[Title will be auto-generated]

Page 1

บันทึก หนังสือชุด “ธรรโฆษณของพุทธทาส” เทาที่ไดจัดพิมพขึ้นไวในพระพุทธศาสนา มาจนถึงวันนี้ มีรายชื่อ และเลขหมายประจําเลม ดังนี้ :ลําดับพิมพออก ( ๑ ) ( ๒ ) ( ๓ ) ( ๔ ) ( ๕ ) ( ๖ ) ( ๗ ) ( ๘ ) ( ๙ ) ( ๑๐ ) ( ๑๑ ) ( ๑๒ ) ( ๑๓ ) ( ๑๔ ) ( ๑๕ ) ( ๑๖ ) ( ๑๗ ) ( ๑๘ ) ( ๑๙ ) ( ๒๐ ) ( ๒๑ ) ( ๒๒ ) ( ๒๓ ) ( ๒๔ ) ( ๒๕ ) ( ๒๖ ) ( ๒๗ ) ( ๒๘ ) ( ๒๙ ) ( ๓๐ )

ชือ่ หนังสือ พุทธประวัติจากพระโอษฐ อิทปั ปจจยตา สันทัสเสตัพพธรรม ธรรมบรรยายระดับมหาวิทยาลัย เลม ๑ พุทธิกจริยธรรม ขุมทรัพยจากพระโอษฐ โอสาเรตัพพธรรม พุทธจริยา ตุลาการิกธรรม มหิดลธรรม บรมธรรม ภาคตน บรมธรรม ภาคปลาย อานาปานสติภาวนา ธรรมปาฏิโมกข เลม ๑ สุญญตาปริทรรศน เลม ๑ คายธรรมบุตร ฆราวาสธรรม ปรมัตถสภาวธรรม ปฏิปทาปริทรรศน ธรรมบรรยายระดับมหาวิทยาลัย เลม ๒ สุญญตาปริทรรศน เลม ๒ เตกิจฉกธรรม โมกขธรรมประยุกต ศารทกาลิกเทศนา ศีลธรรม กับ มนุษยโลก๒ อริยศีลธรรม การกลับมาแหงศีลธรรม ธรรมสัจจสงเคราะห ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ ธรรมะกับการเมือง

เลขประจําเลม ๑ [พิมพถึงครั้งที่ ๑๑] ๑๒ [พิมพถึงครั้งที่ ๓] ๑๓ [พิมพถึงครั้งที่ ๒] ๓๖ ๑๘ ๓ [พิมพถึงครั้งที่ ๖] ๑๓ . ก [พิมพถึงครั้งที่ ๒] ๑๑ ๑๖ ๑๗ . ข ๑๙ [พิมพถึงครั้งที่ ๒] ๑๙ . ก [พิมพถึงครั้งที่ ๒] ๒๐ . ก [พิมพถึงครั้งที่ ๔] ๓๑ ๓๘ ๓๗ ๑๗ . ก [พิมพถึงครั้งที่ ๓] ๑๔ . ก ๑๔ ๓๖ . ก ๓๘ . ก ๑๗ . ง ๑๗ . ค ๒๖ ๑๘ . ข ๑๘ . ค ๑๘ . ก ๑๘ . ช ๔ [พิมพถึงครั้งที่ ๒] ๑๘ . จ

เยาวชนกับศีลธรรม

๑๘ . ง

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

( ๓๑ )

www.buddhadasa.in.th


ลําดับพิมพออก ( ๓๒ ) ( ๓๓ ) ( ๓๔ ) ( ๓๕ ) ( ๓๖ ) ( ๓๗ ) ( ๓๘ ) ( ๓๙ ) ( ๔๐ ) ( ๔๑ ) ( ๔๒ ) ( ๔๓ ) ( ๔๔ ) ( ๔๕ ) ( ๔๖ ) ( ๔๗ )

ชื่อหนังสือ เมื่อธรรมครองโลก ไกวัลยธรรม อาสาฬหบูชาเทศนา เลม ๑ มาฆบูชาเทศนา เลม ๑ พระพุทธคุณบรรยาย วิสาขบูชาเทศนา เลม ๑ ชุมนุมลออายุ เลม ๑ ธรรมบรรยายตอหางสุนัข เทคนิคของการมีธรรมะ อะไรคืออะไร ? ใครคือใคร ? อริยสัจจากพระโอษฐ ราชภโฏวาท กข กกา ของการศึกษาพุทธศาสนา ธรรมะเลมนอย ใจความแหงคริสตธรรมเทาที่พุทธบริษัทควรทราบ ธรรมปาฏิโมกข เลม ๒ หัวขอธรรมในคํากลอน และ บทประพันธ ของ “สิริวยาส” ฟาสางระหวาง ๕๐ ปที่มีสวนโมกข ตอน ๑ ฟาสางระหวาง ๕๐ ปที่มีสวนโมกข ตอน ๒ ชุมนุมปาฐกถาชุด “พุทธธรรม” สมถวิปสสนาแหงยุคปรมาณู นวกานุสาสน (เลม ๑) สันติภาพของโลก ธรรมะกับสัญชาตญาณ ธรรมศาสตรา (เลม ๑) อตัมมยตาประยุกต

เลขประจําเลม ๑๘ . ฉ ๑๒ . ก ๒๔ ๒๒ ๑๑ . ก ๒๓ ๔๒ . ก ๓๙ . ค ๓๗ . ก ๓๗ . ค ๓๗ . ข ๒ [พิมพถึงครั้งที่ ๒] ๓๙ . ง ๓๔ . ค ๔๐ ๔๔ . ก ๓๑ . ก

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ( ๔๘ ) ( ๔๙ )

( ๕๐ ) ( ๕๑ ) ( ๕๒ ) ( ๕๓ ) ( ๕๔ ) ( ๕๕ ) ( ๕๖ ) ( ๕๗ ) ( ๕๘ )

๔๒ . ค ๔๖ . ค ๔๖ . ง ๓๒ ๑๔ . ข ๓๙ ๑๘ . ซ ๑๕ ๔๐ . ก ๑๒ . ข

ผูบริจาคทรัพยในการพิมพ และผูรวมมือชวยเหลือทุกทาน ขออุทิศสวนกุศลแกสรรพสัตว ๓๑ สิงหาคม ๒๕๓๓ (โปรดชวยคาพิมพ อานาปานสติภาวนา เลมละ ๒๐๐ บาท)

www.buddhadasa.in.th


อานาปานสติภาวนา

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


อานาปานสติภาวนา พุทธทาสภิกขุ อบรมภิกษุ ณ สวนโมกข ฯ ในพรรษาป ๒๕๐๒

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ธรรมทานมูลนิธิ จัดพิมพดวยดอกผลทุน “ธรรมทานปริวรรตน” เปนอันดับที่สามแหงทุนนี้ เปนการพิมพครั้งที่ ๔ ของหนังสือชุดธรรมโฆษณ อันดับที่ ๒๐ ก. บนพื้นแถบสีแดง จํานวน ๒,๐๐๐ เลม พ.ศ. ๒๕๓๓ (ลิขสิทธิ์ไมสงวนสําหรับการพิมพแจกเปนธรรมทาน, สงวนเฉพาะการพิมพจําหนาย)

www.buddhadasa.in.th


คณะธรรมทานไชยา จัดพิมพ พิมพครั้งที่แรก พิมพครั้งที่สอง พิมพครั้งที่สาม พิมพครั้งที่สี่ พิมพครั้งที่หา พิมพครั้งที่หก พิมพครั้งที่เจ็ด พิมพครั้งที่แปด พิมพครั้งที่เกา พิมพครั้งที่สิบ

พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.

๒๕๐๓ ๒๕๐๖ ๒๕๐๗ ๒๕๑๐ ๒๕๑๕ ๒๕๑๖ ๒๕๑๘ ๒๕๒๓ ๒๕๒๘ ๒๕๓๓

๑,๐๐๐ เลม ๕๐๐ เลม ๑,๐๐๐ เลม ๘๐๐ เลม ๑,๐๐๐ เลม ๕๐๐ เลม ๑,๕๐๐ เลม (ชุดธรรมโฆษณ) ๑,๕๐๐ เลม (ชุดธรรมโฆษณ) ๑,๕๐๐ เลม (ชุดธรรมโฆษณ) ๒,๐๐๐ เลม (ชุดธรรมโฆษณ)

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


คํานํา (พิมพครั้งที่ ๘)

หนังสือ อานาปานสติภาวนา นี้ ไดจัดพิมพขึ้นดวยเงินทุนธรรมทานปริวรรตน ซึ่งเปนคําบรรยายของ “พุทธทาสภิกขุ”; จัดเปนหนังสือ ชุดธรรมโฆษณ หมายเลข ๒๐ ก. บนพื้นแถบสีแดง. คําบรรยายในเลมประกอบเปน ๓ ภาค : ภาคแรก เปนบุพพกิจ ขั้นตระเตรียมตัวเองและสิ่งแวดลอม กอนเริ่มภาวนา; ภาคที่สอง เปน ภาคภาวนา กลาวถึงการปฏิบัติโดยเลือกแนวจากอานาปานสติสูตร ซึ่งเปน พระสูตรที่พระพุทธเจากลาวถึงเรื่องนี้ไวอยางสมบูรณ ครบถวนมากกวา สูตรอื่นใดในพระไตรปฎก; ภาคที่สาม เปนบทผนวก ยกเอาหลักความรู และหลักฐานอางอิงเพื่อความแนใจ และเปนกําลังใจใหแกผูปฏิบัติ. หวังวาหนังสือนี้ จะเปนประโยชนในแงความรูที่ใชลงมือปฏิบัติ การงานทางจิต ชนิดที่เปนสัปปายะแกบุคคลทุก ๆ ประเภทของจริต.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ธรรมทานมูลนิธิ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๒๓

www.buddhadasa.in.th


สารบาญ เคาโครงตลอดสาย ภาคนํา ตอน ๑ การมีศีล และธุดงค …. …. …. …. …. …. …. …. …. ตอน ๒ บุพพภาคทั่วไป ของการเจริญสมาธิ …. …. …. …. …. …. ตอน ๓ ความมุง หมายอันแทจริงของบุพพกิจ …. …. …. …. ….

๑ ๕ ๑๗

…. …. …. ….

๒๘

ตอน ๔ บุพพกิจโดยเฉพาะของการเจริญสมาธิ

๖๖ ภาคอานาปานสติภาวนา จตุกกะที่ ๑ กายานุปสสนา ตอน ๕ อานาปานสติ ขั้นที่หนึ่ง การกําหนดลมหายใจยาว …. …. ๖๗ ตอน ๖ อานาปานสติ ขั้นที่สอง การกําหนดลมหายใจสั้น …. …. ๗๗ ตอน ๗ อานาปานสติ ขั้นที่สาม การกําหนดลมหายใจทั้งปวง …. …. ๘๑ ตอน ๘ อานาปานสติ ขั้นที่สี่ การทํากายสังขารใหรํางับ …. …. ๙๐ จตุกกะที่ ๒ เวทนานุปสสนา ๒๓๙ ตอน ๙ อานาปานสติ ขั้นที่หา การกําหนดปติ …. …. …. …. ๒๔๐ ตอน ๑๐ อานาปานสติ ขั้นที่หก การกําหนดสุข …. …. …. …. ๓๐๗ ตอน ๑๑ อานาปานสติ ขั้นที่เจ็ด การกําหนดจิตตสังขาร …. …. …. ๓๑๓ ตอน ๑๒ อานาปานสติ ขั้นที่แปด การทําจิตสังขารใหรํางับ…. …. …. ๓๒๑ จตุกกะที่ ๓ จิตตานุปสสนา ๓๒๕ ตอน ๑๓ อานาปานสติ ขั้นที่เกา การรูพรอมซึ่งจิต …. …. …. …. ๓๒๖ ตอน ๑๔ อานาปานสติ ขั้นที่สิบ การทําจิตใหปราโมทย …. …. …. ๓๓๒ ตอน ๑๕ อานาปานสติ ขั้นที่สิบเอ็ด การทําจิตใหตั้งมั่น …. …. …. ๓๔๐ ตอน ๑๖ อานาปานสติ ขั้นที่สิบสอง การทําจิตใหปลอย …. …. …. ๓๔๙ จตุกกะที่ ๔ ธัมมานุปสสนา ๓๖๓ ตอน ๑๗ อานาปานสติ ขั้นที่สิบสาม การเห็นความไมเที่ยง …. …. …. ๓๖๕ ตอน ๑๘ อานาปานสติ ขั้นที่สิบสี่ การเห็นความจางคลาย …. …. ๓๙๒ ตอน ๑๙ อานาปานสติ ขั้นที่สิบหา การเห็นความดับไมเหลือ …. …. ๓๙๘ ตอน ๒๐ อานาปานสติ ขั้นที่สิบหก การเห็นความสลัดคืน …. …. ๔๐๘ ภาคผนวก ตอน ๒๑ ผนวก หนึ่ง ญาณเนื่องดวยอานาปานสติ ๑๑ หมวด …. …. ๔๒๑ ตอน ๒๒ ผนวก สอง การตัดสัญโญชน ของอริยมรรคทั้งสี่ …. …. …. ๔๕๑ ตอน ๒๓ ผนวก สาม พระพุทธวจนะ เนื่องดวยอานาปานสติ …. …. ๔๙๙ ตอน ๒๔ ผนวก สี่ บทสวด อานาปานสติปาฐะ แปล …. …. …. ๕๔๒ [๑]

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


สารบาญละเอียด อานาปานสติภาวนา ภาคนํา - วาดวยบุพพกิจของสมาธิภาวนา ตอน ๑ การมีศีล และการธุดงค แนวปฏิบัติธรรม มีหลักทั่วไป กับ หลักสําหรับปฏิบัติเฉพาะ …. ๑ หลักทั่วไป มีเพื่อใหเปนอยูโดยชอบ และเนื่องกันกับเหลักเฉพาะ ๑ ศีลและธุดงคนี้ ยอมมีมาแลว พอที่จะเปนบาทฐานสมาธิภาวนาได ๒ ศีล มีหลักอยูที่สํารวมในปาริสุทธิศีลสี่ หรือกิจวัตรสิบ …. …. ๒ ธุดงค มีหลักใหสันโดษมักนอยในการเปนอยู เพื่อจิตและกายเขมแข็ง ๓ ตอน ๒ บุพพภาคทั่วไป ของการเจริญสมาธิ ขอที่ตองทํากอนเหลานี้ จะเกิดประโยชนตอเมื่อพิจารณาเลือกเฟน ๖ ตกมาสมัยนี้ อาจประมวลบุพพภาคได ๑๒ เรื่อง ซึ่งลวนตองใชปญญา ๖ ตอน ๓ ความมุงหมายอันแทจริงของบุพพกิจ บุพพกิจ ๑๒ เรื่อง ที่มุงหมายนั้น ไมใชพิธีรีตอง แตเปนเทคนิค ๑๗ ตอน ๔ บุพพกิจโดยเฉพาะของการเจริญสมาธิ ก. อุปมาประจําใจ : คนมีปญญา ยืนบนแผนดิน ลับอาวุธคม ถางปา. ๒๘ ข. ตัดปลิโพธ ๑๐ อยาง มีอาวาสปลิโพธ เปนตน …. …. ๓๑ ค. การเลือกสิ่งแวดลอม - ตองรูจริต เพื่อหาใหตรงกับจริตเฉพาะ ๆ ๓๗ -ธรรมชาติเปนที่สัปปายะ ในการปฏิบัติ ๔๑ ฆ. ตระเตรียมทางหลักวิชาเกี่ยวกับสมาธิ ที่ตองทราบลวงหนา …. ๔๖ ตระเตรียมทางปฏิบัติ เพื่อทฤษฎี-ปฏิบัติจะสัมพันธกัน …. ๕๐

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

[๒]

www.buddhadasa.in.th


[๓]

ทําไมเลือกอานาปานสติ มาเปนกัมมัฏฐานหลัก ? …. …. ๕๕ ใครที่จะเปนผูเจริญอานาปานสติ ? …. …. …. …. ๕๘ วิธีเจริญอานาปานสติ มีอยูอยางไร ? …. …. …. …. ๕๙ ภาคอานาปานสติภาวนา - วาดวยวิธีเจริญอานาปานสติ จตุกกะที่ ๑ - กายานุปสสนาสติปฏฐาน ตอน ๕ อานาปานสติ ขั้นที่หนึ่ง การกําหนดลมหายใจยาว …. …. ๖๗ ใหรูจักที่วายานั้นอยางไร ? สังเกตความแตกตางที่ไหน ? เมื่อไร ? ๖๘ วิธีการกําหนดลมหายใจ ในลักษณะที่ตาง ๆ กัน มีอยางไร ? …. ๗๐ กรรมวิธี ๑๐ ระยะในขณะแหงการกําหนดลม …. …. …. ๗๔ ตอน ๖ อานาปานสติ ขั้นที่สอง การกําหนดลมหายใจสั้น …. …. ๗๗ การฝกขั้นนี้ก็เพื่อรูจักเปรียบเทียบยาว-สั้น จะทําใหรูลมตามปรกติได …. …. …. ๗๙ อุปมาเหมือนไกวเปล ชาหรือเร็ว สั้นหรือยาว สติไมผละไปไหน ๗๙ ตอน ๗ อานาปานสติ ขั้นที่สาม การกําหนดลมหายใจทั้งปวง …. ….๘๑ เริ่ม สิกขติ-ทําในบทศึกษา คือตั้งแตขั้นนี้ไป เริ่มมีญาณเจือเขามา ๘๒ ขั้นนี้เปลี่ยนจาก ปชานาติ เปน ปฏิสํเวที คือรูพรอมเฉพาะ …. ๘๓ กําหนดรูกายทั้งปวง ก็คอื การกําหนดรูลมหายใจโดยประการทั้งปวง ๘๔ วิธีการกําหนดรูลมหายใจทั้งปวง …. …. …. …. …. ๘๕ เมื่อรูพรอมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวงจริงแลว ก็นําไปสูสมาธิแนวแนตอไป ๘๘ ตอน ๘ อานาปานสติ ขั้นที่สี่ การทํากายสังขารใหรํางับ …. …. …. ๙๐ “กายสังขาร” หมายถึงลมหายใจทําหนาที่ปรุงแตงรางกาย …. ๙๐ การทํากายสังขารใหรํางับ …. …. …. …. …. …. ๙๑ - ทําใหรํางับดวยการกําหนด …. …. …. …. ๙๓ - ทําใหรํางับดวยการพิจารณา …. …. …. …. ๙๓

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


[๔]

ลําดับแหงกรรมวิธีของอานาปานสติ ๔ ระยะแรก เปนขั้นสมถะ ๙๗ ๔ ระยะหลัง เปนขั้นวิปสสนา ๙๗ ระยะที่หนึ่ง คณนา – นับดวยสังขยา …. …. …. …. ๙๙ - นับโดยคํานวณสั้นยาว …. …. …. ๑๐๐ ระยะที่สอง อนุพันธนา การติดตามลมละเอียดอยางใกลชิด…. ๑๐๔ ระยะที่สาม ผุสนา กําหนดฐานที่ลมถูกตอง …. …. …. ๑๐๖ ระยะที่สี่ ฐปนา กํานหดฐานแหงนิมิต จนเกิดปฏิภาคนิมิต ๑๐๗ กฎเกณฑเกี่ยวกับนิมิต บริกรรมนิมิต อุคคหนิมิต ปฏิภาคนิมิต ….๑๐๘ - ตัวอยาง กรณีเจริญกสิณ …. …. …. …. …. ๑๐๙ กรณีเจริญอสุภกัมมัฏฐาน …. …. …. …. ๑๑๐ กรณีเจริญอานาปานสติ …. …. …. …. ๑๑๑ - นิมิตตางกัน มีผลแกจิตตางกัน …. …. …. …. …. ๑๑๓ - กัมมัฏฐานพวกที่ไมมีปฏิภาคนิมิต เชนอนุสสติ ไมเกิดฌาน ๑๑๔ - อุปสรรคการเกิดปฏิภาคนิมิตและฌาน - อุปสรรคตอนแรก ๑๑๖ - อุปสรรคทั่วไป ๙ คู ๑๑๙ - จิตถึงความเปนเอก มีเปน ๔ ชั้น …. …. …. …. ๑๓๖ ความเปนเอก เพราะสมถนิมิต มีองค ๓ - จิตผองใส …. …. ๑๓๗ - จิตงอกงาม …. …. ๑๓๗ - จิตอาจหาญ …. …. ๑๓๘ นิวรณ และ องคแหงฌาน - นิวรณ กับคูปรับ นิวรณ หา เอกัตตะ หา …. …. …. …. ๑๓๙ - นิวรณ มีไดไมจํากัดจํานวน แตก็อาจสงเคราะหลงนิวรณหาได ๑๔๓ - เหตุที่ไดชื่อวานิวรณ คือบังธรรมจากจิต, บังจิตจากธรรม …. ๑๔๓ - ละนิวรณได มีทั้งรํางับเอง, รํางับดวยสมาธิ, รํางับโดยรื้อรากเหงา ๑๔๔

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


[๕]

- การละนิวรณ เฉพาะที่เปนหนาที่ของสมาธิ …. …. …. ๑๔๖ - องคแหงฌาน : วิตก วิจาร ปติ สุข เอกัคคตา …. …. ๑๔๗ - องคฌานทั้งหา ทําใหเกิดฌานได นับแตปฐมฌาน …. …. ๑๕๐ - องคฌานองคหนึ่ง ๆ เปลี่ยนความหมายไปไดตามขั้น …. ๑๕๓ - องคฌาน กําจัดนิวรณไดอยางไร …. …. …. …. ๑๕๕ - องคฌาน กําจัดนิวรณเมื่อไร ? …. …. …. …. …. ๑๕๖ สมาธิ ๒ อยาง โดยเปรียบเทียบระหวาง อุปจาระ กับ อัปปนา …. ๑๕๗ - การอาศัยปฏิภาคนิมิต เพื่อหนวงเอาฌาน …. …. …. ๑๖๐ - การรักษาปฏิภาคนิมิต ที่เพิ่งไดใหม ๆ …. …. …. …. ๑๖๒ - เรงใหเกิดอัปปนาสมาธิ ดวย อัปปนาโกศล ความฉลาด ๑๐ อยาง ๑๖๓ ๑. จัดวัตถุอุปกรณที่แวดลอมใหเหมาะสมยิ่งขึ้น …. …. ๑๖๔ ๒. ปรับปรุงอินทรียทั้งหาใหมีกําลังเทากัน …. …. …. ๑๖๔ ๓. มีความฉลาดในเรื่องของนิมิต …. …. …. …. ๑๖๘ ๔. การประคองจิต โดยสมัย (ธัมมวิจยะ วิริยะ ปติ) …. ๑๗๑ ก. อุบาย ๗ ประการเปนทางใหเกิดธัมมวิจยะสัมโพชฌงค ๑๗๓ ข. อุบาย ๑๑ ประการ ทางใหเกิด วิริยะสัมโพชฌงค ๑๗๔ ค. อุบาย ๘ ประการ ทางใหเกิด ปติสัมโพชฌงค …. ๑๗๖ ๕. การขมจิต โดยสมัย (ปสสัทธิ สมาธิ อุเบกขา) …. …. ๑๗๘ ก. อุบาย ๑๐ ประการ ทางใหเกิด ปสสัทธิทั้งสอง …. ๑๗๘ ข. อุบาย ๕ ประการ ทางใหเกิด สมาธิสัมโพชฌงค ๑๘๐ ค. อุบาย ๕ ประการ ทางใหเกิด อุเบกขาสัมโพชฌงค ๑๘๑ ๖. การปลอบจิต โดยสมัย มีทั้งขู และ ลอชักจูง …. …. ๑๘๒ ๗. การคุมจิต โดยสมัย …. …. …. …. …. …. ๑๘๔ ๘. การเวนคนโลเล …. …. …. …. …. …. ๑๘๔

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


[๖]

๙. การเสพคบคนที่มั่นคง …. …. …. …. …. …. ๑๘๖ ๑๐. สามารถนอมจิตไปอยางเหมาะสม …. …. …. …. ๑๘๖ การบรรลุฌาน นับแตปฏิภาคจะปรากฏ ปรากฏแลว รักษาและหนวงจนลุ ๑๘๙ - ปฐมฌาน ปรากฏ (ลักษณะเบื้องตน ทามกลาง ในที่สุด) ๑๙๐ - ลักษณะ ๒๐ ประการ ของปฐมฌาน …. …. …. …. ๑๙๒ - ภาวะของจิตในขณะแหงฌาน …. …. …. …. …. ๒๐๐ - ฌานถัดไป ปรากฏ : ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน ๒๑๑ - ลักษณะสมบูรณของฌานทั้งสี่ …. …. …. …. …. ๒๒๓ - วสี ๕ ประการ …. …. …. …. …. …. …. …. ๒๒๕ สรุปใจความของอานาปานสติ ขั้นที่สี่ …. …. …. …. ๒๓๔ กลาวสรุป จตุกกะที่หนึ่ง กายานุปสสนาสติปฏฐาน …. …. ๒๓๖

*

*

*

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org จตุกกะที่ ๒ - เวทนานุปสสนาสติปฏฐาน ตอน ๙ อานาปานสติ ขั้นที่หา การกําหนดปติ …. …. …. ….๒๔๐ สิกฺขติ - ในขั้นนี้มีการคุมความรูสึกตอปติ เปนบทศึกษา ๒๔๐ ปติปฏิสํเวที - เปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งปติ กลาวคือความอิ่มใจ ๒๔๒ การเกิดแหงปติ นับแตขั้นตนไปตามลําดับ ๑๖ ขั้น …. …. ๒๔๒ การดําเนินการปฏิบัติ ก. รูพรอมเฉพาะซึ่งปติ …. …. …. ๒๔๘ ข. ทําอนุปสสนาในปติ ๗ ขั้น …. …. ๒๕๐ ที่ไดชื่อวา ภาวนา เพราะมีความหมาย ๔ : - ภาวนาไดผล เพราะมุงตรงจุดไดถูกและเหมาะ …. …. ๒๖๒ - ภาวนาไดผล เพราะประมวลใหธรรมทําหนาที่รวมกัน …. ๒๖๓

www.buddhadasa.in.th


[๗]

- ภาวนาไดผล เพราะสามารถใชความเพียรไปตามนั้นได …. ๒๖๔ - ภาวนาไดผล เพราะสามารถทําไดมาก ไดสมบูรณ …. …. ๒๖๔ เมื่อภาวนาถึงที่สุด ก็สามารถเรียกเปนชื่อคุณธรรมขั้นนั้น-ขอนี้ได : - ชื่อวามี อินทรียหา ครบในขณะแหงภาวนา …. …. …. ๒๖๗ - ชื่อวามี พละหา ครบในขณะแหงภาวนา …. …. …. ๒๗๒ - ชื่อวามี โพชฌงคเจ็ด ครบในขณะแหงภาวนา …. …. ๒๗๕ - ชื่อวามี มรรคมีองคแปด ครบในขณะแหงภาวนา …. …. ๒๗๘ - ชื่อวามีธรรมะขออื่น ๒๙ ประการในขณะแหงภาวนา …. ๒๘๓ อุบายวิธีพิจารณาเวทนา ก็คือรูจักแยกเปน เวทนา สัญญา วิตก ๒๙๕ - เพงการเกิด ตั้งอยู ดับ ของเวทนา อันมี ผัสสะ เปนปจจัยที่สี่ ๒๙๗ - เพงการเกิด ตั้งอยู ดับ ของสัญญา อันมี เวทนา เปนปจจัยที่สี่ ๓๐๔ - เพงการเกิด ตั้งอยู ดับ ของวิตก อันมี สัญญา เปนปจจัยที่สี่ ๓๐๕ ตอน ๑๐ อานาปานสติ ขั้นที่หก การกําหนดสุข …. …. …. ….๓๐๗ วิธีปฏิบัติ พึงยอนกําหนดองคฌาน ที่เกี่ยวกับสุข ๑๐ หัวขอ ๓๐๘ ตอน ๑๑ อานาปานสติ ขั้นที่เจ็ด การกําหนดจิตตสังขาร …. ….๓๑๓ จิตตสังขาร คืออะไร ? …. …. …. …. …. …. …. ๓๑๓ จิตตสังขาร ปรากฏแกใคร ? ในขณะไหน ? …. …. …. ๓๑๖ รูพรอมเฉพาะดวยอาการอยางไร ? …. …. …. …. …. ๓๑๙ ตอน ๑๒ อานาปานสติ ขั้นที่แปด การทําจิตตสังขารใหรํางับ …. ….๓๒๑ ทีแรกพึงทํากายสังขารใหราํ งับ จิตตสังขารจะพลอยเปนของรํางับ ๓๒๑ เลื่อนมากําหนด สัญญา เวทนา ที่คอย ๆ รํางับลง ๆ …. …. ๓๒๒ แลวพิจารณาไตรลักษณของสัญญาเวทนา จึงเปนทั้งญาณและรํางับ ๓๒๒ สรุปใจความของอานาปานสติ ขั้นที่แปด …. …. …. …. ๓๒๓ กลาวสรุป จตุกกะที่สอง เวทนานุปสสนาสติปฏฐาน …. …. ๓๒๔

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

*

*

*

www.buddhadasa.in.th


[๘]

จตุกกะที่ ๓ - จิตตานุปสสนาสติปฏฐาน ตอน ๑๓ อานาปานสติ ขั้นที่เกา การรูพรอมซึ่งจิต …. …. …. ๓๒๖ สิกฺขติ – ในขั้นนี้ มีการคุมความรูสึกตอพฤติของจิตเปนบทศึกษา ๓๒๖ จิตฺตปฏิสํเวที – เปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งจิต โดยเอาจิตเปนอารมณ ๓๒๗ รูพรอมเฉพาะซึ่งจิตในทุกขั้นของการยอนปฏิบัติมาแตตน ๘ ขั้น ๓๒๘ ก. พิจารณายิ่งขึ้น ๆ โดยอาการ ๑๖ เห็นความที่จิตเปนสังขารธรรม๓๒๘ ข. พิจารณาโดยทุกลักษณะของจิต เชน จิตมีราคะ-ไมมีราคะ ฯลฯ ๓๒๙ เมื่อรูพรอมซึ่งจิตแลว ญาณ สติ ธรรมสโมธาน ก็เกิดตามสวน ๓๓๐ สรุปเปนขอสังเกตวา จตุกกะนี้คือดูและฝกควบคุมจิต ในลักษณะตาง ๆ …. …. …. …. ๓๓๑ ตอน ๑๔ อานาปานสติ ขั้นที่สิบ การทําจิตใหปราโมทยอยู …. …. ๓๓๒ ทําใหปราโมทยขณะไหน ? ทําใหเกิดไดในทุกขั้นที่ฝกมาแตตน ๓๓๒ ความปราโมทยมีอยูอยางไร ? ปราโมทยในที่นี้เอาแตที่ อาศัยธรรม ๒ …. …. …. …. …. …. ๓๓๖ - ปราโมทยเกิดดวยอํานาจสมาธิ ๓๓๗ - ปราโมทยเกิดดวยอํานาจปญญา ๓๓๗ ประคองปราโมทยทุกขั้น สติ ญาณ ธรรมสโมธานก็มีทุกลมหายใจ ๓๓๙ ตอน ๑๕ อานาปานสติ ขั้นที่สิบเอ็ด การทําจิตใหตั้งมั่นอยู …. ….๓๔๐ การสํารวมจิตอยูในเรื่องใด ชื่อวามีไตรสิกขาครบมาตั้งแตขั้นตน ๆ ๓๔๐ ที่วาทําจิตใหตั้งมั่นนั้น ๑. ความตั้งมั่นเปนอยางไร ? …. …. ๓๔๒ ๒. ความตั้งมั่นมีไดเมื่อไร ? …. …. ๓๔๔ - ตั้งมั่นในระยะเริ่มแรกแหงการกําหนดอารมณ …. ๓๔๕ - ตั้งมั่นในขณะที่จิตอยูในฌาน (อัปปนาสมาธิ) ๓๔๕ - ตั้งมั่นในขณะอนันตริกสมาธิ …. …. ….

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

๓๔๖

www.buddhadasa.in.th


[๙]

วิธีปฏิบัติขั้นนี้คือยอนทํามาแตตน กําหนดศึกษาจําเพาะความตั้งมั่น๓๔๗ สรุปการฝกในขั้นที่ ๑๑ ทําใหเกิดสติ ญาณ ธรรมสโมธาน ตามสวน ๓๔๘ ตอน ๑๖ อานาปานสติ ขั้นที่สบิ สอง การทําจิตใหปลอย …. …. ….๓๔๙ ที่วาทําจิตใหลอยอยูนั้น ปลอยอยางไร ? …. …. …. ๓๕๐ - ทําจิตใหปลอยสิ่งที่เกิดขึ้นในจิต (ขั้นสมถะ) …. …. ๓๕๐ - ทําจิตใหปลอยสิ่งที่จิตยึดไวเอง (ขั้นวิปสสนา) …. …. ๓๕๑ ที่วาทําจิตใหปลอย ๆ นั้น ปลอยอะไร ? …. …. …. …. ๓๕๓ ที่วาทําจิตใหปลอยนั้น อาศัยอะไรเปนเครื่องมือ ? …. …. ๓๕๔ เมื่อเปลือ้ งจากอกุศลธรรมแลว สติ ญาณ และธรรมสโมธานก็มี ๓๖๑ กลาวสรุป จตุกกะที่สาม จิตตานุปสสนาสติปฏฐาน …. …. ๓๖๒

*

*

*

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org จตุกกะที่ ๔ - ธัมมานุปสสนาสติปฏฐาน ตอน ๑๗ อานาปานสติ ขั้นที่สิบสาม การตามเห็นความไมเที่ยง ….๓๖๖ อะไรคือสิง่ ไมเที่ยง ? - สิ่งที่ถูกสัมผัส (อายตนะภายนอก) ๓๖๖ - สิ่งทําหนาที่สัมผัส (อายตนะภายใน) ๓๖๗ - อาการที่เนื่องกันในการสัมผัส …. …. ๓๖๘ ภาวะความไมเที่ยงเปนอยางไร ? …. …. …. …. …. ๓๗๐ วิธีการตามเห็นไมเที่ยงนั้น ทําอยางไร ? …. …. …. …. ๓๗๐ - มองที่กลุมสังขาร เชนวัยเปลี่ยนไปทุกขณะ …. …. ๓๗๐ - มองที่รูปนาม ลวนขึ้นอยูกับจิตที่เกิดดับ …. …. …. ๓๗๑ - มองที่สิ่งตาง ๆ มีเหตุปจจัยที่เปลี่ยนไป ๆ …. …. …. ๓๗๒ - มองที่อาการปรุงของทุกสิ่งมันไมใชตายตัว …. …. …. ๓๗๓

www.buddhadasa.in.th


[๑๐]

อุบายเขาถึงความไมเที่ยง ตองเอาอารมณตัวจริงมาเพงพิจารณา ๓๗๔ ทั้งขันธ อายตนะและอาการปรุง ตองดูขณะมันกําลังทําหนาที่อยู ๓๗๖ เห็นอนิจจังไดจริง ยอมเปนการเห็นทุกขภาวะทั้ง ๓ …. …. ๓๘๑ เห็นอนิจจังไดจริง ยอมเปนการเห็นอนัตตาพรอมกันไป …. ๓๘๗ สรุปใจความของอานาปานสติ ขั้นที่สิบสาม – อนิจจานุปสสี ๓๙๐ ตอน ๑๘ อานาปานสติ ขั้นที่สิบสี่ การตามเห็นความจางคลาย …. ๓๙๒ วิราคะ ความจางคลายนั้นคืออะไร ? …. …. …. …. ๓๙๒ วิราคะ ความจางคลายเกิดขึ้นไดอยางไร ? …. …. …. ๓๙๓ วิราคะ ความจางคลายเกิดขึ้นในสิ่งใด ? …. …. …. ๓๙๔ วิธีปฏิบัติ เพื่อเปนผูตามเห็นซึ่งความจางคลาย …. …. ๓๙๔ สรุปใจความของอานาปานสติ ขั้นที่สิบสี่ – วิราคานุปสสี …. ๓๙๖ ตอน ๑๙ อานาปานสติ ขั้นที่สิบหา การตามเห็นความดับไมเหลือ ….๓๙๘ ความดับไมเหลือ นั้นคืออะไร ? …. …. …. …. …. ๓๙๘ ความดับไมเหลือ ของอะไร ? …. …. …. …. …. ๓๙๙ ดับไมเหลือไดโดยวิธีใด ? …. …. …. …. …. …. ๔๐๐ สรุปใจความของอานาปานสติ ขั้นที่สิบหา – นิโรธานุปสสี …. ๔๐๗ ตอน ๒๐ อานาปานสติ ขั้นที่สิบหก การตามเห็นความสลัดคืน …. ๔๐๘ ทําอยางไรเรียกวาเปนการสลัดคืน ? …. …. …. …. ๔๐๙ ทําอยางไรจึงจะชื่อวาเปนผูตามเห็นความสลัดคืนอยู ? …. ๔๑๗ กลาวสรุป จตุกกะที่สี่ ธัมมานุปสสนาสติปฏฐาน …. …. ๔๑๘ ประมวลความ ของอานาปานสติ ทั้ง ๔ จตุกกะ …. …. ๔๒๐

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

***

www.buddhadasa.in.th


[๑๑]

ภาคผนวก ตอน ๒๑ ผนวก ๑ - วาดวยญาณเนื่องดวยอานาปานสติภาวนา มี ๑๑ หมวด ๔๒๑ หมวด ๑ - ๒ ญาณรูอะไรเปนอันตราย – เปนคุณตอสมาธิ ๘ ๔๒๓ หมวด ๓ ญาณรูอะไรทําความเศราหมองของสมาธิ ๘ …. ๔๒๔ หมวด ๔ญาณรูอะไรทําความผองแผวของสมาธิ ๑๘ …. …. ๔๒๕ หมวด ๕ญาณ ๓๒ ประการ ของผูมีสติปฏฐาน …. …. ๔๒๘ หมวด ๖ ญาณรูเพราะอํานาจสมาธิ ๒๔ …. …. …. ๔๓๐ หมวด ๗ ญาณรูเพราะอํานาจวิปสสนา ๗๒ …. …. …. ๔๓๓ หมวด ๘ ญาณเนื่องจากนิพพิทา ความหนาย ๘ …. …. ๔๓๙ หมวด ๙ ญาณอนุโลมตอนิพพิทา ๘ …. …. …. …. ๔๔๑ หมวด ๑๐ ญาณเปนที่ระงับเสียซึ่งนิพพิทา ๘ …. …. …. ๔๔๓ หมวด ๑๑ ญาณในสุขอันเกิดจากวิมุตติ ๒๑ …. …. …. ๔๔๖ ตอน ๒๒ ผนวก ๒ - วาดวยการตัดสัญโญชนของอริยมรรคทั้งสี่ …. ๔๕๑ ตอน ๒๓ ผนวก ๓ - วาดวยพุทธวจนะเนื่องดวยอานาปานสติ …. …. ๔๙๙ ตอน ๒๔ ผนวก ๔ - วาดวยบทสวดแปล อานาปานสติปาฐะ …. …. ๕๔๒

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


คําชี้แจง (ในการพิมพ ครั้งแรก)

มีฆราวาสและบรรพชิต ผูสนใจปฏิบัติธรรม เดินทางไปสอบถามศึกษาถึงสวน โมกขกันเรื่อย ๆ. ในบรรดาสิ่งตองประสงคของทานเหลานี้ มักไดแกวิธี ทํากัมมัฏฐาน. ดังนั้น เพื่อไมตองมาคอยตอบคอยแนะ ใหแกผูไปถึงใหมทุกครั้งทุกราย แลว ๆ เลา ๆ จึง ปรารภวาหากมีตําราที่เปนหลักเกณฑถูกตอง สามารถใหความแนใจเพียงพอ แกผูตองการ ตระเตรียมจิตในขั้นนี้ เขาก็ควรหาศึกษาดูไดกอนไมจําเปนตองไปจนถึงสวนโมกข ตอเมื่อได ลองทําบางแลว เกิดมีปญหาที่สมควรจึงคอยไปใหถึงยังตนตอที่โนน ทั้งนี้ เพื่อไมใหเปนการ ลําบาก และสิ้นเปลืองกันทุกฝาย. ฉะนั้น ระหวางพรรษาที่แลวไปนี้ (๒๕๐๒) ไดมีการขอรองให ทานพุทธทาส ภิกขุ เริ่มบรรยายเกี่ยวกับเรื่องนี้ ภิกษุสามเณรไดชวยกันบันทึก และไดสอบทานกันจน พอใจ ผลจึงไดเกิดเปนเลมหนังสือที่เห็นอยูนี้ ถาแบงเปนภาคก็จะได ๓ ภาค : ภาคนํา วาดวยบุพพกิจ เรือ่ งตองรูกอนภาวนา ภาคภาวนา วาดวยวิธีในอานาปานสติ ตั้งแตตน จนถึงขั้นสูงสุด ภาคผนวก วาดวยบทผนวกหลักฐานที่ใหทําตามนั้น สําหรับภาคภาวนา แบงเปน ๔ จตุกกะ นับแตตอนที่เปนการฝกสมาธิลวนแลวก็ ถึงตอนที่เริ่มมีปญญาเจือเขามา ตอนตอไป เปนเรื่องปญญามากขึ้นจนตอนสุดทายเปนการ ทําทางปญญาลวน เฉพาะเลมนี้มีโอกาสรวบรวมใหเรียบรอยไดกอน ไดมอบให “สุวิชานน” จัดพิมพขึ้นเปนครั้งแรก. หนังสือเรื่องนี้คงจะสําเร็จประโยชนตามปรารถนาของผูใฝใจ ในทางนี้โดยทั่วหนากัน. ผูรวบรวม ๕ เม.ย. ๒๕๐๓

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org [๑๒]

www.buddhadasa.in.th


อานาปานสติภาวนา ภาคนํา วาดวยบุพพกิจของสมาธิภาวนา

ตอน หนึง่ การมีศีล และธุดงค๑

วันนี้ จะไดพูดถึงเรื่อง แนวการปฏิบัติธรรม ในสวนโมกขพลาราม ภาคสอง อันวาดวยหลักปฏิบัติเฉพาะเรื่องหรือเฉพาะคน ตอจากภาคที่หนึ่ง ซึ่งกลาว ถึงหลักปฏิบัติทั่วไป อันไดบรรยายแลวเมื่อปกอน (ในพรรษาป ๒๕๐๑).

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ขอซ อ มความเข า ใจอี ก ครั้ ง หนึ่ ง ว า ในภาคหนึ่ ง ที่ เ รี ย กว า หลั ก ปฏิ บั ติ ธ รรม ทั่ ว ไปนั้ น หมายถึ ง การปฏิ บั ติ ที่ เ ป น แนวทั่ ว ๆ ไป สํ า หรั บ ทํ า ให เ กิ ด “การเป น อยู โดยชอบ” คือเปนพื้นฐาน สําหรับการเปนอยูที่เหมาะสําหรับการปฏิบัติเฉพาะเรื่อง เช น การทํ า สมาธิ ข อ ใดข อ หนึ่ ง เป น ต น ซึ่ ง จะได ก ล า วในภาคหลั ง นี้ เพราะฉะนั้ น จึงเห็นไดวา เปนเรื่องที่เกี่ยวเนื่องกันโดยแท.

การบรรยายครั้งที่ ๑/๑๓ สิงหาคม ๒๕๐๒

www.buddhadasa.in.th


อานาปานสติภาวนา ตอน ๑

เมื่ อบุ คคลได เป นอยู ตามหลั กปฏิ บั ติ ในภาคหนึ่ งแล ว ย อมชื่ อ ว าเป นผู มีศีล มีธุดงค อยูในตัว และมากพอที่จะเปนบาทฐานของการปฏิบัติที่สูงขึ้นไป โดยเฉพาะคือ สมาธิภาวนา. อีกประการหนึ่ง หลักปฏิบัติตามที่กลาวไวในภาค หนึ่งนั้น ยอมเปนการอธิบายหลักปฏิบัติในภาคหลังเฉพาะสวนที่เปนทฤษฎีทั่วไป เกี่ ย วกั บ เรื่ อ งนั้ น ซึ่ ง ไม ค วรจะเอามาปนกั บ หลั ก ปฏิ บั ติ โ ดยตรง เพราะจะทํ า ให ฟนเฝอหรือตาลาย เพราะตัวหนังสือมากเกินไป; จึงมีไวเพียงสําหรับใหศึกษา เปนพื้นฐานทั่ว ๆ ไปเทานั้น. แตเมื่อเกิดมีปญหาเกี่ยวกับเรื่องนั้นขึ้นมา ผูปฏิบัติ ก็ จํ า เป น จะต อ งย อ นไปหาคํ า ตอบจากเรื่ อ งฝ า ยทฤษฎี เ หล า นั้ น ด ว ยตนเองตาม กรณีที่เกิดขึ้น. ขอใหทําความเขาใจไววา หลักทั่วไปในภาคหนึ่ง ก็ตองเปนสิ่งที่ คล อ งแคล ว หรื อ คุ น เคย แก ก ารคิ ด นึ ก ของผู ป ฏิ บั ติ อ ยู เ ป น ประจํ า จึ ง จะสํ า เร็ จ ประโยชนเต็มที่. ที่ ก ล า วว า เมื่ อ ปฏิ บั ติ ต ามหลั ก ทั่ ว ไปในภาคหนึ่ ง อยู เ ป น ประจํ า แล ว ไดชื ่อ วา เปน ผู ม ีศ ีล และธุด งคอ ยู แ ลว อยา งเพีย งพอนั ้น ขอใหส ัง เกตวา ตามหลัก ในภาคหนึ่ง เราไดถือเอาใจความของกิจวัตร ๑๐ ประการมาเปนหลักหรือรูปโครงของ การปฏิบัติ เมื่อปฏิบัติครบตามนั้น ก็ยอมจะเห็นไดวา กิจวัตรขอที่ ๓, ๖, ๗, ๘, ๙, ๑๐ เปนเรื่องเกี่ยวกับศีล, และกิจวัตร ขอที่ ๑ - ๒, ๔ - ๕ และ ๑๐ เปนเรื่อง เกี่ยวกับธุดงค, และมีอยูอีกบางขอที่เปนทั้งศีลและธุดงคพรอมกันอยูในตัว.เมื่อบุคคล ศึกษาและปฏิบัติอยูอยางถูกตรงตามความหมายของกิจวัตรเหลานั้นจริง ๆ แลว ก็ยอม ทําใหผูมีศีลและธุดงคมากพอจริง ๆ ดวยเหมือนกัน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เกี่ยวกับศีล ทานวางหลักใหญ ๆ ไววา สํารวมในสิกขาบททั้งใน ปาฏิโมกขและนอก ปาฏิโมกขอยางหนึ่ง, สํารวมตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไมใหรูสึก ยินดียินรายในเมื่อตาเห็นรูป หูไดยินเสียง เปนตนอยางหนึ่ง, หาเลี้ยงชีวิตและ

www.buddhadasa.in.th


การมีศีลและธุดงค

ทําการเลี้ยงชีวิตในลักษณะที่ชอบที่ควรอยางหนึ่ง, และอีกอยางหนึ่งซึ่งเปนขอ สุดทาย ก็คือการบริโภคปจจัยสี่ ดวยสติสัมปชัญญะ ที่สูงสุดหรือสมบูรณ. โดย นัยนี้เราจะสังเกตเห็นไดวา คําวา ศีล ที่ทานวางหลักไวเชนนี้นั้น มันมากเกินกวา ขอบเขตของศีลปรกติอยูแลว. แมวาหลัก ๔ อยางนี้ จะเปนหลักปฏิบัติที่บัญญัติ ขึ้นในชั้นหลังก็จริง แตก็ไมขัดขวางกันกับหลักของพระพุทธภาษิตทั่ว ๆ ไปในทาง ปฏิบัติ จึงถือเอาเปนเกณฑได. และจะเห็นไดตอไปอีกวา ในกิจวัตรทั้ง ๑๐ ขอนั้นได ครอบคลุมเอาความหมายของศีลทั้ง ๔ ประการนี้ไวแลวอยางสมบูรณ ผูป ฏิบัติ พึงถือเอาความหมายเหลานี้ใหได ก็จะเปนอันกลาวไดวา เปนผูมีศีลอันเพียงพอ แมวาจะไมสามารถจดจําสิกขาบทหรือรายละเอียดตาง ๆ ไดทั้งหมด ซึ่งเปนการ เหลือวิสัยที่คนแก หรือแมคนหนุมแตเปนคนเพิ่งบวช จะทําอยางนั้นได. นี้คือ ใจความสําคัญของคําวา ศีล. สําหรับสิ่งที่เรียกวาธุดงค ก็มิไดมีความหมายอะไรมากไปกวา ความ สันโดษมักนอยในเรื่องการเปนอยู หรือ การบริโภคปจจัยสี่ กลาวคือ อาหาร เครื่องนุงหม ที่อยูอาศัย และยาบําบัดโรค และความเปนผูมีความเขมแข็งอดทนมี รางกายแข็งแกรงพอที่จะทนทานตอการปฏิบัติไดตามสมควร. ตัวอยางที่ทาน แสดงไวในเรื่องอาหาร มีดังนี้ :-

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ในเรือ่ งอาหาร ก็คือการไดมาโดยวิธีงาย ๆ ที่เรียกวา เที่ยวบิณฑบาต การไมเที่ยวเลือกเอาแตที่ดี ๆ แตรับไปตามลําดับที่จะถึงเขา, การบริโภคในภาชนะ แตใบเดียววันหนึ่งเพียงครั้งเดียว, ลงมือฉันแลวมีอะไรมาใหมก็ไมสนใจ ดังนี้ เปนตน ; แตทั้งนี้ไมไดหมายความวาจะมีเทาที่ระบุไว ถาการกระทําอยางใด มีผลทําใหมีเรื่องนอย ลําบากนอย มีแตความเบาสบายและเปนการสงเสริมการ ปฏิบัติแลว เราถือเอาเปนหลักสําหรับปฏิบัติของตนเองไดทั้งนั้น.

www.buddhadasa.in.th


อานาปานสติภาวนา ตอน ๑

สําหรับ เครื่องนุงหุม นั้น ทานแนะตัวอยางไววา ใหใชผาที่คนอื่น ไมใช สําหรับภิกษุก็ไดแก ผาที่เขาทิ้ง ไปรวบรวมเอามาทําเปนจีวรใช ซึ่งเรียกวา ผา “บังสุกุล” และการใชเครื่องนุงหมมีจํานวนเทาความจําเปนจริง ๆ ซึ่งสําหรับ ภิกษุก็มีเพียงผานุงตอนลาง. ผาหมตอนบน และผาคลุมทั่ว ๆ ไปอีกผืนหนึ่ง ซึ่ง รวมกันแลวเรียกวา “ไตรจีวร” อนุญาตใหมีผาอาบน้ําฝนอีกผืนหนึ่งในฤดูฝน ถา ไมมีจริง ๆ ก็ผอนผันใหเปลือยกายอาบน้ําได นี้เปนการแสดงใหเห็นวาทานตองการ ใหเปนผูสันโดษมักนอยเพียงไร ในเรื่องเครื่องนุงหม. สวนเรื่อง ที่อยูอาศัย นั้น ทานระบุ ปา โคนไม ที่โลง ปาชา และ สถานที่เทาที่ผูอื่นจะอํานวยให ในเมื่อจะตองอาศัยสถานที่เชนนั้น โดยเฉพาะ อยางยิ่ง ก็คือในฤดูจําพรรษา. ความเปนธุดงคในเรื่องนี้ อยูตรงที่เปนผูไมมีที่อยูเปน ของตัวเองอยางหนึ่ง, แลวยังเปนผูสันโดษมักนอยอยางยิ่งอยางหนึ่ง, และมีความแข็งแกรงตานทานตอดินฟาอากาศอีกอยางหนึ่ง ซึง่ เปนใจความสําคัญ.ขอ ปฏิบัติอื่นที่ไมไดระบุไว แตทําใหเกิดผลอยางเดียวกัน ยอมใชปฏิบัติได เชนเดียวกับที่กลาวมาแลว ในขอที่วาดวยอาหารหรือเครื่องนุงหมก็ตาม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สําหรับ ยาแกโรค นั้น ทานไมบัญญัติไวในเรื่องธุดงคโดยตรง เพราะ ยาแกโรคไมเปนที่ตั้งของความมักมาก เพราะใคร ๆ ก็ไมอยากจะกินยาตามปรกติ อยูแลว. แตตกมาถึงสมัยนี้มีความเปลี่ยนแปลงบางอยางเกิดขึ้น เชนมียาประเภท สําอาง หมายถึงยากินเลน หรือที่กินจริง ก็มีใหเลือก ทั้งที่อรอยและไมอรอย. ผูปฏิบัติจะตองมีหลักปฏิบัติที่เหมาะแกสมัย คือใหมีความสันโดษมักนอย และมี ความอดกลั้นอดทน ในการใชหยูกยาใหสมเกียรติของผูปฏิบัติดวย.

www.buddhadasa.in.th


การมีศีลและธุดงค

ธุดงคอีกขอหนึ่งทานระบุไวเกี่ยวกับการฝกฝนตัวเอง ใหแข็งแกรง โดยเฉพาะ และมุงหมายที่จะขจัดการแสงหาความสุขจากการนอนโดยตรง จึงแนะนํา ใหมีการปฏิบัติธุดงคขอนี้ดวยการไมใหนอนเลยเปนครั้งคราว เทาที่ควรจะทํา. ทั้งหมดนี้เมื่อ สรุปโดยใจความ ก็พอจะเห็นไดชัดเจนวา นอกจาก การ ปฏิบัติในสวนศีลแลว ทานยังไดผนวกการปฏิบัติเรื่องธุดงคเพิ่มขึ้นมาสวนหนึ่ง เพื่อความเขมแข็งในทางจิตใจ และรางกาย ซึ่งอยูนอกขอบเขตของความหมายของ คําวา “ศีล” แตแลวก็เปนเพียงเครื่องผนวกของศีล หรือเปนอุปกรณของสมาธิ ไมจําเปนจะตองแยกออกไวเปนหลักอีกสวนหนึ่งตางหากจากศีลหรือสมาธิ. ในกรณีที่เกี่ยวกับกิจวัตร ๑๐ ประการ ยอมมีศีลและธุดงคเต็มพรอม อยูในตัวและถือเอาเปนบาทฐานหรือรากฐานอันสําคัญสําหรับการปฏิบัติที่กาวหนา สืบไป. เรื่องศีลและธุดงค มีใจความที่สําคัญเพียงเทานี้ จึงในการบรรยายนี้ ไมแยกออกเปนเรื่องหนึ่งตางหาก และถือวารวมอยูในหลักแหงการปฏิบัติทั่วไป หรือการเปนอยูโดยชอบตามที่กลาวแลวในภาค ๑. จึง ในภาค ๒ นี้ จะกลาวแต เรื่อง สมาธิภาวนา ประเภทเดียว ทั้งหมดนี้คือ สิ่งที่ตองปรับความเขาใจกัน เปนขอแรก.

www.buddhadasa.in.th * * * www.buddhadasa.org ตอน สอง

บุพพภาคทั่วไปของการเจริญสมาธิ ตอไปนี้จะไดกลาวถึงเรื่อง สมาธิภาวนา แตในทางปฏิบัติโดยเฉพาะ. สิ่งแรกที่สุดที่อยากจะกลาว ก็คือ สิง่ ที่เรียกวา บุพพภาคของสมาธิภาวนา ที่เกิดขึ้นในชั้นหลัง. สิ่งที่เรียกวาบุพพภาคก็คือสิ่งที่ตองทํากอน ซึ่งในที่นี้ ก็ได แกสิ่งที่ตองทํากอนการเจริญสมาธินั้นเอง. ที่เรียกวา “ในชั้นหลัง”ในที่นี้นั้น

www.buddhadasa.in.th


อานาปานสติภาวนา ตอน ๒

ยอมบงชัดอยูในตัวแลววาเปนสิ่งที่เพิ่งเกิดมีธรรมเนียมอันนี้กันขึ้นในชั้นหลัง ไมเคย มีในครั้งพุทธกาลเลย แตก็ยึดถือกันมาอยางแนนแฟนเอาเสียทีเดียว. แตเนื่องจาก สิ่งที่กลาวนี้มิใชวาจะเปนสิ่งที่ไมมีประโยชนเอาเสียทีเดียว เพราะฉะนั้น จึงเปนสิ่ง ที่ควรจะไดรับการพิจารณาโดยสมควร แลวถือเปนหลักเฉพาะคน หรือเฉพาะกรณี เทาที่ควรอีกเหมือนกัน แตอยาทําไปดวยความยึดมั่นถืออยางงมงาย ดังที่ทํากัน อยูโดยทั่ว ๆ ไปเลย. สิ่งที่เรียกวาบุพพภาค ดังกลาวนั้น ที่นิยมทํากันอยูในสมัยนี้ และบาง แหงก็ถือเปนสิ่งที่เขมงวดกวดขัน อยางที่จะไมยอมใหใครละเวนนั้น ก็มีอยูมาก ซึ่งอาจจะ ประมวลมาได ดังตอไปนี้ :๑. การนําเครื่องสักการะแดเจาของสํานัก หรือผูเปนประธานของ สํานัก. ขอนี้เปนสิ่งจะมีไมไดในครั้งพุทธกาล คือไมมีผูเปนประธาน หรือเจาของ หรือผูอุปถัมภสํานักเชนนั้น และแถมจะไมมีสํานักเชนนั้นดวยซ้ําไป เพราะผูปฏิบัติ แตละคน ๆ ก็ลวนแตเปนผูที่อยูกับอุปชฌายอาจารยของตน. เปนหนาที่ที่อุปชฌาย อาจารยเหลานั้น จะตองบอกตองสอนอยูแลวเปนประจําวัน. แมจะเขาประจําสํานัก อื่น ก็ไมมีสํานักไหนที่จะมีอยูในลักษณะที่จะตองทําเชนนั้น, เนื่องจากการกระทํา ในสมัยนั้นไมมีหลักในทางพิธีรีตองเหมือนสมัยนี้. ครั้นตกมาถึงสมัยนี้ผูปฏิบัติจะ ตองรูจักความพอเหมาะพอดี หรือความควรไมควรในขอนี้ดวยตนเอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๒. การถวายสักการะตออาจารยผูใหกัมมัฏฐาน. ขอนี้ตางจากขอหนึ่ง ซึ่งกระทําแกผูมีหนาที่ในทางปกครองหรือเจาของสํานัก สวนขอหลังนี้กระทําแก อาจารยผูสอนโดยตรง และเฉพาะเวลาที่จะทําการสอนเทานั้น เปนการแสดงความ เคารพ หรือเปนการแวดลอมจิตใจใหมีความเคารพในบุคคลที่จะสอน. ในครั้ง

www.buddhadasa.in.th


บุพพภาคทั่วไปของการเจริญสมาธิ

พุทธกาลไมถือวาสิ่งเหลานี้เปนพิธี หรือพิธีเชนนี้จะชวยใหสําเร็จประโยชน ความ หมายวามีความเคารพหรือไวใจในครูบาอาจารยของตัวอยูเปนปรกติ ถาไมไวใจหรือ ไมเคารพก็ถือวาเปนสิ่งที่ไมควรกระทํา จึงไมมัวเสียเวลาดวยเรื่องพิธี. นี้แสดงวา มีจิตใจสูงต่ํากวากันอยูในตัว ผูที่ปฏิบัติกัมมัฏฐานภาวนา ควรจะมีจิตใจสูงจนอยู เหนือความหมายของพิธีรีตองมาแลว จึงจะมีจิตใจเหมาะสมที่จะปฏิบัติเพื่อจะรู อนิจฺจํ ทุกฺขํ อนตฺตา ซึ่งเปนของละเอียดอยางยิ่ง, แตเนื่องจากบัดนี้ระเบียบการ ทํากัมมัฏฐาน ไดลดลงมาเปนเรื่องของคนทั่วไป ดวยอํานาจความยึดมั่นถือมั่นบาง อยาง เชนอยางในสมัยนี้ ระเบียบพิธีเชนนี้ ก็กลายเปนสิ่งที่จําเปนสําหรับคนสมัยนี้ อยูเอง. ผูปฏิบัติจะตองเขาใจในความหมายอันนี้ แลวทําไปในลักษณะที่ควร อัน เปนสวนของตน แตมิใชดวยความรูสึกวาเปนพิธีรีตอง ; แลวพรอมกันนั้นก็ไม นึกดูถูกดูหมิ่น ผูที่ยังตองทําไปอยางพิธีรีตองหรือแมดวยความงมงาย เพราะเราตอง ยอมรับวา ในสมัยนี้ โดยเฉพาะในที่บางแหง สิ่งเหลานี้ไดเลือนไปจากความเปน การกระทําของบุคคลผูมีปญญา ไปสูการกระทําของบุคคลผูมีเพียงแตศรัทธามาก ยิ่งขึ้นทุกที จนกระทั่งมีสํานักกัมมัฏฐาน ที่ตั้งขึ้นเพื่อเปนสถานบริการอยางใด อยางหนึ่งไปแลว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org การไววางใจ หรือความเคารพตอบุคคลผูเปนครูบาอาจารยนั้นเปนสิ่งที่ ตองการ แตมิใชอยูในรูปของพิธี. สิ่งที่ตองการอันแทจริง อยูตรงที่ความอยาก ปฏิบัติ หรืออยากพนทุกขอยางแทจริง อันไมเกี่ยวกับพิธีตางหาก. ตัวอยางที่นา นึกของพวกอื่น นิกายอื่น เพื่อนํามาเปนเครื่องเปรียบเทียบเพื่อการพิจารณา เชน ในนิกายเซ็น มีขอความกลาวไววา ภิกษุรูปหนึ่ง กวาจะไดรับคําสั่งสอนจากทาน โพธิธรรมโดยตรงนั้น ถึงกับตองตัดมือของตนเองขางหนึ่ง แลวนําไปแสดงแกทาน โพธิธรรม พรอมกับบอกวา นี้คือความตองการที่อยากจะรูของผม ทานโพธิธรรม จึงไดยอมพูดดวย และใหการสั่งสอน หลังจากที่ไมยอมพูดดวยโดยหันหนาเขา

www.buddhadasa.in.th


อานาปานสติภาวนา ตอน ๒

ผนังถ้ํา ไมเหลียวมาดูเปนเวลาหลายสิบครั้งของการออนวอนมาแลว. นี้เปนเรื่อง ๑,๐๐๐ กวาปมาแลว แตเรื่องของนิกายนี้ในสมัยนี้ เฉพาะในสมัยปจจุบันนี้ก็ยังมีอยู ในลักษณะที่คลายกัน คือผูมาขอรับคําสั่งสอนนั้น จะตองถูกทดสอบดวยวิธีการ อยางใดอยางหนึ่งตามแบบของสํานักนั้น ๆ เชนใหนั่งอยูตรงบันไดนั่นเอง ๒ วัน ๒ คืนบาง ๓ วัน ๓ วัน ๓ คืนบาง ตลอดถึง ๗ วัน ๗ คืนบาง ติดตอกันไปก็ยังมี. เขาใหนั่งอยูทาเดียว เชนนั่งเอาศีรษะซุกหัวเขาอยูตลอดเวลาจนกวาเจาหนาที่ หรือ อาจารยจะยอมรับคําขอรองใหเขาเปนนักศึกษาได. นี้เปนการเปรียบเทียบความแตก ตางวา เขาไดยึดหลักที่แตกตางกันอยางไร จากผูที่เพียงแตเอาดอกไมธูปเทียนไป ถวายแลว ก็เปนการเพียงพอแลว. ผูปฏิบัติพึงรูความหมายของระเบียบ หรือพิธี รีตองเหลานี้ใหถูกตอง แลวถือเอาการกระทําที่สําเร็จประโยชนแกตนใหมากที่สุด เทาที่จะมากได. ๓. การจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย ที่หนาที่บูชา ในขณะเริ่มตน เพื่อจะรับกัมมัฏฐานหรือเพื่อปฏิบัติกัมมัฏฐานก็ตาม. ขอนี้เปนเหตุใหจัดที่บูชา หรือเตรียมเครื่องสักการะบูชาไวอีกสวนหนึ่ง คลายกับวาถาไมจุดธูปเทียนแลว สิ่งตาง ๆ ก็จะลมเหลวหมด นับวาโรคติดพิธียังคงมีมากอยูนั่นเอง. แมแตเรื่อง มุงหมายไปในทางของโลกุตตรปญญา ก็ยังตองใชธูปเทียนอยูนั่นเอง ; แตเหตุผล ก็มีอยูเชนเดียวกับที่กลาวมาแลวในขอ ๑ ขอ ๒ ผิดกันแตเพียงวาในขอนี้กระทําแก พระรัตนตรัย และมีอาการของบุคคลผูยึดถือพระรัตนตรัยดวยอุปาทานหรือทางวัตถุ เสียเปนสวนใหญ ทางที่ถูกที่ควรจะเปนอยางไรนั้น จะกลาวในตอนหลัง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๔. ถาเปนพระใหแสดงอาบัติกอน ถาเปนฆราวาสใหรับศีลกอน ขอนี้คลายกับวา พระเหลานั้นตองอาบัติอยูเสมอ ถาไมตองอาบัติ แตตอง

www.buddhadasa.in.th


บุพพภาคทั่วไปของการเจริญสมาธิ

ทําตามพิธีกลายเปนเรื่องของพิธีอีกนั่นเอง. คิดดูเถิดวา ถาตองอาบัติ ที่ตอง อยูกรรมเลา จะทําอยางไร เรื่องมิเปนอันวา ใหแสดงอาบัติพอเปนพิธีมากยิ่งขึ้นไป อีกหรือ. ทุกคนควรเปนผูไมมีอาบัติมากอน และเปนผูอยูในเหตุผลเพียงพอ ที่จะไมตองมาทําพิธีแสดงอาบัติกันในที่นี้อีก ดูเปนเรื่องอวดเครงหรือเปนเรื่อง อวดพิธี ชนิดที่ไมเคยมีในครั้งพุทธกาลมากอนเลย ; ซึ่งเปนการเสียเวลา หรือ ทําความฟุงซานเหนื่อยออนโดยไมจําเปนก็ได. ขอที่อุบาสกอุบาสิกาตองทําพิธี รับศีลที่ตรงนั้นอีก ก็มีคําอธิบายอยางเดียวกัน. พิธีเชนนี้หาไมพบในหนังสือ แมชั้นหลัง ๆ เชนหนังสือวิสุทธิมรรค ฉะนั้นจึงไมตองกลาวถึงในครั้งพุทธกาล. ๕. การมอบตัวตอพระรัตนตรัย. ไดเกิดมีพิธีมอบตัวตอพระพุทธเจา หรือตอพระรัตนตรัย โดยกลาวคําเปนภาษาบาลี เชนที่ใชอยูในบางสํานักวา “อิมาหํ ภควา อตฺตภาวํ ตุมฺหากํ ปริจฺจชามิ” ซึ่งแปลวา ขาแตพระผูมีพระภาคเจา ขาพระองคของสละอัตตภาพนี้มอบถวายแดพระองค ดังนี้เปนตัวอยาง. พิธีที่เปน ไปในทางยึดถือตัวตนมากเชนนี้ เปนสิ่งที่มีไมไดในครั้งพุทธกาลโดยแนนอน. แตตกมาถึงสมัยนี้ จะมีคุณประโยชนอยางไรบางนั้น ก็เปนสิ่งที่นาพิจารณาอยู ผูที่ทําจะมีความรูสึกอยางไร ก็เปนสิ่งที่รูกันไมได แตถาเปนการเลียนแบบดวย อํานาจความยึดถือตัวตน หรือของตน ในทํานองประจบประแจง เพื่อขออะไร อยางใดอยางหนึ่งแลว ก็จะเปนแตเพียงการพอกพูนศรัทธา ใหหนาแนนมากขึ้น เทานั้น เอง เปนอุปสรรคตอความเจริญในทางโลกุตตรปญญาอยางยิ่ง. ผลไดผลเสีย มีอยูอยางไร ควรจะศึกษากันใหแนนอนเสียกอน. การมอบชีวิตจิตใจที่เปนเรื่อง ของปญญานั้น อยูตรงที่มองเห็นความประเสริฐอันแทจริงของพระธรรม โดยไมเห็น วาสิ่งใดประเสริฐไปกวา แลวก็อยากปฏิบัติอยางเต็มที่จริง ๆ. นี่เปนการมอบตัว อยางแทจริง โดยไมเกี่ยวกับพิธี หรือรูปแบบของพิธีแตประการใดเลย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๑๐

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒

๖. การมอบตัวตออาจารย. บางสํานักมีระเบียบโดยเครงครัด ใน การที่จะตองมอบตัวตออาจารยเปนกิจจะลักษณะ หรือตอหนาธารกํานัล และยังมี คํากลาวเปนภาษาบาลี สําหรับใชในกรณีนั้น ๆ เชนที่ใชกันอยูวา “อิมาหํ อาจริย อตฺตภาวํ ตุมฺหากํ ปริจฺจชามิ” แปลวา ขาแตอาจารย ขาพเจาขอสละอัตตภาพนี้ มอบถวายแดทาน ดังนี้เปนตน. การทําเชนนี้ดวยความมีใจบริสุทธิ์ ก็มีความ หมายเพียง มีศรัทธา มีความไววางใจ และมีการยินยอมทุกอยาง ซึ่งก็เปนผลดี บางอยางสําหรับคนมีศรัทธา. สําหรับทางฝายอาจารย นาจะเพงเล็งถึงขอเท็จจริง อยางอื่น ซึ่งแสดงลักษณะอาการ หรืออุปนิสัยของบุคคลนั้น ๆ โดยแทจริง ยิ่งกวา ที่จะถือเอาเพียงคําพูดเปนประกัน. ในที่บางแหง การกระทําอยางนี้ปรากฏไป ในทางผูกพันกันเปนหมูคณะ เพื่อประโยชนแกหมูคณะ ในทางวัตถุก็มี จนถึงกับ ถูกกลาวหาวาระเบียบพิธีที่คิดกันขึ้นในชั้นหลังเชนนี้ มีเจตนาจะทํานาบนหลังลูกศิษย อะไรบางอยางไปแลวก็ยังมี, นับวาอาจารยในยุคแรก ๆ มีโชคดีอยูมากที่ไมตอง ถูกกลาวหาเชนนี้ เพราะทานไมใชระเบียบอันนี้ เพราะทานถือตามหลักของพระพุทธเจา วานิพพานเปนของใหเปลา และไมใชนิพพานเปนของใคร เปนนิพพานของ ธรรมชาติ จึงไมตั้งระเบียบพิธีที่เปนการผูกพันบุคคล ซึ่งลวนแตมีความหมายเปน ขาศึกตอความหมายของคําวานิพพานเปนอยางยิ่ง และผิดหลักที่มีอยูวาตนเปนที่พึ่ง ของตนมากเกินไป.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๗. การกลาวคําขอกัมมัฏฐาน. มีระเบียบใหกลาวคําขอกัมมัฏฐาน ออกมาวา นิพฺพานสฺส เม ภนฺเต สจฺฉิกรณตฺถาย กมฺมฏานํ เทหิ, แปล ตามตัววา ขาแตทานผูเจริญ ขอทานจงใหกัมมัฏฐานแกกระผม เพื่อประโยชนแก การกระทําพระนิพพานใหแจงดังนี้ ซึ่งมีรูปลักษณะเชนเดียวกันแทกับพิธีการขอศีล พิจารณาดูก็เห็นไดวาเปนพิธีขอกัมมัฏฐานเชนเดียวกับการขอศีล เปนการลดน้ําหนัก

www.buddhadasa.in.th


บุพพภาคทั่วไปของการเจริญสมาธิ

๑๑

ของกัมมัฏฐานลงมาเทากันกับเรื่องของศีล จึงเปนเรื่องพิธีปลุกปลอบใจของบุคคล ผูหนักในศรัทธาอีกอยางเดียวกัน. ผูที่หนักในทางปญญายอมรูสึกวาเปนการฝน ความรูสึกอยางยิ่งที่จะตองทําพิธีเชนนี้บอย ๆ แลวก็มีแตพิธีเสียเรื่อยไป ไมกลาย เปนเรื่องของปญญาไปได. จริงอยูที่คงจะมีการขอ การบอก การถาม การ ตอบ ในเรื่องอันเกี่ยวกับกัมมัฏฐาน แตไมนาจะมีระเบียบวิธีการบอก การกลาว การฝก ใหมากกวาที่จําเปน สําหรับบุคคลที่เขาใจวา อะไรเปนอยางไรมาแลว อยางพอเพียง. เมื่อประสบพิธีมากเขา ก็จะเกิดความเบื่อหนายเพราะพิธีนั่นเอง ; การแตกแยกของนิกายก็มีมูลมาจากการที่ฝายหนึ่งทําอะไรลงไปอยางนาหัวเราะเยาะ หรือดูหมิ่นสําหรับอีกฝายหนึ่ง. ฉะนั้น นาพิจารณาดูกันเสียใหมใหละเอียดลออ วาควรทําพิธีกันสักเทาไร ในกรณีชนิดไหนหรือบุคคลประเภทใด อยาไดยึดมั่น ถือแลวทําอยางงมงายดายไป จนเปนที่หัวเราะเยาะของบุคคลผูมีปญญา แลว ตัวเองก็ไมไดอะไรมากไปกวาการไดทําพิธีลวน ๆ. และอยาลืมวาความมุงหมายของ การทํากัมมัฏฐานภาวนานั้น มุงที่จะทําลายยึดถือในพิธี ดวยอํานาจสีลัพพัตตปรามาสโดยตรง ไมมีอยางอื่นเลย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๘. การเชื้อเชิญกัมมัฏฐาน. บางสํานักหรือบางบุคคลไดยึดมั่นใน พิธีมากเกินไปจนลืมตัว กลายเปนเรื่องของบุคคลตัวตนไปหมด. มีการสอน กันใหเชื่อวา กัมมัฏฐานองคหนึ่ง ๆ ก็เปนพระหรือเปนพระเจาองคหนึ่ง ๆ หรือ แมแตความรูสึกที่เกิดขึ้น เชน ปติ ก็เปนพะองคหนึ่ง ๆ ใหชื่อวาพระอานาปา ฯ บาง ; พระปติบาง, ระบุชื่อเฉพาะเปนพระอุเพงคาปติบาง, พระผรณาปติบาง. แลวกลาคําเชื้อเชิญออกมาโดยตรงวา ขอใหพระองคนั้นพระองคนี้ ตามที่ตัว ตองการจงมาโปรดบาง จึงเกิดคําอาราธนาที่ยึดยาวออกไป เปนการพรรณนาถึง ลักษณะของ “พระองคนั้น ๆ” แลวก็ตอทายดวยคําอาราธนาออนวอนขอใหมาโปรด

www.buddhadasa.in.th


๑๒

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒

มีลักษณะเอียงไปในทางลัทธิวิญญาณ, หรือภูตผีปศาจของลัทธิ “ตันตริก” มากขึ้น ทุกที ซึ่งเปนเหตุใหเกิดแตกแยกนิกาย ถึงขนาดที่มิอาจสมาคมกันได ดังนี้ ก็ยังมีทํากันอยู แมในดินแดนของพวกพุทธบริษัทฝายเถรวาท ที่อางวามีพุทธศาสนา เจริญหรือบริสุทธิ์ ไมตองกลาวถึงพวกมหายาน ซึ่งแตกแยกเตลิดเปดเปงปนกับลัทธิ อื่นจนเขารกเขาพงไป ไปมีชื่อแปลก ๆ ออกไปจนกระทั่งจําไปไมไดวาเปนพุทธศาสนา. พิ จ ารณาดู แ ล ว ก็ รู สึ ก ว า การใช ห ลั ก เกณฑ เ ช น นี้ เป น การได ที่ น อ ย เกินไป ไมคุมเสีย คือไดมาแตผลในขั้นที่ยังถูกกิเลสตัณหาอุปาทานลูบคลํามากเกินไป ใหความสบายใจไดบาง ก็เปนเรื่องของศรัทธาลวน ๆ ไมเกี่ยวกับปญญาเลย จึงกลาย เปนอีกแบบหนึ่งตางหาก จากแบบที่มีอยูเปนอยู ในครั้งพุทธกาล ซึ่งเปนเรื่องของ ปญญา ในระดับที่กิเลสตัณหาไมมีทางลูบคลําได. เราตองพิจารณาใหเห็นความแตกตางระหวางลัทธิที่อาศัยศรัทธา และ ลัทธิอาศัยปญญา อยางชัดแจง แลวควบคุมมันไปในทางของปญญา และยอม ใหวาลัทธิใหม ๆ ที่เพิ่งเกิดขึ้นนั้น มุงหมายสําหรับบุคคลพวกหนึ่ง ซึ่งออกมาทํา สมาธิภาวนา ดวยหวังวาจะไดความสุขที่เปนวิมุตติสุขอยางใดอยางหนึ่ง ตามเขา เลาลือกัน วาเปนสิ่งวิเศษเหนือคนธรรมดา. เขายังมองไมเห็นวี่แววแหงใจความ ของอริยสัจจ แลวทํากัมมัฏฐานเพื่อจะดับความทุกขตามหลักของอริยสัจจ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สรุปความวา คนพวกหนึ่งตื่นขาวเลาลือ ออกมาทํากัมมัฏฐาน เพื่อ จะไดอะไรที่วิเศษตามเขาลือ. สวนอีกพวกหนึ่งออกมาทํากัมมัฏฐาน เพื่อปลอย วางสิ่งทั้งปวง ; ซึ่งเปนสิ่งที่ตรงกันขามอยางสิ้นเชิง.

www.buddhadasa.in.th


บุพพภาคทั่วไปของการเจริญสมาธิ

๑๓

๙. การแผเมตตา.๑ ธรรมเนียมการแผเมตตาใหสัตวทั้งหลาย กอน ทํากัมมัฏฐานมีที่มาหลายทาง ที่เปนเหตุผลหรือเปนปญญาก็มี, ที่เปนศรัทธาหรือ ความงมงายก็มี, แตก็มีวิธีแผหรือคําสําหรับวาเหมือน ๆ กันหมด. สวนมากก็คือบทวา “สพฺเพ สตฺตา สพฺเพ ปาณา สพฺเพ ภูตา อเวรา อพฺยาปชชฌา อนีฆา โหนฺตุ สุขี อตฺตานํ ปริหรนฺตุ” ซึ่งเปนบทแผเมตตาทั่วไป และมีคําแปลวา สัตวทั้งหลายทั้งปวงจงเปนผูไมมีเวร ไมมีความลําบาก ไมมีความ ทุกข จงเปนผูมีความสุขบริหารตนเถิด. สวนผูทําไปดวยความงมงาย หรือดวยความหวาดกลัว มีความมุงหมาย พิเศษออกไปกวาธรรมดา โดยไดรับคําแนะนําวาพวกภูตผีปศาจชอบรบกวนบาง พวกเปรตจะขอสวนบุญบาง พวกเทวดาจะไมชวยสนับสนุนบาง ดังนั้นเปนตน ก็มีคํากลาวแผเมตตาที่นอกหลักเกณฑ หรือนอกแบบแผนของการแผเมตตาตามปกติ เชนออกชื่อมนุษยเหลานั้นบาง ออกชื่อเทวดาหรือพระเจาเปนตนบาง แลวแผ เมตตาใหสัตวเหลานั้น เพื่อชวยตนอีกตอหนึ่ง กลายเปนการบวงสรวงออนวอน ไปโดยใชเมตตาหรือสวนบุญที่จะไดรับนั้นเอง เปนการติดสินบนสินจางแกผูที่จะ มาชวยตนไปก็มี เพราะอํานาจความกลัว และวางแบบแผนขึ้นเพราะความกลัวนั้น จนเสียความมุงหมายเดิม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org บทแผเมตตาบางแบบอยูในลักษณะที่นาขบขัน เชนบทวา “อหํ สุขิโต โหมิ, นิทฺทุกฺโข โหมิ, อเวโร โหมิ, อพฺยาปชฺโฌ โหมิ, อนีโฆ โหมิ, สุขี อตฺตานํ ปริหรามิ” ซึ่งแปลวา ขอเราจงเปนผูมีสุขเถิด, เปนผูไมมีความทุกขเถิด, เปนผูไมมีเวรเถิด, เปนผูไมมีความลําบากเถิด, เปนผูไมถูกเบียดเบียนเถิด, เปน

การบรรยายครั้งที่ ๒ / ๑๔ สิงหาคม ๒๕๐๒

www.buddhadasa.in.th


๑๔

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒

ผูมีสุขบริหารตนเถิดดังนี้ ยอมสอใหเห็นความหวาดกลัว หรือความเห็นแกตัวอยางยิ่ง โดยแท ชวนใหคิดวา ผูมีจิตใจออนแอเชนนี้จะสามารถทําความเพียรเพื่อเห็นแจง อนิจฺจํ ทุกฺขํ อนตฺต า ไดอ ยา งไรกัน ดู ๆ จะเปน เรื่อ งรบกวนเสน ประสาท ของตนเองมากยิ่งขึ้นไปเสียอีก. การที่มีบุคคลบางคน ไดเห็นภาพที่นาสะดุงหวาด เสียว จนจิตใจวิปริตไมอาจจะทํากัมมัฏฐานไดตอไป หรือถึงกับวิกลจริต ก็นาจะมี มูลมาจากการขัดกันในขอนี้ คือขอที่บุคคลผูนั้นมีหลักเกณฑที่ผิด หรือถูกชักนําไป ผิด จนมีความกลัวเกินประมาณไรเหตุผล แลวก็ไปฝนทํากัมมัฏฐาน ซึ่งเปน การขัดขวางกันอยางยิ่งอยูในตัว. ผูปฏิบัติจะตองเขาใจความหมายของการแผเมตตา กอนหนาทํากัมมัฏฐานใหถูกตองจริง ๆ จึงจะสําเร็จประโยชน ไมเปนการเนิ่นชา และไมมีโทษที่เกิดมาจากการขัดขวางกันขึ้นในใจ เชนที่กลาวมา. ขอนี้เปนพิธี รีตองที่เดินเลยเกินขอบขีดไปจากพิธีที่พอเหมาะพอดี เปนการทําสิ่งที่ถูกที่ควร ให กลายเปนสิ่งที่เกินถูกเกินควรไปเสีย เปนสิ่งที่พึงสังวรไววาทําดีเกินไปหรือถูกเกินไป ก็ใชไมไดเหมือนกัน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๑๐. การสวดพุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ กอนทํากัมมัฏฐาน. บางแบบหรือบางสํานักมีระเบียบใหสวดพระคุณเหลานี้ กอนการทํากัมมัฏฐาน โดยเฉพาะคือสวดอิติปโส, สวากขาโต, และสุปฏิปนโน จนจบทั้ง ๓ บท โดย ไมตองคํานึงถึงความหมาย ; บางคนก็ไมทราบคําแปล วามีอยูอยางไรดวยซ้ําไป ; เลยกลายเปนเพียงธรรมเนียม หรือยิ่งกวานั้นก็กลายเปนของงมงาย ในฐานะที่ อางคุณพระรัตนตรัย มาเปนเครื่องคุมครองตนใหปลอดภัยตลอดเวลาที่ทํากัมมัฏฐาน อยางมีความขลังความศักดิ์สิทธิ์ไปเสียอีก. ถาเปนการเจริญอนุสสติ ก็ไมใชการ สวด ๆ ทอง ๆ แตตองเปนการทําในใจ ถึงคุณของพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ จริง ๆ เพื่อใหเกิดปติปราโมทยในการที่จะทํา ดวยอํานาจความเลื่อมใสอยางแรงกลา, ดังนี้ก็ควรอยู. ผูปฏิบัติที่ประสงคจะทําในขอนี้จะตองระมัดระวังอยาใหกลายเปนไป

www.buddhadasa.in.th


บุพพภาคทั่วไปของการเจริญสมาธิ

๑๕

สวดพระพุท ธคุณ กั นภู ต กันผี อยา งที่ เปน กันอยูโ ดยมากเลย จะไปเข ากลุ มกั บ ความงมงาย อยางที่กลาวมาแลวขางตนไปเสียอีก. ๑๑. การอธิษฐานจิต ตอธรรมะที่ตนปฏิบัติ. ขอนี้ไดแกระเบียบ วิธี ที่เปนเครื่องเพิ่มกําลังใจใหแกตน เพื่อความมั่นใจ หรือพากเพียรขยันขันแข็ง ยิ่งขึ้น โดยทําความแนใจวาทางที่พระอริยเจาทั้งหลายตลอดถึงพระพุทธเจาของเรา ดวย ไดดําเนินไปแลว ในหนทางที่ตนกําลังดําเนินอยูนี้จริง ๆ เชนมีบทใหบริกรรม หรือบอกกลาวขึ้นแกตัวเองวา “เยเนว ยนฺติ นิพฺพานํ พุทฺธา จ เตสฺจ สาวกา เอกายเนน มคฺเคน สติปฏานฺสฺินา” ซึ่งมีใจความวา พระพุทธเจาทั้งหลายดวย พระสาวกทั้งหลายของพระพุทธเจาทั้งหลายเหลานั้นดวย ยอมถึงซึ่งพระนิพพาน ดวยขอปฏิบัติใด ขอปฏิบัตินั้นรูกันอยูแลววาไดแก สติปฏฐานทั้ง ๔ ซึ่งเปน หนทางอันเอกของบุคคลผูเดียว ดังนี้. ขอนี้เปนการย้ําความแนใจหรืออธิษฐานจิต ในสติปฏฐานที่ตนกําลังกระทําอยู หรือกําลังจะกระทําลงไปก็ตาม. ความมุงหมาย อันแทจริง ก็เพื่อจะใหเกิดความมั่นใจยิ่งขึ้นนั่นเอง แตพวกที่ยึดถือในความขลัง หรือความศักดิ์สิทธิ์ ก็อดไมไดที่จะดัดแปลงความหมายใหกลายเปนการปฏิญญาณตน หรือการมอบกายถวายตน อยางใดอยางหนึ่งไปไมได ทั้ง ๆ ที่ไมนาจะทําเชนนั้น เลย. นี้เราจะเห็นไดวาการดัดแปลงพิธี หรือการเปลี่ยนแปลงความหมายของสิ่ง เหลานี้ มีไดอยางไมนาจะมี ในเมื่อมันตกมาอยูในมือของคนขี้ขลาด หรือมีความเชื่อ อยางงมงาย. นับวาเปนตัวอยางที่ดีของคําวา ความเชื่อที่ถูกตัณหาและทิฏฐิลูบคลํา ไมมีทางที่จะดําเนินไปสูปญญาสูงสุดไดเลย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เท า ที่ ก ล า วมาแล ว เป น ตั ว อย า งระเบี ย บวิ ธี ต า ง ๆ ที่ นิ ย มกระทํ า กั น กอนการเจริญกัมมัฏฐาน นํามากลาวไวเทาที่ควร แตก็มิไดหมายความวามีเพียง

www.buddhadasa.in.th


๑๖

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒

เท า นี้ ยั ง มี ม ากกว า นี้ และมี ที่ เ ดิ น หน า ไปในทางงมงายมากเกิ น ไป จนน า รั ง เกี ย จ ก็ยังมี. ๑๒. การบูชาพระพุทธองคดวยการปฏิบัติบูชา. ระเบียบขอนี้เปน ระเบียบที่วางไวใหทําหลังจากการเลิกทํากัมมัฏฐาน ในคราวหนึ่ง ๆ หรือวันหนึ่ง ๆ โดยผูทํามุงเอาการปฏิบัติที่ไดทําไปในวันนั้น เปนเครื่องบูชาพระพุทธองค หรือ พระรัตนตรัยก็ตาม ในฐานะที่เปนปฏิบัติบูชา อันคูกับอามิสบูชา ถือวาเปนสิ่งที่ สูงสุดยิ่งกวาอามิสบูชา เพราะฉะนั้น จึงมีการอางถึงความเปนปฏิบัติบูชา อยูใน บทสําหรับกลาว เชนบทวา “อิมาย ธมฺมานุธมฺมปฏิปตฺติยา พุทฺธํ ธมฺมํ สงฺฆํ ปูเชมิ” ซึ่งแปลวา ขาพเจาขอบูชา พระพุทธเจา พระธรรม พระสงฆ ดวย การปฏิบัติธรรมสมควรแกธรรมอันนี้ ซึ่งก็นิยมวา ๓ ครั้งเปนธรรมดา. ขอนี้ มีรองรอยที่แสดงใหเห็นวา เปนระเบียบที่จัดขึ้นใหสมคลอยกันกับพระพุทธภาษิต ที่ตรัสสรรเสริญผูบูชาพระองคดวยปฏิบัติบูชา แทนการบูชาดวยอามิสบูชา. การ ทํากัมมัฏฐานถือกันวาเปนการปฏิบัติอยางสูงสุด ฉะนั้นจึงยกขึ้นเปนเครื่องบูชาแก พระพุทธเจาทุกครั้งไป นับวาเปนการกระทําที่ดี มีเหตุผล และนาเลื่อมใสอยู ; เวนไวเสียแตวาผูทําจะหลับหูหลับตาทําไป ตามธรรมเนียมหรือระเบียบเสียเทานั้น. แมวาระเบียบอันสุดทายนี้ เปนสิ่งที่ตองทําหลังจากการทํากัมมัฏฐานแลวก็จริง แตนํามากลาวไวเสียกอนเพื่อใหสินเรื่องสิ้นราวไป สําหรับเรื่องเบ็ดเตล็ดตาง ๆ ที่ เ พิ่ ง งอกขึ้ น ใหม ในชั้ น หลั ง . ส ว นระเบี ย บเบ็ ด เตล็ ด ซึ่ ง ขยายตั ว มาก ออกไปจนกลืนไมลงนั้นไดงดเสีย ไมไดนํามากลาวไวในที่นี้เพื่อเปนการวินิจฉัยแต อยางใด.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ระเบี ยบวิ ธี และพิ ธี รี ตองต าง ๆ เท า ที่ กล าวมาแล ว นี้ เราจะเห็ นได ว า บางอย า งเป น ไปเพราะกิ เ ลสตั ณ หาลู บ คลํ า โดยแท ถ า ไม ฝ า ยศิ ษ ย ก็ ฝ า ยอาจารย

www.buddhadasa.in.th


ความมุงหมายอันแทจริงของบุพพกิจ

๑๗

ผูบัญญัติระเบียบพิธีตาง ๆ ขึ้นใหม หรือเปลี่ยนแปลงความหมายของของที่มีอยูเดิม ไปตามความเชื่อหรือความตองการของตน ๆ. ผูปฏิบัติจะตองวินิจฉัยดูดวยเหตุผล หรือดวยหลักดวยเกณฑ ที่เปนประธานของหลักเกณฑทั้งหลาย ใหเปนไป ตรงตามความมุงหมายของการทํากัมมัฏฐาน หรือสนับสนุนแกการทํากัมมัฏฐาน ของตนจริง ๆ เรื่องจึงจะดําเนินตามทางของโลกุตตรปญญา ไมวกไปเปนเรื่องของ ศรัทธาหรือความงมงาย แลวกลับมาตีกันกับเรื่องของปญญา จนเกิดความยุงยาก หรือเกิดผลรายขึ้นในที่สุด, เชนเปนที่ตั้งแหงการหัวเราะเยาะ ของสังคมที่เปน บัณฑิต หรือถึงกับตนเองมีสติฟนเฟอนไปในที่สุด. ขอนี้ไมเปนเพียงแตความ เสียหายสวนตัว แตเปนผลรายแกพระศาสนา หรือการเผยแผพระศาสนา เปน สวนรวมอีกดวย นับวาเปนการเสียหายอยางยิ่ง.

*

*

ตอน สาม

*

ความมุงหมายอันแทจริงของบุพพกิจ

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org บุพพกิจตาง ๆ เหลานี้ ถาอยากจะทํา ก็จะ ขอแนะนํา หรือชี้ความ มุงหมายอันแทจริง ของกิจเหลานั้นไวพอเปนตัวอยาง ดังตอไปนี้ :(๑) การทําความเคารพสักการะ แกทานผูเปนประธานหรือเจาของ สํานัก นั้น เปนธรรมเนียมของสังคมทั่วไป. สวนที่สําคัญกวานั้น อยูตรงที่จะ ตองทําความเขาใจกับทานใหถึงที่สุด คือใหทานเกิดความเขาใจในเราวาเราเปนคน อยางไร มีกิเลส มีนิสัยสันดานอยางไร ตองการความสะดวกเพื่อการปฏิบัติ ในสวนไหน ดังนี้เปนตน. เพื่อทานจะไดไวใจเราและใหความชวยเหลือแกเรา อยางถูกตองและเต็มที่ไดโดยงายดาย เปนการปรารภธรรมะเปนใหญ มิใชปรารภ วัต ถุห รือ พิธีรีต อง ดัง กลา วแลว . ถา เปน เรื่อ งที่ไ มอ าจทํา ความเขา ใจกัน ได ก็อยาเขาไปสูสํานักนั้นเลย ขอนี้เปนกิจที่ตองทําในขั้นแรกที่สุด และก็ทําเพียง

www.buddhadasa.in.th


๑๘

อานาปานสติภาวนา ตอน ๓

ครั้งเดียวเปนธรรมดา หลังจากนั้นก็มีแตการประพฤติปฏิบัติใหตรงตามขอสัญญา หรือขอตกลงตาง ๆ ที่มุงหมายจะชวยเหลือซึ่งกันและกัน ดวยอาศัยความเมตตา กรุณาเปนที่ตั้งอยางแทจริง (๒) การถวายสักการะตออาจารยผูสอนโดยตรง นั้น เหมือนกับ การเคารพ หรือการปฏิบัติอื่น ๆ ตอครูประจําชั้นของนักเรียน ในเมื่อการกระทํา ขอ ๑ เปนเรื่องที่จะตองปฏิบัติตออาจารยใหญ หรืออาจารยผูปกครอง หรือเจาของ โรงเรียนอยางในสมัยนี้. ผูปฏิบัติจะตองมีความเคารพและไววางใจในอาจารยผูสอน ของตนมากพอที่จะไมละเลยตอการที่จะฟง หรือการนําไปคิด ไปพิจารณาดวยความ สนใจอยางยิ่ง. ถาความเคารพหรือความไววางใจมีไมพอ ก็จะทําใหเกิดการฟง อยางลวก ๆ การพิจารณาอยางลวก ๆ และอะไรก็ลวก ๆ ไปเสียหมด. ซึ่งเปน มูลเหตุอันสําคัญของความลมเหลว ตั้งแตระยะแรกไปทีเดียว การทําความเขาใจ ตอกันและกันใหถึงที่สุด นับวาเปนสิ่งสําคัญในขอนี้ มิใชวาสักแตวาถวายเครื่อง สักการะ ไหว ๆ กราบ ๆ แลวจะเปนการเพียงพอ. จะตองมีการซักไซสอบสวน อยางละเอียด เหมือนกับการตรวจโรคของหมอ ที่จะพึงกระทําตอคนปวยที่มาขอ ใหรักษาทุกแงทุกมุมทีเดียว. ความเคารพและความไววางใจ เปนมูลเหตุใหมี การเปดเผยถึงโรค คือ กิเลส หรือกรรมอันเปนบาปของตนเอง เฉพาะเรื่อง เฉพาะรายไปทีเดียว. เมื่อเกิดความเคารพและความรักใครฉันบิดากับบุตร หรือ ฉันอาจารยกับศิษยแลว สิ่งตาง ๆ ก็ดําเนินไปดวยดี เพราะฉะนั้นสิ่งที่ศิษยจะพึง ถวายแกอาจารยนั้น จึงไมไดเปนแตเพียงธูปเทียนเปนตน แตตองเปนความเชื่อฟง ความซื่อตรงเป ดเผยและความไว วางใจเป นต น มากกวาระเบียบการถวายดอกไม ธูปเทียน ซึ่งเปนเพียงวัตถุภายนอก ; ยอมมีความมุงหมายถึงความรูสึกภายในใจ อยางแทจริง ดังที่ไดกลาวมาแลว. ความใกลชิดสนิทสนมสืบตอไปในกาลภายหนา จะชวยใหสิ่งเหลานี้ เปนไปในทางเจริญ หรือกาวหนายิ่งขึ้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


ความมุงหมายอันแทจริงของบุพพกิจ

๑๙

(๓) การจุดธูป เทีย นที่ที่บูช า นั้น เปนเรื่อ งของพิธี ถา ตอ งทํา ก็ทําเพราะเห็นแกพิธี หรือตามธรรมเนียมของสังคม. ผูที่มีหัวใจอุทิศบูชาตอ พระรัตนตรัยอยางเต็มเปยมอยูแลว จะจุดหรือไมจุดก็ได. แตถาจุดหรือมีการจุด ก็ตองไมเปนเรื่องที่ฟุงซานรําคาญ หรือเปนการทําลายเวลาใหเนิ่นชา, สิ่งซึ่งเปน เพี ย งพิ ธี เ ช น นี้ เป น เรื่ อ งเกี่ ย วกั บ สั ง คม เพื่ อ ความพร อ มเพรี ย งสามั ค คี กั น ยิ่ ง กว า ที่จะเปนเรื่องจําเปนสําหรับการปฏิบัติ. ผูปฏิบัติในครั้งพุทธกาล โดยเฉพาะ พระสาวกของพระพุ ท ธองค นั้ น ไม เ คยรู จั ก ธู ป เที ย นเหล า นี้ ไม เ คยจุ ด ธู ป เที ย น เหล านี้ ในขณะเช นนี้ หรื อจะพกติ ดตั วไปสํ าหรั บไปจุ ดในป า หรื อในที่ สงั ดทุ กครั้ ง ที่จะลงมือทํากัมมัฏฐานเลย. ผูปฏิบัติพึงวินิจฉัย แลวทําความแนใจอยางใด อย า งหนึ่ ง ลงไป เพื่ อ ความสะดวกและไม ฟุ ง ซ า นในส ว นตั ว และทั้ ง ไม ขั ด ขวางใน ทางสัง คม ในเมื่อ ตอ งรว มกัน ทํา เปน หมูใ หญ. การซื้อ หาธูป เทีย นไวจุด ทุก คราวทุ ก ครั้ ง ที่ จ ะลงมื อ ทํ า กั ม มั ฏ ฐานนั้ น ย อ มแสดงอยู ใ นตั ว แล ว ว า เป น การทํ า ของบุคคลประเภทสมัครเลนเปนครั้งคราวเทานั้นเอง. ผูปฏิบัติที่แทจริงตองทํา อยู ทุ ก ลมหายใจเข า ออก คื อ ทุ ก อิ ริ ย าบถ ทั้ ง กลางวั น และกลางคื น ทั้ ง หลั บ และ ตื่ น แล วจะเอาเวลาไหนมาเป นเวลาตั้ งต นสํ าหรั บจุ ดธู ปเที ยนเป นประจํ าวั นได เล า. เขาควรพยายามจุ ด ธู ป เที ย นในใจของตน ให ลุ ก โพลงอยู เ สมอทั้ ง กลางวั น และ กลางคื น ทั้ งเวลาตื่ นและเวลาหลั บ อย าต องลํ าบากด วยการซื้ อหาหอบหิ้ วสิ่ งเหล านี้ ให มาเป นการเพิ่ มความลํ าบากให แก ตนเลย ในเมื่ อการปฏิ บั ติ ได ดํ าเนิ นมาถึ งขั้ นนี้ แลวจริง ๆ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org (๔) ครั้งแรก

การแสดงอาบัติ หรือการรับศีล ในขณะที่จะรับกัมมัฏฐาน หรือกอนแตที่จะลงมือปฏิบัติเปนประจําวันก็ตาม เปนสิ่งที่นาขบขัน.

www.buddhadasa.in.th


๒๐

อานาปานสติภาวนา ตอน ๓

ความหมายอันแทจริงมีอยูโดยหลักวา ผูที่เจริญกัมมัฏฐาน ซึ่งเปนเรื่องทางใจ โดยตรงนั้น ตองมีกาย วาจาที่สะอาดเปนพื้นฐาน ไมมีความรังเกียจกินแหนง ตัวเองอยางใดอยางหนึ่งติดอยูในใจ ถามีความรูสึกรังเกียจตัวเองอยูในใจ ใจก็จะ ฟุงซานไมมีทางที่จะทําสมาธิใหใจสงบได เพราะฉะนั้น เราจะตองรูจักปรับปรุง ตัวเองในทางจิตใจ ใหมีจิตใจเรียบรอย สงบราบคาบมาเสียกอน เชนมีบาปกรรม อยางไรติดตัวอยู หรือไปทําความชั่วอันใดไว ที่กําลังรบกวนกลุมรุมอยูในใจ เขาต องใช สติ ป ญญาหรื ออํ านาจของสติ ป ญญาในทางที่ จะสํ านึ กบาปกรรมอั นนั้ นด วย สติปญญาจริง ๆ ไมใชเพียงแตมาแสดงอาบัติเดี๋ยวนี้ หรือรับศีลกันเดี๋ยวนี้ ซึ่งดู เปนการเลนตลกมากกวา. ทางที่ถูกเขาจะตองสะสางปญหาขอนี้ใหเด็ดขาดลงไป วาบาปกรรมที่มีอยูนั้นจะไปพักไวที่ไหน จะไปเก็บไวอยางไร จึงจะไมมารบกวน จิตใจในขณะที่ตนกําลังจะทํากัมมัฏฐานอยูในขณะนี้ ถาเปนเรื่องของพวกที่ถือ ความเชื่อเปนหลัก เชนพวกที่ถือพระเปนเจา ก็จะมีการแสดงบาป หรือแสดง อาบัติ ใหแกพระที่ทําหนาที่รับอาบัติแทนพระเปนเจาใหแกตนได แลวตนก็มี จิตใจสะอาดทํากัมมัฏฐาน, แตก็ไมรูวาจะทํากัมมัฏฐานไปทําไมอีก ในเมื่อ บาปกรรมนั้นหมดไปได ดวยการทําเพียงเทานั้น. นี่แหละเปนทางที่ทําใหมอง เห็นไดวา การทํากัมมัฏฐานของเรา เปนเรื่องของสติปญญา และจะตองทําเพื่อ เอาชนะบาปกรรมาดวยสติปญญา ไมใชดวยอาศัยพิธี หรืออาศัยความเชื่อแต อยางเดียว. การสํานึกบาปของเราตองเปนการสํานึกดวยปญญา รูวาบาปกรรม มันเกิดขึ้นมาจากอะไร จะสิ้นสุดไปไดดวยอะไร เราจึงจะมีจิตใจผองใสสงบรํางับ พอที่จะทํากัมมัฏฐาน. เราตองมีความรูแจงที่เปนการแสดงอาบัติของเราอยูตลอด เวลา คือสํานึกผิดในความผิด เล็งเห็นโทษของกรรมชั่ว ปกใจแนวแนในการที่ จะทําเสียใหมใหถูกใหดีอยูเปนประจํา ดวยอํานาจของสติปญญาหรือความรู.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


ความมุงหมายอันแทจริงของบุพพกิจ

๒๑

ครั้นมาถึงโอกาสที่จะทํากัมมัฏฐาน เพื่อใหสําเร็จประโยชนตามความมุงหมายนั้น จิตก็อาจหาญรางเริงเหมาะสมที่จะทํากัมมัฏฐานอยูในตัวเอง ไมมีความรังเกียจ กินแหนง หรือวิปปฏิสารอันใด มาครอบงําใจใหเศราหมอง หรือเกิดความทอแท ฟุงซานขึ้นในขณะนั้นได เราก็จะทําสมาธิไดสําเร็จ เปนสมาธิจริง ๆ และเปน ปญญาจริง ๆ ยิ่งขึ้นไป ดวยเหตุนี้แหละจึงเห็นวา พิธีแสดงอาบัติหรือการรับศีล กันในขณะที่เปนการคับขัน หรือเขาดายเขาเข็มเชนนี้ เปนการเลนตลกหรือ นาขันไปเสีย. ฉะนั้น ผูปฏิบัติผูใดยึดมั่นในการทําเชนนั้น ก็กลายเปนผูปฏิบัติ ชนิดสมัครเลนไปตามเคย. แตถาเราจะตองทํา ก็ควรจะทําได พอเปนพิธีเพื่อ ไมใหขัดใจคนอื่น แตโดยเนื้อแทแลวเราจะตองสํานึกบาปอยูตลอดเวลา มีกําลัง แกลวกลาเพียงพอในการที่จะทํางาน ที่จะเอาชนะบาปเหลานั้นใหไดอยูเปนประจํา ตลอดวันตลอดคืน และเปนผูเพียบพรอมที่จะทํากัมมัฏฐานอยูทุกลมหายใจเขาออก. (๕) การมอบตัวตอพระรัตนตรัย นั้น เปนสิ่งที่ควรมีอยูตลอดกาล ไมใชเพิ่งมามอบกันเมื่อจะทํากัมมัฏฐาน ดวยอาการของคนจนตรอกเชนนี้. ถาไป ทําเขา มันก็กลายเปนเพียงพิธีรีตองลวน ๆ ไปตามเดิม ถามากไปกวานั้นก็เปน เรื่องหนาไหวหลังหลอกตอพระรัตนตรัยไปโดยไมรูสึกตัว. หรือถามากไปกวานั้นอีก คือเพิ่งมามอบเพื่อเห็นแกใครคนใดคนหนึ่ง หรือหมูคณะใดคณะหนึ่ง, ซึ่งเปน การแสดงวาบุคคลนั้นมีความสําคัญยิ่งกวาพระรัตนตรัย ดูอะไร ๆ มันขลุกขลัก เหมือนกับคนเตรียมไมพรอมไปเสียทุกสิ่งทุกอยาง มีพื้นฐานไมเหมาะสมที่จะ กอสรางสิ่งที่ประณีตหรือสูงสุดเอาเสียเลย. ขอย้ําวาเราจะตองมีการมอบตัว คือ การไววางใจในพระรัตนตรัยถึงที่สุดแลว มากอนหนานั้น จึงมีปติปราโมทยอันแท จริง ที่จะเกิดกําลังสงเสริมกัมมัฏฐาน อยางมั่นคงและเพียงพอ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๒๒

อานาปานสติภาวนา ตอน ๓

(๖) การมอบตัวตออาจารย ก็อยางเดียวกัน คือเปนเรื่องของเหตุผล และสติปญญา มิใชพิธีรีตอง ถาใจไมเชื่อ หรือสติปญญาไมยอมรับวาอาจารยผูนั้น จะเปนประโยชนอะไรแกตนแลว ก็ไมควรจะมีความลําบากเรื่องการมอบตัวอะไร กันใหเสียเวลา ใจความสําคัญอยูตรงที่จะตองศึกษาซึ่งกันและกันใหเขาใจซึ่งกัน และกันจริง ๆ แลว จะทําพิธีหรือไมทําพิธีนั้น ยอมมีเหตุผลอยูอีกสวนหนึ่งตางหาก, ถาทําดีกวา ก็ทํา, ถาไมทําดีกวา ก็ไมควรทํา ชนิดที่สักวาพอเปนพิธี. ขอให คิดดูใหดีเถิดยอมจะเห็นไดดวยตนเองวา พิธีเชนนี้แหละจะทําใหคนตางศาสนา ที่จะเขามาสูศาสนานี้ เกิดความรังเกียจไมไววางใจ หรือเลยไปกวานั้นจนถึงกับ ประณามวา มันเปนแบบแผนของคนปาเถื่อน สมัยโบรมโบราณกอนประวัติศาสตร หรืออยางดีที่สุดก็กลายเปนเรื่องของพวกที่ถือพระเจา ดวยอํานาจศรัทธาและภักดี มากกวาที่จะเปนของพุทธศาสนา ซึ่งมากไปดวยปญญา และมุงหมายจะทําลาย ความยึดถือตัวเองอยางแทจริง; ฉะนั้นถาตองทําก็ทําเพียงเพื่อพิธี หรือไมให เปนที่ขัดใจของสังคมที่ยังติดในพิธี หรือเปนการแสดงออกถึงความรูสึกในใจให เต็มรูปของพิธีเทานั้นเอง อยาไดถือวาขอนี้เปนหลักสําคัญของพุทธศาสนา ซึ่งไม มีความประสงคจะผูกพัน หรือทําใหเกิดความผูกพันโดยไมมีเหตุผล. ความผูกพัน อันนี้มุงหมายเปนการเปดโอกาสใหอาจารยวากลาวดุดา หรือเรียกรองสิ่งใดไดตาม ความพอใจเทานั้นเอง แตเมื่อเรื่องนี้เปนเรื่องที่สูงไปกวานั้น คือเปนเรื่องที่ตอง ทําดวยความเมตตากรุณา และสติปญญาจริง ๆ แลว ทั้งฝายอาจารยและฝายศิษย ไมควรยึดมั่นดวยอุปาทาน หรือความไมไววางใจตัวเอง ของตน ๆ ใหมากไปเลย มันจะกลายเปนอุปสรรค ที่จะขัดกันตอหลักการทั่ว ๆ ไปก็ได. มันเปนเรื่องที่ ติดเนื่องมาจากเรื่องที่ต่ํากวานี้ คือเรื่องขั้นตน ๆ ของบุคคลที่เพิ่งถูกชักจูงเขามาสู ศาสนานี้เทานั้น. ในครั้งพุทธกาลไมปรากฏการณทําเชนนี้ในอริยวินัย. เปนสิ่ง ที่เพิ่งเกิดขึ้น ในเมื่อตองการจะใหสิ่งตาง ๆ รัดกุมยิ่งขึ้นในยุคหลัง ๆ เทานั้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


ความมุงหมายอันแทจริงของบุพพกิจ

๒๓

(๗) การขอกัมมัฏฐาน ดวยบทสําหรับกลาวขอวา “นิพฺพานสฺส เม ภนฺเต สจฺฉิกรณตฺถาย กมฺมฏานํ เทหิ” นี้เห็นไดชัดวา ถอดแบบมาจากการขอ บรรพชาอุปสมบทตามแบบลังกาโดยแท. ไมมีลักษณะสํานวนของสมัยพุทธกาล เลย : แตนับวา เปนสิ่งที่นาสรรเสริญและถูกตองตามความหมายของเรื่องจริง ๆ เปนการปองกันที่ดี ที่จะไมใหคนขอกัมมัฏฐาน เพื่อประโยชนอยางอื่นซึ่งเปน เรื่องเห็นแกตัว เชน ทํากัมมัฏฐาน เพื่อเกิดนั่นเกิดนี่ มีนั่นมีนี่ เปนคนวิเศษ เหนือคนอื่น สําหรับโออวดกัน หาประโยชนหรือชื่อเสียงมาใหตัว. แมการ กระทําเพื่อไดญาณทัสสนะอันวิเศษ เชน มีหูทิพย ตาทิพย เปนตน ก็ไมยกเวน คือเปนสิ่งที่ยังไมตรงตอความมุงหมาย อยูนั่นเอง. พระพุทธองคทรงยืนยันหรือทรงกําชับวา พรหมจรรยนี้ตองเปนไป เพื่อวิมุตติ หลุดพนจากความทุกขอยางเดียวเทานั้น มิใชเปนไปเพื่อสิ่งซึ่งมีคุณคา ต่ํากวานั้น หรือผิดแผกแตกตางไปจากนั้น เชนวาประพฤติพรหมจรรย เพื่อความ เปนคนมีศีล หรือเปนคนมีสมาธิ หรือเพื่อความเปนคนมีญาณทัสสนะวิเศษ ตาง ๆ ก็หาไม. นั่นเปนเพียงกระพี้ของพรหมจรรย ผลอันแทจริงของพรหมจรรย คือ นิพพาน อยางเดียว. ถาผูปฏิบัติกัมมัฏฐานทุกคนถือตามหลักพระพุทธองค ขอนี้กันอยางแนนแฟนแลว สิ่งที่ไมงดงามตาง ๆ ก็จะไมเกิดขึ้นในหมูบุคคล ผูปฏิบัติกัมมัฏฐานไปไดเลย. ผูปฏิบัติควรจะศึกษาเรื่องราวอันแทจริงของพระ นิพพาน แมแตในทางทฤษฎีมาใหเพียงพอเสียกอน ก็ยังเปนการดีอยูมากมาย เพราะจะไดมุง เข็ม ตรงไปยัง พระนิพ พานไดโ ดยงา ย. สว นที่แ นน อนที่สุด และ ดีที่สุดนั้น อยูตรงที่จะตองมองเห็นความทุกขอยางชัดเจน และอยากพนทุกขอยาง แรงกลา เหมือนกับบุคคลที่ถูกจับศีรษะกดลงไปใตผิวน้ํา มีความตองการอยาก

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๒๔

อานาปานสติภาวนา ตอน ๓

จะขึ้นมาหายใจบนผิวน้ํา ฉันใดก็ฉันนั้น. นั่นแหละเปนความปลอดภัยสําหรับ ความมุงหมายที่จะเขาทํากัมมัฏฐานในพระศาสนานี้. เพราฉะนั้น เมื่อนักปฏิบัติผูใดไดกลาวคําขอกัมมัฏฐานออกไปวา “นิพฺพานสฺส เม ภนฺเต สจฺฉิกรณตฺถาย กมฺมฏานํ เทหิ” เปนตน ดังนี้แลว ก็ขอใหมีความรูสึกในใจอันถูกตองโดยนัยดังกลาวมาแลวนั้นจริง ๆ ก็จะเปนการ ไมเสียหายในการทําพิธีอันนี้ ซึ่งเปนเหมือนการเตือนย้ําอยูเสมอวากัมมัฏฐานนี้ ตองเพื่อนิพพานเทานั้น หรือขยายออกไปมากกวานั้น ก็วา เพื่อมรรค ผล นิพพาน เทานั้น และขออยาใหเขาใจคําวา “มรรคผล” ผิดตอไปอีก เพราะเปนคําพูดที่อาจ จะเขาใจเฉไฉเลือนออกไปไดยิ่งกวาคําวา นิพพาน ; อยางที่เรามักจะไดยินกันวา เงินทองเปนมรรคผลอยางหนึ่งดวยเหมือนกัน. นี่ถูกเอามาใชเปนภาษาพูดของ คนทั่วไป ในความหมายอันต่ํากวาเดิมมากมาย ผลจงเกิดมีขึ้นวาคนแหกันไปทํา กัมมัฏฐานที่นั่นที่นี่ เพราะอยากบรรลุมรรคผล แตแลวมรรคผลนั้นก็เปนแตเพียง สีลัพพัตตปรามาสอยางใดอยางหนึ่งไปเสีย ความวุนวายตาง ๆ จึงเกิดขึ้นในหมู บุคคลผูแหกันไปทํากัมมัฏฐานนั่นเองอยางนาเวียนหัว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ขอใหพิจารณาดูเถิดวา ความเขาใจถูก หรือเขาใจผิด ตอความมุงหมาย ของการทํากัมมัฏฐานนั้น มีความสําคัญอยางไร. เพราะฉะนั้น ถานักปฏิบัติผูใด มีความประสงคตอกัมมัฏฐานก็ดี หรือออกปากขอกัมมัฏฐานก็ดี ควรจะเปน ผูที่มีการศึกษาเรื่องของพระนิพพาน หรือมองเห็นความทุกขในวัฏฏสงสารอยาง ประจักษชัดแกใจตนอยางเพียงพอ จึงจะมีความปลอดภัยในการที่นําตนเขามา เกี่ยวของกับกัมมัฏฐาน ไมมีทางที่จะตกเปนเหยื่อของบุคคลหรือของกิเลสไดเลย.

www.buddhadasa.in.th


ความมุงหมายอันแทจริงของบุพพกิจ

๒๕

(๘) การเชื้อเชิญกัมมัฏฐาน๑ ที่ทํากันราวกะวาเปนพระเจา หรือ เทพเจาองคหนึ่งนั้น เปนสิ่งที่ไมควรกระทํา ควรจะถือเอาความหมายแตเพียงวา ตั้งใจจะทํากัมมัฏฐานขอใดขอหนึ่ง หรือสวนใดสวนหนึ่ง ใหสําเร็จลุลวงไป วันหนึ่ง ๆ อยางเต็มความสามารถ. ถาจะใหมีการเชื้อเชิญ ก็ควรจะเปนการเชื้อเชิญตนเองหรือปลุกปลอบ ใจตนเอง ใหมีความอาจหาญราเริง มีความขยันขันแข็ง สุขุมรอบคอบ โดยเฉพาะ อยางยิ่งก็คือ ใหเต็มไปดวยอิทธิบาท ๔ ประการ คือ ฉันทะ วิริยะ จิตตะ และ วิมังสานั้นเอง จะเปนการถูกกวาหรือดีกวา. เมื่อเชื้อเชิญตนเองในลักษณะเชนนี้ ไดแลว สิ่งที่ทําก็จะประสบความสําเร็จเทากับสามารถเชื้อเชิญองคพระกัมมัฏฐาน ใหมาโปรดไดเหมือนกัน. การที่นักปฏิบัติในกาลกอน เกิดสมมติธรรมะใหเปนบุคคลขึ้นมาเชนนี้ เขาใจวาเปนเพียงความเหมาะสมเฉพาะถิ่น เฉพาะยุค หรือเฉพาะกลุมชนที่ตาม ปรกติ มีความยึดมั่นถือมั่นในความขลังและความศักดิ์สิทธิ์เทานั้นเอง. นับวา เปนการพนสมัยแลวในการที่จะทําเชนนั้นอีก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org (๙) การแผเมตตาใหตนเอง ควรจะหมายถึงความรักตัวเอง ความ เคารพนั บ ถื อ ตั ว เอง ในทางที่ จ ะสนั บ สนุ น กํ า ลั ง ใจของตั ว เอง ให มี ค วามพอใจ หรือความเพลิดเพลินในการกระทํามากยิ่งขึ้นเปนสวนใหญ. สวนการแผเมตตา ใหสัตวทั้งหลายตลอดจนถึงผูมีเวรนั้น ควรถือเอาความหมายอยางสั้น ๆ ไปในทาง

การบรรยายครั้งที่ ๓ / ๑๕ สิงหาคม ๒๕๐๒

www.buddhadasa.in.th


๒๖

อานาปานสติภาวนา ตอน ๓

ที ่ว า บัด นี ้เ ราไมม ีเ วรตอ ใครหมด ยิน ดีล ะเวร แมจ ะตกเปน ผู ถ ูก เขาทํ า แต ฝ ายเดี ยว จนกระทั่ งเสี ยชี วิ ตก็ ยอม เพื่ อจิ ตจะไม ระแวงภั ยโดยสิ้ นเชิ ง ในการที่ ตั ว ไปนั่งในที่เปลี่ยวปราศจากการคุมครองแตอยางใดทั้งสิ้น. และอีกทางหนึ่งก็คือ ทํ า จิ ต ให เ ป น มิ ต รแก ทุ ก คน หรื อ ราวกะว า ทุ ก คนมี หุ น ส ว นในการกระทํ า ของตน เพราะการกระทํ านี้ ทํ าเพื่ อความดั บทุ กข ของสั ตว ทั้ งหลายในโลกด วย และทํ าในใจ เหมื อ นกั บ ชี วิ ต ทุ ก ชี วิ ต ที่ แ วดล อ มอยู ร อบข า งนั้ น เป น ญาติ มิ ต รที่ ส นั บ สนุ น การ กระทําของเราอยูอยางเต็มที่. (๑๐) การสวดพระพุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ ดวยเสียงนั้น ควรจะ เวนเสียในขณะนี้ หรือกรณีเชนนี้ แตควรจะทําในใจใหเปนอยางยิ่ง ในการที่จะ รําลึกวา คุณของพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ กําลังคุมครองสัตวโลกทั้งปวง อยูอยางแทจริง แมเราเองที่รอดมาไดจนถึงทุกวันนี้ และมาอยูในสถานที่กําลัง จะปฏิบัติเพื่อคุณธรรมอันสูงยิ่งขึ้นไปในขณะนี้ ก็ดวยอํานาจคุณของพระรัตนตรัย และจะดําเนินตอไปในคลองของพระรัตนตรัย จนถึงที่สุดดวยการอุทิศชีวิตจิตใจ ทั้งหมดสิ้นจริง ๆ. ควรจะรําลึกจนเกิดความปติปราโมทย ความพอใจ และ ความกลาหาญ ในการที่จะปฏิบัติตอไปจริง ๆ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org (๑๑) การอธิษฐานจิต ตอธรรมที่ตนกําลังปฏิบัตินั้น เปนอุบายที่ ควรกระทําโดยแท เพื่อความเชื่อมั่นหรือความพอใจ ในสิ่งที่ตนกําลังกระทํา อยางสูงสุด. ถาปฏิบัติกัมมัฏฐานขอใด ควรจะไดรับการแนะนํา ใหมีความเขาใจ ในเรื่องของกัมมัฏฐานขอนั้น อยางนอยที่สุดก็ใหเปนที่แนใจวาเหมาะแกกิเลส หรือความดับทุกขของตน สามารถขจัดปญหาตาง ๆ ไดจริง จึงจะสําเร็จประโยชน ในการอธิษฐาน. อุบายที่เปนการเพิ่มกําลังใจหรือรักษากําลังใจ ในการทําจิต ของตนเชนนี้ มิใชมีความจําเปนแตในวงการทํากัมมัฏฐานแตจําเปนในการ

www.buddhadasa.in.th


ความมุงหมายอันแทจริงของบุพพกิจ

๒๗

ปฏิบัติหนาที่ หรือทํากิจทั่วไปทุกอยาง หากแตวาในการปฏิบัติกัมมัฏฐานนี้มีหลัก เกณฑรัดกุม มีหลักฐานแนนอน ยิ่งเรียน ยิ่งคิด ยิ่งพิจารณา ก็ยิ่งมีความแนใจ จึงเปนการงายอยูสวนหนึ่ง ในการที่จะรักษาความแนใจอันนี้เอาไวไดตลอดเวลา และโดยเฉพาะอยางยิ่ง ในขณะที่กําลังจะทํากัมมัฏฐานนั่นเอง. ถาไปทําให เปนเรื่องบุคลาธิษฐาน ไปอางวิญญาณของพระพุทธเจา หรือพระสาวกขึ้นมาอีก มันก็วกกลับไป เปนเรื่องพิธีรีตองของพวกที่มัวเมาอยูดวยศรัทธา อีกนั่นเอง. ควรระวังใหกาวหนาไปใหได ไมยอนไปสูภูมิของบุคคลที่ยังงมงายอยูดวยความ ยึดมั่นถือมั่นในทางขลังหรือศักดิ์สิทธิ์เปนอันขาด แตใหเปนการอยูในอํานาจของ สติปญญา หรืออํานาจของเหตุผล ที่เนื่องมาแตความรูแจงเห็นจริงดวยตนเอง เสมอไป เทาที่จะทําได. (๑๒) สําหรับ การอุทิศการปฏิบัติ ในวันหนึ่ง ๆ หรือแมแตความ ตั้งใจแนวแน ในการที่จะปฏิบัติตอไป เพื่อบูชาคุณพระพุทธองคนั้น เปนสิ่งที่ควร กระทําโดยแท ; แตก็ตองระวังอยาใหเปนเพียงพิธีเชนเดียวกัน ตองใหเปน ความสํานึกตนอยูอยางเต็มที่วา การกระทํานี้ ถูกพระหฤทัยหรือตรงตามพระพุทธ ประสงคอยางยิ่ง และสมควรที่จะใชเปนเครื่องบูชาพระพุทธองคไดจริง ๆ ไมมี การหนาไหวหลังหลอกตอพระพุทธองค หรือตอตัวเองแมแตอยางใด. นับวา เปนกิจสุดทายประจําวัน วันหนึ่ง ๆ ที่จะตองทําเพื่อเปนเครื่องตั้งตนไว ในคลอง ของธรรมอยางแนนแฟน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สรุปความวา สิ่งที่ตองทําไปในฐานะที่เปนบุพพภาคของการเจริญ กัมมัฏฐานนั้น ไมมีอะไรที่จะเปนพิธีรีตองไปได เพราะไมใชเรื่องของพิธีรีตอง แมแตนอย. มันเปนหนาที่โดยตรงบาง เปนเทคนิคของการแวดลอมจิตใจใหมี กําลัง และใหเดินตรงแนวแนไปในหนทางอันลึกซึ้งบาง ลวนแตมีเหตุผลของ

www.buddhadasa.in.th


อานาปานสติภาวนา ตอน ๓

๒๘

มันเองโดยเฉพาะ. ขอใหทุกคนระมัดระวังตั้งใจทําใหดีที่สุด หมายอันแทจริงของเรื่องนั้น ๆ.

ใหตรงตามความ

สําหรับการใชอุบายแวดลอมจิตใจ ใหเกิดกําลังโดยเฉพาะเปนตนนั้น ขอใหสังเกตอุปนิสสัยใจคอของตนเองใหมากเปนพิเศษ จึงจะทําไดสําเร็จเต็มที่. แมการกระทําอยางอื่น ซึ่งมิไดระบุไวในที่นี้ก็อาจนํามาใชได เชน การรําลึกถึง ความตายก็ดี รําลึกถึงระยะเวลาอันสั้น ที่มีอยูสําหรับเราผูประสงคจะไดรับสิ่งที่ดี ที่สุดที่มนุษยควรจะไดนี้ก็ดี รําลึกถึงบุญคุณของผูมีพระคุณ เชน บิดามารดา เปนตนก็ดี หรือแมที่สุดแตการสํานึกในหนาที่ ที่จะชวยกันเผยแผพระศาสนา โดยการปฏิบัติใหดู หรือรับผลของการปฏิบัติใหเขาดูก็ดี ทั้งหมดนี้ลวนแตเปน สิ่งที่ควรนํามากระตุนจิตใจ ในโอกาสที่จะทําการปรับปรุงจิตชนิดนี้ ไดดวยกัน ทั้งนั้น. ใจความสําคัญอยูตรงที่มีความรูสึกวา เรากําลังกระทําถูกตอสิ่งที่ควร กระทําเปนอยางยิ่งแลวนั่นเอง. ทั้งหมดนี้ ใหถือวาเปนบุพพกิจทั่วไป สําหรับบุคคลผูเตรียมตัวปฏิบัติกัมมัฏฐาน.

www.buddhadasa.in.th * * * www.buddhadasa.org ตอน สี่

บุพพกิจโดยเฉพาะของการเจริญสมาธิ

ตอไปนี้ จะไดกลาวถึง บุพพกิจที่ใกลชิด หรือเฉพาะเจาะจง ตอ การทํากัมมัฏฐาน ยิ่งขึ้นไปอีก ดังตอไปนี้ :-

(ก) การทําอุปมาเปนหลักประจําใจ เกี่ยวกับการทํากัมมัฏฐานนี้ ทุกคนควรจะมีความแจมแจงในอุปมาของ การทํากัมมัฏฐานทั้งหมด ไวเปนแนวสังเขป กันความฟนเฝอ. การที่ตองใช

www.buddhadasa.in.th


บุพพกิจโดยเฉพาะของการเจริญสมาธิ

๒๙

ฝากไว กั บ อุ ป มา ก็ เ พราะเป น การง า ยแก ก ารกระทํ า ไว ใ นใจ ในลั ก ษณะที่ เ ป น การ เห็นแจง มิใชเปนเพียงความจําหรือความเขาใจ. เกี่ยวกับเรื่องนี้ พระอาจารย ในกาลก อ น เช น อาจารย ผู ร จนาคั ม ภี ร วิ สุ ท ธิ ม รรคโดยเฉพาะ ได ถื อ เอาอุ ป มานี้ เปนหลัก มีใจความวา “คนมีปญญา ยืน หยัดมั่นคงอยูบนแผนดิน ฉวยอาวุธ ที่คมดวยมือ ลับที่หินแลว มีความเพียรถางปารกใหเตียนไปได”. คําอธิบายของทานมีวา คนมีปญญา หมายถึงปญญาเดิม ๆ ที่ติดมากับตัว ที่เรียกวา “สหชาตปฺา” หรือที่เรียกในสมัยนี้วา Intellect หมายความวา เป น ป ญ ญาที่ ยั ง ดิ บ อยู จะต อ งได รั บ การทํ า ให ง อกงาม เป น ป ญ ญาที่ แ ท จ ริ ง โดย สมบูรณ ซึ่งเรียกวา “วิปสสนาปญญา” หรือที่เรียกในบัดนี้วา Intuitive wisdom. ข อนี้ หมายความว า คนที่ จะทํ ากั มมั ฏฐานต องมี แววฉลาดอยู ตามสมควร เพื่ อเป น พื้นฐานสําหรับเพาะปลูกปญญาตอไป. ถาเปนคนโงเงา ก็ไมมีทางที่จะทําได ตามแนวนี้ จั ก ต อ งไปกระทํ า ตามแนวของพวกศรั ท ธา หรื อ พิ ธี รี ต องต า ง ๆ ไป กอนเปนธรรมดา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org คนแมมีปญญา ก็ยังตอง ยืนใหมั่นคงบนแผนดิน. แผนดินในที่นี้ ไดแกศีล หรือความสมบูรณดวยศีล ซึ่งเปนรากฐานของการเปนอยูประจําวัน เพื่ อ ไม ใ ห มี ทุ ก ข มี โ ทษ ที่ เ ป น ชั้ น หยาบ ๆ หรื อ ที่ เ ป น ภายนอกซึ่ ง แวดล อ มบุ ค คล นั้ น อยู เกิ ด เป น สิ่ ง รบกวนขึ้ น มาได ศี ล จึ ง ถู ก เปรี ย บด ว ยแผ น ดิ น ที่ แ น น หนา สามารถที ่จ ะยืน หยัด ได ไมใ ชที ่เ ปน หลม เปน โคลน หรือ เปน เลน เปน ตน . ผู ป ฏิ บั ติ จ ะต อ งชํ า ระแผ น ดิ น คื อ ศี ล ของตน ให เ หมาะสมสํ า หรั บ ที่ จ ะยื น ไม ว า จะเปนบรรพชิตหรือฆราวาส. จับอาวุธที่คมขึ้นมาเพื่อจะลับ : คําวา “อาวุธที่คม” ในที่นี้ไดแก โลกิ ย ป ญ ญาหรื อ สั ม มาทิ ฏ ฐิ ต า ง ๆ ที่ ไ ด ม าจากการศึ ก ษาเล า เรี ย นเพื่ อ การนี้ โ ดย

www.buddhadasa.in.th


๓๐

อานาปานสติภาวนา ตอน ๔

เฉพาะเอามาลั บ ให ค ม หรื อ กลายเป น โลกุ ต ตรป ญ ญาไปด ว ยการลั บ คื อ การทํ า กัมมัฏฐานนั่นเอง จนกวามันจะคม ถึงขนาดตัดสัญโญชนหรือตัดอนุสัยได. จับดวยมือ คําวา “มือ” ในที่นี้ หมายถึง ปาริหาริกปฺา หมายถึง ปญญาสวนที่รูหรือ ทําใหแน ใจ ว าสิ่งนี้เป นสิ่งที่ตอ งทํา หรือ จําเปนจะตอ งทํา โดย เด็ดขาด สําหรับสัตวที่เวียนวายอยูในวัฏฏสงสาร. หรือหมายถึงปญญาเดิม ๆ ที่ ได รั บ การเพาะหว า นให รู สึ ก ในหน า ที่ ข องตนอย า งแท จ ริ ง รวมทั้ ง รู จั ก เลื อ กหน า ที่ ที่ควรเอามาเปนหนาที่อยางสูงสุดดวย. ลับอาวุธนั้นที่หิน คําวา “หิน” หมายถึง สมาธิ สมาธิเปนสิ่งที่ ตองทําใหไดกอน ในฐานะที่เปนบาทฐานของปญญาที่เปนตัววิปสสนา ; จะเปน สมาธิที่เกิดเองตามธรรมชาติพรอมกับปญญาเดิม ๆ หรือจะเปนสมาธิที่เพิ่งทําให เจริญขึ้นมาใหมในขณะนี้ก็ตาม ลวนแตเรียกวาหินสําหรับลับในที่นี้ดวยกันทั้งนั้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org คําวา “มีความเพียรเขมแข็งในการที่ใชศาสตรา” นั้น หมายถึง อิทธิบาททั้ง ๔ คือ ความพอใจในสิ่งที่จะทําจริง ๆ, ความกลาหรือความเขมแข็ง ในการที่จะทําจริง ๆ, ความเอาใจใสในเรื่องนั้นจริง ๆ หมายถึงความมีจิตจดจอ อยูตั้ง แตตน ปลาย ไมมีก ารเปลี่ย นแปลง, และมีค วามพินิจ พิจ ารณาดว ย สติ ป ญ ญาในการที่ จ ะแก ไ ขข อ ขั ด ข อ งด ว ยปฏิ ภ าณที่ เ ฉลี ย วฉลาด และทั น ท ว งที อยูเสมอ. เรียกเปนบาลีวา ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา อันเปนปจจัยสําคัญ ของการบรรลุความสําเร็จ. คําวา “ยอมถางปารกได” หมายถึง สามารถถางสิ่งทีรกรุงรังอยาง ยุง เหยิ ง เช น ซุ ม เซิ ง ของกอไผ ที่ เ กี่ ยวกั น อย า งหนาแน น และเต็ ม ไปด ว ยหนามได .

www.buddhadasa.in.th


บุพพกิจโดยเฉพาะของการเจริญสมาธิ

๓๑

ป า รกเช น นี้ ห มายถึ ง กิ เ ลสที่ มี อ ยู ใ นสั น ดานของสั ต ว เพราะมี ลั ก ษณะเช น เดี ย วกั น กับเชิงหนามดังที่กลาวแลว. อุ ปมาที่ กล าวนี้ ย อมให ความกระจ างในลู ทางของการปฏิ บั ติ ตลอดถึ ง ความเกี่ ย วพั น กั น ของกุ ศ ลธรรมเหล า นั้ น ว า มี อ ยู อ ย า งไร เป น เครื่ อ งประกั น ความ ฟนเฝอ และใหความแนใ จในทางปฏิบัติพ รอ มกันไปในตัว นับ วาเปนสูตรที่ค วร เดนชัดอยูในสายตา ทั้งตานอกและตาใน ของผูปฏิบัติอยูเสมอ. สรุปเปน ประโยคสั้น ๆ อีกครั้งหนึ่งวา “คนมีปญญา ยืนหยัดบนแผนดิน ฉวยศาสตราอันคม ดวยมือ ลับที่หิน มีเพียรแลว ยอมถางรกชัฏได” ดังนี้.

(ข) การตัดปลิโพธ เมื ่อ แนใ จในการทํ า กัม มัฏ ฐานแลว มีก ิจ ที ่จ ะตอ งตัด ปลิโ พธคือ สิ ่ง ที่ เ ป น กั ง วล อั น จะเกาะเกี่ ย วหรื อ รบกวนใจต า ง ๆ ทั้ ง ที่ เ ป น เรื่ อ งใหญ แ ละเรื่ อ ง หยุมหยิม ซึ่งทานยกมาแสดงไวใหสังเกตเปนตัวอยาง ๑๐ อยาง คือ :-

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๑. อาวาสปลิโพธ ความกังวลใจเนื่องดวยที่อยูอาศัยไดแกหวงเรื่อง ที ่อ ยู  นับ ตั ้ง แตห ว งวัด หว งกุฏ ิ ที ่ต นตอ งทิ ้ง ไป เพื ่อ ไปทํ า กัม มัฏ ฐานในปา หรือ ที่อื่น. แมที่สุดแตความหวงในหนาที่ที่จะตองทํา เกี่ยวกับกระตอบเล็ก ๆ ที่นั่งทํา กัมมั ฏฐานนั่นเอง เชน ถายังมี หวงว าสัตว เชน ปลวกจะรบกวน หรื อหลังคาจะรั่ ว หรื อ อะไรบางอย า งจะเกิ ด ขึ้ น ซึ่ ง จะต อ งดู แ ลระวั ง รั ก ษาแล ว เรี ย กว า เป น ปลิ โ พธ เปนอุปสรรคในการทํากัมมัฏฐานโดยตรง. เขาจะตองสะสางปญหาเหลานั้น ใหเ สร็จ เสีย กอ นทุก สิ ่ง ทุก อยา งจริง ๆ และเมื ่อ ไดล งมือ ทํ า กัม มัฏ ฐานแลว ตอ ง ไม มี ห ว งว า มั น จะเป น อย า งไรหมด แม แ ต ก ระต อ บที่ ต นกํ า ลั ง นั่ ง กั ม มั ฏ ฐานอยู . โดยนัยนี้จะเห็นไดทันทีวา การที่ผูเริ่มฝก ไปทํากัมมัฏฐานเสียในถิ่นอื่น ซึ่งไม

www.buddhadasa.in.th


๓๒

อานาปานสติภาวนา ตอน ๔

มีอะไรเปนตัวนั้น ดีกวาทําในถิ่นของตัวเอง, และทําที่โคนไมดีกวาทําที่กุฏิ เปน ตน . แมไ ปนั่ง ทํา ที่โ คนไม ก็ค วรจะเปน โคนไมที่ไ มทํา ใหเ กิด การระแวง วา จะมีใ ครมายืน ดู. ถา หาโคนไมอ ยา งนั้น ไมไ ด ก็ตอ งตัด ใจลงไปวา ใครจะ มายื น ดู ก็ ช า งหั ว มั น ดั ง นี้ เ ป น ต น จึ ง จะเป น อั น ว า มี ก ารตั ด ปลิ โ พธข อ นี้ แ ล ว โดย สิ้นเชิง. ๒. กุลปลิโพธ หมายถึงความหวงสกุลอุปฏฐาก หรือบุคคลผูชวย เหลื อ สนั บ สนุ นตน เช น ห ว งว าเขาเหล า นั้น จะเจ็ บ ไข เ ป นต น บา ง เขาจะเหิน ห า ง จากเรา เพราะไมไดพบกันทุกวัน ดังนี้บาง. ขอนี้หมายถึงความรักใครเปนหวง อาลัยอาวรณ ในบุคคลผูทําหนาที่สนับสนุนตนทุกชนิด. ผูปฏิบัติจะตองทําจิต ใจใหม ในลักษณะที่อาจจะสรุปได วาเดี๋ยวนี้บุคคลเหลานั่นไมมีอยูในโลกแลว. ๓. ลาภปลิโพธ ความหวงใยในลาภสักการะ ที่เคยมีอยู หรือกําลัง มีอยูวาจะขาดไป หรือแมแตความรูสึกวา เมื่อทํากัมมัฏฐานสําเร็จแลว ลาภ สั ก การะสรรเสริ ญ และชื่ อ เสี ย งจะมี ม ากขึ้ น กว า เดิ ม ดั ง นี้ เ ป น ต น ก็ ดี รวมเรี ย กว า ความหวงใยในลาภสักการะดวยกันทั้งนั้น. ผูปฏิบัติจะตองทําในใจใหมีความเห็น อยางแจมแจงวา ลาภสักการะเปนสิ่งที่นาขยะแขยง ในฐานะที่เปนอันตรายโดยตรง ตอ การปฏิบ ัต ิเ พื ่อ บรรลุน ิพ พานทุก ชนิด รวมความวา จะตอ งสละทรัพ ยส มบัติ ทั ้ง ที ่เ ปน อดีต ปจ จุบ ัน และอนาคตโดยสิ ้น เชิง ยอมตนเปน ผู สิ ้น เนื ้อ ประดาตัว ในขณะนี้. ถามีเรื่องจะตองใชสอยอะไรกันใหมไวพูดกันใหมทีหลัง ไมใชเวลานี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๔. คณปลิโพธ ความหวงใยในหมูคณะที่อยูภายใตบังคับบัญชาดูแล หรือ ความรับ ผิด ชอบของตน ก็เ ปน สิ ่ง ที ่ต อ งสลัด ออกไปแลว โดยสิ ้น เชิง มีก าร ปกใจในการเปนบุคคลผูโดดเดี่ยวโดยแทจริง. แมวาจะตองกลับไปอยูในหมูคณะ อีก ตองไมมีเรื่องที่จะกังวลในขณะนี้.

www.buddhadasa.in.th


บุพพกิจโดยเฉพาะของการเจริญสมาธิ

๓๓

๕. กัมมปลิโพธ หมายถึงการงานตาง ๆ ที่กําลังคาราคาซังอยูในมือ หรือโดยการรับผิดชอบก็ตาม นี้เปนสวนหนึ่ง. อีกสวนหนึ่งคือนิสัยที่ชอบทํานั่น ทํานี่ไมหยุด หรือความรูที่จะทํานั่นทํานี่เสียเรื่อยไป. ทั้ง ๒ ประเภทนี้จัดเปน ปลิโพธโดยเทากัน. ผูปฏิบัติจะตองทําในใจจนกระทั่งมองเห็นชัด วาไมมีการงาน ที่ ไ หนอี ก แล ว ที่ จ ะเสมอเหมื อ นการงานคื อ การทํ า กั ม มั ฏ ฐาน ที่ เ รากํ า ลั ง ทํ า อยู นี้ . เราต องไม ทํ าให การงานที่ ไม มี ค าอะไรมากมาย มาทํ าให การงานอั นมี ค าสู งสุ ดต อ ง เสียหายไป. หรือถาหากมีทางที่จะสะสางเครื่องกังวลอันนี้ไดโดยวิธีใด เชน มอบหมายให ผู ที่ ควรได รั บมอบหมายไปทํ าเสี ยได ก็ เป นอุ บายที่ ควรทํ าให เสร็ จเสี ย กอนเปนการลวงหนา ดังนี้เปนตน. ๖. อัทธานปลิโพธ ความกังวลเนื่องดวยการเดินทาง. ขอนี้มีความ หมายเป น ๒ สถานคื อ สํ า หรั บ ผู ที่ เ ดิ น ท อ งเที่ ย วไปพลาง ทํ า กั ม มั ฏ ฐานไปพลาง นี้ จะต อ งไม กั ง วลถึ งการเดิ นทางที่ จะมี ใ นวั นต อ ไป ว าจะมี ด วยอาการอย างไร เช น ไม คํ า นึ ง ถึ ง ที่ พั ก หรื อ อาคารข า งหน า เป น ต น จะต อ งทํ า ในใจเหมื อ นกั บ ไม มี ก าร เดินทางไกล นี้พวกหนึ่ง . อีกพวกหนึ่ง ซึ่งไดแกพวกปฏิบัติอยูกับที่ แตนิสัย รัก การทอ งเที ่ย วเดิน ทางไกล เขาจะตอ งระงับ ความรู ส ึก ขอ นั ้น เสีย โดยสิ ้น เชิง ไม มี การระลึ กว าเวลานี้ ฤดู อ ะไร ที่ โน นที่ นี่ มี อ ะไรน าดู หรื อ น าอยู อ ย างสบายเป นต น ตลอดจนถึ งกั บไม คิ ดถึ งความสนุ กสนานเพลิ ดเพลิ น ที่ ตนเคยพอใจ ในการเดิ นทาง ทุกสิ่งทุกอยางดวย. แมที่สุดแตการกะแผนวา เสร็จการปฏิบัติออกพรรษาแลว เราจะเดินทางไปไหนกันใหสนุก ดังนี้ก็ไมควรจะมี.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๗. ญาติปลิโพธ หมายถึงความกังวลหวงใยในญาติโดยตรง นับ ตั ้ง แตบ ิด า มารดา เปน ตน ลงไป ที ่อ ยู ใ กลห รือ อยู ไ กลก็ต าม กํ า ลัง เดือ ดรอ น หรือกําลังเปนสุขก็ตาม สิ่งนี้จะไมตองมารบกวนอยูในใจของผูปฏิบัติ เขามีความ

www.buddhadasa.in.th


๓๔

อานาปานสติภาวนา ตอน ๔

ฉลาดในการที่ จ ะตั ด สิ น ใจ หรื อ ระงั บ ความห ว งใยเหล า นั้ น โดยวิ ธี ใ ดวิ ธี ห นึ่ ง ให จนได. ถาเปนบรรพชิต ก็คือการระลึกถึงความจริงที่วา การบรรพชาเปนการ สละญาติแ ลว โดยสิ ้น เชิง และโดยเฉพาะอยา งยิ ่ง ก็ใ นเวลาที ่จ ะปฏิบ ัต ิธ รรม. ถาเป นคฤหั สถ ก็ มี ทางที่จะคิ ดว า เราจะไปแสวงหาสิ่ งที่ ดีที่ สุ ด ที่ ญาติควรจะได รั บ มาใหญาติ ดังนี้เปนตน. ที่เปนเรื่องรวม ๆ อาจจะคิดไปไดถึงวา การเวียนวาย อยู ใ นวั ฏ ฏสงสารนั้ น ไม มี ญ าติ ค นไหนที่ จ ะช ว ยกั น ได แม แ ต บิ ด ามารดา แม แ ต บุตรธิดาโดยตรง. ทุกคนตองชวยตัวเอง และควรจะมีสิทธิ์ในการชวยตัวเอง โดยสมบูรณ. เมื่อใครพนจากวัฏฏสงสารขึ้นมาไดสักคนหนึ่ง คนนั้นแหละจะ กลับกลายเปนคนที่สามารถชวยญาติ ที่กําลังเวียนวายอยูในวัฏฏสงสารได. คนที่ เวียนวาย ไมอาจจะชวยคนที่เวียนวายดวยกันไดเลย ดังนี้. ๘. อาพาปลิโพธ คือความหวงใยเกี่ยวกับการเจ็บไข. ผูปฏิบัติ ต อ งไม ก ลั ว ล ว งหน า ว า การปฏิ บั ติ ใ นข อ ที่ ไ ม เ คยปฏิ บั ติ นั้ น จะทํ า ให เ กิ ด การเจ็ บ ไข ขึ้นนี้อยางหนึ่ง. อีกอยางหนึ่งก็คือ แมจะเกิดการเจ็บไขขึ้นเพราะการปฏิบัติอยาง ไมมีทางหลีกเลี่ยง ก็ยินดีสูตาย รวมความวา ไมหวงใยในการเจ็บไขในอนาคต ว า จะเป น อย า งไร จะได รั บ การรั ก ษาหรื อ ไม หรื อ จะเอายาที่ ไ หนมากิ น ก็ ไ ม เ ห็ น เปน เรื ่อ งสํ า คัญ เพราะถือ เสีย วา การปฏิบ ัต ินั ้น เปน การทํ า ใหไ ดก ิน ยาอมตะ ซึ่ ง อาจรั ก ษาโรคกิ เ ลส หรื อ โรคทุ ก ข อั น เป น โรคที่ น า กลั ว กว า โรคใด ๆ ทั้ ง สิ้ น . และเมื่อกินยานั้นแลว จิตใจจะลุถึงความเปนผูไมมีความตายอีกตอไป. อีกทางหนึ่ง ถา เป น ผู เจ็ บ ๆ ไข ๆ อยู ก อ น ก็ ใ ห รี บ รัก ษาเสี ย อย า ให มี ค วามกั ง วลในการรั ก ษา โรค ในขณะที่ปฏิบัติอยูอีก. และถาไดพยายามรักษาแลวรักษาอีก จนถึงที่สุด ของความสามารถแล ว โรคก็ ยั ง ไม ห าย ดั ง นี้ ไ ซร ก็ จ งหยุ ด การรั ก ษา สลั ด ความ กังวลในโรค แลวทําความเพียรปฏิบัติเอาชนะความตาย ดวยการปฏิบัตินั่นเอง

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


บุพพกิจโดยเฉพาะของการเจริญสมาธิ

๓๕

ด ว ยการตั ด สิ น ใจในวิ ธี เ ดี ย วกั น กั บ ที่ ก ล า วมาแล ว ข า งต น เป น ผู มี จิ ต ใจเข ม แข็ ง เฉี ย บขาดเหนื อ ความกลั ว โรค และความกลั ว ตายจริ ง ๆ แล ว ทํ า การปฏิ บั ติ ไ ป ตามที่ทางออกของชีวิตมันมีใหเพียงเทานั้น. ๙. คันถปลิโพธ หมายถึงความหวงใยในการศึกษาเลาเรียน. การ เลาเรียนพลางและเจริญภาวนาในขั้นสูงพลาง เปนสิ่งที่ทําไมได. เมื่อสมัคร ปฏิบ ัต ิใ นทางจิต โดยตรง ก็ต อ งพัก การศึก ษาเลา เรีย นไวก อ น จึง จะไดผ ลเต็ม ที ่. นี้หมายถึงการเรียนทางวิชา หรือทางตํารา. ส ว นการศึ ก ษาที่ เ ป น การไต ถ ามจากกั ล ยาณมิ ต ร หรื อ อาจารย ผู ส อน กัมมัฏฏฐานโดยตรง และเทาที่จําเปนนั้น ไมรวมอยูในขอนี้. อีกทางหนึ่งพึง ทราบว า นั กศึ กษาที่ หลงใหลในการศึ กษา ย อมติ ดการอ านหนั งสื อเหมื อนกั บติ ดฝ น. แมสิ่งนี้ก็ตองไมมีโดยเด็ดขาด. ผูปฏิบัติที่เปนครูสอนเขาอยู ก็ตองถือหลักเกณฑ อยางเดียวกัน ในการที่จะตัดปลิโพธขอนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๑๐. อิทธิปลิโพธ คือความกังวลหวงใยเกี่ยวกับการไดฤทธิ์ หรือ การได อิ ทธิ ปาฏิ หาริ ย ซึ่ งนั บ ว าเป น สิ่ ง ที่ ยั่ วยวนใจอย างยิ่ ง ทั้ ง แก ผู ปฏิ บั ติ และผู ไ ม ปฏิบัติ. ผูที่หลงใหลในการไดฤทธิ์แลวมาทํากัมมัฏฐานนั้น มีทางที่จะวิกลจริต ไดโดยงาย. เขาจะตองตัดความหวงใยในการที่จะไดฤทธิ์เสียแลวโดยเด็ดขาด การปฏิบัติจึงจะดําเนินไปตามคลองของการบรรลุมรรคผลนิพพาน นี้อยางหนึ่ง.

อี กอย างหนึ่ ง ก็ คื อบุ คคลที่ ปฏิ บั ติ มาด วยความบริ สุ ทธิ์ ใจ ครั้ นลุ ถึ งขั้ น ที่จิตสามารถทําอิทธิปาฏิหารยบางอยางได ความสนใจก็เริ่มเบนมาทางฤทธิ์นี้ และ

www.buddhadasa.in.th


๓๖

อานาปานสติภาวนา ตอน ๔

อยากจะให ดํ า เนิ น ต อ ไปในทางนี้ จ นถึ ง ที่ สุ ด นี้ จั ด เป น ปลิ โ พธอย า งยิ่ ง ต อ การ ปฏิบัติที่จะดําเนินตอไปในทางของ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา หรือความไมมีตัวตน ซึ่งเปนทางธรรมแท. การทําพรอมกันทั้งสองอยาง ไมมีทางที่จะทําไดดวยเจตนา แต เป นไปได ในทางที่ เ มื่ อปฏิ บั ติ ถึ งที่ สุ ดในทางธรรมแล ว บางคนก็ ยั งมี ความสํ าเร็ จ ทางฝายอิทธิปาฏิหารยเปนของผนวก อีกสวนหนึ่งดวย. แตมิไดหมายความวา จะเปนอยางนั้นทุกคนไป เปนไดเฉพาะคน และเฉพาะเหตุการณ. สํ า หรั บ การปฏิ บั ติ ฝ ก ฝนเพื่ อ ได อิ ท ธิ ป าฏิ ห ารย โ ดยตรงนั้ น เป น อี ก เรื่องหนึ่งตางหาก ไมตองเอามาปนกับเรื่องนี้. ผูปฏิบัติธรรมจะตองทําจิตใหเปน ธรรมาธิป ไตยลว น ไมมุ ง หวัง อิท ธิป าฏิห าริย  ซึ ่ง เปน ทางแหง ลาภสัก การะและ อื่น ๆ ไมเกี่ยวกับการตัดกิเลสเลย. สิ่ งทั้ ง ๑๐ เท าที่ ท านยกมาแสดงเป นตั วอย างนี้ เป นปลิ โพธโดยเสมอ กัน เปนเครื่องกีดขวางทางเดินของจิต ที่จะเดินไปตามทางภาวนา. ถาจะ เปรี ยบดั งในอุ ปมาข างต น ก็ เท ากั บทํ าให แสวงหาก อนหิ น ที่ อาจจะใช ลั บมี ดไม พบ นั่นเอง. ไมไดลับมีดแลวไปถางปานั้น เรื่องจะเปนอยางไรลองคิดดู. เพราะฉะนั้น เปนอันวา การตัดปลิโพธเหลานี้ยอมเปนบุพพกิจโดยแทจริง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


บุพพกิจโดยเฉพาะของการเจริญสมาธิ

๓๗

(ค) การเลือกสิ่งแวดลอม๑ ผูจะปฏิบัติจะตองรูจักเลือกสถานที่ และสิ่งแวดลอมอื่น ๆ ที่สนับสนุน แกการปฏิบัติของตนใหดีเทาที่จะทําได. เพื่อรูจักเลือกสิ่งแวดลอมไดดี ก็จําเปน จะต อ งรู จั ก ตั ว เองให ดี เ สี ย ก อ น ว า ตนเป น อย า งไร เข า กั น ได ห รื อ เข า กั น ไม ไ ด กั บ สิ่งใด โดยธรรมชาติ. แมวาการทํากัมมัฏฐาน จะมีความมุงหมายถึงการหลุดพนเพื่ออยูเหนือ ความยินดียิ นร าย หรื อเหนื อการครอบงําของธรรมชาติ ก็จริง แต ในขั้นเตรียมตั วนี้ ผูปฏิบัติจะตองหลีกเลี่ยงจากการครอบงําของธรรมชาติ ใหมากที่สุดเทาที่จะทําได. เพราะฉะนั้น จึงจําเปนที่จะตองรูจักอิทธิพลของ ธรรมชาติภายนอก ซึ่งเปนสิ่งแวด ลอม และรูจัก ธรรมชาติภายใน คือจริตนิสัยของตนเอง วามันจะขัดกันหรือจะ เขากันไดอยางไรและเพียงไรเสียกอน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ธรรมชาติภายในของตน ในที่นี้ เรียกสั้น ๆ วา “จริต” หมายถึง

สิ่งที่จิตเคยประพฤติมาจนเคยชินเปนนิสัย. เมื่อรูจักจริตของตนแลว ยอม สามารถจะจัด จะทํ า จะแสวงหรือ หลีก เลี ่ย งไดต รงตามที ่ค วรจะเปน ในสิ ่ง แวดลอ มทุก ประการ. เกี่ย วกับ จริต นี้ ทา นจํา แนกไวเ ปน ๖ คือ ราคจริต โทสจริต โมหจริต สัทธาจริต พุทธิจริต และวิตกจริต, แตละอยาง ๆ มี ลักษณะอาการอยางไร เขากันไดหรือเขากันไมไดกับสิ่งใด จะไดวินิจฉัยกันทีละขอ ดังตอไปนี้ :

การบรรยายครั้งที่ ๔ / ๑๖ สิงหาคม ๒๕๐๒

www.buddhadasa.in.th


๓๘

อานาปานสติภาวนา ตอน ๔

(๑) ราคจริต. หมายถึงนิสัยสันดานที่หนักไปในทางกําหนัด ยินดี หรื อ ละโมบ รั ก สวยรั ก งาม ยึ ด มั่ น อย า งรุ น แรงในความเป น ระเบี ย บเรี ย บร อ ย ตลอดถึง การอยู ด ีก ิน ดี ดัง นี ้เ ปน ตน มากเกิน ไป เกี ่ย วกับ จริต นี ้ ทา นแนะให เลือกสิ่งแวดลอมตนเองดวยสิ่งที่เปนของปอน เชนที่อยูอาศัยอยางปอน ๆ ไมนาดู. จีวรก็เนื้อเลว แลวยังแถมมีการปะชุนหรือขาดกระรุงกระริ่ง. แมบาตรก็เปน อยางเลว ตะปุมตะปาเต็มไปดวยรอยตอ หรือการซอม. เลือกทางบิณฑบาต ที่สกปรกโสมม ไมมีสิ่งที่เจริญตาเจริญใจ. รับอาหารบิณฑบาตของคนยากจน ชนิ ด ที่ ดู แ ล ว น า ขยะแขยง และเลื อ กไปในหมู บ า น ที่ มี ค นรู ป ร า งขี้ ริ้ ว ขี้ เ หร กิ ริ ย า อาการก็ใหหยาบคาย ดังนี้เปนตน. สําหรับอิริยาบถประจําวัน ก็ใหมากไปดวย อิ ริ ย าบถยื น และอิ ริ ย าบถเดิ น หลี ก เลี่ ย งการนั่ ง หรื อ การนอนให ม ากที่ สุ ด เท า ที่ จะมากได. แมสิ่งอื่น ๆ ก็ควรระมัดระวังโดยหลักเกณฑขอเดียวกัน ; ยกตัวอยาง เชน สีของสิ่งที่จะใชสอย ก็ควรจะเปนสีเขียว หรือสีเขียวแกมดํา. แมที่สุดแต การเลือกสี ที่จะใชในการทําวงของกสิณ ในเมื่อ จะเจริญกสิ ณภาวนา ก็ควรเลือ ก สีเขียว. สรุปความวา สิ่งตาง ๆ สําหรับคนราคจริตนั้น จะตองเปนไปในทาง ปอนหรือ คล้ํ า ไมส ดใสฉูด ฉาด จึง จะเปน ไปในทางสบายตอ จริต หรือ สง เสริม แกการปฏิบัติ, มิฉะนั้นจะเกิดความยุงยากขึ้นไมมากก็นอยโดยไมจําเปนเกี่ยวกับ สิ่งที่ขัดกันกับจริตของตน ในความมุงหมายที่จะเจริญกัมมัฏฐานภาวนา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org (๒) โทสจริต. หมายถึงจริตนิสัยที่ขี้โกรธ ฉุนเฉียว หงุดหงิดงาย ท า นแนะสิ่ ง ที่ ส บายสํ า หรั บ ผู มี โ ทสจริ ต ไว ใ นลั ก ษณะที่ อ าจกล า วได ว า ตรงกั น ข า ม จากสิ่ ง ที่ ส บายของราคจริ ต คื อ ท า นแนะให ทํ า หรื อ มี หรื อ ไปสู แ ต สิ่ ง แวดล อ มที่ เปนระเบียบเรียบรอย สุภาพ และ สวยงาม นาเจริญตาเจริญใจ เชน ที่อยูอาศัย ควรสะอาดหมดจด เปนระเบียบเรียบรอย ไมมีอะไรที่เราใจใหเกิดความหงุดหงิด

www.buddhadasa.in.th


บุพพกิจโดยเฉพาะของการเจริญสมาธิ

๓๙

จีวรก็เปนผาเนื้อออนเนื้อดีเนื้อเกลี้ยง สีดีไมมีกลิ่น ดังนี้เปนตน. เลือกไป บิ ณ ฑบาตในหมู บ า นที่ เ จริ ญ แล ว ในความเป น ระเบี ย บเรี ย บร อ ย ความสะอาด ประณี ต ความมี ร สนิ ย มสู ง และความพอเหมาะพอดี อื่ น ๆ เป น หมู ช นที่ มี วั ฒ นธรรมดี มีกิริยามารยาทดี ดังนี้เปนตน. รวมความก็คือ ใหถูกแวดลอมอยูดวย สิ่งที่ไมปอน แตความสะอาดและความเปนระเบียบเรียบรอยตามที่ควร. แมใน ส ว นอิ ริ ย าบถ ก็ อ ยู ใ นอิ ริ ย าบถที่ เ ป น การพั ก ผ อ น เช น อิ ริ ย าบถนั่ ง หรื อ อิ ริ ย าบถ นอน มากกวาอิริยาบถยืนหรือเดิน. เรื่องเบ็ดเตล็ดอื่น ๆ ก็พึงเทียบเคียงโดยนัย อันเดียวกัน เชน เรื่องสีก็เป นสีเขียวแก ซึ่งถือว าเปนสิ่งที่ ยั่วอารมณน อยกวาสีอื่ น ดังนี้เปนตน. (๓) โมหจริต. หมายถึงจริตนิสัยเปนไปในทางที่งวงซึมมึนชา ไม คอยมีความโปรงใจอยูเปนปรกติ. สิ่งสบายสําหรับบุคคลประเภทนี้ ทานแนะ ไวว า ตอ งเปน สิ ่ง ที ่โ ลง โถงสวา งไสว เชน เสนาสสนะที ่อ ยู  ก็ค วรจะเปด โลง เห็น ไดใ นระยะไกล ไมมีอ ะไรกีด ขวาง และมีแ สงสวา งมาก. เกี่ย วกับ จีว ร มีหลักเกณฑอยางเดียวกัน คือสะอาดเรียบรอยและมีสีสันดี (เทาที่ควรแกสมณะ). แมในเรื่องบิณฑบาต ก็มีหลักเกณฑไปในทางที่เจริญตาเจริญใจอยางเดียวกัน และ ทานแนะนําให ใชวัตถุ เครื่องใชสอยที่มีขนาดใหญ แม ที่สุดแต ดวงกสิ ณ ก็ต องเป น ขนาดใหญมากที่สุดเทาที่จะทําได. ชอบอิริยาบถอยางเดียวกันกับคนที่มีราคจริต.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org (๔) สัทธาจริต. หมายถึงนิสัยเชื่องายเชื่อดาย หรือหนักไปแต ในทางความเชื่อโดยสวนเดียว สิ่ งที่สบายสําหรับบุคคลประเภทนี้ ตามที่ท านแนะ ไวเ ปน อยา งเดีย วกัน กับ สํ า หรับ บุค คลที ่ม ีโ ทสจริต แตค วรจะเขา ใจไวว า ผู มี สัทธาจริต ควรจะไดรับสิ่งแวดลอมที่เปนไปในทางชวนใหขยันคิดนึกเสียบาง ก็จะ เปนการดี และควรอยูใกลกับบุคคลที่สามารถใหคําแนะนํา ที่ชวนใหคิดนึกอยาง ถูกตอง.

www.buddhadasa.in.th


๔๐

อานาปานสติภาวนา ตอน ๔

(๕) พุทธิจริต. หมายถึงจริตนิสัยที่ชอบเรียนชอบรู คิดนึกไปใน ทางศึกษา ไปในทางสติปญญา เกี่ยวกับบุคคลประเภทนี้ไมสูจะมีปญหา อัน เนื่ อ งด ว ยสิ่ ง แวดล อ ม ท า นถื อ ว า ผู เ ป น พุ ท ธิ จ ริ ต จะเป น อยู ไ ด ส บาย ได ทุ ก แบบ ของจริตอื่น ๆ ทั้งหมด. สรุปความวา ไมมีอะไรที่จะจํากัดรัดกุม เหมือนกับ บุคคลที่เปนราคจริต หรือโทสจริตโดยเฉพาะ. (๖) วิตกจริต. หมายถึงสิ่งที่ฟุงซานงาย แตมิไดหมายความวา ฟุ ง ซา นไปในทางสติป ญ ญา เปน แตเ พีย งการนึก คิด ที ่ฟุ ง ซา น หาทิศ ทางและ หลักเกณฑไมคอยได. สิ่งที่สบายสําหรับบุคคลผูมีจริตอยางนี้ ตองเปนสิ่งที่ไม ยั ่ว ใหค ิด ไมส นับ สนุน ใหค ิด ไมช วนใหฉ งน หรือ ไมม ัก กอ ใหเ กิด ปญ หาใด ๆ ควรอยู ใ นที ่แ คบ แตเ กลี ้ย งเกลาสะอาด อยู ใ นที ่ม ีแ สงสวา งพอสมควร มีเ ครื ่อ ง ใช สอยแต นอยที่ สุด และง ายที่ สุ ด ไมสมาคมกั บบุคคลที่ชวนให เพ อเจ อ มี อิ ริยาบถ ที่สบายอยางเดียวกับ ผูเปนราคจริต แมสีเปนตนก็อยางเดียวกัน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สรุปความวา ราคาจริต คือ ขี้มักกําหนัด ใหใชของปอนแก. โทสจริต ขี้มักโกรธ ใหใชของเรียบรอยสวยงามแก. โมหจริต ขี้มักมืดมัว ใหใชสภาพของความโลงโถงสวางไสวแก. สัทธาจริต ขี้มักเชื่อดายไป ใชความมี หลักเกณฑมีระเบียบที่แนนอนแก. พุทธจริต หนักไปในทางความรู ใชความ ฉลาดของตัวเองแก. และ วิตกจริต ใชสภาพของสิ่งแวดลอม ที่ไมยั่วใหเกิด ความนึกคิดแก. เมื่อผูปฏิบัติไดสํารวจตัวเอง จนรูจักจริตนิสัยของตนอยางถูก ตอง ย อมสามารถเลื อกสิ่ งแวดล อมได โดยไม ยาก สามารถสนั บสนุ นการปฏิบั ติ ของ ตนได ด ว ยตนเองอย า งมากมายที เ ดี ย ว แม ก ารเลื อ กบทกั ม มั ฏ ฐานบทใดบทหนึ่ ง โดยเฉพาะ เพื ่อ ใหถ ูก จริต นิส ัย ของตน ก็ถ ือ หลัก เกณฑอ ยา งเดีย วกัน นี ้ เชน ราคจริต เลือกกัมมัฏฐานพวกอสุภกัมมัฏฐาน พวกโทสจริต เลือกกัมมัฏฐาน

www.buddhadasa.in.th


บุพพกิจโดยเฉพาะของการเจริญสมาธิ

๔๑

พวกพรหมวิหาร หรืออัปปมัญญา. โมหจริต เลือกกัมมัฏฐาน พวกปจจเวกขณ เชน ธาตุปจจเวกขณ, พวก สัทธาจริต เลือกกัมมัฏฐานพวก อนุสสติ เชน ธัมมานุสติ, พวก พุทธจริต ไมสูจะมีการจํากัด, พวก วิตกจริต เลือก กั ม มั ฏ ฐาน พวกที่ ส งบรํ า งั บ เช น อานาปานสติ หรื อ กั ม มั ฏ ฐานที่ อ าศั ย นิ มิ ต เป น รูปธรรมลวน ๆ เชนกสิณเปนตน แตพระผูมีพระภาคเจาไดตรัสวา อานาปานสติ ยอมเปนธรรมที่สบายแกจริตทั้งปวง. ในกรณี ที่ บุ ค คลคนหนึ่ ง มี จ ริ ต แสดงออกหลายจริ ต ให ถื อ เอาจริ ต ที่ ออกหนา หรือ แกก ลา กวา จริต อื ่น เปน หลัก สํ า หรับ การเลือ กกอ น แลว จึง ถึง จริต ที่ถัดไปเทาที่จะผอนผันกันได. เมื่ อ ได ก ล า ถึ ง ธรรมชาติ ภ ายใน คื อ จริ ต นิ สั ย แล ว ก็ ค วรจะกล า วถึ ง ธรรมชาติภายนอก ซึ่งเปนที่ตั้งแหงการเลือกเฟนสืบตอไป.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ธรรมชาติภายนอก ที่จะตองเลือกเฟนในที่นี้เรียกวา “สัปปายธรรม” แปลวา สิ่งเปนที่สบายสําหรับบุคคลผูปฏิบัติ ทานจําแนกไวเปน ๗ คือ :(๑) อาวาสสัปปายะ ที่อยูสบาย, (๒) โคจรสัปปายะ ที่หาอาหารสบาย, (๓) กถาสัปปายะ ถอยคําสบาย, (๔) ปุคคลสัปปายะ บุคคลสบาย, (๕) อาหารสัปปายะ อาหารสบาย, (๖) อุต ุส ัป ปายะ ฤดูส บาย. (๗) อิ ริ ย าบถสั ป ปายะ อิ ริ ย าบถสบาย. แตละอยาง ๆ มีทางวินิจฉัย เกี่ยวกับการเลือก ดังตอไปนี้ :

๑. อาวาสสัปปายะ หมายถึงที่อยูสบาย นอกจากเปนการถูกกับจริต ดัง กลา วไวใ นเรื ่อ งของจริต ๖ ประการขา งตน แลว ทา นยัง แนะใหเ ลือ กที ่อ ยู ที่ประกอบไปดวยลักษณะเหลานี้คือ ไมใหญเกินไป เพราะทําใหมีการดูแลรักษามาก เปนตน, ไมใหมเกินไป เพราะมีเรื่องที่จะตองทํามาก, ไมคร่ําคราเกินไป

www.buddhadasa.in.th


๔๒

อานาปานสติภาวนา ตอน ๔

เพราะมีอันตรายจากตัววัตถุนั้นเอง หรือจากสัตวเลื้อยคลานตาง ๆ. ไมอยู ใกลทางเดิน เพราะจะถูกรบกวนดวยบุคคลและเสียงของบุคคลผูเดิน , ไมอ ยู ใกล บ อ น้ํ า สาธารณะ เพราะจะถู ก รบกวนจากบุ ค คล หรื อ จากการตั ก น้ํ า ของบุ ค คล โดยเฉพาะเพศตรงกัน ขา ม, ไมอ ยูใ นที่ที่มีใ บไม หรือ ผัก หญา เปน ตน ที่ใ ช เป น อาหารได เพราะจะถู ก รบกวนจากคนหาผั ก โดยเฉพาะที่ เ ป น เพศตรงกั น ข า ม, ไม อ ยู ใ นที่ ที่ มี ด อกไม ห รื อ ผลไม เป น ต น ที่ ใ ช ป ระโยชน ไ ด เพราะจะถู ก รบกวน จากสัตวบุคคลที่เนื่องจากดอกไม หรือผลไม, ไมอยูในที่ที่คนมุงหมายจะได เพราะ กอ ใหเ กิด ศัต รู แลว ไดร ับ ความรบกวนจากศัต รูนั ้น ไมอ ยู ใ นสถานที ่ศ ัก ดิ ์ส ิท ธิ์ ที่เปนที่บูชาของประชาชน เพราะจะทําใหรําคาญ ; ไมอยูใกลตัวเมือง เพราะ ตัวเมืองยอมเปนทางมาแหงการรบกวนทุกประการ, ไมอยูใกลแหลงหาฟน หรือ ที่ ทํ า นาเป น ต น เพราะเป น การยากที่ จ ะไม ถู ก รบกวนด ว ยเสี ย ง หรื อ จากบุ ค คล โดยตรง, ไมอ ยูใ กลสิ่ง หรือบุค คลที่เ ปน วิส ภาค แปลวา เขา กัน ไมไ ด เชน คนโกรธกัน หรือ เพศตรงกัน ขา เปน ตน , ไมอ ยูใ กลทา น้ํา เพราะเปน ที่ไ ปมา ไมหยุด, ไมอยูบานนอกปลายแดนเกินไป, เพราะคนเหลานั้นไมศรัทธาที่จะ สนับสนุน ไมเขาใจแลวยังจะทําตนเปนปฏิปกษอีกดวย, ไมอยูที่พรมแดนของ ประเทศ เพราะเป น ถิ่ น ที่ ต อ งระวั ง รั ก ษาอย า งกวดขั น ของเจ า หน า ที่ ผู รั ก ษา และมี ทางที่จะกระทบกระเทือน ในเมื่อเกิดปญหาพรมแดนหรือชายแดนขึ้น, ไมอยูในที่ ไม มี สั ป ปายะ ๗ ประการข า งต น ดั ง กล า วแล ว และไม อ ยู ใ นที่ ที่ ไ ม อ าจจะติ ด ต อ กั บ กัลยาณมิตร เชนอาจารยผูสอนกัมมัฏฐาน. ทั้งหมดนี้เปนตัวอยางของที่อยูที่ควร หรื อ ไม ค วรอยู ซึ่ ง เป น หลั ก เกณฑ สํ า หรั บ วิ นิ จ ฉั ย ในป ญ หาอั น เกี่ ย วกั บ สถานที่ บําเพ็ญสมณธรรมโดยตรง. เมื่อไดสถานที่ที่ปราศจากโทษเหลานั้นแลว ก็เรียก วามี อาวาสสัปปายะ ซึ่งอาจจะหมายถึงสถานที่ทั้งหมูบาน ทั้งปา หรือทั้งวัด หรื อ ส ว นแห ง วั ด หรื อ แม แ ต เ พี ย งกุ ฏิ กระต อ บ กระท อ ม หรื อ ถ้ํ า หรื อ โคนไม หรือ หุบเหว ที่อยู เปนสวนตัว โดยเฉพาะจริง ๆ ก็ตาม รวมความแลว ก็คือ ไมมีอะไรรบกวนและสะดวกสําหรับการปฏิบัติกัมมัฏฐาน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


บุพพกิจโดยเฉพาะของการเจริญสมาธิ

๔๓

๒. โคจรสัปปายะ หมายถึงที่แสวงหาอาหารสบายโดยตรง และ หมายถึ ง ที่ แ สวงหาสิ่ ง ที่ ต อ งการอื่ น ๆ โดยอ อ ม ตลอดถึ ง การคมนาคม ที่ จํ า เป น ตองใชเกี่ยวกับการปฏิบัติธรรมโดยเฉพาะ. เกี่ยวกับโคจรสบายนี้ มีหลักสําคัญ อยู ว า พอที่ จ ะแสวงหาอาหารได โ ดยไม ย าก หรื อ ยากเกิ น ไป และในที่ นั้ น ๆ ไม มี วิ ส ภาคารมณ โดยเฉพาะก็ คื อ สิ่ ง ที่ เ ป น ข า ศึ ก แก จิ ต ใจ ทํ า จิ ต ใจให ต กไปฝ า ยต่ํ า หรือใหยอนระลึกนึกถึงความหลัง ซึ่งทําใหอยากกลับไปสูเพศต่ํา ดังนี้เปนตัวอยาง. ท า นได อุ ป มาไว ว า เหมื อ นกั บโคต อ งได ทุ ง หญ า ที่ ดี ไม มี โ จร ไม มี เ สื อ ไมมีโรค หรืออุปทวะอื่น ๆ. ถาที่โคจรไมดี ก็ไดรับอันตรายถึงตาย ซึ่งเปน โวหารอุปมาของการสึก. ๓. กถาสัปปายะ คําพูดสบาย หมายถึงการไดยินไดฟงสิ่งที่ดีมี ประโยชน ขจั ด ข อ สงสั ย ต า ง ๆ ได สนั บ สนุ น แก ก ารปฏิ บั ติ มี ค วามไพเราะงดงาม และถู ก แก จ ริ ต นิ สั ย ของบุ ค คลนั้ น โดยเฉพาะ แม แ ต เ สี ย งสั ต ว บ างอย า ง สบายก็ มี ไมสบายก็มี ไมตองกลาวถึงเสียงของมนุษยเลย. ฉะนั้นเสียงที่อึกทึกครึกโครม หรือสิ่งยั่วยวนตาง ๆ ที่ดังมาจากระยะไกลนั้น ก็ถูกจัดไวในฐานะเปน อสัปปายะ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ในทํานองตรงกันขาม ถาหากวาผูปฏิบัติไดฟงถอยคําที่ชักจูงจิตใจ หรื อ ประเล า ประโลมใจ ให อ าจหาญร า งเริ ง และมี ค วามรู ค วามเข า ใจเพิ่ ม ขึ้ น ใน หนาที่ของตัวแลว จัดวาเปน สัปปายะ ในขอนี้ โดยเฉพาะอยางยิ่งก็คือ ถอยคํา ของกัลยาณมิตรที่พร่ําแนะอยูนั่นเอง. ๔. ปุคคลสัปปายะ หมายถึงบุคคลที่แวดลอมอยู ในฐานะเปน อาจารยหรือกัลยาณมิตรก็ดี เพื่อรวมการปฏิบัติดวยกันก็ดี และผูสนับสนุน

www.buddhadasa.in.th


๔๔

อานาปานสติภาวนา ตอน ๔

เชน ทายกทายิกาก็ดี ลวนแตเปน สภาค (ตรงกันขามกับวิสภาค) บุคคลผูปฏิบัตินั้นอยางถูกฝาถูกตัว.

คือเขากันไดกับ

อาจารยอยูในฐานะชวยดึงขึ้นไป, เพื่อสหธรรมิกอยูในฐานแวดลอม ใหปลอดภัย และเปนเพื่อนเดินทาง, ผูสนับ สนุนอยูในฐานที่ชวยผลักดันให กาวไปเร็วหรือโดยสะดวก, เหลานี้ คือใจความสําคัญของปุคคลสัปปายะ. ๕. อาหารสัปปายะ หมายถึงอาหารที่ถูกแกจริตนิสัย ของบุคคล ผู ปฏิ บั ติ ตามหลั กเกณฑ ดั งกล าวแล ว ในเรื่ องของจริ ต และทั้ งยั งเป นอาหารที่ สบาย แก ร า งกาย มี คุ ณ สมบั ติ เ พี ย งพอที่ จ ะหล อ เลี้ ย งร า งกาย และป อ งกั น โรคเต็ ม ตาม ความหมายของอาหารที่ ดี และเป น อาหารที่ บุ ค คลนั้ น บริ โ ภคด ว ยป จ จเวกณ พิจารณา และดวยกิริยาอาการที่สมควรแกผูปฏิบัติ ตามหลักเกณฑที่มีอยู. ส ว นที่ จ ะเป น อาหารเนื้ อ หรื อ อาหารผั ก ผลไม แป ง ข า ว หรื อ อะไร อื่ น นั้ น เป น เรื่ อ งเฉพาะคน เฉพาะสถาน หรื อ เฉพาะกาลเวลาและเหตุ ผ ลส ว นตั ว อื่น ๆ ซึ่งไมอาจจะกลาวไวเป นสวนรวม แตถาไดมาตรงตามที่รางกาย หรือจิตใจของ ผูปฏิบัติสมณธรรม ตองการจริง ๆ แลว ก็นับวาเปนอาหารสัปปายะ อยางยิ่ง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๖. อุตุสัปปายะ คือฤดูสบาย คําวาอุตุ หรือฤดูในที่นี้ ทานหมายถึง กาลเวลาที่ เหมาะสม คื อเป นกาลเวลาที่ อํ านวยให เกิ ดสิ่ งแวดล อมที่ ดี คื อทิ วทั ศน ดี อากาศดี อุ ณ หภู มิ ดี และอะไรอื่ น ที่ เ นื่ อ งกั น ทุ ก อย า งดี ซึ่ ง เราอาจรวมเรี ย กได ว า ดินฟาอากาศดีนั่นเอง.

www.buddhadasa.in.th


บุพพกิจโดยเฉพาะของการเจริญสมาธิ

๔๕

เกี่ ย วกั บ เรื่ อ งนี้ มี ท างเลื อ กเป น ๒ สถาน คื อ ถ าเป น การปฏิ บั ติ ธ รรม ชั่วระยะ หรื อเป นการกํ าหนดจะต องลงมื อริ เริ่ ม จะตั้ งต นลงมือแรกเริ่ มก็ ดี ท านให เลือกฤดูที่ เหมาะสมที่สุดเทาที่จะเลือกได และเปนโอกาสที่จะเลื อกเวลาหรือสถานที่ ไดตรงตามความมุงหมายยิ่งขึ้น. ถา เปน การปฏิบ ัต ิธ รรมอยู ต ลอดกาลแลว ก็ม ีท างเลือ กไดน อ ยลง แตก ็ย ัง มีท างที ่จ ะเลือ กไดว า จะทํ า กัม มัฏ ฐานขอ ไหน ตอนไหน หรือ ระยะไหน ใหเครงครัดเปนพิเศษในเวลาไหน ในฤดูไหนอยูนั่นเอง ; รวมทั้งอาจจะโยกยาย สถานที่หรือประเทศ ใหไดรับดินฟาอากาศ ที่รวมเรียกกันวา ฤดู ในที่นี้ตรงตาม ความประสงค ด ว ย เช น ฤดู ร อ นจะควรอยู ที่ ไ หน ฤดู ห นาวจะควรอยู ที่ ไ หน ฤดู ฝ น จะควรอยู ที่ ไ หน หรื อ ว า ถ า เคลื่ อ นย า ยไม ไ ด เราจะดั ด แปลงสถานที่ นั้ น อย า งไร เพื่อใหไดรับผลอยางเดียวกัน. ทั้งหมดนี้ลวนแตรวมเรียกวา อุตุสัปปายะ. ๗. อิริยาปถสัปปายะ คือ ทานั่ง นอน ยืน เดิน ในลักษณะใดเปน ที่สบายแกผูใด ควรใชอิริยาบถไหนใหมาก สําหรับเขา. ถึงรูไดดวยการทดลอง สั งเกตดู ด วยตนเอง โดยถื อหลั กว า ในอิ ริ ยาบถใด จิ ตเป นสมาธิ ได ง าย และตั้ งมั่ น อยูไดนานแลว ใหถือวา นั่นเปนอิริยาปถสัปปายะแกผูนั้น, เพื่อทําใหมากเปน พิเศษ แลวจึงทําใหเปนที่ทําไดทั่วไป แกอิริยาบถที่เหลือตอภายหลัง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สรุปความวา สัปปายะ ๗ ประการนี้ หมายถึงความเหมาะสม ของสิ่งที่สัมพันธ กับตน อยางใกลชิด หรือไมมีทางจะหลีกเลี่ยงได คือที่อยู ที่เที่ยว เสี ย งที่ ไ ด ยิ น คนเกี่ ย วข อ งด ว ย ป จ จั ย ที่ เ ลี้ ย งชี วิ ต และดิ น ฟ า อากาศ ที่ ห ม หุ ม ถ า เลื อ กให เ หมาะสมที่ สุ ด เพี ย งไร ผู นั้ น จะมี จิ ต ใจแช ม ชื่ น ผอ งใส ไมรู จ ัก เหน็ด เหนื ่อ ย ในการบํ า เพ็ญ สมณธรรมของตน ทานจึงจัดไวในฐานะเปนสิ่งที่ตองศึกษา และระมัดระวังเทาที่จะทําได.

www.buddhadasa.in.th


อานาปานสติภาวนา ตอน ๔

๔๖

(ฆ) การเตรี ย มตั ว ทั้ ง ทางหลั ก วิ ช า และทางปฏิ บั ติ ๑ การเตรี ยมตั วเพื่ อการเจริ ญภาวนา หรื อการปฏิ บั ติ กั มมั ฏฐาน เกี่ ยวกั บ เรื่องนี้ มีขอควรสังเกตอยู ๒ ประเภท : ประการแรกคื อ หลั ก วิ ช า หรื อ แนวทาง ทางฝ า ยทฤษฎี ที่ มี อ ยู อย า งเพี ย งพอที่ ทํ า ให ส ามารถดํ า เนิ น การฝ า ยปฏิ บั ติ ใ ห ต รงจุ ด ซึ่ ง จะต อ งมี ก าร ตระเตรี ยมด วยการศึ กษามาแล ว แล วนํ ามาวิ นิ จฉั ยว าตนจะต องตระเตรี ยมในทาง ปฏิบัติอยางไรและเทาไร : สวนอีกประเภทหนึ่ง ก็คือการตระเตรียมในทาง ปฏิบัติโดยตรง. การเตรียมทางหลักวิชา เกี่ ยวกั บหลั กทั่ ว ๆ ไป ทางฝ ายทฤษฎี ที่ ต องทราบเป นการล วงหน านั้ น ทานใหหัวขอไว ดังตอไปนี้ :

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๑. สมาธิคืออะไร ? คําตอบขอนี้มีไดตาง ๆ กัน อาจจะมุงหมายถึง การทํ า กิร ิย าที ่ทํ า หรือ สิ ่ง ที ่ถ ูก ทํ า และผลที ่เ กิด ขึ ้น จากการกระทํ า ลว นแต เรียกวา สมาธิไปหมด. สวนความมุงหมายอันแทจริง ทานใหคําจํากัดความไววา สมาธิค ือ กุศ ลจิต ที ่ม ีอ ารมณแ นว แน ดัง นี ้ นี ่เ ปน การแสดงวา ทา นเพง เล็ง ถึง ผลที่เกิดขึ้น โดยตรง. สวน การทํา ก็พลอยมีความหมายไปตามนั้น กลาวคือ การทําใหเกิดมีกุศลจิต ที่มีอารมณแนวแนนั่นเอง. ขอควรสังเกตอยางยิ่งอยูตรง คําที่วากุศลจิตมิไดอยูตรงคําที่วาแนวแนแตอยางเดียว เพราะเปนอกุศลจิต แมมี

การบรรยายครั้งที่ ๕ / ๑๗ สิงหาคม ๒๕๐๒

www.buddhadasa.in.th


บุพพกิจโดยเฉพาะของการเจริญสมาธิ

๔๗

อารมณแนวแนก็กลายเปนมิจฉาสมาธิไป. ดวยเหตุนี้แหละสิ่งที่จะใชเปนอารมณ ของสมาธินั ้น ตอ งเปน อารมณซึ ่ง เปน ที ่ตั ้ง แหง กุศ ลจิต เสมอไป ทั ้ง เจตนาในการ ที่ จ ะทํ า สมาธิ ก็ ต อ งเป น สิ่ ง ที่ บ ริ สุ ท ธิ์ ม าแต เ ดิ ม หรื อ ประกอบด ว ยป ญ ญา หรื อ สัมมาทิฏฐิ ดังที่กลาวมาแลวขางตน. ๒. ไดชื่อวาสมาธิ เพราะมีอรรถ (ความหมาย) วาอยางไร ? อธิบายวา อรรถวาตั้งมั่น ทั้งสวนจิตและเจตสิก. จิตตั้งมั่นเพราะมีเจตสิกธรรม ซึ่ ง เป น ความตั้ ง มั่ น เกิ ด อยู กั บ จิ ต ซึ่ ง กํ า ลั ง เป น กุ ศ ลจิ ต โดยนั ย ที่ ก ล า แล ว ในข อ หนึ่ง. คําวา ตั้งมั่น หมายความวา ตั้งมั่นอยูในอารมณอันเดียว อันอารมณอื่น แทรกแซงเขามาไมได อันนิวรณหรือกิเลสครอบงําไมได. ๓. อะไรเปนลักษณะ รส เครื่องปรากฏ และปทัฏฐานของสมาธิ ? ตอบวา ลักษณะของสมาธิ คือความไมฟุงซาน. รสของสมาธิ คือ การกําจัด ความฟุงซาน แลวมีความรูสึกสงบ. เครื่องปรากฏ หรือ เครื่องสังเกตของสมาธิ คือความไมหวั่นไหว และ ปทัฏฐานของสมาธิ คือ ความสุข. เกี่ยวกับปทัฏฐานนี้ มีข อ ที ่ค วรระลึก ไวเ สมอวา ตอ มีค วามพอใจ สบายใจ อาจหาญ รา งเริง หรือ ป ติ ป ราโมทย ซึ่ ง เป น ลั ก ษณะอาการของความสุ ข อยู ต ลอดเวลา เป น สิ่ ง ที่ สั ง เกต ไดไมยาก และจะตองควบคุมใหคงมีอยูตลอดเวลา จึงจะไดชื่อวา เปนปทัฏฐาน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๔. สมาธินี้มีกี่อยาง ? ขอนี้เปนทางทฤษฎีลวน และเลยไปเปนเรื่อง ของการบั ญ ญั ติ ท างภาษา หรื อ ทางตรรก ซึ่ ง ไม ต อ งสนใจก็ ไ ด เพราะมี ม ากมาย เกิ น ไป ทราบแต ห ลั ก เกณฑ ย อ ๆ ไว บ า งก็ พ อ คื อ จะตอบว า สมาธิ อ ย า งเดี ย วก็ ไ ด หมายถึงอาการที่จิตตั้งมั่น. จะตอบวามีสองอยางก็ได โดยแบงเปนโลกิยสมาธิ และโลกุตตรสมาธิ. หรือแบงเปนสมาธิเฉียด ๆ หรือสมาธิพื้นฐานที่เรียกวา

www.buddhadasa.in.th


๔๘

อานาปานสติภาวนา ตอน ๔

อุปจารสมาธิ ; และสมาธิแนวแน ที่เรียกวา อัปปนาสมาธิ ดังนี้ก็ได ; และมี ทางจําแนกโดยชื่ออื่น ๆ อีกเปนคู ๆ ไป. ทีจําแนกเปนสามอยางนั้น ก็คือสมาธิ อยางหยาบ อยางกลาง อยางละเอียด เปนตน. ที่จําแยกเปนสี่ ก็จําแนกตามที่ สัมปยุตกับอิทธิบาทสี่ เปนตน. ที่จําแนกเปนหา ก็จําแนกตามองคแหงฌาน ดังนี้เปนตน ; ซึ่งเกี่ยวกับหลักวิชาอยางเดียวกัน. ๕. อะไรเปนเครื่องมัวหมองของสมาธิ ? ทานระบุความที่จิตกลับ ตกลงสู กามและอกุศลธรรม เปนเครื่องมัวหมองของสมาธิ. ขอนี้เห็นไดวา หมายถึงจิต ที่เปนสมาธิแลว ในประเภทโลกิยสมาธิ ที่ยั งกลับ กําเริบได เกี่ ยวกั บ การรักษาไมดี หรือมีเหตุการณอยางอื่นมาแทรกแซง. ๖. อะไรเปน ความผอ งแผว ของสมาธิ ? คํา ตอบก็คือ อาการ ที่ ต รงกั น ข า มจากอาการในข อ ห า หมายถึ ง จิ ต ที่ ไ ม มี วิ ต กอย า งอื่ น กํ า ลั ง รุ ง เรื อ ง อยูเสมอ เพราะ สหรคตะ อยูดวยเจตสิกธรรมประเภทปญญา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๗. เจริญสมาธิอยางไร ? ขอนี้เปนทางปฏิบัติลวน ๆ จะยกไวกลาว โดยละเอี ย ด ในตอนอั น กล า วด ว ยการตระเตรี ย มประเภทที่ ส องข า งหน า รวม ความสั้น ๆ ก็ไดเปนหัวขอวา การเจริญโลกิยสมาธิเชนนี้ การเตรียมก็คือชําระศีล ใหบริสุทธิ์ ตัดปลิโพธตาง ๆ ดังที่กลาวแลวในเรื่องอันวาดวยปลิโพธ, ติดตอ กับอาจารยใหถูกวิธี, ศึกษาและรับเอากัมมัฏฐาน, ไปอยูในสถานที่อันสมควร แกการเจริญกัมมัฏฐาน. ตัดปลิโพธหยุมหยิมแลวทําการเจริญกัมมัฏฐานตามวิธี ที่จะไดแยกไวกลาวขางหนาเปนอีกแผนกหนึ่งตางหาก.

www.buddhadasa.in.th


บุพพกิจโดยเฉพาะของการเจริญสมาธิ

๔๙

๘. อะไรเปนอานิสงสของสมาธิ ? การทาราบอานิสงสหรือผลที่จะ ได จ ากสิ่ ง ที่ ต นทํ า เป น การล ว งหน า นั้ น นอกจากเป น เครื่ อ งสนั บ สนุ น กํ า ลั ง ใจ อย า งแรงกล า แล ว ยั ง เป น หลั ก เกณฑ ที่ จ ะช ว ยให มี ก ารจั ด เตรี ย ม อย า งถู ก ต อ ง ตรงตามที่ตนตองการจริง ๆ อีกดวย. เนื่องจากมีสมาธิหลายอยางหลายประเภท อานิ สงส จึ งมี หลายอย างหลายประเภทไปตาม ท านแสดงอานิ สงส ของสมาธิ ไว เป น หาอยางดวยกัน คือ ๑. ทิฏฐธรรมสุข คือ สุขทันตาเห็น ของบุคคลที่กําลัง อยู ใ นสมาธิ แต โ ดยเฉพาะอย า งยิ่ ง นั้ น คื อ ของพระอรหั น ต ที่ กํ า ลั ง เข า อยู ใ นสมาธิ เพื่อการพักผอน ๒. มีวิปสสนาเปนอานิสงส หมายถึงสมาธินั้น ๆ เปนบาทฐาน ให เกิ ดวิ ป สสนาต อไป คื อการเห็ นอนิ จจั ง ทุ กขั ง อนั ตตา จนถึ งขนาดที่ จิ ตหลุ ดพ น และปลอยวาง ๓. มีอภิญญาเปนอานิสงส ขอนี้แตกตางไปจากขอที่สอง โดย ใจความสํ า คั ญ ก็ คื อ ว า แม จ ะได วิ ป ส สนา ก็ มิ ไ ด ห มายความว า จะต อ งมี อ ภิ ญ ญา เสมอไป จะต อ งมี ก ารทํ า สมาธิ ใ ห ยิ่ ง ไปกว า นั้ น หรื อ พิ เ ศษออกไปจากนั้ น จึ ง จะ ทําอภิญญาใหเกิดได การตระเตรียมจึงมากกวากัน. อภิญญาในที่นี้หมายถึงอิทธิวิธี มีประการตาง ๆ ที่เปนฝายกุศล ๔. มีภพอันวิเศษเปนอานิสงส ขอนี้เล็งถึง พรหมโลกเปนสวนใหญ ภพที่ต่ํากวานั้นไมเรียกวาภพอันวิเศษ. สมาธิทั้งปวง ย อ มเป น ป จ จั ย นํ า ไปสู ภ พที่ สู ง กว า กามภพด ว ยกั น ทั้ ง นั้ น ท า นจึ ง ได ก ล า วอย า งนี้ . อย างไรก็ ตาม คํ ากล าวข อนี้ แสดงร องรอยให เห็ นว า เป นการกล าวที่ กว างออกไป นอกวงของพุ ท ธศาสนา ซึ่ ง ต อ งการจะออกจากภพ หรื อ กํ า จั ด ภพเสี ย โดยสิ้ น เชิ ง จึ ง เป น การแสดงอยู ใ นตั ว ว า ได ร วมเอาเรื่ อ งของสมาธิ ก อ นพุ ท ธศาสนา หรื อ นอก พุทธศาสนาเขามารวมดวยกัน. นี่เปนสิ่งที่ตองเขาใจไวใหถูกตอง เพราะเปน ทางเกิด แหง ตัณ หา อุป าทานได โดยไมรู ส ึก ตัว ยิ ่ง ไปกวา อานิส งสข อ ที ่ส าม ๕. มีนิโรธสมาบัติเปนอานิสงส นิโรธสมาบัติ ไดรับการยกยอง วาเปนสมาบัติ สู ง สุ ด ในบรรดาอุ ต ริ ม นุ ษ ยธรรมที่ แ สดงออกให ผู อื่ น ทราบได ในฐานะเป น อาการ

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


อานาปานสติภาวนา ตอน ๔

๕๐

ของการเสวยวิ มุ ต ติ สุ ข ที่ ต นได รั บ และเป น คุ ณ สมบั ติ ที่ จั ด ไว เ ฉพาะพระอนาคามี และพระอรหั น ต บ างประเภทเท า นั้ น ไม อ ยู ใ นฐานะเป น วั ต ถุ ที่ ป ระสงค ทั่ ว ไป เพราะเป น สิ่ ง ที่ ไ ม ส าธารณะแก ค นทั่ ว ไป แม ที่ เ ป น พระอริ ย เจ า ไม จํ า เป น ต อ ง วินิจฉัยกันในที่นี้ : อานิสงสทั้งหาอยางนี้ เปนการบัญญัติของอาจารยชั้นหลัง ก็ จ ริ ง แต เ ป น ทางพิ จ ารณาให เ ห็ น ลู ท างแห ง การเตรี ย มตั ว เพื่ อ ทํ า สมาธิ อ ย า งใด อยางหนึ่ง ตามความประสงคของตน ไดงายขึ้น. เรื่ อ งที่ ต อ งเตรี ย มรู ใ นฝ า ยทฤษฎี มี อ ยู โ ดยย อ เพี ย งเท า นี้ ต อ ไปนี้ เปนเรื่องการเตรียมประเภทที่เปนตัวการปฏิบัติ.

การเตรียมทางปฏิบัติ. การตระเตรี ย มฝ า ยปฏิ บั ติ สํ า หรั บ โลกิ ย สมาธิ กล า วคื อ สมาธิ ข อง บุ ค คลที่ มิ ใ ช พ ระอริ ย เจ า และหมายตลอดลงมาถึ ง การริ เ ริ่ ม ในระยะแรกของการทํ า สมาธินั้น มีหัวขอที่ทานนิยมวางไวเปนหลักดังตอไปนี้ คือ :-

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๑. การชําระศีลใหบริสุทธิ์ หมายถึงการทําตน ใหเปนผูที่ไมมีอะไร เปน เครื ่อ งตะขิด ตะขวงใจ หรือ รัง เกีย จตัว เอง ในเรื ่อ งอัน เกี ่ย วกับ ศีล ของตน. การวิ นิ จ ฉั ย ในประเด็ น นี้ ไ ด ก ล า วแล ว ในตอนต น อั น กล า วถึ ง บุ พ พภาคข อ ที่ ว า ด ว ย การแสดงอาบัติ ไมวินิจฉัยกันในที่นี้อีก. ๒. การตัดปลิโพธตาง ๆ ปลิโพธ สิบประการ ขางตน.

ขอนี้ไดวินิจฉัยแลวในตอนอันกลาวถึง

www.buddhadasa.in.th


บุพพกิจโดยเฉพาะของการเจริญสมาธิ

๕๑

๓. การติดตอกับกัลยาณมิตร หรืออาจารยผูสอนกัมมัฏฐานนั้น ทาน พรรณนาไว ยื ด ยาว แต ก็ เ ป น เรื่ อ งเฉพาะถิ่ น เฉพาะยุ ค และอนุ โ ลมตามวั ฒ นธรรม ของประเทศที่ แต งคั มภีร นั้ น ในยุ คสมั ยนั้ น ๆ ฉะนั้ นจึ งไม อาจจะนํ ามาใช ได โดยตรง ตามตั ว หนั ง สื อ ที่ ก ล า วไว ขื น ทํ า ตามนั้ น ก็ รั ง แต จ ะเกิ ด ความงมงาย หรื อ เรื่ อ ง ขบขันหลายอยางหลายประเภท ดังที่ไดนําวินิจฉัยไวบางแลวขางตน. ในที่นี้จะ สรุ ปไว แต ใจความว าให รู จั กกาละเทศะ ในการเข าไปติ ดต อกั บอาจารย สร างความ เคารพนับถือ หรื อความไว วางใจใหเกิ ดขึ้นอยางมั่นคงเสี ยกอน แลวแจงความจํานง ตาง ๆ ซึ่งทานใหใชความอดทน แมเปนเวลานานตั้งเดือน ๆ เพื่อใหสิ่งตาง ๆ เป นไปในลั ก ษณะที่ สุ ขุ ม รอบคอบ ทั้ งฝ ายศิ ษ ย แ ละฝ า ยอาจารย ไม มี อ าการอย า ง รวบหั ว รวบหาง เหมื อ นดั ง ที่ ทํ า กั น อยู ใ นบั ด นี้ สั ง เกตดู ก็ พ อจะเข า ใจได เช น กว า อาจารยจะรูจั กนิ สั ยของศิ ษย ก็ กิ นเวลานานไม นอย และตองการอยู ปฏิ บั ติวั ตรฐาก ที่อยูใกลชิดพอสมควรจึงรูไดดังนี้ เปนตน. อีกทางหนึ่งซึ่งจะตองตระเตรียมก็คือ ขอที่วา ตนจะมีโอกาสติดตอกับอาจารยไดมากนอยเพียงไรตอไป. ถาอยูปฏิบัติ ในสํานักของอาจารยก็ไมมีปญหาอะไรนัก สงสัยเมื่อไรก็ถามได ; แตถาตองอยู ในถิ ่น ที ่ไ กลออกไป ก็ต อ งมีก ารเตรีย ม วา จะรับ คํ า สั ่ง สอนขอ ไหน เพีย งไร เพื่ อระยะเวลานานเท าไร ซึ่ งเป นหน าที่ ฝ ายอาจารย จะต องกํ าหนดให อย างเหมาะสม ท านแนะไว อย างละเอี ยด ตามลั กษณะของการเป นอยู ในครั้ งโบราณว า บิ ณฑบาต แลว เลยมาสูสํา นัก อาจารย สองวัน ครั้ง หนึ่ง บา ง สามวัน ครั้ง หนึ่ง บา ง หรือ เจ็ดวันครั้งหนึ่งบาง. ในตอนกลับ ออกบิณฑบาตจากสํานักอาจารย ฉันแลว จึ ง เลยไปสํ า นั ก ของตน ดั ง นี้ ก็ ยั ง มี ซึ่ ง เป น หลั ก เกณฑ ที่ เ หมาะสมแก ค วามเป น อยู ของสมัยโบราณโดยตรง แตก็ควรนํามาพิจารณา หรือดัดแปลงแกไข นํามาใช ใหเปนประโยชนในสมัยนี้ ใหมากเทาที่จะมากได. การเตรียมก็ไดแกการ ตระเตรียมใหเขารูปกันกับการเปนอยูนั้น ๆ นั่นเอง. ในกรณีที่ตองออกไปอยูใน ที่ ไ กลออกไปจนถึ ง กั บ เรี ย กว า อยู ต า งเมื อ ง ต า งจั ง หวั ด กั น นั้ น ท า นก็ ไ ด แ นะนํ า

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๕๒

อานาปานสติภาวนา ตอน ๔

ให มี ก ารตระเตรี ย มรั บ กั ม มั ฏ ฐานในครั้ ง แรก และการติ ด ต อ ในครั้ ง หลั ง โดยวิ ธี ที่ เหมาะสม เฉพาะเรื่องยิ่งขึ้นไปอีก ก็คือเปนหนาที่ที่เราจะตองนําหลักเกณฑเหลานั้น มาดัดแปลงใหเหมาะสมแกเรื่องชนิดที่เปนเรื่องพิเศษเหลานี้ใหไดจริง ๆ. ถาจัด ไมเ หมาะสมแลว จัก ตอ งเกิด ความฟุ ง ซา นขึ ้น แทรกแซง อยา งที ่จ ะขจัด ปด เปา ไมไหวเอาทีเดียว. เราควรพิจารณาดู ถึงขอที่ทานแนะไวในบางกรณีที่อาจารยกับ ศิ ษ ย จ ะพู ด จากั น หรื อ ซั ก ถามกั น นั้ น ท า นแนะให นั่ ง คนละฝ า ยโคนไม หั น หลั ง เขาหากัน ; หลับตาพูดกันดวยความระมัดระวังใหถูกตองรัดกุมตรงไปตรงมา เทาที่ จําเปนจะตองพูด ; เสร็จแลวตางคนตางลุกไปจากที่ของตนไมตองดูหนากันเลย ทั้งนี้ ก็เพราะประสงค จะตั ดทางมาแห งความฟุ งซ านให มากที่ สุดเทาที่ จะทํ าได นั่ นเอง. เมื่อเราไดทราบถึงความมุงหมายตาง ๆ เหลานี้แลว เราก็สามารถที่จะเตรียมสิ่งตาง ๆ ในการติด ต อ กั บ อาจารยทุ ก ๆ ระยะ ได อ ยา งเหมาะสม นั บ ตั้ ง แต ก ารมาติ ด ต อ , สรา งความคุน เคย, รับ คํา สั่ง สอนแนะนํา นํา ไปปฏิบัติ ; แลว ยัง ตอ งติด ตอ เพื่อแกไขขอขัดของและการทําใหกาวหนาสืบไปตามลําดับไมมีที่สิ้นสุด ดังนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๔. การศึกษากัมมัฏฐาน ทานแนะนําใหทํา ๒ แผนก กัมมัฏฐาน ประเภทหนึ ่ง เรีย กวา กัม มัฏ ฐานทั ่ว ไป หรือ ตายตัว คงที ่ ไมต อ งเปลี ่ย นแปลง และกัมมัฏฐานอีกประเภทหนึ่งคือ กัมมัฏฐานเฉพาะ ไดแกกัมมัฏฐานที่มุงหมายจะ ทําใหไดโดยเร็วที่สุดในฐานะเปนวัตถุที่ประสงค. กัมมัฏฐานอยางแรกที่เรียกวา ทั่ ว ไปนั้ น ท า นหมายถึ ง กั ม มั ฏ ฐานที่ ต อ งทํ า ทุ ก วั น ให เ หมาะแก นิ สั ย ของผู ป ฏิ บั ติ เช นเปนคนขลาดก็ ตอ งเจริ ญ กัม มัฏ ฐานเมตตาทุ กวั นเป นต น หรือ เปนคนราคจริ ต จะต อ งเจริ ญ อสุ ภ กั ม มั ฏ ฐาน เป น ต น เป น ประจํ า ทุ ก วั น หรื อ คนมี นิ สั ย ประมาท เฉื่อยชา จะตองเจริญมรณสติเปนประจําทุกวัน กอนแตที่จะลงมือเจริญกัมมัฏฐาน ตั ว จริ ง ที่ จ ะต อ งทํ า ให ก า วหน า ไปทุ ก วั น ๆ แล ว แต ว า ตนกํ า ลั ง ปฏิ บั ติ กั ม มั ฏ ฐาน

www.buddhadasa.in.th


บุพพกิจโดยเฉพาะของการเจริญสมาธิ

๕๓

ขอใดอยู. การเจริญเมตตาก็ดี อสุภกัมมัฏฐานก็ดี มรณสติก็ดี ตองไดรับการ แนะนํ า เป น พิ เ ศษต า งหาก ตามที่ อ าจารย จ ะเห็ น สมควร ว า บุ ค คลนั้ น ควรจะมี กั ม มั ฏ ฐานอะไรเป น กั ม มั ฏ ฐานเพื่ อ ตั ว หรื อ คุ ม ครองตั ว หรื อ ตั ก เตื อ นตั ว เป น ประจํ าวั น ต างหากไปจากกั มมั ฏฐานหลั ก หรื อ กั มมั ฏฐานที่ เป นตั วความมุ งหมาย จริ ง ๆ ทุ กคนต องได รั บกั มมั ฏฐานเป น ๒ แผนกอย างนี้ ตามที่ เหมาะสมด วยการ พิจารณาอยางรอบคอบของอาจารยดังที่กลาวแลว. ๕. การอยูในวิหารที่สมควร ไดกลาวแลวอยางละเอียดขางตน ไม จําเปนตองวินิจฉัยกันอีก. ๖. การตัดปลิโพธหยุมหยิม หมายถึงเรื่องเล็ก ๆ นอย ๆ ที่จะตอง ทํ า ใหเ สร็จ สิ ้น ไปเสีย กอ นจะลงมือ ทํ า กัม มัฏ ฐาน เพื ่อ ไมเ ปน เรื ่อ งกัง วลในขณะ ที่ทํากัมมัฏฐานใหดีที่สุดเทาที่จะทําได สิ่งเหลานี้ไดแกการปลงผม, โกนหนวด, ปุชุนซักยอมจีวร, การรมบาตร, การถายยา, และของเบ็ดเตล็ดอื่น ๆ เทาที่จะ ทํ า ให เ สร็ จ ไป โดยสมควรแก บุ ค คลนั้ น ไม ต อ งห ว ง ไม ต อ งกั ง วลเป น ระยะเท า ที่ จะกําหนดได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๗. การเจริญสมาธิภาวนาโดยตรง ขอนี้ไดแกการลงมือทําการเจริญ สมาธิ ตามหลักเกณฑที่ไดรั บไป จนกวาจะถึงที่ สุด มี รายละเอี ยดดังที่ จะไดบรรยาย ตอไปขางหนา. ทั้ ง หมดนี้ เ ป น การตระเตรี ย มที่ จ ะสั ม พั น ธ กั น ทั้ ง ฝ า ยทฤษฎี และทาง ฝายปฏิบัติ ซึ่งจะตองทําใหดีที่สุดเทาที่จะทําได. (จบตอนอันวาดวยบุพพกิจเบื้องตน)

www.buddhadasa.in.th


www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


ทําไมจึงเจริญอานาปานสติ๑ ? ก อ นแต ที่ เ ราจะได ท ราบว า เราจะเจริ ญ อานาปานสติ กั น อย า งไรนั้ น ควรจะได วิ นิ จ ฉั ย ในป ญ หาที่ ว า ทํ า ไมเราจึ ง เลื อ กเอาอานาปานสติ มาเป น กัม มัฏ ฐานหลัก ในที่นี้กัน เสีย กอ น ซึ่ง เมื่อ ทราบแลว จะชว ยใหก ารเจริญ อานาปานสติเปนไปไดงายขึ้น. พึงทราบวา อานาปานสติ เปนชื่อของกัมมัฏฐานอยางหนึ่ง ในบรรดา กัมมัฏฐาน ๔๐ อยาง. กัมมัฏฐาน ๔๐ นั้น แบงเปนหมวด ๆ คือ ก. การ เจริญกสิณ ๑๐ อยาง ไดแกปฐวีกสิณ (ดิน), อาโปกสิณ (น้ํา), เตโชกสิณ (ไฟ), วาโยกสิณ (ลม), นีลกสิณ (สีเขียว), ปตกสิณ (สีเหลือง), โลหิตกสิณ (สีแดง), โอทาตกสิณ (สีขาว), อาโลกกสิณ (แสงสวางจากดวงอาทิตย) และปริจฉินนกสิณ (ชองหรือรู) ; ซึ่งทั้งหมดนี้ เปนกัมมัฏฐานที่หนักไปใน ทางฝายรูป และมุงหมายที่จะฝกฝนจิตไปในทางอิทธิวิธีมาแตเดิม ; ข. การเจริญ อสุภ ๑๐ อยา ง คือ ศพแรกพอง, ศพขึ้นเขีย ว, ศพหนองไหล, ศพขาด เปน ทอ น, ศพถูก สัต วกัด กัน , ศพหลุด ออกเปน สว น, ศพแหลกละเอีย ด, ศพอาบไปดว ยเลือ ด, ศพเต็ม ไปดว ยหนอง และศพเหลือ แตก ระดูก , ซึ่ง มี ความมุงหมายหนักไปในทางกําจัดกามฉันทะเปนสวนใหญ ;และ ค. การเจริญ อนุสสติ ๑๐ อยาง คือ พุทธานุสสติ, ธัมมานุสสติ, สังฆานุสสติ, สีลานุสสติ, จาคานุสสติ, เทวตานุสสติ (ระลึกถึงธรรมที่ทําความเปนเทวดา), มรณานุสสติ,

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

การบรรยายครั้งที่ ๖ / ๒๑ สิงหาคม ๒๕๐๒

๕๕

www.buddhadasa.in.th


๕๖

อานาปานสติภาวนา ตอน ๔

กายคตาสติ, อานาปานสติ และ อุปสมานุสสติ (ระลึกถึงคุณพระนิพพาน), ควรจะสังเกตไวดวยวา อานาปานสติ ที่เรากําลังจะกลาวถึงอยูนี้ มีชื่อรวมอยูใน หมวดนี้ ; ง. การเจริญพรหมวิหาร ๔ อยาง คือเมตตาพรหมวิหาร, กรุณาพรหมวิหาร, มุทิตาพรหมวิหาร, อุเบกขาพรหมวิหาร ;จ. การเจริญอรูปฌาน ๔ อย า ง คื อ อากาสานั ญ จายตนะ (กํ า หนดความไม มี ที่ สิ้ น สุ ด ของอากาศเป น อารมณ), วิญญาณัญจายตนะ (กําหนดความไมมีที่สิ้นสุดของวิญญาณธาตุเปน อารมณ), อากิญจัญญายตนะ (กําหนดความไมมีอะไรเปนอารมณ) และ เนวสั ญญานาสั ญญายตนะ (กํ าหนดความมี สัญญาก็ไมใช และความไมมีสั ญญาก็ ไมใชเปนอารมณ), ซึ่งทั้งหมดนี้ เปนอรูปฌาน เปนสมาธิ เพื่อสมาบัติชั้นสูง แตไมเปนไปเพื่อวิปสสนา. สวนอีก ๒ อยางที่เหลือ คือ ฉ. อาหาเรปฏิกูลสัญญา (กําหนดความเปนปฏิกูลแหงอาหาร) และ ช. จตุธาตุววัฏฐานะ (การกําหนด พิจารณาโดยความเปนธาตุสี่). สองอยางหลังนี้ เปนการพิจารณาคอนไปทาง ปญญา. รวมทั้งหมดเปน ๔๐ อยางดวยกัน, การที่เลือกเอาเพียงอยางหนึ่งจาก ๔๐ อยางนั้น มีเหตุผลดังที่จะไดกลาวตอไปนี้ :-

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ในบรรดาสมาธิภ าวนา ซึ ่ง มีอ ยู ทั ้ง หมดดว ยกัน ถึง ๔ ประเภทนั ้น อานาปานสติกัมมัฏฐาน สามารถเปนสมาธิภาวนาไดทั้ง ๓ ประเภท. สมาธิภาวนา ๔ ประเภทเหลานั้น คือ : ๑. สมาธิภาวนาเปนไปเพื่อทิฏฐธรรมสุขวิหาร การอยูเปนสุขทัน ตาเห็น. ๒. สมาธิภาวนาเปนไปเพื่อญาณทัสสนะ (อันเปนทิพย หมายถึงความ มีหูทิพย, ตาทิพย, ฯลฯ), ๓. สมาธิภาวนาเปนไปเพื่อความสมบูรณของสติสัมปชัญญะ, และ ๔. สมาธิภาวนาเปนไปเพื่อความสิ้นอาสวะโดยตรง,

www.buddhadasa.in.th


ทําไมจึงเจริญอานาปานสติ ?

๕๗

สํ าหรั บอานาปานสติ ภาวนา หรื อการเจริ ญอานาปานสติ นั้ น ย อมเป น ไปในสมาธิ ภ าวนาประเภทที่ ห นึ่ ง ประเภทที่ ส าม ประเภทที่ สี่ โดยสมบู ร ณ เว น ประเภทที่สองซึ่งไมเกี่ยวกับความดับทุกขแตประการใด. อานาปานสติ ยอมเปน ไปในสมาธิ ภ าวนา ๓ ประเภท ดั ง ที่ ไ ด ร ะบุ แ ล ว อย า งไรนั้ น จะชี้ ใ ห เ ห็ น โดย ละเอีย ดขา งหนา หรือ อาจเห็น ไดแ มด ว ยตนเอง ในเมื ่อ ไดศ ึก ษาหรือ ปฏิบ ัต ิเ รื ่อ ง อานาปานสติ จ บไปแล ว ส ว นกั ม มั ฏ ฐานอื่ น ไม สํ า เร็ จ ประโยชน ก ว า งขวางดั ง เช น อานาปานสตินี้. ยิ่งกวางนั้น, อานาปานสติ เปนกัมมัฏฐานประเภทที่สงบ และ ประณีตทั้งโดยอารมณ และ ทั้งโดยการกําจัดกิเลส. กัมมัฏฐานอื่นโดยเฉพาะ กายคตาสติ แม เ ป น ของคู  เ คี ย งกั น กั บ อานาปานสติ ก็ ห าเป น เช น นั ้ น ไม คื อ สงบและประณี ต แต โ ดยการกํ า จั ด กิ เ ลส แต ไ ม ส งบและประณี ต ทางอารมณ . สว นอานาปานสติส งบประณีต โดยทางอารมณ คือ เปน อารมณข องกัม มัฏ ฐาน ที่ เ ยื อ กเย็ น สบาย ไม น า หวาดเสี ย ว ไม น า ขยะแขยง ไม ลํ า บากแก ก ารทํ า แล ว ยั ง กํา จัด กิเ ลสไดถึง ที่สุด ดว ย. อานาปานสติเ ปน เชน นี้ ; สว นกายคตาสตินั้น มี อ ารมณน า หวาดเสีย ว นา ขยะแขยงเปน ตน และโดยเฉพาะอยา งยิ ่ง คือ อสุภกัมมัฏฐานแลว ยอมมีความหมายเปนอยางนี้มากขึ้นถึงที่สุด. เนื่องจาก อานาปานสติ มีคุ ณสมบั ติดั งกล าวนี้ จึ งปรากฏว าถู กแนะนําโดยพระผู มีพระภาคเจ า เอง ว าเหมาะแก ทุ กคน และทรงสรรเสริ ญว าเป นกั มมั ฏฐานที่ พระอริ ยเจ าทั้ งหลาย รวมทั ้ง พระองคด ว ย ไดเ คยประสบความสํ า เร็จ มาแลว และยัง คงใชเ ปน “วิหารธรรม” อยูเปนประจําอีกดวย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ยิ่งไปกวานั้นอีก, การเจริญอานาปานสติ เปนการเจริญที่สามารถ ทําติดตอกันไปไดโดยไมตองเปลี่ยนเรื่อง หรือไมตองเปลี่ยนอารมณตั้งแตตน จนปลาย คือ สามารถเจริญเพื่อใหเ กิดสมาธิในระยะแรก และสมาธิที่เจือ ป ญญาในระยะกลาง และเกิ ดป ญญาอั นสู งสุ ดที่ ทํ าให สิ้ นอาสวะได ในระยะสุ ดท าย

www.buddhadasa.in.th


๕๘

อานาปานสติภาวนา ตอน ๔

ดว ยการเจริญ อานาปานสตินั่น เอง จนตลอดสาย. ถา เปน กัม มัฏ ฐานอื่น โดยเฉพาะเชน กสิณ ก็จ ะไปตายดา นอยู แ คเ พีย งสมาธิ แลว ก็ต อ งเปลี ่ย นเปน เรื่อ งอื่น เพื่อ เปน ขั้น วิปส สนาตอ ไป. สว นอานาปานสตินั้น เมื่อ เจริญ ครบ ทั ้ง ๔ จตุก กะ หรือ ทั ้ง ๑๖ ระยะแลว ยอ มสมบูร ณอ ยู ใ นตัว ทั ้ง โดยสมาธิ และโดยวิปสสนา. ดั ง ที่ ไ ด ก ล า วแล ว ข า งต น ว า อานาปานสติ เ พี ย งอย า งเดี ย ว เป น สมาธิ ภ าวนาได ถึ ง ๓ ประเภท ไม มี กั ม มั ฏ ฐานข อ ใดที่ ส ะดวกเช น นี้ สบายเช น นี้ และไดรับ การยกยอ งสรรเสริญ มากเชน นี้ ; เพราะเหตุนี้เ อง เราจึง เลือ กเอา อานาปานสติเปนกัมมัฏฐานหลัก เพื่อการศึกษาและปฏิบัติโดยตลอด. ทั้งหมดนี้ คือเหตุผลที่วาเจริญอานาปานสติทําไม.

ใครจะเปนผูเจริญอานาปานสติ ? ต อไปนี้ จะได วิ นิ จฉั ยกั นเป นพิ เศษอี กหน อยหนึ่ ง ในป ญหาที่ ว า ใครจะ เปนผูเจริญอานาปานสติ. เกี่ ยวกั บคํ าตอบข อนี้ เราจะได พบว าในสู ตรนั้ นเอง พระผู มี พระภาคเจ า ไดท รงใชคํา วา “ภิก ษุใ นธรรมวินัย นี้” ซึ่ง ความหมายวา ไดแ ก บุค คลผู ศึกษาในศาสนานี้ เห็นโลกเห็นทุกขอยางนี้แลว ตองการจะดับทุกขตามวิธีนี้ คือตามวิธีแหงธรรมวินัยที่เราเรียกกันในบัดนี้วา “พุทธศาสนา” พระพุทธองค ได ตรั สว า สมณะที่ หนึ่ ง สมณะที่ สอง สมณะที่ สาม สมณะที่ สี่ มี แต ในธรรมวินั ยนี้ เท า นั้ น หมายความว า ผู พ น ทุ ก ข ต ามแบบแห ง ธรรมวิ นั ย นี้ ที่ เ ราเรี ย กกั น ว า พระโสดาบัน พระสกิท าคามี พระอนาคามี และพระอรหัน ตนั ้น มีแ ตใ นธรรมวิน ัย ที่มีการปฏิบัติอยางนี้เทานั้น. ธรรมวินัยอื่น หรือลัทธิอื่น ยอมวางจากสมณะ เหลานี้ ดังนี้เปนตน. ขอนี้บงความวา ผูที่มุงหมายจะดับทุกขตามแบบแหงธรรม

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


วิธีเจริญอานาปานสติ

๕๙

วินัยนี้นั่นแหละ คือผูที่จะเจริญอานาปานสติ ; เพราะฉะนั้น เขาจะตองทําตน ให เ ป น ผู เ หมาะสม ทั้ ง ในทางที่ จ ะศึ ก ษาและในทางที่ จ ะปฏิ บั ติ ดั ง ที่ จ ะได ก ล า ว สืบไป.

วิธีเจริญอานาปานสติ. บั ด นี้ จั ก ได วิ นิ จ ฉั ย กั น ถึ ง ข อ ที่ ว า จะเจริ ญ อานาปานสิ ต อย า งไร สื บ ไป ตามลําดับ โดยหัวขอดังตอไปนี้ :

ที่มาของเรื่อง เกี่ ย วกั บ เรื่ อ งนี้ มี บ าลี พ ระพุ ท ธภาษิ ต เป น หลั ก อยู โ ดยตรง เรี ย กว า อานาปานสติสูตร ปรากฏอยูในคัมภีรมัชฌิมนิกาย ตอนอุปริปณณาสก (พระไตร ปฎกบาลีฉบับสยามรัฐ เลม ๑๔ หนา ๑๙๐ ขอ ๒๘๒) และมีที่กลาวถึงอยูในที่อื่น อี ก มากแห ง ในพระไตรป ฎ ก ข อ ความที่ เ ป น ตั ว ใจความสํ า คั ญ นั้ น มี อ ยู ต รงกั น หมด ทุกแหง. สวนบทประกอบเรื่องเบ็ดเตล็ดนั้น ตางกันบางตามกรณี. สําหรับสวน ที่ เ ราจั ก ได ถื อ เอาเป น หลั ก นั้ น คื อ ตั ว สู ต รซึ่ ง มี ข อ ความที่ ท รงแสดงถึ ง วิ ธี ก ารเจริ ญ อานาปานสติโดยตรง จนกระทั่งถึงผลที่เกิดอานาปานสตินั้น เปนที่สุด.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org หัวขอหรือใจความของเรื่อง. พระพุ ทธภาษิ ตที่ เป นอุ เทศแห งเรื่ องนี้ เริ่ มขึ้ นด วยคํ าว า “ภิ กษุ ทั้ งหลาย ! ภิก ษุใ นธรรมวิน ัย นี ้ ไปแลว สู ป า ก็ต าม ไปแลว สู โ คนไมก ็ต าม ไปแลว สู เ รือ นวา ง ก็ตามนั่งคูขาเขามาโดยรอบแลว ตั้งกายตรง ดํารงสติมั่น. ภิกษุนั้นเปนผูมีสติ

www.buddhadasa.in.th


๖๐

อานาปานสติภาวนา ตอน ๔

อยูนั่นเทียว หายใจเขา, มีสติอยู หายใจออก” ดังนี้. ตอนตอจากนี้ไดตรัสถึง วิธีกําหนดลมหายใจเขาออกอยางไร และ การพิจารณาสิ่งใดอยูทุกลมหายใจ เขาออก จนครบ ๑๖ ระยะ ; จัดเปนหมวด ๆ ได ๔ หมวด หมวดละ ๔ ระยะ ตอนต อจากนั้ น ก็ ได ตรั สถึ งผลที่ เกิ ดขึ้ นว า การทํ าเช นนั้ นได ทํ าให เกิ ดมี สติ ป ฏฐาน ทั้ ง ๔ และโพชฌงค ทั้ ง ๗ ขึ้ นมาโดยสมบู รณ ไ ด อ ย างไร แล วเกิ ดวิ ชชาและวิ มุ ต ติ ซึ่งเปนความดับทุกขสิ้นเชิงไดอยางไร ในที่สุด. เพื่ อ สะดวกในการทํ า ความเข า ใจ และเพื่ อ เป น ไปอย า งถู ก ต อ งตาม หลั กเกณฑ นั้ น ๆ โดยตรง จะได ยกเอาพระพุ ทธภาษิ ตเหล านั้ นมาอธิ บายที ละตอน ตามลํ า ดับ และในตอนหนึ ่ง ๆ ก็จ ะอธิบ ายทีล ะขอ หรือ ทีล ะคํ า ตามที ่เ ห็น วา จําเปน.

การทําความเขาใจในเบื้องตน สํ า หรับ ตอนแรกนี ้ เริ ่ม ดว ยขอ พุท ธภาษิต วา “ภิก ษุใ นธรรมวิน ัย นี้ ไปแลวสูปาก็ตาม ไปแลวสูโคนไมก็ตาม ฯลฯ หายใจเขา – ออก” ดังนี้ มีคํา อธิบายเปนลําดับขอ ดังนี้ : (ก) คําวา “ภิกษุในธรรมวินัยนี้”ไดวินิจฉัยแลวขางตน ในขอที่วา ใครเปนผูเจริญอานาปานสติ. ในที่นี้ สรุปแลวก็ไดแกพระสาวกผูที่จะปฏิบัติตาม คําสั่งสอนของพระผูมีพระภาคเจาโดยเครงครัดนั่นเอง. (ข) คําวา “ไปแลวสูปาก็ตาม” มีขอที่ตองวินิจฉัยวา ทําไมจึงตอง ไปสูปา ? และปานั้นคืออะไร ? ที่แนะนําใหไปสูปา มีความหมายสําคัญอยูตรงที่ ตองการใหพราก ตัวเองจากสิ่งแวดลอมที่เคยชินจนเปนนิสัย.. อุปมาขอหนึ่ง ทานแนะนํา

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


วิธีเจริญอานาปานสติ

๖๑

ให สั งเกตว า เมื่อชาวนาเห็ นว าลูกวั วตั วนี้ โตพอสมควรที่ จะแยกไปฝกได แล ว ก็ ต อง แยกจากแมข องมัน นํ า ไปผูก ไวที ่ใ ดที ่ห นึ ่ง จนกวา มัน จะลืม แม หรือ ลืม ความ เคยชินที่เคยติอยูกับแมเสียกอน แลวจึงฝกหรือจัดการอยางอื่นตามประสงค. ลูก วัว เมื ่อ ถูก ผูก อยู ใ นที ่อื ่น หา งจากแม ก็ย อ มรอ งและดิ ้น รนตา ง ๆ นานา แต นานเข า ในที่ สุ ดก็ หยุ ดดิ้ น เพราะดิ้ นไม ไหว และลงนอนอยู ข างเสาหลั กนั่ นเอง มีจิตใจเปลี่ยนเปนวัวอีกตัวหนึ่ง ซึ่งอาจจะรับการฝกอยางใดอยางหนึ่งได. ความ ติด หรือความเคยชินในโลกิยารมณของคนเรานั่นแหละ คือแมวัว ; จิตคือลูกวัว. หรือ ถา กลา วโดยบุค ลาธิษ ฐานอีก อยา งหนึ ่ง ก็ค ือ สถานที ่ที ่เ ต็ม ไปดว ยอารมณ ยั่ว ยวนนั่น แหละ คือ แมวัว , ภิก ษุใ หมนั่น แหละ คือ ลูก วัว ; เพราะเหตุนี้ จึงตองมีการไปสูปา ซึ่งเปนการแยกลูกวัวจากแมวัวนั่นเอง. อีกอุปมาหนึ่ง ก็คือ พระศาสดาเป น ผู ที่ เ ปรี ย บได กั บ บุ ค คลผู ฉ ลาดในการดู พื้ น ที่ หรื อ เป น หมอดู พื้ น ที่ ให แ ก ค นอื่ น พระองค ไ ด ท รงแนะพื้ น ที่ ว า ป า นั่ น แหละ เป น ที่ เ หมาะสม สํ า หรั บ บุคคลผูที่จะบําเพ็ญความเพียรในทางจิตทุกชนิด. และยังตรัสไวเปนอุปมาอีก อยา งหนึ ่ง ในที ่อื ่น วา เปน เสือ ตอ งไปคอยซุ ม จับ เนื ้อ ในปา ซิ จึง จะมีเ นื ้อ ใหจ ับ และจับไดงาย ดังนี้. เนื้อในที่นี้ หมายถึงมรรคผล และเสือก็คือภิกษุผูมีตนอัน สงไปแลวสูความเพียร ที่จะประกอบการงานทางจิตอยางแทจริงนั่นเอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org คําวา ปา ตามวินัย หมายถึงที่ที่อยูหางไกลจากเขตบานชั่ว ๕๐๐ ธนู (ประมาณ ๑๐๐๐ เมตร) ขึ้นไป. แต คําวา ปา ตามทางธรรมะ หรือฝายการ ปฏิบัติธรรมนั้น หมายความเปนอยางอื่นไดตามกรณีที่สมควร ; แตอยางนอย ไมควรจะใกลบานนอยกวา ๕๐๐ ชั่วธนูอยูนั่นเอง. สิ่งที่เรียกวา ปา ในพระบาลีสูตรนี้ มีความหมายรวม ๆ ถึงปาโปรง ตามปรกติ หรื อ ป า ละเมาะก็ ไ ด ซึ่ ง ในป า นั้ น จะมี โ คนไม ห รื อ มี ถ า หรื อ อื่ น ๆ

www.buddhadasa.in.th


๖๒

อานาปานสติภาวนา ตอน ๔

ก็ไ ด. พระอาจารยใ นชั้น หลัง ไดใ หขอ สัง เกตวา ถา เปน ฤดูรอ นควรไปสูปา หรือที่โลง ถาเปนฤดูหนาว ควรไปสูโคนไมหรือดงทึบ. ถาเปนฤดูฝน ควรไป สู สุ ญ ญาคารอย า งอื่ น นอกจากป า และโคนไม ซึ่ ง ท า นได ร ะบุ ไ ว เ ป น ถ้ํ า เป น ภู เ ขา ที่มีเงื้อมกันฝนได ริมลําธารที่ตลิ่งกันฝนได และใตลอมฟาง ดังนี้เปนตน. ใน บาลี บางแห ง แสดงให เ ห็ น ละเอี ย ดไปอี กว า ถ าในฤดู ร อ น กลางวั น อยู ในป า สบาย กลางคืนอยูในที่โลงสบาย, แตถาเปนฤดูหนาว กลางวันอยูที่โลงสบาย กลางคืน อยูในปาสบาย ดังนี้ก็มี. แตเทาที่ปรากฏอยูในพระพุทธภาษิตทั่ว ๆ ไปก็มีอยูสั้น ๆ เปน ๓ อยา ง โดยมีเ ปน บทบาลีวา ไปแลว สูปา ก็ต าม ไปแลว สูโ คนไมก็ต าม ไปแลวสูเรือนวางก็ตาม ดังนี้. ชะรอยพระอาจารยเหลานั้นจะเห็นวา เมื่อมีอยู ๓ อย า ง ก็ เ ลยบั ญ ญั ติ ใ ห เ ป น สํ า หรั บ ๓ ฤดู เ สี ย เลยก็ เ ป น ได ผู ป ฏิ บั ติ ค วรสั ง เกต ความเหมาะสมเอาด วยตนเอง ว าควรจะเป นสถานที่ เช นไร ขอแต ให ได ความหมาย อั น แท จ ริ ง ของคํ า ว า ป า คื อ เป น ที่ ส งั ด จากการรบกวนของโลกิ ย ารมณ ทํ า ให เ กิ ด ความวิเวกหรือควาสงัดในทางกายกอนก็เปนการเพียงพอ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org (ค) คําวา “นั่งคูขาเขามาโดยรอบ” มีขอที่ตองวินิจฉัยวาทําไมจะตอง ใชอิริยาบถนั่ง ? และนั่งคูขาเขามาโดยรอบนั้น คือนั่งอยางไร ?

อิริยาบถนั่ง เปนอิริยาบถที่เหมาะสมที่สุด สําหรับการเจริญภาวนา คื อทํ าให สามารถคิ ดนึ กอะไรได อย างแน วแน โดยไม ต องห วงว าจะเซ หรื อล มอย าง ในอิริยาบถยืน ; และไมกอใหเกิดอาการอยากหลับ หรือความหลงใหลอยางอื่น เหมือนอิริยาบถนอน ; จึงมีธรรมเนียมหรือประเพณีที่ใชอิริยาบถนี้มาแลวแต โบราณกาล นานจนทราบไมไดวามีตั้งแตเมื่อไร. เหตุผลอยางอื่นบางประการ ไดมีก ลา วไวแ ลว ขา งตน ในตอนอัน วา ดว ยจริต . แตทั้ง นี้มิไ ดห มายความวา ผู นั้ น จะต อ งนั่ ง ไปเสี ย งตลอดเวลา โดยไม มี ก ารเปลี่ ย นไปสู อิ ริ ย าบถอื่ น หรื อ ว า ใน อิริยาบถอื่นไมสามารถเจริญสมาธิได ก็หามิได.

www.buddhadasa.in.th


วิธีเจริญอานาปานสติ

๖๓

คําวา “คูขาเขามาโดยรอบ” หรือที่เรียกวา บัลลังก นั้น มีความหมาย อยู ต รงที่ จ ะได ท า นั่ ง ที่ มั่ น คงและสมดุ ล ทรงตั ว อยู ไ ด โ ดยง า ยและสะดวกสบายแก รางกาย หรือแกการไหลเวียนของเลือดลมในรางกายตามสมควร. ถาอยากจะ เข า ใจว า การนั่ ง เช น นี้ คื อ การนั่ ง โดยท า ไร ก็ มี ท างทํ า ได โ ดยการหย อ นตั ว นั่ ง ลง แล วเหยี ยดขาออกไปตรง ๆ ข างหน า ทั้ งสองข าง แล วงอเข าซ ายเข ามาจนฝ าเท า อยูใตขาขวา แลวยกเท าขวาขึ้นทับเขาซาย มือ วางซอนกันไวบนตัก ; อยางนี้ เรียกวา ปทมาสนะ ซึ่งแปลวา ทานั่งอยางดอกบัว. แตถาหากวานั่งอยางนั้นแลว ยั ง ได ย กเท า ซ า ยขึ้ น มาขั ด บนขาขวาอี ก ที ห นึ่ ง ก็ จ ะกลายเป น ท า นั่ ง ที่ มั่ น คงยิ่ ง ขึ้ น ไปอี ก และเรี ย กว า สิ ท ธาสนะ แปล า ท า นั่ ง ของพวกสิ ท ธา หรื อ ท า นั่ ง ที่ จ ะให สํ า เร็จ ประโยชนจ ริง ๆ ถึง ที ่ส ุด ซึ ่ง เรีย กกัน ในเมือ งไทยวา นั ่ง ขัด สมาธิเ พชร นั่นเอง. คําวา “บัลลังก” หมายถึงการนั่งดวยการคูขาอยางนี้. ผูนั่งจะตองหัด นั่ งด วยความลํ าบากมากหรื อน อย ย อมแล วแต กรณี ที่ ตนเกิ ดมาภายใต สิ่ งแวดล อ ม เชน วัฒนธรรมเปนตน. แตอยางไรก็ตาม ควรจะพยายามหัดนั่งใหไดมากกวา ที่ จ ะดั ด แปลงแก ไ ขระเบี ย บอั น นี้ ไ ปเป น อย า งอื่ น ซึ่ ง จะไม ไ ด รั บ ผลเท า กั น เว น ไว เสี ย แต ใ นกรณี ที่ จํ า เป น จริ ง ๆ เช น คนเจ็ บ หรื อ คนขาพิ ก าร เป น ต น เท า นั้ น . สํ าหรั บคนธรรมดาแล ว แม จะต องหั ดอยู เป นเวลานาน ก็ ควรพยายามเป นอย างยิ่ ง. ทานั่งชนิดนี้ ชาวจีนเรียกวา “ทานั่งของชาวอินเดีย” เพราะชาวจีนก็นั่งเกาอี้ หรือนั่งอยางอื่น. แตถึงกระนั้น เมื่อถึงคราวจําเปนที่ตองทําสมาธิ ก็ยังถูกสั่ง ให นั่ ง ด ว ยท า นั่ ง ของชาวอิ น เดี ย อยู นั่ น เอง ปรากฏอยู ใ นวรรณคดี ท างพุ ท ธศาสนา ของจีนอยูเปนหลักฐาน ตั้งพันกวาปมาแลว ; เพราะฉะนั้น ไมควรจะมีใครไป เปลี่ ย นแปลงท า นั่ ง ของการทํ า สมาธิ ใ ห เ ป น อย า งอื่ น เพราะได พิ สู จ น แ ล ว ว า มิ ใ ช เปนสิ่งที่เหลือวิสัยเลย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


วิธีเจริญอานาปานสติ

๕๙

(ง) คําวา “ตั้งกายตรง” หมายความวา ใหนั่งตัวตรงนั่นเอง. คําวา ตรง ในที่ นี้ หมายถึ ง กระดู สั น หลั ง ตั้ ง ตรงราวกะว า เอาแกนเหล็ ก ตรง ๆ เข า ไป สอดไวในกระดูกสันหลัง. ทั้งนี้เพราะทานตองการจะใหขอกระดูกสันหลังทุก ๆ ขอ จดกันสนิทเต็มหนาตัดของมัน ดวยความมุงหมายวาการทําอยางนี้ จะมีผลคือโลหิต และลมหายใจ เปนไปอยางถูกตองตามธรรมชาติ ซึ่งเปนสิ่งที่พึงประสงคมากที่สุด ในกรณีนี้. อีกอยางหนึ่งก็คือ ทุกขเวทนาตาง ๆ ที่เกิดขึ้นจากเลือดลมในกาย เดินไมสะดวกนั้น จะเกิดขึ้นไดโดยยากหรือมีแตนอยที่สุด นี้เปน ความมุงหมาย ทางรูปธรรม ในทางนามธรรม มุงหมายถึงการทําจิตใหตรงแนว ไมเอียงซาย หรื อ เอี ย งขวา หรื อ เอี ย งหน า เอี ย งหลั ง ด ว ยความน อ มไปสู ก ามสุ ขั ล ลิ ก านุ โ ยค หรืออัตตกิลมถานุโยคเปนตน. พึงทราบวาผูที่ทําไดดี จะมีตัวตรงอยูไดตลอดเวลา ทั้งในขณะลืมตาและหลับตา หรือแมแตเมื่อจิตเขาสูสมาธิ ไรสํานึกในการควบคุม แลวก็ตาม. (จ) คําวา “ดํารงสติมั่น” ที่เรียกวา “ปริมุข” นั้น หมายถึงสติที่ ตั้งมั่นในอารมณที่จะกําหนด ซึ่งในที่นี้ไดแกลมหายใจโดยตรง. ทานจํากัดความ ไววา ทําจิตใหเปนเอกัคคตาตอลมหายใจ คือมีลมหายใจอยางเดียว ที่จิตกําลัง รูสึก อยู หรือ กํา หนดอยู. คํา วา สติ ในที่นี้ เปน เพีย งการกํา หนดลว น ๆ ยั ง ไม เ กี่ ย วกั บ ความรู หรื อ การพิ จ ารณาแต อ ย า งใด เพราะเป น เพี ย งขึ้ น ที่ เ พิ่ ง เริ่ ม กําหนดเทานั้น. โดยพฤตินัย ก็คือ นั่งตัวตรงแลวก็เริ่มระดมความสังเกตหรือ ความรูสึกทั้งหมด ตรงไปยังลมหายใจ ที่ตนกําลังหายใจอยูนั่นเอง ผูกระทํา ไมจําเปนตองหลับตาเสมอไป กลาวคือสามารถทําไดทั้งลืมตา โดยทําใหตาของตน จองจับอยูที่ปลายจมูกของตน จนกระทั่งไมเห็นสิ่งอื่นใด. อาศัยกําลังใจที่เขมแข็ง แลวยอมจะทําไดโดยไมยาก. ตามลืมอยู และมองอยูที่ปลายจมูกก็จริง แตจิตไมได มามองดวย คงมุงอยูที่การจะกําหนดลม หรือติดตามลมแตอยางเดียว. การทํา

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


วิธีเจริญอานาปานสติ

๖๕

อยางลืมตา ยากกวาการหลับตา, ตองใชความพยายามมากในเบื้องตน แตแลว ก็ไดผลคุมกัน คืองวงยาก และมีกําลังจิตเขมแข็งกวา ในตอนหลัง ; หรือกลาว อีกอยางหนึ่งก็คือ เปนผูที่สามารถดํารงสติไดมั่นคงกวานั่นเอง. พวกที่ตั้งใจจะทํา อย า งเข ม แข็ ง ถึ ง ขนาดเป น โยคี ที ส มบู ร ณ แ บบ ย อ มได รั บ การแนะนํ า ให เ ริ่ ม ฝ ก อยางลืมตาทั้งนั้น. (ฉ) คําวา “ภิกษุนั้นเปนผูมีสติอยูนั่นเทียว” มีสิ่งที่ตองวินิจฉัยตรง คําวา “มีสติ” ถาถามวามีสติในอะไรขึ้นมากอน ก็ตองตอบวามีสติไปตั้งแตการ หายใจ คือ มีส ติห ายใจเขา มีส ติห ายใจออก. เมื่อ การหายใจเขา และออก ถูกกําหนดอยูเพียงใด ภิกษุนั้นก็ไดชื่อวา สโตการี คือผูทําสติอยูเพียงนั้น. ฉะนั้น จะพูดกลับกันวา “มีสติหายใจ” หรือ “หายใจมีสติ” ก็ยอม มีความหายเทากัน. ลมหายใจเขาเรียกวา อาปานะ, ลมหายใจออกเรียกวา อานะ รวม ๒ คํ า เข า ด ว ยกั น โดยวิ ธี ส นธิ ตั ว หนั ง สื อ หรื อ สนธิ ท างเสี ย งก็ ต าม ยอมไดเปนคําเดียววา “อานาปานะ” ; แปลวา ลมหายใจเขาและออก. สติ ที่กําหนดลมทั้งเขาและออก นั้น ชื่อ วา อานาปานสติ. ผูกระทํา สติเชน นี้ ชื่อวา สโตการี ในที่นี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


ภาคอานาปานสติภาวนา จตุกกะที่ ๑ - กายานุปสสนาสติปฏฐาน๑ (ตั้งแตการเริ่มกําหนดลม จนถึงการบรรลุฌาน)

เมื่อพระผูมีพระภาคเจาไดตรัสขอความอันปรารภถึงลักษณะ และกิริยา อาการของบุคคลผูเริ่มทําสติดังนี้แลว ไดตรัสถึงลําดับหรือระยะแหงการกําหนด ลมหายใจ และสิ่งที่เนื่องกับการกําหนดลมหายใจสืบไปวา : (๑) ภิกษุนั้น เมื่อหายใจเขายาว ก็รูสึกตัวทั่วถึง วาหายใจเขายาว ดังนี้ ; เมื่อหายใจออกยาว ก็รูสึกตัวทั่วถึง วาหายใจออกยาวดังนี้, (๒) ภิกษุนั้น เมื่อหายใจเขาสั้น ก็รูสึกตัวทั่วถึง วาหายใจเขาสั้น ดังนี้ ; เมื่อหายใจออกสั้น ก็รูสึกตัวทั่วถึง วาหายใจออกสั้น ดังนี้. (๓) ภิกษุนั้น ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งกาย ทั้งปวง จักหายใจเขา ดังนี้ ; ยอมทําในบทศึกษาวา เรา เปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง จักหายใจออก ดังนี้. (๔) ภิกษุนั้น ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูทํากายสังขารใหรํางับ อยู จักหายใจเขา ดังนี้ ; ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูทํา กายสังขารใหรํางับอยู จักหายใจออก ดังนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

การบรรยายครั้งที่ ๗ / ๒๒ สิงหาคม ๒๕๐๒

๖๖

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๑ การกําหนดลมหายใจยาว

๖๗

ทั้ ง ๔ ข อ นี้ เรี ย กว า จตุ ก กะที่ ห นึ่ ง หรื อ อานาปานสติ ห มวดที่ ห นึ่ ง ซึ่ ง ควรจะได รั บ คํ า อธิ บ ายอย า งละเอี ย ดทั่ ว ถึ ง เสี ย ก อ นแต ที่ จ ะได ก ล า วถึ ง จตุ ก กะที่ สองที่สาม เปนลําดับไป. แมเพียงแตจตุกกะที่หนึ่งนี้ ก็มีคําอธิบายและเรื่องที่ ต อ งปฏิ บั ติ อ ย า งยื ด ยาว และทั้ ง เป น การปฏิ บั ติ ที่ ส มบู ร ณ ขั้ น หนึ่ ง อยู ใ นตั ว เอง หรื อผู ปฏิ บั ติ อาจจะยั กไปสู การปฏิ บั ติ ที่ เป นวิ ป สสนาโดยตรงต อไป โดยไม ต องผ าน จตุกกะที่สอง ที่สาม ก็เปนสิ่งที่กระทําได ; ฉะนั้น จึงเปนการสมควรที่จะได วินิจฉัยในจตุกกะที่หนึ่งนี้ โดยละเอียดเสียชั้นหนึ่งกอน. อานาปาสติ หมวดที่หนึ่งนี้ มีชื่อวา “กายานุปสสนา” อีกชื่อหนึ่ง เพราะเหตุวามีกาย กลาวคือลมหายใจเขา – ออก เปนอารมณของการกําหนดและ พิจ ารณา และจัด เปน สติป ฏ ฐานขอ แรก แหง สติป ฏ ฐานทั ้ง สี ่ อัน มีอ ธิบ าย ดังตอไปนี้ :

*

*

*

ตอน หา

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อานาปานสติ ขั้นที่ หนึ่ง (การกํา หนดลมหายใจยาว)

อานาปานสติขั้นที่หนึ่งนี้ มีหัวขอวา “ภิกษุนั้น เมื่อหายใจเขายาว ก็รูสึกตัวทั่วถึง วาหายใจเขายาว ดังนี้ ; เมื่อหายใจออกยาว ก็รูสึกตัวทั่วถึง วาหายใจ ออกยาว ดังนี้”.๑

บาลีวา ทีฆํ วา อสฺสสนฺโต ทีฆํ อสฺสสามีติ ปชานาติ ; ทีฆํ วา ปสฺสสนฺโต ทีฆํ ปสฺสสามีติ ปชานาติ.

www.buddhadasa.in.th


๖๘

อานาปานสติภาวนา ตอน ๕

อานาปานสติ ข อนี้ กล าวถึ งการหายใจเข า – ออก ยาว เป นส วนสํ าคั ญ ฉะนั้น สิ่งที่ควรทําความเขาใจก็คือ คําที่วา หายใจยาว นั่นเอง. เพื่อใหเปนการ เขาใจงายแกผูปฏิบัติ ผูปฏิบัติควรจะตองฝกหัด และสังเกตการหายใจเขา – ออก ให ย าวกว า ธรรมดาให ม ากที่ สุ ด เท า ที่ จ ะทํ า ได เพื่ อ จะให ท ราบว า ยาวที่ สุ ด นั้ น เปนอยางไรเสียกอน, แลวจะไดนําไปเปรียบเทียบกับการหายใจตามปรกติธรรมดา วามันยาวสั้นกวากันอยางไร, แลวนําไปเปรียบเทียบกับการหายใจที่สั้นกวา ธรรมดา เช น การหายใจในเวลาเหนื่ อ ย เป น ต น ว า มั น ยาวสั้ น กว า กั น อย า งไร ตอไปอีก. และในที่สุด ควรจะมีการทดลองหายใจอยางสั้นที่สุด เทาที่จะใหสั้น ได ด ว ยการบั ง คั บ ของเราเอง เพื่ อ เปรี ย บเที ย บกั น อี ก ครั้ ง หนึ่ ง ในที่ สุ ด ก็ จ ะ ทราบได ว า คํ า ว า หายใจยาว หรื อ หายใจสั้ น นั้ น มี ค วามหมายต า งกั น อย า งไร หรื อ มี ตั ว จริ ง อยู อ ย า งไร และจะเป น ผู ส ามารถกํ า หนดลมหายใจที่ ย าวหรื อ สั้ น ได ถู ก ตรงตามที่ตองการ. ขอที่วาใหพยายามหายใจใหยาวที่สุด เทาที่จะหายใจไดนั้น มีขอที่ตอง ควรกําหนดคือ จะกินเวลานานประมาณ ๓๐ - ๔๐ วินาที ในระยะหนึ่ง ๆ เทาที่ เราจะผอนใหยาวได ทั้งเขาและออก : และใหสังเกตวา จะตองนั่งตัวตรงจริง ๆ จึงจะหายใจไดยาวถึงที่สุดจริง ๆ และ เมื่อหายใจเขาถึงที่สุดจริง ๆ นั้นจะมี อาการปรากฏวาสวนทองแฟบถึงที่สุด สวนโครงอกพองออกถึงที่สุด, และโดยนัย ตรงกันขาม เมื่อหายใจออกถึงที่สุด ก็จะปรากฏวาทองปองออกไป สวนโครงอก แฟบ อยางนี้จึงเรียกวายาวถึงที่สุดจริง ๆ มีความหมายอยูตรงที่วามีการหายใจ ทั้งยาว ทั้งนาน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เพื่อเขาใจเรื่องนี้ไดถึงที่สุด ถึงการหายใจสั้น. คําวา“หายใจสั้น”

ควรพิจารณาเพื่อการเปรียบเทียบ เลยไป จะมีอาการตรงกันขาม คือเมื่อหายใจเขา

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๑ การกําหนดลมหายใจยาว

๖๙

ทองปอ งออกไป, เมื่อหายใจออก ทองแฟบเขามา พอเปนทางสัง เกตไดวา ที่ เ ป น ดั ง นี้ เป น เพราะหายใจเข า น อ ย จนไม ถึ ง กั บ ทํา ให โ ครงอกตอนบน พองออกไปมาก หรือหายใจออกนอย จนไมทําใหโครงอกตอนบนแฟบเขาไปมาก อาการที่ปรากฏที่ทองจึงแตกตางกันอยางตรงกันขาม ซึ่งผูฝกหัดจะตองรูจักสังเกต ใหดี มิฉะนั้นจะเขาใจผิดและสับสนกันไปหมด. เกี่ยวกับเรื่องนี้ อาจจะยุติเปน หลักที่เรียกวา “หายใจเขาสั้น” ก็คือ สั้นเพียงเทาที่ทําใหโครงอกขยายออก หนอยหนึ่ง แตไมถึงกับทําใหทองแฟบ. ถาถึงกับทําใหทองแฟบ ก็เรียกวา หายใจเขา ยาว. ที่เ รีย กวา “หายใจออกสั้น ” ก็คือ หายใจออกหนอ ยหนึ่ง เพียงที่ทําใหโครงอกแฟบลงหนอยหนึ่ง แตไมถึงกับทําใหทองปองออก. ถาถึง กับทําใหทองปองออก ก็เรียกวาเปนการหายใจออกยาว. ขอเท็จจริงอยูตรงที่วา โครงอกแฟบมากหรือนอยนั่นเอง ; สวนทองนั้นจะมีอาการตรงกันขามกับโครงอก เสมอไป ในเมื่อมีการหายใจอยางยาวที่สุด ทั้งเขาและออก. ผูมีการศึกษา เกี่ยวดวยอวัยวะเครื่องหายใจ มีปอดเปนตน มาแลวเปนอยางดี ยอมอาจจะ เขาใจเรื่องนี้ไดดี.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org คําวา “หายใจนาน” พระอรรถกถาจารยแนะใหสังเกตการหายใจของ สัตว ๒ ประเภท. สัตวประเภทแรก เชนชาง มีระยะหายใจนานกวาสัตวประเภท หลัง เชนหนู หรือกระตาย. การกําหนดเอาเวลาเปนหลักเชนนี้ แมจะเรียกวา หายใจชาหรือเร็วก็ตาม ผลยอมเปนอยางเดียวกันกับคําวาหายใจยาวหรือสั้น. นี้กลาวเฉพาะในการปฏิบัติการกําหนดลมหายใจ ; สวนขอเท็จจริงที่วา ลมจะเขา ไปมากหรือนอยกวากันอยางไรนั้น เปนอีกเรื่องหนึ่งตางหาก. สิ่งที่ตองการความสังเกตในความแตกตางอีกอยางหนึ่ง ก็คือ “การ หายใจเบา”หรือ “หนัก” “หยาบ” หรือ “ละเอียด”. ถาหากลมกระทบ

www.buddhadasa.in.th


๗๐

อานาปานสติภาวนา ตอน ๕

พื ้น ผิว แหง ชอ งหายใจรุน แรง ก็เ รีย กวา หายใจหนัก หรือ หยาบ ถา หากกระทบ พื้ น ผิ ว เหล า นั้ น ไม รุ น แรง หรื อ ถึ ง กั บ ว า ไม รู สึ ก ว า กระทบ ก็ เ รี ย กว า หายใจเบาหรื อ ละเอียด. อาการทั้งสองอยางนี้ เปนสิ่งที่ควรศึกษาใหเขาใจอยางยิ่งไวอยางเดียวกัน เพราะมีเรื่องที่จะตองปฏิบัติในขอตอไปขางหนาเกี่ยวกับเรื่องนี้.

การกําหนดลมหายใจ. บัดนี้ มาถึง วิธีการกําหนดลมหายใจ ในลักษณะที่ตาง ๆ กัน เปนลําดับไป, ดังจะไดแยกวินิจฉัยทีละบท : บทวา “เมื่อหายใจเขายาว ก็รูวาหายใจเขายาว” หรือ “เมื่อหายใจ ออกยาว ก็รูวาหายใจออกยาว” นั้น มีหลักแหงการปฏิบัติคือ หลังจากการที่ ไดซักซอมอวัยวะเครื่องหายใจตาง ๆ มีชองจมูก เพดาน หลอดลมและปอดเปนตน ใหอยูในสภาพที่ปรกติและเหมาะสมดีแลว ก็ปลอยใหมีการหายใจตามปรกติ ธรรมดาบาง บังคับใหยาวกวาธรรมดาบาง ใหสั้นกวาธรรมดาบาง เปนการซัก ซอมทางรางกายโดยตรง วาควรจะมีอัตราปรกติอยางไร ที่เปนอัตราปรกติถาวร ไมยาวไมสั้นเสียกอน แลวจึงเริ่มกําหนดวามันยาวหรือสั้นเทาไร.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ลมหายใจที่สั้นหรือยาว นี้ ยอมขึ้นอยูกับอารมณทางจิตและความ ผันแปรทางรางกาย หรือแมที่สุด เพียงแตการไปสนใจมันเขาเทานั้น มันก็ทําให การหายใจนั้น สั้นหรือยาว ออกไปไดกวาธรรมดา. เพราะฉะนั้น ในขั้นแรกเราจะ ตองสังเกตความสั้นยาว ที่มันเปลี่ยนแปลงไปตามสิ่งแวดลอม ซึ่งกําลังแวดลอม อยูในขณะนั้น เชนถาอารมณปรกติดี การหายใจก็ยาวกวา เมื่อมีอารมณราย เชน ความโกรธเปนตนเขาครอบงํา. หรือเมื่อรางกายสบายดี ลมหายใจก็ยาวกวา

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๑ การกําหนดลมหายใจยาว

๗๑

เมื่อ รางกายกําลังผิดปรกติ เพราะความเหน็ดเหนื่อ ย เปนตน. แมลมหายใจ จะมี อ าการอยู อ ย า งนั้ น อย า งใดอย า งหนึ่ ง แต พ อเราไปตั้ ง ใจทํ า การกํ า หนดมั น เข า มันก็จะตองยาวกวานั้นอีกเปนธรรมดา. เพราะฉะนั้น ผูปฏิบัติจะตองรูจักสังเกต ความพลิ ก แพลงของลมหายใจในลั ก ษณะอย า งนี้ ด ว ย จึ ง จะกํ า หนดความยาวหรื อ สั้ น ได โ ดยถู ก ต อ ง หรื อ อย า งน อ ยที่ สุ ด ก็ กํ า หนดได ว า มั น ยาวกว า กั น เท า ไร แล ว

.ทําการกําหนดไปเปนเวลานานพอสมควร ก็จะรูจักความสั้นยาวที่แนนอนยิ่งขึ้น. ในขั้นแรก ๆ ควรจะหัดหายใจใหหยาบที่สุด ใหยาวที่สุด เพื่อให กําหนดไดโดยงาย วาลมหายใจเองเปนอยางไร ? ทางที่มันกระทบนั้น ถูกมัน กระทบอยางไร ? กําลังกระทบอยูที่ตรงไหน ? มีอาการเหมือนกับวามันไปสุดลง ที่ตรงไหน ? หยุดอยูที่ตรงไหน ? นานเทาไร ? แลวจึงหายใจกลับออกมา หรือกลับเขาไปก็ตาม แลวแตกรณี. ถาหายใจเบาหรือละเอียดไปตั้งแตทีแรก ก็ไมมีทางที่จะสังเกตสิ่งเหลานั้นได ทําใหกําหนดลมหายใจไดโดยยาก หรือถึงกับ ลมเหลวไปก็ได. ทางที่ดียิ่งไปอีก คือควรจะหายใจใหหยาบหรือหนัก จนกระทั่ง เกิดมีเสียงไดยินทางหู ขึ้นมาดวยสวนหนึ่ง หูก็เปนประโยชนในการชวยใหสติ กําหนดลมหายใจไดงายขึ้นอีกแรงหนึ่ง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org โดยที่แทแลว คําวา “การกําหนดลมหายใจ” นั้น เปนการกําหนด ที่พื้นผิวที่ลมกระทบ นั้น มากกวาที่จะกําหนดที่ตัวลม เพราะลมเปนสิ่งที่ละเอียด ออน กําหนดยาก. แตเมื่อมันกระทบพื้นผิวซึ่งเต็มไปดวยเสนประสาทเขาที่ ตรงไหน ก็เปนการงายที่จะกําหนดวาลมกําลังอยูที่นั่น หรือเดินไปถึงไหน. และ ยิ่งเมื่อมีเสียงที่ไดยินทางหูเขามาชวยดวย ก็เปนการชวยใหกําหนดไดงายขึ้นอีกวา หายใจครั้งหนึ่ง ยาวหรือนานเทาไร. การหายใจหนัก ๆ ในขั้นแรก จึงเปน สิ่งที่มีประโยชน ดังนี้. แมในขั้นตอไป การหายใจยาวหรือหนัก จนเคยชิน

www.buddhadasa.in.th


๗๒

อานาปานสติภาวนา ตอน ๕

เปนนิสัย ก็ยังมีประโยชนอยูนั่นเอง เพราะนอกจากจะเปนประโยชนทางอนามัย แกรางกายโดยเฉพาะแลว ยังเปนประโยชนในทางที่จะทําใหเราฝกหัดในบทฝกหัด ขั้นตอ ๆ ไป ไดอยางงายดายเสมอไป จึงขอแนะนําใหฝกในการหายใจใหยาว และหนักอยูเปนปรกติ ตามโอกาสที่จะพึงกระทําได.

การกําหนดลมหายใจดวยสติ ตอไปนี้ ก็มาถึงระยะแหงการฝกในการกําหนดลมหายใจ ซึ่งยาวอยูเอง แลว เพราะการที่เราไปกําหนดมันเขา. อาการที่เรียกวา “กําหนด” ในที่นี้ ถากลาวอยางโวหารธรรมดาก็คือ การที่เราตั้งจิตกําหนดลมหายใจ ที่กําลังแลนเขาแลนออกอยูตามเรื่องตามราวของ มันเอง จะเรียกวาเปนการสังเกตลมหายใจวากําลังเปนอยูอยางไร ดังนี้ก็ได แต เราไมนิยมเรียกเชนนั้น นิยมเรียกใหแนชัดลงไปเปนภาษากัมมัฏฐาน หรือภาษา ที่ใชในการสอนอภิธรรมวา เปนการผูกจิตไวที่ลมหายใจ ดวยเครื่องผูกคือสติ เลยทําใหเกิดมีสิ่งที่จะตองศึกษาขึ้นมาถึง ๓ เรื่องเปนอยางนอย คือลมหายใจ ๑ จิต ๑ สติ ๑ รวมเปน ๓ แลว ยังจะตองศึกษาเรื่องผลที่เกิดขึ้นเพราะการทํา เชนนั้น วามีอยูอยางไร กี่อยาง ตามลําดับไป.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ลมหายใจ มีเรื่องราวอยางไร เปนเรื่องที่กลาวถึงแลวขางตน. สวน เรื่องจิตนั้น หมายความวาเมื่อกอนนี้ สาละวนอยูกับโลกิยารมณตาง ๆ เดี๋ยวนี้ ถูกพรากหรือถูกเปลี่ยนมาใหเปนจิตที่ติดอยูกับลมหายใจ ดวยเครื่องผูก คือสติ ไมใหเปนจิตที่ไปคลุกคลีอยูกับโลกิยารมณดังเชนเคย. สําหรับสตินั้น หมาย ถึงเจตสิกธรรมซึ่งเปนสมบัติของจิตอยางหนึ่ง ในบรรดาสมบัติทั้งหลายของจิต. เจตสิกธรรมขอนี้เปนฝายกุศล ทําหนาที่ยกจิตขึ้น หรือดึงจิตมาผูกไวกับลมหายใจ

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๑ การกําหนดลมหายใจยาว

๗๓

ซึ่ ง ในที่ นี้ เ ป น รู ป ธรรมบริ สุ ท ธิ์ ไม เ ป น ที่ ตั้ ง แห ง อกุ ศ ล จิ ต จึ ง พ น จากความเป น อกุศลมาสูความเปนกุศล ดวยอํานาจแหงเจตสิกธรรม อันมีชื่อวา สติ นั้น. อาการที่จิตถูกสติผูกไวกับอารมณ คือลมหายใจในที่นี้ แมเพียงเทานี้ ก็เรียกไดวาการกําหนด คือการกําหนดของจิตที่ลมหายใจดวยอํานาจสติ. ใน ขั้นนี้ยังเปนเพียงการกําหนดลวน ๆ ไมเปนการพิจารณาแตประการใด และยัง ไมเกี่ยวกับความรูหรือญาณ จึงเรียกแตเพียงวา การกําหนด หรือตรงกับคําอีก คําหนึ่งวา “บริกรรม” ลวน ๆ จัดเปนอาการอยางหนึ่ง ซึ่งตอไปขางหนา จะถูก จัดเปนองคของฌาน ที่เรียกวา “วิตก”. ผูศึกษาถึงเขาใจไวเสียดวยวา คําวา “วิตก” ในที่นี้ มีความหมายอยางนี้ มิไดหมายอยางโวหารพูดทั่วไป ซึ่งหมายถึง การคิดนึกตรึกตรองเปนเรื่องราวไป แตประการใดเลย. ทั้งหมดนี้คือสิ่งที่จะตอง ทําความเขาใจเกี่ยวกับคําวา “กําหนด”.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org การเกิดของความรู.

เมื่อมีการกําหนดในลักษณะเชนที่กลาวนี้ ก็แสดงอยูในตัวแลววา ยอม เปนทางใหเกิดความรู หรือความรูสึกแกจิต ขึ้นมาไดเอง วาลมหายใจนั้นยาวหรือ สั้นเปนตน. ขอนี้อธิบายวา เมื่อลมหายใจก็แลนไปแลนมาอยู และจิตก็ถูก สติผูกติดไวกับลมหายใจ จิตจึงมีอาการเหมือนกับพลอยแลนไปแลนมา ตามไป ดวยกัน จึงเกิด “ความรู” ขึ้นได โดยไมตองมีการคิดหรือการพิจารณาเลย. ความรูเชนนี้ยังไมควรเรียกวา “ญาณ” เปนเพียงสัมปชัญญะ คือความรูสึกตัว ทั่วถึงวามันเปนอยางไรในขณะนั้น. แตถึงอยางนั้นก็ตาม บางทีทานก็ใชคําวา “ญ า ณ ”แ ก อ า ก า ร รู เช น นี้ ใ น บา ง คั ม ภี ร บ า ง เ ห มื อ นกั น , ค ว ร จ ะ ท ร า บ ไ ว

www.buddhadasa.in.th


๗๔

อานาปานสติภาวนา ตอน ๕

กันความสับสน. ทั้งนี้ เพราะคําวา ญาณ นั้น มีความหมายกวางขวาง เอาไปใช กับความรูชนิดไหนก็ได แตความหมายที่แทนั้น ตองเปนความรูทางสติปญญา โดยตรง. เมื่อคําวา “ญาณ” หรือความรู ใชไดกวางขวางอยางนี้ รวมกับ การที่ทานไมอยากใชคําอื่นเพิ่มเขามาใหมากมายและสับสนโดยไมจําเปน อาจารย บางพวกจึงกลาววา แมความรูสึกที่เกิดขึ้นวา เรากําลังหายใจยาว ดังนี้เปนตน ก็จัดเปนญาณอันหนึ่งดวยเหมือนกัน ทําใหมีการกลาวไดวา ญาณไดปรากฏแลว แมแตในขณะที่เริ่มทําอานาปานสติ พอสักวา เมื่อหายใจเขายาว ก็รูสึกตัว ทั่วพรอมวา เราหายใจเขายาว ดังนี้.

กรรมวิธีในขณะแหงการกําหนดลม. กรรมวิธีทางจิต ที่เปนไปในขณะแหงการกําหนดลมหายใจในขั้นที่ กลาวนี้ มีอยูเปนลําดับดังนี้ :๑. เมื่อเขากําหนดลมหายใจนาน ๆ เขา ก็จะประสบความสําเร็จแหง การกําหนด จึง “เกิด ฉันทะ” คือความพอใจ อันเปนกุศลเจตสิกอันใหมขึ้นมา เนื่องจากการกําหนดลมหายใจนั้นแลว มีปฏิกิริยาสืบไป คือ :๒. เมื่อฉันทะเปนอยู ลมหายใจก็ปรากฏวา ยาวไปกวาเดิมดวย มีความละเอียดยิ่งกวาเดิมดวย. แมจะไมมีความละเอียดแหงลมในระยะแรกแหง การเกิดของฉันทะ ก็จะตองมีในระยะตอมา. ผูปฏิบัติอาศัยกําลังแหงฉันทะนั้น ทําการกําหนดลมหายใจที่ยาวกวาเดิม หรือละเอียดกวาเดิมขึ้นไปอีก นานเขา ปฏิกิริยาขึ้นสืบไป คือ :๓. ปราโมทยไดเกิดขึ้น. คําวาปราโมทยในที่นี้ ตรงกับภาษาบาลี วา ปามุชฺช ไดแกปติอยางออน ซึ่งที่แทไดแกเจตสิกธรรมที่เปนกุศลอีกอันหนึ่ง ซึ่งตอไปจะตั้งอยูในฐานะเปนองคสําคัญแหงฌานองคหนึ่ง , ดวยอํานาจ

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๑ การกําหนดลมหายใจยาว

๗๕

แห ง ปราโมทย นั่ น เอง ลมหายใจก็ ย าวไปกว า เดิ ม ละเอี ย ดไปกว า เดิ ม , การกําหนดลมหายใจของผูปฏิบัตินั้น ก็ตั้งอยูไดอยางแนนแฟน จนกระทั่งกลาว ไดวาไมละจากอารมณ จิตนี้จึงไดสมมตินามใหม วา… (อานตอไปยังบรรทัดลาง) ๔. “จิตที่เกิดจากลม” เพราะมีลมหายใจหรือการกําหนดลมหายใจ เปนสิ่งที่ปรุงจิตอยูอยางเต็มที่. ขอนี้มิไดมีความหมายอะไรอื่น นอกจากจะ แสดงวา เดี๋ยวนี้จิตเริ่มมีความเปน “เอกัคคตา, คือความมีอารมณอยางเดียว เกิดขึ้นแลวแกจิตนั้น กลายเปน เอกัคคตาจิต เนื่องมาจากลมหายใจนั้นมีผล ทําใหเกิดขึ้น. ตอจากนั้น ก็มีอาการแหง… ๕. อุเบกขา หรือความวางเฉยตอโลกิยารมณ ไมถูกนิวรณตาง ๆ รบกวนไดอีกตอไป ปรากฏชัดอยู สวน… ๖. ภาวะแหงความที่ลมหายใจนั้น เปลี่ยนรูปปรากฏเดนเปนนิมิต แหงกัมมัฏฐาน มีอุคคหนิมิตเปนตน เห็นอยูชัดดวยตาอันเปนภายใน ในรูปนิมิต ใหม อยางใดอยางหนึ่งนั้น ยอมแปลกกัน แลวแตลักษณะของบุคคล. เมื่อนิมิต นั้นปรากฏชัด ก็เปนเหตุใหกลาวไดวา… ๗. สติเปนธรรมชาติปรากฏชัด ปรากฏทั้งในฐานะที่เปนตัวเจตสิกธรรมดวย ปรากฏทั้งในฐานะที่เปนการทําหนาที่ของมัน คือการกําหนดดวย และเนื่องจากสติเปนไปดังนี้ไมขาดตอน สิ่งที่เรียกวา สัมปชัญญะ คือความรูสึกตัว ทั่วพรอมก็ปรากฏ แตเราไปเรียกชื่อมันเสียใหมวา แม… ๘. ญาณก็ปรากฏ คําวา “ญาณก็ปรากฏ” ในที่นี้ มีความหมาย ตาง ๆ กัน แลวแตวามันจะปรากฏในขั้นไหนแหงการกระทําอานาปานสติ สําหรับ ในขั้นนี้ ซึ่งเปนขั้นแรกที่สุดนั้น ญาณในที่นี้ ก็เปนเพียงสัมปชัญญะที่กําลังรูสึก วา “เราหายใจออกยาว หรือหายใจเขายาว” เทานั้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๗๖

อานาปานสติภาวนา ตอน ๕

๙. แมกายก็ปรากฏ ลมหายใจชื่อวากาย ในฝายรูปธรรม หรือเรียก อีกอยางหนึ่งวา รูปกาย. แมจะกลาวเลยไปถึงวา แมนามกายก็ปรากฏ ดังนี้ ก็ยังได เพราะวาจิตก็ดี หรือเจตสิกธรรม กลาวคือฉันทะและปราโมทยเปนตน ก็ดี เหลานี้เปนนามกาย ซึ่งลวนแตปรากฏดวยเหมือนกัน หากแตวาการปฏิบัติ ในขั้นนี้ เปนเพียงขั้นริเริ่ม มุงหมายกําหนดแตเพียงลมหายใจซึ่งเปนรูปกาย ฉะนั้น คําวากาย ในอานาปานสติระยะที่หนึ่งนี้ จึงหมายถึงแตเพียงรูปกาย และ โดยเฉพาะเพียงลมหายใจเทานั้น. คําวา “กายานุปสสนาสติปฏฐาน” กลาวคือ การ ตั้งไว ซึ่งสติเปนเครื่องตามเห็นซึ่งกาย ในขั้นที่หนึ่งนี้ ยอมเพงเล็งเอาลม หายใจเปนความหมายของคําวา กาย แหงวลีนั้น. เมื่อลมคือกายก็ปรากฏ สติก็ ปรากฏ และ ญาณก็ปรากฏ ครบถวนทั้ง ๓ ประการแลว ผูปฏิบัติ หรือกลาว โดยเฉพาะ ก็คือจิตแหงผูปฏิบัตินั้น เปนอันวาไดลุถึง… ๑๐. กายานุปสสนาสติปฏฐาน แลวโดยสมบูรณ แมในระยะเริ่มแรก ซึ่งเปนเพียงการกําหนดลมหายใจที่ยาวอยางเดียว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org จากกรรมวิธีทั้ง ๑๐ ระยะที่กลาวขางตนเราจะเห็นไดจากระยะที่ ๑ - ๒ ๓ วา ความยาวแหงลมหายใจนั้นมีอยู ๓ ลักษณะ ดวยกัน คือยาวหรือนานตาม ปรกติของลมหายใจนั้นอยางหนึ่ง, ยาวออกไปอีกเพราะอํานาจของฉันทะที่เกิดขึ้น อยางหนึ่ง, และยาวออกไปอีกเพราะอํานาจของปราโมทยเกิดสืบตอจากฉันทะอีก อยางหนึ่ง, จึงเปน ๓ ลักษณะดวยกัน. เมื่อลมหายใจออกก็ยาว ลมหายใจเขาก็ยาว และรวมกันทั้งออกทั้งเขา ก็ยาว เปนลมยาว๓ ชนิดดวยกันดังนี้แลว เอาไปคูณกันเขากับความยาวที่มี

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๒ การกําหนดลมหายใจสั้น

๗๗

ลักษณะ ๓ ดังที่กลาวมาแลว ก็กลายเปน ๙ เรียกวา ความยาวมีอาการ ๙ เปน หลักสําหรับการศึกษาในบทวาหายใจยาว แหงอานาปานสติขอที่หนึ่งนี้ โดยตรง. (จบอานาปานสติขั้นที่หนึ่งอันวาดวยการกําหนดลมหายใจยาว)

*

* * ตอน หก อานาปานสติ ขั้นที่ สอง. (การกําหนดลมหายใจสั้น)

อานาปานสติขั้นที่สองนี้ มีหัวขอวา “ภิกษุนั้น เมื่อหายใจเขาสั้น ก็รูสึกตัวทั่วถึง วาหายใจเขาสั้น ดังนี้ ; เมื่อหายใจออกสั้น ก็รูสึกตัวทั่วถึง วาหายใจ ออกสั้น ดังนี้”.๑

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อานาปานสติ ข อ นี้ มี ค วามหมายแตกต า งจากขั้ น ที่ ห นึ่ ง เพี ย งที่ ก ล า ว ถึงลมหายใจที่สั้น. ลมหายใจสั้นในที่นี้ เปนเพียงชั่วขณะ คือชั่วที่มีการฝกให หายใจสั้นแทรกแซงเขามา. เมื่อบุคคลผูปฏิบัติรูความที่ลมหายใจสั้นเปนอยางไร อย างทั่ วถึ งแล ว ระงั บความสนใจต ออาการแห งการหายใจชนิ ดที่ เรี ยกว าสั้ นนั้ นเสี ย ไปหายใจอยู ด ว ยลมหายใจที ่เ ปน ปรกติ ซึ ่ง จะเรีย กวา สั ้น หรือ ยาวก็ไ ด แลว แต จะเอาหลั ก เกณฑ อ ย า งใดเป น ประมาณ ป ญ หาก็ ห มดไป ไม มี สิ่ ง ที่ จ ะต อ งอธิ บ าย เปนพิเศษ สําหรับกรณีที่มีการหายใจสั้น.

บาลีวา รสฺสํ วา อสฺสสนฺโต รสฺสํ อสฺสสิสฺสามีติ ปชานาติ ; รสฺสํ วา ปฺสสสนฺโต รสฺสํ ปสฺสสิสฺสามีติ ปชานาติ ;

www.buddhadasa.in.th


๗๘

อานาปานสติภาวนา ตอน ๖

แต ถ า หากว า บุ ค คลผู นั้ น มารู สึ ก ตั ว ว า ตนเป น ผู มี ก ารหายใจสั้ น กว า คนธรรมดาอยู เ ป น ปรกติ วิ สั ย ก็ พึ ง ถื อ ว า ระยะหายใจเพี ย งเท า นั้ น ของบุ ค คลนั้ น เปนการหายใจที่เปนปรกติอยูแลว. และเมื่อไดปรับปรุงการหายใจใหเปนปรกติ แล ว ก็ ถื อ เอาเป น อั ต ราปรกติ สํ า หรั บ ทํ า การกํ า หนดในยะระเริ่ ม แรก เป น ลํ า ดั บ ไป จนกว าจะเกิ ดฉั นทะและปราโมทย ซึ่ งมีความยาวแหงลมหายใจเพิ่มขึ้นเป นลําดับ ๆ และมี ก รรมวิ ธี ต า ง ๆ ดํ า เนิ น ไปจนครบทั้ ง ๑๐ ขั้ น ตามที่ ก ล า วมาแล ว ในอานาปานสติขั้นที่หนึ่ง อันวาดวยการหายใจยาว ฉันใดก็ฉันนั้น. ในกรณี ที่ มี ก ารหายใจสั้ น เป น พิ เ ศษ เพราะเหน็ ด เหนื่ อ ย การตกใจ หรือ โรคภัย ไขเ จ็บ เบีย ดเบีย นนั ้น ยอ มมีก ารกํ า หนดใหรู ว า สั ้น เพีย งในขณะนั ้น เท านั้ น เมื่ อสิ่ งเหล านั้ นผ านไปแล ว การหายใจก็ เป นปรกติ และดํ าเนิ นการปฏิ บั ติ ไปโดยนัย แหง การหายใจปรกติ เพราะการหายใจสั ้น ชนิด นั ้น ไดผ า นไปแลว โดย ไมตองคํานึง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ในกรณีที ่ม ีก ารหายใจสั ้น แทรกแซงเขา มา เพราะอุบ ัต ิเ หตุอ ยา งอื ่น ก็ ตาม เพราะความสั บสนแห งการฝ กในขั้ นที่ ยั งไม ลงรู ปลงรอยก็ ตาม การหายใจสั้ น เหลานั้นถูกกําหนดรูวาสั้น แลวก็ผานไป ไมกลับมาอีก ปญหาก็หมดไป.

ในกรณีที่เราฝกใหลมหายใจสั้น เพื่อการทดลองในการศึกษานั้น ยอม หมดปญหาไปในขณะที่การทดลองสิ้นสุดลง. สําหรับความมุงหมายอันแทจริง แห งการฝ กลมหายใจสั้ นนั้ น มี อยู ว า เมื่ อฝ กจิ ตให เป นสมาธิ ได ด วยลมหายใจอย าง ยาวแลว ก็ค วรฝก ใหเ ปน สมาธิด ว ยลมหายใจสั ้น ซึ ่ง เปน ของยากขึ ้น ไปกวา ให ได ด วย เพื่ อความสามารถและคล องแคล วถึ งที่ สุ ด ในการฝ กสมาธิ ด วยลมหายใจ ทุกชนิดนั่นเอง.

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๒ การกําหนดลมหายใจสั้น

๗๙

สรุปความวา การหายใจสั้นในอานาปานสติขั้นที่สองนี้ กลาวไว สําหรับการหายใจสั้นที่จะพึงมีแทรกแซงเขามาเอง เปนครั้งคราว และที่เปน ในการฝกเพื่อการสังเกตเปรียบเทียบใหเรารูจักลักษะแหงการหายใจยาว – สั้น และมีอะไรแตกตางกันอยางไรตามธรรมชาติเทานั้น. เมื่อไดกําหนดจนเขาใจดี ทั้งสองอยางแลว การกําหนดก็ดําเนินไปในการหายใจที่เปนไปตามปรกติหรือใน อัตราที่เราถือวาเปนปรกติ และสามารถเปนสมาธิอยูทั้งในขณะที่มีลมหายใจสั้น หรือยาว ไมหวั่นไหว.

การหายใจตามธรรมชาติ ยอมเปลี่ยนไปตามอํานาจสิ่งแวดลอม เชน ฉันทะเปนตน สั้น ๆ ยาว ๆ แทรกแซงกันบาง แตก็ไมมากมายนัก ซึ่งจะตอง ไดรับการแกไขตามกรณีที่เกิดขึ้น เชนเมื่อมีความหงุดหงิดเกิดขึ้น ก็สังเกตไดดวย ลมหายใจที่สั้นเขา แลวก็แกไขดวยการนอมจิตไปสูความปราโมทย ซึ่งจะทําให ลมหายใจกลับยาวไปตามเดิม. ความรูสึกตัวทั่วพรอมของบุคคลผูปฏิบัตินั่นเอง ทําใหกําหนดไดทั้งลมหายใจที่ยาวและสั้น ไมวามันจะเกิดขึ้นสลับซับซอนอยางไร และสามารถกํา หนดใหเ ปน สมาธิไ ด ไมวา มัน จะอยูใ นสภาพที่เ รีย กกัน วา ยาว หรือสั้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เมื่อการปฏิบัติไดดําเนินมาถึงขั้นที่สองนี้แลว เราอาจจะเขาใจหลักการ ปฏิบัติไดดวยการอุปมากับการไกวเปล :

การไกวเปลในที่นี้ เปนการไกวเปลของคนเลี้ยงเด็ก. เมื่อคนเลี้ยงเด็ก จับเด็กใสเปลลงไปใหม ๆ เด็กก็ยังไมหลับ และพยายามที่จะลงจากเปล ซึ่งอาจจะ ตกจากเปลเมื่อไรก็ได เขาจะตองระวังดวยการจับตาดู ไมวาเปลนั้นจะแกวงไป

www.buddhadasa.in.th


๘๐

อานาปานสติภาวนา ตอน ๖

ทางไหน จะแกวงสั้นหรือแกวงยาว จะแกวงเร็วหรือแกวงชา ตามการตอสู ของเด็กก็ตาม, หรือการชักอันไมสม่ําเสมอของตนเองก็ตาม, หมายความวา เขาจะตองจับตาดูอยูทุกครั้งที่แกวง และทุกทิศทาง ที่มันแกวงไป. ครั้งไหน แกวงไปสั้น ครั้งไหนแกวงไปยาวอยางไร เขายอมรูไดดี การกําหนดลมหายใจ ในขั้ น นี้ ก็ มี อุ ป มั ย ฉั น นั้ น . ด ว ยอํา นาจที่ ส ติ ห รื อ จิ ต ก็ ต าม กํา หนดอยู ที่ ลมหายใจนั้น จึงทราบความที่ลมหายใจแลนไปชาหรือเร็ว สั้นหรือยาว ไดอยู ตลอดเวลา เพราะความที่สติไมผละจากลมนั้น และดําเนินไปโดยทํานองนี้ จนกวาจะสม่ําเสมอเปนระเบียบดี จึงเริ่มกําหนดในขั้นละเอียดยิ่งขึ้นไป คือ ในอานาปานสติขั้นที่สาม. กรรมวิธีแหงการเกิดขึ้น ของฉันทะ ปราโมทย และอื่น ๆ มีสติ ญาณ และลมหายใจเป น ต น ในการหายใจสั้ นนี้ ย อ มเป น ไปโดยทํ า นองเดี ย วกั น กั บ ที่ เกิดจากการหายใจยาว โดยประการทั้งปวง.

www.buddhadasa.in.th * * * www.buddhadasa.org (จบอานาปานสติขั้นที่สอง อันวาดวยการกําหนดลมหายใจสั้น)

www.buddhadasa.in.th


ตอน เจ็ด อานาปานสติ ขั้นที่ สาม๑ (การกําหนดลมหายใจทั้งปวง)

อานาปานสติ ขั้ นที่ สามนี้ มีหั วขอว า “ภิ กษุนั้ น ย อมทํ าในบทศึกษาวาเรา เปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง จักหายใจเขา ดังนี้ ; ยอมทําในบทศึกษาวาเราเปน ผูรูพรอมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง จักหายใจออก ดังนี้”.๒ อานาปานสติ ข อ นี้ มี ข อ ที่ จ ะต อ งวิ นิ จ ฉั ย ก็ คื อ คํ า ว า “ย อ มทํ า ในบท ศึกษา”, คําวา “รูพรอมเฉพาะ”, คําวา “กายทั้งปวง”, และ การที่อานาปานสติ ไดดําเนินถึงขั้นที่เรียกวา ญาณ โดยสมบูรณไดแลวตั้งแตขอนี้ไป : คําวา “ยอมทําในบทศึกษา” หมายถึงการประพฤติปฏิบัติ ในบท ที ่ท า นวางไวสํ า หรับ การปฏิบ ัต ิที ่เ รีย กวา สิก ขานั ่น เอง และมีก ารจํ า แนกไวเ ปน ๓ สิกขา คือ สีลสิกขา, สมาธิสิกขา,หรือ จิตตสิกขา, และ ปญญาสิกขา. เกี่ยวกับการที่จะทําในบทสิกขาใหครบทั้ง ๓ อยางไดอยางไรนั้น ทาน แนะใหพิจารณาวา เมื่อผูนั้นมีการกําหนดลมหายใจเปนตนอยู ชื่อวายอมมีการ สํารวม. เมื่อมีการสํารวม ชื่อวายอมศีล. นี้จัดเปนสีลสิกขาของภิกษุนั้น

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

๑ ๒

การบรรยายครั้งที่ ๘ / ๒๙ สิงหาคม ๒๕๐๒ บาลีวา สพฺพกายปฏิสํเวที อสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ ; สพฺพกายปฏิสํเวที ปสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ ;

๘๑

www.buddhadasa.in.th


๘๒

อานาปานสติภาวนา ตอน ๗

ในขณะนั้ น โดยสมบู ร ณ เ พราะว า เธอไม ส ามารถล ว งสิ ก ขาบทใด ๆ ได ในขณะนั้ น . นี้ชื่อวาเธอยอมทําอยูในบทสิกขาคือศีล ๑. และเมื่อสติของเธอนั้น ไมละจาก อารมณ ไม ปราศจากอารมณ ไม ทิ้ งอารมณ กล าวคื อลมหายใจเป นต นนั้ น ย อมชื่ อ ว าเธอมี สมาธิ คื อความที่ จิ ตมี อารมณ อยู ที่ อารมณ ใดอารมณ หนึ่ ง เพี ยงอารมณ เดี ยว และตั้ ง มั่ น อยู ใ นอารมณ นั้ น ภิ ก ษุ นั้ น ชื่ อ ว า ย อ มทํ า ในบทศึ ก ษา คื อ สมาธิ อ ยู ใ น ขณะนั้น. นี้จัดวาเปนสมาธิสิกขาของภิกษุนั้น ๑. ถัดจากนั้นก็คือการเห็นซึ่ง อารมณนั ้น ๆ หรือ ในอารมณนั ้น ๆ วา มีล ัก ษณะแหง ธรรมเปน อาทิอ ยู อ ยา งไร และเห็นความที่สติเปนตนปรากฏชัดเกี่ยวกับอารมณนั้น ๆ๑ ก็ดี นี้ชื่อวาญาณหรือ ปญญาของภิกษุนั้น ในขณะนั้น. เปนอันวาในขณะนั้น เธอนั้นยอมทําในบท ศึกษา คือปญญาหรือปญญาสิกขา ๑. ดังนั้น ภิกษุนั้น จึงเปนผูปฏิบัติอยูในบท แหงสิกขาทั้งสามโดยครบถวน, และเปนที่นาสนใจอยางยิ่งในขอที่วา ดวยขอ ปฏิบัติเพียงอยางเดียวไดทําใหเกิดมีสิกขา ขึ้นพรอมกันทั้ง ๓ สิกขา อันเปนเครื่องรับ ประกั น ว า แม ด ว ยการทํ า อยู เ พี ย งเท า นี้ ก็ ย อ มทํ า ให เ ป น ที่ ส มบู ร ณ ไ ด ด ว ย ศี ล สมาธิ และป ญ ญา เป น การชี้ ใ ห เ ห็ น ความน า อั ศ จรรย ข องสิ่ ง ที่ เ รี ย กว า ศี ล สมาธิ ปญญา. และเปนคําตอบของปญหาที่วาคนที่ไมไดเลาเรียนปริยัติมาอยางสมบูรณนั้น จะสามารถปฏิบัติ ศีล สมาธิ ปญญา ใหสมบูรณไดโดยวิธีไร พรอมกันไปในตัว. สิ่งที่พึงสังเกตอีกอยางหนึ่ง คือขอที่วา ในบรรดาอานาปานสติทั้ง ๑๖ ขั้นนั้น พระองคไดทรงเริ่มใชคําวา “ยอมทําในบทศึกษา” ตั้งแตขั้นที่สามนี้ เปนตนไป ตลอดจนถึงขั้นสุดทาย ซึ่งมีความหมายวา ตั้งแตขั้นที่ ๓ ถึงขั้นที่ ๑๖ นั ้น เปน ตัว การปฏิบ ัต ิที ่เ รีย กไดว า เปน ตัว สิก ขาแท และยัง แถมมีค รบทั ้ง ๓ สิกขาอีกดวย. สวนขั้นที่ ๑ และขั้นที่ ๒ เปนเพียงขั้นริเริ่ม คือเริ่ม

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

คําวา “อารมณนั้น ๆ” คือหมายถึงอารมณของอานาปานสติในขั้นที่ตนกําลังปฏิบัติ ใน เวลานั้น ขั้นใดขั้นหนึ่ง ใน ๑๖ ขั้นนั่นเอง.

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๓ การกําหนดลมหายใจทั้งปวง

๘๓

ฝกหัดกําหนดอารมณ จะมีบางก็เพียงการสํารวม ซึ่งเปนศีล ; สวนที่เปนสมาธิ และป ญ ญายั ง ไม ป รากฏเต็ ม ตามความหมาย จึ ง ยั ง ไม ถื อ ว า มี ก ารทํ า ในบทศึ ก ษา ที่สมบู รณ ในขั้ นที่ ๑ และขั้ นที่ ๒ นั้ น ซึ่ งเป นเพี ยงการกํ าหนดลมเป นส วนใหญ ; เพิ่งมาสมบูรณในขั้นที่ ๓ นี้เอง จึงกลาวไดวาเปนขั้นที่เริ่มมีญาณแลวโดยสมบูรณ ตามความหมาย. คําวา “รูพรอมเฉพาะ” ในที่นี้ หมายถึงความรูที่สมบูรณ สูงขึ้น ไปกวาความรูที่เปนเพียงสัมปชัญญะอยางในขั้นที่หนึ่งและขั้นที่สอง. คําวา รูพรอม คือรูหมดทุกอยาง. คําวา รูเฉพาะ คือรูอยางละเอียดชัดเจนไปทุกอยาง. รวม ความว า รู อ ย า งสมบู ร ณ ใ นกรณี นั้ น ๆ และในอั น ดั บ นั้ น ๆ อย า งชั ด เจน ซึ่ ง ในที่ นี้ ไดแกรูจัดสิ่งที่เรียกวา กาย กลาวคือลมหายใจนั้นเอง วามีลักษณะอยางไร มีพฤติ อยางไร มีเหตุและมีผลอยางไร เปนตน. เมื่อคําวา กาย ในที่นี้ ไดแกลมหายใจ การรูก็คือรูลักษณะสั้นยาวของลมหายใจ, อาการแหงการเคลื่อนไหวของลมหายใจ, สมุฏฐานแหงลมหายใจ คือความที่มีชีวิตยังเปนไปอยู, และผลจากลมหายใจ คื อ ความที่ ล มหายใจนี้ กํ า ลั ง ทํ า หน า ที่ เ ป น กายสั ง ขาร หรื อ เป น ป จ จั ย แก ชี วิ ต ส ว นที่ เปนรูปธรรมโดยตรงนี้อยู ดังนี้เ ปนตน. เมื่อกลาวโดยสรุปก็คือ รูเรื่องทั้งปวง ของลมหายใจโดยตรงนั้นเอง. และใจความสําคัญที่ตองรูนั้น ตองไปสิ้นสุดลง ที่ รู ค วามเป น อนิ จ จั ง ทุ ก ขั ง อนั ต ตา ของสิ่ ง หรื อ ภาวะเหล า นี้ ทั้ ง หมด ซึ่ ง จะได กลาวถึงในขั้นที่สูงขึ้นไปตามลําดับ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org คําวา “กายทั้งปวง” ควรจะไดรับการวินิจฉัยเฉพาะคําวา “กาย” ตรงเสียกอน จะทําใหเขาใจไดงายขึ้น.

โดย

คําวา “กาย” แปลวา หมู, และแบงออกเปน ๒ ประเภท คือ นามกายและรูปกาย. นามกาย คือหมูนามหรือกลุมนามธรรม ไดแกความรูสึก คิ ด นึ ก ของจิ ต รวมทั้ ง จิ ต เอง ที่ เ รี ย กโดยทั่ ว ไปว า เวทนา สั ญ ญา สั ง ขาร และ

www.buddhadasa.in.th


๘๔

อานาปานสติภาวนา ตอน ๗

วิญญาณเปนวงกวาง. แตโดยเฉพาะในที่นี่นั้นไดแกความรูสึกตาง ๆ ที่เกิดขึ้น ในขณะที่มีการกําหนดลมหายใจ เชนฉั นทะเกิดขึ้ น ปราโมทยเกิ ดขึ้น สติเ กิดขึ้ น ความรู สึ ก ตั ว ทั่ ว พร อ มเกิ ด ขึ้ น เหล า นี้ ล ว นแต เ ป น กลุ ม นามกาย ซึ่ ง จั ด เป น กาย ประเภทหนึ่ง. สวน รูปกาย นั้น โดยทั่วไปหมายถึงมหาภูตรูป คือ ดิน น้ํา ลม ไฟ ที่เปนสวนประกอบสวนใหญของรางกาย. แตในที่นี้ คําวา รูปกาย หมายถึงลมหายใจที่เนื่องกันอยูกับมหาภูตรูปทั้งสี่ นั้นโดยเฉพาะ ในฐานะ เปนสิ่ง ที่ทําใหมหาภูตรูป นั้นดํารงอยู ได มีคาหรือ มีความหมายอยูได และทั้งเป น ที่ตั้งแหงนามกาย มีเวทนาเปนตน สืบไปได. กลาวโดยสรุปก็คือ กาย กลาวคือลม หายใจทําหนาที่เปนกายสังขาร คือปรุงแตงรูปกายใหเปนที่ตั้งแหงนามกายไดสืบไป นั่นเอง, เมื่อผูพิจารณาไดพิจารณาเห็นความที่กายทั้งปวง (คือทั้งรูปกายและ นามกาย) มีอยูอยางไร และสัมพันธกันอยางไรแลว ก็ยอมพิจารณาเห็นความ สํ า คั ญ ของกาย คื อ ลมหายใจโดยเฉพาะได ในฐานะที่ ค วรเพ ง เล็ ง เพี ย งสิ่ ง เดี ย ว ในที่นี้. เมื่อ เปน ดัง นี้ ยอ มเปน การเพีย งพอแลว ที่จ ะกลา ววา “ภิก ษุนั้น เปนผูมีปรกติตามเห็นซึ่งกายในกายทั้งหลาย” (กาเยกายานุปสสี) คือเธอไดมอง เห็นกายอยางใดอยางหนึ่งในบรรดากายทั้งหลายโดยประจักษ ซึ่งในที่นี้หมายถึ ง การเห็นดวยปญญา ซึ่งกายคือลมหายใจ ในระหวางกายทั้งหลายอยางอื่น ๆ ทั้งที่ เปน รูป กายและนามกาย. อาศัย เหตุขอ นี้เ องเปน ใจความสํา คัญ จึง ทํา ให อานาปานสติจตุกกะที่หนึ่ง พลอยไดชื่อวา กายานุปสสนาสติปฏฐาน ซึ่งมีหลัก สําคัญวา ภิกษุเปนผูมีปรกติตามเห็นซึ่ง กายในกายทั้งหลาย อยูเปนประจํา ซึ่งในที่นี้ ไดแกรูอยูทุกลมหายใจเขาออกดังนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org คําวา “ทั้งปวง” แมจะกินความไปถึงวากายทุกชนิด ก็จริงอยู แต ในที่ นี้ หมายความแต เพี ยงว า กายคื อลมหายใจทั้ งหมด หรือเรื่ องทั้ งหมดที่ เกี่ ยว

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๓ การกําหนดลมหายใจทั้งปวง

๘๕

กับกายนั้น. เมื่อคําวา กาย ในที่นี้ไดแกลมหายใจ เรื่องที่จะตองรู ก็คือเรื่อง ทุ กเรื่ องเกี่ ยวกั บลมหายใจนั้ นโดยตรง คื อว าลมหายใจนั้ น มี ลั กษณะอาการเป นต น อยางไร ? และมีอะไร เกิดขึ้นเนื่องจาก ลมหายใจนั้น ? อนึ่งสําหรับ อานาปานสติขั้นที่สามนี้ ยังอยูในกลุมของเรื่องที่เปนสมาธิ โดยสวนใหญ คําวา กายทั้งปวง จึงมี ความหมายสวนใหญ เทาที่เกี่ยวกับความเปนสมาธิ ที่ทําใหเกิด ขึ้นได เนื่ องจากลมหายใจนั้ น เพราะฉะนั้ น จึ งกล าวได โดยเจาะจงว ากายทั้ งปวงก็ คื อ ลมหายใจทั้งปวงนั่นเอง. การกําหนดรูกายทั้งปวง ก็คือการกําหนดรูลมหายใจ โดยประการทั้งปวง นั้นเอง. วิธีการกําหนดรูลมหายใจทั้งปวง ทานแนะวิธีกําหนดอยางงายไวดวย การแบง แยกเปน เบื ้อ งตน ทา มกลาง และที ่ส ุด ของลมหายใจเสีย กอ น ขอ นี้ ถื อ เอาความรู สึ ก ของบุ ค คลนั้ น เองเป น ประมาณ ว า ตนรู สึ ก ว า ลมหายใจเริ่ ม ตั้ ง ต น ที่ ต รงไหน แล ว เคลื่ อ นไปอย า งไร แล ว ไปสุ ด ที่ ต รงไหน จึ ง กลั บ ออกหรื อ กลั บ เข า แลวแตกรณี. ในการหายใจเขายอมกลาวโดยสมมติไดวา ลมหายใจมีการตั้งตน จากข า งนอก ซึ่ ง จะต อ งเป น ที่ ช อ งจมู ก หรื อ จุ ด ใดจุ ด หนึ่ ง ในบริ เ วณนั้ น อั น เป น จุ ด ที่เรารูสึกวา ลมไดกระทบในเมื่อไดมีการผานเขาไปจากภายนอกสูภายใน. ในกรณี ของคนปรกติ ก็อ ยู ที ่ป ลายจะงอยจมูก เปน ธรรมดา แตใ นกรณีข องบุค คลที ่มี ริ ม ฝ ป ากสู ง เชิ ด เกิ น ไป ก็ จ ะมี ค วามรู สึ ก ที่ ริ ม ฝ ป ากบน ดั ง นี้ เ ป น ต น แล ว ก็ ถื อ เอา โดยสมมติ หรือโดยบัญญัติก็ตาม วานี้เปน จุดเบื้องตน ของลมหายใจเขา. สวนคําวา ทา มกลาง นั ้น หมายถึง ระยะตั ้ง แตจ ุด เบื ้อ งตน เปน ตน ไป จนถึง ที ่ส ุด หรือ เบื ้อ งปลาย เพาะฉะนั ้น เราจะตอ งพิจ ารณาถึง จุด ที ่ส ุด หรือ จุด เบื ้อ งปลาย กันเสียกอน. ลมหายใจเขา ไดเขาไปจนถึงที่สุดที่ไหน แลวจึงกลับออกมานั้น ไม จํ า เป น จะต อ งยึ ด ถื อ ในข อ เท็ จ จริ ง อะไรให ม ากมายเกิ น ไป เอาแต ค วามรู สึ ก อย า งใดอย า งหนึ่ ง ที่ ป รากฏชั ด กว า อย า งอื่ น และสะดวกแก ก ารกํ า หนด ยิ่ ง กว า

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๘๖

อานาปานสติภาวนา ตอน ๗

อยางอื่นก็พอแลว. เมื่อเราลองหายใจเขา เขาไปใหมากที่สุด แลวถือเอาความ รู สึ ก ของเราเอง ว า ความกระเพื่ อ มหรื อ ความเคลื่ อ นดั น ของลมหายใจนั้ น ได แ สดง อาการระยะสุด ทา ยของมัน ที่ต รงไหน เราก็เ อาตรงนั้น เปน ที่สุด . ขอ นี้ ทา น ถื อ กั น เป น หลั ก ทั่ ว ไปว า ไปสุ ด อยู ที่ บ ริ เ วณสะดื อ และจั ด เอาจุ ด สะดื อ นั้ น เป น ที่ สุ ด หรือเปนเบื้องปลายของการหายใจเขา. ผูศึกษาจะตองทําความสําเหนียกไวดวยวา ในที ่นี ้ม ิไ ดเ ปน การเรีย นกายวิภ าควิท ยา หรือ สรีร วิท ยา แตเ ปน เรื ่อ งของการ ฝกหัดสมาธิ ; ขอเท็จจริงของลมหายใจ จะเปนอยางไร ไมใชของสําคัญ ขอ สําคัญอยูตรงที่เราจะกําหนดมันใหไดอยางไรตางหาก ; จึงเปนอันใหยุติไดวาที่สุด ของลมหายใจที่เปนภายในนั้น อยูตรงที่สะดือก็พอแลว. เมื่อ เปนดังนี้ ก็เปน อันกลาวไดวา สําหรับการหายใจเขานั้น ลมหายใจมีเบื้องตนอยูที่ปลายจะงอย จมู ก และมี เ บื้ อ งปลายอยู ต รงที่ ส ะดื อ และมี ท า มกลางอยู ต รงบริ เ วณกึ่ ง กลาง ระหวางนั้น. แตสําหรับการกําหนดนั้น จะตองถือเอาทั้งหมดคือตั้งแตปลายจมูก จนถึงสะดือวาเปนสวนทามกลาง. สวนการหายใจออกนั้น มีการบัญญัติในทาง กลั บ ตรงกั น ข า ม คื อ เอาที่ ส ะดื อ เป น เบื้ อ งต น และที่ ป ลายจะงอยจมู ก เป น เบื้ อ ง ปลาย โดยความที่กลับกัน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org การเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งกาย (คือลมหายใจ) ทั้งปวง มีขึ้นมาได ในเมื่อมีการกําหนดลมนั้น ตลอดตั้งแตเบื้องตน ทามกลาง และที่สุด โดยไมมี ระยะวางเวน ทั้งขณะหายใจเขาและหายใจออก. โดยที่แทตามธรรมชาตินั้น จิ ต เป น ของกลั บ กลอกได เ ร็ ว ในชั่ ว ระยะการหายใจเข า หรื อ ออกครั้ ง หนึ่ ง นั้ น ถ า ไม กํ า หนดกั น ให ทั่ ว ถึ ง จริ ง ๆ จิ ต อาจจะผละจากการกํ า หนดลมหนี ไ ปคิ ด เรื่ อ งอื่ น ได ตั้ ง หลายแวบ ในชั่วระยะการหายใจเขาและออกเพียงครั้งเดียว. ตัวอยางเชน

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๓ การกําหนดลมหายใจทั้งปวง

๘๗

ในขณะตั้งตนหายใจเขา จิตกําหนดอยูที่ลม เมื่อหายใจเขาถึงที่สุด จิตก็กําหนด อยูที่ลมได แตในระยะที่เปนระหวางตรงกลางนั้น จิตอาจจะหนีไปคิดถึงสิ่งอื่นใด เสี ย แวบหนึ่ ง หรื อ สองสามแวบก็ ยั ง ได ถ า หากว า มิ ไ ด มี ก ารกํ า หนดในระยะที่ เรียกวาทามกลางนั้นไวอยางมั่นคงจริง ๆ. ด ว ยเหตุ ดั ง กล า วมานี้ แ หละ ท า นจึ ง ตั ก เตื อ นว า ระยะที่ เ รี ย กว า ทามกลางนั่นเอง เปนระยะที่ตองระมัดระวังอยูอยางเขมงวดกวดขัน ดวย อุบายตาง ๆ กัน เชน อุบายอยางหยาบ ๆ มีการสอนใหนับชา ๆ ๑ - ๒ - ๓ - ๔ - ๕ หรือกระทั่งถึง ๑๐ ตลอดเวลาที่ทําการหายใจเขาหรือออกครั้งหนึ่ง แลวแตความ เหมาะสมของบุคคลหนึ่ง ๆ เปนคน ๆ ไป. เมื่อตองกําหนดในการนับอยูตลอด เวลา จนกว าจะสิ้ นสุดการหายใจครั้ งหนึ่ ง ๆ จิตก็ไม มีโอกาสจะผละหนีไปไหนได . และทั้งเปนการทําใหสามารถควบคุมความสั้นยาวของการหายใจไดเปนอยางดี ดวย การนั บ จํ า นวนให ม ากขึ้ น หรื อ น อ ยลง แล ว แต ต นจะต อ งการลมหายใจสั้ น ยาว เพียงไร. รายละเอียดเรื่องนี้ จะกลาวถึงในขั้นที่สี่ขางหนา ในตอนอันวาดวย คณนา สวนที่เปน อุบายอยางละเอียด นั้น อยากจะแนะวาใหทําอุบายในการ กําหนดเสมือนหนึ่งวา จิตนั้นถูกผูกติดอยูกับลม ถูกลมลากพาไปมา ตลอดระยะ การหายใจทั้งเขาและออก. และดวยเหตุนี้เอง เขาจะตองมีการหายใจชนิดที่เพียง พอที ่จ ะทํ า ใหรู ส ึก ไดว า เดี ๋ย วนี ้ล มกํ า ลัง เคลื ่อ นหรือ เดิน ไปถึง ไหนแลว ทั ้ง เขา และออก. เขาจะตองทําความรูสึกคลายกับวาทางลมเดินนั้น ออนหรือไว ตอ ความรูสึกอยางยิ่ง, ลมเหมือนกับสิ่งสิ่งหนึ่งหรือกอนอะไรกอนหนึ่ง ซึ่งวิ่งถูไป ถูมา อยูบนทางนั้น อยางที่จะกําหนดไดโดยงาย. ดวยอุบายนี้เอง ทําใหเรา สามารถกํ าหนดลมหายใจได ติดตอกั นทุ กระยะ ว ามั นเริ่ มต นที่ ตรงไหน เคลื่ อนไป อยา งไร ไปสิ ้น สุด ที ่ต รงไหน หยุด อยู ที ่ต รงไหน นานเทา ไร แลว มัน จึง กลับ ออกมา หรือกลับเขาไป แลวแตกรณี. เขาทําดุจประหนึ่งวาลมหายใจนั้น เปน

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๘๘

อานาปานสติภาวนา ตอน ๗

ดวงมณีว ิเ ศษดวงหนึ ่ง ซึ ่ง วิ ่ง ไปวิ ่ง มา อยู บ นเสน ทางทางหนึ ่ง ซึ ่ง จะไมย อมให ละไปจากสายตาไดแมชั่วขณะจิตเดียว หรือกระพริบตาเดียว. ถ า เปรี ย บด ว ยอุ ป มาอี ก อั น หนึ่ ง ที่ แ ล ว มา ก็ คื อ ว า เมื่ อ เขาเป น คนใช ที่ เ ลี้ ย งลู ก ของนาย และจะต อ งระมั ด ระวั ง เด็ ก ไม ใ ห ต กจากเปลแล ว ตลอดเวลาที่ เด็กยังไมหลับ หรือถึ งกับพยายามลงจากเปล เขาจะตองจับตาของเขาอยูที่เด็กไมให ว า งเว น ได ไม ว า เปลนั้ น กํ า ลั ง ไกวไปถึ ง ที่ สุ ด ข า งโน น หรื อ กลั บ มาถึ ง ที่ สุ ด ข า งนี้ หรื อยั งอยู ตรงกลางในขณะใดขณะหนึ่ งก็ ตาม ล วนแต เป นขณะที่ เด็ กจะลุ ก ออกมา จากเปลได ทั้ ง นั้ น สายตาของเขาจึ ง ต อ งจั บ อยู ที่ เ ด็ ก นั้ น ตลอดเวลามิ ไ ด มี ร ะยะว า ง เว น ซึ่ ง กล า วได ว า เขาได เ ห็ น เด็ ก อยู โ ดยประการทั้ ง ปวง และตลอดเวลาทั้ ง ปวง เหลา นั้น ไมวา สิ่ง ใด ๆ จะเกิด ขึ้น แกเ ด็ก เขายอ มรูเ ห็น โดยสิ้น เชิง ; ขอ นี้มี อุปมาฉันใด ผูปฏิบัติก็ใชสติเปนเครื่องกําหนดลมหายใจ ใหจิตกําหนดอยูตรง ที่ล มหายใจโดยประการทั้งปวง และตลอดเวลาทั้งปวง โดยไมมีร ะยะเวลา วางเวน ฉันนั้น, ในที่สุด ผูปฏิบัติเชนนั้น ก็สามารถเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งกาย คื อ ลมหายใจทั้ ง ปวง ด ว ยการกํ า หนดเบื้ อ งต น ท า มกลาง และเบื้ อ งปลาย อย า ง ติดตอกันไมขาดสายดวยอาการอยางนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เมื่ อ มี ก ารกระทํ า อยู ดั ง นี้ อย า งถู ก ต อ งตามระเบี ย บวิ ธี แ ล ว กาย คื อ ลมหายใจก็ ปรากฏชั ด สติ ก็ ปรากฏชั ด ญาณหรื อความรู สึ กต าง ๆ ตามควรแก กรณี ก็ปรากฏชัด, สติปรากฏโดยความเปนสติ, ญาณก็ปรากฏโดยความเปนญาณ, กายก็ ป รากฏโดยความเป น กาย,ไม ป รากฏในฐานะอั น จะเป น ที่ ตั้ ง แห ง ความยึ ด มั่ น

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๓ การกําหนดลมหายใจทั้งปวง

๘๙

ถือมั่น วาเปนสัตวหรือบุคคล วาเปนตัวตนหรือเปนเราเปนเขา. เมื่อเปนดังนี้ ก็ ก ล า วได ว า เขาเป น ผู รู พ ร อ มเฉพาะซึ่ ง กายทั้ ง ปวงจริ ง ๆ เห็ น กายคื อ ลมหายใจ ในบรรดาในกายทั้งหลายทั้งปวงอยูเปนปรกติ, จนไมมีโอกาสสําหรับการเกิดขึ้น แหงอภิชฌาและโทมนัส หรือกิเลสอื่นใด. อุเบกขาชื่อวาตั้งมั่นดวยดีอยูตลอดเวลา เปนทางนําไปสูความเกิดขึ้นแหงสมาธิที่แนวแนในลําดับตอไป ดังนี้. (จบอานาปาสติขึ้นที่สาม อันวาดวยการกําหนดลมหายใจทั้งปวง)

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


ตอน แปด อานาปานสติ ขั้นที่ สี๑่ (การทํากายสังขาร ใหรํางับ)

อานาปานสติ ขั้ น ที่ สี่ นี้ มี หั ว ข อ ว า “ภิ ก ษุ นั้ น ย อ มทํ า ในบทศึ ก ษาว า เราเปนผูทํากายสังขาร ใหรํางับอยู จักหายใจเขา ดังนี้ ; ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูทํากายสังขาร ใหรํางับอยู จักหายใจออก ดังนี้”.๒ อานาปานสติขอนี้ มีสิ่งที่ตองศึกษาและวินิจฉัย อยูตรงคําที่วา “กาย สังขาร” และคําวา “ทํากายสังขารใหรํางับอยู” ซึ่งจะไดกลาวเปนลําดับไป : คําวา “กายสังขาร” หมายถึงลมหายใจในเมื่อทําหนาที่ปรุงแตง มหาภูตรูป อันเปนที่ตั้งแหงเวทนาเปนตน ดังที่ไดกลาวมาแลวขางตน ไมจําเปน ต อ งวิ นิ จ ฉั ย อี ก ในที่ นี้ แต ค วรจะเข า ใจสื บ ไปว า ลมหายใจ เป น สิ่ ง ที่ เ นื่ อ งกั น อยู กั บ ร า งกายอย า งใกล ชิ ด ในฐานะเป น สิ่ ง ที่ ป รุ ง สิ่ ง ต า ง ๆ ที่ เ นื่ อ งกั บ ร า งกาย เช น ความรอนหนาวในรางกาย การเคลื่ อนไหวของร างกาย ตลอดถึงความอ อนสลวย และความแข็ ง กระด า งเป น ต น ของร า งกาย เพราะฉะนั้ น จึ ง เป น อั น กล า วได ว า รางกายกับลมหายใจนี้ มีความสัมพันธกัน ในทางที่จะหยาบหรือละเอียด ในทาง

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

๑ ๒

การบรรยายครั้งที่ ๙ / ๓๐ สิงหาคม ๒๕๐๒ บาลีวา ปสฺสมฺภยํ กายสงฺขารํ อสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ ; ปสฺสมฺภยํ กายสงฺขารํ ปสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ

๙๐

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๔ การทํากายสังขารใหรํางับ

๙๑

ที ่จ ะระส่ํ า ระสายหรือ สงบรํ า งับ ดัง นี ้เ ปน ตน ไดพ รอ มกัน ไปในตัว ซึ ่ง เปน เหตุ ให เ ราสั ง เกตได ว า เมื่ อ ร า งกายหยาบหรื อ ระส่ํ า ระสายเป น ต น ลมหายใจก็ ห ยาบ หรือระส่ําระสายไปตาม ; เมื่อลมหายใจละเอียดหรือรํางับ รางกายก็สุขุมหรือรํางับ ไปตาม ; ฉะนั้น การบังคับรางกาย ก็คือการบังคับลมหายใจ ; การบังคับ ลมหายใจ ก็คือการบังคับรางกายพรอมกันไปในตัว. เมื่อลมหายใจละเอียด หรือ อยู ใ นภาวะที ่ล ะเอีย ด รา งกายก็ส ุข ุม ละเอีย ดไมก ระดา ง ไมเ มื ่อ ยขบ และ ไม ร ะส่ํ า ระสายอย า งอื่ น ๆ จึ ง เป น อั น ว า นอกจากจะเป น เครื่ อ งสั ง เกตว า เป น ไป ด ว ยกั น หรื อ เสมอกั น ทุ ก ลั ก ษณะและอาการแล ว ยั ง เป น สิ่ ง ที่ ต อ งได รั บ การกํ า หนด หรือ การฝก ฝนพรอ มกัน ไปในคราวเดีย วกัน ในฐานะเปน เครื ่อ งสง เสริม ซึ ่ง กัน และกัน ดังที่กลาวแลว. สิ่งที่จะพึงสําเหนียกศึกษาตอไป ก็คือขอที่วาลมหายใจยอมมีลักษณะ หยาบหรือ ละเอีย ด สงบรํ า งับ หรือ ไมส งบรํ า งับ อยู ร ะดับ หนึ ่ง ตามธรรมชาติ ของมันเอง สุดแลวแตรางกายนั้น กําลังเปนอยูอ ยางไร. แตแมวามันจะเปน อยางไรอยูแลวก็ตาม ลักษณะที่เปนอยูตามธรรมชาตินี้ เรายอมบัญญัติวาเปน ของหยาบ หรืออยูในขั้นหยาบ ซึ่งเราจักไดกระทําใหกลายเปนของละเอีย ด หรือสงบรํางับยิ่งขึ้นไปตามลําดับ ดวยอํานาจของกัมมัฏฐาน กลาวคืออานาปานสติในขั้นที่สี่นี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org การทํากายสังขารใหรํางับ. คําวา “การทํากายสังขารใหรํางับ” ที่เรียกวา “รํางับ” ใหเปนที่เขาใจแจมแจงกันเสียกอน.

นั้น ควรจะไดวินิจฉัยถึงกิริยา

www.buddhadasa.in.th


๙๒

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

ดั ง ที่ ไ ด ก ล า วมาแล ว ข า งต น ว า ลมหายใจที่ เ ป น อยู ต ามธรรมชาติ นั้ น จัดเปนของหยาบหรือบัญญัติวาหยาบ แตวาไมปรากฏเพราะมิไดกําหนด ครั้น พอสักวาไปกําหนดเขาเทานั้น ความหยาบก็จะปรากฏขึ้นมาทันทีอยางรุนแรง แลวก็จะเริ่มเปลี่ยนไปในทางที่จะละเอียดหรือสงบรํางับลง. ถายิ่งไปพิจารณา จริง ๆ เขาดวยแลว ก็ยิ่งละเอียดรํางับลงอีกตามลําดับ ดังนี้. ขอนี้อุปมาเพื่อ จะให เข าใจง ายขึ้ น โดยเปรี ยบกั บเสี ยงฆ องเมื่ อ มี การตี ฆ อ ง ย อ มเกิ ดเสี ยงดั งที่ สุ ด ของฆองขึ้น. เมื่อเสียงดังที่สุด สิ้นสุดไปแลว ยอมเหลือ แตเสียงกังวานเปน ระยะยาว. เสียงกังวานในระยะแรก ยอมดังมากเกือบเทากับเสียงที่ตีโดยตรง แต แ ล ว เสี ย งกั ง วานนั้ น ย อ มค อ ย ๆ น อ ยลง หรื อ จางลง ๆ จนถึ ง ขนาดจะไม ไ ด ยินเสียง และเงียบหายไปในที่สุด. เปรียบเทียบกันไดกับลมหายใจ ที่มีลักษณะ อาการละเอี ย ดหรื อ รํ า งั บ ลง ๆ เช น เดี ย วกั บ เสี ย งกั ง วานของฆ อ ง ฉั น ใดก็ ฉั น นั้ น . ขณะที่ ยั ง ไม มี ก ารตี ฆ อ งเสี ย งก็ ไ ม ป รากฏ นี้ ย อ มเหมื อ นกั บ ขณะที่ ยั ง ไม ไ ด กํ า หนด ลมหายใจ รูสึ กว าสิ่ งต าง ๆ เงี ยบไปหมด หรื อราวกะว ามิ ได มี การหายใจเลย ทั้ ง ๆ ที่มีการหายใจอยูเปนปรกติ นี้เปนเพราะยังไมไดกําหนด. พอสักวาไปกําหนดเขา ก็ รู ทั นที ว ามี การหายใจ และอยู ในระดั บที่ หยาบ เช นเดี ยวกั บเอาไม ไปตี ฆ อง ก็ เกิ ด เสียงชนิดที่ดังมากหรือหยาบมากขึ้นมาทันที. ครั้นมีการกําหนดลมหายใจแลว มั นก็ เริ่ มละเอี ยดไปตามลํ าดั บของการกํ าหนด หรื อการพิ จารณาที่ ยิ่ งละเอี ยดลงตาม ลําดับ รํางับลงตามลําดับ เหมือนเสียงกังวานของฆองฉันนั้น, ทั้งหมดนี้ เพื่อจะชี้ ให เห็ นใจความสํ าคั ญ ๒ ประการ คื อถ าไม มี การกํ าหนด ก็ เป นของหยาบ หยาบ อยูตามปกติ แตเรามิรูสึก, และเมื่อไปกําหนดเขา ยอมเปลี่ยนเปนของละเอียด ยิ่งขึ้นไปตามลําดับ. แตการละเอียดโดยอัตโนมัติเชนนี้ ยังไมเปนการเพียงพอ

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๔ การทํากายสังขารใหรํางับ

๙๓

เราจักตองทําใหละเอียดใหถึงที่สุดจริง ๆ โดยวิธีแหงอานาปานสติขั้นที่สี่นี้. นี้คือ ความหมายของคําวา “รํางับ” ในบทบาลีที่มีอยูวา “เราเปนผูทํากายสังขารใหรํางับ อยู” ดังนี้. สิ่งที่ตองวินิจฉัยสืบไป ก็คือทําใหรํางับ ดวยอาการอยางไร ? การทําใหรํางับในที่นี้ อาจจะแบงไดเปน ๒ ประเภท คือ รํางับดวย การกําหนด อยางหนึ่ง และ รํางับดวยการพิจารณา อีกอยางหนึ่ง. การกํ าหนด ในที่ นี้ เป นอาการที่ ทํ าให เป นสมาธิ ได แก การกํ าหนดสติ เขาที่ลมหายใจ โดยอาการที่กลาวในขั้นที่สาม. ยิ่งกําหนดมากขึ้นเพียงไร ลมก็ ยิ ่ง ละเอีย ดมากเขา กระทั ่ง ละเอีย ดถึง ที ่ส ุด ถึง กับ กํ า หนดไมไ ด ตอ งรื ้อ ขึ ้น มา ตั้ ง ต น ใหม ดั ง ที่ จ ะกล า วต อ ไปข า งหน า ก็ ดี หรื อ ละเอี ย ดไปในทางที่ ถู ก จนกระทั่ ง เกิ ด ปฏิ ภ าคนิ มิ ต กลายเป น อั ป ปนาสมาธิ หรื อ ฌานก็ ดี ทั้ ง สองอย า งนี้ ล ว นแต เปนการสงบรํางับดวยการกําหนด และเปนแนวของฝายสมาธิโดยตรง. สวนคําวา “การพิจารณา” นั้น เปนแนวทางฝายปญญา หรือการ ปฏิบัติที่ลัดตรงไปทางวิปสสนา โดยไมประสงคการทําสมาธิถึงที่สุด, หรืออีก อย า งหนึ่ ง ก็ เ ป น แนวปฏิ บั ติ ข องบุ ค คลผู ป ระสงค จ ะทํ า ให ค วบคู กั น ไปทั้ ง ๒ อย า ง การพิ จ ารณาในที่ นี้ จะเป น การพิ จ ารณาตั ว ลมหายใจนั่ น เองก็ ไ ด หรื อ พิ จ ารณา สั จ จะของธรรมชาติ อั น อื่ น ซึ่ ง เรี ย กว า ธรรมะอย า งใดอย า งหนึ่ ง อยู ต ลอดเวลาที่ หายใจเขา-ออก อยูก็ได. ถาสิ่งที่นํามาพิจารณาอยูนั้น เปนของละเอียดยิ่งขึ้น เพียงไร การพิจารณาก็ยิ่งละเอียดมากยิ่งขึ้นเพียงนั้น และลมหายใจก็ยิ่งละเอียด ขึ้ น เพี ย งนั้ น ฉะนั้ น จึ ง เป น อั น กล า วได ว า ผู ที่ ทํ า อานาปานสติ ถึ ง ขั้ น นี้ ย อ มได ชื่ อ ว า เป นผู ทํ ากายสั งขารให รํ างั บอยู ทั้ งในทางของสมาธิ และทั้ งในทางของป ญญา คื อว า เขาจะทําสมาธิใหสูงยิ่งขึ้นไปตามลําดับก็ตาม หรือวาจะยักไปในทางของวิปสสนา คื อพิ จารณาเพื่ อความรู ก็ ตาม ย อมได ชื่ อ ว าเป นผู ทํ ากายสั งขารให รํ างั บอยู ด วยกั น ทั้งนั้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๙๔

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

สําหรับ การทําการพิจารณา ที่สามารถทํากายสังขารใหรํางับลง ใน ที่ นี้ มี ลํ า ดั บแห ง ความรํ า งั บ ลงตามลํ า ดั บ แห ง ความหยาบละเอี ย ด ของสิ่ ง ที่ นํ า มา พิจารณา คือ : ในขั้นแรก เมื่อยังไมไดพิจารณาหรือกําหนดอะไร ลมหายใจก็หยาบ อยู ตามปรกติ เมื่ อกํ าหนดพิ จารณาอยู ที่ลมหายใจนั้ นว าเปนอย างไรเปนตน ลมหายใจ ก็ยอมสงบรํางับลงทันที ; เมื่อกําหนดพิจารณามหาภูตรูป (คือ ดิน น้ํา ลม ไฟ) ซึ่งเปนของ เนื่องดวยลมหายใจอยู ลมหายใจก็ยิ่งรํางับลงไปกวานั้น ; เมื่อกําหนดพิจารณาอุปทายรูป กลาวคือลักษณะและภาวะตาง ๆ ซึ่ง อาศัยอยูกับมหาภูตรูป ซึ่งเปนของละเอียดยิ่งไปกวามหาภูตรูป ลมหายใจก็ยิ่งรํางับลง ไปกวานั้น ; เมื่อกําหนดพรอมกันทั้งสองอยาง เชนกําหนดพิจารณาอาการที่ อุปาทายรูปเนื่องอยูกับมหาภูตรูปอยางไร เปนตน ลมหายใจก็ยิ่งรํางับลงไปกวานั้น ; เมื่อกําหนดอรูป คือสิ่งที่ไมมีรูปเลย มีอากาศและวิญญาณ เปนตน ลมหายใจก็ยิ่งรํางับลงไปกวานั้น ; เมื่อกําหนดพรอมกันทั้งสองอยาง คือทั้งรูปและอรูป เชนกําหนด ความที่สิ่งทั้งสองอยางนี้แตกตางกันอยางไร และเนื่องกันอยางไรเปนตน ลมหายใจ ก็ยิ่งละเอียดหรือรํางับลงไปยิ่งกวานั้น ; เมื่อกําหนดละเอียดลงไปถึงสิ่งซึ่งเปนปจจัยของรูปและอรูป ซึ่งเรียก อี ก อย า งหนึ่ ง ว า นามรู ป อี ก ต อ หนึ่ ง จนกระทั่ ง เห็ น ว า นามรู ป มี อ ะไรเป น ป จ จั ย และป จ จั ย นั้ น ๆ กํ า ลั ง ปรุ ง แต ง นามรู ป นั้ น อยู อ ย า งไร ดั ง นี้ เ ป น ต น ลมหายใจก็ ยิ่ ง ละเอียดและรํางับลงไปยิ่งกวานั้น ;

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๔ การทํากายสังขารใหรํางับ

๙๕

และ เมื่อไดกําหนดพิจารณาไป กระทั่งถึงลักษณะแหงนามรูป หรือ ความที่ น ามรู ป ประกอบอยู ด ว ยไตรลั ก ษณะ คื อ ความไม เ ที่ ย ง เป น ทุ ก ข เป น อนัตตา ดังนี้เปนตนแลว ลมหายใจก็ละเอียดหรือรํางับลงไปยิ่งกวานั้น. สวนที่ เป นการกํ าหนดแล วพิ จารณา ทั้ งหมดนี้ ย อมแสดงให เห็ นอาการของความสงบรํ างั บ ที่ เ ป น ไปด ว ยอํ า นาจของการพิ จารณาตามแนวของวิ ป ส สนา ซึ่ ง เป นทางของป ญ ญา อั น แตกต า งจากการกํ า หนดอย า งไม พิ จ ารณา ซึ่ ง เป น อาการของสมถะ และเป น แนวของสมาธิ อยางแจงชัด. มี สิ่ง สํา คัญ ที่ค วรจะทราบเสีย ดว ยเลยในที่นี้ วา เมื่อ การเจริญ อานาปานสติ ดํ า เนิ น มาจนถึ ง ขั้ น ที่ สี่ นี้ ผู ป ระสงค จ ะทํ า อานาปานสติ ต อ ไป ตาม ลําดับที่มีอยูใหครบทั้ง ๑๖ ขั้นนั้น ก็ตองทําไปตามแนวของการกําหนดเพื่อความ เปนสมาธิโดยตรงไปกอน จนกระทั่งถึงเกิดจตุตถฌานเปนอยางสูงสุด ดวยอํานาจ ของการทําอานาปานสติขอที่สี่นี้ แลวจึงทําขั้นที่ ๕ ที่ ๖ ตามลําดับไป และไป กํ า หนดความไมเ ที ่ย งเปน ทุก ข เปน อนัต ตาเปน ตน ใหถ ึง ที ่ส ุด เอาในขั ้น แหง อานาปานสติหมวดสุดทาย คือตั้งแตขั้นที่ ๑๓-๑๔ และเปนลําดับไป.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ส ว นบุ ค คลผู ไ ม ป ระสงค จ ะทํ า ให เ ต็ ม ที่ ในฝ า ยสมถะ แต มี ค วาม ประสงค จ ะลดตรงไปสู วิ ป ส สนาโดยด ว น ก็ ส ามารถที่ จ ะยั ก หรื อ เปลี่ ย นการ กําหนด ใหกลายเปนการพิจารณา และ พิจารณารูปนาม โดยความเปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา อยางยิ่ง ไปเสียตั้งแตอานาปานสติขั้นที่สี่นี้ แลวดําเนินขามเลย ไปยังขั้นที่ ๑๓ – ๑๔ - ๑๕ - ๑๖ ดวยอํานาจของการพิจารณาดิ่งไปในทาง ของปญญาอยางเดียว ดังที่จะไดกลาวในขั้นนั้น ๆ โดยไมหวงหรือไมตองการ

www.buddhadasa.in.th


๙๖

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

บรรลุ ฌานเป นต นไป แต อย างใด ซึ่ งหมายความว าไม ต องการสมาธิ ถึ งขนาดบรรลุ ฌานนั้ น เอง ต อ งการสมาธิ เ พี ย งเท า ที่ จ ะเป น บาทฐานของวิ ป ส สนาเท า นั้ น โดย เพ งเล็ งเอาความดั บทุ กข เป นที่ มุ งหมาย แต ไม ประสงค สมรรถภาพ หรื อ คุ ณสมบั ติ พิเศษ เชนอภิญญาเปนตน. การพิ จ ารณาตามแนวแห ง วิ ป ส สนาในเรื่ อ งนี้ มี ร ายละเอี ย ดอย า งไร จะกลาวขางหนาในเรื่องที่ถึงเขา คือในขั้นที่ ๑๓ ๑๔. ในที่นี้มุงหมายจะ วินิจฉัยกันเฉพาะ การทํากายสังขารใหสงบรํางับ ตามหลักของฝายสมาธิอยาง เดียว แมจะมีการระงับความมีสัตว บุคคล ตัวตน เราเขา ในขั้นเหลานี้บาง ก็ เ ป น เพี ย งการเห็ น ความไม เ ป น สั ต ว บุ ค คล ตั ว ตน เราเขา เพราะสั ก ว า เป น กาย บ า ง เป น ลมหายใจบ า ง เป น สติ บ า ง เป น จิ ต ที่ มี ส ติ กํ า หนดลมหายใจบ า ง เป น สัมปชัญญะคือเปนเพียงญาณในขั้นตน ๆ รูอยูวาอะไรเปนอะไรดังนี้บาง. การเห็น เปน แตธ รรมชาติ ไมเ ห็น ความเปน สัต ว บุค คล ตัว ตน เราเขา ซึ ่ง นา ยึด ถือ หรื อ เป น ที่ ตั้ ง แห ง ความรั ก และความชั ง แต อ ย า งใดทํ า นองนี้ ก็ เ ป น อั น กล า วได ว า เปน การนําอภิชฌาและโทมนัสออกเสียไดระดับหนึ่ง เชนเดียวกัน. โดยใจความ ก็คือวา แมยังเปนเพียงเรื่องของสมาธิ ก็ยังสามารถกําจัดความยึดถือวาสัตว บุคคล ตัวตน เราเขา ไดตามสวนของสมาธินั้น ในเมื่อการกระทํานั้นมีสัมมาทิฏฐิ เปนมูลฐานมาแตเดิม แมจะนอยเพียงไรก็ตาม. ฉะนั้น เราจะไดพิจารณากันถึง การทํ ากายสั งขารให รํ างั บ โดยวิ ถี ทางแห งการกํ าหนดลมหายใจตามแนวสมาธิ โดย ตรงอยางเดียวเปนลําดับไป จนกระทั่งเกิดฌาน ใหเสร็จสิ้นไปเสียกอน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


ลําดับแหงกรรมวิธีของอานาปานสติ๑ เมื่ อ มาถึ ง ขั้ น นี้ ควรจะได ท ราบอย า งทั่ ว ถึ ง กว า งขวางออกไป รวมทั้ ง เรื่ อ งที่ แ ล ว มา และเรื่ อ งที่ จ ะกล า วต อ ไปข า งหน า ที่ ติ ด ต อ เป น สายเดี ย วกั น ว า ลําดับแหงกรรมวิธีของการเจริญอานาปานสติตั้งแตตน จนถึงที่สุด กลาวคือการ บรรลุมรรคผล นั้น อาจจะแบงออกไดโดยหลักใหญเปน ๘ ระยะ คือ : ๑. คณนา การคํานวณหรือการนับ เพื่อทราบความสั้นยาวของ ลมหายใจ หรื อเพื่ อควบคุ มการหายใจอย างมี ระยะ มี เบื้ องต น ท ามกลาง ที่ สุ ดก็ ตาม เปนการกําหนดลมหายใจอยางหยาบ. (มีไดในอานาปานสติ ขั้นที่ ๑ - ๒ - ๓). ๒. อนุพันธนา การติดตามลมหายใจอยางละเอียด ดวยสติที่สงไปตามอยาง ไมทิ้งระยะวาง โดยไมตองนับ ไมตองกําหนดเบื้องตน ทามกลาง ที่สุดเปนตน. (มีไดใน อานาปานสติ ขั้นที่ ๓).

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๓. ผุสนา การกําหนดฐานที่ลมถูกตอง แตเพียงแหงใดแหงหนึ่ง เพียงจุดเดียว เพื่อการเกิดขึ้นแหงอุคคหนิมิต ณ ที่นั้น. (มีไดในอานาปานสติ ขั้นที่ ๔).

๔. ฐปนา ความแนนแฟนมั่นคง แหงการกําหนด ที่พื้นฐานอันเปน ที ่ตั ้ง แหง อุค คหนิม ิต นั ้น จนกระทั ่ง เปลี ่ย นรูป เปน ปฏิภ าคนิม ิต ปรากฏขึ ้น อยา ง ชัด เจนมั ่น คงแนน แฟน เพื ่อ เปน ที ่ห นว งใหเ กิด อัป ปนาสมาธิ หรือ ฌานตอ ไป. (มีไดในอานาปานสติ ขั้นที่ ๔).

การบรรยายครั้งที่ ๑๐ / ๓๑ สิงหาคม ๒๕๐๒

๙๗

www.buddhadasa.in.th


อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

๙๘

(ทั้ง ๔ ระยะนี้เปนระยะเนื่องดวยสมาธิโดยตรง.

ตอจากนี้ไป เปนระยะที่

เนื่องดวยวิปสสนา หรือการพิจารณา).

๕. สัลลักขณา การกําหนดพิจารณานามรูป ตามทางของวิปสสนา เพื่อความเห็นแจงลักษณะแหงความไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตา โดยเฉพาะ. (มีไดตั้งแตอานาปานสติ ขั้นที่ ๕ เปนตนไป จนถึงที่สุด). ๖. วิวัฏฏนา อาการตัดกิเลสของมรรค นับตั้งแตวิราคะเปนตนไป จนกระทั่งถึงขณะแหงมรรคโดยตรง. (ยอมมีในจตุกกะที่สี่ ขั้นใดขั้นหนึ่ง). ๗. ปริสุทธิ การบรรลุผลของการตัดกิเลส ที่เรียกโดยตรงวาวิมุตติ ในขั้นที่เปนสมุจเฉทวิมุตติ. (เปนผลแหงการเจริญอานาปานสติในขั้นสุดทาย ที่กําหนด อยูทุกลมหายใจเขา – ออก).

๘. ปฏิปสสนา ไดแกญาณเปนเครื่องพิจารณา ในความสิ้นไปแหง กิเลส และผลแหงความสิ้นไปแหงกิเลส ที่เกิดขึ้นแลว. (เปนการพิจารณาผลอยู

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทุกลมหายใจเขา – ออก).

( ๔ ขั้น ตอนหลังนี้ เปนระยะแหงวิปสสนาและมรรคผล).

เกี่ยวกับการทํากายสังขารใหรํางับนั้น ยอมมีในระยะที่ ๓ และที่ ๔ คือผุสนาและฐปนาโดยตรง. สําหรับระยะที่หนึ่ง คือคณนานั้น เปนเพียงการ กําหนดลมหายใจเขา – ออก ตามที่กลาวมาแลวในอานาปานสติขั้นที่หนึ่งและ ที่สอง. สวนอนุพันธนาระยะที่สองนั้น เปนการกําหนดติดตามลมอยางละเอียด ถี ่ย ิบ และวกไปวกมา ตามอาการที ่ล มแลน ไป ดัง ที ่ก ลา วแลว ในอานาปานสติ ขั้นที่สาม เปนสวนใหญ. แตถึงกระนั้นก็ตาม การมีความรูความเขาใจ และ

www.buddhadasa.in.th


ลําดับแหงกรรมวิธี

๙๙

การกระทํามาอยางถูกตอง ตั้งแตระยะที่หนึ่ง ที่สองนั้น ยอมสงเสริมความสําเร็จ ในระยะที่สาม ที่สี่นี้เปนอยางยิ่ง จึงควรมีการพิจารณามาใหม ตั้งแตระยะที่หนึ่ง ถึงที่สี่ ในลักษณะที่สัมพันธกันอีกครั้งหนึ่ง, ดังตอไปนี้ :

ระยะที่ ห นึ่ ง คื อ คณนา ได แ ก ก ารคํ า นวณหรื อ การนั บ มี ค วาม หมายเปน ๒ อยางคือ คํานวณเพื่อใหรูความสั้นยาวของลมหายใจ อยางหนึ่ง และ เพื่อวาเมื่อคํานวณอยู จิตจะไมมีโอกาสละจากลมหายใจ นี้อีกอยางหนึ่ง. เมื่อมี ความมุ ง หมายอย า งนี้ อาการที่ นั บ หรื อ คํ า นวณนั้ น ต อ งมี ค วามสั ม พั น ธ กั น ด ว ยดี คือการนับหรือคํานวณก็สําเร็จ การปองกันจิตละจากอารมณก็สําเร็จ. การคํานวณ หรื อ การนั บ นั้ น ถ า นั บ ด ว ยสั ง ขยา ก็ นั บ ไม น อ ยกว า ๕ และไม ม ากเกิ น กว า ๑๐. ถาไมนับดวยสังขยาก็คือเพียงแตคํานวณเอาวา สั้นยาวเทาไร, อยางไร ดังที่กลาว แลวในตอนที่วาดวยลมหายใจสั้นหรือยาวนั่นเอง. ทั้งหมดนี้ ตองทําดวยความ ตั้งใจที่มีกําลังพอเหมาะสม ไมเนือยเกินไป และไมขะมักเขมนเกินไป.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org การการหนดนับดวยสังขยานั้น เปนอุบายที่ทําใหการกําหนดเปนไป ในลักษณะที่งายขึ้น แตก็หยาบกวาการคํานวณโดยไมตองนับ.

วิธ ีน ับ ดว ยสัง ขยา คือ ชั ่ว ระยะที ่ห ายใจเขา หรือ หายใจออกครั ้ง หนึ ่ง มีการนับวา ๑ - ๒ - ๓– ๔ - ๕ ใหจบลงพอเหมาะพอดีกันทุกครั้ง ที่หายใจเขา หรือออก. แมจะยืดการนับออกไปถึง ๑๐ คือนับ ๑ - ๒ - ๓ - ๔ - ๕ - ๖ - ๗ - ๘ - ๙ - ๑๐ ก็ตองกะใหจบลงพอดี กับการสิ้นสุดของการหายใจระยะหนึ่ง ๆ. แมจะนับชนิด ๑ ถึง ๖, ๑ ถึง ๗, ๑ ถึง ๘, ๑ ถึง ๙ ก็ตาม ยอมมีวิธีแหง การนับใหลงจังหวะพอเหมาะพอดีอยางเดียวกัน หากแตวาไมนิยม, สูนับถึง ๕

www.buddhadasa.in.th


๑๐๐

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

หรือ ถึง ๑๐ ไมได. การนับอยางนี้จะเห็นไดวา เปนการนับเมื่อมีการหายใจยาว เปน ปรกติเ ทา นั ้น และทั ้ง ยัง เปน ระยะแหง การกํ า หนดเปน เบื ้อ ตน ทา มกลาง ที่ สุ ด หรื อ การกํ า หนดเป น ระยะ ๆ อยู นั่ น เอง และยั ง เป น เหตุ ผ ลเกี่ ย วกั บ ข อ ที่ ว า ไมใ หนอ ยกวา ๕ และไมใ หเ กิน ๑๐, เพราะถา นับ นอ ยกวา ๕ ก็ทิ้ง ระยะ แห ง การนั บ ห า งกั น มาก จนนานพอที่ จ ะทํ า ให จิ ต ผละหนี ไ ปได จ ากอารมณ หรื อ จัดวาเปนอาการนับที่หยาบเกินไป, และมีผลไมตางอะไรกับการกําหนดแตเพียงวา เบื้อ งตน ทา มกลาง ที่สุด. แตถา นับเกินกวา ๑๐ ซึ่ง เปน ระยะที่ติดกันมาก เกิ น ไป ก็ จ ะทํ า ให เ กิ ด อาการลุ ก ลนเมื่ อ นั บ หรื อ ความระหกระเหิ น ในการนั บ ขึ้ น แกจิต . รวมความก็คือ ชา เกิน ไปก็ไ มดี เร็ว เกิน ไปก็ไ มดี หา งเกิน ไปก็ไ มดี ถี่ เ กิ น ไปก็ ไ ม ดี ล ว นแต เ ป น ทางมาแห ง การกระทบกระเทื อ น และความฟุ ง ซ า น แหง จิต ไดดว ยกัน ทั้ง นั้น . นี้คือ การนับ ดว ยวิธีแ หง สัง ขยา ซึ่ง ควรจะทดลอง ฝก ฝนดูใ หค รบถว นทุก แบบ เพราะเปน อุบ ายวิธ ีที ่เ ปน ทั ้ง การฝก ฝน และการ ปรั บ ปรุ ง ให จิ ต อยู ใ นสภาพที่ ค ล อ งแคล ว ทั้ ง ให จิ ต นั้ น รู จั ก ตั ว มั น เองอย า งชั ด เจน ยิ่งขึ้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org วิธีนับโดยการคํานวณความสั้นยาว โดยไมตองมีการนับดวยสังขยา นั้ น มี วิ ธี ก ารดั ง ได ก ล า วแล ว ข า งต น อั น ว า ด ว ยความสั้ น ยาวแห ง ลมหายใจ และ การกํ าหนดความสั้ นยาวนั้ น ในอานาปานสติ ขั้ นที่ ๑ ขั้ นที่ ๒ มาแล วอย างเพี ยงพอ. ในที่นี้ขอสรุปใจความสําคัญแตเพียงวา การคํานวณความสั้นยาวนั้น ก็ตองทํา ดวยความรูสึกที่พอเหมาะพอดี คือไมทําดวยความรอนรน หรือกระหายเกินไป กล า วคื อ มี ค วามตั้ ง ใจรุ น แรงเกิ น ไป หรื อ ทํ า ด ว ยความเฉื่ อ ยชา เนื อ ย ๆ เลื อ น ๆ กลาวคือมีความตั้งใจนอยเกินไป. การทําอยางแรก ทําใหจิตฟุงซาน ซึ่งกําหนด

www.buddhadasa.in.th


ลําดับแหงกรรมวิธี

๑๐๑

อารมณไมได. การทําอยางหลัง ทําใหจิตมีโอกาสผละหนีจากอารมณ โดย ลั กษณะอาการเช นเดี ยวกั บโทษที่ เกิ ด ขึ้ นจากการนั บที่ ม ากหรื อ น อยเกิ น ไป ช าหรื อ เร็วเกินไปนั่นเอง. อุปมาขอนี้เปรียบไดกับการจับนกตัวเล็ก ๆ ถาทํามือหลวม ๆ นกก็หนีไปตามชองมือได ; ถาจับแนนเกินไปนกก็ตายในมือ ไมสําเร็จประโยชน อะไรแกบุคคลผูหวังจะไดนกเปน ๆ ฉันใดก็ฉันนั้น. การนับดวยสังขยาก็ดี การคํานวณโดยไมตองนับสังขยาก็ดี ลวน แตเรียกวา คณนา ในที่นี้ดวยกันทั้งนั้น เปนสิ่งที่ตองทําในขณะที่มีการกําหนด อยู ตลอดระยะสั้นหรื อระยะยาวของลม กล าวคื อตลอดเวลาที่ สติเริ่ มกําหนดไปตามลม ครั้นถัดมาถึงระยะที่ลมหายใจเปนระเบียบแลว มีความรํางั บลงบ างแลว การกําหนด ยางหยาบเชนนั้นก็กลายเปนสิ่งที่ไมควร แตจะตองมีวิธีการกําหนดที่ละเอียดยิ่ง ขึ้นไป กลาวคือการกําหนดเฉพาะแหง อันจะไดกลาวถึงไดโดยสมบูรณขางหนาใน ขั้น ผุสนา, สําหรับในที่นี้ จะกลาวแตพอสังเขปเทาที่ยังคาบเกี่ยวกันอยูบางอยางกับ การนับหรือ คณนา เทานั้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org การกําหนดลมเฉพาะแหง คือเมื่อเห็นวาไมจําเปนจะมีการกําหนดวิ่ง ไปตามลมอยู ต ลอดเวลา เพราะจิ ต รํ า งั บ พอสมควรแล ว ก็ เ ลื อ กกํ า หนดเฉพาะที่ จุ ด ใดจุ ด หนึ่ ง ซึ่ ง ลมจะผ า นไปหรื อ ผ า นมาเท า นั้ น แล ว คอยกํ า หนดนั บ หรื อ คํ า นวณ ณ ที่ นั้ น เพื่ อความเข าใจง าย ก็ ควรย อนระลึ กไปถึ งอุ ปมาเรื่ องคนใช ที่ ไกวเปลเด็ ก อีกตามเคย : เขานั่งอยูที่ตรงเสาเปลซึ่งตั้งอยูกึ่งกลางของการไกวไปและการไกวมา. เมื่ อ เด็ ก ยั ง ไม ห ลั บ หรื อ ไม ง ว ง ยั ง จะดิ้ น ลงจากเปลอยู เขาก็ ต อ งเหลี ย วหน า ไป เหลี ย วหน า มา ซ า ยที ขวาที อยู ต ลอดเวลา จั บ ตาดู เ พื่ อ ไม ใ ห เ ด็ ก นั้ น มี โ อกาสลง จากเปล. แตครั้นเด็กนั้นยอมนอน หรืองวงนอนลงบางแลวเขาก็ไมจําเปน

www.buddhadasa.in.th


๑๐๒

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

ที่ จ ะต อ งทํ า เช น นั้ น คงจั บ ตาอยู เ ฉพาะตรงหน า ชั่ ว ขณะที่ เ ปลผ า นมาเพี ย งแว็ บ หนึ่งเทานั้นก็พอแลว. เขาไมตองเหลียวซายเหลียวขวาอีกตอไป เพราะไมมี ความจําเปนและยังแถมจะเหนื่อยเปลา ขอนี้ฉันใด ; เมื่อลมหายใจเริ่มรํางับลง อยางที่เรียกวา “กายรํางับลง” การปฏิบัติก็เลื่อนไปสูขั้นที่ละเอียดกวาเดิม คือ ไม กํ า หนดด ว ยการวิ่ ง ตามลมเข า ออก แต ไ ปหยุ ด คอยกํ า หนดอยู ต รงจุ ด ใดจุ ด หนึ่ ง ซึ่งเปนการไดเปรียบหรือเหมาะสมที่สุด ฉันนั้น. จุดที่กลาวนี้ ควรที่จะไดรับ การพิจารณาวาจะเปนที่ตรงไหน และเพราะเหตุอะไร. ได ก ล า วมาแล ว ข า งต น ว า เราได แ บ ง พื้ น ฐานของทางลมหายใจสั ม ผั ส ออกเป น ๓ ส ว น คื อ ที่ ต รงปลายจมู ก ที่ ก ลางอก และที่ ส ะดื อ ฉะนั้ น ควรจะ พิจารณาตอไปวา การคอยเฝากําหนดที่จุดไหนจะไดผลอยางไร : สมมติวา ถา กํ า หนดที่ ก ลางอก พื้ น ฐานก็ จ ะใหญ ห รื อ ยาวเกิ น ไป จนยากแก ก ารที่ จ ะกํ า หนดให เปนจุดเล็ก ๆ จุดหนึ่งได : ถากําหนดที่สะดือ ก็ยังเปนการเลื่อนลอย เพราะ เป น เพี ย งการอนุ ม านเอาตามความรู สึ ก ที่ รู สึ ก เป น วงกว า ง ๆ ไม มี จุ ด เล็ ก ๆ ที่ จ ะ สามารถกําหนดไดอยางเดียวกัน : เพราะฉะนั้นจึงเหลืออยูแตที่ชองจมูก ซึ่งเปน จุ ด เล็ ก ๆ จุ ด หนึ่ ง ที่ ล มหายใจจะต อ งผ า นอยู เ สมอ ทั้ ง ออกและเข า และแรงพอที่ จะกํ า หนดได โ ดยง า ย จึ ง เกิ ด ความนิ ย มตรงเป น อั น เดี ย วกั น หมดทุ ก พวก ว า จะตั้ ง จุดแหงการกําหนดที่ตรงนี้ สําหรับการปฏิบัติในขั้นนี้. อุปมาที่ชวยใหเขาใจงาย ยิ่งขึ้นไปอีก ก็ไดแกการเฝาเมือง (สมัยโบราณ) ทั้งเมือง ที่ตรงประตูเมืองแหง เดียว. คนเฝาประตูเมืองไมจําเปนจะตองตรวจคนคนที่ยังไมไดเขาประตูเมือง หรือคนที่ไดเขาเลยประตูเมืองไปจนอยูในเมืองแลว. เขาจะตรวจคนแตบุคคล ที่กําลังจะผานชองประตูเมืองก็แลวกัน. เขายอมเหนื่อยนอย เปลืองเวลานอย แตไดผลมาก นี้ฉันใด ; การกําหนดลมหายใจในขั้นนี้ ก็มีความมุงหมายฉันนั้น

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


ลําดับแหงกรรมวิธี

๑๐๓

คื อการกํ าหนดเฉพาะต อเมื่ อลมผ านช องจมู ก โดยเฉพาะที่ ปลายจะงอยจมู กด านใน. ให ป ฏิ บั ติ ทํ า ความรู สึ ก ราวกะว า ที่ ต รงนั้ น เป นเนื้ อ อ อ นมากหรื อ กํ า ลั ง เป นแผล ซึ่ ง มี อาการไวต อ ความรู สึ กอย างยิ่ ง ถึ ง กั บว า เมื่ อ ลมผ านแม เ พี ยงเล็ กน อ ย ก็ ยั งอาจที่ จะรูสึกได. สติคอยกําหนดอยูที่จุดนี้จุดเดียว ก็เปนการเพียงพอสําหรับการปฏิบัติ ในขั้นนี้ และพึงทราบลวงหนาไวเสียดวยวา ณ จุด ๆ นี้เอง ซึ่งจะไดนามวา ผุสนา อันเป นระยะที่ สาม ของกรรมวิธีของการกําหนดซึ่งจะตองพิจารณากันอยางละเอียด ขางหนา. สําหรับคนธรรมดาเรา ๆ ก็มีทางที่จะกําหนดจุด ๆ นี้ไดโดยงาย และ จะงายยิ่งขึ้นไปอีก สําหรับคนประเภทที่มีจมูกโงงเปนขอ. สําหรับคนประเภทที่มี จมู ก สั้ น และหั ก หงาย เช น จมู ก ของชนเผ า พั น ธุ นิ โ กร ทํ า ให มี ก ารกํ า หนดที่ สุ ด ช อ ง จมู กได ยากกว าคนธรรมดา เพราะลมหายใจจะพุ งไปกระทบที่ ริ มฝ ปากบน ทํ าให มี ความรูสึกที่ตรงนั้นมากกวาที่ปลายจมูก. ถาเปนอยางนี้ ทานแนะใหเปลี่ยน ตํ า แหน ง จุ ด ที่ ป ระสงค นั้ น ไปที่ จ ะงอยฝ ป ากบน แทนที่ จ ะเป น ที่ ป ลายจะงอยจมู ก ซึ่งเรื่องนี้เจาตัวทุกคน ยอมรูไดดีดวยตนเอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เป นอั นว าในบั ดนี้ การกํ าหนดลมหายใจได เปลี่ ยนการกํ าหนดนั บตลอด สาย มาเป นการกํ าหนดนั บเมื่ อลมผ าน เฉพาะที่ จุ ดใดจุ ดหนึ่ ง ด วยอาการดั งกล าว แลว ; ฉะนั้น ในกรณีนี้ การนับหรือการคํานวณยอมเปลี่ยนไปตาม กลาวคือ สํ า หรับ การนับ อยา งวิธ ีส ัง ขยา ทา นแนะใหน ับ คราวละ ๕ คือ เริ ่ม นับ เปน ๕ เปน ๑๐ เปน ๑๕ - ๒๐ - ๒๕ เรื่อยไป ทุกคราวที่ลมผานจุด ๆ นี้. หรือจะนับ เปนคราวละสิบ, เปน ๑๐ - ๒๐ - ๓๐ - ๔๐ - ๕๐ แทนก็ได : ไมตองมีการแจก โดยรายละเอียดเปน ๑ - ๒ - ๓ - ๔ - ๕ อีกตอไป ก็จะเขารูปกันได กับการฝก ในระยะที่แลวมา และดําเนินไปไดโดยสะดวกในตัวมันเอง. สวนการคํานวณ

www.buddhadasa.in.th


อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

๑๐๔

โดยไมต อ งนับ นั ้น ก็ก ลายเปน การคํ า นวณเอาตรงจุด นั ้น เพื ่อ ใหรู ล มสั ้น หรือ ยาว หนักหรือเบา หยาบหรือละเอียดเปนตน ไดผานเขาหรือ ผานออก ก็รูไดที่ตรงนั้ น เอง. นี่เปนเรื่องทั้งหมดของคณนา หรือการคํานวณ. ไดแกการติดตามลมอยางละเอียด ใกล ช ิ ด ถึ ง ที ่ ส ุ ด โดยทุ ก วิ ถ ี ท างนั ้ น ส ว นใหญ เ ป น ลั ก ษณะของปฏิ บ ั ต ิ แ ห ง อานาปานสติขั้ นที่ ๓ โดยตรง กล าวคื อการกําหนดรู ซึ่งลมหายใจทั้ งปวง หายใจ เขาอยู หายใจออกอยู. สําหรับวิธีปฏิบัติในขั้นนี้ ก็ยังเปนการกําหนดลมหายใจ อยู นั่ น เอง หากแต ว า เป น ขั้ น ที่ ล ะเอี ย ดยิ่ ง ขึ้ น ไป โดย การขจั ด อาการหรื อ วิ ธี ก าร ตาง ๆ ที่เปนภาระในการกําหนดใหนอยลง เทาที่จะใหนอยได. อธิบายวา เมื่อมี การกํา หนดชนิด ที่ เป น การนั บ หรื อ ชนิ ด ที่ กํา หนดเปน เบื้ อ งต น ท า มกลาง ที่ สุ ด อยู เ พี ย งใด การกํ า หนดก็ ต อ งยั ง หยาบอยู เ พี ย งนั้ น คื อ ต อ งมี ค วามรู สึ ก ที่ เ กิ ด ดั บ เกิดดับ ทุกคราวที่กําหนดวาเบื้องตน หรือทามกลาง หรือที่สุด. การกําหนด ขนาดที่เรียกวาวิตก ซึ่งจะเปนองคฌานขางหนาก็ยังหยาบอยู หรือมีวิตกไปในทาง ความหมายของคํานั้น ๆ : แทนที่จะมีวิตกอยูที่ลมหายใจเพียงจุดเดียว ก็ไปมีวิตก เปนเบื้องตนบาง ตรงกลางบาง ที่สุดบาง เปนการรบกวนจิตอยางหยาบอยู. การ ละการกําหนดเช นนั้นเสี ย สง สติ ไปตามโดยไม ตอ งมี การกําหนดเป นระยะเช นนั้ น เลย ยอมเปนการกําหนดที่เขาถึงตัวลมอยางประณีตกวา หรือละเอียดกวา ไมวา จะเปนการกําหนดตลอดสาย หรือเปนการกําหนดเฉพาะจุดก็ตาม. ยิ่งสําหรับ การนับดวยแลว นับวายิ่งหยาบไปกวานั้นอีก จึงควรเวนเสียโดยสิ้นเชิงในขั้นนี้.

ระยะที่สอง คือ อนุพันธนา

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เนื่องจากการเจริญอานาปานสติขั้นที่สาม ซึ่งเปนการกําหนดลมหายใจ โดยประการทั้ ง ปวงนั้ น ก็ ยั ง สามารถปฏิ บั ติ ใ ห เ ขยิ บ สู ง ขึ้ น มา จนถึ ง ขั้ น ที่ ไ ม มี ก าร

www.buddhadasa.in.th


ลําดับแหงกรรมวิธี

๑๐๕

กําหนดวาเปนเบื้องตน ทามกลาง หรือที่สดุ ภายหลังไดทําการกําหนดโดยอาการ เชนนั้นมาแลวอยางเพียงพอ : ดวยเหตุนี้ แม การกําหนดลมเฉพาะที่ผานตรง ชองจมูก ก็ยังเปนสิ่งที่กลาวไดวาเปนการกําหนดกายสังขาร หรือลมหายใจ “ทั้งปวง” อยูนั่นเอง ทั้งที่สติไมไดวิ่งตามลมหายใจเขาออก คงกําหนดอยู เฉพาะที่ตรงนั้น เหมือนนายประตูที่ตรวจตราอยูตรงที่ประตูแหงเดียว ก็เปนอันชื่อวา ตรวจคนทั้งหมด ทั่วทั้งในเมืองและนอกเมือง ไมวาคนเหลานั้นจะเขาหรือออก หรือเดินวกไปวนมา ชนิดใดก็ตาม ฉันใดก็ฉันนั้น. การกําหนดอยู ณ จุด ๆ เดียว โดยหลักเกณฑเชนนี้ มีผลเทากับเปนการกําหนดวกกลับไป กลับมา, เทากับเปน การกําหนดเปนวงกลม และเทากับเปนการกําหนดอยางถี่ยิบ ไมมีระยะวางเวน โดยประการทั้งปวง อยางนี้. โดยความหมายอยางนี้เอง จึงไดชื่อวา อนุพนั ธนา คือการติดตามอยางใกลชิดถึงที่สุด และไมมีระยะวางเวน และจัดเปนระยะที่สอง ของกรรมวิธีแหงมนสิการอานาปานสติกัมมัฏฐาน ซึ่งผูปฏิบัติจะตองสังเกตให เขาใจอยางแจงชัดจริง ๆ เปนพื้นฐานเสียกอน จึงจะสามารถปฏิบัติกาวหนาใน อันดับตอไปไดโดยสะดวก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org หลั กสํ าคั ญมี อยู ว า ยิ่ งกํ าหนดลมที่ ละเอี ยดยิ่ งขึ้ นไปเพี ยงใด หรื อโดยวิ ธี เข า ถึ ง ตั ว ลมโดยละเอี ย ดประณี ต ยิ่ ง ขึ้ น ไปเพี ย งใด จิ ต ก็ จ ะยิ่ ง กลายเป น ของละเอี ย ด หรือ สงบรํ า งับ ประณีต ยิ ่ง ขึ ้น ไปเพีย งนั ้น โดยอาการแหง อัต โนมัต ิ คือ เปน ไปใน ตัวเอง ; เพราะฉะนั้น ผูปฏิบัติจะตองสนใจในลม หรือในการกําหนดลม โดย วิธีที่เรียกวา ละเอียดแยบคาย ยิ่งขึ้นไปทุกที ใหเพียงพอกัน.

www.buddhadasa.in.th


๑๐๖

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

ระยะที่สาม๑ คือ ผุสนา ไดแกฐานที่ลมถูกตอง. ระยะนี้ตอง ศึก ษาพรอ มกัน ไปกับ ระยะที ่สี ่ คือ ฐปนา ซึ ่ง หมายถึง การที ่จ ิต กํ า หนด หรื อ ตั้ ง ลงอย า งมั่ น คง จึ ง จะเข า ใจได โ ดยง า ย เพราะเป น สิ่ ง ที่ เ นื่ อ งกั น อย า งใกล ชิ ด และทั้งยังคาบเกี่ยวไปถึงระยะที่ ๒ กลาวคือ อนุพันธนา โดยปริยายอีกดวย. ผุสนา หมายถึง ฐานที่ ลมถูกตอง ก็ได หมายถึง การถู กตอง ก็ไ ด โดยใจความหรือ โดยพฤติน ัย ยอ มเปน อยา งเดีย วกัน เพราะถา ไมม ีก ารถูก ตอ ง ก็ยอมไมมีฐานที่ถูกตอง : และอีกประการหนึ่งก็คือ ถาไมมีการกําหนดแลว ยอม ไม มี ทั้ ง การถู ก ต อ งและฐานที่ ถู ก ต อ ง เพราะฉะนั้ น เป น อั น กล า วได ว า มี ก ารกํ า หนด เมื่อไร และที่ไหน ผุสนาก็จะมีเมื่อนั้น และที่นั่น. ในระยะแรกแห งการปฏิ บั ติ ย อมมี การกํ าหนดลมหายใจตลอดสาย คื อ จากเบื ้อ งตน ถึง ที ่ส ุด ดัง ที ่ก ลา วแลว ในอานาปานสติขั ้น ที ่ ๑ ที ่ ๒ และที ่ ๓, ผุ ส นา ชื่ อ ว า มี ต ลอดสายอยู แ ล ว หากแต ว า การฝ ก ในระยะนั้ น ยั ง ไม มี เ รื่ อ งที่ จ ะต อ ง กล า วถึ ง ผุ ส นา เพี ย งแต เ ป น การฝ ก ให ส ติ กํ า หนดอยู ที่ ล ม โดยเอาลมนั้ น เป น นิ มิ ต ของการกําหนด และเรียกวา “บริกรรมนิมิต” ยังเปนของหยาบอยู. สวนในบัดนี้ จะกํ า หนดเอาจุ ด ใดจุ ด หนึ่ ง แห ง พื้ น ที่ ห รื อ ฐานที่ ล มถู ก ต อ งมาเป น นิ มิ ต เพื่ อ การ ปฏิบ ัต ิที ่ล ะเอีย ดยิ ่ง ขึ ้น ไป จึง ตอ งเริ ่ม สนใจไปยัง พื ้น ฐานที ่ล มถูก ตอ ง ซึ ่ง ในที ่ส ุด ก็ไดแกจุด ๆ หนึ่ง ที่ปลายจะงอยจมูก ดังที่ไดกลาวแลวขางตน. การกําหนด นิมิตจึงเปลี่ยนจากลมที่เคลื่อนไปเคลื่อนมา แตไปกําหนดลงที่ตรงพื้นฐานจุดนี้และ

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

การบรรยายครั้งที่ ๑๑ / ๔ กันยายน ๒๕๐๒

www.buddhadasa.in.th


ลําดับแหงกรรมวิธี

๑๐๗

ทํ า พื้ น ฐานจุ ด นี้ ใ ห เ ป น ที่ ตั้ ง ของนิ มิ ต อั น ใหม ใ นขั้ น ที่ ป ระณี ต ยิ่ ง ขึ้ น และเมื่ อ ทํ า ได สําเร็จยอมไดนามวา “อุคคหนิมิต” ซึ่งจะตองกําหนดเรื่อยไปและฝกฝนเรื่อยไป แกไขอุปสรรคตาง ๆ ใหลุลวงไปดวยดี มีรายละเอียดตาง ๆ ดังที่จะไดกลาวขางหนา จนกระทั่งนิมิตนั้นตั้งลงแนนแฟนมั่นคง กลายเปน ฐปนา จนกระทั่งทําใหเกิด “ปฏิภาคนิมิต” ขึ้นไดในที่สุด ซึ่งจะไดอาศัยเปนที่หนวงใหเกิดฌานสืบไป. พึ ง สั ง เ ก ต ใ น ที่ นี้ อี ก ค รั้ ง ห นึ่ ง ว า ผุ ส น า กั บ ฐ ป น า เ ป น สิ่ ง ที่ เ นื่ อ ง กั น อยางที่ไมแยกจากกันได. มีการกําหนดลมที่ถูกตองพื้นฐานสําหรับการกําหนด ที ่ต รงไหน ก็เ ปน ผุส นาที ่ต รงนั ้น และฐปนาก็ม ีอ ยู ใ นนั ้น หากแตย ัง ไมเ รีย กวา ฐปนาแท จนกว า เมื่ อ ไร การกํ า หนดผุ ส นาเป น ไปด ว ยดี เป น ระยะยาวได ต ามที่ ตอ งประสงค ฐปนาจึง จะตั้ง ลงเองโดยสมบูร ณ เกิด เปน การกํา หนดโดย ไมต อ งมี ก ารกํ า หนด ขึ้ น มาในขณะนั้ น โดยจะเรี ย กว า เป น การหยุ ด กํ า หนด เพราะการกําหนดไดตั้งมั่นถึงที่สุดแลว ดังนี้ก็ยังได. ขอนี้อาจจะเปรียบเทียบดวย อุปมางาย ๆ เชนการจับของบุคคลที่เอามือไปจับเขาที่สิ่งใดสิ่งหนึ่ง ; กิริยาที่จับ นั้นเอง เรียกวาจับ, ครั้นเอามือไปจับเสร็จแลว แมมือยังหยุดอยูที่นั้น แตการ จับ ก็สิ ้น สุด ลงไปแลว เหลือ อยู เ ปน การกุม อยู ที ่นั ่น ไดแ กอ าการที ่ม ือ หยุด หรือ ตั้งแนนแฟนอยูที่นั่น : ฉะนั้นจึงเปรียบ การจับ ไดกับ ผุสนา และเปรียบ การกุม อยูเฉย ๆ อยางมั่นคง ไดกับ ฐปนา ฉันใดก็ฉันนั้น. อยาลืมวา ถาไมสังเกตดู ใหละเอียดแลว จะไมเห็นความแตกตางระหวาง “การจับ” กับ “การกุม” หรือ ระหวาง ผุสนา กับ ฐปนา : ดวยเหตุนี้แหละ ผูปฏิบัติจึงตองทําการสําเหนียกศึกษา และสัง เกตกําหนดอยา งใกลชิดที่สุด วา ฐานที่ถูก ตอ งคือ อะไร, การถูก ตอ ง คือ อะไร, ความหยุด อยูแ หง การถูก ตอ ง ที่เ ปน ไปอยา งมั่น คงดีแ ลว นั้น คือ อะไร ; ก็จะสามารถกําหนดนิมิตที่ละเอียดยิ่งขึ้นไป และจิตที่สงบยิ่งขึ้นไปได โดยไมยาก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๑๐๘

เทาที่กลาวมาแลวเพียงเทานี้ ยอมชี้ใหเห็นไดวา คณนา และ อนุพันธนา เป น เรื่ อ งของบริ ก รรมนิ มิ ต ผุ ส นาเป น เรื่ อ งของอุ ค คหนิ มิ ต และ ฐปนาเป น เรื่ อ ง ของปฏิภาคนิมิต ซึ่งเราจะไดศึกษาเรื่องนิมิตทั้งสามนี้ เพื่อความเขาใจการปฏิบัติ ในขั้ น นี้ ให ล ะเอี ย ดยิ่ ง ขึ้ นไปอี ก ส วนหนึ่ ง ซึ่ ง จะเป น การทํ า ให เ ข าใจผุ ส นาและฐปนา ยิ่งขี้นไปตามลําดับ.

กฎเกณฑเกี่ยวกับนิมิต สิ่งที่เรียกวา นิมิต นั้น ทานนิยมจัดไวเปน ๓ เสมอไปในทุกกัมมัฏฐาน, หากแตวากัมมัฏฐานบางอยาง มีนิมิตครบทั้งสามประการไมไดเสียเอง. กัมมัฏฐาน ใดเปนเชนนั้น กัมมัฏฐานนั้นก็ไมสําเร็จประโยชนจนกระทั่งถึงเกิดฌาน : สวน กัมมัฏฐานใดอาจทําใหนิมิ ตเกิดขึ้นทั้ง ๓ ขั้น กัมมัฏฐานนั้ นก็ใหสําเร็จประโยชนได จนกระทั่งเกิดฌานเปนธรรมดา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นิมิตในขั้นที่หนึ่ง เรียกวา บริกรรมนิมิต. ขอนี้ไดแกตัวสิ่งนั้น ๆ โดยตรง ซึ่ ง เราไปจั บ หรื อ ไปทํ า หรื อ ไปเอามา สํ า หรั บ เป น วั ต ถุ เ พื่ อ การเพ ง หรื อ กํา หนดในระยะแรกที่สุด . นิมิต นี้ใ นกรณีอ านาปานสติ ก็คือ ตัว ลมหายใจ ที่เ คลื่อ นไป-เคลื่อ นมา อยูนั่น เอง. นิมิต ขั้น ที่ส อง เรีย กวา อุค คหนิมิต หมายถึ ง นิ มิ ต ที่ เ ข า ไปติ ด อยู ที่ ต าภายใน หรื อ ในใจ กลายเป น มโนภาพภายในอี ก ส ว นหนึ่ ง ต า งหาก จากตั ว วั ต ถุ โ ดยตรง ที่ เ ราเอามากํ า หนดในครั้ ง แรกไปเสี ย แล ว . นิ มิ ต นี้ ในกรณี ข องอานาปานสติ ก็ ไ ด แ ก จุ ด หรื อ ดวงขาว ๆ ที่ ส ามารถทํ า ให ปรากฏเป น มโนภาพเด น ชั ด อยู ไ ด ที่ ต รงจุ ด ของผุ ส นา กล า วคื อ ที่ ป ลายจะงอยจมู ก นั่นเอง. สวนนิมิตขั้นที่สามตอไปที่เรียกวา ปฏิภาคนิมิต นั้น หมายถึงอุคคหนิมิต ในภายนั่ น เอง หากแต ว า ได เ ปลี่ ย นรู ป เป น อย า งอื่ น ไป เปลี่ ย นสี เ ป น อย า งอื่ น ไป

www.buddhadasa.in.th


กฎเกณฑนิมิต

๑๐๙

เปลี่ ย นขนาดเป น อย า งอื่ น ไป และเปลี่ ย นอะไร ๆ อี ก บางอย า ง กระทั่ ง ถึ ง ให เคลื่ อ นที่ ไ ปมา หรื อ ขึ้ น ลงได ต ามควรแก ก ารน อ มจิ ต ไป โดยความรู สึ ก ที่ เ ป น สมาธิ กึ่ ง สํ า นึ ก แล ว สามารถทํ า ให แ น ว แน อ ยู ใ นลั ก ษณะใดลั ก ษณะหนึ่ ง โดยสมควรแก อุป นิส ัย ของตน และหยุด นิ ่ง และแนว แนอ ยู อ ยา งนั ้น เพื ่อ เปน นิม ิต คือ เปน ที ่เ กาะแหง จิต อยา งประณีต ที ่ส ุด จึง มีค วามตั ้ง มั ่น ถึง ที ่ส ุด ชนิด ที ่เ รีย กวา ฌาน เกิดขึ้นโดยสมควรแกการกระทํา. เพื่ อ ความเข า ใจง า ยขึ้ น ควรเปรี ย บเที ย บกั น ดู กั บ กั ม มั ฏ ฐานที่ ใ ช วั ต ถุ ที่มีรูปรางชัดเจนเปนอารมณ เพื่อเปนตัวอยาง : เชนในการเจริญกสิณ วงสีเขียว หรือวงสีแดง ที่เราทําขึ้นแลว วางไวตรงหนาเพื่อเพงตาดู, วงสีเขียวหรือสีแดง ที่วางอยูตรงหนานั่นแหละคือ บริกรรมนิมิต. การเพงตาดู เรียกวาการทําบริกรรม ในนิมิตนั้น. ครั้นเพงตาดูบริกรรมนิมิตนั้นหนักเขา ๆ จนสําเร็จประโยชนคือนิมิต นั้นติดตามในภายใน แมจะหลับตาเสีย ก็ยังเห็นชัดเหมือนเมื่อลืมตาแลว. นิมิตที่ ติดตาในภายใน อยางนั้นแหละ เรียกวา อุคคหนิมิต. การหลับตาเสีย แลวเพง ดูนิมิต ในเชน นี้อ ยู เรีย กวา การเพง ตอ อุค คหนิมิต . เพีย งเทา นี้เ ราก็เ ห็น ได แลววาบริกรรมนิมิต กับอุคคหนิมิตนั้น ไมใชของอันเดียวกันแลว : อยางแรก เปนวัตถุขางนอก ; อยางหลังเปนมโนภาพที่เราสรางขึ้นจนสําเร็จภายในใจ โดย เลียนมาจากของภายนอก หรือเนื่องมาจากภายนอกเปนตนเหตุ. ครั้นกําหนด อุ คคหนิ มิ ตที่ เป นภายในได แน วแน ในรู ปเดิ มของมั นตามสมควรแล ว การฝ กอาจจะ เลื ่อ นไปถึง ขั ้น ที ่บ ัง คับ จิต ใหน อ มนึก เพื ่อ เปลี ่ย นแปลงอุค คหนิม ิต ที ่เ ห็น ในภาย ในนั้ นให เปลี่ ยนรู ปไปต าง ๆ เปลี่ ยนขนาดไปต าง ๆ เช นดวงกสิ ณที่ เคยเห็ นกลม ๆ เล็ก ๆ มีเสนผาศูนยกลางเพียง ๖นิ้ว (เทาที่ใชกันโดยมาก) ก็กลายเปนดวงใหญ

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๑๑๐

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

เท าที่ ดวงอาทิ ตย ดวงจั นทร หรื อเล็ กลงมาในขนาดที่ เป นเพี ยงจุ ด ๆ เดี ยว หรื อ จะ เปลี่ ยนแปลงไปอย างอื่ นอี กกี่ อย างก็ ได จนกระทั่ งไปหยุ ดอยู ในลั กษณะใดลั กษณะ หนึ่ ง ซึ่ ง เป น ที่ พอใจที่ สุ ด หรื อ เหมาะสมที่ สุ ด ที่ จ ะทํ า ให จิ ต กํ าหนดแน วแน ว อยู ใ น นิม ิต นั ้น โดยไมม ีก ารเปลี ่ย นแปลงอีก ตอ ไป เพราะแนน แฟน มั ่น คงถึง ที ่ส ุด เรียกไดวาเปนการหยุดลงหรือตั้งมั่นลงไดจริง ๆ. นี้คือขณะแหงฐปนา ที่จะเปน ไปจนกวา จะถึง ที่สุด คือ การบบรลุฌ าน. นิมิต ที่เ ปลี่ย นแปลงได และตั้ง มั่น ลงในรูปอื่นจากอุคคหนิมิตนี้ เรียกวา ปฏิภาคนิมิต. ตัวอยางที่สอง : ในกรณีแหงการเจริญอสุภกัมมัฏฐาน อันเปน กั มมั ฏฐานประเภทที่ น าหวาดเสี ยว และวุ นวายกว าประเภทกสิ ณ นั้ น สิ่ ง ที่ เ รี ยกว า บริ กรรมนิ มิ ต คื อ ตั วซากศพชนิ ด ใดชนิ ดหนึ่ ง ซึ่ ง ผู ปฏิ บั ติ จะใช เ ป นสิ่ งที่ ถู กกํ าหนด. เพราะฉะนั้ น ผู นั้ น จะต อ งมี ซ ากศพชนิ ด หนึ่ ง นั้ น วางอยู ต รงหน า แล ว ก็ เ พ ง ตาดู เพื่ อกํ าหนดทุ กส วนสั ดของซากศพอย างแม นยํ า นี้ เรี ยกว ากํ าลั งเพ งต อบริ กรรมนิ มิ ต คือซากศพนั้น. ระยะตอมาก็คือการเพงจนติดตาแลว แมหลับตาเสียก็ยังเห็น เชนเดียวกับเมื่อลืมตา หรือชัดแจวยิ่งไปกวาเมื่อลืมตาเสียอีก. ภาพแหงซากศพ ที ่เ ปน มโนภาพ คือ เห็น ไดโ ดยไมต อ งลืม ตานั ้น เรีย กวา อุค คหนิม ิต ในกรณีนี ้. การเพงซากศพในมโนภาพนั้น เรียกวาการเพงอุคคหนิมิต ในกรณีนี้. ระยะตอไป ก็ คื อการเพ งที่ ประณี ตละเอี ยดยิ่ งขึ้ นไป และคล องแคล วในการน อมนึ กยิ่ ง ๆ ขึ้ นไป จนสามารถเปลี่ ย นมโนภาพนั้ น ให เ ป น ไปอย า งซาบซึ้ ง ตามที่ ต นปรารถนา โดย ประการที่ จ ะทํ า ให เ กิ ด ความเบื่ อ หน า ยคลายกํ า หนั ด หรื อ ความสลดสั ง เวชอย า ง ซาบซึ้งตรึ งใจให มากที่ สุ ดเท าที่จะมากได แล วไปหยุ ดเป นมโนภาพอยางใดอย างหนึ่ ง อยู อย าง เหมาะสมและมั่ นคง แล วไม มี การเปลี่ ยนแปลงอี กตอไป เป นอารมณ ทําให เกิดสมาธิที่มีผลในการรํางับความกําหนัด ไดเปนพิเศษ. มโนภาพในระยะหลังนี้ เรียกวา “ปฏิภาคนิมิต” ในกรณีนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


กฎเกณฑนิมิต

๑๑๑

สวนใน กรณีที่เปนการเจริญอานาปานสติ ที่เรากําลังศึกษากันอยูนี้ ก็ม ีห ลัก เกณฑอ ยา งเดีย วกัน ทั ้ง ๆ ที ่ว ัต ถุที ่นํ า มาใชกํ า หนดนั ้น แตกตา งกัน : ลมหายใจที ่เ ปน ตามธรรมชาติ ซึ ่ง เราไปกํ า หนดเขา นั ่น แหละ คือ บริก รรมนิม ิต ในกรณีนี้. การกําหนดที่ตัวลมหายใจอยางนี้ ก็เรียกวาการเพงตอบริกรรมนิมิต อยางเดียวกัน. ระยะถัดไป ไมกําหนดที่ตัวลม แตไปกําหนดที่จุดใดจุดหนึ่ง ที่ ล มกระทบเพี ย งจุ ด เดี ย ว และเป น จุ ด ที่ ตั้ ง อยู อ ย า งเหมาะสมที่ สุ ด สํ า หรั บ การ กําหนด ; และมีการทําในใจ ประหนึ่งวาจุดนั้นเปนแผลออน ที่ไวตอการรูสึก หรื อ ราวกะว า มี อ ะไรอย า งหนึ่ ง ได ถู ไ ป-ถู ม า ที่ จุ ด นั้ น อย า งรุ น แรง โดยไม ต อ ง คํ า นึ ง ว า เป น การหายใจ หรื อ ลมหายใจ หรื อ การผ า นไป-ผ า นมา ขอลมหายใจ หรืออะไร ๆ ทั้งสิ้น ทั้งที่เปนภายนอกและภายใน. กําหนดแนวแนอยูแต ณ จุด ที่ เ ป น ที่ เ กิ ด ของความรู สึ ก ทํ า ให เ ป น ราวกะว า เป น จุ ด ในมโนภาพ อย า งใดอย า ง หนึ่ง อยูอ ยา งแนว แน, นี้เ ปน อุค คหนิมิต ในกรณีนี้. นิมิต ในขั้น สุด ทา ยนั้น ได แ ก ป ฏิ ภ าคนิ มิ ต กล า วคื อ นิ มิ ต ที่ เ ปลี่ ย นรู ป ไปเป น อย า งอื่ น จากอุ ค คหนิ มิ ต คื อ จากความรูสึกที่เปนเพียงวามีจุดอยูจุดหนึ่ง. มันไดเปลี่ยนไปดวยอํานาจของความ ที่ สิ่ ง ต า ง ๆ ที่ เ นื่ อ งกั น อยู มี ล มหายใจเป น ต น เป น ของละเอี ย ดยิ่ ง ขึ้ น ไปกว า เดิ ม พร อ มกั บ อาศั ย อดี ต สั ญ ญาอย า งใดอย า งหนึ่ ง ในอุ ป นิ สั ย ของบุ ค คลนั้ น เข า ช ว ย ปรุงแตงดวย. สิ่งที่เรียกวาปฏิภาคนิมิตนี้จะเกิดขึ้นผิดแผกกันบาง เปนคน ๆ ไป คือจะปรากฏแกคนบางคนที่ตรงจุด ๆ นั้น หรือใกล ๆ กับจุดนั้น ออกไปขางนอก ก็ต าม เขา มาขา งในก็ต าม ราวกะวา มีป ุย นุ น กระจุก หนึ ่ง มาติด อยู ต รงนั ้น หรือมีหมอกกลุมหนึ่งปรากฏอยูที่นั้น นี้พวกหนึ่ง. บางพวกจะมีนิมิตปรากฏชัด ยิ ่ง ขึ ้น ไปกวา นั ้น คือ เปน ดวงขาวลอยเดน อยู  หรือ เปน ดวงแกว ดวงหนึ ่ง หรือ เป น ไข มุ ก เม็ ด หนึ่ ง หรื อ เป น เพี ย งสิ่ ง ที่ รู ป ร า งอย า งเมล็ ด ฝ า ยเมล็ ด หนึ่ ง ดั ง นี้ ก็ มี .

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๑๑๒

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

ที่นอยลงไปอีกก็คือ คนบางพวกจะมีนิมิตปรากฏเปนรูปสะเก็ดไมชิ้นหนึ่ง หรือ พวกดอกไมพ วงหนึ ่ง หรือ สายสรอ ยพวงหนึ ่ง หรือ สายแหง ควัน ไฟเกลีย วหนึ ่ง ดัง นี้ ก็มีอ ยูป ระเภทหนึ่ง . และประเภทที่นอ ยไปกวา นั้น อีก คือ มีไ ดย ากไป กวา นั ้น อีก ก็ค ือ บางจํ า พวกจะมีน ิม ิต ปรากฏเหมือ นใยแมงมุม รัง หนึ ่ง เมฆที่ ซั บ ซ อ นกั น หมู ห นึ่ ง ดอกบั ว ที่ บ านออกเป น แฉก ๆ ดอกหนึ่ ง หรื อ ล อ รถที่ มี ซี่ กํ า ออกไปจากดุ ม เป น ซี่ ๆ วงหนึ่ ง จนกระทั่ ง ถึ ง บางพวกมี นิ มิ ต เป น ดวงจั น ทร หรื อ ดวงอาทิตยดวงใหญเกินประมาณดวงหนึ่ง ๆ ก็ได แลวแตกรณี. ทั้งหมดนี้เรียกวา ปฏิภาคนิมิตในกรณีนี้. แมจะตางกันอยางไร ก็ลวนแตเปนสิ่งที่ตั้งอยูอยางแนน แฟ น หยุ ด อยู อ ย า งมั่ น คง เป น ที่ ยึ ด หน ว งของจิ ต อั น สงบรํ า งั บ จนถึ ง ขนาดที่ เ ป น ฌานไดดวยกันทั้งนั้น. ขอที่ปฏิภาคนิมิตมีลักษณะแตกตางกันมากชนิด เชนนี้ ในกรณี ที่ เกี่ ยวกั บอานาปานสติ นี้ เห็ นได ว ามี มากชนิ ดกว าที่ จะเป นไปในกรณี ของกั มมั ฏฐาน ประเภทอื่น เชนกสิณหรืออสุภเปนตน : ทั้งนี้เพราะเหตุวาลมหายใจเปนสิ่งที่ ละเอี ย ดหรื อ ไม มี ดุ น หรื อ ชิ้ น ให เ ห็ น ชั ด เหมื อ นวงกสิ ณ หรื อ ท อ นอสุ ภ นี้ อ ย า งหนึ่ ง . และอี กอย างหนึ่ ง ซึ่ งเป นเหตุ ผลที่ ใกล ชิ ดไปกว านั้ น ก็ คื อความที่ คนเราแต ละคน ๆ มีสัญญาหรื อความรู สึกหรื อความกํ าหนดจดจําตาง ๆ ที่ เราไดสะสมมาตั้ งแตเกิดและ ฝงไวในอุปนิสัยสันดานของเราเองนั้น ตางกันอยางที่จะเปรียบกันไมได. เมื่อ ถึ ง คราวที่ สิ่ ง เหล า นี้ มี โ อกาสแสดงตั ว ออกมา ก็ แ สดงออกมาในรู ป แห ง การปรุ ง ที่ มี ลักษณะต าง ๆ กัน ในขณะที่ จิ ตกําลั งอยู ในภาวะกึ่งสํ านึ ก หรื อเกือบไร สํ านึ ก เช น ในขณะแหงปฏิภาคนิมิตนี้ เปนตน. สรุปไดสั้น ๆ วา จิตปรุงปฏิภาคนิมิตขึ้นมา ในลั กษณะที่ แตกต างกั น เพราะความมี สั ญญาในอุ ปนิ สั ยมี อ ยู ผิ ดแผกกั น นั่ นเอง. ผู ป ฏิ บั ติ ไ ม ค วรไปทํ า ความฉงนในความไม ค งเส น คงวา หรื อ ความพิ สู จ น ไ ม ไ ด

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


กฎเกณฑนิมิต

๑๑๓

เหลานี้ : เพราจะทําใหเกิดกังวลและเปนอันตรายแกการเจริญสมาธินั้น เปลา ๆ. ขืนไปคนควาเขา ก็กลายเปนเรื่องจิตวิทยาแขนงหนึ่งไป หาใชการทําสมาธิไม.

นิมิตตางกัน มีผลแกจิตตางกัน เมื่ อ ได ก ล า วถึ ง ความแตกต า งของนิ มิ ต เช น นี้ แ ล ว อยากจะถื อ โอกาส แนะให สั ง เกตเสี ย เลยที เ ดี ย วว า กั ม มั ฏ ฐานต า ง ๆ นั้ น มิ ใ ช ว า เพี ย งแต จ ะให เ กิ ด นิ มิ ต ต า ง ๆ กั น อย า งเดี ย ว มั น ยั ง ทํ า ให มี ผ ลเป น ปฏิ กิ ริ ย าต อ อุ ป นิ สั ย หรื อ จิ ต ใจ หรือจริตของบุคคลผูปฏิบัติ ตาง ๆ กันไปดวย. เราควรจะเปรียบเทียบกันดูเพื่อ ความเขาใจในเรื่องนี้ใหชัด. ถาเราเอาสิ่ งไม มี ชี วิ ต หรื อไม ค อยจะมี ความหมายอะไร เช นดิ นสี เหลื อง ก อนหนึ่ งมาทํ าเป นวงกสิ ณแล วเพ ง แม เป นสมาธิ แล ว ทํ าปฏิ กิ ริ ยาให แก จิ ตในทาง ที่ผิดแผกแตกตางจากการที่เราจะไปนํ าเอาศพเน าศพหนึ่ งมาทํ าเปนวั ตถุ สําหรั บเพง. แม ว าสิ่ งทั้ งสองนี้ จะให เกิ ดสมาธิ ได อ ย างเดี ยวกั น แต ก็ ทํ าให เกิ ดปฏิ กิ ริ ยาอย างอื่ น ผิ ด แผกแตกต า งจากกั น มาก เช น มี ผ ลที่ จ ะระงั บ ความกํ า หนั ด หรื อ ส ง เสริ ม ความ กํ า หนั ด เป น ต น หรื อ ไม ต า งกั น ทํ า ให เ กิ ด ความยากง า ย หรื อ เกิ ด อั น ตรายทาง ประสาทเปน ตน แกผู ป ฏิบ ัต ิต า งกัน เทา กับ ที ่เ ราอาจจะพิจ ารณาเห็น ไดเ องวา ดิน กอ นหนึ ่ง กอ ใหเ กิด ความรู ส ึก เฉย ๆ งา ย ๆ เงีย บ ๆ เปน นิม ิต ที ่ไ มโ ลดโผน ไมกระทบกระเทือนประสาท สมกับเปนสิ่งที่ไมเคยมีชีวิตอะไรเลย. สวนซากศพ ซากหนึ่ ง นั้ น มี ค วามหมายมาก หรื อ อาจจะมี ค วามหมายมากกว า ชี วิ ต ธรรมดา สําหรับคนที่กลัวผีเปนพิเศษ หรือคนทั่วไปก็ตาม. นี่เปนเพราะวามันมีความหมาย มากเกินไป หรือมีชีวิตมากเกินไปนั่นเอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๑๑๔

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

ส วนการเจริ ญอานาปานาสติ ซึ่ งยึ ดเอาลมหายใจมาเป นอารมณ สํ าหรั บ กําหนดนั้น ยอมตั้งอยูในระดับกลาง. ไมสุดโตงไปในทางเนือย ๆ เหมือนกับกอน ดิ น ก อ นหนึ่ ง และก็ ไ ม สุ ด โต ง ไปในทางรุ น แรงเหมื อ นกั บ ศพเน า ศพหนึ่ ง ฉะนั้ น นิ มิ ต ทุ ก ระยะจึ ง ต า งกั น ไปหมด ซึ่ ง จะต อ งไม ลื ม ว า แม มั น จะทํ า ให เ กิ ด มี บ ริ ก รรม นิ มิ ต อุ ค คหนิ มิ ต และปฏิ ภ าคนิ มิ ต จนกระทั่ ง เป น ฌานได ด ว ยกั น ก็ จ ริ ง แต ผ ล ยอมแตกตางกันในทางอื่นบางอยางอยูอยางมากมาย ดังกลาวแลวนั่นเอง. ทั้งนี้ ก็ เพราะว ากั มมั ฏฐานบางประเภท หรื อบางกลุ ม ย อมมี ความมุ งหมายเฉพาะประเภท ของตนเป นกลุ ม ๆ ไป เพื่ อแก ป ญหาปลี กย อยของกิ เลสเฉพาะคนในระยะแรกเสี ย กอน แลวจึงนอมไปสูผลอยางเดียวกันในเบื้องปลาย. ส วนกั มมั ฏฐานกลุ มกลาง ๆ หรื อซึ่ งอยากจะเรี ยกในที่ นี้ ว า “กลุ มทั่ วไป ที่สุด” กลาวคืออานาปานสตินี้ ยอมใหนิมิตที่สงบประณีตราบรื่นไปตั้งแตตนจน ปลายทีเดียว เหมาะแกคนทุกประเภท ไมวาจะเปนผูครองเรือน หรือผูออกจาก เรื อน ผู หญิ ง หรื อผู ชาย คนกล า หรื อ คนขลาด ฯลฯ เพราะความตั้ งอยู ในระดั บ กลางนั่นเอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org กัมมัฏฐานพวกที่ไมมปี ฏิภาคนิมิต ไมเกิดฌาน

กั ม มั ฏ ฐานบางอย า งที่ ก ล า วว า ไม ส ามารถทํ า ให เ กิ ด ปฏิ ภ าคนิ มิ ต นั้ น คื อ กั ม มั ฏ ฐาพวกที่ ไ ปกํ า หนดเอานามธรรม มาเป น อารมณ เ สี ย ตั้ ง แต ต น มื อ เช น การกําหนดพุทธานุสสติเปนตน. กัมมัฏฐานเหลานี้ จะกําหนดไดก็แตเพียงในขั้น บริ กรรมนิ มิ ต เพราะสิ่ งที่ เรี ยกว าพุ ทธคุ ณนั้ นเป นเพี ยงนามธรรม หรื อความหมายรู อย า งหนึ่ ง เท า นั้ น ไม เ ป น วั ต ถุ ธ าตุ แ ละไม เ นื่ อ งด ว ยวั ต ถุ ธ าตุ โ ดยตรง เหมื อ นกสิ ณ หรืออสุภ หรืออานาปานสติ. อุคคหนิมิตไมมี เพราะไมอาจทําพุทธคุณเหลานั้น ใหเปนมโนภาพอยางใดอยางหนึ่งขึ้นมาได. ขืนไปทําใหไดก็กลายเปนเรื่องอื่นไป

www.buddhadasa.in.th


กฎเกณฑนิมิต

๑๑๕

หรื อ ถึ ง กั บ ทํ า ให ฟ น เฝ อ เลอะเลื อ น เป น ความเสี ย หาย เป น อั น ตรายขึ้ น มาแทน ฉะนั ้น การเจริญ กัม มัฏ ฐาน เชน ประเภทพุท ธานุส สติเ ปน ตน นี ้ จึง ไมส ามารถ ทํ า ให เ กิ ด อุ ค คหนิ มิ ต ได จึ ง ไม เ ป น ไปเพื่ อ ฌาน แต ก็ เ ป น ไปเพื่ อ ประโยชน อ ย า งอื่ น เชน เป นปจจั ยแห งการบมอิ นทรีย ใหแกกลาเปนตน หรือใชเป นกัมมัฏฐานแวดลอม เพื่อชวยใหจิตใจหรือการเปนอยูเหมาะสม ในการที่จะปฏิบัติกัมมัฏฐานหลักเปนตน. เมื่ อ เปรี ย บเที ย บโดยนั ย นี้ เราจะเห็ น ได ทั น ที ว า พุ ท ธานุ ส สติ หรื อ การ กํ า หนดพุ ท ธคุ ณ นั้ น ไม ส ามารถจะทํ า ให แ น น แฟ น ได แม ใ นขณะแห ง คณนาและ อนุพันธนา แลวจะทําอยางไรจึงจะใหดําเนินไปไดถึงผุสนา และฐปนาไดเลา. ทั ้ง หมดนี ้แ สดงใหเ ห็น ความสัม พัน ธก ัน ระวา งวัต ถุที ่ใ ชเ ปน นิม ิต กับการเกิดแหงนิมิตและการกําหนดนิมิตนั้น ๆ. ถาอยางใดอยางหนึ่งมีกําลังไม เพี ย งพอ หรื อ ไม เ หมาะสมกั น แล ว กั ม มั ฏ ฐานนั้ น ก็ ไ ม อ าจดํ า เนิ น ไปจนถึ ง ปฏิ ภ าค นิมิต หรือการกําหนดในขั้นผุสนา และฐปนาไปไดเลย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ผู ศึ ก ษาอานาปานสติ พึ ง ศึ ก ษาลั ก ษณะของนิ มิ ต การกํ า หนดนิ มิ ต การเกิ ด แห ง นิ มิ ต การเปลี่ ย นไปแห ง นิ มิ ต และการตั้ ง มั่ น หรื อ การหยุ ด แห ง นิ มิ ต โดยนั ย ดั ง ที่ ก ล า วมานี้ ด ว ยการศึ ก ษาเปรี ย บเที ย บดั ง ที่ ก ล า วมาแล ว ก็ จ ะประสบ ความสํ า เร็ จ ในการกํ า หนดนิ มิ ต เป น ต น ได เ ป น อย า งดี คื อ จะประสบความสํ า เร็ จ ในการกําหนดลมหายใจ การทําลมหายใจใหละเอียด การตั้งสติในลมหายใจและสมาธิ ที่ยึดลมหายใจเปนหลักทุกขั้น ไดโดยไมยากเลย.

www.buddhadasa.in.th


อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

๑๑๖

อุปสรรคของการเกิดปฏิภาคนิมิตและฌาน๑ ต อ ไปนี้ จะได วิ นิ จ ฉั ย กั น ถึ ง อุ ป สรรคหรื อ อั น ตราย ของการทํ า สมาธิ ในอานาปานสติ ขั้นที่สี่ โดยละเอียด. อุปสรรคเฉพาะตอนแรก ดั ง ที่ ไ ด ก ล า วมาแล ว ข า งต น ว า อานาปานสติ ขั้ น ที่ สี่ มี ใ จความสํ า คั ญ อยู ต รงที่ ก ารกํ า หนดลมหายใจที่ ล ะเอี ย ด หรื อ กล า วอี ก อย า งหนึ่ ง ก็ คื อ กายสั ง ขาร ที่รํางับลง ๆ จนถึงที่สุด. อุปสรรคอาจจะเกิดขึ้นไดในตอนแรก คือ จากการที่ ลมหายใจละเอียดจนถึงกับกําหนดไมได หรือรูสึกราวกะวาหายไปเสียเฉย ๆ. นี ้ก ็เ ปน อุป สรรคอยา งหนึ ่ง ซึ ่ง ทํ า ใหเ กิด ความระส่ํ า ระสายขึ ้น ในใจของผู ป ฏิบ ัติ ซึ่งประสบเขาเปนครั้งแรก. ในกรณีเชนนี้ เขาอาจจะระงับความสงสัยหรือความ กระวนกระวายใจนั้นเสียได โดย ๒ วิธี คือ :-

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org (๑) การเริ่มตั้งตนหายใจเสียใหมใหรุนแรง แลวตั้งตนทําไปใหม ตามลํ าดั บตั้ งแต ต นไปอี ก ซึ่ งถ าหากสิ่ งต าง ๆ ได ถู กปรั บปรุ งให เป นไปอย างเหมาะสม กวาคราวกอน ก็จักผานอุปสรรคอันนี้ไปไดโดยอัตโนมัติ. (๒) ถาหากวาการทําอยางนั้นยังไมไดผลก็ดี หรือวาผูปฏิบัติไดปฏิบัติ มาจนถึงขั้นที่ละเอียดเชนนี้แลว ไมอยากจะยอนกลับไปสูขั้นปฏิบัติที่ยังหยาบอยูก็ดี

การบรรยายครั้งที่ ๑๒ / ๕ กันยายน ๒๕๐๒

www.buddhadasa.in.th


กฎเกณฑนิมิต

๑๑๗

เขาอาจจะผา นอุป สรรคอัน นี ้ไ ปได โดยวิธ ีแ หง การปลอบใจตัว เอง หรือ ชัก นํ า จิ ต ใจของตั ว เอง ให เ กิ ด ความแน ใ จหรื อ กํ า ลั ง อย า งเพี ย งพอขึ้ น มาใหม โอกาสก็ จ ะ อํ า นวยให สํ า หรั บ การกํ า หนดได โ ดยง า ย โดยลมหายใจนั้ น ค อ ย ๆ ปรากฏชั ด ขึ้ น มา ใหม โ ดยสมควรแก ก ารกระทํ า ในการประคั บ ประคองจิ ต หรื อ การชั ก นํ า จิ ต ของตน ไปในทางที่ จะให เ กิ ด ปฏิ กิ ริ ย าต อ ร า งกาย อย า งพอเพี ย งที่ จะทํ า ให ล มหายใจค อ ย ๆ กลับปรากฏชัดเจนขึ้นมาใหม. ตั ว อย า ง เช น เมื่ อ ได ทํ า มาจนถึ ง ขั้ น ที่ จ ะทํ า ลมหายใจให ล ะเอี ย ดแล ว ลมหายใจไม ปรากฏ หรื อมี อาการราวกะว าแกล งหายไปเสี ยเฉย ๆ ดั งนี้ แล ว เขาจะ ต อ งถอนหายใจยาว ๆ หลายครั้ ง แล ว อธิ ษ ฐานจิ ต ในการที่ พิ จ ารณาอย า งจริ ง จั ง ว า ตนไม ไ ด อ ยู ใ นสภาพอย า งใดอย า งหนึ่ ง ในพวกบุ ค คลผู มี ล มหายใจไม ป รากฏ แตประการใดเลย. เขาพิจารณาเพื่อใหเกิดความแนใจสืบไปวา คนที่ไมหายใจนั้น ใคร ๆ ก็รูวามีอยู แตคนเหลานี้คือ คนที่ยังอยูในครรภมารดา. คนที่กําลังดําน้ํา, พวกอสัญญีสัตว, คนตายแลว, คนที่กําลังอยูในจตุตถฌาน, คนที่กําลังอยูใน รูปสมาบัติหรืออรูปสมาบัติ, และคนที่กําลังอยูในนิโรธสมาบัติเทานั้น ; ก็เรานี้ มิ ไ ด อ ยู ใ นสภาพใดสภาพหนึ่ ง ของบุ ค คลเหล า นั้ น แล ว ไฉนเราจึ ง ต อ งเป น บุ ค คลที่ มีลมหายใจไมปรากฏดวยเลา. เมื่อเขาอธิษฐานจิตอยางแนวแน ในการที่จะตอง เป น บุ ค คลที่ ยั ง มี ล มหายใจอยู เ ช น นั้ น ลมหายใจก็ ย อ มปรากฏแม ใ นขั้ น ที่ ล ะเอี ย ด และในลั ก ษณะที่ ล ะเอี ย ดได โ ดยอั ต โนมั ติ โดยไม สู ญ เสี ย ผลแห ง การปฏิ บั ติ ที่ ไ ด ปฏิบัติมาแลวจนถึงขั้นนี้. ญาณ คือความรูที่จะเกิดขึ้นแกเขาวา เพราะลมหายใจ ละเอียดเกินไปบาง, เพราะลมหายใจถูกแปรสภาพเปนละเอียดเร็วเกินไปบาง, เพราะ การกําหนดผุสนาไมถูกที่อันเหมาะสม บาง, หรือเพราะ กําหนดฐปนา โดยอาการที่พรวดพลาดผลุนผลัน บาง, ลมหายใจจึงไมปรากฏเพื่อประโยชนแก

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๑๑๘

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

การกํา หนดนั้น ๆ ขอ นี้เ ปน ทางแหง การปรับ ปรุง ขยับ ขยายสิ่ง ตา ง ๆ ที่เ กี่ย ว ของกันใหเหมาะสมเสียใหม ลมหายใจก็จะกลับปรากฏในลักษณะที่เหมาะสมยิ่งขึ้น ไปอีก. อุปสรรคเกี่ยวกับการที่ลมหายใจไมปรากฏก็จะหมดไป เขาจะสามารถกําหนด ลมหายใจได ดี ทั้ ง ในขณะแห ง คณนา อนุ พั น ธนา ผุ ส นาและฐปนา แล ว แต ว า อุปสรรคและปญหาจะเกิดขึ้นระยะไหน. ตามปรกติทั่วไปในกรณีของอานาปานสติ มักจะเปนปญหายุงยากขอนี้ขึ้น ในขณะแหงผุสนานั่นเอง. อุคคหนิมิตไมปรากฏ เพราะไมมีความรูสึกวาลมมากระทบที่ฐานแหงผุสนา ทําใหกําหนดจุด ๆ นั้นไมได ; นี่เรียกวาลมหายใจหายไปในระยะแหงผุสนา. เขาจะตองแกไขดวยอุบายดังที่กลาว มาแลว. สําหรับในขณะแหงปฏิภาคนิมิตนั้น สติกําหนดนิมิตที่เปนมโนภาพที่ ปรากฏขึ้นมาใหม ไมเนื่องดวยลมหายใจโดยตรงก็จริง แตก็ยังเนื่องกันอยูโดยออม คือถาลมหายใจไมเปนไปตามปรกติตามที่ตองประสงคขั้นนี้ ปฏิ ภาคนิมิตก็ไมอาจ จะเกิด ขึ ้น หรือ เกิด ขึ ้น แลว ก็ก ลับ ลม เหลวไป เพราะฐปนาไมอ าจเปน ไปดว ยดี นั่นเอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อี กประการหนึ่ ง พึ งทราบไว อี กชั้ นหนึ่ งในที่ นี้ ว า ปฏิ ภาคนิ มิ ตนั้ นเป น สิ่งที่สามารถเคลื่อนยายจากจุดที่ลมกระทบ คือจุดผุสนา ไปไดตามการนอมไปของ จิต เชนสามารถจะยายปฏิภาคนิมิตจากที่เคยตั้งอยูที่จะงอยจมูก ใหออกไปภายนอก เช น ไปลอยอยู ต รงหน า ห า งออกไปจากตั ว หรื อ ย า ยเข า ไปในภายใน ไปเด น อยู ที่ ทรวงอกหรือที่สะดือก็ตาม แลวแตกรณี. เมื่อจุดแหงผุสนาเปนสิ่งที่เคลื่อนยายไป สูตําแหนงใหมไดโดยมโนภาพ จุดแหงฐปนาก็เปนอันยายตามไปไดอยางเดียวกัน. ในกรณี เ ช น นี้ การกํ า หนดผุ ส นาและฐปนา จะต อ งเป น ไปอย า งพลิ ก แพลงและ ละเอี ยดสุ ขุ มยิ่ ง ขึ้นไปตั้ ง แต ต น ลมหายใจก็ จะต อ งมี อ ยู ไ ดเ อง เป น ระเบีย บอยู ไ ด เอง โดยอั ต โนมั ติ โดยไม ต อ งมี ค วามสํ า นึ ก มากขึ้ น ไปตามส ว น. นี้ เ องเป น การ

www.buddhadasa.in.th


กฎเกณฑนิมิต

๑๑๙

แสดงวา ลมหายใจ มีอยูไดโดยไมทําความรูสึกวามีแตอยางใด ; เพราะฉะนั้น การกํ า หนดลมหายใจจะต อ งเป น การกํ า หนดที่ ชั ด เจนที่ สุ ด และเป น ระเบี ย บที่ สุ ด และด ว ยความแน ใ จปราศจากความสงสั ย ที่ สุ ด ในการที่ จ ะไปสงสั ย และทํ า ให เ กิ ด ความเข าใจผิ ดไปว า ลมหายใจมิ ไ ดมี อ ยู ซึ่ ง ที่ แท มั นเป น สิ่ ง ที่ มีอ ยู ไ ดโ ดยไม ต อ งมี ความสํานึก และเปนระเบียบสม่ําเสมออยูได โดยไมตองมีเจตนาควบคุม เพราะ ผลแหงการฝกมาแลวเปนอยางดี และอยางเพียงพอนั่นเอง. สรุปความไดวา การหายไปแหงลมหายใจจริง ๆ นั้น ตองไมมีอยางแนนอน, ถามีก็ตองเปนความ สําคัญผิด ตองขจัดใหหายไปดวยอุบายดังที่กลาวแลว ; ผูนั้นจึงจะสามารถกําหนด ลมหายใจ หรือกายสังขาร ในขั้นที่รํางับลงอยางละเอียดที่สุดได. นี ้ค ือ อุป สรรค และวิธ ีข จัด อุป สรรคชนิด ที ่ม ัก เกิด ในขั ้น แรก แหง อานาปานสติขั้นที่สี่นี้. อุปสรรคทั่วไป

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ส ว นอุ ป สรรคในขั้ น ต อ ไปและมี ไ ด ทั่ ว ๆ ไปนั้ น อาจมี ไ ด แ ทบทุ ก ระยะ แห งการปฏิ บั ติ และการเลื่ อนลํ าดั บของการปฏิ บั ติ หากแต ว าเป นป ญหาที่ อาจจะเกิ ด เฉพาะคน เพราะอุปนิสัยแตกตางกัน ดังที่ไดเคยกลาวแลวขางตน. ถาจะประมวล มาใหห มด หรือ เผื ่อ ไวสํ า หรับ ทุก คน ก็จ ะไดเ ปน หัว ขอ ดัง ตอ ไปนี ้ ซึ ่ง เปน หัว ขอ ที่ควรสําเนียกศึกษาไวอยางคลองแคลวและแมนยําที่สุด. ก. เมื่อสติกําหนดลมหายใจออก จิตฟุงอยูในภายใน. คือเมื่อ บุ ค คลส ง จิ ต ไปตามลมที่ กํ า ลั ง ออกไปในขณะแห ง ลมหายใจออก โดยจะกํ า หนด เป น เบื้ อ งต น ท า มกลาง ที่ สุ ด หรื อ ไม ก็ ต าม เกิ ด ความห ว งว า มั น จะหายใจกลั บ

www.buddhadasa.in.th


๑๒๐

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

เข า ไปเมื่ อ ไร หรื อ เกิ ด ความกั ง วลว า มั น จะขาดตอน หรื อ มั น จะหายไปเลยไม ก ลั บ เข า หรื อ เข า ไม พ อ หรื อ เข า อย า งไม มี ร ะเบี ย บ ดั ง นี้ แ ล ว ย อ มเป น อุ ป สรรคหรื อ อันตรายตอความเปนสมาธิ แมในชั้นหยาบ. เขาจะตองมีหลักในการที่จะไมให เกิดความระแวงหรือกลัวหรือหวงเชนนั้น. ความรูสึกฟุงซานที่กลาวนี้จะปรากฏ แกบุคคลผูแรกฝกเปนธรรมดา. ถาไมไดรับการแนะนําลวงหนา ยอมเกิดการ เสียประโยชน หรือเสียเวลามากกวาที่ควร โดยไมจําเปน. ข. ในกรณีแหงการหายใจเขา. ก็มีอุปสรรคในทํานองเดียวกัน คือ เมื่อสติกําหนดลมหายใจเขาถึงที่สุดแลว จิตแลนออกไปภายนอก คือไปหวงอยูวา เมื่ อ ไรลมจะกลั บ ออกไป เมื่ อ ไรมั น จะกระทบฐานที่ ก ระทบสํ า หรั บ ขาออก ดั ง นี้ เปนตน. นี้เรียกวา จิตฟุงออกไปภายนอก มีอาการกลับกันกับขอ ก. เมื่อนํา มาเข า คู กั น ก็ อ าจจะสรุ ป ได ว า เมื่ อ กํ า หนดลมหายใจออก จิ ต ฟุ ง ไปข า งใน คื อ ไป กังวลอยูขางใน : เมื่อกําหนดลมหายใจเขา จิตฟุงไปขางนอก คือไปกังวลอยูขาง นอก. ทั้ง นี้ เปน กฎธรรมดาที่วา เมื่อ สํา เร็จ เรื่อ งขา งนอกแลว ก็ไ ปหว งขา ง ใน เมื่อสําเร็จเรื่องขางในแลวก็ไปหวงขางนอก. อาการเชนนี้ จะเกิดขึ้นเอง โดยอํานาจสัญชาตญาณอยางหนึ่ง, และผูปฏิบัติมีความรอนรน หรือมีความตั้งใจ รุนแรงเกินไปในการปฏิบัติอีกอยางหนึ่ง. การศึกษามาแลวอยางเพียงพอ กับ การสํ ารวจจิ ตอย างประณี ตสุ ขุ ม หรื อพอเหมาะพอสม และ การไม คิ ดอะไรล วงหน า ไวมาก ๆ เปนตน ยอมแกอุปสรรคคูนี้ได อุปสรรคคูถัดไปก็คือ :

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ค. ความหวังอยูก็ดี ความพอใจอยูก็ดี ความอยากก็ดี ซึ่งมีอยูใน ลมหายใจออก. ง. ความหวังอยูก็ดี ความพอใจอยูก็ดี ความอยากก็ดี ซึ่งมีอยูใน ลมหายใจเขา.

www.buddhadasa.in.th


กฎเกณฑนิมิต

๑๒๑

ทั้ง คู นี้ ล วนแต เ ป น อัน ตรายต อ ความเป น สมาธิ . ความหวั ง ในลม หายใจออกหรื อ เข า ก็ ต าม เกิ ด มาแต ค วามกลั ว ว า ลมจะหายไป ซึ่ ง จะทํ า ให ก ารปฏิ บั ติ ของตัวตองชะงัก หรือไมเปนผลดีทันตามตองการ. ผูที่ปฏิบัติดวยตัณหาอุปาทาน ยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น ในตั ว การปฏิ บั ติ เ ต็ ม ที่ ยิ่ ง ต อ งรั บ เคราะห ก รรมข อ นี้ ม าก ส ว นผู ที่ ปฏิ บั ติ ด ว ยป ญ ญา หรื อ สั ม มาทิ ฏ ฐิ พร อ มด ว ยคํ า แนะนํ า ที่ ดี ก็ แ ทบจะไม พ บ อุปสรรคอันนี้. ความพอใจในลมหายใจออกหรือเขา ที่เกิดมาจากความรูสึกสบายในขณะ ที่หายใจออกหรือเขา หรือที่เกิดมาจากความรูสึกที่เปนการยึดมั่นถือมั่นก็ตาม ยอมเปนสิ่ง ที่มีอํานาจมากเพียงพอ ที่จะใหเกิดความฟุงซานแหงจิต หรือเกิดความหยาบแหงลมหายใจ จนไมมีทางที่จะระงับลงได. มันจูงไปในทางแหงความตื่นเตนเสียตลอดเวลา จึงจัด เปน อุป สรรคหรือ อัน ตรายในปริย ายหนึ่ง . สว นความอยากหรือ ความหวัง นั้น เนื่องมาจากความพอใจจึงมีความกระหายตอการหายใจเขาหรือออกก็ตาม. แมขอนี้ ก็ เ ป น สิ่ ง ที่ ทํ า ให มี จิ ต หยาบ มี ล มหายใจหยาบ ไม อ าจจะระงั บ ลงได จึ ง ถื อ ว า ทั้ ง คู เปน อัน ตรายตอ ความเปน สมาธิ เชน เดีย วกับ ความฟุ ง แหง จิต ที ่ก ลา วแลว ใน ขอ ก. และ ข. คูถัดไปอีก คือ :

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org จ. เมื่อลมหายใจออกครอบงํา เกิดการลืมตอการหายใจเขา.

ฉ. เมื่อลมหายใจออกครอบงํา เกิดการลืมตอการหายใจออก.

ทั้ง ๒ อยางนี้ เปนอันตรายแหงการทําสมาธิ. คําวา ถูกลมหายใจ ครอบงํา นั้น หมายความวาเขาไปสนใจตอลมหายใจนั้นรุนแรงเกินไปก็ดี ; หรือ การหายใจออก มี อ ะไรที่ ทํ า ให เ กิ ด ความสนใจมากโดยส ว นเดี ย ว ส ว นขณะที่ ห ายใจ เข า ไม มี อ าการอย า งนั้ น ดั ง นี้ เ ป น ต น ก็ ดี ; หรื อ ว า อวั ย วะเครื่ อ งทํ า การหายใจ

www.buddhadasa.in.th


๑๒๒

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

ไมเปนปรกติ สะดวกแตการหายใจออก ไมสะดวกในเมื่อหายใจเขา, หรือสะดวก แตเมื่อหายใจเขา ไมสะดวกในเมื่อหายใจออกก็ดี : ยอมมีอาการที่เปนอุปสรรค ในขอนี้เกิดขึ้น. โดยใจความก็คือไดมีอะไรมาทําใหเขาสนใจ หรือกําหนดลมหายใจ ไดแตเพียงฝายใดฝายหนึ่ง เพราะความไมรูเทาถึงการณ, ลักษณะที่เปนไดงาย แกผูปฏิบัตินั้น ก็อยูตรงที่เขาไปสนใจอยางรุนแรงและยืดยาว ในสิ่งซึ่งเปนสิ่งแรก ที่เขาประสบเขา, และขอถัดไปก็เนื่องมาจากอวัยวะซึ่งเปนฐานที่ตั้งแหงการกําหนด ไมสามารถที่จะทําหนาที่ไดเทากัน ในขณะหายใจเขาและออก จนทําใหเกิดความ ยุงยากขึ้น โดยที่ไมสามารถจะใชจุด ๆ เดียวกัน ใหเปนที่ตั้งของผุสนาไดอยาง สม่ําเสมอ ทั้งเมื่อหายใจออกและหายใจเขา คูถัดไปอีกคือ : ช. เมื่อกําหนดนิมิต จิตในลมหายใจออกหวั่นไหว. ซ. เมื่อกําหนดลมหายใจออก จิตในนิมิตหวั่นไหว. ทั้งสองอยางนี้ เปนอันตรายตอความเปนสมาธิ. คําวา นิมิต ในที่นี้ ก็หมายถึงนิมิตในขั้นผุสนา หรืออุคคหนิมิต. เมื่อจิตไปกําหนดอยูที่อุคคหนิมิต คือฐานที่ลมกระทบ จิตที่กําหนดตัวลมก็หวั่นไหว หรือ สายไป. อีกทางหนึ่ง ซึ่ง ตรงกั น ข ามก็ คื อ เมื่อ กํ า หนดที่ ตัว ลมหายใจมากเกิ น ไป หรือ ด ว ยความตั้ ง ใจ เต็ ม ที่ จิ ต ที่ จ ะกํ า หนดในนิ มิ ต คื อ ฐานที่ ล มกระทบ หรื อ ที่ เ รี ย กว า ผุ ส นานั้ น ก็ เปนจิตหวั่นไหวหรือสายไป. อุปสรรคขอนี้เกิดมาจากการกระทําที่สับสน หรือ ผิด ลํา ดับ เพราะการศึก ษาไมเ พีย งพอ หรือ ทํา ไปตามความเขา ใจของตนเอง. เมื่อการปฏิบัติยังอยูในขั้นแรก อุปสรรคหรือปญหานี้ยังไมเกิด เพราะตัวลมหายใจ

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


กฎเกณฑนิมิต

๑๒๓

นั้นเองเปนตัวนิมิต. ถาปญหาจะเกิด ก็เนื่องมาจากการที่ผูนั้นไดไปทําการ กํ า หนดแบ ง แยกให เ ป น นิ มิ ต อย า งหนึ่ ง ให ล มหายใจอย า งหนึ่ ง แล ว เขาก็ กํ า หนด ในฐานะที่เปนนิมิตนั้นอยางหนึ่ง ในฐานะที่เปนลมหายใจนั้นอีกอยางหนึ่ง ; เมื่อ กําหนดอยางใดมากไป จิตที่กําหนดทางอีกฝายหนึ่งก็หวั่นไหว ดู ๆ คลายกับวาเปน การรูมาก ยากนาน. ถ าหากกระทํ าแต เพี ยงว าสติ กํ าหนดลมอย างแน วแน แล ว ถื อเอาลมนั้ น เป น นิ มิ ต พร อ มกั น ไปในตั ว ก็ ไ ม มี ท างที่ จ ะกํ า หนดหนั ก ไปในทางใดทางหนึ่ ง อุ ป สรรคหรื อ ป ญ หาที่ ก ล า วก็ จ ะไม เ กิ ด ขึ้ น ในขั้ น ที่ กํ า หนดลมหายใจให เ ป น นิ มิ ต ทั้งนี้ เปนปญหาที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับลมหายใจออก. สวนปญหาที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับ ลมหายใจเขา ก็เปนไปในทํานองอยางเดียวกันคือ : ฌ. เมื่อกําหนดนิมิต จิตในลมหายใจเขาหวั่นไหว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ญ. เมื่อกําหนดลมหายใจเขา จิตในนิมิตหวั่นไหว.

ทั้ง ๒ อยางนี้ เปนอันตรายตอความเปนสมาธิ. คําอธิบายและการ แกไขอุปสรรคครั้งนี้ เปนอยางเดียวกับคูกอน คือ ช. กับ ซ. จึงสามารถวินิจฉัย รวมกั นไปในคราวเดี ยวกั น และอาจจะสรุ ปความประมวลเป นใจความสํ าคั ญ ที่ ใช ไดทั่วไปทั้ง ๒ คู วา ในเมื่อยังใชลมหายใจเปนนิมิต ก็ควรใชอุบายในการ กํา หนดควบคูไ ปดวยกัน คือ ไมทําในใจในทางที่จะแบง แยกกัน . ครั้น ลว งมา ขณะแหง อุค คหนิม ิต ก็กํา หนดเอาฐาน ที่ตั้ง เปน ตัว นิมิต ไมใ สใ จถึง ลมหายใจ ใส ใ จแต ค วามรู สึ ก ที่ เ กิ ด ขึ้ น ที่ ต รงจุ ด นั้ น เท า นั้ น ซึ่ ง ย อ มเป น การกํ า หนดลมหายใจ ไปในตัว โดยไมรูสึกตัว ดวยอุบายที่แยบคาย. ครั้นตกมาถึงระยะแหงปฏิภาค นิมิต ซึ่งเปนการถือเอาดวงแหงมโนภาพที่เกิดขึ้น มาเปนตัวนิมิต การกําหนด

www.buddhadasa.in.th


๑๒๔

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

ลมหายใจก็ กลายเป นสิ่ ง ที่ ระงั บไปแล วโดยสิ้ นเชิ ง โดยถื อ ว าลมหายใจเป น สิ่ งที่ มี อ ยู เป นระเบี ยบโดยไม รู สึ ก เมื่ อ การกํ าหนดปฏิ ภาคนิ มิ ต ยั ง เป น ไปได ดี อ ยู คื อ ปรกติ อ ยู ก็ เ ป น อั น ถื อ ว า ลมหายใจนั้ น ยั ง เป น ระเบี ย บอยู โ ดยไร สํ า นึ ก ในขั้ น นี้ จึ ง มี แ ต ก าร กําหนดนิมิตแตออยางเดียวโดยตรง ไมตองทําในใจใหเปนหวงถึงการกําหนดลมเลย. ทั้งหมดนี้อาจจะสรุปความสั้น ๆ ไดอีกครั้งหนึ่งวา : (๑) ในขณะแหงบริกรรมนิมิต กําหนดลมและนิมิตพรอมกันไปในตัว (๒) ในขณะแหง อุค คหนิมิต กํา หนดแตนิมิต ที่ต รงจุด แหง ผุส นา ให ก ารกํ า หนดลมเป น แต เ พี ย งของฝาก หรื อ ของพลอยได ซึ่ ง ไม ต อ งสนใจเท า กั บ การกํ า หนดนิ มิ ต แต ผุ ส นาย อ มเกิ ด ขึ้ น เมื่ อ ลมกระทบเทานั้น ฉะนั้นจึงเปนการกําหนด ๒ อยางพรอมกันไป ในตัวโดยอีกปริยายหนึ่ง. (๓) สวนในขณะแหงปฏิภาคนิมิต กําหนดแตนิมิตโดยตรงเพียง อย างเดี ยว ทิ้ งลมหายใจไว ในฐานะที่ เป นสิ่ ง ดํ าเนิ นไปได เอง โดย ไมตองมีการกําหนดแมโดยปริยาย. อุปสรรคหรืออันตราย ๒ คูนี้ ย อ มหมดไปโดยอุ บ ายอั น แยบคาย แห ง การปฏิ บั ติ อั น ถู ก ต อ งใน ขณะแหงนิมิต ๓ ระยะ ดังกลาวนี้. คูถัดไปอีก คือ :-

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


กฎเกณฑนิมิต

๑๒๕

ด. เมื่อกําหนดลมหายใจออก จิตในลมหายใจเขาหวั่นไหว.๑ ต. เมื่อกําหนดลมหายใจเขา จิตในลมหายใจออกหวั่นไหว. ทั้ง ๒ อยางนี้ เปนอันตรายตอความเปนสมาธิ. อุปสรรคคูนี้เปนไป ในระยะแรก ๆ. ความหมายโดยตรงหมายถึงอาการของบุคคลที่ไมทําในใจโดย แยบคาย คือ ไมม ีก ารทํ า ในใจมากพอ ถึง กับ ไมส ามารถทํ า ของ ๒ อยา งนี้ ใหสม่ําเสมอกันดวยความรูสึกที่เทากัน. ทั้งนี้เปนเพราะความไมรูบาง เพราะ ความตั้ ง ใจมากเกิ น ไปบ า ง ผู ป ฏิ บั ติ พึ ง สั ง เกตให เ ห็ น ว า อุ ป สรรคในคู นี้ มี อ าการ คลายกันกับขอ ก. และ ข. หากแต มีความมุงหมายแตกตางกันบางในขอที่วา ในขั้นนี้ หมายถึงจิตที่ไมไดรับการกระทําที่สม่ําเสมอกันในคูหนึ่ง ๆ มีอาการ ผิดปรกติเปนพิเศษกวา หรือเล็กนอยกวา หรือเฉพาะคนกวา ยิ่งกวาในขั้นตน คือในขอ ก. และ ข. ; และยังหมายถึงวาจิตหวั่นไหวในระยะหลังนี้ อาจจะมีมูล เหตุ ม าจากทางอื่ น โดยไม เ นื่ อ งกั บ การหายใจที่ คู กั น ในระยะเดี ย วกั น ก็ ไ ด เพราะ เหตุที่โยนิโสมนสิการในลมหายใจไมเทากันทั้ง ๒ ระยะ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ผู ป ระสบอุ ป สรรคข อ นี้ จ ะต อ งหาทางแก ไ ขเฉพาะส ว นที่ ห วั่ น ไหว หรื อ เทาที่เปนมูลเหตุของความหวั่นไหวเฉพาะสวน. นํามากลาวไวในฐานะเปนสิ่งที่ อาจจะเกิดขึ้นเทานั้น. สวนคูตอไปนั้นเปนเรื่องที่เกี่ยวกับสิ่งแทรกแซง คือ :

การบรรยายครั้งที่ ๑๓ / ๖ กันยายน ๒๕๐๒

www.buddhadasa.in.th


๑๒๖

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

ถ. จิตแลนไปตามอารมณในอดีต เปนจิตตกไปบางกระสับกระสาย (วิกเขปะ). ท. จิตหวังอารมณในอนาคต เกิดเปนจิตหวั่นไหว (วิกัมปตะ). ทั้ง ๒ อยางนี้ เปนอันตรายตอการทําสมาธิ. ขอที่ตองสังเกตมีอยูวา อารมณ ใ นอดี ต เป น เหตุ ใ ห ก ระสั บ กระส า ย อารมณ ใ นอนาคตเป น เหตุ ใ ห ห วั่ น ไหว; อาการทั้งสองนี้ มีความแตกตางกันอยางไร ? อาการกระสับกระสายหรือวิกเขปะ นั้นหมายถึงมากเรื่อง หรือหลายทิศหลายทาง, สวนอาการหวั่นไหวหมายถึงเฉพาะ เรื่อง และมีที่มุงหมายทางใดทางหนึ่ง. การแกไขอุปสรรคคูนี้ มีอาการคลายกัน ในระยะแรก คือ ตอ งละเวน หรือ รํา งับ จิต ที่เ ปน อยา งนั้น เสีย กอ น แลว จึง (๑) ทําการ “ตั้งจิตใหม” ในอารมณหรือในฐานอันเดียวกัน โดยเฉพาะอยางยิ่ง ก็คือ ผุสนา สําหรับจิตที่แลนไปในอารมณอดีต ; และ (๒) ทําการ “นอมจิตไป” ในอารมณหรือฐานอันเดียวอยางเดียวกัน สําหรับจิตที่หวังอารมณในอนาคต. ความแตกตางระหวางคําวา “ตั้งจิตใหม” (สําหรับขอ ถ.) และคําวา “นอมจิตไป” (สําหรับขอ ท.) มีอยูอยางไรนั้น เปนสิ่งที่ตองพิจารณาดูอยางละเอียด จึงจะเขาใจ และปฏิบัติไปจนแกอุปสรรคนั้นได. คําวา “ตั้ง” หมายความวา ตั้งขึ้นใหม สําหรับ กรณีที ่ไ มไ ดตั ้ง ขึ ้น มากอ น หรือ ตั ้ง ขึ ้น ไมสํ า เร็จ ก็ต าม หรือ วา ไมรู จ ะตั ้ง ตรงไหน ก็ตาม ; ฉะนั้น ตองมีการตั้งหรือการกําหนดโดยเฉพาะขึ้นมาใหม. สวนคําวา “นอม” จิตไปนั้น หมายถึงจิตไปตั้งอยู ผิดที่ หรือเปนการตั้งแลวอยางผิดที่ หรือ กํ า หนดผิด ที ่ จะตอ งนอ มไปใหถ ูก ที ่ หรือ ดึง ไปใหถ ูก ที ่ อาการจึง ตา งกัน . โดยหลั ก การอั น นี้ ทํ า ให เ ห็ น ได เ องว า ความกระสั บ กระส า ยหรื อ วิ ก เขปะนั้ น ไม มี ที่ ตั้ ง และอาศั ย มู ล เหตุ ม าจากอารมณ ใ นอดี ต ซึ่ ง มี อ ยู ม ากมายด ว ยกั น แต ก็ ล ว น

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


กฎเกณฑนิมิต

๑๒๗

แตไมเปนที่ตั้งแหงความหวัง. สวนอาการที่เรียกวาหวั่นไหว หรือวิกัมปตะนั้น หมายถึ ง อาการตั้ ง อยู แ ล ว ในอารมณ ที่ มุ ง หวั ง และเกี่ ย วกั บ อารมณ อ นาคตโดย เฉพาะเทานั้น. ถารูจักการตั้งและอาการนอมไปทั้ง ๒ อยางนี้ไดดี ก็ยอมจะแก ปญหาขอนี้ได. เมื่ อสั งเกตความหมายของคํ าเหล านี้ ได ถึ งที่ สุ ดแล ว ย อมได ความรู กว าง ออกไป แม ใ นทางจิ ต วิ ท ยาล ว น ๆ ว า อารมณ ใ นอดี ต กั บ อารมณ ใ นอนาคตนั้ น นําใหเกิดปฏิกิริยาแกจิตใจแตกตางกันในแงที่ละเอียดอยางนี้ ; ไมควรจะเหมา ๆ เอาเสียวาผิดกันแตเปนอดีตหรืออนาคต หรือโดยสักวาชื่อ, สวนโดยผลหรือโดย ปฏิกิริยานั้นเหมือนกัน ดังนี้เปนตน. อารมณในอดีตตั้งอยูไดดวยอาศัยสัญญา ; อารมณในอนาคตตั้งอยูไดดวยอาศัยเวทนาและวิตก แลวมันจะเหมือนกันได อยางไร. อีกทางหนึ่งก็คือการศึกษาใหรูเรื่องสัญญา เวทนาและวิตก นั่นเอง จะ เป น ประโยชน แ ก ก ารตั้ ง จิ ต และการน อ มจิ ต ไป ดั ง ที่ ก ล า วแล ว ข า งต น ได ต าม ความประสงค.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สําหรับคําวา “ละเวนจิตนั้น ๆ เสีย” แลวจึงตั้งใหม หรือนอมไปใหม นั้น มีท างที่จ ะละเวน เสีย ดว ยการขม อยางหนึ่ง ; และดว ยการพิจ ารณา อี ก อย า งหนึ่ ง ในเมื่ อ การข ม ทํา ไปไม สํา เร็ จ . อธิ บ ายว า เมื่ อ เราต อ งการ จะละสั ญ ญาในอดี ต เรื่ อ งใดเสี ย ด ว ยการข ม ใจไม ใ ห ร ะลึ ก ถึ ง โดยให ไ ปกํ า หนดอยู ในนิมิตของสมาธิ, แตทําอยางไร ๆ ก็ไมสําเร็จ เพราะสัญญาในอดีตมีกําลังมาก เกิ น ไปจนไม อ าจจะข ม ได จะต อ งอาศั ย การละด ว ยพิ จ ารณาด ว ยป ญ ญา คื อ เพ ง พิ จ ารณาดู ถึ ง อารมณ แ ห ง สั ญ ญาในอดี ต ว า อารมณ นั้ น ก็ ดี สั ญ ญานั้ น ก็ ดี เป น แต เพี ย งสิ่ ง ที่ ถู ก ปรุ ง ขึ้ น มา และเป น อนิ จ จั ง ทุ ก ขั ง อนั ต ตา หรื อ ปราศจากตั ว ตน

www.buddhadasa.in.th


๑๒๘

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

โดยสิ้นเชิง. เมื่อเห็นชัดแจงดังนี้ การละเวนจิตที่แลนไปตามอารมณแหงสัญญา ในอดีต ก็เปนสิ่งที่เปนไปได คือทําลายเสียได. สําหรับอารมณในอนาคต ก็มี หลักเกณฑ อยางเดี ยวกัน หากแตวาถาเปนการพิจารณาจะตองพิ จารณาลงไปยังตั ว เวทนาหรือวิตก : เวทนาคือเวทนาที่หวังจะไดมาเปนความถูกอกถูกใจ เปนตน จากอารมณในอนาคต. วิตกคือการตริตรึกไปสูอารมณในอนาคต. เมื่อทั้ง เวทนาและวิต กเปน เพีย งมายา คือ เปน เพีย งสิ ่ง ที ่ป รุง มัน ขึ ้น ในใจ ไมม ีต ัว ตนที่ แท จ ริ ง ไม เ ที่ ย ง เป น ทุ ก ข เป น อนั ต ตา ดั ง ที่ ก ล า วแล ว ก็ ทํ า ลายเวทนาและวิ ต ก เสียได อารมณในอนาคตก็ถูกทําลายไป นี้เรียกวา “ละเวนจิตนั้น ๆ” เสียได แลว ตั้ ง จิ ต ใหม ห รื อ น อ มจิ ต ไปสู อ ารมณ ใ หม คื อ ไปสู นิ มิ ต ของสมาธิ ร ะยะใดระยะหนึ่ ง นั่นเอง. อุ ปสรรคคู นี้ อาจจะเกิ ดขึ้ นได ทุ กขณะ และโดยเฉพาะอย างยิ่ งคื อระยะ เริ ่ม แรก ไดแ กใ นขณะแหง คณนาหรือ อนุพ ัน ธนาของบริก รรมนิม ิต โดยเฉพาะ และอาจกาวกายขึ้นไปถึงระยะผุสนาแหงอุคคหนิมิตในบางสวนหรือบางโอกาส. แต ถา หากวา ไดแ กไ ขอุป สรรคอัน นี ้ไ ปดว ยดีตั ้ง แตร ะยะแหง บริก รรมนิม ิต แลว การ รบกวนในระยะแหงอุคคหนิมิตก็ยากที่จะมีได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อี ก ทางหนึ่ ง ซึ่ ง จะต อ งสํ า เหนี ย กไว ก็ คื อ ว า บุ พ พกิ จ เบื้ อ งต น ต า ง ๆ ในระยะตระเตรี ย มตั ว เพื่ อ ทํ า กั ม มั ฏ ฐาน ตลอดถึ ง การละปลิ โ พธ ดั ง ที่ ก ล า วแล ว ข า งต น ก็ เ ป น สิ่ ง ที่ มี ค วามสํ า คั ญ เกี่ ย วกั บ การเกิ ด ของอุ ป สรรคคู นี้ หรื อ การไม เ กิ ด ของอุปสรรคคูนี้อยางไมนอยทีเดียว. อีกสิ่งหนึ่งซึ่งควรระลึกดวยก็คือ กัมมัฏฐาน อุปกรณ ที่ใชทําอยูเปนประจําวันสําหรับสนับสนุน กัมมัฏฐานหลัก ดังที่กลาวแลว ขางตน. สิ่งนี้มีความสัมพันธกันอยูมาก ในการปองกันมิใหเกิดอุปสรรคคูนี้ขึ้น มาไดงาย ๆ. อุปสรรคคูถัดไปคือ :

www.buddhadasa.in.th


กฎเกณฑนิมิต

๑๒๙

ธ. จิตหดหู เปนจิตตกไปขางฝายเกียจคราน. น. จิตเพียรจัดเกินไป เปนจิตตกไปขางฝายฟุงซาน. ทั้ง ๒ อยางนี้ เปนอันตรายตอความเปนสมาธิ. อุปสรรคทั้งคูนี้อาจ จะเกิ ดขึ้ นได ทุ กขณะ หากแต ว ามาในทางที่ แตกต างกั น เพราะฉะนั้ นจึ งไม มาด วยกั น อยางเคียงคูกันเหมือนคูอื่นบางคู. อุปสรรคอยางแรก คําวา “หดหู” โดยใจความ หมายถึงความออน กําลัง หรือไรกําลัง เพราะปฏิบัติผิดก็ดี เพราะเนื่องดวยโรคภัยก็ดี เพราะเนื่อง ด ว ยร า งกายไม ส มประกอบก็ ดี หรื อ เพราะกํ า ลั ง ในทางจิ ต คื อ อิ น ทรี ย ต า ง ๆ (มี สั ท ธา วิริยะ สติ สมาธิ ปญญา) ออนเกินไปก็ดี ลวนแตนํามาซึ่งผลอยางเดียวกัน คือความถอยกําลัง แลวตกไปเปนฝายเกียจคราน. ความซึมเซา งวงเหงาหาวนอน มึ นชา สลั ว ท อแท อิ ดโรย และอื่ น ๆ ซึ่ งมี ลั กษณะแห ง การถอยกํ าลั งอย างเดี ยวกั น ยอมจัดเขาไวในขอ นี้ ; หรือแมที่สุดแตความคิดที่เปลี่ยนแปลงไป จนกระทั่ง เกิด ความไมพ อใจ หรือ ไมเ ลื ่อ มใสตอ วัต ถุป ระสงคอ ัน นี ้โ ดยแทจ ริง ก็น ับ รวม เขาไวในขอนี้. รวมความวากิริยาที่จิตถอยกําลังลงไป เรียกวาความหดหูในที่นี้ ทุกอยาง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org การระงั บ อุ ป สรรค หรื อ อั น ตรายคื อ ความหดหู นี้ มี ห ลั ก อยู ว า “เธอ ประคองจิตนั้นขึ้น แลวยอมละความเกียจครานเสียได”. สิ่งที่ตองศึกษา คือการ ที่จะประคองจิตนั้นขึ้นโดยวิธีไร. ผูปฏิบัติจะตองประคองจิตดวยอุบายที่แยบคาย เริ่มดวยการแกไขมูลเหตุตาง ๆ ของความหดหูดังที่กลาวมาแลวขางตน เทาที่จะทํา ใหไดดีในภายนอก หรือ ในทางกายอยางไรเสียกอน แลวจึงยกจิตในภายใน ขึ้ น :เช น ถ า ร า งกายไม ดี อาหารไม เ หมาะหรื อ สั ป ปายธรรมอย า งอื่ น ไม เ พี ย งพอ

www.buddhadasa.in.th


๑๓๐

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

ก็ตอ งแกไ ขสว นนั้น กอ น แลว จึง แกไ ขสว นที่เ ปน เรื่อ งของจิต โดยตรง. การ แกไขทางจิตโดยเฉพาะอยางยิ่ง ก็คือปลูกฉันทะ ในการเจริญภาวนาใหมากขึ้น ดวยอุบายที่แยบคาย ซึ่งมีอยูมากมายดวยกัน แลวแตความเหมาะสม. ถาเหลือ วิสัยของตนเอง ผูเปนกัลยาณมิตรหรืออาจารย ก็อาจจะชวยเหลือไดดี. อุบาย ปลูกฉันทะนั้นที่เปนภายนอก ก็คือระลึกถึงบุคคลภายนอกอันเปนที่ตั้งแหงศรัทธา เช น ระลึ ก ในพระพุ ท ธคุ ณ เกิ ด ความเลื่ อ มใสแล ว ก็ เ กิ ด ความอยากหรื อ ความพอใจใน การปฏิบัติยิ่ง ๆ ขึ้นไปดังนี้ก็ดี ; หรือระลึกถึงบุคคลคนใดคนหนึ่ง ซึ่งเปนที่ตั้งแหง มานะ ว า เราก็ ค นเขาก็ ค น เมื่ อ เขาปฏิ บั ติ ไ ด เราก็ ต อ งปฏิ บั ติ ไ ด ดั ง นี้ เ ป น ต น ก็ ดี เรียกวาอาศัยเหตุปจจัยภายนอก. อีกทางหนึ่งก็คือ อุบายปลูกฉันทะอาศัยเหตุ ป จ จั ย ภายใน ของตั ว เองโดยตรง ว า ความทุ กข เ ป น อย า งนี้ วั ฏ ฏสงสารเป น อย า งนี้ ความดับทุกขเปนอยางนี้ ความหยุดเวียนวายเปนอยางนี้ ไมมีทางอื่น : ยิ่ง พิ จ ารณาไปก็ ยิ่ ง เห็ น คุ ณ แห ง พระธรรม และเห็ น ความจํ า เป น ที่ ต นต อ งพึ่ ง พระธรรม ไมมีทางอื่นที่จะเปนทางรอดของตนได ดังนี้เปนตนก็ดี : นี้เรียกวาอาศัยเหตุที่ เปนภายใน เปนอุบายประคองจิต เปนการเพิ่มกําลังใหแกอินทรียของตน ไดดวย กันทั้งนั้น. ประคองจิตขึ้นมาไดเทาไร ก็ยอมมีกําลังละความหดหู หรือความ เกียจครานเสียไดเทานั้น. ผูมีความเฉลียวฉลาดมากเทาไร ก็ยอมคิดหาอุบาย ประคองจิตของตนได เปนวงกวางขึ้นไปเทานั้น. รวมความแลว ก็เปนทางให เกิ ด ฉั น ทะ วิ ริ ย ะ จิ ต ตะ วิ มั ง สา ด ว ยกั น ทั้ ง นั้ น และล ว นแต เ ป น ความหวั ง หรื อ เห็นแกสิ่งหนึ่งสิ่งใดซึ่งตนหวังดวยกันทั้งนั้น จึงอาจจะนํามาใชเปนอุบายได : นับ ตั้ ง แต เ ห็ น แก บิ ด ามารดา เห็ น แก บุ ค คลที่ ต นประสงค จ ะให เ ขาได รั บ ความพอใจ เห็ น แกพ ระพุท ธเจา เห็น แกพ ระศาสนา กระทั ่ง เห็น แกค วามหลุด พน ของตัว เอง เปนที่สุด. สวน การเห็นแกทรัพย หรือชื่อเสียงเปนตนนั้น เปนของต่ําเกินไป กวาที่จะนํามาใชเปนอุบายสําหรับปลูกฉันทะในกรณีเชนนี้ได. สรุปความวา ถาจิตหดหูตองแกไขดวยอุบายที่เปนการประคับประคอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


กฎเกณฑนิมิต

๑๓๑

ส ว นอุ ป สรรคเกิ ด จากการที่ จิ ต มี ความเพี ย รจั ด เกิ นไป จนตกไปข างฝ า ย ฟุงซานนั้น เปนสิ่งที่กลับตรงกันขามกับจิตที่หดหูโดยประการทั้งปวง. อุบาย สํ า หรับ แกไ ขอุป สรรคขอ นี ้ จึง มีอ ยู ใ นรูป ตรงกัน ขา ม วา “เธอขม จิต นั ้น เสีย ยอมละความฟุงซานได” ดังนี้. จิตเพียรจัดเกินไป หมายถึงมีความขะมักเขมน เกินขอบเขต. กลาวโดยที่ถูกแลว จิตไมควรจะมีความขะมักเขมนหรืออะไร ๆ ที่มีความหมายมากมายเกินกวาความพอดี ทุกชนิดทีเดียว. แมแตสิ่งที่เรียกวา ความเพี ยร ก็ ควรจะทราบว าเป นความเพี ยรที่ ทํ าไปในลั กษณะที่ พอดี มิ ใช พากเพี ยร ดวยตัณหามานะ เหมือนกรณีของชาวโลกที่ประกอบการงาน. ความเพี ย รที่ จั ด เกิ น ไปนั้ น ย อ มมี มู ล มาจากตั ณ หามานะทิ ฏ ฐิ กระทั่ ง ถึงอวิชชาเปนที่สุด ; เพราะฉะนั้น จะตองมีการศึกษาเกี่ยวกับความเพียรที่พอ เหมาะพอดีมาเปนพื้นฐานเสียกอน. อี ก ทางหนึ่ ง ความเพี ย รอาจจะพุ ง จั ด เกิ น ไปได ด ว ยความเคยชิ น ที่ เ ลื่ อ น ลอย ในการกระทํ าทางกายและทางจิ ต เช น มี ค วามขยั น ขั นแข็ งในการนั่ ง หรื อ การ ยืน หรือการจงกรมเปนตน มากเกินไป. จนเกิดความผิดปรกติขึ้นในรางกายแลว จิตก็ตองฟุงซานไปตาม : หรือในระยะแหงวิปสสนา ขยันพิจารณาอยางมุมานะ มากเกิ น ไป กว า การเพ ง ดู ค วามจริ ง อย า งแน ว แน แ ล ว จิ ต ก็ ต กไปเป น ฝ า ยฟุ ง ซ า น ไดอยางใหญหลวงโดยงาย เพราะความเคยชินอันเลื่อนลอยนั้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เมื่ อเสี ยความเป นปรกติ ทั้ งทางฝ ายกาย และฝ ายจิ ตรวมเข าด วยกั นแล ว เขายอ มไมส ามารถจะขม จิต ได กระทั ่ง ถึง แมจ ะนอนหลับ ก็ห ลับ ไมไ ด โดยที ่จ ิต ใฝ ฝ น เลื่ อ นลอยไป ไม ย อมหยุ ด ทั้ ง ที่ ก ายนอนหลั บ ตานิ่ ง จนกระทั่ ง เป น อั น ตราย ในที่สุด.

www.buddhadasa.in.th


๑๓๒

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

การข มจิ ตในที่ นี้ จะสํ าเร็ จได ด วยการป องกั น และการกํ าจั ดมู ลเหตุ แห ง ความฟุง ซา นโดยตรงนั้น เอง. เมื่อ ไดบ รรเทามูล เหตุชั้น หยาบ ๆ หรือ ที่เ ปน ภายนอกออกไปเสี ยได แล ว ก็ สามารถขจั ดความฟุ งซ านที่ เป นชั้ นละเอี ยดหรื อภายใน ไดตามลําดับ. ในบางกรณี ต อ งเป น ไปในทางพั ก ผ อ นเสี ย ชั่ ว คราว ทั้ ง ทางกายและ ทางใจ พักผอนทางกาย คือการหยุดทําความเพียรชั่วคราว ; พักผอนทางจิต คือหยุดใชการพิจารณา แลวมาสงบอยูดวยสมาธิเสียชั่วคราว ดังนี้ก็ดี, หรือหยุด สมาธิ ชั้ นละเอี ยดชนิ ดที่ มี อารมณ ละเอียด ไปเป นสมาธิ อย างอื่ นที่อารมณ หยาบกว า กลาวคือเปลี่ยนสมาธิเสียนั่นเอง ดังนี้ก็ดี. เปนการชั่วคราวแลว ยอมเปนอุบาย ที่กําจัดความเพียรที่พุงจัดเกินไปไดดวยกันทั้งนั้น. สรุปความวา การขมจิตนั้น ไมไดหมายความอยางขมเขาวัวใหกิน หญา หรือหักดามพรากับหัวเขา : หากแตวาเปนการใชอุบายที่แยบคายอยางใด อยางหนึ่ง จนระงับความฟุงซานไดนั่นเอง. อยางไรก็ตาม อุปสรรคคูนี้เปน อุ ป สรรคที่ ย ากลํ า บากต อ การที่ จ ะขจั ด ยิ่ ง ไปกว า คู ที่ แ ล ว ๆ มา และเป น อุ ป สรรคที่ อาจจะเกิ ดขึ้ นได โดยง ายกว าอุ ปสรรคที่ แล ว ๆ มา กระทั่ งมี ขอบเขตที่ จะต องศึ กษา เพื ่อ การควบคุม และแกไ ขที ่ก วา งขวางยิ ่ง กวา อุป สรรคอื ่น ๆ ที ่ก ลา วขา งตน . สวนอุปสรรคคูสุดทายคือ :-

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


กฎเกณฑนิมิต

๑๓๓

บ. จิตไวตอความรูสึกเกินไป เปนจิตตกไปขางฝายกําหนัด.๑ ป. จิตไมแจมใส เปนจิตติกไปขางฝายพยาบาท. ทั้ง ๒ อยางนี้ เปนอันตรายตอความเปนสมาธิ. ที่วาจิตไวตอความ รู ส ึก เกิน ไป เปน จิต ตกไปขา งฝา ยกํ า หนัด นั ้น หมายถึง ไวในการรู ส ึก ตอ อารมณ ที ่ม ากระทบ เปน เหตุใ หรู ส ึก ไดม ากกวา ที ่ค วรจะเปน และละเอีย ดลออมากกวา ที่ ควรจะเป น และขยายความรู สึ ก ออกไปได เ องมากกว า ที่ เ ป นจริ ง แม ที่ สุ ดแต ก าร คิดฝนเกง ไมมีที่สิ้นสุด ก็นับเนื่องเขาในขอนี้. ว า โดยที่ แ ท แ ล ว ก็ เ ป น ความไหวพริ บ หรื อ ความเฉลี ย วฉลาดชนิ ด หนึ่ ง หากแตวาไวจนควบคุมไมได และกลับเปนผลรายแกความเปนสมาธิ. ที่เห็นได งาย ๆ เชนความรูสึกของพวกศิลปนที่ชางคิดชางฝนในทางจิตรกรรมตาง ๆ ที่ขยายตัว ไปในทางงดงาม หรื อ แปลกประหลาดได ไ ม มี ที่ สิ้ น สุ ด . ในทางจิ ต รกรรม หรื อ สิ่ ง อื่ น มั น เป น ผลดี ใ นกรณี นั้ น ๆ แต ก ลั บ เป น อุ ป สรรคในทางฝ า ยสมาธิ ห รื อ สมถะเชนนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org การที่ จิ ตไวต อความรู สึ กเกิ นไปเช นนี้ ทํ าความยุ งยากลํ าบากให แก ผู ปฏิ บั ติ เหลือ ประมาณ, โดยที่แ ทแ ลว ความกํา หนัด ในอารมณนั้น ก็เปน อาการของ สั ญชาตญาณอยู ตามธรรมดาแล ว ครั้ นมี ความเฉลี ยวฉลาด หรื อความไวต อ ความ รู สึ กเพิ่ มขึ้ น มาอี ก อาการดั ง กล าวแล ว นั้ นก็ เ ป น ไปอย างแรงกล า กว า ธรรมดา เป น การส ง เสริ ม นิ ว รณ คื อ กามฉั น ทะให มี กํ า ลั ง ยิ่ ง ขึ้ น ไป และเกิ ด ได ง า ย หรื อ เกิ ด ได บอยยิ่งขึ้น.

การบรรยายครั้งที่ ๑๔ / ๗ กันยายน ๒๕๐๒

www.buddhadasa.in.th


๑๓๔

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

อุ บ ายสํ า หรั บ กํ า จั ด อุ ป สรรคข อ นี้ มี อ ยู ว า “เธอเป น ผู รู สึ ก ตั ว ทั่ ว พร อ ม (สัมปชาโน) ตอจิตนั้น ยอมละความกําหนัดได” ดังนี้. เพื่อความเขาใจชัดเจน ในอุ บ ายอั น นี้ ควรจะถื อ เอาความหมายแห ง รู ป ศั พ ท นั้ น ๆ เป น หลั ก สิ่ ง ที่ เ ป น อุปสรรคนั้นทานเรียกวา อภิฺาต, แปลตามตัวหนังสือ วา รูยิ่งหรือ รูเฉพาะ คือพุงดิ่งไป. สวนอุบายเครื่องกําจัดอุปสรรคนั้นทานเรียกวา สมฺปชานะ ซึ่ง ตามตัวหนังสือก็แปลวา ความรูทั่วพรอม (สํ = พรอม + ป = ทั่ว + ชาน = รูอยู). เมื่ อ พิ จ ารณาตามตั ว หนั ง สื อ ก็ ทํ า ให เ ข า ใจได ทั น ที ว า สิ่ ง ทั้ ง สองนี้ เ ป น ข า ศึ ก กั น อย า งไร คื อ อั น หนึ่ ง เป น สิ่ ง ที่ รู อ ย า งพุ ง หรื อ ไหลเชี่ ย วเป น เกลี ย วไปอย า งหลั บ หู หลับตา ; สวนอีกอันหนึ่งเปนความรูอยางรอบคอบและทั่วถึง ดวยอํานาจของ สติสัมปชัญญะ ; จึงเห็นไดชัดสืบไปวา สติสัมปชัญญะอีกนั่นเอง ที่จะเปน เครื่ องมื อกํ าจั ดเสี ยซึ่ งความที่ จิ ตไวต อความรู สึ กเกิ นไป ในที่ สุ ดก็ ตั ดทางมาแห งความ กําหนัดในกรณีที่กลาวนี้เสียได. สติ สั ม ปชั ญ ญะในกรณี ที่ ก ล า วนี้ พอที่ จ ะกล า วได ว า มี เ ป น ๒ ระยะ คือ : (๑) จะระวังไมใหเอา รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส จากภายนอกเขามา ในลักษณะที่เปนเหตุใหเกิดความรูสึกทางอารมณ และ (๒) อีกทางหนึ่งเปนความรูสึก ภายใน ก็ จะไม ปล อยให จิ ตถื อเอาธรรมารมณ ป จจุ บั น หรื อสั ญญาในอดี ตมาคิ ดฝ น. แม ที่ สุ ดแต ความเป นผู ฉลาด หรื อไว ในการแปลความหมายของสิ่ งต าง ๆ ก็ จะต อ ง ถู ก ควบคุ ม ไว เ ป น อย า งดี เช น เมื่ อ ได เ ห็ น วั ต ถุ สิ่ ง ใดสิ่ ง หนึ่ ง ซึ่ ง สั ณ ฐานหรื อ ลวดลาย อย างใดอย างหนึ่ ง ก็ มี การแปลความหมายให วิ จิ ตรพิ สดารในทํ านองตี ปริ ศนา ที่ เป น ไปในทางที่ ก อ ให เ กิ ด ความกํ า หนั ด เพราะอํ า นาจความเคยชิ น ของตั ว ในการที่ จ ะ มองเห็นอะไรกลายเปนนิมิตอันเปนที่ตั้งแหงความกําหนัดไปเสียทั้งนั้น. ความ เคยชิ น เช น นี้ ยิ่ ง ต อ งการสติ สั ม ปชั ญ ญะหรื อ ความรู สึ ก ตั ว ทั่ ว พร อ มที่ มี กํ า ลั ง แก ก ล า และมากยิ่งขึ้นไปอีก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


กฎเกณฑนิมิต

๑๓๕

สรุปรวมความก็คือวา ความที่จิตเลื่อนลอย คอยแตจะตกไปสูความ กํา หนัด นั้น ตอ งกัน และแก ดว ยสติสัม ปชัญ ญะ หรือ ความรูสึก ตัว ทั่ว พรอ ม. พึงสังเกตโดยเฉพาะในข อที่ วา ในที่นี้ ไม ได แนะใหแกด วยอสุ ภกั มมั ฏฐาน เพราะเป น คนละเรื่องกัน : ในที่นี้ โทษเปนแตเพียงความไวของจิต ที่มักผลุนผลันไปใน ทางใดทางหนึ่ง ซึ่งมันถนัดหรือเคยชิน จึงตองแกดวยสัมปชัญญะ ; หากแกดวย อสุ ภกั มมั ฏฐาน ก็ จะกลายเป นเรื่ องอื่ นไป ซึ่ งจะยื ดยาดโดยไม จํ าเป น และในที่ สุ ด ก็แกไมไดเลย. สวนอุปสรรคขอที่วา จิตไมแจมใส เปนจิตตกไปขางฝายพยาบาท นั้น โดยใจความก็คือเปนฝายตรงกันขาม. คําวา ไมแจมใส ในที่นี้ หมายถึง ปราศจากความรู ที่ทําใหจิตแจมใสหรือผองใส : หรือปราศจากความรูสึกที่ปรุง จิตใหปติปราโมทย หรือสงบเสงี่ยม, แตเปนจิตที่สลัวอยูดวยความไมรูนั่นเอง ในที่ สุดก็ ตกไปขางฝายพยาบาท คํ าว า พยาบาท ในที่นี้ มิได หมายถึ งความอาฆาต จองเวรโดยตรง หากแต หมายถึ งความไม พอใจทุ กชนิ ด โดยเฉพาะหมายถึ งปฏิ ฆะ คือ ความกลุ ม หงุด หงิด อยู ใ นอารมณอ ยา งใดอยา งหนึ ่ง นับ ตั ้ง แตโ กรธผู อื ่น โกรธตัว เอง โกรธสิ ่ง ของ และโกรธกระทั ่ง สิ ่ง ที ่ต นไมรู ว า อะไร จนถึง ความรู ส ึก ที่เปนความรําคาญใจ หรือความไมสบายใจอยูตามลําพังตนในที่สุด.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อุ บ ายเป น เครื่ อ งขจั ด อุ ป สรรคอั น นี้ ก็ เ ป น อย า งเดี ย วกั น อี ก คื อ ท า น ไม ไ ด แ นะให แ ก ด ว ยการเจริ ญ เมตตา แต ไ ด แ นะให แ ก ด ว ยความเป น ผู รู สึ ก ตั ว ทั่ ว พรอมเชนเดียวกับขอกอน. อธิบายวา เมื่อมีสติสัมปชัญญะเพียงพอแลว ความ มืดสลัวไมผองแผวแหงจิตก็มีขึ้นไมได. การควบคุมสติสัมปชัญญะใหปรากฏ อยูเสมอ เปนสิ่งที่พึงประสงคอยางยิ่งในกรณีแหงอุปสรรคทั้ง ๒ ขอนี้. ลําพัง การเจริญเมตตา ไมสามารถจะกําจัดความสลัวแหงจิตได. อุปสรรคขอนี้มีชื่อ โดยบาลีวา อปฺาตํ แปลวา ไมแจมใส ไมผองแผว ไมชัดเจนหรือไมแจมใส

www.buddhadasa.in.th


อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

๑๓๖

โดยใจความก็ คื อ มั ว หรื อ สลั ว ทํ า ให เ ห็ น ได ว า เป น สิ่ ง ที่ อ าจระงั บ ไปได ด ว ยความ รูสึกตัวทั่วพรอม. อุ ป สรรคทั้ ง ๙ คู หรื อ นั บ เรี ย งอย า งได ๑๘ อย า งเหล า นี้ บางที ก็ เรียกวา อุปกิเลสของสมาธิ บาง ในฐานะที่เปนเครื่องเศราหมองของสมาธิ : เรียกวา อันตรายของสมาธิ บาง ในฐานะที่เปนสิ่งที่ทําอันตรายตอสมาธิโดยตรง : เมื่ อเกิ ดอาการเหล านี้ อย างใดอย างหนึ่ งขึ้ นแล ว กายก็ ดี จิ ตก็ ดี ย อมกระวนกระวาย ยอมหวั่นไหว ยอมดิ้นรนไปตามกัน. เมื่อจิตหมดจดจากอุปสรรคเหลานี้ การ เจริญสมาธิทุกขั้นยอมเปนไปไดโดยหลักใหญ ๆ. สวนขอปลีกยอยหรือรายละเอียด นั้ น จะไม มี ความสํ าคั ญจนถึ งกั บจะแก ไขไม ได ในเมื่ อตั วอุ ปสรรคอั นแท จริ งเหล านี้ ไดถูกขจัดไปหมดสิ้นแลว. จิตที่ปลอดจากอุปสรรคเหลานี้ ชื่อวาเปนจิตขาวรอบ หรือเปน จิตถึงซึ่งความเปนเอก (เอกตฺต) ความเปนเอกในที่นี้ มีความหมายทั้ง ความเปนหนึ่ง ไมมีสอง และความเปนเอก คือประเสริฐ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org จิตถึงความเปนเอก

เมื่ อ กล า วถึ ง ความเป น เอก พึ ง ทราบเสี ย ด ว ยว า ท า นบั ญ ญั ติ ไ ว เ ป น ขั้น ๆ ตางกันคือ : ๑. ความเปนเอกในดานการเสียสละ หรือการใหทานของพวกที่พอใจ ในการใหทาน ๒. ความเปนเอกเพราะสมถนิมิตปรากฏชัดแลวของพวกที่มีสมาธิ. ๓. ความเปนเอกเพราะอนิจจังทุกขังอนัตตา ปรากฏแลว ของพวก ที่เจริญวิปสสนา.

www.buddhadasa.in.th


กฎเกณฑนิมิต

๑๓๗

๔.

ความเปนเอกเพราะความดับทุกขปรากฏแลว ของพระอริยบุคคล

ทั้งหลาย. รวมเป น ๔ อย า งด ว ยกั น เช น นี้ เมื่ อ เป น ดั ง นี้ เราจะเห็ น ได ว า ความ เปนเอกที่เราประสงคในที่นี้ ไดแกความเปนเอกในขอที่ ๒ คือความเปนเอก เพราะสมาธินิมิตเปนไปสําเร็จ หรือปรากฏชัดในการเจริญสมาธินั่นเอง. ทานได กําหนดองคแหงความเปนเอกของสมาธิในกรณีนี้ไววา : ๑. จิตผองใส เพราะความหมดจดแหงขอปฏิบัติ. ๒. จิตเจริญงอกงาม ดวยอุเบกขา. ๓. จิตอาจหาญราเริง ดวยญาณ. ทั้ ง ๓ ประการนี้ เป น ลั ก ษณะเครื่ อ งหมายของจิ ต ที่ ลุ ถึ ง ปฐมฌาน โดยตรง ซึ่ ง เป น การแสดงถึ ง ความสํ า เร็ จ แห ง การเจริ ญ สมาธิ ใ นขั้ น แรก ซึ่ ง เราจะ พิจารณากันตอไปโดยละเอียด ดังตอไปนี้ :-

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ขอที่วา “จิตผองใส เพราะความบริสุทธิ์หมดจดแหงขอปฏิบัติ” นั้น หมายความว าเมื่ อจิ ตผ านอุ ปสรรคทั้ ง ๑๘ อย างดั งที่ กล าวแล ว มาได โดยเรี ยบร อ ย เชน นี ้ ก็เ ปน อัน วา ขอ ปฏิบ ัต ิห รือ ปฏิท านั ้น ไดดํ า เนิน มาดว ยความหมดจด จิ ต จึ ง ได ผ อ งใส เพราะความที่ ไ ม มี อุ ป สรรคหรื อ นิ ว รณ อ ย า งใดรบกวน ความที่ จิ ต ผองใสในลักษณะเชนนี้ เปนองคอันแรกหรือเปนลักษณะอันแรกของปฐมฌาน. ขอที่วา “จิตเจริญงอกงามดวยอุเบกขา” นั้น เล็งถึงความที่บัดนี้ จิ ตวางเฉยอยู ได ด วยความวางเฉย ที่ เป นองค แห งฌาน ซึ่ งจะได กล าวต อไปข างหน า. เมื่ อ จิ ต วางเฉยได โ ดยไม มี อ ะไรมารบกวน ท า นเรี ย กว า เป น จิ ต ที่ เ จริ ญ งอกงามตาม

www.buddhadasa.in.th


๑๓๘

ความหมายของภาษาฝ ายกั มมั ฏฐานหรื อโยคปฏิ บั ติ นี้ เปนองค ที่ สอง หรือลั กษณะ ที่สอง หรือกลาวอีกอยางหนึ่ง คือลักษณะทามกลางของปฐมฌาน. ขอที่วา “จิตมีความอาจหาญราเริงอยูดวยญาณ” นั้น อธิบายวา จิ ต ที่ เ ป น มาแล ว โดยลั ก ษณะอาการแห ง ข อ ที่ ห นึ่ ง ข อ ที่ ส องนั้ น ย อ มร า เริ ง อยู ด ว ย ความรู คือรู ความที่นิวรณหมดไป รูความที่จิตเปนสมาธิประกอบดวยองคแหงฌาน อยางมั่นคงไมหวั่นไหว แลวมีปติและสุข อันเกิดแตวิเวกแลอยู จิตจึงอาจหาญ ร า เริ ง ข อ นี ้ เ ป น องค ที ่ ส าม หรื อ ลั ก ษณะที ่ ส าม หรื อ ลั ก ษณะในที ่ ส ุ ด ของ ปฐมฌาน. ทั้ งหมดนี้ ทํ าให กล าวได อี กนั ยหนึ่ งว า ปฐมฌานมี ความงามในเบื้ องต น มีความงามในทามกลาง มีความงามในที่สุด. งามในเบื้องตน เพราะจิตผองใส ดวยอํานาจขอปฏิบัติที่หมดจดถึงที่สุด, งามในทามกลาง เพราะจิตเจริญรุงเรือง อยูดวยอุเบกขา คือความวางเฉย, และ งามในที่สุด เพราะจิตกําลังราเริงอยูดวย ญาณนั้น. การที่จะเขาใจในลักษณะทั้งสามนี้ ของปฐมฌานนั้นขึ้นอยู กับความเขาใจ ในเรื่องนิวรณและองคแหงฌาน เปนสวนสําคัญ.

www.buddhadasa.in.th นิวรณ และ องคแหงฌาน www.buddhadasa.org เพื่ อให เขาใจ ถึ งข อที่จิ ตผานอุคคหนิมิ ต และปฏิภาคนิมิ ต มาโดยลํ าดั บ จนลุ ถึ ง อั ป ปนาสมาธิ ใ นขั้ น ที่ เ ป น ปฐมฌานได อ ย า งไรโดยแจ ม แจ ง นั้ น จะต อ งมี ความเข า ใจในเรื่ อ งอั น เกี่ ย วกั บ นิ ว รณ และองค แ ห ง ฌานเป น หลั ก สํ า คั ญ เสี ย ก อ น.

www.buddhadasa.in.th


นิวรณและองคฌาน

๑๓๙

นิวรณ กับ คูปรับ สิ่ ง ที่ เ รี ย กว า นิ ว รณ ตามตั ว หนั ง สื อ แปลว า เครื่ อ งกางกั้ น แต ค วาม หมาย หมายถึงสิ่งที่ทําความเสียหายใหแกความดีงามของจิต. ความดีงามของจิต ในที่นี้ เรียกวาความเปนเอก หรือ เอกัตตะ ดังที่กลาวมาแลวขางตน : ดังนั้น นิวรณจึงเปนอุปสรรคหรือเปนคูปรับกันกับเอกัตตะ ในฐานะที่เปนปฏิปกษตอกัน ซึ่งจะไดยกมากลาวเปนคู ๆ พรอมกันไปดังนี้ : ๑. กามฉันทะ เปนนิวรณ. เนกขัมมะ เปนเอกัตตะ. กามฉันทะ คือ ความพอใจในกาม ความหมกหมุ น อาลัย ในกาม หรือ ความใครใ นทางกาม ที่กลุมรุมรบกวนจิตอยู ทําจิตใหไมแจมใสหรือเปนประภัสสร : เชนเดียวกับน้ําที่ ใสสะอาด เมื ่อ บุค คลเอาสีแ ดงเปน ตน ใสล งไปในน้ํ า แลว ยอ มหมดความเปน น้ําใส ไมอาจจะมองเห็นสิ่งตาง ๆ ที่อยูภายใตน้ํานั้นไดอีกตอไป ฉันใดก็ฉันนั้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เนกขัมมะ กระทําใหมืดมัวไป. เอกัตตะขอที่หนึ่ง.

คือความที่จิตปราศจากกาม ไมถูกกามรบกวน ไมถูกกาม เมื่อใดจิตมีลักษณะเชนนั้น เรียกวาจิตมีเนกขัมมะ หรือเปน

๒. พยาบาท เปนนิวรณ. อัพยาบาท เปนเอกัตตะ. พยาบาท หมายถึ ง ความที่ จิ ต ถู ก ประทุ ษ ร า ยด ว ยโทสะหรื อ โกธะ กล า วคื อ ความขั ด ใจ ความ ไม พ อใจ ความโกรธเคื อ ง ความกระทบกระทั่ ง แห ง จิ ต ทุ ก ชนิ ด ที่ เ ป น ไปในทางที่ จะเบียดเบียนตนเอง ผูอื่น หรือวัตถุอื่น. สวน อัพยาบาท เปนไปในทางตรงกันขาม หมายถึงจิตเยือกเย็นไมมี ความกระทบกระทั่ ง หรื อ หงุ ด หงิ ด แต ป ระการใด. เมื่ อ พยาบาทเกิ ด ขึ้ น กลุ ม รุ ม จิ ต

www.buddhadasa.in.th


๑๔๐

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

แล ว ในขณะนั้ น จิ ต ย อ มพลุ ง พล า น เสี ย ความเป น ประภั ส สร หรื อ ความผ อ งใส เหมื อ นน้ํ า ที่ ใ สสะอาด แต ถู ก ความร อ นทํ า ให เ ดื อ ดพล า นอยู ย อ มสู ญ เสี ย ความ ผองใส ไมอาจจะมองเห็นสิ่งตาง ๆ ที่มีอยูใตพื้นน้ํานั้น ฉันใดก็ฉันนั้น. ๓. ถีนมิทธ เปนนิวรณ. อาโลกสัญญา เปนเอกัตตะ. ถีนมิทธะ ในที่ นี้ ได แ ก ค วามเศร า ซึ ม ความมึ น ชา ง ว งเหงาหาวนอน เป น ต น แม ที่ สุ ด แต ความละเหี่ยทอแท ก็นับรวมอยูในขอนี้. เมื่อครอบงําจิตแลว จิตสูญเสียความ ผ อ งใส เช น เดี ย วกั บ น้ํ า ที่ ใ สสะอาด แต ถ า มี เ มื อ กหรื อ ตะไคร หรื อ สาหร า ยเป น ต น ลอยอยู ในน้ํ านั้ น น้ํ าก็ สู ญเสี ยความผ องใส ไม สามารถจะมองเห็ นสิ่ งต าง ๆ มี กรวด ทรายเป น ต น ที่ มี อ ยู ใ ต พื้ น น้ํ า นั้ น จึ ง จั ด เป น นิ ว รณ เพราะทํ า ความเสื่ อ มเสี ย ให แกจิต คือทําจิตใหใชการไมได. อาโลกสัญญา คือการทําในใจใหเปนแสงสวาง ราวกะวามีแสงอาทิตย สอ งอยูโ ดยประจัก ษต ลอดเวลา. ขอ นี้เ กี่ย วกับ อุปนิสัย ดว ย เกี่ย วกับ การฝก ดวย ที่จะทําใหบุคคลนั้นมีจิตแจมจาราวกะวาไดรับแสงแดดอยูตลอดเวลา, คือ ไมมีการงวงซึม มึนชา ซบเซา. ถาหลับก็หลับโดยสนิท ถาตื่นก็ตื่นโดยแจมใส. อาโลกสัญ ญา เปน ความเปน เอก หรือ ความเปน เลิศ ชนิด หนึ ่ง ของจิต และเปน คูปรับโดยตรงของถีนมิทธะ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๔. อุทธัจจกุกกุจจะ เปนนิวรณ. อวิกเขปะ เปนเอกัตตะ อุทธัจจ-กุกกุจจะ คือ ความฟุงซานและรําคาญ ความแตกตางกันของอุทธัจจะ กับกุกกุจจะ พึงถือเอาตามความหมาย รูปศัพท. อุทธัจจะ หมายถึงความพลุง ขึ ้น หรือ ฟุ ง ขึ ้น เชน ความคิด ฟุ ง ขึ ้น เพราะความทึ ่ง หรือ ความสนใจที ่ม าก เกินไป : สวน กุกกุจจะ เปนความรูสึกที่แผซานระส่ําระสาย เพราะความไมรูวา

www.buddhadasa.in.th


นิวรณและองคฌาน

๑๔๑

จะทําอยางไรดี ที่ไหนดี, หรือทําอยางไร ๆ ก็ไมเปนที่พอใจหรือเปนสุข. เกิดขึ้น เพราะมี สิ่ ง อื่ น มายั่ ว บ า ง เพราะความเคยชิ น บ า ง เพราะการกระทํ า ที่ เ กิ น ขอบเขต เกินเวลาบาง จนพราไปหมด. ครั้นสิ่งทั้ง ๒ นี้เกิดขึ้นครอบงําจิตแลว ก็ทําจิต ใหสูญเสียความเปนประภัสสรไปในอีกทางหนึ่ง : เปรียบเหมือนน้ําที่ใสสะอาด แต ถ า ถู ก เป า ให เ ป น ระลอก หรื อ เป น คลื่ น อยู เ สมอแล ว ย อ มสู ญ เสี ย ความผ อ งใส ไมอํ านวยความสําเร็ จแก การมองเห็นสิ่ งหนึ่งสิ่ งใดภายใตพื้นน้ํานั้น ฉั นใดก็ฉั นนั้น ; จึงจัดเปนสิ่งที่ทําความเสื่อมเสียแกจิต. อวิกเขปะ แปลวาไมซัดไป หรือไมสายไป คือไมพลุงขึ้นขางบน หรือไมสายไปรอบตัว, เมื่อเปนลักษณะของจิต ไดแกความที่จิตมีความคงที่ หรือ คงตั ว ทนได ต อ สิ่ ง รบกวน ไม ห วั่ น ไหวไปตามสิ่ ง รบกวน มี ค วามเป น ปรกติ ข อง ตั ว เองอยู ไ ด จึ ง จั ด ว า เป น ความเป น เอก หรื อ ความเป น เลิ ศ ของจิ ต อี ก ชนิ ด หนึ่ ง อาศั ย การศึ ก ษาฝ ก ฝนอย า งเดี ย วเท า นั้ น จึ ง จะมี คุ ณ ธรรมข อ นี้ ขึ้ น มาได เพราะ ธรรมชาติของจิตยอมกลับกลอกและหวั่นไหว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๕. วิจิกิจฉา เปนนิวรณ. ธัมมววัตถานะ เปนเอกัตตะ. วิจิกิจฉา หมายถึ ง ความลั ง เล หรื อ โลเลแห ง จิ ต ไม มี ค วามแน ใ จในตั ว เอง ในวิ ธี ก ารหรื อ หลัก การ ที่ต นกํา ลัง ยึด ถือ เปน หลัก ปฏิบัติ. ไมแ นใ จในพระพุท ธ พระธรรม พระสงฆ ในการตรั สรู ของพระพุ ทธเจ า หรื อในปฏิ ปทาทางปฏิ บั ติ เพื่ อความดั บทุ กข ทางพระศาสนา. มีความเชื่อครึ่งหนึ่ง มีความสงสัยครึ่งหนึ่ง ในสิ่งนั้น ๆ และ โดยเฉพาะอยางยิ่งในสิ่งที่ตนกําลังกระทําอยู.

www.buddhadasa.in.th


๑๔๒

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

ความลั งเลเช นนี้ ครอบงํ าจิ ตแล ว ทํ าให จิ ตสู ญเสี ยความเป นประภั สสร หรื อความผ อ งใส หมดสมรรถภาพในตั วมั น เอง ในทางที่ จ ะรู แจ งสิ่ งต าง ๆ ตามที่ เปน จริง เหมือ นกับ น้ํ า ที ่ใ สสะอาดแตม ีอ ยู ใ นที ่ม ืด สนิท ยอ มไมสํ า เร็จ ประโยชน ในการที่มองเห็นสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ที่มีอยูที่พื้นภายใตน้ํานั้น ฉันใดก็ฉันนั้น. ธัมมววัตถานะ ไดแกการกําหนดที่แนนอนชัดเจนลงไปยังธรรมะหรือ หลักเกณฑขอใดขอหนึ่ง โดยกระจางชัดไมมีการสงสัยหรือลังเล. สิ่งที่เราตอง ประสงค โดยตรงในที่ นี้ หมายถึ งการที่ บุ คคลแต ละคน จะต องมี หลั กเกณฑ อย างใด อยางหนึ่ง ที่จํ าเปนแก การครองชีวิ ตของตนหรื อการประกอบอาชี พการงานในหนาที่ ของตน ทั้ งทางกายและทางจิ ต โดยเฉพาะอย างยิ่ ง ก็ คือหลักเกณฑ ในเรื่องความดี ความชั่ ว บุ ญบาป สุ ขทุ กข ทางแห งความเสื่ อมและความเจริ ญ ตลอดถึ งทางแห ง มรรค ผล นิพพานเปนที่สุด. ธั ม มววั ต ถานะนี้ มี ท างมาจากการศึ ก ษาโดยตรง ซึ่ ง หมายถึ ง การฟ ง หรือ การอา น การคิด การถาม การซัก ไซส อบสวน การกํ า หนดจดจํ า จนมี หลั ก เกณฑ ที่ ชั ด เจนแจ ม แจ ง เป น ที่ แ น ใ จตั ว เองอยู ต ลอดเวลา ไม ส งสั ย หรื อ ลั ง เล ในสิ่งที่ตนจะตองทําหรือกําลังทําอยู. ความสงสัยเปนสิ่งที่รวมกวนหรือทรมาน จิตใจอยางลึกซึ้ง ; สวนธัมมววัตถานะนั้นตรงกันขาม, จึงจัดเปนความเปนเอก หรือความเปนเลิศของจิตอีกอยางหนึ่ง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


นิวรณและองคฌาน

๑๔๓

นิวรณ มีไดไมจํากัดจํานวน๑ โดยทั่ ว ไป ท านกล าวนิ วรณ ไว เ พี ย ง ๕ อย างเท า นั้ น แต ใ นที่ บางแห ง โดยเฉพาะเช น ในคั ม ภี ร ป ฏิ สั ม ภิ ท ามรรค ได เ พิ่ ม นิ ว รณ ขึ้ น อี ก ๓ อย า ง คื อ : อวิชชาหรืออัญญาณ เปนนิวรณ, ญาณเปนเอกัตตะ นี้คูหนึ่ง ; อรติ เปน นิวรณ, ปามุชชะเปนเอกัตตะ นี้คูหนึ่ง ; และอกุศลธรรมทั้งปวง เปนนิวรณ, กุศลธรรมทั้งปวงเปนเอกัตตะ นี้คูหนึ่ง. แตเมื่อพิจารณาดูแลวจะเห็นไดวา อัญญาณ หรืออวิชชา ในที่นี้อาจสงเคราะหเขาไดในวิจิกิจฉา, อรติ คือความไมยินดี หรือความขัดใจนั้น อาจสงเคราะหเขาไดกับพยาบาท. สวนอกุศลธรรมทั้งปวงนั้น เป น อั น กล า วเผื่ อ ไว สํ า หรั บ อุ ป กิ เ ลสที่ ไ ม ไ ด อ อกชื่ อ แต ก็ อ าจจะสงเคราะห เ ข า ได ใ น ขอใดขอหนึ่งของนิวรณ ๕ ขางตนนั่นเอง. โดยนั ยนี้ จะเห็ นได ว า สิ่ งที่ เรี ยกว านิ วรณ นั้ น โดยที่ แท ไม จํ ากั ดจํ านวน คือจะเปนอุปกิเลสชื่อไรก็ได. การกําหนดไวเพียง ๕ อยาง เปนบาลีพุทธภาษิต ดั้งเดิม. ไดรับความนิยมทั่วไป เพราะฉะนั้นจึงไดพิจารณากันแต๕ อยางเทานั้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เหตุที่ไดชื่อวา นิวรณ

เหตุที่ไดชื่อวานิวรณ เพราะมีความหมายวา เปนเครื่องปดกั้น. เมื่อ ถามวาปดกั้นอะไร ? มีคําตอบตาง ๆ กัน เชนปดกั้นความดี ปดกั้นทางแหงพระ นิพพาน ดังนี้เปนตน. แตในกรณีที่เกี่ยวกับการเจริญสมาธินี้ ทานจํากัดความ

การบรรยายครั้งที่ ๑๕ / ๘ กันยายน ๒๕๐๒

www.buddhadasa.in.th


๑๔๔

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

กันลงไปวา โดยบุคลาธิษฐาน ก็คือปดบังสัตว หรือจิตของสัตวไมใหรูธรรม ; สวน โดยธรรมาธิ ษฐานนั้ น หมายถึ งป ดบั ง นิ ยยานิ กธรรม กล าวคื อธรรมเครื่ องนํ าสั ตว ออก จากทุกข หรือกลาวโดยนิตินัย ก็กลาวไดวาปดบังเอกัตตะนั่นเอง : ยกตัวอยาง เช น เนกขั ม มะ หรื อ ความที่ จิ ต ว า งจากกาม เป น นิ ย ยานะอั ห นึ่ ง ของพระอริ ย เจ า หมายความวาพระอริยเจามีจิตออกจากทุกขดวยเนกชัมมะนั้น, สวนกามฉันทะเปน เครื ่อ งปด กั ้น เนกขัม มะ คือ กั ้น หรือ กีด กัน เนกขัม มะออกไป แลว มีก ามฉัน ทะ เขามาอยูแทน กามฉันทะจึงไดชื่อวาเปนนิวรณ หรือเปนนิยยานาวรณา ซึ่งมี ความหมายอย า งเดี ย วกั น กล า วคื อ เป น เครื่ อ งป ด กั้ น ธรรม ซึ่ ง เป น เครื่ อ งนํ า สั ต ว ออกจากทุ ก ข ข องพระอริ ย เจ า ทั้ ง หลาย ปุ ถุ ช นไม รู ว า เนกขั ม มะนั้ น เป น ธรรม เครื่องออกจากทุกขของพระอริยเจา เพราะถูกกามฉันทะหุมหอปดบังจิต. โดย นัยนี้ จึงได ความหมายเป น ๒ ทาง คื อป ดบั งธรรมฝ ายเอกั ตตะไม ให ปรากฏแก จิ ต หรือปดบังจิตไมใหลุถึงธรรมที่เปนฝายเอกัตตะ. แตโดยผลแลวเปนอยางเดียวกัน คือจิตถูกหุมหอดวยนิวรณอยูตลอดเวลา, เมื่อถือเอาโดยพฤตินัย จึงไดแก สิ่งที่ เกิดขึ้นหุมหอจิตอยูเปนปรกติ นั่นเอง : จิตเศราหมอง จิตไมมีวิเวก จิตไมมีสุขเปนตน ดวยอํานาจแหงนิวรณนั้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org การละนิวรณ มีหลายประเภท

การทํ า จิ ต ให ป ราศจากนิ ว รณ นั้ น คื อ ความมุ ง หมายโดยตรงของการ ทําสมาธิ ฉะนั้น การที่จิตปราศจากนิวรณ กับการที่จิตเปนสมาธิ จึงเปนของอันเดียว กัน. เมื่อใดจิตปราศจากนิวรณอยูโดยธรรมชาติ ซึ่งเปนไดเองในบางขณะ ก็เปน สมาธิธรรมชาติ ; เมื่อใดจิตปราศจากนิวรณโดยอาศัยการปฏิบัติ จิตก็มีสมาธิ ชนิดที่เรากําลังศึกษากันอยูนี้. สมาธิตามธรรมชาติ ทําใหจิตพนจากนิวรณ

www.buddhadasa.in.th


นิวรณและองคฌาน

๑๔๕

ไดโดยบั งเอิญ เรียกวา ตทังควิมุตติ แปลวาหลุดพนเพราะประจวบเหมาะ หรื อ บังเอิญประจวบเหมาะกับสิ่งที่เปนเครื่องระงับนิวรณ, สวนในสมาธิที่เกิดขึ้นจาก การปฏิบัตินั้น นิวรณถูกละไปดวยอํานาจของสมาธินั้น. การปราศจากนิวรณ ดวยอาการเชนนี้ เรียกวา วิกขัมภนวิมุตติ. แตตลอดเวลาที่กิเลสยังไมหมดสิ้นไป นิวรณยอมกลับเกิดขึ้นใหม ในเมื่อวางจากสมาธิ ฉะนั้น จึงตองมีการปฏิบัติอีก ชั้นหนึ่ง ซึ่งเปนการทําลายรากเหงา หรือตนตอแหงนิวรณเสีย, สิ่งนั้นคือวิปสสนา. จิต ที่ ไ ม ถูก นิ ว รณห รื อ กิ เลสรบกวนอี ก ตอ ไป ได ชื่ อ ว ามี สมุจ เฉทวิมุ ต ติ คื อ ความ หลุดพน เพราะความขาดสูญของกิเลส เปนความหลุดพนอยางเด็ดขาด. โดยนัย ที่กลาวมานี้ จะเห็นไดอยางชัดเจนวา สิ่งที่เรียกวานิวรณนั้น รํางับเองไดโดยบังเอิญ อยางหนึ่ง, รํางับอยูไดดวยอํานาจของสมาธิ อยางหนึ่ง, และมีรากเหงาอัน ขาดสูญ ไปไดดวยอํานาจของวิปสสนา อีกอยางหนึ่ง. สองอยางแรกเปนการชั่วคราว อยางหลัง เปนการถาวร. ผู ปฏิ บั ติ ต องไม เพี ยงแต ศึ กษาหรื อจดจํ าเรื่ องราวอั นเกี่ ยวกั บนิ วรณ อย าง เดียว. แตตองรูจักหรือหยั่งทราบชัด ตอสิ่งที่เรียกวานิวรณดวยใจของตนเอง จริง ๆ วามีอยูอยางไร เพียงไร และเมื่อไรเปนตน, และรูจักลักษณะที่นิวรณนั้น ๆ กํ าลั งรบกวนตนเองอยู อ ยา งไร ทั ้ง นี ้ เพื ่อ จะไดเ ห็น โทษแหง นิว รณนั ้น ไดจ ริง ๆ จนมี ค วามพอใจและแน ใ จ ในการที่ จ ะกํ า จั ด นิ ว รณ นั้ น เสี ย แม เ พื่ อ ประโยชน แ ห ง ความอยู เ ป น สุ ข ในป จ จุ บั น ทั น ตาเห็ น ได ทุ ก ขณะที่ ต นต อ งการ กล า วคื อ แม ยั ง จะ ไมหมดกิเลสสิ้นเชิง . แตก็จะมีชีวิตอยูไดดวยอุบายชนิดที่นิวรณรบกวนไมได เรื่อย ๆ ไป จนกวาจะหมดกิเลสสิ้นเชิง. โดยนัยนี้จะเห็นไดวา ความปราศจาก นิวรณนั้น เปนความสงบสุขอยางยิ่งอยูในตัวของมันเอง ชั้นหนึ่งกอน แลวยังเปนโอกาส หรือเปนฐานที่ตั้งสําหรับการปฏิบัติ เพื่อกําจัดกิเลสอันเปนรากเหงาของนิวรณนั้นใหหมด

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๑๔๖

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

สิ้นไปอีกตอหนึ่ง ซึ่งเปนการทําลายนิวรณในขั้นเด็ดขาด และเปนความดับทุกขใน ขั้นที่ไมเปลี่ยนแปลงอีกตอไป.

การละนิวรณ คือหนาที่ของสมาธิ สํ า หรั บ การปฏิ บั ติ ใ นขั้ น นี้ เป น เพี ย งขั้ น สมาธิ ยั ง ไม ใ ช ขั้ น วิ ป ส สนา หน า ที่ ข องเราอั น เกี่ ย วกั บ นิ ว รณ จึ ง เป น เพี ย งการทํ า สมาธิ ห รื อ อุ บ ายอั น เป น เครื่ อ ง กีดกั นนิ วรณ ออกไปเสี ยจากจิ ต ดวยการนํ าเอาสิ่งที่ เป นปฏิ ป กษต อนิวรณ เข ามาสู จิ ต จนกระทั่ง นิว รณตา ง ๆ ระงับ ไป. สิ่ง ที่กีด กัน นิว รณอ อกไปจากจิต ในที่นี้คือ ตัวสติที่เกิดขึ้นในการกําหนดลมหายใจ โดยวิธีที่ไดกลาวมาแลวขางตน. โดยกรรมวิธีก็ คือเป น การนํ าจิ ตเข าไปผู กไว กั บลมหายใจ จนกระทั่ งเกิ ดเอกั ตตธรรมต าง ๆ ซึ่ งล วน แตเ ปน ปฏิปก ษตอ นิว รณ นิว รณจึง หมดโอกาสที่จ ะครอบงํา จิต . ตลอดเวลา ที่สติยังไมละไป. จิตยังกําหนดอยูที่ลมหายใจหรือนิมิตแหงสมาธิไดอยู เมื่อนั้น ชื่อวาไมมีนิวรณ มีแตเอกัตตธรรมอยูแทนที่ดังที่กลาวแลว. ผูปฏิบัติจะตองมอง ใหเห็นชัดเจนทีเดียววา เอกัตตธรรมเหลานี้มีอยูอยางไร : ยกตัวอยางเชน เนกขั ม มะ หรื อ การหลี ก ออกจากกามนั้ น เป น สิ่ ง ที่ อ าจกล า วได ว า ได เ ริ่ ม มี แ ล ว ตั้ ง แต ข ณะหลี ก ออกไปสู ที่ ส งั ด และมี ม ากขึ้ น หรื อ มั่ น คงขึ้ น นั บ ตั้ ง แต ข ณะแห ง คณนา คือการกําหนดนิมิต หรือลมหายใจเปนตนไป กระทั่งถึงขณะแหงปฏิภาค นิ มิ ต ซึ่ ง เป น อั น กล า วได ว า เป น เนกขั ม มะในที่ นี้ แ ล ว อย า งสมบู ร ณ เอกั ต ตธรรม ขอ อื ่น เชน อัพ ยาบาทเปน ตน ก็ดํ า เนิน ไปในแนวเดีย วกัน . แตทั ้ง หมดนี ้จ ะ เห็น ไดช ัด เจนยิ ่ง ขึ ้น ก็ต อ เมื่ อ ได ศึ ก ษาจนทราบว า องค ฌ านนั้ น ๆ มี อ ะไรบ า ง และองคแหงฌานนั้น ๆ เปนตัวเอกัตตธรรมขอไหน, ฉะนั้น จะไดวินิจฉัยกันถึง องคแหงฌานสืบไป.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


นิวรณและองคฌาน

๑๔๗

องคแหงฌาน หมายความวา สวนประกอบสวนหนึ่ง ๆ ของฌาน. เมื่อประกอบรวมกันหลายอยาง จึงสําเร็จเปนฌานขั้นหนึ่ง. เชนอาจ จะกล า วได ว า ปฐมฌานมี อ งค ห า ทุ ติ ย ฌานมี อ งค ส าม ตติ ย ฌานมี อ งค ส อง จตุตถฌานมีองคสอง ดังนี้เปนตน. ทั้งนี้เปนการแสดงชัดอยูแลววาองคแหง ฌานนั้น ไมใชตัวฌาน เปนแตเพียงสวนประกอบสวนหนึ่ง ๆ ของฌาน. องค แหงฌาน มี ๕ องค คือ ๑ วิตก, ๒ วิจาร, ๓ ปติ, ๔ สุข, ๕ เอกัคคตา, มีอธิบายดังตอไปนี้ :-

คําวา “องคแหงฌาน”

๑. วิตก คําคํานี้ โดยทั่วไปแปลวา ความตริหรือความตรึก. แต ในภาษาสมาธิ คําวา วิตกนี้ หาใชความคิดนึกตริตรึกอยางใดไม. ถาจะเรียกวา เปนความคิด ก็เปนเพียงการกําหนดนิ่ง ๆ แนบแนนอยูในสิ่ง ๆ เดียว, ไมมีความ หมายที่เปนเรื่องเปนราวอะไร. อาการแหงจิตจะมีปรากฏอยูในขณะแหงคณนาและ อนุพันธนาโดยออม. และในขณะแหงผุสนาและฐปนาโดยตรง ดังที่กลาวแลว (ควรยอ นไปดูตอนอัน วา ดว ยคณนาเปน ตน ขางตนนั่นเอง คือสิ่งที่เรียกวาวิตกในที่นี้. ใหเขาใจจริง ๆ อีกครั้งหนึ่ง) และจะเขาใจอาการของวิตกไดดี ก็ตอเมื่อถูกนําไปเปรียบ เทียบ กับสิ่งที่เรียกวาวิจาร และกลาวบรรยายลักษณะควบคูกันไป.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๒. วิจาร คําคํานี้ โดยทั่วไป หมายถึงการตรึกตรอง หรือสอดสอง หรื อ วิ นิ จ ฉั ย แต ใ นทางภาษาสมาธิ หาได มี ค วามหายอย า งนั้ น ไม เป น แต เ พี ย ง อาการที่จิตรูตออารมณที่กําหนดอยูนั้น, ซึ่งในที่นี้ ไดแกลมหายใจ, อยูอยางทั่วถึง โดยเฉพาะอยา งยิ ่ง ก็ค ือ อาการที ่เ กิด ขึ ้น ในขณะของอนุพ ัน ธนาเปน ตน ไป .

www.buddhadasa.in.th


๑๔๘

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

และจะเขาใจ สิ่ ง นี้ ไ ด ดี ด ว ยการนํ า อุ ป มาเปรี ย บเที ย บ ซึ่ ง จะดี ยิ่ ง กว า บรรยายด ว ยคํ า พู ด ตรง ๆ ยกตัวอยางเชน เปรียบเทียบกับการดู : เมื่อสายตาทอดไปจับที่สิ่งใดสิ่งหนึ่ง นี้เปรียบกันไดกับอาการของวิตก, เมื่อเห็นสิ่งนั้นทั่วหมด เปรียบกันไดกับอาการ ของวิจาร. หรือเปรียบดวยการสาดน้ํา : เมื่อน้ํากระทบกับสิ่งที่ถูกสาด ก็เปรียบ ไดดวยอาการของวิตก, เมื่อน้ําเปยกซึมไปทั่ว ก็เปรียบไดดวยอาการของวิจาร. หรือถา เปรียบกับการฝกลูกวัว ซึ่งมักถูกใชเปนอุทาหรณในการฝกจิตทั่ว ๆ ไป ก็ อ าจจะเปรี ย บได ว า เมื่ อ ลู ก วั ว ถู ก แยกไปจากแม เอาไปผู ก ไว ที่ เ สาหลั ก แห ง หนึ่ ง ดวยเชือก เสาหลักเปรียบดวยลมหายใจ เชือกนั้นเปรียบดวยสติ ลูกวัวนั้น เปรีย บดว ยจิต การที ่ม ัน ถูก ผูก ติด อยู ก ับ เสา เปรีย บดว ยอาการของวิต ก และ การที่ มั นดิ้ นไปดิ้ นมา วนเวี ยนอยู รอบ ๆ เสา รอบแล ว รอบอี ก เปรี ยบด วยอาการ ของวิจาร. (ควรยอ นไปดูเ รื่อ งตอนอนุพัน ธนาเปน ตน ดัง ที่แ นะไวแ ลว ในกรณีข องวิตก)

ผูศึกษาจะตองรูจักสังเกต ความแตกตางระหวางคําวา วิตก กับคําวา วิจาร และรู จั ก ความที่ สิ่ ง ทั้ ง สองนี้ มี อ ยู พ ร อ มกั น กล าวคื อ การที่ ลู ก วั ว ถู กผู ก ติ ด อยู กั บเสา ก็เ ปน สิ่ง ที่มีอ ยูใ นขณะที่มัน วนเวีย นอยูร อบ ๆ เสา, หรือ อาการที่มัน วนเวีย น อยูรอบ ๆ เสา ก็มีอยูในขณะที่มันยังถูกผูกติดอยูกับเสา, แตอาการทั้ง สอง อยางนี้ไมใชเปนของสิ่งเดียวกันเลย ทั้งที่มีอยูพรอมกันหรือในขณะเดียวกัน. ความ เขา ใจอัน นี ้ เปน เหตุใ หเ ขา ใจไปถึง วา ในขณะแหง ปฐมฌานนั ้น วิต กกับ วิจ าร มีอ ยูใ นขณะเดีย วกัน ไดอ ยา งไร. สําหรับ อาการอัน นี้โ ดยเฉพาะ จะเห็น ไดชัด ในกรณีข องคนขัด หมอ ซึ ่ง มือ ซา ยจับ หมอ มือ ขวาจับ เครื ่อ งขัด หมอ แลว ถูไ ป ทั่ว ๆ ตัวหมอ ในขณะเดียวกัน ; มือซาย คือวิตก มือขวา คือวิจาร, ฉันใด ก็ฉันนั้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


นิวรณและองคฌาน

๑๔๙

สรุปความวา วิตก คือ อาการที่จิตกําหนดนิมิต, วิจาร คือ อาการที่จิต เคลาเคลียกันอยูกับนิมิตอยางทั่วถึง นั่นเอง และ เปนสิ่งที่มีอยูพรอมกัน. ๓. ปติ. คํานี้ ตามปรกติแปลวาความอิ่มใจ. ในภาษาของสมาธิ หมายถึ งความอิ่ มใจด วยเหมื อนกั น แต จํ ากั ดความเฉพาะความอิ่ มใจที่ ไม เนื่ องด วย กาม และต องเป นความอิ่ ม ใจที่ เ กิ ดมาจากความรู สึ ก ว าตนทํ าอะไรสํ าเร็ จ หรื อ ตน ไดทําสิ่งที่ควรทําเสร็จแลว หรือตองเสร็จแน ๆ ดังนี้เปนตนเทานั้น. ปตินี้อาศัย เนกขัมมะ ไมอาศัยกาม, ฉะนั้น จึงอาจจํากัดความลงไปวา ปติ คือ ความอิ่มใจ ที่เกิดมาจากการที่ตนเอาชนะกามไดสําเร็จ ดวยนั่นเอง. ปติ ในกรณีนี้จัดเปนกุศล เจตสิกประเภทสังขารขันธ คือความคิดชนิ ดหนึ่ง กลาวคือ การทําความอิ่มใจยังไม จัดเปน เวทนาขันธ ผูศึกษาพึงรูจัดสังเกตความแตกตางระหวางปติกับสุขในขอนี้, คือขอที่ปติเปนสังขารขันธ และสุขเปนเวทนาขันธ, เพื่อกันความสับสนกันโดย สิ้นเชิง แลวพึงทราบ ความที่ปติเปนแดนเกิดของความสุข.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๔. สุข. คําวาสุขในที่นี้ หมายถึงสุขอันเกิดจากการที่จิตไมถูก นิว รณร บกวน รวมกัน กับ กํ า ลัง ของปต ิห รือ ปราโมทย ที ่ไ ดส ง เสริม ใหเ กิด ความ รูสึกอันเปนสุขนี้ขึ้น. ตามธรรมดาคนเรา เมื่อมีปติ ก็ยอมรูสึกเปนสุขอยางที่ ไม มี ท างหลี ก เลี่ ย งได แต สุ ข โดยอาการอย า งนี้ ย อ มตั้ ง อยู ชั่ ว ขณะ ส ว นสุ ข ที่ เ กิ ด มาจากที่นิวรณไมรบกวนนั้น ยอมตั้งอยูถาวรและมั่นคงกวา. เมื่อผูศึกษาเขาใจ พฤติอันนี้ดี ก็จะเห็นชัดแจงไดโดยตนเองวา ปติกั บสุขนั้นไมใชของอยางเดียวกันเลย แตก็มีอยูพรอมกันไดในขณะเดียวกัน เหมือนกับการที่วิตกและวิจาร มีอยูพรอม กันได ฉันใดก็ฉันนั้น.

www.buddhadasa.in.th


๑๕๐

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

๕. เอกัคคตา. เปนคําที่ยอมาจากคําวา จิตเตกัคคตา (จิตต + เอกัคคตา) แปลวาความที่จิตเปนสิ่งซึ่งมียอดสุดเพียงอันเดียว. โดยใจความก็คือ ความที่จิตมีที่กําหนดหรือที่จด-ที่ตั้งเพียงแหงเดียว. อธิบายวา ตามธรรมดา จิต นั ้น ยอ มดิ ้น รนกลับ กลอก เปลี ่ย นแปลงอยู เ สมอ เพราะเปน ของเบาหวิว . ต อ เมื่ อ ได รั บ การฝ ก ฝนโดยสมควรแก ก รณี แ ล ว จึ ง จะเป น จิ ต ที่ ตั้ ง มั่ น มี อ ารมณ อยางเดียวอยูไดเปนเวลานาน. ในกรณีแหงสมาธินี้ เอกัคคตาหมายถึงความที่จิต กํ า หนดแน ว แน อ ยู ไ ด ใ นขณะแห ง ฐปนา หรื อ ในระยะแห ง ปฏิ ภ าคนิ มิ ต เป น ต น ไป (สวนระยะที่ต่ํากวานั้น ยังลมลุกคลุกคลาน คือเปนไปชั่วขณะ) และ อาการแหงเอกัคคตา นี้เอง เปนอาการที่เปนความหมายอันแทจริง ของคําวา สมาธิ หรือเปนตัวสมาธิแท เอกัคคตานี้ ในที่บางแหงเรียกวา “อธิษฐาน” ก็มี.

องคฌาน ทําใหเกิดฌานไดอยางไร สิ่ งที่ ต องพิ จารณาหรื อวิ นิ จฉั ยต อไปก็ คื อ องค ฌานทั้ ง ๕ องค นี้ มี อ ยู อยางไร และสัมพันธกันในหนาที่อยางไร ในขณะแหงปฐมฌาน เปนตน ?

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ดังที่ไดกลาวมาแลวขางตน ปฐมฌาน มีองค ๕ คือมีวิตก วิจาร ปติ สุข และเอกัคคตา. ขอนี้ยอมหมายความวา ในขณะแหงปฐมฌานนั้น สิ่งทั้ง ๕ นี้ ยอมมีอยู และสัมพันธเปนสิ่งเดียวกัน คือปฐมฌาน. ปญหาอาจจะเกิด ขึ้นแกคนทั่วไป วา ถาจิตที่เปนสมาธิ เปนสิ่งที่มีอารมณอันเดียวและมียอดสุด อัน เดีย วคือ เปน เอกัค คตา ทั ้ง ไมม ีค วามนึก ตรึก ตรองอะไรแลว จะมีค วามรู ส ึก ถึง ๕ อยางพรอมกันไดอยางไร ? ปญหานี้ เปนปญหาที่ถาสางไมออกแลวก็ไมมี ทางที่จะเขาใจสิ่งที่เรียกวาสมาธิในขั้นปฐมฌานไดเลย.

www.buddhadasa.in.th


นิวรณและองคฌาน

๑๕๑

ในขั้ น แรกจะต อ งเข า ใจเสี ย ก อ นว า สิ่ ง ที่ เ รี ย กว า องค -องค นั้ น เป น เพี ย งส ว นประกอบหรื อ องค ป ระกอบ คื อ เป น สิ่ ง ที่ ร วมกั น ปรุ ง ให เ กิ ด สิ่ ง ใดสิ่ ง หนึ่ ง ขึ้นมา ในฐานะเปนสิ่ง ๆ เดียว เชนเชือกเสนหนึ่งมี ๕ เกลียว เราเรียกวาเชือ ก เสนเดียว ; หรือขนมบางอยาง ประกอบดวยเครื่องปรุง ๕ อยาง เราเรียกวาขนม อย า งเดี ย ว, นี้ คื อ ความหมายของคํา ว า องค หรื อ องค ป ระกอบ. สํา หรั บ ในกรณีของปฐมฌานนั้น หมายความวา เมื่อจิตกําลังเปนสมาธิถึงขั้นนี้ จิตยอมมี สัมปยุตตธรรม คือสิ่งที่เกิดขึ้นพรอมกันแกจิต ถึง ๕ อยาง, แตละอยาง ๆ ก็เปน ความมั ่น คงในตัว ของมัน เองดว ย สนับ สนุน ซึ ่ง กัน และกัน ดว ย จึง ตั ้ง อยู อ ยา ง มั่นคงยิ่งขึ้นไปอีก. เปรียบเหมือนไม ๕ อัน แตละอัน ๆ ก็ปกอยูอยางแนนแฟน แลวยังมารวมกลุมกันในตอนยอดหรือตอนบน เปนอันเดียวกัน ก็ยิ่งมีความมั่นคง มากยิ่งขึ้นไปอีก, ขอนี้ฉันใด ; ในขณะที่ปฏิภาคนิมิตปรากฏแลวตั้งอยูอยางมั่นคง จิ ต หน ว งเอาความเป น อั ป ปนา คื อ ความแน ว แน ไ ด องค ทั้ ง ๕ นี้ ซึ่ ง มี ค วาม สําคัญแตละองคก็รวมกันเปนจุดเดียว เปนสิ่งที่เรียกวา “ฌาน” หรือสมาธิที่แนวแน ขึ้นมาได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ในขณะที่ ป ฏิ ภ าคนิ มิ ต ปรากฏนั้ น วิ ต กมิ ไ ด มี อ ยู ใ นลั ก ษณะแห ง การ กําหนดลมหายใจเขาหรือออก แตเปลี่ยนมาเปนการกําหนดวา “ลม” อยูในจุด หรือในดวงแหงปฏิภาคนิมิตนั้ น ฉะนั้น เปนอั นกลาวได วา สิ่งที่เรียกวาวิตกในขั้ น ริเริ่มตาง ๆ นั้น มิไดรํางับไปเสียในขณะแหงคณนา หรืออนุพันธนาหรือผุสนาเลย แตได กลายมาเปนวิตกที่ละเอียดสุขุมสงบรํางับ เหลืออยูจนกระทั่งถึงขณะแหงฐปนาหรือปฏิภาค นิมิตนั้น. สําหรับองคที่เรียกวาวิจารก็เปนอยางเดียวกัน คือมีเหลืออยูในลักษณะ สุ ขุ ม มาตั้ ง แต แ รก จนกระทั่ ง ถึ ง ขณะแห ง ฐปนา ก็ ทํ า หน า ที่ รู สึ ก อย า งทั่ ว ถึ ง ใน

www.buddhadasa.in.th


๑๕๒

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

ปฏิภาคนิมิต : ทําหนาที่พรอมกันกับวิตกดังที่เปนมาแตตน : แหงปฏิภาคนิมิต ก็ยังมีวิจารเหลืออยูเต็มสัดเต็มสวน.

เปนอันวาในขณะ

ป ติ นั้ นเป นสิ่ ง ที่ เกิ ด ขึ้ น ได โ ดยอั ต โนมั ติ ในฐานะที่ เ ป นปฏิ กิ ริ ย าอั น ออก มาจากวิตกและวิจารอยางประปราย ลมลุกคลุกคลานมาตั้งแตระยะเริ่มแรก แมใน ขณะแหงอนุพันธนา หรือผุสนาก็ตาม. เมื่อวิตกวิจารเปนสิ่งที่มั่นคงอยางละเอียด สุ ขุ มยิ่ งขึ้ นทุ กที ป ติ ก็ ยั งคงมี อยู อย างละเอี ยดสุ ขุ มยิ่ งขึ้ น ในฐานะที่ เป นปฏิ กิ ริ ยามา จากวิตกและวิจารไปตามเดิม : ฉะนั้นปติจึงมีออยูดวย แมในขณะแหงฐปนา หรือ ปฏิภาคนิมิต. สําหรับความสุขนั้น เปนสิ่งที่ไมเคยละจากปติ ปญหาจึงไมมี ความที่ จิ ต เป น ฐปนาหรื อ กํ า หนดอยู ใ นปฏิ ภ าคนิ มิ ต ได ถึ ง ที่ สุ ด แน ว แน ไ ม ห วั่ น ไหว นั่นเอง จัดเปนเอกัคคตา. จึงเปนวาสิ่งทั้ง ๕ นี้ ไดเริ่มกอตัวขึ้นแลว ในขณะ แหงปฏิภาคนิมิตโดยสมบูรณ. เมื่ อจิ ตได อาศั ยปฏิ ภาคนิ มิ ตแล วหน วงเอาอั ปปนาสมาธิ ได อย างสมบู รณ ถึงขั้นฌานแลว สิ่งทั้ง ๕ นี้ จึงตั้งอยูในฐานะเปนองคแหงฌานดวยกันและกัน ในคราว เดี ย วกั น โดยไม ต อ งทํ า การกํ า หนดนิ มิ ต อี ก แต ป ระการใด เพราะองค แ ห ง ฌาน เขาไปตั้งอยูแทนที่ของนิมิต : คงเหลืออยูแตการควบคุมแนวแนไวเฉย ๆ ดวย อํานาจขององคทั้งหาที่สมังคีกันดีแลว. เหมือนนายสารถีที่เพียงแตนั่งถือบังเหียน เฉย ๆ ในเมื ่อ มา ที ่ล ากรถไดห มดพยศแลว และวิ ่ง ไปตามถนนอัน ราบรื ่น ฉัน ใด ก็ฉันนั้น. ผูศึกษาไมพึงเขาใจวาองคทั้ง ๕ นี้ เปน ความคิดนึกที่ตองทําอยูดวย เจตนา แตละอยาง ๆ : โดยที่แทมันเปนเพียงผลของการปฏิบัติ ที่ไดทํามา อย า งถู ก ต อ งจนเข า รู ป แล ว ก็ ย อ มเป น ไปได เ องโดยไม มี เ จตนา เหมื อ นการกระทํ า ของนายสารถี ที่ กุมบั งเหียนอยู เฉย ๆ แม ไม มี เจตนาในขณะนั้ น สิ่ งตาง ๆ ก็ เป นไป ดวยดี ครบถวนเต็มตามความประสงค.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


นิวรณและองคฌาน

๑๕๓

องคฌาน องคหนึ่ง ๆ เปลี่ยนความหมายไดหลายชั้น อี กอย างหนึ่ งพึ งทราบว า ชื่ อต าง ๆ ขององค ฌานทั้ ง ๕ ชื่ อนี้ ย อมเป น เช นเดี ยวกั บชื่ อแปลก ๆ ของอาการต าง ๆ หลายอย าง ที่ เกิ ดอยู กั บสิ่ ง ๆ เดี ยว แล ว แตวาเราจะมองในแงไหน เฉพาะในความหมายที่สําคัญเปนแง ๆ ไป. ชื่อ ๆ เดี ยวกั น อาจหมายความถึ งกิ ริ ยาอาการที่ ต างกั นในเมื่ อเวลาได ล วงไป พร อมกั บความ สําเร็จของงานที่ทําเปนขั้น ๆ ไป. ความแจมแจงในขอนี้จักมีไดดวยการอุปมาในเรื่อง การฝกลูกวัวอีกตามเคย. สมมติ ว า ในขณะนี้ ลู ก วั ว ได ห มดพยศ มี ค วามเชื่ อ ฟ ง เจ า ของถึ ง ที่ สุ ด และลงนอนสบาย ติด อยู ก ับ โคนเสาหลัก นั ้น แลว ลองพิจ ารณาดูก ัน ใหมว า มี อาการที่ เป นองค สํ าคั ญ ๆ อะไรบ าง ที่ ยั งเหลื ออยู นั บตั้ งแต ต นมาจนกระทั่ งถึ งใน ขณะนี้. อาการของลูก วัว ที่เ ปรีย บกัน ไดกับ คํา วา วิต กและวิจ ารในขั้น แรก จริ ง ๆ นั้ น อยู ใ นลั ก ษณะที่ มั น ถู ก ผู ก แล ว กระโจนไปกระโจนมา ดิ้ น รนวนเวี ย น อยูรอบ ๆ เสา ; แตบัดนี้อาการของลูกวัว สวนที่จะเปรียบกันไดกับวิตกวิจารนั้น ไดเปลี่ยนมาอยูในลักษณะนอนเบียดอยูโคนเสาอยางสบาย. อาการถูกผูกซึ่ง เปรียบกันไดกับวิตก ก็ยังมีอยู ; อาการเคลาเคลียกับเสา ซึ่งเปรียบกันไดกับ วิ จ ารก็ ยั ง คงมี อ ยู หากแต ว า เปลี่ ย นรู ป ไปในทางสุ ภ าพเท า นั้ น ส ว นความหมาย ยังคงอยูตามเดิม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org กอ นนี ้ล ูก วัว ดื ้อ ดึง ไมช อบเจา ของ ยิน ดีใ นการไมทํ า อะไรตามใจ เจาของเสียเลย บัดนี้ลูกวัวพอใจในความเปนเชนนี้ คืออาการที่มีความคุนเคย กั บ เจ า ของ ยิ น ดี ที่ จ ะทํ า ตามเจ า ของด ว ยความพอใจ ย อ มเปรี ย บกั น ได กั บ ป ติ

www.buddhadasa.in.th


๑๕๔

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

อาการที ่ล ูก วัว นอนเปน สุข ไมถ ูก เบีย ดเบีย นดว ยการเฆี ่ย นตี หรือ ดว ยการดึง ของเชือกเมื่อตัวเองดิ้น เปนตน เปรียบกันไดกับสุข. ข อ ที่ ลู ก วั ว ไม ล ะไปจากเสา กลั บ ยึ ด เอาเสาเป น หลั ก แหล ง นี้ ก็ เ ปรี ย บ กันไดกับเอกัคคตา, เปนอันวาลักษณะทั้ง ๕ ของลูกวัวนั้น เปนองคสําคัญ แห ง ความสํ า เร็ จ ในการที่ ไ ด รั บ การฝ ก จากเจ า ของ และอาจเปรี ย บกั น ได กั บ องค ทั ้ง ๕ แหง ปฐมฌาน ซึ ่ง เปน ความสํ า เร็จ แหง การเจริญ สมาธิใ นขั ้น นี ้ ฉัน ใด ก็ฉันนั้น. อีกอยางหนึ่ง ผูศึกษาพึงสังเกตใหเห็นวา องคแหงฌานทั้ง ๕ นี้ ไมใช ตัวการปฏิบัติ ที่จะตองแยกทําดวยเจตนาทีละอย าง ๆ หากเป นเพี ยงผลของการปฏิบั ติ อันหนึ่ง กล าวคื อฌานที่ มี ลักษณะอาการให เห็ นในเหลี่ ยมที่ ต าง ๆ กัน เป น ๕ อย าง ดังนี้เปนตน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ด วยเหตุ นี้ เอง องค แห งฌานซึ่ งเป นความรู สึ ก ๕ ประการ โดยลั กษณะ ที ่ก ลา วแลว จึง เปน สิ ่ง ที ่ม ีไ ดใ นจิต ดวงเดีย วพรอ มกัน และไมต อ งมีก ารคิด นึก หรือเจตนาแตอยางใด เปนการตัดปญหาที่วา ความคิดนึกทั้ง ๕ อยางจะมีอยูใน ฌานไดอยางไร ใหสิ้นไป. ต อแต นี้ ไปจะได วิ นิ จฉั ยในข อที่ ว า องค แห งฌานแต ละองค ๆ ได ทํ างาน ในหน า ที่ ข องตน มี ผ ลในทางกํ า จั ด นิ ว รณ ทั้ ง ๕ ให ห มดไปได อ ย า งไร สื บ ไป.

www.buddhadasa.in.th


นิวรณและองคฌาน

๑๕๕

องคฌาน กําจัดนิวรณไดอยางไร๑ ในการที่ จะเข าใจว าองค ฌานองค หนึ่ ง ๆ จะสามารถกํ าจั ดนิ วรณ แต ละ อย าง ๆ ได อย างไรนั้ น จํ าเป นจะต องศึกษาให ทราบว า องค ฌานองค ไหนมี ลั กษณะ ตรงกันขามกับนิวรณขอไหน. ขอนี้อาจจะพิจารณาดูไดดวยเหตุผลธรรมดา คือ : สิ่งที่เรียกวา วิตก ไดแกการกําหนดอารมณอันใดอันหนึ่งอยู : ถาสิ่งนี้ มีอ ยู  นิว รณที ่ม ีอ าการตรงกัน ขา ม เชน อุท ธัจ จะกุก กุจ จะ ก็ย อ มมีขึ ้น ไมไ ด แมที่สุดแตกามฉันทะ ก็ยังมีขึ้นไมได เพราะจิตกําลังติดอยูกับอารมณของสมาธิ. สิ่งที่เรียกวา วิจาร ก็เปนอยางเดียวกัน : เมื่อวิจารมีอยู ก็หมายถึง มีการทํางานอยางใดอยางหนึ่งอยูในตัวมันเอง ไมลังเลในการทํา, สิ่งที่เรียกวา วิจิกิจฉายอมระงับไปโดยตรง, แมสิ่งที่เรียกวากามฉันทะหรืออื่น ๆ ก็ยอมระงับไป โดยออม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สิ่งที่เรียกวา ปติ และ สุข นั้น เปนขาศึกตอพยาบาทและถีนมิทธะ อยู แ ลว โดยธรรมชาติ และยัง สามารถระงับ กามฉัน ทะ เพราะเหตุที ่ม ีอ ารมณ ต า งกั น แม ว า อาการจะคล า ยกั น คื อ ป ติ แ ละสุ ข นั้ น ปรารภธรรมหรื อ อาศั ย ธรรม เปนกําลัง ; สวนกามฉันทะ อาศัยวัตถุกามเปนอารมณ หรือเปนกําลัง. สําหรับสิ่งที่เรียกวา เอกัคคตา นั้น ยอมเปนที่ระงับของนิวรณทั่วไป.

การบรรยายครั้งที่ ๑๖ / ๑๒ กันยายน ๒๕๐๒

www.buddhadasa.in.th


๑๕๖

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

ทั้ ง หมดนี้ เป น เครื่ อ งแสดงให เ ห็ น สื บ ไปอี ก กว า องค แ ห ง ฌานแต ล ะ องค ๆ นอกจากจะเป น ข า ศึ ก ต อ นิ ว รณ อ ย า งหนึ่ ง ๆ โดยเฉพาะแล ว ยั ง เป น ข า ศึ ก ตอนิวรณโดยสวนรวม ตามมากตามนอย เพราะฉะนั้น ทั้งสองฝาย จึงมีอยูพรอมกัน ไมไ ด เหมือ นความมืด กับ แสงสวา ง มีอ ยู พ รอ มกัน ไมไ ดโ ดยธรรมชาติ ฉัน ใด ก็ฉันนั้น.

องคฌาน กําจัดนิวรณเมื่อไร สําหรับทางพฤตินัยนั้น นิวรณเริ่มระงับไป ตั้งแตขณะแหงอุปจาร สมาธิ คือตั้งแตฌานยังไมปรากฏ. ครั้นถึงขณะแหงฌานหรืออัปปนาสมาธิ องคแหงฌานทั้ง ๕ จึงปรากฏขึ้นโดยสมบูรณทั้ง ๕ องค : นี้เปนการแสดงอยู ในตั วแล วว า องค แห งฌานองค หนึ่ ง ๆ หาจํ าต องทํ าหน าที่ ปราบนิ วรณ ที่ เป นคู ปรั บ อยางหนึ่ง ๆ เปนคู ๆ ไปโดยเฉพาะไม ; หรือวา องคแหงฌานตองพรอมกัน ทุกองค คือเปนอัปปนาสมาธิเสียกอน จึงอาจจะละนิวรณได ก็หาไม. ตาม พฤตินัยที่เปนจริงนั้น นิวรณทั้งหลายเริ่มถอยหลัง ตั้งแตขณะแหงการกําหนด บริก รรมนิม ิต และไมป รากฏใหเ ห็น ตั ้ง แตใ นขณะอุค คหนิม ิต เพราะถา นิว รณ มีอยูสิ่งที่เรียกวาอุคคหนิมิตก็เกิดขึ้นไมได. ครั้นตกมาถึงขณะแหงปฏิภาคนิมิต นิวรณก็กลายเปนสิ่งที่หมดกําลัง ทั้งที่องคแหงฌานยังไมปรากฏอยางชัดแจงครบ ทั้ง ๕ องค และสมาธิก็ยังเปนเพียงอุปจารสมาธิอยู. ครั้นองคแหงฌานปรากฏ ชัดแจงมั่นคงทั้ง ๕ องค คือเปนอัปปนาสมาธิหรือฌานแลว นิวรณก็เปนอันวา ขาดสูญไป ตลอดเวลาที่อํานาจของฌานยังคงมีอยู หรือเหลืออยูแตรองรอย กลาวคือสุขอันเกิดจากฌาน. ฉะนั้น สิ่งที่ควรกําหนดสําหรับการศึกษาตอไป ก็คือความเปนสมาธิ ๒ อยาง ;

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


สมาธิ ๒ อยาง

๑๕๗

สมาธิ ๒ อยาง สิ่ง ที่เรียกวา สมาธิ ที่แท จ ริง นั้น พอที่จะแบ งได เป น ๒ อย าง คือ อุปจารสมาธิและอัปปนาสมาธิ. อุปจารสมาธิ แปลวาสมาธิขั้นที่เขาไปใกล กลาวคือสมาธิที่เฉียดความเปนฌาน. อัปปมนาสมาธิ แปลวาสมาธิแนวแน คือสมาธิขั้นที่เปนฌาน. สวนสมาธิในขณะเริ่มแรก เชนในขณะแหงคณนาและ อนุพันธนาเปนตน ยังไมใชสมาธิแท. อยางจะเรียกไดก็เรียกไดวา บริกรรมสมาธิ คือ เปน เพีย งสมาธิใ นขณะแหง บริก รรม หรือ การเริ ่ม กระทํ า ยัง ไมใ หผ ลอัน ใด ตามความมุงหมายของคําวา สมาธิ ในที่นี้จึงเวนเสีย : คงนับแตเปนสมาธิเพียง ๒ อยาง ดังกลาวแลว.

เปรียบเทียบสมาธิสอง การเปรียบเทียบระหวางอุปจารสมาธิ กับ อัปปนาสมาธิ จะชวยให เข า ใจสมาธิ ทั้ ง สองดี ขึ้ น คื อ เมื่ อ กล า วโดยผล อุ ป จารสมาธิ เ ป น อุ ป จารภู มิ ตั้ ง อยู ในขั้นที่เฉียดตอฌาน ไมขึ้นไปถึงฌาน ไมเขาไปถึงฌาน ตั้งอยูไดเพียงเขตอุปจาระ ของฌาน คือรอบ ๆ.สวนอัปปนาสมาธินั้น ตั้งอยูในฐานะเปนปฏิลาภภูมิ คือ การไดเฉพาะซึ่ง ความเปนฌาน. ถาเปรียบกับการไปถึงหมูบาน : อยางแรก ก็ถึงเขตบาน, อยางหลังก็ถึงใจกลางบาน ; แตก็เรียกวาถึงบานดวยกันทั้งนั้น นี้อยางหนึ่ง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๑๕๘

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

อี ก อย า งหนึ่ ง เมื่ อ กล า วโดยการกระทํ า หรื อ กรรมวิ ธี อุ จ ารสมาธิ เ กิ ด ในขณะที่พอสักวานิวรณไมปรากฏ หรือในขณะที่จิตละจากนิวรณเทานั้น ; สวน อั ป ปนาสมาธิ จ ะเกิ ด ต อ เมื่ อ องค แ ห ง ฌานปรากฏชั ด ครบถ ว นทุ ก ๆ องค จ ริ ง ๆ โดย เฉพาะอยางยิ่ง คือ องคเ อกัคคตา. นี้เปนเครื่อ งแสดงวา การละไปแหงนิวรณ กับการปรากฏแหงองคทั้งหาของฌานนั้น ไมจําเปนตองมีขณะเดียวกันแท. ขอแตกตางอีกอยางหนึ่ง ก็คือ อุปจารสมาธิ หรือสมาธิเฉียดฌานนั้น มี ก ารล ม ๆ ลุ ก ๆ เหมื อ นเด็ ก ส อ นเ ดิ น เ พ ร า ะ อ ง ค แ ห ง ฌานปรากฏ บ า ง ไมปรากฏบาง, ปรากฏแลวกลับหายไปบาง, แลวกลับมาใหม แลวกลับหายไปอีกบาง, ดังนี้ เรื่อย ๆ ไป. สวนในขณะแหงอัปปนาสมาธินั้น องคแหงฌานปรากฏครบถวน อย า งมั่ น คง สมาธิ จึ ง มั่ น คงเหมื อ นการยื น หรื อ การเดิ น ของคนที่ โ ตแล ว ย อ มไม ลม ๆ ลุก ๆ เหมือนเด็กที่สอนเดิน ฉันใดก็ฉันนั้น. ถาจะระบุใหชัดแจงลงไปอีก ก็กลาวไดวา เมื่อการเจริญอานาปานสติ ดํ า เนิ น มาถึ ง ขั้ น ที่ ป ฏิ ภ าคนิ มิ ต ปรากฏแล ว ความเป น สมาธิ ใ นขณะนั้ น เรี ย กว า อุ ป จารสมาธิ อ ย า งสมบู ร ณ ในขณะนี้ จิ ต มี ป ฏิ ภ าคนิ มิ ต นั้ น เอง สํ า หรั บ กํ า หนด เปนอารมณ. องคแหงฌานยังไมปรากฏครบทั้งหา หรือปรากฏอยางลม ๆ ลุก ๆ จิ ต จึ ง ยั ง ไม อ าจจะเลื่ อ นจากปฏิ ภ าคนิ มิ ต ไปกํ า หนดที่ อ งค แ ห ง ฌานได เรี ย กว า ยั ง ไม สามารถจิตขึ้นสูองคแหงฌาน จึงยังไมแนวแนถึงขนาดที่เปนอัปปนาสมาธิ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


สมาธิ ๒ อยาง

๑๕๙

ครั้ น การปฏิ บั ติ ดํ า เนิ น ไป จนกระทั่ ง ผู ป ฏิ บั ติ ส ามารถหน ว งความรู สึ ก ในองค ฌ านทั้ งห า ให ปรากฏชั ด อยู มี อ งค ฌานทั้ ง ห า กํ าหนดเป นอารมณ แทนการ กํ าหนดปฏิ ภาคนิ มิ ตโดยแน นอนแล ว สิ่ งที่ เรี ยกว าอั ปปนาสมาธิ ก็ เกิ ดขึ้ นและสํ าเร็ จ เป นฌาน มี ความรู สึ กอยู ในองค ทั้ งห าพร อมกั นไปในคราวเดี ยวกั น โดยไม มี ความ คิดนึกอยางอื่นใด ดังที่กลาวมาแลวขางตน. ขอสํ าคั ญ มีอยู ตรงที่ จะต องรั กษาปฏิ ภาคนิ มิ ตนั้นไว อย างมั่น จนกว า จิต จะหนว งไปสูอ งคฌ านไดสํา เร็จ . ถา ปฏิภ าคนิมิต เลือ นลับ ไป จิต ก็ไ ม สามารถจะอาศั ย เพื่ อ หน ว งองค ฌ านหรื อ ความรู สึ ก ทั้ ง ๕ ประการนั้ น ให เ กิ ด ขึ้น ได. กลา วอีกทางหนึ่ง ก็คือ จะหนว งเอาองคฌ านทั้งหาได ก็ใ นขณะที่ ปฏิภาคนิมิตยังคงปรากฏอยูอยางมั่นคง. หรือกลาวอีกอยางหนึ่งก็คือ จะทําจิต ให เป นอั ปปนาสมาธิได ก็ ด วยการหนวงในองค ฌานทั้ งห า ทํ าให ปรากฏขึ้ นในขณะ ที่จิตกําลังเปนอุปจารสมาธิ อยางมั่นคงอยูนั่นเอง ; เพราะฉะนั้น ปฏิภาคนิมิตจึง เปนสิ่งสําคัญที่ตองประคับประคองเอาไวในขณะแหงอุปจารสมาธิตลอดไป แมจะ เปนเวลากี่วัน กี่เดือน หรือแมกี่ป : ถาตองประสงคจะไดฌาน ก็ตองพยายาม ประคั บ ประคองด ว ยความพยายาม ไม ห มดมานะ จนกว า จะลุ ถึ ง อั ป ปนาสมาธิ หรือฌานนั้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทา นสอนใหทํ า ในใจในระยะนี ้ใ หเ ปน พิเ ศษ โดยใหก ารอุป มาวา ผู ปฏิ บั ติ จะต องรั กษาปฏิ ภาคนิ มิ ตให เป นไปจนตลอดรอดฝ ง เหมื อนนางแก วที่ อุ มครรภ บุคคลที่จะเกิดมาเปนพระเจาจักรพรรดิ ฉันใดก็ฉันนั้น.

www.buddhadasa.in.th


๑๖๐

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

เราจะสัง เกตเห็น ไดว า ยัง ไมเ คยมีก ารกํ า ชับ อยา งหนึ ่ง อยา งใด

ใ น ก า ร ทํ า ส ม า ธิ ห รื อ กํ า ชั บ ม า ก อ ย า ง จ ริ ง จั ง เ ห มื อ น กั บ ก า ร กําชับกันในตอนนี้. ปฏิภาคนิมิตเหมือนกับการตั้งครรภ และจะคลอดออก เปนฌาน. ถาทํา ไมดี ก็ตายในครรภ จะตองรอจนกวาจะตั้งครรภใหมยอ ม เสี ยเวลา หรื อ ถ าถึ ง กั บ ตายกั น ทั้ ง แม ทั้ ง ลู ก คื อ เลิ กการทํ า สมาธิ เ สี ยเลย ก็ เ ป น อั น ลมเหลวหมด. เพราะฉะนั้ น ปฏิ ภ าคนิ ม ติ จึ ง เป น สิ่ ง ที่ ต อ งประคั บ ประคองไว ใ ห ดี เพื่ อให เป นที่ มั่ น เป นบาทฐาน เพื่ อหน วงเอาองค ฌาน จนกว าองค แห งฌานทั้ งห า จะตั้งลงอยางมั่นคง หรือปรากฏอยูอยางแจมชัด เปนอัปปนาสมาธิ คือฌาน.

การอาศัยปฏิภาคนิมิต เพื่อหนวงเอาฌาน การหนวงองคแหงฌานใหปรากฏขึ้นโดยสมบูรณ โดยมีปฏิภาคนิมิต เป นบาทฐานนั้ น เป นงานที่ ประณี ตที่ สุ ด หรื อเป น กรรมวิ ธี ตอนที่ ประณี ตสุ ขุ มที่ สุ ด ของการทํากัมมัฏฐานทั้งหมด คือรวมทั้งฝายสมถะและวิปสสนา. มันเหมือนกับงาน ฝมือที่ละเอียด : จะทําแรงไปก็ไมได เบาไปก็ไมได แนนไปก็ไมได หลวมไป ก็ไ มไ ด ชา เกิน ไปก็ไ มไ ด เร็ว เกิน ไปก็ไ มไ ด ดว ยเจตนาที ่ร ุน แรงก็ไ มไ ด ดวยเจตนาที่เฉื่อยชาก็ไมได จะวาเต็มสํานึกก็ไมใช ไรสํานึกก็ไมใช และอะไร ๆ ก็ ล ว นแต จ ะต อ งพอเหมาะพอดี และออกจะเป น อั ต โนมั ติ คื อ ดํ า เนิ น ไปได ง า ย

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


สมาธิ ๒ อยาง

๑๖๑

โดยตัวมันเอง ในเมื่อสิ่งตาง ๆ ไดดําเนินไปโดยถูกวิธี ; และจะติดตันหรือลมเหลว ไมมีทางที่เปนไปไดในเมื่อสิ่งตาง ๆ ไมเปนไปอยางเหมาะสม หรือไมถูกวิธีเชนกัน. ผูปฏิบัติจะตองทํางาน ๒ อยางพรอมกัน คือ การตั้งอยูในปฏิภาคนิมิต และ การหนวงใหความรูสึกที่เปนองคฌานทั้งหาปรากฏ และเดนขึ้นมา ๆ จนสมบูรณ และมั่ น คง สํ า หรั บ การตั้ ง อยู ใ นปฏิ ภ าคนิ มิ ต นั้ น สํ า เร็ จ ได ด ว ยการที่ ไ ด ทํ า มาอย า ง เคยชิน ในการคุม ปฏิภ าคนิม ิต ใหตั ้ง อยู อ ยา งแนว แนม าแลว จริง ๆ ซึ ่ง จะตอ ง กิ น เวลาเป น สั ป ดาห ๆ มาแล ว จึ ง จะอยู ใ นลั ก ษณะที่ มั่ น คงพอที่ จ ะใช เ ป น บาทฐาน ใหจิตหนวงเหนี่ยวเอาองคฌานใหบริบูรณได. บางคนอาจจะเปนเดือน ๆ เปนป ๆ หรือ ลม เหลวในที ่ส ุด คือ ทํ า สมาธิไ มสํ า เร็จ เปน อัป ปนาสมาธิ เพราะเหตุที่ อุ ปนิ สั ยไม อํ านวยหรื อเพราะเหตุ ใดก็ ตาม เขาจะต องผละจากการทํ าสมาธิ ไปสู การ ทําวิปสสนาตามลําดับไป เพื่อการบรรลุผลประเภทที่ไมตองเกี่ยวกับอัปปนาสมาธิ. ส วนบุ คคลผู มี อุ ปนิ สั ยหรื อความเหมาะสมนั้ น อาจจะประสบความสํ าเร็ จ ต า งกั น ไปตามลํ า ดั บ ๆ คื อ หน ว งเอาองค แ ห ง ฌานให เ กิ ด ขึ้ น ได เ ป น ฌานตามลํ า ดั บ แล ว จึ ง ทํ า วิ ป ส สนาด ว ยสมาธิ ที่ เ ข ม แข็ ง และสมบู ร ณ เช น นั้ น ได ผ ลเป น เจโตวิ มุ ต ติ ในขณะที่พวกโนนไดรับผลเปนปญญาวิมุตติลวน ๆ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ฉะนั้ น ผู สนใจในอั ปปนาสมาธิ จะต องมี ความพยายามมากเป นพิ เศษ. ตลอดเวลาที่ ปฏิ ภ าคนิ มิ ต ยั ง ไม เป น อุ ป การะแก อั ปปนาสมาธิ อ ยู เ พี ยงใด เขาจะต อ ง ประคั บ ประคองมั น อย า งยิ่ ง อยู เ พี ย งนั้ น โดยไม ย อมท อ ถอย นี้ เ รี ย กว า การรั ก ษา ปฏิภาคนิมิตในระยะแหงอุปจารสมาธิ จนกวาจะเกิดอัปปนาสมาธิ.

www.buddhadasa.in.th


อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

๑๖๒

การรักษาปฏิภาคนิมติ๑ ในระยะแหงการรักษาปฏิภาคนิมิต ที่เพิ่งไดมาใหม ๆ เพื่อการเกิด อั ป ปนาสมาธิ นี้ ในทางภายนอก มี ก ารแนะให ใ ช วั ต ถุ อุ ป กรณ ต า ง ๆ เพื่ อ สะดวก ในการปฏิ บั ติ ยิ่ ง ขึ้ น เช น ใช ร องเท า เพื่ อ อย า ให เ สี ย เวลาชั ก ช า หรื อ ฟุ ง ซ า นในการ ที่ จ ะต อ งมั ว นั่ ง ล า งเท า ในเมื่ อ เท า เป อ น หรื อ เท า เป น อะไรขึ้ น มาในขณะนั้ น ซึ่ ง ลว นแตทํ า จิต ใหฟุ ง ซา น ไมส ามารถประคับ คองปฏิภ าคนิม ิต ใหป ระณีต สุข ุม ติดตอกัน. ในบางกรณีแนะใหใชไมเทา เพื่อใหมีการยืนที่สบาย เพื่อใหมีการ เดิ น ที่ ส ะดวกและมั่ น คง ซึ่ ง ล ว นแต อํ า นวยความสะดวกแก ก ารประคั บ ประคอง ปฏิภาคนิมิตดวยกันทั้งนั้น ดังนี้เปนตัวอยาง. พรอ มกัน นั ้น ก็ค วรจะมีก ารสํ า รวจ หรือ ปรับ ปรุง หรือ ระมัด ระวัง ให สั ป ปยาธรรมทั้ ง เจ็ ด ได เ ป น ไปอย า งดี ที่ สุ ด อี ก ครั้ ง หนึ่ ง คื อ ความสะดวกสบาย เหมาะสมเนื่องด วย อาวาส โคจร กถา บุคคล อาหาร ฤดูและอิริ ยาบถ ดังที่กลาว มาแลวขางตนนั่นเอง เพื่อความเหมาะสมในการเปนอยูของบุคคลผูประคับประคอง ปฏิภาคนิมิตใหถึงที่สุดจริง ๆ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org การรักษาปฏิภาคนิมิต เปนสิ่งที่จะตองทําเรื่อยไปในฐานะที่ เปนตัว การปฏิบัติโดยตรงในขณะนี้ และดูเปนกิจที่นาเบื่อหนาย. เพื่อปลูกฉันทะ คือ ความพอใจ หรื อ เพิ่ ม กํ า ลั ง ใจในเรื่ อ งนี้ ควรทํ า ความเข า ใจในเรื่ อ งนี้ ใ ห เ พี ย งพอ อยู เ สมอ โดยเฉพาะในข อ ที่ สิ่ ง เหล า นี้ ต อ งสั ม พั น ธ กั น อย า งไร จึ ง จะเกิ ด มี ค วาม สําเร็จในการบรรลุฌานโดยเฉพาะ.

การบรรยายครั้งที่ ๑๗ / ๑๓ กันยายน ๒๕๐๒

www.buddhadasa.in.th


สมาธิ ๒ อยาง

๑๖๓

ความสัมพันธกันในระหวางธรรมเหลานี้ คือ : ก. ปฏิภาคนิมิตปรากฏขึ้น ทําใหนิวรณรํางับไป สวนอัปปนาสมาธิยัง ลม ๆ ลุก ๆ อยูจนกวาจะหนวงเอาองคฌานไดโดยสมบูรณ. ข. เมื่อนิวรณรํางับไป องคแหงฌานจึงปรากฏขึ้น และจะตองทําใหชัดขึ้น จนสมบูรณทั้ง ๕ องค โดยอาศัยปฏิภาคนิมิตเปนหลัก และมีองคฌานที่จะเกิดขึ้นเปน อารมณ. ค. เมื่อองคแหงฌานปรากฏโดยสมบูรณ อัปปนาสมาธิตั้งลงอยางสมบูรณ คือบรรลุถึงฌานขั้นแรก. นี้ ทํ า ให เ ห็ น ได ว า กิ จ ที่ จ ะต อ งทํ า อย า งยิ่ ง ในขณะนี้ ก็ คื อ การรั ก ษาหรื อ การประคั บ ประคองปฏิ ภ าคนิ มิ ต นั้ น ให มั่ น คงอยู ต ลอดเวลา พร อ ม ๆ กั น กั บ การ หนวงเอาองคฌานมา เพื่อใหเกิดอัปปนาสมาธิ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org การเรงใหเกิดอัปปนาสมาธิ

อุ บ ายวิ ธี ที่ เ ป น การสนั บ สนุ น ให เ กิ ด อั ป ปนาสมาธิ โ ดยเร็ ว ในระยะแห ง การรักษาปฏิภาคนิมิตนั้น เรียกกันดวยคําที่ไพเราะวาอัปปนาโกศล แปลวา ฉลาด ในการสรางอัปปนาสมาธิ. ทานแนะไวเปน ๑๐ อยาง คือ :๑. ทําวัตถุอุปกรณที่แวดลอมใหเหมาะสมยิ่งขึ้น, ๒. ปรับปรุงอินทรียทั้งหา ใหมีกําลังเทากัน,

www.buddhadasa.in.th


อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

๑๖๔

๓. ฉลาดในเรื่องของนิมิต, ๔. ประคองจิตโดยสมัยที่ควรประคอง, ๕. ขมจิตโดยสมัยที่ควรขม, ๖. ปลอบจิตโดยสมัยที่ควรปลอบ, ๗. คุมจิตโดยสมัยควรคุม, ๘. เวนคนและสิ่งที่โลเล, ๙. คบคนมั่นคง, ๑๐. การคอยนอมจิตไปตามความเหมาะสมแกจังหวะ ; มีอธิบายดังตอไปนี้ :-

(๑) การทําวัตถุอุปกรณที่แวดลอมใหเหมาะสมยิ่งขึ้น หมายถึงการ ปรับปรุงทางรางกาย หรือสิ่งเนื่องดวยรางกาย ใหเหมาะสมที่สุด. วัตถุที่เปน ภายใน เช น ผม ขน เล็บ ฟน เนื้ อ ตัว และอื่น ๆ ต อ งได รับ การปรั บปรุ ง ให เ ป น ที่ ส บาย ไม ทํ า ความรํ า คาญอย างใดอย างหนึ่ ง ให เกิ ดขึ้ น เช น ผมยาว หนวดยาว มีอาการคันเกิดขึ้น. เล็บยาวมีความสกปรกมากขึ้น ก็ทําความรําคาญใหเกิดขึ้น. ปากฟนสกปรกหรือเนื้อตัวสกปรก ก็ลวนแตใหผลเปนอยางเดียวกัน. การทําสิ่ง เหล า นี้ ใ ห อ ยู ใ นสภาพที่ เ รี ย บร อ ยสะอาดหมดจด เป น สิ่ ง ที่ ต อ งการในการที่ จ ะเริ่ ม ความเปนสมาธิของจิต. วัตถุภายนอกคือจีวร และเสนาสนะเปนตน ก็ตองไดรับ การปรั บปรุงพอเหมาะอย างเดี ยวกั น คื อ สะอาดหมดจด เกลี้ ยงเกลาเท าที่ จะทําได . ทั้ ง หมดนี้ ร วมเรี ย กว า การปรั บ ปรุ ง วั ต ถุ อุ ป กรณ ที่ แ วดล อ มให เ หมาะสมยิ่ ง ขึ้ น ซึ่ ง ทุกคนพอจะเขาใจไดดวยความหมายตามธรรมดา. ความมุงหมายอยูที่ ความผาสุก ทางกายพอสมควร.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


สมาธิ ๒ อยาง

๑๖๕

(๒) การปรับปรุงอินทรียทั้งหาใหมีกําลังเทากัน. คําวา “อินทรีย” ในที่ นี้ หมายถึ ง คุ ณ ธรรมที่ เ ป น ใหญ เ ป น ประธานในหน า ที่ ต า ง ๆ กั น ตามที่ จํ า เป น สําหรับการปฏิบัติในทางจิต ทานจําแนกไวเปน ๕ คือ สัทธา มีหนาที่ในทาง ทําความเชื่อ, วิริยะ มีหนาที่ในทางทําความขะมักเขมน, สติ มีหนาที่ในทาง ทําการกําหนด, สมาธิ มีหนาที่ในทางทําความมั่นคง, และ ปญญา มีหนาที่ ในการทําความสอดสอง. อิน ทรียทั้ง หา นี้ เรีย กชื่อ เต็ม วา สัท ธิท รีย วิริยิน ทรีย เปน ตน ตามลําดับไป. สิ่งที่เรียกวาสมาธิหรือปญญาก็ตาม ในฐานะที่เปนอินทรียในที่นี้นั้น มิไดหมายถึงสมาธิหรือปญญาที่เรากําลังจะทําใหเกิดขึ้นใหมอยางเดียว ; แตหมาย ถึ ง ส ว นที่ เ ป น คุ ณ ธรรมประจํ า ตั ว มาแต เ ดิ ม หรื อ มี อ ยู เ ป น อุ ป นิ สั ย และเพิ่ ม มากขึ้ น ด ว ยการศึ ก ษา ตามที่ เ คยได ยิ น ได ฟ ง มาแล ว แต ก อ น รวมกั น แล ว ตั้ ง อยู ใ นฐานะ เป น พื้ น ฐานแห ง อุ ป นิ สั ย ของเราในบั ด นี้ สิ่ ง เหล า นี้ จ ะเป น ตั ว การอั น สํ า คั ญ ยิ่ ง ประเภทหนึ่ง ซึ่งจะทําใหการปฏิบัติในทางจิตเปนผลสําเร็จหรือไมสําเร็จ. โดย อาการก็ คล าย ๆ กั นกั บจริ ต ๖ ที่ กล าวมาแล วข างต น หากแต ในที่ นี้ มี ความมุ งหมาย ในการที่ จ ะนํ า สิ่ ง เหล า นั้ น มาปรั บ ปรุ ง เสี ย ใหม ให ก ลายเป น สิ่ ง ที่ มี ป ระโยชน โ ดย สวนเดียว ; แทนที่จะเปนอุปสรรค กลับกลายเปนตัวกําลังสําคัญ ที่จะทําให ประสบความสําเร็จ, ทั้งนี้ ยอมขึ้นอยูกับการปรับปรุง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org คํ าว าปรั บปรุ งในที่ นี้ หมายถึ งการทํ าให เหมาะสม ซึ่ งมี ใจความสํ าคั ญ สัทธาตองพอเหมาะกับปญญา : วิริยะตองพอเหมาะกับสมาธิ ; และ สมาธิตองพอเหมาะ

www.buddhadasa.in.th


สมาธิ ๒ อยาง

๑๖๕

(๒) การปรับปรุงอินทรียทั้งหาใหมีกําลังเทากัน. คําวา “อินทรีย” ในที่ นี้ หมายถึ ง คุ ณ ธรรมที่ เ ป น ใหญ เ ป น ประธานในหน า ที่ ต า ง ๆ กั น ตามที่ จํ า เป น สําหรับการปฏิบัติในทางจิต ทานจําแนกไวเปน ๕ คือ สัทธา มีหนาที่ในทาง ทําความเชื่อ, วิริยะ มีหนาที่ในทางทําความขะมักเขมน, สติ มีหนาที่ในทาง ทําการกําหนด, สมาธิ มีหนาที่ในทางทําความมั่นคง, และ ปญญา มีหนาที่ ในการทําความสอดสอง. อิน ทรียทั้ง หา นี้ เรีย กชื่อ เต็ม วา สัท ธิท รีย วิริยิน ทรีย เปน ตน ตามลําดับไป. สิ่งที่เรียกวาสมาธิหรือปญญาก็ตาม ในฐานะที่เปนอินทรียในที่นี้นั้น มิไดหมายถึงสมาธิหรือปญญาที่เรากําลังจะทําใหเกิดขึ้นใหมอยางเดียว ; แตหมาย ถึ ง ส ว นที่ เ ป น คุ ณ ธรรมประจํ า ตั ว มาแต เ ดิ ม หรื อ มี อ ยู เ ป น อุ ป นิ สั ย และเพิ่ ม มากขึ้ น ด ว ยการศึ ก ษา ตามที่ เ คยได ยิ น ได ฟ ง มาแล ว แต ก อ น รวมกั น แล ว ตั้ ง อยู ใ นฐานะ เป น พื้ น ฐานแห ง อุ ป นิ สั ย ของเราในบั ด นี้ สิ่ ง เหล า นี้ จ ะเป น ตั ว การอั น สํ า คั ญ ยิ่ ง ประเภทหนึ่ง ซึ่งจะทําใหการปฏิบัติในทางจิตเปนผลสําเร็จหรือไมสําเร็จ. โดย อาการก็ คล าย ๆ กั นกั บจริ ต ๖ ที่ กล าวมาแล วข างต น หากแต ในที่ นี้ มี ความมุ งหมาย ในการที่ จ ะนํ า สิ่ ง เหล า นั้ น มาปรั บ ปรุ ง เสี ย ใหม ให ก ลายเป น สิ่ ง ที่ มี ป ระโยชน โ ดย สวนเดียว ; แทนที่จะเปนอุปสรรค กลับกลายเปนตัวกําลังสําคัญ ที่จะทําให ประสบความสําเร็จ, ทั้งนี้ ยอมขึ้นอยูกับการปรับปรุง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org คํ าว าปรั บปรุ งในที่ นี้ หมายถึ งการทํ าให เหมาะสม ซึ่ งมี ใจความสํ าคั ญ สัทธาตองพอเหมาะกับปญญา : วิริยะตองพอเหมาะกับสมาธิ ; และ สมาธิตองพอเหมาะ

www.buddhadasa.in.th


สมาธิ ๒ อยาง

๑๖๗

นี้คือการที่เรียกวาสัทธา เสมอกันกับปญญา. ผูปฏิบัติจะตองสํานึกในขอ นี้ สอบสวนตั ว เองในข อ นี้ เพื่ อ ปรั บ ปรุ ง สิ่ ง ทั้ ง สองนี้ ให เ หมาะสมกลมเกลี ย วกั น : อย า ให มี ฝ า ยใดฝา ยหนึ ่ง มีกํ า ลัง ล้ํ า หนา อีก ฝา ยหนึ ่ง ซึ ่ง ทํ า ใหเ กิด การเฉออก นอกทาง. ที่วา วิริยะเสมอกันกับสมาธิ นั้น เปรียบใหเห็นไดงาย ๆ คือวิริยะ เปนความแลนไป สวนสมาธิเปนตัวกําลังสําหรับทําใหแลนไป. ถาสิ่งทั้งสองนี้ ไมเสมอกันแลว ผลจะเกิดขึ้นอยางไร ลองคิดดู. หรือกลาวกลับกันอีกอยาง หนึ่ง สมาธิเหมือนกับน้ําหนักของลูกกระสุนปน, วิริยะ เหมือนแรงของดิน ระเบิด ที่จ ะสง ลูก กระสุน ปน ออกไป ; ถา สิ่ง ทั้ง สองไมสัม พัน ธกัน แลว ผล จะเปนอยางไร : ถาวิริยะมากเกินกวาสมาธิ วิริยะก็กวัดแกวงหรือเฉออกไป นอกทาง หรือลุม ๆ ดอน ๆ ไมสม่ําเสมอ, ถาสมาธิมากกวาวิริยะ ก็เนิบนาบ และเฉื่อยชา หรือถึงกับกาวหนาไปไมไดเอาเสียทีเดียว. ฉะนั้น จึงจําเปนตอง ประคองจิ ต ให มี ค วามขะมั ก เขม น พอสมส ว นกั บ ความมั่ น คง เคี ย งคู กั น ไปตาม ลําดับอีกคูหนึ่ง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สวนขอที่วา สมาธิตองเสมอกันกับปญญา นั้น เปนสิ่งที่คอนขางจะ เป น ไปได เ องตามธรรมชาติ กล า วคื อ เมื่ อ บุ ค คลผู นั้ น เป น ผู มี ป รกติ สํ า รวมใน การคิ ด หรื อ การพิ จ ารณา คื อ ทํ า ใจให ห นั ก แน น มั่ น คงเสี ย ก อ น แล ว จึ ง คิ ด หรื อ พิจารณาสื บไป เขาทําป ญหาที่ต องคิ ดให เป นอารมณเฉพาะหน าไว กอนแล ว ทํ าจิ ต ใหเ ปน สมาธิแ ลว จึง นอ มไปสู ป ญ หานั ้น ยอ มเกิด ความเห็น แจง ตามที ่เ ปน จริง ไดอยางงายในขณะนั้น. นี้คือการสอดสองอยางมั่นคง หรือมีความมั่นคงใน การสอดสอง แลวแตจะเรียก.

www.buddhadasa.in.th


๑๖๘

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

ที่วา อิน ทรียคือสติ จําตองปรารถนาในทุกกรณี นั้น เปนเพราะ ตั้ ง อยู ใ นฐานะเหมื อ นเจ า หน า ที่ จั ด ทํ า สิ่ ง เหล า นี้ ใ ห เ หมาะสมกั น เป น คู ๆ ให รู จั ก ทํ า หนาที่ของตนอยางถูกตอง และสม่ําเสมอ ตั้งแตตนจนปลาย : ทําใหสัทธารูจัก เลือกเชื่อหรือทําใหสัทธารูจักเกี่ยวของกับปญญา. หรือควบคุมสัทธาและปญญา ใหอยูในรองรอยของกันและกัน ดังนี้เปนตัวอยาง. สรุปความก็คือวาใหสติเปน เครื่ อ งเหนี่ ย วรั้ ง หรื อ ควบคุ ม สิ่ ง ต า ง ๆ โดยเฉพาะก็ คื อ อิ น ทรี ย ทั้ ง สี่ ให เ ป น ไป อยางถูกตองมั่นคงและสม่ําเสมอ ซึ่งเรียกวา สมบูรณดวยความไมประมาท เมื่อสิ่งที่ เรีย กวา อิน ทรีย  ไดทํ า หนา ที ่ข องตน ๆ อยา งเหมาะสมแลว จิต ยอ มอยู ใ นสภาพ ที่มั่นคงและมี กัมมนียภาวะ คือ ความคลองแคลววองไวในหนาที่โดยตรงของตน จึง สามารถทํางานละเอียดไดยิ่ง ๆ ขึ้นไป. นี้เรียกวาการปรับอินทรียใหเขากัน : ความมุงหมายอยูที่ การใชเครื่องมือใหสัมพันธกันเปนอยางดี. (๓) มีความฉลาดในเรื่องของนิมิต. เมื่ออินทรียทั้งหาเปนไปเหมาะสม แลว ความฉลาดในเรื ่อ งของนิม ิต ยอ มเกิด ขึ ้น ไดโ ดยงา ย คือ ผู นั ้น มีส ติใ นการที่ จะตั้ งข อสั งเกตสิ่ งต าง ๆ ว าเมื่ อมีอะไรเป นอย างไร แล วอะไรจะเกิ ดขึ้ นเป นลํ าดั บ ๆ มา, ควรกําหนดอะไร ไมควรกําหนดอะไร ควรเรงอะไร หรือควรหยอนอะไร, สิ่งตาง ๆ จึงจะเปนไปดวยดีในการที่จะ ๑. ทํานิมิตใหเกิด, ๒. ทํานิมิตใหเจริญ และ ๓. รักษานิมิตนั้นไวไดตลอดเวลาที่ตนประสงค.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เมื่ อ การปฏิ บั ติ ดํ า เนิ น มาถึ ง ขั้ น นี้ แ ล ว สิ่ ง ที่ เ รี ย กว า นิ มิ ต ในที่ นี้ ได แ ก จิตเตกัคคตานิมิต กลาวคือ นิมิตที่ทําใหจิตถึงความเปนจิตมีอารมณอันเดียวในขั้นยอด โดยเฉพาะเจาะจงก็ ไ ด แ ก สิ่ ง ที่ เ รี ย กว า เอกั ค คตาซึ่ ง เป น องค แ ห ง ฌานองค ที่ ห า

www.buddhadasa.in.th


สมาธิ ๒ อยาง

๑๖๙

ดัง ที่ไ ดก ลา วมาแลว ในตอนอัน วา ดว ยองคแ หง ฌาน. แตถึง กระนั้น ก็ต าม ความสํ าเร็ จที่ สมบู รณ ย อมสื บเนื่ องมาจากความเป นผู ฉลาดในการปฏิ บั ติ ต อ นิ มิ ต ขั้นตน ๆ กลาวคืออุคคหนิมิต และปฏิภาคนิมิต มาแลวเหมือนกัน. แมในขณะ แห งอุ คคหนิ มิต และปฏิ ภาคนิ มิต ตองการความฉลาดทั้ ง ๓ ประการนี้ อย างเต็ มที่ จนความฉลาดในการทําอยางนี้เกิดเปนความคลองแคลวขึ้นมา จนกระทั่งกลายเปนความเคยชิน เปนนิสัย ของผูปฏิบัติ. ฉลาดทํ า ให นิ มิ ต เกิ ด นั้ น หมายถึ ง ฉลาดในการกํ า หนดอารมณ ข อง สมาธิ ใ นขั้ น แรก และการหน ว งน อ มไปสู นิ มิ ต อั น ใหม หรื อ เพื่ อ สร า งนิ มิ ต อั น ใหม ในขั้นที่สูงขึ้นไป. สําหรับในขั้นอัปปนาโกสลนี้ หมายถึง การทําจิตใหดํารงอยูได ดวยปฏิภาคนิมิตอยางแนนแฟนจนนิวรณรํางับไป แลวหนวงนอมใหเกิดความรูสึกที่เปน องคฌานครบเต็มขึ้นมาทั้ง ๕ องค และมีองคสุดทายคือเอกัคคตา เปนองคสําคัญอยางยิ่ง เพราะตั้งอยูในฐานะเปนนิมิตอันใหมแทนปฏิภาคนิมิตนั่นเอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ที่วา ฉลาดในการทํานิมิตใหเจริ ญ นั้น หมายถึงวานิมิตปรากฏแต ออ น ๆ ก็ทํา ใหป รากฏชัด ขึ้น ๆ ; หรือ ความรูสึก ที่เ ปน วิต ก วิจ าร ปติ สุข เอกัค คตา อยา งใดอยา งหนึ ่ง ยัง ออ นอยู  คือ ไมแ จม ชัด เต็ม ที ่ หรือ ลม ๆ ลุก ๆ ก็ตาม ก็หนวงนอมทําใหปรากฏอยูอยางมั่นคงและเต็มที่.

สวนขอที่วา เปนผูฉลาดในการรักษานิมิตที่ไดแลว นั้น หมายความ วานิมิตทุกชนิด ตองมีการรักษาอยูทุกขณะ, ไมวาจะเปนขณะแรกได แรกถึง หรื อ ขณะที่ ไ ด แ ล ว อย า งสมบู ร ณ .นิ มิ ต แรกได ก็ จ ะกลั บ เสื่ อ มไปอย า งของแรกได

www.buddhadasa.in.th


๑๗๐

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

เปรียบเหมือนงานฝมือที่ละเอียดประณีตอยางใดอยางหนึ่ง ที่เพิ่งทําไดเปนครั้งแรก ถาไมทําซ้ํา ๆ ใหชํานาญจริง ๆ ก็จะไมคงตัวหรืออยูตัว จะลืมเลือนไปในระยะอันเร็ว ส ว นนิ มิ ต ที่ ไ ด แ ล ว อย า งสมบู ร ณ นั้ น ถ า ไม รั ก ษาไว อ ย า งมั่ น คง ก็ มี โ อกาสให เ กิ ด สิ่งแทรกแซง นานเขาก็เสื่อมไปไมมีเหลืออยู, เปรียบเหมือนงานฝมือที่ทําได อยางแมนยําอยางใดอยางหนึ่ง ที่ถูกทอดทิ้งนานเกินไป ดวยการเปลี่ยนไปทํางาน อย า งอื่ น เสี ย ก็ อ าจจะเลอะเลื อ นได แม ว า จะเป น สิ่ ง ที่ เ คยทํ า ได อ ย า งแม น ยํ า . เพราะฉะนั้นสิ่งที่เรียกวานิมิตทุกชนิด จึงจําเปนจะตองรักษา นับตั้งแตอุคคหนิมิต เป น ต นมา จนถึ ง ปฏิ ภ าคนิ มิ ต จะต อ งได รับ การรัก ษาโดยวิ ธีดั ง กล าวแล วข า งต น จนกวาจะหมดความจําเปน ในเมื่อฌานคลองแคลวแลว. สําหรับองคแหงฌานทั้งหลาย และโดยเฉพาะเอกัคคตา อันเปน องค สุ ด ท า ยนั้ น จะต อ งรั ก ษาด ว ยหลั ก เกณฑ ที่ ค ล า ย ๆ กั น แต เ ป น การกระทํ า ที่ ประณีตยิ่งขึ้นไปกวา โดยใจความสําคัญก็คือ การทําใหคลองแคลวอยูเสมอ โดย อาการที่เรียกวา วสี ทั้งหา ดังที่จะกลาวตอไปขางหนา, และโดยอาการที่เปนการ เพิ่มความพอใจเปนตน ในการกระทํานี้ใหมากยิ่งขึ้นทุกที โดยวิธีปฏิบัติที่เรียกวา อิทธิบาท ๔ ดังที่ทราบกันแลวทั่ว ๆ ไป ซึ่งไมจําเปนจะตองนํามากลาวไวในที่นี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สรุปความวา ความฉลาดในเรื่องของนิมิตนั้น คือความรูเทาทันในการ ที่จะทําใหนิมิตปรากฏ การทําใหนิมิตแจมชัดถึงที่สุด และ การคงสภาพเชนนั้น ไวใหนาน ไดตามที่ตนตองการ โดยความไมประมาทนั้นเอง. ผูขาดความสังเกตยอมไมประสบ ความสําเร็ จในเรื่ อ งนี้ จะเกิ ดการลม ลุ กคลุก คลาน จนต อ งลม ความตั้ งใจในที่ สุ ด โดยยอมลดตัวเองวา เปนผูมีอุปนิสัยไมเพียงพอ. นี้เรียกวาความเปนผูฉลาด ในนิมิต : ความมุงหมายอยูที่ ฉลาดควบคุมสิ่งที่พลิกแพลงเปลี่ยนแปลงไดไว นั่นเอง.

www.buddhadasa.in.th


สมาธิ ๒ อยาง

๑๗๑

(๔) การประคองจิตโดยสมัย.๑ คําวา “โดยสมัย” เปนสํานวน บาลี เป นคํ าพู ดสั้ น ๆ เพี ยงสองคํ า แต มี ความหมายชั ดเจนพอ ว าต องทํ าสิ่ งที่ กล าว นั้ น ให เ หมาะสมหรื อ ให ต รงต อ เวลาที่ ต อ งทํ า หรื อ ควรทํ า ก็ ต าม อย า ให ผิ ด เวลา หรือแมแตเพียงชาไปเปนอันขาด. ผูปฏิบัติจะตองสังเกตใหรูทันทีวา มีอะไรเกิด ขึ้ น และต อ งทํ า อย า งไร และจะต อ งมี ค วามรู ว า เมื่ อ มี อ าการอย า งนี้ เ กิ ด ขึ้ น จะต อ ง ประคองจิต หรือขมจิต หรือปลอบโยนจิต ดังนี้เปนตน. ในกรณี ข องอั ป ปนาโกสลนั้ น เมื่ อ สั ง เกตเห็ น ว า จิ ต ตกต่ํ า คื อ มี อ าการ ถอยกํ า ลั ง หรื อ กํ า ลั ง น อ ยไม พ อเพื่ อ การเพ ง ต อ อั ป ปนาสมาธิ ก็ ต าม จะต อ งทํ า การ เพิ่มกําลังใหแกจิต ซึ่งเรียกวาการประคองจิตในที่นี้. การปฏิบัติในการประคองจิตนี้ ผูปฏิบัติจะตองศึกษาถึงสิ่งที่เรียกกันวาสัมโพชฌงค จะเปนการงายแกการเขาใจและ การปฏิบัติ. คําวา สัมโพชฌงค แปลวา องคแหงการตรัสรูหรือการรูพรอม ซึ่ง หมายถึง การที่ปญญาดําเนินไปถึง ที่สุดนั่นเอง. ที่เ รียกวา องคแหงการตรัสรู ก็เพราะวาการตรัสรูตองประกอบดวยองคทั้ง ๗ นี้จริง ๆ. องคทั้ง ๗ นี้ คือ สติ, ธัมมวิจยะ (การเลือกเฟนหรือสอดสองธรรม), วิริยะ, ปติ, ปสสัทธิ (ความรํางับแหงจิต), สมาธิ และ อุเบกขา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

การบรรยายครั้งที่ ๑๘ / ๑๙ กันยายน ๒๕๐๒

www.buddhadasa.in.th


๑๗๒

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

ขอให รู จั ก สัง เกตให เห็ น ชั ด ว า ในโพชฌงค ๗ อย า งนั้ น เมื่ อ กั น เอา สติออกเสียอยางหนึ่ง เหลือเพียง ๖ อยาง ก็จะแบงไดเปน ๒ พวก, พวกละ ๓ อยา ง. สามอยา งแรก คือ ธัม มวิจ ยะ วิริย ะ และปติ เปน พวกที่มี คุณสมบัติประคองจิตใหสูงขึ้น หรือเพิ่มกําลังใหแกจิต. สวนสามอยางหลัง คือ ปสสัทธิ สมาธิ และ อุเบกขา นั้น เปนพวกที่มีคุณสมบัติขมจิตที่ฟุงซาน หรือ ลดกําลังของจิตที่มีมากจนลน ; เพราะเหตุนี้ อุบายเปนเครื่องประคองจิตในที่นี้ ก็ค ือ ธัม มวิจ ยสัม โพชฌงค วิร ิย สัม โพชฌงค และ ปต ิส ัม โพชฌงค นั ่น เอง. ผู ปฏิ บั ติ จะต องใช สั มโพชฌงค ทั้ ง ๓ นี้ ในขณะที่ จิ ตหดหู หรื อถอยกํ าลั ง แม ในขณะ แหงการเจริญสมาธิ ซึ่งนับวาเปนภาคตนของการเจริญกัมมัฏฐานภาวนา. สวน สติส ัม โพชฌงค นั ้น เปน สิ ่ง ที ่ต อ งมีห รือ ตอ งใช ในกรณีทั ่ว ไปหรือ ทุก ๆ กรณี อี ก ตามเคย นั บ ตั้ ง แต เ ป น ผู รู ว า เดี๋ ย วนี้ จิ ต หดหู เ สี ย แล ว จะต อ งแก ไ ขด ว ยธรรมะ ข อ ไหน จะดํ า รงธรรมะข อ นั้ น ไว ไ ด อ ย า งไร จนกระทั่ ง เป น ผู รู ว า จิ ต พ น จากความ หดหูแลว ดังนี้เปนตน. โพชฌงคแตละอยาง ๆ มีเรื่องที่จะตองศึกษา และนํา ไปใชแกปญหาที่เกิดขึ้น ดังตอไปนี้ :

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ก. ธัมมวิจยสัมโพชฌงค ธัมมวิจัยในที่นี้ ตามตัวหนังสือแปลวา การเลื อกเฟ นธรรมอย างดี ที่ สุ ด เปรี ยบเหมื อนกั บคนฉลาดสามารถเลื อกเก็ บ ดอกไม ในสวนที่ ก ว า งใหญ ไ พศาล และมี ม ากจนลานตา จนไม รู ว า เก็ บ ดอกไม อ ะไรดี สําหรับผูที่ไมมีความฉลาด ; ตอเมื่อเปนผูฉลาดเทานั้น จึงจะสามารถทํางานนี้ ใหสําเร็จประโยชนได.

คําวา “เลือกเฟน” ยอมกินความไปถึงคําวา “สอดสอง” ถาไมสอดสอง ให ทั่ ว ถึ ง แล ว ก็ ไ ม รู จ ะเลื อ กได อ ย า งไร หรื อ ควรเลื อ กหยิ บ เอาอะไรขึ้ น มา ;

www.buddhadasa.in.th


สมาธิ ๒ อยาง

๑๗๓

ฉะนั้น เมื่อกลาวโดยวิธีปฏิบัติ ก็ไดแก การแยกแยะออกดูอยางละเอียด แลวกันเอามา เฉพาะสวนที่จําเปนจะตองใช ใหถูกตรงตามเรื่องตามราวของมันโดยเฉพาะ. ในกรณีที่จิต หดหู ยอมจะมีมูลเหตุมาไดหลายอยาง หลายทาง จําเปนที่จะตองสอดสองใหพบ มูลเหตุที่แทจริง และเลือกของแกที่เหมาะสมมาแก. บางอยางก็อาจจะตองอาศัย สติ ป ญ ญาของผู อื่ น เข า ประกอบ บางอย า งก็ ไ ม อ าจทํ า เช น นั้ น ได จํ า เป น จะต อ ง สอดสองแกไขดวยตนเองเปนระยะยาว จนกระทั่งประสบความสําเร็จ. อยางไร ก็ตาม ทานไดแนะทางมาแหงธัมมวิจยะ ไวเปนหลักทั่วไป กลาวคือ : ๑. การสอบถาม ในกรณีที่ควรสอบถาม จากกัลยาณมิตรผูสามารถ เพื่อประกอบความคิดเห็นของตัว. ๒. ทําสิ่งแวดลอมใหเหมาะสม ดังที่กลาวแลวในอัปปนาโกสลขอหนึ่ง ซึ่ง ในที่นี้ หมายถึ ง การเปน อยูด วยรางกายที่ เยื อ กเย็น และจิต ใจที่ ปลอดโปร งที่ สุ ด นั่นเอง. ๓. ปรับปรุงอินทรียทั้งหา ใหมีกําลังเหมาะสวนแกกัน ดังที่กลาวแลว ในอั ปปนาโกสลข อสอง ซึ่ งหมายความวาอิ นทรี ย ที่ เหมาะส วนแก กั นนั้น นอกจาก จะเปนการเรงอัปปนาสมาธิแล ว ยัง อาจจะเปนทางของธัม มวิจยสัมโพชฌงคก็ไ ด อีก ในเมื่อการเรงอัปปนาสมาธิโดยตรงไมประสบความสําเร็จ. ๔. อยาของแวะกับคนโง แมโดยประการใด. ๕. คบคาแตกับคนที่ฉลาด. ฉลาดในที่นี้ หมายถึงฉลาดในธรรมะ โดยเฉพาะอยางยิ่ง คือ ในการปฏิบัติธรรม. ๖. พิจารณาธรรมนั้น ๆ อยูโดยอุบายที่แยบคายที่สุด จนมีความแจมแจง ในเรื่องนั้น ๆ หรือยางนอยก็พบลูทางที่จะแกปญหานั้นเสีย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๑๗๔

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

๗. ในกรณีที่ตองทําเปนระยะยาว ก็คือ การเพาะนิสัย ของตนเองให มากขึ้นไป ในการสอดสองและเลือกเฟนธรรมนั่นเอง. เมื่อประพฤติ อยูครบถวนทั้ง ๗ ประการนี้ แลว สิ่ งที่เรียกวาธัมมวิจย สั ม โพชฌงค ก็ ตั้ ง ขึ้ น อย า งมั่ น คง สํ า เร็ จ เป น องค ๆ หนึ่ ง ได โ ดยแน แ ท แล ว ทํ า หนาที่ประคองจิตดวยการทําใหมองเห็นลูทางอันราบรื่น กอใหเกิดกําลังใจในการ ปฏิบัติขึ้นมาทันที ความหดหูก็หายไปตามสวน เพราะอํานาจของธัมมวิจยะนี้. ข. วิริยสัมโพชฌงค คําวา วิริยะ แปลวา ความพากเพียร แตรวมอยู ดวยลักษณะแหงความเขมแข็งและกลาหาญ. ในที่นี้ หมายถึงสมรรถภาพของจิต ที่เป นความเขมแข็ง กลาหาญ รุดหนา อย างมั่ นคง ไมยอมถอยหลั ง เปน สิ่งที่ ตรง กันขามกับความหดหูอีกปริยายหนึ่ง. ถาหดหูก็ไมมีวิริยะ ถามีวิริยะก็ไมอาจหดหู เพราะฉะนั้น หนาที่จึงมีแตเพียงสรางวิริยะขึ้นมาใหไดก็พอ โดยใจความก็คือ การ ปลุกกําลังใจดวยการพิจารณาที่เหมาะสม หรือที่เปนอุบายอันแยบคาย. วิธีที่ทาน นิยมกระทํากัน แลวแนะนําไวนั้น มีอยูดังตอไปนี้ :-

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๑. พิจารณาใหเห็นโทษ ของการที่เราไมมีสิ่งนี้ แลวตองตกจมอยูใน กองทุกข หรือตองเวียนวายอยูในกองทุกขอยางซ้ํา ๆ ซาก ๆ ไมมีสิ้นสุด เรียกว า มองเห็นภัยในวัฏฏสงสาร.

๒. พิจารณาใหเห็นอานิสงส ของการที่เรามีสิ่งนี้อยางแจมชัด วาเมื่อ มีแลว จักพนไปจากความทุกขดวยอาการฉะนี้ ๆ จนเกิดกําลังใจขึ้นมา. ๓. พิจารณาเห็นทาง วาทางที่พระองคทรงแสดงไวนี้ หรือทางที่เรา กําลังปฏิบัติอยูนี้ เปนทางที่ถูกตองที่สุดแลว ทางอื่นไมมี หรือ มีก็ไมดีไปกวานี้ :

www.buddhadasa.in.th


สมาธิ ๒ อยาง

๑๗๕

๔. พิจารณาถึงหนี้ หมายความวา ผูปฏิบัติธรรมนั้น ไมมีทางที่จะไป ประกอบอาชี พใด ๆ ด วยตนเอง ตองอาศั ยปจจั ยสี่ จากบุ คคลอื่ นเป นอยู กํ า ลัง เป น หนี้ เขา จะหลุ ดจากหนี้ ต อเมื่ อประสบความสํ าเร็ จในการปฏิ บั ติ เมื่ อ พิ จารณาอยู ดังนี้ ก็เกิดความขะมักเขมนในการปฏิบัติขึ้นมาทันที. ๕. พิจารณาถึงพระศาสดา วาเราไดศาสดาที่ดีที่สุดของโลก ควรจะมี ความภาคภูมิใจในขอนี้ : และธรรมะที่พระองคทรงแสดงนั้น ดีสมกัน ไมมีผิด พลาด เราควรจะเดินตามทานโดยแทจริง. ๖. พิจารณาในฐานะผูรับมรดก หรือเปนธรรมทายาท วาตัวไดมีโชค มี เ กี ย รติ ในฐานะเป น ธรรมทายาทของพระศาสดาผู เ ลิ ศ เห็ น ปานนี้ แ ล ว จะเอา อยางไรกันอีกเลา ในเมื่อไมมีมรดกอันไหน จะสูงยิ่งไปกวามรดกอันนี้แลว ดังนี้ เปนตน ก็เกิดความภาคภูมิใจขึ้นมาอีกปริยายหนึ่ง. ๗. อาโลกสัญญา การทําความสําคัญในแสงสวาง หรือทําความสําคัญ ว า มี แ สงสว า ง ได แ ก ก ารทํ า ใจให เ ป ด โล ง แจ ม แจ ง ราวกะว า มี แ สงสว า งแรงกล า ปรากฏชั ด อยู แม ว า จะเป น เวลากลางคื น มื ด ๆ หรื อ ว า ตนกํ า ลั ง หลั บ ตาอยู ก็ ต าม. การเคยเจริญอาโลกกสิณมากอน ยอมชวยไดมากในขอนี้. สิ่งนี้เปนปฏิปกษตอ ความหดหู ข องจิต โดยตรง ทํ า จิต ไมใ หซ บเซาหรือ มืด มัว จึง จะมีกํ า ลัง ใจที ่จ ะ กาวหนาและกาวหนาอยูเสมอ. ๘. ไมของแวะกับคนเกียจคราน หรือนิมิตแหงความเกียจคราน. ๙. คบแตคนขยัน หรือสัญลักษณแหงความขยัน. ๑๐. พิจารณาถึงคุณแหงธรรมะขอนี้อยูเปนประจํา โดยปริยายตาง ๆ กัน ทุกแงทุกมุม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๑๗๖

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

๑๑. ในกรณีที่ตองทําเปนระยะยาว ก็คือ การเพาะนิสัย ของตัวเอง ใหเกิดความเลื่อมใสและเคยชินตอคุณธรรมขอนี้อยูตลอดเวลา. เมื่ อ ทํ า อยู ดั ง นี้ สิ่ ง ที่ เ รี ย กว า วิ ริ ย สั ม โพชฌงค ก็ เ กิ ด ขึ้ น และตั้ ง อยู อ ย า ง มั่น คง กํา จัด ความหดหูแ หง จิต เสีย ได. ธัม มวิจ ยสัม โพชฌงค เปน อุบ าย ประคองจิ ต ด ว ยการทํ า จิ ต ให ม องเห็ น ลู ท างด ว ยความหวั ง พร อ มกั น นั้ น วิ ริ ย สั ม โพชฌงค ก็ ป ระคองจิ ต ให รี บ เดิ น ไปตามลู ท างอั น นั้ น ด ว ยการกระทํ า ที่ สั ม พั น ธ กันดังนี้. ค. ปติสัมโพชฌงค คําวา ปติ หมายถึงความอิ่มใจ คือความยินดี ที่ เ กิ ด มาจากการกระทํ า ของตั ว เอง หรื อ ความเคารพตั ว เอง ว า กํ า ลั ง ทํ า หรื อ กํ า ลั ง ไดสิ่งที่ควรจะได ; เปนกําลังใจอีกปริยายหนึ่ง ที่ตรงกันขามกับความหดหู และ เปนตัวธรรมะที่สนับสนุนวิริยะโดยตรง ไมใหเกิดความเหนื่อยลา. อุบายใหเกิด ปตินั้น ทานนิยมปฏิบัติและแนะนํากันไวดังตอไปนี้ : ๑. การเจริญพุทธานุสสติ, ๒. การเจริญธัมมานุสสติ, ๓. การเจริญ สังฆานุสสติ, ทั้ง ๓ อยางนี้ เมื่อทําลงไปจริง ๆ แลว ยอมเกิดปติในคุณของ พระรัตนตรัย และมีกําลังแหงปติ ยอนมาสนับสนุนความพากเพียรของตน. แตถา เป น การเจริ ญ แต ป าก คื อ ไม ซึ ม ทราบในคุ ณ ของ พระพุ ท ธ พระธรรม พระสงฆ จริง ๆ แลว ก็ไมเกิดผลเชนกลาวนั้น. ๔. สีลานุสสติ การพิจารณาถึงศีลของตน โดยเฉพาะวาตนเปนคน มี ศี ล บริ สุ ท ธิ์ ย อ มเกิ ด กํ า ลั ง เป น อย า งยิ่ ง ในการที่ จ ะนิ ย มชมชอบตั ว เอง หรื อ มี ป ติ ในตัวเอง ซึ่งจะสงเสริมกําลังแหงความพากเพียรยิ่งขึ้นไปตามลําดับ. ๕. จาคานุสสติ ระลึกถึงการบริจาคโดยเฉพาะอยางยิ่งที่ตนเคยบริจาค จริง ๆ แลว ก็เ กิด ความภาคภูม ิใ จและปต ิใ นตัว เอง อยา งเดีย วกับ ที ่ก ลา วแลว ในเรื่องของสีลานุสสติ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


สมาธิ ๒ อยาง

๑๗๗

๖. เทวตานุสสติ ระลึกถึงธรรมะที่ทําความเปนเทวดา โดยเฉพาะ อยางยิ่งคือ หิริ และโอตตัปปะ ที่ทําบุ คคลให งามหรือเปนสุข ราวกะเทวดา หรือยิ่ ง ไปกวาเทวดา, เมื่อมองเห็นความเปนไปไดอยางนาอัศจรรยที่สุดของธรรมะเหลานี้ ก็คือ เกิดปติในธรรม มีผลเปนเครื่องสนับสนุนกําลังใจอยางเดียวกัน. ๗. อุปสมานุสสติ ระลึกในคุณของความสงบ หรือธรรมเปนเครื่อง ทํ าความสงบ ตลอดถึ งคุ ณค าของความสงบอั น สู ง สุ ด ที่ เ ป น ขั้ นนิ พพาน จนเห็ นชั ด ว า เป น สิ่ ง ที่ มี ไ ด โ ดยประการใด ดั ง นี้ แ ล ว ก็ เ กิ ด ป ติ ที่ เ ป น กํ า ลั ง อย า งยิ่ ง และทํ า หนาที่ของมัน โดยทํานองเดียวกันกับพุทธานุสสติ เปนตน. ๘. ในกรณีที่ตองทําเปนระยะยาว ตองขยันใน การเพาะนิสัย ของตน ให มี ความเคยชิ นในคุ ณธรรมข อนี้ คื อ ความเป นคนแจ มใส อาจหาญ ร างเริ ง มี กําลังใจ มีความหวังที่เพียบพรอมอยูเสมอ. เมื่ อ ทํ า ได อ ย า งนี้ สิ่ ง ที่ เ รี ย กว า ป ติ สั ม โพชฌงค ก็ เ กิ ด ขึ้ น และตั้ ง อยู อยางมั่นคง กําจัดความหดหูของจิตไดในที่สุด.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org รวมความวาธัมมวิจยสัมโพชฌงค ประคองจิตดวยการทําใหเห็น ลูทางหรือความหวัง, วิริยสัมโพชฌงค ประคองจิตใหมีกําลังดวยการเดินไป ตามลูท างนั้น , และ ปติสัม โพชฌงค ประคองจิต ดว ยการเพิ่ม กํา ลัง ใหแ ก วิร ิย สัม โพชฌงคอ ยา งไมม ีร ะยะวา งเวน ดว ยการสัม พัน ธก ัน ในลัก ษณะเชน นี้ การประคองจิ ตโดยสมั ยก็ เป นไปโดยสะดวก และสมบู รณ พอที่ จะทํ าให เกิ ดความ แนวแนในขั้นอัปปนาสืบไป.

www.buddhadasa.in.th


๑๗๘

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

(๕) การขมจิตโดยสมัย๑ ในบางคราวหรือบางกรณี จิตมีอาการ ฟุงซานจนกระทั่งมีการกําเริบในทางกาย ซึ่งเปนของเนื่องถึงกัน. การรํางับความ กํ าเริ บทั้ งทางกายและทางจิ ต ก็ ตกเป นหน าที่ ของโพชฌงค ทั้ งสามที่ เหลื อ กล าวคื อ ปสสัทธิสัมโพชฌงค สมาธิสัมโพชฌงค และอุเบกขาสัมโพชฌงค. สัมโพชฌงค ทั้ งสามนี้ ล วนแต เป นไปในทางสงบรํ างั บ และตั้ งมั่ นแน วแน และวางเฉย โดยการ สัม พัน ธก ัน อยา งใกลช ิด และเปน เหตุผ ลของกัน และกัน อยู ใ นตัว แตถ ึง กระนั ้น ก็ยังมีทางที่จะทําใหเต็มที่ในโพชฌงคองคหนึ่ง ๆ โดยเฉพาะ อยูนั่นเอง. ก. ปสสัทธิสัมโพชฌงค. คําวา ปสสัทธิ แปลวา รํางับ โดยอาการ ก็ คื อ ความสงบลง ๆ ของความพลุ ง พล า นหรื อ ความกระสั บ กระส า ย ซึ่ ง ท า นแบ ง ออกเปน ๒ ประเภท คือทางกาย และทางจิตซึ่งเปนของเนื่องกัน ; เพราะฉะนั้น ปสสัทธิ จึงเกิดมีเปน ๒ อยางขึ้น เชนเดียวกัน กลาวคือ กายปสสัทธิ รํางับ ทางกาย และ จิตตปสสัทธิ รํางับทางจิต. ทางมาแหงปสสัทธิสัมโพชฌงคนั้น ทานแนะไวไดแก :

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๑. ภาวนา, ๒. พหุลีกตา, ๓. โยนิโสมนสิการ ซึ่งทั้ง ๓ อยางนี้ ก็เ ปน สิ่ง ที่เ ปน ไปในปส สัท ธิทั้ง สองนั้น เอง. ภาวนา หมายถึง การทํา ใหมีขึ้น , พหุลีกตา หมายถึง ทําใหมากขึ้น คือ ทําซ้ํา ๆ, โยนิโสมนสิการ หมายถึง การทํ า ไว ใ นใจโดยแยบคาย ทุ ก ขั้ น ทุ ก ลํ า ดั บ ที่ ไ ด ก ระทํ า มา ให มี ค วามเข า ใจ แจมแจงในสิ่งนั้น ๆ ยิ่งขึ้นเสมอไป,ทั้งนี้เปนสิ่งที่เนื่องกันทั้ง ๓ อยาง ทุกระยะ

การบรรยายครั้งที่ ๑๙ / ๒๐ กันยายน ๒๕๐๒

www.buddhadasa.in.th


สมาธิ ๒ อยาง

๑๗๙

แหงการกาวหนา. ในที่นี้ไดแกการพยายามกําหนดสังเกตในความกระสับกระสาย มู ล เหตุ ข องความกระสั บ กระส า ย และลู ท างที่ จ ะให เ กิ ด ความสงบรํ า งั บ ขึ้ น ที ล ะ นอย ๆ ตามลําดับ ; เกิดขึ้นเทาไร ก็รักษาไวใหไดดวยการทําซ้ํา ๆ อยางระมัด ระวังนั่นเอง ; และพรอมกันนั้น ทานแนะใหมีการจัด การทํา ที่จะสนับสนุน ความสงบรํางับนั้นอีกทางหนึ่ง คือ :๔. อาหาร อาหารที่ชวยทําใหเกิดความรํางับทางกายและทางจิต เชน อาหารผั ก ให ความสงบรํ างั บยิ่ งกว าอาหารเนื้ อ เป นต น ตลอดถึ งอุ บายวิ ธี บริ โภค อยางไร ซึ่งสนับสนุนแกความสงบรํางับนั้นดวย. ๕. ดินฟาอากาศ กลาวคือ ธรรมชาติที่แวดลอมเชนความรอน ความ หนาว ความทึบ ความโลง ตลอดถึง ทิว ทัศ นที ่ง ดงามหรือ ไมง ดงาม ซึ ่ง เปน สิ ่ง ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ ความสงบรํ า งั บ แห ง จิ ต อยู ม ากเหมื อ นกั น โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง สิ่ ง หนวกหู หรื อ รบกวนทางตา ทางจมู ก เป น ต น เป น สิ่ ง ที่ ไ ม อํ า นวยแก ค วามสงบ รํางับ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๖. อิริยาบถ ที่เหมาะสมตอความสงบรํางับ กลาวคือ อิริยาบถที่ไม สงเสริมแกความฟุงซาน อิริยาบถนอน ยอมสงเสริมความฟุงซาน. อิริยาบถ เดิน เปนสิ่งที่ตรงกันขาม ดังนี้เปนตน. ผูปฏิบัติจะตองรูจักสังเกตในสวนที่เปน กรณีของตนโดยเฉพาะ.

๗. ความพากเพียรที่พอเหมาะ คือไมพากเพียรทั้งทางกายและทางจิต จนเกินกําลัง หรือไมเหมาะแกเวลาเปนตน. โดยใจความ หมายถึงความที่ไม เครียดจนเกินไป หรือไมถึงขนาดที่เรียกวาเครียด แตก็ไมเฉื่อยชา. นี้เรียกวา ความเพียรที่พอเหมาะ และมีสิ่งที่ตองสังเกตเฉพาะคน ๆ ดวยเหมือนกัน.

www.buddhadasa.in.th


๑๘๐

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

๘. ไมของแวะกับคนฟุงซาน. ๙. คบคาแตกับบุคคลที่มีความสงบรํางับ. ๑๐. ในเมื่อจะตองทําเปนระยะยาว จะตองมี การเพาะนิสัย ใหเปลี่ยนไปในทางสงบรํางับยิ่ง ๆ ขึ้นไป จนกระทั่งเปนนิสัย.

ของตนเอง

เมื่ อปฏิ บั ติ อยู ครบถ วนทั้ ง ๑๐ ประการนี้ ย อมเกิ ดความรํ างั บทางกาย และทางจิต ตามลําดับอยางเปนระเบียบ. ขอสําคัญอยูตรงที่ตองมีความระมัด ระวัง และความแนใ จในความอดกลั ้น อดทน ทํ า มัน อยา งประณีต และรอคอย ไดอยางเยือกเย็น. ข. สมาธิสัมโพชฌงค. คําวา สมาธิ ในคําวาสมาธิสัมโพชฌงคแหง อั ป ปนาโกสลนี้ มิ ไ ด ห มายถึ ง สมาธิ ส ว นใหญ ที่ กํ า ลั ง กระทํ า อยู โ ดยตรง เพราะว า การทําสมาธิสวนนั้นมาติดตันอยูตรงนี้. สมาธิสวนที่เปนสัมโพชฌงคนี้หมายถึง คุ ณ ธรรมส ว นที่ จ ะใช เ ป น เครื่ อ งมื อ เพื่ อ จะแก ไ ขอุ ป สรรคข อ นี้ เ อง และข อ อื่ น ๆ ตลอดไปในกาลข า งหน า แต ถึ ง อย า งนั้ น ก็ ยั ง เป น ของที่ แ นบเนื่ อ งกั น อยู อ ย า งไม อ าจ จะแยกกัน ได คือ จะตอ งปฏิบ ัต ิเ นื ่อ งกัน หรือ คราวเดีย วกัน ไปในตัว เชน การ ที่ ยั ง คงรั ก ษานิ มิ ต ที่ ป รากฏแล ว นั่ น เองไปเรื่ อ ย ๆ ตามหลั ก การที่ ไ ด ก ล า วมาแล ว เปนแตเราแยกเรียกสิ่งนี้ออกมาเสียสวนหนึ่งวา สวนที่เปนสมาธิสัมโพชฌงค. สิ่งที่ตองปฏิบัติในกรณีนี้ ไดกลาวไวเปนกลาง ๆ อยางเดียวกัน คือ :

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๑. ภาวนา, ๒. พหุลีกตา. ๓. โยนิโสมนสิการ. ทั้งสามนี้เปนไป ในนิม ิต แหง สมถภาวนา หรือ วิป ส สนาภาวนาแลว แตก รณี ใจความสํ า คัญ ก็ คื อ การทํ า อย า งระมั ด ระวั ง ในกรณี ที่ เ กี่ ย วกั บ นิ มิ ต ทุ ก ระยะ ด ว ยการทํ า ให เ กิ ด ก า ร ทํ า ซ้ํ า แ ล ะ ทํ า ไ ว ใ น ใ จ โ ด ย แ ย บ ค า ย เ ช น เ ดี ย ว กั บ ที่ ก ล า ว แ ล ว ใ น ข อ ก .

www.buddhadasa.in.th


สมาธิ ๒ อยาง

อันวาดวยปสสัทธิสัมโพชฌงค นั่นเอง. ทั่วไป ทานใหถือวา …

๑๘๑

ยิ่งกวานั้น ในกรณีที่กลาวไวอยางกวาง ๆ

๔. อัปปนาโกสล หมดทั้ง ๑๐ ประการนั้นแหละ เปนกิจที่จะตองทําอยู ตลอดเวลา ในการเจริญสมาธิสัมโพชฌงค และ ๕. ขอสุดทาย ก็คือการเพาะนิสัย ในความเปนสมาธิในฐานะที่เปนกฎ ทั่วไปของการปฏิบัติระยะยาว. ค. อุเบกขาสัมโพชฌงค อุเบกขานี้หมายถึงความวางเฉย และมีมูล มาแตค วามรู ที ่ถ ูก ตอ ง วา สิ ่ง ทั ้ง หลายทั ้ง ปวง อัน ใคร ๆ ไมค วรยึด มั ่น ถือ มั ่น (สพฺเพ ธมฺมา นาลํ อภินิเวสาย) อันเปนปญญา หรือสวนสัมมาทิฏฐิที่เปนพื้นฐาน ทั ่ว ไป ของการปฏิบ ัต ิธ รรม อัน เปน เครื ่อ งสนับ สนุน ใหม ีค วามวางเฉย ในสิ ่ง ทั้ ง ปวงได โ ดยง า ย แล ว เป น เครื่ อ งสนั บ สนุ น ความเป น สมาธิ โ ดยตรงอยู ใ นตั ว เพื่ อ พอกพูนอุเบกขาสัมโพชฌงคใหเจริญยิ่งขึ้น ทานแนะนําไวดังตอไปนี้ :

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๑. ทําความวางเฉยในสัตว คือสิ่งที่มีชีวิตไมวาสัตวมนุษยหรือสัตวเดรัจฉาน. ๒. ทําความวางเฉยในสังขาร ซึ่งในที่นี้ไดแกสิ่งตาง ๆ ที่นอกไปจากสัตว.

ทั้ ง สองอย า งนี้ หมายถึ ง สิ่ ง ที่ ต นกํ า ลั ง ยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น ว า มั น เป น อะไร หรื อ เป น ของใคร ซึ่ ง ทํ า ให เ กิ ด ความรู สึ ก ว า ดี ก ว า หรื อ เลวกว า เป น ต น อั น เป น เหตุ ให เกิ ดความรูสึ กยึ ดถื ออย างอื่นอีกต อ ๆ ไป กระทั่ งยึดถือวาเป นของเรา หรือเกี่ ยว ข อ งกั น อยู กั บ เรา ในลั ก ษณะใดลั ก ษณะหนึ่ ง ซึ่ งทํ า ให เ กิ ด ป ญ หาต า ง ๆ ขึ้ นอย า ง ไมมีที่สิ้นสุด.

www.buddhadasa.in.th


อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

๑๘๒

๓.

ไมของแวะกับคนยึดมั่นถือมั่น

หรือสัญลักษณของความยึดมั่น

ถือมั่น. ๔. คบคาสมาคมแตกับบุคคล หรือสัญลักษณ แหงความไมยึดมั่นถือมั่น โดยเฉพาะอย างยิ่ งก็ คื อบุ คคลที่ วางแล ว หรื อหลุ ดพ นแล ว จากความยึ ดมั่ น ถื อ มั่ น ในสิ่งทั้งปวง. ๕. มีการเพาะนิสัย แหงความเปนคนไมยึดมั่นถือมั่นอยูเปนปรกติ ด วยการพิ จารณาถึ งคุ ณ ของสิ่ งนั้ น ทํ าความพอใจในสิ่ งนั้ นอย างยิ่ ง สรรเสริ ญคุ ณ ของสิ่ ง นั้ น และชั ก ชวนผู อื่ น ในการทํ า อย า งนั้ น อยู เ สมอไป นี้ เ ป น ใจความสํ า คั ญ ของคําวา เพาะนิสัย. สรุปความแหงความสัมพันธกัน ระหวางโพชฌงคทั้ง ๓ นี้วา ปสสัทธิ ทําใหเกิดความรํางับทางกายและทางจิต ; เมื่อรํางับก็ตั้งมั่นเปน สมาธิ; เมื่อ ตั้ ง มั่ น เป น สมาธิ ก็ คุ ม ให ห ยุ ด อยู ห รื อ เฉยอยู ในความเป น อย า งนั้ น ซึ่ ง เรี ย กว า อุเบกขา. นี้คือการทําหนาที่อยางสัมพันธกันของสัมโพชฌงคทั้ง ๓ นี้. เมื่อทํา ได จิตก็ไมมีทางที่จะฟุงซานหรือเลื่อนลอยแตประการใด. ที่กําลังฟุงซานอยูก็ รํางับไปเพราะอํานาจของปสสิทธินั่นเอง. การทําอยางนี้ทุกคราวที่ความฟุงซานเกิดขึ้น เรียกวาการขมจิตโดยสมัย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org (๖) การปลอดจิตโดยสมัย ในกรณีที่ไมเกี่ยวกับการยกหรือการขม ทานแนะใหใชวิธี “ปลอบจิตโดยสมัย” คือการจูงไปทางใดทางหนึ่ง ซึ่งเปนวัตถุ ที่ประสงคอยางยิ่ง, ในกรณีเชนนี้ ทานแบงออกเปน ๒ ระยะ คือ การขูใหกลัว สิ่งที่นากลัว แลว ลอหรือจูงไปยังสิ่งที่พึงปรารถนา.

www.buddhadasa.in.th


สมาธิ ๒ อยาง

๑๘๓

สิ่งที่ควรนํามาขู คือ ความทุกขนานาประการ ที่ปรากฏอยูอยางชัดแจง. ทานจําแนกไวเปน ๘ ชนิดคือ ๑. ทุกขเพาะเกิด. ๒. ทุกขเพราะแก. ๓. ทุกข เพราะเจ็บไข, ๔. ทุกขเพราะความตาย, ๕. ทุกขเพราะความเสื่อมเสีย ซึ่งเรียก วาอบายทุกชนิด, ๖. ทุกขในวัฏฏสงสารสวนที่เปนอดีตที่เคยประสบมาแลว, ๗. ทุกขในวัฏฏสงสารสวนที่เปนอนาคต ที่ตนมองเห็นไดโดยประจักษ, และ ๘. ทุกขเนื่องดวยการเสาะแสวงหาปจจัยเครื่องยังชีวิตใหเปนไป ตลอดถึงการหา อาหารทางตา ทางหู ทางจมู ก ทางลิ้ น ทางกาย อั น ไม รู สิ้ น สุ ด และมี ป ระจํ า อยูในความมี ความเปน ทุกชนิด. การทําการพิจารณาใหเห็นแจงชัดในความ ทุ กข เหล านี้ อยู เสมอ จั กเป นอุ บายเครื่ องขู จิ ตให เกิ ดความกลั วต อการที่ จะนอนจมอยู ในความเป น อย า งนี้ แล วเกิ ดความเชื่ อ ความกล า หรื อ ความพอใจในการที่ จะไป เสียใหพนจากสิ่งเหลานี้. อุบายเปนเครื่องลอหรือจูง ใหจิตเปนไปในทางสูงนั้น ไดแกการ ทํ า ความปลื้ ม ใจอยู ใ นคุ ณ ของสิ่ ง หรื อ บุ ค คล อั น เป น ที่ ตั้ ง แห ง ความปลื้ ม ใจ หรื อ ความนายึ ดถือเอาเปนตัวอยาง โดยเฉพาะอยางยิ่งก็คือคุ ณของ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ อี กนั่ นเอง แต ต องเป นการกระทํ าที่ สมบู รณ คื อปรากฏเป นความปลื้ มใจ ไดจริง ๆ วา บุคคลนี้พนจากทุกขจริง ๆ ; วาสิ่งนี้เปนหนทางพนจากทุกขไดจริง; และบุคคลเหลานี้เปนตัวอยางแหงบุคคลผูพนจากทุกขไดจริง ; ทั้ง ๓ อยางนี้ลวน แตเปนเครื่องประกันความสําเร็จ ดังนี้เปนตน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เมื่ อการขู และการล อโดยประการ ๒ อย าง เป นไปด วยดี แล ว เรี ยกว า เป น การปลอบหรื อ ประเล า ประโลมจิ ต ที่ ไ ม ทํ า ความก า วหน า ให ทํ า ความก า วหน า ทําจิตที่หยุดใหเคลื่อนไปสูคุณเบื้องสูงไดดวยอุบายอันหนึ่ง.

www.buddhadasa.in.th


๑๘๔

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

(๗) การคุมจิตโดยสมัย. เมื่อจิตไมหดหู หรือจิตไมฟุงซาน แต เป น จิ ต ที่ ดํ า เนิ น ไปอย า งสม่ํ า เสมอ เรี ย กว า จิ ต ย า งขึ้ น สู ค วามเหมาะสมในเบื้ อ งต น เปน จิที ่เ ริ ่ม ไดที ่แ ลว หนา ที ่ที ่จ ะตอ งทํ า ในขณะนั ้น ก็ค ือ การคุม ความเปน อยางนั้นไวเรื่อยไป จนกวาจะถึงวัตถุที่ประสงค ซึ่งในที่นี้ ไดแกการดําเนินเขาสู สมถะหรือความเปนอัปปนาอันแทจริง. ขอนี้โดยใจความ ก็เพียงแตควบคุม ความรู สึ ก ที่ ต อ งประสงค นั้ น อยู เ ฉย ๆ กล า วคื อ เมื่ อ ได ป รั บ ปรุ ง ขยั บ ขยายการ กํ าหนดหรื อความรู สึ กสิ่ งต าง ๆ โดยแยบคาย จนถึ งที่ สุ ดแห งการปฏิ บั ติ ส วนนั้ นแล ว ก็หนวงเอาความเปนอยางนั้นไวอยางสม่ําเสมอใหตลอดเวลา. ในที่นี้ก็ไดแ ก การหนวงจิตตอความรูสึกที่เปนองคฌานอยูอยางสม่ําเสมอเปนระยะยาว นั่นเอง เรียกวา การคุม.

เราอาจจะเข าใจความหมายข อนี้ ได ง าย ด วยการเปรี ยบเที ยบกั บสารถี ที ่ฉ ลาด คุม มา ที ่บ ัง คับ ไดที ่แ ลว ใหล ากรถไปตามถนนที ่ร าบรื ่น ดว ยอาการ เพียงถือสายบังเหียนอยูเฉย ๆ ก็ถึงที่สุดปลายทางได ฉันใดก็ฉันนั้น. ขอนี้ อธิ บ ายว า วิ ถี แ ห ง สมถะในขั้ น อั ป ปนานั้ น ก็ มี ห ลั ก เกณฑ ที่ ต ายตั ว ของมั น อยู ต าม ธรรมชาติ เมื่ อ ดํ า เนิ น มาถึ ง หลั ก เกณฑ อั น นั้ น แล ว ก็ เ กิ ด อาการส ว นที่ เ ป น ไปเอง ไดตามกฎเกณฑของมัน. ความยากลําบากของการคุม ยอมอยูตรงที่จะตอง ไม ทํ าอะไรใหม ๆ ให เกิ ดขึ้ นมาเป นสิ่ งแทรกแซงอั นใหม หรื อเกิ ดเป นป ญหาอั นใหม ขึ้นมาอีก ; สิ่งที่ประสงคอยางยิ่งในอุบายขอนี้จึงไดแกสติสัมปชัญญะที่มีอยางพอ เพี ยงนั่ นเอง จึ งควรกล าวว า สติ สั มโพชฌงค เป นสิ่ งที่ จํ าปรารถนามากเป นพิ เศษใน กรณีแหงการคุมจิตนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


สมาธิ ๒ อยาง

๑๘๕

(๘) การเวน คนโลเล คํา วา โลเล ในกรณีนี้ ทา นระบุไ วเ ปน ๓ ลักษณะคือ :๑. คนไมเคยหรือไมชอบตอเนกขัมมะ กลาวคือ ภาวะที่ปราศจาก กาม. ที่วาไมเคยตอเนกขัมมะนั้น หมายความวาไมเคยมีจิตที่ปราศจากกาม ไมเคยมีจิตวางเวนจากความปรารถนากาม หรือความพัวพันอยูในกาม ; กลาวอีก อยา งหนึ ่ง ก็ค ือ ไมเ คยพบความสงบจากการรบกวนของกาม จนไมท ราบวา รสของเนกขัมมะนั้นมีอยูอยางไร. สวนผูไมชอบเนกขัมมะนั้น หมายความวา เปน คนหมกมุ น อยู แ ตใ นกาม เมื ่อ มีใ ครมาพูด ถึง ภาวะที ่ต รงกัน ขา มก็ไ มช อบ ทั้ ง ที่ ต นไม เ คยเข า ถึ ง ภาวะอั น นั้ น เลย แต ถื อ เอาโดยอนุ ม านว า เป น สิ่ ง ที่ ต นไม ค วร ปรารถนาเป น อย า งยิ่ ง คนชนิ ด นี้ ย อ มโลเลต อ ความสงบ คื อ ส า ยหนี จ ากความ สงบอยูเปนปกติ. ๒. คนมีเรื่องมาก หรือคนจับจด. คนมีเรื่องมากไมสามารถทํา อะไรเปนชิ้นเปนอัน หรือถึงที่สุดได. การที่เขาชอบมากเรื่องยอมแสดงอยูในตัว วาเปนคนสา ย. คนจับจด หมายถึง คนเปลี่ยนความคิดเร็ว กอนแตที่จ ะทํา อะไรไปจนถึ ง ที่ สุ ด แม มี เ รื่ อ งเพี ย งเรื่ อ งเดี ย ว เขาก็ เ ปลี่ ย นเรื่ อ งเรื่ อ ย จนไม เ คย ประสบความสําเร็จสักเรื่องเดียว. ๓. คนใจฟุงซานเลื่อนลอย ไมมีอะไรเปนจุดหมายที่แนนอน มี จิตใจปราศจากการควบคุมอยูเสมอ. ทั้ง ๓ พวกนี้เรียกวาเปนคนโลเล. ทานแนะใหตั้งขอรังเกียจถึงขนาด ที่ ต อ งไม เ กี่ ย วข อ งด ว ย ในทํ า นองราวกะว า เป น เชื้ อ โรคร า ย ที่ อ าจจะติ ด ต อ กั น ไดงา ย แมโ ดยทางกระแสจิต. ผูหวัง อยูใ นอัปปนา หรือ กํา ลัง ปฏิบัติในขั้น หนว งเอาอัป ปนา ควรเวน หา งไกลจากบุค คลประเภทนี้อ ยูเ สมอ. การทํา เช น นั้ น อย า งน อ ยเป น การย อ มจิ ต ใจไปในทางของอั ป ปนาอยู เ สมอโดยไม รู สึ ก ตั ว .

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๑๘๖

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

(๙) การเสพคบคนมั่นคง. ขอนี้รูไดโดยนัยอันละเอียด ในทํานอง ที่ตรงกันขามจากขอ ๘ ไมจําเปนตอ งอธิบายอะไรอีก . สิ่งที่ควรสําเหนียกไว ก็คือการถายทอดนิสัยทางกระแสจิต เปนสิ่งที่ทานรับรองกันอยูทั่วไป. สวนผล อีก อยา งหนึ ่ง ในการคบคนมั ่น คงนั ้น เปน โอกาสใหไ ดซ ัก ไซส อบถามสิ ่ง ตา ง ๆ ซึ่งเปนประโยชนแกอัปปนา โดยตรงอีกดวย. (๑๐) การสามารถนอมจิตไปอยางเหมาะสม. ความเหมาะสมในที่นี้ หมายถึ งความเหมาะสมกั บพฤติ ของจิ ต คื อ ความเป นไปต าง ๆ ของจิ ตในขณะที่ จะ เปนสมาธิอยางแนวแน ใหพอเหมาะพอดีแกจังหวะ หรือความหนักเบาเปนตน ซึ่ ง ยากที่ จ ะกล า วเป น รายละเอี ย ดได ใจความสํ า คั ญ ของเรื่ อ งอยู ต รงที่ เ ป น ผู ฉ ลาด สามารถโอนเอน หรือ คลอ ย หรือ โนม ไปใหพ อเหมาะแกค วามตอ งการของจิต ที่จะเปนอัปปนา ในขณะนั้นเปนสวนใหญ. ความพอเหมาะพอดี ในที่ นี้ ไม อาจจะอธิ บายด วยถ อยคํ าอย างอื่ นที่ จะดี ไปกวาการแสดงดวยอุทาหรณ : ผูที่เคยหัดขี่รถจักรยานมาแลว ยอมทราบไดดีวา ผู ห ัด ขี ่ต อ งทํ า ใหพ อเหมาะพอดี ในการหมุน ตัว เลี ้ย งตัว หรือ โยถ ว งน้ํ า หนัก ใหเ หมาะแกจัง หวะ จริง ๆ มิฉ ะนั้น แลว มัน จะไมเ รีย บ มัน จะคดไปคดมา เพราะการถื อ คนบั ง คั บ หรื อ การเอี ย งถ ว งน้ํ า หนั ก ของตั ว เอง ที่ ไ ม พ อเหมาะพอดี แกจังหวะหรือความตองการ ตามกฎศูนยถวงในขณะนั้นนั่นเอง ; ขอนี้มีอุปมา ฉั น ใด การโอน การคล อ ย หรื อ การน อ มไป ให พ อเหมาะพอดี แ ก จั ง หวะของการ ที่จิตนอมไปสูความเปนอัปปนาสมาธิ ก็มีอุปมัยฉันนั้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ที่ เ กี่ ย วกั บ ไม ช า หรื อ เร็ ว เกิ น ไปนั้ น ท า นเปรี ย บเหมื อ นแมลงผึ้ ง ที่ อ อก เสาะหาเกสร :เช า หรื อ สายเกิ น ไป ก็ ไ ม ไ ด เ กสรสมประสงค ;เร็ ว ไป ยั ง มื ด

www.buddhadasa.in.th


สมาธิ ๒ อยาง

๑๘๗

หรือดึกอยู ดอกไมยังไมบานบาง หรือมีอันตรายอยางอื่นบาง ; สายไป ก็ไมทัน ตัวอื่น เพราะเกสรหมดแลว. ที่ เ กี่ ย วกั บ ความไม ห นั ก หรื อ เบาเกิ น ไป นั้ น ท า นเปรี ย บเหมื อ นการ เอามี ดกรี ดใบบั วที่ ล อยอยู บนผิ ว น้ํ าของคนที่ มี ฝ มื อ หรื อพวกแสดงกลประเภทหนึ่ ง ซึ่ ง มี ก ติ ก าว า จะกรี ด ให เ กิ ด รอยในใบบั ว นั้ น ตามที่ ต อ งการ แต ไ ม ใ ห ใ บบั ว ขาด ดวยการกรีดเพียงครั้งเดียว. ถากรีดเบาเกินไป ก็ไมมีรอย. ถากรีดหนักเกินไป ใบบัวก็ขาด : เขาตองกรีดพอเหมาะ ไมหนัก ไมเบาจริง ๆ จึงจะสําเร็จประโยชน. ความไมคอยเกินไปและความไมผลุนผลันเกินไป นั้น ทานเปรียบ ด ว ยการกระทํ า ของบุ ค คลที่ ไ ด รั บ คํ า สั่ ง ให ส าวใยแมงมุ ม ออกมาจากรั ง แมงมุ ม๑ จนกระทั่ งมี ความยาว ๓๐–๔๐ ศอก ถ าทํ าค อยเกิ นไป ก็ ไม อาจจะดึ งออกมาได : ถาทําผลุนผลันเกินไป ก็ขาดหมด. ความไม ม ากหรื อ ความไม น อ ย นั้ น เปรี ย บได กั บ การกางใบเรื อ มาก หรือนอย พอเหมาะแกกําลังลม : ลมแรง กางใบเต็มที่ เรือก็ลม : ลมไมคอยมี กางใบนอยนิดเดียว เรือก็ไมอาจแลนไปได. ความกลาเกินไปหรือความขลาดเกินไป นั้น ใหดูที่การกรอกน้ํามัน ลงในขวด โดยไมใหน้ํามันหกแมแตหยดเดียว : เมื่อน้ํามันมีมาก และขวดมี ปากเล็กมาก ทําดวยใจกลาเกินไป ไมมีทางที่จะสําเร็จ. ความตึงเครียดเกินไป หรือความหลวมเกินไป นั้น ดูไดที่การจับ นกตัวเล็ก ๆ : จับหนักมือเกินไป นกก็ตายในมือ ; จับหลวมมือเกินไป นกก็ ลอดหนีไปตามชองมือ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

หมายถึงแมงมุมชนิดพิเศษชนิดใดชนิดหนึ่ง โดยเฉพาะ

www.buddhadasa.in.th


๑๘๘

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

ความตึ งมากเกิ นไป หรื อความหย อนให มากเกิ นไป ให ดู ที่ การชั กว า ว สําหรับ ความหยอนเกินไปหรือตึงเกินไป ใหดูที่ผลของการขึงสายเครื่องดนตรี ดังนี้เปนตน. ทั้งหมดนี้ เปน คําอธิบายของความพอเหมาะพอดี และความตรง ตามจังหวะ ดังที่ไดกลาวมาแลวขางตน ในเรื่องของบุคคลที่บังคับรถจักรยาน เปนตน. ในระยะแรก ฝกหัดการหนวงนอมจิตไปสูความรูสึกที่เปนองคฌาน ตองการความพอเหมาะพอดี และความตรงตามจังหวะ โดยความหมายดังกลาวนี้. เมื่ อ ทํ า ได เ ช น นี้ การน อ มจิ ต ให ถึ ง จุ ด แห ง ความเป น อั ป ปนา ก็ เ ป น สิ่ ง ที่ เ ป น ไปได . ผู มี อุ ป นิ สั ย หรื อ มี อิ น ทรี ย เ หมาะสมอยู โ ดยอุ ป นิ สั ย ย อ มง า ยแก ก ารทํ า เช น นี้ และ ประสบความสําเร็จในเวลาอันสั้น ; สวนผูออนดวยอุปนิสัย ก็มีแตจะตอง พากเพี ย รเรื่ อ ยไป ไม ย อมท อ ถอย แม ต อ งพากเพี ย รไปจนตลอดชี วิ ต จนกว า การ ปฏิ บั ติ ใ นขั้ นประณี ต สุ ขุ ม นี้ จะเป น ไปได อ ย า งที่ เ รี ยกว าเพี ยรจนตายก็ ย อม เพราะ ไมมีทางอื่นจริง ๆ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อุบายวิธีทั้ง ๑๐ ประการนี้ รวมเรียกวา อัปปนาโกสล เพราะมีความ มุ ง หมายตรงกั น หมด คื อ เป น อุ บ ายหรื อ ความฉลาดในการเร ง รั ด จิ ต ให ก า วไปสู ความเปน อัป ปนา เปน การบม นิส ัย หรือ อิน ทรีย ใ หแ กก ลา ถึง ที ่ส ุด พรอ มกัน ไป ในตัว. อัปปนาโกสลนี้ มีผลนอกจากทําความสําเร็จในการทําสมาธิแลว ยังมีผล เพื่ อการปฏิ บั ติ อย างอื่ นทั่ ว ๆ ไป แมกระทั่งในขั้ นแหงวิ ปสสนาอั นเป นระยะสุดท าย เมื่ อ อั ป ปนาโกสลในขั้ น รั ก ษาปฏิ ภ าคนิ มิ ต และการหน ว งเอาองค ฌ านเป น ไปด ว ย ดีแลว ผลที่เกิดขึ้น ก็คืออัปปนาสมาธิ หรือการบรรลุฌาน.

www.buddhadasa.in.th


การบรรลุฌาน

๑๘๙

การบรรลุฌาน๑ ลํ าดั บของการปฏิ บั ติ ในขั้ นที่ เป นการบรรลุ ถึ งฌาน นี้ ควรจะได ย อนไป ทํ า ความเข า ใจ ตั้ ง แต ขั้ น ที่ ป ฏิ ภ าคนิ มิ ต ปรากฏขึ้ น มาตามลํ า ดั บ อี ก ครั้ ง หนึ่ ง เพื่ อ ความเขาใจงายในขั้นนี้ : เมื่อปฏิภาคนิมิตจะปรากฏ มีสิ่ งใหสังเกตลวงหน าได คือ อุ คคหนิมิ ต ในขณะนั้นแจมใสยิ่งขึ้น ; จิตรูสึกสงบยิ่งขึ้น ; รูสึกสบายใจหรือพอใจในการกระทํานั้น มากยิ่งขึ้น ; ความเพียรเปนไปโดยสะดวก แทบจะไมตองใชความพยายามอะไรเลย ; ลักษณะเหลานี้แสดงวาปฏิภาคนิมิตจะปรากฏ. ครั้นปฏิภาคนิมิตปรากฏแลว ตองระมัดระวังในการรักษาปฏิภาคนิมิต โดยนัยดังที่กลาวมาแลวขางตน เปนระยะยาวตามสมควร. แมวาในขณะนี้นิวรณ จะระงั บไปไม ปรากฏก็ จริ ง แต อั ปปนาสมาธิ ยั งล ม ๆ ลุ ก ๆ อยู เพราะองค ฌานยั ง ไมปรากฏแนนแฟนโดยสมบูรณ. ผูปฏิบัติจะตองดํารงตนอยูอยางสม่ําเสมอ ใน ลักษณะแหงอัปปนาโกสล ๑๐ ประการ ดังที่กลาวแลวเพื่อเปนการเรงรัดอัปปนา สมาธิใหปรากฏตอไป.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ผูปฏิบัติหนวงจิตใหลุถึงอัปปนาสมาธิได ดวยการหนวงความรูสึกที่ เป น องค ฌ านทั้ ง ๕ ประการ ให ป รากฏขึ้ น ในความรู สึ ก แจ ม ชั ด สมบู ร ณ และตั้ ง อยูอยางแนนแฟน. เมื่อองคฌานตั้งมั่นทั้ง ๕ องคแลว ชื่อวาลุถึงอัปปนาสมาธิ หรือกลาวอีกนัยหนึ่งก็คือการไดฌานในอันดับแรก ซึ่งเรียกวา ปฐมฌาน.

การบรรยายครั้งที่ ๒๐ / ๒๑ กันยายน ๒๕๐๒

www.buddhadasa.in.th


อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

๑๙๐

ปฐมฌาน ปรากฏ ลักษณะสังเกตความสมบูรณของปฐมฌาน ยอมมีอยู คือ ในขณะนั้น จิตประกอบอยูดวยลักษณะ ๑๐ ประการ. ประกอบอยูดวยองคแหงฌาน ๕ ประการ และการประกอบดวยอินทรีย ๕ ประการ ไมยอหยอน, รวมเปนสิ่งที่จะตองกําหนด เพื ่อ การศึก ษา หรือ เพื ่อ การสอบสวนเปน ๒๐ ประการดว ยกัน มีร ายละเอีย ด ดังตอไปนี้ : ลักษณะ ๑๐ ประการ นั้น แบงเปน ๓ สวน คือ ก. สวนที่เปน เบื้องตน ข. สวนที่เปนทามกลาง และ ค. สวนที่เปนที่สุด ของปฐมฌานนั้น มีอธิบายดังตอไปนี้ : ก. ลักษณะที่เปนเบื้องตนของปฐมฌาน เรียกวา ความสมบูรณ ดว ยปฏิป ทาวิส ุท ธิ คือ ความบริส ุท ธิ ์ห มดจดของขอ ปฏิบ ัต ิใ นขั ้น นั ้น ๆ ซึ ่ง ใน ที่นี้ไดแกปฐมฌานนั่นเอง. ความสมบูรณที่กลาวนี้ ประกอบอยูดวยลักษณะ ๓ อยาง คือ :

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org (๑) จิตหมดจดจากโทษทั้งปวง ที่เปนอันตรายตอปฐมฌานนั้น ; (๒) เพราะความหมดจดเชนนั้น จิตยางขึ้นสูสมถนิมิต ซึ่งในที่นี้ ไดแกองคฌาน : (๓) เพราะยางขึ้นสูสมถนิมิต จิตยอมแลนไปในสมถนิมิตนั้น ; ลักษณะทั้งสามนี้ ทําให ปฐมฌานไดชื่อวา มีความงามในเบื้องตน

www.buddhadasa.in.th


การบรรลุฌาน

๑๙๑

ข. ลักษณะที่เปนทามกลางของปฐมฌาน เรียกวา อุเบกขาพรูหนา กลาวคือ ความหนาแนไปดวยอุเบกขา หรือความเพงดูเฉยอยู ; ประกอบอยู ดวยลักษณะ ๓ อยางคือ :(๑) เพงจิตอันหมดจดแลว จากโทษที่เปนอันตราย ตอปฐมฌานนั้น (คือขอหนึ่งแหงหมวดที่กลาวถึงเบื้องตน ขางบน)

(๒)

เพงดูจิตที่แลนเขาสูสมถนิมิตแลว(ดังที่กลาวมาแลวในขอ ๓ ใน

หมวดตน)

(๓) เพงดูจิตที่มีเอกัตตะปรากฏแลว. เอกัตตะในที่นี้ ไดแกความ เป น ฌานโดยสมบู ร ณ ประกอบอยู ด ว ยลั ก ษณะต า ง ๆ ที่ ต รงกั น ข า มจากนิ ว รณ โดยประการทั้ ง ปวง ดั ง ที่ ก ล า วมาแล ว ข า งต น (เป ด ย อ นไปดู ต อนที่ ก ล า วเรื่ อ งเอกั ต ตะ) ลักษณะทั้งสามนี้ทําให ปฐมฌานไดชื่อวา มีความงามในทามกลาง ค. ลักษณะที่เปนที่สุด ของปฐมฌาน เรียกวา สัมปหังสนา แปลวา ความราเริง ; ประกอบอยูดวยลักษณะ ๔ ประการ คือ : (๑) รา เริง เพราะธรรมทั้ง ปวงที่เ กิด หรือ ที่เ กี่ย วกับ ปฐมฌานนั้น (โดยเฉพาะเชนองคฌานเปนตน) ไมก้ําเกินกัน แตสมสวนกัน ซึ่งเรียกไดวา มี “ความ เปนสมังคีในหนาที่ของตน ๆ”. (๒) ราเริงเพราะอินทรียทั้งหลายมีกิจเปนอันเดียวกัน รวมกันทําให เกิดผลอยางเดียวกัน. (๓) ราเริงเพราะสามารถเปนพาหนะนําไปไดซึ่งความเพียรจนกระทั่ง ลุถ ึง ฌานนั ้น ๆ ที ่ไ มก้ํ า เกิน กัน และลุถ ึง ความสมบูร ณแ หง อิน ทรีย  ที ่ม ีก ิจ เปน อันเดียวกัน. (๔) ราเริงเพราะเปนที่สองเสพมากของจิต. ลั กษณะทั้ ง ๔ ประการนี้ ทํ าให ปฐมฌานได ชื่ อว า มี ความงามในที่ สุ ด.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๑๙๒

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

เมื่ อรวมเข าด วยกั นทั้ ง ๓ หมวด ย อมเป นลั กษณะ ๑๐ ประการเป น เครื่ อ งแสดงถึ ง เบื้ อ งต น ท า มกลาง และที่ สุ ด ของปฐมฌาน พร อ มทั้ ง เป น เครื่ อ ง แสดงความงาม กล า วคื อ ความน า เลื่ อ มใสหรื อ เป น ที่ พ อใจของบั ณ ฑิ ต ผู ส นใจ ในการศึกษาและปฏิบัตในทางจิต. สําหรับ องคแหงฌาน ๕ องค และ อินทรีย ๕ ประการ นั้นเปนสิ่ง ที่ ได กล าวมาแล วอย างละเอี ยดข างต น ว ามี ลั กษณะอย างไรเป นต น ไม จํ าเป นต อ ง กลาวถึงในที่นี้อีก. หากแตวาจะตองพิจารณากันในที่นี้เฉพาะขอที่ ธรรมทั้ง ๒๐ ประการนี้ ป ระกอบพร อ มกั น อยู ใ นขณะแห ง ปฐมฌานด ว ยอาการอย า งไรเท า นั้ น ; เพราะธรรมทั้ง ๒๐ นี้ เปนลักษณะแหงความสมบูรณของฌานนั่นเอง.

ปฐมฌานประกอบดวยลักษณะยี่สิบ ดวยอาการอยางไร

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org จากลั กษณะ ๑๐ ประการที่ กล าวนั้ นเอง มี ทางที่ ผู ศึ กษาจะพิ จารณาให เห็ น ชั ด ถึ ง ลั ก ษณะความเป น ฌาน นั บ ตั้ ง แต การลุ ถึ ง ฌาน การตั้ ง อยู ใ นฌาน และการเสวยสุขอยูในฌาน พรอมกันไปในตัว. การที่แบงเปน ๓ ระยะ เปน เบื้ อ งต น ท า มกลาง และที่ สุ ด เช น นั้ น เป น เพี ย งนิ ติ นั ย คื อ เป น เพี ย งหลั ก สําหรับศึกษา ; โดยพฤตินัยยอมมีพรอมกัน คือเปนเพียงของอยางหนึ่ง ซึ่ง ประกอบอยู ด ว ยลั ก ษณะอาการหลายอย า ง แล ว แต จ ะมองกั น ในแง ไ หน และจั ด ลํ า ดั บ สิ่ ง เหล า นั้ น อย า งไร เพื่ อ ความสะดวกในการศึ ก ษา และการทํ า ความเข า ใจ ในเรื่องนั้น ๆ นั่นเอง. ตอไปนี้จะไดพิจารณากันทีละอยาง คือ :

www.buddhadasa.in.th


การบรรลุฌาน

๑๙๓

ลักษณะที่ ๑ : ในขณะแหงปฐมฌานนั้น เปน ขณะที่จิตปราศจาก สิ่งที่เปนปฏิปกษตอปฐมฌานโดยประการทั้งปวง ถึงขนาดที่แนวแนจริง ๆ. ลักษณะ ที่ก ลา วนี้ จึง ยัง ไมมีโ ดยสมบูร ณ ในขณะที่ป ฏิภ าคนิมิต ยัง ปรากฏอยู ; แต มีตอเมื่อสมถนิมิต คือองคแหงฌานปรากฏแลว. ฉะนั้น ความระงับไปแหง นิว รณด ว ยลํ า พัง อํ า นาจของปฏิภ าคนิม ิต นั ้น ยัง หาใชเ ปน ฌานไม หาใชเ ปน อัปปนาสมาธิไม เปนแตเพียงอุปจารสมาธิอยูนั่นเอง. ขอนี้เปนสิ่งที่ไมควรจะ กล าวอย างหละหลวมวา พอสั กว านิ วรณทั้ งหาระงับไป ก็ เป นการบรรลุฌานโดยทั นที เวนไวแตจะเปนการกลาวอยางกวาง ๆ โดยโวหารพูดทั่วไปสําหรับชาวบาน ; และ พึ งจํ ากั ดความให แม นยํ าอยู เสมอไปว า ในที่ นี้ ท านหมายถึ ง การที่ จิ ตหมดจดจากโทษ ที่เปนอันตรายตอปฐมฌานนั้น. ลักษณะที่ ๒ : ในขอนี้ แสดงถึง อาการที่จิตผละจากปฏิภาคนิมิต ไปสู สมถนิมิตหรือองคฌานได เพราะจิตหมดจดจากโทษที่เปนอันตรายตอปฐมฌาน จริง ๆ ; ถา ไมหมดจดในลัก ษณะอยา งนี้ ก็ไ มส ามารถผละจากปฏิภ าคนิมิต ไปสูองคแหงฌานได. ในขณะแหงปฏิภาคนิมิต ยังไมถือวาเปนความหมดจด เพราะยั ง มี ก ารกํ า หนดสิ่ ง ซึ่ ง ยั ง เป น ภายนอกอยู ยั ง เนื่ อ งอยู กั บ สิ่ ง ที่ เ ป น ภายนอก ซึ่งหมายความวายังไมเปนที่ตั้งแหงความแนวแน, ยังโงนเงน เพราะไมประกอบ ที ่อ งค อัน เปน เหมือ นรากฐานที ่ส มบูร ณ และยัง เปน โอกาสแหง การกลับ มารบกวนของนิวรณ. แตถึงอยางไรก็ตาม ก็ยังไดชื่อวา การหนวงจิตขึ้นสู ฌาน เปนสิ่งที่ตองทําในขณะที่ไมมีนิวรณรบกวนอยูนั่นเอง จึงจะสามารถหนวง ความรู ส ึก จากความรู ส ึก ที ่เ ปน ปฏิภ าคนิม ิต ใหไ ปเปน ความรู ส ึก ที ่เ ปน องค แหงฌานได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๑๙๔

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

ลักษณะที่ ๓ : เพราะจิตผละจากปฏิภาคนิมิตได และยางขึ้นสูสมถนิมิตได จิตจึงแลนไปในสมถนิมิตนั้นโดยทั่วถึง. ขอนี้ หมายถึงการที่ ภาวะของจิตในขณะนี้ ปราศจากรองรอยของปฏิภาคนิมิตแลว ซึมซาบอยูดวยความรูสึกที่เปนองคแหง ฌานทั้ง ๕ องคอยางทั่วถึง ไมเพียงสักแตวากําหนดองคนั้น ๆ เทานั้น แตองค นั้น ๆ ไดเปนความรูสึกที่อาบยอมจิตอยูอยางซึมซาบทีเดียว. การที่ทานจัดลักษณะทั้ง ๓ นี้ไว วาเปนลักษณะเบื้องตนของปฐมฌาน ก็ เ พราะเป น การแสดงถึ ง ลั ก ษณะหรื อ เครื่ อ งปรากฏของฌานชนิ ด ที่ ค วรสั ง เกตหรื อ เขาใจ กอนลักษณะอยางอื่นทั้งหมด ; ตอจากนั้นไปจึงคอยสังเกตใหละเอียด ลงไปวา ในขณะที ่ม ัน มีภ าวะอยา งนั ้น ๆ มัน ไดม ีก ิจ หรือ กํ า ลัง ทํ า อะไรอยู บ า ง สืบตอไป คือ :ลักษณะที่ ๔ : จิตยอมประจักษ ไดดวยตัวมันเอง ตอความที่จิตเอง เปนธรรมชาติหมดจดจากโทษแลว ; เปรียบเหมือนกับเมื่อเราอาบน้ําชําระรางกาย จนสะอาดหมดจดแล ว จะดู ห รื อ ไม ดู ก็ ต าม เราก็ ย อ มประจั ก ษ ต อ ความที่ ร า งกาย เปนสิ่งที่หมดจดแลว. แตในกรณีของจิตนั้น มันเพงอยูตรงที่องคฌานตลอด เวลา มั น จึ ง ประจั ก ษ ต อ ความที่ ตั ว มั น เองเป น สิ่ ง ที่ ส ะอาดหมดจดแล ว พร อ มกั น ไปในตัว. ยิ่งเพงตอองคฌานเทาไร ก็เทากับยิ่งเพงตอความสะอาดหมดจด ของตัวเทานั้น. สรุปความวา มันไดเห็นความหมดจดจากโทษของตัวมันเองอยูอยาง แน วแนพร อมกั บอาการอื่ น ๆ ที่ เนื่ องกั น. เปรี ยบเหมือนเมื่อเราเดิ นดู อะไรสักอย าง

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


การบรรลุฌาน

๑๙๕

หนึ่ง : การเดิน ก็ดี การดูก็ดี การเห็น ก็ดี ความรูสึก ตอ สิ่ง นั้น ๆ ก็ดี เหลา นี ้เ ปน สิ ่ง ที ่ม ีไ ดพ รอ มกัน ดว ยเจตนาเพีย งอัน เดีย ว และโดยอัต โนมัต ิ ฉัน ใด ก็ฉันนั้น. ลักษณะที่ ๕ : จิตยอมประจักษตอการที่ตัวมันเองไดแลนเขาไปในสมถนิมิต หรือ ในองคแ หง ฌาน ที ่กํ า ลัง ประกอบกัน อยู เ ปน ฌานโดยสมบูร ณเ พราะความ ที่ตัวมันเองหมดจดแลวจากโทษทั้งปวง. กลาวใหชัดลงไปอีกก็คือเห็นความที่ตัว มันเองเปนอยางนี้ได อยางหนึ่ง, และเห็นความที่มันเปนอยางนี้ไดเพราะอาศัย เหตุปจจัยอะไร อีกอยางหนึ่ง, อยางประจักษชัดพรอมกัน ; แลวยังประจักษ ตอภาวะหรือความเปนอีกอยางหนึ่ง คือ : ลักษณะที่ ๖ : จิตยอมประจักษตอความดีหรือความประเสริฐชนิดหนึ่ง ที่ปรากฏอยูกับจิต ซึ่งเรียกโดยบาลีวา เอกัตตะ (ความเปนเอก) อันเนื่องมาจาก การที่จิตไดทํากิจ ๒ อยางขางตนเสร็จไปแลว. เราจะเห็นไดทันทีวา ลักษณะ แหงความประจักษทั้ง ๓ อยางนี้ (คือ ขอ ๔ ขอ ๕ ขอ ๖) เปนสิ่งที่เนื่องกัน. ความหมายอั นลึ กข อนี้ จะต นขึ้ นมาได ด วยการเปรี ยบเที ยบ ด วยการอุ ปมา คื อ เรา เปนคนบริสุทธิ์ เขาจึงใหเกียรติแกเราโดยยอมใหเขาไปในบาน ; เราเดินเขาไป ในบ า นเขาด ว ยความภาคภู มิ ใ จในความบริ สุ ท ธิ์ ข องตั ว เราที่ มี อ ยู จนถึ ง กั บ เขายอม ใหเ ขา บา น เมื ่อ เปน เชน นี ้ เราอาจจะมองดูสิ ่ง เหลา นี ้ไ ดพ รอ มกัน คือ ดูค วาม ที่ เ ราเป น คนบริ สุ ท ธิ์ ก็ ไ ด ดู ก ารที่ เ ราเดิ น เข า ไปในบ า นเขาก็ ไ ด ดู ค วามดี ห รื อ เกี ย รติ ข องเรา ที่ กํ า ลั ง ได รั บ อยู ใ นขณะนั้ น ก็ ไ ด ซึ่ ง แม จ ะแยกดู กั น อย า งไร มั น ก็ ตองดูที่ตัวเราเองทั้งนั้น ; ขอนี้ฉันใด จิตก็เพงดูตัวเองโดยประจักษ โดยลักษณะ

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๑๙๖

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

๓ ประการที่กลาวมาแลว และ เห็นอยูอยางแนวแนมั่นคง มีกําลังแหงการดู กําลังแหง ความพอใจขและกําลังแหงความรูสึกเปนสุขเพราะความพอใจอยูอยางเพียงพอซึ่งเปนเหตุให แนวแน ยากที่จะเปลี่ยนแปลง เหตุนั้นจึงไดชื่อวาอัปปนา ; และเรียกลักษณะทั้งหมด นี้ ว า อุ เ บกขาพรู ห นา หรื อ ความหนาแน น ไปด ว ยอุ เ บกขา กล า วคื อ การเพ ง เฉยอยู อยางมั่นคง. ลั ก ษณะทั้ ง สาม ซึ่ ง จั ด เป น ท า มกลางของปฐมฌานนี้ เราสรุ ป ไว ใ น ฐานะเปนกิจหรือเปนหนาที่ของจิตที่ลุถึงฌาน ; สวนลักษณะตอไป เปนลักษณะ ประเภทที่แ สดงถึง รส หรือ อานิส งส ที่จิต จะไดรับ เรีย กวา “ความรา เริง ” กลาวคือ : ลักษณะที่ ๗ : จิตราเริงอยูได เพราะธรรมทั้งปวงที่เกิดขึ้นในขณะนั้น ไมก้ําเกิน กาวกาย แกงแยงกัน แตสามัคคีประนีประนอมกัน ทําหนาที่ของตัวอยูอยาง ขยันขันแข็ง . คํา วา “ธรรมทั้ง ปวง” ในที่นี้ โดยตรงเล็งถึง องคฌ านทั้ง หา และอินทรียทั้งหา และยังหมายถึงธรรมะชื่ออื่นซึ่งไมระบุบางอยางดวย. อินทรีย ได รั บ การปรั บ ปรุ ง อย า งไร จึ ง ไม ก้ํ า เกิ น กั น ได ก ล า วไว แ ล ว ข า งต น เช น ในข อ สอง แหงอัปปนาโกสล. ในที่นี้ มุงหมายจะชี้แตเพียงการที่ธรรมะทั้งหานั้นประกอบ กั น ทํ า หน า ที่ อ ย า งเหมาะสม ไม มี ส ว นใดที่ มี กํ า ลั ง มากกว า ส ว นอื่ น แล ว ไปครอบงํ า สวนอื่นใหรวนเรในการทําหนาที่ของตน. สําหรับองคฌานทั้งหานั้น ในขณะนี้ หมายถึง การที ่แ ตล ะองค ๆ ปรากฏเต็ม ที ่ต ามสว นสัด ของตน จึง ตั ้ง อยู อ ยา ง แนวแน. ในขณะอื่นจากนี้ ในตอนตน ๆ โดยเฉพาะในขณะแหงคณนา และ

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


การบรรลุฌาน

๑๙๗

อนุ พั น ธนานั้ น พึ ง สั ง เกตดู เ ถิ ด ว า มี แ ต วิ ต กบ า ง มี วิ ต กวิ จ ารที่ ยิ่ ง หย อ นกว า กั น บาง ; ปติ สุข เอกัคคตา นั้นยังไมเคยมีเลย. แมในขณะแหงผุสนา และฐปนา ก็มีปติและสุข ที่ยังลม ๆ ลุก ๆ, เอกัคคตายังไมอยูในลักษณะที่เรียกวา เอกัคคตา เลย ; ดัง นี้เ ปน ตน . แตใ นบัด นี้สิ่ง เหลา นี้ไ ดเ กิด ขึ้น เต็ม สัด สว นและครบ ทุ ก ส ว น ราวกะว า ได ผ า นการชั่ ง ตวงวั ด ของคนฉลาดและมี อํ า นาจมาแล ว มั น จึ ง อยู ใ นลัก ษณะที่เ หมื อ นกั บ ไม ๕ ขา หรื อ ๑๐ ขา ที่ ปก อยู อ ย า งมั่ นคง แล ว รวม กําลัง เปน อัน เดีย วกัน ในเบื้อ งบน : มีก ารรับ น้ํา หนัก เทา กัน มีโ อกาสเทา กัน ในการที่จะทําหนาที่ของตน ๆ ฉันใดก็ฉันนั้น ; ฉะนั้น จึงไมเปนการยากที่ บุ ค คลนั้ น จะมี ค วามรู สึ ก ในองค แ ห ง ฌาน ทั้ ง ๕ องค อยู ไ ด อ ย า งแน ว แน ใน ลักษณะที่เปนอัปปนา. ลักษณะที่ ๘ : รูสึกราเริงเพราะอินทรียทั้งหา รวมกันทําอยางเดียวกัน โดยมุ งหมายจะได รสอั นเดี ยวกั น ทั้ ง ๆ ที่ ธรรมะนี้ แต ละอย าง ๆ ต างก็ มี ความเป น ใหญ หรื อ มี ห น า ที่ ข องตนโดยเฉพาะ ราวกะว า จะไม ส ามารถลดตั ว ลงมาประนี ประนอมกัน ได. เมื่อ อิน ทรียทั้ง หา คือ สัท ธา วิริย ะ สติ สมาธิ ปญ ญา ได ร ว มกั น ทํ า กิ จ เพื่ อ รสอั น เดี ย วกั น สํ า เร็ จ ไปได เ ช น นี้ ความร า เริ ง ของจิ ต ย อ ม เกิดเองโดยธรรมชาติ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ลักษณะที่ ๙ : รางเริงเพราะจิตนี้ สามารถนําธรรมะอันเปนตัวกําลังทุก อยางเขาไปสูจุที่หมายได. ถากลาวอยางคน ก็คือ ราเริงเพราะตนสามารถนําคนอื่น ทั้งหมดไปได ตามที่ตนตองการ. สําหรับเรื่องของจิตในที่นี้ หมายถึงการที่ สามารถควบคุ มธรรมนั้ น ๆ ไม ให ก้ํ าเกิ น ก าวก ายกั น และให อิ นทรี ย นั้ น ๆ ร วมกั น ทํากิจอยางเดียวกัน และเพื่อรสอันเดียวกันเปนสวนใหญ. เมื่อจิตอยูในสภาพ เชนนี้ ความราเริงยอมผุดขึ้นมาเอง โดยไรเจตนาอีกอยางเดียวกัน.

www.buddhadasa.in.th


๑๙๘

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

ลักษณะที่ ๑๐ : ราเริงเพราะความที่ฌานนั้น เปนที่พอใจของจิต เปนรส ที่จิตรูสึกพอใจ และเสวยอยูเปนปรกติมากกวาอยางอื่น. ทั้งนี้ เปนดวยอํานาจของปติ และความสุ ข เป น ต น ซึ่ ง เป น องค ฌ าน เป น เครื่ อ งดึ ง ดู ด และเพราะอํ า นาจของ วิตกวิจารและอุเบกขา เปนเครื่องทําความตั้งมั่น ; ฌานจึงมีอาการราวกะวาเปน นิพพานของจิต เปนที่พอใจแหงจิต จนไมอยากจะละไป. รวมความวา ความ รางเริงเกิดขึ้น เพราะความพอใจในรสของฌานนั้น. ความร า เริ ง เหล า นี้ เป น ได เ องโดยไร เ จตนา จึ ง ไม เ ป น อุ ป สรรคใด ๆ ต อ ฌาน และรวมอยู ใ นองค แ ห ง ฌาน หรื อ กล า วให ยิ่ ง ไปกว า นั้ น ก็ คื อ ความร า เริ ง นั้น เปนลักษณะอาการบางอยางขององคแหงฌานในตัวมันเองนั่นเอง. สําหรับ ความรา เริง ในที ่นี ้ จัด เปน อาการของปต ิแ ละสุข โดยตรง แตเ ราแยกมองกัน ในอาการของความร า เริ ง และแยกสอดส อ งลงไปดู ถึ ง ลั ก ษณะต า ง ๆ ที่ เ ป น ต น เหตุ ของความร า เริ ง ต า ง ๆ กั น ที่ มี อ ยู ใ นส ว นลึ ก ของความรู สึ ก ที่ เ ป น องค แ ห ง ฌาน องคนั้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทั้งหมดนี้มิใชเพื่อการศึกษาที่เยิ่นเยอ แตเปนแนวทางที่จะสอบสวน ข อ เท็ จ จริ ง ของความเป น ฌาน และของการแก ไ ขอุ ป สรรคบางประการ อั น อาจจะ เกิดขึ้นแกการปฏิบัติในขั้นนี้.

ลักษณะทั้ง ๑๐ ประการนี้ เปนกฎเกณฑที่ตายตัว ที่อาจใชไดทั่วไป ทุกลําดับของธรรมะที่จะบรรลุในโอกาสขางหนา กลาวคือ รูปฌานที่เหลือจากนี้ก็ดี อรู ป ฌานก็ ดี วิ ป ส สนาทั้ ง หมดก็ ดี การบรรลุ ม รรคผลก็ ดี ย อ มอาศั ย กฎเกณฑ แห ง ลั ก ษณะ ๑๐ ประการนี้ เป น เครื่ อ งตรวจสอบ ด ว ยกั น ทั้ ง นั้ น . ทั้ ง หมดนั้ น

www.buddhadasa.in.th


การบรรลุฌาน

๑๙๙

มี หลั กการ หรื อวิ ชาการ แห งการปฏิ บั ติ และการตรวจสอบโดยทํ านองเดี ยวกั นทั้ งนั้ น ผิดกันแตสักวาชื่อตาง ๆ ที่จะเขามาเกี่ยวของกับลักษณะเหลานี้ ; ฉะนั้น จึงเปน สิ่งที่จะตองสนใจเปนพิเศษ เพื่อเปนผลอันใหญหลวงขางหนา. ถาผูปฏิบัติไมสามารถ ศึกษา และไม สามารถทํ าความรู สึ กด วยใจจริ ง ๆ ในลั กษณะเหล านี้ แล ว การปฏิ บั ติ โดยวิธ ีนี ้ ยอ มยากที ่จ ะเปน ไปไดสํ า หรับ บุค คลนั ้น ซึ ่ง จะทํ า ใหเ ขาตอ งหัน ไปหา วิธีปญญาวิมุตติ ซึ่งเปนวิธีงาย ๆ ตามธรรมชาติอีกตามเคย. นี้เปน ใจความสําคัญ ของลักษณะทั้ง ๑๐ นี้. การที่เรียกลักษณะทั้ง ๑๐ นี้วา ความงาม แลวจําแนกเปนความงาม ในเบื้ อ งต น ความงามในท า มกลาง ความงามในที่ สุ ด นั้ น เป น เพี ย งผลพลอยได ในแง ข องการจู ง ใจ หรื อ ถ า เรี ย กอย า งสมั ย ใหม ก็ เ รี ย กว า โฆษณาชวนเชื่ อ เพื่ อ ชักชวนบุคคลใหเกิดความสนใจหรือขะมักเขมน. ขอนี้ ไมเกี่ยวกับแงของการ ปฏิบ ัต ิ แตก ็เ ปน ธรรมเนีย มที ่ท า นแนะใหร ะลึก นึก ถึง เพื ่อ ใหเ กิด สัท ธาปสาทะ ในเบื ้อ งตน และยิ ่ง ๆ ขึ ้น ไป จนถึง กับ ใหห ลัก ไวเ ปน ทํ า นองวา อะไร ๆ ใน พระพุทธศาสนาที่เปนความสําเร็จขั้นหนึ่ง ๆ แลว จักตองมีความงาม ๓ ประการนี้ และจะ ต อ งหั ด มองให เ ห็ น ความแยบคายหรื อ ความน า อั ศ จรรย ที่ จั ด เป น ความงามในที่ นี้ ดวยทุกครั้งไป.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เมื ่อ ไดชี ้ใ หเ ห็น ความสัม พัน ธซึ ่ง กัน และกัน ของธรรมะในกลุ ม หนึ ่ง ๆ ทั้ง ๓ กลุมดังนี้แลว จะไดชี้ใหเห็นความสัมพันธระหวางกลุมทั้ง ๓ นี้สืบไป.

www.buddhadasa.in.th


อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

๒๐๐

ภาวะของจิตในขณะแหงฌาน๑ ความสัมพันธเปนอันเดียวกันแหงธรรมทั้ง ๓ กลุม ตลอดถึงลักษณะ อื่ น ๆ อี ก ที่ เ กี่ ย วข อ งกั น อยู กั บ สิ่ ง เหล า นี้ จะเป น สิ่ ง ที่ เ ข า ใจได ง า ย ต อ เมื่ อ เราได วิ นิ จ ฉั ย กั น ดู ถึ ง ภาวะของจิ ต ในขณะแห ง การบรรลุ ฌ าน โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง ใน ปญหาขอที่วา อะไรเปนอารมณของจิตในขณะนั้น และ จิตในขณะนั้น มีการ กําหนดอารมณอยางไร. ถอยคําตาง ๆ บางคํา เปลี่ยนความหมาย, และกิริยา อาการบางอย างก็ เป นไปในลั กษณะที่ เข าใจได ยาก ราวกะว าเป นเคล็ ดลั บ จึ งต อ ง ทํ าความเข าใจกั นใหม ในความหมายของคํ าบางคํ า และกิ ริ ยาอาการบางอย างในขั้ นนี้ กันอีกครั้งหนึ่ง. เปน ที ่ท ราบกัน แลว วา จิต เปน ธรรมชาติที ่ต อ งกํ า หนดอยู ที ่สิ ่ง หนึ ่ง สิ่งใดเปนอารมณ แลวอะไรเลาเปน อารมณในขณะที่จิตบรรลุฌาน ? เพื่อความ เขาใจงาย ควรจะแยกเปน ๒ ระยะ คือ ขณะที่จิตจะบรรลุฌาน อยางหนึ่ง ขณะที่จิต ตั้งอยูแลวในฌาน อยางหนึ่ง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สําหรับ จิตในขณะที่จะบรรลุฌานโดยแนนอน ซึ่งเรียกวา “โคตรภูจิตในฝายสมถะ” นั้น พอที่จะกลาวไดวา มีความเปนอัปปนาหรือฌาน ซึ่งจะลุถึง ขางหนาเปนอารมณ.

การบรรยายครั้งที่ ๒๑ / ๒๒ กันยายน ๒๕๐๒

www.buddhadasa.in.th


การบรรลุฌาน

๒๐๑

ส ว นจิ ต ที่ ตั้ ง อยู แ ล ว ในฌานนั้ น อยู ใ นสภาพที่ ไ ม ค วรจะกล า วว า มี อะไรเป นอารมณ แต ถ าจะกล าวก็ กล าวว า มี องค แห งฌานที่ ปรากฏชั ดเจนโดยสมบู รณ แลวนั้นเองเปนอารมณ เพราะมีความรูสึกที่เปนองคแหงฌานนั้นปรากฏอยู. แต ขอนี้ยังมิใชปญหาสําคัญในการการปฏิบัติ เพราะวามันเปนสิ่งที่เปนไปไดเอง. ปญหา สําคัญของเราอยูตรงที่วา :ในขณะที่จิตลุถึงฌานนั้น มีอะไรเปนอารมณ และมีการเกี่ยวของกับ อารมณนั้น ในลักษณะอยางไร ? ซึ่งจะไดวินิจฉัยสืบไป. ดั ง ที่ ไ ด ก ล า วแล ว ว า จิ ต ในขณะที่ กํ า ลั ง จะลุ ถึ ง ฌานนี้ มี ก ารหน ว งต อ อัปปนาสมาธิ จึงมี ความเปนอัปปนานั่นเอง เปนอารมณของการหนวง. นี้ทําให เห็น ไดวา มิไ ดมีก ารกํา หนดอารมณนั้น ในฐานะที่เ ปน นิมิต ดัง ที่เ คยกระทํา กั น มาแล ว แต ก าลก อ น กล า วคื อ ในขณะแห ง บริ ก รรมนิ มิ ต อุ ค คหนิ มิ ต และแม ปฏิภาคนิมิต ; ฉะนั้น จึงถือเปนหลักอันสําคัญสําหรับการศึกษาในขั้นนี้วาธรรม ๓ คือ นิมิต ลมหายใจออก และลมหายใจเขา ทั้งสามนี้มิไดตั้งอยูในฐานะเปน อารมณแหงเอกัคคตาจิต หรือแมจิตที่กําลังจะเปนเอกัคคตา ; แตถึงกระนั้น ธรรมทั้งสามนี้ ก็ยังคงปรากฏดว ยอํา นาจของสติอยูนั่น เอง ทั้งจิตก็ไมฟุง ซา น ทั้งความเพียรก็ปรากฏหรือเปนไปอยู และผูปฏิบัติก็สามารถทําประโยคใหสําเร็จ จนลุถ ึง คุณ พิเ ศษที ่ต นประสงค และนี ้ค ือ หัว ขอ ที ่ต อ งทํ า ความเขา ใจ หรือ ที ่อ ยู ในลักษณะที่พอจะเรียกไดวา เปน “กลเม็ดที่เกี่ยวกับการบรรลุฌาน”

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๒๐๒

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

ผูศึกษาพึงสังเกตใหเห็น ใจความสําคัญของหลักที่กลาวแลว ซึ่งมีอยู ว า ในขณะนี้ นิ มิ ต ก็ ต าม ลมหายใจออกก็ ต าม ลมหายใจเข า ก็ ต าม มิ ไ ด เ ป น อารมณของจิต แตก็ยังคงปรากฏอยูนี้ ขอหนึ่ง ; และอีกขอหนึ่งคือ แมมิไดมี การกําหนดสิ่งเหลานั้นเปนอารมณ จิตก็ไมฟุงซาน. ความพยายามทําก็ปรากฏอยู. ตัว ประโยค กลา วคือ ตัว การกระทํ า ก็ดํ า เนิน ไปอยู  จนกระทั ่ง เปน สมาธิ ดัง นี ้. นึกดูแลว มันจะเปนไปไดอยางไรกัน ? ปญหายอมจะเกิดขึ้นวา นิมิตและลมหายใจ จะปรากฏแกจ ิต ไดอ ยา งไร ในเมื ่อ ไมไ ดตั ้ง อยู ใ นฐานะเปน อารมณข องจิต ? ความพยายามและความดํ า เนิน ไปของภาวนา จะมีไ ดอ ยา งไร ในเมื ่อ จิต สงบ ไมมีพฤติหรือความหวั่นไหวแตอยางใด ? นี่แหละ คือความหมายของคําที่กลาววา ถาเปนไปได ก็ตองเปนไปในลักษณะที่เปนกลเม็ดหรือเปนเคล็ดลับ. แตที่แท จริ งนั้ น หาได เป นกลเม็ ดหรื อเคล็ ดลั บอย างใดไม มั นเพี ยงอาการของการกระทํ าที่ แยบคายที่สุด ตามแบบของจิตที่ฝกแลวถึงที่สุด และเปนไปไดโดยกฎธรรมดา หรือตาม ธรรมชาตินั่นเอง. ถาไมมีการสังเกตหรือการศึกษาที่เพียงพอ ก็ดูคลายกับวาเปน สิ่ง ที่เ ปน ไปไมไ ด. การอธิบ ายสิ่ง ที่อ ธิบ ายดว ยคํา พูด ตรง ๆ ไมไ ด หรือ ได ก็ม ีค วามยากลํ า บากเกิน ไปนั ้น ทา นนิย มใหทํ า การอธิบ ายดว ยการทํ า อุป มา ; พอผู ฟงเข าใจความหมายของอุปมาแล ว ก็ เข าใจความหมายของตัวเรื่ อง ซึ่งเป นตั ว อุปมัยไดทันที. ในที่นี้ก็จําเปนจะตองใชวิธีการอันนั้น กลาวคือ การทําอุปมา ดวยการเลื่อยไมอีกตามเคย :-

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อยู.

คน ๆ หนึ่ ง กํ าลั งเลื่ อยไม อยู ซึ่ งหมายความว าฟ นเลื่ อยกํ าลั งกิ นเนื้ อไม สิ่งที่จะตองสังเกตเพื่อทําความเขาใจก็คือ เขามิไดมองตรงไปที่ฟนเลื่อย

www.buddhadasa.in.th


การบรรลุฌาน

๒๐๓

กินเนื้อไมเลย เขามิไดสนใจที่ตรงนั้น แตสติก็ปรากฏอยูชัดเจน วาเขากําลังเลื่อย ไมอยู ; ทั้งนี้ก็มิใชอะไรอื่น แตเปนเพราะ อํานาจของฟนเลื่อยที่กําลังกินเนื้อไม นั่นเองใหความรูสึกแกเขา. พึงสังเกตวา :๑. ทําไมเขาจึงรูสึกตัวอยูวาเขากําลังเลื่อยไม ทั้ง ๆ ที่เขามิไดสนใจ ตรงที่ฟนเลื่อยกําลังกินเนื้อไมอยูโดยเฉพาะ ; ๒. ขอถัดไปก็คือ ฟนเลื่อยยอมเดินไปเดินมาตามการชักของบุคคล ผูเลื่อย แตสิ่งที่เรียกวา “ความแนวแน” ในการเลื่อยก็ยังมีอยู ทั้งที่เลื่อยมีอาการ วิ่งไปวิ่งมา. ขอนี้พึงตั้งขอสังเกตวา “ความแนวแน” มันปรากฏไดอยางไร ในเมื่อ การเคลื่อนไหวไปเคลื่อนไหวมา ก็ปรากฏอยู ; ๓. ขอถัดไปก็คือ ความพยายามกระทําของบุคคลนั้น ก็มีอยูโดยมิได มี ค วามสนใจตรงที่ ฟ น เลื่ อ ยกิ น ไม หรื อ มิ ไ ด ส นใจแม แ ต ใ นความพยายามที่ ต น กําลังพยายามอยู, แมสติก็มิไดปรากฏอยางเดนชัดรุนแรงในการควบคุมความ พยายาม ; ความพยายามนั้นก็ยังเปนไปไดเต็มตามความตองการ และ

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๔. ขอสุดทายที่ควรสังเกตก็คือ แมวาเขาจะหลับตาเสียในขณะนั้น ไม ก็ ค งขาดไปเรื่ อ ย ๆ จนกระทั่ ง ขาดออกจากกั น ในที่ สุ ด ซึ่ ง ทํ า ให ก ล า วได ว า ประโยคไดเ ปน ไปเอง โดยที ่บ ุค คลนั ้น มิไ ดส นใจฟน เลื ่อ ย ในการแนว แน ตอการเลื่อย ในความพยายามของตน หรือในอะไรอื่น คงมีแตสติที่คุมสิ่งตาง ๆ อยู ตามสมควรเท า นั้ น ;สิ่ ง ต า ง ๆ ซึ่ ง ชํ า นิ ชํ า นาญ และถู ก ปรั บ ปรุ ง มาดี แ ล ว ถึ ง

www.buddhadasa.in.th


๒๐๔

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

ขั้น นี้ ก็ดํา เนิน ไปไดถึง ที่สุด เอง. ทั้ง ๔ ขอ นี้ มีอุป มาฉัน ใด ภาวะแหง จิต ในการบรรลุฌาน ก็มีอุปมัยฉันนั้น : ตนไมเทากับสิ่งที่เรียกวานิมิต หรือ อารมณ ; ฟนเลื่อย เทากับการหายใจเขาและออก กลาวคือ การที่ลมหายใจ เขาออก ไดผานนิมิตหรือที่กําหนดผุสนานั่นเอง ; การที่บุรุษนั้นไมดูที่ฟน เลื ่อ ยก็ย ัง มีส ติอ ยู ไ ด เปรีย บเหมือ นผู ป ฏิบ ัต ิใ นขั ้น นี ้ แมจ ะไมกํ า หนดลม หายใจหรือ กํา หนดนิมิต อีก ตอ ไป ก็ยัง คงมีส ติอ ยูไ ด หรือ จะยิ่ง มีส ติใ นขั้น ที่ประณีตสูงสุดขึ้นไปอีก : ฟนเลื่อยที่เคลื่อนไปเคลื่อนมาก็ปรากฏชัดอยู แตเขา ไมไดสนใจเลย. นี้เทากับขอที่ผูปฏิบัติก็ยังมีการหายใจอยู นิมิตแมในลักษณะ แหงปฏิภาคนิมิก็ปรากฏอยู แตเขาไมมีความสนใจเลย คงมีแตสติที่ควบคุมความ เพียร และประโยคในการหนวงเอาองคฌาน หรืออัปปนาอยูอยางเรนลับหรือ โดยไมมีเจตนา ที่เปนขั้นสํานึก. คนเลื่อยไมไมสนใจฟนเลื่อยเลยวามันจะกิน นอยหรือกินมากอยางไร ความเพียรของเขาก็เปนสิ่งที่มีอยูได, เลื่อยก็ยังกินไม ได. นี่เทากับการที่ผูปฏิบัติในขั้นนี้ ไมสนใจในลมหรือในนิมิตเลย ไมตั้งใจ ทําความพยายามอะไรเลย ความเพียรก็ยังเปนไปได ประโยคคือการบรรลุถึง ฌานก็ยังดําเนินไปเองได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทั้ ง หมดนี้ เพื่ อ ที่ จ ะแสดงให เ ห็ น ความสํ า คั ญ ของคํ า ว า “นิ มิ ต และ ลมหายใจออกเขา มิไดเปนอารมณแหงจิต แตยังคงปรากฏอยู” ซึ่งเมื่อมี ความเขา ใจขอ นี ้ถ ูก ตอ งแลว ก็อ าจเขา ใจไดด ว ยตนเองทัน ทีว า จิต ในขณะนั ้น ไม ส นใจต อ ปฏิ ภ าคนิ มิ ต ไม ส นใจต อ ลมออกเข า ไม กํ าหนดสิ่ ง ใดเป นนิ มิ ต สติ ก็ ยั ง คงเป น ไปได เ องและคุ ม สิ่ ง ต า ง ๆ ให เ ป น ไปตามวิ ถี ท างที่ ถู ก ต อ ง จนถึ ง ขณะ

www.buddhadasa.in.th


การบรรลุฌาน

๒๐๕

แหงอัปปนาคือการบรรลุฌาน. ถากลาวอยางโวหารพูดตามธรรมดาของสมัยนี้ ก็กลาวไดวาเพียงแตสติคุมสิ่งตาง ๆ ที่ไดปรับปรุงดีแลวเทานั้น คุมอยูเฉย ๆ เทานั้น สิ่ ง ต า ง ๆ ก็ เ ป น ไปได เ องโดยอั ต โนมั ติ ซึ่ ง ในที่ นี้ ห มายถึ ง เป น ไปในการหน ว งต อ อัปปนาหรือการปรากฏชัดแหงองคฌานทั้งหา. ธรรมะตาง ๆ ไมกีดขวางกาวกาย กั น นั้ น เป น เพราะได ฝ ก ฝนและปรั บ ปรุ ง มาดี แ ล ว แต ห นหลั ง จนกระทั่ ง อยู ใ น ภาวะที่ ถู ก ต อ งและเหมาะสม จะกล า วได ว า ไม ต อ งห ว งต อ การที่ จ ะมี อ ะไรเกิ ด ขึ้ น กีดขวางกาวกายกัน ; สติจึงตั้งอยูในฐานะเหมือนกับนายสารถี ที่เพียงแตถือสาย บังเหียนไวเฉย ๆ รถก็แลนไปจนถึงที่สุด ดังที่ไดกลาวแลวขางตน. สิ่ ง ที่ ค วรสั ง เกตอย า งยิ่ ง ก็ คื อ ก อ นหน า นี้ ตั้ ง แต เ ริ่ ม ต น มาที เ ดี ย ว ลมหายใจอยูในฐานะที่ตองกําหนดหรือทําใหเปนอารมณ, นิมิตอยูในฐานะที่ ตองเพง ดังที่ไดกลาวแลวอยางละเอียดในตอนตน ๆ นั้น ; บัดนี้กลายเปนวา ลมหายใจก็ไมตองกําหนด, นิมิตก็ไมตองกําหนด, แตมันก็ยังมีผลเทากับมีการ กําหนด กลาวคือ ความที่สติคุมสิ่งตาง ๆ ไปไดตามวิถีทางของสมถะ. เพราะ ฉะนั้ น การรู เ ท า ทั น สิ่ ง ทั้ ง สาม กล า วคื อ นิ มิ ต ลมหายใจออก ลมหายใจเข า อยู ทุ ก ๆ ระยะแห งการปฏิ บั ติ นั่ นแหละ นั บว าเป นใจความสํ าคั ญของการเจริ ญสมาธิ ในขั้นหนึ่งกอน. เรากระทํามันอยางหนึ่งเรื่อย ๆ มา จนกระทั่งเปลี่ยนมาอยู ในลั ก ษณะที่ ก ลั บ กั น และประสบความสํ า เร็ จ ขั้ น สุ ด ท า ย ซึ่ ง ในขั้ น นี้ อาจจะ กลาวไดวา :-

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

๒๐๖

๑. ไมกําหนดอะไร ๆ เปนนิมิตเลย. ๒.

ในทํานองตรงกันขาม อะไร ๆ ก็ปรากฏอยูเองโดยไมตอง

กําหนด. ๓. ความรูสึกในธรรมตาง ๆ มีองคฌานเปนตน รูสึกอยูไดเองโดย ไมตองเจตนา, (ถาเจตนาก็เปนการกําหนด ซึ่งผิดไปจากความรูสึก). ทั้ งหมดนี้ เป นใจความสํ าคั ญ ที่ แสดงลั กษณะแห งภาวะของจิ ตในขณะ ที่บรรลุฌาน. ต อ ไปนี้ เราจะได วิ นิ จ ฉั ย กั น ถึ ง ป ญ หาข อ ที่ ว า ในขณะแห ง ฌานนั้ น ธรรมกลุมใหญ ๆ ๓ กลุม กลาวคือ ลักษณะ ๑๐, องคฌาน ๕, และอินทรีย ๕, ที่กลาวแลวขางตน ; มี ความสัมพันธกันโดยตรง อยางไร หรือมีอยูพรอมกัน ไดอยางไรสืบไป.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ในขณะที่ จิ ต ลุ ถึ ง ฌาน สติ ย อ มหน ว งต อ ความปรากฏ ขององค ฌ าน ทั้ง ๕ อยูแลวอยางสมบูรณ. ครั้นถึงขณะแหงการบรรลุฌานหรือลุถึงอัปปนานั้น องคแหงฌานปรากฏชัด. ในขณะนั้นแหละ เปนอันกลาวไดวา ธรรมะ ๒๐ ประการ ซึ่งจัดเปน ๓ กลุม ไดปรากฏแลวอยางสมบูรณ. กลุมที่หนึ่ง คือลักษณะ ๑๐

นั้น ไดกลาวแลววา ไดจัดเปน ๓

หมวด คือ : หมวดแรก คือการที่จิตบริสุทธิ์หมดจด จนเพียงพอที่จะแลนเขาไปสู วิถีของสมถะจนกระทั่งเขาถึงตัวสมถะ. ขอนี้ก็ไดแกการที่จิตในบัดนี้หมดจด

www.buddhadasa.in.th


การบรรลุฌาน

๒๐๗

จากนิวรณ และมีความพรอมมูลดวยคุณธรรม. ภายใตการควบคุมของสติ ผละ จากนิ มิ ตและอารมณ ทั้ ง ปวงแล ว เลื่ อนเข าไปสู ความเป นอั ปปนา ด วยอาการดั ง ที่ ไดกลาวแลวขางตน. หมวดที่ ส อง เป น การเพ ง เฉยต อ การที่ ตั ว มั น เองหมดจดแล ว เข า ถึ ง ความเปนจิตประเสริฐ สงบรํางับอยู. ขอ นี้ไดแกสติ รูสึกตอความที่จิตเปน อย า งนั้ น อยู ต ลอดเวลา โดยไม ต อ งมี เ จตนาอะไรเลย จนกระทั่ ง ลุ ถึ ง อั ป ปนา เหมื อ นกั บ คนเลื่ อ ยไม รู สึ ก ในความที่ ไ ม ข าดไป ๆ ตามลํ า ดั บ จนกระทั่ ง ขาดออก จากกัน ; กลาวคือ การละจากจิตที่ไมเปนสมาธิ หรือจิตของคนธรรมดา ไปสู จิตขั้นสูงสุดที่ประกอบดวยคุณอันใหญที่เรียกวา “มหัคคตาจิต” เพราะอยูเหนือกาม โดยประการทั้งปวง เปนตน. หมวดที่สาม มีใจความสําคัญอยูตรงราเริง ในการประสบความสําเร็จ โดยไมตองเจตนา. เมื่อการประสบความสําเร็จเปนสิ่งที่มีไดโดยไมตองเจตนา ความรางเริงก็เปนสิ่งที่มีไดโดยไมตองเจตนา. ขอนี้ หมายถึงการที่ความรูสึก อั นเป นองค ฌาน เช น ป ติ และสุ ข เป นสิ่ งที่ ปรากฏออกมาได โดยไม ต องมี เจตนา. เปนอันวา ธรรมทั้งสิบที่แบงเปน ๓ หมวดนี้ ไดเริ่มมีแลวตั้งแตขณะแหง สมถโคตรภู คือ ขณะที ่จ ิต ยา งขึ ้น สู ก ารบรรลุฌ าน แลว ก็ม ีเ รื ่อ ยติด ตอ อัน ไปโดยไมม ีร ะยะ วางเวน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org กลุมที่สอง คือองคฌานทั้ง ๕ องค นั้น บัดนี้แมมิใชเปนธรรมที่เปน อารมณ โ ดยตรง ก็ ตั้ ง อยู ใ นฐานะที่ เ ป น อารมณ โ ดยอ อ ม,คื อ ไม ใ ช เ ป น อารมณ

www.buddhadasa.in.th


๒๐๘

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

สํ า หรั บ การเพ ง หรื อ การกํ า หนดก็ จ ริ ง แต ก็ ตั้ ง อยู ใ นฐานะที่ เ ป น อารมณ สํ า หรั บ การ หนวงเอาเปนวัตถุที่มุงหมาย เพื่อทําความรูสึกอันเปนองคฌานนั้น ๆ ใหเกิดขึ้น; ทํานองเดียวกันกับนิพพานธาตุ : แมไมอาจจะจัดวาเปนอารมณ แตก็ยังตองตั้ง อยู ใ นฐานะเป น อารมณ หรื อ วั ต ถุ ที่ ป ระสงค เป น ที่ ห น ว งของจิ ต ในขณะแห ง วิปสสนาโคตรภู เพื่อการเขาถึงในที่สุด ฉันใดก็ฉันนั้น. ฉะนั้น เปนอันกลาว ได ว า ผู ป ฏิ บั ติ ที่ มี ป ฏิ ภ าคนิ มิ ต ปรากฏชั ด ถึ ง ที่ สุ ด แล ว รั ก ษาไว เ ป น อย า งดี แ ล ว กําลังมุงตอการเกิดของอัปปนาสมาธิ. ก็คือ ผูที่กําลังหนวงตอ ความรูสึกที่เปน องคฌานอยูนั่นเอง. ขณะที่จิตจะลุถึงฌาน ก็คือขณะที่องคเหลานี้จะปรากฏออกมาอยาง สมบูรณ ; และ ขณะที่จิตตั้งอยูในฌาน ก็คือขณะที่องคเหลานี้ไดปรากฏแกจิตอยูอยาง สมบูรณนั่นเอง. เปนอันกลาวไดวา สิ่งที่เรียกวา “องคแหงฌาน” นี้ไดเขามา เกี ่ย วขอ งอยู ใ นสมถวิถ ี นับ ตั ้ง แตข ณะที ่ห นว งตอ ฌาน ขณะที ่ย า งเขา สู ฌ าน และขณะที่ตั้งอยูในฌานในที่สุด ทีเดียว. กลุ มที่สาม คื ออิ นทรี ย หา นั้น กล าวได วาเปนสิ่ งที่ มี กระจายอยูทั่ วไป ทุก ขั้น ของการปฏิบัติธ รรมะ ในที่ทุก หนทุก แหง และตลอดทุก เวลา. สํา หรับ ในขณะที่จิตจะลุถึงฌานโดยเฉพาะนั้น มีอาการยิ่งแกกลา แตวายิ่งประณีตสุขุม ราวกะวาจะหาตัวไมพบ. ตอเมื่อไดศึกษาและสังเกตโดยแยบคาย จึงจะพบวา เปนเชนนั้น เชน ในกรณีของสัทธินทรีย : ยิ่งปฏิบัติประสบความสําเร็จผานมา เทาไร ก็ยิ่งกําลังของความเชื่อมากเพิ่มขึ้นเทานั้น. เมื่อเครื่องหมายแหงความ สําเร็จปรากฏออกมาใหเห็นเมื่อใด สัทธาก็กาวหนาไปเมื่อนั้น ทุกชั้นทุกลําดับไป ทีเดียว. สวนที่เห็นไดงายในขณะนี้ก็คือ ในขณะที่รองรอยของปฏิภาคนิมิต

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


การบรรลุฌาน

๒๐๙

ปรากฏชัด, หรือในขณะที่จิตวาจากนิวรณ มีความหมดจดพอที่จะแลนไปสูสมถะ หรือความเปนเอกัตตะ เปนตน. สํ าหรั บความพากเพี ยร หรื อวิ ริ ยิ นทรี ย นั้ น เป นไปอย างมี เจตนาเรื่ อย ๆ มา จนกระทั่ ง ถึ ง ขณะแห ง การบรรลุ ฌ าน กลายเป น ของละเอี ย ดประณี ต และ ดําเนินไปไดเองโดยไมมีเจตนา แตก็ปรากฏชัดอยูในลักษณะที่สมบูรณที่สุด. สําหรับสติหรือสติทรีย นั้น เปนที่ทราบกันอยูแลววา ไดเขาไป แทรกแซงหรือควบคุมอยูในที่ทั้งปวง ; แตในขณะนี้โดยเฉพาะนั้น สติไดขึ้น ถึ ง ขี ด สู ง สุ ด ของธรรมะชื่ อ นี้ กล า วคื อ มี อ ยู ไ ด โ ดยไม ต อ งอาศั ย นิ มิ ต หรื อ อารมณ โดยอาการดังที่กลาวมาแลวอยางละเอียด. สําหรับสมาธิหรือสมาธินทรีย นั้น กลาวก็ไดวา มีอยูโดยปริยายหรือ โดยอ อ ม มาตั้ ง แต ข ณะแห ง ปฏิ ภ าคนิ มิ ต แต บั ด นี้ ไ ด เ กิ ด ขึ้ น เต็ ม รู ป ในขณะที่ องคแหงฌานปรากฏ. โดยหลักทั่วไปนั้น เราอาจจะกลาวไดวา เมื่อจิตไมถึง ความฟุ ง ซ า นในที่ ใ ด สมาธิ ก็ ชื่ อ ว า มี อ ยู ใ นที่ นั้ น หากแต เ ป น เพี ย งขั้ น ที่ ยั ง เป น เพียงเครื่องมือ. ครั้นมาถึงขั้นนี้ยอมตั้งอยูในฐานะเปนผลสําเร็จขั้นหนึ่งโดย สมบูรณ คือ ขั้นสมถภาวนา ; แตตอจากนี้ไป ก็จะกลายเปนเครื่องมือเพื่อการ ปฏิบัติในขั้นสูงขึ้นไปอีก กลาวคือขั้นวิปสสนาภาวนา. ฉะนั้น เปนอันกลาวไดวา แมสมาธิในขั้นที่เปนฌานแลว ก็ยังจัดเปนสมาธินทรียไดอยูนั่นเอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สํ า หรั บ ป ญ ญาหรื อ ป ญ ญิ น ทรี ย นั้ น มี ห น า ที่ ก ว า งขวางตั้ ง แต ต น จน ปลาย :การทํ า ในใจโดยแยบคายทุ ก ระยะ ไม ว า ใหญ น อ ยเพี ย งไร และไม ว า จะ

www.buddhadasa.in.th


๒๑๐

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

เปนกรณีแกไขอุปสรรค หรือกรณีทําความกาวหนาตอไป โดยตรงก็ตาม ยอมจัด เปนปญญินทรียทั้งสิ้น. อนึ่ง อยาไดเขาใจผิดวา ในเรื่องของสมาธินั้นไมเกี่ยว กั บ ป ญ ญาเลย แต ไ ด เ กี่ ย วอยู อ ย า งเต็ ม ที่ สมตามที่ พ ระพุ ท ธองค ไ ด ต รั ส ไว หรื อ ทรงยื นยั นในทํ านองว า ในเรื่ องของสมาธิ นั้ น นตฺ ถิ ฌานํ อปฺสฺ ส ซึ่ งแปลว า “ฌานยอมไมมีแกคนที่ไมมีปญญา” เราจะเห็นไดชัดวา แมในขณะที่ทําการ กําหนดอารมณหรือนิมิต เราก็ตองมีปญญาจึงจะทําการกําหนดได, และแมเมื่อ สู ง ขึ้ น มาจนถึ ง ขั้ น ที่ จิ ต กํ า ลั ง ตั้ ง อยู ใ นฌาน ป ญ ญาก็ ยั ง ซ อ นตั ว อยู ใ นที่ นั้ น เอง อยา งเต็ม ที ่ คือ มีค วามรอบรู ใ นการที ่จ ะเขา ฌาน ในการที ่จ ะหยุด อยู ใ นฌาน ตั ้ง อยู ใ นฌาน การพิจ ารณาองคแ หง ฌาน และการออกมาจากฌานนั ้น เปน ที่สุด. อีกทางหนึ่ง ปญญาเปนสิ่งที่เนื่องกันอยูกับสติ หรือสนับสนุนสติอยูใน ที ่ท ุก หนทุก แหง เปน อัน วา ปญ ญิน ทรีย ม ีอ ยู  แมใ นขณะแหง การบรรลุฌ าน ดวยอาการดังกลาวนี้. ทั้ ง นี้ เ ป น การแสดงว า ด ว ยอํ า นาจของความเป น อิ น ทรี ย นั่ น เอง ที่ ทํ า ให ธ รรม เช น สมาธิ และป ญ ญา ซึ่ ง ถู ก จั ด เป น ภาวนาคนละพวก ได ก ลายมา เปนสิ่งที่มีอยูอยางไมมีทางที่จะแยกจากกัน เพื่อทําหนาที่แมในขั้นสมถภาวนาเห็น ปานนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สรุ ปความว า ในบรรดาธรรมทั้ ง ๒๐ ประการนี้ หมวดที่ เป นอิ นทรี ย ๕ ประการนั้น เปนเหมือนกับมือที่ทํางาน สวนองคฌานทั้งหานั้น เปนเหมือนกับสิ่งที่ถูกทํา สวนลักษณะทั้ง ๑๐ ประการนั้น เปนเหมือนกับอาการที่กระทําในอันดับตาง ๆ กัน. นี้คือ ความสั มพันธ กั นระหว างธรรมทั้ ง ๓ กลุ ม และโดยเฉพาะอยางยิ่ งในขณะที่ มี การ บรรลุฌาน.

www.buddhadasa.in.th


การบรรลุฌาน

๒๑๑

ฌานถัดไป ปรากฏ๑ คือ ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน เปนตน ภาวะของจิต ในขณะแหงทุติยฌาน เมื่ อ ได ก ล า วถึ ง ภาวะแห ง จิ ต ในขณะที่ ลุ ถึ ง ปฐมฌานแล ว จะได ก ล า วถึ ง ภาวะของจิ ตในขณะแห งฌานที่ สู งขึ้ นเป นลํ าดั บไป กล าวคื อ ในขณะแห ง ทุ ติ ยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน.

ความแตกตางระหวางฌาน ความแตกต า งระหว า งฌานหนึ่ ง ๆ อยู ที่ มี ก ารมี อ งค ฌ านมากน อ ย กว า กั น ก็ จ ริ ง แต ใ จความสํ า คั ญ นั้ น อยู ที่ มั น สงบรํ า งั บ หรื อ ประณี ต ยิ่ ง กว า กั น ตาม ลําดับ เปนลําดับไป ตั้งแตปฐมฌานจนกระทั่งถึงจตุตถฌาน. ขอที่ฌานสูงขึ้นไป ย อมมี จํ านวนองค แห งฌานน อยลง ๆ กว าฌานที่ ต่ํ ากว า นั่ นแหละคื อความที่ สงบกว า หรื อ ประณีตกวา ; โดยเหตุนี้จะเห็นไดวา ปฐมฌานมีองคแหงฌานมากกวาฌานอื่น และฌานตอไปก็มีองคแหงฌานนอยลงไปตามลําดับดังนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org องค แ ห ง ฌานคื อ อะไร มี ลั ก ษณะอย า งไร ได ก ล า วแล ว ข า งต น พึ ง ย อ น ไปดูในที่นั้น ๆ. ในที่นี้ จะกลาวแตเฉพาะ อาการที่องคฌานนั้น ๆ จะละไปได อยางไร สืบไป. แตในขั้นตนนี้ ควรจะทําการกําหนดกันเสียกอน วาฌานไหน มีองคเทาไร.

การบรรยายครั้งที่ ๒๒ / ๒๓ กันยายน ๒๕๐๒

www.buddhadasa.in.th


อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

๒๑๒

ตามหลักในบาลีทั่วไป ที่อาจสรุปได ปรากฏชัดอยู ดังนี้ :

และที่เปนพุทธภาษิตโดยตรงนั้น มีหลักเกณฑ

๑. ปฐมฌานประกอบดวยองคหา คือ วิตก วิจาร ปติ สุข และ เอกัคคตา. ๒. ทุติยฌานประกอบดวยองคสาม คือ ปติ สุข และ เอกัคคตา. ๓. ตติยฌานประกอบดวยองคสองคือ สุข และ เอกัคคตา. ๔. จตุตถฌาน ประกอบดวยองคสองคือ อุเบกขา และ เอกัคคตา. สวนหลักเกณฑฝายอภิธรรม ตลอดถึง คัมภีรชั้นหลังที่อิงอาศัยคัมภีร อภิ ธ รรม ได กํ า หนดองค แ ห ง ฌานไว แ ตกต า งกั น บ า งบางอย า ง คื อ ปฐมฌาน ประกอบดวยองคหา และมีรายชื่อเหมือนกัน ; สวน ทุติยฌาน มีองคสี่โดย เวนวิตกเสียเพียงอยางเดียว ; ตติยฌาน มีองคสาม คือ เวนวิตกและวิจารเสีย; จตุต ถฌาน มีอ งคส อง คือ เวน วิต ก วิจ าร และปต ิเ สีย สว นสุข กลาย เปนอุเบกขา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org โดยนั ย นี้ จ ะเห็ นได ว า มี ก ารลดหลั่ นกั น ลงมาตามลํ า ดั บตั วเลข คื อ ๕, ๔, ๓, ๒, ตามลําดับ ; ชะรอยทานจะเห็นวาความเปนลําดับนี้จะเปนความเหมาะ สมกวา. ความแตกตางกัน แมโดยทั้งนิตินัยและพฤตินัยเชนนี้ หาไดทําให

www.buddhadasa.in.th


การบรรลุฌาน

๒๑๓

ฝายใดฝายหนึ่งกลายเปนของผิดไปได ; หากแตเปนการบัญญัติวางกฎเกณฑตาง กันดวยการขยับโนนนิด รนนี้หนอยเทานั้น. คงมีความเปนสมาธิที่อาจใชเปน บาทฐานแหงวิปสสนาไดเทากัน. อีกนัยหนึ่ง ทางฝายอภิธรรม ไดขยายฌานออกไปเปนหา คือ แทนที่ จ ะมี เ พี ย งสี่ ดั ง ที่ ก ล า วแล ว ได เ พิ่ ม เข า อี ก ขั้ น หนึ่ ง เป น ฌานที่ ห า เรี ย กว า ปญจมฌาน. เมื่อแบงฌานออกเปนหาดังนี้ การกําหนดองคแหงฌานก็ตอง เปลี่ยนไปตาม กลาวคือ ปฐมฌานมีองคครบทั้งหา ; ทุติยฌาน เหลือสี่ คือ เวนวิตกเสีย ; ตติยฌาน เหลือสาม คือ เวนวิตก วิจารเสีย ; จตุตถฌาน เหลือสอง คือเวน วิตก วิจาร และปติ เสีย ; ปญจมฌานเหลือสอง คือ เวนวิตก วิจาร และปติเสีย สวนสุขนั้นกลายเปนอุเบกขา ดังนี้. การแบงฌานในทํานองนี้ (ซึ่งกําลังเถียงกันอยูวา ไมเคยพบในพระสูตรที่เปนพุทธภาษิต มีอยูแตในอภิธรรม เปนพุทธภาษิต หรือไมใชพุทธภาษิต) ; ฉะนั้น จะเวนเสีย ไมทําการวินิจฉัยในที่นี้. แม ก ารจั ด องค แ ห ง ฌานทั้ ง สี่ ช นิ ด แตกต า งไปจากพุ ท ธภาษิ ต ที่ ก ล า วแล ว ก อ นหน า แตนี้ ก็จะไดเวนเสียดุจกัน. ทั้งนี้ มิใชวาเปนเพราะไมเชื่อถือกฎเกณฑหรือการ บั ญ ญั ติ นั้ น ๆ หากแต เ ป น เพราะว า แม จ ะจั ด อย า งไร เรื่ อ งก็ ยั ง เป น อย า งเดี ย วกั น นั่ นเอง คื อ องค ฌานทั้ ง หมด ยั ง คงมี อ ยู เพี ยงห าองค ใครจะไปบั ญญั ติ การละองค ไหนไปได กี่ อ งค ๆ แล ว จั ด ความประณี ต ของจิ ต ในขั้ น นั้ น ๆ ว า จะเรี ย กชื่ อ ว า อะไร

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๒๑๔

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

ก็แลวแตใจ จะแบงสักกี่ชั้นก็ตามใจ, ชั้นหนึ่ง ๆ จะละองคฌานอะไรบาง หรือ จะเหลื อ องค อ ะไรไว ก็ ต ามใจ แต ขั้ น สุ ด ท า ยหรื อ ขั้ น สู ง สุ ด ก็ ต อ งยั ง เหลื อ อยู แ ต อุเบกขากับเอกัคคตาโดยเทากันหมดทุกพวก. โดยนั ย นี้ ผู ศึ ก ษาจะสั ง เกตเห็ น ได ว า การแบ ง ฌานออกไปเท า ไร หรื อ กํ า หนดองค ฌ านอย า งไรนั้ น ไม สู สํ า คั ญ ข อ สํ า คั ญ มั น อยู ต รงที่ จ ะปฏิ บั ติ มั น อยางไร จึงจะเกิดองคฌานขึ้นมาครบถวน แลวละมันออกไปเสียทีละองค – สององค ตามแต ถนั ด จนกว าจะเหลืออยู เท าที่ จําเปนในลักษณะที่ สงบและประณี ตที่ สุ ดเท านั้ น เอง. ฉะนั้น ในที่นี้จึงถือเอาแตแนวที่อยูในรูปของพระพุทธภาษิตเปนหลักเพียง แนวเดีย ว ดัง ที ่ไ ดย กมากลา วไวเ ปน อัน ดับ แรก และไดว ิน ิจ ฉัย กัน สืบ ไปถึง ความแตกต า งของฌานทั้ ง สี่ ซึ่ ง จะทํ า ให เ ห็ น ลั ก ษณะของฌานนั้ น อย า งชั ด แจ ง พรอมกันไปในตัว ดังตอไปนี้ :ปฐมฌาน ประกอบดวยองคหา คือ วิตก วิจาร ปติ สุข เอกัคคตา. ข อ นี้ ห มายความว า จิ ต ในขณะแห ง ปฐมฌานนั้ น มี ค วามรู สึ ก ปรากฏอยู ที่ จิ ต หรื อ ภายในความเพงของจิต อยูถึง ๕ อยางดวยกัน. แมจะไมใชความคิดที่เปน ตัว เจตนา เปน เพีย งตัว ความรู ส ึก ที ่รู ส ึก เฉย ๆ แตก ารที ่ม ีอ ยู ถ ึง ๕ อยา งนั ้น นับวายังอยูในชั้นที่ไมประณีต เพราะยังมีทางที่ทําใหประณีตยิ่งขึ้นไปอีก : นับวา ยังไมสงบรํางับถึงที่สุด เพราะยังมีทางที่จะทําใหสงบยิ่งขึ้นไปอีก ; นับวายัง หยาบอยู เพราะยังตองคุมถึง ๕ อยาง ; ยังหนักเกินไป ยังอาจจะยอนหลังไป

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


การบรรลุฌาน

๒๑๕

สูความกําเริบไดงายอยู ; ความรูสึกจึงอาจเกิดขึ้นไดโดยสามัญสํานึก ในใจของ ผู ปฏิ บั ติ โดยทํ านองนี้ ว า ถ าอย างไร เราจะละความรู สึ กที่ เป นองค ฌานบางองค เสี ย เพื่อความสงบรํางับยิ่งขึ้นไปอีก เพื่อมีความประณีตยิ่งขึ้นไปอีก เพื่อความตั้งอยูอยางแนน แฟนมั่นคงยิ่งขึ้นไปอีก เพื่อมีความหนักในการกระทําที่นอยลงไปอีก เพื่อความไวใจไดวาจะ ไมกลับกําเริบยอนหลังยิ่งขึ้นไป ; ดังนั้น เขาจึงพิจารณาหาลูทางที่จะละความรูสึก ที่ เป นองค ฌานบางองค ออกไปเสี ย ให เหลื อ น อยลงทุ กที จนกระทั่ งถึ งฌานสุ ดท าย. สํ าหรั บปฐมฌานนั้ น ประกอบอยู ด วยองค ห า ถ ามองดู ด วยสายตาของคนธรรมดา ก็จ ะรู ส ึก วา สงบรํ า งับ อยา งยิ ่ง เพราะเปน ฌานขั ้น หนึ ่ง จริง ๆ ประณีต และสุข ุม จนยากที่คนธรรมดาจะทําได ; แตเมื่อมองดวยตาของพระโยคาวจรชั้นสูง หรือ สายตาของพระอริ ย เจ า กลั บ เห็ น เป น ของที่ ยั ง หยาบอยู ยั ง ไม สู จ ะประณี ต และ ยั ง ง อ นแง น ไม น า ไว ใ จ จึ ง ปรารถนาชั้ น สู ง ขึ้ น ไป โดยเหตุ นี้ เ อง จึ ง มี ก ารปฏิ บั ติ เพื่อทุติยฌานเปนตน สืบไป.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทุติยฌาน ประกอบดวยองคสาม เพราะละ วิตก วิจาร เสียได หมายความว า ผู ปฏิ บั ติ ได พิ จารณาสอดส องดู องค ฌานทั้ งห า แต ละองค ๆ อย าง ทั ่ว ถึง แลว รู ส ึก วา วิต ก และวิจ าร เปน ความรู ส ึก ที ่ย ัง หยาบ หรือ ยัง กระดา ง กว า เขาทั้ ง หมด จึ ง เริ่ ม กํ า หนดองค ฌ านโดยวิ ธี อื่ น คื อ ละความสนใจในความรู สึ ก ที่เรียกวาวิตกวิจารนั้นเสีย. ยิ่งผละความรูสึกไปเสียจากวิตกและวิจารไดเทาไร

www.buddhadasa.in.th


๒๑๖

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

ก็ยิ่งรูสึกตอองคฌานที่เหลือมากขึ้นเทานั้น ; ยกตัวอยางเหมือนกับวา เราดูของ ๕ อย าง หรื อ ๕ ชิ้ นพร อมกั น ต อมาละความสนใจในชิ้ นที่ หยาบที่ สุ ด หรื อหยาบ กวา ชิ ้น อื ่น ๆ เสีย สัก สองชิ ้น ใหเ หลือ เพีย ง ๓ ชิ ้น การเพง นั ้น ก็อ ยู ใ นลัก ษณะ ที่เรียกไดวาละเอียดกวา ประณีตกวา หรือสูงกวา เปนตน. วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับ การละวิ ต ก และวิ จ าร ก็ มี อุ ป มั ย อย า งเดี ย วกั น คื อ ผู ป ฏิ บั ติ จ ะต อ งออกจาก ปฐมฌานเสีย กอ น แลว ยอ นกลับ ไปตั้ง ตน อานาปานสติม าใหม ตั้ง แตข ณะ แหงคณนาและอนุพันธนา เพื่อกําหนดสี่งที่เรียกวา วิตก วิจาร อยางหยาบ ๆ มาใหม ทั้งนี้เพื่อกําหนดความหยาบ หรือลักษณะเฉพาะของความวิตก วิจาร ใหแจมชัดเปนพิเศษ เพื่อการกําหนดในอันที่จะละเสียวา “ความรูสึก ๒ อยางนี้ เราจักไมใหมาของแวะอีกตอไป จักไมใหเหลืออยูในความรูสึก”. ดังนี้, ก็สามารถ ทําความรูสึกที่เปน วิตก วิจาร ใหระงับไปไดดวยการเปลี่ยนไปเพิ่มกําลังแหง การกํา หนดใหแ กค วามรูสึก ที่เ ปน ปติ และสุข นั่น เอง ฌานที่เ กิด ขึ้น จึง มี องคเพียงสาม ; และเหตุนั้นเอง จึงจัดเปนการกาวหนาขั้นหนึ่ง ในระบบของ รูปฌาน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตติยฌาน ประกอบดวยองคสอง เพราะปติถูกละเพิ่มขึ้นอีกองคหนึ่ง จากที่ทุติยฌานเคยละมากอน. ขอนี้ก็หมายความอยางเดียวกันกับเรื่องของการละ ในขั้ นทุ ติ ยฌาน กล าวคื อ เมื่ อผู ปฏิ บั ติ ได เข าอยู ในทุ ติ ยฌาน และพิ จารณาองค แห ง ทุ ติ ย ฌานจนถึ ง ที่ สุ ด อยู บ อ ย ๆ แล ว นานเข า ก็ เ กิ ด สั ง เกตและมี ค วามรู สึ ก ขึ้ น มา

www.buddhadasa.in.th


การบรรลุฌาน

๒๑๗

ได เ องว า แม ป ติ ก็ ยั ง เป น องค ฌ านที่ ห ยาบ ถ า ละออกไปเสี ย ได ก็ จ ะเกิ ด ความ รํ า งั บ ยิ่ ง ไปกว า ที่ จ ะยั ง คงไว เ ป น แน น อน จึ ง มี ค วามตั้ ง ใจหรื อ อธิ ษ ฐานใจในการที่ จ ะ ละความรู สึ ก ส ว นที่ เ ป น ป ติ นั้ น เสี ย ให ยั ง คงมี แ ต ค วามสุ ข ไม ต อ งมี ค วามซาบซ า น. คือมีแตความสุขที่สงบรํางับดวยอํานาจของสติสัมปชัญญะที่ถึงที่สุด ; ในที่สุดก็ละ ไดโดยวิธีอยางเดียวกับการละวิตกและวิจาร. จตุ ต ถฌาน ประกอบด ว ยองค ส องก็ จ ริ ง แต สิ่ ง ที่ เ รี ย กว า ความสุ ข นั้ น ไดถูกเปลี่ยนเปนอุเบกขา. ทั้งนี้ ก็ดวยเหตุผลอยางเดียวกันกับที่ไดกลาวมาแลว ข า งต น คื อ เมื่ อ พิ จ ารณาสอดส อ งอยู เ สมอ จนเห็ น เป น ของที่ ยั ง หยาบหรื อ เป น ของ ที ่ย ัง รุน แรงอยู  ยัง กวัด แกวง ไดง า ยอยู  ยัง ทํ า ใหรํ า งับ ยิ ่ง ขึ ้น ไปกวา นั ้น ไดอ ีก จึ งพยายามรํ างั บความรู สึ กที่ เป นสุ ขนั้ นเสี ย เหลื ออยู แต ความเพ งในสิ่ งที่ สั กว าเป นเวทนา เฉย ๆ ไมเปนที่ตั้งแหงความยินดีวาความสุขอีกตอไป. ความเพงในระยะนี้เปนความ เพง แนว แนถ ึง ที ่ส ุด สงบรํ า งับ ถึง ที ่ส ุด จืด สนิท ถึง ที ่ส ุด หรือ ขาวผอ งถึง ที ่ส ุด คื อ เหลื อ อยู แ ต ค วามรู สึ ก ที่ เ ป น ความเพ ง เฉย ๆ กั บ ความที่ จิ ต มี อ ารมณ เ พี ย งอย า ง เดียว คือในสิ่งที่ใจเพงเฉยนั่นเอง. ถาถามวามันเพงอะไร ก็ตอบไดวามันเพง อยู ที่ ค วามรู สึ ก อย า งหนึ่ ง ของจิ ต ซึ่ ง เป น เพี ย งความรู สึ ก เฉย ๆ ถ า จะเรี ย กโดยชื่ อ ภาษาบาลี ก็ เ รี ย กว า อุ เ บกขาเวทนา หรื อ อทุ ก ขมสุ ข เวทนา นั่ น เอง อิ ง อาศั ย อยู กั บ ลมหายใจออกเข า มี มู ล มาจากลมหายใจออกเข า แต มิ ใ ช ตั ว ลมหายใจออกเข า มิใ ชต ัว การหายใจออกเขา เปน แตเ พีย งความรู ส ึก อัน ใดอัน หนึ ่ง ซึ ่ง เกิด ขึ ้น ใหม หรื อ ถู ก สร า งขึ้ น ใหม จ ากการกํ า หนดลมหายใจ หรื อ มี ล มหายใจเป น มู ล ฐาน สํ า หรั บ ในกรณีนี้ ; นับวาเปนขั้นสุดทายของรูปฌาน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๒๑๘

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

ความแตกตางที่แสดงไดดวยพุทธภาษิต ต อนี้ ไป จะได วิ นิ จฉั ยกั น ถึ ง ความแตกต างระหว างฌานทั้ งสี่ โดยอาศั ย แงของบาลีพระพุทธภาษิตที่ปรากฏอยูเปนหลัก :สําหรับปฐมฌาน มีหลักอยูวา ๑. มีขึ้น เพราะความสงัดจากกามและอกุศลธรรมทั้งปวง, ๒. ยังเต็มอยูดวยวิตกและวิจาร, ๓. มีปติและสุขชนิดที่ยังหยาบ คือชนิดที่เกิดมาจากวิเวก, ๔. จัดเปนขั้นที่หนึ่ง คือระดับที่หนึ่งของรูปฌาน. สวนทุติยฌาน นั้น ๑. มีขึ้นเพราะวิตก วิจาร รํางับไป, ๒. เต็มอยูดวยความแนวแนและความพอใจของจิตภายใน, ๓. มีปติและสุขชนิดที่สงบรํางับ เพราะเกิดมาจากสมาธิ, ๔. จัดเปนระดับที่สองของรูปฌาน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สวนตติยฌาน นั้น ๑. มีขึ้นเพราะปติจางไปหมด โดยการแยกออกจากความสุข, ๒. มีการเพงดวยสติสัมปชัญญะถึงที่สุด, ๓. เสวยสุขทางนามธรรมที่ละเอียดไปกวา, ๔. จัดเปนระดับที่สามของรูปฌาน.

สวนจตุตถฌาน อันเปนอันดับสุดทายนั้น ๑. มีขึ้นเพราะดับความรูสึกที่เปนสุข ทุกข โสมนัส และโทมนัส ที่ มีมาแลวในกาลกอน (ในฌานขั้นตน ๆ) เสียไดอยางสิ้นเชิง,

www.buddhadasa.in.th


การบรรลุฌาน

๒๑๙

๒.

ไมทุกข

มีความบริสุทธิ์ของสติ เพราะการกําหนดสิ่งที่ไมสุข – อยูอยางเต็มที่, ๓. มีเวทนาที่เปนอุเบกขา แทนที่ของเวทนาที่เปนสุข, ๔. จัดเปนลําดับที่สี่ของรูปฌาน.

ทั้ ง หมดนั้ น เมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั น ดู ใ นระหว า งฌานทั้ ง สี่ โดยพฤติ นั ย ต า ง ๆ อย า งละเอี ย ดแล ว จะเห็ น ได ว า มี ค วามแตกต า งกั น อย า งชั ด แจ ง ดั ง ต อ ไปนี้ : ๑. เกี่ยวกับที่ตั้ง หรือมูลเหตุอันเปนที่ตั้ง, ถาเอามูลเหตุหรือที่ตั้ง ของฌานนั้น ๆ เปนเกณฑกันแลว เราจะเห็นไดวา :ปฐมฌาน เกิดมาจากความสงัด (วิเวก) จากกามและอกุศล, ทุติยฌาน เกิดมาจากความสงัดจากวิตก วิจาร, ตติยฌาน เกิดมาจากความสงัดจากปติ, จตุตถฌาน เกิดมาจากความสงัดจากสุขและทุกขโดยประการทั้งปวง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อาจจะมี ผู สงสั ย ว า เมื่ อปฐมฌานสงั ดจากกามและอกุ ศลแล ว ฌานที่ ถัดไปไมไดสงัดจากกามหรืออกุศลหรือ ดังนี้เปนตน. ขอนี้พึงเขาใจวา สิ่งที่ถูก ละไปแล ว ในฌานขั้ น ต น ๆ ก็ เ ป น อั น ไม เ หลื อ อยู ใ นฌานขั้ น ต อ ไป ฉะนั้ น จึ ง ไม กลาวถึงสิ่งนั้นอีก จะกลาวถึงแตสิ่งที่ยังเหลืออยูหรือที่เปนปญหาใหตองละตอไปอีก ในขั้นตอไปตามลําดับเทานั้น : เชนในขั้นปฐมฌาน ความรูสึกที่เปนกามและ อกุศ ลธรรมอยา งอื ่น ในระดับ เดีย วกัน ไมร บกวนหรือ ไมม าใหเ ห็น หนา อีก ตอ ไป แต มี ค วามรู สึ ก ที่ เ ป น วิ ต กวิ จ าร ตั้ ง อยู ใ นฐานะที่ จ ะเป น ป ญ หาสํ า หรั บ ให ล ะต อ ไป,

www.buddhadasa.in.th


๒๒๐

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

ในขั้นทุติยฌาน จึงไมกลาวถึงกามและอกุศลวาเปนสิ่งที่ตองละ แตกลาววิตกวิจาร วาเปนสิ่งที่ตองละขึ้นมาแทน แลวเปนอยูดวยปติและสุข. ครั้นถึงขั้นตติยฌาน ปรากฏวาปติเปนสิ่งที่ตองละตอไปอีก เหลืออยูแตสุขซึ่งสูงขึ้นระดับหนึ่ง. ครั้นไป ถึงจตุตถฌาน สุขแมประณีตถึงระดับนั้นแลว ก็ยังตองละโดยสิ้นเชิง แลวยังแถม กลา วกวา งไปถึง กับ วา ละเสีย ทั ้ง สุข ทั ้ง ทุก ข ทั ้ง โสมนัส โทมนัส โดยประสงค จะใหเหลืออยูแตอุเบกขาจริง ๆ ซึ่งเราอาจจะสรุปความไดวา :ตอเมื่อกามและอกุศลไมรบกวน จึงจะมีปฐมฌาน. ตอเมื่อวิตก วิจาร แมในรูปธรรมที่บริสุทธิ์ไมรบกวน จึงจะมีทุติยฌาน. ตอเมื่อปติ แมจะเปนปติในธรรม ไมรบกวน จึงจะมีตติยฌาน, และ ตอเมื่อสุขเวทนา แมที่บริสุทธิ์ในทางนามธรรมไมรบกวน (ซึ่งไมตองกลาว ถึงความทุกขรบกวน) จึงจะมีจตุตถฌาน. ทั้งหมดนี้ เปนเครื่องแสดงใหเห็นความแตกตางอยางยิ่ง ของมูลเหตุ อันเปนที่ตั้งของฌานนั้น ๆ พรอมทั้งความสูงต่ํากวากันอยางไร.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๒. เมื่อพิจารณาดูกันถึงสิ่งที่กําลังมีอยู อยางเดนที่สุด ในฐานะเปน เครื่องสังเกตเฉพาะแหงฌานนั้น ๆ เราจะเห็นไดวา :ในปฐมฌาน มี วิตกวิจาร เปนตัวการ ตั้งเดนอยู, สวนในทุติยฌานสิ่งสองนั้นหายหนาไป แตมี ปติและสุข เดนอยูแทน, สวนในตติยฌาน ปติหายหนาไป แมสุขก็ไมปรากฏเดน แตมีลักษณะ ของ การเพงดวยสติสัมปชัญญะที่สมบูรณ ที่สุด มาเดนอยูแทน,

www.buddhadasa.in.th


การบรรลุฌาน

๒๒๑

ครั้ นถึ งขั้ นจตุ ตถฌาน มี ความบริ สุ ทธิ์ ของสติ ด วยอํ านาจอุ เบกขา ตั้ ง อยูแทน. นี้ คื อความแตกต างของลั กษณะที่ ปรากฏเด น ๆ ในขณะแห ง ฌานทั้ ง ที่ วามีอยูอยางแตกตางกันอยางไร. ๓.

เมื่อกลาวถึงรส หรือความสุขอันเนื่องดวยฌานนั้น ก็จะเห็นไดวา ปฐมฌาน มี ปติและสุขอันเกิดแตวิเวก, ทุติยฌาน มี ปติและสุขอันเกิดแตสมาธิ, ตติยฌาน มีแต ความสุขทางนามกายขั้นที่ประณีต ที่สุด, จตุตถฌาน มีแต อุเบกขาคือไมมีทั้งปติและสุข ไมมีขั้นไหนหมด.

ย อ นกลั บ ไปดู อี ก ที ห นึ่ ง เพื่ อ พิ จ ารณาให เ ห็ น ข อ เท็ จ จริ ง ต า ง ๆ ว า ใน ปฐมฌาน ปติและสุขที่เกิดมาจากวิเวก นั้น หยาบหรือต่ํากวาปติและสุขที่เกิดจากสมาธิ ทั้ ง นี้ เ พราะว า ในขณะแห ง ปฐมฌานนั้ น สุ ข นั้ น ก็ ยั ง ต อ งอาศั ย วิ ต กวิ จ าร และเพี ย ง แตสงัดจากความรบกวนของนิวรณเทานั้น : ความเปนสมาธิยังหยาบอยู ไมถึง ขนาดที่จะใหเกิดความสุขโดยตรง ที่เต็มตามความหมายได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ครั้ นมาถึ งทุ ติ ยฌาน ความเป นสมาธิ มี กํ าลั งมากพอที่ จะให เกิ ดความ สุขอันใหม จึงเกิดมี ป ติและสุขที่เกิ ดจากสมาธิ แทนที่จะเรี ยกวา ปติและสุขอันเกิ ด จากวิเวก ดังแตกอน.

www.buddhadasa.in.th


๒๒๒

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

ครั้ น ถึ งขณะแห ง ตติ ย ฌาน ความสุ ขประณี ตขึ้ น ไป ถึ งขนาดที่ สลั ดป ติ ทิ้ ง เสี ย เหลื อ แต ค วามสุ ข ทางนามธรรมชั้ น สู ง ของผู ที่ ส มบู ร ณ ด ว ยสติ สั ม ปชั ญ ญะ จริง ๆ คือเปน ความสุขขั้นที่พระอริยเจาก็ยอมรับนับถือวาเปนความสุข. ครั้นตกไปถึงขึ้น จตุตถฌาน มีเหลืออยูแต รสอันจืดสนิท ไมเรียกวา เปนสุขหรือทุกข ไมเปนโสมนัสหรือโทมนัสอีกตอไป. นี้คือความแตกตางของสิ่ง ที่เรียกวารสแหงฌาน อันแสดงใหเห็นความสูงต่ํากวากันอยางชัดแจง. ๔. สําหรับลําดับแหงฌาน ที่กลาวไววา ฌานที่หนึ่ง ฌานที่สอง ฌานที่ สาม ฌานที่ สี่ นั้ น เป นเพี ยงการบั ญญั ติ ตามกฎเกณฑ ที่ เห็ นว าควรบั ญญั ติ เพื่อสะดวกแกการศึกษาและการพูดจา. เมื่อการบัญญัติไดบัญญัติไปตามความ สูงต่ํา คําที่บัญญัติขึ้นก็ยอมแสดงความสูงต่ําอยูในตัว เปนการทําความเขาใจกัน ไดโดยงาย ในขณะที่พอสักแตวาไดยินชื่อ ; แตทั้งนี้เปนไปไดเฉพาะหมูบุคคล ผูมีการศึกษาในเรื่องนี้มาแลวเทานั้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถ าผู ปฏิ บั ติ ได ศึ กษาและพิ จารณา ให เห็ นความแตกต างกั น ในแง ต าง ๆ ของสิ่ งที่ เรี ยกว าฌาน ตามที่ กล าวมานี้ อย างทั่ วถึ งแล ว ก็ เป นการง ายแก การปฏิ บั ติ ยิ่ ง ไปกว า การที่ จ ะรอไว ถ ามต อ เมื่ อ สิ่ ง เหล า นั้ น เกิ ด ขึ้ น ว า นั้ น คื อ อะไร หรื อ จะทํ า อยางไรตอไป ดังนี้เปนตน. สําหรับนักศึกษาทั่ว ๆ ไปนั้น เมื่อมีความเขาใจใน เรื่ องนี้ แล ว ย อมเป นหนทางที่ จะอนุ มานเพื่ อทราบถึ ง ภาวะแห งจิ ตในขณะที่ ลุ ถึ งฌาน ได เ ป น อย า งดี และพอที่ จ ะทํ า ให เ กิ ด ความสนใจในการศึ ก ษาถึ ง สิ่ ง เหล า นี้ แทนที่ จะดู ถู ก ดู ห มิ่ น หรื อ เข า ใจว า เรื่ อ งเหล า นี้ ไ ม มี ค วามหมายอะไรสํ า หรั บ คนในยุ ค ปจจุบันนี้.

www.buddhadasa.in.th


การบรรลุฌาน

๒๒๓

ลักษณะสมบูรณ ของฌานทั้งสี๑่ เมื่ อกล าวตามหลั กวิ ชา อาจจะกล าวได เป นหลั กจํ ากั ดลงไปได ว า ฌาน หนึ่ ง ๆ นั้ น ต อ งประกอบด ว ยองค ป ระกอบเท า ไร จึ ง จะเป น เครื่ อ งตั ด สิ น ว า เป น ความสมบูรณของฌานนั้น. โดยหัวขอ ก็คือปฐมฌาน มีองคประกอบ ๒๐, ทุติยฌาน มี ๑๘, ตติยฌาน มี ๑๗, จตุตถฌาน มี ๑๗, อธิบายดังตอไปนี้ : ปฐมฌาน มีองคประกอบ ๒๐ ประการ คือประกอบดวยลักษณะ ๑๐ ประการดั ง ที่ ก ล า วแล ว ข า งต น ที่ ร วมเป น ความงามในเบื้ อ งต น ความงามใน ทามกลาง ความงามในที่สุด นี้ประเภทหนึ่ง ; และประกอบดวยองคฌาน ๕ และธรรมเป น อิ น ทรี ย อี ก ๕ รวมกั น จึ ง เป น ๒๐ ซึ่ ง ทํ า ให ก ล า วได ว า ปฐมฌาน สมบูรณดวยองคประกอบ ๒๐; หรือเรียกงาย ๆ ก็วาประกอบดวยลักษณะ ๑๐ ดวยองคฌาน ๕ ดวยอินทรีย ๕ ดังนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org การที่ ท านระบุ ธรรมถึ ง ๒๐ ประการว าเป นองค ประกอบของปฐมฌาน ดังนี้ ก็เพื่อการรัดกุมของสิ่งที่เรียกวาฌานนั่นเอง ; มีความประสงคอยางยิ่งที่จะ ไม ให ผู ปฏิ บั ติ มองข ามสิ่ งเหล านี้ ไปเสี ย หรื อมองไปอย างลวก ๆ สนใจอย างลวก ๆ วาปฐมฌานประกอบดวยองคหาเทานั้น ก็พอแลว ; ทางที่ถูก เขาก็ตองเพงเล็ง ถึงอินทรียทั้งหา ที่สมบูรณ และเขามาเกี่ยวของกับองคของฌานทั้งหมด ใน

การบรรยายครั้งที่ ๒๓ / ๒๗ กันยายน ๒๕๐๒

www.buddhadasa.in.th


๒๒๔

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

ลั ก ษณะที่ ถู ก ต อ งที่ สุ ด คื อ ถู ก ต อ งตามลั ก ษณะ ๑๐ ประการ ที่ ก ล า วแล ว อย า ง ละเอียดนั่นเอง. ใหเอาลักษณะ ๑๐ ประการนั้นเปนเครื่องพิสูจนที่เด็ดขาดและ แนนอน วาปฐมฌานเปนไปถึงที่สุดหรือไม ; อยาถือเอาเพียงลวก ๆ วาปฐมฌาน ประกอบดวยองคหาเทานี้ก็พอแลว. นี้คือประโยชนของการบัญญัติองคประกอบ ๒๐ ประการ ของปฐมฌาน. ทุติยฌาน มีองคประกอบ ๑๘ ประการ. ขอนี้มีหลักเกณฑทํานอง เดียวกันกับหลักเกณฑตาง ๆ ในกรณีของปฐมฌาน, หากแตวาในที่นี้องคแหง ฌานขาดไปสององค กลาวคือวิตกวิจารที่ถูกระงับไปเสียแลว. องคแหงฌาน เหลือเพียงสาม คือ ปติ สุข และ เอกัคคตา ; ดังนั้น องคประกอบทั้งหมด ของทุติยฌานจึงเหลืออยู ๑๘ กลาวคือลักษณะ ๑๐, องคแหงฌาน ๓, และ อินทรีย ๕ ดังนี้, ความสัมพันธกันระหวางองคประกอบ ๓ กลุมนี้ มีนัยอยาง เดียวกันกับที่กลาวแลวขางตน ในกรณีของปฐมฌาน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตติยฌาน มีองคประกอบ ๑๗ ประการ มีหลักเกณฑทํานองเดียวกัน กั บ ฌานที่ ก ล า วแล ว ข า งต น หากแต ว า องค แ ห ง ฌานในที่ นี้ ลดลงไปอี ก ๑ รวม เปนลดไป ๓, เหลืออยูแตเพียง ๒ คือ สุขและเอกัคคตา ; องคประกอบทั้ง หมดของตติ ยฌานจึ งเหลื ออยู เพี ยง ๑๗ กล าวคื อ ลั กษณะ ๑๐ องค แ ห งฌาน ๒ อินทรีย ๕ ดังนี้. วินิจฉัยอื่น ๆ ก็เหมือนกันฌานขางตน.

จตุตถฌาน มีองคประกอบ ๑๗ ประการ มีหลักเกณฑอยางเดียวกัน คือจตุ ตถฌานมีองค ฌาน ๒ แมว าสุ ขจะได เปลี่ ยนเป นอุ เบกขา ก็ ยั งคงนั บอุเบกขา นั ้น เอง วา เปน องคฌ านองคห นึ ่ง ,รวมเปน มีอ งคฌ าน๒ ทั ้ง เอกัค คตา : โดยนั ย นี้ ก็ ก ล า วได ว า จตุ ต ถฌานก็ มี อ งค ป ระกอบ ๑๗ เท า กั บ ตติ ย ฌาน โดย จํานวน, แตตางกันอยูหนอยหนึ่ง ตรงที่องคฌานที่เปลี่ยนเปนอุเบกขานั่นเอง.

www.buddhadasa.in.th


การบรรลุฌาน

๒๒๕

สรุปความวา ปฐมฌานมีองคประกอบ ๒๐, ทุติยฌานมี ๑๘, ตติยฌาน มี ๑๗, จตุตถฌานมี ๑๗, เปนองคประกอบสําหรับการกําหนด การศึกษา หรือ การพิจารณา ใหหยั่งทราบถึงความสมบูรณแหงฌานนั้น ๆ จริง ๆ. ขอที่ตองสังเกตอยางยิ่ง มีอยูวาจํานวนองคฌานเปลี่ยนไปไดตามความ สูงต่ําของฌาน ; สวนลักษณะ ๑๐ ประการ และอินทรีย ๕ อยางนั้น ไมมี การเปลี่ยนแปลงเลย. โดยนัยนี้เปนอันวา ปฐมฌานก็ดี ทุติยฌานก็ดี ตติยฌาน ก็ดี และจตุ ตถฌานก็ดี ล วนแตมีความงามในเบื้อ งต น มีความงามในท ามกลาง และมีความงามในที่สุด ดวยหลักเกณฑอันเดียวกันแท. ทั้งนี้ เพราะมีลักษณะ ๑๐ ประการ ดังที่ไดแยกไวเปนความงาม ๓ ประการ ปรากฏอยูแลวในขอความ ขางตนดวยกันทั้งนั้น. สวนอินทรียทั้งหานั้น พึงทราบไววาเปนสิ่งที่มีกําลังเพิ่ม ขึ้นตามสวน แหงความสูงของฌานไปทุกลําดับ ; แมวาจะยังคงทําหนาที่อยาง เดี ย วกั น หรื อ ตรงกั น แต กํ า ลั ง ของมั น ได เ พิ่ ม ขึ้ น ทุ ก อย า ง โดยสมส ว นกั น กั บ ความสูงยิ่ง ๆ ขึ้นไปของฌานนั้น ๆ ; กลาวโดยสรุปก็คือ สัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปญญา แตละอยาง ๆ ตองมี ความประณีต และมี กําลังเพิ่ มขึ้นตามความตองการ ของการที่จะกาวขึ้นไปสูฌานนั้น ๆ ตามลําดับ. โดยนัยนี้ทําใหกลาวไดวา อินทรีย นั้นๆไมเปลี่ยนแปลงโดยจํานวนก็จริง แตเปลี่ยนแปลงเปนอยางมากในทางคุณคาหรือในทาง กําลัง ดังที่กลาวแลว. ผูศึกษาไดสังเกตเห็นความแตกตางในขอนี้จริง ๆ แลว ยอม เขาใจความแตกตางระหวางฌานหนึ่ง ๆ ไดดียิ่งขึ้นไปอีก. ในที่สุดเราก็มาถึงสิ่งที่ เรียกวา วสี.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org วสี ๕ ประการ สิ่งที่เรียกวา วสี หมายถึงความชํานาญแคลวคลองวองไวในสิ่งที่จะ ตองทํา และทําไดอยางใจที่สุด. จนกลาวไดวา เปนผูมีอํานาจเหนือสิ่งนั้นโดย เด็ดขาด.

www.buddhadasa.in.th


๒๒๖

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

คํ า ว า วสี โดยพยั ญ ชนะ แปลว า ผู มี อํ า นาจ ซึ่ ง ในที่ นี้ ไ ด แ ก ค วาม มี อํ า นาจอยู เ หนื อ การกระทํ า สามารถทํ า อะไรได อ ย า งผู มี อํ า นาจ คื อ แคล ว คล อ ง วองไวไมติดขัด ไดอยางใจ. อํานาจในกรณีของการฝกสมาธินี้ มีทางมาจาก ความชํ า นาญในการฝ ก ฝน ยิ่ ง ชํ า นาญเท า ไร ก็ ยิ่ ง มี อํ า นาจมากขึ้ น เท า นั้ น ฉะนั้ น ใจความของคําวา วสี โดยสั้น ๆ ก็คือ ผูมีอํานาจแหงความชํานาญ นั่นเอง เขาเปน ผูมีความชํานาญเกี่ยวกับฌาน ในกรณีดังตอไปนี้ คือ ๑. ชํานาญในการกําหนด, ๒. ชํานาญในการเขาฌาน, ๓. ชํานาญในการหยุดอยูในฌาน, ๔. ชํานาญในการ ออกจากฌาน, และ ๕. ชํานาญในการพิจารณาฌาน ; รวมเปน ๕ ประการ ดวยกัน มีอธิบายดังนี้ :๑. ชํานาญในการกําหนด เรียกวา อาวัชชนวสี ขอนี้ไดแกความ เชี่ ย วชาญในการกํ า หนดอารมณ นิ มิ ต และองค ฌ าน ได เ ร็ ว ขึ้ น กว า แต ก าลก อ น และเร็วทันใจยิ่งขึ้นไปทุกที. วิธีฝก คือเมื่อไดปฏิบัติจนทําปฐมฌานใหเกิดขึ้นได โดยนั ย ดั ง ที่ ก ล า วแล ว ข า งต น ก็ คํ า นวณดู ว า การกํ า หนดอารมณ แ ละนิ มิ ต ต า ง ๆ กระทั่ ง ถึ ง องค ฌ านทั้ ง ๕ ของตนในหนหลั ง นั้ น ได เ ป น มาอย า งไร ใช เ วลานาน เท า ใดในการกํ า หนดอย า งหนึ่ ง ๆ และในขั้ น หนึ่ ง ๆ บั ด นี้ เ ราจะทํ า ให ดี ก ว า นั้ น และเร็ ว กว า นั้ น เพราะฉะนั้ น จะต อ งย อ นไปหั ด กํ า หนดทุ ก สิ่ ง ที่ จ ะต อ งกํ า หนดใน ลักษณะที่รวดเร็วกวาเดิม กลาวคือกําหนดลมหายใจ อยางยาว อยางสั้น ไดดี และเร็วกวาเดิ ม กําหนดผุ สนาและฐปนาทําให เกิดอุคคหนิ มิตได เร็ วกว าเดิม กํ าหนด อุ คคหนิ มิ ตให เปลี่ ยนรู ปเป นปฏิ ภาคนิ มิ ตได เร็ วกว าเดิ ม และในที่ สุ ดก็ คื อการอาศั ย ปฏิ ภาคนิ มิ ตนั้ น หน วงเอาองค ฌานทั้ งห า ให ปรากฏออกมาได ในลั กษณะที่ รวดเร็ ว กวาเดิมยิ่งขึ้นทุกที. กลาวสรุปใหสั้นที่สุดก็คือ การซอมความเร็ว ในการกําหนด อารมณ นิมิต และองคฌานนั่นเอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


การบรรลุฌาน

๒๒๗

ในการกํ า หนดเพื่ อ ทํ า ความเร็ ว หรื อ เร ง อั ต ราความเร็ ว อย า งหนึ่ ง ๆ ในที่นี้ เมื่อเรงเร็วขึ้นมาไดอยางใด ในขั้นแรก ๆ ตองมีการกําหนดในสิ่งที่ปรากฏแลวนั้น ใหนานพอสมควร คือนานพอที่จะเห็นชัด แลวจึงคอยเลื่อนไปกําหนดสิ่งที่ถัดไป. ทั้งนี้เพื่อความมั่นคงของสิ่งที่กําหนดไดในอัตราความเร็วใหม ทําดังนี้เปนลําดับไป และเพิ่ ม ความเร็ ว ให ม ากขึ้ น ทุ ก ที จนมี ค วามชํ า นาญที่ ก ล า วได ว า รวดเดี ย วถึ ง นั บ ตั้ ง แต ก ารกํ า หนดอารมณ ทุ ก ขั้ น กํ า หนดนิ มิ ต ทุ ก ตอน จนกระทั่ ง ถึ ง องค ฌ าน ทุกองค มีผลทําใหการเจริญสมาธิในครั้งหลัง ๆ มีการกําหนดสิ่งตาง ๆ ลุลวงไป เร็วกวาเดิม และมั่นคงกวาเดิม. อุปมาที่จะชวยใหเขาใจไดงาย เชนผูฝกในการปรุงอาหาร เตรียมหา สวนประกอบตาง ๆ ที่จะเอามาปรุงกันขึ้นเปนอาหารอยางหนึ่ง : ในการทําได ครั้ ง แรกย อ มงุ ม ง า มและชั ก ช า กว า จะได ม าครบทุ ก อย า ง กว า จะทํ า ให มี ส ว นสั ด ที่ถูกตองไดทุกอยาง ก็กินเวลานาน ; แตในการปรุงอาหารอยางเดียวกันนั้น เปน ครั ้ง ที ่ ๒ ครั ้ง ที ๓ ที ่ ๔ เขาอาจจะทํ า ใหเ ร็ว ยิ ่ง ขึ ้น ทุก ที จนกระทั ่ง ครั ้ง สุดทายจริง ๆ ก็ทําไดเร็วเปนวาเลน. ทั้งนี้ มีผลเนื่องมาจากฝกกําหนดในสิ่งที่ ได ทํ า ไปแล ว ว า มี อ ะไรกี่ อ ย า ง และอย า งละเท า ไร เป น ต น นั่ น เอง จนมี ค วาม ชํานาญถึงที่สุด ก็ทําไปไดเปนวาเลน โดยปราศจากความยากลําบากหรือหนักอก หนักใจแตประการใด, ขอนี้อุปมาฉันใด การฝกกําหนด อารมณแตละตอน นิ มิ ต แต ล ะขั้ น และองค ฌ านแต ล ะองค ของบุ ค คลผู ทํ า ปฐมฌานให เ กิ ด ขึ้ น ได เปน ครั้ง แรก เพื่อ ความเชี่ย วชาญในขั้น ตอ ไป ก็มีอุป มัย ฉัน นั้น . นี้เ รีย กวา มีอํานาจในการกําหนด.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๒. ชํานาญในการเขาฌาน เรียกวา สมาปชชวสี. คําวา “เขาฌาน” ในที่ นี้ ห มายถึ ง กิ ริ ย าที่ อ าศั ย ปฏิ ภ าคนิ มิ ต แล ว หน ว งเอาองค ฌ านทั้ ง ห า ทํ า ให เกิ ด ขึ้ น โดยครบถ ว นและสมบู ร ณ ปรากฏอยู เ ป น ฌานโดยนั ย ดั ง ที่ ก ล า วข า งต น

www.buddhadasa.in.th


อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

๒๒๘

อยางละเอียด. หากแตวาการทําไดในครั้งแรกนั้น เปนมาอยางชักชาและงุมงาม ฉะนั้ นจะต องฝ กให เร็ วเข าโดยอาการอย างเดี ยวกั นนั่ นเอง คื อสามารถทํ าปฏิ ภาคนิ มิ ต ใหปรากฏขึ้นฉับพลัน หนวงความรูสึกที่เปนองคฌานใหปรากฏขึ้นฉับพลัน ยิ่งกวาเดิมยิ่งขึ้น ทุ ก ที ด ว ยการขยั น ฝ ก จนกระทั่ ง ว า พอสั ก ว า คิ ด จะเข า สู ฌ านก็ เ ข า ฌานได ดั ง นี้ . เรื่ อ งที่ แ ท ก็ ไ ม มี อ ะไรมากไปกว า การทํ าของอย า งเดี ย วกั นและอย า งเดิ ม นั่ น เอง แต วาทําไดเร็วยิ่งขึ้นจนถึงอัตราเร็วสูงสุด. เมื่อเรื่องนี้เปนเรื่องทางฝายจิต ความเร็ว ก็ มี ได ถึ งขนาดชั่ วเวลาดี ดนิ้ วมื อครั้ งเดี ยวหรื อกระพริ บตาเดี ยว ก็ เข าอยู ในฌานแล ว ดังนี้เปนตน. อุ ปมาในชั้ นนี้ เปรี ยบเหมื อ นผู ปรุ งอาหารคนเดี ยวกั น ที่ เคยใช เวลาใน การปรุ ง อาหารอย า งนั้ น นานเป น ชั่ ว โมง บั ด นี้ อาจจะปรุ ง ให เ สร็ จ ได ภ ายใน ๕๐ นาที หรื อ ๔๐ นาที ๓๐ นาที ร น เข า ตามลํ า ดั บ จนถึ ง อั ต ราเร็ ว สู ง สุ ด ของการ ปรุงอาหารอยางนั้น เชนภายใน ๑๐ นาทีเปนตน. เมื่อการจัดหาเครื่องปรุงก็เร็ว และการปรุ ง ก็ เ ร็ ว ความเร็ ว ก็ เ พิ่ ม ขึ้ น ตามส ว นในการที่ จ ะได อ าหารมารั บ ประทาน; ขอนี้มีอุปมาฉันใด อาวัชชนวสี ซึ่งเปรียบเหมือนการจัดหาเครื่องปรุง และ สมาปชชวสี ซึ่งเปรียบเทียบการปรุง ก็มีอุปมัยฉันนั้น. ความสามารถเขาฌานไดเร็วทันความ ตอ งการ ในอัต ราที ่เ รีย กวา ชั ่ว เวลากระพริบ ตาเดีย วนั ้น เปน ขีด สูง สุด ของ สมาปชชสี หรือผูมีอํานาจในการเขาฌานนั้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ชํานาญในการหยุดอยูในฌาน เรียกวา อธิฏฐานวสี. คําวา “อธิษฐาน” โดยพยัญชนะแปลวา การตั้งทับ : โดยใจความ ก็คือการตั้งทับ ฌานหรือหยุดอยูในฌานนั่นเอง. ความชํานาญในการหยุดอยูในฌานนั้น หมาย ความวาสามารถหยุดอยูในฌานไดนานตามที่ตนตองการจริง ๆ. ในชั้นแรก ๆ ผูเขา ฌานไม ส ามารถจะหยุ ดอยู ในฌานได นานตามที่ ตนต อ งการ หรื อ ถึ งกั บไม สามารถ ๓.

www.buddhadasa.in.th


การบรรลุฌาน

๒๒๙

อยูไดนานดวยซ้ํา ไป : เขาจะตอ งฝกใหอ ยูใ นฌานไดนานยิ่ง ขึ้น นับ ตั้ง แต ไมกี่นาที จนถึงเปนชั่วโมง ๆ กระทั่งถึงเปนวัน ๆ มี ๗ วันเปนที่สุด : และ พรอ มกั นนั้ น ตอ งฝ กใหไ ดตามที่ ตอ งการอยา งเฉียบขาดจริง ๆ ดวย เช นจะอยู ในฌานเพี ยง ๕ นาที ก็ ใ หเ ปนเพี ย ง ๕ นาที จริ ง ๆ ไม ขาดไม เกิ นแม แต เพี ย ง วินาทีเดียวเปนตน จึงจะเรียกวามีความชํานาญไดถึงที่สุดในกรณีแหงอธิฏฐานวสี. ขอสําคัญอยูที่การกําหนดในการเขาและการออก มีความชํานาญในการเขาและ การออก. สิ่งที่เรียกวาอธิฏฐานหรือการหยุดอยูในฌานนั้น ไดแก ระยะที่มีอยู ในระหวางการเขาและการออก เพราะฉะนั้น เขาจะตองฝกใหมีความชํานาญทั้งในการ เข า และการออก จึ ง จะสามารถควบคุ ม การหยุ ด ในฌานให เ ป น ไปได ต ามที่ ต น ตองการจริง ๆ. เมื่อมีความชํานาญในการหยุดอยูในฌาน ก็ยอมหมายถึงเปน ผูชํ านาญในการเข า และการออกจากฌานอยา งยิ่ง อยู ดว ยในตัวเป นธรรมดา. การฝกในการนอนหลับชั่ วเวลาที่กําหนดไว แลวตื่นขึ้นมาไดตรงตามเวลาจริง ๆ ก็น ับ วา เปน สิ ่ง ที ่น า อัศ จรรยอ ยู แ ลว แตก ารฝก ในอธิฏ ฐานวสีห รือ การหยุด อยู ในฌานนั้น สามารถทําได เฉียบขาดกวา นั้น และนา อัศจรรยยิ่งไปกวานั้น ทั้ง นี้ เปนเพราะอํานาจของการฝกอยางเฉียบขาด จนมีความชํานาญขนาดที่เรียกวา วสี หรือผูมีอํานาจนั่นเอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อุปมาในขอนี้ เปรียบเหมือนการบริโภคอาหาร หรือการเก็บอาหาร ไว บ ริ โ ภคอย า งไรตามที่ ต นต อ งการ ด ว ยความชํ า นาญอี ก ชั้ น หนึ่ ง หลั ง จากที่ มี ความชํานาญในการจัดหาเครื่องปรุงอาหาร และความชํานาญในการปรุง ดังที่ กลาวแลวขางตน. การหยุดอยูในฌานนานเทาใดนั้น ยอมแลวแตความมุงหมาย ซึ่งมีอยูมากมายหลายอยางดวยกัน เชนเขาฌานเพื่อแสวงหาความสุขอยูในฌาน ก็ใชเวลาที่หยุดอยูในฌานนาน หรือนานมาก ตามที่ตนตองการ, แตถาเปน การเขาฌานขั้นตนเพื่อเปลี่ยนเปนฌานขั้นสูงขึ้นไป การหยุดอยูในฌานขั้นตน ๆ

www.buddhadasa.in.th


๒๓๐

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

ขั ้น หนึ ่ง ๆ ก็ม ีเ วลานอ ยลงไปเปน ธรรมดา ยิ ่ง ถา เปน การเขา ฌานอัน เนื ่อ ง ดวยการแสดงอิทธิ ปาฏิหาริย อยางใดอยางหนึ่งดวยแลว การเปลี่ยนฌาน จะตอง เปนไปอยางรวดเร็วยิ่งขึ้นไปกวานั้นอีก. ผูที่สามารถเขาฌาน หยุดอยูในฌาน และออกจากฌานไดเร็วดังประสงค ในกรณีอยางนี้เรียกวา ผูมีอํานาจในอธิฏฐานวสี ถึงที่สุด. ๔. ชํานาญในการออกจากฌาน เรียกวา วุฏฐานวสี. ขอนี้มี พฤติก รรมตรงกัน ขา มตอ สมาปช ชวสี กลา วคือ สมาปช ชวสีเ ขา ไดเ ร็ว สว น วุฏฐานวสี ออกมาได เร็ว โดยอาการที่ กลาวไดว า ถอยหลัง กลับออกมาในทํ านอง ที่ตรงกันขามตอกันนั้นเอง. ผูที่ไมมีความชํานาญในการออก ยอมออกไดชา หรือออกไมคอยจะไดตามที่ตนตองการ จากความรูสึกที่เปนการอยูในฌาน มาสู ความรูสึกปรกติอยางสามัญธรรมดา ฉะนั้น เขาจะตองฝกในการถอยหลังกลับออก มาอยา งรวดเดีย วถึง เชน เดีย วกัน ซึ ่ง โดยพฤติน ัย ก็ไ ดแ กก ารถอยจากความรู ส ึก ที่เปนฌาน มาสูความรูสึกที่เปนองคฌาน มาเปนปฏิภาคนิมิต มาเปนอุคคหนิมิต กระทั ่ง มาเปน การบริก รรม กลา วคือ การกํ า หนดลมหายใจในขั ้น ละเอีย ด และ ขั้นปรกติธรรมดาเปนที่สุด. หากแตวาการกระทําทางจิตนี้ เมื่อฝกถึงที่สุดแลว ยอมเปนไปไดเร็วอยางสายฟาแลบ จึงเปนสิ่งที่ยากจะสังเกตวามีลําดับมาอยางไร โดยแทจริง. ทางที่ดีที่สุดนั้น ควรจะฝกมาอยางชา ๆ ทีละขั้น ๆ และอยางเปน ระเบียบดังที่กลาวแลวนั่นเอง : จากฌานสูองคฌาน จากองคฌานสูปฏิภาคนิมิต จากปฏิภาคนิมิตสูอุคคหนิมิต จากอุคคหนิมิตสูฐปนาและผุสสนาชั้นตน ๆ จากฐปนาและ ผุสนาสูการกําหนดลมหายใจสั้นยาวในขณะแหงการบริกรรม. เมื่อฝกไดอยางเปน ระเบี ย บแล ว จึ ง เร ง ให เ ร็ ว เข า ทุ ก ที จ นถึ ง เร็ ว ที่ สุ ด ที่ เ รี ย กว า แว็ บ เดี ย วถึ ง ดั ง ที่ กลาวแลว. การทําไดอยางนี้เรียกวา ผูมีอํานาจถึงที่สุดในการออกจากฌาน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


การบรรลุฌาน

อุปมาในกรณีนี้ และเปนผลดีถึงที่สุด.

๒๓๑

เหมือนกับการเลิกกินอาหารอยางมีระเบียบและรวดเร็ว

๕. ชํานาญในการพิจารณา เรียกวา ปจจเวกขณวสี ขอนี้หมายถึง ความชํานาญในการที่จะพิจารณาดูสิ่งตาง ๆ เชนลักษณะอาการ พฤติและความ สัมพันธเปนตน ที่เกี่ยวกับฌานนั้นโดยทั่วถึงอีกครั้งหนึ่ง เพื่อใหมีความแจมแจง แคลวคลองวองไวในสิ่งนั้น โดยตลอดสาย อยางทบทวนไป ทบทวนมา วิธีปฏิบัติ คือ เมื ่อ ออกจากฌานนั ้น แลว อยา เพอ ลุก จากที ่นั ่ง อยา เพอ สง ใจไปเรื ่อ งอื ่น หรือคิดเรื่องใด ๆ แตจะกําหนดพิจารณาดูสิ่งตาง ๆ ที่เกี่ยวกับฌานนั้นอยางทบทวน ไปมา คือลําดับตาง ๆ แหงการเขาฌานและการออกจากฌาน ทั้งขึ้นทั้งลองอยาง ทั่วถึงอีกครั้งหนึ่ง ; ทั้งนี้ กระทําโดยทํานองของการพิจารณาในขั้นอาวัชชนวสี นั่น เอง เป น เที่ย วขึ้ นจนถึ ง ที่ สุ ดคื อ ความเป นฌาน การหยุ ด อยูใ นฌาน หรื อ แม การเสวยสุข เนื่อ งดว ยฌานนั้น ในลัก ษณะแหง วิก ขัม ภนวิมุต ติจ นเพีย งพอแลว จึงยอนกลับลงไปตามลําดับ โดยทํานองของอาวัชชนวสีเที่ยวถอยกลับ จนกระทั่ง ถึงขณะแหงบริกรรมเปนที่สุด. การกระทําทั้งนี้ยอมเปน การตรวจดูสมาธิของ ตนเองตั้งแตตนจนปลาย ทั้งขาขึ้นและขาลง หรือทั้งเที่ยวเขาเที่ยวออกอยางละเอียด ทุก ๆ ขั้นไป เพื่อความแจมแจงยิ่ง ๆ ขึ้นไป เพื่อความชํานาญยิ่ง ๆ ขึ้นไปในโอกาสหนา และมี ผ ลพิ เ ศษ เพื่ อ ความพอใจในการที่ จ ะบ ม อิ ท ธิ บ าท และอิ น ทรี ย ข องตนให แกกลายิ่ง ๆ ขึ้นไป ในการปฏิบัติธรรมขางหนาดวยอีกโสดหนึ่ง. ถาไมเชี่ยวชาญ ในวสีขอนี้ ยอมไมเปนผูคลองแคลวถึงที่สุดในวสีขออื่น ; ดังนั้น วสีขอนี้จึง เป น เหมื อ นการประมวลไว ซึ่ ง ความรู และความชํ า นาญแห ง วสี ข อ อื่ น ไว ทั้ ง หมด อยางเปนระเบียบและมั่นคงนั่นเอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๒๓๒

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

อุปมาในกรณีนี้ เปรียบเหมือนบุคคลที่เสาะแสวงหาเครื่องปรุงอาหาร อย า งชํ า นาญ แล ว มาปรุ ง อย า ชํ า นาญ แล ว บริ โ ภคอย า งชํ า นาญ แล ว เลิ ก บริ โ ภค หรื อ ถ า ยออกอย า งชํ า นาญ และสามารถพิ จ ารณาเห็ น คุ ณ และโทษของอาหารนั้ น อยางชํานาญ ดวยการพิจารณาทบทวนไปมา จากตนไปยังปลาย จากปลาย ไปยั ง ต น ก็ ย อ มมี ค วามรู ค วามชํ า นาญในเรื่ อ งของอาหารได ถึ ง ที่ สุ ด ข อ นี้ มี อุ ป มา ฉั น ใด การกระทํ า ในขั้ น แห ง ป จ จเวกขณสี ซึ่ ง เป น ความชํ า นาญขั้ น สุ ด ยอด ก็ มี อุปมัยฉันนั้น. ทั้ งหมดนี้ เป นการฝ กในวสี ทั้ งห า ส วนที่ เกี่ ยวกั บปฐมฌาน เมื่ อ ทํ าได ถึง ที ่ส ุด แลว ก็เ รีย กวา เปน ผู ม ีค วามคลอ งแคลว ในปฐมฌาน หรือ มีป ฐมฌาน อยูในอํานาจของตัวโดยแทจริง. หลังจากนั้นก็มี การปฏิบัติในวสี ที่เปนการเลื่อนขึ้นไปสูฌานที่สูง ขึ้นไปตามลําดับ กลาวคือทุติยฌาน ตติยฌาน และจตุตถฌาน โดยวิธีการดังที่ กลา วแลว ขา งตน ในตอนอัน วา ดว ยฌานนั้น ๆ โดยละเอีย ดแลว . วิธีฝก คื อ เมื่ อ ได ฌ านใหม ม าอี ก ขั้ น หนึ่ ง ก็ พึ ง ฝ ก ในวสี ทั้ ง ห า โดยอาการทํ า นองเดี ย วกั บ การฝ ก วสี ใ นขั้ น ปฐมฌาน ไม มี อ ะไรที่ ผิ ด กั น เลย หากแต ว า สู ง ขึ้ น หรื อ ไกลออกไป ทุก ที ๆ เทา นั ้น เมื ่อ การฝก วสีใ นปฐมฌานถึง ที ่ส ุด แลว ก็เ ริ ่ม การปฏิบ ัต ิเ พื ่อ การลุถึงทุติยฌาน ; ครั้นทําทุติยฌานใหเกิดขึ้นไดแลว ก็ฝกวสีทั้งหาในสวน ทุติยฌานสืบไป. แตวาในการฝกนั้น ตองยอนไปตั้งตนมาตั้งแตระยะตนของ ปฐมฌานด วยทุ กคราวไป กล าวคื อให มี ความชํ านาญมาตั้ งแต ต นจนปลาย เนื่ องกั น ไปตลอดสายเสมอ. อยาไดมีความประมาท ตัดลัดฝกแตตอนปลายเปนขั้น ๆ ตอน ๆ เลย เพราะเปนเรื่องของจิตเปนของเบาหวิว อาจสูญหายไปไดงาย ไมวาตอนไหน ฉะนั้น จะตองฝกไวตลอดสาย ทุกคราวไป. แมการปฏิบัติของผูใดจะไดดําเนินไปโดย

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


การบรรลุฌาน

๒๓๓

ทํ า นองนี้ จนขึ้ น ถึ ง ขั้ น จตุ ต ถฌานแล ว ก็ ต าม การปฏิ บั ติ ใ นวสี ใ นจตุ ต ถฌานนั้ น คราวหนึ่ ง ๆ ก็ จ ะต อ งย อ นไปตั้ ง ต น มาตั้ ง แต ร ะยะต น ของปฐมฌานอยู นั่ น เอง เพื่ อ “ความชํานาญตลอดสาย” และเพื่อ “ความชํานาญในการเปลี่ยนฌานที่สัมพันธกันอยู เปนลําดับ” การทําอยางนี้ นอกจากมีประโยชน ในความแตกฉานและมั่นคงในเรื่อง ของฌานแล ว ยั ง มี ป ระโยชน อ ย า งยิ่ ง ในการที่ จ ะดํ า เนิ น เข า สู ลํ า ดั บ ของสมาบั ติ ในขั้นสูง อันหากจะพึงมีขางหนาในเมื่อตองประสงค. สรุปความแหงวสีทั้งหา วา การฝกในวสีทั้งหาลําดับนี้ เปนการฝก เพื่อ ๑. ใหเกิดความชํานาญ, ๒. ใหเกิดความเร็วไว, และ ๓. ใหเกิดความได อยางใจ ; ซึ่งเมื่อรวมกันแลว ก็คือ ความมีอํานาจเหนือสิ่งนั้น หรือ ความมีสิ่งนั้น อยูในอํานาจของตน นั่นเอง ซึ่งเปนความหมายโดยตรงของคําวา “วสี”. การฝกนี้ เป น สิ่ ง ที่ จํ า เป น อย า งยิ่ ง จนถึ ง กั บ ถ า ปราศจากการฝ ก ในระบอบแห ง วสี นี้ แ ล ว สิ่ ง ตาง ๆ จะติดตันอยูพักหนึ่ง แลวกลับลมเหลวในที่สุด. ผูปฏิบัติพึงสังเกตใหเห็นความ จําเปนของการที่ตองซักซอมใหเกิดความชํานาญ ไมวาในกิจการใด ๆ. ตัวอยาง เชน ผู ฝ ก ดนตรี ฝก เพลงไดเ ปน ครั ้ง แรก เพลงหนึ ่ง หรือ เพีย งตอนหนึ ่ง ก็ต าม ถาไมขยันซอมใหชํานาญจริง ๆ แลว ไมกี่วันก็ลืม ; ยิ่งกระโดดขามไปฝกเพลง ใหมอื่นอีก ก็จะตองเลอะดวยกันทั้งสองเพลง ; ฉะนั้น นับวาเปนการฝกใหเกิด ความชํ านาญเสี ยตอนหนึ่ ง ๆ ก อน ทุ กตอน ๆ นั้ น เป นความจํ าเป นสํ าหรั บกิ จการ ทั้ ง ปวง และโดยเฉพาะอย า งยิ่ ง สํ า หรั บ การฝ ก ทางฝ า ยจิ ต โดยตรง เช น การฝ ก ฌานนี้เ ปน ตน . แมที่สุด แตเ ด็ก ๆ ที่กํา ลัง เรีย นเลขก็ยัง ตอ งซอ มการทอ ง สูต รคูณ เปน ตน ใหเ ชี ่ย วชาญไปทุก ๆ ชั ้น จึง จะเรีย นเรื ่อ ยไปได มิฉ ะนั ้น ก็ เลอะเทอะรวนเรกัน ไปหมด. นี่คือ ความชํา นาญ พรอ มกัน นั้น ก็มีผ ลเกิด ขึ้น คื อ ความไวกว า เดิ ม ยิ่ ง ขึ้ น ทุ ก ที จนถึ ง ขนาดที่ ใ ช ป ระโยชน ไ ด สํ า เร็ จ อย า งน า อั ศ จรรย

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๒๓๔

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

เหมือ นกับ คนงานที ่ชํ า นาญ ซึ ่ง ป น อิฐ ป น หมอ ไดไ ว จนคนธรรมดาเห็น แลว ตองตกตะลึง เพราะเขาทําไดเร็วกวาเราตั้ง ๒๐ เทา ดังนี้เปนตน. ในที่สุดจากความ ชํานาญและความไวนั้นเอง ยอมกอใหเกิดความไดอยางใจ คือ ตรงตามความประสงค อยางเต็มที่ไปเสียทุกอยางทุกทางในที่สุด ; นี้คือ ประโยชนของสิ่งที่เรียกวา วสี ๕ อยาง อันเปนสิ่งที่ผูฝกสมาธิทุกคนจะตองสนใจทําเปนพิเศษ แลวการเจริญ อานาปานสติในขั้นแหงการทํากายสังขารใหสงบรํางับ ก็จะอยูในกํามือของบุคคล นั้น ได ถึง ที่ สุด โดยไมต อ งสงสัย สามารถทํา อานาปานสติ ใ นขั้ น ที่สี่ ให ส มบู ร ณ ไดจริง ๆ ในเวลาอันรวดเร็วโดยแท.

สรุปใจความของอานาปานสติขั้นที่สี่. อานาปานสติขั้นที่สี่ มีหัวขอวา ทํากายสังขารใหรํางับอยู หายใจ เขา - ออก มีรายละเอียดดังกลาวแลวอยางยืดยาว แตก็อาจจะสรุปความเปนไป ทั้งหมดนั้นไดเปน ๔ ขั้น :-

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org (๑) ในระยะ ลมหายใจเขา - ออกอยางหยาบเปนไปอยูตลอดเวลา เพราะเธอถื อ เอาลมหายใจหยาบเป น นิ มิ ต ถื อ เอานิ มิ ต เป น อย า งดี ทํ า ไว ใ นใจ เปนอยางดี และใครครวญอยูอยางดี ในการที่จะทําใหลมหายใจอยางหยาบนั้น ดับไป. (๒) ระยะต อมา ครั้ นลมหายใจหยาบดั บไป ลมหายใจละเอี ยดตั้ งอยู แทน เพราะเธอถือ เอาเปน นิม ิต ถือ เอาอยา งดี ทํ า ไวใ นใจอยา งดี ใครค รวญ อยูอยางดี เพื่อความดับไปแหงลมอันละเอียด.

www.buddhadasa.in.th


การทํากายสังขารใหรํางับ

๒๓๕

(๓) ระยะตอมา ครั้นลมหายใจละเอียดดับไป กลาวคือไมปรากฏ ในการกํ าหนด เพราะเธอถื อเอาเพี ยงนิ มิ ตอั นเกิ ดจากลมอั นละเอี ยดไว เป นอารมณ จิตจึงไมถึงความฟุงซาน แตถึงความแนวแนถึงที่สุดดวยเหตุนั้น จนกระทั่ง… (๔) เมื่อ เปน อยูอ ยางนี้ เธอนั้นไดชื่อ วา มีภ าวนา (การเจริญ ) ถึงที่สุด ของสิ่งทั้งสี่ คือ : ๑. ของวาตุปลัทธิ, ๒. ของอัสสาสะปสสาสะ, ๓. ของอานาปานสติ, ๔. ของอานาปานสติสมาธิ ; ครบทั้ง ๔ ประการ. เมื่อเปนเชนนี้เปนอันกลาวไดวาความรํางับแหงกายสังขาร คือลมหายใจนั้น ชื่อวาปรากฏถึงที่สุดแลว. รวมความวา เมื่อยังไมไดสิ่งทั้งสี่นี้ ก็ยังไมชื่อวา เขาถึงความรํางับ แหงกายสังขารโดยแทจริง ; ตอเมื่อไดเขาถึงสิ่งทั้งสี่นี้ หรือสิ่งทั้งสี่นี้ตั้งอยู อยางสมบูรณแลว ก็จะไดชื่อวา เขาถึงความรํางับแหงกายสังขารถึงที่สุด. สําหรับ สิ่งทั้งสี่นั้น วาตุปลัทธิ คือการไดความรูเรื่องลมเพื่อทําการปฏิบัติกัมมัฏฐานภาวนา ขอนี้โดยสมบูรณ ; อัสสาสะ ปสสาสะ คือการไดลมหายใจเขา-ออกเปนไปตามที่ ต อ งการทุ ก ระยะโดยสมบู ร ณ ไม ว า จะเป น ชั้ น หยาบ หรื อ ชั้ น ละเอี ย ดประณี ต เพียงไร ; อานาปานสติ คือสติที่ไปในการกําหนดลมหายใจ เขา - ออก อยาง สมบูรณทุกขั้นทุกตอน ; อานาปานสติสมาธิ คือสมาธิที่เกิดขึ้นจากสติที่กําหนด ลมหายใจเข า -ออกอย า งสมบู ร ณ (หมายถึ ง ตั้ ง แต ป ฐมฌานขึ้ น ไป จนถึ ง จตุ ต ถ ฌาน), ถาจะเรียกอยางสั้น – ตรง ๆ ก็เรียกไดอีกอยางหนึ่งวา :

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

๒๓๖

ไดความเต็มที่ หรือเต็มเปยมของเรื่องที่จะกระทํา ๑. [ความรูเรื่องนี้] ; ไดความเต็มเปยม ของสิ่งที่ถูกทํา ๑. [ลมหายใจ] ; ไดความเต็มเปยม ของเครื่องมือที่ใชในการกระทํา ๑. [สติ] ; ไดความเต็มเปยม ของผลที่เกิดขึ้นจากการกระทํา ๑. [สมาธิ] ; รวมเป น ๔ อย า งด ว ยกั น ดั ง นี้ ซึ่ ง เป น เครื่ อ งแสดงถึ ง ลั ก ษณะแห ง ความสมบู ร ณ ของการกระทํานั้น ๆ ซึ่งในที่นี้ ไดแกการกระทําความรํางับแหงกายสังขาร. (จบอานาปานสติขั้นที่สี่ อันวาดวยการทําลมหายใจใหรํางับ)

*

*

*

สรุปความ แหง จตุกกะที่หนึ่ง จตุกกะที่หนึ่ง แหงอานาปานสติ ดังที่กลาวมาแลวแตตนจนบัดนี้ เมื่อประมวลเขาเปนหลักใหญ ๆ โดยใจความแลว ก็มีอยูวา : อานาปานสติ

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ขั้นที่หนึ่ง กําหนดลมหายใจเขา – ออก ที่ยาว, ขั้นที่สอง กําหนดลมหายใจเขา – ออก ที่สั้น, ขั้นที่สาม กําหนดลมหายใจโดยประการทั้งปวง, ขั้นที่สี่ กําหนดลมหายใจที่สงบรํางับยิ่ง ๆ ขึ้นไป จนกระทั่งถึงการบรรลุฌาน.

ขั้นแรกที่สุด เปนการกําหนดลมหายใจโดยเฉพาะเจาะจง และตามที่ เปนอยูตามธรรมชาติ กระทั่งถึงไดรับการปรับปรุงดีแลว อยูทุกขณะ, ขั้นถัดมา ไมกํ า หนดโดยลัก ษณะเฉพาะ หรือ โดยรายละเอีย ดเชน นั ้น แตไ ดกํ า หนดสิ ่ง ที่

www.buddhadasa.in.th


การทํากายสังขารใหรํางับ

๒๓๗

เรี ย กว า นิ มิ ต กล า วคื อ มโนภาพที่ เ กิ ด จากความรู สึ ก อย า งใดอย า งหนึ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น มาแทน เนื่ อ งจากการที่ ไ ด กํ า หนดลมหายใจอย า งเป น ระเบี ย บหรื อ เคยชิ น จนถึ ง ที่สุด และ ขั้นตอมา ไดผละจากการกําหนดนิมิตนั้น ไปกําหนดที่ความรูสึกอีก ประเภทหนึ่ ง ซึ่ ง เป น ผลอั นเกิ ด มาจากการกํ า หนดที่ ล ะเอี ย ดยิ่ ง ขึ้ น ทุ กที จนกระทั่ ง เปนความรํางับชั้นสูงสุดแลวเพงเฉยอยู ซึ่งเรียกวา ฌาน ในที่นี้. ลมหายใจมีอยู ตลอดเวลา แตวาคอย ๆ เปลี่ยนจากหยาบที่สุด ไปจนถึงขั้นที่ประณีตหรือละเอียดที่สุด จนไมปรากฏแกความรูสึก ซึ่งเรียกโดยโวหารวา ดับหมด ในที่นี้ ซึ่งนับวาเปนระยะสุดทาย ของจตุกกะที่หนึ่ง. ความไดเปนอยางนี้ จัดวาเปนผลอันสมบูรณของการทําสมาธิ เพียงพอ ที่จะกลาวไดวาไดลุถึง ทิฏฐธรรมสุขวิหาร กลาวคือ การเสวยสุขที่มีรสอยางเดียวกัน กับสุขอันเกิดจากนิพพานทันตาเห็น หากแตวายังเปนของชั่วคราวและกลับเปลี่ยน แปลงได. ผูที่พอใจเพียงเทานี้ก็รักษาความเปนอยางนี้ไวจนตลอดชีวิตก็มี. กอน พุทธกาล เคยมีผูบัญญัติความเปนอยางนี้ ดวยความสําคัญผิดวาเปนนิพพานไปก็มี ; ส ว นผู ที่ มี ค วามเข า ใจถู ก ต อ ง ย อ มทราบได ว า ยั ง มี สิ่ ง ที่ จ ะต อ งทํ า ให ยิ่ ง ไปกว า นั้ น เพราะเหตุ ฉะนั้ น พระผู มี พระภาคเจ าจึ งได ตรั สข อปฏิ บั ติ ที่ สู งขึ้ นไปโดยจตุ กกะอั นมี อยูในลําดับตอไป.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อยางไรก็ดี ไมควรจะลืมวา การปฏิบัติอีกสายหนึ่ง ซึ่งดิ่งไปยังการ เห็ นแจ งแทงตลอดตามแบบของป ญญาวิ มุ ตติ นั้ น ไม จํ าเป นจะต องปฏิ บั ติ ในทางจิ ต หรื อ ทางสมาธิ อ ย า งลึ ก ซึ้ ง จนถึ ง ขั้ น นี้ เ สี ย ก อ น กล า วคื อ มี ก ารปฏิ บั ติ เ พี ย งขั้ น ที่

www.buddhadasa.in.th


๒๓๘

อานาปานสติภาวนา ตอน ๘

เรียกวา อุปจารสมาธิ แมที่เกิดอยูเองตามธรรมชาติ แลวก็ขามไปปฏิบัติในขั้น ที่เ ปน วิปส สนาได, เพื่อ เห็น อนิจ จัง ทุก ชัง อนัต ตา อยา งแจม แจง ได. เพราะฉะนั ้น ผู ที ่ป ฏิบ ัต ิม าจนถึง ขั ้น ที ่ส ุด แหง จตุก กะที ่ห นึ ่ง แลว ก็ย ัง อาจขา ม จตุก กะที่ส อง ที่ส าม เลยไปปฏิบ ัติใ นจตุก กะที่สี ่ อัน เปน ขั้น วิปส สนาโดยตรง ก็เปนสิ่งที่ทําไดดุจเดียวกัน แตเพื่อความสมบูรณของการปฏิบัติอานาปานสติตาม แบบนี้ เราจะไดวินิจฉัยกันตามลําดับ คือจตุกกะที่สอง ที่สาม สืบไป. สวนผูที่ ประสงค จ ะลั ด ข า มไปนั้ น พึ ง ข า มไปศึ ก ษาในข อ ปฏิ บั ติ อั น กล า วไว ใ นจตุ ก กะที่ สี่ โดยตรงเถิด. อานาปานสติ จตุกกะที่ ๑ จบ

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


จตุกกะที่ ๒ - เวทนานุปสสนาสติปฏฐาน๑ (ตั้งแตการกําหนดเวทนา จนถึงการเวทนา ไมใหปรุงแตงจิต)

บั ด นี้ มาถึ ง การปฏิ บั ติ ใ นอานาปานสติ จตุ ก กะที่ ส อง ซึ่ ง กล า วถึ ง อานาปานสติอีก ๔ ขั้นเปนลําดับไป คือ ; ขั้นที่ ๕ การเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งปติ หายใจเขา – ออก ๑, ขั้นที่ ๖ การเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งสุข หายใจเขา – ออก ๑, ขั้นที่ ๗ การเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งจิตตสังขาร หายใจเขา – ออก ๑, ขั้นที่ ๘ การเปนผูทําจิตตสังขารใหรํางับอยู หายใจเขา – ออก ๑, รวมเปน ๔ ขั้นดวยกันดังนี้. ทั้ง ๔ ขั้นนี้ จัดเปนหมวดแหงการเจริญภาวนา ที่พิจารณาเวทนาเปนอารมณสําหรับการศึกษา แทนที่จะกําหนดพิจารณากาย คือ ลมหายใจ ดังที่กลาวแลวในจตุกกะที่หนึ่ง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

การบรรยายครั้งที่ ๒๔ / ๒๘ กันยายน ๒๕๐๒

๒๓๙

www.buddhadasa.in.th


ตอนเกา อานาปานสติ ขั้นที่หา (การกําหนดปติ)

อุทเทสหรือหัวขอแหงอานาปานสติขอที่หนึ่ง แหงจตุกกะที่สอง หรือ จัดเปนขั้นที่หาแหงอานาปานสติทั้งปวงนั้น มีอยูวา :“ภิกษุนั้น ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งปติ จักหายใจ เขา ดังนี้ ; ย อมทํ าในบทศึ กษาว า เราเป นผู รู พร อมเฉพาะซึ่ งป ติ จั กหายใจ ออก ดังนี้”๑ ใจความสําคัญที่จะตองศึกษา มีหัวขอใหญ ๆ คือ ๑. การทําใน บทศึกษา, ๒. การเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งปติ หายใจเขา – ออกอยู, และ ๓. ญาณ สติ และธรรมอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นโดยสมควรแกการปฏิบัติในขั้นนี้. บัดนี้ จะไดวินิจฉัยในหัวขอที่วา “ยอมทําในบทศึกษา” เปนขอ แรกกอน. คํา วา “บทศึก ษา” ในที่นี้ ก็จํา แนกเปน ศีล สมาธิ ปญ ญา อยา งเดีย วกัน กับ ที่ก ลา วมาแลว ในอานาปานสติขั้น กอ น ๆ . แตสํา หรับ ขอ นี้ มีใ จความแตกตา งออกไปก็ต รงที ่ใ นขั ้น นี ้ มีก ารกํ า หนดปต ิ แทนการกํ า หนด ลมหายใจ. เมื่ อทํ าป ติ ให เกิ ดขึ้ นได แล ว การควบคุ มสติ ให มี ความรู สึ กต อ ป ติ นั้ นอยู โดยประการที่กําหนดไว นั่นแหละคือสิ่งที่เรียกวา บทศึกษา ในที่นี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เมื่อมีการสํารวมดวยสติใหรูสึกในปติอยูไดตลอดเวลาเทาใด ก็เปน

ป ติ ป ฏิ สํ เ วที อสฺ ส สิ สฺ ส ามี ติ สิ กฺ ข ติ ;

ป ติ ป ฏิ สํ เ วที ปสฺ ส สิ สฺ ส ามี ติ สิ กฺ ข ติ

๒๔๐

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๕ การกําหนดปติ

๒๔๑

เมื่ อมี ก ารสํา รวมดว ยสติใ ห รูสึ กในปติ อ ยู ได ต ลอดเวลาเท าใด ก็เ ป น อันวามี สีลสิกขา อยางยิ่ง อยูตลอดเวลาเทานั้น เพราะวาตลอดเวลานั้นมีความ ไมเบียดเบียน และมีแตความเปนปรกติของกายและวาจาอยูเต็มตามความหมายของ คําวา สีลสิกขา. และเมื่ อ มี ก ารกํ า หนดป ติ ใ นฐานะเป น อารมณ ข องจิ ต เพื่ อ ความไม ฟุงซานเปนตนแลว ก็ชื่อวามี สมาธิสิกขา อยูอยางเต็มที่ในขณะนั้น. เพราะ จิตนั้นสงบรํางับตั้งมั่น มีอารมณเดียว และเปนจิตที่ควรแกการทําวิปสสนาเต็ม ตามความหมายของคําวา สมาธิ. และเมื่อมีการพิจารณาซึ่งปตินั้นอยู โดยความเปนของไมเที่ยง เปน ทุกข เปนอนัตตา หรือสุญญตา. ในขั้นนี้เรียกวามี ปญญาสิกขา อยูอยาง สมบูรณ ;

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org จึงเปน อันวา มีสิกขาทั้งสาม ครบถวนอยูใ นการกําหนดพิจารณาป ติ ในขั้นตาง ๆ กัน แลวแตจะเล็งถึงความหมายของคําวา สิกขา ขอไหน.

พึงทราบเสียดวยวา ความหมายของคําวา “ยอมทําในบทศึกษา”ในอา นาปานสติ ขั้ น ต อ ๆ ไป ย อ มมี อ ยู เ หมื อ นกั น ดั ง นี้ ทุ ก ๆ ขั้ น ไป โดยใจความ ผิ ด กั น อยู ต รงที่ สิ่ ง ซึ่ ง เป น อารมณ สํ า หรั บ การกํ า หนดนั้ น จะต อ งเปลี่ ย นแปลงไป ตามกรณี เชนในขั้นนี้ กําหนดปติ, สวนขั้นตอไปกําหนดความสุข, หรือขั้น ถัดไปอีก ก็กําหนดจิตตสังขาร ดังนี้เปนตน ; นี้คือนัยที่ผูปฏิบัติจะตองทําความ เข า ใจให แ จ ม แจ ง ตั้ ง แต แ รก เพื่ อ ความรู สึ ก อั น มั่ น คงกว า ตนเป น ผู มี สี ล สิ ก ขา สมาธิสิกขา และปญญาสิกขา อยางเต็มที่ตลอดเวลาแหงอานาปานสติทุกขั้นใน อันดับตอไป.

www.buddhadasa.in.th


อานาปานสติภาวนา ตอน ๙

๒๔๒

ตอไปนี้ จะไดวินิจฉัยกันในขอที่วา “เปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งปติ” คําวา ปติ แปลวา ความอิ่มใจ และหมายรวมถึงความรูสึกอยางอื่น ซึ่ง มีอาการคลายกัน ดังที่ทานใหตัวอยางไวเชน ปามุชฺช ไดแกปราโมทย, อาโมทนา ไดแก ความเบิกบาน, ปโมทนา ไดแก ความบันเทิงใจ, หาโส ไดแก ความ ราเริงหรรษา, ปหาโส ไดแก ความราเริงเต็มที่, จิตฺตสฺส โอทคฺยํ ไดแก ความ ฟูใจ จิตฺตสฺส อตฺตมนตา ไดแก ความชอบใจ เหลานี้เปนตน ; สรุปรวมก็คือ ความอิ่มอกอิ่มใจที่เกิดขึ้นจากการที่รูสึกวาตนไดทําหรือไดรับสิ่งที่ดีที่สุด ที่ตนควรจะได. สํ า หรับ ในที ่นี ้ ไดแ กป ต ิใ นการเจริญ อานาปานสติไ ดร ับ ผลสํ า เร็จ ตามลํ า ดับ ๆ นั่นเอง นับตั้งแตลมหายใจเขา – ออกที่ยาวมาทีเดียว และสมบูรณเปนปติเต็มที่ ต อ เมื่ อ รู สึ ก ว า จิ ต ของตนไม ฟุ ง ซ า น มี ค วามสงบรํ า งั บ เป น อารมณ เ ดี ย วจริ ง ๆ ; ฉะนั้ น เป นอั นกล าวได อี กอย างหนึ่ งว า สิ่ งที่ เรี ยกว าป ติ นี้ ได เริ่ มมี มาแล ว แม ตั้ งแต อานาปานสติขอที่ ๑ แหงจตุกกะที่ ๑ และสูงขึ้นเปนลําดับมา จนกระทั่งถึงขั้นที่ ๕ (คือ ขอที่ ๑ แหงจตุกกะที่ ๒ นี้) ซึ่งผูปฏิบัติจะไดเริ่มกําหนดปติโดยตรง กันจริง ๆ ในขั้นนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org การเกิดแหงปติ

อาการที่ ป ติ จ ะเกิ ด ขึ้ น มี อ ยู อ ย า งสู ง ต่ํ า กว า กั น ตามลํ า ดั บ ของการ กํ าหนดหรื อสิ่ งที่ ถู กกํ าหนด อั นสู งต่ํ า หรื อหยาบละเอี ยดกว ากั นนั่ นเอง ซึ่ งอาจจะ แบงไดถึง ๑๖ ขั้น คือ :๑. เมื่อรูสึกอยู (ปชานโต) วาจิตไมฟุงซานและเปนเอกัคคตา พรอม ด วยอํ านาจของการกํ าหนดลมหายใจยาว หรื อลมหายใจสั้ น หรื อลมหายใจของผู รู พร อ มเฉพาะซึ่ ง กายทั้ ง ปวง หรื อ ลมหายใจของผู ยั ง กายสั ง ขารให รํ า งั บ อยู ดั ง นี้ ปติยอมเกิดขึ้น ;

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๕ การกําหนดปติ

๒๔๓

๒. เมื่อกําหนดอยู (อาวชฺชโต) ซึ่งความที่จิตไมฟุงซานและเปนเอกัคคตา ดวยอํ านาจของการกําหนดลมหายใจยาว หรือ ลมหายใจสั้ น หรื อ ลมหายใจของ ผูรูพรอมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง หรือลมหายใจของผูยังกายสังขารใหรํางับอยู ดังนี้ ปติยอมเกิดขึ้น ; ๓. เมื่อรูชัดอยู (ชานโต) ซึ่งความที่จิตไมฟุงซานและเปนเอกัคคตา ดวยอํานาจของการกําหนดลมหายใจยาว หรือลมหายใจสั้น หรือลมหายใจของผูรู พรอมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง หรือลมหายใจของผูยังกายสังขารใหรํางับอยูดังนี้ ปติ ยอมเกิดขึ้น ; ๔. เมื่อเห็นชัดอยู (ปสฺสโต) ซึ่งความที่จิตไมฟุงซาน และเปนเอกัคคตา ดวยอํานาจของการกําหนดลมหายใจยาว หรือลมหายใจสั้น หรือลมหายใจของ ผูรูพรอมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง หรือลมหายใจของผูยังกายสังขารใหรํางับอยู ดังนี้ ปติยอมเกิดขึ้น ;

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๕. เมื่อพิจารณาอยู (ปจฺจเวกฺขโต) ซึ่งความที่จิตไมฟุงซานและเปน เอกัคคตา ดวยอํ านาจของการกําหนดลมหายใจยาว หรื อลมหายใจสั้น หรือ ลม หายใจของผูรูพรอมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง หรือลมหายใจของผูยังกายสังขารใหรํางับ อยูดังนี้ ปติยอมเกิดขึ้น ;

๖. เมื่ออธิษฐานจิตอยู (จิตฺตํ อธิฏหโต) (ดวยอํานาจของลมทั้ง ๔ ประเภท และขยายออกไดเปน ๘ ชนิด ดวยนับการหายใจเขาและหายใจออกเปนสอง.

แลวคูณ ๔

เปน ๘ ชนิด, ดังกลาวแลวในขอ ๑ ถึง ขอ ๕) ดังนี้ ปติยอมเกิดขึ้น ;

www.buddhadasa.in.th


๒๔๔

อานาปานสติภาวนา ตอน ๙

๗. เมื่อปลงจิตลงดวยความเชื่อ (สทฺธาย อธิมุจฺจโต) (ดวยอํานาจลมทั้ง ๔ ประเภท ดังที่กลาวแลวขางตน) ดังนี้ ปติยอมเกิดขึ้น ; ๘. เมื่อประคองความเพียรอยู (วิริยํ ปคฺคณฺหโต) (ดวยอํานาจลมทั้ง ๔ ประเภท ดังที่กลาวแลวขางตน) ดังนี้ ปติยอมเกิดขึ้น ; ๙ เมื่อดํารงสติอยู (สตึ อุปฏายโต) (ดวยอํานาจลมทั้ง ๔ ประเภท ดังที่กลาวแลวขางตน) ดังนี้ ปติยอมเกิดขึ้น ; ๑๐. เมื่อจิตตั้งมั่นอยู (จิตฺตํ สมาหโต) (ดวยอํานาจลมทั้ง ๔ ประเภทดังที่ กลาวแลวขางตน) ดังนี้ ปติยอมเกิดขึ้น ; ๑๑. เมื่อรูชัดดวยปญญา (ปฺาย ปชานโต) (ดวยอํานาจลมทั้ง ๔ ประเภท ดังที่กลาวแลวขางตน) ดังนี้ ปติยอมเกิดขึ้น ; ๑๒. เมื่อรูยิ่งดวยปญญาเปนเครื่องรูยิ่งอยู(อภิฺาย อภิชานโต)(ดวย อํานาจลมทั้ง ๔ ประเภท ดังที่กลาวแลวขางตน) ดังนี้ ปติยอมเกิดขึ้น ; ๑๓. เมื่อรอบรูธรรมที่ควรรอบรูอยู (ปริฺเยฺยํ ปริชานโต) (ดวยอํานาจ ลมทั้ง ๔ ประเภท ดังที่กลาวแลวขางตน) ดังนี้ ปติยอมเกิดขึ้น ; ๑๔. เมื่อละธรรมที่ควรละอยู (ปหาตพฺพํ ปชหโต) (ดวยอํานาจลมทั้ง ๔ ประเภท ดังที่กลาวแลวขางตน) ดังนี้ ปติยอมเกิดขึ้น ; ๑๕. เมื่อเจริญธรรมที่ควรเจริญอยู (ภาเวตพฺพํ ภาวยโต) (ดวยอํานาจลม ทั้ง ๔ ประเภท ดังที่กลาวแลวขางตน) ดังนี้ ปติยอมเกิดขึ้น ; ๑๖ เมื่ อทํ าใหแจงซึ่งธรรมที่ ควรทํ าใหแจงอยู (สจฺฉิ กาตพฺ พํ สจฺฉิ กโรโต) (ดวยอํานาจลมทั้ง ๔ ประเภท ดังที่กลาวแลวขางตน) ดังนี้ ปติยอมเกิดขึ้น ;

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๕ การกําหนดปติ

๒๔๕

ทั้งหมดนี้ แตละอยาง ๆ ยอมแสดงถึ งตนเหตุ ที่ปติจะเกิดขึ้นด วยกันทั้ ง นั้น และมี อธิบายโดยสังเขป ดังตอไปนี้ :ขอ ๑ ถึงขอ ๕ ปติเกิดขึ้นเพราะอาศัยการกําหนดทําความรูสึก ที่ ความไมฟุ ง ซา น หรือ ความมีอ ารมณอ ัน เดีย วของจิต ซึ ่ง มีขึ ้น ดว ยอํ า นาจลม ๔ ประเภท หรือ ๘ ชนิด คือลมหายใจยาว ทั้งเขาและทั้งออก, ลมหายใจสั้น ทั้งเขาและทั้งออก, ลมหายใจในขณะที่เปนความรูสึกตัวทั่วพรอมซึ่งกายทั้งปวง ทั้งเขาและทั้งออก, และลมหายใจในขณะที่ทํากายสังขารใหรํางับอยู ทั้งเขา และทั้งออก. ขอนี้หมายความวา ในการกําหนดลมทั้ง ๔ ประเภทนั้น ปติ อาจจะเกิดขึ้นในขณะที่กําหนดลมประเภทไหนก็ได. สําหรับการกําหนดนั้นเลา ทานแบงออกเปน ๕ วิธี หรือ ๕ ลําดับดวยกัน ตามที่ระบุไวในขอ ๑ ถึงขอ ๕ มีอ าการสูง ต่ํ า หรือ หยาบประณีต ตา งกัน เปน ลํ า ดับ ขึ ้น ไปคือ กํ า หนดรวม ๆ ทั่ว ๆ ไป เรียกวา ปชานนํ ; ที่สูงไปกวานั้นก็คือ การกําหนดเจาะจงลงไป เรียกวา อาวชฺชนํ ; ที่สูงขึ้นไปอีก คือทําความรูแจง เรียกวา ชานนํ ; ที่เปน การเห็นแจง เรียกวา ปสฺสนํ ; และที่เปนการพิจารณาโดยละเอียดเฉพาะ เรียกวา ปจฺจเวกฺขณํ ; ตามลําดับ ๆ รวมเปน ๕ อยางดวยกันดังนี้. ทั้ง ๕ อยางนี้ ตอ งกําหนดเพงเล็ งไปยังความเปนสมาธิของจิตกอ น แลว จึงเกิดมีปติขึ้ น ไดดวยกันทั้ง ๕ ลําดับ แตมีคุณสมบัติสูงต่ํากวากัน ตามอาการที่กําหนด หยาบ หรือ ละเอียด กวากันนั่นเอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ขอ ๖ อธิษฐานจิตอยู. ในที่นี้หมายถึงการทําจิตใหมุงเฉพาะตอ คุณ ธรรมเบื ้อ งสูง ดว ยการปก ใจแนว แนใ นธรรมนั ้น ๆ ขอ ใดขอ หนึ ่ง โดย ไปเปลี่ยนแปลง. ในที่นี้ไดแกมุงตอความสงบรํางับในขั้นสมาธินี้. ปติเกิดขึ้น เพราะการตั้งจิตสําเร็จในขณะนั้น.

www.buddhadasa.in.th


๒๔๖

อานาปานสติภาวนา ตอน ๙

ขอ ๗ ถึงขอ ๑๑ หมายถึง อาการของอินทรียทั้งหาแตละอยาง ๆ ดําเนินไป ไดเต็มตามความหมาย จึงเกิดปติขึ้น กลาวคือ ขอ ๗ หมายถึงการปลงความเชื่อลง ไปไดใ นการกระทํา ของตน วา เปน สิ่ง ที่เ ปน ที่พึ่ง ไดแ นน อน จึง เกิด ปติขึ้น ; ข อ ๘ หมายถึ ง เมื่ อ เกิ ดความกล าหาญพากเพี ยรยิ่ งขึ้ น เพราะอํ า นาจความพอใจ ในความเชื่ อ หรื อ พอใจในการปฏิ บั ติ หรื อ เพราะอํ า นาจของป ติ ใ นกาลก อ นแต นี้ นั่นเอง, ปติเกิดขึ้น ; ขอ ๙ หมายถึงเมื่อดํารงสิตของตัวไดเปนที่พอใจ คือ ควบคุม สติไ ดต ามที ่ต อ งการ ไมว า จะเปน การปฏิบ ัต ิใ นการกํ า หนดลมขั ้น ไหน, ปติเกิดขึ้น ; ขอ ๑๐ หมายถึงความรูสึกวาตนสามารถทําจิตใหเปนสมาธิได ทําให เกิดปติขึ้น ; ขอ ๑๑ หมายถึงปติที่เกิดมาจากความรูวาตนสามารถทําปญญาใหเกิด ขึ ้น ได และรู ช ัด ดว ยปญ ญานั ้น ถึง ลัก ษณะทุก ประการอัน เนื ่อ งดว ยลมหายใจ ๘ ชนิดนั้น. ทั้ง ๕ ขอนี้ ก็เปนไปโดยอาศัยลมทั้ง ๘ ชนิดนั้นเหมือนกัน แตวา เปนคุณธรรมที่สูงหรือประณีตยิ่งขึ้นมาตามลําดับ ๆ. ขอ ๑๒ หมายถึงความรูที่ยิ่งขึ้นไปกวาความรูที่กลาวแลวในขอ ๑๑ คื อ รู น อกเหนื อ ไปจากลั ก ษณะที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งกั น อยู กั บ ลมหายใจ กล า วคื อ รู ธ รรมที่ เปนไปเพื่อความดับทุกขโดยตรงยิ่งขึ้น หรือกวางออกไป, ปติจึงเกิดขึ้น ;

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ขอ ๑๓ ถึงขอ ๑๖ ทั้ง ๔ ขอนี้ เปน ความรูที่แลนไปในทางของอริยสัจจ โดยตรง กลาวคือ ขอ ๑๓ เปนการรูแจงในเรื่องของความทุกขในฐานะที่เปนเรื่อง ที่ควรรูอยางชัดแจงวาเปนทุกขอยูอยางไร และเปนทุกขจริง ๆ ปติเกิดขึ้นเพราะ พบสิ่งที่เปนตัวการสําคัญ และมีหวังที่จะละ. ข อ ๑๔ เป น ความรู เ รื่ อ งเหตุ ใ ห เ กิ ด ทุ ก ข โดยเฉพาะคื อ กิ เ ลสทั้ ง ปวง ล วนแต เป นเหตุ ให เกิ ดทุ กข และเป นสิ่ งที่ ควรละ และตนกํ าลั งละอยู หรื อละได แล ว เช น ในขณะที่ กํ า ลั ง เจริ ญ อานาปานสติ อ ยู นี้ ก็ เ ป น การรู สิ่ ง ควรละ และเป น การ ละสิ่งที่ควรละนั้น พรอมกันอยูในตัว ปติจึงเกิดขึ้น.

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๕ การกําหนดปติ

๒๔๗

ขอ ๑๕ เปนการรูถึงสิ่งที่ควรทําใหเกิดมี ที่ตนกําลังทําใหมี หรือได ทําใหมีขึ้นแลว. สิ่งที่กลาวนี้ไดแกทางแหงความดับทุกข ซึ่งสามารถตัดตนเหตุ ของความทุกขนั้น ๆ ได เชนในขณะที่กําลังเจริญอานาปานสติขั้นนี้อยู กิเลสบาง ประการระงับไป หรือละไป ความทุกขบางอยางที่มาจากกิเลสนั้นโดยตรงก็ดับไป เปนตนเหตุใหรูวาการปฏิบัติอยางนี้เปนการดับทุกขไดจริง. เมื่อรูถึงความจริงขอ นั้น ปติยอมเกิดขึ้น. สวนขอ ๑๖ นั้น หมายถึงการรูสิ่งที่ควรกระทําใหแจง กลาวคือตัว ความดับทุกข หรือภาวะแหงความดับทุกขสิ้นเชิง ซึ่งมักเรียกกันวา นิโรธ หรือ นิพพาน หรืออื่น ๆ อีก เชนวิมุตติเปนตน. การปฏิบัติอยูนี้ หมายถึงการที่เมื่อ ปฏิบัติอยูอยางนี้ นิวรณไมรบกวน โดยประการทั้งปวง, กิเลสบางอยางถูกละไป, ภาวะแหงความไมมีทุกขเลยปรากฏขึ้นโดยสมควรแกการละไปของกิเลสอยางชัด แจง. เมื่อมีความรูสึกตอภาวะแหงความไมมีทุกขเลย แมเปนของชั่วขณะปติก็ เกิดขึ้น. การกําหนดรู แมทั้ง๔ ประการนี้ ก็ยังคงอิงอาศัยลมหายใจ ๘ ชนิด ดังที่กลาวแลวอีกนั่นเอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สรุปความวา อาการที่ปติจะเกิดขึ้นทั้ง ๑๖ อาการนี้ แมจะมีความ สูงต่ํากวากันอยางมากเพียงไร ก็ลวนแตอิงอาศัยลมหายใจเขา – ออกดวยกันทั้งนั้น เพราะฉะนั้นทานจึงกลาวเปนหลักวา “รูพรอมเฉพาะซึ่งปติ หายใจเขา – หายใจออกอยู” ดังนี้. ปติทุกชนิดในที่นี้ลวนเปนอารมณของอานาปานสติในขั้นนี้. ผูปฏิบัติ พึงฝก พึงทําใหเกิดขึ้นตามลําดับ และสมบูรณ จักไดชื่อวาเปนผูทําเต็มที่ในบท แหงการศึกษา กลาวคือ อานาปานสติขั้นที่หานี้.

www.buddhadasa.in.th


อานาปานสติภาวนา ตอน ๙

๒๔๘

การดําเนินการปฏิบัติตอปติ๑ การดําเนินการปฏิบัติใหกาวหนาตอไป โดยอาศัยปติทั้งหลายที่เกิดขึ้น เปนอารมณนั้น มีกรรมวิธีดังตอไปนี้ :ก. การรูพรอมเฉพาะซึ่งปติ เมื่อผูปฏิบัติไดทําใหปติเกิดขึ้นโดย อาการอยางใดยอยางหนึ่ง ในบรรดาอาการทั้ง ๑๖ อยางดังกลาวแลว ปรากฏชัด อยูในใจ อยูทุกขณะลมหายใจเขา – ออก ดังนี้แลวไดชื่อวา ผูนั้นเปนผูรูพรอม เฉพาะซึ่ ง ปติ หรื อ กล า วอี ก อยา งหนึ่ ง ก็ วา ป ติ เป น สิ่ ง ซึ่ งผู ป ฏิ บั ติ รู พร อ มเฉพาะ แลว. แตใจความสําคัญที่จะตองวินิจฉัย นั้น มีอยูวา การรูพรอมเฉพาะตอปตินั้น มีการรูซึ่งอะไรอีกบาง ? และรูดวยอาการอยางไร ?และมีอะไรเกิดขึ้นสืบตอไปจากการรูนั้น ? ซึ่งจะมีผลเปนความดับทุกขอยางใดอยางหนึ่งในที่สุด เต็มตามความหมายของการ ปฏิบัติขั้นนี้. คําตอบยอมมีดังตอไปนี้ :เมื่อปติเปนสิ่งที่ปรากฏชัดแลว โดยอาการอยางใดอยางหนึ่ง ในบรรดา อาการ ๑๖ อยางดังที่กลาวแลวขางตนดวยอํานาจของลมหายใจเขา – ออกที่เปนไป อยู ยอมกลาวไดวา เวทนาปรากฏ. ปติที่ตั้งอยูนั้นเอง ชื่อวาเวทนาในที่นี้ เพราะเปนสิ่งที่ถูกรูสึกโดยบุคคล ในฐานะที่เปนความรูสึกอยางหนึ่ง. ชื่อของปติ ถูกยักไปสูคําวาเวทนา เพื่อประโยชนแกการบัญญัติในทางธรรมอันสะดวกแกการ สั่งสอนเปนตน และโดยเฉพาะก็คือ ไมใหคําที่เปนคําสําคัญสําหรับการบัญญัติ หมวดหมูแหงธรรมะ มีมากคําเกินไป. แมคําวา “สุข” ซึ่งกลาวถึงในอานาปานสติ ชั้นที่ ๖ เปนตน ก็จะถูกจัดรวมเขาในคําวาเวทนานี้. นี้คือความหมายของ คําวา เวทนา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

การบรรยายครั้งที่ ๒๕ / ๒๙ กันยายน ๒๕๐๒

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๕ การกําหนดปติ

เมื่อถามวาเวทนาในที่นี้ปรากฏจากอะไร ? ลมหายใจเขา – ออก.

๒๔๙

ยอมกลาวไดวาปรากฏจาก

เมื่อถามวาปรากฏดวยอะไร ? ยอมตอบไดวา ปรากฏดวยสติ ซึ่งเปน เครื่องกําหนด. เมื่อถามวาการกําหนดนั้นไดแกอาการเชนไร ? ยอมตอบไดวา การ กําหนดมีอยูเปน ๒ อยาง คือ กําหนดในฐานะเปนอารมณ หรือเปนนิมิต เพื่อให จิตรวมเปนจุดเดียว เพื่อความเปนสมาธินี้อยางหนึ่ง, สวนอีกอยางหนึ่งเปนการ กําหนดในฐานะเปนลักษณะ คือมองใหเห็นความจริงวาสิ่งนั้น ๆ เปนอยางไร เชนวา สิ ่ง นั ้น ๆ ไมเ ที ่ย ง เปน ทุก ข เปน อนัต ตา ดัง นี ้เ ปน ตน เพื ่อ ใหเ ห็น ลัก ษณะ ตามที่เปนจริงของเวทนานั้น อันเปนไปเพื่อปญญา ไมใชเพื่อสมาธิ เพราะฉะนั้น สติจึงทําหนาที่ของญาณไปดวยในตัว คือการกําหนดเพื่อใหรูลักษณะ เมื่อมีการ รูลักษณะก็เทากับมีญาณเกิดขึ้น ; เพราะฉะนั้น การปฏิบัติในขั้นนี้ จึงมีทั้งสติ และทั้งญาณ ซึ่งทําใหกลาวไดสืบไปวา การรูพรอมเฉพาะซึ่งปติ นั้น ก็คือรูทั้งดวยสติ และทั้งญาณที่มีตอเวทนานั่นเอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สรุปความวา เวทนาอันเกิดจากการกําหนดลมหายใจ เปนสิ่งที่ ปรากฏ : สวนสติทําหนาที่เปนอนุปสสนาญาณ คือเปนตัวกําหนด เปนตัวรู และตัว รูสึก ไปดว ยเสร็จ . คํา วา เวทนา แมวา จะแปลวา รู หรือ รูสึก ก็ต าม หาใช เ ป น ตั ว สติ ไ ม เป น แต สิ่ ง ที่ ป รากฏเพื่ อ การได กํ า หนดสติ ซึ่ ง ทํ า หน า ที่ เ ป น

www.buddhadasa.in.th


๒๕๐

อานาปานสติภาวนา ตอน ๙

ญาณพรอมกันไปในตัว ผูปฏิบัติไดทําการ “ตามเห็น” ซึ่งเวทนานั้น ดวยสตินั้น ดวยญาณนั้น การกระทําอยางนี้เรียกวาภาวนาชนิด “สติปฏฐานภาวนา” ; และเนื่ อ งจากสติ ทํ า หน า ที่ พิ จ ารณาเวทนา จึ ง ได ชื่ อ เต็ ม ว า “เวทนานุ ป ส สนา สติปฏฐานภาวนา” ; และเนื่องจากภาวนานี้ เปนไปในปติตาง ๆ กัน ซึ่งเกิดขึ้น โดยอาการ ๑๖ ดังที่กลาวแลว ทานจึงเรียกชื่อการปฏิบัตินี้วา “เวทนานุปสสนา สติปฏฐานภาวนา ในเวทนาทั้งหลาย” ดังนี้. สิ่งที่จะตองพิจารณาตอไปก็คือ ผู ป ฏิบ ัต ินั ้น จะทํ า อนุป ส สนา กลา วคือ การตามเห็น ซึ ่ง ปต ิ หรือ เวทนานั ้น ดว ย สตินั้นหรือดวยญาณนั้น ดวยอาการอยางไร ? ข. การทําอนุปสสนาในปติ ในที่นี้ คือการตามเห็นซึ่งปติอันตั้งอยู ในฐานะเปนเวทนาอยางหนึ่งในที่นี้นั้นเอง. ขอนี้หมายถึง การพิจารณาใหเห็น ธรรมลักษณะ ของปตินั้น ไมใชพิจารณาอยางเปนองคฌานอยางในขั้นที่แลวมา ดังในอานาปานสติขั้นที่สี่. การพิจารณาใหเห็นธรรมลักษณะ หรือที่เรียกวา อนุปสสนา ในที่นี้ จําแนกเปน ๗ ระยะ ดวยกัน ดังจะไดพิจารณากันโดย ละเอี ย ด เพราะเป น สิ่ ง ที่ มุ ง หมายโดยตรงของการเจริ ญ อานาปานสติ นั บ ตั้ ง แต ขั้นนี้เปนตนไป คือ :-

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อนุปสสนาขั้นที่ ๑ คือการพิจารณาใหเห็นเวทนาหรือความรูสึกที่เปน ปตินั้น โดยความเปนของ ไมเที่ยง มิใชโดยความเปนของเที่ยง. เมื่อเห็นโดย ความเปนของไมเที่ยงอยู ยอมละนิจจสัญญา คือความสําคัญวาเที่ยงเสียได.

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๕ การกําหนดปติ

๒๕๑

อธิบายวา เมื่อผูปฏิบัติคอยเฝาติดตามกําหนดในเวทนาอยู ดวยการ กระทําในใจที่แยบคาย คืออยางละเอียดและถูกตอง ยอมสังเกตเห็นความ ไมเที่ยงโดยประการทั้งปวงของเวทนานั้น ไมมีทางที่จะเห็นวาเปนของเที่ยง ไปไดเลย ; แมจะเคยสําคัญวาเปนของเที่ยงมาแตกาลกอน ก็ยอมเกิดความ เขาใจถูกตองขึ้นในบัดนี้ วาเวทนาเปนสิ่งที่ไมเที่ยง จึงกลาววาจะละนิจจสัญญาได. สิ่งที่จะตองสังเกตไวเปนพิเศษ ตั้งแตบัดนี้ เพื่อความเขาใจการ ปฏิ บั ติ ธ รรมอย า งแจ ม แจ ง สื บ ไป ก็ คื อ ข อ ที่ จ ะต อ งสั ง เกตให เ ห็ น ว า เพี ย งคํ า ว า “เห็นความไมเที่ยง แลวละความสําคัญวาเที่ยงเสียได” เทานั้น มันหมายความกวาง ขวางไปถึงการเกิดของธรรมะเหลาอื่นซึ่งเกิดพรอมกันไปในตัว หรือเจริญงอกงาม ยิ่งขึ้นไปกวาเกา พรอมกันไปในขณะนั้น . ธรรมที่ก ลาวนั้น คือ สิ่งที่เรียกวา อิน ทรีย  พละ โพชฌงค มรรคมีอ งคแ ปด และธรรมอื ่น ๆ อีก หลายหมวด ดวยกัน แลวแตจะมองกันในแงไหน ; ไมใชมีความหมายงาย ๆ สั้น ๆ ลุน ๆ แตเพียงวา “เห็นความไมเที่ยง แลวก็ละความสําคัญวาเที่ยงเสียได” ก็หามิได. ขอ นี้ จ ะวิ นิ จ ฉั ย กั นข า งหน า ว า อาการเพี ย งเท า นั้ น จะเรี ย กร อ งมาซึ่ ง การเกิ ด แห ง ธรรมทั้ ง หลาย ตั้ ง มากมายได อ ย า งไรกั น . การที่ นํา กล า วเพี ย งเท า นี้ ก อ น ก็ เ พื่ อ เป น เครื่ อ งช ว ยให ผู ศึ ก ษาทราบว า ความหมายของคํ า หรื อ ประโยคที่ สั้ น ๆ ลุ น ๆ นี้ มั น มิ ไ ด มี อ ยู อ ย า งสั้ น ๆ ลุ น ๆ เหมื อ นประโยคหรื อ คํ า ที่ สั้ น ๆ ลุ น ๆ เหลา นั ้น เลย แตม ัน มีค วามหมายลึก ซึ ้ง และคาบเกี ่ย วกัน กับ ธรรมอื ่น อยา ง กวางขวาง. ถายังเขาไมถึงความลึกซึ้ง หรือความกวางขวางขอนี้ ก็อยาเพอ

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๒๕๒

อานาปานสติภาวนา ตอน ๙

ถือวาเปนผูเห็นความไมเที่ยง หรือละความสําคัญวาเที่ยงเสียไดเลย. เราพา กัน ฉงนตอ การปฏิบัติ วา ทํา ไมมัน จึง มืด มนและตายดา น หรือ รูก็รูอ ยา งทอ งจํา ไมรูสึกดวยใจจริงวามีแสงสวาง หรือละกิเลสได ทั้งนี้ ก็เนื่องจากการที่เราไมทําการ ศึกษาพินิจพิจารณา และปฏิบัติอยางแยบคาย โดยนัยที่กลาวนี้. สรุปความเฉพาะขอนี้วา การเห็นความไมเที่ยงนั้น ตองเห็นในตัวเวทนา จริง ๆ จนกระทั่งเกิดความเบื่อหนาย คลายกําหนัดไดจริง จึงจะเรียกวาเห็นความไมเที่ยง หรือละความสําคัญวาเที่ยงเสียได. นัยแหงคําอธิบายในขอนี้ พึงนําไปใชกับ ขออื่นที่ถัดไปดวยทุกขอ. อนุปสสนาขั้นที่ ๒ คือการตามเห็นเวทนาเหลานั้น โดย ความเปน ทุกข ไมใชโดยความเปนสุข. เมื่อเห็นอยูโดยความเปนทุกขยอมละสุขสัญญา คือความสําคัญวาสุขเสียได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เกี่ย วกับ ขอ นี้ พวกที ่เ ปน นัก ศึก ษาลว น ๆ และโดยเฉพาะอยา งยิ ่ง ผูแรกศึกษาที่ยังไมเคยปฏิบัติจะเกิดความฉงนวา สิ่งที่เรียกวาปตินี้เปนความสุข จะใหมองเห็นเปนทุกขไดอยางไรกัน ก็เลยสงสัยและเขาใจไมได. สวนเปนผูที่ ปฏิบัติโดยตรง และปฏิบัติมาโดยลําดับ ๆ มาจนถึงขั้นนี้ จะไมประสบปญหาหรือ เกิดความฉงนเชนนั้น เพราะอํานาจของปญญาที่สองลงไปลึกซึ้งยิ่งกวาอํานาจของ ความรูที่เกิดมาจากการศึกษา : กลาวโดยยอก็คือ เมื่อพิจารณาเห็นความไมเที่ยง เปนมายาหลอกลวงของเวทนาแลว ย อมเกิดความสลดสั ง เวช ความเบื่อ หนา ย ตอ เวทนานั ้น อยา งยิ ่ง จึง เห็น ลัก ษณะแหง ความทุก ข ซึ ่ง มีอ ยู ใ นเวทนานั ้น หรือ เกิดจากเวทนานั้นไดพรอมกันไปในตัว ; เขาจึงเห็นชัดซึ่งความทุกขของ เวทนานั้นอยางชัดแจง คือเห็นดวยความรูสึกที่กําลังเกิดอยูในใจโดยแทจริง ไมใช รูเอาดวยความคิด ๆ นึก ๆ อยางพวกนักศึกษา.

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๕ การกําหนดปติ

๒๕๓

นี่ แ หละคื อ ข อ ที่ ก ล า วว า สิ่ ง ที่ ใ ห เ กิ ด ความฉงนและติ ด ตั น แก นั ก ศึ ก ษา นั้น หาไดเปนสิ่งที่ทําใหเกิดความฉงนและติดตันแกนักปฏิบัติไม. โดยสวนใหญ นั ก ปฏิ บั ติ ย อ มปฏิ บั ติ ไ ปได โ ดยไม ต อ งมี ก ารศึ ก ษามากมาย เพราะมั น ไม มี ป ญ หา นอกลูนอกทาง ชนิดที่อาจจะเกิดขึ้นแกนักศึกษาอยางไมมีที่สิ้นสุด ; ฉะนั้น คํ า ว า เห็ น สุ ข เวทนาโดยความเป น ทุ ก ข จึ ง เป น คํ า กล า วที่ ถู ก ต อ งและเข า ใจได เฉพาะในวงของนักปฏิบัติเทานั้น. เมื่อเห็นอยูดังนี้ สิ่งที่เรียกวาสุขสัญญายอม ละไปในตัวมันเอง. อนุ ป ส สนาขั้ น ที่ ๓ คื อ การตามเห็ น เวทนาเหล า นั้ น โดยความเป น อนัตตา หาใชโดยความเปนอัตตาไม. เมื่อเห็นอยูโดยความเปนอนัตตา ยอม ละอัตตสัญญา คือความสําคัญวาตัวตนเสียได. คํ าอธิ บายข อนี้ อธิ บายได โดยง ายในเมื่ อทํ าให เนื่ องกั นกั บ ๒ ข อข างต น กล า วคื อ เมื่ อ เวทนาได แ สดงอาการของความไม เ ที่ ย ง และความเป น ทุ ก ข อ อกมา อย า งชั ด แจ ง แล ว ความรู สึ ก ก็ เ ดิ น เลยหรื อ เดิ น ต อ ไปได เ องว า เมื่ อ มั น เป น อย า งนี้ แล ว จะไปยึ ดถื อไดที่ ตรงไหนกั น ว ามั นเป นของเราหรือวามันเปนตัวมันเองก็ ตาม : ถามันเปนตัวของมันเองจริง ๆ มันก็ตองไมเปลี่ยนแปลงไปตามความปรุงแตงของเหตุ ปจจัย ; และถามันเปนสิ่งที่สมควรจะเรียกวา “ของเรา” ได มันตองไมทําความ ทุ กข ให เกิ ดขึ้ นแก เรา หรื อไม ทํ าความสลดสั งเวชระอาใจให แก เราผู เข าไปพิ จารณา เห็นอยูอยางนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ขอย้ํ า อี ก ครั้ ง หนึ่ ง ว า การเห็ น อนั ต ตาในลั ก ษณะอย า งนี้ ยิ่ ง มี ไ ด ย าก แกผูที่เปนเพียงนักศึกษาลวน ๆ ยิ่งขึ้นไปอีก. ทั้งนี้ มีมูลมาจากการที่ไมสามารถ มองเห็น โดยความเปน ทุก ขม าแลว ในขั ้น กอ นนั ่น เอง ความรู ส ึก วา เปน อนัต ตา จะต อ งมาจากความรู สึ กว าเป นทุ กข จริ ง ๆ เช นเดี ยวกั บความรู สึ กว าเป นทุ กข จริ ง ๆ

www.buddhadasa.in.th


๒๕๔

อานาปานสติภาวนา ตอน ๙

จะต อ งมาจากความไม เ ที่ ย งจริ ง ๆ อย า งเดี ย วกั น ลํ า พั ง ความรู ที่ ม าจากการคิ ด ค น คํานวณตามเหตุผล เปนตนนั้น ไมทําใหเขาถึงสิ่งนั้นได กลาวคือ ไมอาจทําใหเกิด ความรูสึกเชนนี้ขึ้นมาได. โดยเหตุนี้ ยอมเปนการชี้ใหเห็นอยูในตัววา อยูเฉย ๆ ก็จะโผลออกมาศึกษาเรื่องอนัตตาโดยคิดเอา ๆ นั้น เปนสิ่งที่ไมไดผลในทางที่ จะทําลายกิเลส จะไดผลก็เพียงแตความรูสําหรับคิด หรือสําหรับพูดสําหรับสอน กันมาก ๆ เทานั้นเอง. จากการปฏิบ ัต ิเ ทา ที ่เ ราไดว ิน ิจ ฉัย กัน มาแลว ยอ มแสดงใหเ ห็น ชัด อยู แ ล ว ว า เขาจะต อ งมี จิ ต ที่ ไ ด รั บ การฝ ก ฝนมาก อ นแล ว เป น อย า งดี คื อ เป น สมาธิ หรื อ เป น ฌาน เป น จิ ต ที่ ไ วหรื อ คล อ งแคล ว ต อ การซึ ม ทราบและการรู แ จ ง แทงตลอด อยางนยิ่งมาแลว แลวจึงหยิบสิ่งใดสิ่งหนึ่งขึ้นมาพิจารณา ; และสิ่งที่หยิบขึ้นมา พิจ ารณานั ้น ตอ งเปน สิ ่ง ที ่ป รากฏหรือ รู ส ึก แจม ชัด อยู ใ นใจจริง ๆ เชน สิ ่ง ที่เรียกวาปติ หรือเวทนาในที่นี้นั่นเอง ; จะใชวัตถุภายนอกหาไดไม. ฉะนั้น เขาจึงจําเปนอยางยิ่งที่จะตองทําปติ หรือ เวทนาชนิดนี้ ใหปรากฏอยูกับใจจริง ๆ ขึ้นมาใหได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทําไมจึงตองใชคําวา “เวทนาชนิดนี้” ดวยเลา ? ทั้งนี้ เพราะวาเวทนา ชนิด ที ่อ าศัย กามเปน ตน นั ้น ไมส ามารถนํ า มาใชเ ปน วัต ถุสํ า หรับ การพิจ ารณา ในทํ า นองนี ้ไ ด จะตอ งใชเ วทนาเชน ปต ิที ่อ าศัย ธรรมะ หรือ อาศัย เนกขัม มะ กลาวคือ ไมเกี่ยวกับกามเลย มาเปนตัวสิ่งที่จะถูกพิจารณา ; เพราะฉะนั้น เขาจึง จําเปนจะตองสราง “ปติชนิดนี้” ขึ้นมาใหไดเสียกอน ดวยการปฏิบัติอีกระบบหนึ่ง ให มั น เกิ ด ขึ้ น มาในใจได จ ริ ง ๆ ไม ใ ช พู ด เอาด ว ยปากของนั ก ศึ ก ษาว า ป ติ เ ป น อยางนั้นปติเปนอยางนี้ ซึ่งมันเปนปติลม ๆ แลง ๆ ไมใชปติตัวจริง. ปติชนิดนั้น ไม แ สดงลั ก ษณะแห ง อนิ จ จั ง ทุ ก ขั ง อนั ต ตา ที่ แ ท จ ริ ง ได เพราะมั น เป น เรื่ อ งที่

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๕ การกําหนดปติ

๒๕๕

พู ด กั น ข า งนอก มิ ไ ด เ ป น ตั ว ความรู สึ ก ที่ กํ า ลั ง เกิ ด อยู ใ นภายใน มั น จึ ง ไม ส ามารถ ทํ า ใหก รรมวิธ ีข องการเห็น อนิจ จัง ทุก ขัง อนัต ตา เปน ไปไดอ ยา งที ่เ ราตอ งการ ในที่นี้ คือใหเปน สิ่งที่รูสึก ดวยความรูสึก, ซึบซาบอยูดวยความรูสึก, เปลี่ยนแปลง ไปตามความรูสึก และเปลี่ยนความรูสึกหนึ่ง ๆ ใหเปนความรูสึกอยางอื่น ๆ ไปตามลําดับ จนกระทั่ งถึ งความเบื่ อหน ายคลายกํ าหนั ด ชนิ ดที่ นํ าไปสู การบรรลุ มรรคผลในที่ สุ ด. ทั้ งหมดนี้ เป นสิ่ งที่ ต องทํ าความเข าใจ เพื่ อให เห็ นความแตกต างระหว างคํ าว า การ ศึกษาลวน ๆ และคําวา การปฏิบัติอยางแทจริง วาทั้งสองอยางนี้มันมิใชสิ่งที่ใช แทนกันไดเลย. เมื่ อ รู สึ ก ในความเป น อนั ต ตาของเวทนาได อ ย า งแท จ ริ ง โดยนั ย ดั ง ที่ กล า วแล ว กิ เ ลสหรื อ สิ่ ง ที่ เ รี ย กว า อั ต ตสั ญ ญา ย อ มละไปในตั ว เอง โดยไม ต อ ง เจตนา. การที่จะละขาดเลยหรือละชั่วคราวนั้น ยอมแลวแตกําลังของความเห็น แจง วามีอยูมากนอยเพียงไร. ถาละขาดเลย ก็หมายถึงความเปนพระอรหันต. ในขณะแหงการปฏิบัติทั่ว ๆ ไป ยอมเปนการรํางับไปเพียงชั่วคราว แตก็ตั้งอยู ในฐานะเปนรากฐานสําหรับการปฏิบัติขั้นตอไปจนกวาจะถึงที่สุดนั่นเอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ฉะนั้น ขอใหเขาใจความหมายของคําวา “การละอัตตสัญญา” เปนตน ในการปฏิบ ัต ิขั ้น นี ้ วา มีข อ เท็จ จริง หรือ ตั ้ง อยู ใ นฐานะเชน นี ้ หรือ เพีย งเทา นี ้ ; แตเรื่องอาจจะเปนไปไดถึงกับวา ถาสิ่งตาง ๆ เชนอินทรียเปนตน ของบุคคลผูปฏิบัติ เปนไปอยางเต็มที่ในขณะนั้น ความเห็นแจงแทงตลอดยอมดําเนินไปถึงขั้นของการบรรลุ อรหัตตผลได แมในลําดับแหงอานาปานสติขั้นที่หา นี้ ซึ่งเปนการเพียงพอแลว ที่จะ บรรลุถึงผลที่สุดในกรณีของบุคคลผูเปนเชนนั้น. แตขอความที่กลาวมาแลว และ จะกล า วต อ ไปนี้ กล า วสํ า หรั บ บุ ค คลในกรณี ธ รรมดา ๆ ทั่ ว ไปหรื อ เป น การกล า ว อยางละเอียดเพื่อใหครบถวนเปนสวนใหญ.

www.buddhadasa.in.th


๒๕๖

อานาปานสติภาวนา ตอน ๙

เธอยอมเกิด ความเบื่อหนาย (นิพพิทา) อนุปสสนาขั้นที่ ๔๑ ตอ เวทนานั ้น มิใ ชเ พลิด เพลิน .เมื ่อ เบื ่อ หนา ยอยู  ยอ มละความเพลิด เพลิน เสียได. ขอ นี ้อ ธิบ ายวา เมื ่อ เห็น เวทนานั ้น โดยความไมเ ที ่ย ง เปน ทุก ข เปนอนัตตา ดังที่กลาวแลวในขั้น ๑ - ๒ - ๓ ความรูสึกยอมเกิดขึ้นเปนความ เบื ่อ หนา ย แมใ นสิ ่ง ซึ ่ง เรีย กวา ปต ินั ้น ไมม ีท างที ่จ ะรู ส ึก เพลิด เพลิน หรือ หลัง รัก หลงพอใจในเวทนาเชน นั้น . แมอ าการเชน นี้ก็เ รีย กวา “การรูพ รอ ม เฉพาะซึ่งปตินั้น” ดวยเหมือนกัน เพราะปติก็ปรากฏอยู, ลักษณะไมเที่ยง เปน ตน ของปติ ก็ป รากฏอยู. ความเบื่อ หนา ยอัน มีมูล มาจากการเห็น ความ ไมเที่ยงเปนตนของปตินั้น ก็กําลังปรากฏอยู หรือรูสึกอยู ; สิ่งที่จะตองสังเกต มีอยูวา สิ่งที่เรียกวาปติหรือเวทนานั้น ตองปรากฏอยูดวยเสมอไป มิฉะนั้นความเบื่อหนาย ยอมไมมีที่ตั้ง และไมเปนไปอยางมั่นคง แตจะเปนไปอยางหละหลวม เหมือนกับความ เบื่อหนายที่นักศึกษาคิดๆ นึก ๆ เอาดวยสิตปญญาตามแบบของตน. การฝกฝนจิตมาแลว ตามวิธีที่กลาวแลวขางตน ทําใหจิตมีสมรรถภาพ สามารถกําหนดปติ กําหนด ลักษณะไมเที่ยง เปนตนของปติ ใหตั้งอยูเปนพื้นฐานของความเบื่อหนายได ตลอดเวลา จึงเกิดมีความเบื่อหนายอยางแทจริง และเปนอยางมั่นคง จัดเปน ความเบื่ อ หน า ย ตามแบบของนั ก ปฏิ บั ติ ซึ่ ง แตกต า งจากความเบื่ อ หน า ยชนิ ด ที่ มาจากการคํานึงของพวกนักศึกษาอยางสิ้นเชิง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

การบรรยายครั้งที่ ๒๖ / ๓๐ กันยายน ๒๕๐๒

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๕ การกําหนดปติ

๒๕๗

สิ่งที่ตองทําความเขาใจอีกอยางหนึ่งก็คือ ความหมายของคําวาเบื่อหนาย ซึ่ ง มี อ ยู แ ตกต า งกั น เป น ชั้ น ๆ เช น เบื่ อ หน า ยเพราะซ้ํ า ซาก เหมื อ นกั บ กิ น อาหาร ซ้ําซากก็เกิดความเบื่อหนาย ดังนี้ก็มี ; หรือสิ่งบางสิ่งทําความรําคาญรบกวนให ไมมีที่สิ้นสุด ก็เกิดความเบื่อหนายตอสิ่งนั้นขึ้น ดังนี้เปนตนก็มี ; ความเบื่อหนาย ตามความหมายแหงภาษาไทยในตัวอยางที่ยกมานี้ ใชกันไมไดกับคําวา เบื่อหนาย (นิพพิทา) ตามความหมายในภาษาบาลี และโดยเฉพาะอยางยิ่งที่เปนภาษาฝาย ธรรมะ. ความเบื่อหนายตามทางธรรมนั้น ตองมีมูลมาจากการเห็นความไมเที่ยงเปนตน อยางชัดแจงกอนแลว จึงเกิดความระอา หรือความกลัว หรือความขยะแขยงเปนตน ตอ การที ่จ ะยึด ถือ สิ ่ง นั ้น วา เปน ตัว ตน หรือ เปน ของของตน หรือ แมที ่ส ุด แตก าร คิดวาจะรักหรือพอใจตอสิ่งเหลานั้น. นี้แสดงใหเห็นไดชัดแลววา ความเบื่อหนาย ตามแบบธรรมะนี้ ตองมีความสลดสังเวชเปนพื้นฐาน. เมื่อเบื่อหนายอยูดังนี้ ก็ละ ความเพลิดเพลินตอเวทนานั้น ๆ เสียได : แมปตินั้นจะมีรสชาติเปนความสุขหรือ เปนที่นาจับใจเพียงไร ก็ไมกอใหเกิดความเพลิดเพลิน (นันทิ) หรือความพอใจ ตอ ปต ินั ้น ได เชน เดีย วกับ บุค คลเห็น สิ ่ง ที ่ส วยงาม แตรู ว า เปน อัน ตรายตอ ชีว ิต ก็หาอาจพอใจในความงามนั้นไดไม ฉันใดก็ฉันนั้น. การเห็นความไมเที่ยง เป น ทุ ก ข เป น อนั ต ตานั้ น เอง เป น การเห็ น ส ว นที่ เ ป น อั น ตรายต อ ชี วิ ต ของสิ่ ง ที่ มี ความสวยงามเหลานั้น และทําใหความสวยงามเหลานั้นหมดอํานาจหรือหมดอิทธิพล ไปไดโ ดยสิ ้น เชิง ความเบื ่อ หนา ยจึง ตั ้ง อยู ไ ดโ ดยมั ่น คง ไมม ีท างที ่จ ะยอ นกลับ ไปสู ความเพลิ ดเพลินได อีก ตลอดเวลาที่ สามารถกํ าหนดเห็ นความไมเที่ ยงเป นต น ของเวทนานั้นอยูโดยประจักษชัด คือซึมซาบอยูในใจจริง ๆ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อนุปสสนาขั้นที่ ๕ เธอยอม คลายกําหนัด ตอเวทนานั้น หามีความ กําหนัดไม ; เมื่อคลายกําหนัดอยู ยอมละความกําหนัดนั้นเสียได.

www.buddhadasa.in.th


๒๕๘

อานาปานสติภาวนา ตอน ๙

สิ่งที่ตองทําความเขาใจในขอนี้ คือ ความหมายคําวา กําหนัด คําวากําหนัดในภาษาบาลี คือคําวา ราคะ หรือ สาราคะ ; หมายถึงความรักที่ติด แนนอยูเปนนิสัยในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง โดยไมตองจํากัดวาเปนที่ตั้งแหงกามารมณหรือไม เพราะฉะนั ้น จึง ใชคํ า นี ้ แมแ ตแ กว แหวนเงิน ทอง ทรัพ ยส มบัต ิสิ ่ง ของทุก ชนิด ก็ไ ด, แมใ นสิ่ง ที่เ ปน นามธรรม เชนเกีย รติย ศ ชื่อ เสีย ง หรือ แมแ ตบุญ กุศ ล ก็ได ; ทําใหเห็นไดชัดวาแตกตางอยางที่จะเทียบกันไมได จากคําวากําหนัดใน ภาษาไทย ซึ่งหมายถึงความกําหนัดในทางกามารมณอ ยางเดียว ผูศึกษาจะตอ ง สั ง เกตให เ ห็ น ความกลั บ กลอกของภาษา ที่ ถ า ยทอดกั น ไปมาในลั ก ษณะเช น นี้ ใ ห เข า ใจไว อ ย า งชั ด แจ ง เพื่ อ ความสะดวก หรื อ เป น ผลดี ใ นการศึ ก ษาธรรมะ ซึ่ ง สว นมากมัก จะสับ สนอยา งนี้. สํา ในกรณีนี้ ความกํา หนัด หมายถึง กํา หนัด ในเวทนา คือในตัวปติ. ความกําหนัดในเวทนาเชนนี้ มีความหมายสูงขึ้นไป จนกระทั่งถึงความปติในธรรม แมที่สูงไปกวาปติในองคฌาน ทั้งนี้ เพราะวา ไมวา ปติชนิดไหนยอมลวนแตเปนที่ตั้งแหงความจับฉวยเอาดวยใจ ดวยอาการอันแนบเนียน แนแฟน เหมือนน้ําฝาดที่ยอมติดผา ยากที่จะหลุดออกไดดวยกันทั้งนั้น ; นี้สมตาม ความหมายของคําวา ราคะ ซึ่งมูลรากของศัพทแปลวา “ยอม” แตเรามาเรียกกัน ในภาษาไทยวา “กํา หนัด” สุข เวทนาทุก อยา งทุกชนิด เมื่อ ผูนั้น รูสึก วา เปน สุข เวทนาแลว ยอ มเปน ที ่ตั ้ง แหง ความกํ า หนัด เสมอกัน และตั ้ง อยู ใ นเกณฑ อันเดียวกัน ในการที่จะปฏิบัติเพื่อเอาชนะสิ่งเหลานี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ขอที่กลาววา “เมื่อเบื่อหนายก็คลายกําหนัดนั้น” แสดงอาการวา เปนเหตุผลของกันและกัน เมื่อเบื่อหนายในเวทนาโดยนัยที่กลาวมาแลวในขอสี่

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๕ การกําหนดปติ

๒๕๙

ก็ยอมเกิดอาการที่เปนการจางคลายออก ของความกําหนัดนั้น แตเปนสิ่งที่มีระยะ ติ ด ต อ กั น อย า งใกล ชิ ด เพราะเป น เรื่ อ งทางฝ า ยจิ ต ซึ่ ง มี ค วามรวดเร็ ว ชนิ ด ที่ ย าก จะหาอะไรมาเปรียบได. ตัวอยางเชนเมื่อคน ๆ หนึ่งจับไฟเขา พอรูสึกวาสิ่งที่จับ เปนไฟ ก็ยอมรูสึกกลัวไมอยากจับและปลอยมือ ; อาการที่อามือปลอยนั่นเอง เรียกวาคลาย หรือคาย จากความกําหนัด ซึ่งเปรียบไดกับการจับ สวนอาการของ ความกลัวตอไฟ ซึ่งเปรียบกันไดกับความเบื่อหนายนั้น แทบจะไมมีเวลารูสึกเลย แต ก็ เ ป น สิ่ ง ที่ มี อ ยู อ ย า งเต็ ม ที่ และทํ า หน า ที่ ข องมั น โดยอั ต โนมั ติ คื อ ทํ า ให ป ล อ ย มือจากการจับโดยเร็วที่สุดเทาที่จะเร็วได. เรื่องทางรางกายหรือทางประสาทนี้เปน อย างไร เรื่ องทางนามธรรมที่ เป นส วนลึ กทางจิ ตใจ หรื อทางวิ ญญาณ ก็ มี อาการ ที่เปนไปโดยทํานองเดียวกันอยางนั้น. อาการแหงอนุปสสนาหรือการตามเห็น ในระยะที่หานี้ ก็ตองมีหลักเกณฑอยางเดียวกันกับขอตน ๆ คือ เวทนาซึ่งประกอบ อยูดวยลักษณะแหงความไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตานั้น ตองเปนสิ่งที่ตองปรากฏชัดอยู ในฐานะที่เปนสิ่งที่ถูกวางออกไปแลว เหมือนกับบุคคลในตัวอยาง ที่วางดุนไฟออกไป แลว ดุ น ไฟนั ้น ก็ป รากฏชัด อยู ใ นฐานะเปน ดุ น ไฟที ่ว างแลว ฉัน ใดก็ฉ ัน นั ้น . ผูป ฏิบั ติใ นที่ นี้ เปน ผูรู พร อ มเฉพาะต อ ป ติใ นฐานะที่ เป นดุ นไฟที่ ปล อ ยออกไปแล ว เป น แต สั ก ว า ป ติ ซึ่ ง เป น ของธรรมชาติ ธ รรมดาอั น หนึ่ ง ซึ่ ง บั ด นี้ เ ขาไม มี ค วาม กําหนัดตอมันแลว ; นี้เรียกวาคลายกําหนัดตอเวทนานั้น. เมื่อเปนอยูอยางนี้ ชื่อ ว าย อ มละความกํ าหนั ดในเวทนานั้ นเสี ย ได เรี ยกว าเป นผู รู พร อ มเฉพาะตอ ป ติ ดวยเหมือนกัน แตเปนปติในระยะที่ถูกวาง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อนุปสสนาขั้นที่ ๖ เธอยอม ดับ เสียซึ่งเวทนานั้น หาใชยอมกอขึ้น ไม ; เมื่อดับอยู ยอมละการกอขึ้นเสียได.

www.buddhadasa.in.th


๒๖๐

อานาปานสติภาวนา ตอน ๙

คําวา “ดับเสียไดซึ่งเวทนา” นั้น มีความหมายเฉพาะของมันเอง โดย สรุปก็คือ ดับความหมาย หรือ ดับคุณคาของเวทนา ทําใหเวทนาหมดคา หมดความ หมาย หมดกําลัง หมดอํานาจ ในการที่จะกอใหเกิดความทุกขขึ้นไดอีกตอไป. นี้คือความหมายของ การดับที่แทจริงและยั่งยืน. ขอนี้หมายความวา แมจะมี สัมผัสหรือมีเวทนาอยางเดียวกันเกิดขึ้นอีก จิตก็ไมมีความรูสึกในทางที่จะกําหนัด หรือยึดถือ เหมือนในกาลกอน จะเกิดขึ้นมาอีกสักเทาไร ๆ ก็ไมถูกยึดถือ หรือถูกทําใหมีความหมาย สําหรับยึดถืออยางใดอยางหนึ่งขึ้นมาอีก ; ความทุกขก็ไมอาจเกิดขึ้นจากเวทนานั้น. นี้คือ ความหมายของคําพูดสั้น ๆ ที่วา “ยอมดับเวทนานั้นเสีย”. โดยใจความ หมายถึง การขจั ด อํ า นาจหรื อ อิ ท ธิ พ ลของเวทนานั้ น เสี ย ไม ใ ห ก อ ทุ ก ข ขึ้ น มาได จะเกิ ด ขึ้ น หรือมีอยูก็มีคาเทากับไมมี : ปติหรือเวทนานั้น ปรากฏชัดอยูตอหนา ในฐานะ ที ่เ ปน ดุ น ไฟที ่ด ับ เย็น สนิท แลว ไมม ีอ ัน ตรายอีก ตอ ไป และเธอก็รู พ รอ มเฉพาะ ตอปติ ซึ่งดับเย็นไปแลวนั้นอยูในระยะนี้. เมื่ อ ดั บ อยู อ ย า งนี้ ก็ ชื่ อ ว า เป น การละการก อ ขึ้ น เสี ย ได คื อ ละการก อ ทุ ก ข ขึ้ น เสี ย ได นั่ น เอง เหมื อ นกั บ ดุ น ไฟที่ ดั บ เย็ น สนิ ท แล ว ไม อ าจจะถู ก จุ ด ให ลุ ก เปนไฟขึ้นมาอีกได ดวยอํานาจของสติและญาณ ดังที่กลาวแลวขางตน. แมนี้ ก็เรียกวาเปนผูรูพรอมเฉพาะตอปติ แตเปนปติในระยะที่ดับเย็นสนิท.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อนุปสสนาขั้นที่ ๗ เธอยอม สละคืน ซึ่งเวทนานั้น หาใชยอมถือ เอาไม : เมื่อสละคืนอยูยอมละการถือเอาเสียได.

ข อ นี้ เ ป น อาการขั้ น สุ ด ท า ยของการกํ า หนดป ติ หรื อ รู พ ร อ มเฉพาะต อ ปตินั้น : กลาวอยางรวบรัดก็คือ บัดนี้ ดุนไฟที่ดับเย็นสนิทแลวนั้นถูกขวางทิ้งไป ไมมีการจับกุมมันอีกตอไป. ปติหรือเวทนานั้น ตั้งอยูในฐานะเปนสิ่งที่ถูกปฏิเสธ หรือถูกบอกปดโดยสิ้นเชิง ซึ่งเรียกโดยโวหารแหงภาษาบาลีวา การสลัดคืน หรือ

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๕ การกําหนดปติ

๒๖๑

การสละคืน ซึ่งถากลา วโดยสมมติ ก็คือ เปน การคืนใหธ รรมชาติไ ป ไมห ลง ยึดถือไวดวยความกําหนัดดังแตกอน. สิ่งที่เหลืออยูไดรวมตัวกลายเปนธรรมชาติ ไปหมด ดวยเหตุนั้น. สิ่งตาง ๆ ไมวาอะไรหมด มีคาหรือถูกยึดถือขึ้นมา ก็เพราะ มันอํานวยใหเกิดสุขเวทนานั่นเอง : เมื่อสิ่งที่เรียกวาสุขเวทนา ถูกทําใหหมดคา หรือ ถูก สละคืน ไปเพีย งสิ่ง เดีย วเทา นั้น สิ่ง ตา ง ๆ ทุก สิ่ง ซึ่ง จะมีอ ยูกี่สิ่ง ก็ต าม ก็เทากับหมดคา หรือถูกขวางทิ้งตามไปดวยกันจนหมดสิ้น, เพราะฉะนั้น คํากลาว ที่กลาวอยางสั้น ๆ วา “สลัดคืนซึ่งเวทนา” นั้น เปนคํากลาวที่มีความหมาย คลอบคลุมไปถึงสิ่งทุกสิ่งดวย. เมื่อผูปฏิบัติสามารถสละคืนไดดวยอาการ อยา งนี ้แ ลว เรื ่อ งก็ถ ึง ที ่ส ุด คือ เปน การสละคืน สิ ่ง ทั ้ง ปวงโดยสิ ้น เชิง และ จบกิจพรหมจรรยกันเพียงนี้. แตบัดนี้เนื่องจากการปฏิบัติในขั้นนี้ เปนการ ปฏิบัติของบุคคลผูมีคุณธรรม เชนอินทรียเปนตน ยังไมแกรอบ การเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เปนตน ตลอดจนถึงความเบื่อ หนายคลายกําหนัด ยังไมเปนไป ถึงที่สุด คือยังอยูในลักษณะที่ยังตองควบคุมอยูเสมอ การปฏิบัติจึงยังคงมีอยูตอไป ฉะนั้น ทานจึงกลาววา “เปนผูรูพรอมเฉพาะตอปติ” หรือ “เปนผูตามเห็น ซึ่งเวทนานั้น อยู” ดวยอาการอยางนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อนุปสสนา หรือการตามเห็นทั้ง ๗ ลําดับนี้ เปนอาการของการ ตามเห็นซึ่งเวทนา ดวยสตินั้น ดวยญาณนั้น ; หรือเรียกอีกอยางหนึ่งก็คือ เปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งปติ หายใจเขาอยู – หายใจออกอยู. การกระทําอยางนี้เรียกวา การเจริญภาวนา ซึ่งเราควรจะไดวินิจฉัยในคํา ๆ นี้กันบางตามควร เพื่อความ เขาใจในการกระทําที่เราจะตองทํานี้ ยิ่ง ๆ ขึ้นไป.

www.buddhadasa.in.th


๒๖๒

อานาปานสติภาวนา ตอน ๙

ความเปนภาวนา ความหมายของคําวา ภาวนา โดยตัวหนังสือนั้น แปลวา การทําให มีขึ้น หรือ การทําใหเจริญขึ้น ; แตในทางปฏิบัติในที่นั้น จะเรียกวา ภาวนา ได ก็ ต อ เมื่ อ ได ทํ า ให เ กิ ด ขึ้ น แล ว จริ ง ๆ หรื อ ได ทํ า ให เ จริ ญ ขึ้ น แล ว จริ ง ๆ เท า นั้ น ฉะนั้น ถอยคําเชนคําวา สติปฏฐานภาวนา จึงหมายถึงการทําการกําหนดดวยสติ ที ่ไ ดทํ า ไปแลว จริง ๆ เทา นั ้น ดัง เชน การตามเห็น ปต ิห รือ เวทนาอยู  ดว ยอาการ ทั้งเจ็ ด ดั งที่ กล าวแล วข างต น จึ งจะเรี ยกว าภาวนาที่ ถู กต อง ตรงตามความหมาย. ในกรณีของอานาปานสตินี้ ทานจํากัดความของคําวาภาวนาไว ๔ อยาง คือ :๑. ชื่อวาภาวนา เพราะมีความหมายวา ความไมกาวกาย ก้ําเกิน ซึ ่ง กัน และกัน ของธรรมที ่เ กิด ขึ ้น แลว ในการกํ า หนดดว ยสตินี ้ เปน สิ ่ง ที ่ป รากฏ ชัดแลว จึงถือวาสติปฏฐานนี้ เกิดแลว หรือเจริญแลว ; ๒. ชื่อวาภาวนา เพราะธรรมทั้งหลายมีอินทรียเปนตน ซึ่งรวมกัน ทํากิจอันเดียวกัน เพื่อเกิดผลอยางเดียวกัน ปรากฏชัดแลว ; ๓. ชื่อภาวนา เพราะวาการกระทํานั้น นําใหเกิดความเพียงพอ เหมาะสมกับธรรมนั้น ๆ และอินทรียนั้น ๆ : และ ๔. ชื่อภาวนา เพราะเปนที่สองเสพอยางมากของจิต.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อธิ บายโดยโวหารธรรมดา ที่ สามารถใช ได ในกรณี ที่ เป นการทํ าความดี โดยทั่ ว ๆ ไป มี อ ยู ว า การประสบความสํ า เร็ จ ย อ มหมายถึ ง การกระทํ า ให เ กิ ด สิ ่ง ที ่ค วรทํ า ใหเ กิด เพราะการกระทํ า นั ้น พอเหมาะพอสม และมีข อบเขตจํ า กัด วา เทา ไรและเพีย งไร ไมใ ชเ ปด กวา งจนไมม ีที ่สิ ้น สุด ซึ ่ง ไมม ีท างที ่จ ะลุถ ึง ได. สิ่งที่ทําใหเกิดขึ้นมานั้น แตละสิ่งตองเขารูปเขารอยตอกัน คือประสานกันได

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๕ การกําหนดปติ

๒๖๓

ไม ก า วก า ยก้ํ า เกิ น กั น เช น การเห็ น อนิ จ จั ง พอเหมาะกั บ การทํ า ให เ ห็ น ทุ ก ข หรื อ เปน ไปในทางที่จะใหเ ห็น ทุก ข ; การเห็น ทุก ข ก็พ อเหมาะหรือ เปน ไปในทาง ที่จะใหเห็นอนัตตา ; เห็นอนัตตา ก็พอเหมาะหรือเปนไปในทางที่ใหเบื่อหนาย หรือคลายกําหนัดดังนี้ เปนตน จึงจะเรียกวา “ภาวนา” หรือความเจริญ. ยกตัวอยางงาย ๆ ดวยอุทาหรณในปจจุบัน : วิชาความรู หรือความ เจริ ญ ก า วหน า ไม เ หมาะส ว น ในทางที่ จ ะเป น ไปเพื่ อ สั น ติ จึ ง เป น ไปในทางที่ จ ะ วุนวาย มากกวาสวนที่จะเปนไปทางสันติ. นี้แสดงวาบางอยางนอยไป บางอยาง มากไป บางอย า งก า วก า ยกั น บางอย า งบี บ บั ง คั บ กดดั น ไปในทิ ศ ทางอื่ น ดั ง นี้ เปนตน จึงไมประสบสิ่งที่เรียกวาภาวนา หรือความเจริญ นี้อยางหนึ่ง. อยางที่ ถัดไป หมายถึงความกลมเกลียวของสิ่งที่เปนเครื่องมือ : เครื่องมือทุกชิ้นทุกชนิด หรื อ มื อ ทุ ก มื อ ต อ งร ว มกั น มุ ง ทํ า สิ่ ง ๆ เดี ย วกั น ถ า มิ ฉ ะนั้ น สิ่ ง ที่ เ รี ย กว า ภาวนา จักไมเกิดขั้น ; ตัวอยางเชนในโลกนี้ มีวิชาความรูมากมายหลายสิบหลายรอยแขนง แต ไม ถู กรวมกั นและนํ าไปใช เพื่ อสร างสิ่ ง ๆ เดี ยวกั น คื อสั นติ มี การแตกแยกกั นไป ตามทางที่ตัวตองการ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org การปฏิ บั ติ ธ รรมในทางจิ ต ธรรมะประเภทที่ เ ป น เครื่ อ งมื อ ทุ ก อย า ง ต อ งถู ก นํ า ไปใช ร ว มกั น เพื่ อ จุ ด ประสงค เ พี ย งอย า งเดี ย ว ตามที่ ต นต อ งการอยู ใ น ขณะนั้น : ถาผิดจากนี้ ยอมไมเกิดสิ่งที่เรียกวาภาวนา. พระพุทธภาษิตมีอยูวา ปฏิปทาอาศัยลาภก็อยางหนึ่ง, ปฏิปทาเปนไปเพื่อนิพพานก็อีกอยางหนึ่ง, (อฺา หิ ลาภูปนิสา อฺา นิพฺพานคามินี) : หมายความวา การกระทํา มีร ูป รา งเหมือ นกัน แตค วามมุ ง หมายอาจจะตา งกัน เชน รัก ษาศีล เครง ครัด เพื่อไดลาภก็ได รักษาศีลเครงครัดเพื่อทําลายความเห็นแกตัวก็ได ; อยางแรก เป น ไปเพื่ อ ลาภ อย า งหลั ง เป น ไปเพื่ อ นิ พ พาน ทั้ ง ที่ รู ป แห ง การกระทํ า เหมื อ นกั น .

www.buddhadasa.in.th


๒๖๔

อานาปานสติภาวนา ตอน ๙

ในการทํ าความเพี ยร หรื อการทํ าสมาธิ หรื อการทํ าวิ ปสสนาเป นต น ก็ มี คํ าอธิ บาย อยางเดียวกัน. เมื่อธรรมเหลานี้ไมสุจริตติดตอกัน ไมเสมอกัน ไมซื่อตรงตอกัน เพราะอํ า นาจตั ณ หาและทิ ฏ ฐิ เ ป น ต น ลู บ คลํ า อย า งใดอย า งหนึ่ ง แล ว ธรรมที่ เ ป น เหมื อ นยานพาหนะ หรื อ เครื่ อ งมื อ ทั้ ง ปวง ก็ ไ ม มี ร สหรื อ กิ จ เป น อั น เดี ย วกั น สิ่ ง ซึ่ ง เรียกวาภาวนาในขั้นนี้ก็ไมปรากฏ ; นี้อยางหนึ่ง. อย า งที่ ถั ด ไปอี ก คื อ การกระทํ า นั้ น ๆ ต อ งเป น การนํ า ความเพี ย รไป ตรงจุ ด ของสิ่ ง ที่ ต อ งการให เ กิ ด ขึ้ น รวมทั้ ง วั ต ถุ ป ระสงค ข องสิ่ ง ที่ จ ะต อ งใช เ ป น เครื่อ งมือ นั้น ดว ย. การกระทํา ใด ๆ ที่ไ มส ามารถประมวลกํา ลัง ความเพีย ร ทั ้ง หมดเขา ไปสู จ ุด นี ้แ ลว ไมอ าจจะเรีย กวา เปน ภาวนา หรือ ไมอ าจเปน ภาวนา ขึ้นมาไดนั่นเอง. ภาวนาในความหมายของการทําใหเกิดมีก็ดี ภาวนาในความหมายของ การทําใหเจริญยิ่งขึ้นก็ดี ตองเปนภาวนาที่สามารถควบคุมความเพียรหรือกําลัง ใหเปนไป ในลักษณะที่กลาวนี้เทานั้น. โดยเฉพาะอยางยิ่งในการปฏิบัติธรรมขั้นละเอียดนี้ ความเพี ย รเป น สิ่ ง ที่ ต อ งระมั ด ระวั ง อย า งแยบคายและรั ด กุ ม อย า งที่ สุ ด มิ ฉ ะนั้ น แลว การกระทํ า แตล ะขั ้น ๆ จะเปน ไปไมไ ด ตั ้ง แตขั ้น แรกทีเ ดีย ว เชน ปญ ญา ไมพอที่จะเห็นอนิจจัง ; หรือปญญามีพอ แตความเพียรไมนําปญญาเขาสูจุด ๆ นั้น หรื อ สติ ไ ม อ าจจะนํ า ความเพี ย รให ทํ า หน า ที่ นํ า ป ญ ญาเข า สู จุ ด ๆ นั้ น ดั ง นี้ เ ป น ต น ยอมเปนการติดตันหรือตายดานของภาวนา. ความรูที่เปนหลักเกณฑมีเพียงพอ แต ค วามรู ที่ จ ะนํ า หลั ก เกณฑ ไ ปใช ป ฏิ บั ติ มี ไ ม เ พี ย งพอ หรื อ ไม ถู ก ไม ต รงกั น ก็ ต าม, นี้เปนคําอธิบายความหมายขอนี้ของคําวาภาวนา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สวนขอสุดทายที่วา เปน ภาวนาเพราะเปนที่สองเสพมากจิต นั้น หมายความว ากระทํ าอย างมาก ทํ าจนชิ น ทํ าจนคุ นเคย และคล องแคล ว เป นต น ทั้ ง ในการทํ า และการเสวยผลการกระทํ า ขั้ น ต น เพื่ อ เป น มู ล ฐานสํ า หรั บ

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๕ การกําหนดปติ

๒๖๕

การกระทําขั้นตอไป. สรุปความก็คือ ความหมกมุนอยูแตในสิ่ง ๆ เดียวนั่นเอง การกระทํานั้นจึงจะถึงขั้นที่เรียกวาภาวนา. สําหรับการกระทําในทางจิตนี้ คําวา ” การกระทํา” ยอมกินความกวางขวาง คือทําในระยะเริ่มแรก, ทําในทามกลาง, ทําในที่สุด, นี้อยางหนึ่ง : ทําในระยะเริ่มแรกเพื่อความเกิดขึ้น ทั้งในขั้น ตระเตรี ยมและขั้ นทํ าจริ ง แล วทํ าการรั กษาสิ่ งซึ่ ง ทํ าขึ้ นได ไว ได อ ย างเต็ มที่ จนกว า จะถึงการทําขั้นสุดทาย. การเขา การออก การหยุด การพิจารณา ของจิตที่มีตอ อารมณนั้น ๆ ลวนแตเปนสิ่งที่ยากแกการกระทํา แตเปนสิ่งที่งายดายตอการลมเหลว จึงตองอาศัยการทํามาก ซึ่งหมายถึงมากกวาการทํางานทางวัตถุ หรือทางรางกายอยางที่ เปรียบกันไมไดทีเดียว. อีกทางหนึ่ง คําวา เปนที่สองเสพมากของจิต นั้น หมายความวา ถ า เป น ตั ว ภาวนาขึ้ น มาจริ ง ๆ แล ว ย อ มเป น ที่ พ อใจของจิ ต หรื อ จิ ต พอใจที่ จ ะ ส อ งเสพในสิ่ ง นั้ น จนเกิ ด ความเคยชิ น อั น เป น ป จ จั ย ที่ จ ะทํ า ให เ กิ ด การกระทํ า อั น ใหมไดโดยงายดาย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สรุปความสั้น ๆ อีกครั้งหนึ่งวา ภาวนาคือการทําสําเร็จ ; เพราะ สามารถมุงไปยังสิ่งที่จะเกิดขึ้นไดอยางถูกตองและเหมาะสม ; เพราะประมวลเครื่องมือ ทั้งหมดใหรวมกันทําหนาที่เพียงอยางเดียว ; เพราะสามารถนํากําลังของความเพียรไปได ในทางของสิ่งทั้งสองนั้น (คือวัตถุประสงคและการควบคุมเครื่องมือ) ; และเพราะเปนสิ่งที่ กระทําอยางมากหรืออยางสมบูรณ. ผู ศึ ก ษาหรื อ ผู ป ฏิ บั ติ ก็ ต าม จะต อ งพยายามสั ง เกตให เ ห็ น ความหมาย ๔ ประการนี้ แล ว ระมั ด ระวั ง ให มั น มี อ ยู หรื อ ให มั น เป น ไปได จ ริ ง ๆ ทุ ก ขณะของ การปฏิบ ัต ิ โดยไมต อ งพูด วา ทุก ขั ้น หรือ ทุก ลํ า ดับ แตต อ งเปน ทุก ๆ ขณะของ ทุกขั้นหรือทุกลําดับนั่นเอง.

www.buddhadasa.in.th


อานาปานสติภาวนา ตอน ๙

๒๖๖

การสโมธานของธรรมในขณะแหงภาวนา๑ เมื่ อ ผู ป ฏิ บั ติ รู พ ร อ มเฉพาะ ซึ่ ง ป ติ อั น เกิ ด ขึ้ น โดยอาการทั้ ง ๑๖ อย า ง ดั งที่ กล าวแล วอยู และได ทํ าให ตั้ งอยู โดยอาการที่ เป นความหมายของคํ าว าภาวนา ตามที่ ก ล า วนั้ น ทั้ ง ๔ ประการแล ว ชื่ อ ว า ผู นั้ น มี ภ าวนาโดยสมบู ร ณ ในกรณี ของอานาปานสติขั ้น นี ้ และในขณะเดีย วกัน นั ้น ยอ มมีอ าการที ่เ รีย กวา “การสโมธานแหงธรรม” คําวา สโมธาน แปลวา ประมวล หรือ ประชุม : ในที่นี้ไดแกการ ประมวลซึ่งธรรมะตาง ๆ ดวยอํานาจของการปฏิบัตินั้น. โดยแทจริงแลวการ ปฏิบ ัต ิธ รรมที ่ทํ า ไปเสร็จ แลว อยา งถูก ตอ งนั ่น เอง เปน สิ ่ง ที ่ป ระมวลมาซึ ่ง ธรรม อันเปนผลของการปฏิบัติ ; แตเรามักกลาวกันเสียวา ผูปฏิบัตินั้นเองประมวลมา ซึ ่ง ธรรม หรือ เลยไปถึง กับ วา ผู นั ้น บรรลุธ รรมชื ่อ นั ้น ชื ่อ นี ้ ซึ ่ง ที ่แ ทเ ปน เพีย ง โวหารพูดอยางสมมติเทานั้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อีก อยา งหนึ ่ง พึง ทราบวา สิ ่ง ทีเ รีย กวา การสโมธานแหง ธรรมนี ่เ อง คื อ การบรรลุ ธ รรม หรื อ การทํ า ตั ว ธรรมนั้ น ๆ ให เ กิ ด มี ขึ้ น ในตนจริ ง ๆ ได นั บ ว า เป น สิ่ ง ที่ ต อ งเข า ใจให ถู ก ต อ ง เพื่ อ ความรู ที่ ถู ก ต อ ง ว า การบรรลุ ธ รรมนั้ น เป น อยางไร ; ถามิฉะนั้นแลวจะมีความเขาใจผิดหรือความเห็นผิด เขาใจไปวาการ บรรลุธ รรมนั ้น เปน การงานที ่ข ลัง ที ่ศ ัก ดิ ์ส ิท ธิ ์ หรือ ลึก ลับ อยา งใดอยา งหนึ ่ง ไป เลยเดิ น เข า ไป ในขอบเขตของสี ลั พ พตปรามาสชนิ ด ใดชนิ ด หนึ่ ง ไปเสี ย อี ก ซึ่ ง เป น

การบรรยายครั้งที่ ๒๗ / ๓ ตุลาคม ๒๕๐๒

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๕ การกําหนดปติ

๒๖๗

ความล ม เหลว หรื อ เป นการหั นเหออกไปนอกทางของการปฏิ บั ติ เพราะตนไม รู ไ ม เห็ น ตั ว ธรรมนั้ น ๆ ได แ ท จ ริ ง แล ว ไปยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น เอาเองว า การบรรลุ ธ รรมนั้ น มั น เปนอยางนั้น อยางนี้ ดวยอํานาจทิฏฐิหรือ ตัณหาของตนเอง. ผูปฏิบัติพึง ศึ ก ษาสั ง เกตให เ ข า ใจชั ด ว า ปฏิ บั ติ ธ รรมอย า งไร แล ว ธรรมเกิ ด ขึ้ น อย า งไร ให ประจักษชัดแกใจตนเองทุกคราวไป. สิ่งที่สโมธานหรือประมวลมาได เมื่อบุคคลรูพรอมเฉพาะอยูซึ่งปติ โดยอาการที่ ก ล า วแล ว อย า งละเอี ย ดข า งต น นั้ น จริ ง ๆ ย อ มมี ผ ล คื อ การทํ า ธรรมะ ใหเกิดขึ้น หรือกลาวอีกอยางหนึ่งก็คือ การประมวลมาไดซึ่งธรรม. ธรรมที่ ประมวลมาได คือ อินทรีย ๕ พละ ๕ โพชฌงค ๗ มรรคมีองค ๘ และ ธรรมทั้งหลาย อื่นอีก ๒๙ ประการ. อนึ่ ง การที่ ประมวลมาได ซึ่ งธรรมหมวดหนึ่ ง ๆ นั้ น ย อมมี อาการอั นอื่ น ควบคูกันมาดวยอีก ๒ อยาง กลาวคือ การรูโคจรของธรรมนั้น ๆ และ การแทง ตลอดซึ่งสมัตถะ กลาวคือ ประโยชนอันสม่ําเสมอ ตอธรรมนั้นพรอมกันไปดวย ไมวาจะสโมธานมาไดซึ่งธรรมหมวดไหน ดังจะชี้ใหเห็นตัวอยาง :-

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org การประมวลมาซึ่งอินทรีย เมื่อผูปฏิบัติกําหนดอยูซึ่งเอกัคคตาจิตดวย อํานาจการหายใจเขา – ออกยาวเปนตนอยู จนกระทั่งปติเกิดขึ้นเปนเวทนา แล ว ตามเห็ น เวทนานั้ น อยู โ ดยอาการที่ เ ป น สิ่ ง ที่ ไ ม เ ที่ ย ง เป น ทุ ก ข เป น อนั ต ตา เปน ตน ตลอดถึง รู ธ รรมอัน เปน เหตุใ หเ กิด ขึ ้น อัน เปน เหตุใ หตั ้ง อยู  อัน เปน เหตุใ หด ับ ไปของเวทนานั ้น ดัง นี ้แ ลว จงพิจ ารณาดูเ ถิด วา ไดม ีธ รรมะอะไร เกิดขึ้นกี่อยาง ในประเภทที่เราเรียกวาเปนอินทรีย. เมื่อจิตกําหนดรูอยูดังนี้นั้น

www.buddhadasa.in.th


๒๖๘

อานาปานสติภาวนา ตอน ๙

ชื่ อ ว า ผู ป ฏิ บั ติ ดึ ง มาได หรื อ ประชุ ม ลงได หรื อ ทํ า ให เ กิ ด ขึ้ น ได (แล ว แต จ ะเรี ย ก) ซึ่ง ธรรมอัน เปน อิน ทรีย  ๕ อยา ง คือ สัท ธา วิริย ะ สติ สมาธิ ปญ ญา ดัง ที่ เราทราบกันอยูแลวโดยชื่อ แตไมรูหรือไมคอยจะรูถึงอาการที่เปนตัวจริงของมัน. อาการที่เปนตัวจริงของอินทรีย ในที่นี้ก็คือ เมื่อทําปติใหเกิดขึ้นได เชน นั ้น หรือ พิจ ารณาเห็น ความไมเ ที ่ย งเปน ตน ของปต ิอ ยู  ความเชื ่อ ยอ มเกิด ขึ ้น เองอยา งมีร ากฐานมั ่น คง ในธรรมนั ้น เปน ผู เ ชื ่อ ดว ยตนเองไมต อ งเชื ่อ ตาม ผูอื่น และเปนความเชื่อที่เพิ่งเกิดเดี๋ยวนี้เอง เพราะไมอาจจะเกิดมากอนหนานี้ได ในเรื่องนี้. นี่แหละคือตัว “สัทธินทรีย” ที่แทจริง และที่ไดเกิดขึ้นจริง ๆ หรือเปน ตัวธรรมที่ไดลุถึงจริง ๆ หรือที่ไดดึง หรือไดประมวลเอามาได (แลวแตจะเรียก) ; แตเรียกในที่นี้วา สโมธานมาได, อุปมาเหมือนกับการเรียกตัวเอามาสูที่ประชุม นี้ได. แตถาการพิจารณาปตินั้น ๆ เปนไปไมถูกตอง อาการที่เปนสัทธินทรีย ก็ไมเกิดเหมือนกัน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เมื่อพิจารณาดูใหกวางขวางออกไปอีก ก็จะเห็นอาการอื่น ๆ อีกหลาย อย า ง เกิ ด อยู พ ร อ มกั น คื อ อาการที่ ท นทํ า อยู ไ ด ด ว ยจิ ต ใจที่ เ ข ม แข็ ง กล า หาญใน การพิจ ารณาปต ิห รือ เวทนานั ้น จนประสบความสํ า เร็จ นั ่น แหละเปน ตัว ธรรม ที่มีชื่อวา “วิริยินทรีย” ซึ่งมีอยูในขณะนั้นดวยตลอดเวลา. อาการที่เขาไปกําหนด พิจ ารณาปต ิห รือ เวทนานั ้น อยู ไ ดอ ยา งมั ่น คง จัด เปน คุณ สมบัต ิข องจิต อัน หนึ ่ง ซึ่งเรียกวา “สตินทรีย” ก็กําลังมีอยูในขณะนั้น. ความไมฟุงซานกวัดแกวง

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๕ การกําหนดปติ

๒๖๙

ซึ่งตองมีอยูอยางแนนอนในขณะนั้น นั่นคือตัว “สมาธินทรีย” และความรูที่เกิดขึ้น จากการกําหนดพิจารณาเห็นวาไมเที่ยงเปนตนนั้น คือตัว “ปญญินทรีย” สิ่ ง ทั้ ง ห า นี้ มี อ ยู ใ นขณะเดี ย วกั น สมส ว นกั น และกลมเกลี ย วกั น และมีมาจากการกําหนดปติหรือเวทนานั้น เพราะฉะนั้น จึงกลาววา “การกําหนด ปตินั้น ยอมประมวลมาซึ่งอินทรียทั้ง ๕“ หรือถากลาวอยางสมมติ ก็กลาววา ภิกษุผูรูพรอมเฉพาะซึ่งปติอยู ยอมประมวลมาซึ่งอินทรียทั้ง ๕ นั้น. การรูโคจรของอินทรีย การประมวลมาซึ่งอินทรียโดยสมบูรณนั้น ตองเปนการรูโคจรหรืออารมณของอินทรียนั้น ๆ รวมอยูดวย ; เพราะวาอินทรีย ตัวแทปรากฏ ตอเมื่อผูนั้นสามารถรูอารมณของอินทรียนั้นโดยประจักษอ ยูดวย. อารมณในที่นี้ ก็มิใชอะไรอื่นนอกไปจากปติหรือเวทนานั่นเอง สําหรับในกรณีนี้. ส ว นในกรณี อื่ น ก็ ห มายถึ ง สิ่ ง อื่ น ซึ่ ง ย อ มแล ว แต ว า อะไรเป น เหตุ ใ ห เกิดขึ้นแหงอินทรียนั้น ; เพราะฉะนั้น เราจึงเห็นไดวาสิ่งที่เรียกวาโคจรในที่นี้ ก็ค ือ อารมณอ ัน เปน ที ่กํ า หนด หรือ เปน ที ่ตั ้ง หรือ เปน ที ่เ กิด ของอิน ทรีย นั ่น เอง แตยักไปเรียกวาโคจร เพื่อใหแสดงความหมายชัดเจนขึ้นมาอีกอยางหนึ่ง คือราว กะวาเปนที่เที่ยวเลนของจิตที่ประกอบอยูดวยเจตสิกธรรม คืออินทรียทั้ง ๕ นี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถามองเห็นอินทรียจริง ๆ ก็ตองมองเห็นวามันกําลังทองเที่ยวไปในอะไร โดยแนนอน ; เชนเดียวกันกับถาเรามองเห็นวัวกี่ตัวก็ตาม เราก็ตองเห็นที่ ที่มัน ยืนหรือมันเดิน หรือมันนอนอยูนั้นพรอมกันไปดวย ฉันใดก็ฉันนั้น. แมเพียง

www.buddhadasa.in.th


๒๗๐

อานาปานสติภาวนา ตอน ๙

เทานี้ก็ยอมแสดงใหเห็นวา การมองเห็นอินทรียอยางถึงตัวจริงนั้น เปนสิ่งที่เปนไปไมได ลําพังวิถีทางของปริยัติ ; เพราะปริยัติไมเปนสิ่งที่สามารถทําเวทนา เชนปติ เปนตน ใหปรากฏเดนอยูในใจได อินทรียตัวจริงจึงไมมีที่ตั้งอาศัย ; ทั้งเปนการชี้ใหเห็น ว า หน า ที่ ห รื อ การทํ า หน า ที่ ข องสิ่ ง ที่ เ รี ย กว า การปฏิ บั ติ อย า งเป น คนละเรื่ อ งกั บ ปริยัติทีเดียว. สําหรับการบรรลุธรรมจริง ๆ นั้น เปนเรื่องในขั้นของการปฏิบัติ โดยตรง. การแทงตลอดสมัตถะแหงอินทรีย เมื่อมีการทําอินทรียใหเกิดขึ้นมาได และรู แ จ ง ถึ ง สิ่ ง ที่ เ ป น โคจรของอิ น ทรี ย นั้ น แล ว ย อ มมี ก ารแทงตลอด คื อ ซึ ม ทราบ หรือเสวยผลของมันโดยตลอดอีกดวย เรียกวา “การแทงตลอดซึ่งสมัตถะ” กลาวคือ ผลหรือประโยชนอันเคียงคูกันอยูกับสโมธาน หรือการบรรลุธรรมนั้น. คําวา อัตถะ หรือประโยชนในที่นี้ มีใจความสําคัญอยูตรงที่วา มัน ไมมีโทษ ๑, ไมประกอบอยูดวยกิเลส ๑, เปนของผองแผว ๑, เปนของประเสริฐ ๑, สิ่งใดมีลักษณะอยางนี้ เรียกวา “ประโยชน” ตามภาษาแหงกัมมัฏฐานภาวนา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สวนที่เรียกวา สมะ คือสม่ําเสมอหรือสงบ มีความหมายที่เล็งถึง คือ เปนที่เขาไปตั้งมั่นแหงจิต ๑, ไมฟุงซาน ๑, เปนที่ปรากฏแหงอารมณ ๑, เปนที่ผองแผวแหงจิต ๑, เมื่อประโยชนใดประกอบดวยลักษณะทั้ง ๔ นี้ ประโยชนนั้นเรียกวา “สมัตถะ”. ในขณะที่ประมวลมาไดซึ่งอินทรียนั้น นอกจากจะรู โคจรของมั น แล ว จะต อ งแทงตลอดซึ่ ง สมั ต ถะอั น นี้ ด ว ย จึ ง จะเป น การประมวล

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๕ การกําหนดปติ

๒๗๑

มาได ซึ่ ง อิ นทรี ย โ ดยแท จริ ง ซึ่ ง เป น ความหมายของการปฏิ บั ติ ธ รรมที่ ป ระสบความ สํ า เร็ จ ในขั้ น ที่ เ กี่ ย วกั บ อิ น ทรี ย ถ า ผิ ด จากนี้ ก็ เ ป น อิ น ทรี ย แ ต สั ก ว า ชื่ อ ตามแบบ ของปริยัติไปตามเดิม หรือเทาเดิม. เท าที่ กล าวมาทั้ งหมดนี้ เป นตั วอย างของอาการที่ เรี ยกว า “ย อมประมวล มาไดซึ่งอินทรีย” ซึ่งมีใจความสําคัญอันสรุปไดวา :๑. อินทรียนั้น ๆ ไดทําหนาที่ของตน ๆ อยางสมบูรณปรากฏชัดอยู ; ๒. เห็นชัดอยูซึ่งอารมณหรือโคจรของอินทรียนั้น ๆ ; ๓. ซึมทราบประโยชนหรือผลอันเคียงคูกันอยู กับการประมวลมาได ซึ่งอินทรียนั้น ; อาการทั ้ง ๓ นี ้ เปน เครื ่อ งหมายของการที ่ไ ดป ระสบความสํ า เร็จ ในการบรรลุธรรมหมวดที่มีชื่ออยางนั้น ๆ ทุกชื่อไป. แมเราจะกลาวแตเพียงวา “ปฏิบัติธรรมจนอินทรียเกิดขึ้นได” หรือเพียงแตวา “ประมวลมาไดซึ่งอินทรีย” ดังนี้ก็ตาม ใหพึงถือวามีอาการทั้ง ๓ นี้ ครบถวนอยูในตัวดวยเสมอไป.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org แมในคําวา ยอมประมวลมาไดซึ่งพละทั้งหลาย ; ยอมประมวลมาได ซึ่งโพชฌงคทั้งหลาย ; ยอมประมวลมาไดซึ่งมรรคมีองคแปด ; หรือยอมประมวล มาไดซึ่งธรรมอื่นอีก ๒๙ ประการ ; ก็มีนัยแหงคําอธิบายอยางเดียวกันนี้ กลาวคือ ทําตัวธรรมะนั้น ๆ ใหเกิดขึ้นได ; รูแจงอารมณ หรือโคจรของธรรมะนั้น ๆ อยู และแทง ตลอดสมัตถะของธรรมะนั้น ๆ อยู : โดยไมมีทางที่จะแตกตางเปนอยางอื่นไดเลย. ตอจากนี้ไป จะไดพิจารณากันถึงคําวา ยอมสโมธานซึ่งพละ พะละ) คือการประมวลมาซึ่งธรรมเปนกําลัง ๕ อยาง.

(อานวา

www.buddhadasa.in.th


๒๗๒

อานาปานสติภาวนา ตอน ๙

การประมวลซึ่งพละ๑ ธรรมเปนกําลัง ๕ อยาง มีชื่ออยางเดียว กันกับธรรมที่เปนอินทรีย ๕ อยาง กลาวคือ สัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปญญา อีก นั่น เอง มีชื่อ วา พละ ; หากแตวา ทํา หนา ที่ตา งกัน . คํา วา อิน ทรีย แปลวา เปน ใหญ หรือ เปน ประธาน กลา วคือ เปน ประธานในการทํ า หนา ที่ ที่ตรงตามความหมายของชื่อนั้น ๆ เปนแผนก ๆ ไป ; สวนที่เรียกวา พละ นั้น หมายถึงความเปนกําลังที่ตอสูได หรือทนทานได. ยกตัวอยางเชนสัทธา เมื่อทํา หนาที่เปนใหญ หรือเปนประธานในการทําความเชื่อ เชนเชื่อใหถูกใหแนนแฟน เปน ตน ก็เ รีย กวา สัท ธิน ทรีย คือ เปน อิน ทรียขอ หนึ่ง : ครั้น ทํา หนา ที่ตอ สู หรือ ตอ ตา นกับ สิ ่ง ที ่ไ มค วรเชื ่อ หรือ สิ ่ง อัน ไมเ ปน ที ่ตั ้ง แหง สัท ธา ก็ก ลายเปน พละไป ก็เรียกวา สัทธาพละ. ผูปฏิบัติพึงมองใหเห็นความแตกตางระหวาง คําวา อินทรีย กับคําวา พละ โดยใจความสําคัญอยางนี้ดวย ; และพึงเห็น ความที่เมื่อบุคคลเจริญอานาปานสติขอนี้อยูโดยอาการอยางนี้ ชื่อวาทําอินทรียใหเกิดขึ้นดวย พรอมกันในตัวดวย. สวนวิริยะที่เรียกวาวิริยพละนั้น หมายถึงเมื่อทําหนาที่ตอสู ตานทานตอความเกียจคราน ; สติชื่อวาสติพละ เพราะตอสูตานทานความ ประมาท ; สมาธิชื่อวาสมาธิพละ เพราะตอสูตานทานอุทธัจจะ คือความฟุงซาน ได ; และปญญาชื่อวาปญญาพละ ก็เพราะตอสูตานทานอวิชชาได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ดังที่กลาวมานี้ จะเห็นไดชัดวา ที่เรียกวาพละนั้นมีความหมายตางจาก อินทรียโดยแทจริง เปรียบเหมือนบุคคลคนหนึ่งเปนกษัตริยดวย เปนผู

การบรรยายครั้งที่ ๒๘ / ๔ ตุลาคม ๒๕๐๒

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๕ การกําหนดปติ

๒๗๓

สามารถในการปราบปรามขาศึกดวย. เมื่อเปนเชนนี้ ตองถือวาเขาประกอบ อยู ด ว ยธรรม ๒ อยา ง กลา วคือ ความเปน กษัต ริย ห รือ เปน ใหญเ หนือ คน ทั้ง หลายนั้น เปรีย บเหมือ นกับ อิน ทรีย ; ความที่เ ขาสามารถปราบขา ศึก ให พินาศลงไดทุกเมื่อนั้นเปรียบเหมือนกับพละ. ธรรมทั้งหา คือ สัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปญญา ก็มีลักษณะเชนนั้น คือเปนอินทรียในเมื่อถูกมองดูโดยความเปนใหญ ในบรรดาธรรมชื่อนั้นหรือประเภทนั้น ; และชื่อวาพละ ตอเมื่อถูกมองดูโดย ความที่ เ ป น ธรรมสํ า หรั บ ต อ สู กิ เ ลสได คื อ ไม ห วั่ น ไหวต อ ความเชื่ อ งมงาย ความ เกียจคราน ความเผลอสติ ความฟุงซาน และความโงเขลาดังที่กลาแลว. ขอนี้ เปนเครื่องแสดงอีกอย างหนึ่ งวา ธรรมชื่อไรก็ตามที่เราที่ เรามี อยู จะตองเปนธรรม ที่มีกําลังถึงขนาดสามารถตอสู หรือทําลายสิ่งซึ่งเปนขาศึกศัตรูของมันไดเสมอไป. ประโยคที่กลาวกันวา มีความรูทวมหัวเอาตัวไมรอด แสดงวารูไมจริง คือไมเปน ทั้ง อิน ทรีย ไมเ ปน ทั้ง พละ. ถา หากเปน ไปไดถึง กับ วา รูจ ริง แลว ยัง เอาตัว ไมรอดอีก ก็หมายถึงมีอินทรีย แตไมมีพละนั่นเอง. ความรูที่ไมไดปฏิบัติ เพราะ ไมสามารถบังคับใจใหปฏิบัติ ถือวาไมมีทั้งอินทรีย ไมมีทั้งพละ เพราะความรูนั้น ยังไมเปนใหญเพียงพอที่จะทําใหเกิดการปฏิบัติ. บุคคลหนึ่งเขานอนพิจารณา เห็นโทษของความเกียจครานอยูอยางละเอียดลออ วันแลววันเลา แตก็ไมเคยลุกขึ้น ทํางานเลยจนแลวจนรอด ; อยางนี้จะเรียกวามีอินทรียแตไมมีพละก็หาไดไม แมแตอินทรี ยก็ยังไมมี ปญญาหรือความรู ของเขาก็ไมเปนอินทรียขึ้นมาได เพราะ ไมสามารถทําใหเกิดวิริยินทรีย. นี่เปนเพราะปญญาของเขาไมมีกําลังจึงไมมีทั้ง อินทรีย ไมมีพละ ทั้งที่เขามีความคิดแตกฉานราวกะวาเปนนักปราชญ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ผูปฏิบัติในทางโลกหรือในทางธรรมก็ตาม จงไดอุตสาหพยายามทําความ เขา ใจในเรื ่อ งอิน ทรีย แ ละพละนี ้ ใหถ ูก ตอ งจริง ๆ จึง จะเปน ผู เ จริญ งอกงาม ตามทางโลกและธรรมได ต ามที่ ต นต อ งการ โดยสรุ ป ก็ คื อ ว า จะต อ งมี ค วามเชื่ อ

www.buddhadasa.in.th


๒๗๔

อานาปานสติภาวนา ตอน ๙

ที่ถูกตองและเต็มที่ จนทําลายความเชื่องมงายเสียไดสิ้นเชิง ; จะตองมีความ กล า หาญพากเพี ย ร ซึ่ ง อยู ใ นร อ งรอยของเหตุ ผ ลหรื อ ความรอบรู ช นิ ด ที่ ส ามารถ ทําลายความเกียจคราน หรือความออนแอเสียไดโดยสิ้นเชิง ; จะตองมีส ติ คือ ระลึก ไดท ัน ทว งที ตอ หลัก เกณฑที ่ถ ูก ตอ ง เพื ่อ ปอ งกัน การพลัด ตกลงไป สูฐานะของบุคคลผูประมาทเสียได ; จะตองมีจิตมั่นคงสดชื่นแจมใสวองไว ถึง ขนาดที่จะทําลายความฟุงซานหงุดหงิดงัวเงียเสียได ; และจะตองมีความรอบรู ตอ สิ ่ง ที ่ค วรรู  ตั ้ง อยู ใ นอํ า นาจของเหตุผ ล จนกระทั ่ง กลายเปน ความรู อ ัน ประจัก ษด ว ยใจของตน จนสามารถปอ งกัน หรือ ทํ า ลายความรู แ ละความรู ผ ิด เสีย ได จึง จะเรีย กวา เปน สาวกของพระพุท ธเจา ผู ม ีค วามยิ ่ง ใหญแ ละเขม แข็ง คือมีทั้งอินทรียและพละ ที่สามารถเอาชนะขาศึกไดโดยแทจริง. สําหรับในกรณีที่กําลังมีความรูสึกตัวทั่วพรอมตอปติหรือเวทนา โดย เห็นความไมเที่ยงเปนตน ของเวทนาอยูโดยประจักษนั้น เปนความมีอยูอยาง สมบูรณ ทั้งอินทรียและพละ : มีสัทธา ก็มีทั้งในลักษณะที่เปนธรรมมีอํานาจ และเป นธรรมมี กํ าลั งพอที่ จะทํ าลายความไม เชื่ อ ความไม อยากจะเชื่ อ ความเชื่ อผิ ด หรื อสิ่ งอั นไม น าเชื่ อ ไม ควรเชื่ อได จริ ง ๆ คื อ เมื่ อมองเห็ นความเป นอนิ จจั ง ทุ กขั ง อนัตตา ชัดแจงแลว ก็จะมีความเชื่อวพระพุทธเจาทานตรัสจริง สิ่งเหลานั้นมันเปน อยางนั้นจริง และเราเองก็มีความเชื่อเชนนี้แตอยางเดียว ไมอาจจะเชื่อเปนอยางอื่นไดอีก ไมมีการสงสัยตอการตรัสรูของพระพุทธเจาอีกตอไป และคนเราตองอาศัยความเชื่ออยางนี้ เทานั้น จึงจะทําใหสามารถเอาชนะความทุกขได ดังนี้เปนตน. แมในเรื่องของความ เพีย รก็เ ชน เดีย วกัน ; เมื่อ อนิจ จัง ทุก ขัง อนัต ตา แนชัด แลว ความเพีย ร ก็ เ ป น ไปอย า งรุ น แรงและเฉี ย บขาดยิ่ ง ขึ้ น มิ ใ ช เ พี ย งแต ว า การเห็ น อนิ จ จั ง ทุ ก ขั ง อนัตตา นั้น เปนการทําความเพียรอยูในตัวมันเองอยางเดียว. เมื่อกลาวถึงสติ ก็ เ ป น สติ ที่ มี กํ า ลั ง จนถึ ง กั บ ในขณะนั้ น ความมั ว เมาในรู ป เสี ย ง กลิ่ น รส สั ม ผั ส

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๕ การกําหนดปติ

๒๗๕

มัวเมาในชีวิต ในโลก ในวัฏฏสงสาร เปนที่สุด ก็มิไดเหลืออยูเลย. นี้แสดง ให เ ห็ น กํ า ลั ง ของสติ ที่ เ กิ ด มาจากการเห็ น ความไม เ ที่ ย งเป น ต น ของป ติ ห รื อ เวทนา แลวมีความรูสึกตัวทั่วถึงอยู. แมสมาธิและปญญาก็เปนไปในลักษณะที่มีกําลัง โดยทํานองเดียวกัน. อี ก อย า งหนึ่ ง ต อ งไม ลื ม ว า การประมวลมาได ซึ่ ง พละทั้ ง ๕ นี้ ต อ งมี การรูแจงโคจร และแทงตลอดสมัตถะของธรรมะเหลานี้ โดยนัยที่กลาวมาแลว อยางยืดยาว ในตอนอันกลาวดวยอินทรีย. ตอแตนี้ จะไดวินิจฉัยในคําวา ยอมสโมธานซึ่งสัมโพชฌงค. การประมวลซึ่ ง สั ม โพชฌงค พึ ง เข า ใจว า ด ว ยความเป น ผู รู พ ร อ ม เฉพาะซึ ่ง ปต ิห รือ เวทนา โดยนัย ดัง กลา วแลว อีก นั ่น เอง และในขณะนั ้น เอง ชื ่อ วา มีก ารสโมธานสัม โพชฌงค เชน เดีย วกับ การสโมธานอิน ทรีย แ ละพละ คือ ไดมีการทําใหสิ่งที่เรียกวาสัมโพชฌงคนั้นเต็มเปยมอยูในนั้นดวย. คําวา สัมโพชฌงค แปลวาองคแหงการตรัสรู มีอยู ๗ อยาง ดังที่ เคยกลาวมาแลวขางตน. ในที่นี้เราจะไดพบคําวา สติ วิริยะ และสมาธิอีก เหมือนกับที่เคยพบมาแลวในหมวดอันวาดวยอินทรียและพละ. สวนคําวาสัทธา กับปญญานั้น มามีอยูในรูปของคําอื่น คือคําวา “ธัมมวิจยะ”. เมื่อเปนดังนี้ ก็เ ปน อัน กลา วไดอีก วา ธรรมที่เ ปน โพชฌงคทั้ง ๗ ประการนี้ ก็ไ ดแ กธ รรม พวกเดี ย วกั น กั บ ธรรมะที่ มี ชื่ อ ว า อิ น ทรี ย ห รื อ พละอี ก นั่ น เอง หากแต ว า ได ทํ า หน า ที่ อี ก อย า งหนึ่ ง หรื อ ถู ก มองโดยลั ก ษณะอี ก อย า งหนึ่ ง กล า วคื อ ลั ก ษณะของการ เปนองคประกอบ ที่ทําใหเกิดการตรัสรูนั่นเอง. ขอ เท็ จ จริ งแห ง ความเป น สั ม โพชฌงค นั้ น มี อ ยู ว า จิต ใจขณะที่ มี การรูพรอมเฉพาะตอปติ ยอมประกอบอยูดวยอาการเหลานี้ คือ :

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๒๗๖

อานาปานสติภาวนา ตอน ๙

๑. การเขาไปกําหนดธรรมขอใดขอหนึ่ง (ซึ่งในที่นี้ไดแกปติ) เปน อารมณในขณะนั้น ๆ . นี้เรียกวาอาการแหงสติสัมโพชฌงค ; ๒. มีอาการเขาไปสอดสอง เลือกเฟนธรรมอยูอยางละเอียดโดย ประการต า ง ๆ เช น พิ จ ารณาโดยลั ก ษณะ มี ลั ก ษณะแห ง ความไม เ ที่ ย งเป น ต น , หรือพิจารณาโดยฐานะวาอะไรควรเชื่อ อะไรควรรู ดังนี้เปนตน. นี้คืออาการแหง ธัมมวิจยสัมโพชฌงค ; ๓. มีอาการประคับประคองความเพียร เพื่อใหทําหนาที่เชนนั้นอยู ตลอดเวลา และอยางแยบคายที่สุด, นี้คืออาการของวิริยสัมโพชฌงค ; ๔. มีความพอใจหรืออิ่มใจตอการไดทําอยางนั้น หรือความเปน อย า งนั้ น อย า งซาบซ า น เพื่ อ เสริ ม กํ า ลั ง แก ค วามเพี ย รบ า ง เพื่ อ ระงั บ ความกระวน กระวาย เปนตนบาง, เหลือนี้คืออาการของปติสัมโพชฌงค ; ๕. มีความสงบรํางับ หรือการทําความเขาไปสงบรํางับ ซึ่งความ ฟุ งซ าน ความกระวนกระวาย ความอยาก ความกระหาย ความหวาดกลั ว เป นต น ซึ่งเปนอุปสรรคตาง ๆ ในการบรรลุธรรม ไดอยางเรียบรอ ย. นี้คืออาการของ ปสสัทธิสัมโพชฌงค. ๖. เมื่อทําไดดังนั้น ก็มีความตั้งมั่น มีความสงบ มีความสะอาด ไม ฟุงซานหวั่นไหว, นี้คือการของสมาธิสัมโพชฌงค ; ๗. ในขณะนั้นมีการเพงพิจารณาเพื่อความตั้งมั่นอยูในความสมบูรณ แหงองคประกอบทั้งปวงนี้, นี้คืออาการของอุเบกขาสัมโพชฌงค ซึ่งจะมีอ ยู จนกระทั่งถึงการตรัสรู. ผู ที่ เ ป น นั ก ศึ ก ษาแท จ ริ ง ย อ มสั ง เกตเห็ น ได เ องว า แม ใ นการงานของ โลกเช น การศึ ก ษาค น คว า ทางโลก ก็ อ าจใช ห ลั ก เกณฑ เ หล า นี้ เพื่ อ ทํ า ความ

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๕ การกําหนดปติ

๒๗๗

สํา เร็จ ไดถึง ที่สุด . ขอ ที่อ าจนํา ไปใชโ ดยตรงก็คือ เปน หลัก เกณฑต บแตง กลอมเกลาจิต ใหสามารถทํางานทางจิตอยางสุขุมถึงที่สุดนั่นเอง. จิตนี้เมื่อไดรับ การตบแตงอบรมเปนตน อยางพอตัวของมันแลว ยอมทําสิ่งตาง ๆ ไดมาก เกินกวาที่คน ธรรมดาจะคาดหมายได ฉะนั้ นทุ กคนควรจะสนใจใน อุ บายเป นเครื่ องตกแต งอบรมจิ ต นี้ใหแยบคายที่สุด ทั้งเพื่อประโยชนทางโลกและทางธรรม. เมื่อเปรียบเทียบกันดูระหวางคําวาโพชฌงค กับคําวา อินทรียและพละ เราจะเห็น ไดว า ธรรมที ่เ รีย กวา โพชฌงคนี ้ มีค วามหมายดิ ่ง ไปยัง การตรัส รู ยิ่ ง ไปกว า เมื่ อ ถู ก เรี ย กว า อิ น ทรี ย ห รื อ พละ ซึ่ ง ทั้ ง สองอย า งนั้ น ยั ง มี ค วามหมายกว า ง หรือ ยัง เพง เล็ง ตอ การตรัส รูอ ยูใ นระยะไกลนั่น เอง. โดยแทจ ริง อาการของ สัมโพชฌงคก็คลายกับอินทรียและพละนั่นเอง หากแตวาอยูในระยะใกลชิดตอการตรัสรูยิ่งขึ้น ไปกวา ทานจึงเรียกวาสัมโพชฌงค และยังมีการแยกขอธรรมบางขอออกใหเห็นชัด แตกตางออกไป จึงกลายเปน ๗ อยาง ; สวนเนื้อแทของธรรมก็ไมมีอะไรมากไป กวาอินทรียหา แตวาอยูในขั้นที่ละเอียดกวากันเทานั้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อี ก อย า งหนึ่ ง ต อ งไม ลื ม ว า การสโมธานซึ่ ง สั ม โพชฌงค นี้ นอกจาก การหยั ่ง เห็น ตัว ธรรมที ่เ ปน สัม โพชฌงคแ ลว ตอ งรู แ จง ในธรรมที ่เ ปน โคจรและ แทงตลอดสมั ต ถะของธรรมที่ เ ป น สั ม โพชฌงค เ หล า นี้ ด ว ย ตามนั ย ที่ ก ล า วมาแล ว ในตอนอั นว าด วยอิ นทรี ย จึ งจะเป นการสโมธานสั มโพชฌงค เหล านี้ ด วย ควรย อนไป อ า นดู บ อ ย ๆ สํ า หรั บ นั ก ศึ ก ษา. ส ว นนั ก ปฏิ บั ติ นั้ น ย อ มเห็ น พร อ มกั น อยู ใ นตั ว เอง ในเมื่อการปฏิบัติไดเปนมาอยางถูกตองตลอดเวลา.

www.buddhadasa.in.th


๒๗๘

อานาปานสติภาวนา ตอน ๙

ตอแตนี้ จะไดวินิจฉัยในคําวา ยอมสโมธานซึ่งมรรคมีองคแปด :การประมวลมาซึ่งมรรคมีองคแปด เมื่อมีการรูพรอมเฉพาะซึ่งปติ โดยนัยดังกลาวแลวหายใจเขา – ออกอยู ชื่อวายอมมีการสโมธานซึ่งมรรคมีองคแปด มีสัมมาทิฏฐิเปนตน และมีสัมมาสมาธิเปนที่สุด ซึ่งทุกคนเคยไดยินไดฟงอยูแลว ในสว นชื่อ ขององคม รรค. ในที่นี้จ ะวินิจ ฉัย กัน เฉพาะขอ ที่วา มรรคนั้น มีอ ยู อยางไร ในขณะที่บุคคลนั้นกําหนดปติหรือเวทนาอยูอยางนี้. เมื่อบุคคลหายใจเขา – ออก อยู ดวยความรูอยางแจมแจงตอความ ไมเ ที ่ย ง เปน ทุก ข เปน อนัต ตาของเวทนา โดยนัย ดัง กลา วแลว อยา งละเอีย ด ในตอนที ่ก ลา วถึง เรื ่อ งนั ้น ทา นไดแ นะใหส ัง เกตถึง อาการหรือ ความหมายของ สิ่งเหลานั้น ที่มีอยูอยางพรอมมูลในขณะนั้นดวย กลาวคือ :สัมมาทิฏฐิ = ความเห็นชอบ ๑. ในขณะนั้น มีอาการเห็นหรือเขาใจ ในสิ่งซึ่งเปนตัวความเกิด, สิ่งซึ่ง เปนมูลเหตุของความเกิด สิ่งซึ่งเปนความดับ และสิ่งซึ่งเปนทางปฏิบัติใหเขาถึงความดับ ; อาการแหงการรู การเห็น การเขาใจเชนนี้ เรียกวา สัมมาทิฏฐิ โดยแทจริง. ใน ขั้นสูง ไดสรุปเรียกวา เห็นอริยสัจจสี่ หรืออยางนอยก็เห็นรองรอยของอริยสัจจสี่ กลาวคือ ทุกข เหตุของทุกข ความดับทุกข และทางดับทุกข นั่นเอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สัมมาสังกัปโป = ความใฝฝนชอบ ๒. ในขณะนั้น มีความคิดที่เปนไปในทางสรางสรรค หรือการปลูกฝงคุณ อันยิ่งไปกวาวิสัยของมนุษยธรรมดา กลาวคือ ความคิดที่นอมไปในทางนิพพานเปน อยางสูงสุด. แมอยางต่ํา เพียงแตนอมเอียงไปในทางที่จะหลีกออกจากกาม

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๕ การกําหนดปติ

๒๗๙

ไม เ บี ย ดเบี ย นผู ใ ด และทํ า ตนเองให ลํ า บากโดยประการทั้ ง ปวง นี้ ก็ เ รี ย กว า ความ น อ มเอี ย งที่ สู ง ยิ่ ง ไปกว า วิ สั ย ธรรมดาของมนุ ษ ย คื อ น อ มเอี ย งไปในทางดั บ ทุ ก ข หรือนิพพานอีกนั่นเอง ไมมีทางที่จะแตกแยกออกไปเปนอยางอื่น. ความรูสึก หรืออาการชนิดนี้ของจิต เรียกวา สัมมาสังกัปโปในที่นี้. สัมมาวาจา = การพูดจาชอบ ๓. ในขณะนั้น เจตสิกธรรมในสวนที่เกี่ยวกับการปรุงแตงวาจา มีแตปรุง แตงการกลาววาจาชอบ : ถาพูดอะไรออกมาก็เปนวาจาชอบ ; ถานิ่งอยูก็เต็มอยู ดวยเจตสิกธรรมที่เปนเหตุใหกลาววาจาชอบ. อาการหรือความรูสึกอยางนี้ของจิต เรียกวา สัมมาวาจา ในที่นี้ ไมวาจะแสดงออกมาทางวาจาแลว หรือยังเก็บเงียบ อยูภายในก็ตาม. สัมมากัมมันโต = การกระทําชอบ ๔. ในขณะนั้น ยอมประกอบไปดวยเจตสิกธรรม ที่ทําใหมีการกระทําชอบ ทางกาย กลาวคือ กระทําแตการทําที่ถูกตอง ไมเบียดเบียนตนและอื่น. ถา แสดงออกมาทางภายนอก ก็ มี การกระทํ าชอบเป นความไม ทุ ศี ลโดยประการทั้ งปวง. อาการและความรูสึกอยางนี้ของจิต เรียกวา สัมมากัมมันโต ในที่นี้ เปนความ รูสึกที่ทําใหประกอบกรรมแตในทางที่ดีงามและยิ่ง ๆ ขึ้นไป.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สัมมาอาชีโว = การดํารงชีพชอบ ๕. ในขณะนั้น มีความผองใส หรือโวทานะ ของการดํารงชีพเปนอยู ; หรื อจะเรี ยกว าอาชี พ ก็ ยั งมี ความหมายอย างเดี ยวกั น กล าวคื อ การตั้ งอาศั ยอยู บน ปจจัยเครื่องดํารงชีวิตอยางบริสุทธิ์นั่นเอง. ความรูสึกของจิตเกี่ยวกับอาชีพเชนนี้

www.buddhadasa.in.th


๒๘๐

อานาปานสติภาวนา ตอน ๙

เป น ไปอย า งแรงกล า จนถึ ง ขนาดยอมตาย ไม ย อมมี ชี วิ ต อยู ด ว ยการอาศั ย ป จ จั ย เครื่องเลี้ยงชีวิตในทางที่ผิด หรือดวยอาการที่ผิด ที่เรียกวามิจฉาชีพ. เจตสิกธรรมหรือความรูสึกขอนี้ของจิต เรียกวา สัมมาอาชีโว ในที่นี้, กลาวคือ เปน ความรู สึ ก ที่ เ ป น เหตุ ใ ห ถื อ เอาแต อ าชี พ ชอบแต อ ย า งเดี ย ว จะแสดงออกมาถึ ง ภาย นอก หรือมีอยูแตภายในใจ ก็มีชื่ออยางเดียวกัน ; เพราะฉะนั้น แมเขาจะอยูนิ่ง ๆ ดวยอาการอยางนี้ ก็ยังชื่อวาเปนผูมีสัมมาอาชีโวอยางเต็มที่ อยูนั่นเอง. สัมมาวายาโม = ควมพยายามชอบ ๖. ในขณะนั้น มีอาการของการประคับประคองความเพียร ที่เปนไปตรง ทางหรือถูกทางอยางยิ่ง. ถาแสดงออกมาภายนอก ก็เปนการทําความเพียรชอบ เชน สัมมัปธานสี่ เปนตน ดังที่ทานแสดงไวตาง ๆ กัน ; แมไมแสดงออกมาทาง ภายนอกเลย ในภายในก็มีการทําอาการอยางนั้นอยูอยางเต็มที่ กลาวคือ การ ดิ้นรนไปในทางที่จะดับทุกขหรือพนทุกข. อาการหรือความรูสึกอยางนี้ของจิต มีชื่อวา สัมมาวายาโม ในที่นี้. จะแสดงใหผูอื่นเห็นได หรือไมมีการแสดงนั้น ไมเปนประมาณ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สัมมาสติ = ความดํารงสติชอบ ๗. ในขณะนั้น สติกําหนดมีอารมณเปนเวทนา เปนตน อยูอยางเต็มที่ และกําหนดธรรมที่เนื่องกัน มีความไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตา ไมนายึดมั่นถือมั่น เปนตน อยูอยางเต็มที่ แมจะจําแนกเปนสติปฏฐานสี่ เปนตน ก็ยังมีความหมาย อยางเดียวกันนั่นเอง. อาการหรือความรูสึกอยางนี้ของจิตเรียกวา สัมมาสติ ไดแกการดํารงสติชอบในที่นี้.

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๕ การกําหนดปติ

๒๘๑

สัมมาสมาธิ = ความตั้งจิตมั่นชอบ ๘. ในขณะนั้น จิตมีอาการแหงความไมฟุงซานเปนอยางอื่นเลย. แถมยังมี แตการกระทําหนาที่เปนอินทรีย เปนพละ เปนโพชฌงค เปนตน หรือเปนอาการแหง องคมรรค องคตน ๆ ก็ตาม อยูอยางแนวแนแนนแฟนที่สุด, ซึ่งลวนแต เรียกวา ความไมฟุงซานในที่นี้ดวยกันทั้งนั้น. อาการหรือความรูสึกอยา งนี้ของจิต ใน ขณะนี้เรียกวา สัมมาสมาธิ หรือความที่จิตตั้งมั่นชอบในที่นี้ แมเดินอยู ยืนอยู นอนอยู สิ่ ง ที่ เ รี ย กว า สั ม มาสมาธิ นี้ ก็ ยั ง คงอยู ในเมื่ อ จิ ต รู พ ร อ มเฉพาะต อ เวทนา กลาวคือ ปติโดยนัยดังที่กลาวแลว. สรุปความสั้น ๆ ในอาการแหงองคทั้ง ๘ ของมรรค อีกครั้งหนึ่งวา :อาการที่ เห็ น ที่ รู หรื อที่ เข าใจในธรรมทั้ งปวงอย างถู กต องนั้ น เรี ยกว า สัมมาทิฏฐิ, อาการที่ จิ ต เป น ไปในทางสร า งสรรค ป ลู ก ฝ ง คุ ณ ธรรมอั น ยิ่ ง เรี ย กว า สัมมาสังกัปโป, อาการที่กําหนดถือเอาแตการพูดชอบฝายเดียวเรียกวา สัมมาวาจา, อาการที่ ก อ ตั้ ง ขึ้ น ซึ่ ง กรรมอั น ทํ า ความเจริ ญ โดยส ว นเดี ย ว เรี ย กว า สัมมากัมมันโต, อาการผองแผวของอาชีพ เรียกวา สัมมาอาชีโว, อาการที่ประคองกําลังใหเปนไปตรงทาง เรียกวา สัมมาวายาโม, อาการเข าไปกํ าหนดสิ่ งที่ ควรเข าไปกํ าหนด เพื่ อไม ให เสี ยหลั ก เรี ยกว า สัมมาสติ, อาการที่ไมสาย ไมฟุงซาน เรียกวา สัมมาสมาธิ. ทั้ ง หมดนี้ มี อ ยู ใ นขณะที่ มี ค วามรู สึ ก ตั ว ทั่ ว พร อ มต อ ป ติ โดยนั ย ที่ กลาวแลว หายใจเขา – ออกอยู.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๒๘๒

อานาปานสติภาวนา ตอน ๙

อี ก อย า งหนึ่ ง ต อ งไม ลื ม ว า ในการสโมธานองค แ ห ง มรรคอยู ดั ง นี้ ต อ งมี ก ารรู แ จ ง โคจร และต อ งมี ก ารแทงตลอดสมั ต ถะของธรรมเหล า นี้ โดยหลั ก ที่กลาวแลวขางตนดวยเสมอไป. เมื่อพิจารณาดูถึงรายชื่อของธรรมในองคทั้ง ๘ แหงมรรค ก็จะพบได อี ก ว า มี ตั ว ธรรมที่ จั ด เป น อิ น ทรี ย ห รื อ พละ เป น ต น มาอยู ใ นองค ม รรคอย า งครบ ถวน : มีชื่อตรงกัน เชน สติ สมาธิ วิริยะ หรือวายามาะ : สิ่งที่เรียกวา ปญญาในอินทรีย มามีชื่อใหมวาสัมมาทิฏฐิและสัมมาสังกัปปะในที่นี้. และรวม สิ่งที่เรียกวาสัทธาไวในชื่อ ๒ ชื่อนี้ดวย. สัมมาวาจา สัมมากัมมันโต สัมมาอาชีโว สามอยางนี้ ถาจะรวมลงในอินทรียก็คือวิริยะนั่นเอง ; เนื้อแทของธรรมจึงเปน อยา งเดีย วกัน ทั ้ง สิ ้น แตเ มื ่อ เพง ถึง หนา ที ่ หรือ อาการที ่ม ัน ทํ า งานเปน ตน ก็ทํ า ใหมีชื่อเรียกตาง ๆ กันไป. ในที่นี้เรียกวา “องคแหงมรรค” เพราะจําแนกเปน สว นประกอบสว นหนึ ่ง ๆ ที ่จ ะประกอบกัน เขา เปน หนทางอัน เอก เพื ่อ ความ ดั บ ทุ ก ข โ ดยตรงและโดยเร็ ว ฉะนั้ น จึ ง กล า วว า ธรรมที่ มี เ นื้ อ แท อั น เดี ย วกั น ย อ ม สามารถทําหนาที่ไดตาง ๆ กัน โดยความที่แลวแตเราจะมองกันในแงไหน. แตขอ สํ า คั ญ ที่ เ ราประสงค นั้ น อยู ที่ ว า อาการที่ เ ราประสงค ใ นที่ นั้ น หรื อ ในขณะนั้ น ๆ มันไดเกิดขึ้นอยางครบถวนหรือไมนั่นเอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เท า ที่ ไ ด ก ล า วมาแล ว นี้ เป น การวิ นิ จ ฉั ย คํ า ว า “ในขณะนั้ น ย อ มเป น การสโมธาน อินทรียทั้งหลาย, ยอมมีการสโมธานพละทั้งหลาย, ยอมมีการ สโมธานสัมโพชฌงคทั้งหลาย, ยอมมีการสโมธานมรรคมีองคแปด โดยครบ ถว นแลว ”. บัด นี้จ ะไดวินิจ ฉัย กัน ถึง คํา วา “ยอ มสโมธานซึ่ง ธรรมทั้ง หลาย (๒๙)” อีกตอไป.

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๕ การกําหนดปติ

๒๘๓

ธรรมที่ลุถึง มีอยู ๒๙ อยาง๑ การประมวลมาซึ่งธรรม (๒๙ อยาง) ที่วา ยอมสโมธานธรรมทั้ง ๒๙ ในขณะแห ง การรู พ ร อ มอยู ซึ่ ง เวทนาคื อ ป ติ ใ นที่ นี้ นั้ น เป น การชี้ ใ ห เ ห็ น โดยวง กว า งที่ สุ ด ว า มี อ ะไรกี่ อ ย า งเกิ ด ขึ้ น ในขณะนั้ น แม เ ป น ส ว นน อ ยหรื อ แม เ ป น การ ชั่วคราว. ทั้งนี้ ทําใหเห็นไดวา แมการปฏิบัติในอานาปานสติขั้นที่ ๕ นี้ ถาเปน การปฏิบั ติถูกจริง ๆ แล ว ยอมมีผลเกิดขึ้นมากมาย หรื อกว างขวางอยางไม นาเชื่อ. ข อ สํ า คั ญ อยู ที่ ก ารปฏิ บั ติ ถู ก และมี ป ญ ญาในการพิ จ ารณาให เ ห็ น หรื อ รู จั ก มอง นั่น เอง ; แตก็เ ปน เรื่อ งทางปริยัติอีก ตามเคย. สํา หรับ ผูป ฏิบัตินั้น แทบจะ ไมทราบ และทั้งไมตองการจะทราบวามีธรรมตั้งมากมายหลายสิบชื่อที่อาจแยก แยะดูไดจากผลแหงการปฏิบัติของเรา. แตเพื่อความกาวหนาในการรูจักสังเกต สิ่ งต าง ๆ ที่ จะเกิ ดขึ้ นกั บจิ ต ซึ่ งนั บว าเป นสิ่ งสํ าคั ญและมี ประโยชน อ ย างยิ่ ง ทั้ งใน วงการปฏิ บั ติ และวงการศึ กษาทางปริ ยั ติ ที่ กว างขวาง จะได วิ นิ จฉั ยกั นโดยละเอี ยด อีกครั้งหนึ่ง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ขอแรกที่สุดตองไมลืมวา ในขณะนั้น ตองเปนขณะที่จิตมองเห็น ความเปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา, หรือมองเห็นความเกิดขึ้น ตั้งอยู ดับไป ดวยอํานาจของความเปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ปรากฏชัดอยูที่เวทนา ที่กําลัง รูสึกอยูในใจของตนจริง ๆ ; มีความชัดเจน แจมแจง ราวกะวาเปนนิมิต อันหนึ่งที่เคยปรากฏมาแลวแตหนหลัง ; เวทนานั้นจึงจะอยูในฐานะที่เปน

การบรรยายครั้งที่ ๒๙ / ๕ ตุลาคม ๒๕๐๒

www.buddhadasa.in.th


๒๘๔

อานาปานสติภาวนา ตอน ๙

อารมณ เพื่ อการประมวลมาซึ่ งธรรมต าง ๆ เหล านี้ ได กล าวสั้ น ๆ ว า ในขณะที่ จิ ต กําลังแจมแจงเฉพาะตอเวทนาโดยลักษณะอาการตาง ๆ เชนนั้น จิตยอมเปนสิ่ง ที่อาจจะมองดูไดมากแงมากมุม วามีอะไรเกิดขึ้นหรือมีอะไรผันแปรไปในทางที่ จะเปนความดับทุกข. ในที่นี้ ทานชี้ไวเพื่อเปนทางพิจารณาถึง ๒๙ อยางคือ :๑. ในขณะนั้น ยอมมี อาการแหงธรรมพวกที่เปนใหญเปนประธาน ๕ ประการ ที่ เ รี ย กว า อิ น ทรี ย ดั ง ที่ ก ล า วแล ว ข า งต น โดยความหมายว า เป น ธรรมที่ เป น ใหญ หรื อ เป น หั ว หน า แห ง ธรรมทั้ ง ปวง. นี้ เ รี ย กว า ย อ มสโมธานมา ซึ่งอินทรีย, มีความหมายวา เปนสิ่งที่ตั้งอยูพรอมหนาในขณะนั้น จึงไดเรียกวา สโมธาน. ๒. ในขณะนั้น มี อาการแหงธรรมที่เปนกําลัง โดยความหมายที่วา สามารถตอ สูตานทานได หรือ ไมหวั่นไหวตอ สิ่งที่ตรงกันขาม, ดัง ที่ไดอ ธิบาย แลวโดยละเอียดขางตน. นี้เรียกวา สโมธานซึ่งพละ. ความหมายแหงคําวา สโมธาน มี ความหมายว าสามารถทํ าให เกิ ดขึ้ นพร อมกั นในขณะนั้ นได อ ย างเดี ยวกั บ ที่กลาวแลวขางตน ; และใหพึงเขาใจวาคํานี้ มีความหมายเชนนั้นตลอดไปทุกขอ จนกระทั่งขอสุดทาย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๓. ในขณะนั้น มี อาการแหงธรรมที่ทําหนาที่เปนองคแหงการตรัสรู เพราะมี ความหมายว าแต ละอย าง ๆ นั้ น ล วนแต ทํ าหน าที่ เป นเครื่ องนํ าสั ตว ออกจาก ความหลับ กลาวคือกิเลส และออกจากวัฏฏสงสาร คือความทุกข. นี้เรียกวา ยอมสโมธานซึ่งสัมโพชฌงค.

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๕ การกําหนดปติ

๒๘๕

๔. ในขณะนั้น มี อาการแหงธรรมที่ทําหนาที่เปนหนทาง เครื่อง ดํ า เนิ น ออกไปจากทุ ก ข เพราะมี ค วามหมายในฐานะเป น ตั ว เหตุ ที่ ทํ า ให อ ริ ย มรรค เกิดขึ้น ทําใหความรูหรือแสงสวางเกิดขึ้น. นี้เรียกวา ยอมสโมธานซึ่งมรรค มีองคแปด. ๕. ในขณะนั้น มี อาการแหงธรรมที่เปนตัวการเขาไปตั้งไวซึ่งสติ โดยความหมายที่ ว า การเข า ไปกํ า หนดด ว ยสติ ใ นขณะนั้ น ได มี ขึ้ น แล ว ถึ ง ขี ด ที่ สมบูร ณแ ละกํา ลัง มีอ ยูต ลอดเวลาเหลา นั้น. นี้เรีย กวา ยอ มสโมธานซึ่ง สติปฏฐาน. ๖. ในขณะนั้น มี อาการแหงธรรมที่เปนการตั้งไวซึ่งความเพียร ชั ้น ที ่เ ปน ปธาน คือ มีบ ทอัน มั ่น คง เต็ม ตามความหมายของคํ า วา ความเพีย ร ทุ ก ประการ เช น ความหมายเป น ความกล า ความพยายาม ความไม ถ อยหลั ง ความกาวไปขางหนา ความหนักแนนมั่นคง ดังนี้เปนตน. นี้ยอมชื่อวา ยอม สโมธานซึ่งปธาน กลาวคือความเพียร.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๗. ในขณะนั้น มี อาการแหงธรรมที่เรียกวาอิทธิบาท กลาวคือ ฉั น ทะ วิ ริ ย ะ จิ ต ตะ วิ มั ง สา โดยความหมายว า เป น เครื่ อ งทํ า ให เ กิ ด ความสํ า เร็ จ กล าวคื อ ในขณะนี้ ธรรม ๔ อย างนี้ ได ทํ าหน าที่ ของมั นแล วในขั้ นหนึ่ ง และเจริ ญ งอกงามตั้งอยูในฐานะที่พรอมที่จะทําหนาที่ในขั้นตอไป. นี้ยอมเรียกวา ยอม สโมธานซึ่งอิทธิบาท.

๘. ในขณะนั้น มี อาการแหงธรรมที่เปนตัวความจริงหรือสัจจะ ปรากฏ อยู โ ดยความหมายว า เป น ตั ว สิ่ ง ที่ เ ป น ตั ว ความจริ ง หรื อ เป น ความแท ต ลอดกาล (ตถตา) กลาวคือ ในขณะนั้น ตัวสัจจธรรมปรากฏแกความรูสึกของบุคคลผูตาม เห็นเวทนาอยูดังนั้น. นี้เรียกวา ยอมสโมธานซึ่งสัจจะ.

www.buddhadasa.in.th


๒๘๖

อานาปานสติภาวนา ตอน ๙

๙. ในขณะนั้น มี อาการแหงธรรมที่ทําความสงบ ปรากฏออกมา ใหเห็น เรี ยกวา สมถธรรม โดยความหมายวาเปนสิ่งที่ไมฟุ งซ านไปตามความยั่วเย า กระทบกระทั่งของนิวรณหรือกิเลส. ขอนี้ มีอุปมาดวยโวหาร วา เหมือนหินกอน หนึ่ งจมอยู ในดิ น ๑๖ ศอก โผล อยู พ นดิ น ๑๖ ศอก เป นหิ นแท งเดี ยวกั น ย อมไม หวั่นไหวตอลมพายุทั้งสี่ทิศ ฉันใดก็ฉันนั้น. ขอนี้หมายถึงความที่จิตในขณะนั้น มีความมั่นคงถึงที่สุด. นี่เรียกวา ยอมสโมธานซึ่งสมถะ กลาวคือ ความสงบ หรือความตั้งอยูอยางไมหวั่นไหว. ๑๐. ในขณะนั้น มี อาการแหงการเห็นแจงดวยญาณ ดวยจักษุ ด ว ยป ญ ญา ด ว ยแสงสว า ง มองลงไปที่ อ ะไรก็ เ ห็ น ลั ก ษณะที่ เ ป น ตั ว ความจริ ง ของ สิ ่ง นั ้น โดยเฉพาะก็ค ือ ความเปน อนิจ จัง ทุก ขัง อนัต ตา ของสัง ขารทั ้ง ปวง และความไมนายึดมั่นถือมั่นของธรรมทั้งปวง. ความเห็นเหลานี้มีผลนําไปสูความ เบื่อหนายคลายกําหนัดโดยตรงเปนลําดับไป ไมมีทางที่จะเปนอยางอื่น. นี้เรียกวา ยอมสโมธานซึ่งวิปสสนา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๑๑. ในขณะนั้น มี อาการแหงการผนวกของธรรมที่ทําความสงบและ ของธรรมที่ทําความเห็นแจง เขาเปนของอยางเดียวกัน ; เพราะของ ๒ อยางนี้ เมื่อไมแยกกันจึง จะมีกําลังถึงที่สุด. เมื่อ ทํางานรวมกันดัง นี้ ทํา ใหตอ งเรีย ก ชื่อดวยคําใหมวา “สมถวิปสสนา” ในฐานะที่ไมเปนของแยกกัน ดังเชนในขอ ๙ ขอ ๑๐. นี้เรียกวา ยอมสโมธานซึ่งสมถวิปสสนา. ผูศึกษาพึงรูจักสังเกต ความหมาย หรื อ ความแตกต า งของคํ า ทั้ ง ๓ นี้ ว า มี ค วามหมายเฉพาะของมั น อย า งไร คื อ สมถะ คํ า หนึ่ ง วิ ป ส สนา คํ า หนึ่ ง และ สมถวิ ป ส สนา อี ก คํ า หนึ่ ง วาทั้ง ๓ อยางนี้ ไมใชของอันเดียวกันเลย.

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๕ การกําหนดปติ

๒๘๗

๑๒. ในขณะนั้น มี อาการแหงธรรมที่เขาจับคูกันเปนคู ๆ หรือ เนื่ อ งกั น เป น คู ๆ เพราะทํ า งานพร อ มกั น เช น สติ กั บ สั ม ปชั ญ ญะ หรื อ สมถะกั บ วิปสสนา ดังที่กลาวแลวใหเห็นเปนตัวอยางวาจะเขาเปนคูกันไดอยางไร. ใน ขณะนี้ มี ท างที่ สั ง เกตเห็ น ได ง า ยว า ธรรมบางข อ ที่ มี คู เช น สติ คู กั บ สั ม ปชั ญ ญะ หิ ริ คู กั บโอตตั ปปะ หรื อขั นติ กั บโสรั จจะ ฯลฯ เมื่ ออย างต่ํ า ก็ ยั งเป นการปฏิ บั ติ ควบคู กันไป ยิ่งถึงขั้นที่สุดการจับคูก็ถึงที่สุด. กอนหนานี้ไมสามารถจะทําหนาที่ของ มั นได ถึ งที่ สุ ด เพราะยั งไม เข าคู เช นนี้ มี การก าวก ายกั น มากน อยกว ากั นครอบงํ า กันดังนี้ เปนตน. ในขณะแหงวิปสสนายอมจับคูกัน คูที่จะเห็นไดชัดที่สุดก็คือ สัทธากั บป ญญา วิ ริ ยะกั บสมาธิ สติ กั บสั มปชั ญญะ อุ เบกขากั บเอกัคคตา เป นต น. นี้เรียกวา ยอมสโมธานซี่งยุคพัทธะ กลาวคือธรรมที่ผูกกันเปนคูเหมือนวัว ๒ ตัว ที่เทียมไถคันเดียวกัน. ๑๓. ในขณะนั้น มี อาการแหงธรรมที่ทําความหมดจดแหงศีล เรี ย กสั้ น ๆ ก็ คื อ มี ค วามบริ สุ ท ธิ์ แ ห ง ศี ล นั่ น เอง โดยความหมายที่ ว า การสํ า รวม หรือ การปด กั ้น ความเศรา หมองของศีล ไดเ ปน ไปอยา งถึง ที ่ส ุด ในขณะที ่มี การรูพ รอ มเฉพาะตอ เวทนาอยู ดัง นั้น . อธิบ ายวา ไมตอ งไปสํา รวมที่ไ หน เช น สํ า รวม ตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจ ต อ รู ป เสี ย ง กลิ่ น รส สั ม ผั ส หรื อ ธรรมารมณ, หรือสํารวมสิกขาบทในปาฏิโมกข นอกปาฏิโมกข, หรือสํารวม ในอาชีวะหรือปจจเวกขณอื่น ๆ ซึ่งรวมกันแลวก็มากมายเหลือที่จะนับจํานวนไหว ; แต ก ารกํ า หนดที่ เ วทนาโดยอาการอย า งนี้ อย า งเดี ย วเท า นั้ น กลั บ เป น การสํ า รวม ทั้ ง หมดทั้ ง สิ้ น จึ ง เกิ ด มี ธ รรมที่ ทํ า ความบริ สุ ท ธิ์ ห มดจดแห ง ศี ล ปรากฏอยู ถึ ง ที่ สุ ด ในขณะนั้นดวย. นี้เรียกวา ยอมสโมธานซึ่งสีลวิสุทธิ คือความบริสุทธิ์หมดจด แหงศีล.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๒๘๘

อานาปานสติภาวนา ตอน ๙

๑๔. ในขณะนั้น มี อาการแหงธรรมที่ทําความบริสุทธิ์หมดจดแหงจิต กลาวโดยเจาะจงก็คือ ในขณะนั้นมีความบริสุทธิ์หมดจดแหงจิตนั่นเอง. ขอนี้ ได แ ก ก ารที่ ใ นขณะนั้ น จิ ต ปราศจากิ เ ลสนิ ว รณ ด ว ยอํ า นาจของสมาธิ ห รื อ สมถะ โดยนัยดังที่กลาวแลวขางตน. คําวา จิตหมดจด มีความหมายอยางเดียวกับ ความ เปนสมาธิ คือไมหวั่นไหว หรือไมลมลุกคลุกคลาน ไปตามอํานาจกระทบกระทั่งของ นิวรณหรือกิเลส. ถากลาวอีกปริยายหนึ่ง ก็คือไมไหลซานไปตามอารมณที่เปน รูป เสีย ง กลิ่น รส สัม ผัส ดว ยอํา นาจกิเ ลสนั่น เอง. นี่เ รีย กวา ยอ ม สโมธานซึ่งจิตติวสุทธิ กลาวคือความบริสุทธิ์แหงจิต. ๑๕. ในขณะนั้น มี อาการแหงธรรมที่ทําความบริสุทธิ์หมดจดแหง ทิฏฐิ คือ ความเห็น ซึ่งหมายความตลอดถึงความเชื่อ. ทิฏฐิไมบริสุทธิ์หมดจด เพราะเห็นวาสิ่ง ตา ง ๆ ไมมีเหตุผ ล. เห็น วาเที่ย ง วาสุข วา ตัวตน วางาม วานารัก นายึดถือ. ความเห็นอยางนั้น จัดวาเปนความเศราหมองของทิฏฐิ เรีย กอี ก อย า งหนึ่ ง ว า มิ จ ฉาทิ ฏ ฐิ หรื อ ทิ ฏ ฐิ ว ปลาส และชื่ อ อื่ น ๆ อี ก ซึ่ ง ล ว นแต มีความหมายอยางเดียวกัน. สวนในขณะที่มีการกําหนดเวทนา โดยวิธีการดังที่ กล า วแล ว แม ใ นอานาปานสติ ขั้ น ที่ ๕ นี้ ในขณะนั้ น ย อ มเห็ น ชั ด ต อ ความเป น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ; เห็นความที่สิ่งตาง ๆ มีเหตุมีผล เปนเหตุเปนผล เป น ไปตามอํ า นาจแห ง เหตุ ผ ล ไม เ ป น ที่ ตั้ ง แห ง ความยึ ด ถื อ ว า สวยงาม ว า น า รั ก วาควรแกการยึดมั่นถือมั่น ดังนี้ เปนตน ; มีแตความเบื่อหนายคลายกําหนัด จนกระทั่งวางเฉยตอสิ่งทั้งปวงอยูแทน. นี้เรียกวาทิฏฐิ ไดรับการชําระชะลาง อยางบริสุทธิ์หมดจดเปนสัมมาทิฏฐิขึ้นมา. อาการอยางนี้มีในขณะนั้น ฉะนั้น จึงกลาววา ยอมสโมธานซึ่งทิฏฐิวิสุทธิ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org (ตอไปนี้ยอมมีอาการซึ่งลวนแตเปนผลของการปฏิบัติโดยตรงและยิ่งขึ้น.)

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๕ การกําหนดปติ

๒๘๙

๑๖. ในขณะนั้น มี อาการแหงธรรมที่ทําความเกลี้ยงเกลา ไมมีอะไร จั บ ฉวยห อ หุ ม แห ง จิ ต เพราะความที่ จิ ต ในขณะนั้ น ไม ถู ก แตะต อ งด ว ยวิ ว รณ แ ละ กิ เ ลส พ น แล ว จากความพั ว พั น ของนิ ว รณ แ ละกิ เ ลส ตลอดเวลาที่ ก ารปฏิ บั ติ เ ป น ไปอยู ดังนี้. อาการอยางนี้เรียกวาวิโมกขของจิต. อาการอยางนี้มีอยูในขณะนั้น ฉะนั้น จึงเรียกวา ยอมสโมธานซี่งวิโมกข. ๑๗. ในขณะนั้น มี อาการแหงธรรมที่ทําการเจาะแทง สิ่งปดบัง อันเปรียบประดุจมานหรือเมฆ เปนตน ใหทะลุหรือทําลายไป. สิ่งที่ทําหนาที่ อยา งนี้เ รีย กวา วิช ชา ; ในที่สุด สิ่ง ที่เ ปน ความไมรู หรือ รูไ มไ ด หรือ รูผิด ก็ปรากฏเปนความรูถูกขึ้นมาแทน ; ที่เปนความตามทางทฤษฎี กลายเปน ความรูทางการปฏิบัติ ; ที่เปนความรูจากการไดยินไดฟง กลายเปนความรู ด วยใจตนเองโดยไม ต องเชื่ อตามบุ คคลอื่ น หรื อแม เชื่ อตามเหตุ ผลที่ คํ านึ งคํ านวณ. นี้ เ รี ย กว า อาการแห ง การเจาะแทงทํ า ลายม า น คื อ อวิ ช ชา หรื อ โมหะ เกิ ด เป น วิชชาขึ้นมาแทน ; เปนความเห็นแจงเพราะไมมีมานบัง เปนตน อาการอยางนี้ มีในขณะนั้น ฉะนั้น จึงกลาววา ยอมสโมธานซึ่งวิชชา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๑๘. ในขณะนั้น มี อาการแหงธรรมซึ่งเปนการสละวาง การปลอย หรื อ การสลั ด ทิ้ ง ซึ่ ง สิ่ ง ที่ เ คยยึ ด ถื อ ด ว ยอุ ป าทาน เคยลู บ คลํ า ด ว ยตั ณ หาและทิ ฏ ฐิ อันเนื่องดวยเวทนา ทั้งหลาย ; ทําใหถูกจองจําอยูในอาการของอภิชฌาและโทมนัส ไมอ อกไปนอกวงนี้ได. แตจิตใจขณะนี้พนแลวจากความเปน อยา งนั้น โดย ความหมายที ่เ ปน การวางหรือ การปลอ ยนั ่น เอง ;มีธ รรมซึ ่ง ทํ า ความปลอ ย และมีอาการแหงความหลุด ; รวมเรียกดวยคํา ๆ เดียววา วิมุตติ ; ฉะนั้น จึงกลาววา ในขณะนั้น ยอมสโมธานซึ่งวิมุตติ.

www.buddhadasa.in.th


๒๙๐

อานาปานสติภาวนา ตอน ๙

๑๙. ในขณะนั้น มี อาการแหงธรรมเปนเครื่องรูเครื่องเห็น ซึ่งความ สิ ้น ไปเสื ่อ มไปของสัง ขารทั ้ง ปวง และโดยเฉพาะอยา งยิ ่ง ของเวทนาหรือ ปติ ในขณะนั้น นั่น เอง. มีขอ ที่ค วรกํา หนดไวอ ยา งแมน ยํา วา ตอ งเปน การเห็น อนิจ จัง ทุก ขัง อนัต ตา อยา งชัด แจง ดว ย จึง จะเห็น ความสิ ้น ไป เสื ่อ มไป ถึงขนาดที่เรียกวาญาณ. เห็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ในสิ่งใดชื่อวาเห็นความ เสื ่อ มไปสิ ้น ไปในสิ ่ง นั ้น เพราะฉะนั ้น เมื ่อ สิ ่ง ทั ้ง หลายทั ้ง ปวง ลว นแตแ สดง ความเปน อนิจ จัง ทุก ขัง อนัต ตา การเห็น ความเสื ่อ มไปสิ ้น ไปของสิ ่ง ทั ้ง หลาย ทั้ง ปวง ยอ มมีไ ดเ สมอกัน หมด. อีก อยา งหนึ่ง คุณ คา หรือ ความหมาย ของสิ่ ง ทั้ ง ปวง ย อ มรวมอยู ที่ สุ ข เวทนา ซึ่ ง มี อ ยู เ ป น ขั้ น ๆ กระทั่ ง ถึ ง ขั้ น สู ง สุ ด ; เมื่ อสุ ขเวทนาถู กปฏิ เสธไปทุ กขั้ นแล ว สิ่ งทั้ งปวงก็ เป นอั นว าถู กปฏิ เสธด วยกั นหมด. ความมุ ง หมายของการเห็ น ความสิ้ น ไปและเสื่ อ มไปของสั ง ขารทั้ ง ปวงนั้ น อยู ที่ ตรงนี้. ความสิ้นไปเสื่อมไป มีคําจํากัดความวา มีการเกิดขึ้นและดับลงอยางเห็น ปรากฏชั ด และจะเกิ ด ขึ้ น ใหม แ ละดั บ ลงสลั บ กั น เช น นั้ น อี ก เรื่ อ ยไป ด ว ยอํ า นาจ การปรุงแตงของเหตุปจจัยที่ปรุงแตงในขณะนั้น. ความสิ้นไปเสื่อมไป ในกรณี ที่ เ กี่ ย วกั บ เวทนาอั น เป น สุ ข หรื อ ป ติ นี้ พึ ง เห็ น ว า ในขณะหนึ่ ง มั น เป น ราวกะว า เวทนาไมมีอยูในโลกนี้ ; แตขณะหนึ่งกําลังหลงใหลมัวเมาสยบซบเซาอยูใน เวทนานั้น ; แลวในขณะตอมาตกอยูในอาการที่เปนราวกะวาไมมีเวทนาอยูในโลก อีกตอไป, สลับกันไปทํานองนี้ไมมีที่สิ้นสุด แลวแตความหมุนเวียนเปลี่ยนแปลง ของปจ จัย อัน เปน เครื่อ งปรุง แตง ซึ่ง เวทนานั้น . ครั้น มาบัด นี้ ไดเ ห็น ความ เปลี่ ย นแปลงอย า งหลอกลวงของเวทนานั้ น อยู อ ย า งชั ด แจ ง โดยลั ก ษณะที่ ไ ม มี อะไรมากไปกว าสายหรื อ เกลี ยวแห ง ความเปลี่ ย นแปลง ของสั ง ขารธรรมทั้ ง หลาย. ธรรมที ่เ ปน เหตุใ หรู แ จง เห็น แจง โดยอาการเชน นี ้ มีอ ยู ใ นขณะนั ้น เพราะฉะนั ้น จึงกลาววา ยอมสโมธานซึ่งขยญาณ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๕ การกําหนดปติ

๒๙๑

๒๐. ในขณะนั้น๑ มี อาการตามเห็นเฉพาะซึ่งความดับ หรือความ ไมบังเกิดขึ้น กลาวคือความมิไดมีอยูจริง ของสังขารทั้งปวง. เนื่องมาจากการ เห็น ความเปน มายา ยอ มเห็น ความที่สิ่ง เหลา นี้มิไ ดมีอ ยูจ ริง ; ขอ นี้เ ปน เหตุ ใหดับความเห็นที่วาสิ่งเหลานั้นมีอยู เสียได ; ดับความเห็นวามีอะไรเกิดขึ้น เปนตัวเปนตนเสียได ; เปนการถอนความยึดถือวาตัวตนในสิ่งทั้งปวงเสียได ; นี้เรียกวา ยอมสโมธานซึ่งอนุปาทญาณ. ๒๑. ในขณะนั้น มี อาการแหงความพอใจในธรรม หรือความพอใจ ในนิพพาน เกิดขึ้นถึงที่สุด. ความพอใจนี้ เรียกวา ฉันทะ. นอกจากจะ หมายถึ ง ฉั นทะส วนที่ เป นรากเหง าของการปฏิ บั ติ ทั้ ง หมด หรื อ ในธรรมทั้ ง หมดแล ว ยั ง หมายถึ ง คํ า อื่ น ที่ ค ล า ยกั น เช น คํ า ว า นั น ทิ ที่ เ ป น ความเพลิ ด เพลิ น ในธรรม ; หรือแมคําวา ราคะ ซึ่งหมายความถึงความยินดีในธรรมเปนตนนั้นดวย ; โดย ใจความก็คือ ในขณะมีความพอใจในธรรมเปนไปถึงที่สุดนั่นเอง. นี้เรียกวา ยอมสโมธานซึ่งฉันทะ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๒๒. ในขณะนั้น มี อาการแหงมนสิการอยางสมบูรณ กลาวคือการ ทํ า ในใจซึ่ ง ธรรมอย า งแท จ ริ ง และถึ ง ที่ สุ ด เต็ ม ความหมายของคํ า ว า มนสิ ก าร จน เปนสมุฏฐาน เปนที่เกิดขึ้นตั้งขึ้นแหงธรรมทั้งปวง ; หรืออีกอยางหนึ่งก็เหมือน กับ การเพาะหวา นเลี ้ย งดูบํ า รุง รัก ษาธรรมะ ใหธ รรมะนั ้น เจริญ งอกงามขึ ้น . นี้เรียกวา ยอมสโมธานซึ่งมนสิการ.

การบรรยายครั้งที่ ๓๐/๖ ตุลาคม ๒๕๐๒

www.buddhadasa.in.th


๒๙๒

อานาปานสติภาวนา ตอน ๙

๒๓. ในขณะนั้น มี อาการที่เปนการถูกตองธรรม สัมผัสธรรม ; หรือ เมื ่อ กลา วโดยกลับ กัน ก็ค ือ การที ่ธ รรมสัม ผัส จิต ถูก ตอ งจิต ซึ ่ง อาจ เรียกไดโดยโวหารสั้น ๆ วา “ธรรมสัมผัส ”. ความหมายของคํา ๆ นี้โดยสรุป ก็คือ ความที่ธ รรมทั้ง หลายเหลา นั้น ประชุม ตั้ง ลงพรอ มกัน ที่จิต. นี้เรียกวา ยอมสโมธานซึ่งผัสสะ. ๒๔. ในขณะนั้น มี อาการซึ่งเปรียบกันไดกับการดื่มกินรสของธรรมะ หรื อ ราวกะว า เป น การดื่ ม กิ น อาหารทางจิ ต ใจ จั ด เป น เวทนาชนิ ด หนึ่ ง ซึ่ ง เกิ ด มา แต ธ รรมะ หรื อ มี ธ รรมะเป น อารมณ ทั้ ง นี้ เนื่ อ งมาจากธรรมสั ม ผั ส ดั ง กล า วแล ว ในสโมธานขอ ๒๓. นี้เรียกวา ยอมสโมธานซึ่งเวทนา. ๒๕. ในขณะนั้น มี อาการแหงความตั้งมั่น อยางออกหนาออกตา ดว ยอํ า นาจของความเปน สมาธิ ที ่ป ระกอบกัน อยู ก ับ ปญ ญาอยา งไมแ ยกกัน . ข อ นี้ มิ ไ ด ห มายความถึ ง ความเป น สมาธิ ล ว น ๆ ดั ง ในกรณี อื่ น ซึ่ ง ไม มี ค วามเด น อยา งนี้. นี้ยอ มเปนการประมวลมาซึ่ง สมาธิ ชนิดที่มีความหมายของมัน เอง เป น พิ เ ศษ เช น เดี ย วกั บ คํ า ว า ผั ส สะหรื อ เวทนา เป น ต น ที่ ก ล า วแล ว ในข อ ๒๓, ๒๔, เพราะสมาธินี้ เปนสมาธิที่มีธรรมะเปนอารมณ หรือมีการเสวยรสแหง ธรรมเปนที่ตั้ง ซึ่งมีความหมายผิดไปจากคําวาสมาธิตามธรรมดา ; นี้เรียกวา ยอมสโมธานซึ่งสมาธิ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๒๖. ในขณะนั้น มี อาการแหงความเปนใหญเปนประธานของสติ ซึ่ ง เป น เสมื อ นผู บั ญ ชาการใหญ ทํ า หน า ที่ อ ยู บ นบั ล ลั ง ก สํ า หรั บ บั ญ ชาการงาน

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๕ การกําหนดปติ

๒๙๓

ทั้ง ปวง ควบคุม ดูแ ลรัก ษาสิ่ง ทั้ง ปวงอยูใ นมือ ของตนแตผูเ ดีย ว. ยอมสโมธานซึ่งสติ.

นี้เ รีย กวา

๒๗. ในขณะนั้น มี อาการแหงความที่สัมปชัญญะเขาควบคูกันกับสติ กลายเปนธรรมที่มีคุณคาหรือมีความวิเศษยิ่งไปกวาลําพังสติขึ้นมาอีกชั้นหนึ่ง. ขอนี้ แสดงถึงความสมบูรณในการทําหนาที่ของธรรม ซึ่งทําความหลุดพนอีกปริยายหนึ่ง ; และหมายถึ งความที่ เป นธรรมที่ สู งไปกว าสติ ล วน ๆ เพราะตั้ งอยู ได มั่ นคงกว า โดย ไมมีทางที่จะกลับหลัง หรือกลับกําเริบไดงาย. นี้เรียกวา ยอมสโมธานซี่งสติ สัมปชัญญะ. ๒๘. ในขณะนั้น มี อาการแหงการเขาถึงธรรมอันเปนสาระแหง พรหมจรรย ถึ ง ที่ สุ ด ในบรรดาธรรมที่ เ ป น สาระทั้ ง ปวง โดยอาศั ย คํ า ที่ ก ล า วว า ธรรมวิ นั ย นี้ หรื อ พรหมจรรย นี้ มี วิ มุ ต ติ เ ป น แก น สาร หาใช เ พี ย งแต มี ศี ล มี ส มาธิ มี ปญญา มีญานทัสสนะอันเปนทิพย เปนตน เปนแกนสารไม ; สิ่งเหลานั้นเปน เพี ย งเปลื อ ก และกระพี้ เป น ลํ า ดั บ เข า มา จนกว า จะถึ ง แก น แท คื อ วิ มุ ต ติ นี้ ; ฉะนั ้น คํ า วา วิม ุต ติใ นขั ้น ที ่ ๒๘ นี ้ จึง หมายถึง การเขา ถึง แกน ของพรหมจรรย. คําวาวิมุตติในขอ ๑๘. หมายถึงตัวความหลุดพน ; สวนวิมุตติในขอนี้ หมายถึง ตั ว แก น แท ข องพรหมจรรย มี ค วามหมายที่ เ พ ง เล็ ง ไปยั ง สิ่ ง คนละสิ่ ง ทั้ ง ที่ เ รี ย กชื่ อ เหมือนกัน. นี้เรียกวา ยอมสโมธานซึ่งวิมุตติ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๒๙. ในขณะนั้น มี อาการแหงการหยั่งลงสูสิ่งซึ่งเปนอมตะ ซึ่ง หมายถึ ง นิ พ พาน มี ค วามหมายโดยตรงเป น ความดั บ ทุ ก ข หรื อ ดั บ กิ เ ลส จะเป น เพี ย งเอกเทศ หรื อ สิ้ น เชิ ง ก็ ไ ด แต ค วามหมายนั้ น ย อ มเป น อย า งเดี ย วกั น

www.buddhadasa.in.th


๒๙๔

อานาปานสติภาวนา ตอน ๙

กลาวคือ การหยั่งลงสูธรรมที่ทําความไมตายนั่นเอง. ขอ นี้ถือ วาเปนอาการ ขั้ น สุ ด ท า ยของการปฏิ บั ติ ธ รรมที่ ป ระสบความสํ า เร็ จ แต ทํ า ให เ ห็ น ได ว า สิ่ ง ที่ เรีย กวา อมฤต หรือ อมตะ นั ้น ทา นยอมใหม ีค วามหมายลดลงมาถึง สิ ่ง ซึ ่ง จิต อาจประสบได แมใ นขณะที ่ม ีก ารเขา ถึง ธรรมขั ้น ตน ๆ ดัง เชน ในอานาปานสติขั้นที่หานี้. ทั้งนี้ ก็เพราะวารสชาติที่จิตไดรูสึกหรือไดเสวยในขณะนั้น เปน รสชาติอ ัน เดีย วกัน แทก ับ รสของนิพ พาน หากแตว า ในขณะนี ้ เปน นิพ พาน ชิ ม ลอง ยั ง ไม เ ป น การถาวร หรื อ เด็ ด ขาด. นี้ เ รี ย กว า ย อ มสโมธานซึ่ ง อมโตคธะ. สรุปความวา ในขณะที่ผูปฏิบัติมีลมหายใจเขา – ออกอยู ดวยความรูพรอม เฉพาะตอเวทนาโดยลักษณะแหงความไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตา อยูอยางแทจริงนั้น จิตยอมบรรลุธรรม เขาถึงอาการตาง ๆ ดังที่กลาวมาแลวทั้ง ๒๙ อยาง ; หรือกลาวอีก อยางหนึ่งวา อาจจะหาพบสิ่งเหลานี้ทั้งหมดที่จิตนั้นในขณะนั้น. ขอนี้เปนการแสดงให เห็ น อย า งชั ด แจ ง ว า การรู แ จ ง เห็ น แจ ง อย า งทั่ ว ถึ ง ต อ เวทนานั้ น เป น สิ่ ง ที่ น า สนใจ อยางยิ่ง ; ควรศึกษาดวยความพยายามอยางยิ่ง ; แมวาจะมีความยุงยากลําบาก มากมายสักเพียงใด.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ฉะนั้ น ขอให ผู ปฏิ บั ติ ทุ กคน มี ความสนใจในการที่ จะกํ าหนดพิ จารณา หรื อการตามเห็ นซึ่ งเวทนานั้นอย างใกล ชิ ดที่ สุ ด โดยอุ บายและวิ ธี ที่ ละเอี ยดยิ่งขึ้ นไป ดัง ที ่จ ะไดแ ยกกลา วเปน พิเ ศษอีก สว นหนึ ่ง เปน ลํ า ดับ ไป ในฐานที ่เ ปน ใจความ อันสําคัญของอานาปานสติขั้นนี้, และเรียกวา วิธีการแยกดําเนินการพิจารณา เวทนาอยางสมบูรณ.

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๕ การกําหนดปติ

๒๙๕

วิธีแยกพิจารณาเวทนาอยางสมบูรณ๑ การพิจารณาเวทนา หรืออีกนัยหนึ่ง คือการติดตามดูเวทนาอยูโดย ลัก ษณะอาการตา ง ๆ กัน นั ้น เทา ที ่ก ลา วมาแลว เปน การแสดงใหเ ห็น โดยแง ต า ง ๆ กั น คื อ ดู ใ ห เ ห็ น ว า ตั ว เวทนาซึ ่ ง ในที ่ นี ้ ไ ด แ ก ป  ต ิ นั ้ น คื อ อะไร ? มีอาการอยางไร ? เกิดอยูที่ตรงไหน ? เนื่องดวยลมหายใจอยางไร ? เปน อารมณของอะไร ? และอะไรเปนเครื่องตามเห็นเวทนานั้น ? เห็นความจริงอะไร ที่เวทนานั้น ? ครั้นแลวมีผลอะไรเกิดขึ้นกี่อยาง เนื่องมาจากการเห็นเวทนานั้น ? ผูปฏิ บัติ จะต องมีความสนใจเปนพิ เศษตรงข อที่ว า จะตองพิจารณาเวทนานั้นอยางไร ผลจึ งจะเกิ ดขึ้ นตามนั้ นจริ ง ๆ กล าวคื อ เป นการสโมธานธรรมทั้ งหลาย ดั งที่ ได ระบุ มาแลวถึง ๒๙ อยางดวยกัน. ฉะนั้น ในที่นี้จะไดวินิจฉัยกัน เฉพาะ วิธีแยกพิจารณาเวทนา โดย สมบูรณและละเอียด โดยอาการที่อาจจะกลาวไดวาเปนอนุปสสนา คือการตาม เห็นเวทนานั้นโดยอาการที่จะทําความสําเร็จแกการสโมธานธรรม ดังที่กลาว แลว

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org โดยหลักทั่ว ๆ ไป พึงทราบวาการเห็นความจริงของสิ่งใดนั้น ใจความ โดยสว นใหญห มายถึง ความไมเ ที ่ย ง เปน ทุก ข เปน อนัต ตา ความวา งเปลา และความไม น ายึ ดถื อในสิ่ งนั้ น ๆ หรื อกล าวอย างสั้น ๆ ก็ คื อเห็ นไม เที่ ยง เป นทุ กข เปนอนัตตานั่นเอง.

การบรรยาย ครั้งที่ ๓๑ / ๗ ตุลาคม ๒๕๐๒

www.buddhadasa.in.th


๒๙๖

อานาปานสติภาวนา ตอน ๙

แตเมื่อกลาวโดยละเอียด มีหลักที่จะตองพิจารณาแยกแยะออกไป ถึงการที่สิ่งนั้นเกิดขึ้น ตั้งอยู ดับไป เพื่อจะไดทราบตอไปวา ก. เมื่อเกิดมันเกิด มาจากอะไร ? ข. เมื่อตั้งอยูมันแสดงลักษณะอยางไร และมีผลใหเกิดอะไร เนื่องกันตอไป อีก? และ ค. เมื่อมันดับ มันดับไปไดเพราะเหตุไร ? ซึ่งตองไดรับการวินิจฉัยกัน ทุกขอไป นี้ทางหนึ่ง. และอีกทางหนึ่ง จะตองหยิบยกเอาสิ่งที่เนื่องกันอยูกับสิ่งนั้น มาพิจารณาโดยลักษณะเดียวกัน ตามที่เนื่องกันอยู. ความสัมพันธในกรณีแหง เวทนานั้น เวทนายอมเนื่องอยูดวยธรรม ๒ อยางคือ สัญญาและวิตก ฉะนั้น จึง จําเปนจะตองพิจารณาการเกิดขึ้น ตั้ งอยูและดับไปของสัญญาและวิตกตามกันไปดวย จึงเกิดมี สิ่ งที่ ต องพิ จารณาขึ้นถึ ง ๓ สิ่ ง และสิ่ งหนึ่ง ๆ ต องพิ จารณาถึ ง ๓ อาการ กลาวคือ การเกิดขึ้น ตั้งอยู ดับไป ดังที่กลาวแลว. เวทนาเนื่องอยูกับสัญญาและวิตก ในขั้นแรกจะไดพิจารณาถึงขอ ที่ เวทนาเนื่องกับ สัญญา และวิตก อยางไร. ขอนี้เปนเรื่องของจิตวิทยาโดยตรง และเปนไปตามธรรมชาติ หรือ ตามกฎของธรรมชาติ กลาวคือ เมื่อเวทนาหรือความรูสึกที่เปนสุขหรือทุกขเกิดขึ้นแลว การทําความสําคัญมั่นหมายตอเวทนา โดยความเปนเวทนาก็ดี โดยความเปนเวทนาของเรา ก็ดี ยอมเกิดขึ้น ; นี่เรียกวาสัญญาเกิดขึ้นเนื่องดวยเวทนา. เมื่อสัญญาเกิดขึ้นแลว โดยอาการอยางนั้น ความตริตรึกในการจะทําอะไรลงไป ในทางดี หรือทางชั่ว ก็ตาม เกี่ยวกับกรณีนั้นยอมเกิดขึ้น ; นี้เรียกวาวิตกยอมเกิดขึ้น เนื่องมาจากเวทนานั้นและ สัญญานั้น. จงพิจารณาดูเถิดวา เมื่อมันจับกลุมกัน หรือเนื่องกันเปน ๓ อยาง ขึ้ น มาดั ง นี้ แ ล ว มั น จะมี ค วามมั่ น คงสั ก เพี ย งไร มั น จะละได ย ากเพี ย งไร ถ า เราไม รู เท า ทั น ถึ ง การที่ มั น รวมกลุ ม กั น หรื อ รวมกํ า ลั ง กั น ต อ ต า นการพิ จ ารณา หรื อ การ

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๕ การกําหนดปติ

๒๙๗

ทําลายลางของเรา ; เพราะฉะนั้น ทางที่ดีที่สุดจึงมีอยูวา จะตองทอนกําลังมันดวยการ แยกมันให ออกจากกั นเปนส วน ๆ คือส วนที่เปนสัญญา เปนเวทนา เป นวิตกเพื่อทอน กํ าลั ง มั น ในการป ดบั ง ไม ใ ห เราเห็ นความจริ ง ลงเสี ยชั้ นหนึ่ งก อ น แล วจึ งพิ จารณา มันทีละอยาง ๆ กลาวคือ - - ๑. การพิจารณาเวทนา การพิจารณาในสวนที่เปนเวทนา นั้น มีทางที่จะพิจารณาวา เมื่อ รู สึ ก ต อ ความที่ จิ ต เป น สมาธิ มี อ ารมณ เ ดี ย ว ไม ฟุ ง ซ า น ด ว ยการทํ า ในใจโดย แยบคาย เนื่องดวยลมหายใจเขา – ออกแลว สิ่งที่เรียกวาปติ หรือเรียกโดย ทั่ ว ไปว า เวทนาในที่ นี้ ย อ มเป น สิ่ ง ที่ ป รากฏแล ว อย า งแจ ม แจ ง ดั ง ที่ ก ล า วแล ว อยางละเอียดในตอนอันวาดวยองคฌาน. เมื่อเวทนาปรากฏ พึงพิจารณาดู เพื่ อ ให เ ห็ น การเกิ ด ขึ้ น การตั้ ง อยู ชั่ ว ขณะหนึ่ ง และการดั บ ไปของเวทนานั้ น อย า ง แจมแจงดังตอไปนี้ :-

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ก. เกี่ยวกับการเกิดขึ้นของเวทนา จะตองตั้งปญหาวา เพราะ อะไรเกิดขึ้น เวทนาจึงเกิดขึ้น เวทนาจึงเกิดขึ้น หรือเพราะอะไรมีอยู เวทนามีอยู คําตอบ ที่มีใหสําหรับการพิจารณา คือ เพราะอวิชชา ตัณหา กรรม และผัสสะ เกิดขึ้น หรือมีอยู เวทนาจึงเกิดขึ้น. อวิ ช ชา คื อ ความไม รู ห รื อ รู ผิ ด เป น พื้ น ฐานของธรรมที่ มี ก ารเกิ ด ขึ้ น ทั่ วไป ไม ยกเว นอะไรหมด จนเรี ยกได ว าเป นรากเหง าของสั ง ขารทั้ งปวง ไม ยกเว น สิ่ ง ใดเลย ฉะนั้ น จึ ง ถื อ ว า เวทนามี มู ล มาจากสิ่ ง นี้ ด ว ยเป น ข อ แรกก อ น ที่ ค วร

www.buddhadasa.in.th


๒๙๘

อานาปานสติภาวนา ตอน ๙

พิ จารณาอย างใกล ชิ ดเข ามาอี กก็ คื อ เพราะอวิ ชชามี อ ยู จึ งทํ าให สิ่ งที่ เรี ยกว าเวทนา มี ค า ขึ ้น มา มีอํ า นาจขึ ้น มา เต็ม ตามหนา ที ่ข องมัน เชน ทํ า ใหส ัต วห ลงยึด ถือ เอาสิ่ ง ซึ่ ง เป น เพี ย งมายานี้ เป น ของมี จ ริ ง ขึ้ น มา นี้ คื อ ข อ ที่ เพราะอวิ ช ชามี อ ยู เวทนาจึงมีอยู. ส ว นข อ ที่ ว า เวทนาเกิ ด มาจากตั ณ หา นั้ น เป น การเล็ ง ถึ ง เงื่ อ นที่ ใกลชิด ฝา ยขา งตน , กลา วคือ เมื่อ มีค วามอยากไดเ วทนาชนิด ใด ก็มีก าร แสวงหรือ การกระทํา จนเกิดเวทนาชนิดนั้น ๆ ขึ้นมาจริง ๆ . โดยหลักทั่วไป ยอมกลาววาเวทนาเปนปจจัยใหเกิดตัณหา ; นั่นเล็งถึงขอที่วาเมื่อเวทนาเกิด ขึ้ น แล ว ย อ มมี ค วามอยากหลายอย า งเกิ ด ขึ้ น ในเวทนานั้ น เช น อยากที่ จ ะสงวน เวทนานั ้น ไวโ ดยความรัก หรือ ความหลงใหลตอ เวทนานั ้น ซึ ่ง มีอํ า นาจทํ า ใหเ กิด อุปานทานอีกตอหนึ่ง ; สวนในที่นี้เล็งถึงความหมายอีกอยางหนึ่งที่กลับกัน กลาว คือตัณหาเปนเหตุใหเกิดเวทนา. ผูศึกษาจะตองพิจารณาดูใหดี ๆ มิฉะนั้นจะเห็น เปนหลักที่ขัดขวางกัน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ส ว นข อ ที่ ว า เวทนาเกิ ด มาจากกรรม นั้ น หมายถึ ง วิ บ ากของกรรมใน กาลกอน ซึ่งมีสวนสําคัญอยูสวนหนึ่งในการที่จะอํานวยใหเกิดเวทนา. เวทนา ที่ เ กิ ด ขึ้ น ได จะเป น เวทนาที่ ต อ งการหรื อ ไม ต อ งการก็ ต าม กรรมเก า ย อ มมี ส ว น เขามาแทรกแซงอยูดวยสวนหนึ่งเสมอไป. ส ว นข อ สุ ด ท า ยที่ ว า เวทนาเกิ ด มาจากผั ส สะนั้ น เป น การชี้ ใ นแง ข อง กฎเกณฑท างจิต ถึง สิ ่ง ที ่ใ กลช ิด ที ่ส ุด และในระยะที ่ก ระชั ้น ชิด ที ่ส ุด ดัง ที่ ใคร ๆ ก็เคยศึกษามาแลว หรือทราบกันดีอยูแลววาผัสสะ กลาวคือ การกระทบกัน ระหวา งสิ ่ง ทั ้ง สาม คือ อายตนะภายใน อายตนะนอก และวิญ ญาณนั ้น ยอมมีผลทําใหเกิดเวทนาขึ้นโดยแท.

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๕ การกําหนดปติ

๒๙๙

เมื่ อพิ จารณาโดยรวบยอด คื อเนื่ องกั นทั้ ง ๔ อย า ง ก็ จะเห็ นได ชั ดว า เวทนาเกิดขึ้นมาจากสิ่งทั้งสี่นี้ โดย มีอวิชชาเปนรากฐานทั่วไป. มีตัณหาเปนตัวการ เฉพาะเรื่อง, มีกรรมเขาแทรกแซงหรือสนับสนุนอยูตามสวน, แลวมีผัสสะนั้นเอง เปนฐานที่ตั้งหรือที่เกิดของเวทนาโดยตรง, เมื่อใดมีการพิจารณาเห็นแจมแจงชัดเจน โดยทํานองที่กลาวนี้ เมื่อนั้นกลาวไดวา “เวทนาเกิดขึ้นก็แจมแจง” กลาวคือ ผู ปฏิ บั ติ นั้ นแจ มแจ งต อการเกิ ดขึ้ นของเวทนาอยู ด วยอาการดั งกล าวนี้ ทุ กลมหายใจ เขา – ออก. ข. เกี่ยวกับการตั้งอยูของเวทนา นั้น มีหลักที่จะพึงกําหนดใน การปฏิบั ติ วา จะต องพิ จารณาให เห็ นโดยความเป นอนิ จจั ง ทุ กขัง อนัตตา โดยนั ย ดังกลาวแลว อยางละเอียดขางตน ; แตสิ่งที่ประสงคสืบไป มีอยูวาการพิจารณา หรื อการเห็ นอยู โดยทํ านองนั้ น ต องเป นไปในขนาดที่ จะทํ าให มี ผลเกิ ดขึ้ น คื อ เมื่ อ เห็นอยูโดยความเปนอนิจจัง ความสิ้นไปเสื่อมไปปรากฏชัดอยูเฉพาะหนา ; เมื่อเห็นอยูโดย ความเปนทุกข ความนากลัวปรากฏชัดอยูเฉพาะหนา ; เมื่อเห็นอยูโดยความเปนอนัตตา ความวางโดยประการทั้งปวงก็ปรากฏชัดอยูเฉพาะหนา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เมื่ อทั้ ง ๓ คื อ ความเสื่ อมไปสิ้ นไป ความน ากลั ว และความว างโดย ประการทั้ งปวงนั้ น ไม อาจปรากฏแกผู ศึ กษาเรื่ อง อนิ จจั ง ทุ กขั ง อนั ตตา โดยนั ย แหงปริยัติแมแตนอย. สิ่งเหลานี้เปน ความรูสึกในใจจริง ๆ ไมใชเปนความรู ที่ไดรับจากการศึกษา. มันสูงไปอีกขั้นหนึ่ง, ความรูสึกทั้ง ๓ นี้ไมปรากฏแกผู คํ านึ งคํ านวณอยู โดยการใช เหตุ ผลตามวิ ถี ทางของปรั ชญา หรื อ ตรรกวิ ทยา เพราะ สิ่งเหลานี้ตั้งอยูเหนือเหตุผล ไมเกี่ยวกับเหตุผล ; อํานาจของเหตุผลเขาไปไมถึง. การเห็ นอนิ จจั ง ทุ กขั ง อนั ตตา โดยวิ ธี ใช เหตุ ผลนั้ นยั งไม เพี ยงพอที่ จะทํ าให กล าว

www.buddhadasa.in.th


๓๐๐

อานาปานสติภาวนา ตอน ๙

ไดวา เขาเปนผูแจมแจงตอการตั้งอยูของเวทนา. เพราะเหตุนี้เอง สิ่งทั้ง ๓ นี้ จะปรากฏก็ ตอเมื่อบุคคลนั้ นเพ งดูอยูที่ ตั วเวทนาอย างถู กต องมาตามลํ าดับ นั บตั้งแต การเห็นความไมเที่ยง เปนทุ กข เป นอนั ตตา ซึ่งดูออกมาจากอาการของการเกิดขึ้ น ตั้งอยู ดับไป นั่นเอง. คํ า ว า ความสิ้ น ไปเสื่ อ มไปปรากฏชั ด แจ ง นั้ น หมายถึ ง ความสลด สั ง เวชใจ อั น เกิ ด มาจากความรู สึ ก ที่ ว า สิ่ ง ทั้ ง หลายทั้ ง ปวงมี ค วามเปลี่ ย นแปลง อยางไหลเชี่ยวเปนเกลียวไป โดยไมฟงเสียงใครหรือเอ็นดูสงสารใคร. มันมิใช ความรู สึ ก ที่ เ กิ ด มาจากความรู ห รื อ การใช เ หตุ ผ ล แต มั น เป น ความรู สึ ก ที่ เ กิ ด มา จากการมองเห็ นของจริ ง หรื อได ผ านการรู รสและพิ ษสงของสิ่ งเหล านี้ มาแล วอย าง ประจักษแกใจ. สํ า หรั บ ความน า กลั ว ก็ มี คํ า อธิ บ ายทํ า นองเดี ย วกั น แต เ ป น สิ่ ง ที่ เ ห็ น ได ง า ยยิ่ ง ขึ้ น ไปกว า เพราะว า ความรู สึ ก ที่ แ ท จ ริ ง นั้ น มิ อ าจเกิ ด มาจากความรู ห รื อ การใช เหตุ ผลอยู แล ว มั นจะต องเกิ ดมาจากการประสบเข ากั บสิ่ งนั้ นจริ ง ๆ เท านั้ น ตั ว อย า งเช น ใคร ๆ ก็ มี ค วามรู ว า เสื อ เป น สั ต ว ที่ น า กลั ว และใคร ๆ ก็ อ าจจะคิ ด ด ว ยการใช เ หตุ ผ ลว า เสื อ เป น สั ต ว น า กลั ว แต แ ล ว ความกลั ว อั น แท จ ริ ง ก็ ยั ง ไม อ าจ จะเกิดขึ้น จนกวาเมื่อไรจะไดไปเผชิญหนากับเสือตัวตอตัวในที่เปลี่ยว. นี่คือ คํ า อธิ บ ายของคํ า ว า ความกลั ว ต อ ทุ ก ข ไ ม อ าจจะเกิ ด จากความรู ท างปริ ยั ติ หรื อ จากการใชเหตุผลตามทางปรัชญา เปนตน แตตองเกิดจากการดูโดยวิธีของการ ปฏิบัติธรรม ตรงลงไปยังสิ่งซึ่งมีอาการอันนากลัวปรากฏอยู ซึ่งในกรณีของเรานี้ ไดแกการดูลงไปยังปติหรือเวทนา. ขอนี้ อาจจะสรุปลงไปไดในคําสั้น ๆ วา ตองดู, ตองดูใหเห็น, ตองดูใหเปน, ดูใหเปนตามลําดับมา โดยวิธีเทคนิคของ มันเอง ซึ่งเขาถึงตัวธรรมชาติจริง ๆ ; เมื่อนั้นแหละจึงจะกลาวไดอยางเต็มปากวา

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๕ การกําหนดปติ

๓๐๑

เมื่อใดเห็นอยูโดยความเปนทุกข เมื่อนั้นความนากลัวยอมเปนสิ่งที่ปรากฏชัดแจง เฉพาะหนา ดังนี้. สํ าหรั บคํ าว า ความว า งโดยประการทั้ งปวง ที่ ปรากฏในขณะแห ง การ เห็ น อนั ต ตา หมายถึ ง ว า งจากความหมายต า ง ๆ อั นเกิ ด ขึ้ น จากการสมมติ หรื อ บัญญัติตอสิ่งนั้น ๆ . สมมติหรือบัญญัติทั้งหลาย ยอมเปนการบัญญัติไปตาม ความรูสึกที่ยังถูกครอบงําอยูดวยอวิชชาหรือตัณหาเปนตน. ความรูสึกดังกลาว นั ้น จะรู ส ึก ไปในทางของความวา งไมไ ดเ ลยโดยเด็ด ขาด มัน จึง แลน ไปในทาง ที่ จ ะเห็ น เป น ของไม ว า ง คื อ ต อ งเป น ตั ว ตนของมั น เองอย า งใดอย า งหนึ่ ง หรื อ ระดั บ ใดระดั บหนึ่ ง ซึ่ งล วนแต มี ความหมายหรื อ มี คุ ณค าอย างใดอย างหนึ่ ง ไปเสี ยทั้ งนั้ น . เพราะฉะนั ้น เราจึง รู ส ึก ตอ สิ ่ง ตา ง ๆ ในฐานะเปน สิ ่ง ที ่ไ มว า งเปลา แตรู ส ึก เปน สิ ่ง ที ่ม ีค วามหมาย หรือ คุณ คา แหง ความเปน ตัว เปน ตนของมัน เองไปเสีย ทุก สิ ่ง ทุ ก อย า งตามมากตามน อ ย ตามอํ า นาจของอวิ ช ชาที่ กํ า ลั ง อยู ใ นขณะนั้ น อย า งไร. สั ตว ทั้ งหลายตามปรกติ ถู กอวิ ชชาครอบงํ าอยู อ ย างเต็ มที่ ความรู สึ กตามปรกติ ของ สั ต ว ทั้ ง หลาย จึ ง ไม เ ป น ไปในทางที่ จ ะเห็ น ความว า ง แต ก ลั บ เป น ไปในทางตรงกั น ขาม คือเห็นอะไรมีความหมายเปนตัวตนไปหมด. เขาไมรูสึกวานี้เปนความ สํ า คั ญ ผิ ด แต ก ลั บ รู สึ ก ไปเสี ย ว า นี่ เ ป น สั จ ธรรม หรื อ นี่ คื อ ความจริ ง อย า งไม มี ทางที่เฉลียวใจวานี่เปนความสําคัญผิด.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ด วยเหตุ นี้ เอง ความรู ก็ ตาม การใช เหตุ ผลก็ ตาม ที่ เป นไปตามธรรมดา ของสามัญสัตวนั้น ไมมีทางที่จะเปนไปในการเห็นความวาง, มีแตทางที่จะดิ่งไป

www.buddhadasa.in.th


๓๐๒

อานาปานสติภาวนา ตอน ๙

ในทางตรงกันขามเสมอ. ขอ นี้เปนเหตุใหเราตองมาตั้งพิธีกันใหม และคนหา วิ ธี ก ารกั น ใหม ให มี อํ า นาจและกํ า ลั ง เพี ย งพอที่ จ ะต อ ต า น หรื อ เป น ไปอย า งทวน กระแสแหง ความยึด มั ่น ถือ มั ่น ของสัต ว เพื ่อ ใหเ ห็น ความวา งจากตัว ตนของสิ ่ง ทั้งหลายทั้งปวงขึ้นมาใหได. ความว างในที่ นี้ มิ ได หมายความว า ว างจากสสารหรื อว างจากวั ตถุ แต ประการใดเลย หรือแมแตวางจากนามธรรมโดยประการใดเลย. หากแตวาในวัตถุ หรื อ ในนามธรรมนั้ น มั น ว า งจากความหมายแห ง ความมี ตั ว ตน คื อ ว า งจากความ สมควรที่จะใชคําวา “ผู” ซึ่งหมายถึงผูทํา หรือผูถูกทําเปนตน ; หรือจะใชคําวา ‘ตัวตน’ ซึ่งจะเปนผูมีอยูในลักษณะที่เปนกลาง ๆ ก็ตาม ; ตอวัตถุหรือนามธรรม เหลานั้น. รวมความวาวัตถุก็มีอยู นามธรรมก็มีอยู มีอยูในฐานะเปนสิ่งที่ไหล เวีย นเปลี ่ย นแปลงอยา งนา กลัว แตถ ึง กระนั ้น ในสิ ่ง เหลา นั ้น ก็ย ัง วา งจากตัว ตน ที่ แ ท จ ริ ง มี อ ยู ก็ แ ต ตั ว ตนที่ เ ป น มายาด ว ยความสํ า คั ญ ผิ ด อั น เกิ ด มาจากอวิ ช ชา เปนตน ซึ่งปดบังความวางจากตัวตนไวอยางสนิทสนม. เมื่อใดเพิกถอนตัวตน ซึ ่ง เปน เพีย งมายาเสีย ไดด ว ยการปฏิบ ัต ิที ่ถ ูก ตอ ง เมื ่อ นั ้น ความวา งโดยประการ ทั ้ง ปวงจะปรากฏไมม ีใ ครหรือ อะไรที ่เ ปน ทุก ข หรือ เปน ของนา กลัว เปน ตน เหลืออยูอีกตอไป. ปญหาของการปฏิบัติหมดไปโดยกะทันหัน ก็เพราะเขาถึง ความจริงขอนี้ กลาวคือสุญญตาหรือความวางนั่นเอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สรุปความอีกครั้งหนึ่งวา เมื่อปฏิบัติในการตามเห็นความตั้งอยูของ เวทนานั้น ตองตามดูใหเห็นอนิจจังจนกระทั่งความเสื่อมไปสิ้นไปปรากฏ; ตาม

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๕ การกําหนดปติ

๓๐๓

ดู ทุ ก ขั ง กํ า ลั ง เป น สั ญ ญาที่ เ ข า ไปยึ ด ถื อ อยู ใ นเวทนา โดยอาการเร น ลั บ อย า งไร. ทั้งหมดนี้ จนกระทั่งความนากลัวปรากฏ ; และตามดูอนัตตา จนกระทั่ง สุญญตาปรากฏโดยนัยที่กลาวแลวนี้. ค. เกี่ยวกับการดับไปของเวทนา นั้น มีหลักสําหรับการพิจารณาวา เพราะอวิชชาดับ เวทนาจึงดับ ; เพราะตัณหาดับ เวทนาจึงดับ ; เพราะ กรรมดั บ เวทนาจึ ง ดั บ ; เพราะผั ส สะดั บ เวทนาจึ ง ดั บ ดั ง นี้ . ข อ นี้ มีคําอธิบายทํานองเดียวกันกับขอ ก. หากแตวาเปนไปในทํานองตรงกันขาม เท า นั้ น แต มี ท างที่ จ ะพิ จ ารณาหรื อ วิ นิ จ ฉั ย อย า งละเอี ย ดพร อ มกั น ไปอี ก นั ย หนึ่ ง ว า เพราะอวิชชานั่นเองเปนตัวการใหสิ่งทั้งสามที่เหลือจากกนั้นเกิดขึ้นหรือดับไป. ถา อวิ ช ชายั ง มี อ ยู สิ่ ง ทั้ ง สามที่ เ หลื อ คื อ ตั ณ หา กรรม และสั ม ผั ส จะต อ งมี อ ยู เพราะ อวิ ชชานั่ นเองทํ าให สิ่ งต าง ๆ มี ความหมายในทางที่ น ารั ก น ายึ ดถื อ ตั ณหาจึ งเกิ ด กรรมจึงมี ผัสสะจึงเปนไป : เพียงแตอวิชชาไมมีเสียอยางเดียวเทานั้น สิ่งตาง ๆ ก็จะไรความหมายและหมดกําลังลงทันที, เพียงแตอวิชชามีอยูหรือพลุงขึ้นมา สิ่งทั้งสามก็มีอยู หรือพลุงขึ้นมาอยางสมสวนกัน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ยกตั ว อย า งเช น ถ า จิ ต ไม ถู ก อวิ ช ชาครอบงํ า แล ว แม ต าที่ ก ระทบรู ป หรื อ หู ที่ ก ระทบเสี ย ง เป น ต น ก็ จ ะมี ก ารกระทบที่ ไ ม มี ค วามหมาย คื อ เป น ผั ส สะ ชนิด ที ่ไ มม ีค วามหมาย ดัง นั ้น เวทนาที ่จ ะเปน ตัว การใหเ กิด ทุก ข ก็ไ มอ าจเกิด ขึ้นได. นี่เรียกไดวาเพราะอวิชชาดับ ผัสสะจึงดับ. เพราะผัสสะดับ เวทนา จึงดับ, ตัณหาไมมีขึ้นมาแทรกแซง กรรมก็ไมมีโอกาสที่จะเขามาแทรกแซง. เวทนาดับ ไป คือ ไมม ีค วามหมายไป เพราะสิ ่ง เหลา นั ้น นี ้ด ับ ไป คือ ไมเ ขา มา ปรุงแตงหรือแทรกแซงโดยนัยดังที่กลาวแลว.

www.buddhadasa.in.th


๓๐๔

อานาปานสติภาวนา ตอน ๙

เมื่ อ รู จั ก ตั ว เวทนา ลั ก ษณะอาการของเวทนา กฎเกณฑ ต า ง ๆ ที่ เกี่ ย วกั บ การเกิ ด ขึ้ น หรื อ ดั บ ไปของเวทนาอยู ดั ง นี้ ชื่ อ ว า ย อ มแจ ม แจ ง ต อ เวทนา โดยประการทั้งปวง : เวทนาเกิดขึ้นอยางไรก็แจมแจง เวททนาตั้งอยูอยางไร ก็แ จม แจง เวทนาดับ ไปอยา งไรก็แ จม แจง . เมื่อ เห็น แจม แจง อยูดัง นี้ ชื่อ วา เปนผูตามเห็นซึ่งเวทนาอยูทุกลมหายใจเขา – ออก. เมื่อเพงอยูอยางนี้ ธรรม ต า ง ๆ ย อ มปรากฏอยู ที่ ก ารเพ ง นั้ น และทนต อ การเพ ง อย า งแรงกล า ยิ่ ง ขึ้ น ทุ ก ที จนกระทั่ ง มี อํ า นาจกํ า จั ด กิ เ ลสอั น มี อ วิ ช ชาเป น ประธาน ให ร อ ยหรอเหื อ ดแห ง ไป ตามลํา ดับ . นี้คือ การตามเห็น เวทนาที่เ ปน ไปเต็ม ตามความหมายของคํา วา เวทนานุปสสนา. ๒. การพิจารณาสัญญา ส ว นที่ เ ป น สั ญ ญานี้ มี ท างที่ จ ะพิ จ ารณาเช น เดี ย วกั น กั บ กรณี ข อง เวทนาทุ ก ประการ หากแต มี ค วามแตกต า งอยู ห น อ ยหนึ่ ง ตรงที่ ว า ในกรณี ข อง สัญ ญานี ้ มีเ วทนาเขา มาแทนที ่ข องคํ า วา ผัส สะ ในฐานะเปน เหตุใ หเ กิด ขึ ้น กลาวคือ เวทนานั้น เกิดจากอวิชชา ตัณหา กรรม และผัสสะ, สวนสัญญานั้น เกิดมาจากอวิชชา ตัณหา กรรม และเวทนา, ฉะนั้น การดับไปแหงสัญญามีขึ้น เพราะการดับไปแหงอวิชชา ตัณหา กรรม และเวทนา อีกนั่นเอง. ขอใหสังเกต เฉพาะตรงที่ ว า มี คํ า ว า เวทนา มาแทนคํ า ว า ผั ส สะ นอกนั้ น เป น ไปโดยนั ย เดียวกันทั้งสิ้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org การพิ จ ารณาสั ญ ญาที่ ตั้ ง อยู ก็ คื อ พิ จ ารณาให เ ห็ น อนิ จ จั ง จนกระทั่ ง ความสิ้นไปเสื่อมไปปรากฏ, พิจารณาสัญญาโดยความเปนทุกข จนกระทั่ง ความนากลัวปรากฏ, พิจารณาสัญญาโดยความเปนอนัตตาจนกระทั่งสุญญตา ปรากฏ โดยทํานองเดียวกันทุกประการ. สิ่งที่ตองสังเกตเปนพิเศษมีตรงที่วา ความรูสึกในขณะนี้ กําลังเปนเวทนาหรือกําลังเปลี่ยนไปเปนสัญญา, หรือวา

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๕ การกําหนดปติ

๓๐๕

เปน สิ ่ง ที ่ต อ งมองใหเ ห็น โดยแจม แจง โดยแทจ ริง จนกระทั ่ง เปน ความแจม แจง ทั้งในเวทนาและสัญญาพรอมกัน. ๓. การพิจารณาวิตก สว นที ่เ ปน วิต กนี ้ ก็ม ีท างที ่จ ะตอ งพิจ ารณาโดยทํ า นองเดีย วกัน กับ ๒ ขอ แรก คือ เวทนาและสัญ ญา โดยประการทั้ง ปวง, ตา งกัน อยูเ พีย ง หนว ยเดีย ว กลา วคือ ปจ จัย แหง การเกิด และการดับ ขอ สุด ทา ยของวิต กนั ้น มี สั ญญาเข ามาแทนที่ ของเวทนาหรื อผั สสะ จึ งเป นอั นว า วิ ตกเกิ ดจากอวิ ชชา ตั ณหา กรรม และสั ญญา จะดั บไปก็ เพราะการดั บไปของอวิ ชชา ตั ณหา กรรม และสั ญญา ที่ เ ป น ดั ง นี้ ก็ เ พราะเหตุ ว า สั ญ ญาเป น เหตุ ใ ห เ กิ ด วิ ต กอยู โ ดยตรง ดั ง ที่ ไ ด อ ธิ บ าย มาแล วข างต นว า เพราะมี สั ญญาคื อความสํ าคั ญมั่ นหมายในสิ่ งใด วิ ตกก็ เกิ ดขึ้ นใน สิ่งนั้น เพราะความสําคัญมั่นหมายอันนั้น. สวนคําอธิบายสําหรับการที่อวิชชา ตั ณ หา กรรม จะเป น เหตุ ใ ห เ กิ ด วิ ต กได อ ย า งไรนั้ น มี คํ า อธิ บ ายอย า งเดี ย วกั น กั บ ที ่ก ลา วแลว ในขอ อัน วา ดว ยเวทนา และสัญ ญา คํ า อธิบ ายถึง การดับ ของวิต ก ก็มีนัยตรงกันขามกับการเกิดของวิตก, เปนอันวาไมตองกลาวซ้ํา, สวนการ พิ จ ารณาความตั้ ง อยู ข องวิ ต ก ย อ มเหมื อ นกั บ คํ า อธิ บ ายในข อ เวทนาและสั ญ ญา โดยประการทั้งปวง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สิ่ ง ที่ ไ ม ค วรจะลื ม ยั ง คงมี อ ยู โ ดยทํ า นองที่ ก ล า วแล ว ข า งต น ว า การตาม ดู สั ญ ญา ต อ งตามดู ที่ เ วทนา เพราะสั ญ ญาเกิ ด อยู ที่ เ วทนา ในเวทนา หรื อ เนื่ อ ง อยูกับเวทนา. ขอนี้ฉันใด, การตามดูวิตกก็ฉันนั้น, คือตองดูวิตกที่เวทนา เพราะวิตกเปนสิ่งที่เกิดขึ้นเนื่องดวยเวทนา จากเวทนา หรือในเวทนานั้น, ถา สามารถดู ไ ด โ ดยความเป น ของเนื่ อ งกั น อย า งนี้ แล ว เห็ น ชั ด ถึ ง ความแตกต า งกั น

www.buddhadasa.in.th


๓๐๖

อานาปานสติภาวนา ตอน ๙

ในส ว นไหนโดยเฉพาะ ตามนั ย ที่ ก ล า วแล ว ก็ เ ป น การตามเห็ น เวทนาถึ ง ที่ สุ ด และ สมบูรณ. สรุป เพื ่อ สัง เกตไดง า ย ๆ อีก ครั ้ง หนึ ่ง คือ ปจ จัย ที ่ห นึ ่ง ที ่ส อง และ ที่ สาม เหมื อนกั นหมดทั้ งของเวทนา สั ญญา และวิ ตก ได แก อวิ ชชา ตั ณหา และ กรรม ; สวนปจจัยที่สี่นั้นตางกันตามกรณีของตน ๆ คือเวทนามีผัสสะเปนปจจัย, สัญญามีเวทนาเปนปจจัย, และวิตกมีสัญญาเปนปจจัย, ทั้งนี้เพราะเหตุอยางเดียว คือความจริงที่วา ผัสสะเปนเหตุใหเกิดเวทนา, เวทนาเปนเหตุใหเกิดสัญญา, สัญญาเปนเหตุใหเกิดวิตก, ดังที่ไดกลาวแลวในตอนตนนั่นเอง. เมื่อเปนดังนี้ จึ ง ได มี ป จ จั ย ทั่ ว ไป และเกิ ด มี ป จ จั ย เฉพาะอย า งหรื อ เฉพาะตั ว แก สิ่ ง ทั้ ง สามขึ้ น ดังนี้. เมื่อผูปฏิบัติพิจารณาอยูโดยอาการที่อาจกลาวไดวา เมื่อเห็นสิ่งเหลานี้ ก็เห็นปจจัยแหงการเกิดของมัน, เมื่อสิ่งเหลานี้ดับไปเสื่อมไป ก็เห็นความนากลัว และความว างจากตั วตนของสิ่งเหลานี้ อยู โดยประจักษดั งนี้ แล ว เปนอันกล าวได ว า การปฏิ บั ติ ข องผู นั้ น เมื่ อ เวทนาเกิ ด ขึ้ น ก็ แ จ ม แจ ง เวทนาตั้ ง อยู ก็ แ จ ม แจ ง เวทนา ดั บ ไปก็ แ จ ม แจ ง เต็ ม ตามความหมายที่ ป ระสงค ใ นการทํ า อานาปานสติ ขั้ น ที่ ห า นี้ ซึ่งมีหัวขอวา “ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูรูพรอมซึ่งปติ จักหายใจเขา – ออก” ดังนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org การแยกพิ จารณาเวทนาโดยสมบู รณ สรุ ปลงได ในการเห็ นความเกิ ดขึ้ น ตั้งอยู ดับไป ดวยอํานาจปจจัยตาง ๆ กัน, ของเวทนาและสิ่งที่เนื่องดวยเวทนา คือ สัญญาและวิตก ดวยอาการอยางนี้. (จบอานาปานสติขั้นที่หา อันวาดวยการรูพรอมเฉพาะซึ่งปติ)

www.buddhadasa.in.th


ตอน สิบ อานาปานสติ ขั้นที่ หก๑ (การกําหนดสุข)

อุ เ ทส หรื อ หั ว ข อ แห ง อานาปานสติ ข อ ที่ ส องแห ง จตุ ก กะที่ ส อง หรื อ จัดเปนขั้นที่หก แหงอานาปานสติทั้งปวงนั้น มีอยูวา : “ภิกษุนั้น ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งสุข จักหายใจเขา ดังนี้ ; ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งสุข จักหายใจออก ดังนี้”.๒ คํ า อธิ บ ายของอานาปานสติ ขั้ น ที่ ห กนี้ เป น ไปในทํ า นองเดี ย วกั น กั บ อานาปานสติ ขั้ น ที่ ห า ทุ ก ประการ จนแทบจะกล า วได ว า เหมื อ นกั น ทุ ก ตั ว อั ก ษร แตตนจนปลาย. ผิดกันอยูหนอยเดียวตรงที่วา ในขั้นที่หานั้น เปนการเพง พิจารณาที่ปติ. สวนในขั้นที่หกนี้ เพงพิจารณาที่ตัวความสุข อันเปนสิ่งที่คูกัน อยูกับปติ. แตเนื่องจากสิ่งทั้งสองนี้จัดเปนเวทนาดวยกัน เมื่อกลาวโดยหลัก รวมจึง เปน สิ่ง ๆ เดีย วกัน คือ เปน เพีย งเวทนาดว ยกัน นั่น เอง. คํา อธิบ าย เกี่ยวกับเรื่องนี้จึงเหมือนกันโดยประการทั้งปวง, มีอยูแตวาจะตองทําการวินิจฉัย ในข อ ที่ ว า ป ติ กั บ ความสุ ข โดยลั ก ษณะเฉพาะ มี ค วามแตกต า งกั น อย า งไรบ า ง เทานั้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

๑ ๒

การบรรยายครั้งที่ ๓๒ / ๑๐ ตุลาคม ๒๕๐๒ สุขปฏิสํเวที อสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ ; สุขปฏิสํเวที ปสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ.

๓๐๗

www.buddhadasa.in.th


๓๐๘

อานาปานสติภาวนา ตอน ๑๐

คําวาสุข คําวา “สุข” โดยทั่วไป ทานจําแนกเปน ๒ คือสุขเปนไปในทางกาย และสุขเปนไปในทางจิต. สุขที่เปนไปในทางกาย เปนสิ่งที่มีมูลโดยตรงมาจากวัตถุ หรื อ รู ป ธรรม และอาการของความสุ ข แสดงออกมาทางกาย หรื อ เนื่ อ งด ว ยกาย เปนสวนใหญ. สวนความสุขที่เปนไปในทางจิต เปนสิ่งที่สูงหรือประณีตขึ้นไป กว านั้ น ฉะนั้ น จึ งมี มู ล มาจากนามธรรมเป น ส วนใหญ ปรารภธรรมะเป น ส ว นใหญ และเปน ไปในทางจิต คือ แสดงออกในทางจิต โดยเฉพาะ ; สว นที่เ ปน ผล เนื ่อ งมาถึง ทางกายดว ยนั ้น ยอ มมีเ ปน ธรรมดา แตถ ือ วา เปน สว นที ่พ ลอยได, คงเพงเล็งเอาสวนที่เนื่องอยูกับจิตเปนสวนใหญ. คําวา ความสุข ในการเจริญอานาปานสติ นั้น หมายถึงความสุข ที่ เ ป น ความรู สึ ก ขององค ฌ าน เช น เดี ย วกั บ ป ติ ซึ่ ง เป น องค ฌ านด ว ยกั น ฉะนั้ น จึ งหมายถึ งความสุ ขที่ เป นไปในทางใจโดยส วนเดี ยว และเป นสิ่ งที่ จะต องหยิ บขึ้ นมา เพ งพิ จารณาในฐานะเป นเวทนาอี กอย างหนึ่ ง เพื่ อการเจริ ญอานาปานสติ ขั้ นที่ หกนี้ , โดยวิธีอยางเดียวกันกับการพิจารณาปติ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org วิธีปฏิบัติ การปฏิ บั ติ อ านาปานสติ ขั้ น ที่ ห กนี้ ผู ป ฏิ บั ติ พึ ง ย อ นไปทํ า การกํ า หนด ศึ ก ษามาตั้ ง แต อ านาปานสติ ขั้ น ที่ สี่ พึ ง กํ า หนดองค ฌ านต า ง ๆ ให แ จ ม แจ ง อี ก ครั้ง หนึ่ง . เมื่อ แจม แจง ทั่ว ทุก องคแ ลว เพื่อ กํา หนดเจาะจงเอาเฉพาะองคที่ เรีย กวา “สุข” เพื่อการเพงพิจารณาหรือ การตามดู โดยนัยที่กลาวแลวโดย ละเอียดในอานาปานสติขั้นที่หาทุก ๆ ประการ โดยหัวขอดังตอไปนี้ คือ :๑. สิ่งที่เรียกวาความสุขนี้ คืออะไร ? มีลักษณะอยางไร ?

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๖ การกําหนดสุข

๓๐๙

๒. สิ่งที่เรียกวาความสุขนั้น เกิดขึ้นในขณะไหน เวลาใด ? ๓. เกิดขึ้นดวยอํานาจอะไร ? หรือดวยการทําอยางไร ? ๔. เกิดญาณและสติขึ้นในลําดับตอไปดวยอาการอยางไร ? ๕. ในขณะนั้นชื่อวาเธอยอมตามเห็นซึ่งเวทนา คือความสุขนั้น โดย ลักษณะอยางไรอยู ? แลวละอะไรเสียได ? ๖. การตามเห็นเวทนานั้น มีอาการแหงการเจริญสติปฏฐานภาวนา เกิดขึ้นดวยอาการอยางไร ? ๗. ในขณะที่สโมธานซึ่งธรรมยอมมีการสโมธานธรรม, ยอมรูโคจร และยอมแทงตลอดสมัตถะของธรรมนั้น ๆ อยางไร ? ๘. ยอมสโมธานธรรมที่เปนหมวดหมู โดยรายละเอียดอยางไร ? ๙. ยอมสโมธานธรรมโดยหลักใหญ หรือโดยกวางขวางมีจํานวน เทาไร ? และ ๑๐. มีวิธีการพิจารณาการเกิดขึ้น ตั้งอยู ดับไป ของสุขเวทนานั้น โดยละเอียดอยางไร ? รวมเป น ๑๐ ประการดั ง นี้ ซึ่ ง ควรจะกล า วแต ใ จความ เพื่ อ เป น เครื่องทบทวนความจําไดโดยสะดวกอีกครั้งหนึ่ง ดังตอไปนี้ :๑. ความสุขในที่นี้ คือสุขที่เปนไปทางจิตที่เรียกวา เจตสิกสุข มี ลักษณะเยือกเย็นเปนที่ตั้งแหงปสสัทธิหรือสมาธิโดยตรง. ในที่นี้เล็งถึงสุขซึ่งเปน องคฌาน องคหนึ่งนั่นเอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


อานาปานสติภาวนา ตอน ๑๐

๓๑๐

๒. สุข ที่เ ปน เวทนา เนื่อ งในการเจริญ อานาปานสตินี้ อาจจะ เกิ ด ขึ้ น ได ตั้ ง แต ข ณะแห ง อานาปานสติ ขั้ น ที่ ห นึ่ ง ขั้ น ที่ ส อง ที่ ส าม เป น ลํ า ดั บ มา และถึ ง ที่ สุ ด เป น สุ ข โดยสมบู ร ณ ใ นขั้ น ที่ สี่ ขั้ น ที่ ห า ที่ ห ก (มี ข อ ความโดยละเอี ย ด ดัง ที ่ก ลา วแลว ในคํ า อธิบ ายอานาปานสติขั ้น ที ่สี ่ อัน วา ดว ยองคฌ านเปน ลําดับมา). ๓. ความสุขในที่นี้ เกิดมาจากอุบายของการกระทําอันแยบคายเนื่อง ดวยลมหายใจเขา – ออก ดวยอาการ ๑๖ อยาง มีการรูทั่วถึงอยูซึ่งเอกัคคตาจิต เปน ตน และมีก ารทํ า ใหแ จง ซึ ่ง ธรรมที ่ค วรทํ า ใหแ จง ไดด ว ยการกํ า หนด ลมหายใจเขา – ออก เปนที่สุด (โดยอาการอยางเดียวกันกับที่กลาวแลวในอานาปานสติขั้นที่หา ในตอนที่กลาวถึงการเกิดแหงปติ ๑๖ ประการ). ๔. เมื่อ ความสุข เกิด ขึ้น ดว ยอาการ ๑๖ อยา งนั้น แลว สุข เปน สิ่ง ที่ผูป ฏิบัติรูพ รอ มเฉพาะดว ยอํา นาจการหายใจเขา – ออก สติเ กิด ขึ้น เปน อนุปสสนาญาณ, สุขปรากฏขึ้นในฐานะเปนอารมณ, สติปรากฏในฐานะเปน ผูกําหนดอารมณ, ผูปฏิบัติตามเห็นสุข ดวยสตินั้น ดวยญาณนั้น (ดังที่ได กลาวแลวโดยละเอียดในอานาปานสติขั้นที่หา).

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๕.

เธอตามเห็นความสุขนั้น โดยความเปนของไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตา. แลวละสัญญาวาเที่ยง วาสุข วาอัตตาเสียได, เมื่อเบื่อหนายอยู ละความเพลิ ด เพลิ น เสี ย ได เมื่ อ คลายความกํ า หนั ด อยู ละความกํ า หนั ด เสี ย ได ,

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๖ การกําหนดสุข

๓๑๑

เมื่อทําความดับอยู ละการกอเสียได. เมื่อทําการสละคืนอยู ละการยึดมั่นเสียได (ดังที่ไดกลาวแลวโดยละเอียดในอานาปานสติขั้นที่หา) ๖. เมื่อตามเห็นเวทนาอยู ดังนั้น ยอมเปนการเจริญสติปฏฐานภาวนา เพราะความหมายที ่ว า ไดทํ า ไมใ หเ กิด ความก้ํ า เกิน ของธรรมที ่เ กิด ขึ ้น ในขณะ ที่สติกําหนดเวทนา, ไดทําใหอินทรียเปนตน รวมกันทํากิจอันเดียว, สามารถ ทํ า ให มี ก ารนํ า ความเพี ย รเข า ไปเหมาะสมแก ธ รรมเหล า นั้ น และอิ น ทรี ย เ หล า นั้ น , และเพราะเปนสิ่งที่ทํามากและสองเสพมาก, ดวยเหตุ ๔ ประการนี้จึงไดชื่อวา ภาวนา (ดังที่ไดกลาวแลวโดยละเอียดในอานาปานสติขั้นที่หา). ๗. เมื่อภาวนาโดยทํานองนั้นเปนไปโดยสมบูรณ ยอมมีการสโมธาน ธรรม เชนอินทรียหา เปนตน, ในขณะนั้นมีการรูโคจร กลาวคือ อารมณของ ธรรม มีอ ิน ทรีย เ ปน ตน เหลา นั ้น และมีก ารแทงตลอดซึ ่ง สมัต ถะ คือ คุณ คา อั น สม่ํ า เสมอของธรรมเหล า นั้ น (ดั ง ที่ ไ ด ก ล า วแล ว โดยละเอี ย ดในอานาปานสติ ขั้นที่หา).

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๘. ยอมมีการสโมธานธรรม อันเปนหมวดหมูโดยละเอียด คือมี การสโมธานอิ น ทรี ย ทั้ ง ห า พละทั้ ง ห า โพชฌงค ทั้ ง เจ็ ด มรรคทั้ ง แปด โดยราย ละเอี ย ดที่ อ าจชี้ ใ ห เ ห็ น ได อ ย า งชั ด เจนว า เพราะประกอบด ว ยความหมายอย า งไร จึ ง ได ชื่ อ ว า สโมธานธรรมอั น มี ชื่ อ อย า งนั้ น (ดั ง ที่ ไ ด ก ล าวแล ว โดยละเอี ย ดในอานาปานสติขั้นที่หา).

www.buddhadasa.in.th


๓๑๒

อานาปานสติภาวนา ตอน ๑๐

๙. ยอมสโมธานธรรมโดยกวางขวางถึง ๒๙ ประการ มีการสโมธาน อิ น ทรี ย ห า เป น ต น และสโมธาน อมโตคธะ กล า วคื อ นิ พ พานเป น ที่ สุ ด (ดั ง ที่ ไ ด กลาวแลวโดยละเอียดในอานาปานสติขั้นที่หา). ๑๐. การพิจารณาเวทนาโดยละเอียด ไดแกการพิจารณาตัวเวทนา และธรรมอื ่น ที ่เ กิด สืบ ตอ จากเวทนาคือ สัญ ญา และวิต ก วา แตล ะอยา ง ๆ เกิด ขึ้น ตั้ง อยู ดับ ไป อยา งไร, เมื่อ เกิด เกิด เพราะปจ จัย อะไร, เมื่อ ดับ ดับ เพราะปจ จัย อะไร และเมื ่อ ตั ้ง อยู  มัน แสดงใหเ ห็น อะไร จนเกิด ความรู ส ึก ในจิ ต ใจของผู ป ฏิ บั ติ ขึ้ น มาอย า งไรตามลํ า ดั บ (ดั ง ที่ ไ ด ก ล า วแล ว โดยละเอี ย ดใน อานาปานสติขั้นที่หา). สรุ ป ความว า การเจริ ญ อานาปานสติ ขั้ น ที่ ห กนี้ มี ก ารปฏิ บั ติ ทุ ก อย า ง ทุก ตอน เปน อยา งเดีย วกัน กับ อานาปานสติขั ้น ที ่ห า ผิด กัน แตอ ารมณสํ า หรับ เพงพิจารณาไดเปลี่ยนจากเวทนา คือ ปติ มาเปนเวทนา คือ สุข. ทั้งนี้ เพื่อให สิ่ ง ที่ เ รี ย กว า ความสุ ข ได รั บ การพิ จ ารณาสื บ ต อ ไปจากป ติ ในฐานะที่ ค วามสุ ข เป น ที่ตั้งแหงความยึดถือมากยิ่งขึ้นไปกวาปติ, ผลของการพิจารณายอมสูงกวาปติ ตามขั้ น ไปเป น ธรรมดา เพื่ อ ว า ผู ป ฏิ บั ติ จั ก เป น ผู รู พ ร อ มเฉพาะซึ่ ง เวทนาทั้ ง ปวง อยางแทจริง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org (จบ อานาปานสติขั้นที่หก อันวาดวยการรูพรอมเฉพาะซึ่งสุข)

www.buddhadasa.in.th


ตอน สิบเอ็ด

อานาปานสติ ขั้นที่ เจ็ด๑ (การกําหนดจิตตสังขาร)

อุ ทเทสแห งอานาปานสติ ขั้ นที่ เจ็ ด มี หั วข อโดยบาลี พระพุ ทธภาษิ ตว า “ภิกษุนั้น ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งจิตตสังขาร จักหายใจเขา ดังนี้ ; ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งจิตตสังขาร จักหายใจออก ดังนี้”.๒ หัวขอที่ตองวินิจฉัย คือ จิตตสังขารคืออะไร ? ปรากฏแกใคร ? ในขณะไหน ? และรูพรอมเฉพาะดวยอาการอยางไร ? ซึ่งจะไดวินิจฉัยกัน ดังตอไปนี้ : “จิตตสังขาร” ในที่นี้ คือสัญญา และเวทนา ซึ่งเปนพวกเจตสิกธรรม. สั ญ ญาและเวทนาถู ก จั ด เป น จิ ต ตสั ง ขาร เพราะเป น สิ่ ง ที่ เ ป น ไปกั บ ด ว ยจิ ต เนื่ อ ง เฉพาะอยูกับ จิต และเปน สิ่ง ที่ป รุง แตง จิต . เหตุนั้น สิ่ง ทั้ง สองนี้จึง ไดชื่อ วา จิต ตสัง ขาร ซึ่ง แปลวา เครื่อ งปรุง แตง จิต . ผูมีค วามสัง เกต จะสัง เกตเห็น ได เ องว า ในอานาปานสติ ขั้ น ก อ น ได พู ด ถึ ง สิ่ ง ทั้ ง สาม คื อ เวทนา สั ญ ญา และ วิตก ในที่นี้กลาวถึงแตเพียงสอง คือ สัญญาและเวทนา สวนวิตกนั้นขาดหายไป. ขอ นี ้เ พราะเหตุว า สิ ่ง ที ่เ รีย กวา วิต กนั ้น ถูก จัด อยู ใ นฝา ยจิต มิไ ดอ ยู ใ นฝา ย เครื่องปรุง แตงจิต ฉะนั้น ทานจึงกลาวถึ งแตสัญญา กับเวทนา เพียง ๒ อยา ง ในฐานะที่เปนจิตตสังขาร, สวนวิตกนั้นเปนจิต.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

๑ ๒

การบรรยายครั้งที่ ๓๓/๑๓ ตุลาคม ๒๕๐๒ จิตฺตสงฺขารปฏิสํเวที อสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ ; จิตฺตสงฺขารปฏิสํเวที ปสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ

๓๑๓

www.buddhadasa.in.th


๓๑๔

อานาปานสติภาวนา ตอน ๑๐

ทํา ไมสิ่ง ทั้ง สองนี้ จึง ไดชื่อ วา เครื่อ งปรุง แตง จิต ? คํา ตอบมีไ ด อย า งง า ย ๆ ว า เพราะสั ญ ญาและเวทนาเป น เหตุ ใ ห เ กิ ด วิ ต ก กล า วคื อ ความคิ ด หรือที่เรียกวาจิตในที่นี้นั่นเอง : เวทนาและสัญญา รวมกันทําหนาที่ปรุงแตงจิต โดยไมแยกกัน. ดั งที่ ได กล าวมาแล วว า เมื่ อมี เวทนาเกิ ดขึ้ น ก็ เกิ ดสั ญญาขึ้ น ๒ ระยะ คื อ สั ญ ญาที่ เ ป น ตั ว สมปฤดี คื อ ความจํ า ได ห มายรู ว า เป น เวทนาชนิ ด ไหน นี้ อยางหนึ่ง, ถัดมา คือสัญญาชนิดที่เปนการทําความสําคัญมั่นหมายวาเวทนานั้น เปนตัวตน และเปนของของตนดวยความยึดมั่นถือมั่น. สัญญาอยางในระยะแรก เป น สั ญ ญาในเบญจขั น ธ เป น อาการที่ เ ป น ไปโดยอั ต โนมั ติ เป น ไปตามธรรมชาติ ยังไมเปนตัวเจตนา ยังไมจัดเปนกุศลหรืออกุศล. สวนสัญญาในระยะหลัง เปน อาการของกิเ ลสโดยตรง จัด เปน อกุศ ลเพราะมีโ มหะเปน มูล และเปน เหตุ ใหทํ า กรรมอยา งใดอยา งหนึ ่ง โดยเฉพาะก็ค ือ มโนกรรม ไดแ กค วามคิด ที ่จ ะ ทํ า อะไรลงไปดว ยเจตนา และไดชื ่อ วา เปน มโนกรรมเสร็จ แลว เมื ่อ ความคิด นั ้น ไดเปนไปแลว ; สวนที่จะออกมาเปนกายกรรมหรือวจีกรรมทีหลังนั้น เปนอีก กรณีห นึ่ง . เพีย งแตทํา ใหเ กิด มโนกรรมอยา งเดีย วเทา นั้น ก็ไ ดชื่อ วา มีก าร ปรุง แตง จิต ถึง ที่สุด เสีย แลว . ดว ยอาการอยา งนี้เ อง เวทนากับ สัญ ญาจึง ได ชื่อวาจิตตสังขาร ซึ่งแปลวาธรรมเปนเครื่องปรุงแตงจิต, ถาปราศจากเวทนา และสัญญาเสียแลว ความคิดตาง ๆ จะไมเกิดขึ้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อนึ่ ง พึ ง ทราบว า สั ญ ญาเวทนาที่ เ ป น อดี ต ก็ ส ามารถปรุ ง แต ง จิ ต ได โดยทํานองเดียวกับสัญญาและเวทนา ที่เพิ่งจะเกิดขึ้นในขณะนั้น. นี้เรียกวาเปน ตั ว เหตุ โ ดยตรง ส ว นที่ เ ป น ตั ว เหตุ โ ดยอ อ ม หรื อ ที่ เ รี ย กว า เป น ป จ จั ย หรื อ เป น อุ ป กรณ นั้ น ก็ ยั ง มี อ ยู ได แ ก สั ญ ญาที่ ผ นวกเข า มาทางใดทางหนึ่ ง หรื อ ส ว นใด

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๗ การกําหนดจิตตสังขาร

๓๑๕

สวนหนึ่ง ซึ่งไดแกสัญญาที่มีอยูประจําสันดาน เชนนิจจสัญญา ความสําคัญวาเที่ยง, สุขสัญญา ความสําคัญวาสุข, และสุภสัญญา ความสําคัญวางาม. เหลานี้เปนตน. สั ญญาประเภทนี้ ย อมเข าผนวกกั บสั ญญาในรู ป เสี ยง กลิ่ น รส ที่ เป นไปในทาง สํ า คั ญ มั่ น หมายว า ตั ว ว า ตน ว า ตั ว เขา ตั ว เรา ว า ของเขา ของเรา ดั ง นี้ เ ป น ต น ความคิดตาง ๆ จึงเกิดขึ้น. ทั้งหมดนี้ ยอมแสดงใหเห็นไดวาสิ่งที่เรียกวาสัญญาทุก ชนิดยอมเปนจิตตสังขาร คือเปนสิ่งที่ปรุงแตงจิต. ข อ สั ง เกตพิ เ ศษอย า งหนึ่ ง ซึ่ ง ทุ ก คนควรจะสั ง เกต คื อ ข อ ที่ ใ นกรณี เชน นี ้ ทา นยกเอาสัญ ญามาไวข า งหนา เวทนา ซึ ่ง ในกรณีอื ่น หรือ กรณีทั ่ว ไป ทานจะเรียงลําดับไววา เวทนา สัญญา วิตก. การที่ยกเอาสัญญามาวางขางหนา เวทนาเช น นี้ เป น การแสดงอยู ใ นตั ว แล ว ว า สั ญ ญานั่ น เองเป น ตั ว การปรุ ง แต ง จิ ต . ถาเวทนาใดปราศจากการเกี่ยวข องกับสัญญา คือไม ทําหน าที่ กอให เกิ ดสั ญญาไดแล ว เวทนานั้นก็ไมอาจปรุงแตงจิต เชนเวทนาของพระอรหันต.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สรุ ปความได ว า เวทนาที่ เนื่ อ งอยู กั บสั ญญา หรื อ สั ญญาที่ เนื่ อ งอยู กั บ เวทนาเทานั้น ที่จะทําหนาที่ปรุงแตงจิตได. ถาไมมีเวทนา สัญญาก็ไมอาจจะเกิด จึงไมมีอะไรปรุงแตงจิต. เวทนาก็เหมือนกัน เกิดแลวถาไมปรุงแตงสัญญาขึ้น มาได ก็ไมปรุงแตงจิต, และเมื่อมันปรุงแตงสัญญาได ก็ปรุงแตงจิตตอไปโดย แนนอน. นี้คือสิ่งที่เรียกวาจิตตสังขาร และอาการที่มันปรุงแตงจิต. อานาปานสติ ข อนี้ มี การพิ จารณาเพ งไปยั งเวทนาที่ ปรุ งแต งจิ ตผิ ดจาก อานาปานสติข อ ที ่ห า และขอ ที ่ห ก ซึ ่ง เพง ไปยัง เวทนาในฐานะที ่เ ปน เวทนา : ขอ ที่หา เพง ไปยัง ปติ เปน การเพง ดูเ วทนาโดยเอกเทศ, ขอ ที่ห ก เพง ดูสุข เปนการเพงเวทนาโดยวงกวาง หรือครอบคลุมเวทนาทั้งหมด, สวนขอที่เจ็ดนี้

www.buddhadasa.in.th


๓๑๖

อานาปานสติภาวนา ตอน ๑๐

เปน การเพง ดูเ วทนาในฐานะเปน สิ ่ง ที ่ป รุง แตง สัญ ญา แลว ปรุง แตง จิต ในที ่ส ุด , ดังที่กลาวแลว. ผูศึกษาจะตองสังเกตความแตกตางกันอยางนี้ ใหเขาใจชัดเจน เสี ย ก อ น มิ ฉ ะนั้ น จะต อ งมี ค วามฟ น เฝ อ เพราะชื่ อ เหมื อ น ๆ กั น และอธิ บ ายด ว ย หลักเกณฑอยางเดียวกัน. บั ด นี้ จะได วิ นิ จ ฉั ย ในข อ ที่ ว า จิ ต ตสั ง ขารที่ ก ล า วนี้ ปรากฏแก ใ คร ในขณะไหนตอไป. ผู ศึ ก ษาพึ ง สั ง เกตดู ใ ห ดี จนกระทั่ ง จั บ หลั ก สํ า คั ญ ได ว า สิ่ ง ที่ จ ะต อ ง เพง พิจ ารณานั ้น ตอ งเปน สิ ่ง ที ่กํ า ลัง เกิด แกบ ุค คลนั ้น เอง และตรงตามขณะ ที่ ท านระบุ ไว เป นระเบี ยบตายตั วในลํ าดั บของอานาปานสติ คื อให สั งเกตให เห็ นว า สิ่ ง นั้ น ๆ ได เ กิ ด อยู ต ลอดทุ ก ระยะ นั บ ตั้ ง แต ร ะยะเริ่ ม แรก จนกระทั่ ง ระยะสุ ด ท า ย ที่ตนกําลังปฏิบัติอยู. สําหรับสิ่งที่เรียกวาเวทนาที่มันมีอยูอยางที่จะทําใหเรามอง เห็นไดมาตั้งแตอานาปานสติขั้นที่หนึ่ง คือการกําหนดลมหายใจยาว, แตใน ขณะนั้ น เราไปทํ า ในใจ อยู ที่ ล มหายใจ จึ ง ไม ไ ด ม องดู เ วทนา ซึ่ ง ที่ แ ท ก็ เ กิ ด อยู ใ น ขณะนั้ น กล า วคื อ ความสุ ข อย า งผิ ว เผิ น ที่ เ ริ่ ม เกิ ด ขึ้ น จากการกํ า หนดลมหายใจ นั่นเอง : แมเปนเพียงเวทนาเล็ก ๆ นอย ๆ เพียงไรก็ยังคงเปนเวทนาอยูนั่นเอง. นี ้แ สดงใหเ ห็น ชัด ลงไปวา แมใ นขณะแหง อานาปานสติขั ้น ที ่ห นึ ่ง ก็ม ีเ วทนา เกิ ด อยู ใ นนั้ น แต เ ราไม ไ ด กํ า หนดมั น เพราะบทฝ ก หั ด ของเราในขณะนั้ น ได ต อ ง การใหเราฝกกําหนดที่ตัวลมหายใจยาว. ครั้นตกมาถึงอานาปานสติขั้นที่เจ็ดนี้ มีร ะเบีย บแนะใหย อ นกลับ ไปกํ า หนดเวทนามาใหมตั ้ง แตขั ้น ที ่ห นึ ่ง คือ ใหเ ริ ่ม ทํ าอานาปานสติ ขั้ นที่ หนึ่ งมาใหม พอทํ าแล วแทนที่ จะกํ าหนดที่ ลมหายใจ กลั บสอด สายไปกําหนดเวทนาเพื่อใหรูวาเวทนาในขั้นนี้เปนอยางไร, เมื่อพิจารณาเวทนา ที่ สั ง เกตได ใ นขั้ น นี้ เ สร็ จ แล ว ก็ เ ลื่ อ นมาพิ จ ารณาที่ เ วทนาอั น เกิ ด ขึ้ น ในขณะแห ง

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๗ การกําหนดจิตตสังขาร

๓๑๗

อานาปานสติ ขั้นที่สอง ที่สาม ที่ สี่ ที่ หา สืบไปตามลํ าดับ ซึ่งจะทําให เห็ นไดชั ดว า เวทนาที่ เ ป น ตั ว สุ ข นั้ น ได มี สู ง ยิ่ ง ขึ้ น ทุ ก ที จนถึ ง ขั้ น สู ง สุ ด ในอานาปานสติ ขั้ น ที่ สี่ และเราก็ กํ า หนดดู มั น รุ น แรงยิ่ ง ขึ้ น ทุ ก ที ในอานาปานสติ ขั้ น ที่ ห า ที่ ห ก ใน ลักษณะตาง ๆ กัน ตามที่ระบุไวในขั้นนั้น ๆ. ครั้ น มาถึ ง ขั้ น ที่ เ จ็ ด นี้ เรามองดู มั น ในฐานะเป น ตั ว การ ที่ ป รุ ง แต ง จิ ต หรือ ในฐานะที ่เ ปน ตัว มารรา ย ที ่ก อ ใหเ กิด ความยึด มั ่น ถือ มั ่น ติด พัน อยู ใ น วัฏฏสงสาร. ผู ศึ ก ษาอย า เผลอถึ ง กั บ ทํ า ให เ กิ ด ความสั บ สนขึ้ น แก ตั ว เอง โดยเมื่ อ ไดฟ ง อยา งนี ้ แลว เกิด เขา ใจไปวา มีก ารสอนใหกํ า หนดเวทนาทุก ขั ้น ของ อานาปานสติในเมื่อฝกการทําในขั้นนั้น ๆ. ในที่นี้ เพียงแตบอกใหทราบวา เวทนามัน มีอ ยู ท ุก ขั ้น จริง แตเ มื ่อ ฝก นั ้น เราฝก การกํ า หนดสิ ่ง อื ่น เปน ลํ า ดับ มา คือกําหนดลมหายใจยาว, กําหนดลมหายใจสั้น, กําหนดลมหายใจทั้งปวง, กําหนดลมหายใจที่คอยรํางับลง ๆ, กําหนดปติที่เกิดขึ้นเพราะเหตุนั้น, กําหนด ความสุขที่เปนวงกวางที่สุดของเวทนา, และในขั้นนี้เรากําหนดเวทนาที่ทําหนาที่ ปรุงแตงจิต.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ครั้ น มาถึ ง บทฝ ก ที่ จ ะต อ งกํ า หนดเป น ความไม เ ที่ ย ง เป น ทุ ก ข เป น อนั ต ตาของเวทนาในขั้ น ไหนก็ ต าม เราจะต อ งย อ นไปกํ า หนดมาตั้ ง แต เ วทนาใน ขั้ น ต น เป น ลํ า ดั บ มา จนถึ ง ขั้ น ป จ จุ บั น ที่ กํ า ลั ง ฝ ก อยู จนกระทั่ ง เห็ น ชั ด ว า แม ใ น เวทนาขั้ นที่ กํ าหนดลมหายใจยาว ก็ ไม เที่ ยง เป นทุ กข เป นอนั ตตา เวทนาในขณะที่ กําหนดลมหายใจสั้น ก็ไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตา, เวทนาในขณะที่กําหนด ลมหายใจทั้งปวง ก็ไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตา, กระทั่งเวทนาในขั้นที่กําหนด

www.buddhadasa.in.th


๓๑๘

อานาปานสติภาวนา ตอน ๑๐

ลมหายใจที่ รํ า งั บ ลง ๆ แม จ ะเป น เวทนาที่ สู ง สุ ด และสมบู ร ณ เ พี ย งไร ก็ ยั ง เป น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา, และเปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ที่นาสังเวชยิ่งขึ้น ตาม สวนของเวทนาที่สูงและสมบูรณยิ่งขึ้น. ครั้ น มาถึ ง อานาปานสติ ขั้ นที่ ห า ที่ หก เป นขณะที่ ตนกํ า ลั ง เอิ บ อาบอยู ด ว ยสุ ข เวทนาสู ง สุ ด ก็ ยิ่ ง เห็ น ความเป น อนิ จ จั ง ทุ ก ขั ง อนั ต ตา สู ง สุ ด ยิ่ ง ขึ้ น ไป ตามสว น เหลือ ที ่จ ะประมาณได ในเมื ่อ นํ า ไปเทีย บกัน กับ การเห็น แจง เวทนา ที่เกิดขึ้นในขั้นตน ๆ คือขั้นที่กําหนดลมหายใจยาวสั้น เปนตน. ฉะนั้ นเมื่ อถามขึ้ นว า จิ ตตสั งขารคื อสั ญญาและเวทนานี้ เกิ ดขึ้ นแก ใคร ? ในขณะไหน ? คําตอบจึงมีวา มันเกิดและแจมแจงแกผูปฏิบัติในขณะที่กําลังปฏิบัติ ในอานาปานสติทํา ๆ ชั้น ทุกขณะที่เขาหายใจเขา – ออกอยู ตั้งแตขั้นที่หนึ่งมาจน ถึงขั้นที่เจ็ดทีเดียว ; ในขั้นแรก ก็เห็นเวทนาที่ไมเปนล่ําเปนสันอะไร ครั้นผาน ขั ้น ที ่ส ามมาแลว ก็ถ ึง เวทนาที ่เ ปน ล่ํ า เปน สัน จนประกอบอยู ก ับ เอกัค คตาจิต คื อ ความเป น สมาธิ ชนิ ด ที่ มี สุ ข เป น องค ฌ านอยู ด ว ยองค ห นึ่ ง โดยเจาะจงก็ คื อ สู ง ขึ้ นมาได ถึ งองค ฌานในขั้ นตติ ยฌาน ที่ สามารถทํ าให เราแจ มแจ งต อเวทนา ที่ เรี ยก วาสุขนี้ไดเต็มที่. ยิ่งเห็นเวทนาชัดเทาไร ก็หมายความวาเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนั ต ตา ชั ด ยิ่ ง ขึ้ น ไปเท า นั้ น จึ ง จะเรี ย กว า แจ ม แจ ง ต อ เวทนาจริ ง ๆ หรื อ เวทนา เปนสิ่งที่แจมแจงตอผูนั้นจริง ๆ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สรุ ปความอย างสั้ น ๆ ที่ สุ ดอี กครั้ งหนึ่ งว า เวทนาโดยความหมายทั่ วไป ก็ ดี เวทนาโดยความหมายที่ เ ป นจิ ตตสั ง ขารก็ ดี ปรากฏแก บุ คคลผู ปฏิ บั ติ ได ในทุ ก ขั้ น ของอานาปานสติ จนกระทั่ ง ถึ ง ขั้ น ที่ เ จ็ ด นี้ และแม ใ นขณะที่ กํ า ลั ง แจ ม แจ ง อยู ดวยความเปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ดังนี้.

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๗ การกําหนดจิตตสังขาร

๓๑๙

บัด นี ้ จะไดว ิน ิจ ฉัย ตอ ไปถึง ขอ ที ่ว า ผู ป ฏิบ ัต ิจ ะรู พ รอ มเฉพาะซึ ่ง จิตตสังขารดวยอาการอยางไรตอไป. คํ า ว า รู พ ร อ มเฉพาะซึ่ ง จิ ต ตสั ง ขาร ในที่ นี้ มี ห ลั ก เกณฑ ทํ า นอง เดีย วกัน กับ การรู พ รอ มเฉพาะตอ ปต ิแ ละสุข ดัง ที ่ก ลา วมาแลว ในอานาปานสติ ขั้ น ต น ๆ จนแทบจะกล า วได ว า เหมื อ นกั น ทุ ก ตั ว อั ก ษร กล า วคื อ สั ญ ญาและ เวทนาที ่ทํ า หนา ที ่เ ปน จิต ตสัง ขารในที ่นี ้ ปรากฏชัด แจง แกผู ป ฏิบ ัต ิ ในเมื ่อ เขา ไดพ ิจ ารณาเวทนานี ้อ ยู  ดว ยอาการ ๑๖ อยา ง เปน ลํ า ดับ ไป คือ รู ทั ่ว อยู กํ า หนดอยู  รู ช ัด อยู  เห็น ชัด อยู  พิจ ารณาอยู  อธิษ ฐานอยู  ปลงจิต ลงดว ย ความเชื ่อ อยู  ประกอบความเพีย รอยู  ดํ า รงสติอ ยู  จิต ตั ้ง มั ่น อยู  รู ช ัด ดว ย ป ญ ญาอยู รู ยิ่ ง ด ว ยป ญ ญาเป น เครื่ อ งรู ยิ่ ง อยู รอบรู สิ่ ง ที่ ค วรกํ า หนดรู อ ยู ละธรรม ที ่ ค ว ร ล ะ อ ยู  เ จ ริ ญ ธ ร ร ม ที ่ ค ว ร เ จ ริ ญ อ ยู  แ ล ะ ทํ า ใ ห แ จ ง ธ ร ร ม ใ น ธ ร ร ม ที่ควรใหแจงอยู ดวยอํานาจการหายใจเขา – ออกดวยตนเองผูเห็นชัดแจงอยูวา เวทนาที ่กํ า ลัง ปรากฏอยู ใ นการกํ า หนดของตนนั ่น เหละ เปน สิ ่ง ที ่ป รุง แตง จิต รวมกันกับสัญญา ดังที่กลาวแลว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ข อ นี้ ห มายความว า ทุ ก ระยะแห ง การกํ า หนดทั้ ง ๑๖ ระยะ ต อ งรู แ จ ง เวทนาในฐานะที่ ปรุ งแต งจิ ต เช นเดี ยวกั บรู แจ งเวทนาในอานาปานสติ ขั้ นที่ ห า ที่ หก ในฐานะที่เปนเวทนาลวน ๆ แตรูอยูดวยอาการทั้ง ๑๖ อยางเดียวกัน.

สรุปความสั้นที่สุดก็คือวา ทุกลมหายใจเขา – ออก ตนกําลังปฏิบัติ อยู ใ นขั้ น ไหน ด ว ยอาการอย า งไร ก็ แ จ ม แจ ง ต อ เวทนาโดยความหมายที่ ว า เป น จิตตสังขารอยูตลอดเวลานั่นเอง, ลักษณะและอาการตาง ๆ ของเวทนามีรายละเอียด ปรากฏอยูแลว ในอานาปานสติขั้นที่หา.

www.buddhadasa.in.th


๓๒๐

อานาปานสติภาวนา ตอน ๑๐

เรื่ อ งต อ ไปที่ เ หลื อ อยู คื อ เรื่ อ งการที่ ส ติ แ ละญาณเกิ ด ขึ้ น โดยสมบู ร ณ . การเห็นเวทนาในลักษณะที่เปนเวทนานุปสสนาสติปฏฐานถาวนา, การสโมธาน ซึ่งอินทรียรูพรอมทั้งรูโคจร และสมัตถะโดยรายละเอียดตาง ๆ, กระทั่งอาการ ของธรรมะที่ผูปฏิบัติ ยอมประมวลมาไดในขณะนั้นถึง ๒๙ อยางดวยกัน, มี รายละเอี ยดตรงเป นอย างเดี ยวกั นกั บที่ กล าวแล ว ในตอนท ายของอานาปานสติ ขั้ น ที่หา, ไมจําเปนตองนํามาวินิจฉัยอีกในที่นี้. สรุ ป ความแห ง อานาปานสติ ขั้ น ที่ เ จ็ ด นี้ ไ ด ว า มี ห ลั ก เกณฑ แ ห ง การ ปฏิ บั ติ อย างเดี ยวกั นกั บอานาปานสติ ขั้ นที่ ห า ที่ หก ทุ กประการ ผิ ดกั นอย างเดี ยว คื อ ในที่ นี้ เ ป น การพิ จ ารณาเวทนา ในฐานะที่ เ ป น เครื่ อ งปรุ ง แต ง จิ ต แทนที่ จ ะ พิจ ารณาแตเ พีย งวา เวทนาคือ อะไร หรือ เปน อยา งไร ซึ ่ง เปน การพิจ ารณาใน ขั้นที่หา ที่หก นั่นเอง. (จบอานาปานสติขั้นที่เจ็ด อันวาดวยการรูพรอมเฉพาะซึ่งจิตตสังขาร)

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


ตอน สิบสอง

อานาปานสติ ขั้นที่แปด๑ (การกําหนดจิตตสังขารใหรํางับ)

อุ ท เทสแห ง อานาปานสติ ขั้ น ที่ แ ปดนี้ มี หั ว ข อ ว า “ภิ ก ษุ นั้ น ย อ มทํ า ในบทศึกษาวา เราเปนผูทําจิตตสังขารใหรํางับอยู จักหายใจเขา ดังนี้ ; ยอมทําในบท ศึกษาวา เราเปนผูทําจิตตสังขารใหรํางับอยู จักหายใจออก ดังนี้”.๒ สิ่งที่ตองวินิจฉัย มีอยูเฉพาะคําวา “ทําจิตตสังขารใหรํางับอยู”. คํานอกนั้น มีคําอธิบายเชนเดียวกับคําอธิบายในอานาปานสติขออื่น ๆ ทุกประการ.

สวน

การทํ า จิ ต ตสั ง ขารให รํ า งั บ ย อ มเนื่ อ งกั น อยู กั บ การทํ า กายสั ง ขารให รํางับ, ฉะนั้น จึงมีการทําโดยแยบคาย ในสวนที่เปนการทํากายสังขารใหรํางับ รวมอยู ด ว ย กล า วคื อ เมื่ อ บุ ค คลผู ป ฏิ บั ติ กํ า ลั ง มี อํ า นาจของสั ญ ญาและเวทนา ครอบงํ าจิ ตอยู อย างรุ นแรง มี วิ ตกอย างใดอย างหนึ่ งอยู แม ในทางที่ เป นกุ ศลก็ ตาม เขาย อมสามารถบรรเทากํ าลั งหรื ออํ านาจของสั ญญาและเวทนาลงเสี ยได ด วยการทํ า ลมหายใจเขา – ออกที่กําลังเปนไปอยูอยางหยาบ ๆ นั้น ใหละเอียดลง ๆ ; เมื่อลม หายใจละเอี ยดลง ความรู สึ กที่ เป นสั ญญาและเวทนาก็ รํ างั บลง ซึ่ งมี ผลทํ าให วิ ตก พลอยรํางับลงไปตามกัน. นี่คือการทําจิตสังขารใหรํางับลงดวยอุบายอันแรก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

๑ ๒

การบรรยายครั้งที่ ๓๔/๒๑ ตุลาคม ๒๕๐๒ ปสฺสมฺภยํ จิตฺตสงฺขารํ อสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ ; ปสฺสมฺภยํ จิตฺตสงฺขารํ ปสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ.

๓๒๑

www.buddhadasa.in.th


๓๒๒

อานาปานสติภาวนา ตอน ๑๒

วิ ธี ป ฏิ บั ติ คื อ ผู ป ฏิ บั ติ ค อยกํ า หนดความรุ น แรงของสั ญ ญาและเวทนา เปนิมิต และเปน อารมณอ ยูใ นใจ. กํา หนดใหเ ห็น ชัด เจนจริง ๆ วา มัน รุน แรง อ ยู อ ยา ง ไ ร เ บื ้อ ง ตน แ ลว มัน คอ ย ๆ ร ะ งับ ห รือ คอ ย ออ น กํ า ลัง ล ง อ ยา ง ไ ร เปนลําดับมา ในเมื่อมีการควบคุมลมหายใจใหประณีต หรือละเอียดยิ่งขึ้นตาม ลํ า ดั บ พึ ง ถื อ เป น หลั ก ว า การควบคุ ม ลมหายใจ เป น การควบคุ ม สั ญ ญาและ เวทนาพรอมกันไปในตัว : เมื่อ ทําลมหายใจใหประณีตได ก็สามารถทําสัญญา และเวทนาใหออ นกํา ลัง ลงได. หากแตวา ในขั้น นี้ ไมกํา หนดนิมิต หรือ อารมณ ที่ ล มหายใจอั น ค อ ย ๆ รํ า งั บ ลง แต กํ า หนดตั ว สั ญ ญาและเวทนาที่ ค อ ย ๆ รํ า งั บ ลง ตามลมหายใจนั ้น เอง เปน นิม ิต หรือ อารมณข องสติ ฉะนั ้น จึง ไดชื ่อ วา ทํ า ใน บท ศึกษาวา เราเปนผูทําจิตตสังขารใหรํางับอยู ดังนี้. หลั ก สํ า คั ญ มี อ ยู ว า เมื่ อ ลมยิ่ ง ละเอี ย ดเท า ไร เวทนาและสั ญ ญาก็ รํ า งั บ ลงเทา นั้น จิต ถึง ความละเอีย ดไมฟุง ซา นยิ่ง ขึ้น เทา นั้น . เมื่อ ถือ เอาความที่จ ิต ไมฟุ ง ซา น เพราะมีค วามรํ า งับ ลงแหง สัญ ญาและเวทนา ก็ด ี และความที ่จ ิต ไม ฟุ ง ซ า น เพราะกํ า หนดเอาสั ญ ญาและเวทนาในขณะนั้ น เป น อารมณ อ ยู ก็ ดี มา เป น หลั ก ก็ เ ป น อั น กล า วได ว า ได มี ก ารถื อ เอาเวทนาที่ เ ป น ตั ว จิ ต ตสั ง ขารโดยตรง ที่กําลังรํางับอยู ๆ เปนอารมณแหงการกําหนดแลว ดังนี้. เปนอันวาในขณะนั้น มีความเต็มที่แหงการหายใจ : มีความเต็มที่แหงการหายใจเขา – ออก, มีความเต็มที่ แหงสติที่เขาไปกําหนดเวทนาที่รํางับลง ๆ ตามลมหายใจที่รํางับลง, และมีความ เต็ ม ที่ แ ห ง ความเป น สมาธิ คื อ ความที่ จิ ต แน ว แน ด ว ยอํ า นาจของสติ ที่ กํ า หนดเวทนา อัน รํา งับ ลงตามลมหายใจนั้น . ฉะนั้น จึง เปน อัน วา แมจ ะเปน การกํ า หนด จิ ต ตสั ง ขาร คื อ เวทนาและสั ญ ญาที่ รํ า งั บ อยู ก็ มี ค วามเป น สติ และความเป น สมาธิ โดยสมบูรณ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

ส ว นที่ จั ด เป น อ นุ ป ส สนาหรื อ เป น ญานในอานาปานสติ ขั้ น นี้ นั้ น ได แ ก ก า ร พิ จ า ร ณ า เ ห็ น เ ว ท น า ที่ กํ า ลั ง รํ า งั บ ล ง นั้ น เ อ ง ว า เ ป น จิ ต ต สั ง ข า ร ที่ ไ ม เ ที่ ย ง

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๘ การจิตตสังขารใหรํางับ

๓๒๓

เปนทุกข เปนอนัตตา จนกระทั่งละสัญญาวาเที่ยง วาสุข วาตัวตนเสียได, นี้เปน อนุปสสนาดวย เปนการรํางับสัญญาวาเที่ยง วาสุข วาอัตตาเสียดวย ; จึงเปน ทั้งญาณและเปนทั้งการรํางับจิตตสังขารอยางยิ่งพรอมกันไปในตัว. หลังจากนั้น ยอ มเกิด ความเบื ่อ หนา ย คลายกํ า หนัด ความดับ และความสละคืน ซึ ่ง ทํ า ให ละความเพลิน ความกําหนัด ความกอขึ้น และความยึดมั่นเสียได โดยนัยที่กลาว แลวโดยละเอียดในตอนทายของอานาปานสติขั้นที่หา. และอาการทั้งหมดนี้เปน อาการของเวทนานุ ป สสนาสติ ปฏ ฐานภาวนา ซึ่ งมี ค วามหมายเต็ม ตามอรรถแห ง คําวา ภาวนา โดยสมบูรณ จึงเปนการประมวลมาไดซึ่งธรรมทั้งปวง มีอินทรียหา เป น ต น และมี อมโตคธะ เป น ที่ สุ ด รวมกั น เป น ๒๙ อย า ง ดั ง ที่ ก ล า วแล ว ใน ตอนทายของอานาปานสติขั้นที่หา เชนเดียวกัน. คํ า ว า รํ า งั บ มี ค วามหมายตั้ ง แต ค วามค อ ย ๆ รํ า งั บ ลง กระทั่ ง ถึ ง ความดับสนิท และเปนความเขาไปสงบรํางับแลวโดยสิ้นเชิง. ขอนี้หมายถึง การที่เวทนามีกําลังออนลง ๆ จกระทั่งดับไปไมปรากฏ. ผลก็คือปรุงแตงจิต น อ ย ๆ ลงจนกระทั่ ง ไม มี ก ารปรุ ง แต ง จิ ต เลย ซึ่ ง เรี ย กว า ระงั บ จิ ต สั ง ขารเสี ย ได . อาการทั้ ง หมดนี้ เป น ไปได เ พราะการควบคุ ม กํ า ลั ง ของสั ญ ญาและเวทนา โดย อาศัยการควบคุมลมหายใจโดยนัยดังที่กลาวแลว. โดยอํานาจของสติเปนการ ทํ า ใหจ ิต ตสัง ขารรํ า งับ ลง,ดว ยอํ า นาจของสมาธิเ ปน การใหจ ิต ตสัง ขารรํ า งับ ไปไมป รากฏ.ดว ยอํ า นาจของอนุป ส สนาหรือ ญาณ ทํ า ใหจ ิต ตสัง ขารขาดเหตุ ขาดปจ จัย ที ่จ ะปรุง แตง คือ จะไมม ีส ัญ ญาหรือ เวทนาชนิด ที ่จ ะเปน จิต ตสัง ขาร ขึ้นมาได ตลอดเวลาที่อนุปสสนาหรือญาณนั้นยังมีอยู, กลาวคือ ยังเปนการ เจริญภาวนาอยู.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สรุ ป ความว า สติ ก็ ดี สมาธิ ก็ ดี อนุ ป ส สนา หรื อ ญาณก็ ดี ซึ่ ง รวม เรี ย กว า ภาวนาในที่ นี้ เป น ไปโดยอาศั ย ลมหายใจเข า หายใจออก และควบคุ ม

www.buddhadasa.in.th


๓๒๔

อานาปานสติภาวนา ตอน ๑๒

ลมหายใจเขา – ออกโดยอาการที่สามารถควบคุมสัญญา และเวทนาไดอีกตอหนึ่ง. ภาวนานี้ ได ชื่ อว าอานาปานสติ เพราะมี การกํ าหนดที่ ลมหายใจ หรื อด วยลมหายใจ หรื อ โดยการเนื่ อ งด ว ยลมหายใจ เช นเดี ยวกั บ อานาปานสติใ นขั้ นต น ๆ ที่ แล ว มา และไดชื่อวาเวทนานุปสสนาสติปฏฐานภาวนา ก็เพราะเปนการเจริญภาวนา ที่มี การกํ า หนดสิต หรื อ การเขา ไปตั้ ง ไว ซึ่ ง สติ ดว ยการตามพิจ ารณาซึ่ ง เวทนานั้น เอง. และเนื่องจากภาวนานี้เปนไปทุกลมหายใจเขา – ออก จึงกลาววาเปนอานาปานสติ ดวย เปนสติปฏฐานภาวนาดวย ดวยอาการอยางนี้. การวินิ จฉั ยในอานาปานสติ ขั้ นที่แปด สิ้ นสุ ดลงเพี ยงแคนี้ ซึ่งเปนการ สิ้นสุดของจตุกกะที่สอง อันกลาวถึงภาวนาที่มีเวทนาเปนอารมณทั้ง ๔ ขั้น. (จบ อานาปานสติขั้นที่แปด อันวาดวยการทําจิตตสังขารใหรํางับ.) ในจตุ ก กะที่ ส องนี้ ท า นแนะให สั ง เกตว า การปฏิ บั ติ ที่ ดํ า เนิ น มาถึ ง จตุก กะที่ส องนี้ สิ่ง ที่เ รีย กวา ญาณในอนุปส สนา ก็มีอ ยูแ ปด. และอนุส สติ ซึ่งเปนเครื่องกําหนด ก็มีอยูแปด. ที่กลาววาแปดในที่นี้ หมายถึงญาณก็ตาม อนุ ส สติ ก็ ต าม ที่ ทํ า หน า ที่ เ ข า ไปรู และเข า ไปกํ า หนดตามลํ า ดั บ นั้ น ได กํ า หนด ปติหายใจเขา ๑ หายใจออก ๑, กําหนดสุขหายใจเขา ๑ หายใจออก ๑, กําหนดจิตตสังขารหายใจเขา ๑ หายใจออก ๑ และกําหนดความที่จิตตสังขารนั้น รํางับลง ๆ หายใจเขา ๑ หายใจออก ๑, รวมกันจึงเปนแปด. ขอนั้นเปนการ แสดงว า อนุ ป ส สนาคื อ การตามเห็ น ก็ ดี อนุ ส สติ คื อ การตามกํ า หนดก็ ดี ต อ งเป น ไปครบทั ้ง แปดจริง ๆ และสม่ํ า เสมอเทา กัน จริง ๆ จึง จะเปน การสมบูร ณแ หง จตุกกะที่สองนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

อานาปานสติ จตุกกะที่ ๒ จบ

www.buddhadasa.in.th


จตุกกะที่ ๓ - จิตตานุปสสนาสติปฏฐาน๑ (ตั้งแตการกําหนดลักษณะของจิต จนถึง การทําจิตใหปลอยสิ่งที่เกิดกับจิต)

บั ด นี้ ม าถึ ง การปฏิ บั ติ ใ นอานาปานสิ จ ตุ ก กะที่ ส าม ซึ่ ง กล า วถึ ง อานาปานสติอีก ๔ ขั้น เปนลําดับไปคือ :ขั้นที่ ๙ การเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งจิต ขั้นที่ ๑๐ การทําจิตใหปราโมทยยิ่งอยู ขั้นที่ ๑๑ การทําจิตใหตั้งมั่นอยู ขั้นที่ ๑๒ การทําจิตใหปลอยอยู

หายใจเขา – ออก ๑, หายใจเขา – ออก ๑, หายใจเขา – ออก ๑, หายใจเขา – ออก ๑,

รวมเปน ๔ ขั้นดวยกันดังนี้ ; ทั้ง ๔ ขั้นนี้ จัดเปนหมวดที่พิจารณาจิตเปนอารมณ สําหรับการศึกษา, แทนที่จะกําหนดพิจารณากายคือลมหายใจ และเวทนาดังที่ กลาวแลว ในจตุกกะที่หนึ่ง และที่สอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

การบรรยายครั้งที่ ๓๕ / ๒๖ ตุลาคม ๒๕๐๒

๓๒๕

www.buddhadasa.in.th


ตอน สิบสาม

อานาปานสติ ขั้นที่ เกา (การรูพรอมซึ่งจิต)

อุทเทสแหงอานาปานสติขอที่หนึ่งแหงจตุกกะที่สาม หรือจัดเปน อานาปานสติขอที่เกาแหงอานาปานสติทั้งหมดนั้น มีวา “ภิกษุนั้นยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งจิต จักหายใจเขา ดังนี้ ; ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผู รูพรอมเฉพาะซึ่งจิต จักหายใจอออก ดังนี้”.๑ ใจความสําคัญ ที่จะตองศึกษามีอยูเปนหัวขอใหญ ๆ คือ ๑. คําวา ยอมทําในบทศึกษา ; ๒. คําวา เปนผูรูพรอ มเฉพาะซึ่งจิต ; ๓. ญาณ และสติพรอมทั้งธรรมอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นโดยสมควรแกการปฏิบัติ ; มีคําอธิบายโดย ละเอียดดังตอไปนี้ :-

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org คําวา “ยอมศึกษาในบทศึกษา”. คํานี้ มีคําอธิบายเหมือนกันทุกขั้น ของอานาปานสติ โดยใจความทั ่ว ไปก็ค ือ ขณะที ่กํ า หนดอารมณข องอานาปานสติ อ ย า งใดอย า งหนึ่ ง อยู ย อ มไม มี โ ทษเกิ ด ขึ้ น ทางกายหรื อ ทางวาจา และ เปนการสํารวมเปนอยางดี ชนิดที่เปนศีลอยูในตัว ; นี้ชื่อวาสีลสิกขาของผูนั้น ในขณะนั้น. ความไมฟุงซานแหงจิตในขณะที่ทําอานาปานสติอยู ชื่อวาจิตตสิกขาของผูนั้นในขณะนั้น. การพิจารณาอารมณของอานาปานสติ กลาวคือ กาย เวทนา และจิ ต เป น ต น โดยความเป น ของไม เ ที่ ย ง เป น ต น นั้ น ชื่ อ ว า เป น ปญญาสิกขาของผูนั้นในขณะนั้น. เมื่อเปนดังนี้ เปนอันกลาวไดวาในขณะนั้น ผูนั้นยอมทําสมบูรณในสิกขาทั้ง ๓ อยูแลวในตัว. สวนที่เปนเฉพาะกรณีนั้น

จิตฺตปฏิสํเวที อสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ ; จิตฺตปฏิสํเวที ปสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ.

๓๒๖

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๙ การรูพรอมซึ่งจิต

๓๒๗

หมายถึ งการที่ ในขณะแห งอานาปานสติ ขั้ นหนึ่ ง ๆ นั้ น ผู นั้ นกํ าลั งปฏิ บั ติ อย างไรอยู คือกําลังพิจารณาอารมณอะไรอยู โดยอาการอยางใด ; แตถึงกระนั้นก็ตาม ยั งเป นอั นกล าวได ว าด วยการปฏิ บั ติ เพี ยงอย างเดี ยวนั้ น เขาก็ กํ าลั งทํ าในบทศึ กษา ครบทั้ง ๓ อยางในตัวอยูนั่นเอง ดังนี้. ความหมายของคําวา ยอมทําในบท ศึก ษา ยอ มเปน ดัง นี้เ หมือ นกัน ในที่ทุก แหง ซึ่ง ไมจํา เปน จะตอ งกลา วถึง อีก ในโอกาสขางหนาในบทตอ ๆ ไป. ที่วา “รูพรอมเฉพาะซึ่งจิต” นั้น มีสวนที่ตองทําความวินิจฉัยแยกกัน คือคําวา “รูพรอมเฉพาะ” และคําวา “จิต”. สําหรับคําวา “รูพรอมเฉพาะ” นั้น มีคําอธิบายเหมือนในบทที่แลว มา ซึ่ งอาจจะสรุ ปความได สั้ น ๆ ว า การที่ จะรู พร อมเฉพาะต อสิ่ งใดนั้ น หมายถึ ง การทํ า สิ ่ง นั ้น ใหเ กิด ขึ ้น เปน อารมณข องการกํ า หนด แลว พิจ ารณาโดยละเอีย ด ถี่ ถ ว นว า สิ่ ง นั้ น เป น อย า งไร ประกอบอยู ด ว ยลั ก ษณะอย า งไร จนกระทั่ ง เกิ ด ความ เบื่อหนายคลายกําหนัดจากสิ่งนั้นอยูทุกลมหายใจเขา – ออก, ชื่อวารูพรอมเฉพาะ ตอสิ่งนั้น. สําหรับในที่นี้ ก็คือ รูพรอมเฉพาะตอจิตโดยวิธีดังกลาวแลว ซึ่งจะ ไดวินิจฉัยในคําวาจิต โดยละเอียดสืบไป. คําวา “จิต” ทานจําแนกโดยละเอียดดวยคําตอไปนี้คือ มโน = ใจ มานสํ = มนัส, หทยํ = หัวใจ, ปณฺฑรํ = น้ําใจ (คํานี้แปลวาขาว), มนายตนํ= อายตนะ คือใจ, มนินฺทฺริยํ = อินทรีย คือใจ, วิฺาณํ = ธรรมชาติที่รูโดยวิเศษ วิฺาณกฺขนฺโธ = กองหรือสวนคือวิญญาณ, มโนวิฺาณธาตุ = ธาตุคือความรู วิเ ศษฝา ยใจ ทั ้ง หมดนี ้ล ว นแตห มายถึง จิต หรือ เปน คํ า ที ่ใ ชเ รีย กแทนคํ า วา จิต แมจะมีคําวา หทยํ รวมอยูดวย ก็ใหถือเอาความวา หมายถึงจิต มิไดหมายถึงกอน เนื้อหัวใจดังความหมายธรรมดา ; ฉะนั้น ขอใหถือเอา ความหายของคําเหลานี้ ทุกคํามารวมกันเปนความหมายของคําวา “จิต” ในที่นี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๓๒๘

อานาปานสติภาวนา ตอน ๑๓

จิตนี้จะรูพรอมเฉพาะไดที่ไหน ? คําตอบในวงการทําอานาปานสติ ยอ มตอบวา รู พ รอ มเฉพาะไดที ่จ ิต ทุก ขั ้น ในทุก ขณะแหง การทํ า อานาปานสติ นั่นเอง ; เพราะฉะนั้น ผูที่ทําอานาปานสติขั้นที่ ๙ นี้ จะตองพิจารณาดูจิต ว า เป น อย า งไร มาทุ ก ขั้ น ของการทํ า อานาปานสติ ที่ แ ล ว มาทั้ ง ๘ ขั้ น เขาจะต อ ง เริ่ ม ทํ าอานาปานสติ มาตั้ ง แต ขั้ นต น ทุ กขั้ นตามลํ าดั บ และเพ ง พิ จารณาดู ลั ก ษณะ ของจิตมาตามลําดับตั้งแตขั้นที่หนึ่งจนถึงขั้นที่แปด จนกระทั่งเห็นชัดวา :๑. จิตในขณะกําหนดลมหายใจยาว นั้นเปนอยางไร ; ๒. จิตในขณะกําหนดลมหายใจสั้น นั้นเปนอยางไร ; ๓. จิตในขณะมีการกําหนดรูพรอมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง นั้นเปน อยางไร ; ๔. จิตในขณะที่กําลังทํากายสังขารใหรํางับ นั้นเปนอยางไร ; ๕. จิตในขณะที่กําลังรูพรอมเฉพาะตอปติอยู นั้นเปนอยางไร ; ๖. จิตในขณะที่กําลังรูพรอมเฉพาะตอสุขอยู นั้นเปนอยางไร ; ๗. จิตในขณะที่กําลังรูพรอมเฉพาะซึ่งจิตสังขารอยู นั้นเปนอยางไร ; ๘. จิตในขณะที่กําลังทําจิตตสังขารใหรํางับอยู นั้นเปนอยางไร ;

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ซึ่งจะพิจารณาเห็นไดวา มีลักษณะแตกตางกันอยางไรเปนลําดับมา จนกระทั่ง ถึงขณะนี้ ; ครั้นในที่สุดตองพิจารณาใหเห็นลักษณะแหงความไมเที่ยง เปนทุกข เป น อนั ต ตา เป น ต น ของจิ ต เหล า นั้ น ทุ ก ๆ ขั้ น เพื่ อ ถอนเสี ย ซึ่ ง ความสํ า คั ญ ผิ ด ว า เที่ ย ง ว า สุ ข ว า อั ต ตา จนกระทั่ ง มี ค วามเบื่ อ หน า ยคลายกํ า หนั ด ความดั บ และความสละคืนดังที่กลาวแลว. ทั้งหมดนี้ กระทําดวยการพิจารณาที่ละเอียด ยิ่งขึ้นเปนลําดับ โดยอาการ ๑๖ อยาง ดังที่กลาวแลวโดยละเอียดในอานาปานสติ ขั้นตน ๆ, ซึ่งโดยใจความก็คือ รูทั่วอยู, กําหนดอยู, รูอยู, เห็นอยู, พิจารณาอยู,

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๙ การรูพรอมซึ่งจิต

๓๒๙

อธิษฐานอยู, ปลงจิตลงโดยความเชื่ออยู, ประคองความเพียรอยู, ดํารงสติอยู, จิตตั้งมั่นอยู, รูชัดดวยปญญาอยู, รูยิ่งดวยปญญาเปนเครื่องรูยิ่งอยู, รอบรูใน ธรรมที่ควรกําหนดรูอยู, ละธรรมที่ควรละอยู, เจริญธรรมที่ควรเจริญอยู, และทํา ใหแจงธรรมที่ควรทําใหแจงอยู ; ทุก ๆ ขั้นทําดวยจิตที่ประกอบไปดวยเอกัคคตา ไมฟุงซานอยูทุกลมหายใจเขา – ออก จนกระทั่งเห็นอยางแจมแจงวา จิตทั้งหมด นั้นเปนสังขารธรรม มีความไมเที่ยง เปนทุกข? เปนอนัตตา เปนตน ดังกลาว แลว. ทั้งหมดนี้ คือคําอธิบายของคําวา “รูพรอมเฉพาะซึ่งจิต”. ในที่ อื่ นอี กบางแห ง มี บาลี แสดงลั กษณะต าง ๆ ของจิ ตไว อี กปริ ยายหนึ่ ง ซึ่ ง สามารถนํ า มาใช เ ป น หลั ก ในการพิ จ ารณาดู จิ ต ได เ พิ่ ม ขึ้ น อี ก ส ว นหนึ่ ง ในที่ นั้ น มีการแนะใหพิจารณาดูจิตโดยนัยดังตอไปนี้ :๑. จิตกําลังประกอบอยูดวยราคะ หรือไมประกอบดวยราคะ ; ๒. จิตกําลังประกอบอยูดวยโทสะ หรือไมประกอบดวยโทสะ ; ๓. จิตกําลังประกอบอยูดวยโมหะ หรือไมประกอบดวยโมหะ ; ๔. จิตกําลังหดหู หรือกําลังฟุงซาน ; ๕. จิตกําลังตั้งอยูในฌาน หรือไมตั้งอยูในฌาน ; ๖. จิตมีจิตอื่นเหนือ หรือไมมีจิตอื่นเหนือ; ๗. จิตมั่นคง หรือไมมั่นคง; ๘. จิตมีการปลอยสิ่งที่เกิดแกจิต หรือไมการปลอย;

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org แต ใ นที่ สุ ด ก็ ย อ มนํ า ไปสู ก ารพิ จ ารณาว า แม จิ ต จะประกอบอยู ด ว ยลั ก ษณะเช น ไร ก็ยังคงประกอบอยูดวยความเปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา อยูนั่นเอง, ซึ่งทําใหมีผล แห ง การพิ จ ารณาเป น ไปในทํ า นองเดี ย วกั น กั บ การพิ จ ารณา ตามวิ ธี ที่ ก ล า วแล ว ขางบน ทั้งสิ้น.

www.buddhadasa.in.th


๓๓๐

อานาปานสติภาวนา ตอน ๑๓

สวน ขอที่วาญาณและสติพรอมทั้งธรรมอื่น ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยสมควร แกการปฏิบัติ อยางไรนั้น ก็มีคําอธิบายเหมือนอยางที่กลาวแลว ในอานาปานสติ ขั้ น ต น แต นี้ ซึ่ ง ใคร จ ะขอซั ก ซ อ มความเข า ใจอี ก ครั้ ง หนึ่ ง คื อ เมื่ อ มี ก ารพิ จ ารณา และรู พ ร อ มเฉพาะซึ่ ง จิ ต อยู โ ดยอาการ ๑๖ อย า งดั ง ที่ ก ล า วแล ว จิ ต ก็ เ ป น สิ่ ง ที่ ปรากฏชัด ดวยอํานาจลมหายใจเขา – ออกของบุคคลผูรุพรอมเฉพาะอยูดวยอาการ อยา งนี้. การกํา หนดนั้น เปน สติ ; สตินั้น เปน อนุปส สนาญาณในที่สุด ; ผูปฏิบัติตามเห็นจิตนั้น ดวยสตินั้น ดวยญาณนั้น อยูทุกลมหายใจเขา – ออก จึง เกิดมีภาวนาที่เรียกวาจิตตานุปสสนาสติปฏฐานภาวนา ขึ้นโดยสมบูรณอยูในขณะนั้น เพราะว า สมบู ร ณ ไ ปด ว ยอรรถทั้ ง สี่ ข องภาวนา ดั ง ที่ ก ล า วแล ว ข า งต น โดยละเอี ย ด อรรถ ๔ โดยหัว ขอ คือ ๑. ความไมก้ํา เกิน กัน ของธรรมที่เ กิด ขึ้น ในสติปฏฐานนั้น ๒. อินทรียทั้งหลายมีรสหรือกิจเปนอันเดียวกัน ๓. นําความ เพียรเขาไปสมควรแกธรรมและอินทรีย ๔. เปนที่สองเสพมากแหงจิต. เมื่อ การปฏิ บั ติ เป นสติ ป ฏฐานาภาวนาโดยสมบู รณ เช นนี้ แล ว ย อมสโมธานธรรมต าง ๆ คื อ ก อ ให เ กิ ด ธรรมะชื่ อ นั้ น ๆ ขึ้ น โดยสมควรแก ก ารปฏิ บั ติ ใ นขณะนั้ น ดั ง ที่ ท า นให ตั วอย างไว เป น ๒๙ อย างด วยกั น มี การสโมธานซึ่ งอิ นทรี ย ห า พละห า โพชฌงค เจ็ ด มรรคมี อ งค แ ปด สติ ป ฏ ฐานสี่ ฯลฯ เป น ลํ า ดั บ ไป จนกระทั้ ง ถึ ง วิ มุ ต ติ แ ละ อมโตคธะ เป น ที่ สุ ด ดั ง ที่ ก ล า วแล ว โดยละเอี ย ดในคํ า อธิ บ ายของอานาปานสติ ขั้นที่หา. อนึ่ง จะตองเขาใจไวเสมอไปวา การสโมธานธรรมหมวดใดหมวดหนึ่ง ก็ต าม ยอ มมีก ารรู ซึ ่ง โคจร คือ สิ ่ง ที ่เ ปน อารมณข องธรรมนั ้น และยอ มมีก าร แทงตลอดสมั ต ถะเกี่ ย วกั บ ธรรมนั้ น ด ว ยเสมอไป มี ร ายละเอี ย ดดั ง ที่ ก ล า วแล ว ใน คําอธิบายเรื่องนั้นในอานาปานสติขั้นตน ๆ แตนี้. รวมความวา สติ คือการกําหนด ก็เกิดขึ้น, ญาณคือความรูก็เกิดขึ้น, การกระทําที่เรียกวาภาวนาก็เกิดขึ้น , ธรรมตาง ๆ ๒๙ อยางก็ประมวลมาได. ความเบื่อหนาย คลายกําหนัด ความดับ

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๙ การรูพรอมซึ่งจิต

๓๓๑

และความสลั ด คื อ ซึ่ ง เป น ผลของการกระทํ า ก็ เ กิ ด ขึ้ น โดยอาการต า ง ๆ ดั ง ที่ ก ล า ว แลวในเรื่องนั้น ๆ. นี้คือญาณและสติเปนตน ซึ่งเกิดขึ้นดวยอํานาจอานาปานสติ ขั้ น นี้ ซึ่ ง เป น ขั้ น ที่ เ พ ง ดู จิ ต ชนิ ด ต า ง ๆ หรื อ มี จิ ต ชนิ ด ต า ง ๆ เป น อารมณ เพื่ อ พิ จ ารณาให เ ห็ น ความจริ ง ในข อ ที่ ว า จิ ต ทั้ ง หมดนั้ น แม จ ะต า งกั น อย า งไร ก็ ต กอยู ในฐานะเปนเพียงสังขารธรรม อยูใตอํานาจของความไมเที่ยง เปนทุกข เปน อนัตตา โดยเสมอกันนั่นเอง. ขอสังเกตในระหวางจตุกกะทั้งสาม เพื่อใหเห็นความแตกตางอยาง ชั ด แจ ง ยิ่ ง ขึ้ น ไป ในตอนนี้ มี อ ยู ว า เมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั น ดู ร ะหว า งจตุ ก กะทั้ ง สามนี้ แลว จะเห็น ไดว า จตุก กะที ่ห นึ ่ง มีก ารดูแ ละควบคุม ที ่ล มหายใจ ในลัก ษณะ ตาง ๆ กัน ; ใน จตุกกะที่สองมีการดูและควบคุมที่ความรูสึกอันเปนเวทนา ในลักษณะตาง ๆ กัน ; ใน จตุกกะที่สาม นี้จะไดดูและทําการฝกฝน ควบคุม จิ ต ในลั ก ษณะต า ง ๆ กั น สื บ ต อ ไป ทั้ ง หมดนี้ ต อ งไม ลื ม ว า คํ า ที่ ว า ดู ก็ คื อ ดู ให เ ห็ น ว า มี ลั ก ษณะอยู ใ นตั ว มั น เองอย า งไร ทํ า หน า ที่ อ ย า งไร เกิ ด มาจากอะไร จะดับไปอยางไร เปนตน ; และคําวาควบคุม ก็คือทําใหมันสงบรํางับลงจาก ความหยาบมาสูความละเอียด, จากการปรุงแตงมาก มาเปนการปรุงแตงนอย กระทั่งไมใหมีการปรุงแตงเลย, หรือจากความยึดถือเต็มที่ มาสูความยึดถือนอย กระทั่งไมมีความยึดถือเลย. ทั้งหมดนี้ คือความมุงหมายอันแทจริง ของการที่ เราทนสูความลําบากนานาประการ ในการปฏิบัติอานาปานสติกัมมัฏฐานตลอดมา. สรุปใจความสั้น ๆ อีกครั้งหนึ่ง วา คําวา รูพรอมเฉพาะซึ่งจิตทั้งปวงนั้น หมายถึงจิตทุกชนิด ในขณะแหงการปฏิบัติอานาปานสติทุกขั้น ไดรับการพิจารณาสอดสอง ดวยญาณและสติอยางทั่วถึง จนไมมีความยึดถือจิตวาเปนตัวตนแตประการใดนั่นเอง และมี ความเบื่อหนาย คลายกําหนัด จากความยึดถือจิตวาเปนตัวตนมาแตเดิมเสียได. การวินิจฉัยในอานาปานสติขั้นที่ ๙ สิ้นสุดลงเพียงเทานี้. ตอนี้ไป จะไดวินิจฉัยในขั้นที่ ๑๐

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


ตอน สิบสี่

อานาปานสติ ขั้นที่ สิบ๑ (การทําจิตใหปราโมทยยิ่งอยู)

อุทเทสแหงอานาปานสติขั้นที่สิบ หรือขอที่สองแหงจตุกกะที่สาม นั้น มีหัวขอวา “ภิกษุนั้น ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูทําจิตใหปราโมทยยิ่งอยู จักหายใจ เขา ดังนี้ ; ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูทําจิตใหปราโมทยยิ่งอยู จักหายใจออกดังนี๒้ มีอธิบายโดยละเอียดดังตอไปนี้ :คําว า ย อมทําในบทศึกษา มี อธิ บายอยางเดียวกัน กับที่อธิบายมาแล ว ในตอนกอน. คําวา ทําจิต ใหปราโมทย มีขอควรวินิจฉัยคือ ทําใหปราโมทย เกิดขึ้นในขณะไหน และความปราโมทยนั้นมีอยูอยางไร, ดังจะไดวินิจฉัยสืบไป ดังตอไปนี้ : ความปราโมทยโดยธรรม ในที่นี้ เมื่อกลาวโดยสรุปแลว ยอมทําให เกิดขึ้นไดในทุกขั้นแหงอานาปานสติเพราะฉะนั้น ผูที่ลงมือปฏิบัติในขั้นนี้จะตอง

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

๑ ๒

การบรรยายครั้งที่ ๓๖ / ๒๗ ตุลาคม ๒๕๐๒ ปโมทยํ จิตฺตํ อสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ ; ปโมทยํ จิตฺตํ ปสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ.

๓๓๒

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๑๐ การทําจิตใหปราโมทย

๓๓๓

พยายามทําใหเกิดความปราโมทยขึ้น ในทุกขั้นแหงอานาปานสติ. เขาจักตอง ยอนไปปฏิบัติมาตั้งแตอานาปานสติขั้นที่หนึ่งเปนลําดับมา. จนกระทั่งถึงขั้นที่ ๙ พยายามทํ า ความปราโมทย ใ ห เ กิ ด ขึ้ น ให ป รากฏชั ด ในทุ ก ขั้ น และให ป ระณี ต หรื อ สูงขึ้นมาตามลําดับดุจกัน คือ :๑. เมื่อรูชัดความที่จิตเปนเอกัคคตาไมฟุงซาน ดวยอํานาจลมหายใจ เขาและออกยาว ทําความปราโมทยใหเกิดขึ้น ; ๒. เมื่อรูชัดความที่จิตเปนเอกัคคตาไมฟุงซาน ดวยอํานาจลมหายใจ เขาและออกสั้น ทําความปราโมทยใหเกิดขึ้น ; ๓. เมื่อรูชัดความที่จิตเปนเอกัคคตาไมฟุงซาน ดวยอํานาจความรู พรอมเฉพาะซึ่งลมทั้งปวง ทําความปราโมทยใหเกิดขึ้น ; ๔. เมื่อรูชัดความที่จิตเปนเอกัคคตาไมฟุงซาน ดวยอํานาจการทํา กายสังขารใหรํางับอยู ทําความปราโมทยใหเกิดขึ้น ; ๕. เมื่อรูชัดความที่จิตเปนเอกัคคตาไมฟุงซาน เพราะการรูพรอม เฉพาะซึ่งปติ ทําความปราโมทยใหเกิดขึ้น ; ๖. เมื่อรูชัดความที่จิตเปนเอกัคคตาไมฟุงซาน เพราะการรูพรอม เฉพาะซึ่งสุข ทําความปราโมทยใหเกิดขึ้น ; ๗. เมื่อรูชัดความที่จิตเปนเอกัคคตาไมฟุงซาน เพราะการรูพรอม เฉพาะซึ่งจิตตสังขาร ทําความปราโมทยใหเกิดขึ้น ; ๘. เมื่อรูชัดความที่จิตเปนเอกัคคตาไมฟุงซาน เพราะการทําจิตตสังขารใหรํางับอยู ทําความปราโมทยใหเกิดขึ้น ; ๙. เมื่อรูชัดความที่จิตเปนเอกัคคตาไมฟุงซาน เพราะความเปนผูรู พรอมเฉพาะซึ่งจิต ทําความปราโมทยใหเกิดขึ้น ;

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๓๓๔

อานาปานสติภาวนา ตอน ๑๔

เมื ่อ ทํ า อยู ด ัง นี ้ ไดชื ่อ วา เปน การปฏิบ ัต ิอ านาปานสติขั ้น ที ่ส ิบ ซึ ่ง มี ใจความสํ าคั ญ มุ งหมายถึ ง การรู จั ก ทํ า หรื อ สามารถทํ าจิ ต ให ป ราโมทย ขึ้ น มาได ใ น ทุ ก ๆ ขั้ น แล ว ถื อ เอาความรู สึ ก ปราโมทย นั้ น เป น อารมณ สํ า หรั บ พิ จ ารณา เพื่ อ เห็ น ลั ก ษณะแห ง ความไม เ ที่ ย ง ความเป น ทุ ก ข และความเป น อนั ต ตาแห ง จิ ต ที่ ปราโมทย นั้ นสื บต อไป เหมื อนดั งที่ ได กล าวแล วในการพิ จารณาป ติ ในอานาปานสติ ขั้นที่หา. สําหรับการเกิดแหงความปราโมทยนั้น มีทางที่จะเกิดไดตาง ๆ กัน ตามแตเหตุปจจัย ซึงเปนตนเหตุแหงปราโมทย. สําหรับในกรณีแหงการทําอานาปานสตินั้น อาจกลาวไดวา :ในอานาปานสติ ขั้ น ที่ ห นึ่ ง และขั้ น ที่ ส อง ปราโมทย เ กิ ด เพราะรู สึ ก พอใจในการกระทํ า หรื อ ในโอกาสที่ ไ ด ก ระทํ า ตามคํ า สอนอั น เป น นิ ย ยานิ ก ธรรม ของพระผูมีพระภาคเจาเปนเบื้องตน ; และสูงขึ้นมาก็คือ มีความปราโมทย เพราะประสบความสําเร็จ ในการกําหนดลมหายใจเขา – อออก ทั้งยาวและสั้น ดังนี้เปนตน. ในอานาปานสติ ขั้ น ที่ ส าม ย อ มเกิ ด ความปราโมทย ที่ สู ง ขึ้ น ไปกว า นั้ น แม ไม มากก็ นอย เพราะเหตุ ที่มี การกํ าหนดลมหายใจอย างแยยคายยิ่ งขึ้นไปกว าเก า ดัง ที ่ไ ดก ลา วแลว โดยละเอีย ด ในอานาปานสติขั ้น นั ้น ซึ ่ง ทํ า ใหส ัม ปยุต ตธรรม เช น ฉั น ทะเป น ต น เป น ไปแรงกล า ขึ้ น ปราโมทย ย อ มเกิ ด ขึ้ น ในลั ก ษณะที่ ป ระณี ต กวา หรือสูงกวาตามสมควรแกกรณี. ในอานาปานสติ ขั้ นที่ สี่ การปฏิ บั ติ ดํ าเนิ นไปจนถึ งขั้ นที่ เกิ ดฌาน ความ ปราโมทย ใ นการกระทํ า ของตน ก็ สู ง ขึ้ น ไปตาม ด ว ยอํ า นาจแห ง การที่ ไ ด เ สวยผล เปนทิฏฐธรรมสุข โดยเหตุที่จิตเปนเอกัคคตาไมถูกนิวรณรบกวนเลยเปนตน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๑๐ การทําจิตใหปราโมทย

๓๓๕

ในอานาปานสติ ขั้ นที่ ห า มี การพิ จารณาถึ ง ป ติ ที่ เป นองค ฌานโดยตรง ซึ่ งหมายถึ งความปราโมทย โดยพฤติ นั ยอยู ในตั ว เป นการแยกเอาตั วความปราโมทย ออกมากํ า หนดและพิ จ ารณาไปโดยเฉพาะ เป น การเห็ น ตั ว ความปราโมทย โ ดยชั ด กว า ขั้ น อื่ น ๆ และกลายเป น ปราโมทย ที่ อิ ง อาศั ย ป ญ ญายิ่ ง ขึ้ น ในเมื่ อ มี ก าร พิจารณาเวทนานั้น ๆ โดยลักษณะแหงความไมเที่ยง เปนตน. ในอานาปานสติ ขั้ น ที่ ห ก มี อ าการคล า ยกั น กั บ ในขั้ น ที่ ห า เพราะเป น การพิจารณาองคฌานดวยกัน. ในอานาปานสติ ขั้ น ที่ เ จ็ ด ปราโมทย สู ง ขึ้ น ไป เพราะมี ค วามรู เ พิ่ ม ขึ้ น วาเวทนานั้น ๆ เปนเครื่องปรุงแตงจิต ; ทําใหสามารถรูเทาทันเวทนา ซึ่งเปน ทางมาแหง กิเ ลส คือ ตัณ หาและอุป ทาน เปน ตน จนเห็น ลู ท างที ่จ ะดับ ทุก ข ไดยิ่งขึ้นไป ปราโมทยในธรรมจึงสูงขึ้นไปตาม. ในอานาปานสติ ขั้ นที่ แปด ปราโมทย เกิ ดมาจากความรู สึ กว าตนสามารถ ทํ า จิต ตสัง ขารใหอ อ นกํ า ลัง ลงหรือ ใหรํ า งับ ไป ซึ ่ง เปน ความสามารถที ่ส ูง ยิ ่ง ขึ ้น ไปอีก ทํ า ใหเ กิด ความรู ส ึก วา การควบคุม กิเ ลสนั ้น จัก ตอ งอยู ใ นกํ า มือ ของตน โดยแนนอน. สํ า หรับ อานาปานสติขั ้น ที ่เ กา นั ้น ปราโมทยเ กิด ขึ ้น เพราะบัด นี ้เ ปน ผู ม ีค วามรู แ จม แจง ในเรื ่อ งจิต และลัก ษณะอาการตา ง ๆ ของจิต เชน ที ่เ กิด ที่ ดั บ ที่ ไปที่ มา ของจิ ต จนถึ งกั บรู สึ กว าการควบคุ มจิ ตนั้ นต อ งอยู ในกํ ามื อของตน โดยแท. ส ว นในอานาปานสติ ขั้ น ที่ สิ บ นี้ เป น การประมวลมาซึ่ ง ความปราโมทย ทั้ ง หมดทุ ก ชนิ ด มากํ า หนดพิ จ ารณาอยู และมี ค วามปราโมทย เ ฉพาะในข อ นี้

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๓๓๖

อานาปานสติภาวนา ตอน ๑๔

ว า บั ด นี้ ต นเป น ผู ส ามารถบั ง คั บ จิ ต ได ต ามความต อ งการ ดั ง ที่ ส ามารถ บั ง คั บ ให เกิดความปราโมทย อยูในขณะนี้ อยางพลิกแพลงอยางไรก็ไดตามตองการและ กว างขวางถึ งที่ สุ ด จึ งเป นจิ ตที่ บั งเทิ งอยู ด วยความปราโมทย ที่ กว างขวางและสู งสุ ด ไปตามกัน. สวนขอที่วา ความปราโมทยมีอยูอยางไร นั้น มีทางที่จะวินิจฉัย คือ ความปราโมทยคืออะไร ? และมีทางที่จะแบงแยกปราโมทยไดกี่ทาง ? เมื่ อ กล า วโดยทางศั พ ทศาสตร ท า นระบุ ชื่ อ เหล า นี้ ว า เป น ชื่ อ ของ ความปราโมทย คือ อาโมทนา = ความเบิกบาน, ปโมทนา = ความบันเทิง หรือปราโมทย, หาโส = ความรางเริงหรือหรรษา, ปหาโส = ความรื่นเริงอยางยิ่ง หรือความรื่นรมยแหงใจ, โอทคฺยํ = ความโสมนัสหรือ ความเย็นใจ, และ อฺตตมนตา = ความปลื้มใจหรือความภูมิใจตอตัวเองเปนที่สุด ; อาการทั้งหมดนี้ รวมเรียกวาอาการของความปราโมทยในที่นี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เมื่ อ กล า วโดยเหตุ ทั่ ว ไป ก็ เ หมื อ นกั บ กรณี ข องป ติ แ ละสุ ข กล า วคื อ ปราโมทยนี้อ าจจะเปน เคหสิต คือ อาศัย เรือ นหรือ กามก็ไ ด ; หรือ จะเปน เนกขัมมสิต คืออาศัยธรรมโดยเฉพาะ คือความปราศจากกามก็ได. แตสําหรับ ในที ่นี ้นั ้น เปน ที ่เ ห็น ไดช ัด เจนอยู แ ลว วา เปน ปราโมทยที ่อ าศัย ธรรมแทท ุก ขั ้น แหงอานาปานสติทีเดียว. ผูศึกษาพึงสังเกตในขอที่ชื่อเหมือนกันวาปราโมทย ๆ แตต ัว จริง นั ้น อาจจะแตกตา งราวกับ ฟา และดิน เพราะวัต ถุห รือ อารมณแ หง การเกิดของปราโมทยนั้นตางกัน. ข อ ที่ ว า ปราโมทย ใ นทางธรรม มี ท างเกิ ด ได กี่ ท าง นั้ น เมื่ อ กล า ว ตามหลัก แหง อานาปานสตินี ้แ ลว ขอ เท็จ จริง ยอ มแสดงชัด อยู แ ลว วา มีท างมา

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๑๐ การทําจิตใหปราโมทย

๓๓๗

๒ ทาง คือ ปราโมทยที่เกิดขึ้นดวยอํานาจของสมถะหรือสมาธิ นี้อยางหนึ่ง ; และ ปราโมทยที่เกิดขึ้นดวยอํานาจของวิปสสนาญาณหรือปญญา นี้อีกอยางหนึ่ง. ปราโมทยที ่เ กิด ขึ ้น ดว ยอํ า นาจของสมาธิ นั ้น ที ่เ ห็น ไดง า ย ๆ หรื อ โดยตรง ก็ คื อ ป ติ ที่ เ ป น องค ฌ านและความสุ ข ที่ เ ป น องค ฌ านโดยตรง หรื อ ความสุ ข ที่ ไ ด รั บ มาจากการที่ จิ ต เป น เอกั ค คตาไม ฟุ ง ซ า นโดยทั่ ว ไปทุ ก ขณะ เรี ย ก สั้น ๆ วา ความสุขที่เกิดจากฌาน นั่นเอง ; หรือแมที่สุดแตความพอใจอยาง ปราโมทย ที่ เ กิ ด ขึ้ น ด ว ยอํ า นาจของสมถะหรื อ สมาธิ เพราะมี ส มถะและสมาธิ เ ป น มูลฐาน. สวน ปราโมทยที่เกิดขึ้นดวยอํานาจของวิปสสนาหรือปญญา นั้น ละเอีย ดยิ่ง ขึ้น ไปกวา สูง ยิ่ง ขึ้น ไปกวา หรือ มีคุณ คา ยิ่ง กวา . ปราโมทยขอ นี้ ได แก ค วามปราโมทย ที่ เกิ ด ขึ้ น ในขณะที่ พิ จ ารณาปราโมทย อั นเป นตั วเวทนานั่ นเอง หรื อ พิ จ ารณาสั ง ขารทั้ ง หลายทั้ ง ปวงก็ ต าม โดยความไม เ ที่ ย ง เป น ทุ ก ข เป น อนัต ตา เห็น แจง ในความเปน อนิจ จัง ทุก ขัง อนัต ตา แลว เกิด ความปราโมทย ขึ้น มาเพราะเหตุที่รูวา ไดเ ห็น ธรรมลึก ซึ้ง ลงไป. จัดเปน ความปราโมทยใ น ธรรมแท. ขอยอนไปเปรียบเทียบดวยตัวอยางของปติใหเห็นไดงาย ๆ คือ ปติ ในองคฌานเปนปราโมทยดวยอํานาจสมาธิ. ครั้นปตินั้นถูกนํามาพิจารณาใหเห็น วาเปน อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เชนเดียวกับเวทนาทั้งหลาย เกิดปติขึ้นมาใหม อีก ชนิด หนึ ่ง ดว ยอํ า นาจของปญ ญานั ้น เปน ปต ิต อ ธรรมหรือ ในธรรมแทยิ ่ง ขึ ้น ไปอีก ; นี่เรียกวาปติที่เกิดขึ้นดวยอํานาจของปญญา นับวามีอยูเปน ๒ อยาง ดวยกัน ดังนี้. สรุปใหสั้นที่สุด ก็ไดความวา ปราโมทยอยางที่หนึ่งเกิดอยูในขณะที่จิต เปนสมาธิ ; ปราโมทยอยางที่สองเกิดอยูในขณะที่จิตประกอบดวยปญญา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๓๓๘

อานาปานสติภาวนา ตอน ๑๔

ปราโมทยทั้ง สองอยางนี้ มีอ ยูอ ยา งแรกซึม ปนเปกัน ไปในอานาปานสติทุกขั้น. ดังที่กลาวมาแลวขางตน อานปานสติในสวนใดหรือขณะใด เป น ส ว นแห ง สมาธิ ปราโมทย ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในขณะนั้ น เป น ปราโมทย ที่ เ กิ ด มาจาก ความเปนสมาธิ ; อานาปานสติสวนใดหรือระดับใด ที่เปนสวนของปญญา หรือ กํ า ลั ง ดํ า เนิ น ไปด ว ยอํ า นาจของป ญ ญาอยู ปราโมทย ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในขณะนั้ น ก็ จั ด เปนปราโมทยที่เกิดขึ้นดวยอํานาจของปญญา ; ฉะนั้นเปนอันกลาวไดวา ปราโมทย ที่ ผู ป ฏิ บั ติ ไ ด ทํ า ให เ กิ ด ขึ้ น โดยอาศั ย อานาปานสติ ที่ แ ล ว มาทั้ ง ๙ ขั้ น และกํ า ลั ง จัด เปน อานาปานสติขั ้น ที ่ส ิบ อยู ใ นขณะนี ้นั ้น ก็ไ ดแ กป ราโมทย ๒ ประเภทนี้ นั่นเอง หรือกล าวได อีกอย างหนึ่ งว า หมายถึงแต ปราโมทย ๒ ประเภทนี้ ซึ่ งเป น ปราโมทยอาศัยเนกขัมมะเทานั้น หาไดหมายถึงปราโมทยที่เปนเคหสิต คืออาศัยเรือน หรือกามแตประการใดไมเลย. สิ่งที่อยากจะแนะใหสังเกตอีกอยางหนึ่ง ก็คือ การฝกอานาปานสติ ในขั ้น ที ่ส ิบ นี ้ จัด วา เปน ที ่น า สนุก หรือ นา พอใจยิ ่ง กวา อื ่น ทั ้ง หมด เพราะ ถากลาวอยางสํานวนโวหารธรรมดาก็คือ การเลนกับความสุขนั่นเอง : เปนการ เล น ของบุ ค คลผู มี ค วามสุ ข ที่ เ ข า ไปสู ค วามสุ ข อย า งนั้ น อย า งนี้ ออกจากความสุ ข อย า งนี้ แ ล ว เข า ไปสู ค วามสุ ข อย า งโน น ออกจากความสุ ข อย า งโน น แล ว ก็ เ ข า ไปสู ความสุ ขอย างอื่ นอี กต อไป ไม มี ที่ สิ้ นสุ ดกั บความสุ ข จึ งถื อ ว าอานาปานสติ ในขั้ นนี้ เปนจุดเดนที่สุด, หรือเปนเหมือนจุดเดนที่สุดจุดหนึ่ง ในแถวแหงอานาปานสติ ทั้งหลาย, แมการปฏิบัติจะไดรับผลเพียงเทานี้ ก็ยังกลาวไดวาเขาถึงธรรมรัตนะ เปนผูร่ํารวยดวยเพชรพลอยของพระธรรม อยางประมาณมิไดอยูแลว : นับวาควร แกการสนใจและการปฏิบัติเปนอยางยิ่ง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๑๐ การทําจิตใหปราโมทย

๓๓๙

สิ่งที่ จะต องวิ นิ จฉั ยข อสุ ดท าย คื อญาณและสติ ตลอดถึ งธรรมอื่ น ๆ จะเกิ ดขึ้ นได อย างไรนั้ น สวนใหญมี อธิ บายอย างเดี ยวกันกั บในขั้ นที่ แลวมา สํ าหรั บ สว นที ่จ ะตอ งทํ า ความเขา ใจเปน พิเ ศษเฉพาะในขั ้น นี ้ก ็ค ือ การกํ า หนดปราโมทย ที่ ต นได ทํ า ให เ กิ ด ขึ้ น ทุ ก ขั้ น ของอานาปานสติ โดยนั ย ดั ง ที่ ก ล า วแล ว ด ว ยอํ า นาจ ของเอกัคคตาจิตที่ไมฟุงซาน นี้เรียกวา สติ. การกําหนดติดตามดูปราโมทยนั้น ดว ยอํ า นาจของสติ จนเกิด การพิจ ารณาเห็น ความเปน อนิจ จัง ทุก ขัง อนัต ตา สติกลายเปนอนุปสสนาญาณไป ; นี้เรียกวา ญาณ. ผูปฏิบัติกําหนดและพิจารณาจิต ซึ่ ง ประกอบด ว ยปราโมทย ทั้ ง หลายด ว ยสติ นั้ น ด ว ยญาณนั้ น การกระทํ า นี้ ชื่ อ ว า จิตตานุป สสนาสติปฏฐานภาวนา ซึ่งจั ดเปนภาวนาที่ สมบู รณด วยอรรถทั้งสี่ดั งที่กลาว แลว. ในขณะนั้นเปนการสโมธานซึ่งธรรมทั้งหลาย ๒๙ ประการ พรอมทั้งการ รู โ คจรแทงตลอดสมัต ถะ แหง ธรรมทั ้ง หลายเหลา นั ้น ดว ยอํ า นาจของการ กระทําที่แยบคาย มีอาการสิบหก มีการรูทั่วอยู, กําหนดอยู, รูอยู, เห็นอยู, พิจารณาอยู, อธิษฐานจิตอยู ฯลฯ เปนลําดับ ๆ ไป จนกระทั่งถึงการทําใหแจง ซึ่งธรรมที่ควรทําใหแจงอยู ; แตละขั้น ๆ เกี่ยวกับปราโมทยนั้นโดยตรง ดวย จิตที่เปนเอกัคคตาไมฟุงซานอยูทุกลมหายใจเขา – ออก ดังที่ไดอธิบายแลวโดย ละเอียดในอานาปานสติขั้นที่หานั้นแลว ไมจําเปนจะตองกลาวซ้ําในที่นี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org การวินิจฉัยในอานาปานสติขั้นที่สิบ สิ้นสุดลงเพียงเทานี้. จะไดวินิจฉัยในอานาปานสติขั้นที่สิบเอ็ดสืบไป.

ตอไปนี้

www.buddhadasa.in.th


ตอน สิบหา

อานาปานสติ ขั้นที่ สิบเอ็ด๑ (การทําจิตใหตงั้ มั่นอยู)

อุทเทสแหงอานาปานสติขั้นที่สิบเอ็ด หรือขอที่สามแหงจตุกกะที่สาม นั้นมีวา “ภิกษุนั้น ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูทําจิตใหตั้งมั่นอยู จักหายใจเขา ดังนี้ ; ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูทําจิตใหตั้งมั่นอยู จักหายใจออก ดังนี้” ;๒ และ มีอธิบาย ดังตอไปนี้คือ :การวินิจฉัยในบทวา “ยอมทําในบทศึกษา” ยอมมีใจความเหมือนกับ ในขั้ นที่ แล วมาโดยประการทั้ งปวง มี อยู บ างที่ จะต องทํ าความเข าใจเป นพิ เศษเฉพาะ ขั้นนี้คือ:สว นที ่จ ะถือ วา เปน สีล สิก ขา นั ้น จะตอ งรู จ ัก สอดสอ งใหถ ูก ตรง ตามที่มีอยู ; โดยใจความใหญ ๆ นั้นเล็งถึง ขอที่มีการสํารวมหรือระวังจิตไมใหละ ไปจากอารมณ ที่กําลังกําหนดอยูในขั้นนั้น ๆ ; ตัวการสํารวมนั่นแหละจัดเปนศีล ในที่นี้. เพราะวาเมื่อมีการสํารวมในเวลาใด โทษทางกาย วาจา หรือการทุศีล อยางใด ๆ ก็มีขึ้นไมได.การชี้ใหเห็นเชนนี้เปนการปองกัน ไมใหเกิดความ

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

การบรรยายครั้งที่ ๓๗ / ๒๘ ตุลาคม ๒๕๐๒ ๒ สมาทหํ จิตฺตํ อสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ ; สมาทหํ จิตฺตํ ปสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ

๓๔๐

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๑๑ การทําจิตใหตั้งมั่น

๓๔๑

เข า ใจผิ ด ไปว า เมื่ อการปฏิ บั ติ ดํ าเนิ นมาถึ งขั้ นสมาธิ ห รื อ ป ญ ญาอย างสู ง เช นนี้ แล ว มันจะยังคงมีการสํารวมศีลอยูไดอยางไรกัน ; ฉะนั้น ขอใหถือวา เมื่อมีการ สํ า รวมจิต ใด ๆ อยู ใ นเรื ่อ งใดก็ต าม ดว ยอํ า นาจของสติแ ลว การสํ า รวมนั ้น ยอมเปนการประมวลไวไดซึ่งสีลสิกขาอยูในตัวโดยสมบูรณ. เปนอันกลาวไดวา แม ในขณะที่ กํ าลั งปฏิ บั ติ หมกมุ นอยู ในอานาปานสติ ขั้ นสู งเหล านี้ การสํ ารวมในศี ล ก็ ยั ง สมบู ร ณ อ ยู ต ามเดิ ม จึ ง เป น การทํ า ให ไ ตรสิ ก ขา หรื อ สิ ก ขาทั้ ง สามยั ง คงเป น ธรรมสมังคีสมบูรณอยู ; ฉะนั้น คําวา “ยอมทําในบทศึกษา” ในอานาปานสติ ขอ นี ้ และในอานาปานสติข อ ตอ ไปทั ้ง หมด ก็ย ัง หมายความถึง การทํ า เต็ม ที่ ในสิกขาทั้งสามอยูนั่นเอง. สว นที่เ ปน สมาธิแ ละสว นที่เ ปน ปญ ญา นั้น เห็น ไดชัด อยู แ ลว วา มีการกําหนดสมาธิและการพิจารณาทางปญญาอยูทุกขั้น ; แตสวนที่เปนศีลนั้น เป น อยู อ ย า งไม เ ป ด เผย จะต อ งรู จั ก พิ จ ารณาจึ ง จะมองเห็ น ได ชั ด เจน กล า วคื อ ใน อานาปานสติ ขั้ น ที่ ห นึ่ ง ขั้ น ที่ ส อง ขั้ น ที่ ส าม มี ก ารสํ า รวมอยู ที่ ก ารระวั ง จิ ต ให ค อย กําหนดลมหายใจในวิธีตาง ๆ กัน. การสํารวมนั่นเองควบคุมเอาความมีศีลไวได. ในอานาปานสติ ขั้ น ที่ สี่ การสํ า รวมมี อ ยู ที่ ก ารพยายามทํ า ลมหายใจให รํ า งั บ ลง ๆ ซึ่งเปนการสํารวมที่ยากยิ่งไปกวาขั้นที่แลวมา ; การสํารวมในขั้นที่หาและที่หก มีอยูตรงที่คอยกําหนดปติและสุขอยางแรงกลา ; ในขั้นที่เจ็ด มีอยูที่การคอย กําหนดเวทนาหรือการที่เวทนาทําหนาที่ปรุงแตงจิต ; ในขั้นที่แปด การสํารวม มี อยู ในการที่ เฝ าพยายามป องกั น ไม ให เวทนาปรุ งแต งจิ ตได หรื อปรุ งแต งแต น อ ย ที่สุด ; ในขั้นที่เกา การสํารวมมีอยูในขณะที่ตั้งหนาตั้งตาคอยเฝากําหนด ลักษณะตาง ๆ ของจิต ; ในขั้นที่สิบ การสํารวมมีอยูที่การประคองจิตใหมี ปราโมทย และการกําหนดซึ่งความปราโมทยนั้น ๆ ; สําหรับขั้นที่สิบเอ็ดนี้ ความสํ ารวมมี อยู ตรงที่ ความพยายามประคองจิ ตให ตั้ งมั่ นในแบบต าง ๆ กั น.ความ

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๓๔๒

อานาปานสติภาวนา ตอน ๑๕

สํารวมทุกอยางเหลานี้ลวนเปนแตตัวศีล หรือความควบคุมไวไดซึ่งสีลสิกขา ใหยัง คงมีอยูตลอดเวลา สําหรับในขั้นตอไปพึงถือเอาใจความอยางเดียวกัน จักไมกลาว ถึงอีกโดยละเอียด จักชี้ใหเห็นแตในแงที่จําเปนจะตองชี้เทานั้น. สิ่งที่ตองวินิจฉัยสืบไป คือขอที่วา “ทําจิตใหตั้งมั่นอยู” สิ่งที่ตอง วินิจฉัยมีอยู ๒ ประการคือ ความตั้งมั่นเปนอยางไร และความตั้งมั่นมีไดเมื่อไร ซึ่งจะไดวินิจฉัยกันสืบไป. คําวา “ความตั้งมั่น” ในที่นี้ โดยใจความก็คือความเปนสมาธินั่นเอง. เนื่องจากความเปนสมาธินี้ มีอาการที่อาจจะแยกพิจารณาใหเห็นไดในมุมหรือแง ตา ง ๆ กั น เพราะฉะนั้นในทางศั พทศาสตร เมื่อ ถามว าสมาธิคื อ อะไรแลว ยอ ม ตอบดวยการจําแนกชื่อตาง ๆ เหลานี้ใหฟงคือ ิติ = ความตั้งมั่น. สณฺิติ = ความหนักแนนหรือความตั้งมั่นดวยดี, อธิฏิติ = ความแข็งแรงหรือเขมแข็ง, อวิสาหาโร = ความมิไดมีอาการดุจอาหารเปนพิษ, อวิกฺเขโป = ความไมฟุงซาน, อวิสาหตมานสตา = ความมีใจที่พิษมิไดกระทบกรทั่ง, สมโถ = ความสงบ, สมาธินฺทฺรียํ = อินทรียคือความตั้งมั่น, สมาธิพลํ = กําลังคือความตั้งมั่น, สมฺมาสมาธิ = ความตั้งมั่นชอบ. ดังนี้เปนตน ; ซึ่งเปนการเพียงพอแลวที่ยกมาเปน ตัวอยาง ทั้งที่ยังมีคําอื่นอีกมาก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อธิบายความหมายแหงคําที่แสดงลักษณะแหงความตั้งมั่น เหลานี้ พอเปนทางเขาใจมีอยูดังนี้ : คําวา ตั้งมั่น หนักแนน หรือแข็งแรง เปนตนนี้ ลวนแตเปนอาการของจิต ซึ่งเรียกวาสมาธิ. คําวา ความตั้งมั่น หมายถึงความที่ อารมณหรือนิวรณกระทบไมหวั่นไหว ; คําวา หนักแนน หรือตั้งมั่นดวยดีนั้น หมายความวา เปน อยา งนั ้น ยิ ่ง ไปอีก คือ สามารถทนสู ต อ อารมณห รือ นิว รณ ที่มีกําลังมากไดจริง. คําวา แข็งแรง หมายถึงไมออนไปตามอารมณ ที่ยั่วเยา

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๑๑ การทําจิตใหตั้งมั่น

๓๔๓

หรือขูเข็ญบังคับ. คําวา มิไดเปนดุจอาหารเปนพิษ นี้เปนการทําอุปมา : เหมือ นอยา งวา คนที ่เ กิด มีอ าหารเปน พิษ ขึ ้น ในกระเพาะ ยอ มมีอ าการกระสับ กระส า ยเหมื อ นคนจะตาย ไม ส ามารถประกอบการงานอั น ใดได ไม มี ค วามสดชื่ น เบิกบานแตประการใดเลย. จิตนี้ก็เหมือนกัน ถานิวรณเขาไปเปนพิษอยูในภายใน แล ว ย อ มตายจากความดี ไม ส ามารถประกอบกิ จ ใด ๆ ทางจิ ต ได ไม มี ค วามสดชื่ น เบิกบานแตประการใดเลย. เพราะฉะนั้น ทานจึงกลาววา ลักษณะของสมาธินั้น ตองเปนเหมือนกับความที่ไมมีอาหารเปนพิษอยูในกระเพาะ. คําวา ไมฟุงซาน หมายถึ ง มี อ ารมณ เ พี ย งอย า งเดี ย ว ไม แ ล น ไปสู อ ารมณ ใ ด ๆ กํ า หนดอยู แ ต อ ารมณ ที่ มี อ ยู สํ า หรั บ สมาธิ นั้ น เหมื อ นกั บ สั ต ว ที่ มี สิ่ ง ที่ ต อ งการอยู ใ นที่ นั้ น อย า งเพี ย งพอ แล ว ก็ ไ ม ลุ ก ลนไปในที่ อื่ น ๆ เหมื อ นลิ ง ที่ เ ที่ ย วแสวงหาผลไม ไ ปทั ่ว ๆ ปา ฉัน ใด ก็ฉันนั้น. คําวามีใจอันพิษมิไดกระทบกระทั่ง นั้น พิษในที่นี้ หมายถึงนิวรณ และกิเลสชื่ออื่นทุกชนิด ; เมื่อกิเลสไมกระทบจิต จิตมีความเปนปกติสงบอยูได. คํ า ว า กระทบจิ ต ในที่ นี้ หมายถึ ง ครอบงํ า จิ ต ดึ ง จิ ต ไปตามอํ า นาจของมั น เช น ความอยากดึ ง ไปสู สิ่ ง ที่ มั น อยาก ความโกรธดึ ง ไปสู สิ่ ง ที่ มั น โกรธ ดั ง นี้ เ ป น ต น ; เมื่ อ ไม มี สิ่ ง เหล า นี้ จิ ต ก็ ส งบ เป น สมาธิ คํ า ว า สมถะ หรื อ สงบ มี ค วามหมาย ตรงตามภาษาไทย คื อ หมายถึ ง ความระงั บ ไม มี ค วามดิ้ น รน ไม มี ค วามเร า ร อ น ไมมีความหมนหมอง ดังนี้เปนตน. คําวา สมาธินฺทฺริยํ ตองการใหหมายถึง สมาธิ ที่ แ ท จ ริ ง คื อ ขนาดที่ จ ะเป น ใหญ เปน ประธานไดอ ยา งหนึ ่ง ในบรรดา ธรรมที่เปนใหญเปนประธานทั้งหลาย, คําวา สมาธิพลํ ก็เปนอยางเดียวกัน หมายถึงสมาธิที่ถึงขนาดที่มีกําลังหรือใชเปนกําลังตอสูขาศึก คือนิวรณได. คําวา สัมมาสมาธิ ตองการใหหมายถึงแต สมาธิที่ถูกที่ชอบ หรือ สมาธิในทางพุทธศาสนา เพราะยังมีสมาธิที่เปนของนอกพุทธศาสนา หรือสมาธิที่เดินผิดทางเปน มิ จ ฉาสมาธิ อ ยู อี ก พวกหนึ่ ง . เมื่ อ ผู ศึ ก ษาได พิ จ ารณาดู ค วามหมายของคํ า เหล า นี้

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


อานาปานสติภาวนา ตอน ๑๕

๓๔๔

ทุ กคํ าอย างละเอี ยดลออแล ว ก็ สามารถเข าใจถึ งความหมายของสิ่ งที่ เรี ยกว าสมาธิ ไดอยางทั่วถึง และเขาใจไดวาสมาธินั้นคืออะไร. แตอยางไรก็ดีทั้งหมดนี้เปน เพียงการอธิบายตามทางศัพทศาสตร หรือทางหนังสือเทานั้น. สวนในทางปฏิบัตินั้น ทานจํา กัดความไวสั้น ๆ ตามหลักแหงอานาปานสติ ว า ความที่ จิ ต มี อ ารมณ เ ป น หนึ่ ง ไม ฟุ ง ซ า น ด ว ยอํ า นาจการกํ า หนดลม หายใจยาว – สั้น ชื่อวา สมาธิ ; หรืออีกอยางหนึ่งวา จิตที่มีอารมณเปน อั น เดี ย วไม ฟุ ง ซ า น ด ว ยอํ า นาจจากการกํ า หนดลมหายใจ ของบุ ค คลผู มี จิ ต ตั้ ง มั่ น ชื่ อ ว า สมาธิ ดั ง นี้ ซึ่ ง ทั้ ง หมดนี้ อ าจจะสรุ ป ความได ว า เมื่ อ จิ ต มี อ ารมณ สํ า หรั บ กํ า หนดและจิต กํ า หนดอารมณนั ้น ได การกํ า หนดอารมณไ ดนั ้น ชื ่อ วา สมาธิ จะเปนอยางต่ํา อยางกลาง อยางสูง หรืออยางหยาบ อยางกลาง อยางประณีต นั้น ย อ มแล ว แต กรณี แต ไ ม ถื อ เอาเป น ประมาณ เพราะอาจจะเรี ย กได ว าเป นสมาธิ ไ ด ดวยกันทั้งนั้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นี้คือวินิจฉัยขอที่วา สมาธิคืออะไร ?

ส ว นข อ ที ่ ว  า สมาธิ ห รื อ ความตั ้ ง มั ่ น มี ไ ด เ มื ่ อ ไรนั ้ น มี ว ิ น ิ จ ฉั ย ดังตอไปนี้ :-

ดั ง ที่ ก ล า วมาแล ว ข า งต น ว า สมาธิ มี ไ ด ทุ ก ขณะที่ จิ ต มี ก ารกํ า หนด อารมณ นี่ เ ป น หลั ก ทั่ ว ๆ ไป ; ที่ เ ป น อย า งพิ เ ศษนั้ น สมาธิ มี ไ ด ห รื อ ยั ง คงมี อ ยู ไ ด แ ม ใ นขณะที่ จิ ต กํ า หนดลั ก ษณะ มี ลั ก ษณะแห ง ความไม เ ที่ ย ง เป น ต น ในขณะแหงวิปสสนา ; ฉะนั้น เมื่อจะประมวลใหสิ้นกระแสความก็เปนอันกลาว ไดวา สมาธิไดโดยประเภทใหญ ๆ ใน ๓ กาล คือ :-

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๑๑ การทําจิตใหตั้งมั่น

๓๔๕

๑. สมาธิในขณะระยะเริ่มแรกแหงการกําหนดอารมณ ซึ่งไดแกบริกรรมสมาธิและอุปจารสมาธิ. ๒.สมาธิในขณะที่จิตตั้งอยูในฌาน ไดแกอัปปนาสมาธิโดยตรง. ๓. สมาธิ ที่เปนอนันตริกสมาธิแนบเนื่องกันอยูกับปญญา ในขณะที่มีการ กําหนดและการพิจารณาลักษณะ มีลักษณะแหงความไมเที่ยง เปนตน. สมาธิ อ ย า งที่ ห นึ่ ง คื อ สมาธิ ใ นระยะเริ่ ม แรก แห ง การกํ า หนด อารมณนั ้น เปน สมาธิโ ดยออ มหรือ โดยปริย าย คือ เปน สมาธิที ่ย ัง ไมถ ึง ขนาด ที ่จ ะกลา วไดว า เปน สมาธิแ ท เหมือ นมนุษ ยย ัง เด็ก อยู  ยัง ไมม ีค วามเปน มนุษ ย ที่เต็มที่ ฉันใดก็ฉันนั้น, แตถึงกระนั้นก็ยังดีกวาไมมีสมาธิเสียเลยเปนไหน ๆ. สรุป ความในขอ นี ้วา พอสัก วา ลงมือ ทํา สมาธิ ก็มีส มาธิโ ดยปริย ายนี้ไ ดเ รื่อ ย ๆ ไปเป น ลํ า ดั บ จนกระทั่ ง ถึ ง ขณะแห ง อุ ป จารสมาธิ คื อ นิ ว รณ ร ะงั บ ไปบ า ง กลั บ มี มาบา ง หรือ นิว รณถ อยกํ า ลัง ลงไปมาก แตไ มถ ึง ขนาดที ่จ ะระงับ หมดสิ ้น ไป ทั ้ง นี ้ เพราะเหตุที ่ว า องคฌ านยัง ไมค รบถว นและตั ้ง มั ่น จึง ตอ งจัด เปน สมาธิ โดยปริยายอยูนั่นเอง แตถึงกระนั้นก็ยังดีกวาไมมีสมาธิเสียเลย ดังกลาวแลว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สมาธิ อ ย า งที่ ส อง คื อ อั ป ปนาสมาธิ นั้ น หมายถึ ง ความที่ จิ ต ตั้ ง มั่ น อยู ในฌาน นี้ คื อตั วสมาธิ แท และมี ความหมายเต็ มตามความหมายของคํ าว าสมาธิ ทุกประการ. เมื่อกลาววาจิตใหตั้งมั่นอยู และเปนความตั้งมั่นอยูอยางแทจริง ก็ ต อ งหมายถึ ง ความที่ จิ ต ตั้ ง อยู ใ นสมาธิ ขั้ นที่ เ ป นฌาน ขั้ นใดขั้ น หนึ่ ง เท านั้ น ไม ว า จะเปนรูปฌานหรืออรูปฌานก็ตาม. ถาผูปฏิบัติในอานาปานสติมีความมุงหมายที่จะ ฝกฝนในสวนอรูปฌาน ก็มีโอกาสที่จะฝกฝนไดในอานาปานสติขั้นที่สิบเอ็ดนี้ มีราย ละเอีย ดดัง ที ่ก ลา วไวใ นที ่อื ่น อีก สว นหนึ ่ง เพราะไมไ ดเ ปน สิ ่ง ที ่มุ ง หมายโดยตรง ในที่นี้. ในที่นี้มุงหมายโดยตรงแตเพียงรูปฌานทั้งสี่ แตประเภทเดียว.

www.buddhadasa.in.th


๓๔๖

อานาปานสติภาวนา ตอน ๑๕

ส ว นสมาธิ อ ย า งที่ ส าม คื อ สมาธิ ที่ แ นบเนื่ อ งกั น อยู กั บ ป ญ ญาโดย ไม แ ยกกั น นั้ น จั ด เป น สมาธิ โ ดยปริ ย ายอี ก อย า งหนึ่ ง เพราะในขณะนี้ เ ป น ขณะที่ ปญญาจะทํา หนาที่ ของมันดวย กําลัง คือสมาธิ. เมื่อบุคคลกําหนดอารมณของ สมาธิจ นทํ า ฉานใหเ กิด ขึ ้น ได ดํ า รงอยู ใ นฌานนานพอสมควร คือ จิต มีกํ า ลัง เขม แข็ง และเขา รูป เขา รอยเพีย งพอแกค วามตอ งการแลว ก็อ อกจากฌานนั ้น ไปกํ า หนดอารมณ แ ห ง วิ ป ส สนา เช น เวทนาเป น ต น อย า งใดอย า งหนึ่ ง ขึ้ น มา พิจารณาโดยลักษณะ มีลักษณะแหงความไมเที่ยงเปนตนอยู. ในขณะนี้กําลัง แห ง สมาธิ ก็ ยั ง อยู ใ นการพิ จ ารณานั้ น คื อ แฝงตั ว หรื อ แนบเนื่ อ งกั น อยู กั บ ป ญ ญา โดยสัด สว นที่ส มควรกัน : ถา เพง ปญ ญาแรง กํา ลัง ของสมาธิก็แ รงขึ้น ตาม, ถาเพงปญญาหยอน กําลังของสมาธิก็หยอนลงตาม, และเปนไปในตัวเองไดเชนนี้ โดยไมตองเจตนา ดังนี้. สมาธิชนิดนี้เรียกวา สมาธิในขณะแหงวิปสสนา และ เพราะเหตุนั้นจึงไดชื่อวา สมาธิโดยปริยาย ; แตเปนปริยายที่มีคาสูง ไมเหมือนกับ สมาธิโดยปริยายดังที่กลาวแลวในขอที่หนึ่ง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org จากลั กษณะอาการแห งสมาธิ ทั้ ง ๓ ชนิ ด หรื อ ๓ ขั้ น ๓ ตอน ดั งที่ กลา วมาแลว นี ้ ทํ า ใหเ ราเห็น ไดว า สมาธิม ีอ ยู ใ นขณะไหนหรือ เมื ่อ ไร และสมาธิ ในขณะไหน มี ลั ก ษณะและหน า ที่ อ ย า งไร เป น การรอบรู ต อ ความที่ จิ ต เป น สมาธิ ไดโดยประการทั้งปวง.

สําหรับ การปฏิบัติอานาปานสติในขั้นที่สิบเอ็ดนี้๑ มีหลักสวนใหญ วาทําจิตใหตั้งมั่นอยูทุกลมหายใจเขา – ออก ฉะนั้น ผูปฏิบัติจะตองยอนกลับไป ปฏิบัติมาตั้งแตอานาปานสติขั้นที่หนึ่งอีกตามเคย เพื่อจะไดกําหนดความตั้งมั่น

การบรรยายครั้งที่ ๓๘ / ๒๙ ตุลาคม ๒๕๐๒

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๑๑ การทําจิตใหตั้งมั่น

๓๔๗

ของจิตซึ่งมีอยูในลักษณะตาง ๆ กัน เปนอารมณทุก ๆ ขั้น ทุก ๆ ลําดับ เทาที่จิต จะมี อ าการตั้ ง มั่ น อย า งไร. ในระยะนี้ ใจความสําคัญของการฝก มีอยูตรงที่ ให เ พง เล็ง ถึง ความตั ้ง มั ่น อยา งเดีย ว ไ มว า จะ ฝก ดว ยอ านาปานส ติข อ ไหน . จากคํ า อธิ บ ายในข อ ที่ แ ล ว มาทํ า ให เ ราเห็ น ได ว า ฝ ก อานาปานสติ อ ย า งเดี ย วกั น หรือ ชื ่อ เดีย วกัน หรือ ขอ เดีย วกัน ก็จ ริง แตก ารกํ า หนดนั ้น กํ า หนดตา งกัน หรือกําหนดคนละสิ่ง ดังจะยกตัวอยางใหเห็นไดงาย ๆ อีกครั้งหนึ่ง : เชน เมื่อ ฝ ก อยู ใ นอานาปานสติ ขั้ น ที่ ห นึ่ ง เรากํ า หนดลมหายใจนั่ น เอง อยู ทุ ก ลมหายใจ เขา – ออก ; ครั้น มาถึง การฝก ในขั้น ที่สิบ เอ็ด นี้ ซึ่ง จะตอ งยอ นกลับ ไป ทํ า มาตั ้ง แตขั ้น ที ่ห นึ ่ง อีก ก็ต าม แตเ ราก็ม ิไ ดกํ า หนดลมหายใจอยู ท ุก ลมหายใจ เขา – ออกโดยตรง เราเพียงแต กําหนดความที่จิตตั้งมั่นไดเทาไรหรืออยางไร ในขณะแห ง อานาปานสติ ขั้ น ที่ สิ บ เอ็ ด นั้ น อยู ทุ ก ลมหายใจเข า – ออก เพื่ อ กํ า หนดรู ค วามตั้ ง มั่ น หรื อ ศึ ก ษาความตั้ ง มั่ น ของจิ ต ในทุ ก ขั้ น แห ง อานาปานสติ โดยทํ า นอง ที ่จ ะทํ า ใหเ ห็น ไดว า มัน ตั ้ง มั ่น ในความหมายของสมาธิส ูง ขึ ้น มา เปนลําดับ ๆ เพียงไร ; แลวความตั้งมั่นนั้นเองคอย ๆ กลายเปนความตั้งมั่นตาม ความหมายของวิ ป ส สนาหรื อ ป ญ ญาขึ้ น มา ในขณะแห ง อานาปานสติ ขั้ น ไหนและ ดวยอาการอยางไร ; จนกระทั่งรูจักความตั้งมั่นทุกชนิดทุกแบบ ทุกแง ทุกมุม ทุก ขนาด ทุก แขนง เปน ตน จริง ๆ. ฉะนั้น จึง ทํา ใหเ ห็น ชัด ไดวา แมเ รา จะยอ นไปฝก ตั ้ง แตขั ้น ที ่ห นึ ่ง อีก แตก ็ม ีก ารกํ า หนดในการฝก ตา งกัน เชน เมื ่อ ฝ ก ขั้ น ที่ สิ บ เอ็ ด นี้ กํ า ลั ง ย อ นไปฝ ก ขั้ น ต น ๆ ขั้ น ไหนก็ ต าม การฝ ก ล ว นแต กํ า หนด อยูที่ค วามตั้ง มั่น ทุก ขั้น ไป. ถา ผูใ ดจับ ความสํา คัญ ขอ นี้ไ ด ก็จ ะเห็น ไดดว ย ตนเองว า การฝ ก ทุ ก ขั้ น ไม เ หมื อ นกั น เลย แม จ ะมี ก ารย อ นไปฝ ก ในขั้ น ต น ๆ มาอี ก กี่ขั้นก็ตาม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๓๔๘

อานาปานสติภาวนา ตอน ๑๕

สรุ ป ความว า การฝ ก ในขั้ น ที่ สิ บ เอ็ ด นี้ ฝ ก ในการกํ า หนดความตั้ ง มั่ น ทั ้ง ในแงข องสมถะ และทั ้ง ในแงข องวิป ส สนา จากอานาปานสติท ุก ขั ้น เทา ที ่มี ให กํ า หนดได ว า มี ค วามตั้ ง มั่ น อยู กี่ อ ย า ง จนกระทั่ ง ตนมี ค วามคล อ งแคล ว ในการ ทําจิตใหตั้งมั่นไดทุกอยาง ดวยความชํานิชํานาญสมตามความปรารถนา. ส ว นคํ า วิ นิ จ ฉั ย ในข อ ที่ ว า ญาณและสติ ตลอดถึ ง สั ม ปยุ ต ตธรรมอื่ น ๆ ซึ ่ง มีอ ยู ใ นขณะนั ้น มีขึ ้น ไดโ ดยวิธ ีไ รนั ้น พึง ทราบวา เมื ่อ จิต มีค วามตั ้ง มั ่น ไมว า ชนิดไหนอยูทุกลมหายใจเขา – ออก จิตที่ตั้งมั่นนั้นก็ปรากฏดวย สติทีกําหนด ความตั้ ง มั่ น นั้ น ก็ ป รากฏด ว ยจึ ง เกิ ด มี จิ ต รู แ จ ง คื อ วิ ญ ญาณจิ ต ซึ่ ง ได แ ก อนุป ส สนาญาณดัง ที ่ไ ดก ลา วแลว ในขอ กอ น.เมื ่อ เปน ดัง นี ้ก ็เ ปน อัน วา มีก าร ต า ม เ ห็ น ซึ ่ ง จิ ต ใ น จิ ต ด ว ย อํ า น า จ ข อ ง ส ติ นั ้ น จ น ก ร ะ ทั ่ ง เ ห็ น ค ว า ม ไ ม เ ที ่ ย ง เปน ทุก ข เปน อนัต ตาของจิต แมที่ตั้ง มั่น แลว ทุก ชนิด ; เมื่อ กระทํา อยูดัง นี้ ก็ เ รี ย กว า มี จิ ต ตานุ ป ส สนาสติ ป ฏ ฐานภาวนา อั น เป น ภาวนาที่ ส มบู ร ณ ด ว ยอรรถ ทั้งสี่ ดังที่ไดเคยอธิบายมาแลวอยางละเอียดในขอตน ๆ ; ในขณะนั้นยอมมีการ สโมธานมาได ซึ่ ง ธรรมทั้ ง หลาย ๒๙ อย า ง พร อ มทั้ ง รู โ คจรและแทงตลอดสมั ต ถะ ของธรรมนั้น ๆ ดังที่กลาวโดยละเอียด ในอานาปานสติขั้นที่หาอีกนั่นเอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org การวิ นิ จ ฉั ย ในอานาปานสติ ขั้ น ที่ สิ บ เอ็ ด สิ้ น สุ ด ลงเพี ย งเท า นี้ ต อ ไปนี้ จะไดวินิจฉัยในอานาปานสติขั้นที่สิบสองสืบไป.

www.buddhadasa.in.th


ตอน สิบหก

อานาปานสติ ขั้นที่ สิบสอง (การทําจิตใหปลอย)

อุ ท เทสแห ง อานาปานสติ ขั้ น ที่ สิ บ สอง หรื อ ข อ ที่ สี่ แ ห ง จตุ ก กะที่ ส ามนี้ มี หั วข อว า “ภิ กษุ นั้ น ย อมทํ าในบทศึ กษาว า เราเป นผู ทํ าจิ ตให ปล อยอยู จั กหายใจเข า ดังนี้ ; ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูทําจิตใหปลอยอยู จักหายใจออก ดังนี้”๑ วินิจฉัยมีอยูดังตอไปนี้ :การทํ า ในบทศึ ก ษาทั้ ง สามในอานาปานสติ ขั้ น นี้ นั้ น ความสํ า รวมสติ ในการคอยกํ า หนดการปล อ ยชนิ ด ต า ง ๆ ของจิ ต หรื อ แม แ ต ก ารคอยกํ า หนดจิ ต ให ทํ า การปลดเปลื้ อ งสิ่ ง ต า ง ๆ จากจิ ต ซึ่ ง เป น ความสํ า รวมอย า งยิ่ ง และอย า ง ละเอี ย ดที่ สุ ด นั่ น แหละ คื อ ความสํ า รวมที่ ป ระมวลไว ไ ด ซึ่ ง สี ล สิ ก ขาในขณะนี้ . สํ าหรั บจิ ตตสิ กขาและป ญญาสิ กขานั้ น มี อ ยู ได โดยลั กษณะเดี ยวกั นกั บอานาปานสติ ขั้นอื่น ๆ ทุกขั้นดังที่กลาวแลว ไมจําเปนตองวินิจฉัยซ้ําในที่นี้อีก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สําหรับคําวา “ทําจิต ใหปลอ ยอยู” ๒ อยางคือ :-

นั้น มีสิ่งที่จะตองวินิจฉัยเปน

๑. ปลอยอยางไร ? ๒. ปลอยซึ่งอะไร ? ซึ่งจะไดวินิจฉัยตอไป.

วิโมจยํ จิตฺตํ อสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ ; วิโมจยํ จิตฺตํ ปสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ.

๓๔๙

www.buddhadasa.in.th


๓๕๐

อานาปานสติภาวนา ตอน ๑๖

การที่ ยกเอาป ญหาว าปล อ ยอย างไรมาวิ นิ จฉั ยก อนนั้ นเป นเพราะจะช วย ทํ าให เกิ ดความเข าใจได โดยง าย เพราะจะได อาศั ยข อความต าง ๆ ดั งที่ กล าวมาแล ว ข างต นเป นเครื่ องช วยทํ าให เกิ ดความเข าใจง าย โดยเฉพาะก็ คื อ เรื่ ององค แห งฌาน อั น กล า วแล ว ในอานปานสติ ขั้ น ที่ สี่ โ ดยละเอี ย ด และเรื่ อ งการละนิ จ จสั ญ ญาเสี ย ได ดวยอนิจจสัญญา เปนตน ดังที่กลาวแลวโดยละเอียดในอานาปานสติขั้นที่หา. คํ า ว า ทํ า จิ ต ให ป ล อ ย มี ค วามหมายโดยตรงว า ทํ า จิ ต ให ป ล อ ยสิ่ ง ที่ เกิดขึ้นในจิตหรือกลุมรุมหองลอมจิต อยางหนึ่ง และ สิ่งที่จิตยึดไวเองดวยอํานาจ ของอุปาทานอันเกิดจากอวิชชา อันนอนเนื่องอยูในสันดาน นี้อีกอยางหนึ่ง. ถ า กล า วกลั บ กั น อี ก อย า งหนึ่ ง ก็ คื อ แทนที่ จ ะกล า วว า ทํ า จิ ต ให ป ล อ ย ก็ ก ล า วกลั บ กันไดวา “เปลื้องจิตเสียจากสิ่งซึ่งควรปลดเปลื้อง” ดังนี้ก็ได ; ผลยอมเปนอยางเดียว กัน จะแตกตางกันก็แตวิธีพูด. ที่ ว า ทํ า จิ ต ให ป ล อ ยเสี ย หรื อ เปลื้ อ งจิ ต เสี ย จากสิ่ ง ที่ ม ากลุ ม รุ ม จิ ต นั้ น หมายถึ ง การเปลื้ อ งจิ ต จากนิ ว รณ ใ นขณะแห ง สมาธิ นั บ ตั้ ง แต ร ะยะเริ่ ม แรกขึ้ น มา จนกระทั่งถึงสมาธิที่เปนฌาน. สมาธิที่ยังไมเปนฌาน ก็เกียดกันนิวรณออกไป ไดเ ล็ก ๆ นอ ย ๆ ตามสัด สว น และลม ลุก คลุก คลานไปตามเรื ่อ งของมัน แต ถึงอยางนั้นก็ยังเปนการเปลื้องจิตจากนิวรณอยูนั่นเอง. เมื่อมีความตั้งอกตั้งใจ ทํ า อยู ใ นสมาธิขั ้น นี ้ ก็เ ปน การทํ า จิต ใหป ลอ ยอยู ซึ ่ง นิว รณใ นขั ้น นี ้ ซึ ่ง ทํ า ใหเ ห็น ได อี ก ว า ผู ป ฏิ บั ติ ใ นอานาปานสติ ขั้ น ที่ สิ บ สองนี้ ก็ จํ า เป น ที่ จ ะต อ งตี ว งกว า ง คื อ การย อ นมาฝ ก การกํ า หนดในการที่ จิ ต เปลื้ อ งจากนิ ว รณ อ อกไปได อ ย า งไร ไปตั้ ง แต อานาปานสติขั้นตน ๆ อีกนั่นเอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๑๒ การทําจิตใหปลอย

๓๕๑

แตโดยที่แทนั้น คําวา “ทําจิตใหเปลื้องอยู” นั้น อยางนอยหมายถึง การทํ าจิ ตให เปลื้ องนิ วรณ ออกไปไดจริ ง ๆ โดยตรง มิ ไดมุ งหมายถึ งการปลดเปลื้ อง เล็ก นอ ยโดยตัว มัน เองในระยะเริ ่ม แรกที ่ส ุด เชน นั ้น แตก ารที ่นํ า มากลา วนี ้ก ็เ พื ่อ จะชี ้ใ หเ ห็น ชัด วา การปลดเปลื ้อ งนิว รณนั ้น ยอ มมีใ หเ ห็น ไดตั ้ง แตเ มื ่อ ไร ฉะนั ้น ถ า ผู ใ ดประสงค จ ะย อ นกลั บ ไปฝ ก การกํ า หนดอาการอั น นี้ มาตั้ ง แต อ านาปานสติ ขั้ น ที่ ห นึ่ ง ก็ เ ป น สิ่ ง ที่ ค วรทํ า เพื่ อ เห็ น การปลดเปลื้ อ งนิ ว รณ “อย า งล ม ลุ ก คลุก คลาน” ดัง ที่ก ลา วแลว นั่น เอง ซึ่ง จะชว ยใหเ ขา ใจความหมายของคํา วา ”ทําจิตใหปลอยอยู” ไปไดตั้งแตตนทีเดียว. การทํ า จิต ใหป ลอ ยอยู ซึ ่ง นิว รณใ นขั ้น แหง สมถะ นั ้น ก็ค ือ การ กํ า จั ด นิ ว รณ ทั้ ง ห า เสี ย ได ด ว ยอํ า นาจของปฐมฌาน เรี ย กว า การปล อ ยนิ ว รณ ห า เสียไดจากจิต. สูงขึ้นมา คือการปลอยวิตก วิจาร เสียได ดวยอํานาจทุติยฌาน ; จิตจะเกลี้ยงเกลายิ่งขึ้นเพียงไร ขอใหลองคํานวณดุ. สูงขึ้นมาเปนการปลอ ย ปติเสียได ดวยอํานาจของตติยฌาน ; และการปลอยความรูสึกที่เปนสุขและ ทุกขเสียได ดวยอํานาจของจตุตถฌานในที่สุด. ผูปฏิบัติจะตองพยายามกําหนด ความที่ จิ ต ปล อ ยนิ ว รณ ห รื อ เปลื้ อ งตนเองจากนิ ว รณ ไ ด อ ย า งไร แล ว ความเกลี้ ย ง เกลาหรื อโวทาตะเกิ ดขึ้ นได อย างไร และจิ ตเปลื้ องจากองค ฌานต าง ๆ เป นลํ าดั บ ขึ้ น มาอย า งไร และจิ ต มี ค วามเกลี้ ย งเกลาตามขึ้ น ไปอย า งไร เป น การฝ ก ทํ า ซ้ํ า ๆ ซาก ๆ ให ชํ า นาญในการเปลื้ อ งและปล อ ยเหล า นี้ จนชํ า นิ ชํ า นาญเหมื อ นของเล น ก็ เ ป น อั น กล า วได ว า เป น ผู ป ระสบความสํ า เร็ จ ในการทํ า จิ ต ให ป ล อ ยอยู ใ นขั้ น ของ สมถะสําเร็จไปขั้นหนึ่ง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถัด ไปอีก ขั ้น หนึ ่ง ก็ค ือ การทํ า จิต ใหป ลอ ยจากสิ ่ง ที ่จ ิต ยึด ไวเ อง ด ว ยอํ า นาจของอุ ป าทาน. ข อ นี้ คื อ การทํ า จิ ต ให เ ปลื้ อ งปล อ ยอยู ใ นขั้ น ของ

www.buddhadasa.in.th


๓๕๒

อานาปานสติภาวนา ตอน ๑๖

วิปสสนา. ขอนี้จะมีไดในณะแหงอานาปานสติที่ไดหยิบยกเอาธรรมไมวารูป หรื อ นามอย า งใดอย า งหนึ่ ง ขึ้ น มาพิ จ ารณาอยู โ ดยลั ก ษณะ คื อ โดยความไม เ ที่ ย ง เปนทุกข เปนอนัตตา เปนตน. ถาจะมีการยอนไปฝกมาตั้งแตอานาปานาสติ ขั้ น ที่ ห นึ่ ง ก็ กํ า หนดเอาลมหายใจยาวมาเป น วั ต ถุ สํ า หรั บ ดู ค วามไม เ ที่ ย ง เป น ทุ ก ข เปน อนัต ตา ของลมนั้น . อานาปานสติทุก ขั้น ในอานาปานสติจ ตุก กะที่ห นึ่ง นี้ มี ล มหายใจนั่ น เองในลั ก ษณะที่ ต า ง ๆ กั น เป น วั ต ถุ สํ า หรั บ พิ จ ารณาโดยลั ก ษณะ; อานาปานสติ ใ นจตุ ก กะที่ ส องทั้ ง หมด มี เ วทนาที่ อ ยู ใ นลั ก ษณะต า ง ๆ กั น นั่ น แหละ เปนวัตถุสําหรับการพิจารณาโดยลักษณะ ; อานาปานสติทุกขั้นในจตุกกะที่สาม มี จิ ต ซึ่ ง กํ า ลั ง เป น อยู ใ นลั ก ษณะที่ ต า ง ๆ กั น นั่ น แหละ เป น วั ต ถุ สํ า หรั บ พิ จ ารณา โดยลักษณะ. เปนอันวาในอานาปานสติทุกขั้น ลวนแตมีวัตถุอยางใดอยางหนึ่ง สํ า หรั บ ให พิ จ ารณาโดยลั ก ษณะ คื อ โดยความไม เ ที่ ย ง เป น ทุ ก ข เป น อนั ต ตา. เมื่ อ การพิ จ ารณามี อ ยู การเห็ น แจ ง โดยลั ก ษณะก็ ย อ มมี ฉะนั้ น เมื่ อ มี ก ารเห็ น ความไม เ ที่ ย งที่ ใ ด จิ ต ก็ ป ล อ ยนิ จ จสั ญ ญา คื อ ความเห็ น ว า เที่ ย งเสี ย ได เ มื่ อ นั้ น ; เมื่ อเห็ นโดยความเป นทุ กข เมื่ อใด จิ ตก็ ปล อยสุ ขสั ญญา คื อความสํ าคั ญว าสุ ขเสี ยได เมื่อนั้น ; เมื่อเห็นโดยความเปนอนัตตา จิตก็ปลอ ยอัตตสัญญา ความสําคัญ วาตนเสียได ; เมื่อจิตเบื่อหนายอยู ยอมปลอยนันทิ คือความเพลินเสียได ; เมื่อจิตคลายกําหนัดอยู ยอมปลอยราคะ คือความกําหนัดเสียได ; เมื่อจิตดับอยู คือไมมีอะไรปรุงแตง ยอมปลอยสมุทัย คือความกอเสียได ; เมื่อจิตสละคืนอยู ย อ มปล อ ยอุ ป าทาน คื อ ความถื อ มั่ น เสี ย ได มี ร ายละเอี ย ดดั ง กล า วแล ว ในคํ า อธิ บ าย สวนหนึ่งของอานาปานสติขั้นที่หา. นี้คือการทําจิตใหปลอยในขั้นของวิปสสนา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๑๒ การทําจิตใหปลอย

๓๕๓

ในขั้นของสมาธิ จิตเปลื้องปลอยนิวรณและอกุศลธรรมต าง ๆ ตลอดถึงองคแหงฌาน ตาง ๆ ไดดวยอํานาจของฌานนั้น ๆ. สวนในขั้นของวิปสสนานี้จิตเปลื้องปลอย ความเห็น ผิด และกิเ ลสอัน ละเอียดตา ง ๆ ดว ยอํา นาจของปญ ญา. ทั้ง หมดนี้ คือคําตอบของคําถามที่วา จิตทําการเปลื้องปลอยโดยวิธีใด. ในที่นี้ไดยกเอา ตั ว อย า งการเปลื้ อ งปล อ ยนิ ว รณ ด ว ยสมาธิ และเปลื้ อ งปล อ ยนิ จ จสั ญ ญา เป น ต น ดวยปญญามาแสงดใหเห็นชัดวา มีอาการปลอยอยางไร. ตอไปนี้จะไดวินิจฉัย ขอที่วา จะตองปลอยอะไรบางกี่อยาง เมื่อถามวา จะตองทําจิตใหปลอย หรือใหเปลื้องจากอะไร ? โดย วงกว างท านจํ าแนกไว ว า จะต องเปลื้ องมาจากสิ่ งเหล านี้ คื อ เปลื้ องจากราคะ จาก โทสะ จากโมหะ จากตั ณ หา จากมานะ จากทิ ฏ ฐิ จากวิ จิ กิ จ ฉา จากถี น มิ ท ธะ จากอหิริกะ – บาปธรรมที่ทําจิตใหไมรูละอายบาป จากอโนตตัปปะ – บาปธรรม ที่ทําคนไมใหกลัวบาป.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อย า งไรก็ ดี พึ ง ถื อ ว า เท า ที่ ท า นนิ ย มตอบกั น อย า งนี้ ดั ง ปรากฏอยู ใ น พระคั ม ภี ร ต า ง ๆ นั้ น เป น เพี ย งตั ว อย า งเท า ที่ ย กมาพอสมควรอี ก นั่ น เอง และพึ ง สั งเกตให เห็ นว า ท านยกเอากิ เลสที่ มี อํ านาจรุ นแรงขึ้ นมากล าวก อนเป นลํ าดั บ แล ว จึ ง มาถึ ง อกุ ศ ลธรรมที่ มี ค วามรุ น แรงน อ ยกว า ลงมาตามลํ า ดั บ ซึ่ ง ผิ ด กั บ พวกเรา สมั ย นี้ ซึ่ ง ชอบกล า วถึ ง สิ่ ง เล็ ก ไปหาสิ่ ง ใหญ หรื อ สิ่ ง ที่ ไ ม สู สํ า คั ญ ขึ้ น ไปสู สิ่ ง ที่ มี ความสํา คัญ ที่สุด . การที่ทา นกลา วดัง นี้ ชะรอยเปน การมุง หรือ เตือ นใหรูสึก ในขั้ นแรกถึ งสิ่ งที่ น ากลั วที่ สุ ดก อน จะได เกิ ดความสนใจหรื อเกิ ดความพยายามมาก เพียงพอ แลวตั้งหนาตั้งตาเปลื้องปลอยสิ่งนั้นอยางเต็มที่ ; เมื่อทําอยางนั้นไมได จึงคอยลดลงมาตามลําดับ.

www.buddhadasa.in.th


๓๕๔

อานาปานสติภาวนา ตอน ๑๖

อาจจะมีผูถามวาจะเปลื้องปลอยสิ่งเหลานี้ โดยอาศัยอะไรเปนเครื่อง มือ ? คําตอบมีงาย ๆ แมโดยสามัญสํานึก คือตอบวา โดยอาศัยกุศลธรรมที่ตรง กันขามตออกุศลธรรมเหลานั้น ดวยอุบายวิธีตาง ๆ ดังที่ไดกลาวแลวขางตน. ในขอ ที่จะเปลื้องปลอยดวยการเปลื้องปลอยมันอยางไร ? ตั้งแตราคะลงมาจนถึงทิฏฐิเปน สิ่งที่เห็นไดชัดวา ตองมีการเปลื้องปลอยดวยการการเปลื้องปลอย ในขั้นแหงวิปสสนา โดยตรง สว นอกุศ ลธรรมอัน มีชื่อ วิจิกิจ ฉา ถีน มิท ธะ อหิริก ะ อโนตตัป ปะ เหลานี้ ถ ายั งเปนขั้นที่เปนอกุศลธรรมต่ํ า ๆ ย อมเปลื้องเสี ยไดด วยการเปลื้ องปล อย ขั้นสมาธิ. ถาเปนขั้นที่เล็งถึงกิเลสอาสวะอันละเอียด ก็ตองอาศัยการเปลื้อง ปล อยแห งขั้ นวิ ป สสนาอี กอย างเดี ยวกั น ยกตั วอย างเช นอุ ทธั จจะตามปกติ หมายถึ ง นิว รณ และในที ่นี ้ก ็ห มายถึง นิว รณ แตคํ า วา อุท ธัจ จะนี ้ เปน ชื ่อ ของสัง โยชน หรื อ อนุ สั ย อย า งหนึ่ ง ในบรรดาสั ง โยชน สิ บ มั น เป น สิ่ ง ที่ ต อ งละหรื อ ตั ด ด ว ย อํานาจของปญญาหรือวิชชาโดยตรง. ถ าผู ปฏิ บั ติ มุ งหมายจะฝ กฝน การเปลื้ องจิ ตจากบาปธรรมเท าที่ จะพึ งทํ า ได ขณะแห งอานาปานสติ ขั้ นต าง ๆ ที่ ทํ าอยู ตามปกติ ก็ อาจจะได เท าที่ กล าวแล ว ในตั ว อย า งในตอนอั น ว า ด ว ยการปลดเปลื้ อ งอย า งไร ซึ่ ง ก็ นั บ ว า เป น การเพี ย งพอ เหมือนกัน. แตหากวามีความประสงคจะศึกษาและฝกฝนโดยนัยอันละเอียดยิ่งขึ้น ไปด วยการจํ าแนกการปลดเปลื้ องเป นรายอย าง แต ละอย าง โดยรายชื่ อ ดั งที่ กล าว แล ว นี้ ก็ จํ า เป น จะต อ งศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ กุ ศ ลธรรม ที่ เ ป น ข า ศึ ก โดยตรงของอกุ ศ ล ธรรมเหลานี้เรียงอยางไปตามสมควร คือ :-

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๑๒ การทําจิตใหปลอย

๓๕๕

ยอมตองทําในใจถึงสิ่งตรงกันขาม คือ เมื่อจะปลดเปลื้องเสียซึ่งราคะ๑ สามารถระงับราคะนั้นได เชนกายคตาสติซึ่งรวมอสุภสัญญาอยูดวย. กายคตาสติ โดยตรง ได แก การพิ จารณากายแยกออกเป นส วน ๆ โดยเฉพาะเป นธาตุ และพิ จารณา แตละสวนโดยความเปนของปฏิกูล. สวนอสุภสัญญานั้นเพงความไมงามโดยเฉพาะ ของซากศพ เพื่อใหเห็นวารางกายนี้มีความเปนอยางนี้รวมอยูดวย. เมื่อเห็นความ ปฏิ กู ลของร างกายที่ มี ชี วิ ต และร างกายที่ ไม มี ชี วิ ตอยู ดั งนี้ ย อมระงั บความกํ าหนั ด ในสิ่ ง อั น เป น ที่ ตั้ ง ของความกํ า หนั ด เสี ย ได ทั้ ง โดยส ว นย อ ย เช น ความสวยงาม เปนสวน ๆ และทั้งโดยสวนรวม คือความสวยงามทั้งหมด : อันนี้เปนสิ่งสําหรับ เปลื้อ งจิต จากราคะโดยตรง หรือ เปน การตอ สูโ ดยตรง. ที่เ ปน โดยออ มหรือ ทั่ ว ไป ก็ คื อ การทํ า จิ ต ให เ ป น สมาธิ โดยวิ ธี แ ห ง อานาปานสติ เป น ต น ซึ่ ง เมื่ อ จิ ต เปน สมาธิแ ลว ราคะหรือ อื ่น ๆ ยอ มระงับ ไปในตัว ดัง ที ่ก ลา วแลว ขา งตน ซึ ่ง จะ ไมตองกลาวอีกตอไป ; เพีย งแตส รุปเปนหลักไววา เมื่อ จิตเปนสมาธิดว ย อํานาจของอานาปานสติ แล ว ก็ เป นอั นปลดเปลื้ องอกุ ศลธรรมเหล านี้ ทุ กอย าง ดั งนี้ ก็พอ. สําหรับการปฏิบัติที่เปนการตอสูโดยตรง ผูปฏิบัติจะตองนอมจิตไป พิจารณาให เห็ นความเป นธาตุ หรื อความเป นปฏิ กู ลให ชั ดแจ งเสี ยก อน แลวนํ า มา ทําในใจอยูทุกลมหายใจเขา – ออก ก็เปนการปลดเปลื้องราคะนั้นดวยอานาปานสติ นี้ดวยเหมือนกัน. ถายิ่งไปกวานี้ หรือผิดไปจากนี้ ก็ตองเปนการทํากายคตาสติ หรื ออสุ ภสั ญญาโดยตรง ซึ่ งเป นเรื่ องหนึ่ งอี กต างหากไม เกี่ ยวกั บอานาปานสติ ในที่ นี้ และมีคําอธิบายอยูในเรื่องนั้น ๆ แลว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

การบรรยายครั้งที่ ๓๙/๓ พฤศจิกายน ๒๕๐๒

www.buddhadasa.in.th


๓๕๖

อานาปานสติภาวนา ตอน ๑๖

การปลดเปลื้อ งจิต จากโทสะโดยตรง เล็ง ถึง การเจริญ เมตตาคือ ทํ า ในใจถึง สัต วทั ้ง ปวง ในฐานะที ่เ ปน เพื ่อ นทุก ขด ว ยกัน ไมว า จะเปน สัต ว มนุษยหรือสัตวเดรัจฉาน ก็ระงับความโกรธหรือใหอภัยไดเปนตน. อีกทางหนึ่ง พิ จ ารณาถึ ง ความที่ สั ต ว ทั้ ง หลายล ว นแต ต กอยู ใ ต อํ า นาจของกิ เ ลสด ว ยกั น หรื อ ตกอยู ใต อํ านาจความไม เที่ ยง ซึ่ งล วนแต ไม สามารถบั งคั บได ด วยกั นทุ กคน จึ งเกิ ด ความเห็นใจกัน ระงับความโกรธหรือความประทุษรายเสียได. ยังมีวิธีเบ็ดเตล็ด นอกออกไปอีก เชน การพิจ ารณาถึง ความที ่ท ุก คนรัก สุข เกลีย ดทุก ขด ว ยกัน ตกอยู ใ ต อํ า นาจเวรกรรมด ว ยกั น ไม ป ระสงค จ ะสร า งเวรสร า งกรรมแก กั น ต อ ไปอี ก ดัง นี ้เ ปน ตน ก็ส ามารถปลดเปลื ้อ งจากโทสะได ถา ทํ า ในใจอยู เ ชน นั ้น อยู ท ุก ลมหายใจเขา – ออก. โมหะ ปลดเปลื้ อ งไปได ด ว ยความรู แ จ ง ที่ เ กิ ด มาจากการพิ จ ารณา ในสิ ่ง ที ่ต นกํ า ลัง หลงผิด อยู  โดยสว นใหญห ลงสํ า คัญ ผิด แสวงหาความสุข ใน สิ่ ง ที่ เ ป น ทุ ก ข หรื อ จากสิ่ ง ที่ เ ป น ทุ ก ข การกระทํ า ต า ง ๆ ก็ ผิ ด กลั บ ตรงกั น ข า ม หมดทุกอยาง. เขาจะตองเห็นความทุกขโดยความเปนทุกขในทุก ๆ สิ่ง อันเปน ที่ตั้งของความทุกขซึ่งไดแกสังขารทั้งปวง ; แลวจะตองพิจารณาใหเห็นมูลเหตุ อันเปนที่เกิดของความทุกข ; ใหเห็นความดับสนิทของความทุกข เพราะมูลเหตุ นั้นดับไป ; และพิจารณาใหเห็นหนทางปฏิบัติ เพื่อดับมูลเหตุของความทุกข เสีย ไดโ ดยสิ้น เชิง ในที่สุด . เมื่อ เปน ดัง นี้ โมหะก็มิไ ดเ หลือ ยูเ ลย ถา บุค คลทํา ในใจถึงความเขาใจถูกดังนี้ทุกลมหายใจเขา – ออก ก็เปนอันปลดเปลื้องจิตจาก โมหะอยูทุกลมหายใจเขา – ออก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org มานะ ปลดเปลื้องไปได ดวยการทําในใจถึงอนัตตสัญญา คือการ พิ จ ารณาเห็ น ความไม มี ตั ว ตน ไม มี เ รามี เ ขาที่ แ ท จ ริ ง มี แ ต ตั ว ตนเราเขาที่ เ กิ ด มา จากความโง เ ขลา ความหลง หรื อ อวิ ช ชาเท า นั้ น ซึ่ ง เป น ตั ว ตนเราเขาของมายา

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๑๒ การทําจิตใหปลอย

๓๕๗

เกิ ดความรู แจ งหรื อความละอายในการที่ จะถื อตนทํ านองนั้ นอี กต อไป จึ งหมดความ ถื อ ตั ว ว า มี อ ยู หรื อ ตั ว ดี ก ว า เขา ตั ว เสมอกั น กั บ เขา ตั ว เลวกว า เขาไปได โ ดยสิ้ น เชิ ง ไมมีมานะ คือความถือตัว ซึ่งที่แทเปนเพียงมายาอีกตอไป. ถามองเห็นมายา แหงความมีตัวตนอยูทุกลมหายใจเขา – ออก ก็ชื่อวาเปลื้องจิตจากมานะอยูทุกลม หายใจเขา – ออก. ทิฏฐิ หมายถึงมิจฉาทิฏฐิ ยอมระงับไปไดเพราะสัมมาทิฏฐิ. มิจฉาทิฏฐิ ว า สิ่ ง ทั้ ง ปวงเที่ ย ง ระงั บ ได ด ว ยความเห็ น ถู ก ว า สิ่ ง ทั้ ง ปวงเปลี่ ย นแปลงอยู เ ป น นิ จ เพราะมั น ตั้ ง อยู บ นเหตุ ป จ จั ย ที่ เ ปลี่ ย นแปลง จะมี เ ที่ ย งก็ เ พี ย งสิ่ ง เดี ย ว คื อ สิ่ ง ที่ ไ ม มี ปจจัยเทานั้น. มิจฉาทิฏฐิที่วาสิ่งทั้งปวงจะยังคงมีตัวอยูเสมอไมมีการสูญก็ดี หรือ ถึ ง กั บ ว า เป น ตั ว เดี ย วกั น เรื่ อ ยไปก็ ดี หรื อ มิ จ ฉาทิ ฏ ฐิ ว า สิ่ ง ทั้ ง หลายทั้ ง ปวงดั บ สู ญ อยูเนืองนิจก็ดี เหลานี้จะระงับไปไดดวยความเห็นถูกวา สิ่งตาง ๆ เหลานั้นมีเหตุ มี ป จ จั ย และเป น ไปตามเหตุ ต ามป จ จั ย เกิ ด ขึ้ น เพราะเหตุ ป จ จั ย ตั้ ง อยู เ พราะเหตุ ป จ จั ย ดั บ ไปเพราะเหตุ ป จ จั ย ไม ค วรกล า วว า เที่ ย งแท ห รื อ ขาดสู ญ โดยส ว นเดี ย ว. สํ า หรั บ มิ จ ฉาทิ ฏ ฐิ ที่ เ ตลิ ด ไปถึ ง ความไม มี อ ะไรเสี ย เลย ไม มี ผู ทํ า กรรม ไม มี ผู รั บ ผล ของกรรม ทํ า อะไรลงไปดี ห รื อ ชั่ ว ก็ ต าม ไม ชื่ อ ว า เป น อั น ทํ า นั้ น ระงั บ เสี ย ได ด ว ย ความเข าใจถู กต องเกี่ ยวกั บเรื่ องอั ตตา อนั ตตา ซึ่ งมี ใจความสํ าคั ญว าสั งขารทั้ งปวง เป น อนั ต ตาก็ จ ริ ง ถ า ทํ า อะไรลงไปด ว ยเจตนา ผลย อ มเกิ ด ขึ้ น แก สั ง ขารเหล า นั้ น โดยสมควรแก ก ารกระทํ า เสมอไป ทั้ ง ที่ ก ารกระทํ า ก็ เ ป น อนั ต ตา ผลของการกระทํ า ก็ เ ป น อนั ต ตา ความทุ ก ข ก็ เ ป น อนั ต ตา อะไร ๆ ก็ เ ป น อนั ต ตา แต มั น ก็ มี อ ยู ไ ด หรือ เปน ทุก ขไ ดทั ้ง ที ่เ ปน อนัต ตา มัน จึง เปน สิ ่ง ที ่ไ มค วรทํ า ในทางที ่เ ปน ทุก ข. และเราสมมติ บั ญ ญั ติ ว า มี ค น มี สั ต ว มี ผู ทํ า ก็ เ พื่ อ ให รู จั ก กลั ว ความทุ ก ข และ หลีกเลี่ยงความทุกข ไมใชเพื่อใหยึดถือ. สวนที่เราเพิกถอน สมมติบัญญัติ

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๓๕๘

อานาปานสติภาวนา ตอน ๑๖

ไมใ หม ีอ ัต ตา ไมใ หม ีส ัต วบ ุค คลนั ่น นี ่ นั ้น ก็เ พีย งจะใหรู ค วามจริง เรื ่อ งอนัต ตา เพื่ อ ให ห มดความยึ ด ถื อ จะได ไ ม มี กิ เ ลสที่ เ ป น เหตุ ใ ห ทํ า กรรมอี ก ต อ ไป หาใช ใ ห เป นช องให เกิ ดการกระทํ าตามชอบใจตั ว แล วอ างว าไม มี ตั วตน ไม มี บุ ญ ไม มี บาป ดังนี้เปนตนก็หาไม. ส ว นมิ จ ฉาทิ ฏ ฐิ เ กี่ ย วกั บ เหตุ ผ ลนั้ น ระงั บ ไปได ด ว ยความอยู ใ นอํ า นาจ ของเหตุผล และการใช เหตุ ผลอยางถูกต อง เช น มิ จฉาทิ ฏฐิ ที่ วาสิ่งทั้ งปวงไม มีเหตุ ก็ ต อ งพิ จ ารณาจนเห็ น ว า มั น ต อ งมี เ หตุ ถ า ไม มี เ หตุ มั น จะเกิ ด ขึ้ น หรื อ เปลี่ ย นแปลง เคลื่อนไหวไปไดอยางไร. สวนมิจฉาทิฏฐิที่วาเหตุอยูขางนอก เชน ผีสางเทวดา เป น ต น นั้ น จะต อ งพิ จ ารณาจนเห็ น ถู ก ว า นั่ น ไม สํ า คั ญ เท า เหตุ ภ ายใน คื อ กรรม หรื อการกระทํ าของตั วเอง ซึ่ งมี มู ลเหตุ มาจากกิ เลสตั ณหา อั นมี อวิ ชชาเป นประธาน อีกตอหนึ่ง. แมหากภูตผีปศาจมีจริงและมีอํานาจรายกายเพียงไร นั่นก็ยังพายแพ แกเหตุภายใน (อวิชชาเปนประธานอีกตอหนึ่ง) คือกรรมและกิเลสของมันเอง อีกเชนเดียวกัน. ฉะนั้น จึงตองถือวาสิ่งทั้งปวงมีเหตุมีปจจัยหรือมีเหตุผล. เหตุ ปจจัยที่แทจริงคือกรรมและกิเลส. หมดเหตุหมดปจจัยแหงความทุกขจึงจะหมด ทุกข ภูตผีปศาจเปนตน ชวยทําใหไมไดเลย. การปลอยไปตามบุญตามกรรม ไมควรทํา เพราะไมนํามาซึ่งประโยชน ; ควรที่จะตองควบคุมกรรมใหเปนไป แตในทางที่ควร จนกระทั่งเลิกลางไดหมด คืออยูเหนือบุญเหนือบาป. ทั้งหมดนี้ สํ าเร็ จมาจากความมี เหตุ ผล และปฏิ บั ติ ถู กในการใช เหตุ ผล กระทํ าถู กต อเหตุ และ ปจจัยเหลานั้นเทานั้น. สรุปความวา การมีความเขาใจถูกตองอยูดังนี้ทุกลมหายใจ เขา – ออก ชื่วาเปลื้องจิตเสียจากมิจฉาทิฏฐิอยูทุกลมหายใจเขา – ออก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ต อ ไปนี้ เป น อกุ ศ ลธรรมประเภทที่ มี กํ า ลั ง เพลาลงไป และชื่ อ เดี ย ว มีความหมาย ๒ อยางก็มี กลาวคือ :-

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๑๒ การทําจิตใหปลอย

๓๕๙

วิ จิ กิ จ ฉา ถ า เป น ชื่ อ ของนิ ว รณ เป น อกุ ศ ลธรรมชนิ ด ที่ ร ะงั บ ได ด ว ย อํานาจของฌาน ; ถาเปนชื่อของกิเลสประเภทอนุสัย ระงับไปไดดวยอํานาจ ข อ ง ค ว า ม รู ยิ ่ง เ ห็น จ ริง วา อ ะ ไ ร เ ปน อ ะ ไ ร แ ตทั ้ง ห ม ด นี ้ ค ว ร จ ะ เ ปน ไ ป เฉพาะในวงที ่ค วรรู  คือ เรื ่อ งดับ ทุก ขเ สีย ใหไ ดโ ดยตรง หรือ กลา วอีก อยา งหนึ ่ง ก็คือ ดับ กิเ ลสเสีย ใหไ ด. ถา ยัง ลัง เลในในสว นใดของเรื่อ งนี้ ก็รีบ พิจ ารณา ในสวนนั้น ใหเชื่อ ดวยอํานาจแหงเหตุผ ลไดในที่สุด , ไมลัง เลในสวนใดของ เรื่องนี้. ไมลังเลในการตรัสรูของพระพุทธเจา ก็เพราะพิจารณาจนเห็นไดดวย ตนเองวา ถา ปฏิบ ัต ิต ามคํ า สอนของพระองคแ ลว ยอ มดับ ทุก ขไ ดจ ริง หาใช เชื่อเพราะตื่นขาวลือ หรือเชื่อเพราะทุกคนเขาเชื่อ กันมาก ก็หาไม. ไมลังเล ต อ พระธรรม โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง คื อ การปฏิ บั ติ เ พื่ อ บรรลุ ถึ ง นิ พ พาน ก็ เ พราะ พิ จ ารณาเห็ น ชั ด ด ว ยตั ว เองว า ปฏิ บั ติ ต ามนั้ น แล ว ย อ มดั บ กิ เ ลส ดั บ ทุ ก ข ไ ด จ ริ ง . ไม ลั ง เลต อ พระสงฆ ก็ เ พราะเห็ น อยู ว า การปฏิ บั ติ อ ย า งท า นนั้ น ย อ มดั บ ทุ ก ข ไ ด จ ริ ง อยางเดียวกัน. ไมลังเลตอการละกิเลส ก็เพราะเห็นชัดวาเปนสิ่งที่ดับทุกขไดจริง เพียงสิ่งเดียวเทานั้น สิ่งอื่นไมมีเลยจริง ๆ. ไมลังเลตอกฎของกรรม ก็เพราะ พิจารณาจนเห็ นชัดแจ งว า ในฝายโลกิ ยะนี้ ทําดีก็ ดีจริง ทํ าชั่ วก็ ชั่วจริ ง เพราะเป น เรื่องของการบัญญัติอยูที่การกระทํานั้น ๆ; แตสวนที่เปนโลกุตตระนั้นตองเลิกทํา กรรมเสีย ทั ้ง สองยา ง คือ ทั ้ง ดี ทั ้ง ชั ่ว เพราะมัน นํ า ไปสู ค วามเวีย นวา ยอยู ใ น วัฏฏสงสารโดยเทากันทั้งสองอยาง ; จะนิพพานหรือดับทุกขสิ้นเชิง ก็ตอเมื่อพน จากอํานาจของกรรมดี กรรมชั่ว โดยประการทั้งปวงแลวเทานั้น. เมื่อมีความเห็น อยางแจมแจง ดังที่กลาวมานี้ทั้งหมด ก็ชื่อวาปลดเปลื้องจิตจากวิจิกิจฉาได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถีน มิท ธะ ที ่เ ปน ชื ่อ ของนิว รณ ระงับ ไดด ว ยอํ า นาจขององคฌ าน ที่มีปฏิกิริยาโดยตรงตอกัน เชนวิจารและปติเปนตน. คํานี้ไมเคยเปนชื่อของ กิเลสประเภทอนุสัย. ถามีก็เปนอยางเดียวกับโมหะ ยอมระงับไปไดอยางเดียว

www.buddhadasa.in.th


๓๖๐

อานาปานสติภาวนา ตอน ๑๖

กับวิธีระงับโมหะ. ชะรอยกิเลสชื่อนี้มีอาการอยางนี้ แลวมีคําวาโมหะใชแทน อยูแลว จึงไมมีการบัญญัติชื่อ ๆ นี้ ใหเปนชื่อของอนุสัย หรือกิเลสชั้นละเอียดอีก ชื่อหนึ่ง ซึ่งจะเปนการซ้ํากันโดยไมเกิดประโยชนอยางใด. อุท ธัจ จะ คือ ความฟุ ง ซา น ที ่เ ปน ชื ่อ ของนิว รณ ระงับ ไดด ว ย องคฌ านที่มีป ฏิกิริย าตอ มัน โดยตรงคือ วิจ ารและสุข . สว นอุท ธัจ จะที่เ ปน ชื่ อ ของอนุ สั ย นั้ น หมายถึ ง ความกระเพื่ อ มแห ง จิ ต ในเมื่ อ มี ค วามรู สึ ก ต อ อารมณ ด ว ยอํ า นาจโมหะ ทํ า ให ส นใจหรื อ สงสั ย อยากรู อยากเข า ใจ ในสิ่ ง ที่ ยั่ ว ความรู หรือความสนใจ หรือยั่วความคิดนึกตาง ๆ. สิ่งนี้ระงับไดดวยอํานาจของปญญา ชนิดที่เปนอริยมรรคขั้นสูงสุด ที่สามารถตั ดความอยากรู อยากสนใจ อยางสงสั ย อยากคิด อยากนึก อยากวิตกหวาดกลัว เปนตน เสียไดหมดทุกอยาง. ฉะนั้น ถาหากวาญาณในอนัตตาหรือสุญญตาปรากฏแจมแจงอยูในใจ อุทธัจจะโดยทํานองนี้ ก็มีขึ้นไมได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อหิ ริ ก ะ ความรู สึ ก ที่ ทํ า ให ไ ม รู จั ก ละอายบาป ระงั บ ไปเพราะการ พิจารณาเห็นบาปเปน สิ่งเศราหมองต่ําทราม และทําใหมนุ ษยไ มอ ยู ในสภาพของ ความเป น มนุ ษ ย ก็ เ กิ ด ละอายหรื อ ความขยะแขยงเกลี ย ดชั ง ต อ บาปนั้ น ขึ้ น มาได เหมือนคนรักความสะอาดอยางโลก ๆ เกลียดของสกปรกตาง ๆ ; หรือความสะอาด อย า งธรรมก็ ป ลดเปลื้ อ งความไม ล ะอายต อ บาปหรื อ ความไม ส ะอาดอยู ไ ด ทุ ก ลม หายใจเขา – ออก เชนเดียวกัน. อโนตตัปปะ ความไมกลัวบาป ระงับไดเพราะการพิจารณาเห็นโทษ อัน นา กลัว ของบาป ว ามั น นากลั ว ยิ่ง กวา สิ่ง ที่ ตนกํ าลั ง กลั วอยู เป น อย างมาก เช น กลัวเสือ กลัวผี เปนตน จึงกลัวบาปและเวนจากบาปโดยสิ้นเชิง โดยทํานองเดียว กับบุคคลที่รักชีวิตไมอยากจะตาย ยอมกลัวและหลีกจากอันตรายที่จะทําใหตนตาย

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๑๒ การทําจิตใหปลอย

๓๖๑

อยางหางไกลทีเดียว. เพื่อเปรียบเทียบใหเห็นความแตกตางระหวางหิริโอตตัปปะ ไดโ ดยงา ย ควรพิจ ารณาดูที ่ค วามเกลีย ดหรือ กลัว สัต วส กปรก เชน กิ ้ง กือ หรือ ตุ ก แก กั บ ความกลั ว ต อ เสื อ หรื อ ราชสี ห เ ป น ต น ว า มั น ต า งกั น อย า งไร แล ว ก็ จ ะ เขาใจคําวาเกลียดบาปและคําวากลัวบาปไดอยางเพียงพอ. เท าที่ กล าวมานี้ เป นการระบุ ถึ งสิ่ งที่ เป นปฏิ ป กษ โดยตรงต อ กุ ศลธรรม เหล า นั้ น ซึ่ ง อาจใช เ ป น เครื่ อ งเปลื้ อ งจิ ต จากอกุ ศ ลธรรมเหล า นั้ น ได โ ดยตรงอี ก อยางเดียวกัน. เมื่อลําพังการกําหนดลมหายใจอยางเดียว หรืออํานาจสมาธิ อย า งเดี ย วก็ ต าม ไม ส ามารถระงั บ อกุ ศ ลธรรมเหล า นี้ ก็ ต อ งอาศั ย ธรรมอั น เป น ขาศึกตออกุศลธรรมเหลานั้น โดยเฉพาะอยาง ๆ มาเปนเครื่องระงับมัน ; แลว กํ า หนดความที่ ต นสามารถปลดเปลื้ อ งอกุ ศ ลธรรมอย า งนั้ น ออกไปจากจิ ต ได อยางไร อยูทุกลมหายใจเขา – ออก ก็จักไดชื่อวาเปนการเจริญอานาปานสติขอนี้ อยูตลอดเวลา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เมื่ อ ทํ า อยู ดั ง นี้ วิ ญ ญาณจิ ต หรื อ จิ ต ที่ เ ป น ความรู ก็ มี อ ยู ญาณก็ มี อ ยู สติ กํ าหนดจิ ตหรื อ ญาณนั้ น ว าปลดเปลื้ องแล ว จากอกุ ศ ลธรรมมี ประการต า ง ๆ นั้ น ได อ ย า งไรก็ มี อ ยู สติ อั น กลายเป น อนุ ป ส สนาญาณตามความจริ ง ว า อกุ ศ ลธรรม ที ่หุ ม หอ จิต นั ้น ก็ด ี จิต ที ่ถ ูก หุ ม หอ ก็ด ี จิต ที ่ป ลดเปลื ้อ งแลว ก็ด ี ลว นแตเ ปน สัง ขารธรรม ที ่ม ีค วามไมเ ที ่ย ง เปน ทุก ข เปน อนัต ตา ดว ยกัน ทั ้ง นั ้น ยอ ม นํ า มาซึ่ ง ความเบื่ อ หน า ยคลายกํ า หนั ด ความไม ก อ กิ เ ลสและความสละคื น ซึ่ ง สังขารธรรมเหลานั้นอยูตามลําดับ. เมื่อทําอยูอยางนี้ยอมชื่อวาเปนการเจริญ จิต ตานุป ส สนาสติป ฏ ฐานภาวนา อัน เปน อานาปานสติข อ สุด ทา ยของจตุก กะ ที่ ส ามแห ง อานาปานสติ ทั้ ง หมด. เมื่ อ ภาวนานั้ น สมบู ร ณ อ ยู ด ว ยอรรถทั้ ง ๔ ของ

www.buddhadasa.in.th


๓๖๒

อานาปานสติภาวนา ตอน ๑๖

ภาวนาดัง ที ่ก ลา วแลว ขา งตน ก็ย อ มเปน ภาวนาที ่ส โมธานมาไดใ นขณะนั ้น ซึ่งธรรมทั้งปวง ๒๙ ประการ ดังที่กลาวแลวโดยละเอียดในอานาปานสติขั้นที่หา ขางตน. วินิจฉัยในอานาปานสติขั้นที่สิบสองยุติลงเพียงเทานี้. สิ่ ง ที่ ค วรสนใจเป น พิ เ ศษอี ก อย า งหนึ่ ง ก็ คื อ ในจตุ ก กะที่ ส ามนี้ มี ก าร กํ า หนดจิต ที ่เ รีย กวา จิต ตานุป ส สนาโดยเทา กัน หรือ เสมอกัน ทุก ขั ้น แตอ าการ ที่กําหนดพิจารณานั้นตางกัน คือ ขั้นที่หนึ่งกําหนดจิตวามีลักษณะอยางไรในขณะ แหงอานาปานสติขั้นตาง ๆ ตั้งแตเริ่มทําอานาปานสติจนถึงการทําอานาปานสติขั้นนี้. ขั้ น ที่ ส องกํ า หนดจิ ต ที่ ถู ก ทํ า ให บั น เทิ ง อยู ใ นธรรม หรื อ มี ค วามบั น เทิ ง อยู ใ นธรรม โดยลักษณะที่สูงต่ําอยางไรขึ้นมาตามลําดับ. ขั้นที่สามกําหนดจิตที่ถูกทําใหตั้งมั่น และมี ค วามตั้ง มั่ นอยู อย า งไรตามลํา ดั บ นับ ตั้ ง แต ต่ํา ที่ สุด ถึ งสู ง ที่สุ ด อยา งหยาบ ที่สุดถึงอยางละเอียดที่สุด. และขั้นที่สี่ กําหนดจิตที่ถูกทําใหปลอย และมีความ ปลอยอยูซึ่งกุศลธรรมตาง ๆ ซึ่งทั้งหมดนี้เปนไปทุกขณะแหงลมหายใจเขา – ออก จนเปนสติปฏฐานภาวนาชนิดที่สามารถประมวลมาไดซึ่งคุณธรรมตาง ๆ โดยทํานอง เดียวกันและเสมอกัน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อานาปานสติ จตุกกะที่ ๓ จบ

www.buddhadasa.in.th


จตุกกะที่ ๔ - ธัมมานุปสสนาสติปฏฐาน๑ (ตั้งแตการเห็นอนิจจังโดยประจักษ จนถึง การเห็นความสลัดคืนสังขารออกไป)

บัดนี้มาถึงการปฏิบัติในอานาปานสติ จตุกกะที่สี่ ซึ่งกลาวถึงอานาปานสติ อีก ๔ ขั้น เปนลําดับไปคือ :ขั้นที่ ๑๓ การตามเห็น ความไมเที่ยง อยูเปนประจํา หายใจเขา – ออก ๑, ขั้นที่ ๑๔ การตามเห็น ความจางคลาย อยูเปนประจํา หายใจเขา – ออก ๑, ขั้นที่ ๑๕ การตามเห็น ความดับไมเหลือ อยูเปนประจํา หายใจเขา – ออก ๑, ขั้นที่ ๑๖ การตามเห็น ความสลัดคืน อยูเปนประจํา หายใจเขา – ออก ๑, รวมเปน ๔ ขั้นดวยกัน ดังนี้. ทั้ง ๔ ขั้นนี้ จัดเปนหมวดแหงการเจริญ ภาวนา ที ่พ ิจ ารณาธรรม คือ ความจริง ที ่ป รากฏออกมา เปน อารมณสํ า หรับ การศึ กษา แทนที่ จะกํ าหนดพิ จารณากายคื อลมหายใจ เวทนาคื อป ติ และสุ ข และ พิจารณาจิตในลักษณะตาง ๆ กัน ดังที่กลาวแลวในจตุกกะที่หนึ่ง สอง และสาม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ในจตุ กกะที่ สี่ นี้ มี สิ่ งที่ จะต องสนใจเป นสิ่ งแรก คื อท านได กล าวถึ งธรรม ๔ อยาง คือ อนิจจัง วิราคะ นิโรธะ และปฏินิสสัคคะ ซึ่งเห็นไดวา ไมมี

การบรรยายครั้งที่ ๔๐/๔ พฤศจิกายน ๒๕๐๒

๓๖๓

www.buddhadasa.in.th


๓๖๔

อานาปานสติภาวนา ตอน ๑๗

การกล า วถึ ง ทุ ก ขั ง และอนั ต ตา ผู ที่ เ ป น นั ก คิ ด ย อ มสะดุ ด ตาในข อ นี้ และมี ความฉงนวาเรื่องทุกขและเรื่องอนัตตา ไมมีความสําคัญหรือยางไร. เกี่ยวกับ ข อ นี้ พึ ง เข า ใจว า เรื่ อ งความทุ ก ข แ ละความเป น อนั ต ตานั้ น มี ค วามสํ า คั ญ เต็ ม ที่ หากแต ในที่นี้ ท านกลาวรวมกันไว กั บเรื่ องอนิ จจัง เพราะความจริ งมีอยู วา ถ าเห็ น ความไม เ ที่ ย งถึ ง ที่ สุ ด แล ว ย อ มเห็ น ความเป น ทุ ก ข อ ยู ใ นตั ว ถ า เห็ น ความไม เ ที่ ย ง และความเป น ทุ ก ข จ ริ ง ๆ แล ว ย อ มเห็ น ความเป น อนั ต ตา คื อ ไม น า ยึ ด ถื อ ว า เป น ตัวตน หรือตัวตนของเราอยูในตัว. เหมือนอยางวาเมื่อเราเห็นน้ําไหล เราก็ยอม จะเห็ นความที่ มั นพั ดพาสิ่ งต าง ๆ ไปด วย หรื อเห็ นความที่ มั นไม เชื่ อฟ งใคร เอาแต จะไหลทาเดียว ดังนี้เปนตนดวย ; นี้ยอมแสดงใหเห็นวา มันเปนเรื่องที่เนื่องกัน อยางที่ไมแยกออกจากกัน. โดยใจความก็คือ เมื่อเห็นอยางใดอยางหนึ่งถึงที่สุด จริง ๆ แลว ยอมเห็นอีก ๒ อยางพรอมกันไปในตัว ดังนี้ ; เพราะเหตุนี้เอง พระพุ ท ธองค จึ ง ได ก ล า วถึ ง แต อ นิ จ จั ง และข า มไปกล า วิ ร าคะ และนิ โ รธะเป น ลําดั บไป โดยไม กลาวถึ งทุ กขังและอนั ตตา ในลั กษณะที่ แยกให เด นออกมาเป น อยางหนึ่ง ๆ ตางหาก. ในบาลีแหงอื่นมีพระพุทธภาษิตตรัสวา “ดูกอนเมธียะ, อนัตตสัญญา ยอมปรากฏแกบุคคลผูมีอนิจจสัญญา, ผูมีอนัตตสัญญายอมถึง ซึ่งการถอนเสียไดซึ่งอัสมิมานะ ประสบนิพพานอยูในทิฏฐธรรม” ดังนี้. ขอนี้ ย อมแสดงอยู แล วว า พระผู มี พระภาคเจ าทรงถื อว า เมื่ อมี อนิ จจสั ญญาก็ เป นอั นว า มี อ นั ต ตสั ญ ญา และเป น อั น ว า ละอั ส มิ ม านะเสี ย ได และลุ ถึ ง นิ พ พานอยู ใ นตั ว . กลา วใหสั้น ที่สุด ก็คือ ผูมีอ นิจ จสัญ ญา ยอ มลุถึง นิพ พานไดนั่น เอง. แตพึง เขาใจวาการเห็นอนิจจังในที่นี้ ไมใชเห็นอยางครึ่ง ๆ กลาง ๆ อยางที่มีกลาวอยูใน บาลีบางแหงวา. ลัทธิอื่นภายนอกพุทธศาสนาก็มีการเห็นอนิจจังอยางพิศดาร เชน ลัทธิ ของศาสดาชื่ อดารกะเป นต น การเห็นอนิ จจั งทํ านองนั้ น แม จะพิ ศดารอย างไร ก็มิใชเปนการเห็นอนิจจังดังกลาวถึงในที่นี้ คงยังเปนอนิจจังภายนอกพุทธศาสนา

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๑๓ การเห็นความไมเที่ยง

๓๖๕

อยูนั่นเอง. ฉะนั้น เปนอันวา การเห็นอนิจจังแหงอานาปานสติขั้นที่สิบสามนี้ มีค วามหมายเฉพาะของมัน เอง ไมเ หมือ นกับ ใครในที่อื่น ๆ; กลา วคือ ในที่นี้ เห็นลึกไปถึงทุกขังและอนัตตาพรอมกันไปดวยในตัว. ถึงเขาใจไววายังมีการ เห็ น อนิ จ จั ง ที่ มี ค วามหมายทํ า นองนี้ ใ นบาลี อื่ น ๆ อี ก มากแห ง แม ว า โดยทั่ ว ไป คํา ๆ นี้จะหมายถึงการเห็นอนิจจังอยางเดียวก็ตาม, พึงถือเปนหลักวา ถาในที่ใด มีก ารแยกกลา วไวเ ปน ๓ อยา ง ในที ่นั ้น การเห็น อนิจ จัง ก็ก ิน ความแคบ คือเห็นอนิจจังอยางเดียวจริง ๆ ; แตถาในที่ใดมีการกลาวถึงแตอนิจจังอยางเดียว พึงทราบวาในที่นี้ พระพุทธองคทรงรวมทุกขังและอนัตตาเขาไวดวย; พระองค ทรงมีห ลัก ในการตรัส เรื ่อ งอยา งนี ้ ดัง เชน ในอานาปานสติขั ้น ที ่ส ิบ สามนี ้ เปน ตัวอยาง. อานาปานสติ จตุกกะที่สี่นี้ โดยใจความ เปนวิปสสนาหรือเปนปญญา ลวน ไมเหมือนกับทุกขอที่แลวมา ซึ่งเปนสมถะบาง เปนสมถะเจือกันกับวิปสสนา บาง. เพราะฉะนั้น การปฏิบัติอานาปานสติแหงจตุกกะนี้ จึงมีการกําหนดธรรม มี ความไม เที่ ยงเป นต น ทํ าให ได นามว าเป นหมวดธั มมานุ ป สสนาสติ ป ฏฐาน ดั งจะ ไดวินิจฉัยเปนขอ ๆ ตามลําดับไป.

www.buddhadasa.in.th ตอน สิบเจ็ด www.buddhadasa.org อานาปานสติ ขั้นที่ สิบสาม (การตามเห็นความไมเที่ยงอยูเปนประจํา)

อานาปานสติ ขั้ น ที่ สิ บ สาม หรื อ ข อ ที่ ห นึ่ ง แห ง จตุ ก กะที่ สี่ นี้ มี หั ว ข อ ว า “ภิกษุนั้น ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูตามเห็นซึ่งความไมเที่ยงอยูเปนประจํา (อนิจจา-

www.buddhadasa.in.th


๓๖๖

อานาปานสติภาวนา ตอน ๑๗

นุปสสี) จักหายใจเขา ดังนี้ ; ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูตามเห็นซึ่งความไมเที่ยง อยูเปนประจํา จักหายใจออก ดังนี้”.๑ คําวา “ยอมทําในบทศึกษา” ในขอนี้ พึงวินิจฉัยวาเมื่อเห็นความ ไมเที่ ยงอยู ดังนั้ น ยอมไมมี โอกาสแตงเจตนาที่จะทุศี ล คือทํ าให ผิดศี ลขอใดข อหนึ่ ง ไมได จึงเปนสีลสิกขาอยูในตัว. และเมื่อเพงพิจารณาอยูดังนั้น ยอมมีสมาธิ ชนิ ด ที่ แ นบเนื่ อ งกั น อยู กั บ ป ญ ญา เท า เที ย มกั น กั บ กํ า ลั ง ของป ญ ญา จิ ต ตสิ ก ขา จึงมีอยูในตัวเชนเดียวกัน. การเพงอนิจจลักษณะ เปนปญญาสิกขาอยูแลว; จึงเปนอันวาเธอนั้นเปนผูสมบูรณแลวดวยไตรสิกขาในขณะนั้น. คําวา “ผูตามเห็นซึ่งความไมเที่ยงอยูเปนประจํา หรือ อนิจจานุปสสี” นั้นมีสิ่งที่ตองวินิจฉัยคือ : สิ่งที่ไมเที่ยงคืออะไร ? ภาวะแหงความไมเที่ยง เปนอยางไร ? การตามเห็นความไมเที่ยงคือทําอยางไร ? ผูตามเห็นความ ไมเที่ยง หรืออนิจจานุปสสีนั้นคือใคร ? คําตอบโดยสังเขปคือ สังขารทั้งปวง คือสิ่งที่ไมเที่ยง ; การเกิดขึ้น - ตั้งอยู๒ - ดับไป คือภาวะแหงความไมเที่ยง; การ ใช ส ติ ค อยตามกํ า หนดภาวะแห ง ความไม เ ที่ ย งนั้ น คื อ อนิ จ จานุ ป ส สนาหรื อ การ ตามเห็นซึ่งความไมเที่ยง ; บุคคลที่ทําเชนนั้นอยูทุกลมหายใจเขา – ออก ชื่อวา ”อนิจจานุปสสี” คือผูตามเห็นซึ่งความไมเที่ยงอยูเปนประจํา ดังนี้. บัดนี้จะได วินิจฉัยในสิ่งที่มีความไมเที่ยงสืบไป. ๑. เมื่อถามวา อะไรคือสิ่งที่ไมเที่ยง ? ก็ตอบไดอยางสั้น ๆ หรือคลุม ๆ เปนการรวบยอดวา สังขารทั้งปวงคือสิ่งที่ไมเที่ยง ; แตการตอบเชนนั้นยังไม สําเร็จประโยชนในการที่จะปฏิบัติเพื่อพิจารณาสิ่งที่ไมเที่ยง จะตองมีคําตอบที่ชัด

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

อนิจฺจานุปสฺสี อสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ ; อนิจฺจานุปสฺสี ปสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ. ๒ ปฏิสัม ไมมีคําวา ตั้งอยู.

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๑๓ การเห็นความไมเที่ยง

๓๖๗

แจ งออกไปกว านี้ ฉะนั้ น ในวงการของการเจริ ญอานาปานสติ ขั้ นนี้ เมื่ อถู กถามว า อะไรคือ สิ ่ง ที ่ไ มเ ที ่ย ง ทา นนิย มตอบกัน เปน หลัก วา ขัน ธทั ้ง หา อายตนะ ภายในทั้งหก และ อาการสิบสองแหงปฏิจจสมุปบาท คือสิ่งที่ไมเที่ยง ; โดยที่ ทานมุงหมายจะให หยิ บเอาธรรมเหล านั้ น ขึ้ นมาพิ จารณาแต ละอย าง ๆ เป นหมวด ๆ ไป ทีละหมวดนั่นเอง. หมวดแรกคื อ ขั นธ ห า ไดแก รูป เวทนา สั ญญา สั งขาร วิ ญญาณ นั้ น เป นการพิ จารณาโดยทั่ วไปเป นวงกว างครอบคลุ มถึ งสิ่ งต าง ๆ หมดทั้ งโลก ซึ่ งอาจ จะสรุปไวดวยคํา ๒ คําสั้น ๆ วา นาม และ รูป แตกินความถึงสิ่งทุกสิ่งในโลก ทั้งทางฝายกายและฝายใจ. สิ่งทั้งหลายเหลานี้จัดเปนประเภทอารมณ คือ สิ่งที่ ถูก ดู ถูก เห็น ถูก ไดยิน ถูก ฟง ฯลฯ หรือ ถูก กระทํา นั่น เอง จะจํา แนกเปน กี่สิ บอยางกี่ รอยอยางก็ ได แต สรุ ปแลวมันรวมอยู ที่คํ าว าขั นธ หา หรื อคํ าว านามรูป ; นี้จัดเปนอารมณของวิปสสนาทั่วไป.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สวนหมวดที่เรียกวา อายตนะหก ไดแก ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ซึ่ งรวมทั้ งวิ ญญาณที่ จะเกิ ดตามทวารทั้ ง ๖ เหล านั้ นด วย รวมทั้ งสิ่ งอื่ น ๆ ที่ จะทํ า หนา ที่ร วมกัน ดว ย. สิ่งเหลานี้ทั้ง หมดจัดเปนประเภท ฝา ยผูกระทํา คือ ผูดู ผู ฟ ง ผู ด ม ผู ช ิม หรือ ผู ทํ า การสัม ผัส ตา ง ๆ ตอ อารมณ ดัง ที ่ก ลา วมาแลว นั่น เอง. ฝา ยโนน เปน ฝา ยถูก ทํา ฝา ยนี้เ ปน ฝา ยผูทํา ทา นใหนํา มาพิจ ารณา กัน เสีย ทั ้ง สองฝา ย ก็เ พื ่อ จะใหห มดจนสิ ้น เชิง วา มัน ลว นแตไ มเ ที ่ย งดว ยกัน ทั้ ง ๒ ฝ า ย จะได ไ ม ยึ ด ถื อ ทั้ ง สองฝ า ย ฉะนั้ น เมื่ อ ตาเห็ น รู ป เป น ต น ก็ ใ ห พิ จ ารณาเสี ย ว า รู ป ซึ่ ง เป น ฝ า ยถู ก เห็ น ก็ ไ ม เ ที่ ย ง ตาซึ่ ง เป น ฝ า ยผู เ ห็ น ก็ ไ ม เ ที่ ย ง.

www.buddhadasa.in.th


๓๖๘

อานาปานสติภาวนา ตอน ๑๗

ทีนี้หมวดตอไป คือ หมวดปฏิจจสมุปบาท ทั้ง ๑๒ อาการนั้น เล็งถึง อาการหรื อ ความเป น ไปของการปรุ ง แต ง ทุ ก ชนิ ด ที่ ทํ า การปรุ ง แต ง กั น ขึ้ น ในขณะที่ เห็นรูปเปนตนอีกนั่นเอง. ในขณะนั้นมันมีการปรุงแตงกันกี่ชั้น และดวยอาการ อย า งไรทุ ก ๆ อาการ ก็ เ อาอาการที่ มั น ปรุ ง แต ง นั้ น ทุ ก อาการมาพิ จ ารณาให เ ห็ น ความไม เ ที่ ย ง ในอาการเหล า นั้ น ทุ ก อาการไปที เ ดี ย ว คื อ อาการที่ อ วิ ช ชาปรุ ง แต ง สั ง ขาร สั ง ขารปรุ ง แต ง วิ ญ ญาณ วิ ญ ญาณปรุ ง แต ง นามรู ป นามรู ป ปรุ ง แต ง อายตนะ อายตนะปรุ ง แต ง ผั ส สะ ผั ส สะปรุ ง แต ง เวทนา เวทนาปรุ ง แต ง ตั ณ หา ตัณ หาปรุง แตง อุป าทาน อุป าทานปรุง แตง ภพ ภพปรุง แตง ชาติ ชาติป รุง แตง ชรา มรณะ โสกะ ปริ เ ทวะ ทุ ก ขะ โทมนั ส สะ เป น ต น ; ทั้ ง หมดนี้ เปน อาการปรุง แตง ฝา ยเกิด . สํา หรับ อาการปรุง แตง ฝา ยดับ ก็มีนัย เดีย วกัน หากแต เ ป น ไปในทางตรงกั น ข า ม คื อ เป น ไปในทางชวนดั บ กล า วคื อ การดั บ ของ อวิช ชาทํ า ใหม ีก ารดับ สัง ขาร การดับ ของสัง ขารทํ า ใหม ีก ารดับ ของวิญ ญาณ การดั บ ของวิ ญ ญาณทํ า ให มี ก ารดั บ ของนามรู ป ดั ง นี้ เ ป น ลํ า ดั บ ไป ๆ จนกระทั่ ง ถึง การดับ ของชาติทํ า ใหม ีก ารดับ ของชรา มรณะเปน ตน เปน อัน วา จบกัน , อาการปรุ ง แต ง ฝ า ยเกิ ด สิ บ สอง และอาการปรุ ง แต ง ฝ า ยดั บ สิ บ สอง ก็ ต อ งนํ า มา พิ จ ารณาให เห็ น ความไม เ ที่ ยงทุ ก อาการ เพื่ อ ว า เมื่ อ เห็ น อายตนะภายนอก เช น รู ป เปนตนก็ไมเที่ยง อายตนะภายใน เชนตาเปนตนก็ไมเที่ยง แลวอาการที่อายตนะ ทั้งสองเกี่ยวของกันทําใหเกิดอะไรขึ้นตาง ๆ นานา กี่อาการก็ตาม, อาการเหลานั้น ทุกอาการก็ไมเที่ยง, จึงเปนการทําใหเห็นความไมเที่ยงของสิ่งทุกสิ่งหมดจดสิ้นเชิง จริง ๆ คือหมดจดสิ้นเชิงยิ่งกวาที่จะพิจารณาโดยวิธีอื่นจริง ๆ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สรุปความ ใหเปนเปนตัวอยางสั้น ๆ อีกครั้งหนึ่งคือ เมื่อตาเห็นรูป เกิ ด ความรู สึ ก ต า ง ๆ ขึ้ น เป น ลํ า ดั บ ไปนั้ น ถ า แยกพิ จ ารณาเป น ๓ ฝ า ย คื อ

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๑๓ การเห็นความไมเที่ยง

๓๖๙

(๑) ฝายอารมณหรืออายตนะภายนอกไดแกรูปที่แลเห็น (๒) ฝายผูสัมผัสอารมณ หรืออายตนะภายในไดแกตา หรือสิ่งที่เนื่องดวยตาทั้งหมด และ (๓) คืออาการ ต า ง ๆ ของการที่ มั น มาเกี่ ย วข อ งกั น เช น อาการที่ ต ากระทบกั บ รู ป อาการที่ ทํ า ให จั ก ขุ วิ ญ ญาณเกิ ด ขึ้ น อาการที่ สั ม ผั ส กั น ระหว า งสิ่ ง ทั้ ง ๓ นี้ ที่ เ รี ย กว า จั ก ขุ สั ม ผั ส และอาการที่จักขุสัมผัสทําใหเวทนาเกิดขึ้นเปนจักขุสัมผัสสชาเวทนา, และอาการที่ เวทนาปรุ งแต งให เกิ ดสั ญญา สั ญเจตนา วิ ตก วิ จาร เป นต น เป นลํ าดั บไปจนกระทั่ ง ถึง การทํ า กรรม และการรับ ผลของกรรม เปน ความทุก ขน านาชนิด เหลา นี้ ก็ จ ะต อ งพิ จ ารณาให เ ห็ น ว า ทุ ก ๆ อาการ ทุ ก ๆ ขั้ น ทุ ก ๆ ตอน ก็ ล ว นแต มี ค วาม ไมเ ที ่ย ง เชน เดีย วกับ อายตนะทั ้ง สองนั ้น เหมือ นกัน เปน อัน วา เราเห็น ความ ไมเ ที ่ย งสิ ้น เชิง จริง ๆ ซึ ่ง อาจสรุป ความไดว า เห็น ความไมเ ที ่ย งของอายตนะ ภายนอก ของอายตนะภาย ใน และของกิริยาอาการตาง ๆ ที่มันเกี่ยวของกัน ดังนี้. การเห็ น ความไม เ ที่ ย งของสิ่ ง เหล า นี้ และโดยทํ า นองนี้ เ ท า นั้ น ที่ จ ะทํ า ใหเห็นทะลุเลยไปถึงความเปนทุกข ความเปนอนัตตา หรือสุญญตา จนกระทั่ง เบื่อหนายคลายกําหนัดไดในที่สุด. ถาผิดไปจากนี้ ก็เปนการเห็นความไมเที่ยง อย า งครึ่ ง ๆ กลาง ๆ แล ว ติ ด ตั น อยู เ พี ย งแค นั้ น ดั ง เช น การเห็ น ความไม เ ที่ ย งของ พวกลัทธิอื่นภายนอกพระพุทธศาสนา ดังที่กลาวมาแลวขางตน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สรุป ความ ในการวิน ิจ ฉัย ขอ นี ้ว า เมื ่อ ถามวา อะไรคือ สิ ่ง ที ่ไ มเ ที ่ย ง ก็ตอบวา สิ่งที่ถูกสัมผัส สิ่งที่ทําหนาที่สัมผัส และ กิริยาอาการตาง ๆ ที่เนื่องกันอยู กั บ การสั ม ผั ส นั้ น รวมเป น ๓ ประเภทด ว ยกั น ดั ง นี้ คื อ ทั้ ง หมดของสิ่ ง ที่ ไ ม เ ที่ ย ง อันเรานิยมเรียกกันวาสังขารทั้งปวง. การที่จะจําแนกสิ่งเหลานี้ แตละประเภท ออกเปน กี ่ส ิบ อยา ง หรือ กี ่ร อ ยอยา งนั ้น ไมสํ า คัญ สํ า คัญ อยู แ ตที ่ใ หเ ห็น ความ ไมเที่ยงของมันจริง ๆ โดยนัยที่กลาวมาแลวเทานั้น.

www.buddhadasa.in.th


๓๗๐

อานาปานสติภาวนา ตอน ๑๗

๒. ตอนี้ไปจะไดวินิจฉัยถึง ลักษณะหรือภาวะแหงความไมเที่ยง๑ พรอมทั้งแนวการพิจารณา : ลักษณะหรือภาวะแหงความไมเที่ยง มีใจความสําคัญ อยู ต รงที่ มี ความเกิ ด ขึ้ น ปรากฏ มี ความเสื่ อ มปรากฏ มี ความดั บ ลงปรากฏ รวมกันเปน ๓ อยาง ดังบาลีกลาววา “สิ่งทั้งหลายไมเที่ยง มีการเกิดขึ้นและเสื่อมไป เปนธรรมดา ครั้นเกิดขึ้นแลวก็ดับไป”๒ ดังนี้. ขอนี้ตรงตามความหมายของคําวา ไม เ ที่ ย ง คื อ ดู ไ ม ไ ด อ ยู ใ นภาวะอย า งใดอย า งหนึ่ ง แต อ ย า งเดี ย วตลอดไป แต มี ก าร เปลี่ยนแปลงเรื่อย. เมื่อมีการเปลี่ยนแปลง ก็ยอมหมายความวาตองมีการเกิด และการดับ. ถาไมมีการดับ การเปลี่ยนไปเกิดมีอยางใหม ก็มีไมได ฉะนั้นคําวา เปลี ่ย นแปลงจึง หมายถึง การเกิด แลว ดับ ลงเพื ่อ เกิด ใหมใ นรูป อื ่น ที ่ไ มสิ ้น สุด . โดยเหตุนี้คําวาไมเที่ยง จึงมีความหมายอยู ๒ ความหมาย คือ (๑) เกิดดับอยูเรื่อย (๒) เกิดครั้งหลังไมเหมือนครั้งกอ เพราะมีเหตุปจจัยใหม ๆ เขามาแทรกแซง อยูเรื่อย. ทั้ง ๒ นี้ เปนความหมายที่จักตองพิจารณาดูใหเห็นอยางชัดแจงจริง ๆ จึงจะเห็นความหมายของคําวาไมเที่ยง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๓. วิธีพิจารณาใหเห็นความไมเที่ยง นั้น มีทางที่จะทําไดเปนชั้น ๆ ตื้นลึกกวากันตามลําดับ : ในขั้นแรกที่สุดคืออยางงายที่สุด ที่คนธรรมดาสามัญ ทั่ วไปจะมองเห็ น ก็ คื อดู ความไม เที่ ยงของสั งขารทั้ งกลุ ม เป นกลุ ม ๆ เพราะดู ง าย เชนดูเบญจขันธที่คุกกันแลวถูกสมมติวาเปนสัตวหรือคน ๆ หนึ่งก็จะเห็นไดงาย ๆ

๑ ๒

การบรรยายครั้งที่ ๔๑ / ๕ พฤศจิกายน ๒๕๐๒ อนิจฺจา วต สงฺขารา อุปฺปาทวยธมฺมิโน อุปฺปชฺฌิตฺวา นิรุชฺฌนฺติ

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๑๓ การเห็นความไมเที่ยง

๓๗๑

วามีการเกิดขึ้นมาเปนเด็ก แลคอยเจริญเติบโตจนชราและตายไป คือดับ. หรือให ยอยลงไปกวานั้นอีก ก็ดวยการแบงอายุของคนอออกเปน ๓ วัย คือปฐมวัย มัชฌิมวัย และปจฉิมวัย แลวพิจารณาดูเฉพาะวา แมในวัยหนึ่ง ๆ ก็ยังมีการเปลี่ยนแปลงอยู อยางมากมาย. แตแมการพิจารณาดูอยางนี้แลว ก็ยังเปนการพิจารณาที่หยาบอยู จะตองรูจักพิจารณาใหละเอียดลงไปจนถึงวา สิ่งตาง ๆ เหลานั้นมิใชเพียงแตเปลี่ยน แปลงอยู ทุ ก วั น หรื อ ทุ ก ชั่ ว โมง หรื อ ทุ ก นาที หรื อ แม ทุ ก วิ น าที เ ท า นั้ น หากแต ว า มันไดเปลี่ยนแปลงอยูทุกขณะจิตทีเดียว. คําวา ขณะจิต เปนระยะเวลาที่ไมอาจจะ วัดไดดวยมาตราธรรมดาสามัญ ที่พูดกันอยูตามภาษาธรรมดา ; แตในภาษาธรรมะ ที่เรียกวาฝายปรมัตถนั้น หมายถึงระยะเวลาที่สั้นมาก จนเรารูสึกไมไดในการแบง ของมั น หรื อ ไม อ าจจะพู ด ให เ ข า ใจได ต รง ๆ แต ต อ งใช ก ารเปรี ย บเที ย บ เช น ว า เร็วกวาสายฟาแลบ อยางที่จะเปรียบเทียบกันไมได ดังนี้เปนตน. ขอนี้หมายความ วาสวนลึกที่สุด หรือสวนละเอียดที่สุดถึงกับดูดวยตาไมเห็นของสิ่งตาง ๆ ทั้งฝาย รูปธรรมและนามธรรม เปลี่ยนแปลงอยูทุกขณะจิตนั่นเอง คือ ทุก ๆ ปรมาณูของ รูปธรรมเปลี่ยนแปลงอยูอยางโกลาหล แตดูไมเห็นเพราะละเอียดเกินไป ; และ สวนที่ เป นนามธรรมหรื อ ธาตุจิ ต นั้น ยิ่ ง ละเอี ยดและยิ่ง เปลี่ ยนแปลงเร็ว ไปกวา นั้ น อีก. ทั้งหมดนี้เปนการพิจารณาดูความเปลี่ยนแปลงโดยแงของเวลา คือเอาเวลา เข า จั บ จึ ง เห็ น ความเปลี่ ย นแปลงไปตามแง ข องเวลา ซึ่ ง เกี่ ย วข อ งกั น อยู กั บ ขนาด ทําใหกลาวไดวาความเปลี่ยนแปลงนั้นมีอยูแมในสิ่งที่เล็กที่สุด จนแบงแยกไมไดอีก และในระยะเวลาที่สั้นที่สุดเทาที่จะคํานวณไดเพียงไร นี้อยางหนึ่ง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อีกอยางหนึ่ง เปนการพิจารณาเห็นความไมเที่ยง ที่แยบคายลง ไปอี ก คื อ พิ จ ารณาเห็ น ความที่ สิ่ ง ต า ง ๆ ทุ ก สิ่ ง ในโลก ไม ว า เป น รู ป ธรรมหรื อ

www.buddhadasa.in.th


๓๗๒

อานาปานสติภาวนา ตอน ๑๗

นามธรรม ไมวานอกกายหรือในกาย ทั้งหมดนั้น ลวนขึ้นอยูกับจิตดวงใดดวงหนึ่ง เพียงดวงเดียว คือดวงที่กําลังทําหนาที่สัมผัสหรือรูสึกตอสิ่งนั้นอยู จะเปนทางตา หรือทางหูก็ ตาม หรือทางอื่น ๆ นอกจากนั้ นก็ตาม เรารูสึกวาสิ่ งเหลานั้นมี อยูในโลกนี้ ในลักษณะอยางไร ก็เพราะจิตไดรูสึกตอมัน ; ถาจิตไมมี สิ่งตาง ๆ ทั้งหมดก็เทากับ ไม มี จึ ง เป น อั น กล า วได ว า เพราะจิ ต มี สิ่ ง เหล า นั้ น จึ ง มี เพาะจิ ต เกิ ด (คื อ เกิ ด ความรูสึกตอสิ่งเหลานั้น) สิ่งเหลานั้นจึงเกิด (ปรากฏตอความรูสึก); พอจิตดับ สิ่งเหลานั้นก็ดั บ ก็ มีค าเท ากั บไมมี สําหรั บคน ๆ นั้น เพราะเหตุฉะนั้ นเองจึงกล าวว า ทุ ก สิ่ ง ทุ อ ย า งขึ้ น อยู ที่ จิ ต อยู ใ นอํ า นาจของจิ ต หรื อ มี ค วามสํ า คั ญ ที่ จิ ต เกิ ด ดั บ ไป ตามจิตอยูเสมอไป. เพราะฉะนั้น เมื่อจิตเปนสิ่งที่เกิดดับอยูเสมอเปนขณะ ๆ สิ่ง ทั้งหลายทั้ งปวงเหล านั้ น ก็ มี ความหมายเพี ยงสิ่งที่ เกิ ดดั บอยูทุ กขณะจิ ตดวย ซึ่ งต อง ไม ลื ม ว า ทั้ ง รู ป ธรรมและนามธรรม ทั้ ง ภายนอกและภายในกาย ดั ง ที่ ก ล า วแล ว ขางตน นี้คือการเห็นอนิจจลักษณะที่ประณีตยิ่งขึ้นไปอีกชั้นหนึ่ง. อีกอยางหนึ่ง มีทางที่จะเห็น ความเปนอนิจจังไดลึกลงไปเปนชั้น ๆ คื อ เห็ น ความที่ สิ่ ง ต า ง ๆ ประกอบอยู ด ว ยเหตุ ป จ จั ย เป น ชั้ น ๆ ความไม เ ที่ ย งหรื อ ความเปลี่ ย นแปลงนั้ น มิ ไ ด มี อ ยู ที่ สิ่ ง นั้ น ๆ โดยตรง แต มั น มี อ ยู ที่ เ หตุ ป จ จั ย ที่ ป รุ ง แตง สิ ่ง นั ้น ๆ ซึ ่ง ลว นแตไ มเ ที ่ย งเพราะมีเ หตุป จ จัย อื ่น ซึ ่ง ลว นแตไ มเ ที ่ย ง ดวยกัน ปรุงแตงมันอยูอีกชั้นหนึ่ง. ยกตัวอยางเชน ทําไมเนื้อ หนังของคนเรา จึงเปลี่ยนแปลง ? ทั้งนี้ก็เพราะวามันเกิดมาจากขาวปลาอาหาร ซึ่งเปนของไม เที่ยงและเปลี่ยนแปลง. ทําไมขาวปลาอาหารเหลานั้นจึงเปนของเปลี่ยนแปลง ? ทั้ งนี้ เพราะว าข าวปลาอาหารเหล านั้ น มี มู ลมาจากธาตุ หรื อ ดิ นฟ าอากาศที่ เป นของ เปลี่ยนแปลงอยูเสมอไปอีกนั่นเอง ; และดินฟาอากาศเหลานั้น ก็ลวนแตมีมูลมา จากเหตุปจจัยอื่น ๆ ที่เปลี่ยนแปลงอยูไมรูสิ้นสุดอีกอยางเดียวกัน. เมื่อทาง

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๑๓ การเห็นความไมเที่ยง

๓๗๓

ฝ า ยรู ป ธรรมเป น อย า งนี้ ทางฝ า ยนามธรรมก็ ยิ่ ง เป น อย า งนี้ ม ากขึ้ น ไปอี ก เพราะ เปนของเบากวา ไวกวา. สรุปความ วาสิ่งตาง ๆ เปลี่ยนแปลง เพราะมันตั้งอยู บนสิ่ งอื่ น ๆ ที่ เปลี่ ยนแปลงเป นชั้ น ๆ กั นลงไปทุ กชั้ น การเห็ นอนิ จจั งโดยทํ านองนี้ มีความหมายกว างขวาง ถึงกั บทําให เห็นทุกขั ง และอนั ตตาได พรอมกันไปในตัว ; นี้ทางหนึ่ง. อี กทางหนึ่ ง เป นการพิ จารณาความไม เที่ ยงโดยความหมายที่ ว า สั งขาร แตละอยาง ๆ เปนสิ่งที่ประกอบขึ้นดวยของหลายสิ่ง ซึ่งแตละสิ่ง ๆ อาจจะแยกลง เปน สว นยอ ยไดเ รื ่อ ยไป จนกระทั ่ง เปน ของวา งเปลา หากแตว า ในขณะนั ้น ๆ มันมี การบั งเอิ ญหรื อการเกี่ยวข องกั นอย างเหมาะสมเท านั้ น มั นจึ งแสดงแสดงอาการ ออกมาราวกะวาเปนตัวเปนตน หรือเปนของนารักนาพอใจ. เมื่อใดอาการที่มัน เกี่ ย วข อ งกั น นั้ น แปรรู ป ไปในทางอื่ น การเผอิ ญ อย า งสบเหมาะที่ แ ล ว มาก็ ส ลายลง ทันที. ขอใหตั้งขอสังเกตตรงที่วา อาการที่ของหลายอยางเขามาเกี่ยวของกันนั้น มั น จะเป น สิ่ ง ที่ เ ที่ ย งแท ถ าวรไปไม ไ ด มั น ยิ่ ง แตกแยกเปลี่ ย นแปลงได ง า ยที่ สุ ด ยิ่ ง ขึ้นไปอี ก ทํ านองที่ เอาคนหลายคนมาทํ างานร วมกัน ความแตกตางกั นในทางความ คิดเห็ นย อมมี ได ง ายขึ้ น เท ากั บจํ านวนของคนที่ เอามาเกี่ ยวข องด วยกั นมากขึ้น ความ ไมเที่ยงของการเกี่ยวของกันนั้นก็ยิ่งมีมากขึ้นเปนเงาตามตัว. ความมุงหมายของ คํ าอธิ บายของข อนี้ มุ งหมายจะชี้ ความไม เที่ ยงของอาการที่ มั นเกี่ ยวข องกั น ผิ ดกั บ ขอที่แลวมา ที่ชี้ใหเห็นความไมเที่ยงที่ตัวมันเอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เท า ที่ ย กมาพอเป น ตั ว อย า งนี้ เป น การชี้ ใ ห เ ห็ น ภาวะหรื อ ลั ก ษณะของ ความไมเที่ยงในรูปที่ตางกัน. ตอไปนี้จะไดวินิจฉัยถึงวิธีพิจารณาใหเห็นความไม เที่ยงสืบไป.

www.buddhadasa.in.th


๓๗๔

อานาปานสติภาวนา ตอน ๑๗

การพิจารณาใหเห็นความไมเที่ยงโดยทั่ว ๆ ไปนั้น คือการพิจารณา ใหเห็นการเกิดขึ้น – ตั้งอยู – ดับไปของสิ่งทั้งปวง แตการที่จะสงจิตไปยังสิ่งทั้งปวง แลว ใครค รวญดูต ามเหตุผ ล หรือ เรื ่อ งราวตา ง ๆ ที ่เ กี ่ย วกัน อยู ก ับ สิ ่ง เหลา นั ้น แลวลงสันนิษฐานวา ไมเที่ยง ดังนี้ ไมเปนที่ประสงคในที่นี้ ; เพราะการทํา อย า งนั้ น เป น เรื่ อ งของนั ก คิ ด หรื อ นั ก ใช เ หตุ ผ ลต า งหาก ไม ใ ช เ ป น เรื่ อ งของการ เจริ ญ ภาวนา การทํ า อย า งนั้ น ได ผ ลเป น หลั ก วิ ช าหรื อ กฎเกณฑ อ ะไรต า ง ๆ ตามที่ จะบั ญ ญั ติ ขึ้ น ไม ไ ด ผ ลเป น ความรู แ จ ง เห็ น แจ ง หรื อ แทงตลอด ชนิ ด ที่ จ ะให เ กิ ด ความเบื่อหนายคลายกําหนัดเลย. การพิจารณาตามทางของการเจริญภาวนา นั้น ตองเปนการนอมเขา มาในภายใน คือการเพงดูสิ่งตาง ๆ ที่กําลังมีอยูในภายใน ซึ่งตนไดทําใหปรากฏ หรื อ ได ทํ า ให เ กิ ด ขึ้ น ภายในจริ ง ๆ แล ว จึ ง ดู ค วามผั น แปรที่ ป รากฏอยู ที่ สิ่ ง นั้ น ๆ และที่ ป รากฏอยู แ ก ใ จของตนเองพร อ มกั น ไปในตั ว ด ว ย และทั้ ง หมดต อ งเป น ป จ จุ บั น คื อ เป น สิ่ ง เฉพาะหน า ก อ น แล ว จึ ง ค อ ยกลายเป น อดี ต หรื อ น อ มไปเพื่ อ เที ยบเคี ยงอนาคต ด วยการมองให เห็ นว า ป จจุ บั นที่ กํ าลั งพิ จารณาอยู นี้ แหละคื อสิ่ ง ที่เคยเปนอนาคตมาหยก ๆ เมื่อตะกี้นี้เอง. เมื่อทําอยูดังนี้ ก็จะเขาถึงตัวความ ไมเที่ยง หรือซึมทราบตอความไมเที่ยงไดอยางแทจริงและสิ้นเชิง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ยกตัว อยา งเชน การพิจ ารณาเบญจขัน ธ ขัน ธใ ดขัน ธห นึ ่ง ก็ต อ ง ทํ า สิ่ ง นั้ น ให ป รากฏจริ ง ๆ เสี ย ก อ น เช น พิ จ ารณารู ป ขั น ธ ห รื อ ร า งกาย ก็ ใ ห เ จาะจง เอาสิ่ ง ใดสิ่ ง หนึ่ ง ซึ่ ง เป น ส ว นของร า งกายจริ ง ๆ หรื อ เป น ที่ ร วมไว ซึ่ ง ความมี อ ยู ข อง ร า งกายจริ ง ๆ ดั ง ที่ ท า นแนะให เ อาลมหายใจมาเป น ตั ว ร า งกายหรื อ เป น รู ป ขั น ธ

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๑๓ การเห็นความไมเที่ยง

๓๗๕

ก็ ตาม ในการเจริ ญอานาปานสติ ขั้ นแรก ๆ นี่ ก็ เพื่ อจะให เรามี ความรู แจ งแทงตลอด ในเรื่ อ งของร า งกายนั้ น ว า มี ค วามไม เ ที่ ย งเป น ต น ได อ ย า งชั ด เจน จนเกิ ด ความ เบื่อหนายคลายกําหนัดไดจริง ; มันผิดกันลิบ กับการที่จะพิจารณาเอาดวยปาก ว า กาย ๆ หรื อ แจกเป น รายละเอี ย ดอย า งนั้ น อย า งนี้ ใ ห ยุ ง ไปหมดจนมี จํ า นวนนั บ ไมไหว ก็ไมสามารถเขาถึงตัวกาย หรือเห็นความไมเที่ยงของกายไดอยางแทจริง. ลมหายใจนั้ น เป น ธาตุ ล ม หรื อ เป น ธาตุ ๆ หนึ่ ง ในบรรดาธาตุ ทั้ ง สี่ ประกอบกั น ขึ้ น เป น กาย และยิ่ ง กว า นั้ น อี ก ก็ คื อ มั น เป น ป จ จั ย ส ว นสํ า คั ญ ที่ สุ ด ของ บรรดากายอื่น ๆ ทั้งหมด คือสวนที่เปนธาตุดิน ธาตุน้ํา ธาตุไฟ ; เพราะถามัน วิป ริต ไปเพีย งอยา งเดีย ว กายสว นอื ่น ๆ ก็ว ิป ริต หรือ ถึง กับ ทํ า ลายไปได. เพราะฉะนั ้น การเอากายสว นที ่เ ปน ลมหายใจขึ ้น มาพิจ ารณานี ้ นับ วา เหมาะสม ที่ สุ ด เป นการกระทํ าที่ ฉลาดที่ สุ ด เพราะได กายตั วจริ งมาเป นตั วสํ าคั ญที่ สุ ด แล ว ยังอาจพิจารณาไดโดยสะดวกที่สุดอีกดวย. เมื่อเรากําหนดลมหายใจอยูทุกลม หายใจเขา – ออก ก็เทากับกําหนดตัวกายโดยตรงอยางใกลชิดที่สุด และอาจ พิ จ ารณาเห็ น ความไม เ ที่ ย งเป น ต น ของมั นได ถึ ง ที่ สุ ด สื บ ไป โดยนั ย ดั ง กล า วแล ว ใน อานาปานสติขั้นตน ๆ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทั้ งหมดนี้ คื ออุ บายวิ ธี ที่ ทํ าให สามารถเข าถึ งตั วสิ่ งที่ เราจะพิ จารณาและ สามารถพิจ ารณไดจ ริง และเห็น ไดจ ริง ในที ่ส ุด ซึ ่ง ใคร ๆ ก็ย อ มเห็น ไดวา มัน ต า งจากการท อ งด ว ยปากหรื อ การคํ า นวณด ว ยการใช เ หตุ ผ ล อย า งที่ จ ะเปรี ย บกั น ไมไดเลย เพราะการทําเชนนั้นมันอยูไกลจากตัวสิ่งที่เรียกวา “กาย” มากเกินไป นั่นเอง.

www.buddhadasa.in.th


๓๗๖

อานาปานสติภาวนา ตอน ๑๗

แมในกรณีของการพิจารณา ขันธที่เปนนามธรรม๑ เชนเวทนาเปนตน ก็ มี หลั กเกณฑ อย างเดี ยวกั น คื อจะต องทํ าเวทนาให ปรากฏแก ใจจริ ง ๆ ขึ้ นมาก อ น โดยเฉพาะอย างยิ่ งเช นทํ าสมาธิ จนเกิ ดป ติ และความสุ ขซึ่ งเป นตั วเวทนาขึ้ นมา แล ว จึงสอดส องพิ จารณาใหเห็ นลักษณะของความไม เที่ยงและมูลเหตุ ตาง ๆ ที่ทํ าให เกิ ด ความไมเ ที ่ย ง ตามนัย ที ่ก ลา วมาแลว ขา งตน ในตอนที ่ก ลา วถึง ภาวะของความ ไมเที่ยง. ทั้งหมดนี้เปนการชี้ใหเห็นใจความสําคัญของการที่ จะพิจารณาสิ่งใด ตองทําตัวสิ่งนั้นใหปรากฏขึ้นมาใหไดเสียกอน แลวจึงมองดูที่สิ่งนั้นดวยจิตอัน เปนสมาธิ ก็จะเห็นลักษณะหรือความจริงตาง ๆ ที่เกี่ยวกับสิ่ งนั้นไดโดยประจั กษ . การที ่เ พีย งแตน ึก ถึง ชื ่อ สิ ่ง นั ้น แลว นึก ตอ ไปวา มัน มีเ รื ่อ งราวอยา งไรบา งตามที่ เล า เรี ย นมาโดยละเอี ย ด แล ว ใช เ หตุ ผ ลของตนเองทั บ ลงไปอี ก ที ห นึ่ ง ว า มั น คงจะ เป น อย างนั้ นจริ ง ดั งนี้ นั้ น แม จ ะพิ จารณาอยู สั กเท าไรก็ ไม ทํ า ให เ ห็ นความจริ ง โดย ประจัก ษไ ด เหมือ นวิธ ีที ่ก ลา วแลว ขา งตน ซึ ่ง เปน วิธ ีข องการปฏิบ ัต ิโ ดยตรง ; สวนวิธีหลังนี้เปนวิธีของปริยัติ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org แม จ ะได จํ า แนกสิ่ ง ที่ จ ะถู ก พิ จ ารณาไว เ ป น ๓ ประเภท และประเภท หนึ่ง ๆ ก็มีหลาย ๆ ขอ ดังที่กลาวมาแลวขางตนก็ตาม เรายังมี ทางที่จะปฏิบัติ ชนิดที่เขาถึงตัวสิ่งเหลานั้นโดยประจักษดวยกันทั้งนั้น คือ :ก. ประเภทเบญจขั น ธ เราเข า ถึ ง ตั ว รู ป ขั น ธ ไ ด ด ว ยการกํ า หนด พิจารณาลงไปที่ลมหายใจโดยนัยที่กลาวขางตน. เขาถึงตัวเวทนาไดดวยการ

การบรรยายครั้งที่ ๔๒ / ๖ พฤศจิกายน ๒๕๐๒

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๑๓ การเห็นความไมเที่ยง

๓๗๗

กํ า หนดพิ จ ารณาลงไปที่ ป ติ แ ละความสุ ข ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในขณะที่ ทํ า สมาธิ หรื อ แม แ ต เวทนาอื่น ๆ ที่เกิดแกตนเองจริง ๆ ; คือกําลังปรากฏแกใจอยูจริง ๆ. เราเขา ถึ ง ตั ว สั ญ ญาได อ ย า งหยาบ ๆ ด ว ยการพิ จ ารณาถึ ง ความจํ า ได ห มายรู ข องเราเอง วามีความเปลี่ยนแปลงอยางไร ; และที่เปนอยางละเอียดนั้นไดแกการกําหนดถึงสิ่ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น สื บ ต อ จากเวทนา คื อ ความรู สึ ก หรื อ ความสํ า คั ญ หรื อ ความหมายมั่ น ต อ เวทนานั้ น ว ามี อยู อย างไร คื อเกิ ดขึ้ นอย างไร เปลี่ ยนแปลงไปอย างไร แล วดั บไป อยางไร ดัง นี้เปนตน. การเขาถึงตัวสังขาร หรือ สังขารขันธใ นที่นี้ก็มีวิธีการ อย า งเดี ย วกั บ ในกรณี ข องสั ญ ญา กล า วคื อ โดยทั่ ว ๆ ไป ก็ ไ ด แ ก ก ารกํ า หนดจิ ต ที่ ประกอบอยู ด ว ยความคิ ด ซึ่ ง จะเป น ความคิ ด เรื่ อ งอะไรก็ ไ ด แล ว จึ ง พิ จ ารณาดู ว า ทํ า ไมจึ ง ต อ งคิ ด ความคิ ด เกิ ด ขึ้ น มาอย า งไร เปลี่ ย นไปอย า งไร ดํ า เนิ น ไปอย า งไร แลวสิ้นสุดหรือดับลงอยางไร. สวนที่เปนอยางประณีตนั้น ไดแกการทําเวทนา เช นเวทนาอั นเป นป ติ และสุ ขเกิ ดจากฌาน เป นต น ให เกิ ดขึ้ น แล วคอยเฝ าสั ง เกต สัญญาและวิ ตกที่เกิ ดขึ้ นจากเวทนานั้น ว ามันไม เที่ยงอย างไร โดยรายละเอี ยดดั งที่ กลาวแลวในอานาปานสติขั้นที่เจ็ด ที่แปด ; กลาวโดยระบุ สิ่งที่เรียกวาวิตก ก็คือ สิ่งที่เรียกวาสังขารขันธในที่นี้นั่นเอง. การพิจารณาถึงวิญญาณขันธโดยประจักษ เป น กรณี ทั่ ว ๆ ไปก็ คื อ พิ จ ารณาที่ ค วามเห็ น แจ ง หรื อ ความรู แ จ ง ต อ อารมณ ที่ ม า กระทบกั บ อายตนะภายใน ว า ความเห็ น แจ ง หรื อ รู แ จ ง ต อ อารมณ เ กิ ด ขึ้ น ได เ พราะ อะไร ด ว ยอาการอย า งไร ปรากฏอยู อ ย า งไร แล ว ดั บ ไปอย า งไร แต ทั้ ง หมดนี้ กระทําไดโดยยาก เพราะมันเปนไปในขณะที่ฉับไวเกินไป.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทางที่ ดี หรื อประณีตไปกว านั้ น ก็คื อการยายไปกํ าหนดพิ จารณาที่ ตัวจิ ตเอง เป นการสะดวกกว า คื อการกํ าหนดพิ จารณาจิ ตที่ ทํ าหน าที่ ต าง ๆ สั บสนกั นอยู คื อ เดี๋ ย วทํ า หน า ที่ รู อ ารมณ เดี๋ ย วทํ า หน า ที่ รู เ วทนา เดี๋ ย วทํ า หน า ที่ คิ ด นึ ก ไปต า ง ๆ

www.buddhadasa.in.th


๓๗๘

อานาปานสติภาวนา ตอน ๑๗

เดี๋ ยวมี อาการถู กปรุ งต อไปในทางที่ ทํ าให เกิ ดมี ราคะ หรื อว างจากราคะ มี โทสะ หรื อ ว า งจากโทสะ มี โ มหะ หรื อ ว า งจากโมหะ ดั ง นี้ เ ป น ต น เป น การกํ า หนดติ ด ตามดู ซึ่ ง พฤติ คื อ การเคลื่ อ นไหวของจิ ต ทุ ก ชนิ ด ทุ ก ระยะ ในรู ป ที่ แ ตกต า งกั น อยู ทั้ ง หมด ก็จะเปนการกําหนดพิจารณาวิญญาณขันธ โดยประจักษไดถึงที่สุดจริง ๆ. สิ่งอื่น ๆ บรรดาที่ เ ป น อารมณ ด ว ยกั น เช น อายตนะภายนอกทั้ ง หกเหล า นั้ น เป น ต น ก็ ร วม อยู ใ นคํ า วา เบญจขัน ธนี ้ด ว ยกัน ทั ้ง นั ้น และจะตอ ง ไดร ับ การพิจ ารณาในขณะ ที่สิ่งเหลานั้นกําลังทําหนาที่ของมันโดยตรง คือเปนอารมณแหงสัมผัสอยูจริง ๆ นั่นเอง. ข. ประเภทอายตนะภายใน กลาวคือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ซึ่ง จั ด เป น ฝ า ยทํ า หน า ที่ ผู รู อ ารมณ นั้ น ก็ มี ห ลั ก เกณฑ อ ย า งเดี ย วกั น อี ก คื อ พิ จ ารณา ในขณะที่ มั นทํ าหน าที่ รู อารมณ อยู ตามทวารต าง ๆ จริ ง ๆ เช น เมื่ อตากํ าลั งเห็ นรู ป รู สึ ก ต อ รู ป อยู จ ริ ง ๆ เป น ต น ว า ก อ นนี้ ใ นขณะที่ ต ายั ง ไม เ ห็ น รู ป ตาก็ เ ทากั บ ไม มี คือ ไมม ีค วามหมายอะไรเลย พอมีร ูป มาใหส ัม ผัส ตาก็เ ทา กับ เกิด มีขึ ้น มาทัน ที นี ้เ รีย กวา การเกิด ขึ ้น แหง ตา ตั ้ง อยู ชั ่ว ขณะการเห็น รูป เสร็จ จากการเห็น รูป แลว ก็ดับไป คือเทากับไมมีตาตามเดิมอีกตอไป จนกวาจะมีรูปมาใหสัมผัสใหม. เมื่อ เป น ดั ง นี้ เราก็ พิ จ ารณาเห็ นการเกิ ด ขึ้ น การตั้ ง อยู และการดั บ ไปของตาได ชั ด เจน, ในกรณี ข องหู จมู ก ลิ้ น กาย และใจในที่ สุ ด ก็ มี หลั ก เกณฑ อ ย า งเดี ยวกั น กั บ เรื่ อ ง ของตา ฉะนั้ น จึ งกล าวว า ต องเพ งพิ จารณาดู ในขณะที่ มั นกํ าลั งทํ าหน าที่ ของมั นอยู เทานั้น จึงจะเปนตัวมันจริง ๆ และเห็นความไมเที่ยงของมันจริง ๆ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ค. อาการตาง ๆ ที่เกี่ยวขอปรุงแตงกันในระหวางรูปธรรมนามธรรม ซึ่ งเราเรี ยกว าอาการแห งปฏิ จจสมุ ปบาทนั้ น ก็ มี หลั กเกณฑ อย างเดี ยวกั นอี ก ในการ

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๑๓ การเห็นความไมเที่ยง

๓๗๙

ที่เราจะกําหนดใหถึงตัวมัน และเห็นความไมเที่ยงของมัน กลาวคือตองเพง พิจารณาดูในขณะที่มันกําลังทํางานกันอยูจริง ๆ เทานั้น, กลาวโดยสังเขป เชน เมื่ อ ตากระทบรู ป อวิ ช ชาของเรามี อ ยู อ ย า งไร ในขณะนั้ น และอวิ ช ชานั้ น ผลั ก ดั น ไปในทางใหเกิดความคิดปรุงแตง หรืออํานาจทีทําใหเกิดการคิดปรุงแตงขึ้นมา ไดอยางไร, แลวปรุงแตงใหวิญญาณปรากฏตัวขึ้นมาอยางไร, แลวปรุงแตงใหนาม รูปปรากฏออกมาอยางไร, แลวปรุงแตงใหอายตนะ ไดมีโอกาสทําหนาที่ของมัน อยางไร, แลวปรุงแตงใหผัสสะ ไดทําหนาที่ของมันไดสมบูรณอยางไร, แลว ปรุงแตงความรูสึกที่เปนเวทนาขึ้นมาไดอยางไร, แลวปรุงแตงใหเกิดวามประสงค หรือ เกิด ความตอ งการ อัน เกี่ย วกับ เวทนานั้น ขึ้น มาไดอ ยา งไร, แลว ทํา ให เกิดความยึดมั่นถือมั่นในสิ่งเหลานั้นสําเร็จรูปลงไปอยางไร, ทําใหเรียกไดวาเปน เรื่ อ ง ๆ หนึ่ ง หรื อ เป น ชาติ คื อ ความเกิ ด ชาติ ห นึ่ ง ๆ ได อ ย า งไร แล ว ในที่ สุ ด จะ เปลี่ ย นเป น ความเสื่ อ มสลาย ซึ่ ง เรี ย กว า ความแก แ ละความตาย หรื อ เปลี่ ย นเป น ความทุ ก ข อ ย า งใดอย า งหนึ่ ง มี โ สกะ ปริ เ ทวะ เป น ต น ได อ ย า งไร ซึ่ ง เรี ย กได ว า เปนอาการแหงปฏิจจสมุปบาทฝายเกิดวงหนึ่งแลวโดยสมบูรณ. ทั้งหมดนี้เราจะตอง พิ จ ารณาดู ต รงอาการที่ มั น ทํ า การปรุ ง แต ง หรื อ เกี่ ย วข อ งกั น จริ ง ๆ เท า นั้ น จึ ง จะ เห็ น ตั ว มั น จริ ง ๆ คื อ เห็ น อวิ ช ชาตั ว จริ ง ในขณะที่ มั น ทํ า หน า ที่ ป รุ ง แต ง สั ง ขารด ว ย อํานาจความไมรู หรือความโงของมัน ; และเห็นสังขารตัวจริงในขณะที่มันทํา หนา ที ่ป รุง แตง วิญ ญาณ ดว ยอํ า นาจที ่ขึ ้น ชื ่อ วา สัง ขารแลว อยู นิ ่ง ไมไ ด ตอ ง ปรุงเสมอไป ; และจะเห็นวิญญาณตัวจริง ก็ตอเมื่อมันทําหนาที่ปรุงใหเกิดมี นามรู ปชนิ ดที่ สามารถทํ าหน าที่ เต็ มตามความหมายของมั นได (สมกั บคํ าว านามและ รูป) ดวยอํานาจวิญญาณธาตุนี้เปนธาตุที่มีอํานาจตามธรรมชาติเชนนั้นเอง. ถายัง เป นวิ ญญาณธาตุ ล วน ๆ ยั งไม ทํ าให เกิ ดเรื่ องเกิ ดราวอะไรได แต ถ าเข ามาเกี่ ยวข อ ง

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๓๘๐

อานาปานสติภาวนา ตอน ๑๗

กับสิ่งที่เรียกวานามรูปแลว มันก็แสดงฤทธิ์อํานาจอันมหัศจรรยของมันไดทาง นามรูป นั้น . นามรูป นั้น ก็เ หมือ นกัน ถา ไมไ ดอ าศัย วิญ ญาณธาตุก็เ ปน นามรูป ขึ้นมาไมได เพราะไมมีความรูสึกใด ๆ ไดทั้งฝายรูปและฝายนาม ; และเราจะรูจัก นามรู ป ตั ว จริ ง ได ก็ ต อ เมื่ อ มั น ทํ า หน า ที่ ที่ เ ป น อายตนะ หรื อ เป น ความรู สึ ก ทาง อายตนะ คื อ ทางตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจ ให เป นที่ ตั้ งแห งความรู สึ กขึ้ นมาได ดั งนี้ เปนตัวอยาง. แมในกรณีผัสสะ, เวทนา, ตัณหา, อุปาทาน, ภพ, ชาติ และ ความทุ ก ข ต า ง ๆ มี ช รา มรณะ เป น ต น ก็ เ ป น สิ่ ง ที่ มี ค วามหมายและคํ า อธิ บ าย อย า งเดี ย วกั น กล า วคื อ เราจะรู จั ก ตั ว จริ ง ของสิ่ ง นั้ น ๆ ได ก็ ใ นเมื่ อ สิ่ ง นั้ น ๆ กํ า ลั ง ทํ า หน า ที่ ข องมั น อยู จ ริ ง ๆ ในการที่ ทํ า ให เ กิ ด ผลเป น สิ่ ง อื่ น ขึ้ น มา (ซึ่ ง เรา เรีย กวา ปรุง แตง สิ่ง อื่น ในที่นี้) เราจึง จะเห็น ตัว จริง มัน เห็น ความไมเ ที่ย ง ของมันไดโดยประจักษ. และทั้งหมดนี้ตองไมลืมวา ตองเปนการดูตามที่มันมีอยู ในใจ หรือ ในความรูสึก ของเราจริง ๆ เทา นั้น . ในการบํา เพ็ญ อานาปานสติ จตุก กะที ่ส าม จะชว ยไดม ากในเรื ่อ งนี ้ คือ ชว ยใหเ ห็น ความพลิก แพลง และ การปรุ ง แต ง ต า ง ๆ ของจิ ต ได โ ดยง า ย เพราะมี อ าการของปฏิ จ จสมุ ป บาทรวมอยู ดว ยไมนอ ยเลย. เมื่อ เราทํา อยูดัง กลา วแลว จะเห็น ไดชัด แจง วา ตัว อวิช ชาเอง ก็ ไ มเ ที ่ย ง ตัว อาการที ่ม ัน ปรุง แตง สัง ขารก็ไ มเ ที ่ย ง สัง ขารที ่ถ ูก ปรุง แตง ขึ ้น มาก็ ไม เ ที่ ย ง และจะเห็ น เป น ลํ า ดั บ ๆ ไป โดยทํ า นองนี้ จ นตลอดสายของปฏิ จ จสมุ ป บาท ทีเดียว, ซึ่งนี่ควรกลาววาเปนการเห็นอนิจจัง ที่ละเอียดประณีตสุขุมหรือแยบคาย ยิ่งกวาการเห็นในขอ ก. และ ข. ซึ่งเปนการดูที่อายตนะภายนอกลวน ๆ หรือ อายตนะภายในลวน ๆ ดังที่ไดกลาวมาแลว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๑๓ การเห็นความไมเที่ยง

๓๘๑

สรุป ความวา การพิจ ารณาใหเ ห็น ความไมเ ที ่ย งนั ้น ตอ งพิจ ารณา ดู ที่ ตั ว สิ่ ง นั้ น เอง ทํ า สิ่ ง นั้ น ให ป รากฏชั ด เสี ย ก อ น แล ว จึ ง ดู ว า มั น เกิ ด ขึ้ น มาอย า งไร จากอะไร มันตั้งอยูอยางไร. และในขณะนั้นมันทําหนาที่อะไรอยางไร และวา ในที่ สุ ดมั นดั บไปอย างไร เพราะเหตุ ใด และการพิ จารณาโดยนั ยแห งปฏิ จจสมุ ปบาท เป น วิ ธี ป ระณี ต ที่ สุ ด กว า วิ ธี ทั้ ง หลาย ทั้ ง หมดนี้ คื อ วิ ธี พิ จ ารณาเห็ น ความไม เ ที่ ย ง. ต อ นี้ ไ ปจะได วิ นิ จ ฉั ย ในข อ ที่ ว า การเห็ น ความไม เ ที่ ย งโดยแท จ ริ ง นั้ น ย อ มเป น การ เห็นความเปนทุกข และความเปนอนัตตารวมอยูดวยอยางไรสืบไป. การเห็ น ความไม เ ที่ ย งชนิ ด ที่ ลึ ก ซึ้ ง จนถึ ง กั บ มองเห็ น ความทุ ก ข พ ร อ ม กันไปในตัวนั้น อาจจําแนกไดตามความหมายของคําวา “ทุกข” ตาง ๆ กัน คือ :ก. ทุกขในความหมายวาทนทรมาน,๑ จะเห็นไดชัดตอเมื่อได พิจารณาเห็นวา ความไมเที่ยงนั่นเอง คือชาติ ชรา มรณะ หรือความเกิด ความแก ความตายโดยตรง ถาเที่ ยงคื อไม เปลี่ ยนแปลงแล ว ความเกิ ด ความแก ความตาย จะมีไดอยางไร, ความทุกขอันเนื่องมาจาก เกิด แก ตาย มันเนื่องมาจากความ ไมเที่ยงหรือความเปลี่ยนแปลงนั้นโดยตรง. ความทุกขที่ถัดไป อีก เชนโสกะ ปริ เทวะ โทมนัส อุ ปยาส เป นต น ทั้ งหมดนี้เกิ ดมาจากความที่ สิ่ งต าง ๆ ไม เป นไป ตามใจตน หรือ ปรารถนาสิ ่ง ใดแลว ไมไ ดต ามที ่ป รารถนา มีแ ตป ระสบกับ สิ่ ง ที่ ไ ม ป รารถนา พลั ด พรากจากสิ่ ง ที่ ป รารถนาอยู เ ป น ประจํ า ทั้ ง นี้ ก็ มี มู ล มาจาก ความที่ สั ต ว ห รื อ สั ง ขารทั้ ง ปวงนั้ น เปลี่ ย นแปลงไปตามเหตุ ต ามป จ จั ย ของมั น อยู เป น นิ จ นั่ น เอง. แม ความทุ ก ข ที่ เ บ็ ด เตล็ ด ประจํ า เป น เจ า เรื อ น เช น ความหนาว

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

การบรรยายครั้งที่ ๔๓ / ๙ พฤศจิกายน ๒๕๐๒

www.buddhadasa.in.th


๓๘๒

อานาปานสติภาวนา ตอน ๑๗

ความร อ น ความหิ ว ความกระหาย ความต อ งกิ น ต อ งอาบ ต อ งถ า ยเหล า นี้ เปน ตน ทั ้ง หมดนี ้ก ็เ ปน เพราะความไมเ ที ่ย งของสัง ขารเหลา นั ้น ที ่ป ระกอบ กันเขาเปนรางกาย. มันเปลี่ยนแปลงอยูทุกขณะจิต มันจึงตองการนั่นตองการนี่ และต อ งการจะให เ ปลี่ ย นอย า งนั้ น อย า งนี้ อ ยู ต ลอดเวลา ทํ า ให เ กิ ด ภาวะในการ บริ ห ารร า งกายสารพั ด อย า งขึ้ น มาที เ ดี ย ว ทํ า ให เ ห็ น ชั ด ว า ความต อ งทนลํ า บาก เหลานี้ มีมูลมาจากความเปลี่ยนแปลงของรางกายนั้นโดยตรง. เมื่อพิจารณาถึง ความทุกขคือความเจ็บไขไดปวย ไมวาความเจ็บไขไดปวยของเด็ก หรือของคนแก ของคนมี ร า งกายสมบู ร ณ ห รื อ ไม ส มบู ร ณ ก็ ต าม นั้ น ก็ ม าจากความเปลี่ ย นแปลง ของสัง ขารที ่ป ระกอบกัน ขึ ้น เปน รา งกาย หรือ แวดลอ มรา งกายอยู อ ีก นั ้น เอง ; ถาไมมีอะไรเปลี่ยนแปลง ความเจ็บปวยไมอาจจะเกิดขึ้นได. เมื่อพิจารณาถึง ความ ทุกข ที่ คนเราตองกิ นอาหาร ต องนุ งห ม หรื อมี ที่ อยูอาศั ย แล วตองพยายามประกอบ อาชี พแสวงหา ด วยความยากลําบากตรากตรํ าอย างเหน็ ดเหนื่อย จนตลอดชี วิ ตก็ ดี หรื อ มี ก ารแข ง ขั น แย ง ชิ ง ต อ สู กั น ในระหว า งคู แ ข ง ขั น ด ว ยประการต า ง ๆ ตลอดจน ถึ งกั บวิ วาทหมายมั่ นจองเวรกั นก็ ดี แม ความทุ กข เหล านี้ ก็ มี มู ลมาจากความไม เที่ ยง หรื อ ความเปลี่ ย นแปลงไม ห ยุ ด ของร า งกาย ของจิ ต ใจ ของกิ เ ลสตั ณ หา หรื อ ของ วิ ชาความรู ซึ่ งก็ ล วนแต เป นสั งขารอย างเดี ยวกั นอี กเหมื อนกั น จึ งทํ าให กล าวได ว า แมความทุกขชนิดนี้ก็มีมูลมาจากความเปลี่ยนแปลงของสังขาร. เมื่อเราพิจารณา มองเห็ น ความเปลี่ ย นแปลงชั ด แจ ง ก็ ย อ มมองเห็ น ความทุ ก ข จั ก ต อ งเกิ ด ขึ้ น อย า ง นั้น ๆ อยางชัดแจงอยูในตัวความเปลี่ยนแปลงนั้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทีนี้ถาจะมองใหละเอียดไปในทางฝายนามธรรม คือ พิจารณาดูถึงความ ทุกขที่เกิดมาจากความแผดเผาของกิเลส มีราคะเปนตน ที่ทําสัตวใหดิ้นรน กระวนกระวาย หาความสงบสุ ขไม ได ก็ ยั งคงพบว าทั้ งหมดนี้ ก็ มี มู ลมาจากความ

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๑๓ การเห็นความไมเที่ยง

๓๘๓

ไมเที่ยงโดยตรงอีกนั่นเอง : อันแรกที่สุดคือ ความเปลี่ยนแปลงทางรายกาย ที่จะ เห็นได งาย ๆ จากสัตวเลี้ยง เมื่อร างกายเจริญเติบโตขึ้นมาถึงระดั บนั้น หรือเวียนมา ถึ ง รอบนั้ น ก็ มี ป ญ หาต า ง ๆ ทางเพศ หรื อ ทางกิ เ ลสเกิ ด ขึ้ น เป น ธรรมดา อย า งที่ หลีกเลี่ยงไมได นี้มีมูลมาจากความเปลี่ยนแปลงของรางกายตามธรรมชาติ. สวน ที่ สู ง ไปกว า นั้ น คื อ ความเปลี่ ย นแปลงที่ น อกเหนื อ ไปจากธรรมชาติ คื อ การกิ น – การอยู ดี ขึ้ น มี วิ ชาความรู และการคิ ดนึ กกวางขวางยิ่ งขึ้ น ป ญหาเกี่ ยวกั บเรื่องเพศ เรื่ อ งกิ เ ลสก็ เ ปลี่ ย นแปลงไปตาม และเป น ไปในทางที่ ลึ ก ซึ้ ง ซั บ ซ อ นยิ่ ง ขึ้ น ความ ทุกขที่ มีมู ลมาจากสิ่งนี้ก็ ลึกซึ้งซับซอนยิ่ งขึ้ นไปตาม นี้คื อ ความเปลี่ ยนแปลงทางจิ ต. เมื่ อ รวมเข า ด ว ยกั น ทั้ ง ความเปลี่ ย นแปลงทางกายและทางจิ ต ก็ ย อ มเป น ที่ ตั้ ง แห ง ความทุ กข เพราะถู กไฟกิ เลสเผาได ทั้ งมากและทั้ งลึ กซึ้ ง แต ก็ พากั นมองข ามไปเสี ย ไม เ ห็ น ว า ที่ แ ท เ ป น เพราะความเปลี่ ย นแปลง และความหลอกลวงมายาของกิ เ ลส อันเนื่องมาจากความเปลี่ยนแปลงทายกายและทางจิต ดังที่กลาวแลว. ถาผูใด ตั้ งหน าตั้ งตาเฝ าสั งเกตความเปลี่ ยนแปลงทั้ งทางกายและทางจิ ตของตนเองในกรณี นี้ ก็ จะเห็ นความทุ กข ประเภทที่ กล าวนี้ ได อ ย างชั ดแจ ง ว าเป นผลของความเปลี่ ยน แปลงลว น ๆ หรือ เปน ความเปลี ่ย นแปลงอยา งหนึ ่ง อยู ใ นตัว มัน นั ่น เอง ก็จ ะไม ถู ก ลวงด ว ยมายาของความเปลี่ ย นแปลง จนถึ ง กั บ หลงไปเที่ ย วแก ไ ขในทางอื่ น หรือหนักเขาแกไขไมได ก็ทําลายตัวเอง ดังนี้เปนตน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถ าพิ จารณาให ลึ กลงไปอี ก คื อ พิ จารณากั นถึ ง ความทุ กข ที่ เกิ ดมาจาก การตองรับผลกรรม หรือการเปนไปตามกรรมนานาชนิดของสัตวทั้งหลาย เราก็ยัง เห็นไดวาเปนเรื่องของความเปลี่ยนแปลงอีกนั่นเอง. กรรมก็เปนสิ่งที่ไมเที่ยงคือ เปลี่ ย นแปลงได ฉะนั้ นผลกรรมก็ เป นสิ่ ง ที่ ไ ม เที่ ยงคื อ เปลี่ ย นแปลงได เ ช น เดี ย วกั น ; ผู ทํ า กรรมก็ เ ป น สิ่ ง ที่ ไ ม เ ที่ ย ง การรั บ ผลกรรมก็ เ ป น สิ่ ง ที่ ไ ม เ ที่ ย ง ทุ ก อย า งเปลี่ ย น แปลงอยู เสมอ คนเราจึ งได รั บผลกรรมตามโอกาส ตามวาระของการเปลี่ ยนแปลง.

www.buddhadasa.in.th


๓๘๔

อานาปานสติภาวนา ตอน ๑๗

เมื่อ รับ ผลของกรรมชั่ว ก็ท นทุก ขท รมานอยา งเปด เผย เมื่อ รับ ผลของกรรมดี ก็ทนทุกขทรมานอยางเรนลับที่สุด ถึงกับไมรูสึกวาเปนการทนทรมาน ; แตทั้ง ๒ อย า งนี้ คื อ จะเป น นรกหรื อ สวรรค ก็ ต าม ล ว นแต เ ป น การทนเวี ย นว า ยอยู ใ น กระแสของวัฏฏสงสารโดยเสมอกัน. ทั้งหมดนี้เราจะเรียกวาเปนตัวความไมเที่ยง เองก็ไ ด หรือ เปน ผลของความไมเ ที่ย งก็ไ ด ยอ มมีค า เทา กัน อยู นั่น เอง คือ เปน ตัวความทุกขที่เนื่องอยูกับความเปลี่ยนแปลง. ยิ่งพิจารณาก็ยิ่งจะเห็นวา ยิ่ง เปลี่ ย นแปลงมาก็ ยิ่ ง ทุ ก ข ม าก เพราะความเปลี่ ย นแปลงนั้ น เป น ความไม ส งบ. ความสุข ก็เ ปน ความเปลี ่ย นแปลงชนิด หนึ ่ง มัน จึง เปน ความสุข ไปไมไ ดอ ยา ง แทจริง เปนไดเพียงความทุกข ชนิดที่เปนมายาหลอกลวงมาก พอที่จะทําใหคนเรา เขาใจผิดเทานั้น. เมื่อพิจารณากันเปนขั้นสุดทาย ถึงความทุกขที่เปนขั้นสรุปรวบยอด คื อ ทุ ก ข ต ามที่ พ ระพุ ท ธองค ไ ด ต รั ส ว า “โดยสรุ ป แล ว เบญจขั น ธ ที่ ป ระกอบอยู ด ว ย อุปาทานเปนตัวทุกข” ดังนี้ ก็จะยิ่งเห็นไดวา มีมูลมาจากความไมเที่ยงโดยตรง อีกนั่นเอง. การยึดมั่นถือมั่นในเบญจขันธเปนความทุกข ก็เพราะเบญจขันธนี้ ไม เ ที่ ย ง ความไม เ ที่ย งของเบญจขัน ธ นั่ น แหละ เป น สิ่ ง ที่ทํ า ให ผูยึ ด มั่ น ถือ มั่ น เป น ทุกขโดยตรง. อีกอยางหนึ่งตองไมลืมวาตัวความยึดมั่นถือมั่นเองก็ไมเที่ยง หรือ ถากลาวโดยสมมติก็วา ตัวบุคคลผูยึดมั่นถือมั่นนั้นก็ไมเที่ยง. เมื่อสิ่งที่ถูกยึดมั่น ก็ไมเที่ยง และอะไร ๆ ที่เขาไปเกี่ยวของดวย ก็ลวนแตเปนสิ่งที่ไมเที่ยงไปดวยกัน ทั้งหมดดังนี้แลว อาการที่เปนทุกขก็เปนสิ่งที่หลีกเลี่ยงไมได. ทั้งหมดนี้เปนการ แสดงให เห็ นว า สิ่ งที่ ไม เที่ ยงย อมผลิ ตอาการที่ เป นความทรมานออกมาจากตั วมั น เอง และอยูในตัวมันเองอยูตลอดเวลา ทําใหเกิดความทุกขทรมานอยูในตัวมันเอง และแก บุ ค คลผู เ ข า ไปยึ ด ถื อ อย า งไม มี ท างหลี ก เลี่ ย งได คื อ ไม อ าจแยกกั น ได นี้ อยางหนึ่ง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๑๓ การเห็นความไมเที่ยง

๓๘๕

ข. ทุกขในความหมาย วาดูแลวนาเกลียดอยางยิ่ง. ทุกขโดย ปริ ย ายนี้ มี ค วามหมายว า ยิ่ ง ดู ด ยิ่ ง น า เกลี ย ด ยิ่ ง เห็ น ลึ ก ซึ้ ง ก็ ยิ่ ง ขยะแขยง ไม ว า จะดู ที่ สั ง ขารฝ า ยไหน ก็ จ ะยิ่ ง ขยะแขยงเพิ่ ม ขึ้ น เท า ที่ เ ห็ น ลึ ก ลงไปในความไม เ ที่ ย ง หรือความเปนมายาของสังขารเหลานั้น. ความรูสึกเกลียดหรือความรูสึกขยะแขยง จั ด ว า เป น ความทุ ก ข อี ก ปริ ย ายหนึ่ ง เพราะคํ า ว า ทุ ก ข ซึ่ ง ประกอบด ว ยบท ๒ บท คือบทวา “ทุ” กับบทวา “ข” หรือ “ขํ” ก็ตาม ยอมตีความไดหลายปริยาย คือถาถือวา ทุ = ยาก ขม = ทน, ดังนี้แลว คําวาทุกขก็แปลวา ทนยาก คือ ภาวะที่เหลือทนตาง ๆ ดังที่ไดอธิบายมาแลวในขอ ก. สวนทุกขในปริยายหลัง คือขอ ข. นี้ ทุ = นาเกลียดหรือชั่ว ข = อิกฺข = ดู, ทุกขในปริยายนี้ไดความหมาย วา ดูแลวนาเกลียด หรือนาสะอิดสะเอียนดังที่กลาวแลว เมื่อพูดวาสังขารเปนทุกข ก็หมายความวาสังขารทั้งปวงดูแลว นาสะอิดสะเอียน. นาสะอิดสะเอียนที่ตรงไหน ? นา สะอิด สะเอีย นตรงที ่ไ มเ ปลี ่ย นแปลงอยา งรุน แรงอยู ท ุก ขณะจิต ในอาการ ที่ ห ลอกให สํ า คั ญ ผิ ด ว า เป น ของเที่ ย ง พร อ มกั น นั้ น ก็ มี อ าการทนทรมานอยู ใ นตั ว มั นเอง หรื อลาดและเทความทุ กข ใส ให แก บุ คคลผู เป นเจ าของสั งขารนั้ น อย างไม มี หยุดไมมีหยอนโดยประการตาง ๆ ดังที่กลาวแลวในขอ ก. ซึ่งควรจะยอนไปพิจารณา ดู อ ย า งละเอี ย ด ก็ จ ะเห็ น ได ว า สั ง ขารทั้ ง หลายทั้ ง ปวง มี ภ าวะที่ น า สะอิ ด สะเอี ย น เพียงไร ในเมื่อพิจารณาดูกันดวยสติปญญา ไมใชหลับหูหลับตาดูดวยกิเลสตัณหา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทั้งหมดนี้ สรุปความวา ภาวะแหงความไมเที่ยงหรือความเปนอนิจจัง นั่น เอง คื อ ภาวะที่ ดู แ ล ว น า เกลี ย ด ยิ่ ง ดู ยิ่ ง เห็ น ก็ ยิ่ ง น า ขยะแขยง สะอิ ด สะเอี ย น. ฉะนั้น จึงกลาววา ภาวะแหงความไมเที่ยง กับ ภาวะแหงความที่ดูแลวนาเกลียดนา ขยะแขยง นั้ น มี ร วมอยู ที่ สิ่ ง ๆ เดี ย วกั น คื อ ที่ สั ง ขารทั้ ง ปวงนั่ น เอง. เมื่ อ กล า วถึ ง

www.buddhadasa.in.th


๓๘๖

อานาปานสติภาวนา ตอน ๑๗

ความไมเที่ยง ก็หมายถึงความนาขยะแขยง. เมื่อกลาวถึงความนาขยะแขยง ก็เปนอันกลาวถึงความไมเที่ยง. นี่แหละคือขอที่วาความทุกขโดยปริยายที่สองนี้ ก็คือความไมเที่ยงอีกเหมือนกัน. ค. ความทุกขโดยปริยายที่สามมีความหมายวาวางอยางนาเกลียด วางอยางชั่วชาที่สุด โดยการแยกศัพท ๆ นี้ ออกไปวา ทุ = นาเกลียด ขํ = วาง รวมกันแลวแปลวา วางอยางนาเกลียด, ภาวะที่เรียกวาวางอยางนาเกลียดนั้นหมาย ถึง ความที ่ส ัง ขารทั ้ง ปวงมีแ ตค วามไมเ ที ่ย ง คือ ความเปลี ่ย นแปลงที ่ไ หลเชี ่ย ว เป น เกลี ย วไปไม มี หยุ ด จนถึ ง กั บกล าวได ว าตั วมั นเองมี แ ต ความไม เที่ ยงหรื อ ความ เปลี่ ย นแปลง กระแสแห ง ความเปลี่ ย นแปลงนั่ น เอง คื อ ตั ว มั น เอง นอกจากนี้ แ ล ว หามีตัวตนอะไรที่ไหนไม ; สังขารทั้งปวงจึงมีแตภาวะที่วางอยางนาเกลียด ดังนี้. แตค วามทุก ขใ นความหายเชน นี ้ สอ งความเลยไปถึง ความเปน อนัต ตา ฉะนั ้น จะได วิ นิ จ ฉั ย กั น โดยละเอี ย ดตอนที่ ว า ถ า เห็ น ความไม เ ที่ ย ง ก็ เ ห็ น ความเป น อนัตตา อันจะกลาวถึงขางหนา. ในที่นี้เพียงแตมุงหมายจะชี้ใหเห็นวา แมใน ความทุ ก ข โ ดยปริ ย ายที่ ส ามนี้ คื อ ว า งอย า งน า เกลี ย ดนี้ ก็ ร วมอยู ใ นคํ า ว า ไม เ ที่ ย ง ด ว ยเหมื อ นกั น เพราะความไม เ ที่ ย งนั้ น เป น ความว า งอย า งยิ่ ง คื อ มี แ ต ค วาม เปลี่ยนแปลงไมมีหยุดอยางเดียว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สรุปความวา ในความไมเที่ยงนั้น มีภาวะแหงความทนทรมาน ๑, ภาวะแหงความดูแลวนาเกลียด ๑, และภาวะแหงความวางอยางนาเกลียด ๑, รวมอยูพรอมกันในที่เดียวกัน ในขณะเดียวกัน อยางครบถวน. ผูใดสามารถ เห็นความไม เที่ ยงได จริ ง ๆ จั กต องเห็ นภาวะทั้ง ๓ นี้ อย างชัดแจ งพรอมกั นไปในตั ว โดยไมมีทางที่จะหลีกเลี่ยงได เพราะฉะนั้นจึงกลาววาเ มื่อเห็นความไมเที่ยง ก็ตอง

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๑๓ การเห็นความไมเที่ยง

๓๘๗

เห็ นความเป นทุ กข ด วย โดยไม ต องสงสั ยเลย และนี้ ย อมเป นการอธิ บายอยู แล วว า ทํ า ไมอานาปานสติ จ ตุ ก กะที่ สี่ นี้ พ ระพุ ท ธองค จึ ง ตรั ส ถึ ง แต ค วามไม เ ที่ ย งอย า ง เดียว ไมตรัสถึงความทุกข ; นั่นก็เพราะวาความทุกขรวมอยูในความไมเที่ยง โดยไมมีทางที่จะแยกกันไดนั่นเอง. บั ด นี้ จ ะได วิ นิ จ ฉั ย ในข อ ที่ ว า ถ า เห็ น ความไม เ ที่ ย ง ก็ จ ะเห็ น ความ เปนอนัตตาพรอมกันไปในตัวไดอยางไรสืบไป. ยอมสอ ลักษณะแหงความเปนอนัตตา ลักษณะแหงความไมเที่ยง๑ โดยสวนใหญก็คือลักษณะแหงความเปนมายา หรือความไมมีตัวจริงของสิ่งที่ไมเที่ยง นั่นเอง เพราะลักษณะเชนนั้น ยอมแสดงถึง ความวางจากตัวตน หรือที่เรียกวา สุญญตา อยูอยางเต็มที่แลว ; นี้นับวาเปนใจความสําคัญของการที่ ความไมเที่ยง ยอมแสดงถึง ความเปนอนัตตา อยูในตัวมันเอง โดยไมตองพูดวา เพราะไมเที่ยง จึ ง เป น อนั ต ตา ทั้ ง นี้ เ พราะความจริ ง มี อ ยู แ ล ว ว า สิ่ ง ที่ ไ ม เ ที่ ย งนั้ น ไม มี ตั ว ตนจริ ง มีแตกระแสแหงความเปลี่ยนแปลงนั้นแหละเปนตัวมันเอง นี้ประการหนึ่ง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นอกจากนี้ ก็ ยั งมี ทางที่ จะพิ จารณาให เห็ นโดยปริ ยายอื่ นอี กทุ กปริ ยาย โดยความหมายของคําวา อนัตตา ซึ่งมีอยูตาง ๆ กัน เชน :ก. เปนอนัตตา เพราะมีแตความเปนไปตามอํานาจของเหตุปจจัย ไม มี ต นเองที่ เ ป น อิ ส ระ ซึ่ ง หมายความว า สิ่ ง เหล า นี้ ขึ้ น อยู กั บ เหตุ ป จ จั ย ที่ ป รุ ง แต ง มัน ; หรือกลาวอีกปริยายหนึ่ง ตัวมันเองก็เปนเพียงเหตุปจจัย เพื่อปรุงแตง สิ่ ง อื่ น ต อ ไปในลํ า ดั บ ต อ มา ซึ่ ง เป น การแสดงว า ทุ ก สิ่ ง ตกอยู ภ ายใต อํ า นาจของกฎ

การบรรยายครั้งที่ ๔๔ / ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๐๒

www.buddhadasa.in.th


๓๘๘

อานาปานสติภาวนา ตอน ๑๗

ธรรมชาติอันนี้ จึงไดเปลี่ยนกันเปนเหตุปจจัยสลับกันไปไมมีที่สิ้นสุด. ความ เป นอนั ตตาโดยทํ านองนี้ ก็ คื อลั กษณะแห งความไม เที่ ยงโดยตรงอี กนั่ นเอง เพราะ เปนความเปลี่ยนแปลงเรื่อยไปตาม กฎแหงความเปลี่ยนแปลง ของสิ่งที่เปนเหตุ เปนปจจัย ซึ่งตองมีอาการเกิดขึ้น – ตั้งอยู – ดับไปอยูในตัวมันเองตลอดเวลา หยุด เปลี่ยนเมื่อใด ก็หมดความเปนตัวมันเองเมื่อนั้น ขอนี้ สรุปความ วาเปนอนัตตา เพราะมีแตความไมเที่ยงของสิ่งที่เปนเพียงเหตุปจจัย. ข. เปนอนัตตา เพราะบังคับไมได ขอนี้มุงหมายถึงความไมเที่ยง หรื อ ความเปลี่ ย นแปลงที่ ใ คร ๆ บั ง คั บ ไม ไ ด อี ก นั่ น เอง และยิ่ ง กว า นั้ น ยั ง กิ น ความ เลยไปถึ ง ความทุ ก ข มี ป ระการต า ง ๆ ที่ เ กิ ด มาจากความบั ง คั บ ไม ไ ด นั้ น อี ก ด ว ย เพราะตามธรรมดาคนเราต อ งการไม ใ ห มั น ทุ ก ข แต แ ล ว ก็ บั ง คั บ ไม ไ ด ความทุ ก ข ยอมเกิดมาจากความไมเที่ยง. ความที่บังคับไมได ก็เกิดมาจากความไมเที่ยง ความไม เที่ ยงจึ งเป นเหตุ ของความเป นอนั ตตาโดยสิ้ นเชิ งแต อ ย างเดี ยว โดยไม ต อ ง มีอะไรมาชวย. เมื่อมีความรูสึกตอความบังคับไมได ก็ยอมรูสึกตอความเปนทุกข และความไม เ ที่ ย งขึ้ น มาทั น ที เหมื อ นกั บ เมื่ อ ถู ก ไฟไหม รู สึ ก เจ็ บ ก็ ต อ งรู สึ ก ต อ ความรอนของไฟพรอมกันไปในตัว โดยไมมีทางที่จะแยกกัน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ค. ความเปนอนัตตา เพราะมีสภาพเปนสิ่งที่หาเจาขาองไมไดก็ตาม หรือเพราะใคร ๆ ไมสามารถเปนเจาของมันไดก็ตาม รวมความแลวก็เพราะ อํ า นาจความไมเ ที ่ย งอยา งที ่เ รีย กวา ไมเ ชื ่อ ฟง ใคร เอาแตเ ปลี ่ย นแปลงตะพึด อี ก นั่ น เอง มั น จึ ง อยู ใ นสภาพที่ ใ คร ๆ เข า ไปทํ า ตนเป น เจ า ของสิ่ ง นี้ ไ ม ไ ด แม ผู มี อํ า นาจถึ ง ขนาดที่ ส มมติ กั น ว า พระเป น เจ า ก็ ห าสามารถทํ า ตนเป น เจ า ของสิ่ ง นี้ ไดไ ม กลับ มีแ ตสิ ่ง นี ้อ ีก ที ่จ ะเขา ครอบงํ า พระเปน เจา ใหอ ยู ใ นอํ า นาจของตน

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๑๓ การเห็นความไมเที่ยง

๓๘๙

กลาวคือเปนพระเจา ก็กลายเปนของไมเที่ยงไปดวย. ความไมเที่ยงเปนสิ่งที่ ทรงไวซึ่งสิทธิและอํานาจในความเปนอยางนี้ คือความที่ไมยอมใหใครเปนเจาของ ดัง นั ้น จึง เปน อัน เดีย วกัน กับ ความเปน อนัต ตา ตา งกัน เพีย งสัก วา ชื ่อ หรือ ความหมายตามตัวหนังสือ สวนความจริงนั้นหมายถึงสิ่ง ๆ เดียวกัน คือความที่ ไมยอมใหใครเปนเจาของนั่นเอง. ง. ความเปนอนัตตา โดยความหมายทั่ว ๆ ไป หมายถึงความ ที่มีลักษณะแยงหรือตรงกันขามกับอัตตา ซึ่งเปนความหมายที่รวมเอาความ หมายตาง ๆ ทั้งหมดเขามาเปนเครื่องพิสูจน. ความหมายเหลานี้ทั้งหมด ก็คือ ลัก ษณะแหง ความไมเ ที ่ย ง และความเปน ทุก ขท ุก ประการ ดัง ที ่ก ลา วมาแลว ขางตนทุกอยางนั้นเอง. เกี่ยวกับเรื่องนี้มีจํากัดความวา ถาเปนอัตตาก็คือ เปน ของเที ่ย งและเปน สุข ถา ทั ้ง ไมเ ที ่ย งและทั ้ง เปน ทุก ขก ็เ ปน อนัต ตา เมื ่อ เปน ดั ง นี้ ก็ เ ป น อั น รั บ รองชั ด อยู ใ นตั ว เองแล ว ว า ความเป น อนั ต ตาคื อ ความไม เ ที่ ย ง และเป น ทุ ก ข หรื อ การเป น อนั ต ตาก็ คื อ การเป น ความไม เ ที่ ย งและเป น ทุ ก ข นั่ น เอง เพราะฉะนั้ น สัง ขารทั้งหลายทั้ง ปวงซึ่ง ลวนแต ประกอบอยู ดวยความไมเ ที่ยงและ เปนทุกข จึงเปนอนัตตาเต็มที่. เมื่อมองเห็นอนัตตาของสังขารทั้งปวง ก็เทากับ มองเห็นความไมเที่ยงและเปนทุกขของสังขารทั้งปวง. และเมื่อกลาวกลับกัน คื อ เห็ น ความไม เ ที่ ย งของสั ง ขารทั้ ง ปวง ก็ ต อ งเห็ น ความเป น ทุ ก ข แ ละเป น อนั ต ตา ของสังขารทั้งปวง อยางไมมีทางหลีกเลี่ยงได. เพราะฉะนั้น การกลาวสั้น ๆ แตเพียงวา “เห็นความไมเที่ยง” เพียง ๒ คําเทานี้ มันยอมบงความหมายออกไป ได เ องว า เห็ น ความไม เ ที่ ย งของสั ง ขารทั้ ง ปวง และเห็ น โดยอาการที่ มั น เป น ทุ ก ข หรือเปนอนัตตารวมอยูดวย โดยไมมีทางที่จะหลีกเลี่ยงไดเลย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๓๙๐

อานาปานสติภาวนา ตอน ๑๗

สรุปความวา การที่พระผูมีพระภาคเจาตรัสแตเพียงวา “อนิจจานุปสสี” สั้น ๆ ลวน ๆ เพียงเทานี้ แตใจความบงออกไปไดเองวา เห็นความไมเที่ยงของ สังขารทั้งปวง เพราะวาในสิ่งที่มิใชสังขารนั้น ยอมไมมีความไมเที่ยงใหเราเห็น และวาเห็นความไมเที่ยงโดยความเปนทุกขและความเปนอนัตตา ซึ่งเปนอาการ ประจํ า ของสิ ่ง ที ่ไ มเ ที ่ย งนั ่น เอง โดยเหตุนี ้แ หละในอานาปานสติจ ตุก กะที ่สี่ พระองคจึงตรัสถึงแตความไมเที่ยง โดยไมจําเปนจะตองตรัสถึงความเปนทุกข เปน อนัตตาโดยชื่อแตประการใดเลย. ฉะนั้น พึงเขาใจวาอานาปานสติขั้นที่สิบสามนั้น ยอมเล็งถึงไตรลักษณะ หรือสามัญญลักษณะอยูอยางครบถวน โดยขอเท็จจริง ดังที่กลาวมาแลวนี้. ผู ป ฏิ บั ติ อ านาปานสติ มี ท างที่ จ ะปฏิ บั ติ ใ ห เ ห็ น ความไม เ ที่ ย งของ สังขารทั้ งปวง เทาที่จะปรากฏขึ้นในอานาปานสติทุกขั้น ตั้ง แตขั้นแรกที่สุดเป น ลําดับมา : ลมหายใจก็เปนสังขาร ; จิตหรือสติเปนตน ที่ทําหนาที่กําหนด ลมหายใจ ก็เปนสังขาร ; อารมณหรือนิมิตตาง ๆ ที่ปรากฏขึ้นสับเปลี่ยนกัน ไปตามลําดับ ก็เปนสังขาร ; เวทนาคือปติและสุขเปนตน ที่เกิดมาจากกําหนด ลมหายใจนั้น ก็เปนสังขาร ; นิวรณตาง ๆ ก็เปนสังขาร ; องคฌานตาง ๆ และ ฌานทุกขั้น ก็เปนสังขาร ; ธรรมะตาง ๆ ที่สโมธานมาไดในขณะนั้นก็เปน สังขาร ; แมที่สุดแตตัวการกําหนดเองก็เปนสังขาร ; อาการที่การกําหนดเปลี่ยน แปลงไปในรูปตาง ๆ การเปลี่ยนแปลงนั้นก็เปนสังขาร ; กระทั่งถึงตัวธรรม ที ่กํ า ลัง กํ า หนดอยู  ในฐานะเปน อารมณข องการกํ า หนดทุก ขั ้น ตอน ก็ล ว นแต เปนสังขาร ; เพราะเหตุนี้เองเราจึงมีโอกาสที่จะกําหนดความไมเที่ยง (ซึ่งรวม ความเปนทุกข ความเปนอนัตตาอยูในตัวดวยเสร็จ) ไดจากอานาปานสติทุกขั้น และในขั้น หนึ่ง ๆ ก็มีท างที่กํา หนดไดห ลายแงห ลายมุม แลว แตเ ราจะกํา หนด แตอาจจะสรุปใหเปนประเภทไดวา กําหนดสังขารบางพวก ในฐานะเปนอารมณ คือเปน อายตนะภายนอก ; กําหนดสังขารบางพวกในฐานะเปนตัวรูอารมณ

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๑๓ การเห็นความไมเที่ยง

๓๙๑

คือเปน อายตนะภายภายใน ; และกําหนดสังขารบางพวกในฐานะเปนอาการของการ ปรุ ง แต ง ทยอยกั น ให เ กิ ด สิ่ ง ใหม เช น การกํ า หนดนิ มิ ต ทํ า ให เ กิ ด องค ฌ านเป น ต น ในฐานะเปนการกําหนด ปฏิจจสมุปบาท ; รวมเปน ๓ ประเภทดวยกัน ดังนี้ก็จะ เปน การกํ า หนดสัง ขารทั ้ง หลายทั ้ง ปวงไดโ ดยสิ ้น เชิง และเมื ่อ เห็น ความไมเ ที ่ย ง ก็เ ปน การเห็น ความเปน ทุก ข และความเปน อนัต ตารวมอยู ด ว ยกัน โดยสมบูร ณ ดังที่กลาวมาแลวขางตน, การทําอยางนี้ทําใหไมตองเที่ยวกําหนดนั่นนี่พราออก ไปนอกวงของการเจริ ญ อานาปานสติ แต ก็ เ ป น การกํ า หนดที่ ค รบถ ว นต อ สั ง ขาร ทั้ ง ปวงได จ ริ ง เพราะเป น การกํ า หนดที่ ตั ว จริ ง ของธรรมนั้ น ๆ ไม ไ ด กํ า หนดสั ก ว า ชื่ อ เหมื อ นที่ ทํ า กั น อยู ใ นวงการศึ ก ษาเล า เรี ย น ซึ่ ง จะกํ า หนดให ม ากมายสัก เทา ไร ก็ไมเปนการเพียงพอ และมีผลเทา ๆ กับไมไดกําหนดอะไรเลยอยูนั่นเอง. เมื่ อผู ปฏิ บั ติ กํ าหนดความไม เที่ ยงของสั งขารธรรม ที่ ปรากฏในการเจริ ญ อานาปานสติ อ ย า งใดอย า งหนึ่ ง อยู ดั ง นี้ ย อ มมี อ าการซึ ม ซาบในความเป น อนิ จ จั ง ทุ ก ขั ง อนั ต ตา อย า งลึ ก ซึ้ ง ชนิ ด ที่ ทํ า ให เ กิ ด นิ พ พิ ท า วิ ร าคะ ในขั้ น ต อ ไปได จ ริ ง และเมื่ อ มี ค วามรู สึ ก ซึ ม ซาบอยู ดั ง นี้ ในลั ก ษณะที่ ก ล า วนี้ ซึ่ ง เป น การเห็ น อนิ จ จั ง อย างลึ กซึ้ งและชั ดแจ ง ยิ่ งกว าในอานาปานสติ ขั้ นที่ แล ว ๆ มา จึ งสามารถสโมธาน ธรรมทั้ ง ๒๙ ประการมาได ในอั ตราที่ สู ง กว า ประณี ตกว าขั้ นที่ แล ว ๆ มาดุ จกั น ทํ า ให ก ารเจริ ญ ภาวนาในขั้ น นี้ เป น ภาวนาที่ สู ง ยิ่ ง ขึ้ น ไปตามลํ า ดั บ และทํ า ให ไ ด นามวา ธรรมานุป ส สนาสติป ฏ ฐานภาวนา เพราะเหตุที ่ไ ดกํ า หนดเอาตัว ธรรม คื อตั วความไม เที่ ยงโดยตรงมาเป นอารมณ สํ าหรั บการกํ าหนด แทนที่ จะเอาลมหายใจ หรื อ เวทนา หรื อ จิ ต มาเป น อารมณ สํ า หรั บ การกํ า หนด ดั ง เช น ในอานาปานสติ ๓ จตุกกะขางตน. วิ นิ จฉั ยอานาปานสติ ขั้ นที่ สิ บสามสิ้ นสุ ดลงเพี ยงเท านี้ ต อแต นี้ ไปจะได วินิจฉัยในอานาปานสติขั้นที่สิบสี่ตอไป.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


ตอน สิบแปด

อานาปานสติ ขั้นที่ สิบสี๑่ (การตามเห็นความจางคลายอยูเปนประจํา)

อานาปานสติ ขั้ น ที่ สิ บ สี่ หรื อ ข อ ที่ ส องแห ง จตุ ก กะที่ สี่ นี้ มี หั ว ข อ ว า “ภิกษุนั้นยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูตามเห็นซึ่งความจางคลายอยูเปนประจํา จัก หายใจเขา ดังนี้ ; ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูตามเห็นซึ่งความจางคลายอยูเปนประจํา จักหายใจออก ดังนี้”.๒ สิ่งที่ตองวินิจฉัยในที่นี้คือ อะไรคือความจางคลาย : ความจางคลาย เกิดขึ้นไดอยางไร ; และ เกิดขึ้นในสิ่งใด ; ทําอยางไร ไดชื่อวา เปนผูตามเห็น ซึ่งความจางคลายนั้น. ความจางคลายเรี ยกโดยบาลี ว า วิ ราคะ โดยตั วพยั ญชนะแปลว าปราศจาก ราคะ คือปราศจากเครื่องยอม อันไดแกความกําหนัด. สวนโดยความหมายหรือ โดยอาการอั น แท จ ริ ง หมายถึ ง ความจางคลายของความยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น และความ

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

๑ ๒

การบรรยายครั้งที่ ๔๕ / ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๐๒ วิราคานุปสฺสี อสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ : วิราคานุปสฺสี ปสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ.

๓๙๒

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๑๔ การเห็นความจางคลาย

๓๙๓

สํ าคั ญผิ ดอื่ น ๆ ที่ ทํ าให หลงรั กหลงพอใจอย างหนึ่ ง และหลงเกลี ยดชั งอี กอย างหนึ่ ง เป น อั น ว า วิ ร าคะในที่ นี้ หาได ห มายถึ ง อริ ย มรรคโดยตรงแต อ ย า งเดี ย ว เหมื อ นในที่ บางแห ง ไม แต ห มายความกว า ง ๆ ถึ ง การทํ า กิ เ ลสให ข าดออก หรื อ หน า ยออก โดยอาการอย า งเดี ย วกั น กั บ อริ ย มรรคทํ า ลายกิ เ ลสนั่ น เอง และมุ ง หมายถึ ง อาการ ที่จางคลาย ยิ่งกวาที่จะมุงหมายถึง ธรรมที่เปนเครื่องทําความจางคลาย. แตโดยนัยแหงการปฏิบั ตินั้น ยอมเห็น พรอ มกัน ไปทั้ง ๒ สิ่ง กลา ว คือ เมื่อเห็นความจางคลายอยูอยางชัดแจง ก็ยอมเห็นธรรมเปนเครื่องทําความ จางคลายดวยเปนธรรมดา เหมือนกับเมื่อเราเห็นเชือกที่ขมวดอยูคลายออก ก็ยอม เห็นสิ่งที่ทําใหขมวดนั้นคลายออกดวยกันเปนธรรมดา. ฉะนั้น ถึงถือวิราคะในขณะ แห งอานาปานสติ นี้ หมายถึ ง ความจางคลาย โดยตรง และ ธรรมที่ทํ าความจางคลาย โดยออ ม ในฐานะเปน ของผนวกอยูใ นความจางคลายนั้น . คํา วา จางคลาย มีความหมายตรงกันขามจากคําวา ยอมติด. ตามธรรมดาสั ต ว มี ใ จย อ มติ ด อยู ในสิ่ งทั้ งปวง โดยความเป น ของน าใคร อย า งหนึ่ ง และโดยความเป น ตั ว ตนอย า งนั้ น อย า งนี้ อี ก อย า งหนึ่ ง ด ว ยอํ า นาจ ความยึดมั่นถือมั่นหรือความสําคัญผิดอันมีมูลมาจากอวิชชา. เมื่อใดความยอมติด อันนี้ถูกทําใหหนายออก เมื่อนั้นชื่อวามีความจางคลายในที่นี้ ; โดยกิริยาอาการ ก็ค ือ คลายความรู ส ึก ที ่เ ปน ความใคร และความรู ส ึก วา เปน นั ่น เปน นี ่ เปน ตัว ตนอยางนั้นอยางนี้. ส ว นข อ ที่ ว า ความจางคลายเกิ ด ขึ้ น ได อ ย า งไร นั้ น ตอบได สั้ น ๆ ว า ความจางคลายเกิดขึ้นไดเพราะการเห็นอนิจจัง โดยวิธีกลาวแลวในอานาปานสติ ขั้นที่สิบสาม. การเห็ น ธรรมในลั ก ษณะเช น นั้ น เป น เหมื อ นการแก ห รื อ การชะล า งให จางคลายออก – คลายออก เพราะเปนการแสดงใหเห็นตามที่เปนจริง วาสิ่งเหลานั้น

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๓๙๔

อานาปานสติภาวนา ตอน ๑๘

ไม ค วรยึ ด ติ ด ไม ค วรยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น เพราะมั น กํ า ลั ง เป น อนิ จ จั ง ทุ ก ขั ง อนั ต ตาอยู ตลอดเวลา และทํ าความทุ กขให เกิดขึ้ นแก บุ คคลผู เข าไปยึ ดมั่นถื อมั่นอยูตลอดเวลา หากแต ว าเขาไม มองเห็ นความจริ งในข อนี้ จึ งยึ ดมั่ นถื อมั่ นต อสิ่ งซึ่ งกํ าลั งทํ าความทุ กข ใหแ กต น เหมือ นคนที ่ไ มรู จ ัก โรค ไมรู จ ัก มูล เหตุข องโรค ก็ย อ มพอใจในการ คลุ กคลี อยู กั บสิ่ งเหล านั้ น เพื่ อความสนุ กสนาน ด วยอํ านาจความสํ าคั ญผิ ดได ตลอด ไป เมื่ อ ใดเห็ น โทษของสิ่ ง นั้ น ความจางคลายหน า ยหนี ต อ สิ่ ง นั้ น ก็ เ กิ ด ขึ้ น ฉะนั้ น จึงกลาววาความจางคลายเกิดขึ้น เพราะการเห็นความจริงของสิ่งที่ตนเขาไปยึดถือ. ส ว นข อ ที่ ว า ความจางคลายเกิ ด ขึ้ น ในสิ่ ง ใด นั้ น ตอบได ก ว า ง ๆ ว า เกิดขึ้นไดในทุกสิ่งที่มีความไมเที่ยง ดังที่กลาวแลวในอานาปานสติขั้นที่สิบสาม กล า วคื อ ในเบญจขั น ธ ในอายตนะภายใน และในอาการแห ง ปฏิ จ จสมุ ป บาท เมื่ อผู ปฏิ บั ติ พิ จารณาเห็ นความไม เที่ ยงในสิ่ งใด ก็ ย อมเห็ นความที่ จิ ตจางคลายจาก สิ่งนั้นในสิ่งนั้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ข อ ที่ ว า ทํ า อย า งไรจึ ง ได ชื่ อ ว า ผู ต ามเห็ น ซึ่ ง ความจางคลายอยู เ ป น ประจํ า อธิ บ ายว า เมื่ อ เห็ น ความไม เ ที่ ย งของสิ่ ง ใดสิ่ ง หนึ่ ง จนเกิ ด ความจางคลาย จากความยึดถืออยูทุกลมหายใจเขา – ออก การกระทําดังนั้น ชื่อวา วิราคานุปสสนา คือการตามเห็นความจางคลาย. บุคคลผูทําเชนนั้นอยูเรียกวา วิราคานุปสสี คือผูตามเห็นความจางคลายอยูเปนประจํา ซึ่งมีวินิจฉัยในทางปฏิบัติ ดังตอไปนี้ :-

ผูปฏิบัติที่ประสงคจําทําความจางคลายใหเกิดขึ้นในสิ่งใด จะตองพิจารณา ให เ ห็ น อาที น วะ คื อ โทษอั น ร า ยกาจของสิ่ ง นั้ น ก อ น ครั้ น เห็ น โทษของสิ่ ง นั้ น แล ว ความพอใจที่จะพรากหรือหยาขาดจากสิ่งนั้น จึงจะเกิดขึ้น ; มิฉะนั้นแลวทําอยางไร

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๑๔ การเห็นความจางคลาย

๓๙๕

เสีย ก็ยอมไมพอใจที่จะหยาขาดจากสิ่งนั้น. ทานอุปมาความขอนี้ไววา เหมือน กับบุคคลที่สําคัญผิดเขาใจวางูคือปลา ยอมมีความพอใจในงูนั้น ในลักษณะที่เห็น กงจักรเปนดอกบัวอยูเรื่อยไป และจะไดรับอันตรายตายแลวตายอีก เพราะสิ่งนั้น อยูร่ําไป จนกวาเมื่อไรจะเห็นตามที่เปนจริงวานั่นเปนงู หาใชเปนปลาไม ดังนี้ คําวา เห็นโทษอันรายกาจ ในที่นี้ หมายถึงพิจารณาเห็นชัดแจงในความไมเที่ยงเปน ทุกขเปนอนัตตา ดังที่กลาวมาแลวโดยละเอียดขางตน จึงยินดีหรือสมัครใจที่จะ หยาขาดจากสิ่งนั้น มีความแนวแนขนาดที่ทานเรียกกันวา ปลงความเชื่อลงไปหมด (สทฺธาธิมุตฺต) ขอนี้หมายถึงความแนใจดวยอํานาจของปญญา และทั้งเปนไปใน ขณะที่จิตเปนสมาธิ คือมีกําลังของสมาธิรวมอยูดวยอยางเต็มที.่ อํานาจของสมาธิ ทําใหเห็นแจงถึงที่สุด อํานาจของความเห็นแจงถึงที่สุด ทําใหปลงความเชื่อลง ไปถึงที่สุด ในการที่จะไมยึดติดตอสิ่งนั้นอีกตอไป. ทั้งหมดนี้คือขณะแหงความ จางคลาย ทั้งหมดนี้เปนไปทุกขณะแหงการหายใจเขาและออก. ตามที่ ก ล า วมาแล ว ข า งต นว า สิ่ ง ที่ เรี ย กว า สั ง ขารธรรมทั้ ง ปวง ซึ่ ง เป น วั ตถุ สํ าหรั บการพิ จารณาให เ ห็ นความไม เ ที่ ยงเป น ต นนั้ น เมื่ อ จํ าแนกตามหลั ก วิ ช า จํ า แนกเป น พวกอารมณ ไ ด แ ก เ บญจขั น ธ เ ป น ต น นี้ พ วกหนึ่ ง เป น พวกที่ เ สวย อารมณ ได แกอายตนะภายในพวกหนึ่ง และอาการของสิ่ งต าง ๆ ปรุงแต งกันเกิดขึ้ น เปนลําดับ ๆ ไดแกอาการแหงปฏิจจสมุปบาทนี้อีกพวกหนึ่ง, ฉะนั้น ผูที่ประสงค จะทํ า อานาปานสติ ใ นขั้ นนี้ โ ดยกว า งขวาง ก็ ค วรทํ าการกํ าหนดเรี ยงอย า งไปทั้ ง ๓ พวก คื ออย างน อยก็ พิ จารณาขั นธ ห า อายตนะหก และอาการของปฏิ จจสมุ ปบาท ๑๒ อาการ ที ละอย าง ๆ โดยวิธี ทํ าให ปรากฏมี ขึ้ นในตน หรือมองให เห็ นชั ดตามที่ มั น มี อ ยู แ ล ว ในตน กํ า ลั ง แสดงอาการอยู ใ นตนอย า งนั้ น ๆ โดยประจั ก ษ แล ว จึ ง หยิ บขึ้ นมาพิ จารณาโดยความเป นของไม เที่ ยงเป นเบื้ องต นก อน จึ งจะมองเห็ นโทษ

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๓๙๖

อานาปานสติภาวนา ตอน ๑๘

อันร ายกาจของสั งขารเหล านั้นมี รู ปเป นต น แล วเพ งดู โทษนั้ นอยู ทุ กลมหายใจเข า – ออก จนกระทั่ งเกิ ดความพอใจขึ้ นมาเอง ในการที่ จะแยกจากกั นด วยอาการที่ สมมติ เรียกวา “หยาขาดจากกัน” จากสิ่งนั้น ประคองความพอใจอันนี้ไวทุกลมหายใจ ออก – เขา จนกวาความเชื่อจะปลงลงไปโดยสิ้นเชิงดวยอํานาจของปญญา และ กํ าลั งของสมาธิ รวมกั น ขาดจากสิ่ งนั้ นแล วจริ ง ๆ คื อไม พอใจในทางกามว าเป นสิ่ ง ที่ น า รั ก น า ใคร และไม ยึ ด ถื อ ในทางภพว า เป น นั่ น เป น นี่ เป น ตั ว ตนหรื อ เป น ของ ของตนอยางนั้นอยางนี้ อยูทุกลมหายใจเขา – ออก จนกวาจะถึงที่สุด. เมื่อมีเวลา มากก็ แ ยกทํ า ได โ ดยละเอี ย ดและเรี ย งอย าง จนมี ค วามชํ า นาญคล อ งแคล ว แล ว ก็ จะประสบกั นเข าสั กอย างหนึ่ งหรื อสั กโอกาสหนึ่ ง ที่ ตนสามารถทํ าให เกิ ดความจาง คลายได เต็ มตามความหมาย เป นผู สร างคลายจากความเมาในกาม และสร างคลาย จากความยึดมั่นในภพไดจริง ราคะ โทสะ โมหะ กลายเปนสิ่งไมมีที่ตั้งที่อาศัยตอไป เพราะเหตุนั้น. เมื่ อ กล า วรวบรั ด ตามแบบของอานาปานสติ ท า นแนะให ห ยิ บ เอาลม หายใจซึ่ งเป นหมวดกาย ป ติ และสุ ขซึ่ งเป นหมวดเวทนา องค ฌานและความคิ ดนึ ก ตาง ๆ ซึ่ งเป นหมวดจิ ต ขึ้ นมาพิ จารณาเพื่ อเห็ นความไม เที่ ยง จนกระทั่ งเกิดความ จางคลายโดยอาการอยางเดียวกัน. โดยหลักเกณฑนี้ผูปฏิบัติจะตองทําอานาปานสติ ทุ ก ขั้ น เริ่ ม ต น มาใหม แล ว พิ จ ารณาทุ ก สิ่ ง ทุ ก อย า งที่ ป รากฏขึ้ น และอาจจะ พิ จารณาได เพื่ อเห็ นความไม เที่ ยง เพื่ อเกิ ดความจางคลายดั งที่ กล าวแล ว การหยิ บ เอาความสุ ขอั นสู งสุดมาพิ จารณา และไมต องมี การแยกแยะพิ จารณาไปเสี ยทุ กอย าง ทุกประเภท ซึ่งดูเปนการแจกลูกตามแบบปริยัติอยูอีกไมนอยเหมือนกัน. เหตุ ที ่ ก ารพิ จ ารณาอย า งเดี ย ว แต ไ ด ผ ลกว า งขวางครอบคลุ ม ไปทุ ก อย า งนั ้ น ก็เ พราะวา สิ ่ง อัน เปน ที ่ตั ้ง ของกิเ ลสทั ้ง หมดทั ้ง สิ ้น ยอ มรวมจุด อยู ที ่เ วทนา คือ สุ ขเวทนาที่ ทํ าให รั ก และทุ กขเวทนาที่ ทํ าให เกลี ยด สองอย างนี้ เป นป ญญาใหญ ของ

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๑๔ การเห็นความจางคลาย

๓๙๗

ความมีทุกข : การแกปญหาที่จุดนี้จึงเปนการเพียงพอ. ถาเห็นวานอยไปหรือ ลุ น ไปก็ ค วรจะขยายออกไป อย า งมากเพี ย งสามคื อ เพิ่ ม พวกกาย อั น ได แ ก ล ม หายใจเป น ต น อย า งหนึ่ ง และพวกจิ ต เช น วิ ต กหรื อ ตั ว จิ ต เอง ที่ กํ า ลั ง อยู ใ นภาวะ อยางนั้นอยางนี้เปนตน อีกพวกหนึ่ง รวมเปน ๓ พวกดวยกัน. ขอสําคัญอยูตรงที่ ต อ งเป น การกระทํ า ด ว ยจิ ต ที่ เ ป น สมาธิ โดยการเพ ง ของป ญ ญาที่ เ พี ย งพอ คื อ เพ ง ไปในทางลักษณะ ที่เรียกวา ลักขณูปณิชฌาน จนลักษณะแหงอนิจจังปรากฏ มี อ าการของอุ ท ยั พ พยญาณ และภั ง คญาณเป น ต น ปรากฏขึ้ น ชั ด เจน จนกระทั่ ง เห็ น โทษอั น ร า ยกาจในขนาดที่ เ ป น อาที น วญาณ และปลงความเชื่ อ ทั้ ง หมดลงไป ไดดว ยอํา นาจของปญญา ดังที่กลาวแลว . ทั้ง หมดนี้ใ หเปนอยูทุก ลมหายใจ เขา – ออก ทุก ๆ ขั้นไปทีเดียว. เมื่ อทํ าอยู ดั งนี้ ย อมชื่ อว าเป นวิ ราคานุ ป สสี คื อผู ตามเห็ นความจางคลาย อยูเปนประจํา อยูทุกลมหายใจเขา – ออก เมื่อทําไดอยางนี้ถึงที่สุด การกระทํานี้ ชื่ อ ว า ธรรมานุ ป ส สนาสติ ป ฏ ฐานภาวนาที่ ส มบู ร ณ เป น ภาวนาที่ ส ามารถทํ า ให ประมวลมาได ซึ่งธรรมสโมธาน ๒๙ ประการ ในระดับที่สูงขึ้นไปอีก. สิ่ งที่ จะต องเข าใจไว ด วยอี กอย างหนึ่ งเป นพิ เศษ คื อในข อที่ ว า ในคํ าว า วิ ร าคะ หรื อ ความจางคลาย นี้ ย อ มรวมคํ า ว า นิ พ พิ ท า หรื อ ความเบื่ อ หน า ยไว ด ว ยเสร็ จ ในตั ว และรวมอยู ใ นระยะที่ เ รี ย กว า มี ก ารเห็ น โทษอั น ร า ยกาจ จนเกิ ด ความพอใจในการที่ จ ะหย า ขาดจากสิ่ ง เหล า นั้ น นั่ น เอง มิ ฉ ะนั้ น แล ว จะทํ า ให เ กิ ด ความฉงนว า นิ พ พิ ท าญาณซึ่ ง เป น ญาณที่ สํ า คั ญ อี ก ญานหนึ่ ง นั้ น ไปอยู ที่ ไ หนเสี ย . ขอให เ ข า ใจว า อานาปานสติ ขั้ น นี้ นิ พ พิ ท ารวมอยู ใ นคํ า ว า วิ ร าคะ ทํ า นองเดี ย วกั บ ที่ในอานาปานสติขั้นกอนหนานี้ ทุกขังกับอนัตตารวมอยูในคําวาอนิจจังนั่นเอง. วิ นิ จ ฉั ย ในอานาปานสติ ขั้ น ที่ สิ บ สี่ สิ้ น สุ ด ลงเพี ย งเท า นี้ ต อ แต นี้ จ ะได วินิจฉัยในอานาปานสติขั้นที่สิบหาสืบไป.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


ตอน สิบเกา

อานาปานสติ ขั้นที่ สิบหา๑ (การตามเห็นความดับไมเหลืออยูเปนประจํา)

อานาปานสติ ขั้ น ที่ สิ บ ห า หรื อ ข อ สามแห ง จตุ ก กะที่ สี่ มี หั ว ข อ ว า “ภิกษุนั้น ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูตามเห็นซึ่งความดับไมเหลืออยูเปนประจํา จักหายใจเขา ดังนี้ ; ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูตามเห็นซึ่งความดับไมเหลือ อยูเปนประจํา จักหายใจออก ดังนี้”.๒ สิ่งที่จะตอวินิจฉัยในที่นี้ คือ ความดับไมเหลือ นั้นคืออะไร ; ความ ดั บ ไม เ หลื อ ของอะไร ; ดั บ ไม เ หลื อ ได โ ดยวิ ธี ใ ด ; และทํา อย า งไรชื่ อ ว า นิ โรธานุปสสี คือตามเห็นความดับไมเหลืออยูเปนประจํา. คําวา ความดับไมเหลือ ในที่นี้ หมายถึงความตรงกันขามตอความมีอยู ยกตั วอย างเช นความมี อยู แห งรู ป กั บความไม มี อยู แห งรู ป นี้ เรี ยกว าภาวะที่ ตรงกั น ขาม ; อยางแรกเปนความมีอยู อยางหลังเปนความดับไมเหลือ. แตความหมาย

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

๑ ๒

การบรรยายครั้งที่ ๔๖ / ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๐๒ นิโรธานุปสฺสี อสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ ; นิโรธานุปสฺสี ปสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ.

๓๙๘

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๑๕ การเห็นความดับไมเหลือ

๓๙๙

ตามทางธรรมของคําวา “มีอยู” กับคําวา “ดับไมเหลือ” นี้ มิไดหมายถึงตัววัตถุ นั้นมีอยูหรือไมมีอยู หากแตหมายถึง “คุณ” หรือคุณลักษณะของสิ่งเหลานั้นที่มี ผลตอจิตใจหรือไมอีกตอหนึ่ง. ที่เห็นไดงาย ๆ เชนความมีอยูแหงรูป หมายถึง ความมี อ ยู แ ห ง ความไม เ ที่ ย ง ความเป น ทุ ก ข ท รมาน และสิ่ ง อื่ น ๆ ที่ เ นื่ อ งกั น อยู กับรูป ; ถาสิ่งเหลานี้ไมมี ก็มีคาเทากับรูปไมมี หรือเปนความดับไมเหลือของรูป. เพราะฉะนั้น คําวา “ดับไมเหลือ” จึงหมายถึงความดับทุกขที่เนื่องมาจากรูปนั้น โดยไมเหลือ นั่นเอง ; นี่เรียกสั้น ๆ วานิโรธ หรือความดับไมเหลือ ในกรณีที่ เกี่ยวกับรูป. ข อ ที่ ว า ดั บ ไม เ หลื อ แห ง อะไร นั้ น ถ า ตอบสั้ น ๆ ตรง ๆ ก็ ต อบว า ดั บ ไม เ หลื อ แห ง สิ่ ง ที่ เ ป น ทุ ก ข หรื อ แห ง สิ่ ง ที่ มี ก ารเกิ ด อั น เป น ที่ ตั้ ง ของความทุ ก ข แต ถ าจะจํ าแนกให ละเอี ยดออกไป ก็ อาจจะจํ าแนกได เปนประเภทใหญ ๆ ๓ ประเภท และมี ร ายละเอี ย ด เท า ที่ ย กมาเป น ตั ว อย า ง แต ล ะประเภทคื อ ขั น ธ ห า อายตนะ ภายในหก และอาการแห งปฏิ จจสมุ ปบาทสิ บ สอง ดั งที่ กล าวแล วในอานาปานสติ ขั้ น ต น แต นี้ ในฐานะที่ เ ป น วั ต ถุ แ ห ง ความไม เ ที่ ย ง และความจางคลายนั่ น เอง. ความมี อ ยู แ ห ง เบญจขั น ธ คื อ ความมี อ ยู แ ห ง อารมณ อั น เป น ที่ ตั้ ง การสั ม ผั ส และ เป น ความมี อ ยู ข องสิ่ ง เป น ที่ ตั้ ง แห ง ความยึ ด ถื อ โดยความเป น กามและโดยความ เปนภพดังที่กลาวแลว ; ดังนั้นยอมหมายความวา เปนความมีอยู ของสิ่งอันเปน ที่ตั้งแหงความทุกข. เมื่อสิ่งเหลานี้ไมมี หรือเรียกวาสิ่งเหลานี้ดับไปก็ตาม ยอม หมายความวา ไมมีสิ่งอันเปนที่ตั้งแหงความทุกข. หรือวาเปนความดับไมเหลือ แหงสิ่งอันเปนที่ตั้งของความทุกข. ถาอายตนะภายในมีอยู ก็หมายความวาสิ่งซึ่ง ทํ าหน าที่ เสวยอารมณ หรื อสิ่ งที่ จะทํ าหน าที่ สั มผั สกั บสิ่ งอั นเป นที่ ตั้ งแห งความทุ กข

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๔๐๐

อานาปานสติภาวนา ตอน ๑๙

มีอยู ; ถาสิ่งเหลานี้ไมมี ก็ไมมีการสัมผัสกับสิ่งอันเปนสิ่งที่ตั้งแหงความทุกข. ความ ดับ ไมเ หลือ แหง สิ ่ง เหลา นี ้ ก็ค ือ การไมม ีก ารสัม ผัส ชนิด ที ่จ ะกอ ใหเ กิด ความทุก ข นั่นเอง. ความมี อ ยู แ ห ง อาการปฏิ จ จสมุ ป บาททุ ก ขั้ น ตอนเป น ความมี อ ยู แ ห ง การปรุ ง ของสั ง ขารธรรมต า ง ๆ ทุ ก ๆ ขั้ น ที่ อิ ง อาศั ย กั น แล ว ปรุ ง สิ่ ง ใหม ใ ห เ กิ ด ขึ้ น แล ว ไปอิ ง อาศั ย สิ่ ง อื่ น ปรุ ง สิ่ ง ใหม ใ ห เ กิ ด ขึ้ น เป น ลํ า ดั บ ไป จนกระทั่ ง ถึ ง เกิ ด อาการ ที่ เ ป น ตั ว ความทุ ก ข โ ดยตรงในที่ สุ ด และผลที่ เ ป น ทุ ก ข นั้ น ก็ ยั ง สามารถหล อ เลี้ ย ง หรื อ ปรุ ง ต น เหตุ เ ดิ ม ของมั น กล า วคื อ อวิ ช ชาให ยั ง คงมี อ ยู และให เ ปลี่ ย นรู ป ไปใน ลักษณะตาง ๆ. ถาหากอาการเหลานี้ไมมี คือไมเกิดขึ้น หรือไมเปนไป ความทุกข ก็กอรูปขึ้นในลักษณะตาง ๆ ไมได ; ฉะนั้น ความดับไปหรือความไมมีอยูของการ ปรุ ง แต ง เหล า นี้ จึ ง มี ค า เท า กั บ ความดั บ ทุ ก ข หรื อ ความไม มี อ ยู แ ห ง ทุ ก ข หรื อ ความที่ทุกขไมสามารถกอรูปขึ้นมาได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เท าที่ กล าวมาทั้ งหมดนี้ เป นการชี้ ให เห็ นว าความดั บนั้ นคื อความไม มี อยู หรือเทากับความที่สิ่งเหลานี้ ไมไดทําหนาที่ตามความหมายของมัน ; และสิ่งที่ เรี ยกว าความดั บนั้ นเป นความดั บของสิ่ งที่ ก อให เกิ ดทุ กข ซึ่ งจํ าแนกเป น ๓ ประเภท ดังที่กลาวแลวขางตน. การเห็นความดับก็คือการเห็นความดับไมเหลือของทุกข เพราะสิ่ ง เหล า นี้ ห ยุ ด ทํ า หน า ที่ ข องมั น และความดั บ ทุ ก ข นั้ น ก็ เ ป น สิ่ ง ที่ ม องเห็ น ได ในสิ่งเหลานี้ ที่ดับหรือหยุดทําหนาที่ของมันแลว. สวนขอที่วา จะทําการดับไดโดยวิธีใด นั้น มีอธิบายวา ผูปฏิบัติ จะต อ งพิ จ ารณาให เ ห็ น โทษของความมี อ ยู แ ห ง สิ่ ง เหล า นี้ ก อ นโดยประจั ก ษ แล ว จิตก็จะนอมไปพอใจในคุณของความที่ไมมีสิ่งเหลานี้ แลวเพงอยูที่ “คุณ” ของ

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๑๕ การเห็นความดับไมเหลือ

๔๐๑

ความไมมีสิ่งเหลานี้อยูทุกลมหายใจ เขา – ออก จนกระทั่งจิตนอมไปสูความดับ ไม เ หลื อ ของสิ่ ง เหล า นี้ ไ ด โดยสิ้ น เชิ ง อย า งที่ เ รี ย กว า ปลงความเชื่ อ ลงไปได จ น หมดสิ้นในความเปนอยางนี้และทําไปดวยจิตที่เปนสมาธิเพีงพอ. คําวา เห็นโทษ ของสิ่งเหลานี้ หมายถึงเห็นดวยลักษณะ หรืออาการ ๕ อยางคือ สิ่งเหลานี้มีความไมเที่ยงหนึ่ง, มีความเปนทุกขหนึ่ง, มีความเปน อนัตตาหนึ่ง, มีความเผาผลาญ (อยูในตัวเอง) หนึ่ง, มีความแปรรูปอยูเสมอ หนึ่ง. สําหรับโทษ คือ ความไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตานั้น มีการวินิจฉัย แลวโดยละเอียดในอานาปานสติขั้นที่สิบสาม ไมจําตองวินิจฉัยอีกในที่นี้. สวน คํ าว ามี การเผาผลาญอยู เป นประจํ านั้ น หมายถึ งความที่ สิ่ งเหล านี้ มี การเผาผลาญ ตัว เองใหร อ ยหรอไป เหมือ นไฟที ่ก ิน ฟน และใหค วามรอ นแกผู เ ขา ไปใกล และทําความเผาผลาญใหแกผูที่สมัครเขาไปเปนฟนโดยไมมีสวนเหลือ ; นี่คือโทษ ของการเขาไปใกลสิ่งนี้ หรือการยึดมั่นถือมั่นอยูกับสิ่งนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สวน อาการที่เรียกวาแปรรูป อยูเสมอนั้น หมายความวา ความไมเที่ยง นั้ น แปรรู ป อยู เ สมอ จากความไม เ ที่ ย งอย า งนี้ ไ ปสู ค วามไม เ ที่ ย งอย า งอื่ น เรื่ อ ยไป ไม มี หยุ ด ฉะนั้ น สิ่ งที่ มี การแปรไปในรู ปที่ เผอิ ญไปตรงกั นเข ากั บความต องการของ บุ ค คลนั้ น ๆ เขาจึ ง เห็ น เป น ความดี ง าม ความสุ ข หรื อ แม แ ต เ ป น ความยุ ติ ธ รรม เปน ตน ; แลว ก็ยึด ถือ เอาความไมเ ที่ย งนั้น วา เปน สิ่ง ที่นา ยึด ถือ จนกระทั่ง มัน เปลี่ย นไปเปน อยา งอื่น ถึง กับ เขาตอ งนั่ง ลงรอ งไหอีก ครั้ง หนึ่ง . ความสุข หรือ ความทุก ข การหัว เราะหรือ รอ งไห การฟูขึ ้น หรือ การแฟบลง และอื ่น ๆ ซึ ่ง เปน คู ก ัน ทํ า นองนี ้ จึง มีอ ยู เ ปน เครื ่อ งหลอกลวงสัต วทั ้ง หลายไมม ีที ่สิ ้น สุด . ในรอบหนึ่ ง ๆ หรื อ คู ห นึ่ ง ๆ ย อ มมี อ ายุ ขั ย อั น จํ า กั ด ของมั น เอง มั น เปลี่ ย นแปลง

www.buddhadasa.in.th


๔๐๒

อานาปานสติภาวนา ตอน ๑๙

ไปในวงจํ า กัด ของมัน เอง จนสิ ้น อายุข ัย วงหนึ ่ง หรือ รอบหนึ ่ง ของมัน แลว ก็แ ปร ไปสูวงอื่น หรือรอบอื่นในลักษณะอื่นตอไปอีก อยางไมมีที่สิ้นสุด. นี้เรียกวา ความไมเ ที ่ย งของความไมเ ที ่ย ง หรือ ความไมเ ที ่ย งซอ นความไมเ ที ่ย ง ซึ ่ง มีอ ยู เป นรู ปหรื อเป นรอบ ๆ เป นวง ๆ แปรผั นไปไม มีที่ สิ้ นสุ ด ซึ่ งเรียกว า วิ ปริ ณามธรรม ในที่นี้. ความไมเที่ยงก็ดี ความเปนทุกขก็ดี ความเปนอนัตตาก็ดี สันตาปธรรม คื อ ความเผาผลาญก็ ดี และวิ ป ริ ณ ามธรรม คื อ ความแปรรู ป อยู เ สมอก็ ดี เรี ย กว า โทษของสังขารธรรม และมีอยูเต็มอัดไปหมดในสังขารธรรมทั้งหลาย. ผูปฏิบัติจะตองเพงที่สังขารธรรมนั้น ๆ จนกระทั่ง เห็นโทษ เหลานี้ โดยประจั กษ ชั ดถึ งขนาดที่ เรี ยกว า อาที นวานุ ป สสนาญาณจิ รง ๆ แล วเท านั้ น จึ งจะ เกิ ด ความจางคลายจากความกํ า หนั ด ในสิ่ ง เหล า นั้ น แล ว น อ มมาพอใจต อ ความ ดั บ สนิ ท หรื อ ความไม มี อ ยู ข องสิ่ ง เหล า นั้ น ได จ ริ ง ๆ เมื่ อ พอใจในความดั บ แล ว การทําความดับหรือทําสิ่งเหลานั้นใหมีคาเทากับไมมี ก็เปนสิ่งที่ทําไดโดยงาย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org นั้น จะตองทราบเสียกอนวาสิ่งนั้น ๆ จะดับไปดวย การทําความดับ๑ อํา นาจอะไร ซึ่ ง โดยหลัก ใหญแ ล ว สิ่ งนั้ น ๆ ยอ มดั บ ไปดว ยอํ านาจการดับ ของ เหตุปจจัย ซึ่งปรุงแตงสิ่งเหลานั้น และดวยอํานาจการเกิดขึ้นของสิ่งตรงกันขาม. สิ่งที่เรียกวาเหตุปจจัยนั้น แยกออกไดเปน ๖ อยางคือ :-

การบรรยายครั้งที่ ๔๗ / ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๐๒

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๑๕ การเห็นความดับไมเหลือ

๔๐๓

๑. เรียกวานิทาน มีความหมายวา เปนแดนมอบใหซึ่งผล คือเปนที่ ใหเกิดผลเปนสิ่งนั้น ๆ ขึ้นมา เหมือนกับตนไมเปนที่เกิดแหงผลไม ; ถาตนไมไมมี ผลไมจะมีไดอยางไร. ฉะนั้น การดับของตนไม จึงเปนการดับผลไมพรอมกันไป ในตัว. นี้อีกอยางหนึ่งซึ่งแสดงวา ถาจะดับสิ่งใดจะตองสืบหาแดนอันเปนที่มา ของสิ่งนั้น เพื่อทําการดับที่ตนตอของสิ่งนั้น. ๒. เรียกวาสมุทัย แปลวา แดนเปนที่ตั้งขึ้นพรอม. ขอนี้หมายถึง สิ่ ง ซึ่ ง เป น ที่ ตั้ ง อาศั ย ของสิ่ ง อื่ น เพื่ อ ความมี อ ยู ไ ด หรื อ ตั้ ง อยู ไ ด ของสิ่ ง นั้ น เช น แผ น ดิ น เป น ที่ ตั้ ง ที่ อ าศั ย ของต น ไม ซึ่ ง ใคร ๆ ย อ มเห็ น ได ทุ ก คน ว า ต น ไม ทุ ก ต น หรือ บรรดาสิ ่ง อื ่น ทุก สิ ่ง ที ่อ าศัย แผน ดิน ลว นแตง อกขึ ้น หรือ ตั ้ง ขึ ้น บนแผน ดิน ทั้ ง นั้ น ถ า แผ น ดิ น สลายลงหรื อ ดั บ ลงไป ต น ไม จ ะตั้ ง อยู ไ ด อ ย า งไร ย อ มจะต อ ง สลายหรือดับไป ตามอาการซึ่งเปนที่ตั้งที่อาศัย อยางนี้เรียกวาเปนสมุทัย ; ตาง กั บ อาการในข อ หนึ่ ง ซึ่ ง เป น แดนมอบให ซึ่ ง ผล ซึ่ ง ผู ศึ ก ษาจะต อ งสั ง เกตให เ ห็ น ความแตกตางกันใหชัดแจง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๓. เรียกวาชาติ แปลวา ความเกิดหรือการเกิด ถาเปนตนไมยอม หมายถึ ง การงอก ถ า มี แ ผ น ดิ น มี เ มล็ ด พื ช หรื อ มี เ หตุ ป จ จั ย อื่ น ก็ ต าม แต ถ า ไม มี การงอกหรือ การงอกงามแลว ตน ไมก ็ม ีขึ ้น ไมไ ด ฉะนั ้น การเกิด หรือ การงอก จึ ง เป น ตั ว การสํ า คั ญ อั น หนึ่ ง ด ว ยเหมื อ นกั น ในการที่ จ ะทํ า ให อ ะไร ๆ เกิ ด มี ขึ้ น มา. เราอาจจะทําลายตนไมตนหนึ่งได โดยไมตองทําลายแผนดิน ทําลายอาหารของมั น หรื อ ทํ า ลายสิ่ ง อื่ น ๆ แต ทํ า ลายที่ ค วามงอกของมั น เช น ทํ า ลายชี วิ ต ในเมล็ ด พื ช นั้ น ๆ เสี ย หรื อตั วหนทางที่ มั นจะงอกงามได โดยทางใดทางหนึ่ งเสี ย ดั งนี้ เรี ยกว า ทําลายที่ชาติของมัน.

www.buddhadasa.in.th


๔๐๔

อานาปานสติภาวนา ตอน ๑๙

๔. เรียกวาอาหาร หมายถึง สิ่งที่นํามาซึ่งความเจริญเติบโต หรือ นํ า มาซึ ่ง ผลอยา งใดอยา งหนึ ่ง ซึ ่ง หมายถึง ความเจริญ งอกงามอีก นั ่น เอง. ตั วอย างเช นต นไม จะต องอาศั ยอาหาร โดยเฉพาะแร ธาตุ ต าง ๆ ซึ่ งมี อ ยู ในดิ นที่ ใช เป น อาหารได มั น จึ ง จะอยู ไ ด ไม ใ ช ว า เพี ย งแต มี แ ผ น ดิ น เป น ที่ ตั้ ง อาศั ย ให ง อก แล วมั นจะเจริ ญงอกงามไปได ถ าสมมติ ว าในดิ น นั้ นไม มี อ าหารเลย ต น ไม นั้ นก็ จ ะ ตองตายอยูดี. นี้เราจะเห็นได วาสิ่งที่เรียกวาอาหารก็เปนตัวการที่สําคัญอันหนึ่ง ของความมีอยูของสิ่งทั้งปวง. ๕. เรียกวาเหตุ อันนี้หมายถึง ตนเหตุโดยตรงของสิ่งนั้น ยกตัวอยาง เกี่ยวกับตนไมอีกตามเคย. สิ่งที่เรียกวาเหตุนั้นไดแกเจตนาของคนใดคนหนึ่ง ก็ ต าม ที่ ตั้ ง ใจจะปลู ก ต น ไม นั้ น ด ว ยการเอาเมล็ ด มาฝ ง ดิ น เป น ต น หรื อ ที่ สั ต ว นํ า ไปกิ น แล ว ถา ยโดยไมม ีเ จตนาปลูก ก็ต าม หรือ แมที ่ล มหรือ น้ํ า พัด พาไป หรือ ทํ า ใหห ลน ลงมาจากตน ก็ต ามเหลา นี ้เ รีย กวา เปน เหตุโ ดยตรงของความเกิด ขึ ้น แหง ตน ไมนั้น . ถา เหตุเ หลา นี้ไ มมี แมสิ่ง อื่น ๆ จะมี ตน ไมนั้น ก็ไ มมีโ อกาส จะงอกขึ้นมา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๖. เรียกวาปจจัย หมายถึง สิ่งที่ชวยเหลือในฐานะเปนเครื่องอุปกรณ ที่ตรงตามความตองการของสิ่งนั้น ๆ. ในตัวอยางที่เกี่ยวกับตนไมดังไดกลาวมา แลว ขา งตน นั ้น ยอ มหมายถึง การไดร ับ การพรวนดิน ดี ไดร ับ แสงแดด ไดร ับ การคุ ม ครองให ค ลาดแคล ว จากอั น ตรายที่ จ ะมี เช น สั ต ว ที่ ม ากั ด กิ น หรื อ เจาะไช เปน ตน ไดเ ปน อยา งดีแ ลว ก็เ รีย กวา ไดป จ จัย ดี มีค วามเจริญ งอกงามได เปน ลํา ดับ ๆ ไป. ถา ไมไ ดรับ ปจ จัย ในทํา นองนี้เ พีย งพอ มัน ก็จ ะไมง อกหรือ งอกขึ้นมาอยางแกน ๆ แลวก็เปนอันตรายไปโดยไมมีการเจริญเติบโตตอไปได.

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๑๕ การเห็นความดับไมเหลือ

๔๐๕

ผู ปฏิ บั ติ จะต องศึ กษาให ทราบความแตกต าง ระหว างความหมายของคํ า ทั้ ง หมดนี้ ใ ห เ ป น อย า งดี คื อ คํ า ว า นิ ท าน สมุ ทั ย ชาติ อาหาร เหตุ และป จ จั ย โดยนั ย ที่ ก ล า วมาแล ว ข า งต น ด ว ยการทํ า ต น ไม ใ ห เ ป น อุ ป มา ว า จะต อ งประกอบ ด ว ยสิ่ ง ทั้ ง หกเหล า นี้ อ ย า งไร มั น จึ ง จะเกิ ด ขึ้ น หรื อ ตั้ ง อยู ไ ด แล ว นํ า ไปเปรี ย บเที ย บ กันดูกับคนเรา หรือ กลุมแหงขันธทั้งหา อันเปนที่ตั้งแหงอายตนะทั้งหก และ อาการ ๑๒ แหงปฏิจจสมุปบาท จนกระทั่งรูวาจะดับนิทาน ดับสมุทัย ดับชาติ ดับอาหาร ดับเหตุ และ ดับปจจัยของมัน ไดอยางไร. ทั้งหมดนี้ ทําใหมันดับไป ดวยการตัดตนเหตุตาง ๆ ของมัน. สวนที่ ดับไปดวยอํานาจของการเกิดขึ้นของสิ่งที่ตรงกันขามจากมัน นั้น เล็งถึงสิ่ง ๒ อยาง คือ :๑. การเกิดขึ้นของสิ่งที่เรียกวา ญาณ ไดแกความรูซึ่งเปนของตรง กันขามตออวิชชา. เมื่อญาณเกิดขึ้น อวิชชาก็ดับไปในตัวเอง. นามรูป กลาวคือ สังขารทั้งปวง ที่มีมูลมาจากอวิชชาก็ยอมดับไปก็ตาม ; นี้ก็เรียกวาดับไปเพราะการ เกิดขึ้นของญาณ. เชนคนดับไปเพราะความรูเกิดขึ้นวา คนไมมี มีแตขันธธาตุ อายตนะเปนตน. สําหรับในกรณีที่มีอุปมาดวยตนไมขางตนนั้น ก็อาจจะกลาวไดวา ผู ที่ จ ะทํ า ลายต น ไม ไ ด ก็ ต อ งมี ค วามรู ที่ ถู ก ต อ ง ในการที่ จ ะทํ า ลายมั น ซึ่ ง เป น เหตุ ให ก ล า วได ว า ทํ า ลายมั น ลงได ด ว ยความรู ซึ่ ง จะเป น ความรู ใ นการตั ด นิ ท านหรื อ ดับสมุทัยหรืออะไร ๆ ก็ตาม ที่เกี่ยวกับตนไมนั้น. หรือถาจะกลาวโดยโวหารธรรมะ ก็ ยั ง กล า วได ว า ต น ไม ไ ม มี หรื อ ดั บ ไปเพราะญาณหรื อ ความรู ที่ ถู ก ต อ ง ว า คํ า ว า ต นไม นั้ นเป นเพี ยงคํ าเรี ยกสมมติ ต นไม จริ ง ๆไม มี มี แต ธาตุ ต าง ๆ ที่ ประชุ มกั นอยู

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๔๐๖

อานาปานสติภาวนา ตอน ๑๙

กลุ ม หนึ่ ง ด ว ยกฎเกณฑ ต า ง ๆ ดั ง ที่ ก ล า วแล ว ข า งต น เท า นั้ น เอง ดั ง นี้ ความรู สึ ก วาตนไมก็ดับไป. แมโดยปริยายนี้ ก็เปนอันกลาวไดวาดับไปเพราะอํานาจแหง ความเกิดขึ้นของญาณหรือวิชชา ซึ่งเปนของตรงกันขามจากอวิชชาอีกนั่นเอง. ๒. ไดแกการปรากฏขึ้นของอาการแหงความดับสนิท หรือของธรรม อันเปนที่ดับของสิ่งนั้น ๆ. สิ่งนี้ตรงกันขามกับความเกิด เพราะสิ่งนี้ตรงกันขาม กับ นิทาน สมุทัย ชาติ อาหาร เหตุ ปจจัย. เมื่อสิ่งนี้มีเขามา สิ่งที่ตรงกันขาม ก็ตองดับ. กลาวโดยตรง สิ่งนี้ไดแกผลของขอปฏิบัติที่ถูกตองถึงที่สุด จนเปน อริยมรรคดับกิเลสและสังโยชนได ; โดยใจความคือ ดับอวิชชาไดอีกนั่นเอง ; เป น แต เ ล็ ง ถึ ง ตั ว ธรรม ที่ มี อํ า นาจในการทํ า ความดั บ หรื อ การตั ด หรื อ การล า ง หรื อ การเพิ ก ถอน หรื อ การแผดเผาก็ ต าม ซึ่ ง แล ว แต จ ะสมมติ เ รี ย ก แต มั น เป น ภาวะของธรรม ที่ทําการดับอวิชชาหรือกิเลสตัณหานั้น ๆ. ถาธรรมนี้ปรากฏออก มาให เ ห็ น แล ว ย อ มหมายความว า มี ก ารดั บ ไปแล ว แห ง สิ่ ง ตรงกั น ข า มก อ นหน า นั้ น เพราะวามีสิ่งซึ่งตรงกันขามกับสิ่งนั้นเหลือปรากฏอยู. สําหรับในกรณีที่ถือ เอา ต น ไม เ ป น อุ ป มานั้ น ก็ ก ล า วได อี ก ว า บั ด นี้ ต รงที่ ที่ ต น ไม เ คยอยู นั้ น เหลื อ อยู แ ต ขี้ เ ถ า ปรากฏอยู ดั งนี้ เป นต น ซึ่ งย อมเป นการแสดงว าได มี การเผาผลาญเกิ ดขึ้ นแล ว จะโดย น้ํ า มื อ ของมนุ ษ ย ห รื อ อํ า นาจของธรรมชาติ เช น ฟ า ผ า เป น ต น ก็ ต าม สิ่ ง ที่ ต รงกั น ข า ม คื อ สิ่ ง ที่ เ ป น ที่ ดั บ ของต น ไม นั้ น ได ป รากฏแล ว ความดั บ ของต น ไม นั้ น จึ ง มี นี้ เ รี ย กว า ดับไปเพราะการปรากฏของธรรมเปนแดนที่ดับสนิทของสิ่งนั้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org การบั ง เกิ ด ขึ้ น ของญาณก็ ดี หรื อ การปรากฏขึ้ น ของธรรมเป น ที่ ดั บ สนิ ท ก็ ดี นี้ ร วมเรี ย กว า สิ่ ง นั้ น ๆ ดั บ ไป เพราะการมี ม าของสิ่ ง ที่ ต รงกั น ข า ม ซึ่ ง เรา จํ า แนกได เป น ๒ อย า งและเมื่ อ นํ า เอาการตั ด ต น ตอ หรื อ ตั ด สิ่ ง แวดล อ มต า ง ๆ

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๑๕ การเห็นความดับไมเหลือ

๔๐๗

รวม ๖ อยาง ดังทีกลาวมาแลวขางตน มารวมกันเข าก็เปน ๘ อยาง ซึ่งทําใหกลาว ไดวา สังขารธรรมนั้น ๆ ดับไปดวยอาการ ๘ อยางเหลานี้. ผู ป ฏิบ ัต ิอ านาปานสติขั ้น นี ้ จะไดน ามวา นิโ รธานุป ส สี คือ ผู ต าม เห็ น อยู ซึ่ ง ความดั บ อยู เ ป น ประจํ า ก็ โ ดยการกระทํ า ตนเป น ผู กํ า หนดสั ง ขารธรรม เหล า นั้ น อยู โ ดยประจั ก ษ ชั ด ด ว ยการเพ ง เห็น โทษ ๕ ประการแหง สัง ขารธรรม ดั ง ที่ ก ล า วแล ว ข า งต น อยู อ ย า งรุ น แรง จนถึ ง ขนาดเกิ ด ความพอใจในความไม มี อ ยู ของสั ง ขารธรรมเหล า นี ้ กล า วคื อ ดั บ สั ง ขารเหล า นี ้ เ สี ย แล ว โทษเหล า นั ้ น ก็จ ะไดดับ ไปตาม. เธอเพง พิจ ารณาอยูซึ่ง ความดับ ของสัง ขารธรรมเหลา นี้ โดยเห็นวามันดับไปดวยอาการ ๘ อยาง ดังที่กลาวแลวอยูทุกลมหายใจเขา – ออก ก็ จ ะได ชื่ อ ว า นิ โ รธานุ ป ส สี ซึ่ ง มี ใ จความสํ า คั ญ อยู ว า แม จ ะเพ ง ดู ค วามดั บ อยู เ ป น ส ว นใหญ ก็ ต าม แต ลั ก ษณะแห ง อนิ จ จั ง ทุ ก ขั ง อนั ต ตา ก็ ยั ง คงปรากฏอยู เ ป น พื้นฐานแหงการนอมจิตไปสูความดับอยูนั่นเอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เกี่ยวกับสิ่งที่จะหยิบเอามาเปนอารมณ สําหรับการตามเห็นซึ่งความ ดั บ นั้ น จะถื อ เอาตามแบบฉบั บ ดั ง ที่ ก ล า วไว ว า ได แ ก ขั น ธ ห า อายตนะภายในหก และอาการแห ง ปฏิ จ จสมุ ป บาทสิ บ สอง ดั ง นี้ ก็ ไ ด แต เ ป น ภู มิ ข องนั ก ปฏิ บั ติ ที่ ผ า น การศึกษาทางปริยัติมาแลวอยางเพียงพอเทานั้น ; สวนผูที่ยึดมั่นในแนวของ อานาปานสติ ย อมยึ ดเอาสิ่ งต าง ๆ ที่ ปรากฏอยู ในการทํ าอานาปานสติ เช นตั วลม หายใจนั่ น เอง หรื อ ตั ว เวทนา อั น ได แ ก ป ติ แ ละสุ ข ซึ่ ง เป น องค ฌ านก็ ต าม หรื อ แม แ ต จิ ต ซึ่ ง กํ า ลั ง ผั น แปรอยู ใ นลั ก ษณะต า ง ๆ ในขณะนั้ น ก็ ต าม มาเป น อารมณ สําหรับเพงใหเห็นความดับโดยนัยดังที่ลาวแลวอยูทุกลมหายใจเขา – ออก ก็ยอม ไดชื่อวา นโรธานุปสสี อยางเต็มที่เชนเดียวกัน.

www.buddhadasa.in.th


อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๐

๔๐๘

เมื่ อ ทํ า อยู ดั ง นี้ สิ ก ขาทั้ ง สามมี สี ล สิ ก ขาเป น ต น ย อ มสมบู ร ณ แ ก เ ธอ การกระทํ านั้ น ๆ ชื่ อว า ธรรมานุ ป ส สนาสติ ป ฏ ฐานภาวนา เป น ภาวนาที่ ส ามารถ สโมธานซึ่งธรรมทั้งหลาย ๒๙ ประการ ในอัตราที่สูงยิ่งขึ้นไปอีก ดังนี้. วิ นิ จ ฉั ย ในอานาปานสติ ขั้ น ที่ สิ บ ห า สิ้ น สุ ด ลงเพี ย งเท า นี้ ต อ แต นี้ จ ะได วินิจฉัยในอานาปานสติขั้นที่สิบหกสืบไป.

ตอน ยี่สิบ

อานาปานสติ ขั้นที่ สิบหก๑ (การตามเห็นความสลัดคืนอยูเปนประจํา)

อานาปานสติ ขั้ น ที่ สิ บ หก หรื อ ข อ ที่ สี่ แ ห ง จตุ ก กะที่ สี่ มี หั ว ข อ ว า “ภิกษุ นั้ น ย อมทํ าในบทศึ กษาว า เราเป นผู ตามเห็ นซึ่ งความสลั ดคื นอยู เป นประจํ า จักหายใจเขา ดังนี้ ; ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูตามเห็นซึ่งความสลัดคืนอยู

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เปนประจํา จักหายใจออก ดังนี้.”๒

สิ่ ง ที่ จ ะต อ งวิ นิ จ ฉั ย ในอานาปานสติ ขั้ น นี้ คื อ ทํ า อย า งไรเรี ย กว า เป น การสลัดคืน ;และทําอยางไรจึงจะเรียกวา ปฏินิสสัคคานุปสสี คือผูตามเห็น

๑ ๒

การบรรยายครั้งที่ ๔๘ / ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๐๒ ปฏินิสฺสคฺคานุปสฺสี อสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ ; ปฏินิสฺสคฺคานุปสฺสี ปสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ.

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๑๖ การเห็นความสลัดคืน

๔๐๙

ความสลัดคือนอยูเปนประจํา. สําหรับสิ่งที่จะตองสลัดคืนก็หมายถึงทั้ง ๓ ประเภท กลาวคือ เบญจขันธ สฬายตนะ และ ปฏิจจสมุปบาทมีอาการสิบสอง เชนเดียว กับในอานาปานสติขั้นที่แลวมา. สวนการทําในบทศึกษาทั้งสามนั้น มีอาการ อยางเดียวกับที่กลาวแลวในอานาปานสติขั้นที่สิบสาม. คําวา สลัดคืน หรือปฏินิสสัคคะ นั้น มีลักษณะ ๒ อยาง คือ การสลัด คืนซึ่งสิ่งนั้นออกไปโดยตรง อยางหนึ่ง ; หรือมี จิตนอมไปในนิพพานอันเปนที่ดับ สนิทแหงสิ่งทั้งหลายเหลานั้น อีกอยางหนึ่ง. อยางแรกมีความหมายเปนการ สลัด สิ่ง เหลา นั้น ออกไปในทํา นองวา ผูส ลัด ยัง คงอยูใ นที่เ ดิม ; อยา งหลัง มี ความหมายไปในทํานองวา สิ่งเหลานั้นอยูในที่เดิม สวนผูสลัดผลหนีไปสูที่อื่น. ถ ากล าวอย างบุ คคลาธิ ษฐานก็ เหมื อนอย างว าเป นคนละอย าง แต ย อม มี ผ ลในทางธรรมาธิ ษ ฐานเป น อย า งเดี ย วกั น เปรี ย บเหมื อ นบุ ค คลที่ ส ลั ดสิ่ ง อั น เป น ที่ รั ก ที่ พ อใจ เขาจะกระทํ า โดยเอาสิ่ ง เหล า นั้ น ไปทิ้ ง เสี ย หรื อ จะกระทํ า โดยวิ ธี ห นี ไปให พ นจากสิ่ งเหล านั้ นก็ ตาม ผลย อมมี อยู เป นอย างเดี ยวกั น คื อความปราศจาก สิ่งเหลานั้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org การที่ ท านกล าวไว เป น ๒ อย างดั งนี้ เพื่ อการสะดวกในการที่ จะเข าใจ สํ า หรั บ บุ ค คลบางประเภทที่ มี ส ติ ป ญ ญาต า งกั น มี ค วามหมายในการใช คํ า พู ด จา ตางกันเทานั้น ; แตถาตองการความหมายที่แตกตางกันจริง ๆ แลว ก็พอที่จะ แบงออกไดเปน ๒ อยาง ดังนี้ คือ :(๑) สิ่งใดยึดถือไว โดยความเปนของ ของตน (อตฺตนียา) การ สลั ด คื น สิ่ ง นั้ น กระทํ า ได ด ว ยการสละสิ่ ง นั้ น เสี ย กล า วคื อ การพิ จ ารณาจนเห็ น ว า ไมควรจะถือวาเปนของของตน.

www.buddhadasa.in.th


๔๑๐

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๐

(๒) สิ่งใดที่ถูกยึดถือไวโดยความเปนตน (อตตา) การสละสิ่งนั้น ๆ นั้น กระทําไดดวยการนอมไปสูนิพพาน กลาวคือ ความดับสนิทแหงสิ่งนั้น ๆ เสีย. อย างไรก็ ดี เมื่ อพิ จารณาโดยละเอี ยดแล วจะเห็ นได ว า สิ่ งที่ ยึ ดถื อไว โดย ความเป น ของตนนั้ น สลั ด ได ง า ยกว า สิ่ ง ที่ ยึ ด ถื อ ไว โ ดยความเป น ตั ว ตน ทั้ ง นี้ เ พราะ ว า สิ่ ง ที่ ยึ ด ถื อ ไว โ ดยความเป น ของตน นั้ น เป น เพี ย งสิ่ ง เกาะอยู กั บ ตน หรื อ เป น บริว ารของตน จึง อยูใ นฐานะที่จ ะทํา การสลัด คืน ไดกอ น. ขอ นี้เ ปรีย บเทีย บ ไดงาย ๆ กับความรูสึกวา ตัวกูและของกู : สิ่งที่เปน “ของกู” อาจจะปลดทิ้งไป ไดโดยงาย กวาสิ่งที่เปน “ตัวกู” ซึ่งไมรูจะปลดอยางไร จะทิ้งอยางไร ขืนทําไป ก็เทากับเปนการเชือดคอตัวเองตาย ซึ่งยังไมสมัครจะทํา. แตสําหรับสิ่งที่เปน “ของกู” นั้น อยูในวิสัยที่จะสละได ดวยความจําใจก็ตาม ดวยความสมัครใจ เพื่ อ แลกเปลี่ ย นกั บ สิ่ ง อื่ น เปน ตน ก็ต าม หรือ แมเ พราะหลุด มือ ไปเองก็ย ัง เปน สิ ่ง ที่อาจจะมีได ; สวนสิ่งที่เรียกวาตัวกูนั้นยังเปนสิ่งที่มืดมนทตอการที่จะสลัดออกไป หรื อ หลุ ด ออกไปเอง ทั้ ง นี้ เ ป น เพราะมั น เป น ตั ว ๆ เดี ย วกั น กั บ ที่ ยื น โยงอยู ใ นฐานะ ที่เปนประธานของการกระทําทุกอยาง. ฉะนั้น การที่จะสลัดคืนเสียซึ่งตัวกู จัก ตองมีอุบายที่ฉลาดไปกวาการสละของกู. เมื่อกลาวโดยบุคคลาธิษฐานก็เปน การกล า วได ว า เมื่ อ ตั ว กู อ ยากสลั ด ตั ว เองขึ้ น มาจริ ง ๆ แล ว ก็ ต อ งวิ่ ง เข า หาสิ่ ง ใด สิ่ ง หนึ่ ง ซึ่ ง สามารถทํ า ลายตั ว กู ใ ห ห มดไปโดยไม มี ส ว นเหลื อ และข อ นี้ ก็ เ ป น การ แสดงใหเห็นความหมายที่แตกตางกันอยูเปน ๒ ประการ กลาวคือ “ตัวกู” ไดสลัด สิ่ ง ซึ่ ง เป น ของกู แ ล ว เหลื อ แต ตั ว กู จึ ง วิ่ ง เข า ไปสู สิ่ ง ซึ่ ง สามารถดั บ ตั ว กู ไ ด สิ้ น เชิ ง อีก ตอ หนึ่ง . ความแตกตา งในตัว อยา งนี้ ยอ มแสดงใหเ ห็น ความแตกตา ง ๒ อยา ง ดัง ที ่ก ลา วแลว ขา งตน ไดโ ดยชัด เจน คือ จิต สลัด สิ ่ง ทั ้ง หลายทั ้ง ปวง เป น การสลั ด คื น อย า งที่ ห นึ่ ง และจิ ต แล น ไปสู นิ พ พานอั น เป น ที่ ดั บ ของสิ่ ง ทั้ ง ปวง รวมทั้งจิตเองดวย นี้ก็อยางหนึ่ง เปน ๒ อยางดวยกัน ดังนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๑๖ การเห็นความสลัดคืน

๔๑๑

ถึ ง กระนั้ น ก็ ต าม เมื่ อ กล า วในทางปฏิ บั ติ จ ริ ง ๆ แล ว ความแตกต า ง ทั้ ง ๒ อย า งนี้ ก็ ยั ง คงเป น เพี ย งความแตกต า งในทางนิ ติ นั ย ไปตามเดิ ม ส ว นทาง พฤตินัยนั้นยอมมีวิธีปฏิบัติ และผลแหงการปฏิบัติอยางเดียวกันแท. วิ ธี ปฏิ บั ติ เพื่ อความสลั ดเบญจขั นธ หรื ออายตนะออกไปนั้ น มิ ได หมาย ถึ ง การสลั ด อย า งวั ต ถุ เช น การโยนทิ้ ง ออกไปเป น ต น ได แต ห มายถึ ง การสลั ด ด ว ย การถอนอุปาทานหรือความยึดมั่นอยางใดอยางหนึ่งใหไดจริง ๆ เทานั้น. การถอน อุ ป าทานนั้ น ต อ งกระทํ า ดว ยการทํ า ความเห็น แจง ตอ อนิจ จัง ทุก ขัง อนัต ตา จนกระทั่ ง เห็ น ความว า งจากตั ว ตน ไม ว าจะเป นตนฝ ายที่ เ ป นเจ า ของ หรื อ เป น ตน ฝายที่ถูกยึดถือเอาเปนของของตน. เมื่อวางจากตนทั้งสองฝายดังนี้แลว จึงจะถอน อุป าทานได และมีผ ลเปน ความไมย ึด ถือ สิ ่ง ซึ ่ง เปน ตน เหตุแ หง ความทุก ขไ วอ ีก ตอไป. แมในการพิจารณา เพื่อ ถอนความยึดถือในเบญจขันธ หรืออายตนะ สว นใดสว นหนึ ่ง ซึ ่ง ถูก ยึด ถือ วา ตน ก็ต อ งทํ า โดยวิธ ีเ ดีย วกัน แท คือ พิจ ารณา เห็น อนิ จจัง ทุกขัง อนัตตา อีกนั่นเอง หากแตเลี่ ยงไปในทํ านองวา ทั้งหมดนี้เมื่ อ เป น อย า งนี้ มั น เป น ทุ ก ข เมื่ อ ไม อ ยากทุ ก ข ก็ น อ มจิ ต ไปเพื่ อ ความดั บ สนิ ท ไม มี เ หลื อ ของสิ่ ง เหล า นี้ เ สี ย จะได ไ ม มี อ ะไรทุ ก ข อี ก ต อ ไป เรี ย กว า เป น การน อ มไปสู นิ พ พาน หรื อ มี จิ ต แล น ไปสู นิ พ พาน แต ทั้ ง นี้ มิ ไ ด ห มายความว า ต อ งรอไปจนกว า ร า งกาย จะแตกดั บ หรื อว าจะต องรี บทํ าลายร างกายนี้ เสี ยด วยการฆ าตั วตาย ดั งนี้ ก็ หาไม . การฆ าตั วตายไม ได ทํ าให อุ ปาทานนั้ นหมดไป กลั บเป นอุ ปทานอี กอย างหนึ่ ง อย า ง เต็มที่อยูทีเดียว จึงจะฆาตัวตายได. สวนการรอไปจนรางกายแตกทําลายนั้น ไม ใ ช วิ ธี ข องการปฏิ บั ติ และการแตกทํ า ลายของร า งกายนั้ น มิ ไ ด ห มายความว า เป นการหมดอุ ปาทาน เพราะคนและสั ตว ตามธรรมดาสามั ญก็ มี การแตกตายทํ าลาย ขั น ธ อ ยู เ องแล ว เป น ประจํ า ทุ ก วั น ไม เ ป น การทํ า ลายอุ ป ทานได ด ว ยอาการสั ก ว า

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๔๑๒

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๐

รางกายแตกทําลายลง. เพราะฉะนั้นการฆาตัวเองตายก็ดี การรอไปจนแตกทําลาย เองก็ด ี ไมเ ปน การดับ อุป าทานที ่ย ึด ถือ วา ตัว ตนไดแ ตอ ยา งใดเลย จึง ไมแ ลน ไปสู นิ พ พานได ด ว ยการทํ า อย า งนั้ น ยั ง คงทํ า ได แ ต โ ดยวิ ธี ที่ ยั ง มี ชี วิ ต อยู นี่ แ หละ. เมื่ อพิ จารณาเห็นวา ถามีความยึดถือวาตัวตนอยู เพี ยงใดแลว ก็จะต องมีความทุ กข นานาชนิ ด อยู ที่ ต นเพี ย งนั้ น จึ ง น อ มจิ ต ไปในทางที่ จ ะไม ใ ห มี ต นเพื่ อ เป น ที่ ตั้ ง ของ ความทุ กข อีกต อไป นิ้ เรี ยกวามี จิ ตน อมไปเพื่ อความดั บสนิ ทของตน ซึ่ งเรี ยกได ว า น อ มไปเพื่ อ นิ พ พาน แล ว ก็ ตั้ ง หน า ตั้ ง ตาทํ า การปฏิ บั ติ เพื่ อ ให เ ห็ น อนิ จ จั ง ทุ ก ขั ง อนั ตตา ในระดั บสู งสุ ด ซึ่ งทํ าให ไม รู สึ กว ามี ตั วตนเหลื ออยู จริ ง ๆ มี แต สั งขารธรรม ลวน ๆ หมุนไปตามเหตุตามปจจัยของมัน. สิ่งที่เรียกวาความทุกข เชนความแก ความตาย เปน ตน ก็ร วมอยู ใ นกลุ ม นั ้น คือ เปน สัง ขารธรรมสว นหนึ ่ง ในบรรดา สัง ขารธรรมทั ้ง หมด ที ่ห มุน เวีย นไปตามเหตุต ามปจ จัย ของมัน ไมม ีส ว นไหน ที่ มี ความยึ ดถื อว าเป นตั วเราหรื อของเรา แม แต จิ ตที่ กํ าลั งรู สึ กนึ กคิ ดได หรื อ กํ าลั ง มองเห็ น ความเป น ไปของสั ง ขารธรรมเหล า นั้ น อยู จิ ต นั้ น ก็ มิ ไ ด ยึ ด ถื อ ตั ว มั น เองว า เปนตัวตน หรือยึดถือตัวมันวาเปนจิต – ผูรู ผูเห็น : แตกลับไปเห็นวาตัวจิตนั้น ก็ ดี การรู ก ารเห็ น นั้ น ก็ ดี เป น แต เ พี ย งสั ง ขารธรรมล ว น ๆ อี ก นั่ น เอง และเห็ น ว า สั ง ขารธรรมทั้ ง หมดทั้ ง สิ้ น นั้ น ก็ เ ป น สั ก ว า สั ง ขารธรรม คื อ เป น ธรรมชาติ ห รื อ ธรรมดาที่ เ ป น อยู อ ย า งนั้ น เอง หาใช เ ป น ตั ว เป น ตนเป น เราเป น เขา เป น ผู ยึ ด ครอง หรื อ ถู ก ยึ ด ครอง ดั ง นี้ เ ป น ต น แต ป ระการใด เมื่ อ จิ ต เข า ถึ ง ความว า งจากตั ว ตน อย า งแท จ ริ ง ดั ง นี้ แ ล ว ก็ เ ท า กั บ เป น การดั บ ตั ว เองโดยสิ้ น เชิ ง ซึ่ ง เรี ย กว า นิ พ พาน ในที่นี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เพราะฉะนั้ นปฏิ นิ สสั คคะ คื อการสลั ดคื นชนิ ดที่ ใช อุ บายด วยการทํ าจิ ต ให แ ล น ไปสู นิ พ พานนั้ น ก็ มี วิ ธี ป ฏิ บั ติ มี ค วามหมายแห ง การปฏิ บั ติ และมี ผ ลแห ง

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๑๖ การเห็นความสลัดคืน

๔๑๓

การปฏิบัติเปนอยางเดียวกันกับปฏินิสสัคคะ ชนิดที่มีอุบายวาสลัดสิ่งทั้งปวงเสีย ; เพราะว า อุ บ ายทั้ ง ๒ วิ ธี นี้ ล ว นแต มี ค วามหมายอย า งเดี ย วกั น คื อ ทํ า ความว า งจาก ตั ว ตนหรื อ ที่ เ รี ย กว า สุ ญ ญตานั้ น ให ป รากฏขึ้ น มาให จ นได ถ า ไปเพ ง ความว า งของฝ า ย สิ่ ง ที่ ถู ก ยึ ด ถื อ ก็ เ รี ย กว า สลั ด สิ่ ง เหล า นั้ น ออกไป แต ถ า เพ ง ความว า งของฝ า ยที่ เ ป น ผู ยึ ด ถื อ กล า วคื อ จิ ต ก็ ก ลายเป น การทํ า จิ ต นั้ น ให เ ข า ถึ ง ความว า ง (คื อ เป น นิ พ พาน ไปเสียเอง) ความมุงหมายจึงเปนอยางเดียวกัน คือเปนการใหทั้ง ๒ ฝายเขาถึง ความวางโดยเสมอกัน ความทุกขก็เกิดขึ้นไมได : และโดยพฤตินัยทั้ง ๒ อยาง นั้ น เป น อย า งเดี ย วกั น คือ มีแ ตเ พีย งอยา งใดอยา งหนึ ่ง ถา ถึง ที ่ส ุด จริง ๆ แลว มัน ก็ดับ ทุก ขทั้ง ปวงไดดว ยกัน ทั้ง นั้น . และการที่ใ หสิ่ง ทั้ง หลายทั้ง ปวงวา งไป โ ด ย ที ่จ ิต ยัง เ ห ล ือ อ ยู เ ปน ตัว ต น ไ มต อ ง วา ง นั ้น เ ปน สิ ่ง ที ่ม ีไ มไ ดห รือ ทํ า ไ มไ ด เพราะวา สิ ่ง ที ่เ รีย กวา ความวา งนั ้น มัน มีเ พีย งอยา งเดีย วตัว เดีย วหรือ สิ ่ง เดีย ว ถ า ลงเข า ถึ ง จริ ง ๆ แล ว มั น จะทํ า ให ว า งหมด ทั้ ง ฝ า ยผู ยึ ด ถื อ และฝ า ยสิ่ ง ที่ ถู ก ยึ ด ถื อ ทั้ ง หลายทั้ ง ปวง ฉะนั้ น โดยพฤติ นั ย เมื่ อ ปฏิ บั ติ ถึ ง ที่ สุ ด แล ว ย อ มว า งไปทั้ ง สอง ฝายพรอมกันในทันใดนั้นเอง ; ถาผิดจากนี้มันเปนเพียงความวางชนิดอื่น คือ ความว า งที่ ไ ม จ ริ ง แท เป น ความว า งชั่ ว คราว และเพี ย งบางขั้ น บางตอนของการ ปฏิ บั ติ ที่ ยั ง ไม ถึ ง ที่ สุ ด มี ผ ลเพี ย งทํ า ให ป ล อ ยวางสิ่ ง นั้ น ๆ ได ชั่ ว คราว และก็ ป ล อ ย ได เ ฉพาะแต ฝ า ยที่ ป ล อ ยง า ย เช น ฝ า ยที่ ถู ก ยึ ด ถื อ ไว โ ดยความเป น ของของตน หรื อ ของกูบางสวนเทานั้น แตไมกระทบกระเทือนถึงตัวตนหรือตัวกูเลย. ตอเมื่อใด สุ ญ ญตาหรื อ ความว า งอั น แท จ ริ ง ปรากฏออกมา เมื่ อ นั้ น จึ ง จะว า งอย า งแท จ ริ ง และ ไม มี อ ะไรรอหน า เป น ตั ว ตนอยู ไ ด ตั ว ตนฝ า ยการกระทํ า ก็ ดี ตั ว ตนฝ า ยที่ ถู ก กระทํ า ก็ ดี ตั ว การกระทํ า นั้ น ๆ ก็ ดี ตั ว ผลแห ง การกระทํ า นั้ น ๆ ก็ ดี ไม ว า จะถู ก จั ด ไว เป น ฝ า ยกุ ศ ลหรื อ ฝ า ยอกุ ศ ล หรื อ ฝ า ยอั พ ย ากฤต คื อ มิ ใ ช ทั้ ง กุ ศ ลและอกุ ศ ลก็ ดี ยอมเขาถึงความวางไปดวยกันทั้งหมดทั้งสิ้น. อาการแหง การสลัดคืน กลาวคือ

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๔๑๔

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๐

ปฏิ นิ ส สัค คะมีขึ ้น ไดถ ึง ที ่ส ุด โดยไมต อ งมีใ ครเปน ตัว ผู ส ละคืน เพราะเปน ของวา ง ไปด ว ยกั น ทั้ ง หมด แม แ ต ตั ว การสลั ด คื น ตั ว สิ่ ง ที่ ถู ก สลั ด คื น ก็ ยั ง คงเป น ของว า ง กลาวคือเปนความดับสนิทแหงความมีตัวตนนั่นเอง. ฉะนั้น เมื่อกลาวโดยปรมัตถ หรื อโดยความจริ งอั นสู งสุ ดแล ว ย อมกล าวได ว าความว างอย างเดี ยวเท านั้ น เป นตั ว ความสลั ดคื นอย างแท จริ ง และมี เพี ยงอย างเดี ยว หามี เป น ๒ อย างหรื อหลายอย าง ดั ง ที่ ก ล า วโดยโวหารแห ง การพู ด จา ด ว ยการแยกเป น ฝ ก ฝ า ย ดั ง ที่ ก ล า วอย า ง บุคคลาธิษฐานขางตนนั้นไม. เบญจขั น ธ ก็ ดี อายตนะภายในทั้ ง หกก็ ดี อาการปรุ ง แต ง ซึ่ ง กั น และกั น ของสิ่ ง เหล า นั้ น อั น เรี ย กว า ปฏิ จ จสมุ ป บาทก็ ดี เป น สิ่ ง ที่ อ าจถู ก สลั ด คื น โดยสิ้ น เชิ ง ไดดวยการทําใหเขาถึงความวาง ดังที่กลาวแลวนั่นเอง. นั้น ยอมเปนการ การพิจารณาเบญจขันธโดยความเปนของวาง๑ สลั ด คื น ซึ่ ง เบญจขั น ธ อ ยู ใ นตั ว มั น เอง กล า วคื อ ก อ นหน า นี้ รั บ หรื อ ยึ ด ถื อ เบญจขั น ธ บางส ว นว า เป น ตั ว ตน บางส ว นว า เป น ของตน ด ว ยอํ า นาจของอุ ป าทาน บั ด นี้ เบญจขั น ธ นั้ น ถู ก พิ จ ารณาเห็ น ตามที่ เ ป น จริ ง คื อ เป น ของว า งไปหมดไม เ ป น ที่ ตั้ ง แหงอุปาทานอีกตอไป อุปาทานจึงดับลง. เมื่ออุปาทานดับก็ไมมีอะไรที่จะเปน เครื่อ งยึด ถือ และเบญจขัน ธก็เ ปน ของวา งไปแลว . เมื่อ ไมมีก ารยึด ถือ หรือ การรับ ไวเ ชน นี ้ ก็ม ีผ ลเทา กับ เปน การสลัด คืน ทั ้ง ที ่ไ มต อ งมีต ัว ผู ส ลัด คืน เพราะจิตและอุปาทานก็กลายเปนของวางจากตัวตนไป. สรุปความไดวา การ พิจารณาเบญขันธใหเปนของวางนั่นแหละ คือการสลัดเบญขันธทิ้งออกไป

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

. การบรรยายครั้งที่ ๔๙ / ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๐๒

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๑๖ การเห็นความสลัดคืน

๔๑๕

ซึ่ง เรี ย กวา ปริ จ จาคปฏิ นิ สสั ค คะ ; และพิจ ารณาเห็น จิ ต เป นของว า งจากตั ว ตน นั่ น แหละคื อ การทํ า จิ ต ให แ ล น เข า ไปสู นิ พ พาน อั น เป น ที่ ดั บ ของเบญจขั น ธ ทั้ ง ปวง ซึ่งรวมทั้งจิตนั้นเองดวย อันนี้เรียกวา ปกขันทนปฏินิสสัคคะ. การพิจารณา เบญจขั น ธ เ ป น ของว า ง ก็ คื อ การพิ จ ารณาโดยความเป น อนิ จ จั ง ทุ ก ขั ง อนั ต ตา จนถึงที่สุด ตามนัยอันกลาวแลวโดยละเอียดขั้นที่สิบสามเปนตน. การพิจารณาอายตนะภายในทั้งหก โดยความเปนของวาง ก็มี ลั กษณะอย างเดี ยวกั นกั บเรื่ องของเบญจขั น ธ เพราะอายตนะภายในทั้ งหกนั้ นเป น สว นหนึ ่ง ของเบญจขัน ธไ ดแ กข ัน ธที ่ทํ า หนา ที ่รู อ ารมณที ่ม าสัม ผัส นั ่น เอง หรือ อี กอย างหนึ่ งก็ กล าวได ว าหมายถึ งกลุ มแห งเบญจขั นธ ในขณะที่ ทํ าหน าที่ รั บอารมณ ทางตา หู จมู ก ลิ้ น กาย และใจ นั่ นเอง การทํ าให สิ่ งทั้ งหกนี้ เป นของว าง ก็ คื อ การพิ จ ารณาโดยความเป น สั ง ขาร หรื อ ความเป น ธรรมชาติ ล ว น ๆ หามี ค วามเป น ตั วตนแต อย างใดไม แต มี ลั กษณะเป นเครื่ องกลไกตามธรรมชาติ ของมั นเอง ในการ ที่ จ ะรั บ อารมณ ไ ด ตามธรรมดาของรู ป ธรรมและนามธรรมที่ กํ า ลั ง จั บ กลุ ม กั น อยู ซึ่ ง สามารถทํ า อะไรได อ ย า งน า มหั ศ จรรย จนเกิ ด ความสํ า คั ญ ผิ ด ไปว า สิ่ ง เหล า นี้ เปนอัตตาหรือตัวตน หรือวามีอัตตาตัวตนอยูในสิ่งเหลานี้. การพิจารณาสิ่งเหลานี้ จนกระทั่งเห็นโดยความเปนของวางนั้น จัดเปนปกขันทนปฏินิสสัคคะโดยแท โดย ใจความก็คือแยกขันธสวนที่เปนจิตออกมาพิจารณาโดยความเปนของวางนั่นเอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org การพิจ ารณาอาการแหง ปฏิจ จสมุป บาท โดยความเปน ของวา ง นั ้น เปน การพิจ ารณาใหเ ห็น วา กลไกโดยอัต โนมัต ิข องรูป ธรรมและนามธรรม กล า วคื อ การปรุ ง แต ง นั่ น นี่ สื บ กั น ไปเป น สายไม มี ห ยุ ด นั้ น ก็ เ ป น เพี ย งกลไกตาม

www.buddhadasa.in.th


๔๑๖

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๐

ธรรมชาติของรูป ธรรมนามธรรมที่ส ามารถทํา หนา ที่อ ยา งนั้น เองไดโ ดยอัต โนมัติ ในตัวธรรมชาติเองลวน ๆไมตองมีอัตตาหรือเจตภูตเปนตนอะไรที่ไหนเขาไปเปน ตัวการในการกระทําหรือใชใหทําแตอยางใดเลย มันเปนเพียงการเคลื่อนไหวของ ธรรมชาติลว น ๆ ปรุง แตง กัน เองในเมื่อ เขา มาเกี่ย วขอ งกัน มีก ารกระทํา ตอบแก กันและกัน ผลักดันเปนเหตุและผลแกกันและกั น จึงเกิดอาการปรุง แตงเรื่อ ยไป ไมมีหยุด. เพราะฉะนั้น รูปธรรมและนามธรรมเหลานั้น ในขณะที่กําลังเปนเหตุ เปน ปจ จัย ก็ดี หรือ ในขณะที ่กํ า ลัง เปน ผลหรือ เปน วิบ ากก็ด ีแ ละอาการตา ง ๆ ที่ มั น ปรุ ง แต ง กั น เพื่ อ ให เ กิ ด เป น ผลมาจากเหตุ แ ล ว ผลนั้ น กลายเป น เหตุ ต อ ไปใน ทํา นองนี้ อ ย า งไม มี หยุ ด หย อ นก็ ดี ล วนแต เ ป น อาการตามธรรมชาติ ข องรู ป ธรรม นามธรรมลวน ๆ ไมมีอัตตาหรือตัวตนอะไรที่ไหนที่มีสวนเขาไปเกี่ยวของดวยเลย ทุ ก ส ว นจึ ง ว า งจากความหมายแห ง ความเป น ตั ว ตน และความเป น ของของตน โดยสิ้นเชิง. นี้คืออาการสลัดคืนออกไปเสียไดซึ่งปฏิจจสมุปบาทธรรมทุก ๆ สวน ทั้งที่เปนสวนเหตุ และสวนผล และสวนที่กําลังเปนเพียงอาการปรุงแตง. ฉะนั้น จึง เปน อัน กลา วไดว า การสลัด คืน ซึ ่ง กลุ ม แหง ปฏิจ จสมุป บาทนี้ เปน ทั้ง บริจ าคปฏินิสสัคคะ และเปนทั้งปกขันทนปฏินิสสัคคะ กลาวคือ สลัดคืนเสียไดทั้งสวน ที่เปนเบญจขันธ คือสวนที่เปนผล และทั้งสวนที่ถูกสมมติวาเปนจิตเปนผูทํากิริยา อาการเหลานั้น อันเกิดขึ้นจากความไมรูจริง หรือความหลงผิดโดยสิ้นเชิง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เมื่อประมวลเขาดวยกันทั้ง ๓ อยาง ก็เปนอันกลาวไดวาเปนการสลัดคืน เสียซึ่งโลกในฐานะเปนอารมณและสลัดคืนเสียซึ่งจิตในฐานะเปนผูเสวยอารมณ คือโลก และสลัดเสียซึ่งการเกี่ยวของ หรือการปรุงแตงผลักดันกันตาง ๆ บรรดา ที่มีอ ยูใ นโลก ที่ป รุง แตง โลก หรือ ที ่เ กี่ย วพัน กัน ระหวา งโลกกับ จิต ซึ่ง เปน ผู รูส ึก ต อ โลก เมื่ อ สละคื น เสี ย ได ทั้ ง หมด ๓ ประเภทดั ง นี้ แ ล ว ก็ เ ป น อั น ว า ไม มี อ ะไร

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๑๖ การเห็นความสลัดคืน

๔๑๗

เหลื อ อยู สํ า หรั บ เป น ที่ ตั้ ง ของความทุ ก ข ห รื อ ความยึ ด ถื อ ซึ่ ง เป น เหตุ แ ห ง ความทุ ก ข อี กเลยแม แต น อย มี อยู ก็ แต ความไม มี ทุ กข ความดั บเย็ น ความสงบรํ างั บ ความ หลุ ด พ น ความปล อยวาง ไม มี การแยกถื อ โดยประการทั้ งปวง หรื อ อะไรอื่ นก็ ตาม แล ว แต จ ะเรี ย ก แต ร วมความว า เป น ที่ สิ้ น สุ ด หรื อ เป น ที่ จ บลงโดยเด็ ด ขาดของ สั งสารวั ฏฏ กล าวคื อกระแสของความทุ กข ซึ่ งเรานิ ยมเรี ยกภาวะเช นนี้ ว าเป นการ ลุ ถ ึง นิพ พาน.ทั ้ง หมดนี ้เ ปน การแสดงใหเ ห็น ไดว า ปฏิน ิส สัค คะคือ การสลัด คืน นั ้น มีความเกี่ยวของกันอยางไรกับความหมายของคําวานิพพาน. สวน ปญหาที่วาทําอยางไรจึงจะไดชื่อวาปฏินัสสัคคานุปสสี กลาวคือ ผู ตามเห็ นซึ่ งความสลั ดคื นอยู เป นประจํ านั้ น อธิ บายว าผู ปฏิ บั ติ อานาปานสติ มาจน ถึ งขั้ นนี้ แล ว จะต องเปลี่ ยนกฎเกณฑ ในการกํ าหนดพิ จารณากั นเสี ยใหม คื อย ายให สูงขึ้นไป ใหเกิดมีความรูสึกชัดแจงในการสลัดคือนของตน. คือหลังจากเห็นความ เป น อนิ จจั ง ทุ ก ขั ง อนั ตตาแล ว เกิ ดความพอใจในการที่ คลายความยึ ดถื อ หรื อ ใน ความดั บแห งสั งขารทั้ งปวงแล ว ทํ าจิ ตให วางเฉยต อสั งขารทั้ งหลาย ที่ ได พิ จารณา เห็นโดยความเปนของวางอยางแทจริงอยูทุกลมหายใจเขา – ออก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทางที่ ดี ที่ สุ ดเขาจะต อ งย อ นไปเจริ ญอานาปานสติ ขึ้ นมาใหม ตั้ ง แต ขั้ น ที่หนึ่ง แล วคอยเพงพิจารณาทุกสิ่งทุกอยางที่ปรากฏ นับตั้งแต ลมหายใจ นิมิตและ องค ฌานขึ้ นมาจนถึ งธรรมที่ เป นที่ ตั้ ง แห งความยึ ดถื อโดยตรงเช นสุ ขเวทนาในฌาน และจิ ต ที่ กํ า หนดสิ่ ง ต า ง ๆ ให เ ห็ น โดยความเป น ของควรสลั ด คื น หรื อ ต อ งสลั ด คื น อย า งที่ ไ ม ค วรจะยึ ด ถื อ ไว แ ต ป ระการใดเลย ;แล ว เพ ง พิ จ ารณาไปในทํ า นองที่ สิ่ ง เหล า นั้ นเป น อนิ จ จั ง ทุ ก ขั ง อนั ตตา ยิ่ งขึ้ นไปตามลํ าดั บ จนจิ ตประกอบอยู ด ว ย ความเบื่ อ หน า ย คลายกํ า หนั ด ต อ สิ่ ง เหล า นั้ น ประกอบอยู ด ว ยธรรมเป น ที่ ดั บ

www.buddhadasa.in.th


๔๑๘

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๐

แห ง สิ่ ง เหล า นั้ น คื อ ความเห็ น แจ ม แจ ง ว า สิ่ ง เหล า นั้ น ไม ไ ด มี ตั ว ตนอยู จ ริ ง จน กระทั ่ง ไดป ลอ ยวาง หรือ วา งจากความยึด ถือ ในสิ ่ง เหลา นั ้น ยิ ่ง ขึ ้น ไปตามลํ า ดับ จนกวา จะถึง ที ่ส ุด แหง กิจ ที ่ต อ งทํ า คือ ปลอ ยวางดว ยสมุจ เฉทวิม ุต ติจ ริง ๆ. แม ใ นระยะต น ๆ ที่ ยั ง เป น เพี ย งตทั ง ควิ มุ ต ติ คื อ พอสั ก ว า มาทํ า อานาปานสติ จิ ต ปล อยวางเองก็ ดี และในขณะแห งวิ กขั มภนวิ มุ ตติ คื อจิ ตประกอบอยู ด วยฌานเต็ มที่ มี ก ารปล อ ยวางไปด ว ยอํ า นาจของฌานนั้ น จนตลอดเวลาแห ง ฌานก็ ดี ก็ ล ว นแต เป นสิ่ งที่ ต องพยายามกระทํ าด วยความระมั ดระวั ง อย างสุ ขุ มแยบคายที่ สุ ดอยู ทุ กลม หายใจเขา – ออกจริง ๆ. เมื่อกระทําอยูดังนี้ จะเปนการกระทําที่กําหนดอารมณ อะไรก็ต ามในระดับ ไหนก็ต าม ลว นแตไ ดชื ่อ วา เปน ปฏิน ิส สัค คานุป ส สีด ว ยกัน ทั้งนั้น. เมื่ อ กระทํ า อยู ดั ง นี้ ก็ ชื่ อ ว า เป น การเจริ ญ ธรรมานุ ป ส สนาสติ ป ฏ ฐานภาวนาขั้ นสุ ดท ายเป นภาวนาที่ แท จริ ง ประมวลมาได ซึ่ งสโมธานธรรม ๒๙ ประการ ในระดั บ สู ง สุ ด ของการปฏิ บั ติ บํ า เพ็ ญ อานาปานสติ ในขั้ น ที่ เ ป น วิ ป ส สนาภาวนา โดยสมบูรณ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org วินิจฉัยในอานาปานสติขั้นที่สิบหกสิ้นสุดลงเพียงเทานี้.

สํ า หรั บ จตุ ก กะที่ สี่ นี้ จั ด เป น ธรรมานุ ป ส สนาสติ ป ฏ ฐานภาวนาด ว ยกั น ทั้งนั้น. ขั้นแรกพิจารณาความเปน อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ซึ่งสรุปรวมลงได เปนสุญญตา มีความหมายสํ าคัญอยู ตรงที่ว างอยางไมนายึดถือ ขืนยึดถือก็เป นทุกข . ขั้ นต อมากํ าหนดพิ จารณา ในการทํ าความจางคลายจากความยึ ดถื อ ต อสิ่ งเหล านั้ น เพราะเกลียดกลัวโทษ กลาวคือ ความทุกขอันเกิดมาจากความยึดถือ. ขั้นตอมาอีก กํ าหนดพิ จารณาไปในทํ านองที่ จะให เห็ นว า มั นมิ ได มี ตั วตนอยู จริ งไปทั้ งหมดทั้ งสิ้ น

www.buddhadasa.in.th


ขั้นที่ ๑๖ การเห็นความสลัดคืน

๔๑๙

หรื อ ทุ ก สิ่ ง ทุ ก อย า ง การยึ ด ถื อ เป น ยึ ด ถื อ ลม ๆ แล ง ๆ เพราะว า ตั ว ผู ยึ ด ถื อ ก็ ไ ม ไ ด มี ตั ว จริ ง สิ่ ง ที่ ถู ก ยึ ด ถื อ ก็ ไ ม ไ ด มี ตั ว จริ ง แล ว การยึ ด ถื อ มั น จะมี ตั ว จริ ง ได อ ย า งไร ; พิจารณาไปในทางที่จะดับตัวตนของสิ่งทั้งปวงเสียโดยสิ้นเชิง. สวนขั้นที่สี่อัน เป น ขั้ น สุ ด ท ายนั้ น กํ าหนดพิ จารณาไปในทางที่ ส มมติ เ รี ยกได ว า บั ดนี้ ได สลั ดทิ้ งสิ่ ง เหล า นั้ น ออกไปหมดแล ว ด ว ยการทํ า ให มั น ว า งลงไปได จ ริ ง ๆ คื อ สิ่ ง ทั้ ง ปวงเป น ของวางไปแลว และ จิตก็มีอาการที่สมมติเรียกวา “เขานิพพานเสียแลว” คือ สลายตั ว ไปในความว า งหรื อ สุ ญ ญตานั้ น ไม มี อ ะไรเหลื อ อยู เ ป น ตั ว ตน เพื่ อ ยึ ด ถื อ อะไร ๆ วาเปนของตนอีกตอไปเลย. การปฏิ บั ติ หมวดนี้ ได ชื่ อ ว า พิ จารณาธรรม ก็ เพราะพิ จารณาที่ ตั วธรรม ๔ ประการโดยตรง คื อพิ จารณาที่ อนิ จจตา วิ ราคะ นิ โรธะ และปฏิ นิ สสั คคะ โดยนั ย ดั ง ที่ ก ล า วแล ว ต า งจากจตุ ก กะที่ ห นึ่ ง เพราะในที่ นั้ น พิ จ ารณากายคื อ ลมหายใจ ; ตางจากจตุกกะที่สอง เพราะในที่นั้นพิจารณาเวทนาโดยประการตาง ๆ ; ตางจาก จตุกกะที่สาม เพราะในที่นั้นพิจารณาที่จิตโดยวิธีตาง ๆ ; สวนในที่นี้เปนการ พิ จารณาที่ ธรรม กล าวคื อ สภาวะธรรมดา ที่ เป นความจริ งของสิ่ งทั้ งปวง ที่ รู แล ว ใหจิตหลุดพนจากทุกขได ตางกันเปนชั้น ๆ ดังนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อานาปานสติ จตุกกะที่สี่จบ.

www.buddhadasa.in.th


ประมวลจตุกกะทั้งสี่ จตุ ก กะที่ ห นึ่ ง เป น สมถภาวนาล ว น ส ว นจตุ ก กะที่ ส องและที่ ส ามเป น สมถภาวนาที ่เ จือ กัน กับ วิป ส สนาภาวนาสว นจตุก กะที ่สี ่นี ้ เปน วิป ส สนาภาวนา ถึงที่สุด. สมถภาวนา คื อ การกํ า หนดโดยอารมณ ห รื อ นิ มิ ต เพื่ อ ความตั้ ง มั่ น แหงจิต มีผลถึงที่สุดเปนฌาน ; สวนวิปสสนาภาวนานั้น กําหนดโดยลักษณะ คือ ความไมเ ที ่ย ง เปน ทุก ข เปน อนัต ตา ทํ า จิต ใหรู แ จง เห็น แจง ในสิ ่ง ทั ้ง ปวง มีผลถึงที่สุดเปนญาณ : เปนอันวาอานาปานสติทั้ง ๑๖ วัตถุนี้ ตั้งตนขึ้นมาดวย การอบรมจิ ตให มี กํ าลั งแห งฌานด วยจตุ กกะที่ หนึ่ ง แล วอบรมกํ าลั งแห งญาณให เกิ ด ขึ้นผสมกําลังแหงฌานในจตุ กกะที่ สอง ที่สาม โดยทั ดเที ยมกัน และกํ าลั งแห งญาณ เดิ น ออกหน า กํ า ลั ง แห ง ฌาน ทวี ยิ่ ง ขึ้ น ไปจนถึ ง ที่ สุ ด ในจตุ ก กะที่ สี่ จนสามารถ ทําลายอวิชชาไดจริงในลําดับนั้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org วินิจฉัยในอานาปานสติ อันมีวัตถุสิบหก และมีจตุกกะสี่ สิ้นสุดลงเพียงเทานี้.

๔๒๐

www.buddhadasa.in.th


ภาคผนวก ตอน ยี่สิบเอ็ด ผนวก ๑ - วาดวยญาณเนื่องดวยอานาปานสติ๑ คําวา “ญาณ” มีความหมาย ๒ ความหมาย อยางแรกหมายถึงการรู สิ่ง ที่ ตอ งรู ซึ่ง อาจจะรูไ ด เมื่ อ กํา ลั งทํ า อยูพ ร อ มกั นไปในตั ว หรือ ว าด วยการศึ ก ษา มากอนถึงเรื่องนั้ น ๆ ตามสมควร แลวมารูแจง สิ่งนั้นอยางสมบูร ณ ในเมื่อ มีการ ปฏิบัติไปจนถึงที่สุด. ตัวอยางเชนเมื่อทําบานเรือนสําเร็จ คนคนนั้นก็มีความรู เรื่องการทําบานเรือน ; ความรูบางอยางก็มีมาแลวกอนทํา ความรูบางอยางก็เพิ่ง จะมีขึ้ นเมื่อ กํา ลัง ทํา และความรูทั้ ง หมดย อ มสมบูร ณเ มื่อ ทํา งานนั้น สําเร็ จไปแล ว จริง ๆ. ฉะนั้น คําวา ญาณในประเภทแรกนี้ หมายถึงสิ่งที่เราเรียกกันตามโวหาร ธรรมดาวา “ความรู” หมายถึงความรูที่ถูกตอง เพราะไดผานสิ่งนั้น ๆ มาแลว จริง ๆ. สวนความหมายของคําวา ญาณอยางที่สองนั้น เล็งถึงความรูแจงแทงตลอด เฉพาะเรื่อง และเปนการเห็นแจงภายในใจลวน เนื่องมาจากการเพงโดยลักษณะ มี ลั ก ษณะแห ง ความไม เ ที่ ย ง เป น ทุ ก ข เป น อนั ต ตา เป น ประธาน ซึ่ ง เรี ย กโดย โวหารธรรมดาวา “ความรูแจง” เห็นแจง หรือเลยไปถึงความแทงตลอด ซึ่งมี หนาที่เจาะแทงกิเลสโดยตรง ; ในเมื่อญาณตามความหมายทีแรก หมายถึงเพียง ความรูที่ทําใหเราสามารถทําสิ่งตาง ๆ ไดสําเร็จ และรูถึงที่สุดเมื่อทําสําเร็จเทานั้น. และเราจะไดวินิจฉัยกันในญาณตามความหมายประเภทแรกกอน ดังตอไปนี้ :-

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

การบรรยายครั้งที่ ๕๐ / ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๐๒

๔๒๑

www.buddhadasa.in.th


๔๒๒

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๑

เมื่ อ บุ ค คลเจริ ญ อานาปานสติ มี วั ต ถุ ๑๖ หรื อ มี จ ตุ ก กะสี่ ดั ง ที่ ก ล า วแล ว โดยละเอี ย ดถึ ง ที่ สุ ด ไปแล ว เขาย อ มมี ค วามรู เ กี่ ย วกั บ การทํ า อานาปานสติ ทั้ ง หมด หรื อ แม ว า ก อ นจะเจริ ญ อานาปานสติ อั น มี วั ต ถุ สิ บ หกนี้ ถ า เขาอยากจะศึ ก ษามาก อ น เขาก็ต อ งศึก ษาเรื ่อ งความรู เ หลา นี ้เ อง ซึ ่ง จะตอ งตรงเปน อัน เดีย วกัน เสมอไ ป ความรูที่กลาวนี้แบงเปน ๑๑ หมวด ดังตอไปนี้ :หมวดที่ ๑ ญาณ ในธรรมที่เปนอันตรายตอสมาธิ หมวดที่ ๒ ญาณ ในธรรมที่เปนอุปการะตอสมาธิ หมวดที่ ๓ ญาณ ในโทษที่เปนเครื่องเศราหมองของสมาธิ หมวดที่ ๔ ญาณ ในธรรมคือความผองแผวของสมาธิ หมวดที่ ๕ ญาณ ในการทําตนใหเปนผูมีสติปฏฐาน หมวดที่ ๖ ญาณ ที่เปนไปตามอํานาจของสมาธิ หมวดที่ ๗ ญาณ ที่เปนไปตามอํานาจของวิปสสนา หมวดที่ ๘ ญาณ ในนิพพิทา หมวดที่ ๙ ญาณ อันอนุโลมตอนิพพิทา หมวดที่ ๑๐ ญาณ เปนที่ระงับซึ่งนิพพิทา หมวดที่ ๑๑ ญาณ ในสุขอันเกิดแตวิมุตติ

๘ ประการ ๘ ประการ ๑๘ ประการ ๑๓ ประการ ๓๒ ประการ ๒๔ ประการ ๗๒ ประการ ๘ ประการ ๘ ประการ ๘ ประการ ๒๑ ประการ

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org รวมทั้งหมดเปน ๒๒๐ ประการ หรือ ๒๒๐ เรื่อง ดังนี้ :-

www.buddhadasa.in.th


ญาณเนื่องดวยอานาปานสติ

๔๒๓

หมวดที่ ๑ - ๒ ญาณในธรรมที่เปนอันตราย และ ในธรรมที่เปนอุปการะตอสมาธิ นั้นอาจจะกลาวเปนคู ๆ ในฐานะที่เปนของตรงกันขามตอกันและกันดังตอไปนี้:กามฉันทะ เปนอันตราย เนกขัมมะ เปนอุปการะ นี้คูหนึ่ง, พยาบาท เปนอันตราย อัพยาบาท เปนอุปการะ นี้คูหนึ่ง , ถีนมิทธะ เปนอันตราย อาโลกสัญญา เปนอุปการะ นี้คูหนึ่ง , อุทธัจจะ เปนอันตราย อวิกเขปะ เปนอุปการะ นี้คูหนึ่ง, วิจิกิจฉา เปนอันตราย ธัมมววัตถานะ เปนอุปการะ นี้คูหนึ่ง, อวิชชา เปนอันตราย วิชชาหรือญาณ เปนอุปการะ นี้คูหนึ่ง, อรติ เปนอันตราย ปามุชชะ เปนอุปการะ นี้คูหนึ่ง, อกุศลธรรมทั้งปวง เปนอันตราย กุศลธรรมทั้งปวง เปนอุปการะ นี้คูหนึ่ง ; รวมเปน ๘ คู จําแนกเรียงอยาง เปน ๑๖ อยางดวยกัน. ดังที่กลาวมาแลวบอย ๆ วา จะกําหนดรูสิ่งใดตองทําสิ่งนั้น ใหปรากฏแกใจจริง ๆ เสียกอน แลวจึงกําหนดรู ; ถาสิ่งนั้นปรากฏอยูเองแลว ก็มีการกําหนดรูสิ่งนั้นไปไดเลย. การกําหนดรูความเปนอันตราย และการกําหนด รูความเปนอุปการะ จะตองกําหนดรูที่ธรรม ๑๖ ประการนี้จริง ๆ จนกระทั่งรูจัก ตัว จริง ของสิ่ ง นั้ นจริ ง ๆ รูจั ก ความที่ สิ่ง นั้ นทํ า อั นตรายแก ส มาธิ หรื อ เป น อุ ป การะ แกสมาธิอยางประจักษชัดแกใจตน ในขณะที่ตนกําลังพยายามจะทําจิตใหเปนสมาธิ ซึ่งตองทําการตอสูหรือทําการประคับประคองอยางใดอยางหนึ่งอยูในขณะนั้นวามัน มีความจริงในการทําหนาที่ของมันอยางไร จึงจะเรียกวาญาณในที่นี้. รายละเอียด ตาง ๆ เกี่ยวกับธรรมทั้ง ๑๖ ประการนี้มีอยูแลวในวินิจฉัยแหงอานาปานสติขั้นที่สี่.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๑

๔๒๔

หมวดที่ ๓ ญาณในโทษเปน เครื่อ งเศรา หมองของสมาธิ นั้น หมายถึง ความ รู เ ท า ถึ ง การณ ใ นการพลิ ก แพลงของจิ ต ในขณะที่ มี ก ารกํ า หนดลมหายใจหรื อ นิ มิ ต ที่กระทําไปไมสําเร็จ ซึ่งมีอยู ๑๘ ชนิดดวยกันคือ :๑.

เมื่อกําหนดเบื้องตน ทามกลาง ที่สุด แหงลมหายใจเขา จิต ฟุงซานในภายใน. ๒. เมื่อกําหนดเบื้องตน ทามกลาง ที่สุด แหงลมหายใจออก จิต ฟุงซานในภายนอก. ๓. ความหวัง ความใคร ความพอใจ หรือความทะเยอทะยานอยาก ตอลมหายใจเขา. ๔. ความหวัง ความใคร ความพอใจ หรือความทะเยอทะยานอยาก ตอลมหายใจออก. ๕. เมื่อสนใจในลมหายใจเขามากเกินไป จนเรียกไดวาถูกลมหายใจ เขาครอบงํา ความเลือนก็เกิดขึ้นไปในการกําหนดลมหายใจออก. ๖. เมื่อสนใจในลมหายใจเขามากเกินไป จนเรียกไดวาถูกลมหายใจ ออกครอบงํา ความเลือนก็เกิดขึ้นไปในการกําหนดลมหายใจเขา. ๗. เมื่อกําหนดนิมิตอยู จิตที่กําหนดลมหายใจเขาหวั่นไหว. ๘. เมื่อกําหนดลมหายใจเขาอยู จิตที่กําหนดนิมิตหวั่นไหว. ๙. เมื่อกําหนดนิมิตอยู จิตที่กําหนดลมหายใจออกหวั่นไหว. ๑๐. เมื่อกําหนดลมหายใจออกอยู จิตที่กําหนดนิมิตหวั่นไหว. ๑๑. เมื่อกําหนดลมหายใจเขาอยู จิตที่กําหนดลมหายใจออกหวั่นไหว. ๑๒. เมื่อกําหนดลมหายใจออกอยู จิตที่กําหนดลมหายใจเขาหวั่นไหว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


ญาณเนื่องดวยอานาปานสติ

๔๒๕

๑๓. จิตแลนไปตามอารมณในอดีต เปนจิตตกไปสูความกระสับกระสาย ๑๔. จิตหวังในอารมณอันเปนอนาคต เกิดเปนจิตกวัดแกวงขึ้น. ๑๕. จิตหดหูมีอาการแหงความเกียจครานหรือตกลงไปสูความเกียจคราน. ๑๖. จิตเพียรจัดเกินไป จนตกไปฝายความฟุงซาน. ๑๗. จิตไวตอความรูสึกอารมณเกินไป เปนจิตตกไปสูความกําหนัด. ๑๘. จิ ตไม แจ มใส ไม ผ องแผ ว เป นจิ ตตกไปสู ความขั ดเคื องหรื อความ ประทุษราย. รวมทั้ง ๑๘ ประการนี้ เรียกวาโทษ เป นเครื่ องทํ าความเศราหมองแก สมาธิ. ญาณ หรือความรู เกิดขึ้นในสิ่งเหลานี้ ในเมื่อสิ่งเหลานี้ปรากฏเปน อุปสรรค แลวตนสามารถแกไขใหลุลวงไปได จึงจะเรียกวา “ญาณ” ในที่นี้. ผูไมมีญาณขอนี้อาจจะไมรูแมแตเพียงวาเปนโทษ แมสิ่งเหลานี้เกิดอยูก็ไมสามารถ กําหนดได วาคืออะไรและจะตองจัดการอยางไร บางทีก็ไมสามารถแมแตจะแจง อาการเหลานี้แกกัลยาณมิตรหรืออาจารย. ฉะนั้น ควรไดรับการศึกษามากอนคือ กอนที่จะเจริญอานาปานสติอยางเพียงพอ หรือเต็มที่อยางที่จะสามารถทําได แลว มารูถึงที่สุดเอาเมื่อไดปฏิบัติเสร็จแลว. แมรายละเอียดเรื่องนี้ก็ไดวินิจฉัยแลว โดยละเอียดในอานาปานสติขั้นที่สี่ตอนตน ๆ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org หมวดที่ ๔ ญาณในธรรมที่เปนการผองแผวของสมาธิ มีอาการตรงกันขามหรือ เปนไปในทํานองที่ตรงกันขาม จากอาการที่กลาวมาแลวในเรื่องธรรมที่เปนเครื่อ ง ทําความเศราหมอง หากแตวาหมวดนี้มีเพียง ๑๓ อยางคือ :-

www.buddhadasa.in.th


๔๒๖

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๑

๑. เมื่อจิตแลนไปตามอารมณในอดีต จนตกไปสูความกระสับกระสาย เธอเว น จิ ต ดวงนั้ น เสี ย ตั้ ง จิ ต ไว ใ นฐานอั น เดี ย ว ย อ มระงั บ โทษคื อ ความกระสั บ กระสายนั้นได. ๒. จิตหวังตออารมณในอนาคต เปนจิตหวั่นไหวแลว เธอเวนจิต ดวงนั้ น เสี ย น อ มจิ ต ไปในฐานอั น เดี ย ว คื อ การเว น จิ ต ดวงนั้ น เสี ย นั่ น เอง ย อ ม ชําระความเศราหมองนั้นได. ๓. จิตหดหูตกไปขางฝายเกียจคราน เธอยอมทําการประคับประคอง ยกขึ้นซึ่งจิตนั้นดวยการปลอบดวยอุบายมีประการตาง ๆ ยอมละความเศราหมองได. ๔. จิตเพียรจัดเกินไป จนตกไปขางฝายฟุงซาน เธอยอมขมซึ่งจิตนั้น ดวยอุบายมีประการตาง ๆ ยอมละความเศราหมองได. ๕. จิตไวตอความรูสึกเกินไป จนตกไปสูความกําหนัด เธอเพิ่ม สั ม ปชั ญ ญะทํ า ความรู สึ ก ตั ว ทั่ ว พร อ ม หรื อ ความรู เ ท า ทั น ในการที่ จ ะหยดการไวต อ ความรูสึกนั้นเสีย ยอมละเวนความเศราหมองได. ๖. จิตไมแจมใส ตกไปฝายประทุษราย เธอเพิ่มสัมปชัญญะ มีความ รูสึกตัวทั่วพรอมและรูเทาทันในการทําจิตใหแจมใส ยอมละเวนความเศราหมองได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ตอไปนี้ เปนความผองใสของจิต โดยความเปนจิตเอก. ๗. ความเปนจิตเอก เพราะจิตมีการสละสิ่งทั้งปวงปรากฏชัด. ๘. ความเปนจิตเอก เพราะนิมิตแหงสมถะปรากฏชัด. ๙. ความเป น จิ ต เอก เพราะลั ก ษณะแห ง ความสิ้ น ไปและเสื่ อ มไป ปรากฏชัดแกจิต

www.buddhadasa.in.th


ญาณเนื่องดวยอานาปานสติ

๔๒๗

๑๐. ความเปนจิตเอก เพราะธรรมเปนที่ดับเสีย ซึ่งความรูสึกวาตัวตน หรือของตนปรากฏชัด. ความเปนเอกตาง ๆ กันนี้ มีไดตางกันแกหมูชน ที่มีพื้นเพอุปนิสัยเดิม ต า งกั น เช น ชอบให ท านเป น นิ สั ย ชอบทํ า สมาธิ เ ป น นิ สั ย ชอบพิ จ ารณาเพื่ อ วิปสสนาเปนนิสัย และพวกพระอริยเจาในที่สุด. ๑๑. ความผองใส เกิดแกจิตเพราะรูความหมดจดแหงการปฏิบัติของตน. ๑๒. จิตผองใส เพราะเจริญดวยอุเบกขา หรือพรั่งพรูดวยอุเบกขา. ๑๓. จิตราเริงดวยญาณ แลวเปนจิตผองใส ดังนี้. ความผองใสทั้ง ๑๓ ประการนี้ สําเร็จมาจากความรู อันเปนเครื่องทํ า ความผ อ งใส ในการแก ป ญ หาเฉพาะหน า เฉพาะกรณี และเฉพาะบุ ค คลก็ จ ริ ง แตบุ คคลผูผานการเจริญอานาปานสติไปจนถึงที่สุดแลว ย อมมี ญาณเหล านี้อยาง ครบถวน ดวยการประจักษบาง ดวยการหยั่งทราบบาง. รายละเอียดเกี่ยวกับการ ผองแผวทั้ง ๑๓ ประการนี้ มีวินิจฉัยอยูแลวในอานาปานสติขั้นที่สี่เชนเดียวกัน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๑

๔๒๘

หมวดที่ ๕ ญาณในความเปนผูมีสติปฏฐาน ๓๒ ประการ๑ นั้น หมายถึงความรู ที่ ประจั กษ ในขณะเจริ ญอานาปานสติ มี วั ตถุ ๑๖ หรื อ ๑๖ ขั้ น มี รายละเอี ยดดั งที่ กล า วมาแล ว แต ต น จนละเอี ย ดนั่ น เอง หากแต ว า วั ต ถุ ห นึ่ ง ๆ ถู ก แบ ง ออกเป น สอง ตามขณะแห ง การหายใจเข า และการหายใจออก เพราะมี ก ารกํ า หนดอย า งเดี ย วกั น และอยางเต็มที่ทุกครั้ง ที่หายใจเขาหรือ หายใจออก. ความรูใ นขณะหายใจเขา ก็ ถู ก จั ด เป น ญาณอั น หนึ่ ง ในขณะหายใจออก ก็ เ ป น ญาณอี ก อั น หนึ่ ง ไปทุ ก ๆ วั ต ถุ รวมทั้ง ๑๖ วัตถุ จึงเปน ๓๒ ญาณ มีชื่อตามอาการที่กําหนดแหงวัตถุนั้น ๆ คือ : ๑. ญาณเปนเครื่องรูลมหายใจเขายาว วาเราหายใจเขายาว. ๒. ญาณเปนเครื่องรูลมหายใจออกยาว วาเราหายใจออกยาว. ๓. ญาณเปนเครื่องรูลมหายใจเขาสั้น วาเราหายใจเขาสั้น. ๔. ญาณเปนเครื่องรูลมหายใจออกสั้นวาเราหายใจออกสั้น. ๕. ญาณเปนเครื่องรูพรอมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง หายใจเขา. ๖. ญาณเปนเครื่องรูพรอมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง หายใจออก. ๗. ญาณเปนเครื่องรูการทํากายสังขารใหรํางับอยู หายใจเขา. ๘. ญาณเปนเครื่องรูการทํากายสังขารใหรํางับอยู หายใจออก. ๙. ญาณเปนเครื่องรูพรอมเฉพาะซึ่งปติ หายใจเขา. ๑๐. ญาณเปนเครื่องรูพรอมเฉพาะซึ่งปติ หายใจออก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

การบรรยายครั้งที่ ๕๑ / ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๐๒

www.buddhadasa.in.th


ญาณเนื่องดวยอานาปานสติ

๔๒๙

๑๑. ญาณเปนเครื่องรูพรอมเฉพาะซึ่งสุข หายใจเขา. ๑๒. ญาณเปนเครื่องรูพรอมเฉพาะซึ่งสุข หายใจออก. ๑๓. ญาณเปนเครื่องรูพรอมเฉพาะซึ่งจิตตสังขาร หายใจเขา. ๑๔. ญาณเปนเครื่องรูพรอมเฉพาะซึ่งจิตตสังขาร หายใจออก. ๑๕. ญาณเปนเครื่องรูการทําจิตตสังขารใหรํางับอยู หายใจเขา. ๑๖. ญาณเปนเครื่องรูการทําจิตตสังขารใหรํางับอยู หายใจออก. ๑๗. ญาณเปนเครื่องรูพรอมเฉพาะซึ่งจิต หายใจเขา. ๑๘. ญาณเปนเครื่องรูพรอมเฉพาะซึ่งจิต หายใจออก. ๑๙. ญาณเปนเครื่องรูการทําจิตใหบันเทิงยิ่งอยู หายใจเขา. ๒๐. ญาณเปนเครื่องรูการทําจิตใหบันเทิงยิ่งอยู หายใจออก. ๒๑. ญาณเปนเครื่องรูการทําจิตใหตั้งมั่นอยู หายใจเขา. ๒๒. ญาณเปนเครื่องรูการทําจิตใหตั้งมั่นอยู หายใจออก. ๒๓. ญาณเปนเครื่องรูการทําจิตใหปลอยอยู หายใจเขา. ๒๔. ญาณเปนเครื่องรูการทําจิตใหปลอยอยู หายใจออก. ๒๕. ญาณเปนเครื่องตามเห็นความไมเที่ยงอยูเปนประจํา หายใจเขา. ๒๖. ญาณเปนเครื่องตามเห็นความไมเที่ยงอยูเปนประจํา หายใจออก. ๒๗. ญาณเปนเครื่องตามเห็นความจางคลายอยูเปนประจํา หายใจเขา. ๒๘. ญาณเปนเครื่องตามเห็นความจางคลายอยูเปนประจํา หายใจออก. ๒๙. ญาณเปนเครื่องตามเห็นธรรมเปนที่ดับอยูเปนประจํา หายใจเขา. ๓๐. ญาณเปนเครื่องตามเห็นธรรมเปนที่ดับอยูเปนประจํา หายใจออก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๑

๔๓๐

๓๑. ญาณเปนเครื่องตามเห็นความสลัดคืนอยูเปนประจํา หายใจเขา. ๓๒. ญาณเปนเครื่องตามเห็นความสลัดคืนอยูเปนประจํา หายใจออก. ญาณเหล านี้ มี ชื่ อเรี ยกสั้ น ๆ ว า สโตการี ญาณ มี ชื่ อตามลํ าดั บเลขว า สโตการีญาณ ที่หนึ่ง ที่สอง ตามลําดับไป. สโตการี แปลวา ผูกระทําซึ่งสติ ; สโตการี ญ าณ จึ ง แปลว า ญาณของผู ทํ า สติ จํ า แนกเป น ๓๒ ตามอาการที่ ทํ า ดังที่กลาวแลว.

หมวดที่ ๖ ญาณดวยอํานาจความเปนสมาธิ ๒๔ นั้น หมายถึงความรูในความเปน สมาธิ หรือเพราะมี ความเป นสมาธิ ปรากฏอยู อยางนั้ น ๆ แล วเกิ ดความรู ตอความเป น สมาธิ นั้ น จํ าแนกเป น ๒๔ ตามอาการของความเป นสมาธิ ที่ มี อยู ในอานาปานสติ เพียง ๓ จตุกกะขางตน คือ :-

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๑.

๒.

๓. ๔.

ญาณ คือ ความรูวา สมาธิ เพราะจิต เปน เอกคตาไมฟุง ซา น ดว ยอํา นาจ ลมหายใจเขายาว. ญาณ คือ ความรูวา สมาธิ เพราะจิต เปน เอกคตาไมฟุง ซา น ดว ยอํา นาจ ลมหายใจออกยาว. ญาณ คือ ความรูวา สมาธิ เพราะจิต เปน เอกคตาไมฟุง ซา น ดว ยอํา นาจ ลมหายใจเขาสั้น. ญาณ คือความรูวาสมาธิ เพราะจิตเปนเอกคตาไมฟุงซาน ดวยอํานาจ ลมหายใจออกสั้น.

www.buddhadasa.in.th


ญาณเนื่องดวยอานาปานสติ

๔๓๑

๕.

ญาณ คือความรูวาสมาธิ เพราะจิตเปนเอกคตาไมฟุงซาน ดวยอํานาจ ความเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง หายใจเขา. ๖. ญาณ คือความรูวาสมาธิ เพราะจิตเปนเอกคตาไมฟุงซาน ดวยอํานาจ ความเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง หายใจออก. ๗. ญาณ คือความรูวาสมาธิ เพราะจิตเปนเอกคตาไมฟุงซาน ดวยอํานาจ การทํากายสังขารใหรํางับอยู หายใจเขา. ๘. ญาณ คือความรูวาสมาธิ เพราะจิตเปนเอกคตาไมฟุงซาน ดวยอํานาจ การทํากายสังขารใหรํางับอยู หายใจออก. ๙. ญาณ คือความรูวาสมาธิ เพราะจิตเปนเอกคตาไมฟุงซาน ดวยอํานาจ ความเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งปติ หายใจเขา. ๑๐. ญาณ คือความรูวาสมาธิ เพราะจิตเปนเอกคตาไมฟุงซาน ดวยอํานาจ ความเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งปติ หายใจออก. ๑๑. ญาณ คือความรูวาสมาธิ เพราะจิตเปนเอกคตาไมฟุงซาน ดวยอํานาจ ความเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งสุข หายใจเขา. ๑๒. ญาณ คือความรูวาสมาธิ เพราะจิตเปนเอกคตาไมฟุงซาน ดวยอํานาจ ความเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งสุข หายใจออก. ๑๓. ญาณ คือความรูวาสมาธิ เพราะจิตเปนเอกคตาไมฟุงซาน ดวยอํานาจ ความเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งจิตตสังขาร หายใจเขา. ๑๔. ญาณ คือความรูวาสมาธิ เพราะจิตเปนเอกคตาไมฟุงซาน ดวยอํานาจ ความเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งจิตตสังขาร หายใจออก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๔๓๒

๑๕. ๑๖. ๑๗. ๑๘. ๑๙. ๒๐. ๒๑.

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๑

ญาณ คือความรูวาสมาธิ เพราะจิตเปนเอกคตาไมฟุงซาน ดวยอํานาจ การทําจิตตสังขารใหรํางับอยู หายใจเขา. ญาณ คือความรูวาสมาธิ เพราะจิตเปนเอกคตาไมฟุงซาน ดวยอํานาจ การทําจิตตสังขารใหรํางับอยู หายใจออก. ญาณ คือความรูวาสมาธิ เพราะจิตเปนเอกคตาไมฟุงซาน ดวยอํานาจ ความเปนรูพรอมเฉพาะซึ่งจิต หายใจเขา. ญาณ คือความรูวาสมาธิ เพราะจิตเปนเอกคตาไมฟุงซาน ดวยอํานาจ ความเปนรูพรอมเฉพาะซึ่งจิต หายใจออก. ญาณ คือความรูวาสมาธิ เพราะจิตเปนเอกคตาไมฟุงซาน ดวยอํานาจ การทําจิตใหบันเทิงอยู หายใจเขา. ญาณ คือความรูวาสมาธิ เพราะจิตเปนเอกคตาไมฟุงซาน ดวยอํานาจ การทําจิตใหบันเทิงอยู หายใจออก. ญาณ คือความรูวาสมาธิ เพราะจิตเปนเอกคตาไมฟุงซาน ดวยอํานาจ การทําจิตใหตั้งมั่นอยู หายใจเขา. ญาณ คือความรูวาสมาธิ เพราะจิตเปนเอกคตาไมฟุงซาน ดวยอํานาจ การทําจิตใหตั้งมั่นอยู หายใจออก. ญาณ คือความรูวาสมาธิ เพราะจิตเปนเอกคตาไมฟุงซาน ดวยอํานาจ การทําจิตใหตั้งปลอยอยู หายใจเขา. ญาณ คือความรูวาสมาธิ เพราะจิตเปนเอกคตาไมฟุงซาน ดวยอํานาจ การทําจิตใหตั้งปลอยอยู หายใจออก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๒๒.

๒๓.

๒๔.

ญาณด วยอํ านาจสมาธิ มี เพี ยง ๒๔ เพราะมี ใน ๓ จตุ กกะข างต น ส วน ในจตุ กกะที่ สี่ นั้ น เป นการกํ าหนดด วยอํ านาจวิ ป สสนา จึ งไม ถู กนั บรวมอยู ในญาณ ในประเภทนี้.

www.buddhadasa.in.th


ญาณเนื่องดวยอานาปานสติ

๔๓๓

หมวดที่ ๗ ญาณด ว ยอํ า นาจวิ ป ส สนา ๗๒ อย า ง จํ า แนกโดยทํ า นองของญาณด ว ย อํ า นาจสมาธิ ๒๔ อย า งดั ง ที่ ก ล า วมาแล ว ในหมวดก อ น หากแต ว า จํ า แนกออกไปอี ก อยางละสาม ดวยอํานาจลักษณะทั้งสามคือ อนิจจลักษณะ ๑, ทุกขลักษณะ ๑, อนัตตลักษณะ ๑, เป นการตรี คูณญาณทั้ ง ๒๔ ญาณ จึ งกลายเป น ๗๒ ญาณ มีชื่อแหงอาการตามการกําหนด เชนเดียวกันคือ :๑. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความไมเที่ยง เมื่อหายใจเขายาว. ๒. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความเปนทุกข เมื่อหายใจเขายาว. ๓. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความเปนอนัตตา เมื่อหายใจเขายาว. ๔. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความไมเที่ยง เมื่อหายใจออกยาว. ๕. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความเปนทุกข เมื่อหายใจออกยาว. ๖. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความเปนอนัตตา เมื่อหายใจออกยาว. ๗. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความไมเที่ยง เมื่อหายใจเขาสั้น. ๘. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความเปนทุกข เมื่อหายใจเขาสั้น. ๙. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความเปนอนัตตา เมื่อหายใจเขาสั้น. ๑๐. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความไมเที่ยง เมื่อหายใจออกสั้น. ๑๑. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความเปนทุกข เมื่อหายใจออกสั้น. ๑๒. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความเปนอนัตตา เมื่อหายใจออกสั้น. ๑๓. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความไมเที่ยง เมื่อรูพรอมเฉพาะ ซึ่งกายทั้งปวง หายใจเขา. ๑๔. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความเปนทุกข เมื่อรูพรอมเฉพาะ ซึ่งกายทั้งปวง หายใจเขา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๔๓๔

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๑

๑๕. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความเปนอนัตตา เมื่อรูพรอมเฉพาะ ซึ่งกายทั้งปวง หายใจเขา. ๑๖. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความไมเที่ยง เมื่อรูพรอมเฉพาะ ซึ่งกายทั้งปวง หายใจออก. ๑๗. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความเปนทุกข เมื่อรูพรอมเฉพาะ ซึ่งกายทั้งปวง หายใจออก. ๑๘. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความเปนอนัตตา เมื่อรูพรอมเฉพาะ ซึ่งกายทั้งปวง หายใจออก. ๑๙. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความไมเที่ยง เมื่อทํากายสังขาร ใหรํางับอยู หายใจเขา. ๒๐. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความเปนทุกข เมื่อทํากายสังขาร ใหรํางับอยู หายใจเขา. ๒๑. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความเปนอนัตตา เมื่อทํากายสังขาร ใหรํางับอยู หายใจเขา. ๒๒. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความไมเที่ยง เมื่อทํากายสังขาร ใหรํางับอยู หายใจออก. ๒๓. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความเปนทุกข เมื่อทํากายสังขาร ใหรํางับอยู หายใจออก. ๒๔. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความเปนอนัตตา เมื่อทํากายสังขาร ใหรํางับอยู หายใจออก. ๒๕. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความไมเที่ยง เมื่อเปนผูรูพรอมเฉพาะ ซึ่งปติ หายใจเขา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


ญาณเนื่องดวยอานาปานสติ

๔๓๕

๒๖. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความเปนทุกข เปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งปติ หายใจเขา. ๒๗. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความเปนอนัตตา เปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งปติ หายใจเขา. ๒๘. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความไมเที่ยง เปนผูรูพรอมเฉพาะซึง่ ปติ หายใจออก. ๒๙. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความเปนทุกข เปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งปติ หายใจออก. ๓๐. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความเปนอนัตตา เปนผูรูพรอมเฉพาะ ซึ่งปติ หายใจออก. ๓๑. วิปสสนาญาณเพราะการตามเห็นความไมเที่ยง เมื่อเปนผูรูพรอมเฉพาะ ซึ่งสุข หายใจเขา. ๓๒. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความเปนทุกข เมื่อเปนผูรูพรอมเฉพาะ ซึ่งสุข หายใจเขา. ๓๓. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความเปนอนัตตา เมื่อเปนผูรูพรอมเฉพาะ ซึ่งสุข หายใจเขา. ๓๔. วิปสสนาญาณเพราะการตามเห็นความไมเที่ยง เมื่อเปนผูรูพรอมเฉพาะ ซึ่งสุข หายใจออก. ๓๕. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความเปนทุกขเมื่อเปนผูรูพรอมเฉพาะ ซึ่งสุข หายใจออก. ๓๖. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความเปนอนัตตา มื่อเปนผูรูพรอมเฉพาะ ซึ่งสุข หายใจออก. ๓๗. วิปสสนาญาณเพราะการตามเห็นความไมเที่ยง เมื่อเปนผูรูพรอมเฉพาะ ซึ่งจิตตสังขาร หายใจเขา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๔๓๖

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๑

๓๘. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความเปนทุกข เมื่อเปนผูรูพรอมเฉพาะ ซึ่งจิตตสังขาร หายใจเขา. ๓๙. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความเปนอนัตตา เมื่อเปนผูรูพรอมเฉพาะ จิตตสังขาร หายใจเขา. ๔๐. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความไมเที่ยง เมื่อเปนผูรูพรอมเฉพาะ ซึ่งจิตตสังขาร หายใจออก. ๔๑. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความเปนทุกข เมื่อเปนผูรูพรอมเฉพาะ ซึ่งจิตตสังขาร หายใจออก. ๔๒. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความเปนอนัตตา เมื่อเปนผูรูพรอมเฉพาะ จิตตสังขาร หายใจออก. ๔๓. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความไมเที่ยง เมื่อทําจิตตสังขารให รํางับอยู หายใจเขา. ๔๔. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความเปนทุกข เมื่อทําจิตตสังขารให รํางับอยู หายใจเขา. ๔๕. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความเปนอนัตตา เมือ่ ทําจิตตสังขารให รํางับอยู หายใจเขา. ๔๖. วิปสสนาญาณเพราะการตามเห็นความไมเที่ยง เมื่อทําจิตตสังขารให รํางับอยู หายใจออก. ๔๗. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความเปนทุกขเมื่อทําจิตตสังขารให รํางับอยู หายใจออก. ๔๘. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความเปนอนัตตา เมื่อทําจิตตสังขารให รํางับอยู หายใจออก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


ญาณเนื่องดวยอานาปานสติ

๔๓๗

๔๙. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความไมเที่ยง เมื่อเปนผูรูพรอมเฉพาะ ซึ่งจิต หายใจเขา. ๕๐. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความเปนทุกข เมื่อเปนผูรูพรอมเฉพาะ ซึ่งจิต หายใจเขา. ๕๑. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความเปนอนัตตา เมื่อเปนผูรูพรอมเฉพาะ ซึ่งจิต หายใจเขา. ๕๒. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความไมเที่ยง เมื่อเปนผูรูพรอมเฉพาะ ซึ่งจิต หายใจออก. ๕๓. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความเปนทุกข เมื่อเปนผูรูพรอมเฉพาะ ซึ่งจิต หายใจออก. ๕๔. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความเปนอนัตตา เมื่อเปนผูรูพรอมเฉพาะ ซึ่งจิต หายใจออก. ๕๕. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความไมเที่ยง เมื่อทําจิตใหบันเทิงยิ่งอยู หายใจเขา. ๕๖. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความเปนทุกข เมื่อทําจิตใหบันเทิงยิ่งอยู หายใจเขา. ๕๗. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความเปนอนัตตา เมื่อทําจิตใหบันเทิง ยิ่งอยู หายใจเขา. ๕๘. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความไมเที่ยง เมื่อทําจิตใหบันเทิงยิ่งอยู หายใจออก. ๕๙. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความเปนทุกข เมื่อทําจิตใหบันเทิงยิ่งอยู หายใจออก. ๖๐. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความเปนอนัตตา เมื่อทําจิตใหบันเทิง ยิ่งอยู หายใจออก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๔๓๘

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๑

๖๑. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความไมเที่ยง เมื่อทําจิตใหตั้งมั่นอยู หายใจเขา. ๖๒. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความเปนทุกข เมื่อทําจิตใหตั้งมั่นอยู หายใจเขา. ๖๓. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความเปนอนัตตา เมื่อทําจิตใหตั้งมั่นอยู หายใจเขา. ๖๔. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความไมเที่ยง เมื่อทําจิตใหตั้งมั่นอยู หายใจออก. ๖๕. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความเปนทุกข เมื่อทําจิตใหตั้งมั่นอยู หายใจออก. ๖๖. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความเปนอนัตตา เมื่อทําจิตใหตั้งมั่นอยู หายใจออก. ๖๗. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความไมเที่ยง เมื่อทําจิตใหปลอยอยู หายใจเขา. ๖๘. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความเปนทุกข เมื่อทําจิตใหปลอยอยู หายใจเขา. ๖๙. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความเปนอนัตตา เมื่อทําจิตใหปลอยอยู หายใจเขา. ๗๐. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความไมเที่ยง เมื่อทําจิตใหปลอยอยู หายใจออก. ๗๑. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความเปนทุกข เมื่อทําจิตใหปลอยอยู หายใจออก. ๗๒. วิปสสนาญาณ เพราะการตามเห็นความเปนอนัตตา เมื่อทําจิตใหปลอยอยู หายใจออก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


ญาณเนื่องดวยอานาปานสติ

๔๓๙

โดยนั ย เป น อั น กล า วได ว า วิ ป ส สนาญาณ ๗๒ ก็ คื อ ความเห็ น อนิ จ จั ง ทุ กขั ง อนั ตตา แต ละอย าง ๆ ในขณะที่ จิ ตมี ความเป นสมาธิ ๒๔ ขณะ แต ละขณะ ๆ นั ่น เอง และเปน วิธ ีก ารนับ ที ่ใ ชเ ฉพาะอยู ใ นวงการแหง การเจริญ อานาปานสติ โดยตรง.

หมวดที่ ๘ ญาณเนื่องจากความเบื่อหนายเรียกวา นิพพิทาญาณ จําแนกตาม อาการของการเห็ น ความไม เ ที่ ย ง เห็ น ความจางคลาย เห็ น ธรรมเป น ที่ ดั บ และ เห็ น ความสลั ด คื น แล ว แยกออกเป น สอง ๆ ตามขณะแห ง การหายใจเข า และการ หายใจออก จึง รวมกัน เปน ๘ อยา ง มีชื ่อ ตามอาการแหง การเห็น ธรรมนั ้น ๆ ดังตอไปนี้ :

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๑. นิพพิทาญาณ เมื่อตามเห็นความไมเที่ยง รูอยู เห็นอยู ตามที่ เปนจริง หายใจเขา. ๒. นิพพิทาญาณ เมื่อตามเห็นความไมเที่ยง รูอยู เห็นอยู ตามที่ เปนจริง หายใจออก. ๓. นิพพิทาญาณ เมื่อตามเห็นอยูซึ่งความจางคลาย รูอยู เห็นอยู ตามที่เปนจริง หายใจเขา. ๔. นิพพิทาญาณ เมื่อตามเห็นอยูซึ่งความจางคลาย รูอยู เห็นอยู ตามที่เปนจริง หายใจออก.

www.buddhadasa.in.th


๔๔๐

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๑

๕. นิพพิทาญาณ เมื่อตามเห็นอยูซึ่งธรรมเปนที่ดับ รูอยู เห็นอยู ตามที่เปนจริง หายใจเขา. ๖. นิพพิทาญาณ เมื่อตามเห็นอยูซึ่งธรรมเปนที่ดับ รูอยู เห็นอยู ตามที่เปนจริง หายใจออก. ๗. นิพพิทาญาณ เมื่อตามเห็นความสลัดคืน รูอยู เห็นอยู ตามที่ เปนจริง หายใจเขา. ๘. นิพพิทาญาณ เมื่อตามเห็นความสลัดคืน รูอยู เห็นอยู ตามที่ เปนจริง หายใจออก. โดยนั ยนี้ เป นอั นกล าวได ว า นิ พพิ ทาญาณโดยสมบู รณ ตามความหมาย ของญาณ ๆ นี ้ มีอ ยู ใ นอานาปานสติจ ตุก กะที ่สี ่ หรือ หมวดธรรมานุป ส สนาสติ ป ฏ ฐานภาวนาเท า นั้ น แม จ ะมี ก ารพิ จ ารณาโดยความเป น ของไม เ ที่ ย งเป น ทุ ก ข เป น อนั ต ตามาแล ว ตั้ ง แต จ ตุ ก กะที่ ส อง คื อ หมวดเวทนานุ ป ส สนาภาวนา ก็ ห าได มุงหมายที่จะทํานิพพิทาญาณใหเกิดขึ้นโดยสมบูรณและโดยตรงไม ; แตถาผูใดถือ เอาการเห็ น อนิ จ จั ง ทุ ก ขั ง อนั ต ตา ในขั้ น นั้ น แล ว ทํ า นิ พ พิ ท าให เ ป น ไปโดย สมบู ร ณ ไ ด เรื่ อ งก็ ก ลายเป น เรื่ อ งลั ด ตรงไปสู จ ตุ ก กะที่ สี่ หรื อ สู ธ รรมานุ ป ส สนาสติปฏ ฐานภาวนามาเสีย ตั้ง แตข ณะนั้น ดัง นี้ก็ไ ด. ดัง ที่ก ลา วแลว ขา งตน วา ไม มี ค วามจํ า เป น สํ า หรั บ ทุ ก คน ที่ จ ะต อ งทํ า อานาปานสติ ต ามลํ า ดั บ วั ต ถุ ทั้ ง ๑๖ ไปจนหมด ถ า สามารถทํ า วิ ป ส สนาญาณ และนิ พ พิ ท าญาณให เ กิ ด ขึ้ น ได ที่ วั ต ถุ ใ ด แล ว ทํ า จตุ ก กะที่ สี่ ใ ห ส มบู ร ณ ไ ด ด ว ยเหตุ นั้ น ก็ ย อ มเป น การลั ด สั้ น ของบุ ค คลนั้ น อยา งเปน ที่นา พอใจ. สํา หรับ ในที่นี้เ ปน การกลา ว ที่ก ลา วไปตามหลัก เกณฑ จึงไดกลาวนิพพิทาญาณไวในจตุกกะที่สี่โดยตรง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


ญาณเนื่องดวยอานาปานสติ

๔๔๑

หมวดที่ ๙๑ ญาณหมวดนี้ไดแก นิพพิทานุโลมญาณ ๘ อยาง คือ ๑. นิพพิทานุโลมญาณคือปญญาในความเขาไปปรากฏโดยความเปนภัย เมื่อตามเห็นความไมเที่ยง หายใจเขา. ๒. นิพพิทานุโลมญาณคือปญญาในความเขาไปปรากฏโดยความเปนภัย เมื่อตามเห็นความไมเที่ยง หายใจออก. ๓. นิพพิทานุโลมญาณคือปญญาในความเขาไปปรากฏโดยความเปนภัย เมื่อตามเห็นความจางคลาย หายใจเขา. ๔. นิพพิทานุโลมญาณคือปญญาในความเขาไปปรากฏโดยความเปนภัย เมื่อตามเห็นความจางคลาย หายใจออก. ๕. นิพพิทานุโลมญาณคือปญญาในความเขาไปปรากฏโดยความเปนภัย เมื่อตามเห็นธรรมเปนเครื่องดับ หายใจเขา. ๖. นิพพิทานุโลมญาณคือปญญาในความเขาไปปรากฏโดยความเปนภัย เมื่อตามเห็นธรรมเปนเครื่องดับ หายใจออก. ๗. นิพพิทานุโลมญาณคือปญญาในความเขาไปปรากฏโดยความเปนภัย เมื่อตามเห็นความสลัดคืน หายใจเขา. ๘. นิพพิทานุโลมญาณคือปญญาในความเขาไปปรากฏโดยความเปนภัย เมื่อตามเห็นความสลัดคืน หายใจออก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

การบรรยายครั้งที่ ๕๒ / ๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๐๒

www.buddhadasa.in.th


๔๔๒

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๑

ญาณเหลานี้ชื่อวา อนุโลมตอนิพพิทา เพราะเปนเหตุใหเกิดนิพพิทา ขึ้ นได ในที่ สุ ด ญาณเหล านี้ มี มาก อนนิ พพิ ทาญาณ เท าที่ จะกํ าหนดได ว าจะสนั บสนุ น ให เ กิ ด นิ พ พิ ท าได โ ดยแน แ ท กล า วคื อ เมื่ อ ได เ ห็ น ความไม เ ที่ ย ง เป น ทุ ก ข เป น อนั ต ตาในรู ป ของการเกิ ด และการดั บ อย า งเพี ย งพอแล ว จึ ง เกิ ด ความรู สึ ก ที่ เ ป น ไป ในทํ า นองที่ ก ลั ว ต อ ภั ย อั น เกิ ด มาจากการที่ ต อ งเกิ ด ต อ งดั บ หรื อ การทนทุ ก ข ทรมานนั่นเอง. ความกลัวที่ปรากฏชัดเรียกวาการเขาไปปรากฏแหงภัย. ปญญาที่ รูเห็นความเปนอยางนี้ เรียกวาปญญาในความเขาไปปรากฏแหงภัย. มีอยูไดตลอด อานาปานสติ จ ตุ ก กะที่ สี่ นี้ เ รี ย กว า นิ พ พิ ท านุ โ ลมญาณ เป น ความรู ที่ นั บ เนื่ อ งอยู ใ น นิ พ พิ ท าญาณ ในกรณี ที่ มี ก ารแยกความรู ใ นระยะนี้ ใ ห ล ะเอี ย ดลงไปอี ก กล า วคื อ เมื่ อ เห็ น โดยความเป น ภั ย แล ว ก็ ย อ มเห็ น โดยความเป น โทษ ซึ่ ง เรี ย กการเห็ น นั้ น วา อาทีนวญาณ หรือ อาทีนวานุปสสนาญาณ นั้น : แมญาณนี้ ก็สงเคราะหเขาใน นิพพิทานุโลมญาณดวยอยางเดียวกัน. ฉะนั้ น เป น อั น ว า ภยตุ ป ฏ ฐานญาณก็ ดี อาที ว ญาณก็ ดี จั ด เป น พวก นิพพิทานโลมญาณดวยกันทั้งสิ้น ; จะถือวามีผลเปนนิพพิทาญาณ หรือวาเปน นิพพิทาญาณอยูในตัวมันเอง ก็ถูกทั้งสองอยาง เพราะไดผลเทากันโดยพฤตินัย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ในวงแห ง การเจริ ญ อานาปานสติ จํ า แนกญาณเหล า นี้ ต ามธรรมสี่ มี อนิ จ จตา เป น ต น มี ป ฏิ นิ ส สั ค คะ เป น ที่ สุ ด และการจํ า แนกตามขณะที่ ห ายใจเข า และออก จึ ง ได จํ า นวนเป น ๘ อย า งด ว ยกั น ผิ ด จากในที่ อื่ น ซึ่ ง ระบุ ถึ ง แต สั ก ว า ชื่ อ ไม จํ า แนกตามวั ต ถุ ห รื อ ขณะเป น ต น เลย ซึ่ ง ทํ า ให มี จํ า นวนเพี ย งหนึ่ ง เพราะการ ไมจํ า แนกนั ่น เอง อีก อยา งหนึ ่ง การที ่ไ มจํ า แนกนั ้น เปน การปฏิบ ัต ิใ นแนวอื ่น ซึ่งไมใชการเจริญอานาปานสติ จึงไมรูที่จะจําแนกอยางไรนั่นเอง.

www.buddhadasa.in.th


ญาณเนื่องดวยอานาปานสติ

๔๔๓

หมวดที่ ๑๐ นิ พ พิ ท าปฏิ ป ส สั ท ธิ ญ าณ หมายถึ ง บรรดาญาณที่ รํ า งั บ อาการแห ง นิพ พิท าเสีย แลว ดํา เนิน หนา ที่ หรือ ทํา จิต ที่สูง ขึ้น ไปตามลํา ดับ จํา แนกเปน ๘ ตามวัตถุที่กําหนด และขณะที่กําหนดอยางเดียวกันอีก คือ :๑. นิพพิทาปฏิปสสัทธิญาณ คือปญญาที่ทําหนาที่การพิจารณาแลวตั้งมั่นอยูดว ยดี ในขณะเห็นความไมเที่ยง หายใจเขา. ๒. นิพพิทาปฏิปสสัทธิญาณ คือปญญาที่ทําหนาที่การพิจารณาแลวตั้งมั่นอยูดวยดี ในขณะเห็นความไมเที่ยง หายใจออก. ๓. นิพพิทาปฏิปสสัทธิญาณ คือปญญาที่ทําหนาที่การพิจารณาแลวตั้งมั่นอยูดวยดี ในขณะเห็นความจางคลาย หายใจเขา. ๔. นิพพิทาปฏิปสสัทธิญาณ คือปญญาที่ทําหนาที่การพิจารณาแลวตั้งมั่นอยูดวยดี ในขณะเห็นความจางคลาย หายใจออก. ๕. นิพพิทาปฏิปสสัทธิญาณ คือปญญาที่ทําหนาที่การพิจารณาแลวตั้งมั่นอยูดว ยดี ในขณะเห็นธรรมเปนเครื่องดับ หายใจเขา. ๖. นิพพิทาปฏิปสสัทธิญาณ คือปญญาที่ทําหนาที่การพิจารณาแลวตั้งมั่นอยูดวยดี ในขณะเห็นธรรมเปนเครื่องดับ หายใจออก. ๗. นิพพิทาปฏิปสสัทธิญาณ คือปญญาที่ทําหนาที่การพิจารณาแลวตั้งมั่นอยูดวยดี ในขณะเห็นความสลัดคืน หายใจเขา. ๘. นิพพิทาปฏิปสสัทธิญาณ คือปญญาที่ทําหนาที่การพิจารณาแลวตั้งมั่นอยูดวยดี ในขณะเห็นความสลัดคืน หายใจออก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๔๔๔

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๑

ญาณชื่ อ นี้ ร ะงั บ ซึ่ ง อาการแห ง นิ พ พิ ท า แล ว ดํ า เนิ น กิ จ ต อ ไปในการ พิจารณาหาทางพนเพราะอยากจะพน จนกระทั่งพบความหลุดพน. ถึงทราบวา ถ า กํ า ลั ง แห ง นิ พ พิ ท ายั ง คงอยู ก็ มี แ ต ค วามกลั ว ความหวาดเสี ย ว และความเบื่ อ หน า ย ซึ่ ง ล ว นเป น การถอยกํ า ลั ง หรื อ ทํ า ให ถ อยกํ า ลั ง และเป น ความทนทุ ก ข ทรมานอยู ใ นตั ว ฉะนั้ น จึ ง ต อ งรํ า งั บ กํ า ลั ง แห ง นิ พ พิ ท าเสี ย ด ว ยญาณอื่ น ที่ ถั ด ไป ; หรื อ กล า วอี ก อย า งหนึ่ ง ก็ คื อ เปลี่ ย นการใช กํ า ลั ง ของญาณไปในทางอื่ น นั่ น เอง โดยเฉพาะอย างยิ่ ง แทนที่ จะมั วเบื่ อ หน ายอยู ก็ กลายเป นความอยากพ นอย างแรง กล า แล ว แสดงหาความพ น หรื อ ทางพ น จนกระทั่ ง พบว า ความวางเฉยต อ สั ง ขาร ทั้งปวง เปนความพนที่แทจริง ; ฉะนั้นเปนอันวา ญาณที่มีชื่อวา มุญจิตุกัมยตาญาณ ก็ ดี ปฏิ สั ง ขานุ ป ส สนาญาณ ก็ ดี ตลอดถึ ง สั ง ขารุ เ บกขาญาณก็ ดี ย อ ม นับเนื่องอยูในนิพพิทาปฏิปสสัทธิญาดวยกันทั้งสิ้น. อีกอยางหนึ่งตองไมลืมวา แม ใ นญาณเหล า นี้ ใ นขณะนี้ ก็ ยั ง คงมี กํ า ลั ง แห ง การเห็ น อนิ จ จั ง ทุ ก ขั ง อนั ต ตา หนุนเนื่องอยูตามเคย และมีกําลังยิ่งขึ้นตามสวนดวย. กลาวไดวาญาณทุกญาณ ตั้งอาศัยอยูบนกําลังแหงการเห็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ตลอดสาย ในรูปที่ตางกัน ตั ้ง แตต น มาทีเ ดีย ว ซึ ่ง มีใ จความสั ้น ๆ คือ ญาณที ่เ ห็น การเกิด ดับ ก็ค ือ การ เห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ; ญาณที่ทําใหกลัวภัยในวัฏฏสงสาร ก็เพราะเห็น อยูวาในวัฏฏสงสารเต็มไปดวยความเปน อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ; ญาณที่ทํา ให เห็นโทษ ก็ เพราะเห็ นวาโทษนั้ นเกิดมาจากความที่ เป น อนิ จจัง ทุกขั ง อนั ตตา ; ญาณที่ เป นความอยากพ น ก็ คื ออยากพ นจากความเป น อนิ จจั ง ทุ กขั ง อนั ตตา ; ราวกะวากําลังแหง อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เปนเครื่องรุกเราใหหาทางพน. ญาณ ที่เปนเครื่องพิจารณาหาทาง ก็หมายถึงหาทางออกที่ความเปน อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


ญาณเนื่องดวยอานาปานสติ

๔๔๕

จะทํ า อะไรแกต นไมไ ด. และในที ่ส ุด ญาณซึ ่ง เปน เครื ่อ งวางเฉยตอ สัง ขารธรรม ทั้ ง ปวงนั้ น ก็ ห มายถึ ง การวางเฉยโดยเด็ ด ขาดต อ สิ่ ง ที่ เ ป น อนิ จ จั ง ทุ ก ขั ง อนั ต ตา นั่น เอง. เปน อัน วา กํา ลัง แหง การเห็น อนิจ จัง ทุก ขัง อนัต ตา ยอ มมีอ ยูใ น ญาณเหล า นี้ แ ละมี ม ากยิ่ ง ขึ้ น เพื่ อ หนุ น กํ า ลั ง แห ง ญาณเหล า นั้ น ให ม ากยิ่ ง ขึ้ น จน กระทั่ ง ถึ ง ญาณประเภทที่ นั บ เนื่ อ งอยู ใ นอริ ย มรรคญาณ ก็ ทํ า การตั ด กิ เ ลสด ว ย อํ า นาจของการเห็ น อนิ จ จั ง ทุ ก ขั ง อนั ต ตา ที่ มี กํ า ลั ง ถึ ง ที่ สุ ด นั่ น เองง ทั้ ง หมดนี้ เปน การแสดงใหเ ห็น ชัด วา ญาณประเภทที ่อ นุโ ลมตอ นิพ พิท าญาณ หรือ เปน บุ รพภาคของนิ พพิ ทาญาณก็ ดี ตั วนิ พพิ ทาญาณเองก็ ดี ญาณทั้ งหลายที่ เกิ ดขึ้ นภาย หลังระงับอาการแหงนิพพิทาญาณ แลวทํากิจตอไปก็ดี ลวนแตตองอาศัยกําลัง แหงการเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ดวยกันทั้งนั้น. เมื่อเปนดังนั้นญาณเหลานั้น จึ ง มี ไ ด ทั้ ง ในขณะที่ ต ามเห็ น ความเป น อนิ จ จั ง ตามเห็ น ความจางคลาย ตาม เห็ น ธรรมเป น เครื่ อ งดั บ และตามเห็ น ความสลั ด คื น ดั ง ที่ ก ล า วมาแล ว ได ด ว ยกั น ทั้ ง สิ้ น และทุ ก ขณะแห ง การหายใจเข า และออก ดั ง นั้ น จึ ง สามารถจํ า แนกญาณ เหล า นี้ อ อกได เ ป น ๘ เสมอไป โดยอาศั ย วั ต ถุ ๔ คื อ อนิ จ จตา วิ ร าคะ นิ โ รธะ และปฏินิสสัคคะ ; และอาศัยขณะสอง คือขณะแหงการหายใจเขา และขณะ แหงการหายใจออก ดังที่กลาวแลวนั่นเอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๑

๔๔๖

หมวดที่ ๑๑ วิมุตติสุขญาณ คือ ญาณในความสุขอันเกิดแกวิมุตติ๑ ไดแกความรู โดยประจั ก ษ ต อ ความสุ ข ที่ เ กิ ด ขึ้ น เพราะจิ ต หลุ ด พ น จากสั ญ โญชน และอนุ สั ย นั บ ว า เป น ความรู ผ ลของการปฏิ บั ติ เป น ญาณหมวดสุ ด ท า ย จํ า แนกตามสั ญ โญชน และอนุสัยที่อริยมรรคทั้งสี่จะพึงตัด จําแนกโดยละเอียดไดเปน ๒๑ อยาง คือ :๑. วิมุตติสุขญาณ เกิดขึ้นเพราะ สักกายทิฏฐิ ถูกละ ถูกตัดเสียได ดวย โสดาปตติมรรค. ๒. วิมุตติสุขญาณ เกิดขึ้นเพราะ วิจิกิจฉา ถูกละ ถูกตัดเสียได ดวย โสดาปตติมรรค. ๓. วิมุตติสุขญาณ เกิดขึ้นเพราะ สีลพั พตปรามาส ถูกละ ถูกตัดเสีย ได ดวย โสดาปตติมรรค. ๔. วิมุตติสุขญาณ เกิดขึ้นเพราะ ทิฏฐานุสัย ถูกละ ถูกตัดเสียได ดวย โสดาปตติมรรค. ๕. วิมุตติสุขญาณ เกิดขึ้นเพราะ วิจิกิจฉานุสัย ถูกละ ถูกตัดเสียได ดวย โสดาปตติมรรค. ๖. วิมุตติสุขญาณ เกิดขึ้นเพราะ กามราคะอยางหยาบ ถูกละ ถูกตัด เสียได ดวย สกิทาคามิมรรค. ๗. วิมุตติสุขญาณ เกิดขึ้นเพราะ ปฏิฆะอยางหยาบ ถูกละ ถูกตัด เสียได ดวย สกิทาคามิมรรค.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

การบรรยายครั้งที่ ๕๓ / ๒ ธันวาคม ๒๕๐๒

www.buddhadasa.in.th


ญาณเนื่องดวยอานาปานสติ

๔๔๗

๘. วิมุตติสุขญาณ เกิดขึ้นเพราะ กามราคานุสัยอยางหยาบ ถูกละ ถูกตัดเสียได ดวย สกิทาคามิมรรค. ๙. วิมุตติสุขญาณ เกิดขึ้นเพราะ ปฏิฆานุสัยอยางหยาบ ถูกละ ถูกตัด เสียได ดวย สกิทาคามิมรรค. ๑๐. วิมุตติสุขญาณ เกิดขึ้นเพราะ กามราคะอันละเอียด ถูกละ ถูกตัด เสียได ดวย อนาคามิมรรค. ๑๑. วิมุตติสุขญาณ เกิดขึ้นเพราะ ปฏิฆะอันละเอียด ถูกละ ถูกตัด เสียได ดวย อนาคามิมรรค. ๑๒. วิมุตติสุขญาณ เกิดขึ้นเพราะ กามราคานุสัยอันละเอียด ถูกละ ถูกตัดเสียได ดวย อนาคามิมรรค. ๑๓. วิมุตติสุขญาณ เกิดขึ้นเพราะ ปฏิฆานุสัยอันละเอียด ถูกละ ถูกตัด เสียได ดวย อนาคามิมรรค. ๑๔. วิมุตติสุขญาณ เกิดขึ้นเพราะ รูปราคะ ถูกละ ถูกตัดเสียได ดวย อรหัตตมรรค. ๑๕. วิมุตติสุขญาณ เกิดขึ้นเพราะ อรูปราคะ ถูกละ ถูกตัดเสียได ดวย อรหัตตมรรค. ๑๖. วิมุตติสุขญาณ เกิดขึ้นเพราะ มานะ ถูกละ ถูกตัดเสียได ดวย อรหัตตมรรค. ๑๗. วิมุตติสุขญาณ เกิดขึ้นเพราะ อุทธัจจะ ถูกละ ถูกตัดเสียได ดวย อรหัตตมรรค.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๔๔๘

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๑

๑๘. วิมุตติสุขญาณ เกิดขึ้นเพราะ อวิชชา ถูกละ ถูกตัดเสียได ดวย อรหัตตมรรค. ๑๙. วิมุตติสุขญาณ เกิดขึ้นเพราะ มานานุสัย ถูกละ ถูกตัดเสียได ดวย อรหัตตมรรค. ๒๐. วิมุตติสุขญาณ เกิดขึ้นเพราะ ภวราคานุสัย ถูกละ ถูกตัดเสียได ดวย อรหัตตมรรค. ๒๑. วิมุตติสุขญาณ เกิดขึ้นเพราะ อวิชชานุสัย ถูกละ ถูกตัดเสียได ดวย อรหัตตมรรค.

ทั้ ง หมดนี้ จะเห็ นได ว า ท านเรี ยงลํ าดั บเหล านี้ ตามอาการที่ ม รรคทั้ ง สี่ จะพึง ละ. สิ่ง ที่จ ะพึง จํา แนกเปน ๒ หมวด คือ หมวดสัญ โญชน และ หมวดอนุสัย. ใน ๒๑ ขอนั้น ขอที่ ๑ - ๒ - ๓ - ๖ - ๗ - ๑๐ - ๑๑ - ๑๔ - ๑๕ - ๑๖ ๑๗ - ๑๘ สิบสองขอนี้เปนพวกสัญโญชน ; ขอที่ ๔ - ๕ - ๘ - ๙ - ๑๒ - ๑๓ ๑๙ - ๒๐ - ๒๑ เกาขอนี้ เปนหมวดอนุสัย เมื่อเปนดังนี้เห็นไดสืบไปวา เปนการ จํ าแนกที่ ซ้ํ ากั นอยู คื อถ าถื อเอาสั ญโญชน ๑๐ เป นหลั ก ก็ มี อนุ สั ยซ้ํ าเข ามาถึ ง ๗. ถาถือเอาอนุสัย ๗ เปนหลัก ก็มีสัญโญชนซ้ําหรือเกินเขามา ๑๐. นอกจากนั้น. พึ ง สั ง เกตให เ ห็ น ว า ท า นได แ ยกสั ญ โญชน ห รื อ อนุ สั ย บางอย า ง ออกไปเป น ชั้ น หยาบและชั้ น ละเอี ย ดอี ก ตามควรแก อํ า นาจของอริ ย มรรคจะพึ ง ตั ด เช น จํ า แนก กามราคะและปฏิ ฆ ะ ว า มี เ ป น อย า งหยาบและอย า งละเอี ย ด ทั้ ง ที่ เ ป น สั ญ โญชน และอนุ สั ย ด ว ยการจํ า แนกออกไปเช น นี้ ด ว ย และด ว ยการรวมเข า ด ว ยกั น ทั้ ง สัญโญชนและอนุสัยดวย จึงไดจํานวนเปน ๒๑ ดังกลาว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


ญาณเนื่องดวยอานาปานสติ

๔๔๙

สัญโญชน ๑๐ คือ ๑. สักกายทิฏฐิ ๒. วิจิกิจฉา ๓. สีลัพพตาปรามาส ๔. กามราคะ (มีทั้งอยางหยาบและอยางละเอียด) ๕. ปฏิฆะ (มีทั้งอยางหยาบและ อยางละเอียด) ๖. รูปราคะ ๗. อรูปราคะ ๘. มานุ ๙. อุทธัจจะ ๑๐. อวิชชา. โสดาปตติมรรคยอมตัด สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพตาปรามาส ; สกิทาคามิมรรคย อมตั ดเพื่ อจากโสดาป ตติ มรรค คื อ ตั ดกามราคะอย างหยาบและปฏิ ฆะอย าง หยาบ ; อนาคามิมรรคยอมตัดเพิ่มจากสกิทาคามิมรรค คือ ตัดกามราคะอยาง ละเอี ยด และปฏิ ฆะอย างละเอี ยด เป นอั นว ากามราคะ และปฏิ ฆะ ถู กตั ดหมดไป ในขั้นอนาคามิมรรคนี้, สวนอรหัตตมรรค ยอมตัดเพิ่มจากอนาคามิมรรค คือ รูปราคะ อรูปราคะ มานะ อุทธัจจะ และอวิชชา. เปนอันวาหมดสัญโญชน โดยประการทั้งปวง. เมื่อกลาวโดยยกเอาอนุสัยเปนหลัก ; พึงทราบวา อนุสัยมี ๗ คือ ๑. ทิฏ ฐานุสัย ๒. วิจิกิจ ฉานุสัย ๓. กามราคานุสัย (จําแนกอยา งหยาบ และอยางละเอียด) ๔. ปฏิฆานุสัย (จําแนกอยางหยาบและอยางละเอียด) ๕. มานานุสัย ๖. ภวราคานุสัย ๗. อวิชชานุสัย โสดาปตติมรรคยอมตัด ทิฏฐานุสัยและวิจิกิจฉานุสัย ; สกิทาคามิมรรค ยอมตัดกามราคานุสัยอยางหยาบ และปฏิฆานุสัยอยางหยาบเพิ่มขึ้น ; อนาคามิมรรค ยอมตัดกามราคานุสัยอยาง ละเอียด และปฏิฆานุสัยอยางละเอียดเพิ่มขึ้น ; สวนอรหัตตมรรค ยอมตัด มานานุสัย ภวราคานุสัย และอวิชชานุสัย.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เมื่ อ นํ า สั ญ โญชน ๑๐ และอนุ สั ย ๗ มาเปรี ย บเที ย บกั น ดู ย อ มจะ เห็ น ได ว า เพี ย งแต จํ า นวนต า งกั น เพราะเล็ ง ถึ ง กิ ริ ย าอาการ ที่ ทํ า หน า ที่ เ ป น กิ เ ลส ตางกัน คือสัญโญชนหมายถึงเครื่องผูกพัน และอนุสัยหมายถึงเครื่องนอนเนื่อง

www.buddhadasa.in.th


๔๕๐

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๑

อยูในสันดาน แตโดยเนื้อแทนั้นเปนของอยางเดียวกันได โดยการปรับใหเขากัน ดังตอไปนี้ คือ : เมื่อเอาอนุสัยเจ็ดเปนหลักยืน เอาสัญโญชนสิบมาทําการ สงเคราะห เ ข า ในอนุ สั ย เรื่ อ งก็ จ ะกลายเป น ว า สั ก กายทิ ฏ ฐิ แ ละสี ลั พ พตปรามาส ๒ อยางนี้ คือทิฏฐานุสัย. วิจิกิจฉา คือวิจิกิจฉานุสัย, กามราคะ คือกามราคานุสัย, รูปราคะและอรูปราคาะ ๒ อยางนี้ คือภวราคานุสัย, มานะและอุทธัจจะ ๒ อยางนี้ คือมานานุสัย, อวิชชา คืออวิชชานุสัย. สัญโญชน ๑๐ อยาง จึงลงตัวกันไดกับ อนุสัย ๗ อยาง ดวยอาการดังกลาวนี้. สั ญโญชน ๑๐ และอนุ สั ย ๗ รวมกั นเป น ๑๗ กามราคะและปฏิ ฆะ ทั้ ง ของสั ญ โญชน และของอนุ สั ย ถู ก แยกออกเป น อย า งหยาบและอย า งละเอี ย ด ทั้ง ๒ ชื่อ และทั้ง ๒ ประเภท จึงไดเพิ่มมาอีก ๔ เมื่อไปรวมกับ ๑๗ จึงเปน ๒๑ วิมุ ตติ สุ ขญาณ จํ าแนกโดยอาการอย างนี้ จึงมี ๒๑ ดั งกล าวแล ว ซึ่งแท จริ งอาจจะ กล าวได ว ามี เพี ยง ๑๐ เท ากั บจํ านวนแห งสั ญโญชน หรื อมี เพี ยง ๗ เท ากั บจํ านวน อนุ สั ย หรื อ แม ใ นที่ สุ ด มี เ พี ย ง ๔ เท า กั บ จํ า นวนแห ง อริ ย มรรค ก็ นั บ ว า เป น สิ่ ง ที่ อาจจะกลาวไดอยูนั่นเอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


ตอน ยี่สิบสอง ผนวก ๒ - วาดวยการตัดสัญโญชน ของอริยมรรคทั้ง ๔ ทางที่สะดวกที่สุดสําหรับการศึกษา๑ นั้น ควรจะกําหนดมาจากการที่ อริ ย มรรคทั้ ง ๔ ตั ด สั ญ โญชน แ ละอนุ สั ย นั้ น โดยตรง แล ว พิ จ ารณากั น ถึ ง ลั ก ษณะ แห งสั ญโญชน และอนุ สั ยนั้ นโดยละเอี ยดจนเห็ นได ว า ถ าสิ่ งเหล านี้ ๆ หมดไปแล ว ผลอะไรจะเกิ ด ขึ้ น ก็ จ ะทราบคุ ณ สมบั ติ แ ห ง วิ มุ ต ติ สุ ข ญาณเหล า นั้ น ได เ ป น อย า งดี ดังตอไปนี้ คือ :-

๑. โสดาปตติมรรค โสดาป ต ติ ม รรค ย อ มตั ด สั ญ โญชน คื อ สั ก กายทิ ฏ ฐิ วิ จิ กิ จ ฉา และ สี ลั พ พตปรามาส และย อ มตั ด อนุ สั ย คื อ ทิ ฏ ฐานุ สั ย และวิ จิ กิ จ ฉานุ สั ย ถ า นั บ เรี ย ง อย า งก็ ถึ ง ๕ อย า ง หรื อ กล า วได ว า มี วิ มุ ต ติ สุข และวิ มุ ต ติ สุ ขญาณ เกิ ด ขึ้ น ได ถึ ง ๕ อย า ง ข อ นี้ เ ป น ไปได ใ นเมื่ อ ตี ค วามของคํ า ว า สั ญ โญชน แ ละอนุ สั ย ให ต า งกั น จนกระทั่ งเมื่ อละได แล ว ย อมเกิ ดผลเป นความสุ ขต างกั นจริ ง ๆ เช นสั ญโญชน หรื อ อนุ สั ย อั น มี น ามว า วิ จิ กิ จ ฉานั้ น ถื อ ว า มี ค วามหมายต า งกั น กล า วคื อ วิ จิ กิ จ ฉานุ สั ย หมายถึ ง วิ จิ กิ จ ฉาที่ น อนเนื่ อ งอยู ใ นสั น ดาน มี ผ ลทํ า ให สั น ดานเศร า หมอง ซึ่ ง เมื่ อ ละไดแลว ทําใหสันดานบริสุทธิ์. สวนวิจิกิจฉาที่เปนสัญโญชนนั้น หมายถึง วิจ ิก ิจ ฉาที ่ทํ า หนา ที ่ผ ูก พัน สัต วไ วใ นสัง สารวัฏ ฏ คือ การเวีย นวา ยอยู ใ นกองทุก ข ซึ่ งเมื่ อละได แล ว มี ผลเกิ ดขึ้ นคื อ สั ตว หลุ ดพ นจากความทุ กข หรื อจากวั ฏฏสงสาร. ที่ทํ าใหเห็นความแตกตางกันอยู คือ ตั ดอนุสั ยได ทําให สันดานบริ สุทธิ์ ตัดสัญโญชน

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

การบรรยายครั้งที่ ๕๔ / ๓ ธันวาคม ๒๕๐๒

๔๕๑

www.buddhadasa.in.th


๔๕๒

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๒

ไดทํ า ใหห ลุด พน จากความทุก ข แตค วามหมายอัน แทจ ริง ของผลทั ้ง ๒ อยา งนี้ ก็คือความไมมีทุกข หรือที่เรียกวาวิมุตติสุขอยางเดียวกันนั่นเอง. ฉะนั้น ถาจะ ถื อ เอาโดยนั ยอั น ละเอี ย ดเช น นี้ ก็ ทํ าให กล า วอาการของวิ มุ ตติ สุ ขในขั้ นโสดาป ต ติ มรรคนี้ ไ ด โ ดยเจาะจงลงไปวา วิ มุ ต ติ สุ ข เกิด ขึ้ น ๓ อยา งแรก เพราะเครื่ อ งผู ก พั น ถูกตัดออกไป ๓ อยางแลว คือสักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพตปรามาส และวิมุตติสุข เกิดขึ้นอี ก ๒ อยาง เพราะสันดานของผูนั้นถูกชํ าระให หมดจดจากอนุ สัย ๒ อยาง คือ ทิฏฐานุสัย และวิจิกิจฉานุสัย. แต ถ า กล า วโดยตรงกั น ข า ม ก็ อ าจกล า วได อี ก เหมื อ นกั น ว า กิ เ ลสทั้ ง ๒ ประเภทนี้ เป นของอย างเดี ยวกั น ชื่ อเดี ยวกั น และสามารถทํ าหน าที่ พร อมกั นได ถึ ง ๒ อย างเป นอย างน อ ย เช น วิ จิ กิ จ ฉานั่ นเอง ในขณะที่ นอนเนื่ อ งอยู ใ นสั น ดาน ก็ ทํ า หน า ที่ ผู ก พั น สั ต ว ใ ห ติ ด อยู ใ นสั ง สารวั ฏ ฏ พร อ มกั น ไปในตั ว ในคราวเดี ย วกั น ไมใชนอนอยูเฉย ๆ โดยไมทําอะไร หรือไมไดเกิดผลอยางใดขึ้น. ถาเปนดังนี้ ก็ เ ป น อั น ว า กิ เ ลสสั ญ โญชน ห รื อ อนุ สั ย นั้ น เป น อกุ ศ ลธรรมอย า งเดี ย ว มี เ พี ย งอย า ง เดี ยว แล วทํ าหน าที่ ได หลาย ๆ อย าง จนเป นเหตุ ให ได ชื่ อแตกต างกั นออกไป เช น วิจิกิจฉาสัญโญชน วิจิกิจฉาอนุสัย และวิจิกิจฉานิวรณ ดังนี้เปนตน. ถาตัด วิ จิ กิ จ ฉาตั วแท ได เด็ ดขาดก็ เ ป น อั น ตั ด วิ จิ กิ จ ฉาได ทุ ก ชื่ อ วิ มุ ตติ สุ ขเนื่ อ งด วยการตั ด วิจิกิจฉาก็มีเพียงอยางเดียว ไมแยกเปนสองเหมือนที่กลาวโดยนัยแรก. นี่ คื อใจความสํ าคั ญ ที่ จะต องสั งเกตให เห็ นในคํ ากล าว ที่ อาจจะกล าวได ตาง ๆ กั น จนทําใหเกิดการฟ นเฝอขึ้ นได เพราะเพียงแต ใช หลักเกณฑในการกล าว ที่ตางกันเทานั้น ; เมื่อกลาวโดยนัยหลังนี้ สัญโญชนที่เหลืออีกสองคือ สักกายทิฏฐิ และสี ลั พพตปรามาส ย อ มถู กสงเคราะห เข า ในทิ ฏฐานุ สั ย เพราะทั้ ง ๒ อย า งนั้ น เปนตัวความเห็นผิด หรือเปนมิจฉาทิฏฐิประเภทเดียวกับทิฏฐานุสัยนั่นเอง. การ ตั ด ทิ ฏ ฐานุ สั ย เสี ย ได จึ ง ได แ ก ก ารตั ด สั ก กายทิ ฏ ฐิ และสี ลั พ พตปรามาสเสี ย ได

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


การตัดสัญโยชน ของอริยมรรคทั้งสี่

๔๕๓

เรื่อ งจึงสั้นเขามาทุกที ๆ กลาวคือโสดาปตติมรรค ตัดกิเลสเพียง ๒ ประเภท คื อ ตั ด สั ญ โญชน ส ามหรื อ อนุ สั ย สอง แล ว แต เ ราจะมุ ง หมายกล า วถึ ง กิ เ ลสประเภท ไหนนั้นตางหาก. และเมื่อสัญโญชนสามมีคาเทากับอนุสัยสอง ก็เปนอันกลาว ไดอีกวาสัญโญชนสามไมตองกลาวถึง ; โสดาปตติมรรคคงตัดเพียงอนุสัยสอง คื อ ทิฏ ฐานุส ัย ซึ ่ง เปน มิจ ฉาทิฏ ฐิก ลุ ม หนึ ่ง ในอัน ดับ แรก และวิจ ิก ิจ ฉานุส ัย ซึ ่ง ได แ ก ค วามลั ง เล ไม แ น ใ จในความรู ใ นสรณะและในทางปฏิ บั ติ ที่ ต นจะเลื อ กเอา ; ซึ่งสรุปความไดวา โสดาปตติมรรคคงตัดเพียงของ ๒ อยางคือ มิจฉาทิฏฐิขั้นตน กับวิจิกิจฉาเทานั้น ; และเมื่อกลาวใหสรุปยิ่งไปกวานั้นอีก ก็ยังกลาวไดสืบไปวา มิจฉาทิ ฏฐิ กั บวิ จิ กิ จฉา ๒ อย างนี้ รวมกั นเข าก็ คื อโมหะ ในขั้นที่ ทํ าให บุ คคลไม รู จั ก หนทางแหงพระนิพพานในเบื้องตนนั่นเอง. ฉะนั้น เปนอันกลาวไดในที่สุดวา โสดาป ต ติ ม รรคตั ด เพี ย งอย า งเดี ย ว คื อ ตั ด เสี ย ซึ่ ง โมหะในขั้ น ที่ ทํ า ให บุ ค คล ดํ า เนิน ไมถ ูก ทางแหง พระนิพ พาน ครั ้น ตัด ไดแ ลว ทํ า บุค คลนั ้น ใหดํ า เนิน ลงสู ตนทางของพระนิพพาน สมตามความหมายของคําวา โสดาบัน ซึ่งแปลวา ผูถึง กระแส คือถึงตนทางแหงพระนิพพาน นั่นเอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org โดยนั ยที่ เปรี ยบเที ยบกั นมาแล วนี้ ทํ าให เห็ นได ว า ถ าเรามี ความมุ งหมาย ที่ จะจํ าแนกและทํ าการจํ าแนกออกไปแล วโสดาป ตติ มรรคก็ ตั ดสั ญโญชน และอนุ สั ย ไดถึง ๕ อยางและมีวิมุตติสุขเกิดขึ้นถึง ๕ ชนิด ; แตถาเรามีความมุงหมายจะทํา การสงเคราะห คือยนยอและทําการยนยอแลว พระโสดาบันก็ตัดกิเลสเพียงหนึ่ง คือ โมหะชนิดที่ทําใหคนเดินผิดทางของพระนิพพาน ดังที่กลาวมาแลวนั่นเอง และวิ มุ ตติ สุ ขก็ มี เพี ยงหนึ่ ง กล าวคื อ วิ มุ ตติ สุ ขที่ เกิ ดมาจากการเดิ นที่ ถู กทาง หรื อ กําลังดํารงตนอยูในทางของพระนิพพาน ดังนี้ก็พอแลว. ฉะนั้น พึงเขาใจวา

www.buddhadasa.in.th


๔๕๔

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๒

การที ่ท า นจํ า แนกเปน ๕ อยา งนั ้น เปน แตเ พีย งมุ ง หมายกลา วอยา งแยกแยะ ใหละเอียดออกไปในทุกแงทุกมุม จากของเพียงอยางเดียวเทานั้น. ถาเขาใจ ของท า นถู ก ก็ เ ป น เครื่ อ งเรื อ งป ญ ญา ถ า เข า ใจผิ ด หรื อ เข า ใจไม ไ ด ก็ ฟ น เฝ อ เป น ธรรมดา. สัญ โญชนแ ละอนุสัย ในขั้น ที่โ สดาปต ติม รรคจะพึง ตัด พรอ มทั้ง ผล ที่เกิดขึ้นจากการตัด มีวินิจฉัยดังตอไปนี้ คือ :ก. สักกายทิฏฐิ๑ คํานี้แปลวา ความเห็นวามีกายของตน หรือมีกาย ชนิด ที ่เ ปน ของเที ่ย งแทถ าวร ทํ า นองที ่เ ปน อาตมัน คือ เปน ตัว ตนที ่ไ มรู จ ัก สูญ และไม รู จั ก เปลี่ ย นแปลง ซึ่ ง เป น ความรู สึ ก ที่ เ กิ ด ขึ้ น ได โ ดยง า ยที่ สุ ด ถึ ง กั บ กลาย เปนสัญชาตญาณอันหนึ่งไป. จะถือวาตัวตนนี้ไมรูจักดับสูญ หรือเพียงแตถือวา ขณะนี้ ต นกํ า ลั ง มี ต นชนิ ด นั้ น อยู เ ป น ของตน จนตลอดชี วิ ต ก็ ต าม ล ว นแต จั ด ว า เปนสักกายทิฏฐิในที่นี้ทั้งนั้น. ความเห็ น ข อ นี้ โ ดยใจความสํ า คั ญ นั้ น ตรงกั น ข า มจากความเห็ น ที่ ว า สิ่ ง ทั้ ง ปวงมี เหตุ มี ป จจั ย และเป น ไปตามอํ านาจของเหตุ ป จ จั ย เช นเกิ ด ขึ้ น ก็ เ พราะ มีเหตุ และดับไปก็เพราะเหตุดับ. ถาถือวามีการของตนเปนของเที่ยงเสียแลว ก็ไ มม ีเ รื ่อ งอะไรเกี ่ย วกับ การดับ ทุก ข เพราะตนหรือ กายของตนเปน ของเที ่ย ง หรือของสุขอยูในตัวเองแลว จะตองไปปฏิบัติเพื่อนิพพานอีกทําไมกัน. ฉะนั้น ความเห็ น ว า มี ตั ว ตนเป น ของเที่ ย ง จึ ง เป น ปฏิ ป ก ษ ต อ การปฏิ บั ติ เ พื่ อ นิ พ พาน ซึ่ ง

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

การบรรยายครั้งที่ ๕๕ / ๔ ธันวาคม ๒๕๐๒

www.buddhadasa.in.th


การตัดสัญโยชน ของอริยมรรคทั้งสี่

๔๕๕

เปน การปฏิบ ัต ิใ หเ ห็น ความที ่สิ ่ง ทั ้ง ปวงวา งเปลา จากตัว ตน ไมม ีสิ ่ง ใดที ่ค วร กล า วว า ตั ว ตนหรื อ สั ก กายะก็ ต าม เพราะฉะนั้ น สั ก กายทิ ฏ ฐิ จึ ง เป น สิ่ ง ที่ ขั ด ขวาง ตอ เบื ้อ งตน ของพรหมจรรย กลา วคือ การปฏิบ ัต ิที ่เ ปน เพื ่อ นิพ พานโดยตรง ; ต อ เมื่ อ เพิ ก ถอนความเห็ น ผิ ด อั น นี้ เ สี ย ได ไปมี ค วามเห็ น ถู ก ในทํ า นองที่ ต รงกั น ข า ม คื อ เห็ น ว า ตั ว ตนไม มี มี แ ต ธ รรมชาติ ธ รรมดา ซึ่ ง ไม ใ ช ตั ว ตนทั ้ง นั ้น จึง จะเรีย กวา มีค วามเห็น ที ่อ ยู ใ นรอ งในรอย หรือ ในกระแสที ่เ องไปหาพระนิพ พาน ที ่เ ปน ของพุทธศาสนา. แมวายังละความยึดถือ ตัวตนหรือของตนไมไดโดยเด็ดขาด แต ก็ เ ห็ น ชั ด ว า สิ่ ง ทั้ ง ปวงไม ใ ช ตั ว ไม ใ ช ต นจริ ง ๆ และกํ า ลั ง พยายามทํ า ลายความ ยึ ด ถื อ อยู ต ลอดเวลา แม เ พี ย งเท า นี้ ก็ ชื่ อ ว า มี ก ารย า งเหยี ย บลงไปสู ต น ทางแห ง นิพพานได. ฉะนั้ น การละสั กกายทิ ฏฐิ จึ งเป นการละมิ จฉาทิ ฏฐิ หรื อละโมหะชนิ ด ที่ ทํ าให บุ คคลอย างเหยี ยบลงในร องรอยของหนทางแห งนิ พพานไม ได ประการหนึ่ ง ; ถ า ละเสี ย ได ก็ ถื อ ว า เป น ความดี ง ามหรื อ ความสุ ข หรื อ ความหลุ ด พ น ในทางที่ ถู ก ตามหลักแหงพุทธศาสนาไดประการหนึ่ง. เมื่อเรียกวาสักกายทิฏฐิ ก็จัดเปน สัญ โญชน ซึ ่ง แปลวา เครื ่อ งผูก พัน เมื ่อ เรีย กวา ทิฏ ฐานุส ัย ก็จ ัด เปน อนุส ัย ซึ่งแปลวา สิ่งเปนเครื่องนอนเนื่องในสันดาน : ตางกันสักวาชื่อเทานั้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ข. วิ จิ กิ จ ฉา แปลว า ความลั ง เล หมายถึ ง มิ จ ฉาทิ ฏ ฐิ ยั ง มี อ ยู ม าก เกิ น ไป สัม มาทิฏ ฐิย ัง มีไ มม ากพอ จึง ทํ า ใหไ มแ นใ จตอ การปฏิบ ัต ิที ่ถ ูก ตอ ง คือ ที่เปนไปเพื่อนิพพานโดยตรง ; และความลังเลนี้ ขยายตัวออกไปไดในทุก ๆ สิ่ง ที่เกี่ยวกับการปฏิบั ติ เพื่ อนิ พพาน ตามแตเราจะเพ งเล็ งไปยังอะไร หรื อเรี ยกว าอะไร เช น ลั ง เลต อ วิ ช ชาความรู ห รื อ สั จ จะความจริ ง ที่ เ รี ย กว า สั จ จธรรม หรื อ หลั ก ธรรม ที่ตนจะยึดถือวาเปนของจริงหรือของถูก ; หรือมีความลังเลในสิ่งที่ตนจะยึดถือ เอาเป น ที่ พึ่ ง เป น สรณะ เช น ลั ง เลต อ การถื อ พระพุ ท ธ พระธรรม พระสงฆ

www.buddhadasa.in.th


๔๕๖

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๒

เพราะความไมไวใจวาจะเปนที่พึ่งไดจริง ทั้งที่เห็นเขาพากันถืออยู และตนได สมัครถือไปตามเขาแลวก็ตาม ; รวมทั้งการลังเลตอการตรัสรูของพระพุทธเจา ต อ สิ่ ง ซึ่ ง พระองค ท รงนํ า มาสอน ซึ่ ง เมื่ อ รวมใจความแล ว ก็ คื อ ลั ง เลต อ การปฏิ บั ติ เพื่อนิพพาน วาจะไมเปนทางดับทุกขไดจริง กลาวโดยเจาะจงก็คือลังเลวาอริยมรรคนั้น จักไมตัดกิเลสไดจริง จึงไมสมัครที่จะเดินตามทางแหงอริยมรรค. ถา ความรู ส ึก อยา งนี ้ย ัง มีอ ยู  ก็เ ปน อนกลา วไดว า เจตสิก ธรรมที ่เ ปน อกุศ ลชนิด ที่ น อนเนื่ อ งอยู ใ นสั น ดานที่ บั ญ ญั ติ ชื่ อ เรี ย กว า วิ จิ กิ จ ฉานั้ น ยั ง คงมี อ ยู ใ นสั น ดาน พร อ มอยู เ สมอที่ จ ะปรุ ง แต ง จิ ต ให มี ค วามคิ ด ไปทางลั ง เล โดยอาการดั ง ที่ ก ล า วแล ว ขางตน. ความรูสึกตามสัญชาติญาณของสัตว ยอมเอียงไปในกามและภพ คือ ความเปน ตามที่ตนอยากจะเปนอยูเปนประจํา หรือเรียกวาเปนนิสัย ; เมื่อ ไดย ิน ไดฟ ง หรือ ไดร ับ ความรู ค วามคิด อัน ใหม ซึ ่ง เปน ไปในทางที ่จ ะไถถ อนเสีย ซึ่งกามและภพ ก็มีความลังเลยากที่จะยอมรับเอาขอปฏิบัติเหลานั้นได ; ฉะนั้น วิ จิ กิ จ ฉาจึ ง เป น มิ จ ฉาทิ ฏ ฐิ ห รื อ โมหะประเภทที่ กี ด กั น สั ต ว ไม ใ ห ย า งเหยี ย บลงสู รอ งรอยของหนทางแหง นิพ พาน อีก อยา งเดีย วกัน . เมื่อ ใดกํา ลัง แหง ความรู ที ่ถ ูก ตอ ง ที ่เ รีย กวา สัม มาทิฏ ฐิม ีม ากพอ จนตัด ความลัง เลนั ้น เสีย ได บุค คลนั ้น ก็ ไ ด ชื่ ว ว า เป น ผู ก า วลงสู ห นทางของนิ พ พานได แ ล ว โดยแน น อน และเราบั ญ ญั ติ เรีย กบุค คลอยา งนี้วา เปน พระโสดาบัน . อกุศ ลเจตสิก ที่เ รีย กวา วิจิกิจ ฉานี้ ถ า เพ ง ถึ ง อาการที่ มั น ผู ก พั น สั ต ว ไ ว ในการเดิ น ทางที่ ผิ ด ในการเป น อยู ที่ ผิ ด ความ หมกจมวายเวียนอยูกับความทุกขแลว ก็เรียกวา วิจิกิจฉาสัญโญชน ; และเมื่อเพง เล็งถึงอาการที่มันมีประจําอยูในสันดานของปุถุชนอยางเหนียวแนน และไมขาดสาย แลว ก็ถูกเรียกวา วิจิกิจฉานุสัย ตรงตามความหมายของคําวาสัญโญชนและคําวา อนุสัยดังที่วินิจฉัยแลวขางตน ; ละเสียไดเมื่อใด ก็ไมมีอะไรเปนเครื่องผูกพันสัตว ไมใหยางเหยียบลงในรองรอยแหงนิพพานอีกตอไป.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


การตัดสัญโยชน ของอริยมรรคทั้งสี่

๔๕๗

ค. สีลัพพตปรามาส คํานี้ แปลวา การลูบคลําซึ่งศีลและพรต หรือ การลูบคลําแหงศีลและพรต. อยางแรกหมายถึงความเขาใจผิดตอความหมายอัน แทจริงของคําวา ศีล และ พรต ; อยางหลังหมายถึงความที่ยังโงมากยังหลงมาก ถึงขนาดที่ใหศีลพรตประเภทที่ผิด ๆ หรืองมงายไรสาระครอบงําเอา. ทั้ง ๒ อยางนี้ นํ า ให เ กิ ด ความยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น ต อ ศี ล และพรตผิ ด ไปหมดทุ ก อย า งทุ ก ทาง จนไม สามารถใช ศี ล และพรตใด ๆ ให เ ป น ประโยชน แ ก ก ารดํ า เนิ น ไปในทางของพระนิพ พานไดแ มแ ตน อ ย ทั ้ง ยัง หลับ หูห ลับ ตายึด มั ่น ถือ มั ่น ในศีล และพรต โดยวิธี ไรสาระอยูอยางไมรูสราง. ตามที่เปนอยูจริงในที่ทั่ว ๆ ไปนั้น เปน ไปโดยอาการ ๒ สถาน คื อ หลงใหลยึ ด ถื อ การถื อ สรณาคมณ การบํ า เพ็ ญ ทาน การรั ก ษาศี ล การเจริ ญสมาธิ และวิ ป สสนาที่ ถู กต อง ให เขวไปในทางขลั งทางศั กดิ์ สิ ทธิ์ อธิ บาย ไม ได ด วยเหตุ ผล ทํ าบุ คคลให กลายเป นบุ คคลศั กดิ์ สิ ทธวิ เศษไปอย างหลับหู หลั บตา เพราะจิตยึดมั่ นในความขลังความศั กดิ์สิทธิ์ แตอยางเดียวนั่นเอง นี้ทางหนึ่ง ซึ่งสรุ ป เรียกไดวา ทําของดีหรือของสะอาด ใหกลายเปนของสกปรกไป ; สวนอีกทางหนึ่ง ตรงกัน ขา ม คือ ไปเอาของปลอมหรือ ของสกปรกภายนอกพุท ธศาสนาเขา ถือ ไว ในฐานะเปนของดี ของสะอาด ในพุทธศาสนา. ขอนี้ไดแกการที่ไปหลงเอาขอ ปฏิบ ัต ิง มงายไรส าระ หรือ ถึง กับ สกปรกโสมม นอกพุท ธศาสนา หรือ กอ น พุ ท ธศาสนา มายึ ด ถื อ เป น ข อ ปฏิ บั ติ หรื อ ทํ า ที่ พึ่ ง ให แ ก ต นด ว ยความสํ า คั ญ ผิ ด หรือดวยอํานาจของโมหะอยางเดียวกัน. รวมใจความเขาดวยกันอยางสั้น ๆ ก็คือ โมหะหรื อ ความหลง ที่ ทํ า ให ไ ม ส ามารถจั บ ฉวยเอาศี ล และพรตที่ ถู ก ต อ งแท จ ริ ง มาประพฤติปฏิบัติใหสําเร็จประโยชนไดนั่นเอง. ถาโมหะในขั้นนี้ยังมีอยูในสันดาน อยู เ พีย งใดแลว ก็เ ปน ที ่เ ห็น ชัด อยู แ ลว วา ไมม ีช อ งทางที ่เ ขาจะยา งเหยีย บลง สู ร อ งรอยแห ง การปฏิ บั ติ เ พื่ อ นิ พ พานได เ ลย แต ถ า ชํ า ระล า งหรื อ เพิ ก ถอนเสี ย ได เมื่ อ ใด แนวทางแห ง นิ พ พานก็ จ ะเป ด เผยอย า งโล ง โถง และชั ด เจนแก บุ ค คลนั้ น

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๔๕๘

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๒

ทั น ที ทํ า ให เ ขาหมดความลั ง เล ที่ จ ะไม ป ฏิ บั ติ เ พื่ อ นิ พ พาน หรื อ ทํ า ให เ ขามี ค วาม เขาใจถูกตองในความจริงที่วา สิ่งทั้งปวงไมใชตัวตน ; เปนอันวาเขากําลังปฏิบัติถูก ปฏิ บั ติ ช อบ กํ า ลั ง มี ศี ล และพรตอย า งสมบู ร ณ ในทางที ่จ ะเปน ไปเพื ่อ นิพ พาน โดยสวนเดียว. พิจารณาดูแลวจะเห็นไดดวยตนเองวา ความเขาใจผิดตอศีลและ พรตโดยทํ า นองที่ ก ล า วนี้ มั น ผู ก พั น หรื อ ทํ า การกั ก กั น สั ต ว ไ ม ใ ห อ อกจากความเป น ปุ ถุ ชน ไปสู ความเป นพระอริ ยเจ าได อ ย างไร เพราะฉะนั้ น จึ งได นามว าสั ญโญชน แต ถ า เล็ ง ถึ ง ความที่ สั ต ว มี ค วามโง เ ขลาชนิ ด นี้ อ ยู เ ป น ของประจํ า ตั ว ด ว ยอํ า นาจ สั ญชาตญาณแห งการหลงใหลในสิ่ งที่ แปลกประหลาดอั ศจรรย ผิ ดธรรมดา อย างที่ เรีย กวา ความขลัง ความศัก ดิ ์ส ิท ธิ ์ไ มม ีส รา งแลว การถือ ศีล และพรตอยา งผิด ๆ ก็ได นามว าอนุ สั ย สงเคราะห ลงในคํ าวา ทิฏฐานุสั ย กล าวคื อการเห็ นผิ ดชนิดหนึ่ ง ที่มีประจําสันดานนั่นเอง ; ทํานองเดียวกับที่ไดสงเคราะหสักกายทิฏฐิสัญโญชน วาเปทิฏฐานุสัย ดังที่กลาวแลวขางตน. สัญโญชน สามก็ ดี อนุ สั ยสองก็ ดี ดั งที่กล าวมาแลวนี้ โดยใจความเล็ งถึ ง โมหะอย างเดี ยวกั นและเท ากั น สติ ป ญญาหรื อญาณที่ ถึ งขนาดที่ จะตั ดโมหะส วนนี้ ไดนั้น ถูกบัญญัติ ชื่อวาโสดาปตติ มรรคญาณหรือเรียกสั้น ๆ วา โสดาปตติมรรค ซึ่ ง แปลวามรรคหรือญาณเพื่อการถึงกระแส (โสต = กระแส) + (อาปตติ = การถึงทั่ว) + (มรรค = ทาง คือปญญา) ถามีการถามวาโสดาปตติมรรคญาณนี้ มีอํานาจหรือ กําลังเทาไร หรืออยางไร ? ก็ตอบไดแตเพียงวา มันมีอํานาจหรือกําลังเทาที่ หรื ออย างที่ จะสามารถทํ าลายสั ญโญชน สาม หรื ออนุ สั ยสองก็ ตาม ให หมดไปจาก สั น ดานได เ ท า นั้ น เอง ไม ต อ งการอะไรให ม ากไปกว า นั้ น ไม ห วั ง จะให ข ลั ง หรื อ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ อ ะไรนอกไปจากนั้ น กล า วคื อ ต อ งการแต เ พี ย งให ส ามารถย า งเท า ลงสู ร องรอยแห งหนทางของนิ พพานได เป นเบื้ องต นเท านั้ นเอง ป ญญาถึ งขนาดนี้ แหละ ที่เรียกวา โสดาปตติมรรคญาณ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


การตัดสัญโยชน ของอริยมรรคทั้งสี่

๔๕๙

เพื่ อความกระจ างยิ่งขึ้นไปอีก ควรพิจารณาใหทราบถึ งข อที่ว า การตั ด สัญโญชนสามหรืออนุสัยสองไดดวยโสดาปตติมรรคญาณนี้ ที่แทก็มาจากการเห็น อนิ จ จั ง ทุ ก ขั ง อนั ต ตา ในขณะแห ง อานาปานสติ ขั้ น ที่ ส มบู ร ณ คื อ เห็ น ว า เป น อนิจ จัง ทุก ขัง อนัต ตา ไมมีอ ะไรเปน ตัว ตน จนถึง กับ ละสัก กายทิฏ ฐิไ ด ; เห็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา อยางแจมแจงวา เราเปนทุกขกันอยูก็เพราะไมเห็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แท ๆ จึงมีความแนใจไมลังเลในการที่จะปฏิบัติเพื่อใหเห็น อนิ จ จั ง ทุ ก ขั ง อนั ต ตา ยิ่ ง ขึ้ น ไป ตามแบบของพระพุ ท ธเจ า จึ ง ตั ด วิ จิ กิ จ ฉาได ไมลังเลในสรณะและการปฏิบัติของตนอีกตอไป ; และมีการเห็น อนิจจัง ทุกขัง อนั ต ตา อย า งแจ ม แจ ง จนรู จั ก กฎเกณฑ ข องความเป น อนิ จ จั ง ทุ ก ขั ง อนั ต ตา เป น อย า งดี ไม ห ลงงมงายในศี ล และพรตชนิ ด ที่ ไ ม เ ป น ไปเพื่ อ ทํ า ให เ ห็ น อนิ จ จั ง ทุกขัง อนัตตา ไดอีกตอไป จึงตัดสีลัพพตปรามาสได ซึ่งหมายความถึงตัดอนุสัย ทั้ง ๒ อยางขางตนไดดวยอีกนั่นเอง. สรุปความ ไดวา การเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา นั่ นแหละ คอย ๆ ไตขึ้นมาตามลําดั บ จนถึง ขนาดเห็นความจริง ของสิ่ ง ทั้งปวงในระดั บหนึ่ งได จึ งสามารถตัด สัญโญชนส าม หรื อ ตัด ตัวโมหะที่ส ะกัดกั้ น ไมใหสัตวเดินถูกทางแหงนิพพานไดอยางราบเตียน ดังนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๒

๔๖๐

๒. สกิทาคามิมรรค๑ สกิ ท าคามิ ม รรค ย อ มตั ด สั ญ โญชน ส องหรื อ อนุ สั ย สอง ซึ่ ง มี ชื่ อ อย า ง เดี ย วกั น เพิ่ ม ขึ้ น อี ก กล า วคื อ กามราคสั ญ โญชน ห รื อ กามราคานุ สั ย และปฏิ ฆ สัญ โญชนห รือ ปฏิฆ านุส ัย หากแตไ มส ามารถตัด ไดโ ดยสิ ้น เชิง คงตัด ไดเ ฉพาะ ที่ เ ป น ชั้ น หยาบหรื อ ที่ เ รี ย กว า โอฬาริ ก ะ คงเหลื อ อยู ที่ เ ป น ชั้ น ละเอี ย ด ซึ่ ง แทบไม ปรากฏอาการ. กามราคะ และ ปฏิฆะ มีชื่อตรงกันทั้งที่เปนสัญโญชนและเปนอนุสัย ข อ นี้ ย อ มแสดงว า เป น กิ เ ลสที่ มี ชื่ อ เป น ที่ รู จั ก กั น แพร ห ลายยิ่ ง กว า กิ เ ลสชื่ อ อื่ น . ความหมายของคํ าว าสัญโญชน และคํ าว าอนุ สัยต างกันอยางไรได กล าวแลวข างต น แตขอสําคัญที่จะตองไมลืมนั้นมีอยูวา มันเปนสิ่งที่แยกกันไมได กลาวคือ ถาตัด กามราคสั ญ โญชน ก็ ต อ งเป น อั น ตั ด กามราคานุ สั ย ด ว ย อย า งที่ จ ะหลี ก เลี่ ย งไม ไ ด เพราะเปนของสิ่งเดียวกั น แตทําหน าที่หลายอยาง และเราไปใหชื่อมันแปลก ๆ กั น ตามหน าที่ ที่ มั นกระทํ าดั ง ที่ กล าวแล ว ข างต น ซึ่ งจะต องกํ าหนดไว เป นหลั กเสมอไป มิฉะนั้นจะฟนเฝอ จึงไดกลาวย้ําอีกในที่นี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

การบรรยายครั้งที่ ๕๖ / ๕ ธันวาคม ๒๕๐๒

www.buddhadasa.in.th


การตัดสัญโยชน ของอริยมรรคทั้งสี่

๔๖๑

คํ าว า สกิ ทาคามิ มรรค แปลว า มรรคแห งบุ คคลผู มาอี กเพี ยงคราวเดี ยว (สกิ = คราวเดียว) + (อาคามี = ผูมีการมา) + (มรรค = ทาง คือปญญา) จากความ หมายของคํ า คํ า นี้ ทํ า ให เ ห็ น ได ชั ด อยู ใ นตั ว ว า เมื่ อ กล า วโดยบุ ค คลาธิ ษ ฐานแล ว พระอริ ย บุ ค คลในขั้ น นี้ เป น พวกที่ มี ก ารเดิ น ทางไปบ า งแล ว ผิ ด จากพระอริ ย บุ ค คล ในขั้นแรก กลาวคือ พระโสดาบัน ซึ่งเปนเพียงผูที่ยางเหยียบลงสูทางเทานั้น. ถ า กล า วโดยธรรมาธิ ษ ฐาน ก็ เ ป น อั นกล า วได ว า อริ ย มรรคในขั้ น ที่ ส องนี้ ได ตั ด กิ เ ลสประเภทอื่ น รุ ด หน า ต อ ไปอี ก จากที่ โ สดาป ต ติ ม รรคได ตั ด แล ว ดั ง ที่ ไ ด ระบุ ไ ว ข า งต น ว า ได ตั ด กามราคะและปฏิ ฆ ะ ส ว นที่ เ ป น โอฬาริ ก ะ คื อ ที่ แ สดง กิร ิย าอาการใหป รากฏไดสิ ้น เชิง จึง เปน เหมือ นกับ การรุด หนา ไปแลว ตอนหนึ ่ง แมจะยังไมถึงที่สุดก็ตาม และคําวา “มาอีกเพียงครั้งเดียว” นั่นเอง ยอมแสดง ถึ ง ความสู ง ต่ํ า ของอริ ม รรคขั้ น นี้ อ ยู ใ นตั ว หมายความว า มี จิ ต ใจสู ง ไปในทางของ โลกุ ตตระถึ งขนาดที่ ว า หากจะหวนย อนมาระลึ กถึ งโลกิ ยะด วยความอาลั ยอี ก ก็ มี ได เพี ยงครั้ งเดี ยวเท านั้ น ซึ่ งมั กจะใช โวหารพู ดกั นไปในทํ านองว า จะมาเกิ ดในกามภพ ได อี ก เพี ย งครั้ ง เดี ย ว หรื อ บางคนก็ มั ก จะระบุ ล งไปเลยว า มาเกิ ด ในมนุ ษ ย โ ลกอี ก เพียงครั้งเดียว ซึ่งเปนการกลาวอยางบุคคลาธิษฐานที่รุนแรงยิ่งขึ้นไปอีก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถ าจะกล าวสรุ ปสั้ น ๆ อย างธรรมาธิ ษฐานแท ก็ กล าวได ว าหากความคิ ด จะน อมมาในทางกาม หรื อในทางปฏิ ฆะอย างหยาบ ก็ จะน อมมาได เพี ยงครั้ งเดี ยว ; ซึ่ ง พู ด อย า งโวหารธรรมดาก็ ว า จะมี ค วามคิ ด น อ มมารู สึ ก รั ก หรื อ ชั ง อย า งปุ ถุ ช น ธรรมดาสามั ญ ได อี ก อย า งมาก ก็ เ พี ย งครั้ ง เดี ย วเท า นั้ น ไม ต อ งกล า วถึ ง การกระทํ า หรื อ กล า วถึ ง การเกิ ด ทางรู ป กายเป น หลั ก แต ป ระการใด นี้ คื อ ขอบเขตที่ เ ป น การ บัญญัติความแตกตาง ระหวางอริยมรรคขั้นที่หนึ่งและอริยมรรคขั้นที่สอง.

www.buddhadasa.in.th


๔๖๒

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๒

ถ า จะกล า วเปรี ย บเที ย บกั น อี ก ทางหนึ่ ง เพื่ อ ให เ ห็ น ชั ด โดยง า ยขึ้ น ไป อี กก็ อาจจะกล าวได ว า โสดาป ตติ มรรคละสั ญโญชน ประเภทโมหะได ๓ ชนิ ด หรื อ อนุสัยประเภทโมหะได ๒ ชนิดก็ตาม. สกิทาคามิมรรค ก็ละสัญโญชนหรืออนุสัย ประเภทราคะและโทสะได อี ก ตั้ ง ครึ่ ง ตั้ ง ค อ น ซึ่ ง เปรี ย บกั น ได กั บ การเดิ น ทางไปบ า ง แล ว เป น ส ว นมาก ในเมื่ อ โสดาป ต ติ ม รรคเป น แต เ พี ย งการคลํ า หาจนพบหนทางที่ ถูกและเริ่มลงมือเดินเทานั้น. จากขอเปรียบเทียบนี้ ยอมแสดงใหเห็นความจริงที่ สํ า คั ญ ได บ างอย า ง เช น ว า จะต อ งมี ก ารตั ด โมหะที่ จํ า เป น บางส ว นเสี ย ก อ น ก อ น การตัดราคะหรือโทสะโดยตรง. สมตามที่ไดทรงบัญญัติไววา มรรคมีองคแปด มี สั ม มาทิ ฏ ฐิ ห รื อ ป ญ ญานํ า หน า แล ว จึ ง มาถึ ง ศี ล หรื อ สมาธิ แต ค นทั่ ว ไปมั ก จะ หลงผิ ดไปตามลํ าดั บแห งการบั ญญั ติ ทางฝ ายหลั กวิ ชาหรื อฝ ายหลั กทฤษฎี กล าวคื อ เรีย งลํ า ดับ ราคะหรือ โลภะเปน ที ่ห นึ ่ง โทสะหรือ โกธะเปน ที ่ส อง และโมหะ เปนที่สาม หรือเรียงลําดับไตรสิกขาเปนศีล สมาธิ ปญญา ; สวนหลักในทาง ปฏิ บั ติ จ ริ ง ๆ นั้ น กลั บ ไขว กั น คื อ ยกเอาโมหะขึ้ น มาเป น สิ่ ง แรก ที่ จ ะต อ งตั ด ก อ น แล วจึ ง จะตั ดราคะหรื อ โทสะเป นลํ าดั บไป ดั งที่ ปรากฏอยู ในหน าที่ ที่ โสดาป ตติ มรรค และสกิ ทาคามิ มรรค จะพึ งตั ดสั ญโญชน ดั งกล าวแล ว และทํ าให ต อ งยกเอาป ญญา มาวางไว หน าศี ล และสมาธิ ดั ง ที่ ปรากฏในการจั ดลํ า ดั บแห ง องค ๘ ของมรรค ดั ง ที่ ใคร ๆ ก็ ทราบกั น อยู แ ล วว า สั มมาทิ ฏฐิ อ งค ที่ หนึ่ งและสั มมาสั งกั ปปะองค ที่ ส องนั้ น เปน ปญ ญา เหลือ จากนั้น จึง เปน ศีล และสมาธิไ ปตามลํา ดับ . ขอ นี้ทํา ให สรุปความไดวา ทางแหงการปฏิบัติเพื่อนิพพานนั้น ตองเริ่มผจญกันเขากับกิเลส ประเภทโมหะบางสวนกอน แลวจึงสามารถทําลายกิเลสประเภทราคะโทสะ และโมหะที ่เ หลือ รุด หนา ไปไดต ามลํ า ดับ ถา มิฉ ะนั ้น แลว ก็ม ัว แตห ลงอยู ไมรูวา จะทํา ลายราคะหรือ โทสะอยา งไรอยูนั่น เอง. จึง ควรตั้ง ขอ สัง เกตไว สั ก อย า งหนึ่ ง ว า ถ า เรี ย งลํ า ดั บ กิ เ ลสอย า งนั ก ปริ ยั ติ ก็ จ ะเรี ย กว า ราคะ โทสะ

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


การตัดสัญโยชน ของอริยมรรคทั้งสี่

๔๖๓

โมหะ แตถาเรียงอยางนักปฏิบัติที่แทจริง ก็จะกลายเปนเรียงวา โมหะ ราคะ โทสะ ตามลําดับที่จะตองตัดจริงกอนหลังดวยอํานาจอริยมรรคนั้นเอง. นักปริยัติ จะเรี ย งลํ าดั บไตรสิ ก ขาว า ศี ล สมาธิ ป ญญา ซึ่ ง เป นการเรี ยงตามลํ าดั บความสู งต่ํ า กวากัน. แตนักปฏิบัติจะเรียงวา ปญญา ศีล สมาธิ ตามลําดับเวลากอ น และหลัง ที ่อ ริย มรรคจะพึง ตัด กิเ ลสเหลา นั ้น ดัง ที ่ม ีห ลัก อัน ตายตัว และชัด แจง อยู แ ล ว ในลํ า ดั บ แห ง การตั ด สั ญ โญชน ข องอริ ย มรรค หรื อ ในลํ า ดั บ แห ง องค ข อง อริ ย มรรค ซึ่ ง มี สั ม มาทิ ฏ ฐิ เ ป น ข อ ต น ที่ สุ ด ดั ง ที่ เ ห็ น ๆ กั น อยู ถ า ถามว า เพาะเหตุ ใ ด จึงเปนดังนี้ ? ก็ตอบไดงาย ๆ วา การปฏิบัติในพุทธศาสนานั้น เปนการปฏิบัติ ที่ เ ปรี ย บกั น ได กั บ การทํ า งานในที่ ส ว า ง มั น จะต อ งจุ ด ตะเกี ย งขึ้ น เสี ย ก อ นจึ ง จะทํ า อะไรตอไปได ดวยอาศัยแสงสวางนั้น. ตามธรรมดาสามัญสัตวตกอยูในที่มืดคือ โมหะ หรื อ อวิ ช ชา คว า อะไรไม ถู ก จะต อ งขจั ด ความมื ด ออกไป ด ว ยอาศั ย แสง สว า งคื อ ป ญ ญา หรื อ สั ม มาทิ ฏ ฐิ เ ป น เบื้ อ งต น ก อ น จึ ง จะสามารถอาศั ย แสงสว า งนั้ น ทํ า กิ จ ที่ เ หลื อ ต อ ไปตามลํ า ดั บ จนถึ ง ที่ สุ ด เพราะเหตุ นี้ เ อง พระพุ ท ธองค จึ ง ตรั ส ว า มัช ฌิม าปฏิป ทาอัน ประกอบดว ยองคแ ปดนั ้น มีส ัม มาทิฏ ฐิเ ปน เหมือ นรุ ง อรุณ คือตองมากอน แลวสิ่งตาง ๆ จึงจะตามมาไดโดยสมบูรณ. แมโดยหลักทั่วไปก็ถือ กั น ว า ป ญ ญาเป น ตั ว นํ า มาซึ่ ง กุ ศ ลธรรมทั้ ง หลาย ตั้ ง แต ร ะยะแรกเริ่ ม ต น จนถึ ง ระยะ สุ ด ท า ย เช น ป ญ ญา ทํ า ให อ ยากรู อยากเรี ย น อยากปฏิ บั ติ ทํ า ให รู จั ก สงสั ย ใน ความไม ส มบู ร ณ ข องความรู ที่ มี อ ยู ก อ น ทํ า ให รู จั ก เลื อ กความรู หรื อ เปลี่ ย นแนวทาง ทํ า ให รู จั ก ถื อ สรณะเป น ขั้ น แรก แล ว รู จั ก ให ท าน รั ก ษาศี ล เจริ ญ สมาธิ และ วิ ป ส สนาเป น ลํ า ดั บ ไป ซึ่ ง อะไร ๆ ถ า เป น ไปในทางถู ก แล ว ก็ ล ว นแต มี ป ญ ญา เปนผูเบิกอรุณแลวจูงไปทั้งนั้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๔๖๔

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๒

การวิน ิจ ฉัย ในขอ นี ้อ ยา งยืด ยาวนั ้น เปน การปอ งกัน เสีย ซึ ่ง ความ หลงผิ ด ยึ ด ถื อ เอาตามตั ว หนั ง สื อ มากเกิ น ไป โดยไปเอาหลั ก ของนั ก ปริ ยั ติ ม าเป น หลั กของนั กปฏิ บั ติ ก็ จะเกิ ดการติ ดตั นขึ้ นมาอย างเส นผมบั งภู เขาที เดี ยว ดั งที่ เราจะ เห็ น กั น ได อ ยู ทั่ ว ไปในหมู บุ ค คลผู ยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น ด ว ยอุ ป าทานในความรู ต ามตั ว หนั ง สื อ ตามที่ตัวทองบนอยูเหลานั้น. ก็คือ การระบุชื่อสัญโญชนหรืออนุสัยที่ สิ่งที่ตองเขาใจอีกอยางหนึ่ง๑ อริยมรรคนั้น ๆ จะพึงตัด : ถาระบุเฉพาะชื่อที่อริยมรรคนั้น สามารถตัดไดขาดโดย ตรง และแม แ ต ตั ด เพี ย งครั้ ง เดี ย วส ว นเดี ย ว ก็ ยั ง เป น การตั ด ประเภทสมุ จ เฉทปหาน อยูนั่นเอง. ฉะนั้นพึงทราบวา แมจะไมมีการระบุวาโสดาปตติมรรคไดตัด กามราคะ หรื อ ปฏิ ฆ ะเลย ก็ มิ ไ ด ห มายความว า พระโสดาบั น เป น ผู ที่ ยั ง คงมี ก ามราคะหรื อ ปฏิ ฆ ะจั ด อย า งไม มี ก ารบรรเทาเบาบางเสี ย เลยก็ ห าไม หากแต ว า ยั ง ไม ส ามารถ ตัด ไดถึง ขนาดที่เ ปน สมุจ เฉทปหานไป เพีย งบางสว นเทา นั้น , ดัง นั้น ทา นจึง ไมก ลา วถึง การตัด กามราคะหรือ ปฏิฆ ะโดยตรง สํ า หรับ พระโสดาบัน คงกลา ว แต ก ารตั ด โมหะ ๓ ชนิ ด ประเภทที่ ทํ า ให ไ ม รู จั ก ทางหรื อ เดิ น ผิ ด ทางดั ง กล า วแล ว . และถ า มี ก ารบรรเทาแห ง กามราคะและปฏิ ฆ ะเกิ ด ขึ้ น บ า ง ก็ เ ป น เพี ย งผลพลอยได ตามสั ด ส ว นเท า นั้ น เอง หาใช เ ป น การตั ด ด ว ยสมุ จ เฉทปหานไม ฉะนั้ น ท า นจึ ง ไป กล า วถึ ง การตั ด กามราคะและปฏิ ฆ ะประเภทหยาบโดยสมบู ร ณ ในขั้ น สกิ ท าคามิ มรรค และตัดประเภทละเอียดโดยสมบูรณในขั้นอนาคามิมรรคโดยตรง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

การบรรยายครั้งที่ ๕๗ / ๖ ธันวาคม ๒๕๐๒

www.buddhadasa.in.th


การตัดสัญโยชน ของอริยมรรคทั้งสี่

๔๖๕

ฉะนั ้น ทํ า ใหเ ห็น พรอ มกัน ไปไดอ ีก ทาง หนึ ่ง วา การที ่ท า นระ บุ สกิ ทาคามิ มรรค ว ามี หน าที่ ตั ดกามราคะและปฏิ ฆะโดยตรงนั้ น ย อมหมายความว า การบรรเทาโมหะบางอย างบางประเภท ได เ พิ่ มขึ้ นอี กตามสั ดส วนอยู ด วยเหมื อนกั น หากแตวาไมถึงขนาดที่อาจจะนํามากลาวไดเทานั้น. ฉะนั้น จะตองถือเปนหลักวา อริ ย มรรคที่ สู ง ขึ้ น ไปนอกจากจะตั ด กิ เ ลสที่ มี ชื่ อ โดยตรงตามหน า ที่ ข องตนแล ว ก็ ยั ง สามารถบรรเทากิ เ ลสชื่ อ อื่ น ซึ่ ง ไม ถู ก ระบุ ชื่ อ ได ม ากไปกว า อริ ย มรรคที่ ต่ํ า กว า อยู เปนธรรมดาและเปนเรื่องของธรรมดา. คํ าว า กามราคะ ในภาษาไทยฟ งดู แล วคล ายกั บหมายถึ งแต ราคะที่ กํ าลั ง แกกลา หรือที่เปนไปอยางแรงกลาถึงที่สุดเทานั้น. สวนความหมายในภาษาบาลี นั้ น มี ค วามหมายชนิ ด ทั่ ว ไป คื อ หมายถึ ง ความกํ า หนั ด ยิ น ดี ใ นสิ่ ง ที่ เ รี ย กว า กาม ทุ ก ประเภท ส ว นที่ จ ะแบ ง แยกเป น อย า งหยาบอย า งละเอี ย ดเพี ย งไรนั้ น ย อ มมี ไ ด ตามควรแกก รณี แตไ มจํ า เปน ถึง กับ ตอ งเปลี ่ย นชื ่อ ก็ไ ด ดัง ที ่เ รีย กในที ่นี ้ว า กามราคะอยางหยาบและกามราคะอยางละเอียดเปนตน. ฉะนั้น เปนอันใหเขาใจ ว า การที่ ไ ม ไ ด จั ด กามราคะไว ใ นฐานะเป น สิ่ ง ที่ โ สดาป ต ติ ม รรคจะพึ ง ตั ด นั้ น มิ ไ ด หมายความว า พระโสดาบั น เป น บุ ค คลประเภทที่ ยั ง มี ก ามราคะจั ด แต ป ระการใด แต ต อ งเป น สิ่ ง ที่ บ รรเทาเบาบางไปแลว ตามสัด สว นที ่ส มควรแกโ มหะ ๓ อยา ง ที่ตัดแลวนั่นเอง. สรุปความวา ความหมายของคําคํานี้ จะถือเอาตามที่หมาย กั นอยู ในโวหารภาษาไทยทั่ ว ๆ ไปหาได ไม แต ให หมายกว าง ถึ ง ความพอใจในกาม ทุกประเภท ดังที่กลาวแลว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สําหรับคําวา ปฏิฆะ ซึ่งแปลวา ความกระทบกระทั่งนั้น ในภาษาไทย กลั บ มี ความหมายที่ เบากว าความหมายเดิ มในภาษาบาลี กล าวคื อ คล ายกั บว าจะ

www.buddhadasa.in.th


อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๒

๔๖๖

หมายถึงความขัดใจ หรือขุนของอยูในใจเพียงเล็กนอย ; สวนความหมายใน ภาษาบาลี เป นความหมายที่ กว างหรื อทั่ วไปอี กอย างเดี ยวกั น คื อหมายถึ งความโกรธ หรื อ โทสะนั่ น เอง จึ ง ต อ งแบ ง เป น อย า งหยาบและอย า งละเอี ย ด ดั ง ที่ ก ล า วแล ว ข า งต น และพึ ง เข า ใจอย า งเดี ย วกั น กั บ ที่ ก ล า วมาแล ว ในกรณี ข องกามราคะส ว น ที่ เ กี่ ย วกั บ โสดาป ต ติ ม รรค กล า วคื อ แม พ ระโสดาบั น ไม ส ามารถละปฏิ ฆ ะได โ ดย สมุจ เฉทปานสัก ประเภทเดีย ว แตก ็ม ิไ ดห มายความวา ทา นจะตอ งเปน คน มั ก โกรธอย า งเต็ ม ที่ เ หมื อ นปุ ถุ ช น ทั้ ง นี้ เพราะเหตุ ที่ ป ฏิ ฆ ะนั้ น บรรเทาไปแล ว ตาม สัดสวนดวยอริยมรรคนั้น แมไมมากก็นอย. ฉะนั้น การกลาวชื่อของวิมุตติสุขญาณไปตามชื่ อของสั ญญโญชน หรื ออนุ สั ยที่ อริ ยมรรคนั้ น ๆ สามารถตั ดได นั้ น เป น การกล าวที่ เหมาะสมอย างยิ่ ง กล าวคื อ ทํ าให มองเห็ นลั กษณะของวิ มุ ตติ สุ ขนั้ น ๆ ไดอยางชัดแจงจริง ๆ. สรุปความไดสั้น ๆ วา สกิทาคามิบุคคลสามารถบรรลุวิมุติสุขเพิ่มขึ้น อีก ๒ ชั้น กลาวคือ วิมุตติสุขที่เกิดขึ้นเพราะ การละกามราคะอยางหยาบ และ การละปฏิฆะอยางหยาบ เสียไดนั่นเอง หรือถาจะแยกเปน ๔ ชื่อ ก็อาจจะทําได ด ว ยการแยกกิ เ ลสทั้ ง ๒ ชื่ อ นี้ ให เ ป น สั ญ โญชน อ ย า งหนึ่ ง และให เ ป น อนุ สั ย อี ก อย า งหนึ่ ง ดั ง ที่ ป รากฏอยู ใ นรายชื่ อ ของวิ มุ ต ติ สุ ข ญาณ ๒๑ นั้ น แล ว กล า วสรุ ป ไดสั้ น ๆ ว า เมื่ อโสดาป ตติ มรรคละกิเลสประเภททํ าความมืดได ๓ อย าง สกิ ทาคามิ มรรค ก็ละกิเลสประเภททําความรอนไดเพิ่มขึ้นอีก ๒ อยาง โดยอัตราสวนที่ เหมาะกับกําลังของตน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ๓. อนาคามิมรรค อนาคามิ มรรค ย อมตั ดสั ญโญชน สองหรื ออนุ สั ยสอง ชื่ อเดี ยวกั นกั บที่ สกิ ทาคามิ มรรคตั ด แต เป นการตั ดส วนที่ ละเอี ยด (ที่ เหลื อวิ สั ยของสกิ ทาคามิ มรรค)

www.buddhadasa.in.th


การตัดสัญโยชน ของอริยมรรคทั้งสี่

๔๖๗

ได อ ย า งสิ้ น เชิ ง ซึ่ ง เป น มาตรฐานที่ ก ล า วกั น อยู ทั่ ว ๆ ไป ได ยิ น กั น อยู ทั่ ว ๆ ไป และถื อ เป น หลั ก กั น ได ง า ย ๆ ทั่ ว ๆ ไป พระอนาคามี ย อ มปราศจากกามราคะ และปฏิฆะโดยสิ้นเชิง คงเหลืออยูแตโมหะบางสวน ที่จะพึงตัดตอไปเทานั้น. เป น อั น ว า พระอนาคามี ไ ม มี ร าคะในกามโดยเด็ ด ขาดแล ว แต ไ ปมี ร าคะในภพคื อ ความเปนแหงบุคคลผูเสวยสุขอันไมเนื่องดวยกาม สวนปฏิฆะหรือโทสะนั้น เปน อั นหมดไปโดยประการทั้ งปวง โดยนั ยนี้ เป นอั นกล าวได สั้ น ๆ ว าอนาคามิ มรรคนั้ น ตัด โทสะไดสิ ้น เชิง ไมม ีส ว นเหลือ ตัด ราคะไดเ ฉพาะสว นที ่เ ปน กาม ยัง เหลือ อยู ในส ว นที่ เ ป น ภพ และตั ด โมหะเพิ่ ม ขึ้ น ได ต ามส ว น จนเหลื อ อยู แ ต ส ว นที่ เ ป น ชั้ น ละเอียดเกี่ยวกับอัตตวาทุปาทานโดยตรงเปนสวนใหญ. เพื่ อ เข า ใจความหมายของอนาคามิ ม รรค หรื อ ความเป น อนาคามี ไ ด อย า งชั ด เจน จํ า เป น จะต อ งทํ า การเปรี ย บเที ย บดู ทั้ ง ข า งหน า และข า งหลั ง คื อ เปรี ย บเที ย บกั น ดู กั บ สั ญ โญชน หรื อ อนุ สั ย ที่ โ สดาป ต ติ ม รรคและสกิ ท าคามิ ม รรค ได ตั ดมาแล วและสั ญโญชน บางอย า งที่ เ หลื อ อยู ให อ รหั ต ตมรรคตั ด ต อ ไปข า งหน า ก็จะทราบความหมายของคําวาอนาคามี ซึ่งอยูตรงกลางไดดี. ใจความสําคัญ ของข อ นี้ อ ยู ต รงที่ ว า คนธรรมดาสามั ญ เมื่ อ ได ยิ น คํ า ว า ราคะ ย อ มรู สึ ก ไปในทาง ราคะในกามอยา งเดีย วเทา นั ้น เมื ่อ ไดย ิน วา พระอนาคามีต ัด กามราคะไดสิ ้น เชิง ก็ ย อ มเข า ใจว า พระอนาคามี ป ราศจากราคะโดยสิ้ น เชิ ง เป น ธรรมดา แต เ มื่ อ เหลี ย ว ไปข างหน า ยั งมี ราคะเหลื ออยู อี ก ๒ ประเภท ที่ พระอนาคามี จะต องตั ดต อไปเพื่ อ ความเป น พระอรหั น ต ราคะ ๒ ประเภทนั้ น คื อ รู ป ราคะ อรู ป ราคะ หรื อ รวม เรียกเขาดวยกันเปนอยางเดียวกันวา ภวราคะ ดังนี้ก็ได. รูปราคะ คือความกําหนัด ยินดีในความสุขอันเกิดจากรูปฌาน, อรูปราคะ คือความกําหนัดยินดีในความสุข อั น เกิ ด จากอรู ป ฌาน รวมกั น เข า แล ว เรี ย กว า ภวราคะ หรื อ ความกํ า หนั ด ยิ น ดี

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๔๖๘

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๒

ในความเปนชนิดใดชนิดหนึ่งที่ไมเกี่ยวของกับกามเลย. ราคะเหลานี้ฟงดูแลว คนธรรมดาสามั ญ ทั่ ว ไปไม อ าจจะเข า ใจได ว า มั น จะเป น ราคะไปได อ ย า งไร เพราะ เคยเขา ใจหรือ รู ส ึก ซึม ทราบ แตใ นเรื ่อ งของกามราคะที ่เ ปน ของรอ นโดยเปด เผย จึงไมสามารถเขาใจไฟคือ ราคะชนิดเย็น กลาวคือ ความกําหนัดยินดีตอความสุขที่ เกิดจากฌาน นี้วาเปนราคะได. ถาพูดอยางบุคคลาธิษฐาน ก็พูดไดอยางสั้น ๆ น าขบขั น แต แสดงความหมายได ถู กต องที่ สุ ด ว า พระอนาคามี ละได แต ราคะร อ น แต ไม สามารถละราคะเย็ น กล าวคื อ ความยิ นดี ในสุ ขที่ เกิ ดจากฌานหรื ความยิ นดี ในความไดเปนบุคคลเชนนั้นไดเลย. เมื่อเขาใจความหมายขอนี้ดี ยอมเขาใจ ความหมายของความเป น พระอนาคามี ใ นส ว นที่ เ กี่ ย วกั บ ราคะได ดี และไม ห ลงไป ตามเขาวา วาพระอนาคามียอมละราคะไดโดยสิ้นเชิง ดังนี้เปนตน. ฉะนั้นเมื่อ จะวินิจฉัยในวิมุตติสุขของพระอนาคามีกันอยางถูกตองวามีอยูอยางสูงต่ําเพียงไร ก็ พึงพิจารณาถึงการละราคะ ๓ ประเภท คื อกามราคะ รูปราคะ อรูปราคะ นี้กันโดย ละเอียด ก็จะทราบความแตกตางของวิมุตติสุขญาณที่มีอยูเปนชั้น ๆ ไดเปนอยางดี.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org กล าวโดยแท จริ งแล ว รู ปราคะ และอรู ปราคะ ไม น าจะถู กจั ดเป นราคะ นา จะถูก จัด เปน โมหะชนิด ใดชนิด หนึ ่ง มากกวา เชน เดีย วกับ คํ า วา ธรรมราคะ ซึ่ งแปลว ากํ าหนั ดในธรรม ซึ่ งหมายถึ งธรรมซึ่ งมี นิ พพานเป นผล แต ท านก็ ยั งไม จั ด หรื อ ไม บั ญ ญั ติ ว า เป น โมหะ คงจั ด ว า ราคะอยู นั่ น เอง โดยประสงค เ อาใจความ สําคัญตรงที่ ใจไปกําหนัดรักยินดีเกี่ยวของติดพันอยู อยางแนนแฟนนั่นเอง. ฉะนั ้น ทุก คนควรจะจับ หลัก ใหไ ดว า ราคะก็ด ี โทสะก็ด ี โมหะก็ด ี แมจ ะมีม ูล มาจากอวิ ชชาด วยกั นทั้ งนั้ น ก็ ยั งมี ความมุ ง หมายในการกระทํ าที่ ต างกั น กล าวคื อ ราคะหมายถึงความกําหนัดหรือความพอใจ ที่จะเอาไวเปนของตน ; สวนโทสะ หมายถึ ง ความเดื อ ดพล า น ในสิ่ ง ที่ ไ ม เ ป น ที่ ตั้ ง แห ง ความกํ า หนั ด หรื อ พอใจ

www.buddhadasa.in.th


การตัดสัญโยชน ของอริยมรรคทั้งสี่

๔๖๙

กลาวคือ ความรูสึกที่เปนไปในทางที่จะไมเอาไวเปนของตน หรือผลักออกไป เสี ย จากความเป น ของตน เพราะรู สึ ก ว า เป น สิ่ ง ที่ เ ข า มาทํ า ลายหรื อ เป น อั น ตราย ตอสิ่งที่เปนของของตน ; สวนโมหะนั้นมีความหมายดิ่งไปในทางหลงผิด ที่ยึดถือ โดยความเป น ตั ว ตนเป น ส ว นใหญ ตลอดถึ ง แบ ง แยกว า เป น ตั ว ตนชนิ ด ไหน คื อ ดี หรือชั่ว นารักหรือนาชังเปนตน เปนคู ๆ ไป. สรุปความสั้น ๆ ที่สุดก็คือวา โมหะ ทํ า ให รู สึ ก ว า มี ตั ว ตนของสิ่ ง นั้ น สิ่ ง นี้ ที่ ทํ า ให ถู ก แบ ง แยกเป น น า รั ก น า ชั ง ขึ้ น มา ราคะ ก็ คื อ การเข า ไปติ ด ในส ว นที่ น า รั ก โทสะ ก็ คื อ การเข า ไปติ ด ในส ว นที่ น า ชั ง นั่ น เอง ไม มี อ ะไรมากไปกว า นี้ ตลอดเวลาที่ พ ระอนาคามี ยั ง ไม ส ามารถละโมหะ โดยสิ้นเชิงอยูเพียงใด ก็ยังมีความรูสึกวายังมีสิ่งที่นารักนาชังอยูเพียงนั้น ; แมจะ ละการเขาไปติดในสวนที่นาชังไดเด็ดขาด ก็ยังมีสวนที่นารักเหลืออยู ; แมจะละ การเข า ไปติ ด ในฝ า ยที่ น า รั ก เกี่ ย วกั บ กามได ก็ ยั ง เหลื อ ส ว นที่ น า รั ก ที่ ป ระณี ต หรื อ สุ ขุ ม ยิ่ ง ขึ้ น ไป กล า วคื อ ส ว นที่ ไ ม เ กี่ ย วกั บ กามเลย อั น ได แ ก ค วามสุ ข ที่ เ กิ ด จากธรรม ที่ มี รู ป และไม มี รู ป อั น หมดจดจากกามที่ ถู ก นํ า เอามาใช เ ป น อารมณ แ ห ง ฌาน หรื อ สมาบัตินั่นเอง. ฉะนั้น จึงยังเปนอันกลาวไดอยูวา ยังมีการติดอยูในสวนที่นารัก และถูกจัดวามีราคะที่เรียกวารูปราคะหรืออรูปราคะ ดังกลาวแลว. วิมุตติสุขของ ทา นมีเ พิ ่ม ขึ ้น กวา ที ่พ ระโสดาบัน พระสกิท าคามีไ ดร ับ ก็อ ยู ต รงที ่ล ะโทสะได เด็ด ขาด และละราคะที ่เ ราสมมติเ รีย กวา ราคะรอ นนั ้น เสีย ไดเ ทา นั ้น เอง คง เหลื อ ราคะเย็ น อยู สํ า หรั บ จะต อ งละอี ก ต อ ไป พร อ มกั บ โมหะส ว นที่ ทํ า ให สํ า คั ญ ว า มีตัวตนของสิ่งที่นารักและนาชังทั้งหมดจนกวาจะหมดสิ้นไปดวยกัน. จึงเปนอัน กล า วได สั้ น ๆ ตามชื่ อ ของวิ มุ ต ติ สุ ข ญาณนั้ น ๆ ว า พระอนาคามี ย อ มเสวยวิ มุ ต ติ สุ ข อั น เกิ ด จากความสิ้ น ไปแห ง กามราคะ และแห ง ความสิ้ น ไปของปฏิ ฆ ะโดยสิ้ น เชิ ง ดังนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๒

๔๗๐

๔. อรหัตตมรรค๑ อรหั ต ตมรรค ย อ มตั ด สั ญ โญชน ที่ เ หลื อ อยู อี ก ๕ และอนุ สั ย ที่ เ หลื อ อยู อี ก ๓ ซึ่ ง ที่ แ ท ก็ ไ ด แ ก กิ เ ลสอย า งเดี ย วกั น ในเมื่ อ นํ า มาเปรี ย บเที ย บกั น กล า วคื อ อนุสัย ๓ ไดแกมานานุสัย ภวราคานุสัย และอวิชชานุสัย ; สวนสัญโญชนอีก ๕ คือรูปราคะ อรูปราคะ มานะ อุทธัจจะและอวิชชา ; เมื่อสงเคราะหกันกับ อนุ สั ย จะลงกั นได คื อ รู ปราคะกั บอรู ปราคะ ก็ คื อภวราคานุ สั ยนั่ นเอง มานะและ อุทธัจจะก็คือมานุสัย สวนอวิชชา ก็คืออวิชชานุสัยโดยตรงอยูแลว . เปนอันวา อนุ สั ย ๓ ที่ เ หลื อ หรื อ สั ญ โญชน ๕ ที่ เ หลื อ สํ า หรั บ อรหั ต ตมรรคตั ด นั้ น มี ค วาม หมายเทากัน หากแตพวกหนึ่งไดจําแนกออกไปใหมากขึ้นโดยชื่อเทานั้นเอง. ที่ ว า รู ป ราคะและอรู ป ราคะ รวมกั น คื อ ภวราคะ หรื อ ภวราคานุ สั ย นั้ น อธิบายวา คําวา ภวราคะ แปลวา ราคะในภพ. คําวาภพในที่นี้หมายถึงรูปภพ และอรูปภพเทานั้น ไมหมายถึงกามภพ. เพราะคําวากามภพไดหมายถึงแลวใน กามราคะ ซึ่ ง อนาคามิ ม รรคได ตั ด ไปเสร็ จสิ้ นแล ว จึ ง เหลื อ อยู แ ต รู ปภพและอรู ป ภพ ซึ่ ง อนาคามิ ม รรคไม ส ามารถจะตั ด และเหลื อ อยู เ ป น ที่ ตั้ ง แห ง ราคะที่ อ รหั ต ตมรรค จะพึ ง ตั ด และรวมเข า ด ว ยกั น ทั้ ง ๒ อย า ง คื อ รู ป ราคะ และอรู ป ราคะ เป น เพี ย ง อย างเดี ยว คื อภวราคะ และเติ มคํ าว าอนุ สั ยต อท ายเข า จึ งเป นภาวราคานุ สั ย เป น อั นกล าวได ว าภวราคานุ สั ย อั นเป นอนุ สั ยที่ ๖ ก็ คื อรู ปราคสั ญโญชน และอรู ปราคสัญโญชน อันเปนสัญโญชนลําดับที่ ๖ และที่ ๗ ตามลําดับนั่นเอง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

การบรรยายครั้งที่ ๕๘ / ๒๕ ธันวาคม ๒๕๐๒

www.buddhadasa.in.th


การตัดสัญโยชน ของอริยมรรคทั้งสี่

๔๗๑

ที่ ว า มานะและอุ ท ธั จ จะ อั น เป น สั ญ โญชน ๒ ชื่ อ นี้ สงเคราะห เ ข า ได ในอนุ สั ย ชื่ อ มานานุ สั ย นั้ น อธิ บ ายว า มานสั ญ โญชน มี ชื่ อ ตรงกั บ มานานุ สั ย อยู อยางชัดแจงแลว ; สวนอุทธัจจะก็สงเคราะหเขามาในกิเลสประเภทมานะ เพราะ จิตฟุงขึ้นหรือกระเพื่อมขึ้น ดวยอํานาจความสนใจหรือความทึ่งก็ตาม นี้มีมูลมา จากความสําคัญวาตัวตนหรือวาของตน ซึ่งไดแกมานะนั่นเอง ถาไมมีอาการแหง มานะแล ว อาการแห ง อุ ท ธั จ จะก็ มี ไ ม ไ ด จึ ง ได ส งเคราะห อุ ท ธั จ ะ ที่ เ ป น สั ญ โญชน ข อนี้ เข าในมานานุ สั ย เพื่ อตั ดป ญหาหรื อทางที่ จะสงสั ยว า ทํ าไมจึ งละอนุ สั ยเพี ยง ๓ และละสั ญ โญชน ถึ ง ๕ ซึ่ ง จะเป น ที่ ฉ งนสํ า หรั บ ผู ที่ ม องไม เ ห็ น ว า สิ่ ง ทั้ ง ห า และสิ่ ง ทั้งสามนี้จะเทากันไดอยางไร. สํ า หรั บ อวิ ช ชานั้ น มี ชื่ อ ตรงต อ กั น และกั น อยู แ ล ว ไม ต อ งทํ า การ สงเคราะห สิ่ ง ที่ ต อ งวิ นิ จ ฉั ย ต อ ไปก็ คื อ รายละเอี ย ดของสั ญ โญชน เ รี ย งอย า งทั้ ง ๕ อย า ง ซึ่ ง เมื่ อ วิ นิ จ ฉั ย ครบถ ว นแล ว ก็ จ ะเป น อั น ว า วิ นิ จ ฉั ย อนุ สั ย ๓ ที่ เ หลื อ เสร็จสิ้นพรอมกันไปในตัว ดังตอไปนี้ :-

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ก. รูปราคะ คํานี้โดยพยัญชนะแปลวา ความกําหนัดในรูป (รูปะ = รูป, ราคะ = ความกําหนัด) คําวารูปในที่นี้ หมายถึงสิ่งที่มีรูป หรือสิ่งที่มีรูปเปนที่ตั้ง แต รู ป นั้ น ๆ ไม มี ค วามหมายของกามหรื อ เป น ไปในทางกาม กล า วคื อ ไม เ กี่ ย วกั บ กามเลย จึ ง ต อ งเรี ย กมั น แต เ พี ย งว า รู ป แม ว า กามตามปรกติ ก็ เ ป น สิ่ ง ที่ มี รู ป หรื อ เนื่ อ งอยู กั บ รู ป แต ถ า มี ค วามหมายทางกามเข า มาเป น ส ว นสํ า คั ญ เราเรี ย กสิ่ ง เหล า นั้ น ว า กาม ไม เ รี ย กว า รู ป โดยกั น เอาคํ า ว า รู ป มาใช กั บ รู ป ที่ บ ริ สุ ท ธิ์ จ ากกาม คือไมมีกามเขามาเกี่ยวของเลย.

www.buddhadasa.in.th


๔๗๒

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๒

คํ าว ารู ปในที่ นี้ ยั งมี ความหมายลึ กลงไปอี กชั้ นหนึ่ ง คื อหมายถึ งผลที่ เกิ ด มาจากรู ป เช น นํ า เอารู ป ธรรมอั น ใดอั น หนึ่ ง ดั ง เช น ลมหายใจ ในกรณี แ ห ง การ เจริ ญอานาปานสติ นี้ มาเป นอารมณ สํ าหรั บเจริ ญสมาธิ ภาวนามี ผลเกิ ดขึ้ นเป นฌาน อั น มี ล มหายใจเป น อารมณ ฌานนั้ น ทํ า ให เ กิ ด ความรู สึ ก ที่ เ ป น สุ ข ความสุ ข จึ ง เปนผลเกิดมาจากรูป กลาวคือ ลมหายใจ ; ถากําหนัดยินดีในความสุข ขอนี้ ก็เ รีย กวา กํา หนัด ในรูป ดว ยเหมือ นกัน . นี้เ ปน ตัว อยา งที่ชี้ใ หเ ห็น ชัด วา รูป ที่ไมเกี่ยวกับกามเปนรูปบริสุทธิ์ลวน ๆ ก็ยังเปนที่ตั้งแหงความกําหนัดได. หรือ กล า วกลั บ กั น อี ก อย า งหนึ่ ง ก็ ก ล า วได ว า ความกํ า หนั ด นั้ น มิ ไ ด มี เ ฉพาะแต ใ นกาม แตอ าจจะมีไ ดแ มใ นรูป ธรรมบริสุท ธิ์ ซึ่ง เรีย กสั้น ๆ วา “รูป ” ในที่นี้ หรือ ที่เรียกวา “ภพ” ในคําวา ภวราคานุสัย อนุสัยคือความกําหนัดในภพ ดังนี้เปนตน. ข อ นี้ เ ป น การชี้ ใ ห เ ห็ น พร อ มกั น ไปในตั ว ว า สิ่ ง ที่ เ รี ย กว า ราคะ หรื อ ความกํ า หนั ด นั้ น มี อ ยู ห ลายระดั บ ซึ่ ง ไม เ หมื อ นกั น เลย หรื อ สู ง ต่ํ า กว า กั น อย า งที่ ไ ม อาจจะเปรี ยบกั นได เช นกามราคะความกํ าหนั ดในกาม ที่ กล าวถึ งในกรณี ของพระ อนาคามี และรู ป ราคะที่ ก ล า วถึ ง ในที่ นี้ และอรู ป ราคะที่ จ ะกล า วถึ ง ข า งหน า ถ า พิจารณาดูแลวจะเห็นวาสูงต่ํากวากันคนละระดับจริง ๆ ; และเมื่อเขาใจไดทุก ระดับแลว จะสามารถเขาใจความหมายของวิมุตติสุขขั้นนั้น ๆ ไดเต็มที่.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org คํ าว ารู ปราคะโดยทั่ วไป มี ความหมายกว าง ๆ หมายถึ งความยิ นดี หรื อ กํ า หนั ด ในความสุ ข อั น เกิ ด แต รู ป ธรรม ที่ ไ ม เ กี่ ย วกั บ กามทุ ก ชนิ ด และอาจขยาย ความออกไปไดถึงความกําหนัดยินดี ใน ความที่ไดเปนอยางนั้น หรือ ความที่ ไดเ กิด ในโลกที่มีค วามเปน อยา งนั้น หากแตวา ความเปน อยา งนั้น หรือ ความ ได เ กิ ด ในโลกที่ มี ค วามเป น อย า งนั้ น นั้ น มี ค วามหมายอยู ต รงความสุ ข อั น บริ สุ ท ธิ์ ไมเกี่ยวกับกาม อันเกิดมาจากรูปธรรมที่มีใชกามนั่นเอง.

www.buddhadasa.in.th


การตัดสัญโยชน ของอริยมรรคทั้งสี่

๔๗๓

ถ า จะเข า ใจสิ่ ง ๆ นี้ ใ ห ชั ด แจ ง จริ ง ๆ จะต อ งนํ า ไปเปรี ย บเที ย บกั น กั บ ความสุขที่เกิดมาจากกามโดยตรง จึงจะเขาใจได คือเปรียบเทียบใหเห็นวาตางฝาย ตางมีอํานาจดึงดูดหรือยอมใจสัตว ไดอยางเต็มที่อยางไร. แตขอนี้ทํายากสําหรับ คนธรรมดาสามั ญ ซึ่ งมี จิ ตใจอยู ในระดั บกามาวจรภู มิ คื อ เข าใจซึ มทราบได เฉพาะ ความสุ ข ที่ เ กิ ด จากกาม เพราะเป น สิ่ ง ที่ มี ป ระจํ า อยู ใ นใจ แต ไ ม ส ามารถจะเข า ใจ ความสุ ข ที่ เ กิ ด มาจากรู ป เพราะยั ง ไม เ คยรู ร ส เพราะเหตุ ที่ เ ป น ของสํ า หรั บ สั ต ว ประเภทที่ ตั้ ง อยู ใ นรู ป าวจรภู มิ ฉะนั้ น มี ท างที่ จ ะทํ า ได โดยทางการศึ ก ษาเปรี ย บ เทียบจากบุคคลตัวอยางบางคนเทานั้น. ตั วอย างที่ กล าวนี้ ได แก บุ คคลที่ เสวยกามสุ ขในฐานะเป นกษั ตริ ย หรื อ เป น เศรษฐี เ ป น ต น อย า งเต็ ม ที่ แล ว ออกบวชเป น นั ก บวชแสวงหาความสุ ข จาก ความสงบหรื อ วิ เ วก ด ว ยความรู สึ ก ขยะแขยงต อ กามสุ ข ซึ่ ง เป น ความสุ ข ที่ อั ด แอ และวุนวายที่เคยผานมาแลวแตหนหลัง. ในกรณีนี้เราตองไมเล็งถึงพระพุทธเจา สิ ท ธั ต ถะโคตมะผู ซึ่ ง สละความสุ ข ออกบวชด ว ย เพราะว า ท า นออกบวชแล ว หรื อ ทิ้ ง กามสุ ข แล ว แล ว ไม ไ ปติ ด อยู แ ค รู ป สุ ข หรื อ อรู ป สุ ข ดั ง เช น ชฎิ ล หรื อ ฤษี ทั่ ว ไป แต ได ผ านเลยไปถึ งโลกุ ตตรภู มิ ซึ่ งอยู เหนื อสุ ขเหนื อทุ กข เราจะต องเจาะจงเอาเฉพาะ พวกดาบสหรื อฤษี ที่ ละจากกามสุ ขแล วมาติ ดอยู ในฌานสุ ข ซึ่ งจะเป นรู ปฌาน หรื อ อรู ปฌานก็ ตาม โดยการหยั่ ง ให ท ราบลงไปในจิ ต ใจของบุ ค คลเหล า นี้ ว า ความสุ ข เกิ ด แต ฌ านที่ เ ขากํ า ลั ง พอใจหลงใหลนั้ น มั น ต า งจากความสุ ข ที่ เ กิ ด จากกามที่ เ ขา ขยะแขยง หรือตองขยะแขยงมากนอยเพียงไร ก็จะเขาใจคําวารูปราคะไดงายขึ้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถ า จะมี ผู ถ ามว า ถ า เป น บุ ค คลที่ อ ยู ใ นบ า นในเมื อ ง ไม อ อกบวชเป น ดาบสหรือฤษีเลา รูปราคะของเขาจะมีเปนอยางไร ? เพราะเราก็เคยไดยินวา พระอนาคามี ที่ เ ป น สามั ญ ชนอยู ใ นบ า นในเมื อ งก็ ยั ง มี และอยู ใ นเพศที่ เ รี ย กกั น ว า

www.buddhadasa.in.th


๔๗๔

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๒

เพศคฤหั สถ ด วยซ้ํ าไป ข อนี้ อธิ บายว า พระอนาคามี เหล านี้ ปราศจากการเกี่ ยวข อ ง ด ว ยกามทั้ ง ทางกายและทางจิ ต ความสงบเย็ น อั น ใดเกิ ด ขึ้ น เพราะความอยู ปราศจากกามทั้งทางกายและทางจิต ทานพอใจหลงใหลในความสงบเย็นนั้น หรือ ในความเปนอยางนั้นของทาน ซึ่งมีรสเชนเดียวกับรสแหงฌานขั้นใดขั้นหนึ่ง โดยไมรูตัว นี้เรียกวา รูปราคะ หรือภวราคะของทาน. ขอนี้ทําใหเห็นไดวา คําวา “คฤหัสถ” หรือ “ฆราวาส” ถาใหมีความ หมายว าบุ ค คลผู บริ โ ภคกามแล ว พระอนาคามี ในลั ก ษณะเช นนี้ หาได เ ป น ฆราวาส หรื อคฤหั สถ ไม แม จะอาศั ยอยู ในบ านในเรื อน กิ นอยู นุ งห มอย างคนธรรมดาสามั ญ และประกอบอาชี พ เช น ป น หม อ ขาย เพื่ อ เลี้ ย งบิ ด ามารดาดั ง ที่ มี ก ล า วอยู ใ นปกรณ นั้ น ๆ แม ที่ เป นชั้ นบาลี สั งคี ติ ทั้ งนี้ เพราะเหตุ ว าไม มี การบริ โภคกาม หรื อเกี่ ยวข อง กั บกามเลย ทั้ งโดยทางร างกายและจิ ตใจ มี ความยิ นดี อยู ในความได เป นอย างนั้ นอยู อย างเต็ มที่ คื อความเป นคนสงบเย็ นเพราะปราศจากกาม และมี ความยึดมั่ นถื อมั่ น ในตั ว ตนที ่เ ปน อยา งนั ้น เพราะยัง ถอนความยึด ถือ ตัว ตนไมไ ด ทั ้ง ๆ ที ่ม ีจ ิต ใจ อยูเหนือกามโดยเด็ดขาดแลวเชนนั้น. นี้เรียกวา มีรูปราคะหรือภวราคะที่เหลืออยู สําหรับจะตัดดวยอรหัตตมรรคตอไป.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถ า จะเปรี ย บเที ยบด วยตั ว อย างที่ ต่ํ ากว า นั้ น ลงไปอี ก ก็ พึ งพิ จารณาดู ที่ จิต ใจของคนบางคนและในบางขณะ ที ่เ ขาไมย ิน ดีพ อใจในกาม ไมม ีค วามรู ส ึก ที่ เ ป น กาม หรื อ ความสุ ข อั น เกิ ด มาจากความพอใจในกาม แต มี ค วามยิ น ดี ใ น ความสุ ข ที่ เกิ ดมาจากอะไรบางอย า ง ที่ มิ ใช กาม แล ว หลงใหลติ ด ใจในรสชาติ ข อง ความเป นอย างนั้ นอย างยิ่ งอยู ก็ มี เป นความพอใจที่ เกิ ดมาจากการเดิ นเล นในที่ สงั ด หรือ อยู ใ นที ่ส งัด หรือ ยิน ดีใ นการปลูก ตน ไม การเลี ้ย งสัต วบ างชนิด หรือ การ มี วั ต ถุ สิ่ ง ของบางอย า งซึ่ ง เป น ที่ ติ ด ตาต อ งใจ แต ทุ ก สิ่ ง ไม ไ ด เ ป น ไปในทางกามเลย

www.buddhadasa.in.th


การตัดสัญโยชน ของอริยมรรคทั้งสี่

๔๗๕

ดัง นี้ก็มี หากแตมีเ พีย งบางขณะและยัง แถมนอ ยคนที่สุด . ถา เรากัน เอามา แต ค วามรู สึ ก ส ว นนี้ ใ นใจของเขา ออกมาพิ จ ารณาดู แ ล ว ก็ จ ะช ว ยให เ ข า ใจความ แตกตางระหวางคําวารูปราคะ และคําวากามราคะไดเปนอยางดี ; และจะทําให เห็ น ได ว ารู ปราคะนั้ นสู ง กว าหรื อสะอาดกว ากามราคะมากน อ ยเพี ยงไร ซึ่ ง เป นเหตุ ให เ ขา ใจความแตกตา งระหวา งอนาคามิม รรค และอรหัต ตมรรคไดพ รอ มกัน ไป ในตัว เพราะวาอนาคามิมรรคตัดไดเพียงกามราคะ ไมสามารถตัดรูปราคะ ; สวน อรหัตตมรรคซึ่งสามารถตัดรูปราคะไดนั้นจะสูงไปกวาอนาคามิมรรคเพียงไร. เมื่ อเข าใจคํ าว ารู ปราคะได ชั ดเจนโดยนั ยดั งที่ กล าวแล ว ก็ สามารถหยั่ ง ทราบความหมายของวิ มุ ต ติ สุ ข ที่ เ กิ ด มาจากการตั ด รู ป ราคะหรื อ ภวราคานุ สั ย ได อย า งชั ด แจ ง โดยการเปรี ย บเที ย บกั น ดู ว า คนเราเมื่ อ ตั ด ราคะร อ น คื อ กามราคะ ได แ ล ว ก็ มี ค วามสงบเย็ น เหลื อ ที่ จ ะประมาณได อ ยู แ ล ว เมื่ อ สามารถตั ด ราคะเย็ น เป น ต น นี้ ไ ด อี ก นั่ น จะยิ่ ง บริ สุ ท ธิ์ ส ะอาด ยิ่ ง สงบเย็ น ยิ่ ง ไปอี ก เพี ย งไร และญาณ คือความรูในวิมุตติสุขขอนี้ (ขอที่ ๑๔ และขอที่ ๒๐) จะเปนญาณที่สูงขึ้นไป เพียงไร.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๒

๔๗๖

ข. อรูปราคะ๑ คําวา อรูปราคะ แปลวา ความกําหนัดในอรูป คือ สิ่ ง ที่ ไ ม มี รู ป มี ลั ก ษณะอาการทํ า นองเดี ย วกั น กั บ ความกํ า หนั ด ในรู ป ผิ ด กั น เพี ย ง แตในที่นี้มีสิ่งที่เปนอรูปเขามาแทนและเปนสิ่งที่ประณีตยิ่งขึ้นไปกวา. ถากลาว อย างสมมติ ดั งที่ เราเคยกล าวกั นมาแล วว า รู ปราคะเป นราคะเย็ น อรู ปราคะก็ เป น ราคะเย็นยิ่งไปกวานั้นอีก เพราะความที่ประณีตกวานั่นเอง. คําวารูปในกรณี ของรู ป ราคะหมายถึ ง ความสุ ข ที่ เ กิ ด มาจากสมาธิ อั น มี รู ป ธรรมเป น อารมณ หรื อ ความไมเกิดในโลกที่มีความสุขเชนนั้น ฉันใด ; คําวา อรูปในที่นี้ยอมหมายถึง ความสุ ข ที่ เ กิ ดมาจากสมาธิ อั นมี อรู ปธรรมเป น อารมณ หรื อหมายถึ ง การได เกิ ดอยู ในโลกที่สมบูรณดวยความสุขชนิดนั้น ฉันนั้น. แตไมวาจะกลาวถึงความสุขหรือ กล า วถึ ง ภพที่ เ ต็ ม ไปด ว ยความสุ ข ชนิ ด นั้ น ก็ ต าม สิ่ ง อั น เป น ที่ ตั้ ง แห ง ความกํ า หนั ด ในกรณีหลังนี้ ยอมเปนสิ่งที่ประณีตกวาในกรณีแรกอยูนั่นเอง. ฉะนั้น เพื่อจะ ได ท ราบถึ ง ความที่ สั ญ โญชน ข อ นี้ เ ป น สั ญ โญชน ที่ ป ระณี ต หรื อ สู ง ยิ่ ง ขึ้ น ไป จะต อ ง มี ก ารวิ นิ จ ฉั ย ในสิ่ ง ที่ เ รี ย กว า อรู ป นั้ น ให เ ป น ที่ เ ข า ใจแจ ม แจ ง ตามสมควร โดยการ เปรี ย บเที ย บความแตกต า งระหว า ง คํ า ว า รู ป ฌาน กั บ อรู ป ฌาน และคํ า ว า รู ป ภพ กั บคํ าว า อรู ป ภพ หรื อ แม ที่ สุ ดแต คํ าว า รู ปาวจรกุ ศ ล กั บคํ าว าอรู ปาวจรกุ ศลก็ ตาม ดังตอไปนี้ :-

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เปนตน

รูปฌาน กับ อรูปฌาน. รูปฌานหมายถึง ฌานทั้ง ๔ มี ปฐมฌาน มีจตุตถฌานเปนที่สุด ดังที่ไดกลาวแลวในอานาปานสติขั้นที่ ๕โดย

การบรรยายครั้งที่ ๕๙ / ๒๖ ธันวาคม ๒๕๐๒

www.buddhadasa.in.th


การตัดสัญโยชน ของอริยมรรคทั้งสี่

๔๗๗

ละเอีย ด สว นอรูป ฌานนั ้น เปน ฌานที ่ป ระณีต ยิ ่ง ขึ ้น ไป เพราะเกิด ขึ ้น จากความ รู ส ึก ทีว า สม า ธิที ่อ าศัย รูป ยัง เปน ของหยาบไมล ะ เ อีย ดเหมือ นอรูป หรือ น า ม ถ า อย า งไรเราจะละรู ป เสี ย ถื อ เอาอรู ป หรื อ นามเป น อารมณ ข องสมาธิ เ ถิ ด ดั ง นี้ ก็ ดี , หรื อ ความคิ ด ที่ ว า รู ป อั น ได แ ก ม หาภู ต เหล า นี้ เ ป น ของแตกทํ า ลายง า ย เพราะตั้ ง อยู ดว ยปจ จัย ที ่ห ยาบ หรือ ทํ า ลายงา ย ถา อยา งไรเราจะเวน รูป เสีย ถือ เอานาม ซึ่งเปนสิ่งที่มีปจจัยอันละเอียด และไมแตกทําลายงายเหมือนรูป มาเปนอารมณ ของสมาธิเ ถิด สมาธินั ้น จะละเอีย ดประณีต และสงบรํ า งับ ยิ ่ง ขึ ้น ไป ดัง นี ้ก ็ด ี ; ผู แ สวงหาความสุ ข ในฌานที่ ป ระณี ต ยิ่ ง ขึ้ น ไป จึ ง เว น รู ป ธรรมทั้ ง หลายเสี ย ถื อ เอา สิ่งที่ไมมีรูป มาเปนอารมณ สําหรับเพงฌานที่ประณีตยิ่งขึ้นไปคือ :๑. ถือเอาความวางหรืออากาศเปนอารมณเรียกวา อากาสานัญจายตนฌาน. ๒. ถือเอานามธาตุหรือวิญญาณเปนอารมณ เรียกวา วิญญาณัญจายตนฌาน. ๓. ถือเอาความไมมีอะไรเลยเปนอารมณ เรียกวา อากิญจัญญายตนฌาน. ๔. ถือเอาการดับความรูสึกเปนอารมณ เรียกวา เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ทั้ ง ๔ นี้ เรี ย กว า อรู ป ฌาน เพราะถื อ เอาสิ่ ง ที่ ไ ม มี รู ป เป น อารมณ ดั ง ที่ ก ล า วแล ว มี ค วามประณี ต ยิ่ ง กว า รู ป ฌานคื อ จิ ต ที่ กํ า หนดอยู กั บ ความว า งหรื อ อากาศ โดยทํ า ความรู ส ึก วา ความวา งเปน สิ ่ง ที ่ไ มม ีที ่ส ุด จิต เขา ถึง ความเปน อั น เดี ย วกั น กั บ ความว า งนั้ น ด ว ยอํ า นาจของการเพ ง ที่ ป ระณี ต ยิ่ ง ขึ้ น ไปกว า เดิ ม ความแน ว แน ห รื อ อั ป ปนาของจิ ต ก็ ป ระณี ต ไปกว า เดิ ม ฌานจึ ง จะประณี ต ยิ่ ง กว า เดิ ม ความสุ ข ที่ เ กิ ด จากฌานนั้ น จึ ง จะประณี ต น า พอใจ เป น ที่ ตั้ ง แห ง ความยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น อันประณีตสุขุมยิ่งไปกวาเดิม ความกําหนัดที่มีอยูในความสุขอันเกิดจากอรูปฌาน จึงเหนียวแนน อยางสุขุม ยิ่งขึ้นไปอี ก เพราะเหตุนั้น อากาสานัญจายตนฌานเป น สิ่งที่ประณีตกวาจตุตถฌาน อันเปนรูปฌานขั้นสูงสุดเห็นปานนี้.

www.buddhadasa.in.th


๔๗๘

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๒

วิ ญญาณั ญจายตนฌาน ยั งประณี ตไปกว านั้ นอี ก กล าวคื อ ผู ตั้ งอยู ใน อากาสานั ญจายตนะแล วพิ จารณาเห็ นว าอากาศนี้ ยั งหยาบอยู และยั งกระเดี ยดไป ในทางที่ จ ะเป น รู ป หรื อ ใกล ชิ ด ต อ รู ป อยู ม าก ถ า กระไรเราจะถื อ เอาวิ ญ ญาณธาตุ ซึ่ ง เป น นามธรรมที่ ล ะเอี ย ดไปกว า มาเป น อารมณ เ ถิ ด จึ ง ได เ พ ง ต อ วิ ญ ญาณ ว า วิ ญญาณเป นสิ่ งไม มี ที่ สิ้ นสุ ด ทํ าจิ ตให เข าถึ งความเป นอั นเดี ยวกั นกั บวิ ญญาณธาตุ อันเปนสิ่งที่ละเอียดยิ่งขึ้นไปดวยความเพงที่ละเอียดสุขุมยิ่งไปกวาที่แลวมา. วิญญาณั ญจายตนะซึ่ งเป นอรู ปฌานที่ สองจึ งมี ความละเอี ยดสุ ขุ มยิ่ งขึ้ นไปกว าอากาสานั ญจายตนะซึ ่ง เปน อรูป ฌานที ่ห นึ ่ง ฉะนั ้น ความสุข ที ่เ กิด จากฌานนี ้ ก็ยิ ่ง เปน ไป ในทางสงบรํ า งั บ จื ด ชื ด สนิ ท หรื อ บริ สุ ท ธิ์ ยิ่ ง ขึ้ น ไปอี ก แต พ ร อ มกั น นั้ น ยิ่ ง เป น การ ทํ าให เป นที่ ตั้ งแห งความยึ ดมั่ นถื อมั่ น ที่ ละเอี ยดยิ่ งขึ้ นไปตามส วนของความที่ ผู นั้ น ยิ่ ง มี ค วามสํ า คั ญ ว า นี่ เ ป น สิ่ ง ที่ วิ เ ศษสู ง สุ ด ยิ่ ง ขึ้ น ทุ ก ที และยิ่ ง จั บ ใจเขามากยิ่ ง ขึ้ น ทุกที. อรูปราคะในขั้นนี้ก็ยิ่งละเอียดขึ้นตามลําดับ. ถั ดจากนั้ นไปอี กก็ คื อผู ที่ ช่ํ าชองในวิ ญญาณั ญจายตนฌานเข า เกิ ดความ รู สึ ก ว า แม วิ ญ ญาณธาตุ ก็ ยั ง เป น ของหยาบ สู ค วามไม มี อ ะไรเสี ย เลยที เ ดี ย วไม ไ ด เขาจึ ง ละจากการเพ งต อวิ ญญาณ มาเพ งที่ ความไม มี อ ะไร ถื อเอาความไม มี อ ะไร เปน อารมณ วา ความไมม ีอ ะไรเปน สิ ่ง ที ่ไ มม ีที ่ส ุด ตามที ่เ ขามองเห็น วา ความ ไมมี อ ะไรนี่ แ หละยิ่ ง ประณี ต และยิ่ ง ไม มี ที่ สุ ด ยิ่ ง ไปกว า ๒ อย า งที่ แ ล ว มา ฉะนั้ น เขาตอ งเพง ดว ยการเพง หรือ วิธ ีเ พง ที ่ล ะเอีย ดสุข ุม ยิ ่ง ไปกวา เดิม ฌานที ่เ กิด ขึ ้น ก็ ยิ่ งเป นฌานที่ สุ ขุ มไปกว าเดิ ม ความสุ ขที่ เกิ ดจากฌานนั้ น ก็ ยิ่ งเป นที่ ตั้ งแห งความ ยึดมั่นถือมั่นไปกวาเดิม คือเปนอรูปราคะที่สุขุมยิ่งกวา ๒ ขั้นที่แลวมาอีกตามสวน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


การตัดสัญโยชน ของอริยมรรคทั้งสี่

๔๗๙

ถั ด ไปจากนั้ น อี ก ก็ คื อ ผู ที่ ช่ํ า ชองในอากิ ญ จั ญ ญายตนะมี ก ารพิ จ ารณา เห็ นว า แม ฌานนี้ จะละเอี ยดสุ ขุ มเพี ยงไร ก็ ยั งเป นสิ่ งที่ มี ความรู สึ กเหลื ออยู นั บว า ยั ง หยาบอยู นั่ น เอง ถ า อย า งไรเราจะเพ ง ต อ ความดั บ เสี ย ซึ่ ง ความรู สึ ก กล า วคื อ ปราศจากความรูสึกเปนอารมณ จักเปนของประณีตกวา ; เขาจึงเพงตอความไมมี ความรู สึ ก แต มิ ได หมายถึ งความตาย ฉะนั้ น จึ งเรี ยกว าเนวสั ญญานาสั ญญายตนะ คือมีความเพงซึ่ งในตั วมันเอง จะเรียกว ามีสั ญญา คือมี ความรูสึกก็ไมใช จะเรี ยกว า ไม มี สั ญ ญา คื อ ไม มี ค วามรู สึ ก ก็ ไ ม ใ ช ซึ่ ง ถื อ ว า เป น อรู ป ฌานขั้ น สุ ด ท า ย และเป น ที่ตั้งแหงความยึดถือ ของบุคคลผูหลงใหลในฌานสุข ยิ่งกวาฌานขั้นใด ๆ. ทั้ ง หมดนี้ ล องคํ า นวณดู หรื อ เปรี ย บเที ย บดู เถิ ด ว าเป น ความสุ ข ที่ ไ กล จากความสุ ขอั นเกิ ดจากรู ปฌานสั กเพียงไร และยิ่งไกลจากความสุขประเภทกามสุ ข อยางที่จะเปรียบเทียบกันไมไดเพียงไร ยิ่งขึ้นอีก. เมื่อเขาใจความหมายขอ นี้ ก็ย อมเข าใจความแตกต างและความสู งต่ําเป นลดหลั่ นของคํ าว า อรู ปราคะ รูปราคะ และกามราคะ ไปตามลํ าดับไดเป นอย างดี ซึ่ งทําใหเห็ นความจริ งในขอที่ วา ทํ าไม พระอนาคามี จึ ง ละได แ ต ก ามราคะ ไม ส ามารถละรู ป ราคะและอรู ป ราคะ ซึ่ ง ต อ ง ทิ้งไวใหเปนกิจของอรหัตตมรรคดังนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org รูปภพ กับ อรูปภพ หมายถึงความไดเปนหรือไดมี ในความสุขที่เกิด จากรู ป และอรู ป นั่ น เอง ถ า กล า วอย า งบุ ค คลาธิ ษ ฐาน ก็ ก ล า วเป น สถานที่ ห รื อ เป น โลกที่ มี ค วามเป น อย า งนั้ น ไป ตามธรรมดาของการกล า วโดยโวหารพู ด ของ

www.buddhadasa.in.th


๔๘๐

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๒

ชาวบาน ชาวเมืองตามธรรมดา ; แตถึงอยางนั้นก็ยังพอจะเขาใจไดวา ในโลกนั้น หรื อ ในสถานที่ นั้ น มั น มี ค วามสํ า คั ญ อยู ต รงที่ ค วามได ห รื อ ความมี ค วามสุ ข ที่ เ กิ ด จากรูปฌาน หรืออรูปฌานนั่นเอง. ถาปราศจากความไดหรือความมีสิ่งทั้ง ๒ นี้ แล ว โลกหรื อ สถานที่ นั้ น ก็ ไ ม มี ค วามหมายอะไรเลย ฉะนั้ น สิ่ ง ซึ่ ง เป น ที่ ตั้ ง แห ง ราคะทั้ง ๒ ชนิดนี้ จึงไดแกความไดหรือความมีสิ่งทั้ง ๒ นี้เอง และเราเรียกมันวา รูปภพ อรูปภพ ตามลําดับกัน. สรุปความสั้น ๆ อีกครั้งหนึ่งวา อรูปภพในที่นี้ ได แ ก ค วามมี ห รื อ ความได ซึ่ ง ความสุ ข ในขั้ น อรู ป ฌานดั ง ที่ ก ล า วแล ว ความยึ ด มั่ น ถือมั่ นในความมี หรื อความไดสิ่ ง ๆ นี้ เรี ยกวาอรู ปราคะ ในที่ นี้คื อมี ราคะในอรู ปภพ และเรียกวา อรูปราคะ. รูปาวจรกุศลและอรูปาจารกุศล ทั้ง ๒ คํานี้ เปนคําที่มีความหมาย ในทางที่จะเปนที่ตั้งแหงความยึดมั่นถือมั่นอยางเดียวกัน. ความหมายของคําวา กุ ศลนั่ นเอง เป น สิ่ งที่ ยั่ วความยึ ดมั่ น ถื อ มั่ นยิ่ งขึ้ นไป หรื อ เป นที่ ตั้ งแห ง ราคะได มาก กวาที่จะกลาววาภพหรือภูมิ. กามาวจรกุศลหมายถึงกุศลที่เปนไปในทางใหไดมา ซึ่งกามสุข จึงจัดเปนกุศลชั้นต่ํา ; รูปาวจรกุศล คือกุศลที่เปนไปในทางใหไดมา ซึ่งความสุขที่เกิดจากรูปฌาน ซึ่งหางไกลจากกามสุขโดยสิ้นเชิง ; อรูปาวจรกุศล เป นไปทํ า นองเดี ยวกั น หากแต ว าประณี ตหรื อ สู ง ยิ่ งขึ้ นไปกว า กล าวคื อ เป นกุ ศ ล ที่เปนไปในทางใหไดมาซึ่งความสุข ประเภทที่เปนอรูปนั่นเอง. รูปาวจรกุศล นั่ น แหละเป น ที่ ตั้ ง ของรู ป ราคะ และอรู ป าวจรกุ ศ ลนั่ น เอง เป น ที่ ตั้ ง ของอรู ป ราคะ โดยทํานองเดียวกันแท. ฉะนั้น แมเราจะกลาววาอรูปราคะมีที่ตั้งอยูที่ความสุข อั น เกิ ด จากอรู ป ฌานก็ ต าม หรื อ อยู ที่ อ รู ป ภพก็ ต าม หรื อ อยู ที่ อ รู ป าวจรกุ ศ ลก็ ต าม ยอมมีความหมายอยางเดียวกัน และเปนคํากลาวที่ถูกตองดวยกันทั้งนั้น.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


การตัดสัญโยชน ของอริยมรรคทั้งสี่

๔๘๑

รูปาวจรภูมิ และ อรูปาวจรภูมิ. เมื่อไดกลาวมาถึงเพียงนี้แลว ควร จะได กล าวถึ งภู มิทั้ ง ๒ นี้ ไปเสียดวยในคราวเดี ยวกั น เพื่อความเขาใจชั ดแจงในสิ่ ง ที่เรียกวารูปราคะและอรูปราคะยิ่งขึ้นไป คําวา “ภูมิ” แปลวา ชั้น หรือลําดับขั้น แตหมายถึงชั้นแหงจิตใจ หรือระดับแหงใจที่มีความสูงต่ําอยางไร. รูปาวจรภูมิ หมายถึ ง ระดั บ แห ง ใจ ที่ ไ ม ท อ งเที่ ย วไปในกาม แต ท อ งเที่ ย วไปในรู ป กล า วคื อ การแสวงหาความสุขในรูปฌาน. ถายังต่ําจนทองเที่ยวไปในกาม คือแสวงหาหรือ เกลื อกกลั้ วในความสุ ข ที่ เกิดมาจากกาม ก็ เรี ยกว ายั งตั้งอยู ในกามาวจรภู มิ คื อของ สามัญสัตวทั่วไป. สวนอรูปาวจรภูมินั้นหมายถึงระดับที่ทองเที่ยวไปในอรูป คือ แสวงหาความสุ ขจากรู ป ฉะนั้ นทํ าให จั บคู กั นได ว า พวกกามาวจรภู มิ ก็ คื อ พวกที่ แสวงหาความสุขจากกามภพ โดยอาศัยกามาวจรกุศล ; พวกที่ตั้งอยูในรูปาวจรภูมิ ก็ คื อ พวกที่ แ สวงหาความสุ ข จากรู ป ฌานในรู ป ภพ ด ว ยอาศั ย อํ า นาจของรู ป าวจรกุศล. พวกที่ตั้งอยูในอรูปาวจรภูมิ ก็คือพวกแสวงหาความสุขประเภทที่เกิด จากอรูปฌานในอรูปภพ โดยอาศัยอํานาจของอรูปาวจรกุศล. เมื่อเปรียบเทียบ กั น ดู ทั้ ง ๓ พวก จะเห็น ไดว า อรูป ราคะเปน อาการโดยตรงของสัต ว ที ่ตั ้ง อยู ใ น อรู ป าวจรภู มิ หรื อ แม สั ต ว ที่ ตั้ ง อยู ใ นขั้ น โลกุ ต ตรภู มิ ขั้ น ต น ๆ ที่ ยั ง ละราคะส ว นนี้ ไมไดนั่นเอง ; ซึ่งเปนการชี้ใหเห็นอยูในตัวแลววา อรูปราคะนี้ประณีตเพียงไร หรือกลาวอยางสมมติดังที่เคยกลาวแลว ก็วา เปนราคะเย็นที่หวาดเสียวเพียงไร และละไดย ากเพีย งไร ; และพรอ มกัน นั้น ก็แ สดงใหเ ห็น ไดดว ยวา ถา ละ อรู ป ราคะเสี ย ได วิ มุ ต ติ สุ ข ที่ เ กิ ด ขึ้ น ก็ ดี ญาณในวิ มุ ต ติ สุ ข นั้ น ก็ ดี จะเป น สิ่ ง ที่ สู ง ยิ่งขึ้นไปเพียงไรอยางเดียวกัน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org แม อรู ปราคสั ญโญชน นนี้ ก็ สงเคราะห รวมลงในภวราคานุ สั ย เช นเดี ยว กับรูปราคะ.

www.buddhadasa.in.th


๔๘๒

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๒

ค. มานะ๑ คําวามานะโดยพยัญชนะ แปลวาความสําคัญดวยความรู. โดยใจความได แ ก ค วามรู สึ ก ที่ เ ป น ไปในตั ว เอง จนทํ า ให เ กิ ด ความยึ ด ถื อ เกี่ ย วกั บ ตัวเองขึ้นมา และแบงไดเปน ๒ ชั้น ความสําคัญวาตนมีอยูหรือเปนอยู ซึ่งเรียก วา อัสมิมานะ โดยแทจริงนี้อยางหนึ่ง, อีกอยางหนึ่งเปนมานะที่ขยายออกไปวา ตนเปนอะไร และเมื่อนําไปเปรียบเทียบกับคนอื่นแลวดีกวา หรือเลวกวา หรือ เสมอกันอยางไร. ถามานะอยางแรกคืออัสมิมานะยังมีอยูเพียงใดแลว มานะ อยางหลังยอมมีอยูเพียงนั้น ; และมานะอยางหลังนี้เอง ที่เปนตัวการทําความ วุนวายจนกระทั่งเปนความทุกขอยางหยาบขึ้นมา. มานะนี้ จําแนกเปน ๓ หมวด คือ ๑. ตนดีกวาเขา มีความสําคัญวาตนดีกวาเขาบาง ตนเสมอกันกับ เขาบาง ตนเลวกวาเขาบาง. ๒. ตนเสมอกันกับเขา สําคัญวาตนดีกวาเขาบาง ตนเสมอกันกับ เขาบาง ตนเลวกวาเขาบาง. ๓. ตนเลวกวาเขา แตสําคัญวาตนดีกวาเขาบาง ตนเสมอกันกับ เขาบาง ตนเลวกวาเขาบาง ดังนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ถ านั บเป นหมวด มี อยู ๓ หมวด ถ านั บเรี ยงอย างก็ มี อยู ถึ ง ๙ อย าง แตทุกอยางยอมมาจากอัสมิมานะ คือความสําคัญวาตัวเรามีอยูดวยกันทั้งนั้น. โดย

การบรรยายครั้งที่ ๖๐ / ๒๗ ธันวาคม ๒๕๐๒

www.buddhadasa.in.th


การตัดสัญโยชน ของอริยมรรคทั้งสี่

๔๘๓

นัยนี้จะเห็นไดวา สิ่งที่เรียกวา “มานะ” หรือคําวา มานะก็ตาม ในภาษาธรรมะนี้ มีความหมายกวาง กวา คําวา “มานะ” ในภาษาไทย ซึ่งมีความหมายไปในทาง ความถือตัวของผูที่มีอะไรดอยกวาต่ํากวาอยางเดียวเทานั้น, สวนในทางธรรมะนั้น คํ าว า มานะ มี ความหมายกว างครอบคลุ มไปหมด จนไม มี ช องทางที่ ใครจะรอดพ น ไปจากมานะได เช นคนที่ ต่ํ าต อยที่ สุ ด รู สึกตั วว าต่ํ าต อยอยู แท ๆ ก็ ยั งจัดเป นมานะ ที่ถึงที่สุดอยูนั่นเอง ; หรือแมจะรูสึกวามีอะไร ๆ เสมอกันก็ยังจัดเปนมานะถึงที่สุด. ทั้งนี้ เพราะเหตุว า ได เล็งถึงความรูสึ กสวนละเอียดหรือส วนลึ กเป นใหญ คือ ความ รูสึกที่วาเรามีตัวมีตนอยู และตัวตนของเรากําลังเปนอยางไรนั่นเอง ; สวนที่ จะดี ก ว า ใคร เสมอกั น กั บ ใคร หรื อ เลวกว า ใครนั้ น เป น การเปรี ย บเที ย บ คื อ เอา ลักษณะแหง “ความเปน” ของตน ๆ ไปวัดกัน แลวเกิดความสําคัญผิดไปตาม อํานาจของความลง. ถาหากทําลายความสําคัญวามีตัวตนเสียไดเพียงอยางเดียว เทานั้น ความสําคัญเอาเองทั้ง ๙ อยางก็หมดไป. ข อ นี้ จ ะเห็ น ได ว า สิ่ ง ที่ เ รี ย กว า มานะนั้ น มี ค วามเร น ลั บ ลึ ก ซึ้ ง และยาก แก การตั ดเพี ยงไร จนถึ งกั บอย าว าแต ปุ ถุ ชนคนธรรมดาเลยแม แต พระโสดาบั นก็ ละ มั น ไม ไ ด พระสกิ ท าคามี ก็ ล ะมั น ไม ไ ด แม พ ระอนาคามี ก็ ล ะมั น ไม ไ ด ต อ งเหลื อ ไวเปนหนาที่ของอรหัตตมรรคจะพึงตัด ดังนี้. ทั้งนี้ เพราะวาสิ่งที่เรียกวามานะนี้ เปนกิเลสประเภทโมหะชั้นที่ละเอียดที่สุด และเปนของธรรมชาติธรรมดาที่สุด ซึ่งถ ากล าวอย างโวหารสมั ยใหม ก็ เรี ยกวาเป น สั ญชาติ ญาณของสั ตวทั่ วไป และเป น สัญชาติญาณชั้นหัวหนา หรือชั้นประธานของสัญชาตญาณอื่น ๆ เชนสัญชาติญาณ แห ง การต อสู สั ญ ชาตญาณแห ง การหนี ภั ย สั ญ ชาตญาณแห ง การแสวงหาอาหาร และสัญ ชาตญาณแหง การสืบ พัน ธุ  เปน ตน ซึ ่ง คนสมัย นี ้ถ ือ วา เปน สิ ่ง ที ่ไ มอ าจ ละไดเลยเปนอันขาด.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๔๘๔

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๒

อี กอย างหนึ่ ง หรื ออี กทางหนึ่ งซึ่ งพร อมกั นนั้ น เมื่ อมี ความรู สึ กว าตั วตน เปนอยางไรแลว ก็ยอม มีความรูสึกวาของของตนเปนอยางไรตามไปดวย เชน ของของตนดีก วา ของคนอื ่น เสมอกัน กับ ของคนอื ่น หรือ เลวกวา ของคนอื ่น ซึ่ งอาจจํ าแนกออกได เป น ๙ อย าง โดยนั ยเดี ยวกั บที่ กล าวมาแล วข างต น แม ความ สํ า คั ญ มั่ น หมายในของของตนเหล า นี้ ในทํ า นองนี้ ก็ จั ด เป น มานะในที่ นี้ ด ว ย เหมือ นกัน และเปน ที ่ตั ้ง แหง ความยึด ถือ ไดเ ทา กับ ตัว เอง หรือ ยิ ่ง กวา ตัว เอง ดังในกรณี ของสั ตว บางเหล ามี ความรั กในบุ ตรภรรยาเป นต น ยิ่ งกว าชี วิ ตของตั วเอง ก็ยังมี ฉะนั้น จึงจัดวาเปนมานะที่มีคาเทากัน และมีตนตออันเดียวกัน. จากมานะทั้ ง ที่ เ ป น ไปในตน และทั้ ง ที่ เ ป น ไปในของของตน โดยนั ย ดั งที่ กล าวมาแล วนี่ เอง ที่ ความเดื อดร อนระส่ํ าระสายต าง ๆ ได เกิ ดขึ้ นอย างแปลก ประหลาด หรื อ อย า งไร ค วามหมาย น า อเน็ จ อนาถที่ สุ ด แต ทั้ ง หมดนี้ ไ ม ใ ช เ พื่ อ วัตถุสิ่งของที่มีคาอันใด แตเปนเพราะความถือตัว หรือ เห็นแกเกียรติของตัว ซึ่งเรียกวามานะในที่นี้นิดเดียวเทานั้น ; และอีกทางหนึ่ง ซึ่งเปนการเบียดเบียน ตนเองลว น ๆ ไมเ กี ่ย วกับ บุค คลอื ่น มาเบีย ดเบีย นเลย ไดแ กก ารที ่ค นบางคน หรื อ สั ต ว บ างเหล า ยอมลํ า บากตรากตรํ า ทนทุ ก ข ท รมานอย า งเอาชี วิ ต เข า แลก เป น ระยะยาวนานได อย า งเหลื อ ที่ จ ะสมเพชเวทนา ก็ เ พราะอาศั ย สิ่ ง ที่ เ รี ย กว า มานะนี้อีกอยางเดียวกัน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เป นอั น ว าสั ตว เบี ยดเบี ยนซึ่ ง กั นและกั น และเบี ยดเบี ยนตนเองอยู ตาม ลําพั งในชั้ นที่ลึ กซึ้ งที่ สุด ที่ ไม นาจะเปนไปได ที่สุ ดก็เพราะอาศัยสิ่ งที่ เรี ยกวามานะนี้ ; ส ว นที่ อ าศั ย โลภะ หรื อ โทสะนั้ น เป น ชั้ น ตื้ น ๆ และเป น ชั้ น ธรรมดาสามั ญ เพราะ ฉะนั้ นพึ งพิ จารณาดู เถิ ดว า มานะนี้ เป นสิ่ งที่น าหวาดเสี ยวเพี ยงไร ละยากกว าโลภะ และโทสะเพียงไร จึงตกมาอยูในระยะรั้งทายของบรรดาสัญโญชนที่จะตองละ.

www.buddhadasa.in.th


การตัดสัญโยชน ของอริยมรรคทั้งสี่

๔๘๕

สิ่งที่จะตองศึกษาหรือระมัดระวังเปนพิ เศษอี กขอหนึ่งก็ คือ ตองไมเอา ความหมายของคําวา มานะ ไปปนกับความหมายของคําวา สักกายทิฏฐิ ซึ่งเปน สัญโญชนขอตน อันพระโสดาบันจะพึงละ เพราะมีความหมายคลายกันอยูบางอยาง แต มิ ใ ช เ ป น กิ เ ลสชั้ น เดี ย วกั น ดั ง ที่ เ ห็ น ได จ ากการที่ ถู ก จั ด ไว ค นละขั้ น คนละตอน อยางไกลกันมากทีเดียว. สักกายทิฏฐินั้นเปนความสําคัญวามีตัวตนชั้นหยาบที่สุด และเปนไปในทางกายหรือทางวัตถุ หรือทางรูปธรรมมากที่สุ ด ซึ่ งแมจะละไดแล ว ความสําคัญตนในชั้นมานะนี้ หรือที่เรียกวาอัสมิมานะนี้ ก็ยังเหลืออยูอยางเต็มที่ ดังที่ไดกลาวแลววา แมพระอนาคามีก็ยังไมสามารถละมานะในขั้นนี้ ทั้งนี้เพราะ วามานะนี้มิไดเปนเพียงความเขาใจผิดหรือเห็นผิด หากแตเปน ความรูสึกที่ลึกซึ้ง ของสัญชาตญาณ ชนิดที่มีอยูโดยไมรูสึกตัวเอาเสียทีเดียว. ควรจะสังเกตไวอีกอยางหนึ่งว า สิ่ งที่เรี ยกว ามานะนี้เป นกิเลสประเภท ที่มีความยึดถือตัวตน ในฝายความดีหรือความดียิ่ง ๆ ขึ้นไปโดยสวนเดียว ; ฉะนั้น แมจะไดทําดีถึงที่สุด จนไมรูวาจะทําดีอยางไรตอไปอีกแลว ก็ไมสามารถที่จะเอา ชนะกิเลสขอนี้ได และพนทุกขไมไดดวยความดีที่สุดที่ตนจะพึงกระทําดีได. การ เอาชนะความทุ ก ข ไ ด โ ดยสิ้ น เชิ ง จึ ง ต อ งเป น การละมานะเสี ย โดยสิ้ น เชิ ง หมาย ความวา ไมใหคุณคาหรืออํานาจของความดีมาครอบงําไดอีกตอไป. อุทาหรณ ในข อ นี้ จะเห็ น ได จ ากการค น คว า และการปฏิ บั ติ ใ นลั ท ธิ น อกพุ ท ธศาสนา หรื อ ก อ นพุ ท ธศาสนา ซึ่ ง มี ก ารค น คว า และการปฏิ บั ติ ช นิ ด ที่ ใ คร ๆ ก็ ต อ งยอมรั บ ว า กว า งขวางและลึ ก ซึ้ ง ไม น อ ยเลย แต ใ นที่ สุ ด ก็ เ อาชนะความทุ ก ข ไ ม ไ ด เนื่ อ งจาก ไมเปนไปเพื่อถอนเสียซึ่งความสําคัญวาตัวตน หรือความที่เปนตัวตนที่ดีวิเศษ

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๔๘๖

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๒

ยิ่ง ๆ ขึ้นไปนั่นเอง. เห็นไดจากการที่พระพุทธองคทรงยอมรับวาอุทกดาบส รามบุ ต ร ซึ่ ง เคยเป น อาจารย ข องพระองค ใ นขณะที่ ยั ง เที่ ย วศึ ก ษาค น คว า อยู นั้ น อยู ใ นประเภทบุ ค คลที่ ยั ง ไขว กั้ น อยู เ พี ย งนิ ด เดี ย ว มิ ฉ ะนั้ น ก็ จ ะตรั ส รู ซึ่ ง เป น เหตุ ให พ ระองค ท รงนึ ก ถึ ง ดาบสผู นี้ ก อ นบุ ค คลอื่ น ใด ภายหลั ง จากการตรั ส รู แ ล ว ดั ง นี้ เปนตน. สรุ ป ความว า สิ่ ง ที่ เ รี ย กว า มานะนี้ เป น กิ เ ลสประเภทที่ มี มู ล มาจาก ความยึดมั่นถือมั่น “ในตัวตนที่เต็มไปดวยความดี” ซึ่งจะเปน “ตนเอง” หรือ “ตนผูอื่น ” ก็ต าม หรือ “ตนสิ่ง อื่น ” ก็ต าม แลว มีค วามรูสึก ขยายออกไป ในทางที่จะเปรียบเทียบกัน ซึ่งทําใหกิเลสขอนี้มีพิษสงมากขึ้น. อริยมรรคญาณ ในขั้ นอรหั ตตมรรคเท านั้ น ที่ จะมี แสงสว างหรื อมี กํ าลั งมากพอที่ จะทํ าลายถ ายถอน สั ญ โญชน ข อ นี้ ไ ด เพราะการเห็ น อนิ จ จั ง ทุ ก ขั ง อนั ต ตา ในขั้ น อรหั ต ตมรรคนั้ น เป นไปอยางแรงกล า เพราะถึงที่สุ ดจริง ๆ สามารถทําลายเสียได ซึ่งความรูสึ กว าตน หรื อ มี ตั ว ตนชนิ ด ที่ เ ป น ที่ ตั้ ง แห ง ความยึ ด ถื อ ซึ่ ง เป น ช อ งทางที่ จ ะช ว ยให พิ จ ารณา เห็ น สื บ ไปว า วิ มุ ต ติ สุ ข ที่ เ กิ ด มาจากการถอนความสํ า คั ญ ว า มี ตั ว ตนอยู ใ นลั ก ษณะ อย างไร มั นจะนํ ามาซึ่ งความสงบสุ ขเพี ยงไร และวิ มุ ตติ สุ ขญาณในขั้ นนี้ มี ความสุ ข สูงยิ่งขึ้นไปอีกเทาไร.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org มานสั ญ โญชน ต รงเป น อั น เดี ย วกั น กั บ มานานุ สั ย ฉะนั้ น จึ ง ไม จํ า เป น จะตองวินิจฉัยในคําวามานานุสัยอีกประการใด.

www.buddhadasa.in.th


การตัดสัญโยชน ของอริยมรรคทั้งสี่

๔๘๗

ฆ. อุทธัจจะ๑ คํานี้ตามปกติแปลกันวาความฟุงซาน แตความหมาย อั นแท จริ งนั้ นมี อยู ลึ กกว านั้ น มิ ได หมายความเพี ยงความฟุ งซ านตามความหมายใน ภาษาไทย ซึ่งเปนเรื่องของนิวรณมากกวาที่จะเปนเรื่องของสัญโญชน. ถาคําวา ฟุ งซ านมี ความหมายไปในทางความคิ ดเลื่ อ นลอย เช นความคิ ด ทํ า นองสร างวิ มาน ในอากาศด ว ยแล ว จะยิ่ ง เป น การน า ขบขั น มากที เ ดี ย ว ถ า พระอนาคามี ก็ ยั ง ละ ความฟุงซานเชนนี้ไมได ; ฉะนั้น จะตองทําความเขาใจกันในเรื่องนี้ใหดี ๆ. โดยความหมายอั นแท จริ ง คํ าว า อุ ทธั จจะ ในที่ นี้ หมายถึ ง ความที่ จิตฟุงขึ้นกวาระดับปกติ เพราะอํานาจ ความสนใจ ความสงสัย ความหวัง ความระแวง หรือแมแต ความกลัว อยางใดอยางหนึ่ง ซึ่งพระอนาคามียังละ ไมไดนั่นเอง ; และโดยเฉพาะอยางยิ่ง ก็คือความสนใจดวยความสงสัย หรือ ความอยากรู ว า สิ่ ง นั้ น เป น อะไร หรื อ เพื่ อ อะไร หรื อ เพื่ อ ประโยชน อ ะไร เป น ต น . พระอรหัน ตจํ า พวกเดีย วเทา นั ้น ที ่ต ัด ความสงสัย ความหวัง ความกัง วล ความกลั วหรือกิเลสอันละเอี ยดประเภทเดี ยวกันชื่ออื่น ๆ เสี ยได จึ งไมมี ความสนใจ วานั่นมันนารู นาสนใจ หรือนากลัว เปนตน. ถายังละกิเลสอันละเอียดเหลานี้ ไมไ ด จิต จะตอ งฟุง ขึ้น ฟูขึ้น กระเพื่อ มขึ้น หรือ ถึง กับ ระรัว ขึ้น ในเมื่อ มี สิ่ ง ใดสิ่ ง หนึ่ ง ผ า นเข า มา และมี อ าการที่ น า สนใจ น า สงสั ย หรื อ น า หวาดเสี ย ว เปน ตน . ความฟุง ขึ้น แหงจิต ในทํา นองนี้เ อง เรียกวา อาการของอุท ธัจ จะ. กิ เ ลสที่ เ ป น เหตุ ใ ห ฟุ ง ขึ้ น อย า งนี้ เ อง เรี ย กว า อุ ท ธั จ จสั ญ โญชน ซึ่ ง เป น สิ่ ง ที่ เ หมื อ น นอนเนื่องอยูในสันดาน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

การบรรยายครั้งที่ ๖๑ / ๒๘ ธันวาคม ๒๕๐๒

www.buddhadasa.in.th


๔๘๘

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๒

พิ จารณาดู ให ละเอี ยดยิ่ งขึ้ นไป จะเห็ นได ว ากิ เลสที่ ทํ าหน าที่ ให จิ ตฟุ งขึ้ น ในลักษณะเชนนี้นั้น มีมูลมาจากความยึดถือในตัวตนอยางเดียวกัน คือ มีความ สํ า คั ญ ว า ตนมี อ ยู นั่ น เอง แต มิ ไ ด เ ป น ไปในทางที่ จ ะเปรี ย บเที ย บ ว า ดี ก ว า หรื อ เลว กว า หรื อ เสมอกั น ดั ง ที่ ก ล า วมาแล ว แต เ ป น ไปในทางเห็ น แก ต น ชนิ ด ที่ ล ะเอี ย ด จนถึงขนาดที่ไมรูสึกตัว และเคลื่อนไหวไปในทางที่จะแสวงหาประโยชนแกตัว หรือการปองกันชีวิตของตัวโดยไมรูสึกตัวอีกอยางเดียวกัน. เพราะความรูสึกวา มี ตั ว นั่ น เอง จึ ง มี ค วามรู สึ ก ในทางที่ จ ะหาผลประโยชน ใ ส ตั ว ฉะนั้ น พอมี อ ะไรผ า น เข า มาในลั ก ษณะที่ จ ะเป น ประโยชน แ ก ตั ว ก็ อ ดสนใจไม ไ ด หรื อ แม แ ต สิ่ ง ที่ ยั ง ไม แนว า จะเปน ประโยชนห รือ ไมเ ปน ประโยชนแ กต ัว ผา นเขา มา เชน สิ ่ง ที ่ต ัว ยัง ไม รู จั ก เลย แต ถ า แปลกประหลาดกว า ธรรมดา ก็ อ ดสนใจไม ไ ด ว า ชะรอยสิ่ ง นี้ จ ะเป น ประโยชนแ กต น เพราะจิต ยัง อยูใ นวิสัย ของการแสวงหาประโยชน เพราะมี ตนเปนที่รองรับประโยชนนั่นเอง. ความสนใจเหลานี้ลวนแตทําใหจิตกระเพื่อม หรือไหวตัวไปจากระดับปรกติ. อีกทางหนึ่งซึ่งตรงกันขาม ก็คือเมื่อสิ่งที่มีลักษณะ ตรงกั น ข า มผ า นมา ในทางที่ แ สดงว า ไม เ ป น ประโยชน แ ก ตั ว จะทํ า ลายประโยชน ของตัว หรือ ทํ า ลายชีว ิต ของตัว โดยตรง ความสนใจก็เ กิด ขึ ้น ในสิ ่ง นั ้น อยา ง รุ น แรง จนถึ ง กั บ เป น การสั่ น ระรั ว ไปด ว ยอํา นาจความกลั ว . อาการเช น นี้ มีไดแมในสิ่งที่ตนไมรูจักวามันเปนอะไร แตมันดูนากลัว : จะเปนของจริงตาม ธรรมชาติ หรื อ แม แ ต ข องที่ ม นุ ษ ย ทํ า เที ย มขึ้ น ก็ เ ป น ที่ ตั้ ง แห ง ความสนใจ หรื อ ความกลัว ไดโดยเทากัน ; เมื่อใจกระเพื่อมแลว ก็ลวนแตเรียกวาอุทธัจจะ ไดดวยกันทั้งนั้น. อาการเหลานี้มีอยูเปนประจํา ในจิตของสัตวที่ยังอยูในอํานาจ ของประโยชน ยั ง อยู ใ นวิ สั ย แห ง การแสวงหาประโยชน เพราะยั ง ละความยึ ด ถื อ ว า ตัวตน วาของตนไมไดนั่นเอง. นี่เปนเครื่องชี้ใหเห็นไดชัดอยูในตัวแลววา ทําไม พระอนาคามี จึงยังละอุทธัจจะไมได.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


การตัดสัญโยชน ของอริยมรรคทั้งสี่

๔๘๙

ความกระเพื่ อ มแห ง จิ ต เหล า นี้ แม มิ ไ ด เ ป น ไปอย า งรุ น แรงถึ ง ขนาดที่ ทํ า ใหเ พอ คลั ่ง เปน บา หรือ ถึง กับ ขาดใจตาย แตก ็เ ปน เครื ่อ งทํ า ลายความสงบสุข ชั้น ละเอีย ด จนถึง กับ วา ทํา ใหค วามดีตา ง ๆ เปน หมัน ไปทีเ ดีย ว กลา วคือ คนดี คนมี บุ ญ กุ ศ ล คนร่ํ า รวย มี อํ า นาจวาสนาเพี ย งไรก็ ต าม ถ า ยั ง มี ค วามเสี ย ว ความหวั่ น ระแวง และความวิ ต กกั ง วล เป น ต น กลุ ม รุ ม อยู ใ นใจแล ว ความดี ห รื อ บุญ กุศ ลเหลา นั้น จะมีป ระโยชนอ ะไร เพราะชว ยแกไ ขใหไ มไ ด : ทั้ง นี้ เปน เพราะ สิ่งเหลานี้ ตองแกไขดวยสิ่งที่ยิ่งไปกวาบุญกุศล นั่นเอง. เมื่อ แกไข สิ่ ง เหล า นี้ ไ ด ห มดจดแล ว สิ่ ง ต า ง ๆ ก็ พ ลอยเป น ประโยชน ไ ปตาม คื อ อํ า นวยความ สะดวกสบายใหตามหนาที่ของมัน. อรหัตตมรรคเทานั้นที่จะตัดสิ่งเหลานี้ใหขาด ไปได. ลองพิจารณาดูเถิดวา เมื่อตัดสิ่งรบกวนใจอันเปนขาศึกศัตรูชั้นละเอียด เหล า นี้ ไ ด ข าดแล ว จิ ต จะประสบความสงบเย็ น สั ก เพี ย งไร นั่ น แหละคื อ ค า หรื อ ความหมายของวิ มุ ต ติ สุ ข อั น เกิ ด มาจากการตั ด อุ ท ธั จ จสั ญ โญชน เ สี ย ได และ วิ มุ ต ติ สุ ข ญาณข อ นี้ มี ค วามหมายสมกั บ เป น สิ่ ง ที่ เ คี ย งคู กั น กั บ อรหั ต ตมรรคญาณ จริง ๆ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org อุ ท ธั จ จะ หรื อ ความกระเพื่ อ มแห ง จิ ต มี มู ล มาจากความสํ า คั ญ ว า มี ตั ว มีตน ฉะนั้น จึงสงเคราะหสัญโญชนขอนี้ลงในมานานุสัย. ง. อวิชชา สัญโญชนขอสุดทายนี้ แปลวาความไมรู. ถูกจัดไวเปน ข อ สุ ดท า ย เพราะเหตุ ใ ดนั้ น มี สิ่ ง ที่ ต อ งวิ นิ จ ฉั ยกั น อย า งละเอี ยด ซึ่ ง จะทํ า ให เข า ใจ คําวา อวิชชา ไดดี. ความจริ ง ที่ ใ คร ๆ ต อ งยอมรั บ มี อ ยู ว า กิ เ ลสทุ ก ชนิ ด และทุ ก ระดั บ ยอมมีมูลมาจากอวิชชาหรือเปนสวนใดสวนหนึ่งของอวิชชาดวยกันทั้งนั้น. เมื่อ

www.buddhadasa.in.th


๔๙๐

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๒

กล า วถึ ง กิ เ ลสชื่ อ ต า ง ๆ ไปหมดสิ้ น แล ว มากล า วถึ ง อวิ ช ชาอี ก มิ เ ป น การซ้ํ า กั น ไปหรือ นี่แหละคือปญหาที่ตองวินิจฉัยในที่นี้. หลั ก เกณฑ ใ นปฏิ จ จสมุ ป บาท มี อ ยู ว า ความทุ ก ข ห รื อ สั ง ขารทั้ ง ปวง รวมทั้งกิเลสดวย มีมูลมาจากอวิชชา ; ถาทําลายอวิชชาเสียเพียงอยางเดียวเทานั้น. สิ่ ง ต า ง ๆ ที่ เ ป น กิ เ ลสหรื อ ความทุ ก ข ก็ ดั บ ไปหมด และเรื่ อ งก็ สิ้ น สุ ด ลงเพี ย งเท า นั้ น . ส ว นในเรื่ อ งของสั ญ โญชน นี้ ได ร ะบุ ก ารละสั ญ โญชน เ ป น ลํ า ดั บ ๆ ไป กระทั่ ง ละ อวิ ช ชาเป น ขั้ นสุ ด ท า ยคื อ ขั้ นที่ ๑๐ คล าย ๆ กั บ ว า มี กิ เ ลสอี ก ตั้ ง ๙ อย าง ซึ่ ง อยู นอกเหนือไปจากอวิชชา ; ความจริงหาไดเปนไปโดยทํานองนั้นไม กิเลสและ สัญโญชนทั้งหลาย ที่มีชื่อตางกันเหลานั้น เปนสิ่งที่เกิดมาจากอวิชชา มีลักษณะ เปนอาการของอวิชชา ในรูปตาง ๆ กัน จึงไดชื่อแปลก ๆ ตามอาการที่มันแสดง. การเกิดมาจากอวิชชานั้น เกิดเสร็จเรียบรอยอยูในภายใน โดยอาการที่เรนลับเห็น ไดยากที่สุด จึงไมชวนใหคิดไปในทํานองวา มันเปนพวกอวิชชาดวยกัน ; แตถา พิ จารณาให ดี แล ว จะเห็ น ได ว าสั ญโญชน ทั้ ง ๙ มี มู ลมาจากอวิ ชชา มี อ ยู ไ ด เพราะ อวิช ชาอยู. เชน สัก กายทิฏ ฐิเ ห็น วา กายนี้เ ที่ย งแทเ ปน ของตนก็เ พราะอวิช ชา ครอบงํา ทําใหเห็นไปอยางนั้น. วิจิกิจฉา ลังเลตอขอปฏิบัติที่จะขามฟากจาก โลกิ ย ะไปสู โ ลกุ ต ระ เพราะยั ง อาลั ย ในโลกิ ย ะอยู นี้ เ พราะอํ า นาจครอบงํ า ของ อวิ ช ชาดึ ง เอาไว สี ลั พ พตปรามาส คื อ การจั บ ฉวยเอาสิ่ ง ต า ง ๆ ผิ ด จากความจริ ง หรื อ ผิ ด จากความหมายอั น แท จ ริ ง นั้ น เป น อาการของอวิ ช ชาอย า งชั ด แจ ง อยู แ ล ว . กามราคะมี ค วามกํ า หนั ด ในกาม เพราะไม รู จั ก สิ่ ง ที่ เ รี ย กว า กาม ตามที่ เ ป น จริ ง ปฏิ ฆะ ความกลั ดกลุ มด วยอํ านาจโทสะ ก็ เนื่ องมาจากความไม รู จั กสิ่ งที่ เป นมู ลเหตุ แหงความกลัดกลุมตามที่เปนจริง จึงไปกลัดกลุมเขา ; ความไมรูตามที่เปนจริงนี้ เปนอาการโดยตรงของอวิชชา ทั้งอยางหยาบและอยางละเอียด. สําหรับรูปราคะ

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


การตัดสัญโยชน ของอริยมรรคทั้งสี่

๔๙๑

หรืออรูปราคะนั้น เปนเรื่องของอวิชชาชั้นละเอียด คือไมรูจักความสุขอันเกิดมา จากรู ป และอรู ป ตามที่ เ ป น จริ ง หรื อ ถึ ง ที่ สุ ด จึ ง หลงยึ ด ถื อ เพราะหลงในความ ประณีตของความสุขประเภทนี้. มานะและอุทธัจจะนั้น คือความไมรูจริง และเปน เรื่องความรูผิดอันเกี่ยวกับตัวตนดังที่กลาวมาแลวขางตน. ทั้งหมดนี้แสดงใหเห็นวา สัญโญชนทั้ง ๙ นั้น หรืออนุสัยทั้ง ๖ ขางตนนั้น ลวนแตเปน “ลูก” ของอวิชชา โดยตรง อยา งที่ไมค วรจะถือ วาเปน พี่นอ งหรือ เพื่อ นฝูง ของอวิช ชาเลย. ฉะนั้น การฆ า ลู ก ๆ ให ต ายหมด หาได ห มายความว า เป น การฆ า แม ข องมั น ให ต ายด ว ยไม แม ข องมั น ยั ง เหลื อ อยู ในฐานะเป น สิ่ ง ที่ จ ะคลอดลู ก ทั้ ง หลายอีก ต อ ไปไม มี ห ยุ ด งานขั้นสุดทายจึงไดแกการฆาอวิชชา ซึ่งเปนเหมือนแมแหงกิเลสทั้งปวง. การที่ อรหั ต ตมรรคญาณตั ด สั ญ โญชน ใ นเบื้ อ งสู ง คราวเดี ย วทั้ ง ๕ อย า งนั้ น หมายความว า อรหั ต ตมรรคญาณ มี กํ า ลั ง มากพอที่ ไ ม จํ า เป น จะต อ งรอฆ า ลู ก ๆ ๔ คน ให ต ายไป ทีละคนกอน แลวจึงฆาแมเปนคนสุดทาย. อรหัตตมรรคญาณมีวิสัยหรืออํานาจ ที่ ส ามารถทํ า ลายสิ่ ง ทั้ ง ๕ นี้ ได พ ร อ มกั น ไปในตั ว ในคราวเดี ย วกั น แต ถึ ง กระนั้ น ก็ มิ ไ ด ห มายความว า อวิ ช ชาไม ไ ด เ ป น แดนเกิ ดของสั ญ โญชน ทั้ ง ๔ ที่ ถู ก ตั ด พร อ มกั น กับ อวิช ชานั้น . ขอ นี้เ ปรีย บเหมือ นกับ แมโ จรคนหนึ่ง ถูก ฆา พรอ มกัน ไปกับ ลูก ๔ คน ชั ้น ที ่เ ปน หัว หนา หรือ หัว ป ดว ยอํ า นาจอรหัต ตมรรค ในเมื ่อ ลูก ชั ้น เล็ ก ๆ หรื อน อง ๆ ถู กฆ าตายไปแล วโดยง าย ด วยอํ านาจโสดาป ตติ มรรค สกิ ทาคามิ มรรค และอนาคามิมรรคตามลําดับ. การกลาวดวยอุปมาอยางนี้ เรียกวาการ กล า วโดยภาพพจน หรื อ ที่ เ รี ย กโดยภาษาธรรมะว า การกล า วอย า งบุ ค คลาธิ ษ ฐาน ทั้ ง นี้ เพื่ อ ช ว ยให เ กิ ด ความเข า ใจได ง า ย เข า ใจได ทั น ที แล ว ลื ม ได ย าก จึ ง นํ า มาใช อธิบายธรรมะในขั้นที่ลึกซึ้งและสับสน.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๔๙๒

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๒

เมื่ อ ได พ บว า สั ญ โญชน ชื่ อ อื่ น ๆ เป น เพี ย งสิ่ ง ที่ ง อกงามไปจากอวิ ช ชา ดั งที่ กล าวแล ว ซึ่ งเป นการแสดงว าสั ญโญชน เหล านั้ นไม ใช ตั วอวิ ชชาโดยตรง ดั งนี้ แลว ปญหาก็เหลืออยูวา สิ่งที่เรียกวาอวิชชาโดยตรงนั้น คืออะไร ? อวิ ชชาคื อความไม รู ดั งที่ กล าวแล วข างต น แต มี สิ่ งที่ จะต องศึ กษาต อไป วา : สภาพแหงความไมรูนั้นเปนอยางไร ? และไมรูซึ่งอะไร ? และเกิดอะไรขึ้น เพราะความไมรูนั้น ? รวมกันเปน ๓ อยาง ซึ่งจะไดวินิจฉัยทีละอยางดังตอไปนี้ :สภาพแหงความไมรู นั้น หมายถึงภาวะแหงปราศจากความรูที่ควรจะรู ไมใ ชว า ไมรู อ ะไรเสีย เลย เพราะความรู ที ่ผ ิด ก็ย ัง มี รู อ ยา งถูก ครึ ่ง ผิด ครึ ่ง ก็ย ัง มี การที่ จ ะให ม นุ ษ ย ที่ มี ชี วิ ต อยู ไ ม มี ค วามรู อ ะไรเสี ย เลยนั้ น เป น สิ่ ง ที่ เ ป น ไปไม ไ ด เพราะเวลาที่ ล วง ๆ ไป ย อมสอนอยู ในตั วให เขามี ความรู อย างใดอย างหนึ่ งเพิ่ มขึ้ น แตความรูเหลานี้ ยังไมถึงขีดที่จะไดนามวา “สิ่งที่ควรรู” ตามความมุงหมายของ พุทธศาสนา ยังรูผิดบาง รูถูกแตมิไดเปนไปในทางที่มุงหมายบาง ความปราศจาก ความรูที่ควรรู เชนนี้เองเรียกวา อวิชชา. หมายความวาในความรูหรือภาวะแหง ความรูเหลานั้น ปราศจากความรูที่สามารถตัดสัญโญชนทั้ง ๑๐ ได. ภาวะอยาง ที ่เ รีย กวา อวิช ชาในที ่นี ้ จะถือ วา มีอ ยู ใ นที ่ทั ่ว ไป เปน อนัน ตะก็ไ ด หรือ จะถือ วา มี อ ยู ใ นจิ ต ของสั ต ว ก็ ไ ด เพราะว า ถ า มี อ ยู ใ นที่ ทั่ ว ไป ก็ ห มายถึ ง มี อ ยู ใ นจิ ต ใจของ สัต วด ว ย และเพราะวา มีอ ยู ใ นจิต ใจของสัต วนั ่น เอง จึง เกิด เปน เรื ่อ งเปน ราว ขึ้ นมา ความหมายอั นสํ าคั ญจึ งอยู ที่ ความมี อยู ในจิ ตใจของสั ตว เพราะสั ตว นั่ นเอง เป น ตั ว เจ า ทุ ก ข และกํ า ลั ง ศึ ก ษาปฏิ บั ติ ซึ่ ง เป น การดิ้ น รนเพื่ อ ความพ น จากทุ ก ข . สรุปความเฉพาะขอนี้วา อวิชชาคือภาวะแหงความปราศจาก ความรูที่ควรรู ซึ่งมี อยูในจิตใจของสัตวทั่วไป ในลักษณะที่ครอบคลุมไปทั้งโลก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


การตัดสัญโยชน ของอริยมรรคทั้งสี่

๔๙๓

สําหรับปญหาที่วา ไมรูซึ่งอะไร นั้น ตอบไดอยางกําปนทุบดินชั้นหนึ่ง กอนวา ไมรูสิ่งที่ควรรู ดังที่กลาวมาแลวขางตน. ครั้นถามตอไปวาสิ่งที่ควรรู คืออะไร ? คําตอบยอมมีโดยเฉพาะเจาะจงลงไปวา ไมรูสิ่งที่จะทําใหไมมีทุกข. สํ า หรั บ สิ่ ง ที่ จ ะทํ า ให ไ ม มี ทุ ก ข นี้ จํ า แนกออกไปสํ า หรั บ การศึ ก ษา และการปฏิ บั ติ ได โ ดยง า ยเป น ๔ อย า งคื อ ความจริ ง เรื่ อ งทุก ข ความจริง เรื ่อ งเหตุใ หเ กิด ทุก ข นี้คูหนึ่ง ; อีกคูหนึ่งคือ ความจริงเรื่องสภาพแหงความไมมีทุกขเลย และความจริง เรื่องหนทางปฏิบัติเพื่อเขาถึงความไมมีทุกขนั้น. ถาจําแนกออกไปก็เปน ๔ ดังที่ กล า วแล ว นี้ ถ า ย น เข า มาอี ก ก็ เ หลื อ เพี ย ง ๒ คื อ ความทุ ก ข กั บ ความดั บ ทุ ก ข ; ถายนลงอีกก็จะเหลือเพียง ๑ คือ ความดับทุกข นั่นเอง. การกลาวอยางยน ให เ หลื อ เพี ย ง ๑ เพี ย ง ๒ เช น นี้ ไม เ พี ย งพอแก ก ารศึ ก ษาของคนทั่ ว ไป คงใช ไ ด เฉพาะเพี ยงบาคน จึ ง ต อ งบั ญญั ติ ไว ในมาตรฐานที่ เหมาะแก คนทั่ วไป คื อ บั ญ ญั ติ เป น ๔ อยางดังที่ กล าวแล ว ซึ่งอาจจะย นเป นหนึ่ ง เปนสองไดด วยตนเอง ในเมื่ อ มีความเขาใจในเรื่องนี้อยางทั่วถึงแลว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ความจริงเรื่องทุกข คือขอที่วา สิ่งทั้งปวงเปนทุกข แมแตสิ่งที่เรียก กันวาสุข วาบุญ วาสวรรค ก็เปนทุกข โดยไมตองพูดถึงความเกิด แก เจ็บ ตาย เปน ตน ขอ นี ้ห มายความวา สัง ขารทั ้ง ปวงเปน ทุก ข โดยไมย กเวน สิ ่ง ใดเลย แต สั ต ว มี อ วิ ช ชาครอบงํ า ย อ มเห็ น บางอย า งเป น สุ ข บางอย า งเป น ทุ ก ข จึ ง เลื อ ก ที่รั กผลั กที่ ชั ง โดยเป นสิ่งที่ นารัก น าชัง ขึ้ นมาหลอกตัวเอง ใหผละจากสิ่ งนี้ วิ่งไป หาสิ่ ง โน น จากสิ่ ง โน น มาหาสิ่ ง นี้ เรื่ อ ยไปไม มี ที่ สิ้ น สุ ด ตามอํ า นาจอวิ ช ชาของตั ว มันเอง ที่ไมรูวาสังขารทั้งปวงเปนทุกข เพราะความเปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ; ถาทราบความจริงขอนี้ ก็เปนอันวาทราบความจริงเรื่องทุกข.

www.buddhadasa.in.th


๔๙๔

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๒

ความจริงเรื่องเหตุใหเกิดทุกข นั้น หมายความวา ทุกขไมไดเกิดขึ้นเอง ลอย ๆ แตมีเหตุมีปจจัยที่ทําใหเกิด. เหตุปจจัยที่ทําใหเกิดนั้น มิใชสิ่งภายนอก เชน ผีส างเทวดา เปน ตน แตเ ปน สิ ่ง ที ่ม ีอ ยู ใ นภายใน คือ กิเ ลสนานาชนิด รวมทั้งกิเลสที่เปนเหตุใหเชื่อในผีสางเทวดาเปนตนเหลานั้นดวย. สําหรับกิเลส ที่ ใ กล ชิ ด และเนื่ อ งกั น อยู โ ดยตรงกั บ ความทุ ก ข โ ดยประจั ก ษ นั้ น คื อ กิ เ ลสที่ เ รา เรี ยกกั นว าตั ณหา แปลว า ความอยาก หมายถึ ง ความอยากทุ กชนิ ด มี มากมาย เหลื อ ที่ จ ะประมาณได แต จั ด เป น หมวด ๆ ได เ พี ย ง ๓ หมวด คื อ อยากมี หรื อ อยากได ๑. อยากเปนอยางนั้นอยางนี้ ๑. อยากไมใหเปนอยางนั้นอยางนี้ ๑. ความอยากหรื อ ตั ณ หานี้ มี ผ ลมาจากอวิ ช ชา เพราะไม รู จึ ง ได อ ยากไปในสิ่ ง ต า ง ๆ ซึ่ ง ที่ แ ท ไ ม มี อ ะไรที่ น า อยากเลย เพราะสั ง ขารทั้ ง หลายทั้ ง ปวงเป น ทุ ก ข โ ดยเสมอกั น ดังที่กลาวแลวขางตน. ความไมรูทําใหอยากหรืออยากเพราะไมรู จึงกลาวไดวา ความอยากมีอยูตราบใด ความไมรูก็มีอยูตราบนั้น ; หรือความไมรูมีอยูตราบใด ก็ไมมีทางที่จะใหรูไดวา ความอยากเปนเหตุใหเกิดความทุกขอยูตราบนั้น. เมื่อใด รูวา ความอยากเปนเหตุใหเกิดทุกข ก็เปนอันรูความจริง เรื่องเหตุใหเกิดทุกข.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ความจริงเรื่องสภาพแหงความไมมีทุกข โดยประการทั้งปวง นี้หมายถึง ความจริงเรื่องนิพพาน. นิพพาน แปลวา ดับไมเหลือ เปนความดับไมเหลือ ของกิเลสและความทุกข เปนความวางจากกิเลสและความทุกข ถึงที่สุดจริง ๆ แต สั ต ว มิ ไ ด แ สวงหาความดั บ ทุ ก ข ใ นลั ก ษณะเช น นี้ แต ไ ปแสวงหาความดั บ ทุ ก ข จากกามคุ ณ บ า ง หรื อ สู ง ขึ้ น ไปก็ คื อ ความสุ ข อั น เกิ ด จาก รู ป และ อรู ป บ า ง ซึ่ ง ไม อ าจจะเป น ความดั บ ทุ ก ข อ ย า งแท จ ริ ง หรื อ ถึ ง ที่ สุ ด ไปได เ ลย นี้ คื อ อวิ ช ชาของ สัตวเหลานั้นในขอนี้. เมื่อใดทราบวา ดับกิเลสสิ้นเชิงเปนความดับทุกขสิ้นเชิง เมื่อนั้นกลาวไดวา รูความจริงเรื่องความดับทุกข.

www.buddhadasa.in.th


การตัดสัญโยชน ของอริยมรรคทั้งสี่

๔๙๕

ความจริงเรื่องหนทางใหถึงสภาพแหงความไมมีทุกขเลย นั้น คือ การปฏิ บั ติ ช นิ ด ที่ ถู ก ตรงตามกฎเกณฑ ข องธรรมชาติ ในลั ก ษณะที่ จ ะดั บ อวิ ช ชา และตัณหาเสียได ซึ่งเรี ยกว าการปฏิบั ติชอบ หรื อการปฏิบัติ สายกลาง คื อพอเหมาะ พอสม หมายถึ งการปฏิ บั ติ ต อชี วิ ต ไม ตึ ง เครี ยดเกิ นไป ไม ย อหย อนเกิ นไป แต ใ ห พอเหมาะพอสมเพื่ อ จะเป น อยู ชนิ ด ที่ เ ป น การละกิ เ ลสไปในตั ว ทั้ ง กลางวั น และ กลางคื น หรื อ เรี ย กว า ทั้ ง หลั บ ทั้ ง ตื่ น ไม มี ร ะยะว า งเว น แม จ ะหลั บ อยู ก็ ยั ง ใช เ ป น การควบคุมกิเลสหรือบรรเทากิเลสอยูเสมอไป. ขอปฏิบัติเหลานี้มีชื่อเรียกวามรรค บาง สติปฏฐานบาง โพชฌงคบาง และอื่น ๆ อีกหลายอยาง โดยใจความเปนอยาง เดียวดวยกันทั้งนั้น แตที่นิยมใชเรียกมากกวาอยางอื่นนั้น คือ มรรค. มรรค ในที่นี้แปลวา ทาง หมายถึง ทางปฏิบัติเพื่อทําลายตัณหา หรืออวิชชา โดยตรง. มรรคนี้ประกอบด วยองค ประกอบจํานวนหนึ่ง จะว ามี องค ๑๐ ก็ได องค ๘ ก็ ได มีองค ๓ ก็ได แลวแตจะยนหรือจะขยายตามตองการ ; แตที่ใชเปนหลักสําหรับ กล า วกั น ทั่ ว ไปนั้ น ถื อ ว า มี อ งค ๘ มี สั ม มาทิ ฏ ฐิ เ ป น ต น มี สั ม มาสมาธิ เ ป น ที่ สุ ด เพราะเปนพระพุทธภาษิตที่ตรัสมากกวาอยางอื่น. ถาจะขยายออกเปน ๑๐ ก็เพิ่ม สัมมาญาณะและสัมมาวิมุตติ ตอทายมรรคมีองค ๘. ถายนใหเหลือ ๓ ก็สงเคราะห สิ่งเหลานั้นใหเปนเพียง อธิสีล อธิจิต และ อธิปญญา ดังนี้เปนตน. แตโดย ใจความแล ว คื อขอปฏิบั ติที่ มี ผลดิ่ งไปในทางที่จะทํ าลายกิเลสตั ณหาโดยตรงเท านั้ น. ส ว นสั ต ว ผู ถู ก อวิ ช ชาครอบงํ า ไว ย อ มปฏิ บั ติ แ ต ใ นทางให ไ ด ม าซึ่ ง สวรรค อั น รวม ทั ้ง ความสนุก สนานเพลิด เพลิน ในโลกนี ้ หรือ อยา งมากที ่ส ุด ก็มุ ง ตอ ความสุข อันเกิดจากรูป หรืออรูป นี้คือ อวิชชาในเรื่องทางดับทุกข ของสัตวเหลานั้น. เมื่ อใดมี ความรู แจ งในข อปฏิ บั ติ ที่ เป นการทํ าลายกิ เลสโดยตรงอย างเดี ยว เมื่ อนั้ น เรียกวา มีวิชชา ในความจริงเรื่องหนทางแหงความดับทุกข.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๔๙๖

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๒

ความไม รู ค วามจริ ง ทั้ ง ๔ ข อ นั้ น เรี ย กว า อวิ ช ชาในที่ นี้ เมื่ อ มี อ วิ ช ชา เหล า นี้ แ ล ว นอกจากไม รู ค วามจริ ง ต า ง ๆ ดั ง ที่ ก ล า วมาแล ว ยั ง เป น เหตุ ใ ห รู ความเท็ จ กล า วคื อ มิ จ ฉาทิ ฏ ฐิ ต า ง ๆ ที่ อ ยู ใ นรู ป ของกิ เ ลสชื่ อ ต า ง ๆ สั ญ โญชน ชื ่อ ตา ง ๆ อนุส ัย ชื ่อ ตา ง ๆ นอกไปจากอวิช ชา ดัง ที ่ไ ดเ ห็น กัน อยู ทั ่ว ๆ ไป. นี ้เ ปน การแสดงใหเ ห็น วา อะไรเปน สิ ่ง ที ่ค วรรู  อะไรเปน สิ ่ง ที ่แ มรู ก ็ย ัง ไมเ รีย กวา รูสิ่งที่ควรรู ; ซึ่งสรุปความไดเฉพาะในขอนี้วา อวิชชา คือความไมรู หรือ ปราศจากความรูชนิดที่ทําใหเดินถูกทางแหงความดับทุกขนั่นเอง. สวนขอที่วา อวิชชา จะทําใหเกิดผลอยางไรสืบไป นั้น ยอมเห็นได จากคํ า อธิ บ ายที่ ก ล า วมาแล ว ๒ ข อ ข า งต น คื อ เมื่ อ ไม รู ก็ เ ดิ น ผิ ด ทาง คํ า ว า เดิ น ผิ ด ทาง หมายถึ ง เป น ไปในลั ก ษณะที่ จ ะทํ า ให กิ เ ลสต า ง ๆ เกิ ด ขึ้ น มาใหม และมี ความทุ ก ข ต า ง ๆ เกิ ด ขึ้ น มาใหม แล ว หลงใหลอยู ใ นกิ เ ลสและความทุ ก ข นั้ น ใน ลั ก ษณะที่ เ รี ย กว า เห็ น กงจั ก รเป น ดอกบั ว คื อ ทํ า ไปด ว ยความสมั ค รใจในการที่ จ ะ เวี ย นว า ยอยู ใ นวั ฏ ฏสงสาร กล า วคื อ ความทุ ก ข ที่ ว นเวี ย นอยู ด ว ยกิ เ ลส และการ กระทํากรรมอยางซ้ําซากไมมีที่สิ้นสุด. นี้คือผลที่เกิดมาจากอวิชชา หรือกลาว ไดวา ขึ้นชื่อวาอวิชชาแลว ตองมีผลอยางนี้เสมอไป จึงจะไดนามวาอวิชชาสมชื่อ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เมื่อทราบวา ภาวะ แหงอวิชชา คืออะไร, อวิชชา ขาดความรู ในเรื่ อ งอะไร ย อมก อให เกิ ดผลอะไรขึ้ น ดั งนี้ แล ว ก็ พอจะกล าวได ว าเป นผู รู จั กตั ว อวิ ช ชาซึ่ ง เป น เหมื อ นแม ข องกิ เ ลสทั้ ง หลายอย า งหนึ่ ง ทํ า ให สั ต ว เ ดิ น ผิ ด ทางอย า ง หนึ่ ง เป น การช ว ยกั น ทั้ ง แม ทั้ ง ลู ก ในการที่ จ ะครอบงํ า สั ต ว กั ก ขั ง สั ต ว เบี ย ดเบี ย น ย่ํายีหรือทรมานสัตว. อรหัตตมรรค มีคุณสมบัติตรงกันขาม เพราะเกิดมา

www.buddhadasa.in.th


การตัดสัญโยชน ของอริยมรรคทั้งสี่

๔๙๗

จากสิ่ งที่ ตรงกั นข าม กล าวคื อ วิ ชชา ซึ่ งได บํ าเพ็ ญมาโดยประการต าง ๆ ในทุ กขั้ น ของอานาปานสติ ตั้ ง แต ขั้ น ที่ ห นึ่ ง จนถึ ง ขั้ น สุ ด ท า ย ล ว นแต เ ป น การส ง เสริ ม ให วิ ช ชาเกิ ด ขึ้ น จนกระทั่ ง สมบู ร ณ ทํ า ลายอวิ ช ชาให สู ญ สิ้ น ไป เหมื อ นแสงสว า ง เกิดขึ้น ยอมกําจัดความมืดใหหายไป ฉะนั้น. เมื่ออวิชชาหมดไปแลว เปนอันวา กิ เลสหรื อความดั บทุ กข ดั บไปโดยสิ้ นเชิ ง เป นทางที่ จะทราบได โดยง ายว า วิ มุ ตติ สุ ข ที่ เกิ ดขึ้ นจากการทํ าลายอวิ ชชาเสี ยได นี้ จะเป นสิ่ งสู งสุ ดเพี ยงไร และญาณวิ มุ ตติ สุ ข ขั้นนี้จะนํามาซึ่งความชื่นชมยินดี ในการชนะมารแกผูปฏิบัติเพียงไร. วินิจฉัยในวิมุตติสุขญาณ ๒๑ ประการ สิ้นสุดลงเพียงเทานี้. รวมเปน ๒๒๐ ประการ จัดเปนความรูที่ผูปฏิบัติ ญาณทั้ง ๑๑ หมวด๑ ในอานาปานสติ จะพึ งศึ กษามาก อน เพื่ อความสะดวกแก การปฏิ บั ติ แต จั ดเป นญาณ สํ า หรั บ บุ ค คลผู ป ฏิ บั ติ ถึ ง ที่ สุ ด แล ว คื อ เป น ความรู ที่ ไ ด เ กิ ด ขึ้ น จริ ง ๆ และสมบู ร ณ แลว ไมใ ชค วามรู ที ่จ ะศึก ษาหรือ กํ า ลัง ศึก ษาอยู  เพื ่อ นํ า ไปปฏิบ ัต ิอ ีก ตอ หนึ ่ง . ผู ศึ กษาพึ งทราบความหมายของคํ าว าญาณ ๒๒๐ ประการ ว ามี ความหมายอยู เป น ๒ ความหมาย หรืออาจนําไปใชไดโดย ๒ ความหมายอยางนี้. สําหรับผูศึกษา เพื่ อ นํ า ไปปฏิ บั ติ จะต อ งพยายามศึ ก ษาให เข า ใจว าหมวดไหน กล าวด ว ยเรื่ อ งอะไร สั ม พั น ธ กั บ หมวดอื่ น ก อ นหลั ง กั น อย า งไร และตนจะต อ งปฏิ บั ติ ต อ หมวดไหน

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

การบรรยายครั้งที่ ๖๒ / ๔ มกราคม ๒๕๐๓

www.buddhadasa.in.th


๔๙๘

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๒

ในลั ก ษณะที่ เ ป น การละเว น อย า งไร และต อ หมวดไหนในลั ก ษณะที่ เ ป น การเจริ ญ คือทําใหเกิดมีขึ้นอยางไร ; ใหมีความเขาใจแจมแจง เพื่อความไมติดขัดในการ ปฏิบัติทุก ขั้น ตอน. สว นผูที่ไ ดป ฏิบัติจ นถึง ที่สุด แลว นั้น ยอ มเห็น ประจัก ษ ซึ่ง สิ่ง เหลา นี้ใ นฐานะที่เ ปน ตัว ความจริง หรือ เปน ของจริง โดยตรง. ความรู อย า งแรกเหมื อ นกั บ ความรู ที่ ไ ด ม าจากการดู แ ผนที่ ส ว นความรู อ ย า งหลั ง เหมื อ น กับ ความรู ใ นขณะที ่ไ ดไ ปถึง ที ่นั ้น ๆ แลว และดูข องจริง หรือ บา นเมือ งจริง ๆ ตามที่เคยแสดงอยูในแผนที่. พึงเปรียบเทียบดูดวยตนเองวา ความรู ๒ อยางนี้ ตางกันอยางไร. ดวยเหตุฉะนี้แหละ จึงไดเรียกอยางแรกวาความรู และเรียก อย างหลั งว าญาณ ซึ่ งเป นการแสดงให เห็ นอยู ในตั วแล วว า ความรู เรื่ องนั้ น ๆ มี ได ก อ นการบรรลุ ธ รรม แต ยั ง ไม ใ ช ญ าณ ส ว นญาณนั้ น มี ม าภายหลั ง การบรรลุ ธ รรม จึงเปนการรูอยางแทจริง และจากของจริงโดยตรงอยางที่กลาวแลว. ดังนั้น ทาน จึงกลาวไว เป นหลักว า เมื่ อปฏิบั ติในอานาปานสติ อั นมี วัตถุ ๑๖ โดยสมบู รณ แล ว ยอมเกิดญาณ ๒๒๐ ประการดังนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


ตอน ยี่สิบสาม ผนวก ๓ - วาดวยพระพุทธวจนะ เนื่องดวยอานาปานสติ ต อ ไปนี้ จะได ก ล า วถึ ง บาลี พ ระพุ ท ธภาษิ ต โดยตรง ที่ ไ ด ต รั ส ไว ใ นที่ ต า ง ๆ กั น ซึ่ ง ล ว นแต ก ล า วถึ ง อานาปานสติ ป ริ ย ายใดปริ ย ายหนึ่ ง ด ว ยกั น ทั้ ง นั้ น ประมวลมาไว ในที่ แห งเดี ยวกั น เพื่ อความสะดวกแก การศึ กษาจากพระพุ ทธภาษิ ตนั้ น ๆ โดยตรง เพื่ อความเข าใจยิ่ งขึ้ นจากข อความที่ กล าวมาแล วนี้ อย างหนึ่ ง อี กอย างหนึ่ ง เพื่ อ เป น เครื่ อ งช ว ยให เ กิ ด ความเชื่ อ ความพอใจ และความพากเพี ย รในการปฏิ บั ติ ยิ่ง ๆ ขึ้นไป ดังตอไปนี้ :(ก) เกี่ยวกับอานิสงสแหงการเจริญอานาปานสติ นั้น มีพระพุทธภาษิตในเอกธัมมวัคค อานาปานสังยุตต สังยุตตนิกาย (๑๙ / ๓๙๗ / ๑๓๑๔) วา : “ภิกษุ ท. ! อานาปานสติ อันบุคคลเจริญแลว ทําใหมากแลว ยอมมี ผลใหญ ยอมมีอานิสงสใหญ.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org “ภิกษุ ท. ! อานาปานสติ อันบุคคลเจริญแลว ทําใหมากแลว อยางไรเลา ? จึงมีผลใหญ มีอานิสงสใหญ.

“ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ไปแลวสูปาก็ตาม ไปแลวสูโคนไม ก็ ตาม ไปแล วสู เรื อนว างก็ ตาม นั่ งคู ขาเข ามาโดยรอบแล ว ตั้ งกายตรงดํ ารงสติ มั่ น. ภิกษุนั้นเปนผูมีสติอ ยูนั่นเทียว หายใจเขา, มีสติอ ยูนั่นเทียว หายใจออก ; ภิกษุนั้น - - - -

๔๙๙

www.buddhadasa.in.th


อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๓

๕๐๐

(๑) เมื่อหายใจเขายาว ก็รูสึกตัวทั่วถึง วาเราหายใจเขายาว ดังนี้ ; เมื่อหายใจออกยาว ก็รูสึกตัวทั่วถึง วาเราหายใจออกยาว ดังนี้. (๒) เมื่อหายใจเขาสั้น ก็รูสึกตัวทั่วถึง วาเราหายใจเขาสั้น ดังนี้ ; เมื่อหายใจออกสั้น ก็รูสึกตัวทั่วถึง วาเราหายใจออกสั้น ดังนี้. (๓) ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง จักหายใจเขา ดังนี้ ; ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง จักหายใจออก ดังนี้. (๔) ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูทํากายสังขารใหรํางับอยู จัก หายใจเขา ดังนี้ ; ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูทํากายสังขารใหรํางับอยู จักหายใจออก ดังนี้. (จบจตุกกะที่ ๑) (๕)

ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งปติ จักหายใจ ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งปติ จักหายใจออก

(๖)

ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งสุข จักหายใจ ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งสุข จักหายใจออก

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เขา ดังนี้ ; ดังนี้.

เขา ดังนี้ ; ดังนี้.

www.buddhadasa.in.th


พระพุทธวจนะ เนื่องดวยอานาปานสติ

๕๐๑

(๗) ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งจิตตสังขาร จักหายใจเขา ดังนี้ ; ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งจิตตสังขาร จักหายใจออก ดังนี้. (๘) หายใจเขา ดัง นี้ ; จักหายใจออก ดังนี้.

ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูจิตตสังขารใหรํางับอยู จัก ยอ มทํา ในบทศึก ษาวา เราเปน ผูจิต ตสัง ขารใหรํา งับ อยู

(จบจตุกกะที่ ๒) (๙) เขา ดังนี้ ; ดังนี้.

ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งจิต จักหายใจ ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งจิต จักหายใจออก

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org (๑๐) หายใจเขา ดังนี้ ; จักหายใจออก ดังนี้.

ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูทําจิตใหปราโมทยยิ่งอยู จัก ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูทําจิตใหปราโมทยยิ่งอยู

(๑๑) ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูทําจิตใหตั้งมั่นอยู จักหายใจ เขาดังนี้ ; ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูทําจิตใหตั้งมั่นอยู จักหายใจออก ดังนี้.

www.buddhadasa.in.th


อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๓

๕๐๒

(๑๒) ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูทําจิตใหปลอยอยู จักหายใจ เขาดังนี้ ; ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูทําจิตใหปลอยอยู จักหายใจออก ดังนี้. (จบจตุกกะที่ ๓) (๑๓) ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูตามเห็น ซึ่งความไมเที่ยงอยู เปนประจํา จักหายใจเขา ดังนี้ ; ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูตามเห็น ซึ่งความไมเที่ยงอยูเปนประจํา จักหายใจออก ดังนี้. (๑๔) ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูตามเห็นซึ่งความจางคลายอยู เปนประจํา จักหายใจเขา ดังนี้ ; ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูตามเห็น ซึ่งความจางคลายอยูเปนประจํา จักหายใจออก ดังนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org (๑๕) ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูตามเห็นซึ่งความดับไมเหลืออยู เปนประจํา จักหายใจเขา ดังนี้ ; ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูตามเห็นซึ่ง ความดับไมเหลืออยูเปนประจํา จักหายใจออก ดังนี้.

(๑๖) ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูตามเห็นซึ่งความสลัดคืนอยู เปนประจํา จักหายใจเขา ดังนี้ ; ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูตามเห็นซึ่ง ความสลัดคืนอยูเปนประจํา จักหายใจออก ดังนี้. (จบจตุกกะที่ ๔)

www.buddhadasa.in.th


พระพุทธวจนะ เนื่องดวยอานาปานสติ

๕๐๓

ภิกษุ ท. ! อานาปานสติ อันบุคคลเจริญแลว ทําใหมากแลว อยางนี้แล ยอมมีผลใหญ ยอมมีอานิสงสใหญ. ภิกษุ ท. ! อานาปานสติ อันบุคคลเจริญแลว ทําใหมากแลวอยู ผลอานิส งส ๗ ประการ ยอ มเปน สิ่ง ที่ห วัง ได. ผลอานิส งส ๗ ประการ เปนอยางไรเลา ? ผลอานิสงส ๗ ประการ คือ :๑. การบรรลุ อรหัตตผลทันที ในทิฏฐิธรรมนี้. ๒. ถาไมเชนนั้น ยอมบรรลุอรหัตตผล ในกาลแหงมรณะ. ๓. ถาไมเชนนั้น เพราะสิ้นโอรัมภาคิยสัญโญชน ๕ ยอมเปน อันตราปรินิพพายี. ๔. ถาไมเชนนั้น เพราะสิ้นโอรัมภาคิยสัญโญชน ๕ ยอมเปน อุปหัจจปรินิพพายี. ๕. ถาไมเชนนั้น เพราะสิ้นโอรัมภาคิยสัญโญชน ๕ ยอมเปน อสังขารปรินิพพายี. ๖. ถาไมเชนนั้น เพราะสิ้นโอรัมภาคิยสัญโญชน ๕ ยอมเปน สสังขารปรินิพพายี. ๗. ถา ไมเ ชน นั้น เพราะสิ้น โอรัม ภาคิย สัญ โญชน ๕ ยอ มเปน อุทธังโสโตอกนิฏฐคามี. ภิกษุ ท. ! อานาปานสติ อันบุคคลเจริญแลว ทําใหมากแลวอยางนี้แล ผลอานิสงส ๗ ประการ ยอมหวังได ดังนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๕๐๔

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๓

นี้ เ ป น การแสดงผลของการเจริ ญ อานาปานสติ ที่ ร ะบุ ไ ปยั ง ตั ว ผล คื อ อรหัตตผล และ อนาคามิผล. (ข) เกี่ยวกับอานิสงสพิเศษออกไป ซึ่งเปนอัจฉริยธรรม และเปน การแสดงถึ ง ผลพิ เ ศษ ที่ เ ป น ความสงบสุ ข อยู ใ นตั ว มี ต รั ส ไว ใ นสั ง ยุ ต ต เ ดี ย วกั น (๑๙ / ๓๙๙ / ๑๓๒๑) มีใจความวา ครั้งหนึ่งพระผูมีพระภาคเจา ไดทอดพระเนตร เห็นพระมหากัปปนะ ผูมีกายไมโยกโคลง แลวไดตรัสแกพระภิกษุทั้งหลายวา : “ภิกษุ ท. ! พวกเธอเห็นความหวั่นไหว หรือความโยกโคลงแหงกาย ของมหากัปปนะบางหรือไม ?” “ขาแตพระองคผูเจริญ ! เวลาใดที่ขาพระองคทั้งหลาย เห็นทานผูมีอายุนั่ง ในที่ทามกลางสงฆก็ดี นั่งในที่ลับคนเดียวก็ดี ในเวลานั้น ๆ ขาพระองคทั้งหลายไมไดเห็น ความหวั่นไหว หรือความโยกโคลงแหงกายของทานผูมีอายุรูปนั้นเลย พระเจาขา”

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org “ภิกษุ ท. ! ความหวั่นไหวโยกโคลงแหงกายก็ตาม ความหวั่นไหว โยกโคลงแหงจิตก็ตาม มีขึ้นไมไดเพราะการเจริญทําใหมากซึ่งสมาธิใด ; ภิกษุ มหากัปปนะนั้น เปนผูไดตามปรารถนา ไดไมยาก ไดไมลําบาก ซึ่งสมาธินั้น.

ภิกษุ ท. ! ความหวั่นไหวโยกโคลงแหงกายก็ตาม ความหวั่นไหว โยกโคลงแห งจิ ตก็ ตาม มี ขึ้ นไม ได เพราะการเจริ ญทํ าให มากซึ่ งสมาธิ เหล าไหนเล า ? ภิกษุ ท. ! ความหวั่นไหวโยกโคลงแหงกายก็ตาม ความหวั่นไหวโยกโคลงแหงจิต ก็ตาม ยอมมีไมไดเพราะการเจริญทําใหมากซึ่งอานาปานสติสมาธิ.

www.buddhadasa.in.th


พระพุทธวจนะ เนื่องดวยอานาปานสติ

๕๐๕

ภิกษุ ท. ! เมื่ออานาปานสติสมาธิ อันบุคคลเจริญทําใหมากแลว อย า งไรเล า ความหวั่ น ไหวโยกโคลงแห ง กายก็ ต าม ความหวั่ น ไหวโยกโคลงแห ง จิ ต ก็ตาม จึงไมมี ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ไปแลวสูปาก็ตาม ไปแลวสูโคนไม ก็ตาม ไปแลวสูเรือนวางก็ตาม . . . . ฯลฯ . . . . (ตรัสอานาปานสติอันมีวัตถุ ๑๖ ดังที่ กลาวแลวขางตนในขอ ก.) . . . . เห็นความสลัดคืนอยูเปนประจํา จักหายใจออก ดังนี้. ภิกษุ ท. ! เมื่ออานาปานสติสมาธิ อันบุคคลเจริญทําใหมากแลวอยางนี้แล ความหวั่นไหวโยกโคลงแหงกายก็ตาม ความหวั่นไหวโยกโคลงแหงจิตก็ตาม ยอมมีไมได ดังนี้. ขอนี้เปนการแสดงอานิสงสพิเศษคือผูที่ทําอานาปานสติโดยสมบูรณ ยอม มีจิตมั่นคงซึ่งเปนเหตุใหกายมั่นคง ดํารงอยูไดนิ่ง ๆ แมเหมือนสิ่งที่ไมมี ชีวิต ซึ่งถือกันวาเปนสิ่งที่มีไดจากการเจริญอานาปานสติโดยตรงแตอยางเดียว.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๓

๕๐๖

(ค) เกี่ยวกับพระองคเอง ทรงไดรับประโยชนอยางใหญหลวง จากอานาปานสติ๑ แลวทรงแนะใหภิกษุทั้งหลายสนใจในอานาปานสติ โดยแสดง ประโยชนแ หอ านาปานสตินี ้ โดยนัย ตา ง ๆ กัน นับ ตั ้ง แตป ระโยชนทั ่ว ไป และประโยชนส ูง ขึ ้น ไปตามลํ า ดับ จนกระทั ่ง บรรลุอ รหัต ตผล ปรากฏอยู ใ น เอกธัมมวัคค อานาปานสังยุตต มหาวาร. สํ (๑๙ / ๔๐๐ / ๑๓๒๘) ดังตอไปนี้ :ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ไปแลวสูปาก็ตาม ไปแลวสูโคนไม ก็ตาม ไปแล วสู เรื อนว างก็ ตาม นั่ งคู ขาเข ามาโดยรอบแล ว ตั้ งกายตรงดํ ารงสติ มั่ น. ภิกษุนั้น มีสติอยูนั่นเทียวหายใจเขา มีสติอยูนั่นเทียวหายใจออก. (๑)

เมื่อหายใจเขายาว ก็รูสึกตัวทั่วถึง วาหายใจเขายาว ดังนี้ ; . . . .ฯลฯ . . . . (เหมือนในขอ ก. ทุกประการ)

(๑๖) ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูตามเห็นซึ่งความสลัดคืนอยูเปน ประจํา จักหายใจเขา ดังนี้ ; ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูตามเห็นซึ่งความ สลัดคืนอยูเปนประจํา จักหายใจออก ดังนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ภิกษุ ท. ! เมื่ออานาปานสติ อันบุคคลเจริญแลว ทําใหมากแลวอยางนี้แล ยอมมีผลใหญ ยอมมีอานิสงสใหญ.

การบรรยายครั้งที่ ๖๓ / ๘ มกราคม ๒๕๐๓

www.buddhadasa.in.th


พระพุทธวจนะ เนื่องดวยอานาปานสติ

๕๐๗

ภิกษุ ท. ! แมเราเอง เมื่อยังไมตรัสรู กอนกาลตรัสรูยังเปนโพธิสัตว อยู ยอมอยูดวยวิหารธรรมนี้เปนอันมาก. ภิกษุ ท. ! เมื่อเราอยูดวยวิหารธรรม นี้เป นอั นมาก กายก็ ไม ลํ าบาก ตาก็ ไม ลํ าบาก และจิ ตของเราก็ หลุ ดพ นจากอาสวะ ทั้งหลาย เพราะไมถือมั่นดวยอุปาทาน. ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในเรื่องนี้ ถาภิกษุปรารถนาวา “กายของเรา ไม พึ งลํ าบาก ตาของเราไม พึงลํ าบาก และจิ ตของเราพึ งหลุ ดพนจากอาสวะทั้ งหลาย เพราะไมถือมั่นดวยอุปาทาน” ดังนี้แลวไซร ; อานาปานสตินี่แหละอันภิกษุ นั้นพึงทําไวในใจใหเปนอยางดี. (ข อนี้ หมายความว า การปฏิ บั ติ อานาปานสติ ไม ทํ าร างกายให ลํ าบากเหมื อนกั มมั ฏฐาน อื ่น บางอยา ง อยา งไมม ีค วามรบกวนทางตา ไมต อ งใชส ายตาเหมือ นการเพง กสิณ เปน ตน ; แลวยังสามารถทําจิตใหหลุดพนไดดวย.)

ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในเรื่องนี้ ถาภิกษุปรารถนาวา “ความ ระลึ กและความดํ าริ อั นอาศั ยเรื อนเหล าใดของเรามี อ ยู ความระลึ กและความดํ าริ เหลา นั้น พึง สิ้น ไป” ดัง นี้แ ลว ไซร ;อานาปานสติส มาธินี่แ หละ อัน ภิก ษุนั้น พึงทําไวในใจใหเปนอยางดี.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org (ข อ นี้ ห มายความว า อานาปานสติ ป อ งกั น การดํ า ริ ที่ น อ มไปในทางกาม มี แ ต ที่ จ ะ ใหนอมไปในทางเนกขัมมะ ดังที่กลาวแลวโดยละเอียดในขั้นที่ ๕ และขั้นที่ ๑๐.)

ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในเรื่องนี้ ถาภิกษุปรารถนาวา “เราพึง เปนผูมีสัญญาวาปฏิกูลในสิ่งที่ไมเปนปฏิกูลอยูเถิด” ดังนี้แลวไซร ; อานาปานสติสมาธินี่แหละ อันภิกษุนั้นพึงทําไวในใจใหเปนอยางดี.

(ข อนี้ หมายความว า การเจริ ญอานาปานสติ ช วยให พิ จารณาเห็ นสั งขารที่ ไม เป นปฏิ กู ล โดยสี แ ละกลิ่ น เป น ต น แต มี ค วามเป น ปฏิ กู ล โดยความเป น มายา ไม เ ที่ ย ง เป น ทุ ก ข เป น อนั ต ตา และปรุงแตงใหเกิดทุกข ดังนี้เปนตน.)

www.buddhadasa.in.th


๕๐๘

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๓

ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในเรื่องนี้ ถาภิกษุปรารถนาวา “เราพึง เปนผูมีสัญญาวา ไมปฏิกูลในสิ่งที่ไมเปนปฏิกูลอยูเถิด” ดังนี้แลวไซร ; อานาปานสติสมาธิ นี่แหละ อันภิกษุนั้นพึงทําไวในใจใหเปนอยางดี. (ข อนี้ หมายความว า อานาปานสติ ทํ าให เกิ ดความรู ความเข าใจที่ ถู กต องว าการปฏิ กู ล นั ้น ที ่แ ทไ มใ ชป ฏิก ูล เพราะกลิ ่น และสีน า เกลีย ด หากแตว า เปน ปฏิก ูล ตรงที ่เ ปน มายา และทํ า ใหเกิดทุกข ฉะนั้น สิ่งที่มีสีและกลิ่น อันนาเกลียด ถามิไดเปนเหตุใหเกิดกิเลสหรือเกิดทุกขแลว ก็หาใชสิ่งที่ปฏิกูลไม.)

ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในเรื่องนี้ ถาภิกษุปรารถนาวา “เราพึง เปน ผู ม ีส ัญ ญาวา ปฏิก ูล ทั ้ง ในสิ ่ง ที ่ไ มป ฏิก ูล และทั ้ง ในสิ ่ง ที ่ป ฏิก ูล อยู เ ถิด ” ดังนี้แลวไซร ; อานาปานสติสมาธินี้แหละ อันภิกษุนั้นพึงทําไวในใจใหเปน อยางดี. (ข อ นี้ ห มายความว า สติ แ ละญาณ ในอานาปานสติ ส ามารถทํ า ให เ ห็ น ความน า ขยะ แขยง เพราะทํ า ใหเ กิด ความทนทุก ขท รมาน วา มีอ ยู ทั ้ง ในสิ ่ง ที ่ต ามธรรมดาถือ กัน วา ปฏิก ูล และ ไมป ฏิก ูล หรือ กลา วอีก นัย หนึ ่ง ไดว า ไมค วรถือ วา เปน ตัว ตนหรือ ของตน ทั ้ง ในสิ ่ง ที ่ป ฏิก ูล และในสิ่งที่ไมปฏิกูล.)

ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในเรื่องนี้ ถาภิกษุปรารถนาวา “เราพึง เปนผูมีสัญญาวา ไมปฏิกูลทั้งในสิ่งที่ไมปฏิกูลและในสิ่งที่ไมปฏิกูลอยูเถิด” ดังนี้แลว ไซร ; อานาปานสติสมาธินี้แหละ อันภิกษุนั้นพึงทําไวในใจใหเปนอยางดี.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org (ข อนี้ หมายความว า สติ และญาณในอานาปานสติ ขั้ นสู ง ที่ สามารถทํ าให เห็ นสุ ญญตา ยอมสามารถทําใหวางเฉยไดทั้งในสิ่งที่ปฏิกูล และสิ่งที่ไมปฏิกูลอยูโดยเสมอกัน.)

ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในเรื่องนี้ ถาภิกษุปรารถนาวา “เราพึง เป น ผู เ ว นขาดจากความรู สึ กว าปฏิ กู ล และความรู สึ กว าไม เ ป นปฏิ กู ล ทั้ ง ๒ อย า ง

www.buddhadasa.in.th


พระพุทธวจนะ เนื่องดวยอานาปานสติ

๕๐๙

เสียโดยเด็ดขาดแลว เปนผูอยูอุเบกขา มีสติสัมปชัญญะอยูเถิด” อานาปานสติสมาธินี้แหละ อันภิกษุนั้นพึงทําไวในใจใหเปนอยางดี.

ดังนี้แลวไซร ;

(ข อ นี้ ห มายความว า ในขั้ น ที่ มี ส ติ สั ม ปชั ญ ญะสมบู รณ และอยู ด ว ยอุ เ บกขาจริ ง ๆ นั้ น ย อ มไม มี ค วามรู สึ ก ว า ปฏิ กู ล และไม ป ฏิ กู ล ทั้ ง ๒ อย า ง โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง เป น ผลของอานาปานสติ ชั้ น สู ง กล า วคื อ จตุ ก กะที่ ๔ ที่ ทํ า ให เ ห็ น ความว า งจากตั ว ตน หรื อ ว า งจากความหมายอั น เป น ที่ ตั้ ง แหงความยึดถือ โดยประการทั้งปวงจริง ๆ แลว.)

ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในเรื่องนี้ ถาภิกษุปรารถนาวา “เราพึงเปนผูมี สงั ดจากกามทั้ งหลาย สงั ดจากอกุ ศลธรรมทั้ งหลาย เข าถึ งปฐมฌานอั นมี วิ ตกวิ จาร มีปติและสุข อันเกิดจากวิเวกแลวแลอยูเถิด” ดังนี้แลวไซร ; อานาปานสติสมาธิ นั่นแหละ อันภิกษุนั้นพึงทําไวในใจใหเปนอยางดี. (ขอนี้หมายความวา อานาปานสติ สามารถชวยใหเกิดปฐมฌานไดสมตามความปรารถนา มีรายละเอียดดังกลาวแลว ในอานาปานสติขั้นที่ ๔.)

ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในเรื่องนี้ ถาภิกษุปรารถนาวา “เพราะวิตก วิ จ ารระงั บ ไป เราถึ ง พึ ง เข า ถึ ง ทุ ติ ย ฌาน อั น เป น เครื่ อ งผ อ งใสแห ง จิ ต ในภายใน เพราะธรรมอั น เอก คื อ สมาธิ ผุ ด มี ขึ้ น ไม มี วิ ต กไม มี วิ จ าร มี แ ต ป ติ แ ละสุ ข อั น เกิ ด จากสมาธิแลวแลอยูเถิด” ดังนี้แลวไซร ; อานาปานสติสมาธินี้แหละ อันภิกษุนั้น พึงทําไวในใจใหเปนอยางดี.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org (ข อ นี้ ห มายความว า อานาปานสติ สามารถอํ า นวยให เ กิ ด ทุ ติ ย ฌานได ต ามความ ปรารถนา มีรายละเอียดแหงการปฏิบัติดังกลาวแลว ในอานาปานสติขั้นที่ ๔.)

ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในเรื่องนี้ ถาภิกษุปรารถนาวา “เพราะความ จางคลายไปแห งป ติ เราพึ งเป นผู อยู อุ เบกขา มี สติ สั มปชั ญญะเสวยสุ ขด วยนามกาย ชนิ ด ที่ พ ระอริ ย เจ า กล า วว า ผู นั้ น เป น ผู อ ยู อุ เ บกขา มี ส ติ มี ก ารอยู เ ป น สุ ข เข า ถึ ง

www.buddhadasa.in.th


๕๑๐

ตติฌานแลวแลอยูเถิด” ดังนี้แลวไซร ; พึงทําไวในใจใหเปนอยางดี.

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๓

อานาปานสติสมาธินี่แหละ อันภิกษุนั้น

(ข อ นี้ ห มายความว า อานาปานสติ สามารถอํ า นวยให เ กิ ด ตติ ย ฌานได ต ามความ ปรารถนา มีรายละเอียดแหงการปฏิบัติดังกลาวแลว ในอานาปานสติขั้นที่ ๔.)

ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในเรื่องนี้ ถาภิกษุปรารถนาวา “เพราะละสุข และทุ ก ข เ สี ย ได เพราะความดั บ ไปแห ง โสมนั ส และโทมนั ส ในกาลก อ น เราพึ ง เข า ใจถึ ง จตุ ต ถฌานอั น ไม มี ทุ ก ข ไ ม มี สุ ข มี แ ต ค วามบริ สุ ท ธิ์ แ ห ส ติ แ ละอุ เ บกขา แล ว แลอยูเถิด” ดังนี้แลวไซร ; อานาปานสติสมาธินี่แหละ อันภิกษุนั้นพึงทําไวในใจ ใหเปนอยางดี. (ข อ นี้ ห มายความว า อานาปานสติ สามารถอํ า นวยให เ กิ ด จตุ ต ถฌานได ต ามความ ปรารถนา มีรายละเอียดแหงการปฏิบัติดังกลาวแลว ในอานาปานสติขั้นที่ ๔.)

ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในเรื่องนี้ ถาภิกษุปรารถนาวา “เพราะกาว ล ว งรู ป สั ญ ญาเสี ย โดยประการทั้ ง ปวง เพราะความดั บ ไปแห ง ปฏิ ฆ สั ญ ญาทั้ ง หลาย เพราะการไม กระทํ าในใจ ซึ่ งอั ตตสั ญญามี ประการต าง ๆ เราพึ งเข าถึ งอากาสานั ญจายตนะ วาอากาศไมมีที่สุด ดังนี้แลวแลอยูเถิด” ดังนี้แลวไซร ; อานาปานสติสมาธินี่แหละ อันภิกษุนั้นพึงทําไวในใจใหเปนอยางดี.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org (ข อ นี้ ห มายความว า อานาปานสติ สามารถอํ า นวยให เ กิ ด อากาสานั ญ จายตนะได โดยเมื ่อ ทํ า อรูป ฌานใหเ กิด ขึ ้น แลว กํ า หนดนิม ิต คือ ลมหายใจโดยประจัก ษแ ลว ทํ า การเพิก ถอน ลมหายใจออกไปเสี ย จากนิ มิ ต เหลื อ ความว า งอยู แ ทน และความว า งนั้ น ตั้ ง อยู ใ นฐานะเป น อารมณ อรูป ฌานขั ้น ที ่ห นึ ่ง ในที ่นี ้ แมทํ า อยา งนี ้ ก็ก ลา วไดว า อากาสานัญ จายตนะนั ้น สืบ เนื ่อ งมาจาก อานาปานสติโ ดยตรง. ถา จํา เปนจะตองสงเคราะหอรูปฌานเขาในอานาปานสติอันมีวัตถุ ๑๖ แลวพึงสงเคราะหเขาในอานาปานสติขั้นที่ ๔ คือการทํากายสังขารใหรํางับ. เทาที่กลาวมาแลว ขา งตน ไมม ีก ารกลา วถึง อรูป ฌาน ก็เ พราะไมเ ปน ที ่มุ ง หมายโดยตรงของการทํ า อานาปานสติ ที่เปนไปเพื่อความสิ้นอาสวะโดยเฉพาะ.)

www.buddhadasa.in.th


พระพุทธวจนะ เนื่องดวยอานาปานสติ

๕๑๑

ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในเรื่องนี้ ถาภิกษุปรารถนาวา “เราพึงกาว ล วงอากาสานั ญจายตนะโดยประการทั้ งปวงเสี ยแล ว พึ งเข าถึ งวิ ญญาณั ญจายตนะว า วิญญาณไมมีที่สุด ดังนี้แลวแลอยูเถิด” ดังนี้แลวไซร ; อานาปานสติสมาธินี่แหละ อันภิกษุนั้นพึงทําไวในใจใหเปนอยางดี.๑ (ข อ นี้ ห มายความว า ต อ งมี ก ารทํ า อากาสานั ญ จายตนะ ดั ง ที่ ก ล า วแล ว ในข อ บนให เกิ ด ขึ้ น อย า งมั่ น คงเสี ย ก อ น แล ว จึ ง เพิ ก ถอนการกํ า หนดอากาศมากํ า หนดวิ ญ ญาณแทน หมายถึ ง วิ ญ ญาณธาตุ ที่ ไ ม มี รู ป ร า ง ซึ่ ง จั ด เป น นามธาตุ ห รื อ นามธรรม เนื่ อ งจากทํ า สื บ ต อ มาจากอานาปานสติ จึงกลาววาสําเร็จมาจากอานาปานสติ.)

ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในเรื่องนี้ ถาภิกษุปรารถนาวา “เราพึงกาว ล วงวิ ญญาณั ญจายตนะโดยประการทั้ ง ปวง เข า ถึ ง อากิ ญจั ญญายตนะว าไม มี อ ะไร แลวแลอยูเถิด” ดังนี้แลวไซร ; อานาปานสติสมาธินี่แหละ อันภิกษุนั้นพึงทําไว ในใจใหเปนอยางดี.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org (ข อ นี้ ห มายความว า เมื่ อ ทํ า วิ ญ ญาณั ญ จายตนะให เ กิ ด ขึ้ น อย า งมั่ น คงแล ว เพิ ก ถอน การกําหนดอารมณวาวิญญาณไมมีที่สุดเสีย มากําหนดความไมมีอะไรเลยเปนอารมณ. เนื่องจาก มีอานาปานสติเปนมูล จึงกลาววาสําเร็จมาจากอานาปานสติ.)

ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในเรื่องนี้ ถาภิกษุปรารถนาวา “เราพึง ก า วล ว งอากิ ญ จั ญ ญายตนะโดยประการทั้ ง ปวง เข า ถึ ง เนวสั ญ ญานาสั ญ ญายตนะ

การบรรยายครั้งที่ ๖๔ / ๙ มกราคม ๒๕๐๓

www.buddhadasa.in.th


๕๑๒

แลวแลอยูเถิด” ดังนี้แลวไซร ; ไวในใจใหเปนอยางดี.

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๓

อานาปานสติสมาธินี่แหละ อันภิกษุนั้นพึงทํา

(ข อ นี้ ห มายความว า ได มี ก ารทํ า อากิ ญ จั ญ ญายตนะให เ กิ ด ขึ้ น แล ว อย า งมั่ น คง แล ว เพิ ก ถอนการกํ า หนดความไม มี อ ะไร เป น อารมณ นั้ น เสี ย หน ว งเอาความรํ า งั บ ที่ ป ระณี ต วยิ่ ง ขึ้ น ไป คื อ ความไม ทํ า ความรู สึ ก อะไรเลย แต ก็ ไ ม ใ ช ส ลบหรื อ ตาย จึ ง เรี ย กว า เนวสั ญ ญานาสั ญ ญายตนะซึ่ ง หมายความวา จะวามีสัญญาอยูก็ไมใช จะวาไมมีสัญญาเลยก็ไมใช. เพราะมีอานาปานสติเปนมูล ในขั้ น ต น ด ว ยกั น ทั้ ง ๔ ขั้ น จึ ง เรี ย กว า สํ า เร็ จ มาแต อ านาปานสติ อี ก อย า งหนึ่ ง อาจจะกล า วได ว า ในขณะแห ง รู ป ฌานแม ไ ม มี ก ารหายใจอยู โ ดยตรง ก็ ต อ งถื อ ว า มี ก ารหายใจอยู โ ดยอ อ มคื อ ไม รู สึ ก ฉะนั้ น เป น อั น กล า วสื บ ไปว า เพราะมี ค วามชํ า นาญ หรื อ มี ค วามเคยชิ น ในการกํ า หนดสิ่ ง ใดสิ่ ง หนึ่ ง อยูทุกลมหายใจเขา – ออกมาแลวแตในขั้นกอน ในขั้นนี้ ยอมมีการกําหนดอารมณแหงอรูปฌาน และความสงบอั น เกิ ด จากอรู ป ฌานตลอดถึ ง การพิ จ ารณาหรื อ ป จ จเวกขณ ในอาการทั้ ง หลายแห ง อรูปฌานอยูทุกลมหายใจเขา – ออก ทั้งโดยมีความรูสึกตัวและไมมีความรูสึกตัว คือทั้งโดยตรง และโดยออมอีกนั่นเอง.)

ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในเรื่องนี้ ถาภิกษุปรารถนาวา “เรากาว ล ว งซึ่ ง เนวสั ญ ญานาสั ญ ญายตนะเสี ย ได โ ดยประการทั้ ง ปวง เข า ถึ ง สั ญ ญาเวทยิ ต นิโรธแลวแลอยูเถิด” ดังนี้แลวไซร ; อานาปานสติสมาธินี่แหละ อันภิกษุนั้น พึงทําไวในใจใหเปนอยางดี.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org (ข อ นี้ ห มายความว า มี ก ารทํ า เนวสั ญ ญานาสั ญ ญายตนะให เ กิ ด ขึ้ น ได อ ย า งมั่ น คง แล ว ละความรู สึ ก ที่ เ ป น เนวสั ญ ญานาสั ญ ญายตนะนั้ น เสี ย น อ มจิ ต ไปสู ค วามรํ า งั บ ที่ ยิ่ ง ไปกว า นั้ น อี ก คื อ การดั บ สั ญ ญาและเวทนาเสี ย ด ว ยการทํ า ไม ใ ห เ จตสิ ก ชื่ อ สั ญ ญาและเจตสิ ก ชื่ อ เวทนาได ทํ า หนาที่ของตนตามปรกติแตประการใดเลย. ความรูสึกที่เปนสัญญาและเวทนาตามปรกติธรรมดา จึ ง ไม ป รากฏ เรี ย กว า เป น สั ญ ญาเวทยิ ต นิ โ รธ คื อ ความดั บ ไปแห ง สั ญ ญาและเวทนา ตลอดเวลา เหลา นั ้น ซึ ่ง เรีย กกัน สั ้น ๆ วา เขา สู น ิโ รธสมาบัต ิ หรือ เรีย กสั ้น จนถึง กับ วา เขา นิโ รธเฉย ๆ. การกระทําอันนี้ตั้งตนขึ้นดวยอานาปานสติสมาธิ ดังนั้นจึงกลาววาสําเร็จมาจากอานาปานสติ.)

www.buddhadasa.in.th


พระพุทธวจนะ เนื่องดวยอานาปานสติ

๕๑๓

ทั้ ง หมดนี้ เ ป น การแสดงว า อานาปานสติ ภ าวนานั้ น นอกจากจะใช เป น เครื่ อ งมื อ สํ า หรั บ ปฏิ บั ติ เ พื่ อ ทํ า อาสวะให สิ้ น โดยตรงแล ว ยั ง สามารถใช เ ป น เครื ่อ งมือ เพื ่อ การปฏิบ ัต ิที ่ดํ า เนิน ไปในฝา ยจิต หรือ ฝา ยสมถะโดยสว นเดีย ว จนกระทั ่ง ถึง สัญ ญาเวทยิต นิโ รธไดด ว ยอาการอยา งนี ้ และพรอ มกัน นั ้น ซึ ่ง ไม จํ า เป น ต อ งกล า วว า เป น ไปในทางไหน แต เ ป น ประโยชน ทั่ ว ไป สํ า หรั บ การปฏิ บั ติ ทุก แนวก็ค ือ การอยู ด ว ยอานาปานสตินั ้น ไมลํ า บากกาย และไมลํ า บากตา ซึ่ ง นั บ ว า เป น การพั ก ผ อ นอยู ใ นตั ว เองเป น อย า งยิ่ ง อยู แ ล ว นั บ ว า เป น อานิ ส งส พิเศษสวนหนึ่งของอานาปานสติ. (ฆ) เกี่ยวกับอานิสงสพิเศษอีกอยางหนึ่ง ของอานาปานสติ นั้น ทรงแสดงไว ในฐานะเป นเครื่ องมื อ สํ าหรั บให รู เท า ทั นเวทนาต าง ๆ ที่ เกิ ดขึ้ น รู จั ก สั งเกตความผั นแปรของเวทนาชนิ ดต าง ๆ จนกระทั่ งสามารถทราบได ว า เวทนานี้ จักเปนเวทนาอันมีในที่สุดแหงชีวิตหรือไม พุทธภาษิตมีอยูใน มหาวาร.สํ. อยาง เดียวกัน (๑๙ / ๔๐๔ / ๑๓๔๖) ดังตอไปนี้ :-

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ภิกษุ ท.

!

เมื่ออานาปานสติสมาธิ อันภิกษุเจริญแลว ทําใหมากแลว

อยูอยางนี้ ;

ถ า ภิ ก ษุ เ สวยเวทนาอั น เป น สุ ข เธอย อ มรู ตั ว ว า เวทนานั้ น ไม เ ที่ ย ง เธอย อ มรู ตั ว ว า เวทนานั้ น อั น เราไม ส ยบมั ว เมาแล ว ย อ มรู ตั ว ว า เวทนานั้ น อั น เรา ไมเพลิดเพลินเฉพาะแลว ดังนี้. ถา ภิก ษุนั ้น เสวยเวทนาอัน เปน ทุก ข เธอยอ มรู ต ัว วา เวทนานั ้น ไม เ ที่ ย ง เธอย อ มรู ตั ว ว า เวทนานั้ น อั น เราไม ส ยบมั ว เมาแล ว ย อ มรู ตั ว ว า เวทนา นั้น อันเราไมเพลิดเพลินเฉพาะแลว ดังนี้.

www.buddhadasa.in.th


๕๑๔

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๓

ถา ภิก ษุเ สวยเวทนาอัน เปน อทุก ขมสุข เธอยอ มรู ต ัว วา เวทนา นั้ น ไม เ ที่ ย ง เธอย อ มรู ตั ว ว า เวทนานั้ น อั น เราไม ส ยบมั ว เมาแล ว ย อ มรู ตั ว ว า เวทนานั้น อันเราไมเพลิดเพลินเฉพาะแลว ดังนี้. ภิ ก ษุ นั้ น ถ า เสวยเวทนาอั น เป น สุ ข ก็ เ ป น ผู ไ ม ติ ด ใจพั ว พั น เสวย เวทนานั้น ; ถาเสวยเวทนาอันเปนทุกข ก็เปนผูไมติดใจพัวพันเสวยเวทนานั้น ; ถาภิกษุเสวยเวทนาอันเปนอทุกขมสุข ก็เปนผูไมติดใจพัวพันเสวยเวทนานั้น. ภิ ก ษุ นั้ น เมื่ อ เสวยเวทนาอั น เป น ที่ สุ ด รอบแห ง กาย เธอย อ มรู ตั ว ว า เราเสวยเวทนาอันเปนที่สุดรอบแหงกาย ดังนี้. เมื่อเสวยเวทนาอันเปนที่สุดรอบ แหง ชีว ิต เธอยอ มรู ต ัว วา เราเสวยเวทนา อัน เปน ที ่ส ุด รอบแหง ชีว ิต ดัง นี ้ ; จนกระทั่งการทําลายแหงกาย ในที่สุดแหงการถือเอารอบซึ่งชีวิต เธอยอมรูตัววา เวทนาทั้ ง ปวง อั น เราไม เ พลิ ด เพลิ น เฉพาะแล ว จั ก เป น ของดั บ เย็ น ในที่ นี้ นั่ น เที ย ว ดังนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ภิกษุ ท. ! ประทีปน้ํามันลุกอยูไดเพราะอาศัยน้ํามันดวย เพราะอาศัย ไสดว ย เมื่อ หมดน้ํา มัน หมดไส ก็เ ปนประทีป ที่ห มดเชื้อ ดับ ไป, ขอ นี้ฉันใด ; ภิ ก ษุ นั้ น ก็ ฉั น นั้ น กล า คื อ เมื่ อ เสวยเวทนาอั น เป น ที่ สุ ด รอบแห ง กาย ย อ มรู ตั ว ว า เราเสวยเวทนาอันเปนที่สุดรอบแหงกาย ; เมื่อเสวยเวทนาอันเปนที่สุดรอบแหง ชีวิต ยอมรูตัววาเราเสวยเวทนา อันเปนที่สุดรอบแหงชีวิต ; จนกระทั่งการ ทํ า ลายแห ง กาย ในที่ สุ ด แห ง การถื อ เอารอบซึ่ ง ชี วิ ต เธอย อ มรู ตั ว ว า เวทนาทั้ ง ปวง อันเราไมเพลิดเพลินเฉพาะแลว จักเปนของดับเย็นในที่นี้นั่นเทียว” ดังนี้.

www.buddhadasa.in.th


พระพุทธวจนะ เนื่องดวยอานาปานสติ

๕๑๕

อธิ บ ายว า การเจริ ญ อานาปานสติ นั้ น ทํ า ให เ กิ ด ความเคยชิ น ในการ กํ า หนดเวทนาอยู เ ป น ประจํ า มาตลอดเวลาแห ง การฝ ก เป น ระยะยาว จนรู เ ท า ทั น เวทนามากอนแลว ; มีเวทนาชนิดไหนแปลกประหลาดนาอัศจรรยเพียงไรผาน เข า มา ก็ ส ามารถที่ จ ะมี ส ติ สั ม ปชั ญ ญะรู เ ท า ทั น เวทนานั้ น ว า เป น สั ก แต ว า เวทนา ที่ เ ป น อนิ จ จั ง ทุ ก ขั ง อนั ต ตา จึ ง ไม จั บ ฉวยเอาเวทนานั้ น ไม ติ ด ใจพั ว พั น มั ว เมา อยู ใ นเวทนานั้ น เพราะอํ า นาจของการที่ เ คยฝ ก อานาปานสติ ม าแล ว อย า งชํ า นาญ โดยเฉพาะคืออานาปานสติขั้นที่ ๕ ; จนกระทั่งกลาวไดวา เปนผูทรงไวซึ่งอํานาจ เหนือเวทนาทั้งปวง. สวนขอที่วา “เปนผูรูเทาทันเวทนา ซึ่งเปนที่สิ้นสุดแหงชีวิต” นั้น หมายความว าเนื่ องจากมี ความชํ านาญเชี่ ยวชาญในลั กษณะต าง ๆ ของเวทนาทุ กชนิ ด ทําใหทราบไดวาเวทนาที่กําลังเกิดนี้ เปนเวทนาที่ทําความสิ้นสุดแกชีวิต. และ ยิ่ ง ไปกว า นั้ น อี ก ยั ง สามารถทํ า ให ท ราบได ว า เวทนานั้ น จั ก ดํ า เนิ น ไปอี ก กี่ ชั่ ว ระยะลมหายใจเขา – ออก จึงจะทําความสิ้นสุดแกชีวิต. ขอนี้เปนเหตุใหผูนั้น มี ความสามารถทํ าการกํ าหนดได ว า ตนจั กดั บจริ มกจิ ตหรื อทํ าการหายใจครั้ งสุ ดท าย ในการหายใจครั้ งไหน กล าวโดยโวหารธรรมดา ก็ คื อ ว า ตนจั กสิ้ นชี วิ ตในการหายใจ ครั้งไหนนั่นเอง ดังที่มีตัวอยางกลาวไวในคัมภีรตาง ๆ เชน คัมภีรวิสุทธิมรรค เปน ตน วา พระเถระผู เ ชี ่ย วชาญในอานาปานสติร ูป หนึ ่ง เมื ่อ ทราบเวลาอัน เปน ที่ สุ ด รอบแห ง ชี วิ ต ว า จั ก มี ใ นการหายใจครั้ ง ไหนแล ว ก็ อ อกไปสู ล านเป น ที่ จ งกรม เรี ย กประชุ ม สั ท ธิ วิ ห าริ ก อั น เตวาสิ ก มาพร อ มกั น ในขณะนั้ น แล ว สั่ ง ให ค อยดู ว า เมื่ อ ท า นเดิ น จงกรม ไปถึ ง ที่ สุ ด แห ง ที่ จ งกรมข า งโน น แล ว เดิ น กลั บ มาจนถึ ง ที่ สุ ด แห ง ที่ จ งกรมข า งนี้ แล ว จั ก เดิ น กลั บ มา จนกระทั่ ง ถึ ง ที่ กึ่ ง กลางของที่ จ งกรมนั้ น แล ว จัก ทํ า กาละณที ่นั ้น พระเถระนั ้น ไดป ริน ิพ พานแลว ดว ยกิร ิย ายืน แหง กา ว

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๕๑๖

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๓

สุด ทา ยของการเดิน ที ่ต รงกึ ่ง กลางของที ่จ งกรมนั ้น ในมือ ของสัท ธิว ิห าริก ผู ป ระคั บ ประคองอยู ด ว ยอิ ริ ย าบถยื น ด ว ยกั น ทุ ก รู ป ข อ นี้ เ ป น การแสดงถึ ง ความ เชี่ ย วชาญในอานาปานสติ และความมี อํ า นาจเหนื อ เวทนาทั้ ง หลายของพระเถระ นั ้น ดว ย เปน การแสดงอานิส งสข องอานาปานสติข อ นี ้ด ว ย เปน การประกาศ พระศาสนาดวยความเปนธรรมะดี แหงพระธรรมดวย. ส วนพระบาลี ที่ ว า “เธอย อมรู ตั วว าเวทนาทั้ งปวง อั นเราไม เพลิ นเฉพาะแล ว จักเปนของดับเย็นในที่นี้นั่นเทียว” ดังนี้นั้น อธิบายวา เปนอํานาจของการพิจารณา โดยความเปน ของไมใ ชต น จึง ไมไ ดม ีต ัว ตนเหลือ อยู  เปน ผู ที ่แ ตกดับ ในขณะนี ้. ในขณะนี้มีเหลืออยูแตเวทนาเทานั้น ซึ่งจักเปนของดับลงไป ; กลาวสั้น ๆ ก็คือ ไมมีใครตาย มีแตเวทนาดับ. สวนโวหารที่วา “จักเปนของดับเย็น” นั้น หมายความว า เวทนาที่ ยั ง มี ป จ จั ย ปรุ ง แต ง ยั ง เป น ของร อ น เวทนาที่ ห มดป จ จั ย ปรุ ง แต ง จั ก เป น ของดั บ เย็ น เหมื อ นไฟที่ ห มดเชื้ อ ดั บ ลง ฉะนั้ น โวหารที่ ว า เวทนา รอนดับเย็นลงนี้ ก็เปนโวหารที่แสดงความไมมีตัวไมใชตัวตน ยิ่งขึ้นไปอีก.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org สําหรับคําวา “ในที่นี้นั่นเทียว” นั้น หมายถึงรูขณะจิตที่เวทนานั้น จะดับลง วาจักมีในที่นี้ วาจักมีในเวลานี้ ซึ่งหมายถึงในขณะแหงการหายใจ ครั้ งไหนโดยเฉพาะ และจะมี ด วยอาการอย างไร คื อด วยอาการที่ สงบรํ างั บอย างไร. เพราะทราบอย า งเฉพาะเจาะจงว า ที่ ไ หน เมื่ อ ไร และอย า งไร โดยแน น อน และ ประจักษจริง ๆ จึงใชคําวา “นั่นเทียว”. ขอ นี้เปนการแสดงถึงความเชี่ยวชาญ ในการเจริ ญ อานาปานสติ จนรู เ ท า ทั น เวทนา จนอาจกล า วได ว า เป น ผู มี อํ า นาจ อยูเหนือเวทนา โดยประการทั้งปวงนั่นเอง.

www.buddhadasa.in.th


พระพุทธวจนะ เนื่องดวยอานาปานสติ

๕๑๗

ง. อานิสงสแหงอานาปานสติอีกประการหนึ่ง ทรงแสดงไวในฐานะ เป น เครื่ อ งมื อ สํ า หรั บ ทํ า จิ ต ให ส งบเย็ น เป น ความสุ ข เกิ ด แต ธ รรม จนเป น ที่ พ อใจ หรื อเป นที่ จั บใจแก บุ คคลผู ปฏิ บั ติ ได จริ ง ระงั บเสี ยซึ่ งความฟุ งซ านหรื อความรํ าคาญ ในการที่ มี ชี วิ ตอยู อย างน าสะอิ ดสะเอี ยน ต อความเป น อนิ จจั ง ทุ กขั ง อนั ตตา ของ สั ง ขารทั้ ง ปวง ที่ มี อ ยู ร อบตั ว หรื อ แม ที่ มี อ ยู ภ ายในตั ว ความฟุ ง ซ า นหรื อ ความ รํ า คาญนั้ น มี ไ ด ม ากแก บุ ค คลผู ป ฏิ บั ติ ใ นขั้ น ที่ เ ริ่ ม เห็ น ความเป น อนิ จ จั ง ทุ ก ขั ง อนั ต ตา แต ยั ง ไม ม ากพอที่ จ ะปล อ ยตั ว ตนเสี ย โดยประการทั้ ง ปวง ความรํ า คาญ ย อมเกิ ดขึ้ น ถ าไม มี สิ่ งใดเป นเครื่ องรํ างั บ นอกจากจะไม มี ความสงบสุ ขเสี ยเลยแล ว ยั ง เป น อั น ตรายต อ การปฏิ บั ติ ธ รรม ที่ จ ะพึ ง ข า งหน า สื บ ไปด ว ย หรื อ ถึ ง กั บ ทํ า ให เบื ่อ หนา ยตอ การที ่จ ะมีช ีว ิต อยู ด ว ยซ้ํ า ไป เปน เหตุใ หแ สวงหาโอกาส หรือ อุบ าย ที่คิดจะทําลายตัวเอง. มีเรื่องเลาวา ที่กูฎาคารศาลาปามหาวันใกลเมืองเวสาลี พระผู ม ีพ ระภาคเจา ทรงแสดงพระอสุภ กถาเปน อัน มาก แลว เสด็จ หลีก ออกไปสู ปฏิ สั ล ลี น ะ คื อ การอยู เ งี ย บพระองค เ ดี ย วเสี ย เป น เวลา ๒ สั ป ดาห ภิ ก ษุ บ างพวก อาศั ยอํ านาจแห งอสุ ภสั ญญา เกิ ดความเบื่ อ หน ายต อร างกายและชี วิ ตอย างแรงกล า หาความสงบสุ ขมิ ได ได แกล งปล อยให เหตุ การณ หรื ออั นตรายต าง ๆ ที่ มาถึ งเข าโดย บัง เอิญ ทํ า ลายชีว ิต ตนใหส ูญ สิ ้น ไปจํ า นวนมาก ตอ มาพระผู ม ีพ ระภาคเจา ทรงทราบเรื่ อ ง ได ท รงแสดงเรื่ อ งอานาปานสติ เพื่ อ ระงั บ ความฟุ ง ซ า นรํ า คาญนั้ น ปรากฏอยูใน มหาวาร.สํ. อยางเดียวกัน (๑๙ / ๔๐๕ / ๑๓๔๘) มีใจความวา :-

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org “ภิกษุ ท. ! อานาปานสติสมาธินี้แล อันบุคคลเจริญแลว ทําให มากแลว ยอ มเปน ของประณีต เปน ของรํ า งับ เปน ของเย็น เปน ของบริส ุท ธิ์ เปน สุข วิห าร และยอ มยัง อกุศ ลธรรมอัน ลามก อัน เกิด ขึ ้น แลว และเกิด ขึ ้น แลว ใหอันตรธานไป ใหรํางับไป โดยควรแกฐานะ.

www.buddhadasa.in.th


๕๑๘

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๓

ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนฝุนธุลีฟุงขึ้นแหงเดือนสุดทายของฤดูรอน ฝนหนั ก ที่ ผิ ด ฤดู ต กลงมา ย อ มทํ า ฝุ น ธุ ลี เ หล า นั้ น ให อั น ตรธานไป ให รํ า งั บ ไปได โดยควรแกฐานะ, ขอนี้ฉันใด ; “ภิกษุ ท. ! อานาปานสติสมาธิอันบุคคลเจริญแลว ทํ า ใหม ากแลว ก็เ ปน ของรํ า งับ เปน ของประณีต เปน ของเย็น เปน สุข วิห าร และย อ มยั ง อกุ ศ ลธรรมอั น ลามก ที่ เ กิ ด ขึ้ น แล ว และเกิ ด ขึ้ น แล ว ให อั น ตรธานไป โดยควรแกฐานะ ฉันนั้น. ภิกษุ ท. ! อานาปานสติสมาธิ อันบุคคลเจริญแลว ทําใหมากแลว อยา งไรเลา ? ที่เ ปน ของรํา งับ เปน ของประณีต เปน ของเย็น เปน สุข วิห าร และย อ มยั ง อกุ ศ ลธรรมอั น ลามก ที่ เ กิ ด ขึ้ น แล ว และเกิ ด ขึ้ น แล ว ให อั น ตรธานไป โดยควรแกฐานะได. ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ไปแลวสูปาก็ตาม ไปแลวสูโคนไม ก็ ตาม ไปแล วสู เรื อนว างก็ ตาม นั่ งคู ขาเข ามาโดยรอบแล ว ตั้ งกายตรง ดํ ารงสติ มั่ น. ภิกษุนั้น……..ฯลฯ…….. (ขอความตอไปนี้ เหมือนขอความที่กลาวแลวในขอ ก. ทุกประการ เห็นความสลัดคืนอยูเปนประจําจักหายใจออก จนกระทั่งถึงคําวา)……..ฯลฯ…….. ดังนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ภิกษุ ท. ! อานาปานสติสมาธิ อันบุคคลเจริญแลว ทําใหมากแลว ด วยอาการอย างนี้ ย อมเป นของรํ างั บ เป นของประณี ต เป นของเย็ น เป นสุ ขวิ หาร และย อ มยั ง อกุ ศ ลธรรมอั น ลามก ที่ เ กิ ด ขึ้ น แล ว และเกิ ด ขึ้ น แล ว ให อั น ตรธานไป โดยควรแกฐานะ” ดังนี้ แล.

www.buddhadasa.in.th


พระพุทธวจนะ เนื่องดวยอานาปานสติ

๕๑๙

ข อ นี้ ส รุ ป ความว า อานาปานสติ เป น เครื่ อ งทํ า ให เ กิ ด ความเย็ น ใจหรื อ สุ ขวิ หาร สํ าหรั บบุ คคลผู มี ความกระวนกระวาย หรื อความฟุ งซ านรํ าคาญ ไม พอใจ ในการเป น อยู หรื อ ชี วิ ต ประจํ า วั น ของตน อั น เกิ ด มาแต ค วามเบื่ อ ระอาสิ่ ง ต า ง ๆ หรือความไมประสบความสําเร็จในสิ่งที่ตนกระทํา. อานาปานสตินี้ จักเปนธรรม อั น สุ ขุ ม และละเอี ย ด มี อ านุ ภ าพในทางทํ า ความสงบรํ า งั บ เป น ขั้ น ๆ ไปตามลํ า ดั บ ดั งที่ แ สดงอยู แล วในอานาปานสติ ทุ กขั้ น อั นทํ าให เ ห็ นได ว า สามารถทํ าความรํ างั บ ไดจริงอยางไร ในเมื่อผูศึกษาไดพิจารณาดูอยางละเอียด.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org (จ) เกี่ยวกับอานาปานสติ เปนสุขวิหาร๑ คือเปนเครื่องทําความ อยู เ ปน สุข ไมม ีธ รรมอื ่น เสมอเหมือ นเปน ประจํ า วัน แลว ยัง เปน การปฏิบ ัติ ที่ ดํ า เนิ น ไปในตั ว เองตามลํ า ดั บ จนกระทั่ ง ความสิ้ น อาสวะนั้ น มี พ ระพุ ท ธภาษิ ต ที่ตรัสที่ปาอิจฉานังคละ ปรากฏอยูที่ มหาวาร. สํ. ทุติยวรรค แหงอานาปานสังยุตต (๑๙ / ๔๑๒ / ๑๓๖๔) ดังตอไปนี้ :-

การบรรยายครั้งที่ ๖๕ / ๑๐ มกราคม ๒๕๐๓

www.buddhadasa.in.th


๕๒๐

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๓

“ภิกษุ ท. ! ถาพวกปริพาชกเดียรถียลัทธิอื่นถามพวกเธอวา สมณโคดมอยู ตลอดพรรษากาลเป นอั นมาก ด วยวิ หารธรรมอย างไหน ดั งนี้ แล ว พวกเธอ พึงตอบวา ‘ดูกอนทานผูมีอายุ ! พระผูมีพระภาคเจา ทรงอยูตลอดพรรษากาล เปนอันมาก ดวยอานาปานสติสมาธิ.’ “ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ เราเปนผูมีสติหายใจเขา มีสติหายใจออก : เมื่อหายใจเขายาว ก็รูวาหายใจเขายาว ; เมื่อหายใจออกยาว ก็รูวาหายใจ ออกยาว ……..ฯลฯ …….. (มีขอความแสดงในอานาปานสติ ๑๖ ขั้น เหมือนที่กลาวแลวในขอ ก. สิ้นสุดลงที่คําวา.)

ทุกประการ

ย อ มทํ า ในบทศึ ก ษาว า เราเป น ผู ต ามเห็ น ความสลั ด คื น อยู เ ป น ประจํ า จักหายใจออก ดังนี้. ภิกษุ ท. ! เมื่อใครผูใด จะกลาวสิ่งใดใหถูกตองชอบธรรม วาเปน อริ ย วิ ห ารก็ ดี ว า เป น พรหมวิ ห ารก็ ดี ว า เป น ตถาคตวิ ห ารก็ ดี เขาพึ ง กล า วอานาปานสติสมาธินี่แหละ วาเปนอริยวิหาร วาเปนพรหมวิหาร วาเปนตถาคตวิหาร.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ภิกษุ ท. ! ภิกษุเหลาใดยังเปนเสขะ ยังไมลุถึงธรรมที่ตองประสงค แห ง ใจ ปรารถนาอยู ซึ่ ง โยคเขมธรรมอั น ไม มี อ ะไรยิ่ ง กว า ภิ ก ษุ เ หล า นั้ น เมื่ อ เจริ ญ แล ว ทํ า ให ม ากแล ว ซึ่ ง อานาปานสติ ส มาธิ ย อ มเป น ไปเพื่ อ ความสิ้ น ไปแห ง อาสวะทั้งหลาย.

ส ว นภิ ก ษุ ทั้ ง หลายเหล า ใด เป น อรหั น ต สิ้ น อาสวะแล ว มี พ รหมจรรย อยู จ บแล ว มี สิ่ ง ที่ ต อ งทํ า อั น ตนทํ า เสร็ จ แล ว มี ภ าระอั น ปลงลงแล ว มี ป ระโยชน

www.buddhadasa.in.th


พระพุทธวจนะ เนื่องดวยอานาปานสติ

๕๒๑

ตนอัน ลุถ ึง แลว มีส ัญ โญชนใ นภพทั ้ง หลายสิ ้น รอบแลว เปน ผู ห ลุด พน แลว เพราะรูโ ดยชอบ ; ภิก ษุทั้ง หลายเหลา นั้น เมื่อ เจริญ ทํา ใหม ากแลว ซึ่ง อานาปานสติ สมาธิ ย อ มเป นสุ ขวิ หารในทิ ฏฐธรรมนี้ ด วย เพื่ อ ความสมบู ร ณ แห ง สติสัมปชัญญะดวย. ภิกษุ ท. ! ฉะนั้น เมื่อใครจะกลาวสิ่งใดใหถูกตองชอบธรรม วาเปน อริย วิห ารก็ด ี วา เปน พรหมวิห ารก็ด ี วา เปน ตถาคตวิห ารก็ด ี เขาพึง กลา ว อานาปานสติ ส มาธิ นี่ แ หละ ว า เป น อริ ย วิ ห าร ว า เป น พรหมวิ ห าร ว า เป น ตถาคตวิหาร” ดังนี้. ข อ ความทั้ ง หมดนี้ แ สดงให เ ห็ น ว า อานาปานสติ เป น วิ ห ารธรรมที่ พระผู มี พระภาคเจ าทรงอยู มากที่ สุ ด จนสมควรที่ จะได นามว าเป น “ตถาคตวิ หาร” คือเปนวิหารธรรมของพระตถาคต ; วาเปน “อริยวิหาร” คือเปนวิหารธรรม เครื่องอยูของพระอริยเจาทั้งหลาย ; และวาเปน “พรหมวิหาร” คือเปนวิหารธรรมเครื่องอยูของผูที่เปนพรหม. พึงสังเกตวาพรหมในที่นี้หมายถึงพระอรหันต ซึ่ ง เป น พรหมอี ก ประเภทหนึ่ ง ต า งหาก จากพรหมธรรมดา แม ที่ เ ป น ปุ ถุ ช นซึ่ ง มี พรหมวิหารเปนเมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา ดังที่ทราบกันอยูทั่วไป. สวน ที่สํ าคั ญไปกว านั้ น ยั งมี ต อไปอี ก คื อข อที่ว าอานาปานสติ นี้ ทํ าผู ที่ ยังไม สิ้ นอาสวะ ให สิ้ น อาสวะ ทํ า ผู ที่ สิ้ น อาสวะแล ว ให มี ค วามอยู เ ป น สุ ข ในทิ ฏ ฐธรรม และให เป น ผู ส มบู ร ณ ด ว ยสติ สั ม ปชั ญ ญะอยู ต ลอดเวลา ซึ่ ง เมื่ อ รวมเข า ด ว ยกั น ทั้ ง ๒ ประเภทแล ว ทํ า ได ก ล า วได ว า ในบรรดาสมาธิ ภ าวนา ซึ่ ง มี อ ยู ๔ ประเภทนั้ น อานาปานสติ เป นสมาธิ ภาวนาถึ ง ๓ ประเภทได จริ ง ๆ กล าวคื อเป นสมาธิ ภาวนา ประเภททํ า ให อ ยู เ ป น สุ ข ในทิ ฏ ฐธรรม,ประเภทที่ ทํ า ให ส มบู ร ณ ด ว ยสติ สั ม ปชั ญ ญะ,

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๕๒๒

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๓

และประเภทที่ ไ ด ทํ า อาสวะให สิ้ น ซึ่ ง จั ด เป น สมาธิ ภ าวนา ประเภทที่ ห นึ่ ง ที่ ส าม และที่สี่ตามลําดับ ; ยังขาดอยูแตประเภทที่สองคือ สมาธิภาวนา ที่เปนเหตุ ใหไดญาณทัสสนะอันเปนทิพย มี หูทิพย ตาทิพย เปนตน ซึ่งเราไมประสงคใน ที่นี้ เพราะไมเปนไปเพื่อความดับทุกขแตประการใด. นี่เปนการแสดงใหเห็นวา อานาปานสติ ส มาธิ เป นสิ่ งที่ มี คุ ณประโยชน อั นเพี ยงพอแก ความต องการของบุ ค คล ผูประสงคจะทําความดับทุกขโดยแทจริง. สรุปความสั้น ๆ วา อานาปานสติ เปนประโยชนถึงที่สุด ทั้งแกบุคคลที่ไมสิ้นอาสวะ และบุคคลที่สิ้นอาสวะแลว นับวาเปนสิ่งที่นาสนใจอยางนาอัศจรรยทีเดียว. (ฉ) อานิสงสของอานาปานสติที่ทรงแสดงไว อยางชัดเจน และ อย า งละเอี ย ดยิ่ ง ขึ้ น ไป เกี่ ย วกั บ การทํ า อาสวะให สิ้ น นั้ น อาจจะประมวลมาได อี ก เปนหมวดสุดทาย ที่แสดงไวใน มหาวาร. สํ. ทุติยวรรค อานาปานสังยุตต (๑๙ / ๔๒๔ / ๑๔๐๒) เนื่องกันไปหลายบรรพดวยกัน ซึ่งจะประมวลเอามาเฉพาะ ที่ทรงแสดงไวแปลกกัน อันมีอยูดังตอไปนี้ :-

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ภิกษุ ท. ! ธรรมอันเอกนั้นมีอยู ซึ่งเมื่อบุคคลเจริญแลว ทําใหมาก แลว ยอมทําธรรมทั้ง ๔ ใหบริบูรณ ; ครั้นธรรมทั้ง ๔ นั้น อันบุคคลเจริญแลว ทําใหมากแลว ยอมทําธรรมทั้ง ๗ ใหบริบูรณ ; ครั้นธรรมทั้ง ๗ นั้น อันบุคคล เจริญแลว ทําใหมากแลว ยอมทําธรรมทั้ง ๒ ใหบริบูรณได. ภิกษุ ท. ! อานาปานสติสมาธินี้แล เปนธรรมอันเอกซึ่งเมื่อบุคคล เจริญแลว ทําใหมากแลว ยอมทําสติปฏฐานทั้ง ๔ ใหบริบูรณ ; สติปฏฐาน ๔ อันบุคคลเจริญแลว ทําใหมากแลว ยอมทําโพชฌงคทั้ง ๗ ใหบริบูรณ ; โพชฌงค ทั้ ง ๗ อั น บุ ค คลเจริ ญ แล ว ทํ า ให ม ากแล ว ย อ มทํ า วิ ช ชาและวิ มุ ต ติ ใ ห บ ริ บู ร ณ ไ ด .

www.buddhadasa.in.th


พระพุทธวจนะ เนื่องดวยอานาปานสติ

๕๒๓

ภิกษุ ท. ! อานาปานสติสมาธิ อันบุคคลเจริญแลว ทําใหมากแลว ยอมเปนไปเพื่อการละ สัญโญชน ทั้งหลาย. (๑๔๐๖) ภิกษุ ท. ! อานาปานสติสมาธิ อันบุคคลเจริญแลว ทําใหมากแลว ยอมเปนอยางไรเลา จึงเปนไปเพื่อการละ สัญโญชน ทั้งหลาย ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ไปแลวสูปาก็ตาม ไปแลวสูโคนไม ก็ต าม ไปแลว สู เ รือ นวา งก็ต าม นั ่ง คู ข าเขา มาโดยรอบแลว ตั ้ง กายตรง ดํ า รง สติมั่น ; ภิกษุนั้นมีสติอยูนั่นเทียว หายใจเขา มีสติอยูนั่นเทียว หายใจออก …. (มี ร ายละเอี ย ดแห ง อานาปานสติ ๑๖ ขั้ น ดั ง ที่ ก ล า วแล ว ในข อ หนึ่ ง ถึ ง ข อ สิ บ หกจนกระทั่ ง ถึ ง คํ า ว า )

……. ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูตามเห็นซึ่งความสลัดคืนอยูเปนประจํา จักหายใจออก ดังนี้. ภิกษุ ท. ! อานาปานสติสมาธิ อันบุคคลเจริญแลว ทําใหมากแลว อยางนี้แล ยอมเปนไปเพื่อการละ สัญโญชน ทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! อานาปานสติสมาธิ อันบุคคลเจริญแลว ทําใหมากแลว ยอมเปนไปเพื่อการกําจัดเสียซึ่ง อนุสัย. (๑๔๐๘) … (มีใจความเต็มเหมือนขอสัญโญชน). ภิกษุ ท. ! อานาปานสติสมาธิ อันบุคคลเจริญแลว ทําใหมากแลว ยอมเปนไปเพื่อความรอบรูซึ่ง ทางไกล (อวิชชา). (๑๔๐๙) … (มีใจความเต็มเหมือน ขอสัญโญชน). ภิกษุ ท. ! อานาปานสติสมาธิ อันบุคคลเจริญแลว ทําใหมากแลว ยอมเปนไปเพื่อความสิ้นไปแหง อาสวะ ทั้งหลาย (๑๔๑๐) … (มีใจความเต็มเหมือน ขอสัญโญชน). ข อ ความทั้ ง หมดนี้ แสดงให เ ห็ น โดยสรุ ป ว า อานาปานสติ มี ผ ลทํ า ให ละสั ญ โญชน ไ ด , ทํ า ให กํ า จั ด อนุ สั ย ได , ทํ า ให ร อบรู ท างไกล คื อ อวิ ช ชา เหตุ ใ ห

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๕๒๔

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๓

เกิ ด อวิ ช ชา ความดั บ ไม เ หลื อ แห ง อวิ ช ชา และทางปฏิ บั ติ ใ ห ถึ ง ความดั บ ไม เ หลื อ แหงอวิชชา, ในที่สุดยอมทําอาสวะใหสิ้นไป ; ซึ่งโดยใจความแลว ก็มีความหมาย อยางเดียวกัน คือการดับกิเลสสิ้นเชิงนั่นเอง. ทั้งนี้ เพราะอานาปานสติภาวนา ทําสติปฏฐาน ๔ ใหสมบูรณ ; สติปฏฐาน ๔ สมบูรณแลว ยอมทําใหโพชฌงค ๗ ใหสมบูรณ ; โพชฌงค ๗ ใหสมบูรณแลว ยอมทําวิชชาและวิมุตติใหสมบูรณ ; เพราะเหตุนั ้น จึง ถูก ยกขึ ้น เปน ธรรมอัน เอก หรือ ทางปฏิบ ัต ิส ายเอก ดัง นี ้. คําวา “เอก” ในที่นี้ หมายความวา เปนวิธีเดียว สําหรับบุคคลผูเดียว ดําเนิน ไปสูสิ่ง ๆ เดียว กลาวคือนิพพาน. (ช) การเจริญอานาปานสติ หมายถึงการเจริญภาวนาอยางใด อยางหนึ่งอยูทุกลมหายใจเขา - ออก๑ ฉะนั้น จึงมีไดหลายแบบ ถามีการกําหนด โดยใช ล มหายใจเป น หลั ก แล ว ก็ เ รี ย กว า อานาปานสติ ไ ด ด ว ยกั น ทุ ก แบบ แต แ บบ ที่ พ ระองค ใ ช เ ป น วิ ห ารธรรม ทรงสรรเสริ ญ และทรงแนะให บุ ค คลอื่ น ประพฤติ ปฏิบ ัต ินั ้น ไดแ กอ านาปานสติ แบบที ่ป ระกอบดว ยวัต ถุ ๑๖ หรือ ที ่เ รีย กกัน ในที่นี้วา อานาปานสติ ๑๖ ขั้น ดังที่กลาวแลวในขอ ก. และมีรายละเอียด แหงการปฏิบัติโดยพิสดาร ดังที่กลาวแลวขางตนทั้ง ๑๖ ขั้น. สําหรับอานาปานสติ อ ย า งอื่ น ซึ่ ง น า จะทราบไว เ ป น ตั ว อย า ง ก็ อ าจจะทราบได จ ากเรื่ อ งราวที่ ปรากฏอยูในมหาวาร. สํ.เอกธัมมวรรคอานาปานสังยุตต (๑๙ / ๓๙๘ / ๑๓๑๗).

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

การบรรยายครั้งที่ ๖๖ / ๑๑ มกราคม ๒๕๐๓

www.buddhadasa.in.th


พระพุทธวจนะ เนื่องดวยอานาปานสติ

๕๒๕

ในที ่นั ้น มีเ รื ่อ งกลา ววา พระผู ม ีพ ระภาคเจา ไดต รัส ถามขึ ้น ทา มกลางหมู ภ ิก ษุ ผู ป ระชุ ม กั น อยู ถึ ง เรื่ อ งอานาปานสติ ภิ ก ษุ ชื่ อ อริ ฏ ฐะได ทู ล ตอบสนอง และมี ก าร ซักไซไลเลียงกัน ดังตอไปนี้ :ภิกษุ ท. ! พวกเธอทั้งหลาย ยอมเจริญอานาปานสติกันหรือไม ? “ขาแตพระองคผูเจริญ ! ขาพระองคแล ยอมเจริญอานาปานสติ.” ดูกอนอริฏฐะ ! ก็เธอยอมเจริญอานาปานสติอยางไรเลา ? “ขาแตพระองคผูเจริญ ! ขาพระองคยอมเจริญอานาปานสติ ดวยอาการ อยางนี้วา ‘กามฉันทะ ในกามทั้งหลายอันเปนอดีต เราก็ละเสียแลว ; กามฉันทะ ในกาม ทั้งหลายอันเปนอนาคตของเราก็ไมมี ; ปฏิฆะสัญญาในธรรมทั้งหลาย ทั้งที่เปนภายในและ ภายนอก เราก็นําออกเสียไดดวยดีแลว ; เรานั้นมีสติอยูเทียวจักหายใจเขา มีสติอยูเทียว จักหายใจออก’ ดังนี้. ขาแตพระองคผูเจริญ ! ขาพระองคยอมเจริญอานาปานสติดวย อาการอยางนี้แล.”

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ดูกอนอริฏฐะ ! อานาปานสติเชนนั้นก็มีอยูเหมือนกัน ; เรามิได กลาววาอานาปานสติเชนนั้นไมมี ; ดูกอนอริฏฐะ ! แตวาอานาปานสติที่สมบูรณ โดยพิสดาร ยอมมีอยูอยางไร, เธอจงฟงซึ่งอานาปานสตินั้น ; เธอจงทําในใจ ใหดี ; เราจักกลาวบัดนี้.

ดูกอนอริฏฐะ ! อานาปานสติที่สมบูรณโดยพิสดารนั้นเปนอยางไรเลา ? ดู ก อ นอริ ฏ ฐะ ! ภิ ก ษุ ใ นธรรมวิ นั ย นี้ ไปแล ว สู ป า ก็ ต ามไ ปแล ว สู โ คนไม ก็ ต าม

www.buddhadasa.in.th


๕๒๖

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๓

ไปสู เ รือ นวา งก็ต าม นั ่ง คู ข าเขา มาโดยรอบแลว ตั ้ง กายตรง ดํ า รงสติมั ่น ; ภิ ก ษุ นั้ น มี ส ติ อ ยู นั่ น เที ย ว หายใจเข า สติ อ ยู นั่ น เที ย ว หายใจออก (มี ข อ ความ เราเปนผูตามเห็นซึ่งความสลัดคืนอยู เหมือนที่กลาวไวในขอ ก. จนกระทั่งถึงคําวา) เปนประจํา จักหายใจออก ดังนี้ ดูกอนอริฏฐะ ! อานาปานสติที่สมบูรณโดยพิสดาร มีอยูอยางนี้แล. ข อ ที่ พึ ง สั ง เกตมี อ ยู ว า พระองค มิ ไ ด ท รงปฏิ เ สธ ว า อานาปานสติ ส มาธิ อยา งของอริฏ ฐะภิก ษุนั ้น ใชไ มไ ด เปน แตต รัส วา ไมบ ริบ ูร ณ และไมพ ิส ดาร. คํ า ว า บริ บู ร ณ ในที่ นี้ หมายถึ ง สมบู ร ณ ห รื อ สิ้ น เชิ ง คื อ ตั้ ง แต ต น จนตลอดสาย จนถึงกับทําความสิ้นอาสวะได. คําวาพิสดารหมายถึงละเอียดลออ ชัดเจนแจมแจง. แม ว า อานาปานสติ อ ย า งของอริ ฏ ฐะภิ ก ษุ จะมิ ใ ช อ านาปานสติ ที่ ส มบู ร ณ ก็ ยั ง เป น สิ่ ง ที่ ค วรได รั บ การพิ จ ารณาดู อ ย า งละเอี ย ด เพื่ อ เข า ใจสิ่ ง ที่ เ รี ย กว า อานาปานสติ โดยสมบูรณอีกนั่นเอง. จากขอความที่ปรากฏอยูนั้น ทําใหเราเห็นไดวา การ เจริ ญ อานาปานสติ อ ย า งนั้ น เป น การกํ า หนดความที่ ต นเป น อยู โ ดยปราศจาก อกุ ศ ลวิ ต ก มี ความพอใจในการกระทํ า หรื อ ความเป น อยู ของตน แล ว มี ส ติ กํ าหนด ความเปนอยา งนั้น หายใจเขาอยู หายใจออกอยู. ถาจะเปรียบเทียบกัน กับ อานาปานสติมีวัตถุ ๑๖ ก็อาจสงเคราะหลงไดในอานาปานสติขั้นที่ ๕ ; แมกระนั้น แล ว ก็ ยั ง ไม ส มบู ร ณ อ ยู นั่ น เอง เพราะปราศจากการพิ จ ารณาป ติ นั้ น โดยความ เปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา. สวนขอ ที่จัดเปนอานาปานสติไดนั้น ก็เนื่องจาก มีการกําหนดธรรมปติ หรือธรรมนันทิอยูอยางระมัดระวังทุกลมหายใจเขา – ออก นั่นเอง. สรุปความวา ถามีการกําหนดอารมณอยางใดอยางหนึ่งอยู ทุกครั้ง ที่หายใจเขา – ออกแลว ยอมจัดเปนอานาปานสติไดดวยกันทั้งนั้น สวนที่จะจัด เปน ธรรมหรือ ไมเ ปน ธรรม บริบ ูร ณห รือ ไมบ ริบ ูร ณ พิส ดารหรือ ไมพ ิส ดารนั ้น เปนอีกเรื่องหนึ่ง.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


พระพุทธวจนะ เนื่องดวยอานาปานสติ

๕๒๗

อีก ทางหนึ ่ง เราอาจจะเห็น ไดพ รอ มกัน ไปในตัว วา อานาปานสติ ที่ ส มบู ร ณ ต ามแบบของพระผู มี พ ระภาคเจ า นั้ น มี แ ต อ านาปานสติ ที่ ป ระกอบด ว ย วัต ถุ ๑๖ อยา งเดีย วเทา นั ้น เพราะปรากฏวา ไมว า จะตรัส ไวใ นที ่ไ หน เมื ่อ ไร ก็ลว นแตต รัส อยา งนี้เ หมือ นกัน ทุก ตัว อัก ษร ; ฉะนั้น จึง ยุติเ ปน หลัก ไดวา อานาปานสติ ที่ สมบู รณ ถึ งที่ สุ ด คื อทํ าความสิ้ นอาสวะได ต องหมายถึ งอานาปานสติ มีว ัต ถุ ๑๖ นี ้ ซึ ่ง เราอาจจะวิน ิจ ฉัย ไดว า ทํ า ความสมบูร ณใ หไ ดอ ยา งไร ดว ย พระพุทธภาษิตที่ตรัสไวในที่อื่นสืบไป. (ช) ขอที่อานาปานสติมีวัตถุ ๑๖ มีความสมบูรณในการทําที่สุด แห ง ทุ ก ข นั้ น โดยหลั ก ใหญ ย อ มหมายถึ ง ข อ ที่ อ านาปานสติ มี วั ต ถุ ๑๖ นี้ เมื่ อ บุ ค คลเจริ ญ เต็ ม ที่ แ ล ว ย อ มเป น การทํ า สติ ป ฏ ฐาน ๔ โพชฌงค ๗ และวิ ช ชา และวิ มุ ต ติ ใ ห เ กิ ด ขึ้ น ได ด ว ยอาการดั ง ที่ ต รั ส ไว อ ย า งละเอี ย ดในอานาปานสติ สู ต ร อุปริปณณาสก มัชฌิมนิกาย (๑๔ / ๑๙๕ / ๒๘๙) และ มหาวาร. สํ. (๑๙๔ / ๐๙ / ๑๓๕๘) วา :

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org “ภิกษุ ท. ! ก็อานาปานสติ อันบุคคลเจริญแลว ทําใหมากแลว อยางไรเลา จึงทําสติปฏฐานทั้ง ๔ ใหบริบูรณได ?

ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ (๑) เมื่อหายใจเขายาว ก็รูสึกตัวทั่วถึงวา เราหายใจเขายาว ; เมื่อหายใจออกยาว ก็รูสึกตัวทั่วถึง วาเราหายใจออกยาว ดัง นี้ก็ดี ; (๒) เมื่อ หายใจเขา สั้น ก็รูสึก ตัว ทั่ว ถึง วา เราหายใจเขา สั้น ; เมื่อหายใจออกสั้น ก็รูสึกตัวทั่วถึง วาเราหายใจออกสั้น ดังนี้ก็ดี ; (๓) ยอมทํา ในบทศึ ก ษาว า เราเป น ผู รู พ ร อ มเฉพาะซึ่ ง กายทั้ ง ปวง จั ก หายใจเข า จั ก หายใจ ออกดั ง นี้ ก็ ดี ; (๔) ย อ มทํ า ในบทศึ ก ษาว า เราเป น ผู ทํ า กายสั ง ขารให รํ า งั บ อยู

www.buddhadasa.in.th


๕๒๘

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๓

จักหายใจเขา จักหายใจออก ดังนี้ก็ดี ; ภิกษุ ท. ! สมัยนั้น ภิกษุนั้น ชื่อวา เป นผู ตามเห็ นกายในกายอยู เป นประจํ า เป นผู มี ความเพี ยรเผากิ เลส มี สั มปชั ญญะ มีสติ นําอภิชณาและโทมนัสในโลกออกเสียได. ภิกษุ ท. ! เรายอมกลาววา ลมหายใจเข า และลมหายใจออก ว าเป นกายอย างหนึ่ ง ๆ ในบรรดากายทั้ งหลาย. ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในกรณีนี้ ภิกษุนั้น ยอมชื่อวา เปนผูตามเห็นกายในกาย อยูเปนประจํา. (ข อ นี้ อ ธิ บ ายว า การกํ า หนดลมหายใจทั้ ง ๔ ขั้ น นั้ น ชื่ อ ว า การกํ า หนดกายในกาย เพราะพระองคทรงเรียกลมหายใจวากาย . . . เมื่อกําหนดและพิจารณาลมหายใจอยู ก็ชื่อวากําหนด และพิจ ารณากายอยู  ในบรรดาทั ้ง หลาย อัน นี ้เ รีย กวา กายานุป ส สนาสติป ฏ ฐาน จัด เปน สติปฏฐานที่หนึ่ง.)

ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ (๕) ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผู รูพรอมเฉพาะซึ่งปติ จักหายใจเขา จักหายใจออก ดังนี้ก็ดี ; (๖) ยอมทําในบท ศึ ก ษาว า เราเป น ผู รู พ ร อ มเฉพาะซึ่ ง สุ ข จั ก หายใจเข า จั ก หายใจออก ดั ง นี้ ก็ ดี (๗) ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งจิตตสังขาร จักหายใจเขา จักหายใจออก ดังนี้ก็ดี ; (๗) ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งจิตตสังขาร ใหรํางับอยู จักหายใจเขา จักหายใจออก ดังนี้ก็ดี ; ภิกษุ ท. ! สมัยนั้น ภิกษุนั้น ชื่ อ ว า เป น ผู ต ามเห็ น เวทนาในเวทนาทั้ ง หลายอยู เ ป น ประจํ า เป น ผู มี ค วามเพี ย รเผา กิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นําอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได. ภิกษุ ท.! เราย อ มกล า วว า การทํ า ในใจเป น อย า งดี ถึ ง ลมหายใจเข า และลมหายใจออก วานั่นเปนเวทนาอยางหนึ่ง ๆ ในบรรดาเวทนาทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้น ในกรณี นี้ ภิ ก ษุ นั้ น ย อ มชื่ อ ว า เป น ผู ต ามเห็ น เวทนาในเวทนาทั้ ง หลายอยู เ ป น ประจํา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


พระพุทธวจนะ เนื่องดวยอานาปานสติ

๕๒๙

(ขอ นี ้อ ธิบ ายวา ความรู ส ึก ในใจตา ง ๆ ที ่เ กิด ขึ ้น มาจากการกํ า หนดลมหายใจ นั ้น แหละเรีย กวา เวทนา ดัง ที ่พ ระผู ม ีพ ระภาคเจา ตรัส ไว ฉะนั ้น การกํ า หนดความรู ส ึก เหลา นั ้น ได ชื่ อ ว า เป นการกํ า หนดเวทนา และเรี ยกโดยบาลี ว า และเรี ยกโดยบาลี ว า เวทนานุ ป สสนาสติ ป ฏ ฐาน จัดเปนสติปฏฐานที่สอง.)

ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ (๙) ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูรูพรอม เฉพาะซึ่งปติ จักหายใจเขา จักหายใจออก ดังนี้ก็ดี ; (๑๐) ยอมทําในบทศึกษา ว า เราเป น ผู ทํ า จิ ต ให ป ราโมทย ยิ่ ง อยู จั ก หายใจเข า จั ก หายใจออก ดั ง นี้ ก็ ดี ; (๑๑) ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูทําจิตใหตั้งมั่นอยู จักหายใจเขา จักหายใจ ออก ดังนี้ก็ดี ; (๑๒) ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูทําจิตใหปลอยอยู จัก หายใจเขา จักหายใจออก ดังนี้ก็ดี ; ภิกษุ ท. ! สมัยนั้น ภิกษุนั้น ชื่อวาเปนผู ตามเห็ น จิ ต ในจิ ต อยู เ ป น ประจํ า เป น ผู มี ค วามเพี ย รเผากิ เ ลส มี สั ม ปชั ญ ญะ มี ส ติ นําอภิชฌา และโทมนัสในโลกออกเสียได ; ภิกษุ ท. ! เราไมกลาววาอานาปานสติ เปนสิ่งที่มีได แกบุคคลผูมีสติอันลืมหลงแลว ผูไมมีสัมปชัญญะ. ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในกรณีนี้ ภิกษุนั้น ยอมชื่อวา เปนผูตามเห็นจิตในจิตอยูเปนประจํา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org (ข อ นี้ อ ธิ บ ายว า ผู มี ส ติ ลื ม หลงหรื อ ไม มี สั ม ปชั ญ ญะนั้ น ชื่ อ ว า ไม มี จิ ต ย อ มไม ส ามารถ กํ า หนดอานาปานสติ ซึ่ ง เป น การกํ า หนดด ว ยสติ ห รื อ จิ ต ซึ่ ง เรี ย กเป น บาลี ว า จิ ต ตานุ ป ส สนาสติ ปฏฐาน จัดเปนสติปฏฐานที่สาม.)

ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ (๑๓) ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูตามเห็น ความไมเที่ยงอยูเปนประจํา จักหายใจเขา จักหายใจออก ดังนี้ก็ดี ; (๑๔) ยอม ทํ า ในบทศึ ก ษาว า เราเป น ผู ต ามเห็ น ความจางคลายอยู เ ป น ประจํ า จั ก หายใจเข า จั ก หายใจออก ดั ง นี้ ก็ ดี ; (๑๕)ย อ มทํ า ในบทศึ ก ษาว า เราเป น ผู ต ามเห็ น ซึ่ ง ความ

www.buddhadasa.in.th


๕๓๐

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๓

ดับไมเหลืออยูเปนประจํา จักหายใจเขา จักหายใจออก ดังนี้ก็ดี ; (๑๖) ยอมทํา ในบทศึ ก ษาว า เราเป น ผู ต ามเห็ น ซึ่ ง ความสลั ด คื น อยู เ ป น ประจํ า จั ก หายใจเข า จักหายใจออก ดังนี้ก็ดี ; ภิกษุ ท. ! สมัยนั้น ภิกษุนั้น ชื่อวาเปนผูตามเห็นธรรม ในธรรมทั้ ง หลายอยู เ ป น ประจํ า เป น ผู มี ค วามเพี ย รเผากิ เ ลส มี สั ม ปชั ญ ญะ มี ส ติ นําอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได ; ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้นเปนผูเขาไปเพง เฉพาะเปน อยา งดีแ ลว เพราะเธอเห็น การละอภิช าแลโทมนัส ทั ้ง หลายของเธอ นั้นดวยปญญา ; ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในกรณีนี้ ภิกษุนั้น ยอมชื่อวา เปนผูตามเห็นธรรมในธรรมอยูเปนประจํา. (ข อ นี้ อ ธิ บ ายว า ลั ก ษณะแห ง ความไม เ ที่ ย ง ความจางคลาย ความดั บ ไม เ หลื อ และ ความสลั ด คื น ก็ ดี ลั ก ษณะแห ง อนิ จ จั ง ทุ ก ขั ง อนั ต ตา หรื อ สุ ญ ญตาก็ ดี ตลอดถึ ง ลั ก ษณะแห ง ความหลุด พน จากกิเ ลส อัน เปน ผลสุด ทา ยที ่เ นื ่อ งมาจากเห็น ลัก ษณะทั ้ง หลายขา งตน ก็ด ี ลว น แตเรียกวาธรรมในกรณีนี้ดวยกันทั้งนั้น. พระผูมีพระภาคเจา ทรงเล็งถึงผลแหงการปฏิบัติหมวดนี้ ว า เป น ธรรม จึ ง ได ต รั ส เอาการละอภิ ช ฌาและโทมนั ส เสี ย ได ว า เป น สิ่ ง ที่ ภิ ก ษุ นั้ น ตามเห็ น อยู ใ น กรณีนี ้ และทรงบัญ ญัต ิว า นั ่น เปน การเห็น ธรรมในบรรดาธรรมทั ้ง หลาย ซึ ่ง เรีย กโดยบาลีว า ธัมมานุปสสนาสติปฏฐาน จัดเปนสติปฏฐานที่สี่.)

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ภิกษุ ท. ! อานาปานสติ อันบุคคลเจริญแลว ทําใหมากแลว อยางนี้แล ยอมทําสติปฏฐานทั้ง ๔ ใหบริบูรณ.” ทั้ ง หมดนี้ เป น การแสดงให เ ห็ น ว า ในอานาปานสติ ทั้ ง ๑๖ วั ต ถุ นั้ น มี สติ ป ฏฐาน ๔ รวมอยู ด วยในตั ว หรื อว าเป นสติ ป ฏฐาน ๔ อยู ในตั ว พร อมกั นไป ในคราวเดียวกันโดยลักษณะอยา งไร. ตอ นี้ไ ป เปนพระพุทธภาษิตที่แสดงวา สติปฏฐานทั้ง ๔ นั้น จะกระทําโพชฌงคทั้ง ๗ ใหบริบูรณไดอยางไรสืบไป :ภิกษุ ท. ! ก็สติปฏฐานทั้ง ๔ อันบุคคลเจริญแลว ทําใหมากแลว อยางไรเลา จึงทําโพชฌงคทั้ง ๗ ใหบริบูรณได ?

www.buddhadasa.in.th


พระพุทธวจนะ เนื่องดวยอานาปานสติ

๕๓๑

ภิกษุ ท. ! สมัยใด๑ ภิกษุเปนผูตามเห็นกายในกายอยูเปนประจําก็ดี ; เปนผูตามเห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลายอยูเปนประจําก็ดี ; เปนผูตามเห็นจิตในจิต อยูเ ปน ประจํา ก็ดี ; เปน ผูต ามเห็น ธรรมในธรรมทั้ง หลายอยูเ ปน ประจํา ก็ดี ; มี ความเพี ยรเผากิ เลส มี สั มปชั ญญะ มี สติ นํ าอภิ ชฌาและโทมนั สในโลกออกเสี ยได ; สมัยนั้น สติที่ภิกษุเขาไปตั้งไวแลว ก็เปนธรรมชาติไมลืมหลง. ภิกษุ ท. ! สมัยใด สติที ่ภ ิก ษุเ ขา ไปตั ้ง ไวแ ลว เปน ธรรมชาติไ มล ืม หลง สมัย นั ้น สติส ัม โพชฌงค ก็เปนอันวาภิกษุนั้นปรารภแลว ; สมัยนั้น ภิกษุชื่อวา ยอมเจริญสติสัมโพชฌงค ; สมั ย นั้ น สติ สั ม โพชฌงค ข องภิ ก ษุ นั้ น ชื่ อ ว า ถึ ง ความเต็ ม รอบแห ง การเจริ ญ ; ภิ ก ษุ นั้ น เมื่ อ เป น ผู มี ส ติ เ ช น นั้ น อยู ชื่ อ ว า ย อ มทํ า การเลื อ ก ย อ มทํ า การเฟ น ย อ ม ทําการใครครวญ ซึ่งธรรมนั้นดวยปญญา. (ข อ นี้ อ ธิ บ ายว า เมื่ อ การตามเห็ น กาย ตามเห็ น เวทนา ตามเห็ น จิ ต ตามเห็ น ธรรม อยู โดยนั ย แห ง จตุ ก กะทั้ ง ๔ แล ว ก็ ย อ มมี ก ารกํ า หนดสติ ใ นสิ่ ง เหล า นั้ น อยู สติ ที่ เ ป น การกํ า หนด นั้น เอง ชื่อ วา สติสัม โพชฌงคใ นที่นี้. สรุป ความสั้น ๆ วา เมื่อ มีก ารเจริญ อานาปานสติมีวัต ถุ ๑๖ อยู ก็ยอ มมีสติสัมโพชฌงคหรือ เปนสติสัมโพชฌงคอ ยูในตัว . ถาการเจริญอานาปานสติถึง ที่สุด การเจริญ สัม โพชฌงค ก็เ ปน อัน วา ถึง ที่สุด ดว ย นี่อ ยา งหนึ่ง ; อีก อยา งหนึ่ง เมื่อ มีส ติสั ม โพชฌงค อ ยู ด ว ยอาการเช น นั้ น ย อ มชื่ อ ว า มี ก ารเลื อ กเฟ น ใคร ค รวญซึ่ ง ธรรรมนั้ น ด ว ยป ญ ญา ดั ง จะเห็ น ได ชั ด ในการพิ จ ารณาองค ฌ านขั้ น ป ติ แ ละสุ ข เป น ต น หรื อ พิจ ารณาในฐานะที ่เ ปน เวทนา ก็ต าม โดยความเปน อนิจ จัง ทุก ขัง อนัต ตาก็ด ี โดยที ่เ วทนานั ้น มีเ หตุป จ จัย อะไรปรุง แตง ก็ดี หรื อ โดยที่ เ วทนานั้ น ปรุ ง แต ง สิ่ ง อื่ น สื บ ไปก็ ดี หรื อ แม ที่ สุ ด แต ก ารสโมธานมาซึ่ ง ธรรมการรู โ คจร

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

การบรรยายครั้งที่ ๖๗ / ๑๒ มกราคม ๒๕๐๓

www.buddhadasa.in.th


๕๓๒

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๓

แหง ธรรมนั ้น ๆ และการแทงตลอดสมัต ถะแหง ธรรมนั ้น ๆ ก็ด ี มีร ายละเอีย ดดัง ที ่ก ลา วแลว ใน อานาปานสติขั ้น ที่ ๕ ; นั่น แหละ คือ การเลือ กเฟน ใครค รวญธรรม ซึ่ง เปน สิ่ง ที ่มีอ ยูโ ดย สมบู ร ณ แ ล ว ในการเจริ ญ อานาปานสติ หรื อ ในขณะที่ เ รี ย กว า มี ส ติ สั ม โพชฌงค ดั ง ที่ ก ล า วแล ว . สรุป ความวา เมื ่อ มีส ติส ัม โพชฌงคโ ดยอาการของอานาปานสติ ก็ย ม อมีก ารใครค รวญธรรม เพราะสติ ที่ สมบู รณ ย อ มทํ า การกํ า หนดในเบื้ อ งต น แล ว ทํ า การพิ จ ารณาในฐานะเป น อนุ ป สสนาญาณ ในลําดับ ถัดมา อยางที่เรียกวาเนื่องกันไปในตัว. การกําหนดชื่อว าสติ การพิจารณาชื่อวา การ เลือกเฟนใครครวญในที่นี้. เพราะฉะนั้น พระผูมีพระภาคเจาจึงตรัสวา “ภิกษุนั้น เมื่อเปนผูมีสติ เช น นั้ น อยู ย อ มทํ า การเลื อ ก ย อ มทํ า การเฟ น ย อ มทํ า การใคร ค รวญอยู ซึ่ ง ธรรมนั้ น ด ว ยป ญ ญา” ดังที่กลาวแลว.)

ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุเปนผูมีสติเชนนั้นอยู ทําการเลือกเฟนทําการ ใคร ค รวญ ธรรมนั้ น อยู ด ว ยป ญ ญา สมั ย นั้ น ธรรมวิ จ ยสั ม โพชฌงค ก็ เ ป น อั น ว า ภิกษุนั้นปรารภแลว ; สมัยนั้น ภิกษุนั้น ชื่อวายอมเจริญธรรมวิจยสัมโพชฌงค; สมั ย นั้ น ธรรมวิ จ ยสั ม โพชฌงค ภิ ก ษุ นั้ น ชื่ อ ว า ถึ ง ความเต็ ม รอบแห ง การเจริ ญ . ภิ ก ษุ นั้ น เมื่ อ เลื อ กเฟ น ใคร ค รวญ ซึ่ ง ธรรมนั้ น ด ว ยป ญ ญาอยู ความเพี ย รอั น ไม ยอหยอน ก็ชื่อวาเปนธรรมอันภิกษุนั้นปรารภแลว. (ข อ นี้ อ ธิ บ ายว า เมื่ อ มี ก ารเจริ ญ อานาปานสติ วั ต ถุ ๑๖ อยู โดยลั ก ษณะที่ เ ป น สติ สั ม โพชฌงค และธรรมวิ จ ยสั ม โพชฌงค ดั ง ที่ ก ล า วแล ว ข า งต น ก็ ย อ มเห็ น ได ว า เป น สิ่ ง ที่ ต อ ง กระทําอยางขยันขันแข็ง ดวยความบากบั่นเต็มที่เพียงไร. ขอนี้ยอมคํานวณดูไดจากความเพียรที่ ใชไปในการเจริญอานาปานสติทั้ง ๑๖ วัตถุ ดังที่วินิจฉัยกันมาแลวขางตน. เพราะฉะนั้นพระผูมีพระภาคเจ า จึ ง ตรั ส ว า “ภิ ก ษุ นั้ น เมื่ อ เลื อ กเฟ น ใคร ค รวญซึ่ ง ธรรมนั้ น ด ว ยป ญ ญาอยู ความเพี ย ร อันไมยอหยอน ชื่อวาเปนธรรมอันภิกษุนั้นปรารภแลว” ดังนี้.)

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ภิกษุ ท. ! สมัยใด ความเพียรอันไมยอหยอน อันภิกษุผูเลือกเฟน ใครครวญธรรมดวยปญญา ไดปรารภแลว ; สมัยนั้น วิริยสัมโพชฌงคก็เปนอันวา ภิกษุนั้นปรารภแลว ; สมัยนั้น ภิกษุนั้น ยอมชื่อวาเจริญวิริยสัมโพชฌงค ; สมัยนั้น วิริยสัมโพชฌงคของภิกษุนั้นก็เต็มรอบแหงการเจริญ. ภิกษุนั้น เมื่อมีความเพียร อันปรารภแลวเชนนั้น ปติอันเปนนิรามิสก็เกิดขึ้น.

www.buddhadasa.in.th


พระพุทธวจนะ เนื่องดวยอานาปานสติ

๕๓๓

(ข อ นี้ อ ธิ บ ายว า ในการเจริ ญ อานาปานสติ มี วั ต ถุ ๑๖ ที่ เ ป น ไปด ว ยดี นั้ น ย อ มมี สติ สั ม โพชฌงค อ ยู ใ นตั ว โดยนั ย ดั ง ที่ ก ล า วแล ว จากวิ ริ ย สั ม โพชฌงค นั่ น เอง ป ติ ย อ มเกิ ด ขึ้ น ด ว ย อํา นาจธรรมฉัน ทะ ธรรมนัน ทิ กลา วคือ ความพอใจในการกระทํา ของตน หรือ ในการประสบ ความสํ า เร็ จ แห ง การปฏิ บั ติ ธ รรมขั้ น หนึ่ ง ๆ โดยอาการดั ง ที่ ก ล า ว ในตอนที่ ว า ด ว ยการเกิ ด ของป ติ ในอานาปานสติ ขั้นที่ ๕ เปนตน. ปติในที่นี้ชื่อวาเปนนิรามิส หมายความวาไมเจือดวยอามิส กล า วคื อ รู ป เสี ย ง กลิ่ น รส สั ม ผั ส แต เ ป น ป ติ ที่ ป ระกอบด ว ยเนกขั ม มะ คื อ การเว น จากามโดย สิ้ น เชิ ง และเป น ป ติ อ าศั ย ธรรม หรื อ ความเป น ธรรมเกิ ด ขึ้ น เพราะเหตุ ฉ ะนั้ น พระผู มี พ ระภาคเจ า จึงตรัสวา “ภิกษุนั้น เมื่อมีความเพียรอันปรารภแลว ปติอันเปนนิรามิสก็เกิดขึ้น” ดังนี้.)

ภิกษุ ท. ! สมัยใด ปติอันเปนนิรามิส เกิดขึ้นแกภิกษุผูมีความเพียร อันปรารภแลว ; สมัยนั้น ปติสัมโพชฌงคก็เปนอันวาภิกษุนั้นปรารภแลว ; สมัยนั้น ภิกษุนั้นชื่อวายอมเจริญปติสัมโพชฌงค ; สมัยนั้น ปติสัมโพชฌงคของ ภิกษุนั้น ชื่อวาถึงความเต็มรอบแหงการเจริญ. ภิกษุนั้นเมื่อมีใจประกอบดวยปติ แมกายก็รํางับ แมจิตก็รํางับ. (ข อนี้ อธิ บายว า การเจริ ญอานาปานสติ มี วั ตถุ ๑๖ เป นโพชฌงค อยู ในตั ว เป นลํ าดั บ มาตั้งแตสติสัมโพชฌงค ธรรมวิจยสัมโพชฌงค วิริยสัมโพชฌงค และปติสัมโพชฌงค. โดยนัย ดัง ที่ก ล า วแลว ด ว ยอํ า นาจของป ตินั่ น เอง ยอ มเกิ ด ความสงบรํ า งั บ ดัง ที่ กล า วแล ว ในอานาปานสติ ขั้นที่ ๔ โดยนั ยว าป ติ เกิ ดขึ้ น ลมหายใจยิ่ งละเอี ยดลง ซึ่ งหมายถึ งอาการแห งการรํ างั บโดยลั กษณะ แห ง สมถะนี้ อ ย า งหนึ่ ง และเมื่ อ มี ก ารพิ จ ารณาธรรม จนความเห็ น อนิ จ จั ง ทุ ก ขั ง อนั ต ตาปรากฏ ขึ ้น แลว ปต ิเ กิด ขึ ้น เพราะเหตุนั ้น ทํ า ลมหายใจใหล ะเอีย ดยิ ่ง ขึ ้น ซึ ่ง เปน อาการแหง ความรํ า งับ นั่น เอง แตเ ปน ความรํา งับ ตามนัย แหง วิปส สนา. เมื่อ รวมเขา ดว ยกัน ทั้ง ความรํา งับ โดยนัย แห ง สมถะและความรํ า งั บ โดยนั ย แห ง วิ ป ส สนา ย อ มชื่ อ ว า ความรํ า งั บ ถึ ง ที่ สุ ด และเป น ความรํ า งั บ ที่ เ กิ ด มาจากป ติ โ ดยตรง เพราะเหตุ นั้ น พระผู มี พ ระภาคเจ า จึ ง ตรั ส ไว ว า “ภิ ก ษุ นั้ น เมื่ อ มี ใ จ ประกอบดวยปติ แมกายก็รํางับ แมจิตก็รํางับ” ดังนี้.)

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ภิกษุ ท. ! สมัยใด ทั้งกายและทั้งจิตของภิกษุผูมีใจประกอบดวยปติ ยอมรํางับ ; สมัยนั้น ปสสัทธิสัมโพชฌงค ก็เปนอันวาภิกษุนั้นปรารภแลว ; สมัย นั ้น ภิก ษุนั ้น ยอ มชื ่อ วา เจริญ ปส สัท ธิส ัม โพชฌงค สมัย นั ้น ปส สัท ธิ สัมโพชฌงคของภิกษุนั้น ชื่อวาถึงความเต็มรอบแหงการเจริญ ; ภิกษุนั้น เมื่อมี การอันรํางับแลว มีความสุขอยู จิตยอมตั้งมั่นเปนสมาธิ.

www.buddhadasa.in.th


๕๓๔

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๓

(ข อ นี้ อ ธิ บ ายว า ในการเจริ ญ อานาปานสติ มี วั ต ถุ ๑๖ ย อ มประกอบอยู ด ว ยความเป น สั ม โพชฌงค ต า ง ๆ โดยนั ย ดั ง ที่ ก ล า วแล ว ข า งต น จนกระทั่ ง ถึ ง ป ส สั ท ธิ สั ม โพชฌงค กล า วคื อ ความ รํ า งั บ ทั้ ง กายและจิ ต สิ่ ง ที่ เ รี ย กว า ความสุ ข มี ร วมอยู ด ว ย ในความรํ า งั บ นั้ น ไม จํ า เป น จะต อ งแยก ออกมาเปนโพชฌงคอีกตางหาก. เมื่อกายรํางับ ก็สุขกาย เมื่อใจรํางับ ก็สุขใจ ฉะนั้น ความสุข จึง ถู กนับ รวมอยูด วย ในความรํา งับ ; ครั้น มีค วามรํา งับแล ว จิตยอ มมีความตั้ง มั่ น ซึ่ งเรี ยกวา สมาธิ. ความรํางับที่เปนองคฌาน หมายถึงปติและสุข ทําใหจิตตั้งมั่นอยางสมถะ, ความรํางับ ที่เกิดมาจากความเห็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ยอมทําใหจิตตั้งมั่น โดยนัยแหงวิปสสนา ; เมื่อ รวมกั น ทั้ ง ความตั้ ง มั่ น โดยนั ย แห ง สมถะ และโดยนั ย แห ง วิ ป ส สนา ย อ มเป น ความตั้ ง มั่ น ที่ ส มบู ร ณ ซึ่ง เรีย กวา ความตั้ง มั่น ในที่นี้. อานาปานสติขั้น ที่ห นึ่ง ถึง ที่สี่ มีค วามตั้ง มั่น โดยนัย แหง สมถะ อานาปานสติ ขั้ น ที่ ๕ ขึ้ น ไป มี ค วามตั้ ง มั่ น โดยนั ย แห ง วิ ป ส สนา เพราะทุ ก ขั้ น ทํ า ให เ กิ ด ความรํ า งั บ เพราะเหตุนั ้น พระผู ม ีพ ระภาคเจา จึง ตรัส วา “ภิก ษุนั ้น เมื ่อ มีก ายอัน รํ า งับ แลว มีค วามสุข อยู จิตยอมตั้งมั่น” ดังนี้.)

ภิกษุ ท. ! สมัยใด จิตของภิกษุผูมีกายอันรํางับแลว มีความสุขอยู ยอมเปนจิตตั้งมั่น ; สมัยนั้น สมาธิสัมโพชฌงค ก็เปนอันวาภิกษุนั้นปรารภแลว ; สมัยนั้น ภิกษุนั้นชื่อวายอมเจริญสมาธิสัมโพชฌงค ; สมัยนั้น สมาธิสัมโพชฌงค ของภิกษุนั้น ชื่อวาถึงความเต็มรอบแหงการเจริญ ; ภิกษุนั้น ยอมเปนผูเขาไป เพงเฉพาะ ซึ่งจิตอันตั้งมั่นแลวอยางนั้น เปนอยางดี.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org (ข อ นี้ อ ธิ บ ายว า อานาปานสติ มี วั ต ถุ ๑๖ ย อ มทํ า ให เ กิ ด สั ม โพชงฌงค ต า ง ๆ กระทั่ ง สมาธิสัม โพชฌงค คือ ความที่จิต ตั้ง มั่น ทั้ง โดยนัย แหง สมถะและวิปส สนา. ความตั้ง มั่น โดยนัย แห ง สมถะเป น ความสงบรํ า งั บ ทํ า ให มี กํ า ลั ง หนุ น เนื่ อ งอยู ต ลอดไป ส ว นความตั้ ง มั่ น โดยนั ย แห ง วิปส สนานั้น เปน ความตั้ง มั่น ในการเห็น ธรรม ทํา ใหกิเ ลสรํา งับ ลง ดว ยอํ า นาจความรูแ จง เห็น แจง ซึ่งมีความตั้งมั่นดวยดีเหมือนกัน. การเพงตอความตั้งมั่นทั้ง ๒ อยางนี้ มีขึ้นตอเมื่อมีความ ตั ้ง มั ่น แลว จริง ๆ แลว คุม ความตั ้ง มั ่น ใหแ นว แนอ ยู ต ลอดเวลา จนกวา จะมีก ารบรรลุธ รรมใน เบื้อ งสูง . การคุม ความตั้ง มั่น ไวนั่น เอง เรีย กวา การเขา ไปเพง เฉพาะซึ่ง จิต อัน ตั้ง มั่น แลว โดย อุป มัย ที ่ไ ดก ลา วแลว หลายครั ้ง หลายหนวา เหมือ นนายสารถีที ่เ พีย งแตค ุม บัง เหีย นเฉยอยู  ในเมื ่อ ม า และรถ และสิ่ ง ต า ง ๆ ได เ ป น ไปอย า งเรี ย บร อ ยแล ว ในอานาปานสติ ขั้ น ที่ ๕ และอานาปานสติ ขั้นที่ ๑๑ และขั้นอื่น ๆ อีกโดยปริยาย. เมื่อจิตตั้งมั่นแลวโดยนัยที่ ๒ คือทั้งโดยนัยแหงสมถะ และวิป ส สนา ผู ป ฏิบ ัต ิม ีห นา ที ่แ ตเ พีย งคุม ความตั ้ง มั ่น นั ้น ใหเ ปน ไปอยา งนั ้น อยู ต ลอดเวลา เปน การเผาลนกิเ ลสอยูใ นตัว เรื่อ ยไป จนกวา จะสิ้น สุด . เพราะฉะนั้น พระผูมีพ ระภาคเจา จึง ตรั ส ว า “ภิ ก ษุนั้ น ย อ มเป น ผู เข า ไปเพง เฉพาะซึ่ ง จิต อั น ตั้ ง มั่น แล ว อยา งนั้ น เปน อยา งดี” ดั ง นี้ .)

www.buddhadasa.in.th


พระพุทธวจนะ เนื่องดวยอานาปานสติ

๕๓๕

ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุเปนผูเขาไปเพงเฉพาะ ซึ่งจิตตั้งมั่นแลว อยางนั้น เปนอยางดี ; สมัยนั้น อุเบกขาสัมโพชฌงค เปนอันวา ภิกษุนั้น ปรารภแลว ; สมัยนั้น ภิกษุนั้นชื่อวา ยอมเจริญอุเบกขาสัมโพชฌงค ; สมัยนั้น อุเบกขาสัมโพชฌงคของภิกษุนั้น ชื่อวาถึงความเต็มรอบแหงการเจริญ. (ข อ นี้ อ ธิ บ ายว า อานาปานสติ มี วั ต ถุ ๑๖ สมบู ร ณ แ ล ว เมื่ อ มี ก ารเข า ไปเพ ง ซึ่ ง จิ ต อันเปน ขึ้นมาแลว ในรองรอยแหงสมถะและวิปสสนา แลวควบคุมความเปนอยางนั้นอยูตลอด เวลา เราเรีย กวา ความเพง ในที ่นี ้ หรือ เรีย กโดยบาลีว า อุเ บกขา ซึ ่ง แปลวา เขา ไปเพง หรือ เขา ไปดู อ ยู ต ลอดเวลา ที่ ค วามตั้ ง มั่ น นั้ น เผาลนกิ เ ลส และขณะที่ กิ เ ลสสู ญ สิ้ น ไปแล ว ในที่ สุ ด ก็ เ พ ง ความที ่ก ิเ ลสสิ ้น ไปนั ้น เอง เปน อารมณข องสติ ซึ ่ง มีใ นอานาปานสติจ ตุก กะที ่ ๔ ขั ้น ทา ย ๆ คือ ขั้นที่ ๑๔ - ๑๕ - ๑๖ อันเปนขั้นที่สัมโพชฌงคทั้งหลาย ไดเปนไปสมบูรณถึงที่สุดจริง ๆ. เพราะ เหตุ นั้ น พระผู มี พ ระภาคจึ ง ตรั ส เพี ย งการเต็ ม รอบ ของอุ เ บกขาสั ม โพชฌงค ในฐานะที่ เ ป น การ ปฏิบัติขั้นสุดทาย.)

ภิกษุ ท. ! สติปฏฐานทั้ง ๔ อันบุคคลเจริญแลว ทําใหมากแลว อยางนี้แล ยอมทําโพชฌงคทั้ง ๗ ใหบริบูรณได”. (ข อ นี้ อ ธิ บ ายว า เมื่ อ มี ก ารเจริ ญ อานาปานสติ มี วั ต ถุ ๑๖ อย า งเต็ ม ที่ ก็ ชื่ อ ว า มี ก าร เจริ ญ สติ ป ฏ ฐานทั้ ง ๔ อย า งเต็ ม ที่ เมื่ อ มี ก ารเจริ ญ สติ ป ฏ ฐานทั้ ง ๔ อย า งเต็ ม ที่ ก็ เ ป น การเจริ ญ โพชฌงค ทั้ ง ๗ อย า งเต็ ม ที่ เป น อั น ว า ในสิ่ ง ทั้ ง ๓ นี้ โดยพฤติ นั ย เมื่ อ กล า วถึ ง สิ่ ง ใด ก็ เ ป น อั น กลาวถึงสิ่งที่กลาวแลวทั้ง ๒ ที่เหลือดวย โดยไมมีทางที่จะหลีกเลี่ยงได.)

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เมื่ อ โพชฌงค ทั้ ง ๗ บริ บู ร ณ แ ล ว ย อ มเป น การง า ย ที่ จ ะทํ า วิ ช ชาและ วิมุตติใหบริบูรณ ; หากแตวา การเจริญโพชฌงคนั้น จักตองเปนไปโดยถูกวิธี อย างยิ่ ง ซึ่ งท านจํ ากั ดความไว ว า โพชฌงค ที่ เจริ ญนั้ น ต องอาศั ยวิ เวก อาศั ยวิ ราคะ อาศั ย นิ โ รธ ซึ่ ง ทั้ ง ๓ อย า งนั้ น น อ มไปเพื่ อ โวสสั ค คะ กล า วคื อ การสละหรื อ การ สลัด สิ่งซึ่งเคยยึดถือไวดวยอุปาทานโดยประการทั้งปวงเทานั้น, อานาปาสติ ขั้ น ที่ ๑๖ เป น ไปเพื่ อ สิ่ ง เหล า นี้ โ ดยตรง เพราะฉะนั้ น โพชฌงค ต า ง ๆ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ดวยการเจริญอานาปานสติ จึงเปนโพชฌงคที่ตรงตามวัตถุประสงค ในการที่จะ ทําวิชชาและวิมุตติใหบริบูรณ ดังที่พระพุทธภาษิตตรัสไวสืบไปวา ….

www.buddhadasa.in.th


๕๓๖

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๓

“ภิกษุ ท. ! โพชฌงคทั้ง ๗ อันบุคคลเจริญแลว ทําใหมากแลว อยางไรเลา จึงจะทําวิชชาและวิมุตติใหบริบูรณ ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้๑ ยอมเจริญสติสัมโพชฌงค อันอาศัย วิเวก อันอาศัยวิราคะ อันอาศัยนิโรธ อันนอมไปเพื่อโวสสัคคะ ; ย อ มเจริ ญ ธรรมวิ จ ยะสั ม โพชฌงค อั น อาศั ย วิ เ วก อั น อาศั ย วิ ร าคะ อันอาศัยนิโรธ อันนอมไปเพื่อโวสสัคคะ. ย อ มเจริ ญ วิ ริ ย สั ม โพชฌงค อั น อาศั ย วิ เ วก อั น อาศั ย วิ ร าคะ อั น อาศัยนิโรธ อันนอมไปเพื่อโวสสัคคะ. ย อ มเจริ ญ ป ติ สั ม โพชฌงค อั น อาศั ย วิ เ วก อั น อาศั ย วิ ร าคะ อั น อาศั ย นิโรธ อันนอมไปเพื่อโวสสัคคะ. ย อ มเจริ ญ ป ส สั ท ธิ สั ม โพชฌงค อั น อาศั ย วิ เ วก อั น อาศั ย วิ ร าคะ อั น อาศัยนิโรธ อันนอมไปเพื่อโวสสัคคะ. ย อมเจริ ญสมาธิ สั มโพชฌงค อั นอาศั ยวิ เวก อั นอาศั ยวิ ราคะ อั นอาศั ย นิโรธ อันนอมไปเพื่อโวสสัคคะ. ย อ มเจริ ญ อุ เ บกขาสั ม โพชฌงค อั น อาศั ย วิ เ วก อั น อาศั ย วิ ร าคะ อั น อาศัยนิโรธ อันนอมไปเพื่อโวสสัคคะ. ภิกษุ ท. ! โพชฌงคทั้ง ๗ อันบุคคลเจริญแลว ทําใหมากแลว อยางนี้ แล ยอมทําวิชชาและวิมุตติใหบริบูรณได” ดังนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

การบรรยายครั้งที่ ๖๘ / ๑๕ มกราคม ๒๕๐๓

www.buddhadasa.in.th


พระพุทธวจนะ เนื่องดวยอานาปานสติ

๕๓๗

ขอ นี ้อ ธิบ ายวา การเจริญ โพชฌงค ก็เ ปน เชน เดีย วกับ การเจริญ อานาปานสติ กล า วคื อ มี ห ลั ก เกณฑ อ ย า งหลายวิ ธี ต อ เมื่ อ เป น ไปอย า งถู ก ต อ ง ตามหลั ก เกณฑ เ ท า นั้ น จึ ง จะสํ า เร็ จ ประโยชน หรื อ ตรงตามที่ พ ระพุ ท ธองค ท รง ประสงค. อานาปานสติ อย า งของอริ ฏ ฐภิ ก ษุ ย อ มไม สํ า เร็ จ ประโยชน ต อ งเป น อานาปานสติที่มีวัต ถุ ๑๖ จึง จะสํา เร็จ ประโยชน. ขอ นี้ฉัน ใด กรณีข องการ เจริ ญ โพชฌงค ก็ ฉั น นั้ น กล า วคื อ การเจริ ญ โพชฌงค ใ นลั ก ษณะอย า งอื่ น ย อ ม ไม สํ า เร็ จ ประโยชน แต ต อ งเป น โพชฌงค ที่ อ าศั ย วิ เ วก ที่ อ าศั ย วิ ร าคะ ที่ อ าศั ย นิโรธ และที่นอมไปเพื่อโวสัคคะเทานั้น จึงจะสําเร็จประโยชน. คําวา อาศัยวิเวก หมายความวา การปฏิบัติของบุคคลนั้นปรารภวิเวก มีวิเวกเปนที่มุงหมาย. คําวา วิเวก โดยเฉพาะหมายถึงทั้งกายวิเวก จิตตวิเวก และอุปธิวิเวก. การเจริญอานาปานสติในที่สงัด ชื่อวาปรารภหรืออาศัยกายวิเวก อยูแลว ; การทําจิตใหสงบในอานาปานสติขั้นที่หนึ่งถึงขั้นที่สี่ เปนการปรารภ หรืออาศัยจิตตวิเวก ; อานาปานสติขั้นที่หาขึ้นไป จนถึงขั้นสุดทาย ยอมปรารภ หรืออาศัยอุปธิวิเวกโดยตรง และจัดเปนวิเวกอื่นโดยออม.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เพราะฉะนั้ น การเจรญิ สั ม โพชฌงค โดยอาศั ย อานาปานสติ เ ป น บาทฐาน จึงเปนการกระทําที่อาจกลาวไดวา อาศัยวิเวกโดยสมบูรณ. กายวิเวกแปลวา สงัดทางกาย คือกายไมถูกรบกวนดวยสิ่งแวดลอม. จิตตวิเวกแปลวาความสงัด ทางจิ ต หมายถึ ง จิ ต ที่ ไ ม ถู ก นิ ว รณ ร บกวน. อุ ป ธิ วิ เ วก แปลว า ความสงั ด จากอุ ป ธิ

www.buddhadasa.in.th


๕๓๘

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๓

หมายถึง สัน ดาน ไมม ีก ิเ ลสอัน ละเอีย ดประเภทสัญ โญชน อนุส ัย รบกวน ขอ นี้ ทําใหเห็นไดวา ขอปฏิบัติที่อาศัยวิเวก ยอมเปนขอปฏิบัติที่ถูกตรงถึงที่สุด. คํ าว า อาศั ยวิ ราคะ หมายความว า ปรารภหรื ออาศั ยความจางคลาย กล า วคื อ ความคลายออกของความกํ า หนั ด ซึ่ ง มี อ าการเหมื อ นกั บ การย อ มติ ด ของสิ่ งที่ ย อมผ า เป นต น ข อปฏิ บั ติ ที่ ทํ าให ราคะหน ายออก เรี ยกว าข อปฏิ บั ติ อาศั ย วิ ร าคะทั้ ง นั้ น การเจริ ญ อานาปานสติ ทํ า ให มี ก ารคลายออกจากอารมณ ท างกาม ไปตั ้ง แตต น จนปลาย แตใ นขั ้น ตน ๆ ยัง เปน ไปโดยออ มมากเกิน ไป จึง สัง เกต ได ย าก นั บ ตั้ ง แต อ านาปานสติ ขั้ น ที่ ห า เป น ต น ไป ย อ มเห็ น อาการที่ เ ป น ไปเพื่ อ วิราคะโดยชัดแจง และชัดแจงเปนพิเศษในอานาปานสติขั้นที่ ๑๔. เพราะฉะนั้น การเจริ ญ โพชฌงค ที่ ตั้ ง รากฐานอยู บ นอานาปานสติ จึ ง เป น โพชฌงค ที่ อ าศั ย วิราคะ. คําวา อาศัยนิโรธ หมายถึงปรารภหรืออาศัยความดับ หรือธรรม เป นที่ ดั บ ด วยความมุ งหมายจะไม ให มี การเกิ ดขึ้ น โดยนั ยแห งปฏิ จจสมุ ปบาทฝ าย สมุทยวาร ; แตประสงคจะใหมีการดับลง โดยอาการแหงปฏิจจนิโรธ ซึ่งมักชอบ เรียกกันวาปฏิจจสมุปบาทฝายนิโรธวาร. การเจริญอานาปานสติไมเปดโอกาส ให แ ก ก ารเกิ ด ขึ้ น ของปฏิ จ จสมุ ป บาทฝ า ยสมุ ท ยวาร โดยประการทั้ ง ปวง กล า วคื อ ไม มี ก ารปรุ ง แต ง ของสั ง ขารธรรม จนกระทั่ ง ความทุ ก ข เ กิ ด ขึ้ น โดยเฉพาะ เช น เวทนา จะถูก ทํ า ใหด ับ ไป ไมป รุง แตง สัญ ญาและวิต ก ดัง ที ่ก ลา วแลว ใน อานาปานสติขั้นที่แปดโดยละเอียด และในขั้นที่ ๑๕ อีกครั้งหนึ่งโดยงสรุป. การ ปฏิ บั ติ โ ดยทํ า นองนั้ น มี แ ต จ ะทํ า ให เ กิ ด ความดั บ มาเสี ย ตั้ ง แต ขั้ น ที่ ยั ง เป น เพี ย ง ผั ส สะด ว ยซ้ํ า ไป กล า วคื อ พอสั ก ว า กระทบผั ส สะ ก็ มี ส ติ ค วบคุ ม ไม ใ ห เ กิ ด เป น

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


พระพุทธวจนะ เนื่องดวยอานาปานสติ

๕๓๙

เวทนาขึ ้น มาได เรีย กวา ดับ ไปเสีย ตั ้ง แตใ นขั ้น ที ่เ ปน ผัส สะ ถา ดับ ไมไ ดใ นขั ้น ผั ส สะ คื อ เกิ ด เป น เวทนาขึ้ น เสี ย แล ว ก็ ใ ห ดั บ เสี ย เพี ย งขั้ น ที่ เ ป น เวทนา ไม ป ล อ ย ให ป รุ ง เป น สั ญ ญา คื อ ความสํ า คั ญ ว า เวทนาเป น ของเรา เป น ต น และไม ป ล อ ย ให สั ญ ญาปรุ ง จนเกิ ด วิ ต ก หรื อ ตั ณ หา อั น ได แ ก ค วามคิ ด อยากอย า งนั้ น อย า งนี้ จนกระทั่งเกิดทุกขตามควรแกตัณหานั้น. อานาปานสติ ยอมเปนไปเพื่อความ รํ า งั บ ความดั บ แห ง ปฏิ จ จสมุ ป บาทธรรมโดยอาการอย า งนี้ เ สมอไป เพราะฉะนั้ น การเจริ ญ โพชฌงค ที่ ตั้ ง รากฐานอยู บ นอานาปานสติ จึ ง เป น การปฏิ บั ติ ที่ อ าศั ย นิโรธโดยสมบูรณอีก อยางเดียวกัน. คําวา “นอมไปเพื่อโวสัคคะ” หมายความวา เปนไปเพื่อความสลัด หรื อ การปล อ ย การวาง ซึ่ ง สิ่ ง ที่ เ คยยึ ด ถื อ ไว โดยความเป น ตั ว ตน หรื อ โดยความ เปนของของตน. ตามปกติเบญจขันธที่เปนภายในทั้งหมด หรือสวนใดสวนหนึ่ง ถูกยึ ดถื อไว โดยความเป นตั วตน เบญจขั นธ ภายนอก หรื อเบญจขั นธ ที่ เหลื อจากนั้ น ถู กยึ ดถื อไว โดยความเป นของของตน เพราะฉะนั้ นสิ่ งที่ ถู กสละ จึ งได แก เบญจขั นธ ทั้งปวง ที่กําลังถูกยึดถืออยูดวยอุปาทานนั่นเอง. การเจริญอานาปานสติที่เปนไป อย างถู กต อง กล าวคื อ ที่ เป นสติ ป ฏฐานทั้ งสี่ อยู ในตั ว ดั งที่ กล าวมาแล วข างต นนั้ น ย อมสลั ดความยึ ดถื อว าตน หรื อของของตนมาแล วตั้ งแต ต นที เดี ยว กล าวคื อ เมื่ อ มี การพิ จารณาลมหายใจ โดยประการใดก็ ตาม ย อมกํ าหนดลมหายใจ หรื อกายนั้ น โดยความเปน ของไมใ ชต น หรือ ไมใ ชส ัต ว ไมใ ชบ ุค คล มาแลว โดยปริย าย ; ในการกํ า หนดเวทนาและจิ ต ก็ มี ก ารพิ จ ารณาโดยทํ า นองนั้ น เป น ลํ า ดั บ มาและสู ง ยิ่งขึ้น. ครั้นมาถึงอานาปานสติขั้นที่ ๑๖ มีการยอนกลับไปพิจารณาโดยความ ไมใ ชต นนี ้ ตั ้ง ตน มาใหมตั ้ง แตขั ้น ที ่ห นึ ่ง เปน ลํ า ดับ มาอีก ครั ้ง หนึ ่ง ฉะนั ้น ในการเจริ ญ อานาปานสติ ที่ ส มบู ร ณ ด ว ยวั ต ถุ ๑๖ จึ ง มี ก ารพิ จ ารณา ที่ เ ป น การ

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๕๔๐

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๓

สลั ด คื น สิ่ ง ทั้ ง ปวง โดยประการทั้ ง ปวง จากความเป น ตั ว ตนและเป น ของของตน อยา งสิ้น เชิง . โดยเหตุดัง กลา วมานี้ การเจริญ โพชฌงคที่ตั้ง รากฐานอยูบ น อานาปานสติ มีวัตถุ ๑๖ จึงไดชื่อวา “โวสสัคคปริณามี” คือนอมไปรอบเพื่อการ ปลอยลง หรือสลัดลงโดยสมบูรณ ดังนี้. เมื่ อ พิ จ ารณาดู อี ก ทางหนึ่ ง ย อ มพบว า ชื่ อ ทั้ ง ๔ นี้ คื อ วิ เ วกก็ ดี วิร าคะก็ด ี นิโ รธก็ด ี และโวสัค คะก็ด ี เปน คํ า แทนชื ่อ ของคํ า วา “นิพ พาน” เพราะวาอาการทั้ ง ๔ นั้ นเมื่ อเป นไปถึงที่ สุดแล ว ย อมหมายถึ งการบรรลุ ถึ งนิ พพาน : วิเวกเปนชื่อของนิพพาน เพราะสลัดจากกิเลสและความทุกข. วิราคะเปนชื่อของ นิพพาน เพราะความจางออกของกิเลส โดยไมมีสวนเหลือ. นิโรธเปนชื่อของ นิพาน เพราะการดับความปรุงแตงโดยสิ้นเชิง. โวสสัคคะ เปนชื่อของนิพพาน เพราะความไมมีอะไรเกี่ยวเกาะโดยประการทั้งปวง. ฉะนั้น เมื่อถือเอาโดยนัยนี้ เป นอั นกล าวได ว า การเจริ ญโพชฌงค ที่ ตั้ งรากฐานอยู บนอานาปานสติ มี วั ตถุ ๑๖ นั้ น ย อ มเป น การปฏิ บั ติ ที่ เ ป น ไปเพื่ อ นิ พ พานโดยตรง แล ว ทํ า ไมจะไม ทํ า ให วิ ช ชา และวิมุตติสมบูรณไดเลา.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org เมื่ อมี การแยกกล าวเป นวิ ชชาและวิ มุ ตติ ก็ หมายความว า กล าวถึ งความ รูกับความหลุดพน. ญาณตาง ๆ ในอานาปานสติทั้งหมด เรียกวาวิชชาในที่นี้, ผลของอานาปานสติ คื อความหลุ ดพ นจากิ เลสและความทุ กข เรี ยกว าวิ มุ ตติ ในที่ นี้ . เพราะฉะนั้น การเจริ ญโพชฌงค ที่ ตั้ งรากฐานอยู บนอานาปานสติ มี วัตถุ ๑๖ ย อม ทําวิชชาและวิมุตติใหบริบูรณได.

www.buddhadasa.in.th


พระพุทธวจนะ เนื่องดวยอานาปานสติ

๕๔๑

จากขอความทั้งหมดนี้ ทําใหสรุปความไดวา การเจริญอานาปานสติ ที่ มี ผลใหญ มี อานิ สงส ใหญ นั้ น ได แก การเจริ ญอานาปานสติ มี วั ตถุ ๑๖ ดั งที่ กล าว มาแล ว เพราะเป น อานาปานสติ ที่ ทํ า สติ ป ฏ ฐานทั้ ง ๔ ให บ ริ บู ร ณ และทํ า โพชฌงค ๗ ให บ ริ บู ร ณ และทํ า วิ ช ชาและวิ มุ ต ติ ใ ห บ ริ บู ร ณ ใ นที่ สุ ด หรื อ ถ า กล า ว กลั บ กั น ก็ ก ล า วได ว า การเจริ ญ สติ ป ฏ ฐานและการเจริ ญ โพชฌงค ที่ เ ป น ไปอย า ง สํา เร็ จ ประโยชน ถึ งที่ สุ ด นั้น ต อ งตั้ ง รากฐานอยู บ นอานาปานสติ หรื อ ประกอบ ด ว ยอานาปานสติ อ ยู ใ นตั ว สมดั ง พระพุ ท ธภาษิ ต ที่ ค วรอ า งถึ ง เป น ข อ สุ ด ท า ยจาก มหาวาร. สํ. (๑๙ / ๓๙๕ / ๑๓๐๘) อีกครั้งหนึ่งวา :“ภิกษุ ท. ! อานาปานสติ อันบุคคลเจริญแลว ทําใหมากแลว อยางไรเลาจึงมีผลใหญ มีอานิสงสใหญ ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ยอมเจริญสติสัมโพชฌงค สหรคตะ ดวยอานาปานสติ (คือทําพรอมกับอานาปานสติ)…. ; ยอมเจริญธรรมวิจยสัมโพชฌงค สหรคตะดวยอานาปานสติ…. ; ยอมเจริญวิริยสัมโพชฌงค สหรคตะ ดวยอานาปานสติ…. ; ยอมเจริญปติสัมโพชฌงค สหรคตะดวยอานาปานสติ…. ; ยอมเจริญปสสัทธิสัมโพชฌงค สหรคตะดวยอานาปานสติ…. ; ยอมเจริญ สมาธิสัม โพชฌงค สหรคตะดว ยอานาปานสติ…. ; ยอ มเจริญ อุเ บกขา สัมโพชฌงค สหรคตะดวยอานาปานสติ…. ; เปนโพชฌงคที่อาศัยวิเวก เปน โพชฌงคที ่อ าศัย วิร าคะ เปน โพชฌงคที ่อ าศัย นิโ รธ เปน โพชฌงคที่น อ มไป เพื่อโวสสัคคะ. ภิกษุ ท. ! อานาปานสติ อันบุคคลเจริญแลว ทําใหมากแลวอยางนี้แล ยอมมีผลใหญ มีอานิสงสใหญ” ดังนี้.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


ตอน ยี่สิบสี่ ผนวก ๔ - วาดวยบทสวดแปล หลักปฏิบัติ

อานาปานสติปาฐะ (หนฺท มยํ อานาปานสติปาฐํ ภณาม เสฯ) ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, อานาปานสติ อันบุคคลเจริญ ทําใหมากแลว. มหปฺผลา โหติ มหานิสํสา ฯ ยอมมีผลใหญ มีอานิสงสใหญ. อานาปานสติ ภิกฺขเว ภาวิตา พหุลีกตา, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, อานาปานสติ อันบุคคลเจริญ ทําใหมากแลว. จตฺตาโร สติปฏาเน ปริปูเรติฯ ยอมทําสติปฏฐานทั้งสี่ ใหบริบูรณ. จตฺตาโร สติปฏานา ภาวิตา พหุลกี ตา, สติปฏฐานทั้งสี่ อันบุคคลเจริญ ใหมากแลว. สตฺต โพชฺฌงฺเค ปริปูเรนฺติฯ ยอมทําโพชฌงคทั้งเจ็ดใหบริบูรณ. สตฺต โพชฺฌงฺคา ภาวิตา พหุลีกตา, โพชฌงคทั้งเจ็ด อันบุคคลเจริญ ทําใหมากแลว. วิชฺชาวิมุตฺตึ ปริปูเรนฺติฯ ยอมทําวิชชาและวิมุตติใหบริบูรณ. } กถํ ภาวิตา จ ภิกฺขเว อานาปานสติ, กถํ พหุลีกตา, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, ก็อานาปานสติอันบุคคลเจริญ ทําใหมากแลว อยางไรเลา, มหปฺผลา โหติ มหานิสํสา ? จึงมีผลใหญ มีอานิสงสใหญ ? ฺ เว ภาวิตา พหุลีกตา, } อานาปานสติ ภิกข

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

๕๔๒

www.buddhadasa.in.th


บทสวดอานาปานสติปาฐะ แปล

๕๔๓

} อิธ ภิกฺขเว ภิกฺขุ,

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, ภิกษุในธรรมวินัยนี้. อรฺคโต วา, ไปแลวสูปา ก็ตาม, รุกฺขมูลคโต วา, ไปแลวสูโคนตนไม ก็ตาม สุฺาคารคโต วา, ไปแลวสูโคนตนไม ก็ตาม ; นสีหติ ปลลลงฺกํ อาภุชิตฺวา ; นั่งคูขาเขามาโดยรอบแลว ; อุชํ กายํ ปณิธาย, ปริมุขํ สตึ อุปฏเปตฺวา ; ตั้งกายตรง ดํารงสติมั่น ; โส สโต ว อสฺสสติ สโต ปสฺสสติ ; ภิกษุนั้น เปนผูมีสติอยูนั่นเทียว หายใจเขา ; มีสติอยู หายใจออก ; } [๑] ทีฆํ วา อสฺสสนฺโต ทีฆํ อสฺสสามีติ ปชานาติ ; ภิกษุนั้น เมื่อหายใจเขายาว ก็รูสึกตัวทั่วถึง วาเราหายใจเขายาว ดังนี้ ; ทีฆํ วา ปสฺสสนฺโต ทีฆํ ปสฺสสามีติ ปชานาติ ; เมื่อหายใจออกยาว ก็รูสึกตัวทั่วถึง วาเราหายใจออกยาว ดังนี้ ; } [๒] รสฺสํ วา อสฺสสนฺโต รสฺสํ อสฺสสามีติ ปชานาติ ; ภิกษุนั้น เมื่อหายใจเขาสั้น ก็รูสึกตัวทั่วถึง วาเราหายใจเขาสั้น ดังนี้ ; รสฺสํ วา ปสฺสสนฺโต รสฺสํ ปสฺสสามีติ ปชานาติ ; เมือ่ หายใจออกสั้น ก็รูสึกตัวทั่วถึง วาเราหายใจออกสั้น ดังนี้ ;

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org

www.buddhadasa.in.th


๕๔๔

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๔

ฺ ามีติ สิกฺขติ ; } [๓] สพฺพกายปฏิสํเวที อสฺสสิสส ภิกษุนั้น ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งกาย ทั้งปวง จักหายใจเขา ดังนี้ ; สพฺพกายปฏิสํเวที ปสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ ; ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง จัก หายใจออก ดังนี้ ; } [๔] ปสฺสมฺภยํ กายสงฺขารํ อสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ ;

ภิกษุนั้น ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูทํากายสังขารใหรํางับอยู จักหายใจเขา ดังนี้ ; ปสฺสมฺภยํ กายสงฺขารํ ปสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ ; ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูทํากายสังขารใหรํางับอยู จักหายใจ ออก ดังนี้ (จบ จตุกกะที่หนึ่ง)

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org } [๕] ปติปฏิสํเวที อสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ ;

ภิกษุนั้น ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งปติ จักหายใจเขา ดังนี้ ; ปติปฏิสํเวที ปสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ ; ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งปติ จักหายใจ ออก ดังนี้ ;

www.buddhadasa.in.th


บทสวดอานาปานสติปาฐะ แปล

๕๔๕

} [๖] สุขปฏิสํเวที อสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ ;

ภิกษุนั้น ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งสุข จักหายใจเขา ดังนี้ ; สุขปฏิสํเวที ปสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ ; ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งสุข จักหายใจ ออก ดังนี้ ; ฺ สงฺขารปฏิสํเวที อสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ ; } [๗] จิตต ภิกษุนั้น ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งจิตต สังขาร จักหายใจเขา ดังนี้ ; จิตฺตสงฺขารปฏิสํเวที ปสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ ; ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งจิตตสังขาร จัก หายใจออก ดังนี้ ; } [๘] ปสฺสมฺภยํ จิตฺตสงฺขารํ

อสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ ; ภิกษุนั้น ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูทําจิตตสังขารใหรํางับ อยูจักหายใจเขา ดังนี้ ; ปสฺสมฺภยํ จิตฺตสงฺขารํ ปสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ ; ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูทําจิตตสังขารใหรํางับอยู จักหายใจ ออก ดังนี้ ;

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org (จบ จตุกกะที่สอง)

www.buddhadasa.in.th


๕๔๖

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๔

} [๙] จิตฺตปฏิสํเวทึ อสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ ;

ภิกษุนั้น ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งจิต จัก หายใจเขา ดังนี้ ; จิตฺตปฏิสํเวทึ ปสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ ; ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งจิต จักหายใจออก ดังนี้ ; } [๑๐] อภิปฺปโมทยํ จิตฺตํ อสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ ;

ภิกษุนั้น ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูทําจิตใหปราโมทยยิ่งอยู จักหายใจเขา ดังนี้ ; อภิปฺปโมทยํ จิตฺตํ ปสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ ; ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูทําจิตใหปราโมทยยิ่งอยู จักหายใจ ออก ดังนี้ ; } [๑๑] สมาทหํ จิตฺตํ อสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ ;

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org ภิกษุนั้น ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูทําจิตใหตั้งมั่นอยู จัก หายใจเขา ดังนี้ ; สมาทหํ จิตตฺ ํ ปสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ ; ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูทําจิตใหตั้งมั่นอยู จักหายใจออก ดังนี้

} [๑๒] วิโมจยํ จิตฺตํ อสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ ;

ภิกษุ นั้ น ยอมทําในบทศึ กษาว า เราเป นผู ทํา จิต ให ปลอ ยอยู จักหายใจเขา ดังนี้ ;

www.buddhadasa.in.th


บทสวดอานาปานสติปาฐะ แปล

๕๔๗

วิโมจยํ จิตฺตํ อสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ ; ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูทําจิตใหปลอยอยู จักหายใจออก ดังนี้. (จบ จตุกกะที่สาม) } [๑๓] อนิจฺจานุปสฺสี อสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ ;

ภิกษุนั้น ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูตามเห็นซึ่งความไม เที่ยงอยูเปนประจํา จักหายใจเขา ดังนี้ ; อนิจฺจานุปสฺสี ปสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ ; ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูตามเห็นซึ่งความไมเที่ยงอยูเปน ประจํา จักหายใจออก ดังนี้ ; } [๑๔] วิราคานุปสฺสี อสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ ;

ภิกษุนั้น ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูตามเห็นซึ่งความจาง คลายอยูเปนประจํา จักหายใจเขา ดังนี้ ; วิราคานุปสฺสี ปสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ ; ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูตามเห็นซึ่งความจางคลายอยู เปนประจํา จักหายใจออก ดังนี้ ;

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org } [๑๕] นิโรธานุปสฺสี อสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ ;

ภิกษุนั้น ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูตามเห็นซึ่งความดับ ไมเหลืออยูเปนประจํา จักหายใจเขา ดังนี้ ;

www.buddhadasa.in.th


๕๔๘

อานาปานสติภาวนา ตอน ๒๔ นิโรธานุปสฺสี ปสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ ; ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูตามเห็นซึ่งความดับไมเหลืออยู เปนประจํา จักหายใจออก ดังนี้ ;

} [๑๖] ปฏินิสฺสคฺคานุปสฺสี อสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ ;

ภิกษุนั้น ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูตามเห็นซึ่งความ สลัดคืนอยูเปนประจํา จักหายใจเขา ดังนี้ ; ปฏินิสฺสคฺคานุปสฺสี ปสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ ; ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูตามเห็นซึ่งความสลัดคืนอยูเปน ประจํา จักหายใจออก ดังนี้ ; (จบ จตุกกะที่สี่) เอวํ ภาวิตา โข ภิกกขเว อานาปานสติ, เอวํ พหุลีกตา ; ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, อานาปานสติอันบุคคลเจริญแลว ทําใหมาก แลว อยางนี้แล ; มหปฺผลา โหติ มหานิสํสา ; ยอมมีผลใหญ มีอานิสงสใหญ ; อิติ ฯ ดวยประการฉะนี้แล.

www.buddhadasa.in.th www.buddhadasa.org พิมพที่ หจก. การพิมพพระนคร ๖๙ - ๗๑ ถนนบูรณศาสตร (แยกถนนบุญศิริ) กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐ นางอารี จุยทรัพยเปยม ผูพิมพและผูโฆษณา พ.ศ. ๒๕๓๓ โทร. ๒๒๑๒๓๓๗, ๒๒๒๑๖๗๔

www.buddhadasa.in.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.