจริง. เราทบทวนแลวก็จะทําให สิ่งเหลานี้ถูก ประยุกตขึ้นมา คือทําใหมันเกิดมีขึ้นจริง ๆ ไมใชเพียงแตรู และก็พูดเทานั้นเอง. ....

....

....

....

ที นี ้ ก ็ จ ะ พู ด ส ว น ที ่ เ ป น ร า ก ฐ า น ที ่ เ ป น อุ ด ม ค ติ ซึ ่ ง จ ะ ต อ ง ทบทวนว า ต น ไม จ ะต อ งอาศั ย ดิ น อาศั ย น้ํ า อาศั ย ปุ ย อาศั ย แสงสว า ง อาศั ย อุณหภูมิ ที่ถูกตอง. ถาม : รากฐานที่ ๑ คื อ อะไรที่ เราควรจะเปรี ย บได กั บ แผ น ดิ น อั น เป น ที่อาศัยของตนไมแหง ศีลธรรม คุณทอง ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : ธัมมสัจจะขอที่วา “สัตวทั้งหลายในโลกนี้เปนเพื่อนรวม เกิด แก เจ็บ ตาย ซึ่งกันและกัน”.

ธั ม มสั จ จะของธรรมชาติ อั น หนึ่ ง ที่ ว า “สั ต ว ทั้ ง หลายเป น เพื่ อ นทุ ก ข เกิด แก เจ็บ ตาย ดว ยกัน ทั ้ง หมดทั ้ง สิ ้น ”, ที ่เรีย กวา ธัม มสัจ จะ นี ้ ไมใ ชเรา ว า เอาเอง ธรรมชาติ มั น กํ า หนดให หรื อ ว า ธรรมชาติ มี อ ยู อ ย า งนั้ น มั น ไม ย อม เปลี่ ย นแปลงเป น อย า งอื่ น ; ไม ใ ช ห วั ง ประโยชน อ ะไร เรามองไปตามที่ มั น เป น ธรรมชาติ อ ยู เราก็ ยั งมองเห็ น วา “สิ่ งที่ มี ชี วิต ทั้ ง หลายนี้ มั น เป น เพื่ อ นทุ ก ข เกิ ด แก เจ็บ ตาย แกกันและกันดวยกันทั้งหมดทั้งสิ้น”.

www.buddhadassa.in.th


การทําความเจริญงอกงามของศีลธรรม

๔๖๕

ไปดู เอาเองให เข า ใจ ว า มั น เหมื อ นกั น หั ว อกเดี ย วกั น , ป ญ หาอย า ง เดียวกัน และมันอยูลําพังคนเดียวไมได, ลําพังตัวเดียวไมได, ลําพังตนเดียว ก็ไมได. สิ่งมีชีวิต เปน มนุษ ยก็ดี สัต วเดรัจ ฉานก็ดี เปน ตน ไมทั้ง หลายก็ดี ที ่ม ัน มี ชี วิ ต นี่ ; มั น มี อ ยู เป น อยู อย า งที่ เรีย กว า “เป น เพื่ อ นทุ ก ข เกิ ด แก เจ็ บ ตาย ด ว ยกั น ทั้ ง หมดทั้ ง สิ้ น ” ; แม เราจะไม พู ด อย า งนี้ แม จ ะไม มี ใ ครมาสอนอย า งนี้ ธรรมชาติม ัน ก็ย ัง เปน อยา งนั ้น . ขอใหไ ปมองเห็น ขอ นี ้เสีย กอ น แลว ก็จ ะเขา ใจ ว า มั น มี ค วามจํ า เป น กี่ ม ากน อ ย ที่ จ ะต อ งมี ธั ม มสั จ จะข อ นี้ ตั้ ง อยู ใ นฐานะเป น อุดมคติ. ขอใหท บทวน และขอใหม องสอดสอ งออกไปใหทั ่ว ทุก ทิศ ทุก ทาง ว า สิ่ ง เลวร า ย ที่ อ าชญากรทั้ ง หลายกํ า ลั ง ประพฤติ กระทํ า อยู ใ นโลกนี้ ; ถ า อาชญากรแต ละคน ๆ นั่ น มั นมองเห็ นธั มมสั จจะอั นนี้ วา “สั ตวทั้ งหลายเป นเพื่ อน ทุก ข เกิด แก เจ็บ ตาย ดว ยกัน ทั ้ง หมดทั ้ง สิ ้น ” แลว , มัน จะทํ า ลงหรือ ไม ? จะประกอบอาชญากรรมฆ า ฟ น ทํ า ลายชี วิ ต ผู อื่ น ได ห รื อ ไม ? แม ที่ สุ ด แต จ ะทํ า คอร รั ป ชั่ น อย า งที่ เจ า หน า ที่ ทั้ ง หลายกระทํ า กั น อยู อ ย า งนั้ น จะทํ า ลงหรื อ ไม ? เพราะรูดีวา คอรรัปชั่นทั้งหลายนี้ มันทําความลําบากใหแกผูอื่น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org หรื อ ถ า เขามี น้ํ า ใจที่ สู ง มาก เขาก็ ค งจะคิ ด ว า “เราเป น เพื่ อ นทุ ก ข เพื ่อ นยาก แกเพื ่อ นมนุษ ยทั ้ง หลายเถิด ; อยา มาเปน คนคดโกงร่ํ า รวยคนเดีย ว ใหร วยเปน พิเ ศษเลย แมเ พีย งคอรร ัป ชั ่น ก็ทํ า ไมไ ด”. นี ่ข อใหค ิด ดูว า นี ้เ ปน รากฐานอันสําคั ญ อยางไร สําหรับความคิ ดที่วา “สัตวทั้ งหลายเป นเพื่ อนทุ กข เกิ ด แก เจ็ บ ตาย ด ว ยกั น ทั้ งหมดทั้ งสิ้ น ” เช น นี้ . นี่ ข อ แรกเปรีย บเหมื อ นกั น แผ น ดิ น

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๔๖๖

ไดแกความมีน้ําใจกวางขวาง ยอมรับเอาธัมมสัจจะของธรรมชาติในขอที่วา “ทุก คนเปนเพื่อนทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันทั้งหมดทั้งสิ้น”. ....

....

....

....

ทีนี้ คนอื่น มีม ากกวาเรา เราคนเดีย วเทานั้น ; ฉะนั้น ประโยชน ของผูอื่นนั่นแหละควรจะสําคัญกวาประโยชนของเรา, หรือประโยชนของคนทั้ง โลกนั่นแหละ ควรจะสําคัญกวาประโยชนของเรา. เราอาจจะยอมเสียสละประโยชน ของเรา เพื่อใหคนทั้งโลกไดรับประโยชน อยางนี้ก็ได ; ถาคิดไปไดไกลอยางนี้ แลว ก็จะรองออกมาทีเดียววา จริงแลว, ถูกแลว ที่ทานสอนวา ใหรักผูอื่นยิ่ง กวาตัว, ที่ทานสอนใหเห็นประโยชนผูอื่นยิ่งกวาตัว. อยางที่คริสตังเขาถือ วา รับ ใชผูอื่น นั้น คือ รับ ใชพ ระเจา , รับ ใชตัว เองนั้น คือ รับ ใชพ ญามาร ; หมาย ความวา เห็นแกผูนั้น แหละคือ ทําเพื่อ พระเจา, แตเห็นแกตัวเองนั้น คือ ทํา เพื่อ ยัก ษเพื่อ มาร เพื่อ กิเลสตัณ หาของตัว. นี่คือ รากฐานของศีล ธรรม ที่เรา จะตองทําใหมีขึ้นมา คือใหมันเปนสิ่งที่ประยุกตขึ้นมาได อยาใหเปนแตคําพูด.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : ปญญามองเห็นกันอยางไร จึงจะประยุกตธัมมสัจจะขอนี้ขึ้นมาใหเปน ความจริง ; คุณประยูรออกความเห็นกอน ประยุกตขึ้นมาอยางไร มัน จึงจะมีอยูในโลกนี้ ?

ตอบ : เราตองเริ่มตั้งแตในครรภ เรียกวา เริ่มตั้งแตเด็กอยูในครรภ เพื่อเปน การเลื อ กพั น ธุ ที่ ดี ตามแบบที่ เราวา หาพั น ธุที่ ดี ๆ ตั้ งแต เมื่ อ เริ่ม ตั้ ง ครรภ. แมก็ค วรจะไดมีค วามเมตตา ; ยกตัว อยา งวา ไมทํา การ ฆาสัตวเมื่อตั้งทอง เปนการประยุกตที่ทําตั้งแตขั้นตน แลวพอคลอด ออกมา....

www.buddhadassa.in.th


การทําความเจริญงอกงามของศีลธรรม

๔๖๗

ถาม : แลวพอไมมีบางหรือ ? ตอบ : พอก็ตองไมทําชั่วดวยเหมือนกัน เอาในระยะนั้นกอน ถาหากวาทําไป ได ต ลอดไป ในระยะที่ ภรรยามี ค รรภ โดยการเอาอกเอาใจภรรยาไป ดวย โดยการไมทําชั่วใหภรรยาเจ็บช้ําน้ําใจดวย. จะขอสอดแทรกตรงนี้ ห น อ ยว า ได เ คยอ า นพบในพระคั ม ภี ร ใ น ประเทศอิน เดีย เปน วัฒ นธรรมโบราณเกา แก. พอแมบ า นตั ้ง ครรภ เขาก็จ ะ เชิญ พราหมณ พระนั กบวชทั้ งหลายนี่ มาทําพิ ธีสําคัญ อยางยิ่งพิ ธีห นึ่ง เรียกวา พิธ ีค ัพ ภปริห าร, ครรภบ ริห ารนั ่น แหละ ; มีก ารทํ า อยา งเต็ม ที ่ต ามความเชื ่อ ความคิ ด ความยึ ด ถื อ ของคนสมั ย นั้ น ที่ จ ะทํ าให ค รอบครัวนั้ น ในขณะที่ มี ผู ตั้ ง ครรภ ขึ้นมาแลวนี้ ประกอบไปดวยความดี ดวยบุ ญ ดวยกุศล ดวยความสวัสดี ความมีโชคดี อะไรตาง ๆ เรียกวาพิธีคัพภปริหาร.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี่อยูในเรื่องนี้ อยูในเรื่องที่ คุณ กําลังพู ดวา จะตอ งเลือกพั นธุที่ดีเมื่ อ มีครรภ แลวจะต องประคบประหงม ใหครรภ นั้ นเป นไปอยางดี อยางน อยก็เป น ไปอย า งปรกติ . พ อ แม อย า กิ น เหล า อย า เล น ไพ อย า ทํ า อะไรชนิ ด ที่ เลวรา ย เปนความรูสึกที่ต่ําทราม แลวลูกในครรภมันจะปรกติ อยางนอยมันก็จะปรกติก็ได อาจจะดียิ่งกวาปรกติก็ได ; ทั้งทางรางกายและจิตของทารกในครรภ. ถาม : พูดตอไปใหจบ วาทําอยางไรตอไป ? ตอบ : เมื่อคลอดออกมาแลว เราก็ตองบํารุงรักษาใหศีลธรรมมันเจริญ งอกงาม ต อ ไปอี ก ก็ คื อ เราเลี้ ยงดู เด็ ก เล น ๆ ตั้ งแต แบเบาะ จนกระทั่ งคื บ คลาน

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๔๖๘

ได จนกระทั ่ง เติบ โต ใหอ ยูทา มกลางความเมตตากรุณ าตลอด เวลา เปนตนวา พอเด็กเริ่มรูจักจะเลนกับสัตวเล็ก ๆ เราก็เริ่มสอน ใหเด็กอยาไปรังแกสัตวอยาไปเบียดเบียนสัตว ; เปนตนวา ตัวผีเสื้อ ซึ่งสวย ๆ งาม ๆ ซึ่งเด็กชอบเลน เราก็ไมใหเด็กไปเลน ไปทําลาย. ใหรูจัก ของที่ส วยงาม, ใหเริ่ม รูจัก รัก ชีวิต ผูอื่น นอกจากเรา ตั้ง แต เล็ก ; นั่นเปนการอบรมเมื่อเด็ก ๆ. เราจะเห็นวาเด็กเล็ก ๆ มีสัญชาตญาณติดมาในสันดาน โดยไมตอง สอน. ถาเห็นแมลงตัวเล็ก ๆ คลานเขามามันก็จะบี้ มันก็จะทุบดวยความรูสึก ของสัญชาตญาณ. นี่ควรจะสนใจในขอนี้วา สัญชาตญาณตามธรรมดานั้น มัน กลัวตาย ; ถาอะไรเขามาในลักษณะที่นาระแวง วาจะมาทําอันตรายแกเราแลว มันก็จะเกิดการตอสู. ฉะนั้นเด็ก ๆ จึงรูจักตอสู หรือทําลายชีวิต สิ่งที่เขามาใน ลักษณะที่เปนอันตราย ; เขาจึงรูจักตบยุง รูจักอะไรตาง ๆ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เราจะตองสอนใหเขารูวา นั่นเขากําลังทําอะไร, หรือเขาควรจะทําให ดีก วา นั้น นั้น จะตอ งทํา อยา งไร ; ใหเกิด การแวดลอ มเด็ก ทารกแบเบาะ ทั้ง ทางตา ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย กระทั่งทางจิต ใหเกิดความรูสึก ชนิด ที่เรียกวาเปนศีลธรรม มีศีลธรรม ประกอบอยูดวยศีลธรรม เรื่อย ๆ มา ใหสุด ความสามารถที่จะทําได ; เด็กนี้ก็จะมีความเจริญงอกงามเพื่อศีลธรรม. ถาม : ตอไปทําอยางไรอีก ? ตอบ : ต อ ไปก็ วั ย เข า โรงเรีย น : เมื่ อ เด็ ก ได รับ การอบรมศึ ก ษาเล า เรี ย นใน โรงเรีย น ชั่ วระยะที่ อ ยู โรงเรีย นนั้ น , เป น เรื่อ งของระบบการศึ ก ษา

www.buddhadassa.in.th


การทําความเจริญงอกงามของศีลธรรม

๔๖๙

และครู ผู ดู แ ล ก็ น า จะได เสริ ม เพิ่ ม เติ ม ถึ ง การที่ ไ ม เ บี ย ดเบี ย นผู อื่ น เพราะเด็ก เริ ่ม วัย หนุ ม ขึ ้น มาแลว . เราจะชี ้เ พิ ่ม เติม ถึง โทษหรือ ภัย ของการเบีย ดเบีย นทํ า ความเดือ ดรอ นแกผู อื ่น นั ้น มีโ ทษภัย อยา งไร บ า งแล ว ก็ จ ะเดื อ ดร อ นมาถึ ง เราด ว ยอย า งไร ; แล ว ก็ รั บ ช ว งศี ล ธรรม ตลอดไป ถึงที่โรงเรียนดวย. คํ า วา “วัย เรีย น” นี ้ เราจะตอ งขยายเวลาออกไป นับ ตั ้ง แตเ วลา ที ่ เ ข า โรงเรี ย นได จ นเข า มหาวิ ท ยาลั ย จนเป น คนหนุ  ม คนสาวเต็ ม ที ่ จะ ตองไดรับการอบรมทางศีลธรรม ควบคูกันไปกับวิชาชีพทั้งหลาย. เราได สั ง เกตเห็ น ว า สมั ย ก อ นแม พ วกฝรั่ ง เองก็ ต าม เทิ ด ทู น บู ช า ความเป น สุภ าพบุ รุษ ในฐานะเป น ผลสุดยอดของการศึ กษา ; แม ในระดับ มหาวิทยาลัยอยางที่เคยไดยินไดฟง. ไดเอามาบอกกลาวกันหลายหนแลววา สุดทาย ปลายทางของการศึกษาในมหาวิทยาลัยสําเร็จแลวก็คือ เปนเพียงสุภาพบุรุษ เปน สุ ภ าพบุ รุษ อั น แท จ ริง ไม ใช เพื่ อ มี ป ริญ ญาอาชี พ นั่ น นี่ แล ว รีบ ไปทํ า งานหาเงิน มาก ๆ อยางที่คนเดี๋ยวนี้ตองการ, อยางมหาวิทยาลัยปจจุบันนี้เขานิยมกันอยางนั้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org การศึ ก ษาระบบโน น มุ ง หมายเพี ย งความเป น สุ ภ าพบุ รุษ เป น สู งสุ ด นอกนั ้น ก็ทํ า ไปตามเรื ่อ ง. ความเปน สุภ าพบุร ุษ นี ่แ หละ คือ รากฐานของ ศีล ธรรม เขาจะไมก ระทบกระทั ่ง ผู อื ่น แมแ ตท างใด ๆ ทางกาย ทางวาจา ทางใจ ก็ตาม. ถากระทบกระทั่งผูอื่นแลว ก็หมดความเปนสุภ าพบุรุษ ; หรือไม อดกลั ้น ไมอ ดทน ก็ห มดความเปน สุภ าพบุรุษ . การที ่ต อ งอยู ด ว ยกัน ในการที่ จะไมเบีย ดเบีย น ก็ต อ งมีค วามอดกลั ้น อดทน, และมีค วามจริง ใจ มีค วาม อะไรตา ง ๆ. การที ่จ ะใหค นวัย หนุ ม สาวมีศ ีล ธรรมขอ นี ้ ก็ต อ งมีก ารศึก ษาที่

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๔๗๐

ถูกตอง, มีการศึกษาที่มีอุดมคติอันถูกตอง มุงหมายการไมกระทบกระทั่งกัน ในฐานะที่เปนสุภาพบุรุษ. สรุปความสั้น ๆ วา การศึกษาตองมุงหมายความมี ศีลธรรม. ขอนี้เปนหลักสําคัญ และบิดามารดา ครูบาอาจารยทั้งหลายก็ชวยกัน แวดลอมใหกุลบุตรเหลานี้ เปนผูมีศีลธรรมขอนี้. ....

....

....

....

ถาม : ทีนี้เปนหนุมเปนสาวแลว ตอไปอะไรอีก ? ตอบ : ตอไปนี้ ถึงวัยประกอบอาชีพทํามาหากิน ; เรื่องนี้ตองอยูกับสิ่งแวด ลอมตาง ๆ เปนเรื่องของทางฝายบานเมือง จะตองจัดใหมีสิ่งแวดลอม ใหอยูทามกลางศีลธรรม ใหคนรูจักสัมมาอาชีวะ. การมีอาชีพที่ถูกตอง เป น อาชี พ ที่ ไม เบี ย ดเบี ย นคนอื่ น ให ค นใช ศี ล ธรรมเป น หลั ก ในการ ประกอบอาชีพ ซึ่งเรื่องนี้ตองเกี่ยวกับทางบานเมืองจัดสิ่งแวดลอ ม ใหเ รื่อ งที ่สง เสริม กิเ ลสนั้น ลดนอ ยลงไป ใหมีแ ตเ รื่อ งสง เสริม ทาง ฝายศีลธรรม เปนตนวา จัดชมรมพุทธศาสตร หรือจัดมีการอภิปราย ธรรมะกันเดือนละครั้ง สองครั้ง นี้เปนเรื่องของฝายผูใหญที่ประกอบ อาชีพ ครับ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : ทําไมเราจะไปโยนใหฝายบานเมืองเสียหมดเลย เราไมเก็บเอาไวสักครึ่ง สําหรับเราจะจัดกันเอง ? ตอบ : สําหรับ เราเองก็ศึกษาธรรมะ ปฏิบั ติกันเป น รายบุ คคล ; ถาพู ด โดย สวนรวม ก็ตองจัดเปนการศึกษาของกลุมชน.

www.buddhadassa.in.th


การทําความเจริญงอกงามของศีลธรรม

๔๗๑

มัน ควรจะกลายเปน ระบบการปกครอง หรือ ระบบการเมือ งที่ ถูก ตอ ง ที ่มุ ง หมายใหป ระชาชนมีศ ีล ธรรม ซึ ่ง เมื ่อ กอ นนี ้เ ขามีไ ดโ ดยงา ย เพราะวา เขาบูช าศีล ธรรม หายใจเปน ศีล ธรรม มีเชื ้อ ติด มาแตใ นเลือ ดในเนื ้อ มัน ก็ทํ า งา ย ที ่จ ะใหป ระชาชนมีศ ีล ธรรม. พอถึง ยุค นี ้ มัน จางไป เลือ นไป หายไป กระทั่งไป สาละวนอยูแ ตเรื่อ งที่ไมใชศีล ธรรม ดวยความหวาดกลัว ดวยความโงเขลาเกินไปจนไมรูวาอะไรเปนอันตราย อะไรเปนประโยชน ศีลธรรม มัน ก็ห าย ๆไป. นี ่เ ปน จุด สํ า คัญ อัน หนึ ่ง หรือ เปน จุด ของหัว เลี ้ย วหัว ตอ ก็ไ ด วา จะไปทางไหนกัน . ประชาชนที ่เ จริญ วัย มาถึง ความเปน ผู ป ระกอบอาชีพ ของตน เปน ครอบครัว อยา งนี ้แ ลว ; ถา ยัง ไมม ีศ ีล ธรรมอีก ก็เ รีย กวา จะ หมดหวั ง อยู  ม ากที เ ดี ย ว. ฉะนั ้ น ขอให ไ ปสนใจในข อ นี ้ ให เ ป น ครอบครั ว ที่มีศีลธรรม. ....

....

....

....

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : ตอไปจากนี้อีกสักขั้นหนึ่งละ คืออะไร ?

ตอบ : ต อจากนี้ ก็เขาขั้น ระยะผู เฒ าผู แ ก ซึ่งถาตามหลักให ส มกับ ความเป น มนุษ ยที ่แ ทจ ริง แลว เราก็จ ะไดใ ชป ระสพการณที ่ผ า นชีว ิต มานี ้. รู ความถูก ตอ งแลว วา ศีล ธรรม เปน อยา งไร, ไดผ ลอยา งไร ; เราก็ ทําการเผยแพร. ขอใหผูเฒ าผูแกทั้งหลายจงเปนผูเฒ าผูแกที่เหมาะสม ที่ จ ะคุ ย กั บ ลู ก หลาน สอนให ลู ก หลานพู ด แต เรื่ อ งมี ศี ล ธรรม ความดี ความงาม ทั้ งหมด ใชเวลาทั้ งหมดของชวงชีวิตที่ แกนี้โดยการสั่งสอน ทางศีลธรรมอยางเดียวครับ.

www.buddhadassa.in.th


๔๗๒

การกลับมาแหงศีลธรรม

อยากจะชว ยพูด สนับ สนุน ขอ นี ้ แตว า จะขอเสริม ใหถ ึง ที ่ส ุด วา ขอให ผู ใ หญ ผู เ ฒ า ผู แ ก ทั ้ ง หลายจงเป น เหมื อ นกั น กั บ ป อ มปราการทาง ศีล ธรรมของมนุษ ย. ใหผูเฒา ผูแ กทั้ง หลาย จงเปน คุณ พอ คุณ แม คุณ ปู คุณตา คุณยา คุณยาย อะไรตามชั้น ; ผูเฒาสูงอายุนี้จงตั้งตัวเปนปอมปราการ, คือ มีความหมายเปนที่มั่นที่จะลมละลายไมได, จะยึดหนวงความมีศีลธรรม ในโลกนี้ไว. คนแกนี ้จ ะตอ งเปน ผู ย ืน อยู เ ปน ตัว อยา งที ่ด ี ; ไมต อ งพูด ถึง วา จะไปเปนผูชักจูงใหทําลายศีลธรรมเสียเอง, คือจะไมยอมเปนเด็ดขาดที่จะใหลูก หลานไปทํา ลายศี ล ธรรม. ตั ว เองก็ ตั้ ง อยู อ ย า งมี ศี ล ธรรม เป น แบบฉบั บ ที ่ ด ี แสดงความอดกลั ้ น อดทน, ให เ ป น ตั ว อย า งที ่ ด ี ที ่ จ ะมี ศ ี ล ธรรม ; แลว ก็จ ะพร่ํา สอนไมข าดปาก, ขอรอ งไมข าดปาก ใหล ูก หลานตั ้ง มั ่น อยู ใ น ทางศีลธรรม. นี้แหละบิดามารดาในชั้นสูงอายุ เปนปู เปนตา เปนยา เปนยายนี้ ก็จะกลาย พระเจาผูโปรดสัตวทั้งหลาย ขึ้นมาทีเดียว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาใครดําเนิน ชีวิต ลุลว งปลอดโปรงขึ้น มาถึงขั้น นี้ ก็นับ วาเปน ชีวิต ที ่ป ระเสริฐ ไดเ ปน คนแกที ่เ ปน พระอรหัน ตป ระจํ า บา นเรือ นโดยแทจ ริง ; ตาม พระพุท ธภาษิต ที ่ไดต รัส ไววา บิด ามารดาเปน พระอรหัน ตใ นบา นเรือ น, คือเปนบุคคลสูงสุด ประเสริฐเหมือนกับเปนพระอรหันต (อาหุเนยยบุคคล).

เรามองดูถึง ขอ นี้ที ่จ ะเปน อยา งไร ก็จ ะพบวา เพราะบิด ามารดา, ผูเฒาผูแกทั้งหลาย ตั้งตนอยูในลักษณะอยางนี้ ; เพราะวาตัวเองเคยผิดพลาด, หรือวาเคยถูกตอง, หรือวาเคยมามากมายทั้งผิดทั้งถูก เคยกระทําอยางที่เขาเรียกวา โชกโชน จนรูอ ะไรดี จนละสิ่ งที่ ค วรละไปได , แล วทํ าสิ่ งที่ ค วรกระทํ ามาตลอด

www.buddhadassa.in.th


การทําความเจริญงอกงามของศีลธรรม

๔๗๓

ก็เลยทําใหเปนตัวอยางดวย, แลวก็เปนผูควบคุมลูกเด็ก ๆ ใหเปนไปตามตัวอยางนั้น ดวย, และก็ สมั ค รที่ จะตายกับ สิ่งนี้ โดยไม ย อมเปลี่ ยนแปลง โดยไม ย อมพ ายแพ คือวา ยอมตายกันกับความถูกตองใหเด็ก ๆ ดู เด็ก ๆ ก็จะเกิดนิสัยบูชาความ ถูกตอง แมจะตองเสียชีวิต ก็จะตองเอาความถูกตองไวเปนหลัก. นี ่ ศีล ธรรม ก็จ ะมี จนถึง กับ วา เราจะปลูก ฝง ความรูส ึก ที ่สํ า คัญ ที ่ส ุด คือ “สัต วทั ้ง หลายเปน เพื ่อ นทุก ข เกิด แก เจ็บ ตาย ดว ยกัน ทั ้ง หมด ทั ้ ง สิ ้ น นี ้ ” ล ง ไป ใน จิ ต ใจ ข อ ง กุ ล บุ ต ร กุ ล ธิ ด า ทั ้ ง ห ล า ย ได ; เรี ย ก ว า ประสบความสํ า เร็จ ในการที ่จ ะมีแ ผน ดิน สํ า หรับ ตน ไมแ หง ศีล ธรรม นี ่เราตอ ง ชวยกันกระทําใหมีขึ้นมาในลักษณะอยางนี้ ; นี่เรียกวามีอุดมคติขอแรกวาอยางนี้ ; แลว ตอ งชว ยกัน ทํ า ใหเ ปน ไปตามอุด มคตินั ้น . นี ่ร ากฐานที ่ ๑ ที ่เ ปรีย บกับ แผนดินสําหรับตนไมมีอยูอยางนี้. ....

....

....

....

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : รากฐานที่ ๒ สําหรับตนไมที่เปรียบกับน้ํา นั้น เรามีวาอยางไร คุณทอง ? ตอบ : คือการไมตกเปนทาสของอายตนะ ครับ.

ถาม : ความที่ ไม ต กเป น ทาสของอายตนะ คุ ณ พู ด ให ชัด วาอะไร ที่ ต กไปเป น ทาสของอายตนะ ? ตอบ : กลาวถึงอายตนะภายในก็ไดแก...

www.buddhadassa.in.th


๔๗๔

การกลับมาแหงศีลธรรม

ถาม : ไมใช, ไมใช, ตัวที่จะตกไปเปนทาสของอายตนะนะมันคืออะไร ; ใคร นึกได คุณล้ํา ? อะไรที่มันตกเปนทาสของอายตนะ ? ตอบ : คือ ใจ ครับ. คือ ใจ, คุณ ทองลืม ไป. ถาพูด อยางสมมติ ก็คือ คน คือ ฉัน คือ นาย ก. นาย ข. นาย ง. มันตกไปเปนทาสของอายตนะ, หรือถาจะพูดอยาง ปรมัต ถ ก็คือ จิต ของคนนั่น แหละ ที่มัน จะตกไปเปน ทาสของอายตนะ. การตกไปเปน ทาสของอายตนะก็คือ เกิด กิเลส เปน ของรอ นเปน ไฟขึ้น มา ; มัน ก็เผาตน ไมต ายหมด. เพราะฉะนั้น เราตอ งทําใหมัน เปน น้ํา ใหมัน เย็น ; อยาตกเปนทาสของอายตนะ. ถาม : เราจะประยุกตขอนี้กันอยางไร คือจะทําใหมันเกิดความไมเปนทาสของ อายตนะ ขึ้นมาไดอยางไร ? สําหรับศีลธรรมในยุคปจจุบันนี้ โดยทั่ว ๆ ไป เราจะทําใหเขาไมตกไปเปนทาสของอายตนะในระดับไหนกอน นึก ออกไหม คุณประยูรนึกออกไหม ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : ในระดับทางโลกเสียกอน. ถาม : เชนอะไร ? ตอบ : เชนวา เราหัดใหเขารูจักประหยัด อยาใหเขาซื้อของใชฟุมเฟอย. ถาม : ขอแทรกหนอย นั่นมันเปนเรื่องใหทําดี. นี่เอาที่ ละชั่วกันกอน, คือ ไมเปนทาสของอายตนะชนิดที่ไปทําชั่วกันเสียกอน. เมื่อกลาวตามทาง

www.buddhadassa.in.th


การทําความเจริญงอกงามของศีลธรรม

๔๗๕

โลก ๆ อยางต่ํา ๆ แลว ไดแกอะไรบาง ที่เปนทาสของอายตนชั้นต่ํา ที่เลวที่สุด ? คุณล้ํา เคยเรียนมาแลว รูแลว จําไดแลว แลวลืม แลวนึก ไมออก นึกไมทัน. ตอบ : เปนทาสของตันหา. ถาม : นี่กวางไป ; ตองพู ดโดยละเอียดอยางโลก ๆ อยางประชาชนที่เปนลูก บาน ของคุณ กําลังเปนอยูมาก ๆ ในเวลานี้, อะไร ยกตัวอยางชัด ๆ มา สักอยางดีกวา ; จะใหเขาเวนจากอะไร ? ตอบ : ใหเวนจากการเห็นแกตัว. ถาม : มันกวางนัก มันสูงนัก เดี๋ยวก็นิพพานไปเลย, ดวยการไมเห็นแกตัว อะไร, ระบบศีลธรรมต่ํา ๆ วาอะไรละ คุณประยูรนึกออกแลว ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : ก็ศีลหา.

ถาม : นั่นมันก็สูงไป ต่ํากวานี้อีก. ที่ตองเวนใหต่ําลงไปอีก. ศีลหานั้นมัน ดีไปแลวดีขึ้นมาแลว. ขอทีเอาแรกที่ตองเวน กอ น และเปน พื้นฐาน ทั่วไป คืออะไรละคุณทอง ? ตอบ : ยังนึกไมออกครับ.

ถาม : เราพูดกัน คงหลายสิบครั้งเต็มทีวา ถาจะสรุปพูดใหสั้นที่สุด ใหงาย ที่ สุ ด คื อ ให เขาเว น อบายมุ ข ทั้ ง ๖ ประการ เสี ย ก อ น. อบายมุ ข

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๔๗๖

๖ ประการ อะไรบ าง ? คุณ จําไดห รือ เปลา, วาไปดู ซิ อบายมุ ข ๖ ประการ. ตอบ : อบายมุข ๖ : หนึ่ง ไมเลนการพนัน. ไมเอาแลว วาเอาเองอีกแลว อยางนี้ ; ไมเอาตามลําดับ ของพระคัมภีร ของพระพุทธวัจนะ คุณล้ําจําไดหรือไมได. คุณทอง นี่ตองขอตําหนิทั้ง ๓ คนเลย คนหนึ่ งเปนหมอ, คนหนึ่งเป นครู, คนหนึ่งเป นกํานัน ผูปกครอง ; อบายมุ ข ก็ ไ ม รู จั ก . อบายมุ ข ๖ คื อ ดื่ ม น้ํา เมา เที่ ย วกลางคื น ดู ก ารเล น เลน การพนัน คบคนชั่ว เปน มิต ร เกีย จครา นทํา การงาน. เด็ก ๆ เล็ก ๆ ที่ โรงเรียนมันก็ทองไดดื่มน้ําเมามากอน เที่ยวกลางคืน ดูการเลน เลนการพนัน คบคนชั่วเปนมิตร เกียจครานทําการงาน. นี่คือปญหาเฉพาะหนา ของประชาชน ของเราขั้นพื้นฐาน ที่ทําใหเขาเปนคนจน เพราะเขาจมอยูในอบายมุข ; เมื่อเขา จนแลว เขาก็ไปโทษนายทุน วานายทุนเอาเปรียบทําใหเขาจน นี้ก็ไมถูกนัก ; แตอยาเขาใจวา อาตมาจะชวยแกแทนนายทุน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตรงนี้ข อสอดแทรก มัน อดสอดแทรกไมไ ด. วัน นี้มัน นึก อะไร ขึ้นมา : อาตมานี้อยูในระหวางเขาควาย พวกหนึ่งเปนอันมาก หาวาอาตมา เป น พวกคอมมิ ว นิ ส ต , ฝ ก ฝ า ยคอมมิ ว นิ ส ต ; เคยไปฟ อ งผู ห ลั ก ผู ใ หญ จะเอากันใหเปนใหตายก็คราวหนึ่ง. แลวเดี๋ยวนี้มีพ วกหนึ่งก็หาวา เปน ฝาย พวกศัก ดิน า เปน พวกนายทุน เพราะวา เปน พระสงฆ แลว เปน เจา คุณ แล ว ก็ ส  ง เสริ ม ศั ก ดิ น า , ส ง เสริ ม คนมั ่ ง มี , พู ด อะไรออกไปก็ ทํ า นองจะ ต อ ต า นพวกฝ า ยซ า ย อย า งนี้ ; เขาก็ เลยหาว า เป น ศั ก ดิ น า เป น นายทุ น .

www.buddhadassa.in.th


การทําความเจริญงอกงามของศีลธรรม

๔๗๗

เราไม เ ป น อะไรหมด เราจะเป น ผู ที่ ยึ ด ถื อ ศี ล ธรรมและความถู ก ต อ ง เปนหลักอยางเดียวเทานั้น. ทีนี ้ สํ า หรับ คนจนนั ้น ก็อ ยา ไปโทษใครเลย โทษตัว เองที ่ย ัง เต็ม อยูจ มอยูใ นอบายมุข . ขอใหห ยุด ความเปน ทาสของอายตนะเสีย เถิด , แลวก็จะไมจน. ถาม : ดื่มน้ําเมาเปนทาสของอายตนะอยางไร คุณทอง ? ตอบ : คือ ความเอร็ดอรอยทางลิ้น ครับ. ถาม : เอา, คุณประยูร ดื่มน้ําเมา เปนทาสอายตนะอยางไร ? ตอบ : ดื่มน้ําเมาเปนทาสของอายตะ คือลิ้น หมายความวา ติดในรสของ เครื่องดื่มที่เราดื่ม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : คุณล้ํา, บางทีจะตองตอบไดดีกวาเพื่อน เปนทาสของอายตนะอยางไร ดื่มน้ําเมา ?

ตอบ : ดื่มน้ําเมาเปนทาสของอายตนะทางจิต ครับ.

ถาม : คนหนึ่งวาทางลิ้น คนหนึ่งวาทางจิต เห็นไหมคานกันแลว ? ใครถูกกวา, ใครมีเหตุผ ลกวา , เปน ทาสของอายตนะทางจิต ลองวาไปซิ อธิบ าย ไปวาเปนอยางไร ?

www.buddhadassa.in.th


๔๗๘

การกลับมาแหงศีลธรรม

ตอบ : ทางจิต เมื่อเสพน้ําเมาเขาไปมันดูครึกครื้นหนอย ผมคิดอยางนั้น. มัน ครึ้ม มัน ครึก ครื้น , รูสึก วา เปน ใหญเปน โต เปน ยัก ษเปน มาร ขึ้น มา. มัน ไมใ ชอ รอ ยทางลิ้น ไมถูก นา ; มัน ถูก นอ ย. ใครวา น้ํ า เมาอรอ ย ทางลิ้น ; ไมเ ชื่อ . เราจิบ เขา ไปนิด เดีย ว ตอ งบว นทิ้ง ไมเ ห็น อรอ ยเลย ตั้งแตเด็ก ๆ กินไมได ปนน้ําก็ยังกินไมได. ฉะนั้น จึงตองคัดคานวาคงไมใชอรอย ทางลิ้น ; แตมัน อรอ ยทางจิต. พอกิน เขาไปแลว มัน เกิดความรูสึกชนิด หนึ่ง ซึ่งเปนที่พอใจมาก มันก็ติดอันนั้นแลวก็เรียกวาเปนทาสของอายตนะ เปนทางจิต มากกวาทางลิ้น. ถาม : เที่ยวกลางคืนละ เปนทาสอายตนะอยางไร ? ตอบ : เปนทาสของตา หู ๒ อยาง สวนมากเปนตา กับ หู ติดในรูปแลวก็เสียง แลวก็สัมผัสดวย, เปน ๓ อยาง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เที่ยวกลางคืน นี่ เขามีความหมายวา แสวงหาความสนุกสนาน ทุก ทาง ทุก อยา งที่จ ะหาไดใ นค่ํา คืน ; มัน อาจจะแจกไปไดห มดทุก อยา ง, แลวแตวาโลกสมัยนี้มันมีอะไร ใหอรอยทาง ตา ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทาง ผิว หนัง กระทั่ง ทางจิต ใจ อีก เหมือ นกัน ; ไดไ ปเดิน เลน ก็ยัง สบายเสีย แลว รูสึกพอใจแลว จนไมรูจักความพอดี. ขอใหรับ รูไ ววา คํ า วา เที ่ย วกลางคืน นี ่ค วามหมายมัน กวา ง เปนทาสของอายตนะอะไรก็ได. นี่ดื่มน้ําเมา แลวเที่ยวกลางคืน.

www.buddhadassa.in.th


การทําความเจริญงอกงามของศีลธรรม

๔๗๙

ถาม : ทีนี้ ดูการเลน ไมวากลางวัน ไมวากลางคืน ไมวาเวลาไหน. ดูการ เลน เปนทาสของ อายตนะอยางไร คุณทอง ? ตอบ : เป น ทาสของทางตา ทางหู แล ว ทางจิ ต ด ว ยครับ คื อ ว า ได ดู หรื อ ไดยิน ไดประสบกับสิ่งที่ตัวพอใจแลวก็เที่ยวไปเรื่อย ๆ ดูไปเรื่อย ๆ. ถาม : การเลนในที่นี้ หมายถึงการเลนอะไร ? ชนิดไหน ? มีความหมายอะไร, ดูการเลน ? ตอบ : การเลนในที่นี้ จําพวกมหรสพตาง ๆ. ยัง ไมถูก ตอ งที่ใ ชคํา วา มหรสพตา ง ๆ ; เพราะคํา วา มหรสพ นี่มันยังเกินความกวาง ถึงประเภทที่เปนการศึกษาก็ได ; เพราะฉะนั้น จึงตอง เติม คํา จํา กัด ความลงไปวา ดูก ารเลน ชนิด ที่เ ปน ขา ศึก แกกุศ ล. เคยไดยิน คํ า นี ้ไ หม ? เวน จากการดูก ารเลน ชนิด ที ่เปน ขา ศึก แกกุศ ล ในบทสวดมนต แปลก็มี คือวาการเลนชนิดใดก็ตาม หรือวามหรสพชนิดใดก็ตามที่มันเปนขาศึก แกกุศ ล, ในกรณีนี ้ก็ค ือ เปน ขา ศึก แกศ ีล ธรรม ; แลว ไมไ ปดูก ารเลน ชนิด ที่ เปนขาศึกแกศีลธรรม. ถามันไมมีประโยชน ไมสงเสริมศีลธรรม ก็ตองเรียกวา เปนฝายผิดทั้งนั้น ; หรือแมที่วามันมีประโยชน แตถามากเกินไป มันก็ผิดได. ตองแนะใหเด็ก ๆ เขารูจักสังเกตใหดี ๆ วา ที่เกี่ยวกับการเลนนั้น เขาจะตอ ง ระมัดระวังอยางไรจึงจะมีศีลธรรมอยูได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : ทีนี้การ เลนการพนัน เปนทาสของอายตนะอยางไร คุณล้ํา ?

www.buddhadassa.in.th


๔๘๐

การกลับมาแหงศีลธรรม

ตอบ : การเลนการพนัน ก็เปนทาสของอายตนะทางกาย และทางจิต. ถาม : นั่นแหละ อยางไร ? ตอบ : โดยจิตอยากไดของผูอื่นมา แลวจะบํารุงบําเรอรางกาย. ถาม : คุณหมายความวา เลนการพนันแลวจะรวยทุกทีอยางนั้นหรือ ? ตอบ : คนเลนนั้นหวังครับ. ถาม : แลวขอเท็จจริง มันรวยทุกทีหรือ ? ตอบ : มันไมรวยทุกที.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : มันจะไมรวย มันจะไมไดอยางนั้น ; เพราะฉะนั้น ความเปนทาสของ อายตนะ ตองเปนไปในรูปอื่น. คุณ ประยูร วาซิ วามันเปนทาสของ อายตนะอยางไร ?

ตอบ : การเล น การพนั น คนเป น ทาสอายตนะทางใจ ส ว นมากครั บ . เพราะวาคนเลนเวลาเริ่มเลนก็มีความโลภ อยากไดก็เกิดธัมมารมณ เกิดวาดภาพขึ้นมาเพื่อได ก็มาสัมผัสทางใจ อยากได ; เวลาเสียก็ เกิดเดือดเนื้อรอ นใจ แลวก็มีอารมณไดทุกอยาง หรือ กิเลสทุกชนิด ในคนเลน ทั้งดีใจทั้งโกรธ ; บางครั้งรูสึกเหมือนกันวา คิดอะไรโง ๆ เปนโมหะไปไดดวยในตัว.

www.buddhadassa.in.th


การทําความเจริญงอกงามของศีลธรรม

๔๘๑

ถาม : คุณทอง เลนการพนัน เปนทาสของอายตนะอยางไร ? ตอบ : เปนทาสทางจิตอยางหนึ่ง อยากจะสนองความตองการของจิต, คือมัน เปนยาเสพติดชนิดหนึ่งของจิต ซึ่งชักนําอยากจะไดเลนการพนันนั้น ; จะไดมาก็สมอารมณ จะเสียไปก็รูสึกวาสมอารมณของตัวครับ. นี ่น ับ วา มองลึก ซึ ้ง กวา ที ่พ ูด มาแลว ที ่วา แพก ็ส นุก ชนะก็ส นุก ฉะนั้น เราจึงสามารถเลนหมากรุกไดสวาง ไมไดเอาสตางคเลย ไมมีการพนัน เอาสตางคเลย แตเลนหมากรุกไดสวาง นี่ผีพนันมันสิง จนแมแตเลนหมากรุกไม เอาสตางค นี่ก็ยังเลนไดสวาง ; ยิ่งกําลังเลนไพเอาสตางค ก็ยิ่งเกินสวาง, ๓ วัน ๓ คืน ไมลุกขึ้นก็มี ดวยอํานาจของผีการพนัน. นั่นแหละความเปนทาสของ อายตนะ คือเปนทาสของความรูสึกชนิดหนึ่งซึ่งเราเรียกไดวา ผีของการพนัน. บางคนยอมหยาผัวหยาเมียเลย ไมยอมเลิกการพนัน ก็ตองถือวามันรุนแรงมาก สมัครเปนทาสของอายตนะรุนแรงมาก ถึงกับยอมหยาสามีภรรยา หรือวาทนอยู ไดทั้งวันทั้งคืน. ความไมมีศีลธรรมชั้นต่ํามาก ชั้นเลวมากที่ทําถึงขนาดนี้ ไมรู อะไรเปนอะไร อะไรมีประโยชน อะไรไมมีประโยชน ; เปนความไมมีศีลธรรม ประเภทโมหะมากกวาโลภะ ฉะนั้นอยาไปรูจักการพนันแตในแงของโลภะ ; ไดเงิน นั้นยังไมรายเทาโมหะที่มันอยากจะเอาความอรอ ยทางจิตใจ เกิดมาจากการ เลนการพนัน ฉะนั้น จึงเลนไดจนฉิบหาย จนหมดสตางค สตางคสุดทาย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : ทีนี้ คบคนชั่วเปนมิตร ลองแสดงใหเห็นซิวา การคบคนชั่วเปนมิตร เรียกวาเปนทาสของอายตนะอยางไร คุณทอง ? คบคนชั่วเปนมิตร. ถา

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๔๘๒

เขาใจถูก ต องแล ว จะมองเห็ น ได ชัด เจนเหมื อ นกั น วา เป น ทาสของ อายตนะอยางไร คุณลองอธิบายมาทีวา เปนทาสของอายตนะอยางไร ? เอา, สอบตก, คุณล้ําวาตอไป. ตอบ : เปนทาสของอายตนะทางจิตเหมือนกัน ตกอยูในจิตโมหะ ตกอยูใน ตกอยูในความหลง. ถาม : คุณประยูร ? ตอบ : เพราะวาพวกเราสวนมากก็เปนทาสของอายตนะ ๓ - ๔ ขอที่กลาวมานี้ คือโมหะ อยากจะมีความเอร็ดอรอยในการทําความชั่ว ทีนี้ก็เลยตอง ไปหาคนชั่ว เทานั้น ที่จ ะไดต อบสนองความชั่วที่ตอ งการ เขาเรีย ก วาทางออม. เมื่อตองการความเอร็ดอรอยในการทําความชั่ว ก็เลยติด คนชั่วอีก เพื่อจะไดนําเอาความเอร็ดอรอยเหลานั้น ที่ตัวตองการมา ถึงตัวเองได ; มันเปนทาส ๒ อยางนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : ใจความนี้ถูกตอง แตสรุปคําพูดใหมันสั้น ๆ สักหนอยไมไดหรือ ?

ตอบ : คบคนชั่ ว เป น มิ ต ร เพื่ อ จะได ป ฏิ บั ติ ค วามชั่ ว เพราะว า ติ ด อยู ใ น ความชั่ว

ค บ ค น ชั ่ ว เป น มิ ต ร เพื ่ อ จะได ม ี โ อกาส ตาม ใจกิ เ ล ส ห รื อ ตามใจตัวแลวก็เอร็ดอรอยอยูดวยการไดตามใจตัว. ถาเราไปคบคนดี ไมมีใคร ตามใจเรา ; เพราะคนดีเขาคอยแตขัดคอหามไมใหไปทําความชั่วหรือไมใหทํา

www.buddhadassa.in.th


๔๘๔

การกลับมาแหงศีลธรรม ทั้งทางกาย ทั้งทางจิต ไมตอ งเคลื่อ นไหว ไมตอ งบริห ารอยางไร ; เขาเกิดมีความรูสึกพอใจในการที่ไดเกียจครานนั้น.

ถาม : อย า งนั้ น ก็ ได ช นะซิ เป น การได ช นะอายตนะ. แพ แ ก อ ายตนะอยู ที่ ตรงไหน คุณประยูร ? ตอบ : คนเกียจครานตอการทํางานนั้น แพแกอายตนะตรงที่วา แพตอกิเลส คือความเห็นแกตัว ครับ. คนเกียจครานก็คือเห็นแกตัว เพราะวา ไมทํางาน แตก็เอาเปรียบเพราะตองใชตองกิน ตองใชที่คนอื่นหามา ให ก็แพแกกิเลสขอที่วา เห็นแกตัว. นั่นมันกวางออกไป มันไกลออกไป เอาที่ชัด ๆ ที่วามันไมทําการงาน ในกรณีที่วา เพราะมัน ชอบขี้เ กีย จ. ทีนี้ มัน ขี้เ กีย จ ไมทํา อะไร นอนเสีย มันก็ชอบความสบาย เพราะไดนอนเสีย โดยไมตองทําการงาน. การไมตองทํา การงาน นี ้ เ ป น ความสบายชนิ ด หนึ ่ ง ; แม จ ะเป น โมหะ. นี ่ เ ขาชอบรส ของความสบายชนิดนั้น เขาก็นอนเสีย ไมทําการงาน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อยางนี้เปนใจความที่เจาะจง หรือกระทัดรัด ของคําวาขี้เกียจ ที่เปน ทาสของอายตนะ ; อยางในบทอธิบายก็มีวา อิ่มนักทําไมไหว รอไวกอน ยังไม ทํา การงาน. ทีนี้ร อจนหายอิ่ม แลว ; เอา , ก็หิว อีก แลว , รอไวกอ นยัง ไม ทําการงาน, เชานักยังไมทําการงาน, สายแลวไมควรทําการงาน, เย็นเสียแลว ก็ไมตองทําการงานแลว. นี่เปนความรูสึกที่จะเอาแตความสบาย เพราะไมตองทํา การงาน. นี้เรียกวาเปนอบายมุข คือปากทางแหงอบาย.

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๔๘๖

คนในโลกโดยมากเป น ทาสของอายตนะอย า งนี้ . แม พ วกฝรั่ ง ที่เจริญดวยการศึกษา อยางที่พวกไทยไปตามกนเขานี่แหละ ; พวกฝรั่งเหลานั้น ก็ยังเปนทาสของอายตนะ และโดยเฉพาะเปนทาสของอบายมุข ขอนี้แหละเหมือน กันเลย. คนฉลาดก็เปนทาสของอายตนะไปตามแบบของคนฉลาด, บางทีก็ลึกซึ้ง ยิ่งกวาคนโงเสียอีก. คนโดยทั่วไปสวนมากก็โง ก็เปนทาสของอายตนะไปตาม แบบของคนโง ก็เลยขาดอุดมคติขอที่วา “จะไมเปนทาสของอายตนะ” เพื่อเปน รากฐานของศีลธรรม. ถา เปน ทาสของอายตนะแลว ก็ร อ น ตอ เมื ่อ ไมเ ปน ทาสของ อายตนะจึง จะเย็น , จึง จะเปน เหมือ นกับ น้ํา รดตน ไม. นี้ชว ยกัน ไปประยุก ต ใหมัน มีก ารละความเปน ทาสของอายตนะ ; แมขั้น ต่ํา ที่ส ุด คือ อบายมุข ซึ่ง เปน ปญ หามาก เปน ปญ หาใหญ. แกป ญ หานี ้ไ ดป ญ หาเดีย ว โลกนี ้ก ็จ ะ สะอาดขึ้นมากมาย, จะหมดปญหาอาชญากรรมไปมากมายมหาศาลทีเดียวจน เกือบจะไมตองพูดถึงขออื่นแลว. ทีนี้ไมเปนทาสของอายตนะ ที่สูงขึ้นไป ก็เปน เรื่อ งของความดี ที่เ รีย กวา สวรรค จะไปหลงอยูใ นความสุข เอร็ด อรอ ย ทางเนื้อ ทางหนัง ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ที่ไดมาเพราะการทําความดี. นี่ ก็ ไ ม ส มควรและไม ถู ก ต อ ง ; สู ไ ม เ ป น ทาสไม ไ ด . สิ่ ง ที่ เ รี ย กว า สวรรค ก็ไ มมีอ ะไรมากกวา ความเปน ทางของอายตนะ ; จะพูด ไปมาก็ลํา บาก เดี๋ยวมันจะมีเรื่อง, แลวพระเถรผูเฒา ทานก็ไดหามไว ขอรองไววา คุณอยา พูดเรื่องนี้นัก. เอาละอาตมาไมพูดแลว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ....

....

....

....

www.buddhadassa.in.th


๔๘๖

การกลับมาแหงศีลธรรม

ราก ฐ าน ที ่ ๓. เป รีย บ เห มือ น กับ ปุ ย ที ่ต น ไมจ ะไดใ ชเ ปน อ า ห า ร สํ า ห รั บ ส ร า ง เนื ้ อ ห นั ง ข อ ง ต น ไ ม ; เร า ร ะ บุ ไ ป ยั ง ก า ร บั ง คั บ จิ ต ใหอยูในรองรอย. การบั งคับจิตนั้ น คือการบั งคับให อยูในรองรอยของความถูกตอง หรือ ของศีล ธรรม. เดี ๋ย วนี ้ป ญ หามีอ ยู ว า ไมม ีก ารบัง คับ จิต เสีย เลย ; ปลอ ย ตามอารมณ ปล อ ยตามความพอใจ ซึ่ งได ส รางขึ้ น มาอย างผิ ด ๆ อย างลู ก เด็ ก ๆ เขาเคยได รับ การปล อ ยตามพอใจ ก็ เหมื อ นกั บ อบรมให ไม ต อ งบั งคั บ จิ ต : อยาก อะไรก็ จะเอาอย างนั้ น , อยากอะไรก็ ทํ าอย างนั้ น , ไม มี การบั งคั บ จิ ต จนเป น นิ สั ย ; พอต อ งบั ง คั บ จิ ต ขึ้ น มา ก็ เลยกลายเป น ต อ สู ไม ย อม ; พ อ แม ก็ บั ง คั บ เขาไม ได , ครูบาอาจารยจะบังคับก็ไมได, ตัวเขาเองก็ไมมีการบังคับตัวเอง. นี ่เ รีย ก วา ไมม ีก ารบัง คับ จิต ดูแ ลว เปน ปญ ห าให ญ , แล ะดู จะยากที่ สุ ด ที่ จ ะให ค นสมั ย นี้ บั ง คั บ จิ ต ; เพราะว า เขาได ล ะทิ้ ง ขนบธรรมเนี ย ม ประเพณี ศีลธรรมที่ดีงาม มาเสียเปนระยะยาว จนถายทอดกันมาอยางผิด ๆ ชั่วอายุ คน, ๒ ชั่ ว อายุ ค น, ๓ ชั่ ว อายุ ค นแล ว กระมั ง ที่ ไ ม ก ลั ว บาป และไม บั ง คั บ จิ ต เหมือนคนโบราณ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : ขอถามไปทางอื่ นดี กว า ว าระบบอะไรบ าง หรือโดยเฉพาะ, ที่ จะช วยให เกิ ด การบั ง คั บ จิ ต อย า งที่ ดี ที่ สุ ด ? ตอบได คํ า เดี ย ว ทุ ก คน คุ ณ ประยู ร วาอะไร ?

ตอบ : ระบบไมเรียว ครับ.

www.buddhadassa.in.th


การทําความเจริญงอกงามของศีลธรรม

๔๘๗

ถาม : คุณทอง อะไรที่จะเปนระบบบังคับจิต ? ตอบ : การทําสมาธิ. ถาม : คุณล้ํา ? ตอบ : สําหรับจิต ก็การทําสมาธิ ; ถาสําหรับโลก ก็เผด็จการ. เผด็ จ การนี่ บั ง คั บ กายมากกว า ไม ใ ช บั ง คั บ จิ ต . ไม เรี ย วนั่ น ไม ค อ ย สํ า เร็จ ในการบัง คับ จิต ; ยิ ่ง ตียิ ่ง ดื ้อ ก็ไ ด. เด็ก ที ่ว า งา ย หัว ออ น นั ้น หายาก ที่ จ ะสํ า เร็ จ ได ด ว ยไม เรี ย ว. เราไม ได ห มายอย า งนั้ น นะ แต ห มายถึ ง ผู นั้ น จะต อ ง บังคับจิตของตัวเอง. อาตมาอยากจะตอบเหมื อ นกั น จะตอบคํ า เดี ย วเหมื อ นกั น ไม เอา เปรีย บ, วา “การบวช”. คํ า เดีย วหรือ ไมคํ า เดีย ว ? ไมม ีอ ะไรที ่ด ีก วา การ บวช แต ต  อ งเป น การบวชที ่ ถ ู ก ต อ ง จะมี ก ารบั ง คั บ กายวาจา ใจ อย า ง ดีที ่ส ุด และมีผ ลแทจ ริง เปน ที ่ป รากฏมา จนเกิด ขนบธรรมเนีย มประเพณีว า ค น ห นุ ม จ ะ ตอ งบ วช บ วช ชี บ วช พ ระ บ วช อ ะ ไรก็ต าม สัก ระ ย ะ ห นึ ่ง . ตลอดเวลาเหล านั้ น เขาจะมี การบั งคั บ ตั ว คื อ บั งคั บ จิ ต ซึ่ ง จะบั งคั บ กาย บั งคั บ วาจาไดดวย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ฉะนั ้ น อย า เลิ ก ละขนบธรรมเนี ย มประเพณี ข อง ปู  ย า ตา ยาย ที่ ว า คนครบบวชจะต อ งบวช. ถ า ไม อ ย า งนั้ น ไม มี โ อกาสที่ จ ะ

www.buddhadassa.in.th


๔๘๘

การกลับมาแหงศีลธรรม

ฝกฝนการบังคับจิตเลย ; และบวชแลวอยาเปนอยางพระในสมัยนี้โดยมาก, อย าเป นอย างพระสมั ยนี้ โดยมาก ซึ่ งไม บั งคั บจิ ต : เล นหั วอย างฆราวาส, มี ของ ใชส นุก สนานอยา งฆราวาส, มีเ ครื ่อ งดนตรีแ ละเพลง วิท ยุ สะเตริโ อ อะไร อยางฆราวาส, กระทั่งมีอะไร ๆ จะกินอรอยอยางฆราวาส อยางนี้ไมมีการบังคับจิต ไมใชการบวช. เมื ่ อ พู ด ถึ ง การบ วช ต อ งเอาต าม แบ บ ของพ ระพุ ท ธเจ า คื อ เป น พ ระ เป น เณ ร ที ่ แ ท จ ริ ง ; เว น ทุ ก อ ย า งต ามที ่ จ ะต อ งเว น . แล ว ก็ จะมีก ารบัง คับ จิต บัง คับ กาย บัง คับ วาจา เหลือ ประมาณ , ไมช กตอ ย วิว าท ตีรัน ฟน แทงกัน เหมือ นกับ พระเณรสมัย นี ้, และก็จ ะไมป ระพฤติสิ ่ง ที่ เลวรา ยอื ่น ๆ อีก ; เพราะวา เขาไมบ ัง คับ จิต มาตั ้ง แตเ กิด จนมาบวชเปน เณร บวชแล ว ก็ ยั ง ไม บั ง คั บ จิ ต เป น พระก็ ไม บั ง คั บ จิ ต ฉะนั้ น ปรากฏว า ทํ า อาชญากรรมพอ ๆ กันกับฆราวาสชั้นเลว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เมื ่อ พูด วา บวช ก็ต อ งหมายถึง การบวชตามแบบของพระพุท ธเจา มี ผ ลให เกิ ด การบั ง คั บ ทุ ก กระเบี ย ดนิ้ ว นั บ ตั้ ง แต ว า กิ น อาหาร ถ า ยอุ จ จาระ ป ส สาวะ การอาบ การถ าย การอะไรต าง ๆ, แล วก็ มี วินั ย กี่ ข อ . คุ ณ ก็ รูอ ยู แ ล ว วาทําตามนั้นแลวมันก็มีการบังคับกี่มากนอย.

ค น โบ รา ณ เข า ม อ ง เห็ น ป ระ โย ช น อ ั น นี ้ เข า จึ ง มี ข น บ ธ รรม เนีย มประเพณีใ หค นหนุ ม จะตอ งบวช ; เพื ่อ เปน เครื ่อ งพิส ูจ นว า เขาได ผานการบังคับจิตมาพอสมควร เขาจึงจะมีความเหมาะสมที่จะออกไปครองเหยาเรือน

www.buddhadassa.in.th


การทําความเจริญงอกงามของศีลธรรม

๔๘๙

เป น ภรรยา สามี ที่ ดี. ฉะนั้ น จึงขอให รื้อ ฟ นการบั งคั บ จิต ซึ่งเรียกวาการบวชนี้ . บวชที่วัดก็ได บวชที่บานก็ได. ถาม : บวชที่บานจะทําอยางไรละ คุณทอง ? ตอบ : คือการเวนในสิ่งที่ควรเวน เชนเดียวกันครับ. นั่ น แหละบวชที่ บ า น คื อ การตั้ ง จิ ต อธิ ษ ฐาน เว น ในสิ่ ง ที่ ตองเวน อยางเฉีย บขาด ตามความหมายของคําวา พรหมจารี. พรหมจารี คํา นี้เขามีค วามหมายวา เปน ผูเวน สิ่งที่ค วรเวน โดยเด็ด ขาด. นี้ก็เปน การบวช ที่บาน, ถาไมสามารถจะบวชที่วัด. ถา เพื ่อ สะดวกก็ บวชที ่วัด ๑ พรรษา, ๒ พรรษา, ๓ พรรษา อยา ง ไมเ หลวไหล ตลอด ๓ ป จะมีก ารบัง คับ จิต อยา งใชไ ด อยา งเปน ผูที่เ รีย กวา มีก ารบัง คับ จิต ที ่เพีย งพอ. นี ่ส ึก ออกไปก็ค งไมไ ปทํ า อะไรเลว ๆ ที ่เปน การผิด ศีลธรรม. เอาละ พูดกันแตหัวขอ เวลามีนอย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ....

....

....

....

ถาม : ทีนี้ รากฐานที่ ๔ สํา หรับ ตน ไมที่จ ะอยูไ ด คือ แสงสวา ง. ตน ไม แหงศีลธรรมก็ตองการแสงสวางหลอเลี้ยงใหเจริญงอกงาม. เราเคยพูด กันวาอะไรเปนแสงสวางของตนไมแหงศีลธรรม คุณทอง ? ตอบ : คือ ปญญา ครับ.

www.buddhadassa.in.th


๔๙๐

การกลับมาแหงศีลธรรม

ถาม : ปญญา จําไดก็ดี ; คําวา ปญญานี่ ถาใหปลอดภัย ตองเติมบท ประกอบเขาไปใหเต็มความหมาย ; แลวเราจะเรียกมันวาอะไร ทีนี้ คุณ ประยูร ? ตอบ : เรียกวา ยถาภูตสัมมัปปญญา ครับ. เรีย กวา “ยถาภูต สัม มัป ปญ ญา”. เกี่ย วกับ การออกชื่อ ออกเสีย ง คํ า บาลีนี ้ จะขอรอ งตลอดเวลาวา ชว ยระมัด ระวัง ใหด ี อยา ออกเสีย งใหผ ิด , ถ าผิ ด แล วจะแก ยาก. ฉะนั้ น ในขั้ น แรกที่ จะจํ า ให จํ าคํ าเหล านี้ ล งไปให แ ม น ยํ า อยา ออกเสีย งใหผ ิด . อาตมาก็เ คยผิด และเคยลํ า บาก และเคยแกย าก ; เพราะฉะนั้น กลัว จึงขอรองทุกคนตอไปวา จะออกเสียงคําบาลีลงไปละก็ ใหถูก ไปเสียตั้งแตทีแรก, แลวมันจะผิดไมได. ป ญ ญ า เป น คํ า มี ค วามหมายกว า ง ๆ แปลว า รู  ร อบ ; แต ถ  า ไมป ระกอบดว ยสัจ จะ ดว ยเมตตาแลว ปญ ญา มัก จะเปน ไปในทางเฉโก. เฉโก ก็ แ ปลวา ป ญ ญา แต ห มายถึ งป ญ ญาที่ ไม ได รับ ผิ ด ชอบ ไม ได ค วบคุ ม ไว ด วยศี ล ธรรม. ฉะนั้ น ป ญ ญานี้ จ ะต อ งถู ก ต อ งก อ น แล วมี ก ารรับ ประกั น เข า มา อี ก ที ห นึ่ ง ว า เป น ป ญ ญาที่ เห็ น อย า งถู ก ต อ งตามที่ เป น จริ ง . นี่ ย ถาภู ต สั ม มั ป ป ญ ญ า -เห็ น ชอบ, เห็ น ถู ก ต อ งตามที ่ เ ป น จริ ง ก็ ป ลอดภั ย มั น ก็ ไ ม โ กง ไมอะไร, และก็จะทําสิ่งที่ควรทําไดตามลําพัง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org บุค คลนั ้น คือ ผู ม ีย ถาภูต สัม มัป ปญ ญา ; แตม ัน ก็ไ มง า ยนัก ที ่จ ะ มีย ถาภูต สัม มัป ปญ ญา ; จะตอ งพยายามกัน ตลอดไป เพราะมัน มีห ลาย ระดั บ หลายชั้ น ลึ ก ลงไป, ลึ ก ลงไป, ลึ ก ลงไป ; ใช คํ า นี้ ไ ด ทั้ ง เรื่ อ งโลก ๆ และ

www.buddhadassa.in.th


การทําความเจริญงอกงามของศีลธรรม

๔๙๑

ทั้ง เรื่อ งธรรมะชั้น สูง สุด ; ชั้น โลกุต ตระ ก็ใ ชคํา นี้ได. ปญ ญาเปน แสงสวา ง ไมมีแสงสวางอะไร เทียบเทากับปญญา ฉะนั้นตนไมศีลธรรมเมื่อไดแสงสวาง อันนี้ก็จะเจริญงอกงามดี เหมือนตนไมธรรมดาที่ไดแสงแดดดี. ทีนี้ เราทํา อยา งไร ควรจะหยิบ ขึ้น มาพิจ ารณาดูดว ยเหมือ นกัน ที่จะทําใหคนในโลกมียถาภูตสัมมัปปญญา ? ถาม : ลองออกความคิด, ลองคิดอยางละเอียด สุขุม แลวก็ลองบอกมาทีวา, ทําอยางไรที่เราจะทําใหเพื่อนมนุษยของเรามียถาภูตสัมมัปปญ ญา, คุณประยูร ? ตอบ : ปญญานี้ตองเกิดมาจากประสบการณในชีวิต. ทีนี้เราจะทําใหปญญา นี้เกิด เราก็ควรจะทําได, นอกจากตัวเราเองแลว เราก็แนะเพื่อนฝูง ใหพ ยายามที่จ ะจํา ความผิด ในชีวิต ไวเปน บทเรีย น ใหผิด มากลาย เปนครู ; และตอไป ปญญาใหมจะเกิดขึ้นมาตาม ๆ กัน ไปสูความ ถูกตองที่สุดของมันเอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : สรุปสั้น ๆ ที่สุด จะพูดวาอยางไรดี ?

ตอบ : สรุป ให สั้ น ก็ คื อ พยายามใช บ ทเรีย นในชี วิ ต ผิ ด เป น ครู เพื่ อ จะได ปญญานี้มา. ถาม : ทําไมขยักสวนที่ถูกเปนครู ไวเสียละ ? ตอบ : ครั้งแรกมันจะไมคอยถูกหรอกครับ มันจะไปถูกครั้งหลัง ๆ.

www.buddhadassa.in.th


๔๙๒

การกลับมาแหงศีลธรรม

แต เราก็ พู ด ไว อย า งไม มี ท างที่ จ ะผิ ด ว า “ผิ ด ก็ เป น ครู ถู ก ก็ เป น ครู ”. ทีนี ้ เราใชป ระสพการณแ ตห นหลัง ที ่ไ ดเ กิด ขึ ้น แกจ ิต ใจนั ้น จริง ๆ ผิด ก็เ ปน ครู ถูก ก็เ ปน ครู คือ ใชสิ ่ง ที ่ไ ดเ คยประสบมาแลว ผา นมาแลว นั ่น แหละเปน หลัก . นี ้ก ็ค ือ ยถาภูต สัม มัป ปญ ญา ที ่ตั ้ง ตน ; เพราะวา สิ ่ง ใดที ่เ ราไดทํ า ผิด ก็ต าม ทํ า ถูก ก็ต าม เรายอ มรู จ ัก มัน ดี. ฉะนั ้น เราจึง มองไปยัง สิ ่ง นั ้น ไดอ ยา งถูก ตอ ง ตามที่ มั น เป น จริ ง แล ว ความรู ก็ เกิ ด ขึ้ น เป น การถู ก ต อ งตามที่ เป น จริ ง ซึ่ ง ถื อ ว า เปนจุดตั้งตนของการมีปญญาถูกตองตามที่เปนจริง. ขอรอ งใหล ูก เด็ก ๆ ตั ้ง ตน เปรีย บเทีย บความผิด ถูก อะไรตา ง ๆ จากที ่เขาไดเคยผา นมาแลว ทั ้ง ทางกาย ทั ้ง ทางจิต . เขาไดผ า นมาแลว อยา งไร นี้ เป นจุ ดตั้ งต นสํ าหรับเปรียบเที ยบต อ ไป ; เช น พอเขามี ความคิ ดอย างนี้ เขาเป น ทุก ข, พอเขามีค วามคิด อยา งอื ่น เขาไมเ ปน ทุก ข, เขาก็จ ะไดรู ว า ตอ ไปเขา ก็จะตองคิดถึงสิ่งที่ไมทําใหเปนทุกข ที่เขาเคยผานมาแลว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สรุป ความวา ใหใ ชสิ ่ง ที ่เ ราไดผ า นมาแลว และรูจ ัก ดีเ ปน จุด ตั ้ง ตน สํ า หรับ ขยายตัว ออกไป โดยทางการเปรีย บใหไ กลออกไป กวา งออกไป ก็เลยเรีย กวา ยถาภู ต สั ม มั ป ป ญ ญา มี ได ตั้ งแต เด็ ก ๆ ; แม แต เรื่อ งโลก ๆ ในโลก ในบา น ในเรือ น สูง ขึ ้น ไปจนถึง เรื่อ งศาสนา หลุด พน มรรค ผล นิพ พาน ก็ตาม ; มันจะเปนเรื่องยถาภูตสัมมัปปญญา ; อยางนี้ไมมีทางที่จะเสียหาย.

ถาม : ยกตัวอยางความเสียหายรายแรง ที่เกิดมาจากการไมมียถาภูตสัมมัปปญญา มาใหดู คุณทอง, คุณประยูร ?

www.buddhadassa.in.th


การทําความเจริญงอกงามของศีลธรรม

๔๙๓

ตอบ : ไดแกปญญาของนักศึกษาปจจุบันนี้ ที่สําเร็จมาจากมหาวิทยาลัย เปน ปญ ญาในทางโลก แลว ก็ม าทํ า ในสิ ่ง ที ่ไ มถ ูก ตอ ง. ที ่เ ราเห็น อยู แ ลว เป นตั วอยาง ในหน าหนั งสื อ พิ ม พ เป น ตน วา เดิ นขบวนขับ ไล อ าจารย . ระยะที่กําลังเรียนมหาวิทยาลัย นั่นไมไดใชปญ ญาที่ใชมาแตเดิมวา ครูบ าอาจารยนั้ น เปนผูมีพ ระคุณ อยางไร ๆ หรืออะไรตาง ๆ. ป ญ ญา พวกนั ้น มัน หายไปหมด ปญ ญ าพวกนั ้น ไมเ กิด ; แตป ญ ญ าใน ทางโลกเขามีแนครับ เพราะวาถึงขนาดไดปริญญาแลว ก็ยังมี. ถาม : ที่พูดนี้ก็ถูก แตเดี๋ยวนี้ถามวา ใหยกตัวอยางที่ทั่วไปที่สุด ที่สามัญที่สุด ที ่กํ า ลัง มีอ ยู จ ริง , กวา งขวางที ่ส ุด ซึ ่ง เปน โทษของการขาด ยถาภูต มัปปญญา. ตอบ : ถ า เหตุ ก ารณ ทั่ ว ไป ก็ ไ ด ค วามทุ ก ข ที่ เรากลุ ม ใจอยู นี่ ; ถ า หากว า คน มี ยถาภู ต สั ม มั ป ป ญ ญาแล ว มั นจะผอ นคลายความทุ กขไปได เองครับ . โดยเขาจะรู เ องวา มัน เกิด ขึ ้น มาไดอ ยา งไร, แลว ทํ า ใหเ รารอ นใจได อยางไร, แลวมันดับไดอยางไร, แลวเราจะคอยวาง ๆ ๆ ไป.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : อันนี้ก็ยังละเอียดไป ยังเปนระดับที่สูงละเอียดไป. เอาต่ํากวานั้นที่กําลัง เปนอยูจริงที่เปนโทษของการขาดยถาภูตสัมมัปปญญา อยูในบานในเมือง ทุกตําบล หมูบาน ทั่วทุกหัวระแหงไดแกอะไร คุณล้ํา ?

ตอบ : ไดแกคนทุกวันนี้ ใชปญญาเฉโก ครับ. ถาม : นั่ น มั น เป น เจตนา ที่ เขามี เจตนาจะเฉโก ; ที่ ไ ม เจตนาจะเฉโก ได แ ก อะไร คุณทอง ?

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๔๙๔

ตอบ : ที่ เขาคิ ด วา เงิน นี้ เป น สิ่ งที่ ป ระเสริฐ ที่ สุ ด ฉะนั้ น จึ ง พยายามทํ า ทุ ก อยางเพื่อการใหไดเงินมาครับ. ถาม : ก็ได, ก็ถูก, แตมันอยูในวงจํากัด และก็ยังไมถึงชั้นพื้ นฐาน. อาตมา มุงหมายจะใหมองไปยังโทษที่นาเกลียด นาชัง นาขยะแขยง ที่เกิดจาก การกระทําดวยความงมงายทั้งหลาย คุณรูจักความงมงายไหม ? ตอบ : ความงมงายก็คือการกระทําที่ไมมีเหตุผล. ถาม : นั่นแหละคือ ไมมียถาภูตสัมมัปปญญา ในบานเรา เมืองเรา นี้มีความ งมงายไหม คุณทอง ? ตอบ : มีครับ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ไมตองยกตัวอยางกระมัง เดี๋ยวก็จะกระทบกระเทือน ; เดี๋ยวก็ตอง ใหพ น หัว ที ใหไ ปรดน้ํ า มนตท ี ใหป ม ะกัน ที. ความงมงายทั ้ง หลาย ใหเกิด ความเสียหาย หรือการกระทําที่นาเกลียด นาชัง มีอยูทั่ว ๆ ไป. นี้เปน ความ งมงายระดั บ พื้ น ฐาน เพราะขาดยถาภู ต สั ม มั ป ป ญ ญา เป น มาตั้ ง แต ค รั้ ง พุทธกาลจนกระทั่งบัดนี้.

ก็อยากจะบอกวา ในกรุงเทพฯ นั้นเอง มีหนาที่สุด มีมากที่สุด . ตัว อยา ง เชน ตื ่น ปม ะคราวนั ้น . ที ่บ า นนอกไมม ีใ ครตื ่น , ที ่ก รุง เทพฯ แตกตื่นจนหนังสือ พิม พไมพ อจะลง. เรื่องปมะวาคนจะตาย. คนปมะจะตาย นั่นคือความงมงาย ; แลวก็มีโทษออกมาอยางทําลายศักดิ์ศรีของมนุษย ของคน

www.buddhadassa.in.th


การทําความเจริญงอกงามของศีลธรรม

๔๙๕

ทั่วไป. แตไมรายกาจเทากับทําลายศักดิ์ศรีของอุบาสก อุบาสิกา จํานวนไมนอย, ที ่เรีย กตัว เองวา อุบ าสุก อุบ าสิก า แตยัง มีค วามงมงายชนิด นั ้น ; นี ้ไมม ีย ถาภูตสัมมัปปญ ญาไมมีแสงสวาง ไมมีความรอนที่จะแผดเผากิเลส, ไมมีแสงสวาง ที่จะทําความเจริญงอกงามของจิตใจ. ถาจะมียถาภูตสัมมัปปญญา ก็ชวยกันขจัดความงมงาย. ความงมงาย เกิ ด ขึ้น มาโดยไม อ าศั ย ขอ เท็ จจริงต าง ๆ ที่ ป รากฏแล วแก ใจ วาอะไรเป น อยางไร อะไรเปน อยา งไร มีเ หตุผ ลอยา งไร เนื ่อ งกัน อยู อ ยา งไร. เพราะวา เขามีแ ต ความหวาดกลั ว ; ความหวาดกลั ว ก็ ส ร า งความมื ด ให แ ก เ ขา. เขาก็ เ ลย ทํ า อะไรไมถ ูก คิด อะไรไมถ ูก ก็เ ลยเชื ่อ ไปตามบุค คล หรือ สิ ่ง ที ่ม ัน นา อัศ จรรย หรือ มัน แปลกดี คือ เขาเขา ใจไมไ ด. เพราะเขาเขา ใจไมไ ด เขาจึง ไปคิดวามันจะดี หรือมันจะชวยเขาได นี่ก็เรียกวาความงมงาย. ถาม : ความงมงายทําลายศีลธรรมไดอยางไร, ความงมงายทําใหไมมีศีลธรรม ไดอยางไร ? หรือวา ทําใหมีศีลธรรมยิ่งขึ้น คุณทองตอบไปซิ ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : ความงมงายทํ า ใหศ ีล ธรรมเสื ่อ ม ; ยกตัว อยา งวา ผู ที ่ต อ งการ ทํ าบุ ญ เพื่ อ เอาสวรรค , การทํ าบุ ญ เอาสวรรค เขางมงายวา เอาทรัพ ย สมบั ติ ไปแลกมา ด วยการทํ าบุ ญ เข า ไปให ม าก ๆ แต ก ารที่ จ ะได ท รัพ ย สมบั ติ นี้ ม า บางที ก็ ไ ปขอหรื อ ไปเบี ย ดเบี ย นผู อื่ น มา ย อ มเป น การ กระทําใหศีลธรรมเสื่อมครับ.

ถาม : เขาไม ได ไปเบี ย ดเบี ย นใครมา หรือ ไปขโมยใครมา ? เขามี เท าไร เขา เอามาทําบุ ญ ตามแบบของเขา และไม ไดไปขโมยใครมา ? นี่ จะเรียกวา ทําลายศีลธรรมดวยหรือ ?

www.buddhadassa.in.th


๔๙๖

การกลับมาแหงศีลธรรม

ตอบ : ก็เปนการทําลายดวย. ถาม : ทํ า ลายตรงไหนล ะ ? เขาไม ไ ด ไ ปฆ าแกงใคร, ไม ไ ด ไ ปทํ า อะไร ; แตเขาทําบุญตามแบบของเขา, และไมไดไปขโมยใครมา ? ตอบ : ก็ เป น คนชั ก นํ า ให ค นอื่ น เห็ น ว า การทํ า บุ ญ แบบนั้ น ย อ มจะได ส วรรค มาครับ ซึ่งความจริงแลวไมไดเปนเชนนั้น. คนนั้ น ไม มี อ ากั ป กริย า แห งความไม มี ศี ล ธรรม จริง ; แต ว าในจิ ต ใจ ของเขาไมม ีป ญ ญา เขาทํ า ลายประโยชนข องเขาเอง. นี ่เรีย กวา โทษของความ งมงาย หรือศรัทธาประเภทที่ไม มีปญญา หรือมุ ทุปสัมนา เลยขอบเขตไมมีปญญา ก็ทําใหกระทบกระเทือนถึงศีลธรรมในแงอื่น ในมุมอื่น เรียกวา จะไม สรางสันติสุข หรือ สัน ติภ าพดว ยเหมือ นกัน . ฉะนั ้น เราจะตอ งเลิก ความงมงายเสีย ; ความ งมงายนี้เปนสมบัติของปุถุชน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถ าอยากจะพ นจากความเป นปุ ถุ ชน จะต องทํ าลายความงมงายเสี ยตาม หลัก ที ่จ ะเปน อริย บุค คล ; แมแ ตพ ระโสดาบัน ก็ต อ งทํ า ลายสัก กายทิฏ ฐิ วิ จ ิ ก ิ จ ฉ า สี ล ั พ พั ต ต ป ราม าส ๓ อย า งนี ้ . ที ่ เ รี ย กว า สี ล ั พ พั ต ต ป ราม าส นั ่น เอง คือ ความงมงายที ่เ รากํ า ลัง พูด ถึง อยู ใ นที ่นี ้ ; แลว ก็เ ปน การทํ า ลาย ศีล ธรรมในระบบสูง ในระบบที ่ป ระณีต ละเอีย ด ที ่เขา ใจยาก. แตถ ึง อยา งไร ก็จ ะตอ งจัด ไวใ นประเภทที ่ว า ไมส ง เสริม ศีล ธรรม, หรือ เปน ขา ศึก แกศ ีล ธรรม ; แตยังจะตองพิจารณาบางอยางบางประการวา ความเชื่อที่งมงายอยูบาง แลวก็มี โชคดี ที่ไดรับการชักนําที่ดี มันก็ทําใหมีศีลธรรมไดเหมือนกัน.

www.buddhadassa.in.th


การทําความเจริญงอกงามของศีลธรรม

๔๙๗

เชน วา คนที ่ก ลัว บาปอยา งแทจ ริง แมแ ตอ ยา งงมงาย เขาก็จ ะมี ศีล ธรรมดีไ ด ; แมว า จะเปน ศีล ธรรมที ่ค อ นขา งงมงาย. เราก็ค วรจะมองดู ในสวนนี้ไวบาง มีขอยกเวนใหบาง ; แตถึงอยางไรก็ไมไดเปนสิ่งที่จะสงเสริมใหมี. ถา เราจะมีก ารทํ า จริง เครง ครัด จริง ก็ข อใหเ ปน ไปดว ยปญ ญา ; อยา ตอ ง เปน ไปดว ยความงมงายเลย. ฉะนั ้น จึง สรุป ความวา ยถาภูต สัม มัป ปญ ญา เป น สิ ่ ง จํ า เป น จะต อ งมี เพื ่ อ รากฐานของศี ล ธรรมอั น มั ่ น คง เหมื อ นกั บ แสงแดด ที่ชวยใหสิ่งที่มีชีวิตนี้รอดอยูได. ....

....

....

....

รากฐานที่ ๕ อุ ณ หภู มิ ที่ พ อเหมาะ ทํา ให สิ่ ง ต า ง ๆ รอดตั ว อยู ได ; อุ ณ หภู มิ ที่ พ อเหมาะทํ าให สิ่ งที่ มี ชี วิต รอดชี วิต อยูได , อุณ หภู มิ ที่ ม ากเกิ น ไป หรือที่นอยเกินไป ยอมทําลายชีวิตนั้น ๆ ไมใหรอดอยูได. ฉะนั้น เราจะพูดไดเลยวา อุณ หภูม ิที ่พ อเหมาะนั ่น แหละเปน รากฐานของความมีชีวิต รอด ของสิ่ง ที ่ม ีชีวิต ทั้งหลาย ; แมแตตนไมตามธรรมดานี้ ก็ตองมีอุณหภูมิที่พอเหมาะแกชนิดของมัน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : ทีนี้ตนไมของศีลธรรมตองการอุณหภูมิที่พอเหมาะ คืออะไร, คุณล้ํา ? ตอบ : คือศรัทธาครับ.

ถาม : ศรัทธาชนิดไหนละ ? ตอบ : ศรัทธาที่เปนสัมมาทิฏฐิ.

www.buddhadassa.in.th


๔๙๘

การกลับมาแหงศีลธรรม

ศรัทธาที่ ประกอบดวยป ญ ญามีสั มมาทิฏ ฐิ ! จําไวเถอะวา ศรัทธา หรือ ความเชื ่อ นี ้ม ัน เปน กํ า ลัง ; ไมม ีกํ า ลัง อะไรที ่จ ะแรงเทา กํ า ลัง แหง ความ เชื่อ . ถา วา ความเชื่อ นั้น มัน ผิด มัน ก็แ รงไปในทางผิด . ถา ความเชื่อ นั้น ถูก มันก็แรงไปในทางความถูก ; ฉะนั้น เราตองการศรัทธาที่ประกอบอยูดวยปญญา จึง เรีย กวา ศรัท ธาในพุท ธศาสนา คํ า วา ศรัท ธาในที ่อื ่น อาจจะงมงายได ; แตศรัทธาในพุทธศาสนาแลวตองไมงมงาย มิฉะนั้น จะไมเรียกวาศรัทธา. ถาเอาปญญาหรือยถาภูตสัมมัปปญญามาเปนผูนําแลว ศรัทธานั้นก็จะ ไมงมงาย, หรือใหยิ่งไปกวาศรัทธาก็จะไมงมงาย แลวก็จะมีประโยชน. ฉะนั้น ถา จะมีม ุท ุป สัน นา คือ ศรัท ธาอยา งยิ ่ง อยา งทุ ม เททุ ม เนื ้อ ทุ ม ตัว ก็ข อให ประกอบอยูดว ยปญ ญา. ศาสนาอยูไดเพราะศรัท ธา ใครแยง บา ง ? ศาสนา อยูไดเพราะศรัท ธา ; จะเปนศาสนาในแงรูป แบบหรือ วัต ถุ หรือ เปน ศาสนาใน แงจิตใจก็ตาม มันอยูไดเพราะศรัทธา. ใครคานบาง ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ยกตั ว อย า ง ศาสนาอยู ไ ด เ พราะศรั ท ธาที่ ง มงาย มาให ดู สั ก เรื่องหนึ่ง, คุณทอง...

ความเชื่อเรื่องงมงายไดทําใหศาสนาบางศาสนาอยูได หรือบางขณะบาง โอกาสบางสว นอยู ไ ด. คํ า พูด นี ้พ ูด ไปนัก ก็ไ มไ ด มัน กระทบกระเทือ น. เมื ่อ ศาสนาแมแตพุทธศาสนานี่ลวงมาในบางโอกาส บางยุค บางสมัย บางถิ่นแลว ตกไปอยู ภ ายใตคุ ม ครองของศรัท ธาที ่ง มงายก็ม ี ; ฉะนั ้น เราจึง เห็น บางถิ ่น บางแหง บางยุค บางสมัย ถือพุทธศาสนาอยูดวยความงมงายก็มี.

www.buddhadassa.in.th


การทําความเจริญงอกงามของศีลธรรม

๔๙๙

มั น ก็ ยั ง ดี ที่ ไม สู ญ ไปเสี ย เลย. ตรงนี้ ข อขอบใจความงมงายหน อ ย เพราะมั น เป น งมงายที่ โชคดี ไปถู ก กั บ สิ่ งที่ ไม ห ลอกลวง มั น ก็ ง มงายได แล ว ก็ ชว ยใหอ ยู ไ ด ไดเ หมือ นกัน ; แตไ มต อ งประสงค. เราตอ งประสงคค วาม ไมงมงายมีปญ ญาแลว ก็ปลอดภัย : ศรัทธาก็ปลอดภัย มุทุปสันนาก็ปลอดภัย, แมแตสิ่งที่เขาเรียกกันสําหรับศาสนาอื่นวา ความภักดี จงรักภักดีนั้นก็จะปลอดภัย, แมแตการเสียสละ การบริจาคก็จะปลอดภัย. ถา ไมม ีป ญ ญา มีแ ตค วามงมงายแลว การบริจ าค การทํ า บุญ ทํา ทานนั้น ก็ไ มป ลอดภัย , หรือ ถึง กับ เปน อัน ตราย, หรือ ถึง กับ ทํ า ลายศาสนา นั้ น เสี ย เอง. ฉะนั้ น ระวั ง ไว ด ว ย ว า การบริ จ าคที่ ง มงายนั่ น แหละ จะทํ า ลาย ศาสนาเสียเอง ; แตถาไมงมงายแลวก็เปนที่นอนใจได. ถาม : เราจะประยุกตกันอยางไร จัดกันอยางไร ที่ใหความเชื่อของพุทธบริษัท เราพนจากความงมงาย ; ใครมีปญญาลองวามาซิ คุณทอง ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : พระตองปฏิบัติเปนตัวอยาง และเปนผูมีหนาที่สั่งสอนประชาชน.

ถาม : แลวก็จะไมงมงายอยางไรละ ?

ตอบ : คือ ปฏิบ ัต ิใ หเ ห็น วา การปฏิบ ัต ิอ ยา งถูก ตอ งนั ้น นํ า มาซึ ่ง สัน ติภ าพ, และสอนซึ ่ง เปรีย บเสมือ นการจุด ตะเกีย งไวใ นที ่ม ืด ก็จ ะทํ า ใหมี ศีลธรรมขึ้นมา.

www.buddhadassa.in.th


๕๐๐

การกลับมาแหงศีลธรรม

เดี๋ยวนี้ ที่ เขางมงายนั้ น หมายความวา เขาไม เชื่อ เรา ; สอนจนเขา หาวาจูจี้ แลวเขายังไมเชื่อ เขายังสมัครที่จะงมงาย ; แลวจะทําอยางไรที่จะใหเขา หยุดงมงาย ; หรือวาหมดปญญา ตองปลอยใหงมงาย. เดี๋ ย วนี้ เราจะแก ไ ขให มั น มาสู ค วามถู ก ต อ งว า ศี ล ธรรมจะกลั บ มา อยา ตอ งงมงายเลย จะทํ า อยา งไร ? ใครคิด ออกลองวา มาดู ?.... ไมม ีใ คร คิด ออก ; ยอมแพ ก็เ ปน อัน วา ยอมใหง มงาย. ลองไปคิด ดู อะไรมัน จะ ชว ยแกไ ขได ? มัน ก็ม ีห ลัก ทั ่ว ๆ ไป ที ่เ ราจะตอ งนํ า มาใช. เราจะใหเ ขาเวน หรือ เลิก ละ หรือ วา ชะลา งอะไร เราก็ต อ งแสดงใหเ ห็น โทษของสิ ่ง นั ้น . เชน เราจะให เ ขาละความงมงาย เราจะต อ งแสดงให เ ขาเห็ น โทษของความ งมงาย. ถาม : คุณจะใหใครเปนผูแสดงโทษของความงมงาย ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : ก็ทุกคนที่เขาใจเรื่องนี้.

นี่ ถู ก แล ว คุ ณ ทอง, ดี ก วาที่ โยนมาให พ ระแต ข างเดี ย ว. ถ าพระเกิ ด อยากไดประโยชนจากคนงมงายแลวพระก็ยิ่งไมสอนซิ ก็ยิ่งสวมรอยใหคนงมงาย, แลวเอาอะไรมาใหพระมาก ๆ ขึ้น. พระก็จะไมชี้โทษของความงมงาย. มั น จะต อ งเป น หน า ที่ ข องทุ ก คน ที่ จ ะหาโอกาสให เหมาะ เวลาให เหมาะ บุ ค คล สถานที่ ให เหมาะ ที่ จ ะชี้ ให เห็ น โทษของความงมงายอยู บ อ ย ๆ เขาก็จะเลิกความงมงายกันได.

www.buddhadassa.in.th


การทําความเจริญงอกงามของศีลธรรม

๕๐๑

ถาม : คุ ณ ทองจะชี้ โทษของความงมงาย ที่ มั ว แต ไหว จ อมปลวกอยู ให เขา หยุดไหวจอมปลวกไดอยางไร ? ตอบ : จะไหว ห รื อ จะป ด ทองสั ก กี่ ค รั้ ง สั ก เท า ไรก็ ต าม ความทุ ก ข นั้ น จะ สรางซาไปจากตัวผูนั้นไมได. เขาจะตองเขาใจอยางนี้ครับ. ข อ นี้ จ ะไม เป น อย า งนั้ น ก็ ได . ถ า เขาเชื่ อ อย า ง ๑๐๐ เปอร เซนต พอ เขาไปปดทองหรือ ไหวจอมปลวกเขาครั้งหนึ่ง เขาก็จะสบายใจ อยางนอยสักครูหนึ่ง สัก พัก หนึ ่ง . นี ่ม ัน ก็รัก ษาความงมงาย หรือ เสริม ความงมงาย ใหยัง คงอยูไ ด. นี่จะตองพยายามกันถึงขนาดที่วา ใหรูวา ถาเปนเรื่องทางจิตแลว มั นหลอกได, มันหลอกใหรูสึกเหมือนกับวา มีประโยชน หรือวาดับทุกขได. เราตอ งแสดงสิ ่ง ที ่ด ีก วา หรือ จริง กวา , คุณ ประยูร เปน หมอ คง รูจั ก ให เขากิ น ยาหลอก ๆ ที่ ให ห ายสบายไปสั ก พั ก หนึ่ ง , แล ว ต อ มาก็ ใ ห ย าที่ แ น นอนกวา นั ้น ที ่ใ หม ัน หายขาดจริง ๆ นี ่เอาวิธ ีก ารอยา งนี ้แ หละมาใช ; ใหเขา มองเห็ น วา หายขาด หายจริง กับ หายชั่วคราวนั้ น มั น เป น อยางไร ก็จะคอ ย ๆ ขูดเกลาความงมงาย ซึ่งที่แทมันก็มีผลทางจิตใจอยูเหมือนกัน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถ า เป น คนมี ป ญ ญาน อ ย ; ขออภั ย ที่ ต อ งพู ด ว า โง ม าก มั น ก็ ห ลี ก ไม พ น ที่ จ ะต อ งยึ ด ความงมงายบางอย า งมาเป น สรณะ ; กว า จะแกะออกได นี่ เปน เรื ่อ งใหญโ ตที ่เ ดีย ว. แตเ ดี ๋ย วนี ้เ ราจะตอ งถือ หลัก วา เราเปน พุท ธบริษ ัท นับถือพุทธศาสนา ตองทําอะไรใหตรงตามความหมายของคําวา พุทธะ. ถาม : คําวา พุทธะ แปลวา อะไร คุณทอง ?

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๕๐๒ ตอบ : ผูรู ผูตื่น ผูเบิกบาน ครับ.

ความหมายนี ้ห มดจด ถา แปลวา ผู รู ผู ตื ่น ผู เบิก บาน. พุท ธะ ถามฝรั่งดูเถอะ อาตมาแกลงถามหลายคนแลว ฝรั่งที่เขาเรียนมาถูกตอง ฝรั่ง สวนมากจะตอบวา “พุทธะ คือผูตื่นนอน”, ผูตื่นจากหลับ ถูกตองเหมือนกับ ที่ครูบาอาจารยของเราแตกาลกอนไดเคยพูด เคยใชคํานี้ วา พระพุทธเจาเปน อ รหั น ต ผู  ตื ่ น จากกิ เ ล ส นิ ท รา ; ตื ่ น จาก ห ลั บ คื อ กิ เ ล ส นั ่ น แ ห ล ะ คื อ พุทธะ. เมื่อเราเปนพุทธบริษัท นับถือพระพุทธเจา ตองมีความเปนพุทธะ คือความตื่นนอน ตื่นจากหลับ ; ถาหลับคืองมงาย ถาตื่นคือหายงมงาย ; นี่ตอง ชว ยกัน ใหตื่น . พระพุท ธเจา เปน ผูตื่น แลว ปลุก คนอื่น ใหตื่น ; ถา สมมติวา เราตื่ น ตามที่ พ ระพุ ท ธเจ า ปลุ ก เราก็ ส ามารถที่ จ ะปลุ ก คนอื่ น ให ตื่ น ต อ ไปอีก,

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : ฉะนั้น หนาที่ที่จะตองรีบทําที่สุดนั้นคืออะไร คุณประยูร ?

ตอบ : หนาที่ก็คือการปลุกตัวเราเองใหตื่นเสียกอน.

ถาม : หนาที่สําคัญ ที่สุด ที่ดวนที่สุด จําเป นที่สุด ก็คือการปลุกตัวเราเอง ใหตื่นเสียกอน. เดี๋ยวนี้คุณตื่นถึงขนาดที่ปลอดภัยแลวหรือยัง ? ตอบ : ยังไมรับประกันตัวเอง.

www.buddhadassa.in.th


การทําความเจริญงอกงามของศีลธรรม

๕๐๓

ถาม : คุณทอง ? ตอบ : ยังไมรูสึกวาจะปลอดภัยครับ. ถาม : เอา, คุณล้ํา ละ ? ตอบ : ยังไมปลอดภัย ครับ. ถาม : ทั้ง ๓ คน ยอมแพหมด ไมกลายืนยันวา “ขาพเจาเปนผูตื่นในลักษณะ ที่พอจะเรียกไดวาปลอดภัย”. คุณยังหวังวาจะทําผิด ทําอะไรอีกตอไป อยางนั้น หรือ ? คือ ไมป ลอดภัย นะ ยังหาชอ ง หาโอกาส หาอะไร เผื่อใหกลับไปอีกหรือ ? ตอบ : คื อการคิ ด ที่ จะทํ าผิ ด ต อ ไปไม คิ ดแล ว. แต ก ลั ววา สติ มั น จะตามไม คอยทันในบางครั้งบางคราวอยูบาง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ก็เรียกวาตื่นไมทัน ความรูควรจะเพียงพอ เสียชั้นหนึ่งกอน จะได มีสัจจะที่แนลงไปวา เราไมอยากจะหลับ เราเกลียดความหลับ, เราตองการ จะตื่น. ทีนี้ ก็พยายามใหมันตื่น ใหทันเวลาที่ควรจะตื่น. ถาม : ถาตื่นอยูเสมอ ไมมีหลับอีกตอไป เขาเรียกวาอะไร ? ตอบ : พระอรหันต ครับ.

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๕๐๔

พระอรหันตเปนผูตื่นอยูโดยสมบูรณ ; แลวเราไมกลาประกาศตัว เปนพระอรหันต จึงไมกลาบอก วาตื่นอยูในลักษณะที่ปลอดภัย. เรื่องนี้อยาไป ไดคิด โออ วดวา จะเปน พระอรหัน ต ก็พ อแลว . พยายามทํา ความตื่น ใหม าก ที ่ ส ุ ด ให เ ร็ ว ทั น แก เ วลาที ่ ส ุ ด ก็ แ ล ว กั น . นี ่ จ ะเรี ย กว า มี ศ รั ท ธาที ่ ตั ้ ง มั ่ น ที่มั่น คง ; เพราะวามีปญ ญา มีค วามตื่น มีส ติ มารวมกัน อยูที่ศ รัท ธาก็พ อ. อะไร ๆ มารวมอยูที่กําลังของศรัท ธา ; ศรัท ธาที่ถูก ตอ งแลวก็เดินไปในทางที่ ถูกตอง แลวมันก็ขยายตัวออกไป จนกวาจะถึงจุดที่มันจะถูกตองถึงที่สุด. [ตอไปนี้ มีขอความที่แสดงใหเห็นวามีศรัทธาในองคมรรค ]

ถาม : อริยมรรคมีองค ๘ มีอะไรบาง คุณทอง ? ตอบ : จําไมไดหมดครับ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : คุณประยูร ?

ตอบ : ทางปญญามี ๒.

ถาม : วาไป, ที่วามีองค ๘ มีอะไรบาง ?

ตอบ : มี ๑. ความคิดเห็นชอบ ๒. ความดําริชอบ ๓. การงานชอบ. ถาม : นี่ก็จําไมไดหมดเหมือนกัน สับสนหมด, คุณ ล้ําละ มรรคมีองค ๘ ?

www.buddhadassa.in.th


การทําความเจริญงอกงามของศีลธรรม

๕๐๕

ตอบ : สัมมาทิฏฐิ ความเห็นชอบ ดําริชอบ วาจาชอบ. เอา, ถาอางบาลีก็วาใหเปนคูไปซิ...นี่ก็จําไมไดเหมือนกัน. นี่พิสูจน ว า ศรัท ธาในพระธรรมนี้ ยั งไม เพี ย งพอ ; ต อ งให ค ะแนนน อ ยหรือ ไม ให เลย. ศรัทธายังไมพอในพระพุทธศาสนา แมแตจะจําคํา ๘ คํา นี้ก็จําไมได : สัมมาทิฏฐิ

-ความเห็นชอบ,

สัมมาสังกัปโป -ดําริชอบ ; สัมมาวาจา

๒ อยางนี้เปนปญญา.

-วาจาชอบ,

สัมมากัมมันโต -การงานชอบ ; สัมมาอาชีโว

-อาชีวะชอบ ;

สัมมาวายาโม

-พากเพียรชอบ,

สัมมาสติ

-สติชอบ,

สัมมาสมาธิ

-สมาธิชอบ ;

๓ อยางนี้เปนศีล.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๓ อยางนี้เปนสมาธิ.

ถาม : ถูกไหม ? แลวศรัทธาอยูที่ไหน ? ไมเห็นพูดถึงศรัทธาเลย ; มีพูดถึง ทิฎฐิ สังกัปปะ วาจา กัมมันตะ อาชีวะ วายามะ สติ สมาธิ. ทําไม ไมเห็นพูดถึงศรัทธาเลย ศรัทธาอยูที่ไหน ? ตอบ : ตอนนี้ศรัทธาอยูในปญญาครับ.

www.buddhadassa.in.th


๕๐๖

การกลับมาแหงศีลธรรม

เพราะวา ไดพ ูด ถึง ทิฏ ฐิ สัม มาทิฏ ฐิ หรือ ปญ ญาเสีย อยา งเต็ม ที่ แลว ; ไม ตองกลัวที่วาความเชื่อนั่นจะผิดได มั นก็คือ ปญ ญา เห็ นชอบนั่นแหละ มี ค วามหมายแห ง ความเชื่ อ เต็ ม เป ย มอยู นั้ น แล ว . ฉะนั้ น พุ ท ธบรษั ท อุ บ าสก อุบ าสิก า คนไหนก็ต าม อยา ไดเ ขา ใจผิด เรื่อ งนี้ ; เดี ๋ย วจะหาวา ในอริย มรรค มีองค ๘ นั้น ไมมีสิ่งที่เรียกวาศรัทธา แลวตองมาสอนใหศรัทธา ๆ ๆ กันอีก. นี่ก็ไมคัดคานกัน ศรัทธามีอยูแลวโดยสมบูรณ ในคําวา สัมมาทิฏฐิ ; ศรั ท ธานั้ น คื อ สั ม มาทิ ฏ ฐิ ในพระพุ ท ธศาสนา. สํ า หรั บ ศรั ท ธาในพระพุ ท ธ ศาสนาเปน อยา งนี ้. ศรัท ธาในศาสนาอื ่น เราไมรับ ผิด ชอบ คือ วา เราไมรับ รอง ไมย ืน ยัน ; ยืน ยัน แตเ ฉพาะในพระพุท ธศาสนาวา ศรัท ธานั ้น มัน รวมอยู ใ น สัม มาทิฏ ฐิ ; ก็เปน อัน วา ไวใ จได แลว เราไมข าดอะไร, เราไมม ีอ ะไรบกพรอ ง ที่จะประพฤติปฏิบัติ และเราก็จะเปนผูรู ผูตื่น ผูเบิกบาน. ทํ า อยา งไรจะใหม ีศ รัท ธาชนิด นี ้ หรือ มีส ัม มาทิฏ ฐิช นิด นี ้ ? ขอให ไปคิด ไปนึก , ชว ยกัน ไปคิด ไปนึก ไปปรึก ษาหารือ ; ไปปรับ ทุก ข ยิ ่ง กวา ไม มีข า วกิน ยิ ่ง กวา การไมรูห นัง สือ ยิ ่ง กวา ความเจ็บ ไข. อาตมาอยากจะพูด วา คนทั้ง โลกยัง หลับ อยู เพราะกัง วลแตวา ไมรูห นัง สือ เจ็บ ไข ประชาชนจะ ลน โลก ตอ งคุม กํ า เนิด . นี ่ไ มส นใจวา อะไรที ่จ ะชว ยมนุษ ยนี ้ใ หร อด. สัม มาทิฏ ฐิเทา นั้น ที ่จ ะชว ยใหร อด แลว จะมีขา วกิน , แลว จะรูห นัง สือ , แลว จะไมเจ็บ ไมไ ข. แมว า คนจะมีจํ า นวนมากก็ไ มเ ปน ไร เพราะถา มีแ ตค นดี มัน ตอ งชว ย กันได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


การทําความเจริญงอกงามของศีลธรรม

๕๐๗

ฉะนั ้น ขอใหม ีส ัม มาทิฏ ฐิ ยถาภูต สัม มัป ปญ ญ า เปน เครื ่อ ง ชว ยแกป ญ หา ที ่กํ า ลัง กลัว กัน อยู ม าก ; แลว จะแกป ญ หาทางศีล ธรรม ใหมี ศีลธรรม ใหเปนอยูอยางสงบสุขได. นี ่เ รีย กวา รากฐานหรือ อุด มคติข องศีล ธรรม ๕ ประการ ซึ ่ง เราเคย วิพ ากยว ิจ ารณก ัน มาแลว . เดี ๋ย วนี ้ เราก็พ ูด ในแงที ่จ ะประยุก ต คือ ทํ า ใหม ัน มี ขึ ้น มาไดจ ริง ๆ. ขอใหเ อาไปคิด ไปนึก ไปปรึก ษาในเรื ่อ งนี ้ ใหยิ ่ง กวา ที ่จ ะมัว แต ป รึ ก ษา เรื่ อ งไม มี อ ะไรจะกิ น จะเจ็ บ จะไข จะไม รู ห นั ง สื อ เป น ต น นั้ น ไม ใ ช ป ญ หาเลย. ถ ามี สัม มาทิ ฏ ฐิ หรือ ศรัท ธาที่ เป น สั ม มาทิ ฏ ฐิ หรือ มี ยถาภู ต สัม มั ป ปญญาแลว ปญหาเหลานั้นจะหมดไป. ฉะนั้ น เราไม เห็ น ด ว ยกั บ รั ฐ บาลไหนก็ ต ามในโลกนี้ ที่ จ ะมั ว พู ด กั น แตเ รื ่อ งไมรู ห นัง สือ ไมม ีอ าหาร ไมม ีห ยูก ยา อะไรนี ่ เราไมเ ห็น ดว ย. เราจะ พู ด ใ น แ ง ที ่ ว  า ทํ า ไม ไม ม ี ศ ี ล ธ ร ร ม , ทํ า ไม ไม ม ี ส ั ม ม า ทิ ฏ ฐิ ที ่ จ ะ ทํ า ใ ห มีศ ีล ธรรม. นี ่เ ราจึง เปน พุท ธบริษ ัท ที ่ย ืน ยัน ความเปน พุท ธบริษ ัท ยึด หลัก ของพระพุ ท ธเจ า ; ไม ไปหลงตามชาวบ า นที่ เห็ น แต เรื่อ งวั ต ถุ เรื่อ งปากเรื่ อ งท อ ง เรื่องทางฝายรางกายอยางเดียว โดยที่ไมรูวาเรื่องทางฝายรางกายนี้แกปญหาไดดวย สติปญญาของจิตใจ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ขอใหพ ยายาม พัฒ นาจิต ใจ พยายามอบรมจิต ใจ ใหม ีค วามรู อัน เพีย งพอ จะแกป ญ หาเหลา นั ้น ได ; ฉะนั ้น อยา ไปตามกน พวกที ่ม อง เห็นแตปญหาทางวัตถุเลย ; แลวศีลธรรมก็จะกลับมา.

www.buddhadassa.in.th


๕๐๘

การกลับมาแหงศีลธรรม

นี่คือการทําความเจริญงอกงามใหแกศีลธรรม ; ในปญหาทีแรกก็คือ การประยุกตในสวนที่เปนรากฐานของศีลธรรมใหสมบูรณ. วันนี้เราพูดกันไดแต เพียงการจัดการสวนรากฐาน วันหลังเราจะพูดถึงการจัดการเกี่ยวกับสวนที่เปน ลําตน และสวนที่เปนดอกผลตอไป. เดี๋ยวนี้ก็เปนการสมควรแกเวลาแหงการ บรรยายในวันนี้.

ขอยุติไวเพียงเทานี้ ใหโอกาสพระคุณเจาทานจะไดสวดบทพระธรรม ที่เปนกําลังใจ เพื่อจะมีมาใชในการแกไขปญหาตาง ๆ ของพุทธบริษัทใหเพียง พอ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม -๑๒๑๗ เมษายน ๒๕๑๙

การถอยหลังเขาคลอง [ ปญหาศีลธรรมในยุคปจจุบัน ]

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทานสาธุชน ผูมีความสนใจในธรรม ทั้งหลาย,

ก า ร บ ร ร ย า ย ป ร ะ จํ า วั น เส า ร ใ น ภ า ค วิ ส า ข บู ช า ค รั ้ ง นี ้ เ ป น ครั้ง ที ่ ๑๒ ของการบรรยายโดยหัว ขอ ใหญที ่วา การกลับ มาแหง ศีล ธรรม ต อ ไปตามเดิ ม ; แต จ ะได ก ล า วโดยหั ว ข อ ย อ ยในวั น นี ้ ว  า การถอยหลั ง เขาคลอง และก็เปนการบรรยายครั้งสุดทายของการบรรยายชุดนี้.

๕๐๙

www.buddhadassa.in.th


๕๑๐

การกลับมาแหงศีลธรรม

การบรรยายชุ ดนี้ มุ งหมายเพื่ อจะให เกิ ดความรูความเข าใจ จนสามารถ ปฏิบ ัต ิไ ด เพื ่อ การกลับ มาแหง ศีล ธรรม ; เราไดพ ูด กัน ในแงม ุม ตา ง ๆ เพื ่อ ใหรูจักวาศีลธรรมนั้นคืออะไร, เรายังขาดอยูในลักษณะอยางไร, ไดพิจารณากัน โดยรายละเอีย ดในทุก แงท ุก มุม แลว . ในครั้ง สุด ทา ยนี ้ก ็จ ะไดก ลา วถึง ลัก ษณะ ของการกลับมาแหงศีลธรรมโดยเฉพาะ. ในครั้ง ที ่แ ลว เราไดพ ูด กัน ถึง การทํ า ใหเกิด ความเจริญ งอกงามแก ต น ไม ศี ล ธรรม ในส วนรากฐานหรือ อุ ด มคติ กระทั่ งรูวาจะควรทํ าอย างไร, และ ยังคางอยูไมไดกลาวถึงสวนที่เปนลําตนซึ่งประกอบไปดวยเปลือก กระพี้และแกน รวมทั้งสวนยอดสุดของใบคือ ใบ ดอก และผล. ขอนี้หมายความวา เราจะตองพู ดกันอีกสักหนอย ถึงสิ่งที่เปนลําตน หรือตนลําของพฤกษาแหงศีลธรรม อันไดแก ศีล สมาธิ และปญญา, และใบ ดอก ผล คือ มรรค ผล นิพพาน ก็จะพูดกันไปในคราวเดียวกันวา จะตองทําใหกลับ มาอย า งไร ; และการที่ จ ะทํ า ให ก ลั บ มาในกรณี อย า งนี้ มั น ออกจะแปลก ประหลาด ในการที่จะใชคําวา ตองถอยหลังเขาคลอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org [วิธีการณ และความหมายแหงการถอยหลังเขาคลองไปถึงหนา ๕๓๕ ]

คํ า วา “ถอยหลัง เขา คลอง” นี ่ ตามปรกติเ ปน คํ า ที ่ม ีไ วสํ า หรับ ตํ า หนิต ิเ ตีย น และเปน สิ ่ง ที ่เ ขาถือ วา ไมค วรจะกระทํ า ; แตบ ัด นี ้อ าตมากลับ มาระบุ ล งไปว า เป น สิ่ ง จํ า เป น อย า งยิ่ ง . ถ า จะทํ า ให ศี ล ธรรมกลั บ มาในยุ ค นี้ ป จจุ บั นนี้ เราจะต อ งมี การกระทํ า ชนิ ด ที่ เ รี ย กว า ถ อ ย ห ลั งเข าค ล อ ง.

www.buddhadassa.in.th


การถอยหลังเขาคลอง

๕๑๑

ดัง นั ้น ในที ่ส ุด นี ้ อยากจะขอทํ า ความเขา ใจเกี ่ย วกับ คํ า วา “ถอยหลัง เขา คลอง” นี้ ให เป น ที่ แ จ ม แจ งกั น เสี ย ก อ นวามั น มี ค วามหมายอย างไรแน ? เป น ตั ว เสนียดจัญไร หรือวาเปนสิ่งที่จะนํามาซึ่งสวัสดีมงคล ? ขอใหชวยพิจารณาดู. ถาม : ขอตั้ งป ญ หาขึ้ น มา ในชั้น แรกนี้ วา คํ าวา “ถอยหลั งเขาคลอง” นั้ น มี ความหมายอย างไร ? หรือ เขาจะกระทํ าในเมื่ อ มั น มี ส ถานการณ อ ะไร เกิดขึ้น ? ขอถามวา ถอยหลังเขาคลอง คืออะไร คุณประยูร ? ตอบ : “ถอยหลังเขาคลอง” นั้น ถาเอาความหมายตามทางโลก ตามธรรมดา ปุถ ุช นที ่ใ ชก ัน เขาใชใ นทางที ่ไ มด ี ; หมายความวา ไปทํ า ในสิ ่ง ที่ เขาเลิก ทํ า กัน แลว ในสิ ่ง ที ่ไมถ ูก ตอ ง แลว ยอ นกลับ ไปทํ า ใหม เอาสิ ่ง ที่ไมดีกลับมาทําใหมอีก. ถาม : เราจะพูดใหเจาะจงกวานั้นวา ในกรณีเชนไร เราจึงมีการถอยหลังเขา คลอง ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : ในเมื่อมันเดินผิดทางแลว จึงตองถอยหลังกลับมาเขาคลอง.

ถาม : พู ด ให ชั ด เป น ตั ว อย า ง เช น ว า เรื อ เล น อยู ใ นน้ํ า ในกรณี เช น ไรบ า ง ที่เรือลําหนึ่ง ๆ หรือเรือบางลํานั้นจะตองถอยหลังเขาคลอง ?

ตอบ : ในเมื่อเรือลํานั้นวิ่งหลงทาง ครับ, วิ่งหลบทางที่ไมใชทางที่ถูก ; แต มัน หลงไป พอรูส ึก วา มัน หลงแลว มัน ตอ งถอยกลับ มาหาทางเดิม จึงไปได.

www.buddhadassa.in.th


๕๑๒

การกลับมาแหงศีลธรรม

ถาม : ถอยหลังเขาคลอง คุณทองวาอยางไร ? ตัวอยางที่ชัด ๆ ไมตองสมมติ ก็ได ตัวอยางที่มันมีอยูจริง ที่มันตองถอยหลังเขาคลองนั้น เชนอะไร บาง ? ตอบ : เชนในการเดินเรือครับ ; เมื่อเห็นวา ฝนตั้งเคา หรือมรสุมมันตั้ง เคา ไมอาจที่จะแลนตอไปขางหนาได ; เพราะเหตุวา หากจะแลน ไปแลว จะตองโดนมรสุม เรือจึงตองถอยหลังเขาคลองครับ. ถาม : นี้เปนการทําถูกหรือทําผิด ? ตอบ : ในกรณีนี้ทําถูกครับ. ถาม : คุณล้ํา มีเรื่องอยางไรอีก ที่ตองถอยหลังเขาคลอง ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : การถอยหลั ง เข า คลอง ในที่ นี้ ก็ ห มายถึ ง การเดิ น ผิ ด ทางในทุ ก แง ทุกมุม เกี่ยวกับการปฏิบัติระบบศีลธรรม.

ถาม : ยังไมพูดถึงการปฏิบัติ. ถอยหลังเขาคลองดวยเรือในน้ําจริง ๆ ไมพูดถึง การปฏิบัติ. ในกรณีอยางไรอีกที่จะตองถอยหลังเขาคลอง ?

ตอบ : หมายถึงการเดินทางไปในทางที่จะเกิดอันตรายแลวมีวิกฤติการณตาง ๆ เรือ ลํา นั้น จวนจะอัป ปางแลว ถา เดิน ไปก็อ ัป ปางแน จึง ถอยหลัง เขาคลองครับ.

www.buddhadassa.in.th


การถอยหลังเขาคลอง

๕๑๓

ถาม : ก็คลาย ๆ กับที่คุณทองวา เห็นวา เคาไมดีแลวมันก็ตองถอยหลัง เขาคลอง ยังมีอะไรอีก ? คุณประยูรวาอีก ในกรณีที่เรือจริง ๆ จะตอง ถอยหลังเขาคลอง ไมไดยกตัวอยางนอกไปจากที่มันมีอยูจริง ? ตอบ : ในกรณีที่เรือโดนพายุแลวไปเกยตื้น ไปไมได ก็ตองถอยหลังเขาคลอง. ถาม : จะโดนพายุหรือไมโดนพายุ ถามันไปเกิดเกยตื้นแลว มันก็ถอยหลังลง คลอง ลงรอ งลึก นี ้. หมายความวา เรือ ลํ า นั ้น ดว ยเหตุอ ะไรก็ต าม มั น ป น ขึ้ น ไปจากรอ งน้ํ า ไปอยู บ นตื้ น ; ไปไม ได มั น ต อ งถอยหลั งเข า คลอง. กรณีอยางนี้เรียกวา ทําถูกหรือผิด ? ตอบ : อยางนี้ถูกครับ. ถาม : เอา, มีอยางไหนอีก การถอยหลังเขาคลอง ? อยากจะขอพูดบาง สัก ตัวอยางหนึ่งเชน รบกัน ออกเรือไปเพื่อจะรบกัน เห็นวาสูไมได แลว ก็ถ อยหลัง เขา คลองกลับ บา น ; นี ้ก ็เ รีย กวา ถอยหลัง เขา คลอง, อยางนี้เปนกรณีที่ทําถูกหรือทําผิด คุณประยูรวาถูกหรือผิด ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : อยูที่วาไปรบกันเรื่องอะไร.

ถาม : ไปรบด วยเรื่อ งอะไรก็ ต ามใจ ออกจากคลองไปรบกั น แล วเราเห็ น วา สูไมได แลวเราก็ถอยหนี หนีเขาคลองกลับเขาคลองนี่ มันเปนการทําถูก หรือทําผิด ?

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๕๑๔

ตอบ : ถาพูดถึงวา การที่รบกันนั้น มันไมใชเรื่องที่จําเปนที่จะตองรบ แลว เราหนีก ลับ เขา มาเขา คลอง ถูก ครับ ; แตว า ถา การรบนั ้น เปน เรื่องที่เราจําเปนจะตองเอาชนะ มันไมถูก. ถาม : คุณทองละ ถูกหรือผิด เห็นวาสูไมไดแน ? ตอบ : ยังเปนการถูกตองอยูครับ เชนวาเรากลับมาเพื่อจะเตรียมสะสมใหม คือถอยหลังตั้งหลักใหมครับ. ถาม : สุ ด แท แ หละ, แต มั น ก็ ถ อยหลั งก็ แ ล ว กั น . คุ ณ ล้ํ า ล ะ ว าถู ก หรือ ผิ ด กรณีที่เห็นวาสูไมไดแลวถอยหลังเขาคลอง ? ตอบ : ถาสูไมได แลวถอยหลังเขาคลอง ผมวาไมควรนะครับ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : ไมควรถอย ทําอยางไร เห็นวาสูไมไดอยูแท ๆ ไมควรถอยทําอยางไร วาไป ?

ตอบ : ตองเอาแพ เอาชนะกัน.

นั้นเปนความเห็นสวนตัว. เอาละ, นี่ก็เปนเรื่องที่จะพอมองเห็นกัน อยูทั้งนั้น วาเราออกมาจากคลองจะเดินทางไปในทะเล เห็นวาพายุมันตั้งขึ้นมา เปนอันตรายแน เราถอยหลังเขาคลองเสีย ไปรออยูกอน นี่มันก็ถูก. หรือวา ออกปากน้ําบางแหงรองน้ํามันสับสน มันไปเกยตื้น ; เราก็ตองถอยหลังลงมา หาคลอง. การถอยหลั งลงคลองนี้ ก็ ถู ก แน ; แล วในกรณี ที่ จ ะออกไปรบกั น

www.buddhadassa.in.th


การถอยหลังเขาคลอง

๕๑๕

ทางทะเล เพื่อปองกันบานเมือง เห็นวาสูไมไดก็ถอยหลังเขาคลองเสีย ปลอดภัย ไวกอน มันก็เปนการทําที่ถูกตอง. ถาม : ทีนี้ ยกตัวอยางการถอยหลังเขาคลอง ที่ไมถูกตอง ที่ควรตําหนิ มันคือ อยางไร ? มันคืออยางไรเขาจึงเกลียดชังกันนักหนาวา ถอยหลังเขาคลอง นี่มันใชไมได. มันเชนในกรณีอยางไร คุณทอง ? ตอบ : กระผมไดยินคําเหลานี้ มาจากการที่ผูใหญติเตียนลูกหลาน หรือ เด็ ก ๆ ก็คื อ การทํ างานนั้ น ทุ ก คนหวังที่ จะก าวหน า คื อ ทํ าให ดี ยิ่งขึ้น ๆ ; แตถ า เมื ่อ ทํ า เลวลงแลว ผู ใ หญม ัก จะติง วา ทํ า แลว ไมเ ห็น ดีขึ ้น คือ เปรีย บกับ การถอยหลัง เขา คลอง. ผมไดย ิน คํ า นี ้ม าตั ้ง แตเ ด็ก ๆ คือ ติเตียนอยางนี้ ครับ. ถาม : เอา, การถอยหลังเขาคลองชนิดไหนละ ที่มันไมดี ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : ในกรณีเชนนี้ คือทําแลวไมดีกวาเดิม.

อันนี้ มั น เป นการทํ างานไปแล ว. เราหมายถึงการถอยหลังดวยเรือ ใน น้ํ า แล ว เข า คลองจริง ๆ ในกรณี อ ย างไร ที่ ว า มั น ไม ดี มั น ใช ไม ได มั น ควรถู ก ติ . อยางที่คุณ วานี้ บางทีไปเอาคําเขามาใชผิดก็ได คือ คําวา “ถอยหลังเขาคลอง”. นี้ เป น คํ าที่ ถู ก ต อ ง ; สอนไปในความหมายที่ ถู ก ต อ งวา ให ถ อยหลั งเข าคลอง จึ ง จะถูกตอง แลวไปยืมคํานี้มาใชอยางผิด ๆ จึงไดเกิดคําพูดอยางนั้นขึ้นมา ; นี่มันก็ มีทางที่จะเปนไปได ; ฉะนั้น ยังไมเปนตัวอยางที่แสดงวา การถอยหลังเขาคลอง แลวมันผิด.

www.buddhadassa.in.th


๕๑๖

การกลับมาแหงศีลธรรม

ถาม : คุณประยูรยกตัวอยางวาเรือถอยหลังเขาคลอง มันผิดอยางไร ในกรณี อยางไร ? ตอบ : เกี่ย วกับ เรือ คือ ตามปรกติ เรือ มัน ตอ งเดิน หนา . ทีนี้ก ารที่จ ะเดิน ถอยหลัง ถือวาเปนการกระทําที่ไมถูกตอง คือมันคงจะรุมรามหรือวา ไมสะดวก อะไรแบบนั้นแหละครับ ในแงของเรือ. ถาม : มันจะมีไดหรือ มันจะเปนไปไดหรือที่ใครมันจะแจวเรือถอยหลัง หรือ วาเรือมันถอยหลังเขาคลอง ในเมื่อ มันไมมีเหตุผ ลสมควร ใครจะ ถอยหลังเขาคลอง ? ตอบ :ที่ผมเคยเห็นถอยหลังไป มีครับ ; เกี่ยวกับน้ําเชี่ยว ๆ ที่น้ําเชี่ยวจริง ๆ แลวถาจะลงตามน้ํามันจะแรงเกินไป และชนกอนหิน เลยตองถอยหลัง โดยใชเครื่องคุมอัตราเร็วของเรือคอย ๆ พยุงไวใหเรือคอย ๆ ถอยลงมา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : อย า งนี้ มั น ไม ใ ช ถ อยหลั ง เข า คลอง มั น ถอยหลั ง ออกปากอ า วนี่ . ไมถูก ไมใชเรื่องนี้. คุณล้ําวาอยางไร ?

ตอบ : ผมขอสมมติเ ปน เรือ ลํา หนึ ่ง ก็ม ีเ จา ของเปน คนเกง มีสิน คา เต็ม ลําแลว จะไปคาโดยมีกําไรอยางสวยงาม. แตพอดีหวนคิดถึงความ สนุกสนานทางบาน คิดถึงการเพลิดเพลินทางบาน เปนตนวาเกี่ยว กับผูหญิงหรืออะไรสักอยางหนึ่ง เหนี่ยวรั้งจิตใจ จนทําใหไปไมได จึงถอยหลังเขาคลอง ทําใหของนั้นเสียหาย. ตอนนี้ทําใหตองถอย หลังเขาคลอง ดวยการเห็นแกประโยชนเกี่ยวกับตัณหาราคะ. นี้เปน ต น เหตุ อ ย างหนึ่ ง และเกี่ ยวกั บ ความสนุ ก สนานเพลิ ด เพลิ น ด วย

www.buddhadassa.in.th


การถอยหลังเขาคลอง

๕๑๗

อายตนะที ่เราตอ งการ จึง ไดทิ ้ง สิ ่ง ของโดยการถอยหลัง เขา คลอง นี ้ก็ มีครับ. ถาม : ตัวอยางนี้มันเปนเรื่องของการเลิกลมความตั้งใจ ที่จะทําการคา เพราะ ว า ความคิ ด เลว ๆ มั น เกิ ด ขึ้ น ครอบงํ า ; นี่ เป น ใจความสํ า คั ญ . ไม มี ความหมายของคําวา ถอยหลังเขาคลองโดยสมบูรณ. ตอบ : อีกอันหนึ่งก็มันไปไมรอดจริง ๆ อยางที่วา ลมก็จัดแรง... อย า งนั้ น มั น ก็ ถู ก เสี ย อี ก , มั น เป น เรื่ อ งถู ก เสี ย อี ก . อยากจะเห็ น ว า อยางไรที่เรียกวาถอยหลังเขาคลองแลวมันเปนการผิด. ถาคุณหาตัวอยางมาไมได ก็ตองเปนอันวา จะขอยุตติไวทีหนึ่งกอน วา การถอยหลังเขาคลองนี้ไมมีทาง ผิ ด ไม ใชสิ่งที่ น ารังเกีย จ เป น คํ าพู ดที่ มี อ ยูสําหรับ เตื อ น สํ าหรับ แนะนํ าให แกไข ใหม ัน ถูก ตอ ง. ฉะนั ้น คํ า นี ้ค วรจะถือ วา ลว นแตนํ า มาซึ ่ง ผลดี ไมไ ดนํ า มาซึ ่ง ผลราย เป นสิ่ งที่ ควรถือ ปฏิ บั ติ ให ถูกแกกรณี นั้น ๆ แลวทํ าไมคนจึงพากันเกลีย ด คําวา “ถอยหลังเขาคลอง”. ถามิใชเพราะเอาคํานี้มาตีความกันผิด ๆ มันก็ตองมี ความหมายอย า งอื่ น แล ว เราก็ ยั ง หาไม ได ; ให ห าก็ ห ามาไม ได ก็ ต อ งยุ ติ ไว ว า เปนสิ่งที่ควรกระทํา มองดูในแงที่มันควรกระทํา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สรุป ย้ํา อีก ครั้ง หนึ่งวา เชน วา ออกมาปากคลอง เห็นพายุตั้งขึ้น มา ก็ ต อ งถอยหลั งเข าคลอง, หรือ ว า ออกมาติ ด เกยตื้ น เพราะเดิ น ผิ ด คลองก็ ต อ ง ถอยหลัง เขา คลอง, หรือ ออกมาเห็น วา จะพา ยแกขา ศึก ในกรณีอ ยา งนี ้ใ นวัน นี้ ก็ตองถอยหลังเขาคลอง.

www.buddhadassa.in.th


๕๑๘

การกลับมาแหงศีลธรรม

ถาม : สรุปความไดวา คําวา “ถอยหลังเขาคลอง”นี้ เปนเพียงการแกไข ระยะสั้นระยะหนึ่งเทา นั้น ; ไมใชเปนหลักปฏิบัติที่จะตองปฏิบัติ เรื่อยไปอยางไมมีจุดจบ คือเปนเพียงขอปฏิบัติที่จะตองนํามาใชในคราว คับ ขัน ชั่วเวลาหนึ่ งเท านั้ น . ถูก ไหมคุ ณ ทอง ? ไม ใช ขอ ปฏิ บั ติ ที่ จ ะ ใชตลอดไป. ตอบ : ครับ ถูกครับ. ถาม : ไมใชขอปฏิบัติที่จะใชตลอดไป ดังนั้นจึงเปนการถูกตอง. เดี๋ยวนี้มนุษย ในโลกนี้ หรือวาประเทศไทยเราก็ตาม เรียกไดวาอยูในภาวะคับขัน หรือยัง คุณประยูร ? ตอบ : สภาวะเดี๋ยวนี่ จัดวาอยูในภาวะที่คับขันแลว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทุกคนควรจะรูสึกอยางนั้นวาอยูในภาวะที่คับขัน หรือวาเกือบจะดับ ขันก็ตาม ลวนแตตองแกไขทั้งนั้น. นี่หมายถึงภาวะทางศีลธรรมที่มันเสื่อมทราม ลง เสื่อ มทรามลง ; เพราะมัน เดิน ไปผิด ทาง คือ ผิด ครรลองของศีล ธรรม อุปมาเหมือนกับอะไรดี ใน ๓ อยางที่เราออกนามมาแลว.

ถาม : ภาวะคั บ ขั น ทางศี ล ธรรม ของประเทศไทย เรานี้ จะเปรี ย บกั บ อุปมาอันไหนดี ใน ๓ อยางนั้น ? ตอบ : ตองเปรียบกับเรือจะออกแลวมันมีมรสุมตั้งเคา ครับ.

www.buddhadassa.in.th


การถอยหลังเขาคลอง

๕๑๙

ถาม : คุณประยูรละ เปรียบกันอันไหนดี ? ตอบ : ตอนนี้ผมเปรียบวา มันเกยตื้นไปไมได. ถาม : เอา, คุณล้ํา ละ ? ตอบ : ผมวาทั้งเกยตื้น และพายุมันกําลังพัดมาแลว. เอ า, ลงคลองกั นที . เพราะว าข าศึ กมา เราต อ ง “ถอยหลั งเข าคลอง” ; มัน ก็พ อจะมองเห็น ได ; คํ า วา ขา ศึก ไมจํ า เปน ตอ งเปน บุค คล หรือ เปน เรื ่อ ง ทางวัต ถุเสมอไป ; เปน เรื ่อ งทางจิต ใจก็ไ ด. ขา ศึก คือ กิเ ลส คือ ความวิน าศนะ มัน กํ า ลัง มาแลว เราจะตอ งเตรีย มสู ใ หด ี. “ถอยหลัง เขา คลอง” หมายความ วา เตรียมตอสูใหดี ; ควรจะมองเห็นในแงนี้ ดวยกันได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาจะถือวาคอมมิวนิสตเป นขาศึก เราจะพ ายแพ แกคอมมิวนิสต เพราะ วาเราเตรียมตอสูไมดี ; ฉะนั้นเราก็ถอยหลังเขาคลองเพื่อจะเปนคอมมิวนิสตที่เหนือ กวา แลวเราก็จะชนะคอมมิวนิสตธรรมดาได. นี่เปนความเห็นของอาตมา. อยากจะฝากไวด วย ว าถ า จะป อ งกั น ต อ สู กั บ คอมมิ วนิ ส ต ก็ ต อ งเป น คอมมิว นิส ต ที ่ด ีก วา , หรือ ถา มีภ ัย จากสัง คมนิย ม เราก็จ ะเปน สัง คมนิย มที่ เหนือ กวา ที ่ม ัน ดีก วา เราก็ช นะได, หรือ แมแ ตป ระชาธิป ไตย ถา มัน เลวรา ย เปน ประชาธิป ไตยที ่เ ลวทราม อยา งที ่เ ห็น ๆ อยู  เราก็ต อ งเปน ประชาธิป ไตย ที่เหนือกวา ที่ถูกกวา เราก็จะเอาชนะได.

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๕๒๐

เพ ราะ ฉ ะ นั ้น ส รุป ค วา ม ไดว า ตอ งเปน ช นิด ที ่ถ ูก ก วา ดีก วา เหนือ กวา จึง จะเอาชนะได ; ฉะนั ้น การถอยหลัง เขา คลองนี ่ ก็เ พื ่อ จะ เตรียมตั วให มั นถู กต อง ให มั นดี กวา เหนื อกว า สํ าหรับเผชิ ญ หน ากั บข าศึ ก, หรือ การปรั บ ปรุ ง เสี ย ใหม ให มั น ลงคลอง ลงร อ ง ลงรอย ในเมื่ อ มั น มี ก ารเดิ น ผิ ด คลองจนเกยตื้น. รวมความแล ว ก็ เห็ น ว า มั น เป น การกระทํ า ที่ ถู ก ต อ ง, การถอยหลั ง เข า คลองนี ้ เป น การกระทํ า ที ่ ถ ู ก ต อ ง ; ฉะนั ้ น ควรจะนํ า มาใช ไ ด . เป น อั น ยุ ติ กั น ที ว า เรายอมรั บ ว า จะใช วิ ธี “การถอยหลั ง เข า คลอง” แห ง ความถู ก ตอ งกัน เสีย ใหม ; หลัง จากที ่เ ดิน มาผิด ทางก็ด ี, เดิน มาอยา งไมเ หมาะสมก็ด ี, เดิน มาอยา งไมพ รัก พรอ มก็ด ี, หรือ วา ทํ า อะไรผิด พลาดไป ลว นแตม ีท างที่ จะเสีย เปรีย บ ก็ดี ; ถอยหลัง เขา คลองมาเพื ่อ ปรับ ปรุง ใหถูก ตอ งกัน เสีย ใหม แลวจึงจะออกตอไป.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ....

....

....

....

ภาวะศีล ธรรมในประเทศไทยเรา เรีย กวา เสื ่อ มทราม มี อาชญากรรมมากขึ ้น ; ถา ขืน เปน อยู ใ นระดับ นี ้ จะตอ งวิน าศเปน แนน อน. เพื ่อ จะปอ งกัน อัน ตรายนี ้ แกไ ข หรือ วา ระงับ อะไรก็ต าม จะตอ งมีก าร กระทําใหมัน ถูก ตอ ง ในทางศีล ธรรม เรีย กวา ตอ งมีก ารถอยหลังเขาคลองใน ทางศีล ธรรม ; กลับ ไปมีศ ีล ธรรมที ่ถ ูก ตอ ง. นี ่เ รีย กวา เปน เหตุผ ลอยู ใ นตัว แลว มีเหตุผลชัดเจนอยูแลว ; วาเราจะตองถอยหลังเขาคลองอยางหลีกเลี่ยงไมได.

www.buddhadassa.in.th


การถอยหลังเขาคลอง

๕๒๑

อย า งเรื อ เกยตื้ น แล ว ต อ งถอยหลั ง ให ล งคลอง แล ว ค อ ยเดิ น ต อ ไป มั น ก็ จ ะมี ค วามถู ก ต อ ง คื อ มี ก ารกลั บ มาแห ง ศี ล ธรรม ก็ ป ลอดภั ย ได ; เพราะ ฉะนั ้น เราพูด ไดเ ลยวา การกลับ มาแหง ศีล ธรรม คือ การถอยหลัง เขา คลอง. นี่ พู ด เฉพาะกาล เฉพาะเหตุ ที่ มี อ ยู จริงสํ าหรับ พวกเราเวลานี้ หรือ วาทั้ งโลกก็ ได ; แตคงไมมีใครฟง. เราทา ทาย ที ่จ ะพูด วา ทั ้ง โลกก็ไ ด อยู ใ นฐานะที ่จ ะตอ งมีก าร กลับ มาแหง ศีล ธรรม ในลัก ษณะที ่ถ อยหลัง เขา คลอง ; เพราะเราถือ วา แต กอ นนู น เราเคยอยู ใ น คลอง มีศ ีล ธรรม ; โดยเฉ พ าะอยา งยิ ่ง ลว น แต เปน ผู เ ครง ครัด ในศาสนา, หรือ ในวัฒ นธรรม เปน ตน อยู ด ว ยกัน ทุก ชาติ ทุ ก ภาษา ทุ ก มุ ม โลก ; นั บ ตั้ ง แต ค นป า กระทั่ ง ว า คนที่ มั น เจริญ ถึ ง ที่ สุ ด เคยอยู ในคลองของศี ล ธรรม, ถือ ศาสนา เกลีย ดบาปกลัวบาป รักบุ ญ มี จิต ใจประกอบ ไปดว ยธรรม ในยุค หนึ ่ง สมัย หนึ ่ง ; มัน เพิ ่ง มาเปลี ่ย นแปลงในสมัย ที ่ว ัต ถุก า ว หน า สรางความเอร็ดอรอยแก อายตนะมากเกิ นไป จนเกิ น จนเฟ อ จนมนุ ษ ย ลื ม ตัวไป หันไปบูชาวัตถุ ความเอร็ดอรอยทางวัตถุโดยไมคํานึงถึงศีลธรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ศี ลธรรมนี้ เพิ่ งเสี ยไป เพิ่ งเสื่ อมทรามไป เมื่ อวัตถุ นิ ยมเขามา, หรือเมื่ อ มนุ ษ ย เริ่ม เดิ น ออกนอกคลองของศี ล ธรรม มั ว ไปหลงในเรื่อ งของวั ต ถุ นิ ย ม. สรุป ความไดวา มันเคยถูก เคยอยูกันอยางสงบนะ, แลวคอย ๆ ผิด คอย ๆ ผิด คอย ๆ ผิด มากขึ ้น จนผิด เหลือ ที ่จ ะทนได ฉะนั ้น จึง ตอ งถอยหลัง เขา คลอง ; จึง มองไม เห็ น ว า น า ตํ า หนิ ติ เตี ย น หรื อ น า รั ง เกี ย จที่ ต รงไหน สํ า หรั บ คํ า ว า “ถอย หลังเขาคลอง”. ....

....

....

....

www.buddhadassa.in.th


๕๒๒

การกลับมาแหงศีลธรรม

ถาม : ทีนี ้ ดูทั ่ว ๆ ไป เปน หลัก สํ า หรับ สัง เกตครา ว ๆ วา อะไรที ่ทํ า ใหเ ดิน ไป ผิด ไกลออกไปทุก ที จนอยู ใ นลัก ษณะที ่ว า มัน ควรจะเปลี ่ย น หรือ ถอยหลัง กลับ มา ? ในอุป มาของเราเกี ่ย วกับ ตน ไมท างศีล ธรรม เราแบง ตน ไมเ ปน ชั ้น รากฐาน ชั ้น ลํ า ตน และชั ้น สุด ยอด. ชั ้น ราก ฐานเรารวมเรี ย กว า อะไร ? คุ ณ ทองนึ ก ได ห รื อ เปล า ที่ เป น ชั้ น รากฐาน ของตนไม เราเรียกวาอะไร ? ตอบ : อุดมคติ ครับ. ถาม : เรี ย ก อุ ด มคติ ถู ก ต อ ง ที่ เป น รากฐานของต น ไม . ที่ เป น ต น เป น ลํ า ของตนไมเราเรียกวา อะไร ? ตอบ : การปฏิบัติที่ถูกตอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : การปฏิ บั ติ ที่ ถู กต อ ง หรือ สุปฏิ ป ตติ. แลวพอถึงปลายยอดของมัน สุด ยอดของมันเราเรียกวาอะไร ?

ตอบ : สันติภาพ ครับ.

สัน ติส ุข หรือ สัน ติภ าพ ในฐานะเปน ยอดสุด ของตน ไม. นี ่แ สดง วา คุณ ทองเขา ใจ และจับ ฉวยไดเ กง . ขอใหท ุก ๆ คนย้ํ า หัว ขอ นี ้ไ วใ หแ มน ยํ า ว า ต น ไม ท างศี ล ธรรม ขอ งเรา มี ร ากเป น อุ ด มคติ ถ ู ก ต อ ง, มี ต  น ลํ า เป น สุ ป ฏิ ป ต ติ ป ฏิ บั ติ ถู กต อ ง, มี ป ล าย ย อ ด เป น สั น ติ สุ ข ห รื อ สั น ติ ภ าพ .

www.buddhadassa.in.th


การถอยหลังเขาคลอง

๕๒๓

นี้ มั น เนื่ อ งกั น มาถึ ง เหตุ ก ารณ ที่ กํ า ลั ง เป น อยู ขอให ค อยฟ ง ให ดี เมื่ อ อาตมาจะกลา ววา เรามีอ ุด มคติที ่ถ ูก ตอ งเปน รา ก็ห มายความวา เรามีสิ ่ง ที่ เขาเรียกกันอยางสมัยใหม คําพูดสมัยใหม ปจจุบันนี้วา “คานิยม”. ประการที่ ๑. เราตองมีคานิยมที่ถูกตอง ; หมายความวา ที่เรา ทํ า ไปทั้ งหมดนั้ น เราต อ งการอะไรเป น ความถู ก ต อ ง. ถ า มั น เป น เรื่อ งวั ต ถุ “ค า นิยม” ของมันก็คือประโยชนที่จะไดจากวัตถุนั้น แตมันมิไดถูกเสมอไป ; ถามันเปน ไปเพื่อกิเลส มันก็ตองเปนคานิยมที่ผิด ; อยางวาจะมีเครื่องใชไมสอย ที่ดีที่แพง ที่ป ระดิ ษ ฐขึ้น ใหม , แต ใชไปในทางที่ ทํ าสัต วให มึ น เมา ให โง ให หลง จนกระทั่ ง เสื่อมเสียศีลธรรม ก็ตองเรียกวา เรามีคานิยมที่ตั้งไวผิด คือเอาเอร็ดอรอยทางเนื้อ ทางหนังเปนคานิยม ; ไมเอาความสงบสุข สันติสุข สันติภาพ วาเปนคานิยม. เหมื อ นกั บ ซื้ อ เครื่ อ งบั น ทึ ก เสี ย งมาเล น เพลง อย า งนี้ , เพราะค า นิย มของคนโง จึง ซื ้อ เครื ่อ งบัน ทึก เสีย งมาเลน เพลง ; แตเ ขาก็ไ มย อมรับ วา อยางนั้น เขาถือวา มันถูก เพราะสตางคของเขา ; เขาก็ซื้อ สิ่งที่แพง ๆ เหลานั้ น มาเล น เพลง และก็ เพลงเลว ๆ ด ว ย. เราอยู ที่ วั ด นี้ จะใช เ ครื่ อ งบั น ทึ ก เสี ย ง สํ า หรับ ทํ างาน ที่ เป น การอบรมสั่ ง สอน เผยแผ อ ย างถู ก ต อ ง ; อย างนี้ ก็ เรีย กว า มันมีคานิยมตางกันมาก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org หรือ จะเอาที เดี ย วหมดเลยว า ชี วิ ต ของเรานี้ เกิ ด มาทํ า ไม ? ควรจะ ไดอ ะไร, หรือ เพื ่อ อะไร ? เราวาดคา นิย มของการเกิด มา ไวอ ยา งถูก ตอ ง หรืออยางผิดพลาด, หรือวามันต่ําเกินไป มันไมสูงถึงขนาดที่ควรจะสูง. สมัยหนึ่ง เขาเคยมีคานิยมอยางหนึ่งในสิ่งนั้น ๆ ที่เขามี ตอมาถึงสมัยนี้ มันก็ไดเปลี่ยนไป

www.buddhadassa.in.th


๕๒๔

การกลับมาแหงศีลธรรม

เปนอยางอื่น จนถึงกับจะเรียกวา ตรงกันขามเอาเสียทีเดียว. ฉะนั้น การวางคา นิ ย มอย า งผิ ด ๆ กํา หนดกั น อย า งผิ ด ๆ นี ้ ก็ เ ป น ประการหนึ ่ ง ที ่ จ ะต อ ง ถอยหลังเขาคลอง. ไปศึกษาใหรูดีรูชั่ว รูผิดรูถูก รูจักสุขทุกขอยางถูกตองตามกฎเกณฑ ของธรรมชาติ แลวก็จึงจะสามารถกําหนดคานิยมของอะไร ๆ ไดอยางถูกตอง. ถาม : คําวา ถูกตอง นี้เอาอะไรเปนเครื่องวัด เอาอะไรเปนหลัก แลวตัดสิน วาถูกตอง คุณทอง ? ตอบ : เอาความปรกติเปนหลัก ครับ. ถาม : ขยายความของคําวา ปรกติ ออกไปใหคนเขาฟงงายสักหนอย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : คือทุกอยางจะไมกอความเดือดรอน ใหแกตนเองและผูอื่น.

นั่น แหละ ถูก พอแลว อยาพูดมาก ; เทานั้น พอแลว เมื่อ ตนเอง และผูอื่นไมเดือดรอนก็พอแลว. อยาพูดใหมันหลายคําไป มันจะจํายาก. ความ ถูกตองมันอยูที่ไมทําใหใครเดือดรอน, หรือถาจะพูดอีกทีหนึ่ง ก็วา มันไมทํา ให เ กิ ด ป ญ หาขึ้ น มา นั ่ น แหละคื อ ถู ก ต อ ง. ฉะนั ้ น ถ า เรารู จั ก จั ด รู จ ั ก ทํ า สิ ่ง ตา ง ๆ ใหม ีค า นิย มไปในทางจะตัด ปญ หา คือ ความยุ ง ยากลํ า บาก เดื อ ดร อ น ระส่ํ า ระสาย ของมนุ ษ ย ใ ห ห มดไป ให ห ั น มานิ ย มสั น ติ ส ุ ข หรื อ สั น ติ ภ าพ ; นั่ น แหละ เป น ยอดสุ ด ของธรรมะอย า งสมั ย โบราณ ที่เคยเครงครัดในทางศาสนา.

www.buddhadassa.in.th


การถอยหลังเขาคลอง

๕๒๕

เดี๋ยวนี้ เขาไปนิยมเอาเรื่องสวยงาน สนุกสนาน เอร็ดอรอย ยิ่งตาม ใจกิเ ลสไดเ ทา ไรยิ ่ง ดี ; ยิ ่ง สง เสริม ใหเ ขามีก ิเ ลสมาก เขาก็รูส ึก อรอ ยมาก. เขาไปรูวานี่ตองการอยางนี้ นี่คือสิ่งที่ควรจะถูกตอง, อันนี้คือสิ่งที่ควรจะถือ วา ถูก ตอ ง. เรื่อ งอาหารการกิน ก็ดี เรื่อ งเครื่อ งนุง หม ก็ดี ที่อ ยูอ าศัย ก็ดี หยูก ยา ก็ดี, ปจจัยสี่ที่จําเปนมันเปลี่ยนคานิยม ไปเปนเรื่องของการสงเสริมกิเลสเสียหมด ; เรียกวา มีอุดมคติผิด หรือจะเรียกวา มีคานิยมที่ผิด. เมื่ อ อุ ด มการณ มั น ผิ ด ก็ มิ ใช อุ ด มคติ ไม ค วรจะเรีย กว า อุ ด มคติ ; เพราะเราถือกันวา อุดมคติแลวตองถูกตอง. แตถาถือวา อุดมคติผิดได ก็ตอง เปลี่ยนวาใหมันมาเปนอุดมคติที่ถูกตอง ; เมื่อคานิยมมันทําไปดวยความโงเขลา เบาปญญา ก็ตองเปลี่ยนมาใหมันมีคานิยมที่ถูกตอง คือไมทําใหปญญาเกิดขึ้น. ถาม : นี่เปนการถูกตองตามอะไร คุณ ทอง ? ตามกฎตามเกณฑ ตามหลัก ของอะไร ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : ตามกฎของธรรมชาติ ครับ.

ถ า เราพู ด อย า งนี้ เขาหั ว เราะนา ; แต ว า มั น เป น การถู ก ต อ งที่ สุ ด . ความถู ก ต อ งนี ้ ต อ งถู ก ต อ งตามกฎเกณฑ ข องธรรมชาติ ฝ น ธรรมชาติ ไปไมได. ถา เราจะสรา งสัน ติส ุข สัน ติภ าพ มัน ตอ งถูก ตอ งตามกฎเกณฑข อง ธรรมชาติ ; แตเดี ๋ย วนี ้เราใชคํ า พูด มัน ผิด กัน ตา งกัน . บางคนเขาหัว เราะวา ตามธรรมชาติก็คือไมมีสติปญ ญาอะไรเลย ; ไมรูวา ตามธรรมชาตินั่นแหละคือ

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๕๒๖

สติปญ ญา ตายตัว สูง สุด แกไ ขไมไ ด, คือ ถูก ตอ งตามกฎของธรรมชาติ ที่จะทําใหเกิดสันติสุข หรือสันติภาพขึ้นมา. ทีนี้ คนเดี๋ยวนี้ เขาไมเอาถูกตองตามกฎเกณฑ อันนี้ ; เขาเอาถูก ตองตามกิเลสของเขาเทานั้น, เขาจะมีความเอร็ดอรอยทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไดอ ยา งไร เขาถือ วา นั่น เปน ความถูก ตอ ง. แลว ในยุค ที่ป ระชาธิป ไตย เฟอเปนบาเปนหลังดวยแลว ตางคนตางมีสิทธิ มีเสรีภาพ ที่จะทําไดอยางนั้น ๆ ; คนอื่นอยามาทักทวง อยามาวากลาวเลย ; เราจะมีประชาธิปไตย เรามีเสรีภาพ. ประชาธิปไตยชนิดนี้แหละจะทําลายโลก ไมใหมีธรรมะเหลืออยูเลย. ฉะนั้น คานิยมของประชาธิปไตย ก็ควรจะเปลี่ยนดวยเหมือนกัน, ใหถือวามันมีคาตอเมื่อเปนประชาธิปไตยของบุคคลที่มีศีลธรรม. ถาประชาชน หรื อ บุ ค คลไร ศ ี ล ธรรมแล ว ประชาธิ ป ไตยคื อ สิ ่ ง ที ่ เ ลวร า ยที ่ ส ุ ด ไม มี อะไรเลวร า ยเท า คื อ การที ่ ส ามารถปล อ ยไปได ต ามอํ า นาจของกิ เ ลส ตัณ หาของตน ๆ. ระวัง ใหดี แมแ ตคา นิย มของคํา วา ประชาธิป ไตย ก็จ ะ ต อ งเปลี่ ย น ; แล ว ก็ จ ะมี ค  า เฉพาะประชาธิ ป ไตยที ่ ป ระกอบอยู  ด  ว ย ศีลธรรมเทานั้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ปจจัยทั้งหลายมันก็มีคา แลวแตวาเราจะใชมันไปอยางไร ; ใชผิด ก็ทํา ลายบุค คลนั้น , ใชถูก ก็สง เสริม บุค คลนั้น . เปน อัน วา เราจะถอยหลัง เข า คลองเป น ประการแรก ; คื อ เรื่ อ งของค า นิ ย มทั้ ง หลาย ที่ เ ดิ น มาผิ ด นี้จะตองเดินกลับไปสูความหมายที่ถูกตอง มีคานิยมที่ถูกตองในทุกอยางที่มีคา. ....

....

....

....

www.buddhadassa.in.th


การถอยหลังเขาคลอง

๕๒๗

ประการที่ ๒. ทีนี้ ถัดมาอีก พูดอยางสมัยกับเขาบาง นี่กระดาก เต็ ม ที แ ล ว นะ, ขอบอกกั น ด ว ยว ากระดากเต็ ม ที ที่ จ ะพู ด คํ า สมั ย ใหม แต ก็ ต อ ง พู ด . เขาพู ด ว า ค า นิ ย ม ; แล ว ก็ จ ะพู ด ว า จุ ด ยื น , จุ ด ยื น อั น มั ่ น คงอี ก คํ าวา “จุ ด ยื น อั น มั่ น คง” นี่ พู ด กั น ดื่ น ไปหมด ในปากของคนสมั ย นี้ แ ละตามหน า หนังสือพิมพ. จุ ด ยื น ที ่ มั ่ น ค ง ห ม าย ค วาม ว า เรามี ห ลั ก อ ะ ไรอั น ห นึ ่ ง ซึ ่ ง จะยึด ถือ เปน หลัก ตายตัว สํ า หรับ ปฏิบ ัต ิ ; ทีนี ้ก ารปฏิบ ัต ินี ่ มัน ก็เ ปน ไปตาม ทิ ฏ ฐิ หรื อ ความคิ ด ความเห็ น ของคน. เมื ่ อ คนมั น ตกเป น ทาสของวั ต ถุ , มีก ิเ ลสเปน นาย ; แลว จุด ยืน ของมัน ก็ค ือ ที ่นั ่น แหละ ยืน อยู ด ว ยกิเ ลส ยืน อยู ด ว ยความโงเ ขลา, ยึด มั ่น อยู ใ นสิ ่ง เลวรา ยที ่จ ะทํ า ลายตัว เอง กลายเปน ที่ ยืนอันมั่นคง. อยา งนี ้เ รา ไมเ รีย กวา สุป ฏิบ ัต ิ คือ ไมใ ชป ฏิบ ัต ิด ี ป ฏิบ ัติ ชอบ ; เพราะมัน ไมไ ดย ืน อยู อ ยา งถูก ตอ ง. มัน ยืน อยู อ ยา งมั ่น คง ดว ยอํ า นาจ ขอ งกิ เ ล ส และผิ ด ที ่ ส ุ ด , ผิ ด พ ล าด ที ่ ส ุ ด คื อ ยื น อ ยู  ใ น ท า ม ก ลางกิ เ ล ส แ ว ด ล อ ม อ ยู  ด  ว ย กิ เ ล ส ; ใ ห ก ิ เ ล ส จู ง จ มู ก ไ ป , ใ ห ก ิ เ ล ส มั น ไส หั ว ไ ป , ไปทําอะไรตามที่กิเลสมันจะตองการ. เดี๋ยวนี่คนเขามีจุดยืนที่มั่นคงของเขาอยางนี้ ; พูด ใหชัด ก็คือ ประโยชนข องเขานั ้น แหละ ; เขามีจุด ยืน อยูที ่ป ระโยชนข องเขา ที ่เขาจะได ; โดยไมต อ งมองวา จะดีห รือ ชั ่ว จะผิด หรือ จะถูก , จะเปน ธรรม หรือ ไม เป น ธรรม, จะประกอบไปด วยศีลธรรม หรือ ไมประกอบไปด วยศีลธรรม ; เขาไมรู, เขาจะเอาแตประโยชน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


๕๒๘

การกลับมาแหงศีลธรรม

การได ม าซึ ่ ง ประโยชน สํ า หรั บ เขาเท า นั ้ น เป น จุ ด ยื น ที ่ ถ ู ก ตอง ; ตางคนตางเป น อยางนี้ กัน มากขึ้น ๆ ในโลกสมั ยป จจุบั น . จะหาวาด า ก็เอา ไมรูวาจะพูดอยางไร ; ก็ตองยอมรับวา เปนคนดา เปนคนพูดจาหยาบ คาย ; วา คนทั้งโลกกําลังบูชาวัตถุ ก็มีจุดยืนเหนียวแนนมั่นคงอยูที่การไดมา ซึ ่ง วัต ถุ ตามวิธ ีนั ้น ๆ โดยเฉพาะอยา งยิ ่ง คือ การเห็น แกต ัว , แลว เอา เปรียบผูอื่นโดยทุกวิถีทาง. เขายืนอยูบนจุดที่จะไดเปรียบผูอื่นโดยทุกวิถีทาง ; เขาถือวาเปน จุดยืนที่ดีที่สุด ที่ถูกตองที่สุดของเขา แตกอ นนี้มันไมเปนอยางนั้น. สมัยเมื่อ มนุษยในโลกยังเครงครัดในพระศาสนาอยู มันไมเปนอยางนี้ ; คนที่ทําอยางนี้ ถูกแชง ถูกดา ถูกประณามกันทั้งบานทั้งเมือ ง. แตเดี๋ยวนี้ไมมี ไมมีใครแชง ไมมีใครดา ; เพราะมันกลับเปนอยางนั้นกันเสียหมดทั้งบานทั้งเมือง เลยไมรูวา ใครจะดาใคร.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี ่เ รีย กวา มนุษ ยทั ้ง หมด หรือ วา โลกทั ้ง หมด มีจุด ยืน ที ่ไ มถ ูก ตอง คือมีจุดยืนสําหรับจะพลัดลงไปในเหว ในอบาย. เราจะตองถอยหลังเขา คลองดวยการเปลี่ย นจุด ยืน เปลี่ย นจุด สําหรับ ที่จ ะยืน กัน เสีย ใหม ; อยาไป ยืน ยัน อยา งนั้น . ตอ งหัน หาความถูก ตอ ง และยึด มั่น อยา งเหนีย วแนน ใน การประพฤติกระทําที่ถูกตอง ; จะเรียกวา พระเจาก็ได จะเรียกวา พระธรรมก็ ได, จะเรียกอยางภาษาวิทยาศาสตรวา ความถูกตอง ก็ได, ใหสมดุลยแลวก็ ไมมีปญหาเกิดขึ้น ; นี้ก็เปนความหมายอยางเดียวกัน.

www.buddhadassa.in.th


การถอยหลังเขาคลอง

๕๒๙

พระเจ า ที ่ ถ ู ก ต อ ง, พระธรรมที ่ ถ ู ก ต อ ง, ก็ ค ื อ ความถู ก ต อ ง ที ่ถ ูก ตอ ง. ควรจะเอาสิ ่ง นี ้ขึ ้น มาเปน เครื่อ งยึด เหนี ่ย ว เปน จุด ยืน ไมใ หก า ว ขาพลาดออกไปจากแนวนี้ จากจุ ด นี้ . ฉะนั้ น เราจะต อ งถอยหลั ง เข า คลอง ประการที ่ ๒ ก็คือ มีจุด ยืน ที่ถูก ตอ ง, กลับ ไปสูห รือ กลับ มาสู แลว แตจ ะเรีย ก. วา กลับสูจุดยืนที่ถูกตอง. ....

....

....

....

ป ระการที ่ ๓ อัน สุด ทา ย เรีย กวา ยอดปลาย. อัน แรกคือ รากฐาน, อัน ที ่ส อง คือ ลํ า ตน อัน ที ่ส ามคือ ยอดปลาย, ดอกกับ ผล ; เรา จะมีสันติ เปนดอกผล ; ฉะนั้นเราจะมีรสนิยมอันถูกตอง. รส นิ ย ม กั บ ค า นิ ย ม ไม เ ห มื อ น กั น ; รส นิ ย ม นี ้ ข อ พู ด ต รง ๆ เลยวาสิ่งที่จะรูสึกดวยลิ้น แตมันเปนลิ้นทางวิญญาณก็ได. ถาลิ้นทางรายกายก็กิน เผ็ด ขม เปรี้ยว หวาน อะไร นี่มั นทางลิ้นธรรมดาสามั ญ ; แตถาลิ้นทางวิญญาณ ทางจิต นั ่น คือ วา เปน ลิ ้น ที ่จ ะรู ร สของสัน ติ คือ นิพ พาน ; สัน ติ แปลวา สงบ เย็น ; นั่นคือนิพพาน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org รสนิยมที่ถูกตอง สําหรับลิ้นทางวิญ ญาณตองเปลี่ยนใหมันถูกตอ ง ; เคยนิยมรสของบุญกุศล, เคยนิยมรสของ มรรค ผล นิพพานเคยนิยมแตรสอยางนั้น มีสิ่งเหลานั้น เปนรสนิยม ; แลวก็เคยถูกกระทํากันมา. พวกที ่ ม ี พ ระเจ า ก็ บ อกว า การได ไ ปอยู  ก ั บ พระเจ า เป น สิ ่ ง ที่ สู ง สุ ด มี ค  า ที ่ ส ุ ด ; แล ว ก็ เ ป น รสนิ ย มสู ง สุ ด อยู  ที ่ นั ่ น . เขาก็ ห วั ง ที ่ จ ะไป

www.buddhadassa.in.th


๕๓๐

การกลับมาแหงศีลธรรม

อยูรวมกับพระเจาทั้งนั้น. รํารวย สวยงามอยูที่นี่เปนเรื่องเล็กนอย เปนเรื่องขี้ผง พูดภาษาที่โสกโดกสักหนอย ; แตคนเดี๋ยวนี้มันกลับถือ วา เอร็ดอรอยกันที่นี่ นี่เปนเรื่องทั้งหมด เปนเรื่องสูงสุด ; ไปอยูกับพระเจานั่นเปนเรื่องขี้ผง เขาก็เลย ไมสนใจ. เชน เดีย วกับ พุท ธบริษัท ซึ่ง อาจจะเปลี่ย นถึง กับ วา เรื่อ ง มรรค ผล นิพ พาน เปน เรื่อ งขี้ผ ง, เรื่อ งเอร็ด อรอ ย สนุก สนาน สวยงาม ที ่นี่ คือเรื่องประเสริฐที่สุด ; รสที่จะไดมาทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ทางเนื้อทางหนัง นี่คือสิ่งประเสริฐที่สุด ; จนมีคนกลาพูดวา ถาเกิดมาไมไดอิ่มไปดวยกามารมณ แล ว มั น ก็ เสี ย ชาติ เกิ ด ; เขาจึ ง หวั ง ว า อย า งไร ๆ ก็ ต อ งยึ ด เอาเรื่ อ งอิ่ ม ด ว ย กามารมณนี้ไวกอน จึงตั้งหนาตั้งตาหาปจจัยแหงกามารมณ. นี่เรียกวารสนิยมของเขามีอยูเพียงเทานี้ แลวเดินมาจนผิดทาง เปลี่ยน จากที่เคยมีมาแตกาลกอนนูน ซึ่งพอจะพูดไดวา มันเหมือนกับตะโกนกันไดยิน ; ไมใชน าน หรือ ไกลเกิน ไป. มัน พอจะตะโกนกัน ไดยิน , คือ ชั้น ปูข องเรานี้พ อ จะตะโกนกันไดยิน, หรือตอใหอีกชั้น คือวาชั้นพอของปูของเราก็ตะโกนไดยิน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เขาไมนิย มบา บอ เหมือ นลูก หลานสมัย นี้ด อก. เขาไมมีร สนิย ม ที่บาบอ เหมือนลูกหลานสมัยนี้ ; รสนิยมของพอของปู ยังมั่นคงในความสงบ ในพระธรรม ในศาสนาอยู นี่ก็ควรจะเรียกวาตะโกนกันไดยินอยูหยก ๆ. ทําไม มัน เปลี่ย นไปถึง ขนาดที่วา ไมรูจัก กัน เลย ? แลว ระวัง ใหดีเ ถอะ แมชั่ว อายุ คนเดี ๋ย วนี ้ มัน ก็ย ัง เปลี ่ย นไปอยา งนา ตกใจ ; รสนิย มก็ด ี คา นิย มก็ด ี มัน เปลี่ยนอยางนาตกใจ. สําหรับความรูสึกของอาตมาเปนอยางนี้.

www.buddhadassa.in.th


การถอยหลังเขาคลอง

๕๓๑

เพิ ่ง สัง เกตเห็น วา มัน เพิ ่ง จะอะไรละ ; ขออภัย เถอะ วา เพิ ่ง จะ บา กัน ขนาดหนัก ก็เ มื ่อ เร็ว ๆ นี ้. เมื ่อ เรายัง เด็ก ๆ มัน ก็ไ มไ ดบ า กัน ขนาดหนัก ถึง อยา งนี ้ ; เพราะคา นิย มมัน ยัง ไมไ ดเ ปลี ่ย น รสนิย มยัง ไมไ ดเ ปลี ่ย น ; คน ยัง หวัง ความสงบกัน อยู ท ุก คน. เดี ๋ย วนี ้ค นหวัง แตป ระโยชน ไมม ีคํ า วา สงบ ฉะนั ้น จึง ฆา กัน ทํ า ลายลา งกัน ทํ า ความเขา ใจกัน ไมไ ด. กํ า ลัง พูด กัน ไมรู เรื่อ ง ในขอวา “ เราจงมาทําความสงบกันเถิด “ นี ่ พ ู ด กั น ไม รู  เ รื ่ อ ง ฉ ะ นั ้ น จึ ง มี ก า รฆ า กั น ที ่ เ รี ย ก ว า โด ย ผู  ก  อ การรา ย หรือ ไมร า ย ห รือ อะไรก็ส ุด แท. มัน มีก ารฆา กัน ม ากขึ ้น ทุก ที ๆ เพ ราะพูด กัน ไมรู เ รื ่อ ง ; แมอ ุด ม ค ติท างการเมือ ง, เรื ่อ งลัท ธิก ารเมือ ง, เกี ่ย วกับ สงคราม เกี ่ย วกับ เศรษฐกิจ อะไรก็ต าม มัน พูด กัน ไมรูเ รื ่อ ง. เพราะ เอาคานิยมทางกิเลส เปนสิ่งสูงสุดกันไปเสียหมด มันก็พูดกันไมรูเรื่อง. ถาเปลี่ยนไปสู รสนิ ยมอันถู กต อง ก็หาความสงบสุ ขตามแบบของความ เสีย สละ, อดกลั ้น อดทน ; ไมต อ งลา งดว ยเลือ ด ลา งดว ยน้ํ า สะอาด มัน ก็ สงบสุข กัน ได. ฉะนั ้น จึง ขอพูด อัน ดับ สุด ทา ยนี ้ว า เราจะ ตอ งเปลี ่ย นรสนิย ม กั น เสี ย ใหม ให ถู ก ต อ ง คื อ ถอยหลั ง เข า คลอง ในทางรสนิ ย มนี้ ใหถ ูก ตอ ง ประการที ่ ๓ ซึ่ง เปน อัน สุด ทา ย คือ ชั ้น ยอด ชั้น ใบ ชั้น ดอก ชั้น ผล ก็เปลี่ยนเสียใหถูกตอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ....

....

....

....

ส ว น ที ่ เ ป น รา ก ก็ เ ป ลี ่ ย น ให ถ ู ก ต อ ง, ที ่ เ ป น ลํ า ต น ก็ เ ป ลี ่ ย น ให ถู ก ต อ ง, ที ่ เ ป น ยอดสุ ด ก็ เ ปลี ่ ย นให ถ ู ก ต อ ง ที ่ เ ป น ชั ้ น รากเปลี ่ ย นค า นิ ย ม เสี ย ใ ห ถ ู ก ต อ ง ; ใ ห เ ป น ค  า น ิ ย ม ที ่ แ ท จ ริ ง ที ่ ป ร ะ ก อ บ ด ว ย ธ ร ร ม .

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๕๓๒

ตรงกลาง คื อ ลํา ต น ก็ ใ ห มั น มี จุ ด ยื น ที่ ถู ก ต อ ง, ประกอบอยู ด ว ยธรรม. ในตอนยอด ก็ ใ ห มั น มี รสนิ ย ม อั น ถู ก ต อ ง. บู ช ารสของความถู ก ต อ ง หวังจะดื่มกินรสจากความถูกตอง, เปนการถอยหลังเขาคลองอยางสมบูรณ คือ ถอยหลังเขาคลองของสิ่งที่เรียกวา อุดมคติ หรือ คานิยม, ความถูกตองของ สุปฏิบัติ, หรือของจุดยืนอันมั่นคง. เมื่อเราพูดวา “คาของสันติภาพหรือรสนิยมอันถูกตอง”, นั่นแหละ เปนหลักใหญ ๆ ที่เราจะตองนึก เราจะตองพูด เราจะตองปรึกษาหารือกัน. ถา เราจะตอ งการใหศ ีล ธรรมกลับ มา เราก็จ ะทํ า ความเขา ใจกัน หนอ ย ใน ระหว า งเพื ่ อ นมนุ ษ ย ทั ้ ง หลายว า เราจงพากั น ถอยหลั ง เข า คลองให ถ ู ก ตอ ง, สํา หรับ ทั้ง ๓ นี้ : คือ ถูก ตอ งทั้ง ที่ร าก ถูก ตอ งทั้ง ที่ลํา ตน ถูก ตอ ง ทั้งที่ยอด และดอก ผล ; แลวก็จะมีการกลับมาแหงศีลธรรม. การกลั บ มาแห ง ศี ล ธรรม ก็ ค ื อ การถอยหลั ง เข า คลองแห ง ความถูก ตอ ง ; เมื่อ ยัง ไมผิด ไมมีก ารผิด พลาด ก็ไ มตอ งมีก ารถอยหลัง เขาคลอง ไมตองเหน็ดเหนื่อยอะไร. ดํารงอยูในคลอง ไมตองเหน็ดเหนื่อยอะไร. ตอ เมื ่อ มัน ผิด คลอง เมื ่อ ใดมัน ผิด คลอง ; เมื ่อ นั ้น จึง จะตอ งเอะอะกัน บา ง เหนื่อ ยกัน บาง เพื่อ จะดึงกลับมาสูค ลอง. ฉะนั้น การถอยหลังเขาคลองนั้น ไมใชสิ่งที่จะตองทําตลอดกาล ; แตเปนสิ่งที่ตอ งทําเฉพาะครูยาม เฉพาะชั่ว ขณะที่ มั น ผิ ด พลาดเท านั้ น . เมื่ อ เดี๋ ย วนี้ ผิ ด พลาด แล ว เราก็ จ ะต อ งทํ า , เป น โอกาสที่จะตองทํา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ....

....

....

....

www.buddhadassa.in.th


การถอยหลังเขาคลอง

๕๓๓

ที นี ้ อ ะ ไ ร ที ่ จ ะ เป น กํ า ลั ง ใ จ ใ น สิ ่ ง ที ่ เร า จ ะ ต อ ง ทํ า ? มั น เกือบจะไมตองมีอะไรมาเปนกําลังใจแลว ถาวาเรามีความกลัวตอความวินาศ. ขอให ม องดู ทั่ ว ๆ ไป วาที่ เราทํ าอะไรอย างไม เห็ นแก เหน็ ดแก เหนื่ อ ย นั ่น นะ อะไรเปน เครื ่อ งกระตุ น ใหทํ า ; เพราะวา เรากลัว วา ไมม ีอ ะไรจะกิน ไม มี อ ะไรจะใช หรือ ว า เราจะต อ งตาย ; เพราะว า เรากลั ว อย า งนี้ เราจึ งทํ า งาน อย า งไม เ ห็ น แก เ หน็ ด เหนื ่ อ ย. เดี ๋ ย วนี ้ เราต อ งทํ า งานอั น สู ง สุ ด คื อ ทํ า ให ศ ี ล ธ ร รม ก ลั บ ม า ; มั น ก็ ม ี ป  จ จั ย คื อ ค ว า ม ก ลั ว ว า มั น จ ะ วิ น า ศ : เราจะวินาศ, โลกนี้จะวินาศ. ค ว า ม ก ลั ว ว า จ ะ วิ น า ศ นี ่ ค ื อ ป จ จั ย สํ า ห รั บ ก ร ะ ตุ  น เตื อ น ให ก ระทํ า ; เขาเรี ย กกั น อย า งภาษาธรรมดา ๆ ว า เครื่ อ งกระตุ น หรื อ motive. เครื่อ งกระตุ น นี้ ถ ามั น มี แ ล ว มั น ทํ าให ท นอยู ไม ได ; มั น กระตุ น จนต อ งไปทํ าเป น แน น อน, มั น ต อ งมี อํ า นาจถึ ง ขนาดนั ้ น เราจึ ง จะเรี ย กว า เครื ่ อ งกระตุ  น . ถามันมีมาก ในการที่จะใหบรรลุ มรรค ผล นิพพาน มันก็ทนอยูไมได ที่จะตองไป ปฏิบัติอยางขยันขันแข็ง เพื่อจะใหบรรลุมรรค ผล นิพพาน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เดี ๋ย วนี ้เ ราไมไ ดต อ งการถึง อยา งนั ้น ; ตอ งการแตเ พีย งสัน ติส ุข หรือ สั น ติ ภ าพในโลก หรือ วากลั วโลกจะวินาศ รวมทั้ งตั วเราด วย ; มั น ก็ กระตุ น ให เราช วยกั น ทํ าเพื่ อ ให ศี ล ธรรมกลั บ มา, ช วยกั น เป น การใหญ ทํ าการถอยหลั ง เขาคลองอยางกุลีกุ จออยางสุ ดความสามารถที เดีย ว : รีบ ถอยมาเสี ยให ถูกทาง อันถูกตองหรือปลอดภัย. ....

....

....

....

www.buddhadassa.in.th


๕๓๔

การกลับมาแหงศีลธรรม

ถา จะถามหาเหตุผ ล มัน ก็มีอัน นี้แ หละเปน เหตุผ ลอยูแ ลว คือ มัน จะวินาศ ที่เห็นอยูไดชัด ๆ แลว ไมตองแสดงดวยเหตุผลอยางอื่น. เหตุผล เชน อาชญากรรมมากขึ้น ๆ อยางที่ไมเคยนึกฝน มันก็เปนเหตุผลที่เพียงพอ แลว ; แลว มองดูอีก ชนิด หนึ่ง มัน เนื่อ งจากความไมมีศีล ธรรม, ศีล ธรรม เสื่อ มไป หายไปจากบุค คลเหลา นั้น ; นี่ก็เ ปน เหตุผ ลพอแลว ที่จ ะชว ยกัน ทําใหศีลธรรมกลับมา. การกลั บ มาแห ง ศี ล ธรรมนี่ เราพู ด กั น ในแง ข องศี ล ธรรม เรา ไม ไ ด พ ู ด กั น ในแง ข องกฎหมาย ; อย า เอาไปปนกั น . เราจะต อ งต อ สู อย า งสงบทางศี ล ธรรม เพื่ อ แก ป ญ หาอั น เลวร า ยนี้ ; เราจะถื อ ดอกบั ว สี เ หลื อ ง เพื ่ อ จะขจั ด ป ญ หา เราไม ถื อ ดอกบั ว สี แ ดงเลื อ ด ; เราจะแก ปญหาของมนุษยดวยดอกบัวสีเหลือง ไมใชดวยดอกบัวสีแดง มันจึงจะเปนเรื่อง ของศีลธรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาจะเปนเรื่องของกฎหมายก็เอาซิ ก็ชวนกันออกกฎหมาย บังคับ ลงโทษอย า งหนั ก ที่ จ ะให เ กิ ด การเปลี่ ย นแก ไ ข ; ใครทํา ผิ ด อะไรเล็ ก ๆ น อ ย ๆ แม แ ต ไวผ มยาวอยางนี้ ก็ ล งโทษกั น ด ว ยกฎหมายอย างหนั ก . ถ าทํ า สํ าเร็จ มั น ก็ เป น เรื่อ งการแก ไขด วยอํ านาจของกฎหมาย ไม ใชเรื่อ งศี ล ธรรม. ฉะนั้น เขาก็ควรจะทําไป ถาเขาตองการ มันก็จะชวยใหเร็วขึ้น คือ มีการออก กฎหมายพิ เ ศษ เพื ่ อ ประโยชน แ ก วั ฒ นธรรม หรื อ แก ศ ี ล ธรรมก็ ไ ด ; แตก็ทําไปในวิถีทางของกฎหมาย.

www.buddhadassa.in.th


การถอยหลังเขาคลอง

๕๓๕

เดี ๋ย วนี ้ เราเปน พุท ธบริษ ัท หรือ วา ผู ย ึด ถือ ธรรมะเปน หลัก ; เรามีวิธีก ารอีก ทางหนึ่ง คือ ทางศีล ธรรม นั่น แหละ เพื่อ ไมใ หตอ งมีก ารเจ็บ ปวด เพื่อไมใหตองมีการอะไร ไปทําตามแบบของสัตบุรุษ. นี้จึงชักชวนกันวามา พิจ ารณาในแงข องศีล ธรรม. ถา เสีย สละกัน จริง ชว ยกัน จริง อะไรกัน จริง ก็จ ะมีผ ลแนบเนีย นกวา การที ่จ ะใชก ฎหมายเปน เครื ่อ งมือ ; เพราะ กฎหมายนั้นมันไมบังคับจิตใจได ; มันบังคับแตทางรางกาย. แตถาเปนเรื่องของพระธรรมแลว มันบังคับจิตใจดวย, มันบังคับ จิตใจโดยตรงเสียมากกวา ; และเมื่อจิตใจมันเปลี่ยนแลว มันยอมแลว เรื่องของ ทางรางกาย มั น ก็ เปลี่ ย นไปเอง, นี้ เราจึ งมิ ได มุ งบั งคั บ กั น ที่ ภ ายนอก แต มุ ง บังคับภายใน คือจิตใจ ; ทําอยางนี้จึงเปนเรื่องของศีลธรรม.

ถา ไปจับ ตัว มาลงโทษ มัน ก็เปน เรื่อ งกฎหมาย. ตอ งรูไววา มัน มี อยู ๒ อยาง ; ถาไดทั้ง ๒ อยางชวยกัน มันก็จะเร็วขึ้น มันคงจะเร็วขึ้น แตวา เรามาพูดกันในวันนี้ พูดกันในแงของศีลธรรม ในฝายของศีลธรรม เราจึงยัง ไมพูดถึงกฎหมาย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ที่นี้เราก็จะมีโครงการตอตาน เพื่อรณรงคหรืออะไรก็ตาม เพื่อการ กลับ มาแหง ศีล ธรรม ; นับ ตั ้ง ตน ตั ้ง แตวา ชํ า ระสะสาง ; เริ่ม ขึ ้น มาที ่ก าร ชําระสะสางความผิด ความเห็น ผิด อะไรผิด ; ใหเห็น วาผิด แลว ก็เปลี่ย น เสีย ใหม ใหม ัน ถูก ก็จ ะเปน เรื ่อ งของศีล ธรรมบริส ุท ธิ ์ ไมต อ งอาศัย กฎหมาย ; ขอทาทายอยางนี้.

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๕๓๖

สิ่ งที่ มั น ปราณี ต ละเอี ย ด มั น ก็ ทํ า ได ย ากกวา , สิ่ งที่ ลึ ก ซึ้ ง มั น ก็ ทํ า ไดย ากกวา ; แลว มัน ก็ต อ งคํ า นวณดูว า ที ่ม ัน ปราณีต ละเอีย ดลึก ซึ ้ง มัน ก็ม ีผ ล ที ่ล ะเอีย ดลึก ซึ ้ง และถาวรไวใ จได. แตถ า เปน เรื ่อ งชั ่ว สุก เอาเผากิน อยา ง เรื่ อ งกฎหมายอย า งนี้ มั น ก็ ไ ด รั บ แต ใ นชั่ ว ขณะหนึ่ ง ไม ลึ ก ซึ้ ง หรื อ ไม ยื น ยาว ; ต อ งใช อํ านาจกั น อยู เรื่อ ยไป แล วมั น ก็ มี อ าการที่ น าเกลี ย ด. หมายความวา ต อ ง ฆา ตอ งลงโทษ ตอ งอะไรไปตามเรื ่อ งของกฎหมาย ; ถา เปน นัก ศาสนา เปนนักศีลธรรม ก็มุงหมายที่จะใชอํานาจอันศักดิ์สิทธิ์ของศีลธรรม. ....

....

....

....

[ถอยหลังเขาคลอง ของรากฐานแหงศีลธรรม ]

ที นี้ เราก็ จ ะพู ด กั น ต อ ไปให จ บเรื่อ ง ต อ จากที่ พู ด ค างไวในการบรรยาย ครั้งที่แลวมา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ในครั ้ง ที ่แ ลว มาเราบรรยายไดโ ดยละเอีย ด ในสว นที ่เ ปน รากฐาน คือวา ทําอยางไรในสวนรากฐานมันจะดี. สวนที่เปรียบเทียบดวยแผนดินสําหรับตนไม นั ้น มัน ก็ค ือ อุด มคติ ที ่ใ หถ ือ กัน เปน หลัก วา “ สัต วทั ้ง หลายที ่เ ปน เพื ่อ นทุก ข เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันทั้งหมดทั้งสิ้น “.

ไปชว ยกัน หนอ ย ไปชว ยกัน ตามความสามารถของคน ไปชี ้ช วน ชี ้แ จงใหเ ห็น ชัด วา “ สัต วทั ้ง หลายมัน เปน เพื ่อ นทุก ข เกิด แก เจ็บ ตาย ด ว ยกั น ทั้ ง หมดทั้ ง สิ้ น “ อย า ฆ า มั น เลย. อย า ทํ า คอรั ป ชั่ น ต อ มั น เลย, อย า เอา เปรียบมั นเลย, เพราะวามั นเป น “ เพื่ อนทุ กข เกิด แก เจ็บ ตาย ด วยกั นทั้ งหมด ทั้งสิ้น

www.buddhadassa.in.th


การถอยหลังเขาคลอง

๕๓๗

ที่ เปรี ย บด ว ยนํ า สํ า หรั บ ต น ไม นั้ น ก็ คื อ ว า ชวนกั น บอกกั น ว า อยา ไปเปน ทาส ของตา หู จมูก ลิ ้น กาย ใจ เลย. อยา บูช าความ เอร็ด อรอ ยทางเนื ้อ หนัง คือ ทางตา หู จมูก ลิ ้น กาย ใจ เลย. อบรม ลูก เด็ก ๆ ใหเ ขาเห็น วา นั ่น แหละคือ ความเลวทรามที ่ส ุด ของมนุษ ย คือ ความเปนทาสในทางกามารมณ เพื่ อประโยชนแก ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ; นํามาซึ่งความหมดเปลือง, นํามาซึ่งความฉิบหาย, นํามาซึ่งความมีโรคภัย นํามา ซึ่งความอายุสั้น, นํามาซึ่งความเสนียดจัญไร ทุกอยางทุกประการ, ในการที่ไปเปน ทาสของอายตนะทั้ง ๖ นั้น. ทีนี ้ สว นที ่เ ปน เหมือ นกับ ปุ ย สํ า หรับ ตน ไม การบัง คับ จิต , เปนผูยินดีในการบังคับจิต ไมปลอยไปตามอํานาจสามัญสํานึกของจิต ที่เรียกวา สัญ ชาตญาณที่ยัง ไมไดรับ การอบรม. บัง คับ จิต เดิน อยูแ ตในคลองที่ถูก ตอ ง ; หรือวาบังคับจิตเมื่อมันจะมีมากเกินไป เกินความพอดีไป ก็บังคับใหมันอยูแตใน ในความพอดี. รวมความแลว ก็บังคับ จิต ใหอ ยูในความถูก ตอ ง ก็จ ะเกิด ความ ถูกตองทั้งที่กาย ที่วาจา และที่จิตเอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ที่เปรีย บเหมือ นกับ แสงสวา ง สํ า หรับ ตน ไม นั่น ก็ค ือ ยถาภูต สัม มั ป ป ญ ญ า -ป ญ ญ าที ่ ถ ื อ เอาความจริ ง ของธรรมชาติ นั ้ น มาเป น หลั ก . อยา กลา อวดดีว า เอาเอง บัญ ญัต ิเ อาเอง ตรัส รู เ อาเองใหม ากนัก ; ตอ ง คอยดู สิ ่ ง ที ่ ม ั น เป น อยู  จ ริ ง เป น ไปจริ ง ว า มั น เป น อย า งไร. ถ า ทํ า ลงไป อยา งนี ้ ผลมัน เกิด ขึ้น อยา งไร, ถา ทํา ลงไปอยา งนั้น ผลมัน เกิด ขึ้น อยา งไร ; หรือ เพราะอะไรมี อะไรจึง มี, เพราะอะไรไมม ี อะไรจึง ไมม ี อยา งนี ้ ; เพราะอะไรมี อ ย างไร แล วสิ่ งนี้ จึ งมี ขึ้ น มาอย างนั้ น ; นี้ เป น ต น อย างนี้ เรีย กว า

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๕๓๘

ยถาภูตสัมมัปปญญา เปนแสงสวางที่ทําใหตนไมศีลธรรมเจริญงอกงาม เหมือน แสงแดดที่จําเปนแกตนไมทั่ว ๆ ไป. ทีนี้ สิ่งที่เปน อุณ หภูมิที่พ อดี ไมรอ นมากไป ไมรอ นนอ ยไป สิ่ง ทั้งหลายจึงจะทรงชีวิตอยูไดก็คือ ปญญา หรือ ศรัทธา ที่มีพอดี. ปญญาให เกิด ศรัท ธา คือ ความเชื่อ ความมั่น ใจ ความไวใ จ อะไรก็ต าม ; ศรัท ธานี่ ต อ งถู ก ต อ งและพอดี . ศรั ท ธาก็ เ ป น เครื่ อ งกระตุ น อั น แรก, เครื่ อ งกระตุ น ที่มีกําลังแรงอยางหนึ่ง ; ฉะนั้น เราจะตองมีใหพอดี หรือใหถูก, หรืออยางที่ เรียกวา เปนสายกลาง. นี ้ถ า วา มีก ารประยุก ตก ัน เสีย ใหม ใหสิ ่ง เหลา นี ้เ ปลี ่ย นมาสู ความถู ก ต อ ง อย า งนี้ ก็ เ รี ย กว า เป น การถอยหลั ง เข า คลอง ที่ ถู ก ตอ งแลว . ในสวนที่เปน รากฐานของตนไมแ หงศีลธรรม เราก็พูด กัน มามาก แลว ; ที่เหลืออยู คือสวนที่เปนลําตน หรือตนลําซึ่งจะพูดตอไปบัดนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org [การถอยหลังเขาคลอง แหงตนลําของศีลธรรม ]

ถาม : สวนที่เปนลําตนประกอบอยูดวยสวนสําคัญกี่อยาง คุณทอง ?

ตอบ :

๓ อยาง คือ เปลือก กระพี้ และแกน.

เปลือ ก กระพี้ และแกน , คุณ ก็จํา แมน ขึ้น ทุก ที. นี่อ าตมาก็พูด ไม เหนื่ อ ยเปล า เพราะมี ค นจํ า ได หรื อ จั บ ฉวยเอาได . นี้ เราพู ด กั น ถึ ง ต น ไม ธรรมดา ที่จะตองมีเปลือกสวนหนึ่ง, แลวก็มีกระพี้เขาไป, แลวขางในเขาไปมัน มี แ ก น ; แล ว เรากํ า ลั ง พู ด ถึ ง ต น ไม ที่ ป ลู ก เพื่ อ เอาลู ก เอาผล ไม ใ ช ต น ไม เพื่ อ

www.buddhadassa.in.th


การถอยหลังเขาคลอง

๕๓๙

เอาแกน ; แตถ า พูด ถึง ตน ไมที ่เ อาแกน เปน สาระสูง สุด แลว เราตอ งพูด อย า งอื่ น นะ. เดี๋ ย วเราพู ด ถึ ง ต น ไม ที่ ว า เราจะเอาลู ก เอาผล เป น สาระ ; แม กระนั้นก็ตองมีเปลือก มีกระพี้ มีแกน. ถาม : ที นี้ ถ า ต น ไม ข องศี ล ธรรมล ะ ลํ า ต น แห ง ต น ไม ศี ล ธรรม จะมี อ ะไรเป น เปลือก เปนกระพี้ และเปนแกน คุณประยูร ? ตอบ : มีศีล มีสมาธิ มีปญญา. ถาม : ยังจําไดเหมือนกัน วาเราไดพูดกันวา จะมี ศีล สมาธิ ปญญา เปนลําตน ของตน ไมพ ฤกษาแหง ศีล ธรรม. เรื ่อ งที ่จ ะตอ งพูด ก็ค ือ จะประยุก ต กัน อยา งไรให ศีล สมาธิ ปญ ญา นี ้จ ะกลับ มา, ทํ า อยา งไรศีล จึง จะกลับมา คุณล้ํา ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : อยูที่การปฏิบัติ. ถาม

: การปฏิ บั ติ ศี ล เพื่ อ ให ศี ล กลั บ มา. ที นี้ ถ า เพื่ อ นเขาไม ป ฏิ บั ติ ทํ า อย า งไร จะใหเพื่อนเขาปฏิบัติ, เอา, คุณทอง ?

ตอบ : อั น นี้ แ หละครั บ ผมเท า ที่ ไ ด นั่ ง ฟ ง ท า นอาจารย บ รรยาย อย า งตะกี้ นี้ ผมยั ง นึ ก เสี ย ดายว า เราไม ส ามารถที่ จ ะทํ า ให ค นอื่ น เขาสนใจ ถึ ง กั บ ว า มาลงทุ น ลงแรงปฏิ บั ติ ได เพราะว า ค า นิ ย มที่ ค นเขามี อ ยู ในทุ ก วั น นี้ นั่ น ผิดไปจากจุดเดิมยิ่งขึ้นทุกที ๆ.

www.buddhadassa.in.th


๕๔๐

การกลับมาแหงศีลธรรม

ถาม : ไมเหลือยูสําหรับศีล วาอยางนั้นดีกวา ; มันไมมีเหลืออยูสําหรับศีล แลวตอไปทําอยางไร ? ตอบ : ผมรูสึกวาจนปญญาจริง ๆ ครับ. ถาม : คุณประยูร ? ยอมแพไปคนหนึ่งแลว. ตอบ : การจูงใหคนอื่นปฏิบัติ ถามันใชวิธีที่หนึ่ง พูดใหฟงไมไดเรื่อง, มีวิธี ที่ ๒ ก็ เ ราทํา ให ดู ; ลองว า ไปเท า นั้ น เองครั บ . ถ า เราทํา ให ดู คือ เราเองนั้น เปน ผูมีศีล นี่แ หละคือ เปน การจูง คนอื่น ไปอยา งหนึ่ง แลว ; แลว เอาวิธีสุด ทา ยอีก ก็คือ เราเองสบายใจใหเ ขาเห็น เลย วาเพราะเรามีศีล ; ชีวิตในครอบครัวของเรา, และตัวเราเองที่ปฏิบัติ เรามีค วามสุข ใหเพื ่อ นบา นเขาเห็น วา เรานี ้ส บายใจ ไมม ีเรื่อ ง ทะเลาะเบาะแวงกับใคร.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : สรุปความวาเรามีศีล กับเสวยผลของศีลใหเขาดู สรุปเปนสั้น ๆ ไดอยางนี้ ; แลวเดี๋ยวนี้ยังติด ขัด อะไรอยูที่เราจะมีศีล ใหเขาดู หรือ เสวยผลของ ศีลใหเขาดู ? ตอบ : ที่ยังติดขัดอยูเดี๋ยวนี้ หมายความวา เราเองจะมีความกลาหาญ หรือ มีความสามารถทําไดมากนอยแคไหน ครับ. ถาม : ก็เราจะปฏิบัติศีลอยูแลว เราจะไมยอมรับวาเราจะเปนผูมีศีลใหได หรือ ? ตอบ : นี้พูดอยางทั่ว ๆ ไปครับ ; คือแตละคนอาจจะไมเหมือนกัน ถาผูหนึ่ง ผูใด มีร ากฐานอัน ดีแ ลว มีอ ุด มคติอ ัน ดี คนนั ้น ก็จ ะปฏิบ ัต ิศ ีล ได อยางดี มีเทานั้น ; ตางกันแตละคน.

www.buddhadassa.in.th


การถอยหลังเขาคลอง

๕๔๑

ถาม : เดี๋ ยวนี้ ขอ เท็ จจริงมั น มี อ ยูวา เขาไม รูวาจะไปดู ค นที่ มี ศี ล ที่ ไหน อยางนั้นหรือ ? ตอบ : นั่นก็เปนเรื่องอยางหนึ่งเหมือนกัน ครับ. ถาม : จริงหรือไมจริง ; มันเปนขอเท็จจริงอยูในเวลานี้หรือเปลา วาเขาไมรู วาจะไปดูคนมีศีลเปนตัวอยาง หรือวาดูคนที่มีความสุขเพราะศีล เปน ตัวอยาง ไดที่ไหน ? เดี๋ยวนี้เขาจะไปดูที่ไหน ? ตอบ : เดี๋ยวนี้เขาก็ยังพอดูไดจากพระเจา พระสงฆ ครับ. ถาม : พระเจา พระสงฆ... ? ตอบ : เลือกดูเอาซิครับ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : ที่ฆราวาสไมมีเลยหรือ ?

ตอบ : ที่ฆราวาสก็ยิ่งมีนอยไปใหญ.

คํ า ว า “พระ” ไม ได ห มายถึ ง ว า มี ที่ วั ด หรื อ ที่ บ า น. ถ า ปฏิ บั ติ ดี ปฏิบัติชอบ มีกิเลสเบาบาง ก็เรียกวา พระ ; อยูที่บานก็ได ที่วัดก็ได. ฉะนั้น ก็ตองดูที่ คนที่ปฏิบัติดี ; ฆราวาสบางคนปฏิบัติดี มีความสุขสงบยิ่งกวาพระ โดยมากหรือเกือบทั้งหมดที่วัด ก็ยังมีนะ. ระวังใหดี ๆ ; ฉะนั้น ตองดูที่บุคคล ที่ม ีค วามสงบสุข เพราะศีล . เดี๋ย วนี้ก็ไ ดพ ูด แลว วา โลกมัน ไดเ ปลี่ย นแลว โลกมั น ได ขึ้ น ยุ ค ใหม แ ล ว ไปมึ น เมารสของวัต ถุ นิ ย ม ; มี ตั ว อย า งให เห็ น เต็ ม

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๕๔๒

ไปหมด ตําตาเต็มไปหมดทั้งโลก ลวนแตปฏิบัติเพื่อความสุขดวยวัตถุ ทางตา ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย ทางใจ. ถาม : ผูที่มึนเมาอยูดวยวัตถุเหลานี้ จะมีศีลไดไหม วาอยางไร คุณ ทอง ? ตอบ : ถาเขาขั้นมึนเมาแลว ไมได ครับ. นี่เปนผูรอบคอบที่ใชถอยคําวา ถาถึงขั้นมึนเมาแลว มีศีลไมได ; แตเ ขาอาจจะมีวัต ถุส มบูร ณ แลว มีศีล ดว ยก็ไ ดนะ ; นั่น แหละคือ ศาสนา พระศรีอาริย ที่เราหวังไวในอนาคต วาคนจะสมบูรณดวยวัตถุ เครื่องอุปกรณ ความผาสุกทั้งหลาย อยางเต็มที่ดวย, แลวมนุษยเหลานั้น ก็จะสมบูรณดวย ศีลธรรมอยางยิ่งดวย, นี่พลเมืองในโลกของพระศรีอาริย. เดี๋ยวนี้ พลเมืองเดี๋ยวนี้ ก็มีแตความสุขสะดวกสบาย สมบูรณแต เรื่องทางเนื้อหนัง ทางวัตถุ มันไมมีศีลธรรม. นี้เปนการชี้ความแตกตางระหวาง พลเมืองของโลกพระศรีอาริย กับโลกที่ไมใชพระศรีอาริย เปนอยางนี้. ถาเปน โลกของพระพุทธเจากอน ๆ โนนอีกแบบหนึ่ง คือสมบูรณแตศีลธรรม, พอใจ มีความสุขอยูแตดวยเรื่องของทางศีลธรรม ; ขาดแคลนทางวัตถุ ปจจัยสี่ก็ขาด แคลน, อยาวาถึงสิ่งสําหรับสํารวยสําราญฟุงเฟอเลย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เราควรหลับตามองเห็นภาพอยู ๓ แบบ ๓ โลก : โลกของพระศรีอาริย สมบูรณทั้งวัตถุและศีลธรรม.

www.buddhadassa.in.th


การถอยหลังเขาคลอง

๕๔๓

โลกของพระพุ ท ธเจ า ที ่ ไ ม ใ ช พ ระศรี อ าริ ย สมบู ร ณ ใ นเรื่ อ ง ศีลธรรม ; ในทางวัตถุนั้นพอมียาไสเปนไปได. โลก ของอะไรดีล ะ ของยัก ษข องมาร ไมใ ชข องพระพุท ธเจา องคไ หน สมบูร ณห รือ เฟอ ไปดว ยวัต ถุที่สง เสริม สนับ สนุน กิเ ลส ; หรือ จะ เรียกวา ความสะดวกสบายก็ได, มีแตสิ่งอํานวยความสะดวกสบาย. ทีนี้ พอมัน เฟอ, เฟอ, มันก็ดึงไปหากิเลส เปนทาสของกิเลส ไมมีศีลธรรมเหลือ. สรุปใจความสั้น ๆ ก็คือวา โลกประเภทหนึ่ง สมบูรณทั้งวัตถุและ ศีล ธรรม, โลกอีก ประเภทหนึ่ง สมบูร ณแ ตท างศีล ธรรม ไมส นใจกับ เรื่อ ง วัต ถุ, ทีนี้ โลกอีก ประเภทหนึ่ง สมบูร ณแ ตเ รื่อ งวัต ถุเ หยื่อ ของกิเ ลส ไมมี ศีลธรรมเลย. ถาม : เดี๋ยวนี้ เรากําลังมีโลกชนิดไหนละ คุณทอง คุณกลาพูดไหม ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : เดี๋ยวนี้เรามีโลกที่เต็มไปดวยวัตถุ แตไมมีศีลธรรม ครับ.

ดี, ดี ชว ยกัน พูด แทนอาตมา ใหถ ูก ดา นอ ยหนอ ย. เดี ๋ย วนี ้เ รา กํา ลัง มีโ ลกชนิด ที่ส มบูร ณท างวัต ถุ, แลว หาศีล ธรรม ทํา ยาหยอดตาก็ไ ม คอ ยจะได. นี่ยังไมมีเหตุผ ลเพีย งพอหรือ ที่วาเรา ควรจะมานึก ถึงการแกไข ป รั บ ป รุ ง เพื ่ อ ใ ห เ กิ ด ก า ร ก ลั บ ม า แ ห ง ศี ล ธ ร ร ม เ พื ่ อ ว า โ ล ก นี ้ จ ะ สมบูรณทั้งวัตถุ และศีลธรรมแลว โลกพระศรีอาริยก็จะกลับมา.

ถาสมมติวา เราทําเสร็จตามที่เราปรารถนา ทําใหประชาชนทั้งโลก นี้กลับมีศีลธรรมอยางยิ่ง ขึ้นมาภายใน ๑๐ ป ; โลกพระศรีอาริยแทจริงก็จะมา

www.buddhadassa.in.th


๕๔๔

การกลับมาแหงศีลธรรม

ในเวลา ๑๐ ป นั่นแหละ ; ไมตองรออีกกี่โกฏิ กี่กัปป อะไรดอก. ขอแตทําให ศีลธรรมกลับมาครองโลกภายใน ๑๐ ป โลกพระศรีอาริยก็จะมาใน ๑๐ ป คือวา สมบูรณทั้งทางศีลธรรม และวัตถุปจ จัยในทางวัต ถุ ที่จะใหเกิด ความผาสุก . รายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องโลกของพระศรีอาริยมีความหมายตรงกันเลย ในสวน ที่อํานวยความสะดวก กับโลกสมัยปจจุบัน คือ ตองการอะไรในทางวัตถุก็ได ; แตไมใชเพื่อกิเลส. เดี๋ยวนี้ เรามีวัตถุเพื่อกิเลสไปเสียหมด. ถาม : ทีนี้ เราจะทําอยางไรจะชักชวนเขาใหพอใจในการมีศีล ในการรักษาศีล จะชักชวนอยางไรเพื่อใหโลกพระศรีอาริยกลับมา เขาจะเอาไหม ? ตอ รองกันวา ทําอยางนี้แหละโลกพระศรีอาริยจะกลับมาใน ๑๐ ป เขา จะเอาไหม ? เขากําลังสนใจอยูในอบายมุข มัวเมาอยูในอบายมุข ; บอกวา หยุด เสีย , หยุด เสีย มาถือ ศีล ประพฤติธ รรมแลว โลก พระศรีอาริยก็จะกลับมาทันที ; ไมตองเลนโป เลนถั่ว ชนไก กัดปลา ไมตองขโมย ไมตองตีรันฟนแทง เขาจะเอาไหม ? คุณประยูรเห็นวา อยางไร ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : แลวแตระดับจิตใจของแตละคน ทีเดี๋ยวนี้มัวเมาอยูขนาดไหน ถาคน ที่มัวเมามาก ยังไมมีทางที่จะสนใจจะเอา.

ถาม : เพราะฉะนั้น ปญหาหรือมูลเหตุอยูที่ความมัวเมามากหรือนอย ; ก็จะตอง หันไปที่ความมัวเมา วาจะทําใหหายมัวเมาไดอยางไร จะแกความมึนเมา ในอบายมุข หรือ ทุศีล ไดอยางไร ?

www.buddhadassa.in.th


การถอยหลังเขาคลอง

๕๔๕

ตอบ : มีอยูวิธีเดียว ก็คือ ชี้ใหเห็นโทษ ชี้แลวชี้อีก มีเทานั้นเอง ครับ. ถาม : พระพุทธเจาทานมีแตอยางนั้น ทานไมมีกฎหมายที่จะลงโทษ จะถือวา นี่เปนปมดอยของพุทธศาสนาไหม ? ตอบ : ทางศาสนาไมมีปมดอย ครับ เพราะวามันเปนเรื่องของสมัครใจของ แตละบุคคล. ถาม : ทําไมไมมีสิ่งที่จะแกไขความมึนเมาละ ? ตอบ : เพราะว า มี ก ฎของธรรมชาติ ใ ห โ ทษอยู แ ล ว ครั บ . ถ า คนไหนเมา เรื่องอะไร ก็ไดรับโทษเรื่องนั้นอยูแลว ครับ. นี่ก็เปนสิ่งที่จะตองมองดวยเหมือนกัน วามันมีอะไรเปนชั้น ๆ กันอยู บ า ง . ม นุ ษ ย ใ น โล ก นี ้ พ วก ที ่ พ อ จ ะ แก ไ ข ได ก ็ ม ี อ ยู  พ วก ห นึ ่ ง , รวม ทั้ง แกไ ขงา ย แกไ ขยาก แกไ ขปานกลาง อะไรก็ต าม. นี่คือ พวกแกไ ขได พอจะแกไขได นี้ก็มีอยูพวกหนึ่ง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อี ก พวกหนึ ่ ง เป น พวกที ่ ไ ม อ าจจะแก ไ ขได ซึ ่ ง พู ด ได เ ลยว า พระพุทธเจาทานก็ไมทรงสนใจกับพวกที่แกไขไมได ; ก็บอกก็สอนไปอยางนั้น แหละถามันยังแกไขไมได มันก็ตองรอไปกอน. ถาม : ทีนี้เราจะถือวาเดี๋ยวนี้ มันมีพวกที่จะแกไขไดไหม ?

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๕๔๖ ตอบ : ยังพอมีอยูบาง. ถาม : ยังพอมีอยูบาง ; คุณทองละ ? ตอบ : พอจะมีอยูบาง.

ถาม : นี่ปองกันตัวเราใชไหม ? เพราะวาอยางนอยก็ยังมีเรา ๓ คน ? ตอบ : เปลาครับ ผมพอจะมองเห็นวา คนอื่นก็ดูพอจะมีอยูบางครับ. ถาม : ถาพูดถึงทั้งประเทศไทย มีคนพอที่จะแกไขไดเปนจํานวนพอสมควร แก ก าร ที ่ จ ะชั ก ชวนกั น แก ไ ข. เดี ๋ ย วนี ้ ที ่ ก รุ ง เทพฯ เขามี ก าร เคลื่อนไหว หรือรณรงคกัน ที่เรียกวา ระดมธรรม ∗ ตั้งแตวันที่ ๑๓ เมษายนนี้เ ปน ตน ไป ; ชัก ชวนใหห มุน ไปหาศีล ธรรม. ดูรูป ถา ย ในหนาหนังสือพิมพก็มีหลายคนอยูเหมือนกั้น ; ขอใหถือวา มันตอง มีพวกที่พอจะแกไขได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทีนี้มันเปนหนาที่ของอีกพวกหนึ่ง ที่จะเสียสละเพื่อจะชวยกันแกไข ไหม ; คุณเสียสละไหม เพื่อจะแกไขเพื่อนมนุษย ?

ตอบ : ผมก็มี ผมยอมครับ.

มีคําบรรยายเกี่ยวกับเรื่องนี้ในภาคผนวก

www.buddhadassa.in.th


การถอยหลังเขาคลอง

๕๔๗

ถาม : คุณทอง ละ ? ตอบ : ผมก็ยอมครับ. ถาม : คุณประยูร ละ ? ตอบ : ตอนนี้ผมก็พยายามทํากันอยูแลวครับ. ถาม : พยายามทํากันอยูแลวนี่ ก็เห็นกันอยูแลว ใครดูก็เห็นอยูแลววา เราก็ ไดพยายามอยูแลวที่ใหเกิดแกไขในทางศีลธรรม ฉะนั้น ก็ทําตอไป ตาม วิถีท างที่พ ระพุท ธเจา ทา นไดต รัส ไว ไมตอ งใชเงิน ใชท องอะไรมาก มาย ; ไมตองตั้งพิธีโหมโรงครึกครื้นอะไรนัก ไมตองจัดมหรสพก็ได. การแกไ ขทางศีล ธรรมนี้ ขอความเสีย สละนี้เปน ตน ทุน ; แลว มัน ก็ ไมใชเสียสละเงินสละทองอะไรนัก ; แตตองสละอะไร คุณทอง ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : สละความเอร็ดอรอยของตัว, ความเห็นแกตัว.

ถาม : ผูที่จะไปชวยแกไขคนอื่นนั้น เสียสละอะไรเปนสวนใหญ ? เสียสละ ความสุขสวนตัว ; ก็เราไมไดหลงในความเอร็ดอรอยแลวนี่ มันไมตอง พู ด ถึ ง . ที นี้ เ ราจะแก ไ ขผู อื่ น ต อ ไป มั น ต อ งเสี ย สละอะไรต อ ไป ซึ่งไมจําเปนวาจะตองเสียสละเงิน. เสียสละอะไร คุณประยูร ?

ตอบ : เสียสละเรี่ยวแรง กําลังกาย ความสุขสวนตัว.

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๕๔๘

ถาม : เสียสละความสุขสวนตัว ไปพยายามใหเขาเกิดความรู ความเขาใจ ; เดี๋ยวนี้เราก็พยายามกระทํากันอยู. เปนอันวา เราไดพยายามอยูแลว ตามที่เราจะทําได นี้เราไดทําถึงที่สุดแลวหรือยัง ? ไดทําถึงที่สุดที่เรา จะเสียสละไดหรือยัง ? ตอบ : ตอนนี้ผมเขาใจวายังครับ. ก็ทําตอ ไป. นี่ฝนกําลังจะมาแลว พูด ไมจบก็ได ในการที่จะเปน ตัวอยางที่ดี สําหรับผูมีศีล เราก็ตองเสียสละทําใหดู มีความสุขใหดู และก็ชักจูง ผูอื่น . นี่คือ ทํา ประโยชนเ พื่อ ผูอื่น เมื่อ ทํา ประโยชนต นแลว ก็ทํา ประโยชน ผูอื่น, ทําประโยชนทั้ง ๒ ฝาย ก็ชักชวนเขาใหมีศีล โดยรายละเอียดที่จะตองพูด กันคราวอื่น. ....

....

....

....

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : ที นี้ เรื่ อ งสมาธิ ล ะ ; มาถึ ง ขั้ น สมาธิ เดี๋ ย วนี้ ค นส ว นมากในโลกนี้ มีสมาธิหรือไมมีสมาธิ คุณล้ํา ?

ตอบ : สวนมากก็มีสมาธิ. ถาม : คุณทอง ?

ตอบ : ผมรูสึกวา สมาธินี้จะมีนอยลงทุกทีครับ. ถาม : คุณประยูร ?

www.buddhadassa.in.th


การถอยหลังเขาคลอง

๕๔๙

ตอบ : ผมรูสึกวา มีสมาธิ แตวาสมาธิในทางไมถูกตองครับ ; ไมใชสัมมาสมาธิ. ตอบไปคนละอยาง : คุณล้ําก็วามีสมาธิอยูเปนสวนมาก นี่ถูกนะ, ถูกเหมือ นกัน ; คือมีมิจฉาสมาธิ อยูเปนสวนมาก. คนในโลกเวลานี้มีสมาธิ แรงนะ แตเปนมิจฉาสมาธิ มุงเพื่อกิเลส, และคนมีสมาธิเปนสวนนอย อยาง คุณทองวา นี้ก็ถูก, คือคนมีสัมมาสมาธิกันนอย. พูดอยางไมตองตีความกันอีก ก็อยางคุณประยูรวา วาคนในโลกมีสัมมาสมาธินอย สวนใหญมันก็เปนมิจฉาสมาธิ. ฉะนั้น เขาจึงดํารงตนอยูในความถูกตองไมได เพราะเขามีสมาธิผิด. กํา ลัง ของสมาธิมัน แรง ; สมาธิผิด ก็ผ ลัก เขาไปสูก ารกระทํา ตามอํา นาจ ของกิเลส. ฉะนั้น สติปญญาของเขาก็ไมถูกตอง เราก็ตองพยายามใหเขามีสมาธิ ที่ถูกตอง ซึ่งมีรายละเอียดอีกมากเหมือนกัน ไวคอยพูดกันตอไป.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ....

....

....

....

ที นี้ เดี๋ ย วนี้ ม าถึ ง ป ญ ญา, เราจะทํ า อย า งไรดี ใ นป ญ หา เกี่ย วกับ ปญ ญา ? เพราะวา เขามีปญ ญาที่เ ปน ทาสของกิเ ลส ที่เ รีย กวา เฉโก, คือปญญาเฉลียวฉลาดอยางยิ่ง ที่จะทําใหไดตามความประสงคของกิเลส เชนเฉลียวฉลาดในการคดโกง ในการขโมย ในการออกอุบายหลอกลวงตาง ๆ นี้ก็วามีปญญา. โลกกํ าลังมี ป ญ ญาอย างนี้ ม ากขึ้น ทุ กที . องค การนานาชาติ ที่ เขา ประชุม กั น มั ก มี แต ป ญ ญาชนิด นี้ , มี แต ป ญ ญาเพื่ อ จะเอาประโยชน เป น ของ

www.buddhadassa.in.th


๕๕๐

การกลับมาแหงศีลธรรม

ตนทั้ง นั้น , ตอ สู ตา นทาน เพื่อ ปอ งกัน ประโยชนข องประเทศตน, หรือ ดึง เอาประโยชนของผูอื่นมาเปนของตน ; ยิ่งมีแตปญญาอยางนี้ จนเรียกวามึนเมา เหมือนกัน มึนเมาดวยปญญาที่เปนทาสของกิเลส. ฉะนั้น จึงไมมีสันติภาพ ในโลกนี้. ทํา อย า งไร เขาจะมานิ ย มป ญ ญาอั น แท จ ริ ง ของทางศาสนา ? นี้ก็เทากับวา ทําอยางไรจะใหเขาเสียสละประโยชนนั่นเอง ? มันมีอาการเหมือน กับที่เขาพูดกันวา ออยที่เขาไปอยูในปากชาง มันดึงออกมายาก, ความหมาย อัน นี้ มีมากสําหรับ เหตุการณส มัยปจ จุบัน . คนเหลานั้น มีปญ ญา ; แมพ วก ฝรั่ง ก็มีปญ ญา, ใครก็มีปญ ญา มองเห็น อยูวา ที่ถูก ที่แ ทมัน เปน อยา งไร ; แตโ ดยเหตุที่วา ไดไ ปติด พัน กับ ประโยชนเสีย อยา งเหนีย วแนน แลว ; มัน ก็ ไมเอาที่ถูกตอง เอาแตที่ไดประโยชนเสมอไป แลวเขาฝกกันแตปญญาชนิดนี้. ทีนี้ เหลีย วมาดูถึง ตน ตอ ที่เ ปน ตน ตอที่สุด คือ การศึก ษา ; นับตั้งแตการศึกษาของลูกเด็ก ๆ ในโรงเรียนอนุบาล โรงเรียนประถม โรงเรียน มัธยม กระทั่งมหาวิทยาลัย เขาก็สอนกันแตปญญาชนิดนี้ทั้งนั้น ปญญาที่เปนทาส ของกิเลสทั้งนั้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org พูด ไปมัน ก็เปน เรื่อ งดา อีก แลว , แตก็ต อ งพูด อยูดี วา การศึก ษา ของมนุษ ยใ นโลก กํา ลัง เปน ทาสของกิเ ลส, จัด การศึก ษาเพื ่อ ความเปน ทาสของกิเ ลส มีป ญ ญาแตช นิด ที ่จ ะเปน ทาสของกิเ ลส ใหค วามรู แ ต สํ า หรับ จะสามารถในทางเปน ทาสของกิเ ลส ; ฉะนั ้น ความรู นี ้ มิใ ช ความรูอันบริสุทธิ์ มิใชปญญาอันบริสุทธิ์ ; จนกวาเมื่อไรการศึกษาในโลกทั้งโลก

www.buddhadassa.in.th


การถอยหลังเขาคลอง

๕๕๑

มัน เปน โชคดี มัน เปลี ่ย นไปเพื ่อ การศึก ษาอัน บริส ุท ธิ์ นิย มความผิด ถูก ชั ่ว ดี อยางแทจริง ไมเอาแตประโยชน แลวก็สอนในปญญาอันบริสุทธิ์นี้ใหมากขึ้น ใหทัดเทียมกับปญญาหากิน. เดี ๋ย วนี ้ส อนกัน แตป ญ ญาหากิน คือ วิช าชีพ เทคโนโลยีทั ้ง หลาย ล ว นแต เ ป น ป ญ หาหากิ น ; แล ว ก็ ไ ปหลงสิ ่ ง ที ่ ไ ด ก ิ น จนกระทั ่ ง ตายไป ดว ยปญ ญาชนิด นั้น . ปญ ญาที่จ ะสอนใหรูจัก ผิด ชอบชั่ว ดี ที่จ ะทํา ใหโ ลก มี สั น ติ ภ าพได นั้ น ไม มี ส อนในโรงเรี ย น ระดั บ ไหนก็ ต าม เพราะมิ ไ ด มี อยูใ นหลัก สูต ร ; เพราะวา คนจัด การศึก ษานั้น เปน ทาสของกิเ ลสเสีย เอง พูดอยางอุปมาหนอยก็วา เดี๋ยวนี้พญามารเขามาจัดการศึกษาในโลกนี้ การศึกษา ในโลกนี้ ทั ้ ง โลกเลย การศึ ก ษาจึ ง เป น ไปแต ใ นทางเป น ทาสของกิ เ ลส, เห็ น แก ตั ว , เห็ น แต ป ระโยชน ข องตั ว ; ไม ม ี ค วามคิ ด ที่ จ ะช ว ยโลก, ไมมีความคิดที่จะเปนปูชนียบุคคลในโลก, มีแตคนจะหาทรัพยหาเงินไปหมด ; ก็เลยไมมีป ญ ญาตามแบบของพระศาสนา ไมม ีป ญ ญาตามแบบของพระพุทธเจา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาม : ที่นี้ ตนไมเปนอยางไร ? คุณทอง, ตนไมตนนี้เปนอยางไร ? ตอบ : ตองเหี่ยว ครับ.

ถาม : คุณประยูร ? ตอบ

: เทากับตนไมไมมีแกน ครับ, ปญญาไมมีก็เทากับไมมีแกน ; ไมมีแกน ตนไมก็ลม.

www.buddhadassa.in.th


๕๕๒

การกลับมาแหงศีลธรรม

ถาม : เหี่ยวหรือไมเหี่ยว ? ตอบ : มันตายไปเลย. ถาม : ไมเหี่ยวก็ได ; ตนไมบางตน อยูดวยเปลือก กระพี้ ขางในไมมีแกน เปนโพรงก็มีอยูนะ, เดี๋ยวนี้เขาดูที่สวยใชไหม ? แตละคนโลดเตนอยู สวยที่สุด งามที่สุด ; เพราะมันเจริญดวยวัตถุ ประดับประดาตกแตง make up อะไรตาง ๆ. ตอบ : ถาแบบนั้นมันก็ไมใชตนไมศีลธรรม ครับ เปนตนไมธรรมดา. ถูก แลวก็วาตนไมที่ไมมีแ กน มัน อยูไดเหมือ นกัน ; ก็ตอ งเปรีย บ ไดอ ีก แหละวา อุบ าสก อุบ าสิก า บางคนไมไ ดม ีศ ีล ธรรม ที ่เ ปน แกน ชั ้น ปญญา ; มีแตประดับประดา หรูหราสวยงามอยูแตผิวนอก ก็ไดเหมือนกัน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เชนวา มีแตการปฏิบัติ ทําบุญทําทาน ไปตามธรรมเนียมประเพณี, ไมมีปญ ญาเพื่อมรรค ผล นิพพาน อยางนี้มันก็ไดเหมือนกัน. นี่ยังไมถึงกับ ตาย แตมันเปนโพรงใชไหม ? ก็ตอ งเปรียบดวยตนไมที่เปนโพรง. ฉะนั้นเรา จึงพูดวา มนุษยสวนมากในโลกปจจุบันนี้ ไมมีแกน หรือไมมีแกน ก็แลวแต จะใชคําไหน, มันเปนโพรง ; แตในที่สุดมันก็ตองตายแนนอน. เปน อัน วา เราจะตอ งชว ยกัน ใหม ีป ญ ญาอัน แทจ ริง สํ า หรับ ความเปน มนุษ ยที ่ม ัน กลับ มา ; ก็ช ว ยกัน ไปตามเรื ่อ ง ซึ ่ง มีร ายละเอีย ด สําหรับจะพูดกันอีกมาก.

www.buddhadassa.in.th


การถอยหลังเขาคลอง

๕๕๓

ถาม : นี่ เกี่ ย วกั บ ลํ า ต น คื อ ให มี เปลื อ กดี ให มี ก ระพี้ ดี และมี แ ก น ดี . สํ าหรับ ที่จะกลาวเปนสากล สําหรับที่จะใชเปนคํากลาวอยางสากลของศีล สมาธิ ปญ ญานี ้ เคยพูด กัน มาแลว นะ วา ควรใชคํ า พูด วา อะไรจึง สากล แกคนทั่วไป และทุกศาสนาดวย ? ตอบ : ใช คํ าวา มรรยาท ครับ ; ศี ล คื อ การมี ม รรยาท ทางกายและวาจาดี , สมาธิก็คือ การมีมรรยาททางจิต, ปญญาคือมีมรรยาททางวิญญาณ. มรรยาททางวิญ ญาณ นี่ มั น ฟ งยาก ; ฉะนั้ น เวน ไวก อ น. มี ค วามรู เพีย งพอในสิ ่ง ที ่ค วรจะรู  นี ่เ รีย กวา ปญ ญา. ศีล มีม รรยาทดีใ นทางกาย ทางวาจานี ่ใ ชไ ด, คือ การประพฤติก ระทํ า ถูก ตอ งอยู ใ นระเบีย บแบบแผน ที่ ควรจะเปน ; มรรยาท แปลวา แนว หรือระเบียบ. คํ า ว า มรรยาท แปลว า แนว หรื อ แถว ; มั น อยู ใ นแถว ในแนว ของความถู ก ต อ ง ทางกาย ทางวาจา นี้ เรีย กว า ศี ล . ศาสนาไหนก็ ไม รังเกี ย จ คนชนิ ด ไหนก็ ไม รังเกี ย จ ; ที่ จริงนั้ น มี แ ต วามั น จะทํ าหรือ ไม ทํ าเท านั้ น เขาชอบ ดวยกันทุกคน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ที นี้ มี ม รรยาททางจิ ต หรื อ เป น สมาธิ คื อ จิ ต อยู ใ นระเบี ย บ ก็ มี ความสงบสุขทางจิต ; พู ดแลวก็ไมมีใครรังเกียจ แตแลวเขาก็ไมเอา เขาไปชอบ ความสนุกสนาน ฟุงเฟอ ทางวัตถุ.

ทีนี ้ ปญ ญ า คือ ความรู ที ่เ พีย งพอ ที ่ค วรจะรู  ความรู ที ่ม นุษ ย ควรจะรู และก็รูอยางเพียงพอ นี่เราเรียกวาปญ ญา แตไมใชเพียงพอสําหรับไป

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๕๕๔

หลงในวัต ถุ ; แตห มายถึง เพีย งพอสํ า หรับ จะแกป ญ หาของมนุษ ยใ หม ีส ัน ติส ุข ใหมีสันติภาพ ตางหาก นี้ก็เรียกวาปญญาอยูในแถวในแนวเหมือนกัน. ฉะนั้ น ศี ล สมาธิ ป ญ ญา ก็ เป น เรื่ อ งที่ ไม ล า สมั ย ไม เก า , จะเป น ของจํ า เปน ตลอดไป ในเมื ่อ โลกมนุษ ย ยัง มีม นุษ ยอ ยู . ควรไปทํ า ความเขา ใจ กั น ในข อ นี้ ; ก็ ค งจะมี ห วั ง บ า ง ที่ จ ะมี ก ารถอยหลั ง เข า คลอง มานิ ย มศี ล สมาธิ ปญญา กันอีก ; ถอยหลังเขาคลองมาสูศีล สมาธิ ปญญา กันอีก. ....

....

....

....

[การถอยหลังเขาคลองเกี่ยวกับ ใบ ดอก ผล แหงศีลธรรม ]

ถาม : ที นี้ หมวดสุ ดท าย คื อ ปลายยอด ใบ ดอก ผล. ส วนสํ าคั ญ มั นก็ อยู ที่ ด อ ก แล ะ ผ ล ; ใบ เอ าอ อ ก เสี ย ก็ ไ ด . มี ด อ ก แล ว ก็ ม ี ผ ล แล ว มี อะไรอี ก จึ ง จะพอ คุ ณ ทอง ? เป น ดอก แล ว เป น ผล แล ว ต อ งเป น อะไร อีก ? หรือมีอะไรอีก จึงจะพอใหครบ ๓ อยาง คุณประยูร ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : มีเม็ดใน

ถาม : มีเม็ดใน, คุณล้ําละ ? ตอบ : หมายถึงยอด. ถาม : มี ย อดอะไรอี ก ล ะ ไม ต อ งการยอดแล ว ; มี ด อก แล ว มี ผ ล เมื่ อ มี ผ ล แลวมีอะไรอีก คุณทอง ? ตอบ : ยังนึกไมออก ครับ.

www.buddhadassa.in.th


การถอยหลังเขาคลอง

๕๕๕

ถาม : ยังนึกไมออก! ถาเราไปหยิบผลไมมาลูกหนึ่ง แลววางอยูเฉย ๆ กับเรา กัดกินเขาไปมันตางกันอยางไร ? มีดอก แลวมีผล ? ตอบ : แลวมีการเสวยผล ครับ. ตอ งมีร ส มีร สที ่ก ิน ได ที ่บ ริโ ภคได ; ถา มัน เปน ตน ไมที ่ มีร ส บ ริ โ ภ ค ไม ไ ด มั น ก็ ใ ช ไ ด , ห รื อ ว า มั น มี ร ส ที ่ บ ริ โ ภ ค ได แ ต เ ร า ไ ม อาจที่ จ ะบริ โ ภคได ; อย า งนี้ มั น ก็ ไ ม ไ ด เ หมื อ นกั น ; มั น ต อ งมี ค วามเป น ไปได ที่เราจะไดบริโภครสของผลไม. นี่ เราทํ าอุ ป มาเอางาย ๆ วา มรรค ผล นิ พ พาน เปรีย บได กั บ วา ดอกไม ผลไม แลว ก็ร สแหง ผลไม คือ ความมีคา ที่อ ยูใ นผลไม. ดอก คือ มรรค, ผลคือ ผล, นิพ พาน คือ รสของผลไมที่เ รารูสึก ซึ่ง หมายความวา ตองมีการกิน มันจึงจะมีรส. ถาไมมีการกิน ก็เทากับไมมีรส ; ฉะนั้น รสที่อยู ในผลไม ก็ไมมีความหมายอะไร ; ตองมีการกินผลไมไดดวย และไดรูรสนั้นดวย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี ้ม ัน เปน ขั ้น สุด ทา ยเสีย แลว เนื ่อ งอยู ก ับ การปฏิบ ัต ิห รือ กระทําขั้นตน . ถาไมมีการกระทําขั้นตน ขั้นสุดทายนี้มัน ก็ไมมี หรือ มีไมได ; แตเราอาจจะนํามาพูด ในฐานะเปนสิ่งชี้ชวน โฆษณา หรือชวนใหสนใจก็ได เหมือนกัน. ที่นาสนใจที่สุดก็คือพระนิพพาน. ถาม : พระนิพพานมีรสอยางไร คุณทอง ? ตอบ : วางเปลา ครับ.

www.buddhadassa.in.th


๕๕๖

การกลับมาแหงศีลธรรม

ถาม : รสวางเปลา โฆษณาไมได ไมมีใครเอา ; คุณ ประยูร นิพพานมีรส อยางไร ? ตอบ : ตั วพระนิ พ พานเอง จะกล าววามี รสอย างไรไม ได ค รับ นอกจากเรา ผูไดสัมผัสจะรูรสเทานั้นเองครับ คือวา รสเย็นสบาย. ถาม : ที่วาพระนิพพานจะใหเรารูสึกรสอยางไร นั่นคือพระนิพพานจะชวยใหเรา รูสึกรสอยางไร ? ตอบ : สงบ เย็น ครับ. ถาม : ถาถามวา นิพพานมีรสอยางไร ? พูดอยางภาษาคนธรรมดา มีรส สงบเย็น. ทําอยางไรเขาจึงจะพอหยั่งทราบไดวา ไมใชน้ําแข็งละ ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอบ : คือ เราตองอุปมา หรือเปรียบใหเขาฟงครับ วา รสพระนิพพานเปน อยา งไร โดยเทีย บวา เวลาเรารอ งไห หรือ เราเดือ ดรอ น มัน มีร ส อยางไร ? แลวเวลาเราดีใจ เราตื่นเตนนั้นรสอยางไร ? แลวเวลาที่ เราไมรองไห ไมดีใจ เวลาเราอยูในภาวะเฉย ๆ อยางนั้นแหละครับ เราตองเทียบอุปมาวา นั้นอยูตรงกลาง ; นั้นคือรสพระนิพพาน ครับ. ถาม : คุณทอง มีวิธีพูดอยางไร ถึงรสของพระนิพพานใหเปนที่สนใจ ? ตอบ : ผมไมมีคําพูดครับ. ถาม : นี้เปนลูกศิษยเซ็น พอถามวา นิพพานมีรสอยางไร เขาหุบปากเทานั้น, คุณล้ํา ?

www.buddhadassa.in.th


การถอยหลังเขาคลอง

๕๕๗

ตอบ : มี อี ก อั น หนึ่ ง ที่ พ อจะสั ง เกตได คื อ เวลาตื่ น จากนอน ก อ นที่ จ ะมี อารมณอะไรเกิดขึ้น. นี ้ ก ็ ม ี ค น เ ค ย พ ู ด : ม ี จ ิ ต ใ จ เ ห ม ื อ น กั บ เ ด ็ ก อ  อ น ใ น ค ร ร ภ มารดา ; ยัง คิด อะไรไมเ ปน ยัง หยุด นิ ่ง อยู . แลว คุณ ก็เ ปรีย บเทีย บวา แรก ตื่นนอน ยังไมมียุง ในหัว ในอะไรนี้ ก็ไดเหมือนกัน, แตมันยังนอยอยู. เพราะฉะนั้ น ถ าจะพู ดเรื่องของรสของพระนิ พพาน ต องแบ งเป นชั้ น ๆ ; ถ า ว า เป น ชั้ น แท จ ริ ง ละก็ ต อ งหุ บ ปากอย า งคุ ณ ทองว า . แต ถ า เอาชั้ น รองลงมา บัง คับ ใหพ ูด , หรือ จะตอ งพูด ก็พ ูด ไป ตามที ่จ ะมองเห็น วา คนคนนี ้โดยเฉพาะ ที ่พ ูด กับ เรา เขาจะเขา ใจไดอ ยา งไร. แตว า พูด ยาก เพราะมัน ไมอ ยู ใ นวิส ัย ที่ พูดกันอยูตามธรรมดา. นิพ พาน ถา พูด วา เย็น ก็เ ขา ใจไดบ า งแตไ มถ ึง ที ่ส ุด . ถา พูด วา เฉย เขาก็จ ะไมส นใจไปเสีย อีก ; เพราะมัน ไมช อบเฉยนี ่ค นเรา. ถา พูด วา วาง แลวก็ชักจะกลัวไปเสียอีก, กลัวความวาง. ฉะนั้ น จึงมี คําพู ดแบบภาษาคน พูดกันไปตามสมควรแกบุคคล แกเหตุการณ . รวมความแลวก็มีคําพูดวา นิพพาน เปน สุขอยางยิ่ง นี้ก็มี.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี ้ก ็ต อ งอธิบ ายกัน อีก ทีว า “อยา งยิ ่ง ” นั ้น คือ อยา งไร ; เพราะ ถา ไมอ ธิบ าย เดี ๋ย วอยา งยิ ่ง มัน สุข ยิ ่ง ไปทางกามารมณก ็ไ ด ; ยิ ่ง ไปในทางอื ่น ซึ ่ ง มิ ใ ช น ิ พ พ า น ก็ ไ ด . พู ด ว า ไ ม ม ี ค ว า ม ทุ ก ข เ ล ย ; นี ่ เ ป น คํ า พู ด ที ่ ถ ู ก เป น ที่ สิ้ น สุ ด แห ง ความทุ ก ข เป น คํ า พู ด ที่ ถู ก ที่ สุ ด ; แต ค นก็ ยั ง เข า ใจผิ ด ได .

www.buddhadassa.in.th


๕๕๘

การกลับมาแหงศีลธรรม

เพราะวาคําวา ความทุกขนี้ มันมีอยูหลายชั้น, ที่เราจะไปพูดใหเขามองเห็นวา แมแตความสุขของชาวบาน นี้ก็เปนความทุกขอยางหนึ่ง เขาก็ไมเขาใจ. ความสุ ขอย างของชาวบ าน เป น สุ ข เวทนา ; ต อ งยึ ด ถื อ ต อ ง หมายมั่น ตองอะไร จึงจะเปนความสุขขึ้นมาได ; ถาเอานั้นเปนความสุข แลว ความสุ ข อย างยิ่ ง มั น ก็ ยิ่ งผิ ด ไปไกล. ฉะนั้ น ไปคิ ด ดู เอาเองวาควรจะพู ด กั บ ใครวาอยางไร. ถาม : ที่ นี่ ไม ต อ งร อ งไห ! ไม ต อ งหั ว เราะ! มี ค นพยายามที่ จ ะ อธิบ ายนิพ พานโดยอุป มาตา ง ๆ. ถา พูด วา นิพ พานไมตอ งเกิด ไมตองแก ตองเจ็บ ตองตาย อยางนี้นาสนใจไหม ? ตอบ : อยางนี้เขาไมเอาเลย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ก็จะเปนเสียอยางนั้น. ถาเอาก็เอาอยางละเมอ ๆ เหอ ๆ ตาม ๆ กัน ไปวา ไมตอ งเกิด ไมตอ งแก ไมตอ งเจ็บ ไมตอ งตาย ; เพราะโดยความ รูสึกแทจริง เขายังอยากจะเกิดอยู เขาอยากจะเปนอยางนั้น อยากจะเปนอยางนี้ อยากจะมีนั่น จะมีนี่ อยากจะเสวยนั่น เสวยนี่. นั่นแหละเปนเรื่องที่ลําบาก ที่ จ ะบรรยายลั ก ษณะ หรื อ รสหรื อ อะไรของพระนิ พ พาน ; จึ ง มี ส ว นนี้ ที่ตองหุบปาก.

แตถ ึง อยา งไรก็ด ี, เราจะถือ หลัก ไวส ัก อยา งหนึ ่ง วา ถา เขารูจ ัก ความทุ ก ข ช นิ ด ไหนก็ ต าม ; เราบอกว า มั น ไม มี ค วามทุ ก ข ทุ ก ชนิ ด เป น

www.buddhadassa.in.th


การถอยหลังเขาคลอง

๕๕๙

ที ่ส ุด แหง ค วาม ทุก ขท ุก ช นิด ; เอ าค วาม ไมม ีท ุก ขท ุก ช นิด นั ่น แห ล ะ เปน ความสุ ข ในความหมายอี ก แบบหนึ่ ง ; และถื อ ว า เป น ความสุ ข อย า งยิ่ ง . อย า เอา ความสุข ในความหมายตามแบบของชาวบา นทั ่ว ๆ ไป คือ วา ไดก ิน ไดเ ลน ได ส นุ ก สนาน แล ว ก็ เ ป น ความสุ ข ; อย า งนั้ น มั น อี ก ความหมายหนึ่ ง ต า งหาก. ความสุข ชนิด ที ่ไ มม ีค วามทุก ขใ ด ๆ เหลือ อยู  ทั ้ง ที ่เ ปน ทุก ขโ ดยตรง เปน ทุก ข โด ยออ ม เปน ทุก ขใ ตด ิน ห รือ บ น ดิน อะไรก็ต าม มัน ไมม ีทั ้ง นั ้น อ ยา งนี้ เรี ย กว า นิ พ พาน. มั น มี ลํ า ดั บ หรื อ ขั้ น ตอนอยู ใ นตั ว ที่ เขาจะต อ งรู จั ก ความทุ ก ข ขึ ้น มา, ตามลํ า ดับ ทุก ๆ ชนิด ของความทุก ข ; แลว ก็ด ับ เสีย ซึ ่ง ความทุก ขชั ้น สุดทาย นี้ก็เรียกวา นิพพานได. ม ัน เป น ก า ร ลํ า บ า ก อ ยู ม า ก ที ่จ ะ โ ฆ ษ ณ า ใ ห ค น ส น ใ จ พ ร ะ นิพ พาน หรือ วา อยากจะไดพ ระนิพ พาน. เราพยายามกัน มาตั ้ง ๔๐ กวา ป ดู ยั ง ไม ไ ด ผ ลในข อ นี้ , คื อ ไม ป ระสบความสํ า เร็ จ ในการโฆษณาให ค นรู จั ก และ อยากไดพระนิพพาน ; แตก็ยังจะตองทําตอไป มันไมมีอะไรที่จะดีกวานี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี ่ แ ห ล ะ ย อ ด สุ ด ข อ ง พ ฤ ก ษ า แ ห  ง ศี ล ธ ร ร ม มี ม ร ร ค คื อ เกิ ด ญ า ณ รู  ต า ม ที ่ เ ป  น จ ริ ง ใ น สิ ่ ง ทั ้ ง ป ว ง ; แ ล ว ก็ ม ี ผ ล ต ั ด กิ เ ล ส ไ ด  , ต ั ด อวิชชา ตั ดกิ เลส อะไรทั้ งหลายได แล วก็ มี รสเย็ นตามความหมายของคํ าวา นิ พพาน คื อปราศจากความรอนโดยสิ้ นเชิ ง รอนทางกาย รอนทางจิ ต รอนทางวิ ญ ญาณอะไร ไมม ีทั ้ง นั ้น . ในมรรค ผล นิพ พาน เกิด ความรู ถ ูก ตอ ง ถึง ขนาดตัด กิเ ลสได, และก็ม ีก ารตัด กิเ ลส แลว ก็ม ีร สชาติข องความไมม ีก ิเ ลส เรีย กวา นิพ พาน ; เปน ของสากลของธรรมชาติ เปน ของจริง ของธรรมชาติ ; แตเ รามาเรีย ก กันวา ของพุทธศาสนา ; ที่จริงมันของธรรมชาติ.

www.buddhadassa.in.th


๕๖๐

การกลับมาแหงศีลธรรม

ถาม : ที่เราเรียกวาของพุทธศาสนานี้ สมควรหรือไมสมควร ? ตอบ : ก็ควรจะสมควรครับ. ถาม : สมควรอยางไร ? ตอบ : เพราะวาในศาสนาอื่นไมมีใคร รูถึงที่สุดอยางนี้. ถาม : หมายความวา ในศาสนาอื่น ไมมีใครรู ธรรมชาติขอนี้หรือ ? ตอบ : ธรรมชาติขอที่เปนพระนิพพาน ไมมีในศาสนาอื่น. อยา พูด อยา งนั ้น มัน อาจจะพลาดไปก็ไ ด. ธรรมะนี ้เ ปน ของ ธ ร ร ม ช า ติ , เ รื่ อ ง ม ร ร ค ผ ล นิ พ พ า น นี ้ เ ป น ข อ ง ธ ร ร ม ช า ติ อ ั น ลึก ซึ้ง ที่สุด ; ที่วา เปน ของพุท ธศาสนา คือ เปน ความรูข องบุค คลที่เปน ผูรู ผูตื่น ผูเบิกบาน ใครก็ได, จะเรียกวาศาสนาชื่ออื่นก็ได, จะเรียกชื่ออยางอื่น ก็ได, ถาเขาเปนผูรู ผูตื่น ผูเบิกบานโดยแทจริง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาสมมติวาพระพุทธเจาองคอื่นเกิดขึ้น แลวสอนอยางเดียวกันแลว ไมเรียกวาพุทธศาสนาก็ได ; ที่เปนเรื่องสมมติตามชื่อบุคคล มันก็ไปอีกอยาง หนึ่ง ; ที่วา ศาสนาของพระสมณโคดมนี้ ก็ไ ปอีก อยา งหนึ่ง ; แตมัน เปน ของจริง ของธรรมชาติ ที่พ ระสมณโคดมพบ แลว มาสอน ; จะวา ของทา น มันก็โดยสมมติ, ในฐานะเปนผูพบแลวนํามาสอน.

www.buddhadassa.in.th


การถอยหลังเขาคลอง

๕๖๑

แตเ นื้อ แทแ ลว นิพ พานเปน ของธรรมชาติ เพราะวา เปน ธรรมธาตุ, ธัมมธาตุ อันหนึ่ง ซึ่งมีอยูตลอดกาล. ถ าเราทํ า ให ค นเข าใจความจริงถึ งข อ นี้ ได ก็ เรีย กวา มี การกลั บ มา แห ง ศี ล ธรรม ถึ ง ที่ สุ ด . เราถอยหลั ง เข า คลองไปหาพระพุ ท ธเจ า ได กี ่พ ัน ปก ็ต ามใจ ; ยอมเรีย กวา ประสบผลสํ า เร็จ ในการแกไ ขความผิด พลาด บกพรอ ง หรือ อะไรก็ต าม ที ่ม ัน ควรจะแกไ ข. มีก ารกลับ มาแหง ศีล ธรรม โดยสมบู ร ณ ; แต เป น ศี ล ธรรมในความหมายอี ก อั น หนึ่ ง ต า งจากที่ ใ ช อ ยู ใ น ภาษาไทย, คือ ศีล ธรรมที ่ม ีค วามหมายอยูท ุก ระดับ ; แมก ระทั ่ง นิพ พานก็ มาอยูใ นคํ า วา ศีล ธรรม. เพราะวา นิพ พาน เปน สิ ่ง ที ่ม ีภ าวะปรกติอ ยา งยิ ่ง จึงเปนศีลธรรมอยางยิ่ง หรือเปนผลของศีลธรรมอยางยิ่ง. ....

....

....

....

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี ้เ ปน อัน วา เราไดพ ูด กัน มาดว ยการบรรยายชุด นี ้ ๑๒ ครั้ง แลว ก็เห็นวา ควรจะยุติกันที.

ใหทุกคน สรุปใจความ จนใหไดวา ปญ หาเฉพาะหนาของเรา ของประเทศชาติข องเรา หรือ ของโลก ของเรา ; ใชคํา สมมติวา โลกของเรา คือ กําลั งกาวไปหาความพิ นาศ จนจะสู ญ เสี ยความเป น มนุ ษ ย สูญ เสี ยความ สงบสุข สูญ เสีย ทุก อยา งที ่ม นุษ ยไ มค วรจะสูญ เสีย ; เพราะเหตุสิ ่ง เดีย ว คือ เหตุ ที่ ว า ศี ล ธรรมมั น หายไป เพราะคนไม รู ไม ส นใจ ไม ป ฏิ บั ติ ไม รัก ษา ไม ทะนุ ถ นอม. นี่ แ หละโลกมี แ ต วิก ฤติ การณ คื อ ความทุ ก ข ความยุ ง ยาก ความ ลําบาก ความระสําระสาย ที่เขาเรียกวา วิกฤติการณ มากขึ้นทุกที, มากขึ้นทุกที, แลวจะวินาศในที่สุด ; เพราะวาเห็นแกตัวยิ่งขึ้นทุกที จนจะทําลายลางกันเอง ใหหมดไปทั้งโลก.

www.buddhadassa.in.th


๕๖๒

การกลับมาแหงศีลธรรม

แต ถาศี ล ธรรมกลั บ มา มั น ก็ จะเปลี่ ยนทิ ศทาง ในความหมายวา “ถอยหลังเขาคลอง” หมุนมาสูความถูกตอง ; แลวก็จะดํารงอยูในความถูกตอง เปนโลกที่สมบูรณดีทั้งฝายวัตถุและจิตใจ จนเรียกไดวา โลกของพระศรีอาริยเมตไตรย มีความหายที่ดีที่สุด อยูในตัวเองในคํานั้น. อริย เมตไตรย-ความเปน มิต รอัน ประเสริฐ ; เมตไตรย มาจาก คํ า ว า เม ตตา, ไม ตรี -มิ ต ร นั ่ น เอง, คํ า เดิ ม คื อ คํ า ว า มิ ต ต. อริ ย เมตไตรย อริ ย ไมตรี , อริ ย มตต – มี ม ิ ต รอั น ประเสริ ฐ เพราะไม มี ศัตรูเลย ในโลกทั้งโลกไมมีศัตรูเลยมีแตมิตรอันประเสริฐ. อยางที่บรรยายไวในสูตรนั้น วา พอคนลงจากเรือนของตัว ก็จําไม ไดวาใครเปนใคร ; ตอเมื่อกลับถึงบานตัวเองอีกแลว จึงจะรูวาใครเปนใคร ; เปนผัวของเรา เปนเมียของเรา จึงจะรูได. ถาลงจากเรือนไปแลวรูไมได คือมัน เหมือนกันไปหมด จนไมรูวาใครเปนใคร. นั่นแหละความหมายของอริยเมตไตรย มันเปนมิตรประเสริฐสูงสุดมันเหมือ นกันไปหมด หาศัตรูไมได. ภาวะอยางนี้ จะมีมาเมื่อ ศีลธรรมสมบูรณ ๑๐๐ เปอรเซนต.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ฉะนั้ น ขอให ช ว ยกั น ทุ ก อย า ง ทุ ก ทาง ตามความสมารถ ของตน เพื ่ อ การกลั บ มาแห ง ศี ล ธรรม โดยวิ ธ ี ที ่ ถ อยหลั ง เข า คลองไป หาพระพุ ท ธเจ า รวมทั ้ ง พระธรรม รวมทั ้ ง พระสงฆ . ขอให เ ป น อย า งนี้ แลวการบรรยายแลวบรรยายอีก เหน็ดเหนื่อยทั้งผูพูดและผูฟง นี้ก็จะไมเปนหมัน เปลา. การบรรยายสมควรแกเวลา. ขอยุติการบรรยายใหพระคุณเจาทั้งหลายไดสวดบทพระธรรม เพื่อ เกิดกําลังใจในการปฏิบัติหนาที่ของตนตอไป.

www.buddhadassa.in.th


ภาคผนวก www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


การระดมธรรม บันทึกคําบรรยาย

สวนโมกขฯ ๒๙ เม.ย. ๒๕๑๙

ระดมธรรม [ผูประสานงานระดมธรรม สงกระจายเสียงที่สวนลุมพินี ๒ พ.ค.๑๙ ]

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทานทั้งหลาย ที่เปนสมาชิกแหงการระดมธรรม ที่กําลังประชุมกันอยูที่นี่,

ข า พ เจ า ข อ แ ส ด ง ค ว า ม ยิ น ดี แ ล ะ อ นุ โ ม ท น า ใน ก ารก ระ ทํ า ใ น ค รั ้ ง นี ้ ใ น ลั ก ษ ณ ะ อ ย า ง นี ้ เพ ร า ะ ว า มั น เป น สิ ่ ง ที ่ ส ม ค ว ร แ ก เ ว ล า และแก ส ถานการณ เ ป น อย า งยิ ่ ง แล ว ; หรื อ ถ า จะให พ ู ด กั น อย า งตรง ๆ ก็ อ ย า ก จ ะ ก ล า ว ว า ค ว ร ก ร ะ ทํ า กั น ตั ้ ง แ ต ก  อ น ห น า นี ้ เสี ย น า น แ ล ว ; การที ่เ พิ ่ง กระทํ า ในเวลานี ้ เรีย กวา มัน อยู ใ นลัก ษณะที ่ส ุก งอม ขืน ปลอ ย ไ ว ก ็ เ น า แ ต ก ็ น ั บ ว า พ อ ทั น แ ก เ ว ล า อ ยู  ใ น ก า ร ที ่ จ ะ ก ร ะ ทํ า สิ ่ ง ที ่ เ รี ย ก วา “การระดมธรรม” ๕๖๕

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๕๖๖

ขา พ เจา ขอรอ งใหช ว ยกัน กระทํ า ใหเ หม าะสม แกภ าวะ ของ พุท ธบ ริษ ัท ห รือ จะเปน ศ าสนิก ใน ศ าส น าไห น ก็ต าม . เดี ๋ย วนี ้ส ว น ให ญ เรีย กวากระทํ ากั น ในฐานะที่ เป น พุ ท ธบริษั ท ก็ ขอรอ งให ก ระทํ าอย างเหมาะสมแก ความเป น พุ ท ธบริ ษั ท คื อ ไม ใ ห เป น เพี ย งพิ ธี รี ต อง ซึ่ ง มี ลั ก ษณะงมงาย หรื อ ว า หลอกตั ว เองเสี ย มากกว า . ถ าทํ า เหมาะสมแก ค วามเป น พุ ท ธบริษั ท แล วก็ ย อ มจะ เหมาะสมแกค วามเปน คนไทย อยูโดยอัต โนมัติ หรือ ถา จะกลา วใหก วา งกวา นั ้น ก็คือเหมาะสมแกความเปนมนุษย ในความหมายของคําวา “มนุษย” ที่ถูกตอง. ข า พเจ า เข า มาร ว มกิ จ กรรมไม ได ด ว ยตนเอง จึ ง ต อ งขอถื อ โอกาสส ง ความคิด เห็น หรือ ความรูส ึก บางประการนี ้ม า โดยอาศัย เครื ่อ งมือ อยา งที ่ท า น ทั้งหลายก็เห็นอยูแลวในเวลานี้ เรียกวาเป นของแทนตั วขาพเจา ผูมาไม ไดด วยเหตุ หลายอยางหลายประการ และสวนใหญก็ขึ้นอยูกับสุขภาพ. ....

....

....

....

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ขา พเจา มีค วามคิด เห็น อยู บ า ง และเชื ่อ วา คงจะเปน ประโยชนบ า ง ไม มากก็นอย เกี่ยวกับการกระทํ าสิ่งที่กําลังกระทําอยูนี้ และมีความรูสึกบางอยาง ที่อยากจะนํามาแถลงใหทราบพรอม ๆ กันไปขอไดโปรดฟงอยางพินิจพิจารณาดวย.

ในชั้ น แรกก็ จ ะพู ด กั น ถึ ง คํ า ว า “การระดมธรรม” ตามความคิ ด เห็ น และความรูส ึก ; เมื ่อ พูด ถึง คํ า วา ระดม ก็พ อจะเขา ใจกัน ไดวา หมายถึง อะไร. ถ า เป น การระดมแท จ ริ ง ก็ คื อ กระทํ า อย า งขยั น ขั น แข็ ง เหมื อ นอย า งว า ระดม กั นดั บไฟที่ กํ าลั งไหม บ าน ก็ ทํ ากั นสุ ดกํ าลั ง หรือสุ ดฝ ไม ลายมื อ ; หรือวาจะระดม กั น ขุ ด คู ขุ ด คลอง ให ทั น แก เวลา, ก็ เป น การระดมกั น อย างสุ ด กํ า ลั ง หรือ สุ ด ฝ ไม -

www.buddhadassa.in.th


ระดมธรรม

๕๖๗

ลายมือ ระดมกําลังงาน ระดมเครื่องมือ ระดมกําลังสติปญญา. แตวาในขณะที่ กําลังระดมนั้น เราไมคอยมีโอกาสคิดนึกใครครวญกันมากนัก ; ก็ตองมีการ ซักซอมกันกอนหนานั้น หรือซักซอมอยูเปนประจํา เมื่อถึงคราวที่จะระดมใหทัน แกเวลา ก็จะทําไดโดยงาย : ยอมใชพลังงานทั้งหมดที่มี ยอมใชเครื่องมือทั้งหมด ที่มี ยอมใชสติปญญาทั้งหมดที่มี และเปนไปโดยอัตโนมัติ ไมมีใครขยักไวได ถามัน มีเหตุการณที่เรียกวา เอาเปนเอาตายกัน ทีเดีย ว. ในการระดมธรรมนี้ ก็ขอใหมีความหมายอยางนี้. สําหรับคําวา “ธรรม” นั้น มีความหมายมาก เกินกวาที่จะเอามา บรรยายกันในเวลาอยางนี้. ขอสรุปเอาแตใจความที่สั้นและถูก ตองที่สุด วา ธรรมนั ้น คือ สิ ่ง ที ่จ ะทรงโลกนี ้ไ วไ ด. นี ้เ ปน ขอ แรก ที ่จ ะทรงโลกนี ้ไ วใ น ลักษณะที่เปนโลก ไมวินาศไป, ไมวาโลกชนิดไหนถารอดอยูได ก็ดวยอํานาจของ สิ ่ ง ที ่ เ รี ย กว า “ธรรม” ; และเมื ่ อ รอดอยู  ไ ด แ ล ว ก็ ย ั ง ต อ งประกอบด ว ย สั น ติ คื อ ความสงบสุ ข ; สั น ติ ก็ มี ไ ด ด ว ยสิ่ ง ที่ เ รี ย กว า ธรรม, มี สั น ติ แ ล ว ก็ตองมีความสะดวกสบายพอสมควรดวย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ความสะดวกสบายที่เกินไปนั้น เป นการทําลายจิตใจของคน ให เหมือนกับคนบา ; ถาสะดวกสบายพอสมควรแลวก็ดีแน ; การที่จะเปนไปพอ สมควรนั้น ก็เ รีย กวา ธรรม ; นี้เ ปน ใจความสํา คัญ ของสิ่ง ที่เ รีย กวา ธรรม คือพอดี แลวอยูตรงกลาง ไมมากก็นอย ไมสุดโตงขางนั้นขางนี้ ดังนี้เปนตน ; ฉะนั้น สิ่ง ที่เ รีย กวา ธรรม จึง จํา เปน สํา หรับ ที่จ ะทรงโลกนี้ไ ว ไมใ หพิน าศ แลวใหอยูดวยสันติ แลวใหอยูดวยความสะดวกสบายพอสมควร.

www.buddhadassa.in.th


๕๖๘

การกลับมาแหงศีลธรรม

ทีนี ้คํ า วา “ธรรม” นั ้น ยัง ไมห มดกระแสความ ; ทา นจะพูด กัน สั้ น ๆ ว า ระดมธรรม ก็ ต ามใจ. ข า พเจ า อยากจะขยายความออกไปอี ก หน อ ย วา .“ระดมพลัง แหง ธรรม” ; ดัง นั ้น เราจะตอ งสนใจคํ า วา “พลัง แหง ธรรม” กัน อีกสักความหมายหนึ่ง. เราตอ งนึก ถึง สิ ่ง ที ่เ รีย กวา “พลัง ”. ถา ไมม ีพ ลัง แลว มัน ทํ า อะไร ไมไ ด ; แต “พลัง ธรรม”นี ้ มัน ยัง มีพ ิเ ศษตรงที ่ว า ไมม ีพ ลัง อะไรจะจริง กวา ดี กวา สูง กวา แนน อนกวา . ขอใหใ ครค รวญดู วา พลัง ที ่ช อบพูด ถึง กัน นัก นั ้น มัน เปน พลัง แหง ความโงก ็ไ ด. มิจ ฉาทิฏ ฐิก ็ไ ด, ใชก ัน ไปอยา งบา ๆ บอ ๆ ขอ อภัยที่ใชคําโสกโดกหยาบคายอยางนี้ ก็เพื่อประหยัดเวลา. พ ลั ง ข อ ง ธ ร ร ม นั ้ น เ ป  น พ ลั ง ที ่ จ ริ ง ว า ม ั น เ ป  น พ ลั ง ข อ ง ธรรมชาติ ที ่เ ปน ไปอยา งถูก ตอ งตามกฎเกณ ฑข องธรรมชาติ ; ฉะนั ้น จึง จริง กวา . มัน ดีก วา ก็ต รงที ่ว า มัน เปน ธรรม ประกอบไปดว ยธรรม ; และมัน สูง กวาก็ เพราะวาไม มี อะไรที่ จะอยู เหนื อธรรมไปได มั นสู งกวาสิ่ งทั้ งหลายทั้ งปวง จึ ง ควบคุมสิ่งทั้งหลายทั้งปวงได เหมือนกับที่พระเป นเจาอยูเหนือกวา แลวก็คุมครอง โลกได . ฉะนั้ น พลั ง แห ง ธรรมจะเรี ย กอี ก อย า งหนึ่ ง ก็ คื อ พระเป น เจ า ; พลั ง แห ง ธรรมจึง สูง กวา . และที ่ว า แนน อนกวา นั ้น หมายความวา อาศัย ได ไวใ จได พึ ่ง พาได ; พลังอยางอื่นนั้นมันไมแนนอน แตพลังแหงธรรมแลวมันแนนอนอยางนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ระ ด ม ธ รรม ก็ ค ื อ ระ ด ม พ ลั ง แ ห ง ธ รรม ที ่ จ ริ ง ก ว า ดี ก ว า สูงกวา แนนอนกวา.

www.buddhadassa.in.th


ระดมธรรม

๕๖๙

ที นี้ ก็ อ ยากจะให ข ยายความให ชั ด เจนออกไปอี ก นิ ด หนึ่ ง อี ก คื อ แทนที ่จ ะพูด วา ระดมพลัง แหง ธรรม ก็อ ยากจะพูด วา ระดมการใชพ ลัง แหง ธรรม ; ระดมพลัง แหง ธรรมนั ้น มัน ยัง ฟง กํ า กวม เลือ นลางอะไรอยู . ระดม พลังแหงธรรมเราพูดใหชัดเสียเลยวา “ระดมการใชพลังธรรม”. ก า ร ใช พ ลั ง แ ห ง ธ ร ร ม นี ้ เป น ห น า ที ่ ข อ ง ม นุ ษ ย ที ่ รู  จ ั ก สิ ่ ง ที่ เรีย กว าธรรม และอย า งถู ก ต อ งด ว ย. อยากจะพู ด แต เพี ย งว า รู จั ก สิ่ ง ที่ เรีย กว า ธรรมก็แ ลว กัน ; ถา รู จ ัก ผิด ๆ ก็เ รีย กวา ไมรู , ถา รู จ ัก ธรรม ธรรมะนี ้ ก็ต อ ง เรียกวารูจักอยางถูกตอง. หนาที่ของมนุษย ที่รูจักสิ่งที่เรียกวาธรรม นั้นก็คือ การระดมกันใชพลังแหงธรรมนั่นเอง. ร ะ ด ม ใ ห ถ ู ก พ ลั ง แ ห ง ธ ร ร ม จ ริ ง ๆ ไ ม ง ม ง า ย ไ ม อ  อ น แ อ . เดี๋ ย วนี้ ค นเป น อั น มาก แม ที่ เรี ย กตั ว เองว า พุ ท ธบริ ษั ท ผู ป ระพฤติ ธ รรม ก็ ยั ง มี ความงมงายอยู ม าก, และเนื่ อ งมาจากความอ อ นแอ ไม อ ดกลั้ น อดทน ไม ขยั น ขัน แข็ง ก็พ ูด แตป าก ; ปากก็อ าจจะพูด ไดม าก วา ปฏิบ ัต ิธ รรม ขยัน ขัน แข็ง แต แลวก็ ไม มี ผ ลอะไรเลย. ฉะนั้นขอให ทุ กอย างเป น ไปอยางถูกต อ ง ตามความ หมาย และตามกฎเกณฑของสิ่งนั้น ๆ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ....

....

....

....

พูด ซ้ํ า กัน อีก ทีห นึ ่ง ก็ว า ระดมธรรม คือ ระดมพลัง แหง ธรรม ; แลว ขยายออกไป เปน ระดมการใชพลังแหงธรรม.

www.buddhadassa.in.th


๕๗๐

การกลับมาแหงศีลธรรม

ทีนี ้ การระดมกัน ใช พลัง แหง ธรรม นั ้น อยากจะระบุไ ปเสีย เลย ว า คื อ พลั ง แห ง สั ม มาทิ ฏ ฐิ . และการกระทํ า ไปตามอํ า นาจของสั ม มาทิฏ ฐินั ้น นั ่น แหละคือ การระดมการใชพ ลัง แหง ธรรม ที ่เ ต็ม ความหมาย. ระดมการใชพ ลัง แหง ธรรม พูด ได ; แตไ มรู ว า ธรรมคือ อะไร ก็ร ะบุเ สีย วา สั ม มาทิ ฏ ฐิ คํ า เดี ย วก็ พ อ. ระดมพลั ง แห ง สั ม มาทิ ฏ ฐิ และการกระทํ า ไปตาม อํานาจแหงสัมมาทิฏฐิ ก็มีสัมมาทิฏฐิเปนพลัง, และใหสัมมาทิฏฐินั้นเปนผูชักจูงไป หรือเปนหลักที่แนนอน ; อยาใชหลักอื่นมาเปนเครื่องยึดถือเลย. สัม มาทิฏ ฐิ คํ า เดีย วก็พ อแลว เพราะพระพุท ธเจา ก็ไ ดต รัส วา สมฺม าทิฏ ิส มาทานา สพฺพ ํ ทุก ฺข ํ อุป จฺจ คุ  เรากา วลว งความทุก ขทั ้ง ปวง เพราะการสมาทานสั ม มาทิ ฏ ฐิ . ก า วล ว งทุ ก ข ทั้ ง หลายก็ คื อ ตั ด ป ญ หาทั้ ง หลาย ออกไปได ไม ให มีป ญ หาเหลืออยู ; ขึ้นชื่อวาป ญ หาแล วเป นความทุ กขทั้งนั้น และ ทุ ก ระยะเวลาด ว ย คื อ ทั้ ง อดี ต ทั้ งป จ จุ บั น ทั้ ง อนาคต ต อ งทํ า ให ห มดป ญ หา ; สัมมาทิฏฐิจะทําใหหมดปญหา แตวาตองสมาทานสัมมาทิฏฐิ คือมีไวอยางถูกตอง พรอมมูล.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ที ่เ รีย กวา สมาทาน นั ้น แปลวา การมีไ ว หรือ ถือ เอาไวอ ยา ง ถูก ตอ ง และอยา ง ครบถว น, ถา สมาทานสัม มาทิฏ ฐิ ก็ค ือ มีส ัม มาทิฏ ฐิ อยางถูกตองและครบถวน.

คํ า วา “ถูก ตอ ง “นี ้ ขย าย ค วาม ใหช ัด ดีก วา : ใหถ ูก ตอ ง ให เขม แข็ง ใหม ากพอ แลว ก็ใ หท ัน แกเ วลา ; อยา งนอ ยก็ ๔ นัย แลว . มัน ต อ งถู ก ต อ ง คื อ ตรงตามเรื่อ งราวอย า งที่ เรีย กว า มั น ถู ก ฝาถู ก ตั ว ; เพราะธรรมะ

www.buddhadassa.in.th


ระดมธรรม

๕๗๑

มีมากแงมากมุมมากระดับ, ตองเอามาอยางถูกตอง ถูกฝาถูกตัว แลวก็ตองเอามา อยางเขมแข็ง ไมใชอยางออดแอดออนแอ เหมือนที่เปนอยูกันโดยมาก. ที่เ รีย กวา เครง นั่น แหละ จะตอ งระวัง ใหดี ใหมัน เปน การเครง ที ่ถ ูก ตอ ง. ถา เครง ครัด ก็ย ัง ใชไ ด และเขม แข็ง นี ้ก ็ยิ ่ง แนน อนขึ ้น ไปอีก ; แต เราจะเรียกสั้น ๆ วา มันเขมแข็งก็แลวกัน. ที่วาใหม ากพอนั้น บางทีมีธ รรมะกะปริบ กะปรอยไมม ากพอ หรือ มี ค วามถู ก ต อ ง แต มั น น อ ยไป มั น ไม ม ากพอ ; เพราะฉะนั้ น ต อ งให มั น มี อ ย า ง เพียงพอ. ควรจะทดสอบดูดว ยตนเอง ในการมีธ รรมะของตนเอง แตล ะคน แตละเรื่อง วามันมากพอหรือเปลา ถามันมากพอแลว มันจะตองแกปญหาได ; เดี๋ยวนี้มันถูกตองนิด ๆ หนอย ๆ มันเขมแข็งชั่วครูชั่วขณะ แลวมันก็ไมมากพอดวย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อัน สุด ทา ยวา ใหทัน แกเ วลา ; ถา มานอกเวลา ไมท ัน แกเ วลา ก็ไ มแ กป ญ หาอะไรได. พระพุท ธเจา ก็ท รงย้ํ า มากในขอ ที ่ว า ใหม ัน ทัน แก เวลา ; อยา งที่ต รัส หรือ ยอมรับ ที่ค นอื่น กลา ว วา ขโณ โว มา อุป จฺจ คา -ขณะอย า ก า วล ว งท า นทั้ ง หลายไปเลย. เรื่ อ งราวหนึ่ ง ๆ เหตุ ก ารณ อั น หนึ่ ง ประโยชนอันหนึ่ง ลวนแตมีเวลาจํากัดเฉพาะ แลวมันจะตองสําเร็จลงในขณะหนึ่ง เทา นั ้น ; ถา ขณะนี ้พ ลาดไป ก็ยุ ง ไปหมด เพราะมัน เนื ่อ งดว ยสิ ่ง หลายสิ ่ง หรือแมที่สุด ก็เนื่องดวยเวลานั่นเอง เปนสวนสําคัญ ; ตองทันแกเวลา.

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๕๗๒

การที่จ ะมี สัม มาทิฏ ฐิ ก็ตอ งใหถูก ตอ ง เขม แข็ง มากพอ และ ทั น แก เ วลา นี้ เ รี ย กว า เป น การระดมการใช พ ลั ง ของสั ม มาทิ ฏ ฐิ อย า ง ถูกตอง. ....

....

....

....

ทีนี ้ ก็ม าดูก ัน ตอ ไป วา เรานี ่ร ะดมพลัง แหง ธรรม นี ้เ พื ่อ ประโยชนอะไร ใหชัดเจนลงไป อีกทีหนึ่ง. เราระดมการใช พ ลั ง แห ง ธรรม ในการแก ป  ญ หาเฉพาะหน า ของเรา อยางที่มีการกลาวปรารภแลวในแถลงการณ ที่ไดโฆษณาไปในลักษณะ เป น การเชิ ญ ชวน ในการระดมธรรม, สรุป ความวา เรามี ป ญ หาเฉพาะหน า เหมือนกับวา ไฟไหมห ลังคาบ านอยูที เดี ยว จะตอ งรีบ จัดการใหทันแกเวลา ; ปญหาเฉพาะหนาของเรา ควรจะมองกันใหกวาง ๆ อยางที่เรียกวา ไมเห็นแกตัว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ป ญ หาเฉพาะหน า ของเรา ในฐานะที่ เ ป น คนไทย ก็ มี ป ญ หา ในการที่ จ ะรั ก ษาความเป น คนไทย คื อ มี ค วามเป น ไทย หรื อ มี เ อกราช ของชนชาติไทย.

ทีนี้ ถาพูดวา เราเปนชาวโลก กับเขาดวยคนหนึ่ง แลวก็มีปญ หา เฉพาะหนา ที่เราจะตอ งทําเพื่อ โลก หรือ เพื่อ มนุษ ยโลก. ใครปฏิเสธได วา เรา ไมเปนชาวโลก และใครจะยอมใหเราปฏิเสธ.

www.buddhadassa.in.th


ระดมธรรม

๕๗๓

แตที ่สํ า คัญ กวา นั ้น เราเปน พุท ธบริษ ัท แลว ก็ม ีห นา ที ่เพื ่อ เปน พุท ธบริษัท จะตอ งแกปญ หาของพุทธบริษัท เพื่อคงความเปน อริยชนเอาไว ใหได. ขอซักซอมอีกทีหนึ่งวา : แกไขปญ หาเฉพาะหนาของเรา ในฐานะ เปนคนไทย ก็แกปญ หาเพื่อความมีเอกราชอยางชนชาติไทย. ในฐานะที่เปน ชาวโลก ก็แ กป ญ หาเฉพาะหนาเพื ่อ มนุษ ยโลก มนุษ ยชาติ. ในฐานะที่เปน พุทธบริษัท ก็แกปญหาเพื่อคงไวซึ่งความเปนอริยชน. เป น พุ ท ธบริ ษ ั ท นั ้ น มี ค วามหมายสํ า คั ญ อยู  ที ่ ว  า ต อ งเป น อริย ชน คือ คนที ่เ ปน อริย ชาติ ; ถา ไมอ ยา งนั ้น ก็เ ปน คนธรรมดา หรือ เปน บุถุชน ซึ่งมีอะไร ๆ ไมคอยจะแตกตางจากสัตวทั่ว ๆ ไปนัก. เปนมนุษยก็มีใจสูง มีความหมายดีอยูแลว ; แตถาเปนพุทธบริษัทเขามาอีก ความหมายก็เพิ่มมากขึ้น ไปอีก จนถึงกับวาจะเปนอริยชน ขอใหมองเห็นและก็รับรูไวดวย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เป นอันวา เราจะสรุปเอาใจความ กันอยางนี้ดีกวา วาการระดม การใชพลังแหงธรรมนั้น เราจะทําไปเพื่อความมุงหมายสัก ๓ ประการ คือ :-

๑. เพื่ อระงับ วิกฤติ ก ารณ ของมนุ ษ ยโลก นี้ เป นประโยชน เพื่ อ โลก

สวนรวม. ๒. เพื่อความปลอดภัยของชนชาติไทย นี้เพื่อประโยชนแกประเทศ ไทย ของคนไทย ในฐานะที่เปนหนาที่ของชนชาติไทย.

www.buddhadassa.in.th


๕๗๔

การกลับมาแหงศีลธรรม

และ ๓. เพื่อ ความสุข สวัส ดีข องแตล ะคน ๆ ไมเ ลือ กชั้น ชาติ ไมเลือกศาสนาก็ได. อยางต่ําที่สุดก็เพื่อบุคคลคนหนึ่ง ; สูงขึ้นมาก็เพื่อชนชาติไทย ทั้งหมด ; สูงขึ้นไปอีกก็เพื่อมนุษยโลกทั้งหมด. ทําไมเราตองแยกออกเปน ๓ ชั้นอยางนี้ ? เพราะวา มันไมอยูในระดับ เดียวกันบาง มันแตกแยกกันไป ตามเหตุผลหรือตามปจจัยที่เนื่องกันอยู ; อยาง เดี๋ยวนี้ถาเรานึกถึงโลกมนุษยแลว ก็รูสึกวานาหวาดเสียว เต็มไปดวยวิกฤติการณ มากขึ้น จนพูดกันไมรูเรื่อง อาจจะทําลายลางกันใหหมดไปจากโลก หรือเกือบ หมดไปจากโลก เมื่อไรก็ได. นี่มันกวางขวางอยางนี้. ทีนี้ ประเทศไทยเราก็เปนสวนหนึ่งของโลก ก็มี ปญ หาที่เนื่องดวย เหตุปจจัยเฉพาะของประเทศไทย ก็ตองแบงแยกเอามา สําหรับจะแกไขกันอีก สวนหนึ่ง ใหเหมาะเจาะ เหมาะสมแกประเทศไทยโดยเฉพาะ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทีนี้ ที่วาสําหรับปจเจกชนคนหนึ่ง ๆ นั้น หมายถึงโอกาสที่คนแตละ คนจะทํ าได ม ากกว า ที่ จ ะทํ า รวม ๆ กั น ; เขาก็ มี ป ญ หาเฉพาะตน ซึ่ ง จะต อ ง พยายามแกดวยตนของตนเปนพิเศษ ไมมีใครมารวมวงได เพราะมันเปนปญหา เฉพาะตน. สรุป ไดสั ้น ๆ วา เพื ่อ ระงับ วิก ฤติก ารณข องโลก เปน ขอ แรก, เพื่อ ความปลอดภัย ของประเทศชาติ เปน ขอ ที่ส อง, เพื่อความสุขสวัส ดีเปน พิเศษของคนแตละคน เปนขอที่สาม.

www.buddhadassa.in.th


ระดมธรรม

๕๗๕

ทั้งหมดนี้เรียกวาเปนการปรารภกันในเบื้องตน : ปรารภใจความ ของเรื่อง ที่จะตองทําความเขาใจกันกอน สําหรับกิจกรรมที่เรียกกันวาการระดม ธรรม หรือระดมพลังแหงธรรม หรือระดมการใชพลังแหงธรรม ก็ตาม. ....

....

....

....

ทีนี้ เรามาพูดกันทีละเรื่องใหละเอียดออกไป :เรื่ อ งแรก ก็ คื อ หั ว ข อ แรก ที่ ว า ระดมพลั ง แห ง ธรรม ใน ลั ก ษณะที่ เ ป น การต อ ต า น เพื่ อ ประโยชน แ ก โ ลกเป น ส ว นรวม ; เรียกวาขอแรกนี่นึกถึงโลกทั้งหมดกอน แลวก็ระดมการใชพลังแหงธรรม เพื่อ ผลดีแกโลกทั้งโลก. ขอ แรกจะต อ งนึ ก ถึ งวา โลกของเราควรจะเป น อย างไร ? โลกใน ปจ จุบัน นี้มีลัก ษณะอยา งไร ? โลกในปจ จุบัน นี้ ควรจะผา นเลยไปถึง ความ วิน าศหรือ ไม หรือ ใหห ยุด ยั้ง อยูไ ด ? แลว ก็แ กไ ขใหก ลับ ไปสูค วามสวัส ดี หรือปลอดภัย แมอยางวิธีที่เรียกวาตองถอยหลัง อยางที่เขาเกลียดกันนักวา “ถอยหลังเขาคลอง” ? เดี๋ยวจะไดพูดกันถึงขอนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เพื่อเขาใจขอนี้ วาโลกจะวินาศหรือไม ? จะตองศึกษากันสักหนอย และใชระยะเวลายืดยาวพอสมควร. มันลําบากอยูที่วา เราไมไดมีอายุยืนตั้ง รอยปพันป หรือหลายพันป ; เราจึงไมเห็นความเปลี่ยนแปลงอยางชัดแจง ดวย ตาของเราเอง, เราจะตองศึกษา หรือตองคํานวณ.

www.buddhadassa.in.th


๕๗๖

การกลับมาแหงศีลธรรม

เดี ๋ย วนี ้ส ัง คมเปน อยา งไร ? ถา เทีย บกัน เมื ่อ สัก ไมกี ่รอ ยปม านี้ ก็จ ะเห็น วา ตา งกัน ไกลลิบ ; พูด แลว ก็นา กลัว ที่จ ะพูด วา กอ นนี้พ วกโจรมีอ ยู ในปา ในเวลาค่ํ า คืน , แตเดี ๋ย วนี ้พ วกโจรมีอ ยู ในกรุง แลว ก็ป ระกอบกิจ กรรม ของเขากลางวัน แสก ๆ นี ่มัน เปลี่ย นถึง ขนาดนี้ แลว จะไมย อมรับ หรือ อยา งไร. คนสมัย โนน ไมใ จดํ า อํ า มหิต อยา งที ่ม ีใ จดํ า อํ า มหิต อยู ใ นโลกเวลานี ้ ; แมใ น กลางกรุงนครหลวงนี้. เมื่อวานนี้ก็ยังไดฟงขาว : เรื่องผัวคนหนึ่งฆาเมียดวยการยิงดวยปน แลวฆาลูกหญิงเล็ก ๆ ดวยการยิงดวยปน แลวก็ฆาตัวเองดวยปนกระบอกเดียวกัน เพราะเหตุแตเพียงวา สงสัยวาเมียมีชู แลวก็ทะเลาะกัน รุนแรงขึ้น จนถึงประกอบ กรรมอัน นี ้ ในสมัย นี ้ที ่ถือ กัน วา มนุษ ยม ีค วามเจริญ . แตวา ในสมัย โนน ที ่ถ ือ กันวามนุษ ยยังโง ยังไมเจริญ นั้น เขาไมทํากันอยางนี้ ; เขามีการอบรมมาดวย ธรรมะอยา งอื่น ซึ่งทํา ใหใหอ ภัย ได หรือ จะหยา กัน โดยอยา งหัว เราะเยาะก็ได ไมมีทางที่จะฆาเมียฆาลูก แลวฆาตัวเอง ดวยความโงเขลาบาหลังอยางเดี๋ยวนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org และในวัน เดีย วกัน นี ้ย ัง มีขา วเรื่อ ง ผู ช ายคนหนึ ่ง ฆา พี ่ส าวดว ยมีด ในครัว เมื่อ กํา ลัง นอนอยู ดว ยเหตุเ พีย งนิด เดีย ว วา ขอเงิน ไปใชไ มไ ด. เขา เปนคนเหลวไหล ไมใครทํางาน พี่สาวไมใหเงินใช ก็โกรธขึ้นมาก็ฆาเสีย แลว ก็พ าขา วของหนีไป. นี่ใ นถิ่น หรือ ในยุค สมัย ที่ถือ กัน วา เจริญ มัน ยัง มีอ ยา งนี้ ; แตแลวมันกลับไมมีในถิ่นหรือในยุคสมัย ที่ถูกประณามวายังไมเจริญ.

ขอให คิ ด ดู เถิ ด มั น จะเป น เครื่อ งวัด ที่ ดี ว า โลกป จ จุ บั น นี้ กํ า ลั งเป น อย า งไร. ถ า เห็ น ว า โลกกํ า ลั ง จะเปลี่ ย นไปสู ค วามวิ น าศ แล ว เราก็ จ ะต อ ง

www.buddhadassa.in.th


ระดมธรรม

๕๗๗

นึก กัน ถึง การแกไ ข ; ถา มัน เดิน ไปผิด เราก็ตอ งถอยหลัง มาหาความถูก ; ยิ่งเดินไปมันก็ยิ่งผิด มากไป หรือจะออกขาง ๆ คู ๆ มัน ก็ค งจะไมถูกได. ถา เมื่อสมัยโบราณแตกาลกอนมันถูก คือมันไมมีเหตุการณอันเลวทรามอยางนี้ ; ก็จําเปนอยูเอง ที่จะตองถอยหลังเขาคลอง ไปหาความถูกนั้น. เรื่องจะรูหนังสือ หรือไมรูหนังสือนั้นไมสําคัญ ; คนสมัยที่ไมคอย รูหนั งสือ กลับ อยูกัน เป นผาสุกมี สัน ติสุข กี่พั น ป มาแลวก็ตามใจ ; แม ในครั้ง พุท ธกาลนี้ ก็เรียกวาไมรูหนังสือ ไมมี การใชห นังสือ ; หรือในประเทศไทยเรา หลายรอ ยปมาแลว ก็เรียกวา ไมรูห นังสือ กัน เปน สวนใหญ ตอ งสอนธรรมะ กั น ด ว ยรู ป ภาพเป น ต น ; แต มั น มี ค วามอยู กั น เป น ผาสุ ก สงบสุ ข มี จิ ต ใจ ประกอบดวยธรรมะ ในทุกแงทุกมุมนั่นเอง. เดี๋ยวนี้มันมีความเปลี่ยนแปลง ในการมีธรรมะของแตละคน. ทีนี้ เราก็จะระดมธรรมนี้ ก็เพื่อโลกปจจุบันนี้ อยาไดเลวตอไปอีก เพราะมันเลวมาก พอแล ว ; ยอนกลับ มาหาความปลอดภั ย เพื่ อจะไดเป นโลกที่ อ ยูในรูป แบบที่ สมบูรณ ที่พึงปรารถนา เรียกวา เปนโลกที่มันมีความสะอาด มีความสวาง มีความ สงบ อยูในจิตใจของมนุษยตามสมควร. ถาคนแตละคนมีความสะอาด สวาง สงบ สามอยางนี้อยูในจิตใจแลว โลกนี้ก็เปนโลกแหงความสะอาด สวาง สงบ โดยไมตองสงสัย. เราอยากจะมีโลกในรูปแบบที่นาชื่นใจ นาปรารถนา เราจึง ตองมีการแกไข.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทีนี้ เพื่อที่จะใหรูจักสิ่งที่เรียกวาโลกดีขึ้น ชัดเจนยิ่งขึ้น พูดกันรูเรื่อง งา ยขึ้น ขา พเจา อยากจะชี้ห รือ แนะ ใหม องดูสิ่ง ที่เ รีย กวา โลก ๆ นี้ ใน ๓ รูปแบบดวยกัน: -

www.buddhadassa.in.th


๕๗๘

การกลับมาแหงศีลธรรม

แบบที ่ ห นึ ่ ง สมบู ร ณ ท างมโนธรรม แต ไ ม ส มบู ร ณ ท างวั ต ถุ . อี ก แบบ หนึ ่ ง สมบู ร ณ ท างวั ต ถุ แต ไ ม ส มบู ร ณ ท างมโนธรรม . ส ว นอี ก แบ บ ห นึ ่ ง ส ม บู ร ณ ทั ้ ง ท างม โน ธ รรม แล ะท างวั ต ถุ . ขอ ให ด ู ใ ห ด ี มั น เปน สิ ่ง ที ่ค วรสนใจอยา งยิ ่ง เกี ่ย วกับ ปจ จุบ ัน และอนาคต ของเราทุก คน นั่นเอง. ที่ ว า โลกแบบหนึ่ ง สมบู ร ณ ท างจิ ต หรื อ ทางมโนธรรม อย า งสมั ย พุทธกาลเปนตน แตไมสมบูรณ ดวยวัตถุ ปจจัยอุปกรณ เพื่อความสะดวกสบาย. ในยุคที่ศาสนาเกิดขึ้นในโลกหลาย ๆ ศาสนานั้น พอที่จะกลาวไดวา มีปญหาทาง มโนธรรมมากกวา ; เพราะเขาไมม ีเวลา ที่จ ะไปสนใจกับ เรื่อ งทางวัต ถุม ากนัก พออยู กั น ไปได ก็ แล วกั น . เพราะวาความรูยั งไม เจริญ ในทางวัต ถุ แต ก็ ได ช ดเชย ดวยความรูในทางนามธรรม คือทําจิตใจของเขาใหตอสูไดในทุกกรณี ที่จะไมให เกิด ความทุก ขขึ ้น มา, ก็อ ยู ไ ดใ นโลกแบบที ่เ รีย กวา สมบูร ณใ นทางมโนธรรม หรือเพียงพอดวยมโนธรรม แตยังไมสมบูรณในทางวัตถุ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org แบบที ่ส อง โลกก็ไ ดเ ปลี ่ย นมาเรื ่อ ย จะโดยอะไรก็ต าม สํ า หรับ โลกปจ จุบ ัน นี ้ ควรจะถือ วา สมบูร ณท างวัต ถุ, สมบูร ณเ ลยสมบูร ณจ นเฟอ จน เรี ย กว า บ า ห ลั ง เอาที เ ดี ย ว แต แ ล ว กลั บ ไม ม ี ห รื อ ไม ส ม บู ร ณ ห รื อ ถึงกับ พินาศในทางมโนธรรม.

ขาพเจาพูดอยางนี้ คนเปนอันมากก็หาวา มุงรายเจตนาราย ดีแตดา คนอื ่ น ; ข อ นี ้ จ ะไม ต อบ หรื อ ไม โ ต ต อบ. แต จ ะขอร อ งว า ให ด ู เ อาเองก็ แล ว กั น ว า เดี ๋ ย วนี ้ ส มั ย นี ้ ค นใน โล ก นี ้ ม ี ม โน ธรรม กี ่ ม าก น อ ย ? พึ ง วั ด

www.buddhadassa.in.th


ระดมธรรม

๕๗๙

ด ว ยการเห็ น แก ตั ว หรื อ ไม เห็ น แก ตั ว ยอมเสี ย สละประโยชน สุ ข ส ว นตั ว เพื่ อ ประโยชนผูอื่นหรือไม ? มุงแตจะเอาสวนเกินมาเปนของตนใหหมดหรือ ไม ? โลกกํา ลัง เต็ม ไปดว ยวิก ฤติก ารณ เดือ ดรอ น วุน วาย ระส่ํา ระสาย เพราะ การเบียดเบียน แยงชิง ขมเหง เอาเปรียบหรือไม ? ทั ้ง ๆ ที ่วา โลกนี ้ม ีค วามกา วหนา ทางวัต ถุ มีเ ครื่อ งใชไ มส อย เปนอยู กินอยู อยางที่เรียกวา ไมเคยมีมาแตกาลกอน คลาย ๆ กับเปนของทิพย ของสวรรค เอาทีเ ดีย ว ; แตแ ลว มัน ก็เ ปน ไปเพื่อ พอกพูน ความเห็น แกตัว คือสงเสริมกิเลส. ยิ่งกาวหนาดวยวัตถุอยางนี้ ก็ยิ่งพอกพูนกิเลส แลวจะไดอะไร ขึ้นมา นอกจากความเบียดเบียน ; เบียดเบียนผูอื่นนั้นเห็นไดชัด แตเบียดเบียน ตัวเองนั้น ยิ่งมากกวานั้น แตมันเห็นยาก. คนที ่เ ดือ ดรอ นระส่ํ า ระสาย เปน โรคเสน ประสาทเปน บา ตาย มากขึ ้น ทุก ทีใ นโลกปจ จุบ ัน แมใ นประเทศไทยเรานี ้ ; เพราะวา เขาเบีย ด เบียนตัวเขาเอง อยางไมรูสึกตัว : ไปหลงผิด เปนทาสของวัตถุ, เปนทาสของ เนื้อหนัง, ตองการเกินความจําเปน, แสวงหาเกินความจําเปน, บริโภคเกินความ จําเปน เกินฐานะ, อะไรตาง ๆ มันก็มีปญหาเกิดขึ้น จนเปนโรคเสนประสาท จนเปนบา จนกระทั่งตายไป. นี้เรียกวามันมีความสมบูรณทางวัตถุ แตมันพินาศ ในทางจิตใน หรือทางมโนธรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ที นี ้ ในโลกรู ป แบบ ที ่ ส าม คื อ สมบู ร ณ ทั ้ ง ๒ ทางนั ้ น นี้ เขาเรีย กมาแตกอ นโนน วา โลกสมัย พระศรีอ าริย, หรือ วา โลกพระศรีอ าริย. มีธรรมะสูงตามแบบของพุทธบริษั ท คือมีพระพุ ทธเจาเปนผูสั่งสอน แลวการ

www.buddhadassa.in.th


๕๘๐

การกลับมาแหงศีลธรรม

เป น อยู ข องประชาชนก็ ส มบู รณ ด วยวัต ถุ ป จจั ย เพื่ อ ความสะดวกสบาย ; อย างที่ กล า วไว ม ากมาย จนถึ ง กั บ ว า เปรี ย บเหมื อ นกั บ มี ต น ไม กั ล ปพฤกษ คื อ ต น ไม ที่ ใหสําเร็จความปรารถนาทุกอยางแกทุกคน อยูทั่ วไปทุกมุม เมือ ง จะตองการอะไร ก็ไมขาดแคลน. เราต องตี ความหมายเหล านั้ น: มี ความสะดวกสบายเหมื อนอย างกั บว า น้ํ า ในแมน้ํ า ไหลลงขา งหนึ ่ง ไหลขึ ้น ขา งหนึ ่ง ; มีศ ีล ธรรมดีถ ึง ขนาดวา เมื ่อ คนลงไปจากเรือ นแล ว ก็ จํ า กั น ไม ได ว า ใครเป น ใคร เพราะมั น เหมื อ นกั น ไปหมด ตอกลับมาถึงบ าน ขึ้นบนเรือนของตั วแล ว จึงจะรูวา เอา, บ านของเรา ผั วของเรา เมี ย ของเรา ลู ก ของเรา อย า งนี้ เป น ต น . นั้ น สมบู ร ณ ทั้ ง ทางฝ า ยวั ต ถุ ทางฝ า ย มโนธรรมเรีย กวา โลกพระศรีอ าริย เมตไตรย ; เมตไตรย แปลวา มีค วามเปน มิต ร. อยู ก ัน ดว ยความเปน มิต รไมม ีศ ัต รู แมแ ตก ระผีก เดีย ว ในศาสนาของ พระศรีอาริย หรือโลกพระศรีอาริย เปนอยางนั้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ที นี้ ก็ น าหวั วที่ ว า เมื่ อคํ าว า โซเชี ยลลิ สม เข ามาในประเทศเราใหม ๆ มี แ ต ค นแตกตื่ น กั น ว า เป น ลั ท ธิ พ ระศรี อ าริ ย ; แต แ ล ว ก็ ไม ก ล า เชื่ อ ; แล ว ต อ มา มัน ก็พ ิส ูจ นว า พระศรีอ าริย เ ก โซเชีย ลลิส ม หรือ สัง คมนิย ม เพีย งแตใ หท ุก คน มี ใช มี กิ น มี ค วามสะดวกสบายพอ ๆ กัน นั้ น มั น จะเป น โลกพระศรีอ าริย ไปไม ได เพราะมั น เป น ไปแต เรื่ อ งทางวั ต ถุ . เรื่ อ งจิ ต ใจมั น ยั ง เห็ น แก ตั ว หรื อ ว า มั น ยั ง มี กิเลสตัณหา.

ท า นทั้ ง หลายไปคํ า นวณ ดู เ อาเองว า ถ า ทุ ก คนมี กิ น มี ใ ช ส ะดวก สบายไปหมด ; แตถ า มัน มีก ิเ ลสตัณ หามาก แลว มัน จะเปน อยา งไร ? มัน ก็ ยั ง คงเบี ย ดเบี ย นกั น อยู  ด ว ยอํ า นาจของกิ เ ลสตั ณ หานั ่ น แหละ : มั น จะ

www.buddhadassa.in.th


ระดมธรรม

๕๘๑

ลวงเกินบุตรภรรยาสามีของบุคคลอื่น อยางนี้เปนตน ; มันก็เปนพระศรีอาริยเก ไมเปนสังคมนิยม ทั้งทางฝายวัตถุทั้งทางฝายมโนธรรม ; มันเปนแตฝายวัตถุ อยางเดียว ก็เปนเรื่องที่นากลัว. จนกระทั่งวันนี้ เดี๋ยวนี้ พวกที่ละเมอเพอฝน ในเรื่องของสังคมนิยม นั้น ไมเ คยมองเลยวา ความสมบูร ณแ ตท างวัต ถุนั้น มัน แกปญ หาไมไ ด มันจะทําใหมนุษยรักใครกันไมได หรือใหมนุษยมีกิเลสเบาบางลง มันก็ทําไมได. มันตองการสิ่งบํารุง บําเรอกิเลสตัณหามากขึ้นไป ; ยิ่งบํารุงบําเรอมากขึ้นไป มันก็ คลายคนบามากขึ้นทุกที ; ฉะนั้นจะมีความผาสุกหรือสันติสุขไปไมได. แตถา เปนโลกพระศรีอาริยโดยแทจริงแลว ก็จะตองถูกตองเหมาะสม ทั้งทางฝายวัตถุ และจิตใจ จึงไมมีปญหา. ในเมื่อ โลกมัน มีอ ยู ๓ แบบ อยางที่ก ลา วมานี้ เราจะระดมธรรม หรือระดมพลังแหงธรรมเพื่อโลกแบบไหน ก็คิดดูเอาเอง. เปนของงาย และ วา เด็ก ๆ ก็พ อจะคิด ออก ; ฉะนั ้น การที ่พ ูด วา เราจะระดมธรรมเพื ่อ โลกมี ความสุ ข สวั ส ดี นี้ มั น ต อ งเป น โลกชนิ ด ที่ ส มบู ร ณ ด ว ยมโนธรรมและวั ต ถุ ในสัดสวนที่กลมกลืนกันไป.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เปน อัน วา ระดมธรรมในลัก ษณะการตอ ตา น เพื่อ ใหโ ลกรอด อยูไ ดนั ้น จะตอ งไปไกลถึง กับ วา มีค วามถูก ตอ งทั้ง สว นมโนธรรมและสว น วัต ถุ แลว มัน ก็เปน สัง คมนิย มที่ถูก ตอ ง หรือ เปน อะไรที่ถูก ตอ งไปในตัว เอง. เรียกชื่ออยางเดียวกัน ; แตมันผิดได เพราะเหตุนี้.

www.buddhadassa.in.th


๕๘๒

การกลับมาแหงศีลธรรม

ทีนี้ ที่จ ะตอ งดูกัน ตอ ไปเกี่ย วกับ โลกนั้น ก็มีวา โลกนี ้ม ัน เปน สิ่ง ที ่ แ ยกกั น ไม ไ ด จ ากธรรมะ หรื อ จากมโนธรรม หรื อ จากสิ ่ ง ที ่ เ รี ย กว า ศาสนา ; ฉะนั ้น ถา เราตอ สู เ พื ่อ ความอยู ร อดของโลก ก็ค ือ ตอ สู เ พื ่อ ใหโ ลก มัน มีธ รรม มีม โนธรรมหรือ มีศ าสนา. โลกที ่ม ีม โนธรรมเทา นั ้น จะเปน โลกที่ นา อยู  หรือ เปน โลกที ่น า ปรารถนา. โลกที ่ป ราศจากธรรมะแลว มัน ก็เปน โลก อยา งเดีย วกับ โลกสัต วเดรัจ ฉาน หรือ จะเลวรา ยไปกวา สัต วเดรัจ ฉาน ; เพราะ คนมันคิดเกงกวาสัตวเดรัจฉานมาก ฉะนั้นคงทําอันตรายกันมากกวาที่สัตวเดรัจฉาน จะทําอันตรายแกกัน. ที นี้ ความลํ า บากอย า งยิ่ ง มั น อยู ที่ ว า สิ่ ง ที่ เ รี ย กว า มโนธรรมนี้ มี หลายขั้นตอน มีหลายระดับ มันเปนความรูสึกของคนที่รูสึกตาง ๆ กัน วาอยางนี้ เรีย กวา มโนธรรม อยา งนั ้น ไมใ ช ; เพีย งเทา นี ้ก ็เ ถีย งกัน ไมห วาดไหวอยู แ ลว เพราะมั นหลายขั้นตอน. ความหมายของคํานี้กํากวม อยูตลอดเวลา ความหมาย มัน ดิ ้น ได เปลี ่ย นไปได ตามการศึก ษาในโลกนี ้ ; โลกนี ้ม ีก ารศึก ษาอยา งไร เขาใจสิ่งตาง ๆ อยางไร ก็บัญญั ติสิ่งที่เรียกวามโนธรรมนั้นไปตามความรูสึกนั้น ๆ. เพราะฉะนั้นจึงเถียงกันไมรูจักจบ วามโนธรรมที่แทจริงที่ถูกตองนั้น คืออยางไร.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org พวกคอมมิ ว นิ ส ต ถื อ ว า มโนธรรมนั้ น คื อ อย า งนั้ น , พวกสั ง คมนิ ย ม หยอ นลงมา ก็ถ ือ วา อยา งนี ้, พวกประชาธิป ไตย ฟุ ม เฟอ ย ก็ถ ือ วา อยา งโนน , เราก็ไ มรู จ ะเอามโนธรรมอยา งไหน ? พุท ธบริษ ัท จะตอ งมีม โนธรรมที ่ถ ูก ต อ ง ตามแบบของพุ ท ธบริ ษ ั ท เรา ; ฉะนั ้ น ขอให เ ราทํ า การรณ รงค ต  อ สู ในการระดมธรรม คือ ระดมการใชกํ า ลัง แหง ธรรม ใหม ัน ไดม าซึ ่ง โลกที ่พ ึง

www.buddhadassa.in.th


ระดมธรรม

๕๘๓

ปรารถนา อัน นี้เป น ขอแรก วา ขอใหเราจงระดมธรรม เพื่ อประโยชนแกโลกกัน ในลักษณะอยางนี้เถิด. ....

....

....

....

ที นี้ มาถึ ง ขั้ น ที่ ส อง คื อ เราจะต อ งระดมธรรม ในลั ก ษณะ การตอตานเพื่อประโยชนแกประเทศไทยโดยเฉพาะ. เรื่อ งก็ต อ งดูก ัน กอ นวา ประเทศไทยกํ า ลัง มีป ญ หาอยา งไร ? เรา จะใชอ ะไรเปน เครื่อ งมือ เพื ่อ จะแกป ญ หานั ้น ๆ ? และ เรามีเ หตุผ ลอะไร เป น ของเฉพาะตน ซึ่ งไม เหมื อ นกั บ พวกคนเหล า อื่ น ? ซึ่ ง เราจะต อ งยึ ด ถื อ เป น หลักเพื่อแกไขของเราโดยเฉพาะนั้นใหไดจริง ๆ. ปญ หาของประเทศชาตินั ้น มัน ก็เ หมือ น ๆ กัน ทุก ๆ ประเทศ ก็วาได ; แมวา จะเปนประเทศที่ใหญ เล็กกวากัน โดยหลักทั่วไป มันก็เหมือน ๆ กัน. แตมันมีปญ หาวา มันไมไดอยางนั้น ๆ, ยิ่งไมมีอํานาจ ก็ยิ่งไมไดอยางนั้น ๆ คือ ไมไดอ ยา งที ่ต อ งการมากขึ ้น เรามีป ญ หาของประเทศ เรีย กวา ปญ หาทาง การเมือ ง นี ้ก ็เพื ่อ การอยู ร อด หรือ ความเปน เอกราชของประเทศชาตินั ่น เอง. เรามี ป ญ หาทางเศรษฐกิจ ก็เพื่ อใหประเทศของเรามี กําลัง ที่ จะบั นดาลอะไรได , หรือวาเรามีปญหาทางวัฒนธรรม ทางศีลธรรม นี้ก็เพื่อวาประเทศของเรา จะไดมี ความสงบสุขมีสันติสุข ทั้งสวนปจเจกชนและสวนสังคม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org มัน มีป ญ หาไมสิ ้น สุด เกี ่ย วกับ สิ ่ง เหลา นี ้ แกไ ขไมต กบา ง รัก ษา ไวไ มไ ดบ า ง มัน ก็ล ว นแตม ีป ญ หาอยู นั ่น เอง. ทีนี ้ป ญ หาเหลา นี ้ม ัน เกี ่ย วขอ ง คื อ พั ว พั น กั น ไปถึ ง ประเทศอื่ น ๆ ที่ เราเรี ย กว า ต า งประเทศ ; ที นี้ แ ต ล ะประเทศ

www.buddhadassa.in.th


๕๘๔

การกลับมาแหงศีลธรรม

ไมเ ทา กัน ไมเ หมือ นกัน เขม แข็ง กวา กัน มีอ ิท ธิพ ลกวา กัน ปญ หามัน ก็เ ลย มากออกไปอี ก . ในที่ สุ ด มี ก ารยื้ อ แย ง กั น เพื่ อ จะเอาอย า งนั้ น เพื่ อ จะเอาอย า งนี้ หรื อ ถึ ง กั บ แย ง กั น เสนอตั ว เข า มาเป น ผู แ ก ป ญ หาของประเทศชาติ มี ก ารยื้ อ แย ง กั น ในระหว า งอุ ด มคติ ต า ง ๆ ลั ท ธิ ก ารเมื อ งต า ง ๆ : ประชาธิ ป ไตยบ า ง สั ง คมนิ ย ม บ า ง คอมมิ ว นิ ส ต บ า ง ; นี่ เ ป น ตั ว อย า งที่ มี อ ยู เ วลานี้ ที่ มี อ ยู จ ริ ง ตลอดเวลา. มี การยื ้อ แยง กัน ระหวา งลัท ธิ ระหวา งอุด มคติ ก็จ ะตอ งมีก ารตอ สู ก ัน เปน ธรรมดา ก็เปนปญหาที่เรารอน ที่แผดเผาที่สุด ; ทุกคนก็มองเห็น. เมื่ อ มองเห็ น แล ว ก็ จ ะรู สึ ก ขึ้ น มาเองว า เราจะต อ งระดมกํ า ลั ง กั น แก ไ ข เหมือ นกับ ชว ยกัน ระดมดับ ไฟ ที ่ม ัน กํ า ลัง ไหมบ า น ; แตจ ะทํ า กัน อยา งนั ้น จริง หรือ เปลา ? ก็ด ูเ อาเอง, ถา ทํ า กัน แตป าก มัน ก็เ หมือ นกับ วา สรา งปญ หา ใหมากขึ้น ; ถามีเจตนาบริสุทธิ์ ก็ตองมุงหมายที่จะแกปญหาเหลานี้ใหได. เราจะใชอ ะไรเปน เครื ่อ งมือ ? เพ ราะเรามีห นา ที ่ที ่จ ะตอ งกระทํ า เพื ่อ แกป ญ หาเหลา นั ้น . เราจะตอ งมีเ ครื ่อ งมือ ในการใช เพื ่อ แกป ญ หาเหลา นั ้น ในลัก ษ ณ ะที ่ต า งกัน มาก แตพ อจะแบง แยกไดเ ปน ๓ อยา ง ๓ ตอนวา ตอ ง ปองกัน, ตองตอตาน, ตองแกไข.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ปองกันไมใหมันเขามา, ถามันเขามาก็ตอตาน, ไดแลวก็ตองแกไข ใหม ัน ถูก ตอ ง. ลัท ธิไมพ ึง ปรารถนาที ่ม าจากขา งนอก หรือ จะเกิด ขึ ้น ขา งใน ลวนแตตองปองกันทั้งนั้น ; ปองกันสิ่งเลวรายเหลานี้, ตอตานสิ่งเลวรายเหลานี้, แกไขสิ่งเลวรายเหลานี้.

www.buddhadassa.in.th


ระดมธรรม

๕๘๕

เ ร า จ ะ แ ก ไ ข ห รื อ ป อ ง กั น ด ว ย สิ ่ ง ช นิ ด ไ ห น ? อ ย า ก จ ะ ถามวา เราจะตอ งใชสิ ่ง ที ่ม ัน ตรงกัน ขา ม นี ้อ ยา งหนึ ่ง , หรือ วา เราจะตอ งใช สิ ่ง ที ่เ ปน ชนิด เดีย วกัน , แตด ีก วา หรือ เหนือ กวา ? หรือ วา เราจะใชสิ ่ง ที ่พ อ ๆ กัน หรือเลวกวา ? สมมติว า เราเกลีย ดลัท ธิก ารเมือ งชนิด นี ้ เราจะใชอ ะไรที ่จ ะขจัด ออกไป ถ าเราจะใชสั นติ วิธี เราจะตองทํ าอยางไร ? ถ าเราจะใชความทารุณโหดราย เราจะตองทําอยางไร ? ถ า เร า ใ ช สิ ่ ง ที ่ ต ร ง กั น ข า ม ก็ ต  อ ง ป ะ ท ะ กั น แ ล ะ ฆ  า ฟ น กั น เปน ธรรมดา. ถา เราใชสิ ่ง ที ่ด ีก วา หรือ เหนือ กวา แยบยลกวา ก็ไ มต อ ง ฆ าฟ น กัน แลวบางที จะสําเร็จประโยชน เต็ ม ตามความมุ งหมาย. อยางเราเกลีย ด คอมมิว นิส ต ไมช อบ เราก็ต อ งเปน คอมมิว นิส ต ที ่ด ีก วา ที ่เ หนือ กวา เราก็ จะต อ สู ค อมมิ ว นิ ส ต ไ ด . หรื อ ว า ถ า เราเกลี ย ดสั ง คมนิ ย มชนิ ด นั้ น เราก็ ต อ งเป น สัง ค ม นิย ม ชนิด อื ่น ที ่ด ีก วา เห นือ กวา ถูก ก วา แยบ ยล กวา ; เราก็เ อ า ชนะได . หรื อ เราเกลี ย ดประชาธิ ป ไตยเพ อ เจ อ เหมื อ นที่ กํ า ลั ง มี อ ยู เวลานี้ เราก็ ตอ งมีป ระชาธิป ไตย ที ่แ ทจ ริง กวา เหนือ กวา สูง กวา เราก็จ ะเอาชนะได. นี่คือ ความหมายของคํา วา เราจะตอ ตา น ปอ งกัน แกไข ดว ยสิ ่ง ที ่เหนือ กวา นี้อยางหนึ่ง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ที นี้ เราจะต อ ต า นด ว ยสิ่ ง ที่ พ อ ๆ กั น หรื อ เลวกว า นี้ ไม ต อ งพู ด ก็ ไ ด คื อ มั น เป น ไปไม ได ; มั น เหลื อ อยู แ ต ว า เราจะใช สิ่ ง ที่ ต รงกั น ข า ม จะได ฆ า ฟ น กัน หรือ วา เราจะใชสิ ่ง ชนิด เดีย วกัน แตที ่ม ัน เหนือ กวา หรือ ดีก วา สูง กวา เพื่อแกปญหาใหลุลวงไปไดโดยที่ไมตองฆาฟนกัน.

www.buddhadassa.in.th


๕๘๖

การกลับมาแหงศีลธรรม

ถ า เราม องเห็ น อย า งไหนจะเป น หนทางรอดได แ ล ว ก็ ข อให ช ว ย กั น ร ะ ด ม พ ลั ง แ ห ง ธ ร ร ม ใ น ก า ร ป อ ง กั น ต อ ต า น แ ก ไ ข ใ น ลักษณะเชนนั้นเถิด. ในฐานะที ่เ ราเปน พุท ธบริษ ัท เรามีอ ะไร ? ก็ม ีสิ ่ง ที ่ไ ดเ อย ชื ่อ ถึงมาแตตนแลววา สัมมาทิฏฐิ คือมีความรู ความเห็น ความเขาใจ อันถูกตอง, ถูก ตอ ง จนแกป ญ หาเหลา นั ้น ได โดยกระทํ า ใหม ัน เหนือ กวา หากแตวา เรา จะตอ งมีว ิธ ีข องเราเอง ตามแบบของพุท ธบริษ ัท แลว ก็จ ะตอ งถูก ตอ งตาม เหตุปจจัยอันอื่น. เพราะวาชนชาติไทยเราอยูในประเทศไทยอยางนี้ มีภูมิประเทศ อยางไร ? มีทรัพยในดินอยางไร ? ดินฟาอากาศอยางไร ? วัฒนธรรมในสายเลือด เป นอยางไร ? เราอยูมาถึงทุกวันนี้ แลวปญ หามันเกิดขึ้นอยางนี้ เราตอ งมีอะไร เปน ของเฉพาะ ที ่เ หมาะสมกับ ลัก ษณะเหลา นี ้ อยา ไปหลับ ตาหลงควา เอา อยา งอื ่น ที ่ม ัน เหมาะกับ คนพวกอื ่น สํ า หรับ แกป ญ หาของเขาโดยเฉพาะ เอามาแกปญหาของเรา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เราต อ งมี สั ม มาทิ ฏ ฐิ ของเรา ความรู ความเข า ใจ ความเชื่ อ ถื อ อะไรตาง ๆ นี้ ที่จะเรียกรวมสั้น ๆ วา ทิฏฐิ หรือความคิดเห็น ในที่สุดนั้นคือ ความ ถูก ตอ ง. เรามีว ัฒ นธรรม ที ่ถ อดแบบออกมาจากพุท ธศาสนาอยู ใ นสาย เลือ ด ซึ ่ง มีอ หิง สาเปน หลัก คือ มีก ารไมเ บีย ดเบีย นเปน หลัก ; ดัง นั ้น เรา จะตอ งใชด อกบัว สีเ หลือ ง คือ ถือ ดอกบัว สีเ หลือ งเปน การแกป ญ หา. อยา ถื อ ดอกบั ว สี แ ดงเลย อย า ใช ด อกบั ว สี แ ดงเลย มั น จะต อ งหลั่ ง เลื อ ด ; ถ า ใช ดอกบัวสีเหลืองก็ดวยอํานาจของสัมมาทิฏฐิ มันจะแกปญหาได. เขาเปนอะไรมา

www.buddhadassa.in.th


ระดมธรรม

๕๘๗

เราเป น ได เ หนื อ กว า เขาก็ ทํ า อะไรเราไม ไ ด ; เราก็ ช น ะเขาได โ ดยสั น ติ อยูรวมดวยกันโดยสันติ. อย า งสมมติ ว า เขาใช ร ะบบสหกรณ แ บบของเขา เราก็ ต อ งมี แ บบ ของเรา ที ่ด ีก วา เหนือ กวา เพื ่อ ประโยชนแ กพ วกเรา ซึ ่ง มีล ัก ษณะอยา งนี ้ ; เราก็ไม จําเป นจะตองยอมรับระบบอื่นที่ไม เหมาะ โดยเฉพาะอยางยิ่ งแล ว มันแบ ง แยกกันตรงที่ วา เราไม ต องการเบี ยดเบี ยน ไม ต องการการหลั่งเลื อด ตามแบบของ พุ ท ธบริ ษั ท , หรื อ ศาสนาไหนก็ ต าม ล ว นแต ไ ม ต อ งการหลั่ ง เลื อ ด หากแต ว า สาวกในศาสนานั้นเขาใจผิดเอง ทํ าให เกิดการหลั่งเลือดบ อย ๆ นั้ นมันไม ใชเจตนา ของศาสนานั้น หรือของพระศาสดานั้น ๆ จะตองระวังใหดี. ถา เราม ีภ ัย จาก ล ัท ธิอ ะไร เราตอ งม ีค วาม ฉ ล าด ส าม ารถ ใน ลัก ษณะที ่ เหนือ กวา ในรูป แบบเดีย วกัน ที ่เ หนือ กวา สูง กวา ดีก วา เสมอ ไป ; อยา งนี ้อ ยากจะเรีย กวา เพื ่อ ปอ งกัน การหลั ่ง เลือ ดนั ่น เอง. ประเทศ ไทยเราจึ ง จํ า เป น ที ่ จ ะต อ งมี อ ะไรตามแบบ ของไทยเรา คื อ ถื อ พ ระธรรม เปนหลัก จึงย้ําวา เราจะถือดอกบัวสีเหลืองในการแกปญหา

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org รีบ ทํ าความเข าใจกั น ในข อ นี้ ว าอั น นี้ มั น เหมาะอย างยิ่ ง เหมาะเต็ ม ที่ สํ า หรั บ จะใช แ ก ป ญ หาของเรา ซึ่ ง มี อ ะไร ๆ เป น อย า งนี้ ; ดอกบั ว สี แ ดงอาจจะ เหมาะสํ า หรับ พวกอื ่น มีป ญ หาอยา งอื ่น ไมเ หมือ นเรา ไมต รงกับ สิ ่ง ที ่เ รีย กวา นิส ัย สัน ดาน พื ้น ฐาน หรือ กํ า พืด ของเรา. เราตอ งการดอกบัว สีเ หลือ ง เสมอไป.

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๕๘๘

นี ่ แ หละคื อ การระดมธรรมที ่ แ ท จ ริ ง เพื ่ อ ประเทศชาติ คื อ ระดมกัน เพาะปลูก ดอกบัว สีเ หลือ ง, ถือ ดอกบัว สีเ หลือ ง เปน อาวุธ ใน การแกปญหา ทั้งทางภายนอกภายใน ไมวาปญหาแขนงไหน ; แมที่สุดแตการ ทําสงคราม ก็ตองใช ดอกบั วสีเหลือ ง ซึ่งหมายความวามั นประกอบไปดวย ธรรมอยูเ สมอ. ระดมพลัง แหง ธรรมในลัก ษณะเชน นี้ เปน วิถีท างที่ดีที่สุด ไมมีอะไรจะดีไปกวานี้. นี้เรียกวา ระดมธรรมในลักษณะตอตาน เพื่อประเทศ ชาติแหงชนชาติไทย. ....

....

....

....

ทีนี้ ก็จ ะไดม องดูตอ ไปถึง การระดมที ่ส าม คือ ระดมใน ลักษณะการตอตาน เพื่อความสุขสวัสดีของแตละคน. คนแตละคน ทําอะไรไมไดมากกวาที่จะผูกพันกันเปนสังคม คือวา ทําไดมากในทางดานมโนธรรม ดานจิตใจ ไปไดไกลเพื่อจะเปนพระอรหันตก็ได ; อยางนี้เรียกวาเราทําได. แตถาผูกพันกันเปนสังคม แลวยากที่จะทําอยางนั้นได มันก็ลดลงมาอยูในระดับที่ต่ํา ; ฉะนั้นประโยชนสวนบุคคล กับประโยชนของ สังคมนั้นมันตางกันอยูอยางนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เมื่อ พูด โดยบุค คล มัน ก็ม าถึงปญ หาอยางเดียวกัน อีก แหละ คือ ศีล ธรรมสว นบุค คล, ความมีศีล ธรรม หรือ ความไมมีศีล ธรรมสว นบุค คล นั ่ น แหละ มั น ก็ จ ะสร า งโลกนี ้ ใ ห เ กิ ด ขึ้ น มาในลั ก ษณ ะหนึ ่ ง ๆ ; ถ า มี ศีลธรรมมันสรางขึ้นมาในลักษณะหนึ่ง, ถาปราศจากศีลธรรม มันก็สรางขึ้นมา ในลักษณะหนึ่ง ; เพราะวาโลกนี้มันประกอบกันขึ้นดวยหนวยยอยคือคน มันจึง แลวแตวา คนจะเปนอยางไร.

www.buddhadassa.in.th


ระดมธรรม

๕๘๙

ทีนี ้ มาถึง ยุค ที ่ว ัต ถุน ิย มครองโลกนี ้ มัน กระทบกระเทือ นสิ ่ง ที่ เรีย กวา ศีล ธรรมอยา งไร ? ศีล ธรรม นั ้น แปลวา ความสงบ หรือ “ธรรมที่ ทํ า ความสงบ” หรือ เหตุที ่เปน ที ่ตั ้ง ของความสงบ ; เหลา นี ้เราเรีย กวา ศีล ธรรม. ที นี้ ความเจริญ ทางวั ต ถุ จ นเฟ อ นี่ มั น เสี ย ความสงบ เสี ย ความปรกติ , แล วความ ก า วหน า ทางวั ต ถุ นี้ มั น ยั่ ว ยวน มั น ดึ ง คนไปในทางของกิ เลสตั ณ หา หรื อ ตามใจ ตัว เอง ; เมื ่อ คนไมรู ส ึก มัน ก็เ สื ่อ มศีล ธรรมลงไป อยา งที ่ไ มรู ส ึก . ฉะนั ้น ขอให ท า นทั้ ง หลายฟ ง แล ว ก็ สั ง เกตให ดี ที่ สุ ด เท า ที่ จ ะทํ า ได ว า ความเสื่ อ มศี ล ธรรมนั ้น เปน ไปโดยไมรู ส ึก ตัว หรือ ไมรู จ ัก เอาเสีย เลยวา นี ่เ ปน ความเสื ่อ ม แหง ศีล ธรรม ; เราจึง ไดล งไปอยู ใ นปลัก หนองของความไมม ีศ ีล ธรรม ดว ย ความสมัครใจ เพราะเราไมรูวา นี่คือความไมมีศีลธรรม. ขอใหไ ปสัง เกตเถิด ทุก แหง ทุก หน ที ่ม ัน ตกลงไปสู ป ญ หายุ ง ยาก ของกิเ ลสของเนื ้อ หนัง นั ้น ก็เ พราะมัน ไมรู ว า นั ่น มัน เปน อัน ตราย ; ในโวหาร พระศาสนาเขาเรีย กวา “เห็น กงจัก รเปน ดอกบัว ”. เขาเปรีย บดว ยสิ ่ง ที ่มี รู ป ร า งคล า ย ๆ กั น กงจั ก รที่ ผั น อยู นั่ น มั น ดู ค ล า ยดอกบั ว ที่ บ านอยู ก็ ไ ด ; คนไป เขาใจวาดอกบั ว ก็เอามาใสหั วของเขา เขาจึงมี เลือดไหลจากศีรษะอยู ตลอดเวลา. นี่ คื อ สิ่ ง ที่ มั น เป น อยู จ ริ ง และเป น ไปจริ ง เกี่ ย วกั บ ศี ล ธรรมของคน ในยุ ค ที่ วั ต ถุ เจริญ วัตถุกาวหนา จนกระทั่งเฟอ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org วั ต ถุ นิ ย ม ก็ ห มายความว า ติ ด รสอร อ ยของวั ต ถุ เพราะพั ฒ นาวั ต ถุ เพื ่อ ความเปน อยา งนั ้น เพราะตลาดมัน ตอ งการอยา งนั ้น . วัต ถุพ ัฒ นานี ้ มัน ยิ่งกวากามารมณ เฟ อ ที่ เขาเรียกกันวา oversex รูกันมาตั้งแต สมั ยคนป าคนดอยโน น วา มัน เปน อัน ตราย. คนสมัย นี ้เ ขาไมเ ห็น วา เปน อัน ตราย ก็ม ีก ามารมณเ ฟอ .

www.buddhadassa.in.th


๕๙๐

การกลับมาแหงศีลธรรม

แตก็ยังไม รายกาจเท ากับวัตถุนิ ยมเฟ อ เพราะวามั นบวกที่ไม เกี่ยวกับ กามารมณ เขา ไปดว ย ; มัน มีส ว นที ่เปน กามารมณ เต็ม ที ่เต็ม อัต ราของมัน แลว ยัง บวก วัต ถุป ระเภทที่ มิ ใชกามารมณ แต สํ าหรับ หลงไหลอย างยิ่ ง เขาไปอี กด วย. เรื่อ ง กามารมณนี้หมายถึงเรื่องเพศ วัตถุปจจัยอุปกรณทั้งหลายเพื่อกามารมณนั้น ก็เปน เพื่อกามารมณ จนกระทั่งกามารมณมันเฟอ ในโลกนี้นั่นสวนหนึ่งแลว. ทีนี ้ ของเลน ที ่ไ มเ กี ่ย วกับ กามารมณ ของใช ของสะสม ; อยา ง คนแกชอบสะสมสิ่งสวยงามไมเกี่ยวกับกามารมณ นี้ มันก็หลงไดเทากัน. ปญ หา มัน ก็เพิ ่ม มากขึ ้น ไปอีก ฉะนั ้น จึง เรีย กวา วัต ถุเฟอ นี ้รา ยกาจยิ ่ง กวา กามารมณ เฟ อ เพราะมั นรวมกามารมณ เขาไวดวย และเอาวัตถุที่มิใชกามารมณ เขามาอีก ส ว นหนึ่ งด ว ย ; มั น ก็ ทํ า อั น ตรายแก ม นุ ษ ย ม าก ศี ล ธรรมมั น จึ งเสื่ อ มหนั ก ขึ้ น ไป อีก . อยา งตอ งมีร ถยนตไ วขี ่เ ลน ไมเ กี ่ย วกับ กามารมณ มัน ก็เ ปน วัต ถุเ ฟอ . ส วนที่ มั น เกี่ ยวกั บ กามารมณ เนื่ อ งด ว ยรถยนต นั้ น มั น ก็ มี อ ยู ส วนหนึ่ งแล ว, แต สวนที่ไมเกี่ ยวกับ กามารมณ คนแกเอาไวนั่ งเลน มั น ก็มี อีก. วัต ถุเฟ อ นี้ อันตราย ยิ่งไปกวากามารมณเฟอ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เดี ๋ย วนี ้โ ลกเราอยู ใ นยุค ที ่เ รีย กวา วัต ถุเ ฟอ เพราะพัฒ นากัน แตในทางวัต ถุ เราจึง มีป ญ หาหนัก , หนัก กวา ที ่เคยมีม าแลว . ยุค ที ่วัต ถุไมเฟอ คนมีกามารมณเฟอก็ได แตวาศีลธรรมของพวกคนปาสมัยหินโนน เขายังมีบัญญัติ วา “กามารมณ เฟอนี้เปนบาป” นี่คนปาที่ไมสูจะมีปจจัยแหงกามารมณ เขาก็ยัง กลัววา กามารมณ เฟ อ นี้มั น เป น บาป ; แต เดี๋ ยวนี้ เราไม มี ใครกลั ว เราชอบใหมั น เฟ อ เฟ อจนไม รูจะเฟ อ อยางไร จนเป น บ า จนไม มี ศี ล ธรรมเหลือ จนฆ าแกงกั น แมแตวาฆาบิดามารดาของตัวเอง เพราะวามันตกเปนทาสของกามารมณ มากเกินไป.

www.buddhadassa.in.th


ระดมธรรม

๕๙๑

นี่แตละคนตกอยูในลักษณะอยางนี้ ในปญหาอยางนี้ คือความเสื่อม ทางศีลธรรม เรื่อย ๆ มา จนกระทั่งมาถึงยุคที่รุนแรงที่สุด คือ วัตถุเฟอ แลว เปนไปโดยไมรูสึกตัว ไมรูจักเอาเสียเลยวา นี้คืออันตราย. เราต อ งระดมพลั ง แห ง ธรรม เพื่ อ ช ว ยกั น ให มี สั ม มาทิ ฏ ฐิ ใหรูขอเท็ จจริงอัน นี้กัน เสียกอน แลวก็จะตองระดมสิ่งที่จะเป นการแกไข. เรา ตองการ “การกลับมาแหงศีลธรรม” ที่เราไดปลอยปละละเลยจนเลือนหายไป ; นี้คือสิ่งที่จะตองมองใหเห็น. ข อ แรกต อ งมี ก ารกลั บ มาแห ง ศี ล ธรรม ที่ เ ราได ป ล อ ยปละ ละเลยใหมันคอย ๆ เลือนหายไป ; ไมอ ยางนั้นมันก็ไมมีทาง หรือไมมีสิ่งที่จะ หวั ง ได อ ะไรเลย สํา หรั บ จะอยู กั น อย า งสั น ติ . นี้ เ ป น ข อ แรกที่ จ ะต อ งเอา มาพูด คือ การกลับมาแหงศีลธรรม

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ขอ ที่ส องถัด มาอีก ก็จ ะตอ งสรา งพลัง ของธรรมของแตล ะคน ใหเพียงพอแกการแกปญหาของสวนรวม ; พลังธรรมของแตละคน รวมกันแลว อาจจะแกปญ หาของสว นรวม ของประเทศก็ไ ด ของโลกก็ไ ด. เดี๋ย วนี้ค น แตละคนไมมีธรรม, ไมประกอบดวยธรรม, ไมตั้งอยูในธรรม, ก็เลยไมมีพลัง แหง ธรรมของแตล ะคน ; แลว ใครจะแกได ; ทีใหสัง คมไมมีศีล ธรรม ทํา ให โลกไมมีศีล ธรรม. ฉะนั้น มาระดมกัน ใหม สรา งพลัง แหง ธรรมของแตล ะคน รวมกันแลวพอที่จะแกปญหาของโลกได.

www.buddhadassa.in.th


๕๙๒

การกลับมาแหงศีลธรรม

พู ด ถึ ง วิ ธี ก ารต อ ไปอี ก . วิ ธี ก ารนั้ น เราจะยึ ด หลั ก แน น อนว า ถือ ดอกบัว สีเ หลือ ง ไมถือ ดอกบัว สีแ ดง เพราะฉะนั้น จึง เปน เรื่อ งปอ งกัน ชนิดที่ไมตองหลั่งเลือด. ไดเคยพูดกันถึงวิธีการอันหนึ่ง ของบรรพบุรุษ แตโบราณกาล ซึ่ง พู ด ไว ว า “เราจะจุ ด ไฟบ า น เพื่ อ ต อ นรั บ ไฟป า ”. บางคนฟ ง ไม รู เ รื่ อ ง ก็เขาใจผิดไดดวย ; ดังนั้นจะตองรูเรื่องของคนโบราณ: เขาไปอยูในปา เพื่อ ทํามาหากิน เต็มไปดวยพงหญา พงออ, ถึงฤดูแลง ไฟปามันลามมา ไหมบาน ไหมเรือนหมด ไมมีอะไรเหลือ ; เขาจะตองจุดไฟบานรอบ ๆ บานดวยมือของ เขาเอง ใหมันเตียนเรียบรอยไวกอน รอบบานในรัศมีที่พอสมควร ; พอไฟปา มามัน ก็ทํ า อะไรไมได คือ ไมต อ งรบกับ ไฟปา ใหม ัน ไหม ใหม ัน พอง ใหม ัน เดือดรอน ใหมันแสบตา. นี่เ รีย กวา เราจุด ไฟบา น คือ ดอกบัว สีเ หลือ ง, ตอ นรับ ไฟปา คือดอกบัวสีแดง ; ถือเอาเปนหลักอันแนนอนวา จะตองใชหลักการอันนี้ ใน การตอ ตา นลัท ธิอ ัน ไมพ ึง ปรารถนาดว ยทํ า สิ ่ง ที ่ด ีก วา เพื ่อ เอาชนะสิ ่ง นั ้น เสมอไป. การตอ ตา นอยา งเผชิญ หนา นั ้น มีแ ตจ ะตอ งหลั่ง เลือ ด ; มัน ตอ ง เหนือกวา ชนิดที่ไมตองการหลั่งเลือด หรือวาเปลี่ยนพลังอันนั้นใหเปนประโยชน เสียแทนที่จะเปนอันตราย. มีการตอตานอยางนี้ จึงจะเรียกวาถูกตองตามหลัก ของศีลธรรม โดยเฉพาะสําหรับคนไทย ผูมีจิตใจฝงรากอยูดวยพุ ทธศาสนา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ดูต อ ไปวา เราจะตอ งรอดชีว ิต อยู ใ นรูป แบบที ่ถ ูก ตอ ง คือ ประกอบไปด วยธรรม, ระดมพลั งธรรมเพื่ อ ให เรามี ชี วิต รอดอยู ด วยรูป แบบ

www.buddhadassa.in.th


ระดมธรรม

๕๙๓

ของธรรม. ถ า ไม ม ี ธ รรมก็ ค ื อ ผิ ด ; ถ า ผิ ด ยอมตายเสี ย ดี ก ว า อยู . ถ า อยู ต อ งอยู อ ย า งถู ก ต อ ง ผู ถื อ ธรรมะเขาถื อ กั น อย า งนี้ , ผู ที่ ไ ม ถื อ ธรรมะเขาถื อ กั น อยางอื่น เขาไมยอมตาย, ยอมอยูดวยความเลวราย แมจะเปนการเอาเปรียบคนอื่น. ถ า ให ป ระกอบด ว ยธรรม ก็ ต อ งยึ ด หลั ก ที่ เป น ธรรม ; รอดชี วิ ต อยู นั้ น ต อ งอยู อยางที่ธรรมอยู ธรรมะอยู. ในที่ สุ ด ก็ ม าถึ ง สติ ป ญ ญา ที่ จ ะทํ า ให เป น อย า งนั้ น ได ; ถ า ไม อ าศั ย สติป ญ ญาเปน อยา งนั ้น ไมไ ด. สติป ญ ญาสูง สุด ก็ค ือ สัม มาทิฏ ฐิ ดัง ที ่ก ลา ว แลว ขา งตน ; สัม มาทิฏ ฐิ-ความเห็น ชอบ เห็น ถูก ตอ งนี ้ มัน จะทํ า ใหเรารูไ ดเอง ในตัวของมัน วาเราควรระดมอะไร, และวา ระดมในลักษณะอยางไร. สํ า หรับ ขอ ที ่ว า ระดมอะไร ? พูด กัน อยา งกํ า ป น ทุบ ดิน ในแบบ จองพุ ท ธบริ ษ ั ท ก็ ว  า : เว น สิ ่ ง ที ่ ค วรเว น , ทํ า สิ ่ ง ที ่ ค วรทํ า , แล ว ก็ ช  ว ย เหลื อ กั น ให เ ป น อย า งนั ้ น , มั น เป น ๓ ข อ อยู  น ะ. พวกที ่ พ ู ด กั น แต ว  า เวน ควรเวน เจริญ ที ่ค วรเจริญ นี ้ไ มพ อ ; มัน ยัง ขาดอีก อยา งหนึ ่ง คือ ตอ ง ชว ยกัน และกัน ใหทํ า อยา งนั ้น ไดด ว ย. ฉะนั ้น แตล ะคนจะตอ งรับ ผิด ชอบในการ ที่จะชวยผูอื่น ใหทําอยางนั้นไดดวย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี ่ เ ราค วรระด ม อ ย า งนี ้ : ระด ม เว น สิ ่ ง ที ่ ค วรเว น ทํ า สิ ่ ง ที ่ ค วร ทํา แลวระดมชวยกันใหทุกคนทํา อยางนั้นไดดวย.

ทีนี้สว นขอ ที่วา ในลัก ษณะอยา งไร ? เทา ไร ? และเมื ่อ ใด ? นี ้ สัม มาทิฏ ฐิจ ะบอกเอง เฉพาะกรณี ๆ ไป. ความรู อ ัน ถูก ตอ งมีป ระโยชน

www.buddhadassa.in.th


๕๙๔

การกลับมาแหงศีลธรรม

เหลานี้ ซึ่งเทากับรากฐานของศีลธรรมนั้น เราถือตามหลักพระศาสนาเลย วา ศาสนาพระศรีอ าริย  ยกมิต รภาพเปน เบื ้อ งหนา ; ศรีอ าริย เมตไตรย: เมตไตรย นั้ น คื อ มิ ต รภาพ, อริ ย -อั น ประเสริ ฐ , ศรี - อั น สู ง สุ ด : ศรี อาริย เมตไตร -มีมิต รภาพอัน เลิศ และสูง สุด . เอาอุด มคตินั้น มา ตามที่มัน มีอยูในทุกศาสนาก็วาได:รากฐานข อ แรกของศี ล ธรรมให ถ ื อ ว า สั ต ว ทั ้ ง หลายเป น เพื ่อ นทุก ข เกิด แก เจ็บ ตาย ดว ยกัน ทั ้ง หมดทั ้ง สิ ้น . บรรดาที ่ม ีช ีว ิต แลว จะเปน คนก็ไ ด เปน สัต วก็ไ ด เปน ตน ไมก็ไ ด เปน อะไรก็ไ ด ใหว าง มาตรฐานไววา มันเปนเพื่อนทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันทั้งหมดทั้งสิ้น ที่จะตองชวยเหลือใหอยูดวยกันได. พวกที่ทําลายปาไมเสียวอดวายหมด เพราะเขาไมมีศีลธรรมขอนี้อยู ในจิตใจ แมแตนิดเดียว. เขาฆาสัตวเสียจนไมมีอะไรเหลือ เพราะไมมีศีลธรรม ข อ นี ้ ; และในที ่ ส ุ ด ก็ ฆ  า มนุ ษ ย ก ั น เอง เพราะมั น ไม ย อมรั บ ว า “เป น เพื่อนทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันทั้งหมดทั้งสิ้น” นั่นเอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถามีความรูสึกอยางนี้เปนหลักแลว มนุษยก็จะไมมีการเบียดเบียนไม ประทุษ รา ยชีวิต รา งกายผูอื่น , ไมป ระทุษ รา ยทรัพ ยส มบัติผูอื่น , ไมป ระทุษ รายของรักของใครของผูอื่น, ไมประทุษรายความเปนธรรมของผูอื่น, กระทั่ง มันไมโงไปประทุษรายสติปญญาของตัวเอง ดวยความมีหลักเกณฑอันถูกตอง วา”ตองอยูกันอยางเปนเพื่อนทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันทั้งหมดทั้งสิ้น”.

www.buddhadassa.in.th


ระดมธรรม

๕๙๕

ขอใหเ รง ระดมธรรม ขอ นี ้, เรง ระดมการใชพ ลัง แหง ธรรมขอ นี้ ใหค รอบงํา ทั่ว ไปทั้ง โลก : ใหค นทั้ง โลกมองตากัน ในลัก ษณะที่มีม ิต รภาพ เหมือ นกัน ไปหมดเลย. อยา งที ่พ ูด เมื ่อ ตะกี ้ว า ในศาสนาพระศรีอ าริย นั ้น พอ คนลงจากเรือ นแลว ไมรู ว า ใครเปน ใคร เพราะมัน เปน มิต รไปเสีย หมด ไมมี อะไรที่เปนศัตรู หรือแสดงความเปนศัตรู. รากฐานที ่ ส องของศี ล ธรรม คื อ ต อ งบั ง คั บ ความรู ส ึ ก . มนุษยสมัยนี้ถูกสอนอยางโงเขลาในระบบการศึกษา ไมใหบังคับความรูสึก ไมให อดกลั้ น อดทน ; เขาเรีย กว า ความกดดั น เป น อั น ตราย นั่ น น ะ ยิ่ งส งเสริม กิ เลส. เราตองบังคับความรูสึกตามสัญชาตญาณ, บังคับอยางถูกตอง, บังคับอยางเฉียบขาด, และบั ง คั บ อย า งทั น ควั น หรื อ ทั น ท ว งที ในกรณี ข องราคะก็ ต าม ในกรณี ข อง โทสะก็ตามในกรณีของโมหะก็ตาม. ความรูสึกใดเปนไปเพื่อราคะ คือจะรัก จะเอา จะยึด จะครอง นี้ ก็ เรีย กว า ราคะ, ก็ ต อ งบั งคั บ ความรูสึ ก ; ในกรณี อั น ใดที่ จ ะทํ า ลาย จะฆ า จะ ผลักออกไป จะตี จะเตะ ออกไป นี้ก็เรียกวาโทสะ ; ในกรณี ที่สงสัย ทึ่งสนใจ ไม รูว าจะทํ าอะไร ดี แต มั วเมาอยู ในสิ่ งนั้ น ก็ เรีย กวาโมหะ ; สามอย างนี้ ต อ ง บั ง คั บ . ความรู  ส ึ ก ราคะ โทสะ โมหะ นี ้ ต  อ งบั ง คั บ : บั ง คั บ ถู ก ต อ ง, บังคับเฉียบขาด, และบังคับทันควัน ; ทําไดอยางนี้ ศีลธรรมจะมี.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ร า ก ฐ า น ที ่ ส า ม ข อ ง ศี ล ธ ร ร ม ต อ ง ไ ม เ ป น ท า ส ข อ ง อายตนะ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ; อยาไปบํารุงบําเรอในลักษณะที่โงเขลา คื อ ตามใจมั น ทั้ ง ที่ ไม จํ า เป น และเกิ น จํ า เป น จนเป น ทาสของอายตนะ. สิ่ ง ที่

www.buddhadassa.in.th


๕๙๖

การกลับมาแหงศีลธรรม

ไมจํ า เปน จะตอ งมี ตอ งกิน ตอ งใช ก็ไ ปหามา ไมจํ า เปน เลยก็ไ ปหามา ที ่เกิน จํ า เป น ก็ ไ ปหามา ; นี้ เ รี ย กว า เป น ทาสของอายตนะ. คนสมั ย นี้ กํ า ลั ง เทิ ด ทู น ความเป น ทาสของอายตนะ ; สรางค านิ ย ม หรือ รสนิ ย มผิ ด ๆ ขึ้ น มา จนเรีย กวา เหลือ จะผิด ; โลกนี ้ก็ไดเปน โลกระส่ํ า ระสายดว ยวิก ฤตการณ. ขอใหคิด เสีย ให ถูกตอง. รากฐานที ่สี ่ ที ่เ รีย กวา มีป ญ ญาอยา งถูก ตอ งตามที ่เ ปน จริง : หัวใจของพุทธศาสนา ในสวนของการปฏิบัติ เรียกวา ยถาภูตสมฺมปฺปฺา - มี ป  ญ ญ า อ ย า ง ถู ก ต อ ง ต า ม ที ่ เ ป น จ ริ ง , ไ ม เ ห็ น ก ง จั ก ร เป น ด อ ก บั ว , ไมเ อาลัท ธิว ัต ถุน ิย มมาเปน พระเจา สรา งโลก, ตอ งเอาธรรมะมาสรา งโลก ไมเห็นกงจักรเปนดอกบัว. ตั ว อย า งเช น ว า เราจะนอนหลั บ โดยปราศจากการรบกวน ของกิเลสนี ้ด ีก วา ; แตค นทั ่ว ไปเขาอยากจะใหก ิเลสรบกวน คือ ยั ่ว เยา ยุแ หย ในเรื่อ งของกามารมณ อ ยู เรื่อ ย ๆ ไป แม น อนไม ห ลั บ ก็ พ อใจ นั้ น เป น ความผิ ด โง เขลาอยางยิ่ง. เราจะตองเห็นคาของการนอนหลับโดยไมมีกิเลสมากวน ; เมื่อนอนก็ นอนหลับสนิ ท ก็จะเป นไปในลักษณะที่ เรียกวา ไม มีกามารมณ เฟ อ ไม มีกามารมณ ฟุ ม เฟอ ย. ถา ถือ หลัก กัน อยา งนี ้แ ลว คงไมต อ งมีร ะบบจัด สรรครอบครัว ดว ย การใชเครื่องคุมกําเนิด จนให วุนวายอยางที่เป นอยูเดี๋ยวนี้ . ถาเรามีความเขาใจถูก ตองตามหลักของธรรมะแลว ก็จะเกลียดชังกามารมณ จะทําแตเหตุผลที่พอสมควร จะทํ า นี้ คงไม ต อ งใช ก ารคุ ม กํ า เนิ ด เป น แน . ไปคิ ด ดู กั น ใหม ก็ พ อจะเข า ใจได .

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ร า ก ฐ า น ที ่ ห  า ข อ ง ศ ี ล ธ ร ร ม นี ้ ส ถ า บ ั น ใ ด ที ่ เ ป  น ที ่ ตั ้ ง แ ห  ง ค ว า ม รู ส ึก ที ่ป ระ ก อ บ ไป ดว ย ธ รรม ะ แ ลว ชว ย กัน ส นับ ส นุน สง เส ริม สถาบันนั้น ใหแนนแฟนอยูในโลกนี้ ตัวอยางเชน:-

www.buddhadassa.in.th


ระดมธรรม

๕๙๗

สถาบั น แห ง ผู มี พ ระคุ ณ เช น บิ ด ามารดา ครู บ าอาจารย พระเจ า พระสงฆ สงเสริมไวใหมั่นคง ; กระทั่งสถาบัน ชาติ ศาสนา มหากษัตริย. สถาบันที่ทําใหเกิดความกตัญูกตเวที ก็สงเสริมใหมั่นคง. สถาบัน ที ่ทํ า ใหเ กิด ความเคารพ ซึ ่ง กัน และกัน ตามสูง ตามต่ํ า อย า ไปใช สิ ท ธิ เสรีภ าพบ า ๆ บอ ๆ ไม มี สู ง ไม มี ต่ํ า ; ไปรั ก ษาสถาบั น ที่ ทํ า ให เกิ ด ความเคารพกัน ตามฐานะที่ควรเคารพไวใหมั่นคง. สถาบันที่ทําใหเกิดความละอายความชั่ว ชวยรักษาไว สถาบั น ที ่ ทํ า ให เ กิ ด ความอ อ นโยนไม ก ระด า ง ต อ งช ว ยกั น รักษาไว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สถาบั น ทั ้ ง หลายเหล า ใด เป น ไปเพื ่ อ ความมี อ ยู  แ ห ง ธรรมะ ที่ พึ ง ปรารถนาแล ว ช ว ยกั น รั ก ษาเถิ ด , ช ว ยกั น ระดมธรรมะในข อ นี้ , ช ว ยกั น ระดมทุกอยาง เพื่อกลับมาแหงศีลธรรม และรากฐานแหงศีลธรรม.

สํ า ห รับ วิธ ีก ารนั ้น อยากจะระบุว า : เราตอ งกระทํ า กัน จริง ๆ อยางที่เรียกวา ระดมกันดับไฟ รุนแรง รวดเร็ว เรียบรอย ราเริง ; ตองถูกตอง มั น จึ ง จะร า เริ ง หรื อ เรี ย บร อ ย รวดเร็ ว หรื อ รุ น แรง ; แล ว แก ที่ ต น เหตุ อย า ไปมั ว หลงแกที่ปลายเหตุ.

ในสว น ศีล สว น สมาธิ สว น ปญ ญ า นี ้ต อ งทํ า ใหม ีขึ ้น มา : ส ว นศี ล ทํ า แล ว ก็ เจริ ญ ในส ว นธรรม, ส ว นจิ ต ทรามละเสี ย แล ว ก็ เจริ ญ ในการที่

www.buddhadassa.in.th


การกลับมาแหงศีลธรรม

๕๙๘

มี จิ ต สู ง , ละความเห็ น ผิ ด เสี ย แล ว ก็ เจริ ญ ในส ว นที่ มี ค วามเห็ น ถู ก ; นี่ คื อ ศี ล สมาธิ ปญญา สากล ใชไดตลอดโลก. ทั ้ง หมดนี ้ไ มใ ชพ ิธ ีรีต อง : ตอ งทํ า จริง ตามกฎเกณฑข องธรรมชาติ ในรู ป ลั ก ษณะของวิ ท ยาศาสตร ; ส ว น พิ ธี รี ต อง นั้ น มี ไ ว สํ า หรั บ เด็ ก ๆ มี ไ ว สํ า หรับ ผู ที ่ย ัง ไมเ ขา ถึง แกน แทข องสัจ จะอัน นั ้น เราก็ต อ งมีพ ิธ ีร ีต องบา ง. แตอ ยา ใหห ยุด อยู เพีย งที ่ต รงนั ้น มัน จะไมรูจ ัก เติบ โต ; ในที ่ส ุด ก็ม าสู ข องจริง ซึ่งมิใชพิธีรีตอง. ข อ ให ร ะ ด ม ธ รรม กั น ใน ลั ก ษ ณ ะ ที ่ เ ป น ข อ งจ ริ ง เป น ตั ว จ ริ ง กาวลวงพิธีรีตองขึ้นมาใหไดเถิด ทุกอยางจะเปนไปตามที่ตองการ. เวลาสําหรับจะพูดกันก็พอสมควรแลว ขาพเจาขอยุติการบรรยายโดย รายละเอียด.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สรุป อีก ครั ้ง หนึ ่ง วา : ตอ งระดมในลัก ษณะที ่ถ ูก ตอ งตามธรรม, เปนการระดมธรรมในลักษณะตอตานเพื่อโลกนี้รอด, ระดมธรรมในลักษณะการ ต อ ต า น เพื ่ อ ประเทศไทยนี ้ อ ยู  ร อด, และระดมธรรมในลั ก ษณ ะต อ ต า น เพื ่อ แตล ะคนนี้อ ยูร อดดว ยความสุข สวัส ดี ; เมื ่อ ทํ า ถูก ตอ งตามนี้แ ลว ผลนั ้น ก็จะหวังได. ขอใหเปนไปตามที่เรามุงหมายในการระดมธรรมนี้ทุก ๆ ประการเถิด. ขอยุติไวแตเพียงเทานี้.

www.buddhadassa.in.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.