[Title will be auto-generated]

Page 1

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรม

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรม คําบรรยายประจําวันเสาร ภาคอาสาฬหบูชา ที่ลานหินโคง ณ สวนโมกขพลาราม ไชยา ระหวาง ๖ กรกฏาคม ถึง ๒๘ กันยายน ๒๕๑๗

ของ

พุทธทาสภิกขุ

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ธรรมทานมูลนิธิ จัดพิมพดวยดอกผลทุน “ธรรมทานปริวรรตน” เปนการพิมพครั้งที่สอง ของหนังสือชุดธรรมโฆษณ หมวดปกรณพิเศษ หมายเลข ๑๘.ค บนพื้นแถบสีแดง จํานวนพิมพ ๓,๐๐๐ เลม พ.ศ. ๒๕๓๘ (ลิขสิทธิ์ไมสงวนสําหรับการพิมพแจกเปนธรรมทาน สงวนเฉพาะการพิมพจําหนาย)

www.buddhadassa.in.th


มูลนิธิธรรมทาน ไชยา จัดพิมพ ๑ กันยายน พ.ศ. ๒๕๒๐ ๑ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๓๘

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org พิมพครั้งที่หนึ่ง พิมพครั้งที่สอง

จํานวน ๑,๕๐๐ เลม จํานวน ๓,๐๐๐ เลม

www.buddhadassa.in.th


www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org พุทธทาส จักอยูไป ไมมีตาย พุทธทาส ยังอยูไป ไมมีตาย ทํากับฉันอยางกันฉัน นั้นไมตายแม รางกาย จะดับไป ไมฟงเสียง อยูรับใช เพื่อมนุษย ไมหยุดเลย ยังอยูกับ ทานทั้งหลาย อยางหนหลังราง กายเปน รางกายไป ไมลําเอียง ดวยธรรมโฆษณ ตามที่วาง ไวอยางเคย มีอะไร มาเขี่ยไค ใหกันฟงนั่น เปนเพียงสิ่ง เปลี่ยนไป ในเวลา. โอเพื่อนเอย มองเห็น ไหม อะไรตายฯ เหมือนฉันนั่ง รวมดวย ชวยชี้แจงพุทธ ทาส คงอยูไป ไมมีตาย แมฉันตาย กายลับ ไปหมดแลว ทํากับฉัน อยางกะฉัน ไมตายเถิดถึงดีราย ก็จะอยู คูศาสนา แตเสียงสั่ง ยังแจว แววหูสหาย ยอมจะเกิด ผลสนอง หลายแขนงสมกับมอบ กายใจ รับใชมา วาเคยพลอด กันอยางไร ไมเสื่อมคลาย ทุกวันนัด สนทนา อยาเลิกแลงตามบัญชา องคพระพุทธ ไมหยุดเลย.ก็เหมือนฉัน ไมตาย กายธรรมยัง.ทําใหแจง ที่สุดได เลิกตายกันฯ

www.buddhadassa.in.th


www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


คําปรารภ∗ การสรางหนังสือชุดธรรมโฆษณขึ้นไวในพระพุทธศาสนา หนังสือชุด “ธรรมโฆษณของพุทธทาสภิกขุ” เลมนี้ มีชื่อวา อริยศีลธรรม อันดับ ที่ ๑๘ ค. บนพื้ นแถบสีแดง จัดพิ มพ ดวยเงินบริจาคของ นางนวล เจริญกุล ผูเป นทานบดี จํ านวนเงิน ๑ แสนบาท ตั้ งทุ น ไว ท างสวนอุ ศ มมู ลนิ ธิ โดยมี เงื่อ นไขของผู บ ริจาค ดังนี้ :๑. ใหใชเงินทั้งสิ้นของผูบริจาครวมกับทุนของสวนอุศมมู ลนิ ธิและธรรมทาน มูลนิธิ จัดพิมพหนังสือชุด “ธรรมโฆษณ ” ของทานอาจารยพุทธทาสภิกขุใหไดสองเลม สุดแตจะเปนเรื่องใด ตามความประสงคของทานอาจารยพุทธทาส. ๒. หนังสือเลมแรกของทุนนี้ใหถือวา นางนวล เจริญกุล รวมกับลูกหลาน บริ จาคเพื่ อ อุ ทิ ศ ส วนกุ ศ ลให แก เพื่ อ ผู รวมทุ กข เกิ ด แก เจ็ บ ตาย, อี กเล ม หนึ่ ง อุทิศสวนกุศลถึงสามี และบรรพบุรุษของผูบริจาค. เมื่อทางสวนอุศมไดรับเงินบริจาคดังกลาวไวแลว ไดกราบเรียนขออนุญาต ทานอาจารยพุทธทาส ขอจัดพิมพหนังสือชุดธรรมโฆษณ เรื่องที่กําลังจะตีพิมพสองเลม คือชุด “อริยศี ลธรรม” กั บ “การกลับมาแห งศี ลธรรม” ซึ่งนางนวล เจริญกุล ได ทราบ เค าของเรื่องที่ จะพิ มพ นี้ แล วด วยความยิ นดี และพอใจ ที่ จะได จั ดพิ มพ หนั งสื อธรรมโฆษณ ตามความประสงค ของท านอาจารย ทั นตาเห็ นในวั ยชรา. แต ขณะที่ อริ ยศี ลธรรมกํ าลั งจั ดพิ มพ ระหว างพรรษา ๒๕๑๙ ใกล จะสํ าเร็ จ นางนวล เจริ ญ กุ ล ถึ งแก กรรมไปเสี ยก อนเมื่ อเดื อนธั นวาคม ๒๕๑๙, ส วน “การกลั บมาแห งศี ลธรรม” อยู ใน ระยะทํ าต น ฉบั บ . เป น อั น ว าผู บ ริ จ าคทุ น ได เห็ น ผลงานด วยความป ติ ตามความ ประสงค ของตนทั น ตาเห็ น เพี ย งเท าที่ ส วนอุ ศ มปฏิ บั ติ ม า และเท าที่ ท านอาจารย พุทธทาสไดสงคําอนุโมทนาถึงนางนวลฯ เปนสวนตัว ดังพิมพสําเนาแนบไวในหนังสือ เลมนี้ดวยแลว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

คําปรารภ เมื่อพิมพครั้งแรก

www.buddhadassa.in.th


ส วนการดํ าเนิ น งานจั ด พิ ม พ แจกจ าย จํ าหน าย คงจั ด ตามหลั ก การ ขอ งธ รรม ท าน มู ล นิ ธ ิ ใ น แ น วธ รรม ท าน ป ริ ว รรต น ซึ ่ ง ส วน อุ ศ ม มู ล นิ ธ ิ ไ ด ตกลงร ว มมื อ ดํ า เนิ น การมาโดยลํ า ดั บ . หากมี ก ารบริ จ าคเพิ ่ ม เติ ม หรื อ มี รายไดพ ิเ ศษจาการจํ า หนา ยหนัง สือ นี ้ “.ในราคาที ่เ อากุศ ลเปน กํ า ไร” ก็ จั กไดร วบรวมสมทบเปน ทุน ไวสํ า หรับ จัด พิม พห นัง สือ ชุด “ธรรมโฆษณข อง พุทธทาสภิกขุ” เลมอื่นๆ ตอไปอีก คํ าบรรยายชุ ด อริยศี ลธรรม นี้เป นเรื่องเกี่ยวกับสงเสริมการปฏิ บั ติศี ลธรรม สําหรับปวงชน ทุ กเพศวัย, ชี้ ให เห็ นวา โลกกํ าลั งเจริญ อย างกระโดดพรวดพราดไป ในทางวัตถุ ส วนทางจิ ตใจกลั บเสื่ อมสู ญศี ลธรรม; สภาพเชนนี้ จะหาสั นติ ภาพไม ได จึ ง จํ าเป นจะต องรูจั กค า และ ความจํ าเป น ที่ มนุ ษย จั กต องมี ศี ลธรรม เพื่ อความอยู เปนสุขสงบ. ขอใหทานผูอานหนังสือคําบรรยายชุด อริยศีลธรรม นี้ก็ดี หรือชุด ศีลธรรม กับมนุ ษยโลก ที่ตี พิ มพ เผยแพรไปกอนเลมนี้ ก็ดี ได โปรดศึกษาพิ จารณาดวยดี เถิ ด จักเขาใจแจมแจงถึงความจําเปนที่ทุกคน ทุกกรณี จะขาดศีลธรรมเสียมิ ได แลวจักได ชวยกันคนละไมคนละมือ เพื่อปฏิบัติศีลธรรมและชวยใหศีลธรรมกลับมา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สวนอุศมมูลนิธิ ๗๗, หมู ๖, ต. หนองบอน, สุขุมวิท ซอบ ๑๐๓, อซ พระโขนง, กท. ๒๖

www.buddhadassa.in.th


โมกขพลาราม ไชยา∗ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๑๘

ธรรมะ พร และเมตตา แกแมนวล ในการเจ็บปวยครั้งนี้ ไดทราบวา ไดรับการรักษาจากโรงพยาบาล อยาง ดีที่สุด. อาตมาขอแสดงความยินดีอยางยิ่ง ที่ไดทราบวา ยังมีจิตใจไมหวั่นไหวตอโรค ภั ยไขเจ็บ ซึ่งมั นเป นของมั นตามธรรมชาติเชนนั้ น. เรื่องความเจ็บไขนี้ ถ าเราทําใจ เสียวา เราสมัครตายแลวกอนตาย ตั้งนานมาแลว, มันก็ไมมีอะไรที่จะตองตายอีก, มี แตสังขารที่เปนไปตามธรรมชาติของสังขาร, ความเจ็บไข หรือแมแตความตาย ก็กลาย เปนของหัวเราะไป. แตก็ไม คอยมี ใครคิด ถึงเรื่อ งนี้ หรือ คิดไมเป น คิด ไม ออก ก็ มีความกลัว หัวเราะกันไมออกเสียเปนสวนมาก. นี้เรียกวามีความทุกข โดยที่ไมควร จะทุกข, หรือทุกขเปลาๆ โดยที่ไมมีใครไดรับประโยชนอะไร. ที่จริงนั้น แมนวลก็ไดทําบุญกุศลไวมากมาย พอที่จะเกิดใหมกันอีกสักกี่หน ก็ได, ถาอยากจะเกิดอีก. แตถาเบื่อไมอยากเกิดมาเปนเชนนี้อีก เราก็ปดฉากได, โดย สมัครใจที่จะดับไมเหลือเชื้อมาเกิดอีก นั่นเอง. ทั้งนี้ แลวแตวา จะชอบอยางไหน. แตที่สูงสุดในพระพุทธศาสนานั้น ก็คือชนิ ดที่สมัครดับไม เหลือ นั่นเอง. ซึ่งจะทําให สามารถหัวเราะเยาะความเจ็บไข หรือความตายได โดยที่ไมตองมีใจหมนหมองเลย. การทํากุศลทั้งปวง ก็มาสูงสุดกันที่ตรงนี้, เรียกวา ที่สุดแหงความทุกข, หรือ การดับ ไมเหลือ, หรือนิพพาน. สําหรับการที่ แมนวลได สั่งใหบริจาคทรัพย ไวจํานวนหนึ่ง สําหรับพิ มพ หนังสื อชุดธรรมโฆษณ ขึ้นไวในพุ ทธศาสนาสืบไปนั้ น อาตมาก็ได ทราบแลวและขอ อนุโมทนา, และจะไดจัดการใหเปนไปตามนั้น อยางถาวรยากที่จะสิ้นสุดได ตามความ สามารถที่อาตมาจะทําได, ทั้งนี้เพื่อเปนการบูชาคุณ และสนองพระพุทธประสงคของ พระพุ ทธเจ า ที่ ทรงประสงค ให เราช วยกั นสื บอายุ พระศาสนาต อไป. ในฐานะที่ เป น ธรรมทาน อั นเหนื อกว าทานทั้ งหลาย. ข อนี้ เป นการให นิ พพานเป นทาน แก เพื่ อน มนุษย อยางสูงสุด ไมมีอะไรยิ่งไปกวา. จึงขอใหแมนวลถือวา บรรดาสิ่งที่ควรทําทุก อยาง ในการไดเกิดมานั้น. เราไดทําครบถวนแลวทุกประการจริงๆ, ทั้งเพื่อประโยชน ตน และประโยชนผูอื่น, ทั้งที่เปนประโยชนในโลก และประโยชนเหนือโลก, ตาม ที่ควรจะเปนได ทุกๆ ประการ ขออนุโมทนามา อีกครั้งหนึ่ง. ดวย ธรรมะ พร และเมตตา อยางยิ่ง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

------------------------------------∗ สําเนาจดหมายนี้นําลงพิมพเมื่อพิมพครั้งแรก เห็นวามีสารธรรมจึงนําลงพิมพไวอีก- ผูจัดพิมพ

www.buddhadassa.in.th


สารบาญ อริยศีลธรรม หนา ๑. ชื่อและความหมายเกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวาศีลธรรม …. …. …. ๑ ๒. ความหมายของคําวาศีลธรรม …. …. …. …. …. …. ๓๕ ๓. คา และความจําเปนที่ตองมีศีลธรรม …. …. …. …. …. ๖๗ ๔. ปญหาเกี่ยวกับศีลธรรมแหงยุคปจจุบัน …. …. …. …. ๑๐๓ ๕. ความรูสกึ ของมนุษยตอปญหาทางศีลธรรม …. …. …. …. ๑๔๑ ๖. ความรูสึกของมนุษยตอปญหาทางศีลธรรม (ตอ) …. …. …. ๑๕๙ ๗. ปญหาตาง ๆ ที่กําลังทับถมแกปญหาทางศีลธรรม …. …. …. ๑๙๕ ๘. ปญหาตาง ๆ ที่กําลังทับถมแกปญหาทางศีลธรรม (ตอ) …. …. ๒๑๙ ๙. การรื้อฟนปรับปรุง และสงเสริมศีลธรรม …. …. …. …. ๒๖๑ ๑๐. การรื้อฟนปรับปรุง และสงเสริมศีลธรรม (ตอ) …. …. …. ๒๘๑ ๑๑. อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน …. …. …. …. …. …. ๓๑๙ ๑๒. อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน (ตอ) …. …. …. …. …. …. ๓๖๓ ๑๓. สิง่ กระตุนและอานิสงสแหงอริยศีลธรรม …. …. …. …. ๔๓๕

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org โปรดดูสารบาญละเอียดในหนาตอไป

[๑]

www.buddhadassa.in.th


สารบาญละเอียด อริยศีลธรรม หนา

๑. ชื่อและความหมายเกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวาศีลธรรม เหตุผลที่มีการปรารภเรื่องศีลธรรมเพราะโลกมีอาการวินาศทางจิตใจ …. ๒ - ๗ "ศีลธรรม” เปลี่ยนแปลงความหมายมามาก จึงเพิ่มคําอริยะเพื่อใหแนนอน ๘ เพื่อชื่อจะยังไมสําเร็จประโยชน ตองรูความหมายของคําดวย …. …. ๙ พิจารณาดูวา ศีลธรรมโดยทั่วไปมีขึ้นมาไดอยางไร …. …. ๑๐ - ๑๒ "ศีลธรรมอันดีของประชาชน” เปนคําเกิดใหมก็ยังมีปญหา …. ๑๒ - ๑๔ อารยธรรม ก็ยังสับปลับโดยความหมาย …. …. …. …. ๑๔ - ๑๘ วัฒนธรรม ไกลจากวัตถุ แตก็ยังเปนความลมเหลว …. …. ๑๘ - ๒๐ ศีลธรรมอันดีของประชาชน โดยนิตินัยดี แตพฤตินัยนั้นตรงกันขาม ๒๑ - ๒๓ พิจารณาดูศีลธรรมอันดีของพระอริยสาวกแตละขั้น …. …. ๒๔ - ๒๙ ควรจะถือเอาความหมายวา "บังคับตัวเองได” นั้นคือศีลธรรม …. ๒๙ - ๓๐ เห็นแกตัว คือการเบียดเบียนตนเอง แตเราไมรูสึก …. …. ๓๐ - ๓๑ ไมผิดศีล จะไมเบียดเบียนตนและผูอื่น, เปนนิพพานดวย …. …. ๓๒ เปรียบเทียบศีลธรรมของพระอริยสาวกกับของประชาชนดู …. ๓๓ - ๓๔

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๒. ความหมายของคําวาศีลธรรม

เรื่องชื่อกับความหมายตองเกี่ยวของกัน …. …. …. …. ๓๕ - ๓๙ ความหมายเปนสิ่งกวางขวางตามธรรมชาติ แยกได ๓ อยาง …. ๓๙ - ๔๐ [๒]

www.buddhadassa.in.th


[๓] อยางที่ ๑ ความหมายทางภาษา มุงหมายเอาความเปนปรกติ …. ๔๑ - ๔๓ อยางที่ ๒ ความหมายทางอาการตามธรรมชาติที่มีสภาพปรกติ …. .๔๔ - ๔๖ อยางที่ ๓ ความหมายตามบทบัญญัติทางศาสนา ซึ่งอยูที่ความสงบ …. ๔๖ - ๔๘ ปจเจกชนก็ตองมีความสงบ, ทุกชีวิตตองการความสงบ …. …. ๔๙ - ๕๐ หลักปฏิบัติทางพุทธศาสนา ขอ ๑ ใหคงความปรกติของทุกสิ่ง …. ๕๑ - ๕๓ ขอ ๒ ขวนขวายเพื่อความปรกติ ก็ตองมีศีลตลอดกาล …. …. ๕๓ - ๕๔ ดูใหละเอียดใหเห็นศีลธรรมของคน สัตว สิ่งมีชีวิต - ไมมีชีวิต …. ๕๔ - ๕๖ สิ่งตาง ๆ ลวนมีรากฐานขั้นลึกเปนศีลภาวะเนื่องกัน …. …. ๕๖ - ๕๘ ตองยอมรับวา สิ่งมีชีวิตมีรากฐานเกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกัน …. ๕๘ - ๖๕

๓. คาและความจําเปนที่ตองมีศีลธรรม ขอใหสนใจถึงความจําเปนที่จะตองมีศีลธรรม …. …. …. ๖๘ - ๖๙ พูดถึงศีลธรม ไมควรจะมีวา อันดีอันเลว, ถือความหมายตามบาลีดีกวา ๗๐ - ๗๑ ความหมายของศีลธรรมควรจะใชวา "เปนปรกติ" …. …. …. …. ๗๒ คาของศีลธรรมหมายถึงที่มนุษยบัญญัติตามตองการกับคาตามธรรมชาติ ๗๓ ประเภท ๑.๑ คาตามความตองการก็ตีคาเอาแตทางวัตถุ …. …. ๗๔ ๑. (๒ - ๓) ตีคาตามความหมายทางไสยศาสตรและเศรษฐกิจ ๗๕ - ๗๖ ประเภท ๒. คาตามความตองการของธรรมชาติ …. …. ๗๗ - ๗๙ ดูอีกมุมหนึ่ง เปนคาบัญญัติตามมิจฉาหรือสัมมาทิฎฐิ …. …. ๗๙ - ๘๒ ดูอยางลึกซึ้ง คาคือตนเหตุแหงปญหาทั้งปวง ไดแกรักหรือชัง …. ๘๓ - ๘๔ คาเปนตัวปญหาทั้งหมด ทําใหเกลียดหรือรัก, ไมเปนปรกติได …. ๘๕ - ๘๗ ความจําเปนที่ตัวเราตองมีศีลธรรมก็เพราะตองการมีภาวะปรกติ ๘๗ - ๘๘ ควบคุมอํานาจของคาได แตละคนจะมีความปรกติ …. …. …. ๘๙

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


[๔] เราตองการศีลธรรมก็เพราะตองการความปรกติสุข …. …. ๙๐ - ๙๓ สรุปความปรกติไดวา ๑-๒ เราตองการอยูอยางพอทนไดและเรียบรอย …. ๙๓ - ๙๔ ๓. เราตองการศีลธรรมที่เปนมูลฐานทางศาสนาเพื่อหมดกิเลส …. ๙๔ - ๙๖ ดูสิ่งที่เราตองการแทจริงจากศีลธรรม คืออริยศีลธรรม …. …. ๙๖ - ๙๗ เรากําลังไมรูวาปญหาทุกอยางนั้นมาจากการขาดศีลธรรม …. ๙๘ - ๑๐๐ มนุษยตองมีศีลธรรมจึงจะอยูกันเปนผาสุก …. …. …. ๑๐๐ - ๑๐๑ ๔. ปญหาเกี่ยวกับศีลธรรมแหงยุคปจจุบัน ทบทวนถึงเหตุที่วา ทําไมจึงมีคําวาอริยศีลธรรม …. …. …. ๑๐๓ อริยะ แสดงวาสูงสุด, เปนอริยะแลวตองหมดปญหา …. ๑๐๔ - ๑๐๕ อาจสรางศาสนาพระศรีอาริยเมตไตรยไดโดยเปนมิตรแท …. ๑๐๕ - ๑๐๖ จะมีความเปนมิตรกันไดโดยมีศีลธรรมเทานั้น …. …. …. ๑๐๗ - ๑๐๘ ประเด็นสําคัญจะดูถึงปญหาที่เกี่ยวกับศีลธรรมยุคปจจุบัน …. ๑๐๘ - ๑๑๐ โลกปจจุบันมีการเบียดเบียนทั้งตัวเองและกันและกัน …. ๑๑๑ - ๑๑๒ พิจารณาดูปญหาเฉพาะหนาที่มีอยูเปรียบเทียบกับอดีต …. ๑๑๒ - ๑๑๕ คนยิ่งฉลาดยิ่งเปนทาสของวัตถุนิยม, เอาประโยชนเปนศาสนา …. ๑๑๖ เปนทาสวัตถุนิยมก็มีปญหา เกิดเปนทาสของกิเลส …. …. ๑๑๗ - ๑๒๑ ความเสื่อมทางศีลธรรมมีมากดังปรากฎการณขอ ๑. เนรคุณพอแม ๑๒๒ ขอ ๒. เพราะนิสัยเปนนาย, ไมอยากทํางาน, เห็นแตแกตัว ๑๒๓ - ๑๒๔ ขอ ๓. เปนนัตถิกทิฎฐิมากขึ้น ถือวาไมมีผูมีคุณ ฯลฯ …. ๑๒๕ - ๑๒๘ ขอ ๔. ไมมคี วามปลอดภัยแมในเมืองหลวง ในวัด …. …. ๑๒๘ - ๑๓๐ อาชญากรรมนานาชนิดมีหนามากขึ้น อยางที่ ๑. อาชญากรรมทางเพศ ๑๓๐ ๒.-๓. อาชญากรรมเพื่อความกอบโกย, และอํานาจเกียรติยศ …. ๑๓๑

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


[๕] ๔. อาชญากรรมที่เกี่ยวกับความเสพติดทางวิญญาณ …. …. ๑๓๒ พิจารณาดูโลกในแงไมมีสันติภาพมีแตความระส่ําระสาย …. ๑๓๓ - ๑๓๔ ตัวอยางเชน ๑. การแพทยเจริญคนตายนอย แตอันธพาลมาก ๒. กินดีอยูดี แตไมมีศีลธรรม …. …. …. …. ๑๓๕ ๓.-๔. คนฉลาดเรียนแตไมมีศีลธรรม ๔. คนควาเกงก็ยิ่งไมมีศีลธรรม ๑๓๖ ๕.-๖.-๗. การประดิษฐ,อุตสาหกรรม,อาวุธเจริญ,แตไมมีศีลธรรม,เปนอันธพาล ๑๓๗ ๘.-๙.-๑๐.-๑๑. กาวหนาทางทูต, ศิลป, วิชาการ, แตไมสง เสริมทางสันติภาพ ๑๓๘ ๑๒. เทิดทูนสังคมวิทยา แตไรศีลธรรม เชนนักศึกษายกพวกตีกัน ๑๓๙ - ๑๔๐

๕. ความรูสึกของมนุษยตอปญหาทางศีลธรรม ปญหาตาง ๆ มีเพราะความเสื่อมทางศีลธรรม แตไมมีใครมอง ๑๔๑ - ๑๔๓ ความยุงยากทางภาษา แมในทางธรรมก็เปลี่ยนเรื่อย …. …. ๑๔๓ - ๑๔๗ วิกฤติการณมีขึ้นเพราะไมมีศีลธรรม …. …. …. …. ๑๔๘ - ๑๕๑ การมีศีลธรรมเปนความตองการของธรรมชาติ …. …. …. ๑๕๑ - ๑๕๓ ความไมมีศีลธรรมมีไดแมจากความโงบริสุทธิ์ใจ …. …. ๑๕๓ - ๑๕๗

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๖. ความรูสึกของมนุษยตอปญหาทางศีลธรรม (ตอ)

มนุษยสมัยนี้ไมรูสึกเสียเลยตอปญหาทางศีลธรรม …. …. ๑๖๐ - ๑๖๒ ความโงที่ไมรูสึกตัวของมนุษยตอศีลธรรม จึงทําผิดอยางอคติ ๑๖๒ - ๑๖๔ คนมีจิตทรามมากขึ้นดังมีปรากฎการณ ๑. โจรกรรมมาก ๒. ยากจนกันมาก ๑๖๕ ๓. มีการทุจริตมาก ๔. อาชญากรรมทางเพศมาก ๕. คนวิกลจริตมาก ๑๖๖ แกปญหากันแตปลายเหตุ ไมไดแกที่ความไมมีศีลธรรม …. …. …. ๑๖๗ มีความโงบางอยางคือ แสดงทาทีวาศีลธรรมแตมิไดมีแทจริง …. …. ๑๖๘

www.buddhadassa.in.th


[๖] เราเปนทาสทางวัฒนธรรมที่เห็นแกกิเลสซึ่งเปนมูลเหตุเปนทาสทางการเมือง๑๖๙ - ๑๗๐ พวกที่ยิ่งรวยก็ยิ่งโกงไปกวาคนจน …. …. …. …. …. ๑๗๑ คนที่ไรศีลธรรมยอมไมมีทางจะพูดกันใหรูเรื่องได …. …. …. …. ๑๗๒ การศึกษาระดมกันแกไขความโง แตก็เพียงทําใหฉลาด แตไมมีศีลธรรม ๑๗๓ - ๑๗๕ ความโงสมัยใหมคือไมรูจักบาปที่เกิดจากทําดีเกินจําเปน …. …. ๑๗๖ คนเดี๋ยวนี้ไมอยากอดกลั้นอดทน ไมชอบบังคับตนเอง …. …. …. ๑๗๗ คนไมยอมควบคุม โลภ โกรธ หลง ซึง่ เปนอาการของตัวกู - ของกู …. ๑๗๘ ที่กลาวมาเปนตัวอยางของความโงที่มนุษยทําไปโดยไมรูสึกตัว …. …. ๑๗๙ อยางที่ ๑ เปรียบเทียบดูในมุมที่เกี่ยวกับรูจักบาปบุญคุณโทษ ๑๘๐ - ๑๘๑ " ๒ ดูความรูจักบาปบุญคุณโทษในยุคปจจุบันกับที่ลวงมา …. …. ๑๘๒ " ๒-๓ ดูศีลธรรมของลูกเด็ก ๆ จนถึงชั้นอุดมศึกษา …. …. …. ๑๘๓ " ๔ ดูศีลธรรมของยุวชนที่พัฒนาเต็มที่กับที่ดอยพัฒนา …. ๑๘๔ - ๑๘๕ " ๕ ดูครูอาจารยอยางที่แปลวาผูเปดประตูกับเปนแสงสวางทางวิญญาณ ๑๘๖- ๑๘๗ " ๖ ดูชนชั้นปกครองกําลังใหความหมายอยางไรแกศีลธรรม ๑๘๘ - ๑๙๐ ถามีศีลธรรมมากพอ ความเปนชาติจะมีอยูได …. …. …. …. ๑๙๑ ที่แกปญหาไมไดก็เพราะไมมีความถูกตองทางศีลธรรม …. …. ๑๙๑ - ๑๙๓

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๗. ปญหาตาง ๆ ที่กําลังทับถมแกปญหาทางศีลธรรม พุทธบริษัทมีหนาที่สืบอายุพระศาสนา จะปลอยใหโลกมีแตทุกขนี้ไมถูก๑๙๔ - ๑๙๖ คนทั้งโลกไมรูสึกตอปญหาทางศีลธรรม จึงเต็มไปดวยวิกฤตการณ …. ๑๙๗ ปญหาตาง ๆ พรางตาทําใหมองไมเห็น, เชนอาชญากรรมมากขึ้น …. ๑๙๘ การศึกษาที่ทําอยู ไมสงเสริมศีลธรรมแตชวยทําลายศีลธรรม …. …. ๑๙๙ ปญหาจริงก็มี แลวยังมีปญหาทับถมทั้งโดยตรงโดยออม ๒๐๐ - ๒๐๑

www.buddhadassa.in.th


[๗] ปญหาทับถมโดยตรง คือความเขาใจผิดเกี่ยวกับการศึกษา …. ๒๐๑ - ๒๐๓ การศึกษาที่มีอยูในโลกนี้จัดผิดเพราะดึงใหหลงใหลกิเลส …. ๒๐๔ - ๒๐๕ การทําผิดอยางยิ่งคือ แยกศาสนาออกไปเสียจากการศึกษา …. ๒๐๖ - ๒๐๘ การศึกษาที่แยกจากศาสนา ยิ่งยากที่จะใหมีศีลธรรม …. …. ๒๐๘ - ๒๑๒ ผลที่ไดจาการศึกษาผิดตอเกณฑของศีลธรรมยิ่งมีปญหาทับถมมาก ๒๑๓ - ๒๑๕ ตองแกโดยจัดระบบการศึกษาใหสงเสริมศีลธรรม …. …. ๒๑๖ - ๒๑๘ ๘. ปญหาที่กําลังทับถมแกปญหาทางศีลธรรม (ตอ) ทบทวนใจความที่พูดมาแลวถึงปญหาทางศีลธรรม …. …. …. ๒๒๐ ความอยูกันไมเปนปกติสุข ก็เพราะขาดศีลธรรม …. …. ๒๒๑ - ๒๒๒ เราแกปญหาไมไดเพราะปญหาอื่นมาทับถมทั้งโดยตรงโดยออม ๒๒๓ - ๒๒๔ ปญหาโดยออมเกิดปญหาอื่นอีกมากนี้ เนื่องมาจากจัดการศึกษาผิด ๒๒๕ - ๒๒๗ ยกตัวอยางปญหาที่ ๑ เกี่ยวกับความจงรักภักดีตอชาติ ศาสนา มหากษัตริย ๒๒๘ - ๒๓๑ ปญหาที่ ๒ ความรบกวนที่มาจากอันธพาลนานาแบบ …. ๒๓๒ - ๒๓๘ ปญหาที่ ๓ ปญหาทางการปกครอง ถาเจาหนาที่ไมมีศีลธรรมก็เสียหายมาก๒๓๘ - ๒๔๐ ปญหาที่ ๔ ความเสื่อมทางจิตใจทําใหงานรักษาความยุติธรรมรวนเร ๒๔๐ ปญหาที่ ๕ ปญหาความสะอาดเรียบรอยสวยงามของบานเมือง …. ๒๔๑ ปญหาที่ ๖ คนไรศีลธรรมจะสุรุยสุรายเพราะโง, เห็นแกตัว ๒๔๒ - ๒๔๕ ปญหาที่ ๗ ไมมีศีลธรรมแลวจะมีจิตริษยา หาชองผิดแกกัน …. …. ๒๔๖ ปญหาที่ ๘ การศึกษาที่ผิด ทําใหมีปญหาเกิดจากการเกียจคาน ๒๔๗ - ๒๔๘ ปญหาที่ ๙ ปญหาที่เกิดมาจากทรัพยากรของชาติถูกทําลาย …. …. ๒๔๙ ปญหาที่ ๑๐ ปญหาของแพงซึ่งมีขึ้นเหตุไรศีลธรรม …. …. ๒๕๐ - ๒๕๑ ปญหาสําคัญที่กําลังระบาดคือปญหาชนกรรมาชีพกับนายทุน …. …. ๒๕๒

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


[๘] คนจนก็ขาดศีลธรรมเพราะเห็นแกตัว, ตกเปนทาสอบายมุข …. …. ๒๕๓ มักตอสูกันโดยผิดหลักกฎแหงกรรม ที่จะไปฝนใหทุกคนเหมือนกัน …. ๒๕๔ คนจนไมยอมพากเพียร กลับไปยกบาปใหฝายตรงขาม …. ๒๕๕ - ๒๕๗ เศรษฐีหรือนายทุนก็ลืมความจริงตามธรรมชาติที่วา "ทุกคนเปนเพื่อนฯ" ๒๕๗ - ๒๕๘ ปญหาเหลานี้กําลังระบาดทั่วโลกที่ไมมีศีลธรรมสรางขึ้นมา …. …. ๒๕๙

๙. การรื้อฟอปรับปรุง และสงเสริมศีลธรรม ใหทบทวนถึงปญหาทางศีลธรรมที่แกไมได …. …. …. ๒๖๑ - ๒๖๒ บางคนไมยอมรับวามีความเสื่อมทางศีลธรรมก็แกไมได …. ๒๖๓ - ๒๖๕ ตองทบทวนความหมายของคําวาศีลธรรมใหเขาใจ …. …. ๒๖๖ - ๒๖๘ เปรียบเทียบศีลธรรมในสมัยสัก ๑๐๐ ปมา กับสมัยปจจุบัน ๒๖๙ - ๒๗๒ เปรียบเทียบแลวจะตองพิจารณารื้อฟน แกไข ปรับปรุง สงเสริม รักษา ๒๗๓ การรื้อฟนจะตองถอยหลังเขาคลองทุกอยาง ใหถูกตอง …. ๒๗๔ - ๒๗๘ รื้อฟนแลวก็ตองปรับปรุงใหถูกตองไดประโยชนมากขึ้น …. …. …. ๒๗๙

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๑๐. การรื้อฟนปรับปรุงและสงเสริมศีลธรรม (ตอ)

พูดเรื่องนี้ตอ เพราะการบรรยายครั้งกอนยังไมจบ …. …. …. ๒๘๑ คําวาอริยศีลธรรม ตองทบทวนใหเขาใจวาเพิ่ม "อริยะ" เพื่อใหความหมายสมบูรณ ๒๘๒ ใหถือเอาความหมายของ "ศีลธรรม" ใหลึกซึ้งตามตัวหนังสือ …. …. ๒๘๓ "ศีลธรรม" ในพุทธศาสนาไปไกลจนถึงนิพพานได …. …. …. …. ๒๘๕ หนาที่ที่ตองทําในสวนศีลธรรม จะตองรื้อฟนกันใหม …. …. …. ๒๘๖ โลกเปลี่ยนไป ๆ ตองปรับปรุงศีลธรรมใหกลมกลืนกันไปดวย …. …. ๒๘๗

www.buddhadassa.in.th


[๙] การปรับปรุงตองเล็งถึงการศึกษาเปนสิ่งแรก …. …. …. …. ๒๘๗ การศึกษาเปนอะไรหลาย ๆ ทิศทางพรอมกันไปในตัว …. …. …. ๒๘๙ การศึกษาที่บูชาเทคโนโลยี่ทําใหมนุษยเปนทาสของวัตถุ …. …. ๒๙๐

การศึกษาโดยออมที่ตองปรับปรุงก็มีมาก เชน การกีฬา …. …. …. …. …. …. การศึกษาที่อยูในรูปของศิลป …. …. …. …. การศึกษาที่อยูในรูปของดนตรี, เพลง …. …. ควรปรับปรุงการกาวหนาทางวัตถุใหอยูภายใตจิตใจที่มีศีลธรรม และใหกลมกลืนกันกับศาสนาและวัฒนธรรม ….

…. ๒๙๑ …. ๒๙๒ …. ๒๙๔ …. ๒๙๕ …. ๒๙๖

สิ่งใดที่ถือวาผิด เราตองแกไข เชน

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตัวคนที่ประพฤติธรรมะเสื่อมไปโดยเปนทาสของวัตถุ …. ๒๙๗ ความลาหลังหรือความงมงายบางประการ …. …. …. ๒๙๗ ระบบศีลธรรมบางอยางจะตองแกไขหรือปรับปรุงพรอมกันไป ๒๙๘ การบรรยายนี้ไมไรสาระ เพราะมุงใหหันมาปรึกษาชวยกันแกไข …. ๒๙๙ คนสมัยนี้มีความอยากมากจึงกลัวมาก จึงระงับดวยความงมงายมาก ๓๐๐ อันใดควรแกไขหรือปรับปรุง หรือทั้ง ๒ อยางตองทําอยูเรื่อย …. …. ๓๐๑ หลักเกณฑสําหรับการแกไขหรือปรับปรุง ตองนึกถึงหลักของพระพุทธเจา ๓๐๓ ไดแกหลัก โคตมีสูตร, หลักมหาปเทส …. …. …. ๓๐๓ สิ่งที่ตองแกไขโดยดวนคือ ความเขาใจผิด …. …. …. …. ๓๐๔ ตัวอยางเชนเรื่องสันโดษ ไปเขาใจวาไมทําอะไร …. …. …. …. ๓๐๕ เรื่องไมยึดมั่นถือมั่น ปองกันไมใหเปนบา แตฟงกันไมถูก ๓๐๕ - ๓๐๖

www.buddhadassa.in.th


[๑๐] บางเรื่องตองสงเสริม ซึ่งตางกับปรับปรุงแกไข …. …. …. …. ๓๐๖ สงเสริมนี้รวมทั้งแนะนํา ชี้แจง ใหกําลังใจ ชวยเหลือ …. …. …. ๓๐๗ ตองสงเสริมเพื่อนมนุษยใหเกิดความอยากลองศึกษาปฏิบัติธรรม …. ๓๐๘ ศาสนาเปนเรื่องสําคัญตองสงเสริมใหเกิดความเขาใจอันดี …. …. ๓๐๙ ใหเขาใจวาตัวศาสนาแท ๆ ตรงกับกฎความจริงตามธรรมชาติ …. ๓๑๐ ทุกศาสนามีรากฐานอยูที่ "อยาเห็นแกตัว" …. …. …. …. ๓๑๑ วัฒนธรรมทุกสาขาจะชวยใหเกิดความเขาใจอันดีระหวางศาสนา …. ๓๑๑ จะสงเสริม แกไข ปรับปรุงปญหาอะไร ตองเปนไปตามหลักของศีลธรรม ๓๑๒ เมื่อสิ่งใดสงเสริมแกไขดีแลวตองรักษาความถูกตองนั้นไว …. …. ๓๑๒ ตองรักษาเพราะทุกสิ่งไมสําเร็จในวันเดียว ตองอบรมอยูตลอดเวลา ๓๑๓ ความถูกตองจะตองอยูยาวนานจึงจะถอนความเคยชินได …. …. ๓๑๔ ศาสนาเปนหลักสําหรับความถูกตอง จึงตองรักษาศาสนาไว …. ๓๑๕ ศาสนาที่ตองรักษาก็คือทั้ง ปริยัติ ปฏิบัติ ปฏิเวธ …. …. …. ๓๑๖ เรื่องจะรื้อฟนฯ แกไข ทําไดหรือไม ตองคิดวาทําเพราะเปนสิ่งควรทํา ๓๑๗

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๑๑. อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน

การบรรยายครั้งนี้จะกลาวเกี่ยวกับยุวชน ซึ่งจําเปนอยางยิ่ง …. ๓๑๙ - ๓๒๐ มนุษยแปลวาใจสูง ถาเปนทาสวัตถุ ใจก็ไมสูง, ไมเปนมนุษย …. ๓๒๑ ถาเปนทาสของอายตนะ ไรศีลธรรม ไมเปนมนุษย …. …. …. ๓๒๒ มนุษยเมาแตในเรื่องวัตถุ กิน กาม เกียรติ นี้ผิดศีลธรรมเต็มที่ …. ๓๒๓ ถาเรื่องกิน กาม เกียรติ วุนวายขึ้นมาก็เรียกวาไมมีศีลธรรม …. …. ๓๒๔ เรื่องศีลธรรมถูกแยกออกไปจากเรื่องทั้งหลาย นี่เสียหายใหญหลวง …. ๓๒๕ ตัวอยางเชน การเมืองนี้ ก็คือศีลธรรมระหวางสังคม …. …. …. ๓๒๕

www.buddhadassa.in.th


[๑๑] คนทั้งโลกเห็นแกตัวมากขึ้น ผูรับบาปมากที่สุดคือยุวชน …. ๓๒๖ - ๓๒๗ ดูความผิดพลาดที่ครอบงําจิตใจของยุวชน เชนการกีฬา …. …. ๓๒๗ ดูความเปนประชาธิปไตยทียุวชนนิยม …. …. …. …. …. ๓๒๘ ดูเรื่องการคุมกําเนิดทางฟลิสซึ่งทําลายศีลธรรม …. …. …. …. ๓๒๙ เดี๋ยวนี้คนไมรูจักวาพระเจา, ศาสนา, การทําบุญ, คืออะไร …. …. ๓๓๒ ยุวชนที่จะเปนผูใหญตอไปควรจะรักษาความเปนมนุษยไวได …. …. ๓๓๓ ศีลธรรมของยุวชนก็ตองใชอริยศีลธรรม …. …. …. …. …. ๓๓๔ ระบบของศีลธรรมที่ควรอบรมแกยุวชนควรจะวางไวสัก ๘ หมวด …. ๓๓๕ หมวดที่หนึ่ง สุทธิ คือ ความบริสุทธิ์ ๑. จะตองเปนคนมีธรรมะหรือศาสนา …. …. …. …. ๓๓๗ ๒. รูจักหักหามความรูสึกที่เห็นแกอรอย …. …. …. …. ๓๓๗ ๓. มีความกตัญูกตเวที …. …. …. …. …. …. ๓๓๘ ๔. ซื่อสัตย ๕. ชอบสงัด …. …. …. …. …. …. ๓๓๘ ๖. รักสงบ ๗. บูชาบิดามารดา …. …. …. …. …. ๓๓๙ ๘. มีอนุสสติในพระรัตนตรัย …. …. …. …. …. ๓๔๐ ๙. ใหมีจิตเกลี้ยง ไมยึดมั่นถือมั่นจนเกิดรัก โกรธ เกลียด …. ๓๔๑ ๑๐. ไมอคติ เขาขางนั้นเขาขางนี้ …. …. …. …. …. ๓๔๑ ๑๑. ไมดอื้ ๑๒. กินสะอาด คือไมกินของที่หามาไมชอบธรรม ๓๔๒

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org หมวดที่สอง ปญญา - รูสิ่งที่ควรรู ๑. มีความทุกขโดยยาก ๒. เปนสุขโดยงาย …. …. …. ๓๔๓ ๓.-๔. เปนอยูอยางต่ํา, มีการกระทําที่สูง …. …. …. ๓๔๔ ๕. เปนผูมีเหตุผล ๖. รูจักบุคคล ๗. รูจักสังคม …. …. ๓๔๕

www.buddhadassa.in.th


[๑๒] ๘. รูจักเวลา ๙. รูจักตนเอง ๑๐. มีไหวพริบ …. …. …. ๓๔๖ ๑๑. มีความเห็นชอบ คือมีสัมมาทิฎฐิ …. …. …. …. ๓๔๗ ๑๒. มีศรัทธาคือความเชื่อที่ถูกตอง …. …. …. …. ๓๔๘ ๑๓.-๑๔.-๑๕. มีความสุขุม, รอบคอบ, ชอบไตรตรอง …. ๓๔๘ ๑๖.-๑๗. รูประมาณในการบริโภคและเปนอยู …. …. …. ๓๔๙ ๑๘. หวังพึ่งตนเอง …. …. …. …. …. …. …. ๓๔๙ ๑๙. ไมถือโชคลาง …. …. …. …. …. …. …. ๓๕๐ ๒๐. ใหรูจักอุดมคติของมนุษย …. …. …. …. …. ๓๕๑ ๒๑. ใหรูจักโลกในตน ๒๒. รูจักอบาย …. …. …. …. ๓๕๒ ๒๓. ใหรูจักสวรรค และบันไดของสวรรค …. …. …. ๓๕๓ ๒๔. รูจักมายา ๒๕. รูจักสัจจะ …. …. …. …. …. ๓๕๓ ๒๖. รูเรื่องอริยสัจจ ๒๗. รูจักสิ่งที่เรียกวาสังขาร …. …. ๓๕๔ ๒๘, ๒๙, ๓๐. รูกฎของไตรลักษณ …. …. …. …. ๓๕๕ ๓๑. รูกฎของอิทิปปจจยตา …. …. …. …. …. ๓๕๕ ๓๒. รูกฎแหงกรรม ๓๓. รูกฎแหงวัฎฎะ …. …. …. ๓๕๖ ๓๔. รูจักเลือกคัดภาษาธรรม คือธัมมวิจยะ …. …. …. ๓๕๗ ๓๕. รักการศึกษา ๓๖. รูจักสิ่งที่ควรรูจัก …. …. …. ๓๕๘ ๑. บิดามารดา ๒. ครู ๓. เพื่อน …. …. …. …. ๓๕๙ ๔. ชาติ ๕. ความดีงาม, ความยุติธรรม …. …. …. ๓๖๐ ๖. รูจักน้ําใจนักกีฬา ๗. รูจักศาสนา …. …. …. ๓๖๐ ๘. กฎของกรรม ๙. รูจักพระเจาและมนุษย ๑๐. รูจักชีวิต ๓๖๑ ๑๑. สิ่งที่เนื่องกับชีวิต ๑๒. รูจักสันติภาพของสวนรวม, หมวดศีลธรรมที่วาดวยปญญายังมีอีกมาก กลาวเพียงเทานี้กอน …. ๓๖๒

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


[๑๓] ใหทบทวนดูวา กิจการทั้งหลายเจริญ แตศีลธรรมเล็กลง …. …. ๓๖๓ ขอรองใหถือความหมายของศีลธรรมตามตัวหนังสือ …. …. ๓๖๔ ความเจริญทางวัตถุมีมาก แตสภาพศีลธรรมทรุดอยางไมนาเชื่อ …. ๓๖๖ โลกไรศีลธรรม ความยุงยากลําบากยิ่งระส่ําระสายมาก …. …. …. ๓๖๗ ศีลธรรมสําหรับยุวชนกลาวมาแลว ๒ หมวด อีก ๖ หมวดจะกลาวตอไป ๓๖๘ หมวดที่สาม เมตตา ยุวชนมีเมตตานอยลง เห็นแกตัวมากขึ้น …. …. ๓๖๙ ขอ ๑ ความเปนมิตรตองมีรากฐานมาแตธรรมชาติ …. …. …. ๓๗๐ ขอ ๒ กรุณาคือความสงสาร มีความคิดที่จะชวยเหลือ …. …. …. ๓๗๑ ขอ ๓ มุทิตาคือความพลอยยินดี ซึ่งมุงกําจัดความริษยา …. …. ๓๗๒ ขอ ๔ เอื้อเฟอหรือใหทาน …. …. …. …. …. …. …. ๓๗๓ ขอ ๕ แบงบุญ หรือแบงความดี …. …. …. …. …. …. ๓๗๔ ขอ ๖ การผูกพันซึ่งกันและกัน …. …. …. …. …. …. ๓๗๕ ขอ ๗ พยายามผลิตสวนเกิน เพื่อประโยชนผูอื่น …. …. …. ๓๗๖ ขอ ๘ เจียดสวนเกินออกมาใหจนได เพื่อประโยชนผูอื่น …. …. ๓๗๖ ขอ ๙ การชวยอยางมีเหตุผล …. …. …. …. …. …. ๓๗๗ ขอ ๑๐ ไมมกั โกรธ ตามธรรมภาษิตที่วา โกรธตอบเลวกวาคนโกรธกอน ๓๗๘ ขอ ๑๑ ไมอาฆาตมาดราย โกรธไมสิ้นสุด …. …. …. …. ๓๗๙ ขอ ๑๒ ชนะเวรดวยความไมจองเวร …. …. …. …. …. ๓๘๐

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org หมวดที่สี่ คือขอ ๑ ขันติ อยางที่ ๑ อดทนตามธรรมชาติ …. …. ๓๘๑ " ๒ อดทนตอความเจ็บไข อยางที่ ๓ อดกลั้นตอคนพาล หรือคนบา …. ๓๘๒ " ๔ อดกลั้นตอความบีบคั้นของกิเลสของตน

www.buddhadassa.in.th


[๑๔] ขอ ๒ โสรัจจะ คือยิ้มแยม ขอ ๓ ทมะ-การบังคับตน …. …. …. ๓๘๓ ขอ ๔ ความไมเถียง ความไมดื้อรั้น …. …. …. …. …. ๓๘๔ ขอ ๕ ความยอมได คือสมัครเปนผูยอม …. …. …. …. …. ๓๘๕ ขอ ๖ ยอดอดโทษ และขอโทษ ขอ ๗ ถอมตน …. …. …. …. ๓๘๖ ขอ ๘ จัดเรื่องราวใหรํางับลงได ขอ ๙ ความสุภาพ …. …. …. ๓๘๗ ขอ ๑๐ อุเบกขา-เฉยได รอได …. …. …. …. …. …. ๓๘๘ ขอ ๑๑ เปนคนไมเอาหนา …. …. …. …. …. …. …. ๓๘๙ ขอ ๑๒ สมัครที่จะเปนคนปดทองหลังพระ …. …. …. …. ๓๙๐ หมวดที่หา สังวร-ความสํารวมระวัง ขอ ๑ สติ …. …. …. … ๓๙๑ ขอ ๒ สัมปชัญญะ คือความรูที่มาทันแกเวลา, เปนปญญาดวย ๓๙๒ - ๓๙๓ ขอ ๓ สํารวมระวังจิตไมใหกําหนัด, ขัดเคือง, โง มัวเมา …. …. ๓๙๔ ขอ ๔ ศีล, เด็ก ๆ ควรตองมีศีลพื้นฐานคือศีล ๕ …. …. ๓๙๕ - ๓๙๖ ขอ ๕ มีศีลแลวตองมีวัตร คือหนาที่ที่ตองปฏิบัติ …. …. …. …. ๓๙๗ ขอ ๖ ความีระเบียบ ขอ ๗ พูดดี ไมทําลายกระทบผูใด…. …. …. ๓๙๘ ขอ ๘ เจียมตัว, ระวังไมใหกิเลสเกิด …. …. …. …. …. ๓๙๙ ขอ ๙ อินทรียสังวร คือระวังตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ อยาใหมีทุกข .๔๐๐ ขอ ๑๐ กินโดยรูสึกตัว ไมกินเลว ๆ ผิด ๆ …. …. …. …. ๔๐๑ ขอ ๑๑ เชื่อฟงผูที่มีอายุมากกวา ขอ ๑๒ เคารพผูที่เจริญกวา…. …. ๔๐๒ ขอ ๑๓ ฝกไหวเปนนิสัย …. …. …. …. …. …. …. ๔๐๓ ขอ ๑๔ มีความไมผลุนผลัน …. …. …. …. …. …. …. ๔๐๔ ขอ ๑๕ ความไมหวั่นไหว ขอ ๑๖ ความเปนปรกติ …. …. …. ๔๐๕ ขอ ๑๗ มีอนุสสติในความเกิด แก เจ็บ ตาย …. …. …. …. ๔๐๖ หมวดที่ ๖ หิริกะ ขอ ๑ หิริคือละอาย …. …. ๔๐๗ ขอ ๒ โอตตัปปะคือ ความกลัวบาป

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


[๑๕] ขอ ๓ ความเคารพตัว …. …. …. …. …. …. …. ๔๐๘ ขอ ๔ ไมมักได …. …. …. …. …. …. …. …. ๔๐๘ ขอ ๕ ไมยักยอกสวนเกิน ขอที่ ๖ เกลียดความแตกสามัคคี …. …. ๔๐๙ ขอ ๗ เกลียดหิงสกธรรม คือเบียดเบียน …. …. …. …. …. ๔๑๐ ขอ ๘ รักบุญ คือรักสิ่งที่ทุกคนบูชาเปนที่พึ่ง …. …. …. …. ๔๑๑ ขอ ๙ ทําโลกนี้ใหสะอาด …. …. …. …. …. …. …. ๔๑๑ ขอ ๑๐ รักธรรมะ, รักความดี, ความจริง, ความถูกตอง …. …. ๔๑๒ ขอ ๑๑ รักตัวแตมิใชเห็นแกตัว …. …. …. …. …. …. ๔๑๒ ขอ ๑๒ รักอุดมคติไมเห็นแกวัตถุ …. …. …. …. …. …. ๔๑๓ ขอ ๑๓ ไมดอื้ ไมบิดพริ้ว …. …. …. …. …. …. …. ๔๑๔ ขอ ๑๔ เสียชีพไมเสียสัตย …. …. …. …. …. …. …. ๔๑๔

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org หมวดที่ ๗ วิริยะ ขอ ๑ ความพากเพียร …. …. …. …. … ๔๑๕ ขอ ๒ ความบึกบึน หรือตั้งมั่น ขอ ๓ กลาหาญ …. …. …. ๔๑๖ ขอ ๔ ตอสูท ําสงคราม …. …. …. …. …. …. …. ๔๑๖ ขอ ๕ มานะที่จะไมยอมแพ ขอ ๖ พยายาม …. …. …. …. ๔๑๗ ขอ ๗ ไมถอย ขอ ๘ ไมหยุด ขอ ๙ ไมทอแท …. …. ๔๑๘ ขอ ๑๐ รุดหนาเรื่อย ขอ ๑๑ มีอิทธิบาท ๔ ประการ

หมวดที่ ๘ วุฑฒิหรือพัฒนา ขอ ๑ ไมเปนคนรกโลก ๔๑๙ ขอ ๒ ไปหรืออยูในประเทศที่สมควร …. …. …. …. …. ขอ ๓ คบสัตบุรุษ ขอ ๔ ฟงจากสัตบุรุษ ขอ ๕ ทําใจใหเยบคาย ๔๒๐ ขอ ๖ ปฏิบัติธรรมใหสมควรแกธรรม ขอ ๗ ตั้งตนไวชอบ ขอ ๘ สะสมความดี …. …. …. …. ๔๒๑ ขอ ๙ มีความดีที่ทําไวแตปางกอน

www.buddhadassa.in.th


[๑๖] ขอ ๑๐ เวนอบายมุข, ขอ ๑๑ มีศีลมีสัตย …. …. …. …. ๔๒๒ ขอ ๑๒ ประหยัด ขอ ๑๓ คิดพึ่งตัว ขอ ๑๔ สะสมสิ่งที่ควรสะสม …. …. …. …. ๔๒๓ ขอ ๑๕ รูจักแลกเอาสิ่งที่ดีกวา ขอ ๑๖ เลี้ยงงาย ขอ ๑๗ วองไวทั้งกายใจ …. …. …. …. ๔๒๔ ขอ ๑๘ มีเพื่อนดี ขอ ๑๙ สันโดษ ขอ ๒๐ พากเพียร ขอ ๒๑ มีความเพียรมั่นคง …. …. …. ๔๒๕ ขอ ๒๒ ปองกันอารักขาสิ่งที่ทําใหดี ขอ ๒๓ จุดไฟบานรับไฟปา …. …. …. …. …. …. ๔๒๖ ขอ ๒๔ ตองมีการพัฒนาจิตใหเจริญ …. …. …. …. …. ๔๒๖ เรื่องเบ็ดเตล็ดที่ควรทราบในการฝกตน ขอ ๒๕ มีเสนห ขอ ๒๖ นาเอ็นดู …. …. …. …. ๔๒๗ ขอ ๒๗ ทําตนนาไวใจ ขอ ๒๘ นานับถือ ขอ ๒๙ นาเกรงขาม ขอ ๓๐ สามัคคี …. …. …. …. ๔๒๘ ขอ ๓๑ การสงเคราะหคือการผูกพันที่ตองทํา ขอ ๓๒ ตองมีความถูกตองทั้งสวนกายและวิญญาณ …. …. …. ๔๒๙ ขอ ๓๓ มีอนุสสติในหนาที่ของมนุษย …. …. …. …. …. ๔๓๐ สรุปศีลธรรมสําหรับยุวชนมีมากแตยกมาพูดเพียง ๓๓ ขอ …. …. ๔๓๑ อยาลืมวาเราจะใชศีลธรรมอยางแบบของพระอริยเจา …. …. …. ๔๓๒

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๑๓. สิ่งกระตุน และอานิสงสของศีลธรรม จะแนะสิ่งดลใจใหเกิดกําลังในการปฏิบัติศีลธรรม …. …. …. ๔๓๕ ใหทบทวนเรื่องที่กลาวมาแลว ๑๒ ครัง้ …. …. …. …. …. ๔๓๖

www.buddhadassa.in.th


[๑๗] ปญหาสภาพไรศีลธรรมของมนุษย …. …. …. …. ๔๓๗ - ๔๔๑ เดี๋ยวนี้ศีลธรรมอยูในรูปที่เปลี่ยนแปลงไปตามผูมีอํานาจ …. ๔๔๒ - ๔๔๓ มนุษยมีศัตรูหมายเลข ๑ คือความหลงวัตถุนิยม …. …. ๔๔๔ - ๔๔๕ การแกปญหาทางศีลธรรม ขอแรก เด็กไมรูจักคําวาบาป …. …. ๔๔๖ ขอสอง ไปสอนใหเด็ก ๆ หลงประชาธิปไตย ที่มีไมความหมายอันถูกตอง ๔๔๗ ขอสาม สิทธิของมนุษยชนไมประกอบดวยศีลธรรม …. …. ๔๕๐ - ๔๕๒ ทําอยางไรจึงจะเกิดความรักที่จะมีศีลธรรม …. …. …. ๔๕๓ - ๔๕๖ เปรียบเทียบหลักอธิปไตย ๓ อยาง …. …. …. …. …. ๔๕๖ สมัครใจอธิปไตยขอไหนก็ทําขอนั้นใหดีที่สุด …. …. …. …. ๔๕๙ ศีลธรรมนี้แยกเปนอยางของปุถุชนกับของพระอริยเจา …. ๔๕๙ - ๔๖๓ ถาเห็นอานิสงสของศีลธรรมแลวจะทําใหอยากประพฤติธรรม …. …. ๔๖๔ ศีลธรรมตองไมเล็งเพียงทางวัตถุ ตองเล็งทางจิตใจ …. …. …. ๔๖๔ ศีลธรรมตามหลักพุทธศาสนาเปนสังคมนิยม ไมเห็นแกตัว …. ๔๗๐ - ๔๗๔

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรม -๑๖ กรกฎาคม ๒๕๑๗

ชื่อและความหมาย เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวาศีลธรรม

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทานสาธาธุชน ผูมีความสนใจในธรรม ทั้งหลาย,

ก า ร บ ร ร ย า ย ป ร ะ จํ า วั น เ ส า ร ใ น ภ า ค อ า ส า ฬ ห บู ช า ต อ ไปนี ้ จะได ก ล า วโดยหั ว ข อ ใหญ ว  า อริ ย ศี ล ธรรม. คํ า ว า "อริ ย ศี ล ธรรม" กิ น ความกว า งพอที่ จ ะแก ป  ญ หาต า ง ๆ ของมนุ ษ ย ไ ด , และ สู ง ขึ ้ น ไป สู ง ขึ ้ น ไป จนถึ ง ระ ดั บ สู ง สุ ด ไ ด . แต สํ า หรั บ ใ น วั น นี้ จะได ก ล า วโดยหั ว ข อ แบ ง ย อ ยออกไปว า ชื่ อ และความหมายเกี่ ย ว กั บ สิ ่ ง ที ่ เ รี ย ก ว า ศี ล ธ ร ร ม ซึ ่ ง นั บ ว า เ ป น สิ ่ ง ที ่ ต  อ ง ทํ า ค ว า ม เ ข า ใ จ กันกอน จึงจะรูเรื่องศีลธรรมดี. ๑

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรม

ก า ร ป ร า ร ถ เ รื ่ อ ง ศี ล ธ ร ร ม นี ้ ก็ เ นื ่ อ ง ม า จ า ก เ ห ตุ ผ ล เฉพาะหน า คื อ อาการที่ โ ลกกํา ลั ง จะวิ น าศในทางจิ ต ใจ; เพราะความ เสื่อมหรือความสิ้นสูญไปของสิ่งที่เรียกวาศีลธรรม. ความวินาศโดยทางจิตใจนั้น จะนากลัวมากหรือนอยกวาความวินาศทางรางกายหรือ วัตถุ ก็เปนสิ่งที่ควร จะคิดดูกอน แตวาทุก ๆ คนไมตองการความวินาศอยางใดเลย; ถาเมื่อตอง แยกกันวาอันไหนนาสนใจกวาเพราะมีความสําคัญมาก ก็เปนสิ่งที่ควรคิดดู. ถา เราจะอยูกัน โดยมีรา งกายเจริญ มีวัต ถุเ จริญ ; แตใ นทาง จิ ต ใจไม มี ศี ล ธรรมแล ว จะอยู กั น อย า งไร. แล ว ที่ ก ลั บ ตรงกั น ข า ม ว า เรา อยูกันดวยจิตใจที่เจริญ คือประกอบอยูดวยศีลธรรมจริง ๆ ; แมจะขาดแคลน ในทางวัตถุ หรือไมคอยสบายไมสะดวกในทางรางกาย ก็คิดดูเถิดวามันจะเปน อยางไร, แลวจะเลือกเอาขางไหน. การศึกษาในโลกสมัยนี้ ทําความเจริญทางรางกายและทางวัตถุ อยา งทว มทน ; แตแ ลว ทางศีล ธรรมหรือ ทางจิต ใจนั้น เสื่อ มลงอยา งไรหรือ เทาไร ก็พอจะมองเห็นกันไดอยู : แลวโลกสมัยนี้ เวลานี้ เปนอยางไรบาง? มีความผาสุกสบายกันอยางไร? มีสังคมชนิดไหน?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org มัน ลํา บากอยูห นอ ยหนึ่ง ในขอ ที่วา พวกเรามีอ ายุเ กิน กวา รอ ยป ไปไมได; ฉะนั้นเราจึงไมอาจจะเปรียบเทียบโลกสมัยนี้ กับโลกเมื่อสองสาม รอยป หรือพันปมาแลวไดดวยตนเอง. ตองอาศัยการศึกษาการคํานวณ วา ในสมั ย พระพุ ท ธเจ า จะต อ งเชื่ อ ได ว า ทางวั ต ถุ นี้ ไ ม เ จริ ญ แน :ไม รู จั ก รถยนต รูจักแตเกวียน, ไมมีรถยนตแลวก็ไมมีเรือบิน ไมมีอะไรตาง ๆ, ไมได

www.buddhadassa.in.th


ชื่อและความหมาย เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวาศีลธรรม

เปนอยูอยางที่เดี๋ยวนี้เขาเปนอยูกัน; แตก็มีความสูงสุดในทางศีลธรรม ตาม แบบของศีลธรรม แลวเขาก็อยูกันอยางไร. เดี๋ ย วนี้ มั น สู ง สุ ด ในทางวั ต ถุ ไปเป น ทาสของวั ต ถุ ตามั น ก็ บอด ไม ส นใจในศี ล ธรรม ศี ล ธรรมก็ เ สื่ อ มไป ๆ ตามลํา ดั บ . ใน ประเทศไทยเรานี้ ศีลธรรมก็เสื่อมไป ๆ ตั้ง ๒๐ - ๓๐ ปมาแลว; มีผลปรากฏ ชั ด ยิ่ ง ขึ้ น ทุ ก ที ; โดยเฉพาะป จ จุ บั น นี้ พู ด กั น ไม รู เ รื่ อ ง ไม มี ค วามสามั ค คี ไมมีความกตัญูกตเวที ไมมีความเคารพคนเฒาคนแก ตาง ๆ เหลานี้. ถาไมอาจจะเปรียบเทียบกับเมื่อหลายรอยปมาแลวได ก็เปรียบ เทีย บกัน ดูวา เมื่อ สัก ๓๐ ปม านี้ ความเดือ ดรอ นระส่ํา ระสายมัน มีม าก นอ ยเทา ไหร? ตา งกัน อยา งไร? คนเห็น แกตัว มากหรือ นอ ยกวา กัน อยา งไร? นี้ ก็ พ อจะมองเห็ น ได . ความปลอดภั ย ในร า งกาย ชี วิ ต ทรั พ ย ส มบั ติ นี้ มีมากนอยเทาไร? นี้ก็พอจะมองเห็นได. แมเรื่องเมื่อหลายรอยปมาแลวก็พอจะ คํานวณได โดยการศึกษาจากประวัติศาสตรหรืออะไรตาง ๆ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org แมแ ตจ ะเทีย บเคีย งดูดว ยเหตุผ ลงา ย ๆ นี้ก็ยัง จะมองเห็น ไดวา เมื่ออาตมาเด็ก ๆ พอแมเขาสอนคาถา; เมื่อจะปลูกตนไมมีผล ก็ตองวาคาถาวา : "นกกิ น เป น บุ ญ คนกิ น เป น ทาน, นกกิ น เป น บุ ญ คนกิ น เป น ทาน", ว า คาถา ๓ ครั้งเสียกอนจึงจะเอาหนอกลวย หรือหนอสับปะรด ใสลงไปในหลุม แลวกลบดิน นี่แสดงความหมายอยางใดบาง? เขาเผื่อไวเสร็จแลว วาถาผล ไมนี้เปนผลขึ้นมา สัตวกินก็ได : เราก็ไดบุญ. คนมาเก็บเอาไปกิน ไมบอกก็ได ;

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรม

เรียกวาเราใหทานคือทําไวเสร็จแลว. ฉะนั้น จึงไมมีปญหา เมื่อมีสัตวมากิน หรือมีคนมาเก็บไปกิน แตเ ดี๋ย วนี้มัน ไมใ ชอ ยา งนั้น ไมมีใ ครคิด อยา งนั้น ถา นกมากิน ก็เ อาปน มา, ถา คนมากิน ก็เ อาปน มา หรือ วา จับ ไปสง ตํา รวจ; แสดงความ แตกตางกันมากในทางจิตใจ. สมัยโนนเขาทําอะไร เขาเผื่อผูอื่นไวเสร็จแลว, เผื่อสัตวอื่นไวเสร็จแลว. เดี๋ยวนี้ไมมีใครคิดวา จะเผื่อผูอื่นหรือสัตวอื่น ; เพราะความเห็น แกตัว . นี่ใ นระยะไมกี่ป มัน ยัง ตา งกัน อยา งนี้; แลว คํา นวณ ดู ด ว ยเหตุ ผ ล มั น ก็ ไ ม มี ท างจะผิ ด ; เพราะยิ่ ง ไกลออกไป มั น ก็ ยิ่ ง มี ร ะเบี ย บ ประเพณีขนบธรรมเนียม หรือศีลธรรมที่ทําจิตใจใหสะอาด สวาง สงบ มาก. นี้ถาดูผลของมันก็คือวา ในสมัยที่แลวมา มันไมยุงยาก ลําบาก เรื่องการเบียดเบียนมากเหมือนอยางเดี๋ยวนี้; เขานอนตามใตถุนเรือนก็ได นอน ที่ไหนก็ไดมันปลอดภัย; เดี๋ยวนี้นอนในหองแนนหนาก็ยังไมปลอดภัย. กลาว ได ว า เมื่ อ ก า วหน า ในทางวั ต ถุ มั น ก็ เ กิ ด ความเห็ น แก ตั ว อย า งหลั บ หู หลับตา ก็เลยมีผลเกิดขึ้นมาอยางตรงกันขามจากการที่ไมเห็นแกตัว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี้เปนตัวอยางที่แสดงใหเห็นวา การมีศีลธรรม กับการเจริญ ทางรางกาย ทางเนื้อหนังนี้ ไมใชสิ่งเดียวกัน สามารถจะแยกจากกันได, หรือ สามารถจะทําใหมีพรอม ๆ กันก็ได. ตองระวังในขอที่วา ถามีความหลงใหล ในทางวัต ถุแ ลว ศีล ธรรมมัน ก็คอ ย ๆ หายไปเอง; ถา จะเจริญ กัน ในทาง วัตถุแลวก็จะตองระวังใหมากสักหนอย อยาใหถึงกับทําลายเรื่องทางนามธรรม หรือทางจิตใจ .… .… .... .…

www.buddhadassa.in.th


ชื่อและความหมาย เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวาศีลธรรม

ที นี ้ โ ล ก กํ า ลั ง ก ร ะ โ ด ด พ ร ว ด พ ร า ด ไ ป ใ น ท า ง วั ต ถุ ก็ เ กิ ด ค ว า ม เ สื ่ อ ม ท า ง ศี ล ธ ร ร ม ช นิ ด ที ่ บ า ง แ ห ง จ ะ เ รี ย ก ว า ค ว า ม สิ ้ น สูญแหงศีลธรรมไดมีขึ้นแลว ก็เปนได อยางนี้. นี ่เ ราจึง เอามาปรารถพูด กัน ในฐานะที ่ว า มัน เปน เรื ่อ งเปน เรื ่ อ งตายของโลก ที เ ดี ย ว; ไม ใ ช เ รื ่ อ งเล็ ก น อ ย. ยิ ่ ง ดู ไ ปก็ จ ะยิ ่ ง เห็ น ว า วิกฤติการณทุกอยางนั้น มาจากความขาดศีลธรรม. วิ ก ฤติ ก ารณ คื อ เหตุ ห รื อ ปรากฏการณ หรื อ การเป น อยู  ที่ มัน ไมส งบสุข มีค วามยุ ง เหยิง มีค วามระส่ํ า ระสาย นานาชนิด . เดี ๋ย วนี ้ม ัน ก็ มองเห็นไดงายวา ในโลกนี้มีวิกฤติการณอยางไร. เชน วิกฤติการณอ ยางใหญ ๆ เช น สงคราม เป น ต น ; แล ว วิ ก ฤติ ก ารณ ย อ ย ๆ ลงมา หรื อ ที่ เ ป น ผลมาจาก วิก ฤติก ารณใ หญ ๆ ก็ม ีอ ยู ทั ่ว ไป. แมที ่ส ุด แตเ รื ่อ งของแพง เรื ่อ งน้ํ า มัน ไมมี หรืออะไรเหลานี้มันก็มาจากวิกฤติการณใหญ ๆ ทีแรก มีผลกระทอนออกมา; แลว วิ ก ฤติ ก ารณ ใ หญ ๆ นั ้ น ก็ ม าจากการที ่ ม นุ ษ ย เ ห็ น แก ต ั ว อย า งไม มี ศีลธรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ที นี ้ จ ึ ง เ กิ ด มี ข  อ แ ก ต ั ว ข อ ง ค น เ ห ล า นั ้ น ว า นั ่ น แ ห ล ะ คื อ ศีล ธรรม; อยา งวา การฆา ผู อื ่น เสีย ในเมื ่อ เขาไมทํ า อะไร ตามที ่เ ราเห็น วา ควรจะทํ า เขาก็เ รีย กวา นี ้ค ือ ศีล ธรรม. ฉะนั ้น จึง มีผู ที ่ตั ้ง ตัว เปน ผู ป ราบ ปรามผู  อื ่ น ในนามของศี ล ธรรม; เขาจะพู ด ว า เขาต อ งการจะจั ด โลกให มีความสงบสุข เมื่อใครไมเอาดวย เขาก็ตองฆาเสีย เขาก็เรียกวา ศีลธรรม.

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรม

นี้ เ มื่ อ มี ห ลายพวก ที่ เ ข ม แข็ ง พอที่ จ ะปะทะกั น ได ต อ ต า น กันได มันก็ยุงไปหมดทั้งโลก จนไดวิกฤติการณอันใหญขึ้นมา, จะมีวิกฤติการณ ยอม ๆ นอย ๆ ตามหลังมา; จนกระทั่งวา คนที่ไมไดไปมีสวนแหงตนเหตุนั้น โดยตรง มันก็ยังพลอยเดือดรอน. อย า งว า เรา อยู ใ นป า ในดงนี้ เมื่ อ เขามี อ ะไรยุ ง ยากกั น ขึ้ น มันก็ พลอยเดือดรอน. เขามารบกันบนฟา ก็มีของกระเด็นตกลงมาถูกเรา อยางนี้; จะเปนวิกฤติการณทางโรคภัยไขเจ็บ ทางเศรษฐกิจ หรือทางอะไร ตาง ๆ ที่ตามมาเปนทาง นับดวยรอยดวยพันชนิด ยุงยากเกิดขึ้นในโลก จน เหลือที่จะควบคุมได. นี้ก็เลยกลายเปนเรื่องที่นากลัว แมจะมีผูคุมครองดูแล นับตั้ง แต : ผูใหญบาน กํานัน นายอําเภอ ผูวาราชการจังหวัด; นี่ดูยังไมมอง เห็นหนทางที่วาจะควบคุมได; มันมีแตยิ่งจะควบคุมไมไดยิ่งขึ้นทุกที. สมัย ก อ น เขาก็ ไ ม ไ ด มี ผู ค วบคุ ม ที่ มี ส ติ ป ญ ญาอบรมมาดี , ไม มี เ ครื่ อ งไม เครื่องมือที่ดี เหมือ นอย างสมัย นี้ ; แต เขาก็ ควบคุมให อยูเปนผาสุ กได เพราะวามีศีลธรรมอยูในสันดาน โดยกําเนิดไมรูตัวบาง, หรือวามันยังมี อะไร ๆ ที่ไมมายั่วใหคนทะลุทําลายศีลธรรมมากเหมือนเดี๋ยวนี้. คนก็มีศีลธรรม อยู โ ดยอั ต โนมั ติ บ า ง; แล ว อิ ท ธิ พ ลของศาสนา ยั ง ครอบงํา จิ ต ของคน ทั่วไปอยู.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เราจะได ยิ น คํา ว า "กลั ว บาป ๆ" อย า งนี้ ม ากที่ สุ ด ใน สมัยที่แลวมา; เดี๋ยวก็ไดยินคนนั้นพูด คนนี้พูด. อาตมาสังเกตวาเมื่อเด็ก ๆ

www.buddhadassa.in.th


ชื่อและความหมาย เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวาศีลธรรม

รูสึก อยา งนั้น ; พอมาถึง สมัย นี้ไ มคอ ยไดยิน หลายวัน หลายคืน ก็ไ มเ คย ไดยิน ใครพูด คํา วา "กลัว บาป ๆ" อะไรกัน ; ก็คงจะมีก ระมัง แตอ าตมาไม ได ยิ น . นี้ มั น เป น เครื่ อ งวั ด อย า งนี้ , แล ว คนมั น ต า งกั น อย า งไร. ฉะนั้ น การปกครอง จึ ง มี ค วามยาก ความง า ย ความได ผ ล, ความไม ไ ด ผ ล อะไรมันตางกันตาม ๆ กันไป นี่ จึ ง ขอให ส รุ ป ความไว ที ห นึ่ ง ก อ น ว า วิ ก ฤติ ก ารณ ทุ ก อย า ง มาจากความขาดศีล ธรรม. เมื่อ เกิด การขาดศีล ธรรมขึ้น ในกรณีใ ด; ปญ หา ยุงยากก็ยอมเกิดขึ้นในกรณีนั้น แกทุกฝายทีเดียว. รายละเอียดของปญหา ที่เกิด ขึ้นเพราะความขาดศีลธรรมนี้มีมาก จนตองเอาไวกลาวกันโดยละเอียดในการ บรรยายครั้งหลัง ๆ จะดีกวา .... .... .... ….

ที นี ้ ก ็ จ ะ ดู ก ั น ถึ ง คํ า ว า ศี ล ธ ร ร ม ต อ ไ ป ที ่ ม ั น เ กิ ด การเปลี่ยนแปลงขึ้นมา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org แมชื่อจะยังเรียกวา ศีลธรรม; แตเนื้อ ตัวแท ๆ ของมันเปลี่ยน เรื่อ ย ชั่ว ไมกี่ปมัน ก็เ ปลี่ย นอยา งยิ่ง ; แมสัก ๒๐ ปม านี้ คํา วา "ศีล ธรรม" ก็เ ปลี่ย นความหมายอยา งยิ่ง ไมตอ งพูด ถึง ๑๐๐ ปที่แลวมา. แตเมื่อ คนเขา ไมสนใจ แลวก็ไมรูจัก จนถึงกับเอามาเปรียบเทียบกันได เขาก็พูดตาม ๆ กัน ไปวา เรามีศีลธรรม.

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรม

ทีนี้ เพื่อความแนนอน อาตมาจึงขอโอกาสที่จะเติมคําวา อ-ริ-ย เขาไปขางหนาเปน อริยศีลธรรม ซึ่งจะแปลวา ศีลธรรมของพระอริยเจา ก็ได, หรือ ศีลธรรมสําหรับจะเปนพระอริยเจา ก็ได หรือวา ศีลธรรมอันประเสริฐ เฉย ๆ อยางนี้ก็ได. เพราะอริยะนี้แปลวา ประเสริฐ, ประเสริฐคือไปจากขาศึก คือความทุกขทั้งหลาย. ฉะนั้นเมื่อไดยินคําวา "อริยะ" ละก็ขอใหพิจารณาดูใหดี วามัน มีความหมายอยูมากกวาหนึ่งอยาง; อยาไดตีคลุมเอาเพียงวา อริยะ, หรือของพระอริยะ, หรือเพื่อความเปนอริยะ, แตอยางเดียวอยางใดอยางหนึ่ง. ที่ตอ งจํา กัด ความลงไปใหชัด วา "อริย ศีล ธรรม" นี้ ก็ไ มใ ชอ ะไร อื่น; เพราะวาสมัยนี้มันเปลี่ยนแปลงอยางสัปปลับ โดยเฉพาะอยางยิ่งที่เกี่ยวกับ ภาษานั่ น เอง. ภาษาเกิ ด การเปลี่ ย นความหมายอย า งสั บ ปลั บ ; กลั บ ไปกลั บ มา แล ว ก็ เ ร็ ว ด ว ย แล ว ก็ แ รงด ว ย. ฉะนั้ น คํา ว า "ศี ล ธรรม" นี้ ตองขอจํากัดความไวดวยคําวา อริยะ; ตองเปนศีลธรรม ชนิดที่จะทําให เกิดความเปนพระอริยะ, หรือศีลธรรมของพระอริยะ, หรือศีลธรรมที่เปนของ ประเสริฐอยูในตัวเอง. นี่เปนหัวขอใหญ ที่จะบรรยายกันไปจนกวาจะสิ้นกระแส ความในทุกแงทุกมุม. .… .… …. ....

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สํ า ห รั บ ใ น วั น นี ้ ก็ จ ะ ไ ด ก ล า ว โ ด ย หั ว ข อ ย อ ย ว า ชื ่ อ และความหมายของศีลธรรม ดังที่ไดบอกใหทราบแลวขางตน.,

www.buddhadassa.in.th


ชื่อและความหมายเกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวาศีลธรรม

สําหรับคําวา ชื่อ นั้น ก็ควรจะทราบไดเองวา มันเปนของที่ ตั้งขึ้น; ถาไมไดตั้งขึ้นมันก็ไมมีชื่อ. ทีนี้ใครตั้ง? มันก็ตั้งไปตามความประสงค หรือตามเหตุการณที่แวดลอมสําหรับบุคคลนั้น อย า งต น ไม เ ยอะแยะที่ นี้ เดี๋ ย วนี้ มั น มี ชื่ อ ทั้ ง นั้ น แต ต น ไม มันก็ไมไดตั้งชื่อตัวเอง; มันไมไดมีชื่ออะไรของมันเพื่อตัวมัน. คนไปตั้งให เพื่อประโยชนอยางใดอยางหนึ่งของคนทั้งนั้น. นี่ก็ชื่อ นี้เปนของที่เพิ่มมี แลวก็ ตองมีใครตั้งให; นี้มันเปนของใหม ๆ แลวไปยึดเอาชื่อ หรือยึดเอา แตชื่อมันก็ไมได ตองดูถึงความหมายดวย. ชื่ อ นั้ น ยั ง ไม สํา เร็ จ ประโยชน ; แต ค วามหมายนั้ น แหละ จะสําเร็จประโยชน; หรือเกิดการสับปลับกันขึ้นมา ระหวางชื่อกับความหมายก็ได. บางทีก็เปนเรื่องที่นาหวัว : บางคนชื่อนายสุข แตไมมีขาวจะกินก็มี เที่ยวขอทาน อยูก็มี, ชื่อนายรวยเที่ยวขอทานอยูก็มี. ฉะนั้นอยาไปเอาอะไรกับชื่อ ที่มันไมมี ความหมายสมกัน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถึ ง แม คํา ว า "ศี ล ธรรม" ก็ เ หมื อ นกั น เดี๋ ย วนี้ เ ปลี่ ย นชื่ อ และเปลี่ยนความหมายดวย. เราไปดูกันที่เนื้อตัวแท ๆ ของสิ่งที่ถูกสมมติ เรียกวาศีลธรรมกันดีกวา วามันคืออะไรกันแน? ถึงกับจะตั้งปญหาขึ้นมาวา มนุษยนี้มีศีลธรรมไหน? คนปาแรกจะเปนมนุษยมีศีลธรรมไหม? ที่รองลงไป เชน ลิง คาง บาง ชะนี นี้มีศีลธรรมไหม? สัตวทั้งหลายมีศีลธรรมไหม? ตนไมมีศีลธรรมไหม? และกอนหินมีศีลธรรมไหม? ถาศึกษารูความหมายของ

www.buddhadassa.in.th


๑๐

อริยศีลธรรม

คําวาศีลธรรม; บางทีจะเกิดปญหาเถียงกันยุงวุนวายไปหมด ในขอที่วา แมแต กอนหินนี่มันมีศีลธรรมหรือไมม?ี .… .… .... .… เพื่ อ เป น ทางที่ จ ะพิ จ ารณากั น ดู ; เราก็ จ ะดู กั น ในแง ที่ ว า ศี ล ธรรม โดยทั่ ว ไปนี้ มี ขึ้ น มาได อ ย า งไร? เดี๋ ย วนี้ เ ราเอากั น แต ชื่อกอน เพราะเรื่องความหมายนี้มันยังยาก จะตองพิจารณากันโดยละเอียดอีก สวนหนึ่งตางหาก. เมื่อพูดถึงศีลธรรม อยากจะใหสังเกต ถึงกับอาจจะแบงแยก ออกไปไดเปน ๒ ฝาย คือศีลธรรมโดยที่มนุษยแตงตั้งขึ้น, แลวก็ ศีลธรรม โดยที่ธรรมชาติมันแวดลอมใหเปนไปเอง โดยที่มนุษยไมไดรูประสีประสา ไมไดรูไมไดชี้ แลวก็ไมไดบัญญัติแตงตั้งอะไร.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี้ ดูขอที่วามนุษยแตงตั้งขึ้น นั่นแหละ มันก็ยังมีปญหา : มนุษยเดี๋ยวนี้แตงตั้งบัญญัติศีลธรรมอยางไร? และมนุษยที่ถอยหลังเขาไปบัญญัติ อยางไร? ครั้งพระพุทธเจาเขาบัญญัติกันอยางไร? กอนนั้นไปตั้งหมื่นปแสนป เขาบัญญัติกันอยางไร? แมแตมนุษยดวยกันบัญญัติแตงตั้ง มันก็เหมือนกันไมได; มันก็แลวแตภูมิ สติปญญาของมนุษย, กระทั่งมนุษยที่ครึ่งคนครึ่งสัตว นี้มันก็มี การบัญญัติหรือบทบังคับกันอยางอื่น, จนกระทั่งไมถือวาเปนมนุษย แลวก็ไมมี การบัญญัติโดยมนุษย มันก็เหลืออยูโดยธรรมชาติ. ถาไมยอมรับวามีศีลธรรม

www.buddhadassa.in.th


ชื่อและความหมายเกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวาศีลธรรม

๑๑

โดยธรรมชาติ มันก็ไดเหมือนกัน ก็หมดปญหาไป. แตเดี๋ยวนี้อยากจะใหมอง ใหดีวา ที่มนุษยบัญญัตินี้ ก็เพราะธรรมาชาติแวดลอม และบังคับ. ศี ล ธรรมนี้ เ กิ ด ขึ้ น มาด ว ยอะไร? ควรจะมองดู ว า มั น ตองเกิดขึ้นมา เพราะสภาพไมปรกติ มีความไมปรกติ แลวก็จะเปนเหตุใหเกิด การเคลื่ อ นไหวเพื่ อ ลงไปอยู ใ นสภาพที่ ป รกติ . มนุ ษ ย บั ญ ญั ติ ศี ล ธรรม ตาง ๆ อยางเฉลียวฉลาดสมัยนี้ ก็เพราะมีความไมปรกติในสังคมเกิดขึ้น จึงได บัญญัติ. นี่ถาวาไมมีสังคมขนาดนี้ สังคมเล็ก ๆ สังคมปาเถื่อน มันก็ตองมีมลู มา อยางเดียวกัน คือไมมีความปรกติ มันจึงตองดิ้นรนตอสู แลวก็บอกกลาวกัน ขึ้นมา; ถาไมเชื่อก็ตองบังคับกัน ใหมีศีลธรรม. ทีนี้ดูลงไปอีกวา ถาเปนสัตวเดรัจฉานจะทําอยางไร? มันก็มี หลั ก เกณฑ เ ดี ย วกั น , เมื่ อ มี อ ะไรกระทบกระเทื อ นต อ ความผาสุ ก ก็ ต อ ง ดิ้นรนเพื่อแกไข หลบหลีก, หรือไมทําอยางนั้น; เพราะมันตองการความ ปรกติ. เราจะตองคิดดูวา ทําไมสัตวมันจึงไมกัดกันอยูตลอดเวลา? ทําไมมัน ไมอยากจะกัดกัน มันอยากจะหลบหลีกเลี่ยงกันไปเสีย ตางคนตางไปอยู โดย ไมตองกัดกัน? ทําไมจึงไมยกพวกมากัดกัน? เพราะวาการกัดกันนั้น ไมใช สภาพปรกติ. วัว ควาย ชาง มา ในปา เสือสาง อะไรก็ตาม มันหลีกการเผชิญ หน า กั น ; ไปอยู กั น อย า งสงบ ต า งคนต า งอยู . นี่ แ หละเป น รากเหง า อั น ลึกซึ้งของสิ่งที่เรียกวา ศีลธรรม เพราะจะหลีกเลี่ยงความไมปรกติ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี้ก็น าหวัว ตรงที่ ว า คําว า สี-ล นี่ก็แปลว า ปรกติ , คํา วา ธรรม ก็แปลวา การทรงตัวอยูอยางปรกติ จึงจะเรียกวาธรรมแท; ฉะนั้น

www.buddhadassa.in.th


๑๒

อริยศีลธรรม

สัตวเดรัจฉาน ที่มันมีความรูสึก ที่จะหลีกเลี่ยงความวุนวาย นี้ก็แสดงวา มันมีความ รูสึกแสวงหาความปรกติ ก็เปนศีลธรรมโดยที่ไมตองบัญญัติ, ศีลธรรมโดย ธรรมชาติ ไมใชมนุษยบัญญัติเลย. ศี ล ธรรมตามธรรมชาติ อ ย า งนี้ ก็ ยั ง ติ ด อยู ใ นมนุ ษ ย ด ว ย; มีมนุษยคนไหนบางที่พอเห็นหนาแลว ก็อยากจะเขาไปกัดเขา? นี่มันก็เหมือนกัน กับสัตวที่มันไปเห็นหนากันแลวก็ไมอยากจะกัด; เวนจากความจําเปนเทานั้น. ถามันเปนศัตรู มันก็ตองกัดตองตอสู; ถามันเปนอาหาร มันก็ตองกัดตองกิน เพราะความหิวบังคับ เพราะความกลัวบังคับ วามันจะทําอันตรายเรา. ถาเมื่อ ไมหิวแลวมันก็ไมตองกัด, หรือไมจนตรอกแลวก็ไมตองกัด. ฉะนั้น จะเรียกวา สัญชาตญาณก็ได; แตแลวก็เปนไปเองตามธรรมชาติ ไมไดอบรมสั่งสอน; ถาจะเรียกวาอบรมสั่งสอนก็โดยธรรมชาติ. ดูใหดีวา นี้คือรากเหงาอันแทจริง ของสิ่งที่เรียกวาศีลธรรม. เดี๋ยวจะไดพิจารณากันใหดีกวานี้

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org จะสรุ ป ความแต เ พี ย งว า "อยากจะอยู โ ดยปรกติ ตามปรกติ จะเห็ น ได ไม สู ญ เสี ย ความเป น ปรกติ " นี้ เ ป น รากเหง า ของศี ล ธรรม; ทันทีวา ธรรมชาติเปนไดเองอยางนี้มากที่สุด. แมแตเสือในปา มันก็ไมอยากจะ กั ด กั น ; แล ว ก็ ไ ม อ ยากจะมาปะทะกั บ คนให มั น เกิ ด เรื่ อ ง แต ว า คนสมั ย นี้ นี่แหละมันอยากจะกัดกันตลอดเวลา; ถึงยังไมกัดกันโดยตรง ก็ยังอยากจะกัดกัน อยากจะเบียดเบียน อยากจะเอาเปรียบ อยากจะอะไรตาง ๆ. ความเจริญกาวหนา มีแตในทางที่จะเบียดเบียนกัน โดยทางวัตถุ โดยทางรางกาย โดยทางจิตใจ โดยทาง สติ ป ญ ญา; เพราะฉะนั้ น จะเห็ น ได ว า คนเราสู ญ เสี ย ความเป น ปรกติ สุ ข

www.buddhadassa.in.th


ชื่อและความหมาย เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวาศีลธรรม

๑๓

ยิ่ง กวา สัต ว. สัต วยัง อยูใ นสภาพที่เ ปน ปรกติต ามธรรมชาติม ากกวา ; สว น คนนี้ไกลออกไป, ไกลออกไป. ทีนี ้ เมื ่อ ปญ ญาของเขาเดิน ไปผิด ทาง มัน ก็ยิ ่ง เปน มากขึ ้น ; ฉะนั้นคนจึงไมมีศีลธรรมตามธรรมชาติ, หรือความปรกติสุขโดยบริสุทธิ์แทจริง. เขาก็เลยวาเอาเอง; ก็บัญญัติศีลธรรมอยางนั้นอยางนี้ ที่ถูกก็มี เพื่อความสงบสุข ก็มี. แตเดี๋ยวนี้คนมันพายแพแกวัตถุ แกกิเลสแลว ก็เลยบัญญัติศีลธรรมใหม. นี่เ รีย กวา มนุษ ยมีก ารบัญ ญัติศีล ธรรมอยูเ รื่อ ย แลว ก็แ กไ ขไปตามยุค ตาม สมัย .… .… .... .… ที นี้ ก็ น า หวั ว ขอให สั ง เกตดู ใ ห ดี ว า จะมี ค วามน า หวั ว เกิดขึ้น คือขอที่วามีคําพูดเกิดขึ้นมาวา "ศีลธรรมอันดีของประชาชน".

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี ่ ก ็ น  า ห วั ว เ ป น ข อ แ ร ก คื อ ว า ถ า อ ย า ง นั ้ น ค น ที ่ ไ ม ใ ช ประชาชนก็ไมตองเกี่ยว เพราะวาเขาจะพูดวา "ศีลธรรมอันดีของประชาชน;" ผูที่มิใ ชป ระชาชนก็ไ มตอ งเกี่ย ว, สูง กวา ประชาชนก็ไ มตอ งเกี่ย ว, ต่ํา กวา ประชาชนก็ไ มตอ งเกี่ย ว แลว ศีล ธรรมอัน ดีข องประชาชนนี้ชว ยอะไรได บาง? โดยเฉพาะเวลานี้ ตามบทบัญญัตินั้น ๆ ประชาชนยิ่งไมบังคับตัวมากขึ้น ยิ่งตกเปนทาสของวัตถุมากขึ้น. ศีลธรรมของประชาชนก็เลยกวัดแกวง ไมรูวา จะเอากันอยางไร แกไขกันเรื่อยไป; แตคําพูดนี้นาฟง นาเลื่อมใส วา "ศีลธรรม อันดีของประชาชน" แตประชาชนผูเปนทาสของกิเลส ของวัตถุ ก็พาสังคมนี้ ไปตามนั้น.

www.buddhadassa.in.th


๑๔

อริยศีลธรรม

อาตมาเลยอยากจะแยกออกมาเสีย แขนงหนึ ่ง วา "ศีล ธรรมอัน ดี ของอริย สาวก" ใครจะเอาหรือ ไมก ็ต ามใจ. ใครจะเอาศีล ธรรมอัน ดีข อง ประชาชนก็ไ ด. อาตมาคิด วา ศีล ธรรมอัน ดีข องอริย สาวก นั่น แหละ จะดีก วา คื อ มั น แน น อนกว า ; เพราะว า อริ ย สาวกนี้ จ ะเห็ น แก ตั ว ไม ไ ด จ ะเห็ น แก ตั ว อย า ง หยาบ ๆ ไมได, จะสรางความสามารถใหแกตัว แลวไปเอาเปรียบคนอื่นอยางนี้ อริยสาวกทําไมได แตวาประชาชนนี้ทําอยูทุกเมื่อ แลวก็ยังพยายามจะทําอยางนั้น ใหยิ ่ง ขึ ้น ไประวัง ใหด ี “ศีล ธรรมอัน ดีข องประชาชน” นี ้ร ะวัง ใหด ี; มัน จะ กัดเอาก็ได .…

.…

....

.…

ที นี ้ ก ็ ล อ ง พิ จ า ร ณ า ดู ก ั น ถึ ง ข อ ที ่ ว  า " ศี ล ธ ร ร ม ข อ ง ประชาชน" กันบาง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ในประเด็น นี ้ม ัน มีป ญ หาอยู  คือ คํ า พูด ที ่ส ับ ปลับ อยา งที ่ไ ด กลาวมาแลว วา คําพูดเปลี่ยนได ดิ้นได : เปลี่ยนทั้งคํา เปลี่ยนทั้งชี่อ เปลี่ยน ทั ้ง ความหมาย เปลี ่ย นกัน ยุ ง ไปหมดได. บางทีเ ราก็เ รีย กวา อารยธรรม ก็ม ี, บางที ก็ เ รี ย กว า วั ฒ นธรรม ก็ มี , มั น คล า ย ๆ กั บ ว า ตามยุ ค ตามสมั ย ตามสิ่ ง แวดลอม; แตแลวความหมายก็ยังคลาย ๆ กันอยู. ชื่อนี้เพราะดวยกันทั้งนั้น เชน อารยธรรม-ธรรมอั น เป น อริ ย ะ, เป น อารยะ; แต ม ั น ก็ น  า สงสารที ่ ว  า คํ า นี้ ไปถายทอดมาจาก หรือวาคิดขึ้น เพื่อเปนคําแปลของคําฝรั่งที่เรียกวา civilization นั่ น มาเป น อารยธรรม มั น ก็ เ ป น แขนงหนึ่ ง ของศี ล ธรรม แต ไ ม ถึ ง ขนาดเต็ ม รู ป .

www.buddhadassa.in.th


ชื่อและความหมายเกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวาศีลธรรม

๑๕

ที่วา อารยธรรม นี้ระวังใหดี สับปลับโดยความหมาย ; อารยะหรื อ อริ ย ะ นั้ น ประเสริ ฐ ที่ สุ ด อารยธรรม; แต พ อแล ว พอเอาไปปน เขากับคําวา civilization เขามา มันก็เปลี่ยนความหมายเปนอะไรก็ได. อยาง อารยธรรมเปลือย ของพวกฝรั่งเดี๋ยวนี้, หรืออารยธรรม กามารมณไมมีขอบเขต free sex อะไรก็แลวแตจะเรียกกันนี่; มันเปนอารยธรรม ที่เขายอมรับกันในสมัยนี้ ในหมูคนพวกหนึ่ง ซึ่งเขาถือวา เขาศิวิไลซ เปน อารยธรรมใหม ๆ หยก ๆ ที่เกิดนิยมกันขึ้นมา จะไปเปรียบกับคนปาสมัยไม นุงผานั้นไมได; นั่นเขายังอยูในระดับหนึ่ง ไมมีความคิดอยางนี้. เดี๋ ย วนี้ มั น แกล ง ไม นุ ง ผ า เพราะเจตนาอั น เลวทราม อยางใดอยางหนึ่งตางหาก; มันไมใชเหมือนกับคนที่ไมรูจักนุงผา. ฉะนั้น คนปาไมนุงผานั้น เขาไมเรียกวาอารยธรรมก็ถูกแลวแตนี่คนที่มาแกลงไมนุงผา หรือนุงใหนอย จนเกิดปญหานี้ มันเปนอารยธรรมไปไดอยางไร! มันเปน ทาสกิเลส จนถึงกับแกกฎเกณฑทางศีลธรรมกันเสียใหมวา ไมเปนไร, ไม เปนไร, ไมเปนไร. เดี๋ยวนี้ในโลกนี้ ก็มีปญหาขอนี้มาก และกําลังระบาดเขา มาสูประเทศไทย ซึ่งจะมาทําลายอารยธรรมเกา ศีลธรรมเกา ๆ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ที นี้ ดู อี ก สั ก อย า งหนึ่ ง ก็ ว า อารยธรรมกิ น ดี อ ยู ดี แข ง กั บ เทวดา: นี้พวกฝรั่งเปนมากที่สุด จะกินดีอยูดีเพื่อแขงกับเทวดา แลวคนไทย ก็โงไปตามกนฝรั่ง จะเกิดการกินดีอยูดีแขงกับเทวดาเหมือนฝรั่งบาง; ก็ไดเปน ลูกไลของฝรั่ง เพราะเราจะไปหลงอารยธรรม กินดีอยูดี แขงกับเทวดา: แลว ประเทศไทยกําลังเปนอยางไร, มีปญหาอยางไร, เกิดขึ้นใหม ๆ. นี่เพราะ

www.buddhadassa.in.th


๑๖

อริยศีลธรรม

อารยธรรมจะกิ น ดี อ ยู ดี อ ย า งที่ แ ข ง กั บ เทวดาไปเลย; ไม ส มั ค รถื อ อย า งที่ พระพุ ท ธเจ า ท า นสอนว า "จงกิ น อยู แ ต พ อดี " อย า งนี้ มั น ไม ไ ด แ ข ง กั บ เทวดา. " ถ า กิ น อ ยู  แ ต พ อ ดี " จ ะ ไ ป แ ข ง กั บ เ ท ว ด า อ ย า ง ไ ร ไ ด . นี ้เ ขาอยากจะกิน ดีอ ยู ด ี, กิน ดีอ ยู ด ี สูง ขึ ้น ไปจนแขง กับ เทวดา; ในที ่ส ุด มัน ก็ โง ม ากขึ้ น คื อ มั น เปลื อ งมากขึ้ น มั น ยุ ง ยากลํ า บากมากขึ้ น มั น เกิ ด โรคภั ย ไข เ จ็ บ มากขึ ้น แปลก ๆ ออกไป. นี ้จ ะเรีย กวา อารยธรรม หรือ วัฒ นธรรม หรือ ศีล ธรรมไดห รือ ไม? ลองคิด ดู อยา งที ่ส มัย โบราณ ปู  ยา ตา ยาย เขาจะ เรี ย กมั น ว า เสนี ย ดจั ญ ไร อั ป ปรี ย  นั ่ น แหละ ; ส มั ย นี ้ เ ขาเรี ย กมั น ว า ความเจริญ เปนอารยธรรมอะไรตาง ๆ; เพราะวามันไปหลงตามฝรั่ง ที นี ้ อ ี ก ท า ง ห นึ ่ ง อ า ร ย ธ ร ร ม ข ม เ ห ง ผู  อื ่ น , ใ ค ร มี อํ า น า จ ขง เหงผู อื ่น ก็อ า งเหตุผ ลวา เปน ความยุต ิธ รรม เที ่ย วขม เหงผู อื ่น . เมื ่อ พวก ฝรั่งเขาจะไปยึดครองแผนดินที่ยังปาเถื่อนอยู; เขาบอกวาเขาเอาอารยธรรมไปให คนป า ในอาฟริ ก า ที่ ไ หนก็ ต ามใจ พวกฝรั่ ง เขาบอก : เขาเอาอารยธรรมไปให . แล ว ก็ ไ ปทํ า ให ค นเหล า นั้ น เป น ทาส แล ว สิ่ ง ที่ เ ขาเอาไปให นั้ น คื อ ป น สมั ย นั้ น ก็ ปนนี่แหละพอแลว ไมตองมีอะไรมาก ไมตองมีนิวเคลียร ไมตองมีอะไร

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ที ่ ค น ป า ไ ด ร ั บ อ า ร ย ธ ร ร ม ก็ ค ื อ ลู ก ป น ห รื อ อ ะ ไ ร ทํ า น อ ง นั ้ น แ ห ล ะ ; ก็ ไ ด เ ป น ท า ส ข อ ง ฝ รั ่ ง อ ยู  ย ุ ค ห นึ ่ ง ส มั ย ห นึ ่ ง . เ ดี ๋ ย ว นี ้ ใ ค ร ก็ มีป น มีร ะเบิด ปรมาณู นั ่น แหละเปน อารยธรรมของเขา คือ จะไปบีบ คั ้น คน ที่มันไมมี.

www.buddhadassa.in.th


ชื่อและความหมาย เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวาศีลธรรม

๑๗

แล ว ยั ง มี อารยธรรมขุ น ศึ ก ; หมายความว า เก ง ในทางที ่ จ ะ ไปปราบปรามผูอื่น ก็เ รีย กวา อารยธรรมของเขา หรือ วัฒ นธรรมของเขา. เราเรี ย กกัน เดี๋ ยวนี้ ว า "จั ก รวรรดิ นิย ม" บ าง อย า งอื่น บ า ง นี้เ ขาถือ ว า มัน เป น อารยธรรม เปนการถูกตองของเขาตามที่เขาบัญญัติ แลวเพื่อนกันรับไมไหว. นี ่ ม ั น มี ค วามเปลี ่ ย นแปลงสั บ ปลั บ ของภาษา; เขาว า อารยธรรม; แลว ทํ า ไมมัน เปน ลูก ปน , แลว ทํ า ไมมัน เปน อะไร ที ่ร า ยกาจไป กว า นั้ น นี่ ภ าษามั น เปลี่ ย น, หรื อ ว า ความหมายมั น เปลี่ ย นเป น ความสั บ ปลั บ เกี่ยวกับภาษา. แมจนกระทั่งวา เราจะมาดูกันที่สิ่งเปนปจจุบันสด ๆ รอน ๆ เชน ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย แ ห ง ก า ร ป ร ะ ท ว ง นี ่ เ ป น อ า ร ย ธ ร ร ม ห รื อ เ ป ล า ? เป น วั ฒ น ธ ร ร ม ห รื อ เ ป ล า ? เ ป น ศี ล ธ ร ร ม ห รื อ เ ป ล า ? แ ม แ ต แ ข น ง ห นึ ่ ง ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org พวกนั ้ น เขาต อ งยื น ยั น เสี ย งแข็ ง ที เ ดี ย ว นี ่ แ หละศี ล ธรรรม, นี่คือ ความยุติ ธรรม, ไม อยา งนั้ นฉั นไมยกขบวนประทว ง มาเรียกรอ งสิ ทธิ หรื อ อะไรตาง ๆ. ตางฝายตางก็มีขออางอยางนี้กันทั้งนั้น; แลวไมรูวาประชาธิปไตย นั้น หมายความวา อยา งไร, หรือ ความยุติธ รรมที่แ ทจ ริง นั้น คือ อะไร มัน เปน แตเพียงอารยธรรมสําหรับประทวงดวยอางสิทธิ์ในที่สุดก็หาความสงบสุขไมได.

ประเทศที่เ ปน แมบ ทของประชาธิป ไตย เกง ในทางประชาธิป ไตย จนยกยอ งกัน ทั ้ง โลก; ในประเทศนั ้น หาความสงบสุข ไมไ ด; ในประเทศ กระจอกงอกงอย ที่ตองตามกนประเทศใหญ; มันก็ยิ่ง หาความสงบสุขไมได;

www.buddhadassa.in.th


๑๘

อริยศีลธรรม

เพราะว า ประชาธิ ป ไตยนั ้ น ไม ใ ช ศ ี ล ธรรมที ่ แ ท จ ริ ง . ประชาชนเป น ใหญ ; แตเ มื ่อ ประชาชนเปน ทาสของกิเ ลส มัน ก็ค ือ กิเ ลสเปน ใหญ. ประชาชนที ่เ ห็น แก ต ั ว เป น ใหญ มั น ก็ ก ิ เ ลสนั ่ น แหละเป น ใหญ มั น ต อ งจํ า กั ด ให ช ั ด ลงไป วา อะไรเปนใหญ จึงจะสมควร. นี ้เ ราเห็น ชัด อยู ว า แมใ นประชาธิป ไตย ที ่เ ปน ไปอยา งตาม บุ ญ ตามกรรมนี ้ ไ ม ม ี ศ ี ล ธ ร ร ม ไม ม ี อ า ร ย ธ ร ร ม เ ล ย ; แต เ ขาก็ เ รี ย กว า อารยธรรม, ยิ่ ง เจริ ญ ด ว ยอารยธรรม เดี๋ ย วนี้ ยิ่ ง เจริ ญ ด ว ยอารยธรรม ประชาธิป ไตย จนไมรู ว า จะเอากัน อยา งไรกัน แลว ; มีแ ตค วามระส่ํ า ระสาย นี่ เรียกวา ศีลธรรมอันดีของประชาชนอยางหนึ่งดวยเหมือนกัน. .… .… .... .… ที นี ้ ด ู ไ ป อี ก ท า ง ห นึ ่ ง ที ่ เ ร า จ ะ เ รี ย ก กั น ว า วั ฒ น ธ ร ร ม อยู ใ นรูป รา งของวัฒ นธรรม. ดูจ ะไกลจากวัต ถุอ อกไปสัก หนอ ย; เปน เรื ่อ ง ทางจิ ต ใจมากขึ้ น , มั น จะไปเป น เรื่ อ งของศิ ล ปะที่ จ ะโน ม น า วจิ ต ใจให ไ ปในทางดี ทางงาม; แตก็สังเกตดูแลวก็เห็นวา มันเปนความลมเหลวอยางเดียวกันอีก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ย ก ตั ว อ ย า ง เ รื ่ อ ง ศิ ล ป ะ เ ร า จ ะ มี ศ ิ ล ป ะ จู ง ค น ใ ห ไ ป ใ น ท า ง ดี ท า ง ง า ม ; ถ า ใ จ ข อ ง ค น มั น ไ ม ด ี ไ ม ง า ม มั น ก็ ใ ช ศ ิ ล ป ะ จู ง ค น ไ ป ในทางไมด ีไ มง าม; ฉะนั ้น สิ ่ง กอ สรา งหรือ สถาปต ยกรรม หรือ วา ประณีต ศิลปอะไรตาง ๆ ของสมัยหลัง ๆ มา จึงไดเปลี่ยนแปลงไป ในทางที่ทําจิตใจของ คนใหไมงาม.

www.buddhadassa.in.th


ชื่อและความหมาย เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวาศีลธรรม

๑๙

ศิล ปะบางชนิด มัน ก็เ ปน เรื ่อ งบา หลัง ไมม ีป ระโยชนอ ะไร ทํ า ให ยุ ง หั ว ทํ า ให เ สี ย เวลา ต อ งไปเป น ทาสของมั น เสี ย ก อ น; หรื อ มิ ฉ ะนั้ น ต อ งไป ศึกษาเลาเรียนวา นั่นหมายความอยางอยางนั้น นั่นเปนอยางนั้น นั่นเปนอยางนี้ ก็เสีย เวลามากมาย จึง จะดูม ัน ออก วา มัน หมายความวา อยา งไรสิ ่ง นั ้น ก็ง ามอยา ง คนบา ตองมีจิตใจบาเสียกอน จึงจะมองเห็นวานั่นคืองาม, หรือวานั่นมีประโยชน. ตัว อยา งศิล ปะปจ จุบ ัน อยา งนี ้, เมื ่อ ทํ า ไปอยา งเต็ม ที ่แ ลว ก็ไ มไ ดทํ า ใหโ ลกนี้ มี ค วามสุ ข หรื อ สั น ติ ส ุ ข อะไรดี ขึ ้ น ; สู  ศ ิ ล ปะง า ย ๆ ของคนป า สมั ย หิ น ก็ไมไดดวยซ้ําไป. เมื ่อ แบง แยกกัน ก็แ บง แยกกัน วา เปน ฝา ยตะวัน ตก หรือ ฝา ย ตะวัน อก : ซีก โลกตะวัน ออกก็ม ีว ัฒ นธรรม มีศ ิล ปะอะไรของตัว แบบหนึ ่ง , ทางฝา ยตะวัน ตก ก็ม ีศ ิล ปะ หรือ วัฒ นธรรมของตัว ไปอีก แบบหนึ ่ง , แตแ ลว มัน ก็อ ยู ที ่ว า จิต ใจของคนทั ้ง สองฝา ยนั ้น มัน ตา งกัน อยา งไร; มัน ก็แ สดงออก มาอยา งนั ้น มัน ก็ช ัก ชวนกัน ไปอยา งนั ้น เกลี ้ย กลอ มกัน ไปอยา งนั ้น ; จนเรา พบความจริง ที ่เ ปน หลัก ใหญ ๆ ขึ ้น มาอยา งหนึ ่ง วา ฝา ยตะวัน ออกนี ้เ ปน เรื ่ อ งจิ ต ใจมากที ่ ส ุ ด , ฝ า ยตะวั น ตกนั ้ น เป น เรื ่ อ งของเนื ้ อ หนั ง มากที ่ ส ุ ด ; เมื่ อ เอา "มากที่ สุ ด " กั น เป น หลั ก ก็ จ ะพบอย า งนี้ . ฉะนั้ น เราจึ ง ไม ไ ด รั บ ประโยชน อะไรจากวัฒนธรรมตะวันตก, เพื่อความสงบสุขในทางจิตใจ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง สมั ย นี้ ที่ จ ะทํ า ให จิ ต ใจมั น ดี ขึ้ น ; วั ฒ นธรรม ตะวัน ออกเกี ่ย วกับ ศาสนา เกี ่ย วกับ อะไรตา ง ๆ นี ้ ประเสริฐ ที ่ส ุด แตแ ลว คนตะวัน ออกก็ร ัก ษาไวไ มไ ด; ตอ งกม หัว ลงคลานตามกน ตะวัน ตกไปอีก แลวทําลายของดีของตัวเสียเอง มันจะเลนตลกกลับไปกลับมากันอยางนี้.

www.buddhadassa.in.th


๒๐

อริยศีลธรรม

อยา งพวกฝรั ่ง มาสนใจวัฒ นธรรมตะวัน ออก ศึก ษาเรื ่อ งของ ตะวันออกอันลึกซึ้งในประเทศจีน ในประเทศอินเดีย ในประเทศธิเบต ก็เพราะ วาสิ่งชนิดนั้นมันไมมีใหในฝายตะวันตก; แต ฝายตะวันออกก็กลับไมสนใจ ของดีข องตัว เอาไปยื่น ใหฝ รั่ง แลว ก็ไ ปตามกน ฝรั่ง ในสว นที่เ ปน เศษขยะ มูลฝอยของพวกฝรั่ง วัฒนธรรมของตะวันออก มันก็เลยคอยละลายไป ละลายไป ไมเปนประโยชน; ก็สูญเสียความหมาย สูญเสียลักษณะอะไรของตัว. ถา วา จะเอาวัฒ นธรรมอัน นี้เ ปน ศีล ธรรม หรือ เปน รากฐานของ ศีลธรรม มันก็เห็นไดชัดวากําลังโยกโคลงงอนแงน คลอนแคลน เปลี่ยนแปลง ที่สุด ; จะเปน ศีล ธรรมอัน ดีข องประชาชนไดอ ยา งไร แมป ระเทศไทยเราจะ ยื น ยั น คํ า นี้ ไ ว มั น ก็ ไ ปหมายถึ ง ต อ ง ตามก น ฝรั่ ง อยู ดี ด ว ยความไม รู ตั ว , หรือดวยการเห็นแกประโยชน อามิสทางวัตถุ ทางเนื้อหนัง ก็สมัครใจโดยไมรูตัว. นี่ เ ราเห็ น มา ๒ ชั้ น แล ว ว า ศี ล ธรรมในรู ป อารยธรรมนั้ น ก็ มี ก ารหลอกลวงอย า งนี้ ; ศี ล ธรรมในรู ป ของวั ฒ นธรรม หรื อ มี วัฒนธรรมเปนรากฐาน มันก็หลอกลวงอยางนี้. ... ... ... ...

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ที นี ้ ดู " ศี ล ธ ร ร ม อั น ดี ข อ ง ป ร ะ ช า ช น " ด ว ย ค ว า ม ตั้งใจดีกัน มาคิดกันใหม มาตั้งใจดีกัน วาจะเอาอยางไร.

ม ั น ก ็ ต  อ ง แ บ  ง แ ย ก เ ป  น ๒ ป ร ะ เ ภ ท ค ื อ โ ด ย น ิ ต ิ น ั ย ที ่ ว  า ขึ ้ น มาเปนตัวอักษร เปนการบัญญัติ เปนการใชเหตุผลทางปรัชญา มันก็นาดูอยู

www.buddhadassa.in.th


ชื่อและความหมาย เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวาศีลธรรม

๒๑

น า ฟ ง อ ยู  : " ศี ล ธ ร ร ม อั น ดี ข อ ง ป ร ะ ช า ช น " ; แ ต พ อ ดู โ ด ย พ ฤ ติ น ั ย คือ ที ่ม ัน เปน อยู จ ริง แลว มัน ไมเ ปน อยา งนั ้น มัน ไมเ ปน อยา งที ่ห ลีก ทางนิต ิน ัย ไดวางไว. อยา งเดีย วกับ วา เรา มีก ฎหมายมากมาย อยา งนี ้ แตว า คนก็ ไมไ ดด ีขึ ้น กลับ เลวลงหรือ วา ดื ้อ ดา นตอ กฎหมาย แกต ัว ใหพ น จากกฎหมาย เก ง กว าสมัย ก อ นที่ก ฎหมายยั ง ไม สูดี โดยพฤติ นัย มั นเปน เสีย อยา งนี้ ; โดยนิติ นั ย มัน ก็เ ปน อีก อยา งหนึ ่ง . เรื ่อ งทางศีล ธรรมนี ้ มัน ก็เ หมือ นกัน อยา งนี ้แ หละ. ขอใหส ัง เกตุด ูใ หด ี ๆ "ศีล ธรรมอัน ดีข องประชาชน" โดยนิต ิน ัย ก็ว าดไวส วย; โดยพฤติน ัย มัน ตรงกัน ขา ม. นี ่ก ็เ ปน ปญ หาอัน หนึ ่ง แลว จะตอ งแกไ ขให มันตรงกัน. ทีนี ้ม ัน ก็ย ัง มีป ญ หาอยู ที ่ว า "ดี" นั ้น มัน ก็ค ือ สํ า หรับ คน ๆ หนึ ่ง ๆ ที่เรียกวา ปจเจกชน, หรือวาดีสําหรับสังคมคนมาก ๆ เปนกลุมใหญ ๆ นี้มันก็ ไมเ หมือ นกัน ; แมว า สัง คมมัน จะประกอบขึ ้น ดว ยปจ เจกชน หลัก เกณฑม ัน ก็ ยั ง ขี ด ขวางกั น อยู นั่ น แหละ เดี๋ ย วนี้ มั น ก็ ไ ม มี ค วามแน น อนอะไรที่ จ ะรั บ ประกั น ได; ยิ ่ง ในยุค ประชาธิป ไตย ดว ยแลว ปจ เจกชนก็เ ปน อิส ระมาก ตอ งการ อย า งนั้ น ต อ งการอย า งนี้ . ถ า ไปบั ง คั บ เขา เขาก็ ว า เขามี สิ ท ธิ เขาถื อ ประชาธิ ป ไตย เขามี สิ ท ธิ ที่ จ ะไม ทํ า ตาม เขามี สิ ท ธิ ข องเขาในฐานะเป น ประชาธิ ป ไตย จะมาบี บ บั ง คั บ ให เ ขาถื อ หลั ก เกณฑ อ ย า งนั้ น อย า งนี้ อุ ด มคติ อยา งนั ้น อยา งนี ้ อยา งไรได. มัน ก็เ กิด ความงอ นแงน ขึ ้น มาในสว นปจ เจกชน เอาเปนยุติไมได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


๒๒

อริยศีลธรรม

ทีนี ้ถ า วา สัง คมมัน ประกอบขึ ้น ดว ยปจ เจกชน มัน ก็เ ปน สัง คมที่ เอาอะไรเปน ยุต ิไ มไ ดแ ลว ก็เ ลยพูด กัน ไมรู เ รื ่อ ง, ศีล ธรรมอัน ดีข องประชาชน จะมี ไ ด อ ย า ง ไ ร ใ นเ มื ่ อ มั น พู ด กั น ไ ม รู  เ รื ่ อ ง ; เพราะว า บุ ค ค ล แต ล ะ ค น ก็มีสิ ทธิของตั วเอง จะพูด จะคิด จะทํ า จะดิ้นรนตอ สู; แลวในที่ สุดมั นไปรวม อยู  ที ่ ว  า มั น เหมื อ นกั น อยู  อ ย า งหนึ ้ ง คื อ สมั ค รจะเป น ทาสของวั ต ถุ เหมือน ๆ กันไปหมด : จะมีความกินดีอ ยูดีทางเนื้อทางหนัง อยางนี้เหมือน ๆ กันไปหมด. ฉะนั ้น เมื ่อ กลา ว โดยพฤติน ัย จริง ๆแลว มัน ก็ห มายความวา พร อ มใจกั น เดิ น ไป ตามทางของความก า วหน า ทางวั ต ถุ ซึ ่ ง ควบคุ ม ไว ไม ได , เต็ ม ไปดว ยการหลอกลวง ไม รู สึก ตั ว, ทํ าโลกใหเ รา ร อ นระอุ อ ยู เหมื อ น กับอยูในนรกอยูตลอดเวลา. เ ดี ๋ ย ว นี ้ โ ล ก นี ้ มั น เ ห มื อ น กั บ อ ยู  ใ น น ร ก ร อ น ร ะ อุ อ ยู  ต ล อ ด เวลา; ไมรู ว า อะไรมัน จะเกิด ขึ ้น เมื ่อ ไรก็ไ ด ในทางที ่จ ะทํ า ให ป น ปว น ระส่ํ า ระสาย เรา รอ นยิ ่ง ขึ ้น ไปอีก เมื ่อ กอ นนี ้ก ็จ ะพูด วา บา นเมือ งไมม ีขื ่อ ไมม ีแ ป ก็ลํ า บากมากแลว ; เดี ๋ย วนี ้ทั ้ง โลกนั ่น แหละ มัน ไมม ีขื ่อ ไมม ีแ ป มันจะลําบากมากขึ้นไปอีกเทาไร; ลองคิดดูเอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org แมก ระนั ้น ก็อ ยากจะชี ้ใ หเ ห็น อีก อยา งหนึ ่ง วา ในทางนิต ิน ัย นี้ เขาก็คิด กัน เกง ๆ เหมือ นกัน แตไ มกี่ค น. ผูเ ชี่ย วชาญในทางศีล ธรรม ในทาง จริ ย ธรรม ที่ เ ขาไม เ ป น ทาสของวั ต ถุ ก็ มี . นี้ เ ราพู ด ว า โดยพฤติ นั ย ที่ เ ป น อยู

www.buddhadassa.in.th


ชื่อและความหมาย เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวาศีลธรรม

๒๓

จริง มันเปนอยางนี้ คือ เปนทาสของวัตถุกันไปเสียทั้งหมด, หรือตัวผูเขียน ระบบศีลธรรมนั้นเองก็รูไมได บางทีจะเปนทาสของวัตถุดวยกันก็ได แตถาเรา ดูเรื่องที่เขาเขียนแลว นักจริยธรรมทั้งหลายนี้ก็ยังมีสวนดี คือมีจิตใจอยูกับเนื้อ กับตัว บัญญัติวาอะไรถูก อะไรผิด ซึ่งนาฟงและมีเหตุผลที่สุด อยูในระบบ ของปรัชญาที่เกี่ยวกับศีลธรรม ซึ่งเรื่องนี้เราจะพูดกันวันหลังสักคราวหนึ่งโดย ละเอียดจึงจะเขาใจได; นี่เวลามันไมพอ. แตจะบอกใหทราบไว วาพวกคิดคนอยางอิสระนั้นก็มีอยูพวกหนึ่ง ไมวา ทางไหน : จะเปนทางศีล ธรรม หรือ ทางเศรษฐกิจ ทางกสิก รรม ก็มี พวกคิดคนจะหาสันติภาพ อยูพวกหนึ่ง. แลวก็นาชมความคิดของเขา; แต พอ ถึง ทีจ ะทํา จริง ๆ มัน ทํา ไมไ ด, แลว ไมมีใ ครทํา . ถา ใครไปทํา เขา มัน ก็ถูกหาวาบาบอไปเสียอีก; แลวไมมีใครกลา. อยา งวา พุท ธบริษัท เดี๋ย วนี้แ หละ ก็ไ มก ลา ที่จ ะประพฤติ ธรรม ใหต รงตามหลัก เกณฑข องพุท ธบริษัท ก็มี, แลว ไมอ ยากจะประพฤติ ก็มี. ทั้งที่รูอยูวานี่มันดี, หลักธรรมนี้ถูกตองดี, พระพุทธ พระธรรม พระสงฆดี; แตแ ลว ก็ไ มอ ยากจะประพฤติ พระพุท ธ พระธรรม พระสงฆ; อยา งนี้ก็มี. ทีนี้เรื่องของโลกทั้งโลกเกี่ยวกับศีลธรรม มันก็อยางเดียวกันอีก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี่เรายกตัวอยางมาพิจารณากันดู ก็จะเพียงพอแลว สําหรับสิ่งที่ เรีย กวา "ศีล ธรรมอัน ดีข องประชาชน" ในระบบประชาธิป ไตย. ศีล ธรรม อั น ดี , แล ว ของประชาชน, แลั ว ในโลกยุ ค ประชาธิ ป ไตย ซึ่ ง อาตมา ขอสั่นหัว.

www.buddhadassa.in.th


๒๔

อริยศีลธรรม

ที นี ้ ก ็ เ ห ลื อ สิ ่ ง ที ่ ๒ คื อ ศี ล ธ ร ร ม อั น ดี ข อ ง พ ร ะ อ ริ ย ส า ว ก ; ขอใหพิจารณากันอีกสวนหนึ่งตางหาก วาศีลธรรมอันดีของพระอริยสาวก. อยา เอาไปปนกับศีลธรรมอันดีของประชาชนแหงยุคประชาธิปไตย. .… .… .... .…

ศีลธรรมอันดีของพระอริยสาวก : มาตั้งตนพิจารณาคําวา "อริยสาวก" กันกอน สาวก ก็แ ปลวา ผู เ ชื ่อ ฟง ; คํ า วา "เชื ่อ ฟง " นั ้น คือ ทํ า ตาม. ถา ยัง ไมทํ า ตามไมเ รีย กวา เชื ่อ ฟง ; ฟง แลว เห็น ดว ย พอใจ แตทํ า ตามอยา งนี้ ไม เ รี ย กว า ผู เ ชื่ อ ฟ ง . เพราะว า คํ า แนะคํ า สอนนั้ น ต อ งการให ป ฏิ บั ติ ต าม ก็ ต อ ง ปฏิบ ัต ิต าม จึง จะเรีย กวา สาวก หรือ ผู เ ชื ่อ ฟง ; ไมใ ชว า ฟง ดว ยหูแ ลว จะเปน สาวกขึ้ น มา. มั น ต อ งมีก ารทํ า ตามปฏิ บั ติ ต าม; แม โ ดยทางจิ ต ใจก็ ได เ หมื อ นกั น ไม ต อ งเคลื่ อ นไหวทางกาย ทางวาจาอะไร แต ท างจิ ต ใจมั น ทํ า ตามแล ว ก็ ไ ด เ ห มื อ น กั น . ไ ม ใ ช ว  า คิ ด จ ะ ทํ า ต า ม ; ต อ ง ไ ด ทํ า ต า ม โ ด ย ก า ร เ ป ลี ่ ย น จิต ใจไปจริ ง ๆ ตามนั้ น เรี ย กว า ทํ า ตาม; แล ว มั น ก็ อ อกมาทางกาย ทางวาจา แสดงการทําตามอยางสมบูรณขึ้นมา นี้เรียกวาสาวก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ที นี ้ อริ ย สาวก ก็ ค ื อ สาวกที ่ เ กี ่ ย วกั บ อริ ย ะ; จะเป น สาวก ที่เปนพระอริยะเสียเองก็ได, สาวกที่กําลังกระทํา เพื่อความเปนอริยะ ก็เรียกวา อริ ย สาวกด ว ยเหมื อ นกั น . หรื อ จะเอาความหมายกลาง ๆ ว า สาวกที่ ป ระเสริ ฐ ;

www.buddhadassa.in.th


ชื่อและความหมาย เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวาศีลธรรม

๒๕

เพราะวา อริย ะ นี้แ ปลวา ประเสริฐ ประเสริฐ ตรงที่อ อกไปจากความทุก ขไ ด ก็เรียกวา อริยสาวก; อยางนอยก็ ๓ ความหมาย ถ า เ ป น ชั ้ น ต่ํ า ที ่ ส ุ ด เ ร า ก็ เ รี ย ก ว า พ ร ะ อ ริ ย ส า ว ก ชั ้ น ตระเตรียม พวกอริยสาวกชั้นเตรียมอยางในโรงเรียนนั้นแหละ; จะไปเรียน หนังสือก็ตองเรียนชั้นเตรียม กอนจะขึ้นชั้นประถมหนึ่งประถมสอง อยางนั้น ก็ยังดี; ยังดีกวาที่จะไมเปนอริยสาวกเสียเลย ขอใหเปนอริยสาวกชั้นเตรียม กันใหพอเสียกอน ใหมันถูกตองเสียกอน; แลวบางทีจะไดคําที่มันพอจะทําความ เขาใจกันไดอีกคําหนึ่งเอามาเชื่อมกันวาอารยชน. คํา วา "อารยชน" ถา อยา เลน ตลกกัน คือ เลน กัน ซื่อ ๆ แลว ; คําวาอารยชนนี้มันใชได. แตเดี๋ยวนี้มันเลนตลก มันเปนอารยชนชั้นที่มีอารยธรรม หลอกลวงนั้น เสีย อีก ; ถา เปน อารยชนกัน จริง ๆ ก็อ ริย สาวก คือ อริย ชน นั่นแหละ อริยะ กับ อารยะ นี้มัน เปนคําเดียวกันโดยรากของศัพท, เปน ภาษาอินเดียที่มีรากเดียวกันโดยทางศัพท.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถ า เป น อารยชน ก็ จ งเป น คนที่ เ ป น อารยะ; ก็ ห มายความว า มันเลวไมได, มันจะชั่วไมได, มันจะพอดูไดเสมอไป. เอาอันนี้เปนพระอริยสาวก ชั้นตระเตรียมกันก็ได คือยังไมบรรลุมรรคผล นิพพาน เลย, ยังไมบรรลุแมแต มรรค ผล ในขั้นตน ๆ ; ก็ตองเรียกวา อริยสาวกชั้นเตรียม คือ เชื่อฟงที่สุด ยอมปฏิบัติตามอยูอยางเครงครัดที่สุด. ใครก็ตาม เปนฆราวาสก็ได, เปนพระเปนเณรก็ได, ถากําลัง มอบกายถวายชีวิต จิตใจแกพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ แลวพยายาม

www.buddhadassa.in.th


๒๖

อริยศีลธรรม

จะทําใหดีที่สุด แมจะยังไมบรรลุ มรรค ผล ในขั้นไหน ก็ควรจะเรียกวาอริยสาวก คือ สาวกผูเ ชื่อ ฟง กํา ลัง ปฏิบัติต ามเพื่อ ความเปน อริย ะ นี้ท างพวกอื่น เขาจะเรียกวา อารยชน ก็ได แตขออยาเลนตลก คืออยาหลอกกัน. อยากจะให นึ ก ถึ ง คํ า อี ก คํ า หนึ่ ง ซึ่ ง สมั ย ก อ นมั น ดี พ อใช มี ค วาม หมายเพียงพอ คือคําวาสุภาพบุรุษ เมื่ออาตมาเล็ก ๆ ก็สะดุงดวยคํา ๆ นี้ที่เขาวา มหาวิ ท ยาลั ย สู ง สุ ด ในประเทศฝรั่ ง นั้ น เขาต อ งการผลเพี ย งว า ให ค นเป น เพี ย ง สุภาพบุรุษเทานั้น; โดยมีหลักวา คนธรรมดายังไมเปนสุภาพบุรุษ แลวก็ไปอยู ในโรงเรียน ในมหาวิทยาลัยชั้นสูงสุดนั่นแหละ อบรมกันไปหลาย ๆ ปเขาสําเร็จ ผลที่มุงหมายอันแทจริง คือ เปนสุภาพบุรุษขึ้นมา เปน gentleman ขึ้นมาอยางนี้ เทานั้นเอง. เขาตองการเทานั้นเอง. เป น สุ ภ าพบุ ร ุ ษ ก็ ห มายความว า ปลอดภั ย , เป น มนุ ษ ย คนหนึ ่ง ที่ป ลอดภัย แกต ัว เองแกค นทั ้ง หลายทั้ง ปวง, ไมมีภ ัย อัน ตรายใดๆ จะเกิ ด ขึ้ น มาจากสุ ภ าพบุ รุ ษ ฉะนั้ น เขาจึ ง ให เ รี ย นอย า งนั้ น อบรมอย า งนั้ น ประพฤติกันอยางนั้น มันก็พอแลว ก็นับวา นาเลื่อมใส

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เดี ๋ย วนี ้ม ัน เปลี ่ย นหมด ไมม ีคํ า วา สุภ าพบุร ุษ ชนิด นั ้น เปน ที่ มุงหมายของการศึกษา; มหาวิทยาลัยทั้งหลายในปจจุบันนี้ ของพวกเหลานั้น ไมมุงหมายความเปนสุภาพบุรุษ แตเขามุงหมายในความเปนคนเกงในการประกอบ อาชีพใหร่ํารวย แลวรวมกําลังกันเลนงานผูอื่น. คนในประเทศหนึ่ง ก็ร วมกํา ลัง กัน เลน งานอีก ประเทศหนึ่ง , มัน จะเปนความมุงหมายของการศึกษาเสียอยางนี้ คือสรางกําลังกาย กําลังใจ กําลัง

www.buddhadassa.in.th


ชื่อและความหมาย เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวาศีลธรรม

๒๗

สติปญญา อะไรตาง ๆ ใหสามารถอยูเหนือผูอื่นไวได; จนเรามีความผาสุกสบาย ในเมื่อพวกอื่นจะเดือดรอนจะตายจะเปนอะไรก็ตามใจฉะนั้น เดี๋ยวนี้เราจึงเห็นวา ประเทศบางประเทศเขาไมเดือดรอน เพราะเขามีกําลังอันนี้ไว ทีนี้ประเทศบาง ประเทศไมมี มันก็ตองเดือดรอน แลวเปนประเทศเล็ก ๆ ดวย. นี ่ ก ็ ค ื อ ว า ไม ม ี ส ุ ภ าพบุ ร ุ ษ เป น จุ ด ที ่ มุ  ง หม ายของการ ศึกษา ; ถาหากวามีสุภาพบุรุษตามความหมายนั้นจริง ก็มาใชกับคําวาอารยชน; แลว คํา วา อารยชน นี้ก็ คลา ยกัน กับ คํา วา อริย สาวกในชั้น เตรีย ม เพราะ ฉะนั้น ถึง อยา งไรก็ดี พุท ธบริษัท เราเปน อริย สาวกในชั้น เตรีย ม กัน ก็แ ลว กัน มัน ก็ตอ งไดขึ้น ชื่อ ป.๑ ป.๒ แนง อยา เหลวไหลในการที่จ ะเปน ชั้น เตรีย ม ก็จะมีศีลธรรมอันดีของพระอริยสาวกในชั้นเตรียมกันกอน. ที ่ นี ้ เ ลื ่ อ น ขึ ้ น ไ ป ก็ เ ป น อ ริ ย ส า ว ก ใ น ชั ้ น เ ส ข ะ นี ่ ค ื อ การบรรลุมรรคผลในขั้นตน ๆ มาถึงขนาดทําลายความเห็นแกตัวไดมากใน ระดับหนึ่ง ไมใชทั้งหมด; ก็จะเรียกวา พระอริยสาวกประเภท เสขะ คือชั้น ป.๓, ป.๔, ป.๕ หรือ ขึ้น ชั้น มัธ ยม ๓-๔-๕ ไปแลว แตยัง ไมใ ชชั้น สุด ทา ย เทานั้น; แลวพยายามตอไปที่จะละความเห็นแกตัวใหหมดไปในที่สุด เดี๋ยวนี้ ก็ละความเห็นแกตัวในขั้นตน ๆ ขั้นหยาบ ๆ เลว ๆ นี้คือที่มันจะออกมาเปน โลภะ โทสะ โมหะ อยา งเลว ๆ นี้อ ยา ใหมัน มี; ใหเ หลือ แตชั้น ละเอีย ดที่ล ะยาก จนกวาจะละไดหมด เขาจึงจัดพระโสดาบัน สกิทาคามี อนาคามี ไววาเปนเสขะ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เลื ่ อ นขึ ้ น ไปอี ก ก็ เ ป น พระอริ ย สาวกชั ้ น อเสขะ ก็ ม ี แ ต พระอรหัน ตเ ทา นั้น เอง นี้เ กือ บจะไมตอ งพูด ถึง กัน เสีย แลว จะเลยขั้น ของ

www.buddhadassa.in.th


๒๘

อริยศีลธรรม

ศีล ธรรม. แตคํา วา ศีล ธรรมในความหมายสากลเขาไมไ ดจํา กัด ไว; เพราะ เขาวาดจุดหมายปลายทางไววาเปนขั้นสูงสุดเสมอ เปน perfect คือสมบูรณ ไมมี อะไรเติมอีก คือเปนจุดหมายของศีลธรรม. ฉะนั้นแมจะเปนพระอรหันต ก็ถูก รวบเขามาไวในชุดนี้ดวย คือเปนผูมีศีลธรรมที่สมบูรณที่สุด เติมอีกไมไดแลว คือ เปน พระอรหัน ต, ถา ยัง เติม ไดอ ยูก็เ ปน ชั้น เสขะ, ถา ยัง ไมสูเ ทา ไรก็เ ปน ชั้นเตรียม. ถ า ดู กั น ในแง นี้ แ ล ว แม แ ต นิ พ พาน ก็ อ ยู ใ นขอบเขตของ ศีลธรรม ; นักศึกษาที่เปนฝรั่งบางคนก็บัญญัติเอาอยางนั้นเลย วานิพพานนี้ เปนจุดสูงสุดของศีลธรรมของพุทธบริษัท. ถาไปเรียกพระนิพพานวาบรมธรรม ก็เลยยิ่งเห็นงาย อยางพระบาลีวา นิพฺพานํ ปรมํ วทนฺติ พุทธา-พระพุทธเจา ทั้ง หลายกลา วพระนิพ พานวา เปน บรมธรรม. บรมธรรมก็คือ ธรรมะสุด ยอด ก็เ ปน ศีล ธรรมสุด ยอด.เปน ศีล ธรรมในความหมายกวา ง แลว ก็สุด ยอด; ฉะนั้ น นิ พ พานในแง ข องศี ล ธรรมก็ มี อ ยู ซึ่ ง จะต อ งนึ ก ดู ใ ห ดี ว า คํา ว า "นิพ พาน" นี้ก็ห ลายระดับ หลายความหมาย แลว ขอใหเ ย็น ก็แ ลว กัน ก็ เรียกวานิพพานทั้งนั้น จะเย็นโดยเด็ดขาด หรือไมเด็ดขาด ก็ตองเรียกวา นิพพานทั้งสิ้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เรื่ อ งนี้ อ ธิ บ ายไว ล ะเอี ย ดที่ สุ ด แล ว ในการบรรยายเรื่ อ งเกี่ ย วกั บ นิพ พาน. ใหรูว า นิพ พาน นี ้แ ปลวา เย็น ; เมื ่อ ไรไมรอ น เมื่อ นั้น ก็เ ปน นิ พ พาน ที่ ว า ร อ นคื อ ร อ นด ว ยกิ เ ลส; ถ า ไม ร อ นเด็ ด ขาดลงไป เพราะ ว า หมดกิ เ ลส ก็ เ ป น นิ พ พานจริ ง หรื อ สมบู ร ณ แต ถ  า ไม ร  อ นชั ่ ว คราว เพราะวา กิเ ลสระงับ ไปชั่ว คราว หรือ ไมเ กิด ขึ้น ชั่ว คราว ก็วา เปน นิพ พาน

www.buddhadassa.in.th


ชื่อและความหมาย เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวาศีลธรรม

๒๙

ชั่วคราว ฉะนั้นจะเปนนิพพานชั่วคราว หรือ นิพพานสมบูรณ ก็ตองเรียกวา เปนยอดจุดหมายปลายทางของศีลธรรมอยูนั่นเอง. แต ถ า ยิ่ ง มุ ง หมายเอาว า นิ พ พานชั่ ว คราว, นิ พ พานชั่ ว ขณะ ก็ยิ่ง เปน ศีล ธรรมมากขึ้น ; เพราะวา เดี๋ย วนี้ เราควรจะอยูใ นโลก ดว ยความ เย็น ในลักษณะอยางนี้แหละ; เดี๋ยวเรื่อ งนั้นมา เดี๋ยวเรื่อ งนี้มา เดี๋ยวเรื่อ ง โนน มา เดี๋ย วเรื่อ งนูน มา. ทุก ๆ เรื่อ ง ทํา ใหเ ย็น อยูไ ด ก็แ ลว กัน ; ก็จ ะ เรี ย กว า มี ศี ล ธรรมที่ ดี ที่ สุ ด ที่ ม นุ ษ ย จ ะมี ไ ด คื อ มั น ไม ร อ น. เมื่ อ โดยส ว น บุคคลมันไมรอน, ทั้งบานทั้งเมืองก็ไมรอน, แลวจะเอารอนมาแตไหน ในเมื่อ ทุกคนมันไมรอน; ฉะนั้นบานเมืองที่ประกอบไปดวยบุคคลชนิดนี้ มันก็ไมรอน ไปทั้งบานทั้งเมือง. ฉ ะ นั้ น ทุ ก ค น ค ว ร บั ง คั บ ค ว า ม โ ล ภ ค ว า ม โ ก ร ธ ค ว า ม หลงให ไ ด ; อย า ให มั น ปรากฎออกมา. ถ า มั น มี ก็ มี อ ยู ใ นใจ มั น ก็ ไ ม กระทบกระทั่งใคร ดวยความโลภ ดวยความโกรธดวยความหลงความโง; มันก็ เย็นเทานั้นแหละ, เย็นไดโดยไมตองหมดกิเลสโดยสิ้นเชิง ; หรือ เย็นไดโดยที่ ทุกคนบังคับกิเลสไวได ซึ่งเรียกอยางภาษาศีลธรรมสากลนี้วา บังคับตัวเองได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org .…

.…

....

.…

ขอให ถื อ เอาความหมายอั น นี้ ดี ก ว า ว า บั ง คั บ ตั ว เองได นั ่ น แหละคื อ ศี ล ธรรม; เป น ประโยคสั ้ น ๆ ง า ย ๆ "บั ง คั บ ตั ว เองได นั่นแหละคือศีลธรรม" ตั้งแตต่ําที่สุดจนถึงสูงที่สุด คือนิพพาน. บังคับตัวเอง

www.buddhadassa.in.th


๓๐

อริยศีลธรรม

นั้น ก็คือ บัง คับ กาย วาจา ใจ อยา ใหผิด ได, แลว ก็บัง คับ ที่จิต อยา งเดีย วก็ พอแลว ถาบังคับจิตได กาย วาจา ก็ไมผิดไปได. ที นี ้ ก ็ ต อ ง รู  ว  า อ ะ ไ ร ผิ ด อ ะ ไ ร ถู ก กั น ต า ม ส ม ค ว ร ; แ ต เรื่องนี้ไมยาก. ตามพระบาลีที่พระพุทธเจาทานไดตรัสไว แลว เขาใจไดงายที่สุด คื อ ว า ; ที่ ผิ ด ที่ เ ลว ที่ ชั่ ว นั้ น คื อ เบี ย ดเบี ย นตนเองและผู อื่ น ท า น ตรัส ไวอ ยา งนี ้: ที ่ถ ูก ที ่ด ีนั ้น ก็ค ือ ไมเ บีย ดเบีย นตนเอง และไมเ บีย ดเบีย น ผูอื่น มีอ ยูเ ทา นี้. นี้อ ยา ไปแกตัว วา "ฉัน ยัง ไมไ ดเ รีย น ฉัน ยัง ไมไ ดบ วช ฉันยังไมรู เพราะฉะนั้นฉันจะตองไดรับความยกเวนหรืออภัย"; อยางนี้มันเปน คนเลนไมตรง, เปนคนโกหกโดยไมรูตัว. ฉะนั ้ น อย า ปฏิ เ สธ ว า "ฉั น ไม รู  จ ั ก ดี ไม รู  จ ั ก ชั ่ ว " ; อย า พู ด เลย ถ า พู ด กั น โดยศี ล ธรรม แล ว ไม มี ท างแก ตั ว ; เพราะรู อ ยู ไ ด เ อง วา ไมเบีย ดเบีย นตนเอง คือ ไมทํา ตนเองใหเ ดือ ดรอ น; แลว ก็ไ มเบีย ดเบีย น ผู  อื ่ น คื อ ไม ทํ า ผู  อื ่ น ให ร  อ น นี ้ เ ป น ความถู ก นี ้ เ ป น ความดี นอกนั ้ น ทา นขยายความออกไปวา ถา ผูรูส รรเสริญ , ผูรูชัก ชวนกัน ใหป ฏิบัติต าม, พระอริย เจา สรรเสริญ ละก็ถูก แลว . คํา นี้ไ มตอ งพูด ก็ไ ด; เพราะวา พอไม เบียดเบียนตนเองและไมเบียดเบียนผูอื่นแลว ผูรูก็สรรเสริญ พระอริยเจาสรรเสริญ, สัตบุรุษชักชวนใหประพฤติใหกระทํา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org .…

.…

....

.…

ที นี ้ เ ร า ม า สั ง เก ต ดู ต ร ง ที ่ ว  า เบี ย ดเบี ย นตนเองคื อ

อยางไร, เบียดเบียนผูอื่นคืออยางไร.

www.buddhadassa.in.th


ชื่อและความหมาย เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวาศีลธรรม

๓๑

เดี ๋ ย วนี ้ เราเห็ น แก ต ั ว แล ว ก็ ไ ม ม ี ท างจะรู  ส ึ ก ; เห็ น แก ต ั ว ทํา เพื่อ ตัว แลว ไมรู ว า นี้ค ือ การเบีย ดเบีย นตัว . เชน เรารัก , เราอยาก จะได, เราเอามาใหไ ด; เราก็เ รีย กวา เราได แลว เราก็พ อใจ; นี้เ ขาก็ ไม คิด วา นี ้เ ปน การเบีย ดเบีย นตัว . ฉะนั ้น คนจึง ไปขโยมบา ง ไปแยง ชิง บา ง หรือทุจริตคดโกง เอาเปรียบ ยักยอกอยางใดอยางหนึ่งบาง โดยไมคิดวา นี้เปน การเบียดเบียนตัว. เพราะเขาคิดแตวาเขาไดมา เชน โกงเงินเขา ไดมานี้ ก็ไม คิ ด ว า เบี ย ดเบี ย นตั ว นั่ น คนโง คิ ด . คนที่ จ ริ ง ตรง หรื อ มี ป ญ ญา เขาก็ รูวา นี่มันทําใหเราสูญเสียอะไรไปอยางมากที่สุด สูญเสียความเปนมนุษยไปแลว ในภายใน. นี ้ถ า วา เล็ง ไปถึง ขา งนอก ก็ห มายความวา ทํ า ใหเ ขาเกลีย ดเรา มากขึ้น, ทั้งบานทั้งเมืองรุมเกลียดเรา; อยางนี้ จะเรียกวา เราไมเบียดเบียน ตนเองอีกหรือ? คนโงจะตองคิดวา เรายังไมเบียดเบียนตนเอง ทั้งที่เราทําให คนเกลียดเราทั้งเมืองนี้; หาคนเปนมิตร, ศัตรู ใหพร อะไรไมไดอยางนี้

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org จงระวั ง ให ม าก คํ า ว า "เบี ย ดเบี ย นตนเอง" นี ้ เ ข า ใจยาก ; แตก็ไมลึกจนถึงเขาใจไมได.

ถา การกระทํ า นั ้น ทํ า ใหเ กิด ความรอ นใจขึ ้น มา ก็เ รีย กวา เบียดเบียนตัวเอง, ถาทําใหเกิดความกลัว หวาดระแวงอะไรขึ้นมา ก็เรียกวา เ บี ย ด เ บี ย น ตั ว เ อ ง , ห รื อ ทํ า ใ ห น อ น ส ะ ดุ  ง , นี ้ ม ั น เ บี ย ด เ บี ย น ตั ว เ อ ง ทีนี้ ที ่วา ดูย ากอยูห นอ ย ก็ค ือ มัน ทํา ใหเ ราโงยิ่ง ขึ้น ไปอีก ; นี้ค ือ ไมรู มัน ไม ค อ ยรู มั น ยากที่ จ ะรู มั น ทํ า ให เ ราโง ล งไปอี ก ; นั่ น แหละคื อ เบี ย ดเบี ย นตั ว เอง อยางลึกซึ้ง อยาทําอยางนั้น ก็เรียกวาไมเบียดเบียนตัวเอง.

www.buddhadassa.in.th


๓๒

อริยศีลธรรม

ทีนี้ เมื่อ ความคิด ความรู ส ึก สติป ญ ญา ไมเ บีย ดเบีย นตัว เอง แลว ก็ไมมี ทางจะเบียดเบียนผูอื่นไปได. ที่จะไปเบียดเบียนผูอื่นไดนี้ มันตอ ง โลภ ตอ งโกรธ ตอ งหลง ตอ งโง อะไรมาก ๆ จึง จะไปเบีย ดเบีย นผูอื่น ได. ถ า ใ ค ร ดี จ น ไ ม เ บี ย ด เ บี ย น ตั ว เ อ ง แ ล ว ไ ม ต  อ ง ส ง สั ย ; จ ะ เ บี ย ด เ บี ย น คนอื่นไมได. แต เ ดี ๋ ย วนี ้ ต  อ งพู ด ไว ก  อ น พู ด ดั ก คอไว ก  อ น เผื ่ อ จะไม รู  จ ั ก ตัวเอง, ไมรูจักสภาวะที่วา "เบียดเบียนตัวเอง" ก็พูดเสียเลยวา : อยาไปฆาเขา อย า ไปลั ก เขา อย า ไปประทุ ษ ร า ยของรั ก ของเขา อย า ไปหลอกลวงเขา ; นี ้ต อ งพูด ไวก อ น สํ า หรับ คนยัง โงเ กิน ไป อยา เบีย ดเบีย นผู อื ่น นั ้น คือ ทํ า อยา งนั้น แลว ก็จ ะเห็น ไดวา ที่เ ราไปฆา เขา นั่น มัน เบีย ดเบีย นทั้ง เขา และเบี ย ดเบี ย นทั้ ง เรา เราไปลั ก เขา นั่ น มั น ก็ เบี ย ดเบี ย นทั้ ง เขา เบี ย ดเบี ย นทั ้ ง เรา, ไปประทุ ษ ร า ยของรั ก ของชอบใจของเขา มั น ก็ เบีย ดเบีย นทั้ง เขา, เบีย ดเบีย นทั้ง เรา พอคิด ได เดี ๋ย วก็คอ ย ๆ เห็น ขึ้น มา มัน ก็ส มัค รเลิก ทั้ง ๒ อยา ง : ไมเ บีย ดเบีย นตนเอง, ไมเ บีย ดเบีย นผูอื่น . ทีนี้ก็จะอยูดวยความเย็นเปนพระนิพพานในระดับหนึ่ง ซึ่งเปนแรกเริ่มเดิมที ตั้งแต เรื่องชั้นศีลขึ้นไป นี้ก็จะสรางพระนิพพานขึ้นมาแลวในระดับหนึ่ง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org การที่เ ราไดยิน พระใหศีล แลว ก็จ ะกลา วคํา สรุป อานิส งสวา สีเ ลน นิพฺพุติ ยนฺติ -คนไปนิพ พานไดเ พราะศีล หรือ วา คนถึง นิพ พานได เพราะศีล ก็ข ยัน สัง เกตสัก หนอ ย. พอมีศ ีล มัน ก็เ ย็น ระดับ หนึ ่ง แลว เปน นิพ พานในระดับ หนึ่ง แลว จนกวา มัน จะเย็น ไป ๆ จนถึง ที่สุด แตนี่ไ ปสนใจ

www.buddhadassa.in.th


ชื่อและความหมาย เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวาศีลธรรม

๓๓

แต ว า ศี ล นี้ จ ะให ไ ด ซึ่ ง โภคะ, จะได ส วรรค สี เ ลน สุ ค ติ ยน ฺติ - ศี ล จะให ถึ ง สุ ค ติ . สี เ ลนโภคสมฺ ป ทา - จะสมบู ร ณ ด ว ยโภคะเพราะศี ล ; ก็ จ ะสนใจ กันอยูแตเทานั้น; ก็ยังดี ขอใหมีศีลก็แลวกัน ก็จะไปหานิพพานได เพราะศีล จะทําใหเย็น อานิส งสข องศีล นั ่น แหละจะชี ้ใ หเ ห็น วา แมแ ตสิ ่ง ที ่เ รีย กวา นิพพาน ก็ตองดึงมาอยูในขอบเขตของศีลธรรม เพื่อความหมายทั่ว ๆ ไป ไมวาจะเปนพระอริยเจาชั้นเตรียม ก็อุตสาหหลงรักนิพพานไวดีกวา คือชอบความ เย็น ไวกอ นดีก วา . พระอริย สาวกชั้น เตรีย มก็พ อใจนิพ พานไวกอ น; สว น พระอริยสาวกชั้นพวกเสขะ ชั้นพระอเสขะนั้น ไมตองพูดแลว คือทานพอใจถึง ขนาดแลว จึง จะเปน ชั ้น เสขะ ชั ้น อเสขะขึ ้น มาได ฉะนั ้น ใหถ ือ วา นิพ พาน นี้ในทุกความหมาย ก็อยูในขอบเขตของศีลธรรม .… .… .... .…

เอาม าเข า คู  เ พื ่ อ เปรี ย บเที ย บกั น ดู ก ั บ ศี ล ธ ร ร ม อั น ดี ข อ ง www.buddhadasa.in.th ประชาชน. www.buddhadasa.org ทั ้ ง ห ม ด นี ้ เ รี ย ก ว า ศี ล ธ ร ร ม ข อ ง พ ร ะ อ ริ ย ส า ว ก ;

ศี ล ธรรมอั น ดี ข องประชาชนอยู ที่ ไ หน, อยู ที่ ต รงไหน, เอามาจั บ คู ก ั น ดู กั บ ศี ล ธรรมของพระอริ ย สาวก ว า จะมี รู ป ร า งต า งกั น อย า งไร สี ส รรต า งกั น อย า งไร ใครจะหลอกลวง, ใครจะไม ห ลอกลวง. ศีลธรรมอันดีของประชาชนนั้น อยูในอารยธรรมเปลือยก็มี, free sex ก็มี, กินดี อยูดีแขงกับเทวดาก็มี, เอาปนใหญ เอาอาวุธมา อะไรมาขมขี่กันก็มี, ประทวง

www.buddhadassa.in.th


๓๔

อริยศีลธรรม

อยางประชาธิปไตยไรสาระก็มี, นี่คือศีลธรรมอันดีของประชาชน คือ เขายอม รับกันอยางนั้น ไมอ ยางนั้นเขาก็ไมทํา; เพราะชาติใ หญ ๆ เขาก็ทําอยางนี้ หรือวาศีลธรรมชนิดที่เปนทาสของวัตถุมากขึ้น จนฝายตะวันออกก็ไปตามกนฝาย ตะวั น ตก ศี ล ธรรมอั น ดี ข องประชาชน ในแง ข องศิ ล ปะ ก็ บ า หลั ง จน ไมรูวาเพื่อประโยชนอะไรกัน. เดี ๋ ย วนี ้ เ ราพู ด กั น ถึ ง ชื ่ อ ของศี ล ธรรม ชื ่ อ ที ่ เ กี ่ ย วกั บ ศี ล ธรรม; ตั้งใจจะพูด ๒ หัวขอวาชื่อและความหมายที่เกี่ยวกับศีลธรรม ทีนี้เวลามันก็ หมดแลว พูดแตเรื่องชื่อมันก็หมดแลว เรื่องความหมายก็เอาไวพูดกันใน การบรรยายครั้งหลังดีกวา. แตถ ึง อยา งนั ้น ก็ข อใหส รุป ใจความใหไ ด, แลว ก็เ ขา ใจใหไ ด, กําหนดจดจําไปใหได วาเราตองระบุชื่อใหชัดลงไปเสียแลววา อริยศีลธรรม ศี ล ธรรมชนิ ด ที่ เ ป น อริ ย ะ; แล ว ศี ล ธรรมนี้ ก็ จ ะนํ า มาซึ ่ ง พระอริ ย สาวกชั้นเตรียม พระอริยสาวกชั้นเสขะ พระอริยสาวกชั้นอเสขะ; เพราะวา เรามีอริยศีลธรรม สวนศีลธรรมอันดีของประชาชนนั้น ไมอาจพึ่งได ไมเห็น ลูทางอะไรที่จะพึ่งได เพื่อความเปนอยางนี้ ก็ปลอยไปตามเรื่อง. ถามีอริยศีลธรรมแลวมันแนนอน ไมดิ้นไมหลอก ไมเกิดเปนพิษ เปนอันตรายอะไรขึ้นมา ได; มัน แนน อนดีอ ยา งนี้. ขอใหรูจัก ชื่อ ไวใ หชัด เจน โดยที่จ ะหลอกลวงกัน ไมไดอยางนี้เสียกอน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อาตมาขอยุติการบรรยายในวันนี้ ไวแตเพียงเทานี้ ใหพ ระสงฆ ทั้งหลาย ทานสวดสาธยายบทจรรโลงใจ คือใหกําลังแกจิตใจตอไป. --------------------

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรม -๒๑๓ กรกฎาคม ๒๕๑๗

ความหมายของคําวาศีลธรรม

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทานสาธุชน ผูมีความสนใจในธรรม ทั้งหลาย,

ในการบรรยายโดยหั ว ข อ ใหญ ว า อริ ย ศี ล ธรรม, เป น การบรรยายครั้ ง ที่ ๒ แห ง ภาคอาสาฬหบู ช านี้ จะได ก ล า วโดยหั ว ข อ ย อ ยว า ความหมายของคํ า ว า ศี ล ธรรม ต อ จากเรื ่ อ งที ่ บ รรยายในครั ้ ง ที ่ ๑ ซึ ่ ง ไ ม จ บ . ใ นค รั ้ ง นั ้ น ไ ด ก ล า ว ถึ ง แ ต ชื ่ อ ใ น วั น นี ้ จ ึ ง ไ ด ก ล า ว ถึงความหมาย ใหครบถวน ตามหัวขอที่กําหนดไวเดิม.

สิ่งที่เรียกวา "ชื่อ " กับสิ่งที่เรียกวา "ความหมาย" นี้ ตองมา ดวยกันเสมอ ; ลําพังชื่อมักจะกํากวม ไมสําเร็จประโยชน ตองมีความหมาย ๓๕

www.buddhadassa.in.th


๓๖

อริยศีลธรรม

ใหชัดลงไปสําหรับชื่อนั้น ๆ; แตแลวก็ยังตองใชชื่ออยูนั่นเอง เพื่อความสะดวก เรียกไดงาย ๆ สั้น ๆ ไมเหมือนกับความหมายที่มันยืดยาว; จึงขอใหทําความ เขาใจไวในลักษณะที่มันจะตองเกี่ยวของ กันอยูอยางนี้เสมอไป. .…

.…

....

.…

ในครั ้ ง ที ่ แ ล ว มาได ก ล า วถึ ง ชื ่ อ ก็ เ พื ่ อ จะให เ ห็ น ความจริ ง หรือขอเท็จจริงที่เปนอยูจริงอยางหนึ่งวา เราเรียกโดยชื่อ วาชื่อนั้น ๆ กันอยู ตลอดมา; แต ความหมายของศี ล ธรรมนั้ น เปลี่ ย นไปเป น หลายระดั บ : จะเปลี่ยนลักษณะ หรือเปลี่ยนความหมายไป ตามยุคตามสมัย; โดยเฉพาะ ใน ปจ จุบัน นี้ ดว ยแลว มีก ารเปลี่ย นแปลง อยา งที่เ รีย กวา เลวลง เพราะ ความไมจริงจังของมนุษยตอศีลธรรมนั้นเอง. คนก็ชอบพูดมากกวาชอบปฏิบัติ, แลวก็ขยายการพูดไปในทางที่มันเฟอ หรือมันเกิน จึงเกิดมีชื่อใหม ๆ ขึ้นมาเปน อันมากเกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวาศีลธรรม :-

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เชน คํา วา จริย ธรรม ก็มีเ กิด ขึ้น มา แลว ในที่สุด ก็เ ปน เพีย ง ปรัชญาของศีลธรรม ไมแสดงถึงตัวการปฏิบัติอะไรลงไปโดยตรง; และตั้ง ปญหาวาจะตองทําอยางไรเพื่อประโยชนอะไร อยางกวางขวางไมมีจบ แลว เปนเรื่องปรัชญาหรือเปนเรื่องศาสตร ที่เพอเจอ อยางหนึ่ง.

การเกิด แตกแขนงเปน อารยธรรม เปน วัฒ นธรรม เปน ตน ขึ้นมานี้ ตามกิเลสตัณหา ของมนุษยเปนสวนใหญ เรียกวา อารยธรรม นี่ชื่อ ดี ม ากสู ง มาก แต ก ารประพฤติ จ ริ ง ๆ นั้ น ไม ดี เ ลย ไม ส มชื่ อ ; เพราะว า

www.buddhadassa.in.th


ความหมายของคําวาศีลธรรม

๓๗

คนที่มีกิเลสเขาวาเอา ตามความประสงคของเขา เชนยกตัวอยางมาใหเห็น แลววา : อารยธรรมเปลื อ ย นี่ ก็ เ ปลื อ ย หรื อ แกล ง เปลื อ ย ถ า เป น คนปา เขาก็ไ มไ ดแ กลง เปลือ ย เพราะเขายัง ไมรูจัก นุง ผา ; นี่ค นที่เ คยนุง ผา แลวนุงหมอยางมาก ปกปดมิดชิดเสียดวย, เดี๋ยวนี้เขาก็แกลงเปดหรือแกลงเปลือย นี้ก็เรียกวาอารยธรรมใหม เกิดมาจากความเสื่อมทรามทางจิตใจ พายแพแกกิเลส. ยั ง มี อารยธรรมที่ จ ะกิ น หรื อ ที่ จ ะอยู แ ข ง กั น กั บ เทวดา ; เขาเรียกวาอารยธรรมดวยเหมือนกัน. เขาถือวาไมผิดศีลธรรม แตมันก็ทําให เพิ่มความวุนวายความระส่ําระสาย ในเมื่อศีลธรรมนั้นตองการความสงบหรือปกติ, สวนอารยธรรมกลับเพิ่มความวุนวายนะส่ําระสาย แตเขาก็ยอมรับ คือเขาถือ เสีย วา ไมผิด ศีล ธรรม; แลว คนทั่ว ๆ ไปก็ย อมรับ เพราะเขาเปน ทาสทาง อารยธรรม หรือเปนทาสทางขาดศีลธรรมนั่นเอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เดี๋ย วนี้ก็มี อารยธรรมประชาธิป ไตย ซึ่ง กํา ลัง ทํา โลกใหวุน วายมากที่สุด; อยางในประเทศไทยเราเวลานี้ ก็เรียกวามี อารยธรรมประทวง เปนการเหอการประทวง; เหมือนอยางการกระทําของคนที่ไมเคยพบ ไมเคยเห็น ไมเคยกิน อะไรนั้น ยอมจะเหอ เขาก็เหอประชาธิปไตยประทวง ซึ่งเรียกวา อารยธรรมใหม แลวก็วาไมผิดศีลธรรม. แตถาเอาตามความหมายที่แทจริงแลว มัน ก็ขัด กัน โดยตรง ถา วา มัน ไมนํา มาซึ่ง ความสงบ ซึ่ง เปน ความมุง หมาย ของศีลธรรม.

www.buddhadassa.in.th


๓๘

อริยศีลธรรม

มี ชื ่ อ อี ก แขนงหนึ ่ ง ที ่ เ รี ย กกั น ว า วั ฒ นธรรม นี ่ ก ็ เ คยพู ด กั น มาแลว มาก ; กํา ลัง เปลี ่ย นไป ตามความตอ งการของมนุษ ยใ นโลกสมัย ใหม ที ่ไ มรู จ ัก พระเจา ไมรู จ ัก พระธรรม ไมรู จ ัก ความดับ ทุก ขม ากยิ ่ง ขึ ้น ทุก ที. ฉะนั้น ความเจริญก็เปนไปแตในทางวัตถุ ที่จะสนองความตองการของกิเลส ; แต เขาก็ยังไมถือกันวาเปนของผิด. นี ่ ม า ถึ ง คํ า ที ่ ป ร ะ ห ล า ด ที ่ ว  า ศี ล ธ ร ร ม อั น ดี ข อ ง ป ร ะ ช า ช น . นี ่เ ปน สิ ่ง ที ่น า หวัว ที ่ต อ งมีคํ า วา "ศีล ธรรมอัน ดีข องประชาชน" หรือ วา จะเปน ต น เหตุ ใ ห เ กิ ด ศี ล ธรรมอั น ดี ข องประชาชน; คล า ยกั บ มี ศ ี ล ธรรมที ่ ไ ม ดี ตองแยกไวเปนศีลธรรมของประชาชนอีกพวกหนึ่ง. อาตมาก็เ ลยอยากจะเสนออีก พวกหนึ ่ง วา เปน ศีล ธรรมที ่ไ มต อ ง ใช คํ า ว า "อั น ดี " เป น ศี ล ธรรมของพระอริ ย สาวก; ไม ต  อ งใช คํ า ว า อั น ดี อั น อะไรเพิ่ ม เติ ม เข า มาให มั น ยุ ง . เที ย บกั น ดู แ ล ว จะเห็ น ได ว า ศี ล ธรรมอั น ดี ข อง ประชาชน ดีอย างไร ๆ มันก็ ยัง เปนทาสของเนื้อ หนัง อยู ไปพิจารณาดูดวยจิต ใจ ที ่เ ที ่ย งธรรมเถอะวา ศีล ธรรมอัน ดีข องประชาชนนั ่น ดีไ ปถึง ไหน ถึง ที ่ส ุด แลว มั น ก็ ยั ง เป น ทาสของเนื้ อ หนั ง คื อ เป น ทาสของกิ เ ลสตั ณ หาอยู ถ า เป น ศี ล ธรรม ของพระอริ ย เจ า นี่ ก็ ไ ม เ ป น ทาสของกิ เ ลส หรื อ ไม เ ป น ทาสของเนื้ อ หนั ง , ไม เ ป น ทาสของความรู ส ึก ทางเนื ้อ หนัง ; หรือ อยา งนอ ย มัน ก็ค วบคุม ความรู ส ึก นั ้น ได. นี้เรียกวา ศีลธรรมของพระอริยสาวก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เพีย งเทา นี ้ก ็น ับ วา มัน สับ สนพอใชอ ยู แ ลว ที ่ม ีม ากชื ่อ แลว แต ละชื่ อ ก็ เปลี่ ย นความหมายกัน ตามยุ ค ตามสมั ย ตามความตอ งการ. ความหมาย

www.buddhadassa.in.th


ความหมายของคําวาศีลธรรม

๓๙

อยางที่ใชกันอยูในประเทศไทย หรือทางทิศตะวันออกนี้ก็ไมเหมือนกับที่เขาเคยใช อยูทางทิศตะวันตก, หรือวาจะเอาความหมายทางทิศตะวันตกมาใชอยางทางทิศ ตะวัน ออกนี้ ก็เ คยเห็น กัน วา ใชกัน ไมไ ดแ ลว ; นา ขยะแขยงดว ยซ้ํา ไป. เดี๋ยวนี้ก็ก ลับ ไปกลับ มา เพราะวา ทางตะวัน ออกนี้เ ปนฝา ยพายแพ พา ยแพ ทางวัตถุ คือ พายแพทางอํานาจของกิเลสตัณหา ก็เลยไปตามหลังวัฒนธรรม หรือหลังศีลธรรมตะวันตก ซึ่งเปลี่ยนแปลงไปจนไมมีอะไรเหลืออยางนี้ สรุ ป ความ แล ว ก็ ใ ห เ ห็ น ลงไปเสี ย ที ห นึ ่ ง ก อ นว า เรี ่ อ งชื ่ อ นี้ก ็ทํ า ยุ ง จนเอาอะไรแนไ มไ ด; ดัง นั้น จึง ตอ งมาดูกัน ถึง ความหมาย เอา ความหมายที่ถูกตองที่ดี. ถาจะตั้งชื่อกันใหมก็ไดหรือจะใชชื่อเดิมที่ใชอยูแลว; แตใหมันมีความหมายถูกตอง นี่ก็ยิ่งดี. ฉะนั้นตอไปนี้ก็จะไดพูดกันถึงความ หมาย ของคําวา ศีลธรรม โดยเฉพาะ. .… .… .... .…

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ไ ด ก ล า ว ม า แ ล ว ว า ค ว า ม ห ม า ย นั ้ น เ ป น สิ ่ ง ที่ กว า งขวางอยู โ ดยธรรมชาติ . คํา พู ด คํา หนึ่ ง มี ค วามหมาย ชนิ ด ที่ ถอดออกมาตรงตัว จากตัวหนังสือ หรือภาษานั้นก็มี. แลวความหมายที่มัน ซอ นอยูอ ยา งเรน ลับ มองเห็น ยากก็มี; ยัง มีค วามหมายชั้น ที่ ๑ ชั้น ที่ ๒ ชั้ น ที่ ๓ รวมความแล ว ก็ ต อ งถื อ ว า สิ่ ง ที่ เ รี ย กว า "ความหมาย" นั้ น มัน กวางขวาง เหลือประมาณ.

www.buddhadassa.in.th


๔๐

อริยศีลธรรม

ทีนี้เราจะเอามาพิจารณากันสัก ๓ อยางหรือ ๓ ประการ ลองดู ไดแ ก ความหมายทางภาษา, ความหมายทางพฤตินัย ตามธรรมชาติ, ความหมายทางบทบัญญัติในทางศาสนาเปนตน. ความหมายทางภาษา หรื อ ทางตั ว หนั ง สื อ นี้ ก็ เ ป น ความหมายของคําวา "ศีลธรรม" ซึ่งเปนภาษาบาลีมากอน มาใชเปนภาษาไทย เราดูใหดีวา คํานี้มีความหมายตามตัวหนังสือแหงภาษานั้น ๆ วาอยางไร; นี่ก็ ความหมายหนึ่งแลว. ที ่ น ี ก็ ด ู คํ า ว า "ศี ล ธรรม " นั ้ น ว า เป น สิ ่ ง ที ่ ม ี อ ยู  ต าม ธรรมชาติ โดยพฤตินัย อยางไรอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งคนบางพวกจะไมยอมรับวิธี พิจารณากันอยางนี้ก็ได. แตขอรองใหพิจารณาดูวา มันมีอยูลักษณะหนึ่ง คือ ตามที่มันเปน อยูเ องตามธรรมชาติ ซึ่ง เปน ความหมายลึก ไปกวา ตัวหนัง สือ ; แมความหมายทางตัวหนังสือ มันก็ถอดออกมาจากความหมายตามธรรมชาตินั่นเอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ค ว า ม ห ม า ย ท า ง บ ท บั ญ ญั ต ิ ท า ง ศ า ส น า ห รื อ ท า ง ระเบียบประเพณี อะไรก็ตาม ซึ่งเรียกวามนุษยบัญญัติขึ้นมานั้น มีเปนระเบียบๆ ไปตามความจําเปนของมนุษย โดยรูสึกตัวก็ไดไมรูสึกตัวก็ได; แตถึงอยางไร ก็ตามมันก็ไมหนีไปจากหลักเกณฑของธรรมชาติ; นี้ก็ความหมายหนึ่ง.

นี่ส รุป ดูแ ลว ก็จ ะพบความหมายรวมกัน ได เปน ความหมาย เดี ย วว า ความหมายคื อ ความไม ก ระทบกระทั่ ง ต อ ภาวะปกติ ทั้ ง ของตนเองและของกั น และกั น ทั้ ง โดยทางรู ป ธรรมและโดยทางนามธรรม

www.buddhadassa.in.th


ความหมายของคําวาศีลธรรม

๔๑

ทั้งโดยเจตนาและโดยพลั้งเผลอ นี่เห็นวาเปนความหมายที่ดีที่สุดของสิ่งที่ เรียกวาศีลธรรม ในทุกแขนงซึ่งจะไดดูกันใหละเอียดตอไปทีละอยาง :อยา งที่ ๑. ที่เ รีย กวา ความหมายทางภาษาหรือ ตามตัว หนัง สือ นั้น ก็เ อาตัว หนัง สือ เปน หลัก ก็แ ลว กัน : สี - ละ คํา หนึ่ง ธมฺม คํา หนึ่ง รวมกัน เปน ศีล ธรรม. สี - ละนี้ บางคนยัง ไมท ราบวา แปลวา อะไร; คงจะเขา ใจวา แปลวา ศีล อยา งที่เ ราถือ ๆ กัน อยูแ ตถา ถามวา คําวา "ศีล" แปลวาอะไร; จึงจะไปถึงความหมายเดิมของคํานี้. คํา วา สี - ละ หรือ ศีล นี้ ตัว หนัง สือ แท ๆ ก็แ ปลวา ปรกติ, อะไรที่คงอยูตามปรกติ ก็เรียกวา สี - ละ หรือ ทําอยูเปนปรกติ ไมผิดแปลก ออกไป; นี้ ก็ เ รี ย กว า สี - ละ. ถ า ผิ ด ปรกติ ก็ เ รี ย กว า ไม ใ ช สี - ละ. ที่ เ อา มาใชเ ปน ชื่อ ของการปฏิบัติที่เ รีย กวา "ศีล "นี้ก็คือ การทํา ใหป รกติ นั่น เอง. การฆากันไมใชปรกติ; ตอเมื่อไมฆากัน จึงจะเรียกวาปรกติ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี่สรุปความงาย ๆ วา : ศีลที่หนึ่ง การประทุษรายชีวิตรางกาย อวัยวะของผูอื่นนี้ นี้ไมใชปรกติ; ตองเลิกเสีย จึงจะมีความปรกติ.

ศี ล ที่ ส อง การลั ก การขโมย ประทุ ษ ร า ยทรั พ ย ส มบั ติ ข องเขา ก็ไมใชภาวะปรกติ เปนภาวะยุงยาก ภาวะกระทบกระทั่ง ก็เลิกเสียจึงจะปรกติ.

ศี ล ที ่ ส า ม ที ่ ว  า ไ ม ป ร ะ ทุ ษ ร า ย ข อ ง รั ก ข อ ง ผู  อื ่ น คื อ ไ ม ประพฤติลวงกาเมสุ มิจฉาจาร ก็เพราะวานั่นมันไมปรกติ ลองไปทําเขาเถอะ

www.buddhadassa.in.th


๔๒

อริยศีลธรรม

มันวุนวายทั้งภายนอกภายใน : มันเกิดเรื่องภายนอกจะฆาฟงกันเพราะเหตุนั้น, หรือภายในก็รอนไปดวยกิเลส ไมปรกติได; มันตองหยุดเสียเลิกเสีย จึงจะปรกติ. ศีล ที่สี่ การพูด เท็จ ก็ไ มใ ชเ รื่อ งปรกติ ตอ งละเลิก เสีย จึง จะ มีความปรกติ. ศีล ที ่ห า การเสพของเมาทุก ชนิด ก็ไ มใ ชเ รื ่อ งปรกติ : ทํ า ให เกิดความยุงยากฟนเฟอนลําบาก ผิดปรกติไปหมดทั้งจิตใจและการกระทํา ทางกาย วาจา เปนตน. ถ า เลิ ก การกระทํ า ทุ ก ประการดั ง กล า วมาอย า งนั้ น เสี ย ก็ เ รี ย กว า ปรกติ จึงเรียกวา มีศีล. ถ า ใคร รู  ค วามหมายของคํ า ว า "ศี ล " จะถื อ ศี ล ได ง  า ย สะดวกกวา คือ มุง หมายแตจ ะทํา ใหมัน ปรกติก็แ ลว กัน ก็มีศีล ; ไมตอ งระบุ ศี ล ๕ ศี ล ๘ หรื อ ศี ล อะไรก็ ไ ด พยายามอย า ให เ สี ย สภาพปรกติ เ ดิ ม แท ข อง ธรรมชาติของมนุษย ก็จะเรียกวามีศีลขึ้นมาทันที; จนบัญญัติกี่ขออยางไรก็ได. นี้ความหมายทางภาษา คําวา "ศีล" แปลวา ปรกติ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ที นี ้ ก็ ม าถึ ง ความหมายของคํ า ว า "ธรรม" คํ า ว า ธรรม นี้ มีความหมายหลายอยาง: ความหมายทั่วไป ก็หมายความวามัน ทรงตัวอยู คําวา "ธรรม" นี้ แ ปลว า ทรงตั ว อยู ; ฉะนั้ น "ศี ล ธรรม" ก็ แ ปลว า การทรงตั ว อยู  อ ย า งปรกติ มั น ก็ เ ท า นั ้ น เอง ทางภาษาจึ ง ได เ ห็ น เป น ภาพพจน ขึ ้ น มา

www.buddhadassa.in.th


ความหมายของคําวาศีลธรรม

๔๓

วามีความปรกติในทางปรากฏการณ ที่แสดงใหเห็นทั้งทางรูปธรรมและนามธรรม ของทุก ๆ สิ่ง. เราจะมองใหล ะเอีย ดออกไปอีก ก็ไ ดวา ความปรกติเ ปน เองของ มัน เองก็ไ ด, หรือ วาเจตนาของใครใหทํา ใหเ ปน ขึ้น ก็ไ ด, หรือ บัง เอิญมันเปน เองก็ยังได. นี่ก็เอาประโยชนอยางเดียวเทานั้น คือความปรกติ ไมกระทบกระทั่ง ไมระส่ําระสาย โกลาหล วุนวาย. ฉะนั้น ทางภาษาหรือทางตัวหนังสือมันมีอยู อยางนี้ ก็ทําใหมองเห็นหลักที่จะตองปฏิบัติตามความหมายนี้ ชัดขึ้นมาทีเดียววา อยาทําลายสภาพปรกติ ทั้งฝายรูปธรรม และนามธรรม. ฝา ยรูป ธรรม นี ้ก ็ค ือ ฝา ยรา งกายหรือ ฝา ยวัต ถุนี ้ ใหม ัน อยู ใ น สภาพปรกติ ก็พ อจะเขา ใจกัน ได; และแมสิ่ง ของในบา นเรือ น ถา มัน ไม เรียบรอย คือไมปรกติแลว มันก็เหลือทน. วัตถุสิ่งของทั่วไปตามธรรมชาติอยางที่ เราเห็ น ๆ อยู อ ย า งนี้ ถ า ปรกติ อ ยู ก็ น า ดู ; นี้ เ รี ย กว า ทางรู ป ธรรมข า งนอก. รูป ธรรมขา งใน เชน รา งกายนี้มัน ตอ งอยูใ นสภาพปกติ, รวมทั้ง ไมเ จ็บ ไมไ ข ไมอะไรตาง ๆ แลวก็ไมมีอะไรมารบกวนใหมันสูญเสียความเปนปรกติ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทาง ฝา ยนามธรรม นี้ ถา ตามธรรมชาติแ ทมัน ก็ไ มไ ดเ กิด กิเ ลส; ถา เปน เรื่อ งเกิด กิเ ลสแลว จะตอ งถือ วา เปน เรื่อ งผิด ธรรมชาติ. การที่ ตาเห็นรูป หูฟงเสียงอะไรก็ตาม; แลวเกิดความรูสึกคิดนึกไปตามธรรมดาสามัญ ไมปรุงเปนความโลภ ความโกรธ ความหลง นี้จะตองเรียกวาเปนปรกติ. แมวา จะตองไปหาอาหารกิน, หรือจะตองกินอาหาร หรือจะตองทําอะไรทุกอยางที่

www.buddhadassa.in.th


๔๔

อริยศีลธรรม

ตองทํา, ถา อยาเกิดกิเลส คือ โลภะ โทสะ โมหะ ที่เรียกว า "ความเห็ น แกตัว" แลวก็เปน ปรกติทั้งนั้น. นี้คือความปรกติ ที่เปนความหมายทางตัวหนังสือ หรือทางภาษา. .…

.…

....

.…

อย า งที่ ๒. ความหมายทางอาการตามธรรมชาติ ก็ เอาปรากฎการณของธรรมชาติแทเปนหลัก. เมื่อ พูด ถึง ธรรมชาติ ในที่นี้ก็เ ล็ง ถึง ธรรมชาติต ามธรรมดา ที่ แวดลอ มอยูทั่ว ๆ ไปนี้ข องสิ่ง ที่ไ มมีชีวิต ดว ย, และของสิ่ง ที่มีชีวิต ดว ย. ถา เป น ไปตามธรรมชาติ แ ล ว จะปรกติ ; เพราะมั น มี ก ฎของธรรมชาติ อยู อยางหนึ่ง คือ ถาไมถึงสภาพที่ปรกติ หรือที่ควรจะอยูตามปรกติแลว มันจะ ไมห ยุด มัน จะตอ งถูก ผลัก ไสไปกลิ้ง ไป จนกวา จะไปอยูใ นสภาพที่เ รีย กวา ปรกติที่สุด ที่มันจะอยูได แมสิ่งที่ไมมีชีวิต.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ขอใหพิจ ารณาดูเ ถอะวา จะเปน กอ นหิน กอ นดิน ดิน ทราย อะไรตาง ๆ ในพื้นแผนดินนี้; ทุกอยางมันจะเปนไปในลักษณะที่วา ไดสภาพ ที่แนนแฟนมั่นคงปรกติดแลว จึงจะหยุดอยู; ไมอยางนั้นมันก็จะไหลไป เปลี่ยนไป. เชนน้ํา ถามันไมมีสภาพที่ทําใหมันปรกติได มันก็จะไหลไปกวาจะ ไปหยุดไปรวมกัน อยูที่ทะเลที่มหาสมุทร อยางนี้

www.buddhadassa.in.th


ความหมายของคําวาศีลธรรม

๔๕

ที นี ้ สิ ่ ง ที ่ ม ั น ยิ ่ ง กว า นั ้ น เช น ต น ไม หรื อ สั ต ว นี ้ มั น ก็ จ ะ ปรั บ ปรุ ง ตั ว มั น เองให ไ ปอยู ใ นสภาพที่ เ รี ย กว า มั่ น คงหรื อ ปรกติ ; ไม อยางนั้นมันจะดิ้นรนเรื่อย จนกวาจะเกิดระเบียบหนึ่ง ซึ่งเรียกวาปรกติ. คน ก็ เ หมื อ นกั น ; เพราะว า คนก็ เ ลื่ อ นมาจากสั ต ว สั ต ว เ ลื่ อ นมาจากต น ไม ซึ่งเปนชีวิตที่ต่ําที่สุด, ตนไมก็เลื่อนมาจากวัตถุธาตุ ที่ไรชีวิตจิตใจ; มันถาย ๆ กัน มาตามธรรมชาติ; ไมม ีอ ะไรที ่ไ มใ ชธ รรมชาติ. นี ่ ทั ้ง สิ ่ง ที ่ม ีช ีว ิต และ สิ่ง ที่ไ มมีชีวิต ตอ งการจะอยูใ นสภาพที่ป รกติ หรือ ที่จ ะอยูไ ด อยา งที่ เรียกวาเรียบรอย. ความปรกติอยางนี้ เรียกวาปรกติตามธรรมชาติ, ตามความหมาย ของธรรมชาติ ที่มัน ตอ งการใหป รกติแ ละเรีย บรอ ย เราดูใ หดีจ ะพบวา ตัว ธรรมชาติแ ท ๆ มัน ก็เ ล็ง ถึง ความเปน ปรกติ; พอผิด ปรกติ ก็คือ ผิด ธรรมชาติก็มีเรื่องที่ตองทํา ตองยุง ตองลําบาก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทีนี้ค น, เราทํา ผิด ปรกติ เชน กิน อาหารผิด ปรกติ นุ ง หม ผิด ปรกติ มี บ  า นเรื อ นอยู  ผ ิ ด ปรกติ ; แล ว มั น ก็ ต  อ งยุ  ง กั น ไปหมด. ถ า ไม ยุ  ง ก็ใหถือวาเปนปรกติ.

ศ ี ล ธ ร ร ม ค ื อ สิ ่ ง ที ่ ท ร ง ต ั ว อ ยู  โ ด ย ป ร ก ต ิ ที ่ เ ป  น ต า ม ธรรมชาติ มีความหมายแสดงใหเห็นอยางนี้ ถามองเห็นก็จะเกิดความพอใจ เกิดเปนหลักปฏิบัติ วาจะรักสภาพตามธรรมชาติ จะพอใจสภาพตามธรรมชาติ. คําวา "รัก" ในที่นี้ มิไดหมายความวา "ยึดมั่นถือมั่น" อยางดวยกิเลสตัณหา เราไมอ าจจะรัก ธรรมชาติดว ยกิเ ลสตัณ หา หรือ ดว ยความยึด มั่น ถือ มั่น ; รัก

www.buddhadassa.in.th


๔๖

อริยศีลธรรม

ธรรมชาตินั้น รักเพราะวามันมีความสงบ ความหมายของความสงบตาม ธรรมชาติ ทําใหเกิดความพอใจ; คนที่รักธรรมชาติโดยถูกตอง ก็คือ รัก ความเปนปรกติตามธรรมชาติ : จะรักสภาพเชนนั้นดวย, แลวก็จะระวัง รักษาสนับสนุน สภาพเชนนั้นดวย. อยางวาที่นี้ ตรงนี้ ที่ตรงนี้ เราพอใจธรรมชาติ เราพยายาม สนับสนุนธรรมชาติ ปรับปรุงธรรมชาติ ใหเปนประโยชนแกเราใหมากที่สุด ; ก็ไมมีความหมายอื่น นอกไปจากวา ใหมันมีความสงบ ความเย็น ความเงียบ ความปรกตินั่นแหละ สวนนี้เปนความหมายสวนของธรรมชาติขอใหถือเอา ความหมายของคําวา ปรกติอยูตามธรรมชาติ นี้ใหไดอีกความหมายหนึ่ง เปน ความหมายที่ ๒; แลวก็ใหไดทั้งทางวัตถุทางรางกายและทางจิตใจ ใหจิตใจ มันอยูตามธรรมชาติฉลาดพอที่จะไมใหเกิดกิเลสที่ผิดธรรมชาติ แปลกปลอม เขามา แทรกแซงเขามา; นี้ก็ไดความหมายของศีลธรรมที่ดีกวาตามตัวหนังสือ หรือชัดเจนกวาตามตัวหนังสือยิ่งขึ้นไปอีก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อย า งที่ ๓ ความหมายตามบทบั ญ ญั ติ ท างศาสนา. เกี่ยวกับขอนี้ตองพิจารณากันที่ตัวการบัญญัตินั้นกอน วาการบัญญัตินั้นทํา อยางไร? อะไรเปนเหตุใหตองบัญญัติ? แลวก็บัญญัติเพื่อความมุงหมาย อยางไรในที่สุด? ดูใหดีจะพบวา ตัวการบัญญัตินั้นจะบัญญัติกันในรูปวัฒนธรรม ศี ล ธรรม ระเบี ย บประเพณี อะไรก็ ต าม, มั น เป น เรื่ อ งของการบั ญ ญั ติ ; ซึ่งมีหลายระดับ หลายยุคหลายสมัย ศีลธรรมจึงเปลี่ยนรูป เปลี่ยนแบบ หรือ

www.buddhadassa.in.th


ความหมายของคําวาศีลธรรม

๔๗

เปลี่ยนระดับ แตอยาลืม วา ศีลธรรมมุงหมายความสงบ ; เหตุที่ทําให ตองบั ญ ญั ติ ก็ เ พราะว า มั น ไม ส งบ เกิ ด การกระทบกระทั่ ง วุ น วายกั น ขึ้ น มา นี้ทําใหตองบัญญัติ, การบัญญัติก็เพื่อใหเกิดความสงบ. ถ า จะนึ ก ถึ ง ศี ล ธรรม ที่ บั ญ ญั ต ิ กั น ในยุ ค แรกที่ สุ ด ของ มนุษย ซึ่งเราก็ไมบอกกันไดวา กี่พันปหรือกี่หมื่นปมาแลว ; ยิ่งถอยหลังไปหา สมัยที่คนยังเปนคนปามากอยู ก็ยิ่งจะระบุรายละเอียดใหชัดเจนไดยาก แตโดย ใจความแลวไมยาก; เห็นไดเลยวามันทนอยูไมได เพราะมันเกิดการเปลี่ยนแปลง ที่เปนความไมสงบขึ้น ในหมูคณะนั้นเอง หรืออยางนอยที่สุดก็มองเห็นขึ้นวา จะเกิดความปรกติสุขได มากกวาที่จะปลอยไวอยางนั้น; เพราะฉะนั้นจึงมีการ บัญญัติ. คนปายุคแรกที่สุด ที่เขาจะบัญญัติศีลธรรมวาอะไรบางก็ตามใจ เรารูไ ดย าก; แตที่จ ะพอรูไ ดบา ง ก็พ บวา เขาตอ งการความสงบ, หรือ ตอ งการภาวะที่ส งบ ยิ่งขึ้นไป จึง เกิด การบัญ ญัติเรื่องศีลพื้น ฐาน เชนศีล ๕ ขึ้น : ไมใหเบียดเบียน ไมใหขโมย ไมใหอะไรตาง ๆ กระทั่งธรรมะที่ดีกวาเดิม. ที่พวกนักศึกษาทางนี้เขาคนควาไวไดมาก เขายังยืนยันวา คนปาระบบดึกดําบรรพ นั้น เขารูจักบัญญัติสิ่งตาง ๆ ที่เหมือนกันกับทีเดี๋ยวนี้เขานิยมหรือยอมรับ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ข อ ที ่ น  า สนใจ ก็ ม ี อ ยู  ห ลายข อ : เช น ข อ ที ่ ว  า กามารมณ ที่เกินจําเปนนั้นเปนบาป คือเปน ตาบู ซึ่งสมัยนั้นใชคําวา "ตาบู" คือบาป หรื อ เลว หรื อ เสนี ย ดจั ญ ไร; ใช ไ ม ไ ด ทุ ก อย า ง นี่ ดู ซิ เ ป น เรื่ อ งของคนป า สมัยที่แทบจะยังไมรูจักนุงผา นี่พวกนักศึกษาพวกนี้เขาคนมาได จากหลักฐาน

www.buddhadassa.in.th


๔๘

อริยศีลธรรม

ทางโบราณคดี อ ะไรก็ ต ามใจ; เขายอมเชื่ อ ว า ระบบนี้ เ คยถื อ กั น มาแล ว ตั้ ง แต สมัยคนปา ที่ใชระบบตาบู นี ้ เ ป น อั น ว า จ ะ บั ญ ญั ต ิ ศ ี ล ธร ร ม อ ะ ไ ร ขึ ้ น ม า ก็ เ พ ร า ะ ว า ทนอยูไมได คือเกิดมีการทําลายความสงบขึ้นมา หรือเห็นวา จะไดรับความ สงบที ่ ยิ ่ ง ขึ ้ น ไปกว า ก็ บ ั ญ ญั ต ิ ที นี ้ ศี ล ธรรมตามความหมายของการ บัญ ญัต ิท างศาสนา มัน อยู ที่ค วามสงบอีก ไมห ายไปไหน ไมวิ่ง ไปไหน; ลวนแตมุงหมายความสงบทุกระดับของความหมาย. ศีล ธรรมจะระดับ โลกิย ะ อยู ก ัน อยา งโลก ๆ, หรือ ระดับ โลกุต ตระจะใหพน โลกไปเสีย ที, ความหมายก็คือ ความสงบ. ความสงบสูง สุด ก็คือ พระนิพ พาน. สงบอยา งชาวบา นนี ้ก ็ไ มเ บีย ดเบีย นกัน ไมอ ะไรกัน ไมว า ระดั บ ไหนมี ค วาม สํ า คั ญ อยู  น ิ ด เดี ย ว จุ ด เดี ย วเท า นั ้ น คื อ ความสงบ : จะเปน เรื่อ งรูป ธรรมก็ไ ด เรื่อ งนามธรรมก็ไ ด แตที่จ ริง สองเรื่อ งนี้มัน แยกกัน ไมได เรื่องรางกายกับจิตใจนี้ มันแยกกันไมได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถ า แยกออกไปเป น รู ป ธรรมล ว น ๆ ของสิ ่ ง ที ่ ไ ม ม ี ช ี ว ิ ต นี ้ ม ั น ไมเ กี่ย วกับ บัญ ญัติ; แตถา บัญ ญัต ิก ็เ ปน เรื่อ งความสงบอีก นั ่น เอง หรือ วา ธรรมชาติบัญญัติก็ได ธรรมชาติบังคับก็ได มันก็เปนไปเพื่อความเปนระเบียบ เรียบรอ ย หรือ ความสงบสงัด ไปดูกอ นหินในลําธาร ในแมน้ํา หรือ ริม ทะเล; จะมองเห็น ความปรกติ หรือ ความสงบปรกติ ที่ท ะเลมัน จัด หรือ แมน้ํา จัด . ถา ไมอ ยูใ นสภาพอยา งนั้น มัน ไมห ยุด ; มัน ตอ งเปลี่ย นไปจนอยูใ นสภาพที่

www.buddhadassa.in.th


ความหมายของคําวาศีลธรรม

๔๙

พอดูได วามันสงบหรือมันเปนระเบียบ. นี้เรียกวารูปธรรมลวน ๆ มันก็ยังเปน อยางนี้. .… .… .... .… ที ่ นี ้ ย ั ง มี ที ่ จ ะ ต อ ง แ ย ก อ อ ก ไ ป

เ ป น ป จ เ จ ก ช น ห รื อ

วาเปนสังคม. เมื่อเราไมพูดถึงผูอื่น พูดถึงตัวเราคนเดียว ก็เรียกวา ปจเจกชน ก็ตองมีความสงบ ทั้งทางรางกาย ทั้งทางจิตใจ หรืออะไรก็ตาม ที่จะมีอยูใน คน ๆ หนึ่งนี้ จะตองสงบ; ฉะนั้นเราตองการ การกระทํา การเปนอยู การ อะไรก็ต าม ที่มีค วามสงบในสว นตัว บุค คล สว นที่ยัง เกี่ย วขอ งกับ ผูอื่น อีก ; ก็ตอ งมีระบบสวนที่จะตอ งใช เมื่อ เกี่ยวขอ งกันกับผูอื่น อีก ; นี่เ รียกวา สว น สังคม การบัญญัติตองใหครบถวนอยางนั้น จึงจะเรียกวาเปนการบัญญัติที่ดี.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org วิ ธ ี ป ฏิ บั ต ิ ในเมื ่ อ มองเห็ น ความมุ  ง หมายอั น นี ้ ก็ ต  อ งมี จ ิ ต ใจ ที่ ก ว า ง ที่ จ ะยอมรั บ ว า ทุ ก ๆ คนจะต อ งมี ค วามเห็ น อกเห็ น ใจกั น และ เขาใจกัน; ถาไมอยางนั้น ก็ไมมีทางที่จะเกิดความสงบได. เราจะวาเอาเอง บัญญัติเอาเอง ใหไดประโยชนของเรา โดยไมตองคํานึงถึงผูอื่น อยางนี้เปนไป ไมไ ด เราตอ งยอมรับ วา เรามีค วามเสมอภาคกัน ในฐานะที่วา "เปน เพื่อนเกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกัน" . ถาไมตั้งรากฐานอยูบนหลักเกณฑอันนี้แลว การบัญญัตินั้นก็ใชไมได หรือวาเขาจะใชใหไดดวยกิเลสตัณหา นั้นมันเปนอีก เรื่องหนึ่ง แตจะไมเปนการบัญญัติที่ดี ไมเปนศีลธรรมที่ดี.

www.buddhadassa.in.th


๕๐

อริยศีลธรรม

พิ จ ารณาดู สิ่ ง ที่ มี ชี วิ ต ทั้ ง หลายดี ก ว า ; จะเป น ชี วิ ต ระดั บ ไหน ก็ต าม : ตั้ง แตตน ไม ขึ้น มาถึง สัต ว ถึง บุค คลนี้ ; สิ่ง ที่มีชีวิต ทั้ง หลาย ระดับ ใดก็ต าม ลว นแต "เปน เพื่อ นเกิด แก เจ็บ ตาย" ซึ่ง ไมค วรไดรับ การกระทบกระทั่ง จนเสีย ภาวะปรกติ; ถา เรารูสึก อยา งนี้ เราก็จ ะไมไ ปเขี่ย แผนดินเลน ใหไสเดือนมันเดือดรอน. หรื อ อย า งว า ความมุ  ง หมายของพระวิ น ั ย เกี ่ ย วกั บ การ จํา พรรษาตลอดฤดูฝ นนี้ ก็มีอ ยูขอ หนึ่ง ที่วา จะไมไ ปเหยีย บย่ํา พืช ทั้ง หลาย ที่ละเอียดที่ดูดวยตาไมคอยเห็นนั้น ที่มันจะงอกงามขึ้นมาในฤดูฝน. ในฤดูที่ แผนดินชุมชื้นอยางนี้ ภิกษุไมควรจะจาริกไป เพราะจะไปทําลายชีวิตเหลานั้น มากเกิน ไป. นี ่ก็ร วมอยูใ นเหตุผ ลขอ หนึ่ง ที ่ทํา ใหห ยุด จํา พรรษาอยู ใ นที่ แหง หนึ่ง ; เราควรจะนึก ถึง กัน ใหดี ๆ แมเ ปน เรื่อ งที่เ กี่ย วกับ วินัย สิ่ง ที่มี ชีวิตทุกระดับตองการความสงบ ; ฉะนั้นเราก็ควรจะรับรู ไมควรจะทําลาย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี่ทั้ง หมดนี้แ สดงใหเ ห็น วา เมื่อ กลา วโดย ความหมาย เราจะ ไดค วามหมายอยา งนอ ย๓ ประการ : ความหมายทางภาษา ทางตัว หนังสือนั้นเอง ก็ความหมายหนึ่ง ; ความหมายทางปรากฏการณของธรรมชาติ. โดยที่วามนุษยไมไดแตะตอง เปนไปตามธรรมชาติก็ความหมายหนึ่ง ; แลว โดยความหมายทางการบัญญัติที่ผูมีปญญาเขาบัญญัติขึ้น เพื่อรักษาความเปน ปรกติไ วใ หม ากที่สุด สํา หรับ สิ่ง ที่มีชีวิต ทุก ระดับ ; ยอมรับ แมก ระทั่ง วา พืช พันธุไม หรืออาจจะยอมรับลงไปถึงกระทั่งวา สิ่งที่ไมมีชีวิต. .…

.…

....

.…

www.buddhadassa.in.th


ความหมายของคําวาศีลธรรม

๕๑

อยากจะพูด ใหใ ครดา ไวเ สีย เลยวา ในทางพุท ธศาสนานี่ ต อ งการจะป อ งกั น ความเสี ย ปรกติ แ ม ข องสิ ่ ง ที ่ ไ ม ม ี ช ี ว ิ ต เช น ดิน ทราย กอนหิน อะไรเหลานี้ดวย; อยาไปทําใหมันกําเริบ ใหมันสูญเสีย ความเปนปรกติ. นี่ความหมายของคําวา ศีลธรรม ๓ ความหมายอยางนี้. ที นี ้ เ ราจะเอาทั ้ ง ๓ ความหมายนี ้ มาระคนเข า กั น เป น ระบบของศีลธรรม ที่จะตองปฏิบัติ ที่จะตองประยุกตกันจริง ๆ ; ไมใช เพีย งแตพูด ไวเ ปน หลัก วา มีอ ยา งไรบาง ที่จ ะหยิบ ขึ้น มาเปน หลัก นั้น ไมย าก; แตไปยากอยูที่การปฏิบัติอีกนั่นแหละ. ความหมายที่ ๑. ให ถื อ หลั ก ทั่ ว ๆ ไปว า ให ค งความ เปน ปรกติไ ว. ความหมายทั่ว ไป ที่ค นเราทุก คนจะตอ งเกี่ย วขอ งนี้ จะมีวา ให ค งความเป น ปรกติ ไ ว ทั้ ง ในแง ข องวั ต ถุ แง ข องจิ ต ใจ ทั้ ง ในแง ข อง ปจเจกชน ทั้งในแงของสังคม, จนไมมีความลําบากเดือดรอนแลวความหมาย ก็จะเปนไปตามกฎเกณฑของธรรมชาติ อนุโลมกันไปไดโดยธรรมชาติ ผูบัญญัติ ก็บัญญัติโ ดยอนุโ ลมไปตามเกณฑของธรรมชาติ; ธรรมชาติทํา ใหเ กิด คํา พูด ขึ้นมา, คําพูดนั้นก็มีความหมายตรงตามกฎเกณฑของธรรมชาติ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี่คือปญหาบางอยางที่ยังไมเขาใจ เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวาศีลธรรม; เพราะแมตัวธรรมชาติเองนั่นแหละ ก็เปนตัวศีลธรรมอยูในตัว.

ทีนี้ศีลธรรมที่จะบัญญัติขึ้นมา ก็หนีความเปนธรรมชาติไปไมได; เพราะวาบัญญัติออกมาจากปรากฏการณของธรรมชาติ หรือวากฎเกณฑของ

www.buddhadassa.in.th


๕๒

อริยศีลธรรม

ธรรมชาติ เปน หลัก สํา หรับ การบัญ ญัติ. หรือ จะพูด กัน อีก ทีวา อะไรบา งที่ ไมใชธรรมชาติ? ถาพูด ตามหลักพุทธศาสนา แลวมันก็หมดปญหาเลย ไมมี อะไรเลยที่ ไ ม ใ ช ธ รรมชาติ : รู ป ธรรม นามธรรมเป น ธรรมชาติ แม แ ต ความดับแหงสิ่งเหลานั้น คือพระนิพพานเอง ก็เปนธรรมชาติ ไมมีอะไรที่ไมใช ธรรมชาติ เมื ่อ ถามวา อะไรสงบ? ก็ธ รรมชาตินั่น แหละมัน สงบ ถา เปน ธรรมชาติแหงการปรุงแตง มันก็สงบไปตามแบบของธรรมชาติแหงการปรุงแตง; ถามันหมดการปรุงแตง มันก็สงบรํางับลึกไปกวานั้น. คนที่ยัง ไมรู ตอ งขอเรีย กวา คนโง; เขาวา จับ ใสโ ลงนอนแข็ง อยูในโลกนั้น เตสํ วูปสโม สุโข; อยางนี้โงเหลือประมาณ วาคนที่นอนตาย อยูในโลงนั้นแหละสงบสุข คํานั้นเขาไมไดหมายความอยางนั้น เตสํ วูปสโม สุโข - ความเขาไปสงบรํางับแหงสังขารทั้งปวง เปนสุขอยางยิง นั้นหมายถึง พระนิพพาน แตเอามาสวดเวลามีศพ จับศพใสโลง แลวก็สวดคัมภีรสูงสุดวา เตสํ วูปสโม สุโข.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เ ร า มั ก จ ะ ถื อ เ อ า ค ว า ม ห ม า ย ผิ ด เ พ ร า ะ ศึ ก ษ า ผิ ด , เข า ใจคํ า ผิ ด , เล็ ง ถึ ง ตั ว ธรรมชาติ ผ ิ ด ; ธรรมชาติ แ ห ง ความสงบรํ า งั บ ของสั ง ขารเหล า นั้ น นั่ น แหละสงบที่ สุ ด , เป น สุ ข ที่ สุ ด เพราะมั น สงบ ที่สุด . แตวา ธรรมชาติที่เ ปน สัง ขาร ก็ส งบไปตามแบบของสัง ขาร; แมจ ะมี อะไรปรุงแตงผลักดัน มันก็ปรุงแตงไปหาความสงบ; เพราะวาที่อื่นมันไปไมได, มันเหมือนกับมีการตกลงไปสูที่ซึ่งจะตกไปอีกไมได มันจึงจะสงบ. หรือ วา รอ นก็เ หมือ นกัน มัน จะตอ งเย็น ลง จะรอ นอยู ไ มไ ด; เพราะวาความรอนนั้นไมใชปรกติ ไมใชสิ่งปรกติ ไมใชภาวะปรกติ มันตอ ง

www.buddhadassa.in.th


ความหมายของคําวาศีลธรรม

๕๓

หมดแหงความรอน จึงจะเปนภาวะปกติ; เพราะฉะนั้น สิ่งที่เรียกวาความรอน ก็จะเย็นลงตามธรรมชาติ ฉะนั้น ถือเสียวาธรรมชาติแลวก็จะตองสงบนี้ถูกที่สุด; ถาผิดธรรมชาติ จึงจะวุนวายขึ้นมา; พอหมดเหตุหมดปจจัยแหงความวุนวาย แลวก็จะสงบอีก. ดูอุป มางา ย ๆ อยา งวา ดูท ะเล ไมม ีล มพัด ก็เ งีย บ ; ถา มี เหตุปจจัยคือลมพัดอะไรอยางนี้ ทะเลก็เปนคลื่น หรือวาเปนบาเปนหลังอะไร ขึ้นมา กวาจะหมดเหตุปจจัยนั้น; เมื่อหมดเหตุปจจัยมันก็หยุด กลับไปหาความ สงบอีก. นี้ถือวาภาวะปรกติหรือสงบ นี้คือตัวธรรมชาติแท; นอกนั้นก็มีอะไร มาแทรกแซง ผิด ธรรมชาติเ ดิม แทไ ปหนอ ย เปน ธรรมชาติแ หง ความวุน วาย ชั่วครูชั่วขณะ. ฉะนั้นศีลธรรมก็เปนธรรมชาติแหงความสงบ อยาลืมวา สี - ละ, สี - ละ แปลวา ปรกติ, แปลวา ความปรกติ ก็ได, แปลวา ขวนขวายเพื่อ ความปรกติ ก็ ไ ด ; นั ่ น แหละคื อ สี - ละ เมื ่ อ ใดมี ค วามปรกติ เมื ่ อ นั ้ น มีศีล จะรับ ศีล หรือ ไมรับ ไมรูไ มชี้; ขอแตใ หมีค วามปรกติ แลว ก็จ ะมีศีล . พอรับ ศีล แลว ไมมีค วามปรกติ ก็ไ มมีศีล อยูนั่น เอง; จะมีศีล ไดก็อ ยูที่เ มื่อ มี ความปรกติของกายของวาจา หรือตามที่เราบัญญัติวาศีลอะไร.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ความหมายที่ ๒ ขวนขวายเพื่ อ ปรกติ , กํา ลั ง ไหลไปหา ความปรกติ : นี่ก็เรียกวาศีลไดเหมือนกัน หรือตองสงเคราะหนับเขาไวในสวน ที่ เ ป น ศี ล ถ า เรารั ก ษาความปรกติ ไ ว ไ ด แล ว ก็ เ รี ย กว า มี ศี ล ตลอดกาล.

www.buddhadassa.in.th


๕๔

อริยศีลธรรม

เดี๋ย วนี้มีศีล อยา งกับ เรีย น ก. ข. ก. กา ไมรูจัก จํา ตอ งเรีย นรูอ ยูเ รื่อ ย มัน ก็คงลําบากมาก คํา ว า ธรรม ความหมายว า ทรงตั ว อยู ; นี่ เ ป น ความหมาย ทั่วไป. สิ่งที่ทรงตัวอยูโดยมีเหตุปจจัยปรุงแตงก็มี, โดยไมตองมีปจจัยปรุงแตง ก็มี ; นี้ เรี ยกว า "ธรรม" ในความหมายที่ ท รงตั วอยู ถ า มัน (ธรรม)ไดท รงตั ว อยู ตามความหมายอัน แทจ ริง นั้น ก็มีป รกติอ ยูดว ย; แลว มาเขา กับ คํา วา "ศีล " ก็ถูกคูกันดี : เปนกิริยาอาการ หรือภาวะเดียวกัน สนับสนุนกันใหเกิดความปรกติ. แ ต ท ี นี ้ คํ า ว า ธ ร ร ม ะ นี ้ มี ห ล า ย ค ว า ม ห ม า ย อี ก ; ธ ร ร ม ะ ในความหมายที่ดีที่สุด ก็แ ปลวา หนา ที่ ธรรมะคือ หนา ที่ ฉะนั้น ธรรมะใน กรณีนี ้ คือ หนา ที ่ที ่จ ะตอ งทํ า ใหเ กิด ความสงบ จึง เรีย กวา ศีล ธรรม นี ้เ ปน ความหมายกวางกลาง ๆ ทั่วไป สําหรับคําวาศีลธรรม. .… .… .... .…

ศี ล ธ ร ร ม ข อ ง ค น www.buddhadasa.in.th ศี ล ธรรมของสั ต ว ศี ล ธรรมของต น ไม ศีล ธรรมของสิ ่ง ที ่ไ มม ีช ีว ิต : www.buddhadasa.org ที นี ้ ก ็ ด ู ใ ห ล ะ เ อี ย ด อ อ ก ไ ป ห น อ ย ว า ก็ อ ย า งหนึ ่ ง ก็ อ ย า งหนึ ่ ง มัน ก็อ ยา งหนึ ่ง กระทั ่ง กอ นหิน กอ นดิน อยา งนี้ ก็อ ยา งหนึ่ง ; เพราะมัน มีค วามปรกติ หรือ วา มุง หมายจะปรกติอ ยู ทั้งนั้น โดยรูสึกตัวก็ได ไมรูสึกตัวก็ได

www.buddhadassa.in.th


ความหมายของคําวาศีลธรรม

๕๕

เมื ่อ ถามวา คนมีศ ีล ธรรมหรือ เปลา ? โดยธรรมชาติแ ท ๆ ถา คนอยา ไปเกิด มัว เมาดว ยกิเ ลสเสีย คนก็ม ีศ ีล ธรรม มีป รกติอ ยู โ ดยธรรมชาติ, แตทีนี้คนกลับไมมีศีลธรรม ก็เพราะวามันมีการแวดลอมปรุงแตงที่มันผิดพลาด; โดยเหตุอ ะไรก็อ ยา ใหพ ูด มัน มีม ากมายนัก แลว ไปโทษใครก็ย ากลํ า บาก. จะโทษพ อ แม ก็ จ ะถู ก ที่ สุ ด ; แต ก็ ไ ม ค วรจะโทษ เดี๋ ย วจะเกิ ด เรื่ อ งอย า งอื่ น อี ก . เพราะวาเปนธรรมเนียมที่พอแมจะตองสอนลูกเด็ก ๆ ใหรูจักนั่นนี่ เพื่อใหดี เพื่อให สวย เพื ่อ ใหร วย; แมจ ะไมส อนโดยตรง มัน ก็ม ีสิ ่ง แวดลอ มรอบดา น ที ่ทํ า ให เขาเกิ ด ความยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น เป น ตั ว กู -เป น ของกู , แล ว มี ค วามโลภ ความโกรธ ความหลง. มนุษ ยค วรจะมีศ ีล ธรรมเปน ปรกติต ามธรรมชาติ ก็เ ลยหายไป; เกิดมีความโลภ ความโกรธ ความหลงมากขึ้น ๆ; นี่มนุษยก็เลย ไมมีศีลธรรม ตามธรรมชาติ ; จึง ตอ งมีก ารบัญ ญัต ิศ ีล ธรรมตามบทบัญ ญัต ิอ ยา งนั ้น อยางนี้ขึ้นมา จนกวาวามนุษยจะมีศีลธรรมไดจริงเทานั้น จึงจะมีความเปนมนุษย ที่นานับถือ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ที นี ้ สั ต ว ม ี ศ ี ล ธ ร รม หรื อ เ ป ล า ? ถ า มี จ ะ มี ใ น ค ว า ม ห ม า ย ไหน? เคยพู ด แล ว ในการบรรยายครั้ ง ก อ นด ว ยซ้ํ า ไป ว า สั ต ว นี้ ถ า ปล อ ย ตาม ธ ร ร ม ช า ติ เ ดิ ม แ ท มั น ก็ ม ี ศ ี ล ธ ร ร ม ใ น แ ง ข อ ง ธ ร ร ม ช า ติ สั ต ว ไ ม ย า ก จะฆา กัน ไมอ ยากจะลัก ขโมยกัน ; เพราะมัน ไมม ีค วามคิด ที ่จ ะทํ า อยา งนั ้น ได. ที่มันจะกัดกันอะไรกันก็เพราะความหิว หรือเพราะเหตุผลอยางอื่น ซึ่งผิดธรรมชาติ เสียแลว และเปนของเล็กนอยมาก เพิ่งจะแทรกแซงเขามา.

www.buddhadassa.in.th


๕๖

อริยศีลธรรม

ตามธรรมดาสั ต ว จ ะอยู ด  ว ยความสงบหรื อ ปรกติ ; แต ถ  า หิว ขึ ้น มานั ้น มัน อีก เรื ่อ งหนึ ่ง . ถา มัน เปน สัต วที ่ต อ งกิน สัต วอื ่น เปน อาหารหรือ ว า กิ น พื ช เป น อาหาร มั น ก็ ต อ งไปทํ า ลายสิ่ ง เหล า นั้ น ; นี่ เ ราไม เ รี ย กว า ผิ ด ศี ล ธรรม เพราะไมไดทําไปดวยความรูสึกคิดนึก หรือรูจักดีรูจักชั่วอะไร สั ต ว ต า ม ธ ร ร ม ช า ติ ก็ ม ี ศ ี ล ธ ร ร ม อ ยู  ร ะ ดั บ ห นึ ่ ง คื อ ร ะ ดั บ ตามธรรมชาติ, สงบอยู ต ามธรรมชาติ. มนุษ ยเ สีย อีก เขา ไปรบกวนความ สงบของสัตว ที่อยูตามธรรมชาติ; แมวาเปนสัตวที่จับมาฝกฝนดีแลว จะเรียกวา มีศ ีล ธรรมเพิ ่ม ขึ ้น นิด หนอ ยเทา นั ้น แหละ สัต วที ่จ ับ มาฝก ฝนดีแ ลว นี ่ มัน มี ศีลธรรมเพิ่มขึ้นอีกนิดหนอย, ไมมากมายเหมือนกับศีลธรรมที่สัตวมีอยูของมันเอง ตามธรรมชาติเลย. นี ้ จ ะ ม า ถึ ง คํ า ว า พื ช คื อ ต น ไ ม ทั ้ ง ห ล า ย เ ล็ ก ใ ห ญ นี ่ มั น มี ศี ล ธรรมหรื อ เปล า ? ในความหมายไหน? ข อ นี้ ค งจะเถี ย งกั น มากที เ ดี ย ว เพราะ บั ญ ญั ติ คํ า ว า ศี ล ธรรมต า งกั น ; แต เ ราพวกพุ ท ธบริ ษั ท นี้ ค งยื น ยั น อยู ต ามหลั ก เกณฑ อ ั น เดิ ม ว า ตามธรรมชาติ ต  อ งเป น ความสงบ พื ช พั น ธุ  ธ ั ญ ญาหาร ทั ้ง หลาย มัน กอ งการความสงบอยู โ ดยธรรมชาติ; ฉะนั ้น เมื ่อ มัน ยัง สงบอยู ไ ด ตามธรรมชาติ ก็ควรจะเรียกวา มันมีศีลธรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ใ ค ร เ ค ย เ ห็ น ต น ไ ม ม ั น ด า กั น บ า ง ไ ห ม ? ต น ไ ม ม ั น ท ะ เ ล า ะ กั น บา งไหม? ตน ไมม ัน ขโมยกัน บา งไหม? มัน ไมม ี, มัน เปน ไปไมไ ด นี ่ศ ีล ธรรม ตามธรรมชาติ ก็ม ีอ ยู แ กต น ไม อยา งนี ้ ในความหมายอยา งนี ้ มัน เปน

www.buddhadassa.in.th


ความหมายของคําวาศีลธรรม

๕๗

ชีวิต ชั้น ต่ํา รูสึก ต่ํา จะมีศีล ธรรมโดยการกระทํา หรือ โดยการปรับ ปรุง มัน ก็มี ไมไ ด; แตมัน มีไ ดโ ดยธรรมชาติ มัน ก็มีค วามสงบ มีค วามปรกติอ ยูโ ลกหนึ่ง ทีเดียว, เรียกวาโลกของตนไม. ทีนี ้พ ูด เลยไปถึง วา สิ ่ง ที ่ไ มม ีช ีว ิต เชน กอ นหิน นี ้ม ัน มีศ ีล ธรรม ไหม? นี้ก็เห็นงาย : ถาถายความหมายมาจากตนไม มันยิ่งมีความเปนปรกติ ยิ ่ง กวา ตน ไม กอ นหิน มีค วามเปน ปรกติม ากกวา พืช พัน ธุ ทั ้ง หลาย ใน ความหมายอยา งนี้, ตามความหมายของ สี - ละ แปลวา ปรกติ, ธรรม แปลวา ทรงตัวอยู, สีลธรรมแปลวา ทรงตัวอยูตามปรกติ การเคลื ่อ นไหวผิด ปรกตินั ้น เปน สว นที ่ทํ า ลายศีล ธรรม ซึ ่ง เปน เรื่อ งการเคลื่อ นไหวทางจิต ใจ. ระวัง ใหดี, ระวัง สิ่ง ที่เ รีย กวา จิต ใจ ใหดี; จิต ใจนั่น แหละจะเปน ตัว การ ที่จ ะทํา ใหเ กิด ปญ หาตา ง ๆ นานา มองใน แงธ รรมชาติก ัน แลว กอ นหิน จะมีค วามเปน ปรกติยิ ่ง กวา สิ ่ง ใด; เพราะไมมี ชีวิต ไมคิดไมนึกเปน. .… .… .... .…

www.buddhadasa.in.th สิ ่ ง เหล า นี ้ ม ั น เนื ่ อ ง www.buddhadasa.org กันหรือไม? ที นี ้ ล องพิ จ ารณาดู ก ั น อี ก ที ว  า

แร ธ าตุ ทั ้ ง หลายเหล า นี ้ เ ป น รากฐาน เป น พื ้ น ฐาน สํ า หรั บ ปรุง กัน ขึ ้น มาเปน สิ ่ง ที ่ด ีก วา นั ้น : เปน ธาตุด ิน ธาตุน้ํ า ธาตุไ ฟ ธาตุล ม;

www.buddhadassa.in.th


๕๘

อริยศีลธรรม

แลวจะปรับปรุงกันขึ้นมาเปนสิ่งที่มีชีวิต : เปนตนไมกอน เปนพืชพันธุไมนี้กอน; แลวจากนั้นจึงสูงขึ้นไปอีก เปนสัตวเดรัจฉาน จากนั้นจึงจะเปนมนุษย อยางนี้ เปนตน. สิ ่ง ตา ง ๆ เนื ่อ งกัน อยู โ ดยรากฐานขั ้น ลึก แลว ก็ส ูง ขึ ้น มา ; เพราะฉะนั้ น มั น มี ค วามหมายเกี่ ย วข อ งกั น มั น จึ ง เป น สิ่ ง ที่ ต อ งมี ค วามเป น ปรกติ อยูเปนระดับ ๆ กัน ; เรียกวามีศีลภาวะ, คือภาวะแหงความเปนปรกติที่สูงต่ํ า กวา กัน . อัน ไหนที่เ สีย ภาวะปรกติม าก ก็เ พราะมัน เจริญ มาก แลว ก็เ จริญ ใน ทางมั น สมองหรื อ จิ ต ใจ ถ า คิ ด นึ ก เก ง ก็ เ ลยสู ญ เสี ย ภาวะเดิ ม มาก แล ว ก็ เ ป น โอกาสมากที่สุด ที่จะเกิดความรูสึกผิด ๆ คือ ความโลภ ความโกรธ ความหลง มาทํ า ลายศี ล ธรรมเสี ย . นี้ เ ราก็ ม องเห็ น ได ที เ ดี ย วว า ตั้ ง แต ก อ นหิ น ขึ้ น มาถึ ง มนุษยนี้ ลวนมีความเนื่องกันโดยทางความหมายอันนี้ คือศีลธรรมที่มีความหมายวา ภาวะแห ง ปรกติ นี้ . เราจะทํา ให มี ศี ล ธรรมขึ้ น มาได อ ย า งไร ก็ จ ะต อ งมอง กันดูจากความจริงอันนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org .…

.…

....

.…

ที นี ้ ม อ ง อี ก แ น ว ห นึ ่ ง เ รี ย ก ว า ม อ ง เ พื ่ อ ใ ห เ กิ ด ศี ล ธ ร ร ม มองในแง ที่ ให เ กิ ด สิ่ ง ที่ เ รี ย กว า ศี ล ธรรม หรื อ ขวนขวายให มี ศี ล ธรรม.

ข อ นี ้ ก ็ จ ะต อ งระลึ ก ไว ใ นใจเสมอไป ว า รากฐานอั น แท จ ริ ง ของศี ล ธรรมนี ้ คื อ ยอมรั บ สิ ่ ง ที ่ ม ี ช ี ว ิ ต ทั ้ ง หมด ในฐานะเป น เพื ่ อ นเกิ ด แก เจ็บ ตาย ดว ยกัน ; ถา ไมม ีห ลัก เกณฑอ ัน นี ้เ ปน รากฐานแลว ก็ย ากที ่จ ะ มีศีลธรรมได.

www.buddhadassa.in.th


ความหมายของคําวาศีลธรรม

๕๙

เห็ น ง า ย ๆ ที ่ ม ี ก ารเอาเปรี ย บกั น การฆ า กั น การอะไรกั น , ที ่เ รีย กวา ไมม ีศ ีล ธรรม นั ่น แหละ; เพราะไมย อมรับ วา "สัต วทั ้ง หลาย เปน เพื ่อ นทุก ข เกิด แก เจ็บ ตาย ดว ยกัน ทั ้ง หมดทั ้ง สิ ้น " ในอดีต ใน อนาคต ในปจจุบันอะไรก็ตามเถอะ ความไมมีศีลธรรมนี้มาจากการขาดความรูสึก อั น นี ้ ; ฉะนั ้ น ขอให ไ ปคิ ด ให ม าก ในการที ่ จ ะยอมรั บ ว า "สิ ่ ง ที ่ ม ี ช ี ว ิ ต ทั้งหลายเปนเพื่อน เกิด แก เจ็บ ตายดวยกันทั้งหมดทั้งสิ้น" นึก ถึง คนดว ยกัน กอ น จะเห็น ไดง า ยหนอ ย ก็โ ดยไมเ อาเปรีย บ คนทุพ พลภาพ หรือ วา คนยากจนอะไร แลว ก็ไ ปนึก ถึง สัต วเ ดรัจ ฉาน ซึ ่ง มัน ก็ ไ ม อ ยากจะตาย กลั ว ตาย เราก็ เ ป น เพื ่ อ นทุ ก ข เ กิ ด แก เจ็ บ ตายกั น ; ในความหมายที่กวางขวาง ก็คือเราตองทนเวียนวายตายเกิดอยูดวยกันทั้งนั้น. ทีนี ้ก ็ย ัง ตอ งนึก ถึง ตน ไมห รือ พืช พัน ธุ ทั ้ง หลาย วา เรา ควรจะมี ระบบศีล ธรรมลงไปคุ ม ครองตน ไมเ หลา นี ้ห รือ ไม? เมื ่อ ยอมรับ ตน ไมม ีช ีว ิต แลวเราจะปฏิบัติกับตนไมอยางไร?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เรื ่อ งตน ไมม ีช ีว ิต นี ่ มีป ญ หาบางอยา ง ที ่ทํ า ใหค นมีศ ีล ธรรม ไดยาก, เขาใจไมได. ถาดูตามวินัยพระยอมรับคลาย ๆ กับวา ตนไมมีคาเทากับ สัต วเ หมือ นกัน ถา ทํ า สัต วต าย ก็เ ปน อาบัต ิป าจิต ตีย , ทํ า ตน ไมต ายก็เ ปน อาบัติ ปาจิต ตีย คือ อาบั ติที่เท ากัน ; แลวก็ยอมรั บวา ตน ไมกับ สัตว มีคาในทาง ชีว ิต นี ้เ ทา กัน การแผเ มตตากับ สัต วอ ยา งไร; ก็ค วรกับ ตน ไมอ ยา งนั ้น ใน ศาสนาอื ่น บางศาสนา ที ่ม ีอ ยู พ อ งกัน กับ พุท ธศาสนา ในอิน เดีย ก็ม ี ที ่ย อมรับ นับถือตนไม มากกวาระเบียบในพุทธศาสนาเสียอีก.

www.buddhadassa.in.th


๖๐

อริยศีลธรรม

ข อ ตั ด บ ท ว า เ ร า พิ จ า ร ณ า ต น ไ ม ก ั น ใ น ลั ก ษ ณ ะ อ ย า ง ไ ร จึง จะมีป ระโยชนแ กศ ีล ธรรม? ตรงนี ้ม ัก จะมีค นคัด คา น เพื ่อ จะใหม ัน ไม เปน ไปในทางที ่เ ปน ประโยชน เราตอ งถือ วา ถา เปน ประโยชนแ กค วามสงบสุข นั่นแหละคือถูก; เราจะรับรูตนไมในลักษณะอยางไร มนุษยจึงจะมีความสงบสุข; ก็ค วรจะยอมรับ รู ใ นความหมายอัน นั ้น . ถา ยอมรับ รู ว า ตน ไมม ัน ก็ม ีช ีว ิต และ มี ค วามรู  ส ึ ก ; เ ร า ก็ ต  อ งเมตตากรุ ณ ามั น . อย า งนี ้ แ ล ว ศี ล ธรรมของคน เหลา นั ้น จะดีห รือ ไมด ี, จะแนน แฟน หรือ ไมแ นน แฟน ? ที ่เ ห็น ไดใ นลัท ธิอื ่น ที ่เ ปน คู แ ขง ขัน กับ พุท ธศาสนาเขายอมรับ อยา งนี ้; แลว ศีล ธรรมของคนพวกนั ้น ก็ดีกวาพุทธบริษัทมาก ในแงที่ระมัดระวังการกระทบกระเทือนสิ่งที่มีชีวิต. เดี ๋ย วนี ้ การพิส ูจ นท างวิท ยาศาสตรใ หม ๆ "เมื ่อ วานนี ้" ; ใช คํ า วา อยา งนี ้ด ีก วา ; มัน ก็เ อีย งมาในทางที ่ใ หย อมรับ วา ตน ไมม ีค วามรู ส ึก คื อ มี ว ิ ญ ญาณ; ไม ใ ช พ ู ด ว า มี ช ี ว ิ ต นะ; พู ด ว า มี ช ี ว ิ ต นั ้ น ยอมรั บ แล ว ว า มี ชี วิ ต . แต ค นแต ก อ น หรื อ คนทั่ ว ไป มั ก จะปฏิ เ สธเสี ย ว า มั น ไม มี วิ ญ ญาณ ไม มี ความรู ส ึก : เชน ไมม ีค วามรู ส ึก รัก ไมม ีค วามรู ส ึก กลัว อยา งนี ้เ ปน ตน . แต เดี ๋ย วนี ้เ ขามีก ารคน ควา พิส ูจ นเ รื ่อ งนี ้ม ากขึ ้น จนพบวา มัน ตรงกัน ขา มกับ ที ่เ คยรู หรือ เคยเชื ่อ มา. และมัน กลับ ไปตรงกับ เรื ่อ งในครั ้ง พุท ธกาล คือ มีห ลัก ธรรม ในวิ นั ย ในพุ ท ธศาสนาที่ ย อมรั บ ถึ ง กั บ ให ค วามหมายแก ต น ไม นี่ ม ากกว า ที่ ว า มัน จะไมม ีค วามรู ส ึก . นี ้ก ็เ ลยอยากจะเอามาพูด เสีย ในวัน นี ้ด ว ย ในฐานะที ่ว า ตอไปมันจะเปนรากฐานของศีลธรรมที่ดี.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org หลายคนคงจะเคยอ า นหนั ง สื อ พิ ม พ ; เช น เมื่ อ ไม น านมานี้ ก็ มี หนัง สือ พิม พที ่ตัด ขา วมาลงเรื ่อ งวา เอาเพลงเย็น ๆ เนือ ย ๆ เพราะ ๆ ไปเปด

www.buddhadassa.in.th


ความหมายของคําวาศีลธรรม

๖๑

ในนาขา ว, แลว ขา วนั้น กลับ ออกรวงดี ไดน้ํา หนัก มากไมนา เชื่อ . แลว ก็มี การทดลองหลาย ๆ อยาง ๆ จนกระทั่งไมกี่วันก็มีหนังสือพิมพบางกอกโพสต ลงเรื่อ งนี้ซ้ํา อีก คือ คน ไดม ากขึ้น ; เขาก็เ อามาลงกัน เรื่อ ย ๆ หนัง สือ พิม พ บางกอกโพสต เมื่อเดือนเมษายนนี้เอง วามีผูทดลองมากขึ้น จนกระทั่งวา คน ที่ชื่อ เฮอรเบอรต เครสเมอร (Herbert Kretzmer) นี่เขายืนยันวา เมื่อพูดไพเราะ กับ ตน ไมด อก ที ่เ ลี ้ย งไวนั ้น ; มัน กลับ ออกดอกดี ออกดอกมาก ออกดอก สะพรั่ง คนที่คน มากกวา นั้น ก็ยัง มี มีก ารทดลองโดยเด็ก นัก เรีย น : ครู เขาแจกนักเรียนใหเอาจานแกวไปคนละ ๒ ใบ ใสน้ํานิดหนึ่ง แลวก็ใสถั่วให ๓ เม็ด ใน ๑ จาน เด็กนักเรียนไดรับไปคนละจาน เอาไปวางไวในหองเดียวกัน. แตวาจานหนึ่งไมสนใจเลย; อีกจานหนึ่งนั้นจะตองไปเยี่ยมเหมือนกับเยี่ยมนอง : ไปรองเพลงใหฟง, จะไปโรงเรียนก็จะตองลาถั่ว ๓ เม็ดนี้ วารอหนอยเดี๋ยวจะกลับ มาอีก อะไรอยา งนี้. พอครบ ๑ สัป ดาหก็เ อาไปใหค รูดู; นัก เรีย นเล็ก ๆ ที่ทํานี้ ทีนี้เขาเรียกกองบันทึกเอกสารใหเอาฟลมมาถายรูปไว ปรากฏเปนหลัก ฐานวาทุกจานที่เด็กเขาไมไปเยี่ยมเลยนั้นไมงอก เหี่ยว หรือวามันงอกอยางแกน ที่สุดแลวก็จะตายไป ในจานที่ไปเอาใจใสดวยความรักนั้น งอกดีทุกเมล็ด.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี ่ก ็เ ลยตั ้ง ฐานขอ เท็จ จริง อัน นี ้ขึ ้น มาวา ตน ถั ่ว ที ่ถ ูก รัก นั ้น มัน งอกงามยิ่ง; ตนถั่วที่ไมมีใครรักนั้น มันก็เหี่ยวและรวงโรยไป แมวาไดวางไว ในหองเดียวกัน มีอุณหภูมิอยางเดียวกัน มีแสงสวางเดียวกัน นี่เขาทําที่สถานที่ เรียกวา Pato Alto ที่ คาลิฟอเนีย.

www.buddhadassa.in.th


๖๒

อริยศีลธรรม

เดี๋ ย วนี้ เ ขาก็ มี ก ารค น คว า มากทํ า เครื่ อ งมื อ เรี ย กว า graphic evidence ขึ้น เพื่อ จะวั ดความหวั่ นไหว รู สึกในสิ่ งที่ มี ชีวิ ต คือ วัด จากตน ไมนี้ ว า ตน ไมม ัน มีค วามรู ส ึก หวั ่น ไหวในทางความรู ส ึก อยา งไร เขามีเ ครื ่อ งวัด มีเ ข็ม ชี้ มากนอย เขาใชเครื่องมืออยางนี้วัด สมาคมที่คนควาทาง psychic phenomena กําลังทํากันเปนการใหญ แลวผลมันออกมาอยางนาอัศจรรย คือยืนยันความรูสึก ของต นไม: แสดงว าต น ไม มีค วามรูสึ กต อ ชี วิต ทุ กชนิด ที่อ ยู รอบ ๆ ตั ว มัน แสดง วามันมีที่เรียกวา emotion ความรูสึกที่ไหลไปเปนความคิดนึก รัก โกรธ เกลียด กลัวนี้ มันรักดนตรี มันกลัวหมา, แลวมันรูสึกสะเทือนใจ เมื่อ มีการเบียดเบียน ฆา ฟน กัน โดยรอบ ๆ มัน รู ไ ดโ ดยเข็ม วัด ที ่ว ัด ความรู ส ึก ในตน ไม วา ตน ไม รูสึกสะเทือนใจมาก เมื่อเกิดการเบียดเบียนลางผลาญฆาฟนกันใกล ๆ คนที ่ชื ่อ คลีฟ ว บัค สเตอร (Cleve Bachster) นี ้เ ปน คนมีชื ่อ เสีย งมากคนหนึ่ง เขาพิสูจ นใ หดูไ ด ที่สํา นัก งานของเขา ที่ตั้ง เพื่อ คน ควา อัน นี้ วา ตน ไมนี ้ม ัน มีค วามรู ส ึก อยา งนี ้; แตว า เปน ชั ้น แรกที ่ส ุด ชั ้น รากฐานที ่ส ุด เรียกวา primary perception คือความรูสึกตออารมณในขั้นต่ําที่สุด ขั้นรากฐาน ที ่ส ุด ; ยัง ไมพ บถึง ที ่ส ุด ก็ย ัง นิย ามความหมายตา ง ๆ ยัง ไมไ ด. แตย อมรับ วา มัน เปน ความสามารถอัน หนึ ่ง ที ่จ ะรู ส ึก ไดต ามสมควร มีอ ยู ใ นตน ไม; และ โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง มั น มี อ ยู ใ นเซลล ห นึ่ ง ๆ เซลล ห นึ่ ง นั้ น ถื อ ว า มั น มี ชี วิ ต แล ว หลาย ๆ เซลลประกอบกันขึ้นเปนอวัยวะรางกายของคนของสัตวนี้ ในเซลลหนึ่ง ๆ มันก็มีชีวิต แลวก็วา primary perception ก็มีอยูแมในเซลลหนึ่ ง ๆ นั่น คือรากฐาน ของความรูสึกของสิ่งที่มีชีวิต อยูที่นั้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


ความหมายของคําวาศีลธรรม

๖๓

แลว คนนี ้เ ขาก็ย ืน ยัน วา แมค นอิน เดีย แดงในอเมริก าสมัย โนน เขาก็มีความเชื่อวาอยางนี้ วาตนไมมีความรูสึกอยางนี้ กอนพวกนักวิทยาศาสตร เหลา นี ้เ สีย อีก . แลว มิส เตอร บัค สเตอรนี ้แ กพบถึง กับ วา เรื ่อ งการกระทบกระทั่งทางวัตถุนี้ไมคอยมีความหมาย เชนวาเราจะเอาน้ํามารดตนไม หรือวาเอา ใบไม ใ บหนึ่ ง ของกิ่ ง ไม จุ ม ลงไปในน้ํ า ร อ นนี้ มั น ก็ ไ ม มี ค วามรู สึ ก อะไร มั น รู สึ ก เหมือ น ๆ กัน คือ จะปรกติอ ยู  แตถ า วา เราคิด จะฆา มัน คือ วา จะเอาไฟมา เผาเสีย; พอเพียงคิด ยังไมทันจะไปหยิบไมขีดไฟมายุดไฟ ตนไมแสดงปฏิกิริยา ความรูสึกทันที ที่เข็มวัดมันบอก วาตนไมกลัวเหมือนกับเรากลัวอะไรอยูตัวสั่น; ยังไมไดจุดไฟเผานะ เพียงแตคิดวาจะเผา จะไปหยิบไมขีดไฟมาจุดเผา มันกลัว ตัวสั่น แตทีรดน้ําเย็นให หรือวาจุมลงไปในน้ํารอนมันไมรูสึกอะไร. ทีนี ้เ ขาทดลองใหค น ๖ คน ที ่เ กลีย ดตน ไมที ่ส ุด เคยทํ า อัน ตราย ตนไม เดินเวียนเขาเวียนออกในหอง ๆ หนึ่ง; มีอยูคน ๆ หนึ่งเปนศัตรูกับตนไม พอคนนั ้น เดิน เวีย นมาถึง กระถางตน ไวท ดลองนี ้ มัน สะดุ ง ทุก ที มัน กลัว ทุก ที. อีก ๕ คนเดินเขามาตามลําดับนี้ มันไมมีความรูสึกอยางนั้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org มิ ส เตอร บั ค สเตอร นี ้ เขาวั ด ทดสอบอยู  ต ลอดเวลา ต น ไม ที่วางใหหาง ๆ กันในหองหลาย ๆ หอง หองละตน ๆ นี้ ทุกตนแสดงอาการกลัว ตัว สั่น เมื่อ เขาโปรยกุง เปน ๆ ลงในน้ํา เดือ ด โดยใชเ ครื่อ งจัก รกลโปรย ไมใ ช ใช มื อ โปรยไม ใ ช จิ ต ของคนนั้ น นี่ ก็ แ ปลว า ความรู สึ ก ของกุ ง ที่ มั น ถู ก ต ม มั น แสดง ออกจนตนไมรับไดอยางนี้ แลวคน ๆ นี้เขาบอกวา เขาสามารถทําใหตนไมเกิด ความกระปรี้ กระเปร าสดชื่ นขึ้ นมาทั นที ในระยะไกลตั้ ง ๑๕ ไมล โดยทางความคิ ด.

www.buddhadassa.in.th


๖๔

อริยศีลธรรม

วัน หนึ ่ง เพื ่อ ของเขามา เพื ่อ จะศึก ษารว มกัน ในหอ งทดลอง ของเขา พอเพื ่อ นคนนี ้เ ขา มาในหอ งนั ้น ตน ไมท ุก ตน มีอ าการเหมือ นกับ สลบ ที ่เ รีย กวา โคมา ; ตามที ่เ ข็ม วัด ชี ้บ อก นี ้เ ขาเลยมองหนา เพื ่อ นเขาวา ทํ า ไม แกทําอะไรมา เพื่อนคนนี้เขาบอกวา ฉันเผาใบไมสดมาเมื่อตะกี้นี้ เพื่อการคนควา ทางน้ํ า หนัก เขาเลยเยา คนนี ้ว า เปน ยัก ษเ ปน ศัต รูต อ ตน ไมนี ้ เขาออกไปแลว ตั้งเกือบชั่วโมง ตนไมจึงจะฟนขึ้นมาในสภาพเดิม คือฟนจากโคมา มาอยูในตนไม สภาพเดิม อยางนี้มีมากมายเอามาเลาไมไหว. ใ น ที ่ ส ุ ด ด ร . โ ว เ ก ล นั ก ศี ล ธ ร ร ม เ ข า ว า มั น เ ป น ห ลั ก ฐ า น ที่ เพียงพอแลว ที่วาเราสามารถสอนใหเด็ก ๆ รูจักเมตตากรุณาตอสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย โดยเอาขอเท็จจริงที่เกี่ยวกับเรื่องนี้แหละเปนหลัก. ทีนี ้เ กี ่ย วกับ เรื ่อ งทางศาสนา ก็ม ีค น ๆ หนึ ่ง เขาพูด ไวอ ยา งเขา รูป กัน พอดี; เขาวา ในแรธ าตุทั ้ง หลายพระเจา ยัง หลับ อยู , ในพืช พัน ธุ ต น ไมนี่ พระเจาตื่นนอนแลว, ในสัตวเดรัจฉานทั้งหลายพระเจาแผนดิน, แลวในหมูมนุษยนี่ พระเจา กํา ลัง คิด , นี่วิว ัฒ นาการของธรรมชาติ : ในหมูม นุษ ยพ ระเจา กํ า ลัง คิด , ในสัต วพ ระเจา กํ า ลัง เดิน . ในตน ไมพ ระเจา กํ า ลัง ตื ่น นอน ในแรธ าตุทั ้ง หลาย ทานกําลังหลับอยู นี่เขาใชเปนรากฐานทางศีลธรรม ที่จะสอนใหเกิดความเห็นใจ สิ่งที่มีชีวิต.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ฉะนั ้น ขอ ใหถ ือ วา เรื ่อ งทางศีล ธ รรมนี ้ ควรจะเปด โอกาส กวางลงไปถึ งชีวิตทุ กระดั บแมแต ตนไม ที่กําลังพิสู จนวามั นก็มีความรูสึ กรัก โกรธ

www.buddhadassa.in.th


ความหมายของคําวาศีลธรรม

๖๕

กลัว อะไรไดเ หมือ นกัน นี ่คิด อยา งนี ้แ ลว ก็ห มดปญ หาที ่วา เราจะสงสัย อยูว า เราจะไมยอมรับวา สิ่งที่มีชีวิตทั้งหลาย เปนเพื่อน เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกัน ทั้งหมดทั้งสิ้น. เวลาสํ าหรั บการบรรยายมั นก็ จ ะหมดแลว ฝนก็ม าแล ว อาตมาพู ด ไมไดก็ตองขอยุติไวเพียงเทานี้กอน. ร ว ม ค ว า ม ว า ค ว า ม ห ม า ย ท า ง ศี ล ธ ร ร ม นี ้ ยั ง มี อ ยู  ม า ก สํ า หรั บ มนุ ษ ย ที ่ จ ะต อ งมองดู ก ั น ต อ ไป ซึ ่ ง จะได บ รรยายกั น ต อ ไปใน โอกาสหลัง. -----------------

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรม -๓๒๐ กรกฎาคม ๒๕๑๗

คา และ ความจําเปน ที่ตองมี ศีลธรรม

ทานสาธุชน ผูมีความสนใจในธรรม ทั้งหลาย,

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ก า ร บ ร ร ย า ย ป ร ะ จํา วั น เ ส า ร เป นค รั้ ง ที่ ๓ ของ ภ าค อาสาฬหบู ช าในวั น นี้ อาตมาจะได ก ล า วโดยหั ว ข อ ใหญ ว า อริ ย ศี ล ธรรม ไปตามเดิ ม , จะกล า วโดยหั ว ข อ ย อ ยลงไปว า "ค า และความ จํา เป น ที่ ต อ งมี ศี ล ธรรม" คื อ จะกล า วค า ของศี ล ธรรม และความ จําเปนที่มนุษยเราจะตองมีศีลธรรม

อาตมาไม ก ลั ว ใครจะรํา คาญ คื อ ไปเอาเรื่ อ งที่ เ ข า ใจว า หลายคนคงจะรําคาญนั่นแหละมาพูดกันอีก คือเรือ่ งศีลธรรม ใหละเอียดปลีกยอย ๖๗

www.buddhadassa.in.th


๖๘

อริยศีลธรรม

ออกไปทีละอยาง ๆ; อยางในวันนี้ก็จะพูดถึง คา หรือ คุณคา โดยเฉพาะ; แลวก็แสดงใหเห็น ความจําเปน ที่คนเราจะตองมีศีลธรรมยิ่งขึ้น แลวก็จะเกิด ความสนใจในศี ล ธรรมกั น นี่ ข อให อ ดทนฟ ง ; เพราะว า เป น เรื่ อ งที่ ยั ง ไม ไดสนใจกันโดยละเอียด. ที่จริงถาจะสนใจกันโดยละเอียด ก็คงจะทราบไดกัน ทุกคน วามันมีความจําเปนที่จะตองมีศีลธรรมกันอยางไร .…

....

….

.…

ในเมื่อถามวา ถาหมูบานนี้ไมมีถนนหนทางจะเดินก็เปนเพราะ คนในหมูบานนี้ขาดศีลธรรมใชหรือไม? พวกที่ถือวาเพราะขาดศีลธรรม ก็จะ เห็นไววา เพราะความเห็นแกตัวมากเกินไปก็ไมชวยกันทําหนทางสําหรับจะเดิน หรือวาคนขี้เกียจมันก็ไมทํา; ความขี้เกียจนี้ก็คือ ความไมมีศีลธรรม. หรื อ นั บ ตั้ ง แต ว า บนเรื อ นของคน ๆ หนึ่ ง มั น สกปรกรกรุ ง รั ง ; ถามองใหลึก ก็เพราะขาดศีลธรรม. นี้เรียกวาปญหาเล็กนอยที่สุด.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org หรือถาในบานเรือนเต็มไปดวยเสียงทะเลาะวิวาท ระงมไปหมด มันก็เปนเรื่องของการ ขาดศีลธรรม

ดาทอกันอยู

หรือเมื่อคนมีความยากจนก็เพราะขาดศีลธรรม, มีขโมย มีโจร มีอะไรมากก็ยิ่งเห็นไดวา เพราะ ขาดศีลธรรม การที่เอาเปรียบกัน จะตองทะเลาะวิวาทกัน ระหวางนายทุนกับ ชาวนาอยางนี้ ก็เพราะวามันขาดศีลธรรม; ไมมากก็นอยดวยกันทั้ง ๒ ฝาย จน

www.buddhadassa.in.th


๖๙

คาและความจําเปนที่ตองมีศีลธรรม

เรากลาวไดวา ถามีการทะเลาะวิวาทกันที่ไหน ก็ตองถือวา ที่นั่นมีการขาดศีลธรรม ดวยกันทั้ง ๒ ฝาย; ไมมากก็นอย, ไมรูปใดก็รูปหนึ่ง, ไมโดยตรงก็โดยออม. เดี๋ ย วนี้ ป ญ หามั น ก็ มี ม ากขึ้ น ทุ ก ที ใ นโลกนี้ ; นั ก เรี ย น ก็ ข าด ศีลธรรม แลวมันเปนอยางไรบาง, ครูบาอาจารยก็ขาดศีลธรรม มันจะเปน อย า งไรบ า ง ผู ป กครองเป น ลํา ดั บ ชั้ น ขึ้ น ไปก็ ข าดศี ล ธรรม, พ อ ค า ก็ ข าด ศี ล ธรรม, คนซื้ อ ก็ ขาดศี ล ธรรม, กระทั่ ง ว า ทนายความ ขาดศี ล ธรรม ตํารวจ ขาดศีลธรรม ผูพิพากษา ขาดศีลธรรม กระทั่งผูปกครองบานเมือง ขาดศีลธรรม; นี่มันจะเปนอยางไร. การที่ มี อ ะไรไม ป กติ ไม เ ป น ไปอย า งราบรื่ น ก็ ก ล า ว ไดวาเพราะขาดศีลธรรม ทั้งนั้น; แตเขาก็ไปโทษกันวา เพราะแกปญหานั้น แกปญหานี้ แกปญหาโนน มันไมถูกตอง เขาไปโทษเรื่องเศรษฐกิจบาง เรื่อง การเมืองบาง เรื่องอะไรบาง ก็หลับตาแกแตปลายเหตุกันไปเทานั้น ที่ตนเหตุ อันแทจริงไมมองวาเปนเพราะมันขาดศีลธรรม แมแตเราจะมีผูปกครองบาน เมื อ งที่ ดี อ ย า งไร; แต ถ า พลเมื อ งไม มี ศี ล ธรรม ก็ ป กครองไม ไ ด หรื อ ทํา ไมได ทําอะไรใหมีความเจริญไมได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตองไปมองดูกันในแงนี้กอน แลวก็จะคอย ๆ เห็นในความจําเปน ของสิ่งที่เรียกวาศีลธรรมมากขึ้นทุกที ก็จะเกิดความสนใจมากขึ้น อาตมาจึงไม กลัววาทานจะรําคาญ ในเมื่อจะตองพูดกันเรื่องศีลธรรมใหละเอียดลออกัน ใหมัน ทุกแงทุกมุม และหลายครั้งหลายหน. .…

....

….

.…

www.buddhadassa.in.th


๗๐

อริยศีลธรรม

ใ น ค รั ้ ง ที ่ แ ล ว ๆ ม า ก ็ ไ ด พ ู ด เ รื ่ อ ง ชื ่ อ แ ล ะ ค ว า ม ห ม า ย ของศีล ธรรม. สิ่งที่เ รียกวาศีล ธรรม. มีชื่อมากมายจนสับ สน มนุษ ย ก็เปลี่ยนชื่อของสิ่ง ๆ นี้กันไปเรื่อย ๆ ไปจนสับสน จนเอาอะไรไมได จะนาสมเพช ที่สุด . เชน จะตอ งพูดวา ศีล ธรรมอัน ดีของประชาชน; คลาย ๆ กับ วา มัน มี ศีลธรรมอันเลวของประชาชนอยูสวนหนึ่ง. เมื่ อ พู ด ถึ ง ศี ล ธรรม กั น แล ว มั น ไม ค วรจะมี อั น ดี อั น เลว อะไรแลว; มันตองถูกตองและมีประโยชน มนุษยเสียเอง มาทําใหเกิดปญหา ยุงยาก จนไดมีศีลธรรมดี ศีลธรรมเลว อะไรกันขึ้นมา; เพราะวามนุษยเปน ทาสของวัตถุมากขึ้นทุกทีนั่นเอง. ทีนี้ความหมายของคํา วา "ศีลธรรม" มัน ก็สั บสน แลว ก็ เปลี่ยนแปลงกันไปเรื่อย ๆ; เปลี่ยนแปลงความหมายกันไปเรื่อย ๆ : กวางแคบ บาง, สูงต่าํ บาง. แตความหมายที่แทจริง ที่ลึกซึ้งของธรรมชาตินั้น กลับไม คอยจะมอง ก็เลยไมรูจักแมแตชื่อและความหมาย; ฉะนั้นจึงตองมาพูดกันวาชื่อ มันหลอกลวงและเลนตลกกันอยางไรบาง ความหมายก็ซับซอน จนไมรูวาจะเอา อยางไรกันแน; แตถึงอยางไรก็ดี ไดสรุปความใหเห็นชัดแลววา สิ่งนี้ถือ เอา ความหมายในภาษาบาลีนั้นเปนดีที่สุด, คือเอาตามความหมายของคําวา สี-ละ นั่นเอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org .…

....

….

.…

สี - ละ แปลว า ปรกติ ; ถ า สิ่ ง ใดเป น ไปเพื่ อ ความปรกติ ไมวุนวาย ก็เรียกวา สี - ละ; และธรรมที่ทําใหมีความเปนอยางนั้นก็เรียกวา

www.buddhadassa.in.th


คาและความจําเปนที่ตองมีศีลธรรม

๗๑

"ศีลธรรม". นับวาเราโชคดี ที่ไดใชคําบาลีคํานี้ คือมีความหมายถือเอา เปนหลักเกณฑได; ภาษาอื่นใชคําอยางอื่น อาจจะไมสะดวกหรือไมตรงก็ได สังเกตดูภาษาตางประเทศ มีความหมายไมตรงกับความหมายของคําวา "ศีลธรรม" ในภาษาไทย ขอใหจําคําสําคัญนี้ไวดวย คือ คําวา สี - ละ หรือ ศีล แปลวา ปรกติ. ที นี้ ความหมายของคํา ว า ปรกติ นี้ ก็ ห ลายชั้ น ; เดี๋ ย วจะ ไปหาวาปรกติอยางกอนหิน จะนั่งนิ่งอยูเปนกอนหิน แลวก็ไมตองทําอะไร แลว ก็เรียกวามีศีลธรรม อยางนี้มันก็เรียกวาเขาใจผิด นั่นเปนเรื่องทางวัตถุ; ถา ปรกติอยางนั้นก็เปนเรื่องทางวัตถุ ก็เปนศีลธรรมของวัตถุ. เดี๋ยวนี้เรากําลังพูดกัน ถึงเรื่องของคนที่มีความคิดนึกมีสติปญญา จะตองดูใหดีวา จะมีอะไรบาง ที่ลึกซึ้งกวานั้น คือวามี ใจคอปรกติ, มีการ พูดจาปรกติ, มีการกระทําปรกติ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทีนี้ คําวาปรกตินั้น ไมไดหมายความวา นิ่งหรือไมพูด หรือ ไมกระดุกกระดิก ไมเคลื่อนไหว คําวา ปรกติ นี้ หมายความวา ไมกระทบ กระทั่ ง ใคร, ไม ก ระทบกระทั่ ง ตั ว เอง หรื อ ไม ทํา ตั ว เองให เ ดื อ ดร อ น, ไมกระทบกระทั่งใคร คือไมกระทบกระทั่งผูอื่น หรือไมทําผูอ่ืนใหเดือดรอน อยางนี้เรียกวาปรกติ ตามความหมายของคําวาศีลธรรม. ทีนี้ พวกนักคาน นักแยง ก็อาจจะพูดขึ้นมาวา ก็มัวแตนั่ง ทําปรกติ ไมกระทบกระทั่ง แลวบานเมืองจะเจริญอยางไร? นั่นแหละเปน เรื่องที่จะตองหาความหมายกันใหถูกตอง.

www.buddhadassa.in.th


๗๒

อริยศีลธรรม

ถ า จะคิ ด เสี ย ว า การที่ บ า นเมื อ งมั น ไม ป รกติ , แล ว เราช ว ย ทําใหมันปรกติ จะไมเรียกวาศีลธรรมอยางไร? อยางที่วาถาไมมีถนนจะ เดิน มันลําบาก ก็เรียกวาไมปรกติ คือไมปรกติสุข; ถาเราแกไขปญหาอันนี้ เสียได ก็เรียกวามันปรกติ มันไมเดือดรอนมาก หรือมันไมเดือดรอนเลย หรือ บานเรือนมันรกรุงรังไปดวยขยะนี้ จะตองเรียกวามันผิดปรกติ กวาดใหมัน เรียบรอย ใหมันเย็นตาเย็นใจ ใหมันไมมีอันตรายเพราะสิ่งเหลานั้น, ก็ตอง เรียกวาทําความปรกติ. .…

....

….

.…

นี่ ข อให ถื อ เอาความหมายของคํา ว า ปรกติ นี้ แ หละให ดี ๆ ; ถายากจนมันก็ทนอยูไมได มันก็ไมปรกติ; ก็ตองทํางานจนกวาจะมีทรัพยสมบัติ แลวจะปรกติขึ้นในทางทรัพยสมบัติ ก็เรียกวามีศีลธรรมในสวนนั้น หรือใน ดานนั้น. ฉะนั้นขอใหถือเอาคําวา สี - ละ นี้ เปนหัวใจของศีลธรรม ไวเรื่อย ในความหมายของคําวา "ปรกติ" : ถาเปนเรื่องวัตถุก็วัตถุปรกติ เปนเรื่อง คนหรือสัต ว คนสัตวนั้ นปรกติ , ถ าเป นเรื่องจิ ตใจ ก็จิ ตใจปรกติ ถาเป น เรื่องรางกาย ก็เรื่องรางกายปรกติ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ปรกติ มี อ ยู ๒ ซ อ น คื อ ปรกติ ต ามธรรมชาติ มี ก ฎเกณฑ อยูตามธรรมชาติ; เชน ตอง กิน ยืน เดิน นอน อาบ ถาย อยางนั้น อยางนี้ รางกายจึงจะปรกติตามธรรมชาติ นี่ก็อยางหนึ่ง. อีกอยางหนึ่งปรกติสําหรับ ปญหาใหม ๆ ที่เกิดขึ้น ที่มนุษยจะตองชวยทํา จะตองมีการประพฤติดีตอกัน อยางนั้น อยางนี้ หรือชวยกันทํา ใหมีสิ่งที่ควรจะมีขึ้นมา หรือปฏิบัติตัวใหดี ๆ

www.buddhadassa.in.th


คาและความจําเปนที่ตองมีศีลธรรม

๗๓

ก็เรียกวา เปนศีลธรรมสวนที่มนุษยจะตองบัญญัติขึ้น สําหรับใหชวยกันทํา. รวมความแลวก็คือ ความหมายของคําวา "ปรกติ" นั่นเอง. .… .... …. .… วั นนี้ เ ร า จ ะ พู ด กั นถึ ง ค า ของศี ล ธ ร ร ม ก็ หม ายถึ ง ศี ล ธรรมชนิ ด ที่ เ ป น การบั ญ ญั ติ คื อ ที่ ม นุ ษ ย บั ญ ญั ติ ขึ้ น ; ถ า จะพู ด ว า ความจําเปนที่จะตองมีศีลธรรม ก็หมายถึงศีลธรรมที่มนุษยจะตองบัญญัติ และปฏิบัติตามใหถูกตอง. ในชั้ น แรกนี้ จ ะพู ด กั น ถึ ง คํา ว า "ค า " กั น เสี ย ก อ น. คํา ว า "คา" ก็คือสิ่งที่พูดกันมากที่สุดในคําวา ราคา ก็มี ในคําวาคุณคาก็มี คุณสมบัติ ก็มี แตทั้งหมดนี้มันรวมอยูที่คําวา "คา" อะไรที่เรียกวาคา? ก็คือ สิ่งที่ บัญญัติกันขึ้นมาวามันมีคา ตามความรูสึกของตน ๆ วามันจะมีคาอยางไร.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เมื่ อ ดู กั น ให ทั่ ว ถึ ง แล ว จะเห็ น ได ว า ค า ในความหมายที่ ห นึ่ ง นี้ มั น ก็ เ กิ ด ขึ้ น เพราะความต อ งการ, และเป น ความต อ งการของมนุ ษ ย นั่นเอง. ความตองการมันทําใหเกิดคาขึ้นมาเทานั้นเทานี้, แลวแตความตองการ มันมากหรือนอย.

ส ว นค า ในความหมายอย า งที่ ส อง มั น เกิ ด เป น ค า ขึ้ น มาอย า ง ลึกซึ่ง คือมัน ตามความตองการของธรรมชาติ ซึ่งมันอยูลึกซึ้งที่สุด; นี้ไมใช มนุษยไปแตงตั้งหรือบัญญัติได.

www.buddhadassa.in.th


๗๔

อริยศีลธรรม

คามีอยู ๒ ความหมาย : ตามที่มนุษยแตงตั้งบัญญัติตาม ความตองการ นี้อยางหนึ่ง, นี่ธรรมชาติตองการหรือเรียกรองอยู ในสวนลึกซึ้ง ที่สุด นั้นก็อยางหนึ่ง ซึ่งไมควรจะลืมเสีย วาเราตองปฏิบัติใหถูกตองตามกฎของ ธรรมชาติอยูสวนหนึ่งดวย เราจึงจะรอดตายอยูได นั่นแหละคาของศีลธรรม ชนิดนั้นมันลึกซึ้ง, มันซอนอยูอยางลึกซึ้ง. .… .... …. .… เดี๋ยวนี้จะ พิจารณากันถึงคําวา "คา" ตามความตองการ ของมนุษยกอนเปนขอแรก. ประเภทที่ ๑ ในระดั บ แรก ก็ อ ยากจะชี้ ใ ห เ ห็ น ค า ที่ กําหนดขึ้นอยางโงเขลา คือเอาปาก หรือเอาทอง หรือเอาเนื้อหนัง เอร็ดอรอยนี้เปนเกณฑ ซึ่งเปนเรื่องวัตถุอยางเดียว ไมมองเห็นคาทาง นามธรรมทางจิตใจ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org คาทางวัตถุนี้ เอาแตเรื่องทางวัตถุอยางเดียว แลวก็เอาความ ตองการนั้นแหละเปนหลัก; ถาเกิดมีความตองการมากพรอม ๆ กันมันก็แพง; เมื่อไมมีใครตองการมันก็ถูก หรือนอยลงไปนี้เรียกวาหลับหูหลับตา ยึดถือ กันแตหลักทางวัตถุ ทางเนื้อหนัง; แลวมันก็ไมตรงกัน : คนนี้ตองการอีก คนหนึ่งไมตองการ ของที่แพงสําหรับคนนี้ ไมแพงสําหรับคนโนน, ของอยางนี้ คนหนึ่งยอมซื้อตั้งพันตั้งหมื่น แตถาวาอีกคนหนึ่งใหเปลา ๆ ก็ไมเอา.

www.buddhadassa.in.th


๗๕

คาและความจําเปนที่ตองมีศีลธรรม

นี่ เ ป น การบั ญ ญั ติ ต ามความต อ งการอย า งโง เ ขลา; เหมือนที่เขาเรียกกันวา "ไกกับพลอย" อยางนี้ เพราะพลอยที่แพงมากตกอยูนั่น; ไกก็ไมเห็นวามีคาอะไร สูขาวสารเม็ดหนึ่งก็ไมได หรือวา ลิงไดแกว มาก็ไมมี คาอะไร สูลูกแตงเล็ก ๆ สักลูกหนึ่งก็ไมได. หรือ คนที่เขาถือวัตถุเนื้อหนัง เปนหลักเกินไป; เขาก็บอกวา พระพุทธรูปองคนี้มีคาเทากับปลาทู ๕ เขง เท า นั้ น ก็ ล องคิ ด ดู ; คนที่ เ ขารู จั ก ค า ของพระพุ ท ธรู ป นี้ ค งจะฟ ง ไม ไ ด . แตถาเอาวัตถุเปนหลักกันแลว; พระพุทธรูปองคนี้ มีคาเทากับปลาทู ๕ เขงจริง ๆ ดวยเหมือนกัน. นี่เรียกวาเขาตีคากันตามความรูสึกของปาก ของทอง ของ ความตองการดวยความโงเขลา คาอยางนี้มันก็มีอยูประเภทหนึ่ง. ป ร ะ เ ภ ท ที่ ๒ ค า ต า ม ค ว า ม ห ม า ย ท า ง ไ ส ย ศ า ส ต ร ที่ตองอาศัยความเชื่อ ยึดมั่นถือมั่นอยางงมงายเปนหลัก. ค า ทางไสยศาสตร นี้ มั น มี ร ากฐานอยู บ นความงมงาย : วัตถุขลัง วัตถุศักดิ์สิทธิ์ ถาเกิดเชื่อขึ้นมา; เปนกอนดินหรือกอนโลหะอะไร เล็ก ๆ นิดเดียว ซื้อขายกันตั้งหมื่นตั้งแสน ก็ได. มันเปนคาทางไสยศาสตร ที่มีการประกอบพิธีรีตองหลอก ๆ กัน ก็มีคาเปนรอยเปนพัน เปนหมื่น อะไร ขึ้นมาก็ได. คาในลักษณะอยางนี้ก็มีอยูความหมายหนึ่งเหมือนกัน; เอาไป พิจารณาดูใหดี.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ประเภทที่ ๓ ค า ตามความต อ งการที่ แ ท จ ริ ง ความหมายอยางหลักวิชาเศรษฐกิจ เขาก็มีอยูประเภทหนึ่ง.

ตาม

www.buddhadassa.in.th


๗๖

อริยศีลธรรม

ค า อย า งเศรษฐกิ จ นี้ มั น ขึ้ น อยู กั บ ความต อ งการ กั บ สิ่ ง ที่สนองความตองการ; ถาความตองการมันมีมาก สิ่งสนองความตองการมัน มีไมพอกัน มันก็แพง; ก็ของสิ่งเดียวกันนั่นแหละ ถาความตองการมันเกิด นอยลงไป คานั้นมันก็ลดลง เพราะมันมีส่ิงที่สอนงความตองการมาก. นี้คือคา ราคาของสิ่งตาง ๆ หรือสิ่งที่เปนเงินตรา เปนคาแทนเงินตราที่บัญญัติคาไวอยางไร เพื่อประโยชนอะไร สําหรับคนกลุมไหน มันก็เปนคาตามที่บัญญัติอยูกับสิ่งที่มัน กําลังหมุนเวียนอยูจริง ๆ. แตถึงอยางไร มองดูใหดีจะเห็นวา ก็ทํากันไปอยางนั้นแหละ ตามที่ มนุ ษ ย จะรูจัก ; ถามนุ ษ ยโง ก็ตองบั ญญัติไปตามความโง นี้คือ ความโงของเศรษฐกิจ ที่แกปญหาตาง ๆ ในโลกนี้ไมได; ไมรูจักตนตออัน แทจริง คือความรูสึกผิดชอบชั่วดี ความมีศีลธรรมของคน; เพราะไปลุมหลง ในสิ่งที่ไมควรจะลุมหลง และไมควรจะยึดถือนั่นนี่ จนทําใหเกิดความยุงยาก ทางคา ทางเศรษฐกิจขึ้นมา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตัวอยางดังที่กําลังมีปญหานาหัวเราะ วาคนบางคนเขาจะเปนบา ตายเสียแลว; เพราะวาหมูมันแพง อยางพวกกรุงเทพฯ โดยมาก สมัยหนึ่ง ทําไมจึงจะตองเดือดรอนกันถึงอยางนั้น; มันควรจะแกไขได เปลี่ยนแปลงได ถาหมูมันแพงก็อยาไปกินมันก็แลวกัน กลับไปโวยวายใหมันมีเรื่องยุงยากลําบาก ขึ้นมา ไมรูจักละอาย นี้เรียกวาคาที่เกิดจากความตองการของมนุษย. ในภาษาศีลธรรมจะเห็นวา คาในทํานองนี้เปนของหลอกลวง ลม ๆ แลง ๆ เปนไปตามความตองการของมนุษย.

www.buddhadassa.in.th


๗๗

คาและความจําเปนที่ตองมีศีลธรรม

เดี๋ ย วนี้ ม นุ ษ ย ไ ม ต อ งการศี ล ธรรม ศี ล ธรรมก็ ก ลายเป น ของไมมีคา แลวความโงมันอยูท่ีใคร, ความลําบากทุกขยากมันอยูที่ใคร. เมื่อศีลธรรมเปนสิ่งจําเปนสําหรับมนุษย แลวมนุษยเกิดไมตองการศีลธรรม; ศีลธรรมก็หมดคาหรือดอยคาไมมีใครสนใจ. เมื่อไมมีศีลธรรมอยูในหมูมนุษย เปนมนุษยที่ไรศีลธรรม ก็เลยมีปญหายุงยากลําบากมากขึ้นทุกที; นี่ยกตัวอยาง วามันเกี่ยวกันอยูกับสิ่งเหลานี้ไมแยกกันได นี่คําวาคาในความหมายที่มนุษย บัญญัติตามความตองการของมนุษยในความหมายหนึ่ง. .… ที นี้ ของธรรมชาติ.

....

อี ก ความหมายหนึ่ ง

….

.…

ค า ที่ เ กิ ด ขึ้ น จากความต อ งการ

เมื่อธรรมชาติมันมีหลักตายตัววา เราจะตองทําอยางไร เราก็จะ ตองทําอยางนั้น; ถาเราไมทําอยางนั้นก็จะลําบาก จะเจ็บไข หรือจะตาย. พวกปจจัยที่จําเปน ๔ อยาง คือ อาหาร เครื่องนุงหม ที่อยูอาศัย ยารักษา โรค เปนตน นี้ก็ เปนธรรมชาติทางวัตถุ จะตองหามาตามธรรมชาติเรียกรอง โดยตองมีอยู บางทีก็นาหวัว ที่วา ของจําเปนแกชีวิตอยางยิ่งมันกลับมีราคา ถูกเหลือเกิน แลวของบา ๆ บอ ๆ ทําไมมันถึงแพง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ยกตั ว อย า งง า ย ๆ เช น ว า ข า วสารนี้ ทํา ไมมั น จึ ง ไม มี คา แพง เทากับทองคํา หรือเพชรพลอย อะไรนี้ เปนตน ถาเอามาเทียบกันดูกับความ ที่มันจะเปนประโยชนแกรางกายแลว ของแพง ๆ เหลานั้นมีคาไมเทากับวาน้ําสัก แกวเดียว หรือขาวสารสักกํามือหนึ่งก็ได. นี่เรียกวา อาหารที่จําเปนแกชีวิต.

www.buddhadassa.in.th


๗๘

อริยศีลธรรม

ที นี้ เครื่ อ งนุ ง ห ม เราก็ ค วรจะนึ ก ถึ ง ประโยชน อั น แท จ ริ ง . มันคืออะไร มันควรจะมีอะไร; แลวเราก็ทําไปทําใหมันผิด : ไปมุง แตจะใหมันสวย มันงาม ใหมันแปลกประหลาด สําหรับจะอวดกัน มันก็กลายเปนเครื่องสําหรับ อวดกัน ; มันไมใชเรื่องเครื่องนุงหมไป เปนตน; แลวเกิดปญหาแกมนุษย, ทําความลําบากยุงยากใหแกมนุษยไมนอยเหมือนกัน. เรื่ อ ง

ที่ อ ยู อ าศั ย อะไรนี้ ถ า เมื่ อ มั น มี อ ะไรเท า ที่ จํา เป น เดี๋ยวนี้อยากจะอยูอยางแขงกันกับเทวดา หรือสมควร มันก็ไมมีปญหามาก สรางบาน สรางประสาทอะไร ก็แขงกับเทวดา มันก็เลยไมเปนความสงบได. เรื่ อ ง ยารั ก ษาโรค ก็ เ หมื อ นกั น อี ก ที่ ว า จะมี ย าโดยตรงนี้ ก็ไมคอยมีใครชอบ ชอบยาเลน ๆ กันเสียโดยมาก ยากินเลนขายดีกวายากินจริง ๆ. นี่ เ รี ย กว า ธรรมชาติ มั น ต อ งการอยู อ ย า งหนึ่ ง ; เราทํา ผิ ด กฎเกณฑ อั น นั้ น ก็ เ รี ย กว า ทํา ผิ ด ทางศี ล ธรรมต อ ธรรมชาติ ก็ ข าด ศี ล ธรรมตามการเรี ย กร อ งของธรรมชาติ . ถ า ขาดถึ ง ขนาดหนึ่ ง แล ว มั น ก็ จะตองเกิดความลําบากขึ้นมาทันที : ทางรางกายก็จะลําบากขึ้นมาทันที. ถายิ่ง เปนทางจิตใจดวยแลว ก็จะยิ่งเสียหายหมด; คือธรรมชาติตองการใหมีจิตใจ อยางไรจึงจะปรกติสุขอยูได ไมเปนบาเปนโรคเสนประสาท แลวเราก็ไมหาให คิดดูเถอะวา มันอยางนั้น; ในที่สุดก็ไดเปนโรคประสาทแลวเปนโรคจิต ธรรมชาติมีกฎ เหมือนกับกฎศีลธรรมอยูอันหนึ่งดวย แตมันลึกลับ มนุษยไป สนใจแตกฎทางวัตถุทางเนื้อหนัง ทางปากทางทอง ; ก็ทําผิดในทางนี้

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


๗๙

คาและความจําเปนที่ตองมีศีลธรรม

คําวาคาในทางธรรมชาตินี้ มันลึกอยางนี้ แลวมันรุนแรงมาก. ทางกาย ถาขาดแลวมันก็เจ็บไข หรือตายทางกาย. ทางจิต ถามันขาดแลว มันก็ตายในทางจิต คือจะเปนบา หรือจะไมมีอะไรเหลืออยูสําหรับเปนความดี; กลายเปนบุคคลที่ไรคา กลายเปนสังคมที่ไรคาไป เพราะวามันมีจิตใจไมสม ประกอบนั่นเอง. คาของศีลธรรมตามธรรมชาติ คือ ธรรมชาติตองการใหคนมี ศีลธรรมอยางนี้ ๆ แลวคนก็ไมสนใจ; คนก็ไปสนใจแตคาในทางความ ตองการของเนื้อ หนัง ของปากของทอ ง ซึ่งทําใหเ ห็ นแกตัวมากขึ้น ๆ แล วก็เอาเปรียบกันแลวก็เบียดเบียนกัน แลวก็เดือดรอนกันไปทั้งโลก เดี๋ ย วนี้ เ ราจะพู ด กั น แต ค วามหมายของสิ่ ง ที่ เ รี ย กว า ค า , มีคา. คาตามที่มนุษยบัญญัติตามความตองการของคน นี้ก็อยางหนึ่ง แลวคา ตามธรรมชาติมันตองการและเรียกรองอยูอยางลึกซึ้งเรนลับนั้น มันก็อีกอยาง หนึ่ง นี้เรียกวาความหมายของคําวา "คา"

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org .…

....

….

.…

ที นี้ อยากจะให ดู อี ก สั ก มุ ม หนึ่ ง ดี ก ว า มิ จ ฉาทิ ฎ ฐิ บั ญ ญั ติ กั บ ค า ตามี่ สั ม มาทิ ฎ ฐิ บั ญ ญั ติ ไดงายขึ้น.

พวกมิ จ ฉาทิ ฎ ฐิ บั ญ ญั ติ สิ่ ง นี้ ว า มี ค า เท า ไร? สัมมาทิฎฐิก็ จะบั ญญั ติสิ่ งเดี ยวกั นนั้ นวาคาเปน อยางอื่ นเสมอไป.

ว า ค า ตามที่ นี้ ก็ จ ะค อ ยเห็ น

ที นี้ พ วก สิ่งที่

www.buddhadassa.in.th


๘๐

อริยศีลธรรม

พวกมิจฉาทิฎฐิบัญญัติวามีคามาก พวกที่เปนสัมมาทิฎฐิจะบัญญัติไววา ไมมีคาเลย ก็ได ขอใหมองดูใหดี ๆ เพราะวา พวกมิจฉาทิฎฐินั้น เอาเนื้อหนังเปนหลัก, เอาปาก เอาทองเปนหลัก, เอาวัตถุมาเปนหลัก. พวกสัมมาทิฎฐินั้น เขาก็ เอาเรื่องจิตเรื่องวิญญาณ เรื่องคุณสมบัติอันแทจริงมาเปนหลัก. ที นี้ จ ะเอาอย า งไหนเป น หลั ก ? ก็ ไ ม มี ใ ครบั ง คั บ ได . แต ถ า เอาอยางไหนเปนหลักแลวความปรกติสุขเกิดขึ้น ตองถือวาอยางนั้นถูกตอง. นี่ขอใหยึดหลักอยางนี้ไวเสมอไปวา สี-ละ ก็ตองแปลวา ปรกติ ปรกติสุข. เราถื อ ค า กั น อย า งไหน, โดยวิ ธี ไ หน, แล ว ผลที่ เ กิ ด ขึ้ น เป น ความปรกติ เปนความสงบสุขแลว อันนั้นแหละถูก. อยางไดไปหลงใหลในการบัญญัติ ดวยอํานาจของมิจฉาทิฎฐิเลย; มีแตจะทําใหเกิดความยุงยากสับสน. จะเทียบกันดูอยางงาย ๆ อยางนี้ก็ไดวา พวกมิจฉาทิฎฐิ เขาตอง การวา "ใหกินดีอยูดี"; แตพวกสัมมาทิฎฐิ จะตองการวา “กินอยูแต พอดี” ; เทานี้มันก็ตางกันมากแลว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org พวกที่ ถื อ ว า "กิน ดี อ ยู ดี " นี้ ไ ม มี ข อบเขต ขยายออกไปเรื่ อ ย จนเท า กั บ เทวดาแล ว มั น ก็ ยั ง ไม พ อ ที่ จ ะเรี ย ก "กิ น ดี อ ยู ดี " ที นี้ พ วกที่ "กิ น อยู แ ต พ อดี " นั้ น มั น มี ค วามพอดี ไ ด เ อง จะทํา อย า งไร เท า ไรแล ว พอดี ก็มีปรกติสุขไดมากกวา; ไมมีปญหาเรื่องความขาดแคลน แลวก็ไมเห็น แกตั ว ; เพราะถ าทะเยอทะยานก็ เป น คนเห็ นแกตั ว. เดี๋ยวนี้ไม เห็ นแกตั ว มันก็ไมทะเยอทะยาน , ก็ไมมีไฟเผาใหเรารอน ในเรื่องของความตองการ.

www.buddhadassa.in.th


๘๑

คาและความจําเปนที่ตองมีศีลธรรม

นี่คือคําวา "คา" หลอกลวงที่สุด ; พวกมิจฉาทิฎ ฐิบั ญญัติ อยางหนึ่ง, พวกสัมมาทิฎฐิบัญญัติอยางหนึ่ง. เชนวาคน ๆ หนึ่ง เขาจะซื้อของที่ แพง แลวก็ไมรูวา จะไดประโยชนอะไรมากิน; อีกคนหนึ่งเขาจะซื้อกลวย ซื้อผัก อะไรถูก ๆ มากิน. อยางนี้ มันก็ไมมีปญหา; เพราะมีความคิดเห็น ที่แตกตาง กันถึงกับตรงกันขาม : เปนมิจฉาทิฎฐิ เปนสัมมาทิฎฐิ; เปนเหตุใหกินอยู ไมมีขอบขีด จนกระทั่งวากินอยูมีขอบขีด ที่พอดี. .…

....

….

.…

ที่ พู ด มาทั้ ง หมดนี้ ต อ งการ ให ส นใจแต เ พี ย งความหมาย ของคํา พู ด เพี ย งคํา เดี ย ว คื อ คํา ว า ค า ค า หรื อ ราคานั้ น มั น หลอกลวง ที่สุด แลวเราเคยโงกันกี่มากนอย? เคยหลงในเรื่องนี้กันกี่มากนอยเทาไร? ควรจะปรับปรุงกันเสียใหม; อยาใหมันหลอกไดนัก แตเดี๋ยวนี้มาพูดกันถึง เรื่อ งที่สํา คั ญที่สุด คือคํา ว า คาของคํา วา "ศีล ธรรม" พวกมิ จ ฉาทิฎฐิ จะ ให ค า ของศี ล ธรรมน อ ยมาก หรื อ ไม ใ ห เ ลย; พวกสั ม มาทิ ฎ ฐิ จ ะเห็ น ว า ศีลธรรมเปนสิ่งที่สําคัญมาก มีคามาก ควรจะสนใจมาก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เดี๋ ย วนี้ ถ า คนทั้ ง บ า นทั้ ง เมื อ ง เขาไม เ ห็ น ค า ของศี ล ธรรม แลวจะเรียกวาคนทั้งบานทั้งเมืองเปนมิจฉาทิฎฐิ หรือเปนสัมมาทิฎฐิ? ขอให ลองคิดดู. หรือวาคนทั้งประเทศดวยซ้ําไป ที่ไมสนใจปญหาทางศีลธรรม ไมหยิบ ยกปญหาทางศีลธรรมขึ้นมาวินิจฉัย นี่ก็เพราะไมเห็นคาของศีลธรรม; จะเรียก วามิจฉาทิฎฐิหรือจะเรียกสัมมาทิฎฐิ? ขอใหลองคิดดู.

www.buddhadassa.in.th


๘๒

อริยศีลธรรม

คาของศีลธรรมแท ๆ มันก็ยังแตกตางกัน ตามที่วา พวกมิจฉาทิฎฐิมันเปนผูตีราคา หรือวาพวกสัมมาทิฎฐิเปนผูตีราคา แลวเราอยูในพวกไหน?

ถ า เราไม เ ห็ น ค า ของศี ล ธรรม หรื อ เห็ น ค า ของศี ล ธรรม มีนอย ก็ยอมรับเสียดี ๆ วายังเปนมิจฉาทิฎฐิอยู สวนหนึ่งทีเดียว ถาเปน สัมมาทิฎฐิรูจักคาของศีลธรรมแลว; ทําไมไมพยายามที่จะมีศีลธรรมอยูในเนื้อ ในตัว ใหลูกใหหลานใหคนในครอบครัวมีศีลธรรม, หรือเพื่อนบาน เพื่อนรวม โลกกัน ไดมีศีลธรรม ทําไมจึงไมเสียสละชวยกันสงเสริมศีลธรรม? ที่วาทําบุญ ๆ แตไมรูวาทําอะไร อาตมาอยากจะบอกวาทําบุญ ที่ ดี เ ลิ ศ ประเสริ ฐ ที่ สุ ด ก็ คื อ การทํา ให ค นในโลกมี ศี ล ธรรม; ไม มี บุญไหนดีกวานี้ หรือจริงกวานี้ ถาเห็นวาศีลธรรมมีคา เราก็ควรจะปรับปรุงกัน สงเสริมนั่นนี้ คนละไมคนละมือ แตถาทําสุดความสามารถในการที่จะทําใหมี ศีลธรรมอยูในสัคม ในบานเมืองของเรา ในประเทศของเรา หรือกระทั่งอยูใน โลกนี้ ก็ยิ่งดี.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ค า ของศี ล ธรมสลั ว ไปหมด ไม พิ จ ารณาให ดี ก็ ไ ม เ ห็ น ; แตมันมีคามากมจนถึงกับวา ความเปนความตายของโลกหรือมนุษยนี้มัน อยูที่นี้ ลองไมมีศีลธรรมใหถึงขนาดเถอะ โลกนี้จะวินาศ จะฉิบหายจะเปน โลกที่ไรความหมาย

www.buddhadassa.in.th


คาและความจําเปนที่ตองมีศีลธรรม ที นี้ ดู กั น ต อ ไ ป อี ก คําวา "คา" นี้มันคืออะไรกันแน?

๕๓ จ ะ ดู กั น อ ย า ง ลึ ก ซึ้ ง ไ ป อี ก ว า

อาตมากําลั งบอกว าสิ่ง ที่เ รี ยกว า คา นั่ นแหละ คือ ต นเหตุ ถามัน แหงปญหาทั้งหลายทั้งปวงหรือเปนที่ตั้งแหงปญหาทั้งหลายทั้งปวง ไมมีคา หรือไมเกี่ยวกับประโยชนแลว ก็ไมเกิดปญหาอะไร ปญหาที่มันเกิดขึ้น แกเรา เพราะเราตองการประโยชน ตองการสิ่งที่มีคา แลวคานั้นแหละมันทํา ให เ ราต อ งการ ถ า มั น ไม มี ค า เราก็ ไ ม ต อ งการ แล ว เราก็ ไ ม รู สึ ก ว า มั น จําเปนอยางไร แตถารูสึกวามีคาแลว ก็เกิดตองการขึ้นมาทันที : ในทางดี ก็อยางนี้ ในทางชั่วก็อยางนี้ มันจะมีคาไดในทางดีก็ได, ในทางชั่วก็ได; หรือวาคนจะทําดีก็ได, ทําชั่วก็ได โดยตนเหตุอยางเดียว คือสิ่งที่เรียกวา "คา" นั่นเอง เรื่องนี้คงจะไมลึกซึ้งเกินกวาที่จะไปพิจารณาดูไดเอง วาถาเรา ไมรูสึกวามันมีสิ่งที่เรียกวา คา อยูในโลกนี้แลว เราก็จะเปนพระอรหันต. การที่เปนพระอรหันตไมได ก็เพราะวาไปติดอยูที่คา หรือคุณคาอยางใดอยางหนึ่ง ซึ่งเปนเหตุใหเกิดความอยากอยางใดอยางหนึ่ง อยากไดอยากเอา มันก็รัก ; อยากไมไดอยากไมเอา มันก็เกลียด มันมีอยู ๒ อยางเทานั้น คือรักหรือชัง: คาอยางหนึ่งมันทําใหรัก , คาอยางหนึ่งมันทําใหเกลียดหรือชัง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาพูดเปนภาษาบาลี คํานี้ก็คือคําวา คุณะ, คุ - ณ อานคา คุณ ในภาษาไทย มันมีคุณ คือ คุณคา หรือคุณสมบัติ ดีก็ไดเลวก็ได ก็เรียกวา

www.buddhadassa.in.th


๘๔

อริยศีลธรรม

คุ ณ ทั้ ง นั้ น ภาษาบาลี เ ป น กลางอย า งนั้ น ที นี้ มั มี ค า สํา หรั บ เป น อั น ตราย ก็ได เปนประโยชนก็ได มีคุณสมบัติอยางใดอยางหนึ่งของมัน แลวก็เรียกวา คุณคา หรือคาของมันทั้งนั้น. ที นี้ จิ ต ใจของคนก็ ห วั่ น ไหวไปตามสิ่ ง ที่ เ รี ย กว า คุ ณ หรื อ คา, เชนดีก็มีคุณอยางดีก็ติดดี, ชั่วมีคุณอยางชั่วก็ติดชั่ว เราก็เกลียดชั่ว, เราก็ รั กดี แตทั้งเกลี ยดชั่ว และรั กดี นั้ นก็ คือความยึ ด มั่น ยึดมั่ นในอะไร? ก็ยึดมั่นในคา หรือคุณ นั้นเอง พระอรหันตประเภทเดียวเทานั้น ที่จะมีจิตใจ อยูเหนืออิทธิพล ของสิ่งที่เรียกวา คาหรือ คุณ หรือคุณสมบัติ ก็ตาม พู ด อย า งนี้ มั น ออกจะเป น ปรั ช ญาเลยเถิ ด ไป แต มั น เป น ความจริงที่ควรจะทราบ วาการที่มนุษยจะมีจิตใจวางจากกิเลส หรือวาง จากความทุ ก ข ไ ม ไ ด ก็ เ พราะไปติ ด อยู ที่ คุ ณ หรื อ ค า , ไปเป น ทาสของสิ่ ง ที่เรียกวาคุณหรือคา ดีก็ได ชั่วก็ได บางคนก็เห็นชั่วเปนดี บางคนก็เห็นดี เปนดี เห็นชั่วเปนชั่วมันก็แลวแตมิจฉาทิฎฐิหรือสัมมาทิฎฐิ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ชั่วเปนชั่วแลว; แตแมวาจะเปนสัมมาทิฎฐิขนาดที่ รูวาดีเปนดี แตถาจิตมันยังไปหลงอยูกับคา หรือคุณ นี้แลว มันก็หลุดพนไปจากความ ครอบงําของสิ่งนั้นไมได. ฉะนั้นจึงไปเกิดอยาก คือมีตัณหาอยางนั้น อยางนี้ อยางโนน : เปนกามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา ก็เพราะสิ่งที่เปนตนเหตุอยาง เดียวเทานั้น คือสิ่งที่เรียกวาคานั้นเอง มันชอบกาม มันก็ไปเปนกาม ตัณหา ; ถาชอบรูป ก็ไปเปนภวตัณหา; ชอบอรูปมันก็ไปเปนวิภวตัณหา; แลวแตจะไปชอบอะไร หรือคาของอะไรที่มีความหมายอยางไร.

www.buddhadassa.in.th


๘๕

คาและความจําเปนที่ตองมีศีลธรรม นี่พูดเลยเถิดไปแลว ความยึดถือของมนุษยเรา. .…

ถึงคําวา

....

….

"คา"

ชนิดที่มันเปนที่ตั้งแหง

.…

ขอให ร ะวั ง อย า งยิ่ ง ต อ สิ่ ง ที่ เ รี ย กว า ค า ; ให ดี ๆ : สิ่ ง นั้ น แหละมั น เป น ตั ว ป ญ หาทั้ ง หมด.

ระวั ง

ถาเราเขาใจผิดตอสิ่งที่เรียกวา คา; ระวังใหดี ๆ สิ่งนั้นแหละ มันเปนตัวปญหาทั้งหมดถาเราเขาใจผิดตอสิ่งนี้แลว มันจะสับสนหมด : ศีลธรรมก็จะไมมี อยาวาถึงกับจะมีการบรรลุ มรรคผล นิพพานเลย ระวังสิ่ง ที่เรียกวาคา หรือราคาร หรือคุณคา หรือคุณสมบัติอะไรนี้ใหดี ๆ มันมีลักษณะ เปนที่ตั้งแหงความยึดถือทุกสิ่งไป : อยางหนึ่งทําใหเกลียด อีกอยางหนึ่งทําให รัก, ที่เปนหลักใหญอยู ๒ อยาง มีอยางนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถาเราโง ก็ยึ ดถือคา ของมัน ; เพราะฉะนั้ นเราก็ จะตอ งไปรั ก เขาในฝายหนึ่ง ไปเกลียดเขาในฝายหนึ่ง อันนี้ก็เรียกวาเสียหมด ในทางความ เปนปรกติ คือจะมีใจคอไมปรกติ, จะมีทิฎฐิความคิดเห็นไมปรกติ ทีนี้มัน ก็ออกมาทางกาย ทางวาจา เปนการพูด การกระทําที่มันไมปรกติแลวมันก็ กระทบทั่งใหตัวเองเดือดรอน กระทบกระทั่งใหผูอ่ืนเดือดรอน มันเสีย ความเปนปรกติไปหมดแลวสิ่งที่เรียกวาคามันก็มีอยูอยางหลอกลวง อยางที่ เราไมรูจัก.

www.buddhadassa.in.th


๘๖

อริยศีลธรรม

อาตมารูสึกวา การที่เอาเรื่องอยางนี้มาพูดกัน อาจจะเกินไป สําหรับคนบางพวกก็ไดแตก็ไมทราบวาจะเอาเรื่องอะไรมาพูด ใหคนรูจักกลัว ตอการขาดศีลธรรม หรือวาใหคนกลาในการที่จะมีศีลธรรม จึงเอาเรื่องศีลธรรม ใหรูจักคาในทางที่จะเปนประโยชน อยางนี้มาพูด ใหรูจักคุณคาของศีลธรรม แทจริงยิ่ง ๆ ขึ้นไป จนกระทั่งในที่สุด จะไดอยูเหนืออํานาจของสิ่งที่เรียกวา คา หรือราคานั้น ถ า มี ค วามยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น อยู ก็ อ ยู ใ ต อํา นาจของค า หรื อ ราคา : เดี๋ยวก็ชอบ เดี๋ยวก็ไมชอบคือมีกิเลสอยางใดอยางหนึ่ง เปนแนนอน. ฉะนั้นจึงถือวาแมแตพระโสดาบัน พระสกิทาคามี พระอนาคามี ก็ไมอยูเหนือสิ่งนี้ เวนแตพระอรหันตพวกเดียวเทานั้น ที่จะรูจักมีจิตใจอยูเหนืออํานาจของสิ่งที่เรียก กันวา "คา". นี่ตั้งตนแตอยางต่ํา ๆ เชนคาของขาวสารเม็ดหนึ่งนี้ ของศีลธรรมสูงสุดก็เรียกวาคา แลวก็เปนที่ตั้งแหงความยึดถือ.

ไปจนถึงคา

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทีนี้ ถาวายึดถือวิธีนี้ใหถูกวิธี ก็ยึดถือไปในทางที่มันจะสูงขึ้นไป จนในที่สุดมันก็อยูเหนือคาเดี๋ยวนี้ถาวามันโงไป มันก็ไปยึดผิด ๆ ; มันก็ กลับต่ําลงไปโดยไมจําเปน แลวไปเสียเวลาเปลา ๆ คือไปหลงใหลในสิ่งที่ชั่ว เห็ นเปน ของที่มีคา ครั้นละที่ชั่ วนั้ นได มาอยูที่ ดี ก็ หลงในค า ของสิ่งที่ดี ; เรื่ องยังไม จ บ ก็ยั งหลงแมในความดี. นี่ก็ยังถูกกดขี่อยูดวยสิ่งที่เรียกว า "คา"; มันก็ยังหนักอกหนักใจ วิตก กังวล ทุกขรอนไปตามเรื่อง ฉะนั้นตอง

www.buddhadassa.in.th


๘๗

คาและความจําเปนที่ตองมีศีลธรรม

ทลึ่ง ขึ้นไปอีกทีหนึ่ง ใหมันพนจากอํานาจของสิ่งที่เราเรียกวา คาหรือแมแตคาของ ความดี นี้เปนชั้นสูงสุดของสิ่งที่เรียกวาศีลธรรม. เดี๋ ย วนี้ ใ นโลกนี้ ไม ต อ งการถึ ง อย า งนั้ น ต อ งการแต ใ ห อ ยู กันดี ๆ อยูกันอยางดี มีคาของความดี มีศีลธรรมอันดีก็พอที่จะปรกติแลว. เอาละเป น อั น ว า เราจะถื อ เอาค า ของศี ล ธรรมอั น ดี มา เปนวัตถุประสงคในที่นี้ บัญญัติวามีคา ตามความหมายของศีลธรรม คือ สามารถจะทําความปรกติแกจิตใจ ของบุคคลแตละบุคคล และทําความปรกติแก สั ง คมคื อ ที่ อ ยู ร วม ๆ กั น เป น พวก ๆ อะไรทํา ความสงบสุ ข อย า งนี้ ไ ด ก็เรียกวาศีลธรรม, แลวมันก็มีคาเพียงเทานี้ สําหรับสิ่งที่เรียกวาศีลธรรมนี้. นี่สําหรับคําวา คา ควรจะมองกันในลักษณะอยางนี้ .…

....

….

.…

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ที นี้ ก็ ม า ถึ ง

ค ว า ม จํา เ ป น

ที่ ตั ว เ ร า จ ะ ต อ ง มี

ศีลธรรม.

คํา ว า ศี ล ธรรมในที่ นี้ คื อ ศี ล ธรรมที่ จ ะบั ญ ญั ติ ขึ้ น , ที่ ไ ด บัญญัติขึ้น แลวจะตองประพฤติปฏิบัติกันใหถูกตองนั้น ; ไมใชชนิดที่วา เปนไปตามธรรมชาติ ความมี ศี ล ธรรมอยู ที่ ต รงไหน? ศีลธรรม? ถาพูดตอ เนื่องกัน มากั บสิ่งที่พู ดมาแล ว

อะไรเรี ย กว า ความมี ก็จ ะพูดได เลยว า การ

www.buddhadassa.in.th


๘๘

อริยศีลธรรม

สามารถควบคุมสิ่งที่เรียกวาคาได นี่แหละ คือ ศีลธรรม. การสามารถ ควบคุมสิ่งที่เรียกกันวาคานั้นได นั่นแหละ คือ ความมีศีลธรรม ถาเราควบคุม สิ่งที่เรียกวาคาหรือราคา หรือคุณคานี้ไมไดแลวมันจะดึงเราไปใหทําอยางใด อยางหนึ่ง ตามที่เราหลงไปในคุณคาอันนั้น; คนที่หลงในคุณคาของความชั่ว วาดี, มันก็ลากคอไปทําความชั่ว หรือถาวาไปหลงในคุณคาที่สมมติบัญญัติกัน วาดี, มันก็ไปทําสิ่งที่เรียกวาดี แตแลวมันก็ยังไมมีความปรกติถึงที่สุด คือไป รักดี ไปเกลียดชั่ว ถายังมีรัก มีโกรธ มีเกลียด มีรัก มีชัง อยูอยางนั้น จะเรียกวามีศีลอันดีไดหรือยัง? ในทางโลก ๆ เขาก็บัญญัติวาดี พอใชไดแลว : หรือใชไดแลว ในการที่รักดี ทําดีขวนขวายในความดี หลงแตความดี จนตายไปกับตัว นี้ก็วา ใช ไ ด แ ล ว แต ใ นทางธรรมะชั้ น สู ง นั้ น ก็ ต อ งการไกลไปกว า นั้ น คื อ ต อ งการความปรกติ ก ว า นั้ น ; อย า ใหเ กิ ด ความรัก อยา ให เกิ ด ความชั ง ขึ้ น มาได จึงจะเรียกวาเราควบคุมมันได อยาใหสิ่งที่มีคาอยางใดมาทําใหเราเกิด ความรัก หรือวาอยาใหสิ่งที่มีคาอยางใดมาทําใหเราเกิดความเกลียด มันมี ๒ อยางเทานี้. ฉะนั้นถาเราควบคุม ๒ อยางนี้ได ก็เรียกวามีศีลธรรม

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถ า เรา ควบคุ ม ไม ไ ด ; มั น จะลากเราไปทํา ชั่ ว หรื อ ว า จะลากเราไปทําความดี ชนิดที่ตองทนทรมาน ตองหลงใหลในความดี จนตอง ฆาตัวตาย เพราะความดี หรือวาควาายึดมั่นในความดี ทําใหนอนไมหลับ กระสั บ กระส า ย จนเป น โรคประสาท อย า งนั้ น ก็ มี . นี่ แ หละ เพราะว า เราไมสามารถจะควบคุมสิ่งที่เราเรียกวาคาไวได; ฉะนั้น ศีลธรรมจึงไม บริสุทธิ์ จึงถือวาควบคุมสิ่งที่เรียกวาคานี้ไดมากเทาไร ก็มีศีลธรรมมากเทานั้น:

www.buddhadassa.in.th


๘๙

คาและความจําเปนที่ตองมีศีลธรรม

ควบคุมไดนอย ก็มีศีลธรรมนอย ควบคุมสิ่งที่มีคาที่บังคับจิตใจของเรา ใหหลง ไปนั่นแหละใหได และการสามารถควบคุมได นั้นเรียกวาเรามีศีลธรรม ยกตัว อยา งที ่เ ปน พระเปน เณรกัน ดีก วา เพราะวา เปน นัก บวชที ่จ ะ ประพฤติ ธ รรมะที่ สู ง ขึ้ น ไป ถ า ควบคุ ม จิ ต ใจเกี่ ย วกั บ สิ่ ง ที่ เ รี ย กว า ค า ไม ไ ด แ ล ว ก็ไ มเ ปน พระเปน เณรเลย มัน จะเกิด ไปรัก สิ่ง ที่ยั่ว ใหรัก , จะเกลีย ดสิ่ง ที่ยั่ว ใหเ กลีย ด เพราะคา ใน ๒ ความหมายนั ้น การที ่อ อกมาบวชเปน พระเปน เณร ก็เพื่อจะสามารถฝกจิตใจใหอยูเหนืออํานาจของสิ่งที่เรียกวาคานี้เอง. .…

....

….

.…

ถ า ค ว บ คุ ม อิ ท ธิ พ ล ห รื อ อํ า น า จ ข อ ง ค า นี้ ไ ด แ ล ว จ ะ เ กิ ด อ ะ ไ ร ขึ้น? ก็คือเกิดความปรกติขึ้นมา แตละคน ๆ; คนหนึ่งมันก็ปรกติ : มี จิต ใจ กาย วาจา ปรกติแ ลว สัง คมก็ไ มป น ปว น เพราะเปน สัง คมของคนที่ ปรกติ; เรีย กวามีค วามปรกติเกิด ขึ้น เปน ผลของความมีศีล ธรรมไมมีกิเ ลส. ถา สามารถควบคุม อํ า นาจของสิ ่ง ที ่เ รีย กวา คา อัน ยั ่ว ยวนไดแ ลว ก็ไ มมี กิเลสเกิดขึ้น : ไมมีกิเลสก็ไมทํากรรม; มันก็ไมมีอะไรระส่ําระสายเปนทุกข เดือดรอนแลวเราก็จะเปนมนุษยเต็มตามความหมาย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org มนุษ ยแ ปลวา มีใ จสูง , สูง หมายความวา มีอ ะไรมาบัง คับ ไมไ ด มีอะไรมาบีบความตองการไมได; เพราะวาจิตใจมันสูง มันไมหวั่นไหวไป ตามดี ตามรา ย ตามสิ ่ง ที ่ม ายั ่ว ใหร ัก หรือ ใหเ กลีย ด มนุษ ยม ีใ จสูง จริง ไมถ ูก กระทําใหรัก หรือใหเกลียดได.

www.buddhadassa.in.th


๙๐

อริยศีลธรรม

เ ดี ๋ย ว นี ้เ ปน ม นุษ ยก ัน ยัง ไ มถ ึง นั ่น เ อ า แ ตเ พีย ง วา ไ มห ล ง ไ ห ล ถึ ง กั บ รั ก มากเกลี ย ดมากจนเกิ ด ป ญ หาขึ้ น ก็ แ ล ว กั น แต ใ นทางธรรมะนั้ น ไป สูง สุด จึน ถึง วา ถา ควบคุม "คา " ไดแ ลว จะไมม ีผ ลรา ย เรีย กวา จะไมม ีก าร ตายดีก วา : ทางกายก็ไ มต าย ทางใจก็ไ มต าย ไมม ีก ารตาย หรือ ไมม ีก าร ตายโหงก็ ไ ด ขออภั ย พู ด คํ า หยาบคายว า "ตายโหง" นี้ ตายอย า งที่ ไ ม น า จะตาย คือ วา คนมัน หลงในสิ ่ง ที ่เ รีย กวา มีค า มากเกิน ไปแลว มัน จะตายโหง ทางกายก็มี ทางจิต ทางวิญญาณทางสติปญญาความคิดเห็นนี้ เสียหมดเลย; เหมือนกับสติปญญาตายโหงไปแลว ยังเปน ๆ อยูนี้ มันมีการตายชนิดนี้ได มนุษ ยม ีป ญ หาที ่ส ูง ขึ ้น อยา งนี ้ จึง ตอ งการสิ ่ง ที ่ส ูง ขึ ้น มา สํ า หรับ ควบคู ก ัน ไป ถา สัต วเ ดรัจ ฉานมัน ไมม ีป ญ หา สัต วเ ดรัจ ฉานมัน หยุด อยู ก ับ ที่ มัน สมองของมัน หยุด อยู ก ับ ที ่ สว นมนุษ ยนั ้น มัน สมองกา วหนา เรื ่อ ย ความ คิด สติป ญ ญามัน กา วหนา เรื ่อ ย เพราะฉะนั ้น ปญ หาจึง เกิด ใหมเ รื ่อ ย แปลก ขึ ้น ไปเรื ่อ ย สูง ขึ ้น ไปเรื ่อ ย เดี ๋ย วนี ้ศ ีล ธรรมนี ้ก ็ต อ งบัญ ญัต ิขึ ้น เฉพาะมนุษ ย ที่ กระโดดวิ่งพรวดพราดไปอยางนี้ ถามนุษยยังเหมือนกับสัตว คือ ยังหยุดอยูกับที่ เหมือนกับสัตวแลว ก็ไมตองมีศีลธรรมสวนนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ไ ป ม อ ง ดู ใ ห เ ห็ น ข อ นี้ ก อ น สั ต ว เ ด รั จ ฉ า น มี ศี ล ธ ร ร ม แ ต ต า ม ที่ ธรรมชาติเรียกรองก็พอแลว, แลวมันก็หยุดอยูแคนั้น มันไมเดินไปอีกแลว. มีความ เมื่อแสนป ลานป มันเปนอยางไร มันก็มีมันสมองเพียงเทานั้น, ตอ งการหรือ มีอ ะไรเพีย งเทา นั ้น . สว นมนุษ ยนี ้ม ัน สมองเจริญ เรื ่อ ย คือ รู อ ะไร ไดมากขึ้นเรื่อย; แลวก็รูอยาก รูปรารถนา รูสรางสรรค รูอะไรมากขึ้นเรื่อย, รูจักทําใหเกิดสังคมที่ประหลาดๆอะไรขึ้นมาอยางนี้ ก็ตองมีการแกปญหาในสวนนี้.

www.buddhadassa.in.th


คาและความจําเปนที่ตองมีศีลธรรม

๙๑

นี่แ หละคือ เห็น ศีล ธรรมวา เปน สิ่ง จํา เปน ที่สุด ที่จ ะตอ งมีสํา หรับ มนุษ ยที่วิ่ง ไปเรื่อย ไมหยุดอยูอยางสัตวเดรัจฉาน. ถาไปดูตนไมจะเห็นวามันหยุดอยู มันไมกาวหนา ทางสติปญญา ทางกิเ ลสตัณ หา ทางอะไรแลว สัต วเ ดรัจ ฉานก็เ หมือ นกัน แตม นุษ ยม ัน เหมือนกับวิ่งจี๋อยูตลอดเวลา แลว ถาไมขยับขยายทางศีลธรรมใหมันทันกันแลว มนุษยนี้มันจะเปนอะไร? มันก็ตองเปนผีบา ตองเรียกวาผีบาแลว, มากกวา ที่จ ะเรีย กวา เปน มนุษ ย ; คือ มนุษ ยที่กํา ลัง ขาดศีล ธรรมนี้เ อง มัน เหมือ น กับผีบาชนิดหนึ่ง ในเมื่อมันขาดศีลธรรมในสวนที่จะแกปญหาอันนี้ เพราะ ฉะนั้นขอใหมองตรงนี้ ก็จะเห็นทันทีวา มีความจําเปนกี่มากนอย ที่มนุษยจะ ตองมีศีลธรรม. นี ่ แ ห ล ะ ค ว า ม จํ า เ ป น ที ่ จ ะ ต อ ง มี ศ ี ล ธ ร ร ม เ มื ่ อ ไ ร ข า ด ศีล ธรรม มัน ก็เ กิด ปญ หาหนัก ขึ้น ตรงกัน ขา มกับ ความมีศีล ธรรม ความมี ศีลธรรมนั้น เราควบคุมสิ่งตาง ๆ ได เราควบคุมกาย วาจาใจได ควบคุมอิทธิพล ของสิ่งที่เรียกวาคา ราคานั้นไวได มีใจคอปรกติ ไมมีการตายอยางตายโหง ทั้งทางกายและทั้งทางจิต พอขาดศีลธรรมเทานั้นแหละ สิ่งเหลานี้จะมีครบหมด.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org .…

....

….

.…

ที นี ้ ม ั น ก็ เ ป น สิ ่ ง ที ่ ว  า ไ ม ม ี ใ ค ร ท น ไ ด ถ า เ กิ ด ก า ร ข า ด ศี ล ธ ร ร ม เ ข า แ ล ว มั น ก็ เ กิ ด ค ว า ม เ ดื อ ด ร อ น วิ ก ฤ ติ ก า ร ณ อยางนี้มีขึ้นมา ไมมีใครทนได; แมแตคนที่ไมมีศีลธรรมนั้นเอง มันก็ทนไมได.

www.buddhadassa.in.th


๙๒

อริยศีลธรรม

คนที่ ข าดศี ล ธรรมไม มี ศี ล ธรรมเลย แล ว สร า งความทุ ก ข ย ากขึ้ น มาในโลกนี้ แลวตัวเองก็ทนไมได; แลวจะใหคนอื่นทนไดอยางไร; ก็เปน ปญ หาเกิด ขึ ้น มาใหมว า ทนอยู ไ มไ ด มัน ก็ต อ งแกไ ข ถา ตอ งแกไ ข ก็ว กกลับ ไปหาความมีศีลธรรม. นี ่จ ะ เ ห ็น ไ ด ช ัด ท ัน ท ีว า ค ว า ม จํ า เ ป น ที ่ต อ ง ม ีศ ีล ธ ร ร ม ม ัน ม ีอ ยู อยา งนี้ : ไมมีศีล ธรรมมัน จะตายหมด; ใชคํา วา ตายในความหมายพิเ ศษ. แมแตโลกแผนดินนี้ก็จะอยูไมได; อยาพูดถึงมนุษยที่มีชีวิต ถาไมมีศีลธรรม กั น อย า งยิ่ ง แม แ ต โ ลกแผ น ดิ น นี้ ก็ จ ะอยู ไ ม ไ ด . มั น จะถู ก ทํ า ลายหมด มั น จะ ไรคาไรความหมาย เหมือนกับไมมี คือ มนุษยก็ไมมี, มนุษยที่มีความเปนมนุษย ก็ไมมี, ความสงบสุขอยางอื่นก็ไมมี, เพราะการขาดศีลธรรม ในสวนที่จําเปน สําหรับมนุษยที่วิ่งพรวดพราดขึ้นมาถึงอยางนี้. ข อ ใ หเ ห็น ค ว า ม จํ า เ ปน อ ยา ง ยิ ่ง ที ่ธ ร ร ม ช า ติม ัน บัง คับ ใ น สว น จิ ต ใจ ในส ว นลึ ก ซึ้ ง ในทางนามธรรม; ว า มนุ ษ ย ต อ งมี ศี ล ธรรมส ว นนี้ จึง จะเปน มนุษ ยร อดอยู ไ ด และสิ ่ง อื ่น ๆ ก็พ ลอยรอดอยู ไ ดด ว ย. นี ่ค ือ ความจําเปนที่ตองมีศีลธรรมเพื่อระดับพื้นฐานก็มี, เพื่อระดับพิเศษที่มนุษยมันวิ่ง ขึ้น มาถึง ขนาดนี้แ ลว และจะวิ่ง ตอ ไปขา งหนา ผิด แปลกไปจากนี้ ก็ตอ งมีร ะบบ ศีลธรรมที่ทันกันเสมอ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทีนี ้จ ะมองดูใ นลัก ษณะที ่เ ปน การ สรุป ในขั ้น มูล ฐาน สัก หนอ ย เพื่ อ จะจํ า หรื อ เข า ใจได ง า ยก็ ว า เราต อ งการศี ล ธรรมนี้ เพราะมุ ง หมายอะไร?

www.buddhadassa.in.th


คาและความจําเปนที่ตองมีศีลธรรม

๙๓

ก็อยาลืม ขอรองแลวขอรองอีก รอยครั้งพันครั้ง วาอยาลืมคําวา ศีล, ศีล หรือ สี - ละ ที ่แ ปลวา ปรกติ เราตอ งการความปรกติ คือ ปรกติส ุข ไมมี อะไรมากกวา นั้น ศีล ธรรมก็คือ สิ่ง ที่จ ะทํา ใหเ ปน อยา งนั้น เรีย กวา ศีล ธรรม ทําใหเกิดปรกติสุข. .… .... …. .… ทีนี ้จ ะสรุป ดูว า ทั ้ง หมดนั ้น มัน จะอยู ก ัน ในรูป ไหน. ระดั บ ที่ ๑. เราต อ งการจะอยู ใ นลั ก ษณะที่ พ อทนอยู ไ ด . นี่เราตองนึกถึงธรรมชาติ ที่มันแสนจะโหดราย เมื่อเรายังไมมีปญหาจะตอสูมัน นึกถึงมนุษยเมื่อแรกมีในโลกแสนปลานปอะไรมาแลวมันยากที่จะรอดชีวิตอยูได เดี๋ยวนี้เราก็ตองการวา อยูในลักษณะพอทนอยูได อยาใหตาย ใหพอทนอยูได. ที่จ ะเห็นไดงา ย คือ พวกฤาษี มุนี ชีไ พร อะไรตา ง ๆ ที่อ อกไป อยูในปา อยูในลักษณะที่พอทนอยูได, หรือชาวไรชาวนาสมัยโบราณ ปู ยา ตา ยาย ของเรา ทานตองการแตเพียงในลักษณะที่พอทนอยูได. ทานไมตอง ปลูกตึกปลูกวิมาน, ไมตองมีอะไร อยางที่เราเดี๋ยวนี้มี. เดี๋ยวนี้เรามีอะไรบาง ที่เกินจําเปน; ปู ยา ตา ยาย เขาไมไดตองการ. เขามีความตองการใน ระดับ แรก แตเ พีย งวา ในลัก ษณะที่พ อทนอยูไ ด ไมต ายไมเ จ็บ ไข ไมอ ะไร มากเกินไป. นี้ก็เปนเรื่องศีลธรรมในขั้นแรก ทําใหตองการเพียงเทานี้ ก็เปน ศีลธรรมที่สรางขึ้นไดงาย หรือ ปฏิบัติไดงาย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ร ะ ดั บ ที่ ๒ . เ ร า ต อ ง ก า ร ใ ห เ รี ย บ ร อ ย แ ล ะ ส ว ย ง า ม ยิ ่ ง ขึ ้ น ไป. เรากํ า ลั ง เป น บ า ในข อ นี ้ ใ ช หรื อ ไม ลองคิ ด ดู เราต อ งการ

www.buddhadassa.in.th


๙๔

อริยศีลธรรม

ใหมีระเบียบเรียบรอยใหสวยงามยิ่งขึ้นไป กําลังบากันเทาไรในโลกนี้. ที่เรียกวา ความเจริญ ความเจริญ กา วหนา ศิว ิไ ลซนั ้น มัน คือ ความบา หลัง ในขอ นี ้; เพราะฉะนั้นศีลธรรมมันก็ ทําใหมันเปนระเบียบเรียบรอยและสวยงามยิ่งขึ้นไป; เปลี่ยน, ระบบศีลธรรมมันก็ตองเปลี่ยน เพื่อความเรียบรอยและสวยงามยิ่งขึ้นไป. ก อ น ๆ นี ้ เราต อ งการเพี ย งแต ว า พอทนอยู ไ ด ; เดี ๋ ย วนี้ ก็เ กิด ศีล ธรรมอัน นี ้ ที ่ม ัน ยากลํ า บากขึ ้น มาวา จะตอ งเรีย บรอ ยสวยงาม แลว ก็ ตอ งเจริญ ตา เจริญ ใจดว ย. ทีนี ้เ ราก็ด ู แลว จะเห็น วา ; ความเปน ระเบีย บ เรียบรอยสวยงามนั้นมันตองลงทุนเทาไร? แลวมันจะยั่วยวนกิเลสเทาไร? มันจะ ยั่วยวนใหอันธพาลเกิดขึ้น สําหรับเบียดเบียนคนที่สุภาพหรือปรกติเทาไร? นี่ ร ะ บ บ ศีล ธ รรม มัน จึง เป ลี ่ย น เ ปน ย า ก ขึ ้น ที ่จ ะอ ยู ด ว ย ค ว า ม เ ปน ระเบีย บ เรียบรอยสวยงามยิ่งขึ้นไปดวย แลวดวยความสงบ รักใครเมตตากรุณากันดวย. ใ น ส ม ั ย ก  อ น เ ร า อ ยู  ก ั น แ ต  พ อ อ ยู  ไ ด  ร ั ก ใ ค ร  เ ม ต ต า ก รุ ณ า ไ ม เ บี ย ด เ บี ย น กั น เ มื ่ อ สั ก ร อ ย ป ม า นี ้ จ ะ เ ห็ น ไ ด เ ดี ๋ ย ว นี ้ ม ั น ไ ม ไ ด เพราะวา ตอ งการสวย ตอ งการงาม ตอ งการมากขึ ้น ไป แลว เราก็ทํ า ใหเ ปน ไป อยางนั้นไมได; เพราะวาเต็มไปดวยโจรเต็มไปดวยขโมย. สิ่งนี้มันเพราะโจร เพราะขโมยขึ้ น มาเอง ในตั ว มั น เอง เพราะมั น ต อ งการสวย ต อ งการงาม ต อ งการ มากต อ งการอะไรที่ ไ ม มี ข องเขตขึ้ น มา. ศี ล ธรรมมั น ก็ เ ปลี่ ย น ความปรกติ มั น ก็ เ ลย ยากขึ้น; เราอาจจะทําได แตมันจะยากขึ้นหลายรอยเทาหลายพันเทาที่จะใหมีความ ปรกติ อยูอยางสวยงามเจริญตาเจริญใจนี้มันทํายาก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ท ีนี ้ ม ีร ะ ด ับ ส ูง ส ุด ร ะ ด ับ ที ่ ๓ . ค ือ ว า เ ร า ต อ ง ก า ร ศ ีล ธ ร ร ม ที่เปนมู ล ฐานในทางพระศาสนา, ต อ งการศี ล ธรรมที่ เ ป น มู ล ฐานขั้ น สู ง สุ ด

www.buddhadassa.in.th


คาและความจําเปนที่ตองมีศีลธรรม

๙๕

ทางพระศาสนา. นี่ศีลธรรมนี้ตองการใหเราพรอมที่จะหมดกิเลส, ใหความ หมดกิ เ ลสนั้ น เป น นิ พ พาน; นั้ น เป น สุ ด ยอดของศี ล ธรรม. เราจะ ตองการตัวศีลธรรมที่ทําใหเปนอยางนั้น มันก็ยิ่งทํายาก, เพราะเราอยากแตจะ อยูบนวิมาน อยากจะสมบูรณอยูดว ย รูป เสียง กลิ่น รส อยางที่เรียกวา ไมยอม มานั่งอยูใตตนโพธิ์; จะมานั่งอยูที่ใตตนกัลปพฤกษเสมอไป. นี่พูดอยางเขาขาง ตัวเองทุกคน. ลองคิด ดูเ ถอะ เราอยากจะนั ่ง ใตต น กัล ปพฤกษ หรือ วา เราอยาก จะนั่งใตตนโพธิ์. ถาเราอยากจะนั่งใตตนโพธิ์ เดี๋ยวมันก็เกิดสติปญญา เกิด ความรู เกิ ด เห็ น อนิ จ จั ง ทุ ก ขั ง อนั ต ตาขึ้ น มา; ถ า เราไปเกิ ด อยาก นั่ง ใตตน กัล ปพฤกษ เดี๋ย วก็มี รูป เสีย ง กลิ่น รส โผฏฐัพ พะ ธัม มารมณ นึก อะไรก็ไ ดอ ยา งใจ ลว นแตเ ปน เรื่อ งกามคุณ ทั้ง นั้น นี่มัน ตอ งการไขวกัน อยูอยางนี้; เวนแตจะมีความรูสึกผานมาแลว วาเห็นโทษอันเลวทรามของสิ่ง ยั่วยวนเหลานั้นแลว; ตองการความสงบ ความปราศจากกิเลส เปนนิพพานนั้น จึงจะตองการศีลธรรมระบบนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เดี ๋ย วนี ้ ในประเทศเราเมือ งไทย ที ่ว า เจริญ ดว ยพุท ธศาสนา ใครตองการศีลธรรมระบบนี้? เดี๋ยวพูดไปมันกระทบกระเทือน ประชาชนก็ดี รัฐบาลก็ดี ไมเคยคํานึงถึงศีลธรรมระบบนี้; เพราะวาแมแตศีลธรรมในระดับ ต่ําๆที่จะใหอยูกันเปนผาสุกตามบานตามเรือน มันก็ยังทําไมได, แลวก็ยังสนับ สนุนระบบที่ใหสวยงามยิ่ง ๆ ขึ้นไป ใหเอร็ดอรอยยิ่ง ๆ ขึ้นไปนี้ มันก็ยิ่งไกล ออกไป; เพราะมันเปนเรื่องชวยสรางกิเลส ชวยเพาะอันธพาล. ฉะนั้นจึง อย า ไปโทษพวกอั น ธพาลนั ก ต อ งโทษคนโง ทั่ ว ๆ ไป ที่ ไ ปสร า งระบบ

www.buddhadassa.in.th


๙๖

อริยศีลธรรม

ให มั น สวยงาม กิ น อยู ดี ยั่ ว ยวนมากขึ้ น ที่เพาะพวกอันธพาลขึ้นมา. .…

....

….

ที นี้ ก็ ดู อี ก ที ว า ข อ ที่ ห นึ่ ง แทจริงจากศีลธรรมนั้นคืออะไร?

นั่ น แหละมั น เป น ต น เหตุ

.… สิ่ ง ที่ เ ราต อ งการอย า ง

เราอยากจะมีศีลธรรม เราเกิดชอบศีลธรรมขึ้นมาแลว เราจะ เอาศีลธรรมในระดับไหน? เราจะเอาศีลธรรมกันแตในระดับที่เพียงวาใหพอ ทนกันอยูได เปนไปกันได พออยูไดตามปรกตินั้นคงไมยาก ไมมีปญหา มากมายนัก; แตถาเอาศีลธรรมระบบที่จะใหอยูกันอยางสวยงามหรูหรา ยิ่ง ๆ ขึ้นไปดวยแลวมันก็ยาก เพราะมันเพาะกิเลส. ถาวาตองการศีลธรรมระบบ ที่ จ ะสง เสริ ม แก พ ระนิ พ พานแล ว ก็ ดูยัง จะลงทุ น น อ ยกว า หรื อ จะไม ต อ ง ลงทุ น อะไรเลยก็ ไ ด ; เพราะมั น สามารถจะแก ไ ขได ใ นตั ว , ปรั บ ปรุ ง แก ไ ข ในตัว ไมตองหาเงินหาทองหาอะไรมาพัฒนาบานเมือง เปนโกฎิเปนลาน เปน อะไร. พออยูเปนปรกติสุขก็พอแลว, แลวก็ใหรูจักทําจิตใจใหมันมีกิเลสเบาบาง ยิ่งขึ้นทุกที, ตัวเองก็ไมรอน มันก็ไมไปทําคนอื่นใหเดือดรอน ก็ไมมีใคร เบียดเบียนใคร จะอยูกันอยางผาสุก อยางโลกของพระอริยเจา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ขอนี้อาตมาเรียกวา อริยศีลธรรม ซึ่งเปนหัวขอใหญของการ บรรยายชุดนี้ ที่เรียกวาอริยศึลธรรม. เมื่อเขาพูดกันอยูวา ศีลธรรมอันดีของ ประชาชน, ศีลธรรมอันเลวของประชาชนอะไรก็ตาม; เราจะพูดแตวา อริย-

www.buddhadassa.in.th


คาและความจําเปนที่ตองมีศีลธรรม

๙๗

ศีลธรรม, ศีลธรรมของพระอริยเจา ที่ทําใหเกิดความผาสุก ความเยือกเย็น โดยที่ ไ ม ต อ งลงทุ น ไม ต อ งลํา บากมาก. เราควรจะปรารถนาในส ว นนี้ กั น หรือไม? ขอใหลองคิดดู. ท ี นี ้ ป  ญ ห า ส ุ ด ท  า ย ม ั น เ นื ่ อ ง ก ั น ม า ว  า ม ั น ข ั ด ข ว า ง อ ยู  ที่ ตรงไหน? เราไมเ ขาใจแลว หรือเรากําลัง ทําอยูอ ยา งไร สิ่งที่เราไมตองการ เรากลับตองการ, สิ่งที่เราควรจะไมตองการเรากลับตองการ เรากําลังหลับตาทํา สิ่งที่เราไมควรจะตองการจริงหรือไม? หลับตาทําอยางเปนบาหลัง, เรากําลัง หลับตาทําสิ่งที่เราไมควรจะตองการ; ทําอยางหลงรัก ทําอยางหลงใหลทีเดียว. สิ ่ง ที ่ไ มค วรจะตอ งการ คือ ความไดป ระโยชนอ ยา งวัต ถุท างเนื ้อ ทางหนัง ตลอดถึงสิ่งที่มันจะมาทําใหเรารอนนั่นเอง, เรากลับตองการอยางหลงใหล. เรา ไมไดตองการศีลธรรม; นี่ขอพูดตรง ๆ อยางนี้ : สิ่งที่จะควรตองการกลับไมได ตอ งการ. แตป ากเราก็พูด วา เราตอ งการศีล ธรรม ; แตใ จของเราก็ตอ งการ ที่จะมีความผาสุก กินดีอยูดียิ่ง ๆ ขึ้นไป ทางเนื้อทางหนัง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เรื ่อ งนี ้เ คยสอบถามกัน ดูอ ยา งนา หวัว ที ่ส ุด วา อยากไปสวรรค หรืออยากไปนิพพาน? ชาวบานที่ถูกถามก็บอกวาเขาอยากไปนิพพาน. เมื่อเขา นี้เราก็อธิบายใหเขาฟงวา ยืนยันวา เขาอยากไปนิพพาน ไมอยากไปสวรรค; นิพ พานนั ้น เรามีจ ิต ใจชนิด ที ่จ ะไมย ิน ดีย ิน รา ย ไมม ีอ ะไรที ่ร ัก ที ่ช ัง ไมม ีอ ะไรที่ ทํ า ใหเ รารู ส ึก สนุก หรือ รอ งไห. เขาก็บ อกวา ถา อยา งนั ้น ไมต อ งการนิพ พาน. เราตองการอะไรที่มันมีอยู อยางที่มีอยูในโลกนี้ แตมันมากยิ่งๆ ขึ้นไป; นั่น เขาตองการอยางนั้น. นี้ปากเขาพูดอยางหนึ่ง ตามที่นิยมพูดกันอยู, ไปหลงเอา สิ่งที่วิเศษที่สุดมาพูดก็ได; แตใจแทจริงไมไดตองการ.

www.buddhadassa.in.th


๙๘

อริยศีลธรรม

เราต อ งการสิ ่ ง ที ่ ไ ม ค วรต อ งการ, สิ ่ ง ที ่ ค วรต อ งการก็ ไ ม ไ ด ตอ งการ. นี ่เ ราไมไ ดต อ งการศีล ธรรมเพราะเหตุนี ้; แตป ากเราพูด วา ตอ งการ ศีล ธรรม. นี ่ไ มใ ชป ระชดหรือ ดา ใคร, ไปดูต ัว เองก็แ ลว กัน : พอพูด ถึง วา ตอ งการศีล ธรรมไหม? ยกมือ ทั ้ง นั ้น ; แตใ นใจจริง นั ้น ไมรู จ ัก , หรือ วา พอรู จ ัก เขา บางทีก็จะบอกคืนก็ได. ข อ ที ่ ส อ ง เ ร า กํ า ลั ง ไ ม รู  ว  า ป ญ ห า ทุ ก อ ย า ง นั ้ น มั น มาจากการขาดศี ล ธรรม. ขอ นี ้ไ วพ ูด กัน อยา งละเอีย ดคราวอื ่น ดีก วา . แตข อใหจํ า ไวก อ น วา ปญ หาทุก ชนิด ในโลก อดีต อนาคต ปจ จุบัน อะไรก็ต าม ปญ หายุง ยาก ทุก อยา ง มาจากการขาดศีล ธรรม. เราทํ า ใหค อมมูน ิส ตเ กิด ขึ ้น ก็เ พราะขาด ศีลธรรม, เราตอสูคอมมูนิสตไมไดก็เพราะขาดศีลธรรม. นี่พูดใหมันหมดเลยวา อยางนี้ดีกวา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เ ร า ไ ม รู  ว  า ป ญ ห า ทุ ก อ ย า ง ค ว า ม ทุ ก ข ทุ ก ช นิ ด เ กิ ด ม า จากการขาดศี ล ธรรม; เพราะฉะนั ้ น เราจึ ง ไม ไ ด ตั ้ ง ใจที ่ จ ะมี ศ ี ล ธรรม กัน โดยแทจ ริง . เดี ๋ย วนี ้เ รากํ า ลัง หลับ หูห ลับ ตา แกป ญ หากัน แตที ่ป ลายเหตุ ตั ้ง รอ ยพัน วิธ ี; รัฐ บาลทุก รัฐ บาลในโลกนี ้ หลับ หูห ลับ ตาแกป ญ หากัน แต ปลายเหตุ รัอ ยอยา งพัน อยา ง ไมไ ดแ กปญ หาที ่ตน เหตุ ของปญ หาอัน แทจ ริง คือความขาดศีลธรรม. ไมมีรัฐบาลไหนในโลกในเวลานี้ พูดถึงคําวา "ศีลธรรม", และไมไดยกเรื่องของศีลธรรมขึ้นมาเปนตัวปญหาสําหรับแกหรือสะสาง.

www.buddhadassa.in.th


คาและความจําเปนที่ตองมีศีลธรรม

๙๙

ทั ้ง โ ล ก ทุก รัฐ บ า ล ใ น โ ล ก นี ้ ห ลับ ต า แ กป ญ ห า แ ตที ่ป ล า ย เ ห ตุ; เชนวากรรมกรสไตรคนนี้ ก็จะแกปญหาตรงที่นั้นแหละ; ไมไดรูวามัน มาจาก การขาดศีล ธรรม. หรือ วา นายทุน เขารัง แกกรรมกร ก็จ ะปราบนายทุน ลง ไปอย า งนั้ น ; ไม ไ ด รู ว า มั น มาจากการขาดศี ล ธรรม. ข า ราชการไม ดี ราษฎรเดือดรอน มันก็จะเลนงานขาราชการ โดยที่ไมรูวามัน มาจากการขาด ศีลธรรม; โดยมากราษฎรเองก็ขาดศีลธรรม มันจึงไดทําผิดจนเกิดเดือดรอน ขึ้นมา แลวจะไปโยนบาปใหคนอื่น. ในโลก ทุก อยา งเปน ปญ หาระหวา งชาติ ระหวา งโลก ปญ หา ใหญห ลวงของโลกนั้น มาจากมนุษ ยข าดศีล ธรรม. เดี๋ย วนี้ม นุษ ยใ นโลก กําลังระดมทุมเทกัน จะทําลายทรัพยากรในโลกนี้ใหหมดสิ้น: ไมใหน้ํามันเหลือ อยูในโลกแมแตหยดเดียว; คอยดูไปขางหนา. นี่ความขาดศีลธรรมของมนุษย มันจะมีมากถึงอยางนี้; แลวก็หลับตาแกปญหากันแตที่ปลายเหตุ. ถาแกปญหา ที่ ต น เหตุ มั น ก็ ต อ งทํ า ให ม นุ ษ ย มี ศี ล ธรรม สิ่ ง ต า ง ๆ ก็ จ ะหยุ ด ระส่ํ า ระสาย, หยุดหมดหยุดเปลือง, มันจะมีสิ่งที่เหลืออยูในโลกไปไดยืดยาว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เดี๋ ย วนี้ เ ราไปโทษป ญ หาทางเศรษฐกิ จ นั้ น หลั บ ตาโง ไปโทษ ปญหาทางเศรษฐกิจ; ไมรูวามันมาจากการขาดศีลธรรม ปญหาทาง เศรษฐกิจมันจึงเกิดขึ้น ในบานเรา ในประเทศเรา หรือ ในโลก ที่เราโงที่สุด กั น เกื อ บทั้ ง โลก. นี้ ก็ ว า ถ า เราไปยึ ด ถื อ ศี ล ธรรม จะทํา ให เ ราเสี ย เปรี ย บ ผูอื่น ; เดี๋ยวนี้มีใ ครกําลัง โงอ ยูอ ยางนี้ . ขออภัยไปชวยคิดดูใ หม; วา ถา มี ศีลธรรมแลวจะเสียเปรียบคนอื่น.

www.buddhadassa.in.th


๑๐๐

อริยศีลธรรม

เรากําลังตี ค วามหมาย หรือ ตี คาของศี ลธรรมผิด เราเกลีย ด ศี ล ธรรมทั น ที ; เราเกลี ย ดศี ล ธรรมเพราะเราตี ค วามหมายของศี ล ธรรม ผิด. เราเกลียดศีลธรรม ก็เพราะวากิเลสของเรา มันตองการอยางอื่น; กิเลสของเรามันไมตองการศีลธรรม. ฉะนั้นเราจึงเกลียดศีลธรรม; เพราะวา กิเลสของเรามันตองการอยางอื่น. เราเกลียดศีลธรรม เพราะเรามอง ศีลธรรมกั น อย า งไม ยุ ติ ธ รรม; มองศี ล ธรรมอย า งเสี ย ไม ไ ด อย า งผิ ว เผิ น , อยางไมยุติธรรมแกศีลธรรม, เราจึงเกลียดศีลธรรม. นี่ ร วมความว า ไมรูจักสิ่งที่สําคัญที่สุด ศีลธรรมนั่นเอง.

เราทํา โลกนี้ ใ ห ส งบสุ ข ไม ไ ด ในเมื่ อ เรา ที่จะทําโลกนี้ใหมีความสงบสุข คือสิ่งที่เรียกวา

มันมีปญหาที่อาจจะเลนตลกกลับไปกลับมากันก็ได; อยาง อาตมาจะพูดวา แมวาเราจะมีผูปกครองประเทศที่ดีที่สุด แตถาพลเมืองทุกคน ไม มี ศี ล ธรรม, จะทํา ได ไ หม? จะทํา บ า นเมื อ งให มี ป รกติ สุ ข ได ไ หม? เรามีผูปกครองที่ดีที่สุดแตพลเมืองไมมีศีลธรรม, หรือเขาอาจจะพูดวา อาว, ถาเปนผูปกครองที่ดีที่สุด ก็ตองทําพลเมืองใหมีศีลธรรมไดซิ. เราก็บอกวา เพราะมันมีศีลธรรมไดนะซิ มันจึงมีความสงบสุข; ไมใชอยูที่ผูปกครองอยางนั้น อยางนี้ มันอยูที่ทุกคนนั้นมีศีลธรรมตางหาก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ขอสรุปความเสียวา มันมีความจําเปนอยางนี้คือ มนุษยเราจะ ตองมีศีลธรรมจึงจะอยูกันเปนผาสุก. ถาเราไปหลงในคาของวัตถุ ที่มัน หลอกเราใหรักใหเกลียด; เราไมมีทางที่จะมีศีลธรรมที่ดีได. เราจะไปหลงรัก

www.buddhadassa.in.th


คาและความจําเปนที่ตองมีศีลธรรม

๑๐๑

หลงเกลียด หลงบูชา สิ่งที่ไมควรจะบูชา, แลวก็เกลียดสิ่งที่ควรจะบูชา อยางนี้ เป น ต น . ฉะนั้ น จึ ง ขอให ส นใจสิ่ ง ที่ เ รี ย กว า ค า ว า เป น สิ่ ง ที่ ห ลอกลวง ที่สุด, เปนตนตอแหงปญหาทั้งปวง, เปนสิ่งที่พระอรหันตทานสลัดออกไปได. สิ่ง ที่เ รีย กวา คา นี้ ครอบงํา จิต ใจของพระอรหัน ตไ มไ ด นับ เปน สิ่ง สํา คัญ ; เราตอ งรูจัก สิ่ง นั้น ควบคุม สิ่ง นั้น ไดต ามสมควร แลว เราก็จ ะมีศีล ธรรม; ถาเราควบคุมไดถึงที่สุด เราก็จะมีศีลธรรมดีที่สุด. การบรรยายเรื่ อ งค า ของศี ล ธรรม และความจํา เป น ที่ ค นเรา จะตองมีศีลธรรม ก็พอสมควรแกเวลาแลว. อาตมาขอยุติการบรรยายสําหรับ วัน นี้ไ วแ ตเ พีย งเทา นี้. ขอใหพ ระทา นสวดบทสํา หรับ สง เสริม จิต ใจ เพื่อ ความมีธรรมะ มีศีลธรรมตอไปในบัดนี้. ------------------

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรม -๔๒๗ กรกฎาคม ๒๕๑๗

ปญหาเกี่ยวกับศีลธรรม แหงยุคปจจุบนั

ทานสาธุชน ผูมีความสนใจในธรรม ทั้งหลาย,

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org การบรรยายประ จํ า วั น เส าร ใ น ชุ ด อ ริ ย ศี ล ธร ร ม ครั ้ ง ที่ ๔ นี ้ อาตมาจะไดก ลา วโดยหัว ขอ ยอ ยวา ปญ หาเกี ่ย วกับ ศีล ธรรมแหง ยุ ค ป จ จุ บ ั น . อ ย า ง ไ ร ก็ ด ี อ า ต ม า อ ย า ก จ ะ ข อ ใ ห ท บ ท ว น คํ า ว า อ ริ ย ศี ล ธ ร รม นี ้ อ ยู  เ ส ม อ ไ ป เ พื ่ อ ค ว า ม เ ข า ใ จ เ รื ่ อ ง ทั ้ ง ห ล า ย ไ ด ง  า ย ขึ ้ น . ทํ า ไมจึ ง มี คํ า ว า อริ ย ศี ล ธรรมขึ้ น มาได ซึ่ ง ไม ไ ด มี ใ ครเคยพู ด ? ทั้ ง นี้ ก็ เพราะว า เ ดี ๋ ย ว นี ้ คํ า ว า ศี ล ธ ร ร ม มั น เ ป ลี ่ ย น ค ว า ม ห ม า ย ม า ก เ ห ลื อ เ กิ น จ น เ ป น มิ ใ ช ศ ี ล ธ ร ร ม ไ ป แ ล ว ก็ ม ี , เ ป น ศี ล ธ ร ร ม ที ่ ว  า เ อ า ต า ม ค ว า ม พ อ ใ จ ; อย า งนี้ ไ ม ใ ช ศี ล ธรรมของพระอริ ย เจ า , จึ ง ต อ งมี ก ารพู ด กั น ใหม ว า "ศี ล ธรรม

๑๐๓

www.buddhadassa.in.th


๑๐๔

อริยศีลธรรม

อัน ดีข องประชาชน" อยา งนี ้เ ปน ตน ถา เราพูด วา ศีล ธรรมของพระอริย เจา มันก็ไมตองมีศีลธรรมอันดี อันเลว ที่ไหนอีกแลว. .…

....

….

.…

คํ า " อ ริ ย " นี ้ มี ค ว า ม ห ม า ย พิ เ ศ ษ ข อ ใ ห กํ า ห น ด จดจํา หรือวาสังเกตไวเรื่อย ๆ ไปกอน. เข า ใจคํ า ว า อริ ย ะ ดี เ มื ่ อ ไร ก็ ใ ช ไ ด ท ั น ที ; จะยกตั ว อย า ง สัก คําหนึ่ง กอ นก็ไ ด คือคํา วา "ศรีอ าริย เมตไตรย". คนแก ๆ ก็รูไ ดวา นี้เ ปน ชื่อของพระพุทธเจาองคหนึ่งที่จะมาขางหนา; แลวก็เปนชื่อของศาสนาของทานดวย. เปน ชื ่อ ตัว ทา นดว ยก็ม ี แตว า ที ่จ ริง แลว ไมใ ชชื ่อ ของตัว ทา น; คํ า นี ้เ ปน ชื ่อ ศาสนาของทา น วา "ศรีอ าริย เมตไตรย". คํ า วา "ศรี" ก็เ ปน คํ า นํา แสดง ความสูง สุด ประเสริฐ สุด อัน นี ้ไ มใ ชค วามหมายที ่มุ ง หมาย; ความหมายที่ มุง หมายก็คือ อริย คําหนึ่ง แลว เมตไตรย คํา หนึ่ง . ที่เ ปนภาษาบาลีนั้น ใช คําวา เมตฺเตยฺย ถาเปนภาษาไทย เมตไตรย คือเลียนเสียงจากภาษาสันสกฤต; แตก็คําเดียวกับภาษาบาลีที่วา เมตฺเตยฺย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อริ ย ะ ก็ แ ปลว า ประเสริ ฐ อย า งที่ กํ า ลั ง พู ด อยู แล ว ความหมาย อยา งอื่น อีก ; แตส รุป ความแลว ก็ไ ดค วามเลยวา "ถา อริย ะแลว ก็ห มดปญ หา". ถา ยัง ไมห มดปญ หาก็ย ัง ไมใ ชอ ริย ะ; จะเปน ปญ หาสว นตัว หรือ สว นรวม ป ญ หาความทุ ก ข ย ากหรื อ ป ญ หาอะไรก็ ต าม ถ า เป น อริ ย ะก็ ต อ งหมดป ญ หา; เพราะฉะนั้ น จึ ง ใช เ ป น คํ า สํ า หรั บ ประกอบคํ า นามอื่ น ๆ ให แ สดงว า สู ง สุ ด หรื อ ประเสริฐสุด.

www.buddhadassa.in.th


ปญหาเกี่ยวกับศีลธรรม แหงยุคปจจุบัน

๑๐๕

ที่นี้ คํา วา เมตฺเ ตยยฺ นี้ แปลวา ความเปน มิต ร ความเปน แหงมิตร, มาจากคําวามิตร. ฟงดูก็ไมนาจะมีความสําคัญอะไร. ความเปนมิตร อย า งประเสริ ฐ สุ ด นั่ น แหละเป น ชื่ อ ของพระพุ ท ธเจ า องค ที่ จ ะมาข า ง หนา ; แลวศาสนาของทานก็ชื่ออยางนั้น ชื่อวา ศาสนาพระศรีอาริยเมตไตรย มีความเปนมิตรถึงที่สุด แลวก็สูงสุด, นี้คือศาสนาที่จะมาขางหนาที่ยังหวังกันนัก. ศาสนาพระศรีอาริย มีความหมายพิเศษอะไร? ลองคิดดู ก็คิดได หลายแง ห ลายมุ ม . ถ า ศี ล ธรรมดี จ ริ ง ความเป น มิ ต รในระหว า งมนุ ษ ย ก็ จะดีจริง จะถึงที่สุด; เดี๋ยวนี้ความเปนมิตรในโลกปจจุบันนี้เลวลงทุกที ไมมี ความเปนมิตรยิ่งขึ้น หรือวามีความเปนมิตรชนิดที่หลอกลวงคดโกงมากขึ้นทุกที; ฉะนั้น โลกสมัยนี้ ก็ตองไกลจากศาสนาพระศรีอาริย มากขึ้นทุกที. ศาสนาพระศรี อ าริ ย เ รี ย ก อริ ย เมตเตยยะ มี ค วามเป น มิ ต ร เปนชั้นเลิศ; แตเดี๋ยวนี้โลกเรา มีแตความเกลียดชัง ความเปนศัตรูชั้นเลิศ มากขึ้นทุกที ๆ; ก็แปลวาโลกนี้กําลังเปนไปในลักษณะที่ถอยไกลหางจากศาสนา พระศรีอาริยเมตไตรยมากขึ้นทุกที.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org .…

....

….

.…

นี ้ ก ็ เ ล ย ถื อ โ อ ก า ส เ ตื อ น ใ ห ค ิ ด ดู ก ั น เ สี ย เ ล ย ว า : ศาสนาพระศรี อ าริ ย เ ม ต ไ ต ร ย นี้ จ ะสร า งขึ้ น มาได อ ย า งไร? เราอาจจะสรา งศาสนานี้ขึ้น มาไดใ นพริบ ตาเดีย วไดอ ยา งไร? มั น ก็ ไ ม มี อ ะไรมากไปกว า ทํา ความเป น มิ ต รอั น แท จ ริ ง ให เ กิ ด ขึ้ น มาใน

www.buddhadassa.in.th


๑๐๖

อริยศีลธรรม

โลกนี้ อยา งสูง สุด เทา นั ้น เอง. แลว อะไรมัน จะชว ยทํ า อยา งนี ้ไ ด? ก็ม ีแ ต ศีล ธรรมอยา งเดีย วเทา นั ้น . พอมีศ ีล ธรรมอยา งถูก ตอ งเทา นั ้น ความเปน มิต รในโลกนี ้ก ็จ ะมีขึ ้น มาอยา งสูง สุด , อยา งที ่เ รีย กวา ชั ้น ประเสริฐ . เดี ๋ย วนี้ มันมีแตเสื่อมศีลธรรม ความเปนมิตรมันก็มีไมได, คนก็เบียดเบียนซึ่งกันและกัน ยิ่งขึ้นทุกที. ความเปน มิต รมีค วามสํ า คัญ อยา งไร? ขอใหน ึก ดูใ หด ี ก็จ ะ พบได ว  า ความเป น มิ ต รนี ้ สํ า คั ญ ตรงที ่ ว  า ทํ า ให เ บี ย ดเบี ย นกั น ไม ไ ด , ไม มี อ ะไรมากไปกว า นั้ น ; ฉะนั้ น หลั ก พุ ท ธศาสนานี้ ก็ จ ะมี ร ากฐานอยู ที่ ค วาม เป น มิ ต ร ไม เ บี ย ดเบี ย นตั ว เอง ไม เ บี ย ดเบี ย นผู อื่ น เท า นั้ น พอแล ว ไม มี อ ะไรอี ก เกี ่ ย วกั บ โลกทั ้ ง โลก ก็ ม ี ห ลั ก ที ่ เ ราได ย ิ น ได ฟ  ง กั น อยู  เ ป น ประจํ า แตแ ลว เราก็ล ะเลยกัน เสีย หมด; นั ่น คือ หลัก ที ่ว า "สัต วทั ้ง หลายเปน เพื ่ อ น เกิ ด แก เจ็ บ ตาย ด ว ยกั น ทั ้ ง หมดทั ้ ง สิ ้ น " ; นี ้ ไ ม ต  อ งต อ ท า ยว า "อย า เบี ย ดเบี ย นซึ่ ง กั น และกั น เลย", ไม ต อ งต อ ท า ยก็ ไ ด มั น ไม จํ า เป น . เพี ย ง แต ว า "เป น เพื่ อ น เกิ ด แก เจ็ บ ตาม ด ว ยกั น ทั้ ง หมดทั้ ง สิ้ น " เท า นี้ ก็ พ อแล ว เบี ย ดเบี ย นกั น ไม ล งแล ว ; มั น ก็ มี ค วามเป น มิ ต รเกิ ด ขึ้ นมาแทน และต อ งมี ค วาม เปนมิตรชั้นสูงสุด แลวศาสนาพระศรีอ าริยก็แสดงออกมาทันที ที่ความเปนมิตร ชั้นสูงสุด.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ขอให ท า นคํ า นวณดู เ องว า การที่ จ ะมี ศ าสนาพระศรี อ าริ ย เมตไตรย ขึ้นมานี้ มันงายหรือมันยากอยางไร มองดูทางหนึ่งแลวมันงายแสนจะงาย คือวา

www.buddhadassa.in.th


ปญหาเกี่ยวกับศีลธรรม แหงยุคปจจุบัน

๑๐๗

เปนมิตรกันทั้งหมดเทานั้น ก็มีศาสนาพระศรีอาริยเมตไตรยขึ้นมาเทานั้น มันไมมี อะไรมากไปกวานี้. ขอใหท า นพิจ ารณาดูต อ ไปก็แ ลว กัน วา ศาสนาพระศรีอ ริย เมตไตรยนั ้น มีค วามหมายแตเ พีย งวา : เปน มิต รกัน อยา งประเสริฐ เดี ๋ย วนี้ โลกกํ า ลั ง ไม มี ค วามเป น มิ ต รกั น ยิ่ ง ขึ้ น นั้ น ห า งไกลจากศาสนาพระศรี อ ริ ย เมตไตรย. .… .... …. .… ที นี ้ เ ร า จ ะ มี ค ว า ม เ ป น มิ ต ร กั น ไ ด อ ย า ง ไ ร ? ไ ม ม ี ท า ง อื ่ น นอกจากสิ่งที่เรียกวา ศีลธรรม บางคนอาจจะคิด วา ศาสนาพระศรีอ ริย เมตไตรย ไมต อ งการ ความเปน พระอรหัน ตก ัน แลว หรือ อยา งไร จึง ตอ งการเพีย งคามเปน มิต ร. นี ้ก็ จะมองดูไ ดว า ในศาสนาของพระพุท ธเจา ที ่แ ลว มานั ้น ไมม ีป ญ หาเรื ่อ ง ความ เป น มิ ต ร หรื อ ควา มเป น มิ ต ร; เพราะคนมั น ดี โดยที ่ ย ั ง ไม เ ป น วัตถุนิยม. คงจะมีการคาดการกันลวงหนาถูกตอง วาตอไปนี้จะเปนสมัยวัตถุนิยม แลวเปนการทําลายมิตร คือทุกคนเห็นแกตัว ; จึงตองมีระบบสวนที่จะสรางความ เปน มิต รใหเ กิด ขึ้น ผนวกไวกับ การเปน พระอรหัน ต ในศาสนาของพระศรีอ าริย จึงย้ําถึงความเปนมิตร อยางนี้มากกวา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org การที ่จ ะพูด วา ถา เปน พุท ธเจา แลว ก็ม ีเ มตตากรุณ าอยา งสูง สุด ที่พระพุทธเจาองคไหน ๆก็มี ; ไมใชจะมีแตพระพุทธเจาองคที่จะชื่อวา "ศรีอาริยเมตไตรย" . นี ้ถูก แลว ; แตเ ดี๋ย วนี ้ที่พ ูด อยา งนี ้ เล็ง ถึง มนุษ ยใ นโลกมากกวา ;

www.buddhadassa.in.th


๑๐๘

อริยศีลธรรม

เพราะมนุษ ยเ ลวลง มีก ิเ ลสแข็ง กลา ขึ ้น แลว ก็เ บีย ดเบีย นกัน ไมม ีค วาม เปน มิต ร; จึง ตอ งขยายระบบความเปน มิต รเพิ ่ม ขึ ้น สํ า หรับ พระพุท ธเจา หรือ ศาสนาของพระพุท ธเจา ที ่จ ะมาในอนาคต คือ พระศรีอ าริย เมตไตรย; ทําสําเร็จไดด วยการมี ศีลธรรม. ลองมีศีลธรรมอยางที่เรากํ าลังจะวิ นิจฉั ยกันตอไป นี ้เ ถอะ แลว ก็ม ีค วามเปน มิต รเกิด ขึ ้น ในโลก; ในที ่ส ุด ก็ถ ึง ศาสนาของพระศรีอาริยเมตไตรยขึ้นมาเอง. เรื ่อ งความไมม ีศ ีล ธรรมนี ้ มีค วาหมายมากไปกวา นี ้ เทา ที ่พ บ ในพระบาลี ในพระพุท ธภาษิต ก็ย ัง มี วา เมื ่อ ไมม ีศ ีล ธรรมในหมู ม นุษ ยถ ึง ระดับ สูง สุด แลว ก็จ ะเปน ที ่เ กลีย ดชัง ของเทพยดา, แลว ฝนก็จ ะไมต กลงมาใน มนุษ ยโลก ก็จะเกิด ขาวยากหมากแพง แลว ก็ตายกันมาก ; นี่มีคํ าวา อยา งนี้. นี้ ศีลธรรมในโลกมันเสื่อมทรามลงไป จนพวกเทวดาเกลียด ฝนไมตกลงมาก็สมน้ําหนา. เดี ๋ย วนี ้ ศีล ธรรมเสื ่อ มถึง ขนาดวา ทํ า ลายปา ไมเ สีย หายหมด ทํ า ลายอะไร ๆ เสี ย หมด ที่ จ ะเป น เหตุ ใ ห ฝ นตก ; คนไม มี ศี ล ธรรม ในข อ นี้ แ ล ว ฝนมัน ก็ไ มต ก. นี ่ก ็เ พราะความเสื ่อ มศีล ธรรมนั ่น แหละ ทํ า ใหฝ นไมต กลงมา ในโลกนี้. อยาทําเลนกับคําวา "ศีลธรรม". ขอใหสนใจคําวา "ศีลธรรม, ศีลธรรม" ใหมากยิ่ง ๆ ขึ้นไป, ใหสมกับที่เรากําลังเอามากลาวกันอยางละเอียดลออ

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org .…

....

….

.…

ที นี ้ ก ็ จ ะ ดู ก ั น ถึ ง ป ร ะ เ ด็ น ที ่ มุ  ง ห ม า ย ที ่ จ ะ พู ด ว า ป ญ ห า ท า ง ศี ล ธ ร ร ม ห รื อ ป ญ ห า ที ่ เ กิ ด เ กี ่ ย ว กั บ ศี ล ธ ร ร ม ยุ ค ป จ จุ บ ั น ข อ ง โลก กันตอไป.

www.buddhadassa.in.th


ปญหาเกี่ยวกับศีลธรรม แหงยุคปจจุบัน

๑๐๙

ใ น ค รั ้ ง ที ่ แ ล ว ก็ ไ ด พ ู ด ถึ ง ชื ่ อ อั น กํ า ก ว ม ข อ ง สิ ่ ง ที ่ เ รี ย ก ว า "ศีล ธรรม" และ ความหมายของศีล ธรรม, คา และความจํา เปน ที่จ ะตอ งมี ศีลธรรม. เดี๋ยวนี้ยังพิสูจนไมชัด จนกวาเราจะไดพิจารณาดูสิ่งที่เรียกวา "ปญหา" หรือความยุงยากตาง ๆ ที่เกิดขึ้น เพราะการเสื่อมศีลธรรมในโลกปจจุบัน ดูกัน เสีย ใหม. การที ่พ ูด วา "ปญ หาทางศีล ธรรมในยุค ปจ จุบ ัน นี ้" เราตอ งดูไ ปถึง อดีตดวย จึงจะรูวามันเปนอยางไรไดโดยถูกตอง; ไมใชพูดวายุคปจจุบัน แลวจะ ไมตองดูไปถึงอดีต. มันตองหยิบอดีตขึ้นมาพิจารณาดวย จึงจะรูเรื่องของปจจุบัน. เ รื ่ อ ง ใ น อ ดี ต นั ้ น แ ล ว ไ ป แ ล ว มั น ไ ม ใ ช ต ั ว ป ญ ห า : สั ง เ ก ต ดูใ ห ดี ๆ ว า เรื่ อ งทั้ ง หลายในอดี ต มัน ผ า นไปแลว ; ดั ง นั้ นจึ ง มิ ใช ป ญหา; แต จ ะ เปน อุป กรณ สํ า หรับ จะแกป ญ หา ซึ ่ง เรื ่อ งปจ จุบ ัน นี ้กํ า ลัง เปน ตัว ปญ หา เฉพาะหนา . แมว า เรื ่อ งในอดีต จะเนื ่อ งมาถึง ปจ จุบ ัน บา ง มัน ก็เ ปน เรื ่อ งใน อดีต ; นั ้น ไมใ ชต ัว ปญ หา. มัน เกี ่ย วขอ งกับ ปจ จุบ ัน ในฐานะที ่เ ปน ของเนื ่อ ง กั น อยู บ า ง แต ไ ม ใ ช ตั ว ป ญ หา. ตั ว ป ญ หาอั น แท จ ริ ง คื อ เรื่ อ งที่ กํ า ลั ง เกิ ด อยู ใ น ปจจุบันเทานั้น ฉะนั้นเปนตัวปญหาเฉพาะหนาเราจะตองดูกันใหดี ๆ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สํ า หรับ คํ า วา "อดีต " ที ่จ ะตอ งดูนั ้น มัน ก็แ ยกไดเ ปน หลาย ระดับ : อดีต ดึก ดํ า บรรพโ นน ก็ค วรดู, อดีต ที ่ใ กลเ ขา มาก็ค วรดู, กระทั ่ง อดีต เมื่อ เร็ว ๆ นี้ หรือ เมื่อ วานนี้ ก็ค วรจะดู เพราะวา มัน ไมเ หมือ นกัน เลย. อดีตเมื่อวานนี้ก็ไปรูปหนึ่ง, อดีตที่ไกลออกไป อดีตดึกดําบรรพโนนก็ไกลออกไป. ถาดูอดีตเพื่อรูจักปจจุบันก็จะมีประโยชน คือชวยใหเขาใจเรื่องปจจุบันดีขึ้น.

www.buddhadassa.in.th


๑๑๐

อริยศีลธรรม

เรื ่อ งอดีต โนน ดูแ ลว มัน เกือ บจะไมม ีป ญ หา เพราะวา ในสมัย ดึก ดํ า บรรพ นั ้น อยู ก ัน ตามธรรมชาติ; ปญ หาทางศีล ธรรมอะไรไมค อ ยมี หรือ จะเรีย กวา ไมม ีก ็ไ ด. การเบีย ดเบีย นก็เ รีย กวา ไมม ีก ็ไ ด เพราะไมม ีเ หตุ จํ า เปน อะไรที ่จ ะตอ งเบีย ดเบีย นกัน . คนยัง มีน อ ย วัต ถุอ ุป กรณข องธรรมชาติ มีมาก; แล วคนก็ไ มมีความรูที่จะเบียดเบียนกัน. ตอ มาถึงคอ ยมีความเห็นแกตัว ; เมื ่อ มีอ ะไรเกิด ขึ ้น ตามความเจริญ , แลว ก็เ บีย ดเบีย นกัน , และก็เ บีย ดเบีย น กั น มากขึ้ น จนกระทั่ ง ถึ ง เมื่ อ วานนี้ ก็ เ บี ย ดเบี ย นกั น ถึ ง ที่ สุ ด . นี่ ดู อ ดี ต ว า ความ เบียดเบียน ความไมเปนมิตรตอกันนั้น ไดเปนมาอยางไร ขึ ้ น ชื ่ อ ว า ค ว า ม เ สื ่ อ ม ศี ล ธ ร ร ม แ ล ว มั น ต อ ง เ ป น ก า ร เบีย ดเบีย น; อยา งนอ ยที ่ส ุด ก็เ บีย ดเบีย นตัว ผู นั ้น เองกอ น แลว จึง เบีย ดเบีย น ผู อื ่น , หรือ วา เบีย ดเบีย นทั ้ง สองฝา ย. ถา ไมม องกัน ใหด ี ก็ไ มเ ขา ใจวา สิ ่ง ที่ เรีย กวา ศีล ธรรมนั ้น มัน เพื ่อ อะไร. ขอใหท บทวนถึง คํา บรรยายใน ๓ ครั ้ง ที่ แ ล ว มา ย้ํ า แล ว ย้ํ า อี ก ว า : ขอให เ อาความหมายของคํ า ว า สี ล ะ, สี - ละ, สี ล ะ นี ่ไ วเ รื ่อ ยไป; เพราะมัน แปลวา ปรกติ. การที ่ไ มเ บีย ดเบีย นกัน นั ้น มิใ ช ปรกติ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ก า ร ที ่ อ ยู  ด  ว ย กั น ด ว ย ค ว า ม ส ง บ ผ า สุ ก นี ่ ค ื อ ป ร ก ติ ; แ ม ในตัว เราก็เ หมือ นกัน ถา ไมม ีอ ะไรเขา ไปรบกวน มัน ก็ป รกติ เมื ่อ มีอ ะไรเขา ไป รบกวน มัน ก็ไ มป รกติ เสีย ปรกติ; นี ่ก ็เ รีย กวา ไมม ีค วามเปน ปรกติ ไมมี ศีลธรรมโดยธรรมชาติ. .… .... …. .…

www.buddhadassa.in.th


ปญหาเกี่ยวกับศีลธรรม แหงยุคปจจุบัน

๑๑๑

ที นี ้ ใ น โ ล ก ป จ จุ บ ั น นี ้ มี ก า ร เ บี ย ด เ บี ย น ใ น ส ว น บุ ค ค ล คื อ การเบี ย ดเบี ย นตั ว เองนี ้ ก ็ เ หลื อ ประมาณ; แล ว เบี ย ดเบี ย นซึ ่ ง กั น และ กัน ก็ม ากเหลือ ประมาณ แลว ไมม ีใ ครมอง ก็เ ลยไมส ัง เวช. เมื ่อ ไมส ัง เวช ก็ไ มค ิด ที ่จ ะแกไ ขกัน จริง จัง เห็น เปน ของเล็ก ๆ นอ ย ๆ; แลว ก็เ ปน อยา งนี้ หนัก ขึ ้น ๆ, แลว ก็โ งต อ ไปอีก , คือ โงห นัก ขึ ้น ไปอีก ; คือ แทนที ่จ ะมองไปใน ทํานองวา ขาดศีลธรรม กลับไปมองไปแงที่วา มีความไมถูกตองในทางเศรษฐกิจ. นี ่ข อใหไ ปคิด ในขอ นี ้ใ หม าก เดี ๋ย วนี ้กํ า ลัง เปน อยา งนี ้ก ัน ทุก ประเทศ; เพราะไม ม องในข อ ที ่ ว  า ขาดศี ล ธรรม มั น จึ ง เกิ ด วิ ก ฤติ ก ารณ ทั ้ง หลายขึ ้น . เขาไปมองในแงที ่ว า มัน ไมถ ูก ตอ งในทางเศรษฐกิจ แลว ก็ หัน หนา พรึบ เดีย วพรอ มกัน หมด ไปดูป ญ หาทางเศรษฐกิจ ; ก็ไ ประดมกํ า ลัง แกกัน ที ่ต อนนี้ ซึ่ง เปน การแกที ่ป ลายเหตุ. แลว ยิ ่ง พิส ูจ นอ ยูท ุก ที ๆ วา มัน แก ไมไ ด ยิ ่ง แกยิ ่ง ลึก เขา ไป เพราะวา แกด ว ยความโง ไมช ะเงอ หาศาสนาของ พระศรี อ าริ ย เมตไตรยกั น เสีย แล ว ที่ ว า จะต อ งสร า งศี ล ธรรมที่ ทํ า ความเป น มิ ต ร อันประเสริฐใหแกกันและกัน โดยใชสิ่งที่เรียกศีลธรรม นั้นเอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อยา งวา กรรมกร หรือ ชาวนา ก็ต าม กับ นายทุน อยา งนี้ เสื ่อ มศีล ธรรมดว ยกัน ทั ้ง ๒ ฝา ย ปญ หาจึง เกิด ขึ ้น . เขาไมม ีศ ีล ธรรมดว ยกัน ทั้ ง ๒ ฝ า ย; แต ว า รู ป ของศี ล ธรรม หรื อ เสื่ อ มศี ล ธรรมนั้ น ไม จํ า เป น จะต อ ง เหมื อ นกั น ; แต ต อ งเป น การเสื่ อ มศี ล ธรรมด ว ยกั น นั่ น แหละ จึ ง เกิ ด ป ญ หาขึ้ น มาได . ถ า ไม ม ี ก ารเสื ่ อ มศี ล ธรรมแล ว จะไม เ กิ ด ป ญ หา; แล ว ก็ ไ ม ม อง ไปมอง แตข า งใดขา งหนึ ่ง , มองอยา งไมถ ูก ตอ ง อยา งลํ า เอีย งโดยไมรู ส ึก ตัว แลว ก็

www.buddhadassa.in.th


๑๑๒

อริยศีลธรรม

ไปโทษความไมถูกตองทางเศรษฐกิจ ไมดูความไมมีศีลธรรมของคนเหลานั้น กันเสียเลย. การที่ ค นจนยากจนลงไปทุ ก ที เพราะเขาไร ศี ล ธรรม : ไมใชมีใครมาทําอะไรใหโดยตรง นับตั้งแตวา ไมขวนขวายที่จะใหฉลาด ไมขยัน หมั่น เพีย ร ไมคิด ที่จ ะชว ยตัว เอง แลว ก็ป ลอ ยใหอ บายมุข ครองงํา คนมั่ง มี กินอยูอยางไร คนจนตองการจะกินอยูอยางนั้น, หรือคนเขาเลนหัว เขามีอบายมุข กัน อยา งไร คนจนก็อ ยากจะทํา อยา งนั้น . คนหนึ่ง เปน ฝา ยทํา ไมไ ด คือ มัน พายแพ มันก็จนลง ๆ ; ฝายทําไดก็เปนเทวดาไป ดวยอบายมุขนั้น. นี่ความ เสื่อมทางศีลธรรม มันสลับซับซอนกันอยูอยางนี้. .…

....

….

.…

ที นี ้ เ ร า ดู ก ั น ต อ ไ ป ว า ป ญ ห า เ ฉ พ า ะ ห น า มั น มี อ ยู อยางไร กอนจะดีกวา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ในเมื ่ อ เปรี ย บเที ย บยุ ค ป จ จุ บั น กั บ ยุ ค อดี ต แล ว ก็ จ ะพบ ขอเท็จจริงอันนี้ไดงายขึ้น, จะทําการเปรียบเทียบความตางกันของ ปญหาทาง ศีลธรรมอดีตกับปจจุบัน.. ป ญ ห า ท า ง ศี ล ธ ร ร ม ส มั ย อ ดี ต เ ป น ป ญ ห า ข อ ง ค น มี สติ ปญญานอยหรือไมมีสติปญญา หรือวาคนโงก็แลวกัน; ปญหาทางศีลธรรม ของคนสมัย นี้ เปน ปญ หาของคนฉลาด, คือ คนฉลาดที่จ ะ ไมมีศีล ธรรม.

www.buddhadassa.in.th


ปญหาเกี่ยวกับศีลธรรม แหงยุคปจจุบัน

๑๑๓

คนสมัยนี้เปนคนฉลาด แลวไมใชฉลาดที่จะมีศีลธรรม; ระบุตัวคนไหนมาดูบา ง ที ่ฉ ลาด, แลว ฉลาดเพื ่อ มีศ ีล ธรรม; มีแ ตฉ ลาดเพื ่อ จะเห็น แกต ัว ฉลาดเพื ่อ กอบโกย ฉลาดเพื่อ จะเอาเปรีย บผูอื่น อยา งนี้ เขาเรีย กวา คนฉลาดสมัย นี้. ยุค ดึกดําบรรพเขาทําไมเปน. ป ญ หาทางศี ล ธรรมต า งกั น แน น อน; สั ง คมมี ป  ญ หาต า งกั น คือ สัง คมครั้ ง กระโนน ไม มีค นฉลาดที่ จะเอาเปรี ยบ, เป น สัง คมของคนไม ฉ ลาด หรื อ ค น โ ง . แต เ ดี ๋ ย วนี ้ เ ป น สั ง คมของ คนที ่ ฉ ล า ด จ ะ เ อ า เ ป รี ย บ ; แล ว ศีล ธรรมของสัง คมจะเหมือ นกัน อยา งไรได ฉะนั้น จึง ตอ งวิเ คราะหดูวา ปญ หา ศีลธรรมของยุคปจจุบันนี้มันเปนอยางไร? ในที่สุดก็จะพบวามันเปนปญหาที่ยาก เพราะเปนฝไมลายมือของคนที่ฉลาด ไมใชคนโง ๆ อยางยุคดึกดําบรรพ. นี ้ ข ยายความออกไปได ว  า ส มั ย อ ดี ต ดึ ก ดํ า บรรพ นั ้ น คน ไร ก ารศึ ก ษา: มาเดี ๋ ย วนี ้ ค นล น การศึ ก ษา : มี ก ารศึ ก ษาล น , ล น ความ จํ า เปน . สมัย โนน เรีย กวา มีก ารศึก ษาไมพ อแกค วามจํ า เปน ก็ไ ด; แตต าม ความรูสึกของอาตมา รูสึกวาแมคนสมัยโนนก็มีการศึกษาพอดี ๆ เทากับความจําเปน แลวศึกษาจากธรรมชาติตามธรรมชาติ มันก็รูพอดีตามความจําเปน จะเรียกวาไร การศึก ษาเลยก็ไ มไ ด. คนเดี๋ย วนี้ มีก ารศึก ษาเฟอ หรือ ลน ; มีมูล เหตุม า จากการที่จ ะเอาชนะผูอื่น ; ทุก คนตอ งการศึก ษาเพื่อ จะเอาชนะผูอื่น , แลว การศึก ษามัน ก็ล น ในการที ่จ ะไดเ อาชนะผู อื ่น ก็จ อ งแตจ ะเอาเปรีย บกัน ; มัน ตางกันอยางนี้. ปญหาทางศีลธรรมมันจะตางกันอยางตรงกันขามอยางนี้เรื่อยมา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


๑๑๔

อริยศีลธรรม

พู ด ชั ด ลงไปอี ก ก็ ว  า ป ญ หาทางศี ล ธรรมยุ ค ดึ ก ดํ า บรรพ นั ้ น เป น ป ญ ห า ข อ ง คน โ ง ที ่ ไ ม เ ห็ น แ ก ต ั ว ; เ ดี ๋ ย ว นี ้ เ ป น ป ญ ห า ข อ ง ค น ที่ ฉลาดและสูง สุด ดว ยการเห็น แกต ัว , ฉลาดสูง สุด ในการเห็น แกตัว . สว น สมัยโนนมันโง อยางที่ไมรูจักเห็นแกตัว. คํ า ว า " เ ห็ น แ ก ต ั ว " ใ น ที ่ นี ้ ไ ม ใ ช ว  า ต า ม ค ว า ม รู  ส ึ ก อ ย า ก จะรอดชี ว ิ ต อยู  หรื อ อะไรทํ า นองนั ้ น ; แต เ ห็ น แก ต ั ว ชนิ ด ที ่ จ ะเอาเปรี ย บ ผูอื่น คือ เอาเปรีย บผูอื่น ไดล งคอ : "เราไดก็แ ลว กัน , คนอื่น ไมไ ดก็ไ มเ ปน ไร" ซึ่งสมัยกอนโนนไมมีความคิดฉลาดกาวหนามากถึงขนาดนี้; สมัยนี้มันถึงขนาดนี้. ส มั ย ดึ ก ดํ า บ ร ร พ เ ป น ส มั ย ข อ ง ค น โ ง ที ่ ก ลั ว บ า ป ; เ ดี ๋ ย ว นี้ มัน เปน สมัย ของคนฉลาดที ่ไ มม ีบ าป ที ่ต อ งกลัว . คนสมัย นี ้ฉ ลาดจนไมมี บาปที่ตองกลัว ตามความรูสึกของเขา. สมัยปู ยา ตา ยายของเราขึ้นไปทางโนน ถึงดึกดําบรรพนั้น เปนสมัยคนที่กลัวบาป, มีบาปเปนสิ่งที่กลัว กลัวโดยไมตองรู ไมต อ งมีเหตุผ ล แตวากลั วอยางยิ่ง ; นี่ เขาเรี ยกวาคนโง กลั วบาปยิ่ง กวา สิ่ง ใด.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เดี ๋ย วนี ้เ ปน สมัย คนฉลาดที ่ไ มม ีบ าปที ่จ ะตอ งกลัว ; แลว ผลมัน ก็ ต ามขึ้ น มาว า คนสมั ย โน น มั น ยากที่ จ ะทํ า บาป. ส ว นสมั ย ป จ จุ บั น นี้ มั น ก็ ง า ย และสนุ ก สนานในการที่ จ ะทํ า บาป ไม กี่ ชั่ ว อายุ ค น เขาก็ เ ห็ น การทํ า บาปนี้ เ ป น ของสนุกสนานไปเลย. นี่การเอาเปรียบคนอื่นนั้น กลายเปนของดีไปเลย. ที นี ้ อ ี ก ที ่ ห นึ ่ ง ก็ ด ู ก ั น ว า คนโง ส มั ย ดึ ก ดํ า บรรพ นั ้ น ถึ ง จะโง โง อ ย า งไร ก็ ไ ม เ ป น ทาสของวั ต ถุ น ิ ย ม; เดี ๋ ย วนี ้ เ รายิ ่ ง ฉลาดในการที ่ จ ะ

www.buddhadassa.in.th


ปญหาเกี่ยวกับศีลธรรม แหงยุคปจจุบัน

๑๑๕

เป น ทาสของวั ต ถุ . บางคนอาจจะแย ง หรื อ ถามว า ถ า อย า งนั้ น คนสมั ย ดึก ดํา บรรพโ นน ก็ไ มตอ งการรสอรอ ย, ไมตอ งการความสบายทางรา งกาย เนื้อหนัง อยางนั้นซิ; นั่นไมใชวัตถุนิยมตามความหมายนี้. วั ต ถุ น ิ ย ม ใ น ที ่ นี ้ ห ม า ย ถึ ง ค ว า ม เ อ ร็ ด อ ร อ ย ที ่ เ กิ ด ค ว า ม จํา เปน : อยา งที่ใ ชคํ า วา "กิน เหยื ่อ " ไมใ ชกิน อาหาร. ถา กิน อาหารตาม ธรรมดา อยางนี้ก็ยังเรียกวาถูกตองอยู ไมเกี่ยวกับความเอร็ดอรอยยั่วยวนอะไร; แตถา เลยไปเปน การกิน เพื่อ เอร็ด อรอ ย เพื่อ ยั่ว ยวน แลว มัน ก็เ รีย ก วา กิน เหยื่อ : เหยื่อ ของกิเ ลส เหยื่อ ของพญามาร เหยื่อ ของบาป. เหยื่อ ของพญามารที่จะลงคนไปเปนสมุนนั่นแหละ กินเขาไป; นี่เรียกวา เปนทาส ของวัตถุนิยม. เดี๋ ย วนี้ ค นเราเป น ทาสของวั ต ถุ นิ ย ม เพราะความฉลาด; นี่จึงมีความฉลาดเพื่อจะเปนทาสของวัตถุนิยม, ยิ่งเรียนยิ่งเกง ก็ยิ่งเปนทาสของ วัตถุนิยม. คนสมัยโนนเขาโง ใชคําวาแสนโงก็วาได เขาไมเคยเปนทาสของ วัตถุนิยม. มันเพิ่งเปลี่ยนมา, เปลี่ยนมา มาสูความเปนทาสของวัตถุนิยมใน ตอนหลัง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ดู อี ก ที ห นึ่ ง ก็ ว า คนโง ส มั ย โน น มี พ ระเจ า มี ธ รรมะ หรื อ มีพระธรรมเปนสิ่งสูงสุด; คนโงหรือแสนจะโงก็ตาม สมัยโนน มีพระเจาหรือ พระธรรม เปน ของสูง สุด . คนฉลาดสมัย นี้เ ขาอยูเ หนือ พระเจา อยูเ หนือ พระธรรม : ย่ํา ยีเ หยีย บย่ํา พระธรรม เหยีย บย่ํา พระเจา คือ เหยีย บย่ํา ศีล ธรรม

www.buddhadassa.in.th


๑๑๖

อริยศีลธรรม

นั ่น เอง. พวกที ่ก อบโกย พวกที ่เ ห็น แกต ัว พวกอะไรตา ง ๆ นี ้ เขาเหยีย บย่ํ า ศีลธรรม เหยียบย่ําพระเจา เพราะความฉลาดของเขา. .…

....

….

.…

ที นี ้ จ ะ ค อ ย ๆ เ ห็ น ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง คํ า ว า " ฉ ล า ด " ขึ้นแลว วาคืออะไร เ ดี ๋ ย ว จ ะ รู  ไ ด เ อ ง ว า ฉ ล า ด นี ้ ใ ช ไ ม ไ ด ; มั น มี ค ว า ม ห ม า ย พิเ ศษ มัน นา หวัว ที ่ว า ยิ ่ง ฉลาดยิ ่ง เปน ทาสของวัต ถุน ิย ม; ยิ ่ง โงยิ ่ง ไม เปน ทาสของวัต ถุน ิย ม คนโงจ ะถูก ดา วา "ไอโ งไ มรู จ ัก กัน ดีอ ยู ด ี ไมรู จ ัก กระตือ รือ ลน ไมเ ห็น แกเ อร็ด อรอ ยสนุก สนาน"; ก็ไ ดเ หมือ นกัน ! ยอมเปน คนโง ที่ ไ ม เ ป น ทาสของวั ต ถุ , คนฉลาดเอา ก็ ฉ ลาดไปซิ เพื่ อ จะได เ ป น ทาสของ วั ต ถุ เป น ทาสของความโง ข องตนเอง ของเนื้ อ ของหนั ง : ที่ อุ ต สาห เ ล า เรี ย น อุตสาหขยันทํางาน มีเงินมีอะไรตาง ๆ ก็มีเพื่อความเปนทาสของวัตถุ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ที นี ้ ค น โ ง ก ็ ม ี ธ ร ร ม มี พ ร ะ เ จ า เ ป น สิ ่ ง สู ง สุ ด ; ค น เ ดี ๋ ย ว นี ้ ก ็เ หยีย บย่ํ า พระเจา , เหยีย บย่ํ า ธรรมะเสีย , แลว ไปเปน ทาสของวัต ถุน ิย ม. คนโงนั ้น เขาถือ ศาสนา, ถือ ตัว ศาสนา ตัว พระธรรม เปน ศาสนาในสมัย ดึกดําบรรพ เรื่อย ๆ มา; แมแตปู ยา ตา ยาย ของเรา เมื่อไมกี่สิบปมานี้ ก็ยัง ถือศาสนาเปนศาสนา.

ค น ฉ ล า ด เ ดี ๋ ย ว นี ้ เ ข า ถื อ ป ร ะ โ ย ช น เ ป น ศ า ส น า , ตั ว ป ร ะ โ ย ช น นั ่น แหละคือ ตัว ศาสนา. เขาหลับ หูห ลับ ตา ไมรู ไ มชี ้อ ะไรหมด, เอาประโยชน

www.buddhadassa.in.th


ปญหาเกี่ยวกับศีลธรรม แหงยุคปจจุบัน

๑๑๗

เปน ศาสนา ไดป ระโยชนแ ลว ก็เ ปน ดี; แลว ก็ถ ือ อัน นั ้น เปน เหมือ นกับ ศาสนา เรียกวาถือศาสนา. เคยเลาเรื่องคนถือศาสนาฮิตาชิ ฟงกันมาหลายหนแลว: เพราะ วาเขาทํางานกับบริษัทฮิตาชิ เขาตองถือบริษัทฮิตาชิ วาเปนเหมือนกับศาสนา. .…

....

….

.…

ทีนี้มันก็มีปญหาเกิดขึ้น. คนโงส มัย ดึก ดํ า บรรพไ มรู ป ระสีป ระสาอะไรนัก ปลอ ยไปตาม ธรรมชาติ ฉะนั ้ น กิ เ ลสก็ ไ ม เ จริ ญ . คนเดี ๋ ย วนี ้ เ ขาเป น ทาสของวั ต ถุ น ิ ย ม ไม รั ก ที่ จ ะเป น ไปตามธรรมชาติ ก็ เ ลยได ค วามฉลาดมา; แล ว ก็ ไ ด เ ป น ทาสของ กิเ ลส. นี ่ทุก คนอยากจะอยู อ ยา งแขง กับ เทวดา หรือ ยิ ่ง กวา เทวดา; สมัย นี้ ก็หลงใหลในการกินการอยู การแตงเนื้อแตงตัว การอะไรตาง ๆ ไปตามแตกิเลส ที่มันจะพาไป. นี่ปญหามันมีอยูอยางนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ยุ ค อ ดี ต ดึ ก ดํ า บ ร ร พ นั ้ น ไ ม รู  จ ั ก สิ ่ ง ที ่ เ รี ย ก กั น เ ดี ๋ ย ว นี ้ ว  า วัต ถุน ิย ม; ลองหลับ ตานึก เห็น คนปา อยู อ ยา งไร กิน อยา งไร แลว ก็เ ลื ่อ น มาเปนคนคอย ๆ เจริญ, แลวถึงสมัย ปู ยา ตา ยาย เมื่อวานนี้ก็แลวกัน คือวา สี่หาสิบปมานั้น; เมื่อวานนี้ ปู ยา ตา ยาย ของเรายังไมเปนทาสของวัตถุนิยม หรือ ยัง ไมรูจัก วัต ถุน ิย ม; มีผ า นุง ผืน เดีย วก็ดูจ ะพอแลว , เสื ้อ ไมตอ งมี ผา หม ก็ ไมต อ งมี. นี ่เ ขาไมรู จ ัก วัต ถุน ิย ม คือ ความสุข ความสนุก สนาน เอร็ด อรอ ย ทางเนื้อทางหนังนี้ ปู ยา ตา ยาย ไมรูจัก; เดี๋ยวนี้มันยิ่งกวารูจัก คือมันเฟอ : มีเสื้อผากันเทาไร, มีอาหารกันเทาไร, มีการสต็อกสิ่งที่จะบํารุงบําเรอกันอยางไร.

www.buddhadassa.in.th


๑๑๘

อริยศีลธรรม

นี ่ ล องคิ ด ดู สภาพของคนต า งกั น อยู  อ ย า งนี ้ เ รื ่ อ ย ๆ จนถึ ง วั น นี ้แ หละ เรีย กวา ตรงกัน ขา มก็ไ ด : สมัย อดีต เขากลัว พระเจา กัน สมัย นี้ เขาไมก ลัว พระเจา ; เขากลัว วา จะไมไ ดเ อร็ด อรอ ย หรือ วา กลัว วา จะยากจน; จะกลั วอย างนี้ เสี ยมากกว า. สมั ยก อนกลั วบาป กลั วพระเจ ายิ่งกว าที่ จะกลั วยากจน; ฉะนั้นจึงพูดวา "เปนขอทานนี้ดีกวาเปนขโมย" อยางนี้เปนตน. ฉ ะ นั ้ น ค น ส มั ย อ ดี ต จึ ง เ ป น ค น ข อ ง พ ร ะ เ จ า ; เ ดี ๋ ย ว นี ้ ก ็ เ ป น คนของกิเ ลส ของวัต ถุน ิย ม. พูด ใหต รงไปตรงมา ก็ว า มัน เปน คนของผี; เมื่ อ ก อ นเราเป น มนุ ษ ย ข องพระเจ า เป น คนของพระเจ า เป น คนของพระธรรม บูช าพระธรรม; ยอมตายดีก วา ยอมผิด ธรรม ก็เ ปน คนของพระเจา ไป. เดี ๋ย วนี้ เ ร า เ ป น ท า สข อง วั ต ถุ น ิ ย ม ทิ ้ ง พ ร ะ เ จ า ก็ เ ป น คน ขอ ง กิ เ ล ส; กิ เ ลส นั ้ น ควรจะเรีย กวา ผี. ฉะนั ้น ไมใ ชคํ า หยาบอะไร ที ่จ ะเรีย กกิเ ลสวา ผี, เมื ่อ เปน คนของกิเ ลสแลว ก็ก ลายเปน คนของผี. แลว คํ า พูด ตอ ไปก็พ ูด เอาเองก็แ ลว กัน วาเมื่อเปนคนของผี มันก็เปนผี, ก็ไมตองเปนคนอีก ตอไปนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ขอให ด ู อ ย า งนี ้ เ รื ่ อ ย ๆ มา ว า เ ดี ๋ ย ว นี ้ ไ ด ม ี อ ะไ ร เกิ ด ขึ ้ น ช นิ ด ที ่ไ มเ คยมีม าแตก อ น. แตก อ นไมม ีก ารศึก ษา ที ่ทํ า ใหยิ ่ง ศึก ษาแลว ยิ ่ง โงนี้ ไมม ี, ไมม ีเ สีย เลย; พูด วา ไมม ีก ารศึก ษาเสีย เลยดีก วา : ไมม ีก ารศึก ษาชนิด ที่ ยิ ่ง ศึก ษาแลว ยิ ่ง ทํ า ใหยิ ่ง โง. เดี ๋ย วนี ้ยิ ่ง มีก ารศึก ษา ที ่ยิ ่ง ศึก ษาแลว ทํ า ใหยิ ่ง โง. บางคนจะไม เ ชื่ อ การที่ พู ด อย า งนี้ ว า การศึ ก ษายิ่ ง ทํ า ให โ ง ; เพราะเขาไปมองแต ฉลาดในการที่จะทํามาหากิน ฉลาดที่จะกอบโกย, ฉลาดที่จะเอาเปรียบ.

www.buddhadassa.in.th


ปญหาเกี่ยวกับศีลธรรม แหงยุคปจจุบัน

๑๑๙

ถู ก แล ว การศึ ก ษาสมั ย นี้ ทํ า ให เ ป น คนฉลาดอย า งนั้ น ได ทํ า ให ฉ ล า ด ใ น แ บ บ นั ้ น ; แ ต ก า ร ฉ ล า ด ใ น แ บ บ นั ้ น นั ้ น คื อ มั น โ ง ฆ า ตั ว เ อ ง เชือ ดคอตัว เอง คนยัง ไมรู ว า มีก ารศึก ษาชนิด ที ่ทํ า ใหเ ชือ ดคอตัว เองยิ ่ง ขึ ้น ทุกที; แมจะดูผิว ๆ เผิน ๆ ลูกเด็ก ๆ ก็เห็นไดวา พอเรียนจบมหาวิทยาลัยแลว ก็ชอบเปนฮิปปนานาแบบ นับตั้งแตชอบยาเสพติด. ยาเสพติ ด ราคาเป น ล า น ๆ ร อ ยล า น พั น ล า น แสนล า น ล า น ๆ นั ้ น แหละ ไปขายกั น ? ก็ ไ ปขายคนที ่ จ บการ ศึ ก ษาที ่ ป ระเทศใหญ ๆ มหาประเทศ ที ่เ รีย กวา การศึก ษาเจริญ แลว ทั ้ง นั ้น คิด ดูใ หด ี, ยิ ่ง ศึก ษาจบ พอศึก ษาจบก็ช อบยาเสพติด ; นี ่เ ปน ความโงข องคนที ่จ ัด การศึก ษานั ่น เอง จั ด การศึ ก ษาแล ว ทํ า ให ค นโง ชอบยาเสพติ ด . ตั ว นั ก ศึ ก ษานั ้ น ก็ ศ ึ ก ษา เพื่อ โง, ศึก ษาเพื่อ เสร็จ แลว จะไดต ามใจตัว เอง : จะไดเ สพยาเสพติด , จะได แตงเนื้อแตงตัววิจิตรวิตถาร กระทั่งเลื่อนมาเปนแฟชั่นใหม ที่วาจะไมนุงผากันแลว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี ่โ งห รือ ฉลาดก็ล องคิด ดู, ที ่ว า เราถือ วา การศึก ษานี ้ ยิ ่ง ศึ ก ษาก็ ยิ่ ง ทํ า ให โ ง ปู ย า ตา ยาย แต บ รรพบุ รุ ษ ของเราไม เ คยมี : ไม มี ก าร ศึก ษาชนิด ที ่ยิ ่ง ศึก ษายิ ่ง ทํ า ใหโ ง. เดี ๋ย วนี ้ม ัน ยิ ่ง มาก-ยิ ่ง มาก-ยิ ่ง มาก, การ ศึกษาที่ยิ่งศึกษาแลวทําใหโง ยิ่งเปนทาสของกิเลส, ยิ่งกมหัวลงเปนทาสของความ ไมมีศีลธรรม มีจิตทราม; ยิ่งศึกษายิ่งมีจิตทราม เพราะเห็นแกตัว.

เห็น แกต ัว ก็เ ลยเกิด ความเปลี ่ย นแปลงหมด, เปลี ่ย นแปลง อยางตรงกันขาม. ดึกดําบรรพเขาก็ยังชอบความสงบ ชอบความดี ที่เปนความ สงบ; ถื อ ศาสนาที ่ ถ ื อ ว า ดี ต รงที ่ เ ป น ความสงบ. เดี ๋ ย วนี ้ เ ขาถื อ ศาสนา

www.buddhadassa.in.th


๑๒๐

อริยศีลธรรม

ช นิ ด ที ่ ว  า " ดี ที ่ ไ ด " ก็ แ ล ว กั น , " ที ่ ไ ด นั ่ น แ ห ล ะ ดี " ดี อ ย า ง อื ่ น ไ ม ร ั บ รู ไม ส นใจ; เอาได นั ่ น แหละเป น ดี แล ว ก็ ถ ื อ "ศาสนา คื อ ได " . แต ก  อ น นั้น เขาไม เ อา เขาขยะแขยง; ถ า ได ม าอย า งไม ถู ก ต อ งตามหลั ก ของศาสนา ก็ ไ ม เรียกวาดี, แลวก็ไมยอมรับ. เ ดี ๋ ย ว นี ้ เ ร า ถื อ ศ า ส น า ดี ที ่ ไ ด ; แ ต ก  อ น เ ข า ถื อ ศ า ส น า " ดี ที่ สงบ หรือ ที ่จ ริง ที ่ส ะอาด ที ่บ ริส ุท ธิ ์ ที ่ว า ไหวต ัว เองได" นั ่น แหละเขาถือ ศาสนากันอยางนั้น. เดี๋ยวนี้เขาถือศาสนาที่นาขยะแขยงตัวเอง ไหวไมลง; ก็เลย ไมตองคิดถึงเรื่องนี้กัน. นี ่ ก า ร เ ป รี ย บ เ ที ย บ อ ดี ต กั บ ป จ จุ บ ั น จ ะ ช ว ย ใ ห เ ร า เ ข า ใ จ ปญ หา ที ่เ กี ่ย วกับ ศีล ธรรมของยุค ปจ จุบ ัน . ถา เราไมเ อาอดีต มาเปรีย บ เทีย บ เราก็จ ะคงละเมออยู ต ลอดเวลา วา มัน ดีแ ลว ถูก แลว มัน เปน ไปดีแ ลว มัน เปน ศีล ธรรมที ่ด ีแ ลว ; แตแ ลว คนก็แ คน พูด ไปอยา งฝน ความรู ส ึก . ใครบา งเดี ๋ย วนี้ ที ่รู ส ึก วา เรามีค วามสงบสุข ในทางสัง คม จนเปน ที ่น า พอใจ? ใครบา งที ่พ ูด ดวยความจริงใจอยางนี้ได วาเดี๋ยวนี้เราพอใจสภาพของสังคม ที่เปนอยูอยางนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org พอมาถึ ง ตั ว เอง มาย อ นดู ต ั ว เองอี ก ; เราพอใจความที ่ เ รา ไดเ ปน อยา งนี ้ห รือ ยัง ? หรือ วา เราก็ร ัง เกีย จตัว เองมากขึ ้น ทุก ที วา ตอ งพลอย รว มกับ เขาในสิ ่ง ที ่น า ขยะแขยง; ไมร ว มก็ท นอยู ไ มไ ด. หรือ บางทีเ ราก็ ขยะแขยงในการที่เราตองทนรวมอยูกับคนเหลานี้เอง; แมวาเราจะไมไดทําผิดรวม กับ เขา เราก็ย ัง รู ส ึก ขยะแขยงสิ ่ง ที ่ม ัน มาแวดลอ มเรา; เหมือ นกับ เราไปนั ่ง อยู

www.buddhadassa.in.th


ปญหาเกี่ยวกับศีลธรรม แหงยุคปจจุบัน

๑๒๑

กลางกองอุ จ จาระอย า งนี้ มั น ก็ ข ยะแขยง, ที่ ใ ครพู ด ว า เราพอใจแล ว ในสภาพ ปจจุบันนี้มันก็มีไมได. ตัว อยา งยัง มีอ ีก มาก แลว ก็ไ มจํ า เปน จะตอ งยกมา; เทา ที ่ย ก มานี้ มั น ก็ พอแล ว สํา หรั บ จะดูว า ป ญ หาทางศี ล ธรรมของยุค ป จ จุ บั น นี้ มั น เป น อยา งไร, มัน ซับ ซอ นกัน อยูอ ยา งไร. ถา ไมเ อาไปเทีย บกัน กับ อดีต แลว ก็ เกือ บจะไมรู ว า มัน มีเ สีย หายอะไร : เพราะฉะนั ้น นา สงสารลูก เด็ก ๆ ที่ เพิ่ง เกิด มาในยุค นี้ ไมมีท างที่จ ะเปรีย บเทีย บ. วงการศึก ษา ผู จัด การศึก ษา ก็ไมสอนเรื่องอยางนี้; แลวก็ไมมีโอกาสที่จะไดสังเกตเห็นการเปรียบเทียบอยางนี้. เพราะฉะนั้น ลูกเด็ก ๆ มันก็เตลิดเปดเปงจนเปนอันธพาลเต็มบานเต็มเมือง, แลวก็ เปนผูรับบาปในความเปนคนไมมีศีลธรรมเสียเอง; เยาวชนของชาติของเรา กําลัง จะเปน อยา งนี ้. นี ่ค ือ ปญ หาทางศีล ธรรมเกี ่ย วกับ ยุค ปจ จุบ ัน ของโลกทั ้ง โลก ไมเฉพาะประเทศไทย; ประเทศไทยนี้ควรจะถูกเฆี่ยนนอยหนอยก็ได เพราะเปน ประเทศเล็ ก ๆ ตามก น เขา, หรื อ บางที จ ะจริ ง อย า งเขาว า เป น สุ นั ข รั บ ใช ก็ ไ ด . ประเทศไทยตองทําตามกนเขา; ฉะนั้นประเทศใหญ ประเทศที่รับผิดชอบความ เป น ตายของโลกควรจะได รั บ การวิ พ ากษ วิ จ ารณ อั น นี้ , ว า เป น ผู นํ า ศี ล ธรรมของ โลกไปในลักษณะไหน. ขอนี้ก็พูดแลว ในการบรรยายครั้งแรก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org .…

....

….

.…

ที นี ้ เ พื ่ อ ใ ห เ ห็ น ชั ด ยิ ่ ง ขึ ้ น เ ร า ดู ป ร า ก ฏ ก า ร ณ จ ริ ง ๆ กั น ตอไป อีกดีกวา

www.buddhadassa.in.th


๑๒๒

อริยศีลธรรม

ไหน ๆ วั น นี้ ก็ ตั้ ง ใจจะพู ด ป ญ หาของศี ล ธรรมแล ว ก็ จ ะพู ด ให ห มด. ป ร า ก ฏ ก า ร ณ ที ่ แ ส ด ง ใ ห เ ห็ น ว า กํ า ลั ง มี ป  ญ ห า ห นั ก นี ่ ย ั ง มี อ ยู  อ ี ก ม า ก ซึ ่ ง ล ว น แ ต ว  า เ ป น ผ ล ม า จ า ก ก า ร เ สื ่ อ ม ข อ ง ศี ล ธ ร ร ม ที ่ ค น ; ศี ล ธ ร ร ม นี้ เปน สัจ จะอัน หนึ ่ง มัน เสื ่อ มไมไ ด เจริญ ไมไ ด เพราะเปน สัจ จะตามธรรมชาติ อัน หนึ ่ง . ถา พูด วา ศีล ธรรมเสื ่อ ม ศีล ธรรมเจริญ , ก็ห มายถึง คนประพฤติ ศีล ธรรมกัน มากหรือ นอ ย ถูก หรือ ผิด ; นั ่น แหละคือ ความเสื ่อ ม ความเจริญ ของศีลธรรม ความเสื่อมมีมากจนแสดงออกมาอยางไร เราเรียกวาปรากฏการณ ที่เปนผลของการเสื่อมศีลธรรม ของคนในโลกในปจจุบันนี้. ปรากฏการณที ่ ๑ พ อ แม ค นหนึ ่ ง ออกปากมาว า เมื ่ อ ก อ น มัน กิน นมคน เดี ๋ย วนี ้ มัน กิน นมสัต ว; พอ แมข องลูก คนนี ้เ ขาดา ลูก ของเขาเอง ไม ใ ช เ รื่ อ ง make up เป น เรื่ อ งจริ ง ว า ก อ นนั้ น มั น กิ น นมคม เดี๋ ย วนี้ มั น กิ น นม สัต ว . ขอให ช วยกั น จํ า กั นไว ทุ กคนด ว ย, แล ว มั น ไม ใ ช เ รื่ อ งเล็ ก น อ ย ลู ก ไม เ คารพ นับ ถือ พอ แม มัน ก็ชั ้น หนึ ่ง แลว ; เลยไปกวา นั ้น ก็ค ือ เนรคุณ พอ แม ทํ า ลาย พ อ แม จั บ พ อ แม ใ ส ล งไปในนรก พู ด กั น อย า งไรก็ ไ ม รู เ รื่ อ ง. นี่ เ พราะมั น กิ น นม สัตว มันไมไดกินนมพอแม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สมัย ที ่ก ิน นมพอ แม ลูก มีค วามรัก พอ แม มากกวา สมัย กิน นม สัต ว, รู บ ุญ คุณ ของพอ แมม ากกวา ; เพราะวา เลือ กในอกของพอ แมนั ่น แหละ มัน เขา ไปในลูก . ภาษาพระอริย เจา ในพระบาลี ในพระไตรปฎ ก ในพระ พุ ท ธภาษิ ต ยั ง มี ตรั ส ว า "นมคื อ เลื อ ดของมารดา" ฉะนั ้ น ลู ก กิ น นม คื อ กิน เลือ ดของมารดาเขา ไป; เพราะฉะนั้น เขาจึง มีอ ะไรที่รัก พอ แม มีค วามเปน อันหนึ่งอันเดียวกันกับพอแม.

www.buddhadassa.in.th


ปญหาเกี่ยวกับศีลธรรม แหงยุคปจจุบัน

๑๒๓

นี ้เ ราไมถ ือ เอาตามตัว อัก ษรอยา งที ่ก ลา วมานี ้; คือ เรารู ว า ถา เราได กิ น นมพ อ แม มั น มี ค วามใกล ชิ ด อย า งยิ่ ง มั น เกิ ด ความรั ก เกิ ด ความรู สึ ก เหมือนกับวา เปนคน ๆ เดียวกัน มากกวาที่จะไปสงไวที่โรงคลอดบุตรแลวใหมัน กิ น นมกระป อ ง คื อ กิ น นมสั ต ว . เดี๋ ย วนี้ ค นทั้ ง โลก กิ น นมสั ต ว มั น ก็ มี ค วาม เป น สัต วต ิด เขา มา มากขึ ้น ๆ คือ ไมรู ไ มชี ้; ถา คนดูด นมพอ แม มัน จะไมมี ความเปนอยางนั้น หรือมากถึงขนาดนั้น. เ มื ่ อ ไ ม กี ่ ว ั น ม า นี ้ อ  า น ห นั ง สื อ พ บ ข า ว ที ่ ว  า ห ม อ ที ่ ม ี ชื ่ อ เ สี ย ง เขายืน ยัน วา เลี ้ย งลูก ดว ยนมมารดานี ้ มีผ ลดีก วา ลูก ที ่เ ลี ้ย งดว ยนมสัต ว; แตนั่นเขาพูดทางฝายรางกาย ทางฝายวัตถุ ทางฝายเนื้อหนัง ไมไดพูดทางจิตใจ. เดี ๋ย วนี ้เ ราพูด ทางจิต ใจ วา ถา มัน กิน นมแมนี ้ มัน มีจ ิต ใจเปน คน, เปน มนุษ ย มากกวา ที ่ม ัน จะไปกิน นมสัต ว; จริง ไมจ ริง ก็ล องคิด ดู; อยา งนอ ยก็เ ห็น อยู วา ความใกลชิดสนิทสนมมันมีนอ ย ความที่วาอบอุนอยูในทรวงอกนี้ มันมีนอ ย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org มีคํ า กลา วเปน สํ า นวนบาลี ที ่เ ขากลา วกัน มานี ้แ ตค รั ้ง กี ่พ ัน ป แล ว ไม ท ราบ ว า "บิ ด ามารดามี ลู ก น อ ย ๆ ที่ เ ต น รํ า อยู บ นทรวงอก" นี่ แ สดงว า สมัย นั ้น ไมค อ ยจะมีโ อกาสที ่จ ะหา งเหิน กัน ; แมล ูก รัก ใครซึ ่ง กัน และกัน เปน อั น หนึ่ ง อั น เดี ย วกั น มาเรื่ อ ยตลอดเวลา มี ค วามผู ก พั น กั น มากอย า งนี้ . ฉะนั้ น ความรูสึกที่จะเฉยเมยตอพอแม หรืออกตัญูตอพอแมนั้น มีไดยาก หรือมีไมได; เดี๋ ย วนี้ มั น เปลี่ ย นจากกิ น นมคนไปเป น กิ น นมสั ต ว จึ ง แสดงปรากฏการณ อ อกมา จนพอแมบางคนออกปากอยางนี้. ข อ ที ่ ๒. ดู ป รากฏการณ ข  อ ต อ ไ ป ก็ อ ยากจะพู ด ไป ส มั ย เรี ย นหนั ง สื อ กั น อยู  ต ามศาลาวั ด เด็ ก ๆ มี ศ ี ล ธรรมดี ก ว า สมั ย นี ้ ที ่ เ รี ย น

www.buddhadassa.in.th


๑๒๔

อริยศีลธรรม

บนตึก ราคาแสน ราคาลา น. เมื ่อ สัก สี ่ห า สิบ ปม านี ้ เราเรีย นหนัง สือ ตามศาลา วั ด กั น ทั้ ง นั้ น ; อาตมาก็ เ คยเรี ย นหนั ง สื อ ศาลาวั ด แต ว า ปรั บ ปรุ ง ดี ห น อ ย ศาลา วัด โกโรโกโสจริง ๆ นั ้น เดี ๋ย วนี ้บ า นเราศาลาวัด หายไปหมดแลว มัน ไปอยู ที ่อื ่น นี่พู ดถึงว าเมื่ อสมั ย เมื่ อเราที่นี่ เรี ยนหนังสื อกันตามศาลาวั ดนี่ เด็ ก ๆ ยังมี ศี ลธรรม ดีกวาเด็กสมัยนี้ ซึ่งเรียนหนังสือบนตึกราคาแสนราคาลาน. นี ้ ข อ ใ ห ไ ป พิ จ า ร ณ า ดู ใ ห ด ี มั น ซั บ ซ อ น กั น ห ล า ย แ ง ห ล า ย มุ ม ; มี ความโง ลงมาจากเบื้ องบน, โง อย างบรมโง ลงมาจากเบื้ องบนหลายซั บหลายซ อน. เขาคิ ด ว า สร า งโรงเรี ย นนี ้ แล ว เด็ ก จะดี , สร า งโรงเรี ย นให ม าก แล ว เด็ ก ก็ จ ะ ดี ; นี ่ เ ป น ก า ร ห ลั บ ต า พู ด ทั ้ ง นั ้ น . เ มื ่ อ ไ ม ม ี ก า ร อ บ ร ม ท า ง ศี ล ธ ร ร ม แ ล ว ก็ เ ป น ไ ป ไ ม ไ ด ที ่ เ ด็ ก จ ะ ดี ; แ ม ใ ห เ รี ย น บ น วิ ม า น ข อ ง เ ท ว ด า ก็ ดี ไมไ ด ยิ ่ง จะเลวกวา เสีย อีก เพราะมัน มีแ ตสิ ่ง ยั ่ว ยวน. เดี ๋ย วนี ้ไ ปตามกน ฝรั ่ง เอาระบบการศึ ก ษาที่ ค รึ่ ง เล น ครึ่ ง เรี ย นหรื อ เล น มากกว า เรี ย นนี้ เ อามาอบรมเด็ ก เด็กก็มีนิสัยเตลิดเปดเปงไป.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สมัย เรีย นศาลาวัด อยา งเด็ก ๆ นี ้ ตอ งทํ า งาน ชว ยโรงเรีย น ตอ งกวาดโรงเรีย น, ไมม ีภ ารโรง, แลว ตอนเย็น ตอ งทํ า งานอยา งใดอยา งหนึ ่ง ที ่เ ปน ประโยชน แกโ รงเรีย น หรือ แกว ัด ที ่ตั ้ง โรงเรีย นนั ้น . ตอ งชว ยขนอิฐ ตอ งชว ยขนทราย ตอ งชว ยหมุน เชือ ก ลากไม; นี ้ทํ า กัน อยู เ ปน ประจํ า มัน ก็ เกิดนิสัยที่เห็นแกผูอื่น.

เดี ๋ย วนี ้แ มจ ะกวาดโรงเรีย นสัก เกก หนึ ่ง เด็ก ๆ ก็ไ มทํ า , เด็ก ๆ เห็น แกต ัว แลว ก็ม ากขึ ้น ๆ . การจัด การศึก ษาก็โ ง ขนาดที จ่ ัด ภารโรงมามีไ ว

www.buddhadassa.in.th


ปญหาเกี่ยวกับศีลธรรม แหงยุคปจจุบัน

๑๒๕

สํ า หรับ จัด เสีย จนเด็ก ไมต อ งทํ า อะไร. นี ่ก ็เ พาะ นิส ัย ความเปน นาย ความ เปน คนที ่ไ มอ ยากทํ า งาน นั ่น แหละมากขึ ้น แลว มัน ก็เ จริญ พรอ มกัน ไปหมด คื อ "ความเห็ นแก ตั ว" เกิ ดขึ้ นแล วทุ กอย างก็ เสี ยหมด. ฉะนั้ นเด็ กสมั ยนี้ เรี ยนบนตึ ก จึ ง มี ศี ล ธรรมอั น เลวกว า สมั ย เด็ ก ที่ เ รี ย นบนศาลาวั ด โกโรโกโส ไปลองคิ ด ดู จ นเห็ น ปรากฏการณอันนี้. ดูข อ ที ่ ๓ ตอ ไ ป ก็ค ือ วา เด็ก ยิ ่ง เปน นัต ถิก ทัฎ ฐิ มากขึ ้น , เด็ ก สมั ย นี้ ยิ่ ง เป น นั ต ถิ ก ะ. นั ต ถิ ก ะ แปลว า ไม มี , ผู ที่ ถื อ ว า ไม มี เรี ย กว า นั ต ถิ ก ะ; นัต ถิก ทิฎ ฐิ - ทิฎ ฐิที ่ถ ือ วา ไมม ีนี ้ จะเปน มากขึ ้น . เด็ก สมัย นี ้ไ มม ีบ ิด ามารดา ไม มี ค รู บ าอาจารย ไม มี พ ระเจ า พระสงฆ ไม มี ค นเฒ า คนแก ไม มี น รกไม มี ส วรรค ไม มี บุ ญ ไม มี บ าป ไม มี โ ลกนี้ ไม มี โ ลกหน า ไม มี โ ลกอื่ น ไม มี โ อปปาติ ก ะ. ลัก ษณะเหลา นี ้ พระพุท ธเจา ตรัส วา เปน มิจ ฉาทิฎ ฐิ, มิจ ฉาทิฎ ฐิอ ยา งนัต ถิก ะ คือวาไมมี.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ความรู ส ึก ตอ พอ แมม ีน อ ยไป จนไมรู ส ึก มีค วามหมายอยา งอยา งพ อ แม แท จ ริ ง ; พ อ แม ค ล า ยกั บ เพื่ อ นจํ า เป น อะไรไปเสี ย อย า งนั้ น เอง. เพราะเหตุ ที่ กลา วมาแลว ขา งตน นั ่น แหละ; เพราะวา เดี ๋ย วนี ้ล ูก กิน นมสัต ว ไมไ ดก ิน นม คน, เพราะว า มี อ ะไรที่ เ ขาจั ด ให เ ด็ ก ได ต ามใจตั ว จนเพลิ น จนเกิ น จนเฟ อ ไป. ความรู ส ึก เคารพบิด ามารดาก็น อ ยลง ๆ จนมีข า วในหนา หนัง สือ พิม พม ากขึ ้น ว า ตบตี บิ ด ามารดา ทํ า ร า ยบิ ด ามารดา อะไรมากขึ้ น ๆ, แล ว มั น ก็ จ ะมี ม ากขึ้ น ; เพราะความรู ส ึก ที ่ว า ไมม ีบ ิด ามารดา. เขารู ส ึก เหมือ นกับ วา มึง ก็ม ึง กูก ็ก ู, นี้เปนเขาเปนเราไปหมดอยางนี้.

www.buddhadassa.in.th


๑๒๖

อริยศีลธรรม

ค รู บ า อ า จ า ร ย ก ็ ไ ม ม ี แ ล ว ; ค รู บ า อ า จ า ร ย ถ ู ก ทํ า อ ย า ง ไ ร บ า ง ก็อ า นดูใ นหนัง สือ พิม พเ มื ่อ เร็ว ๆ นี ้ด ู ก็แ ลว กัน ; เมื ่อ วา โดยทั ่ว ๆ ไปนี ้ เขา ถือว าครู บาอาจารย นี้ เป นคนที่ จํ าเป นรั บจางสอนหนั งสื อ. เขาต องเสี ยค าเล าเรี ยน อยา งนี ้เ ปน ตน ; แมโ รงเรีย นประชาบาล ก็เ อาเงิน ที ่เ ก็บ จากพอ แมข องเขา ไ ป ใ ห ค รู อ ย า ง นี ้ . ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง ค รู ก ็ ไ ม ม ี ใ น ฐ า น ะ ที ่ เ ป น ปู ช นี ย บุ ค ค ล ; แตมีความหมายเปนลูกจาง เดี๋ยวนี้เขาก็รูสึกวา ไมมีครูบาอาจารย. ทีนี ้ พระเจา พระสงฆ, กอ นหนา นี ้เ ด็ก ๆ เห็น พระเจา พระสงฆนี้ ไมไ ดรู ส ึก อยา งเห็น คนธรรมดา; เพราะเขาถูก สอนมา : พอเห็น เหลือ ง ๆ ก็ไ หว, บางทีไ ปหลงไหวเ อาวัว เขา ก็ไ ดถ า ไมด ูใ หด ี เพราะสอนกัน แตเ พีย ง ว า เหลื อ งละก็ ไ หว . แต ถึ ง อย า งไร เด็ ก ก็ ต อ งมี พ ระเจ า พระสงฆ แ น เพราะถื อ สัญ ลัก ษณเ ปน ใหญ. อยา งเราจะสอนเด็ก ใหเ คารพธงชาติ นี ่ถ ือ สัญ ลัก ษณ; สิ ่ง นี ้เ ปน ธง ถือ วา ลัก ษณะอยา งนั ้น เรีย กวา ชาติ, ธงชาติ; ทํ า นองเดีย วกัน เคารพผาเหลือง ก็เคารพในฐานะเปนพระเจาพระสงฆ เปนศาสนา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถา หัว เขายัง ออ นอยา งนั ้น อยู  ก็ย ัง พอมีห ิร ิโ อตตัป ปะบา ง จะกม หั ว ลงให แ ก บุ ค คลที่ ไ ด รั บ การสมมุ ติ ว า สู ง กว า ธรรมดาบ า ง คื อ พระเจ า พระสงฆ ; ฉะนั้ น พระเจ า พระสงฆ พ อที่ จ ะพู ด จากั บ เขาได , แนะนํ า สั่ ง สอนห า มปรามอะไรได . แต ว  า ที ่ สํ า คั ญ ที ่ ส ุ ด ก็ ค ื อ ว า เขามี สิ ่ ง ที ่ เ ขาเคารพ; ฉะนั ้ น เขาก็ เ ป น คนไมก ระดา ง; เดี ๋ย วนี ้ม ัน มีแ ตสิ ่ง ที ่ทํ า ใหเ ขากระดา ง เรีย กวา ไมม ีพ ระเจา พระสงฆ และไมมีคนเฒาคนแก.

www.buddhadassa.in.th


ปญหาเกี่ยวกับศีลธรรม แหงยุคปจจุบัน

๑๒๗

ก อ น นี ้ ด ึ ก ดํ า บ ร ร พ โ น น เ ข า ส อ น ใ ห เ ค า ร พ ค น เ ฒ า ค น แ ก ; แมแตคนแกจะไมมีความรูอะไร แมจะยากจนเปนคนขอทาน ถาวาเปนคนแกแลว เด็ก ก็ตองแสดงความเคารพ. เมื่ออาตมายังเปนเด็กก็ยังทําอยู : คนแกคนหนึ่ง เปนคน บา เขาเดิน ผา นวัด เราตอ งไหวท ุก ที เพราะเราเปน เด็ก วัด ; ไมไ หว อาจารย จะตี , หรื อ ว า คนแก อ ย า งอื่ น ก็ ต อ งไหว . ส ว นที่ เ ขาจะเป น คนบ า หรื อ เขาจะเป น คนจน หรือ เขาจะเปน คนนา เกลีย ดอะไร, ก็ไ มต อ งรู ; แตเ พราะวา มีค วามเปน คนแกแลวจึงตองไหว. เรื ่ อ ง นี ้ ม ั น มี ผ ล ลึ ก ลั บ ซั บ ซ อ น แต ส รุ ป แล ว ก็ ค ื อ ทํ า ให เ ป น คนหัว ออ นไมก ระดา ง; นั ่น แหละบุญ มัน อยู ที ่ต รงนั ้น : ไหวค นแก คนบา กลั บ ได บุ ญ ทํ า ให เ ราเป น คนหั ว อ อ นไม ก ระด า ง แล ว ก็ จ ะเป น ศิ ริ ม งคลสวั ส ดี แ ก ตัว เอง เพราะวา เปน คนไมก ระดา ง. แลว เขาวา เทวดาใหพ ร; มัน ก็จ ริง ซิ ทุก คนเขาเอ็น ดู ไมใ ชว า ใครไปเกลีย ดเด็ก ที ่ไ หวต าแกบ า ; เขากลับ เอ็น ดู วา มันเปนคนหัวออน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ที ่ ว  า เ ด็ ก ส มั ย นี ้ เ ข า ไ ม ม ี น ร ก ไ ม ม ี ส ว ร ร ค นั ้ น มั น ก็ จ ริ ง , ถ า เขาว า สํ า หรั บ นรกหรื อ สวรรค อย า งที่ เ ขาไม ม องเห็ น ได เขาไม ค วรจะมี . แต เดี ๋ย วนี ้ไ มไ ดส อนกัน เสีย เลยวา "นรก คือ ความเดือ ดรอ นในใจแสนสาหัส ; สวรรค คือความดีที่ทําแลว ชื่นใจตัวเอง ยกมือไหวตัวเองได. เด็ก ๆ สมัยนี้เขา ไมมีกลัว, ไมกลัวถูกลงโทษ, ไมกลัวติดคุกติดระรางดวยซ้ําไป คือไมมีความกลัวชั่ว แมถูกจับไปลงโทษมันก็ยอม, เมื่อรับโทษ ก็ยังอาฆาต วาออกมาเมื่อไรจะแกแคน. นี ่ เ ข า เ ป น ค น ไ ม ม ี น ร ก , ไ ม ม ี ส ว ร ร ค คื อ ไ ม ม ี ค ว า ม คิ ด ที ่จ ะทํ า ดี ชนิด ที ่พ อค่ํ า ลงแลว ก็ไ หวต ัว เอได, เราไมม ีก ารกระทํ า ชนิด ที ่ว า

www.buddhadassa.in.th


๑๒๘

อริยศีลธรรม

พอค่ํ า ลงนึ ก ขึ้ น มาแล ว ไหว ตั ว เองได ว า วั น นี้ ไ ด ทํ า สิ่ ง ที่ ดี ที่ สุ ด ที่ ม นุ ษ ย ค วรจะทํ า ; อะไรอยา งนี ้เ ปน ตน , ซึ ่ง คนโบราณเขาสอนใหค ิด ใหน ึก เพื ่อ ใหพ อกพูน นิส ัย อัน นี ้. นี ่ค ือ เด็ก เดี ๋ย วนี ้ ไมม ีน รกไมม ีส วรรคใ นความรู ส ึก . สมัย กอ นเขามี นรกต อ ตายแล ว สวรรค ต อ ตายแล ว ก็ มี , นรกสวรรค ที่ นี่ เ ดี๋ ย วนี้ เ ขาก็ มี เขาก็ ก ลั ว หรือเขาก็อยากไดสวรรคทันตาเห็น อยางนี้มันมี. สมัย นี ้เ ด็ก ไมม ีบ ุญ ไมม ีบ าป หมายความวา ไมเ ชื ่อ เรื ่อ งบุญ เรื่ อ งบาป เอา "ได แ ล ว เป น ดี , ไม ไ ด ต ามที่ ต อ งการนั้ น เป น บาป, ถ า ได ต ามที่ ตอ งการแลว เปน บุญ " คิด อยา งนั ้น แลว ก็เ ลยหัน หนา หาเรื ่อ งไดอ ยา งเดีย ว. นี่ปรากฏการณอยางนี้ก็มีอยู, ซึ่งเปนปรากฏการณเปนผลมาจากศีลธรรมเสื่อมหรือ เริ่มเสื่อม. ข อ ที ่ ๔. ดู เ รื ่ อ งเบ็ ด เตล็ ด กั น อี ก . อ าต มาไม ก ลั ว ใครจะ รํ า คาญ ที ่จ ะเตือ นใหร ะลึก เรื ่อ งเบ็ด เตล็ด เล็ก ๆ นอ ย ๆ; อยา งวา เดี ๋ย วนี้ ศีลธรรมเสื่อม ขนาดในเมืองหลวง อยางประเทศไทยเรา ที่กรุงเทพฯ ไมมีความ ปลอดภัย . เมื่อ อาตมายั งไม ไดบวช เคยไปที่ก รุงเทพฯ ๕๐ ป มาแลวเห็นจะได ก็ป ระหลาดที ่ว า เออ , ทํ า ไมที ่นี ่ไ มม ีใ ครทํ า อัน ตราย ดึก ๆไปเที ่ย วไหนก็ไ ด ไมก ลัว , มาขึ ้น รถไฟที ่บ างกอกนอ ยตอ งมาตั ้ง แตเ ด็ก แลว คนเดีย ว; ไมมี ใครนอกจากรถลากคันที่ลากมา, ก็ยังปลอดภัย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถามเขาก็บ อกวา ปลอดภัย แลว มัน ก็ป ลอดภัย จริง ๆ. ตอนนั ้น รู ส ึก วา เอะ ที ่บ า นเรานี ้ก ลับ ไมน า ไวใ จ ที ่ไ ชยานี ้ก ลับ ไมน า ไวใ จ; ที ่ก รุง เทพฯ

www.buddhadassa.in.th


ปญหาเกี่ยวกับศีลธรรม แหงยุคปจจุบัน

๑๒๙

ก็ ป ลอดภั ย อย า งนั้ น . พอมาเดี๋ ย วนี้ มั น ตรงกั น ข า ม; คิ ด ดู เ ถอะในกลางเมื อ ง หลวงนั้นแหละคือความไมปลอดภัย. ยัง มีสิ ่ง ที ่ต รงกัน ขา มไปตอ ๆ ไปอีก ; เมื ่อ กอ นนี ้ช าวไรช าวนา ของเรา นอนที่กระตอบที่นาก็ได นอนที่แครใตถุนบานลมเย็น ๆ พัก หลับลืมไป จนสวา งก็ไ ด, ไมม ีอ ัน ตราย; เดี ๋ย วนี ้เ ปน ไปไมไ ด. นี ่ป รากฏการณที ่แ สดง ออกมา วา ความเสื ่อ มศีล ธรรมนี ้ ไดข ยายออกมาถึง บา นนอกแลว , แลว ในกรุง มัน ก็ห นัก มากขึ้น . ฉะนั้น คํา พูด ในบาลีที่วา "นอนไมตอ งปด ประตูเ รือ น” นี ้ไ มม ีแ ลว ไมม ีค วามหมายแลว ; จะตอ งทํ า ประตูแ นน หนา, แลว จะตอ ง ปด แลว ปด อีก ทุก อยา งไมใ ชเ ฉพาะประตูเ รือ น หรือ หนา ตา ง การอารัก ขา ทุกอยางตองทํายิ่งขึ้นอยาแนนหนา ซึ่งกอนนี้ไมเคยมี. ข อ ง วั ด นี ่ เ ดี ๋ ย ว นี ้ ม ั น ห า ย ห ม ด ถ า ไ ม เ ก็ บ ; เ มื ่ อ ก อ น บ า ง แ ห ง ของวัด ไมต อ งเก็บ . ที ่ไ ชยานี ้ก ็ย ัง รู ส ึก วา ดี ไมต อ งเก็บ อยู ม ากเหมือ นกัน ; แตพ อไปเห็น ที ่น ราธิว าสแลว ยิ ่ง กลับ ประหลาดใจ ยิ ่ง ทํ า ไมไมเ ก็บ กัน เสีย เลย, ดึกดื่นแลวเลิกงานเลิกธุระแลว ของก็ทิ้งอยูตรงนั้นแหละ. สิ่งตาง ๆก็ทิ้งอยูที่ศาลา ที่ร ะเบีย งที่อ ะไร ไมมีก ารเก็บ ; ตะเกีย งเจา พายุ หรือ เครื่อ งใชไ มส อยทุก อยา ง ไม ต  อ งเก็ บ . แต เ ดี ๋ ย วนี ้ ก ลั บ เป น ไปไม ไ ด , ไม ไ ด ท ุ ก หนทุ ก แห ง แล ว . ของวัด นี้จะยิ่งกวาเสียอีก คือวา เขาอยากจะถือเอา จนตองเก็บ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ข อ ง ส า ธ า ร ณ ะ ส มั ย ก อ น มี ; เ ดี ๋ ย ว นี ้ ไ ม ม ี พ ร ะ อ ง ค ห นึ ่ ง ทา นเลา วา ที ่จ ัน ทบุร ีเ ขามีถ าด โถเครื ่อ งทองเหลือ ง ทองแดง สารพัด อยา ง เปน ของสาธารณะ เขาเอาไปไวที ่ถ้ํ า แหง หนึ ่ง ไมใ ชไ วที่ว ัด แลว ไมม ีใ ครกลา

www.buddhadassa.in.th


๑๓๐

อริยศีลธรรม

เอาไป; นอกจากวาไปเอามาใช เสร็จแลวก็ขัด ลาง เช็ด ถู แลวไปไวในถ้ํานั้น ตามเดิ ม ; นี่ ตั้ ง กี่ ร อ ยป ม าแล ว ก็ ไ ม รู . เดี๋ ย วนี้ เ ป น ไปไม ไ ด แ ล ว . ของที่ มี ไวใ นศาลาพักทาง, ศาลาที่ทํา ไวพัก ทาง พักรอ น ริม ทะเล, ริมถนนก็ตาม; กอ นนี้เ ขาจะมีห มอ มีไ ห มีโ อง น้ํ า , มีขา วสาร ปลาแหง ดว ยซ้ํ า ไป ทิ ้ง ไวให. เดี๋ยวนี้มีไมได ; เพราะความเสื่อมของศีลธรรมแสดงออกมา. นี่ลองคิดคิดเถอะ ปรากฏการณอันนี้เปนปญหาเกี่ยวกับศีลธรรม ของยุคปจจุบัน, แลวก็ปจจุบันเพียงสี่หาสิบปนี้เอง; เพราะเมื่อ ๕๐ ปกอ น มานี้ มันมีได, มีไดอยางตรงกันขามกับเดี๋ยวนี้. คําวาปจจุบันนี้ ก็ตางกันเพียง สี่-หา-สิบป เทานั้น. .…

....

….

.…

ดู ก ั น อี ก แ ง ห นึ ่ ง ว า เ ดี ๋ ย ว นี ้ อ ะ ไ ร มี ห น า ต า ขึ ้ น ม า เจริญรุงเรืองหนาตาขึ้นมา ในโลกนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สิ ่ ง นั ้ น ก็ ค ื อ อา ชญา กรรม กรรมที ่ เ ลวร า ย ควรได ร ั บ การ ลงโทษอยางรุนแรง เรียกวาอาชญากรรม. บัดนี้โลกก็ดก รก หนามากขึ้น ดวย อาชญากรรมนานาชนิด นับดวยรอยดวยพันอยางเอามาวางจัดเปนหมู ๆ ดู ก็มีวา : อั น ดั บ ๑ : อาชญากรรมทางเพศ หรื อ เกี่ ย วกั บ ทาง เพศนี้มาอันดับ หนึ่ง. ในประเทศที่วาเจริญ ที่สุด เขาแสดงสถิติอ อกมา วา ทุก ๆ

www.buddhadassa.in.th


ปญหาเกี่ยวกับศีลธรรม แหงยุคปจจุบัน

๑๓๑

๗ วิ นาที มี อาชญากรรมทางเพศ อย างแรกอย างเบาอะไรก็ ตามใจ เฉลี่ ยมี ทุ ก ๗ วิ น าที , มี อ าชญากรรมทางเพศ อย า งแรงเบาอะไรก็ ต ามใจ มั น มี ทุ ก ๗ วิ น าที อาชญากรรมทางเพศในประเทศนั้ น ไม ต อ งออกชื่ อ แล ว เป น ความจริ ง . ที นี้ ประเทศเราก็ คิ ดดู เถอะถ าว าสํ ารวจดู ทั่ วทั้ งประเทศนี้ จะมี อาชญากรรมทางเพศทุ ก กี่นาที. ที่นี่อาชญากรรมทางเพศมาเปนที่ ๑ เลย. อั น ดั บ ๒ อ า ช ญ า ก ร ร ม ท า ง ก า ร ป ล น ข โ ม ย ก อ บ โ ก ย นี ้ย ัง มาเปน อัน ดับ ๒ อาชญากรรมเพื ่อ ความมั ่ง มี คือ ลัก ขโมย กอบโกย เอาเปรี ย บ อย า งไม มี ศี ล ธรรม แล ว อย า งไม ผิ ด กฎหมายด ว ย; เพราะว า มี ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย เ ฟ อ . ค น มี ป  ญ ญ าก็ ก อ บโ กยเ อาได แล ว ก็ ไ ม ผ ิ ด ศี ล ธ ร ร ม ; แต ถ า ดู ท างศี ล ธรรม นี้ ก็ เ ป น อาชญากรรม แต ยั ง ไม มี ใ ครจั บ มาลงโทษ เพราะว า กฎหมายมัน ยัง ไมม ี. แตถ า ถือ ตามกฎของพระเจา แลว นี ้ก ็เ ปน อาชญากรรม กอบโกย ขูด รีด เหมือ นกับ สูบ เลือ ดของคนยากจนเอามาทีเ ดีย ว อยา งนี้ ก็ เ รี ย กว า อาชญากรรมได ; แต ก ฎหมายมั น ไม ไ ด มี ไ ว ชั ด เจนอย า งนั้ น มั น ก็ ล งโทษ ไมไ ด. นี ้ถ า รวมกัน แลว ก็เ ปน อาชญากรรมเพื ่อ ความมั ่ง มี; นี ้ก ็ม ากมาย เหลือเกิน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อั น ดั บ ๓ . นี ้ อ า ช ญ า ก ร ร ม ที ่ พ ิ เ ศ ษ ไ ป ห น อ ย ท า ง อํ า น า จ วาสนา ทางเกีย รติย ศชื ่อ เสีย ง. นี ่ค ือ ที ่ว า ใชอํ า นาจเหนือ ผู ที ่ด อ ยกํ า ลัง กวา เบีย ดเบีย นกัน เลน ตามนิส ัย ของคนแข็ง แรงเบีย ดเบีย นคนที ่อ อ นแอ นี ้ก ็มี มากขึ้ น ; แต มั น เป น ชั้ น ใหญ ๆ คื อ ชั้ น ประเทศใหญ ๆ ทํ า แก ป ระเทศเล็ ก ๆ ทํ า แก คนปาเถื่อน. นี่ก็ตองนับไวเปนพวกอาชญากรรมที่ดกหนาขึ้นในโลกนี้ดวย.

www.buddhadassa.in.th


๑๓๒

อริยศีลธรรม

อั น ดั บ ๔ . อ า ช ญ า ก ร ร ม ที ่ พ ิ เ ศ ษ ยิ ่ ง ขึ ้ น ไ ป ก ว า นี ้ อ ี ก ก็ ต  อ ง เรี ย กว า อาชญากรรมเกี ่ ย วกั บ ความเสพติ ด ในทางวิ ญ ญาณ; นี ่ แ ปลก หูห นอ ย ฟง ไปบอ ย ๆ ก็ค งจะเปน ธรรมดาไปได เรื ่อ งทางวิญ ญาณนี ่ก็ แปลกอยู แ ลว ; เรื ่อ งเสพติด ทางวิญ ญาณนี ้ นี ่ห มายถึง ความงมงาย . อาชญากรรมที ่เ กิด เพราะความงมงาย. นี ้ก ็ม าก ถึง กับ ฆา กัน ตาย หรือ วา ตอ ง ทํ า ให ค นตายลงไป เพราะความงมงายทางไสยศาสตร บ า ง ทางอะไรบ า งที่ มั น เปนความงมงายก็แลวกัน:ถื อ ดี ใ น ค ว า รู  ผ ิ ด ๆ ข อ ง ตั ว มั น ก็ ม ี ส  ว น ที ่ ทํ า ใ ห ต ั ว เ อ ง ตาย หรือทําใหคนอื่นตายได, แลวเปนเรื่องของความงมงายมาแตไสยศาสตร เป น ส ว นมาก. มั น ไม น า เชื่ อ ว า โลกเจริ ญ ด ว ยการศึ ก ษา แต แ ล ว ความงมงาย อย า งนี้ มั น ก็ ยิ่ ง หนาตามขึ้ น มาด ว ย; ฉะนั้ น พู ด ได เ ลยว า การศึ ก ษาของคนโง . สมัยนี้กําลังจดการศึกษาของคนโง จัดไปอยางโง ๆ จึงไมทําลายความงมงาย แม ทางไสยศาสตรไ ด; เพราะวา จัด ไมถ ูก อ ง คนก็ต อ งหวัง พึ ่ง ความงมงายตอ ไป นั่นเอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อี ก ด า น ห นึ ่ ง เ ป น ค ว า ม ง ม ง า ย ข อ ง พ ว ก นั ก ศึ ก ษ า ค รู บาอาจารย หรื อ นั ก ปรั ช ญา พวกนี ้ เ ราเคยให เ กี ย รติ แ ก เ ขาว า เป น พวก "น้ํ า ชาลน ถว ย" ใสอ ะไรไมล ง ไปเรีย นมาจากเมือ งนอก" ลน ถว ย" มาแลว ; มาถึง เมือ งไทย จะใสเ รื ่อ งศีล ธรรมลงไปสัก นิด ก็ไ มล ง. เพราะวา อัด อยู ดว ยเรื่อ งอื่น ๆ เต็ม มาจากเมือ งนอก ซึ่ง ไมมีศีล ธรรมเลย; พอมาถึง เมือ งไทย จะใสศ ีล ธรรมลงไปสัก นิด ก็ใ สไ มล ง. แลว นัก ศึก ษา ครูบ าอาจารย ศาสตราจารยเ หลา นี ้ ก็ ไมม ีท างที ่จ ะทํ า ใหล ูก เด็ก ๆ มีศ ีล ธรรมได, ตัว เองก็ ไมมีศีลธรรม นี่เปนอาชญากรรมเหมือนกัน; ใครวาบาก็ตามใจ.

www.buddhadassa.in.th


ปญหาเกี่ยวกับศีลธรรม แหงยุคปจจุบัน

๑๓๓

อาตมาถือ วา นี ้ก ็เ ปน อาชญากรรมเหมือ นกัน ความเสพติด ทางวิ ญ ญาณ มี ค วามยึ ด ถื อ ทิ ฎ ฐิ ม านะ ทํ า การแก ไ ขอะไรให ด ี ไ ม ไ ด , เปนน้ําชาลนถวยของนักปรัชญาทั้งหลาย. สรุป แลว ก็เ รีย กวา อาชญากรรมหลายประเภท หลายสิบ หลายรอยประเภท; แตเดี๋ยวนี้เรามาพูดกันเปนประเภทใหญ ๆ วา อาชญากรรม ทางเพศ อาชญากรรมกอบโกย อาชญากรรมอํ า นาจบาทใหญ อาชญากรรม เสพติด ทางวิญ ญาณ คือ ความโงค วามหลง หรือ อวิช ชานี ้ก า วหนา ไมน า เชื ่อ วาจะมีในโลกที่อวดวาเจริญดวยการศึกษา. .…

....

….

.…

ดูก ัน ในแงข องโลกที ่เ จริญ ดว ยการศึก ษา หรือ ดว ยอะไรตอ ไปอีก สัก หนอ ย เวลาจะจวนจะสมควรอยู แ ลว . เดี ๋ย วนี ้ด ูก ัน ตรงที ่ว า โลกไมมี สันติภาพ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ดูท ีเ ดีย วทั ้ง โลกดีก วา โลกไมม ีส ัน ติภ าพ จริง ไมจ ริง คอยดู, แลว ก็เ อาเอกชนไมม ีส ัน ติส ุข . คน ๆ หนึ ่ง ก็ไ มม ีส ัน ติส ุข . ทั ้ง โลกก็ไ มมี สัน ติภ าพ มีล ัก ษณะเปน ของรอ น เปน นรก. เมื ่อ รอ น, เดือ ดรอ น ก็ค ือ นรก มี ล ั ก ษณะเป น นรก, แล ว ก็ ม ี ล ั ก ษณะเป น เปรต คื อ หิ ว เป น นรก คื อ ร อ น ใ จ ร อ น เ ห มื อ น กั บ ไ ฟ เ ผ า ใ น น ร ก ; แ ล ว มี ล ั ก ษ ณ ะ เ ป น เ ป ร ต คือ หิว กระหายแบบเปรต ทอ งเทา ภูเ ขา ปากเทา รูเ ข็ม , อยา งนี ้ล ัก ษณะเปรต.

www.buddhadassa.in.th


๑๓๔

อริยศีลธรรม

ใ น โ ล ก นี ้ ม ี ล ั ก ษ ณ ะ ข อ ง น ค ร แ ล ะ ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง เ ป ร ต นี้ รุ น แรงยิ่ ง ขึ้ น ๆ ทั่ ว โลก. ประเทศใหญ ที่ เ จริ ญ มากก็ เ ป น มาก, ประเทศน อ ยที่ เจริญนอยก็ เปนนอย, ประเทศที่ ยังป าเถื่อนอยู ก็ค อยยังชั่ว, ประเทศที่ ความเจริ ญ แบบใหมย ัง ไปไมถ ึง ยัง คอ ยยัง ชั ่ว ยัง เปน นรกนอ ย เปน เปรตนอ ย เพราะ อิทธิพลของศาสนาแตเดิม ๆ มันยังรักษาเอาไว. ฉะนั้นโลกนี้จะเปนโลกของอะไร ก็ไมรูแลว; ไมใชของมนุษยที่มีจิตใจสูงแลว, คือมันเต็มไปดวยอาชญากรรม. ใ น โ ล ก มี ค น ที ่ จ ะ ต อ ง ลํ า บ า ก ม า ก ขึ ้ น เ พ ร า ะ ว า อ ยู  ร  ว ม โลกกับ คนชนิด นี ้. ผู ที ่ตั ้ง ใจจะทํ า ใหด ี ไมไ ดทํ า บาป ไมไ ดทํ า ชั ่ว รัก ษา ศี ล ธรรม ก็ ยั ง ต อ งพลอยเดื อ ดร อ น เพราะว า อยู ร ว มกั น มั น ถึ ง กั น หมด. เช น ว า วั ด ไม ไ ด มี ส ว นที่ จ ะทํ า บาป ทํ า กรรม มั น ก็ ไ ด รั บ ผลกระทบกระเทื อ นมาถึ ง ใน ลัก ษณะที ่เ ดือ ดรอ นเหมือ นกัน อยา งนี ้เ ปน ตน ; เรีย กวา รับ บาปโดยไมไ ดทํ า บาป เพราะอะไร เพราะวามันเสื่อมศีลธรรมมารอบดาน, แลวเขาก็พูดวา โลกนี้ เจริญ – โลกนี้เจริญ - โลกนี้เจริญ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org พวกเราก็ค งจะ ละเมอวา ตามเขาไปบา ง อยู ใ นบางครั ้ง วา โลกนี ้ม ัน เจริญ ; อาตมาก็ล ะเมอบางครั ้ง แลว ก็ส ะดุ ง แลว ก็ห ดความรู ส ึก ไดท ัน . ทีแ รกก็ค ิด วา เจริญ , แลว ทีห ลัง ก็เ ห็น เปน เรื ่อ งอยา งนอ ยมัน ก็บ า . เราเคยคิด แลว ก็เ คยทํ า ก็ม ี : ไปเอาสิ ่ง ที ่ไ มจํ า เปน มา เดี ๋ย วนี ้ก ็รู ส ึก แลว วา เราได ทํ า สิ่ ง ที่ไ ม จํ า เป น เข า ไปหลายอย า งแล ว ; อยากจะยุ บ อยากจะเลิ ก อยู ก็ มี . ในวัด นี ้ มัน ไมจํ า เปน ตอ งทํ า ก็ม ี. มัน เจริญ อยา งที ่เ รีย กวา หลับ หูห ลับ ตา. รวมความแลวยิ่งเจริญในทํานองนี้, แลวจะยิ่งทําใหเกลียดศีลธรรม.

www.buddhadassa.in.th


ปญหาเกี่ยวกับศีลธรรม แหงยุคปจจุบัน

๑๓๕

ขอไดโ ปรดชว ยจํ า ไวด ว ย วา มี ความเจริญ ชนิด ที ่ทํ า ใหยิ ่ง เกลีย ด ศี ล ธ ร ร ม ; ค ว า ม เ จ ริ ญ ไ ห น ที ่ ไ ม ทํ า ใ ห เ ก ลี ย ด ศี ล ธ ร ร ม แ ท บ จ ะ ห า ไมพ บ. จะหาเข็ม ในมหาสมุท รยัง จะพบกอ น, กอ นที ่จ ะพบความเจริญ ชนิด ที่ ทํ า ใหร ัก ศีล ธรรม. นี ่เ ราหมายถึง ความเจริญ ที ่กํ า ลัง จะมีอ ยู ใ นโลกนี ้, ในเวลา นี ้น ะ. คิด ดูใ หด ีเ ถอะ ความเจริญ อัน ไหน ที ่เ จริญ ไปในลัก ษณะที ่ ยิ ่ง บูช า ศีล ธรรม ยิ ่ง รัก ศีล ธรรม? มัน ยิ ่ง ไมม ี; มีแ ตค วามเจริญ ที ่ทํ า ใหยิ ่ง เพิ ่ม อาชญากรรม เพิ่ ม ความกระวนกระวาย ระส่ํ า ระสาย ไม มี ศี ล ธรรม. ส ว น อาชญากรรมนี้ บ านสะพรั่ ง ขยายรวดเร็ ว ไปที เ ดี ย ว; แต เ ราก็ เ รี ย กว า เรามี ค วาม เจริญ. แลวเราก็ไมรวู าจะโทษใคร เชน:๑ . ค ว า ม เ จ ริ ญ ท า ง ก า ร แ พ ท ย เ อ า ขึ ้ น ม า เ ป น ลํ า ดั บ ห นึ ่ ง ดี ก ว า . ค ว า ม เ จ ริ ญ ท า ง ก า ร แ พ ท ย ทํ า ใ ห ค น ต า ย น อ ย ล ง , นี ้ จ ริ ง แ น ; แตมันก็ทําใหอันธพาลมากขึ้นกวาสมัยที่ยังไมเจริญดวยการแพทย ไมรูวาเปนเรื่อง อ ะ ไ ร . แ ล ว ก า ร แ พ ท ย เ ดี ๋ ย ว นี ้ ยิ ่ ง เ ฟ อ คื อ ไ ป ทํ า ใ น สิ ่ ง ที ่ ไ ม ต  อ ง ทํ า : จะเปลี่ ย นหั ว ใจบ า ง, จะผสมมนุ ษ ย ใ นหลอดแก ว บ า ง. นี่ มั น เป น เรื่ อ งบ า ไม ค วร จะทํา; เพราะเอาเวลาไปใชเพื่อใหมีศีลธรรมเสียยังดีกวา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๒ . ก า ร กิ น ดี อ ยู  ด ี ก็ ด ู ซ ิ จ ะ แ ข ง เ ท ว ด า กั น ไ ป แ ล ว มี ก า ร กิน ดีอ ยู ด ี ก็ยิ ่ง ไมม ีศ ีล ธรรม, ยิ ่ง กิน ดีอ ยู ด ีก ็ยิ ่ง ไมม ีศ ีล ธรรม. ที ่ถ ูก ตอ งเขา ห ลั ก ข อ ง พ ร ะ พุ ท ธ เ จ า ที ่ ว  า " กิ น อ ยู  พ อ ดี " เ ท า นั ้ น แ ห ล ะ ที ่ จ ะ ทํ า ใ ห มี ศี ล ธรรม เดี๋ ย วนี้ เ ราก็ มี อ นามั ย ดี ก ว า คนรุ น ก อ น ๆ มากที เ ดี ย ว : คนพุ ง โรก น ปอด นั้นไมคอยมีใหดูแลว; แตแลวมันก็ยิ่งไมมีศีลธรรม. ดูเอาซิวาเปนอยางไร.

www.buddhadassa.in.th


๑๓๖

อริยศีลธรรม

๓ . ก า ร เ รี ย น เ ดี ๋ ย ว นี ้ มั น วิ เ ศ ษ แ ล ว ใ น โ ร ง ร่ํ า โ ร ง เ รี ย น , เ ด็ ก ฉ ล า ด ม า แ ต ใ น ท อ ง แ ล ว เ ดี ๋ ย ว นี ้ แ ต ก ลั บ ยิ ่ ง ไ ม ม ี ศ ี ล ธ ร ร ม . เ ด็ ก ฉลาดมาแตในท อง มันฉลาดสําหรับจะมาเปนอันธพาลอย างฉลาด, เป นอันธพาล ฉลาดสํา หรับ ปราบยาก เขา ใจยาก สอนยาก นี้ เพราะวา การเรีย นเขาใหม า ในลัก ษณะ ใหฉ ลาดโดยไมม ีก ารควบคุม . การศึก ษาที ่ทํ า ใหฉ ลาดอยา งเดีย ว ไม มี ก ารควบคุ ม ทางศี ล ธรรมนี้ เป น เหมื อ นกั บ มี ด เชื อ ดคอคนนั้ น เอง. ฟ ง ดู เ ถอะ ฉลาดทา เดีย ว เดี ๋ย วนี ้เ ขาก็ใ ห, ไมม ีศ ีล ธรรมควบคุม ; นี ่ม ัน จะเปน มีด เชือ ดคอคนนั ้น เอง. เดี ๋ย วนี ้เ ราก็ใ หเ รีย นตะพึด แตใ หฉ ลาด ไมม ีศ ีล ธรรม, จนครูผูสอนตอไปก็ไมมีศีลธรรมแลวเดี๋ยวนี้. พู ด อ ย า ง นี ้ ไ ม เ ป น ด า แ ล ว น ะ เ ดี ๋ ย ว นี ้ เ พ ร า ะ มั น จ ริ ง ว า ครู ไ ม มี ศี ล ธรรมแล ว , ครู ก็ ส อนเด็ ก อย า งที่ เ รี ย กว า อั ด วิ ช าความรู เ ข า ไป ตาม ความจํ า เปน บัง คับ ; แลว ตัว ก็จ ะไดม ีค วามชอบ จะเลื ่อ นชั ้น . นี ่จ ะโทษครู ก็ ไ ม ไ ด เพราะ หลั ก สู ต รเขาวางไว อ ย า งนั ้ น ครู ต  อ งปฎิ บ ั ต ิ ต าม ก็ เ ลย นัก เรีย นไมต อ งมีศ ีล ธรรมกัน ; เพราะวา เรีย นเพื ่อ ฉลาดอยา งเดีย ว, ไมใ ช เรียนเพื่อจะมีศีลธรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๔. เมื ่ อ เรี ย นแล ว ก็ ม ี ก ารค น คว า เก ง มาก เจริ ญ ด ว ยการ คน ควา เหลือ ประมาณ; ชั ่ว ๒๐ ป การคน ควา กระโดดไปไกล กระทั ่ง ไป โลกพระจั น ทร ไ ด อย า งนี้ เ ป น ต น . แต แ ล ว ก็ ยิ่ ง ไม มี ศี ล ธรรม : ความเจริ ญ กระโดดไปเพื ่ อ ไม ม ี ศ ี ล ธรรม; กระโดดไปเพื ่ อ จะเอาเปรี ย บเขาต า งหาก ก็เ ลยไมม ีศ ีล ธรรม. แมจ ะทํ า อะไร ไดกี ่ม ากนอ ยอยา งไร ก็เ พื ่อ เห็น แกต ัว ,

www.buddhadassa.in.th


ปญหาเกี่ยวกับศีลธรรม แหงยุคปจจุบัน

๑๓๗

เห็ น แก ตั ว แล ว ก็ ไ ม มี ศี ล ธรรม นี่ ก ารค น คว า มั น ก็ ก า วห า มั น ก็ เ จริ ญ แต ก ลั บ ยิ่งไมมีศีลธรรม. ๕ . ก า ร ป ร ะ ดิ ษ ฐ ป ร ะ ดิ ษ ฐ อ ะ ไ ร ไ ด บ า ง ; เ ดี๋ ย ว นี้ ดู จ ะ เป น ของทิ พ ย อยู แ ล ว : เรื่ อ งวิ ท ยุ เรื่ อ งวิ ท ยุ โ ทรทั ศ น เรื่ อ งอะไรต า ง ๆ มั น จะเป น ของทิ พ ย ไ ปหมดแล ว ; แต ก็ ยิ่ ง ไม มี ศี ล ธรรม. แล ว โดยเฉพาะคนที่ ใ ช สิ่ ง ประดิ ษ ฐ เ หล า นี้ กลั บ ยิ่ ง เป น คนที่ ไ ม มี ศี ล ธรรม; เขาใช เ พื่ อ การกอบโกย ใช เพื่ อ เนื้ อ หนั ง เอร็ ด อร อ ย ของตั ว . นี่ ยิ่ ง ไม มี ศี ล ธรรม เพราะคนธรรมดาไม จํ า เป น ต อ งใช สิ่ ง เหล า นี้ สิ่ ง ประดิ ษ ฐ เ พื่ อ ความสนุ ก สนาน เอร็ ด อร อ ยสวยงาม ทางวัตถุ นี่คนธรรมดาไมจําเปนจะตองใช แลวเขาจะเกลียดดวยซ้ําไป. ๖. การอุ ต สาหกรรมเจริ ญ นี้ เ พื่ อ ผลิ ต ขึ้ น มามาก ๆ ; แล ว ทํ า ลายศี ล ธรรมให ห มดไปโดยเร็ ว คื อ ถ า มั ว ผลิ ต ด ว ยมื อ อยู โลกก็ ยั ง จะเสื่ อ ม ศีลธรรมชาอยู เมื่อ มีอุตสาหกรรมทําสิ่ง บํารุงบํ าเรอไมจําเปน ใหมนุษย มากขึ้ น โลกนี้ก็จะไดหมดศีลธรรมเร็วเขา สรางปญหาอยางอื่น ที่ใหมันเกิดเพิ่มขึ้นมาอีก เพื่อไมมีศีลธรรมอีกเหมือนกัน หรือมันมีศีลธรรมอยูไมได เพราะปญหามีมากนัก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๗. พู ด ถึ ง ก า ร ล า ง ผ ล า ญ กั น เดี๋ ย ว นี้ ก็ มี อ าวุ ธ ที่ จะ ฆ า กั น คราวละแสนละล า นก็ ไ ด ไ ม เ หมื อ นเมื่ อ ก อ นยิ ง ลู ก ธนู ที ล ะคน, มี อ าวุ ธ ขนาดนี้ แล ว ก็ ทํ า ให โ ลกนี้ มี ศี ล ธรรมไม ไ ด , ปราบมนุ ษ ย อั น ธพาลไม ไ ด มี แ ต ยิ่ ง แข ง กั น เป น อั น ธพาล โลกนี้ ก็ ยิ่ ง ไม มี ค วามสงบ เพราะการก า วหน า ทาง อาวุธลางผลาญกัน

www.buddhadassa.in.th


๑๓๘

อริยศีลธรรม

๘ . ก า ร ก า ว ห น า ท า ง ลิ ้ น ก า ร ทู ต ก า ร ใ ช ลิ ้ น ท า ง ก า ร ทู ต ก็ ยิ ่ง เกง ยิ ่ง กา วหนา กวา สมัย กอ นมาก ก็ยิ ่ง ทํ า ใหเ ปน โลกที ่โ กหกมากขึ ้น ไร ศีล ธรรมมากขึ ้น มัน เปน อยา งนั ้น เอง เพราะลิ ้น ทางการทูต นี ้ไ มเ คยทํ า เพื ่อ สัน ติภ าพ; แตทํ า เพื ่อ ประโยชนต ัว พวกของตัว ลิ ้น การทูต ก็ทํ า ใหเ กิด การ โกหกอยางสุภาพมากขึ้นเทานั้นเอง ไมมีอะไร. ๙ . ค ว า ม มี ศ ิ ล ป ก า ว ห น า , เ ดี ๋ ย ว นี ้ ศ ิ ล ป ะ ก า ว ห น า จ น เ ข า รกเข า พงไปเลย จนเราดู ไ ม อ อก; ก็ ย อมรั บ ว า ศิ ล ปะ. แต พ อดู ว  า ศิ ล ปะ ทํ า ใหค นมีศ ีล ธรรมอยา งไรบา ง? มัน ก็ไ มม ี. ศิล ปะเปน ยาเสพติด ทางวิญ ญาณ ไปเสีย อีก . สิ ่ง ที ่เ รีย กวา ศิล ปะสูง สุด ของมนุษ ยใ นโลกนี ้ ราคาไมรู ว า กี ่ล า น, จะเอาไปอวดกั น สั ก ที ก็ ต อ งรั บ ประกั น เป น ล า น ๆ สํ า หรั บ วั ต ถุ ศิ ล ปะนั้ น ; แล ว ก าวหน ามากในทางศิ ลปะ; แต แล วก็ ไม เคยมี เพื่ อ สั นติ ภาพ กลั บมี ให คนโง , โง ผิ ด ศีลธรรมทางวิญญาณ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๑๐. การกา วหนา ทางวิช าการตา ง ๆ ก็ก า วหนา ยกตัว อยา ง เช น ทาง ตรรกวิ ท ยา ทางปรั ช ญา ทางจิ ต วิ ท ยา ก็ ส อนกั น เป น การใหญ จน กลายเปน ติด เฮโรอีน ทางปรัช ญากัน ไปหมด. จิต วิท ยาก็ม ีแ ตเ รื ่อ งหลอกลวง ไม ใ ช เ พื่ อ กํ า จั ด กิ เ ลส, ตรรกวิ ท ยานี้ ก็ เ พื่ อ แก ตั ว เมื่ อ ทํ า ผิ ด ก็ เ ลยเป น การเจริ ญ หรือกาวหนา ที่ทําลายมนุษยนั่นเอง, เดี๋ยวนี้เจริญมาก โดยเฉพาะทางปรัชญา. ๑ ๑ . ดู ว ิ ช า บ ริ ส ุ ท ธิ ์ ก ั น บ  า ง เ ช  น วิ ท ย า ศ า ส ต ร บ ริ ส ุ ท ธิ ์ : เรื ่ อ งชี ว วิ ท ยาดี , รู  เ รื ่ อ งภู ม ิ ว ิ ท ยาดี , ไบโอโลยี ่ ยี โ อโลยี ่ อ ะไรต า ง ๆ รู  ด ี ; แลว ก็ ไมเ คยทํ า ใหโ ลกมีส ัน ติภ าพ กลับ สง เสริม ไปในทางไรศ ีล ธรรม. เชน

www.buddhadassa.in.th


ปญหาเกี่ยวกับศีลธรรม แหงยุคปจจุบัน

๑๓๙

เพศศึก ษา นี ่เ ขา ใจกัน วา จะเอามาทํ า ใหเ ด็ก มีศ ีล ธรรม ก็ก ลายเปน สง เสริม ความไมม ีศ ีล ธรรมเร็ว เขา ; เพราะความเขลา ไมรู ว า เด็ก เขาจะรับ ไวแ ต ในส ว นที ่ จ ะทํ า ลายศี ล ธรรมเท า นั ้ น , ส ว นที ่ เ ป น ประโยชน เ ขารั บ ไว ไ ม ไ ด . นี่ ก็ ไ ม รู กั น มั น ก็ ไ ม ดี ก ว า ปู ย า ตา ยาย ซึ่ ง เขาไม ชิ ง สุ ก ก อ นห า ม ในเรื่ อ งวิ ช า อยางนี้กับเด็ก ๆ. ๑ ๒ . ใ น ที ่ ส ุ ด ค ว า ม รู  ที ่ ส ร ร เ ส ริ ญ กั น นั ก คื อ ค ว า ม รู  ท า ง สั ง คมศาสตร ความรู ท าง มนุ ษ ยวิ ท ยา นี้ เ ทิ ด ทู น กั น นั ก สอนกั น ทุ ก มหาวิท ยาลัย ; ก็ใ นมหาวิท ยาลัย นั ้น แหละกลับ มีค นที ่ไ รศ ีล ธรรม. มหาวิท ยาลัย ที ่ น ั ก ศึ ก ษ า เ รี ย น วิ ท ย า อ ยู  นั ้ น ก ลั บ ไ ร ศ ี ล ธ ร ร ม : ย ก พ ว ก ตี ก ั น ฆ า กั น อะไรกั น หรื อ กํ า ลั ง เป น ป ญ หายุ ง ยากอยู เ ดี๋ ย วนี้ ; ก็ มี ใ นมหาวิ ท ยาลั ย ที่ เ ขาเรี ย น มนุษ ยวิท ยา หรือ สัง คมศาสตร ธรรมศาสตรอ ะไรกัน เปน อัน วา ไมม ีที ่พึ ่ง แลว เห็น ไหม? จากความเจริญ กา วหนา ของมนุษ ย, ของโลกที ่ว า เจริญ ดวยการศึกษา; นี่หมดที่พึ่งแลว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี ้ ค ื อ ป ร า ก ฏ ก า ร ณ ที ่ ค ว ร จ ะ ม อ ง แ ล ว ก็ ม อ ง ไ ด ไ ม ย า ก ; ค ว ร จ ะ ม อ ง ใ ห เ ห็ น ; แ ล ว เราจะทํ า กั น อย า งไ รต อ ไปค อ ย พู ด กั น วั น หลั ง วั น นี้ ข ออย า งเดี ย วแต ใ ห ม องลงไป, มองลงไป ที่ ป รากฏการณ ท างศี ล ธรรม, ที่ เปน ปญ หาทางศีล ธรรมของโลกในยุค ปจ จุบ ัน วา เปน ไปอยา งไร รุน แรง ขนาดไหน, นา เศรา ใจนา สัง เวชอยา งไร ถา มองเห็น อัน นี ้แ ลว ก็ง า ยที ่จ ะศึก ษา ต อ ไป; ถ า มองไม เ ห็ น อั น นี ้ ก ็ เ ลิ ก กั น เลิ ก กั น , ไม ต  อ งพู ด กั น แล ว ; เพราะ ไม ม องเห็ น อะไรอื่ น ที่ ลึ ก กว า นี้ ไ ด , เพราะเรื่ อ งกํ า ลั ง เดื อ ดร อ นอยู ก็ ยั ง มองไม เ ห็ น .

www.buddhadassa.in.th


๑๔๐

อริยศีลธรรม

ข อ ใ ห ถ ื อ ว า มั น เ ป น เ รื ่ อ ง ที ่ สํ า คั ญ เ รื ่ อ ง ห นึ ่ ง สํ า ห รั บ ม นุ ษ ย เรา, แลว บางทีจ ะเปน เรื ่อ ง สํ า คัญ ที ่ส ุด แหง ยุค ปจ จุบ ัน ดว ย; นั ่น คือ ความ ไม มี ศี ล ธรรม; เรี ย กว า เป น ป ญ หาของมนุ ษ ย ป จ จุ บั น ที่ เ กี่ ย วกั บ ศี ล ธรรม ที่ ม นุ ษ ย ดึกดําบรรพไมเคยจะมี เขาอยูกันดวยความสงบสุข จนเราตองเรียกเขาวา เปนคน โง ดั ก ดาน ไม รู จั ก ทํ า อะไร มี แ ต ส งบสุ ข ; ส ว นเดี๋ ย วนี้ เ รามี ค วามเจริ ญ ก า วหน า วิ เ ศษจะเป น เทวดา แต แ ล ว ก็ ห าความสงบสุ ข ไม ไ ด . แล ว ก็ ไ ม ม องว า ต น เหตุ มั น อยู  ที ่ ค วามไม ม ี ศ ี ล ธรรม; ไปซั ด บาป โยนบาป ให เ ศรษฐกิ จ บ า ง การ เ มื อ ง บ า ง อ ะ ไ ร บ า ง ; เ พ ร า ะ ไ ม รู  ว  า มู ล เ ห ตุ ที ่ แ ท จ ริ ง อ ยู  ที ่ ค น ไ ม มี ศี ล ธรรม จนกระทั่ ง ฝนมั น ก็ จ ะไม ต กมาตามฤดู ก าลได อี ก ต อ ไป เพราะว า คนไม มี ศีลธรรม. ขอใหไ ปคิด ดูใ นขอ นี ้ง า ย ๆ เพีย งขอ เดีย วกอ น แลว เราก็จ ะได วินิจฉัยในแงอื่น กันตอไปสําหรับเรื่องนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ขอยุ ติ ก ารบรรยายวั น นี้ ให พ ระท า นสวดบทธรรมสํ า หรั บ กระตุ น เตือนใจเพื่อใหรักศีลธรรม ขวนขวายผดุงศีลธรรมกันตอไปอีก. ------------------

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรม -๕๓ สิงหาคม ๒๕๑๗

ความรูสึกของมนุษยตอปญหาทางศีลธรรม

ทานสาธุชน ผูมีความสนใจในธรรม ทั้งหลาย,

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ก า ร บ ร ร ย า ย ป ร ะ จํ า วั น เ ส า ร เ กี ่ ย ว กั บ เ รื ่ อ ง อ ริ ย ศี ล ธ ร ร ม ใ น วั น นี ้ อ า ต ม า จ ะ ก ล า ว โ ด ย หั ว ข อ ย อ ย ว า ค ว า ม รู  ส ึ ก ข อ ง ม นุ ษ ย ต  อ ปญหาทางศีลธรรม.

อ า ต ม า ข อ ร อ ง ใ ห ช  ว ย กั น พิ จ า ร ณ า แ ล ว ๆ เ ล า ๆ เ กี ่ ย ว กั บ สิ ่ ง ที ่ เ รี ย ก ว า ศี ล ธ ร ร ม โ ด ย ไ ม ต  อ ง ก ลั ว ใ ค ร จ ะ เ บื ่ อ ห น า ย ; เ พ ร า ะ ว า เ ป น สิ ่ ง ที ่ จ ะ ช ว ย ม นุ ษ ย ไ ด ดั ง ที ่ เ ค ย ช ว ย ม า แ ล ว . เ ดี ๋ ย ว นี ้ ป  ญ ห า ต า ง ๆ ใ น โ ล ก เ กิ ด ขึ ้ น เ พ ร า ะ ค ว า ม เ สื ่ อ ม ข อ ง ศี ล ธ ร ร ม อ ย า ง เ ดี ย ว ; แ ต แ ล ว ก็ไ มม ีใ ครมองในขอ นี ้ กลับ ไปโวยวายกัน อยู ใ นลัก ษณะอื ่น . เรากํ า ลัง กลัว กัน ๑๔๑

www.buddhadassa.in.th


๑๔๒

อริยศีลธรรม

อย า งยิ่ ง ต อ วิ ก ฤตการณ ต า ง ๆ ในป จ จุ บั น นี้ , หรื อ อาชญากรรมที่ กํ า ลั ง มี ม ากขึ้ น ทั ่ ว ไปทุ ก หั ว ระแหง ; แม ก ระ ทั ่ ง ใจกลางเมื อ งหลวง ก็ ม ี ค วามกลั ว ข อ นี ้ . เราตองทนยากลําบากหลายประการ โดยที่ไมรูวา มันมีมูลเหตุมาจากความขาดศี ลธรรม ของมนุษยนั่นเอง. เราเอามาพู ด กั น ในหน า หนั ง สื อ พิ ม พ เ ต็ ม หน า ๆ เหมื อ นกั บ อย า ง หลับ หูห ลับ ตาพูด : พูด ถึง ความทุก ขย ากลํ า บาก โดยไมม องเห็น วา มัน มา จากอะไร, แลว ก็ไ มไ ดพ ูด ถึง ตน ตอของสิ ่ง ที ่เ ปน เหตุ ใหเ กิด วิก ฤติก ารณ เหลา นี ้. เราพูด ถึง ผลของมัน ปรารภกัน ถึง ความเดือ ดรอ น; แตแ ลว ก็ไ มส นใจ ที ่จ ะดู วา มัน มาจากเหตุอ ะไร. ยิ ่ง ไปกวา นั ้น อีก ก็ค ือ ถา ใครจะพูด วา ความ ทุก ขย ากมาจากความไรศ ีล ธรรม ก็ไ มย อมเชื ่อ , ไมเ ขา ใจ. ฉะนั ้น จึง ไมส นใจ จะพูด เอง, หรือ วา ไมส นใจที ่จ ะฟง ผู อื ่น พูด ; เมื ่อ เขาพูด กัน ถึง ความเสื ่อ มเสีย ทางศีลธรรม ที่เปนตนเหตุใหเกิดวิกฤติการณทั้งปวง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เมื ่ อ เ ร า นั ่ ง อ ยู  ที ่ นี ่ ใ น ลั ก ษ ณ ะ อ ย า งนี ้ มั น ก็ รู  ส ึ ก ไ ป ใ น ทํ า น อ ง ที ่ว า มนุษ ยไ มม ีป ญ หาอะไร, หรือ วา โลกกํ า ลัง ไมม ีป ญ หาอะไร; ก็ดู คล าย ๆ กั บว าไม ต องสนใจอะไร; มาฟ งการบรรยายนี้ ก็ เพื่ อความรู อย างอื่ น มาก ไปกว าที่ จะต องการความรู ไปตั ดต นเหตุ ของวิ กฤติ การณ หรื อความยุ งยากลํ าบาก ระส่ํ า ระสาย ของบ า นเมื อ ง. นี้ ก็ เ ป น การแสดงถึ ง ความรู สึ ก อย า งหนึ่ ง ของมนุ ษ ย ไม กี่ ค นที่ นี่ ที่ รู สึ ก ต อ ป ญ หาทางศี ล ธรรม; แต ถ า เราไปดู ใ นหมู ค น ในถิ่ น ที่ เ ขา กํ า ลัง เดือ ดรอ น หรือ วา รวบรวมเอาเรื ่อ งราวตา ง ๆ ทั ่ว บา นเมือ ง ทั ่ว ประเทศ กะทั่งทั่วโลก มาพิจารณาดู จะรูสึกวามันเปนคนละโลกกับโลกที่สวนโมกขนี้.

www.buddhadassa.in.th


ความรูสึกของมนุษยตอปญหาทางศีลธรรม

๑๔๓

เราอยู ใ นลัก ษณะอยา งนี ้ มัน เปน คนละโลก กับ โลกที ่กํ า ลัง เปน อยู ที ่ก รุง เทพฯ. หรือ ที ่ทั ่ว ๆ ไปในเมือ งใหญ ๆ กวา กรุง เทพฯ; มัน เหมือ นกับ วา เราแยกออกมาเปนโลกเล็ก ๆ มาอยูที่น่ีในลักษณะอยางนี้ มันมีอยางนี้ ความ รู ส ึก ตอ ปญ หาทางศีล ธรรม มัน ก็ม ีอ ีก แบบหนึ ่ง . คนที ่เ ขากํ า ลัง เดือ ดรอ น ยกขบวนแหกันมา ต อสูดิ้นรน ท วงติง อะไรอยางนั้ น อยางนี้ ในใจของเขาไมได เหมือ นกับ พวกเรา ที ่นั ่ง อยู ที ่นี ่เ ดี ๋ย วนี ้; ฉะนั ้น เขาก็รู ส ึก ตอ ปญ หาทางศีล ธรรม ในลักษณะอยางอื่นไปอีก หรือตรงกันขาม. คนที่ ร่ํ า รวย สบาย มี อํ า นาจวาสนา ก็ กํ า ลั ง มี ค วามรู สึ ก อย า งอื่ น แปลกออกไปอี ก ; สํ า หรั บ คนที่ บ าปยั ง ไม ทั น จะให ผ ล ก็ มี ค วามรู สึ ก แปลกเป น อย า งอื่ น ออกไปอี ก , แล ว คนที่ ไ ม ไ ด ทํ า บาปทํ า อะไรกั บ เขา เพี ย งแต ว า พลอยอยู ร ว มโลกกั น กั บ เขาที่ ทํ า บาป ร ว มบ า นร ว มเมื อ งกั บ คนที่ ทํ า บาป ก็ พ ลอยได รั บ ผล กระทบกระเทื อ นถึ ง ด ว ยเหมื อ นกั น ; อย า งนี้ เ ขาก็ รู สึ ก ต อ ป ญ หาทางศี ล ธรรม แปลกออกไปอี ก. มันเปน ความรูสึก ที่มากมายหลายประการที เดี ยว ที่ กํา ลัง มีอ ยู ในเวลานี ้. ถา เราไมพ ิจ ารณาก็จ ะไมเ ห็น ; แตอ าตมาเห็น วา มัน เปน การ จําเปนที่จะตองพิจารณาใหเห็น เราจึงจะรูจักคุณคา ของสิ่งที่เรียกวาอริยศีลธรรม กันไดถูกตอง, หรือยิ่ง ๆ ขึ้นไปจนถึงกับบูชา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org .…

....

….

.…

ข อ ย้ํ า อี ก อ ย า ง ห นึ ่ ง ว า ค ว า ม ลํ า บ า ก ยุ  ง ย า ก นี ้ มั น อ ยู  ที่ ภาษา ที ่ใ ชพ ูด กัน อยู ; แมใ นทางธรรม ภาษามัน เปลี ่ย นเรื ่อ ย หรือ บางที มัน ก็ม ีค วามหมายที ่แ ปลกกัน มาแลว แตเ ดิม . ในคํ า ๆ เดีย วกัน นั ้น ในเมื ่อ เอา

www.buddhadassa.in.th


๑๔๔

อริยศีลธรรม

มาใชกันคนละกรณี ตองใชคําวามันมีความสับปลับ หรือหลอกลวงของภาษา นั่นแหละ ทําใหเราเขาใจสิ่งตาง ๆ ไดยาก เชนคําวา "ศีลธรรม" ตองมีคําวา "อันดีของประชาชน" มันคลาย ๆ กับวา "มีศีลธรรมอันเลวของประชาชน" อยางนี้ มันก็ไมถูก ถา ศีลธรรม แลว ตองไมมีเลว. แตทีนี้มันมีเรื่องยุงกวานี้ ก็คือ วา คําวา "ศีลธรรม" เราเคยใช กันแตในระดับต่ํา ๆ คือเปนเรื่องของสังคม แลวเปนเรื่องเพื่อความผาสุกของ สังคมในระดับต่ํา ๆ เรียกวาอยูกันอยางปรกติเรียบรอย; แตโดยขอเท็จจริงตาม ธรรมชาติ แ ล ว มั น มากกว า นั้ น จนกระทั่ ว การปฏิ บั ติ ธ รรมเพื่ อ หมดกิ เ ลส ก็ ยั ง อยู ใ นรู ป ของศี ล ธรรมอยู นั่ น เอง. นั ก ศึ ก ษาในโลก หรื อ นั ก ศี ล ธรรม ในโลกเขาจัดเรื่องของพระนิพพาน ไวเปนเรื่องของศีลธรรมแบบหนึ่งเทานั้น ; เพราะเขารูจักใชคํานี้ไกลไปถึงนั่น ซึ่งก็เปนความจริงอยูดวยเหมือนกัน แตตอง พิจารณาดูกันเปนพิเศษ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ดว ยเหตุที่คํา นี้มัน กํา กวม สับ ปลับ อยา งนี้ อาตมาจึง ขอใชคํา ที่ รัดกุมคือคําวา "อริยศีลธรรม" ขอฝากไวดวย ขอใหจําไวดวย เพื่อจะไดเปน คํา ที่ไ มสับ ปลับ นัก จะไมดิ้น อีก แลว อริย ศีล ธรรมก็ใ หแ ปลวา ศีล ธรรมของ พระอริย เจา หรือ ศีล ธรรมของพระอริย สาวก หรือ อีก ทีห นึ่ง ก็วา ศีล ธรรม อันประเสริฐ ออกไปเสียไดจากขาศึก ตามความหมายของคําวาอริยะนั่นเอง. เราจะรู  จ ั ก ศี ล ธรรมอั น ประเสริ ฐ ของพระอริ ย เจ า ได โดย แทจ ริง เราก็ตอ งรูไ ปจากการที่เ ราไมมีศีล ธรรมอยูเ วลานี้ และมีค วาม เดือดรอน เหมือนกับตกนรกทั้งเปนกันอยูในลักษณะเชนไร; ยิ่งเห็นขอนี่ก็ยิ่ง

www.buddhadassa.in.th


ความรูสึกของมนุษยตอปญหาทางศีลธรรม

๑๔๕

เห็น ศีล ธรรมเปน สิ ่ง จํ า เปน มากยิ ่ง ขึ ้น . เดี ๋ย วนี ่ทํ า ไมจึง ไมเ ห็น ในขอ นี ้ว า จํ า เปน ถึง ขนาดนี ้; คลา ยกับ จะพูด ไดว า ถา ไรศ ีล ธรรมแลว โลกนี ้ก ็ไ รค วามหมาย มัน เปน โลกของสัต วน รกไปทีเ ดีย ว. แลว ทํ า ไมคนในโลกจึง ไมรู ส ึก สิ ่ง ที ่เ กี ่ย วกับ ศีล ธรรม ; โดยเฉพาะอยา งยิ ่ง คือ ปญ หาตา ง ๆ ในทางศีล ธรรม , หรือ ที่ เกี่ยวกันอยูกับศีลธรรม ซึ่งเปนหัวขอเรื่องที่จะไดพิจารณากันโดยละเอียดในวันนี้. ค น กํ า ลัง ก ลัว ค น กํ า ลัง ท น ลํ า บ า ก แ ลว ค น ก็พ ูด กัน จ น ไ มมี ปากจะพู ดอยู แล ว ถึ งเรื่ องความทุ กข ยากลํ าบาก, แล วก็ ออกความคิ ดความเห็ นกั น ตา ง ๆ นานา; แตก ็ไ มไ ดม องไปที ่ ตน เหตุข องสิ ่ง เลวรา ยเหลา นี ้ ก็ค ือ ความเสื่อมหรือความไรศีลธรรมของคนนั่นเอง. อาตมาพูด เรื ่อ ง "ศีล ธรรม" ก็ด ูเ หมือ นจะมีค นเมิน หนา คลา ย ๆ กับ ว า เอาเรื่ อ งเก า แก โ บรมโบราณมาพู ด กั น อี ก อย า งซ้ํ า ๆ ซาก ๆ นี่ เ ท า ที่ สั ง เกต เห็ น เป น อย า งนี้ , หรื อ ว า คํ า บรรยายเรื่ อ งศี ล ธรรมนี้ จะถู ก พิ ม พ อ อกไป ก็ เ ชื่ อ ว า ไมม ีค นสนใจสัก กี ่ค น; แตแ ลว ก็ท นไมไ ด ที ่จ ะตอ งพูด ถึง ศีล ธรรม ใหม ัน เพียงพอกันเสียที.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี ่ ค ว า ม รู  ส ึ ก ข อ ง ค น มั น แ ป ล ก ป ร ะ ห ล า ด รู  ส ึ ก แ ต ส  ว น ที ่ เ ป น ผลรา ย แลว ไมส นใจที ่จ ะไปรู จ ัก ตน เหตุข องมัน อยา งที ่กํ า ลัง เปน อยู เ ดี ๋ย วนี ้; จึ ง ร อ งตะโกนไปอย า งคนบ า คลั่ ง เรื่ อ งไม ผ าสุ ก เรื่ อ งเดื อ ดร อ น เรื่ อ งอะไรต า ง ๆ เดี ๋ย วนี ้ถ า จะดูถ ึง ความรู ส ึก ของคนในโลกนี ้ ที ่ม ีต อ ศีล ธรรมแลว จะพบไปใน ทางลบทั้งนั้น ทางรายหรือทางเลวทั้งนั้น.

www.buddhadassa.in.th


๑๔๖

อริยศีลธรรม

เชน คนพวกหนึ ่ง จะรู ส ึก วา เรื ่อ งศีล ธรรมนี ้ไ มม ีค วามหมาย อะไรเลย มั น เป น เรื่ อ งถื อ กั น มาอย า งเพ อ ๆ ไม มี ค วามรู ส ึ ก หรื อ บางคน ก็จ ะคิด วา มัน เปน เพีย งพิธ ีร ีต อง ที ่เ ขาประกอบตาม ๆ กัน มา. บางคนก็จ ะ คิด วา มัน เปน เรื ่อ งของคนไมม ีป ญ หา คนออ นแอ หรือ คนโง ก็ไ ดแ ต พร่ําพูดถึงศีลถึงธรรมอยู; เพราะวาพูดอยางอื่นไมเปน ไมสามารถที่จะแกปญหา นั ้น ได. อยา งดีที ่ส ุด ที ่ คนสมัย นี ้จ ะรู ส ึก ก็ค ือ รู ส ึก วา นี ้ม ัน เปน ของดีที ่พ น ส มั ย แ ล ว , ธ ร ร ม ะ ห รื อ ศ า ส น า ห รื อ ศี ล ธ ร ร ม นี ้ ด ี ; เ ข า ก็ ย อ ม รั บ ว า ดี แตวามันพนสมัยแลว เอามาแกปญหาอะไรไมได. นี ่เ ขามีค วามรู ส ึก กัน อยา งนี ้ สว นความรู ส ึก ถึง ความจํ า เปน ของ ศีล ธรรมนั ้น เกือ บจะหาไมไ ด; ขอเอาไปสัง เกตดู ดัง นั ้น เราจึง ไดม ีโ ลกที่ เ ต็ ม ไ ป ด ว ย ค ว า ม ไ ร ศ ี ล ธ ร ร ม . ค น ที ่ ตั ้ ง ใ จ จ ะ มี ศ ี ล ธ ร ร ม นั ้ น ไ ม ม ี กี ่ ค น เพราะไม ม ี ใ ครรู  จ ั ก หรื อ สนใจกั บ ศี ล ธรรม; คนทั ้ ง โลกเกื อ บทั ่ ว โลก เขา ก็ไ มรูจัก ไมส นใจในเรื่อ งของศีล ธรรม ก็ป ลอ ยไปตามกิเลสของตนเอง. ฉะนั้น คําวาศีลธรรมก็หายไป ๆ เมื่อสักสิบกวาปมานี้ คําวา ศีลธรรมมันมีอยูตามหนา กระดาษหนังสือพิมพ ดูจะพราวไปมากวานี้ เดี๋ยวนี้ทุกคน ลองหยิบหนังสือพิมพ มากวาดตาดูทีละฉบับ ๆ จะหาคําวา ศีลธรรมนั้นยาก ยากที่จะพบ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถึง แมใ นตา งประเทศก็เ หมือ นกัน แหละ อาตมาพยายามอยา งยิ ่ง ที่จะสังเกตในขอนี้ ยิ่งหนังสือพิมพที่เขานิยมอานกันมาก ที่มีชื่อเสียงมาก อยาออกชื่อ ดีกวามันจะเปนการหมิ่นประมาทกัน ยิ่งหนังสือชนิดนั้น ระดับนั้นของโลกดวยแลว ยิ ่ง หาคํ า วา "ศีล ธรรม" ยากที ่ส ุด . คํ า วา moral, morality อะไรทํ า นองนี้ เกือ บจะไมมีใ ห เห็น หรือ ผา นสายตา ; มัน มีแ ตเ รื่อ งเหตุก ารณข องโลก ที่กํา ลัง

www.buddhadassa.in.th


ความรูสึกของมนุษยตอปญหาทางศีลธรรม

๑๔๗

บ า คลั่ ง ; นี้ ค วามคิ ด แก ไ ขก็ ไ ม มี ถ า มี ก็ พู ด อย า งละเมอเพ อ ฝ น เอามาพู ด กั น แต เรื่องยุงยากแปลก ๆ ตอไปขางหนาจะยิ่งกวานี้. แ ต ถ  า ยิ ่ ง ย อ น ไ ป ถ อ ย ห ลั ง ถ อ ย ห ลั ง ไ ป ท า ง ห ลั ง ไ ก ล อ อ ก ไ ป เทา ไร ยิ ่ง พบคํ า วา "ศีล ธรรม" มากขึ ้น ; ถา ขืน ถอยหลัง ตอ ไปอีก ก็อ าจจะ ไมพ บ คํ า พูด ตัว หนัง สือ เกี ่ย วกับ ศีล ธรรม แตจ ะไปพบตัว จริง ยิ ่ง ขึ ้น ไปอีก ; คือ ตัว จริง ของศีล ธรรม ที ่ม ีอ ยู ที ่เ นื ้อ ที ่ต ัว ของมนุษ ยเ หลา นั ้น ยิ ่ง ขึ ้น ไปอีก . ถ า เป น อย า งนี้ แ ล ว แม จ ะไม มี คํ า ในหน า กระดาษก็ ไ ม เ ป น ไร เพราะไปมี ศี ล ธรรม อยู ที ่เ นื ้อ ที ่ต ัว ของคน.ตอ มาศีล ธรรมมาอยู ที ่ใ นกระดาษเปน สว นมาก แลว ต อ มามั น หายไป ๆ จนบั ด นี้ มั น ก็ ห าทํ า ยายาก สํ า หรั บ คํ า ว า ศี ล ธรรมในหน า กระดาษหนังสือ. ความรู ส ึก ของมนุษ ยต อ เรื ่อ งของศีล ธรรม มัน นอ ยไปเพราะไม สนใจ; เพราะฉะนั้ น มั น จึ ง แก ป ญ หาความทุ ก ข ย ากลํ า บากของมนุ ษ ย นั้ น ไม ไ ด เพราะตน เหตุม ัน มาจากความไรศ ีล ธรรม จะไปแกป ญ หาอัน นี ้ โดยไมส นใจที่ จะทํ า ใหม ีศ ีล ธรรม มัน ก็แ กไ มไ ด; ปากก็พ ูด วา แกไ ด อยา งนั ้น อยา งนี ้ นั ้น ก็เ ปน แตก ารแกที ่ป าก ที ่ต ัว หนัง สือ ; พูด โดยตรงแลว คือ แกก ัน ที ่ป ลายเหตุ ฉะนั้นจึงขอชักชวนใหสนใจ ตอเรื่องศีลธรรมนี้ ใหยิ่งขึ้นไป.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org .…

....

….

.…

วั น นี ้ ก ็ ด ู ก ั น ถึ ง สิ ่ ง ที ่ น  า เ ศ ร า ที ่ ส ุ ด น า ส ล ด สั ง เ ว ช ที ่ ส ุ ด ห รื อ ที่ นา กลัว นา หวาดเสีย วที ่ส ุด ของมนุษ ย คือ ความที ่ม นุษ ยไ มม ีค วามรู ส ึก ตอ สิ ่ง นี้ แลว ยัง ดัน ทุร ัง ไปดว ยความไมเ ห็น ความสํ า คัญ ของสิ ่ง ที ่เ รีย กวา ศีล ธรรมนั ้น ;

www.buddhadassa.in.th


๑๔๘

อริยศีลธรรม

ฉะนั้ น ในตอนแรกนี้ จะขอฟ น เอาเรื่ อ งข อ เท็ จ จริ ง เกี่ ย วกั บ ศี ล ธรรมมาพู ด กั น อี ก มันไมซ้ํากันมากเกินไป แตจะขยายความออกไป ถึงสิ่งที่ยังไมไดมองเห็น. ข อ แ ร ก ก็ จ ะ พู ด ว า วิ ก ฤ ติ ก า ร ณ ท ุ ก อ ย า ง คื อ ผ ล ข อ ง ก า ร ไม มี ศี ล ธรรม ซึ่ ง เป น มาตั้ ง แต ยุ ค ดึ ก ดํ า บรรพ ไม ว า จะเป น ทางวั ต ถุ ล ว น ๆ หรื อ เปนทางรางกาย หรือเปนทางจิต กระทั่งสติปญญา ทางวิญญาณ. คํ า ว า "วิ ก ฤติ ก ารณ " นี้ เป น คํ า ที่ ป ระหยั ด เวลาที่ สุ ด เมื่ อ พู ด ว า วิก ฤติก ารณแ ลว ก็ห มายความวา ความยุ ง ยาก ลํ า บาก ระส่ํ า ระสาย ทนทุ ก ข ท รมาน หาความผาสุ ก มิ ไ ด เป น ความทุ ก ข ก ระทั ่ ง เจี ย นตายไป ทีเดียว; อยางนี้รวมเรียกดวยคํา ๆ เดียวสั้น ๆ วา วิกฤติการณ. วิ ก ฤติ ก ารณ ทุ ก อย า งนี้ มั น คื อ ผลของการไม มี ศี ล ธรรมของมนุ ษ ย แลว ก็เ ปน มาแตย ุค ดึก ดํ า บรรพ คือ เมื ่อ เริ ่ม มีม นุษ ยขึ ้น มาในโลกนี ้. มนุษ ย ดึก ดํ า บรรพก ็ไ มไ ดรู อ ะไรนัก แตธ รรมชาติม ัน ก็ไ มย อมฟง เสีย ง; ถา มนุษ ย ทํ า ไปในลัก ษณะที ่เ ราเห็น กัน อยู แ ลว วา เปน การผิด ศีล ธรรมแลว ก็ต อ งเปน ทุก ขท ัน ที. แมว า มนุษ ยใ นยุค แรก ๆ ยัง คลา ย ๆ กับ สัต วอ ยู  ยัง ทํ า ความชั ่ว อะไรไมเ ปน เพราะไมม ีส ติป ญ ญา ไมม ีค วามคิด มัน ก็ย ัง ไมม ีป ญ หา; พอมี การกระทํ า ที ่ เ ป น ความเห็ น แก ต ั ว ก็ ผ ิ ด ศี ล ธรรมขึ ้ น มา โดยที ่ เ ขาไม รู ว า นี ้ ผ ิ ด ศี ล ธรรม. แต ม ั น แสดงออกมาเป น ความทุ ก ข ควา มวุ  น วาย ใน สัง คมนั ้น คนก็ดิ ้น รนแกไ ข; จนพบวา อา ว, ตอ งทํ า อยา งนี ้ ๆ; จึง เกิด เปน ระบบศีลธรรมบัญญัติกันขึ้นมา ใหทํากันเสียใหม อยาใหผิด.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


ความรูสึกของมนุษยตอปญหาทางศีลธรรม

๑๔๙

ระบบศีลธรรมมันบังคับมนุษย ใหแตงตั้งกันขึ้นมา : เมื่ออยู ไมเปนผาสุก คนก็ดิ้นรนที่จะแกไข, พบระบบที่ถูกตอง ก็ตั้งตนได, ตั้งขึ้นไว แลวรักษากันไว เปนระบบหนึ่ง ๆ . ฉะนั้นความทุกขยากลําบาก ที่ไมพึงปรารถนา ใด ๆ นั้น คือผลของการที่ไมมีศีลธรรม หรือวาไรศีลธรรม โดยรูสึกตัวก็ได โดยไมรูสึกตัวก็ได. แมใน ทางวัตถุ ถาเกิดปญหาขึ้น นั่นก็เพราะทําผิด ศีลธรรม อยางใดอยางหนึ่ง ซึ่งเปนการทําลายวัตถุมากเกินไป. ในทางเนื้อหนัง วารางกายของคนเรานี้ ถาเกิดความเจ็บปวด ไมสบาย เปนโทษเปนทุกขอะไรขึ้นมา ก็ตองใหรูเถอะวา ไดทําผิดระบบของศีลธรรมของธรรมชาติที่เกี่ยวกับรางกาย ลวน ๆ เขาแลว: ตองไปปรับปรุงเสียใหม เปลี่ยนเสียใหม แกไขเสียใหม ความวิปริตทางกายก็จะไดหายไป. ทีนี้ ทางจิต นี่ ซึ่งเปนของไวมาก แลวก็กาวหนาเปลี่ยนแปลง มาก มันมีโอกาสที่จะมีปญหาไดมาก มีวิกฤติการณไดมาก ทุกขรอนไดมาก; ก็เรียกวา ผิดปรกติของธรรมชาติ ในแงของศีลธรรม เมื่อตั้งจิตไวผิด ก็เปนจิตที่เรารอน หรือเปนทุกข. ดังมีคาํ ในทางศาสนา ซึ่งบัญญัติไว เปนคําพิเศษคําหนึ่ง เรียกวา "การตั้งจิตไวใหถูกตอง, ดํารงจิตไวใหถูกตอง" นั่นแหละขอใหสนใจจําไปคิด ไปพิจารณาดูใหดี ๆ : เราโงก็ตาม หรือวามีอะไร ตั้งจิตไวผิด มันก็เปนไฟขึ้นมาทันที แลวไฟ มายั่วยวนอยางไรก็ตาม; นั้นก็มีหลายอยาง จําแนกเปน โลภะ โทสะ โมหะอะไรก็ได เพราะความ ตั้งจิตไวผิด.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


๑๕๐

อริยศีลธรรม

เ มื ่ อ ผิ ด ป ร ก ติ เ ร า เ รี ย ก ว า ผิ ด ศี ล ธ ร ร ม ก ร ะ ทั ่ ง ศี ล ธ ร ร ม ของธรรมชาติ ข อ นี้ อ ย า ลื ม เสี ย ; เพราะว า ที่ อื่ น เขาคงไม พู ด . อาตมาก็ พู ด บ า ๆ บอ ๆ ไปคนเดีย ว วา สีล ะคือ ปรกติ ถา ไมป กติแ ลว ก็ไ มม ีส ีล ะ แลว ก็ใ ชไ ดแ ม แกว ัต ถุที ่ไ มม ีช ีว ิต จิต ใจ เมื ่อ มัน ไมอ ยู เ ปน ปรกติ ก็เ รีย กวา มัน ไมม ีส ีล ะ, เมื ่อ มันผิดปรกติของความสงบเรียบรอยละก็ เรียกวามันไมมีสีละ, สีละคือความปรกติ. ที นี ้ จิ ต เ ป น ข อ ง เ ร็ ว ไ ว ก ว า สิ ่ ง ใ ด ก า ร ที ่ ม ั น จ ะ ผิ ด ป ร ก ติ ก็ มี ไ ด ง า ย. ร า งกายนี้ ก ว า จะเปลี่ ย นแปลงสั ก หน อ ย เกื อ บจะสั ง เกตไม เ ห็ น ; ส ว น จิ ต นี้ เ ปลี่ ย นแปลงได เ ร็ ว เหมื อ นกั บ สายฟ า แลบ. ดั ง นั้ น มั น จึ ง ง า ยที่ จ ะเปลี่ ย นไปใน สภาพที่ ไ ม ป รกติ คื อ ไร ศี ล ธรรม, แล ว ก็ เ ป น ทุ ก ข เ ดื อ ดร อ นขึ้ น มา นี้ เ รี ย กว า ทาง จิตมันไรศีลธรรม. ทีนี ้ท า ง วิญ ญ า ณ ซึ ่ง เ ปน คํ า ใ ห มเ ห มือ น กัน ; เ ร า ตอ ง ตั ้ง ขึ ้น เพราะว า เขามาแย ง เอาคํ า ว า จิ ต ไปใช เ สี ย อย า งโน น แล ว . เราไม มี คํ า ว า จิ ต ที่ จ ะมา ใ ช ใ น ท า ง ส ติ ป  ญ ญ า ก็ ต  อ ง เ อ า คํ า ว า วิ ญ ญ า ณ นี ้ ม า ใ ช แ ท น ไ ป ที ก  อ น ; สติ ป ญ ญา ความนึ ก คิ ด เหตุ ผ ลแห ง ความเชื่ อ อะไรของมนุ ษ ย นี้ มั น อยู ใ นเรื่ อ ง ของสติ ป ญ ญา. เดี๋ ย วนี้ ก็ ไ ร ศี ล ธรรม คื อ มั น ผิ ด ปรกติ มั น มี ค วามคิ ด ที่ อุ ต ริ ผิ ด ปรกติไป เปนเหตุผลที่ผิดปรกติ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เชน ความนิย มในโลกนี ้ ในเวลานี ้ เกี ่ย วกับ ความสุข ความ ทุก ข ความดีค วามชั ่ว ความผิด ความถูก เปน ตน นั ้น เปลี ่ย นแปลงหมด เกือ บจะเรีย กไดว า หนา มือ เปน หลัง มือ ; ไปบูช าสิ ่ง ที ่เ ปน ศัต รูข องมนุษ ย. คิด ดูเ ถอะ สติป ญ ญาของมนุษ ยเ วลานี ้ ไปบูช าสิ ่ง ที ่เ ปน ศัต รูข องมนุษ ย

www.buddhadassa.in.th


ความรูสึกของมนุษยตอปญหาทางศีลธรรม

๑๕๑

นั่ น เอง โดยไม ม องเห็ น , อย า งนี้ เ รี ย กว า ศี ล ธรรมของสติ ป ญ ญามั น เสี ย ไปแล ว . ฉะนั้ น จึ ง มี ท างที่ จ ะเสี ย ศี ล ธรรม คื อ ความปรกติ ได ทั้ ง ทางวั ต ถุ ทั้ ง ทางร า งกาย ทั้งทางจิต และทั้งทางวิญญาณ คือทางสติปญญา. ฉะนั ้น ขอใหถ ือ เปน หลัก ที ่เ ด็ด ขาด ไวอ ยา งหนึ ่ง เลยวา วิก ฤติก า ร ณ ทั ้ ง ห ล า ย คื อ ผ ล ข อ ง ก า ร ไ ร ศ ี ล ธ ร ร ม ; แ ม จ ะ เ กิ ด ขึ ้ น ใ น บ า น เ รื อ น เล็ก ๆ ในหอ งครัว ของบา นเรือ นหนึ ่ง ก็ใ หรู เ ถอะวา มัน ตอ งมีก ารผิด ศีล ธรรม อั น ใดอั น หนึ่ ง เกิ ด ขึ้ น แล ว ในครั ว นั้ น เอง จึ ง เกิ ด วิ ก ฤติ ก ารณ อ ย า งใดอย า งหนึ่ ง ขึ้ น ในครัว . แมใ นโลกทั ้ง โลกก็เ หมือ นกัน . นี ่เ ปน ขอ เท็จ จริง ที ่เ กี ่ย วกับ ศีล ธรรม แตมนุษยไมรูสึก เรียกวามนุษยไมมีความรูสึกตอปญหาทางศีลธรรมในแงนี้. ขอ ที ่ส อง ขอ เท็จ จริง ขอ ตอ ไป ที ่จ ะขอ ย้ํ า ไวอ ีก ก็ว า การมี ศีลธรรมนั้นเปนความตองการของธรรมชาติ;

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี ้ก ็ไ มม ีใ ครเชื ่อ กี ่ค น เพราะมัน ลึก เกิน ไปถึง ความตอ งการของ ธรรมชาติ . แต เ พราะเหตุ ที่ ไ ม ย อมมองข อ นี้ ไม ย อมเชื่ อ ข อ นี้ จึ ง มองศี ล ธรรม อย า งผิ ว เผิ น , มองสิ่ ง ที่ เ รี ย กว า ศี ล ธรรมอย า งที่ ไ ม มี ค วามสํ า คั ญ อะไรนั ก . อยาก จะใหม องกัน เสีย ใหมว า ความมีศ ีล ธรรมนั ่น แหละคือ ความตอ งการของ ธรรมชาติ; ลองทํ า ใหผ ิด ความตอ งการของธรรมชาติ อะไรจะเกิด ขึ ้น มัน ก็ คื อความวิ นาศในทุ กระดั บ คื อวิ นาศทางวั ตถุ วิ นาศทางกาย วิ นาศทางจิ ต วิ นาศ ทางวิญ ญาณอีก เหมือ นกัน . เพราะธรรมชาติแ ท ๆ มัน ตอ งการความปรกติ ความถู ก ต อ ง เรี ย กว า มั น ต อ งการศี ล ธรรม; พอผิ ด ปรกติ มั น ก็ ต อ งเกิ ด การกระทบ กระทั ่ง การทํ า ลายลา ง การอะไรขึ ้น มา. นั ่น มัน อยู ส ว นลึก ที ่ค นไมม องตามลง

www.buddhadassa.in.th


๑๕๒

อริยศีลธรรม

ไป ว า ธรรมชาติ มั น ต อ งการ. เรามองแต เ พี ย งว า "เราต อ งการ" ; ฉะนั้ น เรา ตองการอะไร อันนั้นแหละเลยเปนการถูกตองของเรา. เ ดี ๋ ย ว นี ้ ค น ห ร ื อ ส ั ง ค ม ข อ ง ค น นี ้ ไ ม  ต  อ ง ก า ร ศ ี ล ธ ร ร ม ต  อ ง การจะไดเ ทา นั ้น แหละ; คนตอ งการจะได ไมต อ งการศีล ธรรม เลยไมต อ งรู ว า ไดนี ้ม ัน ผิด ศีล ธรรม หรือ มัน ถูก ศีล ธรรม ก็ไ มต อ งรู  "ฉัน ตอ งการจะได เพราะวา ฉัน ไมไ ดต อ งการศีล ธรรม". แตธ รรมชาติม ัน ไมย อม; ฉะนั ้น จนกวา ธรรมชาติจะลงโทษ ใหสาสม คนจึงจะเหลียวดูขอนี้. อยา งเดี ๋ย วนี ้ใ นบา นเมือ งเรา ในโลกของเรานี ้ ยัง ไมย อมมองดู ขอ เท็จ จริง ขอ นี ้ : มองเตลิด เปด เปง ไปแตใ นเรื ่อ งผิว เผิน ที ่เ ปน ปลายเหตุ, ไมม องที ่ต น เหตุ. การที ่เ ราไมส นใจศีล ธรรม มีค วามไรศ ีล ธรรมนี ้ มัน เปน ก า ร ร บ ร า ฆ า ฟ น กั น กั บ ธ ร ร ม ช า ติ ; เ ร า ค ง สู  ไ ม ไ ห ว . ฉ ะ นั ้ น ใ ค ร ๆ อ ย า อวดดี ที ่ว า จะสู ร บกับ ธรรมชาติใ หช นะได นี ้ไ มม ีห วัง ; อุต สา หทํ า ความ เข า ใจเกี่ ย วกั บ ธรรมชาติ ข อ นี้ กั น เสี ย ดี ก ว า . มองให ลึ ก ว า ธรรมชาติ มั น ต อ งการ ความถู ก ต อ ง, ความปรกติ อ ะไรต า ง ๆ; แล ว ก็ พ ยายามที่ จ ะทํ า ให มั น เข า รู ป เข า รอยกัน เปน มนุษ ยก ัน เสีย บา ง คือ มีจ ิต ใจสูง กัน เสีย บา ง. อยา เปน แคค น-คน, สั ก ว า เกิ ด มา - สั ก ว า เกิ ด มา, ก ม หน า ก ม ตามองดู แ ต ป ากแต ท อ ง แต เ รื่ อ งของ ปากของทอง เรื่องกินเรื่องได นี้มันไมพอ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถ า ม นุ ษ ย ม อ ง เ ห ็ น ข อ เ ท็ จ จ ริ ง ข อ นี ้ ว า ค ว า ม ม ี ศ ี ล ธ ร ร ม นั ้ น ธรรมชาติต อ งการ นี ่เ ราจะรู ส ึก ตอ สิ ่ง ที ่เ รีย กวา ศีล ธรรม ดีก วา ที ่กํ า ลัง รู ส ึก อยู เดี ๋ย วนี ้; แตนี ่เ รามัน รู ส ึก เหมือ นกับ คนโงที ่ส ุด แลว ก็ห ลับ ตาเสีย อีก แลว ก็เ สพ

www.buddhadassa.in.th


ความรูสึกของมนุษยตอปญหาทางศีลธรรม

๑๕๓

ของมึน เมาเสีย อีก แลว มัน จะถูก ตอ งไดอ ยา งไร. ถา รู ว า ความมีศ ีล ธรรม เ ป น ที ่ ต  อ ง ก า ร ข อ ง ธ ร ร ม ช า ติ ล ะ ก็ จ ะ รู  ส ึ ก เ ห มื อ น กั บ ว า ค ว า ม ต อ ง ก า ร ของพระเปน เจา ; ฉะนั ้น เราจะฝน ความตอ งการของพระเปน เจา ไปไมไ ด. ถา เราอยากจะไดอ ะไร ก็ต อ งนึก ถึง ศีล ธรรมกอ น ถา ผิด ศีล ธรรม ก็ต อ งรบกัน กับธรรมชาติ แลวเราก็สูธรรมชาติไมได. คํ า ว า " ธ ร ร ม ช า ติ " นี ้ ก ว า ง เ กิ น ก ว า ที ่ จ ะ แ ส ด ง ตั ว ใ ห เ ห็ น เหมื อ นกั บ วั ต ถุ ; แ ต แ ล ว ธ รร ม ช าติ ก ็ ค ื อ ทุ ก สิ ่ ง นั ้ น แ ห ล ะ เ ป น ธ ร ร ม ช า ติ . การที ่เ ราจะรบกับ ธรรมชาติ คือ รบกับ ทุก สิ ่ง ซึ ่ง มัน ตรงกัน ขา ม ก็ไ มมี ทางที่จะเปนไปได. ข อ ที ่ ส า ม ข อ เ ท็ จ จ ริ ง ที ่ ถ ั ด ไ ป อี ก ก็ อ ย า ก จ ะ พู ด ว า ค ว า ม ไ ม ม ี ศ ี ล ธ ร ร ม มี ไ ด แ ม จ า ก ค ว า ม โ ง ค ว า ม ไ ม ป ร ะ สี ป ร ะ ส า ค ว า ม บริสุทธิ์ใจ นี่แหละ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ที ่เ ขาเรีย กวา ชื ่อ หรือ เซอ ก็เ ปน เหตุใ หไ มม ีศ ีล ธรรมไดเ หมือ นกัน จะเรี ย กให ชั ด หน อ ย ก็ ต อ งเรี ย กว า ความโง หรื อ ความไม รู . แต เ มื่ อ ไปทํ า ผิ ด เข า มั น ก็ ไ ม ม ี ใ ค ร ย ก เ ว น ; เ พ ร า ะ ศี ล ธ ร ร ม เ ป น ธ ร ร ม ช า ติ เ ป น ก ฎ ข อ ง ธรรมชาติ มากเกิน ไป ที ่จ ะยกเวน พิเ ศษ วา คนนี ้ม ัน โงม ัน ไมรู . เพราะวา แม แ ต ใ นหลั ก ของกฎหมายในหมู ม นุ ษ ย ใ นโลกนี้ เ ขาก็ ไ ม ย อม; ใคร ๆ ก็ รู แ ล ว คื อ ใครจะแก ตั ว ว า การทํ า ผิ ด นี้ ทํ า เพราะไม รู ก ฎหมาย อย า งนี้ เ ขาไม ย อม เป น เรื่ อ ง คนบัญ ญัต ิแ ท ๆ เขาก็ย ัง ไมย อม; เรื ่อ งธรรมชาติ มัน ยิ ่ง เฉีย บขาดกวา นั ้น มัน จริ ง จั ง หรื อ มั น ยุ ติ ธ รรมกว า นั้ น . เพราะฉะนั้ น คนจะไม มี ศี ล ธรรมเพราะความโง

www.buddhadassa.in.th


๑๕๔

อริยศีลธรรม

เพราะความไม รู นี้ จะแก ตั ว ไม ไ ด ; ก็ ต อ งจั ด เป น การทํ า ผิ ด แล ว ก็ ต อ งได รั บ โทษ เต็มที่เหมือนกัน. โ ด ย ทั ่ ว ไ ป ที ่ เ ป น อ ย า ง ดี ก็ จ ะ พู ด ว า เ ร า ไ ม ม ี ศ ี ล ธ ร ร ม เพราะเผลอไปบ า ง เพราะบั น ดาลโทสะไปบ า ง กว า จะไปถึ ง เพราะความโลภ เพราะความหลง มั น ก็ ยั ง ไกล; แม ก ระนั้ น ก็ เ รี ย กว า ผิ ด แน . เดี๋ ย วนี้ เ พราะว า เรา เผลอไป หรือ เพราะเราเกิด บัน ดาลโทสะชั ่ว คราว อยา งนี ้ก ็ค วรจะไดร ับ อภัย ; แตธ รรมชาติก ็ไ มย อม แมไ มรู เ ลย เปน คนโงไ มรู เ ลย ก็ไ มย อม. ฉะนั ้น ขอให ถื อ เป น หลั ก ไว เ สี ย เลยว า อย า ไปหวั ง ที่ จ ะพึ่ ง ข อ แก ตั ว ว า ข า พเจ า ไม รู หรื อ ข า พเจ า เผลอไป; เผลอไปก็คือไมรู คือโมหะชนิดหนึ่งดวยเหมือนกัน. ห ลั ก ใ น พุ ท ธ ศ า ส น า ก็ เ ป น ที ่ ย อ ม รั บ กั น ว า ทํ า บ า ป เ พ ร า ะ โหมะเพราะหลง ปาปานิ กมฺ ม านิ กโรนฺ ติ โมหา - สั ต ว ทั้ ง หลายกระทํ า ซึ่ ง กรรมอั น เ ป น บ า ป เ พ ร า ะ โ ม ห ะ . โ ม ห ะ เ ป น เ จ ต น า ท า ง ม โ น ก ร ร ม ข อ ง ความโง ; จะถื อ ว า โมหะแล ว ไม ไ ด เ จตนา อย า งนี้ ก็ ไ ม ไ ด มั น เป น มโนกรรม อันหนึ่ง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถา เ รีย ก วา โ ม ห ะ แ ลว ก็ต อ ง ย อ ม รับ วา เ ปน กิเ ล ส ที ่ป ร ะ ก อ บ ไปดว ยเจตนา; แตเ ปน เจตนา ทางมโนกรรม แลว ดว ยอํ า นาจของความโง ใหทํ า ลงไป นี ้ก ็เ ปน กิเ ล สเต็ม ที ่ เปน ความผิด เต็ม ที ่ วา คนทั ้ง ปวงทํ า บาป เพราะโมหะนี้ มั น ก็ ถู ก ที่ สุ ด . บางที ก็ จ ะแก ตั ว ว า เพราะบั น ดาลโทสะ หรื อ เพราะ โลภะก็ฟ ง ได ตามตัว หนัง สือ ก็ฟ ง ได; แตด ูไ ปถึง เนื ้อ แทแ ลว มัน ก็ค ือ โมหะ ชนิด หนึ ่ง . เรื ่อ งไมรู  เรื ่อ งเผลอ เรื ่อ งบัน ดาลโทสะ เรื ่อ งไปอยากในสิ ่ง ที ่ผ ิด

www.buddhadassa.in.th


ความรูสึกของมนุษยตอปญหาทางศีลธรรม

๑๕๕

ทํ า นองคลองธรรม ต อ งเรี ย กจั ด เป น โมหะได ทั้ ง นั้ น , นี่ จึ ง พู ด แต เ พี ย งว า ทํ า บาป ทั้งปวงเพราะโมหะ นี้ก็พอแลว : มันจะรวมอะไรไวหมดทุกอยาง. เมื่ อ ความไม มี ศี ล ธรรมมั ก มี ไ ด แม จ ากความไม รู หรื อ จากความ เผลอ เราก็ต อ งรู ส ึก ตอ งใหค วามรู ส ึก ตอ สิ ่ง นี ้ใ หม ากขึ ้น : เพราะมัน งา ย นิ ด เดี ย วที่ จ ะทํ า บาปเมื่ อ ไม รู แ ละเผลอ; ฉะนั้ น ต อ งเอามาทํ า ให เ ป น ของที่ ต อ งรู สึ ก รู จ ัก หรือ รับ ผิด ชอบอยา งยิ ่ง . ถา รู ส ึก ตอ ปญ หาทางศีล ธรรมถึง ขนาดนี ้ โลกนี้ ก็จะดีขึ้น หรือมนุษยก็จะดีขึ้น คือจะมีความเสื่อมศีลธรรมนอยลง. ข อ ที ่ สี ่ ข อ เ ท็ จ จ ริ ง ที ่ ร  า ย แ ร ง อี ก ข อ ห นึ ่ ง ที ่ จ ะ แ น ะ ใ ห ส ั ง เ ก ต ใหเ ห็น และใหรู ส ึก ก็ค ือ การเสีย ชาติ หรือ สูญ ชาติท างศีล ธรรม : นี ้ร า ย ยิ่งวาสูญชาติทางการเมืองเปนตน. ทุ ก ค น ก็ ม อ ง เ ห็ น อ ยู  แ ล ว ว า เ ร า ก ลั ว เ สี ย ช า ติ ห รื อ สู ญ ช า ติ , ชาติไ ทยนี ่; ก็ป ลุก ป น กัน ในเรื ่อ งนี ้ ใหร อ งเพลงซ้ํ า ๆ ซาก ๆ อยู แ ตเ รื ่อ งอยา ให มั นเสี ยชาติ ให สู กั นจนตายว าไม ให สู ญชาติ , แล วเป นเรื่ องใหญ โตทั้ งหมดของชาติ . แตล ืม มอ งไปวา ความ เสีย ช า ติห รือ สูญ ช า ติท า ง ศีล ธรร มนั ้น ยัง รา ย ไ ป กวา นั ้น อีก ; แตแ ลว ก็ไ มม ีใ ครรอ งเพลงใหเ ลย หรือ ไมป ลุก ใจวา อยา เสียชาติทางศีลธรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตัว อยา ง งา ย ๆ เชน ไปตามกน ฝรั ่ง ไปถือ วัฒ นธรรมฝรั ่ง คือ มีศ ีล ธรรมอยา งแบบนั ้น เขา มัน ก็เ สีย ชาติไ ทย สูญ ชาติไ ทย เสีย ชาติพ ุท ธบริษ ัท ,

www.buddhadassa.in.th


๑๕๖

อริยศีลธรรม

สู ญ ชาติ พุ ท ธบริ ษั ท ไปอย า งหมดเนื้ อ หมดตั ว . นี้ มั น ยิ่ ง กว า เสี ย ชาติ ท างการเมื อ ง เสียอีก. ไปคิ ด ดู เ ถอ ะ เพราะว า เราจะอยู  โ ด ย ไ ม ม ี ค วามสุ ข เ ลย ถ า ไปเสีย ชาติท างศีล ธรรมเขา แลว ; เสีย ชาติท างการเมือ งนั ้น มัน ยัง แกไ ขได ปด เป าได ตายดาบหนา ได ยั ง มี ก ารต อ สู ไ ด . แตเ ดี๋ ย วนี้ยั ง มี ขอ เท็ จจริ ง ที่ซั บ ซ อ น ที่ว า เมื่อมีการเสียชาติทางการเมื องนั้น มั นมี การเสี ยชาติ ทางศี ลธรรมบวกเขาไป ดว ย เปน สองเสีย . ถา วา เราเกิด แยกกัน ได หรือ วา เราจะแยกกัน ดู เราจะเห็น ไ ด ว  า เ สี ย ช า ติ ห รื อ สู ญ ช า ติ ก ็ ต า ม ใ น ท า ง ศี ล ธ ร ร ม นั ้ น มั น ร า ย ก า จ ยิ ่ ง กว า ทางการเมื อ งเป น ต น ; แล ว ทํ า ไมเราไม ก ลั ว ให ม ั น มากกว า ที ่ จ ะ เสียชาติหรือสูญชาติทางการเมือง. ถา จะไปเปน ขี ้ข า ของประเทศนั ้น ประเทศนี ้ ประเทศโนน เราก็ กลัว จนเรีย กวา สุด ที ่จ ะกลัว ได; แตค วามเสีย ชาติ สูญ เสีย ชาติที ่ยิ ่ง กวา นั ้น กลั บ ไม ก ลั ว , คื อ เสี ย ชาติ ท างศี ล ธรรม เสี ย ชาติ แ ห ง ความเป น มนุ ษ ย เสีย ชาติแ หง บุค คลที ่จ ะเปน อริย ะ เสีย ชาติแ หง ความเปน บุค คลที ่จ ะไมมี ความทุกข เหมือนกับวาชีวิตอยูก็ไมมีประโยชนอะไร.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถา สมมติว า เสีย ชาติท างการเมือ ง แตว า ทางศีล ธรรมยัง ดีอ ยู นี้เรียกวาไมเสียก็ได หรือไมเ ทาไรจะกู กลับมาก็ได เปนคนไมตองเสียชาติในทาง การเมื อ งอี ก ; ถ า เสี ย ชาติ ท างศี ล ธรรมแล ว มั น เสี ย หมดเลย เสี ย ทุ ก อย า งทุ ก ประการ เสีย ชาติท างศีล ธรรมนี ้ มัน รา ยกวา เสีย ชาติท างการเมือ งเปน ตน . นี ้ก็

www.buddhadassa.in.th


ความรูสึกของมนุษยตอปญหาทางศีลธรรม

๑๕๗

เปน ขอ เท็จ จริง ; แลว มนุษ ยเ รารู ส ึก อยา งนี ้ก ัน หรือ เปลา รู ส ึก วา นี ่ค ือ ความ เสียหายที่รายกาจที่สุดกันหรือไม? ฉะนั ้น ขอ เท็จ จริง เหลา นี ้ มัน เกี ่ย วกัน อยู ก ับ ศีล ธรรมทั ้ง นั ้น ถา เรา ไมรูสึกก็ไมรูสึก เมื่อไมรูสึกก็แกปญหาอะไรไมได ขอใหคิดดูใหดี. การบรรยายจํ า เปน ตอ งจบ เพราะฝนตก สถานที ่บ รรยายอยู ใ ต ตนไม ไมมีเครื่องมุงบัง. ---------------

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรม -๖๑๐ สิงหาคม ๒๕๑๗

ความรู สึ ก ของมนุ ษ ย ต อ ป ญ หาทางศี ล ธรรม (ต อ )

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทานสาธุชน ผูมีความสนใจในธรรม ทั้งหลาย,

ก า ร บ ร ร ย า ย ป ร ะ จํ า วั น เ ส า ร เ รื ่ อ ง อ ริ ย ศี ล ธ ร ร ม เ ป น ค รั ้ ง ที ่ ๖ ใ น วั น นี ้ อ า ต ม า จ ะ ไ ด ก ล า ว โ ด ย หั ว ข อ ว า ค ว า ม รู  ส ึ ก ข อ ง ม นุ ษ ย ต อ ป ญ ห า ท า ง ศี ล ธ ร ร ม เ ป น หั ว ข อ ที ่ ซ้ํ า กั น อี ก ค รั ้ ง ห นึ ่ ง เนื ่ อ งจากครั ้ ง ที ่ แ ล ว มาฝนได ต กลงมาเสี ย ไม ท ั น จะบรรยายอะไรได ส ั ก กี ่ ม า ก น อ ย ดั ง นั ้ น วั น นี ้ จ ึ ง เ ป น ก า ร บ ร ร ย า ย ต อ โ ด ย หั ว ข อ นั ้ น ข อ ใ ห เขาใจตามนี้. ในครั้ ง ที่ แ ล ว มา ก็ ไ ด ใ ห หั ว ข อ เรื่ อ งว า "ความรู สึ ก ของมนุษย ตอปญหาทางศีลธรรม" :ทานตองฟงดูใหดี ๆ วา เรากําลังจะพูดถึง ๑๕๙

www.buddhadassa.in.th


๑๖๐

อริยศีลธรรม

"ความรู ส ึก ของมนุษ ยทั ้ง โลก ตอ ปญ หาตา ง ๆ ทางศีล ธรรม" หรือ ที ่เ กี ่ย วกับ ศีล ธรรม ซึ ่ง กํ า ลัง เปน ปญ หาอยู ใ นโลกนี ้; คือ วา ความรู ส ึก ของมนุษ ย ตอ ปญ หาทางศีล ธรรมนี ้ มัน ยัง มีป ญ หาขึ ้น มาอีก ชั ้น หนึ ่ง วา มนุษ ยม ีค วามรู ส ึก ตอ ปญ หาทางศีล ธรรมหรือ ไม? ถา วา มนุษ ยม ีค วามรู ส ึก หรือ กํ า ลัง รู ส ึก กัน อยู จ ริง ตอ ปญ หาตา งๆ ทางศีล ธรรมแลว ความรู ส ึก เหลา นั ้น เปน ความ รู ส ึก ที ่ถ ูก ตอ งหรือ ไม ? เพราะวา คนเราจะมีค วามรู ส ึก อยา งไร เทา ไรก็ไ ด มั น ไม จํ า เป น จะต อ งถู ก ต อ งก็ ไ ด . นี่ เ ราจะวิ นิ จ ฉั ย กั น ในข อ นี้ , อาตมาก็ จ ะได ก ล า ว ไปตามที่สังเกตเห็น ขอใหทําความเขาใจในเบื้องตนไวอยางนี้. อ า ต ม า อ ย า ก จ ะ ยืน ยัน วา ค ว า ม รู ส ึก ข อ ง ม นุษ ยส มัย นี ้ ตอ ปญ หาทางศีล ธรรมนั ้น ถา จะเรีย กวา ไมรู ส ึก เสีย เลย ยัง จะดีก วา คือ มนุษยสมัยนี้หลับหูหลับตา หรือเรียกวามันรูสึกผิด ๆ อยางที่ไมมีทางที่จะแกปญหา ได; ถา อยา งนี ้ก ็จ ะเรีย กวา ไมรู ส ึก เสีย เลย ยัง จะถูก ตอ งกวา , แมรู ส ึก ผิด อย า งไร มั นก็ ไ ม มี อ ะไร ที่ จะมายื น ยั น กั นซึ่ ง หน า นอกจากจะมองดู ไ ปที่ ว า โลกนี้ หรือมนุษยเรานี้กําลังเปนอยางไร. เดี๋ยวจะไดพูดกันโดยละเอียด. .… .... …. .…

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ที ่ เ ห ็ น ช ั ด อ ยู  อ ย า ง ห นึ ่ ง ก็ ค ื อ ว า พ ว ก เ ร า ไ ม  ม อ ง เ ห ็ น ว า มันเปนปญหาทางศีลธรรม.

มี อ ะไรเกิ ด ขึ้ นเป น วิ ก ฤติ ก ารณ วิ ก ฤติ ก ารณ เป น ความวิ น าศ ฉิ บ หาย วุ  น วายต า ง ๆ ในบ า นในเมื อ ง นี ้ ไ ม รู  ส ึ ก ว า เป น ป ญ หาทาง ศี ล ธ รรม ; ไป

www.buddhadassa.in.th


ความรูสึกของมนุษยตอปญหาทางศีลธรรม (ตอ)

๑๖๑

รูสึกเสีย วาเปน ปญหาทางเศรษฐกิจ ไมมี เงินใช บาง อะไรบา ง ไม รูหนั งสือ บา ง หลาย ๆ อยาง เปนปญหาทางการเมืองก็มี เปนปญหาทางสาธารณสุขก็มี มันจึง เดือ ดรอ น. ไมม องเลย วา ตน เหตุอ ัน แทจ ริง นั ้น เปน ปญ หาทางศีล ธรรม เพราะศีลธรรมเสื่อมหรือเสียหมด จึงเกิดปญหาทางเศรษฐกิจหรือการเมือง หรือ สาธารณสุ ข , หรื อ แม แ ต ว า ไม มี อ ะไรจะกิ น หรื อ ไม รู ห นั ง สื อ อย า งนี้ ขึ้ น มา เปนตน. นี ้ก ็แ ปลวา ไมไ ดรู ส ึก วา เปน ปญ หาทางศีล ธรรม แตเ ปน ปญ หา ทางอะไรตา ง ๆ. ถา ดูใ หด ีจ ะเห็น วา ปญ หาตา ง ๆ เกิด ขึ ้น มาและแกไ มไ ด ก็เ พราะวา ความเสื ่อ มเสีย ทางศีล ธรรม; ถา คนมีศ ีล ธรรมดี ปญ หาทาง เศรษฐกิ จ ก็ ไ ม มี ใ นโลก; นี้ คื อ คนไม เ อาเปรี ย บกั น หรื อ ขยั น ขั น แข็ ง มี เ มตตา กรุณาตอกัน; แลวปญหาทางเศรษฐกิจเปนตนนั้น มันจะเกิดขึ้นอยางไร. นี ่ข อใหร ะลึก ไวต ลอดเวลาวา ปญ หาในโลกนี ้ จะกี ่ส ิบ กี ่ร อ ย ป ญ หาก็ ต าม ขึ้ น อยู กั บ ป ญ หาทางศี ล ธรรม. ถ า มี ค วามถู ก ต อ งสมบู ร ณ ท าง ศี ล ธ ร ร ม แ ล ว ป ญ ห า เ ห ล า นั ้ น เ กิ ด ขึ ้ น ไ ม ไ ด , ห รื อ ว า ถ า มี ศ ี ล ธ ร ร ม ดี แ ล ว ก็ไ มม ีท างที ่จ ะเกิด ปญ หา. อยา งจะพูด ไดว า ใหค นทั ้ง โลกนี ้ไ มรู ห นัง สือ กัน เลย สัก คนเดีย ว แตถ า มีศ ีล ธรรมดีแ ลว ปญ หาก็ไ มม ี; มัน ไมม ีท างที ่จ ะฆา แกงกัน หรือเอาเปรียบกัน หรืออะไรตาง ๆ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เ ดี ๋ ย ว นี ้ ไ ม ม ี ใ ค ร ม อ ง เ ห็ น ป ญ ห า ท า ง ศี ล ธ ร ร ม ว า เ ป น ร า ก เหงา ตน เหตุแ หง ปญ หาทั ้ง ปวง, ไมห ยิบ ยกขึ ้น มาพิจ ารณาปรับ ปรุง แกไ ขเลย. คําวา "ศีลธรรม" นี้คอย ๆ หายไป จากปากของมนุษย หรือจากหนากระดาษ

www.buddhadassa.in.th


๑๖๒

อริยศีลธรรม

หนั ง สื อ พิ ม พ อะไรยิ่ ง ขึ้ น ทุ ก ที . ไปพู ด ป ญ หาอื่ น ซึ่ ง เป น ป ญ หาปลายเหตุ ทั้ ง นั้ น เต็ ม ไปหมด. นี่ สั น ติ ภ าพจึ ง เกิ ด ขึ้ น ไม ไ ด ใ นหมู ม นุ ษ ย สั น ติ ภ าพก็ ล ะลายลง ๆ ; ถึง อย างนั้ นคนก็ ไม คิ ดว า นี้ มั นเปนเหตุ ข องการเสื่อ มเสี ยศี ล ธรรม. ไปคิ ด อย างโง ที่ สุ ด ว า มั น ต อ งเป น อย า งนี้ เ อง : คื อ เราแก ป ญ หาทางเศรษฐกิ จ ไม ไ ด มั น ต อ ง เปนอยางนี้เอง, แกปญหาการเมืองไมได มันตองเปนอยางนี้เอง อยางนี้เปนตน. นี ่ ศ ี ล ธ ร ร ม ไ ม ม ี ใ ค ร นึ ก ถึ ง ; ถ า เ ป รี ย บ เ ป น ค น ก็ ค ล า ย ๆ ว า ศีลธรรมนี้ กํ าลั งได รับความอยุ ติธรรม หรื อได รั บความอกตั ญู ไม มีใครรูคุ ณของ ศีล ธรรม. โลกจึง อยู ใ นสภาพอยา งนี ้ คือ อยู ใ นสภาพเหมือ นกับ วา ถูก ลงโทษ, มีวิกฤติ การณ ระส่ํ าระสายเดือ ดรอ นทุ กหัวระแหง, มั นยิ่ งขึ้น ทุก ที – ยิ่ง ขึ้น ทุก ที ยิ่งขึ้นทุกที. นี้ก็เปนอันวาความอกตัญูของมนุษยตอศีลธรรมนั่นแหละ มันลงโทษ มนุษย, แลวความที่ศีลธรรม ไมไดรับความเปนธรรมจากมนุษย จึงเกิดผลอยางนี้ ขึ้นมา เปนการลงโทษมนุษย แลวมนุษยก็ไมรูสึกตัว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org .…

....

….

.…

หั ว ข อ ที ่ จ ะ พ ู ด ต อ ไ ป ก็ มี ว า ค ว า ม โ ง  ห รื อ อ ค ติ ที ่ ไ ม รู สึ ก ตั ว ของมนุ ษ ย เ รา ต อ สิ่ ง ที่ เ รี ย กว า ศี ล ธรรม.

ค ว า ม โ ง นี ้ จ ะ ต อ ง เ ป น สิ ่ ง ที ่ ไ ม ม ี ใ ค ร รู  ส ึ ก ตั ว ; ต า ม ป ร ก ติ แลว คนโงยากที่จะรูสึกตัววาตัวโง เพราะถารูสึกเสียแลวมันก็ไมโง. ฉะนั้น ถาโง มัน ก็เ รีย กวา ไมรู ส ึก ตัว ก็ไ ด; เมื ่อ ไมรู ส ึก ตัว มัน ก็ต อ งทํ า ผิด ๆ อยา งที่ เรียกวา อคติ.

www.buddhadassa.in.th


ความรูสึกของมนุษยตอปญหาทางศีลธรรม (ตอ)

๑๖๓

อคติ นี ้เ ราแปลกัน วา ลํ า เอีย ง ก็ถ ูก แลว โดยความหมายที ่ ๒ ที ่ ๓ ; แตถ า ความหมายที ่ ๑ ทีแ รก ตามตัว หนัง สือ แลว มัน ก็แ ปลวา ไป ไมถ ูก ทาง. คติ แปลวา ไป, อ แปลวา ไม, มัน ไมเ ปน การไปที ่ถ ูก ทาง; อยา งนี ้เ รีย กวา อคฺต ิ นั ้น แหละคือ ความโง ชนิด ที ่เ ปน อคติ ที ่เ ราไมรู ส ึก ตัว; แลวเราก็แกปญหาตาง ๆ แตที่ปลายเหตุ. ข อ ใ ห ฟ  ง ดู ใ ห ด ี ว  า มั น แ ก แ ต ที ่ ป ล า ย เ ห ตุ ม ั น แ ก ไ ม ไ ด ; เ พ ร า ะ ไม รู สึ ก ไม ต องละอาย, จึ งไม ละอาย. เดี๋ ยวนี้ ที่ มั วแก ป ญหาต าง ๆ กั นแต ปลายเหตุ แลว ไมทํ า ใหส ัน ติภ าพ เกิด ขึ ้น ในโลก โลกไมม ีใ ครรับ ผิด ชอบ, หรือ ไม มีใ ครละอาย. เรามาพู ด กั น ถึ ง ข อ นี้ จ ะเหมาะสม คื อ จะมี ป ระโยชน ที่ สุ ด สํ า หรั บ ปญหาทางศีลธรรม. ค ว า ม โ งเ ปน อ ค ติโ ด ย ไ มรู ส ึก ตัว ข อ ง ม นุษ ย ที ่เ กี ่ย ว กับ ปญ ห า ทางศีล ธรรมไดม ีอ ยู อ ยา งไร? พิจ ารณากัน ไปพอเปน ตัว อยา ง : เดี ๋ย วนี ้ป าก ของเราร อ งตะโกน ว า ต อ งการความสุ ข ต อ งการความผาสุ ก นี้ ไ ม มี ใ ครค า น มั น จริง อยา งนั ้น ; แตก ็ร อ งหาความผาสุก โดยไมเ คารพ ไมส นใจ ไมอ ยากจะมี ศีล ธรรม. เดี ๋ย วนี ้เ ราไมเ คารพศีล ธรรมโดยไมรู ส ึก ตัว เปน สว นใหญ ซึ ่ง มาจากไม ส นใจ แล ว ก็ ไ ม รู จั ก จึ ง ไม เ คารพสิ่ ง ที่ เ รี ย กว า ศี ล ธรรม ในฐานะเป น สิ่ ง ที่ จําเปนที่สุด ก็เลยไมอยากจะมีศีลธรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี ่เ รีย กวา พูด กัน ตรง ๆ แลว จะผิด หรือ จะถูก ก็ส ุด แท แลว ก็พ ูด กัน ตรง ๆ และไมเ กรงใจใครดว ย วา เดี ๋ย วนี ้ คนไมอ ยากจะมีศ ีล ธรรม; ถึง ทา นทั ้ง หลายที ่นั ่ง อยู ที ่นี ่ทั ้ง หมดนี ้ ก็ล องพิจ ารณาดูใ หด ีว า สนใจศีล ธรรม

www.buddhadassa.in.th


๑๖๔

อริยศีลธรรม

เทาไร, เคารพศีลธรรมเทาไร, อยากจะมีศีลธรรมเทาไร, หรือวามันลืมไปหมด มันเพอเจอไปหมด ในคําพูดที่เกี่ยวกับศีลธรรม มันไมมีความหมาย. แตเรา ตองการหาความสุข รองหาความสุข หวังความสุข พูดกันแตเรื่องจะไดรับความสุข; แตแ ลว ทุก คนก็ไ มส นใจศีล ธรรม ไมรูจัก ก็ไ มเ คารพศีล ธรรม; ฉะนั้น จะมี ศีล ธรรมไดอ ยา งไร : ที่แ ทก็คือ ไมอ ยากมีนั่น เอง. จริง หรือ เปลา ? แลว ก็ มองดูถึงที่อื่น ๆ แลวก็มองดูไปทั้งโลก; ถามองดูไปทั้งโลกจะยิ่งเห็นชัด เห็นชัด ในหมูคนที่กําลังเปนบาเปนหลัง ในเรื่องความเจริญทางวัตถุ กินดีอยูดี เอร็ดอรอย สนุก สนาน ซึ่ง เปน มากกวา ประเทศเราก็ไ ด. ถึง แมใ นประเทศเรานี้ ก็เ ปน ตา ง ๆ กัน หลายชั้น หลายระดับ แตวา เอีย งไปในทางที่ไมส นใจศีล ธรรม ไมเคารพศีลธรรม ไมอยากจะมีศีลธรรมยิ่งขึ้นนี่. นี่เ ปน ความโงห รือ เปน ความฉลาด ก็ล องคิด ดู, แลว เปน อคติที่ รู สึ ก ตั ว หรื อ ไม รู สึ ก ตั ว ลองคิ ด ดู . ต อ งการความผาสุ ก โดยไม ส นใจ ในสิ่ง ซึ่ง เปน ตน เหตุข องความผาสุก กลับ เหยีย บย่ํา ; เหยีย บย่ํา ไปเสีย อีก นี่เปนความโงหรือความฉลาด.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทีนี ้เ มื ่อ คนไมรู จ ัก ศีล ธรรม ซึ ่ง เปน ตน เหตุข องปญ หาทั ้ง หลาย ก็ มั ว แต แ ก ป ญ หาที่ ต รงปลายเหตุ มั น ก็ เ ป น เรื่ อ งไม สํา เร็ จ ; อย า งจะ สําเร็จมากที่สุด ก็เปนเหมือนกับการ "จับปูใสกระดง" เปนคําพูดไทย ๆ ฟงกัน ออกดีแลว มัน ก็สําเร็จเดี๋ยวเดียว "จับ ปูใสกระดง " แลว มันก็วิ่ง ออกเสีย อีก ; ที่เราแกปญหาตาง ๆ ในบานเมืองไมได เพราะไปมัวแกปญหาแตที่ปลายเหตุ.

www.buddhadassa.in.th


ความรูสึกของมนุษยตอปญหาทางศีลธรรม (ตอ)

๑๖๕

เ ดี ๋ ย ว นี ้ ค น จิ ต ท ร า ม ม า ก ขึ ้ น ; เ ห็ น แ ก ต ั ว ม า ก ขึ ้ น ทํ า ล า ย ผูอื่นไดงาย ๆ ; หรือวามีจิตทรามไปในทางกามารมณ เพราะมีเหยื่อที่ลอหลอกนั้น มากเกิน ไป. คนมีจ ิต ทรามนี ่ มีม ูล เหตุอ ีก หลายอยา งที ่ทํ า ใหจ ิต ทราม; แต รวมความแล ว คื อ ไปรวมอยู  ที ่ ค วามไม ม ี ศ ี ล ธรรม. หรื อ ว า เรามี โ รคจิ ต เพิ่ ม มากขึ้ น ข อ นี้ แ พทย ทั้ ง หลายรั บ รองได แล ว สถิ ติ ต า ง ๆ เขาก็ ป ระกาศออกมา โดยความจริ ง ไม ป ด บั ง ไม ห ลอกลวง; แม ใ นประเทศที่ มี ค วามเจริ ญ มาก เป น มหาประเทศ นํ าหน าคนอื่ น ก็ ยอมรั บว าโรคจิ ตมั นมี มากขึ้ นอย างไม เคยมี มาแต ก อน นี้ก็ตองเรียกวา อยูในพวกจิตทรามดวยเหมือนกัน. ส รุ ป แ ล ว ก็ ไ ด ค ว า ม ว า เ ร า กํ า ลั ง มี ป  ญ ห า คื อ มี จ ิ ต ท ร า ม , หรือมีโรคจิตนี่มากขึ้น; แลวที่แสดงเปนปรากฏการณออกมา ที่วา:๑ . มี โ จ ร ก ร ร ม ม า ก ขึ ้ น . แ ม แ ต ที ่ บ  า น เ มื อ ง นี ้ ก ็ รู  ส ึ ก ว า โจรกรรมนี ้กํ า ลัง แนน หนาขึ ้น ; มองออกไปที ่ไ หน ๆ ก็ไ ดย ิน ขา ววา แนน หนาขึ ้น มองออกไปทั้ ง โลกมั น ก็ ยิ่ ง แน น หนาขึ้ น . ที่ ยิ่ ง เป น โจรกรรมระหว า งประเทศชาติ ดว ยแลว มัน ก็เ ปน โจรกรรมที ่น า กลัว เปน โจรกรรมทางการเมือ ง ทางเศรษฐกิจ มีก ารปลน ขโมยกัน ทางการเมือ ง หรือ ทางเศรษฐกิจ หรือ ทางใตด ิน . นั ่น ก็ เป น โจรกรรมที่ ใ หญ ห ลวง, หรื อ เอาแต ว า โจรกรรมธรรมดาสามั ญ นี้ ก็ เ ห็ น ได ว า มันมากขึ้นทั่วไปทุกหัวระแหง ไมวาประเทศไหนในโลกนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๒. ความยากจนนี ้ ก็ ไ ม ไ ด ล ด ล ง; แม ว  า มี ค วามก า วหน า ทางอุต สาหกรรมทางการผลิต การทุ น แรงอะไรตา ง ๆ; มัน ไปร่ํ า รวยอยู ที่

www.buddhadassa.in.th


๑๖๖

อริยศีลธรรม

บางสวน, แลวก็ไปยากจนเพิ่มขึ้ นอยูที่ บางสวนและมากกว า; ก็ รูสึ กว าความยากจน นี้ มั น มี ม ากขึ้ น . ค า ของเงิ น มั น ตกลงไป หรื อ ว า วั ต ถุ มั น ไม พ อ ความยากจน ลํ า บากมัน ก็ม ีม ากขึ ้น . อยา ไดค ิด วา เราร่ํ า รวยกัน ขึ ้น ; แทจ ริง มีค วามรู ส ึก ในใจอยางคนจนนี้มากขึ้น. ๓. มี ก ารทุ จ ริ ต มากขึ ้ น สมั ย ก อ นเขากลั ว บาป ปากพู ด ถึ ง บาป ถึง การกลัว บาป คนสมัย นี ้แ ทบจะไมไ ดพ ูด คํ า สัก คํ า หนึ ่ง วา กลัว บาป; ถ า คนโบราณจะพู ด วั น หนึ่ ง หลาย ๆ คํ า นี้ อย า งนี้ เ ป น ต น . นี่ เ ป น ปรากฏการณ อันหนึ่ง ที่วาทุจริตในหนาที่ของตน หรือตอผูอื่นก็ตาม นี่มันมากขึ้น ๆ. ๔. อาชญากรรม ทางเพศ , ความเสื ่ อ มทรามทางเพศ ก็ มี มากขึ้ น ; เพราะการศึ ก ษาทางศี ล ธรรมมั น ไม มี มั น ก็ มี ค วามเสื่ อ มทราม หรื อ ประพฤติ ผิ ด ทุ จริ ต เกี่ ยวกับเรื่ องเพศนี้ มากขึ้ น เดี๋ ยวนี้ อยากจะยกเลิ กศี ลข อกาเมฯ กันแลว อยางนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๕. ที ่ว า นา เศรา อีก อยา งหนึ ่ง ก็ค ือ วา ลูก เด็ก ๆ ของเรานี้ กํ า ลัง เปน คนวิก ลจริต หรือ จะเรีย กวา เปน บา ก็ไ ด. ยุว ชนของเรากํ า ลัง เปน บา มากขึ ้น ไมม ีบ ิด ามารดา ไมม ีค รูบ าอาจารย ไมก ลัว บาป ไมม ีน รกสวรรค ไม มี อ ะไรต า ง ๆ เอาแต ค วามมุ ท ะลุ ดุ ดั น ต อ งการแต จ ะเรี ย กร อ งสิ่ ง ที่ ตั ว ต อ งการ โดยเฉพาะ. นี ่ต ัว อยา งเหลา นี ้ก ็พ อแลว ที ่จ ะแสดงวา มัน เปน ปญ หาที ่ม ีอ ยู จริง ; แลว เราก็ม ัว หลงแกป ญ หาปลายเหตุ ตั ้ง คณะกรรมการประชุม กัน

www.buddhadassa.in.th


ความรูสึกของมนุษยตอปญหาทางศีลธรรม (ตอ)

๑๖๗

อยางนั้นอยางนี้อย างโน น ซ้ําแลวซ้ํ าอีก เพื่ อจะแกป ญหา. โรคจิ ตก็เ พิ่มขึ้ น โจรกรรมก็เ พิ่ม ขึ้น ความยากจนก็เ พิ่ม ขึ้น ทุก อยา งเพิ่ม ขึ้น ; แลว ก็แ กไ ม สําเร็จ ยิ่งแก ยิ่งมากขึ้น. นี่เทาที่สังเกตเห็นมันเปนอยางนี้ ทุกคนก็ยอมรับ วามันเปนอยางนี้; เดี๋ยวนี้เรายิ่งตั้งกรรมการแกปญหาเหลานี้ แตปญหากลับยิ่ง เพิ่มขึ้น. การประชุม กัน แกปญ หานั้น มัน ก็นา หวัว : ประชุม แกปญ หา ที่ เ กิ ด อยู ใ นเมื อ งนรก; แต ไ ปประชุ ม กั น ที่ เ มื อ งเทวดา. จะไปแก ปญหาของคนยากจน ที่โรมแรมหรูหรา ที่สถานตากอากาศหรูหรา สนุกสบายกัน บนนั้น, ประชุมกันเพื่อแกปญหาความยากจน ปญหาที่มีอยูตามทองนา จะแก ไดอยางไร? คนเหลานั้นมีจิตใจที่จะแกปญหาชนิดนี้ไดอยางไร? นี่นอกจาก แกปลายเหตุ แลวก็แกอยางที่เรียกวา ไมรูจักตัวเอง ไมรูจักสิ่งตาง ๆ. เขาจะแกปญ หาโจรกรรม โดยออกวิธีก ารอยา งนั้น อยา งนี้; แต ไมม องดูวา มัน มาจากความเสื่อ มทางศีล ธรรม, ไมเ คยคิด แกท างศีล ธรรม. จะไปบั ง คั บ กั น แต ป ลายเหตุ มั น ก็ แ ก ไ ม ไ ด ; อย า งจะแก ไ ด ก็ เ หมื อ นกั บ "จับปูใสกระดง" อยางที่วามาแลว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี ่ม ัว แกไ ขปญ หากัน แตที ่ป ลายเหตุ เปน ปลายเหตุแ หง ความไม มี ศี ล ธรรม ไม ไ ด แ ก ที่ ค วามไม มี ศี ล ธรรม, ไม ป ลู ก ฝ ง ชั ก นํา ศี ล ธรรม อบรมสั่งสอนศีลธรรมกันเปนการใหญ ซึ่งมันจะแกปญหาตาง ๆ ไดเองไปในตัว แตมันจะระยะยาวหนอยเทานั้น. ถึงจะระยะยาวเทาไรมันก็ตองทําอยูนั่นแหละ;

www.buddhadassa.in.th


๑๖๘

อริยศีลธรรม

เมื ่ อ ไ ม ทํ า มั น ก็ แ ก ไ ม ไ ด เ พราะจ ะไปแก แ ต ที ่ ล ายเหตุ อ ยู  ก็ เ ป น คนโ ง เปนอคติที่ไมรูสึกตัว. .…

....

….

.…

ยั ง มี ค ว า ม โ ง ห รื อ อ ค ติ บ า ง อ ย า ง ที ่ น  า ห วั ว อี ก เ ห มื อ น กั น คื อ ทํ า แ ต อ ย า ก จ ะ เ อ า ห น า ห รื อ อ ย า ก จ ะ มี เ กี ย ร ติ ใ ห เ ข า เ ข า ใ จ ว า ตั ว เ อ ง มี ศ ี ล ธ ร ร ม เ ข า จึ ง แ ส ด ง ท า ท า ง เ ห มื อ น กั บ ว า เ ข า มี ศี ล ธรรม. นี ่ คนที ่ทํ า ทา ทางเปน ผู ม ีศ ีล ธรรมเวลานี ้ เขาทํ า เพีย งแสดง ละคร; เพราะวา อยากจะไดเ กีย รติ หรือ ไดห นา วา มีศ ีล ธรรมเทา นั ้น ไม ตอ งการจะมีศีล ธรรมโดยแทจ ริง จึง แสดงอาการของผูมีศีล ธรรม. มีศีล ธรรมกันอยางนี้ มันก็ยังชวยอะไรไมได มันจะดีกวาไมมีเลยนิดหนอย นี่เรียกวา เปนความหลง อคติอยางหนึ่งดวย เหมือนกัน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทีนี ้จ ะยกตัว อยา ง ความโงที ่ล ะเอีย ดลึก ซึ ้ง ลงไปอีก วา เราไม รู  ส ึ ก เลย ว า การเป น ทาสทางวั ฒ นธรรม หรื อ ทางศี ล ธรรมนั ้ น เสี ย หาย ยิ ่ง กวา ความเปน ทาสทางการเมือ ง หรือ ทางวัต ถุ. นี ้บ างคนอาจจะยัง ไม เขาใจ วาเปนทาสทางการเมือง คือวา เราสูญเสียชาติ เราเปนขาเขา ไปเปนทาส เมืองขึ้นเขา โดยทางการเมือง นี่ก็เรียกวาเปนทาสทางการเมือง.

www.buddhadassa.in.th


ความรูสึกของมนุษยตอปญหาทางศีลธรรม (ตอ)

๑๖๙

ที ่นี ้อ ีก ทีห นึ ่ง เราเปน ทาสทางศีล ธรรม หรือ ทางวัฒ นธรรม, เป น ทาสทางวั ฒ นธรรม ก็ ค ื อ ว า เรายิ น ดี ส มั ค รรั บ แบบแผนวิ ธ ี ก าร หลั ก ปฎิ บ ั ต ิ อะไรต า ง ๆ ของเขาจนหมดสิ ้ น ; แม ว  า จะมี ศ ี ล ธรรม ก็ มี ศี ล ธรรมแบบอั น ธพาล ของคนเหล า นั้ น . พู ด กั น ง า ย ๆ ก็ ว า วั ฒ นธรรมตะวั น ตก เปน วัฒ นธรรมเนื ้อ หนัง เห็น แกก ิเ ลส; ถา เขาจะบัญ ญัต ิศ ีล ธรรมขึ ้น มา เขา บั ญ ญั ติ ช นิ ด นั้ น ชนิ ด เพื่ อ ส ง เสริ ม การได เ อร็ ด อร อ ยสนุ ก สนานทางเนื้ อ หนั ง หรื อ ทางกิ เลส นั่ นเป นศีลธรรมของคนพวกนั้ น หรื ออารยธรรมของคนพวกนั้น ซึ่ งรวม เรี ย กว า วั ฒ นธรรม ของคนพวกนั้ น ซึ่ ง จะสรุ ป เรี ย กสั้ น ๆ ว า มั น เป น วั ฒ นธรรม ทางเนื้อหนัง. ฝา ยพุท ธบริษ ัท ไมเ คยมีว ัฒ นธรรมทางเนื ้อ หนัง อยา งนั ้น มี วัฒ นธรรมจริง มีศ ีล ธรรมจริง คือ ทางจิต ใจ ก็ม ีห ลัก เกณฑเ ปน ระเบีย บวาง ไวต ายตัว ชัด แจง อยู แ ลว . นี ่เ ราก็ล ะทิ ้ง วัฒ นธรรมอัน ดีช นิด นี ้ ของปู  ยา ตา ยายบรรพบุรุษเสีย แลวก็ไปรับเอาวัฒนธรรมใหม ๆ ที่เขามาจากตะวันตก ซึ่งเปน วั ฒ นธรรมเนื้ อ หนั ง ; อย า งที่ ว า เขาก็ จ ะไม นุ ง ผ า กั น แล ว เขาจะไม ถื อ ศี ล หลาย ๆ ขอ กัน แลว เพราะเห็น แกค วามสนุก สนานทางเนื ้อ หนัง . พอคนไทยเกิด โงขึ ้น มา ก็ ก  ม หั ว ล ง ไ ป รั บ เ อ า วั ฒ น ธ ร ร ม นั ้ น นี ่ ก ็ ส ู ญ ช า ติ ไ ท ย ใ น ท า ง วั ฒ น ธ ร ร ม , นี้เรียกวาสูญชาติทางวัฒนธรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี ่ก ็ไ ปเปรีย บเทีย บกัน ดูเ ถอะวา "สูญ ชาติท างวัฒ นธรรม กับ สูญ ชาติท างการเมือ ง" อัน ไหนนา ตกใจกวา ? คนทั ่ว ไปก็จ ะคิด วา สูญ ชาติ ทางการเมือง พายแพเขาเปนเมืองขึ้นเขานากลัวกวา นาตกใจกวา หรือเสียหาย กวา ; แตค นที ่ม ีจ ิต ใจเปน ธรรมเขาไมย อมรับ อยา งนั ้น . เขาจะเห็น วา ที ่เ รา

www.buddhadassa.in.th


๑๗๐

อริยศีลธรรม

เสีย หลัก ทางธรรมะไปหมด เสีย วัฒ นธรรม เสีย ศีล ธรรม เสีย อารยธรรมของ พุ ท ธ บ ริ ษ ั ท ไ ป ห ม ด นั ่ น แ ห ล ะ คื อ เ สี ย ห ม ด เ สี ย อ ย า ง น า ต ก ใ จ คื อ สู ญ เสี ย ความเป น มนุ ษ ย สู ญ เสี ย ความเป น พุ ท ธบริ ษั ท ,กระทั่ ง ว า สู ญ เสี ย ความ เ ป น ช า ติ ไ ท ย สู ญ เ สี ย ค ว า ม เ ป น ค น ไ ท ย มั น เ ป น อ ย า ง นี ้ อั น ไ ห น จ ะ นากลัวกวา? นี ้ ค ว า ม โ ง ข อ ง เ ร า ทํ า ใ ห เ ร า เ ข า ใ จ ผิ ด กั น ; ไ ป เ ห็ น ว า สู ญ เ สี ย ทางวัฒ นธรรมทางจิต ใจนี ้ไ มเ ปน ไร, ใหไ ดส นุก สนาน เอร็ด อรอ ยทางวัต ถุ ก็แ ลว กัน นี ่ค วามโงห รือ อคติที ่เ กี ่ย วกับ ศีล ธรรม : เสีย สละหรือ ขวา งทิ ้ง ศี ล ธรรมอั น แท จ ริ ง ไปรั บ เอาศี ล ธรรมหลอก ๆ ซึ่ ง ไม ใ ช ศี ล ธรรมนั้ น มาเป น หลั ก ยึดถือเพื่อวาจะไดสนุกสนาน เอร็ดอรอยทางวัตถุกัน โดยไมมีขีดขั้น. ที นี ้ ดู ใ ห ด ี อ ี ก ที ห นึ ่ ง ว า ก า ร เ ป น ท า ส ท า ง วั ฒ น ธ ร ร ม นั ่น แ ห ล ะ เ ปน มูล เ ห ตุข อ ง ก า ร เ ปน ท า ส ท า ง ก า ร เ มือ ง ก า ร ที ่จ ะ สูญ เ สีย ประเทศชาติ ไปเป น ทาสเป น ข า ของประเทศอื่ น นั้ น มี มู ล มาจากเราเสี ย ไปในส ว น ศี ล ธรรม เพราะไปนิ ย มเขา บู ช าเขา ไม เ ท า ไรมั น ก็ ต กอยู ใ ต อํ า นาจเขา โดย ประการทั ้ง ปวง คือ ทั ้ง ๒ ฝา ย ความเปน ทาสทางวัฒ นธรรมนี ้ เปน มูล เหตุ แหง การสูญ เสีย เอกราชของประเทศชาตินั ้น เอง ขออยา ไดอ คติ คือ ลืม ตาโง ในเรื่องอยางนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี ่เ รีย กวา ปญ หาทางศีล ธรรมทั ้ง นั ้น . ยกตัว อยา งมา บางอยา ง เ พื ่ อ ใ ห เ กิ ด ก า ร พิ จ า ร ณ า ว า เ ร า มี ค ว า ม รู  ส ึ ก ต อ ป ญ ห า ท า ง ศี ล ธ ร ร ม อยางไร ดูกันตอไปอีก ถึงปญหาที่มีอยูเหมือนกัน:-

www.buddhadassa.in.th


ความรูสึกของมนุษยตอปญหาทางศีลธรรม (ตอ)

๑๗๑

เมื ่อ ไมกี ่ว ัน มานี ้ ไดเ ห็น เปน ครั ้ง แรกในหนา หนัง สือ พิม พ ที ่มี คนไทยที่ ม าจากภาคอี ส านที่ ย ากจน มาหางานในกรุ ง เทพฯ พู ด ขึ้ น คํ า หนึ่ ง ซึ่ ง หนั ง สื อ พิ ม พ เ ขาเอามาลง ว า "ขอทานดี ก ว า เป น ขโมย" อาตมาได ย ิ น คําพูดนี้ แตในประเทศอินเดีย ไมเคยไดยินในประเทศไทย แลวเพิ่งมาไดยินเมื่ อ ไม กี่ วั น มานี้ มี ค นสั ม ภาษณ ค นจนที่ ม าจากภาคอี ส าน มาหางานทํ า ในกรุ ง เทพฯ; ตอนทายเขาถามวา ถาหางานทําไมไดเ ลาจะเปนอยา งไร? คนนั้น ยังมีแกใจที่จ ะ ตอบวา "ขอทานยัง ดีก วา เปน ขโมย " นี ่รู ส ึก วา ประเทศไทยเราก็ไ มแ พ ประเทศอิน เดีย เหมือ นกัน เวย ; แตวา จะมีเ พีย งคนเดีย วคนนั้น หรือ อยา งไร ก็ไ ป ดูเอาเองก็แลวกัน. นี ่ส มมติว า ทางหนึ ่ง คนยอมรับ วา "ขอทานดีก วา เปน ขโมย" มั น ก็ น า ชื่ น ใจ; เพราะยั ง มี ศี ล ธรรมเต็ ม ๑๐๐ เปอร เ ซนต ไม ย อมเปลี่ ย นแปลง. แตท ีนี ้ อีก ทางหนึ ่ง ทํ า ไมจึง มีว า "ยิ ่ง รวยแลว ยิ ่ง โกง" เมื ่อ คนหนึ ่ง มัน ไมมี อะไรจะกินแท ๆ จน จนไมมีอะไรจะกินแลวยังพูดวา "ขอทานดีกวาเปนขโมย" ; แต อี ก ทางหนึ่ ง มั น ยิ่ ง รวยแล ว มั น ยิ่ ง โกงมากขึ้ น ไปกว า คนจน แล ว มั น จะสมดุ ล ย กันไดอยางไร.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org พ ว ก ที ่ ย ิ ง ร ว ย ก็ ยิ ่ ง โ ก ง ยิ ่ ง ไ ป ก ว า ค น จ น เ สี ย อี ก นี ่ ม ั น เ ป น สิ ่ ง ที ่ป ะทะกัน เผชิญ หนา กัน อยู ใ นเวลานี ้ : คนหนึ ่ง วา "ขอทานดีก วา เปน ขโมย" คนหนึ ่ง วา "ยิ ่ง รวยก็ยิ ่ง โกง" ยิ ่ง โกงไดส ะดวกแลว ยิ ่ง โกงไดม าก แลว มัน จะปรับ กันอยา งไร สําหรั บ ป ญหาทางศีลธรรมนี้? เที ยบดูเถิ ดว าในประเทศไทย เรานี ้น ะ มีกี ่ค นที ่ว า "เปน ขอทานดีก วา เปน ขโมย" แลว มี "กี ่ค นที ่ยิ ่ง รวยแลว ยิ่ ง โกง"ยิ่ ง รวยแล ว ยิ่ ง โกง ยิ่ ง รวยเข า มาเท า ไรก็ ยิ่ ง โกงหนั ก ขึ้ น เท า นั้ น จะมี กี่ ค น?

www.buddhadassa.in.th


๑๗๒

อริยศีลธรรม

นี ่แ หละคนที ่ห ลับ ตาทํ า อคติใ หแ กป ญ หาทางศีล ธรรม ซึ ่ง ตลอด ถึง ผู ที ่ทํ า หนา ที ่แ กไ ขปญ หานี ้แ ลว ก็ไ มรู ว า ปญ หาทางศีล ธรรมนี ้ มัน สํ า คัญ ถึงขนาดเปนเรื่องเปนเรื่องตาย. ขอพิจ ารณากัน ซ้ํ า ๆ ซาก ๆ ในขอ นี ้อ ีก วา ยิ ่ง ไรศ ีล ธรรมมัน จ ะ ยิ ่ ง อ ะ ไ ร บ า ง ถ า ยิ ่ ง ไ ร ศ ี ล ธ ร ร ม ก็ ยิ ่ ง พู ด กั น ไ ม รู  เ รื ่ อ ง ค น ที ่ ไ ร ศี ล ธรรม ก็ ห มายความว า เห็ น แต ป ระโยชน ต นเห็ น แก ต ั ว เห็ น แต ข อง ตนข า งเดี ย ว ฉะนั้ น มั น จะพู ด กั น รู เ รื่ อ งได อ ย า งไร ก็ ต า งคนต า งก็ จ ะเอาแต ประโยชน ข องตั ว ประโยชน ส  ว นรวมไม ม ี ประโยชน ส  ว นเกิ น ที ่ ไ ม ค วร จะเอา นั้นก็ไมมี. นี ่ ค น ที ่ ไ ร ศ ี ล ธ ร ร ม มั น ก็ ม ี แ ต ป ร ะ โ ย ช น ส  ว น ตั ว ก็ ไ ม มี ทางที ่จ ะพูด กับ ผู อื ่น รู เ รื ่อ งหรือ ตกลงกัน ได วา เราอยา เอาอยา งนั ้น อยา งนี้ กัน เลย เราเอาอยา งนี ้ก ัน ดีก วา ; อยา งนี ้เ ปน ตน . นี ่ยิ ่ง ไรศ ีล ธรรม พูด กัน ไม รู เ รื ่อ ง นั ่น คือ ยิ ่ง เขา ใจกัน ไมไ ด. มัน เขา ใจกัน ไปคนละทิศ ทางเสมอ แมใ น พวกที ่โ กงดว ยกัน เห็น แกต ัว ดว ยกัน นั ่น แหละ มัน ก็พ ูด กัน ไมรู เ รื ่อ ง แมจ ะ ถื อ หลั ก ว า เป น คนโกงด ว ยกั น มั น ก็ ยั ง พู ด กั น ไม รู เ รื่ อ ง ตรงที่ ว า มั น จะต อ งเอา เปรีย บกัน อยู ใ นหมู ค นที ่ตั ้ง ใจจะรวมกัน โกง เพราะวา มีห ลัก วา จะโกงกัน เสีย แลว มัน ก็ยิ ่ง พูด กัน ไมรู เ รื ่อ ง ยิ ่ง เขา ใจกัน ไมไ ด แลว ก็ยิ ่ง ไรสิ ่ง ที ่เ รา ตองการกันนัก คือ ความสามัคคี

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เดี ๋ย วนี ้พ ูด กัน จนหนวกหู จนไมค อ ยจะพูด กัน แลว วา เราตอ ง ก า ร ค ว า ม ส า มั ค คี ป ร ะ เ ท ศ ช า ติ ต  อ ง ก า ร ค ว า ม ส า มั ค คี ; เ มื ่ อ พู ด ห นั ก

www.buddhadassa.in.th


ความรูสึกของมนุษยตอปญหาทางศีลธรรม (ตอ)

๑๗๓

เขา ๆ ก็เมื่อยปาก หยุดไปเอง หายไปเองก็เลยไมไดความสามัคคี ถาอคติ แลวก็ยิ่งไรศีลธรรมเทาไร มันก็ยิ่งไมมีทางที่เราจะรักหรือสามัคคีกันได จะได ความสามัค คีม าในหมูม นุษย ก็ตอ งมีศีล ธรรมเทานั้น มันจึง จะเกิด ความ สามัคคีได นี่เปนของที่เห็นไดงาย ๆ วาตางคนตาง ไรศีลธรรม ก็เห็นแกตัว แลวจะสามัคคีกันไดอยางไร. นี้ ต อ งรู จั ก เปรี ย บเที ย บว า ไร ศี ล ธรรมนี้ มั น เป น การร า ยกาจ ยิ่ง กวา อะไรทุก อยา ง ; ฉะนั้น อยากจะเปรีย บลงไปตรง ๆ วา จะยากจน หรือโงเขลา หรือเสื่อมสุขภาพ หรือไมรูหนังสือ ก็ยังดีกวาไรศีลธรรม กระทั่ง ว า ตายเสี ย ก็ ยั ง ดี ก ว า ไร ศี ล ธรรม แต เ ดี๋ ย วนี้ ไ มมี ใ ครยอมรั บ อยากจะ ยืนยันหรือทาทายวา ไมมีนักปราชญพวกไหน หรือนักการเมืองพวกไหน หรือ พวกปญญาชนพวกไหน ในโลกเวลานี้ ที่จะยอมรับวา ตายเสียดีกวาไรศีลธรรม. ถาเปนอยางอื่นเปนสมัยอื่น นั่นยังมี ยังมีคนยอมตายดีกวาเสียธรรมะ หรือเสียศีลธรรม เดี๋ยวนี้มันจะมีแตที่ตาม แผนหนาหมวกลูกเสือหรืออะไรก็ ไมท ราบ วา "เสีย ชีพ อยา เสีย สัต ย" มัน มีอ ยูแ ตที่ตัว หนัง สือ ที่นั่น คิด ดูซิ ที่ใจจริงมันไมมี ที่วา"ตายเสียดีกวาไรศีลธรรม"

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เดี๋ ย วนี้ อ ยากจะ ลดลงมาว า เราเป น คนโง ดี ก ว า เป น คนไร ศีลธรรม; อยางนี้กระทรวงศึกษาธิการ เขาไมยอม หรือเขาใจไมได หรือพวก ที่จะจัดการศึกษาของประเทศของโลกเขาไมยอมที่วา เราโงเสียจะดีกวาไรศีลธรรม ดูจ ะเอาขา งไรศีล ธรรมดีก วา เปน คนโง ก็จัด การศึก ษากัน ใหญอ ยา ใหมัน โง. ฉะนั้นการศึกษาในโลกนี้ ระดมกันแกไขความโง ก็เปนการศึกษาที่เปนบา เปนหลังไปเลย คือ เพียงแตทําใหคนฉลาด แลวคนก็ไมมีศีลธรรม.

www.buddhadassa.in.th


๑๗๔

อริยศีลธรรม

ก อ น นี ่ ก า ร ศึ ก ษ า แ ฝ ด กั น อ ยู  ทั ้ ง ค ว า ม รู  แ ล ะ ศี ล ธ ร ร ม , มีความรูความสามารถในอาชีพดวย มีศีลธรรมดีดวย แตการศึกษาสมัยปจจุบันนี้ เหลือขางเดียว คือมีแตความรูความฉลาดอยางรวดเร็ว รุนแรง เปนสายฟาแลบ ไปเลย เรื ่อ งศีล ธรรมหายหมด มัน หายไปดว ยเหตุห ลายอยา งหลายประการ แลว ก็โ ดยไมรูสึก ตัว ดว ย โดยไมม องดว ย ฉะนั้น ผูสํา เร็จ การศึก ษาในเวลานี้ ฉลา ด เห ลื อ ป ร ะ ม า ณ แ ต ว  า ไ ร ศ ี ล ธ ร ร ม ; แ ล ว ผ ล มั น เ กิ ด ขึ ้ น อ ย า ง ไ ร ? มันก็ฉลาดที่จะสรางปญหา กระทั่งฉลาดที่จะคดโกง เอาเปรียบ อยางลึกซึงที่สุด. พิ จ า ร ณ า ดู เ ถ อ ะ , โ ล ก เ ต็ ม ไ ป ด ว ย ก า ร ค ด โ ก ง ทั ้ ง โ ล ก ; เราจะรู สึกว า ตั้ง แตคนต่ําที่ สุด ถึง บุคคลที่สู งที่สุ ด ในโลกเวลานี้ ก็เป นคนโกง หรื อ อย า งน อ ยก็ ถู ก หาว า เป น คนโกง กํ า ลั ง ถู ก พิ สู จ น ว า เป น คนโกง. ทํ า ไมการ ศึก ษาสมัย นี ้ที ่ว า วิเ ศษนัก จึง ทํ า ให มีแ ตค วามฉลาดในการที ่จ ะโกง? เรีย น จบมหาวิท ยาลัย แลว ยัง ชอบสูบ กัญ ชา ชอบสูบ เฮโรอีน การศึก ษาอะไรกัน อยางนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ส มั ย ก อ น นี ้ เ ด็ ก ๆ เ ก ลี ย ด ก ลั ว ข อ ง อ ย า ง นี ้ เ มื ่ อ ก า ร ศึ ก ษ า ยั ง ไ ม เ จ ริ ญ เ ดี ๋ ย ว นี ้ ก า ร ศึ ก ษ า เ จ ริ ญ พ อ เ รี ย น จ บ แ ล ว ยิ ่ ง ช อ บ เสพยาเสพติ ด หรื อ ชอบทํ า อะไรแปลก ๆ อย า งที ่ เ ป น ลามกอนาจาร; แลวก็ถือวานี้เปนศิลปะ ฉลาดอยางนี้จะไหวหรือไมไหว.

ฉ ะ นั ้ น เ ร า จึ ง พู ด ว า ข อ ย อ ม เ ป น ค น โ ง ด ี ก ว า ไ ร ศ ี ล ธ ร ร ม , เราไมน ับ ถือ ไมบูช าการศึก ษาชนิด ที ่ทํา ใหฉ ลาดที ่จ ะตามใจกิเ ลส แลว ไมมี ศี ล ธรรม เรายากจนเสี ย ดี ก ว า ไร ศี ล ธรรม ฉะนั้ น เราเอาข า งความมี

www.buddhadassa.in.th


ความรูสึกของมนุษยตอปญหาทางศีลธรรม (ตอ)

๑๗๕

ศีล ธรรมไวกอ น ปู ยา ตา ยาย ของเราถือ อยา งนี้ทั้ง นั้น แหละ ไมเ อาอยา ง ที่วา จะเปน คนบาป แลว จะรวย นี้ไ มเ อา เขาจะยอมจน กัน ฟน ไป ทนไป จ น ไ ป จ น ก ว า มั น จ ะ ฟ  น ตั ว นี ่ ย อ ม จ น ดี ก ว า ย อ ม ไ ร ศ ี ล ธ ร ร ม ห รื อ ยอมเจ็บไขไดปวย ยอมเสื่อมสุขภาพ ไมยอมไรศีลธรรม. เดี ๋ย วนี ้ก ็ย ัง มีเ หลือ ใหเ ห็น อยู  หมอบอกวา ตอ งไปฆา ปูฆ า ปลา มากิ น นี ้ ค นที ่ เ คร ง ในทางศี ล ธรรมเขาไม เ อา เขาว า ตายก็ ต าย หรื อ ว า จ ะ ใ ห ทํ า อ ะ ไ ร ใ น ท า ที ่ จ ะ ต อ ง ข า ด ศี ล ผิ ด ศี ล เ พื ่ อ จ ะ เ อ า ชี ว ิ ต ร อ ด อยา งนี ้เ ขาก็ย ัง ไมส มัค ร. ฉะนั ้น เพีย งเจ็บ ปว ยหรือ เพีย งเสื ่อ มสุข ภาพนี ้ เขาก็ ไม ย อมไร ศี ล ธรรม เขาเอาข า งศี ล ธรรมไว ก อ น, เป น เหตุ ใ ห ค นเรามี ศี ล ธรรมกั น เต็มที่อยางนี้. ก า ร ไ ม รู  ห นั ง สื อ ก็ ด ี ก ว า ไ ร ศ ี ล ธ ร ร ม เ พ ร า ะ มั น พิ ส ู จ น แ ล ว วา ในยุค โนน พัน ปส องพัน ปอ ะไรก็ต าม ที ่ค นเขาไมรูห นัง สือ เขามีศ ีล ธรรม ดีก วา สมัย ที ่ค นรู ห นัง สือ . นี ่เ ดี ๋ย วคอ ยพิจ ารณากัน ใหมก ็ไ ด, ตายดีก วา ไร ศีล ธรรม นี้ ก็พู ด แล ว ก็ ยัง อยากจะพู ด อีก ว า หาทํ า ยาไม ไ ด แ ล ว คนที่ ย อมตาย โดยไมยอมใหเสื่อมศีลธรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี ่ ก ็ เ รี ย ก ว า เ ป น อ ค ติ ค ื อ ไ ม เ ป น ไ ป ต า ม ท า ง ที ่ ค ว ร จ ะ เ ดิ น , เปน ความโงโ ดยไมรูสึก ตัว ซึ่ง ทํา ลายศีล ธรรม เหยีย บย่ํา ศีล ธรรม ทํา ใหโ ลกนี้ ไมมีศีลธรรม .…

....

….

.…

www.buddhadassa.in.th


๑๗๖

อริยศีลธรรม

เ ดี ๋ ย ว นี ้ ค ว า ม โ ง อ ี ก อั น ห นึ ่ ง ซึ ่ ง กํ า ลั ง ส มั ย ใ ห ม ว  า ใ ห ม เอี่ยมนี้ : ไมรูจักบาปที่เกิดมาจากการทําดีเกินกวาจําเปน. ก า ร ทํ า ดี เ กิ น ก ว า จํ า เ ป น จ ะ ต อ ง ทํ า นั ้ น แ ห ล ะ คื อ บ า ป ; แล ว คนก็ ไ ม รู จั ก บาปนี้ เกิ ด มาจากการทํ า ดี เ กิ น กว า ที่ จํ า เป น ฉะนั้ น ดี ข องคน พวกนี ้ค ือ บาปทั ้ง นั ้น ไดแ กเ ปน คนพวกถือ วัต ถุเ ปน ใหญ เห็น แกเ นื ้อ หนัง เปนใหญ จึงประดิษฐอะไรตาง ๆ ขึ้นมา. อยา งคนสมัย กอ น เรื ่อ งกามารมณนี ้ เขาแทบจะไมม ี วิจ ิต รพิ ส ดารอะไร; คนเดี๋ ย วนี้ ฉ ลาด ก็ ทํ า ให วิ จิ ต รพิ ส ดารจนเป น บ า เป น หลั ง ไปเลย. ตามธรรมชาติ หรือตามวัฒนธรรมเดิม ๆ นั้น มีแตเรื่องการสืบพันธุ เปนหลักใหญ ไม มี เรื่ อ งบา กามารมณ เหมื อ นสมั ย ปจ จุ บัน นี้ ที่ เ จริญ ด วยการศึ ก ษาแบบนี้. ที่ เรีย กกัน วา over sex หรือ อะไรทํา นองนี้ ไมมีใ ครเคยรูจัก ; มัน เพิ่ง มีเ ดี๋ย วนี้ คือสมัยที่เจริญดวยการศึกษาแบบนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถ า สรุ ป แล ว ก็ เ รี ย กว า การเป น ทาสทางอายตนะ นั ่ น แหละ ไมเจริญเหมือนเดี๋ยวนี้ คือเปนทาส ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ อยางไมมีขอบเขต นี้ เพื ่อ ความสนุก สนาน เอร็ด อรอ ยทางอายตนะ; นี่มีม าก ก็เ ปน ตน เหตุ ให ค น เ ข า คิ ด ว า ดี คื อ จ ะ ต อ ง กิ น ดี ยิ ่ ง ๆ ขึ ้ น ไ ป อ ยู  ด ี ยิ ่ ง ๆ ขึ ้ น ไ ป ประดับ ประดายิ ่ง ๆ ขึ ้น ไป, เขาเรีย กวา ดีทั ้ง นั ้น เรีย กวา ความเจริญ ทั ้ง นั ้น ; อยา งนี้ มัน ไมเ คยมี; พอมีเ ขา มัน ก็ก ลายเปน บาป เพราะมัน เกิน กวา ที่จํ า เปน จะตอ งทํ า . อยา งนี ้ถ า สัต วเ ดรัจ ฉานทํ า ไมเ ปน เพราะฉะนั ้น สัต วเ ดรัจ ฉาน ไมมีบาป ในสวนที่ทําใหดีเกินกวาที่จําเปน; แตมนุษยยิ่งมีมากขึ้น, โดยเฉพาะ

www.buddhadassa.in.th


ความรูสึกของมนุษยตอปญหาทางศีลธรรม (ตอ)

๑๗๗

อยางยิ่ง มนุษยสมัยปจจุบันนี้ จะมีบาปหรือมีคําสาปของพระเจา เนื่องจากการ ที่ทําดีเกินกวาที่จําเปน แลวยังกําลังจะมากยิ่งขึ้น อยางหลับหูหลับตา. " ดี เ กิ น ก ว า ที ่ จํ า เ ป น นั ้ น แ ห ล ะ คื อ บ า ป " ข อ ใ ห จํ า ไ ว ด ว ย; ฉะนั ้ น อย า ไปหวั ง ที ่ จ ะกิ น จะนอน จะใช ส อย จะบริ โ ภค ให มั น ดี เ กิ น ก ว า ที ่ จํ า เ ป น , เ พ ร า ะ นั ่ น คื อ บ า ป , นั ่ น คื อ โ ง , นั ่ น คื อ ค ติ ใ น ที่นี้. .… .... …. .… ที ่ นี ้ ม ั น ก ็ เ นื ่ อ ง ก ั น อ ยู  ก ั บ ข  อ ต  อ ไ ป อ ี ก เดี๋ ย วนี้ เ ขาไม อ ยากอดกลั้ น อดทน.

คือ วา

คน

ถ า เ ป น ค น ส มั ย โ บ ร า ณ นั ้ น ก า ร อ ด ก ลั ้ น อ ด ท น นั ้ น เ ป น ของธรรมดา; แตส มัย นี ้เ ขาไมอ ยากจะอดกลั ้น อดทนแมแ ตน ิด เดีย ว. กอ นนี้ เราเคยพบขอเท็จจริงอยางหนึ่งวา พวกฝรั่งที่เขาชอบพุทธศาสนาอยางไร เทาไร เขาก็ไมยอมบวช เพราะวาการบวช มีศีล มีวินัย มีระเบียบมาก ที่จะตองทําให อดกลั ้น อดทน; แตพ วกเราเห็น เปน ธรรมดา ก็บ วชกัน ไดง า ย ๆ. นี ้ก ็เ ปน ตัวอยางที่วา ถาไมชอบการอดกลั้นอดทน แลวมันก็ไ มชอบระเบียบปฏิบัติที่จ ะ บัง คับ ตัว เอง ก็เ ลยไมม ีก ารบัง คับ ตนเอง ไมค วบคุม สัญ ชาตญานแหง การ ตามใจตนเอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เดี ๋ย วนี ้เ ราก็เ กิด เปลี ่ย นแปลง : พวกที ่เ คยชอบความอดทน โดยเฉพาะคนไทยหรือพุทธบริษัทนี่ เคยชอบความอดกลั้นทางจิตใจดวยแลวชอบ

www.buddhadassa.in.th


๑๗๘

อริยศีลธรรม

ความอดทนทางรา งกายดว ย; ก็เ กิด ไปตามเขา ในทางที ่ไ มช อบความอดกลั ้น อดทน, ก็ เ ลยลามปามมาถึ ง ไม ค วบคุ ม สั ญ ชาตญาณแห ง ตั ว กู - ของกู , สั ญ ชาตญาณแห ง ตั ว กู มั น ยกหู ชู ห าง. สั ญ ชาตญาตแห ง ของกู มั น ก็ ล ะโมบ โลภลาภ จะกอบจะโกยอะไรตา ง ๆ; ไมย อมควบคุม สัญ ชาตญาณเหลา นี้แ ลว ก็เกิ ดความโลภ ความโกรธ ความหลง ไหลนองท วมท นไปหมด ทั่วทั้ งบานทั้ ง เมือ งทั้ง โลก เพราะไมช อบการควบคุม สัญ ชาตญาณที่เ ห็น แกตัว ไมล ดมัน เสีย ไมทําลายมันเสีย. ที ่เ รีย กวา ตัว กูนี ้ ก็ย กหู ชูห างไมย อมใคร, เห็น แกเ กีย รติ เปน บา เปน หลัง ไมย อมใคร. "ของกู" นี้ก็ล ะโมบโลภลาภ; เมื่อ ไมไ ดอ ยา ง ที่ โ ลภมั น ก็ โ กรธ. ความโกรธก็ คู กั น กั บ ความอยาก, ความโกรธนี้ มั น ต อ งคู กั น , เมื่อไมไดตามที่อยากมันก็โกรธ, หรือมันมีกิเลสที่จะไมยอมใคร มันก็ยกหูชูหาง. ทั้ง หมดนี้มี รายละเอีย ดมาก เหลือ เกิน เราเรีย กสั้น ๆ วา ตัว กู - ของกู สองคําเทานั้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org คนในโลกเวลานี ้ ไม ย อมควบคุ ม สั ญ ชาตญาณแห ง ตั ว กู ของกู ก็ ทํ า ให โ ลกนี ้ ม ั น ไหลนองไปด ว ยความโลภ ความโกรธ ความ หลงซึ่ง เปน อาการของสิ่ง ที่เ รีย กวา ตัว กู - ของกู. นี่ห ลับ ตาทํา ทั้ง นั้น เพราะ ไมรูจัก จึงปลอยไปตามความรูสึกของอายตนะ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ คือทําผิด ยิ่งขึ้นทุกที ๆ : เห็นแกความสุข สนุกสนาน ทางวัตถุ ทางเนื้อทางหนัง ยิ่งขึ้น ทุก ที ๆ, อยา งอื่น มองไมเ ห็น ไมเ ขา ใจ. นี้ค ือ ความโงห รือ ความหลง ซึ่ง เป น เหตุ ใ ห ทํ า บาป หรื อ ความชั ่ ว ทุ ก ประการ ที ่ กํ า ลั ง เป น ป ญ หาท ว มท น ไปทั้งบาน ทั้งเมือง อยางที่วามาแลว.

www.buddhadassa.in.th


ความรูสึกของมนุษยตอปญหาทางศีลธรรม (ตอ)

๑๗๙

ฉะนั ้น ขอใหร ะลึก ถึง หลัก ที ่ว า ปาปานิ กมฺม านิ กโรนุต ิ โมหา - สั ต ว ทั้ ง หลายทํ า บาปกรรมเพราะโมหะ; โมหะ คื อ ความมื ด ความโง ความ หลง นี้มันมีขอบเขตกวางมาก ก็ทําไดกวางขวางมาก. จงชว ยกัน พิจ ารณาขอ นี ้ ใหม ากที ่ส ุด วา บาปกรรมทั ้ง หลายนี้ ทํ า ด ว ยความหลงทั ้ ง นั ้ น ถ า ไม ห ลงแล ว ก็ ทํ า ไม ไ ด ; ฉะนั ้ น ขอให ส นใ จ กับ คํ า วา "ความหลง" นั ่น แหละใหม าก มัน เปน แสงสวา งที ่บ ัง ลูก ตา. ที่ พู ด ว า ค ว า ม โ ง ค ว า ม ห ล ง ห รื อ โ ม ห ะ เ ป น แ ส ง ส ว า ง ที ่ บ ั ง ลู ก ต า ; นี้ มั น ยิ่ ง กว า ความมื ด ; ถ า มื ด ไม เ ห็ น อะไรไปเสี ย ที ห นึ่ ง มั น ก็ ไ ม ต อ งทํ า อะไรมาก กว า ; แสงสว า งนี ้ ม ั น หลอก ไ ม แ สดงตามที ่ เ ป น จริ ง คนก็ ห ลง ; เป น แสงสวา งของอวิช ชา. คนก็ค ุย ฟุ ง ไปเลย แลว อวดดีไ ปดว ย วา ตัว รู  รู  เกง ถูก อยา งนั ้น อยา งนี ้; แตแ ลว มัน ผิด ทั ้ง นั ้น นี ่เ พราะเปน แสงสวา งของ อวิชชา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี ่ ทั ้ ง ห ม ด นี ้ เ ป น ตั ว อ ย า ง ห ล า ย ๆ ป ร ะ ก า ร เ กี ่ ย ว กั บ ความโง หรือ อคติ ที ่ทํ า ไปโดยไมรู ส ึก ตัว ของมนุษ ยเ รา ซึ ่ง เปน ปญ หา ทางศี ล ธรรม เป น ป ญ หาใหญ และยื น ตั ว ยื น โรง อยู ต ลอดเวลาในทางศี ล ธรรม; แล ว ก็ ค ลอดลู ก ออกไป เป น ป ญ หาทางเศรษฐกิ จ ทางการเมื อ ง ทางการศึ ก ษา ทางกสิก รรม ทางทุก อยา งทุก ประการในโลก. ปญ หาทั ้ง หลายเหลา นั ้น มัน เกิ ดมาจากป ญหาทางศี ลธรรม ที่ ตั้ งอยู บนความโง หรื อความหลง อคติ ที่ ไม รู สึ กตั ว. ฉ ะ นั ้ น ข อ ใ ห ด ู ก ั น เ สี ย ใ ห ด ี ๆ ใ น ข อ นี ้ ใ ห เ ห็ น ว า ม นุ ษ ย เ ร า กํ า ลั ง มี ค ว า ม รู  ส ึ ก ต อ ป ญ ห า ท า ง ศี ล ธ ร ร ม ห รื อ ไ ม ? อ ย า ง ที ่ อ า ต ม า ไ ด

www.buddhadassa.in.th


๑๘๐

อริยศีลธรรม

กลาวมาแลวขางตนวา จะพูดวาไมรูสึกเสียเลยนั่นแหละจะถูกกวา, ไมมีความรูสึก ตอ ปญหาทางศีลธรรมกันเสียเลย พูดอยางนี้ถูกกวา ที่จะไปพูดวากําลังรูสึกกัน อยูอยางไร หรือวารูสึกอยูอยางผิด ๆ เพราะวามันไมมีผลอะไรจากความรูสึกชนิด นั้น. .… .... …. .… ท ี นี ้ ม า ด ู ก ั น ต  อ ไ ป อ ี ก ม ุ ม ห นึ ่ ง ซึ ่ ง จ ะ แ ส ด ง ใ ห  เ ห ็ น ความมี ห รื อ ความไม ม ี หรื อ ความเสื ่ อ ม หรื อ ความเจริ ญ ของสิ ่ ง ที่ เรียกวาศีลธรรม. อยากจะสรุ ป เรี ย กสั ้ น ๆ ว า ความรู  จ ั ก บาปบุ ญ หรื อ ความ รู  จ ั ก บุ ญ รู  จ ั ก บ า ป , ค ว า ม รู  จ ั ก บุ ญ รู  จ ั ก บ า ป นี ่ จ ะ พู ด ถึ ง ค ว า ม รู  ; เมื่อ ตะกี้พูด ถึง ความไมรูถึง ความโง ถึง ความอคติ ที่มัน เปน ความไมรู. ทีนี้ม า มองดูในเหลี่ยมของความรู ซึ่งมันควรจะรูและตรงกันขาม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org แตท ีแ รกนี ้จ ะตอ งดูก ัน เสีย กอ นนะ วา มัน มีข อ เท็จ จริง อยา งไร เกี ่ย วกับ ความรู จ ัก บาปบุญ คุณ โทษนี ้ นี ้ต อ งเปรีย บเทีย บกัน อีก จึง จะ มองเห็ น ง าย; ต อ งเปรี ย บเทีย บกั น ในระหว า งมนุษ ย ที่ มี ก ารศึ ก ษา และมนุ ษ ย ที่ ไมมีการศึกษา. ใชคําพูดธรรมดา ๆ อยางที่เขาใชกันอยูในโลกเวลานี้ เขาเรียก มนุ ษ ย ช นิ ด ไหนว า มี ก ารศึ ก ษา, เขาเรี ย ก มนุ ษ ย ช นิ ด ไหนว า ไม ม ี ก าร ศึกษา แลวก็ศึกษาแผนปจจุบัน.

www.buddhadassa.in.th


ความรูสึกของมนุษยตอปญหาทางศีลธรรม (ตอ)

๑๘๑

ถา เราตั ้ง คํ า ถามอยา งนี ้ คนก็ม ีป ากแข็ง ที ่จ ะตอบ ตามความ รู ส ึก หรือ ตามตอ งการของตัว ; ฉะนั ้น จะไปหาคํ า ตอบจากการโหวตคะแนน เสียง อยางนี้คงทําไมได คงไมมีใครยอม, หรือจะเอามาเถียงกันเฉพาะหนา มัน ก็ค งชกตอ ยกัน ปากแตกไปหมด ไมม ีท างที ่จ ะยอมรับ ได. ฉะนั ้น เราอยา ทํ า อยา งนั ้น เลย; เราก็ ดูที ่ม ัน เปน อยู จ ริง ในเวลานี ้ใ นโลกก็แ ลว กัน ดู ปรากฏการณที่มีอยูจริง โดยแบงเปนยุค ๆ จะไดดูงาย. บางคนอาจจะยัง ไมท ราบวา ยุค อะไร? ก็ข อบอกวา ยุค ที ่เ ขาใช เรี ย กกั น ในเวลานี้ เวลานี้ เ ขาเรี ย กกั น ว า ยุ ค ป ง ปอง ป จ จุ บั น หยก ๆ นี่ เ รี ย กว า ยุคปงปอง; ในระยะ ๒๐ - ๓๐ ปมานี้ เขาเรียกวา ยุคอวกาศ, เกือ บ ๑๐ ป มานี ้. แลว เมื ่อ กอ น ๒๐ - ๓๐ ปม านี ้เ ขาเรีย กวา ยุค ปรมาณู; กอ นนั ้น เรียกวา ยุคไฟฟา เริ่มรูจักใชไฟฟา. เลยนั้นไปอีกก็ ยุคไอน้ํา. ตั้ ง ๓๐๐ - ๔๐๐ ป ม าแล ว มนุ ษ ย มี ค วามรู เ พี ย งแต เ อาไอน้ํ า มาใช เปน กํ า ลัง เดิน รถเดิน หรือ อะไรได; รู เ พีย งแคนั ้น เรีย กวา ยุค ไอน้ํ า . ตอ มา อีก มัน ฉลาดขึ ้น เปน ยุค ไฟฟา : รู จ ัก ประดิษ ฐ แรงไฟฟา ขึ ้น มาใช มัน ก็เ กง ขึ ้น . ตอ มาอีก ใชกํ า ลัง ปรมาณู ได ตอ มาอีก มีค วามรู ไ ปนอกโลก เปน อวกาศนั ้น ได. แตใ นที ่ส ุด ยุค ปจ จุบ ัน นี ้ คือ ยุค ปง ปอง คือ หมดปญ ญา แล ว ไม มี อ ะไรจะช ว ยแก ไ ขป ญ หาทางการเมื อ งแล ว ต อ งใช ลู ก ป ง ปอง คื อ เป น ยุคที่โกหกหลอกลวง เหลาะแหละเหมือนกับลูกปงปอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อ ย า ง ที ่ ๑ ก็ เ ป รี ย บ เ ที ย บ ดู ศ ี ล ธ ร ร ม ค ว า ม รู  จ ั ก บ า ป บุ ญ คุ ณ โ ท ษ ; ว า ศี ล ธ ร ร ม ยุ ค ป ง ป อ ง กั บ ศี ล ธ ร ร ม ยุ ค อ ว ก า ศ นั ้ น อั น ไ ห น

www.buddhadassa.in.th


๑๘๒

อริยศีลธรรม

เลวกวา กัน ดีก วา กัน ? ก็ย ุค ปง ปอง มัน ยุค โกหกหลอกลวงเหมือ นลูก ปง ปอง ก็เ ปน ศีล ธรรมที ่เ ลวกวา ยุค อวกาศ ที่ผ า นไปแลว ที่รู จัก เที่ย วไปในอวกาศ. ศีลธรรมในยุคอวกาศ กับยุคปรมาณู ตองยอนหลังไปอีก มันก็สูศีลธรรมในยุค ปรมาณูไ มไ ด . ศีล ธรรมในยุค ปรมาณูก็สูศีล ธรรมในยุค ไฟฟา รูจัก เพีย งแค ไฟฟา นั้น ไมไ ด. ศีล ธรรม ยุค ไฟฟา ก็สูศีล ธรรมยุค ไอน้ํา ไมไ ด. ศีล ธรรม ยุค ไอน้ํา นั้น ก็ยัง สูศีล ธรรมในยุค การใชเ ครื่อ งทุน แรงโบรมโบราณ ลากแอก ดวยคอดวยบา ดวยวัวดวยควายก็ ไมได. ยุคที่เราทํานาดวยบา ดวยวัวดวยควาย มีศีล ธรรมดีก วา ยุค ที่รูจัก ใชเ ครื่อ งทุน แรง. อยา งนี้ จริง หรือ ไมจ ริง ? ขอให ไปดูดวยตนเอง แลวไมตองมาตอบมาเถียงกันหรอก นี้เพียงแตบอกใหดู ใหดู ปรากฏการณเหลานี้ โดยเทียบกันเปนยุค ๆ. ทีนี ้ถ า จะเทีย บกัน รวดเดีย ว แตต น สุด มาถึง ปลายสุด คือ เที ย บศี ล ธรรมในยุ ค โบรมโบราณ กั บ ยุ ค ป ง ปองนี ้ ม ั น ต า งกั น อย า งไร? อั น ไหนเป น ศี ล ธรรมหรื อ ไม เ ป น ศี ล ธรรม? ไปคิ ด ดู ก ็ แ ล ว กั น ไม ใ ช เ รื ่ อ ง พูด เลน ไมใ ชเ รื ่อ งประชดประชัน ใครอะไร; ตอ งการแตเ พีย งใหช ว ยกัน ดู ความจริง. ใหชวยกันดูขอเท็จจริง ที่มันเกี่ยวกันอยูกับความเปนความตายของ มนุษยเราในโลกนี้ คือความมีศีลธรรมหรือความไมมีศีลธรรมนั่นเอง. นี่เรียกวา เราดูกันกวาง ๆ อยางนั้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อย า งที่ ๒. ที นี้ ม าดู แ คบ ๆ กั น ต อ ไปอี ก ว า ศี ล ธรรมของ ลูกเด็ก ๆ ของยุวชน นี่เราเปรียบเทียบกันดู.

www.buddhadassa.in.th


ความรูสึกของมนุษยตอปญหาทางศีลธรรม (ตอ)

๑๘๓

อาตมารู  ส ึ ก อย า งนี ้ จ ริ ง ๆ ว า ศี ล ธรรมหรื อ ความรู  จ ั ก บาป บุญของเด็ก ๆ สมัยที่มันนั่งเรียนกลางดิน หรือนั่งเรียนตามศาลาวัด กระรองกระแรง นั้น ยังดีกวานักเรียนสมัยที่เรียนบนตึกราคาแสนราคาลาน. นี่ทานก็เขาใจไดแลว วา สมั ยก อ น สั ก ๔๐ - ๕๐ ปม านี้ เด็ ก ๆ เรี ย นศาลาวั ด กระหรองกระแหรง, หรือ บางที ก็ต อ งเรียนกลางดินโคนต นไมก็ มี. เดี๋ยวนี้ เด็ก ๆ เรียนบนอาคารราคา แสนราคาลาน; แลวดูซีศีลธรรมของเด็ก ๆ ทั้ง ๒ พวกนี้ จะเห็นวา เด็กสมัยที่ เ รี ย น ศ า ล า วั ด มี ค ว า ม รู  ส ึ ก ต อ บุ ญ แ ล ะ บ า ป ห รื อ ศี ล ธ ร ร ม ม า ก ห รื อ ดีกวาเด็กสมัยนี้ นี่ไมตองอธิบายละมัง ก็ดูปญหาอยางที่กําลังเกิดอยูในโรงเรียน ราคาแสนราคาลาน กระทั่งในวิทยาลัย กระทั่งในมหาวิทยาลัย เวลานี้เขามีอะไร กันบาง กระทั่งชั้นครูบาอาจารยเลย. อย า งที ่ ๓. ดู ไ ด อ ย า งนี ้ อ ี ก ที ห นึ ่ ง ว า เมื ่ อ เด็ ก ๆ ตั ว เล็ ก ๆ ๓ ป ๕ ป เรี ย นชั้ น อนุ บ าลนี้ มี ค วามกลั ว บาป, รู จั ก คํ า ว า บาป แล ว ก็ ก ลั ว บาป.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org พ อ โ ต ขึ ้ น ไ ป เ รี ย น ชั ้ น ป ร ะ ถ ม มั น เ ห ลื อ น อ ย ล ง แ ล ว ; ค ว า ม กลัวบาป หรือศีลธรรมเหลือนอย.

พอโตขึ ้น ไปเรีย นชั ้น มัธ ยม เหลือ สัก ครึ ่ง หนึ ่ง ก็แ ทบจะไมไ ด ความรูสึกบาปบุญหรือศีลธรรม. พอเรียนชั้นเตรียม ชั้นอุดมแลวหมดเลย.

www.buddhadassa.in.th


๑๘๔

อริยศีลธรรม

พอขึ ้น ชั ้น มหาวิท ยาลัย แลว ความรู ส ึก อัน นี ้ก ็ยิ ่ง หมดเลย มีแ ต ความมุทะลุ ฮึดฮัดตามอารมณ ตามที่เขาไดเรียนมาวาตองอยางนั้น ตองอยางนี้ ตองเรียกรองอยางนั้น ตองเรียกรองอยางนี้ ตองตอรองอยางนั้น ตองสูอยางนั้น ต อ งสู  อ ย า งนี ้ ตามหลั ก ของคนบ า ประชาธิ ป ไตย เพราะเขาสอนกั น อี ก จนที ่เ รีย กวา ประชาธิป ไตยเฟอ ประชาธิป ไตยบา ขึ ้น สมองคนเหลา นี ้ ไมใ ช เปนประชาธิปไตย ที่ประกอบไปดวยธรรมมะเสียเลย. ฉ ะ นั ้ น เ ร า จึ ง เ ห็ น ไ ด , เ ร า ต อ ง ย อ ม รั บ ด ว ย ว า เ ด็ ก ชั ้ น อนุบ าลมีศ ีล ธรรมกวา เด็ก ชั ้น ประถม โดยสัญ ชาตญาณ; โดยสัญ ชาตญาณ ด ว ย ซ้ํ า ไ ป , เ ด็ ก ชั ้ น ป ร ะ ถ ม มี ศ ี ล ธ ร ร ม ดี ก ว า ชั ้ น มั ธ ย ม , ชั ้ น มั ธ ย ม ก็ย ัง ดีก วา ชั ้น เตรีย ม หรือ ชั ้น อุด มในที ่ส ุด .. นี ่เ รีย กวา ดูก ัน ตามระดับ อายุแ ลว เปน ไปตามธรรมชาติ และสิ่ง แวดลอ มตามที่มีอ ยูจ ริง กับ บุค คลนั้น ๆ มีผลพอแสดงใหเห็นอยางนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อยา งที ่ ๔. จะดูใ หม ัน กวา งกวา อีก ทีห นึ ่ง ซึ ่ง จํ า เปน จะตอ งดู หรือเปนขอเท็จจริงที่สําคัญมากเหมือนกัน และเปนปญหาอยางยิ่งดวย คือ ยุวชน ของชาติ ที ่ เ ขาเรี ย กว า พั ฒ นาเต็ ม ที ่ กั บ ยุ ว ชนของชาติ ที ่ กํ า ลั ง ด อ ย พัฒนา.

ป ร ะ เท ศ เ ล็ก ๆ ป ระ เ ท ศล า หลัง อ ยา ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย เ ร า นี ้ เ ข า เ รีย ก วา ประเทศดอ ยพัฒ นา; แตเ ขาเกรงใจหนอ ยหนึ ่ง , เขาเอาใจเราหนอ ยหนึ ่ง , เขาเรียกวา ประเทศกําลังพัฒนา แลวเขาก็เรียกประเทศเขาวา ประเทศที่พัฒนา แลว . เราก็เ ลยไดป ระเทศทั้ง หลายในโลกเปน ๒ ชนิด วา ประเทศพัฒ นา, กับ

www.buddhadassa.in.th


ความรูสึกของมนุษยตอปญหาทางศีลธรรม (ตอ)

๑๘๕

ประเทศดอยพัฒนา. ใน ๒ ชนิดนี้ เด็ก ๆ ของประเทศไหนมันมีศีลธรรมดีกว า หรือ ผู ใ หญก ็ต าม ของประเทศชนิด ไหน มีศ ีล ธรรมดีก วา คือ มัน รู จ ัก คา ของศีลธรรม นับถือศีลธรรมรูจักบุญบาปมากกวากัน? นี้ดูอยางกวาง ๆ ไมตอ ง ต อ บ ก็ ไ ด แ ล ว ว า ป ร ะ เ ท ศ ที ่ ยิ ่ ง ด ว ย ก า ร พั ฒ น า นั ้ น บ า วั ต ถุ ไ ม เ ห็ น แ ก ศี ล ธรรม มี แ ต ก อบโกย; ประเทศด อ ยพั ฒ นาเล็ ก ๆ ยั ง โง อ ยู ก็ ไ ม รู จ ะกอบโกย อะไร มันยังกลัวบาปอยูบาง ก็มีศีลธรรมดีกวา, มีพระเจามากกวา. ที นี ้ มั น ยั ง มี อ ี ก อ ย า ง ห นึ ่ ง ว า ป ร ะ เ ท ศ ไ ห น เ ป ลี ่ ย น แ ป ล ง หลั ก ศี ล ธรรมมาก? ประเทศที ่ ยิ ่ ง ด ว ยพั ฒ นา มั น เปลี ่ ย นแปลงหลั ก ทาง ศี ล ธรรมกี่ ม ากน อ ย? ประเทศที่ ยั ง ด อ ยพั ฒ นาอยู มั น ไม ก ล า เปลี่ ย นแปลงหลั ก ทางศี ล ธรรมสั ก กี่ ม ากน อ ย? แล ว ก็ ดี ว า ศี ล ธรรมของประเทศไหน มั น เปลี่ ย น แปลงมากกว า นั ่ น เอง ? ก็ จ ะเห็ น ได โ ดยไม ต  อ งพู ด อี ก ว า ประเทศพั ฒ นา ก็มุ ง แตพ ัฒ นา มุ ง แตป ระโยชนท างวัต ถุ เขาก็แ กไ ขกฎเกณฑท างศีล ธรรม เกิดความนิยมอันใหม จนไมตองผิดศีลธรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ข อ นี ้ เ อ า ยุ ว ช น เ ป น เ ค รื ่ อ ง ดู ก ั น ก อ น ว า ยุ ว ช น ใ น ป ร ะ เ ท ศ ที่ เจริ ญ คื อ พั ฒ นามาก กั บ ยุ ว ชนในประเทศที ่ ย ั ง ด อ ยพั ฒ นานี ้ ใ ครยั ง มี ศ ี ล ธรรมมากกวา กัน ? รู จ ัก บุญ และบาปมากกวา กัน , กลัว บาปรัก บุญ มากกวา กั น ; จนกระทั่ ง ว า คํ า ว า บาปและคํ า ว า บุ ญ นี่ ได เ ปลี่ ย นแปลงความหมายไป อยา งมากมายนั ้น มัน เปลี ่ย นแปลงกัน ในหมู ช นประเทศชนิด ไหน? คือ ประเทศ ที่พัฒนาหรือประเทศดอยพัฒนา. ขอใหศึกษากันดู ดวยจิตใจที่เที่ยงธรรม.

อ ย า ง ที ่ ๕ ที นี ้ ย ั ง เ ห ลื อ อ ยู  อ ี ก ห น อ ย ห นึ ่ ง ก็ อ ย า ก จ ะ พู ด ถึง ครูบาอาจารย บาง.

www.buddhadassa.in.th


๑๘๖

อริยศีลธรรม

คํ า วา ครูบ าอาจารยนี ้ ความหมายที ่ ๑ คือ ผู เ ปด ประตู ตามตั ว หนัง สื อ ที่แ ปลว า ผู นํ า ทางวิ ญ ญาณนั้ น เดิม ตั ว หนั งสื อ แท ๆ ของสมั ย โบราณในประเทศอิน เดีย คํา วา ครู นี้เ ขาแปลวา ผูเ ปด ประตู. รากศัพ ทจ ะ เป น อย า งไร ก็ ไ ม มี ใ นคั ม ภี ร ฝ า ยบาลี แล ว มั น เก า เกิ น ไปด ว ย; แต เ ป น ที่ รั บ รอง ต อ งกั น หมดว า คํ า ๆ นี้ โ ดย รากของศั พ ท แ ท ๆ แล ว แปลว า ผู เ ป ด ประตู เหมือ นกับ วา สัต วมัน ถูก ขัง อยูใ นเลา มืด ๆ ในคอกมืด ๆ แลว มีค นมาเปด ประตู ในสัต วเ หลา นั ้น มัน ออกไปสู ที ่โ ลง ที ่แ จง ที ่อ ากาศดีม ีแ สงสวา ง. ผู เ ปด ประตูนั้นแหละ คือคําวาครู. ตอ มาเอาความหมายที ่ ๒ ความหมายที ่ง า ยขึ ้น มาอีก ก็แ ปลวา ผู นํ า ในทางวิ ญ ญาณ, ครู บ าอาจารย เ ป น แสงสว า งในทางวิ ญ ญาณ ส อ งแสง ให ค นทั ้ ง หลายเดิ น ตามไปอย า งถู ก ต อ ง. ที ่ เ รี ย กว า ครู นี ่ เ ราถื อ ว า มี บ ุ ญ คุ ณ เป น ปู ช นี ย บุ ค คล; ก็ เ รี ย กว า ครู ก ั น มาเรื ่ อ ย ๆ ว า เป น ผู  ม ี บ ุ ญ คุ ณ อันหนัก, หรือเปนผูที่เราจะตองมีความเคารพหนัก; นี่คือคําวาครู.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สว นที ่ภ ายหลัง ครูไ ดเ ปลี ่ย นแปลงความหมาย ไปเปน ลูก จา ง สอนหนัง สือ นั ้น มัน อีก เรื ่อ งหนึ ่ง อยา เอามาปนกัน . พอเปน ครูก ็ต อ งทํ า หนา ที่ ผู เ ปด ประตู กัน ตอ ไป, หรือ เปน ผู ทํ า ทางวิญ ญาณ หรือ เปน ปูช นีย บุค คล; มีไวเปนหลักเกณฑในโลกนี้ สําหรับสองแสงสวางทางวิญญาณ. นี้เรียกวา ครูบา อาจารยรวม ๆ กันไป. ทีนี ้ก ็ม าถึง สมัย นี ้ ปจ จุบ ัน นี ้ ก็ย ัง มีบ ุค คลประเภทครูนี ้อ ยู  ใช คํ า เดิม ๆ วา ครู ซึ ่ง เปน ผู เ ปด ประตูท างวิญ ญาณ; แตว า การกระทํ า มัน

www.buddhadassa.in.th


ความรูสึกของมนุษยตอปญหาทางศีลธรรม (ตอ)

๑๘๗

เปลี่ ย นไปตามยุ ค ตามสมั ย อย า งที่ เ รี ย กว า ยุ ค ป ง ปองแล ว ตั ว โลกตั ว เหตุ ก ารณ ในโลกมัน เปลี ่ย นแปลง ตัว "ครู" จะทนอยู ไ ดอ ยา งไร; มัน ก็เ ปลี ่ย นแปลงดว ย ก็เป นธรรมดาที่ วา บุ คคลประเภทผูนํ าทางวิ ญญาณ หรือสองแสงสวางทางวิญญาณ นั ้น มัน ไดม ีก ารเปลี ่ย นแปลง; ฉะนั ้น จะดูก ารเปลี ่ย นแปลงนี ้ก ัน , แลว เรา จ ะ เ ข า ใ จ ว า ทํ า ไ ม จึ ง เ ป น ผ ล ร า ย แ ก โ ล ก ใ น ป จ จุ บ ั น ถึ ง ข น า ด นี ้ ? แ ล ว ก็ ดูกันแตในยุคปงปองนี้ดีกวา, ซึ่งครูจะกลายเปนผูรับใชการเมืองไปแลว. ค รู ทั ้ ง ห ล า ย ใ น ยุ ค ป จ จุ บ ั น นี ้ เ มื ่ อ ไ ม เ ค ย ไ ป เ รี ย น เ มื อ ง ฝ รั ่ ง เปน อยา งไร?แลว เมื ่อ ครูนี ้ไ ดเ คยไปเรีย นเมือ งนอกมาเปน อยา งไร? เมื ่อ นิย มไปเรีย นเมือ งฝรั ่ง กัน แลว ถึง ยุค ครูที ่ต ามกน ฝรั ่ง เต็ม ที ่นี ้ เปน อยา งไร? แลว ก็ม าถึง ยุค ครูที ่อ ยากจะล่ํ า หนา ฝรั ่ง ไปเสีย อีก จะเปน อยา งไร? แลว ก็ มาถึง ครูส มัย ปง ปอง เปน ผู นํ า ในการตอ ตา น ในการประทว ง ในการอะไรก็ มี ม ากยิ ่ ง ข น ทุ ก ที . ครู เ ป น ผู  นํ า ในการประท ว งแล ว จะเป ด ประตู ว ิ ญ ญาณ ไดอ ยา งไร? บางทีเ ขาก็ค ิด วา ถูก แลว การประทว งนั ่น แหละคือ การเปด ประตู ทางวิ ญ ญาณของคนโง ของคนอั น ธพาล ให มั น มี โ อกาสที่ จ ะต อ สู ต อ ต า นหรื อ เรียกรอง; มันก็ถูกเหมือนกัน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org แ ต เ ดี ๋ ย ว นี ้ เ ร า จ ะ ดู ก ั น ใ น แ ง ข อ ง ศี ล ธ ร ร ม ว า ค รู ร ะ ดั บ ไ ห น มี ศ ี ล ธ ร ร ม ม า ก น อ ย ก ว า กั น อ ย า ง ไ ร ? ค รู ที ่ ไ ม เ ค ย ไ ป เ รี ย น เ มื อ ง น อ ก , ครู ที ่ น ิ ย มการไปเรี ย นเมื อ งนอก, ครู ที ่ ต ามก น ฝรั ่ ง , ครู ที ่ อ ยากจะให เ ลย ล้ํ า หนา ฝรั ่ง ไปอีก , กระทั ่ง ครูที ่ม ุท ะลุด ุด ัน ขึ ้น มา เปน ผู นํ า ในการเรีย กรอ ง ประทว งอยา งนั ้น อยา งนี ้ จนไมม ีล ัก ษณะอะไรของความเปน ครูเ หลือ อยู เ ลย; เดี๋ ย วนี้ มี ค รู ช นิ ด ไหนมาก? แล ว ก็ ต อบได ใ นทั น ที ว า ศี ล ธรรมของเด็ ก ๆ จะเป น

www.buddhadassa.in.th


๑๘๘

อริยศีลธรรม

อย า งไร ที่ พู ด มาเพี ย งเท า นี้ ก็ เ ข า ใจแล ว ไม ต อ งพู ด แข ง กั บ ฝนอี ก แล ว ฝนกํ า ลั ง จะมาอีกแลวไมทันจะจบเรื่อง. อ ย า ง ที ่ ๖ เ ร า จ ะ ดู ช น ชั ้ น ป ก ค ร อ ง กั น บ า ง ; จ ะ เ รี ย ก ว า รั ฐ บาลหรื อ เรี ย กอะไรก็ ไ ด ไม ต อ งเกรงใจเรี ย กได เ ลย แต เ รี ย กรวม ๆ ก็ ต อ ง เรีย กวา ชนชั ้น ปกครอง จัด เปน รูป รัฐ บาลหรือ หลัง ฉากรัฐ บาล หรือ หนา ฉาก รัฐ บ า ล อ ะ ไ ร ก็ส ุด แ ท; ช น ชั ้น ป ก ค ร อ ง นี ้ กํ า ลัง ใ หค ว า ม ห ม า ย แ ก ศีล ธรรมอ ย า ง ไ ร ? ช น ชั ้ น ป ก ค ร อ ง ใ น โ ล ก กํ า ลั ง ใ ห ค ุ ณ ค า ท า ง ศี ล ธ ร ร ม อยางไร? ถ า ช น ชั ้ น ป ก ค ร อ ง เ ห ล า นี ้ เ ข า รู  จ ั ก ศี ล ธ ร ร ม ดี ใ ห ค ว า ม ห ม า ย แ ก ศ ี ล ธ ร ร ม ดี ก็ ต  อ ง จั ด ศี ล ธ ร ร ม ใ น รู ป ที ่ ม ี ป ร ะ โ ย ช น แ ก มนุษย คือมีสันติภาพใหแกมนุษยเปนแน. เ ดี ๋ ย ว นี ้ เ ร า จ ะ ดู ว  า ช น ชั ้ น ป ก ค ร อ ง ทั ้ ง ห ล า ย ที ่ ค ุ ม อํ า น า จ ก า ร ปกครองไว นี ้ เขามี จ ิ ต ใจเป น อย า งไร? คนเหล า นี ้ รู  จ ั ก บาปบุ ญ คุ ณ โทษ เ ท า ไ ร ? รู  จ ั ก บิ ด า ม า ร ด า ค รู บ า อ า จ า ร ย อ ย า ง ไ ร ? รู  จ ั ก ศี ล ธ ร ร ม วัฒ นธรรม ศาสนา พระเจา พระสงฆอ ยา งไร? รู จ ัก การเสีย ชาติ หรือ สูญ ชาติกันในลักษณะไหน?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เ ข า รู  จ ั ก ห รื อ ไ ม ว  า ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย นั ้ น มั น เ ห ม า ะ แ ก ผู  มี ศี ล ธรรมเท า นั ้ น ; ถ า ไม ม ี ศ ี ล ธรรมแล ว ประชาธิ ป ไตยอยู  ไ ม ไ ด ประชาธิป ไตยอยู ไ ด ก็เ พราะวา มัน มีศ ีล ธรรมเปน รากฐาน; นี ้เ ขาไปหลงกัน แตใ นสว น

www.buddhadassa.in.th


ความรูสึกของมนุษยตอปญหาทางศีลธรรม (ตอ)

๑๘๙

ประชาธิ ป ไตย, แล ว ก็ ไ ม ม องในส ว นศี ล ธรรม มั น ก็ ม ี ป ระชาธิ ป ไตยที ่ เ ป น ที่ พึ่ ง ไ ม ไ ด , มี แ ต ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย ที่ เ ป น พิ ษ . ฉ ะ นั้ น ก า ร ป ก ค ร อ ง ร ะ บ อ บ ประชาธิป ไตย สว นใหญม ัน จึง เปน พิษ คือ มัน ผิด ตอ ความจริง ตอ ขอ เท็จ จริง ของธรรมชาติของอะไรตาง ๆ. มี ภ าษิ ต อยู  ข  อ หนึ ่ ง ดี ม าก ซึ ่ ง ควรจะจํ า ไว เนสา สภา ยตฺ ถ น สนฺ ติ สนฺ โต : เนสา สภา ว า นั้นมิ ใช สภา, ยตฺ น น สนฺติ สนฺโต คือ ในที่ ใด ไมม ีส ัต บุร ุษ ที ่ใ ดไมม ีส ัต บุร ุษ ที ่นั ่น ไมใ ชส ภา. ในสภาผู แ ทนราษฎรของ ช า ติ ทั ้ ง ห ล า ย ต า ง ๆ ใ น โ ล ก นี ้ มี ส ั ต บุ ร ุ ษ ห รื อ ไ ม ; ถ า ไ ม ม ี ส ั ต บุ ร ุ ษ นั ้น ไมค วรเรีย กวา สภา, มัน เปน เพีย งกลุ ม ของคนบา ประชุม กัน ถกเถีย งอะไร ต าง ๆ นานา ไปตามแบบของคนบ า. ถ าจะเป นสภาตามความหมายของพระบาลี นี ้ ของภาษานี ้ม ัน ตอ งประกอบไปดว ยสัน โต สัน ตบุค คล คือ สัต บุร ุษ ; นั ่น มิใชสภา ถาที่ใดไมมีสัตบุรุษ, ในที่ใดไมมีสัตบุรุษ ในที่นั้นไมใชสภา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี ่ เ ดี ๋ ย ว นี ้ เ ข า มี ส ภ า เ ป น ส ภ า สํ า ห รั บ ป ก ค ร อ ง ป ร ะ เ ท ศ ช า ติ , แ ล ว ม า ดู ก ั น ห รื อ เ ป ล า ว า ใ น ส ภ า นั ้ น มี ส ั ต บุ ร ุ ษ ห รื อ ไ ม ? ถ า ไ ม ม ี ส ั ต บุ ร ุ ษ มั น ก็ เ ป น ที่ ร วมกลุ ม ของคนบ า คนเมา ครึ่ ง บ า ครึ่ ง เมา หลงใหลอะไรต า ง ๆ นานา; ไม รู จั ก สิ่ ง ที่ เ รี ย กว า ศี ล ธรรมกั น เสี ย เลย จะพาบ า นเมื อ งไปไม ไ ด หรื อ พาโลกนี้ ไ ป ไ ม ไ ด . นี ่ ค ว า ม รู  จ ั ก บ า ป บุ ญ คุ ณ โ ท ษ มี ใ น ส ภ า เ ห ล า นั ้ น ห รื อ เ ป ล า ? ยิ่งกวานั้นมีสัตบุรุษหรือเปลา?

แลว คํ า วา " สูญ ชาติ, เสีย ชาติ" นี ้ มัน เปน คํ า ที ่สํ า คัญ ที ่ส ุด . เ ข า จ ะ รู  ก ั น ห รื อ เ ป ล า ว า เ สี ย ช า ติ สู ญ ช า ติ ท า ง วั ฒ น ธ ร ร ม นั ่ น มั น

www.buddhadassa.in.th


๑๙๐

อริยศีลธรรม

รา ยกาจ ยิ ่ง กวา เสีย ชาติ สูญ ชาติ ทางการเมือ ง? ถา สมมติว า เราตอ ง พา ยแพ ตกไปเปน ขา เขาเปน เมือ งขึ ้น เขา แตย ัง คงมีศ ีล ธรรม วัฒ นธรรมของ คนไทย พุท ธบริษ ัท อยู ไ ด ก็ไ มเ รีย กวา เสีย ชาติไ ทย ไมเ รีย กวา สูญ ชาติไ ทย; แมว า โดยภูม ิศ าสตร หรือ โดยการเมือ ง มัน ไปรวมอยู ก ับ ประเทศอื ่น ชาติไ ทย ยีงอยูที่ตัวบุคคลนั้น, วัฒนธรรมไทย ศีลธรรมไทยยังอยู. แ ต เ ดี ๋ ย ว นี ้ ถ  า เ ร า ล ะ ทิ ้ ง ศี ล ธ ร ร ม วั ฒ น ธ ร ร ม ไ ท ย อ ย า ง พุ ท ธบริ ษ ั ท เสี ย แต เ ดี ๋ ย วนี ้ ที ่ นี ่ แ ล ว ; มั น สู ญ ชาติ เ สี ย แล ว , มั น สู ญ ชาติ อ ยู  ใ นสภา ที ่ เ ขาประชุ ม กั น เพื ่ อ บริ ห ารประเทศนั ่ น เ อ ง . ไ ม ม ี ค วามเป น คนไทยแล ว สู ญ ชาติ ไ ทยแล ว ทั้ ง ที่ แ ผ น ดิ น นี่ ยั ง ไม เ ป น เมื อ งขึ้ น ของใคร. เดี๋ ย วนี้ แผ น ดิ น ไทยยั ง ไม เ ป น เมื อ งขึ้ น ของใคร; แต ว า ชาติ ไ ทยสู ญ ไปเสี ย แล ว ก็ ไ ด คื อ ไม มี วั ฒนธรรมไทย ไม มี ศี ลธรรมไทย ไม มี ความเป นพุ ทธบริ ษั ท อย างไทย ๆ อย างที่ สั ต บุ รุ ษ บรรพบุ รุ ษ พุ ท ธบริ ษั ท ปู ย า ตา ยายของเรา เคยมี ม าแต ก าลก อ น. เดี ๋ย วนี ้เ รีย กวา ชาติไ ทยในทางวัฒ นธรรมมัน สูญ ไปแลว ; ถา เปน อยา งนี ้ สูญ ชาติแลว, แมวาแผนดิน ยังไมเปนของคนอื่น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เดี ๋ย วนี ้เ ขามาหลับ ตามองเห็น แต แผน ดิน นี ้ๆ อยา งเปน ความ บา หลัง มุท ะลุ มุม านะ อยา งเดีย ว ดา นเดีย ว ขา งเดีย ว ไมม องความเสีย ช า ติ ส ู ญ ช า ติ ท า ง น า ม ธ ร ร ม ท า ง จิ ต ใ จ ท า ง ม โ น ธ ร ร ม กั น เ สี ย เ ล ย ; เพราะฉะนั้ น จึ ง สู ญ ชาติ ใ นส ว นจิ ต ใจ หรื อ ส ว นวั ฒ นธรรม, แล ว ไม เ ท า ไร ความ สูญชาติอันนี้จะนําไปสูความสูญชาติ ทางเนื้ อหนัง ทางแผนดิน ทางวัตถุ อะไรหมด เดี๋ ย วนี้ เ มื่ อ เราไปตามก น เขา ทุ ก อย า งทุ ก ประการ ในการกิ น การอยู การทุ ก ๆ อยา งทุก ประการ ไปตามกน ขาหมด จนไมม ีค วามเปน ไทยเหลือ ; ไมเ ทา ไร

www.buddhadassa.in.th


ความรูสึกของมนุษยตอปญหาทางศีลธรรม (ตอ)

๑๙๑

ก็ส มัค รที ่จ ะเปน ทาส เปน ขา เขา เทา นั ้น แหละ. ปากก็พ ูด ไปอีก อยา งหนึ ่ง , แตน้ําใจนั้นไปหมดแลว. นี่เรียกวา ความสูญชาติไทย ที่นากลัวที่สุด. ทีนี ่ป ระเทศอื ่น ก็เ หมือ นกัน อีก ไมเ ฉพาะแตป ระเทศนี ้ นี ้ม ัน ขึ ้น อยู ที ่ว า ชนชั ้น ปกครอง จะเปน รัฐ บาลหรือ เปน รัฐ สภา เปน อะไรที ่ไ หนกัน อีก ก็ส ุด แท ที ่ว า รวมกัน เปน ผู ทํ า หนา ที ่คุ ม ครองประเทศชาตินั ้น มีศ ีล ธรรมกัน เพีย งไหน? ถา มีศ ีล ธรรมมากพอ ความเปน ชาติเ ปน ไทยเปน อะไรก็อ ยู ไ ด ความเปน มนุษ ยก ็อ ยู ไ ด สัน ติส ุข สัน ติภ าพก็ม ีอ ยู ไ ด ; ถา ไมม ีศ ีล ธรรม แลวก็หมดไป ๆ ในทางจิตใจกอน แลวในที่สุดก็จะหมดไปทั้งทางรางกาย ทางวัตถุ. .…

....

….

.…

นี ่ เ รี ย ก ว า ดู ก ั น ถึ ง ที ่ ส ุ ด ใ น ทุ ก แ ง ท ุ ก ๆ มุ ม แ ม จ ะเป น อย า ง ยอ อยางสังเขป ก็ดูกันทุกแง ทุกมุม วาศีลธรรมมีปญหาอยางไร.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org พวกเราทั้ ง หลายที่ เ ป น มนุ ษ ย นี้ รู สึ ก ต อ ป ญ หานี้ อ ย า งไร? ทุ ก คน เถีย งวา รู ส ึก ; แตถ า ความรู ส ึก นั ้น มัน ไมถ ูก ตอ ง ยัง หลับ ตาอยู นั ่น เอง; ก็ เรี ย กว า ไม มี ค วามรู สึ ก เสี ย ดี ก ว า . นี่ จึ ง แก ป ญ หาไม ถู ก , แก ป ญ หาไม ไ ด . ถ า รู สึ ก จริง มัน ก็แ กป ญ หาได; นี ้ทํ า ไมจึง เรีย กวา แกป ญ หาไมไ ด? เพราะดูซ ิ มีแ ต วิ ก ฤติ ก ารณ ไปทั่ ว ทุ ก หั ว ระแหง, มี ค วามระส่ํ า ระสายเดื อ ดร อ น, ไม มี สั น ติ สุ ข สวนบุคคล, ไมมี สัน ติภ าพในสว นรวมกันเสีย เลย; นี่เ รียกว า ไมมี ค วามถูก ตอ ง ในทางศีลธรรมนั่นเอง.

www.buddhadassa.in.th


๑๙๒

อริยศีลธรรม

ถา วา เขารู อ ะไรกัน บา ง ก็รู ไ ปตามทางของความไมม ีศ ีล ธรรม แลว ไปสมมติเ อามาเปน ศีล ธรรม; ไปเอาสิ ่ง ที ่ม ิใ ชธ รรมมาเปน ธรรม คือ ขอ เท็จ จริง ที ่กํ า ลัง เปน อยู ใ นโลกนี ้เ วลานี ้. ฉะนั ้น คนปจ จุบ ัน ในโลกนี ้ มีก ารกระทํ า ตอ ศีล ธรรมอยา งไร, มีค วามรู ส ึก ตอ ศีล ธรรมอยา งไร, วัน นี ้เ ราก็ไ ดพ ูด กัน พอ สมควร. เดี ๋ ย วนี ้ ที ่ เ ขาเก ง กั น อยู  ห น อ ยหนึ ่ ง ก็ ค ื อ ว า มี ป ากพู ด ได ม าก ในเรื ่อ งปรัช ญาทางศีล ธรรมแตก ็ไ มกี ่ค น; แลว ไวถ กเถีย งกัน ในหมู น ัก ปราชญ ไมกี ่ค นในปรัช ญาทางศีล ธรรม. สว นคนนอกนั ้น ไมรู จ ัก และไมป ฏิบ ัต ิ ไมมี ใครปฏิ บ ั ต ิ ; เพราะไม ม ี ใ ครอยากจะปฏิ บ ั ต ิ , เพราะอยากจะเอาเวลาไป หาความสุข สนุก สนานทางเนื ้อ ทางหนัง ทางเพลิด เพลิน อยา งนั ้น . ถา มีศ ีล ธรรมแลว มัน ถูก จํ า กัด มัน แคบ, แลว เขาก็รู ส ึก วา ตอ งอดทนเกิน ไปบา ง, หรื อ บางที ก ็ รู  ส ึ ก ว า ไม ม ี ร สไม ม ี ช าติ ; เลยไม ต  อ งการ; โลกมั น เป น อย า งนี้ รูสึกอยางนี้ ตอปญหาทางศีลธรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org บางคนอาจจะคิด สั ้น ๆ วา ใหโ ลกมัน ฉิบ หายไปก็แ ลว กัน , ส ว นตั ว ฉั น นี้ ใ ห ไ ดสนุ ก สนานเอร็ ด อร อ ยตามความต อ งการของฉั น . แล ว นี้ เ ป น ความถูก ตอ ง; อยา งนี ้ก ็จ ะมียิ ่ง ขึ ้น แลว ก็ม ากขึ ้น ๆ. ความรู ส ึก ของมนุษ ย ตอปญหาทางศีลธรรม มันมีขอเท็จจริง อยูอยางนี้; ฉะนั้นขอใหนําไปพิจารณาดู. ที นี ้ ก็ เ ราทั ้ ง หลาย ในฐานะที ่ เ ป น พุ ท ธบริ ษ ั ท มั น ก็ ต  อ งอยู รว มโลกกับ คนอื ่น เหมือ นกัน ; ฉะนั ้น เราตอ งรับ รู  ตอ งสนใจ และตอ งรับ รู สัง คมนุษ ย เกี ่ย วกับ เรื ่อ งราวของมนุษ ย, เกี ่ย วกับ ความอยู ห รือ ความรอดของ

www.buddhadassa.in.th


ความรูสึกของมนุษยตอปญหาทางศีลธรรม (ตอ)

๑๙๓

มนุ ษ ย , หรื อ เกี่ ย วกั บ ความวิ น าศ ความทํ า ลายของมนุ ษ ย , จึ ง เอามาพู ด กั น เ พ ร า ะ วา ค ว า ม เ ปน พุท ธ บ ริษ ัท ก็ค ือ ค ว า ม เ ปน ผู ม ีป ร ะ โ ย ช น ใ น ก า ร ที่ จ ะ ทํ า ต น เ อ ง ห รื อ ผู  อื ่ น ใ ห ม ี ค ว า ม ส ง บ สุ ข ; ถึ ง แ ม ต ั ว พุ ท ธ ศ า ส น า ก็ ม ี เ พื ่ อ ใ ห โ ล ก นี ้ ม ี ค ว า ม ส ง บ ส ุ ข , ธ ร ร ม ะ ทั ้ ง ห ล า ย ก ็ เ พื ่ อ คุ  ม ค ร อ ง โ ล ก เ พื ่ อ ค้ํ า จุ น โ ล ก ใ ห ม ั น อ ยู  ใ น ส ภ า พ ที ่ ป ร ก ติ ห รื อ เ ป น สุ ข ต า ม ค ว า ม ห ม า ย ของคําวา ศีลธรรม. เพราะฉะนั้ น ขออย า ได ลื ม เสี ย ว า อาตมาได พู ด มาหลายครั้ ง หลาย หนแลว วา คํ า วา "ศีล ธรรม" นั ้น สํ า คัญ อยู ต รงคํ า วา ศีล หรือ สีล ะ. สีล ะ ก็ แ ป ล ว า ป ร ก ติ ; เ มื ่ อ มั น ป ร ก ติ ก็ ไ ม วุ  น ว า ย ไ ม ม ี ป  ญ ห า ไ ม ม ี ค ว า ม ทุ ก ข ; ก็ เ อาเพี ย งเท า นั้ น ก็ พ อ ไม มี กิ เ ลสและความทุ ก ข มาทํ า ความวุ น วาย แล ว ก็ เปน สีล ะ คือ เปน ปรกติ. นี ้ก ็เ ปน ของวิเ ศษที ่ส ุด แลว สํ า หรับ มนุษ ย ที ่จ ะอยู ก ัน ในโลก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ป  ญ ห า เ รื ่ อ ง ส ี ล ะ ค ื อ ค ว า ม เ ป  น ป ร ก ต ิ ข อ ง ม น ุ ษ ย  นี ้ เ ป  น สิ่ ง ที่ ค วรสนใจ, แล ว ก็ ข อให ส นใจกั น ให สุ ด กํ า ลั ง สติ ป ญ ญาของตน ๆ; เพราะว า เกิด มาชาติห นึ ่ง นี ้ จะไดชื ่อ วา ไดช ว ยกัน สุด ความสามารถ สุด ฝไ มล ายมือ แล ว เพื่ อ ให ม นุ ษ ย นี้ อ ยู ด ว ยความหมายแห ง ความเป น มนุ ษ ย ที่ ถู ก ต อ งทุ ก ๆ ประการ. วั น หลั ง เราก็ จ ะได ค อ ยพู ด กั น ถึ ง ป ญ หาของศี ล ธรรมในแง อื่ น ต อ ไปอี ก .

ใ น วั น นี ้ ก ็ พ อ ส ม ค ว ร แ ก  เ ว ล า ก็ ข อ ยุ ต ิ ไ ว ท ี เ ป น โ อ ก า ส ที ่ ใ ห พระเจ า พระสงฆ นี้ ท า นจะสวดสิ่ ง ที่ เ ป น เครื่ อ งกระตุ น เตื อ นใจ ในการปฏิ บั ติ ศี ล ธรรมตอไป. ----------------

www.buddhadassa.in.th


www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรม -๗๑๗ สิงหาคม ๒๕๑๗

ปญหาตาง ๆ ที่กําลังทับถม แกปญหาทางศีลธรรม

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทานสาธุชน ผูมีความสนใจในธรรม ทั้งหลาย,

การบรรยายเรื่ อ ง อ ริ ย ศี ล ธ ร ร ม ประ จํา วั น เสาร เ ป น ครั้ ง ที่ ๗ ในวัน นี้นั้น อาตมาจะไดก ลา วโดยหัว ขอ วา ปญ หาตา ง ๆ ที่กํา ลัง ทับถม แกปญหาทางศีลธรรม.

ข อ ท บ ท ว น แ ล ะ ซั ก ซ อ ม ค ว า ม เ ข า ใ จ อ ยู  บ  อ ย ๆ ว า เ ร า ตอ งสนใจเรื ่อ งของศีล ธรรม และปญ หาตา ง ๆ ที ่มัน ขัด ขวางความเจริญ ของศี ล ธรรมในโลกนี ้ ; ไม ใ ช ว า เราจะไปสอดรู  ส อดเห็ น นอกเรื ่ อ ง ของตั ว ไปรู เ รื่ อ งของโลกทั้ ง หมด. ขอให ร ะลึ ก นึ ก ถึ ง พระพุ ท ธดํา รั ส ๑๙๕

www.buddhadassa.in.th


๑๙๖

อริยศีลธรรม

ที ่ว า "ตถาคตเกิด ขึ ้น ในโลก เพื ่อ ประโยชนเ กื ้อ กูล แกส ัต วโ ลกทั ้ง ปวง ทั ้ง เทวดาและมนุษ ย" เปน ตน ; นี ้ย อ มแสดงวา สิ ่ง ที ่พ ระพุท ธองคท รงมุ ง หมาย ส ว น ใ ห ญ ก็ ค ื อ ใ ห โ ล ก มี ค ว า ม ส ง บ สุ ข , ถ า ส ว นบุ ค ค ล ก็ ข อ ให ม ี ส ั น ติ ส ุ ข . สว นโลกทั ้ง โลก ก็ข อใหม ีส ัน ติภ าพ. "สว นบุค คลมีส ัน ติส ุข สว นสัง คมใหมี สันติภาพ" นี้ เปนความประสงคของการเกิดแห งพระตถาคต หรื อของการที่มีศาสนา อ ยู  ใ น โ ล ก นั ่ น เ อ ง ฉ ะ นั ้ น ข อ ใ ห ท ุ ก ค น ม อ ง เ ห็ น ข อ นี ้ อ ย า ไ ด เ ข า ใ จ ไ ป ว า มันนอกหนาที่ของเรา พุ ท ธ บ ร ิ ษ ั ท ร ั บ ห น  า ที ่ ส ื บ อ า ย ุ พ ร ะ ศ า ส น า ก ็ เ พื ่ อ ใ ห พระพุท ธประสงคไ มเ ปน หมัน นั ่น เอง; หรือ ถา จะมองกัน อีก ทางหนึ ่ง ก็ ตอ งมองไปในทางที ่ว า เราก็เ ปน คนหนึ ่ง ที ่อ ยู ใ นโลก จะดูด ายปลอ ยใหโ ลก เปน โลกของความเสื ่อ ม มีแ ตค วามทุก ข อยา งนี ้ม ัน ก็ไ มถ ูก แน, และมัน ก็ เหมือ นกับ วา เราแกลง ตัว เองดว ยเหมือ นกัน เพราะฉะนั ้น จึง เอามาพิจ ารณา ใหชวยกันแกไขไปตามที่จะทําได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อีก ประการหนึ ่ง เรื ่อ งศีล ธรรมในที ่นี ้ ก็ม ีคํ า วา "อริย ศีล ธรรม" ที ่จํ า กัด ความชัด ลงไปแลว วา เปน ศีล ธรรมของพระอริย เจา หรือ ศีล ธรรมใน พุท ธศาสนา; ไมใ ชศ ีล ธรรมแตป ากวา ที ่เ ขาวา กัน วา "ศีล ธรรมอัน ดีข อง ประชาชน" ซึ่งมันนาหวัววาถาศีลธรรมแลว ยังจะตองมีอันดีอีก. .…

....

….

.…

เ ดี ๋ ย ว นี ้ ม ี ป  ญ ห า ท า ง ศี ล ธ ร ร ม เ ป น ป ญ ห า ที ่ สํ า คั ญ ที ่ ส ุ ด ที่ ม นุ ษ ย จ ะ อ ยู  ร อ ด ไ ด ด ว ย ค ว า ม ผ า สุ ก ห รื อ ไ ม ; แ ต แ ล ว ก็ ไ ม ม อ ง เ ห็ น ว า

www.buddhadassa.in.th


ปญหาตาง ๆ ที่กําลังทับถม แกปญหาทางศีลธรรม

๑๙๗

มั น มี ค วามจริ ง อย า งนี้ , ก็ เ ลยไม เ อาใจใส เ รื่ อ งศี ล ธรรม หรื อ ป ญ หาทางศี ล ธรรม มัน ก็เ กิด เปน ปญ หาซอ นขึ ้น มาอีก อัน หนึ ่ง คือ การที ่ไ มเ อาใจใสท างศีล ธรรม นี่ ก็ เรี ยกว าเป นป ญหาเฉพาะหนาได นี้ เมื่ อมี ความสนใจที่ จะแก ไขป ญหาทางศี ลธรรม มัน ก็ม ีป ญ หาอื ่น แทรกแซงเขา มารอบดา น มาขัด ขวาง มาทํ า ใหไ มส ามารถแก วิกฤติการณตาง ๆ ของโลกในทางศีลธรรมไดนั่นเอง. ความรู ส ึก ของมนุษ ยใ นโลก ในปจ จุบ ัน นี ้ ก็ม ีน อ ยเกิน ไป ตอ สิ่ ง ที่ เ รี ย กว า ศี ล ธรรม หรื อ ป ญ หาทางศี ล ธรรม; หรื อ ถ า จะพู ด กั น ตรง ๆ ไม เ กรงใจ กัน แลว ก็พ ูด ไดเ ลยวา เรีย กวา ไมม ีค วามสนใจกัน เสีย เลยก็ไ ด คนทั ้ง โลก เวลานี ้ไ มส นใจ ไมรู ส ึก ตอ ปญ หาทางศีล ธรรมในหลาย ๆ กรณี เพราะไป มองที ่อื ่น หมด; โดยเฉพาะอยา งยิ ่ง ไมม องเห็น วา ขอ ขัด ขอ งหรือ วิก ฤติก ารณ ทั ้ ง ห ล า ย ป ญ ห า ต า ง ๆ นั ้ น ม า จ า ก ค ว า ม ไ ม ม ี ศ ี ล ธ ร ร ม ข อ ง ม นุ ษ ย . นี้ เขาไปคิด เสีย อยา งอื ่น มัน ก็แ กป ญ หาทางศีล ธรรมไมไ ด, แลว ก็ยิ ่ง ละเลยไม สนใจที่จะแกปญหาทางศีลธรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org โ ล ก นี ้ เ หมื อ น กั บ ว า ถู ก ล ง โ ทษ โ ด ย พร ะ เจ า อ ยู  ก ็ ไ ด ; ที ่ แ ท ม ั น ก็ถ ูก ลงโทษโดยความอกตัญ ูข องตัว เอง. มนุษ ยม ีค วามอกตัญ ูต อ ศีล ธรรม ทั ้ง ที ่ ศีล ธรรมนั ้น มีห นา ที ่ที ่ จะชว ยโลก หรือ ชว ยโลกอยู  มนุษ ยก ็เ หยีย บ ย่ํ า หรื อ มองข า มไปเสี ย จึ ง มี อ าการเหมื อ นกั บ ถู ก ลงโทษ คื อ เต็ ม ไปด ว ยวิ ก ฤติ การณ คื อ ความทุ ก ข ย ากลํ า บากนานาประการ ประดั ง กั น เข า มารอบด า น แล ว ยิ ่ง ทรุด หนัก ลงไปทุก ทีด ว ย. นี ่ค ือ ขอ ที ่ต อ งทบทวน ถา ไมอ ยา งนั ้น เราก็จ ะเปน

www.buddhadassa.in.th


๑๙๘

อริยศีลธรรม

คนหนึ่ ง อี ก ที่ ไ ม ส นใจเรื่ อ งของศี ล ธรรม หรื อ ป ญ หาทางศี ล ธรรม ที่ มี อ ยู ใ นโลก เวลานี้. .… .... …. .… ที นี ้ ก ็ อ ย า ก จ ะ แ น ะ ใ ห ด ู ต  อ ไ ป อี ก ชั ้ น ห นึ ่ ง คื อ ดู ว  า ป ญ ห า ต า ง ๆ เ ห ล า นี ้ เ ป น สิ ่ ง พ ร า ง ต า ไ ม ทํ า ใ ห ม อ ง เ ห็ น อ ย า ง ถู ก ต อ ง เหมือนกับของหลอกลวง ของพรางตา หลาย ๆ อยาง. เ ร า ม อ ง ผิด ม อ ง ไ มถ ูก ตัว จ ริง ; แ มจ ะ ม อ ง ที ่ต ัว จ ริง ก็ไ มมี ป ญ ญาที่ ม องให ถู ก จึ ง มองไขว กั น อยู เ สมอ นี้ ก็ เ ป น เหตุ ใ ห แ ก ป ญ หานั้ น ไม ไ ด ; เกี ่ ย วกั บ ศี ล ธรรม จะมี ป  ญ หาที ่ เ รี ย ก ว า พรางตาอย า ง ไ ร ขอให พ ิ จ ารณา ดูกันตอไป:ลํ า ดั บ แ ร ก ก็ ด ู ที ่ ป ร า ก ฎ ก า ร ณ ที ่ ม ี อ ยู  จ ริ ง ใ น โ ล ก เ ว ล า นี ้ : ใ น โ ล ก นี ้ เ ต็ ม ไ ป ด ว ย อ า ช ญ า ก ร ร ม ยิ ่ ง ขึ ้ น ทุ ก ที ทุ ก ป ร ะ เ ท ศ ; ถ า เ ร า ไม เ คยไปที่ อื่ น เราก็ เ ห็ น ได ใ นประเทศไทย ว า มั น มี อ าชญากรรมนานาชนิ ด เกิ ด ขึ้ น อย า งระส่ํ า ระสาย ถึ ง ขนาดที่ บ น กั น ออกมาแล ว ว า มั น ไม มี ขื่ อ ไม มี แ ปรสํ า หรั บ ประเทศ. แต ทั้ ง โลกมั น ก็ เ ป น อย า งนั้ น โลกนี้ ไ ม มี วี่ แ ววเสี ย เลยว า จะมี สั น ติ ภ าพ แมแตชั่วขณะไมตองพูดถึงสันติภาพอันถาวร.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ก า ร ที ่ โ ล กมั น ร ะ ส่ํ า ระ ส าย เ ต็ ม ไ ป ด ว ย อ า ช ญ า ก ร ร ม อ ย า ง นั ้ น โดยแทจ ริง แลว ก็เ นื ่อ งมาจากความไรศ ีล ธรรม ของคนในโลก ไมม ีศ ีล ธรรม

www.buddhadassa.in.th


ปญหาตาง ๆ ที่กําลังทับถม แกปญหาทางศีลธรรม

๑๙๙

อยู ใ นโลก; นี ่ม ัน เปน ปญ หาทางศีล ธรรม. ขอใหจ ับ จุด นี ้ใ หไ ดว า โลกกํ า ลัง จะวิน าศ เพราะวา ไมม ีศ ีล ธรรม. นี ่เ ปน ปญ หาทางศีล ธรรม; แตเ ราก็ม องไป อีก ทางหนึ ่ง : ไปเห็น ปญ หาเสีย วา เพราะการศึก ษาไมพ อ, วา การศึก ษา ไมท ัน โลก ที ่กํ า ลัง เปลี ่ย นแปลง. เราไมเ ห็น วา ปญ หาทางศีล ธรรม แตม า เห็นวาเปนปญหาเกี่ยวกับการศึกษาไมเพียงพอไมทันโลกที่เปลี่ยนแปลง. พ ร อ ม กั น นั ้ น เ ร า ไ ม ม า ม อ ง เ ห็ น ว า ก า ร ศึ ก ษ า ที ่ เ ร า มี อ ยู  แ ล ว มีม าแลว นั ้น เปน การศึก ษาที ่ผ ิด ; มัน เปน การศึก ษาที ่ไ มส ง เสริม ศีล ธรรม และเปน การศึก ษาที ่ทํ า ลายศีล ธรรม โดยไมรู ส ึก ตัว เราก็ไ มม องเห็น อยา งนั ้น . นี ่เ รีย กวา พรางตาเรา มัน หลอกเรา ใหเ ขา ใจไปวา เราก็ม ีก ารศึก ษาที ่ถ ูก ตอ ง คื อ เข า ใจว า จะเป น การศึ ก ษาที่ ช ว ยให มี ศี ล ธรรม; แต แ ล ว การศึ ก ษาที่ มี อ ยู จ ริ ง นั้ น มิไดชวยใหมีศีลธรรม. เ ร า ไ ม ม อ ง ว า โ ล ก นี ้ ข า ด ศี ล ธ ร ร ม เ ร า ม อ ง ว า เ พ ร า ะ ก า ร ศึ ก ษาไม พ อ, แล ว ก็ เ ข า ใจผิ ด คื อ ไม เ ข า ใจว า การศึ ก ษาที่ เ รามี อ ยู นั้ น มั น ทํ า ลาย ศีล ธรรม การศึก ษาแบบนี ้ยิ ่ง มีม ากขึ ้น ก็ยิ ่ง ทํ า ลายศีล ธรรมมากขึ ้น , ยิ ่ง เพิ ่ม การศึ ก ษาชนิ ด นี้ ตามแบบนี้ แ ล ว โลกนี้ จ ะไม มี ศี ล ธรรมยิ่ ง ขึ้ น และไม มี สั น ติ ภ าพ ยิ ่ง ขึ ้น . เราไมม องเห็น อยา งนี ้ ก็ยิ ่ง มองเห็น วา "การศึก ษาไมพ อ, การศึก ษา ไม พ อ, การศึ ก ษาไม พ อ," อยู แ ต อ ย า งนี้ เ อง; ไม รู ว า การศึ ก ษาชนิ ด นี้ มั น เป น อั น ตราย ยิ่ ง มี ม ากยิ่ ง ทํ า ลายโลก คื อ ทํ า ให ไ ม มี ศี ล ธรรม มั น ก็ เ กิ ด เป น ป ญ หาทาง ศีล ธรรมที ่อ ยู ล ึก แลว ก็ว นเวีย นไมม ีที ่สิ ้น สุด เลน ซอ นหากัน อยู ก ับ ปญ หาแหง การศึกษา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


๒๐๐

อริยศีลธรรม

นี่ อ าตมาอยากจะเรี ย กว า ป ญ หาพรางตา ที่ ทํ า ให เ ราไม ม องเห็ น ตามที่ เ ป น จริ ง : ตั ว จริ ง นั้ น เป น เรื่ อ งศี ล ธรรม แต ม องเห็ น เป น เรื่ อ งการศึ ก ษา ; แล ว การศึ ก ษาที่ จั ด อยู นั้ น มั น ผิ ด ก็ ม องเห็ น เป น ว า ถู ก และยั ง ไม พ อ, แล ว ยิ่ ง ไป เพิ่มมันเขา มันก็ยิ่งไมมีศีลธรรม ในโลกนี้มากขึ้นนั่นเอง. ม อ ง เ ห ็ น ข  อ นี ้ ก ั น ใ ห  ด ี ๆ ว  า ใ น โ ล ก นี ้ ม ี ก า ร ศึ ก ษ า ช นิ ด ที ่ ทํ า ใ ห ค น มึ น เ ม า ใ น วั ต ถุ น ิ ย ม ใ น เ นื ้ อ ใ น ห นั ง ส ง เ ส ริ ม กิ เ ล ส ทั ้ ง นั ้ น เ พ ร า ะ มี ก ารศึ ก ษาด า นเดี ย ว คื อ มี แ ต ใ ห ฉ ลาด แต ไ ม มี ศี ล ธรรม. เอาเวลาไปหาความ ฉลาด หาประโยชนใ นทางวัต ถุเ นื ้อ หนัง จนไมม ีเ วลาหรือ การกระทํ า ที ่จ ะเปน ตัวศีลธรรมขั้นมา. นี่ปญหาพรางตามีอยูอยางนี้. .…

....

….

.…

ทีนี ้ก ็ไ ด โ อ ก า ส ข อ ง ป ญ ห า อื ่น ๆ ที ่จ ะ ข อ เ รีย ก ก ัน ต อ ไ ป วา เ ป น ปญหาทับถม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ป ญ ห า จ ร ิ ง ม ี อ ยู  อ ย า ง ห นึ ่ ง แ ล  ว ก ็ ม ี ป  ญ ห า ท ั บ ถ ม เ ข  า ม า ก ลุ  ม รุ ม ใ ห ม ั น ม า ก ขึ ้ น เ พิ ่ ม ค ว า ม ลํ า บ า ก ใ ห แ ก ก า ร ที ่ จ ะ แ ก ป  ญ ห า ท า ง ศี ล ธ ร ร ม . ป ญ ห า มั น ก็ เ ล ย ยุ  ง กั น ไ ป ห ม ด นุ ง กั น ไ ป ห ม ด เ ห มื อ น กั บ ว า ด า ยยุ ง ที่ เ ป น สํ า นวนบาลี "เศษด า ยที่ เ ต็ ม ไปด ว ยปมใหญ ๆ เล็ ก ๆ สั้ น ๆ ยาว ๆ เอามาขยุ ม ทํ า ใหเ ขา ดว ยกัน จนยุ ง สางไมไ หว" หรือ มิฉ ะนั ้น ก็เ หมือ นกับ หญา บางชนิ ด เถาวั ล ย เล็ ก ๆ บางชนิ ด ที่ มั น ประสานกั น ยุ ง จนดู ไ ม อ อก ตามในป า นี ้ ยุ ง ขนาดอยา งยิ ่ง อยา งมากมาย แลว จะทํ า อยา งไร ไมรู ว า ปญ หาตัว จริง อยู ที่ไหน, ปญหาแทรกแซงมากมายนั้น กลุมรุมเขามาจากทางไหน.

www.buddhadassa.in.th


ปญหาตาง ๆ ที่กําลังทับถม แกปญหาทางศีลธรรม

๒๐๑

นี ่ เ ป น สิ ่ ง ที ่ ต  อ ง พิ จ า ร ณ า ดู ใ ห รู  จ ั ก ว า ป ญ ห า ต า ง ๆ ที ่ เ ข า ม า ทั บ ถ ม แ ก ป  ญ ห า ท า ง ศี ล ธ ร ร ม นั ้ น มี อ ย า ง ไ ร บ า ง ; เ พื ่ อ ว า รู  แ ล ว ก็ จ ะ ไ ด สะสางให ถู ก ต อ ง โดยการกระทํ า พร อ ม ๆ กั น ไป. ถ า ไม ทํ า พร อ มกั น ไป มั น ก็ ทํ า ไม ไ ด เพราะมั น เนื่ อ งกั น ไปหมด. ฉะนั้ น ในบรรดาป ญ หาทั้ ง หลาย ก็ อ าจจะแยกได เ ป น ๒ พ ว ก พ ว ก ห นึ ่ ง คื อ ป ญ ห า ท า ง ศี ล ธ ร ร ม โ ด ย ต ร ง ห รื อ เ ฉ พ า ะ ห น า ก็ต อ งแกไ ขศีล ธรรมใหไ ด ทีนี ้อ ีก พวกหนึ ่ง ก็เ ปน ปญ หานานาชนิด เขา มา กลุ ม รุ ม ทั บ ถม ลงไปบนป ญ หาหลั ก อั น เป น ป ญ หาหลั ก คื อ ป ญ หาทางศี ล ธรรม; นี้เราเรียกวาปญหาทับถม นี่ปญหาทับถมนี้ มีทั้งโดยตรงและโดยออม. เ ดี ๋ย ว นี ้เ ร า จ ะ พิจ า ร ณ า กัน แ ตเ ฉ พ า ะ ปญ ห า ทับ ถ ม ; เ พ ร า ะ ป ญ หาโดยตรงคื อ เรื่ อ งศี ล ธรรม ป ญ หานั้ น ก็ ไ ด พู ด มามากแล ว แล ว ตั ว ป ญ หามั น ก็ อยู ที ่ว ิก ฤติก ารณ ที ่กํ า ลัง เดือ ดรอ นทนทรมานอยู ใ นโลกนี ้ มัน เปน ปญ หาทาง ศี ล ธ ร ร ม โ ด ย เ ฉ พ า ะ ที ่ เ ป น ป ญ ห า ทั บ ถ ม โ ด ย ต ร ง ก็ ค ื อ ป ญ ห า เ ข า ใ จ ผิ ด เกี ่ย วกับ การศึก ษา; แลว ปญ หาทับ ถมโดยออ ม นั ้น มีม ากมาย เหลือ ที ่จ ะพูด ให ห มดได ก็ จ ะยกมาเป น ตั ว อย า งที ห ลั ง . วั น นี้ เ วลาคงจะมี แ ต เ พี ย งสํ า หรั บ จะดู ปญหาทับถมโดยตรง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org .…

....

….

.…

ป ญ ห า ที ่ เ ข า ม า ก ลุ  ม ร ุ ม ท ั บ ถ ม ป ญ ห า ศ ี ล ธ ร ร ม โ ด ย ต ร ง คื อ ป ญ ห า แ ห ง ค ว า ม เ ข า ใ จ ผิ ด เ กี ่ ย ว กั บ ก า ร ศึ ก ษ า นั ่ น เ อ ง อ ย า ง ที ่ ไ ด ชี ้ ใ ห เห็นขางตนแลวเล็ก ๆ นอย ๆ.

www.buddhadassa.in.th


๒๐๒

อริยศีลธรรม

เ ดี ๋ย ว นี ้จ ะ ชี ้ใ หเ ห็น ล ะ เ อีย ด ยิ ่ง ขึ ้น ไ ป ; มัน เ ห มือ น กับ เ ลน ต ล ก เลน ซอ นหา เลน อาเถิด กัน อยู  ระหวา งของสองสิ ่ง นี ้ นี ้ค ือ การศึก ษากับ ศีล ธรรม. ศีล ธรรมเปน ตัว สํ า คัญ ; แตเ รามีก ารศึก ษาอีก ชนิด หนึ ่ง ซึ ่ง ไมใ ช การศึ ก ษาศี ล ธรรม เอาเข า มาจั ด เป น เรื่ อ งศี ล ธรรม ก็ เ รี ย กว า เป น ป ญ หาที่ เ ข า มา แทรกแซงใหการจัดทางศีลธรรมเปนไปไมไดหรือเปนไปไมถูกตอง. ป ญ ห า นี ้ ค ื อ ค ว า ม เ ข า ใ จ ผิ ด เ กี ่ ย ว กั บ ก า ร จั ด ก า ร ศึก ษาของโลก นี ้แ หละเขา มาเปน ปญ หาทับ ถม หรือ ปด บัง หรือ พรางตา หรือ วา ทํ า ใหส ับ สน แกป ญ หาทางศีล ธรรม; ถา เขา ใจก็ด ี; ถา ไมเ ขา ใจก็ เอาไปคิด ดูเ รื ่อ ย ๆ ไป วา โลกกํ า ลัง ไมม ีศ ีล ธรรม เพราะไปหลงเรื ่อ งการศึก ษา ที่เขาใจผิดวาจะชวยทําใหมีศีลธรรม ; แตมันกลับทําลายศีลธรรมหรือไมสงเสริมศีลธรรม. ค ว า ม ห ล ง อั น นี ้ อ ย า ก จ ะ เ รี ย ก ชื ่ อ มั น ว า

ค ว า ม มื ด

สีขาว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ค ว า ม มื ด สี ข า ว ก็ ค ื อ เ ห็ น อ ะ ไ ร อ ยู  อ ย า ง จ ริ ง จั ง ช นิ ด ห นึ ่ ง ที เ ดี ย ว เ ห็ น อ ย า ง จ ริ ง จั ง ช นิ ด ห นึ ่ ง ข า ว ไ ป เ ล ย ; แ ต ม ั น เ ป น ค ว า ม ผิ ด , ความไม ถ ู ก เรี ย กว า "ความมื ด แต ส ี ม ั น ขาว" คนก็ ห ลงว า นี ้ แ สงสว า ง นี้ ก็ ถู ก ต อ ง อะไรนี้ ; หลงความมื ด สี ข าว หรื อ ว า แสงสว า งก็ ต าม ถ า มั น พร า ตา แลว ก็ม องไมเ ห็น เหมือ นกัน มัน เปน แสงสวา งที ่พ รา ตา ที ่ทํ า ใหต าพรา จนมองอะไรไมเห็น; จะเปรียบอยางนี้ก็ได.

www.buddhadassa.in.th


ปญหาตาง ๆ ที่กําลังทับถม แกปญหาทางศีลธรรม

๒๐๓

แตถ า เปรีย บใหส มน้ํ า หนา คน ก็ต อ งเปรีย บวา มัน เปน ความ มืด สีข าว ที่ทํา ใหค นเรามองไมเห็น สิ่ง เหลา นี้อ ยา งถูก ตอ ง; หมายความวา คน มีค วามเห็น ของคน, มีทิฏ ฐิข องคน, มีค วามดื้อ รั้น ของคน, เห็น อยูชัด ๆ เลย, นี่ผิดทั้งนั้น. แตเพราะเขาเห็นอยู เขาจึงถือวาเปนแสงสวาง ก็ยึดถือในแสงสวาง ชนิด นี้; คนก็ไ ดค วามรูผิด ๆ ขอ เท็จ จริง ผิด ๆ อะไรผิด ๆ มาหมด แกไ มไ ด. นี่เรียกวาความมืดสีขาว. ความมื ด สี ข าว, ถ า แปลกหู ไ ปบ า งก็ ช  ว ยกั น จํ า ไว ใ ห ด ี แล ว ยั ง ขอร อ งต อ ไปถึ ง กั บ ว า ช ว ยจํ า ไว ใ ห ดี สํ า หรั บ จะเอาไปใช พู ด จากั น ต อ ไปข า ง หนา ดว ย; เพราะวา ยัง มีเ รื ่อ งอื ่น ๆ อีก มากในหมู ม นุษ ยนี ่ ที ่เ ขาไดแ ตค วาม มืด สีข าว ที ่ทํ า อะไรผิด ๆ ที ่ไ มย อมใคร ที ่จ ะเถีย งตะพึด คือ วา จะอวดดี จะยกหู ชู ห างอะไรก็ ต าม มั น เป น เรื่ อ งของความมื ด สี ข าวทั้ ง นั้ น แต เ ข า ใจไปว า เปนแสงสวาง. .… .... …. .…

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เอาละ, ทีนี้ก็จะมาดูเฉพาะเรื่อง ที่เรากําลังจะพูด

ความมื ด สี ข าว ในที ่ นี ้ ก็ ค ื อ ป ญ หาเกี ่ ย วกั บ การศึ ก ษา ที่ จับ ไปผิด ๆ โดยเขา ใจวา ถูก .การศึก ษาที่มีอ ยูใ นโลกรวมทั้ง ประเทศเราดว ย นี่จ ัด ไปผิด ; เพราะเขา ใจวา ถูก จึง จัด ฉะนั้น ถา ไปถามเขา เขาก็ต อ งถือ วา มัน ถูก ; เพราะเขาเขา ใจวา มัน ถูก เขาจึง จัด แตที ่วา มัน ผิด นี ้ เราหมายถึง วา มัน ทํ า ลายศีล ธรรม; แตเ มื่อ เขาไมม องเห็น วา เปน การทํ า ลายศีล ธรรม เขาก็

www.buddhadassa.in.th


๒๐๔

อริยศีลธรรม

ตอ งถือ วา มัน ถูก ,แลว เขาก็เ พอ ฝน ตอ ไปอีก วา การศึก ษาอยา งนี ้จ ะแกป ญ หา ในโลกนี้ได ทําใหโลกมีสันติภาพได. เ ร า ก็ พ ย า ย า ม พิ ส ู จ น ใ ห เ ห็ น ว า ยิ ่ ง มี ก า ร ศึ ก ษ า อ ย า ง นี้ โลกยิ ่ ง ไร ศ ี ล ธรรม แล ว ไม ม ี ท างที ่ จ ะมี ส ั น ติ ภ าพ. เพราะว า การศึ ก ษาที่ จัด ชนิด นี ้ มัน ผิด ตอ ขอ เท็จ จริง ของธรรมชาติข องกฎธรรมชาติ แลว เปน ธรรมชาติที่เกี่ยวกับกิเลสของคนเราดวย. ขอ เท็จ จริง ตามกฎของธรรมชาติ นี ้ ก็พ อจะมองเห็น ไดว า : เมื ่อ คนเราไปหลงในเรื ่อ งของวัต ถุ ความสะดวกสบาย เอร็ด อรอ ย สนุก สนาน เกี ่ย วกับ วัต ถุ ที ่ก ารศึก ษาสมัย นี ้ นํ า มาใหอ ยา งรุ ง เรือ งที ่ส ุด นั ้น มัน ก็มี แตดึงไปใหหลงใหล ใหเปนเรื่องของกิเลส. เมื่ อ พู ด มาถึ ง ตอนนี้ ที ไ ร ก็ ข อให ทุ ก ๆ ท า นนึ ก ถึ ง คํ า พู ด ประโยค หนึ ่ง ที ่เ คยพูด อยู เ สมอ ๆคือ : เรื ่อ งความ ๒ ตัว ไถนา หรือ วา อะไรก็ไ ด ก็ ต  อ ง ๒ ตั ว ; ตั ว ห นึ ่ ง เ ป น กํ า ลั ง , ตั ว ห นึ ่ ง เ ป น ค ว า ม รู  ที ่ ถ ู ก ต อ ง . ตัว ที่เ ปน กํา ลัง มัน จะพาไป ตัว ที่เ ปน ความรู มั นจะทํ าใหเ กิด ความถูก ตอ ง. เดี๋ ย ว นี ้เ รามีแ ตค วายบา ตัว เดีย วที ่ม ีแ รงมาก มัน ก็พ าไปตามความมุท ะลุด ุด ัน ของกิ เลส คือความบาหลังในเรื่ องของวัตถุ ฉะนั้น ความรู สึ กผิ ดชอบชั่วดี ในทาง ศีลธรรม มันจึงไมมี.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถา พูด วา ควาย ๒ ตัว คือ อะไร? ก็ต ัว หนึ ่ง วิช าความรู  อยา ง ที ่ไ ดจ ากการศึก ษา สมัย ปจ จุบ ัน , ตัว ที ่ส อง คือ วิช าความรู แ ละการปฏิบ ัติ

www.buddhadassa.in.th


ปญหาตาง ๆ ที่กําลังทับถม แกปญหาทางศีลธรรม

๒๐๕

ในทางศี ล ธรรม, ความตั ว หนึ ่ ง ชื ่ อ ศึ ก ษา,ควายตั ว หนึ ่ ง ชื ่ อ ศี ล ธรรม. ถาควายสองตั วนี้เทียมคูกันไปแลว มันก็ ลากเอาโลกนี้ไปสูความปลอดภัยได คื อ สันติภาพ สันติสุขได. เดี ๋ย ว นี ้ก า ร ศึก ษ า ไ มม ีอ ะ ไ ร ค วบ คุม ; มัน เ ปน ก า ร ศึก ษ า ดา น เดี ย ว, ให ฉ ลาดด า นเดี ย วเพื่ อ เจริ ญ ทางวั ต ถุ ด า นเดี ย ว แล ว คนก็ โ ง ว า ทํ า อย า งนี้ พ อแล ว ที่ โ ลกนี้ จ ะมี สั น ติ ภ าพ นี่ เ รี ย กว า ผิ ด ต อ กฎของธรรมชาติ , และเกี่ยวกับกิเลส ก็ตรงที่วา มันสงเสริมกิเลส. กฎของธรรมชาติเ ขามีอ ยู ต ายตัว : ถา ทํ า อยา งที ่ส ง เสริม กิเ ลส, มัน ก็ส ง เสริม กิเ ลส ถา ทํ า อยา งที ่กํ า จัด กิเ ลส, มัน ก็กํ า จัด กิเ ลส. เดี ๋ย วนี ้ก าร ศึ กษานี้ มั นส งเสริ มกิ เ ลส; ก็ เ รี ย กว า ผิ ด กฎของธรรมชาติ ที่ เ กี่ ย วกั บ การกํ า จั ด กิเ ลส, กลายเปน สง เสริม กิเ ลส. นี ่ค วามหมายที ่ช ัด เจนยิ ่ง ขึ ้น ของคํ า พูด ที ่ว า มันเปนความมืดสีขาว, ความมืดที่หลอกลวงอยางยิ่ง, พรางตาอยางยิ่ง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ฉ ะ นั ้น ยิ ่ง จัด ก า ร ศึก ษ า ช นิด นี ้ มัน ก็ยิ ่ง เ ห มือ น กับ ป ลอ ย ใ ห ควายเปลี่ยวล่ําสัน มุทะลุดุดัน, ควายบาตัวเดียว ลากเกวียน หรือวาลากไถอะไรไป; มัน ก็ไ ปสู ค วามวิน าศในที ่ส ุด . เดี ๋ย วนี ้ก ็เ ห็น ไดว า ควายตัว นี ้ กํ า ลัง ทํ า พิษ อยู ในโลกนี ้ ลุ ม หลงแตเ รื ่อ งเนื ้อ หนัง ; ก็เ กิด เปน อัน ธพาลขึ ้น เต็ม บา นเต็ม เมื อ ง, อาชญากรรมหลายประเภทหลายชนิ ด โดยเฉพาะอาชญากรรมทางเพศ รุนแรงกวาอยางอื่น รุนแรงกวาทางลักขโมยเสียอีก.

www.buddhadassa.in.th


๒๐๖

อริยศีลธรรม

นี ่เ รีย กวา กิเ ลสไดร ับ การสง เสริม ดว ยการศึก ษาชนิด ที ่กํ า ลัง หลงใหลกัน อยูใ นโลกเวลานี้; เรื่อ งศีล ธรรมเก็บ ไปทิ้ง ที่ไ หนหมด แยกออกไป จากการศึกษาของโลกไปเสียเลย. .… .... …. .… ต ร ง นี ้ ก ็ เ ห มื อ น กั น อ ย า ก จ ะ ข อ ย้ํ า แ ล ว ย้ํ า เ ล า ไ ม ก ลั ว ใ ค ร จะรํ า คาญ วา เดี ๋ย วนี ้ม ีก ารทํ า ผิด อยา งยิ ่ง : แยกการศึก ษาทางศาสนา ออกไปเสีย จากการศึกษาของชาวบาน. เรื ่ อ งทางธรรม ทางศาสนานี ้ เคยรวมอยู  ใ นการศึ ก ษาของ ช า ว บ า น ; ส มั ย ใ ห ม นี ้ เ ข า เ กิ ด ก า ร นิ ย ม แ ย ก อ อ ก ไ ป ไ ว เ สี ย ต า ง ห า ก ไมต อ งเอามาสอน มาเรีย นกัน ในโรงเรีย น ในวิท ยาลัย ในมหาวิท ยาลัย . เขาให เหตุผลวา มันเปนเรื่ องสวนตัว ใครอยากรู อยากได อยากดี ก็ไปหาเอาเอง เปนเรื่องสวนตัว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เดี ๋ย วนี ้เ ขาจะจัด การศึก ษาเปน สว นรวม; ใหท ุก คนเรีย นเร็ว ๆ รวมกั น มาก ๆ ใช ไ ด แ ก ทุ ก คน. ต อ งเอาศาสนาออกไปเสี ย จะได ง า ย จะได เ ร็ ว จะไดก า วหนา อยา งยิ ่ง ; เรีย กวา แยกศาสนา หรือ การธรรมะ การศีล ธรรมนี้ ออกไปเสี ย จากการศึ ก ษาของชาวบ า น. นี่ ฝ รั่ ง เขานํ า ก อ น, แล ว คนไทยเราก็ ไ ป ตามกนเขา. ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง ไ ท ย เ ร า ก็ พ ล อ ย ไ ม ม ี เ รื ่ อ ง ศี ล ธ ร ร ม ไ ม มี เรื ่อ งศาสนาที ่แ ทจ ริง รวมอยู ด ว ยเลย; มัน จึง เปน โอกาสของกิเ ลส ที ่เ กิด ขึ ้น

www.buddhadassa.in.th


ปญหาตาง ๆ ที่กําลังทับถม แกปญหาทางศีลธรรม

๒๐๗

เพราะการศึก ษาทํ า ใหลุ ม หลงในวัต ถุ, ทีนี ้ก ิเ ลสนั ่น แหละ มัน ก็ล วงเรา; กิเ ลส ในที่ นี้ ก็ ห มายถึ ง ความโง ความหลงหรื อ อวิ ช ชา มั น ก็ ล วงเรา ให ห ลงวนอยู ใ น เงื่อนงําซับซอนของปญหาตาง ๆ เหลานั้นเอง. นี ่ เ รี ย ก ว า เ ป น ป ญ ห า ที ่ เ ข า ม า ทั บ ถ ม แ ก ก า ร แ ก ป  ญ ห า ท า ง ศี ล ธรรม มี ม า ก ย ก ม า ทั ้ ง หมดไม ไ หว ; ก็ ย กมาเป น ตั ว อ ย า ง แ ล ว ก็ ข อ เนน ขอย้ํา ขอซ้ํา ที่มันมีอยูจริง. เ ดี ๋ ย ว นี ้ เ ข า มี ค ว า ม ห ล ง ว า ก า ร ศึ ก ษ า ดํ า เ นิ น ไ ป ไ ม ท ั น กั บ การเปลี ่ ย นแปลงของมนุ ษ ย โ ลก. ลองฟ ง ดู ใ ห ด ี ๆ เถอะว า สั ง คมมนุ ษ ย ในโลกนี ้เ ปลี ่ย นแปลงอยา งหมุน จี ๋ท ีเ ดีย ว; เพราะวา อะไรก็อ ีก เรื ่อ งหนึ ่ง ไวพ ูด กัน ที ห ลั ง เ อ า ข อ เ ท็ จ จ ริ ง ข อ แ ร ก ว า โ ล ก ห รื อ สั ง ค ม ม นุ ษ ย นี ่ กํ า ลั ง เ ป ลี ่ ย น แ ป ล ง อ ย า ง ยิ ่ ง เ ห มื อ น กั บ ว า วิ ่ ง ไ ป ; เ พ ร า ะ ก า ร ศึ ก ษ า ที ่ ม ี อ ยู  ใ น โ ล ก นั ้ น มัน ไมท ัน กัน ไมพ อ ไมทั ่ว ถึง กับ ความเปลี ่ย นแปลงของสัง คม. นี ่แ หละคือ ความมืดสีขาว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สัง คมเปลี ่ย นแปลงเร็ว จริง นี ้เ ขายอมรับ . แลว ก็ไ มม ีส ัน ติภ าพ ในสั ง คมชนิ ด นั้ น ไม มี สั น ติ สุ ข ในสั ง คมชนิ ด นั้ น, แล ว ความเปลี่ ย นแปลงนั้ น มั น ก็ มาจากการศึ กษาผิ ด ๆ ของโลกป จจุ บั น นั้ นเอง; เขากลั บ ไปโทษว า การศึ ก ษานั้ น ยั ง ไม พ อแก ค วามเปลี่ ย นแปลงของสั ง คม ต อ งเพิ่ ม กั น ใหม ต อ งระดมกั น ใหญ ให การศึกษาชนิดนั้นแหละมันพอขึ้นมาอีก. นี ้ เ รี ย ก ว า โ ล ก จ ะ วิ น า ศ โ ด ย แ น น อ น เ พ ร า ะ สั ง ค ม ที ่ เ ป ลี ่ ย น แปลงไปนั ้น มัน เปลี ่ย นแปลงไปในทางความหลงใหลในวัต ถุ เจริญ ทางวัต ถุ;

www.buddhadassa.in.th


๒๐๘

อริยศีลธรรม

แล ว ก็ เ กิ ด ความคิ ด เลวทราม มี จิ ต ต่ํ า ทรามในบุ ค คลเหล า นั้ น . เขาจึ ง สร า ง อาชญากรรม ขึ้น มา เพราะการศึก ษาชนิด นั้น นั่น เอง; แลว เรายัง วา การ ศึก ษาไมพ ออีก กลับ เพิ่ม การศึก ษาทํา นองนั้น ขึ้น มาอีก . ทีนี้มัน ก็เ พิ่ม อาชญากรรมหรือปญหาตาง ๆ มากขึ้นมาอีก นี่คือความหลงไปวา การศึกษาที่เรา มีอ ยูแ ลว หรือ กํา ลัง มีอ ยูนี้ มัน จะแกปญ หาสัง คมได. นี่เ ปน ความมืด สีข าว อยางยิ่ง. การศึก ษาที่มีอ ยูใ นเวลานี้ทั้ง โลก หรือ วา ยอ นหลัง ไปดว ยก็ไ ด มันไมอาจจะแกปญหาของมนุษยไดเลย, คือไมทําใหโลกนี้มีสันติภาพได เพราะเปนการศึกษาที่จัดอยูแบบใหควายบาเปลี่ยนตัวใหญ พาไป. นี่เขาก็ยังคิด ประชุมกันคิด วาจะเพิ่มการศึกษา ใหทันแกความเปลี่ยนแปลงของโลก หรือ ของสังคม. .… .... …. .…

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ที นี ้ ดู ผ ล ที ่ ไ ด จ า ก ก า ร จั ด โ ล ก ใ ห ม ี ก า ร ศึ ก ษ า ช นิ ด นี้ มั น ก็ ค ื อ ยิ ่ ง ย าก ขึ ้ น ทุ ก ที ่ ที ่ จ ะมี ศ ี ล ธรรม; ยิ ่ ง จั ด การศึ ก ษาชนิ ด นี้ ก็ยิ่งยากที่วา พลเมืองจะมีศีลธรรม.

พู ด ให สั ้ น ให จํ า กั น ง า ย ๆ ว า ยิ ่ ง จั ด การศึ ก ษาชนิ ด นี ้ ก็ ยิ ่ ง ยากที ่ จ ะให พ ลเมื อ งมี ศ ี ล ธรรม และยิ ่ ง ไร ศ ี ล ธรรมยิ ่ ง ขึ ้ น ไปอี ก ; แล ว มันจะเกิดอะไรขึ้น ถาพลเมือ งไรศีล ธรรม. ยิ่ง ไปกวานี้ มันจะเกิด อะไรขึ้น ? มันก็เกิดวิกฤติการณ; ความเสื่อม ความวินาศ อยางอื่นตามประดังกันเขามา.

www.buddhadassa.in.th


ปญหาตาง ๆ ที่กําลังทับถม แกปญหาทางศีลธรรม

๒๐๙

พูด อยา งสมัย นี ้ใ หไ พเราะหนอ ยก็ว า จะเกิด ปญ หาอยา งอื ่น หลายแขนงเพิ ่ม เขา มา : คือ เปน ปญ หาทางเศรษฐกิจ , เปน ปญ หาทางการ ปกครอง, เป น ป ญ หาทางการเมื อ ง, เป น ป ญ หาทางการอนามั ย , การกสิ ก รรม, พาณิช ยกรรม, ปญ หาในการถนอมทรัพ ยากรตามธรรมชาติ ของธรรมชาติ, ในที่ สุ ด ป ญ หาเรื่ อ งเป น โรคเส น ประสาท เป น โรคจิ ต กั น หนาแน น ขึ้ น มาในโลกนี้ . นั่นปญหา ที่เปนผลของการที่เขาใจผิด ในการศึกษาที่ทําอยู. ป ญ ห า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ก ไ ม ไ ด เ พ ร า ะ พ ล เ มื อ ง ไ ม ม ี ศ ี ล ธรรม; จริ ง ไม จ ริ ง ขอให คิ ด ดู . ป ญ หาเศรษฐกิ จ ภายในประเทศ ภายนอก ประเทศ, หรือ ปญ หาเศรษฐกิจ ในครอบครัว บา นไร ปลายนา อะไรก็ต าม มั น แก ไ ม ไ ด ; เพราะคนไม ม ี ศ ี ล ธรรม ในหลาย ๆ อย า ง จะลั ก จะขโมย จะโกง จะเอาเปรีย บ จะหลอกลวง แมกระทั่ง จะขี้เกี ยจ ก็ เรียกว าไม มีศี ลธรรม. ปญ หาเศรษฐกิจ ของประเทศมัน ก็แ กไ มไ ด เพราะวา พลเมือ งไม มี ศ ี ล ธรรมพอ : นายทุ น ก็ ไ ม ม ี ศ ี ล ธรรม, กรรมการก็ ไ ม ม ี ศ ี ล ธรรม เขา จึงตองทะเลาะกัน ไปดูก็จะเห็นเองวา ไมมีศีลธรรม แขงกันอยางไรบาง?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ป ญ ห า ท า ง ก า ร ป ก ค ร อ ง ก็ ไ ม สํ า เ ร็ จ ไ ด ไ ม เ รี ย บ ร อ ย ไ ด เพราะพลเมื อ งไม ม ี ศ ี ล ธรรม. นี ่ ก ็ จ ะต อ งดู ก ั น ไปตั ้ ง แต ว  า พลเมื อ งไม มี ศีล ธรรม, แลว ก็เ กิด เจา หนา ที ่ไ มม ีศ ีล ธรรม, กระทั ่ง อัย การ ศาล ราชทัณ ฑ อะไรมั น ก็ ล ว นแต ไ ม ม ี ศ ี ล ธรรม แล ว มั น จะเป น ไปได อ ย า งไร; แล ว การ ปกครองมั น จะเป น ระเบี ย บเรี ย บร อ ยและราบรื ่ น ได อ ย า งไร. ป ญ หาการ

www.buddhadassa.in.th


๒๑๐

อริยศีลธรรม

ปกครองเกิด มากขึ ้น ก็เ พราะคนไมม ีศ ีล ธรรมมากขึ ้น นั ่น เอง ; ยิ ่ง ฝา ย เจาหนาที่ เปนผูไมมีศีลธรรม เสียดวยแลว มันก็หนักขึ้นไปอีก. ที นี้ ดู ป ญ หาทางการเมื อ ง : การเมื อ งในประเทศ, การ เมือ งนอกประเทศ, ระหวางประเทศก็ตาม; มัน ลว นแตไ มมีศีล ธรรม. ยิ่ง การเมืองระหวางประเทศดวยแลว ยิ่งไมมีศีลธรรม; เพราะตางฝายตางตั้งหนา มุงมาเพื่อจะเอาเปรียบใหแกประเทศของตน, จะเอาประโยชนใหแกประเทศของตน ดวยการเอาเปรียบผูอื่นทั้งนั้น. ในการประชุมทางการเมือง ไมวาที่ไหน; แต วาปากนี้เขาก็พูดกันไพเราะ เพื่อความถูกตอง เพื่อความยุติธรรมอะไรตาง ๆ; แตแลวเผลอนิดเดียวก็ไมได มันก็มีการเอาเปรียบ. นี่การเมืองระหวางประเทศ มันก็เปนเสียอยางนี้; แมการเมืองในประเทศ มันก็ยุงอยางเดียวกัน. ระหวาง รั ฐ สภา กั บ ระหว า ง รั ฐ บาลนี้ ถ า เกิ ด ไม มี ศี ล ธรรมแล ว ก็ พู ด กั น ไม รู เรื่อ ง ; เขาก็จ ะมุง ตอ สูกัน ตะพึด , แลว ประเทศชาติก็แ หลกละเอีย ดลงไป. ไมมีศีลธรรมอยางเดียว การเมืองมันมีปญหาทวมหัว ทวมหูทีเดียว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทีนี้ข องที่ไมนาจะเปน ปญ หากับเขาดวย วาจะเรื่อ งเล็กนอ ยก็ไ ม เล็ก ; แตวา มัน ไมน า จะเปน ปญ หากับ เขาดว ย คือ เรื่อ งอนามัย ของคน. คนไมมีอนามัยก็เพราะไมมีศีลธรรม เพราะเขาทําแต อบายมุข ดื่มน้ําเมา เที่ยว กลางคืน ดูการเลน เลนการพนัน คนคนชั่วเปนมิตร เกียจครานทําการงาน; เอาแต ๖ อยางนี้ เทาที่พระพุทธเจาทานตรัสไวก็พอ ไมมีศีลธรรมเพียงเทานี้ ก็ไมมีอนามัยดีได คน ๆ นั้น; นี้ทางกาย.

www.buddhadassa.in.th


ปญหาตาง ๆ ที่กําลังทับถม แกปญหาทางศีลธรรม

๒๑๑

แลว ทีนี ้ อนามัย ทางจิต ยิ ่ง ไมม ีใ หญ ; อนามัย ทางจิต นั ่น มัน สง เสริม อนามัย ทางกาย ไมม ีอ นามัย ทางจิต แลว ทางกายมีอ นามัย ดีไ มไ ด. เมื่ อ ขาดศี ล ธรรมก็ ไ ม มี อ นามั ย ทางจิ ต , ไม มี ค วามพั ก ผ อ นแห ง จิ ต , ไม มี ค วาม บริส ุท ธิ ์แ หง จิต , ไมม ีค วามมั ่น คงแหง จิต มัน ก็เ ลยเสีย อนามัย ไปหมด เพราะ ไมมีศีลธรรม. การทํ า มาหากิน อ ยา งอื ่น เ ชน ก า ร ก สิก ร ร ม พานิช ก ร ร ม หั ต ถ ก ร ร ม ก็ เ ห มื อ น กั น ; ถ า ไ ม ม ี ศ ี ล ธ ร ร ม แ ล ว มี แ ต ค ว า ม ล ม เ ห ล ว ; คือ มัน จะแขง กัน แยง ชิง กัน ริษ ยากัน ลัก ขโมยกัน เอาเปรีย บกัน ทุก ระเบีย ด นิ้ว; มันก็เสียหมด. ทีนี ้ด ูป ญ หาอีก ปญ หาหนึ ่ง วา ทรัพ ยากรตามธรรมชาติ ตน ไม ภูเ ขาเลากา หว ย หนองคลอง บึง บาง อะไรตา ง ๆ เหลา นี ้; ถา ไมอ ยู ใ น สภาพที ่ ถ ู ก ต อ งเรี ย บ ร อ ยละก็ บ า นเมื อ งหาความสงบสุ ข ไ ม ไ ด ; แม ฝ น ก็ ไ ม ต ก, ถ า ตกมั น ก็ ไ หลท ว มบ า นท ว มเมื อ ง ไม ซึ ม ซาบอยู ใ นแผ น ดิ น อย า งนี้ เหมื อนที่เป นป ญหาให เห็นแล วทางภาคเหนื อ ที่ ทํ าลายป าไม เสี ยหมด เหลื อแต ภู เขา เกลี ้ย ง ๆ ฝนก็ไ มค อ ยตก พอตกก็ต กอยา งทว มบา นเมือ ง เพราะไมม ีอ ะไรจะ ยึ ดน้ํ าฝนนั้ นไว ได อย างนี้ . เขาจึ งมี หลั กที่ จะคุ มครองสงวนทรั พยากรของธรรมชาติ .

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เชน ปา อยา งนี ้ ถา ไมม ีศ ีล ธรรมแลว ปา ก็คุ ม ครองไวไ มไ ด; เดี๋ ย วนี้ ป า ก็ ถู ก ทํ า ลายเพราะคนไม มี ศี ล ธรรม ในหลายทิ ศ หลายทาง อย า ต อ ง จาระไนกัน เลย แลว ทรัพ ยากรธรรมชาติอื ่น ๆก็ถ ูก ทํ า ลายใหห มดไป. ถา คน มี อายุ สั ก ๖๐ - ๗๐ ป แล วก็ ลองเปรี ยบเที ยบกั นดู ว าอะไรมั นถู กทํ าลายไปแล ว

www.buddhadassa.in.th


๒๑๒

อริยศีลธรรม

เทาไร; แลวมันเปนความเปลี่ยนแปลงตามความตองการของผูที่ไมมีศีลธรรม. นี้รายกาจมาก คือไมมองเห็นประโยชนสวนรวม ที่จะสงวนไวเปนสวนรวม. เมื่อ ๓๐ - ๔๐ ปมาแลว อาตมาเคยเดินขึ้นไปที่ปากหมาก ก็ผาน ดงมะไฟที่เหลืองไปรอบทิศ เหมือนกับวาเอาผาเหลืองไปคลุมไวที่ตนไม เปนลูก มะไฟเต็ม ไปทุก ตน ; เดิน ไปตั ้ง กี ่น าที๒ ๐ - ๓๐ นาที ก็ไ มห มดเขตดง มะไฟที ่ส วยงามนี ้. แลถ ามดูเ ดี ๋ย วนี ้ไ มม ี, ไมม ีเ หลือ เลย แมแ ตส ัก ตน ที่ ตรงนั้น แหละ. นี่เ รีย กวา มัน เปลี ่ย นไป โดยใครก็ต ามใจ; และก็ไ มตอ งมี ใครรับ รองรับ รู . ทรัพ ยากรธรรมชาติม ัน ก็เ ลยเปลี ่ย น; หมดความสวย หมด ความงาม แลวก็เปลี่ยนไปจนลําบากยากแคน. เรื ่อ งแรธ าตุ เรื่อ งทรัพ ยากร ที ่มีค า อยา งอื ่น ก็ยิ ่ง เสีย หายกวา นี ้; ขุดคนกันจนไมมีเหลือ จนวา แผนดินนี้จะไมมีของมีคาเหลือ อยูในแผนดินอีก ตอไป แลว ก็มาใชทําลายสันติภาพ. เชนขุดแรธาตุ โลหะ มาทําอาวุธรบกัน , ขุดน้ํามัน มาลางผลาญทําลายชีวิต กัน ในการสงครามนี้; หรือ รองลงมา ก็ใ น การเที่ยวเลนหาความสนุกสนานระหวางหญิงชายไมมีที่สิ้นสุด. นี้ก็เรียกวาทําลาย ทรัพยากรธรรมชาติ โดยบุคคลที่ไมมีศีลธรรมพอ; ก็ทําลายเสียโดยไมจําเปนที่ จะตองทําลาย. นี่ปญหาใหม ปญหาเพิ่ม ปญหาทับถมเกิดขึ้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ข อ สุ ด ท า ยที ่ ว  า เดี ๋ ย วนี ้ มี โ รคเส น ประสาทเพิ ่ ม ขึ ้ น มี โ รค จิต เพิ ่ม ขึ ้น ทั ่ว ทั ้ง โลก นี ้รู ด ีก ัน อยู แ ลว เพิ ่ม ขึ ้น อยา งไมน า เชื ่อ ; เพราะ ทุกคนอยูดวยจิตที่ไมสงบ, อยูดวยความกลัว อยูดวยความวิตกกังวล. สิ่งที่ทําได

www.buddhadassa.in.th


ปญหาตาง ๆ ที่กําลังทับถม แกปญหาทางศีลธรรม

๒๑๓

ขึ ้น มานั ้น ก็ไ มทํ า ใหโ ลกมีส ัน ติภ าพ; ก็เ พิ ่ม โรคจิต โรคเสน ประสาทมากขึ ้น ; ฉะนั้นคนที่เปนโรคจิตโรคประสาทนี้ ก็ทําอาชญากรรมไดทุกอยางเหมือนกัน. .… .... …. .… ข อ ใ ห ม อ ง ดู ว  า ผ ล ที ่ ไ ด จ า ก ก า ร ศึ ก ษ า ที ่ ผ ิ ด ต อ ก ฎ เ ก ณ ฑ ข อ ง ศี ล ธ ร ร ม มั น ทํ า ใ ห เ กิ ด ป ญ ห า ใ ห ม ๆ ขึ ้ น ม า อ ย า ง นี ้ เ รี ย ก ว า ปญ หาทับ ถม; เพราะฉะนั ้น เราควรจะสํ า นึก : หยุด ดูแ ลว ก็สํ า นึก คิด ใหไ ด แล วมองให เห็ นกันเสี ยที วาถ าจั ดการศึ กษาใหถู กต องจริ ง ๆ ถู กต องตามกฎเกณฑ ของธรรมชาติ ที่ เ กี่ ย วกั บ ศี ล ธรรมจริ ง ๆ ; แล ว ก็ สั ง คมจะไม วิ่ ง ไปอย า งเป น บ า เหมือนที่รองออกมาวา การศึกษาตามไมทัน. ถ า เ ร า จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ถู ก ต อ ง สั ง ค ม จ ะ ไ ม วิ ่ ง ไ ป ใ น ท า ง เสื่ อม อยางเป น บาเป นหลั ง จนการศึ กษาตามไมทั น เหมื อ นที่ กํา ลั ง เพิ่ม กั นอยู , เหมือ นที ่กํ า ลัง เปน หว งกัน อยู อ ยา งผิด ๆ ถา จัด การศึก ษาถูก ตอ ง เปน การ ศึก ษาชนิด ควาย ๒ ตัว มีศ ีล ธรรมคู ก ัน ไปกับ การศึก ษาแลว ; ปญ หาอยา งที่ วามาตะกี้นี้มันก็ไมมี.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เ ดี ๋ ย ว นี ้ ก า ร ศึ ก ษ า ที ่ ผ ิ ด เ ก ณ ฑ ท า ง ศี ล ธ ร ร ม นี ้ ทํ า ใ ห สัง คมเปลี ่ย น เหมือ นกับ เปน คนบา วิ ่ง แลว ก็ม ารอ งตะโกนวา การศึก ษาตาม ไมท ัน ; เพราะวา การศึก ษานี ้ม ัน งมงาย งุ ม งา ม, สง เสริม ใหส ัง คมวิ ่ง อยา ง เปน บา โดยอาการที ่ข าดศีล ธรรม. ถา สํ า นึก ไดอ ยา งนี ้ม ัน ก็ร อดตัว ก็จ ะ ไดเ ปลี ่ย นกัน ใหม, เปลี ่ย นวิถ ีท างกัน ใหม, เปลี ่ย นแนวกัน ใหม; เพีย งแต

www.buddhadassa.in.th


๒๑๔

อริยศีลธรรม

ศีลธรรมมีเขามาเทานั้นแหละ ปญหานานาชนิ ดเหลานั้นจะหายไปเอง : ปญหาเรื่อง อาชญากรรม, เรื ่อ งเศรษฐกิจ . เรื ่อ งการปกครอง, เรื ่อ งการเมือ ง การอะไร ตาง ๆ มันก็หายไปเองได. เ ดี ๋ ย ว นี ้ ไ ป แ ก ก ั น แ ต ป ล า ย เ ห ตุ คื อ บั ง คั บ เ ข า ม า ; ตั ้ ง องค ก ารนั้ น องค ก ารนี้ มี เ กี ย รติ ใ หญ โ ตมโหฬาร ก็ ไ ม ส ามารถจะแก ป ญ หาทาง การเมื อ งระหว า งชาติ ไ ด ; มี แ ต เ พิ่ ม มากขึ้ น จนเขาพู ด ว า มั น กลายเป น เวที สํ า หรับ เอาเปรีย บกัน เสีย แลว . องคก ารที ่เ กีย รติอ ยา งยิ ่ง ในโลก เชน องคก าร สหประชาชาติ องค ก ารอะไรก็ ต าม, มั น จะถู ก ใช เ ป น เวที สํ า หรั บ เอาเปรี ย บแก กั น แ ล ะ กั น ใ น ท า ง ก า ร เ มื อ ง เ สี ย แ ล ว ; ฉ ะ นั ้ น ข อ ใ ห ร ี บ แ ก ไ ข ป ญ ห า ท า ง ศี ล ธ ร ร ม ใ ห ถ ู ก ต อ ง . อ ย า ใ ห ก า ร ศึ ก ษ า มั น เ ป น เ ค รื ่ อ ง ทํ า ล า ย ศี ล ธ ร ร ม แลวโลกนี้ก็จะมีสันติสุข. ทีนี ้ค ง จ ะ มีค น คา น นัก คา น นัก แ ยง มัน ก็ม ีอ ยู ม า ก ; แ ลว ก็น า ค า นด ว ยเหตุ ผ ลง า ย ๆ ก็ มี ค นย อ นขึ้ น มาว า : อ า ว! ไฟกํ า ลั ง ไหม บ า นอยู อ ย า งนี้ ; จะมานั ่ ง ศี ล ธรรม, มานั ่ ง ถึ ง ศี ล ธรรมกั น อยู  ไ ด อ ย า งไร; ก็ เ ดี ๋ ย วนี ้ ม ั น เต็ ม ไปด ว ยความระส่ํ า ระสาย ทุ ก ข ย ากลํ า บาก แล ว จะมานั ่ ง ศี ล ธรรมกั น อยู ไดอยางไร.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เราก็ ไ ม ต อบอย า งอื ่ น ตอบว า : ไฟกํ า ลั ง ไหม บ  า นนั ่ น แหละ มั น คื อ ก า ร ล ง โ ท ษ ท า ง ศี ล ธ ร ร ม , พ ร ะ เ จ า ล ง โ ท ษ , ห รื อ ศี ล ธ ร ร ม ล ง โ ท ษ , อ ะ ไ ร ล ง โ ท ษ ก็ ต า ม ที ่ ทํ า ใ ห ม ี อ า ก า ร เ ห มื อ น กั บ ไ ฟ ไ ห ม บ  า น ; แลว มัน ก็ต อ งแกไ ข ตน ตอแท ๆ ที ่ทํ า ใหไ ฟไหมบ า น. ถึง ไฟไหมบ า นอยู  ก็ต อ ง

www.buddhadassa.in.th


ปญหาตาง ๆ ที่กําลังทับถม แกปญหาทางศีลธรรม

๒๑๕

มานั ่ ง นึ ก ถึ ง ต น ตอ ต น เหตุ ที ่ ทํ า ให ไ ฟไหม บ  า น; ฉะนั ้ น แม ไ ฟไหม บ  า นอยู ก็ ค ว ร จ ะ นึ ก ถึ ง ศี ล ธ ร ร ม ; แ ม จ ะ หิ ว อ ด จ น จ ะ ต า ย อ ยู  แ ล ว ก็ ต  อ ง นึ ก ถึ ง ศีล ธรรม ถา ความหิว นั้น มัน มาจากการไมม ีศ ีล ธรรม การขาดศีล ธรรม ความ ไรศีลธรรม. ฉ ะ นั ้น เราไมพ ูด อ ยา ง ที ่เ ขาพูด กัน วา มัน ตอ ง ร อ ใ หท อ ง อิ ่ม เสี ย ก อ น จึ ง จะศึ ก ษาศี ล ธรรม จึ ง จะศึ ก ษาศาสนา; มี ค นพู ด กั น อย า งนี้ มากขึ้ น . ผู พู ด ก็ เ ป น นั ก ปราชญ เป น นั ก การเมื อ งผู รู ผู คุ ม อํ า นาจบริ ห ารประเทศ ด ว ยซ้ํ า ไป ที่ เ ขาจะพู ด ว า ท อ งอิ่ ม เสี ย ก อ นจึ ง จะไปสนใจเรื่ อ งศาสนา หรื อ เรื่ อ ง ศีลธรรม. อาตมาคิด วา ถา ถือ หลัก อยา งนั ้น แลว มัน ก็ว ิน าศแน; เพราะ ความเดือดรอน เสียหาย ระส่ําระสาย นั้น มีมูลมาจากความไมมีศีลธรรมแท ๆ; ฉะนั ้ น เราทนหิ ว ทนอดไปหน อ ยก็ ไ ด แก ไ ขทางศี ล ธรรมให ด ี เ สี ย ก อ น; แล ว ค ว า ม ไ ม ต  อ ง อด ไม ต  อ ง หิ ว ไม ต  อ งเลว ไม ต  อ ง เบี ย ดเ บี ย น อ ะ ไ ร มันก็จะมีตามขึ้นมาเอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทั ้ ง โล กเป น อย า งนี ้ ตลอ ดเวลานี ้ ; อ าตมาพยายามศึ ก ษา เทา ที ่จ ะศึก ษาได ถึง เรื ่อ งราวตา ง ๆ ในโลกนี ้ ทั ่ว ๆ ไปทั ้ง โลก ไมใ ชเ ฉพาะ ประเทศไทย ก็พ บวา มัน เหมือ นกัน แหละ, ปญ หามัน เหมือ นกัน เปน คนที่ เหมือนกัน, มีปญหาอยางเดียวกัน มีกิเลสอยางเดียวกัน, เอาเปรียบอยางเดียวกัน, ไมมีศีลธรรมอยางเดียวกัน; ดังนั้นจึงขอยืนยันไปตามเดิม. .… .... …. .…

www.buddhadassa.in.th


๒๑๖

อริยศีลธรรม

สํ า ห รั บ ข อ ยื น ยั น นี ้ จ ะ มี ว  า ต อ ง ห ยิ บ ป ญ ห า ท า ง ศี ล ธ ร ร ม ขึ้นมาพิจารณาในการที่จะจัดระบบการศึกษา. ผู  ที ่ ม ี อํ า น า จ ห รื อ ห น า ที ่ ใ น ก า ร จั ด ร ะ บ บ ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ จ ะ ต อ ง ห ยิ บ เ อ า ป ญ ห า ท า ง ศี ล ธ ร ร ม ขึ ้ น ม า ก อ น ; ม า ดู ใ ห ด ี , มาดูใ หทั ่ว ถึง แลว จึง จะไดจ ัด ระบบการศึก ษาใหม ัน สง เสริม ความมีศ ีล ธรรม. นั่นแหละจึงจะมีความสงบสุข หรือวารอดอยูได เปนไปได. ทีนี ้ไ ปจัด การศึก ษา โดยเพง แตว ัต ถุ เนื ้อ หนัง ความเจริญ ทาง ร า ง ก า ย ; อ ย า ง นี ้ ม ั น ก็ ค ื อ ไ ม เ ห ลี ย ว แ ล ศี ล ธ ร ร ม ; ก็ จ ั ด ผิ ด , ก ร ะ ทํ า ผิ ด ตอ สิ ่ง ที ่เ รีย กวา ศีล ธรรม. ในที ่ส ุด ก็ถ ูก พระธรรมนี ้ล งโทษ ใหเ หมือ นกับ ที่ เป น อยู เ ดี๋ ย วนี้ คื อ เต็ ม ไปด ว ยอาชญากรรม, เต็ ม ไปด ว ยวิ ก ฤติ ก ารณ , เต็ ม ไปด ว ย ความเดื อ ดร อ นระส่ํ า ระสาย; เหมื อ นกั บ ว า ไฟกํ า ลั ง ไหม บ า นที เ ดี ย ว. หยิ บ ปญ หาทางศีล ธรรมขึ ้น มาชูไ วเ ปน หลัก ; แลว ก็จ ัด การศึก ษาหรือ จัด การอะไร ก็ต าม ใหถ ูก ตอ งกับ วัต ถุป ระสงคข องศีล ธรรม มนุษ ยเ ราก็จ ะมีค วาม ผาสุก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อยากจะพูด ใหเ ขาหัว เราะเยาะเลน แตข อยืน ยัน ที ่ด ูว า จริง ที ่ส ุด คือ อยากจะพูด วา ตอ งจัด ตั ้ง กระทรวงศีล ธรรม ใหม ัน ยิ ่ง กวา กระทรวงใด ๆที ่มี อยู ใ นเวลานี ้. เวลานี ้ เราไมม ีก ระทรวงศีล ธรรม; ขอมีคํ า พูด นิด หนึ ่ง แฝงไว ฝากไว กั บ กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร ว า ในส ว นศี ล ธรรม ใช ไ ม ไ ด จะต อ งจั ด กระทรวง ศีล ธรรมขึ ้น โดยเฉพาะ ใหยิ ่ง ใหเ ปน ที ่ยิ ่ง กวา กระทรวงใด. ทั ้ง นี ้ก ็เ พราะวา จะสามารถแกปญหาของกระทรวงอื่นทั้งหมด.

www.buddhadassa.in.th


ปญหาตาง ๆ ที่กําลังทับถม แกปญหาทางศีลธรรม

๒๑๗

สมมติ ว า เรามี ก ระทรวงต า ง ๆ ทํ า หน า ที่ ต า ง ๆ อยู ๑๒ กระทรวง อย า งนี้ เต็ ม ไปด ว ยป ญ หาแน น อนอั ด อยู ทุ ก ประการ ทํ า ไปไม ไ ด : กระทรวง เศรษฐกิจ หรือ กระทรวงเศรษฐการ การเมือ งอะไร; มัน อึด อัด ลม ลุก คลุ ก คลาน เป น ไปไม ไ ด ; ถ า ว า จั ด กระทรวงศี ล ธรรมขึ้ น มาได ป ญ หาของทุ ก กระทรวงก็จ ะหมดไป ฉะนั ้น ควรจะถือ วา เปน กระทรวงที ่ค วรจะลงทุน แลว ก็ จั ด ให ม ากกว า กระทรวงใด เพราะมั น แก ป ญ หาของทุ ก กระทรวงได . ไม ว า ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ห รื อ ป ร ะ เ ท ศ ไ ห น อ ยู  ใ น ส ภ า พ อ ย า ง นี ้ ด  ว ย กั น ทั ้ ง นั ้ น ฉ ะ นั ้ น อ ย า มั ว แ ก ป  ญ ห า ป ล า ย เ ห ตุ ข อ ง แ ต ล ะ ก ร ะ ท ร ว ง อ ยู  เ ล ย ; ต อ ง ไ ป แกปญหาที่ตนเหตุแทๆ คือศีลธรรม. เ ดี ๋ ย ว นี ้ ทั ่ ว โ ล ก มั ว แ ต แ ก ป  ญ ห า ป ล า ย เ ห ตุ ก ั น ทั ้ ง นั ้ น ก็ มี อาการอยา งดีที ่ส ุด ก็เ หมือ นกับ จับ ปูใ สก ระดง ; ไดด ูม ัน อยู ใ นกระดง ชั ่ว เวลา นิด เดีย ว, แลว มัน ก็วิ ่ง ลงไปเสีย อีก ก็จ ับ อีก . ไดด ูม ัน นิด เดีย ว เดี ๋ย วก็วิ ่ง ลง เสีย อีก , มัน ก็ต อ งจับ อีก , ฉะนั ้น โลกนี ้ไ มม ีส ัน ติภ าพ โลกมีแ ตว ิก ฤติก ารณ อันถาวร.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทีนี ้พ ูด ใ หส ะ ดุด ใจกวา นี ้ ก็ต อ ง พูด วา จงจัด ใ หก า ร ศึก ษ า นี้ เปน สุน ัข รับ ใชข องศีล ธรรมเถิด . สุน ัข รับ ใชนี ้ภ าษาคอมมูน ิส ต ที ่เ ขาดา พวกที ่ไ มเ ปน คอมมูน ิส ต; เดี ๋ย วนี ้เ ราก็ย ืน มาใช เพราะมัน ดี. ใหจ ัด การ ศึ ก ษาของประเทศนี่ ให เ ป น สุ นั ข รั บ ใช ข องศี ล ธรรม; คื อ ศี ล ธรรมต อ งการอย า งไร ก็ ขอให จั ดการศึ กษาในฐานะเป นสุ นั ข รั บ ใช ข องศี ล ธรรม แล วการศึ กษานี้ มั น ก็ จ ะ ไม ผิ ดได คื อมั นจะส งเสริ มศี ลธรรมให มี ขึ้ นมา แล วประเทศก็ อ ยู ด วยความสงบสุ ข. เดี ๋ย วนี ้ไ ปมัว ใหก ารศึก ษาชนิด ที ่ทํ า ลายศีล ธรรม หรือ ไมส ง เสริม ศีล ธรรม หรือ วา ขุด รากศีล ธรรมใหพ ัง ทะลาย จนเกิด ปญ หาทับ ถมขึ ้น มามาก

www.buddhadassa.in.th


๒๑๘

อริยศีลธรรม

เหลื อ จะแก ไ ขได . ป ญ หาทางศี ล ธรรมแก ไ ม ไ ด เพราะป ญ หาทางการ ศึก ษา มาบัง หนา มาทับ ถมโดยตรง. อยา งนี้เ ราเรีย กวา ปญ หาทับ ถมโดยตรง ที ่ท ับ ถมแกป ญ หาศีล ธรรม; ยิ ่ง จัด การศึก ษา ก็ยิ ่ง เพิ ่ม ศัต รูแ กศ ีล ธรรม. อาตมาเขา ใจวา ไมมีใ ครเชื่อ อาตมา, พวกที่จัด ระบบการศึก ษาก็ค งไมเ ชื่อ ; แตยังขอยืนยันอยางนี่อยูตลอดไป. ทั้ง หมดนี้ ก็พ อจะสรุป ไดว า เทา ที่ก ลา วถึง เรื ่อ งนี ้ คือ ปญ หา ทั บ ถมศี ล ธรรมโดยตรง. ถ า ไม ม ี ป  ญ หานี ้ คื อ จั ด การศึ ก ษาถู ก แล ว ป ญ หาโดยอ อ มอี ก เป น อั น มาก ก็ จ ะไม ม ี โ ดยแน น อน. นี ่ ต  น ตอมี อ ยู เทานี้ มีอยูที่ปญหาตัวเดียว; คือ ปญหาศึกษาที่ทําไปผิด ๆ จนทําลายศีล ธรรม. นี้เราจะแกปญหาทางศีลธรรมไมได ก็เพราะวาปญหาผิด ๆ ทางการศึกษามันทับถม เขา มา, ยิ ่ง ทับ ถมเขา มาก็ยิ่ง แยง โอกาส, ชิง โอกาสไมใ หจัด การศึก ษาทาง ศีลธรรมใหถูกตองได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ฉ ะ นั ้ น ข อ ใ ห ห ั น ห น า ร ะ ด ม กํ า ลั ง ทุ  ม เ ท กั น ไ ป แ ก ป  ญ ห า การศึ ก ษา, ป ญ หาการศึ ก ษาที่ ทั บ ถมบั ง หน า อยู กั บ ป ญ หาศี ล ธรรมนั้ น แล ว ปญหาตาง ๆ ก็จะหมดไปเอง. แตถาเพื่อใหชวยใหเร็วเขา ก็ตองแกปญหาตาง ๆ ที่ชวยกันเขามาทับถมนั่น พรอม ๆ กันไปดวย; จะมีรายละเอียดอยางไรบาง ก็จะ ไวพ ูด กัน ในคราวตอ ไป เพราะมัน มีม าก. และวัน นี ้ก ็ไ มม ีเ วลาแลว ; เพราะ เปนวันอุโบสถจะตองยุติการบรรยาย ใหไปลงอุโบสถไดทันตามกําหนดเวลา.

ขอยุ ติ ก ารบรรยายนี้ ไ ว เ พี ย งเท า นี้ เป น โอกาสให พ ระสงฆ ท า นสวด คณสาธยาย สงเสริมกําลังใจใหมีมากขึ้น ในการฟนฟูแกไขสงเสริมศีลธรรมตอไป ตามสมควร. -------------------

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรม -๘๒๔ สิงหาคม ๒๕๑๙

ปญหาที่กําลังทับถมแกปญ  หาทางศีลธรรม (ตอ)

ทานสาธุชน ผูมีความสนใจในธรรม ทั้งหลาย,

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ก า ร บ ร ร ย า ย ป ร ะ จํ า วั น เ ส า ร ใ น ชุ ด อ ริ ย ศี ล ธ ร ร ม เ ป น ครั ้ง ที ่ ๘ ในวัน นี ้ อาตมาจะไดก ลา วโดยหัว ขอ ยอ ย วา ปญ หาที ่กํ า ลัง ทั บ ถ ม แ ก ป  ญ ห า ท า ง ศี ล ธ ร ร ม ต อ อี ก ค รั ้ ง ห นึ ่ ง จ า ก ก า ร บ ร ร ย า ย ที ่ ย ั ง ไมจบในครั้งที่แลวมา.

เ รื ่ อ ง นี ้ ต  อ ง ข อ โ อ ก า ส พ ิ เ ศ ษ ต า ม เ ค ย สํ า ห ร ั บ ท า น ทั ้ ง ห ล า ย ที ่ ม า ฟ ง เ ฉ พ า ะ ค ร า ว แ ล ว จ ะ ต อ ง ฟ ง เ รื ่ อ ง ซึ ่ ง พู ด ม า เ ป น ต อ น ๆ โ ด ย ไ ม ท ราบว า ต อ น ที ่ แ ล ว ม า นั ้ น ไ ด พ ู ด ว า อ ย า ง ไ ร จึ ง ทํ า ค ว า ม เ ข า ใ จ ไ ด ไมสมบูรณ ซึ่งมันก็เปนเรื่องที่ชวยไมได. ๒๑๙

www.buddhadassa.in.th


๒๒๐

อริยศีลธรรม

อาตมาจะพยายามเทา ที ่จ ะทํ า ได โดย ทบทวนใจความสั ้น ๆ ที ่ แ ล ว ม า ว า เ ร า กํ า ลั ง พู ด กั น ถึ ง ป ญ ห า ศี ล ธ ร ร ม เ พื ่ อ จ ะ แ ก ป  ญ ห า ท า ง ศีล ธรรม; เพราะวา โลกกํ า ลัง มีค วามลํ า บากระส่ํ า ระสาย หรือ ขนาดที ่เ รีย กได วา วิก ฤตการณ อยู ต า ง ๆ นานาชนิด แลว เราก็แ กม ัน ไมต ก มีแ ตยิ ่ง ทับ ถม ทวีขึ ้น ๆ ; เพราะเราเขา ใจผิด อยา งหลับ หูห ลับ ตา มองขา มสิ ่ง ที ่เ ปน ตน เหตุ อันแทจริงเสีย แลวก็ไมไดแกที่สิ่งนั้น ไปมัวแกที่ปลายเหตุ สิ ่ ง ที ่ เ ป น ต น เ ห ตุ โ ด ย แ ท จ ริ ง ก็ ค ื อ สิ ่ ง ที ่ เ รี ย ก ว า ศี ล ธ ร ร ม ; ไรศ ีล ธรรมหรือ ศีล ธรรมบกพรอ งก็เ ปน เรื ่อ งลํ า บากทุก ขย ากระส่ํ า ระสาย; ถาศีลธรรมสมบูรณ มันก็เปนเรื่องที่มีความสงบสุข อยูในภาวะที่นาพอใจ สํ า หรับ คํ า วา "ศีล ธรรม" นั ้น ตามตัว หนัง สือ แท ๆ ก็ต อ งแปลวา สิ่งที่ทําความปรกติ ขอใหทราบวาใน ภาษาบาลี นั้น คําวา ศีล หรือ สี - ละ นี้ แ ปลว า ปรกติ หรื อ ความปรกติ . คํ า ว า "ธรรม" ในกรณี อ ย า งนี้ ก็ เ ป น คํ า ธรรมดา มีค วามหมายแตเ พีย งวา เปน สิ ่ง , สิ ่ง ใดก็ไ ดที ่ม ีอ ยู ต ามธรรมชาติ. ศีล ธรรม ก็ค ือ สิ ่ง ที ่ทํ า ใหม ีค วามปรกติ ทํ า ใหเ กิด ความปรกติ หรือ อยู เ ปน ปรกติ ก็ไ มม ีป ญ หา; ฉะนั ้น ถา โลกนี ้ม ีศ ีล ธรรม โลกนี ้ก ็ไ มม ีป ญ หา; ปญหามันเกิดมาจากการผิดปรกติ. ถาศีลธรรมเสื่อม ก็หมายความวาสภาพปรกตินี้ มั น วิ ป ริ ต ไปแล ว ; ถ า ไร ศี ล ธรรม ก็ คื อ ไม มี ส ภาพปรกติ เ ลย. คํ า นี้ มี ค วามหมาย อยางนี้ เปนอยางอื่นไมได

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สํ า ห รั บ ภ า ษ า ไ ท ย ซึ ่ ง ยื ม ม า จ า ก ภ า ษ า บ า ลี ห รื อ ภ า ษ า อื ่ น ในประเทศอิ น เดี ย ; ไทยเราได ร ั บ วั ฒ นธรรมอิ น เดี ย ; คํ า ทั ้ ง หลายจึ ง ยื ม

www.buddhadassa.in.th


ปญหาที่กําลังทับถมแกปญหาทางศีลธรรม (ตอ)

๒๒๑

มาจากประเทศอินเดีย; แลวถาศึกษาตนตอของคําในภาษาอินเดีย ก็พอจะเขาใจ คํา เหลา นี้ไ ด. มัน ลํา บาก ก็ต รงที่เ อาไปแปลเปรีย บเทีย บกับ คํา ในภาษาอื่น ตอไปอีก; ความหมายมันก็สับสนไปบาง ก้ํากึ่งกันบาง, หรือผิดไปเลยบางก็มี เดี๋ ย วนี้ เ อาที่ แ น น อนที่ สุ ด คํา ว า ศี ล ธรรม ในภาษาบาลี นั้ น มันก็แปลวา สิ่งที่ทําความปรกติ; จําแนกไดมากมาย เปนทางกาย ทางวาจา ทางใจ; ในระดับ ต่ํา ระดับ กลาง ระดับ สูง สารพัด อยา ง แตวา รวมความ แลว ก็คือ สิ่งที่ทําความปรกติเทานั้นเอง .… .... …. .… ป ญ ห า ใ น โ ล ก ทั ้ ง โ ล ก ก็ ค ื อ ค ว า ม ไ ม อ ยู  ก ั น เ ป น ป ร ก ติ สุ ข ; เ พ ร า ะ ข า ด ศี ล ธ ร ร ม ใ น ร ะ ดั บ ไ ห น ก็ ต า ม เ รี ย ก ไ ด ว า ข า ด ศี ล ธรรมทั้ ง นั้ น ที นี้ เ ราต อ งการความปรกติ ก็ ไ ปแก ป ญ หาปลายเหตุ ที่ เ กิ ด มาจากความไม มี ศี ล ธรรม; เช น ป ญ หาเศรษฐกิ จ ป ญ หาการเมื อ ง ปญ หาการทหารอะไรก็ต าม มัน เปน เรื่อ งปลายเหตุ คือ มาจากความไมมี ศี ล ธรรม อี ก ต อ หนึ่ ง . ดั ง นั้ น จึ ง แก ไ ม ไ ด ต ลอดมาจนบั ด นี้ ; และยิ่ ง ขึ้ น ๆ ก็เพราะวาโลกนี้ละเลยตอสิ่งที่เรียกวาศีลธรรมนั้นมากขึ้น ๆ ; แลวเขาก็ไมรูสึกตัว

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ขอให ม องให ดี ๆ ว า โลกกํา ลั ง ละเลยต อ สิ่ ง นี้ อ ย า งไร? ถ า เป น สมั ย ก อ นสิ่ ง ที่ เ รี ย กว า ศาสนาจะแฝดติ ด กั น อยู กั บ การศึ ก ษาทั่ ว ไป,

www.buddhadassa.in.th


๒๒๒

อริยศีลธรรม

และมาแฝดติด กัน อยูกับวัฒ นธรรมในบา นเรือน; มีอ ยูใ นเลือดในเนื้อ ของคน. ศีลธรรมมีอยูในเลือดในเนื้อของคน โดยไมตองสอนกันดวยปาก คนก็มีศีลธรรมได. เดี๋ยวนี้ศีลธรรมก็เหินหางไป, เหินหางไป ; เพราะวาไปหลงใหล ในสิ่งที่ยั่วยวน; สิ่งหนึ่ง คือความเปนสุขสนุกสนานในทางวัตถุ แลวขยับขยาย ใหมันมากขึ้นไป ในทางคนควา ในทางประดิษ ฐ จนกระทั่ง พบสิ่ง ที่อํา นวย ใหสํา เร็จ ประโยชน ตอ ไปอีก ที่เ ราหลงใหลกัน นัก ในโลกนี้ใ นเวลานี้ ก็คือ สิ่งที่เรียกวาเทคโนโลยี่ทุกแขนง ฉะนั้นศีลธรรมมันก็ตองหายไป ผูห ญิง ฝรั่ง ที่เ คยสวมเสื้อ ยาว ๆ ถึง ขอ มือ กระโปรงถึง ตาตุม , พวกเอเซียภาคกลางผูหญิงตองคลุมหนา แลวคลุมไปถึงตาตุม; มันก็เปลี่ยนไป คลุมนอยเขาจนไมคิดจะคลุมกันเลยเดี๋ยวนี้. นี้เปนวัตถุที่แสดงออกมาใหเห็นการ เปลี่ย น ไปลุม หลงในเรื่อ งของกามารมณ; ฉะนั้น โลกมัน ก็ตอ งเปลี่ย น เพราะวาจิตใจของคนมันเปลี่ยน แลวก็เปลี่ยนมากถึงขนาดนี้

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ศีล ธรรมมัน อยูไ มไ ดกับ จิต ใจที่เ ปลี่ย นไป ตามอํา นาจของความ หลงหรือ กิเ ลสตัณ หา; จึง ดูไ ดพ รอ มกัน มาเลยวา ศีล ธรรมมัน ก็เ ปลี่ย นไป ในทางเสื่อมลงไป, เสื่อมลงไป จนกระทั่งไรศีลธรรมเลย ในบางกรณี.

เมื่ อ คนไปหลงในวั ต ถุ แ ห ง ความใคร ทั้ ง หลาย มากขึ้ น คน ก็ละเลยศีลธรรม มีผลออกมาเปนความเห็นแกตัว อยางรุนแรงยิ่งขึ้น ๆ ; ฉะนั้นจึงทําอะไรไปตามความเห็นแกตัวทุกแขนง. โลกจึงสูญเสียความเปนปรกติสุข; เต็มไปดวยการแยงชิง เพื่อแสวงหาความสุข ทางวัตถุ ดวยความเปนแกตัวนั้น ๆ.

www.buddhadassa.in.th


ปญหาที่กําลังทับถมแกปญหาทางศีลธรรม (ตอ)

๒๒๓

ครั้ น คนมี ค วามทุ ก ข ย ากลํา บากหนั ก ขึ้ น คนทั้ ง โลกนี้ ก็ ห า ทางแก, ก็แ กอ ยา งหลับ หูห ลับ ตา คือ ไปแกต รงที่จุด เล็ก ๆ ที่เ ปน ผลของ ความเสื่อมเสียทางศีลธรรม, ไมไดไปแกถึงตัวรกรากของมัน คือตัวศีลธรรม ใหมีขึ้นมา; มันก็แกไมตก. เดี๋ยวนี้ก็ยังมีปญหาคาราคาซัง คือปญหาการที่จะ แกไขศีลธรรมนี้ ใหดีขึ้น. นี้เปนตัวปญหาที่แทจริง แลวอยูลึกที่สุด เ ร า แ ก ป  ญ ห า นี ้ ไ ม ไ ด เ พ ร า ะ มี สิ ่ ง ที ่ เ ป น ป ญ ห า อื ่ น ๆ มาทับถม อยูเปนชั้น ๆ หลายชั้น; ก็คือปญหาที่มันเกิดออกมาจากความเสื่อม ศี ล ธรรมนั้ น เอง. เหมื อ นอย า งต อ งการจะกิ น เนื้ อ ในของมะพร า ว ก็ มี เ ปลื อ ก มะพรา วนั่น เอง; ไมใ ชมีเ ปลือ กอื่น มาหุม หอ ไว, เปลือ กมะพรา วนั่น เอง หุม หอ เนื้อ มะพรา วไว; ฉะนั้น อุป สรรคมัน ก็เ กิด จากสิ่ง นั้น หรือ คามมีสิ่ง นั้น โดยแทจริง. เราตองแกปญหาที่จริงแทอยางนี้ดวย ลงไปตามลําดับ จึงจะถึง ปญหาสุดทายที่แทจริง แลวก็แกได

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ป ญ หาทาศี ล ธรรม มั น อยู ที่ ค วามเห็ น แก ตั ว อั น มาจาก ความหลงนิยมเรื่องทางวัตถุดานเดียว โดยสวนเดียว หรือเกินไป; แลวก็มีปญหา ตาง ๆ ออกมาจากการทําผิดขอ นั้น ที่เปนโดยตรงก็มี, ที่เปนโดยออมก็มี. .…

....

….

.…

ที่เ ปน การทํา ผิด โดยตรง ก็คือ ปญ หาทางการจัด การศึก ษาผิด , หลั บ หู ห ลั บ ตาจั ด การศึ ก ษาผิ ด ๆไปทั้ ง โลก คื อ การศึ ก ษาที่ จ ั ด ขึ้ น นั ้ น ไมสงเสริมความมีแหงศีลธรรม แลวยังกลับทําลายศีลธรรม

www.buddhadassa.in.th


๒๒๔

อริยศีลธรรม

การศึ ก ษาแบบวั ต ถุ แบบเทคโนโลยี ่ นี ้ ทํ า ให ค นหลใหลใน วัตถุ ไมคิดจะมีศีลธรรม, หรือคิดวาศีลธรรมนี้ มันเปนเครื่องขัดขวาง ความ เอร็ ด อร อ ยสนุ ก สนานของตน. นี่ ก ารจั ด การศึ ก ษาผิ ด กลายเป น การ ศึก ษาที่ไ มสง เสริม ความมีศีล ธรรม แตทํา ลายศีล ธรรม มัน ก็มีผ ลใหเ กิด ปญ หาอยา งอื่น ขึ้น มากมาย; เรีย กวา เปน ปญ หาที่ทับ ถมอยูโ ดยตรง . ปญ หาทับ ถมโดยตรง คือ การศึก ษาที ่จับ ผิด ๆ นั้น ไดพูด กัน มาแลว อยา ง ละเอี ย ด ในการบรรยายครั้ ง ที่ แ ล ว มานี้ ในวั น นี้ จ ะได ก ล า วถึ ง ป ญ หา ที่ทับถมศีลธรรม ที่มีอยูโดยออมตอไป ข อ ท บ ท ว น คํ า พู ด บ า ง คํ า อ ยู  เ ส ม อ ว า ต อ ง จั ด ก ร ะ ท ร ว ง ศีลธรรมขึ้นมา ใหใหญโตมโหฬารกวากระทรวงทั้งหลาย เพื่อเปนสุนับรับใช ของกระทรวงทั้งหลายทุก ๆ กระทรวง. การที่กระทรวงทั้งหลายทุกกระทรวง ทําหนาที่ตามความมุงหมายของตนไมได ก็เพราะวาขาดศีลธรรม. โดยหลักการก็ดี , โดยบุคคลก็ดี, มีอะไรที่ขาดศีลธรรม. ถามีอะไรมาชวยใหมีศีลธรรมละก็ ทุก กระทรวงก็ปฏิบัติหนาที่ของตนได. นี้จะตองมีกระทรวงศีลธรรม เพื่อชวยทําให ทุกคนมีศีลธรรม หรือเพื่อชวยควบคุมความมีศีลธรรม ของหลักการ แผนการ วิธีการตาง ๆ โดยทั่วไป

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ใช คํา ว า "สุ นั ข รั บ ใช " นี ้ มั น น า เกลี ย ด หรื อ โสกโดกอยู  บ า ง แตมันก็ดี ตรงที่วามันลืมไดยาก, แลวมันเปนภาษาพวกคอมมูนิสตเขาใชดวย มัน ก็ยิ่ง ลืม ยากขึ้น ไปอีก , แลว ก็ดูน า จะมีป ระโยชน ในขอ ที่เ อามาใชใ ห มันถูกตอง ไมใชใชในทางที่ผิด.

www.buddhadassa.in.th


ปญหาที่กําลังทับถมแกปญหาทางศีลธรรม (ตอ)

๒๒๕

นี่ ค ื อ ความจํ า เป น ที ่ ว า เราจะต อ งพิ จ ารณากั น ถึ ง ป ญ หา ที่ทับ ถมปญ หาศีล ธรรม อยูโ ดยออ ม เพื่อ ใหเ ห็น ชัด กัน เสีย ทีห นึ่ง กอ นวา มันมีปญหาเหลานี้อยูรอบดาน เต็มไปหมด มากมาย แลวก็เกี่ยวพันกันอยางฟน เฝอ จนงงแกการที่จะแกไข. ชาวโลกก็ไปสนใจกันแตเรื่องวัตถุ เพราะความ นิยมวัตถุ จึงยังไมมองเห็นทางที่จะแกไขได .… .... …. .… ที นี ้ ก ็ จ ะ ไ ด พ ิ จ า ร ณ า กั น ถึ ง สิ่ ง ที ่ เ รี ย ก ว า ป ญ ห า แ ว ด ลอม ประเภทโดยออม ตอปญหาทางศีลธรรม. คํา ว า "โดยอ อ ม" นี้ เ ข า ใจว า คงจะเข า ใจกั น ได อ ยู แ ล ว ; ที นี้ ก็ประสงคเพียงวา มันเปนปญหาที่มิใชโดยตรง. มันเปนเพียงปญหาแวดลอมอยู รอบ ๆ แลวมันแยกแขนงออกมาจากตัวปญหาที่เปนประธาน กระทั่งออกมาเปน ปญหาหยุมหยิ่มกระจุกกระจิก, แลวก็งอกงามตอ ๆ ตอ ๆ ไปอีก; เกิดเปนปญหา ฝอยหยุมหยิมไปหมด. นี้เรียกวาเปนปญหาโดยออม และควรจะเรียกวาปญหา บริวาร แวดลอมปญหาที่เปนประธาน; แตก็ตองจัดการปญหาบริวารนี้ พรอม กันไปกับปญหาประธาน เพราะวามันเกี่ยวกันกันอยู

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ขอย้ํา อยู ใ นข อ ที่ ว  า จะต อ งไปนึ ก ถึ ง ศี ล ธรรมที่ เ สื ่ อ มไป เพราะจัดการศึกษาผิด; และการศึกษาผิดนั้นมันทําใหเกิดปญหาทางอื่นขึ้น มาอีกมากมายหลายแขนง ที่เรียกวาเปนปญหาโดยออม

www.buddhadassa.in.th


ปญหาที่กําลังทับถมแกปญหาทางศีลธรรม (ตอ)

๒๒๗

มหาวิทยาลัยพนออกไป ก็ไมมีเรื่องของธรรมะ หรือของศาสนา หรือที่เราเรียก ในที่นี้วาศีลธรรม. ศี ล ธรรมในที่ นี้ ที่ เ ป น ชั้ น สู ง คื อ อริ ย ศี ล ธรรม - ศี ล ธรรม ตามแบบของพระอริยเจา; ไมใช "ศีลธรรมอันดีของประชาชน" อยางที่เขาชอบ พูดกัน. แตเดี๋ยวนี้แมศีลธรรมอันดีของประชาชน มันก็หาทํายาหยอดตาไมไดอยู แลว ; จะไปเรียกหาศีลธรรมของพระอริยเจานั้น ก็ยิ่งไกลออกไปอีก. แตเรา ก็ตองการ เพราะวาถาไมมีสิ่งนี้ โลกนี้มันก็วินาศ. เราจะต อ งทํา ทุ ก อย า งให สุ ด ความสามารถ ที่ จ ะดึ ง เอา ระบบที่ ศ าสนา หรื อ ธรรมะ ควบคู กั น อยู กั บ การศึ ก ษา; เหมื อ นกั บ ควาย ๒ ตัวลากไถคันเดียวไปนี้ ใหกลับมาอีก เหลานี้เรียกวามันเปนปญหา โดยออมที่มากมาย ที่เกิดมาจากการศึกษาที่จัดไปผิด ๆ ; เพราะการศึกษานั้น นิยมแยกสิ่งที่เรียกวา ธรรมะหรือศาสนาออกไปเสีย ไมใหมาเกี่ยวของนั่นเอง .… .... …. .…

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ที นี ้ ก ็ จ ะ ได ย ก ตั ว อ ย า งป ญ หาโดยอ อ ม ที ่ ว  า นี ้ มั น มี มากมายจนเอามากลาวใหหมดไมได; จะทําไดเพียงยกมาใหดูเปนตัวอยาง

ป ญ หานี้ ก็ ไ ด ก ล า วมาแล ว ว า ป ญ หามี ขึ้ น มาเมื่ อ มี ค วามไร ศีลธรรม, บกพรองทางศีลธรรม, ศีลธรรมรวนเร, กระทั่งศีลธรรมลมจมไป ในที่สุด, เหลานี้มันมีอยูจริง.

www.buddhadassa.in.th


๒๒๘

อริยศีลธรรม

ขอให ทุ ก คนทํา ใจเป น กลาง ทํา ใจบริ สุ ท ธิ์ แล ว มองดู กั น ไปจริง ๆ วา ในบา นเมือ งเราหรือ กระทั่ง ในโลกนี้ทั้ง หมด หรือ กระทั่ง วา ใน ตัวเขาเองคนเดียวนี้ มันมีความบกพรองรวนเรทางศีลธรรมตาม ๆ กันไปทั้ง หมดหรือ เปลา ? ถา ถึง กับ วา ไรศีล ธรรมก็ เรีย กวา มัน วิน าศถึง ที่สุด ; ถา บกพรอ งบา งก็ยัง คอ ยยัง ชั่ว , ถา รวนเร มัน ก็ยัง พอจะแกไ ขใหมัน ตรงได, แตถามันลมจมไปหมดแลว ไรศีลธรรมแลว ก็เรียกวา เปนเคราะหกรรม อยางยิ่งของมนุษยเรา. ทีนี้ สิ่งเหลา นี้มีอยูอ ยา งไรบา ง? อาตมาก็ตอ งยกตัวอยางเทา ที่ เวลาจะอํา นวย; ก็ตอ งขออภัย ที่วา ถา มีก ารกระทบกระทั่ง บา ง ก็ข อให ถื อ เสี ย ว า ไม มี เ จตนาร า ย ที่ จ ะกระทบกระทั่ ง เลย; แต ด ว ยความหวั ง ว า เราจะแก ไ ขสถานการณ ข องเรา ให มั น ดี ขึ้ น เมื่ อ คนทั้ ง โลก หรื อ ประเทศอื่ น เขาจะไม แ ก ไ ข ก็ ต ามใจ; เราเป น พุ ท ธบริ ษั ท เป น คนไทยอยางพุทธบริษัท บูชาความถูกตอง ความดี ความจริง ความเปน ธรรม ความงดงาม อะไรนี้ ก็ตอ งพยายามไปตามธรรมชาติข องพุท ธบริษัท

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ปญ หาที ่ ๑ ที ่จ ะยกขึ ้น มาเปน ตัว อยา ง คือ ปญ หาวา เมื ่อ มี ความรวนเรล ม จมทางศี ล ธรรมแล ว ก็ มี ป ญ หาเกี่ ย วกั บ การจงรั ก ภั ก ดี ตอประเทศชาติศาสนาพระมหากษัตริย.

เ ดี ๋ ย ว นี ้ ไ ม ม ี ค ว า ม จ ง รั ก ภั ก ดี ต อ ป ร ะ เ ท ศ ช า ติ เ ป น ต น ที่ เ พี ย งพอ ไม จ ริ ง พอ; หรื อ ว า ถึ ง กั บ หน า ไหว ห ลั ง หลอก. ที่ ป ากพู ด ว า

www.buddhadassa.in.th


ปญหาที่กําลังทับถมแกปญหาทางศีลธรรม (ตอ)

๒๒๙

"จงรักภักดีตอประเทศชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย" นั้น มันปากวา หรือ วาเขียนเปนตัวหนังสือก็พอแลว ไมไดปฏิบัติโดยสมบูรณ; ยิ่งไปกวานั้นอีก ก็แทบจะไมรูวาประเทศ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริยนั้น คืออะไรดวยซ้ําไป เพราะลูกเด็ก ๆ เหลานี้ถูกสอนใหทองจํามา ชินปาก เคยลิ้น มาตั้งแตเล็ก; เขาก็ไมตองสนใจ วาอะไรก็ได, เขาจําไดก็แลวกัน ถา เปรีย บเทีย บกัน ดูกับ คนโบราณ สมัย ปูยา ตายายโนน อาจ จะมองเห็น และเชื่อ ได วา มัน จริง อยา งนั้น คือ เขามีค วามจงรัก ภัก ดี ตอ ประเทศชาติ ศ าสนา พระมหากษั ต ริ ย ยิ่ ง กว า คนสมั ย นี้ ซึ่ ง นิ ย มจงรั ก ภั ก ดี ต อ วั ต ถุ ต อ ความสุ ข สนุ ก สนาน เอร็ ด อร อ ยทางวั ต ถุ . เอากํา ลั ง ความจงรักภักดี มาใสกับสิ่งนี้เสียหมด, ทางฝายโนนมันก็จางไป. ที ่ก ลา ววา "ไมรู จ ัก สิ ่ง ที ่เ รีย กวา ชาติ" เปน ตน นี ้ ก็ล อง พิจารณาดู วาการสูญชาติของมนุษยมันมีหลายความหมาย. ถาสูญชาติในทาง ศี ล ธรรมมั น ก็ ห มดชาติ ข องมนุ ษ ย ชาติ ม นุ ษ ย จะหมดไป; เป น ชาติ สัตวปา เดรัจฉานอะไรไป ถามันขาดศีลธรรม นี่รูจักชาติในลักษณะอยางนี้ กัน หรือ เปลา ? ยัง มีคํา วา ชาติใ นทางวัฒ นธรรม ทางจิต ใจ; ถา เราสูญ ไป, เช น ไป นิ ย มวั ฒ นธรรมชาติ อื่ น ก็ เ ป น อั น ว า จิ ต ใจนั้ น มั น เป น ชาติ อื่ น ไปแลว; นี่ก็มีอยูมาก

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ที่วา ไปตามกัน ฝรั่ง ในเรื่อ ง การกิน การอยู การเลน การหวัว อะไรต า ง ๆ นั้ น ก็ จ นสู ญ ชาติ ไ ทยไปแล ว โดยจิ ต ใจหรื อ โดยวั ฒ นธรรม.

www.buddhadassa.in.th


๒๓๐

อริยศีลธรรม

วัฒนธรรม วัฒนธรรมในสายเลือดมั นถูกรีดออกมาทิ้งหมดอยางนี้ แลวก็ไปรับเอาของ ใหม เ ข า มาแทน: เป น วั ฒ นธรรมแบบวั ต ถุ ; นี่ ก็ เ รี ย กว า สู ญ ชาติ ไ ปแล ว ในทาง วัฒนธรรม ทีนี ้ก ็จ ะ เปน เหตุใ หส ูญ ช า ติอ อ ก ม า ถึง กับ วา สูญ ชาติท า ง ก า ร เมือ งคือ ประเทศชาตินี ้เ ปน เมือ งขึ ้น เขา เปน ขี ้ข า เขา; นี ่เ รีย กวา สูญ ชาติท าง การเมื อ ง นี ้ เ ร า ก็ รู  จ ั ก แต เ รื ่ อ ง สู ญ ชาติ ท างการเมื อ ง ; พู ด กั น ม า ก กลั ว กั น ม า ก . แ ต ห า รู  ไ ม ว  า มู ล เ ห ตุ ที ่ แ ท จ ริ ง นั ้ น ถ า มี ก า ร สู ญ ช า ติ ใ น ท า ง จิตใจแลว จะตองสูญชาติในทางการเมืองตามมาเปนแนนอน อ า ต ม า รู  ส ึ ก ว า ก า ร สู ญ ช า ติ ใ น ท า ง ก า ร เ มื อ ง นี ้ ยั ง เ ล ว น อ ย ก ว า สู ญ ช า ติ ท า ง จิ ต ใ จ ห รื อ ท า ง วั ฒ น ธ ร ร ม ห รื อ ท า ง ศี ล ธ ร ร ม . ขอใหรู จ ัก สิ ่ง ที ่เ รีย กวา "ชาติ ประเทศ" กัน อยา งนี ้บ า ง ถา เปน ชาติไ ทย ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ก็ ต  อ ง ร ะ วั ง อ ย า ใ ห ม ั น สู ญ ช า ติ ไ ป ใ น ท า ง จิ ต ใ จ ห รื อ ท า ง ศีลธรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ท ี นี ้ ศ า ส น า นี ้ เ ป  น ห ล ั ก ที ่ จ ะ ใ ห  ย ั ง ค ง อ ยู  ใ น ท า ง จ ิ ต ใ จ หรื อ ทางศี ล ธรรม ก็ อ ย า ให ส ู ญ ไปเสี ย . พระมหากษั ต ริ ย  โ ดยทั ่ ว ไปก็ เ ล็ ง ถึ ง ชนชั้ น ปกครอง ซึ่ ง มี ห น า ที่ ทํ า การรั ก ษาคุ ม ครองสิ่ ง เหล า นี้ ให ค งอยู ใ นสภาพ อยา งนี ้ เปน พระมหากษัต ริย ที ่ป ระกอบอยู ด ว ยทศพิธ ราชธรรม เปน ตน ; เมื ่อ ทา นทํ า หนา ที ่ข องทา นบริส ุท ธิ ์แ ลว เปน ผู ที ่ค วรจงรัก ภัก ดีอ ยา งยิ ่ง ไมมี อะไรจะยิ่ ง ไปกว า ในระหว า งบุ ค คลด ว ยกั น . เพราะว า รั บ ผิ ด ชอบในความสู ญ ชาติ

www.buddhadassa.in.th


ปญหาที่กําลังทับถมแกปญหาทางศีลธรรม (ตอ)

๒๓๑

ของคนทั้งประเทศ ทั้งในแงของศีลธรรมวัฒนธรรม และทั้งในแงของการเมือง. ฉะนั้ น เราจะต อ งรู จั ก สิ่ ง เหล า นี้ ดี จึ ง จะมี ค วามจงรั ก ภั ก ดี ต อ สิ่ ง เหล า นี้ ไ ด เดี๋ย วนี้ค วามไมมีศีล ธรรม ความไมนิย มสิ่ง ที่ถูก ตอ งตามหลัก ธรรมนี้ เขามาครอบงํา; มันก็มีปญหาเรื่องการจงรักภักดีขึ้นมา คือมันไมจริง พออยา งหนึ่ง หรือ มัน ถึง กับ หนา ไหวห ลัง หลอกไปเลย;แลว มัน ก็ร วนเรขึ้น เปน ขอแรกในชนชาตินั้น ไมเฉพาะชาติไ ทย ขอใหรูไวเสมอไปวา เรากําลัง กลาวถึงเรื่องของมนุษย ไมวาชาติไหน จะเปนเรื่องของคนทั้งโลกก็ได หรือ จะไปเปนของประเทศเล็ก ๆอยางประเทศไทยเราก็ได นี ่ ป  ญ ห า โ ด ย อ อ ม ไ ด เ กิ ด ขึ ้ น ม า แ ล ว คื อ ว า เ กิ ด ไ ม ม ี ค ว า ม จงรั ก ภั ก ดี โ ดยแท จ ริ ง ต อ ประเทศชาติ ศ าสนา พระมหากษั ต ริ ย เ ป น ต น ; ก็เปนเครื่องทําความยุงยาก ใหแกการที่จะปรับปรุงศีลธรรมของบานเมืองนั่นเอง. ขอใหดูวา ปญหานี้มันเปนปญหาโดยออม เขามาทับถมแกการแกปญหาทาง ศีลธรรมอยางไร?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org .…

....

….

.…

ดู กั น ต อ ไ ป ข อ ที่ ๒ ป ญ ห า ที ่ เ ป น ค ว า ม ร บ ก ว น ม า จากอันธพาลนานาแบบ.

ความเป น อั น ธพาลนานาแบบ มั น ค อ ยเกิ ด ขึ ้ น มา จาก การที่ศีล ธรรมมัน เสื่อ มไป, และจากการศึก ษาที่จัด ผิด ๆ ทํา ลายศีล ธรรม

www.buddhadassa.in.th


๒๓๒

อริยศีลธรรม

เสี ย เอง. อั น ธพาลนานาแบบนี้ ตั ว อย า งเช น ว า อาชญากรรมทางเพศ; เดี๋ยวนี้ทั่วโลกยอมรับวา อาชญากรรมทางเพศกําลังทวีขึ้นอยางรวดเร็ว อยาง ไมนาเชื่อ. เชนวาในบางประเทศมีอาชญากรรมทางเพศเกิดขึ้น โดยเฉลี่ยแลว ทุก ๆ ๗ วินาทีเปนตน.อาตมาเคยอานพบอยางนั้น. เมื่อมีความลุมหลงในทาง กามารมณเรื่อย ๆ ไป มันก็เกิดความวิปริตมันก็ขยายตัวออกไป เปนเรื่องปญหา ทางกามารมณมากมาย. ที ่เ รีย กวา เปน คนเจา สํ า ราญนั ้น ไมไ ดจํ า กัด อยู แ ตใ นคนที่ ร่ํารวยเหลือกินเหลือใช แตระบาดลงมาถึง แมแตคนยากจน มันก็ยังอยากเปน เจา สํา ราญ. เมื่อ ไมมีเ งิน มัน ก็ตอ งไปหามา;หาโดยสุจ ริต ไมไ ด ก็ห าโดย ทุจ ริต เพื่อ เอามาซื้อ ความเปน เจา สํา ราญอยา งนี้; ก็เ ลยออกไปถึง การติด ความสนุ ก สนาน หรื อ มหรสพนานาชนิ ด . อย า งในภาษาธรรมะเขา เรียกวา วัตถุกาม หรือความใคร หรือของใคร ที่เปนวัตถุที่ตั้ง ก็เปนปญหา มากมายเหลือที่จะนับไหว; มิใชแตเพียงอาชญากรรมทางกามารมณอยางเดียว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทีนี ้ม ัน ยัง มีอ าชญากรรมทางโทสะจิต , รวม ๆ กัน เรีย กวา อาชญากรรมทางโทสะจิต คือวา โกรธ หรือ ประทุษรา ย ดว ยกิเ ลส ที่ชื่อ วา โทสะ หรื อ โกธะ นี้ ต อ มาจากอาชญากรรมทางกามารมณ หรื อ ทาง ราคะมันเนื่องกันอยู มันตองดูพรอมกันไป.

ความรูสึกที่เปนความโลภ หรือเปนราคะทางกามารมณนั้น มัน เปนเหตุใหเกิดโทสะ, หรือความโกรธ พอไมไดอยางใจมันก็โกรธ; ถาอยาไป

www.buddhadassa.in.th


ปญหาที่กําลังทับถมแกปญหาทางศีลธรรม (ตอ)

๒๓๓

ตอ งการสิ ่ง อยา งนั ้น มัน ก็ไ มม ีอ ะไรที ่จ ะทํ า ใหไ มไ ดอ ยา งใจ มัน ก็ไ มม ีก ารโกรธ ที่นี้ไปลุมหลงของรัก เมื่อไมไดอยางใจ มันก็ตองโกรธ. เ รื ่ อ ง ค ว า ม โ ก ร ธ นี ้ ก ็ แ ย ก ตั ว อ อ ก ม า เ ป น ป ญ ห า อี ก อั น ห นึ ่ ง ; มีโ ทสะจิต มีอ าฆาต มีจ องเวร มีส ัน ดานพาลโหดรา ย ยิ ่ง กวา สัต วป า นี้ อาชญากรรมก็เ กิด ขึ ้น มาอีก แผนกหนึ ่ง อีก แบบหนึ ่ง คือ อาศัย โทสจิต เปน มูล. ค น เ ร า พ อ โ ก ร ธ แ ล ว มั น ก็ ไ ม เ ป น ม นุ ษ ย แ ล ว พ อ ทํ า ล ง ไ ป แ ล ว มั น ก็ จ ะ ต อ ง มี ก า ร ต อ บ แ ท น , มั น ก็ แ ก แ ค น , อ า ฆ า ต ส ว น กั น ไ ป ส ว น กั น ม า ; ก็ ว ิ น า ศ กั น ล ง ไ ป ทุ ก ที พ ร อ ม ทั ้ ง ส ร า ง นิ ส ั ย สั น ด า น ทารุณ โหดรา ยเพิ ่ม ขึ ้น . ฉะนั ้น ที ่เ ขารบกัน ทั ้ง โลกอยู ไ ดเ ดี ๋ย วนี ้ มัน ก็ม ีเ หตุนี้ เป น เหตุ ส ว นหนึ่ ง ที่ ร วมอยู ด ว ย คื อ ความเกลี ย ดชั ง กั น หรื อ เรี ย กว า มั น อาฆาต กันอยูตลอดเวลา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ที นี้ ป ญ หาอาชญากรรมต อ ไปอี ก ก็ เ ช น เกี่ ย วกั บ การแสวงหา ป ร ะ โ ย ช น , ต อ ง ก า ร ป ร ะ โ ย ช น โ ด ย ต ร ง . เ จ า ะ จ ง ที ่ ป ร ะ โ ย ช น แ ล ว ก็ ลั ก ก็ ข โมย; แม ที่ สุ ด แต ว า เป น ผู ที่ เ ข า ที่ คั บ ขั น หรื อ ว า จนตรอก ในการประกอบ อาชีพ มันก็ตองขโมย.

นี ่ เ รี ย ก ว า เ ห มื อ น กั บ สั ต ว ม ั น จ น ต ร อ ก แ ล ว มั น ก็ ต  อ ง กั ด แ ต ม นุ ษ ย นี ้ ย ั ง แ ป ล ก อ อ ก ไ ป ว า ถ า จ น ต ร อ ก ใ น เ รื ่ อ ง ก ร ะ ทํ า โ ด ย สุ จ ริ ต ; แล ว มั น ก็ ทํ า ทุ จ ริ ต จึ ง มี อ าชญากรรมอี ก ประเภทหนึ่ ง เกิ ด ขึ้ น มา กระทั่ ง

www.buddhadassa.in.th


๒๓๔

อริยศีลธรรม

รับ จา งฆา เขา อยา งนี้; ไมไ ดมีเ รื่อ งอะไรกับ เขา แตเ พราะเราอยากจะได เงินก็รับจางฆาคนอื่น มันเปนเรื่องของการแสวงหาประโยชน. นี่ย กมาเปน ตัว อยา งก็เ ขา ใจกัน ไดทัน ที วา ภาวะเชน นี้ มัน มีอ ยู ในโลกนี้อยางไร ในระหวางบุคคลก็ดี ในระหวางประเทศก็ดี หรือรวมๆ กัน ทั้งโลกดี มันมีการกระทําอยางนี้. คนยัง แบง กัน อยูเ ปน ๒ ชนิด ; แลว ก็นา หวัว ดว ย ที่อ าตมา เคยพูดถึงมาครั้งหนึ่งแลว ในการบรรยายครั้งกอน ๆ โนนวา ; พวกหนึ่งเขาถือ หลั ก ว า "ขอทานดี ก ว า ขโมย" เป น ขอทานดี ก ว า ขโมย แต อี ก พวกหนึ่ ง เขาถือ หลัก ที่วา "ยิ่ง รวยยิ่ง กอบโกย" มัน เดิน กัน คนละทางอยา งนี้ ทีนี้ ขอ ทานดีกวาเปนขโมยนั้น มันจึงพายแพ มันยิ่งพายแพ มันถอยไป, ถอยไป จนไม คอ ยจะมีใ ครยอมรับ นับ ถือ แลว เดี๋ย วนี้ทีวา ขอทานดีก วา เปน ขโมยนั้น . มัน ไปขยายทาง "ยิ่ง รวยก็ยิ่ง กอบโกย, แลว ก็ยิ่ง อยากรวม แลว ก็ยิ่ง กอบโกย" นี้มันเปนอาชญกรรมที่ปรากฎออกมาใหเห็นชัดแลว; ที่ยังซอนเรนอยูในจิตใจอีก มากมายนัก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org "ยิ ่ ง รวยยิ ่ ง กอบโกย" ไม ผ ิ ด กฎหมาย ไม ผ ิ ด รั ฐ ธรรมนู ญ เพราะเปนกฎหมายหรือรัฐธรรมนูญที่คนโงเขียนขึ้น; คนที่ยิ่งรวยยิ่งกอบโกย จึ ง ไม ผ ิ ด กฎหมาย และไม ผ ิ ด รั ฐ ธรรมนู ญ ใด ๆ.แต ม ั น ผิ ด กฎหมายของ พระเจ า ผิ ด ศี ล ธรรมของพระเจ า ; มั น ก็ ต อ งมี เ รื่ อ งเสี ย หาย และต อ งมี การลงโทษที่สาสม คือ ใหมนุษยชนิดนี้อยูดวยความระส่ําระสาย ทุกขยาก ลําบาก เดือดรอน หาความสงบสุขมิได.

www.buddhadassa.in.th


ปญหาที่กําลังทับถมแกปญหาทางศีลธรรม (ตอ)

๒๓๕

ทีนี้ อาชญากรรมประเภทอื่น ตอ ไปอีก ก็เ ชน มีจิต วิป ริต จิต ไมส มประกอบ ขนาดเปน สัน ดานพาล เปน ผูรา ยโดยกํา เนิด อะไรไปเลย; จิตวิปริตนี่อยาทําเลนกับสิ่งนี้ เพราะมันมีอาํ นาจมาก แลวมันแตกแขนงไดมาก. พระพุ ท ธเจ า หรื อ หลั ก พุ ท ธศาสนาวางไว เ ป น หลั ก ว า "ไม มี อ ะไรที่ สํา คั ญ ยิ่งกวาจิตที่ตั้งไวถูกตอง" จิต ที่ตั้ง ไวถูก ตอ ง ไมใ ชจิต ตามธรรมชาติเ ฉย ๆ ตอ งจิต ที่ตั้ง ไวถ ูก ตอ ง จนแยกออกไปเปน ๒ ฝา ย วา ไมม ีโ จรหรือ อัน ตราย หรือ อุป สรรคศัต รูใ ด ๆ รา ยไปกวา จิต ที่ตั้ง ไวผิด . และวา ไมมีมิต รสหายผูห วัง ดี ชวยเหลืออะไร ดียิ่งไปกวาจิตที่ตั้งไวถูก. เ ดี ๋ ย ว นี ้ ค น มี จ ิ ต วิ ป ริ ต ก็ ค ื อ ว า มั น ไ ม ม ี ก า ร ตั ้ ง ไ ว โ ด ย ถู ก ตอ ง; มูล เหตุก็ม าจากอะไรหลาย ๆ อยา ง ที่เ ปน เหตุใ หมีจิต วิป ริต แลว ปญหามันก็ไมมีที่จะสิ้นสุดได ในเมื่อจิตยังวิปริตอยู เมื่อเปนอยางนี้กันมากเขา ก็เ กิด ปญ หาขึ้น มาทัน ทีวา ; เดี๋ย วนี้เ ราตอ งอยูรว มโลกกับ คนบา . ใครมอง วาเดี๋ยวนี้เรามีปญหาที่จะตองอยูรวมโลกกับคนบา; นี่มากขึ้นทุกที.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี ่ค นคือ มนุษ ยข องเรา ไมเ ปน มนุษ ย; เปน คนที ่ม ีจ ิต วิป ริต หลงใหลในความเห็ น แก ต ั ว บู ช าความเห็ น แก ต ั ว ทํ า อะไรไปตาม กิเ ลสนี้จ นเปน นิสัย ไป. หรือ วา ที่ยัง ดี ๆ อยูเ มื่อ เล็ก ๆ นี้ มัน ก็ถูก กระทํา ให เปน จิต วิป ริต ยิ่ง ขึ้น เมื่อ โตขึ้น มา, โตขึ้น มา. เพราะวา ผูใ หญเ หลา นั้น มีจิต วิปริต ทําอะไรวิปริตเสียแลว; เด็กเล็ก ๆ ที่เกิดมา จิตบริสุทธิ์ผุดผอง ก็คอย หมุนไปตามทางที่ผิด ที่จะเปนปญหาที่ใหญหลวงยิ่งกวาปญหาใด ตอไปขางหนา.

www.buddhadassa.in.th


๒๓๖

อริยศีลธรรม

เพราะวาการศึกษาที่จัดนั้น มันจัดผิดมันทําใหจิตนี้วิปริต ใหลุมหลงในวัตถุ ใน เนื้อหนัง. ที นี้ ยั ง มี ป ญ หาอาชญากรรม เกี่ ย วกั บ การเสพติ ด ที่ มั น ก็เจริญกาวหนามากเหมือนกัน;จะตองคิดดูวา กอนนี้มันไมมีสิ่งเสพติดมึนเมา เชน เหลา เชนฝน เชนยาเสพติดใด ๆ ไมมากเหมือนเดี๋ยวนี้. เดี๋ยวนี้มันมาก; ยิ่งมีการศึกษามาก มนก็ยิ่งมียาเสพติดมาก มันนาประหลาด ที่วาเขาจัดการ ศึกษา ถึงระดับอุดมศึกษากันในโลกมากขึ้น ยาเสพติดมันยิ่งเจริญงอกงามในโลก มากขึ้น. คํา ว า "เสพติ ด " นี้ มี ค วามหมายกว า ง จะเป น วั ต ถุ สิ่ ง ของ ก็ ไ ด เป น การกระทํา ก็ ไ ด เ ป น ความรู สึ ก ก็ ไ ด . กิ น ยาเสพติ ด ก็ ก ลายเป น ขี้เมา; แมแตวาคนขี้เกียจ ก็คือคนกินยาเสพติด, มันเปนยาเสพติดทางจิตใจ. พอขี้เกียจแลวมันก็สบายใจ ครึ้มใจเหมือนกับ สูบกัญชา นี้ก็เรียกวายาเสพติด ทางจิต ใจ แมก ารพนัน นี้ มัน ก็ไ มไ ดกิน เขา ไป ไมไ ดส ูบ สูด เขา ไป แตก็ เสพติด มัน เปน เสพติด ทางจิต ใจ; ก็เ รีย กวา เปน ปญ หา เพราะสามารถ ทํา ใหเ กิด อาชญากรรมขึ ้น มาได. นี ่ล องพิจ ารณาดูใ หด ี ๆมนุษ ยเ รากํ า ลัง เปนทาสยาเสพติด กันมากขึ้นทั่วไปทั้งโลก ยิ่งขึ้น ๆ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ความคิด ที ่น า หวัว หรือ นา สงสาร ตัว อยา ง เชน วา เขาจะ ประดิษ ฐป รุง ของที่สูบ ไดแ ทนบุห รี่ แตไ มใ หมีธ าตุเ สพติด . นี่เ ทา กับ รัก ยา เสพติ ด ถึ ง ขนาดที ่ ว  า จะปรุ ง สิ ่ ง ที ่ เ ส พได เ อ ร็ ด อร อ ย แต ไ ม ใ ห โ ทษ เหมือนกับบุหรี่ อยางนี้ มนุษยเหลานั้น ก็คิดวาเปนความเฉลียวฉลาด เปน

www.buddhadassa.in.th


ปญหาที่กําลังทับถมแกปญหาทางศีลธรรม (ตอ)

๒๓๗

ความกาวหนา เปน ความเจริญ ทางอารยธรรม แต ทางศาสนาถือ วา เปน ความโงที่ลึก มากขึ้นไปอีก; นี้มันควรจะทิ้งเสีย ไมตองไปทํามัน. อยา งจะคิด ทํา บุห รี่เ ทีย ม ที่ไ มใ หโ ทษทางเสพติด นี้ มัน ก็ยิ่ง โง อยู นั่ น แหละ มั น เสี ย เวลา และไม มี ป ระโยชน อ ะไร; แล ว มั น ก็ จ ะต อ ง ถื อ ว า เป น เสพติ ด อี ก นั่ น แหละ คื อ เสพติ ด ในทางจิ ต ใจ.มั น ไม ใ ห โ ทษ ในทางรายกายก็จริง แตมันก็เสพติดในทางจิตใจอยูตามเดิม. อย า งนี้ ก็ ต อ งเรี ย กว า อาชญากรรม; ถ า มนุ ษ ย ไ ม ย อมรั บ ว า เปนอาชญากรรมของมนุษยมันก็ตองเปนอาชญากรรมตามแบบของพระเจา, ตอง พูดกันภาษาพระจาจึงจะเรียกวานี้เปนอาชญากรรม. การคนควาอุต ริตาง ๆ ที ่ เ ก ง ม า ก เ ฉ ลี ย ว ฉ ล า ด แ ต ไ ม จํ า เ ป น ห รื อ ไ ม มี ป ร ะ โ ย ช น เ ล ย , มี เ จตนาทุ จ ริ ต แฝงอยู มี ค วามโง แ ฝงอยู  ; นี่ ต  อ งถื อ เป น อาชญากรรม ทางวิญญาณตามแบบของพระเจา ในฐานะเปนเรื่องทางวิญญาณ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตั ว อ ย า งป ญ หาอาชญากรรมต า ง ๆ เนื ่ อ งมาจากความ เปนอันธพาลของมนุษย มันมีอยูอยางนี้ เปนตัวอยาง. ความเปนอันธพาลนี้ ภาษาไทยรูกัน นอ ย, อยา งทา นทั้ง หลาย ก็ค งคิด วา อัน ธพาลคือ คนที่มัน หยาบชาทารุณ เกเร ขมเหงคนอื่น. แตตามหลักของพระศาสนาหรือแมแต หลักของภาษา คือตัวหนังสือ มันไมเปนอยางนั้น มันมากกวานั้น.

อันธะ นี้แ ปลวา มืด หรือ ตาบอด, แลว พาละ นี้ แปลวา ออน หรือ โงหรือ เขลา; อันธพาล รวมกันแลว คือ ความออนหรือเขลา อยาง

www.buddhadassa.in.th


๒๓๘

อริยศีลธรรม

มืด เหมือ นกับ ตาบอด. ฉะนั้น ไมตอ งไปทํา อัน ตรายใครดว ยดาบ ดว ยหอก ดว ยปน ผาหนา ไม; มัน ก็ทํา อัน ตรายโดยปญ หาตา ง ๆกระทั่ง ฆา ตัว เองดว ย ความโง, ดําเนินชีวิตผิด ๆ. ผู ที่ ว างระบบการศึ ก ษาออกมาในโลกนี้ อ ย า งผิ ด ๆ ก็ เ ป น คน อัน ธพาลได. นี่พูด ตรง ๆไมตอ งกลัว ใครโกรธ วา เจา หนา ที่ว างระบบการ ศึ ก ษาของโลกทั้ ง โลก ไม เ ฉพาะประเทศไทย ที่ ว างระบบออกมาผิ ด ๆ ไมส ง เสริม ศีล ธรรมกลับ ย่ํ า ยีศ ีล ธรรม; นั ้น แหละคือ พวกอัน ธพาลที ่ส ุด , อันธพาลรายกาจที่สุด ยิ่งกวาอันธพาลที่ถือดาบ ถือหอก ถือปน เที่ยวฆาเที่ยวยิง เ ข า เสียอีก. เพราะอันธพาลชนิดโนนมันทําลายจิตใจ ทําลายวิญญาณของมนุษย; อัน ธพาลชนิด นี้ ทํา อัน ตรายไดแ ตเ พีย งรา งกาย. ฉะนั้น ปญ หาอัน ธพาลนี้ จะตองดูกันใหมากถึงขนาดนี้; วามันเกิดมาจากการที่จัดการศึกษาผิดตางหาก จึงเกิดอันธพาลทุก ๆ แขนงขึ้นมาในโลก. ... ... ... ...

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ที นี ้ ป  ญ ห า ต อ ไ ป ป ญ ห า ที ่ ๓ อ ย า ก จ ะ ย ก ตั ว อ ย า ง ปญ หาทางการปกครอง หรือ การปราบปราม ของผูมีห นา ที่ปกครองหรือ ปราบปรามในบานในเมือง.

เมื่อ ศีล ธรรมมัน เสื่อ มแลว มัน ก็เ ปน ปญ หามหาศาลขึ้น มาทัน ที ทั่วทั้งโลก. เจาหนาที่ที่จะปกครองบานเมืองหรือปราบปรามทุจริต นี่ก็ไมสามารถ ทีนี้ ถ าเจ าหน า ที่ไ ม มีศี ล ธรรม เสี ย เองดวยแล ว ก็ ไม ต อ งพู ดกั น เลย. ถา ว า

www.buddhadassa.in.th


ปญหาที่กําลังทับถมแกปญหาทางศีลธรรม (ตอ)

๒๓๙

ประชาชนทั่ ว ไปไม มี ศี ล ธรรม เหลื อ อยู แ ต เ จ า หน า ที่ ที่ มี ศี ล ธรรม ก็ ยั ง ไม ส ามารถจะ ทําอะไรได; เดี๋ยวนี้มันก็จะปนกันไปเสียหมดในความไมมีศีลธรรม. ฉะนั ้น ความเสื ่อ มทางศีล ธรรมนี ้ มัน ทํ า ใหไ มส ามารถปกครอง หรือ บกพรอ งในการปกครอง,หรือ ไมจ ริง จัง ไมถ ูก ตอ ง ไมย ุต ิธ รรม ในการ ปกครอง ในการปราบปราม ; อยา งที ่เ ราเห็น กัน อยู แ ลว ไดฟ ง ไดย ิน กัน อยู ทั ่ว ไปแลว ตามหนา หนัง สือ พิม พ ไมต อ งพูด ดีก วา . แตข อใหจ ับ ใจความสํ า คัญ ใหไ ดว า เพราะความเสื ่อ มทางศีล ธรรม ปญ หาจึง เกิด ขึ ้น แกก ารปกครอง, การปราบปรามผู ทุ จ ริ ต ในบ า นเมื อ ง; จึ ง ไม ส ามารถปกครองบ า ง บกพร อ งไปบ า ง กระทั่งวาไมจริงไมจังไปเลย. ตั ว อ ย า ง เ ช น เ ดี ๋ ย ว นี ้ ก็ ย ั ง มี ร ะ บ บ พึ ่ ง นั ก เ ล ง คุ  ม ค ร อ ง อ ยู ทั ่ว ไป ทั ่ว ประเทศ.อาตมาไดย ิน ไดฟ ง ดว ยตนเอง. มัน ยัง ตอ งมีร ะบบนัก เลง, หรื อ นั ก เ ล ง อั น ธ พาลก็ ม ี ช ว ย คุ  ม ค ร อ ง ใ ห ; เ พ ร า ะ ว า เ จ า หน า ที ่ ไ ม ส าม าร ถ จะคุ ม ครอง. การที่ จ ะไปตั้ ง สํ า นั ก งานในป า ในดง รั บ เหมาทํ า การก อ สร า งนี้ ส ว น ใหญก ็ไ ดย ิน วา ตอ งอาศัย ระบบนัก เลงชว ยคุ ม ครองดว ย. นี ่ก ็เ ปน เครื ่อ งวัด ให็รูวาศีลธรรมของเราเปนอยางไร.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ห ร ื อ แ ม  ที ่ ส ุ ด แ ต  ว  า อ ยู  ก ั น ต า ม ป ร ก ต ิ นี ้ ย ั ง ต  อ ง อ า ศ ั ย ผู  ที่ ตั ้ง ตัว เปน นัก เลง; แตไ มใ ชน ัก เลงอัน ธพาลรา ยกาจ แตเ ปน นัก เลงที ่ค นเขา เ ก ร ง . ต อ ง พึ ่ ง นั ก เ ล ง อ ย า ง นี ่ อ ยู  ; แ ล ว ต อ ม า มั น ก็ เ ลื ่ อ น ไ ป พึ ่ ง อั น ธ พ า ล แล ว ก็ เ ลื่ อ นไปถึ ง กั บ ว า ไปเป น คอมมู นิ ส ต ดี ก ว า , เขาคุ ม ครองให ดี ก ว า . มั น มี ความรวนเรเปลี่ ย นแปลงหมด ไปถึ ง ขนาดที่ ว า เจ า หน า ที่ ถู ก เขากล า วหาว า อยาก

www.buddhadassa.in.th


๒๔๐

อริยศีลธรรม

ใหมีอ าชญากรรมเสีย เองเพราะเปน โอกาสที่จ ะไดล าภ; ฉะนั้น เราจึง เห็น วา การคอรรัปชั่น การกินสินบนอะไรตาง ๆมันก็คืบหนา ขยายตัวออกไปอยา ง กวางขวาง ลึกลับ ซับซอน เพราะการบกพรองทางศีลธรรมในขอนี้.

นี่ขอใหดูไวทีละขอ ๆ วาเราไมตองการจะพูดถึงปญหานี้โดยตรง, แต ต  อ งการจะพู ด ถึ ง ข อ ที ่ ว  า ความเสื ่ อ มศี ล ธรรมทํ า ให เ กิ ด ป ญ หานี้ แลว การแกไ ขทางศีล ธรรมทํา ไมไ ด; เพราะมีปญ หานี้ข วางหนา อยู : มัน ลึกเกินกวาที่จะไปแตะตองตัวปญหาทางศีลธรรมโดยตรง. มันมีปญหาอยางนี้ คือผลของการไรศีลธรรมนี้ มันขวางหนาอยู ... ... ... ... ป ญ หาที่ ๔ จะระบุ ว า ระบบงานยุ ติ ธ รรม งานรั ก ษา ความยุติธรรม มันก็รวนเรเปนอคติ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ระบบงานรั ก ษาความยุ ต ิ ธ รรมนี ้ อย า งศาล อย า งอั ย การ อยา งราชทัณ ฑอ ะไรตา ง ๆนี้ ก็ร วมอยูใ นระบบนี้ มัน รวนเรหมด; เพราะ ความเสื่อมศีลธรรมในทางจิตใจ. สิ่งหนึ่งมันเขามาแทนคือ วา อํานาจ เปน ใหญใ นโลก; อยา งที่พ ระพุท ะเจา ทา นตรัส . คนเราอาจจะไมพูด อยา งนั้น แต พระพุทธเจาทานตรัสอยางนั้น วา อํานาจเปนใหญในโลก ; ลวนแตจะเล็ง ถึง อํานาจเงินหรือ อํานาจความยั่วยวน หรือ อํานาจอิทธิพล หรือวา อํานาจ ความดี อํา นาจความนา รัก นา บูช า หรือ วา อํา นาจของธรรมะ ก็ต าม; นี้ เรียกวาอํานาจทั้งนั้น ทุกคนตกอยูใตอํานาจใดอํานาจหนึ่ง.

www.buddhadassa.in.th


ปญหาที่กําลังทับถมแกปญหาทางศีลธรรม (ตอ)

๒๔๑

แต นี ่ โ ลกตกอยู  ใ ต อํ า นาจอั น ธพาล คื อ กิ เ ลส เสี ย มากกว า ระบบความยุติธรรมในโลกมันก็เสียไป; คลายกับวาโลกเสียที่พึ่ง ไมใชระบุวา ศาลประเทศเรา; แม แ ต ศ าลโลกมั น ก็ ถู ก คนชี้ ห น า ว า มี ส ว นที่ ไ ม ถู ก หรื อ ไมยุติธรรม เพราะวาในโลกมันอยางนี้เองแหละ. ถา วา ศาลโลกมีผูพิพ ากษา ๑๐ คน แลว คนเห็น ดว ยอยา งนั ้น เพียง ๘ คน, อีก ๒ คนเขาไมเห็นดวย. จะเรียกวาอยางไร มันก็ตองมีสวน ที่ไมถกู หรือวาอะไรอยูฝายใดฝายหนึ่ง. ในเรื่องของมนุษยที่ไมรูจะออกทางไหน ก็เอาระบบออกเสียงโหวตนี้เปนใหญ เพราะไมมีอะไรจะพึ่งไมมีศีลธรรมจะพึ่งพา อาศัย ก็ตอ งเอาระบบโหวตออกเสีย เปน ใหญ; แลว คนสว นมากในกลุม นั้น เปนคนไมมีศีลธรรมจะวาอยางไร, โหวตมันจะออกมาอยางไร. นี ่เ รีย กวา ระบบงานสถิต ยุต ิธ รรมของโลก มัน ก็ต อ งเสีย ไป; เพราะความไรศีล ธรรม. เมื่อ เราจะแกปญ หานี้ ก็มีอัน นี้ม าขวางหนา อยูอีก เพราะวายังมีคนตองการอะไรเปนสินจางอยูบางอะไรบาง. หรือวาอยางนอย ที่สุด ความหลง ความโงของเขา โดยไมเจตนานั่นแหละ ทําใหเปนคนอคติ; เพราะวาเขาเรียนมาแตอยางนี้, เพราะวาการศึกษาในโลกมันผิดเสียแลว มันแยก ธรรมะแยกศาสนาออกไปจากคน จาการศึกษาเสียแลว. ... ... ... ...

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org แลวดูกันตอไปอีกก็ได ไมเสียดายเวลา วา ปญหาที่ ๕ ปญหา ความสะอาดเรียบรอยสวยงามของบานเมือง.

www.buddhadassa.in.th


๒๔๒

อริยศีลธรรม

ถ า ค น ไ ร ศ ี ล ธ ร ร ม แ ล ว มั น จ ะ ทํ า ไ ด อ ย า ง ไ ร ? จ ะ เ อ า เงิน ที่ไ หนมารัก ษาความสะอาดของบา นเมือ ง หรือ วา กระทั่ง ของธรรมชาติ. ความสวยงามนี้มีอยู ๒ แบบ คือ แบบที่มนุษยจัดหรือควบคุมอยู, แลวอีก แบบหนึ่ง ก็ ธรรมชาติมันเปนไปเอง แตวาจะสวยงาม. ถาคนไรศีลธรรมแลว ก็ทํา ลายความสวยงามเหลา นี้ห มดเลย ไมมีศีล ธรรม จะไมเ ห็น แกค วาม สวยงาม, คนไมมีศีล ธรรม คนไมรูจัก ความสวยงาม; เราก็เ ลยสูญ เสีย ความเปนระเบียบเรียบรอย ความสะอาดนาดูของบานเมือง หรือบานเรือนกอน แลวก็ของโลกกวางออกไปกระทั่งของธรรมชาติ เพราะคนมันไมมีศีลธรรม. เดี๋ย วนี้ค นก็นิย ม ความสวยงามกัน มาก แมค วามสวยงามของ ธรรมชาติ แต ก็ รั ก ษาไว ไ ด น อ ย. การสงวนพั น ธุ ไ ม สงวนพั น ธ ส ั ต ว ป า สงวนความสวยงามอะไรต า ง ๆ ไม สํา เร็ จ ตามที่ ต อ งการ เพราะคนไร ศีลธรรม พูดกันไมรูเรื่อง. ... ... ... ...

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ปญหาที่ ๖ จะยกความสุรุยสุรายขึ้นมา.

ค น ไ ร ศ ี ล ธ ร ร ม จ ะ สุ รุ  ย สุ ร  า ย เ พ ร า ะ โ ง เ พ ร า ะ เ ห็ น แก ตั ว . เดี๋ ย วนี้ ค นใช จ า ยในสิ่ ง ที่ ไ ม จํา เป น มากขึ้ น ; ถ า ใช จ า ยแต สิ่ ง ที่ จําเปนตามหลักของ ปู ยา ตา ยาย แลว คนจะไมวุนวายเดือดรอนมากเหมือน อยางที่เปนอยูอยางเดี๋ยวนี้.

www.buddhadassa.in.th


ปญหาที่กําลังทับถมแกปญหาทางศีลธรรม (ตอ)

๒๔๓

ค น ไ ป รั บ ก า ร ศึ ก ษ า ม า ผิ ด นิ ย ม ผิ ด มี เ ส พ ติ ด มี อ ะ ไ ร ต า ง ๆ; เห อ จะเป น อยู  อ ย า งแข ง กั บ เทวดา; ฉะนั ้ น เงิ น เดื อ นก็ ไ ม พ อใช เพิ ่ม อีก เทา ตัว ก็ไ มพ อใช, อีก ๒ เทา ตัว ก็ไ มพ อใช เพราะความเหอ การเปน อยูมันมากออกไป. นี ่ เ พ ร า ะ ข า ด ศี ล ธ ร ร ม ; ไ ม ป ร ะ ห ยั ด อ ย า ง ที ่ เ รี ย ก ว า "กิ น อยู แ ตพ อดี" ; ฉะนั้ น จึง มี ลัก ษณะเปน ทาสหรือ เป นเปรต อย างใดอย างหนึ่ ง อยูเรื่อยไป. เ ป น ท า ส ก็ ค ื อ ว า กิ เ ล ส มั น บี บ บั ง คั บ ใ ห ไ ป ห า เ งิ น ม า ; นั่นเปนทาสกิเลส เปนทาสเศรษฐกิจ. แลวเปนเปรตก็คือหิวเรื่อย ตามความหมาย ของคํ า วา "เปรต" เปรตนี ้จ ะปอ นเขา ไปเทา ไร ก็ไ มรู จ ัก อิ ่ม จะหิว อยู เ รื ่อ ย; ถึงขนาดที่มี กลาวไวในพระบาลีวา ตอใหภูเขากลายเปนทองคําทั้งลูก สักสอง ลูก ก็ไ มพ อแกค วามตอ งการของคน ๆ เดีย ว. คน ๆ หนึ่ง ภูเ ขาทองคํา สองลูก ก็ไมพอแกความตองการของเขา; แลวคนทั้งโลกจะตองการกี่มากนอย ที่เรียกวา หิวอยางนี่ก็เปนเปรต.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ใ น เ รื ่ อ ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ก็ บ ั ง คั บ ใ ห ห า ห า ม า เ พื ่ อ บํ า รุ ง บํ า เ ร อ เนื้อ หนัง ความสุข กามารมณอ ะไรตา ง ๆ เพราะเขาตอ งการจะเปน อยา งนั้น ไมต อ งการจะกิน อยู แ ตพ อดี. ไปหลงคํ า ผิด ๆ วา "กิน ดีอ ยู ด ี" ซึ ่ง ไมมี ข อ บ เ ข ต . เ ป น ค น ชั ้ น ผู  น  อ ย ก็ อ ย า ก จ ะ มี ก า ร เ ป น อ ยู  ชั ้ น ผู  ใ ห ญ ห รื อ ผู ใ หญยิ ่ง ขึ ้น ไป; เมื ่อ เปน อยา งนี ้แ ลว ก็ไ มม ีใ ครมาหา มได ที ่จ ะไมใ หเ ขา แสวงหาโดยทุจริต.

www.buddhadassa.in.th


๒๔๔

อริยศีลธรรม

สํา หรั บ พระพุ ท ธเจ า นั้ น ท า นแนะให "เป น อยู  แ ต พ อดี " . ใครควรจะอยูเทาไร มีพอดีเทาไรก็เอาเทานั้น; ไมตองเทากันทุกคน. แตใหทุกคน แตใ หทุก คน เปน อยูก ิน อยู เทา ที่พ อดีสํา หรับ คนนั ้น อยา งพระภิก ษุมีจีว ร เครื่อ งนุง หม ๓ ผืน กุฎินั้น ๗ ฟุต x ๑๒ ฟุต ที่เ รีย กวา คืบ พระสุค ต; แม แ ต บ าตรก็ ไ ม มี ม ากกว า หนึ่ ง ใบ นอกนั้ น ก็ ไ ม ใ ห ส ะสมอะไร นี่ เ รี ย กว า "กิ น อยู พ อดี " สํา หรั บ ภิ ก ษุ แ ล ว .สํา หรั บ ฆราวาสก็ ข ยายออกไปได ตาม สมควรแกหนาที่การงานของตน ๆ . เดี ๋ ย วนี ้ ไ ม ม ี ศ ี ล ธรรม ไม ต  อ งการแต ส  ว นจํ า เป น ที ่ พ อดี ; ” ตอ งการไมม ีข อบเขต ไมม ีที ่สิ ้น สุด . ไดม าก็ส ุรุ ย สุร า ย ไมไ ดค ิด จะทํ า ประโยชนผูอื่น สิ่ง ที่เ อามาใชส อย ไมไ ดใ ชใ หห มดคา ของมัน คือ ทิ้ง ขวา ง เสียกอน. เรื่อ งเศรษฐกิจ สว นบุค คลนี้ อาตมาเคยเลา เรื่อ งพระอานนทกับ พระเจาอุเทนใหฟง มาแลว. บางคนอาจจะยังไมเคยฟง นี้อยากจะเลาใหฟง ในฐานะที่ ขอใหถือวานี้เปนหลักทางเศรษฐกิจ ในพระพุทธศาสนา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org พระเจ า อุ เ ทนเป น พระเจ า แผ น ดิ น สงสั ย ว า ภิ ก ษุ นี ้ จ ะเป น อยูอยางสุรุยสุราย ไมไดประหยัด จึงไปซักถามพระอานนท :

ใชจีว รอยา งไร ในเมื ่อ มัน เกา เขา ? พระอานนทท า นก็วา ปะ ถามันเกาเขาไปอีก มันจะเปอย ก็ดามเปน ๒ ชั้น.

www.buddhadassa.in.th


ปญหาที่กําลังทับถมแกปญหาทางศีลธรรม (ตอ)

๒๔๕

ดามเป น ๒ ชิ้ น ก็ ไ ม ไ หวแล ว ก็ ทํา อย า งไร? เอามาพั บ ๆ เขาทําเปนที่นอน เปนผาปูที่นอน ถ า นอนเป น ผ า ปู น อนก็ ไ ม ไ หว มั น เป อ ยแล ว ? ก็ เ อามาพั บ ใหหนาไปอีก ทําผารองนั่งเปนอาสนะเล็ก ๆ. ถาเปนอาสนะเล็ก ๆ ก็ไมไหวอีกแลว มันเปอยแลวจะทําอะไร? เอามาทําผาเช็ดเทา. ถา ทํา ผา เช็ด เทา ก็ไ มไ ด แลว จะทํา อยา งไร? ก็เ อาไปเผาไฟ เอาขี้เถามาคลุกกับมูลวัว แลวก็ฉาบฝาผนังกุฎิที่ทําดวยดิน ใหมันใหม ใหมัน สะอาดขึ้นมา ใชใหหมดที่เปนขี้เถาทุก ๆ อณู ทุก ๆ สวนของขี้เถา. พระเจา อุเ ทนจึง เกิด เลื่อ มใส ในพระพุท ธศาสนา คิด ดูเ ถอะ ว า แม แ ต เ รื ่ อ งประหยั ด ก็ ทํ า ให ค นเลื ่ อ มใสในธรรมะ ในพระพุ ท ธศาสนาได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เดี ๋ ย ว นี ้ เ ราไม ม ี ศ ี ล ธ ร ร ม นี ้ ต  อ ง ข อ ส า ร ภ า พ ว า แ ม ภ ิ ก ษุ สามเณรก็ไมมีศีลธรรมในขอนี้ ใชจีวรใชอะไรหยาบคาย แลวก็ยังทิ้งกอนที่จะ ใชใ หถึง ที่สุด อยา งนี้ ที่มัน เปน ความเปลี่ย นแปลงของโลก จะโทษกัน นัก ก็ไมได. อาตมาก็พูดวา ถาโยมอยาถวายใหมันมากนักก็จะดี ไมรูวาจะเก็บ ไวที่ไหนแลว มันเปนความเปลี่ยนแปลงเขาใจผิดทบกันไปทบกันมา จนกลาย เปน สิ่ง ที่ไ มนา ดูขึ้น มาอยา งนี้ ทีนี้ถา วา ศีล ธรรมแลว จะไมมีก ารสุรุย สุรา ย,

www.buddhadassa.in.th


๒๔๖

อริยศีลธรรม

แลวมันมีอาการที่เรียกวาพอใชหรือเหลือใชนี้ ฆราวาสเขามีเสื้อเปนตู ๆ จนตอง เรียกวาแมผีเสื้อ เพราะมีเสื้อมากนัก. ถ า สุ รุ  ย สุ ร  า ย ก็ ต  อ ง เ ป น ท า ส แ ก เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ข อ ง ตั ว เ อ ง , มีค วามหิว เปน เปรต, แลว ในที่สุด ก็จ ะเปน ทาสทางเศรษฐกิจ แกบุค คลอื่น แกประเทศอื่น. ฉะนั้นปญหาเรื่องขาดดุลยการคาอะไรตาง ๆนี้ก็มาจากคนโง สุ รุ ย สุ ร า ย ไม รั ก ษาข อ ธรรมะข อ นี้ เลยทํ า ให ป ระเทศชาติ ต อ งเป น ทาสทาง เศรษฐกิจแกประเทศอื่น, อยางที่เรียกวาดุลยการคาเสียไปบางอะไรบาง อีก หลายอยาง ไมตองพูดถึงก็ได.แตใหรูไววาเรื่องสุรุยสุรายนี้เปนอันธพาลดวย เหมือนกัน; เปนปญหาที่เกิดมาจากการไมมีศีลธรรมแลวก็มาขวางหนาแกการ แกไ ขปญ หาทางศีล ธรรมอยา งที่สุด . เราจะชวนใหมีศีล ธรรม; เขาตอ งการ จะแตงตัวสวย ๆ อยางนี้ มันก็เลยพูดกันไมรูเรื่องอยูอยางนี้เอง. ... ... ... .

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ปญหาที่ ๗ ปญหาที่เกิดมาจากการริษยากัน.

ถา คนไมมีศีล ธรรมแลว ไปดูเ ถอะ มัน จะมีจิต ริษ ยา แมแ ตจ ะ เปนพระเปนเณรนี้ ก็ยังมีจิตอิจฉาริษยากัน, คอยตําหนิกัน, คอยหาชองผิดแกกัน ไมมีความเปนพระเปนเณรเลยก็มี.

พระพุ ท ธเจ า ท า นตรั ส ว า ไม ใ ห พู ด ร า ย ไม ใ ห ทํา ร า ย ไม ใ ห คิดราย ไมใหอิจฉาริษยา; บางองคก็ยังมีความริษยา ความมุงราย พูดราย

www.buddhadassa.in.th


ปญหาที่กําลังทับถมแกปญหาทางศีลธรรม (ตอ)

๒๔๗

ทํา รา ย. ผูมีปญ ญา เขายอมรับ ตรงกัน หมดอยา งที่ก ลา ววา อรติ โลกนาสิก า - ความริษ ยาเปน สิ ่ง ที ่ทํ า ใหโ ลกใหฉ ิบ หาย. อรติ แปลวา ไมย ิน ดีด ว ย, กูไ ม ยินดี กับ มึง มึง จะไดดี อย างไร กู ก็ไ มยิ นดี กับ มึง ; อย างนี้เ รียกวา อรติคื อ ความ ริษยา, แลวก็ โลกนาสิกา นี้ทําโลกใหวินาศ. มัน มีก ารแกง แยง มีก ารชว งชิง มีค วามเปน ตัว กู - ของกูเ ต็ม ที ่; ทั ้ง โลกกํ า ลัง เปน อยา งนี ้. ในพวกกัน เอง บางทีใ นครอบครัว ก็อ าจจะมีร ิษ ยา, บางทีพี่นองคลานตามกันมา ยังริษยากันเลย, แลวในหมูบานก็ริษยา ในประเทศ ก็ริษยา, ในโลกนี้มันก็ริษยา; เพราะวาตองการจะครองโลก. คนตอ งการจะเปน เจา โลก ไมใ หม ีใ ครมาเกี ่ย วขอ ง ในการที่ จะเป น ผู  ค รองโลก ก็ ต  อ งริ ษ ยา; จึ ง มี แ ผนการริ ษ ยา แล ว ก็ ทํ า ลายซึ ่ ง กั น และกั น . นี้ โ ลกเรากํ า ลั ง อยู ด ว ยความริ ษ ยา คื อ ความไร ศี ล ธรรมแห ง ความ เมตตากรุณ า จึง เปน อยา งนี ้, อยา งที ่เ ห็น ๆ กัน อยู นี ้; แลว มัน เนื ่อ งดว ย ปญหาอื่นอีกหลายปญหาจนดูไมคอยออก วามันปญหาอะไรกันแน, มันพันกันยุง เหมือนกับดายยุง. ... ... ... ...

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ปญหาที่ ๘ คือปญหาเกิดมาจากการเกียจคราน.

การศึ ก ษาที่ ผิ ด ที่ จั ด ผิ ด อย า งหลั บ หู ห ลั บ ตา มั น นํ า ไปสู นิ สั ย ของ ความเกีย จครา น; ฉะนั ้น ลูก เด็ก ๆ หรือ ยุว ชนของเราไมช อบทํ า งาน; ไม เหมื อ นกั บ คนโบราณ ที่ เ ขาอบรมกั น จนรู สึ ก ว า การทํ า งานเป น ของสนุ ก สนาน, การทํา งานเปน นี่ส นุก สนาน การศึก ษาผิด แหง สมัย ใหมนี้ ทํา ใหเ ห็น วา การ

www.buddhadassa.in.th


๒๔๘

อริยศีลธรรม

ทํา งานนี่นา เกลีย ด นา ชัง นา เบื่อ นา ระอา; ฉะนั้น ใหห าวิธีช นิด ที่ไ มตอ ง ทํา งาน แต ใ ห ไ ด เ งิ น หรื อ ให มี อ ะไรมาก โดยไม ต อ งทํา งาน อย า งนี้ มั น ก็ เลยผิดหลักของธรรมชาติ ในทางจิตใจ; จิตใจจึงเสื่อมไป เลวไป ไมชอบการ ทํางาน ไมสนุกในการงาน. อาตมาบอกเขาว า "การทํา การงานนั้ น เป น การปฏิ บั ติ ธ รรม" เขาหั ว เราะเยาะ ก็ ไ ม เ ป น ไร คนโง หั ว เราะเยาะ ไม เ สี ย ใจ. ถ า ใคร ทําการงาน ได คนนั้นตองฉลาด ตองมีธรรมะหลายขอ : มีวิริยะ มีอุตสาหะ มีส ติสัม ปชัญ ญะ ฯลฯ ฉะนั้น การที่ทํา งานนั้น หมายความวา ยอ มมีก าร ปฎิบัติธรรมที่สําเสร็จแลวอยูในตัว. พอบอกอยางนี้เขาไมเชื่อ เขาวาการงาน ก็ก ารงาน; การงานมัน ก็ไ ดเ งิน เอาเงิน มา ก็ห าความสนุก สนาน, มัน ไป กับรูปนั้น. ที นี้ ไปหลงความสนุ ก สนาน มั น ก็ เ กี ย จคร า นที่ จ ะออกแรง ก็เ ลยหาโดยทุจ ริต ทีนี้ส ติปญ ญาก็กาวหนา ; ทํา เครื่อ งทุน แรงขึ้น มา แลว ก็ ทํา ใหม นุษ ยขี้เ กีย จมากขึ้น ทางหนึ่ง , คือ เกลีย ดการทํา งานมากขึ้น ; แลว ก็ ไปใชเครื่องจักรทํา แลวก็ไดมาก็เพื่ออบรมนิสัย ใหมันเปนอยางนั้นมากขึ้น. ฉะนั้นระวังใหดี สิ่งเหลานี้มันเฟอและเหลือเฟอ มันทํามนุษยใหเปนมนุษยที่ พิกลพิการไปแลว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เครื่ อ งทุ น แรงนี้ ส ร า งป ญ หาในโลกขึ้ น มามากมาย ป น ป ว น วุนวาย; มันเกินที่ตรงนั้น ขาดที่ตรงนี้ ไปเกินที่ตรงโนนมากเหลือเกิน. แมแต

www.buddhadassa.in.th


ปญหาที่กําลังทับถมแกปญหาทางศีลธรรม (ตอ)

๒๔๙

เครื่องคอมพิวเตอรก็ระวังใหดี จะทําใหคนโงมากไปกวาเดิม หรือขี้เกียจคิด ขี้เ กีย จใชส มอง อะไรตอ ไป จนไมเ หมาะสม จนผิด กฎธรรมชาติ; รวมอยู ในพวกขี้เกียจทํางาน ดวยเหมือนกัน. เมื่อมีอบรมผิด ๆ มีการศึกษาที่จัดออกมาผิด คนก็เกิดนิสัยเกลียด การงาน ไมสนุกในการทํางานเหมือนคนโบราณ ศีลธรรมก็เสื่อ ม; ศีลธรรม เสื่อมแลว มันก็ทําใหคนขี้เกียจทําการงาน, แลวมันก็มีเรื่องกอบโกย. ... ... ... ... ป ญ ห า ที ่ ๙ ป ญ ห า ที ่ เ กิ ด ม า จ า ก ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ อันนี้ก็อยากจะใหนึกถึงกันอยูเสมอ. ทรั พ ยากรธรรมชาติ มั น ต อ งรั ก ษา ต อ ง ส ง เสริ ม ต อ ง ทํา ใหมีกํา ไรใหถูก วิธี; อยา งเอามาถลุง เสีย หมด ทรัพ ยส มบัติใ นแผน ดิน มันเปนของพระเจา ประหยัดใหถูกวิธี ใชใหถูกวิธี; อยาเอามาถลุงเสียหมด. เดี๋ยวนี้มนุษยขุด ๆ ขึ้น ถลุงไปในทางที่ไมเปนประโยชน แทบทั้งนั้น; แลวที่ ใชร บราฆา ฟน กัน นั้น ก็ม ากทีเ ดีย ว ไมไ ดป ระโยชนแ ลว ก็ยัง ฆา ฟน กัน อีก . กลับสรางนิสัยอันธพาลมากขึ้นไปอีก. ใครขุดไดขุดเอา เอาทรัพยากรใตดินขึ้นมา ใชไมใหมีประโยชน แลวทําลายมนุษยกันเอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทีนี้พ ระเจา ผูเ ปน เจา ของก็ล งโทษมนุษ ย ใหเ ปน อยูกัน อยา งเจ็บ ปวดแสนสาหั ส , ดิ น ฟ า อากาศก็ เ ปลี่ ย นแปลงหมด ผิ ด ไปจากธรรมชาติ

www.buddhadassa.in.th


๒๕๐

อริยศีลธรรม

เดิม; ทั้งมีความโง ทําใหเขาใจวา ตองทําลายธรรมชาติอันนี้แลว; ตองยอม ทําลายธรรมชาติอันสวยงาม อันมีป ระโยชนม าก อัน นี้, แลว เพื่อ ประโยชน อยางนั้นอยางนี้; ประโยชนนั้นก็เพื่อความฉิบหายตอไปอีก; อยางนี้ก็มีอยูมาก ทั่ว ๆ ไปทั้งโลก. ส ว น ใ ห ญ ธ ร ร ม ช า ติ ก ็ ถ ู ก ทํ า ล า ย โ ด ย ผู  เ ห็ น แ ก ต ั ว โ ด ย กิเลส ละโมบโลภลาภ เห็นแกตัว นี่ก็มีอ ยูมาก ; เขาตองการอะไรนิดหนึ่ง เขาก็ทําลายกันมาก ๆ : แบบคนที่วา ตองการผลไมสักหาบหนึ่งนี้มันก็โคน ตน ไมเ ลย; ตน ไมถูก กระทํา อยา งนี้มีอ ยูทั่ว ๆ ไป. หรือ วา อยากจะเอาปลา ๒ - ๓ ตัว ก็ใชลูกระเบิดเลย; ปลาก็ตายหมดทั้งหนองทั้งคลองนี้. นี่เรื่อ ง ความไมมีศีลธรรมยอมทําลายทรัพยากรของธรรมชาติ, แลวก็เปนหนักขึ้น ๆ.

นี ้ อ ย า ก จ ะ พู ด ถึ ง ป ญ ห า ข อ ง แ พ ง บ า ง ป ญ ห า ที ่ ๑ ๐ ปญหาของแพง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เดี ๋ ย วนี ้ ข องแพง แล ว เงิ น ถู ก ความจนเดื อ ดร อ น เขาก็ มองกั น แต ท างเศรษฐกิ จ ว า ของมั น แพง ว า เงิ น มั น ถู ก ว า คนจนเดื อ ดร อ น; แล ว ไ ม ม อ ง ใ ห ล ึ ก ล ง ไ ป ถึ ง ว า ต น เ ห ตุ แ ท จ ริ ง มั น ม า จ า ก ค ว า ม ไ ม มี ศีลธรรม. ความไมมีศีลธรรมของใครก็ตาม หรือของหลาย ๆ ฝายก็ตาม ทํา ใหเกิดความปนปวนอยางนี้ คือ ของแพงเงินถูก มันเนื่องกันอยูหลายทิศทาง. แต ไ ปดู เ ถอะ; ในที ่ ส ุ ด มั น จะไปสรุ ป รวมลงที ่ ค วามไม มี ศีล ธรรมของมนุษ ย ; เอาที่ใ กล ๆกัน ก็เ พราะวา ไมป ระหยัด อยา งที่พูด

www.buddhadassa.in.th


ปญหาที่กําลังทับถมแกปญหาทางศีลธรรม (ตอ)

๒๕๑

มาแลววา คนเดี๋ยวนี้ไมประหยัดเหมือนคนรุน ปู ยา ตา ยายเขาสรางความไม สมดุล ยขึ้น มา ในมุม นั้น บา ง มุม นี้บา ง มุม โนน บา ง แลว ก็มีเ ปลี่ย นแปลง วนเวีย นอยูเ รื่อ ย; เดี๋ย วนี้กํา ลัง อยูใ นจัง หวะที่วา ของแพงเงิน ถูก แลว การ ผลิตของ มันผลิตขึ้นมาไมได หรือจะไมผลิตดวยซ้ําไป เพราะความไมมีศีลธรรม. ถาเห็นวา ไมผลิตดีกวา เราไดกําไร เขาก็ไมผลิต หรือมันไรศีลธรรมมันก็ไม ผลิต; เพราะขี้เกียจก็ได มันก็แกปญหาที่วาของแพงนั้นไมได. เรื่ อ ง เงิ น ถู ก ก็ เ หมื อ นกั น ; การจั ด ที่ ไ ม ถู ก ต อ ง ด ว ยความ โงก็ดี ดวยความเห็นแกตัวก็ดี ดวยอะไรก็ตาม มันมีปญหาทางเงินตรานี้ขึ้นมา. คนจนเดือ ดรอ น ขา ราชการผู น อ ยเดือ ดรอ น;คํ า เหลา นี ้ม ีเ ต็ม ไปตามหนา หนัง สือ พิม พเ วลานี้. มัน เปน ปญ หาซับ ซอ นอยูดว ยกัน ทั้ง ขา งบนขา งลา ง ขา งนอก ขา งใน; แตส รุป แลว อยูที่ค วามไมมีศีล ธรรม แงนั้น แงนี้ แง โนน มารวม ๆ กันเขา ไมรูตนเหตุ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org คนมี ศี ล ธรรมก็ จ ะประหยั ด ก็ จ ะเมตตา กรุ ณ า ก็ จ ะไม เอาเปรี ย บ; แต เ ดี๋ ย วนี้ เ ราทํา คนเดี ย วไม ไ ด เพราะเป น ประเทศเล็ ก . เมื่อประเทศใหญเขาแกลงเรา เราก็ตองรับเคราะห ก็เอาความไมมีศีลธรรมไปโยน ใหกับประเทศที่เขาคุมอํานาจทางเศรษฐกิจ ก็ไมมีใครคานเลย. ... ... ... ...

นี่ ๑๐ ปญ หานี้ก็เ ปน ตัว อยา งที่ค วรจะพอแลว มัน เปน ปญ หา ทั่ว ๆ ไป นับตั้งแตธรรมชาติทางจิตใจขึ้นมา. ทีนี่ อาตมาอยากจะยกตัวอยางดวย ปญหาอีกประเภทหนึ่ง ที่เรียกวา.:-

www.buddhadassa.in.th


๒๕๒

อริยศีลธรรม

ป ญ ห า พิ เ ศ ษ แ ล ะ เ ป น ป ญ ห า ที ่ สํ า คั ญ ที ่ ม า ใ ห ม แ ล ะ ที ่ กํ า ลั ง ร ะ บ า ด อ ยู  ทั ่ ว โ ล ก คื อ ป ญ ห า ร ะ ห ว า ง ช น ก ร ร ม า ชี พ กั บ นายทุน. ป ญ ห า ร ะ ห ว า ง ช น ก ร ร ม า ชี พ คื อ ค น ย า ก จ น กั บ พ ว ก นายทุน คือ คนร่ํ า รวยนี ้ เพิ ่ง เกิด มาเมื ่อ ไมกี ่ส ิบ ป หรือ วา สองสามรอ ยปนี ้; กอนนี้ก็ไมคอยจะรูจักกัน เพราะเปนอยูอยางคอนขางจะสม่ําเสมอกัน เอื้อเฟอกัน เมตตากัน ศาสนายังครองจิตใจคน; ฉะนั้นปญหาชนิดนี้ ยังไมเกิด. ทีนี ้ พอคนเริ ่ม ละเลยศาสนา นี ้ท างหนึ ่ง , เริ ่ม รู จ ัก ใชเ ครื ่อ งมือ ทุน แรงผลิต นี ้ท างหนึ ่ง ,มัน ก็เ กิด ปญ หาอัน รา ยกาจ ระหวา งคนรวยกับ คนจน ทิ้งกันไกล ; จนตองคุมพวกกันตอ ตาน เรียกวาพวกนายทุนพวกหนึ่ง, พวกชน กรรมชีพ พวกหนึ่ง . นี่ก็เ ปน อยูทั้ง โลก เปน อยูทั่ว โลก ไมมีป ระเทศไหนในโลก ที่ไมประสบปญหานี้ จึงเรียกวาเปนปญหาของโลกดีกวา, มันเปนปญหาสําคัญ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org คนที ่ ช  า ง สั ง เกต ห รื อ ผู  รู  เขาสั ง เกต ; แล ว เขาก็ บ อ กอ ยู โต ง ๆ ว า ที ่ กํ า ลั ง รบ รา ฆ า ฟ น กั น ทั ้ ง โ ล ก เ ว ล า นี ้ มั น ก็ เ ป น เรื ่ อ ง ลั ท ธิ นายทุนกับลัทธิชนกรรมาชีพ. ลัทธินายทุนเขาถือวา ถาเขายังครองโลกไดอยู มันก็เปน ประโยชน แ ก เ ขา; ลั ท ธิ ช นกรรมาชี พ เขาก็ ว า ถ า เขาครองโลกได ความยากจน ของเขาก็จะหมดไป. มันก็เลยแยงกันครองโลก ระหวางนายทุนกับชนกรรมาชีพ; ตา งฝา ยตา งมีเ หตุผ ล ที่จ ะแกตัว หรือ จะยกโทษใหแ กตัว เอง. แตตา งฝา ยตา ง ไมมองในขอที่วา มันไรศีลธรรม มันจึงไดเกิดของสองอยางนี้ขึ้นมา.

www.buddhadassa.in.th


ปญหาที่กําลังทับถมแกปญหาทางศีลธรรม (ตอ)

๒๕๓

น า ย ทุ น เ กิ ด ขึ ้ น ม า ใ น โ ล ก ก็ เ พ ร า ะ ค ว า ม ไ ร ศ ี ล ธ ร ร ม , คนจนเกิ ด ขึ้ น มาในโลก ก็ เ พราะความไร ศี ล ธรรม; แต เ ขาไม ม อง. ฉะนั้นเราในฐานะที่เปนพุทธบริษัท จะไมเปนทั้งสองอยาง จะไมเปนทั้งนายทุน จะไมเ ปน ทั้ง ชนกรรมาชีพ ; แตจ ะเปน คนที่ป รกติ หรือ วา คนที่มีธ รรมะ เรา มองทั้งสองอยางเราจึงพบ. ถ า จะดู กั น ในแง ข องชนกรรมาชี พ ก อ น คื อ คนจนเดี๋ ย วนี้ เขาเกิดรวมหัวกันเปนลัทธิเปนกลุมอะไรขึ้นมา ก็มีหลักมีปรัชญา มีอะไรของ ตนเอง แต แ ล ว ก็ ไ ม พ น ไปจากกฎของธรรมชาติ คื อ ความเห็ น แก ตั ว ; เชนเดียวกับที่พวกนายทุน ก็เต็มไปดวยความเห็นแกตัว, แลวชนกรรมาชีพก็เต็ม ไปดวยความเห็นแกตัว, แลวก็ขาดศีลธรรม คนจนเขามักจะอางเหตุผลวา เพราะ นายทุนเขาเปนอุปสรรค อยูทุกทาง; เขาไมยอมมองในความบกพรองของเขา. เขามองดานเดียว ไมมองในการที่ตัวเองมีอบายมุข คือปากทางแหงความเสื่อม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อ บ า ย มุ ข นี ้ เ อ า ต า ม ห ลั ก ธ ร ร ม ะ ใ น พุ ท ธ ศ า ส น า โ ด ย เฉพาะอบายมุข ๖ วา ดื่มน้ําเม เที่ยวกลางคือ ดูการเลน เลนการพนัน คบ คนชั่ว เปน มิต ร แลว เกีย จครา น ในหนา ที่ข องตน; หกอยา งนี้ทํา ใหค นจน. ข อ เกี ย จคร า นในหน า ที่ ข องตนนั้ น รวมมาถึ ง การศึ ก ษา การไม ป รั บ ปรุ ง การศึกษา ไมทําความกาวหนาในทางการศึกษา นี้ก็โงเขลา นี้ก็เปนตนเหตุของ การทํ า อะไรไม ถ ู ก . นี่ ส  ว น ดื ่ ม น้ํา เมาเที ่ ย วกลางคื น ดู ก ารเล น เล น การพนัน นี้เขาก็ไมยอมแพพวกคนรวย; แลวมันกลายเปนนาสงสาร เพราะ ทําไปดวยความไมรู เพราะการศึกษาไมพอ มันไมรู ก็บังคับกิเลสชั่วขณะไมได.

www.buddhadassa.in.th


๒๕๔

อริยศีลธรรม

เรื่ อ งจริ ง มี อ ยู ที่ บ า นนี้ แ หละ ที่ ต ลาด คนมี เ งิ น ๓ บาท จะมาซื้อยาใหลูกที่นอนเจ็บอยู.พอดีมาเจอเพลงที่เขามาแสดง มันเผลอแวบเดียว เอาเงินไปซื้อตั๋วเขาไปดูเพลง หรือดูหนังเสียก็ไมทราบ; แลวเงินก็หมด ไมได ซื้อ ยาไปใหลูก ที่น อนเจ็บ อยูที่บา น. นี้ก็ล องคิด ดูวา มัน เผลอแวบเดีย ว มัน ก็ เปนโอกาสของกิเลส เพราะวาการศึกษาไมพอ หรือเพราะการอบรมจิตใจไมพอ อะไรก็ตาม;อยางนี้ก็เรียกวาอบายมุขเหมือนกัน. ฉะนั้น ชว ยจํา อบายมุข ๖ ไวใ หดี เปน ปากประตูแ หง อบาย ปดอุดกันเสียใหดี; แลวก็คําวา "ความยากจน" นี้มันจะหายไป ทีนี้ก็มองแต ดา นเดีย วแลว ก็ย กโทษไปในพวกนายทุน ก็ไ มแ กไ ขสว นของตัว แลว มัน ก็ เปนไปไมได. เมื่อ รวมกลุม กัน เปน ลัท ธิช นกรรมาชีพ แลว ก็ตั้ง ความปรารถนา ใหญ ตั้งวงตอสูไวกวางขวาง. กลายเปนเรื่องของคนที่อาฆาตมาดรายกันไป, ตอ งการความเสมอภาค; อยา งนี้มัน ผิด หลัก แหง กรรม, ที่วา ธรรมชาติ นั้นสรางคนมาใหตาง ๆ กันโดยกฎแหงกรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อย า ไปฝ น ให เ ท า กั น , หรื อ เหมื อ นกั น ทุ ก คนเลย; เอาแต ทุกคนไมเดือดรอนก็พอแลว ถาใครจะดี จะมีบุญวาสนาบางก็ตองปลอยไป เพราะเปน เรื่อ งที่เ ปน ไปตามกฎของกรรม อยา ไปคิด วา ถา คนมัน รวยแลว มันจะเปนคนทําผิดไปเสียหมด คนทําถูกรวยก็มี.

www.buddhadassa.in.th


ปญหาที่กําลังทับถมแกปญหาทางศีลธรรม (ตอ)

๒๕๕

ทีนี ้ค นจนเหลา นี ้ ไมย อมรับ "ลัท ธิก ัด ฟน ทน" ที ่อ าตมาอยาก จะเรีย กวา "ลัท ธิไ มค านปด ทอง" : มีเ ศรษฐีค นหนึ ่ง ไมต อ งออกชื ่อ เก็บ ไม ค านอั น หนึ่ ง ไว บ นหิ้ ง ที่ บู ช า ไม ค านอั น นั้ น ป ด ทองให ลู ก หลานบู ช าหรื อ ไหว อ ยู วาเขามาจากเมืองจีนไมมีอะไรเลย มีแตไมคาน, แลวก็ตั้งตัวดวยไมคานจนกระทั่ง เปนเศรษฐี ไดเปนใหญเปนโต มียศฐานบรรดาศักดิ์, นี่จะตองเรียกวาลัทธิไมคาน ปด ทอง. คนนี ้ก ็ไ มไ ดโ กงอะไร อยา งที ่เ รีย กวา ทุจ ริต คดโกง เขาอาศัย อํ า นาจ ไมค านแท ๆ ; แลว ทํ า ไมคนจนไมถ ือ ลัท ธิไ มค านปด ทอง แกค วามยากจน กันบาง. ที ่ช ุม พร มีค นจีน คนหนึ ่ง เขามาใหม ๆ มาหาบของขาย ซื ้อ ผัก ขายอะไรนี้ เขากินขาวดวยใบมะขามตม. ชาวบานถามวาทําไมอยางนี้เลา? เขา บอกวา มัน เปน โรคอยา งหนึ ่ง กิน ไมไ ด, กิน เนื ้อ , กิน ปลาไมไ ด; กิน ใบมะชาม ตม, แลวตอมามันก็รวยขึ้น มีรานชําเล็ก ๆ เขาก็กินใบมะขามตมปลาตมอะไรบาง. พอมีร า นใหญแ ลว มัน จึง กิน เนื ้อ กิน หมู กิน ไก; คนนั ้น ก็ถ ามวา ทํ า ไมเดี ๋ย วนี้ กิน อยา งนี ้เ ลา , ก็บ อกวา เดี ๋ย วนี ้ห ายแลว , เดี ๋ย วนี ้ห ายโรคนั ้น แลว . นี ้ก ็เ ปน ตัว อยา งอัน หนึ ่ง ที ่วา ควรจะเอามาคํ า นวณดู วา ใครมีค วามอดทนอยา งนี ้กี ่ค น. ในโลกนี้ มี ๒ - ๓ คนที่ เ รารู จั ก แล ว เขาก็ ร อดตั ว มา พ น จากความเป น คนจน แลว คนเหลา นี ้ก ็ไ มตํ า หนิน ายทุน ไมตํ า หนิใ ครเลย. ถา ถือ ลัท ธิอ ยา งนี ้ ลัท ธิ ชนกรรมชีพก็จะไมเกิดขึ้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เดี ๋ย วนี ้ม ีแ ตว า จะยกบาปใหฝ า ยตรงขา ม คือ นายทุน ; แลว คอยทํ า ลายนายทุ น แล ว มี อ ะไรผิ ด ๆ มากต อ ไปอี ก เช น ไม มี คํ า ว า "ผู มี บุ ญ ".

www.buddhadassa.in.th


๒๕๖

อริยศีลธรรม

ลัท ธิช นกรรมชีพ จะไมย อมรับ สถาบัน ของผูมีบุญ วา มัน ตอ งมีค นที่มีบุญ ในโลกนี้ ที่ จ ะรวยโดยง า ย อะไรโดยง า ย ซึ่ ง ต อ งมี ; เขาก็ ไ ม ย อมรั บ , ความถูก ตอ ง ความยุติธ รรมของเขานั้น หรือ เสรีภ าพของเขานั้น ก็ คือ การประท ว ง การยื้ อ แย ง ด ว ยกํา ลั ง , การทํา ลายนายทุ น ; แล ว ยั ง เข า ใจ คําพูดผิด ๆ ในพระพุทธศาสนา. เขาวาคนที่เรียกตนเองวา พุทธทาส ธรรมทาส สังฆทาส นี้เปนคนที่อยากจะเปนทาส, เปนทาสที่รักโซตรวน, ไมอยากจะพนไป จากโซต รวน. นี ่ล องฟง ความคิด เห็น ของคนอยา งนี ้ด ูท ีเ ถอะ วา เขาเขา ใจ ความหมายของคําพูดตาง ๆอยางไร; ฉะนั้นเราจึงพูดกันไมรูเรื่อง เพราะไมมี ศีลธรรม มีศีลธรรมคนละอยาง. ถา เขาเปน ทาสของลัท ธิช นกรรมาชีพ , เราก็มีสิท ธิที่จ ะเปน ทาส ของพระพุทธเจา ของพระธรรม ของพระสงฆ ได จะเปนอะไรไป; มันก็ควรให ความเปนธรรมกันอยางนี้ จึงจะถูกตอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี้ ต อ งมองให ส รุ ป ความได ว า ลั ท ธิ ผิ ด ๆ เห็ น แก ตั ว ข า งเดี ย ว นี้ เกิ ด มาจากไม ม ี ศ ี ล ธรรม.ความไม ม ี ศ ี ล ธรรม มั น สร า งความคิ ด เห็นอยางนี้ขึ้นมา แลวมันขัดขวางแกการแกไขอยางยิ่ง. ถาเราจะแกไขโลกให หมดจากปญ หาเรื่อ งชนกรรมาชีพ กับ นายทุน แลว ก็ตอ งมีศีล ธรรม, ถา ไมมี ศีลธรรม มันก็ขัดขวางทันที มันแกไมได.

ที นี ้ ถ า ดู ก ั น ฝ า ยนายทุ น บ า งก็ เ ป น ผู  ถ ื อ เสรี ภ าพในการ กอบโกย : เมื่อกฎหมายหรือรัฐธรรมนูญบัญญัติไวอยางไร ทําไปไมผิดแลว เขา ก็กอบโกยได; เพราะวากฎหมายและรัฐธรรมนูญในโลกนั้น เขียนดวยคนโงบาง

www.buddhadassa.in.th


ปญหาที่กําลังทับถมแกปญหาทางศีลธรรม (ตอ)

๒๕๗

หรือเขียนดวยคนที่อยูภายใตอิทธิพลของนายทุนบาง จึงเปดชองใหกอบโกยโดย ไมตองผิดกฎหมายโดยไมตองผิดรัฐธรรมนูญเปนตน. เขาก็เลยเปนผูมีอํานาจใน ทางเศรษฐกิจบีบบังคับอยางไรก็ได แลวคอยจองคอยหาโอกาส แตที่จะกอบโกย ดว ยสายตาที่แ หลมยิ่ง กวา นกเหยี่ย ว.อาตมายืม คํา ของคนอื่น มาพูด ในทาง วรรณคดี ที่วา "สายตานกเหยี่ยว" นี้มันแหลมคม อาจจะเห็นตัวแมลงเล็ก ๆ ที่ ซอนอยูใตใบไมก็ได; เขามีสายตาขนาดนั้น ในการที่จะกอบโกยก็เลยรวยเร็ว รวยใหญ แลวมีอํานาจ แลวก็ผูกมัด, แลวก็ผูกขาด, ผูกมัดเอาไวในอํานาจ, แลว ก็ผูก ขาดการกอบโกย.เขาทํา ทั้ง โดยตรง โดยออ ม ทั้ง ใตดิน ทั้ง บนดิน ; ความยุติธรรมก็คือมือใครยาวก็สาวเอาใหยาวใหสุดมือ; ถือเปนความยุติธรรมแลว. สรุป แลว เขาลืม ไปวา โดยแทจ ริง นั้น "สัต วทั้ง หลายเปน เพื่อ น ทุกข เกิด แก เจ็บตาย ดวยกันทั้งหมด ทั้งสิ้น" นี้เปนความจริงของธรรมชาติ หรือเปนความตองการของพระเปนเจา ที่ใหทุกคนยอมรับ, และถืออยางแนนแฟน วา "สัตวทั้งหลายเปนเพื่อนทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันทั้งหมด ทั้งสิ้น" ; ฉะนั้นในโลก ในยุคที่คนยังมีศาสนาอยูกับเนื้อกับตัว ก็ไมเกิดคนชนิดนี้ขึ้นมาได; แตคอยเกิดขึ้นมาตามยุคตามสมัย ที่เปลี่ยนไป. สมัยกอนก็มีคนมั่งมี แตเขาไม เรียกวานายทุน; ถามั่งมีอยางเศรษฐีในพระพุทธศาสนาแลว กลายเปนคนละคน คนละแบบ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org คํา ว า "เศรษฐี " ในพุ ท ธศาสนานานั้ น มี ส ั ญ ลั ก ษณ ก ็ ค ื อ การตั้ ง โรงทาน; ถ า เป น มหาเศรษฐี ก็ ห มายความว า มี โ รงทานหลายโรง. ฉะนั้นการผลิตหรือการมีทาสกรรมกรอะไรก็ตาม ผลิตมากไดมาก ก็เพื่อหลอเลี้ยง

www.buddhadassa.in.th


๒๕๘

อริยศีลธรรม

โรงทาน; ทาสกรรมกรเลยกลายเปนผูรวมทําบุญไปหมด ไมใชเครื่องมือเพื่อ ขูดรีดทารุณของเศรษฐี เหมือนกับลูกจางกรรมกรสมัยนี้. ถา เขาจะสะสมทรัพ ยส มบัติใ นฐานะเปน เศรษฐี ก็มีเ พื่อ จะหลอ เลี้ยงโรงทาน ในอนาคตขางหนา เผื่อวาเหตุการณมันเปลี่ยนแปลง. นี่ขอความ ในพระคัม ภีรมีอ ยูอ ยา งนี้ สํา หรับ เศรษฐีที่เ ปน พุท ธบริษัท มัน ไกลกัน ลิบ กับ นายทุนสมัยนี้ ที่ขูดรีดกรรมกรลูกจาง. เ ศ ร ษ ฐี เ ห ล า นั ้ น มี ห ลั ก ธ ร ร ม เ ห มื อ น กั น ห ม ด ใ น พุ ท ธ หรื อ ในไชนะ ในลั ท ธิ อื่ น ว า เมตตากรุ ณ านี้ มั น เป น เบื้ อ งหน า เสี ย จริ ง ๆ "สัตวทั้งหลายเปนเพื่อน ทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันทั้งหมดทั้งสิ้น" นั้น เปนสิ่งที่มีอยูในจิตใจ; แลวก็ไมตองการกุมอํานาจเศรษฐกิจของบานเมือง หรือ ของโลกเหมือนนายทุนสมัยนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เดี๋ย วนี้ค วามไมมีศีล ธรรม สรา งลัท ธิน ายทุน อยา งนี้ขึ้น มา แลว ก็ขัดขวางแกการแกไข; ฉะนั้นอาตมาจึงถือวา มันเปนปญหาทับถม สะกัดกั้น แกการแกไข ปญหาทางศีลธรรทโดยออม; เหมือนเปลือกมะพราว มันปองกัน เนื้อในมะพราว แตวามันมากกวานั้น มันรุนแรงกวานั้น การจัดการศึกษาผิด นี้เปนอุปสรรค, เปนปญหาที่เปนตัวประธาน. ทีนี้ผลที่มันเกิดมาจากการศึกษา ผิดอีกหลาย ๆสิบอยางนี้ มันก็เกิดเปนปญหาหรืออุปสรรคโดยออม ที่เขามาทับถม มาสมทบ ใหปญหานี้แกยากยิ่งขึ้นทุกที. รวมความก็จ ะเห็น ไดวา ลัท ธิช นกรรมาชีพ ก็ดี ลัท ธิน ายทุน ก็ดี มีมูลฐานมาจากความไมมีศีลธรรมตามแบบของพระเปนเจา. ถาจะเปนใหถูกตอง แล ว เป น พุ ท ธบริ ษ ั ท ของธรรมชาติ ก ็ ไ ด คื อ มี ค วามรู  ที ่ ถ ู ก ต อ งว า โดย

www.buddhadassa.in.th


ปญหาที่กําลังทับถมแกปญหาทางศีลธรรม (ตอ)

๒๕๙

ธรรมชาติจะตองเปนอยางไร. ความถูกตองตามธรรมชาติหรือของพระเปนเจานั้น เปน อยา งไร, แลว คนเราก็จ ะอยู ไ ดใ นลัก ษณะที ่ไ มต อ งเปน ชนกรรมาชีพ หรื อ ว า จะต อ งเป น นายทุ น คื อ ไม มี ป ญ หาเหล า นั้ น . ทุ ก คนจะมี ค วามพอใจได ตามอัตภาพของตน ๆ แตไมตองเทากันโดยปริมาณของทรัพยสมบัติ เปนตน. นี ้เ รีย กวา ปญ หาที ่กํ า ลัง ระบาดอยู ทั ่ว โลก ทุก ประเทศ ก็ค ือ ปญ หา ที ่ค วามไมม ีศ ีล ธรรมมัน สรา งขึ ้น มา แลว มัน ขัด ขวางแกก ารแกไ ข. ปญหาโดยออมเหลานี้มีมาก ไมอาจจะยกมาใหหมดได.ยกมาก็พอเปนตัวอยาง ที่แ สดงวา เราจัด การศึก ษาผิด ธรรมชาติ, ผิด พลาดตอ กฎของธรรมชาติ, หรือ จะเรี ย กว า พระเจ า ก็ ไ ด . ที่ ว า ผิ ด พลาดต อ หลั ก ธรรมะ หลั ก ศาสนา โดยเฉพาะ หลัก กฎแหง กรรม แลว ก็ยิ ่ง ผิด ตอ กฎธรรมชาติอ ัน ลึก ซึ ้ง , ที ่ม องเห็น ยาก ในชั ้น ปรมัต ถธรรมดว ย; โลกจึง อยู ใ นสภาพที ่เ ดือ ดรอ นระส่ํ า ระสาย เปน วิกฤติการณอันถาวร; เพราะวาไรศีลธรรม มีการศึกษาที่เพิ่มความเสื่อมศีลธรรม ที่จะคุมครองโลก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เ ป น อั น ว า นี ้ ก ็ เ ป น ตั ว อ ย า ง ที ่ เ พี ย ง พ อ แ ล ว สํ า ห รั บ ป ญ ห า ของมนุษย ที่ไปไมรอด ที่จะแกไขอุปสรรคาของสันติภาพไมได ก็เอามาพอเปน ตั ว อย า ง; เป น อั น ว า ได ชี้ ใ ห เ ห็ น หมดแล ว ว า ป ญ หาของเราที่ เ ดื อ ดร อ น ความ ระส่ํ า ระสาย นั ้น มัน เกิด มาจากตน เหตุโ ดยตรง คือ การศึก ษาที ่จ ัด ไปผิด ; แลวมีปญหาตาง ๆ อีกมากมาย ที่ออกมาจากการจัดการศึกษาผิด ๆ นั้น มาเปน เครื่องกีดขวางแกการแกไขทางศีลธรรม ใหถูกตอง. การบรรยายในวั น นี้ ก็ พ อสมควรแก เ วลาแล ว ก็ ข อยุ ติ ไ ว แ ต เ พี ย งนี้ ขอโอกาสใหพระทานไดสวดสาธยายบทพระธรรม ที่เปนเครื่องกระตุนเตือนใจ ให มีความมานะ เขมแข็งอดทนในการปฏิบัติใหถูกตอง ตอไปอีก. ------------------------

www.buddhadassa.in.th


www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรม -๙๓๑ สิงหาคม ๒๕๑๙

การรื้อฟนปรับปรุง และ สงเสริมศีลธรรม

ทานสาธุชน ผูมีความสนใจในธรรม ทั้งหลาย,

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org การบรรยายประจํา วั น เสาร เรื่ อ งอริ ย ศี ล ธรรม เป น ครั้ ง ที่ ๙ นี้ อาตมาจะได ก ล า วโดยหั ว ข อ ย อ ยว า การรื้ อ ฟ น ปรั บ ปรุ ง และ ส ง เสริ ม ศี ล ธรรม ; และเป น การกล า วแต หั ว ข อ ใหญ ๆโดยสั ง เ ข ป ให เ สร็ จ สิ ้ น ไปเสี ย ครึ ่ ง หนึ ่ ง ก อ น, แล ว จั ก ได ก ล า วโดยรายละเอี ย ด ใน คราวหลังสืบไป.

เ ร า จ ะ ต อ ง นึ ก ถึ ง ก า ร บ ร ร ย า ย ใ น ค รั ้ ง ที ่ แ ล ว ม า ซึ ่ ง ไ ด กลา วถึง ปญ หาทางศีล ธรรมที่แ กไ มไ ด เพราะวา มีปญ หาอื่น มาทับ ถม. ปญ หาที่ม าทับ ถมโดยตรง ก็คือ โลกจัด การศึก ษาที่ผิด ๆ เปน การศึก ษาที่ ๒๖๑

www.buddhadassa.in.th


๒๖๒

อริยศีลธรรม

ไมสง เสริม ศีล ธรรม; เพราะทํา ใหล ะโมบหรือ เห็น แกตัว ถา ยเดีย ว แลว ยัง เปน การศึกษาที่เปนอันตราย หรือทําลายศีลธรรมดวย. นี้เรียกวาการศึกษาในโลกนี้ ที่จัดไปผิด ๆ ทับถมอยูบนปญหาทางศีลธรรมโดยตรง.

ป ญ หาโดยอ อ ม ก็ ค ื อ ป ญ หาที ่ อ อกมาจากการศึ ก ษาที ่ จ ั ด ไปผิด ๆ นั ้น อีก ตอ หนึ ่ง ; ซึ ่ง ไดร ะบุม าเปน ตัว อยา ง คือ ปญ หาทางเศรษฐกิจ การเมื อ ง และอื่ น ๆ ออกมาเป น ป ญ หาปลี ก ย อ ย อี ก หลายซั บ หลายซ อ น เช น ปญ หาไมม ีค วามจงรัก ภัก ดีต อ ประเทศชาติ ตอ ศาสนาที ่แ ทจ ริง ; มีก ัน แต ปาก.และ ปญ หาที่ม ีอ าชญากรรมของพวกอัน ธพาล มากขึ้น อาชญากรรม ทางเพศ อาชญากรรมทางโทสะจริต กระทั่ง การมุง แตจ ะหาผลประโยชนของตน ถายเดียว มีจิตวิปริตเหลานี้ ทําใหเกิดปญหามากมาย จนทับถมปญหาทางศีลธรรม. ปญ หาปลีก ยอ ยเหลา นี ้ ทํ า ใหเ สีย เวลาไปหมด : ระบบงาน ยุติธรรมก็เสียไป. ความสะอาดเรียบรอยของบานเมืองก็เสียไป, ความประหยัดก็ เสียไป, มีแตความอิจฉาริษยา ความเกียจคราน ลางผลาญทรัพยากรตาง ๆ ในโลก; มีผ ลสืบ เนื ่อ งกัน เปน ปญ หายุ ง ยาก เกี ่ย วกับ การกิน การอยู . ปญ หาเหลา นี้ รบกวนมาก มันก็เลยไมใครไดสนใจปญหาทางการศึกษาใหถูกตอง แลวยิ่งไมได สนใจปญหาในทางศีลธรรม; โดยเขาใจไปเสียวา ไมมีความสําคัญ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เขาเห็น วา เรื ่อ งปากเรื ่อ งทอ งสํ า คัญ กวา แลว ก็ย ัง เปน ปญ หา เรื ่อ งปากเรื่อ งทอ งไมไ ดอ ยู นั ่น เอง แลว ปญ หาเรื ่อ งปากเรื ่อ งทอ งของคนเรานี้ ก็ม าจากความไมม ีศ ีล ธรรม โดยรอบดา น ขอไดพิจ ารณาดูเ รื่อ งที ่ไ ดก ลา ว

www.buddhadassa.in.th


การรื้อฟนปรับปรุง และ สงเสริมศีลธรรม

๒๖๓

มาแลว วามีอยูอยางนี้. ถาแกปญหาเรื่องการศึกษาที่จัดไปผิด ๆ นี้ไมไดแลว มันก็ไมมีทางที่จะมีศีลธรรม; ปญหาปลีกยอยอื่น ๆ ก็ตองแกพรอมกันไปกับ ปญหาทางการศึกษาที่จัดผิด ๆ. นี่คือสิ่งที่กําลังครอบงํา บีบคั้น มนุษยในโลก อยูเวลานี้ รวมทั้งประเทศไทยเราดวย. ... ... ... ... สํ า ห รั บ วั น นี ้ ก็ จ ะ พู ด ถึ ง ก า ร รื ้ อ ฟ  น ป รั บ ป รุ ง สงเสริม สิ่งที่เรียกวาศีลธรรม บางคนอาจจะไมยอมรับ คือไมยอมฟง โดยเห็นวาไมมีเรื่องทาง ศีล ธรรม ที่จ ะตอ งรื้อ ฟน หรือ ปรับ ปรุง , คือ เขาไมย อมรับ วา ศีล ธรรมเสื่อ ม นั่ น เอง; หลั บ ตาพู ด เอาเองว า การศึ ก ษาก็ เ จริ ญ ศี ล ธรรมก็ เ จริ ญ อะไร ก็ลวนแตเจริญ. เดี๋ยวนี้อาตมา มาชี้ใหเห็น หรือแสดงเหตุผลใหเห็นวามันเปน อยา งอื่น , คือ มัน อยูใ นสภาพที่เ สื่อ มทรามอยา งหนัก จนถึง กับ เปน อัน ตราย ที่จะทําความวินาศใหแกโลกนี้; นี่สภาพแหงศีลธรรมในปจจุบันนี้ เปนอยางนี้. แตไมมีใครรูสึกวามันเสื่อมทราม, ไมมีใครถือหรือยอมรับวา เสื่อมทราม ก็เลย พูดกันไมได; จะพูดกันก็แตคนที่ยอมพิจารณาแลวก็เห็นวา มันอยูในสภาพที่ เสื่อมทราม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org คนที่ไ มเ ห็น วา มีปญ หาทางศีล ธรรมเสื่อ มทรามนั้น ก็โ ทษกัน ไมคอยไดนักเหมือนกัน; เพราะวาเรื่องนี้เปนมาอยางซอนเรน, เปนมาอยาง ลึกซึ้งพรางตาที่สุด คือเปนมาทีละนอย ๆ แลวคนก็เคยชินกันมาเรื่อยๆ. มัน

www.buddhadassa.in.th


๒๖๔

อริยศีลธรรม

เปน สภาพที่เ ห็น วา ดีแ ลว อยูเ สมอ แลว ก็เ คยชิน กัน กับ สภาพไรศีล ธรรมนั้น มาทีละนอยจนไม รูสึกวามันไรศีลธรรม; นอยคนที่จะสังเกตเห็น. แม ค น ที ่ ส ั ง เ ก ต เ ห็ น ก็ ย ั ง เ ห็ น ว า เ ป น ป ญ ห า เ ล็ ก น อ ย ไ ป เสีย อีก ; เพราะวา เขาเพง เล็ง กัน แตป ระโยชนท างวัต ถุ : จะเอาเงิน หรือ วัต ถุที ่ห าไดด ว ยเงิน นี ้ มาเปน หลัก ; ไมม องดูไ ปทางศีล ธรรม. มองดูแ ตที่ ประโยชน เชน ทรัพยสมบัติ เปนตน วานี้มันเจริญดีอ ยูแลว; แลวก็ไมตอ ง คิด อะไรอีก .ศีล ธรรม ก็ตอ งดีแ น โดยไปถือ หลัก วา ถา วัต ถุเ จริญ แลว จิต ใจ ก็ตองเจริญเอง ; อยางนี้วาเอาเองทั้งสิ้น. เดี ๋ย วนี ้ว ัต ถุเ จริญ แลว จิต ใจก็เ สื ่อ มไป จนจะไมม ีเ หลือ ; เพราะนิยมกันแตเรื่องความร่ํารวย มีเกียรติ ชื่อเสียง ที่เรียกกันวา "ลัทธินายทุน" ซึ่ ง กํา ลั ง ครองโลก. เขาบู ช านายทุ น แทนที่ จ ะบู ช าสุ ภ าพบุ รุ ษ ที่ ย ากจน คํา ว า "สุ ภ าพบุ รุ ษ " ได ห ายไปจากโลก มานานหลายป แ ล ว .เมื่ อ อาตมา ยังเล็ก ๆ นั้น ยังพอไดยินอยูบาง : การศึกษานิยมความเปนสุภาพบุรุษ เปนจุด ที่มุงหมาย.มหาวิทยาลัยทั้งหลาย มุงจะผลิตสุภาพบุรุาเทานั้นเอง ; เดี๋ยวนี้ ไมมีแลว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เขามุ  ง จะผลิ ต วิ ช าเทคโนโลยี ให ค นมั น เก ง ให ร วยเร็ ว ทัน ตาเห็น อยา งนี้ทั้ง นั้น ; เรีย กวา บูช านายทุน แทนที่จ ะบูช าสุภ าพบุรุษ ผู  ป ระกอบไปด ว ยคุ ณ ธรรม. แล ว ก็ ย อมรั บ ชนกรรมาชี พ คนยากจนที่ เต็ ม ไปด ว ยอบายมุ ข โดยไม เ ห็ น ว า เป น คนจนที่ น า ติ เ ตี ย น; แล ว ก็ ม อง

www.buddhadassa.in.th


การรื้อฟนปรับปรุง และ สงเสริมศีลธรรม

๒๖๕

การที่คนจนกับคนร่ํารวย มุงทําลายกันเทานั้น; ไมมองเห็นวาตางฝายตางไร ศีลธรรมอยางเสมอกันทีเดียว แมวารูปรางของศีลธรรมนั้นมันจะตางกันไปบาง. คนจนก็ ย ั ง ไม ค ิ ด จะถอนตั ว จากอบายมุ ข ทั ้ ง หลาย ที ่ ไ ด มี ไวเปนหัวขอวา ดื่มน้ําเมา เที่ยวกลางคืน ดูการเลน เลนการพนัน คบคนชั่ว เป น มิ ต ร เกี ย จคร า นทํ า การงาน ที ่ กํ า ลั ง มี อ ยู  ใ นหมู  ค นจน;มั น ก็ จ นอยู อย า งนั้ น เอง. ส ว นทาง คนมั่ ง มี ก็ รู จั ก แต จ ะผู ก ขาด หรื อ ว า กอบโกย หรือวา รวบรัด ใหมีความร่ํารวยมากขึ้น. ในโลกนี้มันจึงเต็มไปดวยของ ๒ สิ่งนี้ ที่ทิ้ง กัน หา งไกล; พูด กัน ไมรูเ รื่อ ง ก็ส รา งปญ หายุง ยากขึ้น มาในโลก. ไมมี ใครมองวา เพราะขาดศีลธรรมจึงไดเกิดสิ่งนี้ขึ้น : เกิดนายทุนขึ้นมาก็เพราะ ขาดศีลธรรม เกิดคนยากจนเข็ญใจขึ้นมา ก็เพราะขาดศีลธรรม, ถามีศีลธรรม ปญหาทั้ง ๒ นี้ก็หมดไป. นี่ เ รี ย กว า สภาพศี ล ธรรมในยุ ค ป จ จุ บั น ถู ก มองข า ม ; ก็ มี ผลเทากับไมไดมอง, หรือวาอยางดีก็มองผิด ๆ ไมตรงตามที่เปนจริง; ฉะนั้น สภาพศีล ธรรมในปจ จุบัน นี้ ตอ งถือ วา เสื่อ มหรือ ทรามถึง ขนาดที่เ ปน อัน ตรายแกม นุษ ย; ตอ งหยิบ ขึ้น มาพิจ ารณา เพื่อ รื้น ฟน ปรับ ปรุง แกไ ข สงเสริม ใหกลับมีศีลธรรมในสภาพที่นาพอใจ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ที นี ้ เ ร า จ ะ ต อ ง ดู ที ่ คํ า ว า " ศี ล ธ ร ร ม " กั น อี ก สั ก ค รั ้ ง หนึ่ง; แมวาจะเปนการพูดซ้ํา ๆซาก ๆ บางคนอาจจะรําคาญแลวก็ได.

www.buddhadassa.in.th


๒๖๖

อริยศีลธรรม

คํ า วา "ศีล ธรรม" ที ่เ ราพูด กัน อยู นั ้น มัน ก็เ หมือ นกับ หลับ ตา พูด ; ไมรู ว า ศีล ธรรมที ่แ ทจ ริง คือ อะไร เขา ใจไปเสีย วา เปน เรื ่อ งเล็ก ๆ นอ ย ๆ ไมม ีก ็ไ ด; ถึง ไมม ีก ็เ ปน อะไร ไมทํ า ใหบ า นเมือ งฉิบ หาย. ถา ยิ ่ง ขืน เขา ใจผิด กันอยูอยางนี้ก็เปนอันวา ไมมีทางที่จะรื้อฟนสงเสริมศีลธรรมใหดีได. อยา ลืม วา คํ า วา "ศีล ธรรม" จะตอ งแปลวา สิ ่ง ซึ ่ง กระ ทํ า ความปรกติ; สีละแปลวาปรกติ ธรรมแปลวาสิ่ง สีลธรรม แปลวา สิ่งที่ทําความปรกติ ตามตัว ภาษาบาลีแ ท ๆ ตอ งแปลอยา งนี ้ แปลอยา งอื ่น ไมไ ด. คํ า วา ศีล ธรรมสิ ่ ง ที ่ ทํ า ค ว า ม ป ร ก ติ ; ป ร ก ติ ข อ ง อ ะ ไ ร ? ป ร ก ติ ข อ ง สิ ่ ง ทั ้ ง ป ว ง ที ่ ม ี อ ยู ในโลก คือ ไมโ กลาหล วุ น วาย ระส่ํ า ระสาย เปน ทุก ข เปน รอ น; นั ่น แหละ เรีย กวา ปรกติ. ถา มีอ ะไรที ่ทํ า ใหเ กิด ความปรกติ สิ ่ง นั ้น ก็เ รีย กวา ศีล ธรรม สิ่ ง ที่ ทํ า ความปรกติ ; เอาตามตั ว หนั ง สื อ เป น อย า งนี้ . ถ า เราเอาตามความหมาย มัน ก็ข ยายออกไปนิด เดีย ววา "สิ ่ง ที ่จ ะทํ า สัง คมใหเ ปน ปรกติส ุข ใหม ีป รกติส ุข ทํ า ใหโ ลกใหม ีป รกติส ุข ", นั ่น แหละคือ ศีล ธรรม เดี ๋ย วนี ้เ ราไมม องลึก ลงไป ถึง ความหมายของศีล ธรรมเชน นี ้ ก็เ ลยเห็น เปน สิ ่ง เล็ก ๆ นอ ย ๆ พูด เลน แตร ิม ฝป าก; ในโรงเรีย นก็ใ หล ูก เด็ก ๆ จดไวใ นสมุด บา ง แลว ก็ป ด สมุด เด็ก ๆก็ไ มมี ศีล ธรรม ฉะนั ้น จึง ไมรู ว า ศีล ธรรมไดเ สื ่อ มไป, หรือ วา ทรามลงไป ขนาดที ่ว า มันเปนอันตรายแลว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org คํ า ว า " ศี ล ธ ร ร ม " แ ป ล สั ้ น ๆ ว า สิ ่ ง ที ่ ทํ า ค ว า ม ป ร ก ติ เทา นั ้น แหละ แตว า ความหมายมัน หลายชั ้น . ปรกติใ นบุค คลเราคนหนึ ่ง ก็ม ี, คื อ เรามี ร า งกายปรกติ ใจคอปรกติ เราก็ ส บาย เพราะมี ศี ล ธรรมในคนๆ หนึ่ ง . ถา ปรกติข องบา นเมือ ง ของสัง คม ก็แ ปลวา บา นเมือ งเปน ปรกติ; ไมม ีเ รื ่อ ง

www.buddhadassa.in.th


การรื้อฟนปรับปรุง และ สงเสริมศีลธรรม

๒๖๗

เดือ ดเนื ้อ รอ นใจ ไมร ะส่ํ า ระสาย เพราะการเบีย ดเบีย นกัน เปน ตน . ถา เปน ปรกติของประเทศทั้งประเทศ ความหมายก็อยางเดียวกัน กระทั่งเปนความปรกติ ของโลกทั้งโลก ก็เปนโลกที่มีปรกติสุข. แตนี่ในระดับต่ําทั้งสิ้น. ร ะ ดั บ ที ่ ส ู ง ก็ ค ื อ ว า มี ค ว า ม ป ร ก ติ ท า ง จิ ต ใ จ แ ล ว , มี ค ว า ม เปน ปรกติท างสติป ญ ญา คือ มีค วามเห็น ถูก ตอ ง ความคิด ถูก ตอ ง ความ เชื ่อ ถูก ตอ ง จนกระทั ่ง กิเ ลสเกิด ไมไ ด. กิเ ลสเกิด ขึ ้น ไมไ ด นี ่ค ือ ความปรกติส ูง สุด ; ถา ปรกติเ ด็ ดขาดลงไปจริ ง ๆ ก็ คือ การบรรลุ พ ระนิ พพานในพระพุ ทธศาสนา ฉะนั้นคําวาความปรกตินี้ มันหมายความตั้งแตเรื่องเล็ก ๆ นอย ๆ ขึ้นไป จนถึงเรื่อง ใหญโตที่สุดสูงสุดที่สุด คือพระนิพพาน. เดี ๋ ย วนี ้ เ ราพู ด กั น แต เ พี ย งว า ความปรกติ ใ นบ า นเมื อ ง หรื อ ในโลก; เพราะวา สมัย นี ้ถ า พูด ถึง บา นเมือ ง มัน ก็ก ิน ความไปทั ้ง โลก เพราะวา ผิด จากสมัย กอ นซึ ่ง ตา งคนตา งอยู  ไมผ ูก พัน กัน เหมือ นสมัย นี ้. ก็ค ิด ดูเ ปน ตั ว อย า ง เช น ว า เขารบกั บ ที่ ป ระเทศอื่ น , เขาเล น ไม ซื่ อ เขาทํ า ลายกั น อิ จ ฉาริษ ยากัน เอาเปรีย บกัน ที ่เ มือ งอื ่น ; แตผ ลสะทอ นนั ้น มัน ก็ม าถึง ประเทศเรา ที่ไมไดทําอะไรกับเขาดวย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตั ว อ ย า ง เ ช น น้ํ า มั น แ พ ง น้ํ า มั น ไ ม ม ี ; มั น เ ป น เ รื ่ อ ง ที ่ ค น อื่น เขาทํา แตแ ลว ก็ม าถึง ประเทศที่ไ มไ ดเ กี ่ย วขอ งกับ เขาดว ย พลอยเดือ ดรอ น. นี ่ก ็เ พราะวา โลกสมัย นี ้ม ัน เปน โลกที ่เ ล็ก นิด เดีย วแลว คือ สัม พัน ธถ ึง กัน ไปหมด; เรารู เ รื ่อ งทั ่ว โลกไดภ ายในไมกี ่น าที ไมกี ่ชั ่ว โมง. ปฏิก ิร ิย าตา งๆ

www.buddhadassa.in.th


๒๖๘

อริยศีลธรรม

ที่เกิดขึ้นที่มุมโลกไหน ก็แพรหลายไปเกี่ยวของกับมุมโลกอื่น ภายในไมกี่นาที; ฉะนั้นตองถือวา โลกนี้มันเล็กเทาฝามือแลว. เราพูดถึงศีลธรรมของบานเมือง มันก็ไมพนที่จะเกี่ยวกับศีลธรรม ของโลกทั้ง โลก; ฉะนั้น การที่อ าตมา พูด วา ศีล ธรรม ก็ห มายถึง ศีล ธรรม ของโลก มันไดเปลี่ยนไป, แลวมันไดทรามลงจนมีแตคนเห็นแกตัว ทําความ ยุ ง ลํา บากกั น ขึ้ น ทั่ ว ไปหมด นี่ เ รี ย กว า สภาพของศี ล ธรรมในป จ จุ บั น มั น มีอยูอยางนี้. รายละเอียดอยางอื่น ไดกลาวมาแลวในการบรรยายครั้งที่แลว ๆ มาอยางมากมาย. ในวันนี้ก็ส รุปความกันแตเ พียงวา เราควรจะมองดูภาวะ แห ง ความเสื่ อ มทางศี ล ธรรม ในโลกป จ จุ บั น ให ชั ด เจน ก็ จ ะเกิ ด ความคิ ด ที่จะรื้อฟน ปรับปรุง แกไข หรือวาสงเสริม แลวแตควรจะทําอยางไร มีอีกนิด หนึ่ง ซึ่ง ควรจะเอามาพิจ ารณากัน ก็คือ วา ควรจะเปรีย บเทีย บกัน ดู ระหวา ง ศีล ธรรม ๒ ยุค ๒ สมัย ; ถา เห็น แลว จะตกใจ; เมื่อ ตกใจแลว ก็จ ะเกิด ความกระตือรือรน ในการที่จะปรับปรุงแกไข. แตบางคนอาจจะไมตกใจ คือ ไมรูสึกวาเสื่อมเหมือนอยางที่กลาวมาแลวขางตนก็ได; ฉะนั้นตองขอชักชวน ใหเปรียบเทียบ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ... ... ... ... การเปรี ย บเที ย บที ่ ค ร า ว ๆ หยาบ ๆ ที่ สุ ด ก็ คื อ เปรี ย บ เทียบศีลธรรมในสมัยที่ตางคนตางอยู.

www.buddhadassa.in.th


การรื้อฟนปรับปรุง และ สงเสริมศีลธรรม

๒๖๙

สมั ย โน น สั ก ๑๐๐ ป ๒๐๐ ป ๓๐๐ ป ก็ ไ ด กระทั่ ง ว า สมั ย หิ น สมั ย คนป า เลย มั น ต า งคนต า งอยู ; แล ว สมั ย ป จ จุ บั น วานนี้ ห ยก ๆ ที่ เ รี ย กกั น ว า สมัย ปง ปอง มัน ตา งกัน อยา งไร?ศีล ธรรมสมัย ปง ปอง ทุก วัน นี ้ มีศ ีล ธรรม อยางไร? และศีลธรรมสมัยที่คน ตางคนตางอยู ไมมีทางจะหลอกลวง เอาเปรียบ หรือ คิด ทํ า ลายกัน เหมือ นอยา งคนสมัย ปง ปองนั ้น ตา งคนตา งอยู ; ประโยชน ไมผ ูก พัน กัน มัน ก็ไ มจํ า เปน ที ่จ ะตอ งคิด ทํ า ลายลา งกัน ; ในสมัย นั ้น มัน มี ศี ล ธรรมอย า งไร? ก็ จ ะมองเห็ น ได ด ว ยตนเองทุ ก คนว า มั น ต อ งต า งกั น อย า งที่ ว า จะเปรี ย บกั น ไม ไ ด กั บ สมั ย ที่ ค นต อ งหลอกลวงกั น อิ จ ฉาริ ษ ยากั น ฆ า กั น ทุ ก กระเบียดนิ้ว. เ ป รี ย บ เ ที ย บ สํ า ห รั บ ลู ก เ ด็ ก ๆ ฟ ง ก็ ต  อ ง เ ป รี ย บ เ ที ย บ ว า ; เมื่อสัก ๑๐๐ ป มานี้เองกับเดี๋ยวนี้ มันตางกันอยางไร? เราจะเห็นไดจากประวัติ หรือบันทึกตาง ๆ กระทั่งรูปภาพที่เหลืออยูปจจุบันนี้ : สักรอยปมานี้ ผูหญิงฝรั่งเขา สวมเสื้ อยาวถืงข อมื อ กระโปรงถึงตาตุ ม ; คนไทยก็ ตามก นเขาตามเคย ; ฉะนั้ น เราเห็ น รู ปผู ห ญิ งผู ดี เ จา นายสมั ย กอ นนั้ นก็ ส วมเสื้ อ ถึ ง ข อ มื อ กระโปรงถึง ตาตุม ; สมั ย นี้ผู ห ญิง ฝรั่ง นั้ นเขาจะไม นุ งผ า กัน แลว ; ฉะนั้ น ศีล ธรรมมัน จะต า งกั น อย า งไร.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org หรือ วา สมัย เมื ่อ รอ ยปม านี ่ พวกเอเซีย กลาง กระทั ่ง อิน เดีย นี้ ผู ห ญิง ก็ย ัง คลุม หนา ไมม องเห็น หนา , ผา นุ ง ก็ป กถึง ตาตุ ม เหมือ นกัน ; เดี ๋ย วนี้ ก็ต ามกน ฝรั ่ง จะไมนุ ง ผา กัน อีก แลว ก็ล องคิด ดูเ ถอะวา ศีล ธรรมมัน จะตา ง กัน อยา งไร? ถึง ในประเทศไทยเรา ในสมัย ที ่บ รรพบุร ุษ ยัง นุ ง ผา โจงกระเบน สไบเฉีย ง หรือ วา เปน ชายก็ไ มต อ งสวมเสื ้อ นี ่ม ัน ตา งกัน อยา งไรกับ สมัย นี้ ซึ่งฮือไปตามกนฝรั่ง, ผาก็จะไมคอยนุงกันแลว.

www.buddhadassa.in.th


๒๗๐

อริยศีลธรรม

นี้เรียกวาเห็นไดงาย ๆ ถามีอายุประมาณสัก ๖๐ - ๗๐ ป ก็ยัง เห็น , หรือ อยา งนอ ยก็ยัง เห็น ไดจ ากรูปภาพ จากบัน ทึก จากประวัติตาง ๆ; แลวก็เปรียบเทียบกันดูวาศีลธรรมมันจะตางกันอยางไร. สมัย ๕๐ ป มานี้ ผูห ญิง ไมก ลา เหยีย บเงาของพระ. อาตมา เองก็เคยประสบ ที่ผูหญิงเขาหลีกหางไมยอมเหยียบเงา; แลวที่ประหลาดมาก อีกทีหนึ่งก็วา แมไมมีแดดไมมีเงา เขาก็ไมกลาเหยียบตรงที่ ถาสมมติที่วามีแดด แลวเงามันจะอยูที่ตรงไหน เมื่อเดินสวนทางกับผูหญิง ผูหญิงเขาจะหลีกไป ทางบน คือทางตนแสง ไมมีทางที่จะเหยียบเงา. เดี๋ยวนี้ไมมีใหดู ไมมีใหประสบ; แตวาเมื่อไมกี่ปมานี้ก็ยังไดเห็น. เมื ่อ ไปประเทศพมา ไปรว มสัง คายนา ไปเดิน เลน อยู ใ นสนาม ใหญขางที่พัก ซึ่งมีคนมามาก มาเที่ย ว. พระก็ล งไปเดินเหมือ นกัน ; ไดยิน เสียงผูหญิงรองวี้ดวาดอยูทางหลังเหมือนกับถูกงูกัดอะไรทํานองนั้น. พอเหลียว ไปดู ก็ไ ดค วามแตเ พีย งวา เขาไมทัน ดู ก็ไ ปเหยีย บเงาพระเขา นี้เ รีย กวา ประเทศพมา ยัง ลา หลัง ไทย ยัง เหยีย บเงาพระแลว สะดุง เหมือ นกับ ถูก งูกัด ถาอยางนั้นศีลธรรมจะเปนอยางไร?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org พอมาถึง สมัย นี้ แลว ระวัง เถอะวา ผูห ญิง จะชนพระหกคะเมน. สมัยที่เขาไมกลาเหยียบเงาพระนั้น มันก็มีอะไรที่เปนเครื่องวัดอีกหลายอยาง; เหมือนวา จะออกไปจากวัดตองสะบัดเทา ไมใหทรายในวัดติดเทาออกไปบาน, หรือ กํา ขยะมูล ฝอยในวัด ออกไปทิ้ง นอกรั้ว วัด แลว ก็กํา ทรายในคลองมาใส ในวัด เทาที่จะทําได; แลว สนุกสนานดวยการแหพระ, สนุกสนานดวยการ

www.buddhadassa.in.th


การรื้อฟนปรับปรุง และ สงเสริมศีลธรรม

๒๗๑

ก อ เจดี ย พ ระทราย.เดี๋ ย วนี้ มี ค นไหนบ า งที่ จ ะสนุ ก สนานด ว ยการแห พ ระ, หรื อ ว า กอ พระเจดีย ท ราย; นี ่เ ขาเห็น เปน เรื ่อ งบา บอไปแลว มัน ก็ม ีไ มไ ด. แลว ก็ เที ย บดู เ ถอะว า จิ ต ใจจะต า งกั น อย า ง ไ ร ในสมั ย ที ่ ย ั ง ชอบก อ พระเจดี ย ท ร า ย กั บ ส มั ย ที ่ เ ห็ น เ ป น เ รื ่ อ ง บ า ๆ บ อ ๆ ไ ป แ ล ว เ ข า อ ย า ก จ ะ ไ ป แตงเนื้อแตงตัวยั่วยวนกันมากกวา;นี่สมัยอยางนั้นกับสมัยอยางนี้. ส มั ย นี ้ แ ต ง ตั ว กั น อ ย า ง ที ่ เ รี ย ก ว า อ น า จ า ร ; เ ข า ไ ม ป ก ป ด สว นที ่ค วรจะปกปด .แตไ มม ีใ ครถือ วา เปน อนาจาร เพราะไมป กปด สว นที ่ค วร จะปกปด , ไมม ีใ ครถือ อนาจาร เขาถือ วา นา ดู ดูผู ห ญิง ที ่เ ขานุ ง กระโปรง สั้น เวลาเขาจะนั่งจะลุก หรือวาทําพิธีรีตองตาง ๆ มันนาเกลียด มันเปนอนาจาร; แตเขาก็ไมถือวาเปนอนาจาร เพราะวาไปหลับหูหลับตา ตามกนวัฒนธรรมตะวันตก นี่จึงเปลี่ยนไปมาก อยางกับเรียกวามันตรงกันขาม. เดี๋ยวนี้ไมมีคําวาหิริและโอตตัปปะ สําหรับจะมาตักเตือนกัน, ถึงตักเตือน กั น ก ็ ไ ม ย อ ม ฟ  ง . ก า ร ที ่ นุ  ง ผ  า ไ ม  ป  ด อ ว ั ย ว ะ ที ่ ค ว ร ป ด นั ้ น เ ป  น คนหนา ดา น ไมม ีห ิร ิโ อตตัป ปะ แตไ มม ีใ ครวา ใคร ถึง แมใ ครจะวา ใคร ก็ไ มมี ใครเชื่อ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เมื ่อ จิต มัน ทรามอยา งนี ้แ ลว ศีล ธรรมอื ่น ๆ มัน ก็ห ายไป; เชน เ ดี ๋ ย ว นี ่ ไ ม ม ี ว ั ฒ น ธ ร ร ม ที ่ จ ะ พู ด ว า " น ก กิ น เ ป น บุ ญ ค น กิ น เ ป น ท า น " จะทํ า อะไรลงไปในพื ้น แผน ดิน ละก็ กอ นนี ้เ ขาเผื ่อ นกเผื ่อ ขโมยนกกิน เปน บุญ คนกิ น เป น ทาน; เดี ๋ ย วนี ้ ม ี ไ ม ไ ด . คํ า ว า สั ต ว ทั ้ ง หลายเป น เพื ่ อ นทุ ก ข เกิ ด แก เจ็บ ตาย ดวยกันทั้งหมดทั้งสิ้น นี้ จะเหลืออยูแตในหนังสือ ไมอยูที่ปากคน

www.buddhadassa.in.th


๒๗๒

อริยศีลธรรม

ที่พูดพร่ําพูดทุกเชาทุกเย็น โดยเฉพาะเวลาไหวพระสวดมนต; เพราะวาเขาจะ ไมไหวพระสวดมนตกันเสียแลว. ที นี ้ ม ั น ก็ ล ุ ก ลามขึ ้ น มาเรื ่ อ ย ๆ จนถึ ง กั บ ว า ลั ก ขโมยของ วั ด ก็ ไ ด ของสาธารณะก็ ไ ด เผาอาคารเรี ย น ของรั ฐ บาล ของประชาชน สาธารณะก็ได. นี่อยางที่หนังสือพิมพเขากําลังลงอยูในไมกี่วันนี้. เดี๋ย วนี้เ ขาไมมีม ารดาบิด า ไมมีค รูบ าอาจารยแ ลว ; มีแ ตค นที่ ตา งคนตา งหาประโยชน; เหมือ นที่วา เด็ก ๆ สมัย นี้มัน กิน นมสัต ว ไมไ ดกิน นมแม มัน ก็เ ลยเปน คนที่ไ มมีค วามรูสึก วา บิด ามารดามี. ถา วา เด็ก ดูด นมแม อยูในอก กอดอกแมอยู มันจะรูสึกอยางไร. แลวมันไปกินนมขวด ที่ถือกินเอง ก็ไ ด, หรือ วา จะใหค นอื่น เลี้ย งอยา งเครื่อ งจัก รอะไร; เด็ก ๆ เหลา นี้ จะมี ความรูสึกในนิสัยสันดานตอบิดามารดาอยางไร; นั้นแหละขอใหดูใหดี.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เมื่ อ ทุ ก คนรู จั ก แต ค วามสะดวกสบาย ส ว นตั ว ก็ ส ร า ง ความเห็นแกตัว มีเขามีเรา ก็ดูถูกผูอื่นงายที่สุด กระทั่งดูถูกดูหมิ่นศาสนาอื่น พวกอื่น ; เชน ดูห มิ่น ผิว รัง เกีย จผิว มีแ ผนการทํา ลายผูอื่น แลว เขาก็อ ยูดี กินดีในทางกิเลสตัณหา ชวนกันยกเลิกศีล ขอที่ ๓ เสียโดยปริยาย, คือไมเอามา พูด กัน ยอมรับ เสีย วา มัน ถูก ตอ ง นี่คือ ไมถือ วา ศีล ธรรมเปน สิ่ง จํา เปน จะตองศึกษา ไมสนใจแยกออกไปเสียจากการศึกษา.

www.buddhadassa.in.th


การรื้อฟนปรับปรุง และ สงเสริมศีลธรรม

๒๗๓

สรุ ป แล ว ก็ เ รี ย กว า มั น เป น หน า มื อ กั บ หลั ง มื อ สํ า หรั บ ภาวะทางศี ล ธรรมของมนุ ษ ย ใ นโลกสมั ย ป จ จุ บั น ; เมื่ อ เป น อย า งนี้ แ ล ว จะไมเรียกวาควรจะรื้อฟน ปรับปรุง แกไข สงเสริมกันตอไปใหคืนดี แลวก็จะวา อยางไร. ... ... ... ... ที นี ้ ก ็ จ ะ ว า โ ด ย หั ว ข อ สั ง เ ข ป อ ย า ง ที ่ ว  า ม า แ ล ว ว า เ ร า จ ะ ต อ ง รื ้ อ ฟ  น จ ะ ต อ ง ป รั บ ป รุ ง จ ะ ต อ ง แ ก ไ ข จ ะ ต อ ง ส ง เสริ ม จะต อ รั ก ษา ตามสมควรแก ก รณี ที่ จ ะต อ งทํา อย า งไร. ที่ จ ริ ง คําเหลานี้มันไมใชคําเดียวกัน อยาเอาไปปนกันเสียหมด แยกออกไปเปนคํา ๆ แลวก็จะมองเห็นชัด ก็จะทําไดเต็มที่วา รื้อฟน แกไข ปรับปรุง สงเสริม และ รักษา เปนตน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทีนี้ก็จะพูด ถึง คําวา "รื้อ ฟน" ไมม องกัน อยา งลวก ๆ . เราจะ รื้อ ฟน อะไรบา ง? การรื้อ ฟน มัน คลา ยกับ วา เปน การถอยหลัง เขา คลอง อาตมาพูด วา ถอยหลัง เขา คลอง มีค นสั่น หัว ; แตที่จ ริง มัน ตอ ง "ถอยหลัง เข า คลอง" เช น ไม ค อ ยชอบนุ ง ผ า กั น เดี๋ ย วนี้ ก็ จ ะต อ งย อ นไปหาชอบ นุงผา,แลวผาที่มันสั้นไมปกปดสวนที่ควรปกปดนั้น จะตองถอยหลังเขาคลองไป หาเสื้อผาที่มีปกปดมิดชิดถึงขอเทาถึงตาตุม ทุกสวนที่มันควรปกปด นี่เรียกวา ถอยหลังเขาคลอง, หรือวา เลิกความที่ไมรูจักอายเสีย คือความดานที่ไมรูสึกตัว.

www.buddhadassa.in.th


๒๗๔

อริยศีลธรรม

เดี ๋ ย วนี ้ มี ค วามด า นที ่ ไ ม รู  ส ึ ก ตั ว ไม รู  ส ึ ก ว า มั น ด า น ไม รู  ส ึ ก วา เปน อนาจาร แลว ก็ทํา อนาจารอยู; ฉะนั้น ตอ งยอ นกลับ ไปหาความรูจัก ละอาย ไปมีความละอาย กระทั่งละอายผีสาง. เมื่อเล็ก ๆ เคยไดยินเขาพูดกัน มาก "กูละอายผีสาง"; เดี๋ยวนี้เขาไมพูด, ยิ่งเด็ก ๆ แลวพูดไมเปนวากูละอาย ผีสาง นี้พูดไมเปน สมัยคนแกยังพูดเปนวา กูละอายผีสาง ; ตองยอนกลับ ไปหาสมัยที่พูดเปนวา "กูละอายผีสาง ไมมีใครเห็น กูก็ทําไมได" นี่เรียกวา ถอยหลังเขาคลอง รื้อฟนมาตรฐานอันนี้ขึ้นมาอีก. รื ้ อ ฟ  น ทุ ก อ ย า ง ที ่ ค ว ร จ ะ รื ้ อ ฟ  น ; ย ก ตั ว อ ย า ง เ ช น ก า ร ศึก ษา การปฏิบัติ และผลของการปฏิบัติ. ในทางพระศาสนานี่มัน ก็ตอ ง รื้อฟนใหเปนปริบัติที่ถูกตอง, เปนการปฏิบัติที่ถูกตอง, แลวหวังผลที่ถูกตอง. เดี ๋ ย วนี ้ เ รี ย นปริ ย ั ต ิ เ พื ่ อ ประโยชน หาเงิ น ทั น อกทั น ใจ; นี ้ ไ ม ถ ู ก ต อ ง ตามความมุ ง หมายของพระพุ ท ธเจ า ถ า ปฏิ บั ติ แล ว ก็ ป ฏิ บั ติ อ วดคนเพื่ อ หา ประโยชน . ถ า ต อ งการผลของการปฏิ บั ติ ก็ ต อ งการผลเป น ลาภสั ก การะ ชื่อเสียง สรรเสริญ เกียรติยศ; เหลานี้ มันไมถูกตอง มันไมแทจริง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ต อ ง รื ้ อ ฟ  น ใ ห ก า ร ศึ ก ษ า ก า ร ป ฏิ บ ั ต ิ แ ล ะ ผ ล ข อ ง ก า ร ปฏิบัตินี้ กลับ ไปสูค วามถูก ตอ งหรือ แทจ ริง จะตอ งเรีย กวา ถอยหลัง เขา คลอง อยูอีก นั่น แหละ เพราะเดิน ผิด คลอง เหมือ นกับ วา เรือ เดิน เขา ไป เกยตื้น ขึ้น อยูมัน ก็แ ตก; ฉะนั้น ตอ งถอยหลัง ใหมัน ลงรอ ง แลว ก็จ ะเดิน ตอไป, หรือวาขับรถจะตกถนนอยูแลว มันก็ตองถอยหลังมาขึ้นถนนกันเสียใหม, หรือวาขับรถไปมันจะตกเหว แลวมันตองถอยหลังมาเสียใหมใหมันถูกทาง.

www.buddhadassa.in.th


การรื้อฟนปรับปรุง และ สงเสริมศีลธรรม

๒๗๕

ข น บ ธ ร ร ม เ นี ย ม จ า รี ต ป ร ะ เ พ ณี อ ะ ไ ร ที ่ จ ะ กํ า จั ด ค ว า ม มี จิ ต ท ร า ม เ สี ย ไ ด นี ้ ต อ ง รื ้ อ ฟ  น เ อ า ม า ใ ห ม ก ลั บ ไ ป ห า ข น บ ธ ร ร ม เ นี ย ม ประเพณี ที่ เ คยทํ า ให เ กิ ด ความละอายผี ส าง นั่ น แหละเพื่ อ กํ า จั ด ความมี จิ ต ทราม เสีย ได. จารีต ประเพณีเ หลา นั ้น ตอ งรัก ษาไว แมว า เดี ๋ย วนี ้จ ะดูว า มัน งมงาย นั ่น คนโงด ูไ มเ ปน ;จารีต ประเพณีบ างอยา ง ที ่ค นเดี ๋ย วนี ้, เด็ก สมัย นี ้ว า งมงาย นั่ น แหละ มั น รั ก ษามนุ ษ ย ไ ว ไ ด ไม ใ ห ก ลายเป น คนหน า ด า น ไม ใ ห ก ลายเป น คน มีจิตทราม. ท ี นี ้ จ ะ ต  อ ง ย  อ น ไ ป ห า ว ั ฒ น ธ ร ร ม ป ร ะ จํ า ช า ต ิ ไ ท ย ที ่ มี ลั ก ษณะแห ง ความเป น ไทยไม ส ู ญ ชาติ ; วั ฒ นธรรมไทย จะต อ งทํ า ความ เปน ไทยเสมอ. นี ่เ ราก็ล ะทิ ้ง เสีย ไปเอาวัฒ นธรรมตะวัน ตก;เพีย งเทา นี ้ มัน ก็สูญชาติแลว, สูญชาติไทยในทางจิตใจ. ถามันมากเกินไป นิยมกิเลสตัณหาแลว ก็ สั ญ ชาติ แ ห ง ความเป น มนุ ษ ย ; มั น ไม เ ป น ชาติ ม นุ ษ ย แ ล ว มั น เป น ชาติ อ ะไรก็ แล ว แต จ ะเรี ย ก มั น จะเลวยิ่ ง กว า ชาติ เ ดรั จ ฉานเสี ย อี ก ; ถ า ไปรั บ ลั ท ธิ วั ต ถุ นิ ย ม เห็นแกกิเลส เห็นแกเนื้อหนังมากเกินไป ก็สูญชาติแหงความเปนมนุษย, แลวก็สูญ ชาติแหงความเปนไทย คือเปนอิสระจากกิเลส หรือ วาเปนอิสระจากการครอบงํา ของพวกอื่น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถ า เ ร า ถื อ วั ฒ น ธ ร ร ม ไ ท ย เ ร า จ ะ เ ป น ไ ท ย เ ร า จ ะ มี อ ิ ส ร ะ ; พอเราไปรั บวั ฒนธรรมเนื้ อหนั งของตะวั นตกมา เราก็ สู ญความเป นไทย ก็เรี ยกว า สูญ ชาติไ ทยในทางวัฒ นธรรม ถา เปน อยา งนี ้แ ลว ไมเ ทา ไรก็ส ูญ ชาติไ ทยใน ทางการเมือ ง, คือ จะเปน ขี ้ข า เขาจริง ๆ ดว ย. ระวัง อยา ใหส ูญ ชาติท างจิต ทางวิ ญ ญาณ; แล ว ก็ จ ะไมส ู ญ ชาติ ใ นทางการเมื อ ง. แต เ ดี ๋ ย วนี ้ ส ู ญ ชาติ

www.buddhadassa.in.th


๒๗๖

อริยศีลธรรม

ในทางจิ ต แลวก็ เปนทาสในทางการเมือ งยิ่ง เขาไปทุ กที แลว จนจะเรียกวาเป น สุนัขนับใชเขาก็ได ก็สูญชาติในลักษณะอยางนี้. ต  อ ง ย  อ น ก ล ั บ ไ ป ห า ว ั ฒ น ธ ร ร ม ไ ท ย ที ่ ไ ม  ทํ า ใ ห  ส ู ญ ช า ติ ใด ๆ เลย. ต อ งรื้ อ ฟ น ให ก ลั บ มาอี ก ให มี ก ารกลั บ มาแห ง คํ า พู ด ที่ เ ราพู ด กันติดปาก ตั้งแตสมัยหลายสิบปมานี้; เชน คําวา บาป บุญ คุณโทษ อยางนี้ มัน เปน คํ า ประเสริฐ ที ่ส ุด ที ่ค วรจะติด อยู ที ่ป าก นี ่เ ขาก็ไ มไ ดพ ูด กัน แลว มี แตการพูดกันแตวา "ไดหรือไมได, ไดมากหรือไดนอย", เขาจะพูดแตอยางนี้. ถ า ค น โ บ ร า ณ เ ข า จ ะ พู ด ว า มั น มี บ า ป บุ ญ คุ ณ โ ท ษ เ ป น อ ย า ง ไ ร น ะ ดูใ หดีอ ยา งนั้น อยา งนี้, หรือ พูด วาวัด วาอาราม. เดี๋ย วนี้ไ มมีใ ครอยากจะพูด คํา ว า วั ด วาอาราม; เพราะไม รู ว า จะเอาไปทํา อะไร.นี่ ค นแต ก อ นมี จิ ต ใจ อยู กั บ วั ด วาอาราม นั้ น หมายความว า เขาต อ งการความสงบ ต อ งการเรื่ อ ง ที่สูงขึ้นไปในทางจิตใจ เขาจึงพูดวาวัดวาอารามอะไรอยูบอย ๆ อยูเสมอ ๆ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org คํ า วา "พระเจา พระสงฆ" เดี ๋ย วนี ้ไ ดย ิน ไหม? คํ า วา พระเจา พระสงฆ เ คยได ยิ น ไหม?พระเจ า พระสงฆ มี แ ต ที่ เ อาไปด า อยู ต ามหน า หนั ง สื อ พิ ม พ . และไมเ รีย กวา พระเจา พระสงฆด ว ย. คํ า วา "พระเจา พระสงฆ" ที ่เ คยพูด กัน มา แตกอนก็คอยหายไป ๆ. คํ า ว  า " น ร ก ส ว ร ร ค  " นี ่ ก ็ ไ ม  ม ี แ ล  ว เ พ ร า ะ ว  า แ ป ล ผ ิ ด เ ข  า ใจผิ ด ว า นรกอยู ใ ต ดิ น สวรรค บ นฟ า . ที่ จ ริ ง นรกก็ คื อ ความร อ นใจ อยู ใ นอกในใจ

www.buddhadassa.in.th


การรื้อฟนปรับปรุง และ สงเสริมศีลธรรม

๒๗๗

สวรรคคือความสบายใจ อยูในอกในใจ; "สวรรคอยูในอกนรกอยูในใจ" คน โบราณเขาแปลถูก เขาจึงพูดถึงอยูเสมอ. เด็กสมัยนี้โง เขาเรียนมาอยางอื่น ก็ไ มย อมรับ ความหมายของคํา วา นรก หรือ สวรรคเ ปน ตน ; ในที่สุด ก็ไ มรูจัก พระคุณ ของบิด ามารดา. ถา พูด วา พระคุณ ของบิด ามารดา เด็ก สมัย นี้เ ขา หัวเราะเยาะ; อาตมาสังเกตเห็นที่หัวเราะเยาะอยูในใจก็มี. สิ่ ง ที่ ก ล า วมาเหล า นี ้ ต อ งกลั บ มา, ต อ งกลั บ มา, ต อ งรื้ อ ฟ  น ใหกลับมา ศีลธรรมจึงจะกลับมา. ในที ่ ส ุ ด ให เ ข า ใจความหมายอั น ลึ ก ซึ ้ ง ทางจิ ต วิ ญ ญาณ ซึ่งมีอยูเปนคูกับกับทางวัตถุ : ถาเรามีทรัพยสมบัติ เปนวัตถุ เชน เงินทอง นี่ก็ เรี ย กว า ทรั พ ย อ ย า งวั ต ถุ ; แต ถ า เรามี ค วามดี มี ธ รรมะเป น ทรั พ ย ส มบั ติ นี้เขาเรียกวา อริยทรัพย พอพูดวา "อริยทรัพย" เด็กสมัยนี้มันก็หัวเราะเยาะ ฮาอีกเหมือนกัน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี ่ สิ ่ ง เหล า นี ้ ต  อ งกลั บ มา ยิ ่ ง กว า นั ้ น ยั ง ต อ งรู  ค วามหมาย ของคํา ว า "ทางวิ ญ ญาณ" ให ค รบถ ว น; เช น พระพุ ท ธเจ า นี้ ถ า เป น คน ก็เรี ยกอย างวัตถุ . แตถ าพระพุ ทธเจ าอย างเป นธรรม ก็เ รียกวา พูด อย างทาง วิญ ญาณ. พระพุท ธเจา ทา นตรัส วา ผูใ ดเห็น ธรรม ผูนั้น เห็น เรา, ผูใ ด เห็ น เราผู นั้ น เห็ น ธรรม. นี่ เ ป น พระพุ ท ธเจ า ในทางวิ ญ ญาณ. ที นี้ เ ด็ ก ๆ เขารูจักพระพุทธเจากันแตพระพุทธรูปอยางมาก ไมนึกถึงพระพุทธเจาที่เปนคน ๆ เดินอยูในประเทศอินเดีย สมัยโนนดวยซ้ําไป; แลวทําไมจะรูจักธรรมะที่เปน

www.buddhadassa.in.th


๒๗๘

อริยศีลธรรม

พระพุทธเจา อยางยิ่งพระองคตรัสวา "ผูใดเห็นธรรม ผูนั้นเห็นเรา, ผูใดเห็นเรา ผูนั้นเห็นธรรม". หรือวา เรื่อ งอบาย ๔ นี้ ถาเปน ภาษาวัต ถุ นรกก็หมายถึง จับ ไปใสนรก หรือวาเดรัจฉานก็สัตวเดรัจฉานตามทุงนา, เปรตก็คือ เปรตอยางที่เขา เขียนรูปภาพ ตามฝาผนังโบสถ, อสุรกาย ก็ผีชนิดไหนก็ไมรู ไมมีตัวตน; อยางนี้ เรียกวาทางวัตถุ. แตถาทางวิญญาณแลว หมายความอีกอยางหนึ่ง:-นรก คื อ ความร อ นใจ ทุ ก ข ค ราวที่ ร อ นใจ ด ว ยเหตุ อั น ใด ก็ตาม ตัวความรอนใจที่สุมอยูในใจนั้นคือนรก -เดี ย รั จ ฉ าน นั ้ น คื อ ค ว า ม โ ง ที ่ เ กิ ด ขึ ้ น เป น ครั ้ ง คราวใ น จิตใจ นั้นคือความเปนสัตวเดียรัจฉานที่มีอยูในจิตใจ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org -เปรต ก็ คื อ ความหิ ว กระหายอย า งไม มี เ หตุ ผ ลที่ มี อ ยู ใ น

จิตใจ.

-อสุร ภาย ก็คือ ความขลาด ความกลัว ไมมีเ หตุผ ล ไมก ลา ทําสิ่งที่ควรจะทํา มันเปนความกลาเหลือประมาณอยางนี้ นี่คือสุรกายที่มันมีอยู ในจิตในใจ.

อบายทั ้ ง ๔ โดยทางวิ ญ ญาณ แล ว มี อ ยู  ใ นจิ ต ใจ; แต ถาโดยทางวัตถุแลว มันอยูที่ไหนก็ไมรู: นรกก็อยูใตดิน, เดรัจฉานก็อ ยูตาม ทุง นา; นี้มัน เปน ภาษาวัต ถุ รูกัน แตเ พีย งเทา นั้น มัน ไมสํา เร็จ ประโยชน, แลวพอมาถึงสมัยนี้ คนก็ไมยอมเชื่อ ปดทิ้งไปหมดเลย. คําวาอบายทั้ง ๔ นี้

www.buddhadassa.in.th


การรื้อฟนปรับปรุง และ สงเสริมศีลธรรม

๒๗๙

เด็ก ๆ สมัยนี้หัวเราะเยาะ เพราะเขาไมรูวามันอยูที่ไหนโดยแทจริง. นี่ตองรื้อฟน ขึ้นมา ใหมีความเขาใจถูกตองกันเสียที ใหมีนรก มีสวรรค มีพระพุทธเจา มี อะไร ชนิดที่แทจริงขึ้นมาอยางนี้. นี่เรียกวา การรื้อฟนในทางศีลธรรม.

ที นี้ ม าถึ ง คํา ว า ปรั บ ปรุ ง สมมติ ว า รื้ อ ฟ น ขึ้ น มาแล ว มั น ก็ ต  อ งปรั บ ปรุ ง , หรื อ ว า เดี ๋ ย วนี ้ ม ั น ถู ก น อ ยเกิ น ไปก็ ต อ งปรั บ ปรุ ง ให ม ั น ถูกมากขึ้น. การปรับ ปรุง นี ้ ตอ งปรับ ปรุง ใหเ หมาะกับ โลกที่กา วหนา ทาง วัต ถุ อยา งใหเ ปน ทาสของวัต ถุ; แตใ หเ ปน นายของวัต ถุ. ใหวัต ถุ ความ เจริญทางวัตถุมาสงเสริมศีลธรรม ใหเกิดศาสนาพระศรีอาริยขึ้นมา, คือทางวัตถุ ก็เจริญ ทางจิตใจก็เจริญ; ใหศาสนา ใหศีลธรรมกาวหนา ชนิดที่มันเขากันได กับ ระบบเศรษฐกิจ หรือ การเมือ ง อยา งนี้แ หละคือ ปรับ ปรุง ; เดี๋ย วนี้ไ มมี การปรั บ ปรุ ง ก็ ยิ่ ง หั น หลั ง ให กั น แล ว ก็ ขั ด ขวางกั น ก็ เ ลยเป น มนุ ษ ย ที่ ไมเ ปน มนุษ ย ไมมีศีล ธรรม ไมมีธ รรมแหง ความเปน มนุษ ย. นี่ข อตัด ความ ไวแตเพียงขอนี้ คือขอที่วาปรับปรุง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เดี๋ย วนี้ไ มใ ชวา จะไมมีศีล ธรรมเอาเสีย เลย, มัน ยัง เหลือ อยูสัก ๑ เปอร เ ซนต ๒เปอร เ ซนต ก็ ไ ด แล ว ก็ อ ยู ใ นสภาพที่ ไ ม รู จั ก ต อ งมา ปรั บ ปรุ ง ให รู จ ั ก ให ใ ช ป ระโยชน ไ ด ก็ จ ะแก ป ญ หาในยุ ค ป จ จุ บ ั น นี้ ไ ด ที่วาเสื่อมทางศีลธรรม.

เดี๋ยวนี้ธรรมชาติ มันก็ไมอํานายแลว การบรรยายนี้ก็ตองหยุดไว เพียงเทานี้กอน. ขอใหพระทานสวด ตองหยุดการบรรยายเพราะฝนจะตก. -------------------------------

www.buddhadassa.in.th


www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรม -๑๐๗ กันยายน ๒๕๑๗

การรื้อฟน ปรับปรุงและสงเสริมศีลธรรม (ตอ)

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทานสาธุชน ผูมีความสนใจในธรรม ทั้งหลาย,

ก า ร บ ร ร ย า ย ป ร ะ จํา วั น เ ส า ร โ ด ย หั ว ข อ ใ ห ญ ว า อ ริ ย ศีลธรรม เป น ครั้ ง ที่ ๑๐ ในวั น นี้ , อาตมาจะได ก ล า วโดยหั ว ข อ ย อ ยว า ก า ร รื ้ อ ฟ  น ป รั บ ป รุ ง แ ล ะ ส ง เ ส ริ ม ศี ล ธ ร ร ม ซ้ํ า กั น กั บ ค รั ้ ง ที ่ แ ล ว มา โดยหั ว ข อ เรื ่ อ ง; เพราะว า ในครั ้ ง ที ่ แ ล ว มา ฝนได ต กเสี ย กลางคั น ไม ท ั น จะจบเรื ่ อ ง จึ ง จํ า เป น จะต อ งพู ด ต อ ให จ บในวั น นี ้ . หั ว ข อ นั ้ น ว า การรื้ อ ฟ น แล ว ก็ ป รั บ ปรุ ง และส ง เสริ ม แล ว ก็ รั ก ษาไว ใ นที่ ส ุ ด . นี้คือหนาที่ที่เราจะตองกระทํา ตอสิ่งที่เรียกวาศีลธรรมในทุกวันนี้. ๒๘๑

www.buddhadassa.in.th


๒๘๒

อริยศีลธรรม

สํ า ห รั บ คํ า ว า รื ้ อ ฟ  น ก็ ไ ด อ ธิ บ า ย เ ส ร็ จ สิ ้ น ไ ป แ ล ว ใ น ก า ร บรรยายครั้ง กอ น; ก็ค งเหลือ แตคํา วา การปรับ ปรุง การสง เสริม และการ รัก ษา; แมวา คํา วา การปรับ ปรุง นั้น ก็ไ ดก ลา วไปบา งแลว ตามสมควร กอ น แตที่ฝ นจะตกลงมาเสีย แตม ัน ก็ย ัง ไมชัด เจน หรือ ไมจ บ จึง ตอ งพูด ทบทวน กันบางตามที่สมควร. โดยสว นใหญก ็จ ะตอ งทบทวนกัน ใหถ ึง ขอ ความที ่ก ิน ความ กวาง หรือครอบงําไปหมดทุกหัวขอของการบรรยาย ซึ่งจะตองขอย้ําหรือขอเตือน ทานทั้งหลาย ใหระลึกนึกถึงใหแจมแจงอยูตลอดเวลา ;การฟงขอความตอไปนี้ ก็จ ะเปน การงา ยขึ ้น แมที ่ส ุด แตคํ า วา อริย ศีล ธรรม ซึ ่ง เปน ชื ่อ เรื ่อ งนี ้ก ็ จะ ตองทบทวนไวในใจเสมอ. บางคนคงจะรู ส ึก แปลกประหลาด ในการที ่ม ีคํ า วา อริย ะเติม เขามา ; มีคําวาศีลธรรมเพียงคําเดียวไมพอ, ยังตองมีคําวา "อริยะ" เพิ่มเติมเขามา กลายเปน วา ศีล ธรรมที่เ ปน อริย ะหรือ ของพระอริย ะ หรือ ที่เ ปน ชั้น ประเสริฐ สุด ดังนี้เปนตน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ที ่ เ ติ ม คํ า ว า อ ริ ย ะ เ ข า ม า ก็ เ พื ่ อ จ ะ ใ ห ส ม บู ร ณ ห รื อ ค ร บ ถ ว น นี ้อ ยา งหนึ ่ง และมีเ หตุ เพื ่อ จะแยกตัว ออกมาเสีย จากคํ า วา ศีล ธรรม, หรือ ความหมายของคําวาศีลธรรม ที่เขาใชกันอยูทั่ว ๆ ไป ในภาษาชาวบาน ซึ่งแปลก ประหลาดจนถึงกับตองมีคําประกอบนั่นประกอบนี่เขามา เชนคําวาศีลธรรมอันดี ของประชาชน ซึ่งชวนใหเขาใจผิดไปวา ศีลธรรมอันเลวของประชาชนก็มี.

www.buddhadassa.in.th


การรื้อฟนปรับปรุงและสงเสริมศีลธรรม (ตอ)

๒๘๓

ที นี ้ ก ็ อ ย า ก จ ะ ใ ห ม ี ค ว า ม ห ม า ย ที ่ ช ั ด โ ด ย ที ่ ดิ ้ น ไ ม ไ ด ก็ เ ล ย เติม คํ า วา อริย ะ เขา มาในกรณีข องเรานี ้ ตามธรรมดาหรือ ทั ่ว ๆ ไป คํ า วา " ศี ล ธ ร ร ม " ใ ช ใ น ค ว า ม ห ม า ย ที ่ แ ค บ คื อ เ ฉ พ า ะ เ รื ่ อ ง ป ร ะ พ ฤ ติ ว ั ต ร ป ฏิ บ ั ติ ต า ง ๆ ในทางสั ง คมเท า นั้ น ; นั้ น ก็ พ อที่ จ ะกล า วได ว า เป น ศี ล ธรรมที่ รั บ รองกั น อยู ทั ่ว ๆ ไป ถา ใชคํ า วา อริย ศีล ธรรม แลว ตอ งมากกวา นั ้น ก็เ ลยตอ งถือ เอาตามตัว พยัญ ชนะของคํ า วา ศีล ธรรมใหล ึก ลงไป หรือ ใหม ากไปกวา ธรรมดา ที่เขาถือกันอยู. ด ัง นั ้น จึง ต อ ง ข อ เ ต ือ น ทา น ทั ้ง ห ล า ย ว า เ ร า จ ะ ก ล า ว ถ ึง สิ ่ง ที่ เรีย กวา ศีล ธรรมเปน พิเ ศษ คือ อยา งนอ ยก็ใ นความหมายที ่เ ปน ชั ้น พิเ ศษ; แต ก็ ยิ่ งตรงตามตั วหนั งสื ออย างยิ่ ง ไม ใช ว าพิ เศษแล ว ก็ จะไกลออกไปจากความหมาย ของคํ า นั้ น ๆ ตามตั ว หนั ง สื อ นี้ ก็ เ ป น สิ่ ง ที่ ต อ งขอย้ํ า หรื อ ขอเตื อ นอยู เ สมอด ว ย เหมื อ นกั น ว า ให ถื อ เอาตามความหมายของคํ า ว า ศี ล ธรรมให ลึ ก ซึ้ ง ที่ สุ ด ตามตั ว หนัง สือ อริย ะนั ้น ก็แ ปลวา ประเสริฐ ยกไวก อ นก็ไ ด; แตคํ า วา สีล ะ กับ ธรรมะ นี ้เ ปน ใจความสํ า คัญ โดยตรง สีล ะ แปลวา ปรกติ ตามตัว หนัง สือ แปลว า ปรกติ ไม แ ปลเป น อย า งอื ่ น , คํ า ว า "ธรรม" ในที ่ นี ้ ก ็ แ ปลว า "สิ ่ ง " ในความหมายทั่ว ๆ ไป; ถาเปนเรื่องในทางศาสนาก็หมายถึงการปฏิบัติ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สํ า ห รับ คํ า วา " ป ร ก ติ" นี ้บ าง ค นส ง สัย วา ทํ า ไ ม , มัน กิน ค ว า ม ไปถึง ไหน? ก็ข อใหถ ือ เอาความรู ส ึก ตามธรรมชาติ ก็แ ลว กัน ; วา ถา ผิด ปรกติ ก็ เ รี ย กว า ผิ ด สี ล ะ หรื อ ศี ล เช น เราถื อ ศี ล ๕ ศี ล ๘ นั่ น ก็ คื อ ทํ า ให มี ค วามปรกติ ขึ้ น ในกาย ในวาจา หรื อ กระทั่ ง ใจ แต ม าเรี ย กว า สี ล ะ ก็ ไ ม ค อ ยเล็ ง ถึ ง คํ า ว า ปรกติ ก็เ ขา ใจผิด ได. แตถ า รู แ ลว ก็เ ขา ใจไดว า แมที ่ส ุด แตก ารถือ ศีล นี ้ก็

www.buddhadassa.in.th


๒๘๔

อริยศีลธรรม

เนื ่อ งดว ยความปรกติค ือ การทํ า ใหป รกติ นี ้ถ า กลา วโดยใจความทั ้ง หมด มัน ก็คือปรกติ ทั้งหมด; อะไรผิดปรกติ นั้นก็เรียกวาเสียไปแลวในสวนศีล. ค ว า ม ป ร ก ติ นี ้ ม ี ไ ด ทั ้ ง ท า ง ก า ย ท า ง ว า จ า แ ล ะ ท า ง ใ จ แ ล ะ มีอ อกไปไดแ มก ระทั ่ง ทางวัต ถุ; แตเ รื ่อ งทางวัต ถุนั ้น ก็ไ มค อ ยไดพ ูด กัน ถา จะพูดกัน ก็ตองพู ดถึงวัต ถุที่เกี่ยวของกั นอยูกับ บุคคล. เชนในบานเรือนที่ อ ยูอาศั ย ถาวัตถุทั้งหลายที่วางเกะกะอยูนั่น มันไมเปนปรกติ ก็เรียกวาบานนั้นไมมีศีลธรรม แสดงถึงความที่เจาของไมมีศีลธรรม ก็ไดเหมือนกัน; เพราะวาวัตถุตาง ๆ ที่วาง อยูในบานเรือ นของบุคคลนั้น มันไมปรกติ. ดูไปทั่ว ๆ บานแลวมันปรกติก็ใชได; ถามาดูที่กายวาจา ของบุคคลก็ปรกติก็เรียกวาใชได คือมีศีลธรรม. ถ า ดู ล ะ เ อี ย ด ล ง ไ ป อี ก ก็ จ ะ เ ห็ น ไ ด ว  า ทุ ก อ ย า ง ที ่ เ นื ้ อ ที ่ ต ั ว ของบุค คลนั ้น มัน ก็ป รกติ ;การกิน การถา ย การประพฤติป ระจํ า วัน อะไร ตา ง ๆ มัน ก็ป รกติ; แมแ ตจ ะอยู ด ว ยกัน หลายคนมัน ก็ป รกติไ มก ระทบกระทั ่ง ไม ทะเลาะวิ วาทกั น เหมือนที่ เป นกั นอยู โดยมาก นี้ก็ เรี ยกว าปรกติ ในส วนบุคคล, สวนกาย สวนวาจา ในภายนอก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถา คํ า วา ปรกติ นี ้ มีโ อกาสที ่จ ะขยายความสูง ขึ ้น ไป ก็เ ปน การปรกติ ท างจิ ต ใจ คื อ จิ ต ใจไม มี กิ เ ลสรบกวน. ถ า เป น อย า งที่ สุ ด ถึ ง ที่ สุ ด ปราศจากกิเลสรบกวน โดยสิ้นเชิงแลว ก็ตองเรียกวานิพพาน คือความปรกติถึงที่สุด ใ น ชั ้ น นิ พ พ า น ; เ รื ่ อ ง ข อ ง นิ พ พ า น ก็ ก ล า ย เ ป น เ รื ่ อ ง ศี ล ธ ร ร ม ไ ป , ในลัก ษณะอยา งนี ้ ซึ ่ง ควรจะเรีย กวา อริย ศีล ธรรม. แตว า ที ่แ ลว ๆ มา เราไม

www.buddhadassa.in.th


การรื้อฟนปรับปรุงและสงเสริมศีลธรรม (ตอ)

๒๘๕

เอาเรื่อ งนิพ พานมาเปน เรื่อ งของศีล ธรรม เพราะวา เราเอาคํา วา ศีล ธรรมใน ความหมายธรรมดาสามัญมาใชพูดกัน. คํา ที่ ใ ช พู ด กั น อยู ทั่ ว โลกนั้ น ยิ่ ง ต่ํา มาก สํา หรั บ คํา ว า ศี ล ธรรม; แตถา พูดกันแตในวงพุทธศาสนา และโดยเฉพาะภาษาของพุทธศาสนาแลว คํ า วา "ศีล ธรรม" นี ้ก ็จ ะไปไกลจนถึง นิพ พานก็ไ ด; เพราะวา การประพฤติ ปฏิบัติ ในทางศีล สมาธิ ปญญา ทุกอยางทุกประการนั้น ก็เพื่อความเปนปรกติ, และความเปน ปรกติสูง สุด ก็คือ มรรค ผล นิพ พาน ; ฉะนั้น เรื่อ งมรรค ผล นิพ พาน ในฐานเปน ศี ล ธรรมก็พูด ได และเปน ความจริง ดว ย แตวา เขาไมพูด กัน ; เลยเอาเรื่อ งศีล ธรรมมาไวเ ปน เพีย งเรื่อ งต่ํา เตี้ย ๆ ประพฤติ ตอกันในชั้นโลก ๆ หรือระหวางบุคคลที่เกี่ยวของกันอยูในรูปของสังคม เพียงไม กระทบกระทั่งกันก็พอแลว. นี่คือ สิ่ง ที่จ ะตอ งขอเตือ นใหเ ขา ใจกัน ไว เดี๋ย วก็จ ะปนกัน ยุง ; ยิ่ง เมื่อ กลา วถึง คํา วา อริย ศีล ธรรม ดว ยแลว ก็ยิ่ง หมดจดสิ้น เชิง ในเรื่อ ง ของความปรกติ ขอใหเขาใจไวอยางนี้. ... ... ... ...

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทีนี้ก็จ ะพูด ถึง หนา ที่ที่จ ะตอ งทํา ตอ จากครั้ง ที่แ ลว มา. ที่พูด วา รื ้ อ ฟ  น นั ้ น ก็ ห ม า ย ค ว า ม ว า มั น ห า ย ไ ป มั น เ สื ่ อ ม ไ ป เ ร า ก็ ต  อ ง ดึงกลับมา.

www.buddhadassa.in.th


๒๘๖

อริยศีลธรรม

ถ า อยากรู ว า มั น หายไปอย า งไร ก็ ต อ งเปรี ย บเที ย บ. ในที่ นี้ ก็ ไ ด ทํา การเปรี ย บเที ย บพอให ส ั ง เกตเห็ น ว า ชั่ ว ไม กี ่ ป ม านี้ ศี ล ธรรม ไดห ายไปอยา งไร; นับ ตั้ง แตวา จะเปรีย บเทีย บกัน ดูใ นทางหลัก ประจัก ษ พยานหลักฐาน วาสมัยที่คนเขาแตเนื้อแตงตัว ปกปดรางกายกันมิดชิด เมื่อไม กี่สิบปมานี้ กับถึงสมัยนี้ซึ่งเขาไมคิดจะปกปดรางกาย เพราะวากิเลสมันครอบงํา อยากจะใชสิ่งยั่วยวนเหลานั้นแสวงหาประโยชน ใหแกตน. นี ้ ก ็ ล องเปรี ย บเที ย บดู ว  า มั น ต า งกั น อย า งไร. อะไรมั น หายไป? ก็ คื อ หิ ริ โ อตตั ป ปะมั น หายไป, ความหน า ด า นมั น เข า มาแทน. นี่ ก ารรื ้ อ ฟ น มั น ก็ ต  อ งกลั บ ไปหาความรู  ส ึ ก ที ่ เ รี ย กว า หิ ร ิ แ ละโอตตั ป ปะ; อยางนี้เปนตนก็เรียกวาการรื้อฟน. อยางนี้ไมแปลกไปจากที่ เคยมีมาแลว ก็นับวา เป น ส ว นหนึ่ ง เท า นั้ น คื อ ทํา ให ดี ต ามเดิ ม ใส ว นที่ ข าดหายไป นี้ เ รี ย กว า การรื ้ อ ฟ  น ก็ แ ล ว กั น ในส ว นศี ล ธรรมจะต อ งมี ก ารรื ้ อ ฟ  น กั น ใหม โดย รายละเอียด ซึ่งไปคิดเอาเองได. ... ... ... ...

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ที นี ้ ก ็ ม า ถึ ง ก า ร ป รั บ ป รุ ง นี ้ เ ล็ ง เ ฉ พ า ะ ลั ก ษ ณ ะ ที ่ โ ล ก มันเปลี่ยนไป ๆ.

โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง การศึ ก ษาของโลกมั น เปลี่ ย นไป แล ว สิ่ง ตา ง ๆ ที่เ นื่อ งอยูดว ยการศึก ษานั้น มัน ก็เ ปลี่ย นไป; เพราะความตอ ง การของมนุษ ยมัน เปลี่ย นไป. ทีนี้ สว นศีล ธรรมก็จ ะตอ งไดรับ การปรับ ปรุง

www.buddhadassa.in.th


การรื้อฟนปรับปรุงและสงเสริมศีลธรรม (ตอ)

๒๘๗

ใหกลมกลืนกันไปได กลับความเปลี่ยนไปของสิ่งตาง ๆ ในโลก โดยเฉพาะ คือการศึกษา กระทั่งถึงเรื่องเทคโนโลยีทั้งหลายที่กําลังบูชากันดั่งวาพระเจา; นี้ก็เ ปน สิ่ง หา มไมไ ด การศึก ษาก็ตอ งเปลี่ย นไป. อาชีพ ก็ตอ งเปลี่ย นไป การงานทั้งหลายก็ตองเปลี่ยนไป; นี้เปนเรื่องที่หามไมไดแน. ทีนี้สวนศีลธรรมเลา จะตองทําอยางไร? มันจะเปลี่ยนไปตามนั้น จนใหเ ปน เรื่อ งผิด ไป นี้มัน ก็ไ มไ ดเ หมือ นกัน ; ดัง นั้น จึง ทํา ไดแ ตเ พีย งการ ปรับปรุง ใหมันไปดวยกันได ไมขัดขวางความเจริญกาวหนาของโลก ในปจจุบันนี้. สํา หรั บ การปรั บ ปรุ ง นี้ จะต อ งเล็ ง ไปถึ ง สิ่ ง ที่ เ รี ย กว า การศึ ก ษา เป น สิ่งแรก. นี่ก็เคยเตือน เคยพูดอยางซ้ํา ๆ ซาก ๆ มาแลววา เรากําลังมอง การศึกษากันอยางผิด ๆจนลากเอาการศึกษาไปตามหลังกิเลส ตัณหา ของคน ในโลก; การศึกษาก็เลยผิด แลวก็ใหโทษ คือเปนการศึกษาที่ทําลายศีลธรรม หนัก ขึ้นไปอีก , แทนที่จ ะสง เสริม ศีล ธรรมกลับ ทํา ลายศีล ธรรม. ถา ยิ่งศึก ษา อย า งนี้ ก ั น มากเท า ไร โลกนี ้ ก ็ ยิ ่ ง ไม ม ี ศ ี ล ธรรม; เดี ๋ ย วนี ้ ก ็ กํ า ลั ง บู ช า การศึกษาที่ทําลายศีลธรรมกัน มากยิ่งขึ้นทุกที.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org หรื อ จะพู ด ให เ บาหน อ ย ก็ พ ู ด ว า การศึ ก ษานี้ ไ ม ส  ง เสริ ม ศีลธรรมเสียเลย; เพราะเขาใหศึกษากันแตเรื่องวัตถุ, แลวศึกษาการใชวัตถุ การแสวงหาประโยชนจากวัตถุใหมากที่สุด ที่เรียกวาเทคโนโลยี หรืออะไรอีก หลายอยางหลายประการ ใหการศึกษากันแตเพียงเทานี้; เด็ก ๆ ก็รูเพียงเทานี้ กระทั่งเปนหนุม เปนสาวขึ้นมา ก็รูแตจะแสวงหาความสุข สนุกสนาน เพลิดเพลิน

www.buddhadassa.in.th


๒๘๘

อริยศีลธรรม

จากวัตถุ, ก็หาปจจัยเพื่อใหไดอยางนั้น มันก็เลยเห็นแตเงิน เห็นแตได เห็นแต จะหาเงินเพื่อเปนปจจัยซื้อหาความสุขสนุกสนานทางวัตถุ; การศึกษาในโลก มันมีแตอยางนี้. ผลก็ เ กิ ด ขึ ้ น อย า งที ่ เ ราเห็ น ๆ กั น อยู  เป น พยานหลั ก ฐาน อยา งที่ไ มตอ งหลีก เลี่ย ง ไมตอ งบิด พลิ้ว อะไรกัน วา มัน เต็ม ไปดว ยวิก ฤติการณ คือภาวะที่เดือดรอนระส่ําระสาย ไมพึงปรารถนานี้ยิ่งขึ้น ๆ เลย เปรียบ เทียบกันไดงาย ทั้งในสวนเหตุ คือการประพฤติกระทํา และทั้งในสวนผลที่เรา ไดรับอยู. อยา งกรุง เทพฯ สมัย ที่มีแ ตร ถลาก ; อาตมาก็เ คยไปเห็น แลว สมัยนี้มันเต็มไปดวยรถยนตจนถนนไมพอ อาตมาก็เคยเห็นเหมือนกัน แลวก็ ดู ศี ล ธรรมของคนลากรถลาก กั บ คนขั บ รถยนต นี้ มั น ต า งกั น อย า งฟ า กับดิน ถาเอามาพูดมันก็จะเปนเรื่องวาคน ซึ่งไมจําเปน ไปดูเอาเองก็แลวกัน วา ศีล ธรรมของคนลากรถลาก กับ ศีล ธรรมของคนขับ รถยนต คนขับ แท็ก ซี่ นี้มันตางกันมาก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี้เ รีย กวา เปน สว นผล ก็บ อกอยูแ ลว ในตัว วา ทํา ไมการศึก ษาที่ เรียกวาเจริญกาวหนานี้ มันไมชวยแกไขปญหาขอนิ้ว ฉะนั้นจึงยกขึ้นมากลาว ในฐานะเป น สิ ่ ง ที่ ว  า จะต อ งปรั บ ปรุ ง สิ่ ง แรก คื อ การศึ ก ษาให ถู ก ต อ ง เสียกอน, การปรับปรุง ทางศีล ธรรมจึง จะทําได ถา การศึกษาไมพ อ คนก็โ ง คนก็เขาใจผิด และไมรูเรื่องศีลธรรมมันก็ปรับปรุงกันไมได หรือวาการศึกษา จะดันทุรังไปในทางที่เปนขาศึกแกศีลธรรม มันก็ปรับปรุงศีลธรรมไมได. ดังนั้น

www.buddhadassa.in.th


การรื้อฟนปรับปรุงและสงเสริมศีลธรรม (ตอ)

๒๘๙

จึงเกิดปญหาที่ยุงยากขึ้นมาสองเทาตัวเปนอยางนอย คือวา การศึกษานั้นจะ ต อ งทั น โลกสมั ย ใหม ที ่ เ ปลี ่ ย นแปลงด ว ย และการศึ ก ษานั ้ น จะต อ ง เปนการสงเสริมศีลธรรมดวย ; แลวมันยังยากตรงที่วา ความเปลี่ยนแปลงนี้ มันชางเร็วเหลือเกิน มันเร็วอยางกับวิ่งไปทีเดียว ก็ยิ่งลําบากมากขึ้นไปอีก. ... ... ... ... อ ย า ก จ ะ ข อ ร อ ง ใ ห พิ จ า ร ณ า ดู สิ ่ ง ที ่ เ รี ย ก ว า ก า ร ศึ ก ษ า นี ้ ใ ห ม า ก ใ ห ล ะ เ อี ย ด อ อ ก ไ ป ใ น ข อ ที ่ ว  า สิ ่ ง ที ่ เ รี ย ก ว า ก า ร ศึกษานั้น มันเปนอะไรหลาย ๆ อยางพรอมกันไปในตัว. การศึก ษาเปน อะไรหลาย ๆ อยา งพรอ มกัน ไปในตัว ; เปน เครื่อ งกอ สรา งมนุษ ยทั้ง กายและทั้ง ทางจิต ใจขึ้น มา, และยัง เปน รากฐาน ของการเปนอยู หรือของศีลธรรมของมนุษย เปนเครื่องชักจูงมนุษยไปทางไหน ก็ได. เรามีการศึกษาอยางไร สิ่งนั้นมันจะแวดลอมเรา ใหคิดนึกไปแตในทาง นั้น, เราจึงพูดกันไมคอยจะรูเรื่องเพราะเหตุนี้ ในระหวางบุคคลที่มีการศึกษา ตางกัน. ดังนั้นควรจะถือวาสิ่งที่เรียกวาการศึกษานั้น คือสิ่งที่สรางสรรคมนุษย และสิ่งตาง ๆ ที่เกี่ยวของกันอยูกับมนุษย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถึ ง แม คํ า ว า "ศึ ก ษา" นั ้ น เอง ก็ ย ั ง กิ น ความไปได ห ลายทิ ศ หลายทาง : เปนตัวการศึกษานั้นโดยตรงก็ได เปนสิ่งแวดลอมการศึกษาก็ได, เกี่ย วกับ การศึก ษาก็ไ ด , สนับ สนุน สง เสริม การศึก ษาก็ไ ด; แตร วมแลว ก็ เรียกกันวา การศึกษา ถาไมแยกดูใหดี มันก็จะมีการกระทําที่บกพรอง เชน

www.buddhadassa.in.th


๒๙๐

อริยศีลธรรม

ไปสง เสริม แตใ หเ รีย นหนัง สือ อยา งเดีย ว; ใหค วามฉลาดอยา งเดีย ว; ไมไ ด ให ความเข าใจที่ ถู กต อง ที่ เกี่ ยวกั บจิ ตใจ หรื อเกี่ ยวกั บสิ่ งที เรี ยกว า วิ ญญาณ หรื อ การประพฤติการปฏิบัติอยางอื่น. เ ดี ๋ ย ว นี ้ พ อ พู ด ถึ ง ก า ร ศึ ก ษ า ก็ ม ี คํ า ว า เ ท ค โ น โ ล ยี พ ว ง ท า ยเข า มา คล า ยกั บ ว า เป น เสพติ ด เทคโนโลยี กั น ขึ้ น มาอี ก อย า งหนึ่ ง แล ว . การ ศึ กษาที่ บู ชาเทคโนโลยี อย างที่ กํ าลั งเป นอยู เดี๋ ยวนี้ มั นไม ใช เป นเทคโนโลยี เฉย ๆ ; แตเ ปน การทํ า ใหม นุษ ยเ ปน ทาสของวัต ถุ พูด ภาษาธรรมะก็ว า เปน ทาส ข อ ง กิ เ ล ส ตั ณ ห า ; ยิ ่ ง ศึ ก ษ า กั น แ บ บ นี ้ ก ็ ยิ ่ ง เ ป น ท า ส ข อ ง กิ เ ล ส ตั ณ ห า ไมเคยมีเทคโนโลยี ที่จะถอนคนออกมาเสียจากกิเลสตัณหา. ว า โ ด ย ที ่ แ ท แ ล ว พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า ก็ เ ป น เ ท ค โ น โ ล ยี ; แ ต เป น เทคโนโลยี ที่ ทํ า หน า ที่ ต รงกั น ข า ม คื อ พาคนออกไปเสี ย จากกิ เ ลสตั ณ หา, หรื อ ให ค นชนะกิ เ ลสตั ณ หา , นี ่ เ ป น เทคโนโลยี ข องพระพุ ท ธเข า แต เ ขา ไม ฝ น ถึ ง ไม ป ระสี ป ระสาและไม รู จั ก และไม ต อ งการ ฉะนั้ น การศึ ก ษาถ า นิ ย ม เป น รู ป เทคโนโลยี กั น แล ว มั น ก็ ค วรทํ า พร อ ม ๆ กั น ไปทั้ ง สองฝ า ย คื อ ทั้ ง ทางฝ า ย วัต ถุ และทั ้ง ทางฝา ยจิต ใจการศึก ษาอยา งนี ้เ ทา นั ้น ที ่จ ะสง เสริม ศีล ธรรม, และนํ าไปสู สิ่ งที่ เรี ยกว า สั นติ สุ ขในส วนบุ คคล และสั นติ ภาพในส วนสั งคมทั้ งโลก. สรุปความวา การศึกษานี้มีตัวตนอยางนี้ ที่จะสงเสริมศีลธรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทีนี ้ย ัง มีก ารศึก ษาโดยออ ม ที ่เ ราเรีย กวา การศึก ษาเหมือ นกัน แ ต ไ ป เ รี ย ก ชื ่ อ อ ย า ง อื ่ น ซึ ่ ง อ ยู  ใ น พ ว ก ที ่ จ ะ ต อ ง ป รั บ ป รุ ง ; ย ก ตั ว อ ย า ง เชน การกีฬา.

www.buddhadassa.in.th


การรื้อฟนปรับปรุงและสงเสริมศีลธรรม (ตอ)

๒๙๑

ที่ เ ขาไปเรี ย กชื่ อ มั น ว า การกี ฬ า; แต โ ดยเนื้ อ แท มั น ก็ เ ป น การศึก ษาชนิด หนึ่ง คือ มัน ฝก ฝนความมีจิต ใจที่เ ปน ธรรม เปน สุภ าพบุรุษ หรือ ถูก ตอ ง. ถา มีก ารกีฬ าถูก ตอ ง การกีฬ านั ้น ก็เ ปน การศึก ษาในดา น วิญ ญาณ คือ ลึก ไปกวา จิต ใจเสีย อีก ; มัน ไปถึง เรื ่อ ง สติป ญ ญา ทิฎ ฐิ ความคิด ความเห็น ความเชื่อ อันสูงสุดนั่น. แตเดี๋ยวนี้คนเปนทาสของการ ศึกษาผิด ที่นําไปสูกิเลสตัณหา แลวก็ทําใหการกีฬาพลอยเปนอยางนั้นไปดวย; ฉะนั้น จึงเลนกีฬาอันธพาล เอาเปรียบ คดโกง. อยูเฉย ๆ ก็ไมมีการเอาเปรียบใคร คดโกงใคร ; พอไปเลนกีฬาเขาก็เปนโอกาสที่จะเอาเปรียบและคดโกง. ดู ใ ห ด ี ควรจะเห็ น ว า การกี ฬ านี ้ ไม ค วรจะเป น เรื ่ อ งของ การแพ ช นะกั น อย า งมี โ มหะมาครอบงํา การกี ฬ าอย า งต่ํา ควรจะ เปนการบริหารรางกาย ใหเขมแข็ง เปนพลศึกษา, การกีฬาแทจริงที่สูงขึ้นไป ก็คือ ฝก หัด จิต ใจใหเ ปน ผูรูจัก ยอม รูจัก เสีย สละ ใหจิต ใจเปน นัก กีฬ าสูง ยิ่ ง ขึ้ น ไป.เช น ถึ ง กั บ ว า เรายอมเป น ฝ า ยแพ หรื อ เรายอมเป น ฝ า ยผิ ด ถา เรื่อ งมัน จะเรีย บรอ ยกัน ไป; อยา งนี้จึง จะเรีย กวา นัก กีฬ า. ทั้ง ที่เ ราเปน ฝายถูก เราก็ยอมใหเขาเปนฝายชนะ หรือเปนฝายถูก เรายอมเปนฝายแพก็ได เพื่อใหเรื่องราย ๆ ตาง ๆ มันระงับกันไป.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เดี ๋ ย วนี ้ เ ขาไม ถื อ กั น อย า งนี ้ เขาเป น ฝ า ยผิ ด ด ว ย, แล ว ก็ จ ะ เอาเปนถูกตองดวย แลวก็ยังบุกรุกกาวราว ลวงเกินเขาไปในความถูกตองของ ผูอื่น จนการกีฬาเปนเหตุใหแตกสามัคคีสรางความอาฆาตจองเวร ขวางระเบิด ใสกัน และเปนมูลเหตุใหตองเผาโรงร่ําโรงเรียน ของตัวเอง อยางนี้เปนตน นี่มา จากการกี ฬ าที่ ไ ม เ ป น การกี ฬ า, เป น การศึ ก ษาที่ ไ ม ใ ช เ ป น การศึ ก ษา;

www.buddhadassa.in.th


๒๙๒

อริยศีลธรรม

เพราะวามันเมาความแพและความชนะ ดวยความโงเขลา อยางภูตผีปศาจ พูด อยางนี้ก็ตองขออภัยวาเปนคําหาบ แตวามันตองพูด เพราะวาจํางายดี. การศึ ก ษาคื อ การกี ฬ านี้ กํา ลั ง กลายเป น สิ่ ง ที่ เ ป น ภู ต ผี ป ศ าจ ที่ ทํา ลายสั น ติ สุ ข สั น ติ ภ าพในจิ ต ใจของคน; ฉะนั้ น จะต อ งแก ไ ข จะตองปรับปรุงการศึกษาสวนที่อ ยูในรูปของการกีฬา เดี๋ยวนี้เราก็ไดยินขา ว แมแตการกีฬาระหวางประเทศ คือการกีฬาของโลก นี้มันก็ยังโกงกัน ๑๐๐ เปอรเซนต ไปอานดูก็แลวกันวา เขาทํากันอยางไร. ทีนี้ก ารศึก ษาชนิด อื่น ตอ ไปอีก การศึก ษาที่อ ยูใ นรูป แบของ ศิลปะ. คนบางคนเป น นั ก ศิ ล ปะเกิ น ไป เขาก็ เ อาศิ ล ปะเป น ศิ ล ปะ ที่ จ ริ ง ศิ ล ปะนี้ ก็ เ ป น ส ว นประกอบอั น หนึ่ ง หรื อ เป น การศึ ก ษาชนิ ด หนึ่ ง ที่ทํา ใหค นเราละเอีย ดลออ พวกคนโง ๆ ก็คือ คนไมมีศิล ปะ ที่พูด อยา งนี้ อาจจะไมมีใ ครเชื่อ , แตข อใหไ ปสัง เกตดู ; ถา คนชา งสัง เกตละเอีย ดลออ คนนั้ น จะไม โ ง แ ละคนนั้ น จะมี ศิ ล ปะ ฉะนั้ น บางอย า งเราจะต อ งเสี ย สละ ฝกฝนใหเราเปนคนละเอียดลออ รูจักศิลปะพอใจในศิลปะ กระทั่งสรางศิลปะ ไดดวยตนเองได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เขาจะเปน คนเฉลีย วฉลาดลึก ซึ้ง สุขุม รอบคอบ มองเห็น อะไร กวา คนธรรมดา แมวา จะมาเรีย นธรรมะกัน เรีย นศาสนากัน คนที่มีจิต ใจ เป น ศิ ล ปะ จะมองเห็ น ธรรมะลึ ก ซึ ้ ง กว า คนโง ที ่ ไ ม ม ี ห ั ว แห ง ศิ ล ปะ

www.buddhadassa.in.th


การรื้อฟนปรับปรุงและสงเสริมศีลธรรม (ตอ)

๒๙๓

เสียเลย. ก็ตองถือวาศิลปะนี้ก็เปนการศึกษาอยางหนึ่ง ที่เรียกวาศิลปะที่แทจริง ไมใชศิลปะลามกอนาจาร ซึ่งเดินผิดทางไปแลว. ถ า เราจะทํ า อะไรใหง าม ใหส วย ใหล ะเอีย ด ใหป ระณีต ให ลึก ซึ้ง เพื่อ ใหจิต ใจดีก วา ระดับ ธรรมดา ควรจะเรีย กวา ศิล ปะ. แลว ยัง อาจจะ เอามาเปนเครื่องมือใชสอยเพื่อประโยชนอ ยางนั้นอยางนี้ อยางโนนไดอีก; โดย เฉพาะอยางยิ่ง แมที่สุดแตในการเผยแพรพระพุทธศาสนา ถารูจักใชศิลปะมันก็ยิ่งดี จะสําเร็จประโยชนไดมากกวา. ที่เ รีย กกัน วา วิจ ิต รศิล ป ก็ห มายความวา ทํ า ยาก แตค นก็ทํ า ได; แตเมื่ อทําไดแลว ก็ไ มทําไปในทางที่ จะเป นประโยชน อยางที่ เขาชอบพูด กันนั ก วา ศิล ปะเพื ่อ ศิล ปะ; อยา งนี ้อ าตมาพูด วา มัน บา . ถา ศิล ปะเพื ่อ ศิล ปะแลว มัน จะมี ป ระโยชน อ ะไร; มั น ต อ งเป น ศิ ล ปะเพื ่ อ สั น ติ ภ าพหรื อ สั น ติ ส ุ ข ของ มนุษ ย. อยา ศิล ปะเพื่อ ศิล ปะเสีย อยา งเดีย ว ตะพึด ตะพือ เหมือ นที่ช อบพูด กัน อยู เ วลานี ้. ตอ งเปน ศิล ปะเพื ่อ สัน ติส ุข หรือ สัน ติภ าพของมนุษ ยเ ราทุก ระดับ ทุก ดา น นั ่น จึง จะเรีย กวา ศิล ปะ ที ่ค วรตอ งการในหมู ม นุษ ย และ โดยที่แทก็เปนการศึกษาฝกฝนชนิดหนึ่งดวยเหมือนกัน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เ ดี ๋ ย ว นี ้ ค น ใ น โ ล ก ก็ กํ า ลั ง ทํ า ผิ ด ใ น เ รื ่ อ ง นี ้ : ทํ า ศิ ล ป ะ เพื่อศิลปะ แลวก็เตลิดเปดเปง ไปตามความประดิษฐประดอย จนไมมีประโยชน อะไร ทั ้ ง ที ่ ม ั น เป น ศิ ล ปะ เราก็ ย อมรั บ ว า สิ ่ ง เหล า นั ้ น เป น ศิ ล ปะ แต แ ล ว มันก็ไมมีประโยชนอะไร นอกจากทําใหคนพวกหนึ่งบามากขึ้นในโลกนี้ คือ บา ศิลปะชนิดที่ไมเปนประโยชนแกสันติภาพนั่นเอง.

www.buddhadassa.in.th


๒๙๔

อริยศีลธรรม

ก า ร ศึ ก ษ า ที ่ ด ู ต  อ ไ ป อี ก ก็ อ ย า ก จ ะ ร ะ บุ เ ช น ด น ต รี ห รื อ เพลง นี้ก็เปนการศึกษา. เ ด็ ก ๆ ที ่ ร  อ ง เ พ ล ง ไ ด จ ะ ฉ ล า ด ก ว า เ ด็ ก ที ่ ร  อ ง เ พ ล ง ไ ม ไ ด . ที ่เ ปน เด็ก โง จนโตแลว ก็ย ัง รอ งเพลงไมไ ด; ก็เ พราะวา มัน โง แมที ่ส ุด แต ในการใช เ สี ย งใช ลิ้ น ใช ป าก ใช อ ะไรนี้ มั น โง . ถ า เด็ ก ใช เ ป น ก็ ห มายความว า ฉลาด; การที่ จ ะใช ใ ห เ ป น มั น ก็ ต อ งหั ด ถ า ไปหั ด ฝ ก เข า มั น ก็ เ ป น การศึ ก ษา. ฉะนั้ น ดนตรี แ ละเพลง ก็ เ ป น อุ ป กรณ อั น หนึ่ ง ที่ จ ะทํ า ให ค นฉลาดใช อ วั ย วะ เช น ปาก เชนลิ้น เปนตน ใหเปนประโยชนแกมนุษยดวยกัน. ดนตรีแ ละเพลงนี ้เ ขามีม าแตด ึก ดํ า บรรพโ นน คู ก ัน มากับ มนุษ ย ซึ ่ง ใชอ ยา งถูก ตอ งเปน ลํ า ดับ มา คือ ใชด นตรีห รือ เพลงเหลา นี ้ เพื ่อ ระงับ อารมณ ร า ย เพื่ อ หยุ ด อารมณ เ ลว อารมณ บ า เมื่ อ เกิ ด มี อ ารมณ โ กรธ อารมณ เศร า อารมณ ขั ด แค น อะไรขึ้ น มา ก็ ใ ช ด นตรี เ พื่ อ เพลงกวาดล า งอารมณ เ หล า นี้ ออกไปเสีย ฉะนั ้น จึง ใชไ ดแ มแ ตใ นโบสถ เมื ่อ เขาใชถ ูก วิธ ี มัน ก็ม ีป ระโยชน แมแ ตใ นโบสถ คือ จะใชด นตรีห รือ เพลงลา งอารมณรา ยออกไปเสีย ชั้น หนึ่ง กอ น; มี จิ ต ใจดี หรื อ เรี ย กว า เป น กลาง แล ว ก็ ม านึ ก ถึ ง พระเจ า นึ ก ถึ ง พระธรรม นึ ก ถึ ง อะไรมัน ลึก ซึ ้ง ไปกวา นั ้น ; อยา งนี ้ด นตรีแ ละเพลงก็เ ปน ประโยชน และเปน การศึกษายิ่ง ๆ ขึ้นไป.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org พ อ ม า ถ ึ ง บ ั ด นี ้ เ ข า ใ ช  ด น ต ร ี ห รื อ เ พ ล ง นี ้ เ ป น เ ค รื ่ อ ง ทํ า ลายมนุษ ย : ใชด นตรีแ ละเพลงกระตุ น อารมณเ ลว อารมณร า ย อารมณที่ บากามารมณจนไมรูจักอาย จนเปนลามกอนาจารแลวไมรูสึกตัว ก็เห็นวาเปนของ

www.buddhadassa.in.th


การรื้อฟนปรับปรุงและสงเสริมศีลธรรม (ตอ)

๒๙๕

ธรรมดาไป ถา เกิด เอามาเปรีย บเทีย บกัน ระหวา งยุค แลว ก็จ ะถึง กับ สะดุ ง . แมแ ตเพลงที่ สง อยูตามสถานีวิ ทยุต าง ๆ นี้ ถ าเราลองเปรียบเทียบกัน ดูระหวา งยุ ค แลว ก็จ ะสะดุ ง เพราะเดี ๋ย วนี ้เ ขามีเ พลง หรือ บทเพลง หรือ เนื ้อ รอ ง ที ่ม ัน สงเสริมกิเลสตัณหา ไมใชเปนเครื่องชวยระงับ หรือขมขี่กิเลสตัณหาเลย. ด น ต ร ี ห ร ื อ เ พ ล ง ก ็ เ ป  น สิ ่ ง ที ่ ต  อ ง ป ร ั บ ป ร ุ ง ใ น ฐ า น ะ ที ่ เ ป  น ต ั ว การศึกษาก็ได, ในฐานะที่เปนอุปกรณแกศีลธรรมก็ได. จะตองปรับปรุงการ ศึก ษาโดยตรงและการศึก ษาโดยออ มอยา งนี ้ จึง จะเปน การปรับ ปรุง สิ ่ง ที ่เ รา เรีย กวา ศีล ธรรมพรอ มกัน ไปในตัว เมื ่อ โลกมัน หมุน เร็ว ยิ ่ง ขึ ้น เพราะวา การคมนาคมหรือ อะไรมันถึงกัน อะไรมันกาวหนา ; เรื่อ งของศีลธรรมก็ตอ ง ป รั บ ใ ห ม ั น ไ ป ด ว ย กั น ไ ด ก็ ต  อ ง ป รั บ ป รุ ง ที ่ ก า ร ศึ ก ษ า ที ่ เ ป น ร า ก ฐ า น ข อ ง ทุกสิ่งทุกอยาง ที่รวมทั้งศีลธรรมดวย. นี ่อ า ต ม า เ ร ีย ก ว า ก า ร ป ร ับ ป ร ุง สิ ่ง ที ่เ ร ีย ก ว า ศ ีล ธ ร ร ม ก ็เ พื ่อ เพราะ ความเหมาะสมกับโลกที่กาวหนาทางวัตถุ อยาใหโลกนี้เปนทาสของวัตถุ; มีการศึกษาถูก ตอ งและมีศีลธรรมดี ใหเ ปนนายเหนือ วัตถุ; แลวก็เอาวัตถุม า ส ง เสริ ม ความเป น อยู ภายใต ก ารควบคุ ม ของจิ ต ใจที่ มี ศี ล ธรรม. ถ า ทํ า ได อ ย า งนี้ ศ า ส น า พ ร ะ ศ รี อ า ริ ย  ก ็ จ ะ โ พ ล ง ขึ ้ น ม า ทั น ที แ ก พ ว ก เ ร า ส มั ย นี ้ คื อ จิ ต ใ จ ดี แลวก็มีวัตถุเจริญแลวก็สงเสริมซึ่งกันและกัน ; คนก็จะเปนอยูอยางที่เรียกวา โลกในศาสนาพระศรีอาริยไดเปนแนนอน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ก า ร ป ร ั บ ป ร ุ ง นี ้ ย ั ง จ ะ ต  อ ง ทํ า ใ ห  ก ว  า ง อ อ ก ไ ป ใ ห  ก ล ม ก ล ื น กั น ไ ด กั บ ศ า ส น า ทุ ก ศ า ส น า ,ก ล ม ก ลื น ก น ไ ด ก ั บ วั ฒ น ธ ร ร ม ใ น โ ล ก นี้

www.buddhadassa.in.th


๒๙๖

อริยศีลธรรม

ทุก สาขา เดี๋ย วนี้ก็ยัง ทํา ผิด เพราะวา มีกิเ ลสแหง ตัว กู - ของกู จัด เกิน ไป คอยแตจะมองศาสนาอื่นวาผิด, มองวัฒนธรรมอื่น นอกจากของเราแลวก็เปน ของเลว ของผิด; อยางนี้เรียกวาไมรูจักแมแตศาสนาหรือวัฒนธรรมของตน. เป น อั น ว า จะต อ งจั ด การศึ ก ษาที่ เ ป น รากฐานของศี ล ธรรม นี้ ใหเ ขา รูป กัน ไดกับ ระบบทุก ระบบ ที่มัน จํา เปน สํา หรับ มนุษ ย ; จะเปน ระบบการเมือง ระบบเศรษฐกิจ ระบบทุกระบบที่จําเปนสําหรับมนุษย ที่มัน กําลังเปลี่ยนแปลงอยางวิ่งไปทีเดียว แลวก็อยาใหกระทบกระทั่งซึ่งกันและกันใน ระหวางสังคมมนุษย เรียกวาระหวางชาติ ระหวางศาสนา ระหวางวัฒนธรรม สาขาอื่น ๆ. สรุ ป ความว า มี ก ารปรั บ ปรุ ง ที ่ เ นื ่ อ งไปถึ ง ศี ล ธรรม หรื อ ที่ เปน สว นประกอบของศีล ธรรมก็ต ามใจ เพื่อ วา โลกนี้จ ะไดมีศีล ธรรม และมี ศีลธรรมที่ดีขึ้น ๆ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทีนี้คําต่ําไป ก็คือวา คําวา การแกไข

อยากจะแยกคําวา แกไขออกมาเสียจากการปรับปรุง เพราะมัน มี น้ํ า หนั ก ที ่ ไ ม เ ท า กั น แก ไ ขนี้ ค วรจะถื อ ว า มั น ผิ ด เราต อ งแก ไ ข; ถ า ปรั บ ปรุ ง นั้ น มั น มิ ไ ด ผิ ด หรื อ มิ ไ ด ผิ ด ไปเสี ย ทั้ ง หมด มั น ก็ ต อ งปรั บ ปรุ ง . จะใชกิริยาอาการนี้ใหมันถูกตอง ก็ดูวาอะไรควรปรับปรุง อะไรควรแกไขเลย. แตบางอยาง มันก็ยังเกี่ยวเนื่องกัน. หรือวาเปนเรื่องเดียวกัน จะตองทําการทั้งการ

www.buddhadassa.in.th


การรื้อฟนปรับปรุงและสงเสริมศีลธรรม (ตอ)

๒๙๗

ปรับ ปรุง และการแกไ ขก็มี. อยา ไดยึด มั่น อยา งที่เ รีย กวา กระตา ยขาเดีย ว หรือเถรตรงเกินไป ก็จะทําใหเขาใจไดยาก. จะยกตัว อยา งแมขอ ที่วา เดี๋ย วนี้ มนุษ ยใ นโลกกํา ลัง เปน ทาส ขอ งวั ต ถุ ; ข อ นี ้ ม ั น ก็ ต  อ งมี ส  ว นที ่ จ ะต อ งปรั บ ปรุ ง , แล ะบาง ส ว นที่ จะตองแกไข เรื่องของศีลธรรมเสื่อม คือวาไมใชตัวธรรมะจะเสื่อมลง แตวา ตัวคนที่ประพฤติธรรมะนี่เสื่อมโดยไปเปนทาสของวัตถุ จะนําโลกไปสูความวินาศ แลวจะมีการตอรองปรับปรุงในสวนที่ควรจะปรับปรุง สวนที่จะแกไขหรือเปลี่ยน กันเสียเลย ก็ตองมี.นี่เปนเรื่อง ที่จะตองระวังกันใหดี ๆ มันจึงจะเปนไปได. พู ด ถึ ง การแก ไ ข เช น ความล า หลั ง หรื อ ความงมงาย การ สืบ กัน มาอยา งปรัม ปราบางอยา งบางประการ. ความลา หลัง นี้ ก็ม าจาก ความไมรูสึก ตัว เหมือ นกัน คนที่รูส ึก ตัว แลว จะยอมลา หลัง นั้น คงหายาก เพราะวาใคร ๆ ก็อยากดีอยากเดน อยากเร็ว อยากไดมาก อะไรดวยกันทั้งนั้น; ฉะนั้นความลาหลัง ก็มาจากการที่ไมดูอะไรใหถูกตอง หรือใหเพียงพอ. การ ศึกษาลาหลัง มันก็มีได;แมในการศึกษาที่เขาพูดวาเจริญกาวหนาที่สุด มันเลน ตลกกันอยูอยางนี้ได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เช น คนทั้ ง โลกเขาจะพู ด ว า การศึ ก ษาในโลกกํา ลั ง เจริ ญ กํ า ลั ง ก า ว ห น า ; แ ต พ ว ก พุ ท ธ บ ริ ษ ั ท อ า จ จ ะ ม อ ง ดู อ ี ก แ น ว ห นึ ่ ง อี ก ความหมายหนึ่ง วาการศึกษาชนิดนี้มันลาหลังตอการที่จะสรางสันติภาพ ถาพูด อยางภาษาชาวพุทธแท ๆ มันก็คือ ลาหลังในการที่จะบรรลุพระนิพพาน ยิ่งทําไป

www.buddhadassa.in.th


๒๙๘

อริยศีลธรรม

ยิ่ ง โง ยิ่ ง ทํ า ไปยิ่ ง ไกลยิ่ ง ห า งไกลต อ การบรรลุ นิ พ พาน ก็ เ รี ย กว า ล า หลั ง ได ใ น ความหมายหนึ ่ง ฉะนั ้น การศึก ษาที ่จ ัด ไปอยา งวิ ่ง กา วหนา อยา งวิ ่ง แตถ า ผิด จุดหมายของมนุษยแลว ก็เรียกวา ไมถึงจุดหมาย ไกลตอ จุดหมาย หางไกลต อ จุดหมาย ; นี่มันลาหลัง. แตเ มื ่อ เขาไมต อ งการอยา งที ่เ ราตอ งการ มัน ก็พ ูด กัน ไมรู เ รื ่อ ง; แล ว เขาต อ งการความก า วหน า ทางวั ต ถุ . เราต อ งการความก า วหน า ทางจิ ต ใจ. ตางคนตางมองกันในลักษณะที่เรียกวาดูหมิ่นกัน วาตางฝายตางก็ลาหลัง เดี๋ยวนี้ เรามองเห็ น ในส ว นที่ ว า ศี ล ธรรมตกต่ํ า ลงไป มั น ล า หลั ง ต อ การเจริ ญ ก า วหน า ทาง โลก ๆ. โลกที ่จํ า เปน จะตอ งไปตามประสาโลก อยา งที ่ใ ครชว ยไมไ ดนั ้น มัน ก็มี มั น ก็ เ ป น ห น า ที ่ ข อ ง ศี ล ธ ร ร ม ที ่ จ ะ ช ว ย แ ก ไ ข ใ ห เ ข า รู ป เ ข า ร อ ย กั น , อยา ใหศ ีล ธรรมที ่ล า หลัง สํ า หรับ มนุษ ยใ นยุค ที ่ม ัน วิ ่ง ; เหมือ นอยา งวา เขาจะ ไปโลกพระจัน ทรก ัน อยา งนี ้ก ็ต อ งเรีย กวา เปน เรื ่อ งกา วหนา มนุษ ยก า วหนา มากอยา งนี ้. ระบบศีล ธรรมบางอยา งก็จ ะตอ งแกไ ข หรือ ปรับ ปรุง หรือ ทํ า พรอม ๆ กันไป; แลวก็ไมมีใครนึกถึง ไมรูวาใครรับผิดชอบ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี ้ ค ื อ ข อ ที ่ น  า เวทนาสง สารอย า งยิ ่ ง ในโ ล ก นี ้ : ไ ม ม ี ใ ค ร อ า จ รั บ ผิด ชอบ หรือ เปน ตัว ผู ร ับ ผิด ชอบ ในความผิด พลาดทั ้ง หลาย ที ่ม ัน มี อยู ใ นโลกนี ้. นี ้จ ะไปโทษใครก็ไ มไ ด แมใ นประเทศ ๆหนึ ่ง ๆ ก็ไ มม ีใ ครรับ ผิด ชอบ อยา วาแต จะทั้ง โลกเลย, และเพราะวา มัน รั บผิ ด ชอบไม ไ หว รั บผิ ดชอบ ไมไ ด ความผิด พลาดตา ง ๆ ในทางไหนก็ต าม ; แมใ นทางการเมือ งอยา งนี้ ใครจะรั บ ผิ ด ชอบ? ก็ ไ ม รู ว า ใครจะรั บ ผิ ด ชอบ. แล ว ก็ เ ปลี่ ย นบุ ค คลที่ ทํ า หน า ที่

www.buddhadassa.in.th


การรื้อฟนปรับปรุงและสงเสริมศีลธรรม (ตอ)

๒๙๙

นั้น ๆ แลว ก็ไ มตอ งรับ ผิด ชอบก็ไ ด โดยอา งวา มัน เหลือ วิสัย ; ก็เ ปน เรื่อ งที่ ดึงกันไปดึงกันมา ไมมีใครรับผิดชอบ ก็เลยไมตองปรับใคร ใหเปนความผิด ของใคร. เดี๋ ย วนี้ โ ลกมั น วิ่ ง แต ศี ล ธรรมมั น ล า หลั ง ; ก็ ไ ม รู ว า จะไปโทษ ใหเปนความรับผิดชอบใคร. ที่เรามาพูด กัน อยา งนี้ ดูอีก ทีห นึ่งมันก็คลายกับวา ไรสาระ คือ ทํา ไม ไ ด แต อ าตมามาคิ ด ว า ควรจะพู ด กั น ให รู เ รื่ อ ง. ถ า ใครไม ทํา เรา ทําก็ได ไมเห็นเสียหายอะไร; เพราะอยางนอยมันก็ยังจะเปนประโยชนแกตัว เราเอง. ถ า เผอิ ญ โชคดี พู ด ออกไปมี ค นฟ ง รู เ รื่ อ ง ก็ ค งจะมี ค นมาเห็ น ด ว ย มาปรึ ก ษาหารื อ ช ว ยกั น แก ไ ขได ; ในหมู  ค ณะนี ้ ด ี ขึ ้ น หรื อ ว า บานนี้เมืองนี้ดีขึ้น อยางนี้ก็ยังไดรับประโยชนอยู. สํา หรับ สิ่ง ที่เ รีย กวา ความงมงายนี้ มัน ก็มีค วามหมายที่เ ขา ใจ กั น ได , พอจะเห็ น กั น ได ว า เป น อย า งไร แต ทํา ไม มั น มามี อ ยู ไ ด ใ นโลก ในปจจุบันนี้; จะแกไขปญหาอยางไร? ในเมื่อความงมงายไรเหตุผลมันกลับ มาอีก แลวมากกวาเดิม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เมื่ออาตมาเด็ก ๆ สังเกตเห็นวาศาลพระภูมินี้หาทํายายาก ไมคอย จะเห็น เลย; เดี๋ย วนี้ศ าลพระภูมิก็เ ต็ม ไปหมด, หรือ วา เครื่อ งรางของขลัง รดน้ํามนต อะไรอยางนี้ แตกอนมีนอยมาก แตเดี๋ยวนี้ทําไมมันกลับมากขึ้นอีก? ในสมัยที่เรียกวาโลกนี้กาวหนา การศึกษาเจริญ ทําไมความงมงายมักกลับมา เจริญงอกงามแทนอยางนี่? นี้คงจะเนื่องกันอยูกับความเจริญนั้นเอง เพราะวามัน

www.buddhadassa.in.th


๓๐๐

อริยศีลธรรม

เจริญไปผิ ด, การศึกษาผิ ด, ศีลธรรมเสื่อ ม, มัน ก็เปด ชองโหว ใหความงมงายมั น เขามาเจริญได มันจึงเจริญอยูดวยความงมงาย. ค ว า ม เ จ ริ ญ อ ย า ง วั ต ถุ นั ้ น มั น ทํ า ใ ห เ กิ ด กิ เ ล ส ; นี ้ เ ป น ของที่ แ น น อน เข า ใจกั น ได แล ว กิ เ ลสชนิ ด หนึ่ ง คื อ ความกลั ว ที่ มั น เป น ผลของ ความโงห รือ โมหะนั ้น อัน นี ้เ องเปน เหตุใ หค วามงมงายกลับ มาอีก . ถา เราอยา กลัวอะไรกันใหมากนัก ความงมงายมันเขามายาก. สมั ย โบราณ ปู ย า ตา ยาย ของเราไม ค อ ยกลั ว , ไม มี เ รื่ อ งที่ จ ะ ตอ งกลัว ดว ย. ที ่ว า ไมค อ ยกลัว ก็เ พราะวา ปู  ยา ตา ยาย เขายึด มั ่น ใน เ รื ่ อ ง บุ ญ เ รื ่ อ ง ก ร ร ม โ ด ย เ ค ร ง ค รั ด เ ข า ยิ น ดี ร ั บ ; ฉ ะ นั ้ น เ ข า จึ ง ไ ม ก ลั ว . หรือ วา เขาพูด ถึง เรื ่อ งอนิจ จัง ทุก ขัง อนัต ตา กัน มากกวา สมัย นี ้, มัน ก็ช ว ยให ไม ก ลั ว : ทางหนึ ่ ง มั น ป ด ออกไปได เพราะเชื ่ อ บุ ญ เชื ่ อ กรรม, ทางหนึ ่ ง ก็ป ด ออกไปได เพราะวา มัน เปน อยา งนี ้เ อง คือ เปน อนิจ จัง ทุก ขัง อนัต ตา. เมื่อความกลัวไมมาก ก็ไมดิ้นรนไปอยางเขลา ๆ, ความงมงายมันก็นอยลงไมจําเปน จะตองทํา; เพราะไมมีปญหารบกวนใจ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ครั ้น ม าถึง ส มัย นี ้ ที ่ค นมีค ว า ม ตอ ง การมาก มัน ก็ก ลัว ม า ก ; แลวเมื่อมีความอยากมาก มันก็ตองกลัวมาก, แลวก็ยังจะ โกรธ หรือเดือดรอน เปนฟนเปนไฟมาก; นั่นแหละเปนเหตุให ตองไปหาอะไรมาบําบัด ปดเปากัน . เมื่ อ ไม มี อ ะไรที่ ดี ไ ปกว า ก็ ต อ งเอาความงมงาย ; เพราะว า ความงมงายเป น ความเชื่ อ ชนิ ดหนึ่ ง แมจ ะเป นความเชื่ อ ของความโง มั นก็ ระงับความยุ ง ยากหรื อ เดือ ดรอ นใจนี ้ ไดไ ปครั ้ง หนึ ่ง แมจ ะเปน พัก ๆ ก็ย ัง ดี; เขาจึง ตกไปเปน ทาส

www.buddhadassa.in.th


การรื้อฟนปรับปรุงและสงเสริมศีลธรรม (ตอ)

๓๐๑

ของความงมงายกัน อีก . ฉะนั้น จึง เปน สิ่ง ที่จ ะตอ งแกไ ขใหลึก ลงไปถึง ตน ตอ หรื อ รากเหง า ของมั น คื อ ความกลั ว ; มี ค วามปรารถนามากเท า ไร ความกลัว ก็จ ะเกิด ขึ้น มากเทา นั้น . ฉะนั้น รูจัก ปรารถนาใหถูก ตอ งและให พอดี ความกลัวก็จะลดลงไป. แลวความงมงายก็จะลดตาม. ที นี้ ยั ง มี อี ก สิ่ ง หนึ่ ง คื อ การกระทํ า สื บ ๆ กั น มา อย า งไม ไ ด พิจารณา นี้ก็ยังมีอยูอีกสวนหนึ่ง; เปนความถูกก็มี เปนความผิดก็มี ถาการทํา สืบ ๆ กันมานั้นมันเปนความถูก ไมเกิดความทุกข ไมเกิดความยุงยากลําบากก็ไม ควรจะเรียกวาความงมงาย ; ถึงแมวามันจะอยูในรูปของความงมงาย ควรเรียกวา ไมเปนการเชื่อที่ถูก ที่เผอิญมันถูก แลวก็มันสืบกันมาได. โดยมากเรื่องศีลธรรม เรื่องวัฒนธรรม ก็ตกอยูในลักษณะอยางนี้มากเหมือนกัน : ที่วารักษาขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒ นธรรมอะไรตา ง ๆ นี้ ก็อยูในพวกที่สืบ ๆ กัน มา อยางปรัมปรา, แลวก็ชวยไดมากดวย; เพราะมันมีกําลังแรง คือความเชื่อมัน มาก แรงกวาที่พวกนักศึกษาสมัยนี้เขาจะอวดวาเขาฉลาด แลวเขาจะรูจักเลือก; เลือกแลวเขาก็ไมไดทํา เพราะมันไมมีกําลังใจที่จะเชื่อมากใหทํามาก; ประเพณี หรือวัฒนธรรมที่ดี ๆที่ถูกตอง มันก็เปนหมันไปได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถ า ก ร ณี อ ย า ง นี ้ แ ล ว ก็ ข อ ใ ห พ ิ จ า ร ณ า ใ ห ด ี เ ป น พิ เ ศ ษ วาจะแกไขอยางไรหรือจะปรับปรุงอยางไร, เปนปญหาที่ลําบากอยูเหมือนกัน เพราะฉะนั้นการที่เราเอามาพูดวินิจฉัยกันอยูบอย ๆซ้ํา ๆ ซาก ๆ อยางนี้ มันคงจะมี ประโยชนบาง คือชวยใหมองสิ่งเหลานี้ออก แลวก็แกไขปรับปรุงได.

เมื่อ ตะกี้ไ ดพูด ถึง การปรับ ปรุง แลว ก็ม าพูด ถึง การแกไ ข แลว ก็ อย า ลื ม ว า สิ่ ง ๆ เดี ย วกั น นั้ น แหละจะต อ งทํา ไว เ รื่ อ ยมา ทั้ ง การปรั บ ปรุ ง

www.buddhadassa.in.th


๓๐๒

อริยศีลธรรม

ทั ้ง การแกไ ข. เชน การศึก ษา เปน ตน ปรับ ปรุง แลว ก็ย ัง จะตอ งแกไ ข; เหมือ นกับ ศีล ธรรม ปรับปรุง แลว บางอยางก็ยัง ตอ งแกไ ข. แลว คํา เดีย วกัน นั้น ก็จ ะใชแ กสิ ่ง ทั้ง ๒ นั้น , หรือ วา สิ่ง เหลา นั ้น จะตอ งถูก ใชใ นทุก ๆ หัว ขอ ที ่ไ ดตั ้ง ขึ ้ น ไว ว า จะต อ งทํ า กั น อย า งไร จะต อ งปรั บ ปรุ ง จะต อ งแก ไ ข จะต อ ง สงเสริม จะตองรักษา อยางนี้ เปนตน. แ ม ต ั ว ก า ร ศึ ก ษ า น อ ก จ า ก ก า ร ป รั บ ป รุ ง แ ล ว ยั ง จ ะ ต อ ง แกไ ข, การกีฬ า การเมือ ง การอะไรตา ง ๆ ที่มัน ไมส ง เสริม ศีล ธรรมแลว ตอ ง แกไข. จะแกไ ขการศึก ษาการกีฬ าอยา งไร ก็พ ูด มาแลว ขา งตน ในคํ า วา ปรั บ ปรุ ง : ถ า มั น เลวร า ยกว า ที ่ จ ะปรั บ ปรุ ง ได มั น ก็ ต  อ งแก ไ ข หรื อ ถึ ง กับ ยกเลิก . แตถ า มัน เปน เรื ่อ งคาบเกี ่ย วกัน ระหวา งมนุษ ยที ่ม ากเกิน ไป เกิน กวาความสามารถของเรา ก็ตอง ทํากันอยูแตในวงที่จะทําได, แลวยังมีปญหา เรื่ อ งที่ ต กอยู ใ นอํ า นาจของคนพวกอื่ น โดยเฉพาะในสมั ย ประชาธิ ป ไตยอย า งนี้ อํานาจที่ใครจะทําอะไร ๆ มันพัวพันกันยุง บางทีเราอาจจะทําไมไดก็ได. เพราะ สิ่งที่เรียกวา ประชาธิปไตยนั่นแหละ มันจะทําใหทําอะไรตามที่ควรจะทําไมไดก็ได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี่ ก็ ต อ งระวั ง ดู ใ ห ดี จะต อ งไว ไ ปพู ด กั น อี ก คราวหนึ่ ง ว า จะต อ งมี ประชาธิ ปไตยชนิดไหน จึ ง จะไมเ ปนอุ ปสรรคแกก ารที่จะปรับปรุง แก ไขเรื่อ งทาง ศีลธรรมใหดีขึ้น. .… .... …. .…

www.buddhadassa.in.th


การรื้อฟนปรับปรุงและสงเสริมศีลธรรม (ตอ)

๓๐๓

ที ่ นี ้ ถ า จ ะ พู ด ถึ ง ห ลั ก เ ก ณ ฑ สํ า ห รั บ ก า ร แ ก ไ ข หรื อ ปรั บ ปรุ ง ก็ ต าม เราพู ด ได ง า ย ๆ ว า พวกเราในฐานะที่ เ ป น พุ ท ธ บ ริ ษ ั ท จ ะ ต อ ง ร ะ ลึ ก นึ ก ถึ ง หลั ก ต า ง ๆ ที ่ พ ร ะ พุ ท ธ อ ง ค ไ ด ท ร ง วางไว เชน โคตมีสูตร, กาลามสูตร, มหาปเทสสูตร, ไปอานดู อาตมาก็เคย บรรยายแลว เปนรายละเอียดมากอยู จะมาพูดในเวลานี้ มันก็จะยุง จะเผือ; แตก็จะบอกชื่อ หรือวาเอยถึงชื่อ แลวก็ไปศึกษาดู. ตัว อยา งเชน หลัก โคตมีสูต ร วา ประพฤติป ฏิบัติอ ยา งไร จึง จะ เรียกวาถูกตองตามธรรม ตามวินัย ในพระพุทธศาสนา. รวมความแลวก็คือ ไม ตามใจกิ เ ลส ไม เ ป น ทาสของกิ เ ลส เป น คนที่ เ ป น อยู แ ต พ อดี ; มี อ ยู ตั้ง ๘ ประการไปเปด ดู. ถา กาลามสูต ร ก็เ กี่ย วกับ ความเชื่อ :ไมเ ชื่อ เพราะวาฟงตาม ๆ กันมา , ไมเชื่อเพราะวาทําสืบ ๆ กนมา, ไมเชื่อเพราะวา เขากําลังลือกันกระฉอน, ไมเชื่อเพราะวามันมีอยูใ นตํารา เขียนไวอยางนั้น, รวมทั้ง กระทั่ง วา ไมเ ชื่อ เพราะวา ผูพูด นี้นา เชื่อ หรือ วา เปน ครูข องเรานี้; ให เอาความถูกตองเปนหลัก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สําหรับ หลักมหาปเทส ฝายธรรมะนั้น ก็มีหลักงาย ๆ พูดไดงาย ๆ วา คือวามัน ตองลงกันไดกับหลักทั่วไป คือหลักใหญ . คําสอนในทางศาสนา จะมีมากมายหลายหมื่นหัวขอก็สุดแท แตจะมีแนวของตัวเอง ซึ่งแสดงชัดวาแนว มันมีอยูอยางนั้น ถาคําพูดอันไหน มันแหวกไปจากแนวนั้น ก็เปนอันวาตัด ทิ้ง ไปได; อยา งนี้ก็เ รีย กวา หลัก มหาปเทสคือ ปเทสใหญ, แนวใหญมีอ ยู อยา งไร? เชน แนวใหญมีอ ยูวา ยึด ถือ ไมไ ด, ไมใ ชตัว ไมใ ชต น, ที่จ ะพูด ตายตัว ลงไปอยา งนั้น อยา งนี้ วา ตายแลเ กิด หรือ ตายแลว ไมเ กิด อยา งนี้ก็

www.buddhadassa.in.th


๓๐๔

อริยศีลธรรม

ไมไ ด มัน ตอ งแลว แตเ หตุปจ จัย ของธรรมชาตินั้น ๆ; อยา งนี้ก็เ รีย กวา แนว หรือ มหาปเทส. ถา คํา พูด คํา ไหนทีเ สนอขึ้น มา ไมเ ขา แนว ก็เ รีย กวา ผิด ตัดทิ้งไปได. นี่ ก ารปรั บ ปรุ ง แก ไ ข หรื อ การขู ด , ขู ด รี ด ออกไป ในส ว น ที่ค วรจะขูด ออกไปเสีย ขูด ใหห มดไปเสีย ก็มีอ ยูอ ยา งนี้ ไปอาศัย พระบาลี เหลานั้น ก็เพียงพอสําหรับหนาที่ของพุทธบริษัท. .…

....

….

.…

ที นี ้ อ า ต ม า ยั ง ม อ ง เ ห็ น อี ก อ ย า ง ห นึ ่ ง ว า มั น เ ป น สิ ่ ง ที่ ควรแกไขโดยดวนที่สุด คือ ความเขาใจผิด. ที่ มี กั น อยู โ ดยมากและมากยิ่ ง ขึ้ น ทุ ก ที คื อ ความเข า ใจผิ ด ; แมใ นประเทศไทยเราที่วา "ธรรมะนี้ มัน ขัด ตอ ความเจริญ ทางโลก" มีพูด กันหนาหูยิ่งขึ้น, วาศีลธรรมนี้มันจะขัดตอความเจริญที่จะเจริญกันในโลก, มีพูด กันหนาหูยิ่งขึ้น วา ศีลธรรมหรือธรรมะมันขัดตอความเจริญในโลก หรือ ยิ่ง ธรรมะชั้น สูง เรื่อ งสัน โดษ เรื่อ งไมยึด มั่น ถือ มั่ น อะไรนี้ ยิ่ง ขัด อยา งยิ่ง ตอ ความเจริญในโลก. นี้คือความเขาใจผิด, หรืออีกทางหนึ่งก็เปนเจตนาเลว คือ คนไมตรง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org การเขา ใจผิด นั้น คือ ไมรู ก็เ ขา ใจผิด ก็พูด อยา งนั้น ; แต บางคนแกลงพูด เพราะมีเจตนาเลว จะเอาประโยชนอยางใดอยางหนึ่ง เขาก็

www.buddhadassa.in.th


การรื้อฟนปรับปรุงและสงเสริมศีลธรรม (ตอ)

๓๐๕

พูดเหมือนกันวา "เรื่องธรรมะที่เปนหลักพระพุทธศาสนา มันขัดตอความเจริญ ในโลก". หรือ บางทีก็ฟง ไมทัน ศัพ ท ก็จับ ไปกระเดีย ด ; อยา งคนที่พูด วา "เรื่อ งจิต วา งขัด ตอ ความเจริญ ที่จ ะอยูใ นโลก" อยา งนี้ ก็เ พราะวา ฟง คํา วา จิตวางนั้นไมเขาใจ มีเทานั้นเอง. หรือบางทีก็มีเจตนาเลว อยากจะคัดคาน ไปเสียตะพืด เปนนิสัยอยางนี้ก็มี. รวมความว า คํา พู ด ที่ ยั ง ผิ ด ที่ ทํา ให ค นเราเข า ใจผิ ด ต อ พระธรรม ก็ค วรจะรีบ แกไ ข. ขอใหทุก คนชว ยกัน คนละไมค นละมือ ตาม ที่จ ะทํา ได ชว ยกัน กํา จัด หรือ แกไ ข สิ่ง ที่เ ลวรา ยอัน นี้ ซึ่ง เปน อุป สรรคแก ศีลธรรม แกความมีศีลธรรม หรือแกความเจริญของพระศาสนานั้นเอง ก็เรียกวา เปน สิ ่ง ที ่จ ะตอ งแกไ ข. ถา เปน ชั้น การศึก ษา ก็ใ หศ ึก ษาเสีย ใหถ ูก , แลว จะมีการปฏิบัติในทางศีลธรรมที่ถูก, ไมเปนอุปสรรคแกความเจริญ. อย า งเรื่ อ งสั น โดษนี้ เข า ใจผิ ด กั น อยู ตั้ ง ๑๐๐ เปอร เ ซ็ น ต เห็น เปน ของขัด ขวางความเจริญ ; ที่จ ริง สัน โดษ นี้ เปน สิ่ง ที่ทํา ใหม นุษ ย ไมตองเปนบา ไมตองเปนโรคประสาท ก็อยูดวยความผาสุกสนุกสนาน สนุก ในการงาน; ตามที ่ทํ า ไดแ ลว เทา ไรอยา งไร วัน หนึ ่ง ๆ ก็พ อใจ สนุก สนานในการงานนั้น. ถาสันโดษแทจริงจะเปนอยางนี้. คนเขาเอาไปพูดวา สันโดษ นี้ทําใหคนไมทําอะไร; นี่คนโงพูด ; อยาไปเอาตามนั้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เรื ่ อ งความไม ย ึ ด มั ่ น ถื อ มั ่ น นี ้ ก ็ เ หมื อ นกั น เป น เครื ่ อ ง ป อ ง กั น ไ ม ใ ห ค น เ ป น บ า ห รื อ เ ป น โ ร ค ป ร ะ ส า ท . ที ่ ว ั ด เ ร า นี ้ ก ็ ม ี ค น ที่เ ปน โรคเสน ประสาททํา นองนี้ม าหามากขึ้น ทุก เดือ น ทุก ป; ซัก ถามดูแ ลว

www.buddhadassa.in.th


๓๐๖

อริยศีลธรรม

มัน ก็เ ปนรูปนี้ทั้งนั้น : เปนโรคเสน ประสาท เพราะมีค วามยึด มั่น ถือ มั่นไมรู จัก สรา ง, ไมกี่ปก็ตอ งเปน โรคประสาทหรือ เปน โรคจิต. ถา เขา ใจเรื่อ งความ ไมยึดมั่นถือมั่น ก็ทําอะไรไปได โดยที่ไมตองยึดมั่นถือมั่น. พู ด ให ฟ ง ก็ ฟ ง ไม ค อ ยถู ก ว า ถ า เรามี เ งิ น ทํา ไมจะต อ งเอา มาทูนไวบนศีรษะเลา? เอาวางไวขาง ๆ ก็ได. นี่มีเงินแลวจะเอามาทูนไวบนศีรษะ มันก็นอนไมหลับ; ไมกี่เดือนก็เ ปนโรคเสนประสาทอยางนี้ คือ เอามายึดถือ ไวในใจ ไมมีเวลาที่ปลอยวาง; เหมือนกับวา เอามาทูนไวบนศีรษะอยูเรื่อย. เรื่อง เขาใจคําวา อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ผิด, เขาใจคําวา ไมยึดมั่นถือมั่น นี้ ก็ ผิ ด , จะต อ งช ว ยกั น แก ไ ข; รู เ อาด ว ยตนเองก็ แ ล ว กั น ว า ใครนอน ไมห ลับ , หรือ เริ่ม เปน โรคเสน ประสาท ก็รีบ มองดูที่ต รงนี้เ ถอะ; มีเ หตุอ ยูที่ ตรงนี้เอง. นี่ ตั ว อย า งของสิ่ ง ที่ จ ะต อ งแก ไ ข หรื อ อาการที่ จ ะแก ไ ข กันอยางไร มีอยูอยางนี้. ขอย้ําวาจะพูดใหหมดจด ทุกตัวอักษร ทุกคํานั้นมัน ทําไมได เวลาก็มีจํากัด; ฉะนั้นจึงพูดไดแตตัวอยางเปนพวก ๆ ไป.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org .…

....

….

.…

ที นี ้ ก็ จ ะ ม า ถึ ง คํ า ว า ส ง เ ส ริ ม , ทุ ก ต อ น จ ะ ต อ ง เปรี ย บเที ย บว า มั น ต า งกั น อย า งไร ปรั บ ปรุ ง นั ้ น คื อ อย า งไร แก ไ ข นั้ น มั น อย า งไร ส ง เสริ ม นั้ น มั น คื อ อย า งไร.

www.buddhadassa.in.th


การรื้อฟนปรับปรุงและสงเสริมศีลธรรม (ตอ)

๓๐๗

เ ร า มุ  ง ห ม า ย ว า จ ะ ใ ห บ ุ ค ค ล เ พื ่ อ น ม นุ ษ ย ข อ ง เ ร า นี ้ มี ศีลธรรม, หรือยางนอยก็พยายามที่จะมีศีลธรรม, แลวเขาจะไดเสวยผลแหง ศีลธรรม. ทีนี้ถาขาดการสงเสริม ซึ่งกันและกันแลวมันก็ยากเหมือนกัน. การ ส ง เสริ ม นี้ มี กํา ลั ง มาก เพราะว า มั น รวมทั้ ง การแนะนํา การชี้ แ จง การ ให กํา ลั ง ใจ แล ว ก็ ค อยช ว ยเหลื อ ทุ ก อย า งทุ ก ประการ ที่ จ ะช ว ยได , เพื่ อ ใหเพื่อนของเรามีธรรมหรือมีศีลธรรม, สงเสริมใหเขามีหรือใหเขาคิดอยากจะมี แลวใหเขาไดประสบความสําเร็จ คือใหไดเสวยผล. เดี ๋ ย วนี ้ ม ั น จะเป น ไปในทางที ่ ต รงข า ม คื อ เฉยเสี ย ไม ช ั ก ชวนกัน ใหเ ห็น ลูท าง หรือ เกิด ความกลา หาญ รา เริง ในการที่จ ะปฏิบัติ ธรรม. ที ่ ม ี อ ยู  ไ ม น  อ ยเหมื อ นกั น ก็ ค ื อ คอยเป น อุ ป สรรค คอยขู  บ  า ง คอยหาม เสียบาง วาอยาไปทํามันเขา ไมไดประโยชนอะไร ไมจําเปนแลว หรือ พน สมัยแลว . คนที่หามนั้น บางทีก็เปน คนเลว เปน คนไมจ ริง เปน คน ไมประพฤติปฏิบัติ เปนสุนัขหางดวน แลวก็ไปชวนใหคนอื่นมีหางดวน; อยางนี้ ก็มีอยูมาก. ที่จะไปหามไมใหใครประพฤติ ปฏิบัติธรรม โดยความรูสึกปรกติ ธรรมดานั้น ไมคอ ยมี, เปน ไปไมไ ด. มัน ตอ งมีอ ะไรอยูอ ยา งหนึ่ง เปน เรื่อ ง ส ว นตั ว ของบุ ค คลนั้ น แล ว ก็ ห า ม หรื อ ไปทํา ให ค นอื่ น หยุ ด หรื อ ท อ ถอย ในการที่จ ะปฏิบัติธ รรม; แลว ก็ไ ปชวนกัน ทํา อะไรที่ไ มเ ปน การปฏิบัติธ รรม. อยางนี้ก็มีอยูสวนหนึ่ง ก็ทําใหความกลาหาญนอยไปในโลกนี้ สําหรับผูที่จะ ปฏิบัติธรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ที นี ้ เ มื่ อ นึ ก ถึ ง ข อ ที่ ว  า สิ ่ ง ทั ้ ง หลาย เป น ไปตามเหตุ ต าม ปจ จัย ; แมแ ตค นเรานี้ก็ตอ งมีสิ่ง แวดลอ ม มีก ารกระตุน เครื่อ งจรรโลงใจ อะไรก็แลวแตจะเรียก.

www.buddhadassa.in.th


๓๐๘

อริยศีลธรรม

ภาษาสากลเขาเรียก motive เขียนไวยืดยาว อธิบายไวมากใน เรื่อ งของศีล ธรรม :อะไรเปน motive ของศีล ธรรม, แลว ก็ร วมไปถึง สิ่ง แวดล อ ม หรื อ บุ ค คลแวดล อ ม เพื่ อ นฝู ง ที่ ห วั ง ดี ต อ กั น หรื อ กั ล ยาณมิ ต ร ที่ จ ะต อ งมี ก อ น ในชั้ น เริ่ ม แรก. ฉะนั้ น เราก็ ค วรจะกระทํา คื อ ส ง เสริ ม เพื่ อ มนุ ษ ย ข องกั น และกั น ให เ กิ ด ความสนใจ เกิ ด ความอยาก แม แ ต อยากลอง. บางทีเ ราจะตอ งสรา งเพื ่อ นขึ ้น มาสํ า หรับ สนทนา วิพ ากษ วิจ ารณพ ระธรรมกัน ดว ยซ้ํา ไป; ถา เราไมมีเ พื่อ นวิพ ากษวิจ ารณ ก็ไ ม ใครมีเวลาหรือมีโอกาสนอย ที่จะวิพากษวิจารณพระธรรม. ฉะนั้นลองหาเพื่อน ที่จะเปนคูวิพากษวิจารณ แมจะถึงกับถกเถียงกันบางยังได แตอยาใหถึงกับ ทะเลาะวิวาทกัน. ถาเรามีหนังสือธรรมสองเลม เราใหเพื่อนสักเลมหนึ่ง; เขา จะไดเอาไปอาน เขาจะไดเปนผูวิพากษวิจารณธรรมนะนั้น ดวยกัน อยางนี้มันเปน การสงเสริม ดีกวาที่จะทําอยูคนเดียว เดี๋ยวนี้มันก็ไมสนุก หรือทําไดชา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี้ ยั ง จะต อ งนึ ก ต อ ไปถึ ง คนภายนอก คื อ นอกพุ ท ธศาสนา, หรือ แมว า คนไทยนี่แ หละ แตวา เขาไมเ คยสนใจพุท ธศาสนาเลย อยา งนี้ก็เ หมือ นกับ คนภายนอกเหมือ นกัน ; ก็ตอ งดึง เขาเขา มาใหสูค วาม สนใจใหตั้งตนศึกษา, ถาเขาเขาใจแลวเขาก็คงตองปฏิบัติ.

คนบางคนจะคิด เสีย วา "ไมใ ชธุร ะของเรา", บางคนกลัว มาก จนถึง กับ วา ถา ผิด พลาดไปแลว เขาก็จ ะลงโทษเรา; นี้ก ลัว มากไป ; วา

www.buddhadassa.in.th


การรื้อฟนปรับปรุงและสงเสริมศีลธรรม (ตอ)

๓๐๙

อยู ดี ๆ ไม ส นุ ก ไปทํ า ให เ ขามาศึ ก ษาธรรมะ แล ว เขาทํ า ไม ไ ด แล ว เขาเกิ ด กระทบอะไรเขา ก็มาโทษเรา หรือมาโกรธเรา อยางนี้เสียก็มี. ถ า เ ร า นึ ก ถึ ง ข อ ที ่ ว  า " เ ร า อ ยู  ค น เ ดี ย ว ใ น โ ล ก ไ ม ไ ด " เ ร า ก็ ต  อ ง คิ ด ส ร า ง เ พื ่ อ น ที ่ ด ี ๆ ใ ห ม ี ขึ ้ น ม า ใ น โ ล ก ; ไ ม เ ช น นั ้ น จ ะ มี แตคนราย. นี ้ เ ร า พ ย า ย า ม ที ่ จ ะ ใ ห ม ี เ พื ่ อ น ที ่ ด ี ๆ ที ่ จ ะ อ ยู  ด  ว ย กั น ใ น โ ล ก ; ถ าไม อย างนั้ นมั นจะอยู ท ามกลางคนร าย หรื อคนบ า มั นก็ ยิ่ งลํ าบากมากขึ้ นไปอี ก. นี ่จ ะเรีย กวา เราเห็น แกต ัว ก็ไ ดเ หมือ นกัน ; แตไ มใ ชเ ห็น แกต ัว มัน เห็น แกส ว น รวม: ชว ยทํ า ใหโ ลกนี ้ม ีค นที ่พ ูด กัน รู เ รื ่อ งมากขึ ้น . ถา คนรู ธ รรมะ มัน ก็พ ูด กัน รู เ รื ่อ ง; ถา ไมอ ยา งนั ้น ก็ม ีก ิเ ลส พูด กัน ไมรู เ รื ่อ ง ฉะนั ้น จึง ตอ งขยาย การส งเสริ มความเข าใจอั นดี นี้ ออกไปให กว างขวาง ออกไปจนกระทั่ งระหว างศาสนา คือศาสนาตาง ๆ ที่มีอยูในโลกนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ค ว ร จ ะ ส ง เ ส ริ ม ค ว า ม เ ข า ใ จ อั น ดี ร ะ ห ว า ง กั น แ ล ะ กั น เพราะว า สิ ่ ง ที ่ เ รี ย กว า ศ า ส น า นั ้ น สํ า คั ญ ม า ก ; ความยึ ด มั ่ น ในศาสนา ข อ ง ต น เ ป น เ ห ตุ ใ ห พ ู ด กั น ไ ม รู  เ รื ่ อ ง ก็ ม ี , ทํ า ใ ห เ กิ ด ป ญ ห า เ ล ว ร า ย ใ น ทางการเมือ งก็ม ี, ถึง กับ ฆา ฟน กัน วิน าศ ปรากฏอยู ใ นประวัต ิศ าสตรแ ตห น หลัง ก็ม ี. นี ่เ พราะวา คนเราเห็น แกต ัว ไมเ ห็น แกโ ลก ไมเ ห็น แกส ว นรวม มันจึงมีผลขึ้นมาอยางนี้ แลวก็ไมรูจักจะไปโทษใคร.

www.buddhadassa.in.th


๓๑๐

อริยศีลธรรม

สํ า หรับ การทํ า ความเขา ใจระหวา งศาสนา นั ้น ก็เ คยพูด มา มากแล ว โดยสรุ ป ใจความสั้ น ๆ ก็ คื อ ว า ให เ ขามองเห็ น ว า ธรรมะหรื อ ศาสนา นั ้ น มั น ไม ใ ช เ รื ่ อ งของมนุ ษ ย ตั ้ ง ขึ ้ น แต เ ป น เรื ่ อ งของมนุ ษ ย ไ ปพบเอา ความจริงของธรรมชาติมาบอกกลาวกัน. ที นี ้ สิ ่ ง ที ่ เ รี ย ก ว า " ธ ร ร ม ช า ติ " นั ้ น ก็ ม ี อ ย า ง เ ดี ย ว เ ท า นั ้ น มัน ไมมีห ลายอยา ง; ที่ใ ครจะเปน คนไปพบ มาบอกกลา วกัน มัน ก็ตอ งตรงกัน แมว า จะมองกัน คนละทางคนละแงค นละมุม มัน ก็ไ มถ ึง กับ ขัด กัน . ถา มีก าร ขั ด กั น นี ้ ค นมาว า เอาเอง อธิ บ ายเอาเอง มี ค วามโง เ ขลาเข า ใจผิ ด มาสรา งปมขัด แยง ขึ ้น มาเองในตอนหลัง , ไปถือ เปลือ กไปถือ กระพี ้ ของ คําพูด ไมไปถือเอาตัวธรรมะแท ๆ หรือตัวศาสนาแท ๆ. ถ า ถื อ เ อ า ตั ว ศ า ส น า แ ท ๆ มั น จ ะ ต ร ง เ ป น อั น เ ดี ย ว กั น คื อ กฎความจริ ง ของธรรมชาติ ทั ้ ง นั ้ น ไม ว  า ศาสนาไหน. ทุ ก ศาสนาจะมี กฎความจริง ของธรรมชาตินั ้น เปน ตัว ศาสนา; จะตา งกัน แตเ พีย งวา พระ ศาสดานั ้ น ๆ พบส ว นนี ้ ที ่ จ ะมาแก ป ญ หาให แ ก ส าวกของตน ในดิ น แดน นี ้ ในยุค สมัย นี ้, แลว มัน ก็ต อ งแตกตา งกัน บา ง ในสว นกระพี ้ห รือ สว นฝอย. แต ส  ว นหั ว ใจแล ว จะเหมื อ นกั น หมด คื อ อย า เห็ น แก ต ั ว ; ถ า ไกลไป กวา นั ้น ก็ค ือ วา อยา ไดไ ปติด อยา งโงเ ขลา วา นี ้เ ปน ตัว หรือ เปน ของตัว เพราะวา มัน เปน ของธรรมชาติ, เพราะวา มัน เปน ของพระเปน เจา "ไมใ ชข อง คนโง ๆ อย า งแก ; ที นี้ แ กไปคิ ด ว า มั น เป น ตั ว เป น ของตั ว มั น ก็ ผิ ด เท า นั้ น ".

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


การรื้อฟนปรับปรุงและสงเสริมศีลธรรม (ตอ)

๓๑๑

อาตมาขอร อ งว า ไปศึ ก ษาศาสนาทุ ก ศาสนาดู ; ถ า เข า ถึ ง หั ว ใจของศาสนานั้ น แล ว จะพบคํา สอนข อ นี้ ที่ เ ป น รากฐานที่ ส ุ ด ก็ ว  า อยา เห็น แกตัว , หรือ จะเลยลงไปถึง วา สัต วทั้ง หลายเปน เพื่อ นเกิด แก เจ็บ ตาย ดว ยกัน ทั้ง หมดทั้ง สิ้น อยา งนี้ก็ไ ด; แตเ ขาพูด ไวใ นคํา พูด อยา ง อื่น, รูปประโยคอยางอื่น. แตใจความมันเหมือนกันวา เราเปนสัตวชนิดหนึ่ง ซึ ่ ง มี ป  ญ หาอย า งเดี ย วกั น ; หั ว อกเดี ย วกั น ; คื อ ความทุ ก ข ที ่ เ กิ ด มาจากกิเ ลสก็มี เกิด มาจากความเปน ไปตามธรรมชาติก็มี; ก็ม าชว ยกัน แกปญหาเหลานี้. การที ่ จ ะส ง เสริ ม ความเข า ใจอั น ดี ระหว า งศาสนา ก็ ค ื อ ระหวาง วัฒนธรรมในสาขาตาง ๆ ระหวางประเทศ ระหวางมนุษย. นี้ก็ เปน ปญ หาอัน หนึ่ง ที่ทํา ยาก แตวา ไมเ หลือ วิสัย ; ก็จ ะตอ งทํา ; เรีย กวา การ สงเสริมศีลธรรม, หรือ สงเสริมการศึกษาที่เปนรากฐานของศีลธรรมใหเปนไป อยางถูกตอง. จนกระทั่งวาเราจะทําอะไร ๆ ในโลกนี้ ในสมัยปจจุบันนี้ก็ใหถูก ตองตามศีลธรรม. อยาไปกลาทําใหผิดศีลธรรม ซึ่งจะผิดกฎธรรมชาติ, แลวก็ จะเรียกวาผิดความประสงคของพระเปนเจา. เดี๋ยวนี้กําลังทําอะไรอยางไมเอื้อเฟอ ตอธรรมชาติ ไมเอื้อเฟอแกความประสงคของพระเปนเจา แลวมันจะรับผลราย ยิ่งไปกวาเดิม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ยกตั ว อย า งเช น การคุ ม กํา เนิ ด นี้ ถ า ทํา ไปตามความโง เขลา ตามหลัก การทางวัตถุ ไมเ อื้อ เฟอ ในทางศีล ธรรม หรือทางหลัก ธรรม แลว เปน ไปดว ยดีไ มไ ด จะมีแ ตผ ลรา ยยิ่ง ขึ้น : คือ มัน ไมสํา เร็จ ถา ไมมี เรื่องจิตใจเขามาชวย ไมมีทางจะสําเร็จ. การใชยา หรือใชวิธีทางวัตถุ ไมเทาไร

www.buddhadassa.in.th


๓๑๒

อริยศีลธรรม

มันก็เกิดความวิปริตอยางอื่นขึ้นมา; เปนมนุษยที่ไมสมประกอบขึ้นมา; มันก็มี ป ญ หาอย า งอื่ น มากกว า เก า . มั น จะต อ งแก ไ ขศี ล ธรรม กระทั่ ง ว า ทํา แท ง นี่ก็ไมผิดศีลธรรม, หรือกระทั่งเกิดนิยมกันขึ้นมาวา ฆาเด็ก ๆมันเสีย อยางนี้ ก็จะไมผิดศีลธรรมในที่สุด. เพราะวาทําผิดเรื่อย ๆ ไป ไกลออกไป ๆ มันไม อาศั ย หลั ก ศี ล ธรรม. ถ า อาศั ย หลั ก ศี ล ธรรมแก ไ ขทางจิ ต ควบคุ ม ทาง จิตใจ ปญหาเหลานี้ก็จะไมเกิด. นี้เ ปน เพีย งตัว อยา งเทา นั้น สํา หรับ สิ่ง ที่มีอ ยูใ นโลก และกํา ลัง เป น ป ญ หาที่ มี อ ยู จ ริ ง ; ฉะนั้ น จึ ง สรุ ป ความว า ถ า จะส ง เสริ ม แก ไ ขปรั บ ปรุงป ญ ห า อ ะ ไ ร ก็ ข อ ใ ห มั น เ ป น ไ ป ต า ม ห ลั ก ข อ ง ศี ล ธ ร ร ม ; อ ย า ไ ด ทิ้งหลักของศีลธรรมเลย; แลวมนุษยก็จะไมสรางปญหาขึ้นมาทับถมตัวเอง, หรือจะเรียกวา จะไมเชือดคอตัวเองยิ่งขึ้น ๆ เหมือนที่กําลังเปนอยูเวลานี้. เหลานี้ เป น ตั ว อย า ง ของสิ่ ง ที่ อ าตมาเรี ย กว า การส ง เสริ ม ต อ มาจากการแก ไ ข ซึ่งตอมาจาการปรับปรุง ซึ่งตอมาจากการรื้อฟน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org .…

....

….

.…

ที ่ อ ย า ก จ ะ พู ด เ ห ลื อ เ ป น ข อ สุ ด ท า ย ต อ จ า ก ก า ร ส ง เ ส ริ ม ก็ คื อ การรั ก ษา เมื่ อ ได รื้ อ ฟ น ปรั บ ปรุ ง แก ไ ข ส ง เสริ ม อะไรดี แล ว ก็ ต อ งรั ก ษาความดี หรื อ ความถู ก ต อ งนั้ น ไว นี้ ก็ เ ป น สิ่ ง สํา คั ญ ขอหนึ่งดวยเหมือนกัน.

เมื่อ เราแกไ ขสภาพทางศีล ธรรม หรือ การศึก ษาถูก ตอ งเปน ราก ฐานที่ดีข องประโยชน ของสัง คมมนุษ ย แลว ก็ชว ยกัน รัก ษาใหเ ครง ครัด ;

www.buddhadassa.in.th


การรื้อฟนปรับปรุงและสงเสริมศีลธรรม (ตอ)

๓๑๓

เหมือ นกับ ที่วา พิธีรับ นับ ถือ หรือ จะใชคํา วา สบถสาบานอะไรก็ไ ด วา เรา จะประพฤติปฏิบัติอยางนี้ แมจะเสียชีวิตก็ยอมเสีย จะไมยอมสลัดตัดทิ้งความ ถูกตองอันนี้. นี้จึง มีพิธีเ กิด ขึ้น เกี่ย วกับ การรัก ษา แมแ ตพ วกเรา ที่วา มอบ กาย ถวายชีวิต นี้แ กพ ระพุท ธ แกพ ระธรรม แกพ ระสงฆ นี้ก็เ หมือ นกัน มุง หมายอยู ต รงที ่ว า จะไมย อมทํ า อะไรใหผ ิด ไปจากกฎเกณฑห รือ แนว ของพระพุ ท ธ พระธรรม พระสงฆ ; นี้ เ ป น ก ารรั ก ษาที่ เ คร ง ครั ด . ถา วา มีก ารรัก ษาจริง ๆเหมือ นอยา งปากวา ปญ หาก็ห มด; ภิก ษุส ามเณร อุบาสก อุบาสิกา ที่จริงอยางปากวา ที่สัญญากับพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ อยางไร แลวก็รักษาไวใหได ปญหาก็จะหมด. ถามีกันแตอ ยางนกแกว นก ขุนทอง คือวาแตปากแลว มันก็ไมมีผลอะไร. ทํ า ไ ม เ ร า จึ ง ต อ ง รั ก ษ า ? เ พ ร า ะ ว า สิ ่ ง ต า ง ๆ มั น ไ ม สํา เร็จ ไดใ นเวลาในพริบ ตาเดีย ว หรือ วา ในวัน เดีย ว หรือ วา ในคืน เดีย ว; มันตองการเวลา; ตองออบรมอยูกับสิ่งนั้น จนกวามันจะเปนดอกเปนผลขึ้นมา คือ ใหอยูกับความถูกตอง ตลอดเวลา. ขอ นี้ก็เคยบอกเลากันแลว ตักเตือนกัน แลว วา ใหนึก ถึง พระพุท ธภาษิต ที่วา "ถา ภิก ษุทั้ง หลายเหลา นี้ จัก เปน อยูโดยชอบไซร โลกนี้ไมวางจากพระอรหันต".

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org คํา ว า " เ ป น อ ยู โ ด ย ช อ บไ ซ ร " คื อ อ ยู อ ย า งถู ก ต อ ง แล ว ก็เปนระยะยาวนาน, ไมสามารถจะกระทําอะไรไดปุบปบ. ความผิดก็คอยๆ กอมาทีละนอย ๆ กวาเราจะมีอายุเทานี้ มันเปนเวลาเทาไร; แลว การที่จะมา

www.buddhadassa.in.th


๓๑๔

อริยศีลธรรม

แก ไ ขโดยพริ บ ตาเดี ย วใ ห เ สร็ จ นี้ มั น เป น กรณี พ ิ เ ศษมากเกิ น ไป , อ ย า ห วั ง เ ล ย . ฉ ะ นั ้ น อ ยู  ใ ห มั น ถู ก ต อ ง ช ด เ ช ย ใ ห มั น ทั น กั น ; นี้เปนหลักธรรมดา. ถาจะเกงถึงขนาดที่วา จะแกไขไดในพริบตาเดียว สําหรับ ปญหา คือความผิดพลาด ที่เปนมาตั้งหลายสิบปนี้ มันก็ตองเปนเรื่องพิเศษเทา นั้น; แลวสังเกตดู คนเรายังโงเขลาในเรื่องนี้อยูมาก. เชน วา จะประชุม ผู เ ชี ่ย วชาญอะไรตา งๆ ทางการเมือ ง ทาง เศรษฐกิจ แกปญ หาเหลา นี้ จะใหมัน เสร็จ ไป ในวัน พรุง นี้; อาตมารูสึก วา มันเปนไปไมได, มันเปนเรื่องของคนหลับตาโง มากกวา. ความผิดพลาดมันมาตั้งแตแรกเริ่มเดิมที ตั้งแตเปนเด็ก กระทั่ง เปนผูใหญ หลายสิบปเต็มที, แลวความผิดพลาดทางการเมืองก็เหมือนกันแหละ ผิ ด พลาดมาเป น สิ บ ๆ ป ; แล ว จะมาทํ า อย า งกั บ ว า แก ไ ขกั น เดี ๋ ย วนี้ ทั น ที นี ่ ก ็ ผ ิ ด , ผิ ด หลั ก ของธรรมชาติ . มั น ต อ งแก ไ ขที ่ ร กรากให ถ ู ก ตอง ซึ่งจะตองมีวิธีการมาก มันจึงจะแกได. ฉะนั้นเราจะตองมีการรักษา คือ ทรงตัว อยู ดว ยความถูก ตอ งใหเ ปน ระยะยาว; ไมใ ชสัก วา พอถูก ตอ ง แลว ปญหาตาง ๆ มันจะหมดไป; มันมีโรคเรื้อรังซอนอยูในนั้นอีก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ความถู ก ต อ งนี้ จ ะต อ งอยู ย าวนานพอ จึ ง จะถอนความ เรื้อ รัง ความเคยชิน เปน นิสัย เปน อะไรตา ง ๆ ได; จะตอ งรัก ษาอุด มคติ ของสิ่ง ที่เ รีย กวา ธรรมะ ที่ทํา ความถูก ตอ ง. หรือ ที่เ รีย กกัน เดี๋ย วนี้วา ความ ปรกติในรูปของศีลธรรมนี้. สีละ แปลวา ปรกติ , ศีลธรรม คือ ธรรมที่ทํา

www.buddhadassa.in.th


การรื้อฟนปรับปรุงและสงเสริมศีลธรรม (ตอ)

๓๑๕

ความปรกติ จะรั ก ษาสภาพความปรกติ หรื อ การกระทํา เพื่ อ ให มั น ปรกติ นี้ อยูตลอดเวลา; ควรจะใชคําวามัน (ศีลธรรม) เปนคูชีวิตของสิ่งที่มีชีวิต. สิ่ง ที่มีชีวิต นี้ จะเปน ตน ไม หรือ จะเปน สัต วเ ดรัจ ฉาน หรือ จะเปน มนุษ ย เปน เทวดาอะไรก็ต ามใจ ก็เ รีย กวา มัน มีชีวิต ; แลว ก็มัน มี สิ่ง ๆ หนึ่ง ซึ่ง จะตอ งอยูเ ปน คูก ัน กับ ชีวิต นั้น ก็คือ ธรรมะ, หรือ ศีล ธรรม หรือความถูกตองก็ได, จะเรียกความปรกติก็ได. ถาวิปริตผิดปรกติ มันตองตาย; ถาไมวิปริต มันก็ตองถูกตอง นั้นคือ ธรรมะหรือศีลธรรม ตองมีอยูแลวเปนคู กันไปกับชีวิต. อยางนี้ก็หมดความผิดพลาด จะมีแตความถูกตอง; เมื่อความ ถูกตองมีถึงที่สุด มันก็หมดปญหา. เพราะฉะนั้ น เราจะต อ งรั ก ษาธรรมะ หรื อ พระธรรม หรื อ พระเจ า อะไรก็ ต ามแล ว แต จ ะเรี ย ก ให อ ยู ก ั บ ชี วิ ต ; นี้ เ ป น หลั ก ใหญ. นอกนั้น ก็เ ปน เรื่อ งปลีก ยอ ย แตกแขนงออกไป: รัก ษาความถูก ตอ ง ในสว นนั้น ในสว นนี้ ในสว นโนน . แมแ ตรา งกายของเรา ซึ่ง ตอ งมีก ารกิน การถาย การอาบ การนอน อะไร มันก็ตองมีความถูกตอง ที่รักษาอยูตลอด เวลา; ไมใชทําวันเดียวเสร็จ แลวไมตองทําอีก. เรื่องอยางนี้มันเปนอยางนี้, แลวเรื่องทางจิตใจมันก็เหมือนกัน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ที นี้ เราจะคิ ด ให ไ กลออกไป เป น เรื่ อ งส ว นรวม ของมนุ ษ ย ในโลกทั้ง โลก หรือ วา ของศาสนา เพื่อ ประโยชนแ กโ ลก ก็ข อใหรัก ษาพระ ศาสนาไว ก ็ แ ล ว กั น เป น หลั ก เป น ประธานสํ า หรั บ ความถู ก ต อ งของ มนุ ษ ย เ รา ในแง ข องการศึ ก ษาก็ ดี หรื อ ของศี ล ธรรมก็ ดี . ถ า จะใช คํา ว า

www.buddhadassa.in.th


๓๑๖

อริยศีลธรรม

"ศาสนา", ที่เราจะตองรักษาไว; นี้คือ สิ่งที่เราเรียกวาศาสนา ก็ขอใหนึกถึงเรื่องนี้ ที่เคยพูดแลวพูดอีก, พูดแลวพูดอีก วาขอใหแยกออกไปเปน ๓ สวนเสมอ:ศ า ส น า สว น แ ร ก คือ ป ริย ัต ิ ห รือ ห ลัก วิช า ก า ร ที ่ถ ูก ตอ ง , ศาสนาส ว นที ่ ๒ คื อ ปฏิ บ ั ต ิ ก็ ต  อ งปฏิ บ ั ต ิ นั ้ น แหละให ถ ู ก ต อ ง, ส ว นที่ ๓ คือ ปฏิเวธ เปนผลออกมา เปนความรูแจงแทงตลอด ก็ใหถูกตอง. ให มี ก ารศึ ก ษาถู ก ต อ ง, มี ก ารปฏิ บั ติ ถู ก ต อ ง, มี ก ารได ผ ลของการ ปฏิบัติชนิดที่ถูกตอง; ที่วาใหมีการศึกษา มีการปฏิบัติ มีการไดรับผลของการปฏิบัติ ชนิด ที่ถูก ตอ ง คือ ไมหลง ไม งมงาย ไปสับไปไขว กันเสียอยา งนี้. นี่ ขอใหรั กษา ความถู ก ในส ว นทั้ ง สามนี้ แ ล ว ก็ ชื่ อ ว า รั ก ษาพระศาสนาไว ไ ด ; ไม ว า ศาสนาไหน จ ะ เ ป น อ ย า ง นี ้ ทั ้ ง นั ้ น . ที นี ้ ถ  า ศ า ส น า มี อ ยู  ก็ ค ื อ ผู  คุ  ม ค ร อ ง โ ล ก นั ้ น มี อยู  , คุ  ม ครองมนุ ษ ย ม ี อ ยู  ; เราก็ จ ะรอดตั ว กั น ได พ ร อ ม ๆ กั น ไป. นี ้ ก็ เปนความมุงหมายของศาสนาทุกศาสนา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org มนุษ ยจ ะสนองความจริง ดัง กลา วมานี ้ห รือ ไม มัน ก็อ ยู ที ่ว า มนุษ ย นี ้ล า หลัง ไปถึง ไหนแลว ; ถา มนุษ ยกํ า ลัง จะวิ ่ง ไปลงเหวอยู แ ลว มัน ก็พ ูด กั น ไ ม รู  เ รื ่ อ ง . นี ่ เ ร า ก็ พ ู ด กั น สํ า ห รั บ ที ่ ว  า จ ะป อ ง กั น ค น ที ่ ย ั ง ไ ม ล ง เ ห ว ; พอเรี ย กตะโกนกั น กลั บ มาได ว า ขอให ดู ส ภาพของโลก ของคนที่ อ ยู ใ นโลกในแง ของศีล ธรรม ซึ ่ง ตั ้ง รากฐานอยู บ นการศึก ษา วา ไดผ ิด หรือ ถูก อยา งไร, กํ า ลัง อยูในสภาพอยางไร.

อาตมาจึ ง เอามาพู ด โดยหั ว ข อ ในวั น นี้ ซ้ํ า อี ก ครั้ ง หนึ่ ง ว า การรื้ อ ฟ น การปรับปรุง การแกไข การสงเสริม การรักษา เกี่ยวกับศีลธรรม. ในทุกประการ

www.buddhadassa.in.th


การรื้อฟนปรับปรุงและสงเสริมศีลธรรม (ตอ)

๓๑๗

ทั ้ง ยัง จะตอ งขอพูด ซ้ํ า หรือ ย้ํ า อีก วา เราจะทํ า ไดห รือ ไมไ ด อยา ไปคิด มัน เลย. คิ ด แ ต ใ น แ ง ที ่ ว  า มั น เ ป น ห น า ที ่ เ ป น สิ ่ ง ที ่ ค ว ร จ ะ ทํ า ก็ ทํ า ไ ป ก็ แ ล ว กั น ; ชว ยกัน รื ้อ ฟ น ปรับ ปรุง แกไ ข สง เสริม รัก ษา สิ ่ง ที ่จ ะชว ยใหม นุษ ยร อดอยู ไ ด ในฐานะที ่เ ราก็เ ปน มนุษ ย แลว เปน พุท ธบริษ ัท คือ ไมใ ชค นโง. ขอใหม ีค วาม เขาใจกันเชนนี้ ปญหาตาง ๆ ก็จะคอยคลี่คลายไปเอง. คํ า บรรยายเรื ่อ งการรื ้อ ฟ น เปน ตน สํ า หรับ สิ ่ง ที ่เ รีย กวา ศีล ธรรม ที่กลาวมาพอเปนตัวอยางเทานั้น ก็พอสมควรแกเวลา. ขอยุต ิก ารบรรยายนี ้ไ ว สํ า หรับ วัน นี ้เ พีย งเทา นี ้; ขอใหพ ระสงฆ ทั้งหลาย ทานไดสวดคณสาธยายบทพระธรรม ที่จะเปนเครื่องจรรโลงใจใหมีความ กลาหาญ ราเริง ในการทําหนาที่ของตนตอไป อีกดวย. --------------

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรม ๑๑ ๑๔ กันยายน ๒๕๑๗

อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทานสาธุชน ผูมีความในใจในธรรม ทั้งหลาย,

การบรรยายประจํา วั น เสาร เรื่ อ ง อริ ย ศี ล ธรรม เป น ครั้ง ที่ ๑๑ ในวัน นี้ อาตมาจะไดก ลา วโดยหัว ขอ ยอ ยวา อริย ศีล ธรรม สําหรับยุวชน.

เราได ก ล า วถึ ง อริ ย ธรรมในแง มุ ม ต า ง ๆ ในลั ก ษณะที่ เ ป น ศีล ธรรมกัน มามากมายแลว นับ ตั้ง แตใ หรูจัก เชื่อ และความหมาย ของ สิ่ ง เหล า นี้ ซึ่ ง มั น กํา กวม เพราะเข า ใจได ต า ง ๆ กั น , แล ว ก็ เ ปลี่ ย นไป ตามยุค ตามสมัย และรับ ถา ยทอดแลกเปลี ่ย นกัน ระหวา งสัง คมหรือ ระหวางชาติแลว. ๓๑๙

www.buddhadassa.in.th


๓๒๐

อริยศีลธรรม

ในที ่ ส ุ ด ในโลกนี ้ เ ปลี ่ ย นไปอยู  ใ นลั ก ษณะที ่ เ ป น ข า ศึ ก ต อ อริ ย ศี ล ธรรมที่ แ ท จ ริ ง จนกระทั่ ง มนุ ษ ย เ ลื อ กเอาฝ ก ฝ า ย ที่ มิ ใ ช ศี ล ธรรม ยิ่งขึ้นทุกที จึงเกิดปญหาขึ้นแกมนุษยทั้งโลก เปนความทุกข เปนความเดือดรอน. แตแลวก็ไมมีใครมองเห็นหรือยอมรับ วาเพราะความเสื่อมศีลธรรม กลับไปมุง แกปญหาเหลานั้นในทางอื่น; เชน ทางเศรษฐกิจ เปนตน มันก็ยิ่งเพิ่มปญหา ใหทับถมซึ่งกันและกันมากขึ้น. ป ญ หาศี ล ธรรมมิ ไ ด รั บ การแก ไ ข เพราะไม ม องเห็ น ไปแก ไขป ญ หาในแง มุ ม อื่ น ๆ; ก็ ไ ม สํา เร็ จ เพราะว า รากฐานอั น แท จ ริ ง มั น อยู ที่ปญหาทางศีล ธรรม. ที่โ ลกอยูในลักษณะที่สับสนวุนวาย พลัด ตกลงไปใน ความมืดทางจิตใจ ทางศีลธรรมนั่นเอง จะตองมีการรื้อฟน ปรับปรุง สงเสริม กันอยางไรบาง ก็ไดกลาวไปแลว ในการบรรยายครั้งที่แลวมา. .… .... …. .…

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ใ น วั น นี ้ ก็ จ ะ พู ด ถึ ง ป ญ ห า นี ้ เ ฉ พ า ะ ใ น แ ง ที ่ เ กี ่ ย ว กั บ ยุ ว ชน ซึ่ ง มี ค วามจํา เป น อย า งยิ่ ง .

การที ่ ม นุ ษ ย เ ราในอนาคตจะมี ฐ านะทางศี ล ธรรมดี ขึ ้ น ก็ เพราะยุว ชนที ่ศ ีล ธรรมดีขึ ้น ; มิฉ ะนั ้น แลว มัน จะไมม ีม นุษ ยอ ยู ใ นโลก พรอ มกับ ที่ไมมีศีล ธรรม. เรื่อ งนี้ข อเตือ นซึ่ง กัน และกัน ไวใ หร ะลึกถึง อยูเ สมอ วา มนุษยอยูไดเพราะศีลธรรม, หมดศีลธรรมเมื่อไร ก็ไมมีมนุษย.

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน

๓๒๑

สําหรับ คําวา มนุษย ก็เตือนแลวเตือนเลา เตือนอีก วา ใหถือ เอาความหมายตามตัวหนังสือ นั้นเองวา มนุษย นี้มาจากคําวา มนะ + อุษยะ แปลวา ใจสูง, ใจสูง จึงจะเรียกวามนุษย. บางคนก็แปลคําวา "มนุษย" นี้วา เปน เหลา กอแหง มนู ก็ไ ดเ หมือ นกัน ; มนุษ ยยัง คงมีใ จสูง และสูง พิเ ศษ เสีย ดว ย จะเปน เหลา แหง มนู หรือ จะเปน ผูมีใ จสูง ดว ยตนเอง ก็ไ ดทั้ง นั้น ก็เรียกวามนุษย. เ ดี ๋ ย ว นี ้ เ ร า พั ฒ น า กั น แ ต ว ั ต ถุ ไ ม พ ั ฒ น า ท า ง จิ ต ใ จ เ ล ย . ลองเปรียบเทียบดูวา ทางวัตถุนี้ มันสูง ๆ ๆ จนนาประหลาดมหัศจรรยอยางยิ่งทุก แขนง : เรื่องโรคภัยไขเจ็บก็ดี, เรื่องกิน เรื่องอยู เรื่องเลน เรื่องสนุกสนาน กระทั่งกามารมณในที่สุดนี้, มีการพัฒนาในแงของวัตถุ สูงเหมือนกับวิ่งไป; สวนเรื่องทางจิตใจนี้ไมมีพัฒนา หรือแตเพียงจะรักษาสถานะเดิม ๆ ไวใหได อยา งนี้ก็ยัง ไมไ ด. จิต ใจจึง ตกต่ํา ลงไป เพราะไมไ ดรับ ความสนใจ; เพราะ ไปมัวหลงไหลเพลิดเพลินแตเรื่องฝายวัตถุหรือทางฝายเนื้อหนัง เรียกวา ตก หลุมพรางของธรรมชาติฝายที่เปนเหมือนกับพญามาร.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เมื่อ วัต ถุมัน สูง แทนจิต ใจเสีย อยา งนี้ ใจมัน ก็ไ มสูง เมื่อ ใจไมสูง ก็เ รีย กวา มนุษ ยไ มไ ด; นั ่น แหละคือ ขอ ที ่ก ลา ววา เดี ๋ย วนี ้เ หมือ นกับ ไมมี มนุษย เพราะไมมีศีลธรรมที่ทําใหจิตใจสูง. คนที่เปนทาสของวัตถุ หลงในวัตถุ มุง พัฒ นาแตใ นวัต ถุนี้ เขามี "ขอ แกตัว " หรือ ถา จะพูด ใหดี ก็ "ขอ แกเ กอ " วา ถารางกายสบายดี แลวจิตใจมันก็ดีเอง.

www.buddhadassa.in.th


๓๒๒

อริยศีลธรรม

นี่ข อใหไ ปนึก ดูทุก ๆ คน วา มัน เปน ไปไดไ หม? ตามที่เ ขาวา ถารางกายของเขานั้น จะไดรับการกินดี อยูดี สนุกสนาน เอร็ดอรอย เพลินเพลิน สมบูรณ เหมือนกับเทวดา หรือบางทีจะยิ่งไปกวาเทวดาก็ได สําหรับมนุษยสมัยนี้ ซึ่งมีอะไรนาเลนนาใช นาสนุกยิ่งกวาเทวดามี อยางที่เราทราบกันอยู; แลวใจ ของมนุษยสมัยนี้มันสูงขึ้นหรือเปลา? ก็ควรจะลองพิจารณากันดู. ถา ดูใ หดีกัน แลว แมแ ตเ ทวดา ตามเรื่อ งราวที่เ ราทราบกัน มา ในคัม ภีรท างพระพุท ธศาสนานั้น เทวดาใจไมสูง เลย; ลุม หลงมัว เมาแต เรื่องรูป เสียง กลิ่น รส โผฎฐัพพะ, ซึ่งรวมเรียกงาย ๆ ดวยคํา ๆ เดียววา เปน ทาสของอายตนะ คํา ๆ นี้อ าตมาไมไ ดก ลา วมาหลายครั้ง หรือ หลายสิบ ครั้ง แลว ก็ ขอรอ งใหจํา อยูเ สมอคือ วา เปน ทาสของอายตนะ ; นี่คือ สิ่ง เลวรายที่สุด สําหรับพุทธบริษัท : เปน ทาสตา ทาสหู ทาสจมูก ทาสลิ้น ทาสกาย เปน ทาสของจิต ใจ ที่เ นื่อ งกัน อยูกับ กาย นี้เ รียกวา เปน ทาสของอายตนะ; ออก เสีย งวา "ทาส" อยา งนี้ อาจไปหลง เปน คํา วา "ธาตุ" ก็ไ ด; ไมใ ช ธาตุ, แตเปน ทาส คือเปนขี้ขา เปนบาวเปนไพร ของ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถ า อย า งนี้ แ ล ว ใจจะสู ง หรื อ ไม สู ง ? ถ า ใจไม ส ู ง แล ว จะ เป น มนุ ษ ย ก ั น ที ่ ต รงไหน? เพราะคํา ว า "มนุ ษ ย " นี้ แ ปลว า ใจสู ง ; เมื่อ ใจไมสูง ก็ไมเปนมนุษย มันมีศีล ธรรมอยูต รงไหนกัน ก็ห าไมพบ; ก็เลย เปน อัน วา ไรศีล ธรรม, ไรศีล ธรรมก็คือ วา ไรค วามเปน มนุษ ย. เพราะฉะนั้น

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน

๓๒๓

จึงสรุปความสั้น ๆ วาเมื่อไมมีศีลธรรม ในโลกนี้ก็ไมมีมนุษย มีแตคนที่ทําอะไร เปะ ๆ ปะ ๆ ไปตามกิเลสตัณหาของตัว, ซึ่งมันยังไมพอที่จะเรียกวามนุษย. แต เ ขาก็ ไ ด ว างหลั ก เกณฑ ไ ว แ ล ว แต บ รมโบราณดึ ก ดํ า บรรพ ว า มนุษย คือ มีใจสูง แลวก็ตองเปนอยางนั้น ๆ; ครั้งหนึ่งมันก็จะเปนอยางนั้น จริ ง ได เ หมื อ นกั น คื อ มนุ ษ ย มี จิ ต ใจประกอบไปด ว ยศี ล ธรรม. แต ม า บัด นี ้เ ปลี ่ย นไปมากถึง กับ วัต ถุน ิย มเขา มาแทน มนุษ ยก ็เ มามายแตเ รื ่อ ง วัตถุ; ปญหาก็มีอยูวา จะยอมรับศีลธรรมเดิม ๆ, หรือจะแกไขศีลธรรมกันใหม ตั้งระบบศีลธรรมขึ้นมาใหมใหถูกตอง, คือใหตรงตามความตองการของมนุษย ในสมัยนี้. เท า ที่ ส ั ง เกตดู เ วลานี้ รู  ส ึ ก ว า ศี ล ธรรมเปลี่ ย นไป กระทั่ ง มี ศีลธรรมหลายขอที่มนุษย ซึ่งที่แทก็เปนเพียงคนในสมัยนี้ จะไมยอมรับวาเปน ศีลธรรม. ยกตัวอยางเชนวา การเมามายในเรื่องกินเรื่องอยู ซึ่งไมมีศีลธรรม; มัน ผิด ศีล ธรรมเทา กับ การลัก ขโมยเหมือ นกัน ; แตค นสมัย นี้เ ขาก็ไ มย อมรับ อยางนั้น. เรื่องเมามาย เรื่องกิน เรื่องอยู เรื่องเลนหวัว เขาจะทําอยางไรก็ ไดตามใจเขา ตามกิเลส ตัณหาของเขา; เขาไมยอมรับวาผิดศีลธรรมเลย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org แตเ มื่อ ดูต ามหลัก เกณฑข องศีล ธรรมแลว มัน เปน ไปไมไ ด มัน ผิด ศีล ธรรม; ถึง กับ เราจะพูด ไดเ ลยวา เมามาย ในเรื่อ งกิน เรื่อ งอยู นี่ก็ ผิ ด ศี ล ธรรมเท า กั บ เรื่ อ งลั ก เรื่ อ งขโมย. ถ า เป น การทํา ไม ถู ก ต อ ง ทํา ใหเ กิด ความยุง ยากขึ้น มา ในเรื่อ งกิน เรื่อ งกาม เรื่อ งเกีย รติ นั้น คือ ผิด ศีลธรรมเต็มที่.

www.buddhadassa.in.th


๓๒๔

อริยศีลธรรม

ปญ หาของมนุษ ยมีอ ยู ๓ อยา งนั้น ก็เ ตือ นแลว เตือ นอีก วา จํา ไวใ หดี วา มัน เปน ปญ หามาก: เรื่อ งกิน เปน ปญ หาทีแ รก, ถา อิ่ม แลว ก็ เรื่อ งกาม, เรื่อ งกามอิ่ม แลว ก็ เรื่อ งเกีย รติ; เปน ๓ เรื่อ ง : เรื่อ งกิน เรื่องกาม เรื่องเกียรติ. ถาเรื่องเหลานี้วุนวายขึ้นมา ก็เรียกวาไมมีศีลธรรม; ถามัน สงบเรียบรอยไปในทุกแงทุกมุม เกี่ยวกับเรื่องกิน เรื่องกาม เรื่องเกียรติ ของ มนุษยเราแลวก็เรียกวาเรายังมีศีลธรรม. ฉะนั้นจะมาพูดวา ใครจะทําอะไรตาม ความพอใจใน เรื่องกิน เรื่องกาม เรื่องเกียรติ เมื่อไมผิดกฎหมายแลวก็ไมผิด ศีลธรรม; อยางนี้มันไมได เพราะวากฎหมายนี้ ก็ออกโดยคนบาคนหลงในเรื่องกิน เรื่องกาม เรื่องเกียรติ ฉะนั้น จึงไมมีการหามปราม ในเรื่องกิน เรื่องกาม เรื่อง เกียรติ ชนิดที่ที่ไมมีศีลธรรมวาผิดกฎหมาย เขายกใหเปนเรื่องสวนตัวไปเสียเลย. แต ผู ที่ เ ป น พุ ท ธบริ ษั ท นั้ น ยั ง จะ ต อ งนึ ก ถึ ง มากที เ ดี ย ว วา มีชีวิตเปนอยู อยาใหมีอะไรผิดปรกติ : ผิดปรกติสุข ในเรื่องกิน เรื่องกาม เรื่องเกียรติ. ใหเรื่องศีลธรรมนี้มีความหมายกวางขวาง นับไปตั้งแตเรื่องวัตถุ รางกาย จิต ใจ สติปญญา ในชั้นสูงสุด:

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org วัต ถุ ใ นบ า นเรื อ นนี้ ก็ จ ะต อ งเป น ระเบี ย บ ถ า ไม เ ป น ระเบี ย บ ก็เรียกวาผิดศีลธรรม ไมมีความปรกติได. รางกายนี้ก็เหมือนกัน ตองถูกตอ ง คือไมมีอะไรที่ผิดปรกติ. เรื่อ งกิน เรื่อ งอยู เรื่อ งอาบ เรื่อ งถา ยนี้ ก็ตอ งถูก ตอ ง จึง จะ เรียกวามีความปรกติ แลวก็เรียกวาศีลธรรมของรางกาย.

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน

๓๒๕

เรื่ อ งส ว นที่ เ ป น ความประพฤติ ที่ เ กี่ ย วกั บ กายวาจาก็ ต อ งปรกติ . สวนที่เกี่ยวกับจิตใจ ก็มีใจคอปรกติ เกี่ยวกับสติปญญาคือความ คิด ความเชื่อ ความปรารถนาอะไรตาง ๆ มันก็ตองปรกติ; อยางนี้เรียกวามี ศีลธรรม. นี้ มี ความผิ ด พลาด อี ก อั น หนึ่ ง ซึ่ ง เห็ น ว า เป น ความ เสี ย หายอั น ใหญ ห ลวง เช น แยกเรื่ อ งศี ล ธรรมออกไปเสี ย จากเรื่ อ ง ทั้งหลาย. ที ่ จ ริ ง ความถู ก ต อ งของเรื ่ อ งทั ้ ง หลายนั ่ น แหละ คื อ ศี ล ธรรม เราไมม องกัน ในแงนี้: ยกตัว อยา งเรื่อ ง ที่เ ขาแยกออกไปโดยเจตนา เชนเรื่องการเมือง แลวก็ไมพูดกันเลย วา การเมืองนี้คือศีลธรรม. เขาสงวน เอาโอกาสหรือความหมายไปไว ใหการเมืองนี้เปนเรื่องหลอกลวง โกหกเอาเปรียบ กลิ้งกลอก อะไรก็ตามประสาของนักการเมือง แลวก็ไมผิดศีลธรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถ า ว า โดยแท จ ริ ง ลองคิ ด ดู ใ ห ดี ๆ การเมื อ งนั่ น แหละก็ คื อ ศี ล ธรรมอั น หนึ่ ง เป น ศี ล ธรรมในระหว า งสั ง คม ไม ว า จะดู กั น ในแง ไ หน เมื่อถูกตอง ตามพยัญชนะ และ อรรถะ แลว จะเห็นวา การเมืองก็คือศีลธรรม คื อ ความปรกติ หรื อ ความถู ก ต อ งในการสั ม พั น ธ กั น ระหว า งสั ง คม; คื อ คนหลายคนหมูหนึ่ง กับคนหลายคนอีกหมูหนึ่ง มีความประพฤติตอกันถูกตอง เปนอยูรวมบานรวมเมือง รวมโลกกันไดดวยความผาสุก นั้นคือการเมือง.

www.buddhadassa.in.th


๓๒๖

อริยศีลธรรม

ดั ง นั ้ น ก า ร เ มื อ ง ก็ ค ื อ ศี ล ธ ร ร ม ใ น ค ว า ม ห ม า ย ที ่ ล ึ ก , คือ ความหมายทางสัง คม. เดี ๋ย วนี ้เ ราก็ไ มย อมรับ หลัก เกณฑอ ัน นี ้; แยกออก ไปจากกั น จนว า การเมื อ งมั น ไม ต อ งมี ศี ล ธรรมไปเลย ก็ เ ป น อย า งนั้ น หนั ก ขึ้ น ๆ. โลกนี ้ก ็เ ปลี ่ย นไปอยา งกับ วิ ่ง ดว ยเหมือ นกัน ; เมื ่อ ความเจริญ ทางวัต ถุ มัน เปลี่ยนแปลงกาวหนาอยางกับวิ่ง อื่น ๆ ก็พลอยเปลี่ยนแปลงกาวหนาอยางกับวิ่ง. ปญ หาที ่จ ะตอ งคิด สํ า หรับ ผู ที ่ไ มเ ห็น แกต ัว ก็ค ือ คิด ถึง วา โลกนี้ มัน จะไปในรูป ไหนกัน ; เมื ่อ มองดูไ ปยัง สิ ่ง ที ่สํ า คัญ ที ่ส ุด คือ กิเ ลสทั ้ง หลาย ที่ สรุปใจความไดสั้น ๆ เพียงคํา ๆ เดียววา "ความเห็นแกตัว" นี้แลว ก็รูสึกวา โลกนี้ นา จะเปน หว งมาก เพราะคนโนโลกนี ้ กํ า ลัง เห็น แกต ัว มากขึ ้น ๆ ตาม ความเจริญ ของวัต ถุ ที ่ม นุษ ยผ ลิต ขึ ้น มา สํ า หรับ ยั ่ว ยวนหรือ มอมตัว เอง ให มึ น เมา. ผู  ที ่ ไ ด ร ั บ บาปในข อ นี ้ ม ากที ่ ส ุ ด ก็ ค ื อ ยุ ว ชน; เพราะลู ก เด็ ก ๆ เขาเกิ ด ขึ้ น มาในโลกนี้ มั น ก็ ยั ง ไม รู อ ะไร ไม ป ระสี ป ระสาอะไร มั น แล ว แต ว า ใน โลกนี้มีอะไร เขาไปเกี่ยวของกับเขา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เด็ก ๆ ลืม ตาขึ ้น มาในโลก ในลัก ษณะอยา งไร มัน ก็แ ลว แต วา สิ ่ ง ใดมั น แวดล อ มเขาอยู  . ฉะนั ้ น เขาเกิ ด มาก็ เ ลยเป น ไปตามสิ ่ ง แวดลอ ม เขาจึง ไมรู ส ึก ตัว วา เขาไดก ลายเปน คนที ่เ ห็น แกต ัว เขา ไปทีล ะนิด ทีล ะนิ ด , เห็ นแก ตั ว มากขึ้ น ๆ จนมาอยู ใ นรู ป ของยุ ว ชนวั ย รุ น หนุม สาวอะไรก็ ต าม ที่กําลังทําอะไรดวยความมุทะลุดุดัน ดวยความไมรูสึกตัว; แตเปนความเห็นแกตัว, เปนความไมรูจักสิ่งที่เรียกวาศีลธรรม.

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน

๓๒๗

เพราะฉะนั้ น เราพู ด กั น ถึ ง เรื่ อ งศี ล ธรรมของยุ ว ชนกั น เสี ย บาง ก็เปนสิ่งที่สมควร, หรือวามันมีเหตุผล ที่จะตองเอามาพูดกันแลว. ถ า จะสั ง เกตดู จ ากสิ ่ ง ที ่ ป รากฏอยู  ที ่ พ อจะนํ า มาใช เ ป น มาตรการมาตรฐานแลวแตจะเรียก สําหรับการวินิจฉัยเรื่องนี้ วามีน้ําหนัก มากนอยเพียงไร นาอันตรายหรือนากลัวมากสักเทาไร ก็ดูตามที่เปนปรากฏอยู จริง ๆ จะดีกวา เชน: เรายัง มีปญ หา เรื่อ งนัก เรีย น นัก ศึก ษา วิว าทกัน ; ยิ่ง ชั้น สูง ขึ้นไป ก็ยิ่งวิวาทกันหนัก ถึงกับใชอาวุธ ถึงกับเอาอาคารเรียน และอื่น ๆ ใน ระดับนั้น. นี่ก็เปนเพราะวาเขาไมมีความสํานึก ในความหมาย อันแทจริงของ สิ่งที่วาศีลธรรมนั่นเอง. ถาเปนเด็กรุนสัก ๑๐๐ ปมานี้ ไมมีปญญาจะทําอยาง นี ้ : นี ้ ก ็ เ รี ย กว า ความผิ ด พลาดได ค รอบงํ า จิ ต ใจของยุ ว ชนโดยไม รู  ส ึ ก ตัวมากขึ้น, เห็นแกตัวมากขึ้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทีนี้ดูสิ่ง ที่แ นบชิด กัน อยูอีก อยา งหนึ่ง กับ การศึก ษาของนัก เรีย น ก็คือ การกีฬา เปนการกีฬาที่ทําลายความเปนนักกีฬา จนไมมีความเปน นักกีฬาเลย; พูดแลวมันก็นาหวัววา เขาเลนกีฬากัน "เพื่อความไมเปนนักกีฬา" เพราะไมรูจัก ศีล ธรรมของกีฬ า ไมรูจัก วา กีฬ า ก็คือ เครื่อ งมือ สํา หรับ ฝก ฝน ศีลธรรม. แตเขาก็ไมใชกีฬาสําหรับเปนเครื่องฝกฝนศีลธรรม; เพราะกิเลส คือ ความเห็นแกตัว มันเขามาอยางเต็มที่ ก็เลนกีฬาเพื่อกิเลส ไมใชเลนกีฬาเพื่อ ฝกฝนอบรมศีลธรรม.

www.buddhadassa.in.th


๓๒๘

อริยศีลธรรม

กีฬ าทั่ว ไปมีตั้ง ๓ ชนิด : เลน กีฬ าเพื่อ เอาแพเ อาชนะกัน ตามกิเลสตัณหาของตัว นี่ก็อยางหนึ่ง; เลนกีฬาเอาแพเอาชนะ เพื่อเอาเกียรติ; อีกอยางหนึ่ง ; เพื่อ ความมีพลานามัย นี่ก็อีกอยางหนึ่ง ; แตอันสุด ทายสูง สุด ก็เ ลน กีฬ า เพื่อ ใหมีน้ํา ใจเปน นัก กีฬ า คือ น้ํา ใจแหง การใหอ ภัย น้ํา ใจแหง การไมถือสากับผูอื่น เมื่อเขาลวงเกินตน นี่เปนเจตนารมณ หรือสปริตของกีฬา โดยแทจริง. เดี๋ย วนี้ไ มไ ดเ ลน กีฬ า โดยน้ํา ใจนัก กีฬ า แหง บุค คลผูใ หอ ภัย เลย; แลวยังไมไดหวังพลานามัยอะไรนัก หวังแตแพและชนะ เพื่อเกียรติของ ตัวและพวกของตัว มันก็เลยไมใชกีฬาเพื่อศีลธรรม หรือไมใชตัวกีฬา ซึ่งเปนตัว ศีลธรรม หรือตัวศีลธรรมซึ่งเปนตัวกีฬา เหมือนอยางความมุงหมายทีแรกเสียแลว. นี่ก ารกีฬ าชนิด นี้ ตอ งปรับ ปรุง ใหเ ปน กีฬ า ที่ถูก ตอ งกัน เสีย ใหม ใหเ ปน ศีล ธรรมขึ้น มาในการกีฬ า , แลว สง เสริม ความมีศีล ธรรมอื่น ๆ ขอ อื่น ๆ ออก ไปใหกวางขวาง กระทั่งใหมีศีลธรรมประจําชาติ เพราะความมีน้ําใจเปนนักกีฬา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ศี ล ธรรมนั ้ น เราต อ งการผล คื อ ความรู  ส ึ ก ให อ ภั ย ไมตรี ร ว มสุ ข ร ว มทุ ก ข กระทั่ ง เป น เพื่ อ นเกิ ด เพื่ อ นแก เพื่ อ นเจ็ บ เพื่ อ น ตาย อยางนี้. ถาเลนกีฬาดวยความรูสึกอยางนี้ จะเปนนักกีฬาประเสริฐที่สุด, เปนกีฬาของพระอริยเจา, และควรจะเรียกวากีฬาของมนุษยที่มีจิตใจสูง; ไมใช สัตวปามันกัดกัน, ไมใชสัตวปามันกัดกันเพื่ออวดเพศตรงขาม คือกองเชียร. กองเชียรนั้น มีลักษณะเหมือนเพศตรงขาม มาชวยเปนกําลังใจใหตัวผูมันกัดกัน.

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน

๓๒๙

นี ่ก ีฬ ามัน ไดเ ปลี ่ย นมาใหม ๆ อยา งนี ้ มาเปน ชนะเพื ่อ เกีย รติ, แล วก็ ชนะด วยกํ า ลั ง , ของคนที่ เ ห็ นแก ตั ว , แล ว ก็ ชนิ ดด วยกํ าลั งที่ ใช ไปอย างทุ จริ ต ผิดระเบียบตาง ๆ. ยุ ว ช น ข อ ง เ ร า กํ า ลั ง เ ล น กี ฬ า ใ น ค ว า ม ห ม า ย ไ ห น ? ก็ ลองไปดู เ อาเอง; มั น จะเป น การฟ อ งตั ว เอง เป น พยานอยู ใ นตั ว เอง, เป น การ วิ นิ จ ฉั ย เด็ ด ขาดอยู ใ นตั ว มั น เอง ว า ผู เ ล น กี ฬ านั้ น เขาแสดงปรากฏการณ อ อกมา อยา งไร; ซึ ่ง เราเห็น กัน อยู ว า การเลน กีฬ าของยุว ชนนี ้ก ลายเปน มูล เหตุ แหง การทะเลาะวิว าท ถึง กับ ฆา ฟน กัน หรือ วา เผาอาคารเรีย น. ตามที ่เ รา ทราบมาจากข าวสื่ อสารมวลชนทั้งหลาย มั นก็ เริ่ มต นมาด วยการกี ฬาทั้งนั้ น นี่เรี ยกว า ยุ ว ชนของเรา กํ า ลั ง มี กี ฬ าชนิ ด ไหน? เป น ศี ล ธรรมอยู ใ นตั ว หรื อ ไม ? ก็ ค วรจะดู กันในคราวนี้. ที นี ้ ม า ดู ถ ึ ง ค ว า ม เ ป น ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย ที ่ ย ุ ว ช น ข อ ง เ ร า นิย มกัน นัก ก็ค ือ ความเปน ฮิป ป น านาแบบ นานาชนิด ที ่จ ะเปน อิส ระไมใ ห ใครทั ก ท ว งว า กล า ว วิ พ ากษ วิ จ ารณ ที่จ ะกิ น จะอยู จะแต ง เนื้ อ แต ง ตั ว จะมี ก าร สั ม พั น ธ กั น ระหว า งเพศ หรื อ อะไรก็ สุ ด แท ; เขาต อ งการความเป น อิ ส ระไม มี ขอบเขต. ถา ยุว ชนของเราเปน อยา งนี ้ก ัน ไปหมดแลว ตอ ไปขา งหนา นี ้ โลก จะเปนอยางไร?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org แลว อีก อยา งหนึ ่ง ซึ ่ง กํ า ลัง จะมีป ญ หาเพิ ่ม ขึ ้น มัน ก็ค ือ เรื ่อ ง เพศศึกษา หรือ เรื่องคุมกําเนิด เปนตน

www.buddhadassa.in.th


๓๓๐

อริยศีลธรรม

เรื ่ อ งคุ ม กํ า เนิ ด ทางฟ ส ิ ค ส อย า งที ่ กํ า ลั ง จั ด กั น อย า งกว า ง ขวางนี้ ส ง เสริ ม ศี ล ธรรมหรื อ ทํา ลายศี ล ธรรมกั น แน ? ขอให ไ ปลอง พิจ ารณาดู. แลว เนื่อ งมาถึง ยุว ชนอยา งไร; ถา มัน เปน ที่ป รากฏวา บัด นี้ หรือตอไป ในกระเปาเสื้อ กระเปากางเกงของยุวชนเต็มไปดวยวัตถุเครื่องคุม กําเนิด แลวศีลธรรมมันจะอยูกันในรูปไหน? การคุม กํา เนิด มีทํา ไดห ลายทาง : ทางยาก็ไ ด, ทางเมคานิค ส คือ ใชเ ครื่อ งมือ ประกอบ ก็ไ ด. แลว ทางอื่น ๆ อีก มากมาย แตตอ งเรีย กวา ทางฟสิคส คือเกี่ยวกับทางวัตถุทางกาย ไมไดเกี่ยวกับทางศีลธรรม; ควบคุม กําเนิดทางฟสิคสอยางนี้ ตอไปจะเปนอยางไร? อาตมาไมเ ปนหมด แตเ ชื่อ เอาตามความรูสึก เขลา ๆ เดา ๆ วา ตอไปจะเพิ่มปญหาโรคภัยไขเจ็บ ทั้งแกทางรางกายและทางระบบประสาท กระทั่งระบบจิตใจของคนเรา : ทางรางกายแท ๆ ที่กินยาอยางนั้นอยูตลอดป ตลอดชีวิตนั้น มันตองสรางอะไรขึ้นมาใหม ซึ่งเปนปญหาทางกาย; ซึ่งจะเรียก วาโรคภัยอันใหมทางกายก็ได, ทางระบบประสาทดวย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สว นทางจิต ใจนั้น เปน ที่แ นน อน ; เพราะมัน ตั้ง ตน ทํา ผิด มาตั้ง แตทีแรกแลว เจตนาของกิเลส ที่เปนเหตุใหใชเครื่องมือชนิดนี้ นี่จะมีปญหา แทรกซอ นมีโ รคภัย แทรกซอ น มีค วามรํา คาญอยา งลึก ซึ้ง ที่ร บกวนจิต ใจอยู เสมอ ไมมีความผาสุกใจโดยธรรมชาติเลย; แลวมันก็จะเพิ่มปญหาอื่น ๆ ที่เคยมี. แล ว มนุ ษ ย เ ราจะเป น อย า งไร? ยุ ว ชนของเราจะเป น อย า งไร?

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน

๓๓๑

เรื่อ งนี้ไ มย อมถอยหลัง มัน ก็ดัน หนา ไปเรื่อ ยไป ก็เ ลยแกไ ข ทางศี ล ธรรม กระทั่ ง ว า การทํ า แท ง ไม ผิ ด กฎหมาย หรื อ ว า ทํ า อะไรก็ ไ ม ผิ ด กฎหมาย แลวอันสุดทายก็จะเลยไปถึงกับวา การฆาลูกของตนเองเสียซึ่ง ๆ หนา นี่ก็ไมผิดกฎหมาย เพราะตองการควบคุมจํานวนคน. นี่คือความไรศีลธรรม ในอนาคต ซึ่งมันจะขยายตัวออกไปจากความไรศีลธรรมในปจจุบัน คือการ เสียหายทางจิต มีโรคจิตทรามเพิ่มขึ้นโดยไมรูสึกตัว. ไม มี ใ ครนิ ย ม ค วบ คุ ม การเกิ ด โดยทางจิ ต ห รื อ โด ย ท าง ศีล ธรรม อยางที่บ รรพบุรุษ แตโบราณเขาเคยใช : ใหมีค วามกลัวบาปกลัว กรรม กลัวอะไรตาง ๆ, . รูวาการหมกมุนในทางเพศทางกามารมณนี้เปนบาป ชนิดหนึ่ง แลวยิ่งทํามากจนเกินไปกับความจําเปนแลว ยิ่งเปนบาปเหลือที่จะกลาว ได. ความรูส ึก อยา งนี ้ทํ า ใหเ กิด ความอดกลั ้น แลว หาทางออกอยา งอื ่น บัง คับ จิต ใจอยูใ นรอ งในรอยของศีล ธรรม; มัน จึง กลายเปน เรื่อ งตรงกัน ขา ม มีผลตรงกันขามกับการคุมกําเนิดทางฟสิคส ทางวัตถุ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ควรจะนึ ก ถึ ง การคุ ม กํา เนิ น ทางจิ ต ใจ หรื อ ทางศี ล ธรรม ให เ พี ย งพอกั น มั น จะช ว ยให ม ี ศ ี ล ธรรมดี มั น ก็ ล ดการเกิ ด ได เ หมื อ นกั น คนที ่ม ีศีล ธรรมดี ยิ่ง หลงใหลในทางศีล ธรรม ก็ยิ่ง เกลีย ดการตามใจกิเลส; เดี๋ยวนี้ยิ่งชอบตามใจกิเลส มันก็ยิ่งเกลียดศีลธรรม. ถาใหคนศึกษาปรมัตถธรรม กั นมากขึ้ น ไปตั้ งแต เยาววัย ก็ ยิ่ งจะรูจัก บั งคั บ จิต ใจในทางนี้ ดี ขึ้ น : ให เป น ผู สันโดษในกามารมณ ตามที่จะสันโดษได, และหาวิธีตาง ๆ ที่มันไมผิดศีลธรรม, ไมฝนความรูสึกของตัวเองนั่นแหละ มาควบคุมการเกิด.

www.buddhadassa.in.th


๓๓๒

อริยศีลธรรม

แต เดี๋ ย วนี้ ค นในโลกทํ า ไม ไ ด ไม ทั น อกทั น ใจ หรื อ ไม ทั น กั บ การ เปลี่ย นแปลง ที่มัน เปลี่ย นไปเสียมากแลว; แลวเด็ก ๆ ยุวชนของเรา ก็เกิด มา ในทามกลางความรูสึกอยางนี้ ในทามกลางการยอมรับกันอยางนี้; มันก็มีปญหา วา ตอ ไปในอนาคตศีล ธรรมของยุว ชนจะอยูกัน ในรูป ใด? คือ มัน จะมี ศาสนาเหลื ออยูหรือไมนั่ น เอง. จะมี ศีลธรรมอยูห รือ ไม ? ยิ่งเราหลับ ตาตามก น ตามหลังวัฒนธรรมตะวันตกมากขึ้นทุกทีแลว ก็ยิ่งนาหวงวาจะถึงสภาพไรศีลธรรม หรือไรศาสนาเร็วขึ้น. มีเ รื่อ งนา หวัว ที ่ข อโอกาสเอามาเลา ใหฟ ง กัน ที ่นี ่ : หนัง สือ พิม พ รายวันฉบับหนึ่ง เมื่อวันที่ ๑๒ เดือนนี้ เขาลงชื่อระบุชัด ที่รัฐฟลอริดาในประเทศ อเมริกา เขาฟองหลวงพอสมภารเจาวัดเรียกคาเสียหาย วาหลวงพอไดชักชวนเขา ทําบุญ, และวาเมื่อทําบุญแลว ก็จะมีความเจริญ พระเจาชวย. ทีนี้เขารอมาตั้ง ๓ ป แล วไม มี ล าภผลไม มี อ ะไรเกิด ขึ้น ; แล วเขาก็ได ทํ าบุ ญ ไปถึงหนึ่ งในสิ บ ของ ทรัพยสมบัติที่เขามี. เขาก็เลยฟองศาล หาวาหลวงพอสมภารที่ชักชวนใหทําบุญนั้น เปนผูหลอกลวง, และพระเจาก็เปนผูหลอกลวง คือไมใหอะไรตอบแทนเงินที่เขา ทําบุญไปเลย; ทีนี้ศาล ซึ่งจะตองถือวาเปนศาลที่ประหลาด ไมเคยมีมากอนก็ได ก็ย อมรับ ฟ องพิ จารณา; ก็มี เศรษฐีค นหนึ่งมาขอแทรกแซงวา จะขอชดเชยเงิน รายนี้ใหทั้งหมด ของใหโจทกถอนฟอง โจทกก็ถอนฟองไป เรื่องก็ยุติ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สิ ่ง ที ่เ ราจะตอ งดูก ัน ก็ค ือ วา เดี ๋ย วนี ้ย ัง มีค นที ่ไ มรู ว า พระเจา คือ อะไร, ศาลคือ อะไร, ทํ า บุญ คือ อะไร, อยา งถูก ตอ ง. เขาหาวา พระเจา หลอกลวง ไมชวยตามที่เขาทําบุญไป จนกระทั่งสมภารก็คือคนหลอกลวงชักจูง

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน

๓๓๓

ใหคนทําบุญ ; แลวมันก็นาจะพิจารณาไปถึงคําวา "ศาล" ดวย. ผูที่ทําหนาที่ ศาลในปจ จุบัน นี้ ยอมรับ ฟงกรณีอ ยางนี้ นี่เปนศาลชนิด ไหน? มัน ตอ งมีแ น ในโลกนี้ เมื่อสิ่งตาง ๆ มันเปลี่ยนไป. ที่ เ ราเอามาพู ด ไม ใ ช ว า จะดู ถู ก ดู ห มิ่ น นิ น ทาอะไรเขา; แต เ รา เอามาพู ด เพื่ อให รูวาโลกไดเปลี่ยนแปลงไปกี่ม ากน อ ย? แลวต อ ไปเมื่ อ โลก เปลี่ย นแปลงไป ถึง กับ ไมรูจัก พระเจา ไมรูจัก ศาสนา ไมรูค วามหมาย ของการทํ า บุญ วา อะไรกัน อยา งนี ้แ ลว ; โลกนี ้จ ะเปน อยา งไร; อยา งนี้ เปน ตน . ขอใหค ิด ดู แลว ก็น ึก กัน ไว : สํ า หรับ อนาคตขา งหนา วา เด็ก ๆ ของเราจะเปนอยางไร. ตัว อยา งที่ย กมานี้ มัน พอแลว สํา หรับ ที่จ ะเปน หว ง หรือ วิต ก วา ยุว ชนจะเปน อยา งไรในอนาคต; ก็ค วรจะไดพ ิจ ารณากัน ถึง เรื่อ งศีล ธรรม ของยุวชน กันเสียที ตามความมุงหมายของการบรรยายในวันนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เรากํา ลั ง มุ ง หมายไปยั ง ยุ ว ชน ที ่ จ ะเติ บ โตขึ้ น เป น ผู ใ หญ ที่ดี สําหรับรักษาความเปนมนุษยในโลกนี้ หรือของประเทศชาตินี้โดยเฉพาะ ไวได; เปนผูใหญที่ไมเคยเปนยุวชนที่ดี ก็ควรจะฟง. หรือ เปนผูใหญที่ไมเคย ผานการมีศีลธรรมไมเคยเปนยุวชนที่ดีก็ควรจะฟงเรื่องของเด็ก ๆ ; แมจะเปนเรื่อง ที่พูดสําหรับเด็ก ๆ วา ยุวชนนี้ควรจะมีศีลธรรมอยางไร. ยุวชนบางคนอาจจะ หัวหงอกแลวก็ได ถาไมมีความรูสึกเต็มตามมาตรฐานหรือกฎเกณฑ ที่วาคนเรา จะตองมีความรูสึกอะไรบาง.

www.buddhadassa.in.th


๓๓๔

อริยศีลธรรม

สํา หรั บ ศี ล ธรรม ของยุ ว ชน นี ้ ก ็ ต  อ งใช คํ า ว า อริ ย ศี ล ธรรม ตอไปตามเดิม ทิ้งคําวา "อริยะ" ประกอบเขาขางหนาแลวมันแกวงเหลือเกิน, กํากวมเหลือเกิน เหมือน ๆ กับเทาที่พูดวา ศีลธรรมอันดีของประชาชน วา อยู ดี กิน ดี ตามใจกิเ ลสไมผิด ศีล ธรรมเลย อยา งนี้เ ปน ตน . อาตมาจึง ตอ ง ขอโอกาสพิเศษวาจะตองสงวนคําวา "อริยะ" เติมไวขางหนาเสมอไปวา "อริยศีล ธรรม". เพราะฉะนั้น แมแ ตศีล ธรรม เพื ่อ เด็ก ๆ เพื่อ ยุว ชนวัย รุน ก็ตอ ง เติมคําวา "อริยะ" หมายความวาศีลธรรมที่ถูกตอง ตามแบบแผนของพระอริยเจา; ยังไมถึงกับใหเด็ก ๆ กลายเปนพระอริยเจา; แตใหรูจักรับเอาระบบการสั่ง สอน และปฏิบัติ ของพระอริยเจาเทานั้น. เมื่อพูดกันถึงคําวา ศีลธรรม แลวมันก็นาเศราอยูอยางหนึ่งดวย เหมือ นกัน คือ เราใหความหมายของคํา ๆ นี้ นอยเกิน ไป. แมแ ตอ าตมา เองก็เคยเขาใจอยางนั้น แลวเคยทําผิดอยางนั้น; แตไมคอยมากนัก คือขยาย ขอบเขตของศีลธรรมออกไปถึงความดีที่สุดที่มนุษยควรจะได; ก็ไมนอยนัก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org แตเ ดี๋ย วนี้เ ราอยากจะใหศีล ธรรมเปน เรื่อ งทุก เรื่อ ง ของทุก สิ่ง แมแตของวัตถุ ของสัตวเดรัจฉาน ของคน ของทุกระดับ เปนเรื่องศีลธรรม ไปหมด; โดยถื อ เอาความหมายว า สี ล ะ แปลว า ปรกติ ภ าวะ, ธรรมะ แปลวา สิ่ง หรือสภาพ, ศีลธรรม คือสภาพที่เปนปรกติ, คือเปนปรกติสุข. หรือถาคําวา ธรรม ในที่นี้หมายถึง เหตุ, ก็หมายถึงการประพฤติปฏิบัติที่นํามา ซึ่งความเปนปรกติสุข, คือความเปน อยูปรกติ นับตั้งแตกอ นหินขึ้นไปเลยไป ถึง ตน ไม ถึง สัต วเ ดรัจ ฉาน ถึง มนุษ ย ถึง ใครก็ต ามที่อ ยูไ ดโ ดยความปรกติ

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน

๓๓๕

ก็เรียกวา ปรกติภาวะ ตรงกับคําวา สีละ; ศีลธรรมก็คือเหตุปจจัยที่ทําใหเกิด ปรกติภาวะอยางนี้. ที่ แ ล ว มาเราก็ ให ค วามหมายกั น ในวงแคบ แล ว ก็ ร ะบุ หั ว ข อ เป น ธรรมะไมกี่ขอ ที่เรีย กวา ศีล ธรรมสําหรับ เด็ก ๆ, แลวไมเกี่ยวกับ ผูใหญก็มี, แลวเปน เรื่องทาสสังคมลวน ๆ ก็มี; โดยมาก ไมเกี่ยวกับ ตัวเอง; โดยเฉพาะ เรื่องศีล สมาธิ ปญญา มรรค ผล นิพพาน ไมมารวมอยูในความหมายนี้เลย. แตเดี๋ยวนี้เราก็จะ พูดกันถึงยุวชน เทาที่เปนปญหาเฉพาะหนา ควรจะพูดใน ระดับที่พอสมควรแกปญหา แตก็ใหมีความหมายกวางไปกวาเดิม. เมื่อ ถามขึ้น มาวา ศีล ธรรมสํา หรับ ยุว ชนมีอ ะไรบา ง? คํา ตอบนี้ เคยมืดมน; อาตมาก็เคยมืดมน เพราะไมคอยจะมีใครบัญญัติไวเฉพาะ วามันมี อะไรบาง เปนระบบที่จัดไวชัดเจน. เราก็ตอบยาก ที่จะชี้ใหมันเปนระบบชัดเจน แมก ระทั่งเดี๋ย วนี้; แตวาเนื่อ งจากที่ไดส นใจเรื่อ งนี้ม านานเปน สิบ ๆ ป แลว ก็มองเห็นนั่นนี่อยู เพิ่มขึ้น ๆ ; ก็เลยอยากจะวาเอาเอง. ไหน ๆ ก็ถูกดาหาวา ทํา อะไรนี้วา เอาเอง ทํา เอาเองอยูม ากแลว ; เรื่อ งนี้ก็ข อโอกาสทํา เอาเอง อี ก ครั้ ง หนึ่ ง ก็ จ ะจั ด ระบบหรื อ หมวดหมู ข องศี ล ธรรมสํา หรั บ ยุ ว ชนกั น ขึ้นมา พอสะดวกแกการที่จะพูดจาอบรมสั่งสอนลูกหลาน. .… .... …. .…

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เ มื ่ อ ยั ง ไ ม มี ร ะ บ บ อ ะ ไ ร ที ่ แ น น อ น เ ร า ก็ มี โ อ ก า ส ที ่ จ ะ ว า ง ร ะ บ บ นี ้ ต า ม ที ่ เ ร า เ ห็ น ว า ดี ที ่ ส ุ ด . อ า ต ม า อ ย า ก จ ะ ใ ห มี

www.buddhadassa.in.th


๓๓๖

อริยศีลธรรม

หั ว ข อ สํ า ห รั บ ศี ล ธ ร ร ม ที ่ เ ป น ห ม ว ด ใ ห ญ ๆ สั ก ๘ ห ม ว ด แลว ก็นึก ถึง คํา ที ่เราพูด กัน อยูต ิด ปากนั่น แหละดีที ่ส ุด อยูแ ลว ก็เอามาใชไดเลย เชน: หลัก ธรรม ๔ ขอ ที ่ใ ชไ ดทั ่ว ไปนับ ตั ้ง แตพ ระโพธิส ัต วล งมาถึง คนธรรมดาสามัญ ที่พูดใหฟงอยูเสมอวา สุทธิ ปญ ญา เมตตา ขันตี; ๔ ขอนี้ ขอเนนหนักยิ่งขึ้นไปอีก และขอใหชวยกันจดจําไปประพฤติปฏิบัติ เพื่อแกปญ หา ทุก กรณี ไมเ ฉพาะแตข องเยาวน. สุท ธิ ปญ ญา เมตตา ขัน ตี นี ้ม ากอ น ; ๔ ขอ : สุท ธิ คือ ความบริส ุท ธิ์ มีค วามหมายขยายออกไปไดม าก, ปญ ญญา ก็ค ือ รู ที ่ค วรจะรู , เมตตา นี ่ค ือ ความรัก ผู อื ่น ขัน ตี นี ้ อดกลั ้น อดทน; ๔ ขอนี้พูดมานานแลว. ที ่ข อ อีก ๔ ขอ ก็ค ือ วา สัง วร หิร ี วิร ิย ัง วุฑ ฒิ: สัง วร ก็ คือ บัง คับ ตัว การบัง คับ ตัว เอง สัง วรระวัง , หิร ี เปน คนละอาดตอ บาป หิริ นั ่น เอง ถา เปน คนก็เ รีย กวา หิร ี ถา เปน ธรรมก็เ รีย กวา หิร ิ, แลว วิร ิย ัง ก็ค ือ ความพากเพีย ร, และ วุฑ ฒิ ก็ค ือ ความเจริญ กา วหนา หรือ การพัฒ นา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เลื อ กคํ า ที ่ พ อดี สั ม พั น ธ ค ล อ งจองกั น ไปได โดยทางเสี ย งก็ จํ า งา ยขึ ้น วา สุท ธิ ปญ ญา เมตตา ขัน ตี สัง วร หิร ี วิร ิย ัง วุฑ ฒิ ๘ คํ า เป นชื่อของหมวด ๘ หมวด: แตเราต องเขาใจความหมายของคํา ๘ คํานี้ ที่ เป น หัวหนาหมวดนี้ใหกวาง จึงจะเขาใจขออื่น ๆ ไดงาย.

สําหรับคําวา "สุทธิ" ทานทั้งหลายก็พอจะนึกเอาเองได วามันจะมีความ หมายไปถึง ไหน. คํ า วา "สุท ธิ" นี ้ มัน ก็ป ระหลาดอยู ด ว ยตัว หนัง สือ แลว

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน

๓๓๗

แปลวา บริสุทธิ์ ก็ได แปลวา ลวน ๆ ไมมีอะไรปนก็ได; นี้เหมือนกันทั้งภาษาไทย หรือภาษาบาลี กระทั่งภาษาตางประเทศ. มันมีคําอยูคําหนึ่งซึ่งมีความหมายวา ไมมีอะไรเจือปน คือมันเปนอยางนั้นลวน ๆ แลวเขาก็เอาคํานั้นที่ใชมาแตกอ น ในภาษาชาวบาน มาใชในภาษาศาสนาก็กลายเปน "สุทธิ" คือ บริสุทธิ์, บริสุทธิ์ แหงกาย วาจา ใจ ก็แลวแตจะตองการ. ห ม ว ด ที ่ ๑. ก็ ค ื อ สุ ท ธิ มี ค ว า ม บ ริ ส ุ ท ธิ ์ นี ้ ก ็ อ อ ก ม า เปนหัวขอศีลธรรมยอย ๆ เชน : ข อ ๑. ลู ก เด็ ก ๆ ข องเรา จ ะต อ งเป น ค น ที ่ ม ี ธ รรม ะ เป น ผูประกอบอยูดวยธรรมะ คือมีศาสนามีอะไร แลวแตจะเรียก. ตองทําใหยุวชน เล็ก ๆ ของเรา รูจักดํารงตนอยูในลักษณะที่เรียกวา มีธรรมะมีศาสนา พอแมอายุ มากพอแลว ก็ควรจะรูอะไรเปนหลักธรรมะเปนศาสนา ที่จะใหลูกเด็ก ๆ มีธรรม. ข อ นี้ เ รี ย กว า เป น คนมี ธ รรมะ หรื อ ประกอบอยู ด ว ยธรรมะ; พอมี ธ รรมะ ก็เ ปน คนบริสุท ธิ์ ในความหมายหนึ่ง แลว หรือ โดยสัด สว นหนึ่ง แลว นี้ไ ปทํา ใหลูกเด็ก ๆ เขามีธรรมะเปนหลักประจําตัว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ข อ ๒. ชนะเนื ้ อ หนั ง สอนให เ ด็ ก ๆ เขารู จ ั ก หั ก ห า มความ รูส ึก ที ่เ ห็น แกค วามเอร็ด อรอ ย. ธรรมะขอ นี ้กํ า กวม กิน ความไปถึง หมวด อื ่น ได; แตเดี ๋ย วนี ้เราจะเพง เล็ง เอาเฉพาะที ่วา ถา คนมัน พา ยแพแ กเนื ้อ หนัง แล วจะบริสุ ท ธิ์ อ ยู ไม ได เดี๋ ย วก็ ลั ก เดี๋ ย วก็ ข โมย เดี๋ ย วก็ ป ระพฤติ ผิ ด อย า งอื่ น ; เพราะฉะนั้น ตองใหเขายึดหลักวา เขาจะชนะความตองการของธรรมชาติฝายต่ํา ซึ่งเขาเรียกกันมาแตเดิม ซึ่งเราคงจะไดยินกันมาตั้งเกือบรอยปแลว ที่เขาใชใน

www.buddhadassa.in.th


๓๓๘

อริยศีลธรรม

จริยธรรมสากลวา "ชนะตัวเองคือ ชนะเนื้อ หนัง ชนะความรูสึก ฝายต่ํา " นั่น เอง นี้เราจะเรียกวาชนะเนื้อหนัง. เขาก็บริสุทธิ์ขึ้นมาทันที เด็กคนไหนชนะความเอร็ดอรอย ทางตา ทางหู ฯลฯ ทางอะไรได มันก็เปนเด็กที่บริสุทธิ์ขึ้นมาทันที. ขอ ที ่ ๓. กตัญ ู ซึ ่ง รวมถึง กตเวทีด ว ย ความรู ส ึก กตัญ ูนี้ มันแสดงความบริสุทธิ์ไมมีบาป ไมเห็นแกตัวจนลืมบุญคุณของผูอื่น นี ้เ ราก็พ อจะสบายใจไดบ า งวา ขนบธรรมเนีย มประเพณี ของคน ไทยเรามัน ก็ม ีม ามาก เขม งวดในขอ นี ้. อยา งทํ า บุญ ตายาย พูด กัน แลว กัน อีก ถึ ง ค วา ม ก ตั ญ ู ก ต เว ที ; ถ า จิ ต ใจ ก ตั ญ ู อ ยู  ก็ รู  ส ึ ก ว า ยั ง เป น จิ ต ใจ ที่ บ ริสุ ท ธิ์อ ยู . ถ าความเนรคุ ณ เขามั น มั น ก็ห มดความบริสุท ธิ์; ดั งนั้ น จึงเพ งเล็ ง เอาสวนนี้ แลวมาจัดไวในศีลธรรมหมวดที่วามีความบริสุทธิ์. ข อ ที ่ ๔. ซื ่ อ สั ต ย เ ด็ ก ๆ เ กิ ด ม า ต อ ง ซื ่ อ สั ต ย อ า ต ม า สัง เกตเห็น ดว ยตนเอง เด็ก ตัว เล็ก ๆ นี ้ ยัง พูด โกหกไมเ ปน ยัง ถือ เอาของ ผู อื ่น ไมเ ปน ใหด ิน สนไปเขีย นพอเขีย นเสร็จ แลว เขาคืน ; ถามวา ทํ า ไมคืน ? เขาบอกวาก็ของหลวงตา เขายังขโมยไมเปน ยังยักยอกไมเปน เขายังซื่อสัตยอยู; แลว ความคดโกงมัน จะมา เมื ่อ รูจ ัก ประโยชน รูจ ัก ความเอร็ด อรอ ยที ่จ ะพึง ได จากประโยชน. ความคิดมันก็นอมเอียงไปในทางที่จะเขาขางตัว มันก็เลยไมซื่อสัตย โกหกก็ไ ด ขโมยก็ไ ด ในขณะนี ้. เราก็จ ะตอ งอุต สาหร ะมัด ระวัง ลูก ตัว เล็ก ๆ ใหรูจักรักษาความซื่อสัตยนี้ไวไดเรื่อย ๆ ไป มิฉะนั้นจะลําบากเมื่อโตแลว ถาเขา เคยโกหก เคยขโมยแลว มันก็ลําบากแน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ข อ ที ่ ๕. ชอบสงั ด นี ้ อ อกจะมี ป  ญ หา : มี ค วามหมายที ่ จ ะ ให ลู กเด็ ก ๆ ชอบสงบสงัด เพราะเขาจะเอะอะมะเทิ่ งอยูเรื่อยไป. เราจะบอกให

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน

๓๓๙

นิยมความสงบสงัด วาที่ไมชอบสงัดนั้น มันก็ไปชอบสิ่งที่มันผิดธรรมชาติ ผิด ปรกติ หรือ ไมบ ริสุท ธิ์. เราไมค วรจะกลัว ความสงบเงีย บ หรือ วาความสงัด ; ชอบนั่งอยูในที่สงัด แลวคิดนึกอะไรในที่สงัด; นี้หมายถึงชอบสถานที่สงัดไป เสียตั้งแตเล็ก ๆ ดีกวา จะไดเกลียดโรงหนังโรงละครไดงายขึ้น จนไมหลงเปน คนบามหรสพอันยั่วยวนอยางนี้เปนตน. ขอ ที ่ ๖. ใหร ัก สงบ นี ้เ กี ่ย วกับ ความรู ส ึก ไมไ ดเ กี ่ย วกับ สถานที่. ใหชอบใจคอที่สงบรักความสงบสุขไมวิวาทกับพี่ ๆ นอ ง ๆ. จะยอม อดทน อยาใหพอแมตองลงโทษเพราะทะเลาะวิวาทกัน. ถามีทะเลาะวิวาทกัน พอแมจะไมตองถามวาใครผิดใครถูก, จะลงโทษทั้งสองฝายเพราะทั้งสองฝายนี้ไม รักสงบ จึงทะเลาะกันได. ถาฝายหนึ่งรักสงบแลว มันทะเลาะกันไมได มันตบ มือขางเดียวไมดัง. ทั ้ ง ชอบความสงั ด ทั ้ ง รั ก สงบ นี ้ เ ป น ความบ ริ ส ุ ท ธิ ์ ต าม ธรรมชาติ ผิดจากนี้แลวมันก็ไมบริสุทธิ์แน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ข อ ที ่ ๗. ให บ ู ช าบิ ด ามารดา นี ้ อ ธิ บ ายกั น มามากแล ว : บิดามารดา คือ อะไร? เปน สัม มาทิฎ ฐิ ถือ วาบิดามารดามี. เปน มิจฉาทิฎ ฐิ คือ วาบิด ามารดาไมมี. พระพุท ธเจาทา นสอนวา บิด ามารดาเปน ครูค นแรก ของลูก เปน พระพรหมของลูก เปน พระอรหัน ตข องลูก ไปหารายละเอีย ด เอาเอง จากเรื่อ งนั้น ๆ. นี้เราใหบูช าบิด ามารดา ไปตั้งจุด ตั้งตน ที่สุด : วา เปนผูใหชีวิต มา แลวก็ใหทุก อยาง ตั้งตน แตความรู วาจะกิน อาหารอยางไร จะนั่งอยางไร จะเดิน อยางไร. ฉะนั้น การบูช าพอ แมนี้ เปน ความถูกตอ ง ตามกฎเกณฑของธรรมชาติ จึงถือวาเปนความบริสุทธิ์ของลูกเด็ก ๆ

www.buddhadassa.in.th


๓๔๐

อริยศีลธรรม

ข อ ที ่ ๘. มี อ นุ ส ส ติ ใ น พ ร ะ รั ต น ต รั ย . คํ า ว า "พ ระ รัต นตรัย " ในที่ นี้ ให เอาความหมายกวา ง ๆ วา เป น หั วใจหรือ เป น หลั ก ของ ศาสนา เด็กทุกคนจะตองมีศาสนา มีความรูสึกตอศาสนา ยอมรับวามีศาสนา, อะไรเปนหัวใจของพระศาสนา จะตองนึกถึงสิ่งนั้นอยูเสมอไป เรียกวาอนุสสติ. ฉะนั้น ลูกเด็ก ๆ นี้ จะตองพูดวา พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ นี้พูดเปน , แลว ระลึก ถึง พระพุท ธ พระธรรม พระสงฆอ ยูเสมอ; คลา ย ๆ กลับ วา เปน อะไรมาคอยเฝาดูเราอยูอ ยางนั้น ไมรูสึก วาเราอยูในที่ลับ ที่ป ราศจากสิ่งนี้. ให ถื อ เหมื อ นกั บ ว า มี พ ระเจ า หรื อ มี พ ระพุ ท ธ พระธรรม พระสงฆ อะไรก็ไ ด มาคอยพูด เราตลอดวัน ตลอดคืน แลว เราก็นับ ถือ , แลว ก็ก ลัว เกรงบาปอะไรอยูแลว ก็ระลึกถึงพระรัตนตรัยอยูเปนประจํา ตามที่ลูกเด็ก ๆขนาด ไหนจะระลึกไดอยางไร. ถา พอ แมไ มขึ้น เกีย จ หรือ ไมโ งเ ขลา หรือ ไมเ ห็น แกตัว เกิน ไป จะตองมีเวลาพูดถึงคําวา พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ เหลานี้ กับลูกเด็ก ๆ อยางนอยวันละครั้ง ในความหมายอะไรก็ได; แลวใหเปนศีลธรรมของลูกเด็ก ๆ เกิดขึ้นวา เขาจะตองระลึกถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ อยางนอยครั้งหนึ่ง ในวัน หนึ่ง เชน เวลาจะนอนเปน ตน ก็เปน ศีล ธรรมขอ หนึ่งไดเหมือ นกัน ; ซึ่ง เรียกวา อนุสสติในพระรัตนตรัย จะนํามาซึ่งความบริสุทธิ์ หรือเปนไปเพื่อ ความบริสุทธิ์ แหงการคิด การพูด การทํา อะไรของเขา. เขาจะรูสึกวา มีผูคุม มีผูค อยดูแ ลอยูเ บื้อ งหลัง เสมอ; เหมือ นพวกที่เ ขาถือ พระเจา เขาก็ถือ วา พระเจา มาคอยคุม หลัง อยูเ สมอ ทํา อะไรผิด ไมไ ด, หรือวาเขาทุกขรอนขึ้นมา พระเจ า จะช ว ยทั น ที เ ลย. ถ า เด็ ก ของเรามี ค วามทุ ก ข มี ป ญ หาขึ้ น มาก็ จ ะ

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน

๓๔๑

หวัง และเชื่อ ทัน ทีเ ต็ม ที่เ ลย วา พระพุท ธเจา จะชว ย; นี่เ ด็ก ๆ ของเราก็มี จิตใจบริสุทธิ์. ข อ ที ่ ๙. จ ะ ใ ช คํ า ว า "จิ ต เก ลี ้ ย ง " ถ า ใช คํ า ว า จิ ต ว า ง จะมากเกินไปสําหรับเด็ก. เด็กก็จองมีจิตเกลี้ยง; คือใหรูจักวา ธรรมชาติเปน อยางไร, เราเปน มาอยางไร แมวาเราจะรัก บิดามารดาของเราอยางไร, เรา ก็ยังรูวาเปนของที่จะตองเปนไปตามธรรมชาติ; จะมีความรักความอะไรก็ไมถึง กับ วา มัน เปน ตัวกู ของกู ถาอยางนี้มันมากไป มัน เปน เรื่อ งจิต วางมากไป ทําใหเปนจิตเกลี้ยง; คือวาไมยึดมั่นถือมั่นในสิ่งใด จนเกิดความรัก ความโกรธ ความเกลียด ความกลัว. ป ญ หาของเด็ ก ๆ นี ้ ก็ ม ี ค วามรั ก อย า งหนึ ่ ง ความโกรธ อยา งหนึ่ง ความกลัว อยา งหนึ่ง ความเกลีย ด ความอิจ ฉาริษ ยา ตา ง ๆ นานา; เหล า นี้ มั น มาจากความเห็ น แก ตั ว หรื อ จิ ต ไม เ กลี้ ย ง; ก็ ส อน ใหเขารูจักทําจิตใหเกลี้ยง ใหมีเวลาที่จิตมันเกลี้ยงนี้มากขึ้น ๆ. พอเขาเกิดโกรธ ขึ้น มา ก็เตือ นวา "มัน ไมเกลี้ย งแลว " พอกลัว ขึ้น มา เขารอ งไหเ ปน ตน ก็วา "มันไมเกลี้ยงแลว" รีบสลัดออกไปเสียโดยเร็ว ความมีจิตเกลี้ยง นั้นคือความ บริสุทธิ์อันหนึ่ง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ข อ ที่ ๑๐. ความไม ลํา เอี ย ง ลํา เอี ย งเรี ย กว า อคติ นี่ อ ย า อคติ ไมอ คติ ไมเขา ขา งฝา ยนั้น ไมเขา ขา งฝา ยนี้ ไมเขา แมแ ตฝา ยตัวเอง, ถา ผิด ก็รับ ผิด เมื่อ เกี่ย วขอ งกับ ผูอื่น ก็ไ มชว ยกัน ทํา ใหเ กิด ความลํา เอีย ง ขางนั้นขางนี้. พี่นองทะเลาะกัน ก็ไมเปนพยานเท็จใหกันได นับตั้งแตสิ่งเล็ก ๆ

www.buddhadassa.in.th


๓๔๒

อริยศีลธรรม

นอย ๆ เบื้องตนนี้เรื่อยไป จนกระทั่งมันเกี่ยวกับคนอื่น เกี่ยวกับเปนพยานเกี่ยวกับ อะไรก็ตาม ตองไมลําเอียง ถือวาความลําเอียงนี้เปนบาป เปนของสกปรก เด็กๆ เขาก็ตองกลัวความลําเอียง วามันเปนของที่ไมดี ไมควรจะมาอยูในเรา. ขอ ที ่ ๑๑. ไมดื ้อ พูด งา ย นิด เดีย ว ใหเ ห็น วา ค วาม ดื ้อ นี้ สกปรก ถ า พาลู ก เด็ ก ๆ ของเราไปดู เด็ ก อื่ น ของพ อ แม อื่ น ที่ เขากํ า ลั ง เฆี่ ย น กํ า ลัง ตี กํ า ลัง ทํ า อะไรอยา งโกลาหลวุน วายอยา งยิ ่ง เพราะวา เด็ก นั ้น มัน ดื ้อ ; แลว ลูก ของเราไปยืน ดูก ับ เรา ก็ส อนใหเ ห็น วา ความดื ้อ นั ้น มัน เปน อยา งไร; เด็กก็มีจิตใจนอมเอียงไปในทางที่เกลียดความดื้อ. ให ถ ื อ ว า ค ว า ม ไม ดื ้ อ เป น ค ว า ม บ ริ ส ุ ท ธิ ์ อ ย า ง ห นึ ่ ง ทํ า ให เกิดความสะอาดทั้งทางกาย ทั้งทางวาจา ทั้งทางใจ; ใหบูชาความดื้อ เพราะวา พอแมนี้รักเราไมมีอะไรเปรียบ ที่จะใหรายแกเรานั้นไมมี. เพราะฉะนั้น จึงยอม แกบิดามารดาทั้งหมด กระทั่งเปนวัยรุนเปนหนุมเปนสาวอะไร ก็จะไมดื้อ, ยอม เสียสละทุกอยางตามความประสงคของบิดามารดาได. นี้ก็สมมุติไวในพวกสุทธิ คือความบริสุทธิ์ดวยเหมือนกัน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ข อ ที ่ ๑๒ ต อ งกิ น ส ะอาด คํ า เหล า นี ้ ผ ู ก ขึ ้ น ใหม เพื ่ อ ง า ย แกค วามจดจํ า . อยา กิน ของสกปรก เขา ไป เชน ไปลัก ขโมยกิน เขา ไป นี ่ก ิน ของสกปรก หรือ วา หามาโดยไมช อบธรรมอะไรก็ต าม มัน กิน ของสกปรก; เพราะฉะนั้นสิ่งที่กินเขาไป จะตองกลาวได ยืนยันไดวา เปนสิ่งที่ไดมาโดยถูกตอง ถ า มั น เป น ของสกปรกแล ว จะไม ย อมกิ น . นี่ คํ า อธิ บ ายมั น ไปได ไกล เดี๋ ย วก็ ไป กระทบกระทั่งคนอื่นเขาอีก.

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน

๓๔๓

นี ่ต ัว อยา งเทา นี ้ก ็พ อแลว วา ใน ๑๒ หัว ขอ ของศีล ธรรมสํ า หรับ เยาวชนของเราในหมวดแรก คือหมวดที่วาดวยสุทธิ คือความบริสุทธิ์ สะอาด หรือถูกตอง ทีนี้มาดูหมวดที่ ๒ กันบาง เดี๋ยวเวลาจะหมด:

หมวดที่ ๒ คือปญญา รูสิ่งที่ควรจะรู พูด สั ้น ๆ ก็ค ือ วา ใหเ ฉลีย วฉลาดในการที ่จ ะประพฤติ หรือ กระทํา ทุก สิ่ง ใหมีผ ลดี ตามความมุง หมายของมนุษ ยเรา วาเกิด มาทํา ไม. มีความรูที่ถูกตองหรือเพียงพอ แกสถานะของตน ๆ ก็เรียกวาปญญาได แลวก็ ไมเฟอ แลวก็ไมลนอะไร. ข อ ที่ ๑. ให ลู ก เด็ ก ๆ ของเรามี ป ญ ญาชนิ ด ที่ มี ค วามทุ ก ข ไดโดยยาก คือจะสอนใหลูก ๆ เด็ก ๆ ของเราเปนทุกขไดยาก ในกรณีทีเขาเปน ทุกขกันนี้ เราจะไมเปนทุกข ; แลวมันคูกับขอที่ ๒ ที่วา "เปนสุขไดงาย" เปนทุกข ไดยาก นี่ตองไปดูวา คนธรรมดาที่เขามานั่งเปนทุกข นั่งรองหมรองไหกันดวย เรื่องอะไร เชนของหายก็รองไห ไมไดอยางใจก็รองไห กระทั่งพอแมตายก็รองไห นี้ก็เรียกวาเปนทุกข. เราจะสอนเด็ก ๆ ของเราใหเปนทุกขไดโดยยาก คือมีปญญา รูจักคิด รูจักนึก รูจักปลงออกไปได ใหมันเปนทุกขไดยากที่สุดจนเกือบจะไมรูจัก กับความทุกข.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ขอ ที ่ ๒. ใหเ ปน สุข ไดโ ดยงา ย อะไรที ่ค นอื ่น เขาทํ า ใหมี ประโยชน หรือใหเปนสุขไมได ลูกเด็ก ๆ ของเราตองทําได ; ฉะนั้นเราไมตองใช

www.buddhadassa.in.th


๓๔๔

อริยศีลธรรม

เงินใหเปลือง ไม ตองลําบาก ไมตอ งมีอะไรมาก เราก็เปน สุขได เราไม มีของ ฟุ ม เฟ อ ย เราไม ต อ งหาเงิ น มาซื้ อ หาของฟุ ม เฟ อ ย เรานอนเสื่ อ กระจู ด ก็ มี ความสุ ข ได เหมื อ นที่ เ ขาจะไปซื้ อ หาพรม ซื้ อ หาอะไรมา. แต เ ด็ ก ๆ เรา ก็เคยนอนเสื่อกระจูด หรือไมมีเสื่ออะไรนอนกระดานก็ได เราเปนสุขได เราก็ เปนสุขไดงาย. ฉะนั้นการกินอะไรก็ไมตองแพง ไมตองลําบาก ไมตองยุงยาก ก็กินได, จะเลนอะไร ก็ไมตองไปซื้อหามาดวยของแพงมันก็เลนได สบายสนุก ได. นี ้ก ็ม ากมายเหลือ เกิน ที ่วา เปน สุข ไดงา ย; แตถ ึง ทีเปน ทุก ข เราก็เปน ทุกขไดยาก. ข อ ที ่ ๓. ถ า มี ป  ญ ญ าจริ ง จะต อ ง เป น อยู  ต่ํ า หรื อ กิ น อยู ต่ํา ซึ่งคูกับขอที่ ๔ ที่วา มี การกระทําที่สูง . ขอที่ ๓. กินอยูต่ํา ๆ ก็คลาย ๆ กับที่วามาแลว วาทุกขไดยาก สุขไดงาย ไมตองกินของแพง ไมตองกินอยางวิธี การพิธีการที่หรูหราอะไร; แตก็ยังถูกตองตามหลักของวิชาสุขภาพอนามัยตาง ๆ. อยา เขา ใจวา กิน อยูใ หส ูง แลว จึง จะถูก สุข ภาพอนามัย ; ที ่จ ริง กิน อยู ต่ํ า ๆ ง า ยตามธรรมชาติ นี้ มั น ยั ง ถู ก กว า , ถู ก อนามั ย กว า , ถู ก ธรรมชาติ ก ว า , มีประโยชนกวา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ฉะนั ้ น ส อ น แน ะ ชั ก จู ง ห รื อ ทํ า ตั ว อ ย า ง ก ารกิ น อ ยู  ที่ ต่ํ า เขา ไว; ถา ไมอ ยา งนั ้น ก็จ ะเปน พอ แมที ่เ ชือ ดคอลูก วัน ละนิด ๆ; คือ กิ น อยู ต่ํ า นั ้ น มั น ต่ํ า แต กิ น อยู  พอที ก ารกระทํ า ของกาย วาจา ใจ นั ้ น มุงหมายสูง. เกิดมาเปนมนุษยเพื่ออะไร? เพราะฉะนั้น จึงไมเห็นแกตัว เห็นแกสิ่ง

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน

๓๔๕

ที ่ส ูง สุด แลว ก็เ สีย สละได. นี ้เ รีย กวา มุ ง กระทํ า อยา งสูง ใหตั ้ง ปณิธ านไวว า เราเกิดมาทีนี้จะตอทําใหดีที่สุด ที่มนุษยจะทําได. ขอ ที่ ๕. หมายถึง เปน ผูที่มีเ หตุผ ล อยูใ นอํา นาจแหง เหตุผ ล ไมโ ง ไมง มงาย, ฉะนั้น จึง เปน คนที่มีปญ ญา ไมโ วยวายไมอ ะไร. เหตุผ ล มันบอกอยูวา เราควรจะทําอยางไร, ควรจะไดเทาไร, ควรจะมีอะไร, ควรจะ เชื่ออะไร, อยูในอํานาจแหงเหตุผลไวกอน; ดีกวาไมอ ยูในอํานาจแหงเหตุผล พูด กัน ไมรูเ รื่อ ง. คนเราอยู ใ นอํ า นาจแหง เหตุผ ลไปกอ น จนกวา จะบรรลุ มรรคผล นิ พ พาน จึ ง จะอยู เ หนื อ เหตุ ผ ล; แต ใ นขั้ น ปุ ถุ ช นคนธรรมดา สามั ญ โดยเฉพาะลู ก เด็ ก ๆ ขอให อ ยู  ใ นอํ า นาจแห ง เหตุ ผ ล ก็ จ ะไม มี ปญหา หลายอยางหลายประการ เชน กลัวในใจสิ่งที่ไมควรกลัว, หรือไปสรางวิมาน ในอากาศเลยเถิดไป, หรือวากระทั่งทําอะไรที่งมงายอยูเดี๋ยวนี้; ไปดูเองก็แลวกัน, นั่นมันไมมีเหตุผล.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ข อ ที ่ ๖. ให เ ขา รู  จ ั ก บุ ค คล ให เ ขามี ป  ญ ญ ารู จ ั ก สั ง เกต บุคคล นับตั้งแตวาพอดูตาก็รูแลว. เด็กบางคนฉลาด ดูตาเทานั้นก็รูวา คนนี้ ชอบเรา หรือ ไมช อบเรา, จะเขา ไปหาไหม, จะพูด จาดว ยไหม. จะควรคบ ควรเขาไปทํา ความติด ตอ ไหม, ใหเขารูจัก บุค คลอยา งนี้. ที่จ ริงธรรมะนี้เปน ธรรมสู ง ที่ เรี ย กว า สั ป ปุ ริ ส ธรรม แต เราลดมาให เด็ ก ๆ ก็ ทํ า ได แล ว ก็ ยิ่ ง ดี สําหรับจะเปนพื้นฐานตอไปในอนาคต สําหรับเปนสัตบุรุษ. ข อ ที ่ ๗ รู  จ ั ก สั ง ค ม ห รื อ บ ริ ษ ั ท คื อ ห มู  แ ห ง บุ ค ค ล หมูนี้กลุมนี้ คณะนี้ เขาเปนอยางไร. เราดูอ ยูหาง ๆ ใหเขาใจ, . แลวจึงจะ

www.buddhadassa.in.th


๓๔๖

อริยศีลธรรม

เขาไปติดตอดวย; หรือจะตองการอะไร ก็จะสําเร็จประโยชน ที่จะไปขอความ ชวยเหลือจากบุคคลก็ดี จากสังคมก็ดี, หรือวาจะเขาไปคบหาสมาคมรวมเปนรวม ตายอะไรกันก็ดี. นี้มันตองรูจักบุคคล และรูจักคณะบุคคล และสังคม. ข อ ที ่ ๘. ต อ งรู  จ ั ก เว ล า . เด็ ก ๆ เข าก็ ไ ม ค  อ ย จ ะ รู  จ ั ก เวล า วา ควรจะพูด หรือ ยัง , ควรจะรบกวนแมห รือ ยัง , ควรจะรบกวนผูอื่น หรือ ยัง , แล ว ก็ ไ ม ค อ ยรั ก ษาเวลา. ให เ ขารู จั ก สิ่ ง ที เ รี ย กว า เวลา ว า มี ค า อย า งไร, จะต อ งรั ก ษาอย า งไร, จะต อ ปฏิ บ ั ติ อ ย า งไร. ให รู ว า สํา คั ญ ที ่ สุ ด ว า ถ า ทําผิดเวลา แลวก็ไมไดประโยชนเลย ก็ลมละลายหมด ตองทําทันเวลาเสมอ. เด็กบางคนไมคอยขยันเรียน ไมรูเรื่องคาของเวลา ; ถาเด็กที่รูคาของเวลาจะ รีบเรียน เพราะกลัวจะไมทันเขา หรือวาจะหมดเวลาเรียนเสียกอน. ข อ ที ่ ๙ ต อ งรู  จ ั ก ตั ว เอง กั น ดี ก ว า ; ถ า รู จ ั ก ตั ว เองแล ว มัน งา ย ที่จ ะไปรูจัก อัน อื่น อีก หลายๆ อยา ง นอกไปจากตัว เอง. ตอ งสอน ใหลูก เด็ก ๆ เขารูจัก ตัว เอง, ดูตัว เองา เปน อยา งไรกัน แน. อยา เขา ขา งตัว ; ถาตัวผิดก็ตองผิด ถาตัวถูกก็ตองถูก, ตัวมีความสามารถเทาไรก็ควรจะยินดี. ตัวของลูกของพอแม ที่ยากจนหรือมั่งมีอยางไร; ก็ควรจะรูจักตัวเอง มันจะได พอดี. เด็ก ๆ ที่ไมรูจัก ตัวเอง ไมรูจัก พอ แม ก็ทําผิด กัน ไปหมด ทั้งแกพอ แม และแกเด็ก ๆ เอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ข อ ที ่ ๑๐ จะต อ งมี ไ หวพริ บ ; ถ า มี ไ หวพริ บ นี ้ ก ็ ค ื อ คํ า ว า ฉลาดเฉลียว รวดเร็ว. ปฏิภาณเปนปญญาที่รวดเร็ว เขาเรียกวาปฏิภาณ เร็ว

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน

๓๔๗

กระทั่ ง จะทํา ตอบให ถู ก ต อ งทั น ควั น หรื อ พู ด จาตอบทั น ควั น ; อย า เอา ไปปนกัน เสีย . ปญ ญาเปน ความรู; แตไ มไ ดห มายความถึง วา ตอ งทัน ควัน . ถาปฏิภาณหรือไหวพริบ เขาหมายถึง ทันควัน มีแตปญญาแลวไมมีปฏิภาณ ก็ลําบากเหมือ นกัน ; ไมคอ ยจะสําเร็จ เพราะไมทัน แกเวลา หรือ ไมห มดจด ไมสิ้น เชิง ไมเกลี้ย งเกลา; เพราะวา มัน ไมมีไ หวพริบ ซึ่ง ไดแ กค นที่ปญ ญา มันอยูลึก ปญญามาชา มันคลานงุมงามเหมือนกับเตา; แตก็มีปญญาเหมือนกัน มีปญญาหนาแนนเหมือนแผนดินก็ได แตมันมาชา. ฉะนั้ น ต อ งเอาคุ ณ สมบั ติ แ ห ง ความเร็ ว ในการคิ ด การ ตัด สิน ใจ นี่เ รีย กวา ปฏิภ าณ ในภาษาบาลี; ถา เปน ภาษาไทยก็เ รีย กวา ไหวพริบ. หัดใหลูกเด็ก ๆ ของเรามีปฏิภาณใหตอบปญหาไดทันควัน ทันทวงที. ปญหาเล็ก ๆ นอย ๆ ทายกันเลน ตามประสาเด็ก ๆ นี้ก็ลวนแตมีปฏิภาณทั้งนั้น. ธรรมเนียมโบราณของบรรพบุรุษเคยทําไวดี; เมื่อเด็ก ๆ เราเคยตอบปญหาปฏิภาณ กัน เลน สนุก สนาน เปน ที่พ ออกพอใจ ไมทํา ลายศีล ธรรม. เดี๋ย วนี้มัน ก็ชัก จะเปลี่ยนแลว เปนสมัยใหม ไปพูดไปนั่นกัน ในเรื่องที่ไรศีลธรรมดวยแลวก็ไมชวย สรางปฏิภาณดวย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ขอ ที ่ ๑๑ มีค วามเห็น ชอบ คือ สัม มาทิฏ ฐิ นั ่น เอง เรื่อ งนี้ กวาง ความหมายกวาง แตวาทุกคนก็รูดีอยูแลว วาสัมมาทิฏฐิคืออะไร มิจฉาทิฏ ฐิคือ อะไร. เราจะตอ งขยายความรู ที่เ ปน สัม มาทิฏ ฐิ ของลูก เด็ก ๆ นี่ ใหขยายกวางออกไป กวางออกไป, กวางออกไป, แลวก็โดยเฉพาะอยางยิ่ง ในเรื่องทีเกี่ยวกับศีลธรรมและศาสนา สัมมาทิฏฐิคํานี้สงวนไวใชอยางนี้; ฉะนั้นไปศึกษาคําวาสัมมาทิฏฐิ แลวไปปรับกันใหเขารูปเรื่อง.

www.buddhadassa.in.th


๓๔๘

อริยศีลธรรม

ข อ ที่ ๑๒ อยากจะระบุ ไ ปยั ง ศรั ท ธา ถ า มี สั ม มาทิ ฏ ฐิ แ ล ว แนน อน วา สิ่ง ที ่เ รีย กวา ศรัท ธาจะมีไ ดโ ดยปลอดภัย . ถา มีม ิจ ฉาทิฏ ฐิแ ลว ศรัท ธาก็มีผิด , ผิด แลว ก็ไ ปกัน ใหญ; ลงความเชื่อ มัน ผิด แลว ก็เ ดิน ไปผิด . เราจะตอ งมีศ รัท ธาคือ ความเชื่อ ที่ถูก ตอ ง แลว ก็ตอ ง ตามหลัง สัม มาทิฎ ฐิ หรือปญญา ที่เรียกวาสัมมาทิฏฐิ. ที นี้ ข ยายคํ า ว า ศรั ท ธาออกไปให ทุ ก แง ทุ ก มุ ม : ศรั ท ธาในพระ ศาสนา, ศรัทธาในบุคคลที่ควรศรัทธา เพราะวาเรามีปญญา เราดูออก กระทั่ง ศรัทธาในตัวเอง ในความสามารถของตัวเอง เชื่อตัวเอง แนใจตัวเอง นี้มันมี ผลอยางอื่น คือทําใหกลาติดสินใจ หรือวาเปนคนองอาจกลาหาญ หรืออะไร นี้มันมีความเชื่อตัวเอง. เด็ก ๆ โดยมากพอเราถามเขาแลว ก็อาย ไมกลาพูด แทบทั้ ง นั้ น . เพราะขาดศรั ท ธาในตั ว เอง. ฉะนั้ น ไปอบรมให มี ศ รั ท ธา ในตัวเองบาง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ข อ ที ่ ๑๓. จ ะระบุ ไ ป ยั ง ค วาม สุ ข ุ ม ข อ ๑๔ รอ บ ค อ บ , ขอ ๑๕ ชอบไตรต รอง สามขอ นี้ค ลา ยกัน มากจนแทนกัน ได แตอ ยากจะ ใหมันเปนของที่มีความหมายไมเหมือนกัน จะไดทําใหมันครบถวนจริง ๆ

สุข ุม นั ่น หมายถึง ลึก ลงไป, รอบคอบ นั ้น หมายถึง รอบดา น กวางออกไป ความที่มีความรู หรือสติปญญาอะไรที่มันลึกลงไปนี้ ไมยอมใหตื้น ไมยอมใหอยูผิวเผิน อยางนี้ เราจะเรียกวามีความสุขุม มีปญ ญาสุขุม ถาวา รอบคอบมันกวาง ๆ ไปรอบดาน นี้มันขึ้นอยูกับเด็ก ๆ ที่เขามีทุนสํารองในการ ศึก ษา การอบรมแวดลอ มาอยา งไร แตแ ลว มัน ขยายออกได ไมม ีข อบเขต

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน

๓๔๙

จํากัด ฉะนั้น ถาเราสอนใหเด็ก ๆ รูจักยินดีในที่สงัด และรักษาความสงบมา ตั้งแตแรก ๆ แลว; ความสุขุมรอบคอบนี้มันจะมีมางาย, จะมีไดโดยงาย. ที่ ว า ชอบไตร ต รอง นี้ ก็ คื อ ไม ผ ลุ น ผลั น , แล ว ก็ ไ ตร ต รองแล ว ไตรตรองอีก ; เพราะเด็กๆ เขาไมชอบไตรตรองมาก ไมทันแกใจ เราจึงตอง ฝกนิสัยใหดูใหดี. สุ ขุ ม รอบคอบ ชอบไตร ต รอง นี้ ค ล า ยกั น ถ า เขาจะเอา ปนกันเสีย ก็ไมสําเร็จประโยชนเต็มที่ ตองรูจักแยกออกมา. ข อ ที่ ๑๖–๑๗ รู ป ระมาณในการบริ โ ภค; บริ โ ภคนี้ ไ ม เ ล็ ง ถึง อาหารอยา งเดีย ว อะไรก็ต ามให รู ป ระมาณหรือ ความพอดี นี ้ก ็เ ปน ปญ ญาแท ; เกิน ไปก็ไ มดี ขาดไปก็ไ มดี เหมือ นกับ วา อว นก็ไ มดี ผอม กับไมดี อะไรทํานองนั้น ใหเขาเปนผูรูประมาณ ในการที่จะเปนอยู หรือกินอยู หรือใชสอยหรืออะไร เปนผูรูประมาณ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ข อ ที ่ ๑๘ ให เ ขา หวั ง ที ่ จ ะพึ ่ ง ตั ว เอง นี ้ ก็ เ ป น ป ญ ญาอั น หนึ ่ง . คนหวัง พึ ่ง วัต ถุภ ายนอกนั ้น ไมใ ชค นมีป ญ ญา; แมวา เขาจะตอ งพึ ่ง บิดามารดา มักก็ในระยะแรก; ในที่สุดความหมายอันแทจริงทั้งหมด ทุกคนจะ ต อ งพึ ่ ง ตนเอง นี ้ ก ็ ต  อ งอธิ บ ายให ด ี ๆ ว า ที ่ ว  า พึ ่ ง พระพุ ท ธเจ า แล ว ทําไมมาพึ่ งตัวเอง? พึ่ งพระพุทธเจา ก็คือไปรับคําสอนมา สําหรับพึ่งตนเอง; ฉะนั้น ใจความมัน ก็อ ยูที่พึ ่ง ตัว เอง พระพุท ธเจา ทา นสอนใหพึ ่ง ตัว เอง นั ่น

www.buddhadassa.in.th


๓๕๐

อริยศีลธรรม

แหละ คือ ทา นเปน ที่พึ่ง แกเ รา . ฟง ดูก็นา หวัว พระพุท ธเจา ทรงเปน ที่พึ่ง แกเรา โดยการที่ทรงสอนใหเรารูจักพึ่งตัวเอง. ฉ ะ นั ้ น จึ ง ส อ น ให เ ด็ ก ๆ เข าห วั ง ที ่ จ ะ พึ ่ ง ตั ว เอ ง ; ไม ใ ช อวดดี ไมใ หจ องหองตอ บิด ามารดาหรือ ใคร ๆ แตใ หเ ขารับ รูไ ววา ดูเ ถอะ ไมเทา ไรหรอก ความที่ตอ งพึ ่ง ตัว เองนี้จ ะตามเขา มา,จะตามเขา มา, แลว ก็ มากขึ้ น ฉะนั้ น เตรี ย มเสี ย เดี ๋ ย วนี ้ แล ว ก็ ไ ม พ ึ ง ผี ส าง อย า งนี ้ เ รี ย กว า ไมพึ่งภายนอก เปนความหมายที่กวาง ๆ วา ไมพึ่งปจจัยภายนอก ใหพึ่งภายใน คือ ตัว เอง ผีส างเทวดาอะไรตา ง ๆ มัน มากมาย คํา วา ผีส างนั้น กิน ความ มาก อยาไปหวังพึ่งภายนอกนานาชนิด ; เสียเวลาแจกแจงไมจําเปน เขาใจ เอาเองก็ได วาไมพึ่งเหตุปจจัยภายนอก. ถ า เร า ต อ ง พึ ่ ง เห ตุ ป  จ จั ย ภ า ย น อ ก ก็ เ ป น เรื ่ อ ง ชั ่ ว ค ร า ว , หรือถาวา เราตองอาศัยสิ่งใดบาง นั้นมันก็เปนอุปกรณสําหรับการพึ่งตัวเอง. เชน เราจะขี่เ รือ ไปนี้ ไมใ ชเ ราพึ่ง เรือ ; แตเ ราใชเ รือ เปน อุป กรณ ในการที่ เราจะพึ่ง ตัว เอง ขา มฟากไปใหไ ด. คํา พูด มัน สับ สน กํา กวมได; ระวัง ให ดี ๆ. เราพึ ่ ง ตั ว เอง นั ้ น ถ า สอนไม ด ี แ ล ว เด็ ก ๆ จะจองหอง เดี ๋ ย ว จะยุงกัน ใหญ แลวก็เป นคนโง ให เขาเขาใจถู กต อ ง ก็ต องเป น เรื่องพึ่ งตั วเอง อยางถูกตอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ข อ ที ่ ๑๙ ไม ถ ื อ โชคลาง คื อ ไม ฝ ากตั ว ไว ก ั บ ที ่ พึ ่ ง พาภาย นอก : ดวงดาว โชคลาง อะไรแลว แตจ ะเรีย ก ซึ่ง ก็เ รีย กวา ไมพึ่ง กรรม เทานั้นเอง ถาพึ่งตัวเองก็คือพึ่งกรรม; ถาวาเกิดไมพึ่งตัวเอง ก็คือไมพึ่งกรรม,

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน

๓๕๑

แลวก็พึ่งขางนอก การพึ่งอะไรทํานองนี้ตองมีคํา ๆ หนึ่งซึ่งรวมความไวหมด ถา พูดใหถูกก็เรียกวาปจจัยภายนอก ชนิดที่เปนนามธรรมที่เขาใจยาก; ที่คนเขาเคย ใชกัน มาแตโบราณคําวา "พรหมลิขิต " นี้ คนวัย รุน ยังยึด มั่น ถือ มั่น อยูเลย, มันโงอยูนั่น . ถาจะเรียกวา พรหมลิขิต ตองใหความหมายถึงกรรม หรือผล ของการกระทําของตัว ที่ไดกระทํามาแลวแตหนหลัง. ข อ ที ่ ๒๐ ให เ ขา รู จ ั ก อุ ด มคติ ข องมนุ ษ ย : รู จั ก ความ เปน มนุษ ย "วา มนุษ ยนั้น คือ อะไร? เพื่อ อะไร? สูง สุด อยา งไร? เรีย กวา อุดมคติของความเปนมนุษ ย; วาเกิดมาทีหนึ่ง ถาเปนมนุษ ยนั้น จะตอ งเป น อยางไร? อยามานั่งรองไหอยูบอย ๆ หรือจะมาลําบากตรากตรําอยู เพราะความ โง ค วามหลง สลั ด ออกไปไม ไ ด . ถ า เขารู จั ก ความเป น มนุ ษ ย ก็ ต  อ ง รู ว า เกิ ด มาเป น มนุ ษ ย นี้ เพื ่ อ จะมี ค วามผาสุ ก ตลอดไป ไม มี อ ะไรมาทํ า ใหมีค วามทุก ขไ ด; คลา ย ๆ กับ ที่พูด มาแลว ขา งตน วา มัน ทุก ขไดย าก มัน เปนสุขไดงาย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เพ รา ะ ฉ ะ นั ้ น อุ ด ม ค ติ นี ้ ก ็ ค ื อ ว า เรา จ ะ ไม เ ป น ทุ ก ข เ ล ย ; พอความทุกขมันเยี่ยมกรายเขามา เทานั้นแหละ ไมตองหาเหตุผลอะไรก็ได, ตวาดมั น ไปเลย "กู ไ ม ไ ด เ กิ ด มาเพื่ อ เป น ทุ ก ข " แล ว ตั้ ง ต น คิ ด กั น ใหม ว า "กูเกิด มาเพื ่อ อะไร" เดี ๋ย วก็พ บวา : กูเกิด มาเพื ่อ อะไรยิ ่ง ขึ ้น ๆ; ฉะนั ้น ใคร ยอมเปน ทุก ขตั ้ง แตท ีแ รก นั ่ง รอ งไหอ ยู  นี ่ก ็เ ปน คนที ่ไ มรูจ ัก อุด มคติข อง ความเปน มนุษ ย ก็คือ คนโงนั่น เอง. คํา วา มนุษ ย แปลวา ใจสูง อยา งที่ วา มาแลว ก็ไ มต อ งรอ งไห; ฉะนั ้น เด็ก ๆ ควรจะไดร ับ คํ า แนะนํ า ใหมี ปญญา รูจักอุดมคติของคําวามนุษย.

www.buddhadassa.in.th


๓๕๒

อริยศีลธรรม

ขอที่ ๒๑. ให รู จั ก โลกในตน เพราะที่ โ รงเรี ย นเขาสอน แต เรื่องโลกก อ นดินกลม ๆ นี้ แลวก็อ ยูขางนอกเรา สอนตามวิชาภู มิ ศาสตร วิทยาศาสตร มันโลกกอนดินทั้งนั้นแหละ. เราก็สอนเด็กของเรา ใหรูจักโลก ที ่ ม ี อ ยู  ใ นตน ตามความหมายของพระพุ ท ธเจ า ; พอเราคิ ด ว า อะไรมั น เปน อยา งไร อัน นั้น มัน จะมีแ กเ ราขึ้น มาทัน ทีนั้น : จะเปน โลกที่ส วยงาม หรือเปนโลกที่นาเกลียด จะเปนโลกที่รอนหรือโลกที่เย็น แลวแตวาจิตที่มันสราง ขึ้นมาอยา งไร, ฉะนั้น โลกตา ง ๆ นั้น มัน มีอ ยูใ นตน. ใหรูจัก โลกที่แ ลว ก็จ ะ ไดเปรียบ จะไดอยูในโลกที่ดีที่สุด ที่ตนควรจะไดอยู , โดยรูจักโลกที่มีอยูในตน ตามหลักของพระพุทธเจา ขอ ที่ ๒๒. ใหเ ขารูจัก อบาย และ อบายมุข นี้ก็เ คยพูด กัน มามากแลว อบายที่เห็นตัวอยางงาย ๆ คือ นรก เดรัจฉาน เปรต อสุรกาย พอร อ นใจเป น นรก, พอโง เ ป น เดรั จ ฉาน, พอหิ ว ทะเยอทะยานก็ เ ป น เปรต, พอขี ้ ข ลาดก็ เ ป น อสุ ร กาย สํ า หรั บ คนชาวบ า นทั ่ ว ไป ที ่ ท ั น ตา เห็น ในเรื่อ งของอบาย ก็คือ อบายมุข - ปากทางแหง อยาย : ดื่ม น้ํา เมา เที่ย วกลางคืน ดูก ารเลน เลน การพนัน คบคนชั่ว เปน มิต ร เกีย จครา นทํา การงาน ; ๖ อยางนี้แหละไปศึกษาเอาเองก็แลวกัน วานั้นเขาเรียกวาอบายมุข ประตูแหงอบาย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถา เราเขา ไปในอบายมุข ขอ ใดขอ หนึ่ง เราก็พ ลัด เขา ไปในอบาย คือ นรก เดรัจฉานเปรต อสุรกาย อยางใดอยางหนึ่ง. นี่ตองใหลูกเด็ก ๆ เขา รูจักอบาย และอบายมุขคูกันไปเลย; แลวก็ไมใชสอนดวยตัวหนังสือ จะตอง

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน

๓๕๓

สอนที่ตัวเขา ที่เขากําลังไดรับอยู; หรือวาจะไปชี้ตัวอยางที่บุคคลอื่นเปนตัวอยาง ที่อยูบานใกลเรือนเคียง ที่เขากําลังเปนอบาย ตกอบายอยูก็ได นี่ตองระวังใหดี ๆ ข อ ที ่ ๒๓ ต อ งรู จ ั ก สวรรค แ ละบั น ไดของสวรรค สวรรค คือความสบายใจอยางบริสุทธิ์ ยกมือไหวตัวเองได นี้เรียกวาสวรรค; เมื่อไร ก็เ มื ่อ นั ้น ถา ชอบใจตัว เองไดเ มื ่อ ไรในทางถูก ตอ ง ก็เ รีย กวา สวรรค. แลว บัน ไดของสวรรคก็คือ ทํา ถูก ตอ ง ซึ่ง มีร ายละเอีย ดมาก มีก าย วาจา ใจ อัน ถูก ตอ ง เปน บัน ไดสวรรคอ ยูคูกัน ; เชน เดีย วกับ อบาย ก็มี อบายมุข , สวรรคก็มีบันไดแหงสวรรค. ข อ ที่ ๒๔ รู จั ก มายา, ข อ ที่ ๒๕ รู จั ก สั จ จะ นี้ มั น ก็ คู กั น อี ก . มายานั ้ น มั น ก็ จ ริ ง ช ว งที ่ เ รายั ง ไม ท ั น จะรู มั น เป น สั จ จะ ชั่ว คราว แลว ทํา ใหเ กิด เรื่อ งเกิด ราว เกิด ผล เกิด อะไรไดม ากเหมือ นกัน ; ก็เ รีย กวา มายาคือ สัจ จะที่ชั่ว คราวที ่ห ลอกลวง . สว นสัจ จะจริง ๆ นั ้น มันจริง, จริงตลอดเวลา. เราเคยถูกหลอกดวยสัจจะชั่วคราวหรือมายานี้กันมา เรื่อย เรื่อยๆ จนบัดนี่แหละ; ไปดูใหดีเถอะ ๆ เมื่อ เล็ก ๆ เรารูเทาไร เราก็เชื่อ วาจริงเทานั้น เทาที่เด็กเล็ก ๆ มันจะรู, ผูใหญเขามาบอกก็ไมยอมเชื่อ พอเรา โตขึ้น ๆ เราก็รูม ากขึ้น แลวสัจ จะมัน ก็เปลี่ย นไป จนกวาจะรูสัจ จะที่แ ทจ ริง ตามหลักของพระพุทธศาสนา นั่นแหละสิ่งที่จริงชั่วคราวนั่นเขาเรียกวามายา; เพราะมัน เปน จริง เหมือ นกัน รูสึก จริง เหมือ นกัน แลว ก็มีอ ยูจ ริง เหมือ นกัน แต เ ป น มายาเปลี่ ย นไปเรื่ อ ย ๆ เมื่ อ ไม จ ริ ง ก็ ห ลอก ส ว นสั จ จะนั้ น ก็ เ รี ย ก วาจริง ในลักษณะที่วาทําลงไปแลวก็ไดผลจริง, ไมหลอก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


๓๕๔

อริยศีลธรรม

ที นี ้ จ ะ เ ข ยิ บ สู ง ขึ ้ น ไ ป เ ผื ่ อ ไ ว สํ า ห รั บ เ ดี ๋ ย ว นี ้ ว  า ลู ก เด็ก ๆ นั้น โตขึ้น ทุก วัน , โตมากขึ้น ทุก วัน แลว โตเปน วัย รุน เปน หนุม เปน สาวแลว ก็เตรียมสําหรับจะรูเรื่องที่มันสูงขึ้นไป. ข อ ที ่ ๒๖ ให เ ข ารู  เ รื ่ อ งอ ริ ย สั จ จ ใน ค วาม ห ม าย ที ่ เ ป น สากล เรื่ อ งอริ ย สั จ จ ก็ คื อ รู ว า คื อ อะไร จากอะไร เพื่ อ อะไร โดยวิ ธี ใ ด คื อ หลั ก อริ ย สั จ จ เป น logic ไปก อ น. ทุ ก ข คื อ อะไร เหตุ ใ ห เ กิ ด ทุ ก ข มาจากอะไร, ดั บ ทุ ก ข นั้ น เพื่ อ อะไร, ทางดั บ ทุ ก ข นั้ น ดั บ โดยวิ ธี ใ ด, นี่ก็ไดเรื่องของหลักเกณฑอริยสัจจมาวา ตองรูวาสิ่งนั้นคืออะไร, สิ่งนั้นมาจาก อะไร, สิ ่ง นั ้น เพื ่อ ประโยชนอ ะไร, แลว ก็สิ ่ง นั ้น จะทํ า ไดสํ า เร็จ โดยวิธ ีใ ด; อย า งนี้ เ รี ย กว า อริ ย สั จ จ เอาไปใช กั บ เรื่ อ งอะไรก็ ไ ด ; ทุ ก เรื่ อ งไปเลย จะตองอาศัยหลักเกณฑทั้ง ๔ ประการ นี่ก็เปนเรื่องของการมีเหตุผลอยางยิ่ง อยางสูงสุดแลว; แตเรามาแยกวาเปนเรื่องรูอริยสัจจ คือของจริงของพระอริยเจา ไมฝากไวกับอยางอื่น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ต อ ไ ป นี ้ จ ะ ใ ห รู  จ ั ก บ ท ห รื อ คํ า ห รื อ อ ะ ไ ร ที ่ ม ั น สู ง ขึ ้ น ไปตามลําดับ.

ข อ ที ่ ๒๗ ใ ห เ ข า รู  จ ั ก สิ ่ ง ที ่ เ รี ย ก ว า สั ง ข า ร ว า มั น ไ ม มี อ ะ ไร ที ่ เ ป น ตั ว มั น เอ ง ได ต า ม ลํ า พั ง ตั ว มั น ; มั น ต อ ง ป ร ะ ก อ บ ด ว ย ส ว น ป ร ะ ก อ บ เห ตุ ป  จ จั ย ห ล า ย อ ย า ง แ ล ว ก็ เ ป ลี ่ ย น ไ ป ; นั ่ น แ ห ละ คือสังขาร. ฉะนั้นอยาไดยึดมั่นถือมั่นอะไร ที่มีอยูเฉพาะหนา หรือกําลังเปนเนื้อ

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน

๓๕๕

เปน ตัว อยู  หรือ วา กํ า ลัง กิน อยู  ใชอ ยู ใ หม ัน เกิน ไปนัก ; ใหรู ว า มัน เปน สังขาร สั ง ข า ร นั ้ น เป น สิ ่ ง ป รุ ง แ ต ง ก็ ต  อ ง เป ลี ่ ย น ไ ป ต า ม เ ห ตุ ตามปจ จัย ที ่ป รุง แตง . นี ่ร อบตัว เราเต็ม ไปดว ยสัง ขาร, ขา งในเราก็ค ือ สัง ขาร, รา งกายก็ส ัง ขาร จิต ใจก็ส ัง ขาร ความคิด นึก รูส ึก ของจิต ใจก็ค ือ สัง ขาร, รูจัก สัง ขาร คือ รูอ ยา งนี้; แตอ ยา เพอ เขา ใจไปวา จะทํา ใหเ ด็ก ให เปน พระอรหัน ต อาตมาเคยถูก ดา อยา งนี้เสมอ ที่ก รุง เทพฯ เขาดา วา เอา เรื่องของพระอรหันตมาสอนชาวบาน. ข อ ที ่ ๒๘, ๒๙, ๓๐ คื อ รู ก ฎของไตรลั ก ษณ นี ้ ก็ ส ู ง สุ ด ไปเลย อนิจ จัง ทุก ขัง และ อนัต ตา สามอยา งดว ยกัน . เด็ก จะรูไ ดน ะ ไมใ ชวา จะรูไ มไ ด วา มัน ไมเ ที่ย ง แลว มัน นา เกลีย ด ความไมเ ที่ย ง สิ่ง ที่ ไมเ ที ่ย ง นี้ม ัน นา เกลีย ด คือ ทุก ข และอนัต ตานี ้คือ อยา ไปเขา ใจวา ตัว หรือ ของตัว .รูอ ยา งนี้จ ะเปน เด็ก ที่ฉ ลาด จะเปน พระอรหัน ตไ ปแตอ ายุ ๑๕ ก็ชา งเถอะ ยอมใหเปน ถา วา เปน ได อยา ไปหวงไวเลย ใหเขารูจัก อนิจ จัง คื อ ไหลเชี่ ย วเป น เกลี ย ว เปลี ่ ย นแปลงไป, ให รู จั ก ทุ ก ขั ง ว า นั ่ น มั น นาเกลียดนะ อยาไปรักมันเลย ขืนไปรักเขาจะมีความทุกข เพราะมันไมตาม ใจเรา เมื่อมันเปลี่ยนและมันนาเกลียดอยางนี้มันจะมีตัวตนที่ตรงไหน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ข อ ที ่ ๓๑ ให รู จั ก กฎของอิ ท ั ป ป จ จยตา นี ่ ก ็ อ ธิ บ ายกั น มากแลว คือวาสิ่งตาง ๆ นี้ มิไดสามารถจะตั้งอยูไดตามลําพังตนเอง ยกเวน พระนิพพาน หรือความวางอยางเดียว. สิ่งตาง ๆ คือ กระแสแหงการที่สิ่งนี้มี

www.buddhadassa.in.th


๓๕๖

อริยศีลธรรม

แล ว สิ ่ ง นี ้ ก ็ พ ลอยมี , เพ ราะสิ ่ ง นั ้ น มี สิ ่ ง นั ้ น ก็ พ ลอยมี ; อย า งนี ้ เ รี ย กว า อิทัปปจจยตา. อยางนี้ไมลําบาก เพราะวาเขาเรียนวิทยาศาสตรชั้นสูง ๆ กันมาแลว ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายนี้ พอจะรูไดงาย วาเปนอิทัปปจจยตา อยางไร. ข อ ที ่ ๓๒ ใ ห เ ข า รู  จ ั ก ก ฎ แ ห ง ก ร ร ม ให รู  จ ั ก แ จ ม แ จ ง ใน กฎแหง กรรม คือ การเคลื ่อ นไหว ตอ งมีป ฏิก ิริย า, เพราะมีก ิริย าแลว ตอ ง มีป ฎิก ิร ิย า ถา กิร ิย านั ้น เปน ของสิ ่ง ที ่ม ีช ีว ิต ใจ และมีเ จตนา ก็เ รีย กวา กรรม; ถาไมมีเจตนาก็เรียกวากิริยา. การเคลื่อนไหวที่ประกอบไปดวยเจตนา ก็เรียกวา กรรม. นี่ระวังกันไว ใหเปนไปแตในทางที่ดี ถา มัน ไมป ระกอบดว ยเจตนา เขาเรีย กวา กิร ิย า; มัน จะเปน ทุก ข หรือ เป น สุ ข จะมาปรับ โทษกั น ไม ได เพราะเราไม ได มี เจตนา ยอมรับ ผิ ด ชอบแต การกระทํ าที่ ก ระทํ าไปด วยเจตนา นี่ เรีย กวา เรารูจั กกฎแห งกรรม. นี้ เป น เครื่อ ง รับประกันไดมากวา ลูกเด็ก ๆ คนนี่จะไมทําผิด หรือไปทําอะไรในสิ่งที่ไมควรทํา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ขอ ที ่ ๓๓ รู จ ัก กฎแหง วัฏ ฏ ะ คือ ความหมุน เวีย น ในสิ ่ง ที่ หมุน เวีย น ของสิ ่ง ที ่ห มุน เวีย น.นี ้อ ธิบ ายกัน มามากแลว ; ผู ที ่เ ปน พุท ธบริษ ัท ก็เ คยฟง มามากแลว คือ กิเ ลส กรรม วิบ าก. ในชีว ิต ประจํ า วัน ของ ค น เ ร า ทุ ก ๆ ค น มี ว ั ฏ ฏ ะ ;เ ร า อ ย า ก จ ะ ทํ า นี ้ เ ป น กิ เ ล ส เ ร า ทํ า นี ้ เ ป น ก ร ร ม เรา ได ร ั บ ผ ล ข อ ง ก า ร ก ร ะ ทํ า ก็ เ ป น วิ บ า ก ; ค รั ้ น รั บ วิ บ า ก แล ว เราก็ อ ย าก อ ย า งอื ่ น ติ ด ต อ กั น ไป อี ก ก็ ม ี ก ิ เ ล ส อี ก , แล ว ก็ ทํ า อี ก แ ล ว ก็ ไ ด ร ั บ ผ ล อี ก ; มั น มี ต ั ว วั ฏ ฏ ะ อ ยู  ที ่ ต ั ว ค น นั ้ น แ ห ล ะ ทุ ก วั น ใ น ชีว ิต ประจํ า วัน นี ้ก ็ต อ งระวัง ใหด ี ถา มัน หนัก นัก แลว มัน ก็จ ะตอ งรอ งไห

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน

๓๕๗

แนน อน. ถาทําใหถูกตอ ง ก็ไดผ ลตามที่ตอ งการไดเหมือ นกัน ก็เรียกวารูจัก กฎแหงวัฎฎะ. ข อ ที ่ ๓ ๔ รู  จั ก เ ลื อ ก คั ด ที ่ เ รี ย ก ใ น ภ า ษ า ธ ร ร ม ว า ธัมมวิจยะ เพราะวาสิ่งตาง ๆ มีมาก หรือการปฏิบัติหรือขอปฏิบัติมันก็มีมาก; ทั้งฝายวัตถุทั้งฝายนามธรรม หรือพฤติของมันก็ตาม มันมีมาก. เราตองรูจักเลือก เชนวา พระพุทธเขาตรัสไวตั้ง ๘๔,๐๐๐ ธรรมขันธ เราก็ปฏิบัติไมไหวแน, หรือ ความถูกตอง ดีงามอะไรในโลกนี้ มันก็มีมาก เราไมอาจจะปฏิบัติทั้งหมดได. นี้ก็ตองเลือกเอามาเฉพาะเรื่อง ที่มันเกี่ยวกับตัวเรา หรือจําเปนแกมนุษยโดย แท จ ริ ง ; อย า งนี ้ เ รี ย กว า เลื อ กคั ด ว า ธรรมะไหนจะเหมาะแก เ รา ใน เวลานี้ในสถานการณอยางนี้ นับตั้งแตวารูจักวาเราเปนเด็กนี้จะเลือกเรียนอะไร. เด็ก ที่โ งโ ดยมาก ทั้ง ที่ไ มค วรจะไปเรีย นวิช านั้น เลย ก็ไ ปเรีย น มัน ก็เ หลวเปว เดือ ดรอ นทั ้ง พอ แมด ว ย; เพราะวา ไมรูจ ัก เลือ กคัด . แต บางอยางจะโทษเด็กก็ไมได มันอยูอูที่พอแมจะตองรวมมือ; แตถาเด็กโตแลว เรียนถึงมัธยมศึกษาแลว จะไปเรียนชั้นอุดมนี้ก็ควรจะรูจักเลือกดวยตนเองแลว อยา ขบถตอ พอ แม, อยา หลอกพอ แม นี่ถึง ทางธรรมก็เ หมือ นกัน แหละ; จ ะ ป ฏิ บ ั ต ิ ใ ห ห นั ก ไป ใน ธ รร ม ข อ ไห น อ ย า ง ไร เท า ไร ; นี ้ ต  อ ง รู  จ ั ก เลือ กเหมือ นกัน ทีนี้ที่จิต จะรูจัก เลือ ก มัน ก็ตอ งรูจัก คน ควา ถา เราไมร วบ รวมมา เราก็ไมรูจักจะเลือกอะไร; ฉะนั้น เราตองคนความาดูใหหมด. เราสามารถ ที่จะคนควาประมวลมา ในสิ่งที่ยังไมเคยพบเคยเห็นอยางนี้ แลวก็เอามาเลือก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


๓๕๘

อริยศีลธรรม

ข อ ที ่ ๓๕ ก็ ค ื อ รั ก ก า ร ศ ึ ก ษ า คํ า ว า "ศึ ก ษ า " ก็ อ ธิ บ า ย กั น แล ว ว า หมายถึ ง อะไร : เรี ย นในโลก ๆ ก. ข. ก. กา ก็ ศึ ก ษา, เรี ย นวิ ช า อาชี พ ก็ ศึ ก ษา, ปฏิ บั ติ ม รรค ผล นิ พ พาน ก็ ศึ ก ษา. ต อ งรั ก การศึ ก ษา เพราะว า มนุ ษ ย นี้ ก าวหน าไปด วยการศึ ก ษาที่ ถู ก ต อ ง; ฉะนั้ น จึ งให ส นใจกั บ คํ าว า "ศึ ก ษา" ใน ทุก ระดับ ; แมแ ตใ หไ ป เรีย ก . ข. ก ก า. นี ้ก ็ต อ งรัก ที ่จ ะเรีย ก จึง จะ รู หรื อ ว า สะดวก หรื อ สนุ ก เดี๋ ย วนี้ เขาก็ มี อุ บ ายล อ หลอกกั น ให รั ก การศึ ก ษา เรา เกือบจะไมตองพูด. ข อ ที ่ ๓๖ นี ้ เ ป น เรื ่ อ ง ค ว า ม รู  จ ั ก สิ ่ ง ที ่ ค ว ร รู  จ ั ก ส รุ ป ย อ ย โดยรายละเอียดมีมากทีเดียว ตอไปนี้จะยกตัวอยางเรื่องความรูจัก: ๑. เด็ก ๆ จ ะ ตอ งรู จ ัก วา สิ ่ง ที ่เ รีย ก วา บิด าม ารด าคือ อ ะไร? นี่ ค ล า ยกั บ ว า จะเกณฑ ใ ห เด็ ก เป น นั ก ปราชญ ตั้ ง แต อ ยู ใ นท อ ง; ที่ จ ริ ง ก็ ไ ม ไ ด ม าก ถึ งอย างนั้ น เราพยายามจะให เขาเข าใจที ละนิ ด ๆ. พอโตจนพอสมควรก็ รูจั กเลยว า พอ แมนั ่น คือ อะไร, ตอ งรัก เทา ไรตอ งบูช าเทา ไร, ตอ งอะไร เทา ไร อยา งไร หรือ คือ อะไร, คลา ยกับ วา คือ อะไร, บิด ามารดานั ้น คือ อะไร, เด็ก ๆ เล็ก ๆ รู ไ มไ ดห มด มัน ลึก ซึ ้ง เหลือ เกิน . ลัก ษณ ะหรือ คุณ คา ของบิด ามารดาในทาง ฝ ายนามธรรมนี้ มี มากมายลึ กซึ้ งกวางขวาง แต ว าเราก็ ต องให เด็ กเขาพยายามที่ จะ รูจักวา บิดามารดานี้คืออะไร.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๒. รู  จ ั ก ค รู บ า อ า จ า ร ย ว  า คื อ อ ะ ไ ร ; เ ดี ๋ ย ว นี ้ เ ด็ ก ไ ม รู  จ ั ก ครูบาอาจารย กั นแล ว ดู ที่ เขาทํ าแก ครูบาอาจารย เขาเรียกอ ายเรียกอี ก็ มี แล วถึ งกั บ ทํ าอั นตรายครูอาจารย ก็ มี มี การเข าใจผิ ดด วยเหตุ พั วพั นหลายอย างหลายประการ.

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน

๓๕๙

เชน ครูบ าอาจารยก ็ก ิน เงิน เดือ นของรัฐ บาลซึ ่ง เก็บ ภาษีไ ปจากเรา; อยา งนี้ ความหมายของครู บ าอาจารย ก็ เปลี่ ย นหมด ในสมั ย โบราณเขารู ว า มั น ต อ งมี บุคคลจําพวกนี้อยูในโลก เพื่ อทําใหวิญ ญาณของคนมั นสูง จึงใหเขาทํ าหนาที่ นี้ ไม ต  อ งไปทํ า นากิ น เอง เพราะฉะนั ้ น เราต อ งให อ าหารเขา นั ่ น แหละคื อ เงิ น เดื อ น อย า หาเป น เรื่ อ งแลกเปลี ่ ย นอย า งการค า ; ให รู  ว  า บิ ด ามารดา คือผูใหกําเนิดมา, ครูบาอาจารยคือผูใหวิญญาณใหสูงขึ้นเรื่อย ๆ. ๓. ใ ห รู  จ ั ก ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง คํ า ว า เพื ่ อ น : ใ ห รู  จ ั ก เพื ่ อ น ว า สิ่ ง ที่ เรี ย กว า เพื่ อ นั้ น คื อ อะไร; จะอยู โดยปราศจากเพื่ อ นไม ไ ด : โดยเฉพาะ เพื ่ อ น เกิ ด เพื ่ อ น แ ก เพื ่ อ น เจ็ บ เพื ่ อ น ต า ย นี ้ ห ลี ก ไ ม พ  น ; มั น เป น เพื่อนกันอยูโดยธรรมชาติ คนโบราณเขาให ค วามสํ า คั ญ แก คํ า ว า "เพื่ อ น" นี้ ม ากดั ง ตั ว อย า ง ชาดกในเรื่อ งลู ก เศรษฐี ๔ คนขอเนื้ อ จากนายพราน, คนที่ ข อวา "ไอ พ รานให กู บ า ง " นี ้ มั น ได พ ั ง ผื ด มา; "พี ่ พ รานให ฉ ั น บ า ง" ก็ ไ ด เ นื ้ อ มา; "พ อ พราน ใหฉ ัน บา ง" , ก็ไ ดห ัว ใจมา "เพื ่อ นเอย ใหเ ราบา ง" พรานใหห มดเลย. เขา ชอบคําวา "เพื่อน" ที่มัน เล็งไปถึงความเปนเพื่อน เกิด แก เจ็บ ตาย ในสังสารวัฏ ฏ นี ้; ใหรูจ ัก เพื ่อ นอยา งนี ้ เดี ๋ย วนี ้ม ีเ พื ่อ น ชนิด ปลอม มัน ไมใ ชเ พื ่อ น; แตค นที ่โงไ ปเห็น ที ่ป ลอมนั ้น กลายเปน เพื ่อ น มัน ก็ไ ดเพื ่อ นเลว ไปทํ า เลว เลย ตกนรกกัน ไปเลย อยา รูจ ัก เพื ่อ นที ่พ าลงไปนรกเลย; ตอ งรู จ ัก เพื ่อ นที ่จ ะดึง ขึ้นมาบนสวรรคดีกวา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


๓๖๐

อริยศีลธรรม

๔. ควรให รู จ ั ก ประเทศชาติ ค ื อ อะไร. เดี ๋ ย วนี ้ เ ด็ ก ๆ ก็ ไ ม รูจักประเทศชาติ, คนโต ๆ ก็ไมรูจักประเทศชาติ; ตั้งตนเปนคูศัตรูกันกับประเทศ ชาติอยูหลาย ๆ กรณี. ใชคําวา "เขา" ใชคําวา "เรา" กับประเทศชาติกับรัฐบาล กับ อะไรก็ต าม นี้ค วรใหลูก เด็ก ๆ เขารูวา ประเทศชาตินี้คือ อะไรกอ น คือ เปนสิ่ง ๆ หนึ่งที่เปนหลักสําหรับยึดไว ไมใหกระจัดกระจาย ในบรรดาพวกเรา ทั้ ง หลาย ซึ่ ง เป น เพื ่ อ นเกิ ด แก เจ็ บ ตาย ด ว ยกั น ; อย า งนี้ ก็ ยั ง ดี . ถาวาประเทศชาติคืออยางนี้ คนจะไดรักประเทศชาติ, ชวยเหลือสงเสริมสนับสนุน ประเทศชาติ, ชวยกันปองกันรักษา ชําระสะสาง. ๕. ต อ งทํ า ให เ ข ารู  จ ั ก สิ ่ ง ที ่ เ รี ย ก ว า ค วาม ดี ค วาม จริ ง ความงาม ความยุ ต ิ ธ รรม เด็ ก ควรจะท อ งได ; แต เ ขาไม รู จั ก ว า อะไรดี อยา งไร. เขาควรจะรูจัก วา ความดีนั่น คือ อะไร; อยา ใหไปเอาดีป ลอมเขา . แลว ความจริง นั ่น คือ อะไร; อยา ไดไ ปเอาเท็จ มาเปน จริง . ความงาม, งามจริง ๆ คือ อะไร อยาไดไปหลงไปหลอกเขา. ความยุติธรรมนั้น คือ อะไร; เดี๋ยวนี้เขาจะเอาแตไดตามใจเขา นั้นคือยุติธรรม. เดี๋ยวนี้โลกกําลังเปนอยางนี้; อยาวาแตลูกเด็ก ๆ เลย, คนโต ๆ ที่มีอํานาจในการจัดโลกนี้ เขาก็ยังถือเอาการ ไดตามประสงคของเขาวานั้น คือความยุติธรรม; ใชอํานาจบาทใหญ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๖. เด็ ก ๆ ต อ งรู จั ก น้ํ า ใจนั ก กี ฬ า คื อ ว า ให อ ภั ย รั ก ใคร ไมตรี .

๗. เด็ ก ๆ ต อ งรู  จ ั ก ศาสนาว า คื อ อะไร จํ า เป น อ ย า งไร มากขึ้นไปตามลําดับ ๆ ไมใชเพียงแตรูจักวัดวาอาราม ที่เห็นสวย ๆ งาม ๆ นี้. มันตองเลยไปถึงความรู และการปฏิบัติจนดับทุกขได.

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน

๓๖๑

๘. ใหเ ด็ก รู จ ัก พระเจา คือ อะไร. พระเจา คือ สิ ่ง ที ่ส ูง สุด ที ่เ รา หลีกเลี่ยงไมได มีอยูจริง,สรางสิ่งตาง ๆ มา, ควบคุมสิ่งตาง ๆ อยู, ทําลายลางสิ่ง ตาง ๆ ได; แตไมจําเปนจะตองมีหนวดยาว ถือไมเทา เหมือนที่รูปเขาเขียน ใหรู แต ว า พระเจ า นั ้ น เป น สิ ่ ง ที ่ แ สดงด ว ยรู ป ภาพไม ไ ด เป น นามธรรมยิ ่ ง กวานามธรรม ไปเสียอีก; นั่นแหละคือพระเจาที่สรางโลกมาได ทําลายโลกก็ได ควบคุมโลกก็ได โดยสวนใหญก็เล็งถึง กฎของกรรม กฎของธรรมชาติ. ๙. เมื ่อ รู จ ัก พระเจา แลว ก็ต อ งรู จ ัก มนุษ ย รู จ ัก ความเปน มนุษ ย อยา งที่วา มาแลว วา มนุษ ยคือ อะไร. เกี่ย วขอ งกับ พระเจา อยา งไร, เกี่ยวของกับศาสนาอยางไร. ๑๐. ถา รูจัก มนุษ ยแ ลว ก็ตอ ง รูจัก สิ่ง ที ่เ รีย กวา ชีวิต : ชีวิต นี้คือ อะไรกัน แน? มัน มีอ ยูกี่อ ยา ง? กี่ชั้น ? ชั้น ไหนสํา คัญ ที ่สุด ? ชีวิต ทาง เนื้อหนังรางกายก็อยางหนึ่ง ทางจิตใจก็อยางหนึ่ง ทางสติปญญาก็อยางหนึ่ง ให รูจักชีวิตอยางถูกตอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๑๑. ที ่ นี ้ รู จ ั ก สิ ่ ง ที ่ ม ั น เนื ่ อ งกั บ ชี ว ิ ต เช น กามารมณ นี ้ ให รูวา มัน อะไร, มีค วามหมายเทา ไร, ถา รูจ ริง ก็ไ มห ลงในทางกามารมณ ; แล ว ก็ เกลี ย ดด ว ยซ้ํ า ไป. ควรจะรูจั ก ว า การสื บ พั น ธุ นั้ น มั น คื อ อะไร; มั น ไม ใช กามารมณ. การสืบ พัน ธุนั้น มัน เปน สิ่ง หนึ่ง ซึ่ง ธรรมชาติตอ งการใหมี; แลว เขาเอากามารมณเปนเครื่องจาง ใหมนุษยและสัตวทั้งหลายยอมทําหนาที่สืบพันธุ ซึ่งทั้งลําบาก ทั้งสกปรก ทั้งไมนาดูทั้งอะไรตาง ๆ ; แตเขามีของดีมาลอมาจาง คือกามารมณ; ตองรูจักมันอยางนี้. ๑๒. ใ น ที ่ ส ุ ด รู  จ ั ก สิ ่ ง ที ่ เ รี ย ก ว า สั น ติ ภ า พ ข อ ง ส ว น ร ว ม และสันติสุขของบุคคล โดยรูจักคําวานิพพานคืออะไรก็พอแลว; จนกระทั่งวา

www.buddhadassa.in.th


๓๖๒

อริยศีลธรรม

เราอยู ด ว ยนิ พ พาน คื อ ความเย็ น ;เพราะเรามี ค วามรู ต า ง ๆอย า งที่ ว า มาแล ว หลายสิบ หัว ขอ มัน เปน ความเย็น เพราะเราทํ า ถูก ตอ ง. ถา ไมเ ย็น ก็ร อ น; ถ า ร อ นก็ ไ ม ใ ช น ิ พ พาน ถ า ไม ร  อ นก็ เ ย็ น เย็ น ก็ ค ื อ นิ พ พาน. ถ า เย็ น จริ ง ถึ ง ที ่ส ุด แนน อนลงไป ก็เ ปน นิพ พานสมบูร ณ; เดี ๋ย วนี ้ก ็น ิพ พานพลาง ๆ ไปกอ น ซึ่งดีกวาไมรูจัก ก็จะรูจักดํารงตัวใหอยูดวยความเย็น. หมวดศีล ธรรมที ่ว า ดว ยปญ ญ า คือ ความรู , รู  ๆ ๆ อะไรบา งก็ ไมใ ชห มด. อาตมายกมาเปน ตัว อยา งนี ่ค งจะรํ า คาญกัน เต็ม ทนแลว มัน มาก, มั นยั งมี อี ก แต ว าพอเป นตั วอย างนี้ ก็ ดี แล ว ๓๖ หั วข อสํ าหรับ สิ่ งที่ เรียกว าป ญ ญา ขอสุดทายนี้แยกออกไปไดมากมาย มีตั้ง ๑๒ อยาง, อยางนี้เปนตน. นี ้เ วลาก็ห มดแลว ไมอ าจจะพูด ใหจ บเรื ่อ งนี ้ไ ด พูด ไดค รึ ่ง เดีย ว ก็ต อ งยุต ิไ วท ีก อ น. แตถ ึง อยา งไรก็ด ี ขอใหเอาไปคิด พิจ ารณากัน ไปพลางกอ น วา ศีล ธรรมสํ า หรับ ยุว ชนนั ้น มัน ไมใ ชเ ลน เสีย แลว ไมใ ชข อ เดีย วหรือ สองขอ เล็ก ๆ นอ ย ๆ พูด กัน ดว ยปากไมกี ่คํ า นี ้ก ็พ อแลว ; มัน ไมใ ชอ ยา งนั ้น . ถา เรา จะสรางสรรค ยุวชนก็เป นมนุษยกันแล ว มั นก็ต องคํ านึงถึงหั วขอศี ลธรรมทั้ งหมดนี้ . สํ า หรั บ คํ า ว า สุ ท ธิ คื อ บริ สุ ท ธิ์ นั้ น ยกตั ว อย า งมาตั้ ง ๑๒ หั ว ข อ สํ า หรั บ คํ า ว า ปญญาก็ยกตัวอยางมาตั้ง ๓๖ หัวขอ แลวยังมีหัวขอยอยของขอสุดทายอีกมากมาย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เอาละเปนอันวา วันนี้พอสมควรแกเวลาแลว ขอยุต ิไ วท ีก อ น ใหพ ระสงฆท า นสวดคณสาธยาย บทพระธรรม ที่จะเปนกําลังใจ ใหทุกคนมีความกลาหาญ พอที่จะปฏิบัติหนาที่อันยากลําบากของ การเปนมนุษย; ขอนิมนต ---------------------

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรม -๑๒๒๑ กันยายน ๒๕๑๗

อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน (ตอ)

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทานสาธุชน ผูมีความสนใจในธรรม ทั้งหลาย,

การบรรยายเรื่ อ งอริ ย ศี ล ธรรมเป น ครั้ ง ที ่ ๑๒ ประจํ า วั น เสาร นี้ อาตมาจะได ก ล า วโดยหั ว ข อ ว า อริ ย ศี ล ธรรมสํา หรั บ ยุ ว ชน ตอจากครั้งที่แลวมาซึ่งยังไมจบ.

ขอให ท  า นทั ้ ง หลายทบทวนถึ ง ข อ ความที่ ไ ด ก ล า วมาแล ว แ ต ต  น ถึ ง ข อ เ ท็ จ จ ริ ง ที ่ เ กี ่ ย ว กั บ ศี ล ธ ร ร ม ใ น ป จ จุ บ ั น นี ้ ว  า ป ญ ห า อ ยู อย า งไร; ซึ่ ง โดยสรุ ป แล ว ก็ พ อจะเห็ น ได ว า ความเจริ ญ มี ม ากใน กิ จ การทั้ ง หลาย; แต ส ว นศี ล ธรรมนั้ น กลั บ เล็ ก ลง ยิ่ ง จะหายไป ๆ อยางที่เรียกวา นาประหลาดใจ. ๓๖๓

www.buddhadassa.in.th


๓๖๔

อริยศีลธรรม

แม ว า เราสามารถที่ จ ะทํ าอะไรได ห ลาย ๆ อย า ง เหมื อ นกั บ ว า เป น ของทิพ ยข องสวรรคแ ตม ัน ก็เ ปน เรื่อ งเกี ่ย วกับ วัต ถุ หรือ เกี ่ย วกับ การเปน อยู ; สวนความสงบสุ ขอั นแท จริงของสังคม หรือแมแต ของบุ ค คลก็ตาม นี้ ห าได ยาก; เพราะวาความกาวหนาทางวัตถุนั้น ยั่วใหเกิดความสนใจไมมีหยุด.หรือวารบกวน ความสนใจของผูที่ไมอยากจะสนใจ อยางนี้ก็มี. ขอใหพ ิจ ารณ าดูใ หด ีว า แมแ ตค นอายุม ากเปน ตน ไมจํ า เปน จะตองมี จะตองกิน จะตองใช สิ่งที่ประดิษฐขึ้นใหม ๆ เหลานั้น ก็อดสนใจไมได; มันก็ดึงเวลาไป แทนที่จะใชกับความสงบ ก็ใชไปเพื่อตรงกันขาม. ทีนี ้ สํ า หรับ บุค คลที ่กํ า ลัง อยู ใ นวัย จะสนุก สนานเพลิด เพลิน ในโลก นี ้แ ลว ก็ยิ ่ง จะถูก ดึง ไปหมด ทั ้ง เนื ้อ ทั ้ง ตัว ; และยิ ่ง ทั ้ง หมด สํ า หรับ บุค คลที่ ไรก ารศึ ก ษาซึ่ ง ยิ่ ง จะถู ก ดึ ง ไปทํ า ให ผิ ด ทาง. เหมื อ นกั บ ที่ มี ค วามคิ ด เห็ น ร ว มกั น ออกมาเมื ่อ ๒ - ๓ วัน นี ้ว า . อาชญ ากรรมเพิ ่ม ขึ ้น มามาก เพราะเหตุ อยางเดีย ว คือ การแตงตัวยั่ว ยวนของสตรีเพศ และสิ่งตา ง ๆ ซึ่งคลาย ๆ กัน ; นี้ เป น ป ญ หาอั น หนึ่ ง ในทางศี ล ธรรม. เมื่ อ มี สิ่ ง ที ม าทํ า ให ค นเสื่ อ มทางศี ล ธรรม มนุษ ยเ ราก็ไ มม ีศ ีล ธรรม ที ่เ รีย กวา เปน มนุษ ยน อ ยลง, โลกนี ้ก ็เ ปน โลกที ่ไ มมี ศีลธรรม คือไมมีความปรกติตามความหายของคํา ๆ นี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org .…

.…

....

.…

อาตมาอยากจะขอร อ งแล ว ขอร อ งอี ก ใคร ใ ห ถ ื อ เอ าค วาม หมายของคํ า ๆ นี ้ ให ต รงตามตั ว หนั ง สื อ คื อ คํ า ว า "ศี ล ธรรม" นั ้ น เอง.

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน (ตอ)

๓๖๕

สี - ละ หรือ ศีล แปลวา ปรกติ ; ธรรม แปลวา สิ ่ง , ที ่เปน เหตุก็ได เปนผลก็ได. ถาธรรม ในที่นี้ เปนเหตุ หมายความวา เหตุที่ทําให เกิด ความปรกติ นี ้ก็เ รีย กวา ศีล ธรรม. ถา ธรรม คํ า นี ้ เปน ผล ก็ห มายถึง ภาวะแหงความปรกติ ซึ่งเปนผลของความมีศีลธรรม นั่นเอง. ความปรกติ แห ง วั ต ถุ จะเป น วั ต ถุ ต ามธรรมชาติ หรื อ วัต ถุใ นบา นในเรือ นก็ต าม ถา คนนั้น มีศีล ธรรมแลว วัต ถุก็ป รกติ. ถา คน ไรศีลธรรม มันก็ถูกทําลาย, หรือวายุงเหยิงสับสนกันไปหมด หาความปรกติไมได. ถ า มองกั น ในส ว นร า งกาย สู ง ขึ้ น มากกว า วั ต ถุ ก็ เ ห็ น ได ว า ถ า มี ศี ล ธรรม, ร า งกายก็ ป รกติ ; ปรกติ นั้ น นั บ ตั้ ง แต ว า ไม มี โ รคภั ย ไข เ จ็ บ จนกระทั่งวาปรกติในการที่จะไมเบียดเบียนตนเองและผูอื่น. ถ า ม อ ง สู ง ขึ ้ น ไ ป ถึ ง เ รื ่ อ ง ข อ ง จิ ต ; ถ า มี ศ ี ล ธ ร ร ม จิ ต นี้

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ก็ สงบ.

ถ า ม อ ง สู ง ขึ ้ น ไ ป อี ก ถึ ง เรื่ อ ง ส ติ ป  ญ ญ า ; ถ า มี ศ ี ล ธ ร ร ม สติปญ ญาก็ยังคงถูก ตอ งอยู เปน ไปตามกฎเกณฑที่ถูก ตอ ง. ถา ปราศจาก ศีล ธรรมแลว สติปญ ญาไมป ระกอบไปดว ยสัม มาทิฏ ฐิ มีปญ ญาก็สํา หรับ จะ คดโกงผูอื่น หรือวาทําตามกิเลส. ถ า ส ติ ป  ญ ญ า ข อ ง ค น เร า กํ า ลั ง ไ ร ศ ี ล ธ ร ร ม ก็ จ ะ ห มุ น ไ ป ในทางความเห็นแกตัว; เพราะมันมีสิ่งที่มายั่วใหเห็นแกตัวยิ่งขึ้น และอบรม

www.buddhadassa.in.th


๓๖๖

อริยศีลธรรม

สติปญญากันแตในทางที่จะใชเพื่อประโยชนแกคนเห็นแกตัว ที่เห็นแกการกาว หนาตาง ๆ ในโลกนี้กาวไปอยางนาประหลาด มหัศจรรย, แลวก็กาวไปเหมือน อย า งกั บ ว า วิ่ ง ไปที เ ดี ย ว; แต แ ล ว โลกก็ ไ ม มี ศี ล ธรรม ไม มี ค วามสงบสุ ข มีแตปญหาเพิ่มขึ้น ๆ. ขอ นี้ไมตอ งอางอิงอะไรกัน นัก ไมตอ งมีก ารพิสูจ นอ ะไรกัน อยา ง ลึ ก ซึ้ ง ; เพราะว า เป น สิ่ ง ที่ เ ห็ น ได ด ว ยตา. แม แ ต ใ นประเทศไทยเรานี้ ก็ ดี ก็ มี ค วามก า วหน า ในทางวั ต ถุ ; แต ใ นทางศี ล ธรรมนั้ น ก็ ม องเห็ น อยู แ ล ว ว า มั น เต็ ม ไปด ว ยความระส่ํา ระสาย กระทั่ ง การเบี ย ดเบี ย นกั น อย า งที่ ไมเคยมีมาแตกอน. สรุป ความวา ความเจริญ ทางวัตถุมีขึ้นอยางมหาศาล แตสภาพ ทางศี ล ธรรมนั้ น มี แ ต ท รุ ด เสื่ อ มไปอย า งที่ ไ ม น า เชื่ อ ; ก็ ถ า คนมี ส ติ ป ญ ญา จริง แลว ทํา ไมไมทํา ใหเ กิด ความสงบสุข ขึ้น ในโลกหรือ ในบา นเมือ ง หรือ แมแตในครอบครัวของตน

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ในที ่ ส ุ ด นี ้ ก ็ เ ป น อั น ว า เรามี ป  ญ ห าทางศี ล ธรรม ที ่ จ ะต อ ง รื้ อ ฟ น ปรั บ ปรุ ง ส ง เสริ ม แก ไ ข หรื อ รั ก ษา แล ว แต ค วรจะทํา อย า งไร. นี้ ป ญ หามั น ก็ ม าเกิ ด ขึ้ น ปะทะหน า กั น กั บ เรื่ อ งทางวั ต ถุ คนส ว นใหญ ใ น โลกไมส นใจเรื่อ งศีล ธรรม. คํา วา "ศีล ธรรม" หายไปจากคํา พูด ของมนุษ ย แมที่สุดแตหนาหนังสือพิมพ.หรือจะหายไปจากปทานุกรมดวยซ้ําไป. ขอใหสัง เกตดูใ หดี ๆ ปทานุก รมในโลก ที่พ ิม พใ หม ๆ นี้จ ะ หาคํ า วา "ศีล ธรรม" หรือ เรื่อ งของศีล ธรรมยาก แลว เขายกใหเ ปน เรื่อ ง

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน (ตอ)

๓๖๗

พิเศษสวนบุคคล ไมใชเรื่องที่จะเอามาพูดพรอม ๆกัน เปนเรื่องของโลกหรือของ สังคม. .…

.…

....

.…

ที นี ้ เ มื ่ อ โ ล ก ไ ร ศ ี ล ธ ร ร ม ม า ก ขึ ้ น ก็ ม ี ว ิ ก ฟ ติ ก า ร ณ  ค ว า ม ยุ  ง ย า ก ลํ า บ า ก ทุ ก ข ร  อ น ร ะ ส่ํ า ร ะ ส า ย ม า ก ขึ ้ น ; ก็ ไ ม รู  จ ะ โท ษ ใค ร . ท า ง ห นึ ่ ง ดึ ง ไป สํ า ห รั บ ค ว า ม วิ น า ศ ข อ ง ม นุ ษ ย , อี ก ท า ง ห นึ ่ ง มั น ก็ รั ้ ง ไว ไมไ หว เทา ที ่เ ห็น อยู ใ นปจ จุบ ัน นี ้. ฉะนั ้น จึง ไดแ ตห วัง และภาวนาวา เมื ่อ ไร ทุ ก คนจะหั น มาหาป ญ หาข อ นี้ ; แล วก็ ระดมกํ า ลั งเรี่ย วแรงทั้ ง หมด เพื่ อ จะแก ไข ป ญ หาขอนี้ คือ ใชความสามารถของทุ กคน เพื่ อ ทํ าให เกิ ดมี ศีล ธรรมขึ้น มา เป น ความสามารถที่จะตอตานความลุมหลงในทางวัตถุอยางที่กําลังเปนอยู. เท า ที่ ม องดู ก็ เห็ น ว า ยั ง มี ป ญ หามากเหลื อ เกิ น แทบว า จะหมดหวั ง ; แต ถึ งอย า งนั้ น มั น ก็ ไม มี ท างอื่ น จะเลื อ ก นอกจากว า จะดิ้ น รน ต อ สู ไปตามวิ สั ย ของสั ต บุ ร ุ ษ คื อ ผู  ที ่ ไ ม ย อมทํ า ในสิ ่ ง ที ฝ  น ความรู  ส ึ ก หรื อ สิ ่ ง ที ่ จ ะเป น โทษ เปน ภัย แกต นเองหรือ แกม นุษ ย. นี ่จ ึง นับ วา ยัง มีส ว นตอ ตา นอยู ส ว นหนึ ่ง ; อยางที่ไดกลาวมาแลวในการบรรยายหลายครั้งที่แลวมา จนมาในครั้งสุดทายที่แลว มานี ้ . เราได พ ู ด ถึ ง ศี ล ธรรมของยุ ว ชน ว า จะต อ งช ว ยกั น ปรั บ ปรุ ง อย า งไร ก็เลยบรรยายโดยหั วขอ วา อริย ศี ล ธรรมสํ าหรับ ยุ วชน ในครั้งที่ แ ล วมานั้ น ไม จ บ จึงตองบรรยายตอในวันนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org .…

.…

....

.…

www.buddhadassa.in.th


๓๖๘

อริยศีลธรรม

ในการบรรยายศี ล ธรรมสํา หรั บ ยุ ว ชน นี้ บางคํา ก็ ต อ ง ใหความหมายพิเศษตามระดับของยุวชน. ที่จริงชื่อ ของศีล ธรรมแตละขอ ๆ นั้น ก็ไมไดมุงหมายใชสําหรับ ยุ ว ชนโดยเฉพาะหรื อ ผู ใ หญ โ ดยเฉพาะ; ใช ร วมกั น ได ; แต สํา หรั บ ยุ ว ชน ก็ลดความหมายลงมาใหพอสมควรแกระดับ.

ทีนี้ไดแบงหัวขอธรรมะที่เปนศีลธรรมออกเปน ๘ หมวด ดวยกัน ตามความสะดวก ดังที่ทานทั้งหลายก็ไดฟงมาแลว ๒ หมวด : สองหมวดแรก คือ สุทธิ - ความบริสุทธิ์, และปญญา -ความรอบรู; เหลืออยูอีก ๖ หมวด คือ เมตตา ขันตี สังวร หิริ วิริยะ และวุฑฒิ หรือพัฒนา ซึ่งจะไดกลาวตอไป. อีก อยา งหนึ่ง ขอใหเ ขา ใจวา การที่เ ราแบง ออกเปน ๘ หมวดนี้ ก็เ พื่อ ความสะดวกสํา หรับ สั่ง สอนอบรม; แตวา ชื่อ ของธรรมะขอ หนึ่ง ๆ นั้น อาจจะไปรวมอยูใ นหลายหมวดพรอ มกัน ก็ไ ดย กตัว อยา งเชน คํา วา ศีล คือ การบัง คับ ตัว เอง: การบัง คับ ตัว เองก็อ ยูใ นหมวดของศีล โดยตรง แต จะไปอยูใ นหมวด สัง วร สํา รวม ก็ไ ด, ไปอยูใ นหมวดขัน ติคือ อดทนก็ไ ด, เหลานี้มัน ก็โดยตรง. โดยออมก็อาจจะไปอยูหมวดพั ฒ นาคือวาคนจะพั ฒ นา ทรัพยสมบัติหรือรางกาย วัตถุ จิตใจอะไรก็ตาม มันก็ตองอาศัยสิ่งที่เรียกวาศีล.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี ้ข อใหสัง เกตดูใ หด ี อยา เขา ใจผิด ในขอ นี ้ เพราะมัน จะทํ า ให เกิดความรูสึกวากํากวมกันก็มี. ถาวาไดยินชื่อของธรรมะขอหนึ่ง แลวก็เดี๋ยว

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน (ตอ)

๓๖๙

มีในหมวดนั้น เดี๋ยวมีในหมวดนี้ ก็เพราะวาธรรมะขอนั้นมีความหมายหลายระดับ หรือหลายแขนงนั่นเอง. ที นี้ ก็ จ ะได ก ล า วต อ จากครั้ ง ที่ แ ล ว มา ด ว ยหมวดที่ เหลื อ อยู คื อ หมวดที ่วา ดว ยเมตตาตอ ไป.ยุว ชนของเราควรจะไดรับ การอบรมธรรมะหมวดที่ วาดวยเมตตา คือความเปนมิตร.

หมวดที่ ๓ คือ เมตตา เดี ๋ ย วนี ้ เ ราจะสั ง เกต เห็ น ได ว  า ยุ ว ชน ขอ งเรามี ค วาม เม ต ต า นอ ยลง หรือ ถึง กับ สูญ สิ ้น ไปในหลาย ๆ ความหมาย; มีแ ตค วามเห็น แกต ัว เขา มาแทน เพราะเหตุผ ลดัง กลา วมาแลว ขา งตน . สรุป แลว ก็ค ือ เต็ม ไปดว ยสิ ่ง ยั่วยวนใหเกิดความรูสึกที่เห็นแกตัว, มาจากความสุขสนุกสนานเอร็ดอรอยของตัว แมที ่ส ุด แตป ระชาธิป ไต ยเพอ ผัน นี ่ก ็ทํ า ใหเ ด็ก ๆ เห็น แกต ัว , เห็น แก ความรูส ึก สว นตัว ตามความพอใจตัว . การศึก ษา การกีฬ า ยิ ่ง ทํ า ไปยิ ่ง เห็นแกตัว : การศึกษาทําใหรูจักเห็นแกปากแกทองละเอียดลออยิ่งขึ้น, การกีฬา ก็ เพื่ อ เห็ น แก ตั วมากขึ้ น ; เพราะเขาเล น เพื่ อ การแพ แ ละการชนะ ไม ใช เล น เพื่ อ อนามัย ไมใชเลนเพื่อมีน้ําใจอยางนักกีฬา

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทุ ก อ ย า ง ที ่ ม นุ ษ ย เ ค ย ใ ช ใ ห เ ป น ป ร ะ โ ย ช น แ ก ธ ร ร ม ะ ก็ เปลี ่ย นไปเปน ขา ศึก แกธ รรมะ; แมที ่ส ุด แตสิ ่ง ที ่เ รีย กวา ศิล ป ก็น ิย มกัน แต ศิลปที่ทําใหเกิดความลุมหลง ซึ่งนําไปสูความเห็นแกตัว ไมมีเพื่อการทําลายความ เห็น แกต ัว กัน เสีย เลย. สิ ่ง ที ่เ รีย กวา เมตตา ความเปน มิต รหรือ ความรัก ผู อื ่น มันก็หายไป.ทีนี้สําหรับหัวขอธรรมะหมวดนี้ก็มีตามลําดับตอไปนี้:-

www.buddhadassa.in.th


๓๗๐

อริยศีลธรรม ขอ ที่ ๑. ก็จ ะยกคํา วา เมตตา ขึ้น มาเปน หัว ขอ คือ ความ

เปนมิตร. ข อ ใ ห ม ี ร า ก ฐ า น ม า แ ต ธ ร ร ม ช า ติ อ ั น ลึ ก ซึ ้ ง ซึ ่ ง ศ า ส น า ไ ด นํามาสอนวา "สัตวทั้งหลายเปนเพื่อนทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันทั้งหมด ทั ้ ง สิ ้ น " สั ต ว ทั ้ ง หลาย หมายถึ ง สิ ่ ง ที ่ ม ี ช ี วิ ต ; แม ใ นระดั บ ต่ํ า เตี ้ ย ก็ ใ ห ถือ วา เปน เพื่อ นทุก ข เพื่อ นเกิด เพื่อ นแก เพื่อ นเจ็บ เพื ่อ นตาย ดว ยกัน ทั้งหมดทั้งสิ้น.นี่คือความเปนมิตร ในความหมายที่ศาสนาตองการ. ที นี ้ คนต อ งการมิ ต รและการช ว ยกั น ทํ า ป ระโยชน ส ร า ง ประโยชนข องตัว เทา นั้น เอง มัน ก็เ ลยเกิด ความเปน มิต รชนิด ที่ทํา ลายผูอื่น ขึ ้ น มา; ดั ง นั ้ น จะต อ งอบรมยุ ว ชนตั ้ แ ต เ ล็ ก ๆ ให รู จ ั ก ความเป น มิ ต ร แมที่สุดแตสัตวเดรัจฉานตัวเล็ก ๆ ก็ยังเปนมิตร สูงขึ้นมาจนกระทั่งเปนมนุษย ดวยกัน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ค ว า ม เ ห็ น แ ก ต ั ว มั น ตั ้ ง ต น เ มื ่ อ ไ ป พ อ ใ จ ใ น ค ว า ม เอร็ด อรอย หรือความสุขสวนตัว; จึงตองระวังใหดี ที่จะอบรมสั่งสอนกันใน ขณะนั้น ในเวลานั้น ใหเขารูจักสิ่งที่สูงไปกวาเรื่องปากเรื่องทอง.

ถ า เร า ช ว ย เห ลื อ ผู  อื ่ น เร า ก็ จ ะ ต อ ง ข า ด ส ว น ที ่ เ ร า จ ะ ไ ด รั บ ไปบ า ง; แต มั น ไปงอกงามแก ผู อื่ น มากมาย อย า งนี้ ค วรจะให เ ด็ ก ๆ รูจ ัก ตัด สิน วา เปน สิ ่ง ที ่ค วรกระทํ า เหมือ นอยา งวา ถา เรากิน เองมัน ก็ถ า ย เปน อุจ จาระออกไปในวัน รุง ขึ้น ; แตถา ใหผูอื่น มัน ก็ไ ปฝง อยูใ นจิต ใจของ

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน (ตอ)

๓๗๑

คนๆ นั้น; และฝงอยูในจิตใจของเราผูใหดวย เปนวันเปนเดือนเปนป, หลายป แลวมานึกถึง ก็ยังรูสึกสบายใจ เปนสุขใจในการที่ไดใหอะไรแกกันและกันกิน; อยางนี้เปนตน. นั่นคือความรูสึกที่เปนมิตรอันแทจริงเรียกวาเมตตา. ... ... ... ... ขอที่ ๒ กรุณา คือ ความสงสาร. ความสงสารนี้ คือ เมื่อ นึก ถึง ขอ ที่วา ทุก คนเปน เพื่อ น เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันทั้งหมดทั้งสิ้นแลว ก็ตองมีความสงสารซึ่งกันและกัน เมตตา หมายถึง ความรักซึ่งกันและกัน ในแงที่วาเปนเพื่อนกัน. กรุณ า คือ สงสาร ซึ่งกันและกัน ในฐานะที่วา เปนเพื่อนทุกขเพื่อนยากซึ่งกันและกัน พรอมที่จะ เสียสละที่จะชวยกันและกัน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เมตตากั บ กรุ ณ า นี้ มั ก จะพู ด พร อ ม ๆ กั น รวมกั น ไป; เมื่ อ มีค วามรัก ก็มีค วามสงสาร มีค วามคิด ที่จ ะชว ยเหลือ . ตอ งสอนใหเ ด็ก ๆ รูจักชวย ในเมื่อมีอะไรอยูในสภาพที่นาชวย. บางคนคิดวาปวยการที่จะสอนลูก เด็ก ๆ ใหชวยมดแมลงที่มันตกน้ํากําลังจะตายอยู, อยางนี้เปนตน; นั่นเขามุง หมายจะใหมันเพาะนิสัย หรือปลูกเชื้อของความสงสารที่จะชวย; ตอไปขางหนา เด็กจึงจะชวยสิ่งที่มีคามากกวานั้น. ... ... .... ...

www.buddhadassa.in.th


๓๗๒

อริยศีลธรรม ขอที่ ๓. ก็จะพูดถึงสิ่งที่เรียกวา มุทิตา.

มุ ท ิ ต า นี ้ ก ็ ค ื อ ค วาม พ ล อ ยยิ น ดี ด  ว ย ; โด ยมุ  ง ห ม าย อั น แทจริง ตองการจะกําจัดเสียซึ่งความอิจฉา ริษยา. ถาพูดเปนภาษาไทยก็จะ พูดวาอิจฉาได; แตถาภาษาบาลีแลวก็ไมไดเขาใชคําวาอิสฺสา แตมาตรงกับคํา ไทยที่เราพู ดกันอยูวา ริษยา นี้ก็เปน อันตรายนับ ตั้งแตวา เด็ กเล็ก ๆ จะรูจัก อิจฉานอง; นองตัวเล็ก ๆ ก็รูจักอิจฉาพี่ แลวเด็ก ๆ โตขึ้นมามันก็อิจฉาเรื่อยไป จนกระทั่งเปนการอิจฉาระหวางประเทศ. เดี ๋ ย ว นี ้ โ ล ก นี ้ ม ี ว ิ ก ฤ ติ ก า ร ณ อ ย า ง ใ ห ญ ห ล ว ง ; ม อ งดู แ ล ว ก็จะพบวามีอยูสวนหนึ่งหรือทางหนึ่งดวยเหมือนกัน ที่มีมูลมาจากความอิจฉา ริษยาไมอยากใหใครไดดี, ไมอยากใหใครมาครองโลก เราจะเปนผูครองโลก เสียเอง. นั่นมันก็ยังเปนความหมายที่สลัวมาก คือตัวเองอาจจะคิดวา เราจะทํา ได ดี ก ว า . แต ถ า ว า โดยแท จ ริ ง แล ว มั น คื อ ความริ ษ ยา ไม อ ยากให ผู อื่ น ได รั บ ประโยชนหรือไดดี.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เดี๋ยวนี้คนธรรมดาสามัญก็จะตองมีสิ่งที่เรียกวาความอิจฉาริษยา; รูจักเอาเองก็แลวกันไมตองพูดกันมาก. ตองการจะพูดแตวาสิ่งที่เรียกวา มุทิตา ในทางศี ล ธรรมนั้ น ต อ งการจะกํา จั ด ความริ ษ ยา ซึ่ ง เป น สิ่ ง ที่ จ ะทํา ใหโ ลกวิน าศ ก็ตอ งสอนลูก เล็ก ๆใหเขารูจัก มุทิต า เมื่อ คนอื่น ไดร างวัล เรา ก็ควรจะยินดีดวย อยาอิจฉาริษยา แมแตอิจฉานองของตัวเอง ดังที่เปนกันอยู. .…

.…

....

.…

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน (ตอ)

๓๗๓

ขอ ที่ ๔. อยากจะอา งถึง คํา วา เอื้อ เฟอ หรือ ใหท าน เปน การเฉลี่ยเวลาหรือกําลังหรืออะไรก็สุดแท เอื้อเฟอผูอื่น โดยความคิดที่วา เราจะ อยูในโลกคนเดียวไมได. พยายามใหลูกเด็ก ๆ เล็ก ๆ เทาไรก็ตาม ใหเขารูวา เราจะอยู คนเดียวในโลกไมได, และพอแมของเราจะอยูคนเดียวในโลกไมได, ทุกคน จะอยูในโลกคนเดียวไมได; เพราะฉะนั้น เราจึงตองเอื้อเฟอกันตามที่จะทําได ใหทุก คนไดอ ยูพ รอ ม ๆ กัน หลาย ๆ คน โลกนี้มัน จึง เปน โลก ก็เลยเอื้อ เฟ อ เรียกวาใหทานก็ได. ถ า มากขึ้ น ไปสู ง ขึ้ น ไป การให ท านหรื อ การเอื ้ อ เฟ  อ นี ้ ค วร จะมุง หมายเปน การทําลายความเห็น แกตัวเหมือนกัน. เดี๋ยวนี้จะใหทานกัน สักที ก็เพื่อประโยชนหรือกําไรที่มากกวา อยางนี้ไมเปนการใหทานแตเปนการแลก เปลี่ยนหรือเปนการลงทุนคากําไร. ถาจะสอนลูกเด็ก ๆ ใหรูจักใหทานที่แทจริง ควรจะสอนกัน ในแงนี้; ถาจะสอนวาทําบุ ญ สักนิดหนึ่ง จะไดสวรรคไดวิม าน อยางนี้มีสวนที่จะเปนอันตราย คือวา เพิ่มความโลภของเขาใหมีมากขึ้น, เพิ่มความเห็นแกตัวใหมากขึ้น นี้ไมใชใหทาน มันไมใชความเอื้อเฟอ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถ า เอื ้ อ เฟ  อ มั น ต อ งทํ า ลายความ เห็ น แก ต ั ว ห รื อ ป ระโยช น สุข สว นตัว . สอนลูก เด็ก ๆ ใหเ ขารู จ ัก เสีย สละของสว นตัว เพื ่อ จะเปน ประโยชนแ กผู อื ่น ในฐานะที ่ว า เราจะตอ งอยู ใ นโลกนี ้ร วม ๆ กัน พรอ ม ๆ กัน ถาดีกวานั้น ใหเขารูวา ความเห็นแกตัวนี้ทําใหเรามีความทุกข. .…

.…

....

.…

www.buddhadassa.in.th


๓๗๔

อริยศีลธรรม ขอที่ ๕. อยากจะเรียกวา การแบงบุญ.

เมื ่อ สมัย อาตมาเด็ก ๆ จะพบไปเสีย แทบจะทั ่ว ทุก แหง วัน ละ หลาย ๆ หน คือ คํ า พูด วา "เอาบุญ มาใหน ะ, เอาบุญ มาใหน ะ" เดิน อยู กลางถนนก็ไดยินคนพูดอยางนี้; เพราะคนหนึ่งเขากลับมาจากวัดไปฟงเทศนมา พอเห็นหนาคนหนึ่งก็บอกวาเอาบุญมาใหนะ, เอาบุญมาให. แตเดี๋ยวนี้มันหายไปไหน หมด และถาใครทําอยางนั้น มันก็กลายเปนเครื่องหัวเราะของคนอื่น. นี ่ ค นดี ขึ ้ น หรื อ ว า เลวลง ก็ ข อให เ อาไปคิ ด ดู ในธรรมเนี ย ม ทํ า วั ต รแบบโบราณ ก็ มี ก ารแบ ง บุ ญ , แลกส ว นบุ ญ ซึ่ ง กั น และกั น ซึ่ ง ภิ ก ษุ สามเณรจะตองปฏิบัติอยูเปนประจํา. โดยเฉพาะอยางยิ่งในวันเขาพรรษา มีการ กล า วว า บุ ญ ที่ ท า นทํ า ขอให ข า พเจ า มี ส ว น; บุ ญ ที่ ข า พเจ า ทํ า ขอให ท า น อนุโมทนาและมีสวน. เดี๋ยวนี้ก็มักจะทํากันแตป ากวา ; เพราะเปนภาษาบาลี ไมคอยรูเรื่อง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org แ บ ง บุ ญ ห รื อ แ บ ง ค ว า ม ดี ห รื อ แ ล ก เ ป ลี ่ ย น ค ว า ม ดี เปนอยางนอย. การใหบุญ นี้มันประหลาดที่วา มันไมรูจักหมด ยิ่งใหก็ยิ่งมาก; ยิ่ ง ให ไป คนให ก ลั บ ได รั บ มากขึ้ น อี ก การแบ ง ส ว นบุ ญ หรื อ แบ ง ส ว นกุ ศ ลเป น อยางนี้ ไมเหมือนกับวัตถุ. เราไปทํ า อะไรไดบ ุญ มา แลว ก็แ บง บอกใหแ กเ พื ่อ นฝูง วา แบง สว นกุศ ลให; คนนั้น เขาอนุโ มทนารับ เอาสว นบุญ ก็พ ลอยไดไ ปอีก คนหนึ่ง . ที นี ้ ผู  แ บ ง กลั บ ได บ ุ ญ ใหม เ พิ ่ ม ขึ ้ น เพราะการแบ ง บุ ญ นั ้ น อี ก ที ห นึ ่ ง มั น ยิ ่ ง

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน (ตอ)

๓๗๕

มากขึ ้น ไป; อยา งนี ้จ ึง เปน สิ ่ง ที ่ค วรจะถือ วา ประหลาด; ยิ ่ง ให ยิ ่ง แบง ยิ ่ง แจกจายกัน มันยิ่งมากขึ้น ๆ. ค ว ร จ ะ ชี ้ ใ ห ล ู ก เด ็ ก ๆ ข อ ง เร า ไ ด รู  จ ั ก สิ ่ ง สิ ่ ง นี ้ ห รื อ สิ ่ ง ที่ แปลกประหลาดนี้ ข อ เท็ จ จริ ง อั น นี้ ; แลกเปลี่ ย นส ว นกุ ศ ล แลกเปลี่ ย นความดี แลกเปลี่ยนบุญซึ่งกันและกันอยูเสมอ ใหรูจักทําตั้งแตเด็ก ๆ เล็ก ๆ ไปทีเดียว. ข อ ที ่ ๖ ก า ร ผู ก พั น ซึ ่ ง กั น แ ล ะ กั น นี ้ ห ม า ย ค ว า ม ไ ป ในทางดี ไมใชใหผูกพันกันใหลําบาก. ใ ห  ผ ู ก พ ั น กั น ค ื อ ว า อ ย า ใ ห  ม ั น สิ ้ น เ ชื ้ อ ห รื อ ข า ด ต อ น เมื ่อ คนนี ้ใ หแ กค นนี ้ คนนี ้ก ็ใ หต อบ, แลว คนนี ้ก ็อ ยา คิด วา พอแลว เลิก กัน . มัน ควรจะใหก ลับ อีก แลว คนนั ้น ก็ใ หก ลับ อีก ; กลับ ไปกลับ มาเปน การผูก ผัน กันอยางนี้มันก็ไมสิ้นสุด ยังเรียกวาเปนการผูกพันกันอยูนั่นเอง, มีลักษณะแหงความ เป นมิ ตรที่ ผู กพั นให มั นแน นแฟ นยิ่ งขึ้น ๆ. อุ ตส าห ชวยกั นสอนลู กเด็ ก ๆ ตาดํ า ๆ ใหมั นมี ความผูกพั นกับเพื่ อนฝูงใหมากขึ้นในลักษณะอยางนี้ ก็จะเกิดความเมตตา แนน แฟน ลึก ซึ ่ง ขึ ้น ยากทีจ ะเลือ นไปได, มัน เหมือ นกับ ชว ยกัน รัก ษาหรือ ชวยรดน้ําพรวนดิน ใหแกสิ่งทีเรียกวาเมตตานั่นเอง

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org .…

.…

....

.…

ที นี ้ ก็ ม ี ข  อ ปลี ก ย อ ยที ่ อ ยากจะพู ด ในลั ก ษ ณ ะที ่ เ ป น การแนะ บางสิ่งบางอยาง.

www.buddhadassa.in.th


๓๗๖

อริยศีลธรรม

ข อ ที ่ ๗ นี ้ อ ยากจะระบุ สิ ่ ง ที ่ เ รี ย กว า พ ยายาม ผ ลิ ต ส ว น เกินเพื่อประโยชนแกผูอื่น. เราจ ะ ไม ค ิ ด เพี ย งว า เราไม เ อ าส ว น เกิ น ก็ พ อ แ ล ว เราจ ะ ต อ งคิ ด เลยไปถึ ง ว า เราจะพยายามให ม ี ส  ว นเกิ น ให ม าก ๆ ไว เ พื ่ อ จะ ให แ ก ผู อื่ น . อย า งที่ ได ย กตั ว อย า งมาว า ถ า เป น เศรษฐี ค รั้ ง พุ ท ธกาล ก็ คื อ ผู ที่ พยายามผลิต ส วนเกิ น ให ม ากขึ้น ไว เพื่ อ หล อ เลี้ยงโรงทาน บํ ารุงโรงทาน ผลิ ต สวนเกินเพื่อประโยชนผูอื่น ตัวเองกินไมหมด กินไมไหว ก็ไวเพื่อบํารุงโรงทาน. แมจ ะฝงไว ก็ฝงไวเพื ่อ เปน ทุน สํารอง ในการเลี้ย งโรงทานขา งหนา ; อยา งนี้ เขาผลิตสวนเกินเพื่อประโยชนแกผูอื่น. .…

.…

....

.…

ข อ ที ่ ๘ อ ย า ก จ ะ เ รี ย ก ว า เ จี ย ด ส ว น เ กิ น อ อ ก ม า ใ ห

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org จนได.

ค น เรามั ก จ ะ คิ ด ว า ยั ง ไม พ อ ที ่ ช  ว ย ผู  อื ่ น ; เดี ๋ ย วนี ้ เ ราก ลั บ พูด วา จะตอ งมีสว นที่เ จีย ดออกมาได เพื ่อ ประโยชนแ กผูอื่น เพราะวา มันเปนการทําที่มีผลมากกวาที่จะไมเจียดออกมาได แมจะสวนเล็ก ๆ นอย ๆ นั้น. ให พยายามสอนลู ก เด็ ก ๆ ให ตั ้ ง จิ ต อธิ ษ ฐานว า ทุ ก วั น เราจะเจี ย ดส ว นของ เราออก ใหเปนสวนเกิด ใหเปนประโยชนแกผูอื่นใหได.

เช น ว า แม เขาให ส ตางค ม า ๑๐ สตางค สํ า หรั บ มาโรงเรี ย นตอน กลางวั น ในวั น หนึ่ ง ที่ จ ริงมั น ก็ น อ ยมาก กิ น เองก็ ไม ค อ ยจะพออยู แ ล ว ; แต ถึ ง

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน (ตอ)

๓๗๗

อยางนั้นเราก็เจียดสัก ๑ สตางค ใหเพื่อนคนที่ไมมีเลย เรากินเราใช ๙ สตางค นี้มัน ก็พ อจะอยูได ถาคิด อยา งนี้ก็มีสํา หรับ จะเจีย ด; แตถาเราไมคิด อยา งนี้ แมจะมีตั้งบาท ตั้ง ๒ บาท มันก็ไมมีความคิดที่จะเจียดอยูนั่นเอง. แมวา ผูใหญก็เหมือนกัน จะตองถือหลักออยางเดียวกัน ในการ ที่ จ ะต อ งมี ส ว นที่ จ ะเจี ย ดออกมาให เ ป น ส ว นเกิ น ให เ ป น ประโยชน แ ก ผูอื่นใหจนได; โดยไมตองคํานึงถึงวา บุญนั้นมันจะกลับมาสนองเรา หรือเขาจะ รักเรา แตเราจะแสดงความเปนมิตร หรือเมตตาที่บริสุทธิ์ใหเจริญงอกงามขึ้นมา ในนิสัยสันดานเทานั้นเอง. .…

.…

....

.…

ขอที่ ๙ อยากจะเรียกวา การชวยอยางมีเหตุผล.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เ ม ต ต า ก็ ค ื อ รั ก , ก รุ ณ า ก็ ค ื อ ช ว ย ; แ ต ว  า ก า ร ช ว ย นี้ ตอ งมีเหตุผ ล คือ ไมทํา ลายผูรับ นั้น เอง. การใหไ ปอยา งไมมีเ หตุผ ล ก็อ าจ จะเป น โทษแก ผู ไ ด รั บ ; เช น ทํา ให เ ขากลายเป น คนที่ ไ ม คิ ด จะช ว ยตนเอง ซึ่ง มีอ ยูม าก. แตถา ชว ยกัน อยา งมีเ หตุผ ล มัน ก็ไ มเ กิด อาการอยา งนั้น ขึ้น ; ฉะนั้นการที่จะออกกฎหมายหามการขอทานเสียโดยสวนเดียว นี้ก็ไมถูก; มันก็มี สวนที่ควรจะชวย ในเมื่อมันมีเหตุผล.

เหตุ ผ ล ในที่ นี้ ก็ เ ล็ ง ไปถึ ง การที่ ช ว ยให เ ขาช ว ยตั ว เองรอดได ; ในเมื่ อเขายังชวยตัวเองไมไดจริง ๆ ก็ชวยใหเขารอดชีวิตอยูได . นี้ก็มีเหตุ ผล เหมือนกัน, แลวจึงชวยตอไปในลักษณะที่เขาชวยตัวเองได.

www.buddhadassa.in.th


๓๗๘

อริยศีลธรรม

ใหลูก เด็ก ๆ คิด ไดวา การที่ชว ยมดแมลงที่ต กน้ํ า จะตาย ใหม ัน รอดตายนี้มันมีเหตุผลหรือไม? หรือวาจะชวยคนที่ไมมีอะไรไรจริง ๆ กําลังจะตาย อยูจริง ๆ นี้ จะมีเหตุผลหรือไม? มันจึงจะสูงขึ้นไปตาลําดับ จนไปถึงเรื่องชวย ประเทศ ชาติ ศาสนา หรือกระทั่งชวยมนุษยในฐานะที่เปนมนุษย ไมตองเปนใคร เปนเขา เปนเรา หรือเปนอะไร นี่เรียกวาเมตตา หรือคามเปนมิตรเหมือนกัน . ถาทําผิดขอนี้มันจะไมเปนเมตตาก็ได ก็กลายเปนการฆาเขาไปเสียเลยก็ได จึง ตองมีหลักวาชวยอยางมีเหตุผล. .…

.…

....

.…

สิ ่ง ปลีก ยอ ยตอ ไปอีก ก็เ กี ่ย วกับ ความรูส ึก ที ่เปน ขา ศึก แกเมตตา ดังนั้นจึงมี:ข อ ที ่ ๑๐. ซึ ่ ง จะเอ ย อ า งถึ ง ธรรม ะที ่ เ รี ย กว า ไม ม ั ก โก รธ , ไมโกรธ หรือไมมักโกรธ หรือไมขี้โกรธอะไรนี่ไดทั้งนั้น อยูในคํา ๆ เดียวกันนี้; ในสิ่งที่คนอื่นเขาโกรธ, ในกรณีที่คนอื่นเขาโกรธเราจะไมโกรธ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ลูก เด็ก ๆ ควรจะไดรับ บทเรีย นขอ นี ้ใ หม าก หรือ หัด ไมโ กรธ ในเมื่อเด็กอื่นมักโกรธในเรื่องอยางเดียวกัน หรือวาเขามาทําแกเราดวยความโกรธ เราก็ จ ะไม โกรธ. เราจะถื อ ตามพระพุ ท ธภาษิ ต หรือ ธรรมภาษิ ต ทั่ ว ๆ ไปว า ตอนที่โกรธตอนนั้นมันเลวกวาคนที่โกรธทีแรก. เพราะวาการที่เขาจะมาทําอะไร เราเขา นี ้ ก็ต อ งทํ า ดว ยความโกรธ; ถา เรารับ ความโกรธนั ้น เราก็โ กรธตอบ; มันกลายเปนโกรธดวยกันทั้งสองฝาย.

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน (ตอ)

๓๗๙

นี้ ก็ เ รี ย กกว า เป น ป ญ หา คื อ พวกหนึ่ ง ก็ จ ะเห็ น ว า เป น การ ยุติธ รรมแลว ; เพราะวา เขามาทํา แกเ รากอ น เพราะฉะนั้น เราก็ตอ งทํา ตอบ. เราเปนฝายถูกไปเสียเลย ผูโกรธตอบกลายเปนฝายถูกไปเสียเลย. แตหลักใน ทางศาสนาไมไ ดถือ อยา งนั้น คือ ไปถือ ตรงกัน ขา มวา คนที่โ กรธตอบนั้น เลวกวาคนที่โกรธมาทีแรก. คงจะลําบากหนอย ที่จะอธิบายใหลูกเด็ก ๆ เขาเขาใจในขอนี้ วา เราไมไปโกรธเขากอน แมเขาโกรธเรามาเราก็ไมโกรธตอบ; เปนอันวาเราไมมี เรื่อ งที่จ ะตอ งโกรธ. ใหนึก ภาวนาในขอ ที่วา "สัต วทั้ง หลายเปน เพื่อ นทุก ข เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันทั้งหมดทั้งสิ้น" อยูเสมอไป; ฉะนั้น ขอที่บางคน หรื อ บางเวลาเผลอไปโกรธนี้ เ ป น เรื่ อ งธรรมดา. เราควรจะสงสารเขา; เพราะวาเวลานั้นเขาโงไป เผลอไป, หรือมีอะไรทําใหเขาเขาใจผิดก็ยังมี. ฉะนั้น ไม โ กรธเอาไว ก อ นดี ก ว า และถ า เขาโกรธมาแล ว ก็ ไ ม โ กรธตอบด ว ย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org …

.…

....

.…

ขอที่ ๑๑. จะไมอาฆาต หมายความวา ไมผูกโกรธ.

ความที ่ อาฆาตมาดร า ย โกรธไม รู สิ้ น สุ ด นี ้ เกลี ย ดไม รู สิ ้ น สุด พยาบาทไมรูสิ้นสุดนี้; ใหมองใหดีวามันเปนเรื่องทําลายตัวเรา; เหมือ น เราเอาไฟมาสุ ม เอาไว ต ลอดเวลา ไม ย อมซั ด ออกไป.พู ด ให น า กลั ว ก็ ว า เหมือนกับวาเราจับตัวเราใสลงไปในนรก หรือพานรกมาสวมเราอยูตลอดเวลา. อย า เข า ใจว า ที่ ไ ปคิ ด โกรธ อาฆาต พยาบาทนั้ น จะมี ผ ลดี แ ก เ รา หรื อ ว า

www.buddhadassa.in.th


๓๘๐

อริยศีลธรรม

แกใครก็ตาม; มันไมมีผลดีแกใครเลย ฉะนั้นเราตายเสียดีกวา ที่จะอยูดวย ความอาฆาตจองเวรอยางนั้น นี่ก็เปนเมตตาอันหนึ่ง ชนิดหนึ่งลักษณะหนึ่ง. .…

.…

....

.…

ข อ สุ ด ท า ย ข อ ที่ ๑๒. อยากจะเอ ย ถึ ง คํา ว า ชนะเวรด ว ย ความไม มี เ วร. เมื่ อ ผู อื่ น เขาอาฆาตเรา พยาบาท เรา จองเวรเรา นี่ เ รา ก็ จ ะเอาชนะเวรนั้ น ด ว ยความไม มี เ วร; แม ว า มั น จะลํา บากบ า ง หรื อ จะ ยืด ยาวบา ง ก็ยัง มีท างที่จ ะทํา ได. สอนใหเ ขารูจัก ชนะเวรดว ยความไมมี เวร;เพราะวาถาจะยิ่งเอาเวรมาเปน เครื่อ งชนะเวร มัน ยิ่ง มากขึ้น ไปอีก ไมมี ทางที่จ ะชนะได. ฉะนั้น สิ่ง ที่เ รีย กวา เวรนี้จ ะชนะไดก็เ พราะยอมระงับ เวร; แมวาจะตองเปนฝายที่เสียเปรียบหรืออดทนอะไรก็ตาม. นี่คือความเมตตาที่ ถึ ง ขนาดสู ง สุ ด ยอมเป น ฝ า ยถู ก กระทํา หรื อ เสี ย เปรี ย บ หรื อ อะไรก็ ไ ด เพื่อวาใหเวรมันระงับไป.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี่ตัว อยา งเทา นี ้ก็พ อแลว จะพูด ไดไ มมีที ่สิ้น สุด ถึง คุณ ธรรม ในกลุ ม ทีเ รีย กวา เมตตา. ถา เด็ก ๆ ของเราไดรับ การอบรมบม นิส ัย ใน เรื่ อ งเมตตากรุ ณ ากั น อย า งนี ้ ก็ น ั บ ว า ศี ล ธรรมส ว นหนึ่ ง ได ส มบู ร ณ ขึ้ น ในด า น นั ้ น คื อ ด า น ที ่ เ รี ย กว า เป น ความ เม ตตากรุ ณ า. ที นี ้ ก ็ ทํ า การ เบีย ดเบีย นกัน ไมไ ด; จะเกิด บุญ เกิด กุศ ลชนิด ที่ใ หน อนตาหลับ , จะเกิด ความรูสึกเปนสุขอยางแทจริง โดยที่ไมตองไปแสวงหาความสุขทางเนื้อทางหนัง ทางเรื่อ งวัต ถุ เรื่อ งกิเ ลส เรื่อ งกามารมณ เปน ตน ; นับ วา เปน ศีล ธรรม หมวดหนึ่งหรือกลุมหนึ่ง ที่มีประโยชนลึกซึ้งควรจะสนใจ. .…

.…

....

.…

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน (ตอ)

๓๘๑

หมวดที่ ๔. คือ ขันตี. ขอใหสังเกตดูใหดีวาเราจะจัดกลุมธรรมะตั้งหลายสิบหลายรอยให เหลือ เพีย ง ๘ หมวด;มัน ก็จํา เปน อยูเ องที่จ ะตอ งเอาพวกที่ค ลา ย กัน หรือ เนื่องกันอยูมาใสไวในกลุมเดียวกันเสีย. ฉะนั้นหมวดขันตินี้ก็ตองมีเรื่องบางเรื่อง ที่เพียงวามันเนื่องกันอยูกับขันติ ก็เอมาไวในหมวดนี้. ข อ ที่ ๑. ก็ จ ะเอ ย ถึ ง สิ่ ง ที่ เ รี ย กว า ขั น ติ ตามชื่ อ ของหมวด นั่น เอง. ขัน ติ คํา นี้แ ปลวา อดทน หรือ อดกลั้น ; อะไรที่ค วรอดทนอดกลั้น ก็ตองอด. อ ย า ง ที ่ ๑. สิ ่ ง แ รก ก็ ค ื อ ค ว า ม เป น ไ ป ต า ม ธ รร ม ช า ติ ซึ่งอยูในโลกนี้ มี อ ะไรมาสั ม ผั ส มาถู กต อ ง ที่ ทํ าให ต อ งอดกลั้ น เชน ความรอ น ความหนาว เหลือบ ยุง ลม แดด อะไรก็ตาม มันก็เปนสิ่งที่จะตองอดกลั้น; ไมใชวาจะปลอยใหมันกัดหรือมันทรมานอยูตลอดเวลา แตวาตองอดกลั้นที่จะ ไม ทํา จิ ต ใจให มั น เป น ทุ ก ข ขึ้ น มา ในเมื่ อ มั น หลี ก ไม พ  น มั น ก็ ต อ งอดกลั้ น แลวก็แกไขไปตามเรื่อง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อย า งที ่ ๒. ยั ง มี ค วาม เจ็ บ ไข ไ ด ป  ว ย นี ่ ก ็ เ ป น เรื ่ อ งที ่ จ ะ ตองรูจักอดกลั้น; ถาไมรูจักอดกลั้นหรือ เฉยได ก็เทากับ กินของแสลง ทําให สูญเสียกําลังใจ หรือทําใหเปนความรูสึกเปนทุกขทรมานที่เพิ่มขึ้นอีกสวนหนึ่ง. นี่ไมมีประโยชนอะไร จึงตองอดกลั้นตอความเจ็บไขไดปวย.

www.buddhadassa.in.th


๓๘๒

อริยศีลธรรม

อย า งที ่ ๓. ที ่ อ ยู  ใ นโลกนี ้ ก ็ ย ั ง มี อ ยู  ร วมกั น กั บ คนพาลหรื อ คนบ า ซึ่ ง หลี ก ไม พ น ฉะนั้ น คนพาลหรื อ คนบ า นั้ น ก็ ย อ มทํา อะไรชนิ ด ที่ จะ ตองให เราต องอดกลั้น ; ก็ตองอดกลั้ นได. แม คนดี ๆ ที่ เขาเรียกกั นวาดี ตาม ธรรมดานั้นก็มีกิเลส; ถาเกิดมีกิเลสก็คือคนบานั่นเอง แตเปนบาชนิดที่ไมมีใคร เรียกวาคนบา; ฉะนั้นคนมีกิเลสก็ยอมลวงเกินผูอื่น; บางทีก็ไปดาผูอื่น หรือ ไปดูห มิ่น ดูแ คลนอะไรเขา;มัน ก็ตอ งเปน เรื่อ งที่ตอ งอดกลั้น . การอดกลั้น นั้น ดีก วา ที ่จ ะไปเปน คนบา ขึ้น มาเปน คนที ่ ๒ แลว ก็ไ ดท ะเลาะกัน ไดฆ า กันอยางนี้. อย า งที ่ ๔ นี ้ อ ดกลั ้ น สู ง สุ ด อี ก อย า งหนึ ่ ง ก็ ค ื อ อดกลั ้ น ต อ การบี บ คั ้ น แห ง กิ เ ลสของตนเอง ทุ ก คนมี กิ เ ลส; กิ เ ลสมั น ต อ งการ ตามประสากิ เ ลส แล ว มั น ผิ ด ทั้ ง นั้ น ; เพราะฉะนั้ น เราต อ งอดกลั้ น นั บ ตั้ง แตวา อยากจะสูบ บุห รี่ มัน ก็ตอ งยอมอดกลั้น หรือ วา ถา ติด บุห รี่แ ลว ก็ตอ ง อดกลั้น เพื่อจะทิ้งมันเสีย. นี่กิเลสตัวเล็ก ๆ มันก็ยังเปนอยางนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อยากไปดู ห นั ง อยากไปดู ล ะคร อยากกิ น เหล า เมายา อยากไป แสวงหากามารมณ ตอ งอํา นาจของกิเ ลสนั้น ๆ; ก็ลว นแตเ ปน เรื่อ งที่ตอ ง อดกลั ้ น . อย า งนี ้ เ รี ย กว า อดกลั ้ น ต อ การบี บ คั ้ น ของสิ ่ ง ที ่ เ รี ย กว า กิ เ ลส เปนการอดกลั้นสูงสุด.

ทั้ง หมดนี้ก็รวมเรีย กวา ขัน ติ คือ ความอดกลั้น อดทน ดว ยกัน ทั้ งนั้ น . เราจะต อ งอธิ บ ายให ลู ก เด็ ก ๆ เขารูจั ก ความอดกลั้ น เหล า นี้ , แล ว ก็ สรรเสริญ เขาเมื่อ เขาอดกลั้น ได; ใหเขาเกิด นิสัย แหง บุค คลผูมีขัน ตี ซึ่ง เปน

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน (ตอ)

๓๘๓

ประโยชนอยางยิ่งแกคนทุกชนิดทุกสถานะ, จะเปนฆราวาส หรือเปนบรรพชิต เป น พระ ก็ ร อดตั ว ไปได เ พราาะความอดกลั ้ น ซึ ่ ง จะได พ ู ด กั น ต อ ไปใน ความหมายอื่น. .…

.…

....

.…

ขอที่ ๒ อยากจะเรียกชื่อธรรมะที่มีชื่อวา โสรัจจะ คํา นี้ แ ปลว า ยิ้ ม แย ม . อดกลั้ น ได แต ถ า หน า บึ ้ ง ก็ ไ ม ดี หรื อ ไม เ ก ง . ถ า อดกลั ้ น ได ก ็ ต  อ งยิ ้ ม แย ม ได ; แม เ จ็ บ ปวดเหลื อ ประมาณ เลือ ดไหลอยูก็ค วรจะยิ้ม แยม ได หรือ วา ถูก เขาดา มัน ก็ค วรจะยิ้ม ได.ถา ถูก กิ เ ลสลี บ คั ้ น ก็ ค วรจะหั ว เราะเยาะกิ เ ลสได อย า งนี ้ เ รี ย กว า โสรั จ จะ ความยิ้มแยม มันเปนขันติที่แสดงผลสูงสุด เลยไปถึงอาการที่นาเลื่อมใส.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org .…

.…

....

.…

ข อ ที่ ๓. อยากจะระบุ สิ่ ง ที่ เ รี ย กว า การบั ง คั บ ตั ว , ภาษา บาลี เรียกวา ทมะ.

ทมะ แปลว า บั ง คั บ ตั ว , บั ง คั บ ตั ว คื อ บั ง คั บ กิ เ ลส; แต เ รา มักจะมองกันที่การกระทําขางนอก เชนการบังคับการกระทําที่ไมควรจะทําอยา ให ม ั น มี ขึ ้ น มา ที ่ แ ท ก ็ ค ื อ การบั ง คั บ กิ เ ลส นี ่ ม ั น เป น การตั ด บทตั ้ ง แต ที แ รก ว า เรามี ก ารบั ง คั บ ตั ว ไม ใ ห ไ ปกระทบ กระทั ่ ง ผู  อื ่ น ; นี ่ ป  ญ ห า มันก็หมดไปมากทีเดียว.

www.buddhadassa.in.th


๓๘๔

อริยศีลธรรม

ก า ร บั ง คั บ ตั ว นี ้ มุ  ง อ ย า ให เ กิ ด ค ว าม รู ส ึ ก เล วร า ย อ ะไร ขบกัดเราอยู แมเนื่องดวยผูอื่น;แตความประสงคสวนใหญก็หมายถึง บังคับใน สวนที่มันจะออกมาขางนอก เปนการกระทํา แลวมันไปกระทบกระทั่งถึงสิ่งอื่น หรือบุคคลอื่น. การบัง คับ มีค วามหมายกวา งขวางมาก ควบคุม ตัว เอง บัง คับ ตั ว เอ ง ใ ห อ ยู ใ น อํา น า จ ; มี ห ลั ก สํา ห รั บ ป ฏิ บั ติ ม า ก ม า ย , ก ร ะ ทั่ ง ถึง บังคับ จิต ตามวิธีของกรรมฐานภาวนาอีก มากมาย. นี้ก็อ ยูในพวกที่บังคับ ตัว ทั้งนั้น ศีลธรรมสากลไดเอยถึงคํานี้มาก คือการบังคับตนเอง. .…

.…

....

.…

ขอที่ ๔ อยากจะเอยชื่อ ความไมเถียง ความไมดื้อรั้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ความไมเ ถีย งนี ้ต อ งเปน การฝก เฉพาะ เพราะวา คนมัน เคยดื ้อ เคยเถียงมาตั้งแตออนแตออก; ถาใหดีละก็ตองอบรมเด็ก ๆ เล็ก ๆ ไมใหมี นิสัยที่จะดื้อหรือจะเถียง ใหยอมฟง.

นึ ก ถึ ง พ ระ พุ ท ธ ภ า ษิ ต ที ่ ว  า บุ ต รห ล า ย ๆ ช นิ ด บุ ต รที่ ประเสริ ฐ ที ่ ส ุ ด ก็ ค ื อ บุ ต รที ่ ย อมเชื่ อ ฟ ง .พระพุ ท ธเจ า ไม ไ ด ต รั ส ยกย อ ง บุ ต รที ่ เ ฉ ลี ย วฉ ล าด เก ง กล า ส าม ารถ แต ท  า น ย ก ย อ งบุ ต รที ่ เ ชื ่ อ ฟ ง ; เพราะบุตรที่เชื่อฟง มันมีแตสวนดีโดยสวนเดียว. ฉะนั้น ก็ตองอบรมลูกเด็ก ๆ ใหเปนคนเชื่อฟง แมมันยังไมมีเหตุผล ก็พูดกันได ไมตองเถียง ไมตองดื้อ.

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน (ตอ)

๓๘๕

ให ถ ื อ ว า การเถี ย งหรื อ การดื ้ อ นั ้ น เป น เรื ่ อ งเลว, เป น เรื ่ อ ง ของภูตผีปศาจ ใหดูหนาตาจิตใจของคนที่กําลังดื้อกําลังเถียง มันเหมือนกับ ภูต ผีปศ าจ มัน ไมใ ชลูก มนุษ ยเ สีย แลว ; ฉะนั้น ลูก มนุษ ยมัน ก็ไ มค วรจะดื้อ จะเถียง ใหมองหนากันไดอยางมนุษย. .…

.…

....

.…

ขอที่ ๕. การยอมได คือ สมัครเปนผูยอม. ป ญ หามี อ ยู  ที ่ ไ ม ม ี ใ ครยอม จึ ง ไม ร ะงั บ เรื่ อ งอะไรลงไปได . การกระทบกระทั่งกันตองมีเปนธรรมดาในโลกนี้; แตการที่ฝายหนึ่งจะยอมเสีย โดยใหเรื่องระงับไปไดนี้หาไดยากมาก. ฉะนั้น พระพุทธเจาทานจึงสรรเสริญ คนยอม; แลว ตัว เปน ฝา ยถูก ก็ย อมได เพื ่อ ใหเรื่อ งมัน ระงับ ไปเสีย , ตัว เปน ฝายถูก เสียหายก็นิดเดียว แตประโยชนมันไดมาก ถาเรื่องตาง ๆ มันระงับไปได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org บางที ก็ เป น เรื่อ งวิ น าศของบ า นเมื อ งของประเทศชาติ ไปเลย ถ า เกิ ด การไม ย อม. ฉะนั้ น ยอมเสี ย ประโยชน ซึ่ ง ไม เท า ไร, หรื อ ว า ยอมเสี ย เกียรติ ยอมเสียอ ะ ไ ร ก็ ต า ม ที่ เ รี ย ก ว า มั น เ ป น เ รื่ อ ง เ สี ย แ ล ว ค ว า ม วิ น า ศ ข อ ง สวนรวมจะหายไปได. นี่ก็เรียกวามีป ระโยชนดีทีสุด ทางศีล ธรรมในระดับ พื้น ฐานทั่วไป; แตถาเปนเรื่องศีลธรรมสวนสูงทางจิตทางวิญญาณละก็ การยอมนี้ เปนการฆากิเลส, ยอมไดเทาไรก็ฆากิเลสของตัวเทานั้น. ฉะนั้น การยอมไดนั้น ชวยใหเปนพระอรหันตเร็วขึ้น; แตนี่มันเกินขอบเขตของยุวชน เราจึงไมพูด .…

.…

....

.…

www.buddhadassa.in.th


๓๘๖

อริยศีลธรรม ขอที่ ๖. จะระบุ การอดโทษและการขอโทษ.

ค น ทั ่ ว ไ ป ไ ม ย อ ม อ ด โ ท ษ ; ใ ค ร เป น ผู  ย อ ม อ ด โ ท ษ ค น นั ้ น เรี ย ก ว า ดี ก ว า ธ ร ร ม ด า คื อ ต อ ง เป น สั ต บุ ร ุ ษ จึ ง จ ะ ย อ ม อ ด โท ษ ค น ธรรมดานั้นคิดจะไมอดโทษ และคิดจะปรับเอาประโยชน จากการที่เขามาลวงเกิน เรา; ไม ค ิ ด จะอดโทษ มี แ ต จ ะค า กํ า ไรบนการขอโทษของผู  อื ่ น . ถ า เป น สั ต บุ ร ุ ษ ต อ ง อ ด โท ษ ,อี ก ท า ง ห นึ ่ ง ก็ ต  อ ง ข อ โท ษ . จ ะ เป น ก า ร ล ว ง เกิ น เล็กนอยเทาไรก็ตามจะตองขอโทษ จะไมตองรีรอในการขอโทษถาเราเปนฝายผิด. เราจะตอ งสอนลูก เด็ก ๆ ใหเ ขารู จ ัก ขอโทษ เปน นิส ัย ทีเ ดีย ว และพรอ มกัน นั ้น ก็ต อ งอดโทษดว ย ในเมื ่อ ผู อื ่น เขาขอโทษ. สิ ่ง เหลา นี ้ต อ ง ทํ า ดว ยความอดทน ทั ้ง นั ้น , เปน การอดทนตอ อํ า นาจขอกิเ ลสในภายในใจ; ไมอ ดทนแลว มัน ก็ไ มย อมขอโทษ. หรือ เขาขอโทษเราก็ไ มใ ห และยัง ผูก โกรธ, หรือวาจะถือเอาการลวงเกินนั้นเปนเรื่องแสวงหาประโยชนอยูร่ําไป.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org .…

.…

....

.…

ขอ ที ่ ๗. จะเรีย กวา ถอ มตัว นี ้ไ มไ ดม ีค วามหมายเปน ขัน ตี โดยตรง. เปนขันติทางออม.

ถ า เร า ถ อ ม ตั ว เร า ก็ ต  อ ง มี ค ว า ม อ ด ก ลั ้ น อ ด ท น อ ยู  เ ป น ธรรมดาตลอดเวลา; จะถอ มตัว ดว ยความหมายอะไรก็ต าม มัน ก็ม ีล ัก ษณะ ของความอดกลั้น กิเ ลสมัน ตอ งการใหย กหูชูห าง; ถา เราถอ มตัว เราตอ ง

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน (ตอ)

๓๘๗

อดทนตอ การบีบ คั้น ของกิเลส ที่มัน ตอ งการใหย กหูชูห าง. การถอ มตัว เปน นิสัย นั้น ก็เ ปน การชนะกิเ ลสอยูต ลอดเวลา ดว ยเหมือ นกัน ; ฉะนั้น รูจัก ถอมตัวดีกวาที่ยกหูชูหาง เหมือนอยางที่เขามีกันอยูทั่ว ๆ ไป. ... ... ... ... ขอที่ ๘. เรียกวา ความรํางับลงได. ความรํ า งั บ ลงได นี ้ ห มายถึ ง สติ ป  ญ ญ า ที ่ จ ั ด ให เ รื ่ อ งราว รํา งับ ลงได; เรีย กอีก อยา งหนึ่ง ก็ม าเขา รูป เขา รอยสํา หรับ ที่จ ะระงับ ลงได. นี้ก็ตอ งอาศัย ความอดทนเปน เบื้อ งหนา หรือ วา เปน ระยะแรก; ไมอ ยา งนั้น มันไมมีทางที่จะจัดจะปรับปรุงเราหรือผูอื่นหรืออะไรก็ตาม ที่เกี่ยวของกัน ใหมัน เขารูปเขารอยกันได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org โดยเฉพาะการประพฤติธ รรมะในพระพุท ธศาสนา ซึ ่ง มัน มี ลําดับขอธรรมะหลายลําดับและหลายขอ กวาธรรมะเหลานั้นจะเปนธัมมสมังคี คื อ เข า รู ป เข า รอยกั น ได ดี แ ล ว ตั ด กิ เ ลสได นั้ น เราต อ งมี ค วามอดทน เปน แนน อน; ไมอ ยา งนั้น ธรรมะทั้ง หลายจะไมเ ขา รูป เขา รอยกัน ได อยา ง ธรรมะหมวดโพชฌงค เปนตน มันตองรอได คอยได กวาจะเปนอุเบกขา. .…

.…

....

.…

ข อ ที่ ๙ ความสุ ภ าพ, ความสุ ภ าพนี้ จ ะเรี ย กว า เป น ความ อดทนก็ ได หรือ จะเรีย กเป น สั งวรระวัง สํ ารวมอะไรก็ ได , จะเรีย กเป น ความ บริสุทธิ์ก็ได.

www.buddhadassa.in.th


๓๘๘

อริยศีลธรรม

แต เ ดี ๋ ย วนี ้ อ ย าก จะชี ้ ใน แง ที ่ เ ป น ค วาม อ ด ท น ท น รั ก ษ า ความสุภาพนั่นเอง. ใครบางถาอยากจะมีความสุภาพอยูตลอดวันตลอดคืนแลว ไมตองอดทน ในการรักษาความสุภาพของตน. ฉะนั้ น ความสุ ภ าพมี เ นื ้ อ แท เ ป น ความอดทน จนกว า มั น จะชิน เป น นิ สัย ; แลวมั นก็ คาบเกี่ย วกัน กับ ที่ วา มั น มี สิ่งที่ มาทําให เราสูญ เสี ย ความสุ ภ าพ เชนเขาด า เป น ตน ; มั น ก็ ต องอาศั ย ความอดทนอี ก ที่ จะรัก ษา ความสุภาพไวได. นี้ขอใหชวยกันสั่งสอนลูกเด็ก ๆ ใหรูจักการตอสูดวยความ อดทน จะรักษาความปรกติหรือความสุภาพไวได. .…

.…

....

.…

ข อ ที่ ๑๐. จะเรี ย กว า อุ เ บกขา; แต ไ ม ใ ช อุ เ บกขาชั้ น สู ง ในพระพุทธศาสนา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อุ เ บ ก ข า นี ้ เ ป น เพี ย ง เฉ ย ได ห รื อ ร อ ไ ด ; พ ย า ย า ม ใ ห เ กิ ด ความรู สึ ก ที่ เ ฉยได ไม ห วั่ น ไหวไปตามสิ่ ง ที่ ม าทํา ให รั ก หรื อ ให โ กรธ. มั น มี ๒ เรื่องเทานั้นในโลกนี้ : อยางหนึ่งทําใหรัก, อยางหนึ่งทําใหโกรธ, จะทํา ไปในทางที่จะเฉยไดก็ตองอดทนเหมือนกัน.

อุ เ บ ก ข า อี ก ค ว า ม ห ม า ย ห นึ ่ ง นั ้ น คื อ ร อ ไ ด เช น ว า ป ลู ก ดอกไววันนี้ จะใหมีดอกพรุงนี้ มันทําไมได; ก็แนะใหลูกเด็ก ๆ เห็นวา จะให ตนไมมีดอกขึ้นมา ในวันพรุงนี้มะรืนนี้ นั้นทําไมได ตองมีความปรกติของจิต

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน (ตอ)

๓๘๙

รอไดต ามลํา ดับ ของมัน ; รดน้ํา พรวนดิน ดีแ ลว มัน ก็ง อกงามของมัน ไปเอง, เราก็รอกวามันจะออกดอกมา. ความรอไดนี้ก็เปนลักษณะที่เรียกวาอุเบกขา มาจากขันติ มีความอดทนดวย. เดี ๋ ย วนี้ ค น รอ ไม ค อ ย ได ก็ เ กิ ด ทํ า ต า ม อํา น า จ ข อ ง กิ เ ล ส ไปลักไปขโมย เปนตน; หรือเมื่อ ไมทําถึงอยางนั้น ก็เรารอนอยูในใจ เพราะ ไมทันอกทันใจเสียเลย. คนที่เขาพูดวาไมทันอกทันใจเสียเลยนี้ ก็เพราะวาเขา ขาดคุณธรรมขอนี้; เมื่อเขาทําดีที่สุดในสวนที่ควรจะทําแลว ก็ควรจะมีคุณธรรม ขอนี้: ทําใหมีความพอใจ สบายใจเพราะความรอได, สบายวามันไดทําถูกตอง. แลว มันตองออกมาเปนผลตามที่เราตองการเปนแนนอน, รออยูไดดวยใจคอ ปรกติ นี่ก็เรีย กวาอุเบกขา; แลว ดูใหดี ในนั้น มัน มีลัก ษณะขัน ติ คือ ความ อดทนรวมอยูดวยเหมือนกัน. ขอที่ ๑๑. อยากจะเรียกวา ความเปนคนไมเอาหนา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตามปรกติ เ ราจะเห็ น บุ ค คลแย ง เข า ไปเอาหน า : ทํ า อะไรก็ อยากจะไดหนาไดเกียรติแกตัว,อยากเปนหัวหนาความดีที่คนอื่นทํา, อยากจะ ใหคนทั้งหลายเขาเขาใจตัวเองทํา; นี้มันเปนโรคจิตชนิดหนึ่งซึ่งมีอยูทั่ว ๆ ไป. ถาจะแกกันในชั้นแรก มันก็ตองมีความอดทนไมตองไดหนา ไมตองการจะเอาหนา ตองการจะอยูอยางคนที่ไมไดหนา; แลวก็อยากจะเลยไปถึงขอสุดทายวา:-

www.buddhadassa.in.th


๓๙๐

อริยศีลธรรม ขอที่ ๑๒ สมัครที่จะเปนคนปดทองหลังพระ

นี่ค นโบราณเขาเขา ใจดีแ ลว ก็ไดพ ูด ไว เปน คํา สุภ าษิต พังเพย อะไรมาก ว า "ป ด ทองหลั ง พระ" คนพาลไม ย อม แต ค นดี ส มั ค ร. คิดดูซิการปดทองหลังพระนี้ คนโง คนพาล คนเขลา คนโลภเขาไมยอม; เขา จะใหมันเดนเพื่อใหเขามันเดน, เขาตองการแตเพื่อจะใหมันเดน, แตถาเปน สัตบุรุษมีธรรมะกลับชอบ วามันเปนสิ่งที่เหมาะสมแลว คือ เราไมตองการจะ เอาหนา; เราตองการจะเอาดีจริง. ถา จะเอาบุญ กัน จริง แลว ก็ป ด ทองขา งหลัง พระคงจะไดบ ุญ กวา; เพราะวาขางหนานั้นใคร ๆเขาก็ชอบจะปด, ขางหลังไมคอยมีใครอยากปด. ถาไมมีใครยอมปดขางหลัง มันก็คางเติ่งอยูนั่น มันก็ไมสําเร็จประโยชนอะไร; ฉะนั้น ความสําเร็จมันอยูที่คนยอมเสียสละปดทองหลังพระ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ดู ใ ห ด ี , มั น มี เ ค า เงื่ อ นแห ง ความอดกลั ้ น อดทน อยู  ใ นนั ้ น ไมใชเปนเรื่องของปญญาลวน ๆ ;เพราะมันตองบังคับกิเลส ที่อยากจะไปตาม รองรอยธรรมดาสามัญ คือ การอยากเอาหนา มันตองทนหนอย จึงจะทําหนาที่ ปด ทองหลัง พระได; แลว ก็กิน ความลงไปถึง การที่ไ มใ หใ ครรู ไมใ หใ ครเห็น วาเราปดทองหลังพระดวยซ้ําไป เราแอบเมื่อไมมีใครเห็นไปปดทองหลังพระ ให มันเสร็จใหมันบริบูรณเสียที. จะทําบุญทําความดี แมแตจะรักษาศีลปฏิบัติธรรม ก็เหมือนกัน; ถาจะใหดีแลวอยาใหใครเขารูจะดีกวา คือ ไมตองการใหใครเขา สรรเสริญ.

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน (ตอ)

๓๙๑

เดี๋ย วนี้จ ะทํา อะไรสัก นิด จะตอ งเหมือ นกับ ตีฆอ งรอ งเปา ใหค น เขาเห็นเขารูวา ฉันทําความดี, จะปฏิบัติธรรมะในพระพุทธศาสนา ก็เหมือนกัน ยั ง ไ ม ว า ย ที ่ จ ะ โอ อ ว ด กั น ; นั ่ น เพิ ่ ม กิ เ ล ส ,แ ล ว ก็ ยิ ่ ง ลํ า บ า ก ม า ก ขึ ้ น ตั้งใจไววาจะละกิเลส, มันกลายเปนเพิ่มกิเลสเสียอยางนี้ มันก็ลําบากมากขึ้น. นี ่ ต ั ว อย า งเท า นี ้ ก ็ พ อแล ว สํ า หรั บ เรื่ อ งของขั น ตี คื อ ความ อดทนโดยตรงบาง โดยออมบางที่มันสัมพันธกันอยูบาง ขอใหจดจําไปสําหรับ อบรมลูกเด็ก ๆ ตาดํา ๆ ใหมีรากฐานแหงศีลธรรมหมวดนี้คือความอดทนดวย. ... ... ... ...

หมวดที่ ๕. คือ สังวร. ที นี้ ห มวดต อ ไปเป น หมวดที่ ๕. ซึ่ ง ให หั ว ข อ กลุ ม นี้ ว า สั ง วร - ความสํารวมระวัง ซึ่งมัน จะกิน ความเลยไปถึง การบังคับ ควบคุม การรัก ษา ดู แ ลอะไรด ว ย แต เ ราจะเรี ย กสั้ น ๆ ว า สั ง วรแปลว า สํา รวม. ถ า สํา รวม ไมรู ว า อะไร ก็ค ือ รู ว า ระวัง ก็แ ลว กัน ; ระวัง อยา ใหม ัน ผิด พลาดได คือ สํา รวม อย า ให มั น เกิ ด ช อ งโหว เกิ ด อะไรขึ้ น มาสํา หรั บ การผิ ด พลาดได , นี้เรียกวาสํารวม ถาเปน ภาษาบาลีก็เรียกวาสังวร.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ขอที่ ๑. อยากจะเอยถึงสิ่งที่เรียกวา สติ. สติ นี ้ แ ปลว า ความระลึ ก ได ; มั น ไม ใ ช เ ป น ตั ว การสั ง วร โดยตรงอยา งเดีย ว มัน เปน โดยออ ม. ถา ไมม ีส ติก็ไมม ีท างจะสัง วร; ถา เรา

www.buddhadassa.in.th


๓๙๒

อริยศีลธรรม

ระลึกไมได หรือไมมีสมปฤดี อยางนี้ ก็เรียกวา ไมมีทางจะสังวร ตองมีสติใหรู ว า อะไรเป น อะไรอย า งถู ก ต อ งทั น แก เ วลาอยู เ สมอ นี้ เ รี ย กว า สติ . ถ า กลัวจะพลาด ก็ตองหัดใหมันเร็วกวานั้นขึ้นมาอีก, อยางที่เรียกวานับสิบกอน. นิท านสํา หรับ ลูก เด็ก ๆ เรื่อ งนับ สิบ กอ นนั้น คือ เขามุง จะสอน เรื่อ งใหโอกาสแกส ติ; ใหส ติมัน มีโอกาสที่จ ะมาทัน แกเวลา. ถา ไมอ ยา งนั้น มัน มาไมทัน มัน มีเ รื่อ งที่ทํา ใหโ กรธ ใหพูด อะไรไปเสีย กอ นแลว ; ฉะนั้น จึงหัดนิสัยไมพูดหรือไมทําอะไรสวนออกไป; โดยที่ไมมีระยะเวลาหรือรออยูสัก ขณะหนึ่ง เพื่อใหเกิดสติโดยสมบูรณ. อาการที่เ ราวา นับ สิบ กอ น ก็ร วมอยูใ นสิ่ง ที่เ รีย กวา สตินั้น เปน เบื้ อ งต น ; แล วมั น ก็ ม ากขึ้น ไปสู งขึ้น ไป ถึ งสติ ที่ ต อ สู กั บ กิ เลส, ถึ งสติ ที่ มั น จะ ทํ า ลายกิ เ ลสอยู  ใ นตั ว . ที ่ เ ราเรี ย กว า สติ ป  ฏ ฐาน นั ้ น แหละคื อ สติ ที่ ตั้ง มั่น และสมบูร ณ. สตินี้กิน ความมากเหลือ เกิน แลว ก็ส มกับ ที่ พระพุท ธเจาตรัส วา สตินี้เปน สิ่งที่ตอ งใชในทุก ๆ กรณี . ใชคําวา "ทุก กรณี" ไมย ก เวนอะไร, ไมมีอะไรที่ไมตองการสติ. ... ... ... ...

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ขอที่ ๒. เรียกวา สัมปชัญญะ นี้เปนเกลอกันกับสติ.

เ ร า ไ ด ย ิ น คํ า พู ด ที ่ ว  า ส ติ ส ั ม ป ชั ญ ญ ะ ; ส ติ นี ้ ต  อ ง ทํ า หน า ที ่ ร ะลึ ก มาได เป น ความรู ที่ ม าทั น แก เ วลา. พอมาแล ว ก็ รั ก ษาไว ,

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน (ตอ)

๓๙๓

อยา ใหห นีก ลับ หายไปเสีย อีก ก็เ รีย กวา สัม ปชัญ ญะ ระดับ พื้น ฐาน มัน เปนอยางนี้. ถา พูด ใหส มบูร ณ จะตอ งพูด ถึง สิ่ง อีก สิ่ง หนึ่ง ดว ย คือ สิ่ง ที่เรีย ก วา ปญญา; ในโอกาสที่เรามีอยู สําหรับการศึกษา, ก็ศึกษา ๆ จนมีความรู ถูก ตอ ง และเพีย งพอในเรื่อ งนั้น ๆ สว นนั้น เรีย กวา ปญ ญา. ครั้น พอถึง คราวที่มีเรื่องเกิดขึ้นจริง ๆ เฉพาะหนาขึ้นมาจริง ๆ ปญญานั้นมันอาจจะมา ก็ ไ ด , ไม ม าก็ ไ ด . ถ า ป ญ ญานั้ น มา นั่ น จึ ง เรี ย กว า สติ ; ถ า มาช า ไป ก็ไมสําเร็จประโยชน. สติก็ตองมาเร็ว จึงจะเรียกวา สติที่ทันแกเวลา, สติคือ ปญ ญาที่ม าทัน แกเวลา. แลว สัม ปชัญ ญะ คือ การที่รัก ษาปญ ญานั้น ไวอ ยู ตลอดเวลาที่เ รายัง จะตอ งใชมัน อยู นี้มัน จึง เปน ของที่เ นื่อ งกัน ไปสํา หรับ สติปญญาหรือสติสัมปชัญญะ คํา ว า สั ม ปชั ญ ญะ มี ค วามหมายของคํา ว า ป ญ ญา รวม อยู ใ นนั ้น แลว วา รูสึก ตัว ทั ่ว พรอ ม ถา หมายถึง กิริย าที ่รูส ึก ตัว ทั ่ว พรอ ม เรียกวาสติสัมปชัญ ญะ ; แต ความรู นั้น เรียกวา ปญ ญา. เพราะฉะนั้น ในสัมปชัญญะนั้นยอมมีปญญา ซึ่งสติเปนผูพามาทันทวงที; ถาพามาไมทันทวงที ก็เหมือนกับไมมีปญญา. ฉะนั้น คนมีปญญาจึงไดวินาศไปแลว เพราะวาเขา ไมมีส ติ. สติ จึง ไดรับ เกีย รติ หรือ ไดรับ การยกยอ งวา สํา คัญ กวา ปญ ญา, จะมีคายิ่งกวาปญญาดวยซ้ําไป.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org .…

.…

....

.…

www.buddhadassa.in.th


๓๙๔

อริยศีลธรรม ข อ ที ่ ๓. เรี ย ก ว า ร ะ วั ง จิ ต , ก า ร สํ า ร ว ม ร ะ วั ง นั ้ น คื อ

ระวังจิต. สิ่งที่เรียกวา จิตนี้ อยาเอามาวิจารณ กันในที่นี้เลย ไมมีเวลาพอ; เอาตามที่รูสึกอยูก็แลวกัน วาสิ่ง ๆ หนึ่งซึ่งมันคิดนึกได, แลวมันก็คิดนึกไว ยิ่งกวาสายฟาแลบ, แลวมันคิดดีก็ได, คิดไมดีก็ได คิดอยางถูกอยางผิดอะไรได ทั้ ง นั้ น . ต อ งมี ก ารระวั ง ระวั ง จิ ต อย า ให มั น ปรุ ง ความคิ ด แล น ไปผิ ด . ถาถือเอา ตามแบบฉบับที่มีอยูแลวในพระบาลีนั้น:๑. ระวังจิตอยาใหกําหนัด ในสิ่งที่มายั่วใหกําหนด คือไปในทางที่รัก. ๒. ระวังจิตอยาใหขัดเคือง ในสิ่งที่มายั่วใหขัดเคือง; นี้คือทางโกรธหรือเกลียด.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๓. ระวังจิตอยาใหหลงโงไป คือ เผลอไป สะเพราไป,

๔. ระวัง จิต อยา ใหม ัว เมา คือ ไปเสพติด อะไร แลว ก็ถ อนตัว ออกมายาก.

ใน ๔ ประการนี ้ เรี ย กว า ระวั ง จิ ต เป น สิ ่ ง ที ่ จํา เป น ที ่ ส ุ ด , หรือ วา ประเสริฐ ที ่ส ุด วิเศษที ่ส ุด . ควรจะใหล ูก เด็ก ๆ ไดรูจัก ๔ อยา งนี ้; เพราะมีอยูรอบดาน มีอยูตลอดเวลา. เราจะทําอยางไรดี จึงจะรูจักระวังจิต คงจะเปนเรื่องสนุกเหมือนกัน ไมนาเบื่อนัก.

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน (ตอ)

๓๙๕

ขอที่ ๔. เรียกวา ศีล นี้มาอีกแลว. คํา นี้ เ ป น หั ว ข อ ข อ ง ก า ร บ ร ร ย า ย ชุ ด นี้ คื อ ศี ล ธ ร ร ม . มีคํา วา ศีล มาแลว แตแ ยกตัว ออกมาเปน สวนนอ ย มาอยูในกลุม ที่เรีย กวา สังวร - สํารวม ระวัง; ถายังสังวรระวังไดอยู ก็ยังมีศีลอยูคือปรกติอยู. ขอเตื อ นเป น ร อ ยครั้ ง พั น ครั้ ง ว า ให ถื อ เอาความหมายของ คํา วา "ศีล " ใหถูก ตอ ง ใหเ ต็ม ที่ ใหส มบูร ณ คือ แปลวา ปรกติก็แ ลว กัน . พอผิ ด ปรกติ แ ล ว ก็ ค ื อ ไม ม ี ศ ี ล ; ถ า ยั ง ปรกติ อ ยู  ก ็ ค ื อ มี ศ ี ล อยู  . จะเป น ศีลชนิดไหนก็ตามในระดับไหนก็ตาม; ถือเอามีศีลตรงที่มีความปรกติ. ถาเปน เรื่อ งของลูก เด็ก ๆมัน ก็เรื่อ งศีลพื้นฐานทั่วไป ที่เรียกวาศีล ๕; แตวาควรจะ สอนเขาใหรูจักใหดีวา ที่สอน ๆ กันอยู ศีล ๕ ขอ ๑. ไมใ หฆา สัต ว, ขอ ๒. ไมใ หลัก ทรัพ ย, ขอ ๓. ไมใหทําชู, ขอ ๔. ไมใหพูดเท็จ, ขอ ๕ ไมใหดื่มน้ําเมา. ถามเด็ก ๆ ก็ตอบ อยา งนี ้ทั ้ง นั ้น ; เพราะวา ครูที ่โ รงเรีย นสอนอยา งนั ้น ที ่ถ ูก ควรจะใหเ ขา ขยายความหมายของคําเหลานี้ออกไป ๆ จนสมบูรณ เชนวา:-

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ศี ล ข อ ที ่ ๑. คื อ อ ย า ไ ป ป ร ะ ทุ ษ ร า ย ชี ว ิ ต ร า ง ก า ย ผู  อื ่ น . อยาไปกระทบกระทั่งทํารายชีวิตรางกายผูอื่น อยางนี้มันก็จะกินความหมด วา ฆาก็ไมได หรือทําอยางไหน ๆ ก็ไมไดทั้งนั้น มันมีอีกมากอยาง. เดี๋ยวจะเขาใจ แคบ ๆ วา เอามีดไปฟนใหเขาตาย อยางนี้จึงจะผิดศีล; อยางอื่นมันไมผิด.

www.buddhadassa.in.th


๓๙๖

อริยศีลธรรม

ศี ล ข อ ที ่ ๒. ข อ ลั ก ท รั พ ย ก็ เ ห มื อ น กั น อ ย า ไ ป ป ร ะ ทุษรายทรัยพสมบัติของเขา. ศี ล ข อ ที ่ ๓. ว า ก า เ ม ฯ นี ้ อ ย า ไ ป ป ร ะ ทุ ษ ร า ย ข อ ง รั ก ของเขา. ถา เราใหค วามหมายอยา งนี้แ ลว ; เด็ก อายุ ๔ - ๕ ขวบ ก็ตอ ง ถือ ศีล ขอ นี้. เพราะวา เด็ก จะเล็ก เทา ไร ก็มีข องรัก เปน ตุก ตา เปน อะไรก็ ตามใจ; เด็ก อีก คนหนึ่ง ก็อ ยา ไปประทุษ รา ยของรัก นั้น ใหเด็ก ที่เปน เจา ของ เขาเดือดรอนใจ ซ้ําใจ; ถือศีล อยางนั้น จึงจะเปนศีล. ที นี้ ไ ปสอนกั น จนว า เด็ ก ๆ ก็ ไ ม ต อ งถื อ ศี ล ข อ กาเมฯ ชั้ น ครูบาอาจารย ที่มีชื่อเสียง ไมตองออกชื่อวาใคร ก็ยังสอนอยางนั้น : วาเด็ก ๆ ไมตอ งถือ ศีล ขอ กาเมฯ จนกวา มัน จะเปน หนุม เสีย กอ น; อยา งนี้ไ มถูก ตาม ที่พ ระพุท ธเจา ทา นทรงมุง หมาย. เพราะพระพุท ธเจา ทา นมุง หมาย จะให ไม ไ ปประพฤติ ผ ิ ด ต อ สิ ่ ง ที ่ เ รี ย กว า กามะ. กามะ คื อ ของรั ก ของใคร ของใครก็ได; ไมใชจะตองทําลายอยางทําลายทรัพยสมบัติ แตมันไปทําลาย น้ํ า ใจ สิ ่ ง ที ่ เ ป น ข อ ง รั ก ข อ ง ผู  อื ่ น นั ้ น เรา ไป ทํ า ให เ ข า เจ็ บ ช้ํ า น้ํ า ใ จ ก็เรียกวา เราผิดศีลขอนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ศี ล ข อ ที ่ ๔. นี ้ ก ็ อ ย า ให ใ ช ว าจานี ้ ทํ า ลายความถู ก ต อ ง ความเปนธรรม หรือสิทธิอันชอบธรรมของใคร.

ศีล ขอ ที ่ ๕. สุร านั ้น อยา ไปทํ า สิ ่ง ที ่ม ัน ประทุษ รา ยสติ สัม ปชัญ ญะของตัว เอง; จะไปพูด วา ดื่ม น้ํา เมา, เพีย งแตดื่ม น้ํา เมานั้น มัน

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน (ตอ)

๓๙๗

ก็ไ มรูว า มีค วามมุ ง หมายอยา งไร. แตค วามมุ ง หมายของศีล ขอ นี ้ ตามตัว หนังสือแท ๆ ก็คือวา อยาไปทําสิ่งที่ประทุษ รายแกสติปญ ญาของตัวเอง ก็ เรียกวาความไมประมาท. เมื่อไปทําสิ่งที่เปนที่ตั้งแหงความประมาท, ก็ทําลาย ความไมประมาท; ความประมาทมันก็ทําลายสติสปฤดีสัมปชัญญะของตนเอง. ฉะนั้น ก็ตัด บทวา อยา ไปทํา สิ่ง ที่ทํา ลายความเปน ปรกติข องสมปฤดีข อง ตนเอง ก็พ อแลว นี้ข อใหชว ยกัน สอนลูก เด็ก ๆ ใหรูจัก ศีล ๕ ใหถูก ตัว จริง เสียที แลวก็เพียงพอดวย. .…

.…

....

.…

ขอ ที่ ๕. อยากจะใชคํา วา วัต ร ซึ่ง เปน ภาษาวัด ใหค นอื่น เขาลอบาง วาเรานี้ชอบใชภาษาวัดเสียเหลือเกิน. ต อ งมี วั ต ร, มี ศี ล ก็ ต  อ งมี วั ต ร; ฉะนั้ น คํา ว า ศี ล นี้ อ ยู ในลักษณะที่ บังคับเขมงวด, วัตร นี้มันชักจะ ปลอยไดบาง คือสมัครก็เอา ไมสมัครก็ได. แตที่แทควรสมัครที่จะมีวัตร ซึ่งหมายถึงมารยาทหรือหนาที่.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สิ ่ ง ที ่ เ รี ย ก กั น ว า เป น ห น า ที ่ ต  อ ง ป ฏิ บ ั ต ิ นี ้ เ รี ย ก ว า วั ต ร ; โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง คื อ มารยาทที่ จ ะต อ งประพฤติ ต อ ผู อื่ น ต อ ตั ว เอง แ ล ว ก็ ต  อ วั ต ถุ สิ ่ ง ข อ งที ่ ม ี อ ยู  เกี ่ ย วข อ งอ ยู  . ฉ ะนั ้ น ผู  ที ่ ม ี ว ั ต รดี ก็ ต  อ ง มีบ า นเรื อ นสะอาด มี วั ต ถุ เ ครื่ อ งใช ไ ม ส อยเรี ย บร อ ย มี เ นื้ อ หนั ง สะอาด มีอ นามัย ดี กระทั่งเปน ที่เคารพนับ ถือ พอใจของผูอื่น เพราะเราประพฤติตอ เขาดี; อยางนี้ก็เรียกวา วัตร ประพฤติวัตร; บางทีก็ใชคําวา พรต. พรต หรือ

www.buddhadassa.in.th


๓๙๘

อริยศีลธรรม

วั ต ร นี ้ เ ป น คํ า เดี ย วกั น . ถ า ไม สํ า รวมระวั ง แล ว ก็ ไ ม ม ี วั ต ร หรื อ พรต ไปได; วัตรจึงอยูในพวกสํารวมระวัง จนถึงกับพูดวา บําเพ็ญ พรตเต็มไปดวย ความสํารวม ระวัง. .…

.…

....

.…

ขอที่ ๖. ความมีระเบียบ ค ว า ม มี ระ เบี ย บ นี้ แ ย ก อ อ ก ม า จ า ก วั ต ร โด ย มุ ง ห ม า ย จะให อ ยู ใ นระเบี ย บอย า งแท จ ริง บางคนรูระเบี ย บแต ไม ป ระพฤติ , รูว า วั ต รนี้ เป นอยางไร แตไมประพฤติเสียก็มี ; แตถาวาเปนคนอยูในระเบียบ เปนคนมี ระเบียบตั้งอยูในระเบียบ แลวมันก็ไมเวนที่จะตองทําตามระเบียบ คือตามหนาที่. นี้ ก็ เ ป น เรื่ อ งเดี ย วกั น อี ก ที่ จ ะปฏิ บั ติ ต อ บุ ค คลหรื อ ว า ต อ ตนเอง หรื อ ว า ต อ วั ต ถุ สิ่ ง ของ นี้ ต อ งมี ค วามเฉี ย บขาดต อ การประพฤติ ต ามระเบี ย บนั้ น .

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org .…

.…

....

.…

ขอที่ ๗. ใชคํางาย ๆ วา พูดดี.

เป น คนมี คํา พู ด ดี คื อ สํา รวมปาก. พู ด ดี ก็ เ อาตามพระบาลี ที่วา : ไมพูดเท็จ, ไมพูดคําหยาบ, ไมพูดสอเสียด, ไมพูดเพอเจอ; อยางนี้ ก็เรียกวาพูดดี, เปนคําพูดที่ไมทําลายผูใด, ไมกระทบกระทั่งผูใด. ถ า ใ ห ส ู ง ขึ ้ น ไ ป ก ว า นี ้ ต อ ง เ ป น คํ า พู ด ที ่ ม ี ป ร ะ โ ย ช น ; คํ า พูด ที ่ไ มม ีป ระโยชน อยา ใหเ ขาพูด และชัก จูง ใหเ กิด นิส ัย . ถา ไมมี

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน (ตอ)

๓๙๙

ประโยชน แ ล ว นิ่ ง เสี ย ดี ก ว า , นิ่ ง เป น คนไม รู อ ะไรเสี ย ดี ก ว า คื อ จะพู ด แต ที่ มี ประโยชน มัน ก็เ ปน คํ า พูด ที ่ด ีม ากขึ้น ไปอีก . แตโ ดยพื ้น ฐาน ทั ่ว ไปแลว ตองการแตวา อยาพูดเท็จอยาพูดคําหยาบ อยาพูดสอเสียด ยุยงใหแตกกัน อยาพูดเพอเจอ เสียเวลาเปลา ๆ; นี่ไปอยูในขอที่วา พูดแตที่มีประโยชน ... ... ... ... ขอที่ ๘ เจียมตัว. นี ่ ค งจะสั ง เกตเห็ น ได ว า หั ว ข อ ธรรมะเหล า นี ้ เป น เรื่ อ งที่ ดึงเอามาเขาพวก เขาหมวดหมูกัน ในลักษณะที่เรียกวาเปนเพียงอุปกรณ ก็มี, เป น ตั วการก็ มี ; หรือ เป น ลั ก ษณะที่ แ สดงออกมา เพื่ อ จะยึ ด ถื อ เป น เครื่อ งวั ด เครื่องทดสอบก็มี.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เมื ่ อ พู ด ถึ ง เจี ย มตั ว ก็ เ ป น ผู  ร ะวั ง ตั ว ก อ น จึ ง จะเจี ย มตั ว อยู ไ ด. การไมเ จีย มตัว ก็เ ปน กิเ ลส; ทีนี ้ก ็ย อมตอ สู ก ับ กิเ ลส ระวัง ไมใ ห กิเ ลสยกหูชูห างเกิด ขึ้น มา ก็เ รีย กวา "เจีย มตัว ". คํ า พูด นี ้ ดูจ ะไมค อ ยมี ความหมายอะไร; แต ที ่ จ ริ ง มี ค วามหมายมาก. เจี ย มตั ว เป น ที ่ ตั ้ ง แห ง ความนารักนาเอ็นดู ที่จะมีประโยชนตอไปอีกอยางกวางขวาง.

ฉะนั้น เราอุต สา ห พยายามใหลูก เด็ก ๆ เขามีค วามเจีย มตัว ดีก วา ; อยา ยั่ว ใหเขาจองหองพองขน แลว ตัว เองก็ส นับ สนุน . อยา กระทํา ชนิด ที่ทํา ใหค รูตอ งขอโทษลูก ศิษ ย : ไปหานายอํา เภอมา ไปหาผูวา การมา

www.buddhadassa.in.th


๔๐๐

อริยศีลธรรม

บัง คับ ใหค รูที่ส อนลูก ของเราขอโทษลูก ของเรา; เหมือ นที่เ คยมีเ รื่อ งจริง . นี้เพราะไมเจียมตัวกอนทั้งหมด, ไมยอมแพ ไมยอมอยูขางฝายต่ําตอย. .…

.…

....

.…

ขอที่ ๙ อินทรียสังวร. นี ้ เ ป น ธ ร ร ม ะ สู ง สุ ด เ ป น ชื ่ อ ธ ร ร ม ที ่ ส ู ง สุ ด แ ต เ ร า จ ะ เอาเพียงระดับทั่วไป. อิ น ทรี ย  ส ั ง วร ในระดั บ ต น สํ า หรั บ เด็ ก ๆ ก็ ใ ห ร ะวั ง ตา หู จมู ก ลิ ้ น กาย ใจ : อย า ทํ า ให เ กิ ด เรื่ อ งราวขึ ้ น มาเพราะสิ ่ ง เหล า นั ้ น , อยาให ตองรองไห เพราะความสนุ กสนานทาง ตา หู จมูกลิ้ น กาย ใจ, หรือ ยอมเสียหาย เสียชื่อ เสียเกียรติ เสียเงิน เสียของอะไร เพราะวามันไมสํารวมระวัง ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ. อธิบายไมยาก, อธิบายทีละอยางวา ถาเรามันเปน ทาส เปนบาวของ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ. แลวอะไรมันจะเกิดขึ้น อธิบาย ทีละอยาง ๆ แลวก็แนะใหสํารวมอยาใหเปนอยางนั้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อิ น ท รี ย  ส ั ง ว ร นี ้ มี ค ว า ม ห ม า ย สู ง ขึ ้ น ไ ป จ น ถึ ง ว า ห ม ด กิเลสเปน พระอรหัน ต ระดับ สูง สุด อยา งนั้น ใหถึง กับ วา ตาเห็น รูป ก็สัก วา เห็น สั ก ว า ดู หู ไ ด ย ิ น เสี ย ง ก็ ส ั ก ว า ได ย ิ น คื อ ไม เ กิ ด กิ เ ลสนั ่ น เอง; นั ้ น เป น พระอรหัน ต ในระดับ นั ้น ไมใ ชเ รื่อ งต่ํ า ๆ . เดี ๋ย วนี ้เ อาเพีย งเรื่อ งต่ํ า ๆ ที่ มี ป ระจํ า วั น ในบ า นเรื อ นนี ้ ; อย า ให เ ราต อ งเกิ ด ความเสี ย หายเดื อ ดร อ น เสี ย เงิน วุน วาย อะไรขึ้ น มา เพราะเรื่อ งเกี่ ยวกั บ ตาบ าง หู บ าง จมู ก บ าง ลิ้ น บาง ฯลฯ; รวมความแลวก็เรื่องปากเรื่องทอง, เรื่องเอร็ดอรอยทั้งนั้น.

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน (ตอ)

๔๐๑

ขอที่ ๑๐. เรียกวา กินโดยรูสึกตัว. คํ า พู ด ออกจะโสกโดกว า กิ น โดยรู  ส ึ ก ตั ว ; จะกิ น ทางปาก หรือทางตา ทางหู ทางจมูก ก็เรียกวากินไดทั้งนั้น แลวกินโดยรูสึกตัว. ธรรมดา กิน อาหาร ก็กิน ดว ยสติสัม ปชัญ ญะ; อยา โง หยา หลงใหลในเรื่อ งอรอ ย หรือไมอรอย จนเกิดเรื่องเพราะเหตุนั้น อยางนี้. กิ น โดยรู สึ ก ตั ว อยู เ สมอ จะดี ทั้ ง ในแง ที่ ว า ; จะหลี ก ของ ที ่ ไ ม ค วรกิ น ได , แล ว จะกิ น แต สิ ่ ง ที ่ ค วรกิ น , แล ว มั น ก็ จ ะกิ น อย า งที ่ ว  า ไมเปลือง หรือวามันไมเสียหาย ไมผิดพลาด ไมเกิดกิเลสในที่สุดจะกินทางหู ทางจมูก อะไรก็เหมือนกัน. ถา เราจะมีข องสวยงาม เอร็ด อรอ ยทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางผิว หนัง อะไรบา งก็ใ หรูสึก ตัว อยูเ สมอ; บางทีก็อ าจจะสลัด ทิ้ง ไปเอง ไมอยากจะกิน, หรือไมอยากจะเสียเวลา, ไมอยากจะเปนทาสของอายตนะเหลานี้. อยางนี้เรียก กินโดยรูสึกตัว ก็แลวกัน ฉะนั้น จึงไมมีเรื่องกินเลว ๆ กินผิด ๆ เชน กินเหลา, เชนสูบบุหรี่, เชนอาบทา เครื่องที่ไมควรจะอาบทา เพื่อความ สวยงามเอร็ดอรอย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org .…

.…

....

.…

ขอที่ ๑๑. เชื่อฟง นี้จําเปนสําหรับลูกเด็ก ๆ ตองเชื่อฟง.

www.buddhadassa.in.th


๔๐๒

อริยศีลธรรม

ค วา ม เชื ่ อ ฟ ง นี ้ ตั ้ ง อ ยู  บ น ก ารสํ า รวม , ไม สํ า รวมไม ม ี ท าง จะเชื่ อ ฟ ง , หรื อ มั น กลั บ กั น ได ถ า เชื่ อ ฟ ง , ก็ ช ว ยให สํา รวม; จะเอาเป น เหตุก็ได จะเอาเปน ผลก็ได สํา หรับ ความเชื่อ ฟง นี้. เมื่อ ความไมเชื่อ ฟง เกิด ขึ้ น แล ว ก็ เ รี ย กว า เสี ย หายหมดสํา หรั บ ยุ ว ชน; พู ด กั น ไม รู เ รื่ อ ง ฟ ง กั น ไมถูก ทั้งเด็กตัวเล็ก ๆ กระทั่งยุวชนคนตัวโต ๆ ที่กําลังอาละวาด. ความเชื่ อ ฟ ง คื อ ต อ งเชื่ อ ฟ ง บิ ด ามารดา ครู บ าอาจารย แมที ่ส ุด แตค นที ่เ ขามีอ ายุม ากกวา เราก็แ ลว กัน ; เขามีอ ายุม ากกวา เขา ตองมีอะไรที่เขาไดผานไปแลวมากกวา. ฉะนั้น เราก็ฟงเขากอ น, เราจะเชื่อ หรื อ ไม เ ชื่ อ นั้ น มั น อี ก เรื่ อ งหนึ่ ง ; แต ว า เราจะฟ ง เขาก อ น. ถ า เขาบอกว า หยุ ด ก็ จ ะหยุ ด ก อ น แล ว ก็ จ ะคิ ด ดู จะทํา อย า งไรต อ ไป; เพราะว า ถาเราไมเชื่อฟง นั้นคือวา ไมมีทางที่จะไปเขารูปเขารอยของความถูกตองได. ฉะนั้ น การเชื่ อ ฟ ง ไว ก อ น ก็ ไ ม ม ี ท างผิ ด ; เพราะเอามาคิ ด ดู จ นในที่ ส ุ ด เชื่อตัวเองนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org .…

.…

....

.…

ขอที่ ๑๒. เคารพผูที่เจริญกวา.

เขามี ห ลั ก ไว ว า เขาเจริ ญ กว า โดยชาติ กํ า เนิ ด , เจริ ญ กว า โดยอายุ , เจริ ญ กว า โดยความดี , เจริ ญ กว า โดยวิ ช าความรู ; รวมความ วาเจริญกวาโดยอะไรก็ตาม ขอใหเคารพไวกอนไมมีทางผิดพลาด.

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน (ตอ)

๔๐๓

ถา เขามีอ ายุม ากกวา , เขาตอ งรูอ ะไรมากกวา , เขาจะบอก อะไรไดม ากกวา . แมวา เขามีช าติต ระกูล สูง ก็ค วรเคารพไวกอ น ในฐานะ เป น สั งคมธรรมะชนิ ด หนึ่ ง ธรรมสั งคม สั งคมธรรมะ เพราะวาผู ที่ อ ยู ในชาติ ตระกูลสูง ยอมไดรับการศึกษาดี อบรมดีกวาเปนธรรมดา; หรือเมื่อคนทั้งเมือง เขาเคารพนับถือ เราไมเคารพนับถือนี้ มันก็มีสวนผิดมากกวา ที่จะเปนสวนถูก. ฉะนั้น คนที่เรียกวา ชาติสกุลสูงนี้ก็มีความหมายอยูในสวนหนึ่งเหมือนกัน. เรื่อง ประชาธิปไตยเฟอ ๆไปนี้ มันมีชองโหวที่ตรงนี้เอง; สวนคนที่มีสติปญ ญาดี มีความรูมากกวา มีคุณธรรมดีกวานั้น ก็ตองเคารพโดยประการทั้งปวงอยูแลว. .…

.…

....

.…

ข อ ที ่ ๑๓. ไ ห ว เ ป น นิ ส ั ย ห รื อ จ ะ เ รี ย ก ว า มื อ อ อ น ไหวเปนนิสัย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี ้ด ูจ ะมุ ง หมายเปน เครื ่อ งรางอะไรชนิด หนึ ่ง มากกวา ที ่ค น โบราณ คนแกคนเฒา เขาตองการใหลูกหลานยกมือไหวเปนนิสัย โดยไมตองคิด; จะเรียกวาความสํ ารวมระวังก็ไม ถูก จะตองเรีย กในทางความป อ งกัน . สั งวร สํา รวมนี้ เปน เรื่อ งปอ งกัน อยูม ากเหมือ นกัน ; ฉะนั้น ถา คนที่ไ หวเ ปน นิสัย มันเปนเรื่องปองกัน.

อาตมาไปที่ประเทศอินเดีย สะดุดตาดวยเรื่องอะไรหลาย ๆ เรื่อง; ก็มีอ ยูเรือ งหนึ่ง คือ เรื่อ งที่เขาไหวเปน นิสัย นี่ เปน ชนชั้น มีค วามรูดว ยซ้ํา ไป. เขายกมือไหวกอน ที่เรายังไมทันจะไหวเขานี้ เขาจะชิงกันไหวเสียกอน; เปน

www.buddhadassa.in.th


๔๐๔

อริยศีลธรรม

พวกครูบาอาจารยเปนพวกสวามีนี้ เขายังชิงไหวกอนที่เราไมทันจะไหว. รูสึก วานี้ไมใชจะไมมีความหมาย ; มันมีความหมาย, มันเปนเครื่องปองกันในทางจิตใจ อยางลึกซึ้ง. ให ลู ก เด็ ก ๆ เขามี รั้ ว ป อ งกั น เขา ด ว ยความเป น ผู แ สดง ความเคารพตามขนบธรรมเนียมประเพณี ที่เรียกวาไหวนี้เปน นิสัย, พอ เหลือบตาพบก็ไหวเสียแลว แลวใครจะไปทําอะไรได. .…

.…

....

.…

ขอที่ ๑๔. ความไมผลุนผลัน. นิ ส ั ย แห ง ความผลุ น ผลั นั ้ น มี ม ากแก บ างคน. เราดู เ ด็ ก ๆ บางคนผลุนผลันกวาเด็กบางคน; นี่วาจะตองมีดวยกันทุกคน ไมผลุนผลันมาก ก็ ผ ลุ น ผลั น น อ ย. ถ า เราตั ้ ง หลั ก ว า เราจะไม ผ ลุ น ผลั น อย า งเดี ย ว ก็ เ กิ ด การสัง วรขึ้น มาเองโดยอัต โนมัติ. ความผลุน ผลัน คือ ความไมมีส ติ. ก็คือ ไมสังวร.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เดี๋ ย วนี้ จ ะมาดู กั น แค ผ ลุ น ผลั น จะควบคุ ม เรื่ อ งความผลุ น ผลั น , อาการแหงความผลุนผลัน รวมทั้งสะเพราหรืออะไรดวยเสร็จ. สะเพราเลว ๆ ก็เ รีย กวา ผลุน ผลัน มาก; สะเพรา ธรรมดาก็เ รีย กวา สะเพรา . ถา มีร ะวัง สังวร มัน ก็ไมเกิด ความผลุน ผลัน ; เมื่อ ประพฤติเปน ผูไมผ ลุน ผลัน มัน ก็ ยอมเปนการสังวรอยูในตัว; จะเอาอยางไหนก็ได. .…

.…

....

.…

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน (ตอ)

๔๐๕

ขอที่ ๑๕. ความไมหวั่นไหว. ความไมห วั่น ไหวนี้ เปน คุณ ธรรมสูง สุด สํา หรับ เปน พระอรหัน ต; นี้เราไมตองการถึงนั้น ตองการแตเพียงใหทําตามอยางพระอรหันต คือไมหวั่นไหว เป น ผู ไ หวยาก หวั่ น ไหวยาก. ความหมายอั น แท จ ริ ง ก็ ค ื อ หวั่ น ไหวยาก; มีอะไรมาทําใหรัก ใหโกรธ ใหเกลียด ใหกลัวนี้ ไมยอมเปนอยางนั้นงาย ๆ เรียกวา หวั ่น ไหวยาก. หวั ่น ไหวมากเกิน ไป มัน ก็เ ปน โรคเสน ประสาท, เปน ลม; อยา งที ่ค นขวัญ ออ นเกิน ไป อยา งนี ้ม ัน ผิด ปรกติแ ลว ; เปน คนที ่ห วั ่น ไหวงา ย จนถึงกับเปนลม เปนอะไรไดงาย ๆ. นี่เพราะหัดใหเขาชินตออารมณ ที่ทําใหจิต หวั่นไหว ไปสอนใหเขารูจักตอสูดวยความไมหวั่นไหว. .…

.…

....

.…

ข อ ที่ ๑๖. เรี ย กว า ปรกติ เรี ย กว า equilibrium หรื อ เรี ย กว า อะไรก็แลวแตจะเรียกไปเถอะ ชื่อมันมากมายแตเอาเปนความปรกติ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี ่ ค ื อ ไม ห วั ่ น ไห วโด ย แ ท จ ริ ง ห รื อ เป น ป รก ติ อ ยู  ไ ด ; แ ม ว  า ขางนอกปรกติก็ยังดี. ถาขางในหวั่นไหว จิตหวั่นไหว, แตรางกายปรกติก็ยังดี. ร า ง ก า ย ห วั ่ น ไห ว แ ต จ ิ ต ไม ห วั ่ น ไห วนี ้ ก ็ ยิ ่ ง ดี ; ถ า ไม ห วั ่ น ไห ว ทั ้ ง ก า ย ทั ้ง จิต นี ้ก ็ด ีที ่ส ุด , ความเปน ทุก ขรอ น นี ้มัน ก็เ พราะความหวั่น ไหว; ถา ไมหวั่นไหวมันก็ไมทุกข. .…

.…

....

.…

www.buddhadassa.in.th


๔๐๖

อริยศีลธรรม

ข อ ที่ ๑๗. ข อ สุ ด ท า ย อยากจะเรี ย กว า มี อนุ ส สติ ใน ความเกิด แก เจ็บ ตาย. เขามัก จะคิด วา เราสอนลูก เด็ก ๆ เลยเถิด ไปเสีย แลว . ใหลูก เด็ก ๆ ไปสนใจเรื่องความเกิด ความแก ความเจ็บ ความตาย. เดี๋ยวนี้เราอยาก จะเอาผลตรงที่วา ถา เขาสนใจเรื่อ ง เกิด แก เจ็บ ตาย เขาจะเปน คน สังวรระวังไดโดยงาย. ถ า เราต อ งการให เ ขาสั ง วร, สอนให เ ขาเป น คนคิ ด ถึ ง ความ เกิด แก เจ็บ ตาย อยูเสมอแลว จะสังวรงายที่สุด จะสํารวมในอะไรก็ได จะสั ง วรในอะไรก็ ไ ด ; มั น ง า ยกว า . ควรจะให นึ ก ถึ ง ความเกิ ด แก เจ็ บ ตาย ในแงดี ในแงที่ถูก ตอ ง, คือในแงที่ทําใหเขาเปน คนไมป ระมาท; เปน คนรูจักยับยั้งอะไรตาง ๆ เหลานี้; ไมสอนเรื่อง เกิด แก เจ็บ ตาย ใหเขากลัว เขาขลาด ใหเปนบาไปเลย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org .…

.…

....

.…

ทั้ง หมดนี้ ตัว อยา งศีล ธรรมในหมวดสัง วร คือ รวมกลุม กัน แลว ก็เรียกวา ความสังวรระวังนี้มีตัวอยางอยางนี้ จะใหมันมากไปกวานี้ก็ได แต ไมจํา เปน . สรุป แลว ก็ใ หเ ขาอยูด ว ยสติสัม ปชัญ ญะ ระวัง สิ่ง ตา ง ๆ ดว ย ธรรมะเหลานี้, แลวธรรมะเหลานี้ มันก็จะชวยคุมครองเขา. สิ่งที่เรียกวาสังวร นั่นเอง จะกลายเปนรั้วกันภัยที่ดีทีสุดสําหรับลูกเด็ก ๆ เหลานั้น.

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน (ตอ)

๔๐๗

หมวดที่ ๖. คือ หิริ หรือ หิริกะ ขอที่ ๑. หิริ คือ ความละอาย. หิ ริ แปลว า ความละอาย ถ า เป น บุ ค คลเขาเรี ย กว า หิ ริ ก ะ คือบุคคลผูละอาย. เกือบจะไมตองถามเลยวาละอายอะไร? ก็ละอายสิ่งที่ควร ละอาย; เชน ถา ไมนุ ง ผา มัน ละอายอะไร; ละอายนั ้น ก็เ รีย กวา หิริ ได เหมือนกัน มันเปนหิริขั้นตน ๆ ขั้นลูกเด็ก ๆ. ถามันมีเรื่องที่ควรละอายอยางอื่นสูงขึ้นไป ๆ ก็ตองรูจักละอาย ๆ สูงขึ้น ไป กระทั่ง ละอายความชั่ว ไมมีใครเห็น ก็ล ะอายอยูไดต ามลําพัง ตัว ; นั่นคือความละอายที่แทจริง. ละอายที่เมื่อคนอื่นเห็น นั้นมันก็เปนความละอาย เหมือนกัน เรียกวา หิริ เหมือนกัน; แตไมใชสูงสุด, เปนเพียงจุดตั้งตนที่จะ ไปสูสูง สุด , ฉะนั้น สอนใหเ ขา รูจัก ละอายไวเ ถอะเปน การดี; แมแ ตนุง ผา ไม เรีย บรอ ย อย างนี้ ก็ ค วรจะละอาย, แล วทํ าอะไรยิ่ งไปกวานั้ น อี ก ก็ ควรจะ ละอาย, จนกระทั่ง ละอายแกตัวเองในการทําความชั่ว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org .…

.…

....

.…

ขอที่ ๒. โอตตัปปะ คือ ความกลัว.

นี ้ก ลัว สิ ่ง ที ่ต อ งกลัว จะกลัว อะไรขบกัด ก็ต อ งเรีย กวา กลัว เหมือ นกัน มัน เปน จุด ตั้งตน ที่เราจะตอ งกลัว สิ่งที่ค วรจะกลัว. นี้ก็เลยไปถึง สิ่ ง ที่ ค วรจะกลั ว อั น แท จ ริ ง คื อ ความชั่ ว ; ไม มี อ ะไรยิ่ ง ไปกว า ความชั่ ว

www.buddhadassa.in.th


๔๐๘

อริยศีลธรรม

ในบรรดาสิ่งทั้งหลายที่นากลัว. นอกนั้นมันเปนเรื่องนากลัวนอย ๆ ทั้งนั้น ก็เลย มีหิริแ ละโอตตัป ปะ ๒ ชื่อ นี้; เปน ธรรมะที่เปน เกลอกัน ไปไหนไปดว ยกัน . หิ ริ โอตตั ป ปะ เรี ย กว า เป น เทวธรรม สํ า หรั บ ทํ า บุ ค คลให เ ป น เทวดา, คุ ม ครองโลกนี ้ใ หร อดอยู ไ ด, คุ ม ครองคนใหร อดอยู ไ ด. หิริแ ละโอตตัป ปะ มีความสําคัญอยางนั้น เอามาเปนชื่อของหมวด. .…

.…

....

.…

ขอที่ ๓. ความเคารพตัวเอง. เคารพตัวเองนี้เด็ก ๆ คงจะฟงไมคอยถูก. ทําไมจะตองมาเคารพ ตัว? เราสอนกันแตเคารพบิดา มารดา ครูบาอาจารย เคารพพระพุทธเจา สิ่ง ศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย; เดี๋ยวนี้มาสอนใหเคารพตัว ก็ตองอธิบายกันหนอย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เคารพตั ว คื อ อย า งไร? ถ า เคารพตั ว ได หมายความว า ตั ว มั น มี ความดี มีค วามประเสริฐ ;ถา ตัว ๆ ไหนเคารพไมไ ด มัน เปน ตัว เลวไรส าระ. ฉะนั ้ น อุ ต สาห ทํ า ให เ คารพตั ว ได ก็ ห มายความว า ในตั ว นั ้ น มี สิ ่ ง ที่ ประเสริฐ . ถา ใครรูนึก เคารพตัว ก็เ ปน อัน แนน อนวา เขาตอ งมีค วามดี. ถ า ใครไม เ คารพตั ว ก็ เ ป น อั น ธพาล. ฉะนั้ น ความเคารพตั ว ได ก็ เ ป น เครื่องรับรองวา มีความดี. .…

.…

....

.…

ขอ ที ่ ๔. ไมม ัก ได. นี ้จ ะพูด แตเ พีย งตัว เอยา ง ไมม ัก ได, ความโลภ เรียกวาความมักได.

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน (ตอ)

๔๐๙

ตั ว อ ย า งขอ งบุ ค ค ล ผู  ไ ม ล ะ อ าย มั น มั ก ได ; แ ต ถ  า ไม ม ั ก ได มันก็ตรงกันขาม คือเปนบุคคลผูมีความละอาย. เดี๋ยวนี้เราไมพูดถึงแงความละอาย; เราพูด ถึง แงข องกิเลส. ความมัก ไดเ ปน ความโลภที ่เ ปน อัน ตราย จะตอ ง พยายามทุก ทางที ่ใ หไ มเปน อัน ตราย; ก็ม องดูใ หด ีว า การมัก ไดนั ้น มัน สนุก แตทีแรกเทานั้น เสร็จแลวมันจะตองมาเดือดรอนทีหลัง. .…

.…

....

.…

ขอที่ ๕. ไมยักยอกสวนเกิน. ข อ นี ้ แ กล ง พู ด ให ม ั น แ ป ล ก อ อ ก ไป คื อ ไม เ อ าเป รี ย บ ผู  ใ ด ไมเ อาเปรีย บสัง คม ไมเ อาเปรีย บใคร ๆ . . คนธรรมดา พอมีโ อกาส มีช อ งที ่ต ัว จะไดเปรีย บก็เอาทัน ที นี ้ค นหนา ดา น ยอ มยัก ยอกสว นเกิน . สว นเกิน นั ้น มัน เปน ของผู อื ่น ควรจะไดแ กผู อื ่น ; ก็ค อยแตจ ะกอบโกยมาเปน ของตัว . เพราะความไมล ะอาย จึง ยัก ยอกสว นที ่ไ มค วรจะได เอามาเปน ของตัว . ให ลูกเด็ก ๆ เขารูจักละอายขอนี้ใหมาก คือไปกวาดเอาสวนที่ไมควรจะได ไมใชของ ตัว เอามาเป นของตั ว. ถาพู ด วายักยอกสวนเกิน นี้ มั น เกินความกวางออกไปได ทุกแงทุกมุม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org .…

.…

....

.…

ข อ ที ่ ๖. เ ก ลี ย ด สั ง ฆ เ ภ ท , นี ้ ภ า ษ า วั ด . เก ลี ย ด ค ว า ม ร า วฉ าน เก ลี ย ด ค วาม แต กส ามั ค คี เก ลี ย ด ค วา ม ที ่ ร วม ก ลุ  ม กั น ไม ไ ด ดวยอํานาจความรัก ความเมตตา; เหลานี้เกลียด.

www.buddhadassa.in.th


๔๑๐

อริยศีลธรรม

ที่วาเกลียดสังฆเภท เกลียดความแตกหมู เกลียดการแตกแหงหมู แหง คณะ คือ เห็น วา การแตกหมูแ ตกคณะนี้เ ปน เรื่อ งชั่ว รา ย นา ละอาย. ถา เราอยูใ นหมูใ นฐานะเปน คนดี มัน ก็แ ตกกัน ไมไ ด; เราตอ งเปน คนชั่ว มันจึงจะแตกกันได. ฉะนั้นเราไมอยากจะใหหมูคณะมีคนชั่ว, หรือเปนหมูคณะ ที่ส รา งสรรไมได. ลูก เด็ก ๆ เขาก็ร วมหมูกัน อยูบ อ ย ๆ; เดี๋ย วนี้ท ะเลาะกัน เดี๋ยวก็ดีกัน เดี๋ยวทะเลาะกัน. สอนใหเขาเกลียดความที่จะทําใหเกิดการแตกคือ โกรธกัน ทะเลาะกันนั้นเสีย. .…

.…

....

.…

ขอที่ ๗. เกลียดหิงสกธรรม. หิ ง สกธรรม แปลว า สิ่ ง ที่ เ ป น ความเบี ย ดเบี ย น, ใน ความหมายที่กวางสุด ; เบียดเบียนโดยรูตัว เบียดเบียน โดยไมรูตัว; อะไร ก็ตาม ก็จะเรียกวา หิงสกธรรมทั้งสิ้น, โดยเจตนาไปเบียดเบียนเขา นี้มันเลวมาก; ถึงไมไดเจตนาเผลอไป, หรือวาเพราะเห็นแกความสนุกสวนตัว ไมเห็นแกความ เดือดรอนของผูอื่น นี้ไปทําเขา ก็เปนการเบียดเบียน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org การเบี ย ดเบี ย นทุ ก ชนิ ด จะต อ งเกลี ย ด : เบี ย ดเบี ย น ตนเอง, เบีย ดเบีย นผูอื่น , เบีย ดเบีย นทั ้ง ๒ ฝา ย, เบีย ดเบีย นโดยเจตนา, เบียดเบียนโดยไมเจตนา; ก็ดูเหมือนจะหมดกันเทานั้นเรื่องการเบียดเบียน. ขอให เห็นวาเปนสิ่งที่นาขยะแขยง เปนของผูที่ไมมีศีลธรรม หรือวาไมมีปญญา ถาเด็ก.

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน (ตอ)

๔๑๑

เขามีความรูสึกอยางนี้ ก็นับวาประเสริฐแลว; ไมมีทางที่จะโตขึ้น แลวเบียดเบียน เหมือนอยางที่กําลังเปนอยูเวลานี้ทั่ว ๆ ไป. .…

.…

....

.…

ขอที่ ๘. รักบุญ. คํ า ว า "บุ ญ " นี ้ ข อ ใ ห ตั ้ ง ต น ไ ป ตั ้ ง แ ต ที ่ พ  อ แ ม เ ข า บ อ ก ตั ้ง แตเ ล็ก ๆ โดยที ่ไ มต อ งรู ว า อะไร. ถา พอ แมเ ขาวา บุญ ละก็ รัก ไปกอ นเถอะ; จนกว า มั น จะค อ ย ๆ รู ค อ ย ๆ รู สู ง ขึ้ น มาว า บุ ญ นี้ ถ า เป น ผลก็ เป น ชื่ อ ของ ค ว า ม สุ ข ; ถ า เ ป น เ ห ตุ ก็ เ ป น ชื ่ อ ข อ ง ก า ร ล า ง บ า ป . ถ า เ ป น เ ห ตุ ก็หมายความวา สิ่งที่จะเปนการลางบาป หรือการลางบาปนั่งเอง, ถาเปนผลก็คือ ความสุข ที่ไ ดรับ ; นั่น เแหละคือ บุญ ที ่แ ทจ ริง .ไมตอ งพูด ถึง สวรรควิม านอะไร ก็ไ ด เดี ๋ย วมัน จะยอ นกลับ ไปในความเห็น แกต ัว อีก . รัก บุญ คือ รัก สิ ่ง ที ่ท ุก คน เขาบูชากัน วาจะเปนที่พึ่ง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org .…

.…

....

.…

ข อ ที ่ ๙. ทํ า โล ก นี ้ ใ ห ส ะ อ าด นี ่ ก  า วไป รั ก เกี ย ร ติ , นี ่ ก ็ อ ย า ทําใหมันเกิดตีกันเสียระหวางรักบุญกับรักเกียรติ.

เราตอ งมีเ กีย รติ วา เราเปน คนดีแ ละมีบ ุญ ; นี ่ร ัก เกีย รติอ ัน นี้ บางคนรักเกี ยรติ ผิ ด ๆ รักเกี ยรติ เลว ๆ รัก เกี ยรติ อ ย างโลก ๆ; แล วมั น ก็ ไปทํ าชั่ ว เพื ่อ จะใหม ีเ กีย รติ. อยา งนี ้ไ มเ รีย กวา รัก เกีย รติ. ถา รัก เกีย รติก ็ต อ งเกีย รติ ที่เปนเกียรติที่ถูกตอง หรือมาจากบุญ. .…

.…

....

.…

www.buddhadassa.in.th


๔๑๒

อริยศีลธรรม

ข อ ที ่ ๑๐. รั ก ธรรมะ รั ก พระธรรม รั ก ธรรมะ รั ก ความดี ความจริง ความงาม ความถูกตอง, หรือที่เรียกวาธรรมะ กระทั่งจะเรียกวาพระเจา ไปเสียเลยก็ได. ถ า เราจะชอบคํ า ว าพระเจ า แล ว ก็ ไม มี อ ะไรยิ่ งไปกว า สิ่ งที่ เรีย กว า ธรรม เปน ที ่พึ ่ง ไดจ ริง แลว เปน ผู ส รา งสิ ่ง ทั ้ง ปวงจริง ๆ. พระเจา ที ่เ ขาถือ วา สรา งโลกนั้น เราไมไปรูข องเขา; แตฟ งดูแ ลว มัน นา หัว เราะอยู เพราะเขาเล็ง ถึง พระเจา ที ่เ ปน บุค คล. แตถ า พูด อยา งชาวพุท ธก็พ ูด วา ธรรมะที ่ส รา งโลก นั ่น แหละคือ พระเจา จริง , เปน สิ ่ง ที ่ไ มม ีร ูป รา ง ไมม ีต ัว ตน; ไมม ีคํ า พูด ไหน จะบรรยายลักษณะของพระเจานั้นได พระเจาตองเปนอยางนั้น. ถ า พู ด ไ ด ว  า พ ร ะ เ จ า มี ห น า ต า อ ย า ง นั ้ น เ ห มื อ น ค น ๆ นี้ แลว ก็ไ มใ ชพ ระเจา ; พระเจา ตอ งอยูเ หนือ การบรรยายวา มีลัก ษณะอยา งไร มีสมรรถภาพอยางไรดวยซ้ําไป. ฉะนั้น เราไมอาจจะวาดภาพพระเจาหรือนิยาม อะไรตา ง ๆ ใหแ กพ ระเจา ได; นั่น แหละเรีย กพระเจา จริง . สิ่ง สูง สุด อยา งนี้ ในภาษาบาลีเ ขาเรีย กวา ธมฺม คือ พระธรรม นี่เ รารัก พระเจา ; เรารัก กัน ในลั ก ษณะนี ้ , รั ก ธรรมะต่ํ า ๆ เรื่ อ ยขึ ้ น ไปจนถึ ง ธรรมะสู ง สุ ด ในลั ก ษณะ ของพระเจา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org .…

.…

....

.…

ขอที่ ๑๑. รักตัว นี่ก็อยาเอาไปปนกับความเห็นแกตัว.

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน (ตอ)

๔๑๓

ถ า สอนผิ ด มั น ก็ เ ห็ น แก ตั ว แล ว ก็ รั ก ตั ว ด ว ยความเห็ น แก ตั ว มัน ก็วิน าศ. รัก ตัว ในที่นี้ก็ห มายถึง วา ตอ งทํา ใหตัว มัน ดีขึ้น , ตอ งชว ยให ตั ว มั น ดี ขึ ้ น . ถ า มี ต ั ว กู ก็ ไ ด เ หมื อ นกั น ; ที แ รกก็ ม ี ต ั ว กู แล ว ทํ า ให ม ั น ดี ขึ้ น ๆ จนกระทั ่ ง มั น ไม รู ส ึ ก ว า ตั ว กู ; เมื ่ อ มี ค วามจริ ง ความถู ก ต อ ง หรื อ พระธรรมนั ่น แหละเปน ตัว ก็ดีก วา , แลว ตอ ไปอีก ก็ไมตอ งมีตัว : มัน เปน ธรรมชาติ. รักตัวของลูกเด็ก ๆ ก็คือวา ใหชวยตัวขึ้นมาใหถูกตอง นี่เรียกวารักตัว. .…

.…

....

.…

ขอที่ ๑๒. อยากจะระบุวา รักอุดมคติ. คื อ อ ย า เ ห็ น แ ก ป า ก แ ก ท  อ ง อ ย า เ ห็ น แ ก ว ั ต ถุ . รั ก อุ ด มคติ ข องความเป น อะไร นั บ ตั ้ ง แต ข องความเป น มนุ ษ ย ว า ต อ งเป น มนุษ ยใหได : ถา เปน ลูก ก็เปน ลูก ที่ดีของพอ แม, ถาเปน ศิษ ยก็เปน ศิษ ยที่ดี ของครูบาอาจารย, เป น เพื่ อนก็ เป นเพื่ อ นที่ดี ของเพื่ อ น, เป น พลเมื องที่ดี ของ ประเทศชาติ หรือวา เปนสาวกที่ดีของพระพุท ธเจา. นี้ก็เรียกวารักอุด มคติ. รวมความแลว มัน อยูที่รัก อุด มคติข องความเปน มนุษ ยดีก วา มัน ก็กิน ความหมด.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เดี๋ย วนี้เ ขาถือ วา อุด มคตินี้มัน ซื้อ อะไรกิน ไมไ ด สูเงิน ไมไ ด ก็รัก เงิน กัน เสีย มากกวา รัก อุด มคติ; นี้เ ปน จุด ตั้ง ตน ของความเสื่อ มศีล ธรรม ระบาดไปทั่วโลก. เขาเหยียดหยามอุดมคติหนักขึ้นทุกที, เห็นแกวัตถุมากขึ้น; เอาอุดมคติไปเปนทาสของวัตถุ; เมื่อกอนนี้เขาเอาวัตถุนี้มาเปนทาสของอุดมคติ เขาบูชาอุดมคติ; กลับกันอยู

www.buddhadassa.in.th


๔๑๔

อริยศีลธรรม ข อ ที ่ ๑๓. ไ ม ดื ้ อ ไ ม บ ิ ด พ ลิ ้ ว นี ้ เ ป น ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง หิ ริ

อยางดี. คนเรามั น ดื้ อ แล ว ก็ เ ป น อย า งมากก็ คื อ บิ ด พลิ ้ ว และแก ตั ว . ถา ไมแ กต ัว คือ ไมบ ิด พลิ ้ว มัน ก็ม ีล ัก ษณะเปน ไมดื ้อ ; จะใชคํ า ไหนก็ไ ดทั ้ง นั ้น เปน ลัก ษณะของหิริ ความละอายตอ บาป. เด็ก ๆ เริ่ม ปด เท็จ แลว ก็บ ิด พลิ ้ว แล ว ก็ ดื ้ อ จึ ง ใช คํ า ว า ไม ดื ้ อ คํ า เดี ย ว; ถ า ไม ดื ้ อ ก็ โ กห กไม ไ ด บิ ด พ ลิ ้ ว ไมได อะไรไมได. .…

.…

....

.…

ขอที่ ๑๔. เสียชีพไมเสียสัตย. เด็ก มัก จะไดย ิน คํ า นี ้อ ยู ม ากแลว เรื่อ งลูก เสือ อะไรตา ง ๆ เขาใช คํ า นี ้ อ ยู  แ ล ว "เสี ย ชี พ ไม เ สี ย สั ต ย " เสี ย ชี พ ไม ย อมเสี ย ธรรมะ; ในทาง ศาสนาเขาใชคําอยางนี้ แปลวาบูชาธรรมะ รักอุดมคติอะไร ก็ตามแตจะใชคําไหน; แตแลวในที่สุดมันก็ยอมรักษาสิ่งนั้นไวได แมแตจะตองแลกเอาดวยชีวิต.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org กอ นนี ้ก ็พ ูด กัน มากในฝา ยพุท ธบริษ ัท เดี ๋ย วนี ้ก ็ช ัก จะหายไป คื อ พระโพธิ ส ั ต ว เ ขาจะรั ก ความจริ ง ความถู ก ต อ ง ยอมเสี ย ชี ว ิ ต ได . เดี๋ยวนี้ก็เหลืออยูมากในพวกคริสเตียนเขามี martyrdom (มาเทอดัม) คือผูยอมรักษา พระศาสนาหรือ พระธรรมคํา สอนไวได โดยยอมเสีย ชีวิต ; เมื่อ เสีย ชีวิต ไปแลว เขาแตง ตั้ง ใหค นเหลา นี้เ ปน นัก บุญ ทั้ง นั้น ใหเ กีย รติสูง สุด . บางทีก็เ ปน เด็ก

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน (ตอ)

๔๑๕

ผูหญิ ง เขาตอสูจนตัวตาย ไมยอมใหถูกขมเหง หรือทําชั่วลวงละเมิด; ไดรับ ยกย อ งเป น มาตี รม าเธอรห รือ มาธี ร, แล วแต จ ะใช ภ าษาไหน. นี่ คื อ พวกที่ ว า เสียชีพไมยอมเสียธรรมะ. นี่ เป น จุ ด สู ง สุ ด ของสิ่ ง ที่ เรี ย กว า หิ ริ แ ละโอตตั ป ปะ โดยยอมเสี ย ชี วิ ต ; จะทํ า ได ห รื อ ไม ไ ด ก็ ล องไปคิ ด กั น ดู . แต เมื่ อ ก อ นเราสอนกั น อย า งนี้ เป น อุ ด มคติ โพธิ สั ต ว ใ นพุ ท ธศาสนา, หรื อ ว า เป น เครื่ อ งยกย อ งของศาสนา บางศาสนาในปจจุบันนี้. ที่ลูกเสือเอามาใชนี้เอามาใชกันแตปาก นี่นาเสียดาย. .…

.…

....

.…

หมวดที่ ๗. วิริยะ : ความเพียร ข อ ที ่ ๑. ก็ ค ื อ วิ ร ิ ย ะ คื อ พ า ก เพี ย ร . เรารู  จ ั ก กั น แ ต ชื ่ อ พอถึงเอาเขาจริงก็ไมคอยจะพากเพียร เพราะมันเหน็ดเหนื่อย มันลําบาก. นี่ เนื่องกันมาแตหลักเกณฑอันเดียวกันวา มันไมมีอะไรที่จะสําเร็จไดทันใจ; ตอง อดทนบาง ตองรอได คอยไดบาง ตองพากเพียรเรื่อยไปบาง. ถายิ่งเปนเรื่อง สู งสุ ด เท าไร ยิ่ งต อ งการความพากเพี ย รมากเท านั้ น ; ฉะนั้ น ขอให บู ชาความ พากเพียร วาสําเร็จประโยชนไปไดเพราะความพากเพียร ถาอยางนี้ภาษา บาลี ก็ใชคําวา วิริยะ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org .…

.…

....

.…

www.buddhadassa.in.th


๔๑๖

อริยศีลธรรม ขอที่ ๒. นี้จะวา บึกบึน หรือ ตั้งมั่น.

เขาใชคํ า วา ธิต ิ อา นวา ธิ - ติ แปลวา หยุด ; แตม ัน ไมใ ช หยุด อยา งไมทํ า อะไร. มัน หยุด สู  หยุด ที ่เรีย กกัน วา บึก บึน ตั ้ง หลัก สู ; ก็อ ยู ในพวกวิริยะหรือความเพียร. .…

.…

....

.…

ขอที่ ๓. จะเรียกวา กลาหาญ. วีร ะ นี ้ก ็แ ปลวา กลา หาญ รวมอยู ใ นเครือ วิร ิย ะ; เพราะวา วิริยะนี้ ตองกลาหาญตอความยากลําบาก หรือจะกลาหาญชนิดไหนก็ตาม มันตอง อยูในอาการของความพากเพียรทั้งนั้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org .…

.…

....

.…

ขอที่ ๔. เรียกวา ตอสูทําสงคราม.

ทํ า ส ง ค ร า ม กั บ ข า ศึ ก ข า ศึ ก ก็ ค ื อ สิ ่ ง ที ่ เ ป น อุ ป ส รรค ; โด ย เฉพาะอยา งยิ ่ง ก็ค ือ ความชั่ว หรือ กิเ ลส ขา ศึก ที ่เ ปน คน ๆ ภายนอกนั ้น ไม เท าไร; แต ถึ ง อย างนั้ น ก็ ต อ งสู เหมื อ นกั น แหละ แต วา ต อ สู ในทางธรรมะนี้ มั น ตองตอสูขาศึกคือกิเลส. .…

.…

....

.…

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน (ตอ)

๔๑๗

ข อ ที ่ ๕ ม า น ะ ม า น ะ นี ้ ไ ม ใ ช ถ ื อ ตั ว ที ่ เ ป น กิ เ ล ส มานะนี้หมายถึงวา มีกําลังใจที่จะมานะไมยอมแพ. คํา วา มานะนี้มีอ ยู ๒ คํา : มานะหนึ่ง เปน กิเ ลส คือ ความ ถือตัว จัดตัวเองใหเปนอยางนั้นอยางนี้ อยางนั้นเปนกิเลส ที่จะตองละ. สวน มานะในที่นี้เปนความหมายทางศีลธรรม คือมานะไมยอมแพ. .…

.…

....

.…

ขอที่ ๖. พยายาม เปนภาษาบาลี ก็วา วายามะ เราสวดทอ งอยูแ ทบทุก วัน วา สัม มาวายาโม นั่น วายะมะ คํา นั้น แหละ คือ คํา วา พยายาม, ถอดมาจากสัน สกฤต; พยายามเรื่อ ยไป, สัมมาวายาโม. ไปศึกษาดูรายละเอียด เรื่องนี้ดีมาก. บางทีก็ใชคําวา ปธานะ. ปธานะ ความเพีย ร ๔ อยา ง คือ วา จะระวัง ไมใ หเ กิด ความชั่ว , จะละ ความชั่วที่เกิดแลว, จะทําความดีใหเกิดขึ้น, จะรักษาความดีที่เกิดแลว รวม อยูในคําเหลานี้. .… .… .... .…

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ขอ ที่ ๗. เรีย กวา ไมถ อย; บาลี เขาก็เ รีย กวา อปฺป ฎิว านี. อัปปฏิวานี แปลวา ไมยอมถอย.

www.buddhadassa.in.th


๔๑๘

อริยศีลธรรม ขอที่ ๘. ไมหยุด ทําเรื่อย เรียกวาไมหยุด. ข อ ที่ ๙. ไม ท อ แท คื อ ไม อ อ นเพลี ย คื อ ไม ทํ า ไปอย า งท อ แท . ขอที่ ๑๐. เรียกวา ปรักกมะ คือ รุดหนาเรื่อย.

ข อ ที ่ ๑๑. ใ ห น ึ ก ถึ ง อิ ท ธิ บ า ท ๔ ป ร ะ ก า ร ฉั น ท ะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา เอามาใชเปนความเพียรหมด. ฉัน ทะ ก็พ อใจ ก็ใ หม ัน พ ากเพ ีย รที ่จ ะพ อใจ. วิร ิย ะ ก็ใ ห พากเพียรที่จะทํา จิตตะ ก็พากเพียรที่จะเอาใจใส วิมังสา ก็ไปพากเพียรที่จะ สอดสอง เอาอิทธิบาทมาเปนความเพียรเสีย. นี้เปน หัว ขอ เทา นั้น ไมมีเ วลาที่จ ะอธิบ ายพอ ไปดูเอาเอง แลว ไปอธิบายใหลูกเด็ก ๆเขาเขาใจโดยละเอียดดวย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org หมวดที่ ๘. คือ วุฑฒิ

ห ม ว ด สุ ด ท า ย ห ม ว ด ที ่ ๘. ใ ช คํ า ว า วุ ฑ ฒิ ห รื อ พัฒ นา คํา ที่กํา ลัง กอ งไปหมดในประเทศเรา เดี๋ย วก็พัฒ นา เดี๋ย วก็พัฒ นา ที่ นั ่ น ที ่ นี ่ ; นี ้ ก็ ด ี เ หมื อ นกั น ถ า มั น ไปถู ก ทาง. ศี ล ธรรมหมวดสุ ด ท า ย ก็ใชคําวา พัฒนา หรือ วุฑฒิ คือ ทําความเจริญ.

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน (ตอ)

๔๑๙

ข อ ที ่ ๑. ก็ โ ผ ล ม า เป น ชื่ อ ธรรม ะ ไม เ ป น ค น รก โล ก . เปนหลักพื้นฐาน. อยาใหเสียที่ที่เกิดมาเปนมนุษ ย แลวก็ไมมีประโยชนอะไร จนถูกจัดวาเปนคนรกโลก. นี่ก็จะเปนรากฐานของสิ่งที่เรียกวาพัฒนา .…

.…

....

.…

ขอที่ ๒. อยูในประเทศที่สมควร มันจึงจะพัฒนา. ถา ประเทศหรือ สิ่ง แวดลอ มไมอํา นวยแลว ก็พัฒ นาไมไ ด. ผูที่ จะพัฒ นา ก็จะตองเลือ กใหถูกตองตามหลักธรรมะ, แลวก็เปน หลักธรรมะที่ พระพุทธเจาไดตรัสไวแลว, เราไมตองคิดมาก. เดี๋ย วนี้เอามาลํา ดับ ขอ กัน ใหม ใหมัน ตรงกับ ความประสงคข อง เราที่จะพูดกันในหัวขอนี้ วาอยูในประเทศสมควร นั่นแหละคนเขาจึงตองไป; บางทีไปตั้งขามโลก ไปอยูคนละฝายโนนจึงจะพบประเทศที่สมควร; นั้นเปน เรื่องทํามาหากิน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org แต ถ า เป น เรื่ อ งทางจิ ต ใจ ทางศาสนา ในประเทศสมควร นั ้ น ก็ เ ป น ประเทศที ่ ม ี ส ั ต บุ รุ ษ คื อ มี พ ระพุ ท ธเจ า หรื อ มี คํ า สอ นขอ ง พระพุ ท ธเจ า หรื อ มี ส าวกของพระพุ ท ธเจ า ที่ เ ป น แสงสว า งในทาง

www.buddhadassa.in.th


๔๒๐

อริยศีลธรรม

วิญ ญาณ. ประเทศใดมีสิ่งเหลานี้ ก็เรียกวาประเทศสมควร, ตองไปหรือ อยู ในประเทศสมควร. ถา เปน เรื่อ งของวัต ถุก็ไ ปซิ ดิน แดนไหนมัน มีบอ เงิน บอ เพชร บอพลอย บออะไรก็ไปหาไปขุดกันที่นั่น; มันคนละเรื่อ งไมเกี่ยวกับ เรื่องนี้. .…

.…

....

.…

ข อ ที่ ๓. คบสั ต บุ รุ ษ เพราะว า เราอยู ใ นประเทศสมควร ก็มี สัตบุรุษ คือ ครูบาอาจารยที่ดี ผูนําที่ดี, ตัวอยางทีดี ก็เรียกวา สัตบุรุษ, ข อ ที ่ ๔. ฟ ง จากสั ต บุ รุ ษ นี ่ เ ข า ใจได แ ล ว ว า ต อ งฟ ง จาก ผูที่มีความรู มีความประพฤติดี มีความเปนสัตบุรุษ. ข อ ที ่ ๕. โย นิ โ น ม น สิ ก าร เอ าม าทํ า ใน ใจ โด ย แย บ ค าย คือไดฟงมาแลว ก็ตองมาทําในใจใหถูกตอง เขาใจถูกตอง แยบคายที่สุด เห็นจริง ที่ สุ ด . อย า งเดี ย วกั บ หลั ก กาลามสู ต ร; ไม ใ ช ฟ  ง มาแล ว เชื่ อ ไม ใ ช ฟงมาแลว ตอ งมาทําในใจใหเห็น แจง วา มัน จริง อยา งนั้น แน โดยเชื่อ ตัวเอง; แมจะเปนการลองดู ก็ยังใชได เพราะมันไมมีทางอื่นที่จะสงสัยแลว. ถาจะดี กวานี้แลว ก็ตองลองดู. เมื่อมันมีโยนิโสมนสิการแลว ก็ตองมีขอตอไป:-

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org .…

.…

....

.…

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน (ตอ)

๔๒๑

ข อ ที่ ๖. คื อ ธั ม มานุ ธั ม มปฏิ บั ติ ปฏิ บั ติ ธ รรมให ส มควร แกธรรม. ค ว า ม ห ม า ย ข อ นี ้ ม ั น อ ยู  ที ่ ส ม ค ว ร แ ก ธ ร ร ม ; ไ ม ใ ช ว  า ปฏิบัติลงไปอยางหลับหูห ลับตา, บากบั่นลงไปอยางหลับ หูหลับตา โงเขลา, มัน ตอ งถูกตอ งโดยสมควรแกธ รรม. ปฏิบัติธ รรมสมควรแกธรรม นี่ฟงดูก็ฟง ยากนะ แตก็ไมยากจนเกินกวาที่จะเขาใจได คือวาทําใหมันถูกเรื่องนั่นแหละ พูด กัน ธรรมดาสามัญ หนอ ย ใครค รวญดีแ ลว ก็ทํา ใหมัน ถูก เรื่อ ง เรีย กวา ธัมมานุธัมมปฏิบัติ ถูกเรื่องนี้ มันถูกเวลา ถูกเหตุผล ถูกกาละ ถูกทุกอยาง. ข อ ที่ ๗. ตั้ ง ตนไว ช อบ ดํ า รงตนไว อ ย า งถู ก ต อ งเสมอไป. ขอที่ ๘. สะสมความดี.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ขอ ที่ ๙. ซึ่ง มีก ลา วไวใ นหลัก ธรรมทั้ง หลาย ตอ งขอเอามาใส ไวที่นี้ดวยวา มีความดีที่ทําไวแตปางกอน.

ถ า เป น คนเชื ่ อ เรื ่ อ งชาติ ห น า ก็ ห มายความว า ชาติ ก  อ น ๆ โนน ชาติแลว ๆ มาเราไดทําความดีไว; เดี๋ยวนี้ก็มาสงผลสนับสนุนสวนหนึ่ง อยา งนี ้ก ็ไ ด. แตถ า เราไมย อมเชื ่อ อยา งนั ้น ; เราก็ต อ งถือ วา เมื ่อ วาน เปนตนไป ตองเรียกวาชาติกอนโนน, กระทั่งถาวาจริงกวานั้น ก็หมายความ วา เมื่อ เรื่อ งสุด ทา ยที่มัน เกิด แกเ รานี้, ความผิด หรือ ความถูก อะไรก็ต าม, มันเกิดแกเราเปนเรื่องสุดทายดวยกิเลสแลว ก็เรียกวาชาติหนึ่ง ๆ ทั้งนั้น.

www.buddhadassa.in.th


๔๒๒

อริยศีลธรรม

ที นี ้ ก ็ จ ั ด ให ช าติ ข องเราทุ ก ๆ ชาติ เป น ชาติ ที ่ ทํ า ความดี ทั ้ง นั ้น , ไมม ีทํ า ความชั ่ว ; อยา งนี ้ก ็เ รีย กวา ทุก ๆ ชาติแ ตห นหลัง ก็มี ความดี นี้เปนกําลังใจวา เราไดทําความดีไว ฉะนั้น เราอยาหมดความหวัง. .…

.…

....

.…

ข อ ที่ ๑๐. เว น อบายมุ ข , ผู ที่ จ ะพั ฒ นาต อ งเว น อบายมุ ข . เดี ๋ย วนี ้เ ข าไมเ วน อ บ าย มุข ; เขาก ลับ บูช าอ บ าย มุข , ใน กรุงเทพฯ เต็มไปดวยอบายมุขเพิ่มขึ้นเหลือประมาณทุกป ๆ เปนแหลงอบายมุข; นี่ม ัน ผิด กับ เรื่อ งของธรรมะที ่จ ะพัฒ นา. อบายมุข นับ ตั ้ง แตวา ดื ่ม น้ํ า เมา เที่ยวกลางคืน ดูการเลน เลนการพนัน คบคนชั่วเปนมิตร เกียจครานทําการ งาน; เหลา นี้ไ ปหาอา นดูจ ากตํา รานัก ธรรมอะไรนั่น มีอ บายมุข เปน ปาก ของความฉิบ หาย. อบาย อยา ไปทํา เขา ถา ไปทํา เขา มัน ก็วิน าศ; ถา ไมทํา มันก็พัฒนา. อบายมุขมีดังที่เห็น ๆ อยูนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org .…

.…

....

.…

ข อ ที่ ๑๑. ถ า จะพั ฒ นา ก็ ต อ ง มี ศี ล มี สั ต ย ไม เ อาเปรี ย บ คดโกง. ถา เอาเปรีย บคดโกง มัน เปน การหลอกเขาไดชั่ว ระยะสั้น . ถามีศีล มีสัตย มันก็ลงรากฐานที่ดี ที่จะทําใหคนเชื่อถือ. .…

.…

....

.…

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน (ตอ)

๔๒๓

ข อ ที ่ ๑๒. ป ระหยั ด นี ้ อ ย า อธิ บ ายกั น เลย รู แ ต ว า คน เดี๋ยวนี้เขาไมประหยัด เขาไปใชจายในสิ่งที่ไมตองใชจายกันมากขึ้น ไปดูของที่ เขาขายซื้อกันอยู มันเปนสิ่งที่ไมจําเปนแทบทั้งสิ้น นี้มันคือความไมประหยัด .…

.…

....

.…

ข อ ที ่ ๑๓. ต อ งพึ ่ ง ตั ว , ต อ งคิ ด พึ ่ ง ตั ว ถ า ไม ค ิ ด พึ ่ ง ตั ว มั น ไม มี ท างที่ จ ะพั ฒ นา. เราพู ด กั น ติ ด ปากว า อตฺ ต า หิ อตฺ ต โน นาโถ: ตนเปนที่พึ่งแกตน ; แตแลวก็ไมทํา. .…

.…

....

.…

ขอที่ ๑๔. ตองสะสมสิ่งที่ควรสะสม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี่ ก็ อ ยู ใ นพวกประหยั ด เหมื อ นกั น แต เ ขาแยกออกมาให เ ห็ น วา มัน ตอ งสะสมสิ่งที่ค วรสะสม แลวก็ไมทอ แทวา มัน ชา เหลือ เกิน . จะยก ตัว อยา ง ปลวกสะสมจอมปลวกนั้น ; ใหค นถือ หลัก อยา งนั้น . เดี๋ย วนี้ค น ไมถือหลักอยางนั้น มันก็เลยโกง คอรรัปชั่นเขา มันไมทันใจของมัน มันไมยอมทํา อยางปลวก คือสะสม. .…

.…

....

.…

ขอที่ ๑๕. อยากจะใชคําวา รูจักแลกเอาสิ่งที่ดีกวา. ข อ นี ้ อ ย า ฟ ง เ ป น ว า ค า กํ า ไ ร เ กิ น ค ว ร ; ใ ห เ ป น ก า ร คากําไรที่ถูกตองก็แลวกัน รูจักแลกเอาสิ่งที่ดีกวา. เพราะธรรมดาเราจะตอ ง

www.buddhadassa.in.th


๔๒๔

อริยศีลธรรม

มีสิ ่ง ที ่ม ีค า นอ ย; แลว เราก็รู จ ัก แลกใหม ัน ไดสิ ่ง ที ่ม ีค า มากขึ ้น มา แตแ ลว ก็ไ ม โกงใคร ไมทํ า ใหใ ครเดือ ดรอ น. หรือ วา จะทํ า ใหท ุก ๆ ฝา ยไดกํ า ไรพรอ ม ๆ กั น ขึ้ น มาในทางที่ ถู ก ต อ ง; รูจั ก แลกเอาสิ่ งที่ ดี ก ว า เช น ว า กํ า ลั ง แขน กํ า ลั ง ขา กํ า ลัง มือ เทา อะไรนี ้ มัน มีอ ยู เ ทา นี ้ เอาไปทํ า ใหม ัน ไดป ระโยชน เปน สิ ่ง ที่ มีค า มากกวา อยา งนี ้ก ็ไ ด. ที ่ม ีท รัพ ยส มบัต ิอ ยา งนี ้, ก็ทํ า ใหม ัน เกิด ทรัพ ย สมบัต ิอ ยา งอื ่น ที ่ส ูง ขึ ้น ไป; กระทั ่ง วา เปน เรื ่อ งมรรค ผล นิพ พาน, รู จ ัก ทํ า ใหมีการแลกใหไดมาซึ่งสิ่งที่มีคาสูงยิ่ง ๆ ขึ้นไป. เดี ๋ ย วนี ้ ค นโง ไปบู ช ากามารมณ ไปบู ช าเนื ้ อ หนั ง ; เขาก็ ค ิ ด วา นี ้สิ ่ง ที ่ม ีค า เหมือ นกัน แลว สูง ขึ ้น ไปเหมือ นกัน ; แตม ัน สูง สํ า หรับ คนโง. ฉะนั ้ น คนโง ก ็ ต  อ งลงอบาย เพราะไปหลงเอาของไม ม ี ค  า เป น ของมี ค  า หรือเอาของมีคานอยเปนของมีคามาก. .…

.…

....

.…

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ข อ ที ่ ๑๖. เลี ้ ย งง า ย . ลู ก เด็ ก ๆ ทุ ก ค น ค วรจ ะ เลี ้ ย งง า ย ที่จริงลูกเด็ก ๆ บานนอกเรามันก็เลี้ยงงายอยูแลว. อยาไปแกไขนิสัยนี้เสีย ไปทํา ใหม ัน ตอ งกิน อรอ ย หรือ วา กิน ดีอ ยู ด ี แบบที ่เ ขาพูด กัน บูช ากัน จนตอ งไป คอรรัปชั่น .…

.…

....

.…

ข อ ที ่ ๑๗. ว อ งไว . ร า งกาย ว อ งไว จิ ต ใจ ว อ งไว ก ระ ป รี้ กระเปรา จึงจะพัฒนา รางกายวองไวก็ทํางานไดดี สมองวองไว ก็คิดไดดีทําไดดี. .…

.…

....

.…

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน (ตอ)

๔๒๕

ข อ ที ่ ๑๘. มี เ พื ่ อ นดี นี ้ อ ย า พู ด อธิ บ ายเลย เพราะรู ๆ กั น อยูแลว. ถามีเพื่อนดีหมายความวาเพื่อนดีก็แวดลอมไปแตความดี มันงายขึ้น มากมายทีเดียว ที่จะทําอะไร. .…

.…

....

.…

ข อ ที ่ ๑๙. สั น โด ษ สั น โด ษ ช นิ ด แ ท จ ริ ง ไม ใ ช สั น โด ษ ที่พูด ผิด ๆ สอนกัน ผิด ๆ วา สัน โดษนี้ทํา ใหบา นเมือ งไมเจริญ นั้น คนโงพูด พระพุทธเจาไมไดพูด. ถ า สั น โดษ ก็ ค ื อ ว า สิ ่ ง ที ่ ทํ า ให อิ ่ ม มี กํ า ลั ง อยู  เ สมอ สํ า หรั บ ทํ า การงานต อ ไป. เราทํ า ได เ ท า ไรก็ พ อใจเป น ความอิ ่ ม แล ว ก็ เ ห็ น ว า เป น ทางที่ ถู ก ต อ งแล ว ก็ ทํา ต อ ไปอี ก . นี่ คื อ สั น โดษยิ น ดี ด ว ยสิ่ ง ที่ มี อ ยู ; แตมิไดหามไมใหทําสิ่งที่ตองทําตอไป.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org .…

.…

....

.…

ขอ ที่ ๒๐. พากเพีย ร ยืม หมวดพาดเพีย รมาไวที่นี่อีก ที ใน หมวดพัฒนา ตองพากเพียรทั้งในความหมายที่วาพากเพียร และในความหมายที่วา กลาหาญ. ขอที่ ๒๑. ปธาน นี้คือความพากเพียร ที่ลงรากมั่นคง. ขอ ที ่ ๒๒. ปอ งกัน : มีก ารปอ งกัน มีก ารอารัก ขาที ่ทํ า ดี ครบถวนทุกดาน : รักษาทรัพยสมบัติ ก็รักษาถูกตอง, รักษารางกาย ชีวิตนี้

www.buddhadassa.in.th


๔๒๖

อริยศีลธรรม

ก็รักษาถูกตอง, รักษาคุณความดีก็รักษาถูกตอง, ก็เรียกวา อารักขาปองกัน ดีหมดทุกทาง จึงจะพัฒนา. ข อ ที ่ ๒๓. อยากจะยื ม คํ า โบราณมาใส ไ ว ที ่ นี ่ อ ี ก ที ห นึ ่ ง ว า จุดไฟบานรับไฟปา. เดี ๋ย วนี ้เ ราไมค อ ยรู จ ัก ใชว ิธ ีนี ้ เราจึง ฉิบ หายไมท ัน รู ต ัว . คน โบราณเขาทําไรอยูในกลางดง ถึงเวลาฤดูแลวเขาจุดไฟรอบ ๆ บานใหหมดเสีย เปนที่เตียนเสีย; พอไฟปาไหมมาก็ทําอะไรไมได. นี้การปองกันอยางฉลาดที่สุด สําหรับบุคคลที่มีกําลังนอย. เหมือ นวา ประเทศไทยเราเปน ประเทศเล็ก ๆ ถา วา จะปอ งกัน ภัยที่มาจากประเทศใหญ ตองใชอุบายนี้ ; "รูจักจุดไฟบานใหรอบ ๆ นี้รับไฟปา" ไฟปามาถึงทําอะไรไมได; โดยใจความแลว ก็หมายถึง มีธรรมะพอที่จะปองกัน สิ่งที่เปนอธรรม การพัฒนาทุกอยาง ก็ตองมีหลักอยางนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org .…

.…

....

.…

ข อ ที ่ ๒๔. กํ า ลั ง จิ ต หรื อ พั ฒ นาจิ ต กํ า ลั ง ที ่ ส ู ง สุ ด คื อ กําลังจิต ฉะนั้น จึงตองมีการพัฒนาจิตใหเจริญ และมีกําลังจิต จึงจะพัฒนา ภายนอก หรือวัตถุอะไรได. ตอไปนี้ก็เปนเรื่องเบ็ดเตล็ดที่ควรทราบ.

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน (ตอ)

๔๒๗

ข อ ที ่ ๒๕. มี เ ส น ห  มี ค วามน า รั ก . คนที ่ จ ะพั ฒ นาได เ ร็ ว ; ต องมี อะไรที่ น ารั กแก คนทั่ วไป; ถ ามี อะไรที่ ว าน าเกลี ยดแก คนทั่ วไป ก็ ไม มี ใคร สนับสนุน. ข อ ที ่ ๒๖. น า เอ็ น ดู ; น า รั ก กั บ น า เอ็ น ดู ไ ม ใ ช อ ย า ง เดีย วกัน . นา เอ็น ดูนี ้จ ะมีกํ า ลัง มาก นา สงสารก็ไ ด. เพราะวา ถา ดีจ ริง แลว ก็จะมีคนสงสาร; ถาทําจริง มันเสียสละจริงอยางไมคิดแกความยากลําบากนี้. นี้ก็นาเอ็นดู. .…

.…

....

.…

ขอ ที่ ๒๗. นา ไวใ จ. นี่เ ราไมคอ ยจะอบรมลูก เด็ก ๆ ของเรา ใหทําตนใหเปนที่นาไวใจ นี่บกพรองมาก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org บางที มั น ก็ เ ก ง มั น ก็ ฉ ลาด ทํา อะไรน า ฉลาด แต ไ ม น า ไว ใจเลย; มัน พรอ มที่จ ะคดโกง. คนบางคนที่ม าเกี่ย วขอ งกับ เราก็เ หมือ นกัน เขามีอ ะไรดีหลาย ๆ อยาง; แตมัน มีบ กพรอ งสัก อยา ง คือ วาไมนาไวใจละก็ เลิก กัน . ถา เรามีล ัก ษณะที ่เปน ที ่ไ มน า ไวใ จของผู ที ่เกี ่ย วขอ งแลว , มัน ก็ไ ม พัฒนาแน. .…

.…

....

.…

ข อ ที ่ ๒๘. น า นั บ ถื อ จะโดยอะไรก็ ต าม มั น มี ล ั ก ษณ ะ แสดงใหนานับถือ เราจะบอกลูกเด็ก ๆ ของเราวา แมเปนตัวเล็ก ๆ ลูกเด็ก ๆ นี้

www.buddhadassa.in.th


๔๒๘

อริยศีลธรรม

ทําใหดีเถอะ; คนแก ๆ เขาก็ยังนับถือ! คนแก ๆ เขาก็ยังนับถือ! คนแก ๆ เขา นับถือลูกเด็ก ๆ ไดนะ; ขอใหทําตัวใหนานับถือ. .… .… .... .… ขอ ที่ ๒๙. นา เกรงขาม ถา ลูก เด็ก ๆ เขาทํา ตัว ดี มัน ก็นา เกรงขาม; แมแตคนแกๆ หรือผูใหญ. คนที ่ทํ า ตัว ใหพ ัฒ นานั ้น ถา สามารถทํ า ตัว ใหเ ปน ที ่น า เกรง ขามไดก็ยิ่งดี ไมใชนาเกรงขามดวยกําลังกาย กําลังอาวุธ มันยิ่งมีนาเกรงขาม อยางอื่น. ดูเถอะคนบางคน หรือเปนพระเปนเจา อะไรนี้ ไมไดมีกําลังอาวุธ ไมไดมีกําลังอะไร ที่ทําใหคนตายได; แตก็มีคนเกรง มีคนกลัว มันนาเกรงขาม เพราะมีคุณความดี. ฉะนั้น เด็ก ๆ ก็ทําตัวใหเปนที่เกรงขามแกคนแกได, หรือ จะพูดใหชัดเขามา, บางทีลูกศิษยที่ทําตัวนาเกรงขามแกอุปชฌาอาจารยก็ได ถาทําตัวดี คือเกรงใจอยางนอย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org .…

.…

....

.…

ขอ ที ่ ๓๐. สามัค คี. นี ้อ ยา ทํ า ลายความสามัค คี จะไมมี

พัฒนา.

ข อ ที่ ๓๑. ส งเค ราะห . การส งเค ราะห เป น สิ่ ง ที่ ต อ งทํ า. คํ า ว า ส ง เ ค ร า ะ ห นี ้ ไ ม ใ ช ห ม า ย ถึ ง ก า ร ใ ห : ก า ร ใ ห ม ั น อยู พ วกเอื้ อ เฟ อ หรื อ ให ท านอย า งนี้ . การสงเคราะห นี้ คื อ การผู ก พั น ;

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน (ตอ)

๔๒๙

ตามตัวหนังสือนี้ก็แปลวา ผูกพัน ; เคราะห หรือ คะหะ นี่ แปลวา จับเอา หรือ ถือ เอา สง นี่แ ปลวา หมด หรือ ครบถว น หรือ พรอ มเลย จับ เอาหมดเนื ้อ หมดตัวเลย ; นี่เรียกวาสงเคราะห. ฉะนั ้ น เราทํ า อะไรให เ ขารั ก เราด ว ยจิ ต ใจเลย; นั ้ น แหละ คือ เราสงเคราะหเ ขา คือ เราจับ ตัว เขาได; เชน วา เราเอาอะไรไปใหเ ขานี้ เราชนะจิตใจเขา เขาก็ยอมทําตามความประสงคของเรา. คํ า ว า สงเคราะห นี ้ ไม ไ ด เ ล็ ง ถึ ง เมตตากรุ ณ าอย า งเดี ย ว หมายถึง การผูก พัน ไวดว ยความดี เรีย กวา สงเคราะห; ฉะนั้น จึง สงเคราะห ไดรอบดาน. คนที่ดีกวาเรา ก็สงเคราะห คนที่เลวกวาเราต่ํากวาเราก็สงเคราะห, คนที่เสมอกันก็สงเคราะห, แลวเปนสงเคราะหรอบดาน. .…

.…

....

.…

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ข อ ที่ ๓๒. เป น สํ า นวนพู ด ของที่ นี่ : เลี้ ย งควายทั้ ง ๒ ตั ว .

นี ่ผู ที ่เ คยฟง คํ า บรรยายมาแลว ก็เ ขา ใจแลว วา หมายความวา อะไร; คื อ ว า ต อ งมี ค วามถู ก ต อ ง ทั ้ ง ส ว นร า งกายและส ว นวิ ญ ญ าณ สว นจิต ใจ. คนสมัย นี้มีแ ตค วามถูก ตอ งทางกาย ทางเนื้อ หนัง ทางความรู ความคิดที่เปนไปเพื่อวัตถุเนื้อหนัง; ไมมีความถูกตองทางวิญญาณ หรือทางจิต หรือทางธรรมะ แลวมันจึงวินาศ, หรือถาไมวินาศมันก็มีวิกฤติการณ ไมสิ้นสุด

www.buddhadassa.in.th


๔๓๐

อริยศีลธรรม

เหมือนกับโลกสมัยปจจุบัน. โลกทั้งโลก สมัยปจจุบัน มันมีแตควายตัวเดียว, คือ ควายถึก ทะมึน ทึน มีแ รง กํ า ลัง แรงมาก เปน ควายเปลี ่ย วบา คือ ไมมี ศาสนานั่นเอง. ถา จิต ใจมีศ าสนา มีธ รรมะ มีเ รื่อ งทางวิญ ญาณดว ย จะเปน ควายตั ว ที่ ๒ ที่ จ ะดึ ง ควายตั ว ที่ ๑ ให เดิ น ไปถู ก ทาง และสํ า เร็จ ประโยชน ; เหมือ นไถนาดวยควาย ๒ ตัว : ตัวหนึ่งเปน ตัวแรง, ตัวหนึ่งเปน ตัวรู; แลว มันก็เดินไปดวยกัน, การไถนานั้นก็สําเร็จประโยชนดี การทํานาชีวิตนี้ก็เหมือนกัน ใหเลี้ยงควาย ๒ ตัวใหถูกตอง ที่นี้ มาถึง การพัฒ นา เราก็มีถูก ตอ งทั้ง ทางวัต ถุ และทางฝา ย จิ ต ใจ ให ลู ก เด็ ก ๆ ของเรามี ค วามถู ก ต อ ง ทั้ ง ทางฝ า ยร า งกายและฝ า ย จิตใจ เรียกวาเขารูจักเลี้ยงควาย ๒ ตัว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ข อ ที ่ ๓๓. ข อ สุ ด ท า ย มี อ นุ ส ส ติ ใ น ห น า ที ่ ข อ ง ม นุ ษ ย นี้มันเปนเหมือนกับหางเสือ เปนหลักรับประกันไมใหผิดได.

อ นุ ส ส ติ ห รื อ ระ ลึ ก ถึ ง อ ยู  ต ล อ ด เวล าอ ย า งยิ ่ ง เรี ย ก ว า อนุส สติ; เหมือ นที่ร ะลึก ถึง พระพุท ธเจา ระลึก ถึง พระธรรมอะไร เรีย กวา อนุสสติ.

เดี๋ ย วนี้ ต อ งการให มี อ นุ ส สติ ใ นหน า ที่ ข องมนุ ษ ย . มนุ ษ ย ก็แ ปลวา มีใ จสูง , หรือ เหลา กอของผูมีใ จสูง ; อนุส สติ อยูใ นขอ นี้ ก็ทํา ให

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน (ตอ)

๔๓๑

ต่ํา ไม ไ ด . เพราะฉะนั้ น เราต อ งพั ฒ นาเป น แน น อน; ถ า ใจต่ํ า แล ว มั น ไมเปนมนุษย เปนสัตวธรรมดาหรือเปนคนธรรมดา. ฉะนั้น เราจึงหวังพัฒ นา ทางจิตกอน คือเปนมนุษยมีใจสูงใหได; นี้รางกายเนื้อหนังวัตถุ ทรัพยสมบัติ มันก็จะเดินถูกทางตามหลังไปเอง การพัฒนาก็สมบูรณ. .…

.…

....

.…

นี้ต ัว อยา งตั ้ง ๓๓ หัว ขอ สํ า หรับ สิ่ง ที ่เรีย กวา ความเจริญ หรือ การพัฒนา สําหรับยุวชนมีอยูอยางนี้. ขอใหทํ า ความเขา ใจกัน ใหถ ูก ตอ ง วา เรามีห ัว ขอ ศีล ธรรม สําหรับยุวชน มากมายหลายสิบหลายรอยหัวขอก็ได; แตเอามาแบงเปน ๘ หัวขอ หรือ ๘ หมวด :

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org หมวดวาดวย สุทธิ คือ ความบริสุทธิ์. หมวดวาดวย ปญญา คือ รูในสิ่งที่ตองรู. หมวดวาดวย เมตตา คือ รักใครคนหรือสิ่งที่มีชีวิตดวยกัน.

หมวดวา ดว ย ขัน ตี ตอ งอดทน ไมย กเวน อะไรเลย ที่จ ะไมตอ ง อดทนไมมี; ยิ่ง ใจดียิ่ง ตอ งอดทน, ยิ่ง อยูกับ คนพาลในโลกยิ่ง ตอ งอดทน. เดี๋ยวนี้เราตองอยูรวมโลกกับคนพาล เราตองอดทน. หมวดวา ดว ย สัง วโร - สัง วร คือ ปอ งกัน ไมใ หเ กิด ผิด พลาด ขึ้นมา.

หมวดวา ดว ย หิรี นี ้ช ว ยใหล ะอาย เกลีย ดความชั ่ว มัน ก็ไ กล ความชั่วเปนแนนอน.

www.buddhadassa.in.th


๔๓๒

อริยศีลธรรม

หมวดวา ดว ย วิริย ะ ความพากเพีย รก็ข าดไมไ ด เพราะวา สิ่ง ตาง ๆ มันไมงอกงามทีเดียวสําเร็จได. หมวดสุด ทา ยคือ พัฒ นา หรือ วุฑ ฒิ โดยหลัก วา จะไมเ ปน คนรกโลก. นี้มี ๘ หมวดดว ยกัน ก็ห ลายสิบ หัว ขอ แลว ก็เ ปน ตัว อยา งที่ พอแลว สําหรับวาจะอบรมยุวชนอยางไร . นี ่ ข อ ให พ ิ จ ารณ าดู ทํ า ไม จึ ง ต อ งใช คํ า ว า อ ริ ย ศี ล ธ รรม . นี่ ก็ ข ออย า ได ลื ม ว า เราจะให ศี ล ธรรมอย า งแบบของพระอริ ย เจ า ; ไม ใ ช คํากํากวม. ศีลธรรมของคนสมัยใหมนี้ เขาแกไขเรื่อ ย จนไมรูวามันอยูที่ไหน แกไขจนกระทั่งวา ที่เคยลามกอนาจารนั้น ก็จะไมลามกอนาจารแลว, จึงมีศิลปะ ลามกอนาจารเกิด ขึ้น ทีนี้การทําชนิด ที่มัน เคยถือ กัน วาผิด นี้ มัน ก็กลายเปน ถูกแลว. ศีลธรรมของคนสมัยใหมนี้ เขากําลังจะยกเลิกศีลขอ กาเมฯ ขออะไร ต า ง ๆ กั น แล ว อี ก มากมาย; นี่ มั น ไม ใ ช ศี ล ธรรม; แต เขาก็ เรี ย กว า ศี ล ธรรม สําหรับสมัยนี้. ฉะนั้นเราไมอยากใหปนกัน ; เราก็ตองใชคําวา อริยศีลธรรม ศีล ธรรมที ่แ ทจ ริง , ศีล ธรรมที ่ป ระเสริฐ ศีล ธรรมที ่พ ระอริย เจา รับ รอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี่พูด เฉพาะอริย ศีล ธรรมสําหรับ ยุวชน เปนการบรรยาย ๒ ครั้ง ยืดยาวมาก นับ วาเราอดทนพูด อดทนฟงกันมาไมนอ ย; เพื่อ เห็นแกม นุษ ย ซึ่งมีปญหามากขึ้น มีวิกฤติการณมากขึ้น กําลังจะวินาศอยูแลว, และไดหวังวา จะไดแกไขได โดยการแกไขยุวชน เปนทางหนึ่งซึ่งสําคัญ มาก. ขอใหเอาไป

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรมสําหรับยุวชน (ตอ)

๔๓๓

คิ ด ดู ให ม ี ก ารปรั บ ปรุ ง รื้ อ ฟ  น ปรั บ ปรุ ง ส ง เสริ ม ศี ล ธรรมของยุ ว ชน กั น เสี ย ทุ ก คน ตามที่ เ ราจะได ; เชื่ อ ว า ไม เ หลื อ วิ สั ย เลย. การบรรยายในเรื่อ งอริย ศีล ธรรมสํา หรับ ยุว ชน วัน นี้ก็ส มควร แกเวลา หรือวาเกินเวลาไปบางแลว ก็ขออภัย. ตอนี้ไปขอใหพระสงฆทั้งหลายไดสวดคณสาธยาย สงเสริมกําลังใจ ของทานสัตบุรุษทั้งหลาย ตามที่เคยกระทํามาแลว ตอไป. ----------------

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


อริยศีลธรรม -๑๓๒๘ กันยายน ๒๕๑๗

สิ่งกระตุน และอานิสงสของศีลธรรม

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทานสาธุชน ผูมีความสนใจในธรรม ทั้งหลาย,

การบรรยายเรื่ อ ง อริ ย ศี ล ธรรม เป น ครั้ ง ที ่ ๑๓ ซึ ่ ง เป น ครั้ง สุด ทา ยของการบรรยายประจํา วัน เสาร ในวัน นี ้ อาตมาจะไดก ลา ว โดยหัวขอยอยวา สิ่งกระตุนและอานิสงสของศีลธรรม. ก า ร บ ร ร ย า ย ใ น ค รั ้ ง นี ้ เ ป น ค รั ้ ง สุ ด ท า ย ไ ม ม ี เ รื ่ อ ง อ ะ ไ ร มากมายนั ก แต เ ป น การกล า วสรุ ป เรื่ อ งทั้ ง หมดเสี ย มากกว า ; แต ยั ง มี ก า ร แ น ะ ถึ ง สิ ่ ง ซึ ่ ง จ ะ เ ป น ก า ร ก ร ะ ตุ  น ห รื อ ด ล ใ จ ใ ห เ กิ ด กํ า ลั ง ใ น การปฏิ บั ติ ศี ล ธรรม พร อ มทั้ ง เป น การแสดงอานิ ส งส ข องศี ล ธรรม ๔๓๕

www.buddhadassa.in.th


๔๓๖

อริยศีลธรรม

ไปดวยในตัว. เพราะวาถาคนมองเห็นอานิสงสของศีลธรรมแลวก็อยากจะมีศีลธรรม ขึ้นมาทัน ที; เพราะฉะนั้นการไดทราบถึงอานิสงสของศีลธรรมนั้น ยอมเปนสิ่ง ที่กระตุนใหเกิดกําลังใจในการประพฤติปฏิบัติ. สิ่งกระตุนใหเกิดกําลังใจ ในการ กระทําสิ่งสั้น ๆ หรือใหมีสิ่งนั้น ๆ เกิดขึ้น เรียกกันสั้น ๆ ดวยภาษาธรรมดาสามัญวา motiveเปนคําสั้น ๆ กลาวงาย ๆ ประหยัดเวลา. รวมความวา วันนี้เราจะไดกลาว ถึงสิ่งที่เรียกวา motive ของศีลธรรม. .…

.…

....

.…

ข อ ให ท  า น ทั ้ ง ห ล า ย ท บ ท ว น เรื ่ อ ง ที ่ ก ล า ว ม า แ ล ว ก อ น หนานี้ ๑๒ ครั้ง ซึ่งไดกลาวถึงศีล ธรรม และสิ่งที่เกี่ยวเนื่องกัน อยูกับ ศีล ธรรม ในแง มุ ม ต า ง ๆ ซึ่ ง พอจะสรุ ป ได ว า เดี๋ ย วนี้ โลกเราทั้ ง โลก กํ า ลั ง มี ป ญ หาหรื อ วิกฤติการณ นานาชนิด จนเรียกวามีวิกฤติการณ ถาวร กําลังไดรับความลําบาก เกี ่ย วกับ การแกไ ขวิก ฤติก ารณเ หลา นี ้ ซึ ่ง มีอ ยู ใ นรูป ของความไมส งบสุข , ความขาดแคลน, อาชญากรรมนานาชนิด นานาแบบ เต็มไปทั่วโลก .

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เราแกป ญ ญาเหลา นี ้ไ มไ ด เพราะวา มองตน เหตุข องมัน ผิด คือ มองที ่ป ลายเหตุ แลว ก็เลยคิด วา เปน ตน เหตุ เปน อยา งนี ้เสีย โดยมาก. แตใน บางกรณี แมเราจะมองถึง ตัว ตน เหตุเราก็ย ัง แกม ัน ไมไ ด, เพราะวา มีป ญ หา อยางอื่นทับถม ซับซอนกันอยูอีกหลายชั้น ยกตัวอยางเชน การศึกษาของยุวชน ที่กําลังมีอยูในโลกเวลานี้ ไมเปนไปเพื่อสงเสริมศีลธรรม แตเปนไปเพื่อความไร ศีลธรรมเสียมากกวา.

www.buddhadassa.in.th


สิ่งกระตุน และอานิสงสของศีลธรรม

๔๓๗

นี ่ แ ห ล ะ เรี ย ก ว า เร า แ ก ว ิ ก ฤ ต ิ ก า ร ณ  ใ น โ ล ก ไ ม  ไ ด เพ ร า ะ ปฏิบ ัต ิผ ิด ตอ เรื ่อ งศีล ธรรมนี ้เ อง; และไมเ ห็น วา เปน สิ ่ง ที ่สํ า คัญ , ไปเห็น ที ่ป ลายเหตุ เชน การเมือ ง การเศรษฐกิจ เปน ตน ; ก็ม ัว แกแ ตที ่ส ว นนั ้น โดย ไม คํ า นึ ง ถึ ง ว า ส ว น นั ้ น มั น ม า จ า ก ก า ร ที ่ ค น เร า ไร ศ ี ล ธ ร ร ม อี ก ที ห นึ ่ ง . เรา จึ ง คิ ด ถึ ง ก า รแ ก ไ ข ศี ล ธ รรม เป น ส ว น ให ญ ; เพื ่ อ แ ก ป  ญ ห า ที ่ ต  น เห ตุ โดยแทจ ริง แลว ก็น ึก ถึง ยุว ชนกอ นอื ่น ดัง ที ่ไ ดก ลา วถึง ศีล ธรรมของยุว ชนมา เปนอันมากแลว ในครั้งที่แลวมา. .…

.…

....

.…

บัด นี ้จ ะไดพ ูด ถึง สิ ่ง ที ่จ ะชว ยในการแกป ญ หานั ้น ๆ กลา วคือ การทํ า ใหม ีศ ีล ธรรมเกิด ขึ ้น มา, จึง ตอ งพิจ ารณากัน ถึง ขอ ที ่ว า อะไรเปน motive ของการปฏิ บั ติ ศี ลธรรม, เป น motive โดยตรงก็ มี อยู พวกหนึ่ ง, เป น motive โดยออ มก็ม ีอ ยู พ วกหนึ ่ง . ขอใหพ ยายามกํ า หนดดูใ หด ี ๆพิจ ารณากัน ใหด ี ๆ จะเปน การชว ยกัน แกไ ข ส ภ าพ ไรศ ีล ธรรม ใน โล กนี ้ ซึ ่ง ม นุษ ยท ุก คนก็มี ความรับผิดชอบรวมกัน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ปญ หาเกี ่ย วกับ เรื ่อ งนี ้ มีอ ยู ม ากมาย เทา ที ่ก ลา วมาแลว จะ ยกมากล า วย้ํ า หรื อ เพื่ อ เป น ตั ว อย า งเกี่ ย วกั บ การบรรยายครั้ ง นี้ อี ก ในบางเรื่ อ ง เพื่อวาใหเขาใจดีขึ้น.

เดี ๋ ย ว นี ้ ค ว า ม คิ ด เห็ น เกิ ด แ ต ก แ ย ก กั น เป น ๒ ฝ า ย คื อ ว า ฝ า ยหนึ ่ ง เห็ น ว า ศี ล ธรรมนั ่ น แหละเป น ตั ว สํ า คั ญ เป น ตั ว การเป น ตั ว เหตุ

www.buddhadassa.in.th


๔๓๘

อริยศีลธรรม

เปนตัวเรื่อง เกี่ยวกับความรอดหรือความตายของมนุษย. อีกพวกหนึ่งไมรูจัก สิ่งที ่เรีย กวา ศีล ธรรมเลย จะไมเคยเอย ปากพูด ถึงสิ่งที่เรีย กวาศีล ธรรมก็ได ; เพราะวาเขาไปมัวมองไปยังสิ่งอื่นที่ตรงกันขามกับสิ่งที่เรียกวาศีลธรรม. ตั ว อ ย า งเช น พ วก ห นึ ่ ง ว า ม นุ ษ ย จ ะต อ งมี อ าการอิ ่ ม ป าก อิ่มทอง เชนเศรษฐกิจดี เปนตนเสียกอน, แลวคนก็จะมีศีลธรรม หรือวาจะหมด วิกฤติการณ ความทุกขยากลําบากในโลก, หรือจะหยุดทําชั่ว หยุดประกอบ อาชญากรรมตางๆ เปนตน. สรุปวาเขาวาตองใหอิ่มปากอิ่มทองเสียกอน ก็จะ หมดปญหาความเดือดรอน. ทีนี้เ ราวา คนไมอิ่ม ปากอิ่ม ทอ งนั ้น เพราะไมมีศีล ธรรม, ไมมี ศีล ธรรมชั้น รากฐาน. ถา มีศีล ธรรม แลว จะอิ่ม ปากอิ่ม ทอ งดว ย หรือ จะ รวยด ว ย, หรื อ แม จ ะไม ร วย ก็ ไ ม ส ร า งป ญ หาทางศี ล ธรรม. หรื อ แม ว า จะไมอิ่มปากอิ่มทอง เขาจะไมสรางปญ หาที่มาจากความไรศีลธรรม. เรามอง เห็นวา แมคนจะอิ่มปากอิ่มทองแลว ก็ไมสามารถจะปองกันสภาพไรศีลธรรม; เพราะวาความไรศีลธรรมนี้ ยังมีอยางอื่นอีกมาก แลวโดยแทจริงแลวความไร ศีลธรรมนั้น มิไดมาจากการที่ยังไมอิ่มปากอิ่มทอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เราเห็ น ว า ถ า แ ก ป  ญ ห าศี ล ธ รรม ได ป ญ ห าอื ่ น ๆ จะต ก ไปในตัว พรอ มกันไปในตัว; อยางที่พูดวา ถาจะตั้งกระทรวงศีล ธรรมขึ้น มา ใหเปนกระทรวงใหญ เทากับกระทรวงทั้งหลายรวมกัน นั่นแหละจะเหมาะสม คือ มัน จะแกปญ หาของทุก กระทรวง ที่มีอ ยูใ นปจ จุบัน นี้ไ ด แมแ ตก ระทรวง

www.buddhadassa.in.th


สิ่งกระตุน และอานิสงสของศีลธรรม

๔๓๙

ศึก ษาธิก าร. แตก็ไ มมีใ ครนึก วา จะตอ งมีก ระทรวงศีล ธรรม; ถา ตั้ง ขึ้น มา ก็เปนกระทรวงที่ครึคระที่สุด ก็พ ากันรังเกียจ. เขาเห็นกันวา ถาทองอิ่ม คือ วัตถุสมบู รณ แลว ใจก็จะดีเอง, นั่นมันเปนปรัชญาของพวกวัตถุนิยม ไมเป น ความจริงสําหรับธรรมชาติ. เราถือ วาตองใจดีเสียกอ น; แลวทางกายจึงจะดี ทางวัต ถุจึง จะดี ไมมีเ หตุใ หเ ดือ ดรอ น. นี้เ ปน ตัว อยา ง ที่มีมีค วามขัด แยง กันอยู ระหวางบุคคลที่นิยมศีลธรรม กับไมนิยมศีลธรรม. ตั ว อย า งป ญ หาสด ๆ ร อ น ๆ เช น ป ญ หาของชาวนา ซึ่ ง กํ า ลั ง อาละวาดรบกวนรัฐบาล รบกวนทุกคน; เขาวาจะแกปญหาชาวนา ก็ตองชวย หาทางใหเขาผลิตไดมาก ใหขายไดแพง คนที่มองกันแตในแงวัตถุ เขาก็มอง อยางนี้. ส ว น เ ร า ก็ ม อ ง ไ ป อี ก ท า ง ห นึ ่ ง ว า ต อ ง ทํ า ใ ห ช า ว น า มี ศีล ธรรม; ที่ย ากจนนั้น มัน เนื่อ งมาจากไมมีศีล ธรรม เพราะมีอ บายมุข บา ง มีโมหะความหลงหลายประการบาง เขาจึงไดลําบาก ยากจน ขัดสนนานาชนิด; มัวแกแตเพียงวา ใหเขาผลิตไดมาก ใหเขาขายไดแพง เขาก็คงจะทําผิดในการ ไรศีลธรรมมากขึ้นไปกวาเดิม มันไมมีทางที่จะไลกันทัน หรือบางทีจะเปนการ สงเสริมใหเสื่อมศีลธรรมมากขึ้นอีกก็ได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถ า จ ะ ตั ด ต น ต อ ข อ นี ้ ก็ ต  อ ง ให ช า ว น า เป น ผู  ที ่ ม ี ศ ี ล ธ รร ม เคร ง ครั ด ในทางธรรม เหมื อ นแต โ บราณกาล ซึ่ ง จะได พู ด กั น ให ล ะเอี ย ด สักคราวหนึ่ง.

www.buddhadassa.in.th


๔๔๐

อริยศีลธรรม

เพ ราะวา เขาไม ม ีศ ีล ธรรม เขาจึง ไมส นุก ใน ก ารทํ า งาน ; เขา ต อ งการจะสนุ ก ด ว ยวั ต ถุ ก ามารมณ ไปตามอย า งคนมั่ ง มี . ถ า เป น ชาวนาสมั ย กอ น สมัย บรรพบุร ุษ หลาย ๆ ชั ่ว ขึ ้น ไปนั ้น เขาสนุก ไดใ นการงาน คือ การ ทํ านานั่ น เอง; หรือ แม ที่ สุ ดแต จ ะสนุ กได ด วยเรื่อ งบุ ญ กุ ศ ลซึ่งไม ต อ งมี การใช จาย อะไร ไม มี อ บายมุ ขอะไร. ไม เหมื อ นกับการทํ าบุ ญ ทํากุศ ลสมั ยนี้ ซึ่งเอาอบายมุ ข ไปลอ หลอกคนจนใหม าทํ า บุญ ; มัน ก็เ ปน การเสีย หายแกจ ิต ใจมากขึ ้น ทุก ที, และคนจนเชนชาวนาเป นต น ก็ตองยากจน. ถาชาวนาคนไหนไม ตกอยูในลักษณะ อยางนี้ ไมเทาไรก็พนจากสภาพความเปนคนจน. นี ่ค วรจะชว ยใหเ ขามีศ ีล ธรรม โดยเราแนะนํ า ใหเ ขาพิจ ารณ า จนเห็น ชัด , แลว ก็ป ฏิบ ัต ิใ นทางศีล ธรรมอยู เ ปน ปรกติ วา การงานในหนา ที่ ของตน ๆ นั ้น มิใ ชเ พีย งเพื ่อ อาชีพ หรือ เพีย งเพื ่อ ความร่ํ า รวย. อยา ไปคิด อย า งนั้ น เลย; คิ ด ว า มั น ยั ง มากไปกว า นั้ น คื อ มั น ยั ง เป น บุ ญ เป น กุ ศ ล ทํ า ลาย กิเลส ทําลายความเห็นแกตัว หรือวาชวยเพื่อนมนุษยในโลกดวยก็ได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ข อ นี ้ อ า จ จ ะ ฟ ง ย า ก สํ า ห รั บ ค น ส มั ย นี ้ ที ่ ว  า ก า รทํ า ง า น เป น ก า ร กุ ศ ล ห รื อ เป น ก า ร ป ฏิ บ ั ต ิ ธ ร ร ม ะ ; แ ต ถ  า เป น ส มั ย ก อ น เข า มี ทํ า กัน อยู โ ดยพื ้น เพของขนบธรรมเนีย มประเพณี ที ่ฝ ง อยู ใ นจิต ใจ. เขามีค วาม พอใจในการเปน ชาวนา, แลว ก็ส นุก สนานในการที ่ต อ งอดกลั ้น อดทน. การ อดกลั ้น อดทนนั ่น แหละ คือ การปฏิบ ัต ิธ รรม; เขาก็ม ีค วามพอใจในเมื ่อ ได กระทํ า . แมย ัง ไมท ัน ไดรับ ผลของการกระทํ า เขาก็ย ัง มีค วามสุข คือ ความพอใจ วาไดทําสิ่งที่ดีตามหนาที่ของมนุษย จึงมีความปรกติสุข.

www.buddhadassa.in.th


สิ่งกระตุน และอานิสงสของศีลธรรม

๔๔๑

เดี๋ย วนี้เขา ตอ งการเงิน , ตอ งการเอาไปมีค วามสนุก สนานทาง วัตถุ, หรือที่เรียกวาทางกามารมณ ก็แลวกัน ; มันมีความรูสึกในจิตใจ ที่ท น ทรมานหิวกระหาย ในทางกามารมณอยูตลอดเวลา ก็เบื่อที่จะทํางาน หรือไม สนุ ก ในการงาน. นั่ น แหละเขาขาดศี ล ธรรม อั น มี อ ยู ใ นฐานะเป น รกราก อันลึกซึ้ง ของจิตใจของมนุษย ที่จะอยูอยางมีความรูสึกเปนสุขได ในทุกกรณี. หรือ จะดูกัน เปน ขอ สุด ทา ยอีก ทีห นึ ่ง วา ทํา ไมเขาจึง ไปเปน ผูก อ การร า ย? นั่ น เพราะว า เขาไม รู เ รื่ อ งศี ล ธรรมเสี ย เลย. ถ า รู เ รื่ อ งศี ล ธรรม พอสมควร; ก็ ไ ม มี ใ ครที่ จ ะไปเป น ผู ก อ การร า ย. แล ว ทํา ไมจึ ง ปราบปราม ผูก อ การรา ยไมสํ า เร็จ ? ก็เพราะวา ผู ป ราบปรามนั ้น ไมม ีศ ีล ธรรมเสีย เลย หรื อ มี ศ ี ล ธรรมน อ ย, หรื อ ไม ป ราบปรามตามวิ ถี ท างของศี ล ธรรมมั น จึ ง ปราบปรามไมได. นี่ปญ หาทางศีลธรรม ก็มีรกรากลึกซึ้ง, และมีสาขาแผซาน กวางขวาง ครอบคลุมไปหมด ทุกๆ กระแสของวิกฤติการณของมนุษยเรา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี่ คื อ ป ญ หาต า ง ๆ ที ่ ส รุ ป ได เ ป น ใจความว า เราไม ม องเห็ น ตน เหตุอ ัน แทจ ริง ไมแ กไ ขที ่ต น เหตุอ ัน นั ้น ไมใ ชสิ ่ง ซึ ่ง สามารถจะขจัด ปญหานั้น ๆ ได; ไปมัวแกแตปลายเหตุ เลยไมไดผล แมแตสักวาจับปูใสกระดง ก็ยังเทียบกันไมได. .…

.…

....

.…

ที นี ้ ดู ต  อ ไ ป ก็ พ บ ว า เ ดี ๋ ย ว นี ้ ศ ี ล ธ ร ร ม มั น อ ยู  ใ น รู ป ที่ เปลี่ยนแปลง, แลวคนมีอํานาจก็บันดาลสิ่งตาง ๆ.

www.buddhadassa.in.th


๔๔๒

อริยศีลธรรม

เดี ๋ ย วนี ้ ก ็ ม ี อํ า น าจชนิ ด ห นึ ่ ง คื อ ค วาม นิ ย ม ของค นม าก ๆ เกือ บทั้งโลกพรอม ๆ กัน นั้นคืออํานาจอันใหญหลวง ยิ่งกวาอํานาจอาวุธหรือ อํานาจอะไรเสียอีก. เมื่อคนสวนใหญเกือบทั้งโลก เขานิยมอะไรพรอมกันแลว มั น มี อํ า นาจที ่ จ ะเปลี ่ ย นแปลง, จึ ง เปลี ่ ย นแปลงระบบศี ล ธรรมไปได โดยไมรูสึกตัว โดยไมมีใครคัดคาน และโดยไมมีใครเห็นวาเปนอันตราย. ทีนี ้ ศีล ธรรมสมัย กอ น ก็เ ปน ศีล ธรรมแทจ ริง คือ สรา งความ ปรกติ แ ก สั ง คม; ศี ล ธรรมสมั ย นี้ เ ป น ศี ล ธรรมเที ย มหรื อ ปลอม; แล ว ไมสามารถจะสรางความเปนปรกติใหแกสังคม สมตามความหมายของคําวาศีลธรรม ซึ่ง แปลวา สิ่ง ซึ่ง สรา งความปรกติ. ถา เปน สมัย กอ น ทุก คนจะยอมรับ วา การเมามายในเรื่อ งการกิน เรื่อ งเสวยสุข สํา เริง สํา ราญ; เพีย งเทา นี้มัน ก็ ผิด ศีล ธรรมแลว , ผิด เทา ๆ กับ ไปลัก ไปขโมยเหมือ นกัน ; เดี ๋ย วนี ้เ ขาก็ สํา เริง สํา ราญ เรื่อ งกิน เรื่อ งกาม เยย พวกเทวดาเสีย อีก ก็ไ มมีใ ครถือ วา ผิดศีลธรรม. ถาตามหลักศีลธรรมแท ตองถือ วา ถามีความผิดปรกติในเรื่อ ง กิน เรื่องกาม เรื่อง เกียรติ ๓ เรื่องนี้แลว ก็ตองถือวาผิดศีลธรรม; เดี๋ยวนี้กลับ เห็นวาเปนเรื่องที่ควรจะนิยมชมชอบ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ที นี ้ มั น ก็ ค าบเกี ่ ย วมาถึ ง เรื่ อ งการเมื อ ง. ถ า ว า คนที ่ เ ป น พลเมืองหรือพลโลกก็ตาม ทําผิดในแงของศีลธรรมอยางนี้แลว ก็สรางปญหาทาง การเมืองขึ้นมา, หรือวามีการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองอันใหญหลวง. เขาก็ ไม ม องเห็ น ว า นั ่ น คื อ เรื่ อ งของศี ล ธรรม: เห็ น เป น เรื่ อ งของการเมื อ ง ลวน ๆแลวก็แยกตัวออกไป.

www.buddhadassa.in.th


สิ่งกระตุน และอานิสงสของศีลธรรม

๔๔๓

ที ่ จ ริ ง เรื ่ อ งการเมื อ งนั ้ น ก็ เ ป น ศี ล ธรรม เรี ย กว า ศี ล ธรรม สว นสัง คม; ถา ทํ า สัง คมใหป รกติไ ด ก็เ รีย กวา ศีล ธรรมของสัง คม ตาม ความหมายของคําวา ศีลธรรม ซึ่งแปลวา สิ่งซึ่งทําความปรกติ. สีละ แปลวา ปรกติ ; ขอเตื อ นแล ว เตื อ นอี ก เตื อ นแล ว เตื อ นเล า ให ช ว ยกั น จํา ไว ว า คนมี ศี ล - นั่ น คื อ คนปรกติ . ถ า สั ง คมปรกติ ก็ เ รี ย กว า สั ง คมมี ศี ล ธรรม นั่นก็คือการเมือง. ถาโลกปรกติ ก็หมายความวาทั้งโลก มีศีลธรรม, ศีลธรรม เป น การเมื อ งของโลก; จะดู กั น ในแง ไ หนก็ เ ป น อย า งนี้ ตั ว หนั ง สื อ ก็เปนอยางนี้ โดยความหมายก็เปนอยางนี้. ถ า ดู อ ย า งผิ ว ๆ อี ก ที ห นึ่ ง ก็ ยั ง พบว า แม เ รื่ อ งการเมื อ งเขา ก็ม ีอุด มคติ ในทางที ่จ ะสรา งสัน ติภ าพ; แตแ ลว ที ่ส รา งไมไ ด นั่น เพราะ เหตุที่ถือเอาความหมาย หรืออุดมคติหรือเจตนารมณ ของคําวาการเมืองผิดพลาด นั่นเอง. คําวา "การเมือง" ก็หมายถึงศีลธรรม จะเปนของสังคมหนึ่ง หรือวา ของโลกทั้งโลกก็ตาม; นี้ก็เปนการถูกตอง ตามที่ธรรมชาติตองการ หรือตาม ที่พระเจาตองการ ไมมีใครขัดขวางได. เดี๋ยวนี้คนถือเอาผิดหลักที่พระเปนเจา ตองการ พระเปนเจาก็เปนผูขัดขวาง คือทําใหมนุษยไมประสบความสําเร็จ ใน การที่จะแสวงหาสันติภาพ เพราะวาคนไดทําผิด เหยียบย่ําศีลธรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org .…

.…

....

.…

ทีนี้ใ จความสํา คัญ ที่ดูตอ ไปอีก ชั้น หนึ่ง ก็คือ วา มนุษ ยทั้งหมด กํา ลัง มีศัต รูอ ยา งยิ่ง อยา งที่เ รีย กวา หมายเลข ๑, หรือ อะไรทํา นองนั้น ; คือวัตถุนิยม.

www.buddhadassa.in.th


๔๔๔

อริยศีลธรรม

อยา ไปคิด วา มนุษ ยนี ้ม ีโ รคภัย ไขเ จ็บ หรือ มีก ารไมรู ห นัง สือ การอดอาหาร, เปน ศัต รู หรือ เปน ปญ หา. นั้น มองอยา งผิว เผิน , มองอยา ง ลู ก เด็ ก ๆ มอง. ศั ต รู อ ั น แท ข องมนุ ษ ย ก ็ ค ื อ ความหลงใหลในวั ต ถุ น ิ ย ม เปน ทาสของวัต ถุ. ถา เราเรีย ก ตามภาษาธรรมะ ก็เ รีย กวา เปน ทาสของ อายตนะ คือเปนทาสของตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ นี้คือศัตรูหมายเลข ๑ ของมนุษย ทั้งโลกหรือกี่โลกก็ตามใจ. เราไมม องกัน อยา งนี ้ ก็เ ลยรับ เอาศัต รูห มายเลข ๑ นั ่น แหละ มาเปนเพื่อนที่ดีที่สุด หรือเปนสิ่งที่เคารพบูชาไปเลย; แลวมนุษยจะเปนอยางไร? มนุษยเปนมนุษยชนิดไหน? เปนมนุษยอะไรกันแน? ควรจะลองพิจารณากันดู. เป น มนุ ษ ย จ ริง หมายความว า มี จิ ต ใจสู ง ตามความหมายของคํ า ๆ นี้ . ตาม พยัญ ชนะ คําวามนุษยนี้ แปลวาใจสูง, ตามความหมายของคําก็แปลวาใจสูง; ใจสูง ก็ต อ งไมม ีอ ะไรมาครอบงํ า . แตเ ดี ๋ย วนี ้ม ัน มีก ามารมณค รอบงํ า , มี ค ว า ม โง ค ร อ บ งํ า , มี ป  ญ ห า น า น า ช นิ ด ค ร อ บ งํ า แ ล ว ใ จ จ ะ สู ง ไป ไ ด อย า งไร.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทํ า ไมใจไม ส ู ง ? นี ้ เ พราะว า เราพั ฒ นา เอาแต ว ั ต ถุ สํ า หรั บ มามอมตัว เอง ใหม ึน เมา, ใหจ มลงในเหยื ่อ ลอ ของวัต ถุทั ้ง หลาย. นี ่เ รา รั บ เอาศั ต รู ห มายเลข ๑ มาเป น พระเจ า เป น ที่ บู ช า. ยิ่ ง หลงใหลในวั ต ถุ ก็ ยิ่ ง พัฒ นาแตใ นทางวัต ถุ; แลว ตะโกนบอกกัน วา เมื ่อ กายดีแ ลว ใจก็ด ีเอง, เมื ่อ ทอ งอิ ่ม แลว ศีล ธรรมก็ม ีม าเอง. คิด ดูใ หด ีว า มัน จะเปน ไปไดอ ยา งนั ้น อย า งไรกั น ; เพราะเมื ่ อ เป น อย า งนั ้ น แล ว ก็ เ กื อ บจะเรี ย กได ว า มั น ไม มี ศีลธรรม.

www.buddhadassa.in.th


สิ่งกระตุน และอานิสงสของศีลธรรม

๔๔๕

เดี๋ย วนี้กํา ลัง บูช าวัต ถุม ากขึ้น จนความนิย มในทางนามธรรม หรือทางความสะอาด สวางสงบ ของจิตนั้นสูญหายไปหมด; บางทีก็เอาสภาพ อยา งนั้น วา เปน พระนิพ พานไปเสีย เลย. ถา อยา งนี้แ ลว มัน ก็จ ะเปน การ "ถอยหลังเขาคลอง" ไปตั้งหลายพันป อยางที่กลาวไวในพระบาลี วาคนสมัยหนึ่ง คือ กอ นพุท ธกาลนั ้น เคยถือ เอาความสมบูร ณท างกามารมณ วา เปน นิพ พานกัน มาแลว ยุค หนึ่ง ทีเ ดีย ว. การทํา อยา งนั้น มัน แกปญ หาไมไ ด; แลวจะยิ่งแกปญหาไมไดสําหรับยุคนี้ นอกจากจะสรางปญหาเพิ่มเติม จนเหลือ วิสัยที่จะแก; ก็แปลวาตองยอมทนอยูในกองไฟกันอยางนี้เรื่อย ๆ ไป. ขอย้ํ า สั ้ น ๆ อี ก ครั้ ง หนึ ่ ง ว า วิ ก ฤติ ก ารณ ทั ้ ง หลาย ที ่ เ กิ ด อยู ทั่ว โลก มาจากความไมมีศีล ธรรม, ความลํา ยากยากแคน ทุก หัวระแหง ใน เมืองหลวงก็ดี บานนอกก็ดี, เกี่ยวกับอันธพาลทั้งหลายนี่ ก็มาจากความไมมี ศีลธรรม ซึ่งมันซับซอนกันอยูหลาย ๆ ชั้น หรือในคนหลาย ๆ พวก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org .…

.…

....

.…

ทีนี้ เราก็คิดถึง การแกปญหาทางศีลธรรม.

ในเมื่ อ มองเห็ น ความจริ ง ข อ นี้ การแก ป ญ หาทางศี ล ธรรมนี้ ก็ตองนึกถึงวา มันผิดมาเปนสิบ ๆ ป แลวจะแกใหกลับตรงกันขาม หนามือเปน หลัง มือ ทัน ทีอ ยา งนี้ไ มไ ด. ถา จะพูด วา เราหลงไปทํา ผิด ในเรื่อ งศีล ธรรมนี้ เปนเวลา ๓๐ - ๔๐ ปมาแลว ก็จะตรงกับความจริง; ตั้งแตมันยังนอยอยู ๆแลว มันก็มากขึ้น ๆ จนกระทั่งบัดนี้ มันก็คงจะชั่ว ๑ - ๒ อายุที่มันผิดมาแลว. แต

www.buddhadassa.in.th


๔๔๖

อริยศีลธรรม

ครั้ง แรกมัน นอ ยมาก จนไมมีอัน ตรายเห็น ชัด ; เดี๋ย วนี้มัน มีอัน ตรายเห็น ชัด . เมื่อความผิดมีมา ๓๐ - ๔๐ ป จะแกกันในวันสองวัน มันก็ทําไมได; ในปหนึ่ง สองป ก็ทํา ไมได มัน ก็ตอ งแกกัน ใหเปน ระยะยาวพอ ๆ กัน ทีเดีย ว และยิ่ง กว า นั ้ น ยั ง จะต อ งนึ ก ถึ ง ว า จะต อ งแก ที ่ ล ู ก เด็ ก ๆ หรื อ ยุ ว ชนที ่ กํ า ลั ง จะเติบโตขึ้น. เดี๋ย วนี้เราก็กําลังเห็น ชัด อยูแ ลว วา ปญ หายุว ชนมีม ากในทางไร ศีลธรรม เปนเครื่องพิสูจนอยู จึงเปนอันแนนอน เปนที่แนนอนวาเราจะยกเอา ปญหาของยุวชนขึ้นมาเปนเครื่องพิจารณา. ข อ แรก ที ่ ส ุ ด ก็ ค ื อ คํ า ว า "บาป" ; เดี ๋ ย วนี ้ เ ด็ ก ๆ ไม รู จ ั ก คําวาบาป. เพราะไมรูจักคําวาบาป จึงไมกลัวบาป ไดยินคําวาบาปก็ไมสะดุง สะเทือ น หรือ เรีย กวา ไมร ะคายขนอะไร เมื ่อ ไดยิน คํา วา บาป. แตถา ใช ความหมายของคํา ว า "บาป" มาพู ด กั น บางที อ าจจะรู ส ึ ก บ า ง; เช น อยางจะพูดวาจะมีโชคราย หรือที่เขาเรียกกันวา "ซวยตลอดชาติ" อยางนี้คงจะ มีผล คือทําใหกระทบความรูสึกบาง ยิ่งกวาคําวาบาปนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org คํ า ว า "บาป" กลายเป น คํ า สํ า หรั บ ล อ เล น เสี ย แล ว ; แต ถ ึ ง อยางไรก็ดี ตกมาถึงสมัยหลังสุดนี้ คําวา "ซวยตลอดชาติ" เด็ก ๆ ก็ไมกลัวแลว เพระมันหนาแนนมากยิ่งขึ้นทุกที ดวยความบูชาวัตถุ, เมื่อกอนบอกวา "บาป" นี้เด็ก ก็ยัง หยุด หรือ เชื่อ ฟง ; เดี๋ย วนี้ไมห ยุด ไมเชื่อ ฟง . โชคราย ก็ยัง พอฟง ออก ยัง นึก กริ่ง เกรงกัน อยู บ า ง; แตพ อตอ งการวัต ถุห นัก เขา ก็ไ มรูล ะ, โชคดีโชครายก็ไมรู; ตองการวัตถุที่ตอ งการ ที่ประสงค นั่นแหละเปนดีที่สุด.

www.buddhadassa.in.th


สิ่งกระตุน และอานิสงสของศีลธรรม

๔๔๗

นี ่ ค ื อ ป ญ หาที ่ ม ี อ ยู  ใ นเวลานี ้ แล ว คํ า ว า "บาป" นี ่ ไม ม ี ใ คร กลั ว ไม กี่ วั น เด็ ก เหล า นั้ น ก็ โ ตขึ้ น มาเป น ผู ใ หญ : ผู ใ หญ นี้ ก็ ไ ม ก ลั บ บาป, ไมกลัวคําวาบาป; คําวาบาปไมมีความหมาย. นี่เรียกวารกรากของศีลธรรม นี้มันพังทะลาย เพราะไมมีใครกลัวสิ่งที่เรียกวาบาป. เราควรจะมีคํ า อะไรที ่ม าแทนคํ า นี ้ ที ่พ อพูด ออกไปแลว ทุก คน สะดุง . อาตมาก็ยังนึกไมเห็น คิด ไมอ อก วา จะมีคําอะไรมาแทนคําวาบาป. พอพูดออกไปแลวคนสะดุง; เหมือนที่ ปู ยา ตา ยายบรรพบุรุษของเรา พอ ไดยินคํานี้เขาแลวก็สะดุง. ใครมีความคิดเห็นอยางไร ก็ขอใหชวยกันคิด วาจะ มีคําพูดอะไรที่จะหยุดยุวชนหรือคนทั่ว ๆ ไป, ใหยั้งคิดสักหนอย ในเมื่อเขาจะ ทําผิดทางศีลธรรม. ข อ นี ้ ด ู ต  อ ไปอี ก หน อ ยหนึ ่ ง ก็ ว  า ทํ า ไมจึ ง เป น ม าก ๆ ถึ ง อยางนี้ สําหรับเด็ก ๆ เกี่ยวกับคําวาบาป? เดี๋ยวนี้มันมีอะไรบางอยาง เขามา ทําลายความหมายของภาษาศีลธรรมทั้งหลาย เชนคําวาบาปเปนตน

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ขอ สอง อยากจะมองดูไ ปยัง สิ่ง ที ่เ ขาพูด กัน เทิด ทูน กัน มาก แลวสอนใหเด็ก ๆ มึนเมาลุมหลงอยูสิ่งหนึ่ง สิ่งนั้นคือคําวา ประชาธิปไตย, สอนให เ ด็ ก ๆ ลุ ม หลงและบู ช าประชาธิ ป ไตย ทั้ ง ที่ ไ ม มี ค วามหมายอั น ถูก ตอ ง; จะเปน ตามอยา งฝรั่ง หรือ ตามอยา งคนพวกไหนก็สุด แท ที่ส อน ใหมึนเมาในประชาธิปไตย ที่ไมมีความหมายอันรัดกุมหรือถูกตอง.

www.buddhadassa.in.th


๔๔๘

อริยศีลธรรม

นี ้ เ รา จึ ง แ ก ป  ญ ห า ต า ง ๆ ข อ ง ยุ ว ช น ทั ้ ง ห ล า ย ไม ไ ด ; แ ก ปญหาเรื่องเด็กไมเคารพครูไมได เพราะวาเด็กเขาประชาธิปไตย, หรือบางทีก็เลย ประชาธิ ป ไตยไปเสี ย อี ก . เมื่ อ เด็ ก ไม เ คารพครู อ ย า งเดี ย วเท า นั้ น แหละ; คิ ด ดู เ ถอะจะมี อ ะไรเหลื อ อยู สํา หรั บ จะเป น รากฐาน, สํา หรั บ สร า งความ รู ส ึ ก ที ่ ด ี ที ่ ง าม ตามแบบของศี ล ธรรม เช น มี ห ิ ริ โ อตั ป ปะเป น ต น ก็ ไ ม มี อะไรเหลือ. อนึ ่ ง ยั ง มี ข  อ เท็ จ จริ ง เป น หลั ก ฐานพยานอยู  ; ครู บ างคน ถูก บัง คับ ใหข อขมานัก เรีย นเล็ก ๆ ที่พอ แมเ ขามีอิท ธิพ ล โดยแมแ ตท างการ ก็ ย อ ม รั บ รู  ห รื อ ร ว ม รู  ด  ว ย . อ ย า ง นี ้ ม ั น เค ย มี ที ่ ไ ห น ใน โล ก ; ตั ้ ง แ ต โบราณกาลนั้น มันเคยมีที่ไหนในโลก มันจะเพิ่มมีประเทศไทยเมื่อเร็ว ๆ มานี้. นี่ จ ะเป น เพ ราะ ว า ค นมึ น เม า ใน ป ระ ช าธิ ป ไต ยม าก เกิ น ไป แ ล ว ; เด็ ก ๆ ไม ม ี เ จ ต น า รม ณ ที ่ เ ป น สั ง ค ม นิ ย ม , ไม ร ั ก ส ม บั ติ ข อ ง ช า ติ , ไ ม รั ก ป ร ะ โ ย ช น ส  ว น ร ว ม . เ ข า โ ก ร ธ ขึ ้ น ม า เ ข า เ ผ า เขาทําลายอะไรตาง ๆ ก็ได; เด็กพวกนี้อาจจะบูชาประชาธิปไตยเพอฝนอยางนี้ ยิ่ง กวา ชีวิต ของตัว เองก็ได. แตวา เปน ประชาธิป ไตยชนิด ที่จ ะเชือ ดคอเด็ก ๆ เหลานั้นเอง ใหตายเปลาๆ ไมไดประโยชนอะไรที่เกิดมาทีหนึ่ง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี่ เ ราม อ ง กั น ให เ ห็ น ว า นี้ มั น เป น ป ระ ชาธิ ป ไต ยเพ อ ฝ น ; เด็ ก ยั งไม ค วรได รับ ประชาธิ ป ไตยชนิ ด นั้ น ควรจะมี ป ระชาธิ ป ไตยที่ มั น อยู ใน ขอบเขต. หรือถาใหถูกตองที่สุด ตองอยูใตระบอบเผด็จการโดยความถูกตอง โดยความเปนธรรมไปกอน.

www.buddhadassa.in.th


สิ่งกระตุน และอานิสงสของศีลธรรม

๔๔๙

การเลิก ไมเ รีย ว ในโรงเรีย น; อาตมารูส ึก วา เปน เรื่อ งบา ๆ บอ ๆ ไมใ ชป ระชาธิป ไตย ไมใ ชจิต วิท ยาที่ดี; พิสูจ นไ ดดว ยผลที่เ กิด อยู เดี๋ยวนี้ ปรากฏอยูเดี๋ยวนี้ วามันเปนอยางไรบาง. เราควรจะสอนเด็กใหเปนทาสของพระพุทธ พระธรรม เสียดีกวา คือเปนทาสของพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ หรือเปนทาสของธรรมะ นี้จะ ตองปฏิบัติ ยอมใหธรรมะขมขี่; เพราะวาเมื่อปฏิบัติธรรมะ มันก็ตองลําบาก ต อ งอดกลั้ น อดทน. ให เ ด็ ก เขาหลงความเป น ทาสของพระธรรม ดี ก ว า ไปหลงประชาธิป ไตยเพอ เจอ ที่เ ตรีย มไวสํา หรับ สอนเด็ก ที ่กํา ลัง พูด กัน หนักหนา. ทีนี้ มาดูกัน ถึง พวกครู, ก็มีค รูจํา พวกหนึ่งซึ่งมีม ากขึ้น ๆ ที่ไมมี สป ริต ของคํ า วาครูเหลื อ อยู . ดู เหตุ ก ารณ ที่ เขาทํ ากั น เมื่ อ เร็ว ๆ นี้ ก็ ได โดยครู จํา พวกนี้; อยา งนี้มัน เปน การพิสูจ นวา ไมมีศีล ธรรมเหลือ อยู. การสอน ศีลธรรมก็มีแตบอกใหจดใสสมุดแลก็ปด; แมที่เรียกกันวา วิชาหนาที่พลเมือง อันนี้ก็เปนเรื่องอยางเดียวกันสําหรับจดไวในสมุด, แลวก็ปดไมตองประพฤติ; พอจะสอบไลก็นึกขึ้นมาเขียนคําตอบก็พอแลว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ควรจะเลิก ประชาธิป ไตย นอ ยนิด ที่กํา ลัง มึน เมากัน อยูนี้เ สีย ที; มานิ ย มเผด็ จ การโดยระเบี ย บ โดยข อ บั ง คั บ โดยพระธรรม หรื อ โดย พระศาสนา กัน เสีย อีก ทีจ ะดีไ หม? เราจะตอ งถือ วา เขาเปน เด็ก , และยัง เปนเด็ก; แมเรียนในชั้นมหาวิทยาลัย ชั้นอุดมศึกษา ก็ยังเปนเด็ก. ถาเด็กไม รูเรื่องศีลธรรม, ไมรูเรื่องการบังคับตัวเอง, ไมรูเรื่องของความเปนมนุษย วามี

www.buddhadassa.in.th


๔๕๐

อริยศีลธรรม

ความหมายอยางไร, ก็ยังตองถือวาเด็ก; ถาเมื่อยังเปนเด็ก ก็ควรใชระบบเผด็จการ โดยระเบียบ โดยพระธรรม. ถา ขืน ปลอ ยไวอ ยา งนี ้ ก็จ ะไมม ีศ ีล ธรรม มัน ก็ไ มม ีอ ะไร มีแ ต มึ น เมาด วยประชาธิป ไตยเพ อ เจ อ อย างนี้ ; ไม เท าไร สั ต วเดรัจฉานจะมี ศี ล ธรรม มากกวา คน. ควรจะตอ งรู ต ัว รู ส ึก ตัว ในขอ นี ้ แลว เคลื ่อ นไหว เพื ่อ จะ รั ก ษ า เกี ย รติ ข อ ง ค ว า ม เป น ม นุ ษ ย ไ ว ใ ห ไ ด . ถ า เป น ป ระ ช า ธิ ป ไต ย ก็ ต อ งเป น แบบที ่ ถ ู ก ต อ ง อย า งเป น แบบที ่ ป ระกอบได ด  ว ยธรรมะ; แล ว ก็ เ ห็ น แ ก ผู  อื ่ น ไ ม ใ ช เ ห็ น แ ก ต ั ว เอ ง . เดี ๋ ย ว นี ้ เ ร า มี เ ส รี ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย ใครอยากจะเห็น แกต ัว เองสัก กี ่ม ากนอ ย ก็เ ห็น ไดเ ต็ม ที ่ด ว ยกัน ทั ้ง ๒ ฝา ย : คนผิด ก็ไ ด คนถูก ก็ไ ด, คนมั ่ง มีก ็ไ ด คนจนก็ไ ด, มีส ิท ธิที ่จ ะเห็น แกต น อยางเสรี. อยางนี้ มันไมถูกตามที่ธรรมชาติตองการความสม่ําเสมอ : มันไมถูก ตามความประสงคของพระเปนเจา. ขอใหคิดดูใหดี ๆ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ขอ สาม สิ ่งที ่ไพเราะอีก คํา หนึ่ง เขาเรีย กกัน วา สิท ธิม นุษ ยชน นี้ ฟ งดู ก็ ไพเราะ, บั ญ ญั ติ ความหมายไวก็ ดี . แต ถ ามั น ไม ป ระกอบไปด วยศี ล ธรรม มั น ก็ ใ ช ไ ม ไ ด , ห รื อ เมื ่ อ ไม น ิ ย ม ศี ล ธรรมนั ้ น เอง; การใช ส ิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน ก็ เ ป น ไปไม ไ ด เป น ไปลํ า บาก หรื อ เป น ไปอย า งผิ ด ๆ. สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนกั บ คํ า วา เสรีป ระชาธิป ไตย สองคํ า นี ้อ ธิบ ายกัน ไป อธิบ ายกัน มา จนฟ น เฝอ จนตีก ัน ยุ ง จนปฏิบ ัต ิไ มไ ด: เด็ก ก็ป ฏิบ ัต ิไ มไ ด ครูก ็ป ฏิบ ัต ิไ มไ ด ประชาชน ก็ปฏิบัติไมได.

www.buddhadassa.in.th


สิ่งกระตุน และอานิสงสของศีลธรรม

๔๕๑

ถ า ครู ต รวจจดหมายของนั ก เรี ย นในโรงเรี ย น ก็ ห าว า ครู ไ ม เคารพสิท ธิม นุษ ยชน. นี ่ค วามมึน เมาประชาธิป ไตยหลับ หูห ลับ ตา มัน ก็ม ิไ ด มากถึงอยางนี้, คือมีไปในทางที่จะทําใหไมมีศีล ธรรมเหลือ ; ทําใหไมมีโอกาส ที ่จ ะควบคุม ศีล ธรรม หรือ ความมีศ ีล ธรรมของลูก เด็ก ๆ ได. นี ้จ ึง เปน สิ ่ง ที่ ตองคิดดูกันใหดีวา นี่จะนําไปสูความเจริญของมนุษย หรือวาจะนําไปสูความลมจม กันแน. อาตมากลา วไดแ ตสั ้น ๆ วา สิท ธิม นุษ ยชน ที ่ไ มเ ปน ไปเพื ่อ ศี ล ธรรม, หรื อ เพื ่ อ ความมี ศ ี ล ธรรมนั ้ น มั น เป น ช อ งโหว เหลื อ ประมาณ แลวก็ม ากมายเหลือ เกิน ที่จ ะใหเล็ด ลอดออกไปสู ความไมมีศีล ธรรม ฉะนั้น จึง ไมเห็น วา มีป ระโยชน. เราจะตอ งวกกลับ มาใหม มาดูที่ส ภาพแหง ความมี ศีลธรรมอันแทจริงอันถูกตอง แลวพยายามชวยกันในสวนนั้น. คํ า ว า "สิ ท ธิ ข อ ง ผู  อื ่ น " นั ้ น ก็ ค ว ร เค า ร พ ; แ ต ว  า สิ ท ธิ ชนิด นั ้น ของใครก็ต าม ตอ งไมทํ า ลายศีล ธรรม ซึ ่ง จํ า เปน สํ า หรับ ทุก คน รวม ทั ้ ง ตั ว ผู  นั ้ น เอ งด ว ย. เดี ๋ ย วนี ้ เ ราก็ ส อ น ให เ ด็ ก ๆ มึ น เม าใน สิ ่ ง ที ่ จ ะ ทําลายตัวเขาเอง นั่นเอง ก็เลยสรางปญ หาทางศีลธรรมมากขึ้น ในการที่จะแก ปญหาทางศีลธรรม มันก็มีความยากลําบาก เพราะมีปญหาหลายอยางหลายประการ มาดักอยูขางหนา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เดี ๋ย วนี ้ใ นที ่ส ุด สมมุต ิว า เรามองเห็น กัน วา เรื่อ งของศีล ธรรมนี้ เปน เรื ่อ งจํ า เปน ในฐานะที ่ต อ งมี เปน รากฐานของสิ ่ง ทั ้ง ปวงในโลกนี ้; เพราะวา ไมวา อะไรในโลกนี้ ไมวา กิจ การงานแขนงไหน หรือ วา สิ่ง ของวัต ถุ

www.buddhadassa.in.th


๔๕๒

อริยศีลธรรม

อะไร ก็ประสงคความสงบ ความเปนอยูอยางสงบ ตามความหมายของคําวา ศีล ธรรม. ถา ใครมีป ญ ญาลองคิด ดูท ี, ลองหาเหตุผ ลอะไรมาดูท ี, วา ยัง มี อยางอื่นนอกไปจากนี้ ที่เราควรจะตองการ. อาตมาก็ก ลา วตามคํา ของทา นผูรูทั้ง หลาย บัณ ฑิต ในกาลกอ น มีพ ระพุท ธเจา เปน ตน ทา นก็ก ลา วกัน ไวอ ยา งนี้ วา วัต ถุป ระสงคอัน แทจ ริง อยางเดียวหรือจุดหมายปลายทาง ก็คือตองการความสงบ แลวก็ไมมีความสุข อยางอื่นนอกไปจากความสงบ; สงบมากก็สุขมาก, สงบนอยก็สุขนอย, สงบ จริง ก็ส ุข จริง , สงบปลอมก็สุข ปลอม; ไมม ีค วามสุข อยา งอื ่น นอกไปจาก ความสงบ แลว ความสงบนี้คือ คํา วา ศีล ธรรม. เพราะคํา วา ศีล ะ แปลวา ปรกติ หรื อ สงบ; ก็ พ ู ด ได ท ั น ที ว  า ไม ม ี ค วามสุ ข อั น อื ่ น นอกไปจาก ความมีศีลธรรม. เปนอันวา จะตองมีศีลธรรม เปนจุดที่มุงหมาย. ถา ศีล ธรรมในฐานะที ่เ ปน เหตุ ก็ห มายความวา สิ ่ง ที ่จ ะสรา ง ความสงบ; ถา คํา วา ศีล ธรรมในฐานะที่เปน ผล ก็คือ ภาวะแหง ความสงบ. เราตองมีศีลธรรม อยางที่เปนเหตุแหงความสงบ แลวเราก็จะไดศีลธรรมที่เปนผล คือภาวะแหงความเปนอยูกันอยางสงบสุข. ถาจะมีอุปกรณอื่นใด ก็ตองใหเปน อุป กรณข องศีล ธรรม; ถา จะมีระบบการเมือ ง ระบบเศรษฐกิจ ระบบทหาร ระบบอะไรก็สุดแท ตองเปนอุปกรณ แหงศีลธรรม คือมีความสงบสุข. ถาไมมี ความสงบสุ ข ก็ คื อ ไม มี ศี ล ธรรม; จะต อ งเอาศี ล ธรรมเป น หลั ก เพื ่ อ จัดการกับสิ่งอื่น ๆ ทุกสิ่ง ใหเปนอุปกรณแกศีลธรรม, มีผลเปนสภาพของศีลธรรม, ความมีศีลธรรม, เปนอยูอยางมีศีลธรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org .…

.…

....

.…

www.buddhadassa.in.th


สิ่งกระตุน และอานิสงสของศีลธรรม

๔๕๓

ที นี ้ เ ร า จ ะ ม อ ง ดู ก ั น ต อ ไ ป ถึ ง ข อ ว า ทํ า อ ย า ง ไ ร เ ร า จ ะ เกิ ด ความ รั ก ในการที่ จ ะมี ศี ล ธ รรม และอยากจะมี ศี ล ธรรมขึ้ น มา ที่ เ รี ย กว า motive ของศี ล ธรรม. ในขั ้น แรก อยากจะยืม หลัก เกณฑ ของจริย ธรรมสากล เขา กลาวไวเปนหลัก ในแบบฉบับของจริยธรรม ของนักจริยธรรมชั้นเอก ของโลก ทั้งหลาย เขาก็ล งมติกัน ไวอ ยางนั้น วา motive ของศีลธรรมนั้น พอจะแบง ออกไดเปน ๓ พวก :พ วก ที ่ ๑. เนื ่ อ ง กั น อ ยู  ก ั บ ศ าส น า นี ่ ก ็ ม ี อ ยู  พ วก ห นึ ่ ง นี้ ได แ ก ความกลั ว ต อ ความทุ ก ข แล ว ความหวั ง ที่ จ ะได รั บ ความสุ ข fear of misery, hope happiness. นี ้ กลัว ความทุก ข หวัง จะไดค วามสุข . อัน นี้ เปน motive ที่ทําใหคนปฏิบัติศีลธรรม. เราพิจารณาดูก็มองเห็นจริง แลวมัน ก็จริงอยูเรื่อ ย ๆ มา จนมองเห็น อยูวา กระทั่งบัด นี้; ถาเปน เรื่อ งของศาสนา คนที่นับถือศาสนาแลว เขามีหลักอยางนี้ : เขากลัวความทุกข, เขาอยากได ความสุข ตามความหมายหรือตามวิธีการของทางศาสนานั้นเอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org พวกที ่ ๒. ก็ เ ป น เรื ่ อ งทางการบ า นการเมื อ ง เรี ย กว า ทาง politic คือกลัวจะถูกลงโทษ แลวหวังความกาวหนารุงเรือง : fear of punishment, hope of advancement. นี้ก็ม องเห็น ไดวา ในเรื่องของชาวบาน ที่เกี่ยวกับ เปนอยูกันมาก ๆ ตามระเบียบของมนุษยนี่ เขาไมอยากจะถูกลงโทษ; ฉะนั้น จึง ประพฤติศีล ธรรม ซึ่ง รวมทั้ง กฎหมาย ระเบีย บประเพณีอ ะไรดว ย. เขา

www.buddhadassa.in.th


๔๕๔

อริยศีลธรรม

อยากจะมีความเจริญรุงเรืองกาวหนาไปตามวิถีทางของมนุษย จึงไดทําใหเกิด อยากมีศีลธรรม, หรือถือศีลธรรม. พ ว ก ที ่ ๓. ม อ ง ดู ใ น แ ง ส ั ง ค ม ท า ง social ก ลั ว สั ง ค ม จะขั บ จะกระทํา ป พ พาชนี ย กรรมคื อ ไม นั บ ถื อ . เขาหวั ง ที่ จ ะได รั บ ความ รวมมือ ชวยเหลือ จากเพื่อนมนุษยดวยกัน fear of social ostracism เขามักจะ แปลคํานี้วา ปพพาชนียกรรม. เขากลัวสังคมจะลงปพพาชนียกรรม ไมยอม รั บ นั บ ถื อ , hope of finding favour with one fellow อ ย าก จ ะ ได รั บ ประโยชนไดรับ อะไรตางๆ จากเพื ่อ นที่อ ยูใ นสังคมดวยกัน , ไดรับ ความยิน ดี ปรีดาตอนรับของสมาชิกสังคมนั้น. ถาหวังอยางนี้ มันก็คงมีอํานาจ มีกําลังที่ จะทําใหประพฤติศีลธรรม. สิ่ง เหลา นี้ม ัน ก็ยัง พอจะเรีย กไดวา ยัง มองเห็น อยู ยัง ควรจะทํ า ได; แตแลวทําไมคนจึงไมมีศีลธรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เรื ่ อ ง ศ า ส น า นี ้ ด ู จ ะ ค ล า ย ๆ กั บ ถู ก ย ก เลิ ก ไ ป แ ล ว . เข า กลับเจรจากับยมบาล หรือเขาจะใหสินบนยมบาล อะไรก็ได. เขาไมกลัวถูก ประฌาม ไม ก ลั ว ถู ก ลงโทษ: ขอแต ให เขาร่ํา รวย. แล ว เขาถื อ ว า เมื่ อ ความ ร่ํารวยมีมาได จากการไมตองถือศีลธรรม; ก็ไมตองถือศีลธรรม, ถือเอาความ ร่ํารวยเปนความกาวหนา เปนความเจริญรุงเรือง.

ทีนี้ เรื่อ งที่วา สัง คมจะลงโทษ จะประณาม จะไมค บ ก็ยิ่ง ไมคอ ยมีค วามหมาย. เขากลา พูด วา เดี๋ย วนี้ถา มีเ งิน แลว ทุก คนจะนับ ถือ

www.buddhadassa.in.th


สิ่งกระตุน และอานิสงสของศีลธรรม

๔๕๕

จะยินดีคบคาสมาคม; ถาไมมีเงิน ถึงจะดีวิเศษอยางไร ก็หาคนคบคาสมาคม ยาก. นี่มัน เปน เสีย อยา งนี้; แลว เมื่อ เขามีเ พื่อ น ที่มีก ารประพฤติก ระทํา อยางเดียวกัน เขาก็ทําไปดวยกันไมได ในระหวางเพื่อนที่ไมมีศีลธรรมดวยกัน. นี่หลักเกณฑทางศีลธรรมนี้ มันก็เปนหมันไปก็ได. แตถ ึง อยา งไรก็ด ี เราพิจ ารณาดูแ ลว เราจะเห็น วา กฎเกณฑ ทางจริยธรรมสากลนี้ใชได เปนความจริง เปนความถูกตองที่เขาวางไว; สวน ที่ค นจะประพฤติป ฏิบัติต ามหรือ ไมนั้น มัน อีก เรื่อ งหนึ่ง . เขากลัวความทุก ข เขาอยากไดค วามสุข นี ้ม ัน ก็จ ริง และมีเ หตุผ ล. เขากลัว ถูก ลงโทษเขา ต อ งการความเจริ ญ ก า วหน า ก็ ถู ก มี เ หตุ ผ ล. เขาต อ งการให ส ั ง คม ยกย อ งนั บ ถื อ มั น ก็ ถ ู ก . แต ว  า ประโยชน เ พี ย งเท า นี ้ มั น ดู จ ะยั ง เป น ศีลธรรมในขั้นตน ๆ, ศีลธรรมในขั้นโลกิยะอยู. .… .… .... .…

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เราควรจะมองดูใ หไ กลออกไปถึง motive ที ่ไ มตอ งอิง อาศัย สิ่งเหลานั้น คืออาศัยความถูกตองที่ยิ่งไปกวานั้น , อาศัยความเปน ธรรมที่ยิ่ง ไปกว า จริ ย ธรรมสากลนั ้ น : เพราะว า ตามที ่ ก ล า วมานั้ น มั น ยั ง เป น เรื่ อ ง โลก ๆ อยู, และยังเปนเรื่องที่เห็นแกตัวอยู.

เ ร า จ ะ ม อ ง ดู ใ ห พ  น จ า ก ค ว า ม เ ห็ น แ ก ต ั ว ห รื อ ว า ถึ ง กั บ วา เปนเรื่องโลกุตตระไปดวย. ถาอยางนั้นเราจงรูแยกความรูสึกที่เปน motive ขอ งศี ล ธ รรม นี ้ อ อ ก เป น ๒ ส ว น คื อ เป น motiveอ ย า งวิ ส ั ย โล ก ๆ

www.buddhadassa.in.th


๔๕๖

อริยศีลธรรม

อยางชาวบานทั่วไปก็มี, เปน motive อยางเปนธรรมะแท กระทั่งถึงโลกุตตรธรรม อยางนี้ก็มี, จะเห็นไดงาย ในเมื่อเอามาเปรียบเทียบกัน โดยหลักที่รูจักกันดีทั่วไป คือ หลักอธิปไตย ๓ อยาง. อธิ ป ไตย มี อ ยู ๓ อย า ง : อั ต ตาธิ ป ไตย ปรารภตน เ ป น ใ ห ญ , โ ล ก า ธิ ป ไ ต ย ป ร า ร ภ โ ล ก เ ป น ใ ห ญ . ธ ร ร ม า ธิ ป ไ ต ย ปรารภธรรมเปนใหญ. พ ว ก ที่ ๑ ที่ เป น อั ต ต า ธิ ป ไต ย . ก็ มี ๒ ค ว า ม ห ม า ย : เห็น แกต นเปน ใหญ นี ้ถ า เปน อยา งโลก ๆ มัน ก็เ ห็น แกต ัว กู, เห็น แกกิเลสของกู ประโยชนร ายไดข องกู. นี่ก็เปน motive ที่ใหเขาปฏิบ ัติ ศีล ธรรมก็ไ ด: ถา เขามีค วามเชื ่อ และมองเห็น วา ศีล ธรรมจะอํ า นวย ประโยชน อยา งนี ้ เขาก็ป ฏิบ ัต ิศ ีล ธรรม อยา งอัต ตาธิป ไตย. แตม ัน เปน อัตตาอยางเลว, อัตตาอยางโลก คืออัตตาที่เห็นแกตัวกู, เห็นแกกิเลสของตัวกู.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org แตถ า เปน อัต ตาธิป ไตยอยา งสูง คือ เปน อัต ตาธิป ไตยอยา ง ธรรม ก็ ต  อ งเอาตั ว กู ที ่ เ ป น ธรรม เอาตั ว ตนที ่ เ ป น ธรรม , เอาธรรม เป น ตน เอาตนเป น ธรรม: แล ว ก็ เ ห็ น แก ต นชนิ ด นั้ น มั น ก็ วิ เ ศษ ; เป น อั ต ตาธิ ป ไตยอย า งนี ้ ก ็ ถู ก เต็ ม ที ่ . ที ่ เ รา "เอาธรรมเป น ตน เอาตนเป น ธรรม" นี้ไมใชเราจะบัญญัติกันเดี๋ยวนี้ พระพุทธเจาทานก็ไดบัญญัติไวแลว วา "ทาน ทั้ งหลาย, จงมี ตนเป นที่ พึ่ ง มี ตนเป นสรณะ". คื อการมี ธรรมเป นที่ พึ่ ง มี ธรรมเป น สรณะ”.

www.buddhadassa.in.th


สิ่งกระตุน และอานิสงสของศีลธรรม

๔๕๗

ก า ร มี ต น เ ป น ที ่ พึ ่ ง มี ต น เ ป น ส ร ณ ะ นั ้ น คื อ ก า ร มี ธ ร ร ม เ ป น ที ่ พึ ่ ง มี ธ ร ร ม เ ป น ส ร ณ ะ ; ฉะนั้ น พึ่ ง ตนก็ คื อ พึ่ ง ธรรม, พึ่ ง ธรรมก็ค ือ พึ ่ง ตน. ถา เห็น แกต น ที ่แ ทที ่ด ี ที ่บ ริส ุท ธิ์ ก็ค ือ เห็น แกธ รรมที่ เป น ตน หรื อ ตนที่ ป ระกอบอยู ด  ว ยธรรม. ถ า ผู ใ ด "เห็ น ตนที ่ เ ป น ธรรม" อยา งนี ้ แลว ปฏิบ ัต ิศ ีล ธรรมเพื ่อ จะมีต นชนิด นี ้ ก็เรีย กวา อัต ตาธิป ไตย ได เหมือนกัน; ฉะนั้นอัตตาธิปไตยจึงมีไดทั้งที่ต่ําและที่สูง. พ ว ก ที่ ๒. เป น โล ก าธิ ป ไต ย ป ร ารภ โล ก เป น ให ญ . โลกนี้ ก็ มี ๒ ชนิ ด : โลกอย า งต่ํ า และโลกอย า งสู ง . หรื อ ถ า โลกาธิ ป ไตยอย า งโลก ๆ ก็ ป ฏิ บั ติ ธ รรม เพราะว า กลั ว ชาวโลกเขาจะ ติเตียน. ทําความดีหรือมีศีลธรรมอะไร ก็เพราะกลัววาชาวโลกเขาจะติเตียน มันก็เปน motive ได ดีกวาไมมี.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org แต ถ า โลกาธิ ป ไตยอย า งดี ไปกว า นั้ น อย า งสู ง ไปกว า นั้ น ก็ ต  อ งว า เราทํ า ความดี นี้ เ พื ่ อ ประโยชน แ ก ส ั ต ว โ ลก แก โ ลกทั ้ ง หลาย. แมจะเปนอยางวิสัยโลก เราจะประพฤติธรรมะศีลธรรม เพื่อเห็นแกโลก, เพื่อ ประโยชน แก โลกทั้ งโลก; แม จะเป น อยางวิสั ย โลก ๆ อยางนี้ ก็ ยังสู งกวา ที่ วา ปฏิบัติความดี เพราะกลัววาชาวโลกจะติเตียน. โลกาธิปไตยก็มี ๒ ความหมาย คือ อยางต่ํา ก็มี อยางสูงก็มี เปน motive ของการประพฤติศีลธรรมไดดวยกันทั้งคู.

www.buddhadassa.in.th


๔๕๘

อริยศีลธรรม พวกที่ ๓. เปนธรรมาธิปไตย.

ถ า เป น อ ย า ง ต่ํ า ก็ ค ื อ ไม ใ ช ธ ร รม ะ แ ท จ ริ ง เห อ ต า ม ๆ เขาไป, คื อ เห อ ธรรมะ แล ว ก็ ป ฏิ บั ติ ธ รรมะตาม ๆ เขาไป; อย า งนี้ ต อ ง พูดไดเหมือนกันวา เขาปรารภธรรมะเปนใหญ แตวาทําไปดวยความงมงาย แต ก็เปน motive ที่มีกําลังเหมือนกัน ที่คนนั้นจะมีศีลธรรม. ถ า ธ ร ร ม า ธิ ป ไ ต ย ชั ้ น สู ง ก็ เ ห็ น แ ก ธ ร ร ม แ ท เป น ไ ป เพื ่ อ ธรรมแท, ปฏิบัติธ รรมสมควรแกธ รรม ดว ยไมม ากไมนอ ย ไมข าดไมเ กิน นี้เปนธรรมาธิปไตยโดยแท. ขอใหเ หลือ บตาดูท ีเ ดีย วพรอ ม ๆ กัน ใหม ัน หมดทั ้ง ๓ ชนิด แลว แตละชนิดมีอยูเปนคู ๆ:-

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อั ต ตาธิ ป ไตยอย า งโลก เห็ น แก ตั ว กู - ของกู จึ ง ปฏิ บั ติ ธ รรม. อัตตาธิปไตยอยางธรรม ก็เห็นแกตัวตน ที่เปนธรรม, แลวก็ปฏิบัติธรรม.

โลกาธิป ไตยอยา งโลก ๆ ก็ก ลัว โลกเขาจะตํ า หนิต ิเ ตีย น, จึง ปฏิบัติธรรม. โลกาธิปไตยอยางสูง เปนธรรมะแท ก็มุงหมายจะประพฤติธรรม เพื่อประโยชนแกโลกทั้งโลกเสียเลย.

ธรรมาธิป ไตยอยา งต่ํ า ๆ ก็เ หอ ธรรมะดว ยความไมรูจ ัก ธรรม แลวก็ ป ระพฤติ ธ รรมได เ หมื อ นกั น . ถ า ธรรมาธิ ป ไตยแท ก็ มี ส ติ ป ญ ญา มี สัมมาทิฎฐิ ปฏิบัติธรรมถูกตอง สมควรแกธรรม.

www.buddhadassa.in.th


สิ่งกระตุน และอานิสงสของศีลธรรม

๔๕๙

นี้เ ห็น ไดวา motive ทั้ง ๓ อยา งนี้ มัน ก็มีก ารแยกอยูกัน เปน คู ๆ คือมีต่ํามีสูง, หรือถาจะพูดภาษาอริยเจาทานก็ตองพูดวา มีทั้งถูกและผิด ทั้ง ๓ กลุมนั่นแหละ. ที นี ้ เ ราก็ ไ ด สิ ่ ง ที ่ เ รี ย กว า motive ของศี ล ธรรม ตามหลั ก ที่ พูด กัน ในพุท ธศาสนา เปน ๓ หัว ขอ : ปรารภตน ก็ม ี ปรารภโลกก็มี ปรารภธรรมก็ ม ี แล ว ก็ ไ ปได ไ กลถึ ง ที ่ ส ุ ด ; ไม เ หมื อ นกั บ กฎเกณฑ ข อง จริยธรรมสากล ที่กลาวไวในวงจํากัด, เปนแตเรื่องของชาวโลก เปนเรื่องโลก ๆ เรื่องสังคม มากกวา. จะพูดวาความทุกข ก็ทุกขอยางที่ชาวบานเขามุงหมายกัน. จะพูดวาความสุข ก็สุขอยางที่ชาวบานเขามุงหมายกัน. ไมเลยไปถึงสุขแทจริง อยา งสุข ที่ห มดกิเ ลสอะไรเปน ตน . เมื่อ หลัก เกณฑมีอ ยูดัง นี้ ก็ข อใหทุก คน แตละคน มองดูใหดี ๆ แลวก็ชวยกันชําระสะสางสิ่งที่เรียกวา motive ของศีลธรรม ของตัว เอง ใหถูก ตอ ง ใหชัด เจน ใหกา วหนา . เราสมัค รใจจะเอาขอ ไหน เปนหลัก ก็ทําขอนั้นใหมันดีที่สุด.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org .…

.…

....

.…

ทีนี ้ ก็จ ะพูด ตอ ไปอีก หนอ ย ถึง เรื ่อ งที ่เ กี ่ย วกับ ศีล ธรรม ที ่จ ะ จําแนกตามลักษณะของสิ่งที่เรียกวา motive : เราจะตองแยกเปนศีลธรรม อย า งของปุ ถุ ช นพวกหนึ ่ ง , แล ว ก็ แ ยกเป น ศี ล ธรรมของพระอริ ย เจ า หรืออยางอารยะพวกหนึ่ง เปน ๒ พวก.

www.buddhadassa.in.th


๔๖๐

อริยศีลธรรม

หั ว ข อ บรรยายเรื่ อ งนี้ มี ว า อริ ย ศี ล ธรรม มุ ง หมายจะกล า ว ถึง ศีล ธรรมที่เ ปน ชั้น อริย ะ หรือ ของพระอริย ะ, หรือ ที่จ ะทํา บุค คลใหเ ปน พระอริยะ, นี่เรียกวาอริยศีลธรรม. แตมันยังมีศีลธรรมบุถุชนคนธรรมดาชาวโลก อยูอีก ระดับ หนึ่ง ซึ่ง อาจจะตรงกับ คํา ที่เ ขาพูด กัน เสมอ ๆ วา "ศีล ธรรม อัน ดีข องประชาชน" ก็ไ ด; จะไดห รือ ไมไ ดก็ล องพิจ ารณาดู วา ศีล ธรรม อันดีของประชาชนนั้น มันมีขอบเขตสูงขึ้นมาไดเพียงไหน. เมื ่ อ พู ด ถึ ง เรื ่ อ ง นี ้ ก็ ต  อ ง ดู ถ ึ ง สิ ่ ง ที ่ เ รี ย ก ว า ก า รง า น ห รื อ สิ่งที่เปน หนา ที่ ที่จ ะตอ งทํา . การงานสว นตัว ก็มี, การงานเพื่อ สว นรวมก็มี, งานอดิเรกก็มี, งานจําเปนเปนหนาที่เต็มรูปเต็มแบบก็มี; แลวทุกคนมีหนาที่ จะต อ งทํา การงาน. เพราะว า ชี วิ ต ก็ คื อ การงาน, ถ า ไม มี ก ารงานแล ว ก็ ไมควรจะเรียกวาชีวิต หรือวามีชีวิต แตท ีนี ้เ มื ่อ ทํ า การงานนี ้ บุถ ุช น เขาทํ า ดว ยความมุ ง หมาย อยา งหนึ ่ง ; ถา พระอริย เจา ก็ทํ า ดว ยความมุ ง หมายอีก อยา งหนึ ่ง . แมก าร ปฏิบัติศีลธรรม ก็ตองเรียกวาการงานเหมือนกัน เรียกวาหนาที่เหมือนกัน. ฉะนั้น ศีล ธรรมของบุถ ุช นก็เ ปน อยา งหนึ ่ง , ศีล ธรรมของพระอริย เจา ก็เ ปน อีก อยางหนึ่ง; ตางกันโดยที่เอาความมุงหมายนั่นแหละ เปนเกณฑสําหรับแบง กัน คือมันมี motive ที่ตางกัน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ศี ล ธ ร ร ม ข อ ง บุ ถ ุ ช น ก็ ม ี motive คื อ ค ว า ม เห็ น แ ก ต ั ว ; ความเห็น แกตัว กู - ของกู มัน เปน motive ทํา ใหบุถุช นปฏิบัติศีล ธรรม; จะเปนเรื่องตัวกู - ของกูอยางเลว, หรือตัวกู - ของกูอยางดี, หรือตัวกู - ของกู

www.buddhadassa.in.th


สิ่งกระตุน และอานิสงสของศีลธรรม

๔๖๑

อยางดีที่สุด ก็ตองเรียกวามีความเห็นแกตัวทั้งนั้นแหละ. แตวาความเห็นแกตัว เพื่อตัวกู เพื่อของกูนี้ มันยังขยายออกไปได; เชนวา :เห็นแกปากแกทอง แลวก็ทนปฏิบัติศีลธรรม, เห็นแกเงินทอง ทนปฏิบัติศีลธรรม, เห็นแกบุตร ภรรยา สามี ก็ทนปฏิบัติศีลธรรม, หรือ แมที่สุด แตวา เห็น แกอํา นาจ อยากจะมีอํา นาจ เกีย รติย ศ ชื่อ เสีย ง ก็ป ฏิบัติธ รรมปฏิบัติศีล เพื่อ จะมีเกีย รติสูง สุด ในทางเปน ผูสั่ง สอน ซึ่งเปนเรื่องของตัวกูเห็นแกตัว ก็ทนปฏิบัติธรรม. อยากจะพู ด ว า แม ที่ สุ ด แต วา เห็ น แก บิ ด ามารดา ครูบ าอาจารย ประเทศชาติ ศาสนา หรือเห็นแกหนาที่ ที่เขามอบหมายใหอยางนี้ ก็ทนปฏิบัติ ธรรม. นี้ ยั ง ต อ งเรีย กว า เป น เรื่ อ งของความเห็ น แก ตั ว หรื อ ของตั ว เช น บิ ด า มารดาของเรา ครูบ าอาจารยของเรานี้ ประเทศชาติ ของเรานี้ มั น ก็ ยั งอยูใน ประเภทที่เรียกวา ตองทําไปดวยความเห็นแกตัวหรือของตัว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ฉ ะ นั ้ น ศี ล ธ ร ร ม ข อ ง ปุ ถ ุ ช น จึ ง มี ตั ้ ง แ ต อ ย า ง ต่ํ า ขึ ้ น ม า จนกระทั่งวาไมต่ํา : ทําเพื่อ บิดามารดา ครูบาอาจารย ประเทศชาติ ศาสนา หนาที่ที่เขาบังคับมอบหมายให; อยางนี้ก็พอ, ก็เรียกวาปฏิบัติธรรม มีศีลธรรม ไดเหมือ นกัน . ถาเขากลัวบาป แลวก็ห ามา, โดยประพฤติ, กระทําถูกตอ ง, มันก็เปนศีลธรรมโดยสมบูรณ ; แมจะทําเพื่อปาก เพื่อทอง เพื่อเงิน เพื่อทอง เพื่อบุตร ภรรยา สามีมันก็เปนศีลธรรม.

www.buddhadassa.in.th


๔๖๒

อริยศีลธรรม

ที นี้ อี ก ประเภทหนึ ่ ง ไม ใ ช อ ย า งที ่ ก ล า วมานี ้ ; เป น อริ ย ศีล ธรรม ทํา เพื่อ ธรรม, เปน ไปดว ยธรรม; ตรงกัน ขา มกับ กลุม แรก ที่ทํา เพื่อตัวกู หรือทําดวยความรูสึกที่เห็นแกตัว. สวนชนิดที่ ๒ นี้ ทําดวยความ รูสึก ที่เ ห็น แกธ รรม; ถา อยา งนี้แ ลว กระโดดขึ้น ไปสูง ในทางสูง , ก็เ ห็น แกพระเจา หรือเห็นแกพระเปนเจา. ตามลัทธิศาสนาที่เขาถือพระเปนเจาเขาก็ ทําเพื่อพระเปนเจา เพราะวาเขาอุทิศชีวิตใหแกพระเปนเจา. ถ า ใ น ศ า ส น า พุ ท ธ เรา พ ร ะ เป น เจ า นี้ ก็ คื อ พ ระ ธ ร รม , พ ร ะ ธ ร ร ม อั น สู ง สุ ด พ ร ะ ธ ร ร ม ใ น ฐ า น ะ ที่ เ ป น ก ฎ เ ก ณ ฑ ข อ ง สิ่ ง ทั้ง ปวง พระธรรมที่เ ปน ระเบีย บแบบแผน เปน ความถูก ตอ งดีง ามตา ง ๆ. หรื อ จะเรี ย กว า พระพุ ท ธ พระธรรม พระสงฆ ก็ ไ ด . ทํา เพื่ อ เห็ น แก พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ เพื่อบูชาพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ อยางนี้ มันไมใชเห็นแกตัว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org แล ว ยั ง อ า จ จ ะ แ ย ก อ อ ก ไป ว า ทํ า เพื ่ อ เห็ น แก ม นุ ษ ย ช าติ หรื อ มนุ ษ ยภาวะ หรื อ ว า อุ ด มคติ ข องมนุ ษ ยชาติ ; เพราะว า ถ า อยากจะ เปนมนุษย เราตองทําใหตรงตามความหมายของคําวามนุษย.

เราต อ งทํ า อย า งไร? คื อ มี จ ิ ต ใจสู ง แต ไ ม ว กมาเพื ่ อ เห็ น แก ตั ว เพื่ อ ประโยชน ล าภผลอะไร. อี ก ชั้ น หนึ่ ง ก็ ยั ง คงบู ช าอุ ด มคติ ของความเกิดมาเปนมนุษย, ก็จะทําอยางมนุษย มีความหมายอยางมนุษย; หรือวาคนบางพวกเขาอยากจะทําเพื่อโลก เปนสวนรวม เขาประพฤติความดีความ งาม, ประพฤติธรรมทั้งหลาย เพื่อประโยชนแกโลกเปนสวนรวมก็ได.

www.buddhadassa.in.th


สิ่งกระตุน และอานิสงสของศีลธรรม

๔๖๓

ถา เขาถือ หลัก วา "สัต วทั ้ง หลายเปน เพื ่อ นทุก ข เกิด แก เจ็บ ตาย ดว ยกัน ทั้ง หมดทั้ง สิ้น ; อยา งนี้ เขาทํา เพื่อ สัต วทั้ง หลาย อยา งนี้มัน ก็ เปนชั้นที่ทําไปเพื่อธรรม, ไมใชเพื่อเห็นแกตัว. ห รื อ จ ะ ว ก ก ลั บ ไ ป เป น มี ต ั ว ; ก็ ม ี ต ั ว ธ ร ร ม : มี ธ ร ร ม ะ เป น ตน มี ต นเป น ธรรมะ, อย า งนี้ ก็ เ ลยไม ใ ช ตั ว กู - ของกู อ ย า งพวกแรก นี้มันเปนตนหรือธรรม, เปนธรรมคือตน; เห็นแกธรรมที่เปนตน แลวจึงปฏิบัติ ศีลธรรม อยางนี้ก็ตองจัดไวในประเภทที่เปนศีลธรรมของพระอริยเจา. ฉะนั้น ขอใหม องดูวาการจะมีศีล ธรรมนั้น มัน มีไดดวยเหตุอ ะไร ดวย motive อะไร? มันมีอยูเปนชั้น ๆ อยางนี้ : อยางบุถุชนธรรมดา ก็ตอง เห็ น แก ตั ว , ถ า อย า งพระอริ ย เจ า ก็ เ ห็ น แก ธ รรม. แต แ ม ว า จะเป น เรื่ อ งที่ เห็นแกตัว มันก็ยังแยกออกไปไดวาตัวชนิดไหน, เห็นแกโลกก็ยังแยกออกไป ไดวา เปนโลกชนิดไหน, เห็นแกธรรม ก็ยังแยกออกไปวาเปนธรรมชนิดไหน ธรรมแทหรือวา ธรรมที่วาเหอ ๆ ตาม ๆ กันไป.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทั ้ ง หมดนี ้ เ ราเรี ย กว า เครื ่ อ งดลบั น ดาล ให เ กิ ด การปฏิ บ ั ติ ธรรม. ถา เปน ปญ หาสว นเรามีอ ยู ก็ส ะสางใหดี; แลว นอกจากนั้น ก็ชว ย กัน แกไ ข หรือ วา ปรับ ปรุง สง เสริม ที่เ กี่ย วกับ ของผูอื่น ใหมัน ดีต าม ๆ กัน ไปดว ย ชว ยกัน ทํา ใหโ ลกนี้มีศีล ธรรม. ทั้ง หมดนี้เ ปน การแสดงถึง motive โดยตรง. .…

.…

....

.…

www.buddhadassa.in.th


๔๖๔

อริยศีลธรรม

ที นี ้ เ ร า จ ะ ดู ก ั น บ า ง ถึ ง สิ ่ ง ที ่ เ รี ย ก ว า motive แ ต เป น ชนิ ด โดยอ อ ม. ขอ นี ้อ าตมาไดก ลา วมาแลว วา เราตอ งดูถ ึง ประโยชนห รือ อานิส งสข องความมีศีล ธรรม โดยรวม ๆ กัน ไป. ถา มองเห็น อานิส งสข อง ศีล ธรรมแลว ความมองเห็น อัน นั้น จะเปน motive ที่ทํา ใหอ ยากประพฤติ ธรรม. ถ า เกี่ ย วกั บ เรื่ อ งยุ ง ยากลํา บากของประเทศชาติ เดี๋ ย วนี้ ก็ ไปดูที่วิกฤติการณหรือวาความชั่วรายทั้งหลาย. แลวก็มองตอไปถึงวา ความ ชั่ ว ร า ยเหล า นี ้ ไม ม ี ท างจะขจั ด ออกไปได โ ดยวิ ธ ี อื ่ น นอกจากการมี ศี ล ธรรม คื อ ทํ า ให ศี ล ธรรมกลั บ มา: เราก็ จ ะได รั บ ประโยชน สุ ช ก็ เ กิ ด กระตือรือรนในกาทีจะประพฤติศีลธรรม หรือวาจะชักชวนซึ่งกันและกันตักเตือน ซึ่งกันและกน ใหประพฤติศีลธรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org จะยกตัว อยา งก็ไ ด มัน ก็เปน การพูด ทบทวนถึง สิ ่ง ที ่ล ว งมาแลว

เชนวา:-

ถาเราอยากจะใหการศึกษาของยุวชน ไมเหลวเปว อยางเดี๋ยวนี้ ก็ตองจัดใหการศึกษานี้เปนตัวศีลธรรม หรือประกอบอยูดวยศีลธรรม. หรื อ ว า ถ า เราจะไม ใ ห สื่ อ มวลชนทั้ ง หลายทุ ก ชนิ ด เดี๋ ย วนี้ ที ่ ทํ า การสื ่ อ อยู  นี ่ เป น สื ่ อ มวลชนที ่ โ ปรยยาพิ ษ โปรยเชื ้ อ โรค สร า ง

www.buddhadassa.in.th


สิ่งกระตุน และอานิสงสของศีลธรรม

๔๖๕

ความเสพติดในทิฎฐิ สัทธิความคิด ความเห็น สรางความริษยาอาฆาต หรือวา อ ย า งน อ ย ก็ เ ป น เพ อ เจ อ ; ก็ ต  อ งทํ า ให สื ่ อ ม วล ชน ทั ้ ง ห ล าย เห ล า นั ้ น ประกอบไปดว ยศีล ธรรมกัน เสีย กอ น คือ วา บรรจุศีล ธรรมเขา ไปในสถาบัน ของสื่อมวลชนเหลานั้น. หรือ วา จะดูไ ปถึง ความลม เหลว ที่กํา ลัง ลม เหลว ลม เหลวเลา อยูในทางเศรษฐกิจ ทางการเมือง ทางการทหาร ทางการกสิกรรม อุตสาหกรรม อะไรก็ ต าม กี่ ช นิ ด ก็ ต าม นี ้ ม ี ค วามล ม เหลว ก็ เ พราะว า คนที ่ เ กี่ ย วข อ ง ทุก ฝา ย ไรศ ีล ธรรม. ลองมีศ ีล ธรรมแลว สิ ่ง เหลา นี ้จ ะดีจ ะถูก จะเจริญ พรึ บ ขึ้ น มาที เ ดี ย ว; อย า งเรื่ อ งเศรษฐกิ จ เป น ต น เรามี ก สิ ก รดี มี ช าวนาดี มีพอคาดี มีเจาหนาที่ดี อะไรดี มีศีลธรรม เทานั้นแหละ มัน ก็ห มดปญ หา; เดี๋ยวนี้มันมีแตเพิ่มปญหา. ทีนี ้ดูไ ปถึง การที ่เดี ๋ย วนี ้ มัน มีป ญ หาเรื่อ งพูด กัน ไมรูเรื่อ ง ตกลง กันไมได แมในขอบเขตแคบๆ ในครอบครัวก็ดี ในบานเมืองก็ดี ในประเทศก็ดี ไมตองพูดถึงทั้งโลกดอก; มันพูดกันไมรูเรื่อง เพราะตางฝายตางไมมีศีลธรรม, หรือ วา เขามีศีล ธรรมแบบใหมข องเขาเอง วา "ได" นั่น เปน ดี, ไดเ ปรีย บ นั ่น แหละคือ ดี; ฉะนั ้น ไดเ ปรีย บขา งเรา นั ่น แหละคือ ศีล ธรรมของเรา. อยาออกชื่อคนที่กลาวเลย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เมื ่อ เร็ว ๆ นี ้ม ีค นสูง สุด ของโลกกลา วอยา งนี ้ วา ถา ขาไมฆ า คนเหลา นั ้น เสีย แลว เขาก็ไ มชื่อ วา มีศ ีล ธรรม; เขาพูด อยา งนี ้ เพราะวา ระบบศีลธรรมมันเปลี่ยน.

www.buddhadassa.in.th


๔๖๖

อริยศีลธรรม

เดี๋ย วนี้เ ราจะมองกัน ตามตรง, ตรงไปตรงมา วา การที่พูด กัน ไม รู เ รื่ อ ง; เพราะทุ ก ฝ า ยขาดศี ล ธรรม. ที่ นี้ ต า งมี เ สรี ภ าพในการกอบโกย มั น ก็ มี แ ต วิ ก ฤติ ก ารณ ; ถ า พอศี ล ธรรมเข า มา อั น นี้ จ ะหายไป; ฉะนั้ น เราจึ ง กระหาย อยากที่จะใหมีศีลธรรมขึ้นมา เพื่อขจัดปญหาอันนี้. ตัวอยางที่นาหวัวอีกอยางหนึ่ง ที่อาตมาอานมาจากหนังสือพิมพ, ผูมีปญ ญาเขาพูดกันวา ของแพงทําใหสุขภาพจิตของแมบานเสื่อมลงไป; แต ทําไมเขาไมกลาพูดวา ถาของถูกจะทําใหสุขภาพจิตดีขึ้น. มันตลบแตลงอยางนี้; เพราะไดของถูก มันก็ไมทําใหสุขภาพจิตของแมบานดีขึ้น. เขาพู ด เอาข า งเดี ย วว า ของแพงแพงขึ้ น ทุ ก ที สุ ข ภาพจิ ต ของ แม บ านมั น ก็ เสื่ อ ม; จะเป น โรคประสาทบ าง, อะไรบ าง, อย างนี้ ไม ยุ ติ ธ รรม. เพราะว า ไม ม ี ศี ล ธรรมต า งหากเล า ที ่ จ ะอดกลั้ น อดทน, หรื อ จะแก ไ ข หรือจะอะไรตาง ๆ นั่นตางหาก. สุขภาพจิตจะอยูไดหรืออยูดี เพราะมีศีลธรรม. ของจะถูกหรือแพง มันอยูที่วามีศีลธรรมหรือไมมีศีลธรรมตางหาก; เดี๋ยวนี้เรา มันมองกันแตเรื่องวัตถุ วัตถุเขาตา มองอื่นไมเห็น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org .…

.…

....

.…

ที นี ้ อ ยากจะขอพู ด ต อ ไปถึ ง ว า เรื่ อ งศี ล ธรรมนี ้ ยั ง มี อ ะไร ลึ ก ไปกว า นั้ น มาก จะไม เ ล็ ง กั น แต เ พี ย งเรื่ อ งทางวั ต ถุ , ต อ งเล็ ง ไป ถึงเรื่องทางจิตใจ.

www.buddhadassa.in.th


สิ่งกระตุน และอานิสงสของศีลธรรม

๔๖๗

ศีลธรรมทางจิตใจนั่นแหละ เปนตัวแทของศีลธรรม. ถามีศีลธรรม. แล ว จะแก ป  ญ หาทางจิ ต ใจได คื อ มี จ ิ ต ใจเข ม แข็ ง เหนื อ การบี บ คั ้ น ของ วัตถุ. ปญหาทางวัตถุก็ทําอะไรไมได, หรือทําไดก็นอยมาก;แปลวาถึงอยางไร เขาก็ยังทนได ไมเปนโรคประสาท.

ที นี ้ อ ย า ก จ ะ พู ด ไ ป ถึ ง สิ ่ ง ที ่ กํ า ลั ง แ ต ก ตื ่ น กั น อ ยู  เ ว ล า นี้ คือสิ่งที่เรียกวาสมาธิ. ฝรั่ง เขาก็แ ตกตื ่น เรื่อ งสมาธิ ทุก คนที ่ม าที ่นี ่ จะถามหาเรื่อ ง สมาธิ; แตยัง เปน ที่ส งสัย วา เขาเขา ใจหรือ รูจัก สมาชิก โดยแทจ ริง หรือ ไม? ที่จริงเรื่องนี้สําคัญมาก มันมีประโยชนมาก. อาตมาจะขอโอกาสพูด ใหฟง แตไ มเ ชื่อ วา ทา นทั้ง หลายจะเชื่อ อยางที่อ าตมาพูด วา จิต ที่อ บรมใหเปน สมาธิดีแ ลว วัน นี ้ จะแกปญ หามาก เหลือ เกิน คือ มัน จะอยูเหนือ ความรูส ึก ทั ้ง ปวง ที ่เขาเปน ทุก ข เราไมเปน ทุก ข, ที่เขารองไห เราก็ไมรองไห, ที่เขาจะรัก เราก็ไมรัก, ที่เขาจะหลงเราก็ไมหลง, ถาวาจิตถูกควบคุมไวดี อยางที่เรียกวาเปนสมาธิ; นี้จะแกปญหาทางศีลธรรม มากถึงขนาดนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สิ ่ ง ที ่ จ ะเรี ย กโดยชื ่ อ สั ้ น ๆ ว า รส ช าติ ข องสม าธิ มั น เป น ผลเลิศทางศีลธรรม ในทางฝายจิต จะแยกออกเปน ๒ ฝาย:-

www.buddhadassa.in.th


๔๖๘

อริยศีลธรรม

ข อ ที ่ ๑. ร ส ช า ติ ห รื อ ป ร ะ โ ย ช น ห รื อ อ า นิ ส ง ส ข อ ง สมาธิที่เปนเรื่องธรรมดาสามัญที่สุด ก็มีอยูแผนกหนึ่ง; เชนวาถามีสมาธิแลว เด็ก ๆ ก็จะเรียนดี คิดเกง จําเกง. แมผูใหญก็เหมือ นกัน จะเสวยสุขชนิด ที่ ไมตองลงทุนดวยสตางคแพง, จะเสวยความทุกขที่ไมทําลายเศรษฐกิจของประเทศ ชาติ, จะเปนคนที่มีสมรรถภาพทางจิตสูง ในการทํางาน ในการเจ็บไข การ ปองกันโรค การตอสูทั้งหลาย ทั้งหมดนี้เรียกวาประโยนชนอยางธรรมดาสามัญ เทานั้น ใคร ๆ ก็พอจะมองเห็น. ขอ ที่ ๒. ทีนี้ที่อ ยากจะพูด ที่วา ไมมีใ ครเชื่อ นั้น คือ วา อํา นาจ ของความเปนสมาธินี้จะแกปญหา อยางที่วาปญหาอาชญากร หรือ อาชญากรรม ทั ้ ง หลายได ; ถ า ทํ า สมาธิ เ ป น ,ได รั บ รสของสมาธิ จ ริ ง . มั น จะพอใจ ในความสุข ที่เ กิด จากสมาธิ ยิ่ง กวา ความพอใจในความสุข อยา งอื่น . มีค น เริ่ม มองเห็น ขอ เท็จ จริงอัน นี้ แลวเขาก็เขีย นออกมา: อาตมาก็เห็น ดวย. ยก ตัวอยางวาคนที่ติดเฮโรอีน ใหเขากินยาระงับไปได; แตเสร็จแลวมันก็ยังกลับ ยอ นไปเสพเฮโรอีน อีกเมื่อ ไดโ อกาส. ทีนี้ห มอคนหนึ่ง เขาฉลาดกวา คนธรรม เขาใหทําสมาธิ ชนิดที่พอสําเร็จแลว รูสึกเปนความสุขอยางยิ่ง. นักเสพเฮโรอีน เมื่อกินยาแลว สลัดเฮโรอีกออกไปไดชั่วคราว แลวก็มางวนอยูกับการเสวยสุข เกี่ยวกับสมาธิแมไปเจอะเจอเฮโรอีนเขาอีก มีโอกาสจะสูบอีก มันก็ไมสูบ เพราะ สุขนี้อรอยกวา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org พูด กัน ตรง ๆ สั้น ๆ ก็คือ อยา งนี้ คือ วา รสของสมาธินี้ อาจ จะครอบงํารสของสิ่งเสพติดมึนเมา : สุรา ยาฝน กระทั่งเฮโรฮีน เปนตนได;

www.buddhadassa.in.th


สิ่งกระตุน และอานิสงสของศีลธรรม

๔๖๙

ถา รูจัก ใชใ หเ ปน ประโยชน. เรื่อ งการมีส มาธินี้ก็ตอ งสงเคราะหไ วใ นเรื่อ ง ของศีลธรรม มัน ยัง มีเ รื่อ งอื่น มากไปกวา นั้น อีก ; โดยเฉพาะอยา งยิ่ง ก็เ รื่อ ง บาหลังในทางกามารมณอยางที่เขาเรียกวาอึดอัดกลัดมันอะไรก็ตาม. จะเปน คนหนุ ม หรือ คนแก ที ่ม ีค วามอึด อัด ในทางกามารมณเ มื ่อ ไดอ าศัย รสของ สมาธิเขามาเกี่ยวของ; นี้ก็จะคลายความอึดอัด, หรือจะชนะไดโดยเด็ดขาด. ที ่ผู ฟ ง จะไมเ ชื ่อ ยิ ่ง ขึ ้น ไปอีก ก็ค ือ วา พวกอัน ธพาล เปน ฝูง ๆ ตามถนนหนทางที่ ก รุ ง เทพฯหรื อ ที่ ไ หนก็ ต าม; ถ า เขาทํา สมาธิ ไ ด , รู จั ก รสของสมาธิ , มั น จะคลายความเป น อั น ธพาล. รสของสมาธิ ใ ห ค วาม พักผอน ใหความพอใจ ยินดี เสียสละ แมแตจะอดมื้อกินมื้อ มันก็ยังสมัครที่จะ กินรสของสมาธิ ความเปนอันธพาลจะละลายไป.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ห รื อ ว า ก ารที ่ ส ต รี จ ะต อ งไป ห าอ าชี พ ท างโส เภ ณี เพ ราะ ความบีบ คั้น ทางจิต ใจเปน สว นใหญ; ถา มีร สของธรรมะเขา ไปชว ยใหพน จากความบีบ คั้น อัน นั้น แลว ยัง มีกํา ลัง ใจที่จ ะอดทนความยากจน อดกลั้น อดทนตอความเหน็ดเหนื่อย; แลวก็จะไปประกอบอาชีพที่ไมผิดศีลธรรมได.

กระทั่งวาคนจะฆาตัวเอง ทํา ลายชีวิต ตัวเองอยา งนี้ เพราะเปน คนโง ม ี ค วากลั ด กลุ  ม ; ถ า เคยรู ร สของธรรมะแล ว จะไม ม ี ค วามคิ ด เดิ น ไปในทางนั ้ น . หรื อ ถ า ในขณะที่ จ ะฆ า ตั ว เองนี้ . มี โ อกาสที ่ ไ ด ชิ ม รส ของพระธรรมของสมาธิ เขาก็จะหยุดการฆาตัวเอง.

www.buddhadassa.in.th


๔๗๐

อริยศีลธรรม

สรุ ป ความว า การที่ มี ค วามคิ ด จะทํา ความชั่ ว ช า อะไรต า ง ๆ นั ้ น จะหยุ ด ได ถ า เกิ ด ไปได กิ น หรื อ ได ชิ ม รสของพระธรรม ที ่ อ ยู ใ นรู ป แหง รสของสมาธิ ฉะนั้น อาตมาจึง สรุป ความในขอ นี้วา ผลเลิศ ของศีล ธรรม ทางจิต จะแกปญหาอันธพาลตาง ๆ ได อยางที่พูดแลวจะไมมีใครเชื่อ. .…

.…

....

.…

ที นี้ จะดู ป ระโยชน ข องศี ล ธรรมต อ ไปอี ก บางอย า งเท า ที่ เวลา อํานวยอยูนิดหนอยวาศีลธรรมนั้น ถาถือตามหลักของพระศาสนาทุก ๆ ศาสนาแล ว ก็ มี ลั ก ษณะเป น สั ง คมนิ ย ม คื อ เห็ น แก ตั ว ไม ไ ด นี้ พู ด กันตามความหมายของศาสนา. ถา ไมเ ห็น แกต ัว เราก็เ รีย กวา เห็น แกผู อื ่น , ถา เห็น แกผู อื ่น ก็ เรียกวา สังคมนิยม. ระบบศีลธรรมทั้งหลาย ไมวาระบบไหนของศาสนาไหน จะเปน ระบบที ่เ ห็น แกผู อื ่น ทั ้ง นั ้น จึง เปน สัง คมนิย ม; ฉะนั ้น ธาตุแ ทข อง ศีล ธรรม ก็ค ือ สัง คมนิย ม. เมตตาเปน เบื ้อ งหนา , เห็น แกผูอื ่น กอ นที ่จ ะ เห็นแกตัว, หรือวาเห็นพรอมกันเปนอยางนอย จะไมเห็นแกตัวขางเดียว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อย า ลื ม ประโยคที่ ว า "สั ต ว ทั้ ง หลายเป น เพื่ อ นทุ ก ข เกิ ด แก เจ็บ ตาย ดว ยกัน ทั ้ง หมดทั ้ง สิ ้น " เปน อุด มคติข องทุก ๆ ศาสนา และโดย เฉพาะอย า งยิ่ ง ก็ ค ื อ พุ ท ธศาสนา; ความรู ส ึ ก อย า งนี ้ เป น สั ง คมนิ ย ม; ไมใชเสรีนิยม อยางที่เขาพูดกัน เสรีนิยมนั้นแยกทางไปตามความตองการของ กิเลสไมตอ งคํา นึง วา เขาวา เราอะไร เมื่อ ศีล ธรรมเปน สัง คมนิย มอยา งนี้แ ลว ก็ไมสรางปญหาขึ้นมาในโลก.

www.buddhadassa.in.th


สิ่งกระตุน และอานิสงสของศีลธรรม

๔๗๑

เดี๋ ย วนี้ โ ลกมี ป ญ หาใหญ หลวง ยื ด เยื้ อ เรื้ อ รั ง ไม รู จั ก จบ ก็ คื อ ปญ หาระหวา งคนมั่ง มีกับ คนยากจน ที่เราเรีย กวา นายทุน กับ ชนกรรมาชีพ . ถามีศีลธรรมในโลก โลกเปนสังคมนิยม ก็ไมสรางนายทุน ไมสรางชนกรรมาชีพ. พิ จ า ร ณ า ดู น ิ ด เ ดี ย ว ก็ เ ห็ น ว า น า ย ทุ น นี ้ ก ็ ไ ม ม ี ศ ี ล ธ ร ร ม . เพราะว า นายทุ น เป น ทาสของกิ เ ลส เป น ทาสของอบายมุ ข ทั ้ ง ๖ : ดื ่ ม น้ํ า เมา เที ่ย วกลางคืน ดูก ารเลน เลน การพนัน คบคนชั่ว เปน มิต รเกีย จครา น การทํางาน นี้; แตมันมีความหมายอีกระดับหนึ่ง. ส ถ า น เ ริ ง ร ม ย ม ห า อ บ า ย มุ ข ทั ้ ง ห ล า ย เ ข า ส ร า ง เ พื ่ อ นายทุน , หรือ สรา งโดยนายทุน และเพื ่อ นายทุน มัน เปน อบายมุข ระดับ สูง ; แปลวา นายทุน ทั ้ง หลาย ก็เ ปน ทาสแหง อบายมุข ไมม ีศ ีล ธรรมนี ้.กรรมกร ทั ้ง หลายก็เ ปน ทาสแหง อบายมุข อยา งเดีย วกัน แตใ นอีก ระดับ หนึ ่ง ก็เ ลย ไมมีศีลธรรม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถ า ม ีศ ีล ธ ร ร ม จ ะ ไ ม เ ก ิด น า ย ท ุน แ ล ะ จ ะ ไ ม เ ก ิด ช น ก ร ร ม า ชี พ ; คื อ จ ะ เกิ ด ค น ดี ๆ เส ม อ กั น ไ ป ห ม ด ; แ ม จ ะ มี เ งิ น ท อ ง มากน อ ยต า งกั น มั น ก็ ไ ม มี ค วามหมายเป น นายทุ น หรื อ เป น ชนกรรมาชี พ ได ; เรียกวาศีลธรรมจะขจัดปญ หาชนกรรมาชีพหรือนายทุน ออกไปเสียไดจากโลกนี้. ถาเรามองเห็นอยางนี้ คงจะตาโพลงขึ้นมาบาง วาชวยกันระดมใหเกิดสิ่งที่เรียกวา ศีลธรรมขึ้นมาในโลก. .…

.…

....

.…

www.buddhadassa.in.th


๔๗๒

อริยศีลธรรม

ขอสุดทายก็อยากจะพู ดอยางที่ไมมีใครเชื่ออีกตามเคยวา ศีล ธรรม เท า นั ้ น แ ห ล ะ ไ ม ต  อ ง มี อ ย า ง อื ่ น อี ก จ ะ ส ร า ง ร ะ บ บ พ ร ะ ศ รี อ า ริ ย เมตไตรยขึ ้ น มาในโลกนี ้ ก ็ ไ ด ในพริ บ ตาเดี ย ว, ถ า ว า มี ศ ี ล ธรรมได ใ น พริบ ตาเดีย ว. จะตอ งมีศ ีล ธรรมกอ น จึง จะมีร ะบบพระศรีอ าริย เมตไตรย ขึ้น มาได . ถ าสมมติ วาสรางศี ล ธรรมขึ้ น มาได ในโลกนี้ ในพริบ ตาเดี ย ว ; ระบบ พระศรีอาริยเมตไตรย ก็จะโพลงขึ้นมาในโลกนี้ ในพริบตาเดียวดวยเหมือนกัน. ศี ล ธ ร ร ม ต า ม ห ลั ก พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า เ ป น สั ง ค ม นิ ย ม จั ด คื อ ไ ม เ ห็ น แ ก ต ั ว เ ห็ น แ ก ผู  อื ่ น แ ก ท ุ ก ค น แ ล ว ป ร ะ ก อ บ อยูดวยธรรมะ คือความถูกตอง. นี ้ ห ม าย ค วาม ว า เห็ น แ ก ส ั ง ค ม เห็ น อ ย า งถู ก ต อ ง แล ว ยั ง มีล ัก ษณะเผด็จ การ ; เหมือ นพระพุท ธเจา เมื ่อ ทา นจะปฏิบ ัต ิอ ะไรลงไป ท า นปฏิ บ ั ต ิ อ ย า งเผด็ จ การ คื อ ไม ม ั ว รี ร อชั ก ช า อยู  ให ธ รรมะเผด็ จ การ ใหค วามถูก ตอ งเผด็จ การ; ไมใ ชป ระชาธิป ไตยเพอ เจอ ใครทํ า อะไรก็ทํ า ได. ผลแหงศีลธรรม อาจจะนํามาซึ่งระบบพระศรีอาริยเมตไตรย พระศรีอาริยก็เรียกกัน สั้ น ๆ ; ได ใ นพริ บ ตาเดี ย ว. ถ า ใครมองเห็ น อย า งนี้ จ ริ ง ๆ มั น เกิ ด motive อั น ใหญหลวง คือกระหายที่จะมีศีลธรรมขึ้นมา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เดี ๋ ย วนี ้ เ ขาก็ ไ ม เ ชื ่ อ ว า มั น จะมี อ ย า งนี ้ ไ ด ; แล ว บางที เ ขาจะ คิ ด เสี ย ว า สู  ร ะ บ บ วั ต ถุ น ิ ย ม ก า ม า ร ม ณ  ไ ม ม ี ข อ บ ขี ด นี ้ ไ ม ไ ด แ ม ใ น ระบบพระศรีอริยเมตไตรย ก็ยังสูระบบวัตถุนิยม แหงโลกปจจุบันนี้ไมได; ถาเขา

www.buddhadassa.in.th


สิ่งกระตุน และอานิสงสของศีลธรรม

๔๗๓

คิด เสีย อยางนี้ เขาเชื่อ อยางนี้ แลว มัน ก็ห มดหนทางเหมือ นกัน . มัน ก็ตอ งมี ศีล ธรรมตามแบบของพวกวัตถุนิย ม ก็เรียกวาชวยไมได พระเจาก็ชวยไมได ใคร ๆ ก็ชวยไมได; เพราะมนุษยไมยอมรักตัวเอง ไมยอมเคารพนับถือตัวเอง มันก็ชวยไมได. นี้คือ อานิส งสข องศีล ธรรม ที่จ ะทํา ใหเ กิด ความสงบสุข สัน ติสุขอันถาวร; ใครมองเห็นแลว จะเกิดความกระหายกระตือรือรน ที่จะปฏิบัติ ธรรม; อาตมาจึงเรียกวา motive แหงศีล ธรรมโดยออ ม; คือ วาตองมองไป ๒ ชั้น , หรือตองกระทําไป ๒ ชั้น จึงจะไดผลอันนั้น. ถ า โดยตรงเราก็ เ ห็ น อยู เช น เรากลั ว ตํา รวจจั บ เรามี ศี ล ธรรม นี้มัน ก็เห็น ชัด ๆ อยูค วามกลัว ตํา รวจจับ มัน ก็เปน motive ที่ทํา ใหป ระพฤติ ศีลธรรม; นี่เรียกวา motive โดยตรงเปนตัวอยาง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org รวมความแลว ก็ว า motive เพื ่อ ศีล ธรรมนี ้ม ีทั ้ง อยา งโดยตรง และอย างโดยอ อม แล วก็ ต อ งมุ งหมายจะใช อ ะไรรวม ๆ พรอ มกั น ไป ทั้ ง ๒ ประเภท ก็จะเปนผลดี .…

.…

....

.…

ในที ่สุด นี ้ ขอใหท บทวนวา เรื่อ งอริย ศีล ธรรม ไดบ รรยายมา จนครบ ๑๓ ครั้งในครั้งนี้ลวนแตพิจารณากันโดยละเอียด ในแงมุมตาง ๆ เทาที่ จะพิจารณาได, ลวนแตเกี่ยวกับ ปญ หาทางศีลธรรมทั้งนั้น. ฉะนั้น จึงหวังวา

www.buddhadassa.in.th


๔๗๔

อริยศีลธรรม

ท า นทั ้ ง หลาย จะได เ อาไปพิ จ ารณ าดู จะใช ป ระโยชน ไ ด อ ย า งไร แก ตนเองหรือ แกผู อื ่น แลว ก็ช ว ยกัน ใช คือ ทํ า ใหม ัน มีขึ ้น มา ; แลว ก็ สอน เด็ก เล็ก ๆ ยุว ชนทั ้ง หลายใหเ ขารูจัก สิ ่ง นี ้. แลว ก็ อยา ลืม วา ไดข อรอ ง ไววา ถา ใครสามารถจะ จัด สรรคํา ใดคํา หนึ่ง ขึ้น มาใช แทนคํา วา บาป ที่เขาไมกลัวกันเสียแลวนั้น ใหเขาเกิดความรูสึกกลัวกันขึ้นมามาสักคําหนึ่ง; ขอนั้น จัดเปนรากฐานของ motive ที่ทําใหเกิดศีลธรรมอยางยิ่ง. อาตมาขอยุติการบรรยายชุดนี้ ซึ่งเปน ชุด สุด ทายของป. ตอจากนี้ ก็ จะหยุ ดการบรรยายวั นเสารไว ที ห นึ่ งก อ น เป นระยะเวลา ๓ เดื อ น ตลอดฤดู ฝน.ขึ้นเดือนมกราคม จึงคอยเริ่มกันใหมโดยชุดอื่น. เปนอันวาการบรรยายในวันนี้ ก็สิ้นสุดลง ดวยความสมควรแกเวลา แลว. ขอยุติไว เปนโอกาสใหพระสงฆทั้งหลาย สวดคณสาธยายบทพระธรรม ซึ่ง เปน motive หรือเปนเครื่องจรรโลงใจในการปฏิบัติธรรมดวยเหมือนกัน สืบตอไป ณ กาลบัดนี้. -----------------------

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadassa.in.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.