[Title will be auto-generated]

Page 1

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ กองตํารวจคณะธรรมทาน แปลและรอยกรอง

www.buddhadasa.info ธรรมทานมูลนิธิ จัดพิมพดวยดอกผลทุนพระยาลัดพลีธรรม ประคัลภ เปนหนังสืออันดับที่สาม ในหนังสือชุด “ลัดพลีธรรมประคัลภ อนุสรณ” เปนการพิมพครั้งที่ ๑ ของหนังสือนี้ จํานวน ๑,๕๐๐ ฉบับ

(ลิขสิทธิ์ไมสงวนสําหรับการพิมพแจกเปนธรรมทาน,สงวนเฉพาะการพิมพจําหนาย)

www.buddhadasa.info


คณะธรรมทาน ไชยา จัดพิมพ พิมพครั้งที่หนึ่ง กันยายน ๒๕๒๑

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


การรอยกรองและจัดทําหนังสือเลมนี้

อุทิศ เปนถามพลี แตบรรดาพระอรหันตสาวก ของพระผูมีพระภาคเจา และ เพื่ อ เป น กํา ลั ง ใจและแนวทาง แต เ พื่ อ นสั ต ว ผู ขุ ด ค น ขุ ม ทรั พ ย

www.buddhadasa.info [๓]

www.buddhadasa.info


ใจความสําคัญ เปนการรวบรวมเรื่อง อทัปปจจยตา ในสวนของปฏิจจสมุปบาทมา อยา งครบถว น เพีย งพอที่จ ะศึก ษาเรื่อ ง ปฏิจ จสมุป บาท อยา ง ชัด แจงถึงที่สุด ใหสมกับพระพุทธภาษิตที่วา “ผูใดเห็นปฏิจจสมุป บาทผูนั้นเห็นธรรม, ผูใดเห็นธรรม ผูนั้นเห็นตถาคต” ดังที่ปรากฏ อยูใ นหนั ง สื อ เล ม นี้ แ ล ว . นั บ เป น การเห็ น พระพุ ท ธองค ใ นภาษา ธรรมซึ่งเกื้อกูลแกการบรรลุมรรคผลนิพพาน เปนอยางยิ่ง. -ผูรวบรวม

www.buddhadasa.info มีปทานุกรมคําสําคัญ, ลําดับหมวดธรรม อยูทายเลม.

[๔]

www.buddhadasa.info


ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ

www.buddhadasa.info

[๕]

www.buddhadasa.info


www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


อักษรยอ (เพื่อความสะดวกแกผูที่ยังไมเขาใจเรื่องอักษรยอที่ใชหมายแทนชื่อคัมภีร ซึ่งมีอยูโดยมาก)

มหาวิ.วิ.มหาวิภังค วินัยปฏก ภิกฺขุนี.วิ. ภิกขุนีวิภังฺค ” มหา.วิ.มหาวัคค ” จุลฺล.วิ จุลลวัคค ” ปริวาร. วิ. ปริวารวัคค ” สี. ที. สีลขันธวัคค ทีฑนิกาย มหา. ที. มหาวัคค ” ปา. ที. ปาฏิกวัคค ” มู. ม.มูลปณณาสก มัชฌิมนิกาย ม.ม. มูลปณณาสก ” อุปริ.ม. อุปริปณณาสก ” สคา. สํ. สคาถวัคค สังยุตตนิกาย นิทาน.สํ. นิทานวัคค ” ขนฺธ. สํ. ขันธวารวัคค ” สฬา. สํ สฬายตนวัคค ” มหาร.สํ. มหาวารวัคค ” เอก. อํ. เอกนิบาต อังคุตตรนิกาย ทุก.อํ. ทุกนิบาต ” ติก. อํ. ติกนิบาต ” จตุกฺก. อํ. จตุกกนิบาต ” ปฺจก.อํ. ปญจกนิบาติ ” ฉกฺก. อํ. ฉักกนิบาต ”

สตฺตก.อํ. สัตตกนิบาต อังคุตตรนิกาย อฏก. อํ. อัฏฐกนิบาต ” นวก.อํ. นวกนิบาต ” ทสก.อํ. ทสกนิบาต ” เอกาทสก.อํ. เอกาสกนิบาต ” ขุ. ขุ. ขุททกปาฐะ ขุททกนิกาย ธ. ขุ. ธัมมบท ” อุ. ขุ. อุทาน ” อิติวุ.ขุ. อิติวุตตกะ ” สุ. ขุ. สุตตนิบาต ” วิมาน.ขุ วิมานวัตถุ ” เปต.ขุ. เปตวัตถุ ” เถร. ขุ. เถรคาถา ” เถรี. ขุ. เถรีคาถา ” ชา. ขุ. ชาดก ” มหานิ. ขุ. เถรีคาถา ” จูฬนิ.ขุ. จูฬนิทเทส ” ปฏิสมฺ. ขุ. ปฏิสัมภิทามัคค ” อปท. ขุ. อปทาน ” พุทฺธว. ขุ. พุทธวงส ” จริยา. ขุ. จริยาปฎิก ”

www.buddhadasa.info

ตัวอยางคํายอ : ๑๔/๑๗๑/๒๔๕ ใหอานวา ไตรปฎก เลมที่ ๑๔ หนา ๑๗๑ บรรพที่ ๒๔๕ ไตรปฎก = ไตรปฎกฉบับบาลีสยามรัฐ ฉบับอนุสรณรัชกาลที่ ๗ ชุดพิมพครั้งแรก ท. = ทั้งหลาย ปฏิจจฯ = ปฏิจจสมุปบาท พุ. โอ. = พุทธประวัติจากพระโอษฐ

[๖]

www.buddhadasa.info


คําปรารภ เนื่องในการจัดพิมพหนังสือชุดธรรมโฆษณ เรื่องปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ. ----------------------หนั ง สื อ เล ม นี้ จั ด พิ ม พ ขึ้ น ด ว ยเงิ น ดอกผลของทุ น “’ลั ด พลี ธ รรมประคั ล ภ ’ และเงิ น ที่ ได รั บคื นมาจากการจํ าหน ายหนั งสื อชุ ดจากพระโอษฐ ต าง ๆ ที่ จั ดจํ าหน ายในรู ปเอากุ ศลเป นกํ าไร เพื่ อนํ ามาจั ดพิ มพ หนั งสื อชุ ดนั้ นสื บต อไป ตามระเบี ยบที่ วางไว เพื่ อการนี้ , เป นการสร างหนั งสื อ ชนิ ดนี้ ขึ้ นไว ในพระพุ ทธศาสนา ตามที่ เห็ นว ายั งขาดอยู , หวั งว าจะเป นที่ พอใจ และได รั บการ อนุโมทนา จากทานทั้งหลายโดยทั่วกัน. หนั ง สื อ เล ม นี้ จั ด เข า ในชุ ด พระไตรป ฏ กแปลไทย เลขประจํ า เล ม อั น ดั บ ๔ เป น ลํ าดั บที่ ๒๙ แห งการพิ มพ ออกในชุ ดออกโฆษณ . เนื่ องจากมี ความหนา ๒ เท าของหนั งสื อเล มอื่ น ๆ ราคาที่จําหนายของสวนที่ตองสวนที่ตองจําหนายจึงเปน ๒ เทาของราคาหนังสือเลมอื่นในชุดเดียวกัน. หนั ง สื อ เล ม นี้ จะช ว ยให คํ า บรรยายชุ ด โอสาเรตั พ พธรรม เรื่ อ ง “หลั ก ปฏิ บั ติ เพื่ อ การ ดั บทุ กข โดยอย าให กระแสแห งปฏิ จจสมุ ปบาทเกิ ดขึ้ นได ” ซึ่ งบรรยายเมื่ อ ๑๒ มิ ถุ นายน ๒๕๑๔ มี ประโยชน ถึ งที่ สุ ด. ขอให ผู ศึ กษา นํ าไปศึ กษาประกอบกั บคํ าบรรยายเรื่ องนั้ น. อี กทางหนึ่ งจะช วย ให สํ า เร็ จ ประโยชน โ ดยสมบู ร ณ ในการที่ จ ะศึ ก ษาและปฏิ บั ติ ต ามพระพุ ท ธภาษิ ต ที่ ว า “ผู ใ ดเห็ น ธรรม ผู นั้ น เห็ น ตถาคต, ผู ใ ดเห็ น ตถาคต ผู นั้ น เห็ น ธรรม; ผู ใ ดเห็ น ธรรม ผู นั้ น เห็ น ปฏิ จจสมุ ป บาท , ผู ใดเห็ น ปฏิ จจสมุ ป บาท ผู นั้ น เห็ น ธรรม” ดั งนั้ น . โดยที่ แท แล ว เรื่ อง ปฏิ จจสมุ ปบาท ก็ คื อเรื่ องการเกิ ดและการดั บแห งความทุ กข เป นเรื่ องตั วแท ของพุ ทธศาสนา โดยตรง ซึ่งผูศึกษาจะทราบไดเองจากขอความหลายๆตอน แหงหนังสือเลมนี้. หนั ง สื อ เล ม นี้ พิ ม พ ขึ้ น ด ว ยทุ น “ลั ด พลี ธ รรมประคั ล ภ ” ดั ง ที่ ก ล า วแล ว ว า ข า งตั น , คณะผู จั ดทํ าและจั ดพิ มพ ขออุ ทิ ศส วนกุ ศลแก พระยาลั ดพลี ธรรมประคั ลภ ผู ล วงลั บไปแล วเป น พิเศษ ซึ่งผูที่ไดรับประโยชนจากหนังสือเลมนี้ คงจะรูสึกอนุโมทนา โดยทั่วกัน.

www.buddhadasa.info ธรรมทานมูลนิธิ เขาพรรษา ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๒๑

[๗]

www.buddhadasa.info


แถลงการณคณะผูจัดทํา หนั ง สื อ เล ม นี้ มี ข นาดใหญ มากพอที่ จ ะสะดุ ด ความรู สึ ก ของผู ที่ ไ ด เห็ น บ า ง ไม ม าก ก็ น อย และทํ าให คิ ดว า เรื่ องเกี่ ยวกั บปฏิ จจสมุ ปบาทนี้ ทํ าไมจึ งมากถึ งอย างนี้ , และนี้ จั ดทํ าขึ้ นมา ดวยความประสงคอยางไรกัน. คณะผูจัดทํา ขอแถลงใหทราบดังตอไปนี้:ผู ที่ ไดอ า นหนั งสื อ เล ม นี้ ตลอดแลว จะเห็นได ทันทีว า ทั้ งหมดนี้ เป นเรื่ อ งเกี่ ย วกั บ ความทุ กข และความดั บทุ กข ไปทั้ งนั้ น และเนื่ องกั บพระพุ ทธภาษิ ตที่ ตรั สว า “ภิ กษุ ท.! ก อนแต นี้ ก็ ดี บั ดนี้ ก็ ดี ตถาคตบั ญ ญั ติ (เพื่ อการสอน) เฉพาะเรื่ องความทุ กข กั บความดั บแห งทุ กข เท านั้ น” ดั งนี้ ; ดั งนั้ นจึ งเป นอั นว า เป นเรื่ องที่ พ ระองค ทรงพระประสงค ที่ จะสั่ งสอนนั่ นเอง. ข อที่ พ ระองค ตรั ส ว า ธรรมที่ ต รั ส รู เท ากั บ ใบไม ทั้ งป า แต ที่ นํ ามาสอนนั้ น เท ากั บ ใบไม กํ า มื อ เดี ย วนั้ น โดย พฤติ นั ย แล ว เรื่ อ งปฏิจจสมุ ป บาท ทั้ งหมดนี้ ก็ คื อ ใบไม กํ า มื อ เดี ย ว ดั งที่ ก ล า วนั้ น ; เรี ย กอี ก อยางหนึ่งก็คือ “อริยสัจโดยสมบูรณ”. อี กประการหนึ่ ง พึ งทราบว า เรื่ องอั นเกี่ ยวกั บปฏิ จจสมุ ปบาทเหล านี้ เป นเรื่ องที่ ถู ก ทอดทิ้ ง จมอยู ในพระไตรป ฏก ไม มี ใครค อยหยิ บยกเอามาบอกกล าวสั่ งสอน รู สึ กเป นที่ น าสลดใจ, เนื่ องจากเป น เรื่ อ งที่ เข าใจยาก, แปลยาก แปลออกมาแล วก็ ยั งเอาใจความไม ค อยจะได น าเบื่ อ แก การศึกษาในรู ป แบบธรรมดา จึ งถู กละเลยมองข ามไปตลอดเวลา ทํ าให จมนิ่ งอยู ในพระไตรป ฏ กส ว นที่ ไม ค อ ยมี ใครสนใจ, ทั้ งที่ เป น หั ว ใจของพุ ท ธศาสนา ที่ ท รงประสงค ให ส นใจศึ ก ษา ในฐานะเปน จุดตั้งตนของพรหมจรรย ดังที่ปรากฏอยูที่หนา๒๓๙ แหงหนังสือเลมนี้แลว. การทํ าหนั งสื อเล มนี้ เปนงานหนั กเกิ นไปสํ าหรั บข าพเจ าผู อยู ในวั ยชรา ที่ จะทํ าตาม ลํ าพั งผู เดี ยวได แต ก็ ทํ าสํ าเร็ จไปด วยความช วยเหลื อร วมมื อของเพื่ อนสพรหมจารี ผู อยู ในวั ยหนุ ม ช วยเปดสํ ารวจหน าพระไตรป ฏกอย างทั่ วถึ ง เพื่ อรวบรวมเอาข อความที่ เกี่ ยวกั บกั บเรื่ องนี้ มา ให ข าพเจ าคั ดเลื อก ร อยกรองและปรั บปรุ งสํ านวนคํ าแปล เพื่ อให สํ าเร็ จประโยชน ดั งที่ เห็ นอยู ในรู ป แห ง หนั ง สื อ เล ม นี้ .ท า นผู ไ ด รั บ ประโยชน จ ากหนั ง สื อ นี้ จงได อ นุ โ มทนาและขอบคุ ณ ภิ ก ษุ ผู เหน็ ด เหนื่ อ ยเหล านั้ น โดยเฉพาะ ธมฺ ม วิ จิ ตฺ โต ภิ กฺ ขุ ซึ่ งได ช วยเหลื อ มาตั้ งแต ต น จนกระทั่ ง การทําสารบัญ และปทานุกรม ทายเลม ดวยเพื่อรวมงานอีกบางคน ในหนาที่ดีพิมพตนฉบับ. ข าพเจ ามี ประณิธานอยู ว า ขอให คํ าว า “อิ ทั ปป จจยตา” และ “ปฏิ จจสมุ ปบาท” ได กลาย มาเป นคํ าที่ ติ ดอยู ที่ ริ มฝ ปากของพุ ทธบริ ษั ท ในการพู ดประจํ าวั น สมกั บที่ เรื่ องนี้ เป นทั้ งเนื้ อตั วและ หั ว ใจของพุ ท ธศาสนา หรื อ เป น องค ส มเด็ จ พระศาสนา ที่ จ ะยั ง ประทั บ อยู กั บ พุ ท ธบริ ษัท ทั้งหลาย หลังจากที่ทรงลวงลับไปแลวโดยพระวรกาย, ตลอดกาลนาน. อ.ป. ในนามกองตําราแหงคณะธรรมทาน โมกขพลาราม, ไชยา

www.buddhadasa.info

๒๔ สิงหาคม ๒๕๒๑

[๘]

www.buddhadasa.info


บทนํา วาดวย เรื่องที่ควรทราบ กอน เกี่ยวกับปฏิจจสมุปบาท

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


กฏอิทัปปจจยตา : หัวใจปฏิจจสมุปบาท. อิมสฺมึ สติ อิทํ โหติ เมื่อสิ่งนี้ มี สิ่งนี้ ยอมมี อิมสฺสุปฺปาทา อิทํ อุปฺปชฺชติ เพราะความเกิดขึ้นแหงสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น. อิมสฺมึ อสติ อิทํ น โหติ เมื่อสิ่งนี้ ไมมี สิ่งนี้ ยอมไมมี อิมสฺส นิโรธา อิทํ นิรุชฺฌติ เพราะความดับไปแหงสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงดับไป. (ม.ม. ๑๓/๓๕๕/๓๗๑, นิทาน. สํ. ๑๖/๘๔/๑๕๔,....)

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ลําดับเรื่องเฉพาะหมวด สําหรับปฏิจจสมุปบาทจากกพระโอษฐ บทนํา วาดวย เรื่องที่ควรทราบกอนเกี่ยวกับปฏิจจสมุปบาท (มี ๘ เรื่อง)

มีเรื่อง : สังคีติกาจารยเลาเรื่องการทรงพิจารณาปฏิจจสมุปบาทหลังการตรัสรู ---สิ ่ง ที ่เ รีย กวา ปฏิจ จสมุป บาท—เห็น ปฏิจ จสมุป บาทคือ เห็น พระพุท ธองค-- ปฏิจ จสมุป บาทคือ อริย ญายธรรม--คนเราจิต ยุง เพราะไมรูป ฏิจ จสมุป บาท--ปฏิจ จสมุป บาท เปน ชื่อ แหง ทางสายกลาง—ทรงแนะนํา อยา งยิ่ง ใหศึก ษาเรื่อ ง ปฏิจ จสมุป บาท--คนเรา ไมปรินิพพานในทิฏฐธรรมเพราะไมสามารถตัดกระแสแหงปฏิจจสมุปบาท.

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ บทนํา วาดวย เรื่องที่ควรทราบกอนเกี่ยวกับปฏิจจสมุปบาท สังคีติกาจารยเลาเรื่อง การทรงพิจารณาปฏิจจสมุปบาท หลังการตรัสรู๑ ส มั ย นั้ น พ ร ะ พุ ท ธ เจ า ผู มี พ ร ะ ภ า ค ต รั ส รู แ ล ว ใ ห ม ๆ ยั ง ป ร ะ ทั บ อ ยู ที่ โค น แ ห ง ไ ม โพ ธิ์ ใ ก ล ฝ ง แ ม น้ํ า เน รั ญ ช ร า ใ น เข ต ตํ า บ ล อุ รุ เว ล า . ค รั้ ง นั้ น พ ร ะ ผู มี พ ร ะ ภ า ค เจ า ป ร ะ ทั บ นั่ ง ด ว ย บั ล ลั ง ค อั น เดี ย ว ต ล อ ด เจ็ ด วั น ที่ โ ค น แ ห ง ไ ม โ พ ธิ์ เสวยวิมุตติสุข.

www.buddhadasa.info ลํ า ดั บ นั้ น พ ระ ผู มี พ ระ ภ า ค เจ า ท รงก ระ ทํ า ม น สิ ก า รซึ่ งป ฏิ จ จ ส มุ ป บ า ท โดยอนุโลมและปฏิโลม ตลอดปฐมยามแหงราตรี ดังนี้ วา:-

มหา.วิ.๔/๑/๑; ยังมีที่มาในที่อื่นอีก เชนในโพธิสูตรที่ ๑,๒,๓, แหงโพธิวรรค อุ.ขุ. ๒๕/๗๓/๓๘.

www.buddhadasa.info


ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – บทนํา

“เพราะมีอวิชชา เปนปจจัย จึงมี สังขารทั้งหลาย; เพราะมีสังขาร เปนปจจัย จึงมี วิญญาณ; เพราะมีวิญญาณ เปนปจจัย จึงมี นามรูป; เพราะมีนามรูป เปนปจจัย จึงมี สฬายตนะ; เพราะมีสฬายตนะ เปนปจจัย จึงมี ผัสสะ; เพราะมีผัสสะ เปนปจจัย จึงมี เวทนา; เพราะมีเวทนา เปนปจจัย จึงมี ตัณหา; เพราะมีตัณหา เปนปจจัย จึงมี อุปาทาน; เพราะมีอุปาทาน เปนปจจัย จึงมี ภพ; เพราะมีภพ เปนปจจัย จึงมี ชาติ; เพ ราะ มี ช าติ เป น ป จ จั ย , ช ราม รณ ะ โส ก ะ ป ริ เ ท วะ ทุ ก ข ะ โท ม นั ส อุ ป าย าส ทั้ งห ล าย จึ งเกิ ด ขึ้ น ค รบ ถ วน : ค วาม เกิ ด ขึ้ น พ ร อ ม แ ห งก อ งทุ ก ข ทั้ งสิ้ น นี้ ย อ ม มี ดวยอาการอยางนี้.

เพราะความจางคลายดับไปโดยไมเหลือ แหงอวิชชานั้นนั่นเทียว,จึงมีความ ดับแหงสังขาร; เพราะมีความดับ แหงสังขาร จึงมีความดับ แหงวิญญาณ; เพราะมีความดับ แหงวิญญาณ จึงมีความดับ แหงนามรูป; เพราะมีความดับ แหงนามรูป จึงมีความดับ แหงสฬายตนะ; เพราะมีความดับ แหงสฬายตนะ จึงมีความดับ แหงผัสสะ; เพราะมีความดับ แหงผัสสะ จึงมีความดับ แหงเวทนา; เพราะมีความดับ แหงเวทนา จึงมีความดับ แหงตัณหา;

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


วาดวยเรื่องที่ควรทราบกอนกของปฏิจจ ฯ

เพราะมีความดับ แหงตัณหา จึงมีความดับ แหงอุปาทาน; เพราะมีความดับ แหงอุปาทาน จึงมีความดับ แหงภพ; เพราะมีความดับ แหงภพ จึงมีความดับ แหงชาติ; เพราะมี ค วามดั บ แห งชาติ นั่ น แล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขุ โทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้”, ดังนี้. ลํ าดั บ นั้ น ครั้น พระผู มี พ ระภาคเจา ทรงมี ค วามรูสึ ก อย างนี้ แล ว ไดทรงเปลงอุทานนี้ขึ้น ในขณะนั้น วา :“เมื่อใดเวย ธรรมทั้งหลาย เปนของแจมแจง แกพราหมณ ผูมีความเพียร เพงพินิจอยู; เมื่อนั้น ความสงสัยทั้งปวงของพราหมณนั้น ยอมหายไป เพราะพราหมณนั้น รูทั่วถึงธรรม พรอมทั้งเหตุ”, ดังนี้. ลําดับนั้น พระผูมีพระภาคเจา ทรงกระทํามนสิการซึ่งปฏิจจสมุปบาท โดยอนุโลมและปฏิโลม ตลอดมัชฌิมยามแหงราตรี ดังนี้ วา :-

www.buddhadasa.info “เพราะมีอวิชชา เปนปจจัย เพราะมีสังขาร เปนปจจัย เพราะมีวิญญาณ เปนปจจัย เพราะมีนามรูป เปนปจจัย เพราะมีสฬายตนะ เปนปจจัย

จึงมี สังขารทั้งหลาย; จึงมี วิญญาณ; จึงมี นามรูป; จึงมี สฬายตนะ; จึงมี ผัสสะ;

www.buddhadasa.info


ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – บทนํา

เพราะมีผัสสะ เปนปจจัย จึงมี เวทนา; เพราะมีเวทนา เปนปจจัย จึงมี ตัณหา; เพราะมีตัณหา เปนปจจัย จึงมี อุปาทาน; เพราะมีอุปาทาน เปนปจจัย จึงมี ภพ; เพราะมีภพ เปนปจจัย จึงมี ชาติ; เพราะมีชาติ เปนปจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถวน : ความเกิดขึ้นพรอมแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมีดวยอาการอยางนี้. เพราะความจางคลายดับไปไมเหลือ แหงอวิชชานั้นนั่นเทียว, จึงมี ความดับแหงสังขาร; เพราะมีความดับ แหงสังขาร จึงมีความดับ แหงวิญญาณ ; เพราะมีความดับ แหงวิญญาณ จึงมีความดับ แหงนามรูป; เพราะมีความดับ แหงนามรูป จึงมีความดับ แหงสฬายตนะ; เพราะมีความดับ แหงสฬายตนะ จึงมีความดับ แหงผัสสะ; เพราะมีความดับ แหงผัสสะ จึงมีความดับ แหงเวทนา; เพราะมีความดับ แหงเวทนา จึงมีความดับ แหงตัณหา; เพราะมีความดับ แหงตัณหา จึงมีความดับ แหงอุปาทาน; เพราะมีความดับ แหงอุปาทาน จึงมีความดับ แหงภพ; เพราะมีความดับ แหงภพ จึงมีความดับ แหงชาติ; เพราะมีค วามดับ แห งชาตินั่น แล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้” , ดังนี้.

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


วาดวยเรื่องที่ควรทราบกอนกของปฏิจจ ฯ

ลํ าดั บนั้ น ครั้ นพระผู มี พระภาคเจ า ทรงมี ความรู สึ กอย างนี้ แล ว ได ทรง เปลงอุทานนี้ขึ้น ในขณะนั้น วา :“เมื่อใดเวย ธรรมทั้งหลาย เปนของแจมแจง แกพราหมณ ผูมีความเพียร เพงพินิจอยู; เมื่อนั้น ความสงสัยทั้งปวงของพราหมณนั้น ยอมหายไป เพราะพราหมณนั้น ไดรับแลวซึ่งความสิ้นไปแหงปจจยธรรม ท.”, ดังนี้. ลํ าดั บ นั้ น พระผู มี พ ระภาคเจ า ทรงกระทํ ามนสิ ก ารซึ่ งปฏิ จ จสมุ ป บาท โดยอนุโลมและปฏิโลม ตลอดปจฉิมยามแหงราตรี ดังนี้ วา :“เพราะมีอวิชชา เปนปจจัย จึงมี สังขารทั้งหลาย; เพราะมีสังขาร เปนปจจัย จึงมี วิญญาณ; เพราะมีวิญญาณ เปนปจจัย จึงมี นามรูป; เพราะมีนามรูป เปนปจจัย จึงมี สฬายตนะ; เพราะมีสฬายตนะ เปนปจจัย จึงมี ผัสสะ; เพราะมีผัสสะ เปนปจจัย จึงมี เวทนา; เพราะมีเวทนา เปนปจจัย จึงมี ตัณหา; เพราะมีตัณหา เปนปจจัย จึงมี อุปาทาน; เพราะมีอุปาทาน เปนปจจัย จึงมี ภพ; เพราะมีภพ เปนปจจัย จึงมี ชาติ; เพราะมีชาติ เปน ปจ จัย ชรามรณ ะ โสกะปริเ ทวะทุก ขะโทมนัส อุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งเกิ ดขึ้ นครบถ วน : ความเกิ ดขึ้ นพร อมแห งกองทุ กข ทั้ งสิ้ นนี้ ย อมมี ดวยอาการอยางนี้.

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๑๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – บทนํา

เพ รา ะ ค ว า ม จ า ง ค ล า ย ด ับ ไป ไมเ ห ลือ แ หง อ วิช ช า นั ้น นั ่น เทีย ว , จึงมีความดับแหงสังขาร; เพราะมีความดับ แหงสังขาร จึงมีความดับ แหงวิญญาณ; เพราะมีความดับ แหงวิญญาณ จึงมีความดับ แหงนามรูป; เพราะมีความดับ แหงนามรูป จึงมีความดับ แหงสฬายตนะ; เพราะมีความดับ แหงสฬายตนะ จึงมีความดับ แหงผัสสะ; เพราะมีความดับ แหงผัสสะ จึงมีความดับ แหงเวทนา; เพราะมีความดับ แหงเวทนา จึงมีความดับ แหงตัณหา; เพราะมีความดับ แหงตัณหา จึงมีความดับ แหงอุปาทาน; เพราะมีความดับ แหงอุปาทาน จึงมีความดับ แหงภพ; เพราะมีความดับ แหงภพ จึงมีความดับ แหงชาติ; เพ ราะมี ความ ดั บ แห ง ชาติ นั่ น แล ชราม รณ ะ โสกะป ริ เ ทวะทุ ก ขะโทมนั ส อุ ป ายาสทั้ ง หลาย จึ ง ดั บ สิ้ น : ความดั บ ลงแห ง กองทุ ก ข ทั้ ง สิ้ น นี้ ย อ มมี ดวยอาการอยางนี้”, ดังนี้.

www.buddhadasa.info ลํ าดั บ นั้ น ครั้ น พระผู มี พ ระภาคเจ า ทรงมี ค วามรู สึ ก อย างนี้ แ ล ว ได ท รง เปลงอุทานนี้ขึ้น ในขณะนั้น วา :“เมื่อใดเวย ธรรมทั้งหลาย เปนของแจมแจง แกพราหมณ ผูมีความเพียร เพงพินิจอยู; เมื่อนั้นพราหมณนั้นยอมแผดเผามารและเสนาใหสิ้นไปอยู เหมือนพระอาทิตย (ขจัดมืด) ยังอากาศใหสวางอยู ฉะนั้น”, ดังนี้.

www.buddhadasa.info


๑๑

วาดวยเรื่องที่ควรทราบกอนกของปฏิจจ ฯ

สิ่งที่เรียกวา ปฏิจจสมุปบาท๑ ครั้งหนึ่ง ที่พระเชตวัน พระผูมีพระภาคเจา ตรัสเรียกภิกษุทั้งหลาย ใหตั้งใจฟงแลว ไดตรัสขอความเหลานี้วา :-

“ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เราจักแสดง ปฏิจจสมุปบาท แกพวกเธอทั้งหลาย, พวกเธอทั้งหลายจงฟง ปฏิจจสมุปบาท นั้น, จงทําในใจใหสําเร็จประโยชน, เราจักกลาว บัดนี้”. ครั้นภิกษุทั้งหลายเหลานั้น ทูลสนองรับพระพุทธดํารัสแลว, พระผูมีพระภาคเจา ไดตรัส ถอยคําเหลานี้วา :-

“ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! อะไรเลา ที่เรียกวา ปฏิจจสมุปบาท? ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! : เพราะมีอวิชชา เพราะมีสังขาร เพราะมีวิญญาณ เพราะมีนามรูป เพราะมีสฬายตนะ เพราะมีผัสสะ เพราะมีเวทนา เพราะมีตัณหา เพราะมีอุปาทาน เพราะมีภพ

เปนปจจัย เปนปจจัย เปนปจจัย เปนปจจัย เปนปจจัย เปนปจจัย เปนปจจัย เปนปจจัย เปนปจจัย เปนปจจัย

จึงมี สังขารทั้งหลาย. จึงมี วิญญาณ; จึงมี นามรูป; จึงมี สฬายตนะ; จึงมี ผัสสะ; จึงมี เวทนา; จึงมี ตัณหา; จึงมี อุปาทาน; จึงมี ภพ; จึงมี ชาติ;

www.buddhadasa.info

สูตรที่ ๑ พุทธวรรค นิทานสังยุตต นิทาน. สํ.๑๖/๑/๑, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๑๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – บทนํา

เพราะมีช าติ เปน ปจ จัย , ชรามรณ ะ โสกะปริเ วทะทุก ขะโทมนัส อุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งเกิ ดขึ้ นครบถ วน : ความเกิ ดขึ้ นพร อมแห งกองทุ กข ทั้ งสิ้ นนี้ ย อมมี ดวยอาการอยางนี้. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! นี้เรียกวา ปฏิจจสมุปบาท. เพราะความจางคลายดับไปโดยไมเหลือ แหงอวิชชานั้นนั่นเทียว, จึงมีความดับแหงสังขาร; เพราะมีความดับ แหงสังขาร จึงมีความดับ แหงวิญญาณ; เพราะมีความดับ แหงวิญญาณ จึงมีความดับ แหงนามรูป; เพราะมีความดับ แหงนามรูป จึงมีความดับ แหงสฬายตนะ; เพราะมีความดับ แหงสฬายตนะ จึงมีความดับ แหงผัสสะ; เพราะมีความดับ แหงผัสสะ จึงมีความดับ แหงเวทนา; เพราะมีความดับ แหงเวทนา จึงมีความดับ แหงตัณหา; เพราะมีความดับ แหงตัณหา จึงมีความดับ แหงอุปาทาน; เพราะมีความดับ แหงอุปาทาน จึงมีความดับ แหงภพ; เพราะมีความดับ แหงภพ จึงมีความดับ แหงชาติ; เพราะมี ค วามดั บ แห งชาติ นั่ น แล ชรามรณะ โสกะปริ เทวะทุ กขะโทมนั ส อุ ป ายาสทั้ ง หลาย จึ ง ดั บ สิ้ น : ความดั บ ลงแห ง กองทุ ก ข ทั้ ง สิ้ น นี้ ย อ มมี ด ว ยอาการ อยางนี้”, ดังนี้.

www.buddhadasa.info เห็นปฏิจจสมุปบาท คือเห็นพระพุทธองค๑

พระสารีบุตรไดกลาวแกภิกษุทั้งหลายวา :“ก็ แ ล คํ า นี้ เป น คํ า ที่ พ ระผู มี พ ระภาคเจ า ได ต รั ส ไว แ ล ว อย า งนี้ ว า ‘ผู ใ ด เห็นปฏิจจสมุปบาท, ผูนั้นชื่อวาเห็นธรรม; ผูใดเห็นธรรม, ผูนั้นชื่อวาเห็น

มหาหัตถิปโทปมสูตร มู.ม.๑๒/๓๕๙, ๓๖๐/๓๔๖.

www.buddhadasa.info


วาดวยเรื่องที่ควรทราบกอนกของปฏิจจ ฯ

๑๓

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


วาดวยเรื่องที่ควรทราบกอนกของปฏิจจ ฯ

๑๓

ป ฏิ จ จ ส มุ ป บ า ท ’. (โย ป ฏิ จฺ จ ส มุ ปฺ ป า ทํ ป สฺ ส ติ , โส ธ มฺ มํ ป สฺ ส ติ ; โย ธ มฺ มํ ป สฺ ส ติ , โส ปฏิจฺจสมุปฺปาทํ ปสฺสติ)……”..๑

อย า เลย วั ก กลิ ! ประโยชน อ ะไร ด ว ยการเห็ น กายเน า นี้ . ดู ก อ นวั ก กลิ ! ผู ใ ดเห็ น ธรรม, ผู นั้ น เห็ น เรา; ผู ใ ดเห็ น เรา, ผู นั้ น เห็ น ธรรม. ดู ก อ นวั ก กลิ ! เพราะ วา เมื่อเห็นธรรมอยู ก็คือเห็นเรา; เมื่อเห็นเราอยู ก็คือเห็นธรรม...…๒ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! แม ภิ กษุ จั บชายสั งฆาฏิ เดิ นตามรอยเท าเราไปข างหลั งๆ, แต ถ าเธอนั้ นมากไปด วยอภิ ชฌา มี กามราคะกล า มี จิ ตพยาบาทประทุ ษราย มี สติ หลงลื ม ไม มี สั ม ปชั ญ ญะ มี จิ ต ไม เป น สมาธิ แกว ง ไปแกว งมา ไม สํ า รวมอิ น ทรี ย แล ว ไซร ; ภิ ก ษุ นั้ น ชื่ อ ว า อยู ไกลจากเรา แม เราก็ อ ยู ไกลจากภิ ก ษุ นั้ น โดยแท . เพราะเหตุ ไ ร เล า ? ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! เพราะว า ภิ ก ษุ นั้ น ไม เห็ น ธรรม : เมื่ อ ไม เห็ น ธรรมก็ ชื ่อ วา ไมเ ห็น เรา (ธมฺม ํ หิ โส ภิก ฺข เว ภิก ฺข ุ น ปสฺส ติ : ธมฺม ํ อปสฺส นฺโ ต มํ น ปสฺส ติ)...[แล ว ได ต รั ส ไว โดยนั ย ตรงกั น ข า มจากภิ ก ษุ นี้ คื อ ตรั ส เป น ปฏิ ป ก ขนั ย โดยนั ย ว า แม จ ะอยู ห า งกั น รอ ยโยชน ถา มีธ รรม เห็น ธรรม ก็ชื ่อ วา เห็น พระองค (ธมฺม ํ หิ โส ภิกฺข เว ภิกฺข ุ ปสฺส ติ: ธมฺมํ ปสฺสนฺโต มํ ปสฺสติ)].๓

ปฏิจจสมุปบาท คืออริยญายธรรม www.buddhadasa.info (สิ่งที่ควรรูอันประเสริฐ) ๔

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ อริ ยญายธรรม เป นสิ่ งที่ อริ ยสาวกเห็ นแล วด วยดี แทงตลอดแลวดวยดี ดวยปญญา เปนอยางไรเลา?

มหาหัตถิปโทปมสูตร มู.ม.๑๒/๓๕๙, ๓๖๐/๓๔๖, พระสารีบุตรกลาวแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน. ๒ วักกลิสูตร เถรวรรค มัชฌิมปณณาสก ขนฺธ. สํ.๑๗/๑๔๖-๗/๒๑๖, ตรัสแกพระวักกลิ ที่กุมภการนิเวสน. ๓ สูตรที่ ๓ ปญจมวรรค ติกนิบาต อิติวุ.ขุ.๒๕/๓๐๐/๒๗๒. ๔ สูตรที่ ๒ คหปติวรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน.สํ.๑๖/๘๕/๑๕๙, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน; สุตรที่ ๑ คหปติวรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน.สํ.๑๖/๘๔/๑๕๔, สูตรที่ ๒ อุปาสกวรรค ทสก.อํ.๒๔/ ๑๙๗/๙๒; ตรัส แกอนาถปณฑิกคหบดี ที่เชตวัน. ๑

www.buddhadasa.info


๑๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – บทนํา

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! อริยสาวกในกรณีนี้ ยอมกระทําไวในใจโดยแยบคาย ๑ เป นอย างดี ซึ่ งปฏิ จจสมุ ปบาทนั่ นเที ยว ดั งนี้ วา “ด วยอาการอยางนี้ : เมื่ อสิ่ งนี้ มี , สิ ่ง นี ้ย อ มมี; เพราะความเกิด ขึ ้น ของสิ ่ง นี ้, สิ ่ง นี ้จ ึง เกิด ขึ ้น . เมื ่อ สิ ่ง นี ้ไ มม ี, สิ่งนี้ยอมไมมี; เพราะความดับไปของสิ่งนี้, สิ่งนี้จึงดับไป, สิ่งนี้จึงดับไป : ขอนี้ไดแกสิ่ง เหลานี้คือ :เพราะมีอวิชชา เปนปจจัย จึงมี สังขารทั้งหลาย; เพราะมีสังขาร เปนปจจัย จึงมี วิญญาณ; เพราะมีวิญญาณ เปนปจจัย จึงมี นามรูป; เพราะมีนามรูป เปนปจจัย จึงมี สฬายตนะ; เพราะมีสฬายตนะ เปนปจจัย จึงมี ผัสสะ; เพราะมีผัสสะ เปนปจจัย จึงมี เวทนา; เพราะมีเวทนา เปนปจจัย จึงมี ตัณหา; เพราะมีตัณหา เปนปจจัย จึงมี อุปาทาน; เพราะมีอุปาทาน เปนปจจัย จึงมี ภพ; เพราะมีภพ เปนปจจัย จึงมี ชาติ; เพราะมีชาติ เปนปจจัย ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถวน : ความเกิดขึ้นพรอมแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้. ... ... (ตอไปไดตรัสปฏิจจสมุปบาทฝายนิโรธวารไปจนจบ)”.

www.buddhadasa.info ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! อริยญายธรรมนี้แล เปนสิ่งที่อริยสาวกเห็นแลวดวยดี แทงตลอดแลวดวยดี ดวยปญญา.

คํ า ว า “ย อ มกระทํ า ไว ในใจโดยแยบคาย” นี้ ในสู ต รที่ ๒ แห งอุ ป สกวรรค ทสก. อํ . ๒๔/๑๙๗/๙๒ ใชคําวา “ยอมพิจารณาเห็นโดยประจักษ” (ปฏิสฺจิกฺขติ).

www.buddhadasa.info


วาดวยเรื่องที่ควรทราบกอนกของปฏิจจ ฯ

๑๕

คนเราจิตยุง เพราะไมรูปฏิจจสมุปบาท๑ ดู ก อ นอานนท ! เพราะไม รู เพราะไม รู ต ามลํ า ดั บ เพราะไม แ ทงตลอด ซึ่ งธรรมคื อปฏิ จจสมุ ปบาทนี้ , (จิ ตของ) หมู สั ตว นี้ จึ งเป นเหมื อนกลุ มด ายยุ ง ยุ งเหยิ ง เหมื อนความยุ งของกลุ มด ายที่ หนาแน นไปด วยปม พั นกั นยุ งเหมื อนเชิ งหญ ามุ ญชะ และ หญาปพพชะ อยางนี้; ยอมไมลวงพันซึ่งสังสาระ ที่เปนอบาย ทุคติ วินิบาต ไปได.

ปฏิจจสมุปบาท เปนชื่อแหงทางสายกลาง๒ ดู ก อ นกั จ จานะ! คํ ากล าวที่ ยื น ยั น ลงไปด วยทิ ฏ ฐิ ว า “สิ่ งทั้ ง ปวง มี อ ยู ” ดั ง นี้ : นี้ เป น ส ว นสุ ด ๓ (มิ ใ ช ท างสายกลาง) ที่ ห นึ่ ง ; คํ า กล า วที่ ยื น ยั น ลงไปด ว ย ทิ ฏ ฐิ ว า “สิ่ ง ทั้ ง ปวง ไม มี อ ยู ” ดั ง นี้ : นี้ เ ป น ส ว นสุ ด (มิ ใ ช ท างสายกลาง) ที่ ส อง ดูกอนกัจจานะ! ตถาคต ยอมแสดงธรรมโดยสายกลาง ไมเขาไปหาสวนสุดทั้งสองนั้น คือตถาคตยอมแสดงดังนี้วา :-

www.buddhadasa.info ๑

สู ตรที่ ๑๐ ทุ กขวรรค อภิ สมยสั งยุ ตต นิ ทาน. สํ . ๑๖/๑๑๑/๒๒๕, มหานิ ทานสู ตร มหา.ที .๑๐/๖๕/๕๗; ตรั ส แกพระอานนท ที่กัมมาสทัมมนิคม แควนกุรุ. ๒ สู ต รที่ ๕ อาหารวรรค นิ ท านสั ง ยุ ต ต นิ ท าน.สํ .๑๖/๒๑/๔๔, ตรั ส แก พ ราหมณ กั จ จานโคตร ที่ เชตวั น ; สูตรที่ ๗ คหปติวรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน.สํ.๑๖/๙๑/๑๗๓, ตรัสแกชาณุสโสณิพราหมณ ที่เชตวัน. ๓ คํ า ว า “ส ว นสุ ด ” ในกรณี อ ย า งนี้ หมายถึ ง ทิ ฏ ฐิ ห รื อ ความคิ ด เห็ น ที่ แ ล น ไปสุ ด เหวี่ ย ง ในทิ ศ ทางใด ทางหนึ่ ง; มีลั กษณะเป นความสําคัญมั่ นหมายในลักษณะที่เป นตัวเป นตน หรือตรงกั นขาม. สวนพระ ผู มี พระภาคเจ า ทรงมี หลั กธรรมของพระองค ที่ ไม แล นไปสุ ดเหวี่ยงหรือสุ ดโต งอย างนั้ นอย างนี้ แต ตรัสลง ไปในลั ก ษณะที่ เป น วิ ท ยาศาสตร ว า “เมื่ อ สิ่ ง นี้ มี สิ่ ง นี้ จึ ง มี ; เมื่ อ สิ่ ง นี้ ดั บ สิ่ ง นี้ จึ ง ดั บ ” ในลั ก ษณะที่ ทยอย ๆ กั น ไป ไม มี สิ่ งใดเกิ ด หรื อ ดั บ ได โดยลํ าพั งตั วมั น เอง; ดั งนั้ น จึ งไม มี ทิ ฏ ฐิ ว า “สิ่ งทั้ งปวงมี อยู ” หรือวา “สิ่งทั้งปวงไมมี”.

www.buddhadasa.info


๑๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – บทนํา

“เพราะมีอวิชชา เปนปจจัย จึงมี สังขารทั้งหลาย; เพราะมีสังขาร เปนปจจัย จึงมี วิญญาณ; เพราะมีวิญญาณ เปนปจจัย จึงมี นามรูป; เพราะมีนามรูป เปนปจจัย จึงมี สฬายตนะ; เพราะมีสฬายตนะ เปนปจจัย จึงมี ผัสสะ; เพราะมีผัสสะ เปนปจจัย จึงมี เวทนา; เพราะมีเวทนา เปนปจจัย จึงมี ตัณหา; เพราะมีตัณหา เปนปจจัย จึงมี อุปาทาน; เพราะมีอุปาทาน เปนปจจัย จึงมี ภพ; เพราะมีภพ เปนปจจัย จึงมี ชาติ; เพ ราะมี ช าติ เป น ป จ จั ย ชรามรณ ะ โสกะปริ เ ทวะทุ ก ขะโทมนัส-อุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถวน : ความเกิดขึ้นพรอมแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้. ... ... (แลวทรงแสดงปฏิจจสมุปบาทฝายนิโรธวารไปจนจบ)”.

ทรงแนะนําอยางยิ่ง ใหศึกษาเรื่องปฏิจจสมุปบาท๑

www.buddhadasa.info (เมื่ อพระผู มี พระภาคเจ าทรงสาธยายปฏิ จจสมุ ปบาท อยู ลํ าพั งพระองค เดี ยว, ภิ กษุ รู ปหนึ่ ง ไดแอบเขามาฟง, ทรงเหลือบไปพบเขา แลวไดตรัสวา :-

ดูกอนภิกษุ! เธอไดยินธรรมปริยายนี้แลวหรือ? “ไดยินแลว พระเจาขา!”

สู ต รที่ ๕ คหปติ ว รรค อภิ ส มยสั ง ยุ ต ต นิ ท าน.สํ .๑๖/๙๐/๑๖๘; สู ต รที่ ๑๐ โยคั ก เขมิ ว รรค สฬายตนสังยุตต สฬา.สํ.๑๘/๑๑๓/๑๖๔.

www.buddhadasa.info


วาดวยเรื่องที่ควรทราบกอนกของปฏิจจ ฯ

๑๗

ดูกอนภิกษุ! เธอจงรับเอา (อุคฺคณฺหาหิ) ธรรมปริยายนี้ไป. ดูกอนภิกษุ! เธอจงเลาเรียน (ปริยาปุณาหิ) ธรรมปริยายนี้. ดูกอนภิกษุ! เธอจงทรงไว (ธาเรหิ) ซึ่งธรรมปริยายนี้. ดูกอนภิกษุ! ธรรมปริยายนี้ ประกอบดวยประโยชน เปนเบื้องตนแหง พรหมจรรย.

คนเราไมปรินิพพานในทิฏฐธรรม เพราะไมสามารถตัดกระแสแหงปฏิจจสมุปบาท๑ ทาวสักกะไดทูลถามพระผูมีพระภาคเจาวา “ขาแตพระองคผูเจริญ! อะไรหนอ เป นเหตุ อะไรเป นป จจั ย ที่ ทํ าให สั ตว บางพวกในโลกนี้ ไม ปริ นิ พพานในทิ ฏฐธรรม? และอะไรเป นเหตุ เป นป จจั ย ที่ ทํ าให สั ตว บางพวกในโลกนี้ ปริ นิ พ พานในทิ ฏฐธรรม (คือทันเวลา, ทันควัน, ไมตองรอเวลาขางหนา) พระเจาขา?”

www.buddhadasa.info ๑

สู ตรที่ ๕ โลกกามคุ ณ วรรค สฬายตนสั งยุ ตต สฬา.สํ .๑๘/๑๒๘/๑๗๘, ตรั สแก ท าวสั กกะที่ ภู เขาคิ ชฌกู ฏ. สู ต รที่ ๖ โลกกามคุ ณ วรรค สฬายตนสั ง ยุ ต ต สฬา.สํ .๑๘/๑๒๗/๑๘๑, ตรั ส แก ป ญ จสิ ข คั น ธั พ พ บุตรที่ภูเขาคิชฌกูฏ. สู ต รที่ ๑ คหปติ วรรค สฬายตนสั งยุ ต ต สฬา.สํ .๑๘/๑๓๗/๑๙๑, ตรั ส แก อุ ค คคหบดี ชาวเมื องเวสาลี ที่ กูฏาคารศาลา ปามหาวัน. สู ตรที่ ๒ คหปติ วรรค สฬายตนสั งยุ ตต สฬา.สํ .๑๘/๑๓๘/๑๙๓, ตรั สแก อุ คคคหบดี ชาวบ านหั ตถิ คาม ที่ บานหัตถิคาม. สู ตรที่ ๓ คหปติ วรรค สฬายตนสั งยุ ตต สฬา.สํ .๑๘/๑๓๙/๑๙๔, ตรั สแก อุ อุ ปาลิ คหบดี ที่ ปาวาริ กั มพวั น สูตรที่ ๕ คหปติวรรค สฬายตนสังยุตต สฬา.สํ.๑๘/๑๔๓/๑๙๙, ตรัสแกโสณคหบดีบุตร ที่เวฬุวัน. สูตรที่ ๘ คหปติวรรค สฬายตนสังยุตต สฬา.สํ.๑๘/๑๔๖/๒๐๓, ตรัสแกนกุลปตุคหบดี ที่เภสกฬาวัน.

www.buddhadasa.info


๑๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – บทนํา

ดูกอนทานผูเปนจอมแหงเทวดาทั้งหลาย! รูปทั้งหลายที่จะพึงรูไดดวยจักษุมี อยู, เปนรูปที่นาปรารถนา นาใคร นาพอใจ มีลักษณะนารัก เปนที่เขาไปอาศัยแหง ความใคร เปนที่ตั้งแหงความกําหนัด; ถาหากวา ภิกษุยอมเพลิดเพลิน พร่ําสรรเสริญ เมาหมกอยู ซึ่งรูปนั้น แลวไซร, เมื่อภิกษุนั้น เพลิดเพลิน พร่ําสรรเสริญ เมาหมกอยู กะรูปนั้น, วิญญาณนั้นอันตัณหาในอารมณคือรูปอาศัยแลว ยอมมีแกเธอนั้น; วิญญาณนั้น คืออุปาทาน. ๑ ดูกอนทานผูเปนจอมแหงเทวดาทั้งหลาย! ภิกษุผู มีอุปาทาน ยอมไมปรินิพพาน. (ในกรณีแหงเสียงที่จะพึงรูสึกดวยโสตะ, กลิ่นที่จะพึงรูสึกดวยฆานะ, รสที่จะพึงรูสึกดวยชิวหา, สัมผัสทางผิวหนังที่จะพึงรูสึกดวยกาย (ผิวกายทั่วไป); ก็มีขอความอยางเดียวกันกับขอความในกรณีแหงรูปที่ จะพึงรูไดดวยจักษุ ดังที่กลาวแลวขางบน ทุกตัวอักษะ; ตางกันเพียงชื่อแหงอายตนะแตละอายตนะเทา นั้น; ในที่นี้จะยกขอความอันกลาวถึงธัมมารมณเปนขอสุดทาย มากลาวไวอีกครั้งดังตอไปนี้ :-)

ดูกอนทานผูเปนจอมแหงเทวดาทั้งหลาย! ธัมมารมณทั้งหลายที่จะพึงรูสึก ดวยมโน มีอยู, เปนธัมมารมณที่นาปรารถนา นาใคร นาพอใจ มีลักษณะนารัก เปนที่เขาไปอาศัยแหงความใคร เปนที่ตั้งแหงความกําหนัด; ถาหากวา ภิกษุยอม เพลิดเพลิน พร่ําสรรเสริญ เมาหมกอยู ซึ่งธัมมารมณนั้น แลวไซร, เมื่อภิกษุนั้น เพลิดเพลิน พร่ําสรรเสริญ เมาหมกอยู กะธัมมารมณนั้น, วิญญาณนั้นอันตัณหา ในอารมณ คื อ ธั ม มารมณ อาศั ย แล ว ย อ มมี แ ก เ ธอนั้ น ; วิ ญ ญาณนั้ น คือ อุปาทาน. ดูกอนทานผูเปนจอมแหงเทวดาทั้งหลาย! ภิกษุผูมีอุปาทาน ยอมไม ปรินิพพาน.

www.buddhadasa.info ดูกอนทานผูเปนจอมแหงเทวดาทั้งหลาย! นี้แลเปนเหตุ นี้เปนปจจัย ที่ทํา ใหสัตวบางพวกในโลกนี้ ไมปรินิพพานในทิฏฐธรรม.

วิญญาณในที่นี้ หมายถึง มโนวิญญาณ ที่รูสึกตอความเพลิดเพลินและความมัวเมาในรูปนั้น; ไมใชจักขุวิญญาณ ที่ เห็นรูปตามธรรมดา.

www.buddhadasa.info


วาดวยเรื่องที่ควรทราบกอนกของปฏิจจ ฯ

๑๙ (ฝายปฏิปกขนัย)

ดู ก อนท านผู เป นจอมแห งเทวดาทั้ งหลาย! รู ปทั้ งหลายที่ จะพึ งรู ได ด วยจั กษุ มี อ ยู , เป น รู ป ที่ น า ปรารถนา น า ใคร น า พอใจ มี ลั ก ษณะน า รั ก เป น ที่ เข า ไปอาศั ย แห งความใคร เป นที่ ตั้ งแห งความกํ าหนั ด; ถ าหากว า ภิ กษุ ย อมไม เพลิ ดเพลิ น ไม พร่ํ า สรรเสริ ญ ไม เมาหมกอยู ซึ่ ง รู ป นั้ น แล ว ไซร , เมื่ อ ภิ ก ษุ นั้ น ไม เพลิ ด เพลิ น ไม พ ร่ํ า สรรเสริ ญ ไม เ มาหมกอยู กะรู ป นั้ น , วิ ญ ญาณนั้ น อั น ตั ณ หาในอารมณ คื อ รู ป อ าศั ย แ ล ว ย อ ม ไม มี แ ก เธ อ นั้ น ; วิ ญ ญ าณ ที่ จ ะ เป น อุ ป าท าน ย อ ม ไม มี ดูกอนทานผูเปนจอมแหงเทวดาทั้งหลาย! ภิกษุผูไมมีอุปาทาน ยอมปรินิพพาน. (ในกรณี แห งเสี ยงที่ จะพึ งรู ด วยโสตะ, กลิ่ นที่ จะพึ งรูสึ กด วยฆานะ, รสที่ จะพึ งรู สึ กด วยชิ วหา, สั มผั สทางผิ วหนั งที่ จะพึ งรูสึ กด วยกาย (ผิ วกายทั่ วไป); ก็ มี ข อความอย างเดี ยวกั นกั บข อความในกรณี แห งรูป ที่ จะพึ งรูได ด วยจั กษุ ดั งที่ กล าวแล วข างบน ทุ กตั วอั กษร; ต างกั นแต เพี ยงชื่ อแห งอายตนะแต ละอายตนะ เทานั้น; ในที่นี้จะยกขอความอันกลาวถึงธัมมารมณเปนขอสุดทาย มากกลาวไวอีกครั้ง ดังตอไปนี้ :-)

ดู ก อนท านผู เป นจอมแห งเทวดาทั้ งหลาย! ธั มมารมณ ทั้ งหลายที่ จะพึ งรู สึ ก ด ว ยมโน มี อ ยู , เป น ธั ม มารมณ ที่ น า ปรารถนา น า ใคร น า พอใจ มี ลั ก ษณะน า รั ก เป นที่ เข าไปอาศั ยแห งความใคร เป นที่ ตั้ งแห งความกํ าหนั ด; ถ าหากว า ภิ กษุ ย อมไม เพลิ ดเพลิ น ไม พร่ําสรรเสริญ ไม เมาหมกอยู ซึ่ งธั มมารมณ นั้ น แล วไซร, เมื่ อภิ กษุ นั้ น ไม เพลิ ด เพลิ น ไม พ ร่ํ า สรรเสริ ญ ไม เมาหมกอยู กะธั ม มารมณ นั้ น , วิ ญ ญาณนั้ น อัน ตัณ หาในอารมณค ือ ธัม มารมณอ าศัย แลว ยอ มไมม ีแ กเ ธอนั ้น ; วิญ ญาณ ที่ จ ะเป น อุ ป าทาน ย อ มไม มี . ดู ก อ นท า นผู เป น จอมแห ง เทวดาทั้ ง หลาย! ภิ ก ษุ ผู ไมมีอุปาทาน ยอมปรินิพพาน.

www.buddhadasa.info ดู ก อ นท า นผู เป น จอมแห งเทวดาทั้ ง หลาย! นี้ แ ลเป น เหตุ นี้ เป น ป จ จั ย ที่ทําใหสัตวบางพวกในโลกนี้ ปรินิพพานในทิฏฐธรรม, ดังนี้ แล.

www.buddhadasa.info


๒๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – บทนํา หมายเหตุผูร วบรวม : เปน ที่นา สัง เกตวา การทูล ถามถึง การปรินิพ พาน ในปจจุบันเชนนี้ เปนเรื่องที่ทูลถามโดยคฤหัสถผูครองเรือนทั้งนั้น ทั้งที่เปนเทวดาและ มนุษ ย; ยัง ไมพ บที ่ท ูล ถามโดยภิก ษุเ ลย (นอกจากใน จตุก ฺก .อํ.๒๑/๒๒๖/๑๗๙, ซึ่งพระอานนทไดถามเรื่องนี้กะพระสารีบุตร); ชะรอยวาเรื่องนี้จะเปนที่แจมแจงแกภิกษุ ทั้งหลายแลว หรือ อยา งไรกั น แน เป น เรื่อ งที่ ควรจะชวยกัน นํ าไปวินิจฉัย ดู. อนึ่ ง สิ่งที่ เรียกวา ปรินิพพาน นั้น คือการสิ้นสุดแหงกระแสของปฏิจจสมุปบาท นั่นเอง.

บทนํา จบ

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


หมวด ๑ วาดวย ลักษณะ – ความสําคัญ - วัตถุประสงค ของเรื่องปฏิจจสมุปบาท

www.buddhadasa.info

๒๑

www.buddhadasa.info


www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


กฎอิทัปปจจยตา: หัวใจปฏิจจสมุปบาท. อิมสฺมึ สติ อิทํ โหติ เมื่อสิ่งนี้ มี สิ่งนี้ ยอมมี อิมสฺสุปฺปาทา อิทํ อุปฺปชฺชติ เพราะความเกิดขึ้นแหงสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น. อิมสฺมึ อสติ อิทํ น โหติ เมื่อสิ่งนี้ ไมมี สิ่งนี้ ยอมไมมี อิมสฺส นิโรธา อิทํ นิรุชฺฌติ เพราะความดับไปแหงสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงดับไป. (ม.ม. ๑๓/๓๕๕/๓๗๑, นิทาน. สํ. ๑๖/๘๔/๑๕๔,....)

www.buddhadasa.info

๒๓

www.buddhadasa.info


ลําดับเรื่องเฉพาะหมวด สําหรับปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ หมวดที่ ๑ วาดวย ลักษณะ – ความสําคัญ – และวัตถุประสงค ของเรื่องปฏิจจสมุปบาท (มี ๑๘ เรื่อง) ก. ว าด วยลั กษณะ ๖ เรื่ อง. : ความเหมายของปฏิ จจสมุ ปบาทแต ละอาการ--ปฏิจจสมุปบาทแตละอาการเปนปฏิจจสมุปปนนธรรม --- ทรงขยายความปฏิจจสมุปบาท อยางวิธีถามตอบ ----ป จจยาการเแม เพี ยงอาการเดี ยวก็ ยั งตรัสเรียกวาปฏิ จจสมุ ปบาท ---แม แสดงเพี ยงผั สสะให เกิ ดเวทนา ก็ยังเรียกวาปฏิจจสมุปบาท---ทรงเปรียบปฏิจจสมุปบาทดวยการขึ้นลงของน้ําทะเล ข. วาดวยความสําคัญ ๖ เรื่อง : การเห็นปฏิจจสมุ ปบาทชื่อวาการเห็นธรรม ----ปฏิ จจสมุ ปบาทคื อกฎแห งธรรมฐิติ - ธรรมนิ ยาม – ปฏิ จจสมุ ปบาทเป นเรื่องลึ กและดู ลึ ก—ปฏิ จจสมุ ปบาทเป นเรื่องลึ กซึ้ งเท ากับเรื่องนิ พพาน—นรกเพราะไม รูปฏิ จจสมุ ปบาทรอนยิ่ งกวานรกไหนหมด— ผูแสดงธรรมโดยหลักปฏิจจสมุปบาทเทานั้นจึงชื่อวา “เปนธรรมกถึก”

www.buddhadasa.info ค. วาดวยวัตถุประสงค ๖ เรื่อง : ปฏิจจสมุปบาททําใหอยูเหนือความมีและความ

ไมมีของสิ่งทั้งปวง---ไมมีผูนั้นหรือผูอื่นในปฏิจจสมุปบาท --กายนี้ไมใชของใครเพียงกระแส ปฏิจจสมุปบาท --- ปฏิจจสมุปบาทเปนธรรมที่ทรงแสดงเพื่อไมใหรูสึกวามีสัตวบุคคลตัวนเราเขา --ปฏิจจสมุปบาทมีหลักวา “ไมมีตนเองไมมีผูอื่นที่กอสุขและทุกข” –การรูปฏิจจสมุปบาทเปนหลักการ พยากรณอรหัตผล

๒๔

www.buddhadasa.info


ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ หมวดที่ ๑ วาดวย ลักษณะ- ความสําคัญ-และวัตถุประสงค ของเรื่อง ปฏิจจสมุปบาท ------------(ก. วาดวย ลักษณะ ๖ เรื่อง)

ความหมายของปฏิจจสมุปบาท แตละอาการ๑ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เราจักแสดง เราจักจําแนก ซึ่งปฏิจจสมุปบาท แกพวกเธอทั้งหลาย. พวกเธอทั้งหลายจงฟงซึ่งธรรมนั้น, จงทําในใจใหสําเร็จ ประโยชน, เราจักกลาวบัดนี้.

www.buddhadasa.info ครั้นภิกษุทั้งหลายเหลานั้น ถอยคําเหลานี้วา:-

ทูลสนองรับพระพุทธดํารัสแลว, พระผูมีพระภาคเจา ไดตรัส

สูตรที่ ๒ พุทธวรรค นิทานสังยุตต นิทาน. สํ.๑๖/๒/๔, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

๒๕

www.buddhadasa.info


๒๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑

ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ก็ ป ฏิ จ จสมุ ป บาท (สมุ ท ยวาร) เป น อย า งไรเล า ? ดูกอนภิกษุทั้งหลาย!: เพราะมีอวิชชา เปนปจจัย จึงมี สังขารทั้งหลาย; เพราะมีสังขาร เปนปจจัย จึงมี วิญญาณ; เพราะมีวิญญาณ เปนปจจัย จึงมี นามรูป; เพราะมีนามรูป เปนปจจัย จึงมี สฬายตนะ; เพราะมีสฬายตนะ เปนปจจัย จึงมี ผัสสะ; เพราะมีผัสสะ เปนปจจัย จึงมี เวทนา; เพราะมีเวทนา เปนปจจัย จึงมี ตัณหา; เพราะมีตัณหา เปนปจจัย จึงมี อุปาทาน; เพราะมีอุปาทาน เปนปจจัย จึงมี ภพ; เพราะมีภพ เปนปจจัย จึงมี ชาติ; เพ ราะมีช าติ เปน ปจ จัย , ชรามรณ ะ โสกะปริเ ทวะทุก ขะโทมนัส อุ ป ายาสทั้ งหลาย จึ งเกิ ด ขึ้ น ครบถ วน: ความเกิ ด ขึ้ น พร อ มแห งกองทุ ก ข ทั้ งสิ้ น นี้ ย อ ม มีดวยอาการอยางนี้.

www.buddhadasa.info ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ก็ ช รามรณ ะ เป น อย า งไรเล า ? ความแก ความ คร่ํ าคร า ความมี ฟ น หลุ ด ความมี ผ มหงอก ความมี ห นั งเหี่ ยว ความสิ้ น ไป ๆ แห งอายุ ความแก รอบแห งอิ น ทรี ย ทั้ งหลาย ในสั ต ว นิ ก ายนั้ น ๆ ของสั ต ว ทั้ งหลายเหล านั้ น ๆ :นี้ เรี ยกว า ชรา การจุ ติ ความเคลื่ อน การแตกสลาย การหายไป การวายชี พ การตายการ ทํากาละ การแตกแหงขันธทั้งหลาย การทอดทิ้งราง การขาดแหงอินทรียคือชีวิต

www.buddhadasa.info


วาดวยลักษณะเปนตนของปฏิจจ ฯ

๒๗

จากสั ต ว นิ ก ายนั้ น ๆ ของสั ต ว ทั้ ง หลายเหล า นั้ น ๆ : นี้ เรี ย กว า มรณะ ชรานี้ ด ว ย มรณะนี้ดวย ยอมมีอยูดังนี้; ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! นี้ เรียกวา ชรามรณะ. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ก็ ช าติ เป น อย า งไรเล า? การเกิ ด การกํ า เนิ ด การก าวลง (สู ครรภ ) การบั งเกิ ด การบั งเกิ ดโดยยิ่ ง ความปรากฏของขั นธ ทั้ งหลาย การที่ สั ตว ได ซึ่ งอายตนะทั้ งหลาย ในสั ตวนิ กายนั้ น ๆ ของสั ตวทั้ งหลายเหล านั้ น ๆ : ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! นี้ เรียกวา ชาติ ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ก็ ภ พ เป น อย า งไรเล า ? ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ภพทั้ งหลาย ๓ อยางเหลานี้ คือ กามภพ รูปภพ อรูปภพ : ดูกอนภิ กษุ ทั้ งหลาย!นี้ เรียกวา ภพ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ อุ ปาทาน เป นอย างไรเล า? ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! อุ ปาทานทั้ งหลาย ๔ อย างเหล านี้ คื อ กามุ ปาทาน ทิ ฏุ ปาทาน สี ลั พพั ตตุ ปาทาน อัตตวาทุปาทาน : ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! นี้ เรียกวา อุปาทาน

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ ตั ณ หา เป นอย างไรเล า? ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! หมู แหงตัณหาทั้ งหลาย ๖ หมู เหลานี้ คือ รูปตัณหา สัททตัณหา คันธตัณหา รสตัณหา โผฎฐัพพตัณหา ธัมมตัณหา : ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! นี้ เรียกวา ตัณหา.

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ เวทนา เป นอย างไรเล า? ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! หมู เวทนาทั้ งหลาย ๖ หมู เหล านี้ คื อ จั กขุ สั ม ผั สชาเวทนา โสตสั ม ผั ส สชาเวทนา ฆานสั มผั สสชาเวทนา ชิ วหาสั มผั สสชาเวทนา กายสั มผั สชาเวทนา มโนสั มผั สสชาเวทนา : ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! นี้ เรียกวา เวทนา.

www.buddhadasa.info


๒๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ ผั สสะ เป นอย างไรเล า? ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! หมู ผั ส สะทั้ ง หลาย ๖ หมู เ หล า นี้ คื อ จั ก ขุ สั ม ผั ส โสตสั ม ผั ส ฆ านสั ม ผั ส ส ชิ ว หาสัมผัส กายสัมผัส มโนสัมผัส : ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! นี้ เรียกวา ผัสสะ. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ก็ ส ฬายตนะ เป น อย า งไรเล า ? จั ก ข ว ายตนะ โสตายตนะ ฆานายตนะ ชิ วหายตนะกายายตนะ มนายตนะ : ดู ก อ นภิ กษุ ทั้ งหลาย ! นี้เรียกวา สฬายตนะ. ดูกอนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็นามรูป เป นอยางไรเลา? เวทนา สัญญา เจตนาผัสสะ ม น สิ ก าร : นี้ เรี ย ก ว า น าม . ม ห าภู ต ทั้ งสี่ ด วย รู ป ที่ อ าศั ย ม ห าภู ต ทั้ งสี่ ด วย : นี ้ เรีย กวา รูป . นามนี ้ด ว ย รูป นี ้ด ว ย ยอ มมีอ ยู ด ัง นี ้; ดูก อ นภิก ษุทั ้ง หลาย! นี้ เรียกวา นามรูป. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ วิ ญ ญาณ เป นอย างไรเล า? ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! หมู วิ ญ ญาณทั้ งหลาย ๖ หมู เหล า นี้ คื อ จั ก ขุ วิ ญ ญาณ โสตวิ ญ ญาณ ฆานวิ ญ ญาณ ชิวหาวิญญาณ กายวิญญาณ มโนวิญญาณ : ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! นี้ เรียกวา วิญญาณ.

www.buddhadasa.info ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ก็ สั ง ขารทั้ ง หลาย เป น อย า งไรเล า ? ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! สั ง ขารทั้ ง หลาย ๓ อย า งเหล า นี้ คื อ กายสั ง ขาร วจี สั ง ขาร จิ ต ตสั ง ขาร : ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เหลานี้ เรียกวา สังขารทั้งหลาย.

ดู ก อ น ภิ กษุ ทั้ งห ล าย! ก็ อ วิ ช ชา เป นอย า งไรเล า ? ดู ก อ นภิ กษุ ทั้ ง หลาย! ความไมรูอันใดแล เปนความไมรูในทุกข, เปนความไมรูในเหตุใหเกิดขึ้นแหงทุกข,

www.buddhadasa.info


วาดวยลักษณะเปนตนของปฏิจจ ฯ

๒๙

เป น ความไม รู ในความดั บ ไม เหลื อแห งทุ กข , เป นความไม รู ในข อ ปฏิ บั ติ เครื่ อ งทํ าสั ต ว ใหลุถึงความดับไมเหลือแหงทุกข : ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! นี้ เรียกวา อวิชชา.

ปฏิจจสมุปบาทแตละอาการ เปนปฏิจจสมุปปนนธรรม๑ ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! เราจั ก แสดง ปฏิ จ จสมุ ป ป น นธรรม แก พ วก เธอทั้ ง หลาย. พวกเธอทั้ ง หลาย จงฟ ง ซึ่ ง ธรรมนั้ น , จงทํ า ในใจให สํ า เร็ จ ประโยชน , เราจักกลาวบัดนี้. ครั้ น ภิ กษุ ทั้ งหลายเหล านั้ น ทู ล สนองรั บ พระพุ ท ธดํ ารั สแล ว, พระผู มี พ ระภาคเจ า ได ตรั ส ถอยคําเหลานี้วา:-

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ก็ปฏิจจสมุปปนนธรรมทั้งหลาย เปนอยางไรเลา? (๑) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ชรามรณะ เป น ของไม เที่ ย ง อั น ป จจั ย ปรุ งแต ง แล ว อาศั ยกั นและกั นเกิ ดขึ้ นแล ว มี ความสิ้ นไปเป นธรรมดา มี ความเสื่ อมไปเป นธรรมดามี ความจางคลายไปเปนธรรมดา มีความดับลงเปนธรรมดา. (๒) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ชาติ เป น ของไม เที่ ย ง อั น ป จ จั ย ปรุ ง แต ง แล ว อาศั ยกั นและกั นเกิ ดขึ้ นแล ว มี ความสิ้ นไปเป นธรรมดา มี ความเสื่ อมไปเป น ธรรมดามี ความจางคลายไปเปนธรรมดา มีความดับลงเปนธรรมดา.

www.buddhadasa.info

สูตรที่ ๑๐ อาหารวรรค นิทานสังยุตต นิทาน. สํ. ๑๖/๓๐. ๓๑/๖๐, ๖๒; ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๓๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑ (๓) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ภพ เป น ของไม เที่ ย ง อั น ป จ จั ย ปรุ ง แต งแล ว

อาศั ยกั นและกั นเกิ ดขึ้ นแล ว มี ความสิ้ นไปเป นธรรมดา มี ความเสื่ อมไปเป นธรรมดามี ความจางคลายไปเปนธรรมดา มีความดับลงเปนธรรมดา. (๔) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! อุ ปาทาน เป นของไม เที่ ยง อั นป จจั ยปรุ งแต ง แลว อาศัยกันและกันเกิดขึ้นแลว มี ความสิ้นไปเป นธรรมดา มีความเสื่อมไปเป นธรรมดามี ความจางคลายไปเปนธรรมดา มีความดับลงเปนธรรมดา. (๕) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ตั ณ หา เป นของไม เที่ ยง อั นป จจั ยปรุ งแต งแล ว อาศั ยกั นและกั นเกิ ดขึ้ นแล ว มี ความสิ้ นไปเป นธรรมดา มี ความเสื่ อมไปเป นธรรมดามี ความจางคลายไปเปนธรรมดา มีความดับลงเปนธรรมดา. (๖) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เวทนา เป นของไม เที่ ยง อั นป จจั ยปรุ งแต งแล ว อาศั ยกั นและกั นเกิ ดขึ้ นแล ว มี ความสิ้ นไปเป นธรรมดา มี ความเสื่ อมไปเป นธรรมดามี ความจางคลายไปเปนธรรมดา มีความดับลงเปนธรรมดา.

www.buddhadasa.info (๗) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ผั สสะ เป นของไม เที่ ยง อั นป จจั ยปรุ งแต งแล ว อาศั ยกั นและกั นเกิ ดขึ้ นแล ว มี ความสิ้ นไปเป นธรรมดา มี ความเสื่ อมไปเป นธรรมดามี ความจางคลายไปเปนธรรมดา มีความดับลงเปนธรรมดา.

(๘) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สฬายตนะ เป นของไม เที่ ยง อั นป จจั ยปรุ งแต ง แลว อาศัยกันและกันเกิดขึ้นแลว มี ความสิ้นไปเป นธรรมดา มีความเสื่อมไปเป นธรรมดามี ความจางคลายไปเปนธรรมดา มีความดับลงเปนธรรมดา. (๙) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! นามรูป เป นของไม เที่ ยง อั นป จจั ยปรุงแต งแล ว อาศั ยกั นและกั นเกิ ดขึ้ นแล ว มี ความสิ้ นไปเป นธรรมดา มี ความเสื่ อมไปเป นธรรมดามี ความจางคลายไปเปนธรรมดา มีความดับลงเปนธรรมดา.

www.buddhadasa.info


วาดวยลักษณะเปนตนของปฏิจจ ฯ

๓๑

(๑๐) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! วิ ญ ญาณ เป นของไม เที่ ยง อั นป จจั ยปรุ งแต ง แล ว อาศั ยกั นและกั นเกิ ดขึ้นแล ว มี ความสิ้ นไปเป นธรรมดา มี ความเสื่ อมไปเป นธรรมดามี ความจางคลายไปเปนธรรมดา มีความดับลงเปนธรรมดา. (๑๑) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! สั งขารทั้ งหลาย เป น ของไม เที่ ย ง อั น ป จ จั ย ปรุ งแต งแล ว อาศั ยกั นและกั นเกิ ดขึ้ นแล ว มี ความสิ้ นไปเป นธรรมดา มี ความเสื่ อมไป เปนธรรมดา มีความจางคลายไปเปนธรรมดา มีความดับลงเปนธรรมดา. (๑๒) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! อวิ ชชา เป นของไม เที่ ยง อั นป จจั ยปรุ งแต ง แลว อาศัยกันและกันเกิดขึ้นแลว มี ความสิ้นไปเป นธรรมดา มีความเสื่อมไปเป นธรรมดามี ความจางคลายไปเปนธรรมดา มีความดับลงเปนธรรมดา. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เหลานี้ เรียกวา ปฏิจจสมุปปนนธรรม๑ ทั้งหลาย

ทรงขยายความปฏิจจสมุปบาท อยางวิธีถามตอบ๒

www.buddhadasa.info ดูกอน อานนท ! อยากลาวอยางนั้ น. ดูกอนอานนท ! อยากลาวอยางนั้ น. ก็ปฏิจจสมุปบาทนี้ ลึกซึ้งดวย มีลักษณะดูลึกซึ้งดวย. ดูกอนอานนท!

คําวา "ปฏิ จจสมุ ปป นนธรรม" นี้ ผู ที่ ได ฟ งเป นครั้งแรก ไม จําเป นจะต องมี ความตื่ นเต นตกใจ วาเป นคํ า ลึกซึ้ง ซับซอน อะไรมากมาย แต เป นคํ าธรรมดาสามั ญ ในภาษาธรรมะ, มี ความหมายแต เพี ยงว าเป นสิ่ ง ที่เกิดเองไมได จะตองอาศั ยสิ่งใดสิ่งหนึ่งเกิดขึ้น เสร็จแลวก็จะเป นสิ่ งที่เปนเหตุเปนปจจัยสําหรับปรุงแตง สิ่ งอื่ นต อไป : ที่ แท ก็ คื อสิ่ งทั้ งปวงในโลกนั่ นเอง หากแต ว า ในที่ นี้ ทรงประสงค แต เรื่องทางจิ ตใจและ เฉพาะที่เกี่ยวกับความทุกข เทานั้น. -ผูรวบรวม. ๒ มหานิ ท านสู ต ร มหา. ที่ . ๑๐/๖๕/๕๗, ตรั ส แก พ ระอานนท ที่ กั ม มาสทั ม มนิ ค ม แควั น กุ รุ . และอี ก แห งหนึ่ งคื อ สู ตรที่ ๑๐ ทุ กขวรรค อภิ สมยสั งยุ ตต นิ ทาน. สํ . ๑๖/๑๑๑/๒๒๕, ข อความเหมื อนกั นตั้ งแต คํ า เริ่มแรกไปจนถึงคําวา "...อบายทุคติวินิบาตไปได".

www.buddhadasa.info


๓๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑

เพราะไม รู ๑ เพราะไม รู ต ามลํ า ดั บ เพราะไม แ ทงตลอด ซึ่ ง ธรรมคื อ ปฏิ จ จสมุ ป บาท นี้ (จิ ต ของ)หมู สั ต ว นี้ จึ ง เป น เหมื อ นกลุ ม ด า ยยุ ง , ยุ ง เหยิ ง เหมื อ นความยุ ง ของ กลุ ม ด า ยที่ ห นาแน น ไปด ว ยปม, พั น กั น ยุ ง เหมื อ นเซิ ง หญ า มุ ญ ชะและหญ า ป พ พชะ อยางนี้; ยอมไมลวงพนสังสาระที่เปนอบาย ทุคติ วินิบาตไปได. ดู ก อนอานนท !เมื่ อเธอถู กถามว า "ชรามรณะที่ มี เพราะสิ่ งนี้ ๆ เป นป จจั ยมี ไหม ? " ดัง นี ้ เชน นี ้แ ลว , คํ า ตอบ พึง มีว า "มีอ ยู ". ถา เขาพึง กลา วตอ ไปวา " ชราม รณ ะมี เพ ราะป จจั ย อะไร?" ดั ง นี้ แล ว , คํ า ต อบ พึ งมี ว า "ชราม รณ ะมี เพราะปจจัยคือชาติ". ดู ก อ นอานนท ! เมื่ อ เธอถู ก ถามว า "ชาติ ที่ มี เพราะสิ่ ง นี้ ๆ เป น ป จ จั ย มี ไหม? " ดั งนี้ เช นนี้ แล ว, คํ าตอบ พึ งมี ว า "มี อยู ". ถ าเขาพึ งกล าวต อไปว า "ชาติ มี เพราะ ปจจัยอะไร?" ดังนี้แลว, คําตอบ พึงมีวา "ชาติมี เพราะปจจัยคือภพ". ดู ก อนอานนท ! เมื่ อเธอถู กถามว า "ภพที่ มี เพราะสิ่ งนี้ ๆ เป นป จจั ยมี ไหม?" ดั ง นี้ เช น นี้ แ ล ว , คํ า ตอบ พึ ง มี ว า "มี อ ยู ". ถ า เขาพึ ง กล า วต อ ไปว า "ภพมี เพราะ ปจจัยอะไร?" ดังนี้แลว, คําตอบพึงมีวา "ภพมี เพราะปจจัยคืออุปาทาน".

www.buddhadasa.info ดู ก อ นอานนท ! ถ าเธอถู กถามว า "อุ ป าทานที่ มี เพราะสิ่ งนี้ ๆ เป น ป จจั ย มี ไห ม ? " ดัง นี ้ เชน นี ้แ ลว , คํ า ตอบ พึง มีว า "มีอ ยู ". ถา เขาพ ึง กลา วตอ ไปวา " อุ ป าทานมี เพราะป จ จั ย อะไร?" ดั ง นี้ แ ล ว , คํ า ตอบพึ ง มี ว า "อุ ป าทานมี เพราะ ปจจัยคือตัณหา".

คํานี้วา "เพราะไมรู" (อฺญาณา) ไมมีในมหานิทานสูตร, มีแตในสูตรที่ ๑๐ ทุกขวรรค นิทาน. สํ.

www.buddhadasa.info


วาดวยลักษณะเปนตนของปฏิจจ ฯ

๓๓

ดู ก อนอานนท ! เมื่ อเธอถู กถามว า "ตั ณ หาที่ มี เพราะสิ่ งนี้ ๆ เป นป จจั ยมี ไหม? " ดั งนี้ เช นนี้ แล ว, คํ าตอบ พึ งมี ว า "มี อยู ". ถ าเขาพึ งกล าวต อไปว า "ตั ณ หามี เพราะปจจัยอะไร?" ดังนี้แลว, คําตอบพึงมีวา "ตัณหามี เพราะปจจัยคือเวทนา". ดู ก อนอานนท ! เมื่ อเธอถู กถามว า "เวทนาที่ มี เพราะสิ่ งนี้ ๆ เป นป จจั ยมี ไหม? " ดั งนี้ เช นนี้ แล ว, คํ าตอบ พึ งมี ว า "มี อยู ". ถ าเขาพึ งกล าวต อไปว า "เวทนามี เพราะปจจัยอะไร?" ดังนี้แลว, คําตอบพึงมีวา "เวทนามี เพราะปจจัยคือผัสสะ". ดู ก อนอานนท ! เมื่ อเธอถู กถามว า "ผั สสะที่ มี เพราะสิ่ งนี้ ๆ เป นป จจั ยมี ไหม? " ดั งนี้ เช นนี้ แล ว, คํ าตอบ พึ งมี ว า "มี อยู ". ถ าเขาพึ งกล าวต อไปว า "ผั สสะมี เพราะปจ จัย อะไร?" ดัง นี ้แ ลว , คํ า ตอบพึง มีว า "ผัส สะมี เพราะปจ จัย คือ นาม รูป". ดู ก อนอานนท ! เมื่ อเธอถู กถามว า "นามรูปที่ มี เพราะสิ่ งนี้ ๆ เป นป จจั ยมี ไหม? " ดั งนี้ เช นนี้ แล ว, คํ าตอบ พึ งมี ว า "มี อยู ". ถ าเขาพึ งกล าวต อไปว า "นามรู ปมี เพราะป จ จั ย อะไร?" ดั ง นี้ แ ล ว , คํ า ตอบ พึ ง มี ว า "นามรู ป มี เพราะป จ จั ย คื อ วิญญาณ".

www.buddhadasa.info ดู ก อนอานนท ! เมื่ อเธอถู กถามว า "วิ ญญาณที่ มี เพราะสิ่ งนี้ ๆ เป นป จจั ยมี ไหม? " ดั งนี้ เช นนี้ แล ว, คํ าตอบ พึ งมี ว า "มี อยู ". ถ าเขาพึ งกล าวต อไปว า "วิ ญญาณมี เพราะป จ จั ย อะไร?" ดั ง นี้ แ ล ว , คํ า ตอบ พึ ง มี ว า "วิ ญ ญาณมี เพราะป จ จั ย คื อ นามรูป".

www.buddhadasa.info


๓๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑

ดู ก อ นอานนท ! ด วยเหตุ ดั งกล าวมานี้ แล (เรื่ อ งจึ งสรุ ป ได ว า) วิ ญ ญาณมี เพราะป จจั ยคื อนามรู ป ; นามรู ป มี เพราะป จจั ยคื อวิ ญ ญาณ; ผั สสะมี เพราะป จจั ยคื อ นามรู ป ; เวทนามี เพราะป จจั ยคื อผั สสะ; ตั ณ หามี เพราะป จจั ยคื อเวทนา; อุ ปาทานมี เพราะป จจั ย คื อ ตั ณ หา; ภพมี เพราะป จจั ย คื อ อุ ป าทาน; ชาติ มี เพราะป จจั ย คื อ ภพ; ชรามรณะ โสกะปริ เทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย เกิ ดขึ้ นพร อม เพราะป จจั ยคื อ ชาติ: ความเกิดขึ้นพรอมแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้ แล.

หมายเหตุ ผู ร วบรวม : ผู ศึ ก ษาพึ ง สั งเกตให เห็ น ว า ปฏิ จ จสมุ ป บาทแบบนี้ ที่ ตั้ ง ต น จากทุ ก ข ขึ้ น ไปหาอวิ ช ชา, แต ไ ปไม ถึ ง อวิ ช ชา ไปสุ ด ลงเสี ย เพี ย งแค วิ ญ ญ าณ นามรู ป แล ววกกลั บ นั้ น ยั งมี ลั กษณะพิ เศษอยู อี กอย างหนึ่ ง คื อบางสู ตร เช น สู ตรนี้ โดยเฉพาะ หามี "สฬ ายตน ะ" รวมอยู ใ นสาย ดว ยไม, ผิด จากสูต รอื ่น อีก ห ลายสูต ร แหง แบ บ นี ้. จะสั น นิ ษ ฐานว า คั ด ลอกตกหล น มาแต เดิ ม ก็ ไม มี ห นทางที่ จ ะสั น นิ ษ ฐานอย า งนั้ น ; เพราะ มี ก ารเว น คํ า ว า "สฬายตนะ" เหมื อ นกั น หมดทุ ก ๆ แห ง ในสู ต รนี้ , ทั้ ง ตอนที่ เป น อุ ท เทส นิทเทส และตอนที่ทรงย้ําครั้งสุดทาย ในสูตรเดียวกัน.

ปจจยาการแมเพียงอาการเดียว ก็ยังตรัสเรียกวา ปฏิจจสมุปบาท (อิทิปปจจยตา)๑

www.buddhadasa.info (๑) ดู ก อ น ภิ กษุ ทั้ ง ห ล าย! เพ ราะชาติ เ ป น ป จจั ย ชราม รณ ะย อ ม มี . ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะเหตุ ที่ พระตถาคตทั้ งหลาย จะบั งเกิ ดขึ้ นก็ ตาม, จะไม บั งเกิ ดขึ้ นก็ ตาม, ธรรมธาตุนั้น ยอมตั้งอยูแลวนั่นเทียว; คือความตั้งอยูแหงธรรมดา

สูตรที่ ๑๐ อาหารวรรค นิทานสังยุตต นิทาน. สํ. ๑๖/๓๐/๖๑, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยลักษณะเปนตนของปฏิจจ ฯ

๓๕

(ธั มมั ฏฐิ ตตา), คื อความเป นกฎตายตั วแห งธรรมดา (ธั มมนิ ยามตา), คื อความที่ เมื่ อมี สิ่ งนี้

สิ่งนี้เปนปจจัย สิ่งนี้สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น (อิทัปปจจยตา). ตถาคตย อมรู พร อมเฉพาะ ย อมถึ งพร อมเฉพาะ ซึ่ งธรรมธาตุ นั้ น; ครั้นรู พรอมเฉพาะแลว ถึงพรอมเฉพาะแลว, ยอมบอก ยอมแสดง ยอมบัญญั ติ ยอมตั้งขึ้นไว ย อมเป ดเผย ย อมจํ าแนกแจกแจง ย อมทํ าให เป นเหมื อนการหงายของที่ คว่ํ า และได กล าวแล วในบั ด นี้ ว า "ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ท านทั้ งหลายจงมาดู : เพราะชาติ เป น ปจจัย ชรามรณะยอมมี" ดังนี้. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! เพราะเหตุ ดั ง นี้ แ ล: ธรรมธาตุ ใด ในกรณี นั้ น อั นเป น ตถตา คื อความเป นอย างนั้ น, เป น อวิ ตถตา คื อความไม ผิ ดไปจากความเป น อย างนั้ น, เป น อนั ญญถตา คื อความไม เป นไปโดยประการอื่ น, เป น อิ ทั ปป จจยตา คือความที่เมื่อมีสิ่งนี้สิ่งนี้เปนปจจัย สิ่งนี้สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น; ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ธรรมนี้ เราเรี ยกว า ปฏิ จจสมุ ปบาท (คื อธรรมอั น เปนธรรมชาติ อาศัยกันแลวเกิดขึ้น).

www.buddhadasa.info (๒) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! เพราะภพเป น ป จ จั ย ชาติ ย อ มมี . ดู ก อ น ภิกษุทั้งหลาย! เพราะเหตุที่พระตถาคตทั้งหลาย จะบังเกิดขึ้นก็ตาม,..ฯลฯ.. …ฯ ล ฯ …๑

การละเปยยาล...ฯลฯ... ...ฯลฯ...เช น นี้ หมายความว า ข อ ความในข อ (๒) เป น ต น ไปจนกระทั่ ง ถึงขอ (๑๐) นี้ ซ้ํ ากันเป นส วนมากกับในขอ (๑) ตางกันแตเพี ยงป จจยาการแตละปจจยาการเทานั้น; สําหรับขอสุดทาย คือขอ (๑๑) จะพิมพไวเต็มเหมือนขอ (๑) อีกครั้งหนึ่ง.

www.buddhadasa.info


๓๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑

(๓) ดู ก อ น ภิ กษุ ทั้ งห ล าย! เพ ราะอุ ป าท าน เป น ป จจั ย ภ พ ย อ ม มี . ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! เพราะเหตุ ที่ พ ระตถาคตทั้ งหลาย จะบั งเกิ ด ขึ้ น ก็ ต าม,..ฯลฯ… …..ฯลฯ ….. (๔) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! เพราะตั ณ หาเป น ป จ จั ย อุ ป าทานชาติ ย อ มมี . ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! เพราะเหตุ ที่ พ ระตถาคตทั้ งหลาย จะบั งเกิ ด ขึ้ น ก็ ต าม,..ฯลฯ.. …ฯลฯ … (๕) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! เพ ราะเวทนาเป น ป จ จั ย ตั ณ หาย อ มมี . ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะเหตุ ที่ พ ระตถาคตทั้ งหลาย จะบั งเกิ ดขึ้ นก็ ตาม,..ฯลฯ.. … ฯลฯ … (๖) ดู ก อ น ภิ ก ษุ ทั้ งห ล าย ! เพ ราะผั ส ส ะเป น ป จ จั ย เวท น าย อ ม มี . ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! เพราะเหตุ ที่ พ ระตถาคตทั้ งหลาย จะบั งเกิ ด ขึ้ น ก็ ต าม,..ฯลฯ.. …ฯลฯ …

www.buddhadasa.info (๗) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! เพราะสฬายตนะเป น ป จ จั ย ผั ส สะย อ มมี . ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! เพราะเหตุ ที่ พ ระตถาคตทั้ งหลาย จะบั งเกิ ด ขึ้ น ก็ ต าม,..ฯลฯ.. …ฯลฯ …

(๘) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! เพราะนามรู ป เป น ป จ จั ย สฬายตนะย อ มมี . ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! เพราะเหตุ ที่ พ ระตถาคตทั้ ง หลาย จะบั งเกิ ด ขึ้ น ก็ ต าม,..ฯลฯ.. …ฯลฯ … (๙) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! เพราะวิ ญ ญาณเป น ป จ จั ย นามรู ป ย อ มมี . ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! เพราะเหตุ ที่ พ ระตถาคตทั้ งหลาย จะบั งเกิ ด ขึ้ น ก็ ต าม,..ฯลฯ.. …ฯลฯ …

www.buddhadasa.info


วาดวยลักษณะเปนตนของปฏิจจ ฯ

๓๗

(๑๐) ดู ก อ นภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะสั งขารเป น ป จจั ย วิ ญ ญาณย อ มมี . ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะเหตุ ที่ พระตถาคตทั้ งหลาย จะบั งเกิ ดขึ้ นก็ ตาม,..ฯลฯ.. …ฯลฯ … (๑๑) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! เพราะอวิ ชชาเป น ป จจั ย สั งขารทั้ งหลาย ย อมมี . ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะเหตุ ที่ พระตถาคตทั้ งหลาย จะบั งเกิ ดขึ้ นก็ ตาม, จะไม บั ง เกิ ด ขึ้ น ก็ ต าม, ธรรมธาตุ นั้ น ย อ มตั้ ง อยู แ ล ว นั่ น เที ย ว; คื อ ความตั้ ง อยู แหงธรรมดา (ธัมมัฏฐิตตา), คือความเปนกฎตายตัวแหงธรรมดา (ธัมมนิยามตา), คือความที่ เมื่อสิ่งนี้สิ่งนี้เปนปจจัย สิ่งนี้สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น (อิทัปปจจยตา). ตถาคตย อมรู พร อมเฉพาะ ย อมถึ งพร อมเฉพาะ ซึ่ งธรรมธาตุ นั้ น; ครั้นรู พรอมเฉพาะแล ว ถึ งพรอมเฉพาะแล ว, ย อมบอก ย อมแสดง ย อมบั ญ ญั ติ ย อมตั้ ง ขึ้ นไว ย อมเป ดเผย ย อมจํ าแนกแจกแจง ย อมทํ าให เป นเหมื อนการหงายของที่ คว่ํ า และได ก ล า วแล ว ในบั ด นี้ ว า "ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ท า นทั้ ง หลายจงดู : เพราะ อวิชชาเปนปจจัย สังขารทั้งหลายยอมมี" ดังนี้.

www.buddhadasa.info ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! เพราะเหตุ ดั ง นี้ แ ล : ธรรมธาตุ ใ ดในกรณี นั้ น อันเป น ตถตา คื อความเป นอย างนั้ น, เป น อวิตถตา คื อ ความไม ผิ ดไปจากความเป น อย างนั้ น, เป นอนั ญ ญถตา คื อ ความไม เป นไปโดยประการอื่ น, เป น อิ ทั ปป จจยตา คือความที่เมื่อมีสิ่งนี้สิ่งนี้เปนปจจัย สิ่งนี้สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น;

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ธรรมนี้ เราเรี ยกว า ปฏิ จจสมุ ปบาท (คื อธรรมอั น เปนธรรมชาติ อาศัยกันแลวเกิดขึ้น).

www.buddhadasa.info


๓๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑

แมแสดงเพียงผัสสะใหเกิดเวทนา ก็ยังเรียกวาปฏิจจสมุปบาท๑ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ปุ ถุ ชนผู มิ ได สดั บ แล ว จะพึ งเบื่ อหน ายได บ าง พึ ง คลายกํ าหนั ดได บ าง พึ งปล อยวางได บ าง ในกายอั นเป นที่ ประชุ มแห งมหาภู ตทั้ งสี่ นี้ . ข อ นั้ น เพราะเหตุ ใดเล า ? ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ข อ นั้ น เพราะเหตุ ว า การก อ ขึ้ น ก็ ดี การสลายลงก็ ดี การถู กยึ ดครองก็ ดี การทอดทิ้ งซากไว ก็ ดี แห งกายอั นเป นที่ ป ระชุ ม แห งมหาภู ตทั้ งสี่ นี้ ย อมปรากฏอยู . เพราะเหตุ นั้ นปุ ถุ ชนผู มิ ได สดั บแล ว จึ งเบื่ อหน าย ได บ าง จึ งคลายกํ าหนั ดได บ าง จึ งปล อยวางได บ าง ในกายนั้ น. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ส ว นสิ่ ง ที่ เรี ย กกั น ว า "จิ ต " ก็ ดี ว า "มโน" ก็ ดี ว า "วิ ญ ญาณ" ก็ ดี ; ปุ ถุ ช นผู มิ ไ ด สดั บ แล ว ไม อาจจะเบื่ อหน าย ไม อาจจะคลายกํ าหนั ด ไม อาจจะปล อยวาง ซึ่ งสิ่ งนั้ น.ข อนั้ น เพราะเหตุ ไรเล า? ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ข อนั้ นเพราะเหตุ ว า สิ่ งที่ เรี ยกว า จิ ตเป นต น นี้ เป นสิ่ งที่ ปุ ถุ ชนผู มิ ได สดั บแล ว ได ถึ งทั บแล วด วยตั ณ หา ได ยึ ดถื อแล วด วยทิ ฏฐิ โดย ความเป นตั วตน มาตลอดกาลช านาน ว า "นั่ นของเรา, นั่ นเป นเรา, นั่ นเป นตั ว ตนของ เรา" ดั ง นี้ เพราะเหตุ นั้ น ปุ ถุ ช นผู มิ ได ส ดั บ แล ว จึ ง ไม อ าจจะเบื่ อ หน า ยไม อ าจจะ คลายกําหนัด ไมอาจจะปลอยวาง ซึ่งที่เรียกวา จิต เปนตนนั้น.

www.buddhadasa.info ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ปุ ถุ ชนผู มิ ได ส ดั บ แล ว จะพึ งเข าไปยึ ด ถื อ เอากาย อั นเป นที่ ประชุ มแห งมหาภู ตทั้ งสี่ นี้ โดยความเป นตั วตน ยั งดี กว า. แต จะเข าไปยึ ดถื อ เอาจิ ต โดยความเป น ตั วตนไม ดี เลย. ข อ นั้ น เพราะเหตุ ไรเล า? ดู ก อ นภิ กษุ ทั้ งหลาย! ขอนั้นเพราะเหตุวา กายอันเปนที่ประชุมแหงมหาภูตทั้งสี่นี้ ดํารงอยู ปหนึ่งบาง สองป

สูตรที่ ๒ มหาวรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน. สํ. ๑๖/๑๑๖/๒๓๕, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยลักษณะเปนตนของปฏิจจ ฯ

๓๙

บ าง สามป บ าง สี่ ป บ าง ห าป บ าง สิ บป บ าง ยี่ สิ บป บ าง สามสิ บป บ าง สี่ สิ บป บ าง ห าสิ บ ป บ าง ร อ ยป บ าง เกิ น กว าร อ ยป บ าง ปรากฏอยู . ดู ก อ นภิ กษุ ทั้ งหลาย! ส วน สิ่ ง ที เรี ย กกั น ว า "จิ ต " บ า ง ว า "มโน" บ า ง ว า "วิ ญ ญาณ" บ า งนั้ น ดวงอื่ น เกิ ด ขึ้ น ดวงอื่นดับไป ตลอดวัน ตลอดคืน. ดู ก อ นภิ กษุ ทั้ งหลาย! ในเรื่ อ งนี้ อริ ยสาวกผู ได สดั บแล ว ย อมกระทํ าไว ในใจโดยแยบคายเป น อย า งดี ซึ่ ง ปฏิ จ จสมุ ป บาทนั่ น เที ย ว ดั ง นี้ ว า ด ว ยอาการ อย า งนี้ : เพราะสิ่ ง นี้ มี สิ่ ง นี้ จึ ง มี , เพราะความเกิ ด ขึ้ น แห ง สิ่ ง นี้ สิ่ ง นี้ จึ ง เกิ ด ขึ้ น ; เพราะสิ่ ง นี้ ไม มี สิ่ ง นี้ จึ ง ไม มี , เพราะความดั บ ไปแห ง สิ่ ง นี้ สิ่ ง นี้ จึ ง ดั บ ไป. ดู ก อ น ภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! เพราะอาศั ย ผั ส สะอั น เป น ที่ ตั้ งแห งสุ ขเวทนา จึ งเกิ ด สุ ขเวทนาขึ้ น ; เพราะความดั บแห งผั สสะอั นเป นที่ ตั้ งแห งสุ ขเวทนานั้ นแหละ, เวทนาใด ที่ เกิ ดเพราะ ผั สสะนั้ น (ในกรณี นี้ คื อ) สุ ขเวทนา ที่ เกิ ดขึ้ นเพราะอาศั ยผั สสะอั นเป นที่ ตั้ งแห งสุ ขเวทนา, เวทนานั้ นย อมดั บ ย อมสงบไป. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะอาศั ยผั สสะอั นเป นที่ ตั้ งแห งทุ ก ขเวทนา จึ งเกิ ด ทุ ก ขเวทนาขึ้ น ; เพราะความดั บ แห งผั ส สะอั น เป น ที่ ตั้ ง แห งทุ กขเวทนานั้ นแหละ, เวทนาใด ที่ เกิ ดเพราะผั สสะนั้ น (ในกรณี นี้ คื อ) ทุ กขเวทนาที่ เกิ ดขึ้ นเพราะอาศั ยผั สสะอั นเป นที่ ตั้ งแห งทุ กขเวทนา, เวทนานั้ นย อมดั บ ย อมสงบไป. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะอาศั ยผั สสะอั นเป นที่ ตั้ งแห งอทุ กขมสุ ขเวทนา จึ งเกิ ด อทุ ก ขมสุ ข เวทนาขึ้ น ; เพราะความดั บ แห งผั ส สะอั น เป น ที่ ตั้ งแห งอทุ ก ขมสุ ข เวทนา นั้ นแหละ, เวทนาใด ที่ เกิ ดเพราะผั สสะนั้ น (ในกรณี นี้ คื อ) อทุ กขมสุ ขเวทนา ที่ เกิ ดขึ้ น เพราะอาศัยผัสสะอันเปนที่ตั้งแหงอทุกขมสุขเวทนา, เวทนานั้นยอมดับ ยอมสงบไป.

www.buddhadasa.info ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เปรียบเหมือนเพราะไมสองอันเสียดสีกันไปมา ไออุนยอม เกิด ความรอนยอมบังเกิดโดยยิ่ง. เพราะแยกไมทั้งสองอันนั้นแหละออกจากกันเสีย

www.buddhadasa.info


๔๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑

ไออุ น ใด ที่ เกิ ดเพราะการเสี ยดสี ระหว างไม สองอั นนั้ น ไออุ นนั้ นย อมดั บ ย อมสงบไป, ข อนี้ ฉั นใด; ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ข อนี้ ก็ ฉั นนั้ น: เพราะอาศั ยผั สสะอั นเป นที่ ตั้ งแห งสุ ข เวทนา จึ งเกิ ด สุ ข เวทนาขึ้ น ; เพราะความดั บ แห งผั ส สะอั น เป น ที่ ตั้ ง แห งสุ ข เวทนานั้ น แหละ, เวทนาใด ที่ เกิ ด เพราะผั ส สะนั้ น (ในกรณี นี้ คื อ ) สุ ข เวทนา ที่ เกิ ด ขึ้ น เพราะ อาศั ยผั สสะอั นเป นที่ ตั้ งแห งสุ ขเวทนา, เวทนานั้ นย อมดั บ ย อมสงบไป. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ ง หลาย! เพราะอาศั ยผั สสะอั นเป นที่ ตั้ งแห งทุ กขเวทนา จึ งเกิ ดทุ กขเวทนาขึ้ น; เพราะ ความดั บแห งผั สสะอั นเป นที่ ตั้ งแห งทุ กขเวทนานั้ นแหละ, เวทนาใด ที่ เกิ ดเพราะผั สสะนั้ น (ในกรณี นี้ คื อ ) ทุ ก ขเวทนา ที่ เกิ ด ขึ้ น เพราะอาศั ย ผั ส สะอั น เป น ที่ ตั้ ง แห ง ทุ ก ขเวทนา, เวทนานั้ นย อมดั บ ย อมสงบไป. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะอาศั ยผั สสะอั นเป นที่ ตั้ ง แห งอทุ กขมสุ ขเวทนา จึ งเกิ ดอทุ กขมสุ ขเวทนาขึ้ น; เพราะความดั บแห งผั สสะอั นเป นที่ ตั้ ง แห ง อทุ ก ขมสุ ข เวทนานั้ น แหละ, เวทนาใด ที่ เกิ ด เพราะผั ส สะนั้ น (ในกรณี นี้ คื อ ) อทุ กขมสุ ขเวทนา ที่ เกิ ดขึ้ นเพราะอาศั ยผั สสะอั นเป นที่ ตั้ งแห งอทุ กขมสุ ขเวทนา, เวทนานั้ น ยอมดับ ยอมสงบไป. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! อริ ยสาวกผู ได สดั บแล ว เห็ นอยู อย างนี้ ย อมเบื่ อหน าย แม ในผั สสะ, ย อมเบื่ อหน าย แม ในเวทนา, ย อมเบื่ อหน าย แม ในสั ญญา, ย อมเบื่ อหน าย แม ใ นสั ง ขารทั้ ง หลาย, ย อ มเบื่ อ หน า ย แม ในวิ ญ ญาณ. เมื่ อ บื่ อ หน า ย ย อ มคลาย กํ าหนั ด, เพราะคลายความกํ าหนั ด ย อมหลุ ดพ น, เมื่ อหลุ ดพ นแล ว ย อมมี ญาณหยั่ งรู ว า หลุ ด พ น แล ว . อริ ย สาวกนั้ น ย อ มทราบชั ด ว า "ชาติ สิ้ น แล ว , พรหมจรรย อั น เราอยู จบแล ว , กิ จ ที่ ค วรทํ า ได ทํ า เสร็ จ แล ว , กิ จ อื่ น เพื่ อ ความเป น อย า งนี้ มิ ได มี อี ก ต อ ไป". ดังนี้ แล.

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


วาดวยลักษณะเปนตนของปฏิจจ ฯ

๔๑

ทรงเปรียบปฏิจจสมุปบาทดวยการขึ้นลง ของน้ําทะเล๑ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ อน้ํ าในมหาสมุ ทรขึ้ น ย อมทํ าให แม น้ํ าในแม น้ํ าใหญ ขึ้ น ; เมื่ อ น้ํ า ในแม น้ํ า ใหญ ขึ้ น ย อ มทํ า ให น้ํ า ในแม น้ํ า น อ ยขึ้ น ; เมื่ อ น้ํ า ในแม น้ํ า น อยขึ้ น ย อมทํ าให ละหานใหญ มี น้ํ าขึ้ น; เมื่ อละหานใหญ มี น้ํ าขึ้ น ย อมทํ าให ละหาน น อ ยมี น้ํ า ขึ้ น , ฉั น ใด; ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ข อ นี้ ก็ ฉั น นั้ น : เมื่ อ อวิ ช ชาเข า มา (อุปยนฺตี) ยอมทําให สังขารทั้งหลายเขามา (สงฺขาเร อุปยาเปติ); เมื่อสังขารทั้งหลาย เข ามา ย อมทํ าให วิ ญญาณเข ามา; เมื่ อวิ ญญาณเข ามา ย อมทํ าให นามรูปเข ามา; เมื่ อ นามรู ปเข ามา ย อมทํ าให สฬายตนะเข ามา; เมื่ อสฬายตนะเข ามา ย อมทํ าให ผั สสะ เข ามา; เมื่ อผั สสะเข ามา ย อมทํ าให เวทนาเข ามา; เมื่ อเวทนาเข ามา ย อมทํ าให ตั ณหา เข ามา; เมื่ อตั ณ หาเข ามา ย อมทํ าให อุ ปาทานเข ามา; เมื่ ออุ ปาทานเข ามา ย อมทํ า ให ภ พเข า มา เมื่ อ ภพเข า มา ย อ มทํ า ให ช าติ เข า มา; เมื่ อ ชาติ เข า มา ย อ มทํ า ให ชรามรณะเขามา

www.buddhadasa.info .... .... .... .... ....

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ อน้ํ าในมหาสมุ ทรลง ย อมทํ าให แม น้ํ าในแม น้ํ าใหญ ลดลง; เมื่ อ น้ํ าในแม น้ํ าใหญ ล ดลง ย อ มทํ าให น้ํ าในแม น้ํ าน อ ยลดลง; เมื่ อ น้ํ าใน แม น้ํ าน อยลดลง ย อมทํ าให น้ํ าที่ ละหานใหญ ลดลง; เมื่ อน้ํ าที่ ละหานใหญ ลดลง ย อม ทําใหน้ําที่ละหานนอยลดลง, ฉันใด; ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ขอนี้ก็ฉันนั้น: เมื่อ

สูตรที่ ๙ มหาวรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน.สํ. ๑๖/๑๔๔/๒๗๗, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๔๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑

อวิ ช ชาออกไป (อุ ป ยนฺ ตี ) ย อ มทํ า ให สั ง ขารทั้ ห ลายออกไป (สงฺ ข าเร อุ ป ยาเปติ ); เมื่ อสั งขารทั้ งหลายออกไป; ย อมทํ าให วิ ญ ญาณออกไป; เมื่ อวิ ญ ญาณออกไป ย อมทํ า ให น ามรู ป ออกไป; เมื่ อ นามรู ป ออกไป ย อ มทํ าให ส ฬายตนะออกไป; เมื่ อ สฬายตนะ ออกไป ย อ มทํ า ให ผั ส สะออกไป; เมื่ อ ผั ส สะออกไป ย อ มทํ า ให เ วทนาออกไป; เมื่ อ เวทนาออกไป ย อ มทํ าให ตั ณ หาออกไป; เมื่ อ ตั ณ หาออกไป ย อ มทํ าให อุ ป าทาน ออกไป; เมื่ อ อุ ป าทานออกไป ย อ มทํ า ให ภ พออกไป เมื่ อ ภพออกไป ย อ มทํ า ให ชาติออกไป; เมื่อชาติออกไป ยอมทําใหชรามรณะออกไป, ดังนี้ แล.

(ข. วาดวย ความสําคัญ ๖ เรื่อง)

การเห็นปฏิจจสมุปบาท ชื่อวาการเห็นธรรม๑ ดูก อ นทา นผู ม ีอ ายุทั ้ง หลาย!... ก็แ ล คํ า นี ้ เปน คํ า ที ่พ ระผู ม ีพ ระ ภาคเจา ตรัส ไวแ ลว วา "ผู ใ ดเห็น ปฏิจ จสมุป บาท, ผู นั ้น ชื ่อ วา เห็น ธรรม; ผู ใด เห็นธรรม, ผูนั้นชื่อวาเห็นปฏิจจสมุปบาท", ดังนี้.

www.buddhadasa.info ดู ก อ นท านผู มี อ ายุ ทั้ งหลาย! ธรรมทั้ งหลายเหล านี้ ชื่ อ ว า ปฏิ จ จสมุ ป ปน นธรรม (ธรรมอาศัย ซึ ่ง กัน และกัน เกิด ขึ ้น ); กลา วคือ ปญ จุป าทานขัน ธทั้ ง หลาย

มหาหัตถิปโทปมสูตร มู.ม. ๑๒/๓๕๙, ๓๖๐/๓๔๖, พระสารีบุตรกลาวแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยลักษณะเปนตนของปฏิจจ ฯ

๔๓

ธรรมใด เป นความพอใจ (ฉนฺ โท) เป นความอาลั ย (อาลโย) เป นความ ติ ดตาม (อนุ นโย) เป นความสยบมั วเมา (อชฺโฌสานํ ) ในอุ ปาทานขันธทั้ งหลาย ๕ ประการ เหลานี้, ธรรมนั้น ชื่อวา เหตุใหเกิดขึ้นแหงทุกข (ทุกฺขสมุทโย). ธรรมใด เป น ความนํ า ออกซึ่ ง ฉั น ราคะ (ฉนฺ ท ราควิ น โย) เป น ความ ละขาดซึ่ ง ฉั น ทราคะ (ฉนฺ ท ราคปฺ ป หานํ ) ในอุ ป าทานขั น ธ ทั้ ง หลาย ๕ ประการ เหลานี้, ธรรมนั้น ชื่อวา ความดับไมเหลือแหงทุกข (ทุกฺขนิโรโธ). ดู ก อนท านผู มี อายุ ทั้ งหลาย! ด วยการปฏิ บั ติ มี ประมาณเพี ยงเท านี้ แล คําสอนของพระผูมีพระภาคเจา ชื่อวาเปนสิ่งที่ภิกษุประพฤติกระทําใหมากแลวดังนี้. ห ม าย เห ตุ ผู รวบ รวม : ผู รั ก ษ าค วรถื อ ว า คํ า กล า วของพ ระสารี บุ ตรใน ลั ก ษณะเช น นี้ มี ค วามหมายเท า กั บ เป น พระพุ ท ธภาษิ ต ที่ มี อ ยู ว า “ผู ใ ดเห็ น ธรรม ผู นั้ น เ ห ็ น ต ถ า ค ต ; ผู  ใ ด เ ห ็ น ต ถ า ค ต ผู  นั้ น เ ห ็ น ธ ร ร ม ” ; ซึ ่ ง เ ป  น เ ค ร ด ิ ต แ ก ปฏิ จ จสมุ ป บาท ว า เป น ตั ว ธรรม ที่ มี ค า เท า กั บ ว า ถ า เห็ น แล ว เป น การเห็ น ตถาคต ในรู ป แห ง ธรรม หรื อ ธรรมกาย นั่ น เอง. ข อ นี้ แ สดงว า เรื่ อ งปฏิ จ จสมุ ป บาท เป น เรื่ อ งที่ ค วรสน ใจ กวาเรื่องอื่นๆ ที่เรียกวา “ธรรม” ดวยกัน

www.buddhadasa.info ปฏิจจสมุปบาทคือกฎแหงธรรมทิฏฐิ-ธรรมนิกาย (ในฐานะเปนกฎสูงสุดของธรรมชาติ)๑

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เราจั กแสดงซึ่ งปฏิ จจสมุ ปบาท (คื อธรรมอั นเป น ธรรมชาติ อ าศั ย กั น แล ว เกิ ด ขึ้ น ) แก พ วกเธอทั้ งหลาย. พวกเธอทั้ งหลาย จงฟ ง ซึ่ ง ปฏิจจสมุปบาทนั้น, จงทําในใจใหสําเร็จประโยชน, เราจักกลาวบัดนี้...

สูตรที่ ๑๐ อาหารวรรค นิทานสังยุตต นิทาน. สํ. ๑๖/๓๐/๖๑, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย. ที่เชตวัน เมืองสาวัตถี.

www.buddhadasa.info


๔๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ก็ปฏิจจสมุปบาท เปนอยางไรเลา? (๑) ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เพราะชาติเปนปจจัย ชรามรณะยอมมี. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะเหตุ ที่ พระตถาคตทั้ งหลาย จะบั งเกิ ดขึ้ นก็ ตาม, จะไม บั ง เกิ ด ขึ้ น ก็ ต าม, ธรรมธาตุ นั้ น ย อ มตั้ ง อยู แ ล ว นั่ น เที ย ว; คื อ ความตั้ ง อยู แห งธรรมดา (ธั ม มั ฏ ฐิ ต ตา), คื อ ความเป น กฎตายตั วแห งธรรมดา (ธั ม มนิ ย ามตา), คือความที่เมื่อมีสิ่งนี้สิ่งนี้เปนปจจัย สิ่งนี้สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น (อิทัปปจจยตา). ตถาคต ย อมรู พร อมเฉพาะ ย อมถึ งพร อมเฉพาะ ซึ่ งธรรมธาตุ นั้ น; ครั้ นรู พร อมเฉพาะแล ว ถึ งพร อ มเฉพาะแล ว, ย อ มบอก ย อมแสดง ย อ มบั ญ ญั ติ ย อ มตั้ ง ขึ้ น ไว ย อมเป ดเผย ย อมจํ าแนกแจกแจง ย อ มทํ าให เป นเหมื อนการหงายของที่ ค ว่ํ า; และได กล าวแล วในบั ดนี้ ว า "ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ท านทั้ งหลายจงมาดู : เพราะชาติ เปนปจจัย ชรามรณะยอมมี" ดังนี้.

www.buddhadasa.info ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! เพราะเหตุ ดั ง นี้ แ ล: ธรรมธาตุ ใ ด ในกรณี นั้ น อั นเป น ตถตา คื อความเป นอย างนั้ น, เป น อวิ ตถตา คื อความไม ผิ ดไปจากความเป น อย างนั้ น, เป น อนั ญ ญถตา คื อความไม เป นไปโดยประการอื่ น, เป น อิ ทั ป ป จจยตา คื อความที่ เมื่ อมี สิ่ งนี้ สิ่ งนี้ เป นป จจั ย สิ่ งนี้ สิ่ งนี้ จึ งเกิ ดขึ้ น; ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ธรรมนี้ เราเรียกวา ปฏิจจสมุปบาท (คือธรรมอันเปนธรรมชาติ อาศัยกันแลวเกิดขึ้น). (๒) ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เพราะภพเปนปจจัย ชาติยอมมี. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะเหตุ ที่ พระคถาคตทั้ งหลาย จะบั งเกิ ดขึ้ นก็ ตาม, จะไมบังเกิดขึ้นก็ตาม, ธรรมธาตุนั้น ยอมตั้งอยูแลวนั่นเทียว; คือความตั้งอยู

www.buddhadasa.info


วาดวยลักษณะเปนตนของปฏิจจ ฯ

๔๕

แห ง ธรรมดา, คื อ ความเป น กฎตายตั ว แห ง ธรรมดา, คื อ ความที่ เมื่ อ มี สิ่ ง นี้ สิ่ ง นี้ เปนปจจัย สิ่งนี้สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น. ตถาคต ย อมรู พร อมเฉพาะ ย อมถึ งพร อมเฉพาะ ซึ่ งธรรมธาตุ นั้ น; ครั้นรู พร อมเฉพาะแล ว ถึ งพร อมเฉพาะแล ว, ย อมบอก ย อมแสดง ย อมบั ญ ญั ติ ย อมตั้ ง ขึ้ นไว ย อมเป ดเผย ย อมจํ าแนกแจกแจง ย อมทํ าให เป นเหมื อนการหงายของที่ คว่ํ า; และได กล าวแล วในบั ดนี้ ว า "ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ท านทั้ งหลายจงมาดู : เพราะภพ เปนปจจัย ชาติยอมมี" ดังนี้. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! เพราะเหตุ ดั ง นี้ แ ล: ธรรมธาตุ ใด ในกรณี นั้ น อั นเป น ตถตา คื อความเป นอย างนั้ น, เป น อวิ ตถตา คื อความไม ผิ ดไปจากความเป น อย างนั้ น, เป น อนั ญ ญถตา คื อความไม เป นไปโดยประการอื่ น, เป น อิ ทั ปป จจยตา คื อความที่ เมื่ อมี สิ่ งนี้ สิ่งนี้ เป นป จจั ย สิ่งนี้ สิ่ งนี้ จึ งเกิ ดขึ้น; ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ธรรมนี้ เราเรียกวา ปฏิจจสมุปบาท (คือธรรมอันเปนธรรมชาติ อาศัยกันแลวเกิดขึ้น).

www.buddhadasa.info (๓) ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เพราะอุปาทานเปนปจจัย ภพยอมมี.

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะเหตุ ที่ พระคถาคตทั้ งหลาย จะบั งเกิ ดขึ้ นก็ ตาม, จะไม บั งเกิ ด ขึ้ น ก็ ต าม ธรรมธาตุ นั้ น ย อ มตั้ งอยู แ ล ว นั่ น เที ย ว; คื อ ความตั้ งอยู แ ห ง ธรรมดา, คื อ ความเป น กฎตายตั ว แห ง ธรรมดา, คื อ ความที่ เมื่ อ มี สิ่ ง นี้ สิ่ ง นี้ เป น ปจจัย สิ่งนี้สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น.

ตถาคต ย อมรู พร อมเฉพาะ ย อมถึ งพร อมเฉพาะ ซึ่ งธรรมธาตุ นั้ น; ครั้นรู พรอมเฉพาะแลว ถึงพรอมเฉพาะแลว, ยอมบอก ยอมแสดง ยอมบัญญัติ ยอมตั้ง

www.buddhadasa.info


๔๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑

ขึ้ น ไว ย อ มเป ด เผย ย อ มจํ า แนกแจกแจง ย อ มทํ าให เป น เหมื อ นการหงายของที่ ค ว่ํ า; และได กล าวแล วในบั ดนี้ ว า "ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ท านทั้ งหลายจงมาดู : เพราะอุ ปาทาน เปนปจจัย ภพยอมมี" ดังนี้. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! เพราะเหตุ ดั ง นี้ แ ล : ธรรมธาตุ ใ ด ในกรณี นั้ น อั นเป น ตถตา คื อความเป นอย างนั้ น, เป น อวิ ตถตา คื อความไม ผิ ดไปจากความเป น อย างนั้ น , เป น อนั ญ ญถตา คื อ ความไม เป น ไปโดยประการอื่ น , เป น อิ ทั ป ป จ จยตา คื อความที่ เมื่ อมี สิ่ งนี้ สิ่ งนี้ เป นป จจั ย สิ่ งนี้ สิ่ งนี้ จึ งเกิ ดขึ้ น ; ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ธรรมนี้ เราเรียกวา ปฏิจจสมุปบาท (คือธรรมอันเปนธรรมชาติ อาศัยกันแลวเกิดขึ้น). (๔) ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เพราะตัณหาเปนปจจัย อุปาทานยอมมี. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะเหตุ ที่ พระคถาคตทั้ งหลาย จะบั งเกิ ดขึ้ นก็ ตาม, จะไม บั ง เกิ ด ขึ้ น ก็ ต าม ธรรมธาตุ นั้ น ย อ มตั้ ง อยู แ ล ว นั่ น เที ย ว ; คื อ ความตั้ ง อยู แห ง ธรรมดา, คื อ ความเป น กฎตายตั ว แห ง ธรรมดา, คื อ ความที่ เ มื่ อ มี สิ่ ง นี้ สิ่ ง นี้ เปนปจจัย สิ่งนี้สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น.

www.buddhadasa.info ตถาคต ย อมรู พ ร อมเฉพาะ ย อมถึ งพร อมเฉพาะ ซึ่ งธรรมธาตุ นั้ น; ครั้ น รู พร อมเฉพาะแล ว ถึ งพร อมเฉพาะแล ว, ย อมบอก ย อมแสดง ย อมบั ญ ญั ติ ย อมตั้ งขึ้ นไว ย อ มเป ดเผย ย อ มจํ าแนกแจกแจง ย อ มทํ าให เป นเหมื อนการหงายของที่ คว่ํ า; และได กล า วแล ว ในบั ด นี้ ว า "ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ท า นทั้ ง หลายจงมาดู : เพราะตั ณ หา เปนปจจัย อุปาทานยอมมี" ดังนี้.

ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! เพราะเหตุ ดั ง นี้ แ ล: ธรรมธาตุ ใ ด ในกรณี นั้ น อันเปน ตถตา คือความเปนอยางนั้น, เปน อวิตถตา คือความไมผิดไปจากความเปน

www.buddhadasa.info


วาดวยลักษณะเปนตนของปฏิจจ ฯ

๔๗

อย างนั้ น, เป น อนั ญ ญถตา คื อความไม เป นไปโดยประการอื่ น, เป น อิ ทั ปป จจยตา คือความที่ เมื่ อมีสิ่งนี้สิ่งนี้เป นปจจัย สิ่งนี้สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น ; ดูกอนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ธรรมนี้ เราเรียกวา ปฏิจจสมุปบาท (คือธรรมอันเปนธรรมชาติ อาศัยกันแลวเกิดขึ้น). (๕) ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เพราะเวทนาเปนปจจัย ตัณหายอมมี. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะเหตุ ที่ พระคถาคตทั้ งหลาย จะบั งเกิ ดขึ้ นก็ ตาม, จะไม บั ง เกิ ด ขึ้ น ก็ ต าม ธรรมธาตุ นั้ น ย อ มตั้ ง อยู แ ล ว นั่ น เที ย ว; คื อ ความตั้ ง อยู แห ง ธรรมดา, คื อ ความเป น กฎตายตั ว แห ง ธรรมดา, คื อ ความที่ เมื่ อ มี สิ่ ง นี้ สิ่ ง นี้ เปนปจจัย สิ่งนี้สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น. ตถาคต ย อมรูพรอมเฉพาะ ย อมถึ งพรอมเฉพาะ ซึ่ งธรรมธาตุ นั้ น; ครั้ นรู พรอมเฉพาะแลว ถึงพรอมเฉพาะแลว, ยอมบอก ยอมแสดง ย อมบั ญญั ติ ยอมตั้งขึ้นไว ย อมเป ดเผย ย อมจํ าแนกแจกแจง ย อมทํ าให เป นเหมื อนการหงายของที่ คว่ํ า; และได กล า วแล ว ในบั ด นี้ ว า "ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ท า นทั้ ง หลายจงมาดู : เพราะเวทนา เปนปจจัย ตัณหายอมมี" ดังนี้.

www.buddhadasa.info ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! เพราะเหตุ ดั ง นี้ แ ล: ธรรมธาตุ ใ ด ในกรณี นั้ น อั นเป น ตถตา คื อความเป นอย างนั้ น, เป น อวิตถตา คื อความไม ผิ ดไปจากความเป น อย างนั้ น, เป น อนั ญ ญถตา คื อความไม เป นไปโดยประการอื่ น, เป น อิ ทั ปป จจยตา คื อความที่ เมื่ อมี สิ่ งนี้ สิ่งนี้ เป นป จจั ย สิ่งนี้ สิ่ งนี้ จึ งเกิ ดขึ้น; ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ธรรมนี้ เราเรียกวา ปฏิจจสมุปบาท (คือธรรมอันเปนธรรมชาติ อาศัยกันแลวเกิดขึ้น). (๖) ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เพราะผัสสะเปนปจจัย เวทนายอมมี. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะเหตุ ที่ พระคถาคตทั้ งหลาย จะบั งเกิ ดขึ้ นก็ ตาม, จะไมบังเกิดขึ้นก็ตาม ธรรมธาตุนั้น ยอมตั้งอยูแลวนั่นเทียว; คือความตั้งอยู

www.buddhadasa.info


๔๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑

แห ง ธรรมดา, คื อ ความเป น กฎตายตั ว แห ง ธรรมดา, คื อ ความที่ เ มื่ อ มี สิ่ ง นี้ สิ่ ง นี้ เปนปจจัย สิ่งนี้สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น. ตถาคต ย อมรู พ ร อมเฉพาะ ย อมถึ งพร อมเฉพาะ ซึ่ งธรรมธาตุ นั้ น; ครั้ น รู พร อ มเฉพาะแล ว ถึ งพร อ มเฉพาะแล ว , ย อ มบอก ย อ มแสดง ย อ มบั ญ ญั ติ ย อ มตั้ ง ขึ้ น ไว ย อ มเป ด เผย ย อ มจํ า แนกแจกแจง ย อ มทํ าให เป น เหมื อ นการหงายของที่ ค ว่ํ า; และได ก ล า วแล ว ในบั ด นี้ ว า "ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ท า นทั้ ง หลายจงมาดู : เพราะ ผัสสะเปนปจจัย เวทนายอมมี" ดังนี้. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! เพราะเหตุ ดั ง นี้ แ ล : ธรรมธาตุ ใ ด ในกรณี นั้ น อั นเป น ตถตา คื อความเป นอย างนั้ น, เป น อวิ ตถตา คื อความไม ผิ ดไปจากความเป น อย างนั้ น , เป น อนั ญ ญถตา คื อ ความไม เป น ไปโดยประการอื่ น , เป น อิ ทั ป ป จ จยตา คื อความที่ เมื่ อมี สิ่ งนี้ สิ่ งนี้ เป นป จจั ย สิ่ งนี้ สิ่ งนี้ จึ งเกิ ดขึ้ น; ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ธรรมนี้ เราเรียกวา ปฏิจจสมุปบาท (คือธรรมอันเปนธรรมชาติ อาศัยกันแลวเกิดขึ้น).

www.buddhadasa.info (๗) ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เพราะสฬายตนะเปนปจจัย ผัสสะยอมมี.

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะเหตุ ที่ พระคถาคตทั้ งหลาย จะบั งเกิ ดขึ้ นก็ ตาม, จะไม บั ง เกิ ด ขึ้ น ก็ ต าม ธรรมธาตุ นั้ น ย อ มตั้ ง อยู แ ล ว นั่ น เที ย ว; คื อ ความตั้ ง อยู แห ง ธรรมดา, คื อ ความเป น กฎตายตั ว แห ง ธรรมดา, คื อ ความที่ เ มื่ อ มี สิ่ ง นี้ สิ่ ง นี้ เปนปจจัย สิ่งนี้สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น. ตถาคต ย อมรู พ ร อมเฉพาะ ย อ มถึ งพร อ มเฉพาะ ซึ่ งธรรมธาตุ นั้ น; ครั้ น รู พร อ มเฉพาะแล ว ถึ งพร อ มเฉพาะแล ว , ย อ มบอก ย อ มแสดง ย อ มบั ญ ญั ติ ย อ มตั้ ง ขึ้นไว ยอมเปดเผย ยอมจําแนกแจกแจง ยอมทําใหเปนเหมือนการหงายของที่คว่ํา;

www.buddhadasa.info


วาดวยลักษณะเปนตนของปฏิจจ ฯ

๔๙

และได ก ล า วแล ว ในบั ด นี้ ว า "ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ท า นทั้ ง หลายจงมาดู : เพราะ สฬายตนะเปนปจจัย ผัสสะยอมมี" ดังนี้. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! เพราะเหตุ ดั ง นี้ แ ล: ธรรมธาตุ ใ ด ในกรณี นั้ น อั นเป น ตถตา คื อความเป นอย างนั้ น, เป น อวิตถตา คื อความไม ผิ ดไปจากความเป น อย างนั้ น, เป น อนั ญ ญถตา คื อความไม เป นไปโดยประการอื่ น, เป น อิ ทั ปป จจยตา คือความที่ เมื่ อมี สิ่งนี้ สิ่งนี้ เป นปจจัย สิ่งนี้สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น; ดูกอนภิ กษุ ทั้งหลาย! ธรรมนี้ เราเรียกวา ปฏิจจสมุปบาท (คือธรรมอันเปนธรรมชาติ อาศัยกันแลวเกิดขึ้น). (๘) ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เพราะนามรูปเปนปจจัย สฬายตนะยอมมี. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะเหตุ ที่ พระคถาคตทั้ งหลาย จะบั งเกิ ดขึ้ นก็ ตาม, จะไม บั ง เกิ ด ขึ้ น ก็ ต าม, ธรรมธาตุ นั้ น ย อ มตั้ งอยู แ ล ว นั่ น เที ย ว; คื อ ความตั้ ง อยู แห ง ธรรมดา, คื อ ความเป น กฎตายตั ว แห ง ธรรมดา, คื อ ความที่ เมื่ อ มี สิ่ ง นี้ สิ่ ง นี้ เปนปจจัย สิ่งนี้สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น.

www.buddhadasa.info ตถาคต ย อมรูพรอมเฉพาะ ย อมถึ งพรอมเฉพาะ ซึ่ งธรรมธาตุ นั้ น; ครั้ นรู พรอมเฉพาะแล ว ถึ งพรอมเฉพาะแล ว, ย อมบอก ย อมแสดง ย อมบั ญ ญั ติ ย อมตั้ ง ขึ้ นไว ย อมเป ดเผย ย อมจํ าแนกแจกแจง ย อมทํ าให เป นเหมื อนการหงายของที่ คว่ํ า; และได ก ล า วแล ว ในบั ด นี้ ว า "ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ท า นทั้ ง หลายจงมาดู : เพราะ นามรูปเปนปจจัย สฬายตนะยอมมี" ดังนี้. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! เพราะเหตุ ดั ง นี้ แ ล : ธรรมธาตุ ใ ด ในกรณี นั้ น อันเปน ตถตา คือความเปนอยางนั้น, เปน อวิตถตา คือความไมผิดไปจากความเปน

www.buddhadasa.info


๕๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑

อย างนั้ น, เป น อนั ญ ญถตา คื อความไม เป นไปโดยประการอื่ น, เป น อิ ทั ปป จจยตา คื อความที่ เมื่ อมี สิ่ งนี้ สิ่ งนี้ เป นป จจั ย สิ่ งนี้ สิ่ งนี้ จึ งเกิ ดขึ้ น; ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ธรรมนี้ เราเรียกวา ปฏิจจสมุปบาท (คือธรรมอันเปนธรรมชาติ อาศัยกันแลวเกิดขึ้น). (๙) ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เพราะวิญญาณเปนปจจัย นามรูปยอมมี. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะเหตุ ที่ พระคถาคตทั้ งหลาย จะบั งเกิ ดขึ้ นก็ ตาม, จะไม บั ง เกิ ด ขึ้ น ก็ ต าม ธรรมธาตุ นั้ น ย อ มตั้ ง อยู แ ล ว นั่ น เที ย ว; คื อ ความตั้ ง อยู แห ง ธรรมดา, คื อ ความเป น กฎตายตั ว แห ง ธรรมดา; คื อ ความที่ เ มื่ อ มี สิ่ ง นี้ สิ่ ง นี้ เปนปจจัย สิ่งนี้สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น. ตถาคต ย อมรู พร อมเฉพาะ ย อมถึ งพร อมเฉพาะ ซึ่ งธรรมธาตุ นั้ น; ครั้ นรู พร อมเฉพาะแล ว ถึ งพรอมเฉพาะแล ว, ย อ มบอก ย อ มแสดง ย อ มบั ญ ญั ติ ย อมตั้ ง ขึ้ น ไว ย อ มเป ดเผย ย อมจํ าแนกแจกแจง ย อมทํ าให เป น เหมื อนการหงายของที่ คว่ํ า; และได ก ล า วแล ว ในบั ด นี้ ว า "ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ท า นทั้ ง หลายจงมาดู : “เพราะ วิญญาณเปนปจจัย นามรูปยอมมี” ดังนี้.

www.buddhadasa.info ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! เพราะเหตุ ดั ง นี้ แ ล: ธรรมธาตุ ใ ด ในกรณี นั้ น อั นเป น ตถตา คื อความเป นอย างนั้ น, เป น อวิ ตถตา คื อความไม ผิ ดไปจากความเป น อย างนั้ น, เป น อนั ญ ญถตา คื อความไม เป นไปโดยประการอื่ น, เป น อิ ทั ป ป จจยตา คื อความที่ เมื่ อมี สิ่ งนี้ สิ่ งนี้ เป นป จจั ย สิ่ งนี้ สิ่ งนี้ จึ งเกิ ดขึ้ น; ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ธรรมนี้ เราเรียกวา ปฏิจจสมุปบาท (คือธรรมอันเปนธรรมชาติ อาศัยกันแลวเกิดขึ้น). (๑๐) ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เพราะสังขารเปนปจจัย วิญญาณยอมมี.

www.buddhadasa.info


วาดวยลักษณะเปนตนของปฏิจจ ฯ

๕๑

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะเหตุ ที่ พระคถาคตทั้ งหลาย จะบั งเกิ ดขึ้ นก็ ตาม, จะไม บั ง เกิ ด ขึ้ น ก็ ต าม ธรรมธาตุ นั้ น ย อ มตั้ ง อยู แ ล ว นั่ น เที ย ว; คื อ ความตั้ ง อยู แห ง ธรรมดา, คื อ ความเป น กฎตายตั ว แห ง ธรรมดา, คื อ ความที่ เมื่ อ มี สิ่ ง นี้ สิ่ ง นี้ เปนปจจัย สิ่งนี้สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น. ตถาคต ย อมรูพรอมเฉพาะ ย อมถึ งพรอมเฉพาะ ซึ่ งธรรมธาตุ นั้ น; ครั้ นรู พรอมเฉพาะแล ว ถึ งพรอมเฉพาะแล ว, ย อมบอก ย อมแสดง ย อมบั ญ ญั ติ ย อมตั้ ง ขึ้ นไว ย อมเป ดเผย ย อมจํ าแนกแจกแจง ย อมทํ าให เป นเหมื อนการหงายของที่ คว่ํ า; และได ก ล า วแล ว ในบั ด นี้ ว า "ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ท า นทั้ ง หลายจงมาดู : เพราะ สังขารเปนปจจัย วิญญาณยอมมี" ดังนี้. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! เพราะเหตุ ดั ง นี้ แ ล: ธรรมธาตุ ใ ด ในกรณี นั้ น อั นเป น ตถตา คื อความเป นอย างนั้ น, เป น อวิตถตา คื อความไม ผิ ดไปจากความเป น อย างนั้ น, เป น อนั ญ ญถตา คื อความไม เป นไปโดยประการอื่ น, เป น อิ ทั ปป จจยตา คือความที่ เมื่ อมี สิ่งนี้ สิ่งนี้ เป นปจจัย สิ่งนี้สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น; ดูกอนภิ กษุ ทั้งหลาย! ธรรมนี้ เราเรียกวา ปฏิจจสมุปบาท (คือธรรมอันเปนธรรมชาติ อาศัยกันแลวเกิดขึ้น).

www.buddhadasa.info (๑๑) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! เพราะอวิ ช ชาเป น ป จ จั ย สั ง ขารทั้ ง หลาย

ยอมมี.

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะเหตุ ที่ พระคถาคตทั้ งหลาย จะบั งเกิ ดขึ้ นก็ ตาม, จะไม บั ง เกิ ด ขึ้ น ก็ ต าม, ธรรมธาตุ นั้ น ย อ มตั้ งอยู แ ล ว นั่ น เที ย ว; คื อ ความตั้ ง อยู แห ง ธรรมดา, คื อ ความเป น กฎตายตั ว แห ง ธรรมดา, คื อ ความที่ เมื่ อ มี สิ่ ง นี้ สิ่ ง นี้ เปนปจจัย สิ่งนี้สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น.

www.buddhadasa.info


๕๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑

ตถาคต ย อมรู พร อมเฉพาะ ย อมถึ งพร อมเฉพาะ ซึ่ งธรรมธาตุ นั้ น; ครั้ นรู พร อมเฉพาะแล ว ถึ งพรอมเฉพาะแล ว, ย อ มบอก ย อ มแสดง ย อ มบั ญ ญั ติ ย อมตั้ ง ขึ้ น ไว ย อ มเป ดเผย ย อมจํ าแนกแจกแจง ย อมทํ าให เป น เหมื อนการหงายของที่ คว่ํ า; และได ก ล า วแล ว ในบั ด นี้ ว า "ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ท า นทั้ ง หลายจงมาดู : เพราะ อวิชชาเปนปจจัย สังขารทั้งหลายยอมมี" ดังนี้. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! เพราะเหตุ ดั ง นี้ แ ล : ธรรมธาตุ ใ ด ในกรณี นั้ น อั นเป น ตถตา คื อความเป นอย างนั้ น, เป น อวิ ตถตา คื อความไม ผิ ดไปจากความเป น อย างนั้ น, เป น อนั ญ ญถตา คื อความไม เป นไปโดยประการอื่ น, เป น อิ ทั ป ป จจยตา คื อความที่ เมื่ อมี สิ่ งนี้ สิ่ งนี้ เป นป จจั ย สิ่ งนี้ สิ่ งนี้ จึ งเกิ ดขึ้ น; ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ธรรมนี้ เราเรียกวา ปฏิจจสมุปบาท (คือธรรมอันเปนธรรมชาติ อาศัยกันแลวเกิดขึ้น).

ปฏิจจสมุปบาท เปนเรื่องลึกและดูลึก๑ พระอานท ได กราบทู ล พระผู มี พ ระภาคเจ าว า " น าอั ศจรรย พระเจ าข า! ไม เคยมี แ ล ว พระเจ าข า! ข าแต พระองค ผู เจริญ! ก็ ปฏิ จจสมุ ปบาทนี้ เขาร่ําลื อกั นวาเป นธรรมลึ ก๒ด วย ดู ท าทางราวกะว า เปนธรรมลึกดวย แตปรากฏแกขาพระองคเหมือนกับเปนธรรมตื้น ๆ".

www.buddhadasa.info ๑

สู ตรที่ ๑๐ ทุ กขวรรค อภิ สมยสั งยุ ตต นิ ทาน. สํ . ๑๖/๑/๒๒๕, ตรั สแก พระอานนท ที่ กั มมาสทั มมนิ คม; มหานิ ทานสู ตร มหา. ที่ . ๑๐/๖๕/๕๗, ตรั สแก พระอานนท ที่ กั มมาสทั มมนิ คม [มหานิ ทานสู ตรนี้ ไม มี คําวา "เพราะไมรู" (อฺฺาณา)]. ๒ ความลึ กของปฏิ จจสมุ ปบาทนี้ อรรถกถาอธิ บายว า เป นของลึ กเกิ นประมาณ และมี ลั กษณะปรากฏแก ตา ผู ดู รูสึ กว าลึ กเหลื อประมาณด วย เปรียบได กั บความลึ กของมหาสมุ ทรที่ มี อยู ที่ เชิ งเขาสิ เนรุ; ไม เหมื อนกั บ ความลึ กของน้ํ าเน าสี ดํ า เพราะใบไม หมั กหมมอยู ภายใต ซึ่ งหลอกตาให รูสึ กว าเป นของลึ ก น ากลั ว แต ความจริงตื้ นแค เขา. ข อความในอรรถกถาตอนนี้ มี สิ่ งที่ ควรสั งเกตเป นพิ เศษตรงที่ กล าวไววา มี มหาสมุ ทร อั นลึ กเหลื อประมาณ ตั้ งอยู ที่ เชิ งเขาสิ เนรุ คื อภู เขาหิ มาลั ย. ผู ได ฟ งในบั ดนี้ ไม อาจจะเข าใจได เพราะ มหาสมุ ทรอิ นเดี ย ในบั ดนี้ อยู ไกลเชิ งเขาหิ มาลั ยตั้ งพั นไมล แต เผอิ ญไปตรงกั บเค าเงื่ อนที่ นั กธรณี วิทยา แห งยุ คป จจุ บั นได มี มติ กั นวา ประเทศอิ นเดี ยสมั ยดึ กดํ าบรรพ พื้ นที่ ระหวางภู เขาหิ มาลั ยทางเหนื อ กั บ ภู เขาวิ น ธั ยทางใต นั้ น ลุ ม ลึ กเป นทะเล. ดั งนั้ น ข อความในอรรถกถานี้ จะถู กผิ ดหรื อ เพ อ เจ อ ประการใด ขอฝากไว เพื่ อการพิ จารณา -อรรถกถา สุ มั งคลวิ ลาสิ นี ภาค ๒ หน า ๑๐๖. นอกจากนี้ ก็ ยั งมี พระบาลี (สตฺ ต ก. อํ . ๒๓/๑๐๒/๖๓) ที่ ก ล า วว า ภู เขาสิ เนรุ นั้ น หยั่ ง ลงในมหาสมุ ท ร ลึ ก ถึ ง ๘๔,๐๐๐ โยชน ; นับวาเปนสิ่งที่ยังเขาใจไมได จะตองสันนิษฐานกันตอไป.

www.buddhadasa.info


วาดวยลักษณะเปนตนของปฏิจจ ฯ

๕๓

ดู ก อ นอานนท ! อย า กล า วอย า งนั้ น . ดู ก อ นอานนท ! อย า กล า ว อย า งนั้ น . ก็ ป ฏิ จ จสมุ ป บาทนี้ ลึ ก ซึ้ ง ด ว ย มี ลั ก ษณ ะดู เ ป น ธรรมลึ ก ซึ้ ง ด ว ย. ดู ก อ นอานนท ! เพราะไม รู เพราะไม รู ต ามลํ าดั บ เพราะไม แ ทงตลอด ซึ่ งธรรมคื อ ปฏิจจสมุปบาทนี้ (จิตของ) หมูสัตวนี้ จึงเปนเหมือนกลุมดวยยุง ยุงเหยิงเหมือนความยุง ของกลุ มด ายที่ หนาแน นไปด วยปม พั นกั นยุ งเหมื อนเซิ งหญ ามุ ญชะ และหญ าป พพชะ อยางนี้; ยอมไมลวงพนซึ่งสงสาร ที่เปนอบาย ทุคติ วินิบาตไปได.

ปฏิจจสมุปบาท เปนเรื่องลึกซึ้ง เทากับเรื่องนิพพาน๑ ดู ก อนราชกุ มาร! ความคิ ดข อนี้ ได เกิ ดแก เราว า "ธรรมที่ เราบรรลุ แล วนี้ เป น ธรรมอั น ลึ ก สั ต ว อื่ น เห็ น ได ย าก ยากที่ สั ต ว อื่ น จะรู ต าม เป น ธรรมระงั บ และ ประณีตไมเปนวิสัยที่จะหยั่งลงงาย ๆ แหงความตรึก เปนของละเอียด เปนวิสัยรูไดเฉพาะบัณฑิต. ก็ สั ต ว เหล า นี้ มี อ าลั ย เป น ที่ ม ายิ น ดี ยิ น ดี แ ล ว ในอาลั ย เพลิ ด เพลิ น แล ว ในอาลั ย ; สําหรับสั ตวผู มี อาลัยเป นที่ มายินดี ยินดี เพลิ ดเพลินในอาลัยนั้ น ยากนั กที่ จะเห็ นสิ่งนี้ คื อ ปฏิ จจสมุ ปบาท กล าวคื อความที่ สิ่ งนี้ ๆ เป นป จจั ยแก สิ่ งนี้ ๆ (อิ ทปฺ ปจฺ จยตา ปฎิจฺจสมุปฺปาโท); และยากนักที่จะเห็นแมสิ่งนี้ คือนิพพาน อันเปนธรรมเปนที่สงบ ระงับแหงสังขารทั้งปวง เปนธรรมอันสลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เปนที่สิ้นไปแหงตัณหา

www.buddhadasa.info

โพธิ ราชกุ ม ารสู ต ร ราชวรรค มู ม. ๑๓/๔๖๑/๕๐๙, ตรั ส แก โพธิ ราชกุ ม าร ที่ โกกนุ ทปราสาท เมื อง

สุ งสุ มารคิ ระ; ปาสราสิ สู ตร มู .ม. ๑๒/๓๒๓/๓๒๑, ตรัสแก ภิ กษุ ทั้ งหลาย ที่ เชตวั น. (มี เนื้ อความ เหมือนกันทุกตัวอักษรตางกันแตวาตรัสคนละคราว เพราะตรัสแกผูฟงตางคนกัน คือครั้งหนึ่งตรัสแก โพธิราชกุมาร ครั้งหนึ่งตรัสแกภิกษุทั้งหลาย).

www.buddhadasa.info


๕๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑

เป นความจางคลาย เป นความดั บไม เหลื อแห งทุ กข . หากเราพึ งแสดงธรรมแล วสั ตว อื่ น ไม พึ งรู ทั่ วถึ ง ข อ นั้ น จั ก เป น ความเหนื่ อ ยเปล าแก เรา, เป น ความลํ าบากแก เรา". โอ, ราชกุ มาร! คาถาอั นน าเศร า (อนจฺ ฉริ ยา) เหล านี้ ที่ เราไม เคยฟ งมาแต ก อน ได ปรากฏ แจมแจงแกเราวา:"กาลนี้ ไมควรประกาศธรรมที่เราบรรลุไดแลวโดยยาก. ธรรมนี้ สัตวที่ถูกราคะโทสะปดกั้นแลว ไมรูไดโดย งายเลย. สัตวผูกําหนัดแลวดวยราคะอันความมืด หอหุมแลว จักไมเห็นธรรมอันไปทวนกระแส อันเปน ธรรมละเอียด ลึกซึ้ง เห็นไดยาก เปนอณู" ดังนี้. (ยังมีอีกสูตรหนึ่ง๑ ซึ่งมีเนื้อความเหมือนกันกับขอความขางบนนี้ แตเปนคํากลาวของพระ พุทธเจาวิปสสี นํามาตรัสเลาโดยพระพุทธเจาพระองคนี้ ดังตอไปนี้:-

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ครั้งนั้ นแล พระผู มี พระภาคอรหั นตสั มมาสั มพุ ทธเจ า พระนามว า วิ ป ส สี ได ท รงพระดํ า ริ ว า "ถ า อย า งไร เราพึ ง แสดงธรรมเถิ ด " ดั ง นี้ . ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ลํ าดั บนั้ น พระผู มี พระภาคอรหั นตสั มมาสั มพุ ทธเจ าพระนามว า วิ ป ส สี ได ท รงพระดํ าริ อี ก ว า "ธรรมที่ เราบรรลุ แ ล ว นี้ เป น ธรรมอั น ลึ ก สั ต ว อื่ น เห็ น ได ยาก ยากที่ สั ตว อื่ นจะรู ตาม เป นธรรมระงั บและปราณี ต ไม เป นวิ สั ยที่ จะหยั่ งลงง ายๆ แห งความตรึ ก เป นของละเอี ยด เป นวิ สั ยรู ได เฉพาะบั ณ ฑิ ต. ก็ สั ตว เหล านี้ มี อาลั ย เปนที่มายินดี ยินดีแลวในอาลัย เพลิดเพลินแลวในอาลัย; สําหรับสัตวผูมีอาลัยเปนที่มา

www.buddhadasa.info

มหาปทานสูตร มหา. ที่.๑๐/๔๑/๔๒, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยลักษณะเปนตนของปฏิจจ ฯ

๕๕

ยิ น ดี ยิ น ดี เพลิ ดเพลิ น ในอาลั ยนั้ น ยากนั กที่ จะเห็ น สิ่ งนี้ คื อ อิ ทั ป ป จจยตาปฏิ จจสมุ ปบาท (ปฏิ จจสมุ ปบาทกล าวคื อความที่ สิ่ งนี้ ๆ เป นป จจัยแก สิ่ งนี้ ๆ); และยากนั ก ที่ จะเห็ นแม สิ่ งนี้ คื อนิ พพาน อั นเป นธรรมเป นที่ สงบระงับแห งสั งขารทั้ งปวง เป นธรรม อั นสลั ดคื นซึ่ งอุ ปธิ ทั้ งปวง เป นที่ สิ้ นไปแห งตั ณหา เป นความจางคลาย เป นความดั บ ไม เหลื อ แห งทุ ก ข . หากเราพึ งแสดงธรรมแล ว สั ต ว อื่ น ไม พึ งรูทั่ วถึ ง ข อ นั้ น จั ก เป น ความเหนื่อยเปลาแกเรา, เปนความลําบากแกเรา" ดังนี้. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ได ยิ น ว า คาถาอั น น าเศร า (อนจฺ ฉริ ยา) เหล านี้ ซึ่งพระองคไมเคยสดับมาแตกอน ไดแจมแจงกะพระผูมีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจา พระนามวาวิปสสี ดังนี้วา "กาลนี้ ไมควรประกาศธรรมที่เราบรรลุไดแลวโดยยาก. ธรรมนี้ สัตวที่ถูกราคะโทสะปดกั้นแลว ไมรูไดโดย งายเลย. สัตวผูกําหนัดแลวดวยราคะ อันความมืด หอหุมแลว จักไมเห็นธรรมอันไปทวนกระแส อันเปน ธรรมละเอียด ลึกซึ้ง เห็นไดยาก เปนอณู" ดังนี้.

นรกเพราะไมรูปฏิจจสมุปบาทรอนยิ่งกวานรกไหนหมด www.buddhadasa.info ๑

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! นรกชื่ อว ามหาปริ ฬาหะ มี อยู . ในนรกนั้ น, บุ คคล ยังเห็นรูปอยางใดอยางหนึ่งไดดวยจักษุ แตไดเห็นรูปที่ไมนาปรารถนาอยางเดียว ไมเห็น

สู ตรที่ ๓ ปปาตวรรค สั จจสั งยุ ตต มหาวาร.สํ . ๑๙/๕๖๒/๑๗๓๑, ตรั สแก ภิ กษุ ทั้ งหลาย ที่ คิ ชฌกู ฏบรรพต นครราชคฤห ; ในที่ อื่ น (สู ตรที่ ๒ เทวทหวรรค สฬา. สํ . ๑๘/๑๕๘/๒๑๔) พระองค ตรั สเรี ยกนรก ชนิดนี้วา ผัสสายตสิกนรก ซึ่งก็ลวนแตเปนนรกในปจจุบันสําหรับสัตวที่ยังมีความรูสึกอยู ดวยกันทั้งนั้น.

www.buddhadasa.info


๕๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑

รู ป ที่ น า ปราถนาเลย; เห็ น รู ป ที่ ไม น า ใคร อ ย า งเดี ย ว ไม เห็ น รู ป ที่ น า ใคร เลย; เห็ น รู ป ที่ ไ ม น า พอใจอย า งเดี ย ว ไม เห็ น รู ป ที่ น า พอใจเลย. ในนรกนั้ น , บุ ค คลยั ง ฟ ง เสี ย ง อย างใดอย างหนึ่ งด วยโสตะ แต ได ฟ งเสี ย งที่ ไม น าปรารถนาอย างเดี ยว ไม ได ฟ งเสี ย ง ที่ น าปรารถนาเลย; ฟ งเสี ยงที่ ไม น าใคร อย างเดี ยว ไม ได ฟ งเสี ยงที่ น าใคร เลย; ฟ งเสี ยง ที่ ไม น าพอใจอย างเดี ยว ไม ได ฟ งเสี ยงที่ น าพอใจเลย. ในนรกนั้ น, บุ คคลยั งรู สึ กกลิ่ น อย างใดอย างหนึ่ งได ด วยฆานะ แต ได รู สึ กกลิ่ นที่ ไม น าปรารถนาอย างเดี ยว ไม ได รู สึ กกลิ่ น ที่ น า ปรารถนาเลย; ได รู สึ ก กลิ่ น ที่ ไ ม น า ใคร อ ย า งเดี ย ว ไม ไ ด รู สึ ก กลิ่ น ที่ น า ใคร เลย; ได รู สึ ก กลิ่ น ที่ ไม น าพอใจอย างเดี ย ว ไม ได รู สึ ก กลิ่ น ที่ น าพอใจเลย. ในนรกนั้ น , บุ ค คล ยั ง ลิ้ ม รสอย า งใดอย า งหนึ่ ง ได ด ว ยชิ ว หา แต ได ลิ้ ม รสที่ ไม ป รารถนาอย า งเดี ย ว ไม ได ลิ้ ม รสที่ น า ปราถนาเลย; ได ลิ้ ม รสที่ ไ ม น า ใคร อ ย า งเดี ย ว ไม ไ ด ลิ้ ม รสที่ น า ใคร เ ลย; ได ลิ้ ม รสที่ ไม น าพอใจอย างเดี ย ว ไม ได ลิ้ ม รสที่ น าพอใจเลย. ในนรกนั้ น , บุ ค คลยั งถู ก ต อ งโผฏฐั พ พะอย างใดอย างหนึ่ งได ด วยกาย แต ได ถู ก ต อ งโผฏฐั พ พะที่ ไม น าปรารถนา อย างเดี ยว ไม ได ถู กต องโผฏฐั พพะที่ น าปรารถนาเลย; ได ถู กต องโผฏฐั พพะที่ ไม น าใคร อย า งเดี ย ว ไม ได ถู ก ต อ งโผฏฐั พ พะที่ น า ใคร เลย; ไดถู ก ต อ งโผฏฐั พ พะที่ ไม น า พอใจ อย างเดี ย ว ไม ได ถู ก ต องโผฏฐั พ พะที่ น าพอใจเลย, ในรกนั้ น , บุ ค คลยั งรู สึ ก ธั ม มารมณ อย างใดอย างหนึ่ งได ด วยมโน แต ได รู สึ กธั ม มารมณ ที่ ไม น าปรารถนาอย างเดี ยว ไม ได รู สึ ก ธั ม มารมณ ที่ น าปรารถนาเลย; ได รู สึ ก ธั ม มารมณ ที่ ไม น าใคร อ ย างเดี ย ว ไม ได รู สึ ก ธั มมารมณ ที่ น าใคร เลย; ได รู สึ กธั มมารมณ ที่ ไม น าพอใจอย างเดี ยว ไม ได รู สึ กธั มมารมณ ที่นาพอใจเลย.

www.buddhadasa.info เมื่ อพระผู มี พระภาคเจ าตรั สอย างนี้ แล ว ภิ กษุ รู ปหนึ่ งได ทู ลถาม พระผู มี พระภาคเจ าว า "ข าแต

พระองค ผู เจริ ญ ! ความเร า ร อ นนั้ น ใหญ ห ลวงหนอ ข า แต พ ระองค ผู เจริ ญ ! ความ เร า ร อ นนั้ น ใหญ หลวงนั ก หนอ. ข า แต พ ระองค ผู เจริ ญ ! มี ไ หม พระเจ า ข า : ความ รอนอื่นที่ใหญหลวงกวา นากลัวกวา กวาความรอนนี้?"

www.buddhadasa.info


วาดวยลักษณะเปนตนของปฏิจจ ฯ

๕๗

ดู ก อ นภิ ก ษุ ! มี อ ยู : ความเร า ร อ นอื่ น ที่ ใ หญ ห ลวงกว า น า กลั ว กว า กวาความรอนนี้. "ขา แตพ ระองคผู เจริญ ! ก็ค วามรอ นอื ่น ที ่ใหญห ลวงกวา นา กลัว กวา กวาความรอนนี้ เปนอยางไรเลา?" ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ สมณะหรือพราหมณ เหล าใดเหล าหนึ่ ง ย อมไม รูชั ด ตามความเป น จริ ง ว า "ทุ ก ข เป น อย า งนี้ ๆ "; ว า "เหตุ ให เกิ ด ขึ้ น แห งทุ ก ข เป น อย า งนี้ ๆ "; ว า "ความดั บ ไม เ หลื อ แห ง ทุ ก ข เป น อย า งนี้ ๆ"; ว า "ข อ ปฏิ บั ติ เครื่อ งทํ า สั ต ว ให ลุ ถึ ง ความดั บ ไม เหลื อ แห ง ทุ ก ข เป น อย า งนี้ ๆ"; สมณพราหมณ เหล านั้ นยอมยินดี ยิ่งในสั งขารทั้ งหลาย อันเป นไปพรอมเพื่ อชาติ ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนั สอุปายาส; สมณพราหมณ เหลานั้น ครั้นยินดี ยิ่งในสังขารทั้งหลาย เชนนั้ น แล ว, ย อมปรุงแต งซึ่งสั งขารทั้ งหลายอั นเป นไปพรอมเพื่ อชาติ ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาส; สมณพราหมณ ทั้ งหลายเหล านั้ น ครั้นปรุงแต งซึ่ งสั งขารทั้ งหลาย เช น นั้ น แล ว , ย อ มเร า ร อ นเพราะความเร า ร อ นแห ง ชาติ (ความเกิ ด ) บ า ง; ย อ ม เร า ร อ นเพราะความเร า ร อ นแห ง ชราบ า ง, ย อ มเร า ร อ นเพราะความเร า ร อ นแห ง มรณะบ าง, ย อมเร าร อนเพราะความเร าร อนแห งโสกะปริ เทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาส บ าง: เรากล าวว า "สมณพราหมณ เหล านั้ น ย อมไม พ นจากชาติ ชรามรณะ โสกะปริ เทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย คือไมพนจากทุกข" ดังนี้.

www.buddhadasa.info (ฝายปฏิษักขนัย)

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ส วนสมณหรือพราหมณ เหล าใดเหล าหนึ่ ง ย อมรู ชั ด ตามความเปนจริงวา "ทุกข เปนอยางนี้ ๆ"; วา "เหตุใหเกิดขึ้นแหงทุกข

www.buddhadasa.info


๕๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑

เป น อย า งนี้ ๆ"; ว า "ความดั บ ไม เหลื อ แห ง ทุ ก ข เป น อย า งนี้ ๆ"; ว า " ข อ ปฏิ บั ติ เครื่ อ งทํ า สั ต ว ใ ห ลุ ถึ ง ความดั บ ไม เหลื อ แห ง ทุ ก ข เป น อย า งนี้ ๆ"; สมณพราหมณ เหลา นั ้น ยอ มไมย ิน ดียิ ่ง ในสัง ขารทั ้ง หลาย อัน เปน ไปพรอ มเพื ่อ ชาติช รามรณะ โสกะปริ เทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาส; สมณพราหมณ เหล านั้ น ครั้ นไม ยิ นดี ยิ่ งในสั งขาร ทั้ งหลาย เช นนั้ นแล ว, ย อมไม ปรุ งแต งซึ่ งสั งขารทั้ งหลาย อั นเป นไปพร อมเพื่ อชาติ ชรามรณะ โสกะปริ เทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาส; สมณพราหมณ ทั้ งหลายเหล านั้ น ครั้นไม ปรุ ง แต ง ซึ่ ง สั ง ขารทั้ ง หลาย เช น นั้ น แล ว , ย อ มไม เร า ร อ นเพราะความเร า ร อ นแห ง ชาติ (ความเกิ ด ) บ า ง ย อ มไม เร า ร อ นเพราะความเร า ร อ นแห งชรา บ า ง ย อ มไม เร า ร อ นเพราะความเร า ร อ นแห ง มรณะบ า ง ย อ มไม เ ร า ร อ นเพราะความเร า ร อ น แห งโลกะ ปริ เทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสบ าง: เรากล าวว า "สมณพราหมณ เหล านั้ น ย อมหลุ ดพ นจากชาติ ชรามรณะ โสกะปริ เทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย คื อหลุ ดพ น จากทุกข" ดังนี้. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! เพราะเหตุ นั้ น ในกรณี นี้ พวกเธอทั้ งหลาย พึ งทํ า ความเพี ย ร เพื่ อ ให รู ต ามที่ เป น จริ ง ว า "ทุ ก ข เป น อย า งนี้ ๆ "; ว า " เหตุ ให เกิ ด ขึ้ น แหง ทุก ข เปน อยา งนี ้ ๆ "; วา "ความดับ ไมเ หลือ แหง ทุก ข เปน อยา งนี ้ ๆ"; วา "ขอ ปฏิบ ัต ิเ ครื ่อ งทํ า สัต วใ หล ุถ ึง ความดับ ไมเ หลือ แหง ทุก ข เปน อยา งนี ้ ๆ"; ดังนี้เถิด.

www.buddhadasa.info ห ม า ย เห ต ุผู ร ว บ ร ว ม : ผู ศ ึก ษ า พ ึง สัง เก ต ให เ ห ็น วา น รก ที ่ร อ น ยิ ่ง ก วา นรกนั ้น คือ นรกแหง การไมรู ไ มเ ห็น ซึ ่ง อริย สัจ สี ่; อริย สัจ สี ่โ ดยสมบูร ณ นั ้น คือ ปฏิจ จส มุ ป บ า ท ดั งที่ พ ระ ผู มี พ ระ ภ า ค เจ า ท รงแ ส ด งไว แ ล ว ใน สู ต ร ๑ ม ห า ว รรค ติ ก . อํ .๒๐/๒๒๗/๕๐๑, ซึ่ งนํ ามาใส ไวในหนั งสื อ เล ม นี้ โดยหั วขอ วา “อริ ย สั จ ในรู ป แห ง ปฏิ จ จ-

สมุปบาท มีในขณะแหงเวทนา ” ; โดยเฉพาะอยางยิ่งในขณะกําลังเสวยทุกขอันเกิดมา จากชาติ เป น ต น ; นรกที่ เ กิ ด มาจากการไม เ ห็ น อริ ย สั จ สี่ จึ ง เป น นรกแห ง การไม เ ห็ น ปฏิจจสมุปบาท นั้นเอง ; เรียกสั้นๆ ในที่นี้วา “นรกปฏิจจสมุปบาทรอนยิ่งกวานรก”

www.buddhadasa.info


วาดวยลักษณะเปนตนของปฏิจจ ฯ

๕๙

ผูแสดงธรรมโดยหลักปฏิจจสมุปบาทเทานั้น จึงชื่อวา "เปนธรรมกถึก"๑ ครั้งหนึ่ง ที่พระเชตวัน ภิกษุ รูปหนึ่งไดเขาไปเฝาพระผูมีพระภาคเจาถึงที่ ประทับ แลวทู ลถามวา "ข าแ ต พ ระอ งค ผู เจ ริ ญ ! ที่ ก ล าว ๆ กั น ว า "ธ รรม ก ถึ ก - ธรรม ก ถึ ก " ดั งนี้ ; ภิ ก ษุ ชื่ อ วาเปนธรรมกถึก ดวยเหตุเพียงเทาไรหนอ พระเจาขา?" ดังนี้. พระผู มี พระภาคเจ าได ตรัสตอบว า "ดู ก อนภิ กษุ ! ถ าภิ กษุ แสดงธรรมเพื่ อความ

เบื ่อ หนา ย เพื ่อ ความคลา ยกํ า หนัด เพื ่อ ความดับ ไมเ หลือ แหง ชราและมรณะ ผูไซร; ก็เปนการสมควรเพื่อจะเรียกภิกษุนั้นวา "ภิกษุธรรมกถึก" ดังนี้. ดู ก อนภิ กษุ ! ถ าภิ กษุ แสดงธรรมเพื่ อความเบื่ อหน าย เพื่ อความคลาย กํ า หนั ด เพื่ อ ความดั บ ไม เหลื อ แห ง ชาติ อยู ไ ซร ; ก็ เป น การสมควรเพื่ อ จะเรี ย ก ภิกษุนั้นวา "ภิกษุธรรมกถึก". ดู ก อนภิ กษุ ! ถ าภิ กษุ แสดงธรรมเพื่ อความเบื่ อหน าย เพื่ อความคลาย กํ า หนั ด เพื่ อ ความดั บ ไม เหลื อ แห ง ภพ อยู ไ ซร ; ก็ เป น การสมควรเพื่ อ จะเรี ย ก ภิกษุนั้นวา "ภิกษุธรรมกถึก".

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ! ถ าภิ กษุ แสดงธรรมเพื่ อความเบื่ อหน าย เพื่ อความคลาย กํ า หนั ด เพื่ อ ความดั บ ไม เหลื อ แห ง อุ ป าทาน อยู ไ ซร ; ก็ เป น การสมควรเพื่ อ จะ เรียกภิกษุนั้นวา "ภิกษุธรรมกถึก".

สูตรที่ ๖ อาหารวรรค นิทานสังยุตต นิทาน. สํ. ๑๖/๒๒/๔๖, ตรัสแกภิกษุรูปหนึ่ง ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๖๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑

ดู ก อ นภิ ก ษุ ! ถ า ภิ ก ษุ แ สดงธรรมเพื่ อ ความเบื่ อ หน า ย เพื่ อ ความคลาย กํ า หนัด เพื ่อ ความดับ ไมเ หลือ แหง ตัณ หา อยู ไ ซร; ก็เ ปน การสมควรเพื ่อ จะ เรียกภิกษุนั้นวา "ภิกษุธรรมกถึก". ดู ก อ นภิ ก ษุ ! ถ า ภิ ก ษุ แ สดงธรรมเพื่ อ ความเบื่ อ หน า ย เพื่ อ ความคลาย กํ า หนัด เพื ่อ ความดับ ไมเ หลือ แหง เวทนา อยู ไ ซร; ก็เ ปน การสมควรเพื ่อ จะ เรียกภิกษุนั้นวา "ภิกษุธรรมกถึก". ดู ก อ นภิ ก ษุ ! ถ า ภิ ก ษุ แ สดงธรรมเพื่ อ ความเบื่ อ หน า ย เพื่ อ ความคลาย กํ า หนัด เพื ่อ ความดับ ไมเ หลือ แหง ผัส สะ อยู ไ ซร; ก็เ ปน การสมควรเพื ่อ จะ เรียกภิกษุนั้นวา "ภิกษุธรรมกถึก". ดู ก อ นภิ ก ษุ ! ถ า ภิ ก ษุ แ สดงธรรมเพื่ อ ความเบื่ อ หน า ย เพื่ อ ความคลาย กํ า ห นัด เพื ่อ ค วาม ดับ ไมเ ห ลือ แหง ส ฬ าย ต น ะ อ ยู ไ ซ ร; ก็เ ปน ก ารส ม ค วร เพื่อจะเรียกภิกษุนั้นวา "ภิกษุธรรมกถึก".

www.buddhadasa.info ดู ก อ นภิ ก ษุ ! ถ า ภิ ก ษุ แ สดงธรรมเพื่ อ ความเบื่ อ หน า ย เพื่ อ ความคลาย กํ า หนั ด เพื่ อ ความดั บ ไม เ หลื อ แห ง นามรู ป อยู ไ ซร ; ก็ เ ป น การสมควรเพื่ อ จะ เรียกภิกษุนั้นวา "ภิกษุธรรมกถึก".

ดู ก อ นภิ ก ษุ ! ถ า ภิ ก ษุ แ สดงธรรมเพื่ อ ความเบื่ อ หน า ย เพื่ อ ความคลาย กํ า หนั ด เพื่ อ ความดั บ ไม เหลื อ แห ง วิ ญ ญ าณ อยู ไ ซร ; ก็ เป น การสมควรเพื่ อ จะ เรียกภิกษุนั้นวา "ภิกษุธรรมกถึก".

www.buddhadasa.info


วาดวยลักษณะเปนตนของปฏิจจ ฯ

๖๑

ดู ก อนภิ กษุ ! ถ าภิ กษุ แสดงธรรมเพื่ อความเบื่ อหน าย เพื่ อความคลาย กํ า หนั ด เพื่ อ ความดั บ ไม เหลื อ แห ง สั ง ขารทั้ ง หลาย อยู ไ ซร ; ก็ เป น การสมควร เพื่อจะเรียกภิกษุนั้นวา "ภิกษุธรรมกถึก". ดู ก อนภิ กษุ ! ถ าภิ กษุ แสดงธรรมเพื่ อความเบื่ อหน าย เพื่ อความคลาย กํ า หนัด เพื ่อ ความดับ ไมเ หลือ แหง อวิช ชา อยู ไ ซร; ก็เ ปน การสมควรเพื ่อ จะ เรียกภิกษุนั้นวา "ภิกษุธรรมกถึก". (ค. วาดวย วัตถุประสงค ๖ เรื่อง)

ปฏิจจสมุปบาท ทําใหอยูเหนือความมี และความไมมีของสิ่งทั้งปวง๑ ชาณุ สโสณิ พรหมณ ได เข าไปเฝ าพระผู มี พระภาคเจ า แล วทู ลถามว า "ข าแต พระโคดม

ผูเจริญ ! สิ่งทั้งปวง มีอยูหรือหนอ?"

www.buddhadasa.info พระผู มี พระภาคเจ า ตรัสตอบว า "ดู ก อนพราหมณ ! คํ ากล าวที่ ยื นยั นลงไปด วย

ทิฏฐิวา 'สิ่งทั้งปวง มีอยู' ดังนี้ : นี้ เปนสวนสุด (มิใชทางสายกลาง)๒ ที่หนึ่ง".

สูตรที่ ๗ คหปติวรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน. สํ. ๑๖/๙๑/๑๑๗๓, ตรัสแกชาณุสโสณิพราหมณ ที่เชตวัน. คําวา "สวนสุด" ในกรณี อยางนี้ หมายถึงทิ ฏฐิหรือความคิ ดเห็ นที่แลนไปสุดเหวี่ยง ในทิศทางใดทางหนึ่ ง มี ลักษณะเปนความสําคั ญมั่นหมายในลักษณะที่เปนตัวเปนตนหรือตรงกันขาม. สวนพระผูมีพระภาคเจา ทรงมี หลักธรรมของพระองค ที่ไมแลนไปสุดเหวี่ยงหรือสุดโตง อย างนั้นอยางนี้ แต ตรัสลงไปในลักษณะที่ เป นวิทยาศาสตรวา 'เมื่ อสิ่งนี้ มี สิ่งนี้ จึงมี เมื่ อสิ่งนี้ ดั บ สิ่ งนี้ จึงดับ' ในลักษณะที่ ทยอย ๆ กันไปไม มีสิ่ งใด เกิดหรือดับได โดยลําพังตัวมันเอง; ดังนั้น จึงไมมีทิฏฐิวา "สิ่งทั้งปวงมีอยู" หรือวา "สิ่งทั้งปวงไมมี". ๒

www.buddhadasa.info


๖๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑ "ขาแตพระโคดมผูเจริญ! ก็สิ่งทั้งปวง ไมมีอยูหรือ?"

ดู ก อนพราหมณ ! คํ ากล าวที่ ยื นยั นลงไปด วยทิ ฏฐิ ว า "สิ่ งทั้ งปวง ไม มี อยู " ดังนี้ : นี้ เปนสวนสุด (มิใชทางสายกลาง) ที่สอง. ดู ก อ นพรหมณ ! ตถาคต ย อ มแสดงธรรมโดยสายกลาง ไม เข า ไปหา ส วนสุ ดทั้ งสองนั้ น คื อตถาคต ย อมแสดงดั งนี้ ว า "เพราะมี อวิ ชชาเป นป จจั ย จึ งมี สั งขาร ทั ้ง ห ล าย; เพ ราะมีส ัง ขารเป น ปจ จัย จึง มีว ิญ ญ าณ ; ..ฯล ฯ...ฯลฯ...ฯลฯ...; เพราะมี ชาติ เป นป จจั ย, ชรามรณะ โสกะปริ เทวะทุ กขุ โทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งเกิ ด ขึ้นครบถวน : ความเกิดขึ้นพรอมแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้. เพราะความจางคลายดั บไปโดยไม เหลื อแห งอวิ ชชานั้ นนั่ นเที ยว, จึ งมี ความดั บ แห ง สั ง ขาร; เพราะมี ค วามดั บ แห ง สั ง ขาร จึ ง มี ค วามดั บ แห ง วิ ญ ญ าณ ; ...ฯลฯ ฯลฯ...; เพ ราะมีค วาม ดับ แหง ชาตินั ่น แล ชราม รณ ะ โส กะป ริเ ท วะทุก ขะโทมสั ส อุ ป ายาสทั้ ง หลาย จึ ง ดั บ สิ้ น : ความดั บ แห ง กองทุ ก ข ทั้ ง สิ้ น นี้ ย อ มมี ด ว ย อาการอยางนี้", ดังนี้.

www.buddhadasa.info พราหมณ นั้ น กล าวสรรเสริ ญ พระธรรมโอวาทนั้ นแล ว ประกาศตนเป นผู รั บนั บถื อ พระพุ ทธศาสนา จนตลอดชีวิต, ดังนี้ แล.

ไมมีผูนั้น หรือผูอื่น ในปฏิจจสมุปบาท๑ ครั้ งหนึ่ ง ที่ พระเชตวั น พราหมณ คนหนึ่ งได เข าไปเฝ าพระผู มี พระภาคเจ าถึ งที่ ประทั บ แล วได ทูล ถามวา "ขา แตพ ระโคดมผู เ จริญ ! ผู นั ้น กระทํ า ; ผู นั ้น เสวย (ผล) ดัง นั ้น หรือ

พระเจาขา?" ๑

สูตรที่ ๖ คหปติวรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน. สํ. ๑๖/๙๐/๑๗๐, ตรัสแกพรหมณผูหนึ่ง ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยลักษณะเปนตนของปฏิจจ ฯ

๖๓

พระผู มี พระภาคเจ า ได ตรัสตอบวา "ดู ก อนพราหมณ ! คํ ากล าวที่ ยื นยั นลงไปด วย

ทิฏ ฐิว า 'ผู นั ้น กระทํ า ; ผู นั ้น เสวย (ผล)' ดัง นี ้ : นี ้เปน สว นสุด (ไมใ ชส ายกลาง) ที่หนึ่ง". "ขา แตพ ระโคดมผู เ จริญ ! ก็ผู อื ่น กระทํ า ; ผู อื ่น เสวย (ผล) หรือ พระเจาขา?" ดู ก อนพราหมณ ! คํ ากล าวที่ ยื นยั นลงไปด วยทิ ฏฐิ วา "ผู อื่นกระทํ า; ผู อื่ น เสวย (ผล)" ดังนี้ : นี้เปนสวนสุด (ไมใชสายกลาง) ที่สอง. ดู ก อนพราหมณ ! ตถาคต ย อมแสดงธรรมโดยสายกลาง ไม เข าไปหา สวนสุดทั้งสองนั้น คือตถาคต ยอมแสดงดังนี้วา เพราะมีอวิชชาเปนปจจัย จึงมีสังขาร ทั ้ง ห ล าย ; เพ ราะ มีส ัง ขารเปน ปจ จัย จึง มีว ิญ ญ าณ ; ...ฯ ล ฯ ...ฯ ล ฯ ...; เพราะมี ชาติ เป นป จจั ย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งเกิ ด ขึ้นครบถวน : ความเกิดขึ้นพรอมแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ความอาการอยางนี้.

www.buddhadasa.info เพราะความจางคลายดั บไปโดยไมเหลือแหงอวิชชานั้นนั่ นเที ยว, จึงมี ความดั บ แห ง สั ง ขาร; เพราะมี ค วามดั บ แห ง สั ง ขาร จึ ง มี ค วามดั บ แห ง วิ ญ ญาณ; ...ฯลฯ …..ฯลฯ...; เพราะมี ค วามดั บ แห ง ชาติ นั่ น แล ชรามรณ ะ โสกะปริ เทวะทุ ก ขะ โทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งดั บสิ้ น : ความดั บลงแห งกองทุ กข ทั้ งสิ้ นนี้ ย อมมี ด วย อาการอยางนี้", ดังนี้.

พราหมณ นั้ น กล าวสรรเสริญ พระธรรมโอวาทนั้ นแล ว ประกาศตนเป นอุ บาสกผู รับนั บถื อ พระพุทธศาสนา จนตลอดชีวิต, ดังนี้ แล.

www.buddhadasa.info


๖๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑

กายนี้ไมใชของใคร เปนเพียงกระแสปฏิจจสมุปบาท๑ ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! กายนี้ ไม ใ ช ข องเธอทั้ ง หลาย และทั้ ง ไม ใช ข อง บุ คคลเหล าอื่ น. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! กรรมเก า (กาย) นี้ อั นเธอทั้ งหลาย พึ งเห็ นว า เปน สิ ่ง ที ่ป จ จัย ปรุง แตง ขึ ้น (อภิส งฺข ต), เปน สิ ่ง ที ่ป จ จัย ทํ า ใหเ กิด ความรู ส ึก ขึ ้น (อภิสฺเจตยิต), เปนสิ่งที่มีความรูสึกตออารมณได (เวทนีย). ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ในกรณี ของกายนั้ น อริ ยสาวกผู ได สดั บแล ว ย อมทํ า ไว ใ นใจโดยแยบคายเป น อย า งดี ซึ่ ง ปฏิ จ จสมุ ป บาทนั่ น เที ย ว ดั ง นี้ ว า ด ว ยอาการ อย า งนี้ : เพราะสิ่ ง นี้ มี , สิ่ ง นี้ จึ ง มี ; เพราะความเกิ ด ขึ้ น แห ง สิ่ ง นี้ , สิ่ ง นี้ จึ ง เกิ ด ขึ้ น . เพราะสิ ่ง นี ้ไ มม ี, สิ ่ง นี ้จ ึง ไมม ี; เพราะความดับ ไปแหง สิ ่ง นี ้, สิ ่ง นี ้จ ึง ดับ ไป : ข อนี้ ได แก สิ่ งเหล านี้ คื อ เพราะมี อวิ ชชาเป นป จจั ย จึ งมี สั งขารทั้ งหลาย; เพราะมี สั งขาร เปน ป จ จัย จึง ม ีว ิญ ญ าณ ; ...ฯล ฯ...ฯล ฯ...ฯล ฯ...เพ ราะม ีช าติเ ป น ปจ จัย , ชรามรณะโสกะปริ เทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งเกิ ดขึ้ นครบถ วน : ความเกิ ด ขึ้นพรอมแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้.

www.buddhadasa.info เพราะความจางคลายดั บไปโดยไม เหลื อแห งอวิ ชชานั้ นทั่ นเที ยว, จึ งมี ความดั บ แห ง สั ง ขาร; เพราะมี ค วามดั บ แห ง สั ง ขาร จึ ง มี ค วามดั บ แห ง วิ ญ ญาณ; ...ฯลฯ... ฯลฯ...ฯลฯ... เพราะมี ค วามดั บ แห ง ชาติ นั่ น แล ชรามรณ ะ โสกะปริ เทวะทุ ก ขะโทมนั ส อุ ป ายาสทั้ งหลาย จึ งดั บ สิ้ น : ความดั บ ลงแห งกองทุ ก ข ทั้ งสิ้ น นี้ ย อ มมี ด วย อาการอยางนี้", ดังนี้แล.

สูตรที่ ๗ กฬารขัตติยวรรค นิทานสังยุตต นิทาน. สํ. ๑๖/๗๗/๑๔๓, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยลักษณะเปนตนของปฏิจจ ฯ

๖๕

ปฏิจจสมุปบาทเปนธรรมที่ทรงแสดง เพื่อไมใหรูสึกวามีสัตวบุคคลตัวตนเราเขา (เพื่อขจัดสัสสตทิฏฐิเปนตน)๑ ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! อาหาร ๔ อย า งเหล า นี้ ย อ มเป น ไปเพื่ อ ความ ดํารงอยูของภูตสัตวทั้งหลาย, หรือวา เพื่ออนุเคราะหแกสัมภเวสีสัตวทั้งหลาย. อาหาร ๔ อยาง เป นอย างไรเล า? สี่ อย างคื อ (๑) กพฬี การาหาร ที่ หยาบบ าง ละเอี ยดบ าง, (๒) ผั สสะ, (๓) มโนสั ญเจตนา, (๔) วิ ญญาณ. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! อาหาร ๔ อย างเหล านี้ แล ยอมเปนไปเพื่อความดํารงอยูของภูตสัตวทั้งหลาย, หรือวา เพื่ออนุเคราะหแกสัมภเวสีสัตว ทั้งหลาย. ภิ กษุ โมลิ ยผั คคุ นะ ได ทู ลถามขึ้นวา "ข าแต พระองค ผู เจริ ญ! ก็ ใครเล า ย อมกลื นกิ น

ซึ่งวิญญาณาหาร พระเจาขา?" พระผู มี พระภาคเจ า ได ตรั สตอบว า "นั่ นเป นป ญ หาที่ ไม ควรจะเป นป ญ หาเลย :

www.buddhadasa.info เราย อมไม กล าววา 'บุ คคลย อมกลื นกิน' ดั งนี้ : ถ าเราได กล าววา 'บุ คคลย อมกลื นกิ น' ดั งนี้ นั่ นแหละจึ งจะเป นป ญ หาในข อนี้ ที่ ควรถามขึ้ นว า 'ก็ ใครเล า ย อมกลื นกิ น (ซึ่ ง วิญญาณาหาร) พระเจาขา?' ดังนี้. ก็เรามิไดกลาวอยางนั้น, ถาผูใดจะพึ งถามเรา ผูมิได กลาวอยางนั้นเชนนี้วา 'ขาแตพระองคผูเจริญ! วิญญาณาหาร ยอมมีเพื่ออะไรเลาหนอ' ดั งนี้ แล ว, นั่ นแหละจึ งจะเป นป ญ หาที่ ควรแก ความเป นป ญ หา. คํ าเฉลยที่ ควรเฉลย ในปญหาขอนั้น ยอมมีวา 'วิญญาณาหาร ยอมมีเพื่อความเกิดขึ้นแหงภพใหม

สูตรที่ ๒ อาหารวรรค นิทานสังยุตต นิทาน. สํ. ๑๖/๑๕/๓๑, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๖๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑

ตอ ไป . เมื ่อ ภ ูต ะ (ค วาม เป น ภ พ ) นั ้น มีอ ยู , ส ฬ าย ต น ะ ยอ ม มี; เพ ราะ มี สฬายตนะเปนปจจัย จึงมีผัสสะ (การสัมผัส)', ดังนี้". "ขาแตพระองคผูเจริญ! ก็ใครเลา ยอมสัมผัส พระเจาขา?"

นั่ น เป น ป ญ หาที่ ไม ค วรจะเป น ป ญ หาเลย : เราย อ มไม ก ล า วว า "บุ ค คล ย อ มสั ม ผั ส " ดั งนี้ : ถ าเราได ก ล าวว า "บุ ค คล ย อ มสั ม ผั ส " ดั งนี้ นั่ น แหละจึ งจะเป น ป ญ หาในข อ นี้ ที่ ค วรถามขึ้ น ว า "ก็ ใครเล า ย อ มสั ม ผั ส พระเจ าข า?" ดั งนี้ . ก็ เรามิ ได กล าวอย างนั้ น, ถ าผู ใดจะพึ งถามเรา ผู มิ ได กล าวอย างนั้ น เช นนี้ ว า "ผั สสะมี เพราะมี อะไรเป น ป จ จั ย พระเจ า ข า ?" ดั ง นี้ แ ล ว นั่ น แหละจึ ง จะเป น ป ญ หาที่ ค วรแก ค วาม เป น ป ญ หา. คํ า เฉลยที่ ค วรเฉลยในป ญ หาข อ นั้ น ย อ มมี ว า "เพราะมี ส ฬายตนะ เปน ปจ จัย จึง มีผ ัส ส ะ ; เพ ราะ มีผ ัส ส ะ เปน ปจ จัย จึง มีเ วท น า (ค วาม รู ส ึก ตออารมณ)", ดังนี้. "ขาแตพระองคผูเจริญ! ก็ใครเลา ยอมรูสึกตออารมณ พระเจาขา?"

www.buddhadasa.info นั่ นเป นป ญ หาที่ ไม ควรจะเป นป ญ หาเลย : เราย อมไม กล าวว า "บุ คคลย อม รู สึ กต ออารมณ " ดั งนี้ : ถ าเราได กล าวว า "บุ คคลย อมรู สึ กต ออารมณ " ดั งนี้ นั่ นแหละ จึ งจะเป นป ญ หาในข อนี้ ที่ ควรถามขึ้ นว า "ก็ ใครเล า ย อมรู สึ กต ออารมณ พระเจ าข า?" ดั งนี้ . ก็ เรามิ ได ก ล าวอย างนั้ น , ถ าผู ใดจะพึ งถามเรา ผู มิ ได ก ล าวอย างนั้ น เช น นี้ ว า "เพราะมี อะไรเป น ป จจั ย จึ งมี เวทนาพระเจ าข า?" ดั งนี้ แล ว นั่ นแหละจึ งจะเป น ป ญ หา ที่ ค วรแก ค วามเป น ป ญ หา. คํ า เฉลยที่ ค วรเฉลยในป ญ หาข อ นั้ น ย อ มมี ว า "เพราะมี ผั ส สะเป นป จจั ย จึ ง มี เ วทนา; เพ ราะมี เ วทนาเป น ป จ จั ย จึ ง มี ตั ณ หา (ความ อยาก)", ดังนี้.

www.buddhadasa.info


วาดวยลักษณะเปนตนของปฏิจจ ฯ

๖๗

"ขาแตพระองคผูเจริญ! ก็ใครเลา ยอมอยาก พระเจาขา?" นั่ นเป นป ญ หาที่ ไม ควรจะเป นป ญ หาเลย : ย อมไม กล าวว า "บุ คคลย อม อยาก" ดั งนี้ : ถ าเราได กล าวว า "บุ คลลย อมอยาก" ดั งนี้ นั่ นแหละจึ งจะเป นป ญ หา ในข อ นี้ ที่ ค วรถามขึ้ น ว า "ก็ ใครเล า ย อ มอยาก พระเจ าข า?" ดั งนี้ . ก็ เรามิ ได ก ล าว อย างนั้ น, ถ าผุ ใดจะพึ งถามเรา ผู มิ ได กล าวอย างนั้ น เช นนี้ ว า "เพราะมี อะไรเป นป จจั ย จึ ง มี ตั ณ หา พระเจ า ข า ?" ดั ง นี้ แ ล ว นั่ น แหละจึ ง จะเป น ป ญ หาที่ ค วรแก ค วามเป น ป ญ หา. คํ า เฉลยที่ ค วรเฉลยในป ญ หาข อ นั้ น ย อ มมี ว า "เพราะมี เวทนาเป น ป จ จั ย จึงมีตัณหา; เพราะมีตัณหาเปนปจจัย จึงมีอุปาทาน (ความยึดมั่น)", ดังนี้. "ขาแตพระองคผูเจริญ! ก็ใครเลา ยอมยึดมั่น พระเจาขา?" นั่ นเป นป ญหาที่ ไม ควรจะเป นป ญหาเลย : เราย อมไม กล าวว า "บุ คคลย อม ยึ ดมั่ น" ดั งนี้ : ถ าเราได กล าวว า "บุ คคลย อมยึ ดมั่ น" ดั งนี้ นั่ นแหละจึ งจะเป นป ญ หา ในข อนี้ ที่ ค วรถามขึ้ น ว า "ก็ ใครเล า ย อ มยึ ด มั่ น พระเจ าข า?" ดั งนี้ . ก็ เรามิ ได กล าว อย างนั้ น ถ าผู ใดจะพึ งถามเราผู มิ ได กล าวอย างนั้ น เช นนี้ ว า "เพราะมี อะไรเป นป จจั ย จึ งมี อุ ป าทาน พระเจ าข า?" ดั งนี้ แ ล ว นั่ น แหละจึ งจะเป น ป ญ หาที่ ค วรแก ค วามเป น ป ญ หา. คํ า เฉลยที่ ค วรเฉลยในป ญ หาข อ นั้ น ย อ มมี ว า "เพราะมี ตั ณ หาเป น ป จ จั ย จึง มีอ ุป าท าน ; เพ ราะ มีอ ุป าท าน เปน ปจ จัย จึง มีภ พ " ดัง นี ้; เพ ราะ มีภ พ เปน ปจ จัย จึง มีช าติ; เพ ราะมีช าติเ ปน ปจ จัย , ชราม รณ ะ โส กะป ริเ ท วะทุ กขุ โทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งเกิ ดขึ้ นครบถ วน : ความเกิ ดขึ้ นพร อมแห งกองทุ กข ทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้.

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๖๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑

ดู ก อ นผั ค คุ น า! เพราะความจางคลายดั บ ไปโดยไม เหลื อ แห ง ผั ส สา ยตนะ (แดนเกิ ด แห ง สั ม ผั ส ) ทั้ ง ๖ นั้ น นั่ น เที ย ว, จึ ง มี ค วามดั บ แห ง ผั ส สะ; เพราะ มี ความดั บแห งผั สสะ จึ งมี ความดั บแห งเวทนา; เพราะมี ความดั บแห งเวทนา จึ งมี ความ ดั บ แห งตั ณ หา; เพราะมี ค วามดั บ แห งตั ณ หา จึ งมี ค วามดั บ แห งอุ ป าทาน; เพราะมี ความดั บแห งอุ ปาทาน จึ งมี ความดั บแห งภพ; เพราะมี ความดั บแห งภพ จึ งมี ความดั บ แห ง ชาติ ; เพระมี ค วามดั บ แห ง ชาติ นั่ น แล ชรามรณะ โสกะปริ เทวะทุ ก ขะโทมนั ส อุ ป ายาสทั้ งหลาย จึ งดั บ สิ้ น : ความดั บ ลงแห งกองทุ ก ข ทั้ งสิ้ น นี้ ย อ มมี ด วยอาการ อยางนี้, ดังนี้ แล. ห ม า ย เห ตุ ผู ร ว บ ร ว ม : สู ต รนี้ ทั้ ง สู ต ร แ ส ด งว า ไม มี บุ ค ค ล ที่ ก ลื น กิ น วิ ญ ญาณาหาร ไม มี บุ คคลที่ เป น เจ าของอายตนะ ไม มี บุ คคลที่ กระทํ าผั สสะ ไม มี บุ คคลที่ เสวย เวทนา ไม มี บุ ค คลที่ อ ยากด วยตั ณ หา ไม มี บุ ค คลที่ ยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น , มี แ ต ธรรมชาติ ที่ เป น ปฏิ จจสมุปปนนธรรมอยางหนึ่ง ๆ เปนปจจัย สืบตอแกกันและกันเปนสายไป เทานั้น.

ปฏิจจสมุปบาท มีหลักวา "ไมมีตนเอง ไมมีผูอื่น ที่กอสุขและทุกข"๑

www.buddhadasa.info ครั้ งหนึ่ ง ที่ พ ระเชตวั น ติ ม พรุ กขปริ พ พาชก ได เข าไปเฝ าพระผู มี พ ระภาคเจ าถึ งที่ ป ระทั บ

แล ว ได ทู ล ถามว า "ข า แต พ ระโคดมผู เจริ ญ ! สุ ข และทุ ก ข เป น สิ่ ง ที่ บุ ค คลทํ า เองหรื อ

พระเจาขา?"

พระผูมีพระภาคเจา ไดตรัสตอบวา "อยากลาวอยางนั้นเลย ติมพรุกขุ!"

สูตรที่ ๘ อาหารวรรค นิทานสังยุตต นิทาน. สํ. ๑๖/๒๖/๕๔, ตรัสแกติมพรุกขปริพพาชก ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยลักษณะเปนตนของปฏิจจ ฯ

๖๙

"ข าแต พ ระโคดมผู เจริ ญ ! สุ ขและทุ ก ข เป น สิ่ งที่ บุ ค คลอื่ น กระทํ าให ห รื อ พระเจาขา?" อยากลาวอยางนั้นเลย ติมพรุกขะ! "ข า แต พ ระโคดมผู เจริ ญ ! สุ ข และทุ ก ข เป น สิ่ ง ที่ บุ ค คลกระทํ า เองด ว ย และบุคคลอื่นกระทําใหดวยหรือ พระเจาขา?" อยากลาวอยางนั้นเลย ติมพรุกขะ! "ข าแต พระโคดมผู เจริ ญ ! สุ ขและทุ กข เป นสิ่ งที่ ไม ใช ทํ าเองหรื อใครทํ าให ก็เกิดขึ้นไดหรือ พระเจาขา?" อยากลาวอยางนั้นเลย ติมพรุกขะ!

www.buddhadasa.info "ขาแตพระโคดมผูเจริญ! สุขและทุกขไมมีหรือ พระเจาขา?"

ดูกอนติมพรุกขะ ! มิใชสุขและทุกขไมมี, ที่แท สุขและทุกขมีอยู. "ข า แต พ ระโคดมผู เจริ ญ ! ถ า อย า งนั้ น พระโคดมผู เจริ ญ ย อ มไม รู ไ ม เห็นสุขและทุกขกระมัง?"

ดู ก อ นติ ม พรุ กขะ! เราจะไม รู ไม เห็ น สุ ขและสุ ก ข ก็ ห ามิ ได ; เราแลย อ มรู ยอมเห็น ซึ่งสุขและทุกข. "ข า แต พ ระโคดมผู เจริ ญ ! พระองค , เมื่ อ ข าพระองค ทู ล ถามว า 'ข า แต พระโคดมผู เจริ ญ ! สุ ขและทุ ก ข เป น สิ่ งที่ บุ ค คลกระทํ าเองหรื อ พระเจ าข า?' ดั งนี้ , ทรงตอบวา 'อยากลาวอยางนั้นเลย ติมพรุกขะ!' ดังนี้; เมื่อขาพระองคทูลถามวา

www.buddhadasa.info


๗๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑

'ข าแต พ ระโคดมผู เจริ ญ ! สุ ขและทุ กข เป นสิ่ งที่ บุ คคลอื่ นกระทํ าให หรื อ พระเจ าข า?'

ดั งนี้ , ทรงตอบว า 'อย ากล าวอยางนั้ น เลย ติ ม พรุ ก ขะ!' ดั งนี้ ; เมื่ อ ข า พระองค ทู ล ถามว า 'ข าแต พ ระโคดมผู เจริ ญ ! สุ ขและทุ กข เป น สิ่ งที่ บุ ค คลกระทํ าเองด วย และ บุ คคลอื่ นกระทํ าให ด วยหรือ พระเจ าข า?' ดั งนี้ , ทรงตอบว า 'อย ากล าวอย างนั้ นเลย ติ มพรุกขะ!' ดั งนี้ ; เมื่ อข าพระองค ทู ลถามว า 'ข าแต พระโคดมผู เจริญ ! สุ ขและทุ กข เป น สิ่ ง ที่ ไม ใช ทํ า เอง หรื อ ใครทํ า ให ก็ เกิ ด ขึ้ น ได ห รื อ พระเจ า ข า ?' ดั ง นี้ , ทรงตอบ ว า 'อย ากลั วอย างนั้ น เลย ติ ม พรุ ก ขะ!'ดั งนี้ ; เมื่ อ ข าพระองค ทู ล ถามว า 'ข าแต พ ระ โคดมผู เจริญ! สุ ขและทุ กขไม มี หรือ พระเจ าข า?' ดั งนี้ , ทรงตอบวา 'ดู ก อนติ มพรุกขะ! มิใ ชส ุข และทุก ขไ มม ี, ที ่แ ทส ุข และทุก ขม ีอ ยู " ดัง นี ้; ครั ้น ขา พระองคท ูล ถามวา 'ข าแต พ ระโคดมผู เจริ ญ ! ถ าอย างนั้ น พระโคดมผู เจริ ญ ย อ มไม รู ไม เห็ น สุ ขและทุ ก ข กระมั ง ?' ดั งนี้ , ก็ ยั ง ทรงตอบว า 'ดู ก อ นติ ม พรุ ก ขะ! เราจะไม รู ไม เห็ น สุ ข และทุ ก ข ก็ ห ามิ ได ; เราแล ย อ มรู ย อ มเห็ น ซึ่ ง สุ ข และทุ ก ข ' ดั งนี้ . ข า แต พ ระองค ผู เจริ ญ ! ขอพระผู มี พระภาค จงตรั สบอกซึ่ ง (เรื่ องราวแห ง) สุ ขและทุ กข ; และจงทรงแสดงซึ่ ง (เรื่องราวแหง) สุขและทุกข แกขาพระองคเถิด". ดู ก อนติ มพรุ กขะ! เมื่ อบุ คคลมี ความสํ าคั ญ มั่ นหมายมาแต ต นว า "เวทนา ก็ อั นนั้ น บุ คคลผู เสวยเวทนาก็ คนนั้ น" ดั งนี้ ไปเสี ยแล ว แม ออย างนี้ เราก็ ยั งไม กล าวว า "สุขและทุกขเปนสิ่งที่บุคคลกระทําเอง" ดังนี้.

www.buddhadasa.info ดู ก อนติ มพรุ กขะ! เมื่ อบุ คคลถู กเวทนาสะกิ ดให มี ความสํ าคั ญ มั่ นหมายว า "เวทนาก็ อั นอื่ น บุ คคลผู เสวยเวทนาก็ คนอื่ น" ดั งนี้ ไปเสี ยแล ว แม อย างนี้ เราก็ ยั งไม กล าวว า "สุขและทุกข เปนสิ่งที่บุคลลอื่นกระทําให" ดังนี้.

www.buddhadasa.info


วาดวยลักษณะเปนตนของปฏิจจ ฯ

๗๑

ดู ก อ นติ ม พรุ ก ขะ! ตถาคต ย อ มแสดงธรรมโดยสายกลาง ไม เข าไปหา ส วนสุ ดทั้ งสองนั้ น คื อตถาคต ย อมแสดงดั งนี้ ว า "เพราะมี อวิ ชชาเป นป จจั ย จึ งมี สั งขาร ทั้ ง หลาย; เพ ราะมี สั ง ขารเป นป จจั ย จึ ง มี วิ ญ ญ าณ ; ...ฯลฯ...ฯลฯ...ฯลฯ...; เพราะมี ชาติ เป นป จจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนั สอุปายาสทั้ งหลาย จึงเกิดขึ้น ครบถวน : ความเกิดขึ้นพรอมแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้. เพราะความจางคลายดั บไปโดยไม เหลื อแห งอวิ ชชานั้ นนั่ นเที ยว, จึ งมี ความ ดั บ แห งสั งขาร; เพราะมี ค วามดั บ แห งสั งขาร จึ งมี ค วามดั บ แห งวิ ญ ญาณ; ...ฯลฯ ...ฯลฯ...ฯลฯ...; เพราะมีค วามดับ แหง ชาตินั ่น แล ชรามรณะ โสกะปริเ ทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งดั บสิ้ น : ความดั บลงแห งกองทุ กข ทั้ งสิ้ นนี้ ย อมมี ดวยอาการอยางนี้". ติ มพรุกขปริพพาชกนั้ น กล าวสรรเสริญพระธรรมโอวาทนั้ นแล ว ประกาศตนเป นอุ บาสกผู รับ นับถือพระพุทธศาสนา จนตลอดชีวิต, ดังนี้ แล.

การรูปฏิจจสมุปบาท เปนหลักการพยากรณอรหัตตผล๑

www.buddhadasa.info ภิ กษุ กฬารขัตติ ยะ เข าไปหาพระสารีบุ ตร ได เลาเรื่องที่ พระโมลิ ยผั คคุ นะผูลาสิ กขาเวียนมาเป น ฆราวาสใหพระสารีบุ ตรฟ ง พระสารีบุ ตรกลาววาที่ พระโมลิยผัคคุนะลาสิกขาไปนั้ น ต องเป นเพราะไม ไดความ มั่ นใจ ในธรรมวิ นั ยนี้ เป นแน เมื่ อได ฟ งดั งนั้ น ภิ กษุ กฬารขั ตติ ยะ จึ งได ย อนถามถึ งความรูสึ กส วนตั ว พระสารีบุ ตรเองว าท านได ความมั่ นใจ ในธรรมวิ นั ยแล วหรือ พระสารีบุ ตร ได ตอบว า เราไม มี กั งขาในข อ นี้ เลย ภิ กษุ กฬารขั ตติ ยะ ได ถามอี กว า แล วในกาลต อไปข างหน าเล า พระสารีบุ ตรตอบว า เราไม ลั งเลสงสั ยเลย ภิกษุกฬารขัตติยะจึงเขาไปเฝาพระผูมีพระภาคเจา ทูลกลาวหาพระสารีบุตรวาพยากรณ อรหัตตผลวาตนมีชาติ สิ้นแลวเปนตน. พระผูมีพระภาคเจา ไดรับสั่งใหเรียกหาพระสารีบุตรมาแลวตรัสถามวา:-

สูตรที่ ๒ กฬารขัตติยวรรค นิทานสังยุตต นิทาน. สํ. ๑๖/๖๐/๑๐๖, ตรัสแกพระสารีบุตร ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๗๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑

ดูกอนสารีบุตร! ไดยินวา เธอพยากรณอรหัตตผลวา "เรายอมรูชัดวา 'ชาติ สิ้นแลว, พรหมจรรยไดอยูจบแลว, กิจที่ควรทํา ไดทําเสร็จแลว, กิจอื่นที่ตองปฏิบัติ เพื่อความหลุดพนอยางนี้ มิไดมีอีก' ดังนี้ จริงหรือ?" "ขาแตพระองคผูเจริญ! เนื้อความโดยบทและโดยพยัญชนะทั้งหลาย เชนนั้น ขาพระองคมิไดกลาวแลว พระเจาขา!" ดู ก อนสารีบุ ตร! กุ ลบุ ตรย อมพยากรณ อรหั ตตผล ได โดยปริยายแม ตาง ๆ กัน เมื่อเปนดังนั้น ประชาชนทั้งหลาย ก็ยอมเห็นการพยากรณโดยปริยายใด ปริยายหนึ่งนั้น วาเปนอรหัตตผลที่กุลบุตรนั้นพยากรณแลว. "ขาแตพระองคผูเจริญ! ก็ขาพระองคไดกราบทูลแลวมิใชหรือวา เนื้อความ มีอรรถและพยัญชนะทั้งหลายเชนนั้น ขาพระองคมิไดกลาวแลว". ดูกอนสารีบุตร! ถาคนทั้งหลาย จะพึงถามเธออยางนี้วา "ขาแตทาน สารีบุตร! ทานรูอยางอยางไร เห็นอยูอยางไร จึงพยากรณอรหัตตผลวา 'ชาติสิ้นแลว, พรหมจรรยไดอยูจบแลว, กิจที่ควรทํา ไดทําเสร็จแลว, กิจที่ตองปฏิบัติเพื่อความหลุด พ น อยางนี้ มิไดมีอีก' ดังนี้" ดูกอนสารีบุตร! เธอถูกถามอยางนี้แลว จะตอบแกเขา วาอยางไร?

www.buddhadasa.info "ขาแตพระองคผูเจริญ! ถาเขาถามเชนนั้น ขาพระองคจะตอบแกเขาวา' ดูกอนทานทั้งหลาย! ชาติ มีสิ่งใดเปนเหตุ เมื่อชาติสิ้นเพราะความสิ้นแหงเหตุนั้น ขาพเจารูวาชาติสิ้นแลว ดังนี้ จึงรูวา 'ชาติสิ้นแลว พรหมจรรยไดอยูจบแลว กิจที่

www.buddhadasa.info


วาดวยลักษณะเปนตนของปฏิจจ ฯ

๗๓

ควรทํา ให ทําเสร็จแลว กิ จอื่นที่ ตองปฏิ บั ติเพื่ อความหลุดพ นอย างนี้ มิ ได มี อีก' ดั งนี้ '. ขาแตพระองคผูเจริญ! เมื่อถูกถามอยางนี้ ขาพระองคจะตอบแกเขาอยางนี้". ดูก อ นสารีบ ุต ร! ถา คนทั ้ง หลาย จะพึง ถามเธอ (ตอ ไป) อยา งนี ้ว า "ข า แต ท า นสารี บุ ต ร! ก็ ช าติ มี อ ะไรเป น เหตุ ใ ห เกิ ด (นิ ท าน)? มี อ ะไรเป น เครื่ อ ง ก อ ให เกิ ด (สมุ ท ย)? มี อะไรเป น เครื่ องกํ าเนิ ด (ชาติ ก)? มี อ ะไรเป นแดนเกิ ด (ปภว) เลา?" ดังนี้. ดูกอนสารีบุตร! เธอถูกถามอยางนี้แลว จะตอบแกเขาวาอยางไร? "ข าแต พ ระองค ผู เจริ ญ ! ถ าเขาถามเช น นั้ น ข าพระองค จ ะตอบแก เขา วา 'ดู กอนท านทั้ งหลาย! ชาติ มี ภพเป นเหตุ ให เกิ ด มี ภพเป นเครื่องกอให เกิ ด มี ภพ เป น เครื่ อ งกํ าเนิ ด มี ภ พเป น แดนเกิ ด '. ข าแต พ ระองค ผู เจริ ญ ! เมื่ อ ถู ก ถามอย างนี้ ขาพระองคจะตอบแกเขาอยางนี้". ดู ก อ นสารี บุ ต ร! ถ าคนทั้ งหลาย จะพึ งถามเธอ (ต อ ไปอี ก ) อย างนี้ ว า "ข าแต ท านสารีบุ ตร! ก็ ภ พเล า มี อะไรเป นเหตุ ให เกิ ด? มี อะไรเป นเครื่องก อให เกิ ด? มี อะไรเป นเครื่องกํ าเนิ ด? มี อะไรเป นแดนเกิ ด?" ดั งนี้ . ดู ก อนสารีบุ ตร! เธอถู กถาม อยางนี้แลว จะตอบแกเขาวาอยางไร?

www.buddhadasa.info "ข าแต พระองค ผู เจริ ญ ! ถ าเขาถามเข นนั้ น ข าพระองค จะตอบแก เขาว า 'ดู ก อ นท า นทั้ งหลาย! ภพ มี อุ ป าทานเป น เหตุ ให เกิ ด มี อุ ป าทานเป น เครื่ อ งก อ ให เกิดมี อุปาทานเปนเครื่องกําเนิ ด มีอุปาทานเป นแดนเกิด'. ขาแตพระองคผูเจริญ! เมื่อถูก ถามอยางนี้ ขาพระองคจะตอบแกเขาอยางนี้".

www.buddhadasa.info


๗๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑

ดู ก อนสารี บุ ตร! ถ าคนทั้ งหลาย จะพึ งถามเธอ (ต อไปอี ก) ว า "ข าแต ท าน สารี บุ ต ร! ก็ อุ ป าทาน เล า มี อ ะไรเป น เหตุ ใ ห เกิ ด ? มี อ ะไรเป น เครื่ อ งก อ ให เ กิ ด ? มี อ ะไรเป น เครื่ อ งกํ า เนิ ด ? มี อ ะไรเป น แดนเกิ ด ?" ดั งนี้ . ดู ก อ นสารี บุ ต ร! เธอถู ก ถาม อยางนี้แลว จะตอบแกเขาวาอยางไร? "ข าแต พ ระองค ผู เจริ ญ ! ถ าเขาถามเช น นั้ น ข าพระองค จ ะตอบแก เขาว า 'ดู ก อนท านทั้ งหลาย! อุ ปาทาน มี ตั ณ หาเป นเหตุ ให เกิ ด มี ตั ณ หาเป นเครื่ องก อให เกิ ด มี ตั ณ หาเป นเครื่ องกํ าเนิ ด มี ตั ณ หาเป นแดนเกิ ด'. ข าแต พระองค ผู เจริ ญ ! เมื่ อถู กถาม อยางนี้ ขาพระองคจะตอบแกเขาอยางนี้". ดู ก อ นสารี บุ ต ร! ถ า คนทั้ ง หลาย จะพึ ง ถามเธอ (ต อ ไปอี ก ) อย า งนี้ ว า "ข า แต ท า นสารี บุ ต ร! ก็ ตั ณ หา เล า มี อ ะไรเป น เหตุ ให เกิ ด ? มี อ ะไรเป น เครื่ อ งก อ ให เกิ ด ? มี อ ะไรเป น เครื่ อ งกํ า เนิ ด ? มี อ ะไรเป น แดนเกิ ด ?" ดั ง นี้ . ดู ก อ นสารี บุ ต ร! เธอถูกถามอยางนี้แลว จะตอบแกเขาวาอยางไร?

www.buddhadasa.info "ข าแต พ ระองค ผู เจริ ญ ! ถ าเขาถามเเช น นั้ น ข าพระองค จะตอบแก เขาว า 'ดู ก อ นท า นทั้ งหลาย! ตั ณ หา มี เวทนาเป น เหตุ ให เกิ ด มี ตั ณ หาเป น เครื่ อ งก อ ให เกิ ด มี ตั ณ หาเป นเครื่ องกํ าเนิ ด มี ตั ณ หาเป นแดนเกิ ด'. ข าแต พระองค ผู เจริ ญ ! เมื่ อถู กถาม อยางนี้ ขาพระองคจะตอบแกเขาอยางนี้". ดู ก อ นสารี บุ ต ร! ถ า คนทั้ ง หลาย จะพึ ง ถามเธอ (ต อ ไปอี ก ) อย า งนี้ ว า "ข า แต ท า นสารี บุ ต ร! ก็ เวทนา เล า มี อ ะไรเป น เหตุ ให เกิ ด ? มี อ ะไรเป น เครื่ อ งก อ ให เกิ ด ? มี อ ะไรเป น เครื่ อ งกํ า เนิ ด ? มี อ ะไรเป น แดนเกิ ด ?" ดั ง นี้ . ดู ก อ นสารี บุ ต ร! เธอถูกถามอยางนี้แลว จะตอบแกเขาวาอยางไร?

www.buddhadasa.info


วาดวยลักษณะเปนตนของปฏิจจ ฯ

๗๕

"ข าแต พระองค ผู เจริ ญ ! ถ าเขาถามเช นนั้ น ข าพระองค จะตอบแก เขาว า 'ดู ก อนท านทั้ งหลาย! เวทนา มี ผั สสะเป นเหตุ ให เกิ ด มี ผั สสะเป นเครื่องก อให เกิ ด มีผัสสะเปนเครื่องกําเนิ ด มีผัสสะเป นแดนเกิด'. ขาแตพระองคผูเจริญ! เมื่ อถูกถาม อยางนี้ ขาพระองคจะตอบแกเขาอยางนี้". ดู ก อ นสารี บุ ต ร! ถ าตรทั้ งหลาย จะพึ งถามเธอ (ต อ ไปอี ก ) อย างนี้ ว า "ข า แต ท า นสารี บุ ต ร! เมื่ อ ท า นรู อ ยู อ ย า งไร เห็ น อยู อ ย า งไร นั น ทิ (กิ เลสเป น เหตุ ให รู สึ ก เพลิ น ) จึ ง จะไม เข า ไปตั้ ง อยู ใ นเวทนาทั้ ง หลาย?" ดั ง นี้ . ดู ก อ นสารี บุ ต ร! เธอถูกถามอยางนี้แลว จะตอบแกเขาวาอยางไร? "ข าแต พระองค ผู เจริ ญ ! ถ าเขาถามเช นนั้ น ข าพระองค จะตอบแก เขาว า 'ดู ก อ นท า นทั้ ง หลาย! เวทนาสามอย า งเหล า นี้ มี อ ยู ; สามอย า ง คื อ สุ ข เวทนา ทุ กขเวทนา อทุ กขมสุ ขเวทนา. ดู ก อนท านทั้ งหลาย! เดี๋ ยวนี้ ข าพเจ ารูแล วว า 'เวทนา ทั ้ง ๓ อยา งนั ้น เปน ของไมเ ที ่ย ง; สิ ่ง ใดเปน ของไมเ ที ่ย ง, สิ ่ง นั ้น ลว นเปน ทุ กข' ดั งนี้ ; เพราะรูอยู เห็ นอยู อยางนี้ นั นทิ จึ งไม เขาไปตั้ งอยู ในเวทนาทั้ งหลาย'. ขาแตพระองคผูเจริญ! เมื่อถูกถามอยางนี้ ขาพระองคจะตอบแกเขาอยางนี้".

www.buddhadasa.info ถู ก แล ว ถู ก แล ว สารี บุ ต ร! ปริ ย ายที่ เธอกล า วนี้ ก็ เพื่ อ กระทํ า ให แ จ ง ซึ่ ง เนื้ อ ความนั้ น แหละ แต โ ดยย อ ว า "เวทนาใด ๆ ก็ ต าม เวทนานั้ น ทั้ ง หมด ยอมถึงการประชุมลงในความทุกข" ดังนี้.

ดู ก อ นสารี บุ ต ร! ถ าคนทั้ งหลาย จะพึ งถามเธอ (ต อ ไปอี ก ) อย างนี้ ว า "ขาแตทานสารีบุตร! เพราะอาศัยวิโมกขอยางไหน ทานจึงพยากรณอรหัตตผลวา

www.buddhadasa.info


๗๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑

'ช าติ สิ้ นแล ว, พรหมจรรย ได อยู จบแล ว, กิ จที่ ควรทํ า ได ทํ าเสร็ จ แล ว, กิ จอื่ นที่ ต อง

ปฏิ บั ติ เพื่ อ ความหลุ ด พ น อย า งนี้ มิ ไ ด มี อี ก ', ดั ง นี้ " ดู ก อ นสารี บุ ต ร! เธอถู ก ถาม อยางนี้แลว จะตอบแกเขาวาอยางไร? "ข า แต พ ระองค ผู เจริ ญ ! ถ า เขาถามเช น นั้ น ข า พระองค จ ะตอบแก เขา ว า 'ดู ก อ นท า นทั้ ง หลาย! เพราะอาศั ย อั ช ฌั ตตวิ โ มกข ,๑ เพราะความสิ้ น ไปแห ง อุป าทานทั ้ง ปวง, เราจึง เปน ผู ม ีส ติอ ยู  ในลัก ษณ ะที ่อ าสวะทั ้ง หลาย จะไหล ไป ตามไมไ ด; อนึ ่ง เรายอ มไมด ูห มิ ่น ซึ ่ง ตนเองดว ย' ดัง นี ้. ขา แตพ ระองค ผูเจริญ! เมื่อถูกถามอยางนี้ ขาพระองคจะตอบแกเขาอยางนี้". ถู ก แล ว ถู ก แล ว สารี บุ ต ร! ปริ ย ายที่ เธอกล า วนี้ ก็ เพื่ อ กระทํ า ให แ จ งซึ่ ง เนื้ อ ความนั้ น แหละ แต โดยย อ ว า "ข าพเจ าไม ข อ งใจในอาสวะทั้ งหลาย ที่ พ ระสมณะ กล า วแล ว และข า พเจ า ไม ลั ง เลสงสั ย ว า อาสวะทั้ ง หลายเหล า นั้ น ข า พเจ า ละแล ว หรือยัง" ดังนี้.

www.buddhadasa.info หมวดที่หนึ่ง จบ พระผู มี พ ระภาคเจ า ครั้ งตรั ส อย า งนี้ แ ล ว เสด็ จ ลุ ก จากอาสนะ เข า สู วิ ห ารที่ ป ระทั บ ส ว น

พระองค

-------------------

อั ชฌั ตตวิ โมกข คื อ ความพ น วิ เศษในภายใน โดยเหตุ ที่ นั น ทิ ห รื อ ตั ณ หา ไม เข าไปตั้ งอยู ในเวทนา จิ ต จึ งพ นจากความทุ กข อั นจะพึ งเกิ ดจากเวทนาในภายใน ในขณะนั้ น. อธิ บายว าเมื่ อไม มี ตั ณ หาหรื อนั นทิ ก็ ย อมไม มี อุ ป าทาน เมื่ อไม มี อุ ป าทาน ก็ ไม เป น ทุ กข . อาการอย างนี้ เรี ยกว า อั ชฌั ตตวิ โมกข ใช เป น เครื่องวัดในการพยากรณอรหัตตผล วามีจริงหรือไม.

www.buddhadasa.info


หมวด ๒ วาดวยปฏิจจสมุปบาท คือ อริยสัจสมบูรณแบบ

www.buddhadasa.info

๗๗

www.buddhadasa.info


www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


กฏอิทัปปจจยตา: หัวใจปฏิจจสมุปบาท. อิมสฺมึ สติ อิทํ โหติ เมื่อสิ่งนี้ มี สิ่งนี้ ยอมมี อิมสฺสุปฺปาทา อิทํ อุปฺปชฺชติ เพราะความเกิดขึ้นแหงสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น. อิมสฺมึ อสติ อิทํ น โหติ เมื่อสิ่งนี้ ไมมี สิ่งนี้ ยอมไมมี อิมสฺส นิโรธา อิทํ นิรุชฺฌติ เพราะความดับไปแหงสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงดับไป. (ม.ม. ๑๓/๓๕๕/๓๗๑, นิทาน. สํ. ๑๖/๘๔/๑๕๔,....)

www.buddhadasa.info

๗๙

www.buddhadasa.info


ลําดับเรื่องเฉพาะหมวด สําหรับปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ หมวดที่ ๒ วาดวย ปฏิจจสมุปบาทคือเรื่องอริยสัจสมบูรณแบบ (มี ๙ เรื่อง)

มีเรื่อง : เรื่องปฏิจจสมุปบาทคือเรื่องอริยสัจ-- ปฏิจจสมุปบาททุกอาการมี ลักษณะแหงความเปนอริยสัจสี่-- ปฏิจจสมุปบาทซึ่งแสดงการกอขึ้นแหงทุกข—ปฏิจจสมุ ปบาทซึ่งแสดงการดับลงแห งทุ กข--อริยสั จในรูป แหงปฏิ จจสมุ ปบาทมี ในขณะแห ง เวทนา-- อาการที่ยุงยากที่สุดของปฏิจจสมุปบาทคืออาการของตัณหา—ความเหนียว แนนของสัสสตทิฏฐิปดบังการเห็นอริยสัจสี่จึงสงสัยตอหลักของอริยสัจหรือปฏิจจสมุปบาท –นัตถิกทิฏฐิปดบังการเห็นอริยสัจจสี่จึงสงสัยตอหลักของอริยสัจ หรือปฏิจจสมุปบาท-ปฏิจจสมุปบาทรวมอยูในบรรดาเรื่องที่ใครคัดคานไมได.

www.buddhadasa.info

๘๐

www.buddhadasa.info


ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ หมวดที่ ๒ วาดวย ปฏิจจสมุปบาทคือเรือ่ งอริยสัจสมบูรณแบบ -----------------

เรื่องปฏิจจสมุปบาท คือเรื่องอริยสัจ๑ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ธรรมดาอันเราแสดงแลววา "เหลานี้ คืออริยสัจทั้ง ๔" ดังนี้ เปนธรรมอันสมณพราหมณผูรูทั้งหลายขมขี่ไมได ทําใหเราเศราหมองไมได ติเตียน ไมได คัดงางไมได. ขอนี้ เปนธรรมที่เรากลาวแลวอยางนี้ เราอาศัยซึ่งอะไรเลา จึง กลาวแลวอยางนี้? ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เพราะอาศัยซึ่งธาตุทั้งหลาย ๖ ประการ การกาวลงสูครรภ ยอมมี; เมื่อการกาวลงสูครรภ มีอยู, นามรูป ยอมมี; เพราะ มีนามรูปเปนปจจัย จึงมีสฬายตนะ; เพราะมีสฬายตนะเปนปจจัย จึงมีผัสสะ;

www.buddhadasa.info

สูตรที่ ๑ มหาวรรค ติก. อํ. ๒๐/๒๒๗/๕๐๑, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย.

๘๑

www.buddhadasa.info


๘๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๒

เพราะมีผ ัส สะเปน ปจ จัย จึง มีเ วทนา. ดูก อ นภิก ษุทั ้ง หลาย! เรายอ มบัญ ญัต ิว า "นี ้ เปน ความทุก ข" ดัง นี ้; วา "นี ้ เปน ทุก ขสมุท ัย " ดัง นี ้; วา “นี ้ เปน ทุ ก ขนิ โ รธ” ดั ง นี ้ ; ว า นี ้ เป น ทุ ก ขนิ โ รธคามิ น ี ป ฏิ ป ทา" ดั ง นี ้ ; แก ส ั ต ว ผูสามารถเสวยเวทนาอยู. ดูก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ทุ กขอริยสั จ เป นอยางไรเล า? แม ความเกิ ดก็เป น ทุ ก ข , แม ค วามแก ก็ เป น ทุ ก ข , แม ค วามตายก็ เป น ทุ ก ข , แม โสกะปริ เทวะทุ ก ขะโทมนั สอุปายาสทั้ งหลาย ก็ เป นทุ กข, การประสบกับสิ่ งไม เป นที่ รัก เป นทุ กข, ความ พลั ดพรากจากสิ่ งเป นที่ รัก เป นทุ กข, ปรารถนาสิ่ งใดแลวไม ไดสิ่ งนั้ น นั่ นก็เป นทุ กข : กล าวโดยย อ ป ญจุปาทานขันธทั้ งหลาย เป นทุ กข , ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! นี้ เรากล าววา ทุกขอริยสัจ. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ทุ ก ขสมุ ท ยอริ ย สั จ เป น อย า งไรเล า ? เพราะมี อวิ ช ชาเป น ป จ จั ย จึ งมี สั ง ขารทั้ งหลาย; เพราะมี สั ง ขารเป น ป จ จั ย จึ งมี วิ ญ ญาณ; เพราะมี วิญญาณเป นป จจั ย จึ งมี นามรูป; เพราะมี นามรูปเป นป จจั ย จึ งมี สฬายตนะ; เพราะมี ส ฬายตนะเป น ป จ จั ย จึ ง มี ผั ส สะ; เพราะมี ผั ส สะเป น ป จ จั ย จึ ง มี เวทนา; เพราะมี เวทนาเป น ป จ จั ย จึ งมี ตั ณ หา; เพราะมี ตั ณ หาเป น ป จ จั ย จึ ง มี อุ ป าทาน; เพราะมี อุ ปาทานเป นป จจั ย จึ งมี ภ พ; เพราะมี ภ พเป นป จจั ย จึ งมี ชาติ ; เพราะมี ชาติ เป นป จจั ย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งเกิ ดขึ้นครบถ วน: ความเกิดขึ้นพรอมแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! นี้เรากลาววาทุกขสมุทยอริยสัจ.

www.buddhadasa.info ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ทุ กขนิ โรธอริยสัจ เป นอยางไรเลา? เพราะความ จางคลายดับไปโดยไมเหลือแหงอวิชชานั้นนั่นเทียว, จึงมีความดับแหงสังขาร;

www.buddhadasa.info


๘๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๒ และทํ า ให เกิ ด ทุ ก ข ได อ ย างไร ถึ ง ๑๑ ระยะ คื อ สายแห งปฏิ จ จสมุ ป บาทฝ า ยสมุ ท ยวาร สาย หนึ่ ง; แทนที่ จะกล าวสั้ น ๆ ลุ น ๆ ว า ทุ กขนิ โรธ คื อการดั บ ตั ณ หาเสี ย ก็ ต รัสอย างละเอี ยด ถึ ง ๑๑ ระยะ อย า งเดี ย วกั น เป น ปฏิ จ จสมุ ป บาทฝ า ยนิ โรธวาร; ดั ง นั้ น จึ ง เห็ น ได ว า การ ตรั ส อย างนี้ เป น อริ ย สั จ โดยสมบู รณ . เราควรเรี ย กอริ ย สั จ ที่ แ สดงด ว ยปฏิ จ จสุ ม ปบาท ว า "อริยสัจใหญ", และเรียกอริยสัจที่รูกันอยูทั่ว ๆ ไปวา "อริยสัจเล็ก" กันแลวกระมัง.

ปฏิจจสมุปบาททุกอาการมีลักษณะแหงความ เปนอริยสัจสี่๑ ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ภิ กษุ ในธรรมวิ นั ยนี้ ย อ มรูทั่ วถึ งซึ่ ง ชรามรณะ, รูทั่ วถึ งซึ่ ง เหตุ ให เกิ ดขึ้ นแห งชรามรณะ, รูทั่ วถึ งซึ่ ง ความดั บไม เหลื อแห งชรามรณะ, รูทั่วถึงซึ่ง ขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงชรามรณะ; ยอมรูทั่ วถึ งซึ่ ง ชาติ , รูทั่ วถึ งซึ่ง เหตุ ให เกิ ดขึ้ นแห งชาติ , รูทั่ วถึ งซึ่ ง ความ ดับไมเหลือแหงชาติ, รูทั่วถึงซึ่ง ขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงชาติ;

www.buddhadasa.info ย อมรู ทั่ วถึ งซึ่ ง ภพ, รู ทั่ วถึ งซึ่ ง เหตุ ให เกิ ดขึ้ นแห งภพ, รู ทั่ วถึ งซึ่ ง ความ ดับไมเหลือแหงภพ, รูทั่วถึงซึ่ง ขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงภพ;

ย อมรูทั่ วถึ งซึ่ ง อุ ป าทาน, รูทั่ วถึ งซึ่ ง เหตุ ให เกิ ดขึ้ นแห งอุ ปาทาน, รูทั่ ว ถึงซึ่ง ความดับไมเหลือแหงอุปาทาน, รูทั่วถึงซึ่ง ขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับ ไมเหลือแหงอุปาทาน;

สูตรที่ ๘ ทสพลวรรค นิทานสังยุตต นิทาน. สํ. ๑๖/๕๑/๙๑, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจ ฯ คือเรื่องอริยสัจสมบูรณแบบ

๘๕

ยอมรูทั่วถึงซึ่ง ตัณหา, รูทั่วถึงซึ่ง เหตุใหเกิดขึ้นแหงตัณหา, รูทั่วถึงซึ่ง ความดับไมหลือแหงตัณหา, รูทั่วถึงซึ่ง ขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือ แหงตัณหา; ยอมรูทั่วถึงซึ่ง เวทนา, รูทั่วถึงซึ่ง เหตุใหเกิดขึ้นแหงเวทนา, รูทั่วถึงซึ่ง ความดับไมเหลือแหงเวทนา, รูทั่วถึงซึ่ง ขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือ แหงเวทนา; ยอมรูทั่วถึงซึ่ง ผัสสะ, รูทั่วถึงซึ่ง เหตุใหเกิดขึ้นแหงผัสสะ, รูทั่วถึงซึ่ง ความดับไมเหลือแหงผัสสะ, รูทั่วถึงซึ่ง ขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือ แหงผัสสะ; ยอมรูทั่วถึงซึ่ง สฬายตนะ, รูทั่วถึงซึ่ง เหตุใหเกิดขึ้นแหงสฬายตนะ, รูทั่วถึงซึ่ง ความดับไมเหลือแหงสฬายตนะ, รูทั่วถึงซึ่ง ขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึง ความดับไมเหลือแหงสฬายตนะ;

www.buddhadasa.info ยอมรูทั่วถึงซึ่ง นามรูป, รูทั่วถึงซึ่ง เหตุใหเกิดขึ้นแหงนามรูป, รูทั่วถึงซึ่ง ความดับไมเหลือแหงนามรูป, รูทั่วถึงซึ่ง ขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือ แหงนามรูป;

ยอมรูทั่วถึงซึ่ง วิญญาณ, รูทั่วถึงซึ่ง เหตุใหเกิดขึ้นแหงวิญญาณ, รูทั่วถึงซึ่ง ความดับไมเหลือแหงวิญญาณ, รูทั่วถึงซึ่ง ขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือ แหงวิญญาณ;

www.buddhadasa.info


๘๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๒

ยอมรูทั่วถึงซึ่ง สังขาร ทั้งหลาย, รูทั่วถึงซึ่ง เหตุใหเกิดขึ้นแหงสังขาร, รูทั่วถึงซึ่ง ความดับไมเหลือแหงสังขาร, รูทั่วถึงซึ่ง ขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความ ดับไมเหลือแหงสังขาร; ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ชรามรณะ เปนอยางไรเลา? ความแก ความ คร่ําครา ความมีฟนหลุด ความมีผมหงอก ความมีหนังเหี่ยว ความสิ้นไปแหงอายุ ความแกรอบแหงอินทรียทั้งหลาย ในสัตวนิกายนั้น ๆ ของสัตวทั้งหลายเหลานั้นๆ : นี้ เรียกวา ชรา. การจุติ ความเคลื่อน การแตกสลาย การหายไป การวายชีพ การตาย การทํากาละ การแตกแหงขันธทั้งหลาย การทอดทิ้งราง การขาดแหงอินทรียคือชีวิต จากสัตวนิกายนั้น ๆ ของสัตวทั้งหลายเหลานั้น ๆ : นี้ เรียกวา มรณะ. ชรานี้ดวย มรณะนี้ดวย ยอมมีอยูดังนี้; ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! นี้ เรียกวา ชรามรณะ. ความ กอขึ้นพรอมแหงชรามรณะ ยอมมี เพราะความกอขึ้นพรอมแหงชาติ; ความดับไมเหลือ แหงชรามรณะ ยอมมี เพราะความดับไมเหลือแหงชาติ; มรรคอันประกอบดวยองคแปด อันประเสริฐนั่นเอง เปนปฏิปทาใหถึงความดับไมเหลือแหงชรามรณะ, ไดแกสิ่งเหลานี้ คือ ความเห็นชอบ ความดําริชอบ การพูดจาชอบ การทําการงานชอบ การเลี้ยงชีพชอบ ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ.

www.buddhadasa.info ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ชาติ เปนอยางไรเลา? การเกิด การกําเนิด การ กาวลง (สูครรภ) การบังเกิด การบังเกิดโดยยิ่ง ความปรากฎของขันธทั้งหลาย การที่ สัตวไดซึ่งอายตนะทั้งหลาย ในสัตวนิกายนั้น ๆ ของสัตวทั้งหลายเหลานั้น ๆ : ดูกอน ภิกษุทั้งหลาย! นี้ เรียกวา ชาติ. ความกอขึ้นพรอมแหงชาติ ยอมมี เพราะความกอขึ้น พรอมแหงภพ; ความดับไมเหลือแหงชาติ ยอมมี เพราะความดับไมเหลือแหงภพ; มรรคอันประกอบดวยองคแปด อันประเสริฐนั่นเอง เปนปฏิปทาใหถึงความดับไมเหลือ

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจ ฯ คือเรื่องอริยสัจสมบูรณแบบ

๘๗

แห งชาติ , ได แก สิ่ งเหล านี้ คื อ ความเห็ นชอบ ความดํ าริชอบ การพู ดจาชอบ การทํ า การงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ. ดูก อ นภิก ษุทั ้ง หลาย! ภพ เปน อยา งไรเลา ? ดูก อ นภิก ษุทั ้ง หลาย! ภพทั้ งหลาย ๓ อย างเหล านี้ คื อ กามภพ รู ป ภพ อรู ป ภพ: ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! นี้ เรียกวา ภพ. ความกอขึ้นพรอมแหงภพ ยอมมี เพราะความกอขึ้นพรอมแหงอุปาทาน; ความดั บไม เหลื อแห งภพ ยอมมี เพราะความดั บไม เหลื อแห งอุปาทาน; มรรคอั นประกอบ ด วยองค แปด อั นประเสริฐนั่ นเอง เป นปฏิ ปทาให ถึ งความดั บไม เหลื อแห งภพ, ได แก สิ่ งเหล านี้ คื อ ความเห็ นชอบ ความดํ าริชอบ การพู ดจาชอบ การทํ าการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! อุปาทาน เปนอยางไรเลา? ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! อุปาทานทั้งหลาย ๔ อยางเหลานี้ คือ กามุปาทาน ทิฏุปาทาน สีลัพพัตตุปาทาน อัตตวาทุปาทาน: ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! นี้ เรียกว า อุ ปาทาน. ความก อขึ้ นพรอมแห งอุ ปาทาน ย อ มมี เพราะความก อขึ้ นพรอมแห งตั ณ หา; ความดั บ ไม เหลื อ แห งอุ ปาทาน ย อ มมี เพราะความดั บ ไม เหลื อ แห งตั ณ หา; มรรคอั น ประกอบด วยองค แ ปด อั น ประเสริ ฐ นั่ นเอง เป นปฏิ ปทาให ถึ งความดั บไม เหลื อแห งอุ ปาทาน, ได แก สิ่ งเหล านี้ คื อ ความเห็ น ชอบ ความดํ าริ ชอบ การพู ดจาชอบ การทํ าการงานชอบ การเลี้ ยงชี วิ ตชอบ ความ พากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ.

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ตั ณ หา เป น อย างไรเล า? ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! หมู ตั ณหาทั้ งหลาย ๖ อย างเหล านี้ คื อ รูปตั ณหา สั ททตั ณหา คั นธตั ณหา รสตั ณหา โผฏฐัพพตัณหา ธัมมตัณหา: ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! นี้ เรียกวา ตัณหา. ความกอขึ้น

www.buddhadasa.info


๘๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๒

พร อ มแห งตั ณ หา ย อ มมี เพราะความก อ ขึ้ น พร อ มแห งเวทนา; ความดั บ ไม เหลื อ แห งตั ณหา ยอมมี เพราะความดั บไม เหลื อแห งเวทนา; มรรคอันประกอบด วยองค แปด อั นประเสริฐนั่ นเอง เป นปฏิ ปทาให ถึ งความดั บไม เหลื อแห งตั ณ หา, ได แก สิ่ งเหล านี้ คื อ ความเห็ นชอบ ความดํ าริชอบ การพู ดจาชอบ การทํ าการงานชอบ การเลี้ ยงชี วิตชอบ ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เวทนา เป น อย างไรเล า? ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! หมูแห งเวทนาทั้ งหลาย ๖ อยางเหลานี้ คื อ จักขุสัมผั สสชาเวทนา โสตสัมผั สสชาเวทนา ฆานสั มผั สสชาเวทนา ชิ วหาสั มผั สสชาเวทนา กายสั มผั สสชาเวทนา มโนสั มผั สสชาเวทนา: ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! นี้ เรี ย กว า เวทนา. ความก อ ขึ้ น พร อ มแห ง เวทนา ยอมมี เพราะความกอขึ้ นพรอมแห งผัสสะ; ความดั บไม เหลื อแห งเวทนา ย อมมี เพราะ ความดั บไม เหลื อแห งผั สสะ; มรรคอั นประกอบด วยองค แปด อั นประเสริฐนั่ นเอง เป น ปฏิ ปทาให ถึ งความดั บไม เหลื อแห งเวทนา, ได แก สิ่ งเหล านี้ คื อ ความเห็ นชอบ ความ ดํ าริ ชอบ การพู ดจาชอบ การทํ าการงานชอบ การเลี้ ยงชี วิ ตชอบ ความพากเพี ยรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ.

www.buddhadasa.info ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ผั ส สะ เป น อย างไรเล า? ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! หมูแหงผัสสะทั้งหลาย ๖ อยางเหลานี้ คือ จักขุสัมผัส โสตสัมผัส ฆานสัมผัส ชิวหาสัมผัส กายสั มผั ส มโนสั มผั ส: ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! นี้ เรี ยกว า ผั สสะ. ความก อขึ้ นพร อม แหงผั สสะ ยอมมี เพราะความกอขึ้นพรอมแห งสฬายตนะ; ความดั บไม เหลือแห งผัสสะ ย อ มมี เพราะความดั บ ไม เหลื อ แห ง สฬายตนะ; มรรคอั น ประกอบด ว ยองค แ ปด อันประเสริฐนั่ นเอง เป นปฏิ ปทาให ถึงความดั บไม เหลือแห งผัสสะ, ไดแกสิ่ งเหล านี้ คื อ ความเห็ นชอบ ความดํ าริชอบ การพู ดจาชอบ การทํ าการงานชอบ การเลี้ ยงชี วิ ตชอบ ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจ ฯ คือเรื่องอริยสัจสมบูรณแบบ

๘๙

ดูก อ นภิก ษุทั ้ง หลาย! สฬายตนะ เปน อยา งไรเลา ? จัก ขวายตนะ โสตายตนะ ฆานายตนะ ชิ วหายตนะ กายายตนะ มนายตนะ : ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! นี้ เรียกว า สฬายตนะ ความก อขึ้ นพรอมแห งสฬายตนะ ย อมมี เพราะความก อขึ้ น พรอมแห งนามรูป; ความดั บไม เหลื อแห งสฬายตนะ ย อมมี เพราะความดั บไม เหลื อ แห งนามรู ป ; มรรคอั น ประกอบด วยองค แปด อั น ประเสริ ฐนั่ น เอง เป น ปฏิ ป ทาให ถึงความดั บไม เหลื อแห งสฬายตนะ, ได แก สิ่งเหลานี้ คื อ ความเห็ นชอบ ความดํ าริชอบ การพู ดจาชอบ การทํ าการงานชอบ การเลี้ ยงชี วิ ตชอบ ความพากเพี ยรชอบ ความระลึ ก ชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ. ดูก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! นามรูป เป นอย างไรเล า? เวทนา สั ญญา เจตนา ผั ส สะ มนสิ ก าร: นี้ เรี ย กว า นาม, มหาภู ต ทั้ ง สี่ ด ว ย รู ป ที่ อ าศั ย มหาภู ต ทั้ ง สี่ ด ว ย: นี้เรียกวา รูป, นามนี้ดวย รูปนี้ ดวย ยอมมีอยูดังนี้; ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย! นี้ เรียกวา นามรูป. ความก อขึ้ นพรอมแห งนามรูป ย อมมี เพราะความก อขึ้ นพรอมแห งวิ ญญาณ; ความดั บไม เหลื อแห งนามรูป ย อมมี เพราะความดั บไม เหลื อแห งวิญ ญาณ; มรรค อันประกอบดวยองคแปด อันประเสริฐ นั่นเอง เปนปฏิปทาใหถึงความดับไมเหลือแหง นามรูป, ได แก สิ่ งเหล านี้ คื อ ความเห็ นชอบ ความดํ าริชอบ การพู ดจาชอบ การทํ า การงานชอบ การเลี้ ยงชี วิ ตชอบ ความพากเพี ยรชอบ ความระลึ กชอบ ความตั้ งใจ มั่นชอบ.

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! วิ ญ ญาณ เป นอย างไรเล า? ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! หมูแหงวิญญาณทั้งหลาย ๖ อยางเหลานี้ คือ จักขุวิญญาณ โสตวิญญาณ ฆานวิญญาณ ชิวหาวิญญาณ กายวิญญาณ มโนวิญญาณ: ดู กอนภิ กษุ ทั้ งหลาย! นี้ เรียกวา วิญญาณ;. ความกอขึ้นพรอมแหงวิญญาณ ยอมมี เพราะความกอขึ้นพรอมแหงสังขาร; ความดับ

www.buddhadasa.info


๙๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๒

ไม เหลื อแห งวิ ญญาณ ย อมมี เพราะความดั บไม เหลื อแห งสั งขาร; มรรคอั นประกอบ ด วยองค แปด อั นประเสริฐนั่ นเอง เป นปฏิ ปทาให ถึ งความดั บไม เหลื อแห งวิ ญ ญาณ ได แก สิ่ งเหล านี้ คื อ ความเห็ นชอบ ความดํ าริชอบ การพู ดจาชอบ การทํ าการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สั งขารทั้ งหลาย เป นอย างไรเล า? ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สั งขารทั้ งหลาย ๓ อย างเหล านี้ คื อ กายสั งขาร วจี สั งขาร จิ ตตสั งขาร: ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! นี้ เรี ย กว า สั งขารทั้ งหลาย. ความก อ ขึ้ น พร อ มแห งสั ง ขาร ย อมมี เพราะความก อขึ้ นพร อมแห งอวิ ชชา; ความดั บไม เหลื อแห งสั งขาร ย อมมี เพราะ ความดั บ ไม เหลื อ แห งอวิ ช ชา; มรรคอั น ประกอบด วยองค แ ปด อั น ประเสริ ฐ นั่ น เอง เป น ปฏิ ป ทาให ถึ ง ความดั บ ไม เหลื อ แห ง สั ง ขาร, ได แ ก สิ่ ง เหล า นี้ คื อ ความเห็ น ชอบ ความดํ าริ ช อบ การพู ด จาชอบ การทํ าการงานชอบ การเลี้ ย งชี วิ ต ชอบ ความ พากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ในกาลใดแล ภิ กษุ ย อมมารูทั่ วถึ งซึ่ง ชรามรณะ; มารู ทั่ วถึ งซึ่ ง เหตุ ให เกิ ดขึ้ นแห งชรามรณะ; มารู ทั่ วถึ งซึ่ ง ความดั บไม เหลื อแห งชรามรณะ; มารูทั่ วถึ งซึ่ง ขอปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสั ตวให ลุ ถึ งความดั บไม เหลื อแห งชรามรณะ; วาเปนอยางนี้ ๆ .

www.buddhadasa.info ย อ มมารู ทั่ ว ถึ ง ซึ่ ง ชาติ ; มารู ทั่ ว ถึ ง ซึ่ ง เหตุ ให เกิ ด ขึ้ น แห ง ชาติ ; มารู ทั่ วถึ งซึ่ ง ความดั บ ไม เหลื อ แห งชาติ ; มารู ทั่ วถึ งซึ่ ง ข อ ปฏิ บั ติ เครื่ อ งทํ าสั ต ว ให ลุ ถึ ง ความดับไมเหลือแหงชาติ; วาเปนอยางนี้ ๆ.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจ ฯ คือเรื่องอริยสัจสมบูรณแบบ

๙๑

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจ ฯ คือเรื่องอริยสัจสมบูรณแบบ

๙๑

ย อ มมารู ทั่ ว ถึ ง ซึ่ ง ภพ; มารู ทั่ ว ถึ ง ซึ่ ง เหตุ ให เกิ ด ขึ้ น แห ง ภพ; มารู ทั่ ว ถึ ง ซึ่ ง ความดั บ ไม เหลื อ แห ง ภพ; มารู ทั่ ว ถึ ง ซึ่ ง ข อ ปฏิ บั ติ เครื่ อ งทํ า สั ต ว ใ ห ลุ ถึ ง ความดับไมเหลือแหงภพ; วาเปนอยางนี้ ๆ. ยอมมารูทั่ วถึ งซึ่ง อุ ปาทาน; มารูทั่ วถึ งซึ่ง เหตุ ให เกิดขึ้นแห งอุ ปาทาน; มารูทั่ วถึ งซึ่ ง ความดั บไม เหลื อแห งอุ ปาทาน; มารูทั่ วถึ งซึ่ ง ข อปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสั ตว ใหลุถึงความดับไมเหลือแหงอุปาทาน; วาเปนอยางนี้ ๆ. ย อ มมารู ทั่ ว ถึ ง ซึ่ ง ตั ณ หา; มารู ทั่ ว ถึ ง ซึ่ ง เหตุ ใ ห เกิ ด ขึ้ น แห ง ตั ณ หา; มารูทั่ วถึ งซึ่ ง ความดั บไม เหลื อแห งตั ณ หา; มารูทั่ วถึ งซึ่ ง ข อปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสั ตว ให ลุถึงความดับไมเหลือแหงตัณหา; วาเปนอยางนี้ ๆ. ย อ มมารู ทั่ ว ถึ ง ซึ่ ง เวทนา; มารู ทั่ ว ถึ ง ซึ่ ง เหตุ ใ ห เกิ ด ขึ้ น แห ง เวทนา; มารูทั่ วถึงซึ่ง ความดั บไม เหลือแห งเวทนา; มารูทั่ วถึ งซึ่ง ขอปฏิ บั ติเครื่องทํ าสั ตวให ลุถึงความดับไมเหลือแหงเวทนา; วาเปนอยางนี้ ๆ.

www.buddhadasa.info ย อมมารูทั่ วถึ งซึ่ ง ผั ส สะ; มารูทั่ วถึ งซึ่ ง เหตุ ให เกิ ดขึ้ น แห งผั สสะ; มารู ทั่ วถึ งซึ่ ง ความดั บไม เหลื อแห งผั สสะ; มารูทั่ วถึ งซึ่ง ข อปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสั ตวให ลุ ถึ ง ความดับไมเหลือแหงผัสสะ; วาเปนอยางนี้ ๆ.

ยอมมารูทั่ วถึงซึ่ง สฬายตนะ; มารูทั่วถึงซึ่ง เหตุให เกิดขึ้นแห งสฬายตนะ; มารูทั่ วถึงซึ่ง ความดับไม เหลือแห งสฬายตนะ; มารูทั่ วถึงซึ่ง ขอปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสัตว ใหลุถึงความดับไมเหลือแหงสฬายตนะ; วาเปนอยางนี้ ๆ.

www.buddhadasa.info


๙๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๒

ย อ มมารู ทั่ ว ถึ ง ซึ่ ง นามรู ป ; มารู ทั่ ว ถึ ง ซึ่ ง เหตุ ใ ห เกิ ด ขึ้ น แห ง นามรู ป ; มารู ทั่ ว ถึ งซึ่ ง ความดั บ ไม เหลื อ แห งนามรู ป ; มารู ทั่ วถึ งซึ่ ง ข อ ปฏิ บั ติ เครื่ อ งทํ าสั ต ว ใหลุถึงความดับไมเหลือแหงนามรูป; วาเปนอยางนี้ ๆ. ย อมมารู ทั่ วถึ งซึ่ ง วิ ญ ญาณ; มารู ทั่ วถึ งซึ่ ง เหตุ ให เกิ ดขึ้ นแห งวิ ญ ญาณ; มารูทั่ วถึ งซึ่ ง ความดั บไม เหลื อแห งวิ ญญาณ; มารูทั่ วถึ งซึ่ ง ข อปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสั ตวให ลุถึงความดับไมเหลือแหงวิญญาณ; วาเปนอยางนี้ ๆ. ย อ มมารู ทั่ ว ถึ ง ซึ่ ง สั ง ขารทั้ ง หลาย; มารู ทั่ ว ถึ ง ซึ่ ง เหตุ ใ ห เกิ ด ขึ้ น แห ง สั งขาร; มารู ทั่ วถึ งซึ่ ง ความดั บ ไม เหลื อ แห งสั งขาร; มารู ทั่ วถึ งซึ่ ง ข อ ปฏิ บั ติ เครื่ อ ง ทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงสังขาร; วาเปนอยางนี้ ๆ. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ในกาลนั้น เราเรียกภิกษุนั้น วา :"ผูสมบูรณแลวดวยทิฏฺ (ทิฏสมฺปนฺโน)", ดังนี้บาง; "ผูสมบูรณแลวดวยทัสสนะ (ทสฺสนสมฺปนฺโน)", ดังนี้บาง; "ผูมาถึงพระสัทธรรมนี้แลว (อาคโต อิมํ สทฺธมฺมํ)" ดังนี้บาง; "ยอมเห็นซึ่งพระสัทธรรมนี้ (ปสฺสติ อิมํ สทฺธมฺมํ)" ดังนี้บาง; "ผูประกอบแลวดวยญาณอันเปนเสขะ (เสกฺเขน าเณน สมนฺนาคโต)" ดังนี้บาง; "ผูประกอบแลวดวยวิชชาอันเปนเสขะ (เสกฺขาย วิชฺชาย สมนฺนาคโต)" ดังนี้บาง; "ผูถึงแลวซึ่งกระแสแหงธรรม (ธมฺมโสตํ สมาปนฺโน)" ดังนี้บาง; "ผูประเสริฐมีปญญชําแรกกิเลส (อริโย นิพฺเพธิกปฺโ)" ดังนี้บาง; "ยืนอยูจดประตูแหงอมตะ (อมตทวารํ อาหจฺจ ติฏติ)" ดังนี้บาง.

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจ ฯ คือเรื่องอริยสัจสมบูรณแบบ

๙๓

หมายเหตุ ผู ร วบรวม : ผู ศึ ก ษาพึ ง สั ง เกตุ ให เห็ น ว า อาการแห ง ปฏิ จ จสมุ ป บาท แต ล ะอาการก็ ยั ง จํ า แนกออกไปเป น อริ ย สั จ สี่ อี ก ชั้ น หนึ่ ง ; เช น เดี ย วกั บ ตั ว ปฏิ จ จสมุ ป บาท ทั ้ง สาย, ดัง ที ่ก ลา วมาแลว โดยหัว ขอ วา “เรื ่อ งปฏิจ จสมุป บาท คือ เรื ่อ งอริย สัจ ”. ทั้ งหมดนี้ รวมกั นแล ว เป น เครื่ องแสดงให เห็ นชั ดยิ่ งขึ้ น ไปอี ก ว า เรื่ องปฏิ จจสมุ ปบาทนั้ นเป น เรื่องอริยสัจทั้งเนื้อทั้งตัว. ขอใหกําหนดไวเปนพิเศษ ตลอดเวลา. (แม คํ า ของพระมหาเถระ คื อ พระสารี บุ ต ร ก็ ไ ด ก ล า วถึ ง ปฏิ จ จสมุ ท บาท โดย หลั ก แห ง อริ ย สั จ สี่ อย า งเดี ย วกั น กั บ พุ ท ธภาษิ ต ข า งบนนี้ แต ก ล า วในฐานะเป น วั ต ถุ แ ห ง สัม มาทิฏ ฐิ คือ การรู ช ัด ซึ ่ง อาการทุก อาการของปฏิจ จสมุท บาท โดยนัย แหง อริย สัจ สี่ ว า เป น สั ม มาทิ ฏ ฐิ อ ย า งหนึ่ ง ๆ ทุ ก อาการ รวมอยู กั บ เรื่ อ งอื่ น ๆ คื อ เรื่ อ งอกุ ศ ล กุ ศ ล พร อ มทั้ ง มู ล เหตุ , เรื่ อ งอาหารสี่ โดยนั ย แห ง อริ ย สั จ สี่ , เรื่ อ งทุ ก ข โ ดยนั ย แห ง อริ ย สั จ สี่ , และเรื่ อ งอาสวะ โดยนั ย แห งอริ ย สั จ สี่ , ซึ่ งล วนแต เป น วั ต ถุ แ ห งสั ม มาทิ ฏ ฐิ ด ว ยกั น ทั้ งนั้ น . สํ า หรั บ เรื่ อ งปฏิ จ จสมุ ท บาทนั้ น มี ข อ ความดั ง ที่ ย กมาไว เป น ส ว นผนวกของพระพุ ท ธภาษิ ต ขางบนนี้ ดังตอไปนี้:-)

"ดู ก อนท านผู มี อายุ ทั้ งหลาย! ปริยายอย างอื่ นยั งมี อี ก ที่ จะทํ าอริยสาวก ให ไ ด ชื่ อ ว า เป น ผู มี สั ม มาทิ ฏ ฐิ มี ทิ ฏ ฐิ ดํ า เนิ น ไปตรงแล ว ประกอบพร อ มแล ว ด ว ย ความเลื่อมใสอันไมหวั่นไหวในธรรม, มาสูพระสัทธรรมนี้.

www.buddhadasa.info ดู ก อนท านผู มี อายุ ทั้ งหลาย! ปริ ยายนั้ นคื อ ในกาลใด อริ ยสาวก ย อมรู ทั ่ว ถึง ซึ ่ง ชรามรณะ ดว ย, ซึ ่ง เหตุใ หเ กิด ขึ ้น แหง ชรามรณะดว ย, ซึ ่ง ความดับ ไม เหลื อแห งชรามรณะด วย, ซึ่ งข อปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสั ตว ให ลุ ถึ งความดั บไม เหลื อแห ง ชรามรณะดวย; ดูกอนทานผูมีอายุทั้งหลาย! ดวยเหตุเพียงเทานี้แล อริยสาวกนั้น.

www.buddhadasa.info


๙๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๒

ชื่ อ ว า เป น ผู มี สั ม มาทิ ฏ ฐิ มี ทิ ฏ ฐิ ดํ า เนิ น ไปตรงแล ว ประกอบพร อ มแล ว ด ว ยความ เลื่อมใสอันไมหวั่นไหวในธรรม มาสูพระสัทธรรมนี้ ในกาลนั้น. …ปริย ายอยา งอื ่น ยัง มีอ ีก ... ยอ มรู ทั ่ว ถึง ซึ ่ง ชาติ ดว ย, ซึ ่ง เหตุ ใหเ กิด ขึ ้น แหง ชาติด ว ย, ซึ ่ง ความดับ ไมเ หลือ แหง ชาติด ว ย, ซึ ่ง ขอ ปฏิบ ัต ิเครื ่อ ง ทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงชาติดวย;..ฯลฯ...ในกาลนั้น ...ปริ ย ายอย า งอื่ น ยั ง มี อี ก ...ย อ มรู ทั่ ว ถึ ง ซึ่ ง ภพ ด ว ย, ซึ่ ง เหตุ ใ ห เกิ ด ขึ้ น แห งภพด วย, ซึ่ งความดั บ ไม เหลื อ แห งภพด วย, ซึ่ งข อ ปฏิ บั ติ เครื่อ งทํ าสั ต ว ให ลุ ถึงความดับไมเหลือแหงภพดวย;..ฯลฯ...ในกาลนั้น ...ปริยายอยางอื่นยังมีอีก... ยอมรูทั่วถึงซึ่ง อุปาทาน ดวย, ซึ่งเหตุ ให เกิ ด ขึ้ นแห งอุ ป าทานด วย, ซึ่ งความดั บ ไม เหลื อแห งอุ ป าทานด วย, ซึ่ งข อ ปฏิ บั ติ เครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงอุปาทานดวย;...ฯลฯ...ในกาลนั้น. ...ปริยายอยางอื่นยังมีอีก... ยอมรูทั่วถึงซึ่ง ตัณ หา ดวย, ซึ่งเหตุ ให เกิ ดขึ้นแห งตั ณ หาด วย, ซึ่งความดั บไม เหลื อแห งตั ณ หาด วย, ซึ่ งข อปฏิ บั ติ เครื่อง ทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงตัณหาดวย;...ฯลฯ...ในกาลนั้น.

www.buddhadasa.info ...ปริย ายอยา งอื่น ยัง มีอ ีก ...ยอ มรูทั ่ว ถึง ซึ ่ง เวทนา ดว ย, ซึ่งเหตุ ให เกิ ดขึ้ นแห งเวทนาด วย, ซึ่ งความดั บไม เหลื อแห งเวทนาด วย, ซึ่ งข อปฏิ บั ติ เครื่อง ทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงเวทนาดวย;...ฯลฯ...ในกาลนั้น.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจ ฯ คือเรื่องอริยสัจสมบูรณแบบ

๙๕

...ปริยายอย างอื่ นยั งมี อี ก...ย อ มรู ทั่ วถึ งซึ่ ง ผั ส สะ ด วย, ซึ่ งเหตุ ให เกิด ขึ ้น แหง ผัส สะดว ย, ซึ ่ง ความดับ ไมเหลือ แหง ผัส สะดว ย, ซึ ่ง ขอ ปฏิบ ัต ิเครื่อ ง ทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงผัสสะดวย;...ฯลฯ...ในกาลนั้น. ...ปริ ย ายอย า งอื่ น ยั งมี อี ก ... ย อ มรู ทั่ ว ถึ ง ซึ่ ง สฬายตนะ ด ว ย, ซึ่ ง เหตุ ใ ห เกิ ด ขึ้ น แห ง สฬายตนะด ว ย, ซึ่ ง ความดั บ ไม เหลื อ แห ง สฬายตนะด ว ย, ซึ่ ง ขอ ปฏิบ ัต ิเ ครื ่อ งทํ า สัต วใ หล ุถ ึง ความดับ ไมเ หลือ แหง สฬายตนะดว ย;...ฯลฯ... ในกาลนั้น. ...ปริย ายอยา งอื่น ยัง มีอ ีก ...ยอ มรูทั ่ว ถึง ซึ ่ง นามรูป ดว ย, ซึ่งเหตุ ให เกิ ด ขึ้ น แห ง นามรู ป ด ว ย, ซึ่ ง ความดั บ ไม เหลื อ แห ง นามรู ป ด ว ย, ซึ่ ง ข อ ปฏิ บั ติ เครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงนามรูปดวย;...ฯลฯ...ในกาลนั้น. ...ปริยายอยางอื่นยังมีอีก...ยอมรูทั่วถึงซึ่ง วิญญาณ ดวย, ซึ่งเหตุ ให เกิ ดขึ้ นแห งวิ ญ ญาณด วย, ซึ่ งความดั บไม เหลื อแห งวิญ ญาณด วย, ซึ่ งข อปฏิ บั ติ เครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงวิญญาณดวย;...ฯลฯ...ในกาลนั้น.

www.buddhadasa.info ...ปริย ายอยา งอื ่น ยัง มีอ ีก ...ยอ มรู ทั ่ว ถึง ซึ ่ง สัง ขาร ดว ย, ซึ ่ง เหตุ ให เกิ ด ขึ้ น แห งสั งขารด วย, ซึ่ งความดั บ ไม เหลื อ แห งสั งขารด วย, ซึ่ งข อ ปฏิ บั ติ เครื่ อ ง ทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงสังขารดวย;...ฯลฯ...ในกาลนั้น. ดูกอนทานผูมีอายุทั้งหลาย! ปริยายอยางอื่นยังมีอีก ที่จะทําอริยสาวกให ไดชื่อวาเปนผูมีสัมมาทิฏฐิ มีความเห็นดําเนินไปตรงแลว ประกอบพรอมแลวดวย ความเลื่อมใสอันไมหวั่นไหวในธรรม, มาสูพระสัทธรรมนี้.

www.buddhadasa.info


๙๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๒

ดู ก อนท านผู มี อายุ ทั้ งหลาย! ปริยายนั้ นคื อ ในกาลใด อริ ยสาวก ย อม รู ทั่ ว ถึ ง ซึ่ ง อวิ ช ชาด ว ย, ซึ่ ง เหตุ ให เกิ ด ขึ้ น แห ง อวิ ช ชาด ว ย, ซึ่ ง ความดั บ ไม เหลื อ แห งอวิชชาด วย, ซึ่งขอปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสัตวให ลุถึ งความดั บไม เหลื อแห งอวิชชาด วย; ดู ก อ นท านผู มี อ ายุ ทั้ งหลาย! ด วยเหตุ เพี ย งเท านี้ แล อริ ย สาวกนั้ น . ชื่ อ ว าเป น ผู มี สั ม มาทิ ฏ ฐิ มี ทิ ฏ ฐิ ดํ าเนิ น ไปตรงแล ว ประกอบพร อ มแล วด วยความเลื่ อ มใสอั น ไม หวั่นไหวในธรรม มาสูพระสัทธรรมนี้ ในกาลนั้น….. (ต อไปนี้ พระสารีบุ ตรได กล าวถึ งเรื่องอาสวะ โดนั ยแห งอริยสั จสี่ ไปจนจบสู ตรชื่ อสั มมาทิ ฏฐิ สูตร มู.ม. ๑๒/๙๐/๑๑๗) หมายเหตุ ผู ร วบรวม : ในพุ ท ธภาษิ ต ในตอนต น ของเรื่ อ งนี้ ตรั ส ลั ก ษณะของ อริ ย สั จ สี่ ในอาการของปฏิ จ จสมุ ป บาท ไม ขึ้ น ไปถึ ง อวิ ช ชา ดั งในสู ต รนี้ ซึ่ ง กล า วขึ้ น ไปถึ ง อวิ ชชา. การรูปฏิ จจสมุ ปบาท แต ละอาการ โดยละอาการ โดยนั ยอริยสั จสี่ เป นลั กษณะของการบรรลุ ความเป นโสดาบั น เป น อย างน อ ย. ความข อ นี้ มี ต รงกั น ทั้ งที่ เป น พุ ท ธภาษิ ต และสาวกภาษิตเชนนี้ แล.

ปฏิจจสมุทบาท ซึ่งแสดง การกอขึ้นแหงทุกข๑

www.buddhadasa.info ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! เราจั ก แสดง ซึ่ งเหตุ เครื่ องก อ ขึ้ น แห งทุ ก ข (ทุ ก ขสมุ ท ยะ) แก พ วกเธอทั้ งหลาย. พวกเธอทั้ งหลายจงฟ งความข อ นั้ น , จงทํ าในใจให สําเร็จประโยชน, เราจักกลาวบัดนี้. .... ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ก็เหตุเครื่องกอขึ้นแหงทุกข เปนอยางไรเลา?

สูตรที่ ๓ คหปติวรรค อภิมสังยุตต นิทาน. สํ. ๑๖/๘๖/๑๖๑, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจ ฯ คือเรื่องอริยสัจสมบูรณแบบ

๙๗

(๑) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะอาศั ยตาด วย รู ป ทั้ งหลายด วย จึ งเกิ ด

จั กขุ วิ ญ ญาณ; การประจวบพรอมแห งธรรมสามประการ (ตา+รูป+จั กขุ วิ ญ ญาณ) นั่ น คื อ ผั ส สะ; เพราะมี ผั ส สะเป น ป จ จั ย จึ งมี เวทนา; เพราะมี เวทนาเป น ป จ จั ย จึงมีตัณหา: นี้คือ เหตุเครื่องกอนขึ้นแหงทุกข. (๒) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะอาศั ยหู ด วย เสี ยงทั้ งหลายด วย จึ งเกิ ด โสตวิ ญ ญาณ; การประจวบพรอมแห งธรรมสามประการ (หู +เสี ยง+โสตวิญ ญาณ) นั่ น คื อ ผั ส สะ; เพราะมี ผั ส สะเป น ป จ จั ย จึ งมี เวทนา; เพราะมี เวทนาเป น ป จ จั ย จึงมีตัณหา: นี้คือ เหตุเครื่องกอนขึ้นแหงทุกข. (๓) ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เพราะอาศัยจมูกดวย กลิ่นทั้งหลายดวย จึงเกิดฆาน วิญญาณ; การประจวบพรอมแหงธรรมสามประการ (จมูก+กลิ่น+ฆานวิญญาณ)นั่นคือ ผัสสะ; เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมีเวทนา; เพราะมีเวทนาเปนปจจัยจึงมีตัณหา: นี้ คือ เหตุเครื่องกอนขึ้นแหงทุกข.

www.buddhadasa.info (๔) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะอาศั ยลิ้ นด วย รสทั้ งหลายด วย จึ งเกิ ด ชิ วหาวิ ญญาณ; การประจวบพรอมแห งธรรมสามประการ (ลิ้ น+รส+ชิ วหาวิ ญญาณ) นั่ น คื อ ผั ส สะ; เพราะมี ผั ส สะเป น ป จ จั ย จึ งมี เวทนา; เพราะมี เวทนาเป น ป จ จั ย จึงมีตัณหา: นี้คือ เหตุเครื่องกอนขึ้นแหงทุกข.

(๕) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะอาศั ยกายด วย โผฏฐั พพะรูปทั้ งหลายด วย จึ งเกิ ด กายวิ ญ ญาณ; การประจวบพร อมแห งธรรมสามประการ (กาย+โผฏฐั พพะ+ วิ ญ ญาณ) นั่ น คื อ ผั ส สะ; เพราะมี ผั ส สะเป น ป จจั ย จึ งมี เวทนา; เพราะมี เวทนา เปนปจจัย จึงมีตัณหา: นี้คือ เหตุเครื่องกอนขึ้นแหงทุกข.

www.buddhadasa.info


๙๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๒

(๖) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! เพราะอาศั ย ใจด ว ย ธั ม มารมณ ทั้ ง หลาย จึ งเกิ ด มโนวิ ญ ญาณ; การประจวบพร อ มแห งธรรมสามประการ (ใจ+ธั ม มารมณ + มโนวิ ญ ญาณ) นั่ น คื อ ผั ส สะ; เพราะมี ผั ส สะเป น ป จ จั ย จึ ง มี เวทนา; เพราะมี เวทนาเปนปจจัย จึงมีตัณหา: นี้คือ เหตุเครื่องกอนขึ้นแหงทุกข. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เหลานี้แล คือเหตุเครื่องกอขึ้นแหงทุกข

ปฏิจจสมุทบาทซึ่งแสดง การดับลงแหงทุกข๑ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เราจักแสดง ซึ่งการถึงซึ่งอันตั้งอยูไมไดแหงทุกข (ทุ กขอั ตถั งคนะ) แก พวกเธอทั้ งหลาย, เธอทั้ งหลายจงฟ งซึ่ งความข อนั้ น, จงทํ าในใจ ใหสําเร็จประโยชน, เราจักกลาวบัดนี้. (ครั้นภิ กษุ ทั้ งหลายเหล านั้ น ทู ลสนองรับพระพุ ทธดํ ารัสแล ว, พระผู มี พระภาคเจ า ได ตรั ส ถอยคําเหลานี้วา:-)

www.buddhadasa.info ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ก็การถึงซึ่งอันตั้งอยูไมไดแหงทุกข เปนอยางไรเลา?

(๑) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะอาศั ยตาด วย รู ปทั้ งหลายด วย จึ งเกิ ด จั กขุ วิ ญ ญาณ; การประจวบพรอมแห งธรรมสามประการ (ตา+รูป+จั กขุ วิ ญ ญาณ) นั่นคือ ผัสสะ; เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมีเวทนา; เพราะมีเวทนาเปนปจจัย จึงมี

สูตรที่ ๓ คหปติวรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน. สํ. ๑๖/๘๖/๑๖๑, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจ ฯ คือเรื่องอริยสัจสมบูรณแบบ

๙๙

ตั ณ หา. เพราะความจางคลายดั บ ไปไม เหลื อ แห ง ตั ณ หานั่ น เอง, จึ ง มี ค วามดั บ แห งอุ ป าทาน; เพราะมี ความดั บแห งอุ ป าทาน จึ งมี ค วามดั บ แห งภพ; เพราะมี ความดับแหงภพ จึงมีความดับแห งชาติ; เพราะมีความดับแหงชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น: ความดับลงแหงกองทุกขทั้งสิ้น นี้ยอมมี ดวยอาการอยางนี้ นี้คือ การถึงซึ่งอันตั้งอยูไมไดแหงทุกข. (๒) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะอาศั ยหู ด วย เสี ยงทั้ งหลายด วย จึ งเกิ ด โสตวิ ญ ญาณ; การประจวบพรอมแห งธรรมสามประการ (หู +เสี ยง+โสตวิญ ญาณ) นั่นคือ ผัสสะ; เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมีเวทนา; เพราะมีเวทนาเป นปจจัย จึงมี ตั ณ หา: เพราะความจางคลายดั บ ไปไม เหลื อ แห ง ตั ณ หานั่ น เอง, จึ ง มี ค วามดั บ แหงอุปาทาน; ...ฯลฯ...๑ นี้คือ การถึงซึ่งอันตั้งอยูไมไดแหงทุกข. (๓) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะอาศั ยจมู กด วย กลิ่ นทั้ งหลายด วย จึ งเกิ ด ฆานวิ ญญาณ; การประจวบพร อมแห งธรรมสามประการ (จมู ก+กลิ่ น+ฆานวิ ญญาณ) นั่ น คื อ ผั ส สะ; เพราะมี ผั สสะเป น ป จจั ย จึ งมี เวทนา; เพราะมี เวทนาเป น ป จจั ย จึ งมี ตั ณ หา . เพราะความจางคลายดั บ ไปไม เหลื อ แห งตั ณ หานั่ น เอง, จึ งมี ค วาม ดับแหงอุปาทาน; ...ฯลฯ... นี้คือ การถึงซึ่งอันตั้งอยูไมไดแหงทุกข.

www.buddhadasa.info (๔) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะอาศั ยลิ้ นด วย รสทั้ งหลายด วย จึ งเกิ ด ชิวหาวิญญาณ; การประจวบพรอมแหงธรรมสามประการ (ลิ้น+รส+ชิวหาวิญญาณ)

คํ าที่ ละไว ด วย...ฯลฯ... ตรงนี้ และตอนต อ ๆ ไป แห งหั วข อเรื่ องนี้ หมายความวามี ข อความเต็ มเหมื อน ข อ (๑). เริ่มตั้ งแต คํ าว า "เพราะมี ความดั บแห งอุ ปาทาน จึ งมี ความดั บแห งภพ";...ไปจนกระทั่ งถึ งคํ าว า ..."ยอมมีดวยอาการอยางนี้." ผูอานพึงเติมใหเต็มเอาเอง.

www.buddhadasa.info


๑๐๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๒

นั่ น คื อ ผั ส สะ; เพราะมี ผั ส สะเป น ป จ จั ย จึ ง มี เวทนา; เพราะมี เวทนาเป น ป จ จั ย จึ ง มี ตั ณ หา. เพราะความจางคลายดั บ ไปไม เหลื อ แห ง ตั ณ หานั่ น เอง, จึ ง มี ค วาม ดับแหงอุปาทาน; ..ฯลฯ... นี้คือ การถึงซึ่งอันตั้งอยูไมไดแหงทุกข. (๕) ดูก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะอาศั ยกายด วย โผฏฐัพพะรูปทั้ งหลายด วย จึงเกิ ดกายวิ ญ ญาณ; การประจวบพรอมแห งธรรมสามประการ (กาย+โผฏฐั พพะ+ วิ ญ ญาณ) นั่ น คื อ ผั ส สะ; เพราะมี ผั ส สะเป น ป จจั ย จึ งมี เวทนา; เพราะมี เวทนา เป น ป จ จั ย จึ งมี ตั ณ หา. เพราะความจางคลายดั บ ไปไม เหลื อ แห งตั ณ หานั่ น เอง, จึ ง มี ค วามดั บ แห ง อุ ป าทาน; ...ฯลฯ... นี ้ ค ื อ การถึ ง ซึ ่ ง อั น ตั ้ ง อยู  ไ ม ไ ด แหงทุกข. (๖) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะอาศั ยใจด วย ธัมมารมณ รูปทั้ งหลายด วย จึ งเกิ ดมโนวิ ญ ญาณ; การประจวบพรอ มแห งธรรมสามประการ (ใจ+ธั ม มารมณ + มโนวิญญาณ) นั่ นคื อ ผั สสะ; เพราะมี ผั สสะเป นป จจัย จึงมี เวทนา; เพราะมี เวทนา เป น ป จ จั ย จึ งมี ตั ณ หา. เพราะความจางคลายดั บ ไปไม เหลื อ แห งตั ณ หานั่ น เอง, จึงมีความดับแหงอุปาทาน; เพราะมีความดับแหงอุปาทาน จึงมีความดับแหงภพ; เพราะมี ความดั บแห งภพ จึ งมี ความดั บแห งชาติ ; เพราะมี ความดั บแห งชาติ นั่ นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขะโทมนั สอุปายาสทั้ งหลาย จึงดั บสิ้ น: ความดั บลงแห ง กองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้ นี้คือ การถึงซึ่งอันตั้งอยูไมไดแหงทุกข.

www.buddhadasa.info ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เหลานี้แล คือการถึงซึ่งอันตั้งอยูไมไดแหงทุกข.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจ ฯ คือเรื่องอริยสัจสมบูรณแบบ

๑๐๑

อริยสัจในรูปแหงปฏิจจสมุทบาท มีในขณะแหงเวทนา๑ ดู ก อ น ภิ ก ษุ ทั้ ง ห ล า ย ! เพ ร า ะ อ า ศั ย ซึ่ ง ธ า ตุ ทั้ ง ๖ ป ร ะ ก า ร ก า ร ก า ว ล ง สู ค ร ร ภ ย อ ม มี ; เมื่ อ ก า ร ก า ว ล ง สู ค ร ร ภ มี อ ยู , น า ม รู ป ย อ ม มี ; เพ ร า ะ มี น า ม รู ป เป น ป จ จั ย จึ งมี ส ฬ าย ต น ะ ; เพ ราะ มี ส ฬ าย ต น ะ เป น ป จ จั ย จึ งมี ผั ส ส ะ ; เพ ราะ มี ผั ส ส ะ เป น ป จ จั ย จึ งมี เว ท น า ; ดู ก อ น ภิ ก ษุ ทั้ งห ล า ย ! เรา ย อ ม บั ญ ญั ติ ว า "นี้ เป น ค ว า ม ทุ ก ข " ด ั ง นี ้ ; ว  า "นี ้ เ ป  น ท ุ ก ข ส ม ุ ท ั ย " ด ั ง นี ้ ; ว  า "นี ้ เ ป  น ท ุ ก ข น ิ โ ร ธ " ด ั ง นี ้ ; ว  า "นี้ เปนทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา" ดังนี้; แกสัตวผูสามารถเสวยเวทนาอยู. หมายเหตุ ผู รวบรวม : ผูศึ กษาพึ งสังเกตใหเห็นวา ขอเท็จจริงอั นนี้ มีความสําคั ญ อย า งยิ่ ง กล าวคื อ ต อ งมี การเสวยเวทนาจริ ง ๆ จึ งจะเห็ น ทุ ก ขอริ ยสั จที่ เกิ ด จากตั ณ หาอั น เกิ ด จากเวทนานั้ น และความที่ ทุ ก ข ดั บ ไปในขณะที่ ตั ณ หาดั บ ไปในเวทนานั้ น ในเมื่ อ จิ ต ประกอบอยู ด วยธั ม มสมั งคี แห งอั ฏ ฐั งคิ กมรรค โดยอั ตโนมั ติ ; ดั งนั้ น ถ าปราศจากเวทนา เสี ย เพี ย งอย า งเดี ย วแล ว อริ ย สั จ สี่ ก็ ต าม ปฏิ จ จสมุ ป บาทก็ ต าม ยั ง มิ ได เป น สิ่ ง ที่ มี อ ยู จ ริ ง ; ด ว ยเหตุ นี้ จึ ง กล า วได ว า "ปฏิ จ จสมุ ป บาทอริ ย สั จ มี ในขณะแห งเวทนา" ดั ง นี้ โดยนั ย ดั ง ที่ พระพุทธองคตรัสแลวขางบน.

www.buddhadasa.info อาการที่ยุงยากที่สุดของปฏิจจสมุทบาท คืออาการของตัณหา๒

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เราจักแสดงซึ่งตัณหา แกพวกเธอทั้งหลายคือตัณหา ซึ่งเปนดุจมีขายเครื่องคลุมสัตว มีปกติไหลนอง แผกวาง เปนเครื่องเกาะ

สูตรที่ ๑ มหาวรรค ติก.อํ. ๒๐/๒๒๗/๕๐๑, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย. สูตรที่ ๙ มหาวรรค จตุกฺ. อํ. ๒๑/๒๘๘/๑๙๙, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย.

www.buddhadasa.info


๑๐๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๒

เกี ่ย วของสัต ว, ซึ ่ง ดว ยตัณ หานั ้น เอง โลกนี ้อ ัน ตัณ หายึด โยงไว หอ หุ ม ไว เปน เหมือ นกลุ ม ดว ยยุ ง ยุ ง เหยิง เหมือ นความยุ ง ของกลุ ม ดา ยที ่ห นาแนน ไปดว ย ปม พั น กั น ยุ ง เหมื อ นเซิ ง หญ ามุ ญ ชะและหญ าป พ พชะ ๑ ย อ มไม ล ว งพ น ซึ่ ง สั งสารวัฏฏ ที่ เป นอบาย ทุ คติ วิ นิ บาต ไปได . พวกเธอทั้ งหลาย จงฟ งข อความนั้ น, จงทําในใจใหสําเร็จประโยชน, เราจักกลาวบัดนี้. ครั้นภิ กษุ ทั้ งหลายเหล านั้ น ทู ลสนองรับพระพุ ทธดํ ารัสแล ว, พระผู มี พระภาคเจา จึงได ตรัส ถอยคําเหลานี้วา:-

ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย! ก็ตัณหาเปนอยางไรเลา? จึงชื่อวาเป นดุจมี ขายเครื่อง คลุมสัตว มีปกติไหลนอง แผกวาง เปนเครื่องเกาะเกี่ยวของสัตว, ซึ่งดวยตัณหานั้นเอง โลกนี้ อันตัณหายึดโยงไว ห อหุ มไวเป นเหมื อนกลุมด ายยุ ง ยุงเหยิงเหมื อนความยุงของ กลุมด ายที่ หนาแน นไปดวยปม พั นกันยุงเหมื อนเซิงหญ ามุ ญชะและหญ าป พพชะ ยอมไม ลวงพนซึ่งสังสารวัฏฏ ที่เปนอบาย ทุคติ วินิบาต ไปได. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ตัณหาวิจริต (ความนึกที่ซานไปดวยอํานาจแหงตัณหา) ทั้งหลาย ๑๘ ประการ อั นเขาไปจั บยึ ดขั นธ ในภายใน และตั ณหาวิจริตทั้ งหลาย ๑๘ ประการ อันเขาไปจับยึดขันธในภายนอก, เหลานี้มีอยู.

www.buddhadasa.info ดู กอนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ตั ณ หาวิ จริตทั้ งหลาย ๑๘ ประการ อั นเข าไป จั บยึ ดขั นธ ในภายใน เป นอย างไรเล า? ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ตั ณ หาวิ จริตทั้ งหลาย ๑๘ ประการ อันเขาไปจับยึดขันธในภายในนั้น เหลานี้คือ (๑) เมื่อมีความนึกวา "เรามีอยู

หญ าสองชนิ ดนี้ เคยแปลกั นวา หญ ามุ งกระต าย และหญ าปล อง แต ไม มี หลักฐานที่ แน นอน, ในที่ นี้ จึ ง ไมแปลไว.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจ ฯ คือเรื่องอริยสัจสมบูรณแบบ

๑๐๓

(อสมิ)" ดัง นี ้; (๒) ความนึก ไปวา "เราเปน อยา งนี ้ (อิต ฺถ สฺม ิ)" ดัง นี ้ ก็ย อ มมี; (๓) หรื อ ว า ความนึ ก ไปว า "เราเป น อย า งนั้ น (เอวสฺ มิ ) ดั ง นี้ ก็ ย อ มมี ; (๔) หรื อ ว า ความนึก ไปวา "เราเปน อยา งอื ่น (อ ฺถาสฺม ิ)" ดัง นี ้ ก็ย อ มมี; (๕) หรือ วา ความนึ ก ไปว า "เราเป น อย า งไม เ ที่ ย งแท (อสสฺ มิ ) ดั ง นี้ ก็ ย อ มมี ;(๖) หรื อ ว า ความนึ ก ว า "เราเป น อย างเที่ ย งแท (สตตฺ มิ )" ดั งนี้ ก็ ย อ มมี ; (๗)หรื อ ว า ความนึ ก ไปว า "เราพึ ง มี (สํ )" ดั ง นี้ ก็ ย อ มมี ; (๘) หรื อ ว า ความนึ ก ไปว า "เราพึ ง มี อ ย า งนี้ (อิ ตฺ ถํ สํ )" ดั งนี้ ก็ ย อ มมี ; (๙) หรื อ ว า ความนึ กไปว า "เราพึ งมี อ ย างนั้ น (เอวํ สํ )" ดัง นี ้ ก็ย อ มมี; (๑๐) หรือ วา ความนึก ไปวา "เราพึง มีอ ยา งอื ่น (อฺญ ถา สํ) ดัง นี้ ก็ย อ มมี; (๑๑) หรือ วา ความนึก วา "เราพึง มีบ า งหรือ (อป สํ)" ดัง นี ้ ก็ย อ มมี; (๑๒) หรื อ ว า ความนึ ก ไปว า " เราพึ งมี อ ย างนี้ บ างหรื อ (อป อิ ตฺ ถํ สํ )"ดั งนี้ ก็ ย อ มมี ; (๑๓) หรื อ ว า ความนึ ก ไปว า "เราพึ งมี อ ย างนั้ น บ างหรื อ (อป เอวํ สํ )" ดั งนี้ ก็ ย อ มมี ; (๑๔) หรือ วา ความนึก ไปวา "เราพึง มีอ ยา งอื ่น บา งหรือ (อป อฺถา สํ) ดัง นี้ ก็ย อ ม มี; (๑๕) ห รือ วา ค วาม นึก วา "เราจัก มีแ ลว (ภ วิส ฺส ํ)" ดัง นี ้ ก็ย อ ม มี; (๑๖) หรื อ ว า ความนึ ก ไปว า "เราจั ก มี แ ล ว อย า งนี้ ( อิ ตฺ ถํ ภวิ สฺ สํ )" ดั ง นี้ ก็ ย อ มมี ; (๑๗) หรื อ ว า ความนึ ก ไปว า "เราจั ก มี แ ล ว อย า งนั้ น (เอวํ ภวิ สฺ สํ )" ดั ง นี้ ก็ ย อ มมี ; (๑๘) หรือวาความนึกไปวา "เราจักมีแลวอยางอื่น (อฺถา ภวิสฺสํ) ดังนี้ ก็ยอมมี. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เหล านี้ คื อ ตั ณหาวิ จริตทั้ งหลาย ๑๘ ประการ อั นเข า ไปจับยึดขันธในภายใน.

www.buddhadasa.info ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ตัณหาวิจริตทั้งหลาย ๑๘ ประการ อันเขาไปจับ ยึดขันธในภายนอก เป นอยางไรเลา? ดูกอนภิ กษุ ทั้ งหลาย ! ตัณ หาวิจริตทั้งหลาย ๑๘ ประการ อั นเข าไปจั บยึ ดขั นธ ในภายนอก เหล านี้ คื อ (๑) เมื่ อมี ความนึ กว า "เรามี อยูดวยขันธ (อันเปนภายนอก) อันนี้ (อิมินา อสฺมิ)" ดังนี้; (๒) ความนึกไปวา

www.buddhadasa.info


๑๐๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๒

"เราเป น อย า งนี้ ด ว ยขั น ธ อั น นี้ (อิ มิ น า อิ ตฺ ถ สฺ มิ )" ดั ง นี้ ก็ ย อ มมี ; (๓) หรื อ ว า ความนึ ก ไปว า "เราเป น อย า งนั้ น ด ว ยขั น ธ อั น นี้ (อิ มิ น า เอวสฺ มิ )" ดั งนี้ ก็ ย อ มมี ; (๔) หรือว า ความนึ กไปว า "เราเป นอย างอื่ น ด วยขั นธ อั นนี้ (อิ มิ นา อฺ ถาสฺ มิ )" ดั ง นี้ ก็ ย อ มมี ; (๕) หรื อ ว า ความนึ ก ไปว า "เราเป น อย า งไม เที่ ย งแท ด ว ยขั น ธ อั น นี้ (อิ มิ น า อสสฺ มิ )" ดั งนี้ ก็ ย อ มมี ; (๖) หรื อ ว า ความนึ ก ไปว า "เราเป น อย าง เที่ ย งแท ด ว ยขั น ธ อั น นี้ (อิ มิ น า สตสฺ มิ )" ดั งนี้ ก็ ย อ มมี ; (๗) หรื อ ว า ความนึ ก ไปว า "เราพึ ง มี ด ว ยขั น ธ อั น นี้ (อิ มิ น า สํ )" ดั ง นี้ ก็ ย อ มมี ; (๘) หรื อ ว า ความนึ ก ไปวา "เราพึ งมี อย างนี้ ด วยขั นธ อั นนี้ (อิ มิ นาอิ ตฺ ถํ สํ )" ดั งนี้ ก็ ย อมมี ; (๙) หรือว า ความนึ ก ไปว า "เราพึ ง มี อ ย า งนั้ น ด ว ยขั น ธ อั น นี้ (อิ มิ น า เอวํ สํ )" ดั ง นี้ ก็ ย อ มมี ; (๑๐) หรือวา ความนึ กไปวา "เราพึ งมี อย างอื่ น ด วยขั นธอั นนี้ (อิ มิ นา อฺ ถา สํ )" ดั งนี้ ก็ ย อมมี ; (๑๑) หรื อว า ความนึ กไปว า "เราพึ งมี ด วยขั นธ อั นนี้ บ างหรื อ (อิ มิ นา อป สํ )" ดั งนี้ ก็ ย อมมี ; (๑๒) หรือว า ความนึ กไปว า "เราพึ งมี อย างนี้ ด วยขั นธ อั นนี้ บ างหรือ (อิ มิ นา อป อิ ตฺ ถํ สํ )" ดั งนี้ ก็ ย อมมี ; (๑๓) หรือว า ความนึ กไปว า "เราพึ ง มี อ ย างนั้ น ด วยขั น ธ อั น นี้ บ างหรื อ (อิ มิ น า อป เอวํ สํ )" ดั งนี้ ก็ ย อ มมี ; (๑๔) หรื อ ว า ความนึกไปวา "เราพึงมีอยางอื่นดวยขันธอันนี้บางหรือ (อิมินา อป อฺถา สํ)" ดังนี้ ก็ยอมมี; (๑๕) หรือวา ความนึกไปวา "เราจักมีแลว ดวยขันธอันนี้ (อิมินา ภวิสฺสํ)" ดั ง นี้ ก็ ย อ มมี ; (๑๖) หรื อ ว า ความนึ ก ไปว า "เราจั ก มี แ ล ว อย า งนี้ ด ว ยขั น ธ อั น นี้ (อิ มิ น า อิ ตฺ ถํ ภวิ สฺ สํ )" ดั งนี้ ก็ ย อ มมี ; (๑๗) หรื อ ว า ความนึ ก ไปว า "เราจั ก มี แล ว อย างนั้น ดวยขันธอันนี้ (อิมิ นา เอวํ ภวิสฺสํ )" ดั งนี้ ก็ยอมมี ; (๑๘) หรือวา ความ นึกไปวา "เราจักมีแลวอยางอื่น ดวยขันธอันนี้ (อิมินา อฺถา ภวิสฺสํ )" ดังนี้ ก็ยอมมี. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เหล านี้ คื อ ตั ณหาวิ จริตทั้ งหลาย ๑๘ ประการ อั นเข า ไปจับยึดขันธในภายนอก.

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจ ฯ คือเรื่องอริยสัจสมบูรณแบบ

๑๐๕

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ด วยอาการอย างนี้ จึ งมี ตั ณหาวิจริตทั้ งหลาย ๑๘ ประการ อันเขาไปจับยึ ดขันธในภายใน, และตั ณหาวิจริตทั้ งหลาย ๑๘ ประการ อั นเขาไปจับยึ ด ขั นธ ในภายนอก. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ด วยเหตุ นี้ เราย อมกล าวว า ตั ณ หาวิ จริ ต ทั้งหลาย ๓๖ ประการ ดู กอนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ด วยเหตุ นี้ เมื่ อนั บตั ณหาวิจริต มี ลั กษณะอย างนี้ อั นเป นอดี ต ๓๖ ประการด วย, อั นเป นอนาคต ๓๖ ประการด วย, อั นเป นป จจุ บั น ๓๖ ประการดวย, ตัณหาวิจริตทั้งหลาย ๑๐๘ ประการ ยอมมี. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! นี้ แล คื อตั ณหา ซึ่ งเป นดุ จมี ข ายเครื่องคลุ มสั ตว มี ปกติ ไหลนอง แผ กว าง เป น เครื่องเกาะเกี่ ยวของสั ตว , ซึ่ งด วยตั ณ หานั้ น เอง โลกนี้ อันตัณหายึดโยงไว หอหุมไวเปนเหมือนกลุมดายยุง ยุงเหยิงเหมือนความยุงของกลุมดาย ที่หนาแน นไปดวยปม พั นกันยุงเหมื อนเซิงหญ ามุญชะและหญ าป พพชะ ยอมไม ลวงพ น ซึ่งสังสารวัฏฏ ที่เปนอบาย ทุคติ วินิบาต ไปได ดังนี้ แล. ห ม า ย เห ต ุผู ร ว บ ร ว ม : ผู ศ ึก ษ า พ ึง ส ัง เก ต ให เ ห ็น ว า ต ัณ ห า นั ้น เป น อาการของปฏิ จจสมุ ป บาทอาการที่ ๘, นั บ ว าเป นอาการที่ ยุ งยากซั บ ซ อ น ทํ าจิ ตใจของสั ตว ให นุ งนั งสั บสนเหมื อนเซิ งหญ ามุ ญ ชะและกลุ มด ายที่ ยุ ง ดั งที่ กล าวแล วในพระบาลี นี้ ; แถม ยั งมี อาการของสิ่ งที่ ผู กมั ด หุ มหอ ครอบคลุ มเหมื อนตาข าย แผ ซ านไปในภพต าง ๆ มี อาการ ซั บ ซ อ นเหลื อ จะประมาณได ; มี ก ารเที่ ย วไปในทิ ฏ ฐิ ต า งๆ เช น ทิ ฏ ฐิ ๑๘ ประการ, ปรารภ ขั น ธ ทั้ ง ที่ เป น ภายในและภายนอก และมี ทั้ ง ที่ เป น อดี ต อนาคต ป จ จุ บั น : รวมได เป น ๑๐๘ ชนิ ด ; นี้ เป น พวกที่ อ าศั ย ทิ ฏ ฐิ . เมื่ อ ดู ต ามลั ก ษณะที่ อ าศั ย อารมณ ทั้ ง ๖ มี รู ป เสี ย ง กลิ ่น รส เปน ตน นับ เปน ๖ อารมณ, แลว คูณ ดว ยเวทนา ๓ คือ สุข เวทนา ทุก ขเวทนา อทุ ก ขมสุ ข เวทนา และตั ณ หา ๓ คื อ กามตั ณ หา ภวตั ณ หา วิ ภ วตั ณ หา ก็ เป น ๕๔ ชนิ ด ; แล วคู ณ ด วยลั กษณะ ๒ คื อ ที่ เป น ภายในและภายนอกก็ ตาม หรื อจะคู ณ ด วยลั กษณะแห ง เคหสิ ต และเนกขั ม มสิ ต ๒, อย า งนี้ ก็ ต าม ก็ เป น ๑๐๘ ชนิ ด เช น เดี ย วกั น : ใช อ ธิ บ ายได ทั้ งแก ก ามตั ณ หา ภวตั ณ หา วิ ภ วตั ณ หา. ส ว นตั ณ หาวิ จ ริ ต ๑๐๘ ประการ นั ย ที่ ก ล า วแล ว ข า งต น สะดวกที่ จ ะใช อ ภิ บ ายภวตั ณ หา และวิ ภ วตั ณ หา ได ทั้ ง ๒ อย า ง โดยปฏิ ป ก ขนั ย ตอกันและกัน. นี่แหละคือความยุงยากซับซอนแหงอาการของตัณหา ที่ซอนอยูในกระแส

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๑๐๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๒ แห งปฏิ จ จสมุ ป บาท ที่ เกิ ด อยู ในชี วิ ต ประจํ าวั น โดยไม ต อ งกล าวถึ งเวลาหลั งจากตายแล ว โดยทางรางกายก็ได.

คํ า ว า "เคหสิ ต " หมายถึ ง อาศั ย กามารมณ โ ดยตรง ในชี ว ิ ต ของ ผู ค รองเรือ น ในลัก ษณะแหง กามสุข ัล ลิก านุโ ยค. สว น "เนกขัม มสิต " หมาย ถึ ง ก า ร อ อ ก จ า ก เรื อ น ป ร ะ พ ฤ ติ พ ร ห ม จ ร ร ย เพื ่ อ เกิ ด ใ น ส ว ร ร ค ร ู ป า พ จ ร อรูปาพจร เปนตน ในลักษณะแหงอัตตกิลมถานุโยค ดังนี้. สํ า ห รั บ คํ า ว า "ตั ณ ห า วิ จ ริ ต " นั ้ น เล็ ง ถึ ง ที ่ เ ที ่ ย ว ที ่ โ ค จ ร ข อ ง ตั ณ ห า ; เป น ทิ ฏ ฐิ ก ็ ไ ด เป น อ ารม ณ ก ็ ไ ด ดั ง จ ะ เห็ น ได จ า ก ข อ ค ว าม ข า ง บนนั้น แล.

ความเหนียวแนนของสัสสตทิฏฐิ ปดบังการเห็นอริยสัจสี่ จึงสงสัยตอหลักของอริยสัจหรือปฏิจจสมุทบาท๑ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ ออะไรมี อยู หนอ เพราะเข าไปยึ ดถื อซึ่ งอะไร เพราะ ปกใจเขาไปสูอะไร ทิฏฐิจึงเกิดขึ้นจนถึงกับวา "ลมก็ไมพั ด แมน้ําก็ไมไหล สตรี มีครรภก็ไมคลอด พระจันทรและพระอาทิตยก็ไมขึ้นไมตก แตละอยาง ๆ เปน ของตั้งอยูอยางมั่นคงดุจการตั้งอยูของเสาระเนียด" ดังนี้?

www.buddhadasa.info ภิ กษุ ทั้ งหลายเหล านั้ น กราบทู ลวิงวอนว า "ข าแต พระองค ผู เจริ ญ! ธรรมทั้ งหลายของพวก ขาพระองค มีพระผูมีพระภาคเปนมูล มีพระผูมีพระภาคเปนผูนํา มีพระผูมีพระภาคเปนที่พึ่ง. ขาแตพระองค ผู เจริญ ! เป นการชอบแล วหนอ ขอให อรรถแห งภาษิ ตนั้ น จงแจ มแจ งกะพระผู มี พระภาคเองเถิ ด. ภิ กษุ ทั้ งหลาย ได ฟ งจากพระผู มี พ ระภาคแล ว จั กทรงจํ าไว " ดั งนี้ . พระผู มี พ ระภาคเจ า จึ งตรัสเตื อ นให ภิ กษุ ทั้งหลายเหลานั้นตั้งใจฟงดวยดีแลว ไดตรัสขอความตอไปนี้:-

สูตรที่ ๑ โสตาปตติวรรค ทิฏฐิสังยุตต ขนฺธ.สํ. ๑๗/๒๔๘/๔๑๗, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจ ฯ คือเรื่องอริยสัจสมบูรณแบบ

๑๐๗

ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย! เมื่อรูปนั่ นแล มีอยู, เพราะเขาไปยึดถือซึ่งรูป เพราะ ป กใจเข าไปสู รูป ทิ ฏ ฐิ จึ งเกิ ดขึ้ นอย างนี้ ว า "ลมก็ ไม พั ด แม น้ํ าก็ ไม ไหล สตรีมี ครรภ ก็ ไม คลอด พระจั นทร และพระอาทิ ตย ก็ ไม ขึ้ นไม ตก แต ละอย าง ๆ เป นของตั้ งอยู อย าง มั่ นคงดุ จการตั้ งอยู ของเสาระเนี ยด" ดั งนี้ . (ในกรณี แหงเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ก็มีถอย คําที่ตรัสอยางเดียวกันทุกตัวอักษรกับในกรณีแหงรูปนี้ ตางกันแตเพียงชื่อแหงขันธแตละขันธ เทานั้น).

ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! พวกเธอจะสํ าคั ญ ความข อ นั้ น อย างไร: รู ป เที่ ย ง หรือไมเที่ยง? ("ไมเที่ยง พระเจาขา!") ก็สิ่งใดไมเที่ยง สิ่งนั้น เปนทุกขหรือเปนสุขเลา? ("เป น ทุ ก ข พระเจ าข า!") แม สิ่ งใดไม เที่ ยง เป นทุ กข มี ความแปรปรวนเป นธรรมดา แตถาไมยึดมั่นถือมั่นซึ่งสิ่งนั้นแลว ทิฏฺอยางนี้ จะเกิดขึ้นไดไหมวา "ลมก็ไมพัด แมน้ํา ก็ ไม ไหล สตรีมี ครรภ ก็ ไม คลอด พระจั นทรและพระอาทิ ตย ก็ ไม ขึ้ นและไม ตก แต ละอย างๆ เปนของตั้งอยูอยางมั่นคงดุจการตั้งอยูของเสาระเนียด" ดังนี้? ("ขอนั้นหามิไดพระเจาขา!") (ในกรณี แหงเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ก็มีถอยคําที่ตรัสถามและภิกษุ เหลานั้นทูลตอบ อย างเดียวกั น ทุกตัวอักษรกับในกรณีแหงรูปนี้ ตางกันแตเพียงชื่อแหงขันธ แตละขันธเทานั้น).

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! แมสิ่งใดที่บุคคลไดเห็นแลว ฟงแลว รูสึกแลว รูแจ งแล ว บรรลุ แล ว แสวงหาแล ว ครุนคิ ดอยู ด วยใจแล ว; เหล านี้ เป นของเที่ ยงหรื อ ไม เที่ ย ง? ("ไม เที่ ย ง พระเจ า ข า!") ก็ สิ่ งใดไม เที่ ย ง สิ่ งนั้ น เป น ทุ ก ข ห รือ เป น สุ ข เล า ? ("เป น ทุ ก ข พระเจ าข า!") แม สิ่ งใดไม เที่ ยง เป น ทุ ก ข มี ค วามแปรปรวนเป น ธรรมดา แตถาไมยึดมั่นถือมั่ นซึ่งสิ่งนั้นแลว ทิฏฐิอยางนี้ จะเกิดขึ้นไดไหมวา "ลมก็ไมพั ด แม น้ํ าก็ไม ไหล สตรีมี ครรภ ก็ ไม คลอด พระจันทรและพระอาทิ ตย ก็ไม ขึ้นและไม ตก แต ละอยาง ๆ เปนของตั้งอยูอยางมั่นคงดุจการตั้งอยูของเสาระเนียด" ดังนี้? ("ขอนั้นหามิได พระเจาขา!")

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๑๐๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๒

ดูก อ นภิก ษุทั ้ง หลาย! ในกาลใดแล ความสงสัย (กัง ขา) ในฐานะ ทั้ ง หลาย ๖ ประการเหล า นี้ ๑ เป น สิ่ ง ที่ อ ริ ย ะสาวกละขาดแล ว ; ในกาลนั้ น ก็ เป น อัน วา ความสงสัย แมใ นทุก ข, แมใ นเหตุใ หเ กิด ขึ ้น แหง ทุก ข, แมใ นความดับ ไมเ หลือ แหง ทุก ข, แมใ นขอ ปฏิบ ัต ิเ ครื ่อ งทํ า สัต วใ หล ุถ ึง ความดับ ไมเ หลือ แหง ทุกข; ก็เปนสิ่งที่อริยสาวกนั้น ละขาดแลว. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! อริยสาวกนี้ เราเรียกวา เปนอริยสาวกผูเปนโสดาบัน มี อั นไม ตกต่ํ าเป นธรรมดา เป นผู เที่ ยงแท (ต อนิ พพาน) มี การตรัสรูพรอมในเบื้ องหน า, ดังนี้ แล. เมื่ อบุ คคลมี ความเห็ นว า รู ปเป นต น เป นสิ่ งที่ เที่ ยงแท เป นอั นเดี ยวกั น ทั้ งในโลกนี้ และ ในโลกอื่ นแล ว, สั สสตทิ ฏฐิ จะเกิ ดขึ้นแก เขาอย างแน นแฟ น จนถึ งขนาดที่ จะเปรียบเที ยบกั นกั บอุ ปมาในที่ นี้ ไดวา ลมจะไมพั ด แมน้ําจะไมไหล ดังนี้เปนตน; คือเขาจะไมยอมเปลี่ยนทิ ฏฐิ อันแนนแฟ นดุจเสาระเนียดนี้ , มันจึงปดบังการเห็นอริยสัจสี่, อริยสัจทั้งสี่ ก็คือ ปฏิจจสมุทบาท นั่นเอง; ดังนั้นจึงเปนอันวา ทิ ฏฐินั้นปดบัง การเห็นปฏิจจสมุทบาทโดยแท. – ผูรวบรวม.

www.buddhadasa.info นัตถิกทิฏฐิปดบังการเห็นอริยสัจสี่ จึงสงสัยตอหลักของอริยสัจหรือปฏิจจสมุปบาท๒

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ ออะไรมี อยู หนอ เพราะเข าไปยึ ดถื อซึ่ งอะไร เพราะ ปกใจเขาไปสูอะไร ทิฏฐิจึงเกิดขึ้นอยางนี้วา "ไมมีทานอันบุคคลบริจาคแลว, ไมมี

ขันธ ๕ และสิ่งที่ไดเห็นแลว เปนตน ดังที่กลาวแลวขางบน. สูตรที่ ๕ โสตาปตติวรรค ทิฏฐิสังยุตต ขนฺธ.สํ. ๑๗/๒๕๔/๔๒๕, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจ ฯ คือเรื่องอริยสัจสมบูรณแบบ

๑๐๙

ยัญ ญะอัน บุค คลประกอบแลว , ไมม ีโหตระอัน บุค คลบูช าแลว , ไมม ีผ ลวิบ าก แหง กรรม อัน บุค คลกระทํ า ดีแ ลว กระทํ า ชั ่ว แลว , ไมม ีโ ลกนี ้, ไมม ีโ ลกอื ่น , ไม มี ม ารดา, ไม มี บิ ด า, ไม มี สั ต ว ทั้ ง หลายอั น เป น โอปปาติ ก ะ, ไม มี ส รณะและ พราหมณ ผู ไ ปแลว ถูก ตอ ง ผู ป ฏิบ ัต ิแ ลว ถูก ตอ ง ผู ทํ า ใหแ จง ซึ ่ง โลกนี ้ และ โลกอื ่น ดว ยปญ ญ าอัน ยิ ่ง เอง แลว ประกาศอยู ใ นโลก; คนเรานี ้ เปน แต การประชุม ของมหาภูต ทั ้ง สี ่, เมื ่อ ใดทํ า กาละ เมื ่อ นั ้น ดิน ยอ มเขา ไปสู ห มู แหง ดิน น้ํ า ยอ มเขา ไปสู ห มู แ หง น้ํ า ไฟยอ มเขา ไปสู ห มู แ หง ไฟ ลมยอ มเขา ไปสู ห มู แ หง ลม อิน ทรีย ทั ้ง หลายยอ มหายไปในอากาศ; บุร ุษ ทั ้ง หลายมีเ ตีย ง วางศพเปน ที ่ค รบหา จะพาเขาผู ต ายแลว ไป; รอ งรอยทั ้ง หลาย ปรากฏอยู เพีย งแคป า ชา เปน เพีย งกระดูก ทั ้ง หลาย มีส ีเ พีย งดัง สีแ หง นกพิล าป, การ บู ช าเซ น สรวง มี ขี้ เ ถ า เป น ที่ สุ ด , สิ่ ง ที่ เ รี ย กว า ทานนั้ น เป น บทบั ญ ญั ติ ข องคน เขลา, คํ า ของพวกที่ ก ล า วว า อะไร ๆ มี อ ยู นั้ น เป น คํ า เปล า (จากความหมาย), เปน คํ า เท็จ เปน คํ า เพอ เจอ ; ทั ้ง คนพาลและบัณ ฑิต ครั ้น กายแตกทํ า ลาย แลว ยอมขาดสูญพินาศไป มิไดมีอยู ภายหลังแตการตาย" ดังนี้?

www.buddhadasa.info ภิ กษุ ทั้ งหลายเหล านั้ น กราบทู ลวิงวอนว า "ข าแต พระองค ผู เจริ ญ! ธรรมทั้ งหลายของพวก ขาพระองค มีพระผูมีพระภาคเปนมูล มีพระผูมีพระภาคเปนผูนํา มีพระผูมีพระภาคเปนที่พึ่ง. ขาแตพระองค ผู เจริญ ! เป นการชอบแล วหนอ ขอให อรรถแห งภาษิ ตนั้ น จงแจ มแจ งกะพระผู มี พ ระภาคเองเถิ ด. ภิ กษุ ทั้งหลายไดฟงจากพระผูมีพระภาคเจาแลว จักทรงจําไว" ดังนี้. พระผูมีพระภาคเจา จึงตรัสเตือนใหภิกษุทั้งหลาย เหลานั้นตั้งใจฟงดวยดีแลว ไดตรัสขอวามตอไปนี้:-

ดูก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ อรูปนั่ นแล มี อยู , เพราะเขาไปยึดถือซึ่งรูป เพราะ ปกใจเขาไปสูรูป ทิ ฏฐิจึงเกิดขึ้นอยางนี้วา "ไมมี ทานอันบุ คคลบริจาคแลว, ไมมี ยัญญะ อันบุคคลประกอบแลว, ไมมีโหตระอันบุคคลบูชาแลว, ไมมีผลวิบากแหงกรรม อันบุคคล

www.buddhadasa.info


๑๑๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๒

กระทํ าดี กระทํ าชั่ ว, ไม มี โลกนี้ , ไม มี โลกอื่ น, ไม มี มารดา, ไม มี บิ ดา, ไม มี สั ตว ทั้ งหลาย อั นเป นโอปปาติ กะ, ไม มี สรณะและพราหมณ ผู ไปแล วถู กต อง ผู ปฏิ บั ติ แล วถู กต อง ผู ทํ า ให แ จ งซึ่ งโลกนี้ แ ละโลกอื่ น ด ว ยป ญ ญาอั น ยิ่ งเอง แล ว ประกาศอยู ในโลก; คนเรานี้ เป นแต การประชุ มของมหาภู ตทั้ งสี่ , เมื่ อใดทํ ากาละ เมื่ อนั้ นดิ นย อมเข าไปสู หมู แห งดิ น น้ํ าย อมเข าไปสู หมู แห งน้ํ า ไฟย อมเข าไปสู หมู แห งไฟ ลมย อมเข าไปสู หมู แห งลม อิ นทรีย ทั้ งหลาย ย อมหายไปในอากาศ; บุ รุ ษทั้ งหลาย มี เตี ยงวางศพเป นที่ ครบห า จะพาเขา ผู ตายแล วไป; รองรอยทั้ งหลาย ปรากฏอยู เพี ยงแค ป าช า เป นเพี ยงกระดู กทั้ งหลาย มี สี เพี ยงดั งสี แห งนกพิ ลาป, การบู ชาเซ นสรวง มี ขี้ เถ าเป นที่ สุ ด, สิ่ งที่ เรี ยกว าทานนั้ นเป น บทบั ญญั ติ ของคนเขลา, คํ าของพวกที่ กล าวว า อะไร ๆ มี อยู นั้ น เป นคํ าเปล า (จากความ หมาย) เป นคํ าเท็ จ เป นคํ าเพ อเจ อ; ทั้ งคนพาลและบั ณ ฑิ ต ครั้ นกายแตกทํ าลายแล ว ยอมขาดสูญ พินาศไป มิไดมีอยู ภายหลังแตตายแลว" ดังนี้. ดู ก อ นภิ กษุ ทั้ งหลาย! พวกเธอจะสํ าคั ญ ความข อ นี้ ว าอย างไร: รู ป เที่ ยง หรือไม เที่ ยง? ("ไม เที่ ยง พระเจ าข า!") ก็ สิ่ งใดไม เที่ ยง สิ่ งนั้ น เป นทุ กข หรือเป นสุ ขเล า? ("เป นทุ กข พระเจ าข า!") แม สิ่ งใดไม เที่ ยง เป นทุ กข มี ความแปรปรวนเป นธรรมดา แต ถาไม ยึดมั่ นถื อมั่ นซึ่งสิ่งนั้ นแลว ทิ ฏฐิอย างนี้ จะเกิดขึ้นได ไหมวา "ไม มี ทานอันบุ คคลบริจาค แล ว, ไม มี ยั ญญะอั นบุ คคลประกอบแล ว, ไม มี โหตระอั นบุ คคลบู ชาแล ว, ไม มี ผลวิบากแห ง กรรมอั น บุ ค คลกระทํ า ดี แ ล ว , กระทํ า ชั่ ว แล ว , ...ฯลฯ...ฯลฯ... คํ า ของพวกที่ ก ล า วว า อะไร ๆ มี อยู นั้ นเป นคํ าเปล า (จากความหมาย) เป นคํ าเท็ จ เป นคํ าเพ อเจ อ; ทั้ งคนพาลและ บั ณ ฑิ ต ครั้ นกายแตกทํ าลายแล ว ย อมขาดสู ญ พิ นาศไป มิ ได มี อยู ภายหลั งแต ตาย" ดั งนี้ . ("ข อนั้ น หามิ ได พ ระเจ าข า!") (ในกรณี แห งเวทนา สัญ ญา สังขาร วิญ ญาณ ก็ มี คํากล าว

www.buddhadasa.info อยางเดียวกันทุกตัวอักษรกับคํากลาวในกรณีแหงรูปนี้ ตางกันแตเพียงชื่อแหงขันธแตละขันธ เทานั้น).

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจ ฯ คือเรื่องอริยสัจสมบูรณแบบ

๑๑๑

ดูก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! แม สิ่ งใดที่ บุ คคลได เห็ นแล ว ฟ งแล ว รูสึกแลว รูแจ ง แลว บรรลุแลว แสวงหาแลวครุนคิดอยูดวยใจแลว; เหลานี้ เปนของเที่ยงหรือไม เที่ยง? ("ไม เที่ ย ง พระเจ า ข า !") ก็ สิ่ ง ใดไม เ ที่ ย ง สิ่ ง นั้ น เป น ทุ ก ข ห รื อ เป น สุ ข เล า ? ("เป น ทุกข พระเจาขา!") แม สิ่งใดไมเที่ ยง เป นทุ กข มี ความแปรปรวนเป นธรรมดา แต ถ า ไมยึดมั่นถือมั่นซึ่งสิ่งนั้นแลว ทิฏฐิอยางนี้ จะเกิดขึ้นไดไหมวา "ไมมีทานอันบุคคลบริจาค แล ว, ไม มี ยั ญญะอันบุ คคลประกอบแล ว, ไม มี โหตระอันบุ คคลบู ชาแล ว, ไม มี ผลวิบาก แห ง กรรมอั น บุ ค คลกระทํ า ดี แ ล ว กระทํ า ชั่ ว แล ว , ...ฯลฯ...ฯลฯ... คํ า ของพวกที่ กล าวว า อะไร ๆ มี อยู นั้ นเป นคํ าเปล า (จากความหมาย) เป นคํ าเท็ จ เป นคํ าเพ อเจ อ; ทั้งคนพาลและบั ณฑิ ต ครั้นกายแตกทํ าลายแล ว ยอมขาดสูญพิ นาศไป มิ ไดมี อยูภายหลั ง แตการตาย" ดังนี้. ("ขอนั้น หามิได พระเจาขา!") ดูก อ นภิก ษุทั ้ง หลาย! ในกาลใดแล ความสงสัย (กัง ขา) ในฐานะ ทั้ ง หลาย ๖ ประการเหล า นี้ เป น สิ่ ง ที่ อ ริ ย ะสาวกละขาดแล ว ; ในกาลนั้ น ก็ เป น อัน วา ความสงสัย แมใ นทุก ข, แมใ นเหตุใ หเ กิด ขึ ้น แหง ทุก ข, แมใ นความดับ ไม เหลื อ แห ง ทุ ก ข , แม ใ นข อ ปฏิ บั ติ เ ครื่ อ งทํ า สั ต ว ใ ห ลุ ถึ ง ความดั บ ไม เ หลื อ แห ง ทุกข, ก็เปนสิ่งที่อริยสาวกนั้น ละขาดแลว.

www.buddhadasa.info ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! อริยสาวกนี้ เราเรียกวา เปนอริยสาวกผูเปนโสดาบัน มี อั นไม ตกต่ํ าเป นธรรมดา เป นผู เที่ ยงแท (ต อนิ พพาน) มี การตรัสรูพรอมในเบื้ องหน า, ดังนี้ แล.

นัตถิกทิฏฐิ หรืออุจเฉททิ ฏฐิ ดังกลาวมานี้ เป นสุดโต งฝายขางไม มี ตรงกั นขามจากสั สสตทิ ฏ ฐิ ซึ่ งเป น สุ ดโต งฝ ายข างมี ล วนแต ป ดบั งการเห็ นอริยสั จสี่ ด วยกั นทั้ งสองอย าง. อริยสั จสี่ คื อ ปฏิจจสมุทบาท; ดังนั้น จึงเปนการปดบังปฏิจจสมุทบาทพรอมกันไปในตัว.

www.buddhadasa.info


๑๑๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๒

ตอนต นของนั ตถิ กทิ ฏฐิ ตั้ งแต คํ าวา "การให ทานไม มี " ไปจนถึ งคํ าวา "สั ตวผู เป นอุ ปปาติ กะ ไม มี " นี้ ถู กยกมาใช เป นคํ าอธิบายของมิ จฉาทิ ฏฐิ ในขั้ นมู ลฐานทางศี ลธรรมทั่ วไป เช นมิ จฉาทิ ฏฐิ ในอกุ ศลกรรม บถเปนตน ซึ่งยังมิใชนัตถิกทิฏฐิเต็มรูป จึงเรียกวา มิจฉาทิฏฐิเฉย ๆ. -ผูรวบรวม.

ปฏิจจสมุทบาท รวมอยูในบรรดาเรื่องที่ใครคัดคานไมได๑ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ธรรมนี้ นี่ แล อั นเราแสดงแล ว เป นธรรมอั นสมณ. พราหมณผูรูทั้งหลายขมขี่ไมได ทําใหเศราหมองไมได ติเตียนไมได คัดงางไมได. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ก็ธรรมอันเราแสดงแลว เปนธรรมอันสมณพราหมณผูรูทั้ง หลายขมขี่ไมได ทําใหเศราหมองไมได ติเตียนไมได คัดงางไมได. เปนอยางไรเลา? ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ธรรมอั นเราแสดงแล ววา"เหล านี้ คื อ ธาตุ ทั้ งหลาย ๖ ประการ ดังนี้ เป นธรรมอันสมณพราหมณ ผูรูทั้ งหลายขมขี่ไมได ทําใหเศราหมอง ไมได ติเตียนไมได คัดงางไมได.

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ธรรมอั นเราแสดงแล วว า "เหล านี้ คื อผั สสายตนะ (แดนเกิ ดแห งผั ส สะ) ทั้ งหลาย ๖ ประการ" ดั งนี้ เป น ธรรมอั น สมณพราหมณ ผู รู ทั้งหลายขมขี่ไมได ทําใหเศราหมองไมได ติเตียนไมได คัดงางไมได.

สูตรที่ ๑ มหาวรรค ติก. อํ. ๒๐/๒๒๕/๕๐๑, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจ ฯ คือเรื่องอริยสัจสมบูรณแบบ

๑๑๓

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ธรรมอั นเราแสดงแล ววา "เหล านี้ คื อมโนปวิ จาร (ที่เขาไปเที่ยวแหงมโน) ทั้งหลาย ๑๘ ประการ" ดังนี้ เปนธรรมอันสมณพราหมณ ผูรู ทั้งหลายขมขี่ไมได ทําใหเศราหมองไมได ติเตียนไมได คัดงางไมได. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ธรรมอั น เราแสดงแล วว า "เหล านี้ คื ออริ ย สั จทั้ ง หลาย ๔ ประการ" ดั งนี้ เป น ธรรมอั น สมณพราหมณ ผู รู ทั้ งหลายข ม ขี่ ไม ได ทํ าให เศราหมองไมได ติเตียนไมได คัดงางไมได. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ธรรมอั นเราแสดงแล วว า "เหล านี้ คื อธาตุ ทั้ งหลาย ๖ ประการ" ดั งนี้ เป นธรรมอั นสมณพราหมณ ผู รูทั้ งหลายข มขี่ ไม ได ทํ าให เศราหมอง ไม ได ติ เตี ย นไม ได คั ด ง า งไม ได . ข อ นี้ เป น ธรรมที่ เรากล า วแล ว อย า งนี้ เราอาศั ย ซึ่งอะไรเล า จึ งกล าวแล วอย างนี้ ? ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ธาตุ ทั้ งหลาย ๖ ประการเหล านี้ คือ ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ อากาสธาตุ วิญ ญาณธาตุดังนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ธรรมอั นเราแสดงแล วว า "เหล านี้ คื อ ธาตุ ทั้ งหลาย ๖ ประการ" ดังนี้ เป นธรรมอันสมณพราหมณ ผูรูทั้งหลายขมขี่ไม ได ทําให เศราหมองไม ได ติเตี ยน ไมได คัดงางไมได ดังนี้ อันใด อันเรากลาวแลว; ขอนั้น เรากลาวหมายถึงขอความนี้.

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ธรรมอั นเราแสดงแล วว า "เหล านี้ คื อผั สสายตนะ ทั้ งหลาย ๖ ประการ" ดั งนี้ เป นธรรมอั นสมณพราหมณ ผู รูทั้ งหลายข มขี่ ไม ได ทํ าให เศราหมองไม ได ติ เตี ยนไม ได คั ดงางไม ได . ข อนี้ เป นธรรมที่ เรากล าวแล วอย างนี้ เราอาศัยซึ่ งอะไรเล า จึงกล าวแลวอย างนี้ ? ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ผั สสายตนะทั้ งหลาย ๖ ประการ เหล านี้ คื อ จั กษุ เป นผั สสายตนะ โสตะ เป นผั สสายตนะ ฆานะ เป น ผัสสายตนะ ชิวหา เปนผัสสายตนะ กายะเปนผัสสายตนะ มโนเปนผัสสายตนะ ดังนี้.

www.buddhadasa.info


๑๑๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๒

ดูก อ นภิก ษุทั ้ง หลาย! ธรรมอัน เราแสดงแลว วา "เหลา นี ้ คือ ธาตุทั ้ง หลาย ๖ ประการ" ดังนี้ เป นธรรมอันสมณพราหมณ ผู รูทั้ งหลายขมขี่ไม ได ทํ าให เศราหมองไม ได ติ เตี ยนไม ได คั ดงางไม ได ดั งนี้ อั นใด อั นเรากล าวแล ว; ข อนั้ น เรากล าวหมายถึ ง ขอความนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ธรรมอั นเราแสดงแล วว า "เหล านี้ คื อ มโนปวิ จาร ทั้ งหลาย ๑๘ ประการ" ดั งนี้ เป นธรรมอั นสมณพราหมณ ผู รูทั้ งหลายข มขี่ ไม ได ทํ าให เศร าหมองไม ได ติ เตี ยนไม ได คั ดง างไม ได . ข อนี้ เป นธรรมที่ เรากล าวแล วอย างนี้ เราอาศัยซึ่งอะไรเลาจึงกลาวอยางนี้? ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เพราะเห็นรูปดวยจักษุ มโนย อมเข าไปเที่ ยวในรูปอั นเป นที่ ตั้ งแห งโสมนั ส, ย อมเขาไปเที่ ยวในรูปอั นเป นที่ ตั้ ง แหงโทมนั ส, ยอมเขาไปเที่ยวในรูปอันเปนที่ตั้งแหงอุเบกขา; เพราะฟ งเสี ยงดวยโสตะ มโนยอมเขาไปเที่ ยวในเสียงอันเป นที่ ตั้งแห งโสมนัส, ยอมเขาไปเที่ยวในเสียงอันเป นที่ตั้ ง แหงโทมนัส, ยอมเขาไปเที่ยวในเที่ยวอันเปนที่ตั้งแหงอุเบกขา; เพราะรูสึกกลิ่นดวย ฆานะ มโนย อมเขาไปเที่ ยวในกลิ่ นอั นเป นที่ ตั้ งแห งโสมนั ส, ย อมเข าไปเที่ ยวในกลิ่ น อันเป นที่ตั้งแหงโทมนัส, ยอมเขาไปเที่ยวในกลิ่นอันเป นที่ ตั้งแหงอุเบกขา; เพราะรูสึ ก รสด วยชิวหา มโนย อมเขาไปเที่ ยวในรูปอั นเป นที่ ตั้ งแห งโสมนั ส, ย อมเขาไปเที่ ยวในรส อันเปนที่ตั้งแหงโทมนัส, ยอมเขาไปเที่ยวในรสอันเปนที่ตั้งแหงอุเบกขา; เพราะถูกตอง สัมผัสทางผิวหนังดวยผิวกาย มโนยอมเขาไปเที่ยวในสัมผัสทางผิวหนังอันเปนที่ตั้งแหง โสมนัส, ยอมเขาไปเที่ยวในสัมผัสทางผิวหนังอันเปนที่ตั้งแหงโทมนัส, ยอมเขาไปเที่ยวใน สัมผัสทางผิวหนังอันเปนที่ตั้งแหงอุเบกขา; เพราะรูสึกธัมมารมณดวยมโน มโนยอม เข า ไปเที่ ย วในรู ป อั น เป น ที่ ตั้ ง แห ง โสมนั ส , ย อ มเข า ไปเที่ ย วในธั ม มารมณ อั น เป น ที่ ตั้ งแห งโทมนั ส, ย อมเข าไปเที่ ยวในธัมมารมณ อั นเป นที่ ตั้ งแห งอุ เบกขา; ดั งนี้ ดู ก อน ภิกษุทั้งหลาย! ธรรมอันเราแสดงแลววา "เหลานี้ คือมโนปวิจารทั้งหลาย๑๘ ประการ"

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจ ฯ คือเรื่องอริยสัจสมบูรณแบบ

๑๑๕

ดั งนี้ เป นธรรมอั นสมณพราหมณ ผู รู ทั้ งหลายข มขี่ ไม ได ทํ าให เศราหมองไม ได ติ เตี ยน ไมได คัดงางไมได ดังนี้ อันใด อันเรากลาวแลว; ขอนั้น เรากลาวหมายถึงขอความนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ธรรมอั นเราแสดงแล วว า "เหล านี้ คื ออริ ยสั จทั้ งหลาย ๔ ประการ" ดั งนี้ เป นธรรมอั นสมณพราหมณ ผู รู ทั้ งหลายข มขี่ ไม ได ทํ าให เศร าหมอง ไม ได ติ เตี ย นไม ได คั ด ง างไม ได . ข อ นี้ เป น ธรรมที่ เรากล า วแล ว อย า งนี้ เราอาศั ย ซึ่ ง อะไรเล า จึ ง กล า วอย า งนี้ ? ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! เพราอาศั ย ซึ่ ง ธาตุ ทั้ ง หลาย ๖ ประการ การกา วลงสู ค รรภย อ มมี; เมื ่อ การกา วลงสู ค รรภ มีอ ยู , นามรูป ย อ มมี ; เพราะมี น ามรู ป เป น ป จ จั ย จึ งมี ส ฬายตนะ; เพราะมี ส ฬายตนะเป น ป จ จั ย จึ ง มี ผั ส สะ เพราะมี ผั ส สะเป น ป จ จั ย จึ ง มี เวทนา ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! เราย อ ม บ ัญ ญ ต ิว า "นี ้ เป น ค วา ม ท ุก ข" ด ัง นี ้; วา "นี ้ เป น ทุก ข ส ม ุท ัย " ดัง นี ้; วา "นี้ เปน ทุก ขนิโ รธ" ดังนี้; วา "นี้ เปน ทุก ขนิโ รธคามินีป ฏิป ทา" ดัง นี้; แกสัต วผูสามารถ เสวยเวทนาอยู ดูก อ นภิก ษุทั ้ง หลาย! ทุก ขอริย สัจ เปน อยา งไรเลา ? แมค วามเกิด ก็ เป นทุ กข , แม ความแก ก็ เป นทุ กข , แม ความตาย ก็ เป นทุ กข , แม โสกะปริเทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย ก็ เป นทุ กข , การประสบกั บสิ่ งไม เป นที่ รั ก เป นทุ กข , ความ พลั ดพรากจากสิ่ งเป นที่ รั ก เป น ทุ กข , ปรารถนาสิ่ งใดแล วไม ได สิ่ งนั้ น นั่ นก็ เป นทุ กข : กลาวโดยยอ ปญจุปาทานขันธทั้งหลาย เปนทุกข. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! นี้เรากลาววา ทุกขอริยสัจ.

www.buddhadasa.info ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ทุ ก ขสมุ ท ยอริ ย สั จ เป น อย า งไรเล า ? เพราะมี อวิชชาเปนปจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย เพราะมีสังขารเปนปจจัย จึงมีวิญญาณ;

www.buddhadasa.info


๑๑๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๒

เพราะมีวิญญาณเปนปจจัย จึงมีนามรูป เพราะมีนามรูปเปนป จจัย จึงมีสฬายตนะ; เพราะมี ส ฬายตนะเป น ป จ จั ย จึ ง มี ผั ส สะ; เพราะมี ผั ส สะเป น ป จ จั ย จึ ง มี เวทนา; เพราะมี เวทนาเป น ป จ จั ย จึ งมี ตั ณ หา; เพราะมี ตั ณ หาเป น ป จ จั ย จึ งมี อุ ป าทาน; เพราะมี อุ ป าทานเป น ป จ จั ย จึ งมี ภ พ; เพราะมี ภ พเป น ป จ จั ย จึ งมี ช าติ ; เพราะมี ชาติ เป นป จจั ย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขะโทมนั สอุปายาสทั้ งหลาย จึ งเกิ ดขึ้ น ครบถวน: ความเกิดขึ้นพรอมแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! นี้เรากลาววา ทุกขสมุทยอริยสัจ. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ทุ ก ขนิ โ รธอริ ย สั จ เป น อย า งไรเล า ? เพราะ ความจางคลายดั บ ไปไม เหลื อ แห ง อวิ ช ชานั้ น นั่ น เเที ย ว, จึ งมี ค วามดั บ แห งสั ง ขาร; เพราะมี ค วามดั บ แห งสั ง ขาร จึ งมี ค วามดั บ แห งวิ ญ ญาณ; เพราะมี ค วามดั บ แห ง วิ ญ ญาณ จึ งมี ค วามดั บ แห งนามรู ป ; เพราะมี ค วามดั บ แห งนามรูป จึ งมี ค วามดั บ แห งสฬายตนะ; เพราะมี ความดั บแห งสฬายตนะ จึ งมี ความดั บแห งผั สสะ; เพราะมี ความดั บ แห งผั ส สะ จึ งมี ค วามดั บ แห งเวทนา; เพราะมี ค วามดั บ แห งเวทนา จึ งมี ความดั บ แห ง ตั ณ หา เพราะมี ค วามดั บ แห ง ตั ณ หา จึ ง มี ค วามดั บ แห ง อุ ป าทาน; เพราะมี ค วามดั บ แห งอุ ป าทาน จึ งมี ค วามดั บ แห ง ภพ; เพราะมี ค วามดั บ แห ง ภพ จึ งมี ความดั บแห งชาติ ; เพราะมี ความดั บแห งชาติ นั่ นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งดั บสิ้ น: ความดั บลงแห งกองทุ กข ทั้ งสิ้ นนี้ ย อมมี ดวยอาการอยางนี้. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! นี้เรากลาววา ทุกขนิโรธอริยสัจ.

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ทุ ก ขนิ โรธคามิ นี ป ฏิ ป ทาอริ ย สั จ เป น อย างไร เลา? มรรคอันประเสริฐ ประกอบดวยองค ๘ ประการ นี้นั่นเอง, กลาวคือ สัมมา-

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจ ฯ คือเรื่องอริยสัจสมบูรณแบบ

๑๑๗

ทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากั มมั นตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามาะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! นี้เรากลาววา ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ธรรมอั นเราแสดงแล วว า "เหล านี้ คื ออริยสั จทั้ งหลาย ๔ ประการ" ดั งนี้ เป นธรรมอั นสมณพราหมณ ผู รูทั้ งหลายข มขี่ ไม ได ทํ าให เศราหมอง ไม ได ติ เตี ย นไม ได คั ด ง างไม ได ดั งนี้ อั น ใด อั น เรากล าวแล ว; ข อ นั้ น เรากล าว หมายถึงขอความนี้, ดังนี้ แล. หมายเหตุ ผู ร วบรวม : ผู ศึ ก ษาพึ งสั งเกตให เห็ น วา เรื่อ งที่ พ ระพุ ท ธองค ท รง ท า ทายว า เป น เรื่ อ งที่ ผู รู คั ด ค า นไม ไ ด นั้ น มี อ ยู ๔ เรื่ อ งด ว ยกั น คื อ เรื่ อ งธาตุ ๖, ผั ส สายตนะ ๖, มโนปวิ จ าร ๑๘, และปฏิ จ จสมุ ป บาท ที่ อ ยู ใ นรู ป ของอริ ย สั จ สี่ ที่ ท รงแสดงด ว ย ปฏิ จ จสมุ ป บาท อั น เป น อริ ย สั จสี่ ที่ รั ด กุ ม ; สํ า หรั บ เผชิ ญ กั บ การต อ ต า นคั ด ค า นของสมณพราหมณผู รู เ หลา อื ่น . เปน อัน วา เรื ่อ งปฏิจ จสมุป บาท ทั ้ง สมุป ทยวาร และนิโ รธวาร รวมอยูในบรรดาเรื่องที่ใด ๆ คัดคานไมได.

หมวดที่สอง จบ www.buddhadasa.info -------------------

www.buddhadasa.info


www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


หมวด ๓ วาดวย บาลีแสดงวา ปฏิจจสมุปบาท ไมใชเรื่องขามภพขามชาติ

www.buddhadasa.info

๑๑๙

www.buddhadasa.info


www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


กฏอิทัปปจจยตาหัวใจ : ปฏิจจสมุปบาท. อิมสฺมึ สติ อิทํ โหติ เมื่อสิ่งนี้ มี สิ่งนี้ ยอมมี อิมสฺสุปฺปาทา อิทํ อุปฺปชฺชติ เพราะความเกิดขึ้นแหงสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น. อิมสฺมึ อสติ อิทํ น โหติ เมื่อสิ่งนี้ ไมมี สิ่งนี้ ยอมไมมี อิมสฺส นิโรธา อิทํ นิรุชฺฌติ เพราะความดับไปแหงสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงดับไป. (ม.ม. ๑๓/๓๕๕/๓๗๑, นิทาน. สํ. ๑๖/๘๔/๑๕๔,....)

www.buddhadasa.info

๑๒๑

www.buddhadasa.info


ลําดับเรื่องเฉพาะหมวด สําหรับปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ หมวดที่ ๓ วาดวย บาลีที่แสดงวา ปฏิจจสมุปบาท ไมใชเรื่องขามภพขามชาติ (มี ๙ เรื่อง)

มีเ รื ่อ ง : ปฏิจ จสมุป บาทมีเมื่อ มีก ารกระทบทางอายตนะ-- ปฏิจ จสมุป บาท ดับ ไดก ลางสาย—นัน ทิเ กิด เมื ่อ ใดก็ม ีป ฏิจ จสมุป บาทเมื ่อ นั ้น —นัน ทิด ับ เมื ่อ ใดปฏิจ จสมุป บาทดับ เมื ่อ นั ้น --ในภาษาปฏิจ จสมุป บาทกรรมใหผ ล ในอัต ตภาพที ่ก ระทํ า กรรม --เห็น ปฏิจ จสมุป บาทคือ ฉลาดในเรื ่อ งกรรม—นามรูป หยั ่ง ลงเพราะเห็น สัญ โญชนิย ธรรมโดยความเปน อัส สาทะ-- นามรูป ไมห ยั ่ง ลง เพราะเห็น สัญ โญชนิย ธรรมโดย ความเปนอาทีนวะ--ปฏิจจสมุปบาทที่ตรัสระคนกับปจจุปาทานขันธ

www.buddhadasa.info

๑๒๒

www.buddhadasa.info


ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ

หมวดที่ ๓ วาดวย บาลีที่แสดงวา ปฏิจจสมุปบาท ไมใชเรื่องขามภพขามชาติ ----------------ปฏิจจสมุปบาทมีเมื่อมีการกระทบทางอายตนะ (ไมตองขามภพขามชาติ)๑ เพราะอาศัยซึ่งจักษุดวย, ซึ่งรูปทั้งหลายดวย, จึงเกิดจักขุวิญญาณ; การ ประจวบพรอมแหงธรรม ๓ ประการนี้ คือ ผัสสะ; เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมีเวทนา; เพราะมีเวทนาเปนปจจัย จึงมีตัณหา; เพราะมีตัณหาเปนปจจัย จึงมีอุปาทาน; เพราะ

www.buddhadasa.info

สูตรที่ ๑๐ โยคักเขมิวรรค สฬายตนสังยุตต สฬา. สํ. ๑๘/๑๑๑/๑๖๓, สูตรที่ ๕ คหปติวรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน. สํ. ๑๖/๘๙/๑๖๖; นี้เปนคํากลาวตามลําพังพระองคในคราวประทับหลีกเรนอยู.

๑๒๓

www.buddhadasa.info


๑๒๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๓

มี อุ ปาทานเป นป จจั ย จึ งมี ภพ; เพราะมี ภพเป นป จจั ย จึ งมี ชาติ ; เพราะมี ชาติ เป นป จจั ย ชรามรณะ โสกะปริ เทวะทุ ก ขะโทมนั ส อุ ป ายาสทั้ งหลาย จึ งเกิ ด ขึ้ น ครบถ วน: ความ เกิดขึ้นพรอมแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมีดวยอาการอยางนี้. เพราะอาศั ยซึ่ งโสตะด วย, ซึ่ งเสี ยงทั้ งหลายด วย, จึ งเกิ ดโสตวิ ญ ญาณ; การประจวบพร อมแห งธรรม ๓ ประการนี้ คื อ ผั ส สะ; เพราะมี ผั ส สะเป น ป จจั ย จึ งมี เวทนา; ...ฯลฯ... ๑ ความเกิ ด ขึ้ น พร อ มแห ง กองทุ ก ข ทั้ ง สิ้ น นี้ ย อ มมี ด ว ยอาการ อยางนี้. เพราะอาศั ยซึ่ งฆานะด วย, ซึ่ งกลิ่ นทั้ งหลายด วย, จึ งเกิ ดฆานวิ ญ ญาณ; การประจวบพร อมแห งธรรม ๓ ประการนี้ คื อ ผั ส สะ; เพราะมี ผั ส สะเป น ป จจั ย จึ งมี เวทนา; ...ฯลฯ... ความเกิดขึ้นพรอมแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมีดวยอาการอยางนี้. เพราะอาศั ย ซึ่ งชิ วหาด วย, ซึ่ งรสทั้ งหลายด วย, จึ งเกิ ดชิ วหาวิ ญ ญาณ; การประจวบพร อมแห งธรรม ๓ ประการนี้ คื อ ผั ส สะ; เพราะมี ผั ส สะเป น ป จจั ย จึ งมี เวทนา; ...ฯลฯ... ความเกิดขึ้นพรอมแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมีดวยอาการอยางนี้.

www.buddhadasa.info เพราะอาศั ยซึ่ งกายะด วย, ซึ่ งโผฏฐั พพะทั้ งหลายด วย, จึ งเกิ ดกายวิญญาณ; การประจวบพร อมแห งธรรม ๓ ประการนี้ คื อ ผั ส สะ; เพราะมี ผั ส สะเป น ป จจั ย จึ งมี เวทนา; ...ฯลฯ... ความเกิดขึ้นพรอมแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมีดวยอาการอยางนี้.

คํ า ที่ ล ะไว ด ว ย...ฯลฯ...ตรงนี้ แ ละตอนต อ ไป หมายความว า มี เนื้ อ ความเต็ ม เหมื อ นข า งบน เริ่ ม ตั้ ง แต คํ า ว า "เพราะมี เวทนาเป น ป จ จั ย จึ ง มี ตั ณ หา" ไปจนกระทั่ ง ถึ ง คํ า ว า "จึ ง เกิ ด ขึ้ น ครบถ ว น" ผู อ า น พึงเติมใหเต็มเอาเอง.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจ ฯ ไมใชเรื่องขามภพขามชาติ

๑๒๕

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจ ฯ ไมใชเรื่องขามภพขามชาติ

๑๒๕

เพราะอาศัยซึ่งมโนดวย, ซึ่งธัมมารมณ ทั้งหลายดวย, จึงเกิดมโนวิญญาณ; การประจวบพรอมแห งธรรม ๓ ประการนี้ คื อผั สสะ; เพราะมี ผั สสะเป นป จจั ย จึ งมี เวทนา; เพราะมี เวทนาเป นป จจัย จึงมี ตั ณหา; เพราะมี ตั ณหาเป นป จจัย จึงมี อุปาทาน; เพราะมี อุ ปาทานเป นป จจัย จึ งมี ภพ; เพราะมี ภพเป นป จจัย จึงมี ชาติ ; เพราะมี ชาติ เป น ป จจั ย, ชรามรณะโสกะปริ เทวะทุ กขะโทมนั สอุ ป ายาสทั้ งหลาย จึ งเกิ ดขึ้ นครบถ วน: ความเกิดขึ้นพรอมแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมีดวยอาการอยางนี้.

ปฏิจจสมุปบาทดับไดกลางสาย (โดยไมตองขามภพขามชาติ)๑ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ความตั้ งอยู ไม ได แห งทุ กข เป นอย างไรเล า? (ความ ตั้งอยูไมไดแหงทุกขนั้นคือ:เพราะอาศั ย ซึ่ งจั ก ษุ ด วย, ซึ่ งรู ป ทั้ งหลายด วย, จึ งเกิ ด จั กขุ วิ ญ ญาณ; การประจวบพรอมแห งธรรม ๓ ประการนี้ คื อผั สสะ; เพราะมี ผั สสะเป นป จจั ย จึ งมี เวทนา; เพราะมีเ วทนาเปน ปจ จัย จึง มีต ัณ หา; เพราะความจางคลายดับ ไป ไม เหลื อ แห ง ตั ณ หานั้ น นั่ น เที ย ว, จึ ง มี ค วามดั บ แห ง อุ ป าทาน; เพราะมี ค วามดั บ แห งอุ ป าทาน จึ งมี ค วามดั บ แห งภพ; เพราะมี ค วามดั บ แห งภพ จึ งมี ค วามดั บแห ง ชาติ, เพราะมีค วามดับ แหง ชาตินั ่น แล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุก ขะโทมนัส อุปายาสทั้ งหลาย จึงดั บสิ้น: ความดับลงแห งกองทุ กขทั้ งสิ้ นนี้ ย อมมี ด วยอาการอย างนี้ นี้คือ ความตั้งอยูไมไดแหงทุกข

www.buddhadasa.info

สูตรที่ ๓ โยคักเขมิวรรค สฬายตนสังยุตต สฬา. สํ. ๑๘/๑๐๗/๑๕๕, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย.

www.buddhadasa.info


๑๒๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๓

เพราะอาศั ยซึ่งโสตะดวย, ซึ่งเสียงทั้งหลายดวย, จึงเกิดโสตะวิญญาณ; การประจวบพรอมแห งธรรม ๓ ประการนี้ คื อผั สสะ; เพราะมี ผั สสะเป นป จจั ย จึ งมี เวทนา; เพราะมี เวทนาเป น ป จ จั ย จึ ง มี ตั ณ หา; เพราะความจางคลายดั บ ไปไม เหลือ แหง ตัณ หานั ้น นั ่น เทีย ว, จึง มีค วามดับ แหง อุป าทาน;...ฯลฯ...๑ ความ ดับลงแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมีดวยอาการอยางนี้ นี้คือ ความตั้งอยูไมไดแหงทุกข. เพราะอาศั ยซึ่งฆานะดวย, ซึ่งกลิ่นทั้งหลายดวย, จึงเกิดฆานวิญญาณ; การประจวบพรอมแห งธรรม ๓ ประการนี้ คื อผั สสะ; เพราะมี ผั สสะเป นป จจั ย จึ งมี เวทนา; เพราะมี เวทนาเป น ป จ จั ย จึ ง มี ตั ณ หา; เพราะความจางคลายดั บ ไปไม เหลื อ แห ง ตั ณ หานั้ น นั่ น เที ย ว, จึ ง มี ค วามดั บ แห ง อุ ป าทาน;….ฯ ลฯ…ความดั บ ลง แหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมีดวยอาการอยางนี้. นี้คือ ความตั้งอยูไมไดแหงทุกข เพราะอาศั ยซึ่ งชิ วหาด วย, ซึ่งรสทั้ งหลายด วย, จึงเกิดชิวหาวิญ ญาณ; การประจวบพรอมแห งธรรม ๓ ประการนี้ คื อผั สสะ; เพราะมี ผั สสะเป นป จจั ย จึ งมี เวทนา; เพราะมี เวทนาเป น ป จ จั ย จึ ง มี ตั ณ หา; เพราะความจางคลายดั บ ไปไม เหลือ แหง ตัณ หานั ้น นั ่น เทีย ว, จึง มีค วามดับ แหง อุป าทาน;...ฯลฯ... ความ ดับลงแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมีดวยอาการอยางนี้ นี้คือ ความตั้งอยูไมไดแหงทุกข.

www.buddhadasa.info เพราะอาศัยซึ่งกายะดวย, ซึ่งโผฏฐัพพะทั้งหลายดวย, จึงเกิดกายวิญญาณ; การประจวบพรอมแห งธรรม ๓ ประการนี้ คื อผั สสะ; เพราะมี ผั สสะเป นป จจั ย จึ งมี เวทนา; เพราะมีเวทนาเปนปจจัย จึงมีตัณหา; เพราะความจางคลายดับไปไม

คํ าที่ ละไว ด วย...ฯลฯ...ตรงนี้ และต อ ไป หมายความว ามี เนื้ อความเต็ ม เหมื อนข างบน เริ่ม ตั้ งแต คํ าว า "เพราะมีความดับแหงอุปทาน จึงมีความดับแหงภพ;" ...ไปจนถึงคําวา... "จึงดับสิ้น : ".

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจ ฯ ไมใชเรื่องขามภพขามชาติ

๑๒๗

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจ ฯ ไมใชเรื่องขามภพขามชาติ

๑๒๗

เห ลื อ แ ห ง ตั ณ ห านั ้ น นั ่ น เที ย ว , จึ ง มี ค ว าม ดั บ แ ห ง อุ ป าท าน ;...ฯ ล ฯ ... ความดั บลงแห งกองทุ กข ทั้ งสิ้ นนี้ ย อมมี ด วยอาการอย างนี้ นี้ คื อ ความตั้ งอยู ไม ได แหงทุกข. เพราะอาศัยซึ่งมโนดวย, ซึ่งธัมมารมณทั้งหลายดวย, จึงเกิดมโนวิญญาณ; การประจวบพรอมแห งธรรม ๓ ประการนี้ คื อผั สสะ; เพราะมี ผั สสะเป นป จจัย จึงมี เวทนา; เพราะมีเวทนาเปน ปจ จัย จึง มีต ัณ หา; เพราะความจางคลายดับ ไป ไมเหลือแหงตัณหานั้นนั่นเทียว, จึงมีความดับแหงอุปาทาน; เพราะมีความดับ แหงอุปาทาน จึงมีความดับแหงภพ; เพราะมีความดับแหงภพ จึงมีความดับแหงชาติ; เพราะมีความดับแหงชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึ งดั บสิ้ น: ความดั บลงแห งกองทุ กข ทั้ งสิ้ นนี้ ย อมมี ด วยอาการอย างนี้ . นี้ คื อ ความ ตั้งอยูไมไดแหงทุกข. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เหลานี้แล คือความตั้งอยูไมไดแหงทุกข.

www.buddhadasa.info นันทิเกิดเมื่อใด ก็มีปฏิจจสมุปบาทเมื่อนั้น๑

ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย! พวกเธอทั้งหลาย จงเจริญสมาธิเถิด. ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย! ภิกษุผูมีจิตเปนสมาธิตั้งมั่นแลว ยอมรูชัดตามที่เปนจริง. ก็ภิกษุนั้น ยอม รูชัดตามที่เปนจริง ซึ่งอะไรเลา? ภิกษุนั้น ยอมรูชัดตามที่เปนจริง ซึ่งความเกิดขึ้น

สูตรที่ ๕ นกุลปตุวรรค ขันธสังยุตต ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๘/๒๗, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๑๒๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๓

และความดับ ไปแหง รูป ...แหง เวทนา ...แหง สัญ ญ า ...แหง สัง ขารทั ้ง หลาย …..แหงวิญญาณ. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ก็ ก ารเกิ ด ขึ้ น แห ง รู ป ...แห ง เวทนา...แห ง สั ญ ญา ...แหงสังขารทั้งหลาย...แหงวิญญาณ. เปนอยางไรเลา? ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย! ภิกษุในกรณี นี้ ยอมเพลิดเพลิน ยอมพร่ําสรรเสริญ ย อ มเมาหมกอยู . ภิ ก ษุ นั้ น ย อ มเพลิ ด เพลิ น ย อ มพร่ํ า สรรเสริ ญ ย อ มเมาหมกอยู ซึ่งอะไรเลา? ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ภิ กษุ นั้ น ย อมเพลิ ดเพลิ น ย อมพร่ํ าสรรเสริ ญ ย อม เมาหมกอยู ซึ่ ง รู ป เมื่ อ ภิ ก ษุ นั้ น เพลิ ด เพลิ น พร่ํ า สรรเสริ ญ เมาหมกอยู ซึ่ ง รู ป , นั น ทิ (ความเพลิ น ) ย อ มเกิ ด ขึ้ น . ความเพลิ น ใด ในรู ป , ความเพลิ น นั้ น คื อ อุป าทาน. เพราะอุป าทานของภิก ษุนั้น เปน ปจ จัย จึง มีภ พ; เพราะมีภ พ เปน ปจ จัย จึง มีช าติ; เพราะมีช าติเ ปน ปจ จัย , ชรามรณะ โสกะปริเ ทวะทุก ขะโทมนัส อุป ายาสทั ้ง หลาย จึงเกิด ขึ ้น ครบถว น: ความเกิด ขึ ้น พรอ มแหง กองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้.

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ภิ กษุ นั้ น ย อมเพลิ ดเพลิ น ย อมพร่ํ าสรรเสริ ญ ย อม เม าห ม ก อ ยู  ซึ ่ ง เว ท น า ...ฯ ล ฯ ...ฯ ล ฯ ... ค วา ม เกิ ด ขึ ้ น พ ร อ ม แ ห ง ก อ งทุ ก ข ทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้.

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ภิ กษุ นั้ น ย อมเพลิ ดเพลิ น ย อมพร่ํ าสรรเสริ ญ ย อม เม าห ม ก อ ยู  ซึ ่ง สัญ ญ า ...ฯ ล ฯ ...ฯ ล ฯ ... ค วาม เกิด ขึ ้น พ รอ ม แ หง ก อ งทุก ข ทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจ ฯ ไมใชเรื่องขามภพขามชาติ

๑๒๙

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ภิ กษุ นั้ น ย อมเพลิ ดเพลิ น ย อมพร่ําสรรเสริญ ย อม เม าห ม ก อ ยู  ซึ ่ง สัง ข าร ทั ้ง ห ล าย ...ฯล ฯ...ฯ ล ฯ ... ค วาม เกิด ขึ ้น พ รอ ม แหง กองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ภิ กษุ นั้ น ย อมเพลิ ดเพลิ น ย อมพร่ําสรรเสริญ ย อม เมาหมกอยู ซึ่ ง วิ ญ ญาณ เมื่ อ ภิ ก ษุ นั้ น เพลิ ด เพลิ น พร่ํ า สรรเสริ ญ เมาหมกอยู ซึ่งวิญญาณ, นันทิ ยอมเกิดขึ้น. ความเพลินใด ในวิญญาณ, ความเพลินนั้น คือ อุป าทาน. เพราะอุป าทานของภิก ษุนั้น เปน ปจจัย จึงมีภ พ; เพราะมีภ พ เปนปจจัย จึงมีชาติ; เพราะมีชาติเปนปจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัส อุป ายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้น ครบถวน: ความเกิดขึ้นพรอมแหงกองทุกข ทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! นี้ คื อ ความเกิ ด ขึ้ น แห ง รู ป ...แห ง เวทนา...แห ง สัญญา...แหงสังขารทั้งหลาย...แหงวิญญาณ.

นันทิดับเมื่อใด ปฏิจจสมุปบาทดับเมื่อนั้น๑

www.buddhadasa.info ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ก็ ค วามดั บ แห ง รู ป ...แห ง เวทนา...แห ง สั ญ ญา... แหงสังขารทั้งหลาย...แหงวิญญาณ. เปนอยางไรเลา?

สูตรที่ ๕ นกุลปตุวรรค ขันธสังยุตต ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๙/๒๙, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๑๓๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๓

ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ภิ ก ษุ ในกรณี นี้ ย อ มไม เพลิ ด เพลิ น ย อ มไม พ ร่ํ า สรรเสริ ญ ย อมไม เมาหมกอยู . ภิ กษุ นั้ น ย อมไม เพลิ ดเพลิ น ย อมไม พ ร่ําสรรเสริ ญ ยอมไมเมาหมกอยู ซึ่งอะไรเลา? ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ภิ ก ษุ นั้ น ย อ มไม เพลิ ด เพลิ น ย อ มไม พ ร่ํ าสรรเสริ ญ ย อมไม เมาหมกอยู ซึ่ งรู ป เมื่ อภิ กษุ นั้ น ไม เพลิ ดเพลิ น ไม พร่ํ าสรรเสริ ญ ไม เมาหมกอยู ซึ ่ง รูป , นัน ทิ (ความเพลิน )ใด ในรูป , นัน ทินั ้น ยอ มดับ ไป. เพราะความดับ แหง นัน ทิข องภิก ษุนั ้น จึง มีค วามดับ แหง อุป าทาน, เพราะมีค วามดับ แหง อุป าทาน จึง มีค วามดับ แหง ภพ; เพราะมีค วามดับ แหง ภพ จึง มีค วามดับ แหง ชาติ; เพราะมีค วามดับ แหง ชาติ, ชรามรณะ โสกะปริเ ทวะทุก ขะโทมนั ส อุ ป ายาสทั้ ง หลาย จึ ง ดั บ สิ้ น : ความดั บ ลงแห ง กองทุ ก ข ทั้ ง สิ้ น นี้ ย อ มมี ดวยอาการอยางนี้. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ภิ ก ษุ นั้ น ย อ มไม เพลิ ด เพลิ น ย อ มไม พ ร่ํ าสรรเสริ ญ ย อ ม ไม เ ม า ห ม ก อ ยู  ซึ ่ ง เว ท น า ...ฯ ล ฯ ...ฯ ล ฯ ... ค ว า ม ดั บ ล ง แ ห ง ก อ ง ทุ ก ข ทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้.

www.buddhadasa.info ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ภิ ก ษุ นั้ น ย อ มไม เพลิ ด เพลิ น ย อ มไม พ ร่ํ าสรรเสริ ญ ย อ ม เม า ห ม ก อ ยู  ซึ ่ ง สั ญ ญ า ...ฯ ล ฯ ...ฯ ล ฯ ... ค ว า ม ดั บ ล ง แ ห ง ก อ ง ทุ ก ข ทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้.

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ภิ กษุ นั้ น ย อมไม เพลิ ดเพลิ น ย อมไม พ ร่ํ าสรรเสริ ญ ยอ ม ไมเ ม า ห ม ก อ ยู  ซึ ่ง ส ัง ข า ร ทั ้ง ห ล า ย ...ฯ ล ฯ ...ฯ ล ฯ ... ค ว า ม ดับ ล ง แ หง กองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจ ฯ ไมใชเรื่องขามภพขามชาติ

๑๓๑

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ภิ กษุ นั้ น ย อมไม เพลิ ดเพลิ น ย อมไม พร่ํ าสรรเสริ ญ ย อ มไม เมาหมกอยู ซึ่ ง วิ ญ ญาณ เมื่ อ ภิ ก ษุ นั้ น ไม เพลิ ด เพลิ น ไม พ ร่ํ า สรรเสริ ญ ไมเมาหมกอยู ซึ่งวิญญาณ นันทิใด ใน;วิญญาณ, นันทินั้น ยอมดับไป. เพราะ ความดับแหงนันทิของภิกษุนั้น จึงมีความดับแหงอุปาทาน, เพราะมีความดับแหง อุปาทาน จึงมีความดับแหงภพ; เพราะมีความดับแหงภพ จึงมีความดับแห ง ชาติ; เพราะมีค วามดับ แหง ชาติ, ชรามรณะ โสกะปริเ ทวะทุก ขะโทมนัส อุ ป ายาสทั้ ง หลาย จึ ง ดั บ สิ้ น : ความดั บ ลงแห ง กองทุ ก ข ทั้ ง สิ้ น นี้ ย อ มมี ด ว ย อาการอยางนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! นี้ คื อ ความเกิ ดขึ้ นแห งรู ป...แห งเวทนา...แห งสั ญ ญา ...แหงสังขารทั้งหลาย...แหงวิญญาณ, ดังนี้ แล.

ในภาษาปฏิจจสมุปบาท กรรมใหผล ในอัตตภาพที่กระทํากรรม๑ ดู ก อ นภิ กษุ ทั้ งหลาย! เหตุ ทั้ งหลาย ๓ ประการเหล านี้ มี อ ยู เพื่ อ ความ เกิ ดขึ้นแห งกรรมทั้งหลาย. สามประการเหลาไหนเลา? สามประการคือ โลภะ เป นเหตุ เพื่ อความเกิ ดขึ้ นแห งกรรมทั้ งหลาย, โทสะ เป นเหตุ เพื่ อความเกิ ดขึ้ นแห งกรรมทั้ งหลาย, โมหะ เปนเหตุเพื่อความเกิดขึ้นแหงกรรมทั้งหลาย.

www.buddhadasa.info

สูตรที่ ๔ เทวทูตวรรค ติก. อํ. ๒๐/๑๗๑/๔๗๓, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย.

www.buddhadasa.info


๑๓๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๓

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! กรรมอั นบุ คคลกระทํ าแล วด วยโลภะ เกิ ดจากโลภะ มี โลภะเป น เหตุ มี โลภะเป น สมุ ทั ย อั น ใด; กรรมอั น นั้ น ย อ มให ผ ลในขั น ธ ทั้ งหลาย อันเปนที่บังเกิดแกอัตตภาพของบุคคลนั้น. กรรมนั้น ใหผลในอัตตภาพใด เขายอม เสวยวิ บ ากแห งกรรมนั้ น ในอั ต ตภาพนั้ น เอง ไม ว า จะเป น ไปอย างในทิ ฏ ฐิ ธ รรม หรือวา เปนไปอยางในอุปปชชะ หรือวา เปนไปอยางในอปรปริยายะ๑ ก็ตาม. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! กรรมอั นบุ คคลกระทํ าแล วด วยโทสะ เกิ ดจากโทสะ มี โทสะเป น เหตุ มี โทสะเป น สมุ ทั ย อั น ใด; กรรมอั น นั้ น ย อ มให ผ ลในขั น ธ ทั้ งหลาย อันเปนที่บังเกิดแกอัตตภาพของบุคคลนั้น. กรรมนั้น ใหผลในอัตตภาพใด เขายอม เสวยวิ บ ากแห งกรรมนั้ น ในอั ต ตภาพนั้ น เอง ไม ว า จะเป น ไปอย างในทิ ฏ ฐิ ธ รรม หรือวา เปนไปอยางในอุปปชชะ หรือวา เปนไปอยางในอปรปริยายะ ก็ตาม. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! กรรมอั นบุ คคลกระทํ าแล วด วยโมหะ เกิ ดจากโมหะ มี โมหะเป น เหตุ มี โมหะเป นสมุ ทั ย อั น ใด; กรรมอั น นั้ น ย อ มให ผ ลในขั น ธ ทั้ งหลาย อันเปนที่บังเกิดแกอัตตภาพของบุคคลนั้น. กรรมนั้น ใหผลในอัตตภาพใด เขายอม เสวยวิ บ ากแห งกรรมนั้ น ในอั ต ตภาพนั้ น เอง ไม ว า จะเป น ไปอย างในทิ ฏ ฐิ ธ รรม หรือวา เปนไปอยางในอุปปชชะ หรือวา เปนไปอยางในอปรปริยายะ ก็ตาม.

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เปรี ยบเหมื อนเมล็ ดพื ชทั้ งหลาย ที่ ไม แตกหั ก ที่ ไม เน า ที่ ไม ถู กทํ าลายด วยลมและแดด เลื อกเอาแต เม็ ด ดี เก็ บ งํ าไว ดี อั นบุ คคลหว านไปแล ว ในพื้นที่ซึ่งมีปริกรรมอันกระทําดีแลว ในเนื้อนาดี. อนึ่ง สายฝนก็ตกตองตามฤดูกาล.

ความหมายของคําอันมีความหมายสําคัญที่สุด ๓ คํานี้ ใหดูที่หมายเหตุทายเรื่องของเรื่องนี้.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจ ฯ ไมใชเรื่องขามภพขามชาติ

๑๓๓

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมล็ ดพื ชทั้ งหลายเหล านั้ น จะพึ งถึ งซึ่ งความเจริญ งอกงาม ไพบู ลย โดยแน น อน, ฉั น ใด; ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ข อ นี้ ก็ ฉั น นั้ น คื อ กรรมอั น บุ ค คล กระทํ าแล วด วยโลภะ เกิ ดจากโลภะ มี โลภะเป นเหตุ มี โลภะเป นสมุ ทั ย อั นใด; กรรม อั นนั้ น ย อมให ผลในขั นธ ทั้ งหลาย อั นเป นที่ บั งเกิ ดแก อั ตตภาพของบุ คคลนั้ น. กรรมนั้ น ให ผลในอั ตตภาพใด เขาย อมเสวยวิบากแห งกรรมนั้ น ในอั ตตภาพนั้ นเอง ไม ว าจะ เปน ไปอยา งในทิฏ ฐิธ รรม หรือ วา เปน ไปอยา งในอุป ปช ชะ หรือ วา เปน ไป อย างในอปรปริ ย ายะ ก็ ต าม. กรรมอั น บุ ค คลกระทํ าแล วด วยโทสะ เกิ ด จากโทสะ มี โทสะเป น เหตุ มี โทสะเป น สมุ ทั ย อั น ใด; กรรมอั น นั้ น ย อ มให ผ ลในขั น ธ ทั้ งหลาย อั น เป น ที่ บั งเกิ ดแก อั ต ตภาพของบุ ค คลนั้ น . กรรมนั้ น ให ผ ลในอั ต ตภาพใด เขาย อ ม เสวยวิ บ ากแห งกรรมนั้ น ในอั ต ตภาพนั้ น เอง ไม ว าจะเป น ไปอย างในทิ ฏ ฐิ ธรรม หรือว า เป น ไปอย างในอุ ป ป ชชะ หรือว า เป น ไปอย างในอปรปริ ยายะ ก็ ตาม. กรรมอั นบุ คคลกระทํ าแล วด วยโมหะ เกิ ดจากโมหะ มี โมหะเป นเหตุ มี โมหะเป นสมุ ทั ย อั น ใด; กรรมอั น นั้ น ย อ มให ผ ลในขั น ธ ทั้ งหลาย อั น เป น ที่ บั งเกิ ด แก อั ต ตภาพของ บุ คคลนั้ น. กรรมนั้ น ให ผลในอั ตตภาพใด เขาย อมเสวยวิ บากแห งกรรมนั้ น ในอั ตตภาพ นั ้น เอง ไมวา จะเปน ไปอยา งในทิฏ ฐิธ รรม หรือ วา เปน ไปอยา งในอุป ปช ชะ หรือวา เปนไปอยางในอปรปริยายะ ก็ตาม.

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เหตุ ทั้ งหลาย ๓ ประการเหล านี้ แล เป นไปเพื่ อความ เกิดขึ้นแหงกรรมทั้งหลาย. .... ..... ..... ....

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เหตุ ทั้ งหลาย ๓ ประการ เหล านี้ มี อยู เพื่ อความเกิ ดขึ้ น แหงกรรมทั้งหลาย. สามประการ เหลาไหนเลา? สามประการคือ อโลภะ เปนเหตุ

www.buddhadasa.info


๑๓๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๓

เพื่ อความเกิ ดขึ้ นแห งกรรมทั้ งหลาย, อโทสะ เป นเหตุ เพื่ อความเกิ ดขึ้ นแห งกรรมทั้ งหลาย, อโมหะ เปนเหตุเพื่อความเกิดขึ้นแหงกรรมทั้งหลาย. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! กรรมอั นบุ คคลกระทํ าแล วด วยอโลภะ เกิ ดจากอโลภะ มีอ โลภะเปน เหตุ มีอ โลภะเปน สมุท ัย อัน ใด; เพราะปราศจากโลภะเสีย แลว , ด ว ยอาการอย า งนี้ เอง กรรมอั น นั้ น ย อ มเป น กรรมอั น บุ ค คลนั้ น ละขาดแล ว มี ร าก อั น ถอนขึ้ น แล ว ถู ก กระทํ า ให เหมื อ นตาลมี ขั้ ว ยอดอั น ด ว น ทํ า ให ถึ ง ความไม มี มี อั น ไมเกิดขึ้นตอไปเปนธรรมดา. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! กรรมอั น บุ ค คลกระทํ า แล ว ด ว ยอโทสะ เกิ ด จาก อโทสะ มี อโทสะเป นเหตุ มี อโทสะเป นสมุ ทั ย อั นใด; เพราะปราศจากโทสะเสี ยแล ว, ด วยอาการอย างนี้ เอง กรรมอั นนั้ น ย อมเป นกรรมอั นบุ คคลนั้ นละขาดแล ว มี รากอั นถอน ขึ้ น แล ว ถู กกระทํ าให เหมื อ นตาลมี ขั้ วยอดอั น ด วน ทํ าให ถึ งความไม มี มี อั น ไม เกิ ด ขึ้ น ตอไปเปนธรรมดา.

www.buddhadasa.info ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! กรรมอั น บุ ค คลกระทํ าแล วด วยอโมหะ เกิ ด จาก อโมหะ มีอ โมหะเปน เหตุ มีอ โมหะเปน สมุท ัย อัน ใด; เพราะปราศจากโมหะ เสี ย แล ว, ด วยอาการอย างนี้ เอง กรรมอั นนั้ น ย อ มเป นกรรมอั น บุ คคลนั้ นละขาดแล ว มี รากอั น ถอนขึ้ น แล ว ถู ก กระทํ า ให เหมื อ นตาลมี ขั้ ว ยอดอั น ด ว น ทํ า ให ถึ ง ความไม มี มีอันไมเกิดขึ้นตอไปเปนธรรมดา.

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เปรี ยบเที ยบเมล็ ดพื ชทั้ งหลาย ที่ ไม แตกหั ก ที่ ไม เน า ที่ไมถูกทําลายดวยลมและแดด เลือกเอาแตเม็ดดี เก็บงําไวดี. บุรุษพึงเผาเมล็ดพืช

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจ ฯ ไมใชเรื่องขามภพขามชาติ

๑๓๕

เหล านั้ นด วยไฟ ครั้นเผาด วยไฟแล ว พึ งกระทํ าให เป นผงขี้ เถ า; ครั้นกระทํ าให เป นผง ขี้ เถ าแล ว พึ งโปรยไปในกระแสลมอั นพั ดจั ด หรือว าพึ งลอยไปในกระแสน้ํ าอั นเชี่ ยวใน แม น้ํ า. เมล็ดพื ชทั้งหลายเหลานั้นเป นพื ชมี มู ลอันขาดแลว ถูกกระทําให เหมื อนตาลมี ขั้ว ยอดอันด วน ทํ าให ถึงความไม มี มี อันไม เกิดขึ้นตอไปเป นธรรมดา โดยแนนอน, นี้ฉั นใด; ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ข อ นี้ ก็ ฉั น นั้ น กล าวคื อ กรรมอั น บุ ค คลกระทํ าแล วด วยอโลภะ เกิ ด จากอโลภะ มี อ โลภะเป น เหตุ มี อ โลภะเป น สมุ ทั ย อั น ใด; เพราะปราศจาก โลภะเสียแลว, ดวยอาการอยางนี้เอง กรรมอันนั้น ยอมเปนกรรมอันบุคคลนั้นละขาดแลว มี รากอั นถอนขึ้ น แล ว ถู กกระทํ าให เหมื อนตาลมี ขั้ วยอดอั น ด วน ทํ าให ถึ งความไม มี มีอันไมเกิดขึ้นตอไปเปนธรรมดา. กรรมอันบุคคลกระทําแลวดวยอโทสะ เกิดจากอโทสะ มีอ โทสะเปน เหตุ มีอ โทสะเปน สมุท ัย อัน ใด; เพราะปราศจากโทสะเสีย แลว , ดวยอาการอยางนี้เอง กรรมอันนั้น ยอมเป นกรรมอันบุ คคลนั้ นละขาดแลว มีรากอันถอน ขึ้ นแล ว ถู กกระทํ าให เหมื อนตาลมี ขั้ วยอดอั นด วน ทํ าให ถึ งความไม มี มี อั นไม เกิ ดขึ้ น ต อไปเป นธรรมดา. กรรมอั นบุ คคลกระทํ าแล วด วยอโมหะ เกิ ดจากอโมหะ มี อโมหะ เป น เหตุ มี อ โมหะเป น สมุ ทั ย อั น ใด; เพราะปราศจากโมหะเสี ย แล ว , ด วยอาการ อย างนี้ เอง กรรมอั นนั้ น ย อมเป นกรรมอั นบุ คคลนั้ นละขาดแล ว มี รากอั นถอนขึ้ นแล ว ถูกกระทํ าให เหมื อนตาลมี ขั้วยอดอั นด วน ทํ าให ถึ งความไม มี มี อันไม เกิดขึ้นต อไปเป น ธรรมดา.

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เหตุ ทั้ งหลาย ๓ ประการเหล านี้ แล เป นไปเพื่ อความ เกิดขึ้นแหงกรรมทั้งหลาย. กรรมใด อันผูกระทําเห็นอยูวา เกิดแตโลภะ เกิดแตโทสะ เกิดแตโมหะ ก็ตาม; กระทําแลว นอยก็ตาม มากก็ตาม;

www.buddhadasa.info


๑๓๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๓

ก ร ร ม นั ้ น อั น บุ ค ค ล นั ้ น พ ึ ง เ ส ว ย ผ ล ใ น อั ต ต ภ า พ นี ้ นั ่ น เ ที ย ว : วั ต ถ ุ (พื ้ น ที ่ ) ๑ อื ่ น ห า ม ี ไ ม  ; เ พ ร า ะ ฉ ะ นั ้ น ภ ิ ก ษ ุ ผู  รู  ป ร ะ จั ก ษ ซึ ่ ง โ ล ภ ะ โ ท ส ะ แ ล ะ โ ม ห ะ ก ร ะ ทํ า วิ ช ช า ใ ห  เ กิ ด ขึ ้ น อ ยู  ; ย อ ม ล ะ ทุคติทั้งหลายทั้งปวงได. ห ม า ย เห ต ุผู ร ว บ ร ว ม : ผู ศ ึก ษ า พ ึง ส ัง เก ต ให เ ห ็น วา คํ า วา "ท ิฏ ฐ ธ รรม ", คํ า วา "อุป ปช ชะ", และคํ า วา "อปรปริย ายะ" (บาลีว า ทิฏ เฐว ธมฺเ ม อุป ฺป ชฺเ ช วา อปเร วา ป ริย าเย); สามคํ า นี ้ เรารู จ ัก กัน ทั ่ว ไป โดยคํ า วา "ทิฏ ฐธรรมเวทนีย ะ", "อุป ปช ชเวทนีย ะ", และ "อปราปรเวทนีย ะ"; และถือ เอาความหมายกัน วา อยา งแรกหมายถึง เวลาในชาติ นี้ ก อ นแต ต าย, สองอย า งหลั ง หมายถึ งเวลาในชาติ ต อ ๆ ไป หลั งจากตายแล ว . สว นในบาลีนี ้ แสดงใหเ ห็น ไปในทํ า นองวา ทั ้ง ๓ ชนิด นี ้ ลว นแตเ ปน ไปในชีว ิต นี ้ หรือ ในอั ต ตภาพนี้ ตามความหมายของคํ า ว า “ชาติ ” ในภาษาปฏิ จ จสมุ ป บาท; กล า วคื อ เกิ ด อุ ป าทานหรื อ ความทุ ก ข ค รั้ ง หนึ่ ง ก็ ช าติ ห นึ่ ง ซึ่ ง วั น หนึ่ ง เพี ย งวั น เดี ย ว ก็ มี ได ห ลายสิ บ ชาติ ; ดั ง นั้ น คํ า ว า "ทิ ฏ ฐธรรม" หมายถึ ง ให ผ ลทั น ควั น , คํ า ว า "อุ ป ป ช ชะ" หมายถึ ง ให ผ ลในระยะ ถั ด มา, และคํ า ว า "อปรปริ ย ายะ" ก็ ห มายถึ ง เวลาที่ ถั ด มาอี ก คื อ หลั ง จากการเกิ ด ชาติ ที่ ๒ ที่ ๓ ที่ ๔ ตามนั ย ะแห งปฏิ จ จสมุ ป บาทในเวลาถั ด มานั่ น เอง แม อาจจะติ ด ๆ กั น ไปในชั่ วโมง นั้ น หรื อ หลายวั น ต อ มา หรื อ หลายป ต อ มา ซึ่ งเป น ระยะเวลาในอั ต ตภาพนี้ นี่ เอง; ไม จํ า เป น จะต องหมายความถึ งต อเมื่ อตายแล วเหมื อนดั บที่ เข าใจกั นก็ ได . เรื่ องต าง ๆ หลั งจากตายแล ว ยั ง ไม ต อ งพู ด ถึ ง , เพราะว า ในอั ต ตภาพนี้ อั ต ตภาพเดี ย ว ก็ ยั ง มี ช าติ ใ ห เราทํ า กรรม และ เสวยผลกรรมตั้ ง ร อ ยชาติ พั น ชาติ หมื่ น ชาติ แสนชาติ ล า นชาติ อยู แ ล ว . ขอให สั ง เกต ความหมายของคํ าว าชาติ ให ตรงตามความหมายแห งภาษาปฏิ จจสมุ ปบาท หรื อภาษาปรมั ตถ ดั ง กล า วนี้ ด ว ย. ถึ ง แม ใ นภาษาศึ ล ธรรมที่ ใ ช ในการสอนศี ล ธรรม ที่ ก ล า วถึ ง การระลึ ก ชาติ จํ า นวนนั บ ไม ไ หว ก็ ยั ง อาจเล็ ง ถึ ง ชาติ ใ นความหมายนี้ ไ ด อ ยู นั่ น เอง; ดั ง นั้ น น า จะเข า ใจ ความหมายของคํ า ว า "ชาติ " และความหมายของคํ า ว า "ทิ ฏ ฐธรรม" คํ า ว า "อุ ป ป ช ชเวทนี ย ะ" และคํ า ว า "อปราปรเวทนี ย ะ" ให ถู ก ต อ งตามพระพุ ท ธประสงค กั น เสี ย ที : สรุ ป แลว มีค วาม ห ม ายวา คํ า วา "ทิฏ ฐธรรม " คือ ทัน ค วัน , คํ า วา "สัม ป ราย ะ" (ซึ ่ง รวม ทั ้ง อุปปชชะและอปราประ) คือในเวลาถัดมา ซึ่งจะนานเทาไรก็ได.

www.buddhadasa.info

คํ า ว า "วั ต ถุ " ในที่ นี้ หมายถึ ง พื้ น ที่ ที่ ก รรมจะให ผ ลแก ผู ก ระทํ า ได แ ก ขั น ธ ทั้ ง หลายอั น เป น ที่ ตั้ ง แห ง อั ตตภาพของบุ คคลผู ทํ ากรรมและเสวยกรรมนั่ นเอง ไม มี ความหมายที่ เล็ งไปทางกาละหรือเวลา ว าชาติ นี้ หรือชาติหนา แตประการใด.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจ ฯ ไมใชเรื่องขามภพขามชาติ

๑๓๗

อนึ่ง พึงสังเกตใหเห็นวา คําวา อโลภะ อโทสะ อโมหะ นั้น มีความหมายตางกัน อยูเปน ๒ ระดับ : ระดับทั่วไป เปนของผูยังไมสิ้นอาสวะ เปนเพียงสักวาในขณะที่ทํากรรม นั้น ไมมีโลภะ โทสะ โมหะ ปรากฏ แตมีกุศลเจตสิกอยางอื่นที่ตรงกันขามจาก โลภะ โทสะ โมหะ มาปรากฏแทน เชนคนธรรมดาใหทานดวยอํานาจเมตตากรุณาเปนตน. สวนอโลภะ อโทสะ อโมหะ อีก ความหมายหนึ่ง เปน สภาพจิต ของผูสิ้น อาสวะแลว กรรมที่ กระทําถึงการนับวาไมเปนกรรม ไมจําเปนที่จะตองมากลาววาเปนกุศลกรรม หรืออกุศลกรรมแตอยางใด. ขอความแหงพระบาลีนี้ คําวา อโลภะ อโทสะ อโมหะ นาจะหมายถึง นัยะอยางแรกมากกวา, ผูศึกษาพึงใครครวญดูใหดีเถิด.

เห็นปฏิจจสมุปบาท คือฉลาดในเรื่องกรรม๑ บุคคลเปนพราหมณเพราะชาติ (กําเนิด) ก็หามิได; จะมิใชพราหมณเพราะชาติก็หามิได: บุคคลเปนพราหมณเพราะกรรม; ไมเปนพราหมณก็เพราะกรรม. บุคคลเปนชาวนา ก็เพราะกรรม; เปนศิลปน ก็เพราะกรรม, บุคคลเปนพอคา ก็เพราะกรรม; เปนคนรับใช ก็เพราะกรรม, บุคคลแมเปนโจร ก็เพราะกรรม; เปนนักรบ ก็เพราะกรรม, บุคคลเปนปุโรหิต ก็เพราะกรรม; แมเปนพระราชา ก็เพราะกรรม, บัณฑิตทั้งหลายยอมเห็นซึ่งกรรมนั้น ตามที่เปนจริงอยางนี้ ชื่อวาเปนผูเห็นซึ่งปฏิจจสมุปบาท เปนผูฉลาดในเรื่องวิบากแหงกรรม. โลก ยอมเปนไปตามกรรม หมูสัตว ยอมเปนไปตามกรรม สัตวทั้งหลาย มีกรรมเปนเครื่องรึงรัด เหมือนลิ่มสลักขันยึดรถที่กําลังแลนไปอยู.

www.buddhadasa.info

วาเสฏฐสูตร มหาวรรค สุ.ขุ. ๒๕/๔๕๗/๓๘๒, ตรัสแกวาเสฏฐมาณพ ซึ่งมีภารทวาชมาณพฟงอยูดวย ที่อิจฉานังคละไพรสณฑ.

www.buddhadasa.info


๑๓๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๓

เพราะการบํ า เพ็ ญ ตบะ การประพฤติ พ รหมจรรย การสํ า รวม และเพราะการฝ ก ตน; นั ่น แห ล ะ บุค คลจึง เปน พ ราห ม ณ  นั ่น แหละ ความ เปน พ ราหม ณ ชั ้น สูง สุด ; บุ คคลผู ถึ ง พ ร อ มแล ว ด ว ยวิ ช ชา ๓ เป นผู รํ า งั บ แล ว มี ภ พ ใหม สิ้ น แล ว มี อ ยู ; ดูกอนวาเสฏฐะ! ทานจงรูบุคคลอยางนี้ วาเปนพรหม เปนสักกะ ของทานผูรู ท. ห ม า ย เห ต ุผู ร ว บ ร ว ม : ผู ศ ึก ษ า พ ึง ส ัง เก ต ให เ ห ็น วา แ ม อ า ก า ร ท ีก ร ร ม ให ผ ลเพี ยงคู เดี ย ว ก็ ยั ง ตรั ส เรี ย กว า ปฏิ จ จสมุ ป บาท. เมื่ อ เห็ น ปฏิ จ จสมุ ป บาท ก็ คื อ เห็ น อาการที่ ก รรมให ผ ล. เมื่ อ ถื อ ตามพระพุ ท ธภาษิ ต นี้ ก็ เป น อั น ว า โลกหรื อ หมู สั ต ว เป น ไปตาม อํ า นาจของปฏิ จ จสมุ ป บาท. กระแสแห งปฏิ จ จสมุ ป บาทนั้ น จะหยุ ด เสี ย ได ด ว ยตบะ ด ว ย พรหมจรรย ด ว ยสั ญ ญ มะ ด ว ยทมะ; และผู เป น อย า งนั้ น ชื่ อ ว า เป น พระพรหม เป น ท า ว สักกะ ในความหมายของพระอริจเจาในศาสนานี้.

นามรูปหยั่งลง เพราะเห็นสัญโญชนิยธรรม โดยความเปนอัสสาทะ๑ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ อภิ กษุ เป นผู มี ปรกติ เห็ นโดยความเป นอั สสาทะ (น า รั ก น า ยิ น ดี ) ในธรรมทั้ งหลายอั น เป น ที่ ตั้ ง แห งสั งโยชน (สั ญ โญชนิ ย ธรรม)๒ อยู , การหยั่ งลงแห งนามรู ป ย อมมี , เพราะมี นามรู ปเป นป จจั ย จึ งมี สฬายตนะ; เพราะมี สฬายตนะเป น ป จ จั ย จึ ง มี ผั ส สะ; เพราะมี ผั ส สะเป น ป จ จั ย จึ ง มี เวทนา; เพราะมี เวทนาเปนปจจัย จึงมีตัณหา; เพราะมีตัณหาเปนปจจัย จึงมีอุปาทาน; เพราะมี

www.buddhadasa.info

สูตรที่ ๘ ทุกขวรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน. สํ. ๑๖/๑๐๘/๒๑๖, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน. ธรรมอัน เปน ที ่ตั ้ง สัง โยชน หรือ สัญ โญชนิย ธรรมนั ้น ไดแ ก รูป , เวทนา, สัญ ญา, สัง ขาร, วิญ ญาณ (ข น ฺธ . ส ํ. ๑๗/๒๐๒/๓๐๘); ต า , ห ู, จ ม ูก , ลิ ้น , ก า ย , ใ จ (ส ฬ า . ส ํ. ๑๘/๑๑๐/๑๕๙); ร ูป , เส ีย ง , กลิ่น, รส, โผฏฐัพพะ, ธัมมารมณ (สฬา.สํ. ๑๘/๑๓๕/๑๘๙).

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจ ฯ ไมใชเรื่องขามภพขามชาติ

๑๓๙

อุ ป าทานเป น ป จ จั ย จึ ง มี ภ พ; เพราะมี ภ พเป น ป จ จั ย จึ ง มี ช าติ ; เพราะมี ช าติ เป น ป จจั ย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งเกิ ดขึ้ นครบถ วน: ความเกิดขึ้นพรอมแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เปรียบเหมื อนต นไม ใหญ มี รากดิ่ งลงไปเบื้ องล างด วย มี รากแผ ไปรอบ ๆ ด วย รากทั้ งหลายเหล านั้ น ล วนแต ดู ดสิ่ งโอชะขึ้นไปเบื้ องบน ดู กอน ภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ อเป น อย างนี้ ต น ไม ใหญ ซึ่ งมี อาการอย างนั้ น มี เครื่ อ งหล อเลี้ ยง อย า งนั้ น พึ ง ตั้ ง อยู ไ ด ตลอดกาลยาวนาน, ข อ นี้ ฉั น ใด; ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ขอนี้ก็ฉันนั้น: เมื่อภิกษุเปนผูมีปรกติเห็นโดยความเปนอัสสาทะ (นารักนายินดี) ในธรรม ทั้ งหลายอั นเป นที่ ตั้ งแห งสั งโยชน อยู การหยั่ งลงแห งนามรูป ย อมมี , เพราะมี นามรูป เป นป จจั ย จึ งมี สฬายตนะ; เพราะมี สฬายตนะเป นป จจั ย จึ งมี ผั สสะ; เพราะมี ผั สสะ เป น ป จ จั ย จึ ง มี เวทนา; เพราะมี เวทนาเป น ป จ จั ย จึ ง มี ตั ณ หา; เพราะมี ตั ณ หา เป น ป จ จั ย จึ ง มี อุ ป าทาน; เพราะมี อุ ป าทานเป น ป จ จั ย จึ งมี ภ พ; เพราะมี ภ พเป น ป จจั ย จึ งมี ชาติ ; เพราะมี ชาติ เป นป จจั ย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขะโทมนั ส อุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถวน: ความเกิดขึ้นพรอมแหงกองทุกขทั้ งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้.

www.buddhadasa.info นามรูปไมหยั่งลง เพราะเห็นสัญโญชนิยธรรม โดยความเปนอาทีนวะ๑

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เมื่อภิกษุเปนผูมีปรกติเห็นโดยความเปนอาทีนวะ (โทษอันต่ําทราม) ในธรรมทั้งหลายอันเปนที่ตั้งแหงสังโยชนอยู, การหยั่งลงแหง

สูตรที่ ๘ ทุกขวรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน. สํ. ๑๖/๑๐๙/๒๑๘, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๑๔๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๓

นามรู ป ย อมไม มี , เพราะความดั บแห งนามรูป จึ งมี ความดั บแห งสฬายตนะ; เพราะมี ความดั บแห งสฬายตนะ จึ งมี ความดั บแห งผั สสะ; เพราะมี ความดั บ แห งผั สสะ จึ งมี ความดั บ แห งเวทนา; เพราะมี ความดั บ แห งเวทนา จึ งมี ความดั บ แห งตั ณ หา; เพราะมี ความดั บแห งตั ณ หา จึ งมี ความดั บแห งอุ ปาทาน; เพราะมี ความดั บแห งอุ ปาทาน จึ งมี ความดั บแห งภพ; เพราะมี ความดั บแห งภพ จึ งมี ความดั บแห งชาติ ; เพราะมี ความดั บ แห งชาติ นั่ นแล, ชรามรณะ โสกะปริ เทวะทุ กขะโทมนั สอุ ป ายาสทั้ งหลาย จึ งดั บ สิ้ น : ความดับลงแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! เปรี ย บเหมื อ นต น ไม ใ หญ มี อ ยู . ลํ า ดั บ นั้ น บุ รุ ษ พึ ง ถื อ เอาจอบและตะกร า มาแล ว บุ รุ ษ นั้ น พึ ง ตั ด ต น ไม นั้ น ที่ โคน; ครั้ น ตั ด ที่ โคนแล ว พึ งขุ ด เซาะ; ครั้ น ขุ ด เซาะแล ว พึ งรื้ อ ขึ้ น ซึ่ งรากทั้ งหลาย แม ที่ สุ ด เพี ย งเท า ก า นแฝก. บุ รุ ษ นั้ นตั ดต นไม เป นท อนน อยท อนใหญ ครั้ นตั ดเป นท อนน อยท อนใหญ แล ว พึ งผ า; ครั้ นผ าแล ว พึ งกระทํ าให เป นซี ก ๆ ; ครั้ นกระทํ าให เป นซี ก ๆ แล ว พึ งผึ่ งให แห งในลม และแดด; ครั้ น พึ่ ง ให แ ห ง ในลมและแดดแล ว ย อ มเผาด ว ยไฟ; ครั้ น เผาด ว ยไฟแล ว พึ งกระทํ าให เป นขี้ เถ า; ครั้ นกระทํ าให เป นขี้ เถ าแล ว ย อมโปรยไปตามลมอั นพั ดจั ด หรื อ ว าพึ งให ลอยไปในกระแสน้ํ าอั นเชี่ ยว. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ด วยการกระทํ าอย างนี้ แล ต นไม ใหญ นั้ นก็ จะพึ งเป นต นไม มี รากอั นขาดแล ว เหมื อนต นตาลที่ ถู กทํ าลายแล วที่ ขั้ ว แห งยอด ถึ งแล วซึ่ งความไม มี ไม เป น มี ความไม งอกอี กต อไปเป นธรรมดา, ข อนี้ ฉั นใด; ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ข อนี้ ก็ ฉั นนั้ น: เมื่ อภิ กษุ เป นผู มี ปรกติ เห็ นโดยความเป นอาที นวะ (โทษอั นต่ํ าทราม) ในธรรมทั้ งหลาย อั นเป นที่ ตั้ งแห งสั งโยชน อยู , การหยั่ งลงแห งนามรู ป ย อมไม มี . เพราะความดั บแห งนามรู ป จึ งมี ความดั บแห งสฬายตนะ; เพราะมี ความดั บ แห งสฬายตนะ จึ งมี ความดั บแห งผั สสะ; เพราะมี ความดั บแห งผั สสะ จึ งมี ความดั บแห ง เวทนา; เพราะมีความดับแหงเวทนา จึงมีความดับแหงตัณหา; เพราะมีความดับ

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจ ฯ ไมใชเรื่องขามภพขามชาติ

๑๔๑

แห งตั ณหา จึ งมี ความดั บแห งอุ ปาทาน; เพราะมี ความดั บแห งอุ ปาทาน จึ งมี ความดั บ แห งภพ; เพราะมี ความดั บแห งภพ จึ งมี ความดั บแห งชาติ ; เพราะมี ความดั บแห งชาติ นั่ นแล, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งดั บสิ้ น : ความดั บลง แหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้, ดังนี้ แล.

ปฏิจจสมุปบาท ที่ตรัสระคนกับปญจุปาทานขันธ๑ เรื่ องในนครกบิ ลพั สดุ : เมื่ อพระผู มี พระภาคเจ า ทรงขั บภิ กษุ สงฆ หมู หนึ่ งผู ละโมบในลาภ สั ก การะ ให อ อกไปพ น แล ว ภายหลั งทรงรํ า พึ ง เมื่ อ ภิ ก ษุ เหล านี้ มิ ได เห็ น พระศาสดาก็ จ ะหมุ น ไปผิ ด เหมื อนลูกโคไรแม จึงนอมพระทั ยไปในทางที่ จะวากลาวตั กเตือน ด วยพระทัยอั นอนุเคราะห ในลั กษณะที่ บาลี ใช สํ านวนว า สหั มบดี พรหมเข ามาอ อนวอนให ทรงกระทํ าเชนนั้ น จึ งทรงบั นดาลด วยอิ ทธาภิ สั งขารให ภิกษุเหลานั้นกลาเขามาเฝาพระองค ทีละรูปสองรูป จนกระทั่งครบถวนแลว จึงตรัสพระพุทธพจนนี้:-

ดูก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! อาชี พต่ําที่ สุ ด ในบรรดาอาชีพทั้ งหลาย คื อการขอทาน. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! คํ าสาปแชงอย างยิ่ งในโลกนี้ คื อ คํ าสาปแชงวา "แกถื อกระเบื้ อง ในมือเที่ยวขอทานเถอะ" ดังนี้

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! กุ ลบุ ตรทั้ งหลาย เข าถึ งอาชี พนี้ เป นผู เป นไปใน อํานาจแห งประโยชน เพราะอาศั ยอํ านาจแห งประโยชน , ไม ใชเป นคนหนี ราชทั ณฑ ไม ใช เป น ขอให โจรปล อ ยตั ว ไปบวช ไม ใช เป น คนหนี ห นี้ ไม ใช เป น คนหนี ภั ย ไม ใช เป น คนไรอาชีพ, จึ งบวช, อี กอย างหนึ่ ง กุลบุ ตรนี้ บวชแล ว โดยที่ คิ ดเช นนี้ วา เราทั้ งหลาย เป นผู ถู กหยั่ งเอาแล ว โดยชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุ กขะ โทมนั ส อุ ปายาส ทั้ งหลาย เปนผูอันความทุกขหยั่งเอาแลว มีความทุกขเปนเบื้องหนาแลว ทําไฉน การทําที่สุดแหง

สู ตรที่ ๘ ขั ชชนิ ยวรรค ขั นธสั งยุ ตต ขนฺ ธ. สํ . ๑๗/๑๑๓/๑๖๗, ตรั สแก ภิ กษุ ทั้ งหลาย ที่ นิ โครธารามใกล เมืองกบิลพัสดุ.

www.buddhadasa.info


๑๔๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๓

กองทุ ก ข ทั้ ง สิ้ น นี้ จะพึ ง ปรากฏแก เรา ดั ง นี้ . ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! แต ว า กุ ล บุ ต ร ผูบวชแลวอยางนี้ กลับเปนผูมากไปดวยอภิชฌา มีราคะแกกลาในกามทั้งหลาย มีจิต พยาบาท มีความดําริแหงใจเปนไปในทางประทุษราย มีสติอันลืมหลงแลว ไมมีสัมปชัญญะ มี จิ ตไม ตั้ งมั่ นแล ว มี จิ ตหมุ นไปผิ ดแล ว มี อิ นทรีย อั นตนไม สํ ารวมแล ว. ดู ก อนภิ กษุ ทั้งหลาย! เปรียบเหมือนดุนฟนจากเชิงตะกอนที่เผาศพ ยังมีไฟติดอยูทั้งสอง ตรง กลางก็ เป อนอุ จจาระ ย อมใช ประโยชน เป นไม ในบ านเรือนก็ ไม ได ย อมใช ประโยชน เป นไม ในป าก็ ไม ได , ข อนี้ ฉั นใด; ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เรากล าวบุ คคลนี้ วามี อุ ปมา เชนนั้ น; คื อ เป นผู เสื่ อมจากโภคะแห งคฤหั สถ ด วย, ไม ทํ าประโยชน แห งสมณะให บริบูรณ ดวย. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! อกุศลวิตก (ความตริตรึกอันเปนอกุศล) ๓ อยางเหลานี้ มี อยู ; กล าวคื อ กามวิ ตก (ความตริตรึกในทางกาม), พยาบาทวิ ตก (ความตริตรึกใน ทางพยาบาท), วิหิ งสาวิตก (ความตริตรึกในทางทํ าผู อื่ นให ลํ าบากโดยไม เจตนา). ดู ก อน ภิกษุทั้งหลาย! อกุศลวิตกทั้ง ๓ อยางนี้ ยอมดับไปโดยไมเหลือ เมื่อบุคคลมีจิตตั้งมั่ น แลวดวยดี ในสติปฎฐานทั้ง ๔; หรือวา เมื่อบุคคลเจริญอยูซึ่งสมาธิอันหานิมิต มิ ได . ดู กอนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ประโยชน เพี ยงเท านี้ ก็ พอแล ว เพื่ อการเจริญสมาธิอั นหา นิ มิ ต มิ ได . ดู ก อ นภิ กษุ ทั้ งหลาย! อนิ มิ ต ตสมาธิ อั น บุ ค คลเจริญ แล ว ทํ าให มากแล ว ยอมเปนสมาธิมีผลใหญ มีอานิสงสใหญ.

www.buddhadasa.info ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ทิฏฐิทั้งหลาย ๒ อยางเหลานี้ มีอยู; กลาวคือ ภวทิฏฐิ และวิภาวทิ ฏฐิ. ดู กอนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ในกรณี แห งทิ ฏฐิทั้ งสองอยางนั้ น อริยสาวกผู ได สดั บแล ว ย อมพิ จารณาด วยอาการอย างนี้ วา "ในโลกนี้ มี สิ่ งใด ๆ บ างไหมหนอ ที่ เมื่ อ เรายึดถืออยู เราจักเปนผูหาโทษมิได?" ดังนี้. อริยสาวกนั้น ยอมรูชัดอยางนี้วา

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจ ฯ ไมใชเรื่องขามภพขามชาติ

๑๔๓

"ในโลกนี้ ไมมีสิ่ง ใด ๆ เลย ที่เ มื่อ เรายึด ถือ อยู เราจัก เปน ผูห าโทษมิไ ด" (นตฺถิ นุ โข ตํ กิฺ จิ โลกสฺมึ ยมหํ อุปาทิยมาโน นวชฺชวา อสฺสํ) ดังนี้. อริยสาวกนั้น ยอม รูชั ดอย างนี้ ว า "เราเมื่ อยึ ดถื อ ก็ ยึ ดถื อซึ่ งรู ปนั่ นเอง ซึ่ งเวทนานั่ นเอง ซึ่ งสั ญญานั่ นเอง ซึ ่ง สัง ขารทั ้ง หลายนั ่น เอง ซึ ่ง วิญ ญ าณ นั ่น เอง. เพราะความยึด ถือ (อุป าทาน) ของเรานั ้น เปน ปจ จัย ก็จ ะพึง มีภ พ ; เพ ราะมีภ พ เปน ปจ จัย ก็จ ะพึง มีช าติ; เพราะมี ช าติ เป น ป จ จั ย , ชรามรณะ โสกะปริ เทวะทุ ก ขะโทมนั ส อุ ป ายาสทั้ ง หลาย ก็จะพึงมี: ความเกิดขึ้นพรอมแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ พึงมี ดวยอาการอยางนี้". ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! เธอทั้ งหลาย จะสํ าคั ญ ความข อ นี้ ว าอย างไร: รู ป เที่ ย งหรื อ ไม เ ที่ ย ง? ("ไม เ ที่ ย ง พระเจ า ข า !") ก็ สิ่ ง ใดไม เ ที่ ย ง สิ่ ง นั้ น เป น ทุ ก ข ห รื อ เป น สุ ข เล า ? ("เป น ทุ ก ข พระเจ าข า!") ก็ สิ่ งใดไม เที่ ย ง เป น ทุ ก ข มี ค วามแปรปรวนเป น ธรรมดา ควรหรื อ หนอที่ จ ะตามเห็ น สิ่ งนั้ น ว า นั่ น ของเรา; นั่ น เป น เรา นั่ น เป น ตั วตน ของเรา?" ("ขอนั้น หามิได พระเจาขา!") (ในกรณี แห งเวทนา สั ญ ญา สั งขาร วิ ญญาณ ก็ มี การถามตอบด วยข อความอย างเดี ยวกั น

www.buddhadasa.info ทุกตัวอักษร กับในกรณีแหงรูป ตางกันแตชื่อแหงขันธ แตละขันธ เทานั้น)

ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! เพราะเหตุ นั้ น ในเรื่ อ งนี้ , รู ป อย า งใดอย า งหนึ่ ง ทั้ งที่ เป นอดี ตอนาคต และป จจุ บั น อั นมี อยู ในภายในหรือภายนอกก็ ดี หยาบหรือละเอี ยด ก็ ดี เลวหรื อ ปราณี ตก็ ดี อยู ห างไกลหรื ออยู ใกล ก็ ดี รู ป ทั้ งหมดนั้ น อั นเธอทั้ งหลาย พึ งเห็ นด วยป ญญาอั นชอบตรงตามที่ เป นจริง (ยถาภู ตสั มมั ปป ญญา) อย างนี้ ว า "นั่ นไม ใชข อ งเรา; นั ่น ไมเ ปน เรา; นั ่น ไมใ ชต ัว ต น ของเรา;" ดัง นี ้ เวท น าอ ยา งใด อย างหนึ่ ง ทั้ งที่ เป น อดี ต อนาคต และป จ จุ บั น อั น มี อ ยู ในภายในหรื อ ภายนอกก็ ดี หยาบหรือละเอียดก็ดี เลวหรือปราณี ตก็ดี อยูหางไกลหรืออยูใกลก็ดี เวทนาทั้ งหมดนั้ น อันเธอทั้งหลาย พึงเห็นดวยปญญาอันชอบตรงตามที่เปนจริง อยางนี้วา "นั่นไมใชเรา;

www.buddhadasa.info


๑๔๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๓

นั ่น ไมเ ปน เรา; นั ่น ไมใ ชต ัว ต น ขอ งเรา ;" ดัง นี ้. สัญ ญ าอ ยา งใด อ ยา งห นึ ่ง ทั้ ง ที่ เป น อดี ต อนาคต และป จ จุ บั น อั น มี อ ยู ใ นภายใน หรื อ ภายนอกก็ ดี หยาบ หรือละเอี ยดก็ ดี เลวหรือปราณี ตก็ ดี อยู ห างไกลหรืออยู ใกล ก็ ดี สั ญ ญาทั้ งหมดนั้ น อั นเธอทั้ งหลาย พึ งเห็ นด วยป ญญาอั นชอบตรงตามที่ เป นจริง อย างนี้ ว า "นั่ นไม ใช เรา; นั่ น ไม เป น เรา; นั่ น ไม ใ ช ตั ว ตนของเรา "; ดั ง นี้ . สั ง ขารทั้ ง หลายเหล า ใดเหล า หนึ่ ง ทั้ งที่ เป น อดี ต อนาคต และป จ จุ บั น อั น มี อ ยู ในภายในหรื อ ภายนอกก็ ดี หยาบหรื อ ละเอีย ดก็ด ี เลวหรือ ปราณีต ก็ด ี อยู ห า งไกลหรือ อยู ใ กลก ็ด ี สัง ขารทั ้ง หมดนั ้น อั นเธอทั้ งหลาย พึ งเห็ นด วยป ญญาอั นชอบตรงตามที่ เป นจริง อย างนี้ ว า "นั่ นไม ใช เรา; นั่ น ไม เป น เรา; นั่ น ไม ใ ช ตั ว ตนของเรา"; ดั ง นี้ . วิ ญ ญาณอย า งใดอย า งหนึ่ ง ทั้ ง ที่ เป นอดี ต อนาคต และป จจุ บั น อั นมี อยู ในภายใน หรือภายนอกก็ ดี หยาบหรือละเอี ยดก็ ดี เลวหรือปราณี ตก็ ดี อยู ห างไกลหรืออยู ใกล ก็ ดี วิ ญญาณทั้ งหมดนั้ น อั นเธอทั้ งหลาย พึ งเห็ นด วยป ญ ญาอั นชอบตรงตามที่ เป นจริ ง อย างนี้ ว า "นั่ นไม ใช เรา; นั่ นไม เป นเรา; นั่นไมใชตัวตนของเรา" ดังนี้. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! อริ ย สาวก ผู ได ส ดั บ แล ว เห็ น อยู อ ย า งนี้ ย อ ม เบื่ อหน ายแม ในรูป แม ในเวทนา แม ในสั ญญา แม ในสั งขารทั้ งหลาย แม ในวิ ญญาณ อริ ย สาวกนั้ น เมื่ อ เบื่ อ หน าย ย อมคลายกํ าหนั ด ; เพราะความคลายกํ าหนั ด ย อ ม หลุ ดพ น; เมื่ อหลุ ดพ นแล ว ย อมมี ญ าณหยั่ งรู วาหลุ ดพ นแล ว. อริยสาวกนั้ น ย อมรู ชั ดอย างนี้ ว า "ชาติ สิ้ นแล ว, พรหมจรรย อั นเราอยู จบแล ว, กิ จที่ ควรทํ าได ทํ าสํ าเร็จแล ว, กิจอื่นเพื่อความเปนอยางนี้ มิไดมีอีก," ดังนี้ แล.

www.buddhadasa.info หมวดที่สาม จบ -------------------

www.buddhadasa.info


หมวด ๔ วาดวย ปฏิจจสมุปบาทเกิดไดเสมอ ในชีวิตประจําวันของคนเรา

www.buddhadasa.info ๑๔๕

www.buddhadasa.info


www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


กฏอิทัปปจจยตาหัวใจปฏิจจสมุปบาท. อิมสฺมึ สติ อิทํ โหติ เมื่อสิ่งนี้ มี สิ่งนี้ ยอมมี อิมสฺสุปฺปาทา อิทํ อุปฺปชฺชติ เพราะความเกิดขึ้นแหงสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น. อิมสฺมึ อสติ อิทํ น โหติ เมื่อสิ่งนี้ ไมมี สิ่งนี้ ยอมไมมี อิมสฺส นิโรธา อิทํ นิรุชฺฌติ เพราะความดับไปแหงสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงดับไป. (ม.ม. ๑๓/๓๕๕/๓๗๑, นิทาน. สํ. ๑๖/๘๔/๑๕๔,....)

www.buddhadasa.info ๑๔๗

www.buddhadasa.info


ลําดับเรื่องเฉพาะหมวด สําหรับปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ หมวดที่ ๔ วาดวย ปฏิจจสมุปบาทเกิดไดเสมอ ในชีวิตประจําวันของคนเรา (มี ๑๒ เรื่อง) มีเรื่อง : ปฏิจจสมุปบาท จะมีไดแกทารก เฉพาะที่โตขึ้นถึงขนาดรูสึกยึดถือใน เวทนา--ปจจัยาการแหงเวทนาโดยละเอียด—อายตนะคือจุดตั้งตนของปฏิจจสมุปบาท --การเกิดขึ้นแหงไตรทวารขึ้นอยูกับการเกิดขึ้นแหงอวิชชาของปฏิจจสมุปบาท--อวิชชา สัม ผัส คือ ตน เหตุอ ัน แทจ ริง ของปฏิจ จสมุป บาท--นามรูป กา วลง เมื่อ อนุสัย กอ ขึ้น -ตัณ หาเกิดขึ้นเมื่ออนุสัยกอขึ้น-- ภพใหมเกิดขึ้นเมื่ออนุสัยกอขึ้น—การหยั่งลงแหงวิญ ญาณเกิดมีขึ้นเมื่อเห็นสัญโญนิยธรรมโดยความเปนอัสสาทะ—การหยั่งลงแหงวิญญาณ ไม มีเพราะเห็ นสัญ โญชนิยธรรมโดยความเป นอาทีวะ--การเกิดแห งโลกคือการเกิดแห ง กระแสปฏิ จ จสมุ ป บาทที่ เกิ ด ขึ้ น ในใจคนทุ ก คราวไป--การดั บ แห งโลกคื อการดั บ แห ง กระแสปฏิจจสมุปบาทที่ดับลงในใจคนทุกคราวไป.

www.buddhadasa.info ๑๔๘

www.buddhadasa.info


ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ หมวดที่ ๔ วาดวย ปฏิจจสมุปบาทเกิดไดเสมอ ในชีวิตประจําวันของคนเรา ปฏิจจสมุปบาทจะมีไดแกทารก เฉพาะที่โตขึ้นถึงขนาดรูสึกยึดถือในเวทนา๑ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะการประจวบพร อมแห งป จจั ย ๓ ประการ; การ กาวลงสูครรภ ของสัตวผูเกิดในครรภ ยอมมีขึ้น. ในกรณี นี้คือ แมมารดาบิดาอยูรวมกัน แต ม ารดาไม มี ระดู ทั้ งคั น ธั พ พะ (สั ต ว ที่ จ ะปฏิ ส นธิ ในครรภ ) ก็ ยั งมิ ได เข าไปตั้ งอยู เฉพาะแลว การกาวลงสูครรภของสัตวผูเกิดในครรภ ก็ยังมีไมไดกอน. ในกรณีนี้

www.buddhadasa.info ๑๔๙

มหาตัณหาสังขยสูตร มู.ม. ๑๒/๔๘๗/๔๕๒, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๑๕๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๔

แม มารดาบิ ดาอยูรวมกั นดวย มารดาก็มี ระดูด วย แต คันธัพพะยังไม เขาไปอยูเฉพาะแล ว การก าวลงสู ค รรภ ของสั ต ว ผู เกิ ด ในครรภ ก็ ยั งมี ไม ได ก อ น อยู นั่ น เอง. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้งหลาย! แตในกาลใด มารดาบิดาอยูรวมกันดวย, มารดามีระดูดวย , คันธัพพะ เข า ไปตั้ ง อยู เฉพาะแล ว ด ว ย; การก า วลงสู ค รรภ ข องสั ต ว ผู เกิ ด ในครรภ ย อ มมี เพราะการประจวบพรอมแหงปจจัย ๓ ประการ ดวยอาการอยางนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! มารดาย อมบริหารซึ่ งสั ตวผู เกิ ดในครรภ นั้ น ด วยท อง, ตลอดเวลาเก าเดื อนบ าง สิ บเดื อนบ าง; ด วยความวิ ตกกั งวลอั นใหญ หลวง เป นภาระ หนั ก. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! มารดาย อมคลอดซึ่ งทารกนั้ น โดยกาลอั นล วงไปเก าเดื อน บ าง สิ บ เดื อ นบ าง; ด วยความวิ ต กกั งวลอั น ใหญ ห ลวง เป น ภาระหนั ก , เลี้ ย งแล ว ซึ่งทารกอันเปนผูเกิดแลวนั้น ดวยโลหิตแหงตน. ดู ก อ นภิ กษุ ทั้ งหลาย! ในอริ ย วิ นั ย สิ่ งที่ เรียกว า "โลหิ ต" นั้ น หมายถึ ง น้ํานมแหงมารดา.

www.buddhadasa.info ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย! กุมารนั้น อาศัยความเจริญและความเติบโตแหงอินทรีย ทั้ งหลายแล ว เล นอยู ด วยของเล นสํ าหรับทารก กล าวคื อ เล นไถน อย ๆ เล นหม อข าว หม อ แกง เล น ของเล น ชื่ อ โมกขจิ ก ะ ๑ เล น กั งหั น ลมน อ ย ๆ เล น ตวงทรายด วยใบไม เลนรถนอย ๆ เลนธนูนอย ๆ. ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย! กุมารนั้น อาศัยความเจริญและความเติบโตแหงอินทรีย ทั้งหลายแลว เปนผูเอิบอิ่มเพียบพรอมดวยกามคุณหา ใหเขาบําเรออยูทางตา ดวยรูป

โมกขจิกะ เปนของเลนสําหรับเด็กชนิดหนึ่ง ที่หมุนไดดวยการบิดตอนบน.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ เกิดไดเสมอเปนประจําวัน

๑๕๑

ทั้ งหลาย; ทางหู ด วยเสี ย งทั้ งหลาย; ทางจมู ก ด ว ยกลิ่ น ทั้ งหลาย; ทางลิ้ น ด วยรส ทั้ ง หลาย; และทางกาย ด ว ยสั ม ผั ส ทางผิ ว หนั ง ทั้ ง หลาย; ล ว นแต น า ปรารถนา น ารักใคร น าพอใจ มี ภาวะเป นที่ ตั้ งแห งความรัก เป นที่ เข าไปตั้ งอาศั ยอยู แห งความใคร เปนที่ตั้งแหงความกําหนัด นํามาซึ่งความรัก. กุ ม ารนั้ น ครั้ น เห็ น รู ป ด ว ยตาแล ว .., ได ยิ น เสี ย งด ว ยหู แล ว ...;รู สึ ก กลิ่ น ด ว ยจมู ก แล ว ...; ลิ้ ม รสด ว ยลิ้ น แล ว …; ถู ก ต อ งสั ม ผั ส ทางผิ ว หนั ง ด ว ยผิ ว กาย แลว …; รู แ จง ธัม มารมณด ว ยใจแลว ; ยอ มกํ า หนัด ยิน ดี ในรูป และเสีย งเปน ตน อั นมี ลั กษณะเป นที่ ตั้ งแห งความรัก; ย อมขั ดเคื อง ในรู ปและเสี ยงเป นต น อั นมี ลั กษณะ เป น ที่ ตั้ งแห ง ความชั ง. กุ ม ารนั้ น ย อ มมี จิ ต ใจด อ ยด ว ยคุ ณ ธรรม; อยู โดยปราศจาก สติ อั น เข า ไปตั้ งไว ในกายด ว ย; ย อ มไม รู ชั ด ตามที่ เป น จริ ง ซึ่ งเจโตวิ มุ ต ติ ป ญ ญาวิมุตติ อันเปนที่ดับโดยไมเหลือแหงธรรมอันเปนบาปอกุศลทั้งหลายดวย. กุ มารนั้ น เมื่ อประกอบด วยความยิ นดี และความยิ นร ายอยู เช นนี้ แล ว เสวยอยู ซึ่ ง เวทนาใด ๆ เป น สุ ข ก็ ต าม เป น ทุ ก ข ก็ ต าม ไม ใ ช ทุ ก ข ไ ม ใ ช สุ ข ก็ ต าม เขาย อ ม เพลิ ด เพลิ น พร่ํ า สรรเสริ ญ เมาหมกอยู ซึ่ ง เวทนานั้ น ๆ, เมื่ อ เป น ผู เพลิ ด เพลิ น พร่ําสรรเสริญ เมาหมกอยู ซึ่งเวทนานั้น ๆ, นันทิ (กําหนัดยินดีที่ไดตามอยาก) ยอ มบัง เกิด ขึ ้น , นัน ทิใ ดเปน ไปในเวทนาทั ้ง หลาย, นัน ทินั ้น คือ อุป าทาน; เพราะอุปาทานของกุมารนั้นเปนปจจัย จึงมีภพ; เพราะมีภ พเป นปจจัย จึงมี ชาติ ; เพราะมี ช าติ เป น ป จ จั ย , ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ ก ขะโทมนั ส อุ ป ายาส ทั้ งหลาย จึ งเกิ ด ขึ้ น ครบถ วน: ความเกิ ด ขึ้ น พร อ มแห งกองทุ ก ข ทั้ งสิ้ น นี้ ย อ มมี ด ว ย อาการอยางนี้ แล.

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๑๕๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๔ หมายเห ตุ ผู ร วบรวม : ผู ศึ ก ษาพึ ง สั ง เกตใจความสํ า คั ญ ที่ สุ ด จากพระพุ ท ธภาษิ ต นี้ ไว ๒ ประการคื อ เด็ ก โตพอที่ จ ะรู จั ก ยึ ด มั่ น ในเวทนา จึ ง จะเกิ ด กระแสแห ง ปฏิจ จสมุป บาท ดว ยอํ า นาจแหง อวิช ชา ในจิต ใจเด็ก นั ้น ได, นี ้อ ยา งหนึ ่ง ; อีก อยา งหนึ ่ง ข อ ความตอนท า ย แสดงให เห็ น ชั ด อยู แ ล ว ว า สิ่ ง ที่ เรี ย กว า ภพ ก็ ดี , ชาติ ก็ ดี , เพิ่ ง เกิ ด มี เมื่ อ ตอนยึ ด มั่ น ในเวทนานั้ น ๆ; หาใช มี เมื่ อ เด็ ก คลอดจากท อ งแม เหมื อ นดั ง ที่ เข า ใจกั น อยู ในภาษาคนธรรมดาพู ดไม . ดั งนั้ น คํ าพู ดในภาษาปฏิ จจสมุ ปบาทนี้ ตรัสไว โดยภาษาธรรม แท : ภพ ชาติ มี ทุ ก คราวที่ ยึ ด มั่ น ในเวทนา. ชรามรณะ มี ไ ด แ ม แ ก เด็ ก ๆ เพราะมี ค วาม หมายในภาษาธรรมอี กนั่ น เอง, ได แ ก ป ญ หาหนั กใจต าง ๆ ที่ เกิ ด มาจาก "ความหมาย" ของ คํ า วา "แก-ตาย" ซึ ่ง เปน สิ ่ง ที ่ทํ า ใหเ กิด ทุก ขใ จไดจ ริง , เปน ความแก หรือ ความตายที ่ถ ูก ยึ ดถื อ ให มามี อํ านาจเหนื อจิ ตใจของเขา. เมื่ อผู ศึ กษาเข าใจความจริงอั นลึ กซึ้ งนี้ แล ว การ ศึกษาเรื่องปฏิจจสมุปบาท ก็มีทางที่จะเปนไปไดงายขึ้น. ขอใหสนใจทบทวนเปนพิเศษ.

ปจจยาการแหงเวทนา โดยละเอียด๑ (หลั งจากที่ ได ทรงประทั บอยู ด วยการหลี กเรน เป นเวลากึ่ งเดื อน เสด็ จออกจากที่ หลี กเรนนั้ น แลว ไดตรัสวา:-)

ดู ก อ นภิ กษุ ทั้ งหลาย! เราได อ ยู แล วโดยประเทศ ๒แห งวิ ห ารธรรม อย าง เดี ยวกั น กั บ วิ หารธรรมที่ เราเคยอยู แล ว เมื่ อ ตรั สรู แล วใหม ๆ. เมื่ อ อยู โดยวิ หารธรรม อยางนี้เรายอมรูชัดอยางนี้วา:"เวทนา ยอมมี เพราะปจจัยคือมิจฉาทิฏฐิบาง; -สัมมาทิฏฐิบาง; เวทนา ยอมมี เพราะปจจัยคือมิจฉาสังกัปปะบาง; -สัมมาสังกัปปะบาง;

www.buddhadasa.info

สู ต รที่ ๑ วิ ห ารวรรค มหาวาร. สํ . ๑๙/๑๖/๔๘, ตรั ส แก ภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย ที่ เชตวั น หลั ง จากที่ ได ป ระทั บ หลีกเรนแลวเปนเวลาครึ่งเดือน. ๒ คํ าวา "ประเทศ" ในที่ นี้ หมายถึ งที่ ตั้ งแห งความรูสึ กทางใจ เช นเดี ยวกับแผ นดิ นเป นที่ ตั้ งแห งความเป น อยู ทางกาย. การที่ คงไวในรูปศั พท เดิ มเช นนี้ ก็ เพื่ อจะให ผู อ านได ทราบเงื่อนงําแห งภาษาบาลี ซึ่ งไม คอยจะปรากฏในภาษาไทย.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ เกิดไดเสมอเปนประจําวัน

๑๕๓

เวทนา ยอมมี เพราะปจจัยคือมิจฉาวาจาบาง; -สัมมาวาจาบาง; เวทนา ยอมมี เพราะปจจัยคือมิจฉากัมมันตะบาง; -สัมมากัมมันตะบาง; เวทนา ยอมมี เพราะปจจัยคือมิจฉาอาชีวะบาง; -สัมมาอาชีวะบาง; เวทนา ยอมมี เพราะปจจัยคือมิจฉาวายามะบาง; -สัมมาวายามะบาง; เวทนา ยอมมี เพราะปจจัยคือมิจฉาสติบาง; - สัมมาสติบาง; เวทนา ยอมมี เพราะปจจัยคือมิจฉาสมาธิบาง; -สัมมาสมาธิบาง; เวทนา ยอมมี เพราะปจจัยคือฉันทะบาง; เวทนา ยอมมี เพราะปจจัยคือวิตกบาง; เวทนา ยอมมี เพราะปจจัยคือสัญญาบาง; เวทนา ยอมมี เพราะปจจัยคือฉันทะ วิตกและสัญญา ที่ยังไมเขาไปสงบ รํางับบาง; เวทนา ยอมมี เพราะปจจัยคือฉันทะ วิตกและสัญญาที่เขาไปสงบ รํางับ แลวบาง; เวทนา ยอมมี เพราะปจจัยคือการบรรลุถึงฐานะที่ไดพยายามเพื่อจะบรรลุ ถึงบาง" ดังนี้.

www.buddhadasa.info (อีกสูตรหนึ่ง๑ไดตรัสโดยขอความที่แปลกออกไปอีกบางประการวา)

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เราได อยู แล ว โดยประเทศแห งวิ หารธรรม อย างเดี ยว กันกั บวิหารธรรมที่ เราเคยอยู แล วเมื่ อตรัสรูใหม ๆ , เมื่ ออยู โดยวิหารธรรมอย างนี้ เรา ยอมรูชัดอยางนี้วา :-

สู ต รที่ ๒ วิ ห ารวรรค มหาวาร. สํ . ๑๙/๑๗/๕๐, ตรั ส แก ภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย ที่ เชตวั น หลั ง จากที่ ได ป ระทั บ หลีกเรนแลวเปนเวลา ๓ เดือน.

www.buddhadasa.info


๑๕๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๔

"เวทนายอมมี เพราะปจจัยคือมิจฉาทิฏฐิบาง; -ความเขาไปสงบรํางับ แหงมิจฉาทิฏฐิบาง; "เวทนายอมมี เพราะปจจัยคือสัมมาทิฏฐิบาง; -ความเขาไปสงบรํางับ แหงสัมมาทิฏฐิบาง; "เวทนายอมมี เพราะปจจัยคือมิจฉาสังกัปปะบาง; -ความเขาไปสงบรํางับ แหงมิจฉาสังกัปปะบาง; "เวทนายอมมี เพราะปจจัยคือสัมมาสังกัปปะบาง; -ความเขาไปสงบรํางับ แหงสัมมาสังกัปปะบาง; "เวทนายอมมี เพราะปจจัยคือมิจฉาวาจาบาง; -ความเขาไปสงบรํางับ แหงมิจฉาวาจาบาง; "เวทนายอมมี เพราะปจจัยคือสัมมาวาจาบาง; -ความเขาไปสงบรํางับ แหงสัมมาวาจาบาง; "เวทนายอมมี เพราะปจจัยคือมิจฉากัมมันตะบาง; -ความเขาไปสงบรํางับ แหงมิจฉากัมมันตะบาง; "เวทนายอมมี เพราะปจจัยคือสัมมากัมมันตะบาง; -ความเขาไปสงบรํางับ แหงสัมมากัมมันตะบาง; "เวทนายอมมี เพราะปจจัยคือมิจฉาอาชีวะบาง; -ความเขาไปสงบรํางับ แหงมิจฉาอาชีวะบาง; "เวทนายอมมี เพราะปจจัยคือสัมมาอาชีวะบาง; -ความเขาไปสงบรํางับ แหงสัมมาอาชีวะบาง; "เวทนายอมมี เพราะปจจัยคือมิจฉาวายามะบาง; -ความเขาไปสงบรํางับ แหงมิจฉาวายามะบาง; "เวทนายอมมี เพราะปจจัยคือสัมมาวายามะบาง; -ความเขาไปสงบรํางับ แหงสัมมาวายามะบาง;

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ เกิดไดเสมอเปนประจําวัน

๑๕๕

เวทนายอมมี เพราะปจจัยคือมิจฉาสติบาง; -ความเขาไปสงบรํางับ แหงมิจฉาสติบาง; เวทนายอมมี เพราะปจจัยคือสัมมาสติบาง; -ความเขาไปสงบรํางับ แหงสัมมาสติบาง; เวทนายอมมี เพราะปจจัยคือมิจฉาสมาธิบาง; -ความเขาไปสงบรํางับ แหงมิจฉาสมาธิบาง; เวทนายอมมี เพราะปจจัยคือสัมมาสมาธิบาง; -ความเขาไปสงบรํางับ แหงสัมมาสมาธิบาง; เวทนายอมมี เพราะปจจัยคือฉันทะบาง; -ความเขาไปสงบรํางับ แหงฉันทะบาง; เวทนายอมมี เพราะปจจัยคือวิตกบาง; -ความเขาไปสงบรํางับ แหงวิตกบาง; เวทนายอมมี เพราะปจจัยคือสัญญาบาง; -ความเขาไปสงบรํางับ แหงสัญญาบาง; เวทนายอมมี เพราะปจจัยคือฉันทะ วิตกและสัญญาที่ยังไมเขาไปสงบรํางับ บาง; เวทนายอมมี เพราะปจจัยคือฉันทะ วิตกและสัญญา ที่เขาไปสงบรํางับ แลวบาง; เวทนายอมมี เพราะปจจัยคือการบรรลุถึงฐานะที่ไดพยายามเพื่อจะบรรลุถึง บาง" ดังนี้.

www.buddhadasa.info หมายเหตุ ผู ร วบรวม : ผู ศึ ก ษาพึ ง สั ง เกตให เห็ น ว า วิ ห ารธรรมชนิ ด ที่ ท รง เคยอยู  เมื ่อ ตรัส รู ใ หม ๆ เปน วิห ารธรรมชนิด ที ่ทํ า ความงา ยแกก ารเกิด ญ าณ หรือ ความรู ต า ง ๆ; ดั งนั้ น พระองค จึ ง ตรั ส ว า ได รู ชั ด ธรรมอั น เกี่ ย วกั บ เวทนาเหล า นี้ เมื่ อ อยู ด ว ย ประเทศแหงวิหารธรรมชาตินั้น. สําหรับคําวาเวทนา (เวทยิตํ) ในพระบาลีนี้ จะ

www.buddhadasa.info


๑๕๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๔ ต อ งมี ค วามหมายกว างกว าความหมายของคํ าว า "เวทนาที่ มี เพราะผั สสะเป น ป จจั ย " ที่ พู ด กั นตามธรรมดา แต หมายถึ งความรูสึ กที่ เป นไปในลั กษณะของความรู หรื อญาณ ในระดั บใด ระดับ หนึ ่ง ดว ยก็ไ ด; หรือ อยา งนอ ยก็เ หมือ นกับ ความหมายของคํ า วา เวทนาแหง คํ า วา "สั ญ ญาเวทยิ ต นิ โรธ" มากกว า; หรือ อี กอย างหนึ่ งก็ เล็ งถึ งความหมายของคํ า ว า เวทนาซึ่ งมา ในประโยคที ่ต รัส วา "เรากลา วอริย สัจ สี ่ สํ า หรับ สัต วผู ม ีเ วทนาอยู "; ดัง นั ้น จึง มีป จ จัย มากมายถึ ง ๒๒ หรื อ ๔๑ ป จจั ย. ป จจั ยนั้ น ๆ ทํ าให เกิ ดเวทนาขึ้ นมา จั ดเป นป จจยาการหนึ่ ง ๆ แหงลักษณะของอิทัปปจจยตา หรือปฏิจจสมุปบาทได.

อายตนะ คือ จุดตั้งตนของปฏิจจสมุปบาท๑ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ อมื อทั้ งหลาย มี อยู , การจั บและการวาง ก็ ปรากฏ; เมื่อเทาทั้งหลาย มีอยู, การกาวไปและการถอยกลับ ก็ปรากฏ; เมื่อขอแขนขาทั้งหลาย มีอยู, การคูเขาและการเหยียดออก ก็ปรากฏ; เมื่ อท องไส มีอยู, ความหิ วและความ กระหาย ก็ ปรากฏ; นี้ ฉั นใด; ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ อจักษุ มี อยู , สุ ขและทุ กข อั น เป นภายใน ย อมเกิ ดขึ้น เพราะจั กขุ สั มผั สเป นป จจั ย; เมื่ อโสตะ มี อยู , สุ ขและทุ กข อั นเป นภายใน ย อมเกิ ดขึ้ น เพราะโสตะสั มผั สเป นป จจั ย; เมื่ อฆานะ มี อยู , สุ ขและ ทุ กข อั นเป นภายใน ย อมเกิ ดขึ้ น เพราะฆานสั มผั สเป นป จจั ย; เมื่ อชิ วหา มี อยู , สุ ข และทุ กข อั นเป นภายใน ย อมเกิ ดขึ้ น เพราะชิวหาสั มผั สเป นป จจั ย; เมื่ อกายะ มี อยู , สุ ขและทุ กข อั นเป นภายใน ย อมเกิ ดขึ้ น เพราะกายสั มผั สเป นป จจั ย; เมื่ อมโน มี อยู , สุขและทุกขอันเปนภายใน ยอมเกิดขึ้น เพราะมโนสัมผัสเปนปจจัย; ฉันนั้นเหมือนกัน.

www.buddhadasa.info (ตอไปนี้ เปนปฏิปกขนัย จากขางบน)

สูตรที่ ๙, ๑๐ สมุททวรรค สฬายตนสังยุตต สฬา. สํ. ๑๘/๒๑๔/๓๐๕, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ เกิดไดเสมอเปนประจําวัน

๑๕๗

ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! เมื่ อ มื อ ทั้ งหลาย ไม มี , การจั บ และการวาง ก็ ไม ปรากฏ; เมื่ อ เท า ทั้ งหลาย ไม มี , การก า วไปและการถอยกลั บ ก็ ไม ป รากฏ; เมื่ อ ข อแขนขาทั้ งหลาย ไม มี , การคู เขาและการเหยี ยดออก ก็ ไม ปรากฏ; เมื่ อท องไส ไม มี , ความหิ ว และความกระหาย ก็ ไ ม ป รากฏ; นี้ ฉั น ใด; ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! เมื่ อจักษุ ไม มี , สุขและทุกขอันเป นภายใน ยอมไม เกิ ดขึ้น เพราะจักขุสัมผั สเป นป จจัย; เมื่ อโสตะ ไม มี , สุขและทุ กขอันเป นภายใน ย อมไม เกิ ดขึ้น เพราะโสตะสั มผั สเป นป จจั ย; เมื่ อฆานะ ไม มี , สุ ขและทุ กขอั นเป นภายใน ย อมไม เกิ ดขึ้ น เพราะฆานสัมผั สเป นป จจัย; เมื่ อชิวหา ไม มี , สุขและทุ กขอันเป นภายใน ยอมไม เกิดขึ้น เพราะชิวหาสัมผัสเป นป จจัย; เมื่ อกายะ ไม มี , สุขและทุ กขอันเป นภายใน ย อมไม เกิ ดขึ้น เพราะกายสั มผัสเป นป จจัย; เมื่ อมโน ไม มี , สุขและทุ กขอั นเป นภายใน ย อมไม เกิ ดขึ้ น เพราะมโนสั มผั สเป นป จจัย; ฉันนั้นเหมือนกัน. ... ... ... ... ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ อมื อทั้ งหลาย มี , การจั บและการวาง ก็ มี ; เมื่ อ เทาทั้งหลาย มี, การกาวไปและการถอยกลับ ก็มี; เมื่อขอแขนขาทั้งหลาย มี, การคูเขา และการเหยี ยดออก ก็ มี ; เมื่ อท องไส มี , ความหิ วและความกระหาย ก็ มี ; นี้ ฉั นใด; ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! เมื่ อ จั ก ษุ มี อ ยู , สุ ข และทุ ก ข อั น เป น ภายใน ย อ มเกิ ด ขึ้ น เพราะจั กขุ สั มผั สเป นป จจั ย; เมื่ อโสตะ มี อยู , สุ ขและทุ กข อั นเป นภายใน ย อมเกิ ดขึ้ น เพราะโสตะสั มผั สเป นป จจั ย; เมื่ อฆานะ มี อยู , สุ ขและทุ กขอันเป นภายใน ยอมเกิ ดขึ้ น เพราะฆานสั มผั สเป นป จจั ย; เมื่ อชิวหา มี อยู , สุ ขและทุ กขอั นเป นภายใน ย อมเกิ ดขึ้ น เพราะชิ วหาสั มผั สเป นป จจัย; เมื่ อกายะ มี อยู , สุ ขและทุ กข อันเป นภายใน ย อมเกิ ดขึ้ น เพราะกายสั มผั สเป นป จจั ย; เมื่ อมโน มี อยู , สุ ขและทุ กข อั นเป นภายใน ย อมเกิ ดขึ้ น เพราะมโนสัมผัสเปนปจจัย; ฉันนั้นเหมือนกัน.

www.buddhadasa.info

(ตอไปนี้ เปนปฏิปกขนัย จากขางบน)

www.buddhadasa.info


๑๕๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๔

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ อมื อทั้ งหลาย ไม มี , การจั บและการวาง ก็ ไม มี ; เมื่ อเท าทั้งหลาย ไม มี, การกาวไปและการถอยกลับ ก็ไม มี; เมื่อขอแขนขาทั้งหลาย ไมมี, การคูเขาและการเหยียดออก ก็ไมมี; เมื่อทองไส ไมมี, ความหิวและความกระหาย ก็ ไม มี ; นี้ ฉั น ใด; ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! เมื่ อ จั ก ษุ ไม มี , สุ ข และทุ ก ข อั น เป น ภายใน ก็ ไม เกิ ดขึ้ น เพราะจั กขุ สั มผั สเป นป จจั ย; เมื่ อโสตะ ไม มี , สุ ขและทุ กข อั นเป นภายใน ก็ ไม เกิ ดขึ้น เพราะโสตะสั มผั สเป นป จจัย; เมื่ อฆานะ ไม มี , สุ ขและทุ กขอั นเป นภายใน ก็ ไม เกิ ดขึ้ น เพราะฆานสั มผั สเป นป จจั ย; เมื่ อชิ วหา ไม มี , สุ ขและทุ กข อั นเป นภายใน ก็ไม เกิดขึ้น เพราะชิวหาสัมผั สเป นป จจัย; เมื่ อกายะ ไม มี , สุ ขและทุ กขอันเป นภายใน ก็ ไม เกิ ดขึ้ น เพราะกายสั มผั สเป นป จจั ย; เมื่ อมโน ไม มี , สุ ขและทุ กขอั นเป นภายใน ก็ไมเกิดขึ้น เพราะมโนสัมผัสเปนปจจัย; ฉันนั้นเหมือนกัน, ดังนี้แล. หมายเหตุ ผู ร วบรวม : ผู ศึ ก ษาพึ ง สั งเกตให เห็ น ว า อายตนะมี จั ก ษุ เป น ต น เป น จุ ด ตั้ งต น ของการปรุ งแต งทุ ก ชนิ ด ; ในที่ นี้ ได แ ก ก ารเกิ ด ขึ้ น ของเวทนา ทั้ งที่ เป น สุ ข และเป น ทุ กข . ถ าไม มี สติ สั ม ปชั ญ ญะในตอนนี้ ก็ เป น ที่ แ น น อนว า จะเกิ ด ตั ณ หาอุ ป าทานเป น ลํ าดั บ ไป จนเกิดทุกขในที่สุด.

www.buddhadasa.info การเกิดขึ้นแหงไตรทวาร ขึ้นอยูกับการเกิดขึ้นแหงอวิชชาของปฏิจจสมุปบาท๑

ถู กแล ว ถู กแล ว อานนท ! ตามที่ สารีบุ ตรเมื่ อตอบป ญ หาในลั กษณะนั้ น เชนนั้น,๒ ชื่อวาไดตอบโดยชอบ. ดูกอนอานนท! สุขและทุกขนั้น เรากลาววา ๑

สูตรที่ ๕ ทสพลวรรค นิทานสังยุตต นิทาน. สํ. ๑๖/๔๖/๘๒, ตรัสแกพระอานนท ที่เชตวัน. ๒ ตรัสกั บพระอานนท ที่ ได เล าเรื่อง พระสารีบุ ตรตอบคํ าถามของพระภู มิ ชะผู มาถามว า "มี สมณพราหมณ ที่ กล าวสอนเรื่องกรรมอยู สี่ พวก : พวกหนึ่ งพู ดว าสุ ขและทุ กข ตนทํ าเอาเอง, พวกหนึ่ งว าผู อื่ นทํ าให , พวก หนึ่ งว าตนทํ าเองด วยผู อื่ นทํ าให ด วย, อี ก พวกหนึ่ งว าไม ใช ทํ าเองหรือใครทํ าให ก็ เกิ ดขึ้ นได ; ในเรื่องนี้ พระผู มี พระภาคเจาตรัสไวอยางไร? และเมื่ อจะกลาว ควรกลาวอย างไร จึ งจะตรงกับพุ ทธมติ ?" ดั งนี้ ; ซึ่ งพระสารีบุ ตรได ตอบอย างเดี ยวกั น กั บที่ พ ระผู มี พ ระภาคเจ าตรัสให พระอานนท ฟ งนี้ . เพราะเหตุ นั้ น พระผูมีพระภาคเจา จึงตรัสกับพระอานนท ดังนี้.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ เกิดไดเสมอเปนประจําวัน

๑๕๙

เปนเพียงสิ่งที่อาศัยปจจัยอยางใดอยางหนึ่งแลวเกิดขึ้น (เรียกวาปฏิจจสมุปปนนธรรม). สุ ขและทุ กขนั้ นอาศั ยป จจัยอะไรเล า? สุ ขและทุ กขนั้ น อาศั ยป จจั ยคื อ ผั สสะ, ผู กล าวอย างนี้ แล ชื่ อว า กล าวตรงตามที่ เรากล าว ไม เป นการกล าวตู เราด วยคํ าไม จริง; แต เป นการกล าวโดยถู กต อง และสหธรรมมิ กบางคนที่ กล าวตาม ก็ จะไม พลอยกลายเป น ผูควรถูกติไปดวย. ดู ก อนอานนท ! ในบรรดาสมณพราหมณ ที่ กล าวสอนเรื่ องกรรมทั้ งสี่ พวก นั้ น: สมณพราหณ ที่ กล าวสอนเรื่องกรรมพวกใด ย อมบั ญ ญั ติ สุ ขและทุ กข ว าเป น สิ่งที่ตนทําเอาดวยตนเอง; แมสุขและทุกขที่พวกเขาบัญญั ตินั้น ก็ยังตองอาศัยผัสสะ เป น ป จ จั ย จึ งเกิ ด มี ได ; สมณพราหณ ที่ ก ล า วสอนเรื่ อ งกรรมพวกใด ย อ มบั ญ ญั ติ สุขและทุกข วาเป นสิ่งที่ผูอื่นทําให , แมสุขและทุกขที่พวกเขาบัญญั ตินั้น ก็ยังตอง อาศั ย ผั ส สะเป น ป จ จั ย จึ ง เกิ ด มี ไ ด ; สมณพราหณ ที่ ก ล า วสอนเรื่ อ งกรรมพวกใด ยอมบัญญัติสุขและทุกข วาเปนสิ่งที่ตนทําเอาดวยตนเองดวย ผูอื่นทําใหดวย; แมสุข และทุ ก ข ที่ พ วกเขาบั ญ ญั ติ นั้ น ก็ ยั งต อ งอาศั ย ผั ส สะเป น ป จ จั ย จึ งเกิ ด มี ได ; ถึ งแม สมณพราหมณ ที่กลาวสอนเรื่องกรรมพวกใด ยอมบัญญั ติสุขและทุ กข วาไม ใชทําเอง หรือใครทําใหก็เกิดขึ้นได ก็ตาม, แมสุขและทุกขที่พวกเขาบัญญั ตินั้น ก็ยังตองอาศัย ผัสสะเปนปจจัย จึงเกิดมีได อยูนั่นเอง.

www.buddhadasa.info ดู ก อนอานนท ! ในบรรดาสมณพราหมณ ที่ กล าวสอนเรื่ องกรรมทั้ งสี่ พวกนั้ น: สมณพราหณ ที่ กล าวสอนเรื่ องกรรมพวกใด ย อมบั ญญั ติ สุ ขและทุ กข ว าเป นสิ่ งที่ ตนทํ า เอาด วยตนเอง; สมณพราหมณ พวกนั้ นหนา เว นผั สสะเสี ยแล ว จะรูสึ กต อสุ ขและทุ กข นั ้น ได ดัง นั ้น หรือ : นั ่น ไมใ ชฐ านะที ่จ ัก มีไ ด; ถึง แมส มณ พราหณ ที ่ก ลา วสอน เรื่องกรรมพวกใด ยอมบัญญัติสุขและทุกข วาเปนสิ่งที่ผูอื่นทําใหก็ตาม; สมณพราหมณ

www.buddhadasa.info


๑๖๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๔

พวกนั้ น หนา เว น ผั ส สะเสี ย แล ว จะรู สึ ก ต อ สุ ข และทุ ก ข นั้ น ได ดั ง นั้ น หรื อ : นั่ น ไม ใช ฐ านะที่ จั ก มี ได ; ถึ งแม ส มณพราหณ ที่ ก ล าวสอนเรื่ อ งกรรมพวกใด ย อ มบั ญ ญั ติ สุขและทุ กข วาเปนสิ่งที่ตนทําเอาดวยตนเองดวย ผูอื่นทําใหดวย ก็ตาม, สมณพราหมณ พวกนั้ น หนา เว น ผั ส สะเสี ย แล ว จะรู สึ ก ต อ สุ ข และทุ ก ข นั้ น ได ดั ง นั้ น หรื อ : นั่ น ไม ใช ฐ านะที่ จั ก มี ได ; ถึ งแม ส มณพราหณ ที่ ก ล าวสอนเรื่ อ งกรรมพวกใด ย อ มบั ญ ญั ติ สุขและทุกข วาไมใชทําเองหรือใครทําใหก็เกิดขึ้นได ก็ตาม, สมณพราหมณ พวกนั้นหนา เว น ผั ส สะเสี ย แล ว จะรู สึ ก ต อ สุ ข และทุ ก ข นั้ น ได ดั ง นั้ น หรื อ : นั่ น ไม ใ ช ฐ านะที่ จั ก มีได; ดู ก อนอานนท ! เมื่ อกาย (กายทวารที่ ทํ าหน าที่ อยู ด วยอวิ ชชา) ก็ ตาม มี อยู , สุ ขและทุ กข อันเป นภายใน ย อมบั งเกิดขึ้น เพราะกายสั ญเจตนา (ความจงใจ ที่เปนไปทางกาย) เปนเหตุ. ดู ก อ นอานนท ! เมื่ อ วาจา (วจี ท วารที่ ทํ า หน า ที่ อ ยู ด ว ยอวิ ช ชา) ก็ ต าม มีอยู, สุขและทุกขอันเปนภายใน ยอมบั งเกิดขึ้น เพราะวจีสั ญ เจตนา (ความจงใจ ที่เปนไปทางวาจา) เปนเหตุ.

www.buddhadasa.info ดู ก อ นอานนท ! เมื่ อ มโน (มโนทวารที่ ทํ าหน าที่ อ ยู ด วยอวิ ช ชา) ก็ ต าม มีอยู, สุขและทุ กขอันเป นภายใน ยอมบั งเกิดขึ้น เพราะมโนสั ญเจตนา (ความจงใจ ที่เปนไปทางใจ) เปนเหตุ.

ดู ก อนอานนท ! เพราะอวิ ชชาเป นป จจั ยนั่ นเที ยว ธรรมชาติ ทางฝ ายจิ ต ยอมปรุงแตงใหเกิดกายสังขาร (อํานาจที่ทําใหเกิดการเปนไปทางกาย) ซึ่งเปนปจจัยให สุขและทุกขอันเปนภายในเกิดขึ้น, โดยตนเองบาง;

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ เกิดไดเสมอเปนประจําวัน

๑๖๑

ดู ก อนอานนท ! เพราะอวิ ชชาเป นป จจั ยนั่ นเที ยว ธรรมชาติ ทางฝ ายจิ ต ย อ มปรุ งแต งให เกิ ดกายสั งขาร ซึ่ งเป น ป จจั ยให สุ ขและทุ กข อั น เป น ภายในเกิ ดขึ้ น , โดยอาศัยการกระตุนจากผูอื่นบาง; ดู ก อนอานนท ! เพราะอวิ ชชาเป นป จจั ยนั่ นเที ยว ธรรมชาติ ทางฝ ายจิ ต ยอมปรุงแตงใหเกิดกายสังขาร ซึ่งเปนปจจัยใหสุขและทุกขอันเปนภายในเกิดขึ้น, โดย รูสึกตัวอยูบาง; ดู ก อนอานนท ! เพราะอวิ ชชาเป นป จจั ยนั่ นเที ยว ธรรมชาติ ทางฝ ายจิ ต ยอมปรุงแต งให เกิดกายสั งขาร ซึ่งเป นป จจัยให สุขและทุกขอันเป นภายในเกิดขึ้น, โดย ไมรูสึกตัวอยูบาง; ดู ก อนอานนท ! เพราะอวิ ชชาเป นป จจั ยนั่ นเที ยว ธรรมชาติ ทางฝ ายจิ ต ย อ มปรุ งแต งให เกิ ด วจี สั งขาร (อํ านาจที่ เกิ ดการเป นไปทางวาจา) ซึ่ งเป น ป จจั ยให สุขและทุกขอันเปนภายในเกิดขึ้น, โดยตนเองบาง;

www.buddhadasa.info ดู ก อนอานนท ! เพราะอวิ ชชาเป นป จจั ยนั่ นเที ยว ธรรมชาติ ทางฝ ายจิ ต ยอมปรุงแตงให เกิดวจีสั งขาร ซึ่งเป นป จจัยให สุขและทุกขอันเปนภายในเกิดขึ้น, โดย อาศัยการกระตุนจากผูอื่นบาง;

ดู ก อนอานนท ! เพราะอวิ ชชาเป นป จจั ยนั่ นเที ยว ธรรมชาติ ทางฝ ายจิ ต ยอมปรุงแตงให เกิดวจีสั งขาร ซึ่งเป นป จจัยให สุขและทุกขอันเปนภายในเกิดขึ้น, โดย รูสึกตัวอยูบาง;

www.buddhadasa.info


๑๖๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๔

ดู ก อนอานนท ! เพราะอวิ ชชาเป นป จจั ยนั่ นเที ยว ธรรมชาติ ทางฝ ายจิ ต ยอมปรุงแตงให เกิดวจีสั งขาร ซึ่งเป นป จจัยให สุขและทุกขอันเปนภายในเกิดขึ้น, โดย ไมรูสึกตัวอยูบาง; ดู ก อนอานนท ! เพราะอวิ ชชาเป นป จจั ยนั่ นเที ยว ธรรมชาติ ทางฝ ายจิ ต ย อ มปรุ ง แต งให เกิ ด มโนสั งขาร (อํ านาจที่ เกิ ด การเป น ไปทางใจ) ซึ่ งเป น ป จ จั ย ให สุขและทุกขอันเปนภายในเกิดขึ้น, โดยตนเองบาง; ดู ก อนอานนท ! เพราะอวิ ชชาเป นป จจั ยนั่ นเที ยว ธรรมชาติ ทางฝ ายจิ ต ยอมปรุงแตงใหเกิดมโนสังขาร ซึ่งเปนปจจัยใหสุขและทุกขอันเปนภายในเกิดขึ้น, โดย อาศัยการกระตุนจากผูอื่นบาง; ดู ก อนอานนท ! เพราะอวิ ชชาเป นป จจั ยนั่ นเที ยว ธรรมชาติ ทางฝ ายจิ ต ยอมปรุงแตงใหเกิดมโนสังขาร ซึ่งเปนปจจัยใหสุขและทุกขอันเปนภายในเกิดขึ้น, โดย รูสึกตัวอยูบาง;

www.buddhadasa.info ดู ก อนอานนท ! เพราะอวิ ชชาเป นป จจั ยนั่ นเที ยว ธรรมชาติ ทางฝ ายจิ ต ยอมปรุงแตงใหเกิดมโนสังขาร ซึ่งเปนปจจัยใหสุขและทุกขอันเปนภายในเกิดขึ้น, โดย ไมรูสึกตัวอยูบาง; ดูกอนอานนท! อวิชชา เปนตัวการ ที่แทรกแซงแลวในธรรมทั้งหลาย เหลานั้น. ดู ก อนอานนท ! เพราะความจางคลายดั บไปไม เหลื อแห งอวิชชานั้ นนั่ นเที ยว, กาย (กายทวารที่ทําหนาที่อยูดวยอวิชชา) นั้น ยอมไมมีเพื่อความเปนปจจัยใหสุขและทุกข อันเปนภายในเกิดขึ้น.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ เกิดไดเสมอเปนประจําวัน

๑๖๓

ดู ก อนอานนท ! เพราะความจางคลายดั บไปไม เหลื อแห งอวิชชานั้ นนั่ นเที ยว, วาจา (วจีทวารที่ทําหนาที่อยูดวยอวิชชา) นั้น ยอมไมมีเพื่อความเปนปจจัยใหสุขและทุกข อันเปนภายในเกิดขึ้น. ดู ก อนอานนท ! เพราะความจางคลายดั บไปไม เหลื อแห งอวิชชานั้ นนั่ นเที ยว, มโน (มโนทวารที่ทําหนาที่อยูดวยอวิชชา) นั้น ยอมไมมีเพื่อความเปนปจจัยใหสุขและทุกข อันเปนภายในเกิดขึ้น. ดู ก อนอานนท ! เพราะความจางคลายดั บไปไม เหลื อแห งอวิชชานั้ นนั่ นเที ยว, สัญเจตนา ในฐานะที่ เปนเขต (ที่เกิดที่งอกแหงสุขและทุ กขในภายใน) ก็ดี, ในฐานะที่ เป น วั ต ถุ (ที่ ตั้ งที่ อาศั ยแห งสุ ขและทุ กข ในภายใน) ก็ ดี , ในฐานะอายตนะ (ป จจั ย โดยตรงแห งสุ ขและทุ กข ในภายใน) ก็ ดี , ในฐานะที่ เป นอธิ กรณะ (เครื่องมื อกระทํ า ใหเกิดสุขและทุกขในภายใน) ก็ดี, ยอมไมมี เพื่อความเปนปจจัยใหสุขและทุกขอันเปน ภายในเกิดขึ้น, ดังนี้ แล.

www.buddhadasa.info อวิชชาสัมผัส คือตนเหตุอันแทจริงของปฏิจจสมุปบาท๑

ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย! สมณะหรือพราหมณ เหลาใดเหลาหนึ่ ง เมื่อสําคัญเห็น, ยอมสําคัญเห็นซึ่งอัตตา ,(ตน) มีอยางตาง ๆ : สมณพราหมณเหลานั้นทั้งหมด ยอม

สูตรที่ ๕ อัตตทีปวรรค ขันธสังยุตต ขนฺธ. สํ. ๑๗/๕๗/๙๔, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๑๖๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๔

สําคัญเห็นซึ่งอุปาทานขันธทั้ง 5 อยางนั้นบาง, หรือวา ยอมสําคัญเห็นซึ่งอุปาทานขันธ ขันธใด ขันธหนึ่ง ในบรรดาปญจุปาทานขันธเหลานั้นบาง (วาเปนอัตตา). ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! อุ ปาทานขั นธ ทั้ ง ๕ เป นอย างไรเล า? ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ในโลกนี้ ปุ ถุ ชนผู มิ ได สดั บ แล ว ไม เห็ นพระอริยเจ าทั้ งหลาย ไม ฉลาดใน ธรรมของพระอริยเจ า ไม ได รับ การแนะนํ าในธรรมของพระอริยเจ า, ไม เห็ นสั ป บุ รุ ษ ทั้ งหลาย ไม ฉ ลาดในธรรมของสั ป บุ รุ ษ ไม ได รั บ การแนะนํ า ในธรรมของสั ป บุ รุ ษ : (๑) เขายอมสําคัญเห็นซึ่งรูป โดยความเปนตนบาง, ยอมสําคัญเห็นซึ่งตนวามีรูปบาง, ย อมสํ าคั ญเห็ นซึ่ งรูปในตนบ าง, ย อมสํ าคั ญ เห็ นซึ่ งตนในรูปบ าง; (๒) เขาย อมสํ าคั ญ เห็นซึ่งเวทนา โดยความเปนตนบาง, ยอมสําคัญเห็นซึ่งตนวามีเวทนาบาง, ยอมสําคัญ เห็ น ซึ่ ง เวทนาในตนบ า ง, ย อ มสํ า คั ญ เห็ น ในเวทนาบ า ง; (๓) เขาย อ มสํ า คั ญ เห็ น ซึ่งสัญญา โดยความเปนตนบาง, ยอมสําคัญเห็นซึ่งตนวามีสัญญาบาง, ยอมสําคัญเห็น ซึ่ งสั ญญาในตนบ าง, ย อมสํ าคั ญเห็ นซึ่ งตนในสั ญญาบ าง; (๔) เขาย อมสํ าคั ญเห็ นซึ่ ง สังขารทั้งหลาย โดยความเปนตนบาง, ยอมสําคัญเห็นซึ่งตนวามีสังขารบาง, ยอมสําคัญ เห็น ซึ ่ง สัง ขารใน ต น บา ง, ยอ ม สํ า คัญ เห็น ซึ ่ง ต น ใน สัง ขารบา ง; (๕) เข า ยอมสําคัญเห็นซึ่งวิญญาณ โดยความเปนตนบาง, ยอมสําคัญเห็นซึ่งตนวามีวิญญาณบาง, ยอมสําคัญเห็นซึ่งวิญญาณในตนบาง, ยอมสําคัญเห็นซึ่งตนในวิญญาณบาง.

www.buddhadasa.info เปนอันวา การสําคัญเห็นดังที่กลาวมาแลวขางตนนี้ ยอมมีดวย, การถึงทับ จับฉวย (อธิคตํ) ของภิกษุนั้นวา "เรามีอยู" , ดังนี้ ก็มีดวย.

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เมื่อภิกษุนั้น ถึงทับจับฉวยวา "เรามีอยู (อสฺมีติ)" ดังนี้แลว ลําดับนั้น การกาวลงแหงอินทรียทั้งหลาย ๕ ประการ ยอมมีขึ้น; ไดแก อินทรียคือ ตา อินทรียคือหู อินทรียคือจมูก อินทรียคือลิ้น อินทรียคือกาย.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ เกิดไดเสมอเปนประจําวัน

๑๖๕

ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย! มโน มีอยู, ธรรมทั้ งหลาย มีอ ยู, อวิชชาธาตุ มีอยู. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เมื่อปุถุชนผูไมไดสดับแลว เปนผูอันเวทนาอันเกิด จากอวิชชาสัมผัสถูกตองแลว, ความถึงทับจับฉวย วา "เรามีอยู (อสฺมีติ)" ดังนี้บาง ยอมมี แก เขา : วา "นี้ เป นเรา (อยมหมสฺ มี ติ )" ดั งนี้ บ าง ย อมมี แก เขา: วา "เราจั กมี (ภวิสสํอิติ) “ ดังนี้บาง ยอมมีแกเขา : วา "เราจักไมมี (น ภวิสสํอิติ) “ ดังนี้บาง ยอมมี แก เขา : วา "เราจั กเป นสั ตวมี รูป (รูป ภวิสฺ สํ อิ ติ )" ดั งนี้ บ าง ย อมมี แก เขา : วา "เราจั ก เปนสัตวไมมีรูป (อรูป ภวิสฺสํอิติ)" ดังนี้บาง ยอมมีแกเขา วา "เราจักเปนสัตวมีสัญญา (สฺญี ภวิสฺสํอิติ) " ดังนี้บาง ยอมมีแกเขา วา "เราจักเปนสัตวฺไมมีสัญญา (อสฺ ภวิสฺสํอิติ)" ดังนี้บาง ยอมมีแกเขา : วา "เราจักเปนสัตวมีสัญญาก็ไมใชไมมีสัญญาก็ไมใช (เนวสฺญินาสฺญี ภวิสฺสํอิติ) " ดังนี้บาง ยอมมีแกเขา. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย อิ นทรี ย ทั้ งหลาย ๕ ประการ ย อมตั้ งอยู ในการ ถึงทับจับฉวยเหลานั้นนั่นเทียว. แตวา ในกรณีที่อวิชชา เปนสิ่งที่อริยสาวกผูไดสดับ ย อ มละเสี ย ได , วิช ชาย อ มเกิ ด ขึ้ น . เพราะการเกิ ด ขึ้ น แห งวิ ช ชา โดยการสํ ารอก ไม เหลื อ แห งอวิ ช ชา ของอริ ย สาวกนั้ น ความถึ งทั บ จั บ ฉวยว า "เรามี อ ยู " ดั งนี้ ก็ ดี ย อ มไม มี แ ก อ ริย สาวกนั้ น , ว า "นี้ เป น เรา" ดั งนี้ ก็ ดี ย อ มไม มี แ ก อ ริย สาวกนั้ น , ว า ”เราจั ก มี ” ดั งนี้ ก็ ดี ย อ มไม มี แก อ ริยสาวกนั้ น , วา "เราจั ก ไม มี " ดั งนี้ ก็ ดี ย อ มไม มี แกอ ริย สาวกนั ้น ; วา "เราจัก เปน สัต วม ีร ูป " ดัง นี ้ก ็ด ี ยอ มไมม ีแ กอ ริย สาวกนั ้น ; วา "เราจักเป นสั ตวไม มี รูป" ดังนี้ ก็ดี ยอมไม มี แกอริยสาวกนั้ น; วา "เราจักเป นสั ตว มีสัญญา" ดังนี้ก็ดี ยอมไมมีแกอริยสาวกนั้น; วา "เราจักเปนสัตวไมมีสัญญา" ดังนี้ ก็ ดี ย อ มไม มี แ ก อ ริย สาวกนั้ น ; วา "เราจั ก เป น สั ต วมี สั ญ ญาก็ ไม ใช สั ญ ญาก็ ไม ใช " ดังนี้ก็ดี ยอมไมมีแกอริยสาวกนั้น, ดังนี้ แล.

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๑๖๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๔

นามรูปกาวลง เมื่ออนุสัยกอขึ้น ๑ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย ถ าบุ คคลย อม คิ ด (เจเตติ ) ถึ งสิ่ งใดอยู , ย อมดํ าริ (ปกปฺ เปติ ) ถึ งสิ่ งใดอยู , และย อมมี จิ ตป กลงไป (อนุ เสติ ) ในสิ่ งใดอยู , สิ่ งนั้ น ย อม เปนอารมณ เพื่อการตั้งอยูแหงวิญญาณ. เมื่ออารมณ มีอยู, ความตั้งขึ้นเฉพาะแหง วิ ญ ญาณ ย อมมี , เมื่ อวิ ญ ญาณนั้ น ตั้ งขึ้ นเฉพาะ เจริญ งอกงามแล ว , การก าวลง แห งนามรูป ย อมมี . เพราะมี นามรูปเป นป จจั ย จึ งมี สฬายตนะ, เพราะมี สฬายตนะ เป น ป จ จั ย จึ งมี ผั ส สะ, เพราะมี ผั ส สะเป น ป จ จั ย จึ งมี เวทนา, เพราะมี เวทนาเป น ป จ จั ย จึ งมี ตั ณ หา, เพราะมี ตั ณ หาเป น ป จ จั ย จึ งมี อุ ป ทาน, เพราะมี อุ ป ทานเป น ป จจั ยจึงมี ภพ; เพราะมี ภพเป นป จจั ยจึ งมี ชาติ ; เพราะมี ชาติ เป นป จจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งเกิ ดขึ้ นครบถ วน : ความเกิ ดขึ้นพรอม แหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมีดวยอาการอยางนี้. ดูก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย ถาบุ คคลยอมไม คิ ดถึ งสิ่งใด, ย อมไม ดํ าริถึ งสิ่งใด, แตเขายังมีใจฝงลงไป (คือมีอนุสัย) ในสิ่งใดอยู; สิ่งนั้น ก็ยังเปนอารมณ เพื่อการ ตั้ งอยู แห งวิ ญ ญาณ. เมื่ ออารมณ มี อยู , ความตั้ งขึ้ นเฉพาะแห งวิ ญ ญาณ ย อมมี ; เมื่ อวิญ ญาณนั้ น ตั้ งขึ้ นเฉพาะ เจริญ งอกงามแล ว, การก าวลงแห งนามรูป ย อมมี . เพราะมี นามรูปเป นป จจั ย จึ งมี สฬายตนะ, เพราะมี สฬายตนะเป นป จจัย จึ งมี ผั สสะ; เพราะมี ป สสะเป นป จจั ย จึ งมี เวทนา; เพราะมี เวทนาเป นป จจั ย จึ งมี ตั ณ หา, เพราะ มี ตั ณ หาเป น ป จ จั ย จึ ง มี อุ ป าทาน, เพราะมี อุ ป าทานเป น ป จ จั ย จึ ง มี ภ พ, เพราะ มีภพเปนปจจัย จึงมีชาติ, เพราะมีชาติเปนปจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะ-

www.buddhadasa.info

สูตรที่ ๙ กฬารขัตติยวรรค นิทานสังยุตต นิทาน. สํ. ๑๖/๗๙/๑๔๗, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ เกิดไดเสมอเปนประจําวัน

๑๖๗

โทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งเกิ ดขึ้ นครบถ วน : ความเกิ ดขึ้ นพรอมแห งกองทุ กข ทั้ งสิ้ นนี้ ยอมมีดวยอาการอยางนี้. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ก็ถาวา บุคคลยอมไมคิดถึงสิ่งใดดวย, ยอมไมดําริ ถึงสิ่งใดดวย, และทั้งยอมไม มี ใจฝงลงไป (คือไม มีอนุ สัย) ในสิ่งใดดวย, ในกาลใด, ในกาลนั้น สิ่งนั้น ยอมไมเปนอารมณ เพื่อการตั้งอยูแหงวิญญาณไดเลย. เมื่ออารมณ ไม มี , ความตั้ งขึ้ นเฉพาะแห งวิ ญ ญาณ ย อมไม มี , เมื่ อวิ ญ ญาณนั้ น ไม ตั้ งขึ้ นเฉพาะ ไม เจริญ งอกงามแล ว, การก าวลงแห งนามรูป ย อมไม มี . เพราะความดั บแห งนามรูป จึงมีความดับแหงสฬายตนะ; เพราะมี ความดับแหงสฬายตนะ จึงมีความดับแห งผัสสะ; เพราะมี ความดั บแห งผั สสะ จึ งมี ความดั บแห งเวทนา, เพราะมี ความดั บแห งเวทนา จึงมี ความดั บแห งตั ณ หา; เพราะมี ความดั บแห งตั ณ หา จึ งมี ความดั บแห งอุ ปาทาน; เพราะมี ความดั บแห งอุ ปาทาน จึ งมี ความดั บแห งภพ; เพราะมี ความดั บแห งภพ จึ งมี ความดั บแห งชาติ ; เพราะมี ความดั บแห งชาติ นั่ นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งดั บสิ้ น : ความดั บลงแห งกองทุ กข ทั้ งสิ้ นนี้ ย อมมี ด วย อาการอยางนี้, ดังนี้ แล.

www.buddhadasa.info ตัณหาเกิดขึ้น เมื่ออนุสัยกอขึ้น๑

ดู ก อ นภิ กษุ ทั้ งหลาย! ถ าบุ ค คลย อ มคิ ด (เจเตติ ) ถึ งสิ่ งใดอยู , ย อ มดํ าริ (ปกปฺเปติ) ถึงสิ่งใดอยู, และยอมมีใจฝงลงไป (อนุเสติ) ในสิ่งใดอยู, สิ่งนั้น ยอม

สูตรที่ ๑๐ กฬารขัตติวรรค นิทานสังยุตต นิทาน.สํ. ๑๖/๘๐/๑๔๙, ตรัสภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๑๖๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๔

เป นอารมณ เพื่ อการตั้ งอยู แห งวิ ญ ญาณ. เมื่ ออารมณ มี อยู . ความตั้ งขึ้ นเฉพาะแห ง วิญ ญาณย อมมี , เมื่ อวิ ญ ญาณนั้ นตั้ งขึ้ นเฉพาะ เจริญ งอกงามแล ว, เครื่ องนํ าไปสู ภพใหม (นติ = ตัณหา) ยอมมี; เมื่อเครื่องนําไปสูภพใหม มี, การมาการไป (อาคติคติ) ย อ มมี , เมื่ อ การมาการไปมี , การเคลื่ อ นและการบั งเกิ ด (จุ ติ +อุ ป ะปาตะ) ย อ มมี ; เมื่ อการเคลื่ อนและการบั งเกิ ด มี , ชาติ ชรามรณะ โสกะปริ เทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาส ทั้ งหลาย จึ งเกิ ด ขึ้ น ครบถ วนต อ ไป : ความเกิ ด ขึ้ น พร อมแห งกองทุ ก ข ทั้ งสิ้ น นี้ ย อ มมี ดวยอาการอยางนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ถ าบุ คคลย อมไม คิ ดถึ งสิ่ งใด, ย อมไม ดํ าริ ถึ งสิ่ งใด, แต เขายั ง มี ใ จป ก ลงไปในสิ่ ง ใดอยู , สิ่ ง นั้ น ย อ มเป น อารมณ เพื่ อ การตั้ ง อยู แ ห ง วิ ญญาณ. เมื่ ออารมณ มี อยู , ความตั้ งขึ้ นเฉพาะแห งวิ ญญาณ ย อมมี ; เมื่ อวิ ญญาณนั้ น ตั้งขึ้นเฉพาะ เจริญ งอกงามแลว, เครื่องนํ าไปสู ภพใหม (เนติ =ตั ณ หา) ยอมมี , เมื่ อเครื่ องนํ าไปสู ภ พใหม มี , การมาการไป (อาคติ คติ ) ย อมมี , เมื่ อการมาการไป มี , การเคลื่ อนและการบั งเกิ ด (จุ ติ +อุ ปปาตะ) ย อมมี , เมื่ อการเคลื่ อนและการบั งเกิ ด มี , ชาติ ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งเกิ ดขึ้ นครบถ วนต อไป : ความเกิดขึ้นพรอมแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้.

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ ถ าว า บุ คคลย อมไม คิ ดถึ งสิ่ งใดด วย , ย อมไม ดํ าริ ถึ ง สิ่ ง ใดด ว ย, และย อ มไม มี ใจฝ ง ลงไป (คื อ ไม มี อ นุ สั ย ) ในสิ่ ง ใดด ว ย, ในกาลใด; ในกาลนั้ น สิ่ งนั้ น ย อมไม เป นอารมณ เพื่ อการตั้ งอยู แห งวิ ญญาณได เลย. เมื่ ออารมณ ไม มี , ความตั้ งขึ้ นเฉพาะแห งวิ ญ ญาณ ย อมไม มี , เมื่ อวิ ญ ญาณนั้ น ไม ตั้ งขึ้ นเฉพาะ ไมเจริญงอกงามแลว , เครื่องนําไปสูภพใหม (เนติ=ตัณหา) ยอมไมมี, เมื่อเครื่องนํา ไปสูภพใหม ไมมี, การมาการไป (อาคติคติ) ยอมไมมี; เมื่อการมาการไป ไมมี,

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ เกิดไดเสมอเปนประจําวัน

๑๖๙

การเคลื่ อนและการบั งเกิ ด (จุ ติ +อุ ปปาตะ) ย อมไม มี , เมื่ อการเคลื่ อนและการบั งเกิ ด ไม มี , ชาติ ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลายต อไป จึงดั บสิ้ น : ความดับลงแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้ , ดังนี้ แล.

ภพใหมเกิดขึ้น เมื่ออนุสัยกอขึ้น๑ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ถ าบุ คคลย อมคิ ด (เจเตติ ) ถึ งสิ่ งใดอยู , ย อมดํ าริ (ปกปฺเปติ) ถึงสิ่งใดอยู, และยอมมีจิตฝงลงไป (อนุเสติ) ในสิ่งใดอยู ,๒ สิ่งนั้น ยอม เป นอารมณ เพื่ อการตั้ งอยู แห งวิ ญ ญาณ. เมื่ อารมณ มี อยู , ความตั้ งขึ้ นเฉพาะแห ง วิญญาณ ยอมมี, เมื่อวิญญาณนั้น ตั้งขึ้นเฉพาะ เจริญงอกงามแลว, ความเกิดขึ้นแหง ภพใหมต อ ไป ยอ มมี, เมื ่อ ความเกิด ขึ้น แหง ภพใหมต อ ไป มี, ชาติช รามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งเกิ ดขึ้ นครบถ วนต อไป : ความเกิ ดขึ้ น พรอมแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ถ าบุ คคลย อมไม คิ ด (โน เจเตติ ) ถึ งสิ่ งใด, ย อมไม ดําริ (โน ปกปฺเปติ) ถึงสิ่งใด, แตเขายังมีใจฝงลงไป (อนุเสติ) ในสิ่งใดอยู, สิ่งนั้น

www.buddhadasa.info ๑

สูตรที่ ๘ กฬารขัตติยวรรค นิทานสังยุตต นิทาน.สํ.๑๖/๗๘/๑๔๕, ตรัสแกภิกษุทั้งหลายที่เชตวัน ๒ คํ าวา "มี จิ ตฝ งลงไปในสิ่ งใด" ถอดศั พท ออกมาจากคํ าว า อนุ เสติ ซึ่ งแปลว านอนตาม กล าวคื อ อาการ แห งอนุ สั ยตามหลั กบาลี ฉฉั กกสู ตร อุ ป ริ . ม.๑๔/๕๑๗/๘๒๒, ซึ่ งมี อยู ว าเมื่ อเสวยสุ ขเวทนา แล วเพลิ ด เพลิ น ยิ น ดี ก็ ก อราคานุ สั ย, เมื่ อเสวยทุ กขเวทนา แล วเศร าโศกเสี ยใจร่ํ าไร ก็ ก อ ปฏิ ฆ านุ สั ย, เมื่ อเสวย อทุ กขมสุขเวทนา แลวหลงไมรูตามเป นจริง ก็กออวิชชานุสัย, ขอนี้หมายความวา เมื่ อจิ ตกระทํ าอาการ "อนุ เสติ" ในสิ่งใด ยอมหมายถึงการกออนุ สัยในสิ่งนั้ น ตามชื่ อแห งอนุสัยนั้ น ๆ จึงสามารถก อภพใหม ได , ไม เหมื อ นกั บ คํ าว า เจเตติ ห รื อปกปฺ เปติ : ตามลํ าพั งความคิ ดและความดํ าริ ล วน ๆ ย อมไม อาจจะก อ ภพใหม เวนได แต จะเป นไปแรงกลาจนถึงขนาดจิตฝ งตั วลงไปในอารมณ ใด จึงจะมี วิญญาณที่ สามารถก อ ภพใหมได. - คําอธิบายของผูรวบรวม.

www.buddhadasa.info


๑๗๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๔

ย อมเป นอารมณ เพื่ อการตั้ งอยู แห งวิญญาณ. เมื่ ออารมณ มี อยู , ความตั้ งขึ้ นเฉพาะ แหงวิญญาณ ยอมมี, เมื่อวิญญาณนั้น ตั้งขึ้นเฉพาะ เจริญงอกงามแลว , ความเกิดขึ้น แหงภพใหมตอไป ยอมมี; เมี่อความเกิดขึ้นแหงภพใหมตอไป มี, ชาติชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย ย อมเกิ ดขึ้นครบถ วนต อไป : ความเกิ ดขึ้ น พรอมแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้. ดูกนอภิกษุ ทั้ งหลาย ก็ถาวา บุ คคลยอมไมคิดถึงสิ่งใดดวย, ยอมไมดําริถึง สิ่งใดดวย , และยอมไมมีใจฝงลงไป (โน อนุเสติ) ในสิ่งใดดวย, ในกาลใด, ในกาล นั้ น สิ่ งนั้ น ย อมไม เป นอารมณ เพื่ อการตั้ งอยู แห งวิญญาณได เลย. เมื่ ออารมณ ไม มี , ความตั้งขึ้นเฉพาะแหงวิญญาณ ยอมไมมี ; เมื่ อวิญญาณนั้น ไม ตั้งขึ้นเฉพาะ ไมเจริญ งอกงามแลว , ความเกิดขึ้นแหงภพใหมตอไป ยอมไมมี, เมื่อความเกิดขึ้นแหงภพใหม ต อไป ไม มี , ชาติ ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลายต อไป จึ งดั บสิ้ น : ความดับลงแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้ , ดังนี้ แล.

การหยั่งลงแหงวิญญาณเกิดมีขึ้น เมื่อเห็นสัญโญชนิยธรรมโดยความเปนอัสสาทะ๑

www.buddhadasa.info ดูกอนภิกษุทั้งหลาย เมื่อภิกษุเปนผูมีปรกติเห็นโดยความเป นอัสสาทะ (น ารั ก น ายิ น ดี ) ในธรรมทั้ งหลาย อั น เป น ที่ ตั้ งแห งสั งโยชน ๒อยู , การหยั่ งลงแห ง วิญญาณ ยอมมี. เพราะมีวิญญาณเปนปจจัย จึงมีนามรูป, เพราะมีนามรูปเปนปจจัย จึงมีสฬายตนะ; เพราะมีสฬายตนะเปนปจจัย จึงมีผัสสะ; เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมี

สูตรที่ ๙ ทุกขวรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน . สํ. ๑๖/๑๐๙/๒๒๐. ตรัสแกภิกษุทั้งหลายที่เชตวัน. ๒ ดู ธ รรมอั น เป น ที่ ตั้ ง แห ง สั ง โยชน (สั ญ โญชนิ ย ธรรม) ในหมวดที่ ๓ แห ง หั ว ข อ ว า "นามรู ป หยั่ ง ลง

เพราะเห็นสัญโญชนิยธรรมโดยความเปนอัสสาทะ".

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ เกิดไดเสมอเปนประจําวัน

๑๗๑

เวทนา; เพราะมี เวทนาเป นป จจั ย จึ งมี ตั ณหา; เพราะมี ตั ณหาเป นป จจั ย จึ งมี อุ ปาทาน; เพราะมี อุ ปาทานเป นป จจั ย จึ งมี ภพ; เพราะมี ภพเป นป จจั ย จึ งมี ชาติ ; เพราะมี ชาติ เป นป จจั ย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งเกิ ดขึ้ นครบถ วน : ความเกิดขึ้นพรอมแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย เปรียบเหมื อนต นไม ใหญ มี รากดิ่ งลงไปเบื้ องล างด วย มี ร ากแผ ไปรอบ ๆ ด ว ยรากทั้ ง หลายเหล า นั้ น ล ว นแต ดู ด สิ่ ง โอชะขึ้ น ไปเบื้ อ งบน. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เมื่อเปนอยางนี้ ตนไมใหญ ซึ่งมีอาหารอยางนั้น มีเครื่องหลอเลี้ยง อย างนั้ น พึ งตั้ งอยู ได ตลอดกาลยาวนาน, ข อ นี้ ฉั น ใด, ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย ข อ นี้ ก็ ฉั นนั้ น : เมื่ อภิ กษุ เป นผู มี ปรกติ เห็ นโดยความเป นอั สสทะ (น ารักน ายิ นดี ) ในธรรม ทั้ งหลาย อั น เป น ที่ ตั้ ง แห งสั งโยชน อ ยู , การหยั่ ง ลงแห งวิ ญ ญาณย อ มมี . เพราะมี วิ ญญาณเป นป จจั ย จึ งมี นามรูป; เพราะมี นามรูปเป นป จจั ยจึ งมี สฬายตนะ; เพราะมี สฬายตนะเป น ป จ จั ย จึ งมี ผั ส สะ, เพราะมี ผั ส สะเป น ป จ จั ย จึ งมี เวทนา, เพราะมี เวทนาเป น ป จ จั ย จึ งมี ตั ณ หา, เพราะมี ตั ณ หาเป น ป จ จั ย จึ งมี อุ ป าทาน; เพราะมี อุปาทานเป นป จจัย จึงมี ภพ; เพราะมี ภพเป นป จจัย จึงมีชาติ; เพราะมี ชาติ เป นป จจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งเกิ ดขึ้ นครบถ วน : ความเกิ ด ขึ้นพรอมแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้.

www.buddhadasa.info การหยั่งลงแหงวิญญาณไมมี เพราะเห็นสัญโญชนิยธรรมโดยความเปนอาทีนวะ๑

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย เมื่อภิกษุเปนผูมีปรกติเห็นโดยความเปนอาทีนวะ (โทษอันต่ําทราม) ในธรรมทั้งหลาย อันเปนที่ตั้งแหงสังโยชนอยู, การหยั่งลงแหง

สูตรที่ ๙ ทุกขวรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน.สํ.๑๖/๑๑๐/๒๒๒, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๑๗๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๔

วิญญาณ ย อมไม มี . เพราะความดั บแห งวิญญาณ จึงมี ความดั บแห งนามรูป; เพราะมี ความดั บแห งนามรู ป จึ งมี ความดั บแห งสฬายตนะ, เพราะมี ความดั บแห งสฬายตนะ จึ งมี ความดั บแห งผั สสะ, เพราะมี ความดั บแห งผั สสะ จึ งมี ความดั บแห งเวทนา; เพราะมี ความดั บแห งเวทนา จึ งมี ความดั บแห งตั ณหา; เพราะมี ความดั บแห งตั ณหา จึ งมี ความ ดั บ แห งอุ ป าทาน, เพราะมี ค วามดั บ แห งอุ ป าทาน จึ งมี ค วามดั บ แห งภพ, เพราะมี ความดั บแห งภพ จึ งมี ความดั บแห งชาติ ; เพราะมี ความดั บแห งชาติ นั่ นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งดั บสิ้ น : ความดั บลงแห งกองทุ กข ทั้ งสิ้ นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เปรียบเหมื อนต นไม ใหญ มี อยู . ลํ าดั บนั้ น บุ รุษพึ งถื อ เอาจอบและตะกรามาแล ว บุ รุษนั้ นพึ งตั ดต นไม นั้ นที่ โคน ครั้นตั ดที่ โคนแล ว พึ งขุ ดเซาะ; ครั้น ขุ ดเซาะแล ว พึ งรื้ อขึ้ นซึ่ งรากทั้ งหลาย แม ที่ สุ ดเพี ยงเท าก านแฝก. บุ รุ ษ นั้ น ตั ด ต นไม นั้ นเป นท อนน อยท อนใหญ ครั้นตั ดเป นท อนน อยท อนใหญ แล ว พึ งผ า, ครั้นผ า แล ว พึ งกระทํ าให เป นซี ก ๆ , ครั้นกระทํ าให เป นซี ก ๆ แล ว พึ งผึ่ งให แห งในลมและแดด, ครั้ นผึ่ งให แห งในลมและแดดแล ว ย อมเผาดวยไฟ; ครั้ นเผาด วยไฟแล ว พึ งกระทํ าให เป นขี้ เถ า; ครั้ นกระทํ าให เป นขี้ เถ าแล ว ย อมโปรยไปตามลมอั นพั ดจั ด หรือว าพึ งให ลอย ไปในกระแสน้ํ า อั น เชี่ ย ว. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ด วยการกระทํ า อย า งนี้ แ ล ต น ไม ใหญ นั้ น ก็ จะพึ งเป นต นไม มี รากอั นขาดแล ว เหมื อนต นตาลที่ ถู กทํ าลายแล วที่ ขั้ วแห งยอด ถึ งแล วซึ่ งความไม มี ไม เป น มี ความไม งอกอี กต อ ไปเป นธรรมดา, ข อ นี้ ฉั นใด; ดู ก อ น ภิ กษุ ทั้ งหลาย! ข อนี้ ก็ ฉั นนั้ น : เมื่ อภิ กษุ เป นผู มี ปรกติ เห็ นโดยความเป นอาที นวะ (โทษ อั นต่ํ าทราม) ในธรรมทั้ งหลายอั นเป นที่ ตั้ งแห งสั งโยชน อยู , การหยั่ งลงแห งวิ ญ ญาณ ย อมไม มี . เพราะความดั บแห งวิ ญ ญาณ จึ งมี ความดั บแห งนามรู ป; เพราะมี ความดั บ แหงนามรูป จึงมีความดับแหงสฬายตนะ : เพราะมีความดับแหงสฬายตนะ จึงมีความดับ

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ เกิดไดเสมอเปนประจําวัน

๑๗๓

แห งผั สสะ, เพราะมี ความดั บแห งผั สสะ จึ งมี ความดั บแห งเวทนา, เพราะมี ความดั บ แห งเวทนา จึ งมี ความดั บแห งตั ณ หา; เพราะมี ความดั บ แห งตั ณ หา จึ งมี ความดั บ แห ง อุ ป าทาน; เพราะมี ค วามดั บ แห ง อุ ป าทาน จึ ง มี ค วามดั บ แห ง ภพ; เพราะมี ความดั บแห งภพ จึ งมี ควมดั บแห งชาติ ; เพราะมี ความดั บแห งชาติ นั่ นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขะโทมนัสอุปายาสทั้ งหลายจึงดับสิ้ น : ความดับลงแห งกองทุกขทั้ งสิ้ นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้ , ดังนี้ แล.

การเกิดแหงโลก คือการเกิดแหงกระแสปฏิจจสมุปบาท ที่เกิดขึ้นในใจคน ทุกคราวไป๑ ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ก็ การเกิ ด ขึ้ น (สมุ ท โย) แห งโลก เป น อย างไรเล า (การเกิดขึ้นแหงโลก เปนอยางนี้คือ :-) เพราะอาศัยซึ่งจักษุดวย, ซึ่งรูปทั้งหลายดวย, จึงเกิดจักขุวิญญาณ; การ ประจวบพรอมแห งธรรม ๓ ประการ (จั กษุ +รูป+จั กษุ วิ ญญาณ) นั่ นคื อผั สสะ; เพราะ มี ผั ส สะเป น ป จ จั ย จึ งมี เวทนา; เพราะมี เวทนาเป น ป จ จั ย จึ งมี ตั ณ หา; เพราะมี ตั ณ หาเป น ป จจั ย จึ งมี อุ ป าทาน; เพราะมี อุ ป าทานเป น ป จ จั ย จึ งมี ภ พ, เพราะมี ภพเป น ป จ จั ย จึ งมี ช าติ ; เพราะมี ชาติ เป น ป จ จั ย , ชรามรณะ โสกะปริ เทวะทุ ก ขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถวน : นี้ คือการเกิดขึ้นแหงโลก.

www.buddhadasa.info

สูตรที่ ๔ โยคักเขมิวรรค สฬายตนสังยุตต สฬา.สํ.๑๘/๑๐๘/๑๕๖, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย.

www.buddhadasa.info


๑๗๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๔

เพราะอาศัยซึ่งโสตะดวย, ซึ่งเสียงทั้งหลายดวย, จึงเกิดโสตวิญญาณ;การ ประจวบพร อ มแห ง ธรรม ๓ ประการ (โสตะ+เสี ย ง+โสตวิ ญ ญาณ) นั่ น คื อ ผั ส สะ; เพราะมีผ ัส สะเปน ปจ จัย จึง มีเ วทนา, เพราะมีเ วทนาเปน ปจ จัย จึง มีต ัณ หา; …ฯลฯ... เพราะมี ชาติ เป น ป จ จั ย , ชรามรณะ โสกะปริ เทวะทุ ก ขโทมนั ส อุ ป ายาส ทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถวน: นี้ คือการเกิดขึ้นแหงโลก. เพราะอาศั ยซึ่งฆานะด วย, ซึ่ งกลิ่ นทั้ งหลายด วย, จึงเกิดฆานวิญ ญาน; การประจวบพรอมแห งธรรม ๓ ประการ (ฆานะ + กลิ่ น + ฆานวิ ญญาณ) นั่ นคื อ ผั สสะ เพราะมี ผัสสะเป นป จจั ย จึงมี เวทนา; เพราะมี เวทนาเป นป จจัย จึงมี ตั ณหา...ฯลฯ... เพราะมีชาติเปนป จจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขโทมนั สอุปายาสทั้ งหลาย จึงเกิด ขึ้นครบถวน : นี้ คือการเกิดขึ้นแหงโลก เพราะอาศัย ซึ ่ง ชิว หาดว ย, ซึ ่ง รสทั ้ง หลาย จึง เกิด ชิว หาวิญ ญาณ; การประจวบพร อมแห งธรรม ๓ ประการ (ชิ วหา + รส + ชิ วหาวิ ญ ญาณ) นั่ นคื อผั สสะ เพราะมี ผัสสะเป นป จจัย จึ งมี เวทนา; เพราะมี เวทนาเป นป จจัย จึงมี ตั ณหา ;...ฯลฯ.. เพราะมีชาติเป นป จจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโมทนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิด ขึ้นครบถวน : นี้ คือการเกิดขึ้นแหงโลก

www.buddhadasa.info เพราะอาศัยซึ่งกายดวย, ซึ่งโผฏฐัพพะทั้งหลายดวย จึงเกิดกายวิญญาณ; การประจวบพรอมแห งธรรม ๓ ประการ (กาย + โผฏฐั พพะ + กายวิ ญญาณ) นั่ นคื อผั สสะ; เพราะมีผ ัส สะเปน ปจ จัย จึง มีเ วทนา; เพราะมีเวทนาเปน ปจ จัย จึง มีต ัณ หา ; ...ฯลฯ... เพราะมี ช าติ เป น ป จ จั ย , ชรามรณะ โสกปริเทวะทุ ก ขะโมมนั ส อุ ป ายาส ทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถวน : นี้ คือการเกิดขึ้นแหงโลก

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ เกิดไดเสมอเปนประจําวัน

๑๗๕

เพราะอาศั ยซึ่งมโนด วย, ซึ่งธั มมารมณ ทั้ งหลายดวย, จึงเกิ ดมโนวิญญาณ; การประจวบพร อมแห งธรรม ๓ ประการ (มโน + ธั ม มารมณ + มโนวิ ญ ญาณ) นั่ นคื อ ผั ส สะ; เพราะมี ผั ส สะเป น ป จ จั ย จึ ง มี เ วทนา; เพราะมี เวทนาเป น ป จ จั ย จึ ง มี ตัณ หา; เพราะมีต ัณ หาเปน ปจ จัย จึง มีอ ุป าทาน; เพราะมีอ ุป าทานเปน ปจ จัย จึ ง มี ภ พ; เพราะมี ภ พเป น ป จ จั ย จึ ง มี ช าติ ; เพราะมี ช าติ เป น ป จ จั ย , ชรามรณะ โสกะปริ เทวะทุ ก ขะโทมนั ส อุ ป ยาสทั้ งหลาย จึ งเกิ ด ขึ้ น ครบถ ว น: นี้ คื อ การเกิ ด ขึ้ น แหงโลก. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เหลานี้แล คือการเกิดขึ้นแหงโลก.

การดับแกโลก คือการดับแหงกระแสปฏิจจสมุปทาท ที่ดับลงในใจคน ทุกคราวไป๑ ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย ก็ ก ารดั บ ลง (อตฺ ถ งฺ ค โม) แห งโลก เป น อย างไรเล า ? (การดับลงแหงโลก เปนอยางนี้คือ:- )

www.buddhadasa.info เพราะอาศั ย ซึ่ ง จั ก ษุ ด ว ย, ซึ่ ง รู ป ทั้ ง หลายด ว ย จึ ง เกิ ด จั ก ขุ วิ ญ ญาณ; การประจวบพร อมแห งธรรม ๓ ประการ (จั กษุ + รู ป + จั กษุ วิ ญ ญาณ) นั่ น คื อ ผั ส สะ เพราะมี ผั สสะเป น ป จจั ย จึ งมี เวทนา เพราะมี เวทนาเป น ป จจั ย จึ งมี ตั ณ หา. เพราะ ความจางคลายดับไปไมเหลือแหงตัณหานั้นนั่นแหละ, จึงมีความดับ

สูตรที่ ๔ โยคักเขมิวรรค สฬายตนสังยุตต สฬา.สํ. ๑๘/๑๐๘/๑๕๗, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย.

www.buddhadasa.info


๑๗๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๔

แห งอุปาทาน; เพราะมี ความดั บแห งอุปาทาน จึงมี ความดั บแห งภพ; เพราะมี ความดั บ แห งภพ จึ งมี ความดั บแห งชาติ ; เพราะมี ความดั บแห งชาติ นั่ นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปยาสทั้ งหลาย จึ งดั บสิ้ น: ความดั บแห งกองทุ กข ทั้ งสิ้ นนี้ ย อมมี ดวยอาการอยางนี้ นี้ คือการดับลงแหงโลก เพราะอาศั ยซึ่งโสตะด วย, ซึ่ งเสี ยงทั้ งหลายด าน จึ งเกิ ดโสตวิญ ญาณ; การประจวบพรอมแห งธรรม ๓ ประการ (โสตะ + เสี ยง + โสตวิ ญ ญาณ) นั่ นคื อผั สสะ; เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมีเวทนา; เพราะมี เวทนาเปนปจจัย จึงมีตัณหา. เพราะ ค ว า ม จ า ง ค ล า ย ดั บ ไ ป ไ ม เ ห ลื อ ตั ณ ห า นั ้ น นั ่ น แ ห ล ะ , จึ ง มี ค ว า ม ดั บ อุปาทาน; ...ฯลฯ... นี้ คือการดับลงแหงโลก เพราะอาศั ยซึ่ งฆานะด วย, ซึ่ งกลิ่ น ทั้ งหลายด วย, จึ งเกิ ดฆานวิ ญ ญาน; การประจวบพรอมแห งธรรม ๓ ประการ (ฆานะ + กลิ่ น + ฆานวิ ญญาณ) นั่ นคื อ ผั สสะ; เพราะมี ผั สสะเป นป จจั ย จึ งมี เวทนา; เพราะมี เวทนาเป นป จจั ย จึ งมี ตั ณ หา. เพราะ ค ว า ม จ า ง ค ล า ย ดั บ ไ ป ไ ม เ ห ลื อ ตั ณ ห า นั ้ น นั ่ น แ ห ล ะ , จึ ง มี ค ว า ม ดั บ แห ง อุปาทาน; ...ฯลฯ... นี้ คือการดับลงแหงโลก

www.buddhadasa.info เพราะอาศั ยซี่ งชิ วหาด วย ซึ่ งรสทั้ งหลายด วย จึ งเกิ ดชิ วหาวิ ญ ญาณ; การประจวบพรอมแห งธรรม ๓ ประการ (ชิ วหา + รส + ชิ วหาวิ ญ ญาณ) นั่ นคื อผั สสะ; เพราะมี ผั สสะเป นป จจัย จึงมี เวทนา; เพราะมี เวทนาเป นป จจัย จึงมี ตั ณหา. เพราะ ความจางคลายดั บ ไปไม เ หลื อ แห ง ตั ณ หานั ้ น นั ่ น แหละ, จึ ง มี ค วามดั บ แหงอุปทาน;...ฯลฯ... นี้คือการดับลงแหงโลก

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ เกิดไดเสมอเปนประจําวัน

๑๗๗

เพราะอาศัยซึ่งกายดวย ซึ่งโผฏฐัพพะทั้งหลายดาน จึงเกิดกายวิญญาณ; การประจวบพร อมแห งธรรม ๓ ประการ (กาย + โผฏฐั พ พะ + กายวิ ญ ญาณ) นั่ นคื อ ผั ส สะ; เพราะมี ผั ส สะเป น ป จ จั ย จึ ง มี เวทนา; เพราะมี เวทนาเป น ป จ จั ย จึ ง มี ตั ณ หา. เพราะความจางคลายดั บ ไปไม เ หลื อ แห ง ตั ณ หานั้ น นั่ น แหละ, จึงมีความดับแหงอุปาทาน;...ฯลฯ... นี้ คือการดับลงแหงโลก. เพราะอาศัยซึ่งมโนดวย, ซึ่งธัมมารมณ ทั้งหลายดวย, จึงเกิดมโนวิญญาณ; การประจวบพรอมแห งธรรม ๓ ประการ (มโน + ธั มมารมณ + มโนวิ ญ ญาณ) นั่ นคื อ ผั ส สะ; เพราะมี ผั ส สะเป น ป จ จั ย จึ ง มี เวทนา. เพราะมี เวทนาเป น ป จ จั ย จึ ง มี ตั ณ หา. เพราะความจายคลายดั บ ไปไม เ หลื อ แห ง ตั ณ หานั้ น นั่ น แหละ, จึ งมี ค วามดั บแห งอุ ป าทาน; เพราะมี ความดั บ แห งอุ ป าทาน จึ งมี ค วามดั บ แห งภพ; เพราะมี ค วามดั บ แห งภพ จึ งมี ค วามดั บ แห งชาติ ; เพราะมี ค วามดั บ แห งชาติ นั่ นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งดั บสิ้ น : ความดั บลงแห ง กองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้. นี้ คือการดับลงแหงโลก.

www.buddhadasa.info หมวดที่สี่ จบ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย เหลานี้แล คือการดับลงแหงโลก.

--------------------

www.buddhadasa.info


www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


หมวด ๕ วาดวย ปฏิจจสมุปบาท ซึ่งแสดงการเกิดดับ แหงกิเลสและความทุกข

www.buddhadasa.info

๑๗๙

www.buddhadasa.info


www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


กฏอิทัปปจจยตา: หัวใจปฏิจจสมุปบาท. อิมสฺมึ สติ อิทํ โหติ เมื่อสิ่งนี้ มี สิ่งนี้ ยอมมี อิมสฺสุปฺปาทา อิทํ อุปฺปชฺชติ เพราะความเกิดขึ้นแหงสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น. อิมสฺมมึ อสติ อิทํ น โหติ เมื่อสิ่งนี้ ไมมี สิ่งนี้ ยอมไมมี อิมสฺส นิโรธา อิทํ นิรุชฺฌติ เพราะความดับไปแหงสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงดับไป. (ม.ม. ๑๓/๓๕๕/๓๗๑, นิทาน. สํ. ๑๖/๘๔/๑๕๔,....)

www.buddhadasa.info ๑๘๑

www.buddhadasa.info


ลําดับเรื่องเฉพาะหมวด สําหรับปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ หมวดที่ ๕ วาดวย ปฏิจจสมุปบาทซึ่แสดงการเกิดดับ แหงกิเลสและความทุกข (มี ๑๕ เรื่อง) มีเรื่อง : ทรงแสดงอัตตวาทุปาทานในลักษณะแหงปฏิจจสมุปบาท—เวทนาใน ปฏิจ จสมุป บาทใหเกิด อนุสัย สาม--ปฏิจ จสมุป บาทแหง การเกิด สัง ขาร ๔ ประเภท-การดับตัณหาเสียไดกอนแตจะเกิดอุปาทาน—การสิ้นกรรมตามแบบของปฏิจจสมุปบาท --อายตนะยัง ไมทํา หนา ที่ปญ จุป าทานขัน ธก็ยัง ไมเ กิด --ปญ จุป าทานขัน ธเ พิ่ง จะมี เมื่อ เกิดเวทนาในปฏิจจสมุป บาท--การเกิด แหงโลกคือ การเกิด แหงปฏิจจสมุป บาท-ทุกขเกิดเพราะเห็นอุปาทานิยธรรมโดยความเปนอัสสาทะ—ทุกขเกิดเพราะเห็นสัญโญชนิย ธรรมโดยความเปน อัส สาทะ--แดนเกิด ดับ แหง ทุก ข - โรค-ชรามรณะ--การดับ แหงโลกคือการดับแหงปฏิจจสมุปบาท--ปฏิจจสมุปบาทที่ตรัสอยางเขาใจงายที่สุด -ทุกขดับเพราะเห็นอุปาทานิยธรรมโดยความเปนอาทีนวะ—ทุกขดับเพราะเห็นสัญโญชนิยธรรมโดยความเปนอาทีนวะ.

www.buddhadasa.info ๑๘๒

www.buddhadasa.info


ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ หมวดที่ ๕ วาดวย ปฏิจจสมุปบาทซึ่งแสดงการเกิดดับ แหงกิเลสและความทุกข -----------------

ทรงแสดงอัตตวาทุปาทานในลักษณะแหงปฏิจจสมุปบาท (ในธรรมวินัยนี้ มีการบัญญัติอุปาทานสี่ โดยสมบูรณ)๑

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! อุปาทานทั้งหลาย ๔ อยางเหลานี้ มีอยู, สี่อยาง เหลาไหนเลา? สี่อยางคือ กามุปาทาน ทิฏุปาทาน สีลัพพัตตุปาทาน อัตตวาทุปาทาน.

www.buddhadasa.info

จูฬสีหนาทสูตร มู.ม. ๑๒/๑๓๒, ๑๓๔/๑๕๖, ๑๕๗, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน. มีการเปรียบเทียบ ความสมบูรณ และไมสมบูรณ ระหวางธรรมวินัยนี้กับลัทธิภายนอก ทั้งในการบัญญัติธรรมและการ ประพฤติธรรม.

๑๘๓

www.buddhadasa.info


๑๘๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๕

ดู ก อ นภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณพราหมณ บ างพวก ปฏิ ญ าณว า เป น ผู ก ล าว ความรอบรูซึ่ งอุ ปาทานทั้ งปวง ปฏิ ญาณอยู , แต สมณพราหมณ เหล านั้ น หาได บั ญญั ติ ความรอบรูซึ่งอุ ป าทานทั้ งปวงโดยชอบไม กล าวคื อ บั ญ ญั ติ อ ยู แ ต ค วามรอบรูซึ่ ง กามุ ป าทาน หาบั ญ ญั ติ ความรอบรูซึ่ งทิ ฏ ุ ปาทาน ซึ่ งสี ลั พ พั ตตุ ปาทาน ซึ่ งอั ตตวาทุ ปาทานไม . ข อนั้ นเพราะเหตุ ไรเล า? ข อนั้ นเพราะสมณพราหมณ เหล านั้ น ย อมไม รู ฐานะ(อุปาทาน)ทั้งสามเหลานี้ตามที่เปนจริง... ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณพราหมณ บางพวก ปฏิ ญาณตั วว า เป นผู กล าว ความรอบรูซึ่ งอุ ปาทานทั้ งปวง ปฏิ ญาณอยู , แต สมณพราหมณ เหล านั้ น หาได บั ญญั ติ ความรอบรูซึ่งอุ ป าทานทั้ งปวงโดยชอบไม กล าวคื อ บั ญ ญั ติ อ ยู แ ต ค วามรอบรูซึ่ ง กามุปาทาน ซึ่งทิฏุปาทาน ...ฯลฯ... ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณพราหมณ บางพวก ปฏิ ญาณตั วว า เป นผู กล าว ความรอบรูซึ่ งอุ ปาทานทั้ งปวง ปฏิ ญาณอยู , แต สมณพราหมณ เหล านั้ น หาได บั ญญั ติ ความรอบรูซึ่งอุปาทานทั้งปวงโดยชอบไม กลาวคือ บัญญัติอยูแตความรอบรูซึ่งกามุ ปาทาน ซึ่งทิฏุปาทาน ซึ่งสีลัพพัตตุปาทาน ...ฯลฯ...

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ในธรรมวินั ย (อั นมี การบั ญญั ติ อุ ปาทานไม ครบถ วน ทั้ ง ๔ ประการ)เห็ นปานนี้ , ความเลื่ อมใสในพระศาสดาก็ ดี , ความเลื่ อมใสในธรรมก็ ดี , การกระทํ าให บริบู รณ ในศี ลก็ ดี , ความเป นที่ รักที่ พอใจกั นในหมู สหธัมมิ กก็ดี , เหลานี้ เราตถาคตกลา ววา ไมเ ปน ไปโดยชอบ. ขอ นั ้น เพราะเหตุไ รเลา ? ดูก อ นภิก ษุ ทั ้ง หลาย! ขอ นั ้น เพราะเหตุว า ความเลื ่อ มใสเปน ตน นั ้น เปน ไปในธรรมวิน ัย อันบุคคลกลาวไวชั่วแลว, อันบุคคลใหรูทั่วถึงอยางชั่วแลว, ไมเปนธรรมนํา

www.buddhadasa.info


วาดวยการเกิดดับแหงกิเลสและความทุกข

๑๘๕

สัตวออกจากทุกข, ไมเปนไปเพื่อความสงบรํางับ, มิใชเปนธรรมที่พระสัมมา สัมพุทธเจาประกาศแลว. ... ... ... ... ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ตถาคตอรหั นตสั มมาสั มพุ ทธเจ า เป นผู กล าวความ รอบรูซึ่ งอุ ปาทานทั้ งปวง ปฏิ ญาณอยู ,ย อมบั ญญั ติ ความรอบรูซึ่ งอุ ปาทานทั้ งปวงโดยชอบ คือ ยอมบัญญัติความรอบรูซึ่งกามุปาทาน ซึ่งทิฏุปาทาน ซึ่งสัลัพพัตตุปาทาน ซึ่งอัตตวาทุปาทาน. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย!ในธรรมวินั ย (ที่ มี การบั ญญั ติ อุ ปาทานครบถ วนทั้ ง ๔ ประการ) เห็ น ปานนี้ , ความเลื่ อ มใสในพระศาสดาก็ ดี , ความเลื่ อมใสในธรรมก็ ดี , การกระทํ า ให บริ บู รณ ในศี ลก็ ดี , ความเป นที่ รั กที่ พอใจกั นในหมู สหธั มมิ กก็ ดี , เหล านี้ เราตถาคต กล า วว า เป น ไปโดยชอบ. ข อ นั้ น เพราะเหตุ ไ รเล า ? ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ข อ นั้ น เพราะเหตุวา ความเลื่อมใสเปนตน นั้น เปนสิ่งที่เปนไปในธรรมวินัย อันเรากลาวดีแลว, อันเราใหรูทั่วถึงแลว, เปนธรรมนําสัตวออกจากทุกข, เปนไปพรอมเพื่อความ สงบรํางับ, เปนธรรมที่พระสัมมาสัมพุทธเจาประกาศแลว.

www.buddhadasa.info ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ก็อุปาทาน ๔ อยางเหลานี้ มีอะไรเปนเหตุใหเกิด (นิ ทาน)? มี อะไรเป นเครื่องก อให เกิ ด (สมุ ทย)? มี อะไรเป นเครื่ องกํ าเนิ ด (ชาติ ก)? มี อะไร เป นแดนเกิ ด (ปภว)? ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! อุ ปาทาน ๔ อย างเหล านี้ มี ตั ณหาเป นเหตุ ใหเกิด มีตัณหาเปนเครื่องกอใหเกิด มีตัณหาเปนเครื่องกําเนิด มีตัณหาเปนแดนเกิด.

www.buddhadasa.info


๑๘๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๕

ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ก็ ตั ณ หานี้ เล า มี อ ะไรเป น เหตุ ให เกิ ด ? มี อ ะไร เป น เครื่ อ งก อ ให เกิ ด ? มี อ ะไรเป น เครื่ อ งกํ า เนิ ด ? มี อ ะไรเป น แดนเกิ ด ? ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้งหลาย! ตัณหา มี เวทนาเป นเหตุ ให เกิด มีเวทนาเปนเครื่องกอใหเกิด มีเวทนาเป น เครื่องกําเนิด มีเวทนาเปนแดนเกิด. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ก็ เวทนานี้ เล า มี อ ะไรเป น เหตุ ให เกิ ด ? มี อ ะไร เป น เครื่ อ งก อ ให เกิ ด ? มี อ ะไรเป น เครื่ อ งกํ า เนิ ด ? มี อ ะไรเป น แดนเกิ ด ? ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! เวทนา มี ผั สสะเป นเหตุ ให เกิ ด มี ผั สสะเป นเครื่องก อให เกิ ด มี ผั สสะเป น เครื่องกําเนิด มีผัสสะเปนแดนเกิด. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ก็ ผั ส สะนี้ เล า มี อ ะไรเป น เหตุ ใ ห เกิ ด ? มี อ ะไร เป น เครื่ อ งก อ ให เกิ ด ? มี อ ะไรเป น เครื่ อ งกํ า เนิ ด ? มี อ ะไรเป น แดนเกิ ด ? ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ผั ส สะ มี ส ฬายตนะเป น เหตุ ใ ห เกิ ด มี ส ฬายตนะเป น เครื่ อ งก อ ให เกิ ด มีสฬายตนะเปนเครื่องกําเนิด มีสฬายตนะเปนแดนเกิด.

www.buddhadasa.info ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ก็ ส ฬายตนะานี้ เล า มี อ ะไรเป น เหตุ ให เกิ ด ? อะไรเป น เครื่ อ งก อ ให เกิ ด ? มี อ ะไรเป น เครื่ อ งกํ า เนิ ด ? มี อ ะไรเป น แดนเกิ ด ? ดู ก อ น ภิ กษุ ทั้ งหลาย! สฬายตนะ มี น ามรูป เป น เหตุ ให เกิ ด มี นามรูปเป นเครื่องก อให เกิ ด มีนามรูปเปนเครื่องกําเนิด มีนามรูปเปนแดนเกิด.

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ น ามรู ป นี้ เล า มี อ ะไรเป น เหตุ ให เกิ ด ? มี อะไร เป น เครื่ อ งก อ ให เกิ ด ? มี อ ะไรเป น เครื่ อ งกํ า เนิ ด ? มี อ ะไรเป น แดนเกิ ด ? ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั ้ง หลาย! นามรูป มีว ิญ ญาณเปน เหตุใ หเ กิด มีว ิญ ญาณเปน เครื่อ งกอ ใหเ กิด มีวิญญาณเปนเครื่องกําเนิด มีวิญญาณเปนแดนเกิด.

www.buddhadasa.info


วาดวยการเกิดดับแหงกิเลสและความทุกข

๑๘๗

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ วิ ญ ญาณนี้ เล า มี อะไรเป นเหตุ ให เกิ ด? มี อะไร เป น เครื่ อ งก อ ให เกิ ด ? มี อ ะไรเป น เครื่ อ งกํ า เนิ ด ? มี อ ะไรเป น แดนเกิ ด ? ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย!วิญ ญาณ มี สั งขารเป น เหตุ ให เกิ ด มี สั งขารเป นเครื่องก อให เกิ ด มี สั งขาร เปนเครื่องกําเนิด มีสังขารเปนแดนเกิด. ดู กอนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ สั งขารทั้ งหลายเหล านี้ เล า มี อะไรเป นเหตุ ให เกิ ด ? มี อ ะไรเป น เครื่ อ งก อ ให เกิ ด ? มี อ ะไรเป น เครื่ อ งกํ า เนิ ด ? มี อ ะไรเป น แดนเกิ ด ? ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สั งขารทั้ งหลาย มี อวิ ชชาเป นเหตุ ให เกิ ด มี อวิ ชชาเป นเครื่อง กอใหเกิด มีอวิชชาเปนเครื่องกําเนิด มีอวิชชาเปนแดนเกิด. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ในกาลใดแล อวิ ช ชาเป น สิ่ งที่ ภิ ก ษุ ล ะได แ ล ว วิ ชชาเป น สิ่ งที่ เกิ ด ขึ้ น แล ว; ในกาลนั้ น ภิ ก ษุ นั้ น ย อ มไม ยึ ด มั่ น ซึ่ งกามุ ป าทาน, ย อ ม ไม ยึ ด มั่ น ซึ่ งทิ ฏ ุ ป าทาน, ย อ มไม ยึ ด มั่ น ซึ่ งสี ลั พ พั ต ตุ ป าทาน, ย อ มไม ยึ ด มั่ น ซึ่ งอั ต ต วาทุ ป าทาน; (ทั้ งนี้ ) เพราะการสํ า รอกเสี ย ได ห มดซึ่ งอวิ ช ชา, เพราะการเกิ ด ขึ้ น แห ง วิช ชา: เมื ่อ ไมย ึด มั ่น (คือ ไมม ีอ ุป าทาน) อยู , ยอ มไมส ะดุ ง ; เมื ่อ ไมส ะดุ ง , ยอมปรินิ พพานเฉพาะตนนั่ นเที ยว.๑ เธอนั้ นยอมรูชัดวา "ชาติสิ้นแลว, พรหมจรรย อั น เราได อยู จบแล ว, กิ จที่ ต องทํ าได ทํ าสํ าเร็จแล ว, กิ จอื่ น เพื่ อ ความเป น อย างนี้ มิ ได มีอีก" ดังนี้.

www.buddhadasa.info ห ม ายเห ตุ ผู รวบ รวม : ผู ศึ กษ าจงสั ง เกต จนเห็ นลึ กลงไป ถึ ง ว า การ ไม ป ริ นิ พ พานเฉพาะตนนั้ น เพราะยั ง มี กิ เลสที่ เป น เหตุ ให ส ะดุ ง , กล า วคื อ อุ ป าทานข อ ที่ ๔ โดยเฉพาะนั่นเอง; และการละอุปาทานขอที่ ๔ นี้ ยังมีความสําคัญในสวนที่จะทําหมูคณะ

คํ า นี้ บาลี ว า ปจฺ จ ตฺ ต ฺ เว ปริ นิ พฺ พ ายติ ; อรรถกถา (ปป ญ จสู ท นี ภาค ๒ หน า ๒๕) อธิ บ ายว า ยอมปรินิพพาน ดวยกิเลสปรินิพพาน ดวยตนเองนั่นเทียว.

www.buddhadasa.info


๑๘๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๕ ให เรียบรอย, มี สรณาคมน ตั้ งมั่ น; และทํ าให พุ ทธศาสนาแปลกไปจากศาสนาอื่ น ที่ บั ญ ญั ติ อุ ป าทานไว เพี ย ง ๓ อย า ง; ดั งนั้ น หลั ก ปฏิ จ จสมุ ป บาทในพุ ท ธศาสนา จึ งมี ค วามสํ า คั ญ เป น พิ เศษ ในข อ ที่ ทํ า ให รู จั ก และละเสี ย ได ซึ่ งอุ ป ทานโดยสมบู รณ จ ริ ง ๆ ; และมี ค วาม สํ าคั ญ ที่ ต องสั งเกตวา แม จะกล าวเพี ยงครึ่งท อน คื อตั้ งแต อุ ปาทานขึ้ นไป, ก็ สมบู รณ ; หรือ เป น ปฏิ จ จสมุ ป บาท ที่ ส มบู รณ ทั้ ง สายอยู นั่ น เอง, เพราะจะละอุ ป าทาน, หรื อ ละอวิ ช ชา, ทุกขก็ดับหมดเทากัน; เพราะการละอุปาทานนั้น ละไดดวยการละอวิชชา นั่นเอง.

เวทนาในปฏิจจสมุปบาท ใหเกิดอนุสัยสาม๑ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! (๑) เพราะอาศั ยตาด วย รู ปทั้ งหลายด วย จึ งเกิ ด จักขุ วิญญาณ; การประจวบพรอมดวยแห งธรรม ๓ ประการ (ตา+รูป+จักขุวิญญาณ) นั่ นคื อผั สสะ; เพราะมี ผั สสะเป นป จจั ย จึ งเกิ ดเวทนา อั นเป นสุ ขบ าง เป นทุ กข บ าง ไมใชทุกขไมใชสุขบาง. บุคคลนั้น เมื่อสุขเวทนาถูกตองอยู ยอมเพลิดเพลิน ยอมพร่ําสรรเสริญ เมาหมกอยู ; อนุ สั ย คื อ ราคะ ย อ มตามนอน (เพิ่ ม ความเคยชิ น ให ) แก บุ ค คลนั้ น (ตสฺส ราคานุสโย อนุเสติ);

www.buddhadasa.info เมื่อทุกขเวทนาถูกตองอยู เขายอมเศราโศก ยอมระทมใจ ยอมคร่ําครวญ ย อ มตี อ กร่ํ าไห ย อ มถึ งความหลงใหลอยู ; อนุ สั ย คื อ ปฏิ ฆ ะ ย อ มตามนอน (เพิ่ ม ความเคยชินให) แกบุคคลนั้น;

ฉฉักกสูตร อุปริ. ม. ๑๔/๕๑๖/๘๒๒, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยการเกิดดับแหงกิเลสและความทุกข

๑๘๙

เมื่อเวทนาอันไมใชทุกขไมใชสุขถูกตองอยู เขายอมไมรูตามเปนจริง ซึ่งเหตุใหเกิดเวทนานั้นดวย ซึ่งความดับไมเหลือแหงเวทนานั้นดวย ซึ่งอัสสาทะ (รสอรอย) ของเวทนานั้ นด วย ซึ่ งอาที นวะ (โทษ) ของเวทนานั้ นด วย ซึ่ งนิ สสรณะ (อุ บายเครื่ อง ออกพน ไป) ของเวทนานั ้น ดว ย; อนุส ัย คือ อวิช ชา ยอ มตามนอน (เพิ ่ม ความ เคยชินให) แกบุคคลนั้น; ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! บุ คคลนั้ นหนอ ยั งละราคานุ สั ยอั นเกิ ดจากสุ ขเวทนา ไมได; ยัง บรรเทาปฏิฆ านุส ัย อัน เกิด จากทุก ขเวทนาไมได; ยัง ถอนอวิช ชานุส ัย อันเกิ ดจากอทุ กขมสุ ขเวทนาไม ได ; เมื่ อยั งละอวิชชาไม ได และยังทํ าวิชชาให เกิ ดขึ้ น ไม ได แลว, เขาจักทํ าที่ สุ ดแห งทุ กข ในทิ ฏฐธรรม (ป จจุ บั น) นี้ ได นั้ น; ข อนี้ ไม เป น ฐานะที่จักมีได. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! (๒) เพราะอาศั ยหู ด วย เสี ยงทั้ งหลายด วย จึ งเกิ ด โสตวิ ญ ญาณ; การประจวบพรอมแห งธรรม ๓ ประการ (หู +เสี ยง+โสตวิ ญ ญาณ) นั่ นคื อ ผั สสะ;...(ข อความตอนต อไปนี้ เหมื อนข อความที่ มี อยู ในข อ (๑) อั นวาด วยรูป เรื่อยไปทั้ ง ๔ ย อ หน า จนถึ ง ตอนท า ยข อ ที่ ว า )…ฯลฯ...ฯลฯ... จั ก ทํ า ที่ สุ ด แห ง ทุ ก ข ในทิ ฏ ฐธรรม (ปจจุบัน) นี้ได นั้น; ขอนี้ไมเปนฐานะที่จักมีได.

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! (๓) เพราะอาศั ยจมู กด วย กลิ่ นทั้ งหลายด วย จึ งเกิ ด ฆานวิ ญญาณ; การประจวบพรอมแห งธรรม ๓ ประการ (จมู ก+กลิ่ น+ฆานวิ ญญาณ) นั่ นคื อ ผั สสะ;....(ขอความตอนต อไปนี้ เหมื อนข อความที่ มี อยู ในข อ (๑) อันวาด วยรูป เรื่อยไปทั้ ง ๔ ย อ หน า จนถึ ง ตอนท า ยข อ ที่ ว า )…ฯลฯ...ฯลฯ... จั ก ทํ า ที่ สุ ด แห ง ทุ ก ข ในทิ ฏ ฐธรรม (ปจจุบัน) นี้ได นั้น; ขอนี้ไมเปนฐานะที่จักมีได.

www.buddhadasa.info


๑๙๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๕

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! (๔) เพราะอาศั ยลิ้ น ด วย รสทั้ งหลายด วย จึ งเกิ ด ชิ วหาวิ ญ ญาณ; การประจวบพร อมแห งธรรม ๓ ประการ (ลิ้ น+รส+ชิ วหาวิ ญ ญาณ) นั่ น คื อ ผั ส สะ;..(ข อความตอนต อไปนี้ เหมื อนข อความที่ มี อยู ในข อ (๑) อั นว าด วยรู ป เรื่ อยไปทั้ ง ๔ ย อ หน า จนถึ ง ตอนท า ยข อ ที่ ว า )…ฯลฯ...ฯลฯ... จั ก ทํ า ที่ สุ ด แห ง ทุ ก ข ในทิ ฏ ฐธรรม (ปจจุบัน) นี้ได นั้น; ขอนี้ไมเปนฐานะที่จักมีได. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! (๕) เพราะอาศั ยกายด วย โผฏฐั พพะทั้ งหลายด วย จึ งเกิ ด กายวิ ญ ญาณ; การประจวบพร อ มแห งธรรม ๓ ประการ (กาย+โผฏฐั พ พะ+ กายวิญญาณ) นั่ นคื อ ผั สสะ;...(ขอความตอนตอไปนี้ เหมื อนขอความที่มี อยู ในขอ (๑) อันวาด วยรูป เรื ่อ ย ไป ทั ้ง ๔ ยอ ห นา จ น ถึง ต อ น ทา ย ขอ ที ่ว า ) ฯล ฯ...ฯล ฯ... จั ก ทํ า ที ่ ส ุ ด แห ง ทุ ก ข ในทิฏฐธรรม (ปจจุบัน) นี้ได นั้น; ขอนี้ไมเปนฐานะที่จักมีได. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! (๖) เพราะอาศั ยใจด วย ธั ม มารมณ ทั้ งหลายด วย จึ งเกิ ด มโนวิ ญ ญาณ; การประจวบพร อ มแห งธรรม ๓ ประการ (ใจ+ธมมารมณ + มโนวิ ญ ญาณ) นั่ นคื อ ผั สสะ;...เพราะมี ผั สสะเป นป จจั ย จึ งเกิ ดเวทนา อั นเป นสุ ขบ าง เปนทุกขบาง ไมใชทุกขไมใชสุขบาง.

www.buddhadasa.info บุ คคลนั้ น เมื่ อสุ ขเวทนาถู กต องอยู ยอมเพลิดเพลิน ยอมพร่ําสรรเสริญ เมาหมกอยู; อนุสัยคือราคะ ยอมตามนอน (เพิ่มความเคยชินให) แกบุคคลนั้น;

เมื่อทุ กขเวทนาถูกต องอยู เขายอมเศราโศก ยอมระทมใจ ยอมคร่ําครวญ ย อมตี อกร่ําไห ย อมถึ งความหลงใหลอยู ; อนุ สั ยคื อปฏิ ฆะ ย อมตามนอน (เพิ่ มความ เคยชินให) แกบุคคลนั้น;

www.buddhadasa.info


วาดวยการเกิดดับแหงกิเลสและความทุกข

๑๙๑

เมื่อเวทนาอันไมใชทุกขไมใชสุขถูกตองอยู เขายอมไมรูตามเปนจริง ซึ่ ง เหตุ ให เกิ ด เวทนานั้ น ด ว ย ซึ่ ง ความดั บ ไม เหลื อ แห ง เวทนานั้ น ด ว ย ซึ่ ง อั ส สาทะ (รสอรอย) ของเวทนานั้ นด วย ซึ่ งอาที นวะ (โทษ) ของเวทนานั้ นด วย ซึ่ งนิ สสรณะ (อุบายเครื่องออกพ นไป) ของเวทนานั้นดวย; อนุ สัยคืออวิชชา ยอมตามนอน (เพิ่ ม ความเคยชินให) แกบุคคลนั้น; ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! บุ คคลนั้ นหนอ ยั งละราคานุ สั ยอั นเกิ ดจากสุ ขเวทนา ไมได; ยัง บรรเทาปฏิฆ านุส ัย อัน เกิด จากทุก ขเวทนาไมได; ยัง ถอนอวิช ชานุส ัย อันเกิ ดจากอทุ กขมสุ ขเวทนาไม ได ; เมื่ อยั งละอวิชชาไม ได และยังทํ าวิชชาให เกิ ดขึ้ น ไม ได แลว, เขาจักทํ าที่ สุ ดแห งทุ กข ในทิ ฏฐธรรม (ป จจุ บั น) นี้ ได นั้ น; ข อนี้ ไม เป น ฐานะที่จักมีได. หมายเหตุ ผู ร วบรวม : ผู ศึ ก ษาพึ ง สั ง เกตให เห็ น ว า เราเคยเข า ใจและ สอนกั น อยู ในเวลานี้ ว า อนุ สั ย นั้ น คื อ ตะกอน นอนอยู ในสั น ดานตลอดเวลา พอได อ ารมณ ก็ ลุ ก ออกมาเป น กิ เลส โลภะ โทสะ โมหะ แล ว กลั บ ไปนอนรออยู ต อ ไปอี ก จนกว า จะได อารมณ อั นใหม อี ก (ในลั กษณะอาการของสั สสตทิ ฏฐิ ) เช นนี้ ดู ไม ตรงตามพระพุ ทธภาษิ ตใน สู ต รนี้ ซึ่ ง ตรั ส ว า เมื่ อ เสวยเวทนาใด จึ ง เกิ ด อนุ สั ย ขึ้ น ตามนอน (คื อ เพิ่ ม ความเคยชิ น ใน การที่ จ ะเกิ ด กิ เลสชื่ อ นั้ น ๆ แก บุ ค คลนั้ น ); และทรงระบุ ชั ด ว า บุ ถุ ช นธรรมดา ถ า เสวยสุ ข เวทนา จะเพิ่ ม ราคานุ สั ย (แก กิ เลสประเภทโลภะทุ ก ชนิ ด ); เมื่ อ เสวยทุ ก ขเวทนา จะ เพิ ่ม ปฏิฆ านุส ัย (แกก ิเ ลสประเภทโมหะทุก ชนิด ); เมื ่อ เสวยอทุก ขมสุข เวทนา จะเพิ ่ม อวิ ช ชานุ สั ย (แก กิ เลสประเภทโมหะทุ ก ชนิ ด ) ข อ นี้ ห มายความว า จะเพิ่ ม ความเคยชิ น หรื อ ความง า ยดาย ในการที่ จ ะเกิ ด กิ เลสชื่ อ นั้ น ๆ ยิ่ ง ขึ้ น ทุ ก ที นั่ น เอง. และพึ ง สั ง เกตเป น พิเ ศษอีก อยา งหนึ ่ง ดว ย วา สํ า หรับ ราคานุส ัย ทรงใชคํ า วา "ละ", ปฏิฆ านุส ัย ใชคํ า วา "บรรเทา", อวิ ช ชานุ สั ย ใช คํ า ว า "ถอน"; ไม พู ด คลุ ม เครื อ เหมื อ นที่ เราพู ด กั น เพ อ ๆ ไป จนถึ งกั บ จั ดอนุ สั ยไวในฐานะเป นสิ่ งตายตั ว ไม มี การเกิ ดดั บ เมื่ อเสวยหรื อหยุ ดเสวยเวทนา. แต อย างไรก็ ตาม ในบางกรณี ที่ มี การกล าว อย างรวม ๆ ด วยภาษาธรรมดา ๆ, ก็ ได ตรัสด วยคํ า "" (ป ห าต พฺ โพ , ป หี โน ) รวม กั น ทั้ ง ๓ อ นุ สั ย ก็ มี เช น บ าลี ส ฬ า. สํ . ๑๘/๒๕๔/๓๖๓; ๑๘/๒๖๒/๓๗๗-๙; และ ๑๘/๒๖๕/๓๘๕.

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๑๙๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๕

ปฏิจจสมุปบาทแหงการเกิดสังขาร ๔ ประเภท๑ (สังขารชนิดที่หนึ่ง : ทิฏปรารภขันธหา) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ เมื่ อบุ คคลรูอยู อย างไร เห็ นอยู อย างไร อาสวะทั้ งหลาย จึงสิ้นไปโดยลําดับ ไมมีระหวางขั้น? [กรณีแหงรูปขันธ]

ดูกอนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ในกรณี นี้ ปุ ถุ ชนผูมิ ไดสดั บแลว ไม ไดเห็ นพระอริยเจา ทั้ งหลาย ไม ฉลาดในธรรมของพระอริยเจา ไม ได รับการแนะนํ าในธรรมของพระอริยเจ า, ไม ได เห็ นสั ปบุ รุษทั้ งหลาย ไม ฉลาดในธรรมของสั ปบุ รุษ ไม ได รับการแนะนํ าในธรรม ของสัป บุรุษ ยอ มสํ า คัญ เห็น ซึ ่ง รูป โดยความเปน ตน. ดูก อ นภิก ษุทั ้ง หลาย! การสํ า คั ญ เห็ น ซึ่ ง รู ป โดยความเป น ตนนั้ น , อั น ใดแล; การสํ า คั ญ เห็ น อั น นั้ น เป น สั ง ขาร.๒ ก็ สั ง ขารนั้ น มี อ ะไรเป น เหตุ ใ ห เกิ ด ? เป น เครื่ อ งก อ ให เกิ ด ? เป น เครื่ อ ง กํ าเนิ ด ? เป น แดนเกิ ด ? ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! สั งขารนั้ น เป น สิ่ งที่ เกิ ด จากตั ณ หา ซึ่ งเกิ ดขึ้ นแล วแก ปุ ถุ ชนผู มิ ได ส ดั บ ผู อั น เวทนาที่ เกิ ดแต อ วิ ช ชาสั ม ผั ส ถู กต อ งแล ว. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ดวยเหตุอยางนี้แล แมสังขารนั้นก็ไมเที่ยง. เป นสิ่งที่ปจจัยปรุงแตง แลว อาศัยป จจัยเกิดขึ้นแลว, แมตัณหานั้นก็ไมเที่ยง เป นสิ่งที่ปจจัยปรุงแตงแลว อาศัย ปจจัยเกิดขึ้นแลว, แมเวทนานั้นก็ไมเที่ยง เปนสิ่งที่ปจจัยปรุงแตงแลว อาศัยปจจัย

www.buddhadasa.info

สูตรที่ ๙ ชัชชนิยวรรค ขันธสังยุตต ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๑๖/๑๗๔, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่ภัททสาลมูล ปาปาลิเลยยกะ. ๒ คํ าวา "สังขาร" ในกรณี นี้ หมายถึงความคิ ดผิ ดเห็ นผิด ที่ป จจัยปรุงแต งให เกิ ดขึ้น, เชนเกิ ดจากการไม ได สดับริยธรรมของพระอริยเจา เปนตน; ที่เรียกวา "สังขาร" ก็เพราะเหตุเปนสิ่งที่ปจจัยปรุงแตงนั่นเอง.

www.buddhadasa.info


วาดวยการเกิดดับแหงกิเลสและความทุกข

๑๙๓

เกิดขึ้นแลว, แม ผั สสะนั้ นก็ไม เที่ ยง เป นสิ่ งที่ ป จจัยปรุงแตงแล ว อาศัยป จจัยเกิดขึ้นแล ว, แม อวิ ชชานั้ นก็ ไม เที่ ยง เป น สิ่ งที่ ป จจั ยปรุ งแต งแล ว อาศั ยป จจั ยเกิ ดขึ้ น แล ว, ดู ก อ น ภิกษุทั้งหลาย! เมื่อบุคคลรูอยูอยางนี้ เห็นอยูอยางนี้แล อาสวะทั้งหลาย ยอมสิ้นไป โดยลําดับ ไมมีระหวางขั้น ปุ ถุ ชนผู มิ ได สดั บแล ว จะไม สํ าคั ญ เห็ นซึ่ งรู ปโดยความเป นตนก็ จริ ง แต ว า เขายอมสํ าคัญเห็ นซึ่งตนวามี รูป. ดูกอนภิกษุ ทั้ งหลาย! การสําคัญเห็นซึ่งตนวามีรูปนั้น, อั น ใดแล; การสํ า คั ญ เห็ น อั น นั้ น เป น สั ง ขาร. ก็ สั ง ขารนั้ น มี อ ะไรเป น เหตุ ใ ห เกิ ด ? เป น เครื่ อ งก อ ให เกิ ด ? เป น เครื่ อ งกํ า เนิ ด ? เป น แดนเกิ ด ? ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! สั งขารนั้ น เป นสิ่ งที่ เกิ ดจากตั ณหา ซึ่ งเกิ ดขึ้ นแล วแก ปุ ถุ ชนผู มิ ได สดั บ ผู อั นเวทนาที่ เกิ ด แต อวิชชาสั มผั สถู กต องแล ว. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ด วยเหตุ อย างนี้ แล แม สั งขารนั้ น ก็ ไม เที่ ยง. เป นสิ่ งที่ ป จจั ยปรุงแต งแล ว อาศั ยป จจั ยเกิ ดขึ้ นแล ว, แม ตั ณหานั้ นก็ ไม เที่ ยง เป นสิ่ งที่ ป จจั ยปรุ งแต งแล ว อาศั ยป จจั ยเกิ ดขึ้ นแล ว, แม เวทนานั้ นก็ ไม เที่ ยง เป นสิ่ งที่ ปจจัยปรุงแตงแลว อาศัยปจจัยเกิดขึ้นแลว, แมผัสสะนั้นก็ไมเที่ยง เปนสิ่งที่ปจจัยปรุงแตงแลว อาศั ยป จจั ยเกิ ด ขึ้ นแล ว, แม อวิ ชชานั้ น ก็ ไม เที่ ย ง เป น สิ่ งที่ ป จจั ยปรุ งแต งแล ว อาศั ย ป จ จั ย เกิ ด ขึ้ น แล ว , ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! เมื่ อ บุ ค คลรู อ ยู อ ย า งนี้ เห็ น อยู อ ย า งนี้ แ ล อาสวะทั้งหลาย ยอมสิ้นไปโดยลําดับ ไมมีระหวางขั้น.

www.buddhadasa.info ปุ ถุ ชนผู มิ ได สดั บแล ว จะไม สํ าคั ญเห็ นซึ่ งรู ปโดยความเป นตน ไม สํ าคั ญเห็ น ซึ่ งตนว ามี รูป ก็ จริงแล แต ว าเขาย อ มสํ าคั ญ เห็ น ซึ่ งรู ป ในตน. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! การสํ าคั ญ เห็ นซึ่ งรู ปในตนนั้ น, อั นใดแล; การสํ าคั ญ เห็ นอั นนั้ น เป นสั งขาร. ก็ สั งขาร นั้ น มี อะไรเป นเหตุ ให เกิ ด? เป นเครื่ อ งก อให เกิ ด? เป นเครื่ อ งกํ าเนิ ด ? เป นแดนเกิ ด ? ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! สังขารนั้น เปนสิ่งที่เกิดจากตัณหา ซึ่งเกิดขึ้นแลวแกปุถุชนผูมิได

www.buddhadasa.info


๑๙๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๕

สดั บ ผู อั นเวทนาที่ เกิ ดแต อวิชชาสั มผั สถู กต องแล ว. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ด วยเหตุ อย างนี้ แล แม สั งขารนั้ นก็ ไม เที่ ยง. เป นสิ่ งที่ ป จจั ยปรุงแต งแล ว อาศั ยป จจั ยเกิ ดขึ้นแล ว, แมตัณหานั้นก็ไมเที่ยง เปนสิ่งที่ปจจัยปรุงแตงแลว อาศัยปจจัยเกิดขึ้นแลว, แมเวทนานั้น ก็ ไม เที่ ยง เป นสิ่ งที่ ป จจั ยปรุ งแต งแล ว อาศั ยป จจั ยเกิ ดขึ้ นแล ว, แม ผั สสะนั้ นก็ ไม เที่ ยง เป นสิ่ งที่ ป จจั ยปรุงแต งแล ว อาศั ยป จจั ยเกิ ดขึ้ นแล ว, แม อวิ ชชานั้ นก็ ไม เที่ ยง เป นสิ่ งที่ ป จจั ยปรุงแต งแล ว อาศั ยป จจั ยเกิ ดขึ้นแล ว, ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ อบุ คคลรูอยู อย างนี้ เห็นอยูอยางนี้แล อาสวะทั้งหลาย ยอมสิ้นไปโดยลําดับ ไมมีระหวางขั้น. ปุ ถุ ชนผู มิ ได สดั บแล ว จะไม สํ าคั ญเห็ นซึ่ งรูปโดยความเป นตน ไม สํ าคั ญเห็ น ซึ่งตนวามีรูป ไมสําคัญเห็นซึ่งรูปในตน ก็จริงแล แตวาเขายอมสําคัญเห็นซึ่งตนในรูป. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! การสํ า คั ญ เห็ น ซึ่ ง ตนว า มี รู ป นั้ น , อั น ใดแล; การสํ า คั ญ เห็ น อัน นั ้น เปน สัง ขาร. ก็ส ัง ขารนั ้น มีอ ะไรเปน เหตุใ หเ กิด ? เปน เครื ่อ งกอ ใหเ กิด ? เป นเครื่ องกํ าเนิ ด? เป นแดนเกิ ด? ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สั งขารนั้ น เป นสิ่ งที่ เกิ ดจาก ตัณหา ซึ่งเกิดขึ้นแลวแกปุถุชนผูมิไดสดับ ผูอันเวทนาที่เกิดแตอวิชชาสัมผัสถูกตองแลว. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ด วยเหตุ อย างนี้ แล แม สั งขารนั้ นก็ ไม เที่ ยง. เป นสิ่ งที่ ป จจั ยปรุงแต ง แล ว อาศั ย ป จ จั ย เกิ ด ขึ้ น แล ว , แม ตั ณ หานั้ น ก็ ไม เที่ ย ง เป น สิ่ ง ที่ ป จ จั ย ปรุ ง แต ง แล ว อาศั ย ป จ จั ย เกิ ด ขึ้ น แล ว, แม เวทนานั้ น ก็ ไม เที่ ย ง เป น สิ่ งที่ ป จจั ย ปรุ งแต งแล ว อาศั ย ป จจั ยเกิ ดขึ้ นแล ว, แม ผั สสะนั้ นก็ ไม เที่ ยง เป นสิ่ งที่ ป จจั ยปรุงแต งแล ว อาศั ยป จจั ยเกิ ด ขึ้นแลว, แมอวิชชานั้นก็ไมเที่ยง เปนสิ่งที่ป จจัยปรุงแตงแลว อาศัยปจจัยเกิดขึ้นแลว, ดูกอน ภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ อบุ คคลรู อยู อย างนี้ เห็ นอยู อย างนี้ แล อาสวะทั้ งหลาย ย อมสิ้ นไป โดยลําดับ ไมมีระหวางขั้น.

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


วาดวยการเกิดดับแหงกิเลสและความทุกข

๑๙๕

(กรณีแหงเวทนา-สัญญา-สังขาร-วิญญาณขันธ)

(ครั้นตรัสขอความในกรณี แหงรูปขันธจบลงดังนี้ แลว ไดตรัสขอความที่ สืบ เนื่องกันตอไปวา แมปุถุชนนั้นจะไมสําคัญเห็นรูปขันธโดยอาการทั้ง ๔ ก็ตาม เขาก็จะ สํ าคั ญ เห็ นอาการทั้ ง ๔ นั้ น ในเวทนาขั น ธ ...สั ญ ญาขั น ธ ...สั งขารขั นธ ...วิ ญ ญาณขันธ...ไลกันไปตามลําดับ ๆ ๆ โดยทํานองเดียวกันทุกตัวอักษรกับในกรณีแหงรูปขันธ. ในขั นธ แต ละขั นธ มี อาการอั นจะพึ งเห็ นผิ ดถึ ง ๔ อาการ คื อเห็ นขั นธ โดย ความเป นตน ๑, เห็ นตนว ามี ขั นธ ๑, เห็ นขั นธ ในตน ๑, เห็ นตนในขั นธ ๑ เมื่ ออาการ ทั้ งสี่ นี้ เป นไปในขั นธ ทั้ ง ๕ จึ งรวมกั นเป น ๒๐ อาการ, ทั้ ง ๒๐อาการนี้ รวมกั นแล ว จัดเปนสังขารหมวดที่หนึ่ง. ข อความนี้ แสดงให เห็ นว า ปฏิ จจสมุ ปบาททั้ งสายรวมอยู ในประโยคสั้ น ประโยคเดียววา "สังขารเกิดมาจากตั ณหาอันเกิดขึ้นแกบุ คคลผูถูกตองด วยเวทนาอันเกิด จากอวิ ช ชาสั ม ผั ส " ผู ศึ ก ษาพึ ง ทราบได เองว า อวิ ช ชามี อ ยู ในขณะแห ง การสั ม ผั ส ซึ่งทําให เกิดสังขาร วิญญาณ นามรูป อายตนะ ครบถวนอยูในสัมผัสนั้น; ครั้นเวทนา ให เกิ ดตั ณหาแล ว ก็ มี การปรุงแต งสื บต อไปจนเกิ ดทุ กข. คํ าว าสั งขารในกรณี นี้ หมายถึ ง ปฏิ จจสมุ ปบาททุ กอาการก็ ได เพราะมี ความหมายเพี ยงแต วา เป นอาการของการปรุงแต ง โดยลักษณะแหงอิทัปปจจยตา โดยตลอดสายแหงปฏิจจสมุปบาท นั่นเอง.

www.buddhadasa.info สั งขารประเภทที่ ๑ นี้ แจกโดยละเอี ยด จะเป นสั งขาร ๒๐ ชนิ ด, คื อแจก ตามขันธหา; แตละขันธมี ๔ อาการ คือ เห็นขันธโดยความเปนตน ๑, เห็นตนวา มีขันธ ๑, เห็นขันธในตน ๑, เห็นตนในขันธ ๑; รวมเปน ๒๐ ชนิด แหงสังขาร.

www.buddhadasa.info


๑๙๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๕

สู ต รนี้ มุ ง หมาย จะแสดงความสิ้ น อาสวะ, แต ไ ด แ สดงลั ก ษณะแห ง สั ง ขารชนิ ด ที่ เป น อกุ ศ ล อย า งละเอี ย ดแปลกออกไป เป น ความรู พิ เศษกว า ทุ ก แห ง สํ า หรั บ คํ า ว า สั งขาร, จึ งนํ า มาใส ไว ในกลุ ม อั น ว า ด ว ยการเกิ ด กิ เลส แทนที่ จ ะใส ใน หมวดปฏิบัติเพื่อดับทุกข.) - ผูรวบรวม

(สังขารชนิดที่ สอง : สัสสตทิฏฐิ) ปุ ถุ ชนผู มิ ได สดั บ แล ว จะไม สํ าคั ญ เห็ น ซึ่ งรู ป , ซึ่ งเวทนา, ซึ่ งสั ญ ญา, ซึ่ ง สั ง ขาร, ซึ่ งวิ ญ ญาณ, โดยความเป น ตน; ไม สํ า คั ญ เห็ น ซึ่ งตนว า มี รู ป , ว ามี เวทนา, ว ามี สั ญ ญา, ว ามี สั งขาร, ว ามี วิ ญ ญาณ, ไม สํ าคั ญ เห็ นซึ่ งรู ป, ซึ่ งเวทนา, ซึ่ งสั ญ ญา, ซึ่ งสั งขาร, ซึ่ งวิ ญ ญาณ, ในตน; ไม สํ าคั ญ เห็ น ซึ่ งตน ในรู ป , ในเวทนา, ในสั ญ ญา; ในสั ง ขาร, ในวิ ญ ญาณ; ก็ จ ริ งแล, แต ท ว า เขายั ง เป น ผู มี ทิ ฏ ฐิ อ ย า งนี้ ว า "อั ต ตา (ตน) ก็อันนั้น โลกก็อันนั้น เรานั้น ครั้นละไปแลว จักเปนผูเที่ยง (นิจฺโจ) ยั่งยืน (ธุ โว ) เที่ ย งแท (สสฺ ส โต ) มี ค วามไม แ ปรปรวนเป น ธรรมดา (อวิ ป ริ ณ ามธมฺ โม )." ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ทิ ฏ ฐิ ดั ง กล า วนี้ , อั น ใดแล; ทิ ฏ ฐิ อั น นั้ น ชื่ อ ว า สั ส สตทิ ฏ ฐิ . สั ส ตทิ ฏ ฐิ นั้ น เป น สั งขาร. ก็ สั งขารนั้ น มี อ ะไรเป น เหตุ ให เกิ ด ? เป น เครื่ อ งก อ ให เกิ ด เป น เครื่องกํ าเนิ ด? เป นแดนเกิ ด ? ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สั งขารนั้ น เป น สิ่ งที่ เกิ ด จาก ตั ณ หา ซึ่ งเกิ ดขึ้ นแล วแก ปุ ถุ ชนผู มิ ได สดั บ ผู อั นเวทนาที่ เกิ ดแต อวิ ชชาสั มผั ส ถู กต อง แล ว . ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ด ว ยเหตุ อ ย า งนี้ แ ล แม สั ง ขารนั้ น ก็ ไม เที่ ย ง. เป น สิ่ ง ที่ ป จจั ยปรุงแต งแล ว อาศั ยป จจั ยเกิ ดขึ้ นแล ว, แม ตั ณหานั้ นก็ ไม เที่ ยง เป นสิ่ งที่ ป จจั ยปรุง แต งแล ว อาศั ยป จจั ยเกิ ดขึ้ นแล ว, แม เวทนานั้ นก็ ไม เที่ ยง เป นสิ่ งที่ ป จจั ยปรุ งแต งแล ว อาศั ยป จจัยเกิ ดขึ้นแลว, แม ผัสสะนั้ นก็ไม เที่ ยง เป นสิ่งที่ ป จจัยปรุงแตงแลว อาศัยป จจัย เกิดขึ้นแลว, แมอวิชชานั้นก็ไมเที่ยง เปนสิ่งที่ปจจัยปรุงแตงแลว อาศัยปจจัยเกิดขึ้นแลว,

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


วาดวยการเกิดดับแหงกิเลสและความทุกข

๑๙๗

ดูก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ อบุ คคลรูอยู อย างนี้ เห็ นอยูอย างนี้ แล อาสวะทั้ งหลาย ยอม สิ้นไปโดยลําดับ ไมมีระหวางขั้น. ห ม าย เห ต ุผู ร ว บ รว ม : สัง ข ารห ม วด ที ่ส อ งนี ้ มีล ัก ษ ณ ะ เป น ป ฏ ิจ จ ส มุป บาท โดยนัย ะอัน เดีย วกัน กับ สัง ขารหมวดที ่ห นึ ่ง คือ สรุป ความลงเปน วา "สัง ขารเกิด มา จากตัณหาอันเกิดขึ้นแกบุคคลผูถูกตองดวยเวทนาอันเกิดจากอวิชชาสัมผัส"

(สังขารชนิดที่ สาม : อุจเฉททิฏฐิ) ปุ ถุ ชนผู มิ ได สดั บแล ว จะไม สํ าคั ญ เห็ นซึ่ งรูป, ซึ่ งเวทนา, ซึ่ งสั ญ ญา, ซึ่ ง สั งขาร, ซึ่ งวิ ญ ญาณ, โดยความเป น ตน; ไม สํ าคั ญ เห็ น ซึ่ งตนว ามี รู ป , ว ามี เวทนา, วามี สั ญญา, วามี สั งขาร, วามี วิ ญญาณ, ไม สํ าคั ญเห็ นซึ่ งรูป, ซึ่ งเวทนา, ซึ่ งสั ญญา, ซึ่ งสั งขาร, ซึ่ งวิญ ญาณ, ในตน; ไม สํ าคั ญ เห็ นซึ่ งตน ในรูป, ในเวทนา, ในสั ญ ญา, ในสังขาร, ในวิญญาณ; ก็จริงแล, ทั้งเปนผูไมมีทิฏฐิวา "อัตตา (ตน) ก็อันนั้น โลกก็อันนั้น เรานั้ น ครั้นละไปแล ว จั กเป นผู เที่ ยง ยั่ งยื น เที่ ยงแท มี ความไม แปรปรวนเป นธรรมดา. ดังนี้; ก็จริงแล แตทวา เขายังเปนผูมีทิฏฐิอยางนี้วา "เราไมพึงมีดวย; ของเราไม พึงมีดว ย; เราจัก ไมม ีดว ย; ของเราจัก ไมมีด ว ย"; ดังนี้ ดูกอ นภิก ษุทั้ง หลาย! ทิ ฏฐิ ดั งกล าวนี้ , อั นใดแล; ทิ ฏฐิ อั นนั้ นชื่ อวาอุ จเฉททิ ฏฐิ . อุ จเฉททิ ฏฐิ นั้ นเป นสั งขาร. ก็สังขารนั้น มีอะไรเปนเหตุใหเกิด? เปนเครื่องกอใหเกิด? เปนเครื่องกําเนิด? เปนแดนเกิด? ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! สั งขารนั้ น เป น สิ่ งที่ เกิ ด จากตั ณ หา ซึ่ งเกิ ด ขึ้ น แล ว แก ปุ ถุ ช น ผูมิไดสดับ ผูอันเวทนาที่เกิดแตอวิชชาสัมผัสถูกตองแลว. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ดวย เหตุ อย างนี้ แล แม สั งขารนั้ นก็ ไม เที่ ยง. เป นสิ่ งที่ ป จจั ยปรุงแต งแล ว อาศั ยป จจั ยเกิ ด ขึ้นแลว, แม ตัณหานั้นก็ไม เที่ ยง เป นสิ่งที่ป จจัยปรุงแตงแลว อาศัยปจจัยเกิดขึ้นแลว, แมเวทนานั้นก็ไมเที่ยง เปนสิ่งที่ปจจัยปรุงแตงแลว อาศัยปจจัยเกิดขึ้นแลว, แมผัสสะนั้น ก็ไมเที่ยง เปนสิ่งที่ปจจัยปรุงแตงแลว อาศัยปจจัยเกิดขึ้นแลว, แมอวิชชานั้นก็ไมเที่ยง

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๑๙๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๕

เป นสิ่ งที่ ป จจัยปรุงแต งแล ว อาศั ยป จจัยเกิ ดขึ้นแล ว, ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ อบุ คคล รูอยูอยางนี้ เห็นอยูอยางนี้แล อาสวะทั้งหลาย ยอมสิ้นไปโดยลําดับ ไมมีระหวางขั้น. ห ม าย เห ตุผู ร วบ ร วม : สัง ข ารห ม วด ที ่ส าม นี ้ มีล ัก ษ ณ ะเปน ป ฏิจ จสมุป บาท โดยนั ย ะอั น เดี ย วกั น กั บ สั ง ขารหมวดที ่ ห นึ ่ ง คื อ สรุ ป ความลงเป น ว า "สั ง ขารเกิ ด มา จากตัณหาอันเกิดขึ้นแกบุคคลผูถูกตองดวยเวทนาอันเกิดจากอวิชชาสัมผัส"

(สังขารชนิดที่ สี่ : ลังเลในพระสัทธรรม) ปุ ถุ ชนผู มิ ได สดั บแล ว จะไม สํ าคั ญ เห็ นซึ่ งรูป, ซึ่ งเวทนา, ซึ่ งสั ญ ญา, ซึ่ ง สั งขาร, ซึ่ งวิ ญ ญาณ, โดยความเป น ตน; ไม สํ าคั ญ เห็ น ซึ่ งตนว ามี รู ป , ว ามี เวทนา, วามี สั ญญา, วามี สั งขาร, วามี วิญญาณ, ไม สํ าคั ญเห็ นซึ่ งรูป, ซึ่ งเวทนา, ซึ่ งสั ญญา, ซึ่ งสั งขาร, ซึ่ งวิญ ญาณ, ในตน; ไม สํ าคั ญ เห็ นซึ่ งตน ในรูป, ในเวทนา, ในสั ญ ญา, ในสั ง ขาร, ในวิ ญ ญาณ; เป น ผู ไม มี ทิ ฏ ฐิ ว า "อั ต ตาก็ อั น นั้ น โลกก็ อั น นั้ น เรานั้ น ครั้นละไปแล ว จักเป นผู เที่ ยง ยั่ งยื น เที่ ยงแท มี ความไม แปรปรวนเป นธรรมดา.ดั งนี้ ; ทั้ งผู ไม มี ทิ ฏฐิ ว า "เราไม พึ งมี ด วย; ของเราไม พึ งมี ด วย; เราจั กไม มี ด วย; ของเราจั ก ไมมีดวย"; ดังนี้ก็จ ริง แล แตท วาเขายังเปน ผูม ีค วามสงสัย (กงฺขี) มีค วามลังเล (วิจิกิจฺฉี) ไมถึ งความมั่ นใจในพระสัทธรรม (อนิฏ งฺคโต สทฺธมฺเม). ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย! ความเป นผูมี ความสงสัย มีความลังเล ไมถึงความมั่ นใจ ในพระสัทธรรมนั้ น, อัน ใดแล; อัน นั ้น เปน สัง ขาร. สัง ขารนั ้น มีอ ะไรเปน เหตุใ หเ กิด ? เปน เครื ่อ งกอ ให เกิ ด? เป นเครื่ องกํ าเนิ ด? เป นแดนเกิ ด? ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สั งขารนั้ น เป นสิ่ งที่ เกิดจากตัณหา ซึ่งเกิดขึ้นแลวแกปุถุชนผูมิไดสดับ ผูอันเวทนาที่เกิดแตอวิชชาสัมผั ส ถู กต องแล ว. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ด วยเหตุ อย างนี้ แล แม สั งขารนั้ นก็ ไม เที่ ยง. เป น สิ่งที่ปจจัยปรุงแตงแลว อาศัยปจจัยเกิดขึ้นแลว, แมตัณหานั้นก็ไมเที่ยง เปนสิ่งที่ปจจัย

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


วาดวยการเกิดดับแหงกิเลสและความทุกข

๑๙๙

ปรุงแตงแลว อาศั ยป จจัยเกิดขึ้นแลว, แม เวทนานั้ นก็ไม เที่ ยง เป นสิ่งที่ป จจัยปรุงแต ง แลว อาศัยปจจัยเกิดขึ้นแลว, แมผัสสะนั้นก็ไมเที่ยง เปนสิ่งที่ปจจัยปรุงแตงแลว อาศัย ปจจัยเกิดขึ้นแลว, แมอวิชชานั้นก็ไมเที่ยง เปนสิ่งที่ปจจัยปรุงแตงแลว อาศัยปจจัยเกิด ขึ้ น แล ว , ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! เมื่ อ บุ ค คลรู อ ยู อ ย า งนี้ เห็ น อยู อ ย า งนี้ แ ล อาสวะ ทั้งหลาย ยอมสิ้นไปโดยลําดับ ไมมีระหวางขั้น. ห ม าย เห ตุผู ร วบ รวม : สัง ขารห ม วดที ่สี ่นี ้ มีล ัก ษ ณ ะเปน ป ฏิจ จสมุป บ าท โดยนัย ะอัน เดีย วกัน กับ สัง ขารหมวดที ่ห นึ ่ง คือ สรุป ความลงเปน วา "สัง ขารเกิด มาจากตัณ หา อันเกิดขึ้นแกบุคคลผูถูกตองดวยเวทนาอันเกิดจากอวิชชาสัมผัส"

การดับตัณหาเสียไดกอนแตจะเกิดปฏิจจสมุปบาท๑ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย!เราจั กแสดง ซึ่ งความไม ตั้ งอยู ได แห งทุ กข แก พวกเธอ ทั้ งหลาย. พวกเธอทั้ งหลาย จงฟ งข อความนั้ น จงทํ าในใจให สํ าเร็ จประโยชน , เราจั ก กลาวบัดนี้.

www.buddhadasa.info ครั้นภิ กษุ ทั้ งหลายเหล านั้ น ทู ลสนองรั บพระพุ ทธดํ ารัสแล ว, พระผู มี พระภาคเจ า ได ตรั ส ถอยคําเหลานี้วา:-

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ก็ความไมตั้งอยูไดแหงทุกข เปนอยางไรเลา?

(๑) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะอาศั ยตาด วย รูปทั้ งหลายด วย จึงเกิ ดจั กขุ วิญญาณ; การประจวบพรอมแหงธรรมสามประการ (ตา+รูป+จักขุวิญญาณ) นั่นคือ

สูตรที่ ๓ คหปติวรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน. สํ. ๑๖/๘๖-๗/๑๖๑, ๑๖๓, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๒๐๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๕

ผั สสะ; เพราะมี ผั สสะเป นป จจั ย จึ งมี เวทนา; เพราะมี เวทนาเป นป จจั ย จึ งมี ตั ณ หา; เพราะความจางคลายดับ ไปไมเ หลือ แหง ตัณ หานั ้น นั ่น แหละ, จึง มีค วามดับ แหง อุป าทาน; เพราะมีค วามดับ แหง อุป าทาน จึง มีค วามดับ แหง ภพ; เพราะ มีค วามดับ แหง ภพ จึง มีค วามดับ แหง ชาติ; เพราะมีค วามดับ แหง ชาตินั ่น แล ชรามรณะ โสกะปริ เทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งดั บ สิ้ น : ความดั บ ลงแห ง กองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้. นี้คือ ความไมตั้งอยูไดแหงทุกข (๒) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะอาศั ยหู ด วย เสี ยงทั้ งหลายด วย จึ งเกิ ด โสตะวิ ญญาณ; การประจวบพร อมแห งธรรม ๓ ประการ (โสตะ+เสี ยง+โสตะวิ ญญาณ) นั่ นคื อผั สสะ; เพราะมี ผั สสะเป นป จจั ย จึ งมี เวทนา; เพราะมี เวทนาเป นป จจั ย จึ งมี ตั ณ หา; เพราะความจางคลายดั บ ไปไม เ หลื อ แห ง ตั ณ หานั ้ น นั ่ น แหละ, จึ ง ความดั บ แห ง อุ ป าทาน; เพราะมี ค วามดั บ แห ง อุ ป าทาน จึ ง มี ค วามดั บ แห ง ภพ; เพราะมี ค วามดั บ แห งภพ จึ งมี ค วามดั บ แห ง ชาติ ; เพราะมี ค วามดั บ แห งชาติ นั่ น แล ชรามรณะ โสกะปริ เทวะทุ ก ขะโทมนั สอุ ป ายาสทั้ งหลาย จึ งดั บสิ้ น : ความดั บลงแห ง กองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้. นี้คือ ความไมตั้งอยูไดแหงทุกข

www.buddhadasa.info (๓)ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะอาศั ยจมู กด วย กลิ่ นทั้ งหลายด วย, จึ งเกิ ด ฆานวิ ญ ญาณ; การประจวบพร อมแห งธรรม ๓ ประการ (จมู ก+กลิ่ น+ฆานวิ ญ ญาณ) นั่ น คื อ ผั ส สะ; เพราะมี ผั ส สะเป น ป จ จั ย จึ งมี เวทนา; เพราะมี เวทนาเป น ป จ จั ย จึ ง มี ต ั ณ หา; เพราะความจางคลายดั บ ไปไม เ หลื อ แห ง ตั ณ หานั ้ น นั ่ น แหละ, จึ งความดั บแห งอุ ปาทาน; เพราะมี ความดั บแห งอุ ปาทาน จึ งมี ความดั บแห งภพ; เพราะ มีความดับแหงภพ จึงมีความดับแหงชาติ; เพราะมีความดับแหงชาตินั่นแล ชรามรณะ

www.buddhadasa.info


วาดวยการเกิดดับแหงกิเลสและความทุกข

๒๐๑

โสกะปริเทวะทุ กขะโทมนั สอุปายาสทั้ งหลาย จึงดั บสิ้น: ความดับลงแห งกองทุ กขทั้งสิ้นนี้ ยอมี ดวยอาการอยางนี้ นี้คือ ความไมตั้งอยูไดแหงทุกข. (๔) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะอาศั ยลิ้ นด วย รสทั้ งหลายด วย, จึ งเกิ ด ชิ วหาวิ ญ ญาณ; การประจวบพร อมแห งธรรม ๓ ประการ (ลิ้ น+รส+ชิ วหาวิ ญ ญาณ) นั่ น คื อ ผั ส สะ; เพราะมี ผั ส สะเป น ป จ จั ย จึ ง มี เวทนา; เพราะมี เวทนาเป น ป จ จั ย จึง มีตัณ หา; เพราะความจางคลายดับ ไปไมเ หลือ แหง ตัณ หานั้น นั่น แหละ, จึ งความดั บ แห งอุ ป าทาน; เพราะมี ค วามดั บ แห งอุ ป าทาน จึ งมี ค วามดั บ แห งภพ; เพราะมี ค วามดั บ แห งภพ จึ งมี ค วามดั บ แห งชาติ ; เพราะมี ค วามดั บ แห งชาติ นั่ นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งดั บสิ้ น : ความดั บลงแห ง กองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้ นี้คือ ความไมตั้งอยูไดแหงทุกข. (๕) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะอาศั ยกายด วย โผฏฐั พพะทั้ งหลายด วย, จึ งเกิ ดกายวิ ญ ญาณ; การประจวบพรอมแห งธรรม ๓ ประการ (กาย+โผฏฐั พพะ+ กายวิญญาณ) นั่นคือผัสสะ; เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมีเวทนา; เพราะมีเวทนาเป น ป จ จั ย จึ ง มี ต ั ณ หา; เพราะความจางคลายดั บ ไปไม เ หลื อ แห ง ตั ณ หานั ้ น นั่ น แหละ, จึ งความดั บ แห งอุ ป าทาน; เพราะมี ค วามดั บ แห งอุ ป าทาน จึ งมี ความ ดั บ แห งภพ; เพราะมี ค วามดั บ แห งภพ จึ ง มี ค วามดั บ แห ง ชาติ ; เพราะมี ค วามดั บ แห งชาติ นั่ นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขะโทมนั สอุปายาสทั้ งหลาย จึงดั บสิ้น : ความ ดับลงแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้ นี้คือ ความไมตั้งอยูไดแหงทุกข.

www.buddhadasa.info (๖) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะอาศั ยใจด วย, ธั มมารมณ ทั้ งหลายด วย, จึงเกิดมโนวิญญาณ; การประจวบพรอมแหงธรรม ๓ ประการ (ใจ+ธัมมารมณ+

www.buddhadasa.info


๒๐๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๕

มโนวิญ ญาณ) นั่ นคื อผั สสะ; เพราะมี ผั สสะเป นป จจั ย จึ งมี เวทนา; เพราะมี เวทนา เปน ปจ จัย จึง มีต ัณ หา; เพราะความจางคลายดับ ไปไมเ หลือ แหง ตัณ หา นั้ น แหละ, จึ ง มี ค วามดั บ แห ง อุ ป ทาน; เพราะมี ค วามดั บ แห ง อุ ป ทาน จึ ง มี ค วาม ดั บ แห ง ภพ; เพราะมี ค วามดั บ แห ง ภพ จึ ง มี ค วามดั บ แห ง ชาติ ; เพราะมี ค วามดั บ แห งชาติ นั่ นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งดั บสิ้ น: ความดับลงแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้. นี้คือ ความไมตั้งอยูได แหงทุกข. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เหลานี้แล คือความไมตั้งอยูไดแหงทุกข.

การสิ้นกรรม ตามแบบของปฏิจจสมุปบาท๑ ดู ก อนวั ปปะ! ถ าท านจะพึ งยิ นยอมข อที่ ควรยิ นยอม และคั ดค านข อที่ ควร คั ดค าน ต อเรา. อนึ่ ง ท านไม รู ความแห งภาษิ ตของเราข อ ใด ท านพึ งซั กถามเราใน ขอนั้ น ให ยิ่ งขึ้ นไปวา ขอนี้ เป นอย างไร เนื้ อความแห งภาษิ ตข อนี้ เป นอย างไรเล าท าน ผูเจริญ? ดังนี้แลวไซร การสนทนาระหวางเราทั้งสอง ก็จะพึงมีได.

www.buddhadasa.info ครั้นวัปปะศากยะ ไดตกลงยินยอมในขอนั้นแลว, พระผูมีพระภาคเจาไดตรัสขอความดังตอไปนี้:-

ดู ก อนวั ปปะ! ท านจะสํ าคั ญความข อนี้ ว าอย างไร? คื อ อาสวะทั้ งหลาย เหลาใดเกิดขึ้นเพราะกายสมารัมภะเปนปจจัย แลวทําความคับแคนเรารอน;

สูตรที่ ๕ มหาวรรค จตุกฺก. อํ. ๒๑/๒๖๘/๑๙๕, ตรัสแกวัปปศากยะ ที่นิโครธาราม.

www.buddhadasa.info


วาดวยการเกิดดับแหงกิเลสและความทุกข

๒๐๓

เมื่อบุคคลเวนขาดแลวจากกายสมารัมภะ, อาสวะทั้งหลาย อันทําความคับแคน เรารอนเหลานั้น ยอมไมมี : บุคคลนั้น ยอมไมกระทําซึ่งกรรมใหมดวยและ ย อมกระทํ ากรรมเก าที่ ถู กต องแล ว ๆ ให สิ้ นไปด วย. ปฏิ ปทาเป นเครื่องสิ้นกรรม อย างนี้ เป นธรรมอั นผู ปฏิ บั ติ พึ งเห็ นเอง ไม รูจั กเก า ไม ประกอบด วยสากล ควรเรียกกั น มาดู พึ ง น อ มเข า มาในตน เป น ธรรมที่ ผู รู ทั้ ง หลายพึ ง รู ได เฉพาะตน. ดู ก อ นวั ป ปะ! อาสวะทั้ งหลาย อั นเป นไปเพื่ อทุ กขเวทนา จะพึ งไหลไปตามบุ รุ ษ ในกาลต อไปเบื้ องหน า เนื่องมาแตฐานะใดเปนเหตุ ทานยอมรูซึ่งฐานะนั้นหรือไม? ("ขอนั้นหามิไดพระเจาขา!") ดู ก อนวั ปปะ! ท านจะสํ าคั ญ ความข อนี้ ว าอย างไร? คื อ อาสวะทั้ งหลาย เหลาใด เกิด ขึ้น เพราะวจีสมารัม ภะเปน ปจจัย แลวทําความคับ แคน เรารอ น; เมื่อบุคคลเวนขาดแลวจากวจีสมารัมภะ, อาสวะทั้งหลาย อันทําความคับแคน เรารอนเหลานั้น ยอมไมมี: บุคคลนั้น ยอมไมกระทําซึ่งกรรมใหมดวย และ ย อมกระทํ ากรรมเก าที่ ถู กต องแล ว ๆ ให สิ้ น ไปด วย. ปฏิ ปทาเป นเครื่องสิ้ นกรรม อย างนี้ เป นธรรมอั นผู ปฏิ บั ติ พึ งเห็ นเอง ไม รู จั กเก า ไม ประกอบด วยสากล ควรเรี ยกกั น มาดู พึ งน อ มเข ามาในตน เป น ธรรมที่ ผู รู ทั้ งหลายพึ งรู ได เฉพาะตน. ดู ก อ นวั ป ปะ! อาสวะทั้ ง หลาย อั น เป น ไปเพื่ อ ทุ ก ขเวทนา จะพึ ง ไหลไปตามบุ รุ ษ ในกาลต อ ไป เบื้ องหน าเนื่ องมาแต ฐานะใดเป นเหตุ ท านย อมรู ซึ่ งฐานะนั้ นหรื อไม ? ("ข อนั้ น หามิ ได พระเจาขา!")

www.buddhadasa.info ดู ก อนวั ปปะ! ท านจะสํ าคั ญ ความข อนี้ ว าอย างไร? คื อ อาสวะทั้ งหลาย เหลาใด เกิดขึ้นเพราะมโนสมารัมภะเปนปจจัย แลวทําความคับแคนเรารอน; เมื่อ บุคคลเวนขาดแลวจากมโนสมารัมภะ, อาสวะทั้งหลาย อันทําความคับแคนเรา รอนเหลานั้น ยอมไมมี: บุคคลนั้น ยอมไมกระทําซึ่งกรรม ใหมดวยและยอม

www.buddhadasa.info


๒๐๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๕

กระทํากรรมเกาที่ถูกตองแลว ๆ ใหสิ้นไปดวย. ปฏิปทาเปนเครื่องสิ้นกรรมอยางนี้ เป น ธรรมอั น ผู ป ฏิ บั ติ พึ งเห็ น เอง ไม รูจั กเก า ไม ประกอบด วยสากล ควรเรียกกั น มาดู พึ งน อ มเข ามาในตน เป นธรรมที่ ผู รู ทั้ งหลายพึ งรู ได เฉพาะตน. ดู ก อ นวั ป ปะ! อาสวะ ทั้ งหลาย อั น เป น ไปเพื่ อ ทุ ก ขเวทนา จะพึ งไหลไปตามบุ รุ ษ ในกาลต อ ไปเบื้ อ งหน า เนื่ องมาแต ฐานะใดเป นเหตุ ท านย อมรู ซึ่ งฐานะนั้ นหรื อไม ? ("ข อนั้ น หามิ ได พระเจ า ขา!") ดู ก อนวั ปปะ! ท านจะสํ าคั ญ ความข อนี้ ว าอย างไร? คื อ อาสวะทั้ งหลาย เหลาใด เกิดขึ้นเพราะอวิชชาเปนปจจัย แลวทําความดับแคนเรารอน; เพราะการ เกิดขึ้นแหงวิชชา เพราะความสํารอกออกเสียไดหมดซึ่งอวิชชา, อาสวะทั้งหลาย อัน ทํ าความคั บแคน เรารอ นเหลานั้ น ยอ มไมมี : บุ ค คลนั้ น ยอ มไม ก ระทํ าซึ่ ง กรรมใหมดวยและยอมกระทํากรรมเกาที่ถูกตองแลว ๆ ใหสิ้นไปดวย. ปฏิปทา เป น เครื่ อ งสิ้ น กรรมอย างนี้ เป น ธรรมอั น ผู ป ฏิ บั ติ พึ งเห็ น เอง ไม รู จั ก เก า ไม ป ระกอบ ด วยกาล ควรเรี ยกกั นมาดู พึ งน อมเข ามาในตน เป นธรรมที่ ผู รู ทั้ งหลายพึ งรู ได เฉพาะตน. ดู ก อ นวั ป ปะ! อาสวะทั้ ง หลาย อั น เป น ไปเพื่ อ ทุ ก ขเวทนา จะพึ ง ไหลไปตามบุ รุ ษ ในกาลต อ ไปเบื้ อ งหน า เนื่ อ งมาแต ฐ านะใดเป น เหตุ ท า นย อ มรู ซึ่ ง ฐานะนั้ น หรื อ ไม ? ("ขอนั้น หามิได พระเจาขา!")

www.buddhadasa.info ดู ก อนวั ปปะ! เมื่ อภิ กษุ มี จิ ตหลุ ดพ นโดยชอบอย างนี้ แล ว สตตวิ หารธรรม๑ ทั้งหลาย ๖ ประการ ก็เปนอันวาภิกษุนั้นถึงทับแลว: ภิกษุนั้นเห็นรูปดวยจักษุแลว

สตตวิ หารธรรม ในที่ นี้ หมายความว า มี สติ สั มปชั ญญะติ ดต อกั นไป ในการสั มผั สทางตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจ ไม เกิ ดยิ นดี ยิ นรายขึ้ นมาได อย างติ ดต อกั น ไม มี เวลาเผลอ. เมื่ อมี สติ ควบคุ มสิ่ งทั้ ง ๖ นี้ ไว ได อย าง ติดตอกันเชนนี้ การเปนอยูอยางนี้ ก็เรียกไดวา "สตตวิหารธรรม ๖ ประการ".

www.buddhadasa.info


วาดวยการเกิดดับแหงกิเลสและความทุกข

๒๐๕

ไมเปนผูดีใจ ไมเปนผูเสียใจ เปนผูอยูอุเบกขา มีสติสัมปชัญญะอยู; ฟงเสียง ด ว ย โส ต ะ แ ล ว ..., รู  ส ึ ก ก ลิ ่ น ด ว ย ฆ าน ะ แล ว ..., ลิ ้ ม รส ด ว ย ชิ ว ห าแล ว ..., ถู ก ต อ งสั ม ผั ส ผิ ว หนั ง ด ว ยผิ ว กายแล ว ..., รู สึ ก ธั ม มารมณ ด ว ยมโนแล ว ไม เป น ผู ดี ใจ ไม เป น ผู เสี ย ใจ เป น ผู อ ยู อุ เบกขา มี ส ติ สั ม ปชั ญ ญะอยู . ภิ ก ษุ นั้ น เมื่ อ เสวยดวยเวทนามีกายเปนที่สุดรอบอยู ยอมรูชัดวา เราเสวยซึ่งเวทนา มีกายเปนที่สุด รอบอยู; เมื่อเสวยซึ่งเวทนามีชีวิตเปนที่สุดรอบอยู ยอมรูชัดวา เราเสวยซึ่งเวทนา มี ชี วิ ต เป น ที่ สุ ด รอบอยู ; เธอย อ มรู ชั ด ว า "เวทนาทั้ ง หลายทั้ ง ปวง อั น เราไม เพลิดเพลินแลว จักเปนของเย็นในอัตตภาพนี้นั่นเทียว จนกระทั่งถึงที่สุดรอบ แหงชีวิต เพราะการแตกทําลายแหงกาย" ดังนี้. ดู ก อนวั ปปะ เปรี ยบเหมื อนเงาย อมปรากฏเพราะอาศั ยเสาสดมภ (ถู ณ ะ) ลํ าดั บนั้ น บุ รุษถื อเอามาซึ่ งจอบและตะกรา เขาตั ดซึ่ งเสานั้ นที่ โคน ครั้นตั ดที่ โคนแล ว พึงขุด ครั้นขุดแลว พึ งรื้อซึ่งรากทั้งหลาย ไมใหเหลือแมที่สุดสักแตวาเทาตนแฝก. บุรุษ นั้ น พึ งตั ดซึ่ งเสานั้ นให เป นท อนน อยท อนใหญ ครั้นตั ดซึ่ งเสานั้ นให เป นท อนน อยท อน ใหญ แล ว พึ งผ า; ครั้นผ าแล ว พึ งจั กให เป นซี กเล็ ก ๆ ; ครั้นจั กให เป นซี กเล็ ก ๆ แล ว พึ ง ผึ่ ง ให แ ห ง ในลมและแดด; ครั้ น ผึ่ ง ให แ ห ง ในลมและแดดแล ว พึ ง เผาด ว ยไฟ; ครั้นเผาด วยไฟแล วพึ งทํ าให เป นผงเถ าถ าน; ครั้นทํ าให เป นผลเถ าถานแล ว พึ งโปรย ไปในกระแสลมอั นพั ดจั ด หรื อว าพึ งให ล อยไปในกระแสอั น เชี่ ยวแห งแม น้ํ า. ดู ก อ น วั ปปะ! เงาอั นใด ที่ อาศั ยเสาสดมภ เงาอั นนั้ นย อมถึ งซึ่ งความมี มู ลเหตุ อั นขาดแล ว ถูกกระทํ าเหมื อนตาลมี ขั้วยอดอันดวน กระทํ าให ถึ งความไม มี มี อันไม บั งเกิ ดขึ้นต อไป เปนธรรมดา, นี้ฉันใด;

www.buddhadasa.info ดูกอนวัปปะ! ขอนี้ ก็ฉั นนั้ น กลาวคื อ เมื่ อภิ กษุ มี จิตหลุดพ นโดยชอบอยาง นี้แลว สตตวิหารธรรมทั้งหลาย ๖ ประการ ก็เปนอันวาภิกษุนั้นถึงทับแลว: ภิกษุนั้น

www.buddhadasa.info


๒๐๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๕

เห็นรูปดวยจักษุ แลวไมเปนผูดีใจ ไมเปนผูเสียใจ เปนผูอยูอุเบกขา มีสติสัมปชัญญะอยู; ฟง เสีย งดว ยโสตะแลว ...; รู ส ึก กลิ ่น ดว ยฆานะแลว ..; ลิ ้ม รสดว ยชิว หาแลว ...; ถูก ตอ งสัม ผัส ผิว หนัง ดว ยผิว กายแลว ...; รู ส ึก ธัม มารมณด ว ยมโนแลว ไมเปนผูดีใจ ไมเปนผูเสียใจ เปนผูอยูอุเบกขา มีสติสัมปชัญญะอยู. ภิกษุนั้น เมื่อเสวย ซึ่งเวทนามี กายเป นที่ สุ ดรอบอยู ย อมรูชัดวา เราเสวยซึ่งเวทนา มี กายเป นที่ สุ ดรอบอยู ; เมื่ อเสวยซึ่ งเวทนามี ชีวิตเป นที่ สุ ดรอบอยู ย อมรูชั ดวา เราเสวยซึ่งเวทนามี ชีวิตเป นที่ สุด รอบอยู ; เธอยอ มรู ช ัด วา "เวทนาทั ้ง หลายทั ้ง ปวง อัน เราไมเพลิด เพลิน แลว จั กเป นของเย็ นในอั ตตภาพนี้ นั่ นเที ยว จนกระทั่ งถึ งที่ สุ ดรอบแห งชี วิ ต เพราะการแตก ทําลายแหงกาย" ดังนี้. ครั้นเมื่ อพระผู มี พระภาคเจาตรัสอย างนี้ แลว วัปปศากยะผู เป นสาวกแห งนิ ครนถ ได กราบทู ล วา "ขาแตพระองค ผูเจริญ ! เปรียบเหมื อนบุ รุษผูต องการกําไร พึ งเลี้ยงลูกม าไวขาย เขาไม ได กําไรด วย เป นผู มี ส วนแห งความลํ าบากเดื อดรอนอย างยิ่ งด วย, นี้ ฉั นใด; ข าแต พระองค ผู เจริญ ! ขอนี้ ก็ ฉั นนั้ น คื อ ขาพระองค ผู ต องการด วยประโยชน ได เขาไปคบหาซึ่งนิ ครนถ ทั้ งหลายผู อ อนด วยป ญญา. ข าพระองค นั้ น ไม ได กําไรด วยเป นผู มี สวนแห งความลํ าบากเดื อดรอนอยางยิ่ งด วย. ขาแต พระองค ผูเจริญ ! ตั้ งแต วันนี้ เปนตนไป ขาพระองค ขอโปรยเสียซึ่งความเลื่อมใสในนิครนถทั้งหลายผูออนดวยป ญญา ในกระแสลมอันพัด จัด หรือวาลอยเสี ยซึ่ งความเลื่ อมใสนั้ น ในกระแสอั นเชี่ ยวแห งแม น้ํ า. ข าแต พระองค ผู เจริญ !วิเศษนั ก พระเจ าข า! วิเศษนั ก พระเจาขา! ข าแต พระองค ผู เจริญ ! เปรียบเหมื อนบุ คคลหงายของที่ คว่ําอยู หรือ วาเป ดของที่ ป ดอยู หรือว าบอกหนทางให แก บุ คคลผู หลงทางหรือวาจุดประที ปอันโพลงขึ้น ด วยน้ํ ามั น ไว ในที่มื ด ดวยความหวั งวา ผู มีจักษุ ทั้งหลายจักไดเห็นรูปทั้ งหลาย ฉันใด; ธรรมอั นพระผูมี พระภาคเจา ประกาศแล ว โดยปริยายเป นอเนก ก็ ฉั นนั้ น. ข าแต พระองค ผู เจริญ! ข าพระองค ขอถึ งซึ่ งพระผู มี พระภาค ด วย ซึ่ งพระธรรมด วย ซึ่ งพระสงฆ ด วย ว าเป นสรณะ. ขอพระผู มี พระภาคเจ า จงทรงถื อว า ข าพระองค เปนอุบาสกผูถึงสรณะแลว จําเดิมแตวันนี้เปนตนไป จนตลอดชีวิต", ดังนี้ แล.

www.buddhadasa.info หมายเหตุ ผู ร วบรวม : ผู ศึ ก ษาพึ งสั งเกตให เห็ น ว า การสิ้ น กรรมที่ แ ม จริ ง นั้ น เป น การสิ้ น ไปในกระแสแห ง ปฏิ จ จสมุ ป บาท คื อ เมื่ อ ไม มี ก าย-วจี -มโนสมารั ม ภะ หรือ อวิช ชาอัน เปน เหตุใ หเ กิด อาสวะ อัน เปน อาการที ่เ ห็น ได รู ส ึก ได ดว ยตนเอง ใน ทิ ฏ ฐธรรมนี้ โดยเฉพาะในขณะที่ ความคั บ แค น เราร อนระงับ ลง เมื่ อหยุ ดเสี ยได ซึ่ งกายสมา รัมภะเปนตน แมเพียงในปฏิจจสมุปบาท สายหนึ่ง ๆ เรียกวาเปนการสิ้นกรรมไปคราวหนึ่ง

www.buddhadasa.info


วาดวยการเกิดดับแหงกิเลสและความทุกข

๒๐๗

ได . เมื่ อ ปฏิ จ จสมุ ป บาท ไม อ าจจะเกิ ด ขึ้ น ได อี ก ก็ เป น การสิ้ น กรรมที่ ถ าวร; ไม ค วรจะ หมายถึ งเรื่ องอะไร ๆ หลั งจากตายแล วเพี ยงอย างเดี ยว, แต หมายความว า เมื่ อจิ ตไม มี การปรุ ง แต ง เป น อุ ป าทาน หรื อ เป น ภพขึ้ น มาได แ ล ว กรรมใหม ก็ เป น อั น ไม ก ระทํ า กรรมเก า ก็ เป น อั น สิ้ น สุ ด ไป เพราะไม มี สิ่ ง ที่ เรี ย กว า ภพ หรื อ ชาติ ในป จ จุ บั น นี้ ที่ จ ะเป น แดนให ก รรม ทําหนาที่ใหผล จึงถือวาสิ้นกรรม ในกระแสแหงปฏิจจสมุปบาท นั่นเอง.

อายตนะยังไมทําหนาที่ ปญจุปาทานขันธ ก็ยังไมเกิด๑ ดู ก อ นท านผู มี อายุ ทั้ งหลาย! เปรี ยบเหมื อนอวกาศถู กแวดล อ มป ด กั้ น ไว แล ว (ส ว นหนึ่ ง ) โดยอาศั ย ไม ด ว ย เถาวั ล ย ด ว ย ดิ น เหนี ย วด ว ย หญ า ด ว ย ย อ ม ถึ ง ซึ่ ง การนั บ ว า "เรื อ น" ดั ง นี้ ฉั น ใด; ดู ก อ นท า นผู มี อ ายุ ทั้ ง หลาย! อวกาศถู ก แวดล อมป ดกั้ นไว แล ว (ส วนหนึ่ ง) โดยอาศั ยกระดู กด วย เอ็ นด วย เนื้ อด วย หนั งด วย ยอมถึงซึ่งการนับวา "รูป (กาย)" ดังนี้; ฉันนั้น. ดู ก อ นท า นผู มี อ ายุ ทั้ งหลาย! แม ห ากว า , จั ก ษุ (ตา) อั น เป น อายตนะ ภายใน เป น ของไม แตกทํ าลาย, และรู ป ทั้ งหลายอั น เป น อายตนะภายนอก ก็ ยั งไม มาสูคลอง (แหงจักษุ), ทั้งสมันนาหารจิต๒ อันเกิดจากอายตนะ ๒ อยางนั้น ก็ไมมี,

www.buddhadasa.info ๑

มหาหั ตถิ ป โทปมสู ตร มู .ม. ๑๒/๓๕๘/๓๔๖, พระสารี บุ ตรกล าวแก ภิ กษุ ทั้ งหลาย ที่ เชตวั น. ข อความนี้ มิ ใช พุ ทธภาษิ ต เพราะเป นคํ าพระสารีบุ ตร; แต สามารถอธิ บายพระพุ ทธภาษิ ตได ดี , จึ งยกมาใส ประกอบ ในฐานะเปนอภิธรรมแท. ๒ สมั น นาหารจิ ต คื อ จิ ต ที่ ล ะภวั ง ค ขึ้ น มากํ า หนดอารมณ ที่ ม ากระทบทางทวารนั้ น ๆ มี อ วิ ช ชา, หรื อ ความปราศจากสติ, หรือปราศจากวิชชาในวิมุตติ, ประกอบอยู.

www.buddhadasa.info


๒๐๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๕

แล ว ไซร; ความปรากฏแห งส ว นของวิ ญ ญาณ อั น เกิ ด จากอายตนะ ๒ อย า งนั้ น ก็ยังจะไมมีกอน. ดู ก อนท านผู มี อายุ ทั้ งหลาย! แม หากว า, จั กษุ อั นเป นอายตนะภายใน เป น ของไม แ ตกทํ า ลาย, และรู ป ทั้ ง หลายอั น เป น อายตนะภายนอก ก็ ม าสู ค ลอง (แหง จัก ษุ); แตว า สมัน นาหารจิต อัน เกิด จากอายตนะ๒ อยา งนั ้น ก็ไ มม ี, แล ว ไซร; ความปรากฏแห งส ว นของวิ ญ ญาณ อั น เกิ ด จากอายตนะ ๒ อย า งนั้ น ก็ยังจะไมมีอยูนั่นเอง ดู ก อ นท า นผู มี อ ายุ ทั้ ง หลาย!ก็ แ ต ว า ในกาลใดแล จั ก ษุ อั น เป น อายตนะภายในนั่นเทียว เปนของไมแตกทําลาย, และรูปทั้งหลายอันเปนอายตนะ ภายนอก ก็มาสูคลอง (แหงจักษุ); ทั้งสมันนาหารจิต อันเกิดจากอายตนะ๒ อยาง นั้ น ก็มี ด วย, แล วไซร; เมื่ อ เป น ดั งนี้ ความปรากฏแห งส วนของวิ ญ ญาณ อั น เกิ ด จากอายตนะ ๒ อยางนั้น ยอมมี ในกาลนั้น.

www.buddhadasa.info รู ป ใด (ที่ เป น ของเกิ ด ร วม) แห งสมั น นาหารจิ ต อั น เกิ ด แล วอย างนั้ น , รูปนั้น ยอมถึงซึ่งการสังเคราะหในรูปู ปาทานขันธ; เวทนาใด (ที่ เป นของเกิดรวม) แห ง สมั น นาหารจิ ต อั น เกิ ด แล ว อย า งนั้ น , เวทนานั้ น ย อ มถึ ง ซึ่ ง การสงเคราะห ใน เวทนู ปาทานขั นธ; สัญญาใด (ที่เป นของเกิดรวม) แหงสมั นนาหารจิตอันเกิดแล ว อยา งนั ้น , สัญ ญานั ้น ยอ มถึง ซึ่ง การสงเคราะหใ นสัญ ูป าทานขัน ธ; สัง ขาร ทั้งหลายเหลาใด (ที่ เป นของเกิดรวม) แหงสมั นนาหารจิตอันเกิดแลวอยางนั้ น, สั งขาร ทั้ง หลายเหลา นั้น ยอ มถึงซึ่งการสงเคราะหในสัง ขารูป าทานขัน ธ; วิญ ญาณใด (ที่ เป นของเกิ ดรวม) แห งสมั นนาหารจิตอั นเกิ ดแล วอย างนั้ น, วิญ ญาณนั้ น ย อมถึ ง ซึ่งการสงเคราะหใน วิญญาณูปาทานขันธ.

www.buddhadasa.info


วาดวยการเกิดดับแหงกิเลสและความทุกข

๒๐๙

ภิ ก ษุ ย อ มรู ชั ด อย า งนี้ ว า ได ยิ น ว า การสงเคราะห การประชุ ม พร อ ม การรวมหมูกัน แหงอุปาทานขันธทั้ง ๕ เหลานี้ ยอมมีไดดวยอาการอยางนี้. ก็แล คํานี้ เปนคําที่พระผูมีพระภาคเจาไดตรัสแลววา "ผูใดเห็นปฏิจจสมุปบาท,ผูนั้นชื่อวาเห็นธรรม; ผูใดเห็นธรรม, ผูนั้นชื่อวาเห็นปฏิจจสมุปบาท" ดังนี้ ธรรมทั้ งหลายเหลานี้ ชื่อวา ปฏิจจสมุ ปป นนธรรม; กลาวคือ ป ญจุปาทานขันธ ทั้งหลาย. ธรรมใด เป น ความเพลิ น เป น ความอาลั ย เป น ความติ ด ตาม เป น ความสยบมัว เมาในอุป าทานขัน ธทั ้ง หลาย ๕ ประการเหลา นี ้; ธรรมนั ้น ชื ่อ วา ทุกขสมุทัย (เหตุใหเกิดขึ้นแหงทุกข); ธรรมใด เป นความนํ าออกซึ่ งฉั นทราคะ เป นความละขาดซึ่ งฉั นทราคะ ในอุปาทานขันธทั้งหลาย ๕ ประการ เหลานี้; ธรรมนั้น ชื่อวา ทุ กขนิ โรธ (ความ ดับไมเหลือแหงทุกข) ดังนี้.

www.buddhadasa.info ดู ก อ นท านผู มี อายุ ทั้ งหลาย! ด วยการปฏิ บั ติ มี ป ระมาณเพี ยงเท านี้ แล คําสอนของพระผูมีพระภาคเจา ชื่อวาเปนสิ่งที่ภิกษุประพฤติกระทําใหมากแลว. .... .... .... ....

(จบขอความอันเกี่ ยวกับอายตนะที่หนึ่ง คือตากับรูป ดังนี้แลว ต อไปนี้ เปนขอความที่ เกี่ยว กับอายตนะที่สองเป นลําดับตอไป จนถึงอายตนะที่หก ซึ่งในที่ นี้จะละไวดวย...ฯลฯ... สําหรับอายตนะที่สอง ถึงอายตนะที่หา, แลวจะใสขอความเต็มสําหรับอายตนะที่หก อีกครั้งหนึ่ง ขอใหสังเกตจนเขาใจไดตามนี้)

www.buddhadasa.info


๒๑๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๕

ดู ก อ นท า นผู มี อ ายุ ทั้ ง หลาย! แม ห ากว า , โสต (หู ) อั น เป น อายตนะ ภายใน เป นของไม แตก ทํ าลาย, และเสี ยงทั้ งหลายอั นเป นอายตนะภายนอก ก็ยั ง ไม ม า สู  ค ล อ ง (แ ห ง โส ต ),...ฯ ล ฯ ...ฯ ล ฯ ...ฯ ล ฯ ... ภิ ก ษุ ป ระ พ ฤ ติ ก ร ะ ทํ า ใหมากแลว. ดู ก อนท านผู มี อายุ ทั้ งหลาย! แม หากวา, ฆาน (จมู ก) อั นเป นอายตนะ ภายใน เป นของไม แตก ทํ าลาย, และกลิ่ นทั้ งหลายอันเป นอายตนะภายนอก ก็ ยั ง ไม ม า สู  ค ล อ ง (แ ห ง ฆ า น ),...ฯ ล ฯ ...ฯ ล ฯ ...ฯ ล ฯ ... ภิ ก ษุ ป ระ พ ฤ ติ ก ระ ทํ า ใหมากแลว. ดูกอนท านผู มี อายุ ทั้งหลาย! แม หากวา, ชิ วหา (ลิ้ น) อันเป นอายตนะ ภายใน เป นของไม แตก ทํ าลาย, และรสทั้ งหลายอั น เป น อายตนะภายนอก ก็ ยั ง ไม ม าสู  ค ล อ ง (แ ห ง ชิ ว ห า ),...ฯ ล ฯ ...ฯ ล ฯ ...ฯ ล ฯ ... ภิ ก ษุ ป ระ พ ฤ ติ ก ระ ทํ า ใหมากแลว. ดู ก อนท านผู มี อายุ ทั้ งหลาย! แม หากว า, กาย อั นเป นอายตนะภายใน เป น ของไม แ ตก ทํ าลาย, และโผฏฐั พ พะทั้ ง หลายอั น เป น อายตนะภายนอก ก็ ยั ง ไ ม ม า สู  ค ล อ ง (แ ห ง ก า ย ..ฯ ล ฯ ...ฯ ล ฯ ...ฯ ล ฯ ... ภิ ก ษุ ป ร ะ พ ฤ ติ ก ร ะ ทํ า ใหมากแลว. .... .... .... ....

www.buddhadasa.info ดู ก อ นท านผู มี อ ายุ ทั้ งหลาย! แม ห ากว า, มโน (ใจ) อั น เป น อายตนะ ภายใน เปนของไมแตก ทําลาย, และธัมมารมณทั้งหลายอันเปนอายตนะภายนอก

www.buddhadasa.info


วาดวยการเกิดดับแหงกิเลสและความทุกข

๒๑๑

ก็ ยั งไม ม าสู ค ลอง (แห งมโน) ทั้ งสมั น นาหารจิ ต อั น เกิ ด จากอายตนะ๒ อย างนั้ น ก็ ไม มี , แล ว ไซร ; ความปรากฏแห ง ส ว นของวิ ญ ญาณ อั น เกิ ด จากอายตนะ ๒ อยางนั้น ก็ยังจะไมมีกอน. ดู ก อนท านผู มี อายุ ทั้ งหลาย! แม หากว า, มโน อั นเป นอายตนะภายใน เป นของไม แตก ทําลาย, และธัมมารมณ ทั้ งหลายอันเป นอายตนะภายนอกก็ยังไมมาสู คลอง (แห งมโน) แต ว าสมั น นาหารจิ ต อั น เกิ ด จากอายตนะ๒ อย างนั้ น ยั งไม มี , แล ว ไซร; ความปรากฏแห งส ว นของวิ ญ ญาณ อั น เกิ ด จากอายตนะ ๒ อย า งนั้ น ก็ยังจะไมมีอยูนั่นเอง. ดู ก อ นท า นผู มี อ ายุ ทั้ ง หลาย! ก็ แ ต ว า ,ในกาลใดแล มโนอั น เป น อายตนะภายในนั่นเทียว เปนของไมแตกทําลาย, และธัมมารมณ ทั้งหลายอันเป น อายตนะภายนอก ก็มาสูคลอง (แหงมโน) ทั้งสมันนาหารจิต อันเกิดจากอายตนะ ๒ อยางนั้นก็มีดวย, แลวไซร; เมื่อเปนดังนี้ ความปรากฏแหงสวนของวิญญาณ อันเกิดจากอายตนะ ๒ อยางนั้น ยอมมี ในกาลนั้น.

www.buddhadasa.info รู ป ใด (ที่ เป น ของเกิ ด ร ว ม) แห งสมั น นาหารจิ ต อั น เกิ ด แล ว อย า งนั้ น รูปนั้น ยอมถึงซึ่งการสังเคราะหในรูปู ปาทานขันธ; เวทนาใด (ที่ เป นของเกิดรวม) แห ง สมั น นาหารจิ ต อั น เกิ ด แล ว อย า งนั้ น , เวทนานั้ น ย อ มถึ ง ซึ่ ง การสงเคราะห ใน เวทนู ปาทานขั นธ; สัญญาใด (ที่เป นของเกิดรวม) แหงสมั นนาหารจิตอันเกิดแล ว อยา งนั ้น , สัญ ญานั ้น ยอ มถึง ซึ ่ง การสงเคราะหใ นสัญ ูป าทานขัน ธ; สัง ขาร ทั้ ง หลายเหล า ใด (ที่ เป น ของเกิ ด ร ว ม) แห ง สมั น นาหารจิ ต อั น เกิ ด แล ว อย า งนั้ น , สังขารทั้งหลายเหลานั้น ยอมถึงซึ่งการสงเคราะหในสังขารูปาทานขันธ; วิญญาณใด

www.buddhadasa.info


๒๑๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๕

(ที่ เป นของที่ เกิ ดรวม) แห งสมั นนาหารจิ ตอั นเกิ ดแล วอย างนั้ น, วิ ญ ญาณนั้ น ย อมถึ ง ซึ่งการสงเคราะหในวิญญาณูปาทานขันธ. ภิ ก ษุ ย อ มรู ชั ด อย า งนี้ ว า ได ยิ น ว า การสงเคราะห การประชุ ม พร อ ม การรวมหมูกัน แหงอุปาทานขันธทั้ง ๕ เหลานี้ ยอมมีไดดวยอาการอยางนี้. ก็ แล คํ านี้ เป นคํ าที่ พระผู มี พระภาคเจ าได ตรัสแล ววา "ผู ใดเห็ นปฏิ จจสมุปบาท,ผูนั้นชื่อวาเห็นธรรม; ผูใดเห็นธรรม, ผูนั้นชื่อวาเห็นปฏิจจสมุปบาท" ดั งนี้ ธรรมทั้ งหลายเหล านี้ ชื่ อว า ปฏิ จจสมุ ป ป นนธรรม; กล าวคื อ ป ญ จุ ปาทานขันธทั้งหลาย. ธรรมใด เป น ความเพลิ น เป น ความอาลั ย เป น ความติ ด ตาม เป น ความสยบมั ว เมาในอุ ป าทานขั น ธ ทั้ ง หลาย ๕ ประการเหล า นี้ ; ธรรมนั้ น ชื่ อ ว า ทุกขสมุทัย (เหตุใหเกิดขึ้นแหงทุกข); ธรรมใด เป น ความนํ าออกซึ่ งฉั น ทราคะ เป น ความละขาดซึ่ งฉั น ทราคะ ในอุ ปาทานขั นธ ทั้ งหลาย ๕ ประการ เหล านี้ ; ธรรมนั้ น ชื่ อว า ทุ กขนิ โรธ (ความ ดับไมเหลือแหงทุกข) ดังนี้.

www.buddhadasa.info ดู ก อ นท า นผู มี อ ายุ ทั้ งหลาย! ด วยการปฏิ บั ติ มี ป ระมาณเพี ย งเท า นี้ แ ล คํ า สอนของพระผู มี พ ระภาคเจ า ชื่ อ ว า เป น สิ่ ง ที่ ภิ ก ษุ ป ระพฤติ ก ระทํ า ให ม ากแล ว ดังนี้ แล. หมายเหตุ ผู ร วบรวม : ผู ศึ ก ษาพึ ง สั ง เกตให เห็ น ว า คํ า กล า วของพระ สารี บุ ต รเหล า นี้ แสดงให เห็ น ว า วิ ญ ญาณ, หรื อ ป ญ จุ ป าทานขั น ธ เกิ ด ขึ้ น ได อ ย า งไร และ เมื่อไร; และที่สําคัญที่สุดก็คือวา การเกิดขึ้นแหงวิญญาณ หรือปญจุปาทานขันธ ใน

www.buddhadasa.info


วาดวยการเกิดดับแหงกิเลสและความทุกข

๒๑๓

ลั ก ษณะเช น ที่ กล าวในสู ต รนี้ นั่ น แหละคื อ การเกิ ด ขึ้ น ของปฏิ จ จสมุ ป บาทโดยตรง, กล าวให เจาะจงกว า นั้ น อี ก ก็ คื อ เมื่ อ สมั น นาหารจิ ต เกิ ด ขึ้ น ทางอายตนะใดอายตนะหนึ่ ง นั่ น เอง. การเห็ น การเกิ ด ดั บ อย า งนี้ คื อ เห็ น ปฏิ จ จสมุ ป บาท หรื อ ทุ ก ขสมุ ทั ย และทุ ก ขนิ โ รธ, โดย พฤติ นั ย ก็ คื อเห็ นอริ ยสั จสี่ โดยแท จริ ง ด วยป ญ ญาจั กษุ หรื อยถาภู ตสั มมั ป ป ญ ญา, จึ งมี ค า เทากับเห็นธรรม หรือเห็นตถาคต. ใจความสํ าคั ญของเรื่ องอยู ที่ ว า ปฏิ จจสมุ ปบาทตั้ งต น เมื่ อสมั นนาหารจิ ตทํ าหน าที่ ทาง อายตนะ; ขอใหกําหนดไว เปนหลักสําคัญ เกี่ยวกับเรื่องปฏิจจสมุปบาท สืบไป.

ปญจุปาทานขันธเพิ่งจะมี เมื่อเกิดเวทนาในปฏิจจสมุปบาท๑ ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! บุ ค คล เมื่ อ ไม รู ไม เห็ น ซึ่ ง จั ก ษุ ตามที่ เป น จริ ง , เมื่ อไม รูไม เห็ น ซึ่ งรู ปทั้ งหลาย ตามที่ เป นจริง,เมื่ อไม รูไม เห็ น ซึ่ งจั กษุ วิ ญญาณ ตามที่ เป น จริ ง , เมื่ อ ไม รู ไม เห็ น ซึ่ ง จั ก ษุ สั ม ผั ส ตามที่ เป น จริ ง ,เมื่ อ ไม รู ไม เห็ น ซึ่ ง เวทนา อั นเกิ ดขึ้ นเพราะจั กขุ สั มผั สเป นป จจั ย อั นเป นสุ ขก็ ตาม เป นทุ กข ก็ ตาม ไม ใช ทุ กข ไม ใช สุ ข ก็ ต าม ตามที่ เป น จริ ง แล ว ; เขาย อ มกํ า หนั ด ในจั ก ษุ , กํ า หนั ด ในรู ป ทั้ ง หลาย, กํ าหนั ดในจั กขุ วิ ญญาณ, กํ าหนั ดในจั กขุ สั มผั ส, และกํ าหนั ดในเวทนาอั นเกิ ดขึ้ นเพราะ จักขุสัมผัสเปนปจจัย อันเปนสุขก็ตาม เปนทุกขก็ตาม ไมใชทุกขไมใชสุขก็ตาม ตามที่เปนจริง. เมื่อ บุคคลนั้นกําหนัดแลว ติดพันแลว ลุมหลงแลว จองมองตออัสสาทะอยู, ปญจุปาทานขั น ธ ทั้ งหลาย ย อ มถึ งซึ่ งความก อเกิ ดต อ ไป; และตั ณ หาของเขาอั นเป น เครื่ องนํ าไปสู ภพใหม อั นประกอบอยู ด วยความกํ าหนั ดด วยอํ านาจความเพลิ น เป นเครื่ อง ทําใหเพลินอยางยิ่งในอารมณนั้น ๆ ยอมเจริญถึงที่สุด แกเขา; ความกระวนกระวาย

www.buddhadasa.info

สฬายตนวิภังคสูตร อุปริ.ม. ๑๔/๕๒๑/๘๒๖, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๒๑๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๕

(ทรถ) แม นทางกาย ยอมเจริญถึงที่ สุด แกเขา; ความกระวนกระวาย แม ทางจิตย อมเจริญ ถึงที่ สุด แก เขา; ความแผดเผา (สนฺ ตาป) แม ทางกาย ยอมเจริญถึงที่ สุ ด แกเขา, ความ แผดเผา แมทางจิต ยอมเจริญถึงที่สุด แกเขา; ความเรารอน (ปริฬาห)แมทางกาย ยอมเจริญถึ งที่ สุด แกเขา, ความเรารอน แมทางจิต ยอมเจริญถึงที่ สุด แกเขา, บุ คคลนั้ น ยอมเสวยซึ่ งความทุ กข อั นเป นไปทางกาย ด วย, ซึ่งความทุ กขอั นเป นไปทางจิ ต ดวย. ดู ก อ นภิ กษุ ทั้ งหลาย! บุ ค คล เมื่ อ ไม รู ไม เห็ น ซึ่ งโสตะ ตามที่ เป น จริ ง, เมื่ อ ไม รู ไม เห็ น ซึ่ งเสี ย งทั้ งหลาย ตามที่ เป น จริ ง,เมื่ อ ไม รู ไม เห็ น ซึ่ งโสตวิ ญ ญาณ ตามที ่เ ปน จริง , ...ฯลฯ...ฯลฯ...บุค คลนั ้น ยอ มเสวยซึ ่ง ความทุก ขอ ัน เปน ไป ทางกาย ดวย, ซึ่งความทุกขอันเปนไปทางจิต ดวย. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! บุ คคล เมื่ อไม รูไม เห็ น ซึ่ งฆานะ ตามที่ เป นจริง, เมื่ อ ไม รู ไม เห็ น ซึ่ งกลิ่ น ทั้ งหลาย ตามที่ เป น จริ ง,เมื่ อ ไม รู ไม เห็ น ซึ่ งฆานวิ ญ ญาณ ตามที่เปนจริง,...ฯลฯ...ฯลฯ...บุคคลนั้น ยอมเสวยซึ่งความทุกขอันเปนไปทางกาย ดวย, ซึ่งความทุกขอันเปนไปทางจิต ดวย.

www.buddhadasa.info ดู ก อ นภิ กษุ ทั้ งหลาย! บุ ค คล เมื่ อ ไม รูไม เห็ น ซึ่ งชิ วหา ตามที่ เป น จริ ง, เมื่ อ ไม รู ไม เห็ น ซึ่ งรสทั้ งหลาย ตามที่ เป น จริ ง ,เมื่ อ ไม รู ไม เห็ น ซึ่ งชิ ว หาวิ ญ ญาณ ตามที ่ เ ป น จริ ง ,...ฯลฯ...ฯลฯ...บุ ค คลนั ้ น ย อ มเสวยซึ ่ ง ความทุ ก ข อ ั น เป น ไปทางกาย ดวย, ซึ่งความทุกขอันเปนไปทางจิต ดวย.

ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! บุ ค คล เมื่ อ ไม รู ไม เห็ น ซึ่ ง กาย ตามที่ เป น จริ ง , เมื่อไมรูไมเห็น ซึ่งโผฏฐัพพะทั้งหลาย ตามที่เปนจริง,เมื่อไมรูไมเห็น ซึ่งกายวิญญาณ

www.buddhadasa.info


วาดวยการเกิดดับแหงกิเลสและความทุกข

๒๑๕

ตามที ่เ ปน จริง ,...ฯลฯ...ฯลฯ..บุค คลนั ้น ยอ มเสวยซึ ่ง ความทุก ขอ ัน เปน ไปทาง กาย ดวย, ซึ่งความทุกขอันเปนไปทางจิต ดวย. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! บุ ค คล เมื่ อ ไม รู ไม เห็ น ซึ่ ง มโน ตามที่ เป น จริ ง , เมื่ อไม รูไม เห็ น ซึ่ งธั มมารมณ ทั้ งหลาย ตามที่ เป นจริง,เมื่ อไม รูไม เห็ น ซึ่ งมโนวิ ญญาณ ตามที่ เป น จริ ง เมื่ อ ไม รู ไม เห็ น ซึ่ ง มโนสั ม ผั ส ตามที่ เป น จริ ง , เมื่ อ ไม รู ไม เห็ น ซึ่ ง เวทนาอันเกิดขึ้นเพราะมโนสัมผัสเป นป จจัย อันเปนสุขก็ตาม เป นทุ กขก็ตาม ไมใชทุกข ไม ใช สุ ขก็ ตาม ตามที่ เป นจริ ง แล ว; เขาย อมกํ าหนั ดในมโน, กํ าหนั ดในธั มมารมณ ทั้ งหลาย, กํ าหนั ดในมโนสั มผั ส, และกํ าหนั ดในเวทนาอั นเกิ ดขึ้ นเพราะมโนสั มผั สเป น ป จ จั ย อั น เป น สุ ข ก็ ต าม เป น ทุ ก ข ก็ ต าม ไม ใช ทุ ก ข ไม ใช สุ ข ก็ ต าม เมื่ อ บุ ค คลนั้ น กําหนัดแลว ติดพันแลว ลุมหลงแลว จองมองตออัสสาทะอยู, ปญจุปาทานขันธ ทั้ งหลาย ย อ มถึ งซึ่ งความก อเกิ ด ต อ ไป; และตั ณ หาของเขาอั นเป นเครื่องนํ าไปสู ภพใหม อั นประกอบอยู ด วยความกํ าหนั ดด วยอํ านาจความเพลิ น เป นเครื่ องทํ าให เพลิ น อย างยิ่ งในอารมณ นั้ น ๆ ย อ มเจริ ญ ถึ งที่ สุ ด แก เขา; ความกระวนกระวาย (ทรถ) แม ทางกาย ย อมเจริญถึ งที่ สุ ด แก เขา; ความกระวนกระวาย แม ทางจิ ตย อมเจริญ ถึ งที่ สุ ด แก เขา; ความแผดเผา (สนฺ ตาป) แม ทางกาย ย อมเจริ ญถึ งที่ สุ ด แก เขา, ความแผดเผา แม ทางจิ ต ย อมเจริ ญ ถึ งที่ สุ ด แก เขา; ความเร าร อน (ปริฬาห)แม ทางกาย ย อมเจริ ญ ถึ งที่ สุ ด แก เขา, ความเร าร อน แม ทางจิ ต ย อมเจริ ญ ถึ งที่ สุ ด แก เขา บุ คคลนั้ น ย อม เสวยซึ่งความทุกขอันเปนไปทางกาย ดวย, ซึ่งความทุกขอันเปนไปทางจิต ดวย.

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๒๑๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๕

การเกิดแหงโลก คือการเกิดแหงปฏิจจสมุปบาท๑ ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย! เราจักแสดง ซึ่งความกอขึ้นแหงโลก แกพวกเธอ ทั้ งหลาย. พวกเธอทั้ งหลาย จงฟ งความข อนั้ น, จงทํ าในใจให สํ าเร็จประโยชน , เราจั ก กลาวบัดนี้. ครั้นภิ กษุ ทั้ งหลายเหล านั้ น ทู ลสนองรับพระพุ ทธดํ ารัสแล ว, พระผู มี พระภาคเจ าได ตรัส ถอยคําเหลานี้วา:-

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ก็ความกอขึ้นแหงโลก เปนอยางไรเลา? (๑) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะอาศั ยตาด วย รู ปทั้ งหลายด วย จึ งเกิ ด จั ก ขุ วิ ญ ญาณ; การประจวบพร อ มแห งธรรม ๓ ประการ (ตา+รู ป +จั กขุ วิ ญ ญาณ) นั่ นคื อผั สสะ; เพราะมี ผั สสะเป นป จจั ย จึ งมี เวทนา; เพราะมี เวทนาเป นป จจั ย จึ งมี ตัณหา; เพราะมี ตั ณหาเป นป จจัย จึงมี อุ ปาทาน; เพราะมี อุปาทานเป นป จจัย จึงมี ภพ; เพราะมี ภ พเป น ป จจั ย จึ งมี ช าติ ; เพราะมี ชาติ เป น ป จจั ย , ชรามรณะ โสกะปริ เทวะ ทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถวย : นี้คือ ความกอเกิดแหงโลก.

www.buddhadasa.info (๒) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะอาศั ยหู ด วย เสี ยงทั้ งหลายด วย จึ งเกิ ด โสตะวิ ญญาณ; การประจวบพร อมแห งธรรม ๓ ประการ (โสตะ+เสี ยง+โสตะวิ ญญาณ) นั่นคือผัสสะ; ...ฯลฯ...

สูตรที่ ๔ คหปติวรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน. สํ. ๑๖/๘๗/๑๖๔, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยการเกิดดับแหงกิเลสและความทุกข

๒๑๗

(๓)ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เพราะอาศัยจมูกดวย กลิ่นทั้งหลายดวย, จึงเกิด ฆานวิญญาณ; การประจวบพรอมแหงธรรม ๓ ประการ (จมูก+กลิ่น+ฆานวิญญาณ) นั่นคือผัสสะ;...ฯลฯ... (๔) ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เพราะอาศัยลิ้นดวย รสทั้งหลายดวย, จึงเกิด ชิวหาวิญญาณ; การประจวบพรอมแหงธรรม ๓ ประการ (ลิ้น+รส+ชิวหาวิญญาณ) นั่นคือผัสสะ; ...ฯลฯ... (๕) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะอาศั ยกายด วย โผฏฐั พพะทั้ งหลายด วย, จึ งเกิ ดกายวิ ญ ญาณ; การประจวบพรอมแห งธรรม ๓ ประการ (กาย+โผฏฐั พ พะ+ กายวิญญาณ) นั่นคือผัสสะ; ...ฯลฯ... (๖) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะอาศั ยใจด วย, ธั มมารมณ ทั้ งหลายด วย, จึ งเกิ ด มโนวิ ญ ญาณ; การประจวบพร อ มแห งธรรม ๓ ประการ (ใจ+ธั ม มารมณ + มโนวิญญาณ) นั่ นคื อผั สสะ; เพราะมี ผั สสะเป นป จจั ย จึ งมี เวทนา; เพราะมี เวทนาเป น ป จจั ย จึ งมี ตั ณ หา เพราะมี ตั ณ หาเป นป จจั ย จึ งมี อุ ปาทาน; เพราะมี อุ ปาทานเป น ป จจั ย จึ งมี ภพ; เพราะมี ภพเป นป จจั ยจึ งมี ชาติ ; เพราะมี ชาติ เป นป จจั ย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถวน : นี้คือ ความกอเกิดขึ้น แหงโลก.

www.buddhadasa.info ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เหลานี้แล คือความกอขึ้นแหงโลก.

www.buddhadasa.info


๒๑๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๕

ทุกขเกิดเพราะเห็นอุปาทานิยธรรม โดยความเปนอัสสทะ๑ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เมื่อภิกษุเปนผูมีปรกติ เห็นโดยความเปนอัสสาทะ (น ารั กน ายิ นดี ) ในธรรมทั้ งหลาย อั นเป นที่ ตั้ งแห งอุ ปาทาน (อุ ปาทานิ ยธรรม)๒ อยู , ตั ณหาย อมเจริญอย างทั่ วถึ ง. เพราะมี ตั ณหาเป นป จจั ย จึ งมี อุ ปาทาน; เพราะมี อุ ปาทาน เปน ปจ จัย จึง มีภ พ; เพราะมีภ พเปน ปจ จัย จึง มีช าติ; เพราะมีช าติเ ปน ปจ จัย , ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งเกิ ดขึ้ นครบถ วน :ความ เกิดขึ้นพรอมแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เปรี ยบเหมื อนไฟกองใหญ พึ งลุ กโพลงด วยไม สิ บ เลมเกวียนบาง ยี่สิบเลมเกวียนบาง สามสิบเลมเลมเกวียนบาง สี่สิบเลมเลมเกวียนบาง. บุรุษ พึงเติมหญ าแหงบ าง มูลโคแหงบาง ไมแหงบาง ลงไปในกองไฟนั้น ตลอดเวลาที่ควรเติม อยู เป นระยะ ๆ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ด วยอาการอย างนี้ แล ไฟกองใหญ ซึ่ งมี เครื่อ ง หล อเลี้ ยงอย างนั้ น มี เชื้ อเพลิ งอย างนั้ น ก็ จะลุ กโพลงตลอดกาลยาวนาน, ข อนี้ ฉั นใด; ดูกอนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่อภิกษุ เปนผูมี ปรกติ เห็นโดยความเป นอัสสาทะ (น ารักนายินดี ) ในธรรมทั้ งหลาย อั นเป นที่ ตั้ งแห งอุ ปาทานอยู , ตั ณ หาย อมเจริญ อย างทั่ วถึ ง ฉั นนั้ น เหมื อ นกั น เพราะมี ตั ณ หาเป น ป จ จั ย จึ งมี อุ ป าทาน; เพราะมี อุ ป าทานเป น ป จ จั ย จึงมีภพ; เพราะมีภพเปนปจจัย จึงมีชาติ; เพราะมีชาติเปนปจจัย, ชรามรณะ

www.buddhadasa.info

๑ ๒

สูตรที่ ๒ ทุกขวรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน. สํ. ๑๖/๑๐๒/๑๙๖, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน. ธรรมอันเปนที่ตั้งแหงอุปาทาน หรืออุปาทานิยธรรม คือรูป, เวทนา, สัญญา, สังขาร, วิญญาณ (ขนฺธ สํ . ๑๗/๒๐๒/๓๐๙); ตา, หู , จมู ก , ลิ้ น , กาย, ใจ (สฬา. สํ . ๑๘/๑๑๐/๑๖๐); รู ป , เสี ย ง, กลิ่ น , รส, โผฏฐัพพะ, ธัมมารมณ (สฬา.สํ.๑๘/๑๓๖/๑๙๐).

www.buddhadasa.info


วาดวยการเกิดดับแหงกิเลสและความทุกข

๒๑๙

โส ก ะป ริ เท วะทุ ก ข ะโท ม นั ส อุ ป าย าส ทั้ งห ล าย จึ งเกิ ด ขึ้ น ค รบ ถ วน :ค วาม เกิ ด ขึ้ น พ ร อ ม แหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้ แล.

หมายเหตุ ผู ร วบรวม : ยั งมี สู ต รอี ก สู ต รหนึ่ ง (คื อ สู ต รที่ ๕ แห งทุ ก ขวรรค อภิ ส มยสั ง ยุ ต ต นิ ท าน. สํ .๑๖/๑๐๕/๒๐๖) แสดงข อ ธรรมข อ เดี ย วกั น กั บ สู ต รข า ง บนนี้ ต างกั นแต อุ ปมา : แทนที่ จะอุ ปมาด วยไฟกองใหญ มี เชื้ อเพลิ งมาก ดั งในสู ตรข างบนนี้ แต ท รงอุ ป มาด ว ยต น ไม ใหญ มี รากมั่ น คง เหมื อ นอุ ป มาในหั ว ข อ ว า "จิ ต สั ต ว ยุ งเป น ปม

เพราะไมเห็นแจงปฏิจจสมุปบาท" อนึ่ ง ยั งมี สู ต รอี ก สู ต รหนึ่ ง (สู ต รที่ ๖ ทุ ก ขวรรค อภิ สมยสั งยุ ต ต นิ ท าน. สํ . ๑๖/๑๐๖/๒๑๐) มี ใจความเหมื อนสู ตรข างบนนี้ ทุ กประการ ผิ ดกั นแต ว าทรงเริ่ มต นสู ตรด วยคํ า อุปมา แลวจึงกลาวถึงขอธรรมซึ่งเปนตัวอุปไมย.

ทุกขเกิด เพราะเห็นสัญโญชนิยธรรม โดยความเปนอัสสาทะ๑ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เมื่อภิกษุเปนผูมีปรกติ เห็นโดยความเปนอัสสาทะ (นารักนายินดี) ในธรรมทั้งหลาย อันเปนที่ตั้งแหงสังโยชน๒ อยู, ตัณหายอมเจริญอยาง ทั่ วถึ ง. เพราะมี ตั ณหาเป นป จจั ย จึ งมี อุ ปาทาน; เพราะมี อุ ปาทานเป นป จจั ย จึ งมี ภพ; เพราะมี ภ พเป น ป จจั ย จึ งมี ช าติ ; เพราะมี ชาติ เป น ป จจั ย , ชรามรณะ โสกะปริ เทวะ ทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งเกิ ดขึ้ นครบถ วน :ความเกิ ดขึ้ นพร อมแห งกองทุ กข ทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้.

www.buddhadasa.info

สูตรที่ ๓ ทุกขวรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน. สํ. ๑๖/๑๐๓/๒๐๐, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน. ๒ ดู ธ รรมอั น เป น ที่ ตั้ งแห ง สั ง โยชน (สั ญ โญชนิ ย ธรรม) ในหมวดที่ ๓ แห งหั ว ข อ ว า "นามรู ป หยั่ งลง

เพราะเห็นสัญโญชนิยธรรมโดยความเปนอัสสาทะ"

www.buddhadasa.info


๒๒๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๕

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เปรียบเหมื อนประที ปน้ํ ามั น พึ งลุ กอยู ได เพราะอาศั ย ซึ่งน้ํามันดวย ซึ่งไสดวย; บุ รุษพึ งเติมน้ํามัน พึ งเปลี่ยนไส ใหใหมอยู, ตลอดเวลาที่ควร เติ มที่ ควรเปลี่ ยนอยู ทุ กระยะ ๆ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ด วยอาการอย างนี้ แล ประที ป น้ํ ามั น ซึ่ งมี เครื่ อ งหล อ เลี้ ย งอย างนั้ น มี เชื้ อ เพลิ งอย างนั้ น ก็ จะลุ ก โพลงตลอดกาล ยาวนาน, ข อนี้ ฉั น ใด; ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ อ ภิ กษุ เป น ผู มี ปรกติ เห็ นโดยความ เป นอัสสาทะ (นารักนายินดี) ในธรรมทั้งหลาย อันเป นที่ ตั้งแหงสังโยชนอยู, ตั ณหายอม เจริญอย างทั่ วถึ ง. ฉั นนั้ นเหมื อนกั น. เพราะมี ตั ณหาเป นป จจั ย จึ งมี อุ ปาทาน; เพราะ มี อุ ป าทานเป น ป จ จั ย จึ งมี ภ พ; เพราะมี ภ พเป น ป จ จั ย จึ งมี ช าติ ; เพราะมี ช าติ เป น ป จจั ย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งเกิ ดขึ้ นครบถ วน: ความเกิดขึ้นพรอมแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้ แล. หมายเหตุ ผู ร วบรวม : ยั ง มี สู ต รอี ก สู ต รหนึ่ ง (คื อ สู ต รที่ ๔ แห ง ทุ ก ขวรรค อภิ สมยสั งยุ ตต นิ ท าน. สํ .๑๖/๑๐๔/๒๐๔) มี ข อความเหมื อนสู ตรข างบนนี้ ทุ กประการ ผิดกันแตวาทรงเริ่มตนสูตรดวยคําอุปมากอน แลวจึงกลาวถึงขอธรรมซึ่งเปนตัวอุปไมย. อนึ่ ง ยั งมี สู ตรอี กสู ตรหนึ่ ง (สู ตรที่ ๗ ทุ กขวรรค อภิ สมยสั งยุ ตต นิ ทาน.สํ .๑๖/ ๑๐๗/๒๑๒) แสดงข อ ธรรมอย า งเดี ย วกั น กั บ สู ต รข า งบนนี้ ต า งกั น แต อุ ป มา : แทนที่ จ ะ อุ ปมาด วยประที ปน้ํ ามั นดั งในสู ตรข างบนนี้ แต ทรงอุ ปมาด วยต นไม ยั งอ อนอยู มี ผู คอยพรวน ดิน รดน้ํา ใสปุย จึงเจริญเติบโต.

www.buddhadasa.info แดนเกิดดับแหงทุกข-โรค-ชรามรณะ๑ (สูตรที่หนึ่ง : อายตนะภายใน หก)

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! การเกิดขึ้น (อุปฺปาโท) การตั้งอยู (ฐิติ) การเกิดโดยยิ่ง (อภินิพพนฺติ) การปรากฏ (ปาตุภาโว) แหงจักษุ, อันใด; อันนั้นเปนการเกิดขึ้นแหง

สู ต รทั้ ง สิ บ สู ต ร แห ง อุ ป ปาทสั ง ยุ ต ต ขนฺ ธ . สํ . ๑๗/๒๘๓-๒๘๗/๔๗๙-๔๙๘, ตรั ส แก ภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยการเกิดดับแหงกิเลสและความทุกข

๒๒๑

ทุ กข , เป นการตั้ งอยู แห งโรค (สิ่ งซึ่ งมี ปรกติ เสี ยบแทง) ทั้ งหลาย, เป นการปรากฏออก แหงชราและมรณะ. ดูกอนภิ กษุ ทั้งหลาย! และการดั บไม เหลื อ (นิ โรโธ) การเขาไปสงบระงับ (วู ป สโม) การถึ งซึ่ งความตั้ งอยู ไม ได (อตฺ ถงฺ ค โม) แห งจั ก ษุ , อั น ใด; อั น นั้ น เป น ความดั บไม เหลื อแห งทุ กข , เป นการเขาไปสงบระงับแห งโรคทั้งหลาย, เป นการถึ ง ซึ่งความตั้งอยูไมไดแหงชราและมรณะ. (ข อความในกรณี แห งจั กษุ เป นอย างไร ข อความในกรณี แห งโสตะ ฆานะ ชิ วหา กาย มโน ก็เปนอยางนั้นเหมือนกัน ทุกตัวอักษร ตางกันแตชื่ออายตนะแตละอยาง ๆ เทานั้น. ผูศึกษาพึงสังเกตใหเห็น วาจั กษุ โสตะ เป นต นเหล านี้ ดั บไปได โดยที่ คนไม ต องตาย; ดั งนั้ น คํ าวาจั กษุ เป นต นนั้ นมิ ได หมายถึ ง ดวงตา ตามปรกติ แต หมายถึ งดวงตาที่ ทํ าหน าที่ ของตา แล วหยุ ดไปครั้งหนึ่ ง ๆ เรียกวาจั กษุ เกิ ดขึ้นจั กษุ ดั บไป โดยที่ คนไม ต องเกิ ดใหม หรือตายลงโดยรางกาย; และยั งจะเห็ นได ชัดต อไปอี กว า ข อที่ วาการตั้ งอยู แหงจักษุ เปนการตั้งอยูแห งโรคทั้งหลายนั้น หมายถึงความเสี ยดแทงของกิเลสที่ เกิดขึ้นจากการที่ ตาเห็นรูป; และการปรากฏแหงจักษุ คื อ การปรากฏแหงชราและมรณะนั้น หมายความวา การเห็นทางตา ทําใหปญหาอัน เกิ ดแต ชราและมรณะปรากฏขึ้ น ในขณะนั้ นนั่ นเอง. ทั้ งหมดนี้ มี อาการแห งปฏิ จจสมุ ปบาทซ อนอยู ในนั้ น ครบทุ กอาการ นั บตั้ งแต อวิชชาไปจนถึงกองทุ กขทั้ งสิ้น. ตั วอย าง เช น ตาเกิ ดเป นตาขึ้ นมา เพราะการเห็ น รูปแลวเกิดจักขุวิญญาณ อันทําให เกิดการสัมผัสดวยอํานาจแห งอวิชชา (อวิชชาสั มผัส) ซึ่งยอมเป นการปรุง แต ง (สังขาร) อยู ในตั วมั นเองทุ กระยะ จึงได มี เวทนา ตั ณหา อุ ปาทาน ภพ ชาติ ชราและความทุ กข ทุ กครั้ง ที่มีการกระทบทางอายตนะเชนนี้.)

www.buddhadasa.info (สูตรที่สอง : อายตนะภายนอก หก)

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! การเกิ ดขึ้ น การตั้ งอยู การเกิ ดโดยยิ่ ง การปรากฏ แห ง รู ป ทั้ ง หลาย, อั น ใด; อั น นั้ น เป น การเกิ ด ขึ้ น แห งทุ ก ข , เป น การตั้ ง อยู แ ห ง โรค ทั้งหลาย, เปนการปรากฏออกแหงชราและมรณะ. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! และการดั บไม เหลื อ การเข าไปสงบระงับ การถึ งซึ่ ง ความตั้งอยูไมไดแหงรูปทั้งหลาย, อันใด; อันนั้น เปน ความดับไมเหลือแหงทุกข, เปน การเขาไปสงบระงับแหงโรคทั้งหลาย, เปนการถึงซึ่งความตั้งอยูไมไดแหงชราและมรณะ.

www.buddhadasa.info


๒๒๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๕

(ข อความในกรณี แห งรู ป เป นอย างไร ข อความในกรณี แห งเสี ยง กลิ่ น รส โผฏฐั พ พะ ธัมมารมณ ก็เป นอยางนั้น เหมือนกันทุกตัวอักษร ต างกันแต ชื่ออายตนะแต ละอยาง ๆ เท านั้ น. ผูศึ กษา พึ งสังเกตให เห็นวา รูป เสียง เป นตน เหลานี้ เกิดดั บอยูทุกคราวที่ตาเห็ นรูป, หู ไดยินเสียง เปนตน ทุ ก คราวไปเสร็จกิ จครั้งหนึ่ ง เรียกวาดั บไปครั้งหนึ่ ง. เพราะทํ างานรวมกั นกั บอายตนะภายใน จึ งมี การเกิ ดดั บ พรอมกัน เปนเหตุใหเกิดทุกข ใหตั้งอยูแหงโรค ใหชราและมรณะปรากฏ หรือใหมีการดับไปแหงสิ่งเหลานั้น ในลักษณะอยางเดียวกันกับที่กลาวแลวในสูตรที่หนึ่ง.) (สูตรที่ สาม : วิญญาณ หก)

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! การเกิ ดขึ้ น การตั้ งอยู การเกิ ดโดยยิ่ ง การปรากฏ แห งจั ก ขุ วิ ญ ญาณ, อั นใด; อั นนั้ นเป นการเกิ ดขึ้ นแห งทุ กข , เป นการตั้ งอยู แห งโรค ทั้งหลาย, เปนการปรากฏออกแหงชราและมรณะ. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! และการดั บไม เหลื อ การเข าไปสงบระงับ การถึ งซึ่ ง ความตั้งอยูไม ได แห งจั กขุ วิญญาณ, อันใด; อันนั้น เป น ความดับไมเหลื อแห งทุกข, เป นการเขาไปสงบระงับแห งโรคทั้ งหลาย, เป นการถึ งซึ่ งความตั้ งอยู ไม ได แห งชราและ มรณะ.

www.buddhadasa.info (ข อความในกรณี แห งจั กขุ วิ ญญาณ เป นอย างไร ข อความในกรณี แห งโสตวิ ญญาณ ฆานวิญญาณ ชิวหาวิญญาณ กายวิญญาณ มโนวิญญาณ ก็เปนอยางนั้นเหมือนกัน ทุกตัวอักษร ตางกันแตชื่อ ของวิญญาณไปตามชื่อของทวารอันเป นที่เกิดของวิญญาณนั้ น ๆ. ผูศึกษาพึ งสังเกตให เห็ นวา วิญญาณเกิดมา จากการกระทบระหว างอายตนะภายในและอายตนะภายนอก จนเกิ ดสั มผั สและเวทนาเป นต น จึ งเกิ ดทุ กข ใน ที่สุด; ดังนั้น จึงถือวาวิญญาณนั้น ๆ ก็เปนเหตุใหเกิดทุกขเปนตน อยางเดียวกันกับอายตนะนั่นเอง.) (สูตรที่ สี่ : ผัสสะ หก)

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! การเกิ ดขึ้ น การตั้ งอยู การเกิ ดโดยยิ่ ง การปรากฏ แห ง จั ก ขุ สั ม ผั ส , อั น ใด; อั น นั้ น เป น การเกิ ด ขึ้ น แห ง ทุ ก ข , เป น การตั้ ง อยู แ ห ง โรค ทั้งหลาย, เปนการปรากฏออกแหงชราและมรณะ.

www.buddhadasa.info


วาดวยการเกิดดับแหงกิเลสและความทุกข

๒๒๓

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! และการดั บไม เหลื อ การเข าไปสงบระงั บ การถึ งซึ่ ง ความตั้ งอยู ไม ได แห งจั กขุ สั มผั ส, อันใด; อันนั้ น เป น ความดั บไม เหลื อแห งทุ กข , เป น การเขาไปสงบระงับแหงโรคทั้งหลาย, เปนการถึงซึ่งความตั้งอยูไมไดแหงชราและมรณะ. (ข อความในกรณี แห งจั กขุ สั มผั ส เป นอย างไร ข อความในกรณี แห งโสตสั มผั ส ฆานสั มผั ส ชิ วหาสั มผั ส กายสั มผั ส มโนสั มผั ส ก็ เป นอย างนั้ นเหมื อนกั น ทุ กตั วอั กษร ต างกั นแต ชื่ อสั มผั สไปตามชื่ อ ของทวารนั้ น ๆ ผู ศึ กษาพึ งสั งเกตให เห็ นว า ผั สสะเกิ ดมาจากการประจวบพร อมของสิ่ งทั้ งสาม คื อ อายตนะ ภายใน อายตนะภายนอก, และวิ ญญาณ, เป นผลให เกิ ดเวทนา ตั ณหา เป นต นจนเกิ ดทุ กข และเป นที่ ตั้ งแห ง โรคเปนตน โดยนัยะอยางเดียวกันกับที่กลาวแลวในทายสูตรที่หนึ่ง.) (สูตรที่ หา : เวทนา หก)

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! การเกิ ดขึ้ น การตั้ งอยู การเกิ ดโดยยิ่ ง การปรากฏ แห งจั ก ขุ สั ม ผั ส สชาเวทนา, อั น ใด; อั นนั้ น เป นการเกิ ดขึ้ นแห งทุ กข , เป นการตั้ งอยู แหงโรคทั้งหลาย, เปนการปรากฏออกแหงชราและมรณะ. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! และการดั บ ไม เหลื อ การเข าไปสงบระงั บ การถึ ง ซึ่งความตั้งอยูไมไดแหงจักขุสัมผัสสชาเวทนา, อันใด; อันนั้น เปน ความดับไมเหลือ แห งทุ กข , เป นการเข าไปสงบระงั บแห งโรคทั้ งหลาย, เป นการถึ งซึ่ งความตั้ งอยู ไม ได แหงชราและมรณะ.

www.buddhadasa.info (ข อความในกรณี แห งจั กขุ สั มผั สสชาเวทนา เป นอย างไร ข อความในกรณี แห งโสตสั มผั สสชาเวทนา ฆานสั มผั สสชาเวทนา ชิ วหาสั มผั สสชาเวทนา กายสั มผั สสชาเวทนา มโนสั มผั สสชาเวทนา ก็ เป น อย างนั้ นเหมื อนกั น ทุ กตั วอั กษร ต างกั นแต ชื่ อเวทนาไปตามชื่ อของทวารนั้ นๆ ผู ศึ กษาพึ งสั งเกตให เห็ นว า เวทนาเป นผลเกิดมาจากผั สสะแลวทํ าให เกิ ดตั ณหา อุปาทาน ต อไปจนถึ งกองทุ กข จึ งเป นที่ ตั้ งที่ ดั บแห งโรค เปนตน โดยทํานองเดียวกัน) (สูตรที่ หก : สัญญา หก)

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! การเกิ ดขึ้ น การตั้ งอยู การเกิ ดโดยยิ่ ง การปรากฏ แหง รูป สัญ ญา, อัน ใด; อัน นั ้น เปน การเกิด ขึ ้น แหง ทุก ข, เปน การตั ้ง อยู แ หง โรค ทั้งหลาย, เปนการปรากฏออกแหงชราและมรณะ.

www.buddhadasa.info


๒๒๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๕

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! และการดั บ ไม เหลื อ การเข าไปสงบระงั บ การถึ ง ซึ่ งความตั้ งอยู ไม ได แห งรู ปสั ญ ญา, อั นใด; อั นนั้ น เป น ความดั บไม เหลื อแห งทุ กข , เป นการเขาไปสงบระงับแห งโรคทั้ งหลาย, เป นการถึ งซึ่ งความตั้ งอยู ไม ได แห งชราและ มรณะ. (ขอความในกรณี แห งรูปสั ญญา เป นอย างไร ข อความในกรณี แห งสั ททสั ญญา คั นธสั ญญา รสสั ญญา โผฏฐัพพสั ญญา ธัมมสัญญา ก็เปนอยางนั้นเหมือนกัน ทุ กตัวอักษร ตางกันแตชื่อแหงสัญญาไป ตามชื่อของอารมณ นั้น ๆ ผู ศึกษาพึ งสั งเกตใหเห็ นวาความสําคัญ วารูป, วาเสี ยง เป นตนนั่ นเอง ทํ าให รูปและเสียงเกิดมี ความหมายสําหรับตัณหาและอุปาทาน สัญญาจึงเป นที่ เกิดแหงทุกขและเปนที่ตั้งแห งโรค ไดโดยทํานองเดียวกัน.) (สูตรที่ เจ็ด : สัญเจตนา หก)

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! การเกิ ดขึ้ น การตั้ งอยู การเกิ ดโดยยิ่ ง การปรากฏ แหง รูป สัญ เจตนา, อัน ใด; อัน นั ้น เปน การเกิด ขึ ้น แหง ทุก ข, เปน การตั ้ง อยู แ หง โรคทั้งหลาย, เปนการปรากฏออกแหงชราและมรณะ.

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! และการดั บไม เหลื อ การเข าไปสงบระงับ การถึ งซึ่ ง ความตั้ งอยูไม ได แห งรูปสั ญเจตนา, อั นใด; อันนั้น เป น ความดั บไม เหลื อแห งทุ กข, เป นการเขาไปสงบระงับแห งโรคทั้ งหลาย, เป นการถึ งซึ่ งความตั้ งอยู ไม ได แห งชราและ มรณะ.

(ข อความในกรณี แห งรู ปสั ญเจตนา เป นอย างไร ข อความในกรณี แห งสั ททสั ญเจตนา คั นธสั ญเจตนา รสสั ญเจตนา โผฏฐัพพสั ญเจตนา ธัมมสัญเจตนา ก็ เป นอย างนั้ นเหมื อนกั น ทุ กตั วอั กษร ต าง กันแตชื่อแหงสัญญาเจตนาไปตามชื่อของอารมณ นั้นๆ ผูศึกษาพึงสังเกตใหเห็นวาสัญเจตนาเปนผลตอมาจาก สัญญากลาวคือ เมื่ อมี ความสําคัญวารูป วาเสียงเป นตนแลว ยอมเกิ ดสั ญเจตนา คื อความคิ ดอั นประกอบ ด วยเจตนาอย างใดอย างหนึ่ ง ในกรณี เกี่ ยวกั บรูปและเสี ยงเป นต นนั้ น จึ งเป นการเกิ ดแห งทุ กข และการตั้ ง อยูแหงโรคทั้งหลาย โดยทํานองเดียวกัน)

www.buddhadasa.info


วาดวยการเกิดดับแหงกิเลสและความทุกข

๒๒๕

(สูตรที่ แปด : ตัณหา หก)

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! การเกิ ดขึ้ น การตั้ งอยู การเกิ ดโดยยิ่ ง การปรากฏ แห ง รู ป ตั ณ หา, อั น ใด; อั น นั้ น เป น การเกิ ด ขึ้ น แห ง ทุ ก ข , เป น การตั้ ง อยู แ ห ง โรค ทั้งหลาย, เปนการปรากฏออกแหงชราและมรณะ. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! และการดั บไม เหลื อ การเข าไปสงบระงับ การถึ งซึ่ ง ความตั้ งอยู ไม ได แ ห งรู ป ตั ณ หา, อั น ใด; อั น นั้ น เป น ความดั บ ไม เหลื อ แห งทุ ก ข , เป นการเขาไปสงบระงับแห งโรคทั้ งหลาย, เป นการถึ งซึ่ งความตั้ งอยู ไม ได แห งชราและ มรณะ. (ข อความในกรณี แห งรูปตั ณหา เป นอย างไร ข อความในกรณี แห งสั ททตั ณหา คั นธตั ณหา รสตั ณหา โผฏฐั พพตัณหา ธัมมตัณหา ก็ เปนอยางนั้นเหมื อนกัน ทุ กตั วอักษร ต างกันแตชื่ อแห งตั ณหาไป ตามชื่อของอารมณ นั้นๆ ผูศึกษาพึ งสังเกตใหเห็นวา เมื่อมีสัญเจตนา กลาวคือความคิดอันเกี่ยวกับอารมณ ทั้งหกแลว ยอมเกิดตัณหาคือความอยาก อยางใดอยางหนึ่ง ไปตามความสําคัญหรือสัญญาในอารมณ เหลานั้น เป นกามตั ณ หาบ าง ภวตั ณ หาบ าง วิภวตั ณ หาบ าง เพื่ อเกิ ดอุ ปาทานต อไป จนกระทั่ งเกิ ดทุ กข ; ดั งนั้ น การเกิดแหงตัณหา จึงเปนการเกิดแหงทุกขหรือเปนที่ตั้งแหงโรคทั้งหลาย โดยทํานองเดียวกัน) (สูตรที่ เกา : ธาตุ หก)

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! การเกิ ดขึ้ น การตั้ งอยู การเกิ ดโดยยิ่ ง การปรากฏ แหง ปฐวีธ าตุ, อัน ใด; อัน นั ้น เปน การเกิด ขึ ้น แหง ทุก ข, เปน การตั ้ง อยู แ หง โรค ทั้งหลาย, เปนการปรากฏออกแหงชราและมรณะ.

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! และการดั บไม เหลื อ การเข าไปสงบระงั บ การถึ งซึ่ ง ความตั้ ง อยู ไม ได แ ห ง ปฐวี ธ าตุ , อั น ใด; อั น นั้ น เป น ความดั บ ไม เหลื อ แห งทุ ก ข , เป นการเขาไปสงบระงับแห งโรคทั้ งหลาย, เป นการถึ งซึ่ งความตั้ งอยู ไม ได แห งชราและ มรณะ. (ข อความในกรณี แห งปฐวี ธาตุ เป นอย างไร ข อความในกรณี แห งอาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ อากาสธาตุ วิญญาณธาตุ ก็เปนอยางนั้นเหมือนกัน ทุกตัวอักษร ต างกันแตชื่อแหงธาตุ แต ละธาตุ ๆ เทานั้น. ผูศึกษาพึงสังเกตใหเห็นวาธาตุทั้ง ๖ คือสวนประกอบตาง ๆ ที่จะประกอบกันเขาเปนนามรูปที่มีความหมาย

www.buddhadasa.info


๒๒๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๕

ของคํ าว านามรู ปอั นแท จริ ง คื อทํ าหน าที่ ของนามรู ป; ดั งนั้ น เป นอั นกล าวได ว า ธาตุ แต ละธาตุ ซึ่ งเป น ส วนประกอบของนามรูปนั้ น เพิ่ งจะเกิ ดเมื่ ออายตนะภายใน อายตนะภายนอก ที่ อาศั ยอยู ในนามรูปนั้ น ทํ า หน าที่ ของมั น จนเกิ ดวิญญาณ ผั สสะ เวทนา ตามลํ าดั บ จนกระทั่ งเกิ ดกองทุ กข ในที่ สุ ด. ทํ าให กล าวได ว า การเกิ ดแห งธาตุ หนึ่ ง ๆ ล วนแต เป นการเกิ ดแห งทุ กข หรือเป นที่ ตั้ งแห งโรคทั้ งหลาย โดยทํ านองเดี ยวกั น. อยาได เข าใจไปวา ธาตุ แต ละธาตุ เกิ ดขึ้ น หรือตั้ งอยู ตลอดเวลา ตามความหมายของภาษาวัตถุ เหมื อนที่ พู ด กั นตามธรรมดานั้ นเลย. ในที่ นี้ เป นภาษาฝ ายนามธรรม ซึ่ งถื อว า สิ่ งใด ๆ ก็ ตาม เกิ ดขึ้ นเฉพาะในเมื่ อมั น ทําหนาที่ ของมั นในกรณี อั นเกี่ยวกั บปฏิ จจสมุ ปบาท เป นขณะ ๆ ไปเทานั้น เสร็จแล วก็ถื อวาดับไป จนกวาจะ มีโอกาสทําหนาที่ใหม จึงจะถือวาเกิดขึ้นมาอีก ดังนี้.) (สูตรที่ สิบ : ขันธ หา)

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! การเกิ ดขึ้ น การตั้ งอยู การเกิ ดโดยยิ่ ง การปรากฏ แหง รูป (ขัน ธ), อัน ใด; อัน นั ้น เปน การเกิด ขึ ้น แหง ทุก ข, เปน การตั ้ง อยู แ หง โรค ทั้งหลาย, เปนการปรากฏออกแหงชราและมรณะ. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! และการดั บไม เหลื อ การเข าไปสงบระงั บ การถึ งซึ่ ง ความตั้ งอยู ไม ได แห งรู ป (ขั นธ ), อั นใด; อั นนั้ น เป น ความดั บไม เหลื อแห งทุ กข , เป น การเขาไปสงบระงับแหงโรคทั้งหลาย, เปนการถึงซึ่งความตั้งอยูไมไดแหงชราและมรณะ.

www.buddhadasa.info (ข อความในกรณี แห งรู ป เป นอย างไร ข อความในกรณี แห งเวทนา สั ญญา สั งขาร วิ ญญาณ ก็ เป น อย างนั้ น เหมื อ นกั น ทุ ก ตั ว อั ก ษร ต างกั น แต ชื่ อ แห งขั น ธ แ ต ล ะขั น ธ เท า นั้ น ผู ศึ ก ษาพึ งสั งเกตให เห็ น ว า ขั น ธ แ ต ล ะขั น ธ มี รู ป ขั น ธ เป น ต น เพิ่ งเกิ ด เป น คราว ๆ ในเมื่ อ มี ก ารกระทบทางอายตนะ จนเกิ ด วิ ญ ญาณ ผั สสะ เวทนา เป น ลํ าดั บ ๆ ไป จนกว าจะเกิ ดทุ กข . ร างกายในขณะนั้ น โดยเฉพาะ เรี ยกว า รูปขั นธ อั นเป นที่ ตั้ งแห งอุปาทาน, เวทนาในขณะนั้ นเรียกวา เวทนาขันธ อั นเป นที่ ตั้ งแห งอุ ปาทาน, สั ญญา หรือความสําคั ญในขณะนั้ น ซึ่งเรียกวา สัญญาขันธ อันเป นที่ตั้งแห งอุปาทน, ความคิดต าง ๆ ในขณะนั้ น ชื่อว า สั งขารขั นธ อั นเป นที่ ตั้ งแห งอุ ปาทาน, ความรูสึ กทางตาเป นต น ที่ เรียกว า จั กขุ วิญญาณเป นต น อั นเกิ ดใน ระยะแรกนั้ นก็ ดี และความรูแจ งต อความรูสึ กต าง ๆ ที่ เกิ ดขึ้ นในลํ าดั บต อมาก็ ดี รวมเรียกว า วิญญาณขั นธ อั นเป นที่ ตั้ งแห งอุ ปาทาน. อุ ปาทานขั นธ ๕ ประการ แต ละอย าง ๆ เป นสิ่ งที่ เพิ่ งเกิ ดมี ต อเมื่ อมี การกระทบ ทางอายตนะครั้ งหนึ่ ง ๆ แล วก็ ดั บไป. อุ ปาทานในขั นธ แต ละขั นธ ๆ นั้ น ล วนแต ให เกิ ดภพ เกิ ดชาติ ชรา มรณะ กล าวคื อกองทุ กข ในที่ สุ ด จึ งกล าววา การเกิ ดขั นธ แต ละขั นธ ๆ เป นการเกิ ดแห งทุ กข , เป นที่ ตั้ งอยู แหงโรคทั้งหลาย, เปนที่ปรากฏแหงชรา มรณะ โดยทํานองเดียวกัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยการเกิดดับแหงกิเลสและความทุกข

๒๒๗

ส วนประกอบต าง ๆ ทุ ก ๆ หมวด ในสู ตรทั้ งสิ บสู ตรนี้ คื อสิ่ งที่ พั วพั นกั นอยู ในกระแสแห ง ปฏิจ จสมุป บาท ระยะใด ระยะหนึ ่ง สว นใดสว นหนึ ่ง ; ดัง นั ้น พระผู ม ีพ ระภาคเจา จึง ตรัส ให มี ลั กษณะ อาการ ความหมาย ความเป นเหตุ ความเป นผล เหมื อนกั นทุ กอย าง ทั้ ง ๕๙ อย าง ในสู ตร ทั้งสิบนี้.) -ผูรวบรวม

การดับแหงโลก คือการดับแหงปฏิจจสมุปบาท ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! เราจั ก แสดง ซึ่ ง ความไม ตั้ ง อยู ได แ ห ง โลก แก พวกเธอทั้ งหลาย. พวกเธอทั้ งหลาย จงฟ งข อความนั้ น, จงทํ าในใจให สํ าเร็ จประโยชน , เราจักกลาวบัดนี้. ครั้นภิกษุทั้งหลายเหลานั้น ทูลสนองรับพระพุทธดํารัสแลว, พระผูมีพระภาค เ จ า ไ ด ต รั ส ถอยคําเหลานี้วา:ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ก็ความไมตั้งอยูไดแหงโลก เปนอยางไรเลา?๑

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะอาศั ยตาด วย รู ปทั้ งหลายด วย จึ งเกิ ดจั กขุ วิ ญ ญาณ; การประจวบพร อมแห งธรรมสามประการ (ตา+รู ป+จั กขุ วิ ญ ญาณ) นั่ นคื อ ผั สสะ; เพราะมี ผั สสะเป นป จจั ย จึ งมี เวทนา; เพราะมี เวทนาเป นป จจั ย จึ งมี ตั ณ หา; เพ ราะ ค ว าม จ า งค ล าย ดั บ ไป ไม เ ห ลื อ แ ห ง ตั ณ ห านั ้ น นั ่ น แ ห ล ะ , จึ ง มี ความดั บแห งอุ ปาทาน; เพราะมี ความดั บแห งอุ ปาทาน จึ งมี ความดั บแห งภพ; เพราะ มีความดับแหงภพ จึงมีความดับแหงชาติ; เพราะมีความดับแหงชาตินั่นแล ชรามรณะ

สูตรที่ ๔ คหปติวรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน. สํ. ๑๖/๘๗,๘๘/๑๖๔,๑๖๕, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๒๒๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๕

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๒๒๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๕

โสกะปริเทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึงดั บสิ้ น : ความดั บลงแห งกองทุ กขทั้ งสิ้ นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้. นี้คือ ความไมตั้งอยูไดแหงโลก ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะอาศั ยหู ด วย เสี ยงทั้ งหลายด วย จึ งเกิ ดโสต วิ ญ ญาณ; การประจวบพร อมแห งธรรม ๓ ประการ (หู +เสี ยง+โสตวิ ญ ญาณ) นั่ นคื อ ผัสสะ;...ฯลฯ... ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะอาศั ยจมู กด วย กลิ่ นทั้ งหลายด วย, จึ งเกิ ดฆานวิ ญ ญาณ; การประจวบพร อ มแห งธรรม ๓ ประการ (จมู ก +กลิ่ น +ฆานวิ ญ ญาณ) นั่นคือผัสสะ;...ฯลฯ... ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะอาศั ยลิ้ นด วย รสทั้ งหลายด วย, จึ งเกิ ดชิ วหาวิ ญญาณ; การประจวบพรอมแห งธรรม ๓ ประการ (ลิ้ น+รส+ชิ วหาวิ ญญาณ) นั่ นคื อ ผัสสะ;...ฯลฯ...

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะอาศั ยกายด วย โผฏฐั พพะทั้ งหลายด วย, จึ งเกิ ด กายวิ ญ ญาณ; การประจวบพร อ มแห งธรรม ๓ ประการ (กาย+โผฏฐั พ พะ+กายวิญญาณ) นั่นคือผัสสะ; ...ฯลฯ...

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะอาศั ยใจด วย, ธั มมารมณ ทั้ งหลายด วย, จึ งเกิ ด มโนวิ ญ ญาณ; การประจวบพร อ มแห ง ธรรม ๓ ประการ (ใจ+ธั ม มารมณ +มโนวิญ ญาณ) นั่ นคื อผั สสะ; เพราะมี ผั สสะเป นป จจั ย จึ งมี เวทนา; เพราะมี เวทนาเป น ปจจัย จึงมีตัณหา; เพราะความจางคลายดับไปไมเหลือแหงตัณหา

www.buddhadasa.info


วาดวยการเกิดดับแหงกิเลสและความทุกข

๒๒๙

นั่ นแหละ, จึงความดับแห งอุปาทาน; เพราะมีความดั บแหงอุปาทาน จึงมีความดั บ แห งภพ; เพราะมี ความดั บแห งภพ จึ งมี ความดั บแห งชาติ ; เพราะมี ความดั บแห งชาติ นั่ นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งดั บสิ้ น : ความดั บลง แหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้. นี้คือ ความไมตั้งอยูไดแหงโลก ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เหลานี้แล คือความไมตั้งอยูไดแหงโลก.

ปฏิจจสมุปบาท (นิโรธวาร) ที่ตรัสอยางเขาใจงายที่สุด๑ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ ความดั บลง (อตฺ ถงฺคโม) แห งกองทุ กข เป นอย างไร เลา? (ความดับลงแหงกองทุกข เปนอยางนี้ คือ:-) เพราะอาศั ยซึ่ งจั กษุ ด วย ซึ่ งรูปทั้ งหลายด วย จึ งเกิ ดจั กขุ วิ ญ ญาณ; การ ประจวบพร อ มแห ง ธรรมสามประการ (ตา+รู ป +จั ก ขุ วิ ญ ญาณ ) นั่ น คื อ ผั ส สะ; เพราะมี ผั สสะเป นป จจั ย จึ งมี เวทนา; เพราะมี เวทนาเป นป จจั ย จึ งมี ตั ณ หา; เพราะ ความจางคลายดับไปไมเหลือแหงตัณหานั้นนั่นแหละ, จึงความดับแหงอุปาทาน; เพราะมี ความดั บแห งอุ ปาทาน จึงมี ความดั บแห งภพ; เพราะมี ความดั บแห งภพ จึ งมี ความดับแหงชาติ; เพราะมีความดับแหงชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะ-

www.buddhadasa.info

สุตรที่ ๓ โยคักเขมิวรรค สฬายตนสังยุตต สฬา.สํ. ๑๘/๑๐๗/๑๕๕, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย.

www.buddhadasa.info


๒๓๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๕

โทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งดั บสิ้ น : ความดั บลงแห งกองทุ กข ทั้ งสิ้ นนี้ ย อมมี ด วย อาการอยางนี้. นี้คือความดับลงแหงกองทุกข. เพราะอาศั ยซึ่ งโสตะด วย ซึ่ งเสี ยงทั้ งหลายด วย จึ งเกิ ดโสตวิ ญญาณ; การ ประจวบพร อ มแห งธรรม ๓ ประการ (โสตะ+เสี ย ง+โสตะวิ ญ ญาณ) นั่ น คื อ ผั ส สะ; เพราะมี ผั สสะเป นป จจั ย จึ งมี เวทนา; เพราะมี เวทนาเป นป จจั ย จึ งมี ตั ณ หา; เพราะ ความจางคลายดับไปไมเหลือแหงตัณหานั้นนั่นแหละ, จึงความดับแหงอุปาทาน; ….ฯลฯ...นี้คือความดับลงแหงกองทุกข. เพราะอาศั ยซึ่ งฆานะด วย ซึ่ งกลิ่ นทั้ งหลายด วย, จึ งเกิ ดฆานวิ ญญาณ; การ ประจวบพร อ มแห งธรรม ๓ ประการ (ฆานะ+กลิ่ น +ฆานวิ ญ ญาณ) นั่ น คื อ ผั ส สะ; เพราะมี ผั สสะเป นป จจั ย จึ งมี เวทนา; เพราะมี เวทนาเป นป จจั ย จึ งมี ตั ณ หา; เพราะ ความจางคลายดับไปไมเหลือแหงตัณหานั้นนั่นแหละ, จึงความดับแหงอุปาทาน ; ...ฯลฯ...นี้คือความดับลงแหงกองทุกข. เพราะอาศั ยซึ่ งชิ วหาด วย ซึ่ งรสทั้ งหลายด วย, จึ งเกิ ดชิ วหาวิ ญญาณ; การ ประจวบพร อ มแห ง ธรรม ๓ ประการ (ชิ ว หา+รส+ชิ ว หาวิ ญ ญาณ) นั่ น คื อ ผั ส สะ; เพราะมี ผั สสะเป นป จจั ย จึ งมี เวทนา; เพราะมี เวทนาเป นป จจั ย จึ งมี ตั ณ หา; เพราะ ความจางคลายดับไปไมเหลือแหงตัณหานั้นนั่นแหละ, จึงความดับแหงอุปาทาน; …ฯลฯ...นี้คือความดับลงแหงกองทุกข.

www.buddhadasa.info เพราะอาศั ยซึ่ งกายด วย ซึ่ งโผฏฐั พพะทั้ งหลายด วย, จึ งเกิ ดกายวิญญาณ; การประจวบพรอมแหงธรรม ๓ ประการ (กาย+โผฏฐัพพะ+กายวิญญาณ) นั่นคือผัสสะ;

www.buddhadasa.info


วาดวยการเกิดดับแหงกิเลสและความทุกข

๒๓๑

เพราะมี ผั สสะเป นป จจั ย จึ งมี เวทนา; เพราะมี เวทนาเป นป จจั ย จึ งมี ตั ณ หา; เพราะ ความจางคลายดับไปไมเหลือแหงตัณหานั้นนั่นแหละ, จึงความดับแหงอุปาทาน; ...ฯลฯ...นี้คือความดับลงแหงกองทุกข. เพราะอาศั ยซึ่ งมโนด วย, ซึ่ งธั มมารมณ ทั้ งหลายด วย, จึ งเกิ ดมโนวิ ญญาณ; การประจวบพรอมแห งธรรม ๓ ประการ (มโน+ธั มมารมณ +มโนวิ ญญาณ) นั่ นคื อผั สสะ; เพราะมี ผั สสะเป นป จจั ย จึ งมี เวทนา; เพราะมี เวทนาเป นป จจั ย จึ งมี ตั ณ หา; เพราะ ความจางคลายดับไปไมเหลือแหงตัณหานั้นนั่นแหละ, จึงความดับแหงอุปาทาน; เพราะมี ความดั บแห งอุ ปาทาน จึงมี ความดั บแห งภพ; เพราะมี ความดั บแห งภพ จึ งมี ความดั บแห งชาติ ; เพราะมี ความดั บแห งชาติ นั่ นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งดั บสิ้ น : ความดั บลงแห งกองทุ กข ทั้ งสิ้ นนี้ ย อมมี ด วย อาการอยางนี้. นี้คือความดับลงแหงกองทุกข. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เหลานี้แล คือความดับลงแหงกองทุกข.

www.buddhadasa.info ทุกขดับ เพราะเห็นอุปาทานิยธรรม โดยความเปนอาทีนวะ๑

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เมื่อภิกษุเปนผูมีปรกติ เห็นโดยความเปนอาทีนวะ (โทษอันต่ําทราม) ในธรรมทั้งหลาย อันเปนที่ตั้งแหงอุปาทานอยู, ตัณหายอมดับ. เพราะ .

สูตรที่ ๒ ทุกขวรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน. สํ. ๑๖/๑๐๒/๑๙๘, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน

www.buddhadasa.info


๒๓๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๕

มี ความดั บแห งตั ณหา จึงมี ความดั บแห งอุปาทาน; เพราะมี ความดั บแห งอุปาทานจึงมี ความดั บแห งภพ; เพราะมี ความดั บแห งภพ จึ งมี ความดั บแห งชาติ ; เพราะมี ความดั บ แห งชาติ เป นนั่ นแล, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งดั บสิ้ น : ความดับลงแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เปรียบเหมื อนไฟกองใหญ พึ งลุ กโพลงด วยไม สิ บเล ม เกวียนบาง ยี่สิบเลมเกวียนบาง สามสิบเลมเลมเกวียนบาง สี่สิบเลมเลมเกวียนบาง. บุรุษไม พึงเติมหญ าแหงบาง ไมพึงเติมมูลโคแหงบาง ไมพึงเติมไมแหงบาง ลงไปในกองไฟนั้น ตลอด เวลาที่ ควรเติ ม อยู เป น ระยะ ๆ ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ด วยอาการอย างนี้ แล ไฟกอง ใหญ นั้ นไหม เชื้ อเพลิ งเก าหมดแล วด วยไม มี เชื้ อ อื่ นมาเติ มด วย เป นไฟหมดเชื้ อหล อ เลี ้ย งแลว ดับ ไป, ขอ นี ้ฉ ัน ใด; ดูก อ นภิก ษุทั ้ง หลาย! ขอ นี ้ก ็ฉ ัน นั ้น เมื ่อ ภิก ษุ เป นผู มี ปรกติ เห็ นโดยความเป นอาที นวะ (โทษอั นต่ํ าทราม) ในธรรมทั้ งหลาย อั นเป น ที่ตั้ งแหงอุปาทานอยู, ตัณหายอมดั บ. เพราะมี ความดับแห งตั ณหา จึงมี ความดับแห ง อุ ปาทาน; เพราะมี ความดั บ แห งอุ ปาทาน จึ งมี ความดั บแห งภพ; เพราะมี ความดั บ แห ง ภพ จึ ง มี ค วามดั บ แห ง ชาติ ; เพราะมี ค วามดั บ แห ง ชาติ , ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งดั บสิ้ น :ความดั บลงแห งกองทุ กข ทั้ งสิ้ นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้, ดังนี้ แล.

www.buddhadasa.info หมายเหตุ ผู ร วบรวม : ยั ง มี สู ต รอี ก สู ต รหนึ่ ง (คื อ สู ต รที่ ๕ แห ง ทุ ก ขวรรค อภิ สมยสั งยุ ตต นิ ทาน. สํ . ๑๖/๑๐๖/๒๐๘) แสดงข อธรรมข อเดี ยวกั นกั บ สู ตรข างบนนี้ ต า งกั น แต อุ ป มา : แทนที่ จ ะอุ ป มาด ว ยไฟกองใหญ ห มดเชื้ อ ดั ง ในสู ต รข า งบนนี้ แต ท รง อุ ป มาด ว ยต น ไม ใหญ ที่ ถู ก ทํ า ลายหมดสิ้ น เหมื อ นอุ ป มาในหั ว ข อ ว า "จิ ต สั ต ว ยุ งเป น ปม

เพราะไมเห็นแจงปฏิจจสมุปบาท" อนึ่ ง ยั งมี สู ตรอี กสู ตรหนึ่ ง (สู ตรที่ ๖ ทุ กขวรรค อภิ สมยสั งยุ ตต นิ ทาน. สํ . ๑๖/ ๑๐๗/๒๑๑) มี ใจความเหมื อ นสู ตรข างบนนี้ ทุ กประการ ผิ ด กั นแต ว าทรงเริ่ มข อความด วยคํ า อุปมากอน แลวจึงกลาวถึงขอธรรมซึ่งเปนตัวอุปไมย.

www.buddhadasa.info


วาดวยการเกิดดับแหงกิเลสและความทุกข

๒๓๓

ทุกขดับ เพราะเห็นสัญโญชนิยธรรม โดยความเปนอาทีนวะ๑ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เมื่อภิกษุเปนผูมีปรกติ เห็นโดยความเปนอที นวะ (โทษอั น ต่ํ า ทราม)ในธรรมทั้ งหลาย อั น เป น ที่ ตั้ ง แห ง สั งโยชน อ ยู , ตั ณ หาย อ มดั บ เพราะมี ความดั บแห งตั ณหา จึ งมี ความดั บแห งอุ ปาทาน; เพราะมี ความดั บแห งอุ ปาทาน จึ งมี ค วามดั บ แห งภพ; เพราะมี ค วามดั บ แห งภพ; จึ งมี ค วามดั บ แห งชาติ ; เพราะมี ความดับแห งชาติ นั่ นแล ชรามรณะ โสปริเทวะทุ กขะโทมนั สอุปายาสทั้ งหลาย จึงดับสิ้น; ความดับลงแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เปรียบเหมื อนประที ปน้ํ ามั น พึ งลุ กอยู ได เพราะอาศั ย น้ํามันดวย ซึ่งไสดวย; บุ รุษพึงเติมน้ํามัน พึ งเปลี่ยนไส ใหใหมอยู, ตลอดเวลาที่ควรเติม ที่ ค วรเปลี่ ย นอยู ทุ ก ระยะ ๆ ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ด ว ยอาการอย า งนี้ แ ล ประที ป น้ํ ามั นนั้ น ไหม เชื้ อเพลิ งเก าหมดแล วด วย ไม มี น้ํ ามั นและไส อื่ นมาเติ มมาเปลี่ ยนด วย เปนประทีปหมดเชื้อหลอเลี้ยงแลว พึงดับไป,ขอนี้ฉันใด;ขอนี้ก็ฉันนั้น ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ขอนี้ ก็ ฉั นนั้ น; เมื่ อภิ กษุ เป นผู มี ปรกติ เห็ นโดยความเป นอาที นวะ (โทษอั นต่ํ าทราม) ในธรรมทั้ งหลาย อั นเป นที่ ตั้ งแห งสั งโยชน อยู , ตั ณหาย อมดั บ. เพราะมี ความดั บแห ง ตั ณหา จึ งมี ความดั บแห งอุ ปาทาน; เพราะมี ความดั บแห งอุ ปาทาน จึ งมี ความดั บแห ง ภพ; เพราะมี ค วามดั บ แห งภพ จึ งมี ค วามดั บ แห งชาติ ; เพราะมี ค วามดั บ แห งชาติ , ชรามรณะ โสกะปริ เทวะทุ ก ขะโทมนั ส อุ ป ายาสทั้ ง หลาย จึ ง ดั บ สิ้ น : ความดั บ ลงแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้, ดังนี้ แล.

www.buddhadasa.info

สูตรที่ ๓ ทุกขวรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน. สํ. ๑๖/๑๐๔/๒๐๒, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน

www.buddhadasa.info


๒๓๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๕ ห ม า ย เห ต ุผู ร ว บ ร ว ม : ย ัง ม ีส ูต รอ ีก ส ูต รห นึ ่ง (ค ือ ส ูต รที ่ ๔ แ ห ง ทุ ก ขวรรค อภิ ส มยสั ง ยุ ต ต นิ ท าน. สํ . ๑๖/๑๐๕/๒๐๕) มี ข อ ความเหมื อ นสู ต รข า งบนนี้ ทุ กประการ ผิ ด กั น แต ว าสู ตรโน น ทรงเริ่ ม ข อความด วยคํ าอุ ป มาก อ น แล วจึ งกล าวถึ งข อธรรม ซึ่งเปนตัวอุปไมย. อนึ่ ง ยั ง มี สู ต รอี ก สู ต รหนึ่ ง (สู ต รที่ ๗ ทุ ก ขวรรค อภิ ส มยสั ง ยุ ต ต นิ ท าน. สํ . ๑๖/๑๐๘/๒๑๔) แสดงขอ ธรรมขอ เดีย วกัน กับ สูต รขา งบนนี ้ ตา งกัน แตอ ุป มา : แทน ที ่จ ะอุป มาดว ยประทีป หมดน้ํ า มัน และไสเ หมือ นสูต รนี ้ แตท รงอุป มาดว ยตน ไมย ัง ออ น ถูกทําลายหมดสิ้น.

หมวดที่หา จบ

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


หมวด ๖ วาดวย ปฏิจจสมุปบาท ที่ตรัส ในรูปของการปฏิบัติ

www.buddhadasa.info ๒๓๕

www.buddhadasa.info


www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


กฎอิทัปปจจยตา : หัวในปฏิจจสมุปบาท. ………………………... อิมสฺมึ สติ อิทํ โหติ เมื่อสิ่งนี้ มี สิ่งนี้ ยอมมี อิมสฺสุปฺ ปาทา อิทํ อุปฺปชฺชติ เพราะความเกิดขึ้นแหงสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น อิมสฺมึ อสติ อิทํ น โหติ เมื่อสิ่งนี้ ไมมี สิ่งนี้ ยอมไมมี อิมสฺส นิโรธา อิทํ นิรุชฺฌติ เพราะความดับไปแหงสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงดับไป (ม.ม.๑๓/๓๕๕/๓๗๑, นิทาน.สํ.๑๖/๘๔/๑๕๔,...)

www.buddhadasa.info ๒๓๗

www.buddhadasa.info


ลําดับเรื่องเฉพาะหมวด สําหรับปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ หมวดที่ ๖ วาดวย ปฏิจจสมุปบาท ที่ตรัสในรูปของการปฏิบัติ (มี ๓๘ เรื่อง) มีเรื่อง: ตรัสวาปฏิจจสมุปบาทเปนเบื้องตนแหงพรหมจรรย-- ผูไมรูปฏิจจสมุปบาทยั ง มีห นา ที่ตอ งเที่ย วแสวงหาครู- -ผูไ มรูป ฏิจ จสมุป บาทยัง มีห นา ที่ ตอ งทํา การศึก ษา-ผู ไ มรูป ฏิจ จสมุป บาทยัง มีห นา ที ่ต อ งบํ า เพ็ญ โยคะ-- ผู ไ มรูป ฏิจ จสมุป บาทยัง มีห นา ที ่ต อ ง ประกอบฉั น ทะ--ผู  ไ ม รู ป ฏิ จ จสมุ ป บาทยั ง มี ห น า ที ่ ต  อ งบํ า เพ็ ญ อุ ส โสฬ ห ี — ผู ไ ม รู ป ฏิ จ จสมุป บาทยัง มีห นา ที่ตอ งบํา เพ็ญ อัป ปฏิว านี--ผูไ มรูป ฏิจ จสมุป บาทยัง มีห นา ที่ตอ งประกอบ ความเพี ย รเผากิ เ ลส--ผู ไ ม รู ป ฏิ จ จสมุ ป บาทยั ง มี ห น า ที่ ต อ งประกอบวิ ริ ย ะ—ผู ไ ม รู ป ฏิ จ จสมุป บาทยัง มีห นา ที่ตอ งประกอบการกระทํา อัน ติดตอ —ผูไมรูป ฏิจ จสมุป บาทยังมีห นา ที่ตอ ง อบรมสติ - -ผู ไ ม รู ป ฏิ จ จสมุ ป บาทยั ง มี ห น า ที่ ต อ งอบรมสั ม ปชั ญ ญะ—ผู ไ ม รู ป ฏิ จ จสมุ ป บาทยัง มีห นา ที่ตอ งบํา เพ็ญ ความไมป ระมาท--ทรงมุง หมายใหป ฏิจ จสมุป บาทเปน เรื่อ งของ การปฏิ บั ติ - -การหลี ก เร น ทํา ให ง า ยแก ก ารรู ป ฏิ จ จสมุ ป บาท—การคิ ด ค น ปฏิ จ จสมุ ป บาท ก็คือ การเดิน ตามอริยัฏ ฐัง คิก มรรค-- ปฏิบัติเพื่อ การดับ ปฏิจ จสมุป บาทชื่อ วา ปฏิบัติธ รรมสมควรแก ธ รรม--องค ป ระกอบที่ เ ป น บุ พ พภาคของการดั บ แห ง ปฏิ จ จสมุ ป บาท--ผั ส สะ คื อ นิ ท านสั ม ภวะส ว นมากของนิ พ เพนิ ก ธรรม--ปฏิ จ จสมุ ป บาทแห ง การกํา จั ด อุ ป สั ค ขณะ เจริ ญ สติ ป ฏ ฐาน--ปฏิ จ จสมุ ป บาทเพื่ อ สามั ญ ญผลในป จ จุ บั น --ปฏิ จ จสมุ ป บาทเป น สิ่ ง ที่ ต อ งเห็ น ด ว ยยถาภู ต สั ม มั ป ป ญ ญา--แม ก ารทํา ความเพี ย รในที่ ส งั ด ก็ ยั ง ต อ งปรารภขั น ธ ห า --แม สุ ข ทุ ก ข ภ ายในก็ เ กิ ด ขึ้ น เพราะปรารภขั น ธ ห า -- ต น เงื่ อ นของปฏิ จ จสมุ ป บาท ละไดดว ยการเห็น ธรรมทั้ง ปวงวา ไมค วรยึด มั่น --ตน เงื่อ นแหง ปฏิจ จสมุป บาทละไดดว ยการ เห็น อนิจ จัง --เคล็ด ลับ ในการปด กั้น ทางเกิด ของปฏิจ จสมุป บาท--การพิจ ารณาปจ จัย ในภาย ในคือ การพิจ ารณาปฏิ จ จสมุป บาท--ธรรมปฏิบัติใ นรูป ของปฏิ จ จสมุ ป บาทแหง การละองค สามตามลํา ดั บ --วิ ธี ป ฏิ บั ติ ต อ อาหารสี่ ใ นลั ก ษณะที่ เ ป น ปฏิ จ จสมุ ป บาท—ป ญ จุ ป าทานขัน ธไ มอ าจจะเกิด เมื่อ รูเ ทา ทัน เวทนาในปฏิจ จสมุป บาท—การพิจ ารณาสภาวธรรมตามวิธี ปฏิ จ จสมุ ป บาทกระทั่ ง วาระสุ ด ท า ย—อนุ สั ย ไม อ าจจะเกิ ด เมื่ อ รู เ ท า ทั น เวทนาในปฏิ จ จสมุป บาท--ปฏิจ จสมุ ป บาทสลายตัว เมื่อ รูแ จง ในธรรมห า อัน เปน ที่ตั้ ง แห ง อุ ป าทาน--ญาณ วัตถุ ๔๔ ในปฏิจจสมุปบาทเพื่อความเปนโสดาบัน-- ญาณวัตถุ ๗๗ ในปฏิจจสมุปบาท เพื ่ อ ความเปน โสดาบั น -- การรูป ฏิจ จสมุป บาทไมเ กี่ย วกับ การบรรลุอ ภิ ญ ญาเลยก็ไ ด- ปฏิ จ จสมุ ป บาทรอบสุ ด ท า ยของคนเรา. ๒๓๘

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ

หมวดที่ ๖ วาดวย ปฏิจจสมุปบาท ที่ตรัส ในรูปของการปฏิบัติ -----------------

ตรัสวา เรื่องปฏิจจสมุปบาท เปนเบื้องตนแหงพรหมจรรย๑ ครั้ งหนึ่ ง พระผู มี พ ระภาคเจ า เมื่ อเสด็ จประทั บ อยู ในที่ ห ลี กเร นแห งหนึ่ งแล ว ได กล าว ธรรมปริยายนี้ (ตามลําพังพระองค) วา:-

(๑) "เพราะอาศั ยตาด วย รู ป ทั้ งหลายด วย จึ งเกิ ดจั กขุ วิ ญ ญาณ; การ ประจวบแหงธรรมสามประการ (ตา+รูป+จักขุวิญญาณ) นั่นคือผัสสะ;

www.buddhadasa.info

สู ต รที่ ๕ คหปติ ว รรค อภิ ส มยสั ง ยุ ต ต นิ ท าน. สํ . ๑๖/๘๙/๑๖๖, และ สู ต รที่ ๑๐ โยคั ก เขมิ ว รรค สฬายตนสั งยุ ตต สฬา.สํ . ๑๘/๑๑๑/๑๖๓; กล าวตามลํ าพั งพระองค ในคราวประทั บหลี กเร น ซึ่ งมี ภิ กษุ รูปหนึ่งยืนแอบฟงอยูดวย.

๒๓๙

www.buddhadasa.info


๒๔๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖ เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมีเวทนา; เพราะมีเวทนาเปนปจจัย จึงมีตัณหา; เพราะมีตัณหาเปนปจจัย จึงอุปาทาน; เพราะมีอุปาทานเปนปจจัย จึงมีภพ; เพราะมีภพเปนปจจัย จึงมีชาติ; เพราะมี ชาติ เป นป จจั ย ชรามรณ ะ โสกะปริ เ ทวะทุ ก ขะโทมนั ส

อุ ป ายาสทั้ งหลาย จึ งมี ขึ้ น พร อ ม : ความเกิ ด ขึ้ น พร อ มแห งกองทุ ก ข ทั้ งสิ้ น นี้ ย อ มมี ดวยอาการอยางนี้ (ข อความเต็ มในกรณี แห งหู ก็ มี อย างเดี ยวกั นกั บในกรณี แห งตา ทุ กตั วอั กษร ต างกั นแต ชื่อ ในกรณีแหงจมูก ลิ้น กาย ก็มีนัยเดียวกัน. ในกรณีแหงมโน จะเขียนเต็มอีกครั้งหนึ่ง.)

(๒) เพราะอาศั ย หู ด วย เสี ยงทั้ งหลายด วย จึ งเกิ ด โสตวิ ญ ญาณ; การ ประจวบแหงธรรม ๓ ประการ (หู+เสียง+โสตวิญญาณ) นั้นคือผัสสะ; เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมีเวทนา; … ฯลฯ... ...ฯลฯ... ….ฯลฯ... ...ฯลฯ... ความเกิดขึ้นพรอมแหง กองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้

www.buddhadasa.info (๓) เพราะอาศั ยจมู กด วย กลิ่ นทั้ งหลายด วย, จึ งเกิ ดชิ วหาวิ ญญาณ; การ ประจวบแหงธรรม ๓ ประการ (จมูก+กลิ่น+ฆานวิญญาณ) นั้นคือผัสสะ; เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมีเวทนา; ...ฯลฯ... ...ฯลฯ......

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๒๔๑

ฯลฯ... ...ฯลฯ... ความเกิดขึ้นพรอมแหง กองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้ (๔) เพราะอาศั ยลิ้ นด วย รสทั้ งหลายด วย, จึ งเกิ ดชิ วหาวิ ญญาณ; การ ประจวบแหงธรรม ๓ ประการ (ลิ้น+รส+ชิวหาวิญญาณ) นั้นคือผัสสะ; เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมีเวทนา; ...ฯลฯ... ...ฯลฯ... …ฯลฯ... ...ฯลฯ... ความเกิดขึ้นพรอมแหง กองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้ (๕) เพราะอาศั ยกายด วย โผฏฐั พพะทั้ งหลายด วย, จึ งเกิ ดกายวิ ญญาณ; การประจวบแหงธรรม ๓ ประการ (กาย+โผฏฐัพพะ+กายวิญญาณ) นั้นคือผัสสะ; เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมีเวทนา; ...ฯลฯ... ...ฯลฯ...... …ฯลฯ... ...ฯลฯ... ความเกิดขึ้นพรอมแหง กองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้

www.buddhadasa.info (๖) เพราะอาศั ยใจด วย, ธั มมารมณ ทั้ งหลายด วย, จึ งเกิ ดมโนวิ ญญาณ; การประจวบแหงธรรม ๓ ประการ (ใจ+ธัมมารมณ+มโนวิญญาณ) นั้นคือผัสสะ; เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมีเวทนา; เพราะมีเวทนาเปนปจจัย จึงมีตัณหา;

www.buddhadasa.info


๒๔๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

เพราะมีตัณหาเปนปจจัย จึงอุปาทาน; เพราะมีอุปาทานเปนปจจัย จึงมีภพ; เพราะมีภพเปนปจจัย จึงมีชาติ; เพราะมีชาติเปนปจจัย , ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัส อุปายาสทั้งหลายจึงมีขึ้นพรอม : ความความเกิดขึ้นพรอมแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวย อาการอยางนี้. ... .... .... .... (๑) เพราะอาศั ยตาด วย รู ป ทั้ งหลายด วย จึ งเกิ ด จั ก ขุ วิ ญ ญาณ; การ ประจวบพรอมแหงธรรมสามประการ (ตา+รูป+จักขุวิญญาณ) นั้นคือผัสสะ; เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมีเวทนา; เพราะมีเวทนาเปนปจจัย จึงมีตัณหา; เพราะความจางคลายดั บ ไปโดยไม เ หลื อ แห ง ตั ณ หา นั้น จึงมีความดับแหงอุปาทาน; เพราะมีความดับแหงอุปาทาน จึงมีความดับแหงภพ; เพราะมีความดับแหงภพ จึงมีความดับแหงชาติ; เพราะมีค วามดับ แหง ชาติ ชรามรณ ะ โสกะปริเ ทวะทุกขะโทมนั สอุปายาสทั้ งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห งกองทุกขทั้ งสิ้นนี้ ยอมมี ดวย อาการอยางนี้.

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๒๔๓

(ขอความเต็ มในกรณี แห งหู ก็ มีอยางเดียวกั นกับในกรณี แห งตา ทุ กตัวอักษร ต างกันแต ชื่อ ในกรณีแหง จมูก ลิ้น กาย ก็มีนัยเดียวกัน. ในกรณีแหง มโน จะเขียนเต็มอีกครั้งหนึ่ง.)

(๒) เพราะอาศั ยหู ด วย เสี ยงทั้ งหลายด วย จึ งเกิ ด โสตวิ ญ ญาณ; การ ประจวบพรอมแหงธรรม ๓ ประการ (หู+เสียง+โสตวิญญาณ) นั้นคือผัสสะ; เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมีเวทนา; ...ฯลฯ... ...ฯลฯ...... …ฯ ล ฯ ... ...ฯ ล ฯ ... ค วาม ดับ ล งแ หง ก อ งทุก ข ทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้. (๓) เพราะอาศั ยจมู กดวย กลิ่ นทั้งหลายดวย, จึงเกิดฆานวิญญาณ; การ ประจวบแหงธรรม ๓ ประการ (จมูก+กลิ่น+ฆานวิญญาณ) นั้นคือผัสสะ; เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมีเวทนา; ...ฯลฯ... ...ฯลฯ...... …ฯลฯ... ...ฯลฯ... ความดั บ ลงแห ง กองทุ ก ข ทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้.

www.buddhadasa.info (๔) เพราะอาศั ยลิ้ นด วย รสทั้ งหลายด วย, จึ งเกิ ดชิ วหาวิ ญญาณ; การ ประจวบแหงธรรม ๓ ประการ (ลิ้น+รส+ชิวหาวิญญาณ) นั้นคือผัสสะ; เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมีเวทนา; ...ฯลฯ... ...ฯลฯ... ...ฯลฯ... ...ฯลฯ... ความดั บ ลงแห ง กองทุ ก ข ทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้.

www.buddhadasa.info


๒๔๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

(๕) เพราะอาศั ยกายด วย โผฏฐัพพะทั้ งหลายด วย, จึงเกิ ดกายวิญญาณ; การประจวบแหงธรรม ๓ ประการ (กาย+โผฏฐัพพะ+กายวิญญาณ) นั้นคือผัสสะ; เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมีเวทนา; …ฯลฯ... ...ฯลฯ... ...ฯลฯ... ...ฯลฯ... ความดั บ ลงแห ง กองทุ ก ข ทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้. (๖) เพราะอาศัยใจดวย, ธัมมารมณ ทั้งหลายดวย, จึงเกิดมโนวิญญาณ; การประจวบแหงธรรม ๓ ประการ (ใจ+ธัมมารมณ+มโนวิญญาณ) นั้นคือผัสสะ; เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมีเวทนา; เพราะมีเวทนาเปนปจจัย จึงมีตัณหา; เพราะความจางคลายดั บ ไปโดยไม เ หลื อ แห ง ตั ณ หา นั้น จึงมีความดับแหงอุปาทาน; เพราะมีความดับแหงอุปาทาน จึงมีความดับแหงภพ; เพราะมีความดับแหงภพ จึงมีความดับแหงชาติ; เพราะมีค วามดับ แหง ชาติ ชรามรณ ะ โสกะปริเ ทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งดั บสิ้ น : ความดั บลงแห งกองทุ กข ทั้ งสิ้ นนี้ ย อมมี ดวยอาการอยางนี้".

www.buddhadasa.info สมัยนั้น ภิ กษุ องค หนึ่ ง ไดยืนแอบฟ งพระผูมีพระภาคเจาอยู, พระผูมีพระภาคเจาทอดพระเนตรภิ กษุ ผู ยื นแอบฟ งนั้ นแล ว ได ทรงกล าวกะภิ กษุ นั้ นวา "ดู ก อนภิ กษุ ! เธอได ยิ นธรรม ปริยายนี้ แล ว มิใชหรือ?"

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๒๔๕

"ไดยิน พระเจาขา!"

"ดู ก อ นภิ ก ษุ ! เธอจงรั บ เอาธรรมปริ ย ายนี้ ไ ป. ดู ก อ นภิ ก ษุ ! เธอจง เล า เรี ย นธรรมปริ ย ายนี้ . ดู ก อ นภิ ก ษุ ! เธอจงทรงไว ซึ่ ง ธรรมปริ ย ายนี้ . ดู ก อ น ภิก ษุ! ธรรมปริย ายนี้ป ระกอบดว ยประโยชน, เปน เบื้อ งตน แหง พรหมจรรย" ดังนี้ แล.

ผูไมรูปฏิจจสมุปบาท ยังมีหนาที่ ตองเที่ยวแสวงหาครู๑ ดูก อ นภิก ษุทั ้ง หลาย! บุค คล เมื ่อ ไมรู ไ มเ ห็น ซึ ่ง ชรามรณะ, ...ซึ ่ง เหตุ ใ ห เกิ ด ขึ้ น แห ง ชรามรณะ,...ซึ่ ง ความดั บ ไม เหลื อ แห ง ชรามรณะ,...ซึ่ ง ข อ ปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสั ตว ให ลุ ถึ งความดั บไม เหลื อแห งชรามรณะ, ตามที่ เป นจริง; เขาพึ งทํ าการ แสวงห าครู เพื ่อ ใหรู  ในชรามรณ ะ,...ในเหตุใ หเ กิด ขึ ้น แหง ชรามรณ ะ,...ใน ความดั บไม เหลื อแห งชรามรณะ,...ในข อปฏิ บั ติ เครื่ องทํ าสั ตว ให ลุ ถึ งความดั บไม เหลื อ แหงชรามรณะ, ตามที่เปนจริง, ดังนี้.

www.buddhadasa.info (ใน กรณ ีแ หง บ ท วา ชาติ..ภ พ ..อุป าท าน ..ตัณ ห า..เวท น า..ผัส สะ.. สฬ ายต น ะ ..นามรู ป ..วิ ญ ญาณ..ก็ มี คํ า ตรั ส อย างเดี ย วกั น กั บ คํ า ตรั ส ของบทว า ชรามรณะ ข า งบนนี้ ตรงกั น ทุ ก ตั วอั กษร ต างกั นแต ชื่ อของสิ่ งที่ หยิ บขึ้ นพิ จารณา จนกระทั่ งถึ งบทสุ ดท าย อั นเกี่ ยวกั บ สั งขาร ดั งที่ มี อยู ตอไปขางลางนี้:-)

สัตถาปริเยสน (เปยยาล) วรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน. สํ. ๑๖/๑๖๐/๓๐๙, ตรัสแกภิกษุทั้งหลายที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๒๔๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! บุ คคล เมื่ อไม รู ไม เห็ น ซึ่ งสั งขารทั้ งหลาย, ...ซึ่ ง เหตุ ให เกิ ด ขึ้ น แห ง สั ง ขาร,...ซึ่ ง ความดั บ ไม เหลื อ แห ง สั ง ขาร,...ซึ่ ง ข อ ปฏิ บั ติ เครื่ อ งทํ า สั ตว ให ลุ ถึ งความดั บไม เหลื อแห งสั งขาร, ตามที่ เป นจริ ง; เขาพึ งทํ าการแสวงหาครู เพื ่อ ใหรู  ในสัง ขารทั ้ง หลาย,...ในเหตุใ หเ กิด ขึ ้น แหง สัง ขาร,...ในความดับ ไม เหลื อ แห ง สั ง ขาร,...ในข อ ปฏิ บั ติ เครื่ อ งทํ า สั ต ว ให ลุ ถึ ง ความดั บ ไม เหลื อ แห ง สั ง ขาร, ตามที่เปนจริง, ดังนี้.

ผูไมรูปฏิจจสมุปบาท ยังมีหนาที่ ตองทําการศึกษา๑ ดูก อ นภิก ษุทั ้ง หลาย! บุค คล เมื ่อ ไมรู ไ มเ ห็น ซึ ่ง ชรามรณะ, ...ซึ ่ง เหตุ ใ ห เกิ ด ขึ้ น แห ง ชรามรณะ,...ซึ่ ง ความดั บ ไม เหลื อ แห ง ชรามรณะ,...ซึ่ ง ข อ ปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสั ตว ให ลุ ถึ งความดั บไม เหลื อแห งชรามรณะ, ตามที่ เป นจริง; เขาพึ งทํ าการ ศึก ษา เพื ่อ ใหรู  ในชรามรณะ,...ในเหตุใ หเ กิด ขึ ้น แหง ชรามรณะ,...ในความดับ ไม เหลื อ แห ง ชรามรณะ,...ในข อ ปฏิ บั ติ เครื่ อ งทํ า สั ต ว ใ ห ลุ ถึ ง ความดั บ ไม เหลื อ แห ง ชรามรณะ, ตามที่เปนจริง, ดังนี้.

www.buddhadasa.info (ใน กรณ ีแ หง บ ท วา ชาติ..ภ พ ..อุป าท าน ..ตัณ ห า..เวท น า..ผัส สะ.. สฬ ายต น ะ ..นามรู ป..วิ ญ ญาณ..ก็ มี คํ าตรั สอย างเดี ยวกั นกั บ คํ าตรั ส ของบทว า ชรามรณะ ข างบนนี้ ตรงกั นทุ กตั ว อั กษร ต างกั นแต ชื่ อ ของสิ่ งที่ ห ยิ บ ขึ้ น พิ จารณา จนกระทั่ งถึ งบทสุ ดท าย อั น เกี่ ยวกั บ สั งขาร ดั งที่ มี อ ยู ตอไปขางลางนี้:-)

สิกขา (เปยยาล) วรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน. สํ. ๑๖/๑๖๑/๓๑๐, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๒๔๗

ดู ก อ นภิ กษุ ทั้ งหลาย! บุ ค คล เมื่ อ ไม รู ไม เห็ น ซึ่ งสั งขารทั้ งหลาย, ...ซึ่ ง เหตุ ใ ห เกิ ด ขึ้ น แห ง สั ง ขาร,...ซึ่ ง ความดั บ ไม เหลื อ แห ง สั ง ขาร,...ซึ่ ง ข อ ปฏิ บั ติ เครื่ อ ง ทํ าสั ต ว ให ลุ ถึ งความดั บ ไม เหลื อ แห งสั งขาร, ตามที่ เป น จริ ง; เขาพึ งทํ าการศึ ก ษา เพื ่อ ใหรู  ในสัง ขารทั ้ง หลาย,...ในเหตุใ หเ กิด ขึ ้น แหง สัง ขาร,...ในความดับ ไม เหลื อ แห งสั งขาร,...ในข อ ปฏิ บั ติ เครื่ อ งทํ า สั ต ว ให ลุ ถึ ง ความดั บ ไม เหลื อ แห งสั ง ขาร, ตามที่เปนจริง, ดังนี้.

ผูไมรูปฏิจจสมุปบาท ยังมีหนาที่ ตองบําเพ็ญโยคะ๑ ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! บุ ค คล เมื่ อ ไม รู ไ ม เห็ น ซึ่ ง ชรามรณะ, ...ซึ่ ง เหตุ ให เกิ ด ขึ้ น แห ง ชรามรณะ,...ซึ่ ง ความดั บ ไม เหลื อ แห ง ชรามรณะ,...ซึ่ งข อ ปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสั ตวให ลุ ถึ งความดั บไม เหลื อแห งชรามรณะ, ตามที่ เป นจริง; เขาพึ งบํ าเพ็ ญ โยคะ เพื ่อ ใหรู  ในชรามรณะ,...ในเหตุใ หเ กิด ขึ ้น แหง ชรามรณะ,...ในความดับ ไม เหลื อ แห ง ชรามรณะ,...ในข อ ปฏิ บั ติ เครื่ อ งทํ า สั ต ว ใ ห ลุ ถึ ง ความดั บ ไม เหลื อ แห ง ชรามรณะ, ตามที่เปนจริง, ดังนี้.

www.buddhadasa.info (ในกรณีแ หง บทวา ชาติ..ภพ..อุป าทาน..ตัณ หา..เวทนา..ผัส สะ.. สฬายตนะ ...นามรูป..วิ ญ ญาณ..ก็ มี คํ าตรัสอย างเดี ยวกั น กั บ คํ าตรัส ของบทว า ชรามรณะ ข างบนนี้ ตรงกั นทุ ก ตัวอักษร ตางกันแตชื่อของสิ่งที่หยิบขึ้นพิจารณา จนกระทั่งถึงบทสุดทาย อันเกี่ยวกับ สังขาร ดังที่มีอยู ตอไป ขางลางนี้:-)

โยค (เปยยาล) วรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน. สํ. ๑๖/๑๖๑/๓๑๐, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๒๔๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! บุคคล เมื่อไมรูไมเห็น ซึ่งสังขารทั้งหลาย, ...ซึ่ง เหตุ ใ ห เกิ ด ขึ้ น แห ง สั ง ขาร,...ซึ่ ง ความดั บ ไม เหลื อ แห ง สั ง ขาร,...ซึ่ ง ข อ ปฏิ บั ติ เครื่ อ ง ทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงสังขาร, ตามที่เปนจริง; เขาพึงบําเพ็ ญโยคะ เพื่อ ใหรู  ในสัง ขารทั ้ง หลาย,...ในเหตุใ หเ กิด ขึ ้น แหง สัง ขาร,...ในความดับ ไมเ หลือ แห งสั งขาร,...ในข อปฏิ บั ติ เครื่ องทํ าสั ตว ให ลุ ถึ งความดั บ ไม เหลื อ แห งสั งขาร, ตามที่ เปนจริง, ดังนี้.

ผูไมรูปฏิจจสมุปบาท ยังมีหนาที่ ตองประกอบฉันทะ๑ ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! บุ ค คล เมื่ อ ไม รู ไ ม เห็ น ซึ่ ง ชรามรณะ, ...ซึ่ ง เหตุ ให เกิ ด ขึ้ น แห ง ชรามรณะ,...ซึ่ ง ความดั บ ไม เหลื อ แห ง ชรามรณะ,...ซึ่ งข อ ปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสั ตวให ลุ ถึงความดั บไม เหลื อแห งชรามรณะ, ตามที่ เป นจริง; เขาพึ งประกอบ ฉัน ทะ (ความพอใจ) เพื ่อ ใหรู ในชรามรณะ,...ในเหตุใ หเกิด ขึ ้น แหง ชรามรณะ, ...ในความดั บ ไม เหลื อ แห งชรามรณะ,...ในข อ ปฏิ บั ติ เครื่ อ งทํ าสั ต ว ให ลุ ถึ ง ความดั บ ไมเหลือแหงชรามรณะ, ตามที่เปนจริง, ดังนี้.

www.buddhadasa.info (ในกรณีแ หง บทวา ชาติ..ภพ..อุป าทาน..ตัณ หา..เวทนา..ผัส สะ.. สฬายตนะ ...นามรูป..วิ ญ ญาณ..ก็ มี คํ าตรัสอย างเดี ยวกั นกั บคํ าตรัส ของบทว า ชรามรณะ ข างบนนี้ ตรงกั นทุ กตั ว อักษร ตางกันแตชื่อของสิ่งที่หยิบขึ้นพิจารณา จนกระทั่งถึงบทสุดทาย อันเกี่ยวกับ สังขาร ดังที่มีอยู ตอไป ขางลางนี้:-)

ฉันท (เปยยาล) วรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน. สํ. ๑๖/๑๖๑/๓๑๐, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๒๔๙

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! บุ คคล เมื่ อไม รู ไม เห็ น ซึ่ งสั งขารทั้ งหลาย, ...ซึ่ ง เหตุ ใ ห เกิ ด ขึ้ น แห ง สั ง ขาร,...ซึ่ ง ความดั บ ไม เหลื อ แห ง สั ง ขาร,...ซึ่ ง ข อ ปฏิ บั ติ เครื่ อ ง ทํ าสั ตว ให ลุ ถึ งความดั บ ไม เหลื อแห งสั งขาร, ตามที่ เป น จริ ง; เขาพึ งประกอบฉั น ทะ เพื่ อ ให รู ในสั ง ขารทั้ ง หลาย,...ในเหตุ ใ ห เกิ ด ขึ้ น แห ง สั ง ขาร,...ในความดั บ ไม เหลื อ แห งสั งขาร,...ในข อ ปฏิ บั ติ เครื่ อ งทํ าสั ต ว ให ลุ ถึ งความดั บ ไม เหลื อ แห งสั งขาร, ตามที่ เปนจริง, ดังนี้.

ผูไมรูปฏิจจสมุปบาท ยังมีหนาที่ ตองบําเพ็ญอุสโสฬห๑ี ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! บุ ค คล เมื่ อ ไม รู ไ ม เ ห็ น ซึ่ ง ชรามรณะ, ...ซึ่ ง เหตุ ใ ห เกิ ด ขึ้ น แห ง ชรามรณะ,...ซึ่ ง ความดั บ ไม เหลื อ แห ง ชรามรณะ,...ซึ่ ง ข อ ปฏิ บั ติ เครื่ องทํ าสั ตว ให ลุ ถึ งความดั บไม เหลื อแห งชรามรณะ, ตามที่ เป นจริ ง; เขาพึ งบํ าเพ็ ญ อุส โสฬห ี (อุส สาหะ) เพื ่อ ใหรู  ในชรามรณะ,...ในเหตุใ หเ กิด ขึ ้น แหง ชรามรณะ, ...ในความดั บ ไม เหลื อ แห ง ชรามรณะ,...ในข อ ปฏิ บั ติ เครื่ อ งทํ า สั ต ว ให ลุ ถึ ง ความดั บ ไมเหลือแหงชรามรณะ, ตามที่เปนจริง, ดังนี้.

www.buddhadasa.info (ใน กรณ ีแ หง บ ท วา ชาติ..ภ พ ..อุป าท าน ..ตัณ ห า..เวท น า..ผัส สะ.. สฬ ายต น ะ ..นามรู ป ..วิ ญ ญาณ..ก็ มี คํ า ตรั ส อย างเดี ย วกั น กั บ คํ า ตรั ส ของบทว า ชรามรณะ ข า งบนนี้ ตรงกั น ทุ ก ตัวอักษร ตางกันแตชื่อของสิ่งที่หยิบขึ้นพิจารณา จนกระทั่งถึงบทสุดทาย อันเกี่ยวกับ สังขาร ดังที่มีอยู ตอไป ขางลางนี้:-)

อุสโสฬหี (เปยยาล) วรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน. สํ. ๑๖/๑๖๑/๓๑๐, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๒๕๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! บุคคล เมื่อไมรูไมเห็น ซึ่งสังขารทั้งหลาย, ...ซึ่ง เหตุ ใ ห เกิ ด ขึ้ น แห ง สั ง ขาร,...ซึ่ ง ความดั บ ไม เหลื อ แห ง สั ง ขาร,...ซึ่ ง ข อ ปฏิ บั ติ เครื่ อ ง ทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงสังขาร, ตามที่เปนจริง; เขาพึงบําเพ็ ญอุสโสฬ หี เพื่ อ ให รู ในสั ง ขารทั้ ง หลาย,...ในเหตุ ให เกิ ด ขึ้ น แห ง สั ง ขาร,...ในความดั บ ไม เหลื อ แห งสั งขาร,...ในข อปฏิ บั ติ เครื่ องทํ าสั ตว ให ลุ ถึ งความดั บ ไม เหลื อ แห งสั งขาร, ตามที่ เปนจริง, ดังนี้.

ผูไมรูปฏิจจสมุปบาท ยังมีหนาที่ ตองบําเพ็ญอัปปฏิวานี๑ ดูก อ นภิก ษุทั ้ง หลาย! บุค คล เมื ่อ ไมรู ไ มเห็น ซึ ่ง ชรามรณะ, ...ซึ ่ง เหตุ ให เกิ ด ขึ้ น แห ง ชรามรณะ,..ซึ่ ง ความดั บ ไม เหลื อ แห ง ชรามรณะ,...ซึ่ ง ข อ ปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสั ตวให ลุ ถึ งความดั บไม เหลื อแห งชรามรณะ, ตามที่ เป นจริง; เขาพึ งบํ าเพ็ ญ อั ป ปฏิ ว าณี (ความไม ถ อยหลั ง ) เพื่ อ ให รู ในชรามรณะ,...ในเหตุ ใ ห เกิ ด ขึ้ น แห ง ชรามรณะ,...ในความดั บ ไม เหลื อ แห ง ชรามรณะ,...ในข อ ปฏิ บั ติ เครื่ อ งทํ า สั ต ว ให ลุ ถึงความดับไมเหลือแหงชรามรณะ, ตามที่เปนจริง, ดังนี้.

www.buddhadasa.info (ในกรณีแ หง บทวา ชาติ..ภพ..อุป าทาน..ตัณ หา..เวทนา..ผัส สะ.. สฬายตนะ ..นามรู ป ..วิ ญ ญาณ..ก็ มี คํ าตรัสอย างเดี ยวกั น กั บ คํ าตรั ส ของบทว า ชรามรณะ ข างบนนี้ ตรงกั น ทุ ก ตัวอักษร ตางกันแตชื่อของสิ่งที่หยิบขึ้นพิจารณา จนกระทั่งถึงบทสุดทาย อันเกี่ยวกับ สังขาร ดังที่มีอยู ตอไป ขางลางนี้:-)

อัปปฏิวานี (เปยยาล) วรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน. สํ. ๑๖/๑๖๑/๓๑๐, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๒๕๑

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! บุ คคล เมื่ อไม รู ไม เห็ น ซึ่ งสั งขารทั้ งหลาย, ...ซึ่ ง เหตุ ใ ห เกิ ด ขึ้ น แห ง สั ง ขาร,...ซึ่ ง ความดั บ ไม เหลื อ แห ง สั ง ขาร,...ซึ่ ง ข อ ปฏิ บั ติ เครื่ อ ง ทํ าสัตวให ลุถึ งความดั บไม เหลื อแห งสั งขาร, ตามที่ เป นจริง; เขาพึ งบํ าเพ็ ญอั ปปฏิ วาณี เพื่ อ ให รู ในสั ง ขารทั้ ง หลาย,...ในเหตุ ใ ห เกิ ด ขึ้ น แห ง สั ง ขาร,...ในความดั บ ไม เหลื อ แห งสั งขาร,...ในข อ ปฏิ บั ติ เครื่ อ งทํ าสั ต ว ให ลุ ถึ งความดั บ ไม เหลื อ แห งสั งขาร, ตามที่ เปนจริง, ดังนี้.

ผูไมรูปฏิจจสมุปบาท ยังมีหนาที่ ตองประกอบความเพียรแผดเผากิเลส๑ ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! บุ ค คล เมื่ อ ไม รู ไ ม เ ห็ น ซึ่ ง ชรามรณะ, ...ซึ่ ง เหตุ ใ ห เกิ ด ขึ้ น แห ง ชรามรณะ,..ซึ่ ง ความดั บ ไม เหลื อ แห ง ชรามรณะ,...ซึ่ ง ข อ ปฏิ บั ติ เครื่ องทํ าสั ตว ให ลุ ถึ งความดั บไม เหลื อแห งชรามรณะ, ตามที่ เป นจริ ง; เขาพึ งประกอบ ความเพี ยรแผดเผากิ เลส เพื่ อให รู ในชรามรณะ,...ในเหตุ ให เกิ ดขึ้ นแห งชรามรณะ, ...ในความดั บ ไม เหลื อ แห ง ชรามรณะ,...ในข อ ปฏิ บั ติ เครื่ อ งทํ า สั ต ว ให ลุ ถึ ง ความดั บ ไมเหลือแหงชรามรณะ, ตามที่เปนจริง, ดังนี้.

www.buddhadasa.info (ใน กรณ ีแ หง บ ท วา ชาติ..ภ พ ..อุป าท าน ..ตัณ ห า..เวท น า..ผัส สะ.. สฬ ายต น ะ ..นามรู ป ..วิ ญ ญาณ..ก็ มี คํ า ตรั ส อย างเดี ย วกั น กั บ คํ า ตรั ส ของบทว า ชรามรณะ ข า งบนนี้ ตรงกั น ทุ ก ตัวอักษร ตางกันแตชื่อของสิ่งที่หยิบขึ้นพิจารณา จนกระทั่งถึงบทสุดทาย อันเกี่ยวกับ สังขาร ดังที่มีอยู ตอไป ขางลางนี้:-)

อาตัปป (เปยยาล) วรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน. สํ. ๑๖/๑๖๑/๓๑๐, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๒๕๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! บุคคล เมื่อไมรูไมเห็น ซึ่งสังขารทั้งหลาย, ...ซึ่ง เหตุใ หเ กิด ขึ ้น แหง สัง ขาร, ...ซึ ่ง ความดับ ไมเ หลือ แหง สัง ขาร,...ซึ ่ง ขอ ปฏิบ ัติ เครื่องทํ าสั ตว ให ลุ ถึ งความดั บไม เหลื อแห งสั งขาร, ตามที่ เป นจริง; เขาพึ งประกอบ ความเพียรแผดเผากิเลส เพื่อใหรู ในสังขารทั้งหลาย,...ในเหตุใหเกิดขึ้นแหงสังขาร, ...ในความดั บไม เหลื อแห งสังขาร,...ในขอปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสั ตวให ลุ ถึ งความดั บไม เหลื อ แหงสังขาร, ตามที่เปนจริง, ดังนี้.

ผูไมรูปฏิจจสมุปบาท ยังมีหนาที่ ตองประกอบวิริยะ๑ ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! บุ ค คล เมื่ อ ไม รู ไ ม เห็ น ซึ่ ง ชรามรณะ, ...ซึ่ ง เหตุ ให เกิ ด ขึ้ น แห งชรามรณะ, ...ซึ่ งความดั บ ไม เหลื อ แห งชรามรณะ,...ซึ่ งข อ ปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสั ตวให ลุ ถึงความดั บไม เหลื อแห งชรามรณะ, ตามที่ เป นจริง; เขาพึ งประกอบ วิร ิย ะ เพื ่อ ใหรู  ในชรามรณะ,...ในเหตุใ หเ กิด ขึ ้น แหง ชรามรณะ,...ในความดับ ไม เหลื อ แห ง ชรามรณะ,...ในข อ ปฏิ บั ติ เครื่ อ งทํ า สั ต ว ใ ห ลุ ถึ ง ความดั บ ไม เหลื อ แห ง ชรามรณะ, ตามที่เปนจริง, ดังนี้.

www.buddhadasa.info (ในกรณีแ หง บทวา ชาติ..ภพ..อุป าทาน..ตัณ หา..เวทนา..ผัส สะ.. สฬายตนะ ..นามรู ป ..วิ ญ ญาณ..ก็ มี คํ าตรัสอย างเดี ยวกั น กั บ คํ าตรั ส ของบทว า ชรามรณะ ข างบนนี้ ตรงกั น ทุ ก ตัวอักษร ตางกันแตชื่อของสิ่งที่หยิบขึ้นพิจารณา จนกระทั่งถึงบทสุดทาย อันเกี่ยวกับ สังขาร ดังที่มีอยู ตอไป ขางลางนี้:-)

วิริย (เปยยาล) วรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน. สํ. ๑๖/๑๖๑/๓๑๐, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๒๕๓

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! บุคคล เมื่อไมรูไมเห็น ซึ่งสังขารทั้งหลาย, ...ซึ่ง เหตุใ หเ กิด ขึ ้น แหง สัง ขาร, ...ซึ ่ง ความดับ ไมเ หลือ แหง สัง ขาร,...ซึ ่ง ขอ ปฏิบ ัติ เครื่องทํ าสั ตว ให ลุ ถึ งความดั บไม เหลื อแห งสั งขาร, ตามที่ เป นจริง; เขาพึ งประกอบ วิร ิย ะ เพื ่อ ใหรู  ในสัง ขารทั ้ง หลาย,...ในเหตุใ หเกิด ขึ ้น แหง สัง ขาร,...ในความดับ ไม เหลื อแห งสั งขาร,...ในข อปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสั ตว ให ลุ ถึ งความดั บไม เหลื อแห งสั งขาร, ตามที่เปนจริง, ดังนี้.

ผูไมรูปฏิจจสมุปบาท ยังมีหนาที่ ตองประกอบการกระทําอันติดตอ๑ ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! บุ ค คล เมื่ อ ไม รู ไ ม เห็ น ซึ่ ง ชรามรณะ, ...ซึ่ ง เหตุ ให เกิ ดขึ้ น แห งชรามรณะ, ...ซึ่ งความดั บ ไม เหลื อ แห งชรามรณะ,...ซึ่ งข อปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสั ตวให ลุ ถึ งความดั บไม เหลื อแห งชรามรณะ, ตามที่ เป นจริง; เขาพึ งประกอบ การกระทํ า อัน ติด ตอ เพื ่อ ใหรู ในชรามรณะ,...ในเหตุใ หเกิด ขึ ้น แหง ชรามรณะ, ...ในความดั บ ไม เหลื อ แห งชรามรณะ,...ในข อ ปฏิ บั ติ เครื่ อ งทํ าสั ต ว ให ลุ ถึ ง ความดั บ ไมเหลือแหงชรามรณะ, ตามที่เปนจริง, ดังนี้.

www.buddhadasa.info (ในกรณีแ หง บทวา ชาติ..ภพ..อุป าทาน..ตัณ หา..เวทนา..ผัส สะ.. สฬายตนะ ..นามรู ป ..วิ ญ ญาณ..ก็ มี คํ าตรัสอย างเดี ยวกั น กั บ คํ าตรั ส ของบทว า ชรามรณะ ข างบนนี้ ตรงกั น ทุ ก ตัวอักษร ตางกันแตชื่อของสิ่งที่หยิบขึ้นพิจารณา จนกระทั่งถึงบทสุดทาย อันเกี่ยวกับ สังขาร ดังที่มีอยู ตอไป ขางลางนี้:-)

สาตัจจ (เปยยาล) วรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน. สํ. ๑๖/๑๖๑/๓๑๐, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๒๕๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! บุคคล เมื่อไมรูไมเห็น ซึ่งสังขารทั้งหลาย, ...ซึ่ง เหตุ ให เกิ ด ขึ้ น แห งสั ง ขาร, ...ซึ่ ง ความดั บ ไม เหลื อ แห ง สั ง ขาร,...ซึ่ ง ข อ ปฏิ บั ติ เครื่ อ ง ทํ าสั ต ว ให ลุ ถึ งความดั บ ไม เหลื อ แห งสั งขาร, ตามที่ เป น จริ ง; เขาพึ งประกอบการ กระทํ าอั น ติ ด ต อ เพื่ อ ให รู ในสั งขารทั้ งหลาย,...ในเหตุ ให เกิ ด ขึ้ น แห งสั งขาร,...ใน ความดั บไม เหลื อแห งสั งขาร,...ในขอปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสั ตวให ลุ ถึ งความดั บไม เหลื อแห ง สังขาร, ตามที่เปนจริง, ดังนี้.

ผูไมรูปฏิจจสมุปบาท ยังมีหนาที่ ตองอบรมสติ๑ ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! บุ ค คล เมื่ อ ไม รู ไ ม เ ห็ น ซึ่ ง ชรามรณะ, ...ซึ่ ง เหตุ ให เกิ ดขึ้ น แห งชรามรณะ, ...ซึ่ งความดั บ ไม เหลื อ แห งชรามรณะ,...ซึ่ งข อปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสั ตวให ลุ ถึ งความดั บไม เหลื อแห งชรามรณะ, ตามที่ เป นจริง; เขาพึ งอบรม สติ เพื่ อให รู ในชรามรณะ,...ในเหตุ ให เกิ ดขึ้ น แห งชรามรณะ,...ในความดั บ ไม เหลื อ แห งชรามรณะ,...ในข อปฏิ บั ติ เครื่อ งทํ าสั ตว ให ลุ ถึ งความดั บ ไม เหลื อแห งชรามรณะ, ตามที่เปนจริง, ดังนี้.

www.buddhadasa.info (ในกรณีแ หง บทวา ชาติ..ภพ..อุป าทาน..ตัณ หา..เวทนา..ผัส สะ.. สฬายตนะ ..นามรู ป ..วิ ญ ญาณ..ก็ มี คํ าตรัสอย างเดี ยวกั น กั บ คํ าตรั ส ของบทว า ชรามรณะ ข างบนนี้ ตรงกั น ทุ ก ตัวอักษร ตางกันแตชื่อของสิ่งที่หยิบขึ้นพิจารณา จนกระทั่งถึงบทสุดทาย อันเกี่ยวกับ สังขาร ดังที่มีอยู ตอไป ขางลางนี้:-)

สติ (เปยยาล) วรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน. สํ. ๑๖/๑๖๑/๓๑๐, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๒๕๕

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! บุคคล เมื่อไมรูไมเห็น ซึ่งสังขารทั้งหลาย, ...ซึ่ง เหตุ ให เกิ ด ขึ้ น แห งสั ง ขาร, ...ซึ่ ง ความดั บ ไม เหลื อ แห ง สั ง ขาร,...ซึ่ ง ข อ ปฏิ บั ติ เครื่ อ ง ทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงสังขาร, ตามที่เปนจริง; เขาพึงอบรมสติ เพื่ อใหรู ในสั งขารทั้ งหลาย,...ในเหตุ ให เกิ ด ขึ้ น แห งสั งขาร,...ในความดั บ ไม เหลื อ แห งสั งขาร, ...ในขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงสังขาร, ตามที่เปนจริง, ดังนี้.

ผูไมรูปฏิจจสมุปบาท ยังมีหนาที่ ตองอบรมสัมปชัญญะ๑ ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! บุ ค คล เมื่ อ ไม รู ไ ม เห็ น ซึ่ ง ชรามรณะ, ...ซึ่ ง เหตุ ให เกิ ดขึ้ น แห งชรามรณะ, ...ซึ่ งความดั บ ไม เหลื อ แห งชรามรณะ,...ซึ่ งข อปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสั ตวให ลุ ถึ งความดั บไม เหลื อแห งชรามรณะ, ตามที่ เป นจริง; เขาพึ งอบรม สัม ปชัญ ญ ะ เพื ่อ ใหรู  ในชรามรณ ะ,...ในเหตุใ หเ กิด ขึ ้น แหง ชรามรณ ะ,...ใน ความดั บไม เหลื อแห งชรามรณะ,...ในข อปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสั ตวให ลุ ถึ งความดั บไม เหลื อ แหงชรามรณะ, ตามที่เปนจริง, ดังนี้.

www.buddhadasa.info (ในกรณีแ หง บทวา ชาติ..ภพ..อุป าทาน..ตัณ หา..เวทนา..ผัส สะ.. สฬายตนะ ..นามรู ป ..วิ ญ ญาณ..ก็ มี คํ าตรัสอย างเดี ยวกั น กั บ คํ าตรั ส ของบทว า ชรามรณะ ข างบนนี้ ตรงกั น ทุ ก ตัวอักษร ตางกันแตชื่อของสิ่งที่หยิบขึ้นพิจารณา จนกระทั่งถึงบทสุดทาย อันเกี่ยวกับ สังขาร ดังที่มีอยู ตอไป ขางลางนี้:-)

สัมปชัญญ (เปยยาล) วรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน. สํ. ๑๖/๑๖๑/๓๑๐, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๒๕๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! บุคคล เมื่อไมรูไมเห็น ซึ่งสังขารทั้งหลาย, ...ซึ่ง เหตุ ให เกิ ด ขึ้ น แห งสั ง ขาร, ...ซึ่ ง ความดั บ ไม เหลื อ แห ง สั ง ขาร,...ซึ่ ง ข อ ปฏิ บั ติ เครื่ อ ง ทําสั ตวให ลุถึงความดับไม เหลื อแหงสังขาร, ตามที่เป นจริง; เขาพึ งอบรมสั มปชัญญะ เพื่ อ ให รู ในสั ง ขารทั้ งหลาย,...ในเหตุ ให เกิ ด ขึ้ น แห งสั ง ขาร, ...ในความดั บ ไม เหลื อ แห งสั งขาร,...ในข อปฏิ บั ติ เครื่ องทํ าสั ตว ให ลุ ถึ งความดั บ ไม เหลื อ แห งสั งขาร, ตามที่ เปนจริง, ดังนี้.

ผูไมรูปฏิจจสมุปบาท ยังมีหนาที่ ตองบําเพ็ญความไมประมาท๑ ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! บุ ค คล เมื่ อ ไม รู ไม เห็ น ซึ่ ง ชรามรณะ, ...ซึ่ ง เหตุ ให เกิ ดขึ้ น แห งชรามรณะ, ...ซึ่ งความดั บ ไม เหลื อ แห งชรามรณะ,...ซึ่ งข อปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสั ตว ให ลุ ถึ งความดั บไม เหลื อแห งชรามรณะ, ตามที่ เป นจริง; เขาพึ งบํ าเพ็ ญ ความไม ป ระมาท เพื่ อ ให รู ในชรามรณะ,...ในเหตุ ให เกิ ด ขึ้ น แห งชรามรณะ,...ใน ความดั บไม เหลื อแห งชรามรณะ,...ในข อปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสั ตวให ลุ ถึ งความดั บไม เหลื อ แหงชรามรณะ, ตามที่เปนจริง, ดังนี้.

www.buddhadasa.info (ในกรณีแ หง บทวา ชาติ..ภพ..อุป าทาน..ตัณ หา..เวทนา..ผัส สะ.. สฬายตนะ ..นามรู ป ..วิ ญ ญาณ..ก็ มี คํ าตรัสอย างเดี ยวกั น กั บ คํ าตรั ส ของบทว า ชรามรณะ ข างบนนี้ ตรงกั น ทุ ก ตัวอักษร ตางกันแตชื่อของสิ่งที่หยิบขึ้นพิจารณา จนกระทั่งถึงบทสุดทาย อันเกี่ยวกับ สังขาร ดังที่มีอยู ตอไป ขางลางนี้:-)

อัปปมาท (เปยยาล) วรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน. สํ. ๑๖/๑๖๑/๓๑๐, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๒๕๗

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! บุคคล เมื่อไมรูไมเห็น ซึ่งสังขารทั้งหลาย, ...ซึ่ง เหตุ ให เกิ ด ขึ้ น แห งสั ง ขาร, ...ซึ่ ง ความดั บ ไม เหลื อ แห ง สั ง ขาร,...ซึ่ ง ข อ ปฏิ บั ติ เครื่ อ ง ทําสัตวใหลุถึงความดับไม เหลือแหงสังขาร, ตามที่เปนจริง; เขาพึ งบํ าเพ็ ญ ความไม ประมาท เพื่ อ ให รู ในสั ง ขารทั้ ง หลาย,...ในเหตุ ให เกิ ด ขึ้ น แห ง สั ง ขาร, ...ในความ ดับไม เหลือแห งสั งขาร,...ในขอปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสั ตวให ลุ ถึงความดั บไม เหลื อแห งสังขาร, ตามที่เปนจริง, ดังนี้.

ทรงมุงหมายใหปฏิจจสมุปบาทเปนเรื่องการปฏิบัต๑ิ (มิใชเปนเพียงทฤษฎี) ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เราจักแสดง มิจฉาปฏิ ปทาและสัมมาปฏิปทา แก พวกเธอทั้ งหลาย. พวกเธอทั้ งหลายจงฟ งซึ่ งธรรมนั้ น, จงทํ าในใจให สํ าเร็จประโยชน , เราจักกลาวบัดนี้. ครั้นภิ กษุ ทั้ งหลาย เหล านั้ น ทู ลสนองรับพระพุ ทธดํ ารัสแล ว, พระผู มี พระภาคเจ า ได ตรัส ถอยคําเหลานี้วา:-

www.buddhadasa.info ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ก็ มิ จ ฉาปฏิ ป ทา เป น อย างไรเล า? ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! เพราะมี อวิชชาเป นป จจัย จึ งมี สั งขารทั้ งหลาย; เพราะมี สั งขารเป นป จจั ย จึง มีว ิญ ญาณ; ...ฯลฯ...ฯลฯ...ฯลฯ...; เพราะมีช าติเ ปน ปจ จัย , ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งเกิ ดขึ้ นครบถ วน : ความเกิ ดขึ้ นพรอม แหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้.

สูตรที่ ๓ พุทธวรรค นิทานสังยุตต นิทาน. สํ. ๑๖/๕/๑๙, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๒๕๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! นี้ เรียกวา มิจฉาปฏิปทา. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ก็ สั ม มาปฏิ ป ทา เป น อย า งไรเล า ? ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! เพราะความจางคลายดั บไปโดยไม เหลื อแห งอวิ ชชานั้ นนั่ นเที ยว จึ งมี ความ ดั บ แห ง สั ง ขาร; เพราะมี ค วามดั บ แห ง สั ง ขาร จึ ง มี ค วามดั บ แห ง วิ ญ ญาณ; ...ฯลฯ ...ฯลฯ...ฯลฯ...; เพราะมี ค วามดั บ แห ง ชาติ นั่ น แล ชรามรณะ โสกะปริ เทวะทุ ก ขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งดั บสิ้ น : ความดั บลงแห งกองทุ กข ทั้ งสิ้ นนี้ ย อมมี ด วยอาการ อยางนี้ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! นี้ เรียกวา สัมมาปฏิปทา, ดังนี้ แล. หมายเหตุ ผู ร วบรวม : มิ จ ฉาปฏิ ป ทา คื อ บุ ค คลเผลอหรื อ ปล อ ยสติ เมื่ อ ตากระทบรู ป เป น ต น จนกระทั่ ง ความเผลอสติ (ซึ่ ง ในที่ นี้ เรี ย กว า อวิ ช ชา) นั้ น ได ทํ า ให เกิ ดอาการต าง ๆ ขึ้ น อย างครบถ วนตามที่ กล าวไว ในพระบาลี นี้ และได รั บผลเป น ความทุ กข ในที่ สุ ด . ส ว นสั ม มาปฏิ ป ทา มี นั ย ะตรงกั น ข า ม คื อ มี ส ติ ส มบู ร ณ ในเมื่ อ ตาเห็ น รู ป เป น ต น อวิ ช ชาก็ ไ ม เกิ ด ขึ้ น แต มี ส ติ สั ม ปชั ญ ญะ หรื อ ป ญ ญาอยู แ ทน; ดั ง นั้ น อาการต า ง ๆ ก็ ไ ม เกิ ดขึ้ น ในลั กษณะที่ จะมี ความทุ กข ในที่ สุ ด. สรุ ป ความได อย างสั้ น ๆ ว าความมี สติ นั่ น แหละ เป น ตั ว ปฏิ ป ทาที่ เกี่ ย วกั บ ปฏิ จ จสมุ ป บาท ในชี วิ ต ประจํ า วั น เช น การเห็ น รู ป ด ว ยตาเป น ต น ดังที่กลาวแลว.

www.buddhadasa.info การหลีกเรนทําใหงายแกการรูปฏิจจสมุปบาท ๑

ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! เธอทั้ ง หลาย จงประกอบความเพี ย ร ในการ หลีกเรนเถิด. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ภิกษุผูหลีกเรนแลว ยอมรูชัดตามที่เปนจริง.

สูตรที่ ๖ นกุลปตวรรค ขันธสังยุตต ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๐/๓๐, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๒๕๙

ก็ ภิ กษุ นั้ น ย อมรูชั ดตามที่ เป นจริง ซึ่ งอะไรเล า? ภิ กษุ ผู หลี กเร นแล ว ย อมรู ชั ดตามที่ เปน จริง ซึ ่ง ความเกิด ขึ ้น และความดับ ไปแหง รูป ...แหง เวทนา...แหง สัญ ญา แหงสังขารทั้งหลาย...แหงวิญญาณ. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ก็ ค วามเกิ ด ขึ้ น แห ง รู ป ..แห ง เวทนา...แห ง สั ญ ญ า ...แหงสังขารทั้งหลาย...แหงวิญญาณ. เปนอยางไรเลา? ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ภิ กษุ ในกรณี นี้ ย อมเพลิ ดเพลิ น ย อมพร่ํ าสรรเสริ ญ ย อ มเมาหมกอยู . ภิ ก ษุ นั้ น ย อ มเพลิ ด เพลิ น ย อ มพร่ํ า สรรเสริ ญ ย อ มเมาหมกอยู ซึ่ ง อะไรเลา? ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ภิ ก ษุ นั้ น ย อ มเพลิ ด เพลิ น ย อ มพร่ํ าสรรเสริ ญ ย อ ม เมาหมกอยู ซึ่ ง รู ป . เมื่ อ ภิ ก ษุ นั้ น เพลิ ด เพลิ น พร่ํ า สรรเสริ ญ เมาหมกอยู ซึ่ งรู ป , นั น ทิ (ความเพลิน) ยอมเกิดขึ้น. ความเพลินใด ในรูป, ความเพลินนั้น คืออุปาทาน. เพราะ อุ ป าทาน. เพราะอุ ป าทานของภิ ก ษุ นั้ น เป น ป จ จั ย จึ ง มี ภ พ; เพราะมี ภ พเป น ป จ จั ย จึ งมี ช าติ ; เพราะมี ช าติ เป น ป จ จั ย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขะโทมนั ส อุ ป ายาสทั้ งหลาย จึ งเกิ ด ครบถ ว น : ความเกิ ด ขึ้ น พร อ มแห งกองทุ ก ข ทั้ งสิ้ น นี้ ย อ มมี ดวยอาการอยางนี้.

www.buddhadasa.info ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ภิ ก ษุ นั้ น ย อ มเพลิ ด เพลิ น ย อ มพร่ํ าสรรเสริ ญ ย อ ม เมาหมกอยู ซึ่ ง เวทนา. ...ฯลฯ...ฯลฯ...๑ ความเกิ ด ขึ้ น พร อ มแห ง กองทุ ก ข ทั้ ง สิ้ น นี้ ยอมมีดวยอาการอยางนี้.

ในกรณี แห ง รู ป มี ข อ ความพิ ส ดารอย า งไร ในกรณี แห ง เวทนา, สั ญ ญา, สั ง ขาร, ซึ่ ง ละ...ฯลฯ...ฯลฯ ...ไว , ก็ พึ ง ทราบว า มี ข อ ความเต็ ม อย า งเดี ย วกั น ทุ ก ตั ว อั ก ษร, ต า งกั น แต เพี ย งชื่ อ แห ง ขั น ธ แ ต ล ะขั น ธ เทา นั ้น . อนึ ่ง แมใ น ฝา ยแหง การดับ ไป ของ เวท นา สัญ ญ า เปน ตน ซึ ่ง ละ...ฯลฯ... ฯลฯ...ไว ก็พึงทราบโดยนัยะนี้.

www.buddhadasa.info


๒๖๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ภิ กษุ นั้ น ย อมเพลิ ดเพลิ น ย อมพร่ําสรรเสริญ ย อม เมาหมกอยู ซึ่ งสั ญญา. ...ฯลฯ...ฯลฯ...ความเกิ ดขึ้ นพรอมแห งกองทุ กข ทั้ งสิ้ นนี้ ย อมมี ดวยอาการอยางนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ภิ กษุ นั้ น ย อมเพลิ ดเพลิ น ย อมพร่ําสรรเสริญ ย อม เมาหมกอยู ซึ่ งสั งขาร. ...ฯลฯ...ฯลฯ...ความเกิ ดขึ้ นพรอมแห งกองทุ กข ทั้ งสิ้ นนี้ ย อมมี ดวยอาการอยางนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ภิ กษุ นั้ น ย อมเพลิ ดเพลิ น ย อมพร่ําสรรเสริญ ย อม เมาหมกอยู ซึ่ งวิ ญ ญาณ. เมื่ อ ภิ ก ษุ นั้ น เพลิ ด เพลิ น พร่ํ าสรรเสริ ญ เมาหมกอยู ซึ่ ง วิญญาณ, นันทิ (ความเพลิน) ยอมเกิดขึ้น. ความเพลินใด ในรูป, ความเพลินนั้น คืออุปาทาน. เพราะอุปาทานของภิกษุนั้นเปนปจจัย จึงมีภพ; เพราะมีภพเปน ปจจัย จึงมีชาติ; เพราะมีชาติเปนปจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถวน : ความเกิดขึ้นพรอมแหงกองทุกขทั้ งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้.

www.buddhadasa.info ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! นี้ คื อ ความเกิ ด ขึ้ น แห ง รู ป ..แห ง เวทนา..แห ง สัญญา..แหงสังขารทั้งหลาย..แหงวิญญาณ. ... ... ... ...

ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ก็ ค วามดั บ แห ง รู ป ..แห ง เวทนา..แห ง สั ญ ญา.. แหงสังขารทั้งหลาย..แหงวิญญาณ เปนอยางไรเลา?.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๒๖๑

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ภิกษุในกรณี นี้ ยอมไมเพลิดเพลิน ยอมไมพร่ํา สรรเสริญ ยอมไม เมาหมกอยู. ภิ กษุ นั้น ยอมไมเพลิดเพลิน ยอมไมพร่ําสรรเสริญ ยอมไมเมาหมกอยู ซึ่งอะไรเลา? ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ภิ กษุ นั้ น ย อมไม เพลิ ดเพลิ น ย อมไม พร่ําสรรเสริ ญ ย อ มไม เมาหมกอยู ซึ่ ง รู ป . เมื่ อ ภิ ก ษุ นั้ น ไม เพลิ ด เพลิ น ไม พ ร่ํ าสรรเสริ ญ ไม เมา หมกอยู ซึ่งรูป, นันทิ (ความเพลิน) ใด ในรูป, นันทินั้น ยอมดับไป. เพราะ ความดับแหงนันทิของภิกษุนั้น จึงมีความดับแหงอุปาทาน; เพราะมีความดับ แหงอุปาทาน จึงมีความดับแหงภพ; เพราะมีความดับแหงภพ จึงมีความดับ แหงชาติ; เพราะมีความดับแหงชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งดั บ สิ้ น : ความดั บ ลงแห งกองทุ กข ทั้ งสิ้ นนี้ ย อมมี ด วยอาการ อยางนี้. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ภิกษุนั้น ยอมไมเพลิดเพลิน ยอมไมสรรเสริญ ยอมไม เมาหมกอยู ซึ่ งเวทนา. ...ฯลฯ...ฯลฯ...ความดั บลงแห งกองทุ กข ทั้ งสิ้ นนี้ ย อมมี ด วย อาการอยางนี้.

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ภิ กษุ นั้ น ย อมไม เพลิ ดเพลิ น ย อมไม พร่ํ าสรรเสริ ญ ย อ มไม เมาหมกอยู ซึ่ ง สั ญ ญา. ...ฯลฯ...ฯลฯ...ความดั บ ลงแห ง กองทุ ก ข ทั้ ง สิ้ น นี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้.

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ภิ กษุ นั้ น ย อมไม เพลิ ดเพลิ น ย อมไม พร่ําสรรเสริ ญ ยอ มไมเ มาหมกอยู  ซึ ่ง สัง ขารทั ้ง หลาย...ฯลฯ...ฯลฯ...ความดับ ลงแหง กองทุก ข ทั้งสิ้นนี้ ยอมมีดวยอาการอยางนี้.

www.buddhadasa.info


๒๖๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ภิ กษุ นั้ น ย อมไม เพลิ ดเพลิ น ย อมไม พร่ํ าสรรเสริ ญ ย อมไม เมาหมกอยู ซึ่ งวิ ญ ญาณ.. เมื่ อภิ กษุ นั้ น ไม เพลิ ดเพลิ น ไม พร่ําสรรเสริญ ไม เมาหมกอยูซึ่งวิญ ญาณ, นัน ทิใด ในวิญ ญาณ นัน ทินั้น ยอ มดับ ไป. เพราะ ความดับแหงนันทิของภิกษุนั้น จึงมีความดับแหงอุปาทาน; เพราะมีความดับ แหงอุปาทาน จึงมีความดับแหงภพ; เพราะมีความดับแหงภพ จึงมีความดับ แหงชาติ; เพราะมีความดับแหงชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! นี้ คื อ ความดั บ แห งรู ป ...แห งเวทนา...แห งสั ญ ญา ...แหงสังขารทั้งหลาย...แหงวิญญาณ, ดังนี้ แล.

การคิดคนปฏิจจสมุปบาท ก็คือการเดินตามอริยัฏฐังคิกมรรค๑ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เปรียบเหมื อนบุ รุษเที่ ยวไปในป าทึ บ เกิ ดพบรอยทาง ซึ่งเคยเปนหนทางเกาที่มนุษยแตกาลกอนเคยใชเดินแลว บุรุษนั้น จึงเดินตามทางนั้นไป เมื่ อเดิ นไปตามทางนั้ นอยู ได พบทรากนครซึ่ งเป นราชธานี โบราณ อั นมนุ ษย ทั้ งหลาย แตกาลกอนเคยอยูอาศัยแลว เปนที่อันสมบูรณ ดวยสวน สมบูรณ ดวยปาไม สมบูรณ ดวย สระโบกขรณี มี ทรากกํ าแพงล อม มี ภู มิ ภาคน ารื่นรมย ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ลํ าดั บ นั้น บุ รุษนั้ นเขาไปกราบทู ลแจงขาวนี้แกพระราชา หรือแกมหาอํามาตยของพระราชาวา "ขอทาวพระกรุณา จงทราบเถิด : ขาพระเจาเมื่อเที่ยวไปในปาทึบ ไดเห็นรอยทาง

www.buddhadasa.info

สูตรที่ ๕ มหาวรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน. สํ. ๑๖/๑๒๘/๒๕๓, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๒๖๓

ซึ่ งเคยเป นหนทางเก า ที่ มนุ ษย แต กาลก อนเคยใช เดิ นแล ว ข าพระเจ า ได เดิ นตามทาง นั้ นไป เมื่ อเดิ นไปตามทางนั้ นอยู ได พบทรากนครซึ่ งเป นราชธานี โบราณ อั นมนุ ษ ย ทั้ งหลายแต กาลก อนเคยอยู อาศั ยแล ว เป นที่ อันสมบู รณ ด วยสวน สมบู รณ ด วยป าไม สมบู รณ ด วยสระโบกขรณี มี ทรากกํ าแพงล อม มี ภู มิ ภาคน ารื่นรมย . ขอพระองค จง ตบแตงสถานที่นั้นใหเปนนครเถิด พระเจาขา!" ดังนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ลํ าดั บนั้ น พระราชาหรือมหาอํ ามาตย ของพระราชานั้ น จึ งตบแต งสถานที่ นั้ น ขึ้ น เป นนคร. สมั ยต อ มา นครนั้ น ได กลายเป น นครที่ มั่ งคั่ งและ รุงเรือง มีประชาชนมาก เกลื่อนกลนดวยมนุษย ถึงแลวซึ่งความเจริญไพบู ลย, นี้ฉันใด; ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย! ขอนี้ก็ฉันนั้น : เราไดเห็นแลวซึ่งรอยทางเกา ที่เคยเปนหนทางเกา อันพระสัมมาพระพุทธเจาทั้งหลายในกาลกอนเคยทรงดําเนินแลว. ดูกอนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ รอยทางเก า ที่ เคยเป นหนทางเก า อั นพระสัมมาพระพุทธเจาทั้งหลายในกาลกอนเคยทรงดําเนินแลว นั้นเปนอยางไรเลา? นั่นคือ อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้นั่นเทียว, ไดแกสิ่งเหลานี้คือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! นี้ แล รอยทางเก า ที่ เป นหนทางเก า อั นพระสั มมาสัมพุทธเจาทั้งหลายในกาลกอนเคยทรงดําเนินแลว. เรานั้น ไดดําเนินไปตามแลวซึ่ง หนทางนั้น, เมื่อดําเนินตามอยู ซึ่งหนทางนั้น เรา :

ไดรู ยิ ่ง เฉพาะแลว ซึ ่ง ชรามรณะ, ซึ ่ง เหตุใ หเ กิด ขึ ้น แหง ชรามรณะ, ซึ่งความดั บไม เหลือแห งชรามรณะ, ซึ่งขอปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสั ตวให ลุถึ งความดั บไม เหลื อ แหงชรามรณะ;

www.buddhadasa.info


๒๖๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

...๑ได รู ยิ่ งเฉพาะแล วซึ่ งชาติ , ซึ่ งเหตุ ให เกิ ดขึ้ นแห งชาติ , ซึ่ งความดั บ ไมเหลือแหงชาติ, ซึ่งขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงชาติ; ...ไดรู ยิ ่ง เฉพาะแลว ซึ ่ง ภพ, ซึ ่ง เหตุใ หเกิด ขึ ้น แหง ภพ, ซึ ่ง ความดับ ไมเหลือแหงภพ, ซึ่งขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงภพ; ...ได รู ยิ่ งเฉพาะแล วซึ่ งอุ ป าทาน, ซึ่ งเหตุ ให เกิ ด ขึ้ น แห งอุ ป าทาน, ซึ่ ง ความดับไม เหลือแหงอุปาทาน, ซึ่งขอปฏิบั ติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแห ง อุปาทาน; ...ได รู ยิ่ งเฉพาะแล วซึ่ งตั ณ หา, ซึ่ งเหตุ ให เกิ ดขึ้ นแห งตั ณ หา, ซึ่ งความ ดับไมเหลือแหงตัณหา, ซึ่งขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงตัณหา; ...ได รู ยิ่ งเฉพาะแล วซึ่ งเวทนา, ซึ่ งเหตุ ให เกิ ดขึ้ นแห งเวทนา, ซึ่ งความ ดับไมเหลือแหงเวทนา, ซึ่งขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงเวทนา;

www.buddhadasa.info ...ได รู ยิ่ งเฉพาะแล วซึ่ งผั สสะ, ซึ่ งเหตุ ให เกิ ดขึ้ นแห งผั สสะ, ซึ่ งความดั บ ไมเหลือแหงผัสสะ, ซึ่งขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงผัสสะ;

...ได รู ยิ่ งเฉพาะแล ว ซึ่ งสฬายตนะ, ซึ่ ง เหตุ ให เกิ ด ขึ้ น แห งสฬายตนะ, ซึ่งความดับไมเหลือแห งสฬายตนะ, ซึ่งขอปฏิบั ติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือ แหงสฬายตนะ;

ที่ ล ะ...ไว ต รงนี้ และต อ ๆ ไป มี ข อ ความเต็ ม ว า "เรานั้ น ได ดํ า เนิ น ตามแล ว ซึ่ ง หนทางนั้ น , เมื่ อ ดําเนินไปตามอยู ซึ่งหนทางนั้น เรา".

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๒๖๕

...ได รู ยิ่ งเฉพาะแล วซึ่ งนามรู ป , ซึ่ งเหตุ ให เกิ ดขึ้ นแห งนามรูป, ซึ่ งความ ดับไมเหลือแหงนามรูป, ซึ่งขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงนามรูป; ...ได รู ยิ่ งเฉพาะแล ว ซึ่ งวิ ญ ญาณ, ซึ่ งเหตุ ให เกิ ด ขึ้ น แห งวิ ญ ญาณ, ซึ่ ง ความดั บไม เหลื อแห งวิ ญญาณ, ซึ่ งข อปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสั ตว ให ลุ ถึ งความดั บไม เหลื อแห ง วิญญาณ; เราได ดํ าเนิ น ไปตามแล วซึ่ งหนทางนั้ น, เมื่ อดํ าเนิ นตามอยู ซึ่ งหนทางนั้ น เราได รูยิ่ งเฉพาะแล วซึ่ งสั งขารทั้ งหลาย, ซึ่งเหตุ ให เกิ ดขึ้นแห งสั งขาร, ซึ่งความดั บ ไมเหลือแหงสังขาร, ซึ่งขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงสังขาร; ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เรานั้ น ครั้นรูยิ่ งเฉพาะแล วซึ่ งหนทางนั้ น ได บอกแล ว แกภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ทั้งหลาย. ดูกอนภิ กษุ ทั้งหลาย! พรหมจรรยนี้ ที่ เรากลาวบอกแลวนั้ น ได เป น พรหมจรรยตั้งมั่นและรุงเรืองแลว เปนพรหมจรรยที่แผไพศาล เปนที่รูแหงชนมาก เปนปกแผนแนนหนา จนกระทั่งเทวดาและมนุษยทั้งหลายสามารถประกาศไดดวย ดีแลว.

www.buddhadasa.info หมายเหตุ ผู ร วบรวม : ผู ศึ ก ษาพึ ง สั งเกตให เห็ น ว า ตามข อ ความข า งบนนี้ แสดงอยู ในตั วแล วว า เมื่ อ ดํ าเนิ น ตามอริ ยมรรคมี อ งค ๘ ประการ ย อ มเป น การรู ป ฏิ จจสมุ ป บาทไปตามลํ าดั บ พร อมกั บ ไปในตั ว; ดั งนั้ น จึ งถื อเป น หลั กได ว า การคิ ดค น ปฏิ จจสมุ ป บาท อยู อ ย า งขะมั ก เขม น ขึ้ น คื อ การที่ กํ า ลั ง ดํ า เนิ น อยู ในอริ ย อั ฏ ฐั ง คิ ก มรรค นั่ น เอง. ขออย า ได ขามไปเห็นเปนคนละเรื่องเหมือนดังที่เปนกันอยูโดยมาก ในที่ทั่ว ๆ ไป

www.buddhadasa.info


๒๖๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

ปฏิบัติเพื่อการดับปฏิจจสมุปบาท ชื่อวาปฏิบัติธรรมสมควรแกธรรม๑ ดูกอนภิกษุ! ถาภิกษุเปนผูปฏิบัติแลว เพื่อความเบื่อหนาย เพื่อความ คลายกํ าหนั ด เพื่ อความดั บ ไม เหลื อ แห งชรามรณะ อยู ไซร, ก็ เป นการสมควร เพื่อจะเรียกภิกษุนั้นวา "ภิกษุผูปฏิบัติธรรม สมควรแกธรรมแลว". ดูกอนภิกษุ! ถาภิกษุเปนผูปฏิบัติแลว เพื่อความเบื่อหนาย เพื่อความ คลายกํ าหนั ด เพื่ อความดั บไม เหลื อ แห งชาติ อยู ไซร, ก็ เป นการสมควรเพื่ อจะ เรียกภิกษุนั้นวา "ภิกษุผูปฏิบัติธรรม สมควรแกธรรมแลว". ดูกอนภิกษุ! ถาภิกษุเปนผูปฏิบัติแลว เพื่อความเบื่อหนาย เพื่อความ คลายกําหนัด เพื่อความดับไมเหลือ แหงภพ อยูไซร, ก็เปนการสมควรเพื่อจะเรียก ภิกษุนั้นวา "ภิกษุผูปฏิบัติธรรม สมควรแกธรรมแลว".

www.buddhadasa.info ดูกอนภิกษุ! ถาภิกษุเปนผูปฏิบัติแลว เพื่อความเบื่อหนาย เพื่อความ คลายกําหนั ด เพื่อความดับไม เหลือ แห งอุปาทาน อยูไซร, ก็เปนการสมควรเพื่อจะ เรียกภิกษุนั้นวา "ภิกษุผูปฏิบัติธรรม สมควรแกธรรมแลว".

ดูกอนภิกษุ! ถาภิกษุเปนผูปฏิบัติแลว เพื่อความเบื่อหนาย เพื่อความ คลายกําหนัด เพื่อความดับไมเหลือ แหงตัณหา อยูไซร, ก็เปนการสมควรเพื่อจะ เรียกภิกษุนั้นวา "ภิกษุผูปฏิบัติธรรม สมควรแกธรรมแลว".

สูตรที่ ๖ อาหารวรรค นิทานสังยุตต นิทาน. สํ. ๑๖/๒๒/๔๖, ตรัสแกภิกษุรูปหนึ่ง ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๒๖๗

ดูกอนภิกษุ! ถาภิกษุเปนผูปฏิบัติแลว เพื่อความเบื่อหนาย เพื่อความ คลายกําหนัด เพื่อความดับไมเหลือ แหงเวทนา อยูไซร, ก็เปนการสมควรเพื่อจะ เรียกภิกษุนั้นวา "ภิกษุผูปฏิบัติธรรม สมควรแกธรรมแลว". ดูกอนภิกษุ! ถาภิกษุเปนผูปฏิบัติแลว เพื่อความเบื่อหนาย เพื่อความ คลายกําหนั ด เพื่อความดับไม เหลือ แห งผัสสะ อยูไซร, ก็เปนการสมควรเพื่อจะ เรียกภิกษุนั้นวา "ภิกษุผูปฏิบัติธรรม สมควรแกธรรมแลว". ดูกอนภิกษุ! ถาภิกษุเปนผูปฏิบัติแลว เพื่อความเบื่อหนาย เพื่อความ คลายกําหนัด เพื่อความดับไมเหลือ แหงสฬายตนะ อยูไซร, ก็เปนการสมควรเพื่อ จะเรียกภิกษุนั้นวา "ภิกษุผูปฏิบัติธรรม สมควรแกธรรมแลว". ดูกอนภิกษุ! ถาภิกษุเปนผูปฏิบัติแลว เพื่อความเบื่อหนาย เพื่อความ คลายกําหนัด เพื่อความดับไมเหลือ แหงนามรูป อยูไซร, ก็เปนการสมควรเพื่อจะ เรียกภิกษุนั้นวา "ภิกษุผูปฏิบัติธรรม สมควรแกธรรมแลว".

www.buddhadasa.info ดูกอนภิกษุ! ถาภิกษุเปนผูปฏิบัติแลว เพื่อความเบื่อหนาย เพื่อความ คลายกําหนัด เพื่อความดับไมเหลือ แหงวิญญาณ อยูไซร, ก็เปนการสมควรเพื่อจะ เรียกภิกษุนั้นวา "ภิกษุผูปฏิบัติธรรม สมควรแกธรรมแลว". ดูกอนภิกษุ! ถาภิกษุเปนผูปฏิบัติแลว เพื่อความเบื่อหนาย เพื่อความ คลายกําหนัด เพื่อความดับไมเหลือ แหงสังขารทั้งหลาย อยูไซร, ก็เปนการสมควร เพื่อจะเรียกภิกษุนั้นวา "ภิกษุผูปฏิบัติธรรม สมควรแกธรรมแลว".

www.buddhadasa.info


๒๖๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

ดูกอนภิกษุ! ถาภิกษุเปนผูปฏิบัติแลว เพื่อความเบื่อหนาย เพื่อความ คลายกําหนัด เพื่อความดับไมเหลือ แหงอวิชชา อยูไซร, ก็เปนการสมควรเพื่อจะ เรียกภิกษุนั้นวา "ภิกษุผูปฏิบัติธรรม สมควรแกธรรมแลว", ดังนี้ แล.

องคประกอบที่เปนบุพพภาค ของการดับแหงปฏิจจสมุปบาท๑ (มาคั ณ ฑิ ยปริพ พาชก ได กราบทู ลว า "ข าพเจ าเลื่ อมใสต อพระโคดมอย างนี้ แล ว, ท าน พระโคดมจะสามารถเพื่ อ แสดงธรรมแก ข า พเจ า โดยประการที่ ข า พเจ า จะลุ ก ขึ้ น จากอาสนะนี้ ใน ลักษณะแหงผูหายตาบอดไดไหม พระเจาขา?". พระผูมีพระภาคเจาไดตรัสวา:-)

ดูกอนมาคัณฑิยะ! ถาอยางนั้น ทานควรคบสัตบุรุษ. ดู ก อนมาคั ณ ฑิ ยะ! เมื่ อใดท านคบสั ตบุ รุษ, เมื่ อนั้ นท านจั กได ฟ งธรรม ของสัตบุรุษ.

www.buddhadasa.info ดู ก อนมาคั ณ ฑิ ยะ! เมื่ อใดท านได ฟ งธรรมของสั ตบุ รุษ, เมื่ อนั้ น ท านจั ก ปฏิบัติธรรมสมควรแกธรรม.

ดู ก อนมาคั ณ ฑิ ยะ! เมื่ อใดท านปฏิ บั ติ ธรรมสมควรแก ธรรมแล ว, เมื่ อนั้ น ทานจักรูเอง เห็นเอง โดยแท วา นี้คือโรค, นี้คือหัวฝ, นี้คือลูกศร;

มาคัณฑิยสูตร ม.ม. ๑๓/๒๘๕/๒๙๑, ตรัสแกมาคัณฑิยปริพพาชก ที่กัมมาสทัมมนิคม แควนกุรุ.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๒๖๙

โรค หั วฝ ลู กศร ทั้ งหลาย ในกรณี นี้ , ย อมดั บไปโดยไม มี ส วนเหลื อ (ใน ลักษณะเดียวกันกับขอที่วา:-) เพราะความดับแหงอุปาทานของเรานั้น จึงมีความดับแหงภพ; เพราะมีความดับแหงภพ จึงมีความดับแหงชาติ; เพราะมี ความดั บแห งชาติ นั้ นแล ชรามรณะ โสกะปริ เทวะทุ กขะโทมนั สอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น. ความดับลงแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้", ดังนี้. หมายเหตุ ผู ร วบรวม : ผู ศึ ก ษาพึ ง ทราบว า โรค, หั ว ผี , ลู ก ศร, ในที่ นี้ คื อทุ กข อั นเกิ ดจากตั ณ หา. ตั ณ หาใด ๆ ล วนแต ต องมาจากเวทนา ซึ่ งออกมาจากการสั มผั ส อารมณ ด วยอวิ ชชา ด วยกั น ทั้ งนั้ น ; และตั ณ หานั้ น ย อ มส งต อไปให เกิ ดอุ ป ทาน ภพ ชาติ ชรามรณะอั น เป น ที่ ตั้ งแห งทุ ก ข . การที่ จ ะรู จั ก หั ว ฝ ลู ก ศร เป น ต น แล ว กํ า จั ด เสี ย ให ได นั้ น ต อ งอาศั ยการปฏิ บั ติ ธรรมโดยสมควรแก ธรรมของสั ต บุ รุ ษ ; ดั งนั้ น การที่ ทุ กคนคบสั ต บุ รุ ษ ฟ งธรรมเข า ใจแล วปฏิ บั ติ อ ยู อ ย า งถู ก ต อ ง ไม ว าในรู ป ลั กษณะใด ย อ มเป น การกระทํ า ชนิ ด ที่ เป น บุ รพภาคแห งการทํ าลายกระแสแห งปฏิ จ จสมุ ป บาท เพื่ อการดั บ ทุ กข ด วยกั น ทั้ งนั้ น . ถาผิดไปจากนี้ ยอมไมมีความหมายอะไร และมิใชการปฏิบัติธรรมในพระพุทธศาสนา.

www.buddhadasa.info ผัสสะ คือนิทานสัมภวะสวนมากของนิพเพธิกธรรม๑ (เรื่องนี้ใสเขามาในฐานะที่เปนหลักธรรมที่ชวยปฏิบัติ)

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เราจักแสดงซึ่งธรรมปริยายชื่ อนิ พเพธิกปริยาย แก พวก เธอทั้ งหลาย. พวกเธอทั้ งหลายจงฟ งซึ่ งข อความนั้ น. จงทํ าในใจให สํ าเร็จประโยชน , เราจักกลาวบัดนี้.

สูตรที่ ๙ มหาวรรค ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๕๗/๓๓๔, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย.

www.buddhadasa.info


๒๗๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

ครั้ นภิ กษุ ทั้ งหลายเหล านั้ น ทู ลสนองรั บพระผู มี พระภาคเจ าแล ว, พระผู มี พระภาคเจ าได ตรั ส ถอยคําเหลานี้วา:-

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ธรรมปริยายชื่อนิพเพธิกปริยาย นั้นเปนอยางไรเลา?ดูกอน ภิกษุทั้งหลาย! (๑) กามทั้ งหลาย อั นบุ คคลพึ งรูแจ ง, นิ ทานสั มภวะ (เหตุ เป นแดนเกิ ด พร อม) แห งกามทั้ งหลาย, เวมั ตตตา (ประมาณต าง ๆ ) แห งกามทั้ งหลาย, วิ บาก (ผล สุ กวิ เศษ) แห งกามทั้ งหลาย, นิ โรธ (ความดั บไม เหลื อ) แห งกาม, นิ โรธคามิ นี ปฏิ ปทา (ขอปฏิบัติใหถึงความดับไมเหลือ) แหงกาม, (นี้, แตละอยาง ๆ) เปนธรรมที่บุคคลพึงรูแจง. (๒) เวทนาทั้งหลาย อันบุคคลพึงรูแจง, นิทานสัมภวะแหงเวทนาทั้งหลาย, เวมั ตตตาแห งเวทนาทั้ งหลาย, วิ บากแห งเวทนาทั้ งหลาย, นิ โรธแห งเวทนา, นิ โรธคามิ นี ปฏิปทาแหงเวทนา, (นี้, แตละอยาง ๆ) เปนธรรมที่บุคคลพึงรูแจง. (๓) สัญญาทั้งหลาย อันบุคคลพึงรูแจง, นิทานสัมภวะแหงสัญญาทั้งหลาย, เวมั ตตตาแห งสั ญญาทั้ งหลาย, วิบากแห งสั ญญาทั้ งหลาย, นิ โรธแห งสั ญญา, นิ โรธคามิ นี ปฏิปทาแหงสัญญา, (นี้, แตละอยาง ๆ) เปนธรรมที่บุคคลพึงรูแจง.

www.buddhadasa.info (๔) อาสวะทั้ งหลาย อันบุ คคลพึ งรูแจง, นิทานสัมภวะแหงอาสวะทั้งหลาย, เวมั ตตตาแห งอาสวะทั้ งหลาย, วิ บากแห งอาสวะทั้ งหลาย, นิ โรธแห งอาสวะ, นิ โรธคามิ นี ปฏิปทาแหงอาสวะ, (นี้, แตละอยาง ๆ) เปนธรรมที่บุคคลพึงรูแจง.

(๕) กรรม อั นบุ คคลพึ งรู แจ ง, นิ ทานสั มภวะแห งกรรม, เวมั ตตตาแห ง กรรม, วิ บากแห งกรรมทั้ งหลาย, นิ โรธแห งกรรม, นิ โรธคามิ นี ปฏิ ปทาแห งกรรม, (นี้ , แต ละ อยาง ๆ) เปนธรรมที่บุคคลพึงรูแจง.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๒๗๑

(๖) ทุ กข อั นบุ คคลพึ งรูแจ ง, นิ ทานสั มภวะแห งทุ กข, เวมั ตตตาแห ง ทุ กข, วิบากแห งทุ กข , นิ โรธแห งทุ กข , นิ โรธคามิ นี ปฏิ ปทาแห งทุ กข ,(นี้ , แต ละอย าง ๆ) เปนธรรมที่บุคคลพึงรูแจง. (๑) ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! กามทั้งหลาย อันบุคคลพึงรูแจง เปนอยางไรเลา? ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! กามคุ ณทั้ งหลาย ๕ ประการ เหล านี้ คื อรู ปทั้ งหลาย อันจะพึ งรูแจงด วยจักษุ .. เสี ยงทั้ งหลาย อันจะพึ งรูแจงด วยโสตะ..กลิ่ นทั้ งหลาย อันจะ พึ งรู แจ งด วยจมู ก..รสทั้ งหลาย อั นจะพึ งรูแจ งด วยลิ้ น..สั มผั สผิ วหนั ง อั นจะพึ งสั มผั ส ดวยกาย อันเป นสิ่งที่ น าปรารถนา (อิฏฐา) น าใคร (กนฺ ตา) น าพอใจ (มนาปา) มี ลักษณะ อันนารัก (ปยะรูปา) เปนที่เขาไปตั้งอาศัยแหงความใคร (กามูปสฺหิตา) เปนที่ตั้งแหงความ กํ าหนั ด (รชนิ ยา) มี อยู . ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! อารมณ ทั้ งหลาย ๕ ประการเหล านี้ หาใชกามไม : ในอริยวินั ย เรียกอารมณ ทั้ งหลาย ๕ ประการเหล านี้ วา "กามคุ ณ " (หาเรียกวากามไม) แตวา :-

www.buddhadasa.info ความกําหนัดไปตามอํานาจความตริตรึก (สงฺกปฺปราค) นั่นและคือกามของคนเรา; อารมณอันวิจิตรทั้งหลาย ในโลก นั้น หาใชกามไม; ความกําหนัดไปตามอํานาจความตริตรึก นั่นและคือกามของคนเรา; อารมณอันวิจิตร ก็มีอยูในโลก ตามประสาของมันเทานั้น; ดังนั้น ผูมีปญญาจึงนําออกเสียซึ่งฉันทะ ในอารมณ อันวิจิตรเหลานั้น ดังนี้.

www.buddhadasa.info


๒๗๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

ดู กอนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ นิ ทานแห งสั มภวะ (เหตุ เป นแดนเกิ ดพรอม) แห งกาม ทั้งหลาย เปนอยางไรเลา? ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย! นิ ทานสัมภวะแหงกามทั้งหลาย คือ ผัสสะ. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ เวมั ตตตา (ประมาณต าง ๆ ) แห งกามทั้ งหลาย เป น อยางไรเลา? ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เวมัตตตาแหงกามทั้งหลาย คือความใคร (กาม) ในรูปารมณ ก็อยางหนึ่ง ๆ , ความใครในสัททารมณ ก็อยางหนึ่ง ๆ , ความใครในคันธารมณ ก็อย างหนึ่ ง ๆ , ความใครในรสารมณ ก็ อยางหนึ่ ง ๆ , ความใครในโผฏฐัพพารมณ ก็ อยางหนึ่ง ๆ; ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! นี้เราเรียกวา เวมัตตตาแหงกามทั้งหลาย. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ วิ บากแห งกามทั้ งหลาย เป นอย างไรเล า? ดู ก อน ภิ กษุ ทั้ งหลาย! บุ คคลมี ความใครในอารมณ ใดอยู ย อมยั งอั ตตภาพอั นเกิ ดจากกามใน อารมณ นั้ น ๆ ให เกิ ดขึ้ น เป นอั ตตภาพมี ส วนแห งบุ ญบ าง มี ส วนแห งบุ ญหามิ ได บ าง; ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! นี้เรากลาววา วิบากแหงกามทั้งหลาย.

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! นิ โรธแห งกาม เป นอย างไรเล า ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ความดับแหงกามมี เพราะความดับแหงผัสสะ. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ก็ นิ โรธคามิ นี ป ฏิ ป ทาแห งกาม เป น อย างไรเล า? ดูก อ นภิก ษุทั ้ง หลาย!อริย อัฏ ฐัง คิก มรรคนี ้แ ล คือ นิโ รธคามิน ีป ฏิป ทาแหง กาม, ข อ นั้ น ได แ ก สิ่ งเหล านี้ คื อ สั ม มทิ ฏ ฐิ สั ม มาสั งกั ป ปะ สั ม มาวาจา สั ม มากั ม มั น ตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๒๗๓

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ในกาลใดแล อริยสาวกยอมรูชัดซึ่งกามทั้งหลาย อยางนี้, ซึ่งนิทานสัมภวะแหงกามทั้งหลายอยางนี้, ซึ่งเวมัตตตาแหงกามทั้งหลายอยางนี้, ซึ่งวิบากแห งกามทั้ งหลายอยางนี้ , ซึ่งนิโรธแห งกามอยางนี้ , ซึ่งนิ โรธคามิ นี ปฏิ ปทาแห ง กามอยางนี้; ในกาลนั้น อริยสาวกนั้น ยอมรูชัดซึ่งพรหมจรรยอันเปนเครื่องเจาะ แทงกิเลสนี้วา เปนที่ดับแหงกาม (กามนิโรธ). (๒) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ก็ เวทนาทั้ ง หลาย อั น บุ ค คลพึ ง รู แ จ ง เป น อยางไรเลา? ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เวทนาทั้ งหลาย ๓ ประการเหล านี้ คื อ สุ ขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ นิ ทานสั มภวะแห งเวทนาทั้ งหลาย เป นอย างไรเล า? ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! นิทานสัมภาวะแหงเวทนาทั้งหลาย คือผัสสะ. ดูกอนภิ กษุ ทั้งหลาย! ก็เวมั ตตตาแหงเวทนาทั้งหลาย เปนอยางไรเลา? ดูกอน ภิ กษุ ทั้ งหลาย! สุ ขเวทนา อั นเป นไปด วยอามิ ส (เหยื่ อ) ก็ มี อยู , สุ ขเวทนา อั นปราศจาก อามิ ส ก็ มี อยู ; ทุ กขเวทนา อั นเป นไปกั บด วยอามิ ส ก็ มี อยู , ทุ กขเวทนา อั นปราศจาก อามิ ส ก็ มี อยู ; อทุ กขมสุ ขเวทนา อั นเป นไปกั บด วยอามิ ส ก็ มี อยู , อทุ กขมสุ ขเวทนา อันปราศจากอามิส ก็มีอยู; ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! นี้เรากลาววา เวมัตตตาแห งเวทนา ทั้งหลาย.

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ วิ บากแห งเวทนาทั้ งหลาย เป นอย างไรเล า? ดู ก อน ภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! บุ ค คลเสวยเวทนาใดอยู ย อ มยั งอั ต ตภาพอั น เกิ ด จากเวทนานั้ น ให เกิดขึ้น

www.buddhadasa.info


๒๗๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

เป นอัตตภาพมี สวนแห งบุ ญบ าง เป นอัตตถาพ มี ส วนแห งบุ ญหามิ ไดบ าง; ดู กอน ภิกษุทั้งหลาย! นี้เรากลาววา วิบากแหงเวทนาทั้งหลาย. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! นิ โ รธแห ง เวทนา เป น อย า งไรเล า ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้งหลาย! ความดับแหงเวทนามี เพราะความดับแหงผัสสะ. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ นิ โรธคามิ นี ป ฏิ ป ทาแห งเวทนา เป นอย างไรเล า? ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย!อริย อั ฎ ฐั งคิ ก มรรคนี้ แ ล คื อ นิ โรธคามิ นี ป ฏิ ป ทาแห ง เวทนา, ข อ นั้ น ได แ ก สิ่ ง เหล า นี้ คื อ สั ม มทิ ฏ ฐิ สั ม มาสั งกั ป ปะ สั ม มาวาจา สั ม มากั ม มั น ตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ในกาลใดแล อริยสาวกยอมรูชัดซึ่งเวทนาทั้งหลาย อย างนี้ , ซึ่ งนิ ทานสั มภวะแห งเวทนาทั้ งหลายอย างนี้ , ซึ่ งเวมั ตตตาแห งเวทนาทั้ งหลาย อย า งนี้ , ซึ่ งวิ บ ากแห งเวทนาทั้ งหลายอย า งนี้ , ซึ่ งนิ โรธแห งเวทนาอย า งนี้ , ซึ่ งนิ โรธ คามิ นี ปฏิ ปทาแห งเวทนาอย างนี้ ; ในกาลนั้ น อริยสาวกนั้ นย อมรู ชั ด ซึ่ งพรหมจรรย อันเปนเครื่องเจาะแทงกิเลสนี้วา เปนที่ดับแหงเวทนา (เวทนานิโรธ).

www.buddhadasa.info (๓) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ก็ สั ญ ญาทั้ ง หลาย อั น บุ ค คลพึ ง รู แ จ ง เป น

อยางไรเลา?

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สั ญ ญาทั้ งหลาย ๖ ประการเหล านี้ คื อ รู ปสั ญ ญา สัททสัญญา คันธสัญญา รสสัญญา โผฏฐัพพสัญญา ธัมมสัญญา. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ นิ ทานสั มภวะแห งสั ญญาทั้ งหลาย เป นอย างไรเล า? ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! นิทานสัมภาวะแหงสัญญาทั้งหลาย คือผัสสะ.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๒๗๕

ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย! ก็เวมัตตตาแหงสัญญาทั้งหลาย เป นอยางไรเลา? ดูกอน ภิกษุ ทั้ งหลาย! สัญญาในอารมณ คือรูปทั้งหลาย ก็อยางหนึ่ ง ๆ , สัญญาในอารมณ คือเสียง ทั้ งหลาย ก็ อย างหนึ่ ง ๆ , สั ญญาในอารมณ คื อกลิ่ นทั้ งหลาย ก็อย างหนึ่ ง ๆ, สั ญญาใน อารมณ คื อรสทั้ งหลาย ก็ อย างหนึ่ ง ๆ , สั ญญาในอารมณ โผฏฐัพพทั้ งหลาย ก็ อย างหนึ่ ง ๆ, สั ญ ญาในอารมณ ธั ม มารมณ ทั้ งหลาย ก็ อ ย างหนึ่ ง ๆ, ดู ก อ นภิ กษุ ทั้ งหลาย! นี้ เรา กลาววา เวมัตตตาแหงสัญญาทั้งหลาย. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ วิบากแห งสั ญญาทั้ งหลาย เป นอย างไรเล า? ดู กอน ภิ กษุ ทั้ งหลาย!เรากล าวซึ่ งสั ญญาทั้ งหลาย วาเป นสิ่ งที่ มี ผลออกมาเป นโวหารพู ดอย าง หนึ่ ง ๆ (โวหารเวปกฺ กา) เพราะว าบุ คคลกระทํ าซึ่ งสั ญญาในสิ่ งนั้ น ๆ ว าอย างไร เขาย อม กล า วออกมาอย า งนั้ น ๆ เช น ว า เราเป น ผู มี สั ญ ญาอย า งนี้ ๆ ๑ เป น ต น . ดู ก อ น ภิกษุทั้งหลาย! นี้เรากลาววา วิบากแหงสัญญาทั้งหลาย. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! นิ โรธแห ง สั ญ ญา เป น อย า งไรเล า ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้งหลาย! ความดับแหงสัญญามี เพราะความดับแหงผัสสะ.

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ นิ โรธคามิ นี ปฏิ ปทาแห งสั ญ ญา เป นอย างไรเล า? ดูกอนภิกษุทั้งหลาย!อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้แล คือ นิโรธคามินีปฏิปทาแหงสัญญา ขอนี้ ไดแกสิ่งเหลานี้คือ สัมมทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.

พึ งเข าใจว า คํ าว า "สั ญญา" ในกรณี อย างนี้ มิ ได หมายถึ งความจํ าล วน ๆ แต หมายถึ งความรูสึ ก จนมี ความสําคัญวามันเปนอะไร หรืออยางไรเปนตน.

www.buddhadasa.info


๒๗๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ในกาลใดแล อริยสาวกยอมรูชัดซึ่งสัญญาทั้งหลาย อยางนี้, ซึ่งเวมัตตตาแหงสัญญาทั้งหลายอยางนี้, ซึ่งวิบากแหงสัญญาทั้งหลายอยางนี้, ซึ่ งนิ โรธแห งสั ญ ญาอย างนี้ , ซึ่ งนิ โรธคามิ นี ป ฏิ ป ทาแห งสั ญ ญาอย างนี้ ; ในกาลนั้ น อริยสาวกนั้น ยอมรูชัดซึ่งพรหมจรรยอันเปนเครื่องเจาะแทงกิเลสนี้วา เปนที่ดับ แหงสัญญา (สัญญานิโรธ). (๔) ...ฯลฯ... (ข อ ความตอนที่ ล ะไว นี้ เป น ตอนที่ ก ล า วถึ ง อาสวะ จั ก เว น เสี ย ไม นํ า มา ใสไวในที่นี้ เพราะไมไดตรัสไวเกี่ยวกับผัสสะโดยตรง)...ฯลฯ...

(๕) ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ก็กรรม อันบุคคลพึงรูแจง เปนอยางไรเลา? ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เรากล าวซึ่ งเจตนา วาเป นกรรม เพราะว าบุ คคล มีเจตนาแลว ยอมกระทํากรรม ดวยกาย ดวยวาจา ดวยใจ. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ก็ นิ ท านสั ม ภวะแห งกรรมทั้ งหลาย เป น อย า งไร เลา? ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! นิทานสัมภาวะแหงกรรมทั้งหลาย คือผัสสะ.

www.buddhadasa.info ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ก็ เวมั ต ตตาแห งกรรมทั้ งหลาย เป น อย างไรเล า? ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! กรรมอั นทํ าสั ตวให เสวยเวทนาเป นสั ตวนรก มี อยู , กรรมอั นทํ า สัตวใหเสวยเวทนาเปนกําเนิดเดรัจฉาน มีอยู, กรรมอันทําสัตวใหเสวยเวทนาเปนเปรตวิสัย มี อ ยู , กรรมอั น ทํ าสั ต ว ให เสวยเวทนาในมนุ ษ ยโลก มี อ ยู , กรรมอั น ทํ าสั ต ว ให เสวย เวทนาในเทวโลก มี อยู; ดูก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! นี้ เรากล าววา เวมั ตตตาแห งเวทนา ทั้งหลาย.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๒๗๗

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ วิ บากแห งกรรมทั้ งหลาย เป นอย างไรเล า? ดู ก อน ภิ กษุ ทั้ งหลาย! เรากล าวซึ่ งวิ บากแห งกรรมว ามี อยู ๓ อย าง คื อ วิ บากในทิ ฏฐิ ธรรม (คือทันควัน) หรือวา วิบากในอุปะป ชชะ (คื อในเวลาตอมา) หรือวา วิบากในอปรปริยายะ (คือในเวลาตอมาอีก); ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! นี้เรากลาววา วิบากแหงกรรมทั้งหลาย. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ก็ นิ โ รธแห ง กรรม เป น อย า งไรเล า ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้งหลาย! ความดับแหงกรรมทั้งหลายมี เพราะความดับแหงผัสสะ.๑ ดู ก อ นภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ นิ โรธคามิ นี ป ฏิ ป ทาแห งกรรม เป น อย างไรเล า? ดูก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย!อริยอั ฎฐังคิ กมรรคนี้ แล คื อ นิ โรธคามิ นี ปฏิ ปทาแห งกรรม, ขอนี้ ได แ ก สิ่ ง เหล า นี้ คื อ สั ม มทิ ฏ ฐิ สั ม มาสั ง กั ป ปะ สั ม มาวาจา สั ม มากั ม มั น ตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ในกาลใดแล อริยสาวกยอมรูชัดซึ่งกรรม อยางนี้, ซึ่งเวมั ตตตาแห งกรรมทั้ งหลาย อย างนี้ , ซึ่ งวิบากแห งกรรมทั้ งหลายอย างนี้ , ซึ่งนิ โรธ แห ง กรรมอย างนี้ , ซึ่ งนิ โรธคามิ นี ป ฏิ ป ทาแห งกรรมอย างนี้ ; ในกาลนั้ น อริ ย สาวก นั้น ยอมรูชัดซึ่งพรหมจรรยอันเปนเครื่องเจาะแทงกิเลสนี้วา เปนที่ดับแหงกรรม (กัมมนิโรธ).

www.buddhadasa.info ๑

ผู ศึ กษาพึ งสั งเกตให เห็ นใจความสํ าคั ญที่ สุด ในตอนนี้ ที่ ตรัสว า แดนเกิ ดแห งกรรมคื อผั สสะ แดนดั บแห ง กรรม ก็ คื อ ผั ส สะ ซึ่ งแสดงว า กรรมเกิ ด และดั บ ในอั ต ตภาพนี้ อยู อ ย างซ้ํ า ซาก ๆ ; ดั งนั้ น วิ บ าก แห งกรรม จึ งมี ได ในอั ตตภาพนี้ อย างซ้ํ า ๆ ซาก ๆ ไม ว าจะเป นชนิ ดทิ ฏฐธรรมหรื ออุ ปป ชชะ หรืออปร ปริยายะ ซึ่งมั กจะเขาใจกั นไปวา สองชนิ ดหลั งนั้ น จะมี ต อตายเข าโลงไปแล วเท านั้ น, ความถู กต องใน เรื่องนี้ จะเปนอยางไร ขอจงพิจารณาดูเถิด.

www.buddhadasa.info


๒๗๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

(๖) ...ฯลฯ... (ข อ ความตอนที่ ล ะไว นี้ เป น ตอนที่ ก ล า วถึ ง อาสวะ จั ก เว น เสี ย ไม นํ า มา ใสไวในที่นี้ เพราะไมไดตรัสไวเกี่ยวกับผัสสะโดยตรง)...ฯลฯ...

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! นี้แล คือธรรมปริยายอันชื่อวานิพเพธิกปริยาย นั้น.

หมายเหตุ ผู รวบรวม : ผูศึกษาพึ งสังเกตใหเห็นวา สิ่งที่เรียกวาผัสสะ นั้ น มี ค วามสํ า คั ญ มากน อ ยเพี ย งใด โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง คื อ ข อ ที่ ผั ส สะเป น ที่ เกิ ด และที่ ดั บ แห ง กาม แห ง เวทนา แห ง สั ญ ญา และแห ง กรรม. พวกเรายั ง มี ค วามรู เรื่ อ งผั ส สะกั น น อ ย เกิ น ไป จึ ง ไม ส ามารถจะปฏิ บั ติ ใ ห ป ระสบความสํ า เร็ จ ในการเอาชนะกาม, ในการควบคุ ม เวทนา, ในการละเสี ย ซึ่ ง สั ญ ญา และในการทํ า ความสิ้ น สุ ด แห งกรรมทั้ ง หลาย. ผั ส สะเป น ตั ว การสํ า คั ญ ในกระแสแห งปฏิ จ จสมุ ป บาท ดั งที่ ท ราบกั น อยู แ ล ว เมื่ อ มี ก ารกล า วถึ ง ผั ส สะ ในที่ ใด ก็ พึ งทราบเถิ ด ว า ย อ มมมี กระแสแห งปฏิ จ จสมุ ป บาทซ อ นอยู ค รบถ วนในที่ นั้ น ไม ว า จะเรี ย กว า กาม หรื อ เวทนา หรื อ สั ญ ญ า หรื อ กรรม อั น เป น นิ พ เพธิ ก ธรรม ดั ง ที่ ก ล า ว แล ว ในพระบาลี นี้ ; ดั ง นั้ น ควรจะถื อ ว า ผั ส สะทั้ ง หลาย เป น นิ ท านสั ม ภวะส ว นมากของ นิพเพธิกธรรม ที่บุคคลพึงรูแจงแทงตลอด เพื่อความสิ้นสุดแหงความทุกขในที่สุด.

ปฏิจจสมุปบาทแหงการกําจัดอุปสรรค ขณะเจริญสติปฏฐาน๑

www.buddhadasa.info ดู ก อ นอานนท ! ข อ นั้ น เป น อย า งนั้ น ข อ นั้ น เป น อย า งนั้ น ; คื อ ภิ ก ษุ ห รื อ ภิ ก ษุ ณี ใดก็ ต าม มี จิ ต ตั้ งมั่ น ดี แ ล ว ในสติ ป ฏ ฐาน ๔ อยู : ข อ นี้ เป น สิ่ งที่ ภิ ก ษุ ห รื อ ภิกษุณีนั้นพึงหวังไดวา จักรูพรอมซึ่งคุณวิเศษอันโอฬาร อื่นจากคุณวิเศษที่มีแลว ในกอน. ภิกษุหรือภิกษุณีมีจิตตั้งมั่นดวยดีในสติปฏฐาน ๔ อยางไหนเลา?

อัมพปาลิวรรค มหาวาร.สํ. ๑๙/๒๐๗/๗๑๖, ตรัสแกพระอานนท ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๒๗๙

ดู ก อนอานนท ! ภิ กษุ ในกรณี นี้ ย อมเป นผู พิ จารณาเห็ นกายในกายอยู เป น ประจํา มีความเพี ยรเผากิเลส มีความรูสึกตัวทั่วพรอม มีสติ พึ งกําจัดอภิชฌาและโทมนัส ในโลกเสี ยได . เมื่ อเธอพิ จารณาเห็ นกายในกายอยู , ความเร าร อน (ปริ ฬาห) ในกาย อันมีกายเปนอารมณ เกิดขึ้นก็ดี หรือวาความหดหูแหงจิตเกิดขึ้นก็ดี หรือวาจิตฟุงไปใน ภายนอกก็ดี; ดูกอนอานนท! ภิกษุนั้น พึงตึงจิตในนิมิตอยางใดอยางหนึ่งซึ่งเปน ที่ตั้งแหงความเลื่อมใส. เมื่อตั้งจิตในนิมิตเปนที่ตั้งแหงความเลื่อมใส, ปราโมทยยอมเกิดขึ้น; เมื่อมีปราโมทยแลว ปติ ยอมเกิดขึ้น; เมื่อมีใจปติแลว กาย ยอมรํางับ; ผูมีกายรํางับแลว ยอมรูสึกเปนสุข; เมื่อรูสึกเปนสุข จิตยอมตั้งมั่น. ภิ ก ษุ นั้ น ย อ มพิ จ ารณาอย างนี้ ว า "เราตั้ งจิ ต ไว เพื่ อประโยชน แก ธรรมใด ประโยชน นั้ นสํ าเร็จแล วแก เรา. เอาละ, บั ดนี้ เราจะนํ าจิ ตเฉพาะต ออารมณ นั้ น". ภิ กษุ นั้ นย อมนํ าจิ ตเฉพาะต ออารมณ นั้ นด วย ไม กระทํ าซึ่ งวิ ตกด วย ไม กระทํ าซึ่ งวิจารด วย. เธอนั้นยอมรูชัดวา "เราเปนผูไมมีวิตก ไมมีวิจาร เปนผูมีสติ มีสุขในภายใน" ดังนี้.

www.buddhadasa.info (ในกรณีเวทนา-จิต-และธัมมานุปสสนาสติปฏฐาน ก็ทรงแสดงไวโดยนัยเดียวกัน)

ดูกอนอานนท! ภาวนา ยอมมีเพราะการตั้งจิตไว อยางนี้ แล.

หม ายเหตุ ผู รวบรวม : ผู ศึ กษาพึ งสั งเกตให เห็ น ว า แม การแก ไขอุ ป สรรค แห งการเจริ ญ สติ ป ฏ ฐาน ซึ่ งเป น ธรรมอั น เอกอั น สู งสุ ด ก็ ยั งต อ งใช วิ ธี การที่ เรียกว า ปฏิ จจสมุ ป บาท ดั งที่ ป รากฏอยู ในพระบาลี นี้ ซึ่ งมี ใจความสํ าคั ญ ว า นิ มิ ต อั น เป น ที่ ตั้ งแห งความ เลื่ อ มใสนั้ น สามารถกํ า จั ด นิ ว รณ ห รื อ อุ ป สรรคของสมาธิ ได , ข อ นี้ เป น การชี้ ให เห็ น วิ ธี ก าร กําจัดนิวรณโดยวิธีที่ละเอียด ลึกซึ้งเกินกวาที่ทราบ หรือสอน ๆ กันอยู.

www.buddhadasa.info


๒๘๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

ปฏิจจสมุปบาท เพื่อ สามัญญผลในปจจุบัน (๗ ประการ : อรหันต ๒, อนาคามี ๕)๑ ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! การได เห็ น ..การได ฟ ง ..การได เข า ไปหา..การได นั่ ง ใกล ..การระลึ ก ถึ ง ..การบวชตาม..(แต ล ะอย า ง ๆ ) ในภิ ก ษุ ทั้ ง หลายผู ส มบู ร ณ ด วยศี ล-สมาธิ -ป ญ ญา-วิ มุ ตติ -วิ มุ ตติ ญ าณทั สสนะ-นั้ น เรากล าว (แต ละอย าง ๆ ) วาเปนธรรมมีอุปการะมาก. .... ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ข อนั้ นเพราะเหตุ วา เมื่ อผู ใดฟ งธรรมของภิ กษุ เช นนั้ น แล ว เป นผู หลี กออกทั้ งทางกายและทางจิ ตอยู ย อมตามระลึ กตริต รึกซึ่ งธรรมนั้ น ... สติสัมโพชฌงคของเธอนั้น ยอมถึงซึ่งความเจริญบริบูรณ. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย!ภิ กษุ ผู มี สติ สั มโพชฌงค เจริญบริบู รณ อยู เช นนั้ นแล ว ยอมเลือกเฟ น ยอมพิ จารณา ถึงการใครครวญ ซึ่งธรรมนั้นดวยป ญญา...ธัมมวิจยสัมโพชฌงคของเธอนั้น ยอมถึงซึ่งความเจริญบริบูรณ.

www.buddhadasa.info ดูกอนภิกษุทั้งหลาย!เมื่อภิกษุมีธัมมวิจยสัมโพชฌงคเจริญบริบูรณ อยูเชนนั้น (ก็เปนอันวา) เธอเปนผูปรารภความเพียรแลวไมยอหยอน...วิริยสัมโพชฌงคของเธอ นั้น ยอมถึงซึ่งความเจริญบริบูรณ.

ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย! นิรามิสปติ (ปติอิงธรรม ไมอิงอามิส) ยอมเกิดแกภิกษุ ผูมีความเพียรอันปรารภแลวเชนนั้น...ปติสัมโพชฌงคของเธอนั้น ยอมถึงซึ่งความเจริญ บริบูรณ.

สีลสูตร ปพพตวรรค มหาวาร. สํ. ๑๙/๙๘-๑๐๒/๓๗๓-๓๘๒.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๒๘๑

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย!กายก็ ดี จิ ตก็ ดี ของภิ กษุ ผู มี ใจป ติ ย อมสงบรํ างั บ… ปสสัทธิสัมโพชฌงคของเธอนั้น ยอมถึงซึ่งความเจริญบริบูรณ. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย!จิ ตของภิ กษุ ผู มี กายสงบและเป นสุ ข, ย อมตั้ งมั่ นเป น สมาธิ...สมาธิสัมโพชฌงคของเธอนั้น ยอมถึงซึ่งความเจริญบริบูรณ. ดู ก อ นภิ กษุ ทั้ งหลาย!ภิ กษุ (ผู มี ส มาธิ สั ม โพชฌงค ) ย อ มเป น ผู เพ งซึ่ งจิ ต อัน ตั ้ง มั ่น ดีแ ลว อยา งนั ้น ..(เปน อัน วา ) อุเ บกขาสัม โพชฌงคข องเธอนั ้น ยอ มถึง ซึ่งความเจริญบริบูรณ. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ อโพชฌงค ทั้ ง ๗ เป นธรรมที่ ภิ กษุ นั้ นเจริ ญ ทํ าให มากแล วอย างนี้ , ผลเป น อานิ ส งส ๗ ประการ ย อ มเป น สิ่ งที่ เธอหวั งได . ๗ ประการ อยางไรเลา? ๗ ประการ คือ:(๑) ยอมบรรลุอรหันตตผลโดยพลัน ในทิฏฐิธรรม (ทันควัน) นั่นเทียว, (๒) ถาไมเชนนั้น...ก็ยอมบรรลุอรหันตตผล ในมรณกาล (เวลาที่กําลังจะตาย), (๓) ถาไมเชนนั้น...ก็ยอมเปนอันตราปรินิพพายี (อนาคามี) เพราะสิ้นโอรัมภาคยสัญโญชน ๕, (๔) ถาไมเชนนั้น...ก็ยอมเปนอุปหัจจปรินิพพายี (อนาคามี) เพราะสิ้นโอรัมภาคยสัญโญชน ๕, (๕) ถาไมเชนนั้น...ก็ยอมเปนอสังขารปรินิพพายี (อนาคามี) เพราะสิ้นโอรัมภาคยสัญโญชน ๕, (๖) ถาไมเชนนั้น...ก็ยอมเปนสสังขารปรินิพพายี (อนาคามี) เพราะสิ้นโอรัมภาคยสัญโญชน ๕, (๗) ถาไมเชนนั้น...ก็ยอมเปนอุทธังโสโตอกนิฏฐคามี (อนาคามี) เพราะสิ้นโอรัมภาคยสัญโญชน ๕,

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ อโพชฌงค ทั้ ง ๗ เป นธรรมที่ ภิ กษุ นั้ นเจริ ญ ทํ าให มากแลวอยางนี้, ผลเปนอานิสงส ๗ ประการ ยอมเปนสิ่งที่เธอหวังได อยางนี้ แล. หมายเหตุ ผู ร วบรวม : ขอให ผู ศึ ก ษาสั ง เกตว า ในกรณี ที่ เกี่ ย วกั บ อานิ สงสทั ้ง ๗ ประการนี ้ ไมม ีพ ระบาลีคํ า ใดที ่แ สดงวา เปน เรื ่อ งภายหลัง จากการตายแลว (กายสฺ ส เภทา ปรํ มรณา) ดั งที่ เราพู ด หรื อ สอนกั น อยู ทั่ ว ไป ๆ โดยไม ย อมให มี ก ารวิ พ ากย วิจารณ; ดังนั้น ในที่นี้จึงใหชื่อวา "สามัญญผลในปจจุบัน".

www.buddhadasa.info


๒๘๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

ปฏิจจสมุปบาท เปนสิ่งที่ตองเห็นดวยยถาภูตสัมมัปปญญา แมที่ยังเปนเสขะเปนอยางนอย๑ ครั้งหนึ่ ง พระมุ สิ ละ พระปวิ ฏฐะ พระนารทะและพระอานนท อยู ณ โฆสิ ตาราม ใกล เมืองโกสัมพี. ครั้งนั้น พระปวิฏฐะไดกลาวกับพระมุสิละวา:-

"ดูก อนทานมุ สิละ! ถาเวนความเชื่อ (ตามที่ ได ฟ งจากพระผูมี พระภาคเจา) เสีย, เวนความชอบใจ (ตามที่บุคคลบางคนกลาว) เสีย, เวนการฟงตาม ๆ กันมาเสีย, เวนการตริตรึกไปตามอาการ (ของสิ่งแวดลอมภายนอก) เสีย, เวนการเห็นวามันเขากันได กับทิฏฐิของตนเสีย; ญาณเปนเครื่องรูเฉพาะตนจริง ๆ จะมีแกทานมุสิละวา 'เพราะมี ชาติเปนปจจัย จึงมีชรามรณะ' ดังนี้ ไดหรือ?" "ดู ก อ นท า นปวิ ฏ ฐะ! แม เว น ความเชื่ อ (ตามที่ ได ฟ ง จากพระผู มี พ ระ ภาคเจา) เสีย, เวนความชอบใจ (ตามที่บุคคลบางคนกลาว) เสีย, เวนการฟงตาม ๆ กัน มาเสี ย , เว น การตริ ต รึ ก ไปตามอาการ (ของสิ่ ง แวดล อ มภายนอก) เสี ย , เว น การ เห็น วา มัน เขา กัน ไดก ับ ทิฏ ฐิข องตนเสีย ; กระผมก็ย อ มรู ย อ มเห็น ซึ ่ง ธรรมขอ นั ้น ไดวา '’เพราะมีชาติเปนปจจัย จึงมีชรามรณะ' ดังนี้.

www.buddhadasa.info (พระปวิ ฏฐะได ถามเป นลํ าดั บไปถึ งข อที่ เกี่ ยวกั บชาติ เกี่ ยวกั บภพ เกี่ ยวกั บอุ ปาทาน เกี่ ยว กับตัณหา เกี่ยวกับเวทนา เกี่ยวกับผัสสะ เกี่ยวกับสฬายตนะ เกี่ยวกับนามรูป เกี่ยวกับวิญญาณ ดวยคําถาม อยางเดียวกัน พระมุสิละก็ไดตอบยืนยันดวยคําตอบอยางเดียวกัน จนถึงขอสุดทาย:-)

"ดูกอนทานมุ สิละ! ถาเวนความเชื่อ (ตามที่ ไดฟ งจากพระผูมี พระภาคเจา) เสีย, เวนความชอบใจ (ตามที่บุคคลบางคนกลาว) เสีย, เวนการฟงตาม ๆ กันมาเสีย,

สูตรที่ ๘ มหาวรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน. สํ. ๑๖/๑๔๐/๒๖๘.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๒๘๓

เวนการตริตรึกไปตามอาการ (ของสิ่งแวดลอมภายนอก) เสีย, เวนการเห็นวามันเขากันได กับทิฏฐิของตนเสีย; ญาณเปนเครื่องรูเฉพาะตนจริง ๆ จะมีแกทานมุสิละวา 'เพราะมี อวิชชาเปนปจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย' ดังนี้ ไดหรือ?" "ดู ก อ นท า นปวิ ฏ ฐะ! แม เว น ความเชื่ อ (ตามที่ ได ฟ ง จากพระผู มี พ ระ ภาคเจา) เสีย, เวนความชอบใจ (ตามที่บุคคลบางคนกลาว) เสีย, เวนการฟงตาม ๆ กัน มาเสี ย , เว น การตริ ต รึ ก ไปตามอาการ (ของสิ่ ง แวดล อ มภายนอก) เสี ย , เว น การ เห็น วา มัน เขา กัน ไดก ับ ทิฏ ฐิข องตนเสีย ; กระผมก็ย อ มรู ย อ มเห็น ซึ ่ง ธรรมขอ นั ้น ไดวา ' เพราะมีอวิชชาเปนปจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย' ดังนี้ ไดหรือ?" (พระปวิ ฏฐะได ถามพระมุ สิ ละต อไปถึ งอาการปฏิ จจสมุ ปบาทฝ ายนิ โรธวาร เป นลํ าดั บ ๆ ไป จนกระทั่งขอสุดทาย:-)

"ดูกอนทานมุ สิละ! ถาเวนความเชื่อ (ตามที่ ไดฟ งจากพระผูมี พระภาคเจา) เสีย, เวนความชอบใจ (ตามที่บุคคลบางคนกลาว) เสีย, เวนการฟงตาม ๆ กันมาเสีย, เวนการตริตรึกไปตามอาการ (ของสิ่งแวดลอมภายนอก) เสีย, เวนการเห็นวามั นเขากัน ไดกับทิฏฐิของตนเสีย; ญาณเปนเครื่องรูเฉพาะตนจริง ๆ จะมีแกทานมุสิละวา 'เพราะ มีความดับแหงอวิชชา จึงมีความดับแหงสังขาร' ดังนี้ ไดหรือ?"

www.buddhadasa.info "ดู ก อ นท า นปวิ ฏ ฐะ! แม เว น ความเชื่ อ (ตามที่ ได ฟ ง จากพระผู มี พ ระ ภาคเจา) เสีย, เวนความชอบใจ (ตามที่บุคคลบางคนกลาว) เสีย, เวนการฟงตาม ๆ กัน มาเสี ย , เว น การตริ ต รึ ก ไปตามอาการ (ของสิ่ ง แวดล อ มภายนอก) เสี ย , เว น การ เห็น วา มัน เขา กัน ไดก ับ ทิฏ ฐิข องตนเสีย ; กระผมก็ย อ มรู ย อ มเห็น ซึ ่ง ธรรมขอ นั ้น ไดวา 'เพราะมีความดับแหงอวิชชา จึงมีความดับแหงสังขาร' ดังนี้".

www.buddhadasa.info


๒๘๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

"ดู ก อนท านมุ สิ ละ! ถ าเว น ความเชื่ อ (ตามที่ ได ฟ งจากพระผู มี พ ระภาค เจา) เสีย, เวนความชอบใจ (ตามที่บุคคลบางคนกลาว) เสีย, เวนการฟงตาม ๆ กันมาเสีย, เวนการตริตรึกไปตามอาการ (ของสิ่งแวดลอมภายนอก) เสีย, เวนการเห็นวามั นเขากัน ไดกับทิฏฐิของตนเสีย; ญาณเปนเครื่องรูเฉพาะตนจริง ๆ จะมีแกทานมุสิละวา 'การดับ แหงภพ คือนิพพาน' ดังนี้ ไดหรือ?" "ดูก อ นทา นปวิฏ ฐะ! แมเ วน ความเชื ่อ (ตามที ่ไ ดฟ ง จากพระผู ม ีพระภาคเจา) เสีย, เวนความชอบใจ (ตามที่ บุ คคลบางคนกล าว) เสี ย, เวนการฟ ง ตาม ๆ กั นมาเสี ย, เวนการตริตรึกไปตามอาการ (ของสิ่ งแวดล อมภายนอก) เสี ย, เว น การเห็ น ว า มั น เข า กั น ได กั บ ทิ ฏ ฐิ ข องตนเสี ย ; กระผมก็ ย อ มรู ย อ มเห็ น ซึ่ ง ธรรม ขอนั้นไดวา 'การดับแหงภพ คือนิพพาน' ดังนี้ "ดูกอนทานมุสิละ! ถาอยางนั้น ทานเปนพระอรหันตขีณาสพหรือ?" เมื่อถูกถามอยางนี้ พระมุสิละไดนิ่งเสีย.

www.buddhadasa.info (ลํ าดั บนั้ น พระนารทะได เสนอตั วเข ามาให พระปวิฏฐะถามป ญหาอย างเดี ยวกั นนั้ นบ าง เมื่ อ พระปวิฏฐะถาม พระนารทะก็ ตอบอยางเดี ยวกั นกั บที่ พระมุ สิ ละได ตอบแลว ทั้ งในส วน สมุ ทยวาร และ นิโรธวาร จนกระทั้งถึงคําถามและคําตอบคูสุดทาย:-)

"ดู ก อนท านนารทะ! ถ าเวนความเชื่ อ (ตามที่ ได ฟ งจากพระผู มี พระภาคเจา) เสีย, เวนความชอบใจ (ตามที่บุคคลบางคนกลาว) เสีย, เวนการฟงตาม ๆ กันมาเสีย, เวนการตริตรึกไปตามอาการ (ของสิ่งแวดลอมภายนอก) เสีย, เวนการเห็นวามั นเขากัน ไดกับทิฏฐิของตนเสีย; ญาณเปนเครื่องรูเฉพาะตนจริง ๆ จะมีแกทานมุสิละวา 'การดับ แหงภพ คือนิพพาน' ดังนี้ ไดหรือ?"

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๒๘๕

"ดู ก อ นท า นปวิ ฏ ฐะ! แม เว น ความเชื่ อ (ตามที่ ได ฟ ง จากพระผู มี พ ระ ภาคเจ า) เสี ย, เว นความชอบใจ (ตามที่ บุ คคลบางคนกล าว) เสี ย, เว นการฟ งตาม ๆ กันมาเสี ย, เวนการตริตรึกไปตามอาการ (ของสิ่ งแวดล อมภายนอก) เสี ย, เวนการ เห็น วา มัน เขา กัน ไดก ับ ทิฏ ฐิข องตนเสีย ; กระผมก็ย อ มรู ย อ มเห็น ซึ ่ง ธรรมขอ นั ้น ไดวา 'การดับแหงภพ คือนิพพาน' ดังนี้ "ดูกอนทานนารทะ! ถาอยางนั้น ทานเปนพระอรหันตขีณาสพหรือ?" "ดู ก อนท าน! ธรรมที่ วา 'ความดั บแห งภพ คื อนิ พ พาน' นั้ น เป นธรรม ที่กระผมเห็นแลวดวยดี ดวยยถาภูตสัมมัปปญญา๑ จริง ๆ แตกระผมก็หาเปนพระ อรหันตขีณ าสพไม. ดู กอนท าน! เปรียบเหมือนบ อน้ํา มี อยูริมหนทางอันกันดาร, ที่ บอนั้น เชือกก็ไมมี ครุสําหรับตักน้ําก็ไมมี. ลําดับนั้น มีบุรุษผูถูกความรอนแผดเผา แล ว ถู ก ความร อ นครอบงํ า แล ว อ อ นเพลี ย อยู หิ วกระหายอยู มาถึ งบ อ นั้ น แล ว ; บุ รุษ นั้ นมองลงในบ อนั้ น เขามี ความรูสึ กว า น้ํ าในบ อนั้ นมี อ ยู แต เขาไม อาจจะทํ า ใหน้ํานั้นถูกตองกายเขาได, ฉันใด; ดูกอนทาน! ขอนี้ก็ฉันนั้น : ธรรมที่วา 'การดับ แห ง ภพ คื อ นิ พ พาน' นั้ น เป น ธรรมที่ ก ระผมเห็ น แล ว ด ว ยดี ด ว ยยถาภู ต สั ม มั ป ปญญาจริง ๆ แตกระผมก็หาเปนอรหันตขีณาสพไม".

www.buddhadasa.info ครั้นพระนารทะกล าวอย างนี้ แล ว พระอานนท ได หั นไปกล าวกะพระปวิ ฏฐะว า "ดู ก อนท าน ปวิฏฐะ! ทานเปนผูขี้มักถามอยางนี้ ไดกลาวอะไรแกทานนารทะบาง?". พระปวิ ฏ ฐะได ต อบว า "ดู ก อ นท า นอานนท ! ผมซึ่ ง เป น ผู ขี้ มั ก ถามอย า งนี้

ไม ได กล าวเรื่องอะไร ๆ กะพระนารทะเลย นอกจากเรื่องที่ งดงาม และเรื่องที่ เป น กุศล", ดังนี้ แล.

ยถาภู ตสั มมปป ญญา คื อ ป ญญาที่ เห็ นอย างถู กต องตามที่ เป นจริง โดยไม ต องอาศั ยเหตุ ๕ ประการ ดั งที่ ไดกลาวแลวขางตน เชน ความเชื่อตามคําของผูอื่น หรือความชอบใจคําที่ผูอื่นกลาว ดังนี้เปนตน.

www.buddhadasa.info


๒๘๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖ หมายเหตุ ผู ร วบรวม : การที่ นํ า เอาเรื่ อ งของพระสาวกมากล า วไว ในที่ นี้ (ซึ่ งล วนแต เป น พุ ท ธภาสิ ต) ก็ เพื่ อ จะให ผู ศึ ก ษาได เข าใจความหมายของคํ าว า "ยถาภู ต สั ม มั ป ป ญ ญา" โดยชั ด เจน จากถ อ ยคํ า ที่ พ ระสาวกเหล า นั้ น โต ต อบกั น ; เนื่ อ งจากว า ไม มี ที่ ใดจะแสดงให เห็ น ลั ก ษณะของสิ่ งที่ เรี ย กว า "ยถาภู ต สั ม มั ป ป ญ ญา" ได ดี ก ว า ข อ ความใน เรื่องนี้.

แมการทําความเพียรในที่สงัด ก็ยังตองปรารภขันธหา ตามวิธีการของปฏิจจสมุปบาท๑ พระอานนท ได กราบทู ล ถามว า "ข าแต พ ระองค ผู เจริ ญ ! ดั งข าพระองค ข อโอกาส ขอ พระผูมีพระภาค จงทรงแสดงธรรมแกขาพระองค โดยยอ ซึ่งขาพระองคไดฟ งแลว จะเป นผูหลี กออกผู เดียว เป นผู ไม ประมาท มี ความเพี ยรเผากิ เลส มี ตนส งไปแล ว (ในธรรมปฏิ บั ติ ) อยู เถิ ด พระเจ าข า!". พระผู มี พระภาค ไดตรัสวา:-

ดู ก อนอานนท ! เธอจะสํ าคั ญความข อนี้ วาอย างไร : รูปเที่ ยงหรือไม เที่ ยง? ("ไม เที่ ยง พระเจ าข า!") ก็ สิ่ งใดไม เที่ ยง สิ่ งนั้ นเป นทุ กข หรือเป นสุ ขเล า? ("เป นทุ กข พระเจ า ข า !") ก็ สิ่ ง ใดไม เที่ ย ง เป น ทุ ก ข มี ค วามแปรปรวนเป น ธรรมดา ควรหรื อ หนอที่ จะตามเห็ นสิ่ งนั้ นวา "นั่ นของเรา; นั่ นเป นเรา; นั่ นเป นตั วตนของเรา" ; ดั งนี้ ? ("ขอนั้น หามิได พระเจาขา!").

www.buddhadasa.info ดู ก อ นอานนท ! เพราะเหตุ นั้ น ในเรื่ อ งนี้ รู ป อย า งใดอย า งหนึ่ ง ทั้ ง ที่ เปนอดีต อนาคต และปจจุบัน อันมีอยูในภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือปราณี ตก็ ตาม รูปทั้ งหมดนั้ นไม ใช ของเรา; นั่ นไม ใชเรา; นั่ นไม ใช ตั วตนของ เรา; เธอพึ งเห็ นซึ่ งขอนนั้ น ด วยยถาภู ตสั มมั ปป ญญา (ความรูทั่ วถึ งถูกต องตามเป นจริง) อยางนี้ ดวยประการดังนี้.

สูตรที่ ๑๐ ทิฏฐิวรรค ขันธสังยุตต ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๒๘/๓๖๔, ตรัสแกพระอานนท ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๒๘๗

(ในกรณี แห งเวทนา สั ญญา สั งขาร วิ ญญาณ ก็ มี การตรัสถาม, ทู ลตอบ. และตรัส อย าง เดียวกันทุกตัวอักษร กับในกรณีแหงรูป ตางกันแตเพียงชื่อแหงขันธ เทานั้น).

ดู ก อนอานนท ! อริยสาวกผู ได สดั บ แล ว เห็ นอยู อ ย างนี้ ย อมเบื่ อหน าย แม ในรู ป แม ในเวทนา แม ในสั ญ ญา แม ในสั งขารทั้ งหลาย แม ในวิ ญ ญาณ. เมื่ อ เบื่ อหน าย ยอมคลายกํ าหนั ด; เพราะความคลายกําหนั ด จึงหลุดพ น; เมื่ อหลุ ดพ นแล ว ยอมมี ญาณเกิดขึ้นแกอริยสาวกนั้ นวา "หลุ ดพ นแลว" ดั งนี้ . อริยสาวกนั้ น ยอมรูชัดวา" ชาติ สิ้ น แล ว, พรหมจรรย อั นเราอยู จบแล ว, กิ จที่ ควรทํ าได กระทํ าเสร็ จแล ว, กิ จอื่ น เพื่อทําความเปนอยางนี้มิไดอีก". ดังนี้ แล. ห ม าย เห ตุ ผู รวบ รวม : ผู ศึ ก ษ าพึ งสั ง เกต ให เห็ น ว า "การเห็ น ชอ บ ตามที่ เป น จริ ง" นั้ น มิ ได มี ค วามสํ าคั ญ เพี ย งใดเรื่ อ งราวอั น เกี่ ยวกั บ การพิ จ ารณาเห็ น ปฏิ จจสมุ ป บาท แม ในการทํ าความเพี ย รใด ๆ ก็ ต าม ย อ มปรารภยถาภู ต สั ม มั ป ป ญ ญา คื อ การ เห็ น ชอบตามที่ เป น จริงด วยกั น ทั้ งนั้ น ดั งที่ ได ยกมาให เห็ น เป น ตั วอย างเรื่อ งหนึ่ ง คื อ เรื่ อ งนี้ . ผู ศึ ก ษาพึ งเห็ น ความสํ า คั ญ ของการเห็ น ชอบตามที่ เป น จริ ง เกี่ ย วกั บ อุ ป าทานขั น ธ ห า ดั ง นี้ เถิด.

www.buddhadasa.info แมสุขทุกขในภายใน ก็เกิดขึ้นเพราะปรารภขันธหา๑

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ ออะไรมี อยู หนอ เพราะเข าไปยึ ดถื อซึ่ งอะไร เพราะ ปกใจเขาไปสูอะไร สุขและทุกข ในภายใน จึงเกิดขึ้น?

ภิ กษุ ทั้ งหลายเหล านั้ น กราบทู ลวิ งวอนว า "ข าแต พ ระองค ผู เจริ ญ ! ธรรมทั้ งหลาย ของ พวกขาพระองค มีพระผูมีพระภาคเปนมูล มีพระผูมีพระภาคเปนผูนํา มีพระผูมีพระภาคเปนที่พึ่ง. ขาแต

สูตรที่ ๑ ทิฏฐิวรรค ขันธสังยุตต ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๒๑/๓๔๖, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๒๘๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

พระองค ผู เจริ ญ ! เป นการชอบแล วหนอ ขอให อรรถแห งภาษิ ตนั้ น จงแจ มแจ งกะพระผู มี พระภาคเองเถิ ด ภิก ษุทั ้ง หลายไดฟ ง จากพระผู ม ีพ ระภาคแลว จัก ทรงจํ า ไว" ดัง นี ้. พระผู ม ีพ ระภาค ตรัส เตือ นให ภิกษุทั้งหลายเหลานั้นตั้งใจฟงดวยดีแลว ไดตรัสขอความดังตอไปนี้:-

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เมื่อรูปนั่นแล มีอยู, เพราะเขาไปยึดถือซึ่งรูป เพราะปกใจเขาไปสูรูป, สุขและทุกข ในภายใน จึงเกิดขึ้น. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! พวกเธอทั้ งหลาย จะสํ าคั ญความข อนี้ ว าอย างไร : รู ป เที่ ย งหรื อ ไม เที่ ย ง? ("ไม เที่ ย ง พระเจ าข า!") ก็ สิ่ งใดไม เที่ ย ง สิ่ งนั้ น เป น ทุ ก ข ห รื อ เป น สุ ขเล า? ("เป น ทุ ก ข พระเจ าข า!") ก็ สิ่ งใดไม เที่ ย ง เป น ทุ ก ข มี ค วามแปรปรวน เป น ธรรมดา แต ถ า ไม เข า ไปยึ ด ถื อ สิ่ ง นั้ น แล ว สุ ข และทุ ก ข ในภายใน จะเกิ ด ขึ้ น ไดไหม? ("ขอนั้น หามิได พระเจาขา!"). (ในกรณ ีแ หง เวทนา สัญ ญ า สัง ขาร วิญ ญ าณ ก็ม ีก ารตรัส , ตรัส ถาม , ทูล ตอบ. อยางเดียวกันทุกตัวอักษร กับในกรณีแหงรูป ตางกันแตเพียงชื่อแหงขันธ เทานั้น).

ดูกอนภิ กษุ ทั้ งหลาย! อริยสาวกผู ได สดั บแล ว เห็ นอยูอยางนี้ ยอมเบื่ อหน าย แม ในรู ป แม ในเวทนา แม ในสั ญ ญา แม ในสั งขารทั้ งหลาย แม ในวิ ญ ญาณ. เมื่ อ เบื่ อหน าย ยอมคลายกํ าหนั ด; เพราะความคลายกําหนั ด จึงหลุดพ น; เมื่ อหลุ ดพ นแล ว ย อมมี ญ าณเกิ ดขึ้ นแก อริยสาวกวา "หลุ ดพ นแล ว" ดั งนี้ . อริยสาวกนั้ น ย อมรูชั ดว า "ชาติ สิ้ นแล ว, พรหมจรรย อั นเราอยู จบแล ว, กิ จที่ ควรทํ าได กระทํ าเสร็จแล ว, กิ จอื่ น เพื่อทําความเปนอยางนี้มิไดอีก". ดังนี้ แล

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๒๘๙

ตนเงื่อนของปฏิจจสมุปบาท ละไดดวยการเห็นธรรมทั้งปวงวาไมควรยึดมั่น๑ ภิ กษุ รู ปหนึ่ ง ได ทู ลถามพระผู มี พระภาคเจ าดั งนี้ ว า "ข าแต พระองค ผู เจริ ญ ! ธรรม

อยางหนึ่ง มีอยูหรือไมหนอ ซึ่งเมื่อภิกษุ ละไดแลว อวิชชายอมละไป วิชชายอมเกิดขึ้น พระเจาขา?" ดูกอนภิกษุ! ธรรมอยางหนึ่ง มีอยูแล ...ฯลฯ... "ขาแตพระองคผูเจริญ! ธรรมอยางหนึ่ง นั้นคืออะไรเลาหนอ .ฯลฯ...?" ดู ก อนภิ กษุ ! อวิ ช ชานั่ นแล เป นธรรมอย างหนึ่ ง ซึ่ งเมื่ อภิ กษุ ละได แล ว อวิชชายอมละไป วิชชายอมเกิดขึ้น. "ข าแต พ ระองค ผู เจริ ญ ! เมื่ อ ภิ ก ษุ รู อ ยู อ ย างไร เห็ น อยู อ ย างไร อวิ ชชา จึงจะละไป วิชชาจึงจะเกิดขึ้น พระเจาขา?"

www.buddhadasa.info ดูกอนภิกษุ! หลักธรรมอันภิกษุในกรณีนี้ไดสดับแลว ยอมมีอยูวา "สิ่ง ทั้ง หลายทั้ง ปวง อัน ใคร ๆ ไมค วรยึด มั่น ถือ มั่น (วา เปน ตัว เรา-ของ เรา)" ดั ง นี้ ดู ก อ นภิ ก ษุ ! ถ า ภิ ก ษุ ได ส ดั บ หลั ก ธรรมข อ นั้ น อย า งนี้ ว า สิ่ ง ทั้ ง หลาย ทั้งปวง อันใคร ๆ ไมควรยึดมั่นถือมั่นดังนี้แลวไซร, ภิกษุนั้นยอมรูยิ่งซึ่งธรรมทั้งปวง;

สูตรที่ ๗ คิลานวรรค สฬา. สํ. ๑๘/๖๒/๙๖.

www.buddhadasa.info


๒๙๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

ครั้นรูยิ่งซึ่งธรรมทั้งปวงแลว, ยอมรอบรูซึ่งธรรมทั้งปวง; ครั้นรอบรูซึ่ งธรรมทั้ งปวงแล ว, ภิ กษุ นั้ นย อมเห็ นซึ่ งนิ มิ ตทั้ งหลายของ สิ่งทั้งปวงโดยประการอื่น ๑: ยอมเห็นซึ่งจักษุ โดยประการอื่ น; ยอมเห็นรูปทั้งหลายโดยประการอื่น; ย อมเห็ นซึ่ งจั กขุ วิ ญ ญาณโดยประการอื่ น; ย อมเห็ นซึ่ งจั กขุ สั ม ผั ส โดยประการอื่ น; ยอมเห็ นซึ่งเวทนาอั นเป นสุ ขก็ ตาม เป นทุ กขก็ตาม มิ ใชทุ กขมิ ใชสุ ขก็ตาม ที่ เกิดขึ้น เพราะจักขุสัมผัสเปนปจจัยโดยประการอื่น. (ในกรณี แห งโสตะก็ ดี ฆานะก็ ดี ชิ วหาก็ ดี กายก็ ดี มโนก็ ดี และธรรมทั้ งหลายที่ สั มปยุ ตต ด วยโสตะ ฆานะ ชิ วหา กาย และมโน นั้ น ๆ ก็ ดี พระผู มี พระภาคเจ าได ตรัสไว มี นั ยอย างเดี ยวกั นกั บ ในกรณีแหงการเห็นจักษุและธรรมทั้งหลายที่สัมปยุตตดวยจักษุ).

ดู ก อนภิ กษุ ! เมื่ อภิ กษุ รูอยู อย างนี้ เห็ นอยู อย างนี้ แล อวิ ชชาจึ งจะละไป วิชชาจึงจะเกิดขึ้น. หมายเหตุ ผู ร วบรวม : ผู ศึ ก ษาพึ ง สั ง เกตให เ ห็ น ว า อวิ ช ชาซึ่ ง เป น ต น เงื ่อ นของปฏิจ จสมุป บาท จะละไปไดเ พราะการเห็น แจง ในขอ ที ่ว า ธรรมทั ้ง หลาย ทั ้ง ปวง อัน บุค คลไมค วรยึด มั ่น ถือ มั ่น ซึ ่ง มีอ ยู เ ปน ภาษาบาลีว า "สพฺเ พ ธมฺม า นาลํ อภินิเวสาย" ซึ่งควรถือวาเปนหัวใจของพระพุทธศาสนา.

www.buddhadasa.info

เมื่ อบุ คคลรูแจ งสิ่ งทั้ งปวง โดยถู กต องแล ว ย อมเห็ นสิ่ งทั้ งปวงโดยประการอื่ น จากที่ เขาเคยเห็ นเมื่ อยั ง ไม รูแ จ ง เช น เมื่ อ ก อ นเห็ น ว า สั งขารเป น ของเที่ ย ง บั ด นี้ ย อ มเห็ น โดยความเป น ของไม เที่ ย ง เป น ต น นี้ เรี ยกว าเห็ นโดยประการอื่ น. คํ าว า นิ มิ ต หมายถึ งลั กษณะหนึ่ ง ๆ ของสิ่ งต าง ๆ ที่ เป นเครื่ องสั งเกต หรือรูสึก หรือยึดถือ หรือสําคัญมั่นหมาย.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๒๙๑

ตนเงื่อน แหงปฏิจจสมุปบาท ละไดดวยการเห็นอนิจจัง๑ (ภิกษุองคหนึ่ง ไดทูลถามอยางเดียวกันกับคําถามในเรื่องที่แลวมา ตอไปนี้เปนคําตอบ:-)

ดูกอนภิกษุ! เมื่อภิกษุรูอยูเห็นอยูซึ่งจักษุ โดยความเปนของไมเที่ยง, อวิชชาจึงจะละไป วิชชาจึงเกิดขึ้น; เมื่อภิกษุรูอยูเห็นอยูซึ่งรูปทั้งหลาย ...ฯลฯ...; เมื่อภิกษุรูอยูเห็นอยูซึ่งจักขุวิญญาณ ...ฯลฯ...; เมื่อภิกษุรูอยูเห็นอยูซึ่งจักขุสัมผัส ...ฯลฯ...; เมื่อภิกษุรูอยูเห็นอยูซึ่งเวทนา อันเปนสุขก็ตาม เปนทุกขก็ตาม มิใชทุกข มิใชสุขก็ตาม ที่เกิดขึ้นเพราะจักขุสัมผัสเปนปจจัย โดยความเปนของไมเที่ยง, อวิชชา จึงจะละไป วิชชาจึงเกิดขึ้น; (ในกรณีแหงโสตะ ฆานะ ชิวหา กาย และมโน ทุกหมวด มีขอความอยางเดียวกัน).

www.buddhadasa.info ดู ก อ นภิ ก ษุ ! เมื่ อ ภิ ก ษุ รู อ ยู อ ย า งนี้ เห็ น อยู อ ย า งนี้ อวิ ช ชาจึ งจะละไป วิชชาจึงจะเกิดขึ้น.

สูตรที่ ๖ คิลานวรรค สฬา. สํ. ๑๘/๖๑/๙๕.

www.buddhadasa.info


๒๙๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

อาการแหงอนิจจัง โดยละเอียด๑ (เรื่องนี้ มีความประสงคเพื่อขยายความเรื่องที่แลวมาใหชัดเจนยิ่งขึ้น)

ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! วิ ญ ญาณย อ มมี ขึ้ น เพราะอาศั ย ธรรม ๒ อย าง สองอย างอะไรเล า? สองอย างคื อ , ดู ก อ นภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะอาศั ยซึ่ งจั ก ษุ ด วย ซึ่งรูปทั้งหลายดวย จักขุวิญญาณ จึงเกิดขึ้น. จักษุเปนสิ่งที่ไมเที่ยง มีความแปรปรวน มีความเปนไปโดยประการอื่น; รูปทั้ งหลายเป นสิ่ งที่ ไม เที่ ยง มี ความแปรปรวน มี ความเป นไปโดยประการ อื่ น : ธรรมทั้ งสอง (จักษุ +รูป) อย างนี้ แล เป นสิ่ งที่ หวั่นไหวด วย อาพาธด วย ไม เที่ ยง มีความแปรปรวน มีความเปนไปโดยประการอื่น; จั ก ษุ วิ ญ ญาณ เป นสิ่ งที่ ไม เที่ ยง มี ความแปรปรวน มี ความเป นไปโดย ประการอื่น;

www.buddhadasa.info เหตุ อั นใดก็ ตาม ป จจั ยอั นใดก็ ตาม เพื่ อความเกิ ดขึ้ นแห งจั กขุ วิ ญ ญาณ, แม เหตุ อั น นั้ น แม ป จ จั ย อั น นั้ น ก็ ล วนเป น สิ่ งที่ ไม เที่ ย ง มี ค วามแปรปรวน มี ค วาม เป นไปโดยประการอื่ น. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! จั กขุ วิ ญ ญาณเกิ ดขึ้ นแล ว เพราะอาศั ย ปจจัยที่ไมเที่ยงดังนี้ จักขุวิญญาณเปนของเที่ยงมาแตไหน.

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ความประจวบพร อม ความประชุ มพร อม ความมา พร อมกั น แห งธรรมทั้ งหลาย (จั กษุ +รู ป+จั กขุ วิ ญ ญาณ) ๓ อย างเหล านี้ อั นใดแล; ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! อันนี้เราเรียกวาจักขุสัมผัส. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! แมจักขุสัมผัส ก็เปนสิ่งที่ไมเที่ยง มีความแปรปรวน มีความเปนไปโดยประการอื่น. ๑

สูตรที่ ๑๐ ฉันนวรรค สฬา. สํ. ๑๘/๘๕/๑๒๔-๗.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๒๙๓

เหตุ อั น ใดก็ ต าม ป จ จั ย อั น ใดก็ ต าม เพื่ อ ความเกิ ด ขึ้ น แห งจั ก ขุ สั ม ผั ส , แม เหตุ อั น นั้ น แม ป จ จั ย อั น นั้ น ก็ ล วนเป น สิ่ งที่ ไม เที่ ย ง มี ค วามแปรปรวน มี ค วาม เป น ไปโดยประการอื่ น . ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! จั ก ขุ สั ม ผั ส เกิ ด ขึ้ น แล ว เพราะอาศั ย ปจจัยที่ไมเที่ยงดังนี้ จักขุสัมผัสจักเปนของเที่ยงมาแตไหน. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! บุ คคลที่ ผั สสะกระทบแล วย อมรู สึ ก (เวเทติ ), ผั สสะ กระทบแล วย อมคิ ด (เจเตติ ), ผั สสะกระทบแล วย อมจํ าได หมายรู (สฺ ชานาติ ) : แม ธรรม ทั้ งหลาย (เวทนา, เจตนา, สั ญญา๑) อย างนี้ เหล านี้ ก็ ล วนเป นสิ่ งที่ หวั่ นไหวด วย อาพาธ ดวย ไมเที่ยง มีความแปรปรวน มีความเปนไปโดยประการอื่น; (ในกรณี แหงโสตวิญญาณก็ดี, ฆานวิญญาณก็ดี, ชิวหาวิญญาณก็ดี, กายวิญญาณก็ดี, ก็มี นัยเดียวกัน).

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เพราะอาศัยซึ่งมโนดวย ซึ่งธัมมารมณ ทั้งหลายดวย มโนวิญญาณ จึงเกิดขึ้น.

www.buddhadasa.info มโนเปนสิ่งที่ไมเที่ยง มีความแปรปรวน มีความเปนไปโดยประการอื่น;

ธั มมารมณ ทั้ งหลายเป นสิ่ งที่ ไม เที่ ยง มี ความแปรปรวน มี ความเป นไปโดย ประการอื่ น : ธรรมทั้ งสอง (มโน+ธั ม มารมณ ) อย า งนี้ แ ล เป น สิ่ ง ที่ ห วั่ น ไหวด ว ย อาพาธดวย ไมเที่ยง มีความแปรปรวน มีความเปนไปโดยประการอื่น; มโนวิ ญ ญาณเป น สิ่ งที่ ไม เที่ ย ง มี ค วามแปรปรวน มี ค วามเป น ไปโดย ประการอื่น;

เวทนา คื อความรู สึ ก เป นผลของ เวเทติ , เจตนา คื อความคิ ด เป นผลของ เจเตติ , สั ญญา คื อความจํ าได หมายรู เปนผลของ สฺชานาติ.

www.buddhadasa.info


๒๙๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

เหตุ อั นใดก็ ตาม ป จจั ยอั นใดก็ ตาม เพื่ อความเกิ ดขึ้ นแห งมโนวิ ญ ญาณ, แม เหตุ อั น นั้ น แม ป จ จั ย อั น นั้ น ก็ ล วนเป น สิ่ งที่ ไม เที่ ย ง มี ค วามแปรปรวน มี ค วาม เป นไปโดยประการอื่ น. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! มโนวิ ญ ญาณเกิ ดขึ้ นแล ว เพราะอาศั ย ปจจัยที่ไมเที่ยงดังนี้ มโนวิญญาณเปนของเที่ยงมาแตไหน. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ความประจวบพร อม ความประชุ มพร อม ความมา พร อ มกั น แห งธรรมทั้ งหลาย (มโน+ธั ม มารมณ +มโนวิ ญ ญาณ) ๓ อย า งเหล า นี้ อันใดแล; ดู กอนภิ กษุ ทั้ งหลาย! อันนี้ เราเรียกวา มโนสั มผั ส. ดู กอนภิ กษุ ทั้ งหลาย! แมมโนสัมผัส ก็เปนสิ่งที่ไมเที่ยง มีความแปรปรวน มีความเปนไปโดยประการอื่น. เหตุ อั นใดก็ตาม ป จจัยอันใดก็ ตาม เพื่ อความเกิดขึ้ นแห งมโนสั มผั ส, แม เหตุ อันนั้ น แม ป จจัยอั นนั้ น ก็ ล วนเป นสิ่ งที่ ไม เที่ ยง มี ความแปรปรวน มี ความเป นไปโดย ประการอื่ น. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! มโนสั มผั สเกิ ดขึ้นแล ว เพราะอาศั ยป จจั ยที่ ไม เที่ ยง ดังนี้ มโนสัมผัสจักเปนของเที่ยงมาแตไหน.

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! บุ คคลที่ ผั สสะกระทบแล วย อมรู สึ ก (เวเทติ ), ผั สสะ กระทบแลวยอมคิด (เจเตติ), ผัสสะกระทบแลวยอมจําไดหมายรู (สฺชานาติ) : แมธรรม ทั้งหลาย (เวทนา, เจตนา, สัญญา) อยางนี้เหลานี้ ก็ลวนเปนสิ่งที่หวั่นไหวดวย อาพาธ ดวย ไมเที่ยง มีความแปรปรวน มีความเปนไปโดยประการอื่น.

เคล็ดลับในการปดกั้นทางเกิดแหงปฏิจจสมุปบาท๑ ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย! ภิ กษุ พึ งพิ จารณาใครครวญ โดยประการที่เมื่ อพิ จารณา ใครครวญอยูแลว วิญญาณ (จิต) ของเธอนั้น อันไมฟุงไป ไมซานไปในภายนอกดวย,

อุทเทสวิภังคสูตร อุปริ. ม. ๑๔/๔๑๑, ๔๑๔/๖๓๙, ๖๔๓. ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๒๙๕

อั นไม ตั้ งสยบอยู ในภายในด วย, ก็ จะไม พึ งสะดุ ง เพราะเหตุ ไม มี ความยึ ดมั่ นถื อมั่ น, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เมื่อวิญญาณ ไมฟุงไป ไมซานไปในภายนอก ไมตั้งสยบ อยูในภายในอยู เปนจิตไมสะดุง เพราะเหตุไมมีความยึดมั่นถือมั่น ดังนี้แลว; การกอตั้งขึ้นแหงกองทุกข กลาวคือ ชาติ ชรา มรณะ ยอมไมมีอีกตอไป. ๑ ครั้นตรัสดั งนี้ แล ว พระผู มี พระภาคได เสด็ จเข าสู ที่ ประทั บเสี ย. ภิ กษุ เหล านั้ นไม เขาใจใน เนื้ อความแห งพระพุ ทธวจนะนี้ โดยพิ สดาร จึ งพากั นไปหาพระมหากั จจานะ ได รับคํ าอธิ บายจากพระมหา กัจจานะโดยพิสดารดังตอไปนี้:-

ดู ก อนท านผู มี อายุ ทั้ งหลาย! ข อที่ พระผู มี พระภาคเจ าทรงแสดงอุ เทสไว แตโดยยอ แกเราทั้งหลายวา "ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ภิกษุพึ งพิจารณาใครครวญ โดยประการที่เมื่อพิจารณาใครครวญอยูแลว วิญญาณ (จิต) ของเธอนั้น อัน ไ ม ฟุงไป ไมซานไปในภายนอกดวย, อันไมตั้งสยบอยูในภายในดวย, ก็จะไมพึง สะดุง เพราะเหตุไมมีความยึดมั่นถือมั่น, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เมื่อวิญญาณ ไมฟุงไป ไมซานไปในภายนอก ไมตั้งสยบอยูในภายในอยู เปนจิตไมสะดุง เพราะเหตุไมมีความยึดมั่นถือมั่นแลว; การกอตั้งขึ้นแหงกองทุกข กลาวคือ ชาติ ชรา มรณะ ยอมไมมีอีกตอไป." ดังนี้แลว มิไดทรงจําแนกเนื้อความโดยพิสดาร เสด็ จ ลุ ก จากอาสนะเข า สู ที่ ป ระทั บ เสี ย นั้ น ; ดู ก อ นท า นผู มี อ ายุ ทั้ ง หลาย! สํ า หรั บ อุเทสซึ่งพระผูมี พระภาคเจ าทรงแสดงแต โดยยอ ไม ทรงจําแนกเนื้ อความโดยพิ สดาร นี้ ขาพเจารูเนื้อความแหงอุเทสนั้น โดยพิสดาร ดังตอไปนี้:-

www.buddhadasa.info ๑

เคล็ ดลั บในการป ดกั้ นทางเกิ ดแห งปฏิ จจสมุ ปบาทในที่ นี้ ก็ คื อคํ ากล าวในประโยคที่ ว า "พึ งใครครวญโดย ประการที่ เมื่ อใครครวญอยู จิ ตไม อาจฟุ งซ านไปภายนอก, และไม สยบอยู ในภายใน, และไม สะดุ งเพราะ ความยึ ดมั่ นใด ๆ", โดยวิ ธี ปฏิ บั ติ ตามคํ าอธิบายโดยพิ สดารของพระมหากั จจานะ นั่ นเอง; และเพราะเป น คํ าอธิ บายที่ พระองค ทรงรับรอง วาแม พระองค จะทรงอธิ บายเอง ก็ จะทรงอธิ บายอย างเดี ยวกั น; จึ งนํ า เภรภาษิตนี้มาตอทายถอยคําจากพระโอษฐ เพื่อความแจมแจงและสะดวกแกผูศึกษา.

www.buddhadasa.info


๒๙๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

ดู ก อนท านผู มี อายุ ทั้ งหลาย! ก็ คํ าที่ กล าวว า "วิ ญ ญาณอั น ฟุ งไป ซ าน ไปในภายนอก" ดั งนี้ นั้ น มี เนื้ อ ความโดยพิ ส ดารอย างไรเล า? ดู ก อ นท านผู มี อ ายุ ทั้ งหลาย! ในกรณี ที่ ก ล าวนี้ วิ ญ ญาณ (จิ ต ) ของภิ ก ษุ ผู เห็ น รู ป ด วยตาแล ว เป น วิ ญ ญาณที่ แ ล น ไปตามนิ มิ ต แห งรู ป , เป น วิ ญ ญาณที่ ห ยั่ งลงในอั ส สาทะ (รสอร อ ย) ของนิ มิ ตแห งรูป, ผู กพั นอยู ในอั สสาทะของนิ มิ ตแห งรูป, ประกอบพร อ มแล วด วย ความผูกพันอยูในอัสสาทะของนิมิตแหงรูป : นี้แหละคือขอความที่กลาวโดยยอวา "วิ ญ ญาณอั น ฟุ ง ไป ซ า นไปในภายนอก" ดั ง นี้ . (ในกรณี แ ห ง การได ยิ น เสี ย งด ว ยหู , การ รูสึ ก ลิ่ นด วยจมู ก, การลิ้ มรสด วยลิ้ น, การสั มผั สทางผิ วหนั งด วยผิ วกาย, และการรูแจ งธั มมารมณ ด วยใจ, ก็ มี ข อความเหมื อนกั บข อความที่ กล าวในกรณี แห งการเห็ นรูปด วยตา ข างบนนี้ ทุ กตั วอั กษร ต างกั นแต ชื่ อของ อายตนะนั้ น ๆ เท านั้ น.) ดู ก อ นท านผู มี อ ายุ ทั้ งหลาย! คํ าที่ กล าวว า "วิ ญ ญาณอั น ฟุ งไป

ซานไปในภายนอก" ดังนี้นั้น มีเนื้อความโดยพิสดาร อยางนี้แล. ดูก อ นทา นผู ม ีอ ายุทั ้ง หลาย! ก็คํ า อัน พระผู ม ีพ ระภาคตรัส แลว วา "วิญ ญาณอัน ไมฟุ งไป ไมซานไป ในภายนอก" ดังนี้นั้น มีเนื้อความโดยพิสดาร อย า งไรเล า ? ดู ก อ นท า นผู มี อ ายุ ทั้ ง หลาย! วิ ญ ญาณ (จิ ต ) ของภิ ก ษุ ผู เ ห็ น รู ป ด ว ยตาแล ว ไม เป น วิ ญ ญาณที่ แล น ไปตามนิ มิ ต แห งรู ป , ไม เป น วิ ญ ญาณที่ ห ยั่ งลง ในอั ส สาทะ (รสอร อ ย)ของนิ มิ ต แห งรู ป , ไม ผู ก พั น อยู ในอั ส สาทะของนิ มิ ต แห ง รู ป , ไมประกอบพรอมแลวดวยความผูกพันอยูในอัสสาทะของนิมิตแหงรูป : นี้แหละคือ ข อ ความอั น พระผู มี พ ระภาคตรั ส แล ว โดยย อ ว า "วิ ญ ญาณอั น ไม ฟุ ง ไป ไม ซ า นไป ในภายนอก" ดั ง นี้ .(ในกรณี แห งการได ยิ นเสี ยงด วยหู , การรูสึ กกลิ่ นด วยจมู ก, การลิ้ มรสด วยลิ้ น,

www.buddhadasa.info การสั มผั สทางผิ วหนั งด วยผิ วกาย, และการรูแจ งธั มมารมณ ด วยใจ, ก็ มี ข อความเหมื อนกั บข อความที่ กล าว ในกรณี แห ง การเห็ น รู ป ด ว ยตา ข า งบนนี้ ทุ ก ตั ว อั ก ษร ต า งกั น แต ชื่ อ ของอายตนะนั้ น ๆ เท า นั้ น .) ดู ก อนท านผู มี อายุ ทั้ งหลาย! คํ าอั นพระผู มี พระภาคตรั สที่ กล าวว า "วิ ญ ญ าณ อั นไม ฟุ งไป ไมซานไป ในภายนอก" ดังนี้นั้น มีเนื้อความโดยพิสดาร อยางนี้แล.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๒๙๗

ดูกอนทานผู มีอายุทั้งหลาย! ก็คําที่ กลาววา "จิ ต ตั้ งสยบอยู ในภายใน" ดั งนี้ นั้ น มี เนื้ อ ความโดยพิ ส ดารอย างไรเล า? ดู ก อ นท านผู มี อ ายุ ทั้ งหลาย! ในกรณี ที่ ก ล า วนี้ ภิ ก ษุ , เพราะสงั ด จากกามและอกุ ศ ลธรรมทั้ งหลาย จึ งบรรลุ ฌ านที่ ๑ อั น มี วิ ต ก วิ จ าร มี ป ติ แ ละสุ ข อั น เกิ ด แต วิ เวก แล ว แลอยู . วิ ญ ญาณ (จิ ต ) ของ ภิ กษุ นั้ น เป นวิ ญ ญาณที่ แล นไปตามป ติ และสุ ข อั นเกิ ดแต วิเวก, เป นวิ ญ ญาณที่ หยั่ ง ลงในอั สสาทะของป ติ และสุ ข อั น เกิ ด แต วิ เวก, ผู กพั น อยู ในอั ส สาทะของป ติ และสุ ข อันเกิดแตวิเวก, เปนวิญญาณที่ประกอบพรอมแลวดวยความผูกพันในอัสสาทะของ ป ติ แ ละสุ ข อั น เกิ ด แต วิ เวก; นี้ แ หละคื อ ขอ ความที่ ก ล าวโดยย อ วา "จิ ต ตั้ งสยบ อยูในภายใน" ดังนี้. ดู ก อ นท า นผู มี อ ายุ ทั้ ง หลาย! ข อ อื่ น ยั ง มี อี ก : ภิ ก ษุ , เพราะความที่ วิ ต กและวิ จ ารสงบระงั บ ลง; จึ ง บรรลุ ฌ านที่ ๒ อั น เป น เครื่ อ งผ อ งใสแห ง ใจใน ภายใน, ทํ า ให ส มาธิ อั น เป น ธรรมอั น เอกผุ ด มี ขึ้ น , ไม มี วิ ต กวิ จ าร, มี แ ต ป ติ แ ละสุ ข อั น เกิ ด แต ส มาธิ แล ว แลอยู . วิ ญ ญาณ ของภิ ก ษุ นั้ น เป น วิ ญ ญาณที่ แ ล น ไปตาม ป ติ และสุ ข อั น เกิ ดแต ส มาธิ , เป น วิ ญ ญาณที่ ห ยั่ งลงในอั สสาทะของป ติ และสุ ข อั น เกิ ดแต สมาธิ , ผู กพั นอยู ในอั สสาทะของป ติ และสุ ข อั นเกิ ดแต สมาธิ , เป นวิ ญ ญาณ ที่ประกอบพรอมแลวดวยความผูกพันในอัสสาทะของปติและสุข อันเกิดแตสมาธิ; นี้แหละ คือขอความที่กลาวโดยยอวา "จิต ตั้งสยบอยูในภายใน" ดังนี้.

www.buddhadasa.info ดู ก อ นท า นผู มี อ ายุ ทั้ งหลาย! ข อ อื่ น ยั งมี อี ก : ภิ ก ษุ , เพราะความจาง คลายไปแห ง ป ติ , ย อ มเป น ผู อ ยู อุ เบกขา, มี ส ติ แ ละสั ม ปชั ญ ญะ, และย อ มเสวย ความสุข ดว นนามกาย ชนิด ที ่พ ระอริย เจา ทั ้ง หลาย ยอ มกลา วสรรเสริญ ผู นั ้น วา "เปนผูอยูอุเบกขา มีสติอยูเปนปรกติสุข" ดังนี้; จึงบรรลุฌานที่ ๓ แลวแลอยู.

www.buddhadasa.info


๒๙๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

วิ ญ ญาณของภิ ก ษุ นั้ น เป น วิ ญ ญาณที่ แ ล น ไปตามอุ เบกขา, เป น วิ ญ ญาณที่ ห ยั่ ง ลงในอั สสาทะของสุ ขอั นเกิ ดแต อุ เบกขา, ผู กพั นอยู ในอั สสาทะของสุ ขอั นเกิ ดแต อุ เบกขา, เปนวิญญาณที่ประกอบพรอมแลวดวยความผูกพันในอัสสาทะของสุขอันเกิดแต อุเบกขา, นี้แหละคือขอความที่กลาวโดยยอวา "จิต ตั้งสยบอยูในภายใน" ดังนี้. ดู ก อนท านผู มี อายุ ทั้ งหลาย! ข ออื่ นยั งมี อี ก : ภิ กษุ , เพราะความละสุ ขและ ทุ ก ข เสี ย ได เพราะความดั บ ไปแห ง โสมนั ส และโทมนั ส ในกาลก อ น, จึ ง บรรลุ ฌ าน ที่ ๔ อั น ไม มี ทุ ก ข แ ละสุ ข , มี แ ต ค วามที่ ส ติ เป น ธรรมชาติ บ ริ สุ ท ธิ์ เพราะอุ เ บกขา แล ว แลอยู . วิ ญ ญาณของภิ ก ษุ นั้ น เป น วิ ญ ญาณที่ แ ล น ไปตามอทุ ก ขมสุ ข , เป น วิ ญ ญาณที่ ห ยั่ งลงในอั สสาทะของอทุ ก ขมสุ ข, ผู กพั น อยู ในอั ส สาทะของอทุ กขมสุ ข, เปนวิญญาณที่ประกอบพรอมแลวดวยความผูกพันในอัสสาทะของอทุกขมสุข, นี้แหละ คือขอความที่กลาวโดยยอวา "จิต ตั้งสยบอยูในภายใน" ดังนี้. ดู ก อ นท า นผู มี อ ายุ ทั้ งหลาย! คํ า ที่ ก ล า วว า "จิ ต ตั้ งสยบอยู ในภายใน" ดังนี้นั้น มีเนื้อความโดยพิสดาร อยางนี้แล.

www.buddhadasa.info ดู ก อนท านผู มี อายุ ทั้ งหลาย! ก็ คํ าอั นพระผู มี พระภาคตรั สที่ กล าวว า "จิ ต อั น ไม ตั้ งสยบอยู ในภายใน" ดั งนี้ นั้ น มี เนื้ อ ความโดยพิ ส ดารอย างไรเล า? ดู ก อ น ท านผู มี อายุ ทั้ งหลาย! ในกรณี ที่ กล าวนี้ ภิ กษุ , เพราะสงั ดจากกามและอกุ ศลธรรม ทั้ งหลาย จึงบรรลุ ฌ านที่ ๑ อันมี วิตก วิจาร มี ป ติ และสุข อั นเกิ ดแต วิเวก แล วแล อยู . วิ ญ ญาณ (จิ ต) ของภิ กษุ นั้ น ไม เป นวิ ญ ญาณที่ แล นไปตามป ติ และสุ ข อั นเกิ ด แต วิ เวก, ไม เป น วิ ญ ญาณที่ ห ยั่ งลงในอั ส สาทะของป ติ และสุ ข อั น เกิ ด แต วิ เวก, ไม ผูกพันอยูในอัสสาทะของปติและสุข อันเกิดแตวิเวก, ไมเปนวิญญาณที่ประกอบ

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๒๙๙

พรอมแลวดวยความผูกพันในอัสสาทะของปติและสุข อันเกิดแตวิเวก; นี้แหละคือ ข อ ความอั น พระผู มี พ ระภาคตรั ส แล ว โดยย อ ว า "จิ ต อั น ไม ตั้ ง สยบอยู ในภายใน" ดังนี้. ดู ก อ นท านผู มี อ ายุ ทั้ งหลาย! ข อ อื่ น ยั งมี อี ก : ภิ ก ษุ , เพราะความที่ วิ ต ก และวิ จ ารสงบระงั บ ลง; จึ งบรรลุ ฌ านที่ ๒ อั น เป น เครื่ อ งผ อ งใสแห งใจในภายใน, ทํ าให ส มาธิ อั น เป น ธรรมอั น เอกผุ ด มี ขึ้ น , ไม มี วิ ต กวิ จาร, มี แ ต ป ติ และสุ ขอั น เกิ ด แต สมาธิ แล ว แลอยู . วิ ญ ญาณของภิ ก ษุ นั้ น ไม เป น วิ ญ ญาณที่ แ ล น ไปตามป ติ แ ละ สุ ขอั น เกิ ดแต สมาธิ , ไม เป น วิ ญ ญาณที่ หยั่ งลงในอั สสาทะของป ติ และสุ ข อั นเกิ ดแต สมาธิ , ไม ผู กพั น อยู ในอั สสาทะของป ติ และสุ ข อั น เกิ ดแต ส มาธิ , ไม เป น วิ ญ ญาณ ที่ประกอบพรอมแลวดวยความผูกพันในอัสสาทะของปติและสุข อันเกิดแตสมาธิ; นี้ แหละ คื อ ข อความอั นพระผู มี พระภาคเจ าตรัสแล ว โดยย อว า "จิ ต อั นไม ตั้ งสยบ อยูในภายใน" ดังนี้. ดู ก อ นท า นผู มี อ ายุ ทั้ งหลาย! ข อ อื่ น ยั งมี อี ก : ภิ ก ษุ , เพราะความจาง คลายไปแห ง ป ติ , ย อ มเป น ผู อ ยู อุ เบกขา, มี ส ติ แ ละสั ม ปชั ญ ญะ, และย อ มเสวย ความสุข ดว นนามกาย ชนิด ที ่พ ระอริย เจา ทั ้ง หลาย ยอ มกลา วสรรเสริญ ผู นั ้น วา "เป น ผู อ ยู อุ เบกขา มี ส ติ อ ยู เป น ปรกติ สุ ข " ดั ง นี้ ; จึ ง บรรลุ ฌ านที่ ๓ แล ว แลอยู . วิ ญ ญาณของภิ กษุ นั้ น ไม เป นวิ ญญาณที่ แล นไปตามอุ เบกขา, ไม เป นวิ ญญาณที่ หยั่ ง ลงในอั ส สาทะของสุ ขอั น เกิ ด แต อุ เบกขา, ไม ผู ก พั น อยู ในอั ส สาทะของสุ ข อั น เกิ ด แต อุเบกขา, ไมเปนวิญญาณที่ประกอบพรอมแลวดวยความผูกพันในอัสสาทะของสุขอันเกิด แต อ ุเบกขา, นี้แ หละคือ ขอ ความอัน พระผูมีพ ระภาคตรัส แลว โดยยอ วา "จิต อัน ไมตั้งสยบอยูในภายใน" ดังนี้.

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๓๐๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

ดูกอนทานผูมีอายุทั้งหลาย! ขออื่นยังมีอีก : ภิกษุ , เพราะความละสุขและ ทุก ขเ สีย ได เพราะความดับ ไปแหง โสมนัส และโทมนัส ในกาลกอ น, จึง บรรลุ ฌานที่ ๔ อันไมมีทุ กขและสุข, มีแตความที่สติเป นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล วแลอยู . วิ ญ ญาณของภิ ก ษุ นั้ น ไม เป น วิ ญ ญาณที่ แล น ไปตามอทุ ก ขมสุ ข, ไม เป น วิ ญ ญาณที่ ห ยั่ ง ลงในอั ส สาทะของอทุ ก ขมสุ ข , ไม ผู ก พั น อยู ใ นอั ส สาทะของ อทุกขมสุข, ไมเปนวิญญาณที่ประกอบพรอมแลวดวยความผูกพันในอทุกขมสุข, นี้แหละ คื อขอความอัน พระผูมีพ ระภาคตรัส แลว โดยยอวา "จิต อันไมตั้ งสยบอยู ในภายใน" ดังนี้. ดู ก อ นท า นผู มี อ ายุ ทั้ งหลาย! คํ า อั น พระผู มี พ ระภาคตรั ส แล ว ว า "จิ ต อันไมตั้งสยบอยูในภายใน" ดังนี้นั้น มีเนื้อความโดยพิสดาร อยางนี้แล. ดูกอนทานผูมีอายุทั้งหลาย! ก็ความสะดุง ยอมมี เพราะเหตุมีความ ยึ ดมั่ น ถื อ มั่ น เป นอย างไรเล า? ดู ก อนท านผู มี อายุ ทั้ งหลาย! ในกรณี ที่ กล าวมานี้ ปุถ ุช นผู ไ มม ีก ารสดับ ไมเ ห็น พระอริย เจา ทั ้ง หลาย ไมฉ ลาดในธรรมของพระอริย เจา ไมไ ดร ับ การแนะนํ า ในธรรมของพระอริย เจา , ไมเห็น สัป บุร ุษ ทั ้ง หลาย ไมฉลาดในธรรมของสัปบุรุษ ไมไดรับการแนะนํา ในธรรมของสัปบุรุษ:-

www.buddhadasa.info (๑) เขายอมตามเห็นซึ่งรูป โดยความเปนตนบาง, ยอมตามเห็นซึ่งตน ว า มี รู ป บ า ง, ย อ มตามเห็ น ซึ่ ง รู ป ในตนบ า ง, ย อ มตามเห็ น ซึ่ ง ตนในรู ป บ า ง; ครั้ น รู ป นั้ น แปรปรวนไป เป น ความมี โดยประการอื่ น แก เขา : วิ ญ ญาณของเขาย อ ม เป นวิ ญ ญาณที่ เปลี่ ยนแปลงไป ตามความแปรปรวนของรูป เพราะความแปรปรวน ของรูปได มี โดยประการอื่ น. ความสะดุ งอั นเกิ ดจากความเปลี่ ยนแปลงไปตามความ แปรปรวนของรูป ยอมครอบงําจิตของเขาตั้งอยู เพราะความเกิดขึ้นแหงธรรม

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๓๐๑

(เป น เครื่อ งทํ าความสะดุ ง). เพราะความยึ ด มั่ น แห งจิ ต เขาย อ มเป น ผู มี ค วาม หวาดเสียว มีความคับแคน มีความพะวาพะวง และสะดุงอยู เพราะความยึดมั่น. (๒) เขายอมตามเห็นซึ่งเวทนา โดยความเปนตนบาง, ยอมตามเห็น ซึ่ ง ตนว า มี เวทนาบ า ง, ย อ มตามเห็ น ซึ่ งเวทนาในตนบ า ง, ย อ มตามเห็ น ซึ่ งตนใน เวทนาบ า ง; ครั้ น เวทนานั้ น แปรปรวนไป เป น ความมี โดยประการอื่ น แก เขา : วิ ญ ญาณของเขาย อมเป นวิ ญ ญาณที่ เปลี่ ยนแปลงไปตามความแปรปรวนของเวทนา เพราะความแปรปรวนของเวทนาได มี โดยประการอื่ น. ความสะดุ งอั นเกิ ดจากความ เปลี่ ย นแปลงไปตามความแปรปรวนของเวทนา ย อ มครอบงํ า จิ ต ของเขาตั้ ง อยู เพราะความเกิดขึ้นแหงธรรม (เปนเครื่องทําความสะดุง). เพราะความยึดมั่นแหงจิต เขายอมเปนผูมีความหวาดเสียว มีความคับแคน มีความพะวาพะวง และสะดุงอยู เพราะความยึดมั่น. (๓) เขายอมตามเห็นซึ่งสัญญา โดยความเปนตนบาง, ยอมตามเห็นซึ่ง ตนวามี สั ญญาบ าง, ย อมตามเห็ นซึ่ งสั ญญาในตนบ าง, ย อมตามเห็ นซึ่งตนในสั ญญา บ าง; ครั้ น สั ญ ญานั้ น แปรปรวนไป เป น ความมี โดยประการอื่ น แก เขา : วิ ญ ญาณ ของเขา ย อมเป นวิ ญ ญาณที่ เปลี่ ยนแปลงไปตามความแปรปรวนของสั ญ ญา เพราะ ความแปรปรวนของสั ญ ญาได มี โดยประการอื่ น. ความสะดุ งอั นเกิ ดจากความเปลี่ ยน แปลงไปตามความแปรปรวนของสั ญ ญา ย อมครอบงําจิ ตของเขาตั้ งอยู เพราะความ เกิดขึ้นแหงธรรม (เปนเครื่องทําความสะดุง). เพราะความยึดมั่นแหงจิต เขายอม เปนผูมีความหวาดเสียว มีความคับแคน มีความพะวาพะวง และสะดุงอยู เพราะ ความยึดมั่น.

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๓๐๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

(๔) เขายอมตามเห็นซึ่งสังขารทั้งหลาย โดยความเปนตนบาง, ยอม ตามเห็ น ซึ่ งตนว า มี สั งขารบ า ง, ย อ มตามเห็ น ซึ่ งสั งขารทั้ ง หลายในตนบ า ง, ย อ ม ตามเห็ น ซึ่ งตนในสั งขารทั้ งหลายบ า ง; ครั้น สั งขารทั้ งหลายเหล านั้ น แปรปรวนไป เป นความมี โดยประการอื่ น แก เขา : วิ ญ ญาณของเขาย อมเป นวิ ญ ญาณที่ เปลี่ ยน แปลงไปตามความแปรปรวนของสั งขารทั้ งหลาย เพราะความแปรปรวนของสั งขาร ทั้ งหลายได มี โดยประการอื่ น. ความสะดุ งอั นเกิ ดจากความเปลี่ ยนแปลงไปตามความ แปรปรวนของสั งขารทั้ งหลาย ย อ มครอบงํ าจิ ต ของเขาตั้ งอยู เพราะความเกิ ด ขึ้ น แหงธรรม (เปนเครื่องทําความสะดุง). เพราะความยึดมั่นแหงจิต เขายอมเปนผูมี ความหวาดเสี ยว มี ความคั บแค น มี ความพะวาพะวง และสะดุ งอยู เพราะความ ยึดมั่น. (๕) เขายอมตามเห็นซึ่งวิญญาณ โดยความเปนตนบาง, ยอมตามเห็น ซึ่งตนวามี วิญญาณบ าง, ยอมตามเห็ นซึ่งวิญญาณในตนบ าง, ยอมตามเห็ นซึ่งตนใน วิญ ญาณบ าง; ครั้นวิ ญ ญาณนั้ นแปรปรวนไป เป นความมี โดยประการอื่ น แก เขา : วิ ญ ญาณของเขา ย อ มเป น วิ ญ ญาณที่ เปลี่ ย นแปลงไปตามความแปรปรวนของ วิ ญ ญาณ เพราะความแปรปรวนของวิ ญ ญาณได มี โดยประการอื่ น . ความสะดุ ง อั นเกิ ดจากความเปลี่ ยนแปลงไปตามความแปรปรวนของวิ ญ ญาณ ย อมครอบงําจิ ต ของเขาตั้ งอยู เพราะความเกิ ด ขึ้ น แห งธรรม (เป น เครื่ อ งทํ า ความสะดุ ง ). เพราะ ความยึดมั่นแหงจิต เขายอมเปนผูมีความหวาดเสียว มีความคับแคน มีความ พะวาพะวง และสะดุงอยู เพราะความยึดมั่น.

www.buddhadasa.info ดู ก อนท านผู มี อายุ ทั้ งหลาย! อย างนี้ แล คื อความสะดุ ง ย อมมี เพราะ เหตุมีความยึดมั่นถือมั่น.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๓๐๓

ดูกอนทานผูมีอายุทั้งหลาย! ก็ความไมสะดุง ยอมมี เพราะเหตุไมมี ความยึ ดมั่ นถื อมั่ น เป นอยางไรเลา? ดูกอนทานผูมีอายุทั้ งหลาย! ในกรณี ที่กลาว มานี้ อริ ยสาวกผู มี ก ารสดั บ ได เห็ น พระอริ ยเจ าทั้ งหลาย เป น ผู ฉ ลาดในธรรมของ พระอริ ย เจ า เป น ผู ได รั บ การแนะนํ า ในธรรมของพระอริ ย เจ า , ได เห็ น สั ป บุ รุ ษ ทั้ ง หลาย เปนผูฉลาดในธรรมของสัปบุรุษ เปนผูไดรับการแนะนํา ในธรรมของสัปบุรุษ:(๑) ท านย อมไม ตามเห็ นซึ่ งรูป โดยความเป นตนบ าง, ย อมไม ตาม เห็น ซึ ่ง ตนวา มีร ูป บา ง, ยอ มไมต ามเห็น ซึ ่ง รูป ในตนบา ง, ยอ มไมต ามเห็น ซึ ่ง ตน ในรูป บา ง; ครั ้น รูป นั ้น แปรปรวนไป เปน ความมีโ ดยประการอื ่น แกท า น : แต วิ ญ ญาณของท า นย อ มไม เป น วิ ญ ญาณที่ เปลี่ ย นแปลงไปตามความแปรปรวน ของรูป เพราะความแปรปรวนของรู ป ได มี โดยประการอื่ น . ความสะดุ งอั น เกิ ดจาก ความเปลี่ ย นแปลงไปตามความแปรปรวนของรู ป เพราะความเกิ ด ขึ้ น แห ง ธรรม (เปน เครื่อ งทํ า ความสะดุ ง ). ยอ มไมค รอบงํา จิต ของทา นตั ้ง อยู  เพราะความไม ยึดมั่นแหงจิต ทานยอมเปนผูมีความหวาดเสียว ไมมีความคับแคน ไมมีความ พะวาพะวง และไมสะดุงอยู เพราะความไมยึดมั่น.

www.buddhadasa.info (๒) ท านย อมไม ต ามเห็ น ซึ่ งเวทนา โดยความเป น ตนบ าง, ย อมไม ตามเห็ นซึ่ งตนวามี เวทนาบ าง, ย อมไม ตามเห็ นซึ่ งเวทนาในตนบ าง, ย อมไม ตามเห็ น ซึ ่ง ตนในเวทนาบา ง; ครั ้น เวทนานั ้น แปรปรวนไป เปน ความมีโ ดยประการอื ่น แก ท าน : แต วิ ญ ญาณของท านย อ มไม เป น วิ ญ ญาณที่ เปลี่ ยนแปลงไปตามความ แปรปรวนของเวทนา เพราะความแปรปรวนของเวทนาได มี โดยประการอื่ น . ความ สะดุงอันเกิดจากความเปลี่ยนแปลงไปตามความแปรปรวนของเวทนา เพราะความ

www.buddhadasa.info


๓๐๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

เกิ ด ขึ้ น แห ง ธรรม (เป น เครื่ อ งทํ า ความสะดุ ง ). ย อ มไม ค รอบงํ า จิ ต ของท า นตั้ ง อยู . เพราะความยึด มั ่น แหง จิต ทา นยอ มไมเ ปน ผูม ีค วามหวาดเสีย ว ไมมีค วาม คับแคน ไมมีความพะวาพะวง และไมสะดุงอยู เพราะความไมยึดมั่น. (๓) ท านย อมไม ต ามเห็ น ซึ่ งสั ญ ญา โดยความเป น ตนบ าง, ย อ มไม ตามเห็ น ซึ่ งตนว ามี สั ญ ญาบ าง, ย อ มไม ต ามเห็ น ซึ่ งสั ญ ญาในตนบ าง, ย อ มไม ต าม เห็ น ซึ่ ง ตนในสั ญ ญาบ า ง; ครั้ น สั ญ ญานั้ น แปรปรวนไป เป น ความมี โดยประการ อื่ น แก ท า น : แต วิ ญ ญาณของท า นย อ มไม เป น วิ ญ ญาณที่ เปลี่ ย นแปลงไป ตาม ความแปรปรวนของสั ญ ญา เพราะความแปรปรวนของสั ญ ญาได มี โดยประการอื่ น . ความสะดุ งอั น เกิ ดจากความเปลี่ ยนแปลงไปตามความแปรปรวนของสั ญ ญา เพราะ ความเกิ ด ขึ้ น แห งธรรม (เป น เครื่ อ งทํ าความสะดุ ง).ย อ มไม ค รอบงํ าจิ ต ของเขาตั้ งอยู เพราะความไมยึดมั่นแหงจิต ทานยอมไมเปนผูมีความหวาดเสียว ไมมีความคับแคน ไมมีความพะวาพะวง และไมสะดุงอยู เพราะความไมยึดมั่น. (๔) เขายอมไมตามเห็นซึ่งสังขารทั้งหลาย โดยความเปนตนบาง, ยอม ไม ต ามเห็ น ซึ่ ง ตนว า มี สั ง ขารบ า ง, ย อ มไม ต ามเห็ น ซึ่ ง สั ง ขารทั้ ง หลายในตนบ า ง, ยอ มไมต ามเห็น ซึ ่ง ตนในสัง ขารทั ้ง หลายบา ง; ครั ้น สัง ขารทั ้ง หลายนั ้น แปร ปรวนไป เปน ความมีโ ดยประการอื ่น แกท า น : แตว ิญ ญาณของทา นยอ มไม เป นวิ ญญาณที่ เปลี่ ยนแปลงไป ตามความแปรปรวนของสั งขารทั้ งหลาย เพราะความแปรปรวน ของสั งขารได มี โดยประการอื่ น . ความสะดุ งอั น เกิ ด จากความเปลี่ ย นแปลงไปตาม ความแปรปรวนของสั งขารทั้ งหลาย เพราะความเกิ ดขึ้นแห งธรรม (เป นเครื่องทํ าความสะดุ ง). ยอมไมครอบงําจิตของเขาตั้งอยู เพราะความไมยึดมั่นแหงจิต ทานยอมไมเปน

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๓๐๕

ผู มี ค วามหวาดเสี ย ว ไม มี ความคั บ แค น ไม มี ค วามพะว าพะวง และไม ส ะดุ งอยู เพราะความไมยึดมั่น. (๕) ทานยอมไมตามเห็นซึ่งวิญญาณ โดยความเปนตนบาง, ยอมไม ตามเห็ นซึ่ งตนว ามี วิ ญ ญาณบ าง, ย อมไม ต ามเห็ นซึ่ งวิ ญ ญาณในตนบ าง, ย อมไม ตามเห็ น ซึ่ งตนในวิ ญ ญาณบ าง; ครั้ น วิ ญ ญาณนั้ น แปรปรวนไป เป น ความมี โดย ประการอื่ น แก ท าน : แต วิญญาณของท าน ย อมไม เป นวิญญาณที่ เปลี่ ยนแปลงไป ตามความแปรปรวนของวิ ญ ญาณ เพราะความแปรปรวนของวิ ญ ญาณได มี โดย ประการอื่ น . ความสะดุ งอั น เกิ ด จากความเปลี่ ย นแปลงไปตามความแปรปรวนของ วิญ ญาณ เพราะความเกิ ดขึ้นแห งธรรม (เป นเครื่องทํ าความสะดุ ง).ย อมไม ครอบงํา จิต ของเขาตั ้ง อยู  เพราะความไมย ึด มั ่น แหง จิต ทา นยอ มไมเ ปน ผู ม ีค วาม หวาดเสี ย ว ไม มี ค วามคั บ แค น ไม มี ค วามพะว า พะวง และไม ส ะดุ ง อยู เพราะ ความไมยึดมั่น. ดู ก อ นท า นผู มี อ ายุ ทั้ ง หลาย! อย า งนี้ แ ล คื อ ความไม ส ะดุ ง ย อ มมี เพราะเหตุไมมีความยึดมั่นถือมั่น.

www.buddhadasa.info หมายเหตุ ผู ร วบรวม : เนื่ อ งจากข อ ความตอนนี้ ยื ด ยาวมาก เกรงจะ ฟ น เฝ อ จึ งขอย้ํ าอี ก ครั้ งหนึ่ งว า แม ถ อ ยคํ าเหล า นี้ จะเป น คํ าอธิ บ ายของพระมหากั จ จานะ แตไ ดร ับ การรับ รองจากพระพุท ธองคว า ตรงตามที ่จ ะทรงอธิบ ายเอง; ดัง นั ้น เพื ่อ ความสะดวกจึ งนํ ามาใส ไว ต อท ายพระพุ ทธภาษิ ตข างต นนั้ น. เคล็ ดของการปฏิ บั ติ ในที่ นี้ อยู ที่

ก า รใค ร ค รว ญ ช นิ ด ที ่ จ ิ ต จ ะ ไม แ ล น ไป ข า งน อ ก แ ล ะ ไม ส ย บ อ ยู  ใ น ภ า ย ใ น ตามวิ ธี ที่ ไ ด อ ธิ บ ายไว ใ นสู ต รนี้ แ ล ว , ปฏิ จ จสุ ม ปบาท ซึ่ ง เป น การก อ ขึ้ น แห ง ทุ ก ข ก็ ก อ ขึ้ น ไมได, ดังที่ตรัสไวนั้น.

www.buddhadasa.info


๓๐๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

การพิจารณาปจจัยในภายใน คือการพิจารณาปฏิจจสมุปบาท๑ ดูกอนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เธอทั้ งหลาย เมื่ อพิ จารณา ยอมพิ จารณาซึ่ งป จจั ย ในภายในบางหรือไม? เมื่ อพระผู มี พระภาคเจ าตรัสถามอย างนี้ แล ว, ภิ กษุ รูปหนึ่ ง ได กราบทู ลคํ านี้ กะพระผู มี พระ ภาคเจา วา "ขา แตพ ระองคผู เ จริญ ! ขา พระองค เมื ่อ พิจ ารณา ยอ มพิจ ารณาซึ ่ง ปจ จัย ภายใน พระเจาขา!" พระผูมีพระภาคเจา ไดตรัสถามวา "ดูกอนภิกษุ! ก็เธอเมื่อพิจารณายอมพิจารณาซึ่งปจจัย ในภายใน อยางไรเลา?" ภิกษุนั้นไดกราบทูลเลาเรื่องการพิจารณาปจจัยในภายในของตนแลว โดย ประการใด ๆ ก็ ล วนไม เป น ที่ ถู กพระทั ยของพระผู มี พ ระภาคเจ า. เมื่ อภิ กษุ นั้ น กราบทู ลอย างนั้ นแล ว, ท านพระอานนท ได กราบทู ลคํ านี้ กะพระผู มี พระภาคเจ าวา "ข าแต พระองค ผู เจริญ! ถึ งเวลาที่ จะแสดงเรื่อง นี้ แล ว. ข าแต พระสุ คต! ถึ งเวลาที่ จะแสดงเรื่ องนี้ แล ว. พระผู มี พ ระภาคตรัสการพิ จารณาซึ่ งป จจั ยใน ภายในขอใด ภิกษุ ทั้ งหลายฟ งการพิ จารณาซึ่งป จจัยภายในขอนั้ น จากพระผู มี พระภาคเจ าแลว จักทรงจําไว" ดังนี้. พระผูมีพ ระภาคเจา ไดตรัส วา "ดูกอนอานนท! ถาอยางนั้น พวกเธอทั้งหลายจงฟง, จงทําในใจใหสํา เร็จ ประโยชน, เราจัก กลา วบัด นี้". ครั้น ภิก ษุทั้งหลายเหลานั้น ทูล สนองรับ พระพุทธดํารัสนั้นแลว, พระผูมีพระภาคเจา ไดตรัสถอยคําเหลานี้วา:-

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ภิ กษุ ในธรรมวินั ยนี้ เมื่ อพิ จารณา ย อมพิ จารณาซึ่ ง ปจจัยในภายในอยางนี้วา "ทุกขมีอยางมิใชนอย นานาประการ ยอมเกิดขึ้นในโลก กลาว คือชรามรณะ ใดแล; ทุกขนี้ มีอะไรเปนเหตุใหเกิด? มีอะไรเปนเครื่องกอใหเกิด? มี อะไรเป นเครื่ องกํ าเนิ ด? มี อะไรเป นแดนเกิ ด? เพราะอะไรมี ชรามรณะจึ งมี (เพราะ อะไรไมมี ชรามรณะจึงไมมี)" ดังนี้. ภิกษุนั้น พิจารณาอยู ยอมรูอยางนี้วา "ทุกขมี

สู ต รที่ ๖ มหาวรรค อภิ ส มยสั ง ยุ ต ต นิ ท าน. สํ . ๑๖/๑๓๐/๒๕๔-๒๖๒, ตรั ส แก ภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย ที่ กัมมาสทัมมนิคม แควนกุรุ.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๓๐๗

อย างมิ ใชน อย นานาประการ ย อมเกิ ดขึ้นในโลก กล าคื อชรามรณะ ใดแล; ทุ กข นี้ มีอุปธิเปนเหตุใหเกิด มีอุปธิเปนเครื่องกอใหเกิด มีอุปธิเปนเครื่องกําเนิด มีอุปธิเปน แดนเกิ ด เพราะอุ ป ธิ มี ชรามรณะจึ งมี เพราะอุ ป ธิ ไม มี ชรามรณะจึ งไม มี " ดั งนี้ . ภิกษุนั้นยอมรูประจักษซึ่งชรามรณะดวย; ยอมรูประจักษซึ่งเหตุใหเกิดขึ้นแหงชรามรณะด วย; ย อมรูประจั กษ ซึ่ งความดั บไม เหลื อแห งชรามรณะด วย; ย อมรูประจั กษ ซึ่งขอปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสัตวให ลุ ถึง ซึ่งธรรมอันสมควรแกความดับไม เหลื อแห งชรามรณะ ด วย; และเป นผู ปฏิ บั ติ แล วอย างสมควรแก ธรรมด วย. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ภิ กษุ นี้ เราเรียกวา เปนผูปฏิบัติเพื่อความสิ้นทุกขโดยชอบ โดยประการทั้งปวง กลาวคือ เพื่อ ความดับไมเหลือแหงชรามรณะ. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ข ออื่ นยั งมี อี ก : ภิ กษุ เมื่ อพิ จารณา ย อมพิ จารณา ซึ่งปจจัยในภายในอยางนี้วา "ก็อุปธินี้ มีอะไรเปนเหตุใหเกิด? มีอะไรเปนเครื่องกอใหเกิด? มี อะไรเป นเครื่องกํ าเนิ ด? มี อะไรเป นแดนเกิ ด? เพราะอะไรมี อุ ปธิ จึ งมี เพราะอะไร ไม มี อุ ปธิ จึ งไม มี " ดั งนี้ . ภิ กษุ นั้ น พิ จารณาอยู ย อมรูอย างนี้ ว า "อุ ป ธิ มี ตั ณ หา เปนเหตุใหเกิด มีตัณหาเปนเครื่องกอใหเกิด มีตัณหาเปนเครื่องกําเนิด มีตัณหาเปน แดนเกิด เพราะตัณหามี อุปธิจึงมี เพราะตัณหาไมมี อุปธิจึงไมมี" ดังนี้. ภิกษุ นั้นยอม รู ป ระจั ก ษ ซึ่ ง อุ ป ธิ ด ว ย; ย อ มรู ป ระจั ก ษ ซึ่ ง เหตุ ใ ห เกิ ด ขึ้ น แห ง อุ ป ธิ ด ว ย; ย อ มรู ประจักษ ซึ่งความดั บไม เหลื อแห งอุปธิด วย; ย อมรูประจักษ ซึ่ งขอปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสั ตว ใหลุถึง ซึ่งธรรมอันสมควรแกความดับไมเหลือแหงอุปธิดวย; และเปนผูปฏิบัติแลวอยาง สมควรแกธรรมดวย. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ภิกษุนี้ เราเรียกวา เปนผูปฏิบัติเพื่อความ สิ้นทุกขโดยชอบ โดยประการทั้งปวง กลาวคือ เพื่อความดับไมเหลือแหงอุปธิ.

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ข ออื่ นยั งมี อี ก : ภิ กษุ เมื่ อพิ จารณา ย อมพิ จารณา ซึ่งปจจัยในภายในอยางนี้วา "ก็ตัณหานั้น เมื่อจะเกิด ยอมเกิดขึ้น ณ ที่ไหน? เมื่อ

www.buddhadasa.info


๓๐๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

เข า ไปตั้ ง อยู ย อ มเข า ไปตั้ ง อยู ณ ที่ ไหน?" ดั ง นี้ ภิ ก ษุ นั้ น พิ จ ารณาอยู ย อ มรู อยางนี้วา "สิ่งใด มีภาวะเปนที่รักเปนที่ยินดี (ปยรูปสาตรูป) ในโลก, ตัณหา นั้นเมื่อจะเกิด ยอมเกิดขึ้น ในสิ่งนั้น เมื่อจะเขาไปตั้งอยู ยอมเขาไปตั้งอยู ในสิ่ง นั้น.ก็สิ่งใดเลา มีภาวะเปนที่รักเปนที่ยินดี ในโลก? (หมวดที่ ห นึ่ ง ) ตา..รู ป ทั้ ง หลาย..จั ก ขุ วิ ญ ญ าณ ..จั ก ขุ สั ม ผั ส ..จั ก ขุ สั ม -

ผัส ส ชาเวท น า..รูป สัญ ญ า.. รูป สัญ เจต น า..รูป ตัณ ห า..รูป วิต ก..รูป วิจ าร.. (แต ละอย างทุ กอยาง) มี ภาวะเป นที่ รักเป นที่ ยิ นดี ในโลก. ตั ณหานั้ น เมื่ อจะเกิด ย อม เกิดขึ้นในตาเปนตนนั้น ๆ เมื่อจะเขาไปตั้งอยู ยอมเขาไปตั้งอยู ในตาเปนตนนั้น ๆ. (หมวดที่ ส อง ) หู ..เสี ย งทั้ ง หลาย..โสตวิ ญ ญาณ ..โสตสั ม ผั ส ..โสตสั ม -

ผั ส สชาเวทนา..สั ท ทสั ญ ญา..สั ท ทสั ญ เจตนา..สั ท ทตั ณ หา..สั ท ทวิ ต ก..สั ท ทวิ จ าร...(แต ละอย างทุ กอย าง) มี ภาวะเป นที่ รักเป นที่ ยิ นดี ในโลก. ตั ณ หานั้ น เมื่ อจะเกิ ด ยอมเกิดขึ้นในหูเปนตนนั้น ๆ เมื่อจะเขาไปตั้งอยู ยอมเขาไปตั้งอยู ในหูเปนตนนั้น ๆ. (หมวดที่ ส าม) จมู ก ..กลิ่ น ทั้ ง หลาย..ฆานวิ ญ ญาณ..ฆานสั ม ผั ส ..ฆาน-

www.buddhadasa.info สั ม ผั ส สชาเวทนา..คั น ธสั ญ ญ า..คั น ธสั ญ เจตนา…คั น ธตั ณ หา..คั น ธวิ ต ก.. คั น ธวิ จ าร..(แต ล ะอย า งทุ ก อย า ง) มี ภ าวะเป น ที่ รั ก เป น ที่ ยิ น ดี ในโลก. ตั ณ หานั้ น เมื่ อ จะเกิ ด ย อมเกิ ด ขึ้ น ในจมู ก เป น ต น นั้ น ๆ เมื่ อ จะเข าไปตั้ งอยู ย อ มเข าไปตั้ งอยู ในจมูกเปนตนนั้น ๆ.

(หมวดที่ สี่ ) ลิ้ น ..รสทั้ ง หลาย..ชิ ว หาวิ ญ ญ าณ ..ชิ ว หาสั ม ผั ส ..ชิ ว หา-

สัมผัสสชาเวทนา..รสสัญญา.. รสสั ญ เจตนา..รสตัณหา..รสวิตก..รสวิจาร..

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๓๐๙

(แต ละอย างทุ กอย าง) มี ภาวะเป นที่ รั กเป นที่ ยิ นดี ในโลก. ตั ณหานั้ น เมื่ อจะเกิ ด ย อม

เกิดขึ้นในลิ้นเปนตนนั้น ๆ เมื่อจะเขาไปตั้งอยู ยอมเขาไปตั้งอยู ในลิ้นเปนตนนั้น ๆ. (หมวดที่ ห า ) กาย..โผฏฐั พ พะทั้ ง หลาย..กายวิ ญ ญ าณ ..กายสั ม ผั ส ..

กายสั ม ผั ส สชาเวทนา..โผฏฐั พ พสั ญ ญา..โผฏฐั พ พสั ญ เจตนา.. โผฏฐั พ พตั ณ หา.. โผฏฐั พ พวิ ต ก..โผฏฐั พ พวิ จ าร..(แต ล ะอย า งทุ ก อย า ง) มี ภ าวะเป น ที่ รั ก เป น ที่ ยิ น ดี ในโลก. ตัณหานั้ น เมื่ อจะเกิด ยอมเกิดขึ้นในกายเป นตนนั้ น ๆ เมื่ อจะเขาไปตั้ งอยู ยอม เขาไปตั้งอยู ในกายเปนตนนั้น ๆ. (หมวดที ่ห ก ) ใจ..ธัม มารมณ ทั ้ง หลาย..มโนวิญ ญ าณ ..มโนสัม ผัส

มโนสัม ผัส สชาเวทนา..ธัม มสัญ ญ า..ธัม มสัญ เจตนา..ธัม มตัณ หา..ธัม มวิต ก.. ธั ม มวิ จ าร..(แต ล ะอย า งทุ ก อย า ง) มี ภ าวะเป น ที่ รั ก เป น ที่ ยิ น ดี ในโลก. ตั ณ หานั้ น เมื่ อจะเกิ ด ย อมเกิ ดขึ้ นในใจเป นต นนั้ น ๆ เมื่ อจะเข าไปตั้ งอยู ย อมเข าไปตั้ งอยู ในใจ เปนตนนั้น ๆ. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ในกาลยืดยาวนานฝายอดีต สมณะหรือพราหมณก็ตาม เหล าใดเหล าหนึ่ ง ได เห็ นแล ว ซึ่งสิ่ งที่ มี ภาวะเป นที่ รักเป นที่ ยิ นดี ในโลก โดยความเป น ของเที ่ย ง, ไดเ ห็น แลว โดยความเปน สุข , ไดเ ห็น แลว โดยความเปน ตัว ตน, ไดเห็นแลว โดยความเปนของไมเสียบแทง, ไดเห็นแลว โดยความเป นของเกษม; สมณะหรือพราหมณ เหลานั้น ชื่อวา ทําตัณหาให เจริญแลว; สมณะหรือพราหมณ เหลาใด ทําตัณหาใหเจริญแลว, สมณะหรือพราหมณ เหลานั้น ชื่อวาทําอุปธิใหเจริญ แลว; สมณะหรือพราหมณ เหลาใด ทําอุปธิใหเจริญแลว, สมณะหรือพราหมณ เหลานั้น ชื่อวาทําทุกขใหเจริญแลว; "สมณะหรือพราหมณเหลาใด ทําทุกขใหเจริญแลว,

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๓๑๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

สมณะหรือพราหมณ เหลานั้น ชื่อวา ไม หลุดพ นแลว จากชาติ ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย : เรากลาววา สมณะหรือพราหมณ เหล านั้ น ไมหลุดพนแลวจากทุกข" ดังนี้. ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย! ในกาลยืดยาวนานฝายอนาคต สมณะหรือพราหมณ ก็ ตามเหล าใดเหล าหนึ่ ง จั กเห็ นสิ่ งซึ่ งมี ภาวะเป นที่ รักเป นที่ ยิ นดี ในโลก โดยความเป น ของเที่ ยง, จั กเห็ นโดยความเป นสุ ข, จั กเห็ นโดยความเป นตั วตน, จั กเห็ นโดยความ เป นของเสี ยบแทง, จักเห็ นโดยความเป นของเกษม; สมณะหรือพราหมณ เหลานั้ น ชื่ อ ว าจั ก ทํ าตั ณ หาให เจริ ญ ; สมณะหรื อ พราหมณ เหล าใด จั ก ทํ าตั ณ หาให เจริ ญ , สมณะหรือพราหมณ เหลานั้ น ชื่อวาจั กทํ าอุ ปธิ ให เจริญ; สมณะหรือพราหมณ เหลาใด จักทําอุปธิให เจริญ, สมณะหรือพราหมณ เหลานั้ น ชื่อวาจั กทํ าทุ กข ให เจริญ; สมณะ หรือพราหมณ เหล าใด จั กทํ าทุ กข ให เจริ ญ, สมณะหรือพราหมณ เหล านั้ น ชื่ อว าจั ก ไม หลุดพนจากชาติ ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย : เรากลาว วา "สมณะหรือพราหมณเหลานั้น จักไมหลุดพนจากทุกข" ดังนี้.

www.buddhadasa.info ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ในกาลอั น เป นป จจุ บั นบั ดนี้ สมณ ะหรื อ พราหมณ ก็ ต ามเหล าใดเหล าหนึ่ ง เห็ น อยู ซึ่ งสิ่ งที่ มี ภ าวะเป น ที่ รั ก เป น ที่ ยิ น ดี ในโลก โดยความเป นของเที่ ยง, เห็ นอยู โดยความเป นสุ ข, เห็ นอยู โดยความเป นตั วตน, เห็ นอยู โดยความเป นของไม เสี ยบแทง, เห็ นอยู โดยความเป นของเกษม; สมณะ หรือพราหมณ เหล านั้ น ชื่ อว า ทํ าตั ณ หาให เจริ ญ อยู ; สมณะหรือพราหมณ เหล าใด ทํ า ตั ณ หาให เจริ ญ อยู , สมณะหรื อ พราหมณ เหล า นั้ น ชื่ อ ว า ทํ า อุ ป ธิ ใ ห เจริ ญ อยู ; สมณะหรื อ พราหมณ เหล า ใด ทํ า อุ ป ธิ ใ ห เจริ ญ อยู , สมณะหรื อ พราหมณ เหล า นั้ น ชื่ อ ว า ทํ า ทุ ก ข ใ ห เ จริ ญ อยู ; สมณะหรื อ พราหมณ เหล า ใด ทํ า ทุ ก ข ใ ห เจริ ญ อยู , สมณะหรือพราหมณ

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๓๑๑

เหลานั้น ยอมไมหลุดพนจากชาติ ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาส ทั้งหลาย : เรากลาววา "สมณะหรือพราหมณเหลานั้น ยอมไมหลุดพนจากทุกข" ดังนี้. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เปรียบเหมือนภาชนะสําริดใสเครื่องดื่มที่ถึงพรอมดวย สี กลิ่ นและรส แต เจื อด วยยาพิ ษ. ครั้นนั้ น บุ รุษผู หนึ่ ง ถู กแดดแผดเผา รอนอบอ าว เพราะแดด เหน็ ดเหนื่ อยเมื่ อยล า หิ วกระหายน้ํ า เดิ นมา. คนทั้ งหลายได พู ดแก เขาวา" แน ะบุ รุษผู เจริญ ! ภาชนะสํ าริดใส น้ํ าดื่ มนี้ ถึ งพรอมด วยสี กลิ่ น และรส แต เจื อด วย ยาพิ ษ ถ าท านประสงค ก็ จงดื่ มเถิ ด. อั นน้ํ านั้ น เมื่ อดื่ มเข าไปแล ว จั กแผ ซาบซ านไป ด วยสี บ าง กลิ่ นบ าง รสบ าง และครั้นท านดื่ มเข าไปแล ว ท านจะถึ งซึ่ งความตาย หรือ ได รับทุ กข เจี ยนตาย เพราะข อนั้ นเป นเหตุ " ดั งนี้ . บุ รุษนั้ น ไม พิ นิ จพิ จารณา ได ดื่ ม น้ํานั้นเขาไปโดยทันที ไม ทิ้งเลย บุ รุษนั้นจะพึ งถึงซึ่งความตาย หรือไดรับทุกขเจียนตาย เพราะขอนั้นเปนเหตุโดยแท, ขอนี้มีอุปมาฉันใด; ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! อุ ปไมยก็ ฉั นนั้ นเหมื อนกั น; กล าวคื อ ในกาลยื ดยาว นานฝ ายอดี ต สมณะหรือพราหมณ ก็ตามเหลาใดเหลาหนึ่ง ไดเห็นแลว ซึ่งสิ่งที่มีภาวะ เป นที่ รักเป นที่ ยิ นดี ในโลก โดยความเป นของเที่ ยง, โดยความเป นสุ ข,โดยความเป น ตั วตน, โดยความเป นของไม เที่ ยง, โดยความเป น ของเกษม; สมณะหรือพราหมณ เหลานั้ น ชื่อวา ทํ าตัณหาให เจริญแลว; สมณะหรือพราหมณ เหลาใด ทํ าตัณหาให เจริญ แล ว, สมณะหรือพราหมณ เหล านั้ น ชื่ อว าทํ าอุ ปธิ ให เจริ ญแล ว; สมณะหรือพราหมณ เหลาใด ทําอุปธิใหเจริญแลว, สมณะหรือพราหมณ เหลานั้น ชื่อวาทําทุกขใหเจริญแลว; สมณะหรือพราหมณ เหล าใด ทํ าทุ กขให เจริญแล ว,สมณะหรือพราหมณ เหล านั้ น ชื่อวา ไม หลุ ดพ นแล ว จากชาติ ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย : เรา กลาววา "สมณะหรือพราหมณเหลานั้น ไมหลุดพนแลวจากทุกข" ดังนี้.

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๓๑๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

ดู กอนภิ กษุ ทั้ งหลาย!อนึ่ ง ในกาลยื ดยาวนานฝ ายอนาคต สมณะหรือพราหมณ ก็ตาม เหล าใดเหล าหนึ่ ง จักเห็ นสิ่ งซึ่ งมี ภาวะเป นที่ รักเป นที่ ยิ นดี ในโลก โดยความเป น ของเที่ ย ง, โดยความเป น สุ ข , โดยความเป น ตั ว ตน, โดยความเป น ของเสี ย บแทง, โดยความเปนของเกษม; สมณะหรือพราหมณ เหลานั้น ชื่อวาจักทํ าตัณหาใหเจริญ; สมณะ หรือพราหมณ เหลาใด จักทํ าตั ณหาให เจริญ, สมณะหรือพราหมณ เหล านั้ น ชื่อวาจักทํ า อุ ปธิ ให เจริญ; สมณะหรือพราหมณ เหล าใด จั กทํ าอุ ปธิให เจริญ, สมณะหรือพราหมณ เหล านั้ น ชื่ อวาจั กทํ าทุ กขให เจริญ; สมณะหรือพราหมณ เหล าใด จักทํ าทุ กข ให เจริญ, สมณะหรื อพราหมณ เหล านั้ น ชื่ อว า จั กไม หลุ ดพ นจากชาติ ชรามรณะ โสกะปริ เทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย : เรากล าวว า "สมณะหรือพราหมณ เหล านั้ น จั กไม หลุดพนจากทุกข" ดังนี้. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย!อนึ่ง ในกาลอันเป นปจจุบั นบัดนี้ สมณะหรือพราหมณ ก็ ตามเหล าใดเหล าหนึ่ ง เห็ นอยู ซึ่งสิ่ งที่ มี ภาวะเป นที่ รักเป นที่ ยิ นดี ในโลก โดยความเป น ของเที่ ยง, โดยความเป น สุ ข, โดยความเป น ตั วตน, โดยความเป นของไม เสี ยบแทง, โดยความเป นของเกษม; สมณะหรือพราหมณ เหล านั้ น ชื่ อวาทํ าตั ณ หาให เจริญ อยู ; สมณะหรือพราหมณ เหลาใด ทําตัณหาใหเจริญอยู, สมณะหรือพราหมณ เหลานั้น ชื่อวา ทําอุปธิใหเจริญอยู; สมณะหรือพราหมณ เหลาใด ทําอุปธิใหเจริญอยู, สมณะหรือพราหมณ เหล านั้ น ชื่ อวาทํ าทุ กข ให เจริญอยู ; สมณะหรือพราหมณ เหล าใด ทํ าทุ กขให เจริญอยู , สมณะหรื อ พราหมณ เหล านั้ น ย อ มไม ห ลุ ด พ น จากชาติ ชรามรณะ โสกะปริ เทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย : เรากล าวว า "สมณะหรือพราหมณ เหล านั้ น ย อมไม หลุดพนจากทุกข" ดังนี้.

www.buddhadasa.info (ตอไปนี้ เปนปฏิปกขนัย ฝายตรงขาม)

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๓๑๓

ดู ก อ นภิ กษุ ทั้ งหลาย!ส วนสมณะหรื อ พราหมณ ก็ ต ามเหล าใดเหล าหนึ่ ง ในกาลยืดยาวนานฝายอดีต ไดเห็นแลว ซึ่งสิ่งที่มีภาวะเปนที่รักเปนที่ยินดีในโลก โดย ความเปนของไมเที่ยง, เปนทุกข, เปนสภาพมิใชตัวตน, เปนของเสียบแทง, เปน ภั ยน ากลั ว แล ว, สมณะหรือพราหมณ เหล านั้ น ชื่ อวาละตั ณหาได แล ว; สมณะหรือ พราหมณ เหลาใด ละตัณหาไดแลว, สมณะหรือพราหมณ เหลานั้น ชื่อวาละอุปธิไดแลว; สมณะหรือพราหมณ เหล าใด ละอุ ปธิได แล ว, สมณะหรือพราหมณ เหล านั้ น ชื่อวาละทุกขไดแลว; สมณะหรือพราหมณ เหลาใด ละทุกขไดแลว, สมณะหรือพราหมณ เหลานั้น ชื่อวาหลุดพนแลว จากชาติ ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาส ทั้งหลาย : เรากลาววา "สมณะหรือพราหมณเหลานั้น หลุดพนแลวจากทุกข" ดังนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! อนึ่ ง สมณะหรื อพราหมณ ก็ ตามเหล าใดเหล าหนึ่ ง ในกาลยืดยาวนานฝายอนาคต จักเห็นสิ่งซึ่งมีภาวะเปนที่รักเปนที่ยินดีในโลก โดย ความเปนของไมเที่ยง, เปนทุกข, เปนสภาพมิใชตัวตน, เปนของเสียบแทง, เปน ภัยนากลัว แลว, สมณะหรือพราหมณเหลานั้น ชื่อวา จักละตัณหาเสียได; สมณะหรือ พราหมณ เหลาใด จักละตัณหาเสียได, สมณะหรือพราหมณ เหลานั้น ชื่อวาจักละอุ ปธิ เสียได ; สมณะหรือพราหมณ เหลาใด จักละอุปธิเสียได, สมณะหรือพราหมณ เหลานั้น ชื่อวาจักละทุกขเสียได; สมณะหรือพราหมณ เหลาใด จักละทุกขเสียได, สมณะหรือ พราหมณเหลานั้น ชื่อวา จักหลุดพน จากชาติ ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัส อุปายาสทั้งหลาย : เรากลาววา "สมณะหรือพราหมณเหลานั้น จักหลุดพนจากทุกข ได" ดังนี้.

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! อนึ่ ง สมณะหรื อพราหมณ ก็ ตามเหล าใดเหล าหนึ่ ง ในกาลอันเปนปจจุบันบัดนี้ เห็นอยู ซึ่งสิ่งที่มีภาวะเปนที่รักเปนที่ยินดีในโลก โดยความ

www.buddhadasa.info


๓๑๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

เปนของไมเที่ยง, เปนทุกข, เปนสภาพมิใชตัวตน, เปนของเสียบแทง, เปนภัยนา กลั ว แล ว, สมณะหรือพราหมณ เหล านั้ น ชื่ อวาละตั ณ หาได ; สมณะหรือพราหมณ เหล าใด ละตั ณ หาได , สมณะหรื อพราหมณ เหล านั้ น ชื่ อ ว าละอุ ป ธิ ได ; สมณะหรื อ พราหมณ เหล าใด ละอุ ปธิ ได , สมณะหรือพราหมณ เหล านั้ น ชื่ อว าละทุ กข ได ; สมณะ หรือพราหมณ เหลาใด ละทุ กขได, สมณะหรือพราหมณ เหลานั้ น ชื่อวายอมหลุ ดพ น จาก ชาติ ชรามรณะ โสกะปริ เทวะทุ ก ขะโทมนั ส อุ ป ายาสทั้ งหลาย : เรากล าวว า" สมณะหรือพราหมณเหลานั้น ยอมหลุดพนจากทุกข" ดังนี้. ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย! เปรียบเหมือนภาชนะสําริดใสเครื่องดื่มที่ถึงพรอมดวย สี กลิ ่น และรส แตเ จือ ดว ยยาพิษ . ครั ้ง นั ้น บุร ุษ ผู ห นึ ่ง ถูก แดดแผดเผา รอ น อบอ าวเพราะแดด เหน็ ดเหนื่ อยเมื่ อ ยล า หิ วกระหายน้ํ า เดิ นมา. คนทั้ งหลายได พู ด แก เ ขาว า "แน ะ บุ รุ ษ ผู เ จริ ญ ! ภาชนะใส น้ํ า สุ ร านี้ ถึ ง พร อ มด ว ยสี กลิ่ น และรส แต เจื อ ด ว ยยาพิ ษ ถ า ท า นประสงค ก็ จ งดื่ ม เถิ ด . ก็ น้ํ า สุ ร านั้ น เมื่ อ ดื่ ม เข า ไปแล ว จั กแผ ซาบซ านไปด วยสี บ าง กลิ่ นบ าง รสบ าง และครั้ นท านดื่ มเข าไปแล ว ท านจะถึ ง ซึ่งความตาย หรือไดรับทุกขเจียนตาย เพราะขอนั้นเปนเหตุ" ดังนี้.

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ครั้ งนั้ น บุ รุ ษนั้ นพึ งคิ ดอย างนี้ ว า "สุ รานี้ เราดื่ มแล ว เราอาจจะบรรเทาด วยน้ํ าเย็ น บ าง ด วยหั วนมส ม บ าง ด วยน้ํ าข าวสั ตตุ เค็ ม บ าง หรื อ ด วยน้ํ าโลณโสจิ รกะบ าง แต เราจะไม ดื่ มสุ รานั้ นเลย เพราะไม เป นประโยชน มี แต เป นไป เพื่ อทุ กข โทษแก เราตลอดกาลนาน" บุ รุษนั้ นพิ จารณาดู ภาชนะใส สุ รานั้ นแล ว ไม พึ งดื่ ม พึ งทิ้ งเสี ย , บุ รุ ษ นั้ น ก็ จ ะไม พึ งถึ งซึ่ งความตายหรื อ ได รั บ ทุ ก ข เจี ย นตาย เพราะข อ นั้ น เปนเหตุ, อุปมานี้ฉันใด;

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๓๑๕

ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! อุ ป ไมยก็ ฉั น นั้ น เหมื อ นกั น ; กล าวคื อ สมณะหรื อ พราหมณ ก็ตาม เหลาใดเหลาหนึ่ง ในกาลยืดยาวนานฝายอดีต ไดเห็นแลว ซึ่งสิ่งที่มีภาวะ เป นที่ รักเป นที่ ยิ นดี ในโลก โดยความเป นของไม เที่ ยง, เป นทุ กข , เป นสภาพมิ ใช ตั วตน, เป น ของเสี ย บแทง, เป น ภั ย น า กลั ว แล ว , สมณะหรื อ พราหมณ เหล า นั้ น ชื่ อ ว า ละตั ณหาได แล ว; สมณะหรื อพราหมณ เหล าใด ละตั ณหาได แล ว, สมณะหรื อพราหมณ เหล านั้ น ชื่ อว าละอุ ปธิ ได แล ว; สมณะหรื อพราหมณ เหล าใด ละอุ ปธิ ได แล ว, สมณะ หรือพราหมณ เหล านั้ น ชื่ อว าละทุ กข ได แล ว; สมณะหรือพราหมณ เหล าใด ละทุ กข ได แล ว, สมณะหรื อพราหมณ เหล านั้ น ชื่ อว าหลุ ดพ นแล ว จากชาติ ชรามรณะ โสกะปริ เทวะทุ กขะโทมนั ส อุ ป ายาสทั้ งหลาย : เรากล าวว า"สมณะหรื อ พราหมณ เหล านั้ น หลุ ดพ นแล ว จากทุกข" ดังนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! อนึ่ ง สมณะหรื อพราหมณ ก็ ตามเหล าใดเหล าหนึ่ ง ใน กาลยื ดยาวนานฝ ายอนาคต จักเห็ นสิ่ งซึ่ งมี ภาวะเป นที่ รักเป นที่ ยิ นดี ในโลก โดยความ เป นของไม เที่ ยง, เป นทุ กข, เป นสภาพมิ ใช ตั วตน, เป นของเสี ยบแทง, เป นภั ยน ากลั ว แล ว, สมณะหรื อพราหมณ เหล านั้ น ชื่ อว าจั กละตั ณ หาเสี ยได ; สมณะหรื อพราหมณ เหล าใด จั กละตั ณหาเสี ยได , สมณะหรือพราหมณ เหล านั้ น ชื่ อว าจั กละอุ ปธิ เสี ยได ; สมณะหรือ พราหมณ เหล าใด จั กละอุ ปธิ เสี ยได , สมณะหรื อพราหมณ เหล านั้ น ชื่ อว าจั กละทุ กข เสี ยได ; สมณะหรือพราหมณ เหล าใด จั กละทุ กข เสี ยได , สมณะหรือพราหมณ เหล านั้ น ชื่ อว าจั กหลุ ดพ น จากชาติ ชรามรณะ โสกะปริ เทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย : เรา กลาววา"สมณะหรือพราหมณเหลานั้น จักหลุดพนจากทุกข" ดังนี้.

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! อนึ่ ง สมณะหรื อพราหมณ ก็ ตามเหล าใดเหล าหนึ่ ง ในกาลอันเปนปจจุบันบัดนี้เห็นอยู ซึ่งสิ่งที่มีภาวะเปนที่รักเปนที่ยินดีในโลก โดยความ

www.buddhadasa.info


๓๑๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

เป นของไม เที่ ยง, เป นทุ กข , เป นสภาพมิ ใช ตั วตน, เป นของเสี ยบแทง, เป นภั ยน ากลั ว แล ว, สมณะหรื อพราหมณ เหล านั้ น ชื่ อว าละตั ณ หาได ; สมณะหรื อพราหมณ เหล าใด ละตั ณ หาได , สมณะหรือ พราหมณ เหล านั้ น ชื่ อ ว าละอุ ป ธิ ได ; สมณะหรือ พราหมณ เหล าใดละอุ ปธิ ได , สมณะหรือพราหมณ เหล านั้ น ชื่ อวาละทุ กข ได ; สมณะหรือพราหมณ เหล าใด ละทุ กขได , สมณะหรือพราหมณ เหลานั้ น ชื่ อวา ย อมหลุ ดพ น จากชาติ ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย : เรากล าวว า"สมณะหรื อพราหมณ เหล านั้ น ยอมหลุดพนจากทุกข" ดังนี้.

ธรรมปฏิบัติในรูปของปฏิจจสมุปบาท แหงการละองคสามตามลําดับ๑ ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย! ถาธรรมทั้ งหลาย ๓ ประการเหลานี้ ไมพึ งมีอยูในโลก แล วไซร , ตถาคตก็ ไม ต อ งเกิ ด ขึ้ น ในโลกเป น อรหั น ตสั ม มามั ม พุ ท ธะ; และธรรมวิ นั ย ที่ ตถาคตประกาศแล วก็ ไม ต องรุ งเรื องในโลก. ธรรมทั้ งหลาย ๓ ประการ คื ออะไรเล า? ธรรมทั้ งหลาย ๓ ประการ คื อ ชาติ ด วย ชราด วย มรณะด วย. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ธรรมทั้ งหลาย ๓ ประการเหล านี้ แล ถ าไม มี ในโลกแล วไซร ตถาคตก็ ไม ต อ งเกิ ด ขึ้ น ในโลกเป นอรหั นตสั มมามั มพุ ทธะ; และธรรมวิ นั ยที่ ตถาคตประกาศแล วก็ ไม ต องรุ งเรื อง ในโลก.

www.buddhadasa.info

สูตรที่ ๖ อากังขวรรค ทสก. อํ. ๒๔/๑๕๔/๗๖, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๓๑๗

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะเหตุ ใดแล ที่ ธรรมทั้ งหลาย ๓ ประการเหล านี้ มี อยู ในโลก เพราะเหตุ นั้ น ตถาคตจึ งต องเกิ ดขึ้ นในโลกเป นอรหั นตสั มมาสั มพุ ทธะ; และธรรมวินัยที่ตถาคตประกาศแลว จึงตองรุงเรืองในโลก. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! บุ คคล เมื่ อไม ละซึ่ งธรรมสาม คื อ ราคะ ๑ โทสะ ๑ โมหะ ๑ ก็ไมอาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ ชาติ ๑ ชรา ๑ มรณะ ๑. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! บุ คคล เมื่ อไม ละซึ่ งธรรมสาม คื อ สั ก กายทิ ฏ ฐิ (ความเห็นวากายของตน) ๑ วิจิกิจฉา (ความลังเลในธรรมที่ไมควรลังเล) ๑ สีลัพพัตตปรามาส (การลูบคลําศีลและวัตรอยางปราศจากเหตุผล) ๑ ก็ไม อาจเพื่ อละซึ่งธรรมสาม คือ ราคะ ๑ โทสะ ๑ โมหะ ๑ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! บุคคล เมื่อไมละซึ่งธรรมสาม คือ อโยนิโส มนสิการ (ความทําในใจไมแยบคาย) ๑ กุมมัคคเสวนา (การพัวพันอยูในทิฏฐิอันชั่ว) ๑ เจตโส ลีนั ตตา (ความมีจิตหดหู) ๑ ก็ไมอาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ สักกายทิฏฐิ ๑ วิจิกิจฉา ๑ สีลัพพัตตปรามาส ๑ .

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! บุ คคล เมื่ อไม ละซึ่ งธรรมสาม คื อ มุ ฏฐสั จจะ (ความ มีสติอันลืมหลง) ๑ อสัมปชัญญะ (ความปราศจากสัมปชัญญะ) ๑ เจตโส วิกเขปะ (ความส ายแห งจิ ต ) ๑ ก็ ไม อ าจเพื่ อละซึ่ งธรรมสาม คื อ อโยนิ โส มนสิ ก าร ๑ กุ ม มัคค-เสวนา ๑ เจตโสลีนัตตา ๑. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! บุคคล เมื่อไมละซึ่งธรรมสาม คืออริยานัง อทัสสนกัมยตา (ความไมอยากเห็นพระอริยเจา) ๑ อริยธัมมัง อโสตุกัมยตา (ความไมอยาก

www.buddhadasa.info


๓๑๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

ฟงธรรมของพระอริยเจา) ๑ อุ ปารัมภจิตตตา (ความมี จิตเที่ยวเกาะเกี่ยว) ๑ ก็ไม อาจ เพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ มุฏฐสัจจะ ๑ อสัมปชัญญะ ๑ เจตโส วิกเขปะ ๑. ดูกอนภิ กษุ ทั้ งหลาย! บุ คคล เมื่อไมละซึ่งธรรมสาม คื อ อุ ทธัจจะ (ความ ฟุ งซ าน) ๑ อสั งวระ (ความไม สํ ารวม) ๑ ทุ สสี ลยะ (ความทุ ศี ล) ๑ ก็ ไม อาจเพื่ อ ละซึ่ งธรรมสาม คื อ อริยานั ง อทั สสนกั มยตา ๑ อริยธั มมั ง อโสตุ กั มยตา ๑ อุ ปารัมภจิตตตา ๑. ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย! บุ คคล เมื่ อไม ละซึ่งธรรมสาม คือ อสั ทธิ ยะ (ความ ไม มี สั ทธา) ๑ อวทั ญุ ตา (ความไม เป นวทั ญู ) ๑ โกสั ชชะ (ความเกียจคราน) ๑ ก็ไมอาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ อุทธัจจะ ๑ อสังวระ ๑ ทุสสีลยะ ๑ ดูก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! บุ คคล เมื่ อไม ละซึ่งธรรมสาม คื อ อนาทริยะ (ความ ไม เอื้ อเฟ อในบุ คคลและธรรมอั นควรเอื้ อเฟ อ) ๑ โทวจั สสตา (ความเป นคนว ายาก) ๑ ปาปมิ ต ตา (ความมี มิ ต รชั่ ว ) ๑ ก็ ไ ม อ าจเพื่ อ ละซึ่ ง ธรรมสาม คื อ อสั ท ธิ ย ะ๑ อวทัญุตา ๑ โกสัชชะ ๑

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! บุ คคล เมื่ อไม ละซึ่ งธรรมสาม คื อ อหิ ริ กะ (ความ ไมละอายในสิ่งที่ควรละอาย) ๑ อโนตตัปปะ (ความไมกลัวในสิ่งที่ควรกลัว) ๑ ปมาทะ (ความประมาท) ๑ ก็ ไม อาจเพื่ อละซึ่ งธรรมสาม คื อ อนาทริ ยะ ๑ โทวจั สสตา ๑ ปาปมิตตา ๑: ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! บุคคลนี้ เปนผูมีอหิริกะ มีอโนตตัปปะ มีปมาทะ แลว.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๓๑๙

เขาเมื่ อเป นผู มี ปมาทะอยู แล ว ก็ ไม อาจเพื่ อละซึ่ ง อนาทริยะ ๑ โทวจั สสตา ๑ ปาปมิตตา ๑; เขาเมื่ อเป นผู มี ปาปมิ ตตตา ก็ ไม อาจเพื่ อละซึ่ ง อสั ทธิ ยะ๑ อวทั ญ ุ ตา ๑ โกสัชชะ ๑ เขาเมื่อเปนผูมีโกสัชชะ ก็ไมอาจเพื่อละซึ่ง อุทธัจจะ ๑ อสังวระ ๑ ทุสสีลยะ ๑ เขาเมื่ อเป นผู มี ทุ สสี ลยะ ก็ ไม อาจเพื่ อละซึ่ ง อริ ยานั ง อทั สสนกั มยตา ๑ อริยธัมมัง อโสตุกัมยตา ๑ อุปารัมภจิตตตา ๑. เขาเมื่ อเป นผู มี อุ ปารั มภจิ ตตตา ก็ ไม อาจเพื่ อละซึ่ ง มุ ฏฐสั จจะ ๑ อสั มปชัญญะ ๑ เจตโส วิกเขปะ ๑. เขาเมื่ อเป นผู มี เจตโส วิ กเขปะ ก็ ไม อาจเพื่ อละซึ่ ง อโยนิ โส มนสิ การ ๑ กุมมัคคเสวนา ๑ เจตโส ลีนัตตา ๑.

www.buddhadasa.info เขาเมื่ อ เป น ผู มี เ จตโส ลี นั ต ตา ก็ ไ ม อ าจเพื่ อ ละซึ่ ง สั ก กายทิ ฏ ฐิ ๑ วิจิกิจฉา ๑ สีลัพพัตตปรามาส ๑ . เขาเมื่อเปนผูมีวิจิกิจฉา ก็ไมอาจเพื่อละซึ่ง ราคะ ๑ โทสะ ๑ โมหะ ๑ เขาเมื่ อ ไม ล ะซึ่ งราคะ ๑ โทสะ ๑ โมหะ ๑ ก็ ไม อ าจเพื่ อ ละซึ่ งชาติ ๑ ชรา ๑ มรณะ ๑

www.buddhadasa.info


๓๒๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖ (ปฏิปกขนัย)

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! บุ คคล เมื่ อละซึ่ งธรรมสาม คื อ ราคะ ๑ โทสะ ๑ โมหะ ๑ ก็อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ ชาติ ๑ ชรา ๑ มรณะ ๑. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! บุ คคล เมื่ อละซึ่ งธรรมสาม คื อ สั กกายทิ ฏ ฐิ ๑ วิจิกิจฉา ๑ สีลัพพัตตปรามาส ๑ ก็อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ ราคะ ๑ โทสะ ๑ โมหะ ๑ ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! บุ ค คล เมื่ อ ละซึ่ งธรรมสาม คื อ อโยนิ โส มนสิก าร ๑ กุม มัค คเสวนา ๑ เจตโส ลีนัต ตา ๑ ก็อ าจเพื่อ ละซึ่งธรรมสาม คือ สักกายทิฏฐิ ๑ วิจิกิจฉา ๑ สีลัพพัตตปรามาส ๑ . ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! บุ ค คล เมื่ อ ละซึ่ งธรรมสาม คื อ มุ ฏ ฐสั จ จะ ๑ อสั ป ชั ญ ญะ๑ เจตโส วิ กเขปะ ๑ ก็ อาจเพื่ อละซึ่ งธรรมสาม คื อ อโยนิ โส มนสิ การ ๑ กุมมัคคเสวนา ๑ เจตโส ลีนัตตา ๑.

www.buddhadasa.info ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! บุ ค คล เมื่ อ ละซึ่ ง ธรรมสาม คื อ อริ ย านั ง อทัสสนกัมยตา ๑ อริยนัง อโสตุกัมยตา ๑ อุปารัมภจิตตตา ๑ ก็อาจเพื่อละซึ่ง ธรรมสาม คือ มุฏฐสัจจะ ๑ อสัปชัญญะ ๑ เจตโส วิกเขปะ ๑.

ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! บุ ค คล เมื่ อ ละซึ่ ง ธรรมสาม คื อ อุ ท ธั จ จะ ๑ อสังวระ ๑ ทุ สสีลยะ ๑ ก็อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ อริยานัง อทัสสนกัมยตา ๑ อริยธัมมัง อโสตุกัมยตา ๑ อุปารัมภจิตตตา ๑.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๓๒๑

ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! บุ ค คล เมื่ อ ละซึ่ ง ธรรมสาม คื อ อสั ท ธิ ย ะ๑ อวทั ญุ ตา ๑ โกสั ชชะ ๑ ก็ อาจเพื่ อละซึ่งธรรมสาม คื อ อุทธัจจะ ๑ อสั งวระ ๑ ทุสสีลยะ๑ ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! บุ ค คล เมื่ อ ละซึ่ ง ธรรมสาม คื อ อนาทริ ย ะ ๑ โทวจัสสตา ๑ ปาปมิตตา ๑ ก็อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ อสัทธิยะ๑ อวทัญุ ตา ๑ โกสัชชะ ๑ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! บุ คคล เมื่ อละซึ่ งธรรมสาม คื อ อหิ ริกะ ๑ อโนต ตั ป ปะ ๑ ปมาทะ ๑ ก็ อาจเพื่ อละซึ่ งธรรมสาม คื อ อนาทริยะ ๑ โทวจั สสตา ๑ ปาปมิตตา ๑. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! บุ ค คลนี้ เป น ผู มี หิ ริ มี โอตตั ป ปะ มี อั ป ปมาทะ (ความไมประมาท) แลว. ขาเมื่อเปนผูมีอัปปมาทะอยูแลว ก็อาจเพื่อละซึ่ง อนาทริยะ ๑ โทวจัสสตา ๑ ปาปมิตตา ๑;

www.buddhadasa.info เข า เมื่ อ เป น ผู มี กั ล ย า ณ มิ ต ต ะ ก็ อ าจ เพื่ อ ล ะ ซึ่ ง อ สั ท ธิ ย ะ ๑ อวทัญุตา ๑ โกสัชชะ ๑

เขาเมื่อเป นผูมี อารัทธวิริยะ (ความเพี ยรอันปรารภแลว) ก็อาจเพื่ อละซึ่ง อุทธัจจะ ๑ อสังวระ ๑ ทุสสีลยะ๑

www.buddhadasa.info


๓๒๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

เขาเมื่ อเป นผู มี ศี ล ก็ อาจเพื่ อละซึ่ ง อริยานั ง อทั สสนกั มยตา ๑ อริยธั มมั ง อโสตุกัมยตา ๑ อุปารัมภจิตตตา ๑. เขาเมื่อเปนผูมีอนุปารัมภจิตตะ (จิตไมเที่ยวไปเกาะเกี่ยวแลว) ก็อาจเพื่อละ ซึ่งมุฏฐสัจจะ ๑ อสัปชัญญะ ๑ เจตโส วิกเขปะ ๑. เขาเมื่ อเป นผู มี อวิ กขิ ตตจิ ตตะ (จิ ตไม ส ายแล ว) ก็ อาจเพื่ อละซึ่ ง อโยนิ โสมนสิการ ๑ กุมมัคคเสวนา ๑เจตโสลีนัตตา ๑. เขาเมื่อเปนผูมี อลีนจิตตะ (จิตไมหดหูแลว) ก็อาจเพื่อละซึ่ง สักกายทิฏฐิ ๑ วิจิกิจฉา ๑ สีลัพพัตตปรามาส ๑ . เขาเมื่อเปนผูไมมีวิจิกิจฉา ก็อาจเพื่อละซึ่ง ราคะ ๑ โทสะ ๑ โมหะ ๑ เขาเมื่ อเปนผูละไดแลวซึ่ง ราคะ ๑ โทสะ ๑ โมหะ ๑ ก็อาจเพื่ อละซึ่ง ชาติ ๑ ชรา ๑ มรณะ ๑, ดังนี้ แล.

www.buddhadasa.info ห ม ายเห ตุ ผู รวบ รวม : ผู ศึ ก ษ าพึ งสั ง เกตให เห็ นว า คํ าว า "ปฏิ จจสมุป บาท" มีค วามหมายกวา ง คือ มิไ ดห มายถึง หลัก ธรรมที ่ก ลา ววา อวิช ฺช าปจฺจ ยา สงฺ ข ารา เป น ต น เพี ย งอย า งเดี ย ว. แต ห มายถึ ง หลั ก ธรรมใด ๆ ก็ ไ ด ที่ เนื่ อ งกั น เป น สาย ในฐานะเป น ป จ จั ย แก กั น และกั น สื บ ต อ ๆ กั น ไป ตามหลั ก ที่ เรี ย กว า อิ ทั ป ป จ ยตา ดั งเช น ข อ ความในเรื่ อ งนี้ ซึ่ ง ลั ก ษณะอาการของปฏิ จ จสมุ ป บาทแสดงให เห็ น ชั ด อยู หากแต ว า แสดงไปในลั ก ษณะของการปฏิ บั ติ ; ดั งนั้ น จึ งนํ า มาแสดงให เห็ น เพื่ อ ประโยชน ทั้ งแก ก าร ศึก ษาและการปฏิบ ัต ิ และเพื ่อ ใหเ ขา ใจความหมายของคํ า วา "ปฏิจ จสมุป บาท" หรือ "อิ ทั ป ป จ จยตา" ยิ่ ง ขึ้ น ไป. หลั ก ธรรมปฏิ บั ติ ที่ อ ยู ใ นรู ป ของปฏิ จ จสมุ ป บาท เช น นี้ ยั ง มี อีกมาก ลวนแตควรแกการสนใจ.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๓๒๓

วิธีปฏิบัติตออาหารที่สี่ ในลักษณะที่เปนปฏิจจสมุปบาท๑ ก. วาดวยลักษณะอาหารสี่ โดยอุปมา ดูกอนภิ กษุ ทั้ งหลาย! อาหาร ๔ อยางเหลานี้ ยอมเป นไปเพื่ อความดํ ารง อยูของภูตสัตวทั้หลาย หรือวา เพื่ออนุเคราะหแกสัมภเวสีสัตวทั้งหลาย. อาหาร ๔ อยาง เปนอยางไรเลา? สี่อยางคือ (๑) กพฬี การาหาร ที่หยาบบาง ละเอียดบาง (๒) ผัสสะ (๓) มโนสัญเจตนา (๔) วิญญาณ. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! อาหาร ๔ อยาง เหล านี้ แล ย อมเป นไปเพื่ อความดํ ารงอยู ของภู ตสั ตว ทั้ งหลาย หรือว า เพื่ ออนุ เคราะห แกสัมภเวสีทั้งหลาย. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ก็กพฬี การาหาร จะพึงเห็นไดอยางไร? ดูกอนภิกษุ ทั้ งหลาย! เปรียบเหมื อนภรรยาสามี สองคน ถื อเอาสะเบี ยงสํ าหรับเดิ นทางเล็ กน อย เดิ น ไปสูหนทางอันกันดาร สองสามี ภรรยานั้น มี บุ ตรน อยคนเดียวผู น ารักนาเอ็นดู อยู คนหนึ่ ง เมื่อขณะเขาทั้งสองกําลังเดินไปตามทางอันกันดารอยูนั้น สะเบียงสําหรับเดินทางที่เขามีอยู เพี ย งเล็ ก น อ ยนั้ น ได ห มดสิ้ น ไป หนทางอั น กั น ดารนั้ น ยั ง เหลื อ อยู เขาทั้ งสองนั้ น ยั งไม เดิ นข ามหนทางอั นกั นดารนั้ นไปได ครั้งนั้ นแล สองภรรยาสามี นั้ นได มาคิ ดกั นว า "สะเบี ยงสํ าหรับเดิ นทางของเราทั้ งสองที่ มี อยู เพี ยงเล็ กน อยนี้ ได หมดสิ้ นลงแล ว หนทาง อันกันดารนี้ ยังเหลืออยู ทั้งเราก็ยังไม เดิ นขามหนทางอันกันดารนี้ไปได อยากระนั้นเลย เราทั้งสองคนพึงฆาบุตรนอยคนเดียวผูนารักนาเอ็นดูนี้เสีย แลวทําใหเปนเนื้อเค็มและ

www.buddhadasa.info

สูตรที่ ๓ มหาวรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน. สํ.๑๖/๑๑๘/๒๔๐, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๓๒๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

เนื้ออยาง บริโภคเนื้อบุตรนี้แหละเดินขามหนทางอันกันดารที่ยังเหลืออยูนี้กันเถิด เพราะถาไม ทํ า เช น นี้ พวกเราทั้ ง สามคนจะต อ งพากั น พิ น าศหมดแน " ดั ง นี้ . ครั้ ง นั้ น แล ภรรยาสามีทั้งสองนั้น จึงฆาบุตรนอยคนเดียวผูนารักนาเอ็นดูนั้น แลวทําใหเปนเนื้อเค็ม และเนื้อยาง บริโภคเนื้อบุตรนั้นเทียว เดินขามหนทางอันกันดารที่ยังเหลืออยูนั้น สองภรรยาสามี นั้ น บริโภคเนื้ อบุ ตรไปพลางพรอมกั บค อนอกไปพลาง รําพั นวา "บุ ตรน อย คนเดียวของเราไปไหนเสีย บุตรนอยคนเดียวของเราไปไหนเสีย"ดังนี้ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เธอทั้ งหลายจะสํ าคั ญ ความข อนี้ ว าอย างไร? สอง ภรรยาสามี นั้ นจะพึ งบริโภคเนื้ อบุ ตรเป นอาหาร เพื่ อความเพลิ ดเพลิ นสนุ กสนานบ าง เพื่ อความมั วเมาบ าง เพื่ อความประดั บประดาบ าง หรือเพื่ อตบแต ง(รางกาย)บ าง หรือ หนอ? ภิกษุทั้งหลายเหลานั้นกราบทูลวา "ขอนั้นหาเปนเชนนั้นไม พระเจาขา!" แลวตรัส ตอไปวา "ถาอยางนั้นสองภรรยาสามีนั้น จะพึงบริโภคเนื้อบุตรเปนอาหาร" เพียงเพื่ อ (อาศั ย )เดิ น ข า มหนทางอั น กั น ดารเท า นั้ น ใช ไหม? "ใช พระเจ า ข า !". ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ข อนี้ มี อุ ปมาฉั น ใด,เราย อมกล าวว า กพฬี การาหาร อั นอริยสาวกพึ งเห็ น (ว า มี อุ ป มาเหมื อ นเนื้ อ บุ ต ร)ฉั น นั้ น . ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! เมื่ อ กพฬี ก าราหาร อันอริยสาวกกําหนดรูไดแลว, ราคะ(ความกําหนัด)ที่มีเบญจกามคุณเปนแดน เกิดยอมเปนสิ่งที่อริยสาวกนั้นกําหนดรูไดแลวดวย; เมื่อราคะที่มีเบญจกามคุณ เปนแดนเกิด เปนสิ่งที่อริยสาวกนั้นกําหนดรูไดแลว, สังโยชนชนิดที่อริยสาวก ประกอบเขาแลวจะพึงเปนเหตุใหมาสูโลกนี้ไดอีก ยอมไมมี.

www.buddhadasa.info ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ก็ ผั ส สาหาร จะพึ งเห็ น ได อ ย างไร? ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้งหลาย! เปรียบเหมือนแมโคนมที่ปราศจากหนังหอหุม: ถาแม โคนมนั้นพึ งยืนพิ งฝาอยู ไซร มันก็จะพึงถูกพวกสัตวที่อาศัยฝาเจาะกิน; ถาแมโคนมนั้นพึงยืนพิงตนไมอยูไซร

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๓๒๕

มั น ก็ จ ะพึ ง ถู ก พวกสั ต ว ที่ อ าศั ย ต น ไม ไชกิ น ; ถ า หากแม โคนมนั้ น จะพึ งลงไปแช น้ํ า อยู ไซร มั น ก็ พึ ง ถู ก พวกสั ต ว ที่ อ าศั ย น้ํ า ตอดกั ด กิ น ; ถ า หากแม โ คนมนั้ น จะพึ ง ยั น อาศั ย อยู ในที่ โล งแจ งไซร มั น ก็ จ ะพึ ง ถู ก พวกสั ต ว ที่ อ าศั ย อยู ในอากาศเกาะกั ด จิ ก กิ น ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! แม โคนมที่ ปราศจากหนั งหุ มนั้ น จะพึ งไปอาศั ยอยู ในสถานที่ ใด ๆ ก็ ตาม มั นก็ จะพึ งถู กจํ าพวกสั ตว ที่ อาศั ยอยู ในสถานที่ นั้ น ๆ กั ดกิ นอยู ร่ํ าไป,ข อนี้ มี อุ ปมา ฉั น ใด ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! เราย อ มกล าวว า ผั ส สาหาร อั น อริ ย สาวกพึ งเห็ น (ว า มี อุ ป มาเหมื อ นแม โคนมที่ ป ราศจากหนั ง ห อ หุ ม ) ฉั น นั้ น . ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! เมื่ อ ผัสสาหาร อันอริยสาวกกําหนดรูไดแลว, เวทนาทั้งสาม ยอมเปนสิ่งที่อริยสาวก นั้นกําหนดรูไดแลวดวย; เมื่อเวทนาทั้งสาม เปนสิ่งที่อริยสาวกกําหนดรูไดแลว, เรายอมกลาววา "สิ่งไร ๆ ที่ควรกระทําใหยิ่งขึ้นไป (กวานี้) ยอมไมมีแกอริยสาวก นั้น" ดังนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ ม โนสั ญ เจตนาหาร จะพึ งเห็ นได อย างไร? ดู ก อน ภิ กษุ ทั้ งหลาย! เปรี ยบเสมื อนหลุ มถ านเพลิ ง ลึ กเกิ นกว าชั่ วบุ รุ ษหนึ่ ง เต็ มด วยถ านเพลิ ง ที ่ป ราศจากเปลวและปราศจากควัน มีอ ยู . ครั ้ง นั ้น บุร ุษ หนึ ่ง ผู ต อ งการเปน อยู ไม อ ยากตาย รั ก สุ ข เกลี ย ดทุ ก ข มาสู ที่ นั้ น . และมี บุ รุ ษ ที่ มี กํ า ลั งกล า แข็ งอี ก สองคน จั บบุ รุ ษนั้ น ที่ แขนแต ละข าง แล วฉุ ดคร าพาไปยั งหลุ มถ านเพลิ งนั้ น. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ครั้ งนั้ นแล บุ รุ ษ นั้ น มี ความคิ ด ความปรารถนา ความตั้ งใจ ที่ จะให ห างไกลหลุ ม ถ าน เพลิ ง นั้ น .ข อ นั้ น เพราะเหตุ ไ รเล า ? ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย!ข อ นั้ น เพราะเหตุ ว า บุ รุ ษ นั้ น ย อ มรู ว า "ถ า เราจั ก ตกลงไปยั งหลุ ม ถ า นเพลิ ง นี้ ไซร เราก็ จ ะพึ ง ถึ ง ความตาย หรื อ ได รั บทุ กข เจี ยนตาย เพราะข อนั้ นเป นเหตุ "ดั งนี้ , ข อนี้ มี อุ ปมาฉั นใด; ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เราย อมกล าวว า มโนสั ญ เจตนาหาร อั นอริ ยสาวกพึ งเห็ น (ว ามี อุ ปมาเหมื อนหลุ มถ านเพลิง) ฉันนั้น. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เมื่อมโนสัญเจตนาหาร อันอริยสาวกกําหนด

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๓๒๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

รูไดแลว, ตัณ หาทั้งสาม ยอมเปนสิ่งที่อริยสาวกนั้น กําหนดรูไดแลวดวย; เมื่ อ ตัณหาทั้งสามเปนสิ่งที่อริยสาวกกําหนดรูไดแลว, เรายอมกลาววา "สิ่งไร ๆ ที่ควร กระทําใหยิ่งขึ้นไป (กวานี้)ยอมไมมีแกอริยสาวกนั้น" ดังนี้. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ก็ วิ ญ ญาณณาหาร จะพึ งเห็ น ได อ ย างไร? ดู ก อ น ภิ กษุ ทั้ งหลาย เปรี ยบเหมื อนพวกเจ าหน าที่ จั บโจรผู กระทํ าผิ ดได แล ว แสดงแก พระราชา ว า "ข า แต พ ระองค ผู ส มมติ เทพ! โจรผู นี้ เป น ผู ก ระทํ า ผิ ด ต อ ใต ฝ า ละอองธุ ลี พ ระบาท ขอใต ฝาละอองธุ ลี พระบาท จึ งทรงพระกรุ ณ าโปรดเกล าให ลงโทษโจรผู นี้ ตามที่ ทรงเห็ น สมควรเถิ ด พระพุ ทธเจ าข า". พระราชามี พระกระแสรั บสั่ งอย างนี้ ว า "ดู ก อนท านผู เจริ ญ ทั้ งหลาย! ท านทั้ งหลายจงไป จงประหารชี วิ ตบุ รุ ษนี้ เสี ยด วยหอกร อยเล มในเวลาเช านี้ " เจา หนา ที ่เ หลา นั ้น จึง ประหารนัก โทษ ดว ยหอกรอ ยเลม ในเวลาเชา ตอ มา ในเวลาเที่ ยงวั น พระราชาทรงซั กถามเจ าหน าที่ เหล านั้ นอย างนี้ ว า "ดู ก อนท านผู เจริ ญ ทั้ ง หลาย! นั ก โทษคนนั้ น เป น อย า งไรบ า ง?". พวกเขาพากั น กราบทู ล ว า "ข า แต พระองค ผู ส มมติ เทพ! นั ก โทษนั้ น ยั งมี ชี วิ ต อยู ต ามเดิ ม พระพุ ท ธเจ า ข า !". พระราชา ทรงมี พ ระกระแสรั บ สั่ ง อย า งนี้ ว า "ดู ก อ นท า นผู เจริ ญ ทั้ ง หลาย! ท า นทั้ ง หลายจงไป จงประหารนั ก โทษนั้ น เสี ย ด ว ยหอกร อ ยเล ม ในเวลาเที่ ย งวั น "ดั ง นี้ . พวกเจ า หน า ที่ เหล านั้ นจึ งได ประหารนั กโทษนั้ นด วยหอกร อยเล ม ในเวลาเที่ ยงวั น. ต อมา ในเวลาเย็ น พระราชาทรงซั กถามเจ าหน าที่ เหล านั้ นอี กว า "ดู ก อนท านผู เจริ ญ ทั้ งหลาย! นั กโทษนั้ น เป น อย า งไรบ า ง?"เขาพากั น กราบทู ล ว า "ข า แต พ ระองค ผู ส มมติ เ ทพ! นั ก โทษนั้ น ยั งมี ชี วิ ตอยู ตามเดิ มพระพุ ทธเจ าข า!". พระราชาทรงมี พระกระแสรั บสั่ งอี กว า "ดู ก อนท าน ทั้ ง หลาย! ท า นทั้ ง หลายจงไป จงประหารนั ก โทษนั้ น เสี ย ด ว ยหอกร อ ยเล ม ในเวลา เย็ น" ดั งนี้ . เจ าหน าที่ เหล านั้ น จึ งได ประหารนั กโทษนั้ นด วยหอกร อยเล ม ในเวลาเย็ น. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เธอทั้งหลายจะสําคัญความขอนั้น วาอยางไร? บุรุษนักโทษนั้น

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๓๒๗

ถูกพวกเจาหน าที่ ประหารอยูด วยหอกสามรอยเลม ตลอดทั้ งวัน เขาจะพึ งเสวยแต ทุ กขโทมนั ส ที่ มี ข อ นั้ น เป น เหตุ เท านั้ น มิ ใช ห รือ ? ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! บุ รุ ษ นั ก โทษนั้ น ถูกพวกเจาหน าที่ ประหารด วยหอกแม (เล มเดี ยว) นั่ น ก็ พิ งเสวยทุ กขโทมนั สที่ มี ขอนั้ น เป นเหตุ (มากอยู แล ว) ก็ จะกล าวไปไยถึ งการที่ บุ รุษ นั กโทษนั้ นถู กประหารด วยหอก สามร อ ยเล ม เล า , ข อ นี้ มี อุ ป มาฉั น ใด; ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! เราย อ มกล า วว า วิญญาณาหาร อั นอริยสาวกพึ งเห็ น (วามี อุ ปมาเหมื อนนั กโทษถู กประหารนั้ น) ฉั นนั้ น. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เมื่อวิญญาณาหาร อันอริยสาวกกําหนดรูไดแลว, นามรูป ยอมเปนสิ่งที่อริยสาวกนั้นกําหนดรูไดแลวดวย; เมื่อนามรูปเปนสิ่งที่อริยสาวก กําหนดรูไดแลว, เรายอมกลาววา "สิ่งไร ๆ ที่ควรกระทําใหยิ่งขึ้นไป (กวานี้) ยอมไมมีแกอริยาสาวกนั้น", ดังนี้ แล.

ข. วาดวยอาการเกิดดับแหงอาหารสี่๑ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! อาหาร ๔ อย างเหล านี้ ย อมเป นไปเพื่ อความดํ ารงอยู ของภู ตสั ตวทั้ งหลาย หรือวาเพื่ ออนุ เคราะห แก สั มภเวสี สั ตวทั้ งหลาย. อาหาร ๔ อย าง เป นอย างไรเล า? สี่ อย างคื อ (๑) กพฬี การาหาร ที่ หยาบบ าง ละเอี ยดบ าง (๒) ผั สสะ (๓) มโนสัญเจตนา (๔) วิญญาณ.

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! อาหาร ๔ อย างเหล านี้ แล ย อมเป นไปเพื่ อความดํ ารง อยูของภูตสัตวทั้งหลาย หรือวา เพื่ออนุเคราะหแกสัมภเวสีสัตวทั้งหลาย.

ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ถ า มี ร าคะ(ความกํ า หนั ด ) มี นั น ทิ (ความเพลิ น ) มีตัณหา (ความอยาก) ในกพฬีการาหาร ไซร, วิญญาณ ก็เปนสิ่งที่ตั้งอยูได เจริญ

สูตรที่ ๔ มหาวรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน.สํ.๑๖/๑๒๒/๒๔๕, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๓๒๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

งอกงามอยู ได ในกพฬี การาหารนั้ น. วิ ญ ญาณที่ ตั้ งอยู ได เจริ ญ งอกงามอยู ได มี อยู ในที่ ใด.การหยั่ งลงแห งนามรูป ก็ มี อยู ในที่ นั้ น. การหยั่ งลงแห งนามรูปมี อยู ในที่ ใด, ความเจริญแห งสั งขารทั้ งหลาย ก็มี อยู ในที่ นั้ น. ความเจริญแห งสั งขารทั้ งหลาย มี อยู ในที ่ใ ด การบัง เกิด ในภพใหมต อ ไป ก็ม ีอ ยู ใ นที ่นั ้น . การบัง เกิด ในภพใหมต อ ไป มี อยู ในที่ ใด, ชาติ รามรณะต อไป ก็ มี อยู ในที่ นั้ น. ชาติ รามรณะต อไป มี อยู ในที่ ใด, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เราเรียกที่นั้นวา "เปนที่มีโศก มีธุลี มีความคับแคน" ดังนี้. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ถ า มี ร าคะ(ความกํ า หนั ด ) มี นั น ทิ (ความเพลิ น ) มี ตั ณ หา (ความอยาก) ในผั ส สาหาร ไซร, วิ ญ ญาณ ก็ เป น สิ่ งที่ ตั้ งอยู ได เจริญ งอกงามอยู ได ในผั สสาหารนั้ น. วิญญาณที่ ตั้ งอยู ได เจริญงอกงามอยู ได มี อยู ในที่ ใด, การหยั่ งลงแห งนามรู ป ก็ มี อยู ในที่ นั้ น. การหยั่ งลงแห งนามรู ปมี อยู ในที่ ใด, ความ เจริญแห งสั งขารทั้ งหลาย ก็ มี อยู ในที่ นั้ น. ความเจริญแห งสั งขารทั้ งหลาย มี อยู ในที่ ใด, การบั งเกิ ดในภพใหม ต อไป ก็ มี อยู ในที่ นั้ น. การบั งเกิ ดในภพใหม ต อไป มี อยู ในที่ ใด ชาติ ช รามรณะต อ ไป ก็ มี อ ยู ในที่ นั้ น . ชาติ ช รามรณะต อ ไป มี อ ยู ในที่ ใด, ดู ก อ น ภิกษุทั้งหลาย!เราเรียกที่นั้นวา "เปนที่มีโศก มีธุลี มีความคับแคน" ดังนี้.

www.buddhadasa.info ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ถามีราคะ มีนันทิ มีตัณหา ในมโนสัญเจตนาหาร ไซร, วิญญาณก็เป นสิ่งที่ ตั้งอยูได เจริญงอกงามอยูได ในมโนสัญเจตนาหารนั้น. วิญญาณที่ ตั้ งอยูได เจริญงอกงามอยูได มี อยู ในที่ ใด, การหยั่งลงแห งนามรูป ก็มี อยู ในที่ นั้ น. การหยั่ งลงแห งนามรูป มี อยู ในที่ ใด, ความเจริญแห งสั งขารทั้ งหลาย ก็ มี อยู ในที่ นั้ น. ความเจริญ แห งสั งขารทั้ งหลาย มี อยู ในที่ ใด, การบั งเกิ ดในภพใหม ต อไป ก็ มี อยู ในที่ นั้ น. การบั งเกิ ดในภพใหม ต อไป มี อยู ในที่ ใด, ชาติ รามรณะต อไป ก็ มี อยู ในที่ นั้ น . ชาติ ช รามรณะต อ ไป มี อ ยู ในที่ ใด. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! เราเรี ย กที่ นั้ น วา "เปนที่มีโศก มีธุลี มีความคับแคน" ดังนี้.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๓๒๙

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ถามีราคะ มีนันทิ มีตัณหา ในวิญญาณาหาร ไซร, วิญญาณก็เปนสิ่งที่ตั้งอยูได เจริญงอกงามอยูได ในวิญญาณาหารนั้น.วิญญาณ ที่ตั้งอยูได เจริญงอกงามอยู ได มี อยู ในที่ ใด, การหยั่ งลงแห งนามรูป ก็ มี อยู ในที่ นั้ น. การหยั่ งลง แห งนามรูป มี อยู ในที่ ใด, ความเจริญแห งสั งขารทั้ งหลาย ก็ มี อยู ในที่ นั้ น. ความเจริญ แห งสังขารทั้ งหลาย มี อยูในที่ ใด, การบั งเกิ ดในภพใหม ตอไป ก็มี อยูในที่ นั้ น. การบั งเกิ ด ในภพใหม ต อไป มี อยู ในที่ ใด, ชาติ รามรณะต อไป ก็ มี อยู ในที่ นั้ น. ชาติ ราชมรณะ ต อ ไป มี อ ยู ในที่ ใด, ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! เราเรีย กที่ นั้ น ว า "เป น ที่ มี โศก มี ธุ ลี มีความคับแคน" ดังนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย!เปรียบเหมื อนช างย อม หรือช างเขี ยน, เมื่ อมี น้ํ าย อม คื อ ครั่ ง ขมิ้ น คราม หรื อ สี แ ดงอ อ น ก็ จ ะพึ ง เขี ย นรู ป สตรี หรื อ รู ป บุ รุ ษ ลงที่ แ ผ น กระดาษ หรือ ฝาผนั ง หรือ ผื น ผ า ซึ่ งเกลี้ ย งเกลา ได ค รบทุ ก ส ว น, อุ ป มานี้ ฉั น ใด; ดูกอนภิกษุ ทั้ งหลาย! อุปไมยก็ฉันนั้น คือ ถามีราคะ มี นันทิมี ตัณหา ในกพฬการาหาร ไซร, วิญญาณ ก็ เป นสิ่ งที่ ตั้ งอยู ได เจริญงอกงามอยูได ในกพฬี การาหารนั้ น.วิญญาณ ที่ ตั้ งอยู ได เจริญงอกงามอยู ได มี อยู ในที่ ใด, การหยั่ งลงแห งนามรูป ก็ มี อยู ในที่ นั้ น. การหยั่ งลงแห งนามรูป มี อยู ในที่ ใด, ความเจริญแห งสั งขารทั้ งหลาย ก็ มี อยู ในที่ นั้ น. ความเจริญ แห งสั งขารทั้ งหลาย มี อยู ในที่ ใด, การบั งเกิ ดในภพใหม ต อไป ก็ มี อยู ใน ที่ นั้ น. การบั งเกิ ดในภพใหม ต อไป มี อยู ในที่ ใด, ชาติ ชรามรณะต อไป ก็ มี อยู ในที่ นั้ น. ชาติ ชรามรณะต อไป มี อยู ในที่ ใด, ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เราเรียกที่ นั้ นวา "เป นที่ มี โศก มี ธุ ลี มี ความคั บแค น" ดั งนี้ . ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ถ ามี ราคะ มี นั นทิ มี ตั ณ หา ในผั สสาหาร ไซร, วิ ญญาณ ก็ เป นสิ่ งที่ ตั้ งอยู ได เจริญงอกงามอยู ได ในผั สสาหารนั้ น วิญญาณที่ตั้งอยูได เจริญงอกงามอยูได มีอยู ในที่ใด, การหยั่งลงแหงนามรูป ก็มีอยูใน ที่นั้น. การหยั่งลงแหงนามรูป มีอยู ในที่นั้น. ความเจริญแหงสังขารทั้งหลาย ก็มีอยูใน

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๓๓๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

ที่ นั้ น. ความเจริญแห งสั งขารทั้ งหลาย มี อยู ในที่ ใด, การบั งเกิ ดในภพใหม ต อไป ก็ มี อยู ในที่ นั้ น. การบั งเกิดในภพใหม ต อไป มี อยู ในที่ ใด, ชาติ ชรามรณะต อไป ก็มี อยู ในที่ นั้ น. ชาติ ชรามรณะตอไป มี อยู ในที่ ใด, ดู กอนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เราเรียกที่ นั้ นวา "เป นที่ มี โศก มีธุลี มีความคับแคน"ดังนี้. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ถามีราคะ มีนันทิ มีตัณหา ในมโนสัญเจตนาหาร ไซร , วิ ญ ญ าณ ก็ เ ป น สิ่ ง ที่ ตั้ ง อยู ไ ด เจริ ญ งอกงามอยู ไ ด ในมโน สัญเจตนาหารนั้น, วิญญาณ ที่ตั้งอยูได เจริญงอกงามอยูได มีอยู ในที่ใด, การหยั่งลงแหง นามรู ป ก็ มี อยู ในที่ นั้ น การหยั่ งลงแห งนามรู ป มี อยู ในที่ ใด, ความเจริ ญ แห งสั งขาร ทั้ งหลาย ก็ มี อยู ในที่ นั้ น, ความเจริญแห งสั งขารทั้ งหลาย มี อยู ในที่ ใด, การบั งเกิ ดใน ภพใหม ต อไป ก็มี อยู ในที่ นั้ น. การบั งเกิ ดในภพใหม ต อไป มี อยู ในที่ ใด, ชาติชรามรณะ ตอไป ก็มี อยู ในที นั้ น, ชาติ ชรามรณะต อไป มี อยู ในที ใด, ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เราเรียก ที่ นั้ นว า "เป นที่ มี โศก มี ธุ ลี มี ความคั บแค น" ดั งนี้ . ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ถ ามี ราคะ มี นั นทิ มี ตั ณหาในวิญญาณหารไซร, วิญญาณ ก็ เป นสิ่งที่ ตั้ งอยูได เจริญงอกงามอยู ได ในวิญญาณหารนั้ น, วิญญาณ ที่ ตั้ งอยูได เจริญงอกงามอยูได มี อยู ในที่ใด, การหยั่ ง ลงแห งนามรูป ก็ มี อยู ในที่ นั้ น. การหยั่ งลงแห งนามรูป มี อยู ในที่ ใด,ความเจริญ แห ง สั งขารทั้ งหลาย ก็ มี อยู ในที่ นั้ น. ความเจริญ แห งสั งขารทั้ งหลาย มี อยู ในที่ ใด, การ บั งเกิ ด ในภพใหม ต อ ไป ก็ มี อ ยู ในที่ นั้ น . การบั งเกิ ด ในภพใหม ต อ ไป มี อ ยู ในที่ ใด, ชาติ ชรามรณะต อไป ก็ มี อยู ในที่ นั้ น. ชาติ ชรามรณะต อไป มี อยู ในที่ ใด, ดู ก อนภิ กษุ ทั้งหลาย! เราเรียกที่นั้นวา "เปนที่มีโศกมีธุลี มีความคับแคน" ดังนี้.

www.buddhadasa.info (ขอความตอไปนี้ เปนขอความฝายปฏิปกขนัย คือ ตรงกันขาม)

ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ถ า ไม มี ร าคะ(ความกํ า หนั ด ) ไม มี นั น ทิ (ความ เพลิน) ไมมีตัณหา(ความอยาก) ในกพฬี การาหาร แลวไซร, วิญญาณ ก็เปนสิ่งที่ตั้ง อยูไมได เจริญงอกงามอยูไมได ในกพฬี การาหารนั้น. วิญญาณ ตั้งอยูไม ได เจริญงอก งามอยูไมได ในที่ใด, การหยั่งลงแหงนามรูป ยอมไมมีในที่นั้น. การหยั่งลงแหงนามรูป

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๓๓๑

ไม มี ในที่ ใด, ความเจริญแห งสังขารทั้ งหลาย ยอมไม มี ในที่ นั้ น. ความเจริญแห งสั งขาร ทั้ งหลาย ไม มี ในที่ ใด, การบั งเกิ ด ในภพใหม ต อ ไป ย อ มไม มี ในที่ นั้ น . การบั งเกิ ด ในภพใหม ต อไป ไม มี ในที่ ใด, ชาติ ชรามรณะต อไป ย อมไม มี ในที่ นั้ น. ชาติ ชรามรณะ ต อ ไป ไม มี ใ นที่ ใ ด, ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! เราเรี ย ก "ที่ " นั้ น ว า เป น "ที่ ไ ม มี โ ศก ไมมีธุลี ไมมีความคับแคน" ดังนี้. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ถาไมมีราคะ ไมมีนันทิ ไมมีตัณหา ในผัสสาหาร แล วไซร, วิญญาณ ก็เป นสิ่ งที่ ตั้ งอยูไม ได เจริญงอกงามอยูไม ได ในผั สสาหารนั้ น. วิ ญ ญาณ ตั้ งอยู ไม ได เจริญ งอกงามอยู ไม ได ในที่ ใด, การหยั่ งลงแห งนามรูป ย อม ไม มี ในที่ นั้ น. การหยั่ งลงแห งนามรูป ไม มี ในที่ ใด, ความเจริญ แห งสั งขารทั้ งหลาย ยอมไม มี ในที่ นั้ น. ความเจริญแห งสั งขารทั้ งหลาย ไม มี ในที่ ใด, การบั งเกิดในภพใหม ต อไป ย อมไม มี ในที่ นั้ น. การบั งเกิ ดในภพใหม ต อไป ไม มี ในที่ ใด, ชาติ ชรามรณะ ต อไป ย อมไม มี ในที่ นั้ น. ชาติ ชรามรณะต อไป ไม มี ในที่ ใด, ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เราเรียก "ที่" นั้นวาเปน "ที่ไมมีโศก ไมมีธุลี ไมมีความคับแคน" ดังนี้.

www.buddhadasa.info ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ถาไมมีราคะ ไมมีนันทิ ไมมีตัณหา ในมโนสัญเจตนาหาร แล วไซร, วิญ ญาณ ก็ เป น สิ่ งที่ ตั้ งอยู ไม ได เจริญ งอกงามอยู ไม ได ใน มโนสัญเจตนาหารนั้ น. วิญญาณ ตั้ งอยู ไม ได เจริญงอกงามอยู ไม ได ในที่ ใด, การหยั่ ง ลงแห งนามรู ป ย อมไม มี ในที่ นั้ น. การหยั่ งลงแห งนามรู ป ไม มี ในที่ ใด, ความเจริ ญ แห งสั งขารทั้ งหลาย ย อมไม มี ในที่ นั้ น. ความเจริญแห งสั งขารทั้ งหลาย ไม มี ในที่ ใด, การบั งเกิ ดในภพใหม ต อไป ย อมไม มี ในที่ นั้ น. การบั งเกิ ดในภพใหม ต อไป ไม มี ใน ที่ ใด, ชาติ ชรามรณะต อไป ย อมไม มี ในที่ นั้ น . ชาติ ชรามรณะต อ ไป ไม มี ในที่ ใด, ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! เราเรีย ก "ที่ " นั้ น ว า เป น "ที่ ไม มี โศก ไม มี ธุ ลี ไม มี ค วาม คับแคน" ดังนี้.

www.buddhadasa.info


๓๓๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ถาไมมีราคะ ไมมีนันทิ ไมมีตัณหา ในวิญญาณาหาร แลวไซร, วิญญาณก็เปนสิ่งที่ตั้งอยูไมได เจริญงอกงามอยูไมได ในวิญญาณาหาร นั้ น. วิญ ญาณ ตั้ งอยู ไม ได เจริญ งอกงามอยู ไม ได ในที่ ใด, การหยั่ งลงแห งนามรูป ยอมไม มี ในที่นั้ น. การหยั่งลงแหงนามรูป ไม มี ในที่ ใด, ความเจริญแหงสังขารทั้งหลาย ย อมไม มี ในที่ นั้ น. ความเจริญแห งสั งขารทั้ งหลาย ไม มี ในที่ ใด, การบั งเกิ ดในภพใหม ต อไป ย อมไม มี ในที่ นั้ น. การบั งเกิ ดในภพใหม ต อไป ไม มี ในที่ ใด, ชาติ ชรามรณะ ต อไป ย อมไม มี ในที่ นั้ น. ชาติ ชรามรณะต อไป ไม มี ในที่ ใด, ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เราเรียก "ที่" นั้นวาเปน "ที่ไมมีโศก ไมมีธุลี ไมมีความคับแคน" ดังนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เปรียบเหมื อนเรือนยอด หรือศาลาเรือนยอดที่ ตั้ งอยู ทางทิศเหนือ หรือใตก็ตาม เปนเรือนมีหนาตางทางทิศตะวันออก. ครั้นพระอาทิตยขึ้นมา แสงสว างแห งพระอาทิ ตย ส องเข าไปทางหน าต างแล ว จั กตั้ งอยู ที่ ส วนไหนแห งเรือ น นั้นเลา? "ข าแต พ ระองค ผู เจริ ญ ! แสงสว างแห งพระอาทิ ตย จั กปรากฏที่ ฝาเรื อน ขางในทิศตะวันตก พระเจาขา".

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ถ าฝาเรือนทางทิ ศตะวั นตกไม มี เล า แสงสว างแห ง พระอาทิตยนั้นจักปรากฏอยู ณ ที่ไหน?

"ข าแต พระองค ผู เจริญ! แสงสว างแห งพระอาทิ ตย นั้ น จั กปรากฏที่ พื้ นดิ น พระเจาขา". ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ถ าพื้ นดิ นไม มี เล า แสงสวางแห งพระอาทิ ตย นั้ น จั ก ปรากฏที่ไหน?

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๓๓๓

"ข าแต พ ระองค ผู เจริญ ! แสงสว างแห งพระอาทิ ตย นั้ น จั กปรากฏในน้ํ า พระเจาขา". ดูกอนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ถาน้ํ าไม มี เลา แสงสวางแห งพระอาทิ ตยนั้ น จักปรากฏ ที่ไหนอีก? "ข าแต พ ระองค ผู เจริญ ! แสงสว างแห งพระอาทิ ตย นั้ น ย อมเป น สิ่ งที่ ไม ปรากฏแลว พระเจาขา". ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ฉั นใดก็ ฉั นนั้ นแล : ถ าไม มี ราคะ ไม มี นั นทิ ไม มี ตัณหา ในกพฬีการาหาร แลว ไซร,. วิญญาณ ก็เปนสิ่งที่ตั้งอยูไมได เจริญงอกงามอยู ไม ได ในกพฬี การาหารนั้ น. วิ ญญาณ ตั้ งอยู ไม ได เจริญงอกงามอยู ไม ได ในที่ ใด, การ หยั่ งลงแห งนามรูป ย อมไม มี ในที่ นั้ น. การหยั่ งลงแห งนามรูปไม มี ในที่ ใด, ความเจริญ แหงสั งขารทั้ งหลาย ยอมไม มี ในที่ นั้ น. ความเจริญแหงสั งขารทั้ งหลายไม มี ในที่ ใด, การ บังเกิดในภพใหมตอไป ยอมไมมี ในที่นั้น. การบังเกิดในภพใหมตอไปไมมีในที่ใด, ชาติ ชรามรณะต อไป ย อ มไม มี ในที่ นั้ น . ชาติ ชรามรณะต อ ไปไม มี ในที่ ใด, ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้งหลาย! เราเรียก "ที่" นั้นวาเปน "ที่ไมมีโศก ไมมีธุลี ไมมีความคับแคน" ดังนี้.

www.buddhadasa.info ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย! ถาไม มี ราคะ ไม มี นันทิ ไม มี ตั ณหา ในผั สสาหาร แล ว ไซร, วิ ญ ญาณ ก็ เป นสิ่ งที่ ตั้ งอยู ไม ได เจริญ งอกงามอยู ไม ได ในผั สสาหารนั้ น. วิญญาณ ตั้ งอยู ไม ได เจริญงอกงามอยู ไม ได ในที่ ใด, การหยั่ งลงแห งนามรูปย อมไม มี ในที่ นั้ น. การหยั่ งลงแห งนามรูปไม มี ในที่ ใด, ความเจริญแห งสังขารทั้ งหลาย ยอมไม มี ในที่ นั้น. ความเจริญแหงสังขารทั้งหลายไมมี่ในที่ใด, การบั งเกิดในภพใหมตอไป ยอมไม มี ในที่นั้น. การบังเกิดในภพใหมตอไป ไมมีในที่ใด, ชาติชรามรณะตอไป ยอมไมมี

www.buddhadasa.info


๓๓๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

ในที่ นั้ น . ชาติ ช รามรณะต อ ไป ไม มี ในที่ ใด, ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! เราเรี ย ก "ที่ " นั้ น วาเปน "ที่ไมมีโศก ไมมีธุลี ไมมีความคับแคน" ดังนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ถ าไม มี ราคะ ไม มี นั นทิ ไม มี ตั ณ หา ในมโนสั ญ เจตนาหาร แล วไซร, วิญญาณ ก็ เป นสิ่ งที่ ตั้ งอยู ไม ได เจริญงอกงามอยู ไม ได ในมโนสั ญ เจตนาหารนั้ น . วิ ญ ญาณ ตั้ งอยู ไม ได เจริ ญ งอกงามไม ได ในที่ ใด, การหยั่ งลง แห ง นามรู ป ย อ มไม มี ในที่ นั้ น . การหยั่ ง ลงแห ง นามรู ป ไม มี ใ นที่ ใ ด, ความเจริ ญ แห งสั งขารทั้ งหลาย ย อมไม มี ในที่ นั้ น. ความเจริ ญ แห งสั งขารทั้ งหลาย ไม มี ในที่ ใด, การบั งเกิ ดในภพใหม ต อไป ย อมไม มี ในที่ นั้ น. การบั งเกิ ดในภพใหม ต อไป ไม มี ในที่ ใด, ชาติ ชรามรณะต อ ไป ย อ มไม มี ในที่ นั้ น . ชาติ ชรามรณะต อ ไป ไม มี ในที่ ใด, ดู ก อ น ภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! เราเรี ย ก "ที่ " นั้ น ว า เป น "ที่ ไ ม มี โ ศก ไม มี ธุ ลี ไม มี ค วามคั บ แค น " ดังนี้. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ถาไมมีราคะ ไมมีนันทิ ไมมี ตัณหา ในวิญญาณาหาร แล วไซร, วิ ญญาณก็ เป นสิ่ งที่ ตั้ งอยู ไม ได เจริญงอกงามอยู ไม ได ในวิ ญญาณาหารนั้ น. วิ ญญาณ ตั้ งอยู ไม ได เจริญงอกงามอยู ไม ได ในที่ ใด, การหยั่ งลงแห งนามรูป ย อมไม มี ในที่ นั้ น . การหยั่ งลงแห งนามรู ป ไม มี ในที่ ใด,ความเจริ ญ แห งสั ง ขารทั้ งหลาย ย อ ม ไม มี ในที่ นั้ น. ความเจริญแห งสั งขารทั้ งหลาย ไม มี ในที่ ใด, การบั งเกิ ดในภพใหม ต อไป ย อมไม มี ในที่ นั้ น. การบั งเกิ ดในภพใหม ต อไป ไม มี ในที่ ใด, ชาติ ชรา มรณะ ต อไป ย อ มไม มี ในที่ นั้ น . ชาติ ชรา มรณะ ต อ ไป ไม มี ใ นที่ ใ ด, ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! เราเรียก "ที่" นั้นวาเปน "ที่ไมมีโศก ไมมีธุลี ไมมีความคับแคน", ดังนี้ แล.

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๓๓๕

ปญจุปาทานขันธไมอาจจะเกิด เมื่อรูเทาทันเวทนาในปฎิจจสมุปบาท๑ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย!...ส วนบุ คคล เมื่ อรู เมื่ อเห็ น ซึ่ ง จั กษุ ตามที่ เป นจริ ง, เมื่ อรูเมื่ อเห็ น ซึ่งรูปทั้ งหลาย ตามที่ เป นจริง, เมื่ อรูเมื่ อเห็ นซึ่ งจั กขุ วิญญาณ ตามที่ เป น จริง, เมื่ อรูเมื่ อเห็ น ซึ่ งจั กขุ สั มผั ส ตามที่ เป นจริง, เมื่ อรูเมื่ อเห็ น ซึ่ งเวทนาอั นเกิ ดขึ้ น เพราะจั กขุ สั มผั สเป นป จจั ย อั นเป นสุ ขก็ ตาม เป นทุ กข ก็ ตาม ไม ใช ทุ กข ไม ใช สุ ขก็ ตาม ตามที่ เป นจริง แล ว; เขาย อมไม กํ าหนั ดในจั กษุ , ไม กํ าหนั ดในรู ปทั้ งหลาย, ไม กํ าหนั ด ในจักขุวิญญาณ, ไม กํ าหนั ดในจักขุสั มผัส, และไม กํ าหนั ดในเวทนาอั นเกิดขึ้นเพราะจั กขุ สัมผัสเป นปจจัย อันเป นสุขก็ตาม เป นทุกขก็ตาม ไม ใชทุ กขไม ใชสุขก็ตาม. เมื่ อบุ คคล นั้นไมกําหนัดแลว ไมติดพันแลว ไมลุมหลงแลว ตามเห็นอาทีนวะ (โทษของสิ่ง เหลานั้น) อยูเนือง ๆ, ปญจุปาทานขันธทั้งหลาย ยอมถึงซึ่งความไมกอเกิดตอไป; และตั ญหาอั นเป นเครื่องนํ าไปสู ภพใหม อั นประกอบอยู ด วยความกํ าหนั ดด วยอํ านาจความ เพลิ นเป นเครื่องทํ าให เพลิ นอย างยิ่ งในอารมณ นั้ น ๆ นั้ นอั นเขาย อมละเสี ยได ; ความกระวน กระวาย (ทรถ) แม ท างกาย อั น เขาย อ มละเสี ย ได , ความกระวนกระวาย แม ท างจิ ต อั นเขาย อมละเสี ยได ; ความแผดเผา (สนฺ ตาป) แม ทางกาย อั นเขาย อมละเสี ยได , ความ แผดเผา แม ทางจิ ต อั นเขาย อมละเสี ยได ; ความเร ารอน (ปริ ฬาห) แม ทางกาย อั นเขา ยอมละเสี ยได , ความเรารอน แม ทางจิต อันเขาย อมละเสี ยได . บุ คคลนั้ น ย อมเสวยซึ่ ง ความสุขอันเปนไปทางกาย ดวย, ซึ่งความสุขอันเปนไปทางจิต ดวย. เมื่อบุคคล เป นเช นนั้ นแล ว ทิ ฏฐิ ของเขา ย อมเป นสั มมาทิ ฏฐิ ; ความดํ าริของเขา ย อมเป นสั มมาสังกัปปะ; ความพยายามของเขา ยอมเปนสัมมาวายะมะ; สติของเขา ยอมเปน

www.buddhadasa.info

สฬายตนวิภังคสูตร อุปริ. ม.๑๔/๕๒๓/๘๒๘, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๓๓๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

สัมมาสติ; สมาธิของเขา ยอมเปนสัมมาสมาธิ; สวนกายกรรม วจีกรรม และอาชีวะ ของเขา เป น ธรรมบ ริ สุ ท ธิ์ ม าแล ว แต เดิ ม นั่ น เที ย ว. ด ว ยอาการอย า งนี้ แ ล อั ฎ ฐั งคิ ก มรรค อั น เป นอริยะ ของเขานั้ น ย อมถึ งซึ่ งความเต็ มรอบแห งความเจริญ ; เมื่ อเขาทํ าอั ฎ ฐั งคิ กมรรค อั น เป น อริ ยะ ให เจริ ญ ด วยอาการอย างนี้ อ ยู . สติ ป ฎ ฐาน ทั้ งหลาย แม ทั้ ง ๔ ย อ มถึ งซึ่ งความเต็ ม รอบแห งความเจริ ญ ; สั ม มั ป ปธานทั้ งหลาย แม ทั้ ง ๔ ย อมถึ งซึ่ งความเต็ มรอบแห งความเจริญ; อิ ทธิ บาททั้ งหลาย แม ทั้ ง ๔ ย อม ถึ งซึ่ งความเต็ ม รอบแห งความเจริ ญ ; อิ นทรี ย ทั้ งหลาย แม ทั้ ง ๕ ย อมถึ งซึ่ งความเต็ ม รอบแห งความเจริ ญ ; พละทั้ งหลาย แม ทั้ ง ๕ ย อ มถึ งซึ่ งความรอบแห งความเจริ ญ ; โพชฌงค ทั้ งหลาย แม ทั้ ง ๗ ย อมถึ งซึ่ งความเต็ มรอบแห ง ความเจริญ . ธรรมทั้ ง สอง คื อ สมถะและวิ ป ส สนา ของเขานั้ น ย อ มเป น ธรรมเคี ย งคู กั น ไป. บุ ค คลนั้ น ย อ ม กําหนดรูด วยป ญญาอันยิ่ง ซึ่งธรรมทั้งหลายอันบุ คคลพึ งกําหนดรูด วยป ญญาอันยิ่ง; ยอม ละด วยป ญ ญาอั นยิ่ ง ซึ่ งธรรมทั้ งหลายอั นบุ คคลพึ งละด วยป ญ ญาอั นยิ่ ง; ย อมทํ าให เจริ ญ ด ว ยป ญ ญาอั น ยิ่ ง ซึ่ ง ธรรมทั้ งหลายอั น บุ ค คลพึ ง ละด ว ยป ญ ญาอั น ยิ่ ง ; ย อ ม ทําใหแจงดวยปญญาอันยิ่ง ซึ่งธรรมทั้งหลายอันบุคคลพึงทําใหเจริญดวยปญญาอันยิ่ง;

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ ธรรมเหล าไหนเล า เป นธรรมอั นบุ คคลพึ งกํ าหนด รูดวยป ญญาอันยิ่ง! คําตอบ พึ งมี วา ป ญจุ ปาทานขั นธ ทั้งหลาย กลาวคื อ อุปาทานขั นธ คื อรู ป อุ ปาทานขั นธ คื อเวทนา อุ ปาทานขั นธ คื อสั ญ ญา อุ ปาทานขั นธ คื อสั งขาร อุ ป าทานขั น ธ คื อ วิ ญ ญาณ : ธรรมทั้ ง หลายเหล า นี้ แ ล ชื่ อ ว า เป น ธรรมอั น บุ ค คล พึงกําหนดรูดวยปญยาอันยิ่ง.

ดู กอนภิ กษุ ทั้ งหลาย ! ก็ ธรรมเหล าไหนเล า เป นธรรมอั นบุ คคลพึ งละด วย ป ญญาอั นยิ่ ง ! คํ าตอบ พึ งมี ว า อวิ ชชาด วย ภวตั ณหาด วย : ธรรมทั้ งหลายเหล านี้ แล ชื่อวาเปนธรรมอันบุคคลพึงละดวยปญยาอันยิ่ง.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๓๓๗

ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย ! ก็ธรรมเหล าไหนเล า เปนธรรมอันบุ คคลพึ งทําให เจริ ญ ด ว ยป ญ ญาอั น ยิ่ ง! คํ า ตอบ พึ งมี ว า สมถะด ว ย วิ ป ส สนาด วย : ธรรมทั้ ง หลายเหลานี้แล ชื่อวาเปนธรรมอันบุคคลพึงทําใหเจริญดวยปญญาอันยิ่ง. ดูกอ นภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ธรรมเหล าไหนเล า เป น ธรรมอั นบุ คคลพึ งทํ า ให แจงด วยป ญ ญาอั นยิ่ ง! คํ าตอบพึ งมี วา วิ ชชาด วย วิ มุ ต ติ ด วย : ธรรมทั้ งหลาย เหลานี้แล ชื่อวาเปนธรรมอันบุคคลพึงทําใหแจงดวยปญญาอันยิ่ง. (ในกรณี เกี่ ยวกั บ โสต ฆาน ชิ วหา กาย มโน และสหคตธรรมแห งอายตนะมี โสต เป นตั น ก็มี เนื่อความเหมื อนกับที่ กลาวแลวในกรณี แหง จักษุ และสหคตธรรมของจั กษุ ดั งที่ กล าวขางบนนี้ทุกประการ พึงขยายความเอาเองใหเต็มตามนั้น.)

การพิจารณาสภาวธรรม ตามวิธีปฎิจจสมุปบาทกระทั่งวาระสุดทาย๑ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ภิกษุผูฉลาดในฐานะ ๗ ประการ (สตฺตฏฐานกุสโล) ผูพิจารณาใครครวญธรรมโดยวิธี ๓ ประการ (ติวิธูปปริกฺขี) เราเรียกวา ภิกษุผูเกพลี๒ อยู จบกิจแหงพรหมจรรย ในธรรมวินัยนี้.

www.buddhadasa.info ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ! ก็ภิกษุผูฉลาดในฐานะ ๗ ประการ เปนอยางไรเลา

สูตรที่ ๕ อุปายวรรค ขันธสังยุตต ขนฺธ. สํ. ๑๗/๗๖/๑๑๘, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน. ๒ เกพลี ในลั กษณะอย างนี้ หมายถึ งพระอรหั นต ผู ถึ งซึ่ งนิ พพาน ซึ่ งเป นความสิ้ นเชิ งแห งสิ่ งทั้ งปวง ในแง ของความดับสิ้นแหงความทุกข กลาวคือการถึงอมตภาวะ อันไมมีการแบงแยก.- ผูแปล.

www.buddhadasa.info


๓๓๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย ! ภิ ก ษุ ในกรณี นี้ ย อ มรู ชั ด ซึ่ งรู ป ; .. ซึ่ งเหตุ ให เกิ ด ขึ้ นแห งรู ป ; . ซึ่ งความดั บ ไม เหลื อแห งรู ป ; ... ซึ่ งข อ ปฏิ บั ติ เครื่ อ งทํ าสั ต ว ให ลุ ถึ งความ ดั บ ไม เ หลื อ แห ง รู ป ;... ซึ่ ง อั ส สาทะ (รสอร อ ย) แห ง รู ป ; ... ซึ่ ง อาที น วะ (โทษอั น ต่ํ า ทราม) แห ง รู ป ; ... ซึ่ ง นิ ส สรณ ะ (อุ บ ายเป น เครื่ อ งออกไปพ น ) จากรู ป (รวม ๗ ประการ). (ในกรณี แห งเวทนา สั ญ ญา สั งขาร วิ ญ ญาณ ก็ ได ตรัสด วยข อความอย างเดี ยวกั นทุ กตั ว อักษร กับขอความที่กลาวในกรณีแหงรูป ผิดกันแตชื่อแหงขันธ ทีละขันธ ๆ เทานั้น.)

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ รู ปเป นอย างไรเล า? มหาภู ตรู ปทั้ งหลาย ๔ อย าง ด วย รู ป ที่ อ าศั ย มหาภู ต รรู ป ทั้ งหลายอย างด วย: ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! นี้ เราเรี ย กว า รูป ; การเกิ ดขึ้ นแห งรูป ย อมมี เพราะการเกิ ดขึ้ นแห งอาหาร; ความดั บไม เหลื อแห ง รูป ย อ มมี เพราะความดั บ ไม เหลื อ แห งอาหาร; มรรคอั นประกอบด วยองค แปดอั น ประเสริ ฐ นั่ น เอง เป น ปฏิ ป ทาให ถึ ง ความดั บ ไม เหลื อ แห ง รู ป , ได แ ก สิ่ ง เหล า นี้ คื อ ความเห็ นชอบ ความดํ าริ ชอบ การพู ดจาชอบ การทํ าการงานชอบ การเลี้ ยงชี วิ ตชอบ ความพยายามชอบ ความระลึ กชอบ ความตั้ งใจมั่ น ชอบ; สุ ข โสมนั สใด ๆ อาศั ยรู ป เกิ ด ขึ้ น : นี้ เป น อั ส สาทะแห ง รู ป ; รู ป ใด ไม เที่ ย งเป น ทุ ก ข มี ค วามแปรปรวนเป น ธรรมดา:นี้ เป น อาที น วะแห ง รู ป ; การนํ า ออกเสี ย ได ซึ่ ง ความกํ า หนั ด ด ว ยอํ า นาจ ความพอใจ กล าวคื อ การละเสี ยได ซึ่ งความกํ าหนั ดด วยอํ านาจความพอใจ ในรู ป, อั นใด; นี้ เป นนิ สสรณะเครื่ องออกจากรู ป (รวมเป นสิ่ งที่ ต องรู ๗ อย าง). ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณะหรือ พราหมณ ก็ ตามเหล าใดเหล าหนึ่ ง รูด วยป ญญาอั นยิ่ งซึ่ งรูป วา อย างนี้ คื อรูป; ...อย า งนี้ คื อ เหตุ ใ ห เกิ ด ขึ้ น แห ง รู ป ;...อย า งนี้ คื อ ความดั บ ไม เหลื อ แห ง รู ป ; ...อย า งนี้ คื อข อปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสั ตว ให ลุ ถึ งความดั บไม เหลื อแห งรูป; ...อย างนี้ คื ออั สสาทะแห งรูป; ... อยางนี้คืออาทีนวะแหงรูป; ... อยางนี้คือ นิสสรณะเครื่องออกจากรูป; ดังนี้แลว

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๓๓๙

เปน ผู ป ฏิบ ัต ิแ ลว เพื ่อ ความเบื ่อ หนา ย (นิพ ฺพ ิท า) เพื ่อ ความ สํ า รอก (วิร าค) เพื่ อ ความดั บ ไม เหลื อ (นิ โรธ) แห งรูป ; สมณพราหมณ เหล านั้ น เป น ผู ป ฎิ บั ติ แ ล ว ; บุ ค คลเหล าใด ปฏิ บั ติ ดี แล ว. บุ ค คลเหล านั้ น ชื่อ วาหยั่ งลงในธรรมวินั ย นี้ . ดู กอ น ภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณะหรือพราหมณ ก็ตามเหล าใดเหล าหนึ่ ง รูด วยป ญญาอั นยิ่ งซึ่ งรูป วา อยา งนี ้ค ือ รูป ; ...อยา งนี ้ค ือ เหตุใ หเ กิด ขึ ้น แหง รูป ; ...อยา งนี ้ค ือ ความดับ ไม เหลื อแห งรูป; ...อย างนี้ คื อขอปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสั ตวให ลุ ถึ งความดั บไม เหลื อแห งรูป; ...อย า งนี้ คื อ อั ส สาทะแห ง รู ป ;...อย า งนี้ คื อ อาที น วะแห ง รู ป ; ...อย า งนี้ คื อ นิ ส สรณะ เครื่อ งออกจากรูป ; ดั งนี้ แ ล ว เป น ผู พ น วิ เศษแล ว เพราะความเบื่ อ หน า ย เพราะ ความสํ ารอก เพราะความดั บไม เหลื อ เพราะความไม ยื ดมั่ น ซึ่ งรู ป; สมณพราหมณ เหล า นั้ น เป น ผู พ น วิ เ ศษ แล ว ด ว ยดี (สุ วิ มุ ตฺ ต า); บุ ค คลเหล า ใดเป น ผู พ น วิ เ ศษ แลวดวยดี บุคคลเหลานั้นชื่อวาเป นเกพลี ผูจบกิจอันบุ คคลพึงกระทํา;บุคคลเหลาใด จบกิจอันบุคคลพึงกระทํา วัฎฎะยอมไมมีเพื่อจะบัญญัติแกบุคคลเหลานั้น. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ก็เวทนา เปนอยางไรเลา ? ดูกอนกิกษุทั้งหลาย! หมู แห งเวทนา (เวทนากายา) ทั้ งหลาย ๖ หมู เหล านี้ คื อ เวทนาอั นเกิ ดแต จั กขุ สั มผั ส เวทนาอั นเกิ ดแต โสตสั มผั ส เวทนาอั นเกิ ดแต ฆานสั มผั ส เวทนาอั นเกิ ดแต ชี วหาสั มผั ส เวทนาอั นเกิ ดแต กายสั มผั ส เวทนาอั นเกิ ดแต มโนสั มผั ส : ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! นี้ เรา เรียกวา เวทนา; การเกิดขึ้นแหงเวทนา ยอมมี เพราะการเกิดขึ้นแหงผัสสะ; ความดับ ไมเหลือแหงเวทนา ยอมมี เพราะความดับไมเหลือแหงผัสสะ; มรรค อันประกอบดวย องคแปดอันประเสริฐนั่นเอง เปนปฏิปทาใหถึงความดับไมเหลือแหงเวทนา, ไดแก

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๓๔๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

สิ่ งเหล านี้ คื อ ความเห็ นชอบ ความดํ าริชอบ การพู ดจาชอบ การทํ าการงานชอบ การ เลี้ ยงชี วิ ตชอบ ความพยายามชอบ ความระลึ กชอบ ความตั้ งใจมั่ นชอบ; สุ ขโสมนั ส ใด ๆ อาศัย เวทนาเกิด ขึ ้น : นี ้เ ปน อัส สาทะแหง เวทนา; ...ฯลฯ...ฯลฯ... (ขอความต อไปนี้ มีการตรัสเหมือนกับที่ตรัสแลวในกรณี แหงรูปทกตัวอั กษร ตางกันแต เพี ยงชื่อวาเวทนา แทนคําวารูป ดังนี้เรื่อยไปจนกระทั่งถึง)...วัฎฎะ ยอมไมมีเพื่อการบัญญัติแกบุคคลเหลานั้น.

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ สั ญ ญาเป นอย างไรเล า? ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! หมู แห งสั ญญา (สฺ ญากายา) ทั้ งหลาย ๖ หมู เหล านี้ คื อ สั ญญาในรูป สั ญญาในเสี ยง สั ญญา ในกลิ่น สัญญาในรส สั ญญาในโผฏฐัพพะ สั ญญาในธัมมรมณ ; ดู กอนภิ กษุ ทั้ งหลาย! นี้ เราเรียกวาสั ญญา; การเกิ ดขึ้นแห งสั ญญา ยอมมี เพราะการเกิ ดขึ้ นแห งผั สสะ; ความดับไมเหลือแหงสัญญา ยอมมี เพราะความดับไมเหลืองแหงผัสสะ; มรรคอัน ประกอบดวยองคแปดอันประเสริฐนั่นเอง เปนปฏิปทาใหถึงความดับไมเหลือแหง สั ญ ญา, ได แก สิ่ งเหล านี้ คื อ ความเห็ นชอบ ความดํ าริชอบ การพู ดจาชอบ การทํ า การงานชอบ การเลี้ ยงชี วิ ตชอบ ความพยายามชอบ ความระลึ กชอบ ความตั้ งใจมั่ นชอบ; สุ ข โสมนั สใด ๆ อาศั ยสั ญ ญาเกิ ดขึ้ น : นี้ เป นอั สสาทะแห งสั ญ ญา; ...ฯลฯ...ฯลฯ... วัฏฏะ ยอมไมมีเพื่อการบัญญัติแกบุคคลเหลานั้น.

www.buddhadasa.info ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ก็สังขารทั้งหลาย เปนอยางไรเลา? ดูกอนภิกษุทั้ งหลาย! หมู แห งเจตนา (เจตนากายา) ทั้ งหลาย ๖ หมู เหล านี้ คื อ ความคิ ดนึ กในรู ป ความคิ ดนึ กในเสี ยง ความคิ ดนึ กในกลิ่ น ความคิ ดนึ กในรส ความคิ ดนึ กในโผฏฐั พพะ ความคิ ดนึ กในธั มมารมณ : ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เหล านี้ เราเรียกว า สั งขารทั้ งหลาย การเกิ ดขึ้ นแห งสั งขาร ย อมมี เพราะการเกิ ดขึ้ นแห งผั สสะ; ความดั บไม เหลื อแห ง สังขารยอมมี เพราะความดับไมเหลือแหงผัสสะ; มรรคอันประกอบดวยองคแปด อันประเสริฐนั่นเอง เปนปฏิปทาใหถึงความดับไมเหลือแหงสังขาร, ไดแกสิ่งเหลานี้

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๓๔๑

คื อ ความเห็ น ชอบ ความดํ าริ ชอบ การพู ดจาชอบ การทํ าการงานชอบ การเลี้ ยงชี วิ ต ชอบ ความพยายามชอบ ความระลึ ก ชอบ ความตั้ งใจมั่ นชอบ; สุ ข โสมนั สใด ๆ อาศั ย สัง ขารทั ้ง หลายเกิด ขึ ้น : นี ้ เปน อัส สาทะแหง สัง ขารทั ้ง หลาย;...ฯลฯ...ฯลฯ ...วัฏฏะ ยอมไมมี เพื่อการบัญญัติ แกบุคคลเหลานั้น. ดู กอนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็วิญญาณ เป นอย างไรเล า? ดู กอนภิ กษุ ทั้ งหลาย! หมู แห งวิ ญญาณ (วิ ญญาณกายา) ทั้ งหลาย ๖ หมู เหล านี้ คื อ วิ ญญาณทางตา วิ ญญาณ ทางหู วิ ญญาณทางจมู ก วิ ญญาณทางลิ้ น วิ ญญาณทางกาย วิ ญญาณทางใจ : ดู ก อน ภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! นี้ เราเรี ย กว า วิ ญ ญาณ; การเกิ ด ขึ้ น แห งวิ ญ ญาณ ย อ มมี เพราะ การเกิดขึ้นแหงนามรูป; ความดับไมเหลือแหงวิญญาณ ยอมมี เพราะความดับไมเหลือ แห งนามรูป; มรรคอันประกอบด วยองค แปดอันประเสริฐนั่ นเอง เป นปฏิ ปทาให ถึ ง ความดั บไม เหลื อแห งวิญ ญาณ, ได แก สิ่ งเหลานี้ คื อ ความเห็ นชอบ ความดํ าริชอบ การพู ดจาชอบ การทํ าการงานชอบ การเลี้ ยงชี วิ ตชอบ ความพยายามชอบ ความระลึ ก ชอบ ความตั้ งใจมั่ นชอบ; สุ ข โสมนั ส ใด ๆ อาศั ยวิ ญญาณเกิ ดขึ้ น : นี้ เป นอั สสาทะแห ง วิ ญญาณ; วิ ญญาณใดไม เที่ ยง เป นทุ กข มี ความแปรปรวนเป นธรรมดา : นี้ เป นอาที นวะ แห งวิ ญญาณ; การนํ าออกเสี ยได ซึ่ งความกํ าหนั ดด วยอํ านาจ ความพอใจ กล าวคื อ การละ เสี ยได ซึ่ งความกํ าหนั ดด วยอํ านาจแห งความพอใจ ในวิ ญญาณ, อั นใด; นี้ เป นนิ สสรณะ เครื่ องออกจากวิ ญ ญาณ (รวมเป นสิ่ งที่ ต องรู ๗ อย าง). ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณะ หรือพราหมณก็ตามเหลาใดเหลาหนึ่ง รูดวยปญญาอันยิ่งซึ่งวิญญาณวาอยางนี้คือวิญญาณ; ...อย างนี้ คื อเหตุ ให เกิ ดขึ้ นแห งวิ ญ ญาณ; ...อย างนี้ คื อความดั บไม เหลื อแห งวิ ญ ญาณ; ...อย างนี้ คื อข อปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสั ตว ให ลุ ถึ งความดั บไม เหลื อแห งวิ ญ ญาณ; ...อย างนี้ คื ออั สสาทะแห งวิ ญ ญาณ; ...อย างนี้ คื อาที นวะแห งวิ ญ ญาณ; ...อย างนี้ คื อนิ สสรณะ เครื่องออกจากวิญญาณ; ดังนี้แลวเปนผูปฏิบัติแลว เพื่อความเบื่อหนาย (นิพฺพิทา)

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๓๔๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

เพื่ อความสํ ารอก (วิราค) เพื่ อความดั บไม เหลื อ(นิ โรธ)แห งวิ ญญาณ; สมณพราหมณ เหล านั้ น เปนผู ปฏิบัติดีแลว, บุคคลเหลาใดปฏิบัติดีแลว; บุคคลเหลานั้น ชื่อวา หยั่งลงใน ธรรมวิ นั ย นี้ . ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณะหรือพราหมณ ก็ ตาม เหล าใดเหล าหนึ่ ง รูดวยปญญาอันยิ่งซึ่งวิญญาณ วา อยางนี้คือวิญญาณ; ...อยางนี้คือเหตุใหเกิดขึ้นแหง วิญญาณ; ...อยางนี้คือความดับไมเหลือแหงวิญญาณ; ...อยางนี้คือขอปฏิ บัติเครื่องทํ า สั ตวให ลุ ถึ งความดั บไม เหลื อแห งวิ ญ ญาณ; ...อย างนี้ คื ออั สสาทะแห งวิญ ญาณ; ... อยางนี้คืออาทีนวะแหงวิญญาณ; ...อยางนี้คือนิสสรณะเครื่องออกจากวิญญาณ; ดังนี้แลว เป นผู พ นวิเศษแลว เพราะความเบื่อหนาย เพราะความสํารอก เพราะความดับไม เหลื อ เพราะความไม ยึ ดมั่ น ซึ่ งวิ ญ ญาณ; สมณพราหมณ เหล านั้ น เป นผู พ นวิ เศษ แล วด วยดี (สุ วิมุ ตฺ ตา); บุ คคลเหล าใด เป นผู พ นวิเศษแล วด วยดี บุ คคลเหล านั้ น ชื่ อวา เปน เกพลี ผูจบกิจอันบุ คคลพึ งกระทํา; บุคคลเหลาใดจบกิจอันบุ คคลพึ งกระทํ า วัฏฏะ ยอมไมมี เพื่อจะบัญญัติ แกบุคคลเหลานั้น. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ภิกษุเปนผูฉลาดในฐานะ ๗ ประการ อยางนี้แล.

www.buddhadasa.info ดูกอนภิ กษุ ทั้งหลาย! ก็ภิ กษุ เปนผูพิ จารณาใครครวญธรรมโดยวิธี ๓ ประการ เป นอย างไรเล า? ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ภิ กษุ ในกรณี นี้ ย อมพิ จารณาใครครวญธรรม โดยความเปนธาตุ, ยอมพิจารณาใครครวญธรรมโดยความเปนอายตนะ, ยอมพิจารณา ใครครวญธรรมโดยความเป น ปฏิ จ จสมุ ป บาท. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ภิ กษุ เป น ผู พิจารณาใครครวญธรรมโดยวิธี ๓ ประการ อยางนี้แล. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ภิ กษุ เป นผู ฉลาดในฐานะ ๗ ประการ เป นผู พิ จารณา ใคร ครวญธรรมโดยวิ ธี ๓ ประการ เราเรียกว า ภิ กษุ ผู เกพลี อยู จบกิ จแห งพรหมจรรย ในธรรมวินัยนี้, ดังนี้ แล.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๓๔๓

อนุสัยไมอาจจะเกิด เมื่อรูเทาทันเวทนา ในปฏิจจสมุปบาท๑ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! (๑) เพราะอาศั ยตาด วย รู ปทั้ งหลายด วย จึ งเกิ ด จั กขุ วิ ญ ญาณ; การประจวบพร อมแห งธรรมสามประการ (ตา+รู ป + จั กขุ วิ ญ ญาณ) นั่นคื อผั สสะ; เพราะมี ป สสะเป นป จจัย จึงเกิดเวทนา อันเป นสุขบ าง เป นทุ กขบ าง ไมใชทุกขไมใชสุขบาง บุ ค คลนั้ น เมื่ อ สุ ข เวทนาถู ก ต อ งอยู ยอ มไม เพลิ ด เพลิ น ยอ มไม พ ร่ํา สรรเสริญ ไมเมาหมกอยู, อนุ สั ยคือราคะ ยอมไม ตามนอน (ไมเพิ่ มความเคยชินให ) แกบุคคลนั้น; เมื่ อทุ กขเวทนาถู กต องอยู เขาย อมไม เศราโศก ย อมไม ระทมใจ ย อมไม คร่ําครวญ ย อมไมตื อกร่ําไห ย อมไม ถึงความหลงใหลอยู, อนุ สั ยคื อปฏิ ฆะ ยอมไม ตามนอน (ไมเพิ่มความเคยชินใหแกบุคคลนั้น;

www.buddhadasa.info เมื่อเวทนาอันไมใชทุกขไมใชสุขถูกตองอยู เขายอมรูตามเปนจริง ซึ่ง เหตุใหเกิดเวทนานั้นดวย ซึ่งความดับไมเหลือแหงเวทนานั้นดวย ซึ่งอัสสาทะ (รสอรอย) ของเวทนานั้ นด วย ซึ่ งอาที นวะ (โทษ) ของเวทนานั้ นด วย ซึ่ งนิ สสรณะ (อุ บายเครื่ อง ออกพ นไป) ของเวทนานั้ นด วย, อนุ สั ยคื ออวิชชา ย อมไม ตามนอน (ไม เพิ่ มความ เคยชินให) แกบุคคลนั้น.

ฉฉักกสูตร อุปริ. ม.๑๔/๕๑๘/๘๒๓, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๓๔๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

ดู กอนภิ กษุ ทั้ งหลาย ! บุ คคลนั้ นหนอ ละราคานุ สั ยอันเกิ ดจากสุ ขเวทนา เสียไดแลว; บรรเทาปฏิฆานุสัยอันเกิดจากทุกขเวทนาเสียไดแลว; ถอนอวิชชานุสัย อั นเกิ ดจากอทุ กขสุ ขเวทนาเสี ยได แล ว; เมื่ อละอวิ ชชาเสี ยได แล ว และทํ าวิ ชชาให เกิ ด ขึ้ น ได แ ล ว เขาจั ก ทํ า ที่ สุ ด แห ง ทุ ก ข ในทิ ฏ ฐธรรม (ป จ จุ บั น ) นี้ ได นั้ น ; ข อ นี้ เป น ฐานะที่จักมีได. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! (๒) เพราะอาศั ยหู ด วย เสี ยงทั้ งหลายด วย จึ งเกิ ด โสตวิญญาณ; การประจวบพรอมแห งธรรมสามประการ (หู + เสี ยง + โสตวิญญาณ) นั ่น คือ ผัส สะ; ...ฯลฯ...ฯลฯ...จัก ทํ า ที ่ส ุด แหง ทุก ข ในทิฏ ฐธรรม (ปจ จุบ ัน ) นี้ได นั้น; ขอนี้เปนฐานะที่จักมีได. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! (๓) เพราะอาศั ยจมู กด วย กลิ่ นทั้ งหลายด วย จึ งเกิ ด ฆานวิ ญญาณ; การประจวบพร อมแห งธรรมสามประการ (จมู ก + กลิ่ น +ฆานวิ ญญาณ) นั ่น คือ ผัส สะ; ...ฯลฯ...ฯลฯ...จัก ทํ า ที ่ส ุด แหง ทุก ข ในทิฏ ฐธรรม (ปจ จุบ ัน ) นี้ได นั้น; ขอนี้เปนฐานะที่จักมีได.

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! (๔) เพราะอาศั ยลิ้ นด วย รสทั้ งหลายด วย จึ งเกิ ด ชิ วหาวิ ญญาณ; การประจวบพรอมแห งธรรมสามประการ (ลิ้ น + รส + ชิ วหาวิ ญญาณ) นั ่น คือ ผัส สะ; ...ฯลฯ...ฯลฯ... จัก ทํ า ที ่ส ุด แหง ทุก ข ในทิฏ ฐธรรม (ปจ จุบ ัน ) นี้ได นั้น; ขอนี้เปนฐานะที่จักมีได. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! (๕) เพราะอาศั ยกายด วย โผฏฐั พพะทั้ งหลายด วย จึงเกิดกายวิญญาณ; การประจวบพรอมแหงธรรมสามประการ (กาย + โผฏฐัพพะ +

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๓๔๕

กายวิ ญ ญาณ) นั่ น คื อ ผั ส สะ; ...ฯลฯ...ฯลฯ... จั ก ทํ า ที่ สุ ด แห ง ทุ ก ข ในทิ ฏ ฐธรรม (ปจจุบัน) นี้ได นั้น; ขอนี้เปนฐานะที่จักมีได. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! (๖) เพราะอาศั ยใจด วย ธั มมารมณ ทั้ งหลายด วย จึ งเกิ ดมโนวิ ญญาณ; การประจวบพรอมแห งธรรมสามประการ (ใจ + ธัมมารมณ + มโนวิญ ญาณ) นั่ นคื อผั สสะ; เพราะมี ผัสสะเป นป จจัย จึงเกิดเวทนาอันเป นสุขบ าง เปนทุกขบาง ไมใชทุกขไมใชสุขบาง. บุ ค คลนั้ น เมื่ อ สุ ข เวทนาถู ก ต อ งอยู ยอ มไม เพลิ ด เพลิ น ยอ มไม พ ร่ํา สรรเสริญ ไม เมาหมกอยู , อนุ สั ยคื อราคะ ย อมไม ตามนอน (ไม เพิ่ มความเคยชิ นให แกบุคคลนั้น; เมื่อทุกขเวทนาถูกตองอยู เขายอมไมเศราโศก ยอมไมระทมใจ ยอมไม คร่ําครวญ ยอมไมตีอกร่ําไห ยอมไมถึงความหลงใหลอยู, อนุสัยคือปฏิฆะ ยอมไม ตามนอน (ไมเพิ่มความเคยชินให) แกบุคคลนั้น;

www.buddhadasa.info เมื่อเวทนาอันไมใชทุกขไมใชสุขถูกตองอยู เขายอมรูตามเปนจริงซึ่ง เหตุใหเกิดเวทนานั้นดวย ซึ่งความดับไมเหลือแหงเวทนานั้นดวย ซึ่งอัสสาทะ (รสอรอย) ของเวทนานั้ นด วย ซึ่ งอาที นวะ (โทษ) ของเวทนานั้ นด วย ซึ่ งนิ สสรณะ (อุ บายเครื่ อง ออกพ นไป) ของเวทนานั้ นด วย, อนุ สั ยคื ออวิชชา ย อมไม ตามนอน (ไม เพิ่ มความ เคยชินให) แกบุคคลนั้น.

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! บุ คคลนั้ นหนอ ละราคานุ สั ยอั นเกิ ดจากสุ ขเวทนา เสียไดแลว; บรรเทาปฏิฆานุสัยอันเกิดจากทุกขเวทนาเสียไดแลว; ถนอนอวิชชา-

www.buddhadasa.info


๓๔๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

นุ สั ยอั นเกิ ดจากอทุ กขมสุ ขเวทนาเสี ยได แล ว; เมื่ อละอวิชชาเสี ยได แล ว และทํ าวิชชา ให เกิ ดขึ้ นได แล ว เขาจั กทํ าที่ สุ ดแห งทุ กข ในทิ ฏฐธรรม (ป จจุ บั น) นี้ ได นั้ น; ข อ นี้ เปนฐานะที่จักมีได, ดังนี้.

ปฎิจจสมุปบาทสลายตัว เมื่อรูแจงธรรมหา อันเปนที่ตั้งแหงอุปาทาน๑ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เราจั กแสดงธรรมแก พวกเธอทั้ งหลาย เพื่ อความรอบรู ซึ่งอุปาทานทั้งปวง. พวกเธอทั้งหลายจงฟงซึ่งธรรมนั้น. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ก็ธรรมเปนไปเพื่อความรอบรูซึ่งอุปาทานทั้งปวง เปนอยางไรเลา? ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะอาศั ยซึ่ งตาด วย, ซึ่ งรู ปทั้ งหลายด วย, จึ งเกิ ด จั กขุ วิ ญญาณ; การประจวบพรอมแห งธรรม ๓ ประการ (ตา + รูป + จั กขุ วิ ญญาณ) นั่ น คื อ ผั ส สะ; เพราะมี ผั ส สะเป น ป จจั ย จึ งมี เวทนา. ดู ก อ นภิ กษุ ทั้ งหลาย! อริย สาวกผูมีการสดับแลว เห็นอยูอยางนี้ ยอมเบื่อหนายแมในตา ๑. ยอมเบื่อหนายแมใน รูปทั้งหลาย ๑. ยอมเบื่อหนายแม ในจักขุวิญญาณ ๑. ยอมเบื่ อหน ายแมในจักขุสัมผัส ๑, ยอมเบื่อหนายแมในเวทนา ๑. เมื่อเบื่อหนาย ยอมคลายกําหนัด; เพราะความ

www.buddhadasa.info

สูตรที่ ๘ อวิชชาวรรค สฬายตนสังยุตต สฬา. สํ. ๑๘/๓๙/๖๓, ตรัสแกภิกษุทั้งหลายที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๓๔๗

คลายกํ าหนั ด ย อ มหลุ ด พ น . อริย สาวกนั้ น ย อ มรูชัด วา "อุป าทาน ๑ เป น สิ่ งที่ เรา รอบรูแลว เพื่อความหลุดพน (วิโมกฺข)" ดังนี้. ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย! เพราะอาศัยซึ่งหู ดวย, ซึ่งเสี ยงทั้งหลายดวย, จึงเกิด โสตวิญญาณ; การประจวบพรอมแห งธรรม ๓ ประการ (หู + เสี ยง + โสตวิญญาณ) นั่นคื อ ผั สสะ; เพราะมี ผัสสะเป นป จจัย จึงมี เวทนา. ดู กอนภิ กษุ ทั้ งหลาย! อริยสาวก ผูมีการสดับแลว เห็ นอยูอยางนี้ ยอมเบื่อหนายแม ในหู ๑, ยอมเบื่อหนายแมในเสียง ทั้ งหลาย ๑, ย อมเบื่ อหน ายแม ในโสตวิญญาณ ๑, ย อมเบื่ อหน ายแม ในโสตสั มผั ส ๑, ยอมเบื่อหนายแมในเวทนา ๑, เมื่อเบื่อหนาย ยอมคลายกําหนัด; เพราะความ คลายกําหนัด ยอมหลุดพน. อริยสาวกนั้นยอมรูชัดวา "อุปาทาน เปนสิ่งที่เรารอบรู แลวเพื่อความหลุดพน" ดังนี้. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เพราะอาศัยซึ่งจมูกดวย, ซึ่งกลิ่นทั้งหลายดวย, จึงเกิด ฆานวิ ญญาณ; การประจวบพรอมแห งธรรม ๓ ประการ (จมู ก + กลิ่ น + ฆานวิญญาณ) นั่นคือผัสสะ; เพราะมี ผัสสะเป นป จจัย จึงมีเวทนา. ดูกอนภิ กษุ ทั้งหลาย! อริยสาวก ผูมีการสดับแลว เห็นอยูอยางนี้ ยอมเบื่อหนายแมในจมูก ๑, ยอมเบื่อหนายแมในกลิ่น ทั้ งหลาย ๑, ย อมเบื่ อหน ายแม ในฆานวิญญาณ๑, ยอมเบื่ อหน ายแม ในฆานสั มผั ส ๑, ยอมเบื่อหนายแมในเวทนา ๑, เมื่อเบื่อหนาย ยอมคลายกําหนัด; เพราะความ คลายกําหนัด ยอมหลุดพน. อริยสาวกนั้นยอมรูชัดวา "อุปทาน เปนสิ่งที่เรารอบรูแลว เพื่อความหลุดพน"ดังนี้.

www.buddhadasa.info

ตา รู ป จั กขุ วิ ญ ญาณ ผั สสะ เวทนา รวม ๕ อย างนี้ คื อสิ่ งซึ่ งเป นที่ ตั้ งของอุ ปทาน เมื่ อรู จั กสิ่ งเหล านี้ จนถึ งกั บเบื่ อหน าย คลายกําหนั ด จากสิ่งเหลานี้ และหลุดพ นแล ว เรียกวารอบรูในเรื่องอั นเกี่ ยวกั บอุ ปทาน ทั้งปวง ซึ่งตามปกติหมายถึง กามุปาทาน,ทิฏุปาทาน,สีลัพพัตตุปาทาน,อัตตวาทุปาทาน.

www.buddhadasa.info


๓๔๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะอาศั ยซึ่ งลิ้ นด วย, ซึ่ งรสทั้ งหลายด วย, จึ งเกิ ด ชิ วหาวิ ญญาณ; การประจวบพรอมแห งธรรม ๓ ประการ (ลิ้ น + รส + ชิ วหาวิ ญญาณ) นั่นคื อ ผั สสะ; เพราะมี ผัสสะเป นป จจัย จึงมี เวทนา. ดู กอนภิ กษุ ทั้ งหลาย! อริยสาวก ผูมีการสดับแลว เห็นอยูอยางนี้ ยอมเบื่อหนายแมในลิ้น ๑, ยอมเบื่อหนายแมในรสทั้งหลาย ๑, ย อ มเบื่ อ หน า ยแม ใ นชิ ว หาวิ ญ ญาณ ๑, ย อ มเบื่ อ หน า ยแม ใ นชิ ว หาสั ม ผั ส ๑, ยอมเบื่อหนายแมในเวทนา ๑, เมื่อเบื่อหนาย ยอมคลายกําหนัด; เพราะความ คลายกําหนัด ยอมหลุดพน. อริยสาวกนั้นยอมรูชัดวา "อุปทานเปนสิ่งที่เรารอบรู แลว เพื่อความหลุดพน"ดังนี้. ดูกอนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะอาศั ยซึ่งกายด วย, ซึ่งโผฏฐัพพะทั้ งหลายดวย, จึ งเกิ ดกายวิ ญญาณ; การประจวบพรอมแห งธรรม ๓ ประการ (กาย + โผฏฐั พพะ + กายวิ ญ ญาณ) นั่ นคื อ ผั ส สะ; เพราะมี ผั สสะเป น ป จจั ย จึ งมี เวทนา. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้งหลาย! อริยสาวกผูมีการสดับแลว เห็นอยูอยางนี้ ยอมเบื่อหนายแมในการ ๑, ยอม เบื่ อหน ายแม ในโผฏฐัพพะทั้ งหลาย ๑, ยอมเบื่ อหน ายแม ในกายวิญญาณ ๑, ยอมเบื่ อ หนายแมในการสัมผัส ๑, ยอมเบื่อหนายแมในเวทนา ๑, เมื่ อเบื่ อหน าย ยอมคลาย กํา หนัด ; เพราะความคลายกํา หนัด ยอ มหลุด พน . อริย สาวกนั้น ยอ มรูชัด วา "อุปทาน เปนสิ่งที่เรารอบรูแลว เพื่อความหลุดพน" ดังนี้.

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะอาศั ยซึ่ งใจด วย, ซึ่ งธั มมารมณ ทั้ งหลายด วย, จึ งเกิ ดมโนวิ ญ ญาณ; การประจวบพรอมแห งธรรม ๓ ประการ (ใจ + ธั มมารมณ + มโนวิ ญ ญาณ) นั่ น คื อ ผั ส สะ; เพราะมี ผั สสะเป น ป จจั ย จึ งมี เวทนา. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! อริย สาวกผู มี ก ารสดั บ แล ว เห็ น อยู อ ย างนี้ ย อ มเบื่ อ หน ายแม ในใจ ๑, ยอมเบื่อหนายแมในธัมมารมณทั้งหลาย ๑, ยอมเบื่อหนายแมในมโนวิญญาณ ๑, ยอม

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๓๔๙

เบื่ อหน ายแม ในมโนสั มผั ส ๑, ย อมเบื่ อหน ายแม ในเวทนา ๑, เมื่ อเบื่ อหน าย ย อม คลายกําหนัด; เพราะความคลายกําหนัด ยอมหลุดพน อริยสาวกนั้นยอมรูชัดวา "อุปทาน เปนสิ่งที่เรารอบรูแลว เพื่อความหลุดพน" ดังนี้. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ธรรมนี้แล. เปนไปเพื่อความรอบรูซึ่งอุปทานทั้งปวง. หมายเหตุ ผู ร วบรวม : ยั ง มี สู ต รอี ก สู ต รหนึ่ ง คื อ สู ต รถั ด ไป (สู ต รที่ ๙ อวิช ชาวรรค สฬายตนสัง ยุต ต สฬา.สํ. ๑๘/๔๐/๖๔) มีข อ ความอยา งเดีย วกับ สูต รที่ กล า วแล ว นี้ ทุ ก ตั ว อั ก ษร ผิ ด กั น แต คํ า พู ด เพี ย งสองคํ า คื อ แทนที่ จ ะตรั ส ว า "เพื่ อ ความ รอบรู ซึ ่ง อุป ทานทั ้ง ปวง" และ "เปน สิ ่ง ที ่เรารอบรู แ ลว " เหมือ นสูต รที ่แ ลว มา แตไ ดต รัส วา "เพื ่อ การครอบงํ า ซึ ่ง อุป ทานทั ้ง ปวง" และ "เปน สิ ่ง ที ่เ ราครอบงํ า แลว " เทา นั ้น เอง. ใจความแห งสู ตรทั้ งสองนี้ แสดงว า เมื่ อ ใดมี ความรูสึ กอยู ว า ธรรมทั้ งห า มี เวทนาเป น ที่ สุ ด นี้ เป นเพี ยงอิ ทั ป ป จจยตา ของปฏิ จจสมุ ป ป นนธรรม กล าวคื อ อาศั ยกั น เกิ ดขึ้ น ดั งที่ กล าว ไว ชั ดในสู ตรนั้ น ๆ แล ว เมื่ อนั้ นปฏิ จจสมุ ปบาทย อมสลายตั ว ในขณะแห งเวทนานั้ น หรือไม อาจจะเกิดขึ้นไดเลย มาตั้งแตแรก ดังนี้.

ญาณวัตถุ ๔๔ ในปฏิจจสมุปบาท๑ เพื่อความเปนโสดาบัน

www.buddhadasa.info ดู กอนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เราจักแสดง ซึ่งญาณวัตถุ ๒ ๔๔ อย าง แกพวกเธอ ทั้ งหลาย. พวกเธอทั้ งหลายจงฟ งข อความนั้ น จงกระทํ าในใจให สํ าเร็จประโยชน , เรา จักกล าวบั ดนี้ . ครั้นภิกษุ ทั้งหลายเหลานั้น ทูลรับสนองพระพุ ทธดํารัสแลว พระผูมีพระภาคเจาไดตรัส

ถอยคําเหลานี้ :-

สูตรที่ ๓ กฬารขัตติยวรรค นิทานสังยุตต นิทาน.สํ ๑๖/๖๗/๑๑๘, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน. ญาณวั ตถุ แปลว า สิ่ งซึ่ งเป นที่ กํ าหนดพิ จารณาของญาณ ญาณกํ าหนดพิ จารณาสิ่ งใด สิ่ งนั้ น เรียกว าญาณ วัตถุ เฉพาะในกรณี นี้ หมายถึ งอาการ ๔ อย าง ๆ ของปฏิ จจสมุ ปบาทแต ละอาการ ซึ่ งมี อยู ๑๑ อาการ; ดังนั้น จึงเรียกวา ญาณวัตถุ ๔๔.

www.buddhadasa.info


๓๕๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ก็ญาณวัตถุ ๔๔ อยาง เปนอยางไรเลา? ญาณวัตถุ ๔๔ อยางคือ: (หมวด ๑) ๑.ญาณ คื อ ความรู ในชรามรณะ; ๒. ญาณ คื อความรู ในเหตุ

ให เกิ ดขึ้ นแห งชรามรณะ; ๓. ญาณ คื อความรู ในความดั บ ไม เหลื อแห งชรามรณะ; ๔. ญาณ คือความรูในขอปฏิบัติเครื่องสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงชรามรณะ; (หมวด ๒) ๑. ญาณ คื อ ความรู ในชาติ ; ๒. ญาณคื อ ความรู ใ นเหตุ

ให เกิ ด ขึ้ น แห ง ชาติ ; ๓.ญาณ คื อ ความรู ใ นความดั บ ไม เหลื อ แห ง ชาติ ; ๔. ญาณ คือความรู ในขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงชาติ; (หมวด ๓) ๑. ญาณ คื อ ความรู ใ นภพ; ๒. ญาณ คื อ ความรู ใ นเหตุ ใ ห

เกิ ด ขึ้ น แห งภพ; ๓. ญาณ คื อ ความรู ในความดั บ ไม เหลื อ แห งภพ; ๔. ญาณ คื อ ความรูในขอปฏิบัติเครื่องสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงภพ;

www.buddhadasa.info (หมวด ๔) ๑. ญาณ คื อความรู ในอุ ป าทาน; ๒. ญาณ คื อความรู ในเหตุ

ให เกิ ด ขึ้ น แห ง อุ ป าทาน; ๓. ญาณ คื อ ความรู ใ นความดั บ ไม เหลื อ แห ง อุ ป าทาน; ๔ ญาณ คือความรูในขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงอุปาทาน; (หมวด ๕) ๑. ญาณ คื อ ความรู ในตั ณ หา; ๒. ญาณ คื อ ความรู ในเหตุ

ให เกิ ดขึ้ นแห งตั ณ หา; ๓. ญาณ คื อความรูในความดั บไม เหลื อแห งตั ณ หา; ๔ ญาณ คือความรูในขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงตัณหา;

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๓๕๑

(หมวด ๖) ๑. ญาณ คื อ ความรู ใ นเวทนา; ๒. ญาณ คื อ ความรู ใ นเหตุ

ให เกิ ดขึ้ นแห งเวทนา; ๓. ญาณ คื อความรู ในความดั บไม เหลื อแห งเวทนา; ๔ ญาณ คือความรูในขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงเวทนา; (หมวด ๗) ๑. ญาณ คื อ ความรู ในผั ส สะ; ๒. ญาณ คื อ ความรู ในเหตุ ให

เกิ ด ขึ้ น แห งผั ส สะ; ๓. ญาณ คื อ ความรู ในความดั บ ไม เหลื อ แห งผั ส สะ; ๔ ญาณ คือความรูในขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงผัสะ; (หมวด ๘) ๑. ญาณ คื อความรู ในสฬายตนะ; ๒. ญาณ คื อความรู ในเหตุ

ให เกิ ดขึ้ น แห งสฬายตนะ; ๓. ญาณ คื อความรู ในความดั บ ไม เหลื อ แห งสฬายตนะ; ๔ ญาณ คือความรูในขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงสฬายตนะ; (หมวด ๙) ๑. ญาณ คื อ ความรู ในนามรู ป ; ๒. ญาณ คื อ ความรู ในเหตุ

ใหเ กิด ขึ ้น แหง นามรูป ; ๓. ญาณ คือ ความรู ใ นความดับ ไมเ หลือ แหง นามรูป ; ๔ ญาณ คือความรูในขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงนามรูป;

www.buddhadasa.info (หมวด ๑๐) ๑. ญาณ คื อความรู ในวิ ญ ญาณ; ๒. ญาณ คื อความรู ในเหตุ

ให เกิ ด ขึ้ น แห งวิ ญ ญาณ; ๓. ญาณ คื อ ความรู ในความดั บ ไม เหลื อ แห งวิ ญ ญาณ; ๔ ญาณ คือความรูในขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงวิญญาณ; (หมวด ๑๑) ๑. ญาณ คื อความรู ในสั งขารทั้ งหลาย; ๒. ญาณ คื อความรู

ในเหตุ ให เกิ ด ขึ้ น แห งสั งขาร; ๓. ญาณ คื อ ความรู ในความดั บ ไม เหลื อ แห งสั งขาร; ๔ ญาณ คือความรูในขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงสังขาร;

www.buddhadasa.info


๓๕๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เหลานี้เรียกวา ญาณวัตถุ ๔๔ อยาง.

ดู ก อ น ภิ ก ษุ ทั้ งห ล า ย ! ก็ ช ร า ม ร ณ ะ เป น อ ย า ง ไร เล า ? ค ว า ม แ ก ค ว า ม ค ร่ํ าค ร า ค วาม มี ฟ น ห ลุ ด ค วาม มี ผ ม ห งอ ก ค วาม มี ห นั งเหี่ ย ว ค วาม สิ้ น ไป ๆ แ ห งอ ายุ ค วาม แ ก รอ บ แ ห งอิ น ท รี ย ทั้ งห ล าย ใน สั ต ว นิ ก าย นั้ น ๆ ข อ งสั ต ว ทั้ งห ล าย เห ล านั้ น ๆ : นี้ เรี ย ก ว า ช ร า . ก า ร จุ ติ ค ว า ม เค ลื่ อ น ก า ร แ ต ก ส ล า ย ก า ร ห า ย ไป ก า ร ว า ย ชี พ ก า ร ต า ย ก า รทํ า ก า ล ะ ก า รแ ต ก แ ห งขั น ธ ทั้ งห ล า ย ก า รท อ ด ทิ้ งร า ง ก า รข า ด แ ห งอิ น ท รี ย คื อ ชี วิ ต จ า ก สั ต ว นิ ก า ย นั้ น ๆ ข อ งสั ต ว ทั้ งห ล า ย เห ล า นั้ น ๆ : นี้ เรี ย ก ว า ม รณ ะ . ช รา นี้ ด ว ย ม ร ณ ะ นี้ ด ว ย ย อ ม มี อ ยู ดั ง นี้ ; ดู ก อ น ภิ ก ษุ ทั้ ง ห ล า ย ! นี้ เรี ย ก ว า ช ร า ม ร ณ ะ . ค วาม ก อ ขึ้ น พ ร อ ม แ ห งช ราม รณ ะ ย อ ม มี เพ ราะ ค วาม ก อ ขึ้ น พ ร อ ม แ ห งช าติ ; ค วาม ดั บ ไม เห ลื อแห งชราม รณ ะ ย อม มี เพ ราะค วาม ดั บ ไม เห ลื อแห งชาติ ; ม รรค อั น ป ระกอบ ด วย อ งค แ ป ด อั น ป ระ เส ริ ฐ นั่ น เอ ง เป น ป ฏิ ป ท าให ถึ งค วาม ดั บ ไม เห ลื อ แ ห งช ราม รณ ะ ได แ ก สิ่ งเห ล านี้ คื อ ค วาม เห็ น ช อ บ ค วาม ดํ าริ ช อ บ ก ารพู ด จ าช อ บ ก ารทํ าก ารงาน ช อ บ ก าร เลี้ยงชีวิตชอบ ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ. ดู ก อ น ภิ ก ษุ ทั้ งห ล าย ! อ ริ ย ส าวก ย อ ม ม ารู ทั่ ว ถึ ง ซึ่ งช ร าม ร ณ ะ ว าเป น อ ย า ง นี้ ๆ , ม า รู ทั่ ว ถึ ง ซึ่ ง เห ตุ ใ ห เกิ ด ขึ้ น แ ห ง ช ร า ม ร ณ ะ ว า เป น อ ย า ง นี้ ๆ , ม า รู ทั่ ว ถึ งซึ่ งความดั บไม เหลื อแห งชรามรณ ะ ว าเป นอย างนี้ ๆ, มารู ทั่ วถึ ง ซึ่ งข อปฏิ บั ติ เครื่ องทํ า สั ต ว ให ลุ ถึ งค วาม ดั บ ไม เห ลื อ แ ห งช ราม รณ ะ ว าเป น อ ย างนี้ ๆ , ใน ก าล ใด ; ใน ก าล นั้ น ความ รู นี้ ของอริ ยสาวกนั้ น ชื่ อว า ญ าณ ใน ธ รรม (ธมฺ ม ญ าณ ). ด วยธรรม นี้ อั น อริ ยสาวก นั้ นเห็ นแล ว รู แล ว บ รรลุ แล ว หยั่ งลงแล ว และเป นธรรมอั นใช ได ไม จํ ากั ดกาล, อริ ยสาวก นั้ น ย อม นํ าค วาม รู นั้ น ไป สู นั ย ะอั น เป น อ ดี ต แ ล ะอ น าค ต (ต อไป อี ก) ว า "สม ณ ะห รื อ พราหมณเหลาใดเหลาหนึ่ง ในกาลยืดยาวนานฝายอดีต ไดรูอยางยิ่งแลว ซึ่งชรามรณะ,

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๓๕๓

ได รูอย างยิ่ งแล ว ซึ่ งเหตุ ให เกิ ดขึ้ นแห งมรณะ, ได รูอย างยิ่ งแล ว ซึ่ งความดั บไม เหลื อ แหงชรามรณะ, ไดรูอยางยิ่งแลว ซึ่งขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหง ชรามรณะ; สมณะหรือพราหมณ เหล านั้ นทุ กท าน ก็ ได รูอย างยิ่ งแล ว เหมื อนอย างที่ เราเองได รูอย างยิ่ งแล วในบั ดนี้ . ถึ งแม สมณะหรือพราหมณ เหล าใดเหล าหนึ่ ง ในกาล ยืดยาวนานฝ ายอนาคต จักรูอยางยิ่ง ซึ่งชรามรณะ, จักรูอยางยิ่ง ซึ่งเหตุให เกิดขึ้นแห ง ชรามรณะ, จั กรูอย างยิ่ ง ซึ่งความดั บไม เหลื อแห งชรามรณะ, จั กรูอย างยิ่ ง ซึ่ งข อปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสั ตว ให ลุ ถึ งความดั บ ไม เหลื อแห งชรามรณะ ก็ ตาม; สมณะหรื อพราหมณ เหล านั้ นทุ กท าน ก็ รูจั กอย างยิ่ ง เหมื อนอย างที่ เราเองได รูอย างยิ่ งแล วในบั ดนี้ " ดั งนี้ . ความรูนี้ของอริยสาวกนั้น ชื่อวา ญาณในการรูตาม (อนฺวยญาณ). ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ญาณทั้งสอง คือธัมมญาณและอันวยญาณ เหลานี้ ของอริยสาวก เปนธรรมชาติบริสุทธิ์ ผองใส ในกาลใด; ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ในกาลนั้น เราเรีย กอริยสาวกนั้ น วา "ผูสมบูรณ แลวดวยทิฏฐิ", ดังนี้บ าง; วา "ผู สมบู รณ แล วด วยทั สสนะ", ดั งนี้ บ าง; วา "ผู มาถึ งพระสั ทธรรมนี้ แล ว", ดั งนี้ บ าง; ว า "ได เห็ นอยู ซึ่ งพระสั ทธรรมนี้ ", ดั งนี้ บ าง; ว า "ผู ประกอบแล วด วยญาณอั นเป นเสขะ", ดั งนี้ บ าง; ว า "ผู ประกอบแล วด วยวิ ชชาอั นเป นเสขะ", ดั งนี้ บ าง; ว า "ผู ถึ งซึ่ งกระแส แห งธรรมแล ว", ดั งนี้ บ าง; วา "ผู ประเสริฐ มี ป ญ ญาเครื่องชํ าแรกกิ เลส", ดั งนี้ บ าง; วา "ยืนอยูจนประตูแหงอมตะ", ดังนี้บาง, ดังนี้.

www.buddhadasa.info ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย! ก็ชาติ เป นอยางไรเล า? การเกิด การกําเนิด การ กา วลง(สู ค รรภ)การบัง เกิด การบัง เกิด โดยยิ ่ง ความปรากฏของขัน ธทั ้ง หลาย การที่ สั ตวได ซึ่ งอายตนะทั้ งหลาย ในสั ตว นิ การนั้ น ๆ ของสั ตว ทั้ งหลาย เหล านั้ น ๆ : ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! นี้ เรียกวา ชาติ. ความกอขึ้นพรอมแหงชาติ ยอมมี เพราะ

www.buddhadasa.info


๓๕๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

ความก อขึ้ นพร อมแห งภพ; ความดั บไม เหลื อแห งชาติ ย อมมี เพราะความดั บไม เหลื อ แห งภพ; มรรคอั นประกอบด วยองค แปดอั นประเสริ ฐนั่ นเอง เป นปฎิ ปทาให ถึ งความ ดั บ ไม เหลื อ แห งชาติ , ได แก สิ่ งเหล านี้ คื อ ความเห็ น ชอบ ความดํ าริ ช อบ การพู ด จา ชอบ การทํ าการงานชอบ การเลี้ ยงชี วิ ต ชอบ ความพากเพี ยรชอบ ความระลึ ก ชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ. ดูกอนภิ กษุ ทั้งหลาย! อริยสาวกยอมมารูทั่ วถึ ง ซึ่งชาติ วาเป นอย างนี้ ๆ มารูทั่ วถึ ง ซึ่ งเหตุ ให เกิ ดขึ้ นแห งชาติ ว าเป นอย างนี้ ๆ, มารูทั่ วถึ ง ซึ่ งความดั บไม เหลื อ แห งชาติ วาเป นอยางนี้ ๆ, มารูทั่ วถึ ง ซึ่งขอปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสั ตวให ลุ ถึ งความดั บไม เหลื อ แห งชาติ ว าเป นอย างนี้ ๆ, ในกาลใด; ในกาลนั้ น ความรู นี้ ของอริ ยสาวกนั้ น ชื่ อว า ญาณในธรรม(ธมฺ ม ญาณ) ด ว ยธรรมนี้ อั น อริ ย สาวกนั้ น เห็ น แล ว รูแ ล ว บรรลุ แ ล ว หยั่ งลงแล ว และเป นธรรมอั นใช ได ไม จํ ากั ดกาล, อริยสาวกนั้ น ย อมนํ าความรู นั้ นไป สู นั ยะอั นเป นอดี ตและอนาคต (ต อไปอีก) วา "สมณะหรือพราหมณ เหลาใดเหลาหนึ่ ง ในกาลยื ดยาวนานฝ ายอดี ต ได รูอย างยิ่ งแล ว ซึ่ งชาติ , ได รูอย างยิ่ งแล ว ซึ่ งเหตุ ให เกิ ดขึ้ น แห งชาติ , ได รูอย างยิ่ งแล ว ซึ่ งความดั บไม เหลื อแห งชาติ , ได รูอย างยิ่ งแล ว ซึ่ งข อปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสั ตวให ลุ ถึ งความดั บไม เหลือแห งชาติ ; สมณะหรือพราหมณ เหล านั้ นทุ กท าน ก็ ได รูอย างยิ่ งแล ว เหมื อนอย างที่ เราเองได รูอย างยิ่ งแล วในบั ดนี้ . ถึ งแม สมณะหรือพราหมณ เหล าใดเหล าหนึ่ ง ในกาลยื ดยาวนานฝ ายอนาคต จั กรู อย างยิ่ ง ซึ่ งชาติ , จั กรู อย างยิ่ ง ซึ่ งเหตุ ให เกิ ด ขึ้ น แห งชาติ , จั กรู อ ย างยิ่ ง ซึ่ งความดั บ ไม เหลื อแห งชาติ , จั กรู อ ย างยิ่ ง ซึ่ งข อปฏิ บั ติ เครื่ องทํ าสั ตว ให ลุ ถึ งความดั บไม เหลื อแห งชาติ ก็ ตาม; สมณะหรือพราหมณ เหล านั้ น ทุ กท านก็ จั กรู อ ย างยิ่ ง เหมื อ นอย างที่ เราเองได รู อ ย างยิ่ งแล วในบั ด นี้ " ดั งนี้ . ความรูนี้ ของอริยสาวกนั้น ชื่อวา ญาณในการรูตาม (อนฺวยญาณ)

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๓๕๕

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ญาณทั้งสอง คือธัมมญาณและอันวยญาณ เหลานี้ ของอริยสาวก เปนธรรมชาติบริสุทธิ์ ผองใส ในกาลใด; ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ในกาลนั ้น เราเรีย กอริย สาวกนั ้น วา "ผู ส มบูร ณแ ลว ดว ยทิฏ ฐิ", ดัง นี ้บ า ง; วา "ผู สมบู รณ แล วด วยทั สสนะ", ดั งนี้ บ าง; ว า "ผู ม าถึ งพระสั ทธรรมนี้ แล ว", ดั งนี้ บ าง; ว า "ได เห็ น พระสั ท ธรรมนี้ ", ดั งนี้ บ าง; ว า "ผู ป ระกอบแล วด วยญาณอั น เป น เสขะ", ดั งนี้ บ าง; ว า "ผู ประกอบแล วด วยวิ ชชาอั นเป นเสขะ", ดั งนี้ บ าง; ว า "ผู ถึ งซึ่ งกระแส แห งธรรมแล ว", ดั งนี้ บ าง; ว า "ผู ประเสริ ฐ มี ป ญ ญาเครื่ องชํ าแรกกิ เลส", ดั งนี้ บ าง; วา "ยืนอยูจดประดูแหงอมตะ", ดังนี้บาง, ดังนี้. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ก็ ภพ เปนอยางไรเลา? ...ฯลฯ... ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ก็ อุปทาน เปนอยางไรเลา? ...ฯลฯ... ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ก็ ตัณหา เปนอยางไรเลา? ...ฯลฯ... ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ก็ เวทนา เปนอยางไรเลา? ...ฯลฯ... ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ก็ ผัสสะ เปนอยางไรเลา? ...ฯลฯ... ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ก็ สฬายตนะ เปนอยางไรเลา? ...ฯลฯ... ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ก็ นามรูป เปนอยางไรเลา? ...ฯลฯ... ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ก็ วิญญาณ เปนอยางไรเลา? ...ฯลฯ...

www.buddhadasa.info (ข อความนี้ ที่ ละไว ด วย...ฯลฯ...ดั งข างบนนี้ มี ข อความเต็ มดั งในข ออั นว าด วย ชรามรณะ และชาติ ขางตนทุกประการ ตางกันแตชื่อหัวขอธรรม).

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ก็สังขารทั้งหลาย เปนอยางไรเลา? ดูกอนภิกษุ ทั้ งหลาย! สั งขารทั้ งหลาย สามอย างเหล านี้ คื อ กายสั งขาร วจี สั งขาร จิ ตตสั งขาร : ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เหลานี้เรียกวา สังขารทั้งหลาย. ความกอขึ้นพรอมแหงสังขาร

www.buddhadasa.info


๓๕๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

ย อมมี เพราะความก อขึ้ นพรอมแห งอวิชชา; ความดั บไม เหลื อแห งสั งขาร ย อมมี เพราะ ความดั บไม เหลื อแห งอวิ ชชา; มรรคอั นประกอบด วยองค แปดอั นประเสริ ฐนั่ นเอง เป น ปฏิ ปทาให ถึ งความดั บไม เหลื อแห งสั งขาร, ได แก สิ่ งเหล านี้ คื อ ความเห็ นชอบ ความ ดํ าริ ชอบ การพู ดจาชอบ การทํ าการงานชอบ การเลี้ ยงชี วิ ตชอบ ความพากเพี ยรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจชอบ. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! อริย สาวก ย อ มมารู ทั่ ว ถึ ง ซึ่ ง สั ง ขารทั้ ง หลาย วาเป นอยางนิ้ ๆ. มารูทั่วถึง ซึ่งเหตุให เกิดขึ้นแห งสังขาร วาเป นอยางนี้ ๆ, มารูทั่ วถึ ง ซึ่ งความดั บไม เหลื อแห งสั งขาร ว าเป นอย างนี้ ๆ, มารูทั่ วถึ ง ซึ่ งข อปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสั ตว ให ลุ ถึ งความดั บไม เหลื อแห งสั งขาร ว าเป นอย างนี้ ๆ, ในกาลใด; ในกาลนี้ ความรู นี้ ของอริย สาวกนั้ น ชื่ อ ว า ญาณในธรรม (ธมฺ ม ญาณ). ด วยธรรมนี้ อั น อริย สาวกนั้ น เห็ นแล ว รู แล ว บรรลุ แล ว หยั่ งลงแล ว และเป นธรรมอั นใช ได ไม จํ ากั ดกาล, อริยสาวก นั้น ยอมนํ าความรูนั้ น ไปสูนั ยะอั น เป น อดี ต และอนาคต (ตอ ไปอีก) วา "สมณะ หรื อพราหมณ เหล าใดเหล าหนึ่ ง ในกาลยื ดยาวนานฝ ายอดี ต ได รู อย างยิ่ งแล ว ซึ่ งสั งขาร ทั้ งหลาย, ได รูอย างยิ่ งแล ว ซึ่ งเหตุ ให เกิ ดขึ้ นแห งสั งขาร, ได รูอย างยิ่ งแล ว ซึ่ งความดั บ ไม เหลือแห งสังขาร, ไดรูอยางยิ่งแลว ซึ่งขอปฏิ บั ติเครื่องทําสัตวใหลุ ถึงความดั บไม เหลื อ แห งสั งขาร; สมณะหรื อพราหมณ เหล านั้ นทุ กท าน ก็ ได รู อย างยิ่ งแล ว เหมื อนอย างที่ เราเองได รู อย างยิ่ งแล วในบั ดนี้ . ถึ งแม สมณะหรื อพราหมณ เหล าใดเหล าหนึ่ ง ในกาล ยื ดยาวนานฝ ายอนาคต จั กรูอย างยิ่ ง ซึ่ งสั งขารทั้ งหลาย, จักรูอย างยิ่ ง ซึ่งเหตุ ให เกิ ดขึ้ น แห งสั งขาร, จั กรูอย างยิ่ ง ซึ่ งความดั บไม เหลื อแห งสั งขาร, จั กรูอย างยิ่ ง ซึ่ งข อปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสั ตว ให ลุ ถึ งความดั บไม เหลื อแห งสั งขาร ก็ ตาม; สมณะหรือพราหมณ เหล านั้ น ทุ กท าน ก็ จั กรู อย างยิ่ ง เหมื อนอย างที่ เราเองได รู อย างยิ่ งแล วในบั ดนี้ " ดั งนี้ . ความรู นี้ ของอริยสาวกนั้น ชื่อวา ญาณในการรูตาม (อนฺวยญาณ).

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๓๕๗

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ญาณทั้งสอง คือธัมมญาณและอันวยญาณ เหลานี้ ของอริยสาวก เปนธรรมชาติบริสุทธิ์ ผองใส ในกาลใด; ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ในกาลนั ้น เราเรีย กอริย สาวกนั ้น วา "ผู ส มบูร ณแ ลว ดว ยทิฏ ฐิ" ดัง นี ้บ า ง; วา "ผู ส มบู รณ แล วด วยทั ส สนะ" ดั งนี้ บ าง; ว า "ผู ม าถึ งพระสั ท ธรรมนี้ แล ว;, ดั งนี้ บ าง: ว า "ได เห็ น พระสั ท ธรรมนี้ ", ดั งนี้ บ า ง; ว า "ผู ป ระกอบแล ว ด ว ยญาณอั น เป น เสขะ" ดั ง นี้ บ า ง; ว า "ผู ป ระกอบแล ว ด ว ยวิ ช ชาอั น เป น เสขะ", ดั ง นี้ บ า ง; ว า "ผู ถึ ง ซึ่ ง กระแสแห งธรรมแล ว", ดั งนี้ บ าง; วา "ผู ประเสริฐ มี ป ญ ญาเครื่องชํ าแรกกิ เลส", ดั งนี้ บาง; วา "ยืนอยูจดประตูแหงอมตะ" ดังนี้บาง, ดังนี้แล.

ญาณวัตถุ ๗๗ ในปฏิจจสมุปบาท เพื่อความเปนโสดาบัน๑ ดูก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เราจักแสดง ซึ่ งญาณวัตถุ ๗๗ อย าง แก พวกเธอ ทั้ งหลาย. พวกเธอทั้ งหลายจงฟ งความข อนั้ น, จงทํ าในใจให สํ าเร็จประโยชน , เราจั ก กล าวบั ดนี้ . ครั้นภิกษุ ทั้งหลายเหลานั้ นทูลรับสนองพระพุ ทธดํารัสนั้นแลว พระผูมีพระภาคเจา ไดตรัส

www.buddhadasa.info ถอยคําเหลานี้วา:-

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ก็ญาณวัตถุ ๗๗ อยาง เปนอยางไรเลา? ญาณวัตถุ ๗๗ อยางนั้นคือ :(หมวด ๑) ๑. ญาณ คือความรูวา เพราะมีชาติเปนปจจัย จึงมีชรามรณะ; ๒. ญาณ คือความรูวา เมื่อชาติไมมี ชรามรณะยอมไมมี; ๓.ญาณ คือความรูวา

สูตรที่ ๔ กฬารขัตติยวรรค นิทานสังยุตต นิทาน. สํ. ๑๖/๗๑/๑๒๖, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๓๕๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

แม ในกาลยืดยาวนานฝายอดี ต เพราะมี ชาติเป จป จจัย จึงมี ชรามรณะ; ๔. ญาณ คื อ ความรู ว า แม ในกาลยื ดยาวนานฝ ายอดี ต เมื่ อชาติ ไม มี ชรามรณะย อมไม มี ; ๕. ญาณ คือความรูวา แม ในกาลยื ดยาวนานฝ ายอนาคต เพราะมี ชาติเป นป จจัย จึงมี ชรามรณะ; ๖. ญาณ คื อความรู ว า แม ในกาลยื ดยาวนานฝ ายอนาคต เมื่ อชาติ ไม มี ชรามรณะย อม ไมม ี; ๗. ญาณ คือ ความรูว า แมธ ัม มัฏ ฐิต ิญ าณ ๑ ในกรณีนี ้ ก็ม ีค วามสิ ้น ไป เลื่อมไป จางไป ดับไป เปนธรรมดา; (หมวด ๒) ๑. ญาณ คื อ ความรู ว า เพราะมี ภ พเป น ป จ จั ย จึ ง มี ช าติ ; ๒. ญาณ คื อ ความรู ว า เมื่ อ ภพไม มี ชาติ ย อ มไม มี ; ๓. ญาณ คื อ ความรู ว า แม ใน

กาลยืดยาวนานฝายอดี ต เพราะมีภพเปนป จจัย จึงมีชาติ; ๔. ญาณ คือความรูวา แม ในกาลยื ดยาวนานฝ ายอดี ต เมื่ อภพไม มี ชาติ ย อมไม มี ; ๕. ญาณ คื อความรู ว า แม ใน กาลยื ดยาวนายฝ ายอนาคต เพราะมี ภพเป นป จจั ย จึ งมี ชาติ ; ๖. ญาณคื อความรูว า แม ในกาลยื ดยาวนานฝ ายอนาคต เมื่ อภพไม มี ชาติ ย อมไม มี ; ๗. ญาณ คื อความรูว า แม ธัมมัฏฐิติญาณ ในกรณีนี้ ก็มีความสิ้นไป เสื่อมไป จางไป ดับไปเปนธรรมดา; (หมวด ๓) ๑. ญาณ คื อความรู ว า เพราะมี อุ ปาทานเป นป จจั ย จึ งมี ภพ;

www.buddhadasa.info ๒. ญาณ คื อความรู ว า เมื่ ออุ ปาทานไม มี ภพย อมไม มี ; ๓. ญาณ คื อความรู ว า แม ใน

กาลยื ดยาวนานฝ ายอดี ต เพราะมี อุ ปาทานเป นป จั ย จึ งมี ภพ; ๔. ญาณ คื อความรู ว า แม ในกาลยื ดยาวนานฝ ายอดี ต เมื่ ออุ ปาทานไม มี ภพย อมไม มี ; ๕. ญาณ คื อความรู วา แมในกาลยืดยาวนานฝายอนาคต เพราะมีอุปาทานเปนปจจัย จึงมีภพ; ๖. ญาณ

ธั ม มั ฎ บิ ติ ญ าณ ในกรณี นี้ คื อ ญาณเป น ไปตามหลั ก ของปฏิ จ จสมุ ป บาท เป น กรณี ๆ ไป เช น ในกรณีแหงชาติดังที่กลาวนี้เปนตน.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๓๕๙

คื อความรู ว า แม ในกาลยื ดยาวนานฝ ายอนาคต เมื่ ออุ ปาทานไม มี ภพย อมไม มี ; ๗. ญาณ คือความรูวา แมธัมมัฏฐิติญาณ ในกรณีนี้ ก็มีความสิ้นไป เสื่อมไป จางไป ดับไป เปนธรรมดา; (หมวด ๔) ๑. ญาณ คื อความรู ว า เพราะมี ตั ญ หาเป นป จจั ย จึ งมี อุ ปาทาน; ๒. ญาณ คื อ ความรู ว า เมื่ อ ตั ญ หาไม มี อุ ป าทานย อ มไม มี ; ๓.ญาณ คื อ ความรู ว า

แม ในกาลยื ด ยาวนายฝ ายอดี ต เพราะมี ตั ญ หาเป นป จจั ย จึ งมี อุ ปทาน; ๔. ญาณ คื อความรูว า แม ในกาลยื ดยาวนานฝ ายอดี ต เมื่ อตั ญหาไม มี อุ ปาทานย อมไม มี ; ๕. ญาณ คือความรูวา แมในกาลยืดยาวนายฝายอนาคต เพราะมีตัญหาเปนปจจัย จึงมีอุปาทาน; ๖. ญาณ คื อความรู ว า แม ในกาลยื ดยาวนานฝ ายอนาคต เมื่ อตั ญหาไม มี อุ ปาทานย อม ไมมี; ๗. ญาณ คือความรูวา แมธัมมัฏฐิติญาณ ในกรณีนี้ ก็มีความสิ้นไป เสื่อมไป จางไป ดับไป เปนธรรมดา; (หมวด ๕) ๑. ญาณ คื อ ความรู ว า เพราะมี เวทนาเป น ป จ จั ย จึ งมี ตั ญ หา; ๒. ญาณ คื อ ความรู ว า เมื่ อ เวทนาไม มี ตั ญ หาย อ มไม มี ; ๓. ญาณ คื อ ความรู ว า

www.buddhadasa.info แม ในกาลยื ด ยาวนายฝ ายอดี ต เพราะมี เวทนาเป น ป จ จั ย จึ งมี ตั ญ หา; ๔. ญาณ คื อความรูว า แม ในกาลยื ดยาวนายฝ ายอดี ต เมื่ อเวทนาไม มี ตั ญหาย อมไม มี ; ๕. ญาณ คือความรูวา แม ในกาลยื ดยาวนายฝ ายอนาคต เพราะมี เวทนาเป นป จจัย จึงมี ตั ญหา; ๖. ญาณ คื อความรู ว าแม ในกาลยื ดยาวนานฝ ายอนาคต เมื่ อเวทนาไม มี ตั ญหาย อมไม มี ; ๗. ญาณ คือความรูวา แมธัมมัฏฐิติญาณ ในกรณีนี้ ก็มีความสิ้นไป เสื่อมไป จางไป ดับไป เปนธรรมดา; (หมวด ๖) ๑. ญาณ คื อความรู ว า เพราะมี ผั สสะเป นป จจั ย จึ งมี เวทนา; ๒. ญาณ คือความรูวา เมื่อผัสสะไมมี เวทนายอมไมมี; ๓. ญาณ คือความรูวา แม

www.buddhadasa.info


๓๖๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

ในกาลยื ดยาวนายฝ ายอดี ต เพราะมี ผั สสะเป นป จจัย จึ งมี เวทนา; ๔. ญาณ คื อความ รู ว า แม ในกาลยื ด ยาวนานฝ ายอดี ต เมื่ อ ผั สสะไม มี เวทนาย อ มไม มี ; ๕. ญาณ คื อ ความรูวา แม ในกาลยืดยาวนานฝายอนาคต เพราะมีผัสสะเปนป จจัย จึงมีเวทนา; ๖. ญาณ คื อความรู ว า แม ในกาลยื ดยาวนานฝ ายอนาคต เมื่ อผั สสะไม มี เวทนาย อมไม มี ; ๗. ญาณ คื อ ความรูว า แม ธั ม มั ฏ ฐิ ติ ญ าณ ในกรณี นี้ ก็ มี ค วามสิ้ น ไป เสื่ อ มไป จางไป ดับไป เปนธรรมดา; (หมวด ๗) ๑. ญาณ คื อความรู ว า เพราะมี สฬายตนะเป นป จจั ยจึ งมี ผั สสะ; ๒. ญาณ คื อ ความรู ว า เมื่ อ สฬายตนะไม มี ผั ส สะย อ มไม มี ; ๓. ญาณ คื อ ความรู ว า

แม ในกาลยื ดยาวนายฝ ายอดี ต เพราะมี สฬายตนะเป นป จจั ย จึ งมี ผั สสะ; ๔. ญาณ คื อความรูวา แม ในกาลยื ดยาวนานฝ ายอดี ต เมื่ อสฬายตนะไม มี ผั สสะย อมไม มี ; ๕. ญาณ คือความรูวา แม ในกาลยืดยาวนานฝายอนาคต เพราะมีสฬายตนะเปนปจจัย จึงมี ผั สสะ; ๖. ญาณ คื อความรู ว า แม ในกาลยื ดยาวนายฝ ายอนาคต เมื่ อสฬายตนะไม มี ผั สสะย อมไม มี ; ๗. ญาณ คื อความรูว า แม ธั ม มั ฏ ฐิ ติ ญ าณ ในกรณี นี้ ก็ มี ค วาม สิ้นไป เสื่อมไป จางไป ดับไป เปนธรรมดา;

www.buddhadasa.info (หมวด ๘) ๑. ญาณ คื อ ความรู ว า เพราะมี น ามรู ป เป น ป จ จั ย จึ ง มี

สฬายตนะ; ๒. ญาณ คื อความรู ว า เมื่ อนามรู ปไม มี สฬายตนะย อมไม มี ; ๓. ญาณ คือความรูวา แมในกาลยืดยาวนานฝายอดีตเพราะมีนามรูปเปนปจจัย จึงมีสฬายตนะ; ๔. ญาณ คื อ ความรู ว า แม ในกาลยื ด ยาวนานฝ ายอดี ต เมื่ อ นามรู ป ไม มี สฬายตนะ ย อ มไม มี ; ๕. ญาณ คื อ ความรู ว า แม ใ นกาลยื ด ยาวนานฝ า ยอนาคต เพราะมี นามรู ปเป นป จจั ย จึ งมี สฬายตนะ; ๖. ญาณ คื อความรู ว า แม ในกาลยื ดยาวนานฝ าย อนาคต เมื่ อนามรู ปไม มี สฬายตนะย อมไม มี ; ๗.ญาณ คื อความรู ว า แม ธั มมั ฏ ฐิ ติ ญาณ ในกรณีนี้ ก็มีความสิ้นไป เสื่อมไป จางไป ดับไป เปนธรรมดา;

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๓๖๑

(หมวด ๙) ๑.ญาณ คื อ ความรู ว า เพราะมี วิ ญ ญาณเป น ป จ จั ย จึ ง มี

นามรู ป ; ๒. ญาณ คื อ ความรู ว า เมื่ อ วิ ญ ญาณไม มี นามรู ป ย อ มไม มี ; ๓. ญาณ คือความรูวา แม ในกาลยืดยาวนานฝายอดีต เพราะมีวิญญาณเปนปจจัย จึงมีนามรูป; ๔. ญาณ คื อความรู ว า แม ในกาลยื ดยาวนานฝ ายอดี ต เมื่ อวิ ญญาณไม มี นามรู ปย อมไม มี ; ๕. ญาณ คื อความรูวา แม ในกาลยืดยาวนานฝ ายอนาคต เพราะมี วิญญาณเป นป จจั ย จึ งมี นามรู ป; ๖. ญาณ คื อความรู ว า แม ในกาลยื ดยาวนานฝ ายอนาคต เมื่ อวิ ญญาณไม มี นามรูปยอมไมมี ; ๗. ญาณ คื อความรูวา แม ธัมมั ฏฐิติ ญาณ ในกรณี นี้ ก็ มี ความสิ้ นไป เสื่อมไป จางไป ดับไป เปนธรรมดา; (หมวด ๑๐) ๑. ญาณ คื อความรู ว า เพราะมี สั งขารเป นป จจั ย จึ งมี วิ ญญาณ; ๒. ญาณ คื อความรู ว า เมื่ อสั งขารทั้ งหลายไม มี วิ ญญาณย อมไม มี ; ๓. ญาณ คื อความ

รูวา แม ในกาลยืดยาวนานฝายอดีต เพราะมีสังขารเปนป จจัย จึงมีวิญญาณ; ๔. ญาณ คื อความรูว า แม ในกาลยื ดยาวนานฝ ายอดี ต เมื่ อสั งขารทั้ งหลายไม มี วิ ญญาณย อมไม มี ; ๕. ญาณ คื อความรูวา แม ในกาลบื ดยาวนานฝ ายอนาคต เพราะมี สั งขารเป นป จจั ย จึ งมี วิ ญ ญาณ; ๖. ญาณ คื อความรู ว า แม ในกาลยื ดยาวนานฝ ายอนาคต เมื่ อสั งขาร ทั้งหลายไมมี วิญญาณยอมไมมี; ๗. ญาณ คือความรูวา แมธัมมัฏฐิติ ญาณ ในกรณี นี้ ก็มีความสิ้นไป เสื่อมไป จางไป ดับไป เปนธรรมดา;

www.buddhadasa.info (หมวดที่ ๑๑) ๑. ญาณ คื อความรู ว า เพราะมี อวิ ชชาเป นป จจั ย จึ งมี สั งขาร

ทั้ งหลาย; ๒. ญาณ คื อความรู ว า เมื่ ออวิ ชชาไม มี สั งขารทั้ งหลายย อมไม มี ; ๓. ญาณ คื อความรูวา แม ในกาลยื ดยาวนานฝ ายอดี ต เพราะมี อวิชชาเป นป จจัย จึ งมี สั งขาร ทั้ งหลาย; ๔. ญาณ คื อความรู ว า แม ในกาลยื ดยาวนานฝ ายอดี ต เมื่ ออวิ ชชาไม มี สั งขาร ทั้งหลายยอมไมมี; ๕. ญาณ คือความรูวา แมในกาลยืดยาวนานฝายอนาคต เพราะ

www.buddhadasa.info


๓๖๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

มี อวิ ชชาเป นป จจั ย จึ งมี สั งขารทั้ งหลาย; ๖. ญาณ คื อความรูวา แม ในกาลยื ดยาวนาน ฝ ายอนาคต เมื่ ออวิ ชชาไม มี สั งขารทั้ งหลาย อ มไม มี ; ๗. ญาณ คื อความรูว า แม ธัมมัฏฐิติญาณ ในกรณีนี้ ก็มีความสิ้นไป เสื่อมไป จางไป ดับไป เปนธรรมดา. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เหลานี้ เรียกวา ญาณวัตถุ ๗๗ อยาง, ดังนี้ แล.

การรูปฏิจจสมุปบาท ไมเกี่ยวกับการบรรลุอภิญญาเลยก็ได๑ ครั้ งหนึ่ ง พระผู มี พระภาคเจ า ประทั บอยู ที่ เวฬุ วั น อั นเป นที่ ให เหยื่ อแก กระแต. ครั้ งนั้ น พระผู มี พระภาคเจ าและภิ กษุ สงฆ มี ประชาชนเคารพ นั บถื อ บู ชา สมบู รณ ด วยจี วรบิ ณ ฑบาตเสนาสนะ คิ ลานเภสั ช. ส วนพวกปริพพาชกผู เป นอั ญ ญเดี ยรถี ย อื่ น ไม มี ประชาชนเคารพนั บถื อบู ชา. ปริ พพาชก ผูหนึ่ งชื่ อสุสิ มะ ได รับคํ าแนะนํ าจากศิ ษย ให เขามาบวชในพระพุ ทธศาสนา เพื่ อเรียนธรรมมาสอนประชาชน โดยหวังจะใหพวกตนมีประชาชนเคารพนับถือและสมบูรณ ดวยลาภสักการะบ าง. สุ สิมปริพพาชกนั้น จึงเขา ไปขอบวชกะพระอานนท พระอานนท ได พาไปเฝ าพระผู มี พระภาคเจา ๆ ทรงรับสั่ งให บวชให แล ว. สมั ยนั้ น ภิกษุจํานวนมาก พากันพยากรณ อรหัตตผลในสํานักพระพุทธเจา. พระสุสิมาะไดยินขาว จึงเขา ไปถามพวกภิกษุ เหลานั้นถึงเรื่องการพยากรณ ความเปนพระอรหันต, เมื่อภิกษุ เหลานั้นรับแลว จึงไดถามภิ กษุ เหลานั้ นตอไป ถึงการบรรลุอภิ ญญาต าง ๆ คื อ อิทธิ วิธี, ทิ พพโสต, เจโตปริยญาณ, ปุ พเพนิ วาสานุ สสติ , ทิ พพจั กขุ และ อารุปปวิโมกข; เมื่ อภิ กษุ เหล านั้ นกลาวว า ไม ต องบรรลุอภิ ญญาเหล านี้ ดวย ก็ บรรลุความเป นพระอรหันต ได ด วยป ญญาวิมุ ตติ ; พระสุสิ มะจึงเข าไปเฝ าพระผู มี พระภาคเจา แล วทู ลเล าเรื่องที่ ตนสนทนากั บภิ กษะ ทั้งหลายใหทรงสดับ. พระผูมีพระภาคเจา ไดตรัสวา:-

www.buddhadasa.info "ดู ก อ นสุ สิ ม ะ! ธั ม มั ฏ ฐิ ติ ญ าร เป น สิ่ ง ที่ เกิ ด ก อ น, ญาณในนิ พ พาน เปนสิ่งที่เกิดภายหลัง".

สูตรที่ ๑๐ มหาวรรค อภิสมยสังยุต นิทาน. สํ. ๑๖/๑๕๑/๒๙๐ - ๓๐๔.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๓๖๓

พระสุ สิ มะกราบทู ลว า "ข าแต พระองค ผู เจริญ ! ข าพระองค ยั งไม รูอย างทั่ วถึ งซึ่ งเนื้ อความ แห งภาษิ ต ที่ พระผู มี พระภาคตรั สแล วโดยย อนี้ . ข าแต พระองค ผู เจริญ ! ข าพระองค ขอประทานโอกาส ขอพระผู มี พระภาคจงตรัสซึ่งเนื้ อความนั้ น โดยประการที่ ขาพระองคจะพึ งรูอยางทั่ วถึ ง ซึ่ งเนื้ อความแห ง ภาษิตที่พระผูมีพระภาครัสโดยยอนี้เถิด พระเจาขา! "

ดูกอนสุสิมา! เธอจะรูอยางทั่วถึงหรือไม ก็ตาม ธัมมั ฏฐิติญาณก็ยังเปนสิ่งที่ เกิ ดก อน และญาณในนิ พพานเป นสิ่ งที่ เกิ ดภายหลั ง อยู นั่ นเอง. ดู ก อนสุ สิ มะ! เธอจะ สําคัญความขอนี้ วาอยางไร : รูปเที่ยงหรือไมเที่ยง? "ไมเที่ยง พระเจาขา!" ก็สิ่งใด ไมเที่ยง, สิ่งนั้น เปนทุกข หรือเปนสุขเลา? "เปนทุกข พระเจาขา!" ก็ สิ่ งใด ไม เที่ ย ง เป น ทุ ก ข มี ค วามแปรปรวนเป น ธรรมดา ควรแลหรื อ ที่จะตามเห็นสิ่งนั้นวา "นั่น เปนของเรา, นั่น เปนเรา, นั่น เปนตัวตนของเรา". "ขอนั้น ไมสมควรเห็นเชนนั้น พระเจาขา!"

www.buddhadasa.info (ในกรณีแหงเวทนา สัญญา สังขารทั้งหลาย วิญญาณ ก็มีการถามและตอบอยางเดียวกัน).

ดู ก อ นสุ สิ ม ะ! เพราะเหตุ นั้ น แหละ ในเรื่ อ งนี้ รู ป ชนิ ด ใดชนิ ด หนึ่ งมี อ ยู จะเป นอดี ตอนาคตหรือป จจุบั นก็ตาม เป นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียด ก็ ตาม เลวหรือประณี ตก็ ตาม มี อยู ในที่ ไกลหรือที่ ใกล ก็ ตาม; รูปทั้ งหมดนั้ น อั นเธอ พึ งเห็ นด วยป ญ ญาอั นชอบตามที่ เป นจริง อย างนี้ วา "นั่ นไม ใชของเรา, นั่ นไม ใชเรา, นั่นไมใชตัวตนของเรา" ดังนี้.

www.buddhadasa.info


๓๖๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

(ในกรณี แ ห ง เวทนา สั ญ ญา สั ง ขารทั้ ง หลาย วิ ญ ญาณ ก็ ไ ด ต รั ส ทํ า นองเดี ย วกั น กับกรณีแหงรูปนี้ ตางกันเพียงชื่อเทานั้น.)

ดู ก อ นสุ สิ ม ะ! อริ ย สาวกผู ได ส ดั บ แล ว เห็ น อยู อ ย างนี้ ย อ มเบื่ อ หน า ย แม ในรูป, ย อมเบื่ อหน าย แม ในเวทนา, ย อมเบื่ อหน าย แม ในสัญญา, ยอมเบื่ อหน าย แม ในสังขารทั้ งหลาย, ยอมเบื่ อหน าย แม ในวิญญาณ. เมื่ อเบื่ อหน าย ยอมคลายกําหนั ด; เพราะความคลายกํ าหนั ด ยอมหลุ ดพ น; เมื่ อหลุ ดพ นแล ว ยอมมี ญาณหยั่ งรูวา "หลุดพ น แล ว" ดั งนี้ . อริยสาวกนั้ น ย อมรูชั ดว า "ชาติ สิ้ นแล ว, พรหมจรรย อั นเราอยู จบแล ว, กิจที่ควรทําไดทําสําเร็จแลว, กิจอื่นเพื่อความเปนอยางนี้ มิไดมีอีก" ดังนี้. ดู กอนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เธอเห็ นวา "เพราะมี ชาติ เป นป จจัย จึ งมี ชรามรณะ" ดั งนี้ ใชไหม? "อยางนั้น พระเจาขา!" ดูกอนสุสิมะ! เธอเห็นวา "เพราะมีภพเปนปจจัย จึงมีชาติ" ดังนี้ใชไหม? "อยางนั้น พระเจาขา!"

www.buddhadasa.info (ในกรณี แห งอาการต อ ๆ ไป ก็ ได ตรัสถามเช นเดี ยวกั นนี้ จนตลอดปฏิ จจสมุ ปบาท, ทั้ งฝ าย สมุทยวารและนิโรธวาร; ลวนแตไดรับคําตอบวา "อยางนั้น พระเจาขา!" จนตลอดทั้งยี่สิบสอง).

ดู ก อนสุ สิ มะ! เมื่ อเธอรูอยู อย างนี้ เห็ นอยู อย างนี้ ยอมบรรลุ อิ ทธิ วิธี มี ประการตาง ๆ เหลานี้บางหรือ คือผูเดียวแปลงรูปเป นหลายคน, หลายคนเปนคนเดียว, ทําที่กําบังใหเปนที่แจง, ทําที่แจงใหเปนที่กําบัง, ไปไดไมขัดของ ผานทะลุฝา ทะลุกําแพง ทะลุ ภู เขา ดุ จไปในอากาศวาง ๆ, ผุ ดขึ้นและดํ าลงในแผ นดิ นได เหมื อนในน้ํ า, เดิ นได เหนือน้ํา เหมือนเดินบนแผนดิน, ไปไดในอากาศเหมือนนกมีปก ทั้งที่ยังนั่งขัดสมาธิ

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๓๖๕

คูบั ลลังก, ลูบคลําพระจันทรและพระอาทิตย อันมีฤทธิ์อนุภาพมากอยางนี้ได ดวยฝามือ, และแสดงอํานาจทางกาย เปนไปตลอดถึงพรหมโลกได? "ขอนั้น หามิได พระเจาขา!" ดูกอนสุสิมะ! เมื่อเธอรูอยูอยางนี้ เห็นอยูอยางนี้ ยอมไดยินเสียงสองชนิด คื อเสี ยงทิ พ ย และเสี ยงมนุ ษ ย ทั้ งที่ อยู ไกลและอยู ใกล ด วยทิ พพโสตธาตุ อั นบริสุ ทธิ์ เกินกวาโสตของมนุษยบางหรือ? "ขอนั้น หามิได พระเจาขา!" ดูกอนสุสิมะ! เมื่ อเธอรูอยูอยางนี้ เห็ นอยูอยางนี้ ยอมกํ าหนดรูใจของ สั ตว อื่ น ของบุ คคลอื่ นได ด วยใจว า "จิ ตของเขามี ราคะ หรือว าไม มี ราคะ; ...ฯลฯ... จิตพนวิเศษ หรือไมพนวิเศษ", ดังนี้ บางหรือ? "ขอนั้น หามิได พระเจาขา!"

www.buddhadasa.info ดูกอนสุสิมะ! เมื่อเธอรูอยูอยางนี้ เห็นอยูอยางนี้ ยอมระลึกถึงขันธที่เคย อยู ในภพก อน มี อยางต าง ๆ คื อระลึ กได ชาติ หนึ่ งบ าง สองชาติ บ าง ...ฯลฯ... คื อ ระลึกถึงขันธที่เคยอยูในภพกอนมีอยางตาง ๆ พรอมทั้งอาการ พรอมทั้งอุเทศ บางหรือ? "ขอนั้น หามิได พระเจาขา!" ดูกอนสุสิมะ! เมื่อเธอรูอยูอยางนี้ เห็นอยูอยางนี้ ยอม เห็ นหมูสัตวที่กําลัง จุ ติ อ ยู ...ฯลฯ...ซึ่ งกํ าลั งเป นไปตามกรรม ด วยจั กษุ อั นเป น ทิ พ ย อั น บริสุ ท ธิ์ เกิ นกว า จักษุของมนุษย บางหรือ?

www.buddhadasa.info


๓๖๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

"ขอนั้น หามิได พระเจาขา!" ดู ก อนสุ สิ มะ! เมื่ อเธอรูอยู อย างนี้ เห็ นอยู อย างนี้ เธอย อม ถู กต องด วย นามกาย ซึ่งอารุปปวิโมกข อันสงบ อันกาวลวงซึ่งรูปทั้งหลายเสียได บางหรือ? "ขอนั้น หามิได พระเจาขา!" ดู ก อนสุ สิ มะ! คราวนี้ , คํ าพู ดอย งโน นของเธอกั บการที่ (เธอกล าวบั ดนี้ ว า) ไมตองมีการบรรลุถึงอภิญญาธรรมทั้งหลายเหลานี้ก็ได, ในกรณีนี้ นี้เราจะวาอยางไรกัน. ลําดั บนั้นเอง ท านสุสิมิ หมอบลงแทบพระบาททั้ งสองของพระผู มี พระภาคเจาดวยเศียรเกล า แลวไดกลาวถอยคํานี้กะพระผูมีพระภาคเจา : "ข าแต พระองค ผู เจริญ! โทษได ท วมทั บข าพระองค

แลว ตามที่ เป นคนพาลอยางไร ตามที่เป นคนหลงอยางไร ตามที่ มี ความคิดเป นอกุศล อย า งไร คื อ ข อ ที่ ข า พระองค บ วชแล ว เพื่ อ ขโมยธรรมวิ นั ย ที่ พ ระองค ต รั ส ดี แ ล ว อย า งนี้ . ข า แต พ ระองค ผู เจริ ญ ! ขอพระผู มี พ ระภาคจงทรงรั บ ซึ่ ง โทษโดยความ เปนโทษของขาพระองค เพื่อความสํารวมระวังตอไปเถิด พระเจาขา!"

www.buddhadasa.info เอาละ สุ สิ มะ! โทษได ท วมทั บเธอ ผู เป นคนพาลอย างไร ผู เป นคนหลง อยางไร ผูมีความคิดเปนอกุศลอยางไร คือขอที่เธอบวชแลวเพื่อขโมยธรรมในธรรมวินัย ที่ ตถาคตกลาวดีแลวอยางนี้ . ดู กอนสุ สิ มะ! เปรียบเหมื อนราชบุ รุษจับโจรผู ประพฤติ ผิ ด มาแสดงแก พระราชาแล ว กราบทู ลว า "ข าแต เทวะ! โจรนี้ ประพฤติ ผิ ดแด พระองค ขอ พระองค จงทรงลงอาชญาแก โจรนี้ ตามที่ พระองค ทรงพระประสงค เถิ ด" ดั งนี้ . พระราชา ทรงรับสั่งกะราชบุรุษเหลานั้นดังนี้วา "ดูกอนบุรุษผูเจริญ! ทานทั้งหลายจงไป จงมัดบุรุษนี้ ใหมีแขนในเบื้องหลัง ใหมีการผูกมัดที่แนนหนาดวยเชือกอันเหนียว แลวโกนศรีษะเสีย

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๓๖๗

พาเที่ ยวตระเวนตามถนนต าง ๆ ตามทางแยกต าง ๆ ด วยกลองปณวะเสี ยงแข็ ง พาออก ทางประตู ด านทั กษิ ณ แล วจงตั ดศี รษะเสี ยทางด านทั กษิ ณของนคร". ราชบุ รุ ษมั ดโจรนั้ น กระทํ าตามที่ พระราชาได รับสั่ งแล วอย างไร. ดู ก อนสุ สิ มะ! เธอจะสํ าคั ญ ความข อนี้ ว า อยางไร? บุรุษนั้นตองเสวยทุกขโทมนัสเพราะขอนั้นเปนเหตุ ไหนหนอ? "อยางนั้น พระเจาขา!" ดู ก อนสุ สิ มะ! บุ รุ ษนั้ นต องเสวยทุ กขโทมนั สเพราะข อนั้ นเป นเหตุ เพี ยงใด, แต การบวชของเธอเพื่ อ ขโมยธรรม ในธรรมวินั ยที่ ตถาคตกล าวดี แล วอย างนี้ : นี้ ยั งมิ วิบากเปนทุกขยิ่งกวา มีวิบากเผ็ดรอนยิ่งกวา; แลวยังแถมเปนไปเพื่อวินิบาต (ความฉิ บหาย)อี กด วย. ดู ก อนสุ สิ มะ! แต เพราะเธอเห็ นโทษโดยความเป นโทษแล ว ทํ า คื น ตามธรรม, เราจึ งรับ โทษนั้ น ของเธอ. ผู ใดเห็ น โทษโดยความเป น โทษแล ว ทําคืนตามธรรม ถึงความสํารวจตอไป; ขอนี้เปนความเจริญในอริยวินัยของผูนั้น, ดังนี้ แล.

ปฏิจจสมุปบาทรอบสุดทายของคนเรา๑

www.buddhadasa.info (ในสู ตรนี้ พระผู มี พระภาคเจ า ได ตรั สถึ งการที่ พระตถาคตอรหั นตสั มมาสั มพุ ทธเจ าเกิ ดขึ้ น ในโลก; ได ท รงแสดงธรรม ประกาศพรหมจรรย งามในเบื้ อ งต น ท า มกลาง และเบื้ อ งปลาย; คหบดี หรือคหบดี บุ ตรเป นต น ได ฟ งธรรมแล ว; เกิ ดสั ทธา พิ จารณาเห็ นว า ฆราวาสคั บแคบ เป นทางมาแห งธุ ลี , บรรพชาเป นโอกาสวาง จะประพฤติ พรหมจรรย ให บริสุ ทธิ์ในเพศฆราวาสนั้ น ยากเกิ นไป; จึ งละจึงละฆราวาสวิสั ย ออกบวช แลวกระทําเต็มที่ในศีลอันเปนสิกขาสาชีพของภิกษุ; เปนผูสันโดษ มีความประพฤติเบาพรอม

มหาตัณหาสังขยาสูตร มู.ม. ๑๒/๔๙๔/๔๕๘, ตรัสแกภิกษุทั้งหลายที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๓๖๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

เหมื อ นนกมี ภ าระแต ป กสํ าหรั บ บิ น ไป; สํ ารวมอิ น ทรี ย ทั้ งหก ในลั กษณะที่ อภิ ชฌาและโทมนั สไม เกิ ดขึ้ น ครอบงํ าจิ ต; มี สติ สั มปชั ญ ญะสมบู รณ ในทุ กอิ ริ ยาบถ; เสพเสนาสนะอั นสงั ด บํ าเพ็ ญ ความเพี ยรในอธิ จิ ต; กํ าจั ดนิ วรณ ทั้ งห าเสี ยได แล ว บรรลุ รู ป ฌานในอั นดั บที่ สี่ อยู เป นปรกติ ; แล วกระทํ าให แจ งซึ่ งเจโตวิ มุ ตติ ป ญญาวิ มุ ตติ ; ถึ งความดั บซึ่ งกระแสแห งปฏิ จจสมุ ปบาทอั นเป นรอบสุ ดท าย ในชี วิ ตแห งตนได ตามข อความ ที่กลาวไว ในตอนตอไปขางลางนี้:-) (๑) ภิ กษุ นั้ น เห็ นรู ปด วยตาแล ว ย อมไม กํ าหนั ดยิ นดี ในรู ป อั นลั กษณะ

เปน ที ่ตั ้ง แหง ความ รัก ; ยอ ม ไมข ัด เคือ งใน รูป อัน มีล ัก ษ ณ ะเปน ที ่ตั ้ง แหง ความเกลี ย ดชั ง ; เป น ผู อ ยู ด ว ยสติ เป น ไปในกายอั น ตนเข า ไปตั้ งไว แ ล ว มี จิ ต หา ประมาณมิ ได ด วย; ย อ มรูชั ด ตามที่ เป น จริงซึ่ งเจโตวิมุ ต ติ ป ญ ญาวิมุ ต ติ อั น เป น ที่ดับโดยไมเหลือแหงธรรมอันเปนบาปอกุศลทั้งหลาย ดวย. ภิ กษุ นั้ น เป นผู ละเสี ยได แล วซึ่ งความยิ นดี และความยิ นร ายอย างนี้ แล ว เสวยเวทนาใด ๆ อั น เป น สุ ข ก็ ต าม เป น ทุ ก ข ก็ ต าม มิ ใช ทุ ก ข มิ ใช สุ ข ก็ ต าม ย อ มไม เพลิดเพลิน ไมพร่ําสรรเสริญ ไมเมาหมกอยูในเวทนานั้น ๆ.

www.buddhadasa.info เมื่ อภิ กษุ นั้ น ไม เพลิ ดเพลิ น ไม พร่ํ าสรรเสริ ญ ไม เมาหมกอยู ในเวทนานั้ น ๆ; นันทิ(ความกําหนัดยินดีเพราะไดตามใจอยาก) ในเวทนาทั้งหลายเหลานั้น ยอม ดับไป. เพราะความดับแหงนันทิของภิกษุนั้น จึงมีความดับแหงอุปาทาน; เพราะ มี ค วามดั บ แห งอุ ป ทาน จึงมี ค วามดั บ แห งภพ; เพราะมี ค วามดั บ แห งภพ จึ งมี ความดับแหงชาติ; เพราะมีความดับแหงชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ในรูปของการปฏิบัติ

๓๖๙

(๒) ภิกษุนั้น ได ยินเสียงด วยหู แลว ยอมไมกําหนัดยินดีในเสียง อันมี ลั ก ษณะเป น ที่ ตั้ งแห งความรั ก , ...ฯลฯ ๑ ... นิ น ทิ ในเวทนาทั้ งหลายเหล านั้ น ย อ ม ดับไป ...ฯลฯ... ความดับลงแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้. (๓) ภิกษุนั้น รูสึกกลิ่นด วยจมู กแลว ยอมไมกําหนัดยินดีในกลิ่น อันมี ลั กษณะเป นที่ ตั้ งแห งความรัก; ...ฯลฯ... นั นทิ ในเวทนาทั้ งหลายเหล านั้ น ย อมดั บไป ...ฯลฯ... ความดับลงแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้. (๔) ภิ กษุ นั้ น ลิ้ มรสด วยลิ้ นแล ว ย อมไม กํ าหนั ดยิ นดี ในรส อั นมี ลั กษณะ เปน ที ่ตั ้ง แหง ความรัก ; ...ฯลฯ... นัน ทิ ในเวทนาทั ้ง หลายเหลา นั ้น ยอ มดับ ไป …ฯลฯ... ความดับลงแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้. (๕) ภิกษุนั้น ถูกตองสัมผัสทางผิวหนังดวยผิวกายแลว ยอมไมกําหนัด ยิน ดีใ นสัม ผัส ทางผิว หนัง อัน มีล ัก ษณะเปน ที ่ตั ้ง แหง ความรัก ;...ฯลฯ... นัน ทิ ในเวทนาทั้ งหลายเหล านั้ น ย อ มดั บ ไป ...ฯลฯ... ความดั บ ลงแห งกองทุ ก ข ทั้ งสิ้ น นี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้.

www.buddhadasa.info (๖) ภิกษุ นั้น รูแจ งธัม มารมณ ด วยใจแลว ยอ มไม กํ าหนั ดยิ น ดี ใน ธัม มารมณ อัน มีลัก ษณะเปน ที่ตั้งแหงความรัก ; ยอ มไมขัด เคือ งในธัม มารมณ อันเปนที่ตั้งแหงความเกลียดชัง; เปนผูอยูดวยสติเปนไปในกายอันตนเขาไปตั้ง

การละเปยยาล ...ฯลฯ... เช น นี้ หมายความว า ข อ ความในข อ ที่ (๒)นี้ ซ้ํ า กั น เป น ส ว นมากกั บ ใน ขอที่(๑)จะพิมพ เต็มตามขอที่(๑) ก็เป นการเสียเวลาอานและรกตา กํ าหนดหัวขอยาก จึงไดละไวดวยเปยยาล สํ าหรั บคํ าที่ ซ้ํ ากั น คงไวแต ขอความที่ ไม ซ้ํ ากั น และขอความเชื่ อมสั มพั นธ กั น พอให เป นเครื่องสั งเกตได เทานั้น; ขอถัดไปก็ทําอยางนี้ จนกระทั่งขอสุดทาย จึงจะพิมพไวเต็มเหมือนขอที่(๑) อีกครั้งหนึ่ง.

www.buddhadasa.info


๓๗๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๖

ไวแลว มีจิตหาประมาณมิได ดวย; ยอมรูชัดตามที่เปนจริงซึ่งเจโตวิมุตติ ปญญา วิมุตติ อันเปนที่ดับโดยไมเหลือแหงธรรมอันเปนบาปอกุศลทั้งหลาย ดวย. ภิ กษุ นั้ น เป นผู ละเสี ยได แล วซึ่ งความยิ นดี และความยิ นราย อย างนี้ แล ว เสวย เวทนาใด ๆ อั นเป นสุ ขก็ ตาม เป นทุ กข ก็ ตาม มิ ใช ทุ กข มิ ใช สุ ขก็ ตามย อมไม เพลิ ดเพลิ น ไมพร่ําสรรเสริญ ไมเมาหมกอยูในเวทนานั้น ๆ. เมื ่อ ภ ิก ษ ุนั ้น ไม เ พ ล ิด เพ ล ิน ไม เ ม า ห ม ก อ ยู ใ น เว ท น า นั ้น ๆ ; นัน ทิ (ความกําหนัด ยิน ดีเพราะไดต ามใจอยาก) ในเวทนาทั้งหลายเหลานั ้น ยอมดับไป. เพราะความดับแหงนันทิของภิกษุนั้น จึงมีความดับแหงอุปาทาน; เพราะมีความดับแหงอุปาทาน จึงมีความดับแหงภพ; เพราะมีความดับแหงภพ จึ ง มี ค วามดั บ แห ง ชาติ ; เพราะมี ค วามดั บ แห ง ชาติ นั่ น แล ชรามรณะ โสกะ ปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้ แล. หมายเหตุ ผู รวบรวม : ผู ศึ กษาพึ งสั งเกตในข อที่ ว า ผู ที่ ประพฤติ พรหมจรรย จบ โดยแท จ ริ ง นั้ น คื อ ผู ที่ ห ยุ ด กระแสแห ง ปฏิ จ จสมุ ป บาท เสี ย ได เป น ครั้ ง สุ ด ท า ย หรื อ รอบ สุ ด ท า ย; ต อ จากนั้ น จะรั บ อารมณ ท างตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจ ชนิ ด ใดอี ก ก็ ต าม ย อ ม ไม มี ท างที่ จ เกิ ด กระแสแห ง ปฏิ จ จสมุ ป บาท เช น นั้ น อี ก ได . ขอให พิ จ ารณาดู ลั ก ษณะอาการ และเหตุ ผ ลต า ง ๆ ที่ แ สดงอยู ใ นข อ ความเหล า นี้ โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง ในข อ ที่ ว า "ความ ดั บลงแห งกองทุ กข ทั้ งสิ้ นนี้ มิ ได ด วยอาการอย างนี้ " นี้ นั้ น มิ ได หมายความว าผู นั้ นจะต องตาย (อย า งเข า โลง)ไปเสี ย ก อ น จึ งจะดั บ ทุ ก ข ได , การดั บ ของนั น ทิ ในเวทนาทั้ งหลายนั้ น ดั บ กั น ที่ นี่ เดี๋ ยวนี้ ด วยอํ านาจเจโตวิ มุ ต ติ ป ญ ญาวิ มุ ต ติ , ซึ่ งดั บ อวิ ชชาที่ นี่ เดี๋ ยวนี้ ด วยเหมื อ นกั น , ปฏิ จ จสมุ ป บาทรอบสุ ด ท ายของคนมี ได ด ว ยอาการอย างนี้ , ทั้ ง ๆ ที่ ในตอนต น ๆ แห งชี วิ ต ของเขานั้ น เต็ ม ไปด ว ยปฏิ จ จสมุ ป บาท นั บ สาย หรื อ นั บ รอบไม ถ ว น. ศึ ก ษากั น ให ชั ด เจน ในขอเท็จจริงอันนี้ ก็จะไดรับประโยชนจากความรูเรื่องนี้ โดยสมบูรณ และไมเหลือวิสัย.

www.buddhadasa.info

หมวดที่หก จบ --------------

www.buddhadasa.info


หมวด ๘ วาดวย ปฏิจจสมุปบาท เกี่ยวกับ ความเปนพระพุทธเจา

www.buddhadasa.info ๔๕๗

www.buddhadasa.info


www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


กฎอิทัปปจจยตา : หัวในปฏิจจสมุปบาท. ………………………... อิมสฺมึ สติ อิทํ โหติ เมื่อสิ่งนี้ มี สิ่งนี้ ยอมมี อิมสฺสุปฺ ปาทา อิทํ อุปฺปชฺชติ เพราะความเกิดขึ้นแหงสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น อิมสมึ อสติ อิทํ น โหติ เมื่อสิ่งนี้ ไมมี สิ่งนี้ ยอมไมมี อิมสฺส นิโรธา อิทํ นิรุชฺฌติ เพราะความดับไปแหงสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงดับไป (ม.ม.๑๓/๓๕๕/๓๗๑, นิทาน.สํ.๑๖/๘๔/๑๕๔,...)

www.buddhadasa.info ๓๗๓

www.buddhadasa.info


ลําดับเรื่องเฉพาะหมวด สําหรับปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ หมวดที่ ๗ วาดวย โทษของการไมรูและอานิสงส ของการรูปฏิจจสมุปบาท (มี ๓๐ เรื่อง)

มีเรื่อง : จิตสัตวยุงเปนปมเพราะไมเห็นแจงปฏิจจสมุปบาท -- ผูไมรูปฏิจจสมุป บาทโดยอาการแหง อริย สัจสี่ยอมไมสามารถกาวลว งปฏิจ จสมุป ปน นธรรม -- สํา หรับ ผู ที่ไมสามารถเขาใจปฏิจจสมุปบาท ยึดถือกายเปนตัวตนยังดีกวายึดถือจิตเปนตัวตน -- ทิฏ ฐิ และการหยั่งลงแหงทิฏ ฐิ เนื่องมาจากการยึดซึ่งขัน ธทั้งหา -- ไมควบคุมรากฐานแหงปฏิจจสมุป บาทจึง เกิด ทุก ข -- คนพาลกับ บัณ ฑิต ตา งกัน โดยหลัก ปฏิจ จสมุป บาท -- เปน สมณะ หรือ ไมเ ปน สมณะขึ้น อยูกับ การรูห รือ ไมรูป ฏิจ จสมุป บาทโดยนั ย สี่ -- เปน สมณะหรือ ไม เปน สมณะขึ้น อยูกับ การรูห รือไมรูช รามรณะโดยนัย สี่ -- เปน สมณะหรือ ไมเปน สมณะขึ้น อยู กับการรูหรือไมรูชาติโ ดยนั ย สี่ -- เป น สมณะหรื อ ไม เ ป น สมณะขึ้ น อยู กั บ การรู ห รื อ ไม รู ภ พ โดยนั ย สี ่ -- เป น สมณะหรื อ ไม เ ป น สมณะขึ ้ น อยู  ก ั บ การรู ห รื อ ไม รู อ ุ ป ทานโดยนั ย สี ่ -เปน สมณะหรือ ไมเ ปน สมณะขึ้น อยูกับ การรูห รือ ไมรูตัณ หาโดยนัย สี่ -- เปน สมณะหรือ ไม เปน สมณะขึ้น อยูกับ การรู ห รื อ ไม รู เ วทนาโดยนั ย สี่ -- เป น สมณะหรื อ ไม เ ป น สมณะขึ้ น อยู กับ การรูห รือ ไมรู ผัส สะโดยนัย สี่ -- เปน สมณะหรือ ไมเ ปน สมณะขึ ้น อยู กับ การรูห รือ ไมรู สฬายตนะโดยนั ย สี่ -- เป น สมณะหรื อ ไม เ ป น สมณะขึ้ น อยู กั บ การรู ห รื อ ไม รู น ามรู ป โดย นัย สี ่ -- เปน สมณะหรือ ไมเ ปน สมณะขึ้น อยู ก ับ การรูห รือ ไมรูว ิญ ญาณโดยนัย สี ่ -- เปน สมณะหรือ ไมเ ปน สมณะขึ้น อยูกับ การรูห รือ ไมรูสัง ขารโดยนัย สี่ -- ควบคุม รากฐาน แหง ปฏิจจสมุปบาทจึงเกิดสุข -- ปฏิจจสมุปบาทอาการหนึ่งถาเห็นแลวทําใหหยุดความมั่นหมายใน สิ่งทั้งปวง -- พอรูปฏิจจสมุปบาทก็หายตาบอดอยางกระทันหัน -- เพราะรูปฏิจจสมุปบาทจึง หมดความสงสัยเรื่องตัวตนทั้ง ๓ กาล -- การรูเรื่องปฏิจจสมุปบาททําใหหมดปญ หาเกี่ยวกับ ขั น ธ ใ นอดี ต และในอนาคต -- ผลอานิ ส งส พิ เ ศษ ๘ ประการของการเห็ น ปฏิ จ จสมุ ป บาทผู รู ป ฏิ จ จสมุ ป บาท โดยอาการแห ง อริ ย สั จ สี่ ย อ มสามารถก า วล ว งปฏิ จ จสมุ ป ป น นธรรม -อานิส งสข องการถึง พรอ มดว ยทัส สนทิฏ ฐิ -- ผูเสร็จ กิจ ในปฏิจ จสมุป บาทชื่อ วา ผูบ รรลุน ิพ พานในปจจุบัน -- อานิส งสสูง สุด (อนุป าทิเสสนิพ พาน) ของการพิจ ารณาปฏิจ จสมุป บาท อยางถูกวิธี -- อุปปริกขีในปฏิจจสมุปบาทเปนอุดมบุรุษ -- บัณฑิตคือผูฉลาดในปฏิจจสมุปบาท.

www.buddhadasa.info

๓๗๔

www.buddhadasa.info


ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ

หมวดที่ ๗ วาดวย โทษของการไมรูและอานิสงส ของการรูปฏิจจสมุปบาท ------------------จิตสัตวยุงเปนปม เพราะไมเห็นแจงปฏิจจสมุปบาท๑ พระอานนท ไดกราบทูลพระผูมีพระภาคเจาวา "นาอัศจรรย พระเจาขา! ไมเคยมีแลว พระเจาขา! ขาแตพระองคผูเจริญ! ก็ปฏิจจสมุปบาทนี้ เขาร่ําลือกันวาเปนธรรมลึกดวย ดูทาทางราวกะวา เปนธรรมลึกดวย แตปรากฎแกขาพระองคเหมือนกับเปนธรรมตื้น ๆ"

www.buddhadasa.info ดูกอนอานนท! อยากลาวอยางนั้น . ดูกอ นอานนท ! อยากลา ว อยางนั้น. ก็ปฏิจจสมุปบาทนี้ ลึกซึ้งดวย มีลักษณะเปนธรรมลึกซึ้งดวย. ดูกอน

สูตรที่ ๑๐ ทุกขวรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน. สํ. ๑๖/๑๑๑/๒๒๕, ตรัสแกพระอานนท ที่กัมมาสทัมมนิคม.

๓๗๕

www.buddhadasa.info


๓๗๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๗

อานนท ! เพราะไม รู เพราะไม รู ต ามลํ า ดั บ เพราะไม แ ทงตลอด ซึ่ ง ธรรมคื อ ปฏิจจสมุปบาทนี้ (จิตของ) หมูสัตวนี้ จึงเปนเหมือนกลุมดายยุง ยุงเหยิงเหมือนความยุง ของกลุ มด วยที่ หนาแน นไปด วยปม พั นกั นยุ งเหมื อนเซิ งหญ ามุ ญชะและหญ าป พพชะ อยางนี้; ยอมไมลวงพนซึ่งสงสาร ที่เปนอบาย ทุคติ วินิบาต ไปได. ดูกอนอานนท! เมื่อภิกษุเปนผูมีปรกติเห็นโดยความเปนอัสสาทะ (นารัก น ายิ นดี ) ในธรรมทั้ งหลายอั นเป นที่ ตั้ งแห งอุ ปทาน๑อยู ตั ณ หาย อมเจริญ อย างทั่ วถึ ง. เพราะมี ตั ณ หาเป นป จจั ย จึ งมี อุ ปทาน; เพราะมี อุ ปทานเป นป จจั ย จึ งมี ภพ; เพราะ มี ภพเป นป จจั ย จึ งมี ชาติ ; เพราะมี ชาติ เป นป จจั ย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขะโทมนั สอุปายาสทั้ งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถวน : ความเกิดขึ้นพรอมแห งกองทุ กขทั้ งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้. ดู ก อนอานนท ! เปรี ยบเหมื อนต นไม ใหญ มี รากดิ่ งลงไปเบื้ องล างด วยมี รากแผ ไปรอบ ๆ ด ว ย; รากทั้ ง หลายเหล า นั้ น ล ว นแต ดู ด สิ่ ง โอชะขึ้ น ไปเบื้ อ งบน. ดู ก อ นอานนท ! เมื่ อเป น อย างนี้ ต น ไม ใหญ ซึ่ งมี อ าหารอย างนั้ น มี เครื่ อ งหล อ เลี้ ย ง อย างนั้ น พึ งตั้ ง อยู ได ตลอดกาลยาวนาน, ข อ นี้ ฉั น ใด; ดู ก อ นอานนท ! เมื่ อ ภิ ก ษุ เป นผู มี ปรกติ เห็ นโดยความเป นอั สสาทะ (น ารักน ายิ นดี ) ในธรรมทั้ งหลายอั นเป นที่ ตั้ ง แห งอุ ปทานอยู ตั ณ หาย อมเจริญ อย างทั่ วถึ ง ฉั นนั้ นเหมื อนกั น. เพราะมี ตั ณ หาเป น ป จ จั ย จึ ง มี อุ ป ทาน; เพราะมี อุ ป ทานเป น ป จ จั ย จึ ง มี ภ พ; เพราะมี ภ พเป น ป จ จั ย จึงมีชาติ; เพราะมีชาติเปนปจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาส

www.buddhadasa.info

ธรรมอั น เป น ที่ ตั้ งแห งอุ ป ทาน หรื ออุ ป าทานิ ยธรรม ได แก รู ป, เวทนา, สั ญ ญา, สั งขาร, วิ ญ ญาณ (ขนฺ ธ .สํ . ๑๗/๒๐๒/๓๐๙); ตา,หู ,จมู ก ,ลิ้ น ,กาย,ใจ (สฬ า.สํ . ๑๘/๑๑๐/๑๖๐); รู ป ,เสี ย ง,กลิ่ น , รส, โผฏฐัพพะ, ธัมมารมณ (สฬา.สํ. ๑๘/๑๓๖/๑๙๐).

www.buddhadasa.info


วาดวยโทษและอานิสงสเกี่ยวกับปฏิจจฯ

๓๗๗

ทั้ งหลาย จึ งเกิ ดขึ้ นครบถ วน : ความเกิ ดขึ้ นพรอมแห งกองทุ กข ทั้ งสิ้ นนี้ ย อมมี ด วย อาการอยางนี้. (ปฏิปกขนัยฝายตรงกันขาม)

ดูกอนอานนท! เมื่อภิกษุเปนผูมีปรกติเห็นโดยความเปนอาทีนวะ (โทษ อั นต่ํ าทราม) ในธรรมทั้ งหลายอั นเป นที่ ตั้ งแห งอุ ปทานอยู ตั ณ หาย อมดั บ. เพราะมี ความดั บแห งตั ณ หา จึ งมี ความดั บแห งอุ ปทาน; เพราะมี ความดั บแห งอุ ปทาน จึงมี ความดั บแห งภพ; เพราะมี ความดั บแห งภพ จึ งมี ความดั บแห งชาติ ; เพราะมี ความดั บ แห งชาติ นั่ นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งดั บสิ้ น : ความดับลงแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้. ดู ก อ นอานนท ! เปรี ย บเหมื อ นต น ไม ใหญ มี อ ยู . ลํ า ดั บ นั้ น บุ รุ ษ พึ งถื อ เอาจอบและตะกรามาแล ว บุ รุษนั้ น พึ งตั ดต นไม นั้ นที่ โคน ครั้นตั ดที่ โคนแล ว พึ งขุ ด เซาะ ครั้งขุ ดเซาะแล ว พึ งรื้อขึ้ นซึ่ งรากทั้ งหลายแม ที่ สุ ดเพี ยงเท านก านแฝก. บุ รุษนั้ น ตั ดต นไม นั้ นเป นท อนน อยท อนใหญ ครั้นตั ดเป นท อนน อยท อนใหญ แล ว พึ งผ า; ครั้น ผ าแล ว พึ งกระทํ าให เป นซี ก ๆ ; ครั้ นกระทํ าให เป นซี ก ๆ แล ว พึ งผึ่ งให แห งในลมและ แดด; ครั้น ผึ่ งให แห งในลมและแดดแล ว ย อ มเผาด วยไฟ; ครั้น เผาด วยไฟแล ว พึ ง กระทํ าให เป นขี้ เถ า; ครั้นกระทํ าเป นขี้ เถ าแล ว ย อมโปรยไปตามลม อั นพั ดจั ด หรือ วาพึ งให ลอยไปในกระแสน้ํ าอั นเชี่ยว. ดู ก อนอานนท ! ด วยการกระทํ าอย างนี้ แล ต นไม ใหญ นั้น ก็จะพึงเปนตนไมมีรากอันขาดแลว เหมือนตนตาลที่ถูกทําลายแลวที่ขั้วแหงยอด ถึ งแล วซึ่ งความไม มี ไม เป น มี ความไม งอกอี กต อไปเป นธรรมดา, ข อนี้ ฉั นใด; ดู ก อน อานนท ! ข อ นี้ ก็ ฉั น นั้ น : เมื่ อ ภิ ก ษุ เป น ผู มี ป รกติ เห็ น โดยความเป น อาที น วะ (โทษ อันต่ําทราม) ในธรรมทั้งหลายอันเปนที่ตั้งแหงอุปทานอยู ตัณหายอมดับ. เพราะมี

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๓๗๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๗

ความดั บแห งตั ณ หา จึ งมี ความดั บ แห งอุ ป ทาน; เพราะมี ค วามดั บแห งอุ ป ทาน จึ งมี ความดั บแห งภพ; เพราะมี ความดั บแห งภพ จึ งมี ความดั บแห งชาติ ; เพราะมี ความดั บ แห งชาติ นั่ น แล ชรามรณะ โสกะปริ เทวะทุ ก ะโทมนั ส อุ ป ายาสทั้ งหลาย จึ งดั บ สิ้ น : ความดับลงแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้, ดังนี้ แล.

ผูไมรูปฏิจจสมุปบาท โดยอาการแหงอริยสัจสี่ ไมสามารถกาวลวงปฏิจจสมุปปนนธรรม๑ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณะหรือพราหมณ เหล าใดเหล าหนึ่ ง ย อมไม รู ทั่ วถึ ง ซึ่ ง ชรามรณะ, ไม รูทั่ ว ถึ ง ซึ่ งเหตุ ให เกิ ด ขึ้ น แห งชรามรณะ, ไม รูทั่ ว ถึ ง ซึ่ ง ความดั บ ไม เหลื อแห งชรามรณะ, ไม รูทั่ วถึ ง ซึ่ งข อปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสั ตว ให ลุ ถึ งความดั บไม เหลื อ แห งชรามรณะ; สมณะหรือพราหมณ เหล านั้ นหนา จั กก าวล วงชรามรณะเสี ยได แล ว ดํารงอยู ดังนั้นหรือ นั่นไมใชฐานะที่จักมีได. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณะหรือพราหมณ เหล าใดเหล าหนึ่ ง ย อมไม รูทั่ วถึ ง ซึ่ งชาติ , ไม รู ทั่ วถึ ง ซึ่ งเหตุ ให เกิ ดขึ้นแห งชาติ , ไม รูทั่ วถึง ซึ่งความดั บไม เหลื อแห งชาติ , ไม รูทั่ วถึ ง ซึ่ งข อ ปฏิ บั ติ เครื่ องทํ าสั ต ว ให ลุ ถึ งความดั บ ไม เหลื อแห งชาติ ; สมณะหรื อ พราหมณ เหล า นั้ น หนา จั ก ก าวล ว งชาติ เสี ย ได แล วดํ ารงอยู ดั งนั้ น หรื อ นั่ น ไม ใช ฐานะที่จักมีได.

www.buddhadasa.info

สูตรที่ ๑๐ ทสพลวรรค นิทานสังยุตต นิทาน.สํ. ๑๖/๕๔/๙๖, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยโทษและอานิสงสเกี่ยวกับปฏิจจฯ

๓๗๙

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! สมณะหรือพราหมณเหลาใดเหลาหนึ่ง ยอมไมรูทั่วถึงซึ่ง ภพ; ไม รู ทั่ วถึ ง ซึ่ งเหตุ ให เกิ ดขึ้ นแห งภพ, ไม รู ทั่ วถึ ง ซึ่ งความดั บไม เหลื อแห งภพ, ไม รู ทั่วถึง ซึ่งขอปฏิบัติ เครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงภพ; สมณะหรือพราหมณ เหลานั้นหนา จักกาวลวงภพเสียไดแลวดํารงอยู ดังนั้นหรือ นั่นไมใชฐานะที่จักมีได. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! สมณะหรือพราหมณ เหลาใดเหลาหนึ่ง ยอมไมรูทั่วถึง ซึ่งอุปาทาน, ไมรูทั่วถึง ซึ่งเหตุใหเกิดขึ้นแหงอุปาทาน, ไมรูทั่วถึง ซึ่งความดับไมเหลือ แหงอุปาทาน, ไมรูทั่วถึง ซึ่งขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงอุปาทาน; สมณะหรือพราหมณ เหลานั้นหนา จักกาวลวงอุปาทานเสียได แลวดํารงอยู ดังนั้นหรือ นั่นไมใชฐานะที่จักมีได. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! สมณะหรือพราหมณ เหลาใดเหลาหนึ่ง ยอมไมรูทั่วถึง ซึ่งตั ณหา, ไมรูทั่วถึง ซึ่งเหตุใหเกิดขึ้นแหงตัณหา, ไมรูทั่วถึง ซึ่งความดับไมเหลือแหง ตัณหา, ไมรูทั่วถึง ซึ่งขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงตัณหา; สมณะ หรือพราหมณเหลานั้นหนา จักกาวลวงตัณหาเสียได แลวดํารงอยู ดังนั้นหรือ นั่นไมใช ฐานะที่จักมีได.

www.buddhadasa.info ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! สมณะหรือพราหมณ เหลาใดเหลาหนึ่ง ยอมไมรูทั่วถึง ซึ่งเวทนา, ไมรูทั่วถึง ซึ่งเหตุ ใหเกิดขึ้นแห งเวทนา, ไมรูทั่วถึง ซึ่งความดับไม เหลือแห ง เวทนา, ไมรูทั่วถึง ซึ่งขอปฏิ บัติเครื่องทํ าสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงเวทนา; สมณะ หรือพราหมณ เหลานั้นหนา จักกาวลวงเวทนาเสียได แลวดํารงอยู ดังนั้นหรือ นั่นไม ใชฐานะที่จักมีได.

www.buddhadasa.info


๓๘๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๗

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! สมณะหรือพราหมณ เหลาใดเหลาหนึ่ง ยอมไมรูทั่วถึง ซึ่งผัสสะ, ไมรูทั่วถึง ซึ่งเหตุใหเกิดขึ้นแหงผัสสะ, ไมรูทั่วถึง ซึ่งความดับไมเหลือแหงผัสสะ, ไมรูทั่วถึงซึ่งขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงผัสสะ; สมณะหรือพราหมณ เหลานั้นหนา จักกาวลวงผัสสะเสียได แลวดํารงอยู ดังนั้นหรือ นั่นไมใชฐานะที่จักมีได. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณะหรือพราหมณ เหล าใดเหล าหนึ่ ง ย อมไม รูทั่ วถึ ง ซึ่ งสฬายตนะ, ไม รูทั่ วถึ ง ซึ่ งเหตุ ให เกิ ด ขึ้ น แห งสฬายตนะ, ไม รู ทั่ วถึ ง ซึ่ งความดั บ ไมเหลือแหงสฬายตนะ,ไมรูทั่วถึง ซึ่งขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหง สฬายตนะ; สมณะหรือพราหมณ เหลานั้นหนา จักกาวลวงสฬายตนะเสียได แลวดํารงอยู ดังนั้นหรือ นั่นไมใชฐานะที่จักมีได. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! สมณะหรือพราหมณ เหลาใดเหลาหนึ่ง ยอมไมรูทั่วถึง ซึ่ งนามรู ป, ไม รูทั่ วถึ ง ซึ่ งเหตุ ให เกิ ดขึ้ นแห งนามรูป, ไม รูทั่ วถึ ง ซึ่ งความดั บไม เหลื อ แหงนามรูป, ไมรูทั่วถึง ซึ่งขอปฏิบั ติเครื่องทํ าสัตวใหลุถึงความดับไม เหลือแหงนามรูป; สมณะหรือพราหมณ เหลานั้นหนา จักกาวลวงนามรูปเสียได แลวดํารงอยู ดังนั้นหรือ นั่นไมใชฐานะที่จักมีได.

www.buddhadasa.info ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! สมณะหรือพราหมณ เหลาใดเหลาหนึ่ง ยอมไมรูทั่วถึง ซึ่งวิญญาณ, ไมรูทั่วถึง ซึ่งเหตุใหเกิดขึ้นแหงวิญญาณ, ไมรูทั่วถึง ซึ่งความดับไมเหลือ แหงวิญญาณ, ไมรูทั่วถึง ซึ่งขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงวิญญาณ; สมณะหรือพราหมณเหลานั้นหนา จักกาวลวงวิญญาณเสียได แลวดํารงอยู ดังนั้นหรือ นั่นไมใชฐานะที่จักมีได.

www.buddhadasa.info


วาดวยโทษและอานิสงสเกี่ยวกับปฏิจจฯ

๓๘๑

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! สมณะหรือพราหมณ เหลาใดเหลาหนึ่ง ยอมไมรูทั่วถึง ซึ่ งสั งขารทั้ งหลาย ไม รูทั่ วถึ ง ซึ่ งเหตุ ให เกิ ดขึ้ นแห งสั งขาร, ไม รูทั่ วถึ ง ซึ่ งความดั บ ไม เหลื อแห งสั งขาร, ไม รูทั่ วถึง ซึ่งข อปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสั ตวให ลุ ถึ งความดั บไม เหลื อแห ง สัง ขาร; สมณ ะหรือ พราหมณเ หลา นั ้น หนา จัก กา วลว งสัง ขารเสีย ได แลว ดํารงอยู ดังนั้นหรือ นั่นไมใชฐานะที่จักมีได.

สําหรับผูที่ไมสามารถเขาใจปฏิจจสมุปบาท ยึดถือกายเปนตัวตน ยังดีกวายึดถือจิตเปนตัวตน๑ ดูกอนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ปุ ถุชนผูมิไดสดับแลว จะพึ งเบื่ อหนายไดบ าง พึ งคลาย กําหนัดไดบาง พึงปลอยวางไดบาง ในกายอันเปนที่ประชุมแหงมหาภูตทั้งสี่นี้. ขอนั้น เพราะเหตุ ไรเล า? ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ข อนั้ นเพราะเหตุ วา การก อขึ้ นก็ ดี การสลาย ลงก็ ดี การถู กยึ ดครองก็ ดี การทอดทิ้ งซากไว ก็ ดี แห งกายอั นเป นที่ ประชุ มแห งมหาภู ต ทั้ งสี่ นี้ ย อ มปรากฎอยู . เพราะเหตุ นั้ น ปุ ถุ ช นผู มิ ได ส ดั บ แล ว จึ งเบื่ อ หน ายได บ า ง จึงคลายกําหนั ดได บ าง จึงปลอยวางได บ าง ในกายนั้ น. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ส วนสิ่ ง ที่ เรียกกั นว า "จิ ต" ก็ ดี ว า "มโน" ก็ ดี ว า "วิ ญ ญาณ" ก็ ดี ปุ ถุ ชนผู มิ ได สดั บแล ว ไม อาจจะเบื่ อหน าย ไม อาจจะคลายกําหนั ด ไม อาจจะปล อยวาง ซึ่งจิ ตนั้ น. ขอนั้ นเพราะ เหตุ ไ รเล า ? ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ข อ นั้ น เพราะเหตุ ว า สิ่ ง ที่ เรี ย กว า จิ ต เป น ต น นี้ เป นสิ่ งที่ ปุ ถุ ชนผู มิ ได สดับแล ว ได ถึงทั บแลวตั ณ หา ได ยึดถือแลวด วยทิ ฏฐิโดยความ เปนตัวตน มาตลอดกาลชานานวา "นั่นของเรา นั่นเปนเรานั่นเปนตัวตนของเรา" ดังนี้;

www.buddhadasa.info

สูตรที่ ๑ มหาวรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน.สํ. ๑๖/๑๑๔/๒๓๐, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๓๘๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๗

เพราะเหตุ นั้ น ปุ ถุ ชนผู มิ ได สดั บแล ว จึ งไม อาจจะเบื่ อหน าย ไม อาจจะคลายกํ าหนั ด ไมอาจจะปลอยวาง ซึ่งสิ่งที่เรียกวาจิตเปนตนนั้น. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ปุถุชนผูมิไดสดับแลว จะพึงเขาไปยึดถือเอากาย อันเปนที่ประชุมแหงมหาภูตทั้งสี่นี้ โดยความเปนตัวตน ยังดีกวา. แตจะเขาไป ยึดถือเอาจิตโดยความเปนตัวตน ไมดีเลย. ขอนั้นเพราะเหตุไรเลา? ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย! ขอนั้นเพราะเหตุวา กายอันเปนที่ประชุมแหงมหาภูตทั้งสี่นี้ ดํารงอยูป หนึ่งบาง สองปบาง สามปบาง สี่ปบาง หาปบาง สิบปบาง ยี่สิบปบาง สามสิบปบางสี่ สิ บป บ าง ห าสิ บป บ าง รอยป บ าง เกิ นกวารอยป บ าง ปรากฏอยู . ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สวน สิ่งที่ เรียกกั น วา "จิต " ก็ดี วา "มโน" ก็ดี วา "วิญ ญาณ" ก็ดี นั้น ดวงอื่ น เกิดขึ้น ดวงอื่นดับไป ตลอดวัน ตลอดคืน. ดูก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เปรียบเหมื อน วานร เมื่ อเที่ ยวไปอยู ในป าใหญ ย อม จับกิ่ งไม : ปล อยกิ่ งนั้ น จั บกิ่ งอื่ น ปล อยกิ่ งที่ จั บเดิ ม เหนี ยวกิ่ งอื่ น เช นนี้ เรื่อย ๆ ไป, ขอ นี ้ฉ ัน ใด; ดูก อ นภิก ษุทั ้ง หลาย! สิ ่ง ที ่เ รีย กกัน วา "จิต " ก็ด ี วา "มโน" ก็ดี วา "วิญญาณ" ก็ดี นั้น ดวงอื่นเกิดขึ้น ดวงอื่นดับ ไป ตลอดวัน .

www.buddhadasa.info ดูก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ในเรื่องที่ กลาวนี้ อริยสาวกผู ได สดั บแล ว ย อมกระทํ า ในใจโดยแยบคายเป นอย างดี ซึ่ งปฏิ จจสมุ ปบาทนั่ นเที ยว ดั งนี้ ว า "เพราะสิ่ งนี้ มี สิ่ งนี้ จึง มี; เพราะความเกิด ขึ ้น แหง สิ ่ง นี ้ สิ ่ง นี ้จ ึง เกิด ขึ ้น . เพราะสิ ่ง นี ้ไ มม ี สิ ่ง นี ้จ ึง ไม มี ; เพราะความดั บ ไปแห งสิ่ งนี้ สิ่ งนี้ จึ งดั บ ไป : ข อนี้ ได แก สิ่ งเหล านี้ คื อ เพราะมี อวิ ช ชาเป น ป จ จั ย จึ ง มี สั ง ขารทั้ งหลาย; เพราะมี สั ง ขารเป น ป จ จั ย จึ งมี วิ ญ ญาณ; ...ฯลฯ... ...ฯลฯ...; เพราะมี ช าติ เ ป น ป จ จั ย , ชรามรณะ โสกะปริ เ ทวะ-

www.buddhadasa.info


วาดวยโทษและอานิสงสเกี่ยวกับปฏิจจฯ

๓๘๓

ทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งเกิ ดขึ้ นครบถ วน : ความเกิ ดขึ้ นพรอมแห งกองทุ กข ทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้. เพราะความจางคลายดั บไปโดยไมเหลือแหงอวิชชานั้นนั่ นเที ยว, จึงมี ความดั บ แห ง สั ง ขาร; เพราะมี ค วามดั บ แห ง สั ง ขาร จึ ง มี ค วามดั บ แห ง วิ ญ ญาณ; ...ฯลฯ... ...ฯลฯ...; เพราะมี ความดั บ แห งชาติ นั่ นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขะโทมนั ส อุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้". ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! อริยสาวกผูไดสดับแลว เห็นอยูอยางนี้ ยอมเบื่อหนาย แม ในรูป, ย อมเบื่ อหน าย แม ในเวทนา, ย อมเบื่ อหน าย แม ในสัญญา, ยอมเบื่ อหน าย แม ในสังขารทั้ งหลาย, ยอมเบื่ อหน าย แม ในวิญญาณ. เมื่ อเบื่ อหน าย ยอมคลายกําหนั ด; เพราะความคลายกําหนั ด ยอมหลุดพ น;เมื่ อหลุ ดพ นแลว ยอมมี ญาณหยั่งรูวา "หลุ ดพ น แล ว" ดั งนี้ . เธอย อมรูชั ดว า "ชาติ นี้ แล ว, พรหมจรรย อั นเราอยู จบแล ว, กิ จที่ ควรทํ า ไดทําเสร็จแลว, กิจอื่น เพื่อความเปนอยางนี้ มิไดมีอีก", ดังนี้ แล.

www.buddhadasa.info ทิฏฐิและการหยั่งลงแหงทิฏฐิ เนื่องมาจากการยึดซึ่งขันธทั้งหา ๑ [๑. อัตรา-อัตตนิยานุทิฏฐิ]

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ ออะไรมี อยู หนอ เพราะเข าไปยึ ดถื อซึ่ งอะไร เพราะ ปกใจเขาไปสูอะไร บุคคลจึงตามเห็นวา "นั่นของเรา, นั่นเปนเรา, นั่นเปนตัวตนของ เรา", ดังนี้?

สูตรที่ ๒ ทิฏฐิวรรค ขันธสังยุตต ขนฺธ.สํ. ๑๗/๒๒๑/๓๔๘, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๓๘๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๗

ภิ กษุ ทั้ งหลายเหล านั้ น กราบทู ลวิ งวอนว า "ข าแต พระองค ผู เจริ ญ ! ธรรมทั้ งหลายของพวก ข าพระองค มี พ ระผู มี พ ระภาคเป น มู ล มี พ ระผู มี พ ระภาคเป น ผู นํ า มี พ ระผู มี พ ระภาคเป น ที่ พึ่ ง. ข าแต พระองค ผู เจริ ญ ! เป นการชอบแล วหนอ ขอให อรรถแห งภาษิ ตนั้ น จงแจ มแจ งกะพระผู มี พระภาคเองเถิ ด ภิ กษุ ทั้ งหลายได ฟ งจากพระผู มี พ ระภาคแล ว จั กทรงจํ าไว " ดั งนี้ . พระผู มี พ ระภาคเจ า จึ งตรั สเตื อ นให ภิกษุทั้งหลายเหลานั้นตั้งใจฟงดวยดีแลว ไดตรัสขอความดังตอไปนี้ :-

ดูกอนภิ กษุ ทั้งหลาย! เมื่ อรูปนั่นแลมีอยู เพราะเข าไปยึ ดถื อซึ่ งรูป เพราะ ป กใจเข าไปสู รู ป บุ ค คลจึ งตามเห็ น ว า "นั่ น ของเรา นั่ น เป น เรา นั่ น เป น ตั วตนของเรา" ดังนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! พวกเธอทั้ งหลาย จะสํ าคั ญ ความข อนี้ ว าอย างไร? รู ป เที่ ย งหรื อ ไม เที่ ย ง? ("ไม เที่ ย ง พระเจ า ข า !") ก็ สิ่ งใดไม เที่ ย ง สิ่ งนั้ น เป น ทุ ก ข ห รื อ เป น สุ ขเล า? ("เป น ทุ กข พระเจ าข า!") แม สิ่ งใดไม เที่ ย ง เป น ทุ ก ข มี ค วามแปรปรวน เป นธรรมดา แต ถาไม เขาไปยึดถือซึ่งสิ่งนั้นแลว เขาจะตามเห็นไดไหมวา "นั่นของเรา นั่นเปนเรา นั่นเปนตัวตนของเรา" ดังนี้? ("ขอนั้น หามิได พระเจาขา!").

www.buddhadasa.info (ในกรณีแหงเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ก็มีถอยคําที่ตรัส, ตรัสถาม, และภิกษุทูลตอบอยาง เดียวกันทุกตัวอักษรกับในกรณีแหงรูปนี้ ตางกันแตเพียงชื่อแหงขันธแตละขันธ เทานั้น.)

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! อริยสาวกผู ได สดั บแล ว เห็ นอยู อย างนี้ ย อมเบื่ อหน าย แม ในรู ป, แม ในเวทนา, แม ในสั ญ ญา, แม ในสั งขารทั้ งหลาย, แม ในวิ ญ ญาณ. เมื่ อ เบื่ อหน าย ย อมคลายกํ าหนั ด; เพราะความคลายกํ าหนั ด จึ งหลุ ดพ น; เมื่ อหลุ ดพ นแล ว ย อมมี ญ าณเกิ ด ขึ้ น แก อริ ยสาวกนั้ น ว า"หลุ ดพ นแล ว"ดั งนี้ . อริยสาวกนั้ น ย อ มรูชั ดว า "ชาติ สิ้ น แล ว, พรหมจรรย อั น เราอยู จบแล ว, กิ จที่ ควรทํ าได ก ระทํ าเสร็ จแล ว, กิ จ อื่ น เพื่อความเปนอยางนี้ มิไดมีอีก" ดังนี้.

www.buddhadasa.info


วาดวยโทษและอานิสงสเกี่ยวกับปฏิจจฯ

๓๘๕ [๒. สัสสตทิฏฐิ (ธรรมดา)]๑

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ ออะไรมี อยู หนอ เพราะเข าไปยึ ดถื อซึ่ งอะไร เพราะ ปกใจเขาไปสูอะไร ทิฏฐิจึงเกิดขึ้นอยางนี้วา "อัตตา (ตน) ก็อันนั้น; โลกก็อันนั้น; เรานั้ นละไปแลว จักเป นผูเที่ยง (นิจฺโจ) ยั่งยืน (ธุโว) เที่ยงแท (สสฺสโต) มีความ แปรปรวนเปนธรรมดา (อวิปริฌามธมฺโม)", ดังนี้? ภิ กษุ ทั้ งหลายเหล านั้ น กราบทู ลวิ งวอนว า "ข าแต พระองค ผู เจริ ญ! ธรรมทั้ งหลายของพวก ข าพระองค มี พระผู มี พระภาคเป นมู ล มี พ ระผู มี พ ระภาคเป นผู นํ า มี พระผู มี พระภาคเป นที่ พึ่ ง. ข าแต พระองคผู เจริญ! เป นการชอบแลวหนอ ขอให อรรถแห งภาษิ ตนั้ น จงแจมแจงกะพระผูมี พระภาคเองเถิ ด ภิ กษุ ทั้ งหลายได ฟ งจากพระผู มี พระภาคแล ว จั กทรงจํ าไว " ดั งนี้ . พระผู มี พระภาคเจ า ตรั สเตื อนให ภิ กษุ ทั้งหลายเหลานั้นตั้งใจฟงดวยดีแลว ไดตรัสขอความดังตอไปนี้ :-

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เมื่อรูปนั่นแล มีอยู เพราะเขาไปยึดถือซึ่งรูป เพราะ ป ก ใจเข าไปสู รู ป ทิ ฏ ฐิ จึ งเกิ ด ขึ้ น อย างนี้ ว า "อั ต ตา ก็ อั น นั้ น โลกก็ อั น นั้ น เรานั้ น ละ ไปแลว จักเปนผูเที่ยง ยั่งยืน เที่ยงแท มีความไมแปรปรวนเปนธรรมดา" ดังนี้.

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! พวกเธอทั้ งหลาย จะสํ าคั ญ ความข อนี้ ว าอย างไร? รูป เที่ ย งหรือ ไม เที่ ย ง? ("ไม เที่ ย ง พระเจ าข า!") ก็ สิ่ งใดไม เที่ ย ง สิ่ งนั้ น เป น ทุ ก ข ห รื อ เป นสุ ขเล า? ("เป นทุ กข พระเจ าข า!") แม สิ่ งใดไม เที่ ยง เป นทุ กข มี ความแปรปรวน เปนธรรมดา แตถาไมเขาไปยึดถือ ซึ่งสิ่งนั้นแลว ทิฏฐิอยางนี้ จะเกิดขึ้นไดไหมวา "อั ตตาก็ อั นนั้ น โลกก็ อั นนั้ น เรานั้ นละไปแล ว จั กเป นผู เที่ ยง ยั่ งยื น เที่ ยงแท มี ความ ไมแปรปรวนเปนธรรมดา" ดังนี้? ("ขอนั้น หามิได พระเจาขา!").

สูตรที่ ๓ ทิฏฐิวรรค ขันธสังยุตต ขนฺธ.สํ. ๑๗/๒๒๒/๓๕๐, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๓๘๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๗

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๓๘๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๗

(ในกรณี แห งเวทนา สั ญญา สั งขาร วิญญาณ ก็ มี ถ อยคํ าที่ ตรัส, ตรัสถาม, และพวกภิ กษุ ทูลตอบอยางเดียวกันทุกตัวอักษรกับในกรณีแหงรูปนี้ ตางกันแตเพียงชื่อแหงขันธแตละขันธ เทานั้น.)

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! อริยสาวกผูไดสดับแลว เห็นอยูอยางนี้ ยอมเบื่อหนาย แม ในรูป, แม ในเวทนา, แม ในสั ญ ญา, แม ในสั งขารทั้ งหลาย, แม ในวิ ญ ญาณ. เมื่ อ เบื่ อหน าย ยอมคลายกํ าหนั ด; เพราะความคลายกําหนั ด จึงหลุดพ น; เมื่ อหลุ ดพ นแล ว ย อ มมี ญ าณเกิ ด ขึ้ น แก อ ริย สาวกนั้ น ว า "หลุ ด พ น แล ว "ดั งนี้ . อริย สาวกนั้ น ย อ มรูชั ด อย างนี้ วา "ชาติ สิ้ นแล ว, พรหมจรรย อั นเราอยู จบแล ว, กิ จที่ ควรทํ า ได กระทํ าเสร็จแล ว, กิจอื่นเพื่อความเปนอยางนี้ มิไดมีอีก" ดังนี้. [๓. อุจเฉททิฏฐิ (ธรรมดา)]๑

ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! เมื่ อ อะไรมี อ ยู ห นอ เพราะเข า ไปยึ ด ถื อ ซึ่ ง อะไร เพราะปกใจเขาไปสูอะไร ทิฏฐิจึงเกิดขึ้นอยางนี้วา "เราไมพึงมีดวย ของเราไมพึงมีดวย เราจักไมมี ของเราจักไมมี" ดังนี้? ...ฯลฯ...

www.buddhadasa.info (ข อความตรงที่ ละเปยยาลไว นี้ เหมื อนกั บข อความในทิ ฏฐิ ที่ ๑ ที่ ๒ ตั้ งแต คํ าว า "ภิ กษุ ทั้ งหลายเหล านั้ น กราบทู ลวิ งวอนว า ข าแต พ ระองค ผู เจริ ญ ! ธรรมทั้ งหลาย ของพวกข าพระองค "… ไปจนจบข อความ ด วยคํ าวา... "อริยสาวกนั้ นย อมรูชั ดวา ชาติ สิ้ นแล ว, พรหมจรรย อั นเราอยู จบแล ว, กิ จที่ ควรทํ าได กระทํ าเสร็จแล ว, กิ จอื่ นเพื่ อความเป นอย างนี้ มิ ได มี อี ก ดั งนี้ ."; เป นข อความซึ่ งเหมื อนกั น ทุกตัวอักษร จนตลอดขอความ มีแปลกกันแตเพียงชื่อแหงทิฏฐิแตละทิฏฐิ เทานั้น.) [๔. มิจฉาทิฏฐิ]๒

ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! เมื่ อ อะไรมี อ ยู ห นอ เพราะเข า ไปยึ ด ถื อ ซึ่ ง อะไร

สูตรที่ ๔ ทิฏฐิวรรค ขันธสังยุตต ขนฺธ.สํ. ๑๗/๒๒๓/๓๕๒, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน. สูตรที่ ๕ ทิฏฐิวรรค ขันธสังยุตต ขนฺธ.สํ. ๑๗/๒๒๔/๓๕๔, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยโทษและอานิสงสเกี่ยวกับปฏิจจฯ

๓๘๗

เพราะปกใจเขาไปสูอะไร มิจฉาทิฏฐิ จึงเกิดขึ้น?...ฯลฯ...

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


วาดวยโทษและอานิสงสเกี่ยวกับปฏิจจฯ

๓๘๗

(ข อความตรงที่ ละเปยยาลไว นี้ เหมื อนกั บข อความในทิ ฏฐิ ที่ ๑ ที่ ๒ ตั้ งแต คํ าว า "ภิ กษุ ทั้ งหลายเหล านั้ น กราบทู ลวิ งวอนว า ข าแต พ ระองค ผู เจริ ญ ! ธรรมทั้ งหลาย ของพวกข าพระองค "... ไปจนจบข อความ ด วยคํ าวา... "อริยสาวกนั้ นย อมรูชั ดวา ชาติ สิ้ นแล ว, พรหมจรรย อั นเราอยู จบแล ว, กิจที่ควรทําไดกระทําเสร็จแลว, กิจอื่นเพื่ อความเป นอยางนี้ มิ ไดมี อีก ดั งนี้ ."; เป นขอความซึ่งเหมื อนกัน ทุกตัวอักษร จนตลอดขอความ ตางกันแตเพียงชื่อแหงทิฏฐิแตละทิฏฐิ เทานั้น.) [๕. สักกายทิฏฐิ]๑

ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! เมื่ อ อะไรมี อ ยู ห นอ เพราะเข า ไปยึ ด ถื อ ซึ่ ง อะไร เพราะปกใจเขาไปสูอะไร สักกายทิฏฐิ จึงเกิดขึ้น?...ฯลฯ... (ข อความตรงที่ ละเปยยาลไว นี้ เหมื อนกั บข อความในทิ ฏฐิ ที่ ๑ ที่ ๒ ตั้ งแต คํ าว า "ภิ กษุ ทั้ งหลายเหล านั้ น กราบทู ลวิ งวอนว า ข าแต พ ระองค ผู เจริ ญ ! ธรรมทั้ งหลาย ของพวกข าพระองค "... ไปจนจบข อความ ด วยคํ าวา... "อริยสาวกนั้ นย อมรูชั ดวา ชาติ สิ้ นแล ว, พรหมจรรย อั นเราอยู จบแล ว, กิจที่ควรทําไดกระทําเสร็จแลว, กิจอื่นเพื่ อความเป นอยางนี้ มิ ไดมี อีก ดั งนี้ ."; เป นขอความซึ่งเหมื อนกัน ทุกตัวอักษร จนตลอดขอความ ตางกันแตเพียงชื่อแหงทิฏฐิแตละทิฏฐิ เทานั้น.) [๖. อัตตานุทิฏฐิ]๒

www.buddhadasa.info ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! เมื่ อ อะไรมี อ ยู ห นอ เพราะเข า ไปยึ ด ถื อ ซึ่ ง อะไร เพราะปกใจเขาไปสูอะไร อัตตานุทิฏฐิ จึงเกิดขึ้น?...ฯลฯ...

(ข อความตรงที่ ละเปยยาลไว นี้ เหมื อนกั บข อความในทิ ฏฐิ ที่ ๑ ที่ ๒ ตั้ งแต คํ าว า "ภิ กษุ ทั้ งหลายเหล านั้ น กราบทู ลวิ งวอนว า ข าแต พ ระองค ผู เจริ ญ ! ธรรมทั้ งหลาย ของพวกข าพระองค "... ไปจนจบข อความ ด วยคํ าวา... "อริยสาวกนั้ นย อมรูชั ดวา ชาติ สิ้ นแล ว, พรหมจรรย อั นเราอยู จบแล ว, กิ จที่ ควรทํ าได กระทํ าเสร็จแล ว, กิ จอื่ นเพื่ อความเป นอย างนี้ มิ ได มี อี ก ดั งนี้ ."; เป นข อความซึ่ งเหมื อนกั น ทุกตัวอักษร จนตลอดขอความ ตางกันแตเพียงชื่อแหงทิฏฐิ เทานั้น.)_

สูตรที่ ๖ ทิฏฐิวรรค ขันธสังยุตต ขนฺธ.สํ. ๑๗/๒๒๕/๓๕๖, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน. สูตรที่ ๗ ทิฏฐิวรรค ขันธสังยุตต ขนฺธ.สํ. ๑๗/๒๒๖/๓๕๘, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๓๘๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๗ [๗. สัญโญชนาภินิเวสวินิพันธะ]๑

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ ออะไรมี อยู หนอ เพราะเข าไปยึ ดถื อซึ่ งอะไร เพราะ ปกใจเขาไปสูอะไร ความผูกพันดวยสังโยชนและอภินิเวส (ความผูกพันในอารมณ ดวยกิเลสเปนเครื่องผูกและทิฏฐิเปนเครื่องตามเห็น) จึงเกิดขึ้น? ...ฯลฯ... (ข อความตรงที่ ละเปยยาลไว นี้ เหมื อนกั บข อความในทิ ฏฐิ ที่ ๑ ที่ ๒ ตั้ งแต คํ าว า "ภิ กษุ ทั้ งหลายเหล านั้ น กราบทู ลวิ งวอนว า ข าแต พ ระองค ผู เจริญ ! ธรรมทั้ งหลาย ของพวกข าพระองค "... ไปจนจบข อความ ด วยคํ าวา... "อริยสาวกนั้ นย อมรูชั ดวา ชาติ สิ้ นแล ว, พรหมจรรย อั นเราอยู จบแล ว, กิ จที่ ควรทํ าได กระทํ าเสร็จแล ว, กิ จอื่ นเพื่ อความเป นอย างนี้ มิ ได มี อี ก ดั งนี้ ."; เป นข อความซึ่ งเหมื อนกั น ทุกตัวอักษร จนตลอดขอความ ตางกันแตเพียงชื่อแหงทิฏฐิ เทานั้น.) [๘. สัญโญชนาภินิเวสวินิพันธาชโฌสานะ]๒

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เมื่ออะไรมีอยูหนอ เพราะเขาไปยึดถือซึ่งอะไร เพราะปกใจเขาไปสูอะไร การหยั่งลงสูความผูกพันดวยสังโยชนและอภินิเวส จึง เกิดขึ้น?

www.buddhadasa.info ดูก อนภิ กษุ ทั้ งหลายเหลานั้ น กราบทู ลวิงวอนวา "ขาแต พระองค ผูเจริญ! ธรรมทั้ งหลายของพวก ขาพระองค มีพระผูมีพระภาคเปนมูล มีพระผูมีพระภาคเปนผูนํา มีพระผูมีพระภาคเปนที่ พึ่ง. ขาแตพระองค ผู เจริ ญ ! เป นการชอบแล วหนอ ขอให อรรถแห งภาษิ ตนั้ น จงแจ มแจ งกะพระผู มี พ ระภาคเองเถิ ดภิ กษุ ทั้งหลายไดฟงจากพระผูมี พระภาคแลว จักทรงจําไว" ดังนี้. พระผูมี พระภาคเจา ตรัสเตือนใหภิกษุ ทั้ งหลาย เหลานั้นตั้งใจฟงดวยดีแลว ไดตรัสขอความดังตอไปนี้ :-

ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! เมื่ อ รูป นั่ น แล มี อ ยู เพราะเข า ไปยึ ด ถื อ ซึ่ ง รู ป เพราะปกใจเขาไปสูรูป การหยั่งลงสูความผูกพันดวยสังโยชนและอภินิเวส จึงเกิดขึ้น.

สูตรที่ ๘ ทิฏฐิวรรค ขันธสังยุตต ขนฺธ.สํ. ๑๗/๒๒๕/๓๖๐, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน. สูตรที่ ๙ ทิฏฐิวรรค ขันธสังยุตต ขนฺธ.สํ. ๑๗/๒๒๗/๓๖๒, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยโทษและอานิสงสเกี่ยวกับปฏิจจฯ

๓๘๙

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! พวกเธอทั้ งหลาย จะสํ าคั ญ ความข อนี้ ว าอย างไร? รู ป เที่ ย งหรื อ ไม เที่ ย ง? ("ไม เที่ ย ง พระเจ าข า!") ก็ สิ่ งใดไม เที่ ย ง สิ่ งนั้ น เป น ทุ ก ข ห รื อ เป นสุ ขเล า? ("เป นทุ กข พระเจ าข า!") แม สิ่ งใดไม เที่ ยง เป นทุ กข มี ความแปรปรวน เปนธรรมดา แตถาไมเขาไปยึดถือซึ่งสิ่งนั้นแลว การหยั่งลงสูความผูกพันดวยสังโยชน และอภินิเวส จะเกิดขึ้นไดไหม? ("ขอนั้น หามิได พระเจาขา!"). (ในกรณี แห งเวทนา สั ญญา สั งขาร วิญญาณ ก็ มี ถ อยคํ าที่ ตรัส, ตรัสถาม, และพวกภิ กษุ ทูลตอบ อยางเดียวกันทุกตัวอักษรกับในกรณีแหงรูปนี้ ตางกันแตเพียงชื่อแหงขันธแตละขันธเทานั้น.)

ดูกอนภิ กษุ ทั้ งหลาย! อริยสาวกผูไดสดับแลว เห็ นอยูอยางนี้ ยอมเบื่ อ หน ายแม ในรูป, แม ในเวทนา, แม ในสั ญ ญา, แม ในสั งขารทั้ งหลาย, แม ในวิ ญ ญาณ. เมื่อเบื่อหนาย ยอมคลายกําหนัด; เพราะความคลายกําหนัด จึงหลุดพน; เมื่อหลุดพนแลว ยอมมีญาณเกิดขึ้นแกอริยสาวกนั้นวา"หลุดพนแลว"ดังนี้. อริยสาวกนั้น ยอมรูชัดอยางนี้วา "ชาติ สิ้ นแล ว, พรหมจรรย อั นเราอยู จบแล ว, กิ จที่ ควรทํ าได กระทํ าเสร็ จแล ว, กิ จอื่ น เพื่อความเปนอยางนี้ มิไดมีอีก" ดังนี้.

www.buddhadasa.info หมายเหตุ ผู ร วบรวม : ผู ศึ ก ษาพึ ง สั ง เกตให เห็ น ว า ทิ ฏ ฐิ ทุ ก ชนิ ด เกิ ด ขึ้ น เพราะปรารภขั น ธ ๕ อั น เป น ที่ ตั้ งของความยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น เนื่ องมาจากเกิ ดผั สสะและเวทนา อยา งใดอยา งหนึ ่ง กอ น จึง เกิด การตามเห็น หรือ เกิด ทิฏ ฐิขึ ้น โดยสมควรแกค วามรู ส ึก ที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ในใจของบุ ค คลนั้ น ๆ จนสรุ ป เป น ทิ ฏ ฐิ ไ ด อ ย า งหนึ่ ง ๆ แม นี้ ก็ เป น อาการแห ง ปฏิ จ จสมุ ป บาทที่ ซ อ นเร น อยู อ ย า งครบถ ว น แต ถู ก ป ด บั ง เสี ย มิ ด ชิ ด ด ว ยทิ ฏ ฐิ นั้ น นั่ น เอง; ดัง นั ้น จึง ถือ วา ทิฏ ฐิแ ตล ะทิฏ ฐิ ยอ มปด บัง อิท ัป ปจ จยตา กลา วคือ ปฏิจ จสมุป บาท อีกนั่นเอง.

www.buddhadasa.info


๓๙๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๗

ไมควบคุมรากฐานแหงปฏิจจสมุปบาทจึงเกิดทุกข๑ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ผั สสายตนะทั้ งหลาย ๖ อย างเหล านี้ อั นบุ คคล ไม ฝ ก แลวไมคุมครองแลวไมรักษาแลวไมสํารวมระวังแลว ยอม เปนสิ่งนํามาอยางยิ่งซึ่งทุกข. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ผั ส สายตนะทั้ ง หลาย ๖ อย า ง นั้ น เป น อย า ง ไรเลา? หกอยาง นั้นคือ : ผัสสายตนะคือจักษุ (ตา) …ฯลฯ… … นํามาอยางยิ่งซึ่งความทุกข; ผัสสายตนะคือโสตะ (หู) …ฯลฯ… … นํามาอยางยิ่งซึ่งความทุกข; ผัสสายตนะคือฆานะ (จมูก) …ฯลฯ… … นํามาอยางยิ่งซึ่งความทุกข; ผัสสายตนะคือชิวหา (ลิ้น) …ฯลฯ… … นํามาอยางยิ่งซึ่งความทุกข; ผัสสายตนะคือกายะ (กาย) …ฯลฯ… … นํามาอยางยิ่งซึ่งความทุกข; ผัสสายตนะคือมนะ (ใจ) …ฯลฯ… … นํามาอยางยิ่งซึ่งความทุกข;

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ผั สสายตนะทั้ งหลาย ๖ อย างเหล านี้ แล อั นบุ คคล ไม ฝ กแล ว ไม คุ มครองแล ว ไม รักษาแล ว ไม สํ ารวมระวั งแล ว ย อมเป นสิ่ งนํ ามาอย างยิ่ ง ซึ่งทุกข หมายเหตุ ผู รวบรวม : ผู ศึ กษาพึ งสั งเกตให เห็ นว า ผั สสายตนะทั้ งหลายเหล านี้ เปน รากฐานหรือ ตน เงื ่อ นของปฏิจ จสมุป บาททางฝา ยการปฏิบ ัต ิ ดัง บาลีว า “เพราะ อาศั ย ตาด ว ย รู ป ทั้ ง หลายด ว ย จึ ง เกิ ด จั ก ขุ วิ ญ ญ าณ ; การประจวบพร อ มแห ง ธรรม ๓ ประการนั้ น คื อ ผั ส สะ; เพราะมี ผั ส สะเป น ป จ จั ย จึ ง มี เ วทนา; …ฯลฯ…” ดั ง นี้ เ ป น ต น เพราะฉะนั้ น การไม ค วบคุ ม ผั ส สายตนะ ก็ คื อ การไม ค วบคุ ม การเกิ ด แห ง ปฏิ จ จสมุ ป บาท นั่นเอง จึงเกิดทุกข.

สูตรที่ ๑ ฉฬวรรค สฬา.สํ. ๑๘/๘๘/๑๒๘.

www.buddhadasa.info


วาดวยโทษและอานิสงสเกี่ยวกับปฏิจจฯ

๓๙๑

คนพาลกับบัณฑิตตางกันโดยหลักปฏิจจสมุปบาท๑ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ อคนพาล มี อ วิ ชชาเป นเครื่ องห อหุ ม ประกอบ พรอมแลวด วยตัณหา, กายนี้ ในลั กษณะอย างนี้ ก็ ตั้ งขึ้นพรอมแล ว กลาวคื อ มี กายนี้ ดวย มีนามรูปอันเปนภายนอกดวย (เปนของคูกัน). เพราะอาศัยของเปนคู ๆ อยาง นี้ ยอมเกิดผัสสะ เกิดอายตนะถึง ๖ ทางนั่นเทียว ซึ่งเมื่อมีการสัมผัสแลวทั้งหมด หรือแมเพียงอยางใดอยางหนึ่ง คนพาลก็เสวยสุขและทุกข. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ อคนบั ณฑิ ต มี อวิ ชชาเป นเครื่องห อหุ ม ประกอบ พรอมแลวดวยตัณหา, กายนี้ในลักษณะอยางนี้ ก็ตั้งขึ้นพรอมแลว กลาวคือ มีกายนี้ดวย มีน ามรูป อัน เปน ภายนอกดวย (เปนของคูกัน). เพราะอาศัยของเปนคู ๆ อยาง นี้ ยอมเกิดผัสสะ เกิดอายตนะถึง ๖ ทางนั่ นเทียว ซึ่งเมื่อมีการสัมผัสแลวทั้งหมด หรือแมเพียงอยางใดอยางหนึ่ง บัณฑิตก็เสวยสุขและทุกข. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ในระหวางคนพาลกับบัณฑิต ดังที่กลาวมานี้ อะไร เป นความผิ ดแปลกแตกต างกั น อะไรเป นความมุ งหมายที่ แตกต างกั น อะไรเป นเครื่อง กระทําใหตางกัน ระหวางคนพาลกับบัณฑิต?

www.buddhadasa.info ภิ กษุ ทั้ งหลายเหล านั้ น กราบทู ลวิ งวอนว า "ข าแต พระองค ผู เจริ ญ! ธรรมทั้ งหลายของพวก ขาพระองค มีพระผูมีพระภาคเปนมูล มีพระผูมีพระภาคเปนผูนํา มีพระผูมีพระภาคเปนที่พึ่ง. ขาแตพระองคผู เจริญ ! เป น การชอบแล วหนอ ขอให อ รรถแห งภาษิ ต นั้ น จงแจ ม แจ งกะพระผู มี พ ระภาคเองเถิ ด ภิ ก ษุ ทั้งหลายไดฟงจากพระผูมีพระภาคแลว จักทรงจําไว" ดังนี้.

สูตรที่ ๙ อาหารวรรค นิทานสังยุตต นิทาน.สฺ. ๑๖/๒๘/๕๗, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๓๙๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๗ พระผู มี พ ระภาคเจ า ได ต รั ส ว า "ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ถ า อย า งนั้ น พวกเธอ

ทั้งหลายจงฟง, จงทําในใจใหสําเร็จประโยชน, เราจักกลาวบัดนี้" ดังนี้. ครั้ นภิ กษุ ทั้ งหลายเหล านั้ น ทู ลสนองรั บพระพุ ทธดํ ารั สแล ว, พระผู มี พระภาคเจ า ได ตรั ส ถอยคําเหลานี้วา :-

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ อคนพาล ถู กอวิ ชชาใดห อหุ มแล ว ประกอบพร อม แล วด วยตั ณ หาใด, กายนี้ จึ งตั้ งขึ้ น พรอ ม; อวิ ชชานั้ น เป น สิ่ งที่ คนพาลละไม ได ด วย, ตั ณ หานั้ น ก็ ยั ง ไม สิ้ น รอบ ด ว ย. ที่ เป น ดั ง นี้ เพราะเหตุ ไ ร? ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ที่เปนดังนี้เพราะเหตุวา คนพาลไมไดประพฤติพรหมจรรยเพื่อความสิ้นไปแหงทุกข โดยชอบ; เพราะเหตุ นั้ น คนพาลจึ งเป นผู เข าถึ งกาย เพราะการแตกทํ าลายแห งกาย. คนพาลนั้ น เป น ผู เข าถึ งกายอยู ย อ มไม พ นจากชาติ ชรามรณะ โสกะปริ เทวะทุ กขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย : เรากลาววา ยอมไมพนจากทุกข ดังนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ อบั ณ ฑิ ต ถู กอวิ ชชาใดห อหุ มแล ว ประกอบพร อม แล วด วยตั ณ หาใด,กายนี้ จึ งตั้ งขึ้ น พร อ ม; อวิ ชชานั้ น เป น สิ่ งที่ บั ณ ฑิ ต ละได แล วด วย ตั ณ หานั้ น ก็ สิ้ นรอบด วย. ที่ เป นดั งนี้ เพราะเหตุ ไร? ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ที่ เป น ดั งนี้ เพราะเหตุวา บัณฑิตไมไดประพฤติพรหมจรรยเพื่อความสิ้นไปแหงทุกขโดยชอบ; เพราะเหตุ นั้ น บั ณ ฑิ ตจึ งเป นผู เข าถึ งกาย เพราะการแตกทํ าลายแห งกาย. บั ณ ฑิ ตนั้ น เป นผู เข าถึ งกายอยู ย อมไม พ นจากชาติ ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาส ทั้งหลาย : เรากลาววา ยอมไมพนจากทุกข ดังนี้.

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! นี้ แล เป นความผิ ดแปลกแตกต างกั น เป นความมุ ง หมายที่ แตกต างกั นเป นเครื่องทํ าให ต างกั น ระหวางคนพาลกั บบั ณฑิ ต กล าวคื อ ระบบ พรหมจริยวาส ที่แตกตางกัน, ดังนี้แล.

www.buddhadasa.info


วาดวยโทษและอานิสงสเกี่ยวกับปฏิจจฯ

๓๙๓

เปนสมณะหรือไมเปนสมณะ ขึ้นอยูกับการรูหรือไมรูปฏิจจสมุปบาทโดยนัยสี่๑ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณะหรือพราหมณ ก็ ตาม เหล าใดเหล าหนึ่ ง ย อมไม รู ทั่ วถึ งซึ่งชรามรณะ, ย อมไม รูทั่ วถึ งซึ่ งสาเหตุ ให เกิ ดขึ้นแห งชรามรณะ, ย อมไม รูทั่ วถึ งซึ่ ง ความดับไม เหลื อแห งชรามรณะ, ทั้ งย อมไม รูทั่ วถึ งซึ่งขอปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสั ตวให ลุถึ งความ ดับไมเหลือแหงชรามรณ; ย อมไม รูทั่ วถึ งซึ่ ง ชาติ , ย อมไม รูทั่ วถึ งซึ่ งสาเหตุ ให เกิ ดขึ้ นแห งชาติ , ย อมไม รู ทั่ วถึ งซึ่ งความดั บไม เหลื อแห งชาติ , ทั้ งย อมไม รูทั่ วถึ งซึ่ งข อปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสั ตว ให ลุ ถึ ง ความดับไมเหลือแหงชาติ; ยอมไมรูทั่วถึงซึ่ง ภพ, ยอมไมรูทั่วถึงซึ่งสาเหตุใหเกิดขึ้นแหงภพ, ยอมไมรูทั่วถึง ซึ่งความดับไม เหลือแหงภพ, ทั้งยอมไม รูทั่ วถึงซึ่งขอปฏิ บั ติเครื่องทํ าสัตวใหลุถึงความดั บ ไมเหลือแหงภพ;

www.buddhadasa.info ย อมไม รูทั่ วถึ งซึ่ ง อุ ปทาน, ย อมไม รูทั่ วถึ งซึ่ งสาเหตุ ให เกิ ดขึ้ นแห งอุ ปทาน, ย อมไม รูทั่ วถึ ง ซึ่ งความดั บไม เหลื อแห งอุ ปทาน, ทั้ งย อมไม รูทั่ วถึ งซึ่ งขอปฏิ บั ติ เครื่องทํ า สัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงอุปทาน;

สูตรที่ ๓ อาหารวรรค นิทานสังยุตต นิทาน.สฺ. ๑๖/๑๗/๓๘, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๓๙๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๗

ยอมไมรูทั่วถึงซึ่ง ตัณหา, ยอมไมรูทั่วถึงซึ่งสาเหตุใหเกิดขึ้นแหงตัณหา, ยอม ไมรูทั่วถึงซึ่งความดับไมเหลือแหงตัณหา, ทั้งยอมไมรูทั่วถึงซึ่งขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุ ถึงความดับไมเหลือแหง ตัณหา; ย อมไม รู ทั่ วถึ งซึ่ งเวทนา, ย อมไม รู ทั่ วถึ งซึ่ งสาเหตุ ให เกิ ดขึ้ นแห งเวทนา, ยอมไมรูทั่วถึงซึ่งความดับไมเหลือแหงเวทนา, ทั้งยอมไมรูทั่วถึงซึ่งขอปฏิบัติเครื่องทําสัตว ใหลุถึงความดับไมเหลือแหงเวทนา; ยอมไมรูทั่วถึงซึ่ง ผัสสะ, ยอมไมรูทั่วถึงซึ่งสาเหตุใหเกิดขึ้นแหงผัสสะ, ยอม ไม รู ทั่ ว ถึ ง ซึ่ ง ความดั บ ไม เหลื อ แห ง ผั ส สะ, ทั้ ง ย อ มไม รู ทั่ ว ถึ ง ซึ่ ง ข อ ปฏิ บั ติ เครื่ อ งทํ า สัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงผัสสะ; ยอมไมรูทั่วถึงซึ่งสฬายตนะ, ยอมไมรูทั่วถึงซึ่งสาเหตุใหเกิดขึ้นแหงสฬายตนะ, ยอมไม รูทั่ วถึ งซึ่งความดั บไม เหลื อแห งสฬายตนะ, ทั้ งย อมไม รูทั่ วถึ งซึ่งขอปฏิ บั ติ เครื่อง ทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงสฬายตนะ;

www.buddhadasa.info ยอมไม รูทั่ วถึ งซึ่งนามรูป, ยอมไม รูทั่ วถึงซึ่งสาเหตุ ให เกิดขึ้นแห งนามรูป, ย อมไม รู ทั่ วถึ งซึ่ งความดั บไม เหลื อแห งนามรูป, ทั้ งย อมไม รูทั่ วถึ งซึ่ งข อปฏิ บั ติ เครื่องทํ า สัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงนามรูป;

ยอมไมรูทั่วถึงซึ่ง วิญญาณ, ยอมไมรูทั่วถึงซึ่งสาเหตุใหเกิดขึ้นแหงวิญญาณ, ย อ มไม รู ทั่ ว ถึ ง ซึ่ ง ความดั บ ไม เหลื อ แห ง วิ ญ ญาณ, ทั้ ง ย อ มไม รู ทั่ ว ถึ ง ซึ่ ง ข อ ปฏิ บั ติ เครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงวิญญาณ;

www.buddhadasa.info


วาดวยโทษและอานิสงสเกี่ยวกับปฏิจจฯ

๓๙๕

ย อมไม รูทั่ วถึ งซึ่ ง สั งขารทั้ งหลาย, ย อมไม รูทั่ วถึ งซึ่ งสาเหตุ ให เกิ ดขึ้ นแห ง สั งขาร, ย อมไม รูทั่ วถึ งซึ่งความดั บไม เหลื อแห งสั งขาร, ทั้ งย อมไม รูทั่ วถึ งซึ่ งขอปฏิ บั ติ เครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับ ไมเหลือแหงสังขาร; ดู กอนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณะหรือพราหมณ เหลานั้ น มิ ใช ผู ที่ ควรได รับ การสมมติวาเปนสมณะในหมูสมณะ มิใชผูที่ควรไดรับการสมมติวา เปนพราหมณในหมู พราหมณ . อี ก อย า งหนึ่ ง บุ ค คลผู ไ ม รู เ หล า นั้ น จะทํ า ให แ จ ง ซึ่ ง ประโยชน แ ห ง ความเป นสมณะ หรือประโยชนแหงความเป นพราหมณ ดวยป ญญาอันยิ่งเองเขาถึงแลว แลอยู ในทิฏฐิธรรมนี้ หาไดไม. (ปฏิปกขนัย ฝายตรงขาม)

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ส วนสมณะหรือพราหมณ ก็ ตาม เหล าใดเหล าหนึ่ ง ยอมรูทั่วถึงซึ่ง ชรามรณะ, ยอมรูทั่วถึงซึ่งเหตุใหเกิดขึ้นแหงชรามรณะ, ยอมรูทั่วถึงซึ่ง ความดับไมเหลือแหงชรามรณะ, ทั้งยอมรูทั่วถึงซึ่งขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับ ไมเหลือแหงชรามรณะ;

www.buddhadasa.info ย อ มรู ทั่ ว ถึ งซึ่ ง ชาติ , ย อ มรู ถึ งซึ่ งเหตุ ให เกิ ด ขึ้ น แห งชาติ , ย อ มรู ทั่ ว ถึ ง ซึ่งความดับไมเหลือแหงชาติ, ทั้งยอมรูทั่วถึงซึ่งขอปฏิ บัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับ ไมเหลือแหงชาติ;

ย อมรู ทั่ วถึ งซึ่ ง ภพ, ย อ มรู ถึ งซึ่ งเหตุ ให เกิ ด ขึ้ นแห งภพ, ย อ มรู ทั่ วถึ งซึ่ ง ความดับไมเหลือแหงภพ, ทั้งยอมรูทั่วถึงซึ่งขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือ แหงภพ;

www.buddhadasa.info


๓๙๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๗

ย อ มรู ทั่ ว ถึ ง ซึ่ ง อุ ป ทาน, ย อ มรู ถึ ง ซึ่ ง เหตุ ใ ห เกิ ด ขึ้ น แห ง อุ ป ทาน, ย อ ม รูทั่ วถึงซึ่งความดับไมเหลือแหงอุปทาน, ทั้งยอมรูทั่ วถึงซึ่งขอปฏิบั ติเครื่องทําสัตวให ลุถึง ความดับไมเหลือแหงอุปทาน; ย อ มรู ทั่ วถึ งซึ่ งตั ณ หา, ย อ มรู ถึ งซึ่ งเหตุ ให เกิ ด ขึ้ น แห งตั ณ หา, ย อ มรูทั่ ว ถึงซึ่งความดับไมเหลือแหงตัณหา, ทั้งยอมรูทั่วถึงซึ่งขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความ ดับไมเหลือแหงตัณหา; ย อมรูทั่ วถึ งซึ่ ง เวทนา, ย อมรูถึ งซึ่ งเหตุ ให เกิ ดขึ้ นแห งเวทนา, ย อมรูทั่ ว ถึงซึ่งความดับไมเหลือแหงเวทนา, ทั้งยอมรูทั่วถึงซึ่งขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความ ดับไมเหลือแหงเวทนา; ย อมรูทั่ วถึ งซึ่ งผั สสะ, ย อมรูถึ งซึ่ งเหตุ ให เกิ ดขึ้ นแห งผั สสะ, ย อมรูทั่ วถึ ง ซึ่งความดับไมเหลือแหงผัสสะ, ทั้งยอมรูทั่วถึงซึ่งขอปฏิ บัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับ ไมเหลือแหงผัสสะ;

www.buddhadasa.info ย อ มรู ทั่ ว ถึ ง ซึ่ ง สฬายตนะ, ย อ มรู ถึ ง ซึ่ ง เหตุ ให เกิ ด ขึ้ น แห ง สฬายตนะ, ยอมรูทั่วถึงซึ่งความดับไมเหลือแหงสฬายตนะ, ทั้งยอมรูทั่วถึงซึ่งขอปฏิบัติเครื่องทําสัตว ใหลุถึงความดับไมเหลือแหงสฬายตนะ;

ย อ มรู ทั่ ว ถึ ง ซึ่ ง นามรู ป , ย อ มรู ถึ ง ซึ่ ง เหตุ ให เกิ ด ขึ้ น แห ง นามรู ป , ย อ มรู ทั่วถึงซึ่งความดับไม เหลือแห งนามรูป, ทั้งยอมรูทั่ วถึงซึ่งขอปฏิบั ติเครื่องทํ าสัตวให ลุถึง ความดับไมเหลือแหงนามรูป;

www.buddhadasa.info


วาดวยโทษและอานิสงสเกี่ยวกับปฏิจจฯ

๓๙๗

ย อมรู ทั่ วถึ งซึ่ ง วิ ญ ญาณ, ย อมรู ถึ งซึ่ งเหตุ ให เกิ ดขึ้ นแห งวิ ญ ญาณ, ย อมรู ทั่วถึงซึ่งความดับไมเหลือแหงวิญญาณ, ทั้ งยอมรูทั่วถึงซึ่งขอปฏิบั ติเครื่องทํ าสัตวใหลุถึง ความดับไมเหลือแหงวิญญาณ; ย อ มรู ทั่ ว ถึ ง ซึ่ ง สั ง ขารทั้ ง หลาย, ย อ มรู ถึ ง ซึ่ ง เหตุ ใ ห เกิ ด ขึ้ น แห ง สั ง ขาร, ย อมรูทั่ วถึ งซึ่ งความดั บไม เหลื อแห งสั งขาร, ทั้ งย อมรูทั่ วถึ งซึ่ งข อปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสั ตวให ลุถึงความดับไมเหลือแหงสังขาร; ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณะหรือพราหมณ เหล านั้ น ย อมเป นผู ควรได รั บ การสมมติ วาเป นสมณะในหมู สมณะ ย อมเป นผู ควรได รับการสมมติ วาเป นพราหมณ ใน หมู พ ราหมณ . อี ก อย างหนึ่ ง บุ ค คลผู รู ทั่ ว ถึ งเหล า นั้ น ย อ มทํ าให แ จ งซึ่ ง ประโยชน แห ง ความเป น สมณะหรื อ ประโยชน แ ห ง ความเป น พราหมณ ด ว ยป ญ ญาอั น ยิ่ ง เอง เขาถึงแลวแลอยู ในทิฏฐิธรรมนี้ ไดโดยแท, ดังนี้ แล. ห ม ายเห ตุ ผู รวบ รวม : ยั ง มี สู ต รอี ก สู ต รหนึ่ ง (สู ต รที่ ๙ ทสพ ลวรรค นิ ท านสั ง ยุ ต ต นิ ท าน.สฺ . ๑๖/๕๓/๙๔.) มี เนื้ อ ความเหมื อ นกั บ สู ต รข า งบนนี้ ทุ ก ประการ ผิ ด กั น แต เพี ย งสู ต รนี้ ใช คํ า ว า "ปชานาติ (รู ทั่ ว ถึ ง)" สู ต รโน น ใช คํ า ว า "ปริ ช านาติ (รู รอบคอบ)"; สําหรับการรูปฏิจจสมุปบาท. และยั งมี สู ตรอี กสู ตรหนึ่ ง (สู ตรที่ ๔ อาหารวรรค นิ ทานสั งยุ ตต นิ ทาน.สํ . ๑๖/๑๙/๔๐.)มี ใ จความเหมื อ นสู ต รข า งบนนี้ ทุ ก ประการ ผิ ด กั น แต เพี ย งว า ทรงใช อั ก ษรให มากขึ้ น . ตั วอย างเช น แทนที่ จ ะตรั ส ว า "ชรามรณะ, เหตุ เกิ ด ชรามรณะ, ความดั บ ชรามรณะ, ทางให ถึ ง ความดั บ ชรามรณะ", ตรง ๆ ดั ง นี้ ; แต ไ ด ใ ช คํ า ว า ธรรมขึ้ น มาก อ น ว า "ธรรม, เหตุ เกิ ด ธรรม, ความดั บ ธรรม, ทางให ถึ ง ความดั บ ธรรม", แล ว จึ ง ขยายความที ห ลั ง ให เห็ น ไดว า สิ ่ง ที ่เ รีย กวา ธรรมนั ้น คือ ชรามรณ ะ ชาติ ภพ....กระทั ่ง ถึง ....วิญ ญ าณ สัง ขาร; โดยตรัส วา "....ไมรู ทั ่ว ถึง ธรรมเหลา นี ้, เหตุเ กิด ธรรมเหลา นี ้, ความดับ ธรรมเหลา นี ้, ทางใหถ ึง ความดับ ธรรมเหลา นี ้; ไมรู ทั ่ว ถึง ธรรมเหลา ไหน, เหตุเ กิด ธรรมเหลา ไหน, ความดั บ ธรรมเหล า ไหน, ทางให ถึ ง ความดั บ ธรรมเหล า ไหน? ไม รู ทั่ ว ถึ ง ชรามรณะ, เหตุ เกิดชรามรณะ, ความดับชรามรณะ, ทางใหถึงความดับชรามรณะ;" ...ฯลฯ...ฯลฯ...

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๓๙๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๗ เช น นี้ เรื่ อ ยไปทุ ก อาการของปฏิ จ จสมุ ป บาท จึ ง ถึ ง อาการที่ ๑๑ คื อ สั ง ขาร; แล ว สรุป รวม ด ว ยคํ า ว า ธรรมอี ก ครั้ ง ว า "ไม รู ทั่ ว ถึ ง ธรรมเหล า นี้ , เหตุ เกิ ด ธรรมเหล า นี้ , ความดั บ ธรรม เหล านี้ , ทางให ถึ งความดั บ ธรรมเหล านี้ ;" ส วนความนอกนี้ ทั้ งตอนต น และตอนท ายเหมื อ น กั บ เนื้ อความของสู ต รข างบนนั้ น ทุ กประการ. แม ในฝ ายปฏิ ป กขนั ยหรือนั ยตรงกั น ข าม ก็ ได ตรัสโดยนั ยะดั งที่ กล าวมานี้ หากแต ว าเป น ปฏิ ป ก ขนั ยเท านั้ น . การที่ ทรงแสดงโดยยกธรรม ขึ้ นมาก อนเชนนี้ ดู คล าย ๆ กั บวาประสงค จะให เข าใจวาทุ กสิ่ งทุ กอย างไม วาอะไร เรียกวา " ธรรม" คําเดียวไดทั้งนั้น.

เปนสมณะหรือไมเปนสมณะ ขึ้นอยูกับการรูหรือไมรูชรามรณะโดยนัยสี่๑ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณะหรือพราหมณ ก็ ตาม เหล าใดเหล าหนึ่ งย อม ไมรูทั่วถึงซึ่ง ชรามรณะ, ยอมไมรูทั่วถึง ซึ่งเหตุใหเกิดขึ้นแหงชรามรณะ, ยอมไมรูทั่ว ถึง ซึ่งความดั บไม เหลือแห งชรามรณะ,ย อมไม รูทั่ วถึงซึ่งขอปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสัตวให ลุ ถึ ง ความดั บไม เหลื อแห งชรามรณะ; ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณะ หรือพราหมณ เหล านั้ น มิใชผูที่ควรไดรับการสมมติวาเปนสมณะในหมูสมณะ มิใชผูที่ควรไดรับการ สมมติวา เปน พราหมณในหมู พ ราหมณ.อีก อยา งหนึ ่ง บุค คลผู ไ มรูเหลา นั ้น จะทํ า ใหแ จง ซึ่งประโยชน แห ง ความเป นสมณะ หรือประโยชน แห งความเป นพราหมณ ด วยป ญญา อันยิ่งเอง เขาถึงแลวแลอยู ในทิฏฐธรรมนี้ หาไดไม.

www.buddhadasa.info (ปฏิปกขนัย)

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ส วนวาสมณะหรือพราหมณ ก็ ตาม เหล าใดเหล าหนึ่ ง ยอมรูทั่วถึงซึ่ง ชรามรณะ, ยอมรูทั่วถึงซึ่งเหตุใหเกิดขึ้นแหงชรามรณะ, ยอมรูทั่วถึง

สูตรที่ ๑ สมณพราหมณวรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน.สํ. ๑๖/๑๕๘/๓๐๖, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยโทษและอานิสงสเกี่ยวกับปฏิจจฯ

๓๙๙

ซึ่งความดับไมเหลือแหงชรามรณะ, ยอมรูทั่วถึง ซึ่งขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความ ดับไม เหลือแห งชรามรณะ; ดู ก อน ภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณะหรือพราหมณ เหล านั้ น ย อม เปนผูควรไดรับการสมมติวาเปนสมณะในหมูสมณะ ยอม เปนผูควรไดรับการสมมติวา เปนพราหมณ ในหมูพราหมณ . อีกอยางหนึ่ง บุคคลผูรูทั่วถึงเหลานั้น ยอมทําให แจงซึ่งประโยชนแหงความเปนสมณะ หรือประโยชนแหงความเปนพราหมณ ดวยป ญญา อันยิ่งเองเขาถึงแลวแลอยูในทิฏฐธรรมนี้ไดโดยแท,ดังนี้แล

เปนสมณะหรือไมเปนสมณะ ขึ้นอยูกับการรูหรือไมรูชาติโดยนัยสี่๑ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณะหรือพราหมณ ก็ ตาม เหล าใดเหล าหนึ่ งย อม ไม รู ทั่ ว ถึ ง ซึ่ ง ชาติ ,ย อ มไม รู ทั่ ว ถึ ง ซึ่ ง เหตุ ใ ห เกิ ด ขึ้ น แห ง ชาติ , ย อ มไม รู ทั่ ว ถึ ง ซึ่ ง ความดั บ ไม เหลื อแห งชาติ ,ย อมไม รูทั่ วถึ งซึ่ งข อปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสั ตวให ลุ ถึ งความดั บ ไม เหลื อแหงชาติ ; ดูกอนภิ กษุ ทั้งหลาย!สมณะ หรือพราหมณ เหลานั้ น มิ ใช ผู ที่ ควร ไดรับการสมมติวาเปนสมณะในหมูสมณะ มิใชผูที่ควรไดรับการ สมมติวาเปนพราหมณ ในหมูพราหมณ . อีกอยางหนึ่ง บุ คคลผูไมรูเหลานั้ น จะทําใหแจงซึ่งประโยชนแหง ความเป นสมณะ หรือประโยชน แห งความเป นพราหมณ เข าถึ งแล วแลอยู ในทิ ฏฐธรรมนี้ หาไดไม.

www.buddhadasa.info (ตอนี้ไป เปนปฏิปกขนัย ฝายตรงขาม)

สูตรที่ ๒ สมณพราหมณวรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน.สํ. ๑๖/๑๕๘/๓๐๘, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๔๐๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๗

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ส วนสมณะหรือพราหมณ ก็ ตาม เหล าใดเหล าหนึ่ ง ย อ มรู ทั่ ว ถึ ง ซึ่ ง ชาติ , ย อ มรูทั่ ว ถึ ง ซึ่ ง เหตุ ให เกิ ด ขึ้ น แห ง ชาติ , ย อ มรูทั่ ว ถึ งซึ่ ง ความ ดับไมเหลือแหงชาติ, ยอมรูทั่วถึง ซึ่งขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหง ชาติ; ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! สมณะหรือ พราหมณ เหลานั้น ยอมเปนผูควรไดรับการ สมมติวาเปนสมณะ ในหมูสมณะยอมเปนผูควรไดรับการสมมติวาเปนพราหมณ ในหมู พราหมณ . อีกอยางหนึ่ง บุ คคลผูรูทั่ วถึงเหลานั้ น ยอมทําใหแจงซึ่งประโยชนแห ง ความเป นสมณะ หรือประโยชน แห งความเป นพราหมณ ด วยป ญญาอั นยิ่ งเอง เขาถึ งแล ว แลอยู ในทิฏฐธรรมนี้ ไดโดยแท, ดังนี้แล

เปนสมณะหรือไมเปนสมณะ ขึ้นอยูกับการรูหรือไมรูภพโดยนัยสี่๑ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณะหรือพราหมณ ก็ ตาม เหล าใดเหล าหนึ่ งย อมไม รู ทั่ ว ถึ ง ซึ่ ง ภพ, ย อ มไม รูทั่ ว ถึ ง ซึ่ งเหตุ ให เกิ ด ขึ้ น แห งภพ, ย อ มไม รู ทั่ ว ถึ ง ซึ่ ง ความ ดับไม เหลือแห งภพ, ยอมไมรูทั่ วถึงซึ่งขอปฏิ บั ติเครื่องทําสัตวให ลุถึงความดับไมเหลื อ แห งภพ; ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย!สมณะ หรือ พราหมณ เหล า นั้ น มิ ใช ผู ที่ ค วรได รั บ การสมมติวาเปนสมณะ ในหมูสมณะ มิใชผูที่ควรไดรับการสมมติวาเปนพราหมณ ใน หมูพราหมณ .อีกอยางหนึ่ง บุคคลผูไมรูเหลานั้น จะทําใหแจงซึ่งประโยชนแหงความ เป นสมณะ หรื อประโยชน แห งความเป นพราหมณ เข าถึ งแล วแลอยู ในทิ ฏฐธรรมนี้ หาไดไม.

www.buddhadasa.info (ตอนี้ไป เปนปฏิปกขนัย ฝายตรงขาม)

สูตรที่ ๓ สมณพราหมณวรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน.สํ. ๑๖/๑๕๘/๓๐๘, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยโทษและอานิสงสเกี่ยวกับปฏิจจฯ

๔๐๑

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ส วนสมณะหรือพราหมณ ก็ ตาม เหล าใดเหล าหนึ่ ง ย อ มรู ทั่ ว ถึ ง ซึ่ ง ภพ, ย อ มรู ทั่ ว ถึ ง ซึ่ ง เหตุ ใ ห เกิ ด ขึ้ น แห ง ภพ, ย อ มรู ทั่ ว ถึ ง ซึ่ ง ความ ดับไมเหลือแหงภพ,ยอมรูทั่วถึงซึ่งขอ ปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหง ภพ; ดูกอนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณะหรือพราหมณ เหลานั้ น ยอมเป นผู ควรได รับการ สมมติวาเปนสมณะ ในหมูสมณะ ยอมเปนผูควรไดรับการสมมติวาเปนพราหมณในหมู พราหมณ . อีกอยางหนึ่ง บุ คคลผูรูทั่ วถึงเหลานั้ น ยอมทําใหแจงซึ่งประโยชนแห ง ความเป นสมณะ หรือประโยชน แห งความเป นพราหมณ ด วยป ญญาอั นยิ่ งเอง เข าถึ งแล ว แลอยู ในทิฏฐธรรมนี้ ไดโดยแท, ดังนี้แล

เปนสมณะหรือไมเปนสมณะ ขึ้นอยูกับการรูหรือไมรูอุปาทานโดยนัยสี่๑ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณะหรือพราหมณ ก็ ตาม เหล าใดเหล าหนึ่ ง ย อม ไมรูทั่วถึง ซึ่งอุปาทาน , ยอมไมรูทั่วถึง ซึ่งเหตุใหเกิดขึ้นแหงอุปาทาน, ยอมไมรูทั่วถึง ซึ่งความดั บไม เหลื อแห งอุ ปาทาน, ย อมไม รูทั่ วถึ ง ซึ่งข อปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสั ตวให ลุ ถึ ง ความดั บไม เหลื อแห งอุ ปาทาน; ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณะหรือพราหมณ เหล านั้ น มิใชผูที่ควรไดรับการสมมติวาเปนสมณะในหมูสมณะ มิใชผูที่ควรไดรับการสมมติวา เปนพราหมณ ในหมูพราหมณ . อีกอยางหนึ่ง บุ คคลผู ไม รูเหลานั้ น จะทําใหแจงซึ่ง ประโยชน แห งความเป นสมณะ หรือประโยชน แห งความเป นพราหมณ เขาถึ งแล วแลอยู ในทิฏฐธรรมนี้ หาไดไม.

www.buddhadasa.info

สูตรที่ ๒ สมณพราหมณวรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน.สํ. ๑๖/๑๕๘/๓๐๘, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๔๐๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๗ (ตอนี้ไป เปนปฏิปกขนัย ฝายตรงขาม)

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ส วนสมณะหรือพราหมณ ก็ ตาม เหล าใดเหล าหนึ่ ง ยอมรูทั่ วถึ ง ซึ่ งอุ ป าทาน, ย อมรูทั่ วถึ ง ซึ่ งเหตุ ให เกิ ดขึ้ นแห งอุ ปาทาน, ย อมรูทั่ วถึ ง ซึ่งความดับไมเหลือแหงอุปาทาน,ยอมรูทั่วถึงซึ่งขอปฏิบั ติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับ ไม เหลื อ แห ง อุ ป าทาน; ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! สมณะหรือ พราหมณ เหล า นั้ น ย อ ม เปนผูควรไดรับการสมมติวาเปนสมณะ ในหมูสมณะ ยอมเปนผูควรไดรับการสมมติวา เปนพราหมณ ในหมูพราหมณ. อีกอยางหนึ่ง บุคคลผูรูทั่วถึงเหลานั้น ยอมทําใหแจง ซึ่ งประโยชน แห งความเป นสมณะ หรือประโยชน แห งความเป นพราหมณ ด วยป ญญา อันยิ่งเอง เขาถึงแลวแลอยู ในทิฏฐธรรมนี้ ไดโดยแท, ดังนี้แล

เปนสมณะหรือไมเปนสมณะ ขึ้นอยูกับการรูหรือไมรูตัณหาโดยนัยสี่๑ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณะหรือพราหมณ ก็ ตาม เหล าใดเหล าหนึ่ งย อม ไม รูทั่ ว ถึ ง ซึ่ งตั ณ หา, ย อ มไม รูทั่ วถึ ง ซึ่ งเหตุ ให เกิ ด ขึ้ น แห งตั ณ หา, ย อ มไม รูทั่ วถึ ง ซึ่งความดับไมเหลือแหงตัณหา, ยอมไมรูทั่วถึง ซึ่งขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับ ไม เหลื อ แห งตั ณ หา; ดู ก อ นภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณะหรือ พราหมณ เหล านั้ น มิ ใช ผู ที่ ควรได รับการสมมติวาเป นสมณะในหมูสมณะ มิใชผูที่ควรไดรับการสมมติวาเป น พราหมณ ในหมูพราหมณ. อีกอยางหนึ่ง บุคคลผูไมรูเหลานั้น จะทําใหแจงซึ่ง

www.buddhadasa.info

สูตรที่ ๕ สมณพราหมณวรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน.สํ. ๑๖/๑๕๘/๓๐๘, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยโทษและอานิสงสเกี่ยวกับปฏิจจฯ

๔๐๓

ประโยชนแหงความเปนสมณะ หรือประโยชนแหงความเปนพราหมณ ดวยปญญาอันยิ่งเอง เขาถึงแลวแลอยู ในทิฏฐธรรมนี้ หาไดไม. (ตอนี้ไป เปนปฏิปกขนัย ฝายตรงขาม)

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ส วนสมณะหรือพราหมณ ก็ ตาม เหล าใดเหล าหนึ่ ง ยอมรูทั่ วถึง ซึ่งตั ณหา, ยอมรูทั่ วถึง ซึ่งเหตุ ให เกิดขึ้นแห งตัณหา, ยอมรูทั่ วถึงซึ่ งความ ดับไม เหลือแหงตัณหา, ยอมรูทั่วถึง ซึ่งขอปฏิบั ติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือ แห งตั ณ หา; ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณะหรือพราหมณ เหล านั้ น ย อมเป นผู ควรได รับการสมมติวาเปนสมณะในหมูสมณะ ยอมเปนผูควรไดรับการสมมติวาเปนพราหมณ ในหมูพราหมณ . อีกอยางหนึ่ง บุคคลผูรูทั่วถึงเหลานั้น ยอมทําใหแจงซึ่งประโยชน แห งความเป นสมณะ หรือประโยชน แห งความเป นพราหมณ ด วยป ญญาอันยิ่งเอง เขาถึ ง แลวแลอยู ในทิฏฐธรรมนี้ ไดโดยแท, ดังนี้แล

เปนสมณะหรือไมเปนสมณะ ขึ้นอยูกับการรูหรือไมรูเวทนาโดยนัยสี่๑

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณะหรือพราหมณ ก็ ตาม เหล าใดเหล าหนึ่ งย อม ไม รูทั่ วถึ ง ซึ่ ง เวทนา, ย อ มไม รูทั่ ว ถึ ง ซึ่ ง เหตุ ให เกิ ด ขึ้ น แห งเวทนา, ย อ มไม รูทั่ ว ถึ ง ซึ่งความดับไมเหลือแหงเวทนา,ยอมไมรูทั่วถึงซึ่งขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับ

สูตรที่ ๖ สมณพราหมณวรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน.สํ. ๑๖/๑๕๘/๓๐๘, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๔๐๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๗

ไม เหลื อ แห ง เวทนา; ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! สมณะหรื อ พราหมณ เหล า นั้ น มิ ใ ช ผู ที่ ค วรได รับ การสมมติ วาเป น สมณะในหมู ส มณะ มิ ใชผู ที่ ควรไดรับ การสมมติวา เป น พราหมณ ในหมู พ ราหมณ . อี ก อยางหนึ่ ง บุ ค คลผู ไม รูเหล านั้ น จะทํ าให แจ ง ซึ่ งประโยชน แห งความเป นสมณะ หรือประโยชน แห งความเป นพราหมณ ด วยป ญญา อันยิ่งเอง เขาถึงแลวแลอยู ในทิฏฐธรรมนี้ หาไดไม. (ตอนี้ไป เปนปฏิปกขนัย ฝายตรงขาม)

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ส วนสมณะหรือพราหมณ ก็ ตาม เหล าใดเหล าหนึ่ ง ยอ มรู ทั ่ว ถึง ซึ ่ง เวทนา, ยอ มรู ทั ่ว ถึง ซึ ่ง เหตุใ หเกิด ขึ ้น แหง เวทนา, ยอ มรู ทั ่ว ถึง ซึ่งความดับไมเหลือแห งเวทนา, ยอมรูทั่วถึง ซึ่งขอปฏิบั ติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับ ไม เหลื อแห งเวทนา; ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณะหรือ พราหมณ เหล านั้ น ย อมเป น ผูควรไดรับการสมมติวาเปนสมณะในหมูสมณะ ยอมเปนผูควรไดรับการสมมติวา เปนพราหมณ ในหมูพราหมณ. อีกอยางหนึ่ง บุคคลผูรูทั่วถึงเหลานั้น ยอมทําใหแจง ซึ่ งประโยชน แห งความเป นสมณะ หรือประโยชน แห งความเป นพราหมณ ด วยป ญญา อันยิ่งเอง เขาถึงแลวแลอยู ในทิฏฐธรรมนี้ ไดโดยแท, ดังนี้ แล

เปนสมณะหรือไมเปนสมณะ www.buddhadasa.info ขึ้นอยูกับการรูหรือไมรูผัสสะโดยนัยสี่ ๑

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณะหรือพราหมณ ก็ ตาม เหล าใดเหล าหนึ่ งย อม ไมรูทั่วถึง ซึ่งผัสสะ, ยอมไมรูทั่วถึง ซึ่งเหตุใหเกิดขึ้นแหงผัสสะ, ยอมไมรูทั่วถึง

สูตรที่ ๗ สมณพราหมณวรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน.สํ. ๑๖/๑๕๘/๓๐๘, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยโทษและอานิสงสเกี่ยวกับปฏิจจฯ

๔๐๕

ซึ่งความดั บไม เหลื อแห งผัสสะ, ย อมไม รูทั่ วถึ ง ซึ่งขอปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสั ตวให ลุถึ งความ ดับไมเหลือแหงผัสสะ; ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย! สมณะหรือพราหมณ เหลานั้น มิ ใชผู ที่ ควรได รับการสมมติวาเป นสมณะในหมูสมณะ มิใชผูที่ควรไดรับการสมมติวาเป น พราหมณ ในหมู พ ราหมณ . อี ก อย า งหนึ่ ง บุ ค คลผู ไม รู เหล า นั้ น จะทํ า ให แ จ ง ซึ่ ง ประโยชน แห งความเป นสมณะ หรือประโยชน แห งความเป นพราหมณ ด วยป ญญาอั นยิ่ ง เอง เขาถึงแลวแลอยู ในทิฏฐธรรมนี้ หาไดไม. (ตอนี้ไป เปนปฏิปกขนัย ฝายตรงขาม)

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ส วนสมณะหรือพราหมณ ก็ ตาม เหล าใดเหล าหนึ่ งย อม รูทั ่ว ถึง ซึ ่ง ผัส สะ, ยอ มรูทั ่ว ถึง ซึ ่ง เหตุใ หเกิด ขึ ้น แหง ผัส สะ, ยอ มรูทั ่ว ถึง ซึ ่ง ความ ดั บไม เหลื อแห งผั สสะ, ยอมรูทั่ วถึ ง ซึ่งขอปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสั ตวให ลุ ถึ งความดั บไม เหลื อ แห งผั สสะ; ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณะหรือพราหมณ เหล านั้ นย อมเป นผู ควรได รับ การสมมติวาเปนสมณะ ในหมูสมณะ ยอมเปนผูควรไดรับการสมมติวาเปน พราหมณในหมูพราหมณ . อีกอยางหนึ่ง บุคคลผูรูทั่วถึงเหลานั้น ยอมทําใหแจงซึ่งประโยชน แห งความเป นสมณะ หรือประโยชน แห งความเป นพราหมณ ด วยป ญญาอันยิ่งเอง เขาถึ ง แลวแลอยู ในทิฏฐธรรมนี้ ไดโดยแท, ดังนี้ แล

www.buddhadasa.info เปนสมณะหรือไมเปนสมณะ ขึ้นอยูกับการรูหรือไมรูสฬายตนะโดยนัยสี่๑ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณะหรือพราหมณ ก็ ตาม เหล าใดเหล าหนึ่ ง ย อมไม รูทั่วถึง ซึ่งสฬายตนะ, ยอมไมรูทั่วถึง ซึ่งเหตุใหเกิดขึ้นแหงสฬายตนะ, ยอมไมรูทั่วถึง

สูตรที่ ๘ สมณพราหมณวรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน.สํ. ๑๖/๑๕๘/๓๐๘, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๔๐๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๗

ซึ่ งความดั บไม เหลื อแห งสฬายตนะ, ย อมไม รูทั่ วถึ ง ซึ่ งข อปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสั ตว ให ลุ ถึ ง ความดั บไม เหลื อแห งสฬายตนะ; ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณะหรื อพราหมณ เหล านั้ น มิใชผูที่ควรไดรับการสมมติวาเปนสมณะในหมูสมณะ มิใชผูที่ควรไดรับการสมมติวา เป นพราหมณ ในหมู พราหมณ .อี กอย างหนึ่ ง บุ คคลผู ไม รู เหล านั้ น จะทํ าให แจ งซึ่ ง ประโยชน แห งความเป นสมณะ หรือประโยชน แห งความเป นพราหมณ ด วยป ญญาอั นยิ่ งเอง เขาถึงแลวแลอยู ในทิฏฐธรรมนี้หาไดไม. (ตอนี้ไป เปนปฏิปกขนัย ฝายตรงขาม)

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ส วนสมณะหรื อพราหมณ ก็ ตาม เหล าใดเหล าหนึ่ ง ยอมรูทั่ วถึง ซึ่ งสฬายตนะ, ยอมรูทั่ วถึง ซึ่งเหตุ ให เกิ ดขึ้นแห งสฬายตนะ, ยอมรูทั่ วถึ ง ซึ่งความดั บไม เหลื อแห งสฬายตนะ, ย อมรูทั่ วถึ ง ซึ่ งขอปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสั ตวให ลุ ถึ งความ ดั บไม เหลื อแห งสฬายตนะ; ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณะหรื อพราหมณ เหล านั้ นย อม เปนผูควรได รับการสมมติ วาเป นสมณะในหมูสมณะ ยอมเปนผูควรไดรับการสมมติวา เปนพราหมณ ในหมูพราหมณ . อีกอยางหนึ่ ง บุ คคลผูรูทั่ วถึ งเหลานั้ น ยอมทําให แจง ซึ่ งประโยชน แห งความเป นสมณะ หรื อประโยชน แห งความเป นพราหมณ ด วยป ญ ญา อันยิ่งเอง เขาถึงแลวแลอยู ในทิฏฐธรรมนี้ได โดยแท, ดังนี้ แล

www.buddhadasa.info เปนสมณะหรือไมเปนสมณะ ขึ้นอยูกับการรูหรือไมรูนามรูปโดยนัยสี่๑

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณะหรื อพราหมณ ก็ ตาม เหล าใดเหล าหนึ่ ง ย อมไม รูทั่วถึง ซึ่งนามรูป, ยอมไมรูทั่วถึง ซึ่งเหตุใหเกิดขึ้นแหงนามรูป, ยอมไมรูทั่วถึง

สูตรที่ ๙ สมณพราหมณวรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน.สํ. ๑๖/๑๕๙/๓๐๘, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยโทษและอานิสงสเกี่ยวกับปฏิจจฯ

๔๐๗

ซึ่งความดับไมเหลือแหงนามรูป, ยอมไมรูทั่วถึง ซึ่งขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความ ดับไมเหลือแหงนามรูป; ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย! สมณะหรือพราหมณ เหลานั้น มิใชผูที่ ควรไดรับการสมมติวาเปนสมณะ ในหมูสมณะ มิใชผูที่ควรไดรับการสมมติวาเปนพราหมณในหมู พราหมณ . อีกอยางหนึ่ง บุคคลผูไมรูเหลานั้น จะทําใหแจงซึ่งประโยชนแหงความ เป นสมณะ หรือประโยชน แห งความเป นพราหมณ ด วยป ญญาอันยิ่งเอง เขาถึ งแลวแลอยู ในทิฏฐธรรมนี้หาไดไม. (ปฏิปกขนัย)

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ส วนสมณะหรือพราหมณ ก็ ตาม เหล าใดเหล าหนึ่ ง ย อ มรู ทั่ ว ถึ ง ซึ่ ง นามรู ป , ย อ มรูทั่ ว ถึ ง ซึ่ ง เหตุ ให เกิ ด ขึ้ น แห ง นามรู ป , ย อ มรู ทั่ ว ถึ ง ซึ่งความดับไมเหลือแหงนามรูป, ยอมรูทั่วถึง ซึ่งขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับ ไม เหลื อแห งนามรูป; ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณะหรือพราหมณ เหล านั้ นย อมเป นผู ควรไดรับการสมมติวาเปนสมณะในหมูสมณะ ยอมเปนผูควรไดรับการสมมติวาเปน พราหมณ ในหมู พราหมณ . อี กอย างหนึ่ ง บุ คคลผู รูทั่ วถึ งเหล านั้ น ย อมทํ าให แจ ง ซึ่งประโยชน แหงความ เปนสมณะ หรือประโยชน แหงความเป นพราหมณ ดวยป ญญาอันยิ่ง เองเขาถึงแลวแลอยู ในทิฏฐธรรมนี้ ไดโดยแท, ดังนี้ แล

เปนสมณะหรือไมเปนสมณะ www.buddhadasa.info ขึ้นอยูกับการรูหรือไมรูวิญญาณโดยนัยสี่ ๑

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณะหรือพราหมณ ก็ ตาม เหล าใดเหล าหนึ่ ง ย อมไม รูทั่วถึง ซึ่งวิญญาณ, ยอมไมรูทั่วถึง ซึ่งเหตุใหเกิดขึ้นแหงวิญญาณ, ยอมไมรูทั่วถึง

สูตรที่ ๑๐ สมณพราหมณวรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน.สํ. ๑๖/๑๕๙/๓๐๘, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๔๐๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๗

ซึ่งความดับไมเหลือแหงวิญญาณ, ยอมไมรูทั่วถึง ซึ่งขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความ ดับไม เหลือแหงวิญญาณ; ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย!สมณะหรือ พราหมณ เหลานั้น มิใชผูที่ ควรไดรับการสมมติวาเปนสมณะในหมูสมณะ มิใชผูที่ควรไดรับการสมมติวา เปน พราหมณ ใ นหมู พ ราหมณ . อี ก อย า งหนึ่ ง บุ ค คลผู ไ ม รู เหล า นั้ น จะทํ า ให แ จ ง ซึ่ ง ประโยชน แห งความเป นสมณะ หรือประโยชน แห งความเป นพราหมณ ด วยป ญญาอั น ยิ่งเอง เขาถึงแลวแลอยู ในทิฏฐธรรมนี้ หาไดไม. (ปฏิปกขนัย)

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ส วนสมณะหรือพราหมณ ก็ ตาม เหล าใดเหล าหนึ่ ง ยอมรูทั่ วถึ งซึ่ ง วิญ ญาณ, ย อมรูทั่ วถึ ง ซึ่ งเหตุ ให เกิ ดขึ้นแห งวิญ ญาณ, ย อมรูทั่ วถึ ง ซึ่งความดับไมเหลือแหงวิญญาณ, ยอมรูทั่วถึง ซึ่งขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับ ไม เหลื อแห งวิญญาณ; ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณะหรือพราหมณ เหล านั้ นย อมเป นผู ควรไดรับการสมมติวาเปนสมณะ ในหมูสมณะ ยอมเปนผูควรไดรับการสมมติวาเปน พราหมณ ในหมู พ ราหมณ . อีกอยางหนึ่ ง บุ ค คลผู รูทั่ วถึ งเหล านั้ น ยอ มทําให แจง ซึ่งประโยชน แห งความ เป นสมณะ หรือประโยชน แห งความเป นพราหมณ ด วยป ญญา อันยิ่งเอง เขาถึงแลวแลอยู ในทิฏฐธรรมนี้ได โดยแท, ดังนี้ แล

www.buddhadasa.info เปนสมณะหรือไมเปนสมณะ ขึ้นอยูกับการรูหรือไมรูสังขารโดยนัยสี่๑

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณะหรือพราหมณ ก็ ตาม เหล าใดเหล าหนึ่ ง ย อม ไมรูทั่วถึง ซึ่งสังขาร, ยอมไมรูทั่วถึง ซึ่งเหตุใหเกิดขึ้นแหงสังขาร, ยอมไม

สูตรที่ ๑๑ สมณพราหมณวรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน.สํ. ๑๖/๑๕๙/๓๐๘, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยโทษและอานิสงสเกี่ยวกับปฏิจจฯ

๔๐๙

รูทั่วถึง ซึ่งความดับไมเหลื อแห งสังขาร, ย อมไม รูทั่ วถึง ซึ่งขอปฏิ บั ติเครื่องทําสัตวให ลุ ถึ งความดั บไม เหลื อแห งสั งขาร; ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณะหรือพราหมณ เหล านั้ น มิใชผูที่ควรไดรับการสมมติวาเปนสมณะในหมูสมณะ มิใชผูที่ควรไดรับการสมมติวา เป น พราหมณ ในหมู พ ราหมณ . อี ก อยางหนึ่ ง บุ ค คลผู ไม รูเหล านั้ น จะทํ าให แจ ง ซึ่ งประโยชน แห งความเป นสมณะ หรือประโยชน แห งความเป นพราหมณ ด วยป ญญา อันยิ่งเอง เขาถึงแลวแลอยู ในทิฏฐธรรมนี้ หาไดไม. (ปฏิปกขนัย)

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ส วนสมณะหรือพราหมณ ก็ ตาม เหล าใดเหล าหนึ่ ง ยอมรูทั่วถึง ซึ่ง สั งขารทั้งหลาย, ยอมรูทั่วถึง ซึ่งเหตุ ใหเกิดขึ้นแห งสังขาร, ยอมรูทั่วถึง ซึ่งความดับไม เหลือแห งสังขาร, ยอมรูทั่ วถึงซึ่งขอ ปฏิ บั ติเครื่องทํ าสัตวให ลุ ถึงความ ดั บไม เหลื อแห งสั งขาร; ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณะหรือพราหมณ เหล านั้ นย อมเป น ผูควรไดรับการสมมติวาเปนสมณะในหมูสมณะ ยอมเปนผูควรไดรับ การสมมติวาเปน พราหมณ ในหมูพ ราหมณ . อีกอยางหนึ่ง บุ คคลผูรูทั่ วถึงเหลานั้น ยอมทําใหแจง ซึ่ งประโยชน แห งความเป นสมณะ หรือประโยชน แห งความเป นพราหมณ ด วยป ญญา อันยิ่งเองเขาถึงแลวแลอยู ในทิฏฐธรรมนี้ได โดยแท,ดังนี้แล

www.buddhadasa.info ควบคุมรากฐานแหงปฏิจจสมุปบาทจึงเกิดสุข ๑

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ผัสสายตนะทั้งหลาย ๖ อยางเหลานี้ อันบุคคลฝกแลว คุมครองแลว รักษาแลว สํารวมระวังแลว ยอมเปนสิ่งนํามาอยางยิ่งซึ่งสุข

สูตรที่ ๑ ฉฬวรรค สฬา.สํ. ๑๘/๘๘/๑๒๙.

www.buddhadasa.info


๔๑๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๗

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ผั สสายตนะทั้ งหลาย ๖ อย าง นั้ นเป นอย างไรเล า? หกอยาง นั้นคือ:ผัสสายตนะ คือจักษุ (ตา) ...ฯลฯ... ...นํามาอยางยิ่งซึ่งสุข; ผัสสายตนะ คือโสตะ (หู) ...ฯลฯ... ...นํามาอยางยิ่งซึ่งสุข; ผัสสายตนะ คือฆานะ (จมูก)...ฯลฯ... ...นํามาอยางยิ่งซึ่งสุข; ผัสสายตนะ คือชิวหา (ลิ้น) ...ฯลฯ... ...นํามาอยางยิ่งซึ่งสุข; ผัสสายตนะ คือกายะ (กาย)...ฯลฯ... ...นํามาอยางยิ่งซึ่งสุข; ผัสสายตนะ คือมนะ (ใจ) ...ฯลฯ... ...นํามาอยางยิ่งซึ่งสุข; ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ผั สสายตนะทั้ งหลาย ๖ อย างเหล านี้ แล อั นบุ คคล ฝกแลว คุมครองแลว รักษาแลว สํารวมระวังแลว ยอมเปนสิ่งนํามาอยางยิ่งซึ่งสุข. หมายเหตุ ผู ร วบรวม : ผู ศึ ก ษาพึ ง สั ง เกตให เห็ น ว า ผั ส สายตนะเหล า นี้ เป นรากฐานหรือต นเงื่ อนของปฏิ จจสมุ ปบาททางฝ ายการปฏิ บั ติ ดั งพระบาลี ว า "เพราะอาศั ย ตาด วยรูป ทั้ งหลายด วย จึ งเกิ ดจั กขุ วิ ญ ญาณ; การประจวบพรอมแห งธรรม ๓ ประการนั้ น คือ ผัส สะ; เพราะมีผ ัส สะเปน ปจ จัย จึง มีเ วทนา; ...ฯลฯ..."ดัง นี ้เ ปน ตน . เพราะฉะนั ้น การควบคุมผัสสายตนะ ก็คือการควบคุมการเกิดแหงปฏิจจสมุปทานนั่นเอง จึงเปนสุข

www.buddhadasa.info ปฏิจจสมุปบาทอาการหนึ่ง (นันทิใหเกิดทุกข) ถาเห็นแลวทําใหหยุดความมั่นหมายในสิ่งทั้งปวง๑ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ในโลกนี้ ปุ ถุ ชนผู ไม มี การสดั บ ไม เห็ นพระอริ ยเจ า ทั้งหลาย ไมฉลาดในธรรมของพระอริยเจา ไมไดรับการแนะนําในธรรมของพระอริยเจา,

มู ล ปริ ย ายสู ต ร ม.ม.๑๒/๑/๒, ตรั ส แก ภิ ก ษุ ทั้ งหลาย ที่ โคนพญาไม ส าละ ในป า สุ ภ ควั น ใกล เมื อ ง อุกกัฏฐะ.ขอความที่แสดงใหเห็นวา ปฏิจจสมุปบาทอาการที่มีความสําคัญในการละความมั่นหมายทุกชนิด ตามหัวขอขางบนนี้ นั้น มี อยูในตอนที่จะจบขอความแหงหัวขอนี้ที่เดียว. ขอใหสังเกตดู มิฉะนั้นจะเขาใจ ไมได วาใจความของเรื่องอยูที่ตรงไหน,

www.buddhadasa.info


วาดวยโทษและอานิสงสเกี่ยวกับปฏิจจฯ

๔๑๑

ไม เห็ นสั ปบุ รุษทั้ งหลาย ไม ฉลาดในธรรมของสั ปบุ รุษ ไม ได รับการแนะนํ าในธรรมของ สัปบุรุษ. บุถุชน นั้น :(๑) ย อ มรู สึ ก ซึ่ ง ดิ น โดยความเป น ดิ น ; ครั้ น รู สึ ก ซึ่ งดิ น โดยความเป น

ดินแลว ยอมสําคัญมั่นหมายซึ่งดิน; ยอมสําคัญมั่นหมายในดิน; ยอมสําคัญมั่นหมาย โดยความเปนดิน; ยอมสําคัญมั่นหมายวา ดินของเรา; ยอมเพลินอยางยิ่งซึ่งดิน. ขอนั้นเพราะเหตุไรเลา? ขอนั้นเรากลาววา เพราะดินเปนสิ่งที่ปุถุชนนั้น มิไดรูโดย รอบแลว. (๒)๑ยอมรูสึกซึ่ง น้ํา ...ฯลฯ...ฯลฯ...ปุถุชนนั้น มิไดรูโดยรอบแลว. (๓) ยอมรูสึกซึ่ง ไฟ ...ฯลฯ...ฯลฯ...ปุถุชนนั้น มิไดรูโดยรอบแลว. (๔) ยอมรูสึกซึ่ง ลม ...ฯลฯ...ฯลฯ...ปุถุชนนั้น มิไดรูโดยรอบแลว. (๕) ยอมรูสึกซึ่ง ภูตสัตวทั้งหลาย ...ฯลฯ...ฯลฯ... ปุถุชนนั้น มิไดรูโดยรอบแลว. (๖) ยอมรูสึกซึ่ง เทพทั้งหลาย ...ฯลฯ...ฯลฯ... ปุถุชนนั้น มิไดรูโดยรอบแลว. (๗) ยอมรูสึกซึ่ง ปชาบดี ...ฯลฯ...ฯลฯ... ปุถุชนนั้น มิไดรูโดยรอบแลว. (๘) ยอมรูสึกซึ่ง พรหม ...ฯลฯ...ฯลฯ... ปุถุชนนั้น มิไดรูโดยรอบแลว.

www.buddhadasa.info

การละ...ฯลฯ...ไว อ ย า งนี้ หมายความว า ให เติ ม ข อ ความให เต็ ม เช น เดี ย วกั บ ข อ บน, ทุ ก ข อ ไป: เพื่อประหยัดการอาน,และหนากระดาษ

www.buddhadasa.info


๔๑๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๗

(๙) ยอมรูสึกซึ่ง อาภัสสรพรหมทั้งหลาย ...ฯลฯ...ฯลฯ... ปุถุชนนั้น มิไดรูโดยรอบแลว. (๑๐) ยอมรูสึกซึ่ง สุภกิณหพรหมทั้งหลาย...ฯลฯ...ฯลฯ... ปุถุชนนั้น มิไดรูโดยรอบแลว. (๑๑) ยอมรูสึกซึ่ง เวหัปผลพรหมทั้งหาลย ...ฯลฯ...ฯลฯ... ปุถุชนนั้น มิไดรูโดยรอบแลว. (๑๒) ยอมรูสึกซึ่ง อภิภู...ฯลฯ...ฯลฯ... ปุถุชนนั้น มิไดรูโดยรอบแลว. (๑๓) ยอมรูสึกซึ่ง อากาสานัญจายตนะ ...ฯลฯ...ฯลฯ... ปุถุชนนั้น มิไดรูโดยรอบแลว. (๑๔) ยอมรูสึกซึ่ง วิญญาณณัญจายตนะ...ฯลฯ...ฯลฯ... ปุถุชนนั้น มิไดรูโดยรอบแลว. (๑๕) ยอมรูสึกซึ่ง อากิญจัญญายตนะ ...ฯลฯ...ฯลฯ... ปุถุชนนั้น มิไดรูโดยรอบแลว. (๑๖) ยอมรูสึกซึ่ง เนวสัญญานาสัญญายตนะ...ฯลฯ...ฯลฯ... ปุถุชนนั้น มิไดรูโดยรอบแลว. (๑๗) ยอมรูสึกซึ่ง รูปที่เห็นแลว ...ฯลฯ...ฯลฯ... ปุถุชนนั้น มิไดรูโดยรอบแลว. (๑๘) ยอมรูสึกซึ่ง เสียงที่ไดฟงแลว...ฯลฯ...ฯลฯ... ปุถุชนนั้น มิไดรูโดยรอบแลว. (๑๙) ยอมรูสึกซึ่ง สิ่งที่รูสึกแลว (ทางจมูก,ลิ้น,ผิวกาย)...ฯลฯ... ปุถุชนนั้น มิไดรูโดยรอบแลว. (๒๐) ยอมรูสึกซึ่ง สิ่งที่รูแจงแลว (ทางมโนวิญญาณ)...ฯลฯ... ปุถุชนนั้น มิไดรูโดยรอบแลว.

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


วาดวยโทษและอานิสงสเกี่ยวกับปฏิจจฯ

๔๑๓

(๒๑) ยอมรูสึกซึ่ง เอกภาวะ (เอกตฺตํ) ...ฯลฯ...ฯลฯ... ปุถุชนนั้น มิไดรูโดยรอบแลว. (๒๒) ยอมรูสึกซึ่ง นานาภาวะ (นานตฺตํ)...ฯลฯ...ฯลฯ... ปุถุชนนั้น มิไดรูโดยรอบแลว. (๒๓) ยอมรูสึกซึ่ง สรรพภาวะ (สพฺพํ)...ฯลฯ...ฯลฯ... ปุถุชนนั้น มิไดรูโดยรอบแลว. (๒๔) ยอมรูสึกซึ่ง นิ พพาน โดยความเป นนิ พพาน; ครั้นรูสึกซึ่งนิ พพาน โดยความเป นนิพพานแลว ยอมสําคัญมั่ นหมายซึ่งนิ พพาน; ยอมสําคัญมั่ นหมายใน นิพพาน; ยอมสําคัญมั่นหมายโดยความเปนนิพพาน; ยอมสําคัญมั่นหมายวา นิพพาน ของเรา; ยอ มเพลิน อยา งยิ ่ง ซึ ่ง นิพ พาน. ขอ นั ้น เพราะเหตุไ รเลา ? ขอ นั ้น เรา กลาววา เพราะนิพพานเปนสิ่งที่ปุถุชนนั้น มิไดรูโดยรอบแลว. (เครื่องกําหนดภูมิของปุถุชน เปนปฐมนัย จบแลว)

ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย! สวนวา ภิกษุ ใด ยังเปนเสขะอยู มีความประสงค แห งใจ (อรหั ตตผล)อั นตนยั งไม บรรลุ แล ว ปรารถนาอยู ซึ่ งธรรมเป นแดนเกษมจากโยคะ อันไมมีธรรมอื่นยิ่งกวา; ภิกษุนั้น :-

www.buddhadasa.info (๑) ยอม จะรูโดยยิ่งขึ้นไปซึ่งดิน โดยความเปนดิน; ครั้นจะรูโดยยิ่งขึ้น ไปซึ่งดินโดยความเปนดินแลว ยอม จะไมสําคัญมั่นหมายซึ่งดิน; ยอมจะไมสําคัญ มั่นหมายในดิน; ยอมจะไมสําคัญมั่นหมายโดยความเปนดิน; ยอมจะไมสําคัญ มั่นหมายวาดินของเรา; ยอมจะไมเพลินอยางยิ่งซึ่งดิน. ขอนั้นเพราะเหตุไรเลา? ขอนั้นเรากลาววา เพราะดินเปนสิ่งที่พระเสขะนั้น จะพึงรูไดโดยรอบ

www.buddhadasa.info


๔๑๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๗

(๒)๑ยอมจะรูโดยยิ่งขึ้นไปซึ่ง น้ํา ...ฯลฯ...พระเสขะนั้น จะพึงรูไดโดยรอบ. (๓) ยอมจะรูโดยยิ่งขึ้นไปซึ่ง ไฟ ...ฯลฯ...พระเสขะนั้น จะพึงรูไดโดยรอบ. (๔) ยอมจะรูโดยยิ่งขึ้นไปซึ่ง ลม ...ฯลฯ...พระเสขะนั้น จะพึงรูไดโดยรอบ. (๕) ยอมจะรูโดยยิ่งขึ้นไปซึ่ง ภูตสัตวทั้งหลาย ...ฯลฯ... พระเสขะนั้น จะพึงรูไดโดยรอบ. (๖) ยอมจะรูโดยยิ่งขึ้นไปซึ่ง เทพ ทั้งหลาย ...ฯลฯ... พระเสขะนั้น จะพึงรูไดโดยรอบ. (๗) ยอมจะรูโดยยิ่งขึ้นไปซึ่ง ปชาบดี ...ฯลฯ... พระเสขะนั้น จะพึงรูไดโดยรอบ. (๘) ยอมจะรูโดยยิ่งขึ้นไปซึ่ง พรหม ...ฯลฯ... พระเสขะนั้น จะพึงรูไดโดยรอบ. (๙) ยอมจะรูโดยยิ่งขึ้นไปซึ่ง อาภัสสรพรหม ทั้งหลาย ...ฯลฯ... พระเสขะนั้น จะพึงรูไดโดยรอบ. (๑๐) ยอมจะรูโดยยิ่งขึ้นไปซึ่ง สุภกิณหพรหม ทั้งหลาย ...ฯลฯ... พระเสขะนั้น จะพึงรูไดโดยรอบ. (๑๑) ยอมจะรูโดยยิ่งขึ้นไปซึ่ง เวหัปผลพรหม ทั้งหลาย ...ฯลฯ... พระเสขะนั้น จะพึงรูไดโดยรอบ. (๑๒) ยอมจะรูโดยยิ่งขึ้นไปซึ่ง อภิภู ...ฯลฯ... พระเสขะนั้น จะพึงรูไดโดยรอบ. (๑๓) ยอมจะรูโดยยิ่งขึ้นไปซึ่ง อากาสานัญจายตนะ ...ฯลฯ... พระเสขะนั้น จะพึงรูไดโดยรอบ.

www.buddhadasa.info

ข อ ที่ (๑)เรื่ อ งดิ น และข อ ที่ (๒๔)เรื่ อ งนิ พ พานมี ข อ ความเต็ ม รู ป เรื่ อ งอย า งไร ในข อ ที่ (๒)ถึ ง ข อ ที่ (๒๓)ซึ่งละไวดวย...ฯลฯ...นั้น พึงเพิ่มขอความใหเต็ม อยางเดียวกัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยโทษและอานิสงสเกี่ยวกับปฏิจจฯ

๔๑๕

(๑๔) ยอมจะรูโดยยิ่งขึ้นไปซึ่ง วิญญาณัญจายตนะ ...ฯลฯ... พระเสขะนั้น จะพึงรูไดโดยรอบ. (๑๕) ยอมจะรูโดยยิ่งขึ้นไปซึ่ง อากิญจัญญายตนะ ...ฯลฯ... พระเสขะนั้น จะพึงรูไดโดยรอบ. (๑๖) ยอมจะรูโดยยิ่งขึ้นไปซึ่ง เนวสัญญานาสัญญายตนะ ...ฯลฯ... พระเสขะนั้น จะพึงรูไดโดยรอบ. (๑๗) ยอมจะรูโดยยิ่งขึ้นไปซึ่ง รูปที่เห็นแลว ...ฯลฯ... พระเสขะนั้น จะพึงรูไดโดยรอบ. (๑๘) ยอมจะรูโดยยิ่งขึ้นไปซึ่ง เสียงที่ไดฟงแลว ...ฯลฯ... พระเสขะนั้น จะพึงรูไดโดยรอบ. (๑๙) ยอมจะรูโดยยิ่งขึ้นไปซึ่ง สิ่งที่รูสึกแลว (ทางจมูก,ลิ้น,ผิวกาย) ...ฯลฯ... พระเสขะนั้น จะพึงรูไดโดยรอบ. (๒๐) ยอมจะรูโดยยิ่งขึ้นไปซึ่ง สิ่งที่รูแจงแลว (ทางมโนวิญญาณ) ...ฯลฯ... พระเสขะนั้น จะพึงรูไดโดยรอบ. (๒๑) ยอมจะรูโดยยิ่งขึ้นไปซึ่ง เอกภาวะ (เอกตฺตํ) ...ฯลฯ... พระเสขะนั้น จะพึงรูไดโดยรอบ. (๒๒) ยอมจะรูโดยยิ่งขึ้นไปซึ่ง นานาภาวะ (นานตฺตํ) ...ฯลฯ... พระเสขะนั้น จะพึงรูไดโดยรอบ. (๒๓) ยอมจะรูโดยยิ่งขึ้นไปซึ่ง สรรพภาวะ (สพฺพํ) ...ฯลฯ... พระเสขะนั้น จะพึงรูไดโดยรอบ. (๒๔) ยอมจะรูโดยยิ่งขึ้นไปซึ่งนิพพาน โดยความเปนนิพพาน; ครั้นจะรู โดยยิ่งขึ้นไปซึ่งนิพพานโดยความเปนนิพพานแลว ยอมจะไมสําคัญมั่นหมายซึ่งนิพพาน; ยอมจะไมสําคัญมั่นหมายในนิพพาน; ยอมจะไมสําคัญมั่นหมายโดยความเปน

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๔๑๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๗

นิพพาน; ยอมจะไมสําคัญมั่นหมายวานิพพานของเรา; ยอมจะไมเพลินอยางยิ่ง ซึ่งนิ พ พาน. ขอนั้นเพราะเหตุไรเลา? ขอ นั้นเรากลาววา เพราะนิ พ พานเป น สิ่งที่ พระเสขะนั้น จะพึงรูไดโดยรอบ. (เครื่องกําหนดภูมิ ของเสขบุคคล เปนทุติยนัย จบแลว)

ดูก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ฝ ายภิ กษุ ใด เป นพระอรหั นต ผู มี อาสวะสิ้นแล ว อยู จบพรหมจรรย ทํ ากิ จที่ ต องทํ าสํ าเร็จแล ว มี ภาระอั นปลงลงแล ว มี ประโยชน ของตน อันตามบรรลุถึงแลว มีสังโยชนในภพสิ้นไปรอบแลว เป นผูหลุดพ นแลวเพราะรูโดยชอบ; ภิกษุแมนั้น :(๑) ยอมรูชัดแจงซึ่งดิน โดยความเป นดิน; ครั้นรูชัดแจงซึ่งดินโดยความ เปนดินแลว ยอมไมสําคัญมั่นหมายซึ่งดิน; ยอมไมสําคัญมั่นหมายในดิน; ยอม ไมสําคัญมั่นหมายโดยความเปนดิน; ยอมไมสําคัญมั่นหมายวาดินของเรา; ยอม ไม เพลิ น อย า งยิ่ ง ซึ่ ง ดิ น . ข อ นั้ น เพราะเหตุ ไ รเล า ? ข อ นั้ น เรากล า วว า เพราะดิ น เปนสิ่งที่พระขีณาสพนั้น ไดรูโดยรอบแลว; ...และเพราะวา ความเปนผูมีราคะไป ปราศแลว ยอมมีแกพระขีณาสพนั้น เพราะความสิ้นไปแหงราคะ; ...ความเปนผูมี โทสะไปปราศแลว ยอมมีแกพระขีณาสพนั้น เพราะความสิ้นไปแหงโทสะ; ...ความ เปนผูมีโมหะไปปราศแลว ยอมมีแกพระขีณาสพนั้น เพราะความสิ้นไปแหงโมหะ.

www.buddhadasa.info (๒)๑ ยอมรูชัดแจงซึ่ง น้ํา ...ฯลฯ...ฯลฯ...เพราะความสิ้นไปแหงโมหะ. (๓) ยอมรูชัดแจงซึ่ง ไฟ ...ฯลฯ...ฯลฯ...เพราะความสิ้นไปแหงโมหะ.

ขอที่ (๑) เรื่องดิน และขอที่ (๒๔) มีขอความเต็มรูปเรื่องอยางไร ในขอที่ (๒) ถึงขอที่(๒๓) ซึ่งละ ไวดวย...ฯลฯ...นั้น พึงเพิ่มขอความใหเต็ม อยางเดียวกัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยโทษและอานิสงสเกี่ยวกับปฏิจจฯ

๔๑๗

(๔) ยอมรูชัดแจงซึ่ง ลม ...ฯลฯ...ฯลฯ...เพราะความสิ้นไปแหงโมหะ. (๕) ยอมรูชัดแจงซึ่ง ภูตสัตวทั้งหลาย ...ฯลฯ...ฯลฯ...เพราะความสิ้นไปแหงโมหะ. (๖) ยอมรูชัดแจงซึ่ง เทพทั้งหลาย ...ฯลฯ...ฯลฯ...เพราะความสิ้นไปแหงโมหะ. (๗) ยอมรูชัดแจงซึ่ง ปชาบดี ...ฯลฯ...ฯลฯ...เพราะความสิ้นไปแหงโมหะ. (๘) ยอมรูชัดแจงซึ่ง พรหม ...ฯลฯ...ฯลฯ...เพราะความสิ้นไปแหงโมหะ. (๙) ยอมรูชัดแจงซึ่ง อาภัสสรพรหม ทั้งหลาย ...ฯลฯ... เพราะความสิ้นไปแหงโมหะ. (๑๐) ยอมรูชัดแจงซึ่ง สุภกิณหพรหมทั้งหลาย ...ฯลฯ... เพราะความสิ้นไปแหงโมหะ. (๑๑) ยอมรูชัดแจงซึ่ง เวหัปผลพรหมทั้งหลาย ...ฯลฯ... เพราะความสิ้นไปแหงโมหะ. (๑๒) ยอมรูชัดแจงซึ่ง อภิภู ...ฯลฯ...ฯลฯ... เพราะความสิ้นไปแหงโมหะ. (๑๓) ยอมรูชัดแจงซึ่ง อากาสานัญจายตะ ...ฯลฯ... เพราะความสิ้นไปแหงโมหะ. (๑๔) ยอมรูชัดแจงซึ่ง วิญญาณัญจายตนะ...ฯลฯ...ฯลฯ... เพราะความสิ้นไปแหงโมหะ. (๑๕) ยอมรูชัดแจงซึ่ง อากิญจัญญายตนะ...ฯลฯ...ฯลฯ... เพราะความสิ้นไปแหงโมหะ. (๑๖) ยอมรูชัดแจงซึ่ง เนวสัญญานาสัญญายตนะ ...ฯลฯ... เพราะความสิ้นไปแหงโมหะ. (๑๗) ยอมรูชัดแจงซึ่ง รูปที่เห็นแลว ...ฯลฯ...ฯลฯ... เพราะความสิ้นไปแหงโมหะ. (๑๘) ยอมรูชัดแจงซึ่ง เสียงที่ไดฟงแลว...ฯลฯ...ฯลฯ... เพราะความสิ้นไปแหงโมหะ.

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๔๑๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๗

(๑๙) ยอมรูชัดแจงซึ่ง สิ่งที่รูสึกแลว (ทางจมูก,ลิ้น,ผิวกาย)...ฯลฯ... เพราะความสิ้นไปแหงโมหะ. (๒๐) ยอมรูชัดแจงซึ่ง สิ่งที่รูแจงแลว (ทางมโนวิญญาณ)...ฯลฯ... เพราะความสิ้นไปแหงโมหะ. (๒๑) ยอมรูชัดแจงซึ่ง เอกภาวะ (เอกตฺตํ) ...ฯลฯ... เพราะความสิ้นไปแหงโมหะ. (๒๒) ยอมรูชัดแจงซึ่ง นานาภาวะ (นานตฺตํ) ...ฯลฯ... เพราะความสิ้นไปแหงโมหะ. (๒๓) ยอมรูชัดแจงซึ่ง สรรพภาวะ (สพฺพํ) ...ฯลฯ... เพราะความสิ้นไปแหงโมหะ. (๒๔) ยอมรูชัดแจงซึ่งนิ พพาน โดยความเป นนิ พพาน; ครั้งรูชัดแจงซึ่งนิพพาน โดยความเป น นิ พ พานแล ว ย อ ม ไม สํ า คั ญ มั่ น หมายซึ่ ง นิ พ พาน; ย อ มไม สํ า คั ญ มั่น หมายในนิพ พาน; ยอ ม ไมสํา คัญ มั่น หมายโดยความเปน นิพ พาน; ยอ ม ไม สํ า คั ญ มั่ น หมายว า นิ พ พานของเรา; ย อ มไม เพลิ น อย า งซึ่ ง นิ พ พาน. ข อ นั้ น เพราะเหตุไรเลา? ขอนั้นเรากลาววา เพราะนิพพานเปนสิ่งที่พระขีณาสพนั้น ไดรู โดยรอบแล ว; ...และเพราะว า ความเป นผู ราคะไปปราศแล ว ย อมมี แก พระขี ณ าสพ นั ้น เพราะความสิ ้น ไปแหง ราคะ;...ความเปน ผู ม ีโ ทสะไปปราศแลว ยอ มมีแ ก พระขี ณ าสพนั้ น เพราะความสิ้ น ไปแห งโทสะ; ...ความเป น ผู มี โมหะไปปราศแล ว ยอมมีแกพระขีณาสพนั้น เพราะความสิ้นไปแหงโมหะ.

www.buddhadasa.info (เครื่องกําหนดภูมิ ของอเสขบุคคล เปนตติย-ฉัฏฐนัย จบแลว)

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! แม ตถาคตผูอรหันตสัมมาสัมพุทธะ ก็ :-

www.buddhadasa.info


วาดวยโทษและอานิสงสเกี่ยวกับปฏิจจฯ

๔๑๙

(๑) ย อ มรู ชั ด แจ ง ซึ่ ง ดิ น โดยความเป น ดิ น ; ครั้ ง รู ชั ด แจ ง ซึ่ ง ดิ น โดย ความเป นดินแลว ยอม ไม สํ าคั ญมั่ นหมายในดิน; ยอม ไม สํ าคั ญมั่ นหมายในดิ น; ยอม ไมสําคัญมั่นหมายโดยความเปนดิน; ยอม ไมสําคัญ มั่นหมายวาดินของเรา; ยอม ไมเพลินอยางยิ่งซึ่งดิน. ขอนั้นเพราะเหตุไรเลา? ขอนั้นเรากลาววา เพราะดินนั้น เป น สิ่งที่ ต ถาคตได รูโดยรอบแล ว ; ...ดูกอนภิ กษุ ทั้ งหลาย! และขอ นั้นเรากลาววา เพราะรูแจง (โดยนัยแหงปฏิจจสมุปบาท ขอนี้) วา นันทิ เปนมูลแหงความทุกข; เพราะ มีภ พ จึง มีช าติ; ชรามรณะ ยอ มมี แกส ัต วผู เ กิด แลว ; ดัง นี ้; เพราะเหตุนั ้น ในเรื่ องนี้ ตถาคตจึ งชื่ อว าผู ตรั สพร อมเฉพาะแล ว ซึ่ งอนุ ตตรสั มมสั มโพธิ ญ าณ เพราะ ความสิ้ นไปแห งตั ณ หาทั้ งหลาย, เพราะความสํ ารอกไม เหลื อ, เพราะความดั บไม เหลื อ, เพราะความสลัดทิ้ง, เพราะความสลัดคืน โดยประการทั้งปวง; ดังนี้. (๒)๑ ยอมรูชัดแจงซึ่งน้ํา ...ฯลฯ...ฯลฯ...สลัดคืน โดยประการทั้งปวง; ดังนี้. (๓) ยอมรูชัดแจงซึ่งไฟ ...ฯลฯ...ฯลฯ...สลัดคืน โดยประการทั้งปวง; ดังนี้. (๔) ยอมรูชัดแจงซึ่งลม ...ฯลฯ...ฯลฯ...สลัดคืน โดยประการทั้งปวง; ดังนี้. (๕) ยอมรูชัดแจงซึ่งภูตสัตวทั้งหลาย ...ฯลฯ...สลัดคืน โดยประการทั้งปวง; ดังนี้. (๖) ยอมรูชัดแจงซึ่งเทพทั้งหลาย ...ฯลฯ...สลัดคืน โดยประการทั้งปวง; ดังนี้. (๗) ยอมรูชัดแจงซึ่งปชาบดี ...ฯลฯ...ฯลฯ...สลัดคืน โดยประการทั้งปวง; ดังนี้. (๘) ยอมรูชัดแจงซึ่งพรหม ...ฯลฯ...ฯลฯ...สลัดคืน โดยประการทั้งปวง; ดังนี้. (๙) ยอมรูชัดแจงซึ่งอาภัสสรพรหมทั้งหลาย ...ฯลฯ...สลัดคืน โดยประการทั้งปวง; ดังนี้.

www.buddhadasa.info

ข อ ที่ (๑) เรื่ อ งดิ น และข อ ที่ (๒๔) เรื่ อ งนิ พ พาน มี ข อ ความเต็ ม รู ป เรื่ อ งอย างไร ในข อ ที่ (๒) ถึ งข อ ที่ (๒๓) ซึ่งละไวดวย...ฯลฯ...นั้น พึงเพิ่มขอความใหเต็ม อยางเดียวกัน.

www.buddhadasa.info


๔๒๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๗

(๑๐) ยอมรูชัดแจงซึ่งสุภกิณหพรหมทั้งหลาย ...ฯลฯ...สลัดคืน โดยประการทั้งปวง; ดังนี้. (๑๑) ยอมรูชัดแจงซึ่งเวปปผลพรหมทั้งหลาย ...ฯลฯ...สลัดคืน โดยประการทั้งปวง; ดังนี้. (๑๒) ยอมรูชัดแจงซึ่งอภิภู ...ฯลฯ...ฯลฯ...สลัดคืน โดยประการทั้งปวง; ดังนี้. (๑๓) ยอมรูชัดแจงซึ่งอากาสานั ญจายตนะ...ฯลฯ...สลัดคื น โดยประการทั้ งปวง; ดังนี้. (๑๔) ย อมรูชั ดแจ งซึ่ งวิ ญญณั ญจายตนะ ...ฯลฯ...สลั ดคื น โดยประการทั้ งปวง; ดังนี้. (๑๕) ยอมรูชัดแจงซึ่งอากิ ญจัญญยตนะ ...ฯลฯ...สลัดคื น โดยประการทั้งปวง; ดังนี้. (๑๖) ย อมรูชั ดแจ งซึ่ งเนวสั ญญานาสั ญญายตนะ ...ฯลฯ...สลั ดคื น โดยประการ ทั้งปวง; ดังนี้. (๑๗) ยอมรูชัดแจงซึ่งรูปที่เห็นแลว ...ฯลฯ...สลัดคืน โดยประการทั้งปวง; ดังนี้. (๑๘) ยอมรูชัดแจงซึ่งเสียงที่ไดฟงแลว ...ฯลฯ...สลัดคืน โดยประการทั้งปวง; ดังนี้. (๑๙) ย อมรูชั ดแจ งซึ่ งสิ่ งที่ รู สึ กแล ว (ทางจมู ก, ลิ้ น, ผิ วกาย) ...ฯลฯ...สลั ดคื น โดยประการทั้งปวง; ดังนี้. (๒๐) ย อมรู ชั ดแจ งซึ่ งสิ่ งที่ รูแจ งแล ว (ทางมโนวิ ญ ญาณ) ...ฯลฯ...สลั ดคื นโดย ประการทั้งปวง; ดังนี้. (๒๑) ย อมรู ชั ดแจ งซึ่ งเอกภาวะ(เอกตฺ ตํ )...ฯลฯ...สลั ดคื น โดยประการทั้ งปวง; ดังนี้.

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


วาดวยโทษและอานิสงสเกี่ยวกับปฏิจจฯ

๔๒๑

(๒๒) ยอมรูชัดแจงซึ่งนานาภาวะ (นานตฺตํ) ...ฯลฯ...สลัดคืน โดยประการทั้งปวง;ดังนี้. (๒๓) ยอมรูชัดแจงซึ่งสรรพภาวะ (สพฺพํ) ...ฯลฯ...สลัดคืน โดยประการทั้งปวง;ดังนี้. (๒๔) ยอมรูชัดแจงซึ่งนิ พพาน โดยความเป นนิ พพาน; ครั้นรูชัดแจงซึ่งนิ พพาน โดยความเปนนิพพานแลว ยอมไมสําคัญมั่นหมายซึ่งนิพพาน; ยอมไมสําคัญมั่นหมาย ในนิพ พาน; ยอ มไมสํ า คัญ มั ่น หมายโดยความเปน นิพ พาน; ยอ มไมสํ า คัญ มั ่น หมายวา นิพ พานของเรา; ยอ มไมเ พลิน อยา งยิ ่ง ซึ ่ง นิพ พาน. ขอ นั ้น เพราะ เหตุไรเลา? ขอนั้นเรากลาววา เพราะนิพพานนั้นเปนสิ่งที่ตถาคตไดรูโดยรอบแลว; ...ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! และขอนั้นเรากลาววา เพราะรูแจง (โดยนัยแหงปฏิจจสมุปบาท ขอนี้) วา นัน ทิ เปน มูล แหง ความทูก ; เพราะมีภ พ จึง มีช าติ; ชรามรณะ ยอ มมี แก สั ต ว ผู เกิ ด แล ว ; ดั ง นี้ ; เพราะเหตุ นั้ น ในเรื่ อ งนี้ ตถาคตจึ ง ชื่ อ ว า ผู ต รั ส รู พ ร อ ม เฉพาะแล ว ซึ่ งอนุ ตตรสั มมาสั มโพธิ ญาณ เพราะความสิ้ นไปแห งตั ณหาทั้ งหลาย, เพราะ ความสํ ารอกไม เหลื อ, เพราะความดั บไม เหลื อ, เพราะความสลั ดทิ้ ง, เพราะความสลั ดคื น โดยประการทั้งปวง; ดังนี้. (เครื่องกําหนดภูมิ ของพระศาสดา เปนสัตตม-อัฏฐมนัย จบแลว)

www.buddhadasa.info หมายเหตุ ผู ร วบรวม : ผู ศึ ก ษาพึ ง สั ง เกตให เห็ น ว า ข อ ความตามที่ ก ล า ว มาแล ว ทั้ ง หมดข า งบนนี้ มี ค วามเป น ปฏิ จ จสมุ ป บาท หรื อ อิ ทั ป ป จ จยตา อยู ใ นส ว นลึ ก , ต อ งพิ จ ารณาอย า งสุ ขุ ม จึ ง จะมองเห็ น .สิ่ งแรกที่ สุ ด ก็ คื อ ธรรมทั้ ง ๒๔ ประการ อั น เป น ที่ ตั้ ง แห ง อุ ป ทาน ของปุ ถุ ช น ดั งที่ ก ล า วไว ในสู ต รนี้ นั้ น ยกพระนิ พ พานเสี ย อย า งเดี ย วแล ว ย อ ม กลาวไดวาลวนแตเปน ปฏิจจสมุปปนนธรรม โดยตรง. สําหรับนิพพานนั้น ถาหมายถึง

www.buddhadasa.info


๔๒๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๗ ทุ ก ขนิ โ รธ ก็ ยั ง คงอยู ใ นขอบเขตแห ง อิ ทั ป ป จ จยตา หรื อ ว า เป น ปฏิ จ จสมุ ป บาทส ว นนิ โรธ วาระ อยู นั ้น เอง. ผู ร วบรวมมีเ จตนานํ า เอาสูต รนี ้ม าแสดงไวใ นที ่นี ้ ดว ยความมุ ง หมาย ในการที่ จ ะให ผู ศึ ก ษาทุ ก ท า น พิ จ ารณากั น อย า งลึ ก ซึ้ ง เช น นี้ อั น จะมี ผ ลทํ า ให เห็ น ความ ลึ ก ซึ้ ง ของสิ่ ง ที่ เรี ย กว า ปฏิ จ จสมุ ป บาท สื บ ต อ ไปข า หน า . ส ว นข อ ความที่ ต รั ส ไว โดยเป ด เผยถึ งลั ก ษณะแห งปฏิ จจสมุ ป บาทในสู ตรนี้ ก็ ได แก ข อ ความตอนท ายที่ ตรั สว า "นั น ทิ เป น มู ล แห งความทุ ก ข , เพราะมี ภ พ จึ งมี ช าติ ", นั่ น เอง. แม จ ะกล า วแต โดยชื่ อ ว า นั น ทิ ก็ ย อ ม หมายถึ งอวิ ช ชา ด ว ย เพราะนั น ทิ ม าจากอวิ ช ชา, ปราศจากอวิ ช ชาแล ว นั น ทิ ห รือ อุ ป ทาน ก็ ต าม ย อ มมี ขึ้ น ไม ไ ด , นั น ทิ ห รื อ อุ ป ทานนั้ น ย อ มทํ า ให มี ภ พ ซึ่ ง จะต อ งมี ช าติ ช รามรณะ ตามมา โดยไม มี ที่ สงสั ย. ด วยเหตุ นี้ เอง การนํ าเอาอาการของปฏิ จจสมุ ป บาทมากล าว แม เพี ย งอาการเดี ย ว ก็ ย อ มเป น การกล า วถึ ง ปฏิ จ จสมุ ป ทานทุ ก อาการอยู ใ นตั ว โดยพฤติ นั ย หรื อ โดยอั ต โนมั ติ ; ดั ง นั้ น การรู แ จ ง ปฏิ จ จสมุ ป บาทเพี ย งอาการเดี ย ว แม โ ดยปริ ย ายว า "นั น ทิ เป น มู ล แห ง ทุ ก ข " เท า นั้ น ก็ อ าจจะสกั ด กั้ น เสี ย ซึ่ ง การเกิ ด ขึ้ น แห ง อุ ป ทาน ในธรรม ทั้ งหลาย ๒๔ ประการ ดั งที่ ก ล า วแล ว ในสู ต รนี้ ได ตามสมควรแก ค วามเป น ปุ ถุ ช น, ความ เป น พระเสขะ, ความเป น พระอเสขะ, และความเป น พระสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ าเป น ที่ สุ ด. ขอให พิ จารณาดู ให ดี ๆ ให เห็ นว า ความลั บแห งความเป นปฏิ จจสมุ ปบาท ย อมซ อนอยู ในกระแส ธรรมทั้งปวง ทั้งที่เปนรูปธรรม นาม ธรรม และธรรมเปนที่ดับแหงรูปและนาม ทั้งสองนั้น.

พอรูปฏิจจสมุปบาท ก็หายตาบอดอยางกระทันหัน๑

www.buddhadasa.info ดูกอนมาคัณฑิยะ! เปรียบเหมือนบุรุษตามืดบอดมาแตกําเนิด, เขาจะมอง เห็นรูปทั้งหลาย ที่มีสีดําหรือขาว เขียวหรือเหลือง แดงหรือขาว ก็หาไม; จะได เห็นที่อันเสมอหรือขรุขระ ก็หาไม; จะไดเห็นดวงดาว หรือดวงจันทรและดวงอาทิตย ก็หาไม. เขาไดฟงคําบอกเลาจากบุรุษผูมีตาดีวา "ดูกอนทานผูเจริญ! ผาขาวเนื้อดีนั้น เปนของงดงาม ปราศจากมลทิน เปนผาสะอาด มีอยู(ในโลก)" ดังนี้. บุรุษตาบอดนั้น จะพึงเที่ยวแสวงหาผาขาวอยู. ยังมีบุรุษผูหนึ่งลวงเขาดวยผาเนื้อเลวเปอนเขมาวา "ดูกอน

มาคัณฑิยสูตร ม.ม. ๑๓/๒๘๔/๒๙๐, ตรัสแกมาคัณฑิยปริพพาชก ที่กัมมาสทัมมนิคม แควนกุรุ.

www.buddhadasa.info


วาดวยโทษและอานิสงสเกี่ยวกับปฏิจจฯ

๔๒๓

ทานผูเจริญ! นี่!เปนผาขาวเนื้อดี, เปนของงดงาม ปราศจากมลทิน เปนผาสะอาด, สําหรับทาน" ดังนี้. บุรุษตาบอดก็จะพึงรับผานั้น; ครั้นรับแลวก็จะหม. ในกาลต อมา มิ ตร อมาตย ญาติ สาโลหิ ตของเขา เชิ ญแพทย ผ าตั ดผู ชํ านาญ มารั กษา. แพทย นั้ น พึ งประกอบซึ่ งเภสั ชอั นถ ายโทษในเบื้ องบน ถ ายโทษในเบื้ องต่ํ า ยาหยอด ยากั ดและยานั ตถุ เพราะอาศั ยยานั้ นเอง เขากลายเป นผู มี จั กษุ ดี ; พร อ ม กั บการมี จั กษุ ดี ขึ้นนั้ น, เขาย อมละความรักใครพอใจในผ าเนื้ อเลวเป อนเขม าเสี ยได ; เขาจะพึ งเป นอมิ ตร เป นข าศึ กผู หมายมั่ น ต อบุ รุ ษ ผู ลวงเขานั้ น; หรื อถึ งกั บเข าใจเลย ไปว า ควรจะปลงชี วิ ต เสี ย ด ว ยความแค น , โดยกล า วว า "ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลายเอ ย ! เราถู กบุ รุษผู นี้ คดโกง หลอกลวง ปลิ้ นปล อน ด วยผ าเนื้ อเลวเป อนเขม า มานานหนั กหนา แล ว; โดยหลอกเราว า ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! นี้ แลเป น ผ าขาวเนื้ อ ดี เป น ของงดงาม ปราศจากมลทิน เปนผาสะอาดสําหรับทาน' ดังนี้"; อุปมานี้ฉันใด; ดู ก อ นมาคั ณ ฑิ ยะ! อุ ป ไมยก็ ฉั น นั้ น : เราแสดงธรรมแก ท านว า "อย างนี้ เปน ความไมม ีโ รค; อยา งนี ้ เปน นิพ พาน", ดัง นี ้. ทา นจะรู จ ัก ความไมม ีโ รค จะพึงเห็นนิพพานไดก็ตอเมื่อทานละความเพลิดเพลินและความกําหนัด ในอุปาทาน ขันธหาเสียได พรอมกับการเกิดขึ้นแหงธรรมจักษุของทานนั้น. อนึ่ง ความรูสึก จะพึงเกิดขึ้นแกทานวา "ดูกอนทานผูมีอายุทั้งหลายเอย! นานจริงหนอ ที่เราถูกจิตนี้ คดโกง หลอกลวง ปลิ้น ปลอก; จึง เราเมื่อ ยึด ถือ ก็ยึด ถือ เอาแลว ซึ่ง รูป , ซึ่งเวทนา, ซึ่งสัญญา, ซึ่งสังขาร, และซึ่งวิญญาณ นั่นเทียว :

www.buddhadasa.info เพราะความยึดถือ (อุปาทาน) ของเรานั้นเปนปจจัย จึงมีภพ; เพราะมีภพเปนปจจัย จึงมีชาติ;

www.buddhadasa.info


๔๒๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๗

เพราะมีชาติเปนปจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาส ทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถวน : ความเกิดขึ้นพรอมแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี". ดังนี้. หมายเหตุ ผู ร วบรวม : ผู ศึ ก ษาพึ ง สั ง เกตว า ปฏิ จ จสมุ ป บาทในกรณี นี้ แสดงอวิ ช ชา ด ว ยโวหารว า "เราถู ก จิ ต คดโกง หลอกลวง", จนยึ ด ถื อ รู ป เวทนา สั ญ ญา สั งขาร และวิ ญ ญาณ. การที่ จ ะเกิ ด การยึ ด ถื อ ในขั น ธ เหล า นี้ ได จะต อ งมี อ ารมณ ม ากระทบ ทางตาหรื อ หู เป น ต น ก อ น และมี "อวิ ชชาสั ม ผั ส"ในอารมณ นั้ น , จนมี เวทนา ตั ณ หาอุ ป าทาน เกิ ด ขึ้ น ยึ ด มั่ น ต อ ความรู สึ ก ต า ง ๆ ภายในใจ; โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง ยึ ด มั่ น ในอั ส สาทะแห ง เวทนานั้ น จึ ง กลายเป น ยึ ด มั่ น ครบทั้ ง ห า อย า ง คื อ ทั้ ง รู ป เวทนาสั ญ ญา สั ง ขาร วิ ญ ญาณ ดั ง ที่ ก ล า วแล ว ; หลั ง จากมี ก ารยึ ด มั่ น (อุ ป ทาน)แล ว ก็ มี ภ พ ชาติ จนถึ ง ที่ สุ ด ;นี้ เ ป น ปฏิจ จสมุป บ าท ตลอดทั ้ง สาย; แตต ัว อัก ษ รแสดงไวเ พีย งสองสาม อาการ; ผู ไ มมี ความเขาใจอันถูกตองในเรื่องนี้ จะไมรูสึกวา เปนปฏิจจสมุปบาททั้งสาย ไดอยางไร. ครั้ น ละอุ ป าทานได ทุ ก ข ดั บ ไป จึ ง รู สึ ก เหมื อ นกั บ หายตาบอดในทั น ใดนั้ น เพราะวิ ช ชาเกิ ด ขึ้ น รู สิ่ ง ทั้ ง หลายทั้ ง ปวงตามที่ เป น จริ ง ; โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง ก็ คื อ รู ป ฏิ จ จสมุ ป บาททั้ ง ฝ า ยสมุ ท ยวาระ และนิ โรธวาระ ด ว ยยถาภู ต สั ม มั ป ป ญ ญาของตนในขณะนั้ น นั่นเอง.

เพราะรูปฏิจจสมุปบาท www.buddhadasa.info จึงหมดความสงสัยเรื่องตัวตนทั้ง ๓ กาล ๑

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ในกาลใดแล ปฏิ จจสมุ ปบาทนี้ และปฏิ จจสมุ ปป นนธรรมเหลานี้ เปนสิ่งที่อริยสาวกเห็นชัดแลวดวยดี ดวยปญญาอันชอบตามที่เปนจริง

สูตรที่ ๑๐ อาหารวรรค นิทานสังยุตต นิทาน.สํ. ๑๖/๓๑/๖๓, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยโทษและอานิสงสเกี่ยวกับปฏิจจฯ

๔๒๕

(ยถาภูตสัมมัปปญญา) แลว ขอนั้นเปนฐานะที่จักมีไมไดวา ในกาลนั้น อริยสาวกนั้นจัก แล นไปสู ทิ ฏฐิ อั นปรารภที่ สุ ดในเบื้ องต น (ปุ พพั นตทิ ฏฐิ ) วา"ในกาลยื ดยาวนานฝ าย อดี ต เราได มี แ ล ว หรื อ หนอ; เราไม ไ ด มี แ ล ว หรื อ หนอ; เราได เ ป น อะไรแล ว หนอ; เราได เป น อย างไรแล ว หนอ; เราเป น อะไรแล ว จึ งได เป น อะไรอี ก แล ว หนอ"; ดั งนี้ ก็ ดี ; หรือวาอริยาสาวกนั้นจักแลนไปสูทิฏฐิอันปรารภที่สุดในเบื้องปลาย (อปรันตทิฏฐิ) วา "ในกาลยื ด ยาวนานฝ า ยอนาคต เราจั ก มี ห รื อ ไม ห นอ; เราจั ก ไม มี ห รื อ หนอ; เราจั ก เป น อะไรหนอ; เราจั ก เป น อย า งไรหนอ; เราเป น อะไร แล ว จั ก เป น อะไรต อ ไปหนอ"; ดั งนี้ ก็ ดี ; หรือวา อริยสาวกนั้ น จั กเป นผู มี ความสงสั ยเกี่ ยวกั บตน ปรารภกาลอั น เป น ป จ จุ บั น ในกาลนี้ ว า "เรามี อ ยู ห รื อ หนอ; เราไม มี อ ยู ห รื อ หนอ; เราเป น อะไร หนอ; เราเป น อย า งไรหนอ; สั ต ว นี้ ม าจากที่ ไหนแล ว จั ก เป น ผู ไปสู ที่ ไ หนอี ก หนอ" ; ดั งนี้ : ข อ นี้ เป น ฐานะที่ จั ก มี ไม ได . เพราะเหตุ ไรเล า ? ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ข อ นี้ เปนฐานะที่จักมีไมได เพราะเหตุวา ปฏิจจสมุปบาทนี้ และปฏิจจสมุปปนนธรรม เหลานี้ เปนสิ่งที่อริยสาวกนั้นเห็นชัดแลวดวยดี ดวยปญญาอันชอบ ตามที่เปน จริงนั่นเอง ดังนี้.

การรูเรื่องปฏิจจสมุปบาท ทําใหหมดปญหาเกี่ยวกับขันธในอดีตและอนาคต๑

www.buddhadasa.info สกุ ลุ ทายิ ปริ พพาชก ได ทู ลพระผู มี พระภาคเจ าด วยเรื่องที่ เขาเคยถามผู ที่ ปฏิ ญาณตั วเองว าเป น สั พพั ญู สั พพทั สสาวีอยู ทุ กอริยาบถ เมื่ อหลายวันมาแล ว ถึ งเรื่องอั นปรารภขั นธในอดี ต ผู ตอบกลั บตอบเถล ไถลไปเรื่องอื่ น แล วยั งพาลโกรธเอาด วย ทํ าให เขาระลึ กถึ งพระผู มี พระภาคเจ าว าคงทราบเรื่องนี้ เป นแน นอน เมื่อพระผูมีพระภาคเจาเสด็จมาสูอารามของเขา จึงไดปรารภเรื่องนี้ขึ้น. พระผูมีพระภาคเจาไดตรัสวา :-

จูฬสกุลทายิสูตร ม. ม, ๑๓/๓๕๔/๓๗๑, ตรัสแกสกุลทายิปริพพาชก ที่ปริพพาชการาม เมืองราชคฤห.

www.buddhadasa.info


๔๒๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๗

ดู ก อนอุ ทายิ ! ถ าผู ใดพึ งระลึ กถึ งขั นธ ที่ เคยอยู อาศั ยในภพก อนได มี อย างต าง ๆ เป น เอนก คื อ ระลึ ก ได ช าติ ห นึ่ ง บ า ง สองชาติ สามชาติ สี่ ช าติ ห า ชาติ , สิ บ ชาติ ยี่ สิ บชาติ สามสิ บชาติ สี่ สิ บชาติ ห าสิ บชาติ , รอยชาติ พั นชาติ แสนชาติ บ าง, ตลอด หลายสังวัฏฏกัปป หลายวิวัฏฏกัปปหลายสังวัฏฏกัปปและวิฏฏกัปปบาง, วาเมื่อขาพเจา อยู ในภพโน น มี ชื่ ออย างนั้ น มี โคตร มี วรรณะ มี อาหารอย างนั้ นๆ,เสวยสุ ขและทุ กข เช นนั้ น ๆ, มี อายุ สุ ดลงเท านั้ น; ครั้ นจุ ติ จากภพนั้ นแล ว ได เกิ ดในภพโน น มี ชื่ อโครต วรรณะ อาหาร อย างนั้ น ๆ, ได เสวยสุ ขและทุ กข เช นนั้ น ๆ, มี อายุ สุ ดลงเท านั้ น; ครั้น จุติ จากภพนั้ น ๆๆๆ แล ว มาเกิ ดในภพนี้ . เขาพึ งระลึ กถึ งขั นธที่ เคยอยู อาศั ยในภพก อน ได หลายประการ พรอมทั้ งอาการและลั กษณะด วยประการฉะนี้ ดั งนี้ ไซร; ผู นั้ นแหละ ควรถามป ญหาปรารภขันธส วนอดี ตกะเรา หรือวาเราควรถามป ญหาปรารภขันธส วนอดี ต, กะผูนั้น ผูนั้นจะพึ งยังจิตของเราใหไดยินดวยการพยากรณ ป ญหาปรารภขันธสวนอดีต, หรือวาเราพึงยังจิตของผูนั้น ใหยินดีไดดวยการพยากรณปญหาปรารภขันธสวนอนาคต. ดูกอนอุทายิ! ถาผูใดพึงมีจักษุอันเปนทิพย บริสุทธิ์กวาจักษุของสามัญมนุษย, พึ งแลเห็นสัตวทั้ งหลายจุติอยู บั งเกิดอยู, เลวทราม ประณี ต, มีวรรณะดี มีวรรณะเลว, มีทุ กข มี สุ ข; รูแจงชัดหมู สัตวผู เขาถึ งตามกรรมวา "ผู เจริญทั้ งหลาย! สั ตวเหล านี้ หนอ ประกอบกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต พูดติเตียนซึ่งพระอริยเจาทั้งหลาย เปนมิจฉาทิฏฐิ ประกอบการงานด วยอํ านาจมิ จฉาทิ ฏฐิ , เบื้ องหน าแต กายแตกตายไป ล วนพากั นเข าสู อบายทุ คติ วิ นิ บาตนรก. ท านผู เจริ ญ ทั้ งหลาย! ส วนสั ตว เหล านี้ หนอ ประกอบกาย สุ จริต วจี สุ จริต มโนสุ จริต ไม ติ เตี ยนพระอริยเจ า เป นสั มมาทิ ฏฐิ ประกอบการงาน ด วยอํ านาจสั มมทิ ฏฐิ , เบื้ องหน าแต กายแตกตายไป ล วนพากั นเข าสู สุ คติ โลกสวรรค ". เขาพึงมีจักษุทิพยบริสุทธิ์ลวงจักษุสามัญมนุษย แลเห็นเหลาสัตวผูจุติอยู บังเกิดอยูเลวทราม ประณีต มีวรรณะดี มีวรรณะทราม มีทุกข มีสุข, รูแจงชัดหมูสัตวผูเขาถึงตามกรรม

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


วาดวยโทษและอานิสงสเกี่ยวกับปฏิจจฯ

๔๒๗

ได ดั งนี้ ไซร; ผู นั้ นแหละควรถามป ญหาปรารภขั นธ ส วนอนาคตกะเรา หรือว าเราควรถาม ป ญหาปรารภขันธ ส วนอนาคตกะผู นั้ น ผู นั้ นพึ งยั งจิ ตของเราให ยิ นดี ได ด วยการพยากรณ ป ญหาปรารภขั นธ ส วนอนาคต หรื อว าเราพึ งยั งจิ ตของผู นั้ นให ยิ นดี ได ด วยการพยากรณ ปญหาปรารภขันธสวนอนาคต. ดูก อ นอุท ายิ! เออก็เ รื ่อ ง ขัน ธใ นอดีต ยกไวก อ น; เรื ่อ งขัน ธใ น อนาคต ก็ยกไวกอน; เราจักแสดงธรรมแกทานอยางนี้วา "เมื่อสิ่งนี้มี, สิ่งนี้ยอมมี; เพราะความเกิ ด ขึ้ น แห งสิ่ งนี้ , สิ่ งนี้ จึ งเกิ ด ขึ้ น ; เมื่ อ สิ่ งนี้ ไม มี , สิ่ งนี้ ย อ มไม มี ; เพราะ ความดับไมเหลือแหงสิ่งนี้, สิ่งนี้จึงดับไป", ดังนี้. สกุลทายิปริพพาชก ไดกราบทูลวา :"ขาแตพระองคผูเจริญ! แม แต เรื่องที่ไดเกิดแกขาพระองคในอัตภาพนี้ มีอยูเท าไร ขาพระองค ก็ ไม อาจที่ จะระลึ กได พรอมทั้ งอาการ พรอมทั้ งอุ เทศ (ทั้ งโดยรายละเอี ยดทั้ งโดยหั วข อ) เสี ยแล ว ไฉน ขาพระองคจะตามระลึกถึงขันธที่เคยอยูอาศัยในภพกอนไดมีอยางตาง ๆ เปนอเนก คือระลึกไดชาติหนึ่งบาง สองชาติบาง ...ฯลฯ... พรอมทั้งอาการและลักษณะ ดวยประการฉะนี้ เหมือนพระผูมีพระภาคเลา

www.buddhadasa.info ขาแต พระองค ผูเจริญ! แม ในกาลบั ดนี้ ขาพระองค ก็ไมเห็ นแม แตป งสุป ศาจ (ป ศาจเลนฝุน) เสี ยแล ว ไฉนข าพระองค จะเห็ นสั ตวทั้ งหลาย... ด วยจั กษุ อั นเป นทิ พย บริสุ ทธิ์ กวาจั กษุ ของสามั ญมนุ ษย ...ฯลฯ... รูแจงชัดหมูสัตวผูเขาถึงตามกรรมไดเหมือนพระผูมีพระภาคเลา. ขาแต พระองค ผู เจริญ! ก็ คํ าที่ พระผู มี พระภาคตรัสกะข าพระองค อย างนี้ วา ดู ก อนอุ ทายิ ! เออก็ เรื่องขั นธในอดี ตยกไวก อน เรื่องขั นธในอนาคตก็ ยกไวก อน เราจั กแสดงธรรมแก ท านอย างนี้ ว า ’เมื่อสิ่งนี้มี, สิ่งนี้ยอมมี; เพราะความเกิดขึ้นแหงสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น; เมื่อสิ่งนี้ไมมี, สิ่งนี้ยอมไมมี, เพราะ ความดั บไปแห งสิ่ งนี้ สิ่ งนี้ จึงดั บไป. ดั งนี้ นั้ น ก็ ไม แจ มแจ งแก ขาพระองค โดยประมาณอั นยิ่ งเสี ยแล ว; ขาแต พระองค ผูเจริญ! ไฉนเลาขาพระองค จะพึ งยังจิตของพระผู มี พระภาคให ยินดี ด วยการพยากรณ ป ญหา ในลัทธิเปนของอาจารยแหงตน". หมายเหตุ ผู ร วบรวม : ผู ศึ ก ษาพึ ง สั ง เกตให เห็ น ใจความสํ า คั ญ แห ง เรื่ อ ง นี้ ว า ถ า ผู ใดมี ค วามเข าใจในเรื่ อ งอิ ท ปป จ จยตาหรื อ ปฏิ จ จสมุ ป บาทแล ว จะไม รู สึ กว ามี อ ดี ต หรืออนาคต มีแตกระแสแหงการปรุงแตงของปจจัยที่ทยอยกันไป ตามแบบแหงอิทัป-

www.buddhadasa.info


๔๒๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๗ ป จจยตา การบั ญ ญั ติ ว าอดี ตหรืออนาคตก็ เป นอั นยกเลิ กเพิ กถอนไป เพราะวาความมี อยู แห ง ขั น ธ ทั้ ง หลาย เป น เพี ย งกระแสแห งอิ ทั ป ป จ จยตาเท า นั้ น . อี ก อย างหนึ่ ง พึ งทราบว า ตาม พระบาลีนี้ ถือเป นหลักวา ปุ พเพนิ วาสานุ สสติ ญาณยอมปรารภขันธ ในอดี ต จุ ตู ปปาตญาณหรือ ทิพพจักขุญาณ ยอมปรารภขันธในอนาคต ขอใหผูศึกษาพึงพิจารณาดูดวยตนเองโดยละเอียด.

ผลอานิสงส พิเศษ ๘ ประการ ของการเห็นปฏิจจสมุปบาท๑ ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ถู ก แล ว ! เมื่ อ เป น อย า งนี้ ก็ เป น อั น ว า พวกเธอ ทั้งหลายก็กลาวอยางนั้น, แมเราตถาคต ก็กลาวอยางนั้น, วา "เมื่อสิ่งนี้ไมมี, สิ่งนี้ยอม ไม มี ; เพราะสิ่ งนี้ ดั บ, สิ่ งนี้ ย อมดั บ๒ กล าวคื อ เพราะความดั บแห งอวิ ชชา จึ งมี ความ ดั บแห งสั งขาร; เพราะมี ความดั บแห งสั งขาร จึ งมี ความดั บแห งวิญญาณ; เพราะมี ความ ดั บ แห ง วิ ญ ญาณ จึ ง มี ค วามดั บ แห ง นามรู ป ; เพราะมี ค วามดั บ แห ง นามรู ป จึ ง มี ความดับแหงสฬายตนะ; เพราะมีความดับแหงสฬายตนะ จึงมีความดับแหงผัสสะ; เพราะมี ความดับแห งผัสสะ จึงมี ความดับแหงเวทนา; เพราะมี ความดับแหงเวทนา จึงมี ความดั บ แห งตั ณหา; เพราะมี ความดั บแห งตั ณหา จึ งมี ความดั บแห งอุ ปาทาน; เพราะมี ความดั บ แหงอุปาทาน จึงมีความดับแหงภพ; เพราะมีความดับแหงภพ จึงมีความดับแหงชาติ;

www.buddhadasa.info ๑

มหาตั ณ หาสั งขยสู ตร ม.ม. ๑๒/๔๘๕/๔๕๐, ตรั สแก ภิ กษุ ทั้ งหลาย ที่ เชตวั น. ตั วเลขประจํ าข อในวงเล็ บ ทุกแหง พึงทราบวา มิไดมีในภาษาบาลี; ในที่นี้จัดใสขึ้น เพื่อกําหนดศึกษางายสําหรับเรื่องนี้. ๒ คํ าบาลี ของประโยคนี้ มี ว า "อิ มสฺ มึ อสติ , อิ ทํ น โหติ ; อิ มสฺ ส นิ โรธา อิ ทํ นิ รุชฺ ฌ ติ ." และกฎเกณฑ อันนี้ ตรัสเรียกวา กฎอิ ทั ปป จจยตา - "ความที่สิ่งนี้ ๆ เปนปจจัย สิ่งนี้ ๆ จึงเกิดขึ้น". สําหรับกฎอิทัปป จจยตานั้ น ขยายตั วออกไปเป นปฏิ จจสมุ ปบาท ทั้ งฝ ายสมุ ทยวารและนิ โรธวาร, สวนในที่ นี้ เป นอย าง นิโรธวาร.

www.buddhadasa.info


วาดวยโทษและอานิสงสเกี่ยวกับปฏิจจฯ

๔๒๙

เพราะมี ความดั บแห งชาติ นั่ นแล ชรามรณะ โสกะปริ เทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้". (๑) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! จะเป น ไปได ไหมว า พวกเธอ เมื่ อ รู อ ยู อ ย างนี้ เห็นอยูอยางนี้ จึงพึ งแลนไปสู ทิ ฏฐิอั นปรารภที่ สุดในเบื้ องตน (ปุ พพั นตทิฏฐิ) วา "ในกาลยื ดยาวนานฝ ายอดี ต เราได มี แล วหรื อหนอ; เราไม ได มี แล วหรื อหนอ ; เราได เป น อะไรแล วหนอ; เราได เป น อย าไรแล วหนอ; เราเป น อะไรแล ว จึ ง ได เป น อะไรอี ก แลวหนอ" ; ดังนี้? "ขอนั้น หามิได พระเจาขา" (๒) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! หรื อว า จะเป น ไปได ไหมว า พวกเธอ เมื่ อรู อ ยู อยางนี้ เห็นอยูอยางนี้ จะพึงแลนไปสูทิฏฐิอันปรารภที่สุดในเบื้องปลาย (อปรันตทิฏฐิ) ว า "ในกาลยื ด ยาวนานฝ ายอนาคต เราจั ก มี ห รื อ หนอ; เราจั ก ไม มี ห รื อ หนอ; เราจั ก เป น อะไรหนอ; เราจั ก เป น อย า งไรหนอ; เราเป น อะไรแล ว จั ก เป น อะไรต อ ไปหนอ"; ดังนี้? "ขอนั้น หามิได พระเจาขา!"

www.buddhadasa.info (๓) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! หรื อว า จะเป นไปได ไหมว า พวกเธอ เมื่ อรู อยู อยางนี้ เห็นอยูอยางนี้ จะพึ งเปนผูมีความสงสัยเกี่ยวกับ ตน ปรารภกาลอันเป น ป จ จุ บั น ในกาลนี้ ว า "เรามี อ ยู ห รื อ หนอ; เราไม มี อ ยู ห รื อ หนอ ; เราเป น อะไรหนอ; เราเปนอยางไรหนอ; สัตวนี้มาจากที่ไหน แลวจักเปนผูไปสูที่ไหนอีกหนอ"; ดังนี้?

www.buddhadasa.info


๔๓๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๗ "ขอนั้น หามิได พระเจาขา!"

(๔) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! จะเป น ไปได ไหมว า พวกเธอ เมื่ อ รู อ ย า งนี้ เห็นอยูอยางนี้ แลวจะพึงกลาววา "พระศาสดาเปนครูของพวกเรา ดังนั้น พวกเรา ตองกลาวอยางที่ทานกลาว เพราะความเคารพในพระศาสดานั่นเทียว" ดังนี้? "ขอนั้น หามิได พระเจาขา!" (๕) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! จะเป นไปได ไหมว า พวกเธอ เมื่ อรู อยู อย างนี้ เห็นอยูอยางนี้ แลวจะพึงกลาววา "พระสมณะ(พระพุทธองค) กลาวแลวอยางนี้; แตสมณะทั้งหลายและพวกเรา จะกลาวอยางอื่น" ดังนี้? "ขอนั้น หามิได พระเจาขา!" (๖) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! จะเป นไปได ไหมว า พวกเธอ เมื่ อรูอยู อย างนี้ เห็นอยูอยางนี้ จะพึงประกาศการนับถือศาสดาอื่น?

www.buddhadasa.info "ขอนั้น หามิได พระเจาขา!"

(๗) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! จะเป นไปได ไหมว า พวกเธอ เมื่ อรู อยู อย างนี้ เห็นอยูอยางนี้ จะพึงเวียนกลับไปสูการประพฤติซึ่งวัตตโกตูหลมงคลทั้งหลาย ตาม แบบของสมณพราหมณทั้งหลายเหลาอื่นเปนอันมาก โดยความเปนสาระ?

www.buddhadasa.info


วาดวยโทษและอานิสงสเกี่ยวกับปฏิจจฯ

๔๓๑

"ขอนั้น หามิได พระเจาขา!"

(๘) ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! พวกเธอจะกลาวแตสิ่งที่พวกเธอรูเอง เห็นเอง รูสึกเองแลว เทานั้น มิใชหรือ? "อยางนั้น พระเจาขา!" ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ถู ก แล ว . ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! พวกเธอทั้ งหลาย เปน ผู ที ่เรานํ า ไปแลว ดว ยธรรมนี ้ อัน เปน ธรรมที ่บ ุค คลจะพึง เห็น ไดด ว ยตนเอง (สนฺทิฏโก), เปนธรรมใหผลไมจํากัดกาล (อกาลิโก), เปนธรรมที่ควรเรียกกันมาดู (เอหิ ปสฺสิ โก), ควรนอมเขามาใสตัว (โอปนยิโก), อั นวิญ ู ชนจะพึ งรูได เฉพาะตน (ปจฺจตฺตํ เวทตพฺโพ วิฺูหิ). ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! คํ านี้ เรากล าวแล ว หมายถึ งคํ าที่ เราได เคยกล าวไว แลววา "ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ธรรมนี้ เปนธรรมที่บุคคลจะพึงเห็นไดดวยตนเอง เปนธรรมใหผลไมจํากัดกาล เปนธรรมที่ควรเรียกกันมาดู ควรนอมเขามาใสตน อันวิญูชนจะพึงรูไดเฉพาะตน" ดังนี้.

www.buddhadasa.info หมายเหตุ ผู ร วบรวม : ผู ศึ ก ษาพึ ง สั ง เกตให เห็ น ความหมายของอานิ ส งส อัน ประเสริฐ สูง สุด แหง การเห็น ปฏิจ จสมุป บาท ทั ้ง ๘ อนิส งสจ ริง ๆ วา เมื ่อ รู แ ลว : จะไม เกิ ด ปุ พ พั น ตทิ ฏ ฐิ ๑, ไม เกิ ด อปรั น ตทิ ฏ ฐิ ๑, ไม เกิ ด ความสงสั ย ปรารภในป จ จุ บั น ๑ ไม ต อ งจํ า ใจกล า วอะไรไปตามที่ พ ระศาสดากล า ว ๑,ไม ต อ งรู สึ ก ว าตนกล าวผิ ด ไปจากที่ พ ระศาสดากล า ว๑, ไม หั น ไปถื อ ศาสนาอื่ น ๑, ไม เวี ย นกลั บ ถื อ วั ต รชนิ ด สี ลั พ พั ต ตปรามาส ๑, และกล าวไปตามที่ เป น สั น ทิ ฏ ฐิ โก, อกาลิ โก, ป จจั ตตั งเวทิ ตั พ โพวิ ญ ู หิ แก ตั วเองเท านั้ น ๑; เมื่อมองเห็นอานิสงสเหลานี้ ยอมสนใจเพื่อทําใหแจงปฏิจจสมุปบาทอยางยิ่ง.

www.buddhadasa.info


๔๓๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๗

ผูรูปฏิจจสมุปบาท โดยอาการแหงอริยสัจทั้งสี่ ยอมสามารถกาวลวงปฏิจจสมุปปนนธรรม๑ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! สวนสมณะหรือพราหมณ เหลาใดเหลาหนึ่ง ยอมรูทั่วถึง ซึ่ง ชรามรณะ, รูทั่วถึง ซึ่งเหตุใหเกิดขึ้นแหงชรามรณะ, รูทั่วถึง ซึ่งความดับไมเหลือ แหงชรามรณะ, รูทั่วถึง ซึ่งขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงชรามรณะ; สมณะหรือพราหมณ เหล านั้ นหนอ จั กก าวล วงชรามรณะเสี ยได แล วดํ ารงอยู ดั งนี้ : ขอนี้เปนฐานะที่จักมีได. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! สวนสมณะหรือพราหมณ เหลาใดเหลาหนึ่ง ยอมรูทั่วถึง ซึ่ งชาติ , รูทั่ วถึ ง ซึ่ งเหตุ ให เกิ ด ขึ้น แห งชาติ , รูทั่ วถึ ง ซึ่งความดั บ ไม เหลื อ แห งชาติ , รูทั่วถึง ซึ่งขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงชาติ; สมณะหรือพราหมณ เหลานั้นหนอ จักกาวลวงชาติเสียได แลวดํารงอยู ดังนี้ : ขอนี้เปนฐานะที่จักมีได. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! สวนสมณะหรือพราหมณ เหลาใดเหลาหนึ่ง ยอมรูทั่วถึง ซึ ่ง ภพ, รูทั ่ว ถึง ซึ ่ง เหตุใ หเกิด ขึ ้น แหง ภพ, รูทั ่ว ถึง ซึ ่ง ความดับ ไมเหลือ แหง ภพ, รูทั่วถึง ซึ่งขอปฏิบั ติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงภพ; สมณะหรือพราหมณ เหลานั้นหนอ จักกาวลวงภพเสียได แลวดํารงอยู ดังนี้ : ขอนี้เปนฐานะที่จักมีได.

www.buddhadasa.info ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! สวนสมณะหรือพราหมณ เหลาใดเหลาหนึ่ง ยอมรูทั่วถึง ซึ่ง อุปาทาน, รูทั่วถึง ซึ่งเหตุใหเกิดขึ้นแหงอุปาทาน, รูทั่วถึง ซึ่งความดับไมเหลือ

สูตรที่ ๑๐ ทสพลวรรค นิทานสังยุตต นิทาน.สํ. ๑๖/๕๕/๙๗, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยโทษและอานิสงสเกี่ยวกับปฏิจจฯ

๔๓๓

แห งอุ ปาทาน, รูทั่ วถึ ง ซึ่งขอปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสั ตวให ลุ ถึ งความดั บไม เหลื อแห งอุ ปานทาน; สมณะหรื อ พราหมณ เหล านั้ น หนอ จั กก าวล วงอุ ป าทานเสี ยได แล วดํ ารงอยู ดั งนี้ : ขอนี้เปนฐานะที่จักมีได. ดูก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ส วนสมณะหรือพราหมณ เหล าใดเหล าหนึ่ ง ย อมรูทั่ วถึ ง ซึ่ ง ตั ณ หา, รู ทั่ วถึ ง ซึ่ งเหตุ ให เกิ ด ขึ้ น แห งตั ณ หา, รู ทั่ วถึ ง ซึ่ งความดั บ ไม เหลื อแห ง ตั ณหา, รูทั่ วถึ ง ซึ่ งข อปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสั ตว ให ลุ ถึ งความดั บไม เหลื อแห งตั ณหา; สมณะ หรือพราหมณ เหล านั้ นหนอ จั กก าวล วงตั ณ หาเสี ยได แล วดํ ารงอยู ดั งนี้ : ข อนี้ เป น ฐานะที่จักมีได. ดูก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ส วนสมณะหรือพราหมณ เหล าใดเหล าหนึ่ ง ย อมรูทั่ วถึ ง ซึ่ ง เวทนา, รูทั่ วถึ ง ซึ่ งเหตุ ให เกิ ด ขึ้ น แห งเวทนา, รู ทั่ วถึ ง ซึ่ งความดั บ ไม เหลื อ แห ง เวทนา, รูทั่ วถึ ง ซึ่ งข อปฏิ บั ติ เครื่ องทํ าสั ตว ให ลุ ถึ งความดั บไม เหลื อแห งเวทนา; สมณะ หรือพราหมณ เหล านั้ นหนอ จั กก าวล วงเวทนาเสี ยได แล วดํ ารงอยู ดั งนี้ : ข อนี้ เป น ฐานะที่จักมีได.

www.buddhadasa.info ดูก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ส วนสมณะหรือพราหมณ เหล าใดเหล าหนึ่ ง ย อมรูทั่ วถึ ง ซึ่ ง ผั สสะ, รูทั่ วถึ ง ซึ่ งเหตุ ให เกิ ดขึ้นแห งผั สสะ, รูทั่ วถึ ง ซึ่งความดั บไม เหลื อแห งผั สสะ, รูทั่ วถึง ซึ่งขอปฏิ บัติเครื่องทําสัตวให ลุถึงความดับไม เหลือแห งผัสสะ; สมณะหรือพราหมณ เหลานั้นหนอ จักกาวลวงผัสสะเสียได แลวดํารงอยู ดังนี้ : ขอนี้เปนฐานะที่จักมีได.

ดูก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ส วนสมณะหรือพราหมณ เหล าใดเหล าหนึ่ ง ย อมรูทั่ วถึ ง ซึ่ง สฬายตนะ, รูทั่วถึง ซึ่งเหตุใหเกิดขึ้นแหงสฬายตนะ, รูทั่วถึง ซึ่งความดับไมเหลือ

www.buddhadasa.info


๔๓๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๗

แหงสฬายตนะ, รูทั่วถึง ซึ่งขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงสฬายตนะ; สมณะหรือพราหมณ เหล านั้ นหนอ จักก าวล วงสฬายตนะเสี ยได แล วดํ ารงอยู ดั งนี้ : ขอนี้เปนฐานะที่จักมีได. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณะหรือพราหมณ เหล าใดเหล าหนึ่ ง ย อมรูทั่ วถึ ง ซึ่ง นามรูป, รูทั่วถึง ซึ่งเหตุใหเกิดขึ้นแหงนามรูป, รูทั่วถึง ซึ่งความดับไมเหลือแหง นามรูป, รูทั่วถึง ซึ่งขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงนามรูป; สมณะ หรือพราหมณ เหลานั้นหนอ จักกาวลวงนามรูปเสียได แลวดํารงอยู ดังนี้ : ขอนี้เป น ฐานะที่จักมีได. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณะหรือพราหมณ เหล าใดเหล าหนึ่ ง ย อมรูทั่ วถึ ง ซึ่ง วิญญาณ, รูทั่วถึง ซึ่งเหตุใหเกิดขึ้นแหงวิญญาณ, รูทั่วถึง ซึ่งความดับไมเหลือแหง วิญญาณ, รูทั่วถึง ซึ่งขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงวิญญาณ; สมณะ หรือพราหมณ เหลานั้นหนอ จักกาวลวงวิญญาณ เสียได แลวดํารงอยู ดังนี้ : ขอนี้ เป น ฐานะที่จักมีได.

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณะหรื อพราหมณ เหล าใดเหล าหนึ่ ง ย อมรู ทั่ วถึ ง ซึ่ ง สั ง ขาร, รู ทั่ ว ถึ ง ซึ่ ง เหตุ ใ ห เกิ ด ขึ้ น แห ง สั ง ขาร, รู ทั่ ว ถึ ง ซึ่ ง ความดั บ ไม เหลื อ แห งสั งขาร, รูทั่ วถึ ง ซึ่ งข อปฏิ บั ติ เครื่อ งทํ าสั ตว ให ลุ ถึ งความดั บไม เหลื อแห งสั งขาร; สมณ ะหรือ พราหมณเ หลา นั ้น หนอ จัก กา วลว งสัง ขารเสีย ได แลว ดํ า รงอยู ดังนี้ : ขอนี้เปนฐานะที่จักมีได, ดังนี้ แล.

www.buddhadasa.info


วาดวยโทษและอานิสงสเกี่ยวกับปฏิจจฯ

๔๓๕

อานิสงส ของการถึงพรอมดวยทัสสนทิฏฐิ๑ สูตรที่ หนึ่ง ครั้งหนึ่ ง ที่ พ ระเชตวั น พระผู มี พ ระภาคเจ า ทรงเอาปลายพระนขาช อนฝุ น ขึ้ นเล็ กน อย แลวตรัสกะภิกษุทั้งหลายวา:-

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! พวกเธอทั้ งหลายจะสํ าคั ญ ความข อนี้ ว าอย างไร? ฝุนนิดหนึ่งที่เราชอนขึ้นดวยปลายเล็บนี้ กับมหาปฐพีนี้ ขางไหนจะมากกวากัน? "ขาแต พระองค ผู เจริญ! มหาปฐพี นั่ นแหละ เป นดิ นที่ มากกวา. ฝุ นนิ ดหนึ่ ง เท าที่ ทรงช อนขึ้ นด วยปลายพระนขานี้ เป นของมี ประมาณน อย. ฝุ นนั้ น เมื่ อนํ าเขาไป เที ยบกั บมหาปฐพี ยอมไม ถึงสวนหนึ่ งในรอย ส วนหนึ่ งในพั น ส วนหนึ่ งในแสน ของ มหาปฐพีนั้น". ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! อุ ปมานี้ ฉั นใด อุ ปไมยก็ ฉั นนั้ น : สํ าหรับอริยสาวก ผูถึงพรอมดวย (สัมมา) ทิฏฐิ เปนบุคคลผูรูพรอมเฉพาะแลว, ความทุกขของ ท า นส วนที่ สิ้ นไปแล ว หมดไปแล วย อมมากกว า; ความทุ กข ที่ ยั งเหลื ออยู มี ประมาณ น อย :เมื่ อนํ าเขาไปเที ยบกั บกองทุ กขที่ สิ้ นไปแล ว หมดไปแล ว ในกาลก อน ย อมไม เข า ถึ งส วนหนึ่ ง ในร อ ย ส ว นหนึ่ ง ในพั น ส ว นหนึ่ ง ในแสน; กล า วคื อ ความสิ้ น ไปแห ง กองทุ ก ข (ของพระโสดาบั น) ผู เป นสั ตตั กขั ตตุ ปรมะ. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! การรู พรอมเฉพาะ

www.buddhadasa.info

สู ต รที่ ๑-๑๐ อภิ ส มยวรรค อภิ ส มยสั ง ยุ ต ต นิ ท าน.สํ . ๑๖/๑๖๒-๑๖๘/๓๑๑-๓๓๐, ตรั ส แก ภิ ก ษุ ทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๔๓๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๗

ซึ่ งธรรม เป น ไปเพื่ อ ประโยชน อั น ใหญ ห ลวงอย างนี้ การได เฉพาะซึ่ งธรรมจั ก ษุ เปนไปเพื่อประโยชนอันใหญหลวงอยางนี้. สูตรที่สอง (สู ตรที่ สองและสู ตรต อ ๆ ไป เป นสู ตรที่ ตรัสถึ งประโยชน ของความสมบู รณ ด วยทั สสนทิ ฏฐิ แห งความเป นพระโสดาบั น เหมื อนกั นทุ กตั วอั กษรในส วนที่ เป นอุ ปไมย; ต างกั นแต อุ ปมา ซึ่ งทรงนํ ามา ใชเปนเครื่องเปรียบเทียบแตละอุปมาเปนลําดับไป ในทุก ๆ สูตร ดังตอไปนี้ :-)

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เปรียบเหมื อนสระโบกขรณี ยาว ๕๐ โยชน กว าง ๕๐ โยชน ลึ ก ๕๐ โยชน มี น้ํ าเต็ มเสมอขอบ กาดื่ มได สะดวก มี อยู . ลํ าดั บนั้ น บุ รุษพึ ง จุมแล วยกขึ้นมาซึ่ งน้ํ าด วยปลายแห งใบหญ าคา. ดู กอนภิ กษุ ทั้ งหลาย! พวกเธอทั้ งหลาย จะสําคัญความขอนั้นวาอยางไร? น้ําที่บุรุษจุมแลวยกขึ้นมาดวยปลายแหงใบหญ าคา เปน น้ําที่มากกวา หรือวาน้ําในสระโบกขรณีนี้มากกวา? "ข าแต พ ระองค ผู เจริ ญ ! น้ํ าในสะโบกขรณี นั่ นแหละ เป นน้ํ าที่ มากกว า. น้ําที่บุรุษจุมแลวยกขึ้นมาดวยปลายแหงใบหญ าคา มีประมาณนอย. น้ํานี้ เมื่อนําเขา ไปเทียบกับน้ํ าในสระโบกขรณี ยอมไมเขาถึงสวนหนึ่งในรอย สวนหนึ่งในพั น สวนหนึ่ ง ในแสน แหงน้ํานั้น". ...ฯลฯ...

www.buddhadasa.info สูตรที่สาม

ดู ก อ นภิ กษุ ทั้ งหลาย! เปรี ยบเหมื อ นแม น้ํ าใหญ เหล านี้ คื อ แม น้ํ าคงคา แม น้ํ ายมุ นา แม น้ํ าอจิ รวดี แม น้ํ าสรภู แม น้ํ ามหี ไหลมาบรรจบกั นในที่ ใด ลํ าดั บนั้ น บุรุษพึงนําน้ําขึ้นมาสองหรือสามหยด. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! พวกเธอทั้งหลาย จะสําคัญ

www.buddhadasa.info


วาดวยโทษและอานิสงสเกี่ยวกับปฏิจจฯ

๔๓๗

ความขอนี้ วาอย างไร? น้ํ าสองหรือสามหยดที่ บุ รุษนํ าขึ้นมา เป นน้ํ าที่ มากกวา หรือวาน้ํ า ตรงที่แมน้ําบรรจบกัน มากกวา? "ขาแตพระองคผูเจริญ! น้ําตรงที่แมน้ํ าบรรจบกันนั่นแหละ เป นน้ํ าที่ มากกวา. น้ํ าสองหรือสามหยดที่ บุ รุษนํ าขึ้ นมา มี ประมาณน อย. น้ํ านี้ เมื่ อนํ าเขาไปเที ยบกั บน้ํ า ตรงที่ แม น้ําบรรจบกัน ยอมไม เขาถึงสวนหนึ่ งในรอย ส วนหนึ่งในพั น ส วนหนึ่งในแสน แหงน้ํานั้น". ...ฯลฯ... สูตรที่สี่

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เปรียบเหมื อนแม น้ํ าเหล านี้ คื อ แม น้ํ าคงคา แม น้ํ า ยมุ น า แม น้ํ าอจิ รวดี แม น้ํ าสรภู แม น้ํ ามหี ไหลมาบรรจบกั น ในที่ ใด น้ํ านั้ น พึ งถึ ง ความสิ้ นไป หมดไป ยั งเหลื ออยู สองหรือสามหยด. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! พวกเธอ ทั้ งหลาย จะสํ าคั ญความขอนั้ นวาอยางไร? คื อน้ํ าตรงที่ แม น้ํ าบรรจบกั น ซึ่ งสิ้ นไปแล ว หมดไปแลว เปนน้ําที่มากกวา หรือวาน้ําที่ยังเหลืออยูสองหรือสามหยด มากกวา?

www.buddhadasa.info "ข าแต พระองค ผู เจริญ! น้ํ าตรงที่ แม น้ํ าบรรจบกั นซึ่ งสิ้ นไปแล วหมดไปแล ว นั่นแหละ เปนน้ําที่ มากกวา. น้ําที่ยังเหลืออยูสองหรือสามหยด มีประมาณหนอย. น้ํานี้ เมื่อนําเขาไปเทียบกับน้ําตรงที่แมน้ําบรรจบกันซึ่งสิ้นไปแลวหมดไปแลว ยอมไมเขาถึงสวน หนึ่งในรอย สวนหนึ่งในพัน สวนหนึ่งในแสน แหงน้ํานั้น". ...ฯลฯ... สูตรที่หา

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เปรียบเที ยบบุ รุษพึ งโยนก อนดิ นมี ประมาณเท าเม็ ด กระเบาเจ็ดกอนลงไปบนมหาปฐพี. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! พวกเธอทั้งหลายจะสําคัญ

www.buddhadasa.info


๔๓๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๗

ความขอนั้นวาอยางไร? กอนดินมี ประมาณเทาเม็ดกระเบาเจ็ดกอนที่บุ รุษโยนลงไปแล ว นั้น เปนดินมากกา หรือมหาปฐพีมากกวา? "ข าแต พระองค ผู เจริญ ! มหาปฐพี นั่ นแหละ เป นดิ นที่ มากกว า. ก อนดิ น มี ป ระมาณเท าเม็ ดกระเบาเจ็ ดก อนที่ บุ รุษ โยนลงไปแล วนั้ น มี ป ระมาณน อย. ดิ น นี้ เมื่อน้ําเขาไปเทียบกับมหาปฐพี ยอมไมเขาถึงสวนหนึ่งในรอย สวนหนึ่งในพัน สวนหนึ่ง ในแสน แหงมหาปฐพีนั้น". ...ฯลฯ... สูตรที่หก

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เปรียบเที ยบเหมื อนมหาปฐพี ถึ งความสิ้ นไปหมดไป เหลือกอนดินมี ประมาณเทาเม็ดกระเบาเจ็ดกอน. ดู กอนภิกษุ ทั้ งหลาย! พวกเธอทั้งหลาย จะสํ าคั ญความขอนั้ นวาอย างไร? มหาปฐพี ที่ สิ้ นไปแล วหมดไปแล ว เป นดิ นที่ มากกวา หรือวากอนดินมีประมาณเทาเม็ดกระเบาเจ็ดกอนที่ยังเหลืออยูมากกวา? "ขาแต พระองค ผู เจริญ! มหาปฐพี ที่ สิ้ นไปแล วหมดไปแล วนั่ นแหละ เป นดิ น ที่ มากกวา. ก อนดิ นมี ประมาณเท าเม็ ดกระเบาเจ็ ดก อนที่ ยั งเหลื ออยู มี ประมาณน อย. ดินนี้เมื่อนําเขาไปเทียบกับมหาปฐพีที่สิ้นไปแลวหมดไปแลว ยอมไมเขาถึงสวนหนึ่งในรอย สวนหนึ่งในพัน สวนหนึ่งในแสน แหงมหาปฐพีนั้น". ...ฯลฯ...

www.buddhadasa.info สูตรที่เจ็ด

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เปรียบเหมื อนบุ รุษพึ งนํ าน้ํ าสองหรือสามหยดขึ้ นจาก มหาสมุ ทร. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! พวกเธอทั้ งหลาย จะสํ าคั ญความข อนั้ นว าอย างไร? น้ําสองหรือสามหยดที่บุรุษนําขึ้นแลว เปนน้ําที่มากกวา หรือวาน้ําในมหาสมุทรมากกวา?

www.buddhadasa.info


วาดวยโทษและอานิสงสเกี่ยวกับปฏิจจฯ

๔๓๙

"ข า แต พ ระองค ผู เจริ ญ ! น้ํ า ในมหาสมุ ท รนั่ น แหละ เป น น้ํ า ที่ ม ากกว า . น้ํ าสองหรื อสามหยดที่ บุ รุ ษนํ าขึ้ นแล ว มี ประมาณน อย. น้ํ านี้ เมื่ อนํ าเข าไปเที ยบกั บ น้ํ า ในมหาสมุ ท ร ย อ มไม เข า ถึ ง ส ว นหนึ่ ง ในร อ ย ส ว นหนึ่ ง ในพั น ส ว นหนึ่ ง ในแสน แหงน้ํานั้น". ...ฯลฯ... สูตรที่แปด

ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! เปรี ย บเหมื อ นมหาสมุ ท รพึ ง ความสิ้ น ไปหมดไป ยั งเหลื อน้ํ าอยู ส องหรื อ สามหยด. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! พวกเธอทั้ งหลาย จะสํ าคั ญ ความข อนั้ นว าอย างไร? คื อน้ํ าในมหาสมุ ทรซึ่ งสิ้ นไปแล วหมดไปแล ว เป นน้ํ าที่ มากกว า หรือวาน้ําที่ยังเหลืออยูสองหรือสามหยด มากกวา? "ข าแต พระองค ผู เจริ ญ! น้ํ าในมหาสมุ ทรซึ่ งสิ้ นไปแล วหมดไปแล วนั่ นแหละ เป นน้ํ าที่ มากกวา.น้ํ าที่ ยั งเหลื ออยู สองหรือสามหยด มี ประมาณน อย. น้ํ านี้ เมื่ อนํ าเข าไป เที ยบกั บน้ํ าในมหาสมุ ทรซึ่ งสิ้ นไปแล วหมดไปแล ว ย อมไม เข าถึ งส วนหนึ่ งในร อย ส วน หนึ่งในพัน สวนหนึ่งในแสนแหงน้ํานั้น"....ฯลฯ...

www.buddhadasa.info สูตรที่เกา

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เปรียบเหมื อนบุ รุ ษพึ งโยนกรวดหิ นมี ประมาณเท าเม็ ด พั นธุ ผั กกาดเจ็ ดเม็ ดเข าไปที่ เทื อกเขาหลวงชื่ อหิ มพานต . ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! พวกเธอ ทั้ งหลาย จะสํ าคั ญความขอนั้ นวาอย างไร? กรวดหิ นมี ประมาณเท าเม็ ดพั นธุผั กกาดเจ็ดเม็ ด ที่บุรุษโยนเขาไปนั้น เปนของมากกวา หรือวาเทือกเขาหลวงชื่อหิมพานต มากกวา

www.buddhadasa.info


๔๔๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๗ "ข าแต พ ระองค ผู เจริ ญ ! เทื อ กเขาหลวงชื่ อ หิ ม พานต นั่ น แหละ เป น สิ่ งที่

มากกว า. กรวดหิ นมี ประมาณเท าเม็ ดพั นธุ ผั กกาดเจ็ ดเม็ ดที่ ยั งเหลื ออยู มี ประมาณ น อย. กรวดหิ นนี้ เมื่ อนํ าเข าไปเที ยบกั บ เทื อกเขาหลวงชื่ อหิ ม พานต ย อมไม เข าถึ ง สวนหนึ่งในรอย สวนหนึ่งในพัน สวนหนึ่งในแสน แหงเทือกเขานั้น". …ฯลฯ… สูตรที่สิบ

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เปรี ยบเหมื อนเทื อกเขาหลวงชื่ อ หิ ม พานต . พึ งถึ ง ความสิ้ นไปหมดไป เหลื อกรวดหิ นมี ประมาณเท าเม็ ดพั นธุผั กกาดเจ็ดเม็ ด. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! พวกเธอทั้ งหลายจะสํ าคั ญความข อนั้ นวาอย างไร? เทื อกเขาหลวงชื่ อหิ มพานต ซึ่งสิ้นไปแลวหมดไปแลว เป นสิ่งที่มากวา หรือวากรวดหินมีประมาณเทาเม็ดพันธุผักกาด เจ็ดเม็ดที่ยังเหลืออยู มากกวา "ข าแต พระองค ผู เจริญ ! เทื อกเขาหลวงชื่ อหิ มพานต ซึ่ งสิ้ นไปแล วหมดไป แล วนั่ นแหละ เป นสิ่ งที่ มากกว า. กรวดหิ นมี ประมาณเท าเม็ ดพั นธุ ผั กกาดเจ็ ดเม็ ดที่ ยังเหลืออยู มี ประมาณนอย. กรวดหินนี้ เมื่อนําเขาไปเทียบกับเทือกเขาหลวงชื่อหิมพานต ซึ ้ง สิ ้น ไปแลว หมดแลว ยอ มไมเขา ถึง สว นหนึ ่ง ในรอ ย สว นหนึ ่ง ในพัน สว นหนึ ่ง ในแสน แหงเทือกเขานั้น".

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! อุ ปมานี้ ฉั นใด อุ ปไมยก็ ฉั นนั้ น : สํ าหรั บอริ ยสาวก ผูถึงพรอมดวย (สัมมา) ทิฏฐิ เปนบุคคลผูรูพรอมเฉพาะแลว, ความทุกขของทาน ส วนที่ สิ้ นไปแล ว หมดไปแล วย อมมากกวา; ความทุ กขที่ ยั งเหลื ออยู มี ประมาณน อย : เมื่ อนํ าเข าไปเที ยบกั บกองทุ กข ที่ สิ้ นไปแล ว หมดไปแล ว ในกาลก อน ย อมไม เข าถึ ง สวนหนึ่งในรอย สวนหนึ่งในพัน สวนหนึ่งในแสน; กลาวคือความสิ้นไปแหง

www.buddhadasa.info


วาดวยโทษและอานิสงสเกี่ยวกับปฏิจจฯ

๔๔๑

กองทุ กข (ของพระโสดาบั น ) ผู เป น สั ต ตั ก ขั ต ตุ ป รมะ. ดู ก อ นภิ กษุ ทั้ งหลาย! การรู พรอ มเฉพาะซึ ่ง ธรรม เปน ไปเพื ่อ ประโยชนอ ัน ใหญห ลวงอยา งนี ้ การไดเฉพาะ ซึ่งธรรมจักษุ เปนไปเพื่อประโยชนอันใหญหลวงอยางนี้ ดังนี้ แล.

ผูเสร็จกิจในปฏิจจสมุปบาท ชื่อวาผูบรรลุนิพพาน ในปจจุบัน๑ ดูกอนภิกษุ! ถาภิกษุเปนผูหลุดพ นแลว เพราะความเบื่ อหนาย เพราะ ความคลายกํ าหนั ด เพราะความดั บไม เหลื อ แห งชราและมรณะ ด วยความเป น ผู ไม ยึ ดมั่ นถื อมั่ น อยูแลวไซร, ก็เป นการสมควรเพื่ อจะเรียกภิ กษุ นั้ นวา "ภิ กษุ ผู บรรลุ แลวซึ่งนิพพานในทิฏฐธรรม" (ทิฏฐธมฺมนิพฺพานปฺปตฺโต). ดูกอนภิกษุ! ถาภิกษุเปนผูหลุดพ นแลว เพราะความเบื่อหนาย เพราะ ความคลายกําหนัด เพราะความดับไมเหลือ แหงชาติ ดวยความเปนผูไมยึดมั่นถือมั่น อยู แ ล ว ไซร , ก็ เป น การสมควรเพื่ อ จะเรี ย กภิ ก ษุ นั้ น ว า "ภิ ก ษุ ผู บ รรลุ แ ล ว ซึ่ ง นิ พ พาน ในทิฏฐรรม".

www.buddhadasa.info ดูกอนภิกษุ! ถาภิกษุเปนผูหลุดพ นแลว เพราะความเบื่อหนาย เพราะ ความคลายกําหนัด เพราะความดับไมเหลือ แหงภพ ดวยความเปนผูไมยึดมั่นถือมั่น

สูตรที่ ๖ อาหารวรรค นิทานสังยุตต นิทาน.สฺ. ๑๖/๒๒/๔๖, ตรัสแกภิกษุรูปหนึ่ง ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๔๔๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๗

อยู แล วไซร , ก็ เป นการสมควรเพื่ อจะเรี ยกภิ กษุ นั้ นว า "ภิ กษุ ผู บรรลุ แล วซึ่ งนิ พ พานใน ทิฏฐรรม" ดู ก อ นภิ ก ษุ ! ถ าภิ ก ษุ เป น ผู ห ลุ ด พ น แล ว เพราะความเบื่ อ หน า ย เพราะ ความคลายกําหนัด เพราะความดับไมเหลือ แหงอุปทาน ดวยความเปนผูไมยึดมั่น ถือ มั ่น อยู แ ลว ไซร, ก็เ ปน การสมควรเพื ่อ จะเรีย กภิก ษุนั ้น วา "ภิก ษุผู บ รรลุแ ลว ซึ่งนิพพานในทิฏฐรรม" ดูกอนภิกษุ! ถาภิกษุเปนผูหลุดพ นแลว เพราะความเบื่ อหนาย เพราะ ความคลายกําหนัด เพราะความดับไมเหลือ แหงตัณหา ดวยความเปนผูไมยึดมั่นถือมั่น อยู แ ล ว ไซร , ก็ เป น การสมควรเพื่ อ จะเรี ย กภิ ก ษุ นั้ น ว า "ภิ ก ษุ ผู บ รรลุ แ ล ว ซึ่ ง นิ พ พาน ในทิฏฐรรม" ดูก อนภิ กษุ ! ถาภิ กษุ เป นผูหลุ ดพ นแล ว เพราะความเบื่ อหน าย เพราะ ความคลายกําหนัด เพราะความดับไมเหลื อ แห งเวทนา ด วยความเป นผู ไม ยึดมั่ น ถือ มั ่น อยู แ ลว ไซร, ก็เ ปน การสมควรเพื ่อ จะเรีย กภิก ษุนั ้น วา "ภิก ษุผู บ รรลุแ ลว ซึ่งนิพพานในทิฏฐรรม"

www.buddhadasa.info ดูกอนภิกษุ! ถาภิกษุเปนผูหลุดพ นแลว เพราะความเบื่อหนาย เพราะ ความคลายกําหนัด เพราะความดับไมเหลือ แหงผัสสะ ดวยความเปนผูไมยึดมั่นถือมั่น อยู แล วไซร , ก็ เป นการสมควรเพื่ อจะเรี ยกภิ กษุ นั้ นว า "ภิ กษุ ผู บ รรลุ แล วซึ่ งนิ พ พานใน ทิฏฐรรม"

www.buddhadasa.info


วาดวยโทษและอานิสงสเกี่ยวกับปฏิจจฯ

๔๔๓

ดูกอนภิกษุ! ถาภิกษุเปนผูหลุดพนแลว เพราะความเบื่อหนาย เพราะ ความคลายกําหนัด เพราะความดับไมเหลือ แหงสฬายตนะ ดวยความเปนผูไมยึดมั่น ถือ มั ่น อยู แ ลว ไซร, ก็เปน การสมควรเพื ่อ จะเรีย กภิก ษุนั ้น วา "ภิก ษุผู บ รรลุแ ลว ซึ่งนิพพานในทิฏฐรรม" ดูกอนภิกษุ! ถาภิกษุเปนผูหลุดพนแลว เพราะความเบื่อหนาย เพราะ ความคลายกําหนัด เพราะความดับไมเหลือ แหงนามรูป ดวยความเปนผูไมยึดมั่น ถือ มั ่น อยู แ ลว ไซร, ก็เปน การสมควรเพื ่อ จะเรีย กภิก ษุนั ้น วา "ภิก ษุผู บ รรลุแ ลว ซึ่งนิพพานในทิฏฐรรม" ดูกอนภิกษุ! ถาภิกษุเปนผูหลุดพนแลว เพราะความเบื่อหนาย เพราะ ความคลายกําหนัด เพราะความดับไมเหลือ แหงวิญญาณ ดวยความเปนผูไมยึดมั่น ถือ มั ่น อยู แ ลว ไซร, ก็เปน การสมควรเพื ่อ จะเรีย กภิก ษุนั ้น วา "ภิก ษุผู บ รรลุแ ลว ซึ่งนิพพานในทิฏฐรรม"

www.buddhadasa.info ดูกอนภิกษุ! ถาภิกษุเปนผูหลุดพนแลว เพราะความเบื่อหนาย เพราะ ความคลายกําหนัด เพราะความดับไมเหลือ แหงสังขารทั้งหลาย ดวยความเปนผูไม ยึ ดมั่ นถื อมั่ น อยูแลวไซร, ก็ เป นการสมควรเพื่ อจะเรียกภิ กษุ นั้ นวา "ภิ กษุ ผู บรรลุแล ว ซึ่งนิพพานในทิฏฐรรม"

ดูกอนภิกษุ! ถาภิกษุเปนผูหลุดพนแลว เพราะความเบื่อหนาย เพราะ ความคลายกําหนัด เพราะความดับไมเหลือ แหงอวิชชา ดวยความเปนผูไมยึดมั่น ถือ มั ่น อยู แ ลว ไซร, ก็เปน การสมควรเพื ่อ จะเรีย กภิก ษุนั ้น วา "ภิก ษุผู บ รรลุแ ลว ซึ่งนิพพานในทิฏฐรรม", ดังนี้ แล.

www.buddhadasa.info


๔๔๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๗

อานิสงสสูงสุด (อนุปาทิเสสนิพพาน) ของการพิจารณาปฏิจจสมุปบาทอยางถูกวิธี๑ ครั้ ง หนึ่ ง ที่ พ ระเชตวั น พระผู มี พ ระภาคเจ า ตรั ส เรี ย กภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย ให ตั้ ง ใจฟ ง แล ว ได ต รั ส ข อ ความเหล า นี้ ว า "ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ด ว ยเหตุ เท า ไรหนอ ภิ ก ษุ เมื่ อ พิ จ ารณา

พึงพิจารณาเพื่อความสิ้นทุกขโดยชอบ โดยประการทั้งปวง?" ภิ กษุ ทั้ งหลายเหล านั้ น ได กราบทู ลวิ งวอนว า "ข าแต พ ระองค ผู เจริ ญ ! ธรรมทั้ งหลายของ พวกข าพระองค มี พระผู มี พระภาคเป นมู ล มี พระผู มี พระภาคเป นผู นํ า มี พระผู มี พระภาคเป นที่ พึ่ ง. ข าแต พระองค ผู เจริญ ! เป นการชอบแล วหนอ ขอให อรรถแห งภาษิ ตนั้ น จงแจ มแจ งกะพระผู มี พระภาคเองเถิ ด ภิกษุทั้งหลาย ไดฟงจากพระผูมีพระภาคแลว จักทรงจําไว" ดังนี้. พระผู มี พระภาเจ า ได ตรั สว า "ดู ก อ นภิ กษุ ทั้ งหลาย! ถ าอย างนั้ น เธอทั้ งหลาย

จงฟงซึ่งธรรมนั้น, จงทําในใจใหสําเร็จประโยชน, เราจักกลาวบัดนี้". ครั้ น ภิ กษุ ทั้ งหลายเหล านั้ น ทู ลสนองรั บ พระดํ ารั สนั้ นแล ว, พระผู มี พ ระภาคเจ า ได ตรั ส ถอยคําเหลานี้วา :-

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ภิ กษุ ในธรรมวิ นั ยนี้ เมื่ อพิ จารณาย อมพิ จารณาว า "ทุ กข มี อย างมิ ใช น อยนานาประการ ย อมเกิ ดขึ้ นในโลก กล าวคื อ ชรามรณะ, ใดแล; ทุ กข นี้ มี อะไรเป นเหตุ ให เกิ ด (นิทาน)? มี อะไรเป นเครื่องก อให เกิ ด (สมุ ทย)? มี อะไร เป นเครื่ องกํ าเนิ ด (ชาติ ก)? มี อะไรเป นแดนเกิ ด (ปภว) หนอ? เพราะอะไรมี ชรามรณะ จึ ง มี ; เพราะอะไรไม มี ชรามรณะจึ ง ไม มี "; ดั ง นี้ . ภิ ก ษุ นั้ น พิ จ ารณาอยู ย อ มรู ประจักษอยางนี้วา "ทุกข มีอยางมิใชนอยนานาประการ ยอมเกิดขึ้นในโลก กลาวคือ

สูตรที่ ๑ ทุกขวรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน.สฺ. ๑๖/๙๗/๑๘๘, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยโทษและอานิสงสเกี่ยวกับปฏิจจฯ

๔๔๕

ชรามรณะ ใดแล; ทุกขนี้ มีชาติเปนเหตุใหเกิด, มีชาติเปนเครื่องกอใหเกิด, มีชาติ เป น เครื่อ งกํ า เนิ ด , มี ช าติ เป น แดนเกิ ด ; เพราะชาติ มี ชรามรณะจึ งมี ; เพราะชาติ ไม มี ชรามรณะจึ ง ไม มี "; ดั ง นี้ . ภิ ก ษุ นั้ น ย อ มรู ป ระจั ก ษ ซึ่ ง ชรามรณะ ด ว ย; ย อมรูประจั กษ ซึ่ งเหตุ ให เกิ ดขึ้ น แห งชรามรณะ ด วย; ย อ มรูประจั กษ ซึ่ งความดั บ ไม เหลื อแห งชรามรณะ ด วย, ย อมรูประจั กษ ขอปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสั ตวให ลุ ถึ งซึ่ งธรรม อั นสมควรแก ความดั บไม เหลื อแห งชรามรณะ (ชรามรณนิ โรธสารุปฺ ปคามิ นี )ด วย; และ เปนผูปฏิบัติแลวอยางสมควรแกธรรม ดวย. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ภิกษุนี้ เราเรียกวา เปนผูปฏิบัติเพื่อความสิ้นทุกขโดยชอบ โดยประการทั้งปวง. กลาวคือ เพื่อความดับ ไมเหลือแหงชรามรณะ. ดูก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ขออื่นยังมี อี ก : ภิ กษุ เมื่ อพิ จารณา ย อมพิ จารณาวา "ก็ ชาติ นี้ มีอะไรเปนเหตุใหเกิด? มีอะไรเปนเครื่องกอใหเกิด? มีอะไรเปนเครื่อง กํ า เนิ ด ? มี อ ะไรเป น แดนเกิ ด ?เพราะอะไรมี ชาติ จึ ง มี ; เพราะอะไรไม มี ชาติ จึ ง ไมมี" ดังนี้. ภิกษุนั้นพิจารณาอยู ยอมรูประจักษอยางนี้วา "ชาติ มีภพเปนเหตุใหเกิด, มี ภพเป นเครื่องกอให เกิด, มี ภพเป นเครื่องกําเนิ ด, มี ภพเป นแดนเกิ ด; เพราะภพมี ชาติ จึ ง มี ; เพราะภพไม มี ชาติ จึ ง ไม มี "; ดั ง นี้ . ภิ ก ษุ นั้ น ย อ มรู ป ระจั ก ษ ซึ่ ง ชาติ ด ว ย; ย อมรูประจั กษ ซึ่ งเหตุ ให เกิ ดขึ้ นแห งชาติ ด วย; ย อมรูประจั กษ ซึ่ งความดั บไม เหลื อ แห งชาติ ด วย; ยอมรูประจักษ ซึ่งขอปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสั ตวให ลุ ถึงซึ่งธรรมอันสมควรแก ความดั บ ไม เหลื อ แห งชาติ (ชาติ นิ โรธสารุปฺ ป คามิ นี ) ด วย; และเป น ผู ป ฏิ บั ติ แ ล ว อยางสมควรแกธรรม ดวย. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ภิกษุนี้ เราเรียกวา เปนผูปฏิบัติ เพื่อความสิ้นทุกขโดยชอบ โดยประการทั้งปวง, กลาวคือ เพื่อความดับไมเหลือ แหงชาติ. ---- ---- ---- ----

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๔๔๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๗

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ข ออื่ นยั งมี อี ก : ภิ กษุ เมื่ อพิ จารณา ย อมพิ จารณาว า "ก็ ภพ นี้ มี อ ะไรเป น เหตุ ใ ห เกิ ด ?...ฯลฯ... ก็ อุ ป าทาน นี้ มี อ ะไรเป น เหตุ ใ ห เกิ ด ? ...ฯ ล ฯ ... ก็ ต ั ณ ห า นี ้ มี อ ะ ไ ร เป น เห ตุ ใ ห เ กิ ด ? ...ฯ ล ฯ ... ก็ เ ว ท น า นี้ มี อ ะไรเป น เหตุ ใ ห เกิ ด ? ...ฯลฯ... ก็ ผั ส สะ นี้ มี อ ะไรเป น เหตุ ใ ห เกิ ด ? ...ฯลฯ... ก็ ส ฬายตนะ นี้ มี อ ะไรเป น เหตุ ให เกิ ด ? ...ฯลฯ... ก็ นามรู ป นี้ มี อ ะไรเป น เหตุ ใหเกิด? ...ฯลฯ... ก็ วิญญาณ นี้ มีอะไรเปนเหตุใหเกิด? ...ฯลฯ... " ---- ---- ---- ---ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ข ออื่ นยั งมี อี ก : ภิ กษุ เมื่ อพิ จารณา ย อมพิ จารณาว า "ก็สังขารทั้งหลาย เหลานี้ มีอ ะไรเปน เหตุใหเกิด ? มีอะไรเปนเครื่องกอใหเกิด ? มี อ ะไรเป น เครื่ อ งกํ าเนิ ด ? มี อ ะไรเป น แดนเกิ ด ?เพราะอะไรมี สั งขารทั้ งหลายจึ งมี ; เพราะอะไรไม มี สั งขารทั้ งหลายจึ งไม มี " ดั งนี้ . ภิ กษุ นั้ นพิ จารณาอยู ย อมรูประจั กษ อยางนี้วา "สังขารทั้งหลาย มีอวิชชาเปนเหตุใหเกิด, มีอวิชชาเปนเครื่องกอใหเกิด, มี อวิชชาเป นเครื่องกํ าเนิ ด, มี อวิชชาเป นแดนเกิด; เพราะอวิชชามี สังขารทั้ งหลายจึงมี ; เพราะอวิชชาไม มี สั งขารทั้ งหลายจึ งไม มี "; ดั งนี้ . ภิ กษุ นั้ นย อมรูประจั กษ ซึ่ งสั งขาร ทั้ ง หลายด ว ย; ย อ มรูป ระจั ก ษ ซึ่ ง เหตุ ให เกิ ด ขึ้ น แห ง สั ง ขารด ว ย; ย อ มรู ป ระจั ก ษ ซึ่ งความดั บไม เหลื อแห งสั งขารด วย; ย อมรูประจั กษ ซึ่ งข อปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสั ตวให ลุ ถึ ง ซึ่ งธรรมอั นสมควรแก ความดั บ ไม เหลื อ แห งสั งขารด วย; และเป น ผู ป ฏิ บั ติ แล วอย าง สมควรแกธรรมดวย. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ภิกษุนี้ เราเรียกวา เปนผูปฏิบัติเพื่อ ความสิ ้น ทุก ขโดยชอบ โดยประการทั ้ง ปวง, กลา วคือ เพื ่อ ความดับ ไมเหลือ แหงสังขาร.

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


วาดวยโทษและอานิสงสเกี่ยวกับปฏิจจฯ

๔๔๗

ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย! บุรุษบุ คคลผู เขาถึงแลวซึ่งอวิชชา (อวิชฺชาคโต) ถาเขาปรุงแตงซึ่งสังขารอันเปนบุญ วิญญาณก็เขาถึงซึ่งวิบากอันเปนบุญ; ถาเขาปรุงแตง ซึ่งสั งขารอั นมิ ใชบุ ญ วิญญาณก็ เขาถึ งซึ่งวิบากอั นมิ ใชบุ ญ; ถ าเขาปรุงแต งซึ่งสั งขาร อันเปนอเนญชา วิญญาณก็เขาถึงซึ่งวิบากอันเปนอเนญชา. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! อวิชชาภิกษุละไดแลว วิชชาเกิดขึ้นแลว ในกาลใด; ในกาลนั้ น ภิ กษุ นั้ น, เพราะความสํ ารอกออกโดยไม เหลื อแห งอวิชชา เพราะการเกิ ดขึ้ น แหงวิชชา, ยอมไมปรุงแตงซึ่งอภิสังขารอันเปนบุญ; ยอมไมปรุงแตงซึ่งอภิสังขาร อันมิใชบุญ ; ยอมไมปรุงแตงซึ่งอภิสังขารอันเปนอเนญชา; เมื่อไมปรุงแตงอยู, เมื่อไมกอพรอมอยางยิ่งอยู, เธอยอมไมถือมั่นสิ่งไร ๆ ในโลก; เมื่อไมถือมั่นอยู, เธอย อ ม ไม ส ดุ งหวาดเสี ย ว; เมื่ อ ไม ส ะดุ งหวาดเสี ย วอยู , เธอย อ ม ปริ นิ พ พาน เฉพาะตน นั่นเที ยว. เธอยอมรูประจักษ วา "ชาติสิ้นแลว, พรหมจรรยอันเราอยูจบแลว, กิจที่ควรทํา ไดทําเสร็จแลว, กิจอื่นเพื่อความเปนอยางนี้ มิไดมีอีก" ดังนี้. ภิ กษุ นั้ น ถ าเสวยสุ ขเวทนา ก็ รูประจั กษ ว า "เวทนานั้ น ไม เที่ ยง อั นเราไม สยบมัวเมาแลว อันเราไมเพลิดเพลินเฉพาะแลว" ดังนี้. ถาเสวยอทุกขมสุขเวทนา ก็รูประจักษ วา "เวทนานั้ น ไม เที่ ยง อั นเราไม สยบมั วเมาแล ว อั นเราไม เพลิ ดเพลิ นเฉพาะแล ว" ดั งนี้ . ถ าเสวยอทุ กขมสุ ขเวทนา ก็ รูประจั กษ ว า “เวทนานั้ น ไม เที่ ยง อั นเเราไม สยบมั วเมาแล ว อั นเราไม เพลิ ดเพลิ นเฉพาะแล ว” ดั งนี้ . ภิ กษุ นั้ น ถ าเสวยสุ ขเวทนา ก็ เป นผู ปราศจาก กิ เลสเครื่องรอยรัดแล ว เสวยเวทนานั้ น; ถ าเสวยทุ กขเวทนา ก็ เป นผู ปราศจากกิ เลส เครื่ องร อยรั ดแล ว เสวยเวทนานั้ น ถ าเสวยอทุ กขมสุ ขเวทนา ก็ เป นผู ปราศจากกิ เลส เครื่องรอยรัดแลว เสวยเวทนานั้น.

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๔๔๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๗

ภิ กษุ นั้ น เมื่ อเสวยเวทนาอั นมี กายเป นที่ สุ ดรอบ ย อมรู ประจั กษ ว า "เราเสวย เวทนาอั น มี ก ายเป น ที่ สุ ด รอบ" ดั งนี้ . เมื่ อ เธอนั้ น เสวยเวทนาอั น มี ชี วิ ต เป น ที่ สุ ด รอบ ย อ มรู ป ระจั ก ษ ว า "เราเสวยเวทนาอั น มี ชี วิ ต เป น ที่ สุ ด รอบ" ดั ง นี้ . ภิ ก ษุ นั้ น ย อ มรู ประจักษวา "เวทนาทั้งหลายทั้งปวง อันเราไมเพลิดเพลินเฉพาะแลว จักเปนของ เย็น ในอัตตภาพนี้เอง; สรีระทั้งหลายจักเหลืออยู; จนกระทั่งถึงที่สุดรอบแหงชีวิต เพราะการแตกทําลายแหงกาย". ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เปรียบเหมื อนบุ รุษยกหม อที่ ยั งรอนออกจากเตาเผาหม อ วางไว ที่ พื้ นดิ นอั นเรี ยบ ไออุ นที่ หม อนั้ นพึ งระงั บหายไป ในที่ นั้ นเอง กระเบื้ องทั้ งหลาย ก็ เ หลื อ อยู , นี้ ฉั น ใด; ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ภิ ก ษุ ใ นกรณี นี้ ก็ ฉั น นั้ น เหมื อ นกั น กล าวคื อ เมื่ อเสวยเวทนาอั นมี กายเป นที่ สุ ดรอบ ย อมรูประจั กษ วา "เราเสวยเวทนาอั นมี กายเป นที่ สุ ดรอบ" ดั งนี้ . เมื่ อเธอนั้ น เสวยเวทนาอั นมี ชี วิ ตเป นที่ สุ ดรอบ ย อมรูประจั กษ ว า "เราเสวยเวทนาอั นมี ชี วิ ตเป นที่ สุ ดรอบ" ดั งนี้ . ภิ กษุ นั้ น ย อมรู ประจั กษ ว า "เวทนา ทั้งหลายทั้งปวง อันเราไมเพลิดเพลินเฉพาะแลว จักเปนของเย็นในอัตตภาพ นี้เอง; สรีระทั้งหลายจัก เหลืออยู; จนกระทั่งถึงที่สุดรองแหงชีวิต เพราะการแตก ทําลายแหงกาย" ดังนี้.

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เธอทั้ งหลาย จะสํ าคั ญ ความข อนั้ นว าอย างไร; คื อ ภิกษุผูขีณาสพ พึงปรุงแตงปุ ญญาภิสังขาร, หรือวา พึงปรุงแตงอปุญญาภิสังขาร, หรือวา ถึงปรุงแตงอเนญชาภิสังขาร, บางหรือหนอ? "ไมเปนอยางนั้น พระเจาขา!"

www.buddhadasa.info


วาดวยโทษและอานิสงสเกี่ยวกับปฏิจจฯ

๔๔๙

เมื่ อสั งขารทั้ งหลาย ไม มี , เพราะความดั บแห งสั งขาร โดยประการทั้ งปวง, วิญญาณพึงปรากฏ บางหรือหนอ? "ไมเปนอยางนั้น พระเจาขา!" เมื่ อวิญญาณ ไม มี , เพราะความดั บแห งสั งขาร โดยประการทั้ งปวง, นามรูป พึงปรากฏ บางหรือหนอ? "ไมเปนอยางนั้น พระเจาขา!" เมื่ อนามรูป ไม มี , เพราะความดั บแห งนามรูป โดยประการทั้ งปวง, สฬายตนะ พึงปรากฏ บางหรือหนอ? "ไมเปนอยางนั้น พระเจาขา!"

www.buddhadasa.info เมื่ อสฬายตนะ ไม มี , เพราะความดั บแห งสฬายตนะ โดยประการทั้ งปวง, ผัสสะพึงปรากฏ บางหรือหนอ? "ไมเปนอยางนั้น พระเจาขา!"

เมื่ อผั สสะ ไม มี , เพราะความดั บแห งผั สสะ โดยประการทั้ งปวง, เวทนา พึงปรากฏ บางหรือหนอ? "ไมเปนอยางนั้น พระเจาขา!"

www.buddhadasa.info


๔๕๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๗

เมื่ อเวทนา ไม มี , เพราะความดั บแห งเวทนา โดยประการทั้ งปวง, ตั ณ หา พึงปรากฏ บางหรือหนอ? "ไมเปนอยางนั้น พระเจาขา!" เมื่ อตั ณหา ไม มี , เพราะความดั บแห งตั ณหา โดยประการทั้ งปวง, อุ ปาทาน พึงปรากฏ บางหรือหนอ? "ไมเปนอยางนั้น พระเจาขา!" เมื่ ออุ ปาทาน ไม มี , เพราะความดั บแห งอุ ปาทาน โดยประการทั้ งปวง, ภพ พึงปรากฏ บางหรือหนอ? "ไมเปนอยางนั้น พระเจาขา!"

www.buddhadasa.info เมื่ อภพ ไม มี , เพราะความดั บแห งภพ โดยประการทั้ งปวง, ชาติ พึ งปรากฏ บางหรือหนอ? "ไมเปนอยางนั้น พระเจาขา!"

เมื่ อชาติ ไม มี , เพราะความดั บแห งชาติ โดยประการทั้ งปวง, ชรามรณะ พึงปรากฏ บางหรือหนอ? "ไมเปนอยางนั้น พระเจาขา!"

www.buddhadasa.info


วาดวยโทษและอานิสงสเกี่ยวกับปฏิจจฯ

๔๕๑

ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ถู ก แล ว ถู ก แล ว . ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! เธอ ทั้ ง หลาย จงสํ า คั ญ จงเชื่ อ ซึ่ ง ข อ นั้ น ไว อ ย า งนั้ น เถิ ด . ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! เธอ ทั้ งหลาย จงปลงซึ่ งความเชื่ อ ในข อ นั้ น อย างนั้ น เถิ ด ; จงเป น ผู ห มดความเคลื อ บ แคลงสงสัยในขอนั้นเถิด; นั่นแหละที่สุดแหงทุกขละ, ดังนี้ แล.

อุปปริกขีในปฏิจจสมุปบาท เปนอุดมบุรุษ๑ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ ภิ กษุ เป นผู พิ จารณาใครครวญธรรมโดยวิ ธี ๓ ประการ เปนอยางไรเลา? ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ภิ กษุ ในกรณี นี้ ย อมพิ จารณาใคร ครวญธรรม โดย ความเป นธาตุ , ย อมพิ จารณาใคร ครวญธรรม โดยความเป นอายตนะ, ย อมพิ จารณา ใคร ครวญธรรม โดยความเป น ปฏิ จ จสมุ ป บาท. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ภิ ก ษุ เป น ผู พิจารณาใครครวญธรรมโดยวิธี ๓ ประการ อยางนี้แล.

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ภิ กษุ เป นผู ฉลาดในฐานะ ๗ ประการ๒ (ของขั นธ ทั้งหา) เปนผูพิจารณาใครครวญธรรมโดยวิธี ๓ ประการ เราเรียกวาภิกษุผู เกพลี อยูจบพรหมจรรย เปนอุดมบุรุษ ในธรรมวินัยนี้.

๑ ๒

สูตรที่ ๕ อุปายวรรค ขนฺธ.สํ. ๑๗/๘๐/๑๒๔, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน. ฐานะ ๗ ประการ คื อ รู ป เวทนา สั ญ ญา สั งขาร และวิ ญ ญาณ ๑, สมุ ทั ยแห งรู ปเป นต น ๑, นิ โรธแห ง รูปเป นต น ๑, นิ โรธคามิ นี ปฏิ ปทาแห งรูปเป นต น ๑, อั สสาทะแห งรูปเป นต น ๑, อาที นวะแห งรู ปเป นต น ๑, นิ ส สรณะแห ง รู ป เป น ต น ๑. ส ว นรายละเอี ย ดพึ ง ตรวจดู ใ นหั ว ข อ ว า "การพิ จ ารณาสภาวธรรม ตามวิธีปฏิจจสมุปบาทกระทั่งวาระสุดทาย" ซึ่งอยูที่หนา ๓๓๗ แหงหนังสือเลมนี้.

www.buddhadasa.info


๔๕๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๗ หมายเหตุ ผู ร วบรวม : ผู ศึ ก ษาพึ ง สั ง เกตให เห็ น ว า มี คํ า แปลกพิ เศษอยู คํ าหนึ่ ง คื อคํ าว า "เกพลี ". คํ านี้ ถ าเป นในศาสนาอื่ นบางศาสนา หมายถึ งผู บรรลุ ไกวั ลย ห รือ ปรมาตมั น อั นเป นจุ ดหมายปลายทางของการประพฤติ พ รหมจรรย แห งศาสนานั้ น ๆ. ในที่ นี้ เข าใจวาเล็ งถึ งการบรรลุ นิ พพานอั นเที ยบกั นได กั บ ไกรวัลย หรือปรมาตมั นนั่ นเอง คงจะไม ใช เป น เพี ย งคํ า วิ เ สสนะ ที่ เคยแปลกั น ว า ทั้ ง สิ้ น สิ้ น เชิ ง ล ว น หรื อ อย า งเดี ย ว ตามแบบ เรียนไวยากรณ.

บัณฑิต คือผูฉลาดในปฏิจจสมุปบาท๑ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ภั ยทั้ งหลาย ใด ๆ ก็ ตาม ที่ จะเกิ ดขึ้ น, ทั้ งหมดนั้ น ยอมเกิดขึ้นจากคนพาล; ยอม ไมเกิดขึ้นจากบัณฑิต. อุ ป ททวะทั้ งหลาย ใด ๆ ก็ ตาม ที่ จะเกิ ดขึ้น, ทั้ งหมดนั้ น ย อมเกิ ดขึ้ น จากคนพาล; ยอม ไมเกิดขึ้นจากบัณฑิต. อุ ป สรรคทั้ งหลาย ใด ๆ ก็ ตาม ที่ จะเกิ ดขึ้ น, ทั้ งหมดนั้ น ย อมเกิ ดขึ้ น จากคนพาล; ยอม ไมเกิดขึ้นจากบัณฑิต.

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เปรียบเหมื อนไฟอั นลุ กโพลงขึ้ นแล วจากเรือนอั นทํ า ดวยไมออหรือดวยหญ าก็ตาม ยอมจะไหมไดแมกระทั่งเรือนยอดที่มีปูนอันฉาบแลวทั้งขึ้น และลง มี เครื่องยึดประตูอันแน นหนา มี ชองประตูและหน าตางอันป ดสนิท, ขอนี้ ฉันใด; ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ขอนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน คือ ภัยทั้งหลายใด ๆ ก็ตาม ที่จะเกิดขึ้น,

พหุธาตุกสูตร อนุปทวรรค อุปริ.ม. ๑๔/๑๖๖, ๑๖๙/๒๓๕, ๒๔๔, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยโทษและอานิสงสเกี่ยวกับปฏิจจฯ

๔๕๓

ทั้ งหมดนั้ น ย อมเกิ ดขึ้ นจากคนพาล; ย อมไม เกิ ดขึ้ นจากบั ณฑิ ต. อุ ป ททวะทั้ งหลายใด ๆ ก็ ตาม ที่ จะเกิ ดขึ้ น, ทั้ งหมดนั้ น ย อมเกิ ดขึ้ นจากคนพาล; ย อมไม เกิ ดขึ้ นจากบั ณ ฑิ ต. อุ ปสรรคทั้ งหลายใด ๆ ก็ ตาม ที่ จะเกิ ดขึ้ น, ทั้ งหมดนั้ น ย อมเกิ ดขึ้ นจากคนพาล; ย อม ไมเกิดขึ้นจากบัณฑิต. ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย! เพราะเหตุนี้แหละ คนพาลจึงชื่อวา ผูมี ภั ยเฉพาะหน า, บัณฑิตจึงชื่อวา ผูไมมีภัยเฉพาะหนา; คนพาลจึงชื่อวา ผูมีอุปททวะ, บัณฑิตจึงชื่อวา ผูไมมีอุปททวะ; คนพาลจึงชื่อวา ผูมีอุปสรรค, บัณฑิตจึงชื่อวา ผูไมมีอุปสรรค. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ภั ยย อมไม มี จากบั ณฑิ ต; อุ ป ททวะย อมไม มี จากบั ณฑิ ต; อุ ป สรรค ย อมไม มี จากบั ณ ฑิ ต. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะเหตุ นั้ น ในเรื่ องนี้ พวก เธอทั้งหลาย พึงทําในใจวา "เราทั้งหลาย จักเปนบัณฑิ ต", ดังนี้. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! พวกเธอทั้งหลาย พึงสําเหนียกไวอยางนี้ แล. ครั้ นพระผู มี พระภาคเจ า ตรัสพระพุ ทธวจนะนี้ จบลงแล ว. พระอานนท ได ทู ลถามว า คนจะเป น วี มั งสกบั ณ ฑิ ต (บั ณ ฑิ ตผู ประกอบไปด วยป ญ ญาเป นเครื่ องพิ จารณา) ได ด วยเหตุ เท าไร? ได ตรั สตอบว า ด วยเหตุ ๔ ประการ คื อ เป น ผู ฉ ลาดในธาตุ ด ว ย เป น ผู ฉ ลาดในอายตนะด วย ในปฏิ จ จสมุ ป บาทด ว ย ในฐานะและอฐานะด วย. สํ าหรั บ ความเป น ผู ฉลาดในปฏิ จจสมุ ป บาทนั้ น พระอานนท ได ทู ลถามสื บ ไป ดังนี้วา :-

www.buddhadasa.info "ข าแต พระองค ผู เจริ ญ ! ภิ กษุ ควรจะได นามว า ผู ฉลาดในปฏิ จจสมุ ปบาท

ดวยเหตุเพียงเทาไร พระเจาขา?" ดู ก อนอานนท ! ภิ กษุ ในกรณี นี้ ย อมรู อย างนี้ ว า "เพราะสิ่ งนี้ มี , สิ่ งนี้ จึ งมี ; เพราะความเกิ ด ขึ้ น แห ง สิ่ ง นี้ , สิ่ ง นี้ จึ ง เกิ ด ขึ้ น ; เพราะสิ่ ง นี้ ไ ม มี , สิ่ ง นี้ จึ ง ไม มี ; เพราะความดับไปแหงสิ่งนี้, สิ่งนี้จึงดับไป : ขอนี้ไดแกสิ่งเหลานี้คือ :-

www.buddhadasa.info


๔๕๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๗

เพราะมีอวิชชาเปนปจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย; เพราะมีสังขารเปนปจจัย จึงมีวิญญาณ; เพราะมีวิญญาณเปนปจจัย จึงมีนามรูป; เพราะมีนามรูปเปนปจจัย จึงมีสฬายตนะ; เพราะมีสฬายตนะเปนปจจัย จึงมีผัสสะ; เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมีเวทนา; เพราะมีเวทนาเปนปจจัย จึงมีตัณหา; เพราะมีตัณหาเปนปจจัย จึงมีอุปาทาน; เพราะมีอุปาทานเปนปจจัย จึงมีภพ; เพราะมีภพเปนปจจัย จึงมีชาติ; เพราะมี ชาติ เป น ป จจั ย, ชรามรณะ โสกะเทวะทุ กขะโทมนั สอุ ป ายาส ทั้ งหลาย จึ งเกิ ดขึ้ นครบถ วน : ความเกิ ดขึ้ นพรอมแห งกองทุ กข ทั้ งสิ้ นนี้ ย อมมี ด วยอาการ อยางนี้. เพราะความจางคลายดับไปโดยไมเหลือแหงอวิชชานั้นนั่นเทียว, จึงมี ความดับแหงสังขาร; เพราะความดับแหงสังขาร จึงมีความดับแหงวิญญาณ; เพราะความดับแหงวิญญาณ จึงมีความดับแหงนามรูป; เพราะความดับแหงนามรูป จึงมีความดับแหงสฬายตนะ; เพราะความดับแหงสฬายตนะ จึงมีความดับแหงผัสสะ; เพราะความดับแหงผัสสะ จึงมีความดับแหงเวทนา; เพราะความดับแหงเวทนา จึงมีความดับแหงตัณหา;

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


วาดวยโทษและอานิสงสเกี่ยวกับปฏิจจฯ

๔๕๕

เพราะความดับแหงตัณหา จึงมีความดับแหงอุปาทาน; เพราะความดับแหงอุปาทาน จึงมีความดับแหงภพ; เพราะความดับแหงภพ จึงมีความดับแหงชาติ; เพราะความดับแหงชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขโทมนัส อุปายาสทั้งหลายจึงดับสิ้น : ความดับลงแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้", ดังนี้. ดู ก อนอานนท ! ด วยเหตุ เพี ยงเท านี้ แล ภิ กษุ ควรจะได นามว า ผู ฉลาดใน ปฏิจจสมุปบาท. หมายเหตุ ผู ร วบรวม : ผู ศึ ก ษาพึ งสั งเกตให เห็ น ว า ความเป น บั ณ ฑิ ต นั้ น เป นได เพราะเหตุ อย างใดอย างหนึ่ งใน ๔ อย าง หมายความว า ทั้ ง ๔ อย างนั้ น แม ต างกั น แต ล ะอย างทางตั วหนั งสื อ แต โดยเนื้ อแท แ ล ว ยั งแทนกั น ได เพราะฉลาดในธาตุ ก็ คื อ รูธ าตุ ทั้ งหลายอั น เป น ที่ ตั้ งแห งปฏิ จ จสมุ ป บาท ทั้ งฝ ายสุ ม ทยวารและนิ โรธวาร, (ดั งที่ ได กล าวไว ใน หัว ขอ ที ่ว า "แดนเกิ ด ดั บ แห ง ทุ ก ข - โรค-ชราม รณ ะ "แหง ห ม วดที ่ ๕ เปน ตน ) นั่ น เอง; การฉลาดในอายตนะ ก็ คื อ ฉลาดในการระวั งไม ให เกิ ด "อวิ ชชาสั ม ผั ส " เพราะการ กระทบทางอายตนะ, (ดั งที่ ก ล า วไว ในหั ว ข อ ที่ ว า "ป ญ จุ ป าทานขั น ธ ไม อ าจจะเกิ ด เมื่ อ รู เ ท า ทั น เวทนาในปฏิ จ จสมุ ป บาท" แห ง หมวดที่ ๖ เป น ต น ); ยิ่ ง การฉลาดในฐานะ และอฐานะด วยแล ว, ยิ่ งหมายถึ งฉลาดในปฏิ จจสมุ ปบาท ในฐานะที่ เป นทางเกิ ดทุ กข และ ทางดับ ทุก ข โดยตรง. (ดัง ที ่ก ลา วไวใ นหัว ขอ ที ่ว า "การพิจ ารณ าปจ จัย ในภายใน คือ การพิจ ารณ าปฏิจ จสมุป บาท" แหง หมวดที ่ ๖ เปน ตน ) อีก นั ่น เอง; ดัง นั ้น แม พระองค จ ะทรงใช คํ า ปริ กั ป ป ว า "ด ว ย" แทนที่ จ ะใช คํ า ว า "หรื อ " ในเมื่ อ ตรั ส ถึ ง คุ ณ ธรรม ๔ ประการ ที่ ทํ า ความเป น วี มั ง สกบั ณ ฑิ ต , ในตอนต น ของเรื่ อ งนี้ ; ก็ ย อ มหมายความว า รูอยางเดียวยอมรูทั้ง ๔ อยาง.

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๔๕๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๗ สํ าหรับ "ความเป นผู ฉลาดในปฏิ จจสมุ ปบาท" เท าที่ ตรัสไว ในที่ นี้ , เรียกได วาตรั ส ไวแ ตห ัว ขอ . ในความพิส ดาร ยอ มมีโ ดยนัย ตา ง ๆ ดัง ที ่ไ ดร วบรวมมาไวทั ้ง หมดแลว ในหนัง สือ เลม นี ้. ยิ ่ง ในอภิธ ัม มปฏก (ธัม มสัง คณี ๓๔/๓๓_/๘๕๗) ดว ยแลว อธิบ าย คํ า ว า "ปฏิ จฺ จ สมุ ปฺ ป าทกุ ส ลตา" ไว สั้ น นิ ด เดี ย ว, คื อ ไม มี ก ล าวถึ งนิ โรธวาร, และไม มี คํ า นํ า ซึ่ งเป น หั วใจของปฏิ จ จสมุ ป บาท ที่ เรี ยกว ากฏอิ ทั ป ป จจยตา ว า "อิ ติ อิ ม สฺ มึ สติ อิ ทํ โหติ ...ฯลฯ... อิมสฺส นิโรธา อิทฺ นิรุชฺฌติ" เลย.

หมวดที่เจ็ด จบ ------------

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


หมวด ๘ วาดวย ปฏิจจสมุปบาท เกี่ยวกับ ความเปนพระพุทธเจา

www.buddhadasa.info ๔๕๗

www.buddhadasa.info


www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


กฎอิทัปปจจยตา : หัวในปฏิจจสมุปบาท. ………………………... อิมสฺมึ สติ อิทํ โหติ เมื่อสิ่งนี้ มี สิ่งนี้ ยอมมี อิมสฺสุปฺ ปาทา อิทํ อุปฺปชฺชติ เพราะความเกิดขึ้นแหงสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น อิมสมึ อสติ อิทํ น โหติ เมื่อสิ่งนี้ ไมมี สิ่งนี้ ยอมไมมี อิมสฺส นิโรธา อิทํ นิรุชฺฌติ เพราะความดับไปแหงสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงดับไป (ม.ม.๑๓/๓๕๕/๓๗๑, นิทาน.สํ.๑๖/๘๔/๑๕๔,...)

www.buddhadasa.info

๔๕๙

www.buddhadasa.info


ลําดับเรื่องเฉพาะหมวด สําหรับปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ หมวดที่ ๘ วาดวยปฏิจจสมุปบาทเกี่ยวกับความเปนพระพุทธเจา (มี ๘ เรื่อง) มีเรื่อง : ทรงเดินตามรอยพระพุทธเจาองคกอนๆ -- การคิดคนปฏิจจสมุปบาท กอ นการตรัส รู -- การคิด คน ปฏิจ จสมุป บาทของพระพุท ธเจา ในอดีต ๖ พระองค --ทรงบันลือสีหนาทเพราะทรงรูปจจัยแหงความเกิดและความดับ -- ทรงพยากรณแตอริยญายธรรมเทา นั้น – ทรงชัก ชวนวิงวอนเหลือ ประมาณในความเพีย รเพื่อ กิจ เกี่ย วกับ ปฏิจจสมุปบาท -- ทรงแสดงธรรมเนื่องดวยปฏิจจสมุปบาทมีความงามเบื้องตน-ทามกลาง -เบื้องปลาย -- ศาสดาและสาวกยอมมีความเห็นตรงกันในเรื่องปฏิจจสมุปบาท.

www.buddhadasa.info

๔๖๐

www.buddhadasa.info


ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ

หมวดที่ ๘ วาดวย ปฏิจจสมุปบาท เกีย่ วกับความเปนพระพุทธเจา --------------ทรงเดินตามรอย แหงพระพุทธเจาองคกอนๆ (ในกรณีของการคนเรื่องปฏิจจสมุปบาท)๑ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ครั้งกอนแตการตรัสรู เมื่อเรายังไมไดตรัสรู ยังเปน โพธิสัตวอยู, ความปริวิตกอันนี้ไดเกิดขึ้นแกเราวา "สัตวโลกนี้หนอ ถึงแลวซึ่งความ ยากเข็ญ ยอมเกิด ยอมแก ยอมตาย ยอมจุติ และยอมอุบัติ, ก็เมื่อสัตวโลกไมรูจัก อุบายเครื่องออกไปพนจากทุกข คือชรามรณะแลว การออกจากทุกขคือชรามรณะนี้ จักปรากฏขึ้นไดอยางไร?"

www.buddhadasa.info

สูตรที่ ๕ มหาวรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน.สํ. ๑๖/๑๒๖/๒๕๐, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

๔๖๑

www.buddhadasa.info


๔๖๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๘

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ความฉงนนี้ ได เกิ ดขึ้ นแก เราว า "เมื่ ออะไรมี อยู หนอ ชรามรณะ จึงไดมี : เพราะมีอะไรเปนปจจัย จึงมีชรามรณะ" ดังนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ความรู แจ งอย างยิ่ งด วยป ญญา เพราะการทํ าในใจโดย แยบคาย ได เกิ ดขึ้ นแก เราว า "เพราะชาติ นั่ นแล มี อยู ชรามรณะ จึ งได มี : เพราะมี ชาติเปนปจจัย จึงมีชรามรณะ" ดังนี้. …๑เพราะภพนั่ น แล มี อ ยู ชาติ จึ ง ได มี : เพราะมี ภ พเป น ป จ จั ย จึ ง มี ชาติ" ดังนี้. ...เพราะอุ ป าทานนั่ นแล มี อยู ภพ จึ งได มี : เพราะมี อุ ปาทานเป นป จจั ย จึงมีภพ" ดังนี้. ...เพราะตั ณ หานั่ นแล มี อยู อุ ปาทาน จึ งได มี : เพราะมี ตั ณ หาเป นป จจั ย จึงมีอุปาทาน" ดังนี้.

www.buddhadasa.info ...เพราะเวทนานั่ น แล มี อ ยู ตั ณ หา จึ งได มี : เพราะมี เวทนาเป น ป จจั ย จึงมีตัณหา" ดังนี้.

...เพราะผั ส สะนั่ น แล มี อ ยู เวทนา จึ ง ได มี : เพราะมี ผั ส สะเป น ป จ จั ย จึงมีเวทนา" ดังนี้.

ความข อตามที่ ละ...ไว นั้ น หมายความว า ได มี ความฉงนเกิ ดขึ้ น ทุ ก ๆ ตอน แล วทรงทํ าในใจโดยแยบ คาย จนความรูแจ งเกิ ด ขึ้ น ทุ ก ๆ ตอนเป น ลํ าดั บ ไป จนถึ งที่ สุ ด ทั้ งฝ ายสมุ ท ยวารและนิ โรธวาร; ในที่ นี้ละไวโดยนัยะที่ผูอานอาจจะเขาใจเอาเองได; เปนการตัดความรําคาญในการอาน.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ กับความเปนพระพุทธเจา

๔๖๓

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๔๖๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๘

ทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถวน : ความเกิดขึ้นพรอมแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมีดวย อาการอยางนี้". ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ดวงตา เกิ ด ขึ้ น แล ว ญาณ เกิ ด ขึ้ น แล ว ป ญ ญา เกิ ดขึ้ นแล ว วิ ชชา เกิ ดขึ้ นแล ว แสงสว าง เกิ ดขึ้ นแล ว แก เรา ในธรรมทั้ งหลายที่ เรา ไม เคยฟ งมาแต ก อนว า "ความเกิ ดขึ้ นพร อม (สมุ ทโย)! ความเกิ ดขึ้ นพร อม (สมุ ทโย)!" ดังนี้ . (ปฏิปกขนัย)

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ความฉงนนี้ ได เกิ ดขึ้ นแก เราต อไปว า "เมื่ ออะไรไม มี หนอ ชรามรณะ จึ งไม มี : เพราะความดั บ แห งอะไร จึ งมี ค วามดั บ แห งชรามรณะ" ดังนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ความรู แจ งอย างยิ่ งด วยป ญญา เพราะการทํ าในใจโดย แยบคาย ได เกิ ด ขึ้ น แก เราว า "เพราะ ชาติ นั่ น แล ไม มี ชรามรณะจึ งไม มี : เพราะ ความดับแหงชาติ จึงมีความดับแหงชรามรณะ" ดังนี้.

www.buddhadasa.info ....เพราะภพนั่ น แล ไม มี ชาติ จึ งไม มี : เพราะความดั บ แห ง ภพ จึ ง มี ความดับแหงชาติ" ดังนี้.

....เพราะอุ ป าทานนั่ น แล ไม มี ภพ จึ ง ไม มี : เพราะความดั บ แห ง อุปาทาน จึงมีความดับแหงภพ" ดังนี้. ....เพราะตั ณ หานั่ น แล ไม มี อุ ป าทาน จึ ง ไม มี : เพราะความดั บ แห ง ตัณหา จึงมีความดับแหงอุปทาน" ดังนี้.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ กับความเปนพระพุทธเจา

๔๖๕

....เพราะเวทนานั่ น แล ไม มี ตั ณ หา จึ ง ไม มี : เพราะความดั บ แห ง เวทนา จึงมีความดับแหงตัณหา" ดังนี้. ....เพราะผั สสะนั่ นแล ไม มี เวทนา จึ งไม มี : เพราะความดั บแห งผั สสะ จึงมีความดับแหงเวทนา" ดังนี้. ....เพราะสฬายตนะนั่ นแล ไม มี ผั สสะ จึ งไม มี : เพราะความดั บแห ง สฬายตนะ จึงมีความดับแหงผัสสะ" ดังนี้. ....เพราะนามรู ป นั่ น แล ไม มี สฬายตนะ จึ งไม มี : เพราะความดั บแห ง นามรูป จึงมีความดับแหงสฬายตนะ" ดังนี้. ....เพราะวิ ญ ญาณนั่ น แล ไม มี นามรู ป จึ งไม มี : เพราะความดั บ แห ง วิญญาณ จึงมีความดับแหงวิญญาณ" ดังนี้.

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ความฉงนนี้ ได เกิ ดขึ้ นแก เราว า "เมื่ ออะไรไม มี หนอ วิญญาณ จึงไมมี :เพราะความดับแหงอะไร จึงมีความดับแหงวิญญาณ" ดังนี้

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ความรูแจ งอย างยิ่ งด วยป ญญา เพราะการทํ าในใจโดย แยบคาย ได เกิ ดขึ้ นแก เราวา "เพราะนามรูปนั่ นแล ไม มี วิญญาณ จึงไม มี : เพราะ ความดับแหงนามรูป จึงมีความดับแหงวิญญาณ" ดังนี้ ดูก อ นภิก ษุทั ้ง หลาย! ความรู แ จง นี ้ไ ดเ กิด ขึ ้น แกเ ราวา "หนทาง เพื่อ การตรัส รูนี้ อัน เราไดถึงทับ แลว แล : ไดแกสิ่งเหลานี้คือ เพราะความดับ แหงนามรูป จึงมีความดับแหงวิญญาณ; เพราะมีความดับแหงวิญญาณ จึงมีความดับแหง

www.buddhadasa.info


๔๖๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๘

นามรูป; เพราะมี ความดั บแห งนามรูป จึ งมี ความดั บแห งสฬายตนะ; เพราะมี ความดั บ แหงสฬายตนะ จึงมีความดับแหงผัสสะ; เพราะมีความดับแหงผัสสะ จึงมีความดับแหง เวทนา; เพราะมี ความดั บแห งเวทนา จึ งมี ความดั บแห งตั ณหา; เพราะมี ความดั บแห ง ตั ณ หา จึ งมี ค วามดั บ แห งอุ ป าทาน; เพราะมี ค วามดั บ แห งอุ ป าทาน จึ งมี ค วามดั บ แห งภพ; เพราะมี ความดั บแห งภพ จึ งมี ความดั บแห งชาติ ; เพราะมี ความดั บแห งชาติ นั่ นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึงดั บสิ้น : ความดั บลง แหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมีดวยอาการอยางนี้". ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ดวงตา เกิ ดขึ้นแล ว ญาณ เกิ ดขึ้นแล ว ป ญหา เกิ ด ขึ้นแล ว วิชชา เกิ ดขึ้นแล ว แสงสวาง เกิ ดขึ้ นแลว แกเรา ในธรรมทั้ งหลายที่ เราไม เคยฟงมาแตกอน วา "ความดับไมเหลือ (นิโรโธ)! ความดับไมเหลือ (นิโรโธ)!" ดังนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เปรียบเหมื อนบุ รุษเที่ ยวไปในป าทึ บ เกิ ดพบรอยทาง ซึ่งเคยเปนหนทางเกา ที่มนุษยแตกาลกอนเคยใชเดินแลว. บุรุษนั้น จึงเดินตามทางนั้นไป เมื่ อเดิ นไปตามทางนั้ นอยู ได พบทรากนครซึ่ งเป นราชธานี โบราณ อั นมนุ ษย ทั้ งหลาย แตกาลกอนเคยอยูอาศัยแลว เปนที่อันสมบูรณ ดวยสวน สมบูรณ ดวยปาไม สมบูรณ ดวย สระโบกขรณี มีทรากกําแพงลอม มีภูมิภาคน ารื่นรมย. ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย! ลําดับนั้ น บุ รุษนั้ นเข าไปกราบทู ลแจ งข าวนี้ แก พระราชา หรือแก มหาอํ ามาตย ของพระราชาว า "ขอท าวพระกรุณาจงทรงทราบเถิ ด : ขาพระเจ าเมื่ อเที่ ยวไปในป าทึ บ ได เห็ นรอยทางซึ่ ง เคยเป นหนทางเก า ที่ มนุ ษย แต กาลก อนเคยใชเดิ นแล ว ขาพระเจาได เดิ นตามทางนั้ นไป, เมื่ อเดิ นไปตามทางนั้ นอยู , ได พบทรากนครซึ่ งเป นราชธานี โบราณ อั นมนุ ษย ทั้ งหลายแต กาลกอนเคยอยูอาศั ยแลว เป นที่ อันสมบู รณ ดวยสวน สมบู รณ ด วยป าไม สมบู รณ ดวย สระโบกขรณี มีทรากกําแพงลอม มีภูมิภาคนารื่นรมย. ขอพระองคจงปรับปรุงสถานที่นั้น ใหเปนนครเถิด พระเจาขา!" ดังนี้.

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ กับความเปนพระพุทธเจา

๔๖๗

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ลํ าดั บนั้ น พระราชาหรือมหาอํ ามาตย ของพระราชานั้ น จึงตบแตงสถานที่นั้นขึ้นเป นนคร. สมั ยตอมา นครนั้นไดกลายเปนนครที่มั่งคั่งและรุงเรือง มี ป ระชาชนมาก เกลื่ อ นกล น ด ว ยมนุ ษ ย ถึ ง แล ว ซึ่ ง ความเจริ ญ ไพบู ล ย , นี้ ฉั น ใด; ดูก อ นภิก ษุทั ้ง หลาย! ขอ นี ้ก ็ฉ ัน นั ้น : เราไดเห็น แลว ซึ ่ง รอยทางเกา ที ่เคยเปน หนทางเกา อันพระสัมมาสัมพุทธเจาทั้งหลายในกาลกอนเคยทรงดําเนินแลว. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ รอยทางเก า ที่ เคยเป นหนทางเก า อั นพระสั มมา สัมพุ ทธเจาทั้ งหลายในกาลก อนเคยทรงดํ าเนิ นแล ว นั้ นเป นอย างไรเลา? นั่ นคื ออริยอัฏฐังคิกมรรคนี้นั่นเทียว, ไดแกสิ่งเหลานี้คือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติสัมมาสมาธิ. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! นี้ แ ลรอยทางเก า ที่ เป น หนทางเก า อั น พระสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ าทั้ งหลายในกาลก อ น เคยทรงดําเนินแลว. เรานั้น ก็ไดดําเนินไปตามแลวซึ่งหนทางนั้น, เมื่อดําเนินไปตามอยู ซึ่งหนทางนั้น เรา : ได รู ยิ่ ง เฉพาะแล ว ซึ่ ง ชรามรณะ, ซึ่ งเหตุ ให เกิ ด ขึ้ น แห งชรามรณะ, ซึ่ ง ความดับไมเหลือแหงชรามรณะ, ซึ่งขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหง ชรามรณะ; ...๑ได รู ยิ่ ง เฉพาะแล ว ซึ่ ง ชาติ , ซึ่ งเหตุ ให เกิ ด ขึ้ น แห ง ชาติ , ซึ่ ง ความดั บ ไมเหลือแหงชาติ, ซึ่งขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงชาติ;

www.buddhadasa.info

ที่ละ...ไวตรงนี้ และตอ ๆ ไปมีขอความเต็มวา "เรานั้น ไดดําเนินไปตามแลวซึ่งหนทาง, เมื่อดําเนินไปตาม อยูซึ่งหนทางนั้น เรา".

www.buddhadasa.info


๔๖๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๘

...ได รู ยิ่ งเฉพาะแล วซึ่ งภพ, ซึ่ งเหตุ ให เกิ ดขึ้ นแห งภพ, ซึ่ งความดั บไม เหลื อ แหงภพ, ซึ่งขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงภพ; ...ได รู ยิ่ งเฉพาะแล วซึ่ งอุ ปาทาน, ซึ่ งเหตุ ให เกิ ดขึ้ นแห งอุ ปาทาน, ซึ่ งความ ดับไมเหลือ แหงอุปาทาน, ซึ่งขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงอุปาทาน; ...ได รู ยิ่ ง เฉพาะแล ว ซึ่ ง ตั ณ หา, ซึ่ ง เหตุ ให เกิ ด ขึ้ น แห ง ตั ณ หา, ซึ่ ง ความ ดับไมเหลือแหงตัณหา, ซึ่งขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงตัณหา; ...ได รู ยิ่ ง เฉพาะแล ว ซึ่ ง เวทนา, ซึ่ ง เหตุ ให เกิ ด ขึ้ น แห ง เวทนา, ซึ่ ง ความ ดับไมเหลือแหงเวทนา, ซึ่งขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงเวทนา; ...ได รู ยิ่ งเฉพาะแล วซึ่ งผั ส สะ, ซึ่ งเหตุ ให เกิ ด ขึ้ น แห งผั ส สะ, ซึ่ งความดั บ ไมเหลือแหงผัสสะ, ซึ่งขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงผัสสะ;

www.buddhadasa.info ...ได รู ยิ่ ง เฉพาะแล ว ซึ่ ง สฬายตนะ, ซึ่ ง เหตุ ใ ห เกิ ด ขึ้ น แห ง สฬายตนะ, ซึ่ งความดั บไม เหลื อแห งสฬายตนะ, ซึ่ งข อปฏิ บั ติ เครื่องทํ าสั ตว ให ลุ ถึ งความดั บไม เหลื อ แหงสฬายตนะ; ...ได รู ยิ่ ง เฉพาะแล วซึ่ ง นามรู ป , ซึ่ งเหตุ ให เกิ ด ขึ้ น แห งนามรู ป , ซึ่ งความ ดับไมเหลือแหงนามรูป, ซึ่งขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงนามรูป; ...ได รู ยิ่ งเฉพาะแล วซึ่ งวิ ญ ญาณ, ซึ่ งเหตุ ให เกิ ดขึ้ นแห งวิ ญ ญาณ, ซึ่ งความ ดับไมเหลือแหงวิญญาณ, ซึ่งขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงวิญญาณ;

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ กับความเปนพระพุทธเจา

๔๖๙

เราได ดํ าเนิ นไปตามแล วซึ่ งหนทางนั้ น, เมื่ อดํ าเนิ นไปตามอยู ซึ่ งหนทางนั้ น เราได รู ยิ่ งเฉพาะแล วซึ่ ง สั งขาร ทั้ งหลาย, ซึ่ งเหตุ ให เกิ ดขึ้ นแห งสั งขาร, ซึ่ งความดั บ ไมเหลือแหงสังขาร, ซึ่งขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงสังขาร. ดู ก อ นภิ กษุ ทั้ งหลาย! เรานั้ น ครั้ น รู ยิ่ งเฉพาะแล วซึ่ งหนทางนั้ น ได บ อก แลวแกภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ทั้งหลาย ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! พรหมจรรย นี้ ที่ เรากล า วบอกแล ว นั้ น ได เป น พรหมจรรยตั้งมั่นและรุงเรืองแลว เปนพรหมจรรยแผไพศาล เปนที่รูแหงชนมาก เปนปกแผนแนนหนา จนกระทั่งเทวดาและมนุษยทั้งหลายสามารถประกาศไดดวย ดีแลว.

การคิดคนปฏิจจสมุปบาท กอนการตรัสรู๑ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ครั้ งก อนแต การตรั สรู เมื่ อเรายั งไม ได ตรั สรู ยั งเป น โพธิ สั ตว อยู , ความปริวิ ตกอั นนี้ ได เกิ ดขึ้ นแก เราว า "สั ตว โลกนี้ หนอ ถึ งทั่ วแล วซึ่ งความ ยากเข็ ญ ย อมเกิ ด ย อมแก ย อมตาย ย อมจุ ติ และย อมอุ บั ติ , ก็ เมื่ อสั ตว โลกไม รู จั ก อุบายเครื่องออกไปพันจากทุกขคือชรามรณะแลว การออกจากทุ กขคือชรามรณะนี้จัก ปรากฏขึ้นไดอยางไร?"

www.buddhadasa.info

สูตรที่ ๑๐ พุทธวรรค นิทานสังยุตต นิทาน.สํ. ๑๖/๑๑/๒๖, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๔๗๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๘

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ความฉงนนี้ ได เกิ ดขึ้ นแก เราว า "เมื่ ออะไรมี อยู หนอ ชรามรณะ จึงไดมี : เพราะมีอะไรเปนปจจัย จึงมีชรามรณะ" ดังนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ความรูแจ งอย างยิ่ งด วยป ญญา เพราะการทํ าในใจโดย แยบคาย ไดเกิดขึ้นแกเราวา "เพราะชาตินั่นแล มีอยู ชรามรณะจึงไดมี : เพราะมี ชาติเปนปจจัย จึงมีชรามรณะ"ดังนี้. ....เพราะภพนั่นแล มีอยู ชาติจึงไดมี : เพราะมีภพเปนปจจัย จึงมีชาติ" ดังนี้. ....เพราะอุปาทานนั่นแล มีอยู ภพจึงไดมี : เพราะมีอุปทานเปนปจจัย จึงมีภพ" ดังนี้. ....เพราะตัณหานั่นแล มีอยู อุปาทานจึงไดมี : เพราะมีตัณหาเปนปจจัย จึงมีอุปาทาน ดังนี้.

www.buddhadasa.info ....เพราะเวทนานั่นแล มีอยู ตัณหาจึงไดมี : เพราะมีเวทนาเปนปจจัย จึงมีตัณหา ดังนี้.

....เพราะผัสสะนั่นแล มีอยู เวทนาจึงไดมี : เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมีเวทนา ดังนี้. ....เพราะสฬายตนะนั่ นแล มี อยู ผั สสะจึ งได มี : เพราะมี สฬายตนะเป น ปจจัย จึงมีผัสสะ ดังนี้.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ กับความเปนพระพุทธเจา

๔๗๑

....เพราะนามรูปนั่นแล มีอยู สฬายตนะจึงไดมี : เพราะมีนามรูปเปน ปจจัย จึงมี สฬายตนะ ดังนี้. ....เพราะวิญญาณนั่นแล มีอยู นามรูปจึงไดมี : เพราะมีวิญญาณเปน ปจจัย จึงมีนามรูป" ดังนี้. ....เพราะสังขารนั่นแล มีอยู วิญญาณจึงไดมี : เพราะมีสังขารเปนปจจัย จึงมีวิญญาณ" ดังนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ความฉงนนี้ ได เกิ ดขึ้ นแก เราว า "เมื่ ออะไรมี อยู หนอ สังขารทั้งหลายจึงไดมี : เพราะมีอะไรเปนปจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย" ดังนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ความรูแจ งอย างยิ่ งด วยป ญญา เพราะการทํ าในใจโดย แยบคาย ไดเกิดขึ้นแกเราวา "เพราะอวิชชานั่นแล มีอยู สังขารทั้งหลายจึงไดมี : เพราะอวิชชาเปนปจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย" ดังนี้.

www.buddhadasa.info เพราะเหตุ นั้ น ขอนี้ จึงมี วา เพราะมี อวิชชาเป นป จจัย จึ งมี สั งขารทั้ งหลาย; เพ ราะมี ส ั ง ขารเป น ป จ จั ย จึ ง มี ว ิ ญ ญ าณ ; ...ฯลฯ...ฯลฯ...ฯลฯ...; เพ ราะ มี ชาติ เป นป จจั ย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งเกิ ดขึ้ น ครบถวน : ความเกิดขึ้นพรอมแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้.

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ดวงตา เกิ ดขึ้ นแล ว ญาณ เกิ ดขึ้ นแล ว ป ญ ญา เกิดขึ้นแลว วิชชา เกิดขึ้นแลว แสงสวาง เกิดขึ้น แกเรา ในธรรมทั้งหลายที่เรา

www.buddhadasa.info


๔๗๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๘

ไมเคยฟงมาแตกอนวา "ความเกิดขึ้นพรอม(สมุทัย)! ความเกิดขึ้นพรอม (สมุทัย)!" ดังนี้. (ปฏิปกขนัย) ....

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ความฉงนนี้ ได เกิ ดขึ้ นแก เราว า "เมื่ ออะไรไม มี อยู หนอ ชรามรณะจึงไมมี : เพราะความดับแหงอะไร จึงมีความดับแหงชรามรณะ" ดังนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ความรู แจ งอย างยิ่ งด วยป ญญา เพราะการทํ าในใจโดย แยบคาย ไดเกิดขึ้นแกเราวา "เพราะชาติ นั่ นแล ไม มี ชรามรณะจึ งไม มี : เพราะ ความดับแหงชาติ จึงมีความดับ แหงชรามรณะ" ดังนี้. ....เพราะภพนั่ นแล ไม มี ชาติ จึ งไม มี : เพราะความดั บแห งภพ จึ งมี ความดับแหงชาติ" ดังนี้. ....เพราะอุป าทานนั ่น แลไมม ี ภพจึง ไมม ี : เพราะความดับ แหง อุปทาน จึงมีความดับแหงภพ" ดังนี้.

www.buddhadasa.info ....เพราะตั ณ หานั่ น แล ไม มี อุ ป าทานจึ งไม มี : เพราะความดั บแห ง ตัณหา จึงมีความดับแหงอุปาทาน" ดังนี้.

....เพราะเวทนานั่ น แล ไม มี ตั ณ หาจึ ง ไม มี : เพราะความดั บ แห ง เวทนา จึงมีความดับแหงตัณหา" ดังนี้.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ กับความเปนพระพุทธเจา

๔๗๓

....เพราะผั ส สะนั่ น แล ไม มี เวทนาจึ ง ไม มี : เพราะความดั บ แห ง ผัสสะ จึงมีความดับแหงเวทนา" ดังนี้. ....เพราะสฬายตนะนั่ น แล ไม มี ผั ส สะจึ ง ไม มี : เพราะความดั บ แหงสฬายตนะ จึงมีความดับแหงผัสสะ" ดังนี้. ....เพราะนามรู ป นั่ น แล ไม มี สฬายตนะจึ งไม มี : เพราะความดั บ แหงนามรูป จึงมีความดับแหงสฬายตนะ" ดังนี้. ....เพราะวิญญาณนั่นแล ไมมี นามรูปจึงไมมี : เพราะความดับแหง วิญญาณ จึงมีความดับแหงนามรูป" ดังนี้. ....เพราะสังขารนั่ นแล ไม มี วิญญาณจึงไม มี : เพราะความดับแหง สังขาร จึงมีความดับแหงวิญญาณ" ดังนี้.

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ความฉงนนี้ ได เกิ ดขึ้ นแก เราว า "เมื่ ออะไรไม มี อยู หนอ สังขารทั้งหลายจึงไมมี : เพราะความดับแหงอะไร จึงมีความดับแหงสังขารทั้งหลาย" ดังนี้.

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ความรูแจ งอย างยิ่ งด วยป ญญา เพราะการทํ าในใจโดย แยบคาย ไดเกิดขึ้นแกเราวา "เพราะอวิชชานั่นแล ไมมี สังขารทั้งหลายจึงไมมี : เพราะความดับแหงอวิชชา จึงมีความดับแหงสังขาร" ดังนี้.

เพราะเหตุ นั้ น ข อนี้ จึ งมี ว า เพราะความดั บแห งอวิ ชชา จึ งมี ความดั บแห ง สังขาร; เพราะมีความดับแหงสังขาร จึงมีความดับแหงวิญญาณ; ...ฯลฯ...

www.buddhadasa.info


๔๗๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๘

…ฯลฯ...ฯลฯ...; เพราะมีค วามดับ แหง ชาตินั ่น แล, ชรามรณะ โสกะปริเ ทวะ ทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลายจึงดับสิ้น : ความดับลงแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้. ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย! ดวงตา เกิดขึ้นแลว ญาณ เกิดขึ้นแลว ป ญญา เกิด ขึ้นแล ว วิชชา เกิ ดขึ้นแล ว แสงสวาง เกิ ดขึ้ นแลว แกเรา ในธรรมทั้ งหลายที่ เราไม เคยฟ งมาแตกอนวา "ความดั บไม เหลื อ(นิ โรธ)! ความดั บไม เหลื อ (นิ โรธ)!" ดั งนี้ ; ดังนี้. แล.

การคิดคนปฏิจจสมุปบาท ของพระพุทธเจาในอดีต ๖ พระองค๑ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ อพระผู มี พระภาคอรหั นตสั มมาสั มพุ ทธเจ าพระนาม วาวิป สสี ยั งไม ได ตรัสรู ก อนแต ที่ ท านตรัสรู ยั งเป นโพธิสั ตวอยู , ความปริวิตกอั นนี้ ได เกิ ดขึ้นแก ท านวา "สั ตวโลกนี้ หนอ ถึ งทั่ วแล วซึ่ งความยากเข็ ญ ย อมเกิ ด ย อมแก ยอมตาย ยอมจุติ และยอมอุบั ติ, ก็เมื่ อสัตวโลกไม รูจักอุบายเครื่องออกไปพ นจากทุกข คือชรามรณะแลว การออกจากทุกขคือชรามรณะ นี้ จักปรากฎขึ้นไดอยางไร?"

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ลํ าดั บ นั้ นแล ความฉงนนี้ ได เกิ ดขึ้ น แก พ ระวิ ป สสี โพธิสัตวนั้นวา "เมื่ ออะไรมี อยูหนอ ชรามรณะ จึงไดมี : เพราะมีอะไรเป นปจจัย จึงมี ชรามรณะ" ดังนี้.

สูตรที่ ๔ พุทธวรรค นิทานสังยุตต นิทาน.สํ. ๑๖/๕/๒๒, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ กับความเปนพระพุทธเจา

๔๗๕

ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ลํ า ดั บ นั้ น แล ความรู แ จ ง อย า งยิ่ ง ด ว ยป ญ ญา เพราะการทํ าในใจโดยแยบคาย ได เกิ ดขึ้นแก พระวิป สสี โพธิ สั ตวนั้ นวา "เพราะ ชาติ นั่นแล มีอยูชรามรณะจึงไดมี : เพราะมีชาติเปนปจจัย จึงมีชรามรณะ" ดังนี้ ....๑เพราะภพนั่ นแล มี อยู ชาติ จึ งได มี : เพราะมี ภพเป นป จจั ย จึ งมี ชาติ ดังนี้. ....เพราะอุ ป าทานนั่ นแล มี อยู ภพจึ งได มี : เพราะมี อุ ปทานเป นป จจั ย จึงมีภพ, ดังนี้. ....เพราะตั ณ หานั่ นแล มี อยู อุ ปาทานจึ งได มี : เพราะมี ตั ณ หาเป นป จจั ย จึงมีอุปาทาน, ดังนี้. ....เพราะเวทนานั่ นแล มี อยู ตั ณ หาจึ งได มี : เพราะมี เวทนาเป นป จจั ย จึงมีตัณหา, ดังนี้.

www.buddhadasa.info ....เพราะผั สสะนั่ นแล มี อยู เวทนาจึ งได มี : เพราะมี ผั สสะเป นป จจั ย จึ งมี เวทนา, ดังนี้.

....เพราะสฬายตนะนั่ นแล มี อยู ผั สสะจึ งได มี : เพราะมี สฬายตนะเป น ปจจัยจึงมีผัสสะ, ดังนี้.

ข อ ความตามที่ ล ะ....ไว นั้ น หมายความว า ได มี ค วามฉงนเกิ ด ขึ้ น ทุ ก ๆ ตอน แล ว ทรงทํ า ในใจโดย แยบคาย จนควมรูแจ งเกิ ดขึ้ น ทุ ก ๆ ตอน เป นลํ าดั บ ไป จนถึ งที่ สุ ด ทั้ งฝ ายสมุ ท ยวารและนิ โรธวาร; ในที่นี้ละไว โดยนัยะที่ผูอานอาจจะเขาใจเอาเองได : เปนการตัดความรําคาญในการอาน.

www.buddhadasa.info


๔๗๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๘

....เพราะนามรู ปนั่ นแล มี อยู สฬายตนะจึ งได มี : เพราะมี นามรูปเป นป จจั ย จึงมีสฬายตนะ, ดังนี้. ....เพราะวิ ญญาณนั่ นแล มี อยู นามรูปจึ งได มี : เพราะมี วิญญาณเป นป จจั ย จึงมีนามรูป, ดังนี้. ....เพราะสั งขารนั่ นแล มี อยู วิ ญญาณจึ งได มี : เพราะมี สั งขารเป นป จจั ย จึงมีวิญญาณ, ดังนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ลํ าดั บ นั้ นแล ความฉงนนี้ ได เกิ ดขึ้ น แก พ ระวิ ป สสี โพธิสั ตวนั้ นวา "เมื่ อะไรมี อยู หนอ สั งขาร ทั้ งหลายจึ งได มี : เพราะมี อะไรเป นป จจั ย จึงมีสังขารทั้งหลาย" ดังนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ลํ าดั บนั้ นแล ความรูแจ งอย างยิ่ งด วยป ญญา เพราะ การทํ าในใจโดยแยบคาย ไดเกิดขึ้นแกพระวิป สสีโพธิสัตวนั้นวา "เพราะอวิชชานั่นแล มีอยู สังขารทั้งหลายจึงไดมี : เพราะอวิชชาเปนปจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย" ดังนี้.

www.buddhadasa.info เพราะเหตุ นั้ น ขอนี้ จึงมี วา เพราะมี อวิชชาเป นป จจัย จึ งมี สั งขารทั้ งหลาย; เพราะมีส ัง ขารเปน ปจ จัย จึง มีว ิญ ญ าณ ; ...ฯลฯ...ฯลฯ...ฯลฯ...; เพราะมี ชาติ เป นป จจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึงเกิ ดขึ้นครบ ถวน : ความเกิดขึ้นพรอมแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้.

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ดวงตา เกิ ดขึ้ นแล ว ญาณ เกิ ดขึ้ นแล ว ป ญ ญา เกิดขึ้นแลว วิชชา เกิดขึ้นแลว แสงสวาง เกิดขึ้นแลว แกพระวิปสสีโพธิสัตวนั้น

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ กับความเปนพระพุทธเจา

๔๗๗

ในธรรมทั้งหลายที่เราไมเคยฟงมาแตกอนวา "ความเกิดขึ้น พรอม! ความเกิดขึ้น พรอม!" ดังนี้. --- --- --- --ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ลํ าดั บนั้ นแล ความฉงนนี้ ได มี แก พระวิ ป สสี โพธิ สั ตว ต อไปวา "เมื่ ออะไรไม มี หนอ ชรามรณะจึงไม มี : เพราะความดั บแห งอะไร จึ งมี ความ ดับแหงชรามรณะ" ดังนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ลํ าดั บนั้ นแล ความรูแจ งอย างยิ่ งด วยป ญญา เพราะ การทําในใจโดยแยบคาย ไดเกิดขึ้นแกพระวิปสสีโพธิสัตวนั้นวา "เพราะชาตินั่นแล ไมมี ชรามรณะจึงไมมี : เพราะความดับแหงชาติ จึงมีความดับ แหงชรามรณะ" ดังนี้. ....เพราะภพนั่ น แล ไม มี ชาติ จึ งไม มี : เพราะความดั บ แห ง ภพ จึ ง มี ความดับแหงชาติ , ดังนี้.

www.buddhadasa.info ....เพราะอุ ป าทานนั่ นแลไม มี ภพจึ งไม มี : เพราะความดั บแห งอุ ปทาน จึงมีความดับแหงภพ, ดังนี้.

....เพราะตั ณหานั่ นแล ไม มี อุ ปาทานจึ งไม มี : เพราะความดั บแห งตั ณหา จึงมีความดับแหงอุปาทาน, ดังนี้. ....เพราะเวทนา นั่ นแล ไม มี ตั ณ หาจึ งไม มี : เพราะความดั บแห งเวทนา จึงมีความดับแหงตัณหา, ดังนี้.

www.buddhadasa.info


๔๗๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๘

....เพราะผั ส สะนั่ นแล ไม มี เวทนาจึ งไม มี : เพราะความดั บ แห งผั สสะ จึงมีความดับแหงเวทนา, ดังนี้. ....เพราะสฬายตนะนั่ น แล ไม มี ผั ส สะจึ งไม มี : เพราะความดั บ แห ง สฬายตนะ จึงมีความดับแหงผัสสะ, ดังนี้. ....เพราะนามรู ป นั่ น แล ไม มี สฬายตนะจึ งไม มี : เพราะความดั บแห ง นามรูป จึงมี ความดับแหงสฬายตนะ, ดังนี้. ....เพราะวิ ญ ญาณนั่ น แล ไม มี นามรู ป จึ งไม มี : เพราะความดั บ แห ง วิญญาณ จึงมีความดับแหงนามรูป, ดังนี้. ....เพราะสั งขารนั่ นแล ไม มี วิ ญญาณจึ งไม มี : เพราะความดั บแห งสั งขาร จึงมีความดับแหงวิญญาณ, ดังนี้.

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ลํ าดั บ นั้ นแล ความฉงนนี้ ได เกิ ดขึ้ น แก พ ระวิ ป สสี โพธิสั ตวนั้ นวา "เมื่ ออะไรไม มี หนอ สั งขารทั้ งหลายจึ งไม มี : เพราะความดั บแห งอะไร จึงมีความดับแหงสังขาร" ดังนี้.

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ลํ าดั บนั้ นแล ความรูแจ งอย างยิ่ งด วยป ญญา เพราะ การทําในใจโดยแยบคาย ไดเกิดขึ้นแกพระวิปสสีโพธิสัตวนั้นวา "เพราะอวิชชานั่นแลไมมี สังขารทั้งหลายจึงไมมี : เพราะความดับแหงอวิชชา จึงมีความดับแหงสังขาร" ดังนี้. เพราะเหตุ นั้ น ข อนี้ จึ งมี ว า เพราะความดั บแห งอวิ ชชา จึ งมี ความดั บแห ง สังขาร; เพราะมีความดับแหงสังขาร จึงมีความดับแหงวิญญาณวิญญาณ; ...ฯลฯ...

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ กับความเปนพระพุทธเจา

๔๗๙

…ฯลฯ...ฯลฯ...; เพราะมีค วามดับ แหง ชาตินั ้น แล ชรามรณะ โสกะปริเ ทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลายจึงดับสิ้น : ความดับลงแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ดวงตา เกิ ดขึ้ นแล ว ญาณ เกิ ดขึ้ นแล ว ป ญ ญา เกิ ด ขึ้ น แล ว วิ ช ชา เกิ ด ขึ้ น แล ว แสงสว า งเกิ ด ขึ้ น แล ว แก พ ระวิ ป ส สี โพธิ สั ต ว นั้ น ในธรรมทั้งหลายที่พระองคไมเคยฟงมาแตกอนวา "ความดับไมเหลือ! ความดับไม เหลือ! ดังนี้; แล. หมายเหตุ ผู ร วบรวม: แม ก ารคิ ด ค น ปฏิ จ จสมุ ป บาทของอดี ต พระพุ ท ธิ เจ า ๕ พระองค นอกจากนี้ คื อ พระสิ ขี พระเวสสภู พระกกุ สั น ธะ พระโกนาคมนะ และพระ กั ส สปะ ก็ มี เนื้ อ ความตรงกั น กั บ เรื่ อ งราวอั น เกี่ ย วกั บ พระพุ ท ธเจ า วิ ป ส สี นี้ ทุ ก ๆ ประการ ทุกตัวอักษร เวนแตชื่อพระพุทธเจาเทานั้น. อนึ่ ง ข อความเกี่ ยวกั บการคิ ดค นปฏิ จจสมุ ปบาทของพระพุ ทธเจ าวิป สสี ที่ กล าวไว ในคั ม ภี ร สั งยุ ตตนิ กายตามที่ ได นํ ามากล าวไว ในข อความแห งหั วข อข างบนนี้ นั้ น มี ข อความ บางอย างไม ต รงกั น แท กั บ ข อ ความเรื่ อ งเดี ย วกั น ที่ ก ล า วอยู ในคั ม ภี ร ที่ ฆ นิ ก าย คื อ ในคั ม ภี ร ที ฆนิ กายนั้ นกล าวกระแสแห งปฏิ จจไปหยุ ดเสี ยเพี ยงแค วิ ญ ญาณกั บนามรูป ไม เลยขึ้ นไปถึ ง อวิ ช ชา; ซึ่ ง ได ย กข อ ความนั้ น มากล า วไว ใ นหมวดที่ ๑๐ ภายใต หั ว ข อ ว า "ปฏิ จ จสมุ ป บ า ท แ บ บ ที ่ ต รั ส โด ย พ ระ พุ ท ธ เจ า วิ ป  ส สี " ผู  ส น ใจ พึ ง ทํ า ก า รเป รี ย บ เที ย บ กั น ดู และจะพบขอแตกตางอยูบางอยางดังที่กลาวมานี้, ซึ่งจะเปนเพราะเหตุใดก็ยากที่จะทราบได.

www.buddhadasa.info ทรงบันลือสีหนาท เพราะทรงรูปจจัยแหงความเกิดและความดับ๑ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ตถาคต เป นผู ประกอบด วยพลญาณ ๑๐ อย าง และ ประกอบดวยเวสารัชชญาณ ๔ อยาง จึงปฏิญญาตําแหนงจอมโลก บันลือสีหนาท

สูตรที่ ๑ ทสพลวรรค นิทานสังยุตต นิทาน. สํ. ๑๖/๓๓/๖๔ ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๔๘๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๘

ประกาศพรหมจั ก ร ในท ามกลางบริ ษั ทั้ งหลายว า "รู ป คื อ ย างนี้ ๆ. เหตุ ให เกิ ด รู ป คื ออยางนี้ ๆ, ความไม ตั้ งอยู ได แห งรูป คื ออย างนี้ ๆ;" และวา "เวทนา คื ออย างนี้ ๆ, เหตุ ให เกิ ด เวทนา คื ออย างนิ้ ๆ, ความไม ตั้ งอยู ให แห งเวทนา คื อ ย างนี้ ๆ;" และว า "สั ญญา คื ออย างนี้ ๆ, เหตุ ให เกิ ดสั ญญา คื ออย างนี้ ๆ, ความไม ตั้ งอยู ได แห งสั ญญา คื ออย างนี้ ๆ;" และว า "สั งขาร ทั้ งหลาย คื ออย างนี้ ๆ, เหตุ ให เกิ ดสั งขารทั้ งหลาย คื ออย างนี้ ๆ, ความไม ตั้ งอยู ได แห งสั งขารทั้ งหลาย คื ออย างนี้ ๆ;" และว า "วิ ญ ญาณ คื ออย างนี้ ๆ, เหตุ ให เกิ ดวิญ ญาณ คื ออย างนี้ ๆ, ความไม ตั้ งอยู ได แห งวิญ ญาณคื อ อยา งนี ้ ๆ;" แล ะวา "เพ ราะสิ ่ง นี ้ม ี, สิ ่ง นี ้จ ึง มี; เพ ราะสิ ่ง นี ้เ กิด ขึ ้น , สิ ่ง นี้ จึง เกิด ขึ ้น ; เพ ราะสิ ่ง นี ้ไ มม ี, สิ ่ง นี ้จ ึง ไมม ี; เพ ราะสิ ่ง นี ้ด ับ , สิ ่ง นี ้จ ึง ดับ ; ดวยอาการอยางนี้ : นี้ไดแกความที่ :เพราะมีอวิชชาเปนปจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย; เพราะมีสังขารเปนปจจัย จึงมีวิญญาณ; ...ฯลฯ...ฯลฯ...ฯลฯ...ฯลฯ...

เพราะมีชาติเปนปจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขโทมนัสอุปายาส ทั้ งหลาย จึ งเกิ ดขึ้ นครบถ วน : ความเกิ ดขึ้ นพรอมแห งกองทุ กข ทั้ งสิ้ นนี้ ย อมมี ด วย อาการอยางนี้.

www.buddhadasa.info เพราะความจางคลายดับไปโดยไมเหลือแหงอวิชชานั้นนั่นเทียว, จึงมี ความดับแหงสังขาร; เพราะมีความดับแหงสังขาร จึงมีความดับแหงวิญญาณ; ...ฯลฯ...ฯลฯ...ฯลฯ...ฯลฯ...

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ กับความเปนพระพุทธเจา

๔๘๑

เพราะมีความดั บแหงชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้ งหลาย จึ งดั บสิ้ น : ความดั บลงแห งกอบทุ กข ทั้ งสิ้ นนี้ ย อมมี ด วยอาการอย างนี้ " , ดังนี้ แล.

ทรงพยากรณแตอริยญายธรรมเทานั้น๑ อุ ตติ ยปริพพาชก ได ทู ลถามว า "ข าแต ท านโคดมผู เจริ ญ! คํ านี้ ว า โลกเที่ ยงเท านั้ น

เปนคําจริง คําอื่นเปนโมฆะ ดังนั้นหรือ?" ดู ก อ นอุ ต ติ ย ะ! ข อ ที่ ว า โลกเที่ ย ง เท า นั้ น เป น คํ า จริ ง คํ า อื่ น เป น โมฆะ ดังนี้นั้น เปนสัจจะที่เราไมพยากรณ. "ข าแต ท านโคดมผู เจริ ญ ! คํ านี้ ว า โลกไม เที่ ยง เท านั้ นเป นคํ าจริ ง คํ าอื่ น เปนโมฆะ ดังนั้นหรือ?" ดู ก อนอุ ตติ ยะ ! ข อที่ ว า โลกไม เที่ ยง เท านั้ นเป นคํ าจริ ง คํ าอื่ นเป นโมฆะ ดังนี้นั้น เปนสัจจะที่เราไมพยากรณ.

www.buddhadasa.info "ข าแต ท านโคดมผู เจริญ! คํ านี้ ว า โลกมี ที่ สุ ด เท านั้ นเป นคํ าจริง คํ าอื่ นเป น โมฆะ ดังนั้นหรือ?"

สูตรที่ ๕ อุปาสกวรรค ทสก.อํ. ๒๔/๒๐๗/๙๕, ตรัสแกอุตติยปริพพาชก

www.buddhadasa.info


๔๘๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๘

ดู ก อนอุ ตติ ยะ! ข อที่ ว า โลกมี ที่ สุ ด เท านั้ นเป นคํ าจริ ง คํ าอื่ นเป นโมฆะ ดังนี้นั้น เปนสัจจะที่เราไมพยากรณ. "ขาแตท านโคดมผูเจริญ! คํานี้วา โลกไมมีที่ สุด เทานั้ นเปนคําจริง คําอื่น เปนโมฆะ ดังนั้นหรือ?" ดู ก อนอุ ตติ ยะ! ข อที่ ว า โลกไม มี ที่ สุ ด เท านั้ นเป นคํ าจริง คํ าอื่ นเป นโมฆะ ดังนี้นั้น เปนสัจจะที่เราไมพยากรณ. "ขาแต ท านโคดมผู เจริญ! คํ านี้ วา ชี วะก็อั นนั้ น สรีระก็ อั นนั้ น เท านั้ นเป น คําจริง คําอื่นเปนโมฆะ ดังนั้นหรือ?" ดู ก อ นอุ ต ติ ยะ! ข อที่ ว า ชี วะก็ อั น นั้ น สรีระก็ อั น นั้ น เท านั้ น เป น คํ าจริ ง คําอื่นเปนโมฆะ ดังนี้นั้น เปนสัจจะที่เราไมพยากรณ. "ขาแตท านโคดมผูเจริญ! คํ านี้วา ชีวะก็ อันอื่น สรีระก็อันอื่น เท านั้นเป น คําจริง คําอื่นเปนโมฆะ ดังนั้นหรือ?"

www.buddhadasa.info ดู ก อ นอุ ต ติ ย ะ! ข อ ที่ ว า ชี วะก็ อั น อื่ น สรี ระก็ อั น อื่ น เท านั้ น เป น คํ าจริ ง คําอื่นเปนโมฆะ ดังนี้นั้น เปนสัจจะที่เราไมพยากรณ.

"ข าแต ท านโคดมผู เจริญ! คํ านี้ ว า ตถาคตภายหลั งแต ตายแล ว ย อมมี อี ก เทานั้นเปนคําจริง คําอื่นเปนโมฆะ ดังนั้นหรือ?" ดู ก อนอุ ตติ ยะ! ข อที่ ว า ตถาคตภายหลั งแต ตายแล ว ย อมมี อี ก เท านั้ น เปนคําจริง คําอื่นเปนโมฆะ ดังนี้นั้น เปนสัจจะที่เราไมพยากรณ.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ กับความเปนพระพุทธเจา

๔๘๓

"ข าแต ท านโคดมผู เจริ ญ! คํ านี้ ว า ตถาคตภายหลั งแต ตายแล ว ย อมไม มี อี ก เทานั้นเปนคําจริง คําอื่นเปนโมฆะ ดังนั้นหรือ?" ดู ก อนอุ ตติ ยะ! ข อที่ ว า ตถาคตภายหลั งแต ตายแล ว ย อมไม มี อี ก เท านั้ น เปนคําจริง คําอื่นเปนโมฆะ ดังนี้นั้น เปนสัจจะที่เราไมพยากรณ. "ข าแต ท านโคดมผู เจริญ! คํ านี้ ว า ตถาคตภายหลั งแต ตายแล ว ย อมมี อี กก็ มี ยอมไมมีอีกก็มี เทานั้นเปนคําจริง คําอื่นเปนโมฆะ ดังนั้นหรือ?" ดู ก อนอุ ตติ ยะ! ข อที่ ว า ตถาคตภายหลั งแต ตายแล ว ย อมมี อี กก็ มี ย อม ไมมีอีกก็มี เทานั้นเปนคําจริง คําอื่นเปนโมฆะ ดังนี้นั้น เปนสัจจะที่เราไมพยากรณ. "ข าแต ท านโคดมผู เจริ ญ ! คํ านี้ ว า ตถาคตภายหลั งแต ตายแล ว ย อมมี อี ก ก็หามิได ยอมไมมีอีกก็หามิได เทานั้นเปนคําจริง คําอื่นเปนโมฆะ ดังนั้นหรือ?" ดู ก อนอุ ตติ ยะ! ข อที่ ว า ตถาคตภายหลั งแต ตายแล ว ย อมมี อี กก็ หามิ ได ย อ มไม มี อี กก็ ห ามิ ได เท านั้ น เป น คํ าจริง คํ าอื่ น เป น โมฆะ ดั งนี้ นั้ น เป น สั จ จะที่ เรา ไมพยากรณ.

www.buddhadasa.info "ข าแต ท านโคดมผู เจริ ญ! เมื่ อท านถู กเขาถามว า คํ าว า โลกเที่ ยงเท านั้ นเป น คํ าจริง คํ าอื่ นเป นโมฆะ ดั งนั้ นหรือ? ท านก็ ตอบวา นั่ นเราไม พยากรณฺ ; เมื่ อท านถู ก เขาถามวา คําวา โลกไมเที่ยง เทานั้นเปนคําจริง คําอื่นเปนโมฆะ ดังนั้นหรือ?, ดังนี้ก็ดี; หรือเมื่อถูกเขาถามวา คําวา โลกมีที่สุด เทานั้นเปนคําจริง คําอื่นเปนโมฆะ ดังนั้นหรือ?, ดังนี้ก็ดี; หรือเมื่อถูกเขาถามวา คําวา โลกไมมีที่สุด เทานั้นเปนคําจริง คําอื่นเปนโมฆะ ดังนั้นหรือ?, ดังนี้ก็ดี; หรือเมื่อถูกเขาถามวา คําวา ชีวะก็อันนั้น สรีระก็อันนั้น

www.buddhadasa.info


๔๘๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๘

เท า นั้ น เป น คํ า จริ ง คํ า อื่ น เป น โมฆะ ดั งนั้ น หรื อ ?, ดั งนี้ ก็ ดี ; หรื อ เมื่ อ ถู ก เขาถามว า คําวา ชีวะก็อันอื่นสรีระก็อันอื่น เทานั้นเปนคําจริง คําอื่นเปนโมฆะ ดังนั้นหรือ?, ดังนี้ก็ดี; หรือเมื่ อถูกเขาถามวา คํ าวา ตถาคตภายหลั งแต ตายแล ว ย อมมี อี ก เท านั้ นเป นคํ าจริง คํ าอื่ นเป นโมฆะ ดั งนั้ นหรือ?, ดั งนี้ ก็ ดี ; หรือเมื่ อถู กเขาถามวา คํ าวา ตถาคตภายหลั ง แต ตายแล ว ย อมไม มี อี ก เท านั้ นเป นคํ าจริง คํ าอื่ นเป นโมฆะ ดั งนั้ นหรือ?, ดั งนี้ ก็ ดี ; หรือเมื่อถูกเขาถามวา คําวา ตถาคตภายหลังแตตายแลว ยอมมีอีกก็มี ยอมไมมีอีกก็มี เท านั้ นเป นคํ าจริง คํ าอื่ นเป นโมฆะ ดั งนั้ นหรือ?, ดั งนี้ ก็ ดี ; หรือวาท านเมื่ อถู กเขาถามว า คําวา ตถาคตภายหลังแต ตายแล ว ยอมมี อีกก็หามิ ได ย อมไม มี อีกก็หามิ ได เท านั้ นเป น คํ าจริง คํ าอื่ นเป นโมฆะ ดั งนั้ นหรือ?, ดั งนี้ ก็ ดี ; ท านก็ ล วนแต ตอบวา ขอนั้ น เราไม พยากรณ, เมื่อเปนดังนั้น ขอที่ทานยอมพยากรณนั้น เปนอยางไรเลา?" ดู ก อนอุ ตติ ยะ! เราย อมแสดงธรรมแก สาวกทั้ งหลาย ด วยป ญ ญาอั น ยิ่ ง เพื่ อ ความหมดจดแห ง สั ต ว ทั้ ง หลาย เพื่ อ ก า วล ว งเสี ย ซึ่ ง โสกะปริ เทวะ เพื่ อ ความ ตั้ งอยู ไม ได แ ห งทุ ก ข โทมนั ส เพื่ อ การบรรลุ ซึ่ งญายธรรม เพื่ อ กระทํ าให แ จ งซึ่ ง นิพพาน (นั่นแหละ คือขอที่เราพยากรณ)

www.buddhadasa.info "ดู ก อนท านโคดมผู เจริญ! ข อที่ ท านแสดงธรรมแก สาวกทั้ งหลาย ด วยป ญญา อั นยิ่ ง เพื่ อความหมดจดแห งสั ตว ทั้ งหลาย เพื่ อก าวล วงเสี ยซึ่ งโสกะปริเทวะ เพื่ อความ ตั้ งอยู ไม ได แห งทุ กข โทมนั ส เพื่ อการบรรลุ ซึ่ งญายธรรม เพื่ อกระทํ าให แจ งซึ่ งนิ พพาน, นั้น สัตวโลก ทั้งโลก หรือวาสัตวโลก ครึ่งโลก หรือวาสัตว หนึ่งในสามของโลก เลา ที่ออก ไปจากทุกขได ดวยการแสดงธรรมนั้น". เมื่ออุตติยปริพพาชก ไดกลาวอยางนี้, พระผูมีพระภาคเจาไดทรงนิ่งเสีย.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ กับความเปนพระพุทธเจา

๔๘๕

หมายเหตุ ผู ร วบรวม : ผู ศึ ก ษาพึ ง สั ง เกตให เห็ น ว า เรื่ อ งปฏิ จ จสมุ ป บาท เป น เรื่ อ งอริยญายธรรม (ดั งที่ ป รากฏอยู ในบทนํ าแห งหนั งสื อ เล ม นี้ ภายใต หั วข อว า "ปฏิ จจสมุ ป บาทคื อ อริ ย ญ ายธรรม") ซึ่ ง เมื่ อ บุ ค คลรู แ ล ว ย อ มไม มี ห นทางที่ จ ะเกิ ด ทิ ฏ ฐิ ๑๐ ประการ ดั งที่ อุ ต ติ ย ปริ พ พาชกได นํ ามาทู ล ถาม และพระองค ไม ท รงพยากรณ เพราะจะทรง พยากรณ แต ในเรื่ องญายธรรม เช น ปฏิ จจสมุ ป บาท เป น ต น อั นจะป องกั น หรื อ ทํ าลายเสี ยซึ่ ง ทิ ฏ ฐิ ๑๐ ประการนั้ น . ขอให เห็ น โดยประจั ก ษ อ ยู เสมอไปว า มิ จ ฉาทิ ฏ ฐิ ทุ ก ชนิ ด เกิ ด ขึ้ น เพราะไม เห็ น อิ ทั ป ป จจยตา กล าวคื อ ปฏิ จจสมุ ป บาท. การแสดงปฏิ จ จสมุ ป บาทซึ่ งมุ งตรงไป ยั ง การบรรลุ นิ พ พาน จึ ง เป น สิ่ ง ที่ เ ราพยากรณ เสมอไป. อนึ่ ง ขอให สั ง เกตเป น พิ เ ศษใน ตอนท า ยแห ง เรื่ อ งนี้ ว า ถ า มี ผู ก ล า วล อ เลี ย น ประชดแดกดั น , พระองค จ ะทรงนิ่ ง เสี ย , ซึ่ ง ควรถือวาเปน "พระพุทธจริยา"โดยแท.

ทรงชักชวนวิงวอนเหลือประมาณ ในความเพียรเพื่อกิจเกี่ยวกับปฏิจจสมุปบาท๑ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ตถาคต เป นผู ประกอบด วยพลญาณ ๑๐ อย าง และ ประกอบด วยเวสารั ชชญาณ ๔ อย าง จึ งปฏิ ญ ญาตํ าแหน งจอมโลก บั น ลื อสี ห นาท ประกาศพรหมจั กร ในท านกลางบริษั ททั้ งหลาย ว า "รู ป คื ออย างนี้ ๆ, เหตุ ให เกิ ดรู ป คื อ อย างนี้ ๆ , ความไม ตั้ งอยู ได แ ห งรู ป คื อ อย างนี้ ๆ ;" และว า "เวทนา คื อ อย างนี้ ๆ , เหตุ ให เกิ ด เวทนา คื อ อย า งนี้ ๆ , ความไม ตั้ งอยู ได แ ห ง เวทนา คื อ อย างนี้ ๆ; และว า "สั ญ ญา คื ออย างนี้ ๆ, เหตุ ให เกิ ดสั ญ ญา คื ออย างนี้ ๆ, ความไม ตั้ งอยู ได แห งสั ญ ญา คื ออย างนี้ ๆ;" และว า "สั งขาร ทั้ งหลาย คื ออย างนี้ ๆ, เหตุ ให เกิ ดสั งขารทั้ งหลาย คื อ อย างนี้ ๆ, ความไม ได ตั้ งอยู แห งสั งขารทั้ งหลาย คื ออย างนี้ ๆ;" และว า "วิ ญ ญาณ คื อ อย างนี้ ๆ, เหตุ ให เกิ ดวิ ญ ญาณ คื ออย างนี้ ๆ, ความไม ตั้ งอยู ได แห งวิ ญ ญาณ คื ออย าง นี้ๆ;" และวา "เพราะสิ่งนี้มี, สิ่งนี้จึงมี; เพราะสิ่งนี้เกิดขึ้น, สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น,

www.buddhadasa.info

สูตรที่ ๒ พสพลวรรค นิทานสังยุตต นิทาน.สํ. ๑๖/๓๓/๖๕, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๔๘๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๘

เพราะสิ่ งนี้ ไม มี , สิ่ งนี้ จึ งไม มี ; เพราะสิ่ งนี้ ดั บ, สิ่ งนี้ จึ งดั บ, ด วยอาการอย างนี้ : นี้ ไดแกความที่ :เพราะมีอวิชชาเปนปจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย; เพราะมีสังขารเปนปจจัย จึงมีวิญญาณ ...ฯลฯ...ฯลฯ...ฯลฯ...ฯลฯ... เพราะมีชาติเปนปจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขุโทมนัสอุปายาส ทั้ งหลาย จึ งเกิ ดขึ้ นครบถ วน : ความเกิ ดขึ้ นพรอมแห งกองทุ กข ทั้ งสิ้ นนี้ ย อมมี ด วย อาการอยางนี้. เพราะความจางคลายดับไปโดยไมเหลือแหงอวิชชานั้นนั่นเทียว, จึงมี ความดับแหงสังขาร; เพราะมีความดับแหงสังขาร จึงมีความดับแหงวิญญาณ; ...ฯลฯ...ฯลฯ...ฯลฯ...ฯลฯ... เพราะมีความดับแหงชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งดั บสิ้ น : ความดั บลงแห งกองทุ กข ทั้ งสิ้ นนี้ ย อมมี ด วยอาการ อยางนี้" ดังนี้.

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ธรรมอั นเรากล าวดี แล วอย างนี้ เป นธรรมที่ ทํ าให ตื้ น แลว เปดเผยแลวประกาศแลว มีสวนขี้ริ้วอันเราเฉือนออกสิ้นแลว (ฉินฺนปโลติโก). ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ในธรรมที่ เรากล าวไว ดี แ ล วอย างนี้ เป น ธรรมที่ ทํ าให ตื้ น แล ว เป ดเผยแล ว ประกาศแล ว มี ส วนขี้ริ้วอั นเราเฉื อนออกสิ้ นแล ว อย างนี้ ย อมเป นการ สมควรแทที่กุลบุตรผูบวชแลวดวยสัทธา จะปรารภความเพียร (ดวยการอธิษฐานจิต) วา

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ กับความเปนพระพุทธเจา

๔๘๗

"หนัง เอ็น กระดูก จัก เหลือ อยู  เนื ้อ และเลือ ดในสรีร ะจะเหือ ดแหง ไปก็ต ามที เมื่ อยั งไม ลุ ถึ งประโยชน อั นบุ คคลจะลุ ได ด วยกํ าลั งของบุ รุษ ด วยความเพี ยรของบุ รุษ ดวยความบากบั่นของบุรุษแลว จักหยุดความเพียรนั้นเสีย เปนไมมีเลย" ดังนี้. ดูกอนภิกษุ ทั้ งหลาย! บุ คคลผูมี ความเกี ยจคราน เกลื่อนกลนไปด วยธรรม ที่ เป นบาปอกุ ศลทั้ งหลาย ย อมอยู เป นทุ กข , และย อมทํ าประโยชน ตนอั นใหญ หลวงให เสื่อมสิ้น. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! สวนภิกษุผูมี ความเพี ยรอันปรารภแลว ยอมอยูเปนสุข, สงั ดแล วจากธรรมที่ เป นบาปอกุ ศลทั้ งหลาย เป นอยู ด วย, และย อมทํ าประโยชน ตนอั น ใหญหลวงใหบริบูรณ ดวย. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! การบรรลุ ธ รรมอั น เลิ ศ ด ว ยการกระทํ าอั น เลวนั้ น ยอมมีไมได; แตวาการบรรลุธรรมอันเลิศ ดวยการกระทําอันเลิศนั้น ยอมมีได แล. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! พรหมจรรย นี้ มี ลั กษณะ น าดื่ ม เหมื อ นมั ณ ฑะ;๑ ทั้งพระศาสดาก็ อยูที่นี่แลว.

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะเหตุ นั้ นในเรื่ องนี้ พวกเธอทั้ งหลาย พึ งปรารภ ความเพีย ร เพื ่อ บรรลุธ รรมที ่ย ัง ไมไ ดบ รรลุ เพื ่อ เขา ถึง ธรรมที ่ย ัง ไมไ ดเ ขา ถึง เพื่อทําใหแจงธรรมที่ยังไมไดทําใหแจง เถิด.

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! พวกเธอทั้ งหลาย พึ งทํ าความสํ าเหนี ยกอย างนี้ ว า "ดวยการกระทําอยางนี้ บรรพชาของเราทั้งหลาย นี้ จักเปนบรรพชาไมต่ําทราม,

มัณฑะ ในที่นี้ คือโอชะที่ดีที่สุดลอยอยูผิวหนาของเนยใส.

www.buddhadasa.info


๔๘๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๘

ไม เป นหมั น; แต จั กเป นบรรพชามี ผลกํ าไร. อนึ่ ง เราทั้ งหลายบริ โภคจี วร บิ ณ ฑบาต เสนาสนะ คิ ลานป จจยเภสั ชชบริขาร ของชนทั้ งหลายเหล าใด, การบริโภคทั้ งหลายนั้ น จักเปน การบริโภคที่มีผลใหญ มีอานิสงสใหญ แกชนทั้งหลายเหลานั้น" ดังนี้. ดู กอนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะวา เมื่ อบุ คคลเห็ นอยู ซึ่งประโยชน ตน ย อม ควรแท ที่ จะทํ าประโยชน นั้ นให ถึ งพรอม ด วยความไม ประมาท; หรือวา เมื่ อเห็ นอยู ซึ่ ง ประโยชนเพื่อผูอื่น ยอมควรแทที่จะทําประโยชนนั้นใหถึงพรอม ดวยความไมประมาท; หรื อ ว า เมื่ อ เห็ น อยู ซึ่ งประโยชน ทั้ งสองฝ าย ย อ มควรแท ที่ จะทํ าประโยชน นั้ น ให ถึ ง พรอม ดวยความไมประมาท, ดังนี้ แล.

ทรงแสดงธรรมเนื่องดวยปฏิจจสมุปบาท มีความงามเบื้องตน - ทามกลาง - เบื้องปลาย๑ ดู ก อ นภิ กษุ ทั้ งหลาย! เราจั กแสดงธรรมอั น มี ค วามไพเราะในเบื้ อ งต น ไพเราะในทางมกลาง ไพเราะในเบื้ องปลาย แก พวกเธอทั้ งหลาย : จักประกาศ พรหมจรรย พ ร อ มทั้ งอรรถะ พร อ มทั้ งพยั ญ ชนะ บริ สุ ท ธิ์ บ ริ บู รณ สิ้ น เชิ ง; กล าวคื อ ธรรมหมวดละหก ๖ หมวด. พวกเธอทั้งหลายจงฟงซึ่งธรรมนั้น, จงทําในใจใหสําเร็จ ประโยชน, เราจักกลาวบัดนี้. .....

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! (๑) อายตนะทั้ งหลายหก อั นเป นภายใน เป นสิ่ งที่ ควรรู, (๒) อายตนะ ทั้งหลายหก อันเปนภายนอก เปนสิ่งที่ควรรู, (๓) หมูแหงวิญญาณ

ฉฉักกสูตร อุปริ. ม.๑๔/๕๐๙/๘๑๐, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน ใกลเมืองสาวัตถี.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ กับความเปนพระพุทธเจา

๔๘๙

ทั้งหลายหก เปนสิ่งที่ควรรู, (๔) หมู แหงผัสสะ ทั้งหลายหกเปนสิ่งที่ควรรู, (๕) หมู แห ง เวทนา ทั้งหลายหก เปนสิ่งที่ควรรู, (๖) หมูแหงตัณหา ทั้งหลายหก เปนสิ่งที่ควรรู, (๑) คําอันเรากลาวแลวอยางนี้วา "อายตนะทั้ งหลายหกอันเป นภายใน เป น สิ่ งที่ ควรรู" ดั งนี้ นั้ น เราอาศั ยอะไรกล าวเล า? อายตนะคื อ ตา มี อยู , อายตนะคื อ หู มี อยู , อายตนะคื อ จมู ก มี อยู , อายตนะคื อ ลิ้ น มี อยู , อายตนะคื อ กาย มี อยู , อายตนะคื อ ใจ มี อยู . ข อที่ เรากล าวว า "อายตนะทั้ งหลายหก อั นเป นภายใน เป นสิ่ งที่ ควรรู" ดั งนี้ นั้ น เราอาศัยสิ่งเหลานี้เองกลาว. นี้คือ ธรรมหมวดละหก หมวดที่หนึ่ง. (๒) คําอันเรากลาวแลวอยางนี้วา "อายตนะทั้งหลายหกอันเป นภายนอก เป นสิ่ งที่ ควรรู " ดั งนี้ นั้ น เราอาศั ยอะไรกล าวเล า? อายตนะคื อ รู ป มี อยู , อายตนะคื อ เสี ยง มี อยู , อายตนะคื อ กลิ่ น มี อยู , อายตนะคื อ รส มี อยู, อายตนะคือ โผฏฐัพพะ มี อยู , อายตนะคื อ ธั มมารมณ มี อยู . ข อที่ เรากล าวว า "อายตนะทั้ งหลายหก อั นเป น ภายนอก เป น สิ่ งที่ ค วรรู " ดั งนี้ นั้ น เราอาศั ยสิ่ งเหล านี้ เองกล าว. นี้ คื อ ธรรมหมวด ละหก หมวดที่สอง.

www.buddhadasa.info (๓) คํ าอั นเรากล าวแล วอย างนี้ วา "หมู แห งวิญญาณทั้ งหลายหก เป นสิ่ งที่ ควรรู" ดั งนี้ นั้ น เราอาศั ยอะไรกล าวเล า? เพราะอาศั ยซึ่ งจั กษุ ด วย รูปทั้ งหลายด วย จึ งเกิ ด จักขุ วิญญาณ; (ในกรณี แหงโสตะที่จะใหเกิดโสตวิญญาณก็ดี ฆานะที่จะใหเกิดฆานวิญญาณก็ดี ชิวหา ที่ จะให เกิดชิวหาวิญญาณก็ดี กายะที่จะให เกิดกายวิญญาณก็ ดี และมนะที่ จะใหเกิ ดมโนวิญญาณก็ ดี ก็ มี ขอ ความอย างเดี ยวกั น). ข อที่ เรากล าวว า "หมู แห งวิ ญญาณทั้ งหลายหกเป นสิ่ งที่ ควรรู " ดั งนี้ นั้ น

เราอาศัยสิ่งเหลานี้เองกลาว. นี้คือ ธรรมหมวดละหก หมวดที่สาม. (๔) คําอันเรากลาวแลวอยางนี้วา "หมู แหงผัสสะทั้ งหลายหก เปนสิ่งที่ควรรู" ดังนี้นั้น เราอาศัยอะไรกลาวเลา? เพราะอาศัยซึ่งจักษุดวย รูปทั้งหลายดวย จึงเกิด

www.buddhadasa.info


๔๙๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๘

จักขุวิญญาณ; การประจวบพรอมแหงธรรม ๓ ประการ (จักษุ + รูป + จักขุวิญญาณ) นั่ นคื อ ผั สสะ; (ในกรณี แห งโสตะที่ จะให เกิ ดโสตสั มผั สก็ ดี ฆานะที่ จะให เกิ ดฆานสั มผั สก็ ดี เป นต น จนกระทั่ งถึ งมโนที่ จะให เกิ ดมโนสั มผั สก็ ดี ก็ มี ข อความอย างเดี ยวกั น). ข อที่ เรากล าวว า "หมู แห ง ผัสสะทั้ งหลายหก เป นสิ่ งที่ ควรรู" ดังนี้ นั้ น เราอาศั ยสิ่งเหลานี้ เองกล าว. นี้ คื อ ธรรม หมวดละหก หมวดที่สี่. (๕) คําที่เรากลาวแลวอยางนี้วา "หมูแหงเวทนาทั้งหลายหก เปนสิ่งที่ควรรู" ดั งนี้ นั้ น เราอาศั ยอะไรกล าวเล า? เพราะอาศั ยซึ่ งจั กษุ ด วย รู ปทั้ งหลายด วย จึ งเกิ ด จักขุวิญญาณ; การประจวบพรอมแหงธรรม ๓ ประการ (จักษุ + รูป + จักขุวิญญาณ) นั่ น คื อ ผั ส สะ; เพราะมี ผั ส สะเป น ป จ จั ย จึ ง มี เ วทนา; (ในกรณี แ ห ง โสตะที่ จ ะให เกิ ด โสตสั มผั สสชาเวทนาก็ดี ฆานะที่ จะให เกิดฆานสั มผั สสชาเวทนาก็ดี เป นต น จนกระทั่ งถึ งมนะที่ จะให เกิ ด มโนสั มผั สสชาเวทนาก็ ดี ก็ มี ข อความอย างเดี ยวกั น). ข อที่ เรากล าวว า "หมู แห งเวทนาทั้ งหลายหก

เปนสิ่งที่ควรรู" ดังนี้นั้น เราอาศัยสิ่งเหลานี้เองกลาว. นี้คือ ธรรมหมวดกละหก หมวด ที่หา. (๖) คําที่เรากลาวแลวอยางนี้วา "หมูแหงตัณหาทั้งหลายหก เปนสิ่งที่ควรรู" ดั งนี้ นั้ น เราอาศั ยอะไรกล าวเล า? เพราะอาศั ยซึ่ งจั กษุ ด วย รูปทั้ งหลายด วย จึ งเกิ ดจั กขุ วิญญาณ การประจวบพรอมแห งธรรม ๓ ประการ (จักษุ + รูป + จั กขุ วิญญาณ) นั่ นคื อ ผั สสะ, เพราะมี ผั สสะเป นป จจั ย จึ งมี เวทนา; เพราะมี เวทนาเป นป จจั ย จึ งมี ตั ณหา;

www.buddhadasa.info (ในกรณีแหงการเกิดสัททตัณหาก็ดี คันธตัณหาก็ดี รสตัณหาก็ดี โผฏฐัพพตัณหาก็ดี ธัมมตัณหาก็ดี ก็มีขอ ความอย างเดี ยวกั น). ข อที่ เรากล าวว า "หมู แห งตั ณหาทั้ งหลายหก เป นสิ่ งที่ ควรรู " ดั งนี้ นั้ น

เราอาศัยสิ่งเหลานี้เองกลาว. นี้คือ ธรรมหมวดละหก หมวดที่หก. ผูใดพึ งกล าวอยางนี้ วา "จักษุ เป นอัตตา", คํ ากลาวเชนนั้น ยอม ไม เขาถึ ง (ซึ่งฐานะแหงเหตุผล); เพราะวาความเกิดก็ดี ความเสื่อมก็ดี ของจักษุ ปรากฏอยู.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ กับความเปนพระพุทธเจา

๔๙๑

ก็เมื่ อความเกิดก็ดี ความเสื่อมก็ดี ของสิ่งใด ปรากฏอยู, คําที่ควรกลาวสําหรับสิ่ง(จักษุ ) นั้ น ก็ ควรจะต องเป นอย างนี้ ว า "อั ตตาของเรา ย อมเกิ ดขึ้ นด วย ย อมเสื่ อมไปด วย" ดั งนี้ ; เพราะฉะนั้ น คํ ากล าวของผู ที่ กล าววา "จั กษุ เป นอั ตตา" ดั งนี้ นั้ น จึ งไม เขาถึ ง (ซึ่งฐานะแหงเหตุผล); เพราะเหตุนั้น จักษุจึงเปนอนันตา. (ในกรณีแหงรูปก็ดี จักขุวิญญาณ ก็ ดี จักขุสัมผัสก็ ดี จักขุสัมผัสสชาเวทนาก็ดี รูปตัณหาก็ดี มี ขอความอย างเดี ยวกันกั บในกรณี แห งจักษุ ตางกันแต เพี ยงประโยคสุดท าย คื อจะเอาธรรมและสหคตธรรมที่ กลาวแล วในกรณี กอน มากลาวเพิ่ มขางหน า ในกรณี หลังอี กตามลําดับกันไปแห งกรณี นั้น ๆ ; เชนในกรณี แห งจักขุสัมผัส : ประโยคสุ ดทายจะมี วา "เพราะ เหตุ นั้ น จั กษุ จึงเป นอนั ตตา, รูปทั้ งหลายจึงเป นอนั ตตา, จักขุวิ ญญาณจึ งเป นอนั ตตา, จั กขุสั มผั สจึงเป น อนั ตตา."; หรือเช นในกรณี แห งรูปตั ณ หา อั นเป นกรณี สุ ดท ายแห งหมวดจั กษุ ประโยคสุ ดท ายจะมี ว า "เพราะเหตุนั้น จักษุจึงเปนอนัตตา, รูปทั้งหลายจึงเปนอนัตตา, จักขุวิญญาณจึงเปนอนัตตา, จักขุสัมผัสจึง เปนอนัตตา, เวทนาจึงเปนอนัตตา, ตัณหาจึงเปนอนัตตา.". ขอความในหมวดโสตะก็ดี-ฆานะก็ดี-ชิวหาก็ดี-กายะก็ดี-มนะก็ดี ที่ถูกยืดถือเปนอัตตา; ก็มีนัยแหง การตรัสอยางเดียวกันกับขอความที่ตรัสแลวในหมวดแหงจักษุที่ถูกยืดถือเปนอัตตา ตางกันแต เพียงชื่อธรรม ประจําหมวดแตละหมวดเทานั้น.)

[ขางบนนี้ เปนการแสดงความงามเบื้องตน]

www.buddhadasa.info ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ก็ปฏิปทาอันใหถึงความเกิดขึ้นพรอมแหงสักกายะ มีอยูอยางนี้ คือ:-

บุ คคล ย อ มสํ าคั ญ เห็ น ซึ่ งจั กษุ ว า "นั่ น ของเรา, นั่ น เป น เรา, นั่ น เปนอัตตาของเรา". (ในกรณีแหงรูปทั้งหลาย, จักขุวิญญาณ, จักขุสัมผัส, เวทนา, และตัณหา; ก็ตรัส มีนัยดุจเดียวกันกับในกรณีแหงจักษุ. ในกรณี แห งหมวดโสตะก็ ดี -ฆานะก็ ดี -ชิ วหาก็ ดี -กายะก็ ดี -มนะก็ ดี ได ตรัสไว มี นั ยเดี ยว กันกับในกรณีแหงหมวดจักษุนั้นทุกประการ ตางกันแตเพียงชื่อซึ่งตองเปลี่ยนไปตามหมวดนั้น ๆ เทานั้น.)

[ขางบนนี้ เปนการแสดงความงามทามกลาง]

www.buddhadasa.info


๔๙๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๘

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ก็ปฏิปทาอันใหถึงความดับไมเหลือแหงสักกายะ มีอยูอยางนี้ คือ:บุ คคล ย อ มตามเห็ น ด วยดี ซึ่ งจั กษุ ว า "นั่ น ไม ใช ข องเรา (เนตํ มม), นั ่น ไมเ ปน เรา (เนโสหมสฺม ิ), นั ่น ไมใ ชอ ัต ตาของเรา (น เมโส อตฺต า)" (ใน กรณีแหงรูปทั้งหลาย, จักขวิญญาณ, จักขุสัมผัส, เวทนา, และตัณหา; ก็ตรัสมีนัยดุจเดียวกันกับกรณีแหงจักษุ. กรณี แห งหมวดโสตะ - ฆานะ ไปจนกระทั่ งหมวดมนะ ก็ได ตรัสไวมี นั ยะอยางเดี ยวกั นกั บที่ ตรัสไวในกรณีแหงหมวดจักษุนั้น ทุกประการ ตางกันแตเพียงชื่อซึ่งตองเปลี่ยนไปตามหมวดนั้น ๆ เทานั้น).

[ขางบนนี้ เปนการแสดงความงามเบื้องปลาย] (ต อไปได ทรงแสดงอายตนะภายใน อายตนะภายนอก วิ ญญาณ ผั สสะ ทํ าหน าที่ กั นจนเกิ ด เวทนา; ปฏิ บั ติ ผิ ดต อเวทนา ๓ มี สุ ขเวทนาเป นต น ก็ เป นเหตุ ให เพิ่ มอนุ สั ยนั้ นๆ ไปตามเวทนา; เมื่ อยั งละ บรรเทา ถนอมอนุ สั ยไม ได ไม ทํ าวิ ชชาให เกิ ดขึ้นแล ว ก็ ไม เป นฐานะที่ จะทํ าที่ สุ ดแห งทุ กขได ในทิ ฏฐิ ะรรม; ซึ่งเนื้ อ ความที่ ท รงแสดงนี้ ไดนํ าใส ไวในหมวดที่ ๕ ภายใต หั ว ขอ วา "เวทนาในปฏิ จ จสมุ ป บาท ใหเกิดอนุสัย"; แลวไดตรัสโดยนัยที่ตรงกันขาม หรือปฏิกขนัย อีกครั้งหนึ่ง, ซึ่งเนื้อความที่ทรงแสดงนี้ก็ ได นํ า มาใส ไว แ ล ว ในหมวดที่ ๖ โดยหั ว ข อ ว า "อนุ สั ย ไม อ าจจะเกิ ด เมื่ อ รู เท า ทั น เวทนาใน ปฏิ จจสมุปบาท". ผูศึกษาตองการทราบรายละเอียดในถอยคําที่ตรัสทั้งสองนัยะนี้ ก็ดูไดจากหัวขอนั้น ๆ แห งหมวดนั้น ๆ. ต อจากนั้น ไดตรัสวา อริยสาวกเมื่ อเห็นอยูอยางนั้น จะเบื่ อหนาย คลายกําหนั ด หลุดพ น ในอายตนะภายในทั้ งหก และสหคตธรรมที่ เนื่ องด วยอายตนะนั้ น ๆ ซึ่งมี จํานวน ๖ หมวด ๆ ละ ๖. ในที่ สุ ด แหงธรรมเทศนานี้ มีผลทําใหภิกษุ ๖๐ รูป บรรลุอรหัตตผล.)

www.buddhadasa.info ศาสดาและสาวก ยอมมีการกลาวตรงกันในเรื่องปฏิจจสมุปบาท๑ ก็คํานี้วา "ชรามรณะมี เพราะปจจัยคือชาติ" ดังนี้ เชนนี้แลเปนคําที่เรา กล าวแล ว. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ชรามรณะมี เพราะป จ จั ย คื อ ชาติ ใช ไหม? เป น อยางนี้หรือเปนอยางไร ในขอนี้?

มหาตัณหาสังขยสูตร มู.ม. ๑๒/๔๘๐/๔๔๗, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ กับความเปนพระพุทธเจา

๔๙๓

"ขาแตพระองค ผูเจริญ! ชรามรณะมี เพราะปจจัยคือชาติ , ในขอนี้ ตองมี วา ชรามรณะมี เพราะปจจัยคือชาติ อยางนี้เปนแนนอน พระเจาขา!" (ตรัสบอกแล วทรงซั กถาม และภิ กษุ ทั้ งหลายทู ลตอบ ในลั กษณะอย างเดี ยวกั นนี้ เป นลํ าดั บไป ทุ กอาการของปฏิ จจสมุ ปบาท ซึ่ งในที่ นี้ จะละไว ด วย...ฯลฯ...จนกระทั่ งถึ งอาการสุ ดท าย คื อสั งขาร จึ งจะ เขียนเต็มรูปความอีกครั้งหนึ่ง) ---- ---- ---- ----

ก็คํานี้วา "ชาติมี เพราะปจจัยคือภพ...ฯลฯ...ฯลฯ... อยางนี้แนนอน พระเจาขา!" ก็คํานี้วา "ภพมี เพราะปจจัยคืออุปาทาน...ฯลฯ...ฯลฯ... อยางนี้แนนอน พระเจาขา!" ก็คํานี้วา "อุปาทานมี เพราะปจจัยคือตัณหา...ฯลฯ...ฯลฯ... อยางนี้แนนอน พระเจาขา!" ก็คํานี้วา "ตัณหามี เพราะปจจัยคือเวทนา...ฯลฯ...ฯลฯ... อยางนี้แนนอน พระเจาขา!" ก็คํานี้วา "เวทนามี เพราะปจจัยคือผัสสะ...ฯลฯ...ฯลฯ... อยางนี้แนนอน พระเจาขา!" ก็คํานี้วา "ผัสสะมี เพราะปจจัยคือสฬายตนะ...ฯลฯ...ฯลฯ... อยางนี้แนนอน พระเจาขา!" ก็คํานี้วา "สฬายตนะมี เพราะปจจัยคือนามรูป...ฯลฯ...ฯลฯ... อยางนี้แนนอน พระเจาขา!" ก็คํานี้วา "นามรูปมี เพราะปจจัยคือวิญญาณ...ฯลฯ...ฯลฯ... อยางนี้แนนอน พระเจาขา!"

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๔๙๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๘

ก็คํานี้วา "วิญญาณมี เพราะปจจัยคือสังขาร...ฯลฯ...ฯลฯ... อยางนี้แนนอน พระเจาขา!" ---- ---- ---- ---ก็ คํ านี้ วา "สั งขารทั้ งหลายมี เพราะป จจั ยคื ออวิ ชชา" ดั งนี้ , เช นนี้ แล เป นคํ าที่ เรากล าวแล ว. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สั งขารทั้ งหลายมี เพราะป จจั ยคื ออวิ ชชา ใชไหม? เปนอยางนี้หรือเปนอยางไร ในขอนี้? "ข าแต พระองค ผู เจริญ! สั งขารทั้ งหลายมี เพราะป จจั ยคื ออวิ ชชา, ในข อนี้ ตองมีวาสังขารทั้งหลายมี เพราะปจจัยคืออวิชชา อยางนี้เปนแนนอน พระเจาขา!" ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ถู กแล ว! ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เป นอั นว า แม พ วก เธอก็ กล าวอย างนี้ ; แม เราก็ กล าวอย างนี้ วา "เมื่ อสิ่ งนี้ มี อยู สิ่ งนี้ ก็ มี ; เพราะสิ่ งนี้ เกิ ด ขึ้ น สิ่ งนี้ ก็ เกิ ด ขึ้ น ;"๑ กล า วคื อ เพราะมี อ วิ ช ชาเป น ป จ จั ย จึ งมี สั งขารทั้ งหลาย; เพราะมี สั งขารเป น ป จจั ย จึ งมี วิ ญ ญาณ; เพราะมี วิ ญ ญาณเป น ป จจั ย จึ งมี น ามรู ป ; เพราะมี นามรู ปเป นป จจั ย จึ งมี สฬายตนะ; เพราะมี สฬายตนะเป นป จจั ย จึ งมี ผั สสะ; เพราะมี ผั สสะเป นป จจั ย จึ งมี เวทนา; เพราะมี เวทนาเป นป จจั ย จึ งมี ตั ณ หา; เพราะมี ตั ณ หาเป น ป จจั ย จึ งมี อุ ป าทาน; เพราะมี อุ ป าทานเป น ป จจั ย จึ งมี ภ พ; เพราะมี ภ พ เป นป จจั ย จึ งมี ชาติ ; เพราะมี ชาติ เป นป จจั ย ชรามรณะ โสกะปริ เทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งเกิ ดขึ้ นครบถ วน : ความเกิ ดขึ้ นพรอมแห งกองทุ กข ทั้ งสิ้ นนี้ ย อมมี ดวยอาการอยางนี้.

www.buddhadasa.info

ขอความในเลขในอัญญประกาศ ๒ ประโยคนี้ คือกฎที่ทรงเรียกวา อิทัปปจจยตา ฝายเกิด.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ กับความเปนพระพุทธเจา

๔๙๕

เพราะความจางคลายดั บไปโดยไม เหลื อแห งอวิ ชชานั้ นนั่ นเที ยว, จึ งมี ความ ดั บ แห งสั งขาร; เพราะมี ความดั บ แห งสั งขาร จึ งมี ความดั บ แห งวิ ญ ญาณ; เพราะมี ความดั บแห งวิญญาณ จึ งมี ความดั บแห งนามรูป; เพราะมี ความดั บแห งนามรูป จึ งมี ความดั บ แห งสฬายตนะ; เพราะมี ค วามดั บ แห งสฬายตนะจึ งมี ความดั บ แห งผั สสะ; เพราะมีความดับแหงผัสสะ จึงมีความดับแหงเวทนา; เพราะมี ความดับแหงเวทนา จึงมี ความดั บแห งตั ณหา; เพราะมี ความดั บแห งตั ณหา จึ งมี ความดั บแห งอุ ปาทาน; เพราะมี ความดั บแห งอุ ปาทาน จึ งมี ความดั บแห งภพ; เพราะมี ความดั บแห งภพ จึ งมี ความดั บ แห งชาติ ; เพราะมี ค วามดั บ แห งชาติ นั่ น แล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ ก ขุ โทมนั ส อุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้. ก็คําวา "ความดับแห งชรามรณะมี เพราะความดั บแหงชาติ" ดังนี้, เช น นี้ แ ล เป น คํ า ที่ เรากล า วแล ว . ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ความดั บ แห งชรามรณะมี เพราะความดับแหงชาติ ใชไหม? เปนอยางนี้หรือเปนอยางไร ในขอนี้? "ขาแต พระองค ผู เจริญ! ความดั บแห งชาติ ชรามรณะมี เพราะความดั บแห งชาติ , ในขอนี้ตองมีวา ความดับแหงชรามรณะมี เพราะความดับแหงชาติ อยางนี้เปนแนนอน พระเจาขา!"

www.buddhadasa.info (ตรัสบอกแล วทรงซั กถาม และภิ กษุ ทั้ งหลายทู ลตอบ ในลั กษณะอย างเดี ยวกั นนี้ ทุ กอาการของ ปฏิ จจสมุ ปบาท ซึ่ งในที่ นี้ จะละไวด วย...ฯลฯ...จนกระทั่ งถึ งอาการสุ ดท าย คื อสั งขาร จึ งจะเขี ยนเต็ มอี ก ครั้งหนึ่ง.) ---- ---- ---- ----

ก็คํานี้วา "ความดับแหงชาติมี เพราะความดับแหงภพ...ฯลฯ... อยางนี้แนนอน พระเจาขา!" คํานี้วา "ความดับแหงภพมี เพราะความดับแหงอุปาทาน...ฯลฯ... อยางนี้แนนอน พระเจาขา!"

www.buddhadasa.info


๔๙๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๘

ก็คํานี้วา "ความดับแหงอุปาทานมี เพราะความดับแหงตัณหา...ฯลฯ... อยางนี้แนนอน พระเจาขา!" ก็คํานี้วา "ความดับแหงตัณหามี เพราะความดับแหงเวทนา...ฯลฯ... อยางนี้แนนอน พระเจาขา!" ก็คํานี้วา "ความดับแหงเวทนามี เพราะความดับแหงผัสสะ...ฯลฯ... อยางนี้แนนอน พระเจาขา!" ก็คํานี้วา "ความดับแหงผัสสะมี เพราะความดับแหงสฬายตนะ...ฯลฯ... อยางนี้แนนอน พระเจาขา!" ก็คํานี้วา "ความดับแหงสฬายตนะมี เพราะความดับแหงนามรูป...ฯลฯ... อยางนี้แนนอน พระเจาขา!" ก็คํานี้วา "ความดับแหงนามรูปมี เพราะความดับแหงวิญญาณ...ฯลฯ... อยางนี้แนนอน พระเจาขา!" ก็คํานี้วา "ความดับแหงวิญญาณมี เพราะความดับแหงสังขาร...ฯลฯ... อยางนี้แนนอน พระเจาขา!"

www.buddhadasa.info ---- ---- ---- ----

ก็คํานี้วา "ความดับแหงสังขารมี เพราะความดับแหงอวิชชา" ดังนี้, เชนนี้ แล เป นคํ าที่ เรากล าวแล ว. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ความดั บแห งสั งขารมี เพราะความดั บ แหงอวิชชาใชไหม? เปนอยางนี้หรือเปนอยางไร ในขอนี้?

"ข าแต พระองค ผู เจริ ญ! ความดั บแห งสั งขารมี เพราะความดั บแห งอวิ ชชา, ในขอนี้ ตองมี วา ความดับแหงสังขารมี เพราะความดับแห งอวิชชา อยางนี้เป นแนนอน พระเจาขา!"

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ กับความเปนพระพุทธเจา

๔๙๗

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ถูกแลว! ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เปนอันวา แมพวกเธอก็กลาว อยางนี้ ; แม เราก็ กล าวอยางนี้ วา "เมื่อสิ่งนี้ ไมมีอยู สิ่งนี้ก็ไมมี ; เพราะสิ่งนี้ดับไป สิ่ ง นี้ ก็ ดั บ ไป;”๑ กล า วคื อ เพราะความดั บ แห ง อวิ ช ชา จึ ง มี ค วามดั บ แห ง สั ง ขาร; เพราะมีความดับแห งสังขาร จึงมีความดับแหงวิญญาณ; เพราะมี ความดับแหงวิญญาณ จึงมี ความดั บแห งนามรูป; เพราะมี ความดั บแห งนามรูป จึ งมี ความดั บแห งสฬายตนะ; เพราะมี ความดั บแห งสฬายตนะจึ งมี ความดั บแห งผั สสะ; เพราะมี ความดั บแห งผั สสะ จึงมี ความดับแห งเวทนา; เพราะมี ความดับแห งเวทนา จึงมี ความดับแหงตัณหา; เพราะ มีความดับแหงตัณหา จึงมี ความดับแหงอุปาทาน; เพราะมี ความดับแหงอุปาทาน จึงมี ความดั บแห งภพ; เพราะมี ความดั บแห งภพ จึ งมี ความดั บแห งชาติ ; เพราะมี ความดั บ แห งชาติ นั่ นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขุ โทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งดั บสิ้ น : ความดับลงแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวย อาการอยางนี้. หมายเหตุ ผู ร วบรวม : ผู ศึ ก ษาพึ ง สั ง เกต ในข อ ที่ ว า พระศาสดากั บ พระสาวก ย อมจะมี ความรูเห็ นตรงกั น, โดยเฉพาะอย างยิ่ งในกรณี แห งปฏิ จจสมุ ปบาท, โดย ไม เพี ย งแต ป ากว า, หรือ กล าวไปเพราะความเคารพในพระศาสดา, แต ห มายความว า พระ สาวกรูจั กสิ่ งที่ เรี ยกว า ปฏิ จจสมุ ปบาท นั้ นดี ทุ กอาการ; และมองเห็ นความเป นอทิ ปป จจยตา คือเปนปจจัยอาศัยกันเกิด ทุกอาการ จริงๆ.

www.buddhadasa.info หมวดที่แปด จบ ---------------

ขอความในเลขในอั ญญประกาศ ๒ ประโยคนี้ คื อกฏที่ เรียกวา อิ ทั ปป จจยตา ฝ ายดั บ ผู ศึ กษาพั งสั งเกต ไวทุ กคราวที่ ผานไป, เพื่ อจะไดรูวาเรื่องอิทั ปป จจยตานี้ มีความสําคั ญมากนอยเพี ยงไร : บางสูตร กลาว วา ไดทรงนํ าเอาเรื่องอิทั ปป จจยตานี้ มาทรง "พึ มพั ม" เลน อยูในที่สงัดแต พระองคเดียวก็ยังมี (ดูหมวดที่ ๖ หัวขอวา "ตรัสวาเรื่องปฏิจจสมุปบาทเปนเบื้องตนแหงพรหมจรรย" และที่อื่นอีก).

www.buddhadasa.info


www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


หมวด ๙ วาดวย ปฏิจจสมุปบาท กับอริยสาวก

www.buddhadasa.info ๔๙๙

www.buddhadasa.info


www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


กฎอิทัปปจจยตา : หัวในปฏิจจสมุปบาท. ………………………... อิมสฺมึ สติ อิทํ โหติ เมื่อสิ่งนี้ มี สิ่งนี้ ยอมมี อิมสฺสุปฺ ปาทา อิทํ อุปฺปชฺชติ เพราะความเกิดขึ้นแหงสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น อิมสมึ อสติ อิทํ น โหติ เมื่อสิ่งนี้ ไมมี สิ่งนี้ ยอมไมมี อิมสฺส นิโรธา อิทํ นิรุชฺฌติ เพราะความดับไปแหงสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงดับไป (ม.ม.๑๓/๓๕๕/๓๗๑, นิทาน.สํ.๑๖/๘๔/๑๕๔,...)

www.buddhadasa.info ๕๐๑

www.buddhadasa.info


ลําดับเรื่องเฉพาะหมวด สําหรับปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ หมวดที่ ๙ วาดวย ปฏิจจสมุปบาทกับอริยสาวก (มี ๑๐ เรื่อง) มีเรื่อง : ทรงกําชับสาวกใหเลาเรียนปฏิจจสมุปบาท - - ไมรูเรื่องรากฐานแหง ปฏิจจสมุปบาท ก็ยังไมใชสาวกในศาสนานี้ -- อริยสาวกยอมรูปฏิจจสมุปบาทโดยไมตอง เชื่อ ผูอื่ น - - อริยญายธรรมคือ การรูเรื่อ งปฏิ จ จสมุ ป บาท – การสนทนาของพระมหา สาวก -- เวทนาของปุถุชนตางจากของอริยสาวก -- อริยสาวกรูความเกิดและความดับของ โลกอยางไมมีที่สงสัย -- พระโสดาบันคือผูเห็นชัดปฏิจจสมุปบาทโดยวิธีแหงอริยสัจสี่ -โสตาปตติยังคะขึ้นอยูกับการรูปฏิจจสมุปบาทของอริยสาวก -- สามัญญผลในพุทธศาสนา เทียบกันไมไดกับลัทธิอื่น.

www.buddhadasa.info ๕๐๒

www.buddhadasa.info


ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ

หมวดที่ ๙ วาดวย ปฏิจจสมุปบาทกับอริยสาวก --------------ทรงกําชับสาวกใหเลาเรียนปฏิจจสมุปบาท๑ ครั้งหนึ่ง พระผูมีพระภาคเจา เมื่อเสด็จประทับอยูในที่หลีกเรนแหนงหนึ่งแลว ไดทรงกลาว ธรรมปริยายนี้ (ตามลําพังพระองค) วา :-

"เพราะอาศัย ตา ดวย รูป ทั้งหลายดวย จึงเกิด จักขุวิญญาณ; การประจวบ แหงธรรม ๓ ประการ (ตา + รูป + จักขุวิญญาณ) นั่นคือ ผัสสะ;

www.buddhadasa.info

สูตรที่ ๕ คหปติวรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน.สํ. ๑๖/๘๙/๑๖๖-๘, และสูตรที่ ๑๐ โยคักเขมิวรรค สฬายตนสังยุตต สฬา.สํ. ๑๘/๑๑๑/๑๖๓, กลาวตามลําพังพระองคในคราวประทับหลีกเรน ซึ่งมีภิกษุ รูปหนึ่งยืนแอบฟงอยูดวย.

๕๐๓

www.buddhadasa.info


๕๐๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๙

เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมีเวทนา; เพราะมีเวทนาเปนปจจัย จึงมีตัณหา; เพราะมีตัณหาเปนปจจัย จึงมีอุปาทาน; เพราะมีอุปาทานเปนปจจัย จึงมีภพ; เพราะมีภพเปนปจจัย จึงมีชาติ; เพราะมี ชาติ เป นป จจั ย ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขุ โทมนั สอุ ปายาส ทั้ งหลายจึ งมี ขึ้ นพร อม : ความเกิ ดขึ้ นพร อมแห งกองทุ กข ทั้ งสิ้ นนี้ ย อมมี ด วยอาการ อยางนี้. เพราะอาศั ย หู ด วย เสี ยง ทั้ งหลายด วย จึ งเกิ ดโสตวิ ญญาณ; การประจวบ แหงธรรม ๓ ประการ (หู + เสียง + โสตวิญญาณ) นั้นคือ ผัสสะ; เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมีเวทนา; ...ฯลฯ... ...ฯลฯ... (ข อความเต็ มในกรณี แห ง หู ก็ มี อย างเดี ยวกั นกั บในกรณี แห งตา ทุ กตั วอั กษร, ต างกั น แต ชื่ อ. ในกรณีแหงจมูก ลิ้น กาย ก็มีนัยเดียวกัน. ในกรณีแหงมโน จะเขียนเต็มอีกครั้งหนึ่ง).

www.buddhadasa.info ...ฯล ฯ ... ...ฯล ฯ ... ยอมมี ดวยอาการอยางนี้.

ค วาม เกิด ขึ ้น พ รอ ม แหง กอ งทุก ขทั ้ง สิ ้น นี้

เพราะอาศั ย จมู ก ด วย กลิ่ น ทั้ งหลายด วย จึ งเกิ ด ฆานวิ ญญาณ; การประจวบ แหงธรรม ๓ ประการ (จมูก + กลิ่น + ฆานวิญญาณ) นั้นคือ ผัสสะ;

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทกับอริยสาวก

๕๐๕

เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมีเวทนา; ...ฯลฯ... ...ฯลฯ... ...ฯลฯ... ...ฯลฯ... ความเกิ ด ขึ้ น พร อ มแห ง กองทุ ก ข ทั้ ง สิ้ น นี้ ย อ มมี ดวยอาการ อยางนี้. เพราะอาศัย ลิ้น ดวย รส ทั้งหลายดวย จึงเกิด ชิวหาวิญญาณ; การประจวบ แหงธรรม ๓ ประการ (ลิ้น + รส + ชิวหาวิญญาณ) นั้นคือ ผัสสะ; เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมีเวทนา; ...ฯลฯ... ...ฯลฯ... ...ฯลฯ... ...ฯลฯ... ความเกิ ด ขึ้ น พร อ มแห ง กองทุ ก ข ทั้ ง สิ้ น นี้ ย อ มมี ดวยอาการ อยางนี้. เพราะอาศั ย กาย ด วย โผฏฐั พพะ ทั้ งหลายด วย จึ งเกิ ด กายวิ ญญาณ; การประจวบแหงธรรม ๓ ประการ (กาย + โผฏฐัพพะ + กายวิญญาณ) นั้นคือ ผัสสะ; เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมีเวทนา; ...ฯลฯ... ...ฯลฯ... ...ฯลฯ... ...ฯลฯ... ความเกิ ด ขึ้ น พร อ มแห ง กองทุ ก ข ทั้ ง สิ้ น นี้ ย อ มมี ดวยอาการอยางนี้.

www.buddhadasa.info เพราะอาศัยใจ ดวย ธั มมารมณ ทั้งหลายดวย จึงเกิดมโนวิญญาณ; การ ประจวบแหงธรรม ๓ ประการ (ใจ + ธัมมารมณ + มโนวิญญาณ) นั้นคือ ผัสสะ;

www.buddhadasa.info


๕๐๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๙

เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมีเวทนา; เพราะมีเวทนาเปนปจจัย จึงมีตัณหา; เพราะมีตัณหาเปนปจจัย จึงมีอุปาทาน; เพราะมีอุปาทานเปนปจจัย จึงมีภพ; เพราะมีภพเปนปจจัย จึงมีชาติ; เพราะมี ชาติ เป นป จจัย ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขุโทมนั สอุ ปายาส ทั้ งหลายจึ งมี ขึ้ นพร อม : ความเกิ ดขึ้ นพร อมแห งกองทุ กข ทั้ งสิ้ นนี้ ย อมมี ด วยอาการ อยางนี้. (ปฏิปกขนัย)

เพราะอาศัย ตา ดวย รูป ทั้ งหลายดวย จึงเกิด จักขุ วิญญาณ; การประจวบ แหงธรรม ๓ ประการ (ตา + รูป + จักขุวิญญาณ) นั้นคือ ผัสสะ; เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมีเวทนา; เพราะมีเวทนาเปนปจจัย จึงมีตัณหา. เพราะความจางคลายดับ ไปโดยไมเ หลือ แหง ตัณ หา นั ้น จึง มี ความดับแหงอุปทาน; เพราะมีความดับแหงอุปาทาน จึงมีความดับแหงภพ; เพราะมีความดับแหงภพ จึงมีความดับแหงชาติ; เพราะมีความดับแหงชาตินั่นแล, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขุโทมนัสอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งดั บสิ้ น : ความดั บลงแห งกองทุ กข ทั้ งสิ้ นนี้ ย อมมี ด วยอาการ อยางนี้.

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทกับอริยสาวก

๕๐๗

เพราะอาศั ย หู ดวย เสี ยง ทั้ งหลายด วย จึ งเกิดโสตวิญญาณ; การประจวบ แหงธรรม ๓ ประการ (หู + เสียง + โสตวิญญาณ) นั้นคือ ผัสสะ; เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมีเวทนา; ...ฯลฯ... ...ฯลฯ... (ขอความเต็มในกรณี แหง หู ก็มีอยางเดียวกันกับในกรณี แหงตา ทุ กตัวอักษร, ตางกัน แตชื่อ ในกรณีแหงจมูก ลิ้น กาย ก็มีนัยเดียวกัน. ในกรณีแหงมโน จะเขียนเต็มอีกครั้งหนึ่ง).

...ฯลฯ... ...ฯลฯ... ความเกิ ดขึ้ นพรอมแห งกองทุ กขทั้ งสิ้ นนี้ ย อมมี ด วย อาการอยางนี้. เพราะอาศั ย จมู ก ด วย กลิ่ น ทั้ งหลายด วย จึงเกิด ฆานวิญญาณ; การ ประจวบแหงธรรม ๓ ประการ (จมูก + กลิ่น + ฆานวิญญาณ) นั้นคือ ผัสสะ; เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมีเวทนา; ...ฯลฯ... ...ฯลฯ... ...ฯลฯ... ...ฯลฯ... ความเกิ ดขึ้ นพรอมแห งกองทุ กข ทั้ งสิ้ นนี้ ย อมมี ด วย อาการอยางนี้.

www.buddhadasa.info เพราะอาศัย ลิ้น ดวย รส ทั้งหลายดวย จึงเกิด ชิวหาวิญญาณ; การประจวบ แหงธรรม ๓ ประการ (ลิ้น + รส + ชิวหาวิญญาณ) นั้นคือ ผัสสะ; เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมีเวทนา; ...ฯลฯ... ...ฯลฯ...

www.buddhadasa.info


๕๐๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๙

...ฯลฯ... ...ฯลฯ... ความดั บ ลงแห ง กองทุ ก ข ทั้ ง สิ้ น นี้ ย อ มมี ด ว ย อาการอยางนี้. เพราะอาศัย กาย ดวย โผฏฐัพพะ ทั้งหลายดวย จึงเกิด กายวิญญาณ; การ ประจวบแหง ธรรม ๓ ประการ (กาย + โผฏฐัพพะ + กายวิญญาณ) นั้นคือ ผัสสะ; เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมีเวทนา; ...ฯลฯ... ...ฯลฯ... ...ฯลฯ... ...ฯลฯ... ความดั บ ลงแห ง กองทุ ก ข ทั้ ง สิ้ น นี้ ย อ มมี ด ว ย อาการอยางนี้. เพราะอาศั ยใจ ด วย ธัมมารมณ ทั้ งหลายด วย จึงเกิ ดมโนวิญญาณ; การ ประจวบแหงธรรม ๓ ประการ (ใจ + ธัมมารมณ + มโนวิญญาณ) นั้นคือ ผัสสะ; เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมีเวทนา; เพราะมีเวทนาเปนปจจัย จึงมีตัณหา. เพราะความจางคลายดับ ไปโดยไมเ หลือ แหง ตัณ หา นั ้น จึง มี ความดับแหงอุปทาน; เพราะมีความดับแหงอุปาทาน จึงมีความดับแหงภพ; เพราะมีความดับแหงภพ จึงมีความดับแหงชาติ; เพราะมีความดับแหงชาตินั่นแล, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขุโทมนัสอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งดั บสิ้ น : ความดั บลงแห งกองทุ กข ทั้ งสิ้ นนี้ ย อมมี ด วยอาการ อยางนี้.

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทกับอริยสาวก

๕๐๙

สมั ยนั้ น ภิ กษุ องค หนึ่ ง ได ยื นแอบฟ งพระผู มี พระภาคเจ าอยู . พระผู มี พระภาคเจ าทอดพระเนตรเห็ นภิ กษุ ผู ยื นแอบฟ งนั้ นแล ว ได ทรงกล าวกะภิ กษุ นั้ นวา "ดู ก อนภิ กษุ ! เธอได ยิ นธรรมปริ ยายนี้ แ ล ว

มิใชหรือ?" "ไดยินแลว พระเจาขา!" "ดู ก อ นภิ ก ษุ ! เธอจงรั บ เอาธรรมปริ ย ายนี้ ไ ป. ดู ก อ นภิ ก ษุ ! เธอจง เลา เรีย นธรรมปริย ายนี ้. ดูก อ นภิก ษุ! เธอจง ทรงไวซึ ่ง ธรรมปริย ายนี ้. ดูก อ น ภิก ษ! ธรรมปริยายนี้ ประกอบดว ยประโยชน เปน เบื้อ งตน แหงพรหมจรรย", ดังนี้ แล.

ไมรูเรื่องรากฐานแหงปฏิจจสมุปบาท ก็ยังไมใชสาวกในศาสนานี้๑ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ภิ กษุ รูปใดก็ ตาม ยั งไม รูชั ดซึ่ ง สมุ ทั ย อั ตถั งคมะ อัสสาทะ อาทีนวะ และนิสสรณะ แหงผัสสายตนะทั้งหลาย ๖ ประการ ตามความ เป นจริง ก็ เป นอั นว า พรหมจรรย นี้ อั น ภิ กษุ นั้ นไม ได อยู ประพฤติ เธออยู ห างไกลออกไป จากธรรมวินัยนี้.

www.buddhadasa.info เมื่ อพระผู มี พระภาคเจ าตรัสอย างนี้ แล ว ภิ กษุ รูปหนึ่ ง ได กราบทู ลพระผู มี พระภาคเจ าวา " ข า แต พระองค ผู เจริญ ! ข าพระองค ยั งไม โล งใจในกรณี นี้ เพราะว าข าพระองค ยั งไม รู ชั ดซึ่ งสมุ ทั ย อั ตถั งคมะ อัสสาทะ อาทีนวะ และนิสสรณะ แหงผัสสายตนะทั้งหลาย ๖ ประการตามความเปนจริง"

สูตรที่ ๙ มิคชาลวรรค สฬา.สํ. ๑๘/๕๒/๘๕.

www.buddhadasa.info


๕๑๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๙

ดู ก อนภิ กษุ ! เธอจะสํ าคั ญความข อนี้ ว าอย างไร : เธอย อมตามเห็ นซึ่ งจั กษุ วา "นั่นของเรา ; นั่นเปนเรา; นั่นเปนตัวตนของเรา;" ดังนี้หรือ? "ขอนั้น หามิได พระเจาขา!" ถู กแล ว ภิ กษุ , ในข อนี้ การที่ เธอตามเห็ น ซึ่ งจั กษุ ด วยอาการอย างนี้ ว า "นั่ น ไม ใช ข องเรา; นั่ น ไม เป น เรา; นั่ น ไม ใช ตั ว ตนของเรา," ดั งนี้ จั ก เป น อั น เธอเห็ น ดีแลวดวยปญญาโดยชอบ ตาม ความจริง : นี้แล เปนที่สุดแหงทุกข. [ในกรณี แห ง โสตะ ฆานะ ชิ วหา กายะ และมโน ก็ ทรงถาม, ภิ กษุ ทู ลตอบ, และตรั ส อยางเดียวกันกับในกรณีแหงจักษุ ทุกประการ ...ในสู ตรถั ดไปและในที่ อื่ น อี ก (สู ตรที่ ๑๐ มิ คชาลวรรค สฬา.สํ ๑๘/๕๓/๘๖ และ สู ตร ที่ ๕ ฉั นนวรรค สฬา.สํ ๑๘/๗๖/๑๑๔) ทรงแสดงอานิ สงส ของการเห็ นผั สสายตนะ ๖ โดยอาการ ๕ ใน ตอนท ายแห งเรื่องอย างเดี ยวกั นนี้ แปลกออกไป; คื อแทนที่ จะทรงแสดงวา "นั่ นเป นที่ สุ ดแห งทุ กข" แต ทรงแสดงวา "จั กละผั สสายตนะได ไม เป นไปเพื่ อการเกิ ดใหม แห งผั สสายตนะนั้ น อี กต อไป" อี ก สู ตรหนึ่ ง (สู ตรที่ ๑๑ มิ คชาลวรรค สฬา.สํ ๑๘/๕๔/๘๗) ทรงแสดงข อความอย างเดี ยวกั น แต ทรงซั ก ถามในภิ กษุ นั้ น ตอบยืนยั นการเห็ นอนั ตตา อย างละเอียดลออตามนั ยแห งอนั ตตลั กขณสู ตร และประสบผล อย างเดียวกั นกับใน อนัตตลักขณสูตรนั้น].

www.buddhadasa.info หมายเหตุ ผู รวบรวม : ผู ศึ กษาพึ งสั งเกตให เห็ น ว า ผั สสายตนะ ๖ คื อ ตา หู จมู ก ลิ้ น กาย และใจ นั่ น เป น รากฐานของปฏิ จ จสมุ ป บาท ถ า รู ทุ ก สิ่ ง ที่ ค วรรู เกี่ ย วกั บ รากฐานอันนี้ ก็ยอมตัดกระแส แหงปฏิจจสมุปบาทไดเปนแนนอน.

อริยสาวก ยอมรูปฏิจจสมุปบาท โดยไมตองเชื่อผูอื่น ๑ ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย! อริยสาวกไดสดับแลว ยอมไมมีความสงสัยอยางนี้ วา "เพราะอะไรมี อะไรจึงมีหนอ; เพราะความเกิดขึ้นแหงอะไร อะไรจึงเกิดขึ้น :

สูตรที่ ๑๐ คหปติวรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน.สํ. ๑๖/๙๔/๑๘๓, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทกับอริยสาวก

๕๑๑

เพราะอะไรมี สั ง ขารทั้ ง หลายจึ ง มี ; เพราะอะไรมี วิ ญ ญาณจึ ง มี ; เพราะอะไรมี นามรู ป จึ งมี ; เพราะอะไรมี สฬายตนะจึ งมี ; เพราะอะไรมี ผั สสะจึ งมี ; เพราะอะไรมี เวทนาจึ งมี ; เพราะอะไรมี ตั ณ หาจึ งมี ; เพราะอะไรมี อุ ป าทาน จึ งมี ; เพราะอะไรมี ภพจึงมี; เพราะอะไรมี ชาติจึงมี; เพราะอะไรมี ชรามรณะจึงมี" ดังนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! โดยที่ แท อริยสาวกผู ได สดั บแล ว ย อมมี ญาณหยั่ งรู ในเรื่องนี้ โดยไม ต องเชื่ อผู อื่ นวา "เพราะสิ่งนี้ มี สิ่ งนี้ จึงมี ; เพราะความเกิ ดขึ้นของ สิ่ งนี้ สิ่ งนี้ จึ งเกิ ดขึ้ น : เพราะ อวิ ชชามี สั งขารทั้ งหลายจึ งมี ; เพราะสั งขารทั้ งหลายมี วิ ญ ญาณจึ ง มี ; เพราะวิ ญ ญาณมี นามรู ป จึ ง มี ; เพราะนามรู ป มี สฬายตนะจึ ง มี ; เพราะสฬายตนะมี ผั ส สะจึ งมี ; เพราะผั ส สะมี เวทนาจึ งมี ; เพราะเวทนามี ตั ณ หา จึง มี; เพราะตัณ หามี อุป าทานจึง มี; เพราะอุป าทานมี ภพจึง มี; เพราะภพมี ชาติ จึ งมี ; เพราะ ชาติ มี ชรามรณะจึ งมี " ดั งนี้ . อริ ยสาวกนั้ น ย อมรู ประจั กษ อย างนี้ วา "โลกนี้ ยอมเกิดขึ้น ดวยอาการอยางนี้" ดังนี้. ดูกอนภิ กษุทั้ งหลาย! อริยสาวกผูไดสดับแลว ยอมไม มี ความสงสัยอยางนี้ ว า "เพราะอะไร ไม มี อะไรจึ ง ไม มี ห นอ; เพราะความดั บ แห ง อะไร อะไรจึ ง ดั บ : เพราะอะไรไม มี สั งขารทั้ งหลาย จึ งไม มี ; เพราะอะไรไม มี วิ ญ ญาณจึ งไม มี ; เพราะ อะไรไม มี นามรู ป จึ ง ไม มี ; เพราะอะไรไม มี สฬายตนะจึ ง ไม มี ; เพราะอะไรไม มี ผั ส สะจึ ง ไม มี ; เพราะอะไรไม มี เวทนาจึ ง ไม มี ; เพราะอะไร ไม มี ตั ณ หาจึ ง ไม มี ; เพราะอะไรไม มี อุ ป าทานจึ ง ไม มี ; เพราะอะไรไม มี ภพจึ ง ไม มี ; เพราะอะไร ไม มี ชาติจึงไมมี; เพราะอะไรไมมี ชรามรณะจึงไมมี" ดังนี้.

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! โดยที่ แท อริยสาวกผู ได สดั บแล ว ย อมมี ญาณหยั่ งรู ในเรื่องนี้ โดยไม ตองเชื่อผูอื่น วา "เพราะสิ่งนี้ไมมี สิ่งนี้จึงไมมี ; เพราะความดับ

www.buddhadasa.info


๕๑๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๙

แห ง สิ่ ง นี้ สิ่ ง นี้ จึ ง ดั บ : เพราะ อวิ ช ชาไม มี สั ง ขารทั้ ง หลายจึ ง ไม มี ; เพราะสั ง ขาร ทั้งหลายไมมี วิญญาณจึงไมมี; เพราะวิญญาณไมมี นามรูปจึงไมมี ; เพราะนามรูปไม มี สฬายตนะจึ งไม มี ; เพราะสฬายตนะไม มี ผั สสะจึ งไม มี ; เพราะผั ส สะไม มี เวทนา จึ ง ไม มี ; เพราะเวทนาไม มี ตั ณ หาจึ ง ไม มี ; เพราะตั ณ หาไม มี อุ ป าทานจึ ง ไม มี ; เพราะอุป าทานไมม ี ภพจึง ไมม ี; เพราะภพไมม ี ชาติจ ึง ไมม ี; เพราะชาติไ มมี ชรามรณะจึ ง ไม มี " ดั งนี้ . อริยสาวกนั้ น ย อมรูประจั กษ อย างนี้ วา "โลกนี้ ย อมดั บลง ดวยอาการอยางนี้" ดังนี้. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! อริยสาวก ยอมมารูทั่วถึงเหตุเกิดและความดับ แหงโลก ตามที่เปนจริงอยางนี้ ในกาลใด; ในกาลนั้น เราเรียกอริยสาวกนี้วา "ผู ส มบู ร ณ แ ล ว ด ว ยทิ ฏ ฐิ " ดั ง นี้ บ า ง; ว า " ผู ส มบู ร ณ แ ล ว ด ว ยทั ส สนะ" ดั ง นี้ บ า ง; ว า "ผู ม าถึ ง พระสั ท ธรรมนี้ แ ล ว " ดั ง นี้ บ า ง; ว า "ได เห็ น พระ สั ท ธรรมนี้ " ดั ง นี้ บ า ง; ว า "ผู ม าถึ ง พระสั ท ธรรมนี้ แ ล ว " ดั ง นี้ บ า ง; ว า "ได เห็ น พระสั ท ธรรมนี้ " ดั ง นี้ บ า ง; วา "ผู ประกอบแล วด วยญาณอั นเป นเสขะ" ดั งนี้ บ าง; ว าประกอบแล วด วยวิชชาอั น เป น เสขะ" ดั งนี้ บ าง; ว า "ผู ถึ งซึ่ งกระแสแห งธรรมแล ว" ดั งนี้ บ าง; ว า "ผู ป ระเสริ ฐ มีปญญาเครื่องชําแรกกิเลส" ดังนี้บาง; วา "ยืนอยูจดประตูแห งอมตะ" ดังนี้บาง, ดังนี้ แล.

www.buddhadasa.info อริยญายธรรมคือการรูเรื่องปฏิจจสมุปบาท๑

ดู ก อนคหบดี ! ก็ อริยญายธรรม เป นสิ่ งที่ อริยสาวกเห็ นแล วด วยดี แทงตลอด แลวดวยดี ดวยปญญา เปนอยางไรเลา?

สูตรที่ ๒ อุปาสกวรรค ทสก.อ. ๒๔/๑๙๗/๙๒, ตรัสแกอนาถปณฑิกคหบดี ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทกับอริยสาวก

๕๑๓

ดู ก อนคหบดี ! อริยสาวกในธรรมวิ นั ยนี้ ย อมพิ จารณาเห็ นโดยประจั กษ ดั งนี้ ว า "ด วยอาการอย างนี้ เพราะสิ่ งนี้ มี , สิ่ งนี้ จึ งมี ; เพราะความเกิ ด ขึ้ น แห งสิ่ งนี้ , สิ ่ง นี ้จ ึง เกิด ขึ ้น . เพราะสิ ่ง นี ้ไ มม ี, สิ ่ง นี ้จ ึง ไมม ี; เพราะความดับ ไปแหง สิ ่ง นี ้, สิ่ งนี้ จึ งดั บไป : ข อนี้ ได แก สิ่ งเหล านี้ คื อ เพราะมี อวิ ชชา เป นป จจั ย จึ งมี สั งขารทั้ งหลาย; เพราะมี สั งขารเป นป จจั ย จึ งมี วิ ญ ญาณ; เพราะมี วิ ญ ญาณเป นป จจั ย จึ งมี นามรู ป ; เพราะมี นามรู ปเป นป จจั ย จึ งมี สฬายตนะ; เพราะมี สฬายตนะเป นป จจั ย จึ งมี ผั สสะ; เพราะมี ผั ส สะเป น ป จจั ย จึ งมี เวทนา; เพราะมี เวทนาเป น ป จจั ย จึ งมี ตั ณ หา; เพราะ มี ตั ณ หาเป น ป จ จั ย จึ ง มี อุ ป าทาน; เพราะมี อุ ป าทานป จ จั ย จึ ง มี ภ พ; เพราะมี ภพเป น ป จ จั ย จึ งมี ช าติ ; เพราะมี ช าติ เป น ป จ จั ย , ชรามรณะ โสกะปริ เทวะทุ ก ขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งเกิ ดขึ้ นครบถ วน : ความเกิ ด ขึ้ นพรอมแห งก องทุ กข ทั้ งสิ้ นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้. เพราะความจางคลายดั บไปโดยไม เหลื อแห งอวิ ชชานั้ นนั่ นเที ยว, จึ งมี ความ ดั บ แห ง สั ง ขาร; เพราะมี ค วามดั บ แห งสั ง ขาร จึ ง มี ค วามดั บ แห ง วิ ญ ญาณ; เพราะมี ความดั บแห งวิ ญ ญาณ จึ งมี ความดั บ แห งนามรูป; เพราะมี ความดั บแห งนามรูป จึ งมี ความดั บ แห งสฬายตนะ; เพราะมี ค วามดั บ แห งสฬายตนะ จึ งมี ค วามดั บ แห งผั ส สะ; เพราะมี ค วามแห ง ผั ส สะ จึ ง มี ค วามดั บ แห ง เวทนา; เพราะมี ค วามดั บ แห ง เวทนา จึ งมี ค วามดั บ แห งตั ณ หา; เพราะมี ค วามดั บแห งตั ณ หา จึ งมี ค วามดั บ แห งอุ ป าทาน; เพราะมี ความดั บแห งอุ ปาทาน จึ งมี ความดั บแห งภพ; เพราะมี ความดั บแห งภพ จึ งมี ความดั บ แห งชาติ ; เพราะมี ความดั บ แห งชาติ นั่ น แล ชรามรณะ โสกะปริ เทวะทุ ก ขุ โทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ ง ดั บสิ้ น : ความดั บลงแห งกองทุ กข ทั้ งสิ้ นนี้ ย อมมี ด วยอาการ อยางนี้.

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๕๑๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๙

ดู ก อ นคหบดี ! อริ ย ญายธรรมนี้ แ ล เป น สิ่ ง ที่ อ ริ ย สาวกเห็ น แล ว ด ว ยดี แทงตลอดแลวดวยดี ดวยปญญา. หมายเหตุ ผู ร วบรวม : ผู ศึ ก ษาพึ ง สั ง เกตให เ ห็ น ว า ตั ว บทของปฏิ จ จสมุ ป บาทที่ แ สดงไว ตามที่ รู กั น อยู ทั่ วไป ฟ ง ดู ค ล า ยกั บ ว า เป น เพี ย งหลั ก สํ า หรั บ เรี ย น หรื อ สํ า หรั บ คิ ด ; ต อ เมื่ อ สั งเกตอย าง ละเอี ยด จึ งจะมองเห็ น ว า เป น สิ่ งที่ ยิ่ งกว าหลั ก สํ า หรั บ เรี ย น หรื อ สํ า หรั บ คิ ด เท า นั้ น แต ท รงประสงค ให เป น ตั ว ธรรมสํ า หรั บ การรู แ จ ง แทงตลอด หรื อ เป น เครื่องนํ าสั ตว ออกไปจากกองทุ กข ด วยป ญ ญา ในตั วป ญ ญาที่ เรียกว า "ยถาภู ตสั มมั ปป ญ ญา" นั้ น เองเป น ตั วการปฏิ บั ติ ; และในที่ นี้ ตรั ส เรี ย กว า เป น การรู แ จ งแทงตลอดซึ่ งอริ ย ญายธรรม. ตั ว การปฏิ บั ติ โดยตรง ตั้ ง ต น ด ว ยการมี ส ติ ระวั ง เมื่ อ มี ก ารกระทบทางอายตนะ เช น ตาเห็ น รูป เป น ตน , อยา ให เ กิด มีสิ ่ง ที ่เ รีย ก วา "อ วิช ชาสัม ผัส " ขึ ้น ม าได; แ ลว ก ระแ ส แห ง ปฏิ จ จสมุ ป บาท ก็ จ ะไม เกิ ด ขึ้ น หรื อ ดํ า เนิ น ไป. สํ า หรั บ สิ่ ง ที่ เรี ย กว า อวิ ช ชาสั ม ผั ส นั้ น มี แ จ ง อยูในหัวขอชื่อนั้น ในหนังสือเลมนี้แลว.

การสนทนาของพระมหาสาวก๑ (เรื่องปฏิจจสมุปบาท)

www.buddhadasa.info ครั้ งนั้ น ท านพระสารีบุ ตรกั บท านพระมหาโกฏฐิ ตะ อยู ณ ป าอิ สะปตนมฤคทายวั น ใกล เมื อง พาราณสี . ครั้งนั้ น ท านพระมหาโกฏฐิ ตะออกจากที่ หลี กเร น ในเวลาเย็ น เข าไปหาพระสารี บุ ตร ถึ งที่ อยู แล วได กล าวคํ านี้ กะท านพระสารีบุ ตรวา "ดู ก อนท านสารี บุ ตร! ชรามรณะเป นสิ่ งที่ บุ คคลกระทํ า

เองหรือ หนอ? หรื อ ว า ชรามรณะ เป น สิ่ ง ที่ บุ ค คลอื่ น กระทํ า ? ชรามรณะ เป น สิ่ ง ที่ บุ ค คลกระทํ า เองด ว ย บุ ค คลอื่ น กระทํ า ด ว ยหรื อ ? หรื อ ว า ชรามรณะ เป น สิ่ ง ที่ ไมใชบุคคลกระทําเองหรือบุคคลอื่นกระทํา ก็เกิดขึ้นได เลา?"

สู ตรที่ ๗ มหาวรรค อภิ สมยสั งยุ ตต นิ ทาน.สํ .๑๖/๑๓๖/๒๖๓, พระสารี บุ ตรกั บพระมหาโกฏฐิ ตะ สนทนากั น ที่ปาอิสิปตนมฤคทายวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทกับอริยสาวก

๕๑๕

ท านพระสารี บุ ตร ได ตอบว า "ดู ก อนท านโกฏฐิ ตะ! ชรามรณะเป นสิ่ งที่ บุ คคล

กระทํ า เอง ก็ ไมใ ช, ชรามรณะ เปน สิ ่ง ที ่บ ุค คลกระทํ า ก็ไ มใ ช, ชรามรณะ เป นสิ่งที่ บุ คคลกระทํ าเองดวย บุ คคลอื่ นกระทํ าด วย ก็ ไม ใช, ทั้ งชรามรณะ จะเป น สิ่ ง ที่ ไ ม ใ ช บุ ค คลกระทํ า เองหรื อ บุ ค คลอื่ น กระทํ า ก็ เ กิ ด ขึ้ น ได ก็ ไ ม ใ ช ; แต ว า เพราะมีชาติเปนปจจัย จึงมีชรามรณะ". ท านพระมหาโกฏฐิ ตะ ได ถามอี กว า "ดู ก อนท านสารี บุ ตร! ชาติ เป นสิ่ งที่ บุ คคล

กระทําเอง หรือหนอ? หรือวาชาติ เปนสิ่งที่บุคคลอื่นกระทํา? ชาติ เปนสิ่งที่บุคคลกระทํา เองดวยบุคคลอื่นกระทํา ดวยหรือ? หรือวาชาติ เปนสิ่งที่ไมใชบุคคลกระทําเองหรือบุคคล อื่นกระทํา ก็เกิดขึ้นได เลา?" ท า นพระสารี บุ ต ร ได ต อบว า "ดู ก อ นท า นโกฏฐิ ต ะ! ชาติ เป น สิ่ ง ที่ บุ ค คล

กระทํ า เอง ก็ ไ ม ใ ช , ชาติ เป น สิ่ ง ที่ บุ ค คลอื่ น กระทํ า ก็ ไ ม ใ ช , ชาติ เป น สิ่ ง ที่ บุคคลกระทําเองดวย บุคคลอื่นกระทําดวย ก็ไมใช, ทั้งชาติ จะเปนสิ่งที่ไมใชบุคคล กระทําเองหรือบุคคลอื่นกระทําก็เกิดขึ้นได ก็ไมใช; แตวา เพราะมีภ พเปนปจจัย จึงมีชาติ".

www.buddhadasa.info ท านพระมหาโกฏฐิ ตะ ได ถามอี กว า "ดู ก อนท านสารี บุ ตร! ภพ เป นสิ่ งที่ บุ คคล

กระทํ าเอง หรือหนอ? หรือวาภพ เป นสิ่งที่บุ คคลอื่นกระทํา? ภพ เปนสิ่งที่บุ คคลกระทํ า เองดวยบุคคลอื่นกระทํา ดวยหรือ? หรือวาภพ เปนสิ่งที่ไมใชบุคคลกระทําเองหรือบุคคลอื่น กระทํา ก็เกิดขึ้นได เลา?" ท า นพระสารี บุ ต ร ได ต อบว า "ดู ก อ นท า นโกฏฐิ ต ะ! ภพเป น สิ่ ง ที่ บุ ค คล

กระทําเอง ก็ไมใช, ภพ เปนสิ่งที่บุคคลอื่นกระทํา ก็ไมใช, ภพ เปนสิ่งที่บุคคล

www.buddhadasa.info


๕๑๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๙

กระทําเองดวย บุคคลอื่นกระทําดวย ก็ไมใช, ทั้งภพ จะเป นสิ่งที่ไมใชบุคคลกระทํา เองหรือ บุ คคลอื่ นกระทํ าก็ เกิด ขึ้น ได ก็ ไม ใช; แต วา เพราะมี อุ ป ทานเป น ป จ จั ย จึงมีภพ" ทานพระมหาโกฏฐิตะ ไดถามอีกวา "ดู ก อนท านสารีบุ ตร! อุ ปาทาน เป นสิ่ งที่ บุ คคล

กระทําเองหรือ? หรือวา เปนสิ่งที่บุคคลอื่นกระทํา? อุปาทาน เปนสิ่งที่บุคคลกระทําเอง ดวย บุคคลอื่นกระทําดวยหรือ? หรือวาเปนสิ่งที่ไมใชบุคคลกระทําเองหรือบุคคลอื่นกระทํา ก็เกิดขึ้นได เลา?" ท า นพระสารี บุ ต ร ได ต อบว า "ดู ก อ นท า นโกฏฐิ ต ะ! อุ ป าทานเป น สิ่ ง ที่

บุ ค คลกระทํ า เอง ก็ ไม ใช ,เป น สิ่ งที่ บุ ค คลอื่ น กระทํ า ก็ ไม ใช , อุ ป าทาน เป น สิ่ ง ที่ บุคคลกระทําเองดวย บุคคลอื่นกระ ทําดวย ก็ไมใช, ทั้งจะเปนสิ่งที่ไมใชบุคคลกระทํา เองหรือ บุค คลอื่น กระทํ า ก็เกิด ขึ้น ได ก็ไมใช; แตวา เพราะมีต ัณ หาเปน ปจ จัย จึงมีอุปาทาน" ทานพระมหาโกฏฐิตะ ไดถามอีกวา "ดู ก อนท านสารี บุ ตร! ตั ณหา เป นสิ่ งที่ บุ คคล

www.buddhadasa.info กระทําเองหรือ? หรือวา เปนสิ่งที่บุคคลอื่นกระทํา? ตัณหา เปนสิ่งที่บุคคลกระทําเองดวย บุคคลอื่นกระทําดวยหรือ? หรือวาเปนสิ่งที่ไมใชบุคคลกระทําเองหรือบุคคลอื่นกระทํา ก็เกิด ขึ้นได เลา?" ท า นพระสารี บุ ต ร ได ต อบว า "ดู ก อ นท า นโกฏฐิ ต ะ! ตั ณ หาเป น สิ่ ง ที่ บุ ค คล

กระทํ า เอง ก็ ไ ม ใ ช ,เป น สิ่ ง ที่ บุ ค คลอื่ น กระทํ า ก็ ไ ม ใ ช , ตั ณ หา เป น สิ่ ง ที่ บุ ค คล กระทําเองดวย บุคคลอื่นกระทําดวย ก็ไมใช, ทั้งจะเปนสิ่งที่ไมใชบุคคลกระทําเอง

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทกับอริยสาวก

๕๑๗

หรือ บุ ค คลอื่น กระทํ าก็เกิด ขึ้ น ได ก็ไม ใช; แต วา เพราะมี เวทนาเป น ป จ จั ย จึ งมี ตัณหา". พระมหาโกฏฐิ ตะ ได ถามอี กว า "ดู ก อนท านสารี บุ ตร! เวทนา เป นสิ่ งที่ บุ คคล

กระทําเองหรือ? หรือวา เปนสิ่งที่บุคคลอื่นกระทํา? เวทนา เปนสิ่งที่บุคคลกระทําเองดวย บุคคลอื่นกระทําดวยหรือ? หรือวาเปนสิ่งที่ไมใชบุคคลกระทําเองหรือบุคคลอื่นกระทํา ก็เกิด ขึ้นได เลา?" พระสารี บุ ต ร ได ต อบว า "ดู ก อ นท า นโกฏฐิ ต ะ! เวทนา เป น สิ่ ง ที่ บุ ค คล

กระทํ า เอง ก็ ไม ใ ช , เป น สิ่ ง ที่ บุ ค คลอื่ น กระทํ า ก็ ไม ใช , เวทนา เป น สิ่ ง ที่ บุ ค คล กระทํ าเองด วย บุ คคลอื่ นกระทํ าด วย ก็ ไม ใช , ทั้ งจะเป นสิ่ งที่ ไม ใช บุ คคลกระทํ าเอง หรื อ บุ ค คลอื่ น กระทํ า ก็ เกิ ด ขึ้ น ได ก็ ไม ใ ช ; แต ว า เพราะมี ผั ส สะเป น ป จ จั ย จึ ง มี เวทนา". พระมหาโกฏฐิ ตะ ได ถามอี กว า "ดู ก อ นท านสารี บุ ต ร! ผั ส สะ เป น สิ่ งที่ บุ ค คล

กระทําเองหรือ? หรือวา เปนสิ่งที่บุคคลอื่นกระทํา? เปนสิ่งที่บุคคลกระทําเองดวยบุคคลอื่น กระทําดวยหรือ? หรือวาเปนสิ่งที่ไมใชบุคคลกระทําเองหรือกระทํา ก็เกิดขึ้นได เลา?"

www.buddhadasa.info พระสารีบุ ตร ได ตอบว า "ดู ก อนท านโกฏฐิ ตะ! ผั สสะเป นสิ่ งที่ บุ คคลกระทํ า

เอง ก็ไมใช, เปนสิ่งที่บุคคลอื่นกระทํา ก็ไมใช, เปนสิ่งที่บุคคลกระทําเองดวย บุคคล อื่ นกระทํ าด วย ก็ ไม ใช , ทั้ งจะเป นสิ่ งที่ ไม ใช บุ คคลกระทํ าเองหรือบุ คคลอื่ นกระทํ าก็ เกิดขึ้นได ก็ไมใช;แตวา เพราะมีสฬายตนะเปนปจจัย จึงมีผัสสะ". พระมหาโกฏฐิ ต ะ ได ถามอี กว า "ดู ก อ นท า นสารี บุ ต ร! สฬายตนะ เป น สิ่ ง ที่

บุคคลกระทําเองหรือ? หรือวา เปนสิ่งที่บุคคลอื่นกระทํา? เปนสิ่งที่บุคคลกระทําเองดวย

www.buddhadasa.info


๕๑๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๙

บุคคลอื่นกระทําดวยหรือ? หรือวาเปนสิ่งที่ไมใชบุคคลกระทําเองหรือบุคคลอื่นกระทํา ก็เกิด ขึ้นได เลา?" พระสารี บุ ต ร ได ต อบว า "ดู ก อ นท า นโกฏฐิ ต ะ! สฬายตนะเป น สิ่ ง ที่ บุ ค คล

กระทํ า เอง ก็ ไม ใ ช ,เป น สิ่ ง ที่ บุ ค คลอื่ น กระทํ า ก็ ไม ใช , เป น สิ่ ง ที่ บุ ค คลกระทํ า เอง ดวยบุ คคลอื่นกระทําดวย ก็ไมใช, ทั้งจะเปนสิ่งที่ไมใชบุคคลกระทําเองหรือบุ คคลอื่น กระทําก็เกิดขึ้นได ก็ไมใช;แตวา เพราะมีนานรูปเปนปจจัย จึงมีสฬายตนะ" พระมหาโกฏฐิ ตะ ได ถามอี กว า "ดู ก อนท านสารี บุ ตร! นามรู ป เป นสิ่ งที่ บุ คคล

กระทําเองหรือ? หรือวา เปนสิ่งที่บุคคลอื่นกระทํา? เปนสิ่งที่บุคคลกระทําเองดวย บุคคลอื่น กระทําดวยหรือ? หรือวาเปนสิ่งที่ไมใชบุคคลกระทําเองหรือบุคคลอื่นกระทํา ก็เกิดขึ้นได เลา?" พระสารี บุ ต ร ได ต อบว า "ดู ก อ นท า นโกฏฐิ ต ะ! นามรู ป เป น สิ่ ง ที่ บุ ค คล

กระทํ าเอง ก็ ไม ใช , เป น สิ่ งที่ บุ คคลอื่ นกระทํ า ก็ ไม ใช , เป น สิ่ งที่ บุ คคลกระทํ าเอง ดวยบุคคลอื่นกระทําดวย ก็ ไมใช, ทั้งจะเปนสิ่งที่ไมใชบุคคลกระทําเองหรือบุคคล อื่นกระทําก็เกิดขึ้นได ก็ไมใช; แตวา เพราะมีวิญญาณเปนปจจัย จึงมีนามรูป".

www.buddhadasa.info พระมหาโกฏฐิ ตะ ได ถามอี กว า "ดู ก อนท านสารี บุ ตร! วิ ญญาณ เป นสิ่ งที่ บุ คคล

กระทําเองหรือ? หรือวาเปนสิ่งที่บุคคลอื่นกระทํา? เปนสิ่งที่บุคคลกระทําเองดวยบุคคลอื่น กระทําดวยหรือ? หรือวาเปนสิ่งที่ไมใชบุคคลกระทําเองหรือบุคคลอื่นกระทําก็เกิดขึ้นได เลา?" พระสารี บุ ต ร ได ต อบว า "ดู ก อ นท า นโกฏฐิ ต ะ! วิ ญ ญาณเป น สิ่ ง ที่ บุ ค คล

กระทํ าเอง ก็ ไม ใช , เป น สิ่ งที่ บุ คคลอื่ นกระทํ า ก็ ไม ใช , เป น สิ่ งที่ บุ คคลกระทํ าเอง ด วยบุ คคลอื่ นกระทํ าด วย ก็ ไม ใช , ทั้ งจะเป นสิ่ งที่ ไม ใชบุ คคลกระทํ าเองหรือบุ คคลอื่ น กระทําก็เกิดขึ้นได ก็ไมใช; แตวา เพราะมีนามรูปเปนปจจัย จึงมีวิญญาณ".

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทกับอริยสาวก

๕๑๙

ท านพระมหาโกฏฐิ ตะ ได กล าวกะท านพระสารี บุ ตรต อไปว า "เราทั้ งหลาย ย อมรู ทั่ วถึ ง

ภาษิ ตของท านสารีบุ ตรเดี๋ ยวนี้ เอง อย างนี้ ว า `ดู ก อนท านโกฏฐิ ตะ! นามรู ปเป นสิ่ งที่ บุ คคลกระทํ าเอง ก็ ไม ใช ,เป นสิ่ งที่ บุ คคลอื่ นกระทํ า ก็ ไม ใช , เป นสิ่ งที่ บุ คคลกระทํ าเอง ดวยบุคคลอื่นกระทําดวย ก็ไมใช ,ทั้งจะเป นสิ่งที่ไมใชบุคคลกระทําเองหรือบุคคลอื่นกระทํ า ก็เกิดขึ้นได ก็ไมใช; แตวา เพราะมีวิญญาณ เป นป จจัย จึงมีนามรูป.' อนึ่ง เราทั้งหลาย ยอมรูทั่ วถึ งภาษิ ตของท านสารีบุ ตรเดี๋ ยวนี้ อีกเหมื อนกัน อยางนี้ วา `ดู ก อนท านโกฏฐิตะ! วิ ญ ญาณ เป น สิ่ ง ที่ บุ ค คลกระทํ า เอง ก็ ไ ม ใ ช ,เป น สิ่ ง ที่ บุ ค คลอื่ น กระทํ า ก็ ไ ม ใ ช , เปนสิ่งที่บุคคลกระทําเองดวยบุคคลอื่นกระทําดวย ก็ไมใช, ทั้งจะเปนสิ่งที่ไมใชบุคคลกระทําเอง หรือบุ คคลอื่ นกระทํ าก็ เกิ ดขึ้ นได ก็ ไม ใช ; แต วา เพราะมี นามรูปเป นป จจั ยจึ งมี วิญญาณ'. ดูกอนทาน สารีบุตร ! ก็เนื้อความแหงภาษิตนี้ อันเราทั้งหลายจะพึงเห็นไดอยางไร?" ท า นพระสารี บุ ต ร ได ก ล า วว า "ดู ก อ นท า นผู มี อ ายุ ! ถ า อย า งนั้ น ผมจั ก

กระทํ าอุ ป มาให ท านฟ ง. วิ ญ ู ชนทั้ งหลายบางพวกในโลกนี้ ย อ มรูทั่ วถึ งเนื้ อความ แหง ภาษิต ได แมด ว ยอุป มา. ดูก อ นทา น ผู ม ีอ ายุ! เปรีย บเหมือ นไมอ อ สองกํ า จะพึง ตั ้ง อยู ไ ดก ็เ พราะอาศัย ซึ ่ง กัน และกัน , ขอ นี ้ฉ ัน ใด, ดูก อ นทา น ผู ม ีอ ายุ! ข อ นี้ ก็ ฉั น นั้ น เหมื อ นกั น กล า วคื อ เพราะมี น ามรู ป เป น ป จ จั ย จึ ง มี วิ ญ ญ าณ ; เพราะมี วิ ญ ญาณ เป นป จจั ย จึ งมี นามรูป; เพราะมี นามรูปเป นป จจั ยจึ งมี สฬายตนะ; เพราะมี ส ฬายตนะเป น ป จ จั ย จึ ง มี ผั ส สะ; เพราะมี ผั ส สะเป น ป จ จั ย จึ งมี เวทนา; เพราะมี เวทนาเป น ป จ จั ย จึ ง มี ตั ณ หา; เพราะมี ตั ณ หา เป น ป จ จั ย จึ ง มี อุ ป าทาน; เพราะมี อุ ป าทานเป น ป จ จั ย จึ ง มี ภ พ; เพราะมี ภ พเป น ป จ จั ย จึ ง มี ช าติ ; เพราะมี ชาติ เป นป จจั ย, ชรามรณะ โสกะปริ เหาะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งเกิ ดขึ้ น ครบถวน : ความเกิดขึ้นพรอมแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้."

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๕๒๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๙

ดู ก อนท านผู มี อายุ ! ไม อ อสองกํ านั้ น ถ าบุ คคลดึ งเอาออกเสี ยกํ าหนึ่ งไซร อี ก กํ า หนึ่ ง ก็ พึ ง ล ม ไป , ถ า บุ ค คลดึ ง เอากํ า อื่ น อี ก ออกไปไซร กํ า อื่ น อี ก ก็ พึ ง ล ม ไป, ขอ นี้ ฉั นใด; ดู ก อนท านผู มี อายุ ! ข อ นี้ ก็ ฉั นนั้ น เหมื อนกั น คื อ เพราะความดั บแห ง นามรูป จึ งมี ความดั บแห งวิญญาณ; เพราะมี ความดั บแห งวิญญาณ จึ ง มี ความดั บ แห งนามรูป ; เพราะมี ค วามดั บ แห งนามรูป จึ งมี ค วามดั บ แห ง สฬายตนะ; เพราะ มี ความดั บ แห งสฬายตนะ จึงมี ความดั บแห งผั สสะ; เพราะมี ความดับแห งผั สสะ จึ ง มี ค วามดั บ แห ง เวทนา; เพราะมี ค วามดั บ แห ง ตั ณ หา;เพราะมี ค วามดั บ แห ง เวทนา จึ งมี ความดั บแห งตั ณ หา; เพราะมี ความดั บแห งตั ณ หา จึ งมี ความดั บแห งอุ ปาทาน; เพราะมี ค วามดั บ แห ง อุ ป าทานจึ ง มี ค วามดั บ แห ง ภพ จึ ง มี ค วามดั บ แห ง ชาติ ; เพราะมี ค วามดั บ แห ง ชาติ นั้ น แล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ ก ขะโทมนั ส อุ ป ายาส ทั้งหลายจึงดับสิ้น : ความดับลงแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมีดวยอาการอยางนี้" ท านพระมหาโกฏฐิตะ ได กล าววา "น าอั ศจรรย ท านสารี บุ ตร! ไม เคยมี แล ว ท าน

สารีบุตร ! เทาที่ทานสารีบุตรกลาวมานี้ นับวาเปนการกลาวดีแลว. ก็แล เราทั้งหลายขอ อนุโมทนายินดีตอคํา เปนสุภาษิตของทานสารีบุตรนี้ ดวย วัตถุ ๓๖ เรื่อง เหลานี้ คือ :-

www.buddhadasa.info (๑) ดู ก อนท านผู มี อายุ ! ถ าภิ กษุ แสดงธรรม เพื่ อความเบื่ อหน าย เพื่ อ ความคลายกํ าหนั ด เพื่ อความดั บไม เหลื อแห งชราและมรณะ อยู ไซร, ก็ เป นการสมควร เพื่อจะเรียกภิกษุนั้นวา "ภิกษุธรรมกถึก"

(๒) ดู ก อนท านผู มี อายุ ! ถ าภิ กษุ เป นผู ปฏิ บิ ตแล ว เพื่ อความเบื่ อหน าย เพื่ อความคลายกํ าหนั ด เพื่ อความดั บไม เหลื อ แห งชราและมรณะ อยู ไซร, ก็ เป นการ สมควรเพื่อจะเรียกภิกษุนั้นวา " ภิกษุผูปฏิบัติสมควรแกธรรมแลว".

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทกับอริยสาวก

๕๒๑

(๓) ดู ก อนท านผู มี อายุ ! ถ าภิ กษุ เป นผู หลุ ดพ นแล ว เพราะความเบื่ อหน าย เพราะความคลายกํ าหนั ด เพราะความดั บไม เหลื อ แห งชราและมรณะ ด วยความเป นผู ไม ยึ ดมั่ นถื อมั่ น อยู แล วไซร, ก็ เป นการสมควรเพื่ อจะเรียกภิ กษุ นั้ นวา "ภิ กษุ ผู บรรลุ แล ว ซึ่งนิพพานในทิฏฐธรรม". (๔) ดู ก อ นท านผู มี อ ายุ ! ถ าภิ ก ษุ แสดงธรรม เพื่ อ ความเบื่ อ หน าย เพื่ อ ความคลายกํ าหนั ด เพื่ อความดั บไม เหลื อ แห งชาติ อยู แล วไซร, ก็ เป นการสมควรเพื่ อจะ เรียกภิกษุนั้นวา "ภิกษุธรรมกถึก". (๕) ดู ก อ นท านผู มี อ ายุ ! ถ าภิ กษุ เป น ผู ป ฏิ บั ติ แล ว เพื่ อ ความเบื่ อหน าย เพื่ อความคลายกํ าหนั ด เพื่ อความดั บไม เหลื อ แห งชาติ อยู แล วไซร, ก็ เป นการสมควรเพื่ อ จะเรียกภิกษุนั้นวา "ภิกษุผูปฏิบัติธรรมสมควรแกธรรมแลว". (๖) ดู ก อนท านผู มี อายุ ! ถ าภิ กษุ เป นผู หลุ ดพ นแล ว เพราะความเบื่ อหน าย เพราะความคลายกํ าหนั ด เพราะความดั บไม เหลื อ แห งชาติ ด วยความเป นผู ไม ยึ ดมั่ น ถือมั่ น อยู แล วไซร, ก็ เป นการสมควรเพื่ อจะเรียกภิ กษุ นั้ นวา "ภิ กษุ ผูบรรลุ แล วซึ่งนิ พพาน ในทิฏฐธรรม".

www.buddhadasa.info (๗) ดู ก อ นท านผู มี อ ายุ ! ถ าภิ ก ษุ แสดงธรรม เพื่ อ ความเบื่ อ หน าย เพื่ อ ความคลายกํ าหนั ด เพื่ อความดั บไม เหลื อ แห งภพ อยู ไซร, ก็ เป นการสมควรเพื่ อจะเรียก ภิกษุนั้นวา "ภิกษุธรรมกถึก".

(๘) ดู ก อ นท านผู มี อ ายุ ! ถ าภิ ก ษุ เป น ผู ป ฏิ บั ติ แล ว เพื่ อ ความเบื่ อ หน าย เพื่ อความคลายกํ าหนั ด เพื่ อความดั บไม เหลื อ แห งภพ อยู ไซร , ก็ เป นการสมควรเพื่ อ จะเรียกภิกษุนั้นวา "ภิกษุผูปฏิบัติธรรมสมควรแกธรรมแลว".

www.buddhadasa.info


๕๒๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๙

(๙) ดู ก อนท านผู มี อายุ ! ถ าภิ กษุ เป นผู หลุ ดพ นแล ว เพราะความเบื่ อหน าย เพราะความคลายกํ าหนั ด เพราะความดั บไม เหลื อ แห งภพ ด วยความเป นผู ไม ยึ ดมั่ น ถือมั่ น อยู แล วไซร, ก็ เป นการสมควรเพื่ อจะเรียกภิ กษุ นั้ นวา "ภิ กษุ ผูบรรลุ แล วซึ่งนิ พพาน ในทิฏฐธรรม". (๑๐) ดู ก อนท านผู มี อายุ ! ถ าภิ กษุ แสดงธรรม เพื่ อความเบื่ อหน าย เพื่ อ ความคลายกํ าหนั ด เพื่ อความดั บไม เหลื อ แห งอุ ปาทาน อยู ไซร, ก็ เป นการสมควรเพื่ อ จะเรียกภิกษุนั้นวา "ภิกษุธรรมกถึก". (๑๑) ดู ก อ นท านผู มี อ ายุ !ถ าภิ ก ษุ เป น ผู ป ฏิ บั ติ แล ว เพื่ อ ความเบื่ อ หน าย เพื่ อความคลายกํ าหนั ด เพื่ อความดั บไม เหลื อ แห งอุ ปาทาน อยู ไซร, ก็ เป นการสมควร เพื่อจะเรียกภิกษุนั้นวา"ภิกษุผูปฏิบัติธรรมสมควรแกธรรมแลว". (๑๒) ดู ก อ นท า นผู มี อ ายุ !ถ า ภิ ก ษุ เป น ผู ห ลุ ด พ น แล ว เพราะความเบื่ อ หน าย เพราะความคลายกํ าหนั ด เพราะความดั บไม เหลื อ แห งอุ ปาทานด วยความเป น ผู ไม มี ความยึ ดมั่ นถื อมั่ น อยู แล วไซร , ก็ เป นการสมควรเพื่ อจะเรี ยกภิ กษุ นั้ นว า"ภิ กษุ ผู บรรลุแลวซึ่งนิพพานในทิฏฐธรรม".

www.buddhadasa.info (๑๓) ดู ก อ นท านผู มี อ ายุ !ถ าภิ ก ษุ แสดงธรรม เพื่ อ ความเบื่ อ หน าย เพื่ อ ความคลายกํ าหนั ด เพื่ อความดั บไม เหลื อ แห งตั ณหา อยู ไซร, ก็ เป นการสมควรเพื่ อจะ เรียกภิกษุนั้นวา"ภิกษุธรรมกถึก".

(๑๔) ดู ก อ นท านผู มี อายุ !ถ าภิ กษุ เป น ผู ป ฏิ บั ติ แล ว เพื่ อความเบื่ อหน าย เพื่ อความคลายกํ าหนั ด เพื่ อความดั บไม เหลื อ แห งตั ณหา อยู ไซร, ก็ เป นการสมควรเพื่ อ จะเรียกภิกษุนั้นวา"ภิกษุผูปฏิบัติ ธรรมสมควรแกธรรมแลว".

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทกับอริยสาวก

๕๒๓

(๑๕) ดู กอนท านผู มี อายุ !ถ าภิ กษุ เป นผู หลุ ดพ นแล ว เพราะความเบื่ อหน าย เพราะความคลายกําหนั ด เพราะความดับไม เหลือ แห งตั ณหา ดวยความเป นผูไม มีความ ยึดมั่ นถือมั่ น อยูแล วไซร, ก็เป นการสมควรเพื่ อจะเรียกภิ กษุ นั้ นวา "ภิ กษุ ผูบรรลุแล ว ซึ่งนิพพานในทิฏฐธรรม". (๑๖) ดู ก อนท านผู มี อายุ !ถ าภิ กษุ แสดงธรรม เพื่ อความเบื่ อหน าย เพื่ อ ความคลายกําหนัด เพื่ อความดั บไม เหลื อ แห งเวทนา อยูไซร, ก็ เป นการสมควรเพื่ อ จะเรียกภิกษุนั้นวา "ภิกษุธรรมกถึก". (๑๗) ดู ก อนท านผู มี อายุ !ถ าภิ กษุ เป นผู ปฏิ บั ติ แล ว เพื่ อความเบื่ อหน าย เพื่ อความคลายกําหนั ด เพื่ อความดับไม เหลื อ แห งเวทนา อยูไซร, ก็เป นการสมควร เพื่อจะเรียกภิกษุนั้นวา "ภิกษุผูปฏิบัติธรรมสมควรแกธรรมแลว". (๑๘) ดู กอนท านผู มี อายุ !ถ าภิ กษุ เป นผู หลุ ดพ นแล ว เพราะความเบื่ อหน าย เพราะความคลายกําหนั ด เพราะความดับไมเหลือ แหงเวทนาด วยความเปนผูไมยึดมั่ น ถือมั่ น อยูแล วไซร, ก็เป นการสมควรเพื่ อจะเรียกภิ กษุ นั้ นวา "ภิ กษุ ผู บบรรลุ แล วซึ่ ง นิพพานในทิฏฐธรรม".

www.buddhadasa.info (๑๙) ดู ก อนท านผู มี อายุ !ถ าภิ กษุ แสดงธรรม เพื่ อความเบื่ อหน าย เพื่ อ ความคลายกํ าหนั ด เพื่ อความดับไม เหลือ แหงผั สสะ อยูไซร, ก็เป นการสมควรเพื่ อจะ เรียกภิกษุนั้นวา "ภิกษุธรรมกถึก".

(๒๐) ดู ก อนท านผู มี อายุ !ถ าภิ กษุ เป นผู ปฏิ บั ติ แล ว เพื่ อความเบื่ อหน าย เพื่ อความคลายกํ าหนั ด เพื่ อความดั บไม เหลื อ แห งผั สสะ อยู ไซร , ก็ เป นการสมควร เพื่อจะเรียกภิกษุนั้นวา "ภิกษุผูปฏิบัติธรรมสมควรแกธรรมแลว".

www.buddhadasa.info


๕๒๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๙ (๒๑) ดู ก อนท านผู มี อายุ !ถ าภิ กษุ เป นผู หลุ ดพ นแล ว เพราะความเบื่ อหน าย

เพราะความคลายกําหนั ด เพราะความดั บไม เหลือ แหงผั สสะ ดวยความเป นผูไม มี ความยึดมั่ น ถื อ มั่ น อยู แ ล ว ไซร , ก็ เป น การสมควรเพื่ อ จะเรี ย กภิ ก ษุ นั้ น ว า "ภิ ก ษุ ผู บ รรลุ แ ล ว ซึ่ ง นิพพานในทิฏฐธรรม". (๒๒) ดู ก อ นท า นผู มี อ ายุ !ถ า ภิ ก ษุ แ สดงธรรม เพื่ อ ความเบื่ อ หน า ยเพื่ อ ความคลายกํ าหนั ด เพื่ อความดั บไม เหลื อ แห งสฬายตนะ อยู ไซร, ก็ เป นการสมควร เพื่อจะเรียกภิกษุนั้นวา"ภิกษุธรรมกถึก". (๒๓) ดู ก อ นท านผู มี อ ายุ !ถ าภิ กษุ เป น ผู ป ฏิ บั ติ แล ว เพื่ อความเบื่ อ หน าย เพื่ อความคลายกํ าหนั ดเพื่ อความดั บไม เหลื อ แห งสฬายตนะ อยู ไซร , ก็ เป นการสมควร เพื่อจะเรียกภิกษุนั้นวา "ภิกษุผูปฏิบัติธรรมสมควรแกธรรมแลว". (๒๔) ดู ก อนท านผู มี อายุ ! ถ าภิ กษุ เป นผู หลุ ดพ น แล ว เพราะความเบื่ อ หน าย เพราะความคลายกํ าหนั ด เพราะความดั บไม เหลื อ แห งสฬายตนะ ด วยความไม ยึ ดมั่ นถื อมั่ น อยู แล วไซร, ก็ เป นการสมควรเพื่ อจะเรียกภิ กษุ นั้ นวา "ภิ กษุ ผู บรรลุ แล วซึ่ ง นิพพานในทิฏฐธรรม".

www.buddhadasa.info (๒๕) ดู ก อ นท า นผู มี อ ายุ !ถ า ภิ ก ษุ แ สดงธรรม เพื่ อ ความเบื่ อ หน า ยเพื่ อ ความคลายกํ าหนั ดเพื่ อความดั บไม เหลื อ แห งนามรู ป อยู ไซร, ก็ เป นการสมควรเพื่ อ จะเรียกภิกษุนั้นวา"ภิกษุธรรมกถึก".

(๒๖) ดู ก อ นท านผู มี อ ายุ !ถ าภิ กษุ เป น ผู ป ฏิ บั ติ แล ว เพื่ อความเบื่ อ หน าย เพื่ อความคลายกํ าหนั ด เพื่ อความดั บไม เหลื อ แห งนามรูป อยู ไซร , ก็ เป นการสมควร เพื่อจะเรียกภิกษุนั้นวา "ภิกษุผูปฏิบัติธรรมสมควรแกธรรมแลว".

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทกับอริยสาวก

๕๒๕

(๒๗) ดู ก อนท านผู มี อายุ ! ถ าภิ กษุ เป นผู หลุ ดพ นแล ว เพราะความเบื่ อหน าย เพราะความคลายกํ าหนั ด เพราะความดั บไม เหลื อ แห ง นามรู ป ด วยความไม ยึ ดมั่ น ถือมั่ น อยู แล วไซร, ก็ เป นการสมควรเพื่ อจะเรียกภิ กษุ นั้ นวา "ภิ กษุ ผูบรรลุ แล วซึ่งนิ พพาน ในทิฏฐธรรม". (๒๘) ดู ก อ นท า นผู มี อ ายุ !ถ า ภิ ก ษุ แ สดงธรรม เพื่ อ ความเบื่ อ หน า ยเพื่ อ ความคลายกํ าหนั ด เพื่ อความดั บไม เหลื อ แห ง วิ ญ ญาณ อยู ไซร , ก็ เป นการสมควร เพื่อจะเรียกภิกษุนั้นวา "ภิกษุธรรมกถึก". (๒๙) ดู ก อนท านผู มี อายุ !ถ าภิ กษุ เป นผู ปฏิ บั ติ แล ว เพื่ อความเบื่ อหน าย เพื่ อความคลายกํ าหนั ด เพื่ อความดั บไม เหลื อ แห งวิญญาณ อยู ไซร, ก็ เป นการสมควร เพื่อจะเรียกภิกษุนั้นวา "ภิกษุผูปฏิบัติธรรมสมควรแกธรรมแลว". (๓๐) ดู ก อนท านผู มี อายุ ! ถ าภิ กษุ เป นผู หลุ ดพ นแล ว เพราะความเบื่ อหน าย เพราะความคลายกํ าหนั ด เพราะความดั บไม เหลื อ แห ง วิญญาณ ด วยความไม ยึ ดมั่ น ถือมั่ น อยู แล วไซร, ก็ เป นการสมควรเพื่ อจะเรียกภิ กษุ นั้ นวา "ภิ กษุ ผูบรรลุ แล วซึ่งนิ พพาน ในทิฏฐธรรม".

www.buddhadasa.info (๓๑) ดู ก อ นท านผู มี อ ายุ !ถ าภิ ก ษุ แสดงธรรม เพื่ อ ความเบื่ อ หน ายเพื่ อ ความคลายกํ าหนั ด เพื่ อ ความดั บ ไม เหลื อ แห งสั งขาร อยู ไซร , ก็ เป น การสมควร เพื่อจะเรียกภิกษุนั้นวา "ภิกษุธรรมกถึก".

(๓๒) ดู ก อนท านผู มี อายุ !ถ าภิ กษุ เป นผู ปฏิ บั ติ แล ว เพื่ อความเบื่ อหน าย เพื ่อ ความคลายกํ า หนัด เพื ่อ ความดับ ไมเ หลือ แหง สัง ขาร อยู ไ ซร, ก็เ ปน การ สมควรเพื่อจะเรียกภิกษุนั้นวา "ภิกษุผูปฏิบัติธรรมสมควรแกธรรมแลว".

www.buddhadasa.info


๕๒๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๙

(๓๓) ดู ก อนท านผู มี อายุ ! ถาภิ กษุ เป นผู หลุ ดพ นแล ว เพราะความเบื่ อหน าย เพราะความคลายกํ า หนัด เพราะความดับ ไมเ หลือ แหง สัง ขาร ดว ยความ ไมยึดมั่นถือมั่น อยูแลวไซร, ก็เปนการสมควรเพื่อจะเรียกภิกษุนั้นวา "ภิกษุผูบรรลุแลว ซึ่งนิพพานในทิฏฐธรรม". (๓๔) ดู ก อนท านผู มี อายุ !ถ าภิ กษุ แสดงธรรม เพื่ อความเบื่ อหน ายเพื่ อ ความคลายกําหนัด เพื่อความดับไมเหลือ แหง อวิชชา อยูไซร,ก็เปนการสมควรเพื่อจะ เรียกภิกษุนั้นวา "ภิกษุธรรมกถึก". (๓๕) ดู ก อนท านผู มี อายุ !ถ าภิ กษุ เป นผู ปฏิ บั ติ แล ว เพื่ อความเบื่ อหน าย เพื่ อความคลายกําหนัด เพื่ อความดับไมเหลือ แหงอวิชชา อยูไซร, ก็เปนการสมควร เพื่อจะเรียกภิกษุนั้นวา "ภิกษุผูปฏิบัติธรรมสมควรแกธรรมแลว". (๓๖) ดูกอนทานผูมีอายุ! ถาภิกษุเปนผู หลุดพนแลว เพราะความเบื่อหนาย เพราะความคลายกําหนัด เพราะความดั บไม เหลือ แหง อวิชชา ดวยความไม ยึดมั่ น ถือมั่น อยูแลวไซร, ก็เปนการสมควรเพื่อจะเรียกภิกษุนั้นวา "ภิกษุผูบรรลุแลวซึ่งนิพพาน ในทิฏฐธรรม", ดังนี้ แล.

www.buddhadasa.info เวทนาของปุถุชน ตางจากของอริยสาวก ๑ (ในแงของปฏิจจสมุปบาท)

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ปุ ถุ ชนผู ไม มี การสดั บแล ว ย อมเสวยซึ่ งเวทนา อั นเป น สุขบาง อันเปนทุกขบาง อันมิใชทุกขมิใชสุขบาง. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! แมอริยสาวก

สูตรที่ ๖ ปฐมกสคาถวรรค สฬายตนสังยุตต สฬา.สํ. ๑๘/๒๕๗/๓๖๙, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทกับอริยสาวก

๕๒๗

ผู มี การสดั บแล ว ก็ ย อมเสวยซึ่ งเวทนา อั นเป นสุ ขบ าง. อั นเป นทุ กข บ าง อั นมิ ใช ทุ กข มิ ใช สุ ขบ าง. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ อเป นเช นนั้ น ในระหว างอริ ยสาวกผู มี การสดั บ กับปุถุชนผูไมมีการสดับดังที่กลาวมานี้ อะไรเปนความผิดแผกแตกตางกัน อะไรเปน ความมุงหมายที่แตกตางกัน อะไรเปนเหตุที่แตกตางกัน ระหวางอริยสาวกผูมีการสดับ จากปุถุชนผูไมมีการสดับ? ภิ กษุ ทั้ งหลายเหล านั้ น กราบทู ลวิ งวอนว า "ข าแต พระองค ผู เจริ ญ ! ธรรมทั้ งหลายของพวก ข าพระองค มี พ ระผู มี พ ระภาคเป น มู ล มี พ ระผู มี พ ระภาคเป น ผู นํ า มี พ ระผู มี พ ระภาคเป น ที่ พึ ง. ข าแต พระองค ผู เจริ ญ ! เป นการชอบแล วหนอ ขอให อรรถแห งภาษิ ตนั้ น จงแจ มแจ งกะพระผู มี พระภาคเองเถิ ด ภิกษุทั้งหลายไดฟงจากพระผูมีพระภาคแลว จักทรงจําไว" ดังนี้.

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ปุ ถุ ชนผู ไม มี การสดั บแล ว อั นทุ กขเวทนาถู กต องอยู ย อ มเศราโศก ย อมกระวนกระวาย ย อ มร่ําไรรํ าพั น เป น ผู ทุ บอกร่ําไห ถึ งความมี ส ติ ฟนเฟอน เขายอมเสวยซึ่งเวทนาทั้ง เวทนาทั้ง ๒ ฝาย คือ เวทนาทั้งทางกายและทางจิต. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เปรียบเหมื อนบุ รุษพึ งยิ งบุ รุษด วยลู กศร แล วพึ งยิ งซ้ํ า ซึ่งบุ รุษนั้ นด วยลู กศรที่ สองอี ก บุ รุษผู ถู กยิ งด วยลู กศรสองลู กอย างนี้ ย อมเสวยเวทนาทาง กายด ว ย ทางจิ ต ด ว ย,แม ฉั น ใด; ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ปุ ถุ ช นผู ไ ม มี ก ารสดั บ แล ว ก็เปนฉันนั้น คือ เมื่อทุกขเวทนาถูกตองอยู,ยอมเศราโศก ยอมกระวนกระวาย ยอมร่ําไรรําพัน เปนผูทุกอกร่ําไห ถึงความมีสติฟนเฟอนอยู; ชื่อวาเขายอมเสวย ซึ่ งเวทนาทั้ งสองอย าง คื อทั้ งทางกายและทางจิ ต. เขาเป นผู มี ปฏิ ฆะเพราะทุ กขเวทนา นั้ น นั่ น เอง. ปฏิ ฆ านุ สั ย อั น ใด อั น เกิ ด จากทุ ก ขเวทนา, ปฏิ ฆ านุ สั ย อั น นั้ น ก็ ย อ ม นอนตามซึ่ งบุ คคลนั้ นผู มี ป ฏิ ฆ ะด วยทุ กขเวทนา. บุ คคลนั้ นอั นทุ กขเวทนาถู กต อ งอยู ยอมจะพอใจซึ่งกามสุข. ขอนั้นเพราะเหตุไรเลา? ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ขอนั้นเพราะ

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๕๒๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๙

เหตุวา ปุถุชนผูไมมีการสดับแลว ยอมไมรูชัดอุบายเครื่องปลดเปลื้องซึ่งทุกขเวทนา เว นแต กามสุ ขเท านั้ น (ที่ เขาคิ ดว าจะระงับทุ กขเวทนาได ). เมื่ อปุ ถุ ชนนั้ นพอใจยิ่ งอยู ซึ่งความสุข, ราคานุสัยอันใด อันเกิดจากสุขเวทนา, ราคานุสัยอันนั้นยอมนอนตาม ซึ่ งปุ ถุ ชนนั้ น. ปุ ถุ ชนนั้ น ย อมไม รูชั ดซึ่ งเหตุ ให เกิ ดขึ้ นแห งเวทนา ซึ่ งความตั้ งอยู ไม ได ซึ่งรสอรอย ซึ่งโทษอั นต่ํ าทราม และซึ่งอุ บายเป นเครื่องออกไปพ น แห งเวทนาทั้ งหลาย เหล า นั้ น ตามที่ เป น จริ ง . เมื่ อ ปุ ถุ ช นนั้ น ไม รู ชั ด อยู ซึ่ ง เหตุ ให เกิ ด ขึ้ น ซึ่ ง ความตั้ ง อยู ไม ได ซึ่ งรสอรอย ซึ่ งโทษอั นต่ํ าทราม และ ซี่ งอุ บายเป นเครื่ องออกไปพ น แห งเวทนา ทั้ งหลายเหล านั้ น ตามที่ เป นจริง ดั งนี้ แล ว, อวิชชานุ สั ยอั นใด อันเกิดจากอทุ กขมสุ ข เวทนา, อวิชชานุ สั ยอันนั้ น ยอมนอนตามซึ่งปุ ถุ ชนนั้ น. ปุ ถุ ชนนั้ น ถ าเสวยสุขเวทนา ย อ มเป น ผู ติ ด พั น (ในเวทนา)เสวยเวทนานั้ น ;ถ า เสวยทุ ก ขเวทนา ก็ เป น ผู ติ ด พั น เสวยเวทนานั้น; ถาเสวยอทุกขมสุขเวทนา ก็ยังเปนผูติดพันเสวยเวทนานั้น. ดูกอนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ปุ ถุชนผู ไม มี การสดั บนี้ เรากลาววา เป นผูติ ดพั นแล ว ดวยชาติ ชรามรณะโสกะปริเทวะทุ กขะโทมนัสอุปายาสทั้ งหลาย; เรากลาววา เป นผู ติดพันแลวดวยทุกข ดังนี้

www.buddhadasa.info (ปฏิปกขนัย)

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ส วนอริ ยสาวกผู มี การสดั บแล ว อั นทุ กขเวทนาถู ก ตองอยู ยอมไมเศราโศก ยอมไมกระวนกระวาย ยอมไมร่ําไรรําพัน ไมเปนผูทุบอกร่ําไห ไมถึงความมีสติฟนเฟอน; ยอมเสวยเวทนาเพียงอยางเดียว คือเวทนาทางกาย, หามีเวทนาทางจิตไม.

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เปรียบเหมื อนบุ รุษพึ งยิ งบุ รุษด วยลู กศรแล ว ไม พึ ง ยิงซ้ําซึ่งบุรุษนั้นดวยลูกศรที่สอง เมื่อเปนอยางนี้ บุรุษนั้นยอมเสวยเวทนาจากลูกศรเพียง

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทกับอริยสาวก

๕๒๙

ลู ก เดี ย ว, แม ฉั น ใด; ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! อริ ย สาวกผู มี ก ารสดั บ แล ว ก็ ฉั น นั้ น คือเมื่อทุกขเวทนาถูกตองอยู,ยอมไมเศราโศกไมกระวนกระวาย ไมร่ําไรรําพัน ไมเปนผูทุบอกร่ําไห ไมถึงซึ่งความมีสติฟนเฟอน; อริยสาวกนั้น ชื่อวายอมเสวย เวทนาเพี ยงอย างเดี ยว คื อเวทนาทางกาย หามี เวทนาทางจิ ตไม อริยสาวกนั้ น หาเป น ผูมีปฏิฆะ เพราะทุกขเวทนานั้นไม. ปฏิฆานุสัย อันใด อันเกิดจากทุกขเวทนา, ปฏิฆานุสัย อันนั้น. ก็ยอมไม นอนตามซึ่งอริยสาวกนั้นผูไมมี ปฏิฆะเพราะทุกขเวทนา.อริยสาวกนั้ น อั นทุ กขเวทนาถู กต องอยู ก็ ไม พ อใจซึ่ งกามสุ ข.ข อนั้ นเพราะเหตุ ไรเล า? ดู ก อนภิ กษุ ทั้งหลาย! ขอนั้นเพราะเหตุ วา อริยสาวกผู มี การสดั บแลว ยอมรูชั ดอุ บายเครื่องปลด เปลื้ องซึ่ งทุ กขเวทนา ซึ่ งเป นอุบายอื่ นนอกจากกามสุ ข.เมื่ ออริยสาวกนั้ นมิ ได พอใจ ซึ่งกามสุขอยู, ราคานุสัยอันใด อันเกิดจากสุขเวทนา, ราคานุสัยอันนั้นก็ไมนอนตาม ซึ่งอริยสาวกนั้ น. อริยสาวกนั้ น ย อมรูชั ดซึ่ งเหตุ ให เกิ ดขึ้ นแห งเวทนา ซึ่ งความตั้ งอยู ไม ได ซึ่ งรสอรอยซึ่ งโทษอั นต่ํ าทราม และซึ่ งอุ บายเป นเครื่องออกไปพ น แห งเวทนา ทั้ งหลายเหล านั้ น ตามที่ เป นจริง.เมื่ ออริยสาวกนั้ น รูชั ดอยู ซึ่ งเหตุ ให เกิ ดขึ้ น ซึ่ งความ ตั้ งอยู ไม ได ซึ่ งรสอรอย ซึ่ งโทษอั นต่ํ าทราม และซี่ งอุ บายเครื่องออกไปพ น แห งเวทนา ทั้งหลายเหลานั้น ตามที่ เป นจริง ดั งนี้ แลว, อวิชชานุ สั ยอันใดอันเกิดจากอทุ กขมสุขเวทนา, อวิชชานุสัยอันนั้น ก็ยอมไมนอนตามซึ่งอริยสาวกนั้น.อริยสาวกนั้น ถาเสวย สุ ข เวทนาย อ มไม เป น ผู ติ ด พั น (ในเวทนา)เสวยเวทนานั้ น ; ถ าเสวยทุ ก ขเวทนา ก็ ไม เปนผูติดพันเสวยเวทนานั้น;ถาเสวยอทุกขมสุขเวทนา ก็ไมเปนผูติดพันเสวยเวทนานั้น.

www.buddhadasa.info ดูกอนภิ กษุ ทั้งหลาย! อริยสาวกผูมีการสดับนี้ เรากลาววา เปนผูไมติดพั นแลว ดวยชาติชรามรณะโสกะปริเทวะทุ กขะโทมนัสอุปายาสทั้ งหลาย; เรากลาววา เป นผู ไม ติดพันแลวดวยทุกข ดังนี้.

www.buddhadasa.info


๕๓๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๙

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! นี้ แล เป นความผิ ดแผกแตกต างกั น เป นความมุ งหมาย ที่ แตกต างกั น เป น เหตุ ที่ แตกต างกั น ระหว างอริยสาวกผู มี การสดั บ จากปุ ถุ ชนผู ไม มี การสดับ ดังนี้. หมายเหตุ ผู ร วบรวม : เวทนา ๓ ชนิ ด ของปุ ถุ ช นผู ไ ม มี ก ารสดั บ ย อ ม ก อ ให เกิ ด อนุ สั ย ๓ ชนิ ด ซึ่ งเป นอาการของการเกิ ดปฏิ จจสมุ ป บาทโดยสมบู รณ คื อ เกิ ดทุ กข ในที่ สุ ด . ส ว นเวทนาของอริ ย สาวกผู มี ก ารสดั บ ย อ มไม ก อ ให เกิ ด อนุ สั ย นั้ น คื อ การไม เกิ ด ขึ้ น แห ง ปฏิ จ จสมุ ป บาท คื อ ไม เกิ ด ทุ ก ข ใ นที่ สุ ด .เวทนาชนิ ด ที่ ก อ ให เกิ ด อนุ สั ย หรื อ ปฏิ จ จสมุ ปบาทนั้ น ย อมหมายความว า เป น เวทนาที่ ตั้ งต นหรื อเกี่ ยวข องอยู กั บอวิ ชชา ตามนั ยแห ง กระแสของปฏิ จ จสมุ ป บาทโดยสมบู ร ณ ; ดั ง นั้ น การกล า วถึ ง เวทนาเพี ย งอย า งเดี ย ว เช น ในกรณี นี้ ก็ พ อแล ว ย อ มหมายความถึ ง เหตุ ป จ จั ย ทั้ ง หลายของเวทนา ซึ่ ง ย อ นขึ้ น ไปถึ ง อวิชชา อันเขามาเกี่ยวของในกรณีที่มีการกระทบทางอายตนะ มีตากับรูป เปนตน.

อริยสาวกรูความเกิดและความดับ ของโลกอยางไมมีที่สงสัย ๑ ดูกอนภิ กษุทั้ งหลาย! อริยสาวกผูไดสดับแลว ยอมไม มี ความสงสัยอยางนี้ ว า "เพราะอะไรมี อ ะไรจึ ง มี ห นอ; เพราะอะไรเกิ ด ขึ้ น อะไรจึ ง เกิ ด ขึ้ น : เพราะ อะไรมี นามรู ป จึ ง มี ; เพราะอะไรมี สฬายตนะจึ ง มี ; เพราะอะไรมี ผั ส สะจึ ง มี ; เพราะอะไรมี เวทนาจึ งมี ; เพราะอะไรมี ตั ณ หาจึ งมี ; เพราะอะไรมี อุ ป าทานจึ งมี ; เพราะอะไรมี ภพจึงมี; เพราะอะไรมี ชาติจึงมี; เพราะอะไรมี ชรามรณะจึงมี" ดังนี้.

www.buddhadasa.info

สูตรที่ ๙ คหปติวรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน.สํ. ๑๖/๙๒/๑๗๘, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทกับอริยสาวก

๕๓๑

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! โดยที่ แท อริยสาวกผู ได สดั บแล ว ย อม มี ญาณหยั่ งรู ในเรื่องนี้ โดยไมตองเชื่อผูอื่น วา "เพราะสิ่งนี้มี สิ่งนี้จึงมี; เพราะสิ่งนี้เกิดขึ้น สิ่งนี้ จึ ง เกิ ด ขึ้ น : เพราะวิ ญ ญาณมี นามรู ป จึ ง มี ; เพราะนามรู ป มี สฬายตนะจึ ง มี ; เพราะสฬายตนะมี ผั ส สะจึ งมี ; เพราะผั ส สะมี เวทนาจึ งมี ; เพราะเวทนามี ตั ณ หา จึ ง มี ; เพราะตั ณ หามี อุ ป าทานจึ ง มี ; เพราะอุ ป าทานมี ภพจึ ง มี ; เพราะภพมี ชาติ จึ งมี ; เพราะชาติ มี ชรามรณะจึ งมี " ดั งนี้ .อริ ย สาวกนั้ น ย อ มรู ป ระจั ก ษ อ ย า งนี้ วา "โลกนี้ ยอมเกิดขึ้น ดวยอาการอยางนี้" ดังนี้. ดูกอนภิ กษุ ทั้งหลาย! อริยสาวกผูไดสดับแลว ยอมไม มี ความสงสัยอยางนี้ ว า "เพราะอะไรไม มี อะไรจึ ง ไม มี ห นอ; เพราะอะไรดั บ อะไรจึ ง ดั บ : เพราะอะไร ไม มี นามรู ป จึ ง ไม มี ; เพราะอะไรไม มี ส ฬายตนะจึ ง ไม มี ; เพราะอะไรไม มี ผั ส สะ จึ ง ไม มี ; เพราะอะไรไม มี เวทนาจึ ง ไม มี ; เพราะอะไรไม มี ตั ณ หาจึ ง ไม มี ; เพราะ อะไรไม มี อุ ป าทานจึ ง ไม มี ; เพราะอะไรไม มี ภพจึ ง ไม มี ; เพราะอะไรไม มี ชาติ จึงไมมี; เพราะอะไรไมมี ชรามรณะจึงไมมี" ดังนี้.

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! โดยที่ แท อริยสาวกผู ได สดั บแล ว ย อมมี ญาณหยั่ งรู ในเรื่ อ งนี้ โ ดยไม ต อ งเชื่ อ ผู อื่ น ว า "เพราะสิ่ ง นี้ ไม มี สิ่ ง นี้ จึ ง ไม มี ; เพราะสิ่ ง นี้ ดั บ สิ่ ง นี้ จึ ง ดั บ : เพราะวิ ญ ญาณไม มี นามรู ป จึ ง ไม มี ; เพราะนามรู ป ไม มี สฬายตนะ จึ ง ไม มี ; เพราะสฬายตนะไม มี ผั ส สะจึ ง ไม มี ; เพราะผั ส สะไม มี เวทนาจึ ง ไม มี ; เพราะเวทนาไม มี ตั ณ หาจึ ง ไม มี ; เพราะตั ณ หาไม มี อุ ป าทานจึ ง ไม มี ; เพราะ อุ ป าทานไม มี ภพจึ ง ไม มี ; เพราะภพไม มี ชาติ จึ ง ไม มี ; เพราะชาติ ไ ม มี ชรา มรณะจึงไม มี " ดั งนี้ . อริยสาวกนั้ น ย อมรูประจักษ อยางนี้ วา "โลกนี้ ย อมดั บ ด วย อาการอยางนี้" ดังนี้.

www.buddhadasa.info


๕๓๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๙

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! อริยสาวก ยอมมารูประจักษถึงเหตุเกิดและความ ดับแหงโลก ตามที่เปนจริงอยางนี้ ในกาลใด; ในกาลนั้น เราเรียกอริยสาวกนี้ ว า "ผู ส มบู รณ แ ล วด วยทิ ฏ ฐิ " ดั งนี้ บ าง; ว า "ผู ส มบู รณ แ ล ว ด ว ยทั ส สนะ" ดั งนี้ บ าง; ว า "ผู ม าถึ ง พระสั ท ธรรมนี้ แ ล ว " ดั ง นี้ บ า ง; ว า "ได เห็ น พระสั ท ธรรมนี้ " ดั ง นี้ บ า ง; ว า "ผู ป ระกอบแล วด วยญาณอั น เป น เสขะ" ดั งนี้ บ าง; ว า "ผู ป ระกอบแล วด วยวิ ช ชา อั นเป นเสขะ" ดั งนี้ บ าง; ว า "ผู ถึ งซึ่ งกระแสแห งธรรมะแล ว"ดั งนี้ บ าง ; ว า "ผู ประเสริฐมี ปญ ญาเครื่อ งชํ า แรกกิเลส"ดัง นี ้บ า ง; วา "ยืน อยู จ ดประตูแ หง อมตะ" ดัง นี ้บ า ง, ดังนี้ แล.

พระโสดาบัน คือผูเห็นชัดปฏิจจสมุปบาท โดยวิธีแหงอริยสัจสี่๑ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะมี อวิ ชชาเป นป จจั ย จึ งมี สั งขารทั้ งหลาย; เพราะ มี สั งขารเป นป จจั ย จึ งมี วิ ญ ญาณ; เพราะมี วิ ญ ญาณเป นป จจั ย จึ งมี นามรู ป; เพราะ มี นามรูปเป นป จจั ย จึ งมี สฬายตนะ; เพราะมี สฬายตนะเป นป จจั ย จึ งมี ผั สสะ; เพราะมี ผั สสะเป นป จจั ย จึ งมี เวทนา; เพราะมี เวทนาเป นป จจั ย จึ งมี ตั ณ หา; เพราะมี ตั ณ หา เป น ป จ จั ย จึ ง มี อุ ป าทาน; เพราะมี อุ ป าทานเป น ป จ จั ย จึ ง มี ภ พ; เพราะมี ภ พเป น ป จ จั ย จึ ง มี ช าติ ; เพราะมี ช าติ เป น ป จ จั ย , ชรามรณะ โสกะปริ เทวะทุ ก ขะโทมนั ส อุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งเกิ ดขึ้ นครบถ วน : ความเกิ ดขึ้ นพรอมแห งกองทุ กข ทั้ งสิ้ นนี้ ย อมมี ดวยอาการอยางนี้.

www.buddhadasa.info

สูตรที่ ๗ ทสพลรรค นิทานสังยุตต นิทาน.สํ.๑๖/๕๐/๘๘,ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทกับอริยสาวก

๕๓๓

ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ก็ ช รามรณะ เป น อย า งไรเล า ? (๑) ความแก ความคร่ํ าคร า ความมี ฟ นหลุ ด ความมี ผมหงอก ความมี หนั งเหี่ ยว ความสิ้ นไปแห งอายุ ความแก รอบแห งอิ นทรี ย ทั้ งหลาย ในสั ตว นิ กายนั้ นๆ ของสั ตว ทั้ งหลายเหล านั้ นๆ : นี้ เรี ยกว า ชรา. การจุ ติ ความเคลื่ อน การแตกสลาย การหายไป การวายชี พ การตาย การทํ ากาละ การแตกแห งขั นธ ทั้ งหลาย การทอดทิ้ งร าง การขาดแห งอิ นทรี ย คื อชี วิ ต จากสั ต ว นิ ก ายนั้ น ๆ ของสั ต ว ทั้ ง หลายเหล า นั้ น ๆ : นี้ เรี ย กว า มรณะ. ชรานี้ ด ว ย มรณะนี้ ด วย ย อมมี อ ยู ดั งนี้ ; ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! นี้ เรี ยกว า ชรามรณะ. (๒)ความ ก อขึ้ นพร อมแห งชรามรณะ ย อมมี เพราะความก อขึ้ นพร อมแห งชาติ ; (๓)ความดั บไม เหลื อแห งชรามรณะ ย อมมี เพราะความดั บ ไม เหลื อ แห งชาติ ; (๔)มรรคอั น ประกอบ ด วยองค แปดอั นประเสริ ฐนั่ นเอง เป นปฏิ ปทา ให ถึ งความดั บไม เหลื อแห งชรามรณะ, ได แก สิ่ งเหล านี้ คื อ ความเห็ นชอบ ความดํ าริ ชอบ การพู ดจาชอบ การทํ าการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ; ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ ชาติ เป นอย างไรเล า? การเกิ ด การกํ าเนิ ด การ ก าวลง(สู ครรภ ) การบั งเกิ ด การบั งเกิ ดโดยยิ่ ง ความปรากฏของขั น ธ ทั้ งหลาย การที่ สั ตว ได ซึ่ งอายตนะทั้ งหลาย ในสั ตว นิ กายนั้ นๆ ของสั ตว ทั้ งหลายเหล านั้ นๆ : ดู ก อน ภิ กษุ ทั้ งหลาย! นี้ เรี ยกว า ชาติ . ความก อขึ้ นพร อมแห งชาติ ย อมมี เพราะความก อขึ้ น พร อ มทั้ ง ภพ; ความดั บ ไม เหลื อ แห ง ชาติ ย อ มมี เพราะความดั บ ไม เหลื อ แห ง ภพ; มรรคอั นประกอบด วยองค แปดอั นประเสริ ฐนั้ นเอง เป นปฏิ ปทาให ถึ งความดั บไม เหลื อ แห งชาติ , ได แก สิ่ งเหล านี้ คื อ ความเห็ นชอบ ความดํ าริ ชอบ การพู ดจาชอบ การทํ าการ งานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ;

www.buddhadasa.info ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ก็ ภ พ เป น อย า งไรเล า ? ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ภพทั้งหลาย ๓ อยางเหลานี้ คือ กามภพ รูปภพ อรูปภพ : ดูกอนภิกษุทั้งหลาย!

www.buddhadasa.info


๕๓๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๙

นี้ เรี ยกว าภพ. ความก อขึ้ นพร อมแห งภพ ย อมมี เพราะความก อขึ้ นพร อมแห งอุ ปาทาน; ความดั บ ไม เหลื อ แห งภพ ย อ มมี เพราะความดั บ ไม เหลื อ แห งอุ ป าทาน; มรรคอั น ประกอบด วยองค แปดอั นประเสริฐนั้ นเอง เป นปฏิ ปทาให ถึ งความดั บไม เหลื อแห งภพ, ได แก สิ่ งเหล านี้ คื อ ความเห็ นชอบ ความดํ าริชอบ การพู ดจาชอบ การทํ าการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ; ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ก็อุปาทาน เปนอยางไรเลา? ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! อุปาทานทั้งหลาย ๔ อยางเหลานี้ คือ กามุปาทาน ทิฏุปาทาน สีลัพพัตตุปาทาน อัตตวาทุ ป าทาน : ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! นี้ เรี ย กว า อุ ป าทาน. ความก อ ขึ้ น พร อ มแห ง อุ ปาทาน ย อมมี เพราะความก อขึ้ นพร อมแห งตั ณ หา; ความดั บไม เหลื อแห งอุ ปาทาน ย อมมี เพราะความดั บไม เหลื อแห งตั ณหา; มรรคอั นประกอบด วยองค แปดอั นประเสริ ฐ นั้นเองเปนปฏิ ปทาใหถึงความดับไมเหลือแหงอุปาทาน, ไดแกสิ่งเหลานี้คือ ความเห็นชอบ ความดํ าริชอบ การพู ดจาชอบ การทํ าการงานชอบ การเลี้ ยงชี วิตชอบ ความพากเพี ยรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ;

www.buddhadasa.info ดูกอนภิ กษุ ทั้งหลาย! ก็ตั ณหา เป นอยางไรเล า? ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย! หมู แหงตัณหาทั้งหลาย ๖ หมูเหลานี้ คือ รูปตั ณหา สัททตัณหา คันธตั ณหา รสตัณหา โผฏฐั พ พตั ณ หา ธั ม มตั ณ หา : ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! นี้ เรี ยกว าตั ณ หา. ความก อ ขึ้นพรอมแห งตั ณ หา ย อมมี เพราะความก อขึ้ นพรอมแห งเวทนา; ความดั บไม เหลื อ แห งตั ณ หา ย อมมี เพราะความดั บ ไม เหลื อ แห งเวทนา; มรรคอั น ประกอบด วยองค แปดอันประเสริฐนั้ นเอง เปนปฏิ ปทาใหถึงความดับไมเหลือแหงตัณหา, ไดแกสิ่งเหลานี้ คื อ ความเห็ นชอบ ความดํ าริชอบ การพู ดจาชอบ การทํ าการงานชอบ การเลี้ ยงชี วิ ตชอบ ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ;

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทกับอริยสาวก

๕๓๕

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ก็เวทนา เปนอยางไรเลา? ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! หมู แห งเวทนาทั้ ง หลาย ๖ หมู เหล านี้ คื อ จั กขุ สั มผั สสชาเวทนา โสตสั มผั สสชาเวทนา ฆานสั มผัสสชาเวทนา ชิวหาสัม ผัสสชาเวทนา กายสัมผัสสชาเวทนา มโนสัมผั สสชาเวทนา : ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! นี้ เรียกว าเวทนา. ความก อขึ้ นพรอมแห งเวทนา ย อมมี เพราะ ความก อ ขึ้ น พร อ มแห งผั ส สะ; ความดั บ ไม เหลื อ แห งเวทนา ย อ มมี เพราะความดั บ ไม เหลื อแห งผั สสะ; มรรคอั นประกอบด วยองค แปดอั นประเสริ ฐนั้ นเอง เป นปฏิ ปทา ให ถึงความดั บไม เหลื อแห งเวทนา, ได แก สิ่ งเหล านี้ คื อ ความเห็ นชอบ ความดํ าริชอบ การพู ดจาชอบ การทํ าการงานชอบ การเลี้ ยงชี วิ ตชอบ ความพากเพี ยรชอบ ความระลึ ก ชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ; ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ ผั สสะ เป นอย างไรเล า? ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! หมูแหงผัสสะทั้งหลาย ๖ หมูเหลานี้ คือ จักขุสัมผัส โสตสัมผัส ฆานสัมผัส ชิวหาสัมผัส กายสั มผั ส มโนสั ม ผั ส : ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! นี้ เรี ยกว าผั สสะ.ความก อขึ้ นพร อ ม แห งผั ส สะ ย อ มมี เพราะความก อ ขึ้ น พรอ มแห ง สฬายตนะ; ความดั บ ไม เหลื อ แห ง ผั สสะ ย อมมี เพราะความดั บไม เหลื อแห งสฬายตนะ; มรรคอั นประกอบด วยองค แปด อันประเสริฐนั่ นเอง เป นปฏิ ปทาให ถึงความดั บไม เหลือแห งผัสสะ, ไดแกสิ่ งเหล านี้ คื อ ความเห็ นชอบ ความดํ าริชอบ การพู ดจาชอบ การทํ าการงานชอบ การเลี้ ยงชี วิ ตชอบ ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ;

www.buddhadasa.info ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ก็ ส ฬายตนะ เป น อย างไรเล า? จั กขวายตนะ โสตายตนะ ฆานายตนะ ชิ วหายตนะ กายายตนะ มนายตนะ : ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! นี้ เรีย กว าสฬายตนะ.ความก อ ขึ้ น พร อ มแห งสฬายตนะ ย อ มมี เพราะความก อ ขึ้ น พรอมแหงนามรูป; ความดับไมเหลือแหงสฬายตนะ ยอมมีเพราะความดับไมเหลือแหง

www.buddhadasa.info


๕๓๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๙

นามรูป; มรรคอั นประกอบด วยองค แปดอั นประเสริฐนั่ นเอง เป นปฏิ ปทาให ถึ งความ ดั บไม เหลื อแห งสฬายตนะ, ได แก สิ่ งเหล านี้ คื อ ความเห็ นชอบ ความดํ าริชอบ การพู ด จาชอบ การทํ าการงานชอบ การเลี้ ยงชี วิ ตชอบ ความพากเพี ยรชอบ ความระลึ กชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ; ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ก็นามรูปเปนอยางไรเลา? เวทนา สัญญา เจตนา ผั สสะ มนสิ การ : นี้ เรียกว า นาม. มหาภู ตทั้ งสี่ ด วย รูปที่ อาศั ยมหาภู ตทั้ งสี่ ด วย : นี้ เรี ย กว า รู ป . นามนี้ ด ว ย รู ป นี้ ด ว ย ย อ มมี อ ยู อ ย า งนี้ : ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! นี้ เรียกวานามรูป. ความก อขึ้ นพรอมแห งนามรูป ย อมมี เพราะความก อขึ้ นพรอมแห ง วิญญาณ; ความดั บไม เหลื อแห งนามรูป ย อมมี เพราะความดั บไม เหลื อแห งวิญญาณ; มรรคอั นประกอบด วยองค แปดอั นประเสริฐนั่ นเอง เป นปฏิ ปทาให ถึ งความดั บไม เหลื อ แห งนามรูป, ได แก สิ่ งเหล านี้ คื อ ความเห็ นชอบ ความดํ าริชอบ การพู ดจาชอบการ ทํ าการงานชอบ การเลี้ ยงชี วิ ตชอบ ความ พากเพี ยรชอบ ความระลึ กชอบ ความตั้ งใจมั่ น ชอบ;

www.buddhadasa.info ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ก็วิญญาณ เปนอยางไรเลา? ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! หมูแหงวิญญาณทั้งหลาย ๖ หมูเหลานี้ คือ จักขุวิญญาณ โสตวิญญาณ ฆานวิญญาณ ชิวหาวิ ญญาณ กายวิ ญญาณ มโนวิ ญญาณ : ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! นี้ เรียกว าวิ ญญาณ. ความก อขึ้นพรอมแห งวิญญาณ ย อมมี เพราะความก อขึ้ นพรอมแห งสั งขาร; ความดั บ ไม เหลื อแห งวิ ญ ญาณ ย อมมี เพราะความดั บไม เหลื อแห งสั งขาร; มรรคอั นประกอบ ด วยองค แปดอั นประเสริ ฐนั้ นเอง เป นปฏิ ปทาให ถึ งความดั บไม เหลื อแห งวิ ญ ญาณ, ได แก สิ่ งเหล านี้ คื อ ความเห็ นชอบ ความดํ าริชอบ การพู ดจาชอบการทํ าการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ;

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทกับอริยสาวก

๕๓๗

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ก็สังขารทั้งหลาย เปนอยางไรเลา? ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย! สังขารทั้ งหลาย ๓ อยางเหลานี้ คือ กายสั งขาร วจีสังขาร จิตตสังขาร : ดูกอน ภิ กษุ ทั้ งหลาย! เหล านี้ เรียกว า สั งขารทั้ งหลาย. ความก อขึ้ นพร อมแห งสั งขาร ย อมมี เพราะความก อ ขึ้ น พร อ มแห ง อวิ ช ชา ;ความดั บ ไม เหลื อ แห ง สั ง ขาร ย อ มมี เพราะ ความดั บ ไม เหลื อ แห งอวิ ชชา ; มรรคอั น ประกอบด วยองค แ ปดอั น ประเสริ ฐนั่ น เอง เป นปฏิ ปทาให ถึ งความดั บไม เหลื อแห งสั งขาร, ได แก สิ่ งเหล านี้ คื อ ความเห็ นชอบ ความ ดํ าริชอบ การพู ดจาชอบ การทํ าการงานชอบ การเลี้ ยงชี วิ ตชอบ ความพากเพี ยรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ; ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ในกาลใดแล อริยสาวก ยอมมารูทั่วถึงซึ่งธรรม อันเปนปจจัย (ปจจัยธรรมดา)วาเปนอยางนี้ๆ; มารูทั่วถึงซึ่งเหตุแหงธรรมอันเปน ป จจั ย วาเป นอยางนี้ ๆ; มารูทั่ วถึ งซึ่งความดั บไม เหลื อแห งธรรมอั นเป นป จจั ย วาเป น อยางนี้ๆ; มารูทั่วถึงซึ่งขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงธรรมอันเปน ปจจัย วาเปนอยางนี้ๆ, ดังนี้; ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ในกาลนั้น เราเรียกอริยสาวกนั้น ว า "ผู ส มบู รณ แ ล วด วยทิ ฏ ฐิ " ดั งนี้ บ าง; ว า "ผู ส มบู รณ แ ล วด วยทั ส สนะ"ดั งนี้ บ าง; วา "ผู ม าถึง พระสัท ธรรมนี ้แ ลว " ดัง นี ้บ า ง; วา "ไดเห็น พระสัท ธรรมนี ้"ดัง นี ้บ า ง; ว า "ผู ประกอบแล วด วยญาณอั นเป นเสขะ" ดั งนี้ บ าง; ว า "ผู ประกอบแล วด วยวิ ชชา อัน เปน เสขะ" ดัง นี ้บ า ง; วา "ผู ถ ึง ซึ ่ง กระแสแหง ธรรมแลว " ดัง นี ้บ า ง; วา "ผูประเสริฐ มีป ญญาเครื่องชําแรกกิเลส" ดังนี้ บ าง; วา "ยื นอยู จดประตู แห งอมตะ" ดังนี้บาง, ดังนี้ แล.

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๕๓๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๙

โสตาปตติยังคะ ขึ้นอยูกับการรูปฏิจจสมุปบาทของอริยสาวก๑ ดูกอนคหบดี! ภยเวร ๕ ประการ อันอริยสาวกทําใหสงบระงับไดแลว ในกาลใด; ในกาลนั้ น อริย สาวกนั้ น ย อ มเป น ผู ป ระกอบพรอ มแล ว ด วยองค แ ห ง โสดาบัน ๔ ประการ ดวย, และอริยญายธรรม ยอมเปนสิ่งที่อริยสาวกนั้นเห็นแลวดวยดี แทงตลอดแล ว ด ว ยดี ด ว ยป ญ ญาด ว ย; อริ ย สาวกนั้ น เมื่ อ หวั ง จะพยากรณ ก็ พึ ง พยากรณ ตนเองด วยตนเองได ว า "เราเป นผู มี นรกสิ้ นแล ว มี กํ าเนิ ดเดรั จฉานสิ้ นแล ว มี เปรตวิ สั ย สิ้ น แล ว มี อ บาย ทุ ค ติ วิ นิ บ าตสิ้ น แล ว ,เราเป น ผู ถึ ง แล ว ซึ่ ง กระแส(แห ง นิ พ พาน)มี ธรรมอั น ไม ตกต่ํ าเป นธรรมดา เป น ผู เที่ ยงแท ต อ นิ พ พาน มี การตรั สรู ธรรม เปนเบื้องหนา" ดังนี้. ดู ก อนคหบดี ! ภยเวร ๕ ประการ เหล าไหนเล า อั นอริ ยสาวกทํ าให สงบ รํางับไดแลว?

www.buddhadasa.info (๑)ดู ก อ นคหบดี ! บุ ค คลผู ฆ าสั ต ว อ ยู เป น ปรกติ ย อ มประสบภยเวรใด ในทิ ฏ ฐธรรมบ า ง, ย อ มประสบภยเวรใด ในสั ม ปรายิ ก บ าง, ย อ มเสวยทุ ก ขโทมนั ส แห งจิ ตบ าง, เพราะปาณาติ บาตเป นป จจั ย; ภยเวรนั้ นๆเป นสิ่ งที่ อริยสาวกผู เวนขาดแล ว จากปาณาติบาต ทําใหสงบรํางับไดแลว.

(๒)ดู ก อ นคหบดี ! บุ ค คลผู ถื อ เอาสิ่ ง ของที่ เขาไม ไ ด ใ ห อ ยู เป น ปรกติ ยอมประสบภยเวรใดในทิฏฐธรรมบาง, ยอมประสบภยเวรใด ในสัมปรายิกบาง, ยอม

สูตรที่ ๑ คหปติวรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน. สํ ๑๖/๘๒/๑๕๑, ตรัสแกอนาถปณฑิกคหบดี ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทกับอริยสาวก

๕๓๙

เสวยทุ กขโทมนั สแห งจิ ตบ าง, เพราะอทิ นนาทานเป นป จจั ย; ภยเวรนั้ นๆ เป นสิ่ งที่ อริยสาวกผูเวนขาดแลวจากอทินนาทาน ทําใหสงบรํางับไดแลว. (๓)ดูกอนคหบดี! บุคคลผูประพฤติผิดในกามทั้งหลายอยูเปนปรกติ ย อมประสบภยเวรใด ในทิ ฏฐธรรมบ าง, ย อมประสบภยเวรใด ในสั มปรายิ กบ าง, ย อม เสวยทุ กขโทมนั สแห งจิ ตบ าง, เพราะกาเมสุ มิ จฉาจารเป นป จจั ย; ภยเวรนั้ นๆ เป นสิ่ งที่ อริยสาวกผูเวนขาดแลวจากกาเมสุมิจฉาจาร ทําใหสงบรํางับไดแลว. (๔)ดูกอนคหบดี! บุคคลผูกลาวคําเท็จอยูเปนปรกติ ยอมประสบภยเวรใด ในทิ ฏฐธรรมบ าง, ย อมประสบภยเวรใด ในสั มปรายิ กบ าง,ย อมเสวยทุ กขโทมนั สแห ง จิตบ าง, เพราะมุ สาวาทเป นป จจั ย; ภยเวรนั้ นๆเป นสิ่ งที่ อริยสาวกผู เวนขาดแล วจาก มุสาวาท ทําใหสงบรํางับไดแลว. (๕)ดูกอนคหบดี! บุคคลผูดื่มสุราและเมรัยอันเปนที่ตั้งของความประมาท อยูเป นปรกติ ยอมประสบภยเวรใด ในทิฏฐธรรมบ าง, ยอมประสบภยเวรใด ในสัมปรายิกบ าง, ยอมเสวยทุกขโทมนั สแหงจิตบ าง, เพราะสุราเมรยปานะเปนป จจัย; ภยเวร นั้นๆ เปนสิ่งที่อริยสาวกผูเวนขาดแลวสุราเมรยปานะ ทําใหสงบรํางับไดแลว.

www.buddhadasa.info ดู ก อนคหบดี ! ภยเวร ๕ ประการเหล านี้ แล อั นอริ ยสาวกทํ าให สงบรํ างั บ

ไดแลว. ………… ดู ก อนคหบดี ! อริยสาวก เป นผู ประกอบพรอมแล ว ด วยองค แห งโสดาบั น ๔ ประการ เหลาไหนเลา?

www.buddhadasa.info


๕๔๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๙ (๑)ดู ก อนคหบดี ! อริ ยสาวกในธรรมวิ นั ยนี้ เป นผู ประกอบพร อมแล ว ด วย

ความเลื่อมใสอันหยั่งลงมั่น ไมหวั่นไหว ในพระพุทธเจา (พุทธอเวจจัปปสาท) ว า "เพราะเหตุ อย างนี้ ๆ พระผู มี พระภาคเจ านั้ น เป นผู ไกลจากกิ เลส ตรั สรู ชอบได โดย พระองค เอง เป น ผู ถึ ง พร อ มด ว ยวิ ช ชาและจรณะ เป น ผู ไ ปแล ว ด ว ยดี เป น ผู รู โ ลก อย างแจ มแจ ง เป นผู สามารถฝ กคนที่ ควรฝ กอย างไม มี ใครยิ่ งกว า เป นครูของเทวดาและ มนุ ษย ทั้ งหลาย เป นผู รู ผู ตื่ น ผู เบิ กบาน ด วยธรรม เป นผู มี ความจํ าเริญ จํ าแนกธรรม สั่งสอนสัตว"ดังนี้. (๒)ดู ก อนคหบดี ! อริ ยสาวกในธรรมวิ นั ยนี้ เป นผู ประกอบพร อมแล ว ด วย ความเลื่อมใสอันหยั่งลงมั่น ไมหวั่นไหว ในพระธรรม (ธัมมอเวจจัปปสาท) วา "พระธรรม เป นสิ่ งที่ พระผู มี พระภาคเจ าตรัสไวดี แล ว เป นสิ่ งที่ ผู ศึ กษาและปฏิ บั ติ พึ งเห็ น ได ด วยตนเอง เป นสิ่ งที่ ปฏิ บั ติ ได และให ผลได ไม จํ ากั ดกาล เป นสิ่ งที่ ควรกล าวกะผู อื่ น วาทานจงมาดูเถิด เปนสิ่งที่ควรนอมเขามาใสตัว เปนสิ่งที่ผูรูก็รูไดเฉพาะตน" ดังนี้. (๓)ดู ก อนคหบดี ! อริ ยสาวกในธรรมวิ นั ยนี้ เป นผู ประกอบพร อมแล ว ด วย ความเลื่อ มใสอัน หยั่งลงมั่น ไมห วั่น ไหว ในพระสงฆ (สังฆอเวจจัปปสาท) วา "สงฆ สาวกของพระผู มี พระภาคเจา เป นผู ปฏิ บั ติ แล ว เป นผู ปฏิ บั ติ ตรงแล ว เป นผู ปฏิ บั ติ เพื่ อรูธรรมเป นเครื่องออกจากทุ กข เป นผู ปฏิ บั ติ สมควรแล ว ได แก บุ คคลเหล านี้ คื อ คู แห ง บุ รุษสี่ คู นั บเรียงตั วได แปดบุ รุษ นั่ นแหละคื อสงฆ สาวกของพระผู มี พระภาคเจ า เป นสงฆ ควรแก สั กการะที่ เขานํ ามาบู ชา เป นสงฆ ควรแก สั กการะที่ เขาจั ดไวต อนรับ เป นสงฆ ควร รับทั กษิ ณ าทาน เป นสงฆ ที่ บุ คคลทั่ วไปจะพึ งทํ าอั ญ ชลี เป นสงฆ ที่ เป นนาบุ ญ ของโลก ไมมีนาบุญอื่นยิ่งกวา" ดังนี้.

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทกับอริยสาวก

๕๔๑

(๔)ดู ก อนคหบดี ! อริยสาวกในธรรมวิ นั ยนี้ เป นผู ประกอบพรอมแล ว ด วย ศีลทั้งหลายในลักษณะเปนที่พอใจของพระอริยเจา (อริยกันตศีล): เปนศีลที่ไมขาด ไม ทะลุ ไม ด าง ไม พรอย เป นศี ลที่ เป นไทจากตั ณหา วิญู ชนสรรเสริญ ไม ถูกตั ณหา และทิฏฐิลูบคลํา เปนศีลที่เปนไปพรอมเพื่อสมาธิ ดังนี้. ดู ก อ นคหบดี ! อริ ย สาวก เป น ผู ป ระกอบพร อ มแล ว ด ว ยองค แ ห ง โสดาบัน ๔ ประการ เหลานี้แล. ... ... ... ดูกอนคหบดี! ก็ อริยญายธรรม เป นสิ่งที่อริยสาวกเห็นแลวดวยดี แทง ตลอดแลวดวยดีดวยปญญา เปนอยางไรเลา? ดูกอ นคหบดี ! อริยสาวกในธรรมวินั ยนี้ ยอ มทํ าไวในใจโดยแยบคาย เปนอยางดี ซึ่งปฏิจจสมุปบาทนั่นเทียว ดังนี้วา "เพราะสิ่งนี้มี สิ่งนี้จึงมี; เพราะ ความเกิด ขึ ้น แหง สิ ่ง นี ้ สิ ่ง นี ้จ ึง เกิด ขึ ้น . เพราะสิ ่ง นี ้ไ มม ี สิ ่ง นี ้จ ึง ไมม ี; เพราะ ความดั บ ไปแห งสิ่ งนี้ สิ่ งนี้ จึ งดั บ ไป : ข อ นี้ ได แ ก สิ่ ง เหล า นี้ คื อ เพราะมี อ วิ ช ชาเป น ป จ จั ย จึ ง มี สั ง ขารทั้ ง หลาย; เพราะมี สั ง ขารเป น ป จ จั ย จึ ง มี วิ ญ ญาณ; ...ฯลฯ... ฯลฯ...ฯลฯ...เพราะมี ชาติ เป น ป จจั ย,ชรามรณะ โสกะปริ เทวะทุ กขะโทมนั สอุ ป ายาส ทั้ งหลาย จึ งเกิ ดขึ้ นครบถ วน : ความเกิ ดขึ้ นพรอมแห งกองทุ กข ทั้ งสิ้ นนี้ ย อมมี ด วย อาการอยางนี้.

www.buddhadasa.info เพราะความจางคลายดั บไปไม เหลื อแห งอวิ ชชานั้ นนั่ นเที ยว, จึ งมี ความดั บ แห ง สั ง ขาร; เพราะมี ค วามดั บ แห ง สั ง ขาร จึ ง มี ค วามดั บ แห ง วิ ญ ญาณ; ...ฯลฯ... ฯลฯ...ฯลฯ...เพราะมี ค วามดั บ แห ง ชาติ นั่ น แล ชรามรณ ะ โสกะปริ เ ทวะทุ ก ขะ โทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลง แหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการ อยางนี้".

www.buddhadasa.info


๕๔๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๙

ดู ก อนคหบดี ! อริยญายธรรมนี้ แล เป นสิ่ งที่ อริ ยสาวกเห็ นแล วด วยดี แทง ตลอดแลวดวยดีดวยปญญา. ดู ก อนคหบดี ! ภยเวร ๕ ประการเหล านี้ อั นอริ ยสาวกทํ าให สงบรํางั บได แล ว ในกาลใด; ในกาลนั้ น อริ ย สาวกนั้ น ย อ มเป น ผู ป ระกอบพร อ มแล ว ด ว ยองค แห งโสดาบั น ๔ ประการเหล านี้ ด วย,และอริ ยญาธรรมนี้ ย อมเป นสิ่ งที่ อริยสาวกนั้ น เห็ นแลวดวยดี แทงตลอดแลวด วยดี ดวยป ญญาด วย; อริยสาวกนั้ น เมื่ อหวังจะพยากรณ ก็พึ งพยากรณ ตนเองดวยตนเองได วา"เราเป นผูมี นรกสิ้นแลว มีกําเนิ ดเดรัจฉานสิ้ นแล ว มี เปรตวิ สั ยสิ้ นแล ว มี อ บาย ทุ คติ วิ นิ บ าตสิ้ น แล ว,เราเป น ผู ถึ งแล วซึ่ งกระแส (แห ง นิ พพาน)มี ธรรมอั นไม ตกต่ํ าเป นธรรมดา เป นผู เที่ ยงแท ต อนิ พพาน มี การตรั สรูธรรม เปนเบื้องหนา, ดังนี้ แล. หมายเหตุ ผู ร วบรวม : ยั งมี สู ต รอี ก สู ต รหนึ่ ง ข อ ความอย า งเดี ย วกั น กั บ สู ต รนี้ ผิ ด กั น แต เพี ย งตรัส แก ภิ ก ษุ ทั้ งหลาย แทนที่ จ ะตรั ส กั บ อนาถป ณ ฑิ ก คหบดี , คื อ สู ต ร ที ่ ๒ แ หง ค ห ป ติว รรค อ ภ ิส ม ย สัง ยุต ต นิท าน .สํ.๑๖/๘๕/๑๕๖; และยัง มีส ูต รอีก สูต รหนึ ่ง (เวรสูต รที ่ ๒ อุป าสกวรรค ทสก.อํ. ๒๔/๑๙๕/๙๒)มีเ คา โครงและใจความ ของสู ต รเหมื อ นกั น กั บ สู ต รข างบนนี้ ต างกั น แต เพี ย งในสู ต รนั้ น มี คํ า ว า "ย อ มพิ จ ารณาเห็ น โดยประจั ก ษ "แทนคํ า ว า "ย อ มกระทํ า ไว ใ นใจโดยแยบคายเป น อย า งดี ซึ่ ง ปฏิ จ จสมุ ป บาท นั่นเทียว" แหงสูตรขางบนนี้ เทานั้น.

www.buddhadasa.info สามัญญผลในพุทธศาสนา เทียบกันไมได กับในลัทธิอื่น ๑ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เปรียบเหมื อนบุ รุษพึ งโยนกรวดหิ นมี ประมาณเท าเม็ ด ถั่วเขียวเจ็ดเม็ด เขาไปที่เทือกเขาหลวงชื่อสิเนรุ. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! พวกเธอทั้งหลาย

สูตรที่ ๑๑ อภิสมยวรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน.สํ.๑๖/๑๖๘/๓๓๑,ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทกับอริยสาวก

๕๔๓

จะพึ งสําคัญความขอนี้ วาอยางไร : กรวดหินมีประมาณเท าเม็ ดถั่วเขียวเจ็ดเม็ด ที่บุ รุษ โยนเข าไป (ที่ เทื อกเขาหลวงชื่ อสิ เนรุ)เป นสิ่ งที่ มากกวา หรือวาเทื อกเขาหลวงชื่ อสิ เนรุ มากกวา? "ขาแต พระองค ผู เจริญ! เทื อกเขาหลวงชื่ อสิ เนรุนั้ นแหละ เป นสิ่ งที่ มากกวา. กรวดหิ นมีประมาณเท าเม็ ดถั่วเขียวเจ็ดเม็ดที่ บุรุษโยนเขาไป (ที่เทือกเขาหลวงชื่อสิเนรุ) มี ประมาณน อย. กรวดหิ นนี้ เมื่ อนํ าเข าไปเที่ ยวกั บเทื อกเขาหลวงชื่ อสิ เนรุ ย อมไม เข า ถึงสวนหนึ่งในรอย สวนหนึ่งในพัน สวนหนึ่งในแสน". ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! อุ ปมานี้ ฉั นใด อุ ปไมยก็ ฉั นนั้ น : การบรรลุ คุ ณวิ เศษ แหงสมณพราหมณ และปริพพาชกผูเปนเดียรถียเหลาอื่น เมื่อนําเขาไปเทียบกับ การบรรลุ คุณวิเศษ ของอริยสาวกซึ่งเปนบุคคลผูถึงพรอมดวย(สัมมา)ทิฏฐิ ยอมไมเขาถึงสวน หนึ่ ง ในร อ ย ส ว นหนึ่ ง ในพั น ส ว นหนึ่ ง ในแสน.ดู ก อ น ภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! บุ ค คลผู ถึ ง พรอมดวย(สัมมา) ทิฏฐิ (ทิฏ ฐิสมฺปนฺโน)เป นผูมีการบรรลุอันใหญ หลวงอยางนี้ (มหาธิคโม) เปนผูมีความรูยิ่งอันใหญหลวงอยางนี้ (มหาภิฺโญ),ดังนี้ แล.

หมวดที่เกา จบ www.buddhadasa.info ---------------

www.buddhadasa.info


www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


หมวด ๑๐ วาดวย ปฏิจจสมุปบาท นานาแบบ

www.buddhadasa.info ๕๔๕

www.buddhadasa.info


www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


กฎอิทัปปจจยตา : หัวในปฏิจจสมุปบาท. ………………………... อิมสฺมึ สติ อิทํ โหติ เมื่อสิ่งนี้ มี สิ่งนี้ ยอมมี อิมสฺสุปฺ ปาทา อิทํ อุปฺปชฺชติ เพราะความเกิดขึ้นแหงสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น อิมสมึ อสติ อิทํ น โหติ เมื่อสิ่งนี้ ไมมี สิ่งนี้ ยอมไมมี อิมสฺส นิโรธา อิทํ นิรุชฺฌติ เพราะความดับไปแหงสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงดับไป (ม.ม.๑๓/๓๕๕/๓๗๑, นิทาน.สํ.๑๖/๘๔/๑๕๔,...)

www.buddhadasa.info ๕๔๗

www.buddhadasa.info


ลําดับเรื่องเฉพาะหมวด สําหรับปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ หมวดที่ ๑๐ วาดวย ปฏิจจสมุปบาท นานาแบบ (มี ๓๗ เรื่อง) มี เรื่อง : ปฏิ จจสมุ ปบาทที่ ซอนอยู ในปฏิ จจสมุ ปบาท--ปฏิ จจสมุ ปบาทแบบที่ ตรัส โดยพระพุท ธเจา วิป ส สี—ปฏิจ จสมุป บาทแบบที ่ต รัส เหมือ นแบบของพระพุท ธเจา วิป ส สี --ปฏิจ จสมุป บาทแบบที ่ตั ้ง ตน ดว ยอารัม มณเจตน-ปกัป ปน-อนุส ยะ—ปฏิจ จสมุป บาท ที ่ต รัส อยา งยอ ที ่ส ุด --ปฏิจ จสมุป บาทที ่ต รัส อยา งสั ้น ที ่สุด —ปฏิจ จสมุป บาทแหง อาหารสี่ --ปฏิ จ จสมุ ป บาทแห งอาหารสี่ เพื่ อ ภู ต สัต วแ ละสัม ภเวสีสั ต ว—ปฏิ จ จสมุ ป บาทแห งอภั ท ทกาลกิริย า--ปฏิจ จสมุป บาทแหง ทุพ พลภาวะแหง มนุษ ย--ปฏิจ จสมุป บาทแหง มิค สัญ ญี สั ต ถั น ตรกั ป ป --ปฏิ จ จสมุ ป บาทแห ง อารั ม มณลาภนานั ต ตะ--ปฏิ จ จสมุ ป บาทแห ง การ ปฏิ บั ติ ผิ ด โดยไตรทวาร--ปฏิ จ จสมุ ป บาทแห ง การปฏิ บั ติ ช อบโดยไตรทวาร—ปฏิ จ จสมุ ป บาทแห งการรบราฆ า ฟ น กั น --ปฏิ จ จสมุ ป บาทแห ง กลหวิ ว าทนิ โรธ—ปฏิ จ จสมุ ป บาทแห ง การอยู อ ย า งมี "เพื่ อ นสอง"—ปฏิ จ จสมุ ป บาทแห ง การอยู อ ย า ง "คนเดี ย ว"—ปฏิ จ จสมุ ป บาทแห งการอยู ด วยความประมาท—ปฏิ จจสมุ ปบาทแห งปป ญ จสั ญ ญาสั งขาสมุ ทาจรณะ --ปฏิ จ จสมุ ป บาทแห งปป ญ จสั ญ ญาอั น ทํ า ความเนิ่ น ชา แก ก ารละอนุ สั ย --ปฏิ จ จสมุ ป บาท แห ง การดั บ ปป ญ จสั ญ ญาสั ง ขา--ปฏิ จ จสมุ ป บาทที่ ยิ่ ง กว า ปฏิ จ จสมุ ป บาท—ปฏิ จ จสมุ ป บาทแห ง อาหารของอวิ ช ชา--ปฏิ จ จสมุ ป บาทแห ง อาหารของภวตั ณ หา--ปฏิ จ จสมุ ป บาท แหง อาหารของวิช ชาและวิม ุต ติ--ปฏิจ จสมุป บาทแหง วิช ชาและวิม ุต ติ—ปฏิจ จสมุป บาทแหง การปฏิส รณาการ--ปฏิจ จสมุป บาทแหง สัจ จานุโ พธและผลถัด ไป—ปฏิจ จสมุ ป บาทแห ง การอยู ด ว ยความประมาทของอริย สาวก--ปฏิ จ จสมุ ป บาทแห ง การขาดที่ อิ ง อาศั ย สํ า หรั บ วิ มุ ต ติ ญ าณทั ส สนะ--ปฏิ จ จสมุ ป บาทเพื่ อ ความสมบู ร ณ แ ห ง อรหั ต ตผล-ปฏิจ จสมุป บาทแหง บรมสัจ จะ--ปฏิจ จสมุป บาท แหง สุว ิม ุต ตจิต --ปฏิจ จสมุป บาท แห ง การปริ นิ พ พานเฉพาะตน--ปฏิ จ จสมุ ป บาทแห ง การดั บ อุ ป าทานสี่ --ปฏิ จ จสมุ ป บาท แหงความสิ้นสุดของโลก.

www.buddhadasa.info

๕๔๘

www.buddhadasa.info


ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ

หมวดที่ ๑๐ วาดวย ปฏิจจสมุปบาท นานาแบบ ---------ปฏิจจสมุปบาท ที่ซอนอยูในปฏิจจสมุปบาท๑ (๑) ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ธรรมทั้งหลายอันเปนกุศลเหลาใด ซึ่งเปนอริยะ เปนเครื่องนําออกจากทุกข เปนเครื่องยังสัตวใหลุถึงความตรัสรูพรอม ที่อยู; ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย! ถาหากวาบุคคลผูชอบถามทั้งหลาย จะพึงถามพวกเธออยางนี้วา "ประโยชนที่ มุงหมายแหงการฟงซึ่งธรรมอันเปนกุศลเหลานั้น มีอยูอยางไรเลา?" ดังนี้ไซร, คําที่ ควรตอบแกพวกเขา พึงมีอยางนี้วา "ประโยชนที่มุงหมายแหงการฟงธรรมเหลานั้น

www.buddhadasa.info

ทวยตานุ ป ส สนาสู ต ร มหาวรรค สุ . ขุ . ๒๕/๔๗๓, ๔๗๔/๓๙๐, ๓๙๒ - ๔๐๑, ตรั สแก ภิ ก ษุ ทั้งหลายที่ปุพพราม ใกลเมืองสาวัตถี.

๕๔๙

www.buddhadasa.info


๕๕๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐

ยอมมีเพื่อความรูตามความเปนจริงซึ่งธรรมทั้งหลาย ตามที่กําหนดไวเปนสองฝาย". สองฝ ายอยางไรกันเล า? จงบอกเขาวา สองฝายคือ "นี้ คื อทุ กข, นี้ คื อทุ กขสมุ ทั ย". ดัง นี ้ นี ้เ ปน อนุป ส สนา (การตามเห็น )ฝา ยที ่ห นึ ่ง ; และ "นี ้ คือ ทุก ขนิโ รธ, นี้ คือทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา" ดังนี้ นี้เปนอนุปสสนาฝายที่สอง. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ อภิ กษุ ตามเห็ นอยู ซึ่ งธรรมตามที่ กํ าหนดไว เป นสอง ฝ ายโดยชอบอย างนี้ เป นผู ไม ประมาท มี ความเพี ยรเครื่ องเผากิ เลส มี ตนส งไปแล วใน ธรรมอยู ; ผลที่ เธอพึ งหวั งได อย างใดอย างหนึ่ ง ในสองอย าง คื อการบรรลุ อรหั ตตผล ในทิฏฐธรรมนั่นเทียว, หรือวาถาอุปาทานยังเหลืออยู ก็ยอมเปนอนาคามี. ..... (๒) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ถ าหากว าบุ คคลผู ชอบถามทั้ งหลาย จะพึ งถาม ต อไปอี ก ดั งนี้ ว า "การตามเห็ นซึ่ งธรรมตามที่ กํ าหนดไว เป นสองฝ ายโดยชอบ โดยปริยาย แม อ ย า งอื่ น มี อ ยู ห รื อ ?" คํ า ที ค วรตอบพึ ง มี ว า "มี อ ยู ". มี อ ยู อ ย า งไรเล า ? มี อ ยู สองฝายคือ "ทุกขใดๆเกิดขึ้น ทุกขทั้งหมดนั้น เกิดขึ้นเพราะมีอุปธิเปนปจจัย". ดังนี้ นี้ เปน อนุป สสนาฝายที่ห นึ่ง; และ "เพราะความดั บ โดยสํารอกไม เหลือ แห ง อุปธิทั้งหลายนั่นเทียว ความเกิดขึ้นแหงทุกขยอมไมมี". ดังนี้ นี้เปนอนุปสสนา ฝายที่สอง.

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ อภิ กษุ ตามเห็ นอยู ซึ่ งธรรมตามที่ กํ าหนดไว เป นสอง ฝ ายโดยชอบอย างนี้ เป นผู ไม ประมาท มี ความเพี ยรเครื่ องเผากิ เลส มี ตนส งไปแล วใน ธรรมอยู ; ผลที่ เธอพึ งหวั งได อย างใดอย างหนึ่ ง ในสองอย าง คื อการบรรลุ อรหั ตตผล ในทิฏฐธรรมนั่นเทียว, หรือวาถาอุปาทานยังเหลืออยู ก็ยอมเปนอนาคามี.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๕๕๑

(ครั้นตรัสขอความนี้แลว ไดตรัสคําที่เปนคาถา ตอไปนี้อีกวา:-)

" {ทุกขทั้ งหลาย ยอมมี ขึ้น มา เพราะมี อุป ธิเปน แดน เกิด ; { นั ่น คือ ทุก ขทั ้ง หลายที ่ม ีล ัก ษณะตา งกัน เปน เอนก ในโลกนี ้. { ผู ใ ด เปน ผู ไมรู และยอ มกระทํ า ซึ ่ง อุป ธิ; ผู นั ้น เปน คนเขลา ยอ มเขา ถึง ทุก ขอ ยู ร่ํา ไป; { เพ ร าะเห ตุ นั ้ น ผู  รู  อ ยู  ไม พ ึ ง ก ระทํ า ซึ ่ ง อุ ป ธิ , เปนผูเห็นอยู ซึ่งแดนเกิด แหงความทุกข." (๓) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ถ าหากว าบุ คคลผู ชอบถามทั้ งหลาย จะพึ งถาม ต อไปนี้ ดั งนี้ ว า "การตามเห็ นซึ่ งธรรมตามที่ กํ าหนดไว เป นสองฝ ายโดยชอบ โดยปริยาย แม อ ย า งอื่ น มี อ ยู ห รื อ ?" คํ า ที่ ค วรตอบ พึ ง มี ว า "มี อ ยู ". มี อ ยู อ ย า งไรเล า ? มี อ ยู สองฝายคือ "ทุกขใดๆเกิดขึ้น ทุกขทั้งหมดนั้น เกิดขึ้นเพราะมีอวิชชาเปนปจจัย". ดังนี้ นี้ เปน อนุป สสนาฝายที่ห นึ่ง; และ "เพราะความดั บ โดยสํารอกไม เหลือ แห ง อวิช ชานั่น เทีย ว ความเกิด ขึ้น แหงทุก ข ยอ มไมมี" . ดังนี้ นี้เปน อนุปส สนาฝาย ที่สอง.

www.buddhadasa.info ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! เมื่ อ ภิ ก ษุ ต ามเห็ น อยู ซึ่ งธรรมตามที่ กํ าหนดไว เป น สองฝายโดยชอบอยางนี้...ฯลฯ... ...ฯลฯ..๑ ก็ยอมเปนอนาคามี.

คํ า ที ล ะไว ด ว ย...ฯลฯ... นี้ ห มายความว า มี เนื้ อ ความเต็ ม เหมื อ นกั บ เนื้ อ ความตอนท า ยแห ง ข อ (๒) ตั้งแตคําวา "เปนผูไมประมาท..." ไปจนถึงคําวา"...ก็ยอมเปนอนาคามี" -เชนนี้ทุกแหง.

www.buddhadasa.info


๕๕๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐ (ครั้นตรัสขอความนี้แลว ไดตรัสคําที่เปนคาถา ตอไปนี้อีกวา:-)

" {สัตวเหลาใด ไปสูสังสาระแหงชาติและมรณะร่ําไป; ประเดี๋ ย วอย า งนั้ น ประเดี๋ ย วอย า งอื่ น ; {อวิ ช ชานั่ น แ ห ล ะ เป น ค ติ (เค รื ่ อ งไป ) ข อ งสั ต ว เ ห ล า นั ้ น . {อวิชชานี้แลเปนความมืดอันใหญ หลวง คือทําใหสัตว ตอ งทอ งเที ่ย วไป ในวัฏ ฏสงสาร ตลอดกาลนาน. { สัตวเหลาใด เปนผูไปดวยวิชชา. สัตวเหลานั้น ยอมไมไปสูภพใหม." (๔) ดู ก อ น ภิ กษุ ทั้ ง ห ลาย! ถ า ห ากว า บุ คคล...ฯลฯ...ฯล ฯ...๑ มี อยู สองฝายคือ "ทุกขใดๆเกิดขึ้น ทุกขทั้งหมดนั้น เกิดขึ้นเพราะมีสังขารเปนปจจัย" ดังนี้ นี้ เปน อนุป สสนาฝายที่ห นึ่ง; และ "เพราะความดั บ โดยสํารอกไม เหลือ แห ง สังขารทั้งหลายนั่นเทียว ความเกิดขึ้นแหงทุกข ยอมไมมี" ดังนี้ นี้เปนอนุปสสนา ฝายที่สอง.

www.buddhadasa.info ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! เมื่ อ ภิ กษุ ต ามเห็ น อยู ซึ่ งธรรมตามที่ กํ าหนดไว เป น สองฝายโดยชอบอยางนี้...ฯลฯ... ...ฯลฯ... ก็ยอมเปนอนาคามี.

คํ า ที่ ล ะไว ด ว ย...ฯลฯ...นี้ หมายความว า มี เนื้ อ ความเต็ ม เหมื อ นกั บ เนื้ อ ความตอนต น แห งข อ (๒),(๓) ตั้งแตคําวา "ถาหากวาบุคคล..." ไปจนถึงคําวา "...มีอยูอยางไรเลา?"-เชนนี้ทุกแหง.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๕๕๓

(ครั้นตรัสขอความนี้แลว ไดตรัสคําที่เปนคาถา ตอไปอีกวา:-)

" {ทุกขใด ๆ เกิดขึ้น ทุกขทั้งหมดนั้น มีเพราะสังขาร เป นป จจั ย; {เพราะความดั บแห งสั งขารทั้ งหลาย ความ เกิดขึ้นแหงความทุกข ยอมไมมี. { ครั้นรูโทษนั้นแหงสังขาร วา ทุก ขม ีเ พราะสัง ขารเปน ปจ จัย , และวา เพราะความ ดั บ แห ง สั ง ขารทั้ ง ปวง ความดั บ แห ง สั ญ ญาย อ มมี ; { ความสิ ้น ไปแหง ทุก ข ยอ มมีด ว ยอาการอยา งนี ้ เพราะ รูธ รรมนั้ น อย างถู ก ต อ งถ อ งแท . {เพราะรู ด ว ยป ญ ญา โดยชอบ, บัณฑิตผูถึงเวท เห็นสิ่งตาง ๆ อยู อยางถูกตอง, ครอบงําเครื่องผูกพันแหงมารแลว, ยอมไมไปสูภพใหม." (๕) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ถ า หากว า บุ ค คล...ฯลฯ...ฯลฯ... มี อ ยู ส อง ฝายคือ "ทุกขใดๆเกิดขึ้น ทุกขทั้งหมดนั้น เกิดขึ้นเพราะมีวิญญาณเปนปจจัย" ดั งนี้ นี้ เป น อนุ ป ส สนาฝ ายที่ ห นึ่ ง; และ "เพราะความดั บ โดยสํ ารอกไม เหลื อ แห ง วิญญาณนั่นเทียว ความเกิดขึ้นแหงทุกขยอมไมมี" ดังนี้ นี้เปนอนุปสสนาฝายที่สอง.

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ อภิ กษุ ตามเห็ นอยู ซึ่ งธรรมตามที่ กํ าหนดไว เป นธรรม สองฝายโดยชอบอยางนี้ ...ฯลฯ... ...ฯลฯ... ก็ยอมเปนอนาคามี. (ครั้นตรัสขอความนี้แลว ไดตรัสคําที่เปนคาถา ตอไปอีกวา:-)

" {ทุกขใดๆเกิดขึ้น ทุกขทั้งหมดนั้น มีเพราะวิญญาณ เปนปจจัย, {เพราะความดับแหงวิญญาณ ความ

www.buddhadasa.info


๕๕๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐

เกิ ด ขึ้ น แ ห งทุ ก ข ย อ ม ไม มี . {เพ ราะรู โ ท ษ นั่ น แ ห ง วิญญาณวา ทุกขมีเพราะวิญญาณเปนปจจัย, ภิกษุจึงหมด สิ ่ ง ป รารถน า ดั บ ส นิ ท ไม ม ี ส  ว น เห ลื อ เพ ราะค วาม เขาไปสงบรํางับแหงวิญญาณ." (๖) ดู ก อ นภิ กษุ ทั้ ง ห ลาย! ถ า ห ากว า บุ คคล ...ฯลฯ...ฯล ฯ... มี อยู สองฝายคือ "ทุกขใดๆเกิดขึ้น ทุกขทั้งหมดนั้นเกิดขึ้นเพราะมีผัสสะเปนปจจัย" ดัง นี้ นี้เปนอนุปสสนาฝายที่หนึ่ง; และ "เพราะความดับโดยสํารอกไมเหลือแหงผัสสะ นั่นเทียว ความเกิดขึ้นแหงทุกข ยอมไมมี" ดังนี้ นี้เปนอนุปสสนาฝายที่สอง. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ อภิ กษุ ตามเห็ นอยู ซึ่ งธรรมตามที่ กํ าหนดไว เป นสอง ฝายโดยชอบอยางนี้ ...ฯลฯ... ...ฯลฯ... ก็ยอมเปนอนาคามี. (ครั้นตรัสขอความนี้แลว ไดตรัสคําที่เปนคาถา ตอไปอีกวา:-)

www.buddhadasa.info " {สําหรับ สัต วผู มี ผั สสะบั งหน า, แล น ไปตามกระแส แห ง ภพอยู , เดิ น ไปผิ ด ทาง,นั้ น ความสิ้ น ไปแห ง สั ญ โยชน ข องเขายั ง อยู  ไ กล ; ส ว น ชน เห ล า ใด รอบ รู แ ล ว ซึ่ ง ผั ส สะ ยิ น ดี แ ล ว ในธรรมเป น ที่ ส งบรํ า งั บ ด ว ย ป ญ ญา; {ชนเหล า นั้ น ย อ มเป น ผู ห มดสิ่ ง ปรารถนา ดับสนิทไมมีสวนเหลือเพราะรูพรอมเฉพาะซึ่งผัสสะ."

(๗) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ถ า หากว า บุ ค คล...ฯลฯ...ฯลฯ... มี อ ยู ส อง ฝายคือ "ทุกขใดๆเกิดขึ้น ทุกขทั้งหมดนั้น เกิดขึ้นเพราะมีเวทนาเปนปจจัย" ดังนี้

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๕๕๕

นี้เปนอนุปสสนาฝายที่หนึ่ง; และ "เพราะความดับโดยสํารอกไมเหลือแหงเวทนา นั่นเทียว ความเกิดขึ้นแหงทุกข ยอมไมมี" ดังนี้ นี้เปนอนุปสสนาฝายที่สอง. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ อภิ กษุ ตามเห็ นอยู ซึ่ งธรรมตามที่ กํ าหนดไว เป นสอง ฝายโดยชอบอยางนี้...ฯบฯ... ...ฯลฯ... ก็ยอมเปนอนาคามี. (ครั้นตรัสขอความนี้แลว ไดตรัสคําที่เปนคาถา ตอไปอีกวา:-)

" {เวทนาอัน เปน สุข ก็ต าม เปน ทุก ขก ็ต าม รวมทั ้ง อทุก ขมสุขเวทนา, เปน ภายในดวย เป นภายนอกดวย ชนิ ด ใดๆ, เป น เวทนามี อ ยู ; {ครั้ น รู ว า เวทนานั้ น ๆ เปน ทุก ข เปน สิ ่ง หลอดลวง เปน สิ ่ง แตกสลาย; สัม ผัส แลว ๆ เห็น อยู ว า เสื ่อ มไปๆ, ยอ มรู ช ัด ในเวทนา นั้ น ๆ ด ว ยอาการอย า งนี้ ; {เพราะความสิ้ น ไปแห ง (อุป าทานใน)เวทนาทั้ งหลาย นั่ น แหละ ความเกิ ดขึ้ น แหงทุกข ยอมไมมี."

www.buddhadasa.info (๘) ดู ก อ น ภิ กษุ ทั้ ง ห ลาย! ถ า หากว า บุ คคล ...ฯลฯ...ฯลฯ... มี อยู สองฝายคือ "ทุกขใดๆเกิดขึ้นทุกขทั้งหมดนั้นเกิดขึ้นเพราะมีตัณหาเปนปจจัย" ดังนี้ นี้เปนอนุปสสนาฝายที่หนึ่ง; และ "เพราะความดับโดยสํารอกไมเหลือแหงตัณ หา นั่นเทียว ความเกิดขึ้นแหงทุกข ยอมไมมี" ดังนี้ นี้เปนอนุปสสนาฝายที่สอง.

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ อภิ กษุ ตามเห็ นอยู ซึ่ งธรรมตามที่ กํ าหนดไว เป นสอง ฝายโดยชอบอยางนี้ ...ฯลฯ... ...ฯลฯ... ก็ยอมเปนอนาคามี.

www.buddhadasa.info


๕๕๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐ (ครั้นตรัสขอความนี้แลว ไดตรัสคําที่เปนคาถา ตอไปอีกวา :-)

"{บุรุษ มี ตัณ หาเปนเพื่ อนสอง แลนไปอยูสูสังสารวัฏฏ อัน ยาวนาน, เดี ๋ย วเปน อยา งนั ้น เดี ๋ย วเปน อยา งนี ้, ยอ มไมล ว งพน สัง สารวัฏ ฏไ ปได. {ภิก ษุ ครั ้น รู โ ทษ นั่ น แห ง ตั ณ หา ว า ตั ณ หาเป น แดนเกิ ด แห ง ทุ ก ข , ย อ ม เปนผูปราศจากตัณหา ไมมีอุปทาน มีสติ ก็เวนขาดจาก ความทุกข." (๙) ดู ก อ น ภิ กษุ ทั้ ง ห ลาย! ถ า หากว า บุ คคล ...ฯลฯ...ฯลฯ... มี อยู สองฝายคือ "ทุกขใด ๆ เกิดขึ้น ทุกขทั้งหมดนั้น เกิดขึ้นเพราะมีอุปาทานเปนปจจัย" ดังนี้ นี้ เปน อนุป สสนาฝายที่ห นึ่ง; และ "เพราะความดั บ โดยสํารอกไม เหลือ แห ง อุปาทานนั่นเทียว ความเกิดขึ้นแหงทุกข ยอมไมมี" ดังนี้ นี้เปนอนุปสสนาฝายที่สอง. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! เมื่ อ ภิ ก ษุ ต ามเห็ น อยู ซึ่ งธรรมตามที่ กํ าหนดไว เป น สองฝายโดยชอบอยางนี้ ...ฯลฯ... ...ฯลฯ... ก็ยอมเปนอนาคามี.

www.buddhadasa.info (ครั้นตรัสขอความนี้แลว ไดตรัสคําที่เปนคาถา ตอไปอีกวา :-)

"{เพราะอุป าทานเปน ปจ จัย จึง มีภ พ; ผู ม ีภ พแลว ยอ มถึง ซึ ่ง ทุก ข; {ความตาย ยอ มมีแ กผู ที ่เ กิด แลว นั ่น แ ห ล ะ คือ ค วาม มีพ รอ ม แ ห ง ทุก ข. {เห ตุนั ้น เพราะความสิ้น ไปแหงอุป าทาน บัณ ฑิต ทั ้งหลาย เปน ผูรูแลวดวยปญ ญาอันชอบ, รูเฉพาะซึ่งความสิ้นไปแห ง ชาติ ยอมไมไปสูภพใหม."

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๕๕๗

(๑๐) ดู ก อ นภิ กษุ ทั้ งห ล าย ! ถ า ห ากว า บุ ค ค ล ...ฯลฯ...ฯล ฯ... มี อ ยู สองฝายคือ "ทุกขใด ๆ เกิดขึ้น ทุกขทั้งหมดนั้น เกิดขึ้นเพราะมีอารัมภะ๑เปนปจจัย" ดั ง นี้ นี้ เป น อนุ ป ส สนาฝ า ยที่ ห นึ่ ง ; และ "เพราะความดั บ โดยสํ า รอกไม เหลื อ แห ง อารัม ภะนั ่น เทีย ว ความเกิด ขึ ้น แหง ทุก ข ยอ มไมม ี" ดัง นี ้ นี ้เ ปน อนุป ส สนา ฝายที่สอง. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! เมื่ อ ภิ ก ษุ ต ามเห็ น อยู ซึ่ ง ธรรมตามที่ กํ า หนดไว เปนสองฝายโดยชอบอยางนี้ ...ฯลฯ... ...ฯลฯ... ก็ยอมเปนอนาคามี. (ครั้งตรัสขอความนี้แลว ไดตรัสคําที่เปนคาถา ตอไปอีกวา :-)

"{ทุกขใด ๆ เกิดขึ้น, ทุกขทั้งหมดนั้น มีเพราะอารัมภะ เป น ป จ จั ย ; {เพราะความดั บ แห ง อารั ม ภะทั้ ง หลาย, ความเกิด ขึ ้น แหง ทุก ข ยอ มไมม ี. {ครั ้น รู โ ทษนั ้น แหง อารั ม ภะ ๒ ว า ทุ ก ข มี เ พราะอารั ม ภะเป น ป จ จั ย , ก็ ส ลั ด เสี ย ซึ่ ง อารั ม ภะทั้ ง ปวง, เป น ผู พ น พิ เศษแล ว เพราะอนารั ม ภะ. {เมื่ อ ภิ ก ษุ มี ภ วตั ณ หาอั น ตั ด ขาดแล ว มี จิ ต รํ า งับ แลว ชาติส ัง ส าระข อ งเธอ ก็สิ ้น ไป . ภ พ ให ม ยอมไมมี แกเธอนั้น."

www.buddhadasa.info

อารัมภะ ในที่นี้ คือการหนวงจิตไปในภพตาง ๆ ดวยตัณหา มีภวตัณหาเปนตน. อารัมภะ คือ การปรารภดวยอํานาจของกิเลส, หรือหวังดวยกิเลส.

www.buddhadasa.info


๕๕๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐

(๑๑) ดูก อ น ภ ิก ษ ุทั ้ง ห ล า ย ! ถา ห า ก วา บุค ค ล ...ฯ ล ฯ ...ฯ ล ฯ ... มีอยูสองฝายคือ "ทุกขใด ๆ เกิดขึ้น ทุกขทั้งหมดนั้น เกิดขึ้นเพราะมีอาหารเปน ป จ จั ย " ดั งนี้ นี้ เป น อนุ ป ส สนาฝ า ยที่ ห นึ่ ง ; และ "เพราะความดั บ โดยสํ า รอกไม เหลือแหงอาหารนั่นเทียว ความเกิดขึ้นแหงทุกข ยอมไมมี" ดังนี้ นี้เปนอนุปสสนา ฝายที่สอง. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! เมื่ อ ภิ ก ษุ ต ามเห็ น อยู ซึ่ งธรรมตามที่ กํ าหนดไว เป น สองฝายโดยชอบอยางนี้ ...ฯลฯ... ...ฯลฯ... ก็ยอมเปนอนาคามี. (ครั้งตรัสขอความนี้แลว ไดตรัสคําที่เปนคาถา ตอไปอีกวา :-)

"{ทุกขใด ๆ เกิดขึ้น, ทุกขทั้งหมดนั้น มีเพราะอาหาร เป น ป จ จั ย ; {เพราะความดั บ แห ง อาหาร, การเกิ ด ขึ้ น แหง ทุก ข ยอ มไมม ี. ครั ้น รู โ ทษนั ้น แหง อาหาร วา ทุก ขม ี เพ ราะอาห ารเปน ปจ จัย , รอบรู ซึ ่ง อาห าร ทั ้ง ปวง ก็เ ปน ผู อ ัน ตัณ หาอาศัย ไมไ ดแ ลว ในอาหาร ทั ้ง ปวง. {เพราะรู โ ดยชอบซึ ่ง พระนิพ พาน อัน หา โรคมิไ ด, เพราะสิ ้น ไปแหง อาสวะทั ้ง หลาย, ชื ่อ วา ผู ตั ้ง อยู ใ นธรรม, รู ทั ่ว ถึง แลว จึง เสพ, เปน ผู จ บเวท, ยอมไมเขาถึง ซึ่งการถูกนับวาเปนอะไร๑."

www.buddhadasa.info

คื อไม ควรแก การที่ จะเรี ยกว ามนุ ษย เทวดา มาร พรหม นาค คั นธั พพ อสู ร หรื ออะไรทั้ งสิ้ น ตามที่ เขา บัญญัติกันอยูในโลก.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๕๕๙

หมายเหตุ ผู ร วบรวม : ผู ศึ ก ษาพึ ง สั ง เกตให เห็ น ว า ข อ ความเป น ตอน ๆ ที่ เนื่ องกั นอยู อย างนี้ ก็ แสดงว าลั กษณะแห งปฏิ จจสมุ ปบาท อย างที่ เห็ นได ว าเนื่ องกั น แต ถึ ง กระนั้ นก็ ดี เมื่ อพิ จารณาดู ในตอนหนึ่ ง ๆ ก็ ยั งมี ลั กษณะเป นปฏิ จจสมุ ปบาทเป นคู ๆ แฝงอยู ทุ กตอน; ดั งนั้ น จึ งเห็ น ว า ควรจะเรี ยกว าปฏิ จจสมุ ป บาทที่ ซ อนอยู ในปฏิ จจสมุ ป บาท หรื อ ซอนอยูในปฏิจจสมุปบาท ก็ยังได นับวาเปนวิธีกลาวเปนพิเศษวิธีหนึ่ง.

ปฏิจจสมุปบาทที่ตรัสโดยพระพุทธเจาวิปสสี (: สุดลงเพียงแควิญญาณ)๑ ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ครั้ ง นั้ น แล ความปริ วิ ต กแห ง ใจ ได เกิ ด ขึ้ น แก พระวิ ป ส สี โพธิ สั ต ว ผู เสด็ จเข าประทั บ อยู ในที่ ห ลี ก เรน ทรงหลี ก เรน อยู ; อย างนี้ ว า "สั ตวโลกนี้ หนอถึ งทั่ วแล วซึ่ งความยากเข็ญ ย อมเกิ ด ย อมแก ย อมตาย ย อมจุติ และ ยอมอุ บั ติ, ก็ เมื่ อสัตวโลกไม รูจักอุบายเครื่องออกไปพ นจากทุกขคื อชรามรณะแลว การ ออกจากทุกข คือชรามรณะนี้ จักปรากฏขึ้นไดอยางไร?". ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ลํ าดั บนั้ นแล ความฉงนนี้ ได เกิ ดขึ้ นแก พระวิป สสี โพธิสั ตวนั้ นวา "เมื่ ออะไรมี อยู หนอ ชรามรณะจึ งได มี : เพราะมี อะไรเป นป จจั ย จึ งมี ชรามรณะ" ดังนี้.

www.buddhadasa.info ดูกอนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ลําดั บนั้ นแล ความรูแจ งอยางยิ่งด วยป ญญา เพราะ การทําในใจโดยแยบคาย ไดเกิดขึ้นแกพระวิปสสีโพธิสัตวนั้นวา "เพราะชาตินั่นแล มีอยู; ชรามรณะ จึงไดมี : เพราะมีชาติเปนปจจัย จึงมีชรามรณะ" ดังนี้.

มหาปทานสูตร มหา.ที. ๑๐/๓๕/๓๘, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๕๖๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐

...๑เพราะภพนั ่น แล มีอ ยู ; ชาติ จึง ไดม ี : เพราะมีภ พเปน ปจ จัย จึงมีชาติ". ดังนี้. ...เพราะอุปาทานนั่นแล มีอยู; ภพ จึงไดมี : เพราะมีอุปทานเปนปจจัย จึงมีภพ". ดังนี้. ...เพราะตั ณ หานั่ น แล มี อ ยู ; อุ ป าทาน จึ งได มี : เพราะมี ตั ณ หา เปนปจจัย จึงมีอุปาทาน". ดังนี้. ...เพราะเวทนานั่นแล มีอยู; ตัณหา จึงไดมี : เพราะมีเวทนาเปนปจจัย จึงมีตัณหา". ดังนี้. ...เพราะผัสสะนั่นแล มีอยู; เวทนา จึงไดมี : เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมีเวทนา". ดังนี้. ...เพราะสฬายตนะนั่นแล มีอยู; ผัสสะ จึงไดมี : เพราะมีสฬายตนะ เปนปจจัย จึงมีผัสสะ". ดังนี้. ...เพราะนามรูปนั่นแล มีอยู; สฬายตนะ จึงไดมี : เพราะมีนามรูป เปนปจจัย จึงมีสฬายตนะ". ดังนี้. ...เพราะวิญญาณนั่นแล มีอยู; นามรูป จึงไดมี : เพราะมีวิญญาณ เปนปจจัย จึงมีนามรูป". ดังนี้.

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ลํ าดั บนั้ นแล ความฉงนนี้ ได เกิ ดขึ้ นแก พระวิ ป สสี โพธิ สั ตวนั้ นวา "เมื่ ออะไระมี อยู หนอ วิ ญญาณจึ งได มี : เพราะมี อะไรเป นป จจั ย จึ งมี วิญญาณ". ดังนี้.

ข อ ความตามที่ ล ะ....ไว นั้ น หมายความว า ได มี ค วามฉงนเกิ ด ขึ้ น ทุ ก ๆ ตอน แล ว ทรงทํ า ในใจโดย แยบคาย จนความรูแจ งเกิ ดขึ้ นทุ ก ๆ ตอน เป นลํ าดั บไป จนถึ งที่ สุ ด. ในที่ นี้ ละไว โดยนั ยที่ ผู อ านอาจ จะเขาใจเอาเองได : เปนการตัดความรําคาญในการอาน.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๕๖๑

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ลํ าดั บนั้ นแล ความรู แจ งอย างยิ่ งด วยป ญญา เพราะ การทํ าในใจโดยแยบคาย ได เกิ ดขึ้ นแก ภระวิป สสี โพธิสั ตวนั้ นวา "เพราะนามรูปนั่ นแล มีอยู; วิญญาณจึงไดมี : เพราะมีนามรูปเปนปจจัย จึงมีวิญญาณ" ดังนี้ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ลํ าดั บนั้ นแล ความรู แจ งนี้ ได มี แก พระวิ ป สสี โพธิ สั ตว นั ้น วา "วิญ ญาณนี ้ ยอ มเวีย นกลับ จากนามรูป ยอ มไมเลยไปอื ่น . ดว ยเหตุ เพียงเทานี้ สัตวโลกนี้พึงเกิดบาง พึงแกบาง พึงตายบาง พึงจุติบาง พึงอุบัติบาง. ข อนี้ ได แก การที่ เพราะนามรูปเป นป จจั ย จึ งมี วิ ญ ญาณ; เพราะมี วิ ญ ญาณเป นป จจั ย จึ งมี นามรู ป; เพราะมี นามรูปเป นป จจั ย จึ งมี สฬายตนะ; เพราะมี สฬายตนะเป นป จจั ย จึงมี ผั สสะ; เพราะมี ผั สสะเป นป จจัย จึงมี เวทนา; เพราะมี เวทนาเป นป จจั ย จึ งมี ตั ณหา; เพราะมี ตั ณหาเป นป จจั ย จึ งมี อุ ปาทาน; เพราะมี อุ ปาทานเป นป จจั ย จึ งมี ภพ; เพราะมี ภพ เป น ป จจั ย จึ งมี ชาติ ; เพราะมี ชาติ เป น ป จจั ย ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขุ โทมนั ส อุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งเกิ ดขึ้ นครบถ วน : ความเกิ ดขึ้ นพรอมแห งกองทุ กข ทั้ งสิ้ นนี้ ย อมมี ดวยอาการอยางนี้".

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ดวงตาเกิ ดขึ้ นแล ว ญาณเกิ ดขึ้ นแล ว ป ญญาเกิ ดขึ้ น แล ว วิ ช ชาเกิ ด ขึ้ น แล ว แสงสว า งเกิ ด ขึ้ น แล ว แก พ ระวิ ป ส สี โ พธิ สั ต ว นั้ น ในธรรม ทั้ ง หลายที่ พ ระองค ไม เคยฟ ง มาแต ก อ นว า "ความเกิ ด ขึ้ น พร อ ม(สมุ ทั ย )! ความ เกิดขึ้นพรอม (สมุทัย)! ดังนี้. (ปฏิปกขนัย)

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ลํ าดั บนั้ นแล ความฉงนนี้ ได เกิ ดขึ้ นแก พ ระวิ ป สสี โพธิ สั ตว นั้ นต อไปว า "เมื่ ออะไรไม มี หนอ ชรามรณะ จึ งไม มี : เพราะความดั บแห งอะไร จึงมีความดับแหงชรามรณะ". ดังนี้.

www.buddhadasa.info


๕๖๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ครั้นนั้นแล ความรูแจง อยางยิ่งดวยปญญา เพราะการ ทําในใจโดยแยบคาย ไดเกิดขึ้นแกพระวิปสสีโพธิสัตวนั้นวา "เพราะชาตินั่นแล ไมมี; ชรามรณะจึงไมมี : เพราะความดับแหงชาติ จึงมีความดับแหงชรามรณะ" ดังนี้. ...๑เพราะภพนั่น แล ไมม ี; ชาติ จึงไมม ี : เพราะความดับ แหงภพ จึงมีความดับแหงชาติ." ดังนี้. ...เพราะอุป าทานนั่ น แล ไม มี ; ภพ จึงไม มี : เพราะความดับแห ง อุปทาน จึงมีความดับแหงภพ". ดังนี้. ...เพราะตั ณ หานั่ น แล ไม มี ; อุ ป าทาน จึ งไม มี : เพราะความดั บ แหงตัณหา จึงมีความดับแหงอุปาทาน". ดังนี้. ...เพราะเวทนานั่นแล ไมมี; ตัณ หา จึงไมมี : เพราะความดับแหง เวทนา จึงมีความดับแหงตัณหา". ดังนี้.

www.buddhadasa.info ...เพราะผั สสะนั่ น แล ไม มี ; เวทนา จึงไมมี : เพราะความดับแหง ผัสสะ จึงมีความดับแหงเวทนา". ดังนี้.

...เพราะสฬายตนะนั่นแล ไมมี; ผัสสะ จึงไมมี : เพราะความดับแหง สฬายตนะ จึงมีความดับแหงผัสสะ". ดังนี้.

ข อ ความตามที่ ล ะ....ไว นั้ น หมายความว า ได มี ค วามฉงนเกิ ด ขึ้ น ทุ ก ๆ ตอน แล ว ทรงทํ าในใจโดย แยบคาย จนความรูแจ งเกิ ดขึ้ นทุ ก ๆ ตอน เป นลํ าดั บไป จนถึ งที่ สุ ด. ในที่ นี้ ละไว โดยนั ยที่ ผู อ านอาจ จะเขาใจเอาเองได : เปนการตัดความรําคาญในการอาน.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๕๖๓

...เพราะนามรูปนั่นแล ไมมี; สฬายตนะ จึงไมมี : เพราะความดับ แหงนามรูป จึงมีความดับแหงสฬายตนะ". ดังนี้. ...เพราะวิญ ญาณนั่ น แล ไมมี ; นามรูป จึงไม มี : เพราะความดับ แหงวิญญาณ จึงมีความดับแหงนามรูป". ดังนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ลํ าดั บนั้ นแล ความฉงนนี้ ได เกิ ดขึ้ นแก พระวิ ป สสี โพธิสั ตวนั้ นวา "เมื่ ออะไระไม มี หนอ วิญญาณจึงไม มี : เพราะความดั บแห งอะไร จึงมี ความดับแหงวิญญาณ". ดังนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ลํ าดั บนั้ นแล ความรูแจ งอย างยิ่ งด วยป ญญา เพราะ การทําในใจโดยแยบคาย ไดเกิดขึ้นแกพระวิปสสีโพธิสัตวนั้นวา "เพราะนามรูปนั่นแล ไม มี ; วิ ญญาณจึ งไม มี : เพราะความดั บแห งนามรูป จึ งมี ความดั บแห งวิญญาณ." ดังนี้.

www.buddhadasa.info ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย! ลําดับนั้นแล ความรูแจงนี้ ไดเกิดขึ้นแกพระวิปสสีโพธิสัตวนั้นวา "หนทางเพื่อการตรัสรูนี้ อันเราถึงทับแลวแล; ไดแกสิ่งเหลานี้คือ เพราะความดั บแห งนามรูป จึงมี ความดั บแห งวิญญาณ; เพราะมี ความดั บแห งวิญญาณ จึงมี ความดั บแห งนามรูป; เพราะมี ความดั บแห งนามรูป จึ งมี ความดั บแห งสฬายตนะ; เพราะมี ความดั บแห งสฬายตนะ จึ งมี ความดั บแห งผั สสะ; เพราะมี ความดั บแห งผั สสะ; จึงมี ความดับแห งเวทนา; เพราะมี ความดับแห งเวทนา จึงมี ความดับแหงตัณหา; เพราะ มี ความดั บแห งตั ณหา จึ งมี ความดั บแห งอุ ปาทาน; เพราะมี ความดั บแห งอุ ปาทาน จึ ง มีความดับแหงภพ; เพราะมีความดับแหงภพ จึงมีความดับแหงชาติ; เพราะมีความ

www.buddhadasa.info


๕๖๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐

ดั บแห งชาติ นั่ นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลายจึ งดั บสิ้ น : ความดับลงแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้". ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ดวงตาเกิดขึ้นแลว ญาณเกิดขึ้นแลว ปญญาเกิดขึ้น แล ว วิ ช ชาเกิ ด ขึ้ น แล ว แสงสว า งเกิ ด ขึ้ น แล ว แก พ ระวิ ป ส สี โพธิ สั ต ว นั้ น ในธรรม ทั้งหลายที่พระองคไมเคยฟงมาแตกอน วา "ความดับไมเหลือ(นิโรธ)! ความดับไม เหลือ (นิโรธ)!". ดังนี้.

ปฏิจจสมุปบาทแบบที่ตรัสเหมือนแบบของพระพุทธเจาวิปสสี ( : สุดลงเพียงแควิญญาณ )๑ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ครั้งก อนแต การตรัสรู เมื่ อเรายั งไม ได ตรัสรู ยั งเป น โพธิ สั ต ว อ ยู , ความปริ วิ ต กนี้ ได เกิ ด ขึ้ น แก เราวา "สั ต ว โลกนี้ ห นอ ถึ งแล ว ซึ่ งความ ยากเข็ญ ยอมเกิด ยอมแก ยอมตายยอมจุติ และยอมอุบัติ, ก็เมื่อสัตวโลกไมรูจักอุบาย เครื่อ งออกไปพ น จากทุ ก ข คื อ ชรามรณะแล ว การออกจากทุ ก ข คื อ ชรามรณะนี้ จักปรากฎขึ้นไดอยางไร?".

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ความฉงนนี้ เกิ ดขึ้ นแก เราว า "เมื่ ออะไรมี อยู หนอ ชรามรณะ จึงไดมี :เพรามีอะไรเปนปจจัย จึงมีชรามรณะ" ดังนี้.

ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ความรู แ จ ง อย า งยิ่ ง ด ว ยป ญ ญา เพราะการทํ า ในใจโดยแยบคาย ไดเกิดขึ้นแกเราวา "เพราะชาตินั่นแล มีอยู ชรามรณะ จึงไดมี : เพราะมีชาติเปนปจจัย จึงมีชรามรณะ" ดังนี้.

สูตรที่ ๕ มหาวรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน.สํ. ๑๖/๑๒๖/๒๕๐, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๕๖๕

...เพราะภพนั่นแล มีอยู ชาติ จึงไดมี : เพราะมีภพเปนปจจัย จึงมี ชาติ" ดังนี้. ...เพราะอุปาทานนั่นแล มีอยู ภพ จึงไดมี : เพราะมีอุปทานเปนปจจัย จึงมีภพ" ดังนี้. ...เพราะตัณหานั่นแล มีอยู อุปาทาน จึงไดมี : เพราะมีตัณหาเปนปจจัย จึงมีอุปาทาน" ดังนี้. ...เพราะเวทนานั่นแล มีอยู ตัณหา จึงไดมี : เพราะมีเวทนาเปนปจจัย จึงมีตัณหา" ดังนี้. ...เพราะผัสสะนั่นแล มีอยู เวทนา จึงไดมี : เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมีเวทนา" ดังนี้.

www.buddhadasa.info ...เพราะสฬายตนะนั่นแล มีอยู ผัสสะ จึงไดมี : เพราะมีสฬายตนะ เปนปจจัย จึงมีผัสสะ" ดังนี้.

...เพราะนามรูปนั่นแล มีอยู สฬายตนะ จึงไดมี : เพราะมีนามรูป เปนปจจัย จึงมีสฬายตนะ" ดังนี้. ...เพราะวิญญาณนั่นแล มีอยู นามรูป จึงไดมี : เพราะมีวิญญาณ เปนปจจัย จึงมีนามรูป" ดังนี้.

www.buddhadasa.info


๕๖๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐

ดู ก อนภิ กษุ ภิ กษุ ทั้ งหลาย! ความฉงนนี้ ได เกิ ดขึ้ นแก เราว า "เมื่ ออะไรมี อยู หนอ วิญญาณจึงไดมี : เพราะมีอะไรเปนปจจัย จึงมีวิญญาณ" ดังนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ความรู แจ งอย างยิ่ งด วยป ญญา เพราะการทํ าในใจโดย แยบคาย ไดเกิดขึ้นแกเราวา "เพราะนามรูปนั่นแล มีอยู วิญญาณ จึงไดมี : เพราะ มีนามรูปเปนปจจัย จึงมีวิญญาณ" ดังนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ความรู แจ งนี้ ได เกิ ดขึ้ นแก เราว า "วิ ญ ญาณนี้ ย อม เวียนกลับจากนามรูป ยอมไมเลยไปอื่น. ดวยเหตุเพียงเทานี้ สัตวโลกนี้ พึงเกิด บาง พึงแกบาง พึงตายบาง พึงจุติบ าง พึงอุบัติบาง. ขอ นี้ไดแกการที่ เพราะ มี นามรู ปเป นป จจั ย จึ งมี วิ ญ ญาณ; เพราะมี วิ ญ ญาณเป นป จจั ย จึ งมี นามรู ป; เพราะ มี น ามรู ป เป น ป จ จั ย จึ ง มี ส ฬายาตนะ; เพราะมี ส ฬายตนะเป น ป จ จั ย จึ ง มี ผั ส สะ; เพราะมี ผั สสะเป น ป จจั ย จึ งมี เวทนา; เพราะมี เวทนาเป น ป จจั ย จึ งมี ตั ณ หา; เพราะ มี ตั ณ หาเป น ป จ จั ย จึ ง มี อุ ป าทาน; เพราะมี อุ ป าทานเป น ป จ จั ย จึ ง มี ภ พ; เพราะมี ภพเป น ป จ จั ย จึ ง มี ช าติ ; เพราะมี ช าติ เป น ป จ จั ย , ชรามรณะ โสกะปริ เทวะทุ ก ขะ โทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งเกิ ดขึ้ นครบถ วน : ความเกิ ดขึ้ นพรอมแห งกองทุ กข ทั้ งสิ้ นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้".

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ดวงตาเกิ ดขึ้ นแล ว ญาณเกิ ดขึ้ นแล ว ป ญญาเกิ ดขึ้ น แล ว วิ ชชาเกิ ด ขึ้ น แล ว แสงสว างเกิ ด ขึ้ น แล ว แก เรา ในธรรมทั้ งหลายที่ เราไม เคยฟ ง มาแตกอน วา "ความเกิดขึ้นพรอม(สมุทัย)! ความเกิดขึ้นพรอม (สมุทัย)!" ดังนี้. (ตอนี้ไปเปนปฏิปกขนัย)

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๕๖๗

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ความฉงนนี้ ได เกิ ดขึ้ นแก เราต อไปว า "เมื่ ออะไรไม มี หนอ ชรามรณะจึงไมมี : เพราะความดับแหงอะไร จึงมีความดับแหงชรามรณะ" ดังนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ความรูแจ งอย างยิ่ งด วยป ญญา เพราะการทํ าในใจโดย แยบคาย ไดเกิดขึ้นแกเราวา "เพราะชาตินั่นแล ไมมี ชรามรณะ จึงไมมี : เพราะ ความดับแหงชาติ จึงมีความดับแหงชรามรณะ" ดังนี้. ...เพราะภพนั่นแล ไมมี ชาติ จึงไมมี : เพราะความดับแหงภพ จึงมี ความดับแหงชาติ" ดังนี้. ...เพราะอุ ป าทานนั่ น แล ไม มี ภพ จึ งไม มี : เพราะความดั บ แห ง อุปทาน จึงมีความดับแหงภพ" ดังนี้. ...เพราะตัณหานั่นแล ไมมี อุปาทาน จึงไมมี : เพราะความดับแหง ตัณหา จึงมีความดับแหงอุปาทาน" ดังนี้.

www.buddhadasa.info ...เพราะเวทนานั่ นแล ไมมี ตัณ หา จึงไม มี : เพราะความดับแหง เวทนา จึงมีความดับแหงตัณหา" ดังนี้.

...เพราะผัสสะนั่นแล ไมมี เวทนา จึงไมมี : เพราะความดับแหงผัสสะ จึงมีความดับแหงเวทนา" ดังนี้. ...เพราะสฬายตนะนั่ นแล ไม มี ผั สสะ จึ งไม มี : เพราะความดั บแห ง สฬายตนะ จึงมีความดับแหงผัสสะ" ดังนี้.

www.buddhadasa.info


๕๖๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐

...เพราะนามรูปนั่นแล ไมมี สฬายตนะ จึงไมมี : เพราะความดับ แหงนามรูป จึงมีความดับแหงสฬายตนะ" ดังนี้. ...เพราะวิญญาณนั่นแล ไมมี นามรูป จึงไมมี : เพราะความดับแหง วิญญาณ จึงมีความดับแหงนามรูป" ดังนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ความฉงนนี้ ได เกิ ดขึ้ นแก เราว า "เมื่ ออะไรไม มี หนอ วิญญาณ จึงไมมี :เพราะความดับแหงวิญญาณ" ดังนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ความรูแจ งอย างยิ่ งด วยป ญญา เพราะการทํ าในใจโดย แยบคายไดเกิดขึ้นแกเราวา "เพราะชาตินั่นแล ไมมี ชรามรณะ จึงไมมี : เพราะ ความดับแหงนามรูป จึงมีความดับแหงวิญญาณ" ดังนี้. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ความรูแจงนี้ไดเกิดขึ้นแกเราวา "หนทางเพื่อการ ตรัสรูนี้อันเราไดถึงทับแลวแล; ไดแกสิ่งเหลานี้คือ เพราะความดับแหงนามรูป จึงมี ความดั บแห งวิญญาณ; เพราะมี ความดับแห งวิญญาณ จึงมี ความดั บแห งนามรูป; เพราะ มี ความดั บแห งนามรูป จึ งมี ความดั บแห งสฬายตนะ; เพราะมี ความดั บแห งสฬายตนะ จึงมี ความดับแหงผัสสะ; เพราะมีความดั บแห งผัสสะ จึงมีความดั บแห งเวทนา; เพราะมี ความดั บแห งเวทนา จึงมี ความดั บแห งตั ณหา; เพราะมี ความดั บแห งตั ณหา จึงมี ความ ดั บ แห งอุ ป าทาน; เพราะมี ค วามดั บ แห งอุ ป าทาน จึ งมี ค วามดั บ แห งภพ; เพราะมี ความดั บแห งภพ จึ งมี ความดั บแห งชาติ ; เพราะมี ความดั บแห งชาติ นั่ นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขุโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดั บสิ้ น : ความดับลงแห งกองทุ กขทั้ งสิ้นนี้ ยอมมีดวยอาการอยางนี้".

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๕๖๙

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ดวงตาเกิดขึ้นแลว ญาณเกิดขึ้นแลว ปญญาเกิดขึ้นแลว วิ ชชาเกิ ดขึ้ นแล ว แสงสว างเกิ ดขึ้ นแล ว แก เรา ในธรรมทั้ งหลายที่ เราไม เคยฟ งมาแต ก อน วา "ความดับไมเหลือ (นิโรธ)! ความดับไมเหลือ (นิโรธ)!" ดังนี้.

ปฏิจจสมุปบาทแบบที่ตั้งตน ดวย อารัมมณเจตน - ปกัปปน - อนุสยะ๑ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ถ าบุ คคลย อมคิ ด(เจเตติ ) ถึ งสิ่ งใดอยู , ย อมดํ าริ (ปกปฺ เปติ ) ถึงสิ่ งใดอยู , และย อมมี จิ ตป กลงไป(อนุ เสติ )ในสิ่ งใดอยู ; สิ่ งนั้ น ย อมเป น อารมณ เพื่อการตั้งอยูแหงวิญญาณ. เมื่ออารมณ มีอยู, ความตั้งขึ้นเฉพาะแหงวิญญาณ ยอมมี; เมื่อวิญญาณนั้น ตั้งขึ้นเฉพาะ เจริญงอกงามแลว, การกาวลงแหงนามรูป ยอมมี; เพราะมีนามรูปเปนปจจัย จึงมีสฬายตนะ; เพราะมีสฬายตนะเปนปจจัย จึงมีผัสสะ; เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมีเวทนา; เพราะมีเวทนาเปนปจจัย จึงมีตัณหา;

www.buddhadasa.info

สูตรที่ ๙ กฬารขัตติยวรรค นิทานสังยุตต นิทาน.สํ.๑๖/๗๙/๑๔๗, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๕๗๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐

เพราะมีตัณหาเปนปจจัย จึงมีอุปาทาน; เพราะมีอุปาทานเปนปจจัย จึงมีภพ; เพราะมีภพเปนปจจัย จึงมีชาติ; เพราะมี ชาติ เป นป จจัย ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขะโทมนั สอุปายาส ทั้ งหลาย จึ งเกิ ดขึ้ นครบถ วน : ความเกิ ดขึ้ นพร อมแห งกองทุ กข ทั้ งสิ้ นนี้ ย อมมี ด วย อาการอยางนี้. ---- ---- ---- ---ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ถ าบุ คคลย อมไม คิ ดถึ งสิ่ งใด, ย อมไม ดํ าริ ถึ งสิ่ งใด, แต เขายั งมี ใจฝ งลงไป (คื อมี อนุ สั ย) ในสิ่ งใดอยู ; สิ่ งนั้ นย อมเป นอารมณ เพื่ อ การ ตั้งอยูแหงวิญญาณ. เมื่ออารมณมีอยู, ความตั้งขึ้นเฉพาะแหงวิญญาณ ยอมมี; เมื่อวิญญาณนั้น ตั้งขึ้นเฉพาะ เจริญงอกงามแลว, การกาวลงแห ง นามรูป ยอมมี;

www.buddhadasa.info เพราะมีนามรูปเปนปจจัย จึงมีสฬายตนะ; เพราะมีสฬายตนะเปนปจจัย จึงมีผัสสะ; เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมีเวทนา; เพราะมีเวทนาเปนปจจัย จึงมีตัณหา; เพราะมีตัณหาเปนปจจัย จึงมีอุปาทาน; เพราะมีอุปาทานเปนปจจัย จึงมีภพ; เพราะมีภพเปนปจจัย จึงมีชาติ;

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๕๗๑

เพราะมีชาติเปนปจจัย ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาส ทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถวน : ความเกิดขึ้นพรอมแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการ อยางนี้. ---- ---- ---- ---ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ก็ถาวา บุคคลยอมไมคิดถึงสิ่งใด ดวย, ยอมไมดําริ ถึงสิ่งใด ดวย, และทั้งยอม ไมมีใจฝงลงไป (คือไมมีอนุสัย) ในสิ่งใด ดวย, ในกาลใด; ในกาลนั้น สิ่งนั้น ยอมไมเปนอารมณ เพื่อการตั้งอยูแหงวิญญาณไดเลย. เมื่ออารมณไมมี, ความตั้งขึ้นเฉพาะแหงวิญญาณ ยอมไมมี; เมื่อวิญญาณนั้น ไมตั้งขึ้นเฉพาะ ไมเจริญงอกงามแลว, การกาวลง แหงนามรูป ยอมไมมี; เพราะมีความดับแหงนามรูป จึงมีความดับแหงสฬายตนะ; เพราะมีความดับแหงสฬายตนะ จึงมีความดับแหงผัสสะ; เพราะมีความดับแหงผัสสะ จึงมีความดับแหงเวทนา; เพราะมีความดับแหงเวทนา จึงมีความดับแหงตัณหา; เพราะมีความดับแหงตัณหา จึงมีความดับแหงอุปาทาน; เพราะมีความดับแหงอุปาทาน จึงมีความดับแหงภพ; เพราะมีความดับแหงภพ จึงมีความดับแหงชาติ; เพราะมีความดับแหงชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้, ดังนี้ แล.

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๕๗๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐

ปฏิจจสมุปบาท (สมุทยวาร) ที่ตรัสอยางยอที่สุด๑ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ก็ความตั้งขึ้นพรอม (สมุทโย) แหงกองทุกข เปน อยางไรเลา? (ความตั้งขึ้นพรอมแหงทุกข เปนอยางนี้ คือ :-) เพราะอาศั ยซึ่งจักษุ ด วย, ซึ่งรูปทั้ งหลายด วย, จึงเกิ ดจักขุ วิญญาณ; การ ประจวบพรอมแห งธรรม ๓ ประการ (จักษุ + รูป + จักขุวิญญาณ) นั่ นคื อ ผั สสะ; เพราะ มี ผั ส สะเป น ป จ จั ย จึ ง มี เ วทนา; เพราะมี เวทนาเป น ป จ จั ย จึ ง มี ตั ณ หา : นี้ คื อ ความตั้งขึ้นพรอมแหงกองทุกข. เพราะอาศั ยซึ่ งโสตะด วย, ซึ่ งเสี ยงทั้ งหลายด วย, จึ งเกิ ดโสตวิ ญ ญาณ; การประจวบพรอมแห งธรรม ๓ ประการ (โสตะ + เสี ยง + โสตวิ ญญาณ) นั่ นคื อ ผั สสะ; เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมีเวทนา; เพราะมีเวทนาเปนปจจัย จึงมีตัณหา : นี้ คือ ความตั้งขึ้นพรอมแหงกองทุกข.

www.buddhadasa.info เพราะอาศั ยซึ่ งฆานะด วย, ซึ่ งกลิ่ นทั้ งหลายด วย, จึ งเกิ ดฆานวิ ญ ญาณ; การประจวบพรอมแห งธรรม ๓ ประการ (ฆานะ + กลิ่ น + ฆานวิญญาณ) นั่ นคื อ ผั สสะ; เพราะมี ผั สสะเป นป จจั ย จึ งมี เวทนา; เพราะมี เวทนาเป นป จจัย จึงมี ตั ณ หา : นี้ คื อ ความตั้งขึ้นพรอมแหงกองทุกข.

สูตรที่ ๓ โยคักเขมิวรรค สฬายตนสังยุตต สฬา.สํ.๑๘/๑๐๖/๑๕๔, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๕๗๓

เพราะอาศั ยซึ่ งชิ วหาด วย, ซึ่ งรสทั้ งหลายด วย, จึ งเกิ ดชิ วหาวิ ญ ญาณ; การประจวบพรอมแห งธรรม ๓ ประการ (ชิ วหา + รส + ชิ วหาวิ ญญาณ) นั่ นคื อ ผั สสะ; เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมีเวทนา; เพราะมีเวทนาเปนปจจัย จึงมีตั ณหา : นี้ คือ ความตั้งขึ้นพรอมแหงกองทุกข. เพราะอาศั ยซึ่ งกายด วย, ซึ่ งโผฏฐั พพะทั้ งหลายด วย, จึ งเกิ ด กายวิ ญญาณ; การประจวบพรอมแห งธรรม ๓ ประการ ( กาย + โผฏฐั พพะ + กายวิ ญญาณ) นั่ นคื อผั สสะ; เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมีเวทนา; เพราะมีเวทนาเปนปจจัย จึงมีตัณหา ; นี้คือ ความตั้งขึ้นพรอมแหงกองทุกข. เพราะอาศัยซึ่งมโนดวย, ซึ่งธัมมมารมณ ทั้งหลายดวย, จึงเกิดมโนวิญญาณ; การประจวบพร อมแห งธรรม ๓ ประการ (มโน + ธั มมารมณ + มโนวิ ญญาณ) นั่ นคื อ ผั ส สะ; เพราะมี ผั ส สะเป น ป จ จั ย จึ ง มี เ วทนา; เพราะมี เวทนาเป น ป จ จั ย จึ ง มี ตัณหา ; นี้ คือความตั้งขึ้นพรอมแหงกองทุกข. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เหลานี้แล คือความตั้งขึ้นพรอมแหงทุกข.

ปฏิจจสมุปบาท (ทั้งสมุทยะและนิโรธวาร) www.buddhadasa.info ที่ตรัสอยางสั้นที่สุด ๑

ดู ก อ นปุ ณ ณะ! รู ป ทั้ ง หลายที่ เห็ น ด ว ยตา อั น เป น รู ป ที่ น า ปรารถนา นารักใคร นาพอใจ เปนที่ยั่วยวนชวนใหรัก เปนที่เขาไปตั้งอาศัยอยูแหงความใคร

ปุณ โณ วาทสูต ร อุป ริ.ม. ๑๔/๔๘๑/๗๕๕-๖, สฬา.สํ. ๑๘/๗๕/๑๑๒-๓, ตรัส แกพ ระปุณ ณ ะ; มิคชาลสูตร สฬา.สํ. ๑๘/๔๕/๖๘-๙, ตรัสแกพระมิคชาละ.

www.buddhadasa.info


๕๗๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐

เป น ที่ ตั้ ง แห ง ความกํ า หนั ด ย อ มใจ มี อ ยู ; ถ าภิ ก ษุ ย อ มเพลิ ด เพลิ น พร่ําสรรเสริญ สยบมั วเมาในรูป นั้ น ไซร, เมื่ อภิ ก ษุ นั้ น เพลิ ด เพลิ น พร่ํ าสรรเสริ ญ สยบมั วเมาในรู ป นั ้น อยู , นัน ทิ(ความเพลิน )ยอ มเกิด ขึ ้น . ดูก อ นปุณ ณะ! เรากลา ววา "ความ เกิดขึ้นแหงทุกขมีได เพราะความเกิดขึ้นแหงนันทิ" ดังนี้. ดูกอนปุณณะ! เสียง ทั้งหลายที่ไดยินดวยหู ...ฯลฯ... ...ฯลฯ... ดูกอนปุณณะ! กลิ่น ทั้งหลายที่ดมดวยจมูก ...ฯลฯ... ...ฯลฯ... ดูกอนปุณณะ! รส ทั้งหลายที่ลิ้มดวยลิ้น ...ฯลฯ... ...ฯลฯ... ดูกอนปุณณะ! โผฏรัพพะ ทั้งหลายที่ถูกตองดวยกาย ...ฯลฯ... ...ฯลฯ... ดู ก อนปุ ณณะ! ธั มมารมณ ทั้ งหลายที่ รูแจ งด วยใจ อั นเป นธัมมารมณ ที่ น า ปรารถนา น ารั กใคร น าพอใจ เป นที่ ยั่ วยวนชวนให รั ก เป นที่ เข าไปตั้ งอาศั ยอยู แห งความ ใคร เป นที่ ตั้ งแห งความกํ าหนั ดย อมใจ มี อยู ; เมื่ อภิ กษุ นั้ นเพลิ ดเพลิ น พร่ํ าสรรเสริ ญ สยบมั วเมาในธั มมารมณ นั้ น ไซร , เมื่ อภิ กษุ นั้ นเพลิ ดเพลิ น พร่ํ าสรรเสริญ สยบมั วเมา ในธัมมารมณ นั้ นอยู, นั นทิ (ความเพลิ น) ย อมเกิ ดขึ้ น. ดู กอนปุ ณ ณะ! เรากลาววา "ความเกิดขึ้นแหงทุกขมีได เพราะความเกิดขึ้นแหงนันทิ" ดังนี้.

www.buddhadasa.info ----

(ปฏิปกขนัย)

----

ดู ก อนปุ ณณะ! รูป ทั้ งหลายที่ เห็ นด วยตา อั นเป นรูปที่ น าปรารถนา น ารักใคร น าพอใจ เป นที่ ยั่ วยวนชวนให รั ก เป นที่ เข าไปตั้ งอาศั ยอยู แห งความใคร เป นที่ ตั้ งแห ง ความกํ าหนั ด ย อ มใจ มี อ ยู ; ถ า ภิ ก ษุ นั้ น ไม เพลิ ด เพลิ น ไม พ ร่ํา สรรเสริญ ไม ส ยบ มั ว เมาในรู ป นั้ น ไซร , เมื่ อ ภิ ก ษุ นั้ น ไม เพลิ ด เพลิ น ไม พ ร่ํ า สรรเสริ ญ ไม ส ยบมั ว เมา ในรู ป นั้ น อยู , นั น ทิ ย อ มดั บ ไป. ดู ก อ นปุ ณ ณะ! เรากล า วว า "ความดั บ ไปไม มี เหลือของทุกขมีได เพราะความดับไปไมเหลือของนันทิ" ดังนี้.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๕๗๕

(ในกรณี แห งเสี ยงก็ ดี กลิ่ นก็ ดี รสก็ ดี โผฏฐั พพะก็ ดี และธัมมารมณ ก็ดี พระผู มี พระภาคเจ า ไดตรัสไว มีนัยะอยางเดียวกันกับในกรณีแหงรูป).

ปฏิจจสมุปบาทแหงอาหารสี๑่ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ อาหารทั้ งหลาย ๔ อย างเหล านี้ มี อะไรเป นต นเหตุ (นิท าน), มีอ ะไรเปน เครื ่อ งกอ ขึ ้น (สมุท ย), มีอ ะไรเปน เครื ่อ งทํ า ใหเ กิด (ชาติก ), มีอะไรเปนแดนเกิด(ปภว)? ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! อาหารทั้งหลาย ๔ อยางเหลานี้ มีตัณหาเปน ตนเหตุ ...ฯลฯ... ดูกอนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ตั ณหานี้ มี อะไรเป นต นเหตุ , มี อะไรเป นเครื่องกอขึ้น, มีอะไรเปนเครื่องทําใหเกิด, มีอะไรเปนแดนเกิด? ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ตัณหา มีเวทนาเปนตนเหตุ ...ฯลฯ...

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ เวทนานี้ มี อะไรเป นต นเหตุ , มี อะไรเป นเครื่องก อขึ้ น, มีอะไรเปนเครื่องทําใหเกิด, มีอะไรเปนแดนเกิด? ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เวทนา มีผัสสะเปนตนเหตุ ...ฯลฯ...

มหาตัณหาสังขยสูตร มู.ม. ๑๒/๔๗๙/๔๔๖, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน ใกลเมืองสาวัตถี.

www.buddhadasa.info


๕๗๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ ผั สสะนี้ มี อะไรเป นต นเหตุ , มี อะไรเป นเครื่องก อขึ้ น, มีอะไรเปนเครื่องทําใหเกิด, มีอะไรเปนแดนเกิด? ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ผัสสะ มีสฬายตนะเปนตนเหตุ ...ฯลฯ... ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ สฬายตนะนี้ มี อะไรเป นต นเหตุ , มี อะไรเป นเครื่อง กอขึ้น, มีอะไรเปนเครื่องทําใหเกิด, มีอะไรเปนแดนเกิด? ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! สฬายตนะ มีนามรูปเปนตนเหตุ ...ฯลฯ... ดูก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ นามรูปนี้ มี อะไรเป นต นเหตุ , มี อะไรเป นเครื่องกอขึ้น, มีอะไรเปนเครื่องทําใหเกิด, มีอะไรเปนแดนเกิด? ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! นามรูป มีวิญญาณเปนตนเหตุ ...ฯลฯ...

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ วิ ญญาณนี้ มี อะไรเป นต นเหตุ , มี อะไรเป นเครื่อง กอขึ้น, มีอะไรเปนเครื่องทําใหเกิด, มีอะไรเปนแดนเกิด? ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! วิญญาณ มีสังขารเปนตนเหตุ ...ฯลฯ...

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ สั งขารทั้ งหลายเหล านี้ มี อะไรเป นต นเหตุ , มี อะไร เปนเครื่องกอขึ้น, มีอะไรเปนเครื่องทําใหเกิด, มีอะไรเปนแดนเกิด?

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๕๗๗

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! สังขารทั้งหลายเหลานี้ มีอฺวิชชาเปนตนเหตุ, มีอวิชชาเปนเครื่องกอขึ้น, มีอวิชชาเปนเครื่องทําใหเกิด, มีอวิชชาเปนแดนเกิด?

ปฏิจจสมุปบาทแหงอาหารสี่ เพื่อภูตสัตว และ สัมภเวสีสัตว๑ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! อาหาร ๔ อย างเหล านี้ ย อมเป นไปเพื่ อความดํ ารงอยู ของภู ตสัตวทั้ งหลาย, หรือวา เพื่ ออนุ เคราะห แกสั มภเวสี สั ตวทั้ งหลาย. อาหาร ๔ อย าง เปนอยางไรเลา? สี่อยางคือ (๑) กพฬี การาหาร ที่หยาบบาง ละเอียดบาง (๒) ผัสสะ (๓) มโนสั ญเจตนา (๔) วิญญาณ. ดูกอนภิ กษุ ทั้งหลาย! อาหาร ๔ อยาง เหลานี้แล ยอมเป นไปเพื่ อความดํ ารงอยู ของภู ตสั ตวทั้ งหลาย, หรือวา เพื่ ออนุ เคราะห แกสั มภเวสี สัตวทั้งหลาย. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ก็ อ าหาร ๔ อย างเหล านี้ มี อ ะไรเป น เหตุ ให เกิ ด (นิ ทาน)? มี อะไรเป นเครื่องก อให เกิด(สมุ ทย)? มี อะไรเป นเครื่องกํ าเนิ ด(ชาติ ก)? มี อะไร เปนแดนเกิด(ปภว)? ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! อาหาร ๔ อยางเหลานี้ มีตัณ หาเป น เหตุใหเกิด มัตัณหาเปนเครื่องกอใหเกิด มีตัณหาเปนเครื่องกําเนิด มีตัณหาเปนแดนเกิด.

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ ตั ณหานี้ เล า มี อะไรเป นเหตุ ให เกิ ด เป นเครื่องก อ ใหเกิด เป นเครื่องกําเนิด เป นแดนเกิด? ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย! ตั ณหา มี เวทนาเป น เหตุใหเกิด เปนเครื่องกอใหเกิด เปนเครื่องกําเนิด เปนแดนเกิด.

สูตรที่ ๑ อาหารวรรค นิทานสังยุตต นิทาน.สํ. ๑๖/๑๔/๒๘, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๕๗๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐

ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ก็ เวทนานี้ เล า มี อ ะไรเป น เหตุ ให เกิ ด เป น เครื่ อ ง กอให เกิด เป นเครื่องกํ าเนิ ด เป นแดนเกิด? ดู กอนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เวทนา มี ผั สสะ เปนเหตุใหเกิด เปนเครื่องกอใหเกิด เปนเครื่องกําเนิด เปนแดนเกิด. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ ผั สสะนี้ เล า มี อะไรเป นเหตุ ให เกิ ด เป นเครื่องก อ ให เกิ ด เป น เครื่ อ งกํ าเนิ ด เป น แดนเกิ ด ? ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ผั ส สะ มี ส ฬายต นะเปนเหตุใหเกิด เปนเครื่องกอใหเกิด เปนเครื่องกําเนิด เปนแดนเกิด. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ สฬายตนะนี้ เล า มี อะไรเป นเหตุ ให เกิ ด เป นเครื่อง กอ ใหเ กิด เปน เครื่อ งกํ า เนิด เปน แดนเกิด ? ดูก อ นภิก ษุทั ้ง หลาย! สฬายตนะ มีนามรูปเปนเหตุใหเกิด เปนเครื่องกอใหเกิด เปนเครื่องกําเนิด เปนแดนเกิด. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ นามรู ป นี้ เล า มี อะไรเป นเหตุ ให เกิ ด เป นเครื่ อ ง กอใหเกิด เปนเครื่องกําเนิด เปนแดนเกิด? ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! นามรูป มีวิญญาณ เปนเหตุใหเกิด เปนเครื่องกอใหเกิด เปนเครื่องกําเนิด เปนแดนเกิด.

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ วิ ญ ญาณนี้ เล า มี อะไรเป นเหตุ ให เกิ ด เป นเครื่อง ก อให เกิ ด เป นเครื่องกํ าเนิ ด เป นแดนเกิ ด? ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! วิญญาณ มี สั งขาร เปนเหตุใหเกิด เปนเครื่องกอใหเกิด เปนเครื่องกําเนิด เปนแดนเกิด. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ก็ สั งขารนี้ เล า มี อ ะไรเป น เหตุ ให เกิ ด เป น เครื่ อ ง กอ ใหเ กิด เปน เครื ่อ งกํ า เนิด เปน แดนเกิด ? ดูก อ นภิก ษุทั ้ง หลาย! สัง ขาร ทั้งหลายมีอวิชชาเปนเหตุใหเกิด เปนเครื่องกอใหเกิด เปนเครื่องกําเนิด เปนแดนเกิด.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๕๗๙

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ด วยอาการอย างนี้ แล เพราะมี อวิชชาเป นป จจัย จึงมี สั ง ขารทั้ ง หลาย; เพราะมี สั ง ขารเป น ป จ จั ย จึ ง มี วิ ญ ญ าณ ; ....ฯลฯ....ฯลฯ.... ฯลฯ....; เพราะมี ช าติ เป น ป จ จั ย , ชรามรณะ โสกะปริเวทะทุ ก ขะโทมนั ส อุ ป ายาส ทั้ งหลาย จึ งเกิ ดขึ้ นครบถ วน : ความเกิ ดขึ้ นพรอมแห งกองทุ กข ทั้ งสิ้ นนี้ ย อมมี ด วย อาการอยางนี้. เพราะความจางคลายดั บไปโดยไม เหลื อแห งอวิ ชชานั้ นนั่ นเที ยว, จึ งมี ความ ดั บ แห ง สั ง ขาร; เพราะมี ค วามดั บ แห ง สั ง ขาร จึ ง มี ค วามดั บ แห ง วิ ญ ญาณ; .... ฯลฯ....ฯลฯ....ฯลฯ....; เพราะมี ความดั บแห งชาติ นั่ นแล ชรามรณะ โสกะปริ เทวะทุ กขุ โทมนั ส อุ ป ายาสทั้ งหลาย จึ งดั บ สิ้ น : ความดั บ แห งกองทุ ก ข ทั้ งสิ้ น นี้ ย อ มมี ด วย อาการอยางนี้, ดังนี้ แล. หมายเหตุ ผู ร วบรวม : เรื่ อ งอาหารอย า งเดี ย วกั น นี้ ได มี ก ล า วถึ ง ในสู ต ร ชื่ อ มหาตั ณ หาสั ง ขยสู ต ร มู .ม. ๑๒/๔๗๙/๔๔๖; ผิ ด กั น แต ว า ตอนท า ย มี เรื่ อ งอื่ น แทรก แลวจึงกลาวถึงนิโรธวาร.

www.buddhadasa.info ปฏิจจสมุปบาท แหง อภัททกาลกิริยา(ตายชั่ว)๑

ดูก อนคหบดี ! เมื่ อจิ ตไม ได รับการรักษา, กายกรรม วจีกรรม มโนกรรม ก็เปนอันไมไดรับการรักษา;

ติก.อํ. ๒๐/๓๓๕/๕๔๙, ตรัสแกอนาถปณฑิก.

www.buddhadasa.info


๕๘๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐

เมื่อกายกรรม วจีกรรม มโนกรรมไมไดรับการรักษา, กายกรรม วจีกรรม มโนกรรม ก็มีสภาพเปยกแฉะ (กิเลสรั่วรด); เมื่อกายกรรม วจีกรรม มโนกรรมเปยกแฉะ, กายกรรม วจีกรรม มโนกรรม ก็มีสภาพบูดเนา; เมื่อกายกรรม วีจีกรรม มโนกรรมบูดเนา, ก็มีการตายที่ไมงดงาม มีกาลกิริยาที่ไมงดงาม. เปรียบเหมือนเมื่อเรือนหลังคาแหลม(กูฎาคาร)มุงไมดี ยอดหลังคา (อก ไก) ก็ เป นอันไม ได รับการรักษา กลอนหลั งคาก็ เป นอันไม ได รับการรักษา ฝาเรือนก็ เป น อันไมได รับการรักษา; (เมื่ อเป นดังนี้ ) อกไกก็เป ยกชื้น กลอนหลั งคาก็เป ยกชื้น ฝาเรือน ก็เปยกชื้น; อกไกก็ผุเปอย กลอนหลังคาก็ผุเปอย, ฉันใดก็ฉันนั้น. (ขอความต อไป ได ตรัสถึ งเรื่องจิ ตที่ ตรงกั นข าม ผู ศึ กษาพึ งทราบโดยปฏิ ป กขนั ยโดยตลอดสาย กลาวคือ มี กายกรรม วจีกรรม มโนกรรม ที่ไดรับการรักษา, ไมเปยกแฉะ, ตายงดงาม.)

ปฏิจจสมุปบาท แหงทุพพลภาวะ ของมนุษย๑

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมั ยใด ราชา (ผู ปกครอง) ทั้ งหลาย ไม ตั้ งอยู ใน ธรรม, สมัยนั้น ราชยุตต (ขาราชการ) ทั้งหลาย ก็ไมตั้งอยูในธรรม;

จตุกฺก.อํ ๒๑/๙๗/๗๐.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๕๘๑

เมื่อราชยุตตทั้งหลาย ไมตั้งอยูในธรรม, พราหมณและคหบดีทั้งหลาย ก็ไมตั้งอยูในธรรม; เมื่ อพราหมณ ละคหบดี ทั้ งหลาย ไม ตั้ งอยู ในธรรม, ชาวเมื องและชาวชนบททั้ งหลาย ก็ ไม ตั้งอยูในธรรม; เมื่ อ ชาวเมื อ งและชาวชนบททั้ งหลาย ไม ตั้ งอยู ในธรรม, ดวงจัน ทรแ ละดวงอาทิ ต ย ก็ มี ปริวรรตไมสม่ําเสมอ; เมื่ อ ดวงจั น ทร แ ละดวงอาทิ ต ย มี ป ริวรรตไม สม่ํ า เสมอ, ดาวนั กษั ตรและดาวทั้ งหลาย ก็ มี ปริวรรตไมสม่ําเสมอ; เมื่อดาวนักษัตรและดาวทั้งหลายมีปริวรรตไมสม่ําเสมอ, คืนและวัน ก็มีปริวรรตไมสม่ําเสมอ; เมื่อคืนและวันมีปริวรรตไมสม่ําเสมอ, เดือนและปกษ ก็มีปริวรรตไมสม่ําเสมอ; เมื่อเดือนและปกษมีปริวรรตไมสม่ําเสมอ, ฤดูและป ก็มีปริวรรตไมสม่ําเสมอ; เมื่อฤดูและปมีปริวรรตไมสม่ําเสมอ, ลม(ทุกชนิด) ก็พัดไปไมสม่ําเสมอ; เมื่อลม(ทุกชนิด)พัดไปไมสม่ําเสมอ, ปญชสา (ระบบแหงทิศทางลมอันถูกตอง)ก็แปรปรวน; เมื่อปญชสาแปรปรวน, เทวดาทั้งหลาย ก็ระส่ําระสาย; เมื่อเทวดาทั้งหลาย ระส่ําระสาย, ฝน ก็ตกลงมาอยางไมเหมาะสม; เมื่อฝนตกลงมาอยางไมเหมาะสม, พืชพรรณขาวทั้งหลาย ก็แกและสุกไมสม่ําเสมอ;

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ อมนุ ษย ทั้ งหลาย บริโภคพื ชพรรณข าวทั้ งหลายอั น มีความแกและสุกไมสม่ําเสมอ ก็กลายเปนผูมีอายุสั้น ผิดพรรณทราม ทุพพลภาพ และมีโรคภัยไขเจ็บมาก.

www.buddhadasa.info (ข อ ความต อ ไปนี้ ได ต รั สถึ งภาวะการณ ที่ ต รงกั น ข าม ผู ศึ กษาพึ งทราบโดยปฏิ ป กขนั ย

โดยตลอดสาย.)

ปฏิจจสมุปบาท แหง มิคสัญญีสัตถันตรกัปป๑ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ อพระราชา (ชนชั้ นปกครอง ในสมั ยที่ ท านกล าวว า มนุษยมีอายุขัย ๘ หมื่นป ซึ่งขอนี้เปนการคํานวณเทียบสวนแหงความตองการของกิเลสกับ

จักกวัตติสูตร ปา.ที. ๑๑/๗๐-๘๐/๓๙-๔๗, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ในแวนแควนมคธ.

www.buddhadasa.info


๕๘๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐

ความเปนอยูของมนุษย) มีการกระทําชนิดที่เปนไปแตเพียงเพื่อการคุมครอง อารักขา, แตมิไดเปนไปเพื่อการกระทําใหเกิดทรัพย แกบุคคลผูไมมีทรัพยทั้งหลาย ดังนั้นแลว ความยากจนขัดสน ก็เปนไปอยางกวางขวางแรงกลาถึงที่สุด; เพราะความยากจนขันสนเปนไปอยางกวางขวางแรงกลาถึงที่สุด อทินนาทาน ก็เปนไปอยางกวางขวางแรงกลาถึงที่สุด; เพราะอทิ นนาทานเปนไปอยางกวางขวางแรงกลาถึงที่สุด การใชศัสตราวุธ โดยวิธีการตาง ๆ ก็เปนไปอยางกวางขวางแรงกลาถึงที่สุด; เพราะการใช ศัสตราวุธโดยวิธีการตาง ๆ เป นไปอยางกวางขวางแรงกลาถึงที่สุด ปาณาติบาต (ซึ่งหมายถึงการฆามนุษยดวยกัน) ก็เปนไปอยางกวางขวางแรงกลาถึงที่สุด; เพราะปาณาติ บาตเป นไปอย างกว างขวางแรงกล าถึ งที่ สุ ด มุ สวาท (การ หลอกลวงคดโกง) ก็เปนไปอยางกวางขวางแรงกลาถึงที่สุด;

www.buddhadasa.info (สมัยนี้ มนุษยมีอายุขัยถอยลงมาเหลือเพียง ๔ หมื่นป)

เพราะมุ สาวาทเป นไปอยางกวางขวางแรงกลาถึงที่สุด ป สุ ณาวาท (การพู ดจา ยุแหย เพื่ อการแตกกันเป นกกเป นหมู ทําลายความสามั คคี) ก็ เป นไปอยางกวางขวางแรงกล า ถึงที่สุด; (สมัยนี้ มนุษยมีอายุขัยถอยลงมาเหลือเพียง ๒ หมื่นป)

เพราะป สุ ณาวาทเป นไปอย างกวางขวางแรงกล าถึ งที่ สุ ด กาเมสุ มิ จฉาจาร (การทําชู การละเมิดของรักของบุคคลอื่น) ก็เปนไปอยางกวางขวางแรงกลาถึงที่สุด; (สมัยนี้ มนุษยมีอายุขัยถอยลงมาเหลือเพียง ๑ หมื่นป)

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๕๘๓

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๕๘๓

เพราะกาเมสุมิจฉาจารเปนไปอยางกวางขวางแรงกลาถึงที่สุด ผรุสวาท และ สัมผัปปลาปวาท (การใชคําหยาบ และคําพูดเพอเจอเพื่อความสําราญ) ก็เปนไปอยาง กวางขวางแรงกลาถึงที่สุด; (สมัยนี้ มนุษยมีอายุขัยถอยลงมาเหลือเพียง ๕ พันป)

เพราะผรุสวาท และสัมผัปปลาปวาทเปนไปอยางกวางขวางแรงกลาถึงที่สุด อภิ ชฌาและพยาบาท (แผนกการกอบโกย และการทําลายลาง) ก็เปนไปอยางกวางขวางแรง กลาถึงที่สุด; (สมัยนี้ มนุษยมีอายุขัยถอยลงมาเหลือเพียง ๒,๕๐๐-๒,๐๐๐ ป)

เพราะอภิชฌาและพยาบาท เปนไปอยางกวางขวางแรงกลาถึงที่สุด มิจฉาทิฏฐิ (ความเห็ นผิ ดชนิ ดเห็ นกงจั กรเป นดอกบั ว นิ ยมความชั่ ว) ก็ เป นไปอย างกวางขวางแรง กลาถึงที่สุด; (สมัยนี้ มนุษยมีอายุขัยถอยลงมาเหลือเพียง ๑,๐๐๐ ป)

www.buddhadasa.info เพราะมิจฉาทิฏฐิเปนไปอยางกวางขวางแรงกลาถึงที่สุด(อกุศล)ธรรมทั้งสาม คือ อธัมมราคะ (ความยินดีที่ไมเปนธรรม) วิสมโลภะ (ความโลภไมสิ้นสุด) มิจฉาธรรม (การประพฤติตามอํานาจกิเลส)ก็เป นไปอยางกวางขวางแรงกลาถึ งที่สุ ด(อยางไม แยกกัน); (สมัยนี้ มนุษยมีอายุขัยถอยลงมาเหลือเพียง ๕๐๐ ป)

เพราะ(อกุศล)ธรรม ทั้งสาม...นั้นเปนไปอยางกวางขวางแรงกลาถึงที่สุด (อกุศล) ธรรมทั้งหลายคือ ไมปฏิบัติอยางถูกตองในมารดา, -บิดา, -สมณะ,

www.buddhadasa.info


๕๘๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐

-พราหมณ, และ ไมมีกุลเชฏธาปจายนธรรม (ความออนนอมตามฐานะสูงต่ํา), ก็เปน ไปอยางกวางขวางแรงกลาถึงที่สุด. (สมัยนี้ มนุษยมีอายุขัยถอยลงมาเหลือเพียง ๒๕๐-๒๐๐-๑๐๐ ป)

สมัยนั้น จักมีสมัยที่มนุษยมีอายุขัยลดลงมาเหลือเพียง ๑๐ ป (จักมีลักษณะ แห งความเสื่ อมเสี ยมี ประการต าง ๆ ดั งที่ ท านกล าวไว วา) : หญิ งอายุ ๕ ป ก็ มี บุ ตร; รสทั้ ง ห า คื อ เนยใส เนยข น น้ํ า มั น น้ํ า ผึ้ ง น้ํ า อ อ ย, และรสเค็ ม ก็ ไ ม ป รากฎ; มนุ ษย ทั้ งหลาย กิ นหญ าที่ เรียกวา กุ ทรุสกะ (ซึ่ งนิ ยมแปลกั นวาหญ ากั บแก ) แทน การกิน ขา ว; กุศ ลกรรมบถหายไป ไมม ีร อ งรอย, อกุศ ลกรรมบถ รุ ง เรือ งถึง ที ่ส ุด ; ในหมู ม นุษ ย ไมม ีคํ า พูด วา กุศ ล จึง ไมม ีก ารทํ า กุศ ล; มนุษ ยส มัย นั ้น จักไม ยกย องสรรเสริญมั ตเตยยธรรม (ความเคารพเกื้ อกู ลต อมารดา), เปตเตยยธรรม (ความเคารพเกื้ อ กู ล ต อ บิ ด า), สามั ญ ญธรรม (ความเคารพเกื้ อ กู ล ต อ สมณะ,) พรหมั ญ ญธรรม (ความเคารพเกื้ อกู ลต อ ชี พ ราหมณ ), และกุ ลเชฏฐาปจายนธรรม, เหมื อ นอย า งที่ ม นุ ษ ย ย กย อ งกั น อยู ใ นสมั ย นี้ ; ไม มี คํ า พู ด ว า แม น า ชาย น า หญิ ง พอ อา ลุง ปา ภรรยาของอาจารย และคําพูดวา เมียของครู; สัตวโลกจักกระทําการ สั ม เภท(สมสู สํ า ส อ น) เช น เดี ย วกั น กั บ แพะ แกะ ไก สุ ก ร สุ นั ข สุ นั ข จิ้ ง จอก; ความอาฆาต ความพยาบาท ความคิ ด ร า ย ความคิ ด ฆ า เป น ไปอย า งแรงกล า แม ในระหวางมารดากั บบุ ตร บุ ตรกั บมารดา บิ ดากั บ บุ ตร บุ ตรกั บ บิ ดา พี่ กั บน อ ง นองกับพี่ ทั้งชายและหญิง เหมือนกับที่นายพรานมีความรูสึกตอเนื้อทั้งหลาย.

www.buddhadasa.info ในสมัยนั้น จักมีสัตถัน ตรกัป ป (การใชศัส ตราวุธติดตอกัน ไมห ยุด หยอน) ตลอดเวลา ๗ วัน : สัตวทั้งหลายเหลานั้น จักมีความสําคัญแกกันและ กัน

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๕๘๕

ราวกะวาเนื้ อ ; แต ละคนมี ศั สตราวุธในมื อ ปลงชีวติ ซึ่งกั นและกั นราวกะวาฆ าปลา ฆาเนื้อ. (มี มนุ ษย หลายคน ไม เข ารวมวงสั ตถั นตรกั ปป ด วยความกลั ว หนี ไปซ อนตั วอยู ในที่ ที่ พอ จะซอนตัวไดตลอด ๗ วัน แลวกลับออกมาพบกันและกัน ยินดีสวมกอดกัน กล าวกะกันและกันในที่นั้น วา มี โชคดีที่รอดมาได แลวก็ ตกลงกันในการตั้งตนประพฤติธรรมกันใหมต อไป ชีวติ มนุษยก็ค อยเจริญขึ้น จาก ๑๐ ป ตามลํ าดั บ ๆ จนถึ งสมั ย ๘ หมื่ นป อี กครั้งหนึ่ ง จนกระทั่ งเป นสมั ยแห งศาสนาของพระพุ ทธเจามี พระนามวา เมตเตยยสัมมาสัมพุทธะ).

ปฏิจจสมุปบาทแหงอารัมมณลาภนานัตตะ๑ (การไดอารมณ หก) ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย! เพราะอาศัยธาตุ นานั ตตะ (ธาตุนานาชนิด) จึงมีการ เกิดขึ้นแหงสัญญานานัตตะ (สัญญานานาชนิด); เพราะอาศัย สัญญานานัตตะ จึงมีความเกิดขึ้นแหงสังกัปปนานัตตะ(ความ ตริตึกนานาชนิด);

www.buddhadasa.info เพราะอาศัย สังกัปปนานัตตะ จึงมีการเกิดขึ้นแหง ผัสสนานัตตะ(ผัสสะ

นานาชนิด);

เพราะอาศั ย ผั สสนานั ตตะ จึงมี การเกิดขึ้นแห ง เวทนานั ตตะ (เวทนา นานาชนิด); เพราะอาศั ย เวทนานั ตตะ จึงมี การเกิ ดขึ้ นแห ง ฉั นทนานั ตตะ (ความ พอใจนานาชนิด);

สูตรที่ ๙ ธาตุสังยุตต นิทาน.สํ.๑๖/๑๗๕/๓๔๘, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๕๘๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐

เพราะอาศัย ฉันทนาตันนะ จึงมีการเกิดขึ้นแหง ปริฬาหนานัตตะ (ความ เรารอนนานาชนิด); เพราะอาศัย ปริฬาหนานัตตะ จึงมีการเกิดขึ้นแหง ปริเยสนานานัตตะ (การ แสวงหานานาชนิด); เพราะอาศัย ปริเยสนานานั ตตะ จึงมี การเกิดขึ้นแหง ลาภนานั ตตะ(การ ไดรับนานาชนิด); ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ธาตุ นั ต ตะ เป น อย า งไรเล า ? ธาตุ น านั ต ตะคื อ รูป ธาตุ สัท ทธาตุ คัน ธธาตุ รสธาตุ โผฏฐัพ พธาตุ ธัม มธาตุ. ดูกอ นภิก ษุ ทั้งหลาย! นี้เราเรียกวา ธาตุนานัตตะ. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะอาศั ยธาตุ นานั ตตะ จึ งมี การเกิ ดขึ้ นแห งสั ญญา นานัต ตะ; เพราะอาศัย สัญ ญานานัต ตะ จึง มีก ารเกิด ขึ ้น แหง สัง กัป ปนานัต ตะ; ...ฯลฯ... เพราะอาศั ยปริฬาหนานั ตตะ จึ งมี การเกิ ดขึ้ นแห งปริเยสนานานั ตตะ; เพราะ อาศัยปริเยสนานานัตตะ จึงมีการเกิดขึ้นแหงลาภนานัตตะ; เปนอยางไรเลา?

www.buddhadasa.info ดูกอนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะอาศั ยรูปธาตุ จึงมีการเกิดขึ้นแหงรูปสั ญญา (สัญญาในรูป); เพราะอาศัยรูปสัญญา จึงมีการเกิดขึ้นแหง รูปสังกัปปะ(ความตริตรึก ในรูป); เพราะอาศั ยรูปสั ปปะ จึงมี การเกิ ดขึ้นแห ง รูปสั มผั สสะ (การสั มผั สซึ่งรูป); เพราะอาศัยรูปสัมผัสสะ จึงมีการเกิดขึ้นแหง รูปสัมผัสสชาเวทนา (เวทนาที่เกิดขึ้นจาก การสั มผั สซึ่ งรูป ); เพราะอาศั ยรูปสั มผั สสชาเวทนา จึ งมี การเกิ ดขึ้ นแห ง รู ป ฉั น ทะ (ความพอใจในรูป); เพราะอาศัยรูปฉันทะ จึงมีการเกิดขึ้นแหง รูปปริฬาหะ (ความเรารอน เพราะรูป); เพราะอาศั ยรูปริฬาหะ จึงมี การเกิดขึ้นแห ง รูปปริเยสนา (การแสวงหา ซึ่งรูป); เพราะอาศัยรูปปริเยสนา จึงมีการเกิดขึ้นแหงรูปลาภะ(การไดรับซึ่งรูป).

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๕๘๗

(หมวดเกี่ ยวกั บ ธาตุ อื่ น ๆ อี ก ๕ ธาตุ สั ท ทธาตุ คั นธธาตุ รสธาตุ โผฏฐั พ พธาตุ และ ธัมมธาตุ ก็มีการจําแนกโดยนัยะอยางเดียวกันกับหมวดรูปธาตุ ดังที่กลาวแลวขางบนนี้).

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! อย างนี้ แล (ที่ เรากล าวว า) เพราะอาศั ยธาตุ นานั ตตะ จึงมี การเกิดขึ้นแหงสั ญญานานัตตะ; เพราะอาศัยสัญญานานานั ตตะ จึงมี การเกิดขึ้นแห ง สั งกั ป ปนานั ต ตะ;...ฯลฯ...เพราะอาศั ย ปริ ฬ าหนานั ต ตะ จึ งมี การเกิ ด ขึ้ น แห งปริ เยส นานานัตตะ; เพราะอาศัยปริเยสนานานัตตะ จึงมีการเกิดขึ้นแหงลาภนานัตตะ. [ยั งมี สูตรอีกสู ตรหนึ่ ง ซึ่ งลั กษณะอย างเดี ยวกั นกั บสูตรขางบนนี้ ทุ กประการ ต างแต ตรัสไว โดยยอ คื อเวนผั สสนานั ตตะ และเวทนานานั ตตะ แล วเวนลาภนานั ตตะ ซึ่ งเป นอันดั บสุ ดท ายเสี ย คงตรัส เพียงแคปริเยสนานานัตตะ เทานั้น (- สูตรที่ ๗ ธาตุสังยุตต นิทาน.สํ. ๑๖/๑๗๓/๓๔๔).]

ปฏิจจสมุปบาท แหงการปฏิบัติผิดโดยไตรทวาร๑ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! กามวิ ตก (ความครุนคิ ดในกาม) เป นธรรมมี นิ ทาน (เหตุใหเกิด) ไมใชเปนธรรมไมมีนิทาน. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ขอนี้เปนอยางไรเลา?

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เพราะอาศั ยกามธาตุ (ธาตุ เป นที่ ตั้ งแห งความรูสึ ก ทางกาม) จึงมีการเกิดขึ้นแหง กามสัญญา (ความหมายมั่นในกาม); เพราะอาศั ยกามสั ญญา จึ งมี การเกิ ดขึ้ นแห ง กามสั งกั ปปะ (ความตริตรึก ในกาม); เพราะอาศัยกามสังกัปปะ จึงมีการเกิดขึ้นแหงกามฉันทะ (ความพอใจในกาม);

สูตรที่ ๒ ทุติยวรรค ธาตุสังยุตต นิทาน. สํ. ๑๖/๑๘๑/๓๕๕-๖, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๕๘๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐

เพราะอาศั ยกามฉั นทะ จึ งมี การเกิ ดขึ้นแห ง กามปริฬาหะ (ความเรารอน เพื่อกาม); เพราะอาศั ยกามปริฬหะ จึ งมี การเกิ ดขึ้ นแห ง กามปริ เยสนา (การแสวง หากาม). ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ปุ ถุ ชนผู ไม มี การสดั บ เมื่ อแสวงหาอยู ซึ่ งกาม ย อม ปฏิบัติผิดโดยฐานะสาม คือ โดยกาย โดยวาจา โดยใจ. (ข อความต อไปนี้ มี การตรั สถึ ง พยาปาทวิ ตก และวิ หิ งสาวิ ตก โดยนั ยะอย างเดี ยวกั นกั บการ แสดงนัยะแหงกามวิตกนี้).

ปฏิจจสมุปบาท แหงกามปฏิบัติชอบโดยไตรทวาร๑ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เนกขัมม๒ วิตก เปนธรรมมีนิทาน (เหตุใหเกิด) ไมใช เปนธรรมไมมีนิทาน. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ขอนี้ เปนอยางไรเลา?

www.buddhadasa.info ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เพราะอาศัยเนกขัมมธาตุ (ธาตุเปนที่ตั้งแหงความรูสึก ในการหลีกออกจากกาม) จึงมี การเกิดขึ้นแห งเนกขั ม มสั ญ ญา (ความหมายมั่ นใน เนกขัมมะ); เพราะอาศั ย เนกขั ม มสั ญ ญา จึ งมี ก ารเกิ ด ขึ้ น แห ง เนกขั ม มสั งกั ป ปะ (ความตริตรึกในเนกขัมมะ);

สูตรที่ ๒ ทุติยวรรค ธาตุสังยุตต นิทาน.สํ. ๑๖/๑๘๒-๓/๓๕๘-๙,ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน. คํ าว า "เนกขั ม มะ" หมายถึ งการหลี กออกจากกาม; ดั งนั้ น คํ าว า "เนกขั ม มวิ ตก" เป น ต น จึ งหมาย ความวา ความวิตกไปในการหลีกออกจากกาม, เปนตน. ๒

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๕๘๙

เพราะอาศัยเนกขัมมสั งกัปปะ จึงมี การเกิดขึ้นแห ง เนกขั มมฉั นทะ (ความ พอใจในเนก ขัมมะ); เพราะอาศั ยเนกขัมมฉั นทะ จึงมี การเกิดขึ้นแห ง เนกขั มมปริฬาหะ (ความ เรารอนเพื่อเนกขัมมะ); เพราะอาศัยเนกขัมมปริฬาหะ จึงมี การเกิดขึ้นแหง เนกขั มมปริเยสนา (การ แสวงหาซึ่งเนกขัมมะ). ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! อริ ยสาวกผู มี การสดั บ เมื่ อแสวงหาอยู ซึ่ งเนกขั มมะ ยอม ปฏิบัติชอบ โดยฐานะสาม คือ โดยกาย โดยวาจา โดยใจ. (ขอความต อไปนี้ มี การตรัสถึ งอั พยาปาทวิตก และอวิหิ งสาวิตก โดยนั ยะอย างเดี ยวกั นกั บ การแสดงนัยะแหงจัมมวิตกนี้).

ปฏิจจสมุปบาท แหง การรบราฆาฟนกัน๑ (ซึ่งนาอัศจรรย)

www.buddhadasa.info ดู ก อ นอานนท ! ก็ ด วยอาการดั งนี้ แ ล (เป น อั น กล าวได ว า) เพราะอาศั ย เวทนา จึงมีตัณหา; เพราะอาศัยตัณหา จึงมี การแสวงหา๒ (ปริเยสนา); เพราะอาศัยการแสวงหา จึงมีการได (ลาโภ); เพราะอาศัยการได จึงมี ความปลงใจรัก (วินิจฺฉโย);

มหานิทานสูตร มหา.ที.๑๐/๖๙/๕๙, ตรัสแกพระอานนท ที่กัมมาสทัมมนิคม แควนกุรุ. คํ าว า "แสวงหา" ในที่ นี้ หมายถึ งแสวงด วยตั ณ หา นั่ น เอง; มิ ใช ก ารแสวงด วยวิ ช ชา หรือ ยถาภู ต สัมมัปปญญา.

www.buddhadasa.info


๕๙๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐

เพราะอาศัยความปลงใจรัก จึงมี ความกําหนัดดวยความพอใจ (ฉนฺทราโค); เพราะอาศัยความกําหนัดดวยความพอใจ จึงมีความสยบมัวเมา (อชฺโฌสานํ); เพราะอาศัยความสยบมัวเมา จึงมีความจับอกจับใจ(ปริคฺคโห); เพราะอาศัยความจับอกจับใจ จึงมีความตระหนี่ (มจฺฉริยํ); เพราะอาศัยความตระหนี่ จึงมีการหวงกั้น (อารกฺโข); เพราะอาศั ยการหวงกั้ น จึ งมี เรื่องราวอั นเกิ ดจากการหวงกั้ น (อารกฺ ขาธิ ก รณํ ) กล าวคื อ การใช อ าวุ ธไม มี ค ม การใช อ าวุ ธ มี ค ม การทะเลาะ การแก งแย ง การวิ วาท การกล าวคํ าหยาบว า "มึ ง! มึ ง!" การพู ดคํ าส อเสี ยด และการพู ดเท็ จทั้ งหลาย: ธรรมอั น เป น บาปอกุ ศ ลเป น อเนก ย อ มเกิ ด ขึ้ น พร อ มด วยอาการอย างนี้ ; (เป น อั น ว า) ขอความเชนนี้ เปนขอความที่เราไดกลาวไวแลว. ดู กอนอานนท ! ความขอนี้ เธอต องทราบอธิบาย โดยปริยาย ดั งต อไปนี้ ที่ ตรง กั บหั วข อที่ เรากล าว ไวแลววา "ธรรมเป นบาปอกุศลเป นเอนก กล าวคื อ การใชอาวุธ ไม มี คม การใช อาวุ ธมี คม การทะเลาะ การแก งแย ง การวิ วาท การกล าวคํ าหยาบว า มึ ง ! มึ ง !' การพู ด คํ า ส อ เสี ย ด และการพู ด เท็ จ ทั้ ง หลาย ย อ มเกิ ด ขึ้ น พร อ ม เพราะ เรื่ องราวอั นเกิ ดจากการหวงกั้ นเป นเหตุ ดั งนี้ : ดู ก อนอานนท ! ถ าหากว าการหวงกั้ น จั ก ไม ได มี แ ก ใคร ๆ ในที่ ไหน ๆ โดยทุ ก ชนิ ด โดยทุ ก อาการ แล ว ไซร ; เมื่ อ การหวง กั้ น ไม มี เพราะความดั บ ไปแห งการหวงกั้ น โดยประการทั้ งปวงแล ว; ธรรมเป น บาป อกุ ศ ลเป น อเนก กล า วคื อ การใช อ าวุ ธ ไม มี ค ม การใช อ าวุ ธ มี ค ม การทะเลาะการ แก งแย ง การวิ วาท การกล าวคํ าหยาบว า "มึ ง! มึ ง!" การพู ดคํ าส อเสี ยด และการพู ดเท็ จ ทั้ งหลายจะพึ งเกิ ดขึ้ นพรอมได ไหมหนอ? ("ข อนั้ น หามิ ได พระเจ าข า!") ดู ก อนอานนท ! เพราะเหตุ นั้ น ในเรื่ อ งนี้ , นั่ น แหละคื อ เหตุ นั่ น แหละคื อ นิ ท าน นั่ น แหละคื อ สมุ ทั ย นั่นแหละคือปจจัย ของความเกิดขึ้นพรอมแหงธรรมเปนบาปอกุศลเปนอเนกเหลานี้ กลาว

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๕๙๑

คื อ การใช อาวุ ธไม มี คม การใช อาวุ ธมี คม การทะเลาะการแก งแย ง การวิ วาท การ กลาวคําหยาบวา "มึง! มึง!" การพูดคําสอเสียด และการพูดเท็จ; นั้นคือ การหวงกั้น. ดูกอนอานนท! ก็คํานี้วา "เพราะอาศัยความตระหนี่ จึงมีการหวงกั้น" ดั งนี้ , เช น นี้ แ ล เป น คํ า ที่ เรากล าวแล ว . ดู ก อ นอานนท ! ความข อ นี้ เธอต อ งทราบ อธิบายโดยปริยายดังตอไปนี้ ที่ตรงกับหัวขอที่เรากลาวไวแลววา "เพราะอาศัยความตระหนี่ จึ งมี การหวงกั้ น" : ดู ก อนอานนท ! ถ าหากว าความตระหนี่ จั กไม ได มี แก ใครๆ ในที่ ไหน ๆ โดยทุ กชนิ ด โดยทุ กอาการ แล วไซร ; เมื่ อความตระหนี่ ไม มี เพราะความดั บ ไปแห ง ความตระหนี่ โดยประการทั้ ง ปวงแล ว ; การหวงกั้ น จะมี ขึ้ น มาให เห็ น ได ไหมหนอ? ("ขอนั้ น หามิ ได พระเจ าข า!") ดู ก อนอานนท ! เพราะเหตุ นั้ น ในเรื่องนี้ , นั่ นแหละคื อเหตุ นั้ นแหละคื อนิ ทาน นั่ นแหละคื อสมุ ทั ย นั่ นแหละคื อป จจัย ของการ หวงกั้น; นั้นคือ ความตระหนี่. ดูกอนอานนท! ก็คํานี้วา "เพราะอาศัยความจับอกจับใจ จึงมีความ ตระหนี่ " ดั งนี้ , เชนนี้ แล เป นคําที่ เรากลาวแลว. ดูกอนอานนท! ความขอนี้ เธอตอง ทราบอธิบายโดยปริยายดั งต อไปนี้ ที่ ตรงกั บหั วขอที่ เรากล าวไวแล ววา "เพราะอาศั ยความ จั บอกจั บใจ จึ งมี ความตระหนี่ " : ดู ก อนอานนท ! ถ าหากวาความจั บอกจั บใจ จั กไม ได มี แ ก ใคร ๆ ในที่ ไหน ๆ โดยทุ ก ชนิ ด โดยทุ ก อาการ แล ว ไซร ; เมื่ อ ความจั บ อก จับใจไม มี เพราะความดั บไปแห งความจั บอกจับใจ โดยประการทั้ งปวงแล ว; ความ ตระหนี่ จะมี ขึ้นมาให เห็ นได ไหมหนอ? ("ข อนั้ น หามิ ได พระเจ าข า!") ดู ก อนอานนท ! เพราะเหตุ นั้ น ในเรื่ อ งนี้ , นั่ น แหละคื อ เหตุ นั่ น แหละคื อ นิ ท าน นั่ น แหละคื อ สมุทัย นั่นแหละคือปจจัย ของความตระหนี่; นั้นคือ ความจับอกจับใจ.

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๕๙๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐

ดูกอนอานนท! ก็คํานี้วา "เพราะอาศัยความสยบมัวเมา จึงมีความ จั บ อกจั บ ใจ" ดั งนี้ , เช น นี้ แ ล เป น คํ า ที่ เรากล าวแล ว . ดู ก อ นอานนท ! ความข อ นี้ เธอต องทราบอธิบายโดยปริยายดั งต อไปนี้ ที่ ตรงกั บหั วข อที่ เรากล าวไวแล วว า "เพราะ อาศั ยความสยบมั วเมา จึ งมี ความจั บอกจั บใจ" : ดู ก อนอานนท ! ถ าหากว าความสยบ มัว เมา จัก ไมไ ดม ีแ กใ คร ๆ ในที ่ไ หน ๆ โดยทุก ชนิด โดยทุก อาการ แลว ไซร; เมื่ อความสยบมั วเมาไม มี เพราะความดั บไปแห งความสยบมั วเมา โดยประการทั้ งปวงแล ว; ความจั บ อกจั บ ใจ จะมี ขึ้ น มาให เห็ น ได ไหมหนอ? ("ข อ นั้ น หามิ ได พระเจ า ข า !") ดู ก อนอานนท ! เพราะเหตุ นั้ นในเรื่องนี้ , นั่ นแหละคื อเหตุ นั่ นแหละคื อนิ ทาน นั่ นแหละ คือสมุทัย นั่นแหละคือปจจัย ของความจับอกจับใจ; นั้นคือ ความสยบมัวเมา. ดูกอนอานนท! ก็คํานี้วา "เพราะอาศั ยความกําหนั ดดวยความพอใจ จึ ง มี ค วามสยบมั ว เมา" ดั ง นี้ , เช น นี้ แ ล เป น คํ า ที่ เรากล า วแล ว . ดู ก อ นอานนท ! ความขอนี้ เธอตองทราบอธิบายโดยปริยายดังตอไปนี้ ที่ตรงกับหัวขอที่เรากลาวไวแลวา "เพราะอาศั ยความกํ าหนดด วยความพอใจ จึ งมี ความสยบมั วเมา" : ดู ก อนอานนท ! ถ าหากว าความกํ าหนั ดด วยความพอใจ จั กไม ได มี แก ใคร ๆ ในที่ ไหน ๆ โดยทุ กชนิ ด โดยทุ ก อาการ แล วไซร; เมื่ อ ความกํ าหนั ด ด วยความพอใจไม มี เพราะความดั บ ไป แห งความกํ าหนั ดด วยความพอใจ โดยประการทั้ งปวงแล ว; ความสยบมั วเมา จะมี ขึ้ น มาให เห็ นได ไหมหนอ? ("ข อนั้ น หามิ ได พระเจ าข า!") ดู ก อนอานนท ! เพราะเหตุ นั้ น ในเรื่องนี้ , นั่ นแหละคื อเหตุ นั่ นแหละคื อนิ ทาน นั่ นแหละคื อสมุ ทั ย นั่ นแหละคื อป จจั ย ของความสยบมัวเมา; นั้นคือ ความกําหนัดดวยความพอใจ.

www.buddhadasa.info ดู ก อ นอานนท ! ก็ คํ า นี้ ว า "เพราะอาศั ย ความปลงใจรั ก จึ งมี ค วาม กําหนั ดดวยความพอใจ" ดังนี้, เชนนี้แล เปนคําที่เรากลาวแลว. ดูกอนอานนท! ความขอนี้ เธอตองทราบอธิบายโดยปริยายดังตอไปนี้ ที่ตรงกับหัวขอที่เรากลาวไวแลววา

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๕๙๓

"เพราะอาศั ยความปลงใจรั ก จึ งมี ค วามกํ าหนั ด ด วยความพอใจ" : ดู ก อ นอานนท ! ถ าหากว าความปลงใจรั ก จั กไม ได มี แก ใคร ๆ ในที่ ไหน ๆ โดยทุ กชนิ ด โดยทุ กอาการ แล วไซร; เมื่ อความปลงใจรักไม มี เพราะความดั บไปแห งความปลงใจรัก โดยประการ ทั้ งปวงแล ว; ความกํ าหนั ด ด วยความพอใจ จะมี ขึ้ น มาให เห็ น ได ไหมหนอ? ("ข อ นั้ น หามิ ไ ด พระเจ า ข า !") ดู ก อ นอานนท ! เพราะเหตุ นั้ น ในเรื่ อ งนี้ , นั่ น แหละคื อ เหตุ นั่ นแหละคื อนิ ทาน นั่ นแหละคื อสมุ ทั ย นั่ นแหละคื อป จจัย ของความกําหนั ดด วยความ พอใจ : นั้นคือ ความปลงใจรัก ดูกอนอานนท! ก็คํานี้วา "เพราะอาศัยการได จึงมีความปลงใจรัก" ดั งนี้ , เช น นี้ แ ล เป น คํ า ที่ เรากล าวแล ว . ดู ก อ นอานนท ! ความข อ นี้ เธอต อ งทราบ อธิบายโดยปริยายดั งต อไปนี้ ที่ ตรงกั บหั วข อที่ เรากล าวไวแล ววา "เพราะอาศั ยการได จึ งมี ค วามปลงใจรัก ” : ดู ก อ นอานนท ! ถ าหากว าการได จั ก ไม ได มี แก ใคร ๆ ในที่ ไหน ๆ โดยทุ ก ชนิ ด โดยทุ ก อาการ แล ว ไซร ; เมื่ อ การได ไม มี เพราะความดั บ ไป แห งการได โดยประการทั้ งปวงแล ว; ความปลงใจรัก จะมี ขึ้ นมาให เห็ นได ไหมหนอ? ("ข อนั้ น หามิ ได พระเจ าข า!") ดู ก อนอานนท ! เพราะเหตุ นั้ น ในเรื่องนี้ , นั่ นแหละ คื อเหตุ นั่ นแหละคื อนิ ทาน นั่ นแหละคื อสมุ ทั ย นั่ นแหละคื อป จจัย ของความปลงใจรัก นั้นคือ การได

www.buddhadasa.info ดูกอนอานนท! ก็คํานี้วา "เพราะอาศัยการแสวงหา จึงมีการได ดังนี้, เช น นี้ แล เป น คํ าที่ เรากล าวแล ว. ดู ก อ นอานนท ! ความข อ นี้ เธอต อ งทราบอธิ บ าย โดยปริยายดั งต อไปนี้ ที่ ตรงกั บหั วขอที่ เรากลาวไวแล ววา "เพราะอาศั ยการแสวงหา จึ งมี การได " : ดู ก อ นอานนท ! ถ า หากว า การแสวงหา จึ ก ไม ได มี แ ก ใคร ๆ ในที่ ไหน ๆ โดยทุกชนิด โดยทุกอาการ แลวไซร; เมื่อความปลงใจรักไมมี เพราะความดับไปแหง

www.buddhadasa.info


๕๙๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐

การแสวงหา โดยประการทั้ ง ปวงแล ว ; การได จ ะมี ขึ้ น มาให ได ไหมหนอ? ("ข อ นั้ น หามิ ได พระเจ า ข า !") ดู ก อ นอานนท ! เพราะเหตุ นั้ น ในเรื่อ งนี้ , นั่ น แหละคื อ เหตุ นั่ น แหละคื อ นิ ท าน นั่ น แหละคื อ สมุ ทั ย นั่ น แหละคื อ ป จ จั ย ของการได ; นั้ น คื อ การแสวงหา. ดูกอนอานนท! ก็คํานี้ วา "เพราะอาศั ยตั ณหา จึงมี การแสวงหา" ดั งนี้ , เช น นี้ แล เป น คํ าที่ เรากล าวแล ว. ดู ก อ นอานนท ! ความข อ นี้ เธอต อ งทราบอธิ บ าย โดยปริยายดังต อไปนี้ ที่ตรงกับหั วขอที่ เรากล าวไวแลววา "เพราะอาศัยตั ณหา จึงมี การ แสวง" : ดู ก อ นอานนท ! ถ า หากว า ตั ณ หา จั ก ไม ไ ด มี แ ก ใ คร ๆ ในที่ ไ หน ๆ โดย ทุ กชนิ ด โดยทุ กอาการ กล าวคื อ กามตั ณ หา ภวตั ณ หา วิ ภวตั ณ หา แล วไซร ; เมื่ อ ตั ณหาไม มี เพราะความดั บไปแห งตั ณหา โดยประการทั้ งปวงแล ว; การแสวงหา จะมี ขึ้ น มาให เห็ น ได ไหมหนอ? ("ข อ นั้ น หามิ ได พระเจ า ข า !") ดู ก อ นอานนท ! เพราะ เหตุ นั้ น ในเรื่องนี้ , นั่ นแหละคื อเหตุ นั่ นแหละคื อนิ ทาน นั่ นแหละคื อสมุ ทั ย นั่ นแหละ คือปจจัย ของการแสวงหา; นั้นคือ ตัณหา.

www.buddhadasa.info หมายเหตุ ผู ร วบรวม : ผู ศึ ก ษาพึ ง สั ง เกตให เห็ น ว า ข อ ความข า งบนนี้ มี ลั ก ษณะเป น อิ ทั งป จ จยตา กล า วคื อ เป น ปฏิ จ จสมุ ป บาท อย างเต็ ม ตั ว : ตั้ งต น ที่ เวทนา, อั นทํ าให มี ตั ณ หา, การแสวงหา, การได , การปลงใจรั ก, การกํ าหนั ดพอใจ, การสยั บมั วเมา, การจั บ อกจั บ ใจ, การตระหนี่ , การหวงกั้ น , และเรื่ อ งราวอั น เกิ ด จากการหวงกั้ น ; รวมเป น ๑๑ อย า ง และเป น ๑๒ อย า งทั้ ง ผลของมั น กล า วคื อ การทะเลาะวิ ว าท. ปฏิ จ จสมุ ป บาท สายนี้ เป น ส ว นหนึ่ งของปฏิ จ จสมุ ป บาทสายปรกติ คื อ แทรกอยู ต รงที่ เวทนาให เกิ ด ตั ณ หา นั่ นเอง. การที่ ยกมาแสดงให เห็ น ชั ดในตอนนี้ ก็ เพื่ อจะให ผู ศึ กษาเข าใจความหมายอั น กว าง ขวาง ของคํ า ว า ปฏิ จ จสมุ ป บาท ในทุ ก แง ทุ ก มุ ม อั น จะเป น เหตุ ให เข า ใจปฏิ จ จสมุ ป บาท สายปรกติ ไ ด ดี ขึ้ น ว า คํ า ว า "ปฏิ จ จสมุ ป บาท" นี้ มี ข อบเขตแห ง ความหมายเพี ย งไหน. ขอให เปรียบเที ยบดู กั นกั บ ปฏิ จจสมุ ป บาทในรูปอื่ น อี กทุ กแบบด วย เสมอไป. ที่ สํ าคั ญ ที่ สุ ด ก็ คื อ เรื่ อ งนี้ จ ะแสดงให เห็ น ว า พุ ท ธศาสนาได ชี้ ให เห็ น มู ล เหตุ แห ง การทะเลาะวิ ว าท การ รบราฆ า ฟ น กระทั่ งถึ งการทํ าสงคราม มหาสงคราม ของโลก ไว อ ย างชั ด แจ งแล ว ทั้ งโดย ส ว นป จ เจกชน และโดยหมู ค ณะหรื อ สั ง คมใหญ ๆ ในโลกนี้ ในแง ข องจิ ต ตวิ ท ยาที่ เป น สัจจธรรม.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๕๙๕

ปฏิจจสมุปบาท แหงกลวิวาทนิโรธ๑ (ขอความเหลานี้ แปลมาตามรูปคาถา บรรทัดตอบรรทัด, และ ในการอาน ตองอานคําถามใหจบตอนเสียกอน แลวจึงอานซีก คําตอบ, แลวจึงเหลือบดูอยางเทียบกันเปนคู ๆ อีกครั้ง -ผูรวบรวม) (คําถาม) (๑) การทะเลาะวิวาท มีขึ้นมาจากเหตุอะไร? แมกระทั่งความร่ําไรรําพัน เศราโศก ความตระหนี่, ความถือตัว ความดูหมิ่นผูอื่น และการยุใหแตกกันนี้ดวย, ขอจงตรัสบอก วาสิ่งเหลานี้ มีขึ้นมาจากเหตุอะไร?

(คําตอบ) การทะเลาะวิวาท มีขึ้นมาจากสิ่ง เปนที่รัก แมกระทั่งความร่ําไรรําพัน เศราโศก และความตระหนี่, ความถือตัว ความดูหมิ่นผูอื่น การยุใหแตกกัน, ก็เชนเดียวกัน, รวมทั้งการยุใหแตกกัน ซึ่งเกิดมาจากการทะเลาะวิวาทนั้น.

(๒) สิ่งเปนที่รักเลามีอะไรเปนแดนเกิดในโลกนี้? ซึ่งเปนเหตุใหพวกคนโลภ ทองเที่ยวไป ในโลก; ความหวัง และสมหวังเลา มีอะไรเปนแดนเกิด? ซึ่งทําใหคนสามัญ เขาหวังกันเพื่อสัมปรายภพ?

สิ่งเปนที่รัก ในโลกนี้ มีฉันทะ เปนแดนเกิด, ซึ่งเปนเหตุใหพวกคนโลภ ทองเที่ยวไป ในโลก; ความหวัง และสมหวัง มีฉันทะนี้เอง เปนแดนเกิด ซึ่งทําใหคนสามัญ เขาหวังกัน เพื่อสัมปรายภพ.

(๓) ฉันทะเลา ในโลกนี้ มีอะไรเปนแดนเกิด? หรือวา ความตกลงใจตาง ๆ มีขึ้นมาจากเหตุอะไร? รวมทั้งความโกรธ การพูดเท็จ และความสงสัยซึ่งลวนแตเปนสิ่ง ที่สมณะกลาวถึงกันอยู ดวย?

ความยินดี ความไมยินดี ที่ กลาวกันอยูในโลกนั่นแหละ ฉั นทะ ย อมมี ขึ้ นมา เพราะอาศั ยซึ่ ง สิ่ งทั้ งสอง นั้ น; เพราะเห็นความฉิบหายความเจริญ กันที่วัตถุธรรมทั้งหลาย, สั ตว โลก จึ งทํ าความตกลงใจต าง ๆ (ไปตามนั้ น); แม ความโกรธ การพู ดเท็ จ และความสงสั ยเหล านี้ ก็ จั กมี , ในเมื่อความยินดี ความไมยินดี ทั้งสองอยางนั้น มีอยู, ซึ่ งผู สงสั ยอยากรู พึ งศึ กษา เพื่ อนํ าไปสู ญ าณ, ใหรูซึ่งสิ่งเหลานั้น อันสมณะกลาวถึง กันอยู.

www.buddhadasa.info

กลหวิวาทสูตร อัฏฐกวรรค สุ.ขุ.๒๕/๕๐๒/๔๑๘.

www.buddhadasa.info


๕๙๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐

(๔) ความยินดีและไมยินดี มีอะไรเปนแดนเกิด? เมื่ออะไรไมมี สิ่งทั้งสองนั้น จึงไมมี? แม ค วามรู สึ ก ว าความฉิ บ หายและเจริ ญ นั้ น เล า ขอจงตรัสบอก วาสิ่งทั้งสองนั้น มีอะไรเปนแดนเกิด?

ความยินดีและความไมยินดี มีผัสสะเปนแดนเกิด: เมื่อผัสสะ ไมมี, สิ่งทั้งสองนั้นก็ไมมี. แม ความรู สึ กว าความฉิ บหาย และความเจริ ญนั้ นเล า เราบอกทานวา มีผัสสะนี้เอง เปนแดนเกิด.

(๕) ผัสสะเลา ในโลกนี้ มีอะไรเปนแดนเกิด? แม ความคิ ดยึ ดครองก็ ตาม มี ขึ้ นมาแต เหตุ อะไร? เมื่ อ อะไรไม มี ความยึ ด ถื อ ว า ของเรา จึ ง ไม มี ? เมื่ออะไรไมมี ผัสสะจึงจะไมเกิดการกระทบ?

ผัสสะ ในโลกนี้ ยอมเกิด เพราะอาศัยซึ่งนามและรูป ความคิ ดยึ ดครองทั้ งหลาย มี ความอยากเป นแดนเกิ ด; เมื่ อความอยากไม มี ความยื ดถื อว าของเรา ก็ ไม มี ; เมื่อรูปธรรมไมมี ผัสสะก็จะไมเกิดการกระทบ.

(๖) รูปจะไมมี เมื่อดํารงอัตตภาพไว อยางไร? สุขหรือทุกขก็ตาม จะไมมีไดอยางไร? ขอจงตรัสบอกโดยประการที่สิ่งนั้นจะไมมี ใจของขาพระองค หวังอยูวาจักไดทราบซึ่งขอนั้น.

ไมเปนผู สัญญสัญญี, ๑ไมเปน ผูวิสัญญสัญญี, ๒ ไมเปน ผูอสัญญี,๓ ไมเปน ผูวิภูตสัญญี,๔ ดํารงอัตตภาพอยูในสถานะอยางนี้ รูปจึงไมมี, เพราะวาปปญจสังขา๕ มีสัญญา เปนแดนเกิด.

(๗) ทูลถามขอใด ไดทรงอธิบายขอนั้นแลว; ขอทูลถามขออื่นอีก ขอจงบอก ซึ่งขอนั้น : พวกบั ณ ฑิ ต ที่ ก ล า วความบริ สุ ท ธิ์ ข องคนในโลก พวกหนึ่ งกล าวความบริ สุ ทธิ์ ว าสู งสุ ดเพี ยงเท านั้ น๖ หรือวายังมีพวกที่กลาวสิ่งอื่น ที่สูงสุดกวาสิ่งนั้น?

แม พวกหนึ่ งกล าวความบริ สุ ทธิ์ ว าสู งสุ ดเพี ยงเท านั้ น อ างตนเป นบั ณฑิ ต กล าวความบริ สุ ทธิ์ ของคนในโลกอยู ; แต ก็ ยังมี อี กพวกหนึ่ ง กล าวลั ทธิสมั ยแห งตน เป นพวกฉลาดพู ดกล าวถึ งชั้ น "อนุ ปาทิ เสส"๗ ส วนมุ นี รูจั กทั้ งสองพวกนั้ น ว ายั งถู กทิ ฏฐิ อาศั ยอยู , พิ จารณาเห็ นอยู ว า มี นิ สั ยของทิ ฏฐิ อาศั ยทั้ งสองพวก. มุ นี รู เช น นั้ น แล ว จึ งหลุ ด พ น ไม ถึ งซึ่ งการวิ ว าท, เปนปราชญ ไมไปสูความมีและความไมมี อีกตอไป

www.buddhadasa.info ๑. ไมใชผูมีสัญญาดวยสัญญาปรกติ. ๒. ไมใชผูมีสัญญา ดวยสัญญาวิปริต (คือไมใชเมาหรือบา ฯลฯ). ๓. ไมใชผูไมมีสัญญา (คือไมใชอยูในนิโรธสมาบัติหรืออสัญญีสัตว). ๔. ไมใช ผูปราศจากสัญญา (คือไมใชกําลังอยูในอรูปฌาน). ๕. ปปญจสังขา คือธรรมเปนเหตุใหเนิ่นชาแกการหลุดพน, ไดแก ตัณหา มานะ ทิฎฐิ. ๖. พวกนี้ถือวา ความบริสุทธิ์ของบุ คคลชั้นเลิศ สูงสุดอยูที่ความไมมี รูป ของผูที่ ไม ประกอบอยูดวย สัญญา ๔ ประการ ดังที่กลาวแลว ในคําตรัสตอบ ตอนที่ (๖) ขางบน. ๗. "อนุปาทิเสส" ในที่นี้ ไดใสเครื่องหมายอัญ ประกาศไว เพราะเปนเรื่องของอุจเฉททิฎฐิ, กลาวคือ

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๕๙๗

ความที่ตายแลวขาดสูญไมมีอะไร โดยประการทั้งปวง, อันเปนผลของอุจเฉททิฏฐิ นั่นเอง.

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๕๙๗

ห ม า ย เห ตุ ผู ร ว บ ร ว ม : ผู ศึ ก ษ า พึ งสั งเก ต ให เห็ น ว า ก า รท ะ เล า ะ วิ ว า ท นั้ น จะสิ ้น สุด ลงโดยสิ ้น เชิง ไมไ ด ตลอดเวลาที ่ย ัง ไมห ลุด พน เปน พระอรหัน ต, เพราะยัง มีร ูป และอรู ป อั น เป น ที่ ตั้ ง ของสั ญ ญาที่ เป น แดนเกิ ด ของปป ญ จสั ง ขา, กล า วคื อ ยั ง ไม บ รรลุ ความเป น พระอรหั น ต นั่ น เอง. พระบาลี นี้ แสดงไว ใ นลั ก ษณะของปฏิ จ จสมุ ป บาท อย า ง นาสนใจยิ่ง.

ปฏิจจสมุปบาท แหงการอยูอยางมี "เพื่อนสอง"๑ พระมิ คชาละ ได ทู ลถามพระผู มี พ ระภาคเจ าว า "ข าแต พระองค ผู เจริ ญ ! ด วยเหตุ

เพียงเทาไรหนอ ภิกษุจึงชื่อวา เปนผูมี การ อยู อยางมีเพื่อนสอง พระเจาขา?". ดู กอนมิ คชาละ รูปทั้ งหลายอันจะพึ งเห็ นได ด วยจักษุ เป นรูปที่ น าปรารถนา น ารักใคร น าพอใจ มี รูปน ารัก เป นที่ เข าไปตั้ งอาศั ยอยู แห งความใคร เป นที่ ตั้ งแห ง ความกํ าหนั ดย อมใจ มี อยู ; ถ าหากวาภิ กษุ ย อมเพลิ ดเพลิ น พร่ําสรรเสริญ สยบมั วเมา ซึ่งรูปนั้นไซร,

www.buddhadasa.info แกภิกษุ ผูเพลิดเพลิน พร่ําสรรเสริญสยบมั วเมา ซึ่งรูปนั้นอยูนั่นแหละ, นั นทิ (ความเพลิดเพลิน) ยอมเกิดขึ้น. เมื่อนันทิ มีอยู, สาราคะ (ความกําหนัดกลา) ยอมมี;

เมื่อสาราคะ มีอยู, สัญโญคะ (ความผูกจิตติดกับอารมณ) ยอมมี:

สูตรที่ ๑ มิคชาลวรรค สฬา.สํ. ๑๘/๔๓/๖๖, ตรัสแกพระมิคชาละ ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๕๙๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐

ดู ก อนมิ คชาละ! ภิ กษุ ผู ประกอบพร อมแล ว ด วยการผู กจิ ตติ ดกั บอารมณ ดวยอํานาจแหงความเพลิน นั่นแล เราเรียกวา "ผูมีการอยูอยางมีเพื่อนสอง". (ในกรณี แห งเสี ยงทั้ งหลายอั นจะพึ งได ยิ นด วยหู ก็ ดี , กลิ่ นทั้ งหลายอั นจะพึ งดมด วยจมู กก็ ดี , รสทั้ งหลายอั นจะพึ งลิ้ มด วยลิ้ นก็ ดี , โผฏฐั พพะทั้ งหลายอั นจะพึ งสั มผั สด วยผิ วกายก็ ดี , และธั มมารมณ ทั้ งหลาย อั นจะพึ งรูแจ งด วยใจก็ ดี , พระผู มี พระภาคเจ าได ตรัสไว มี นั ยอย างเดี ยวกั นกั บในกรณี แห งรู ปทั้ งหลายอั นจะ พึงเห็นไดดวยจักษุ).

ดู ก อนมิ คชาละ! ภิ กษุ ผู มี การอยู ด วยอาการอย างนี้ แม จะส องเสพเสนาสนะ อั น เป น ป า และป า ชั ฏ ซึ่ งเงี ย บสงั ด มี เสี ย งรบกวนน อ ย มี เสี ย งกึ ก ก อ งครึ ก โครมน อ ย ปราศจากลมจากผิ วกายคน เป น ที่ ทํ าการลั บ ของมนุ ษ ย เป น ที่ สมควรแก การหลี กเร น เช น นี้ แ ล ว ก็ ต าม ถึ ง กระนั้ น ภิ ก ษุ นั้ น เราก็ ยั ง คงเรี ย กว า ผู มี ก ารอยู อ ย า งมี เพื่ อ นสอง อยู นั่ นเอง ข อนั้ นเพราะเหตุ ไรเล า? ข อนั้ นเพราะเหตุ วา ตั ณ หานั่ นแล เป นเพื่ อนสอง ของภิ กษุ นั้ น ตั ณหานั้ น อั นภิ กษุ นั้ นยั งละไม ได แล ว เพราะเหตุ นั้ น ภิ กษุ นั้ นเราจึ งเรี ยกว า ผูมีการอยูอยางมีเพื่อนสอง, ดังนี้

www.buddhadasa.info ห ม าย เห ตุ ผู รวบ รวม : ผู ศึ ก ษ าพึ งสั งเกต ให เห็ น ว า พ ระพุ ท ธภ าษิ ต นี้ แสดงให เห็ น ความหมาย และความแตกต า งของภาษาคน และภาษาธรรม. เพื่ อ นสองใน ภาษาธรรม หมายถึ ง ตั ณ หาที่ กํ า ลั ง เกิ ด อยู ใ นอารามนั้ น ๆ เป น เพื่ อ นสองที่ มี ค วามรุ น แง มากกวาเพื่อนสองในภาษาคน, เพราะวาเขาไปอยูถึงภายในจิต

ปฏิจจสมุปบาท แหงการอยูอยางมี "เพื่อนคนเดียว"๑ พระมิ คชาละได ทู ลถามพระผู มี พระภาคเจ าว า "ข าแต พระองค ผู เจริ ญ ! ด วยเหตุ เพี ยง

เทาไรหนอแล ภิกษุจึงชื่อวา เปนผูมีการอยูอยางผูเดียว พระเจาขา?".

สูตรที่ ๑ มิคชาลวรรค สฬา.สํ. ๑๘/๔๓/๖๗, ตรัสแกพระมิคชาละ ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๕๙๙

ดู กอนมิ คชาละ รูปทั้ งหลายอันจะพึ งเห็ นได ด วยจักษุ เป นรูปที่ น าปรารถนา นารักใคร นาพอใจ มีรูปนารัก เปนที่เขาไปตั้งอาศัยอยูแหงความใคร เปนที่ตั้งแหงความ กํ าหนั ดย อมใจ มี อยู ; ถ าหากว าภิ กษุ ย อมไม เพลิ ดเพลิ น ไม พ ร่ํ าสรรเสริ ญ ไม สยบ มัวเมา ซึ่งรูปนั้นไซร, แกภิกษุผูไมเพลิดเพลิน ไมพร่ําสรรเสริญ ไมสยบมัวเมา ซึ่งรูปนั้นอยูนั่นแหละ, นันทิ ยอมดับ เมื่อนันทิ ไมมีอยู, สาราคะ (ความกําหนัดกลา) ยอมไมมี; เมื่อสาราคะ ไมมีอยู, สัญโญคะ (ความผูกจิตติดกับอารมณ) ยอมไมมี : ดู ก อนมิ คชาละ! ภิ กษุ ผู ไม ประกอบพรอมแล ว ด วยการผู กจิ ตติ ดกั บอารมณ ดวยอํานาจแหงความเพลิดเพลิน นั่นแล เราเรียกวา "ผูมีการอยูอยางอยูผูเดียว".

www.buddhadasa.info (ในกรณี แห งเสี ยงทั้ งหลายอันจะพึ งได ยินด วยหู ก็ดี , กลิ่ นทั้ งหลายอันจะพึ งดมดวยจมู กก็ ดี , รสทั้งหลายอันจะพึงลิ้มดวยลิ้นก็ดี, โผฏฐัพพะทั้งหลายอันจะพึ งสัมผัสดวยผิวกายก็ดี, และธัมมารมณ ทั้งหลาย อันจะพึงรูแจงดวยใจก็ดี, พระผูมีพระภาคเจาไดตรัสไว มีนัยอยางเดียวกันกับในกรณี แหงรูปทั้งหลายอันจะ พึงเห็นไดดวยจักษุ).

ดู ก อ นมิ ค ชาละ! ภิ ก ษุ ผู มี ก ารอยู ด ว ยอาการอย า งนี้ แม อ ยู ในหมู บ า น อั น เกลื่ อ นกล น ไปด ว ยภิ ก ษุ ภิ ก ษุ ณี อุ บ าสก อุ บ าสิ ก าทั้ ง หลาย, ด ว ยพระราชา มหาอํ ามาตย ของพระราชาทั้ งหลาย, ด วยเดี ยรถี ย สาวกของเดี ยรถี ย ทั้ งหลาย ก็ ตาม; ถึงกระนั้น ภิกษุนั้นเราก็เรียกวา ผูมีการอยูอยางอยูผูเดียวโดยแท.ขอนั้นเพราะเหตุไรเลา? ขอนั้นเพราะเหตุวาตัณหานั่นแล เปนเพื่อนสองของภิกษุนั้น ตัณหานั้น อันภิกษุนั้นละ เสียไดแลว เพราะเหตุนั้น ภิกษุนั้นเราจึงเรียกวา ผูมีการอยูอยางอยูผูเดียว, ดังนี้ แล.

www.buddhadasa.info


๖๐๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐

ปฏิจจสมุปบาท แหง การอยูดวยความประมาท๑ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เราจักแสดงซึ่งอาการของภิกษุผูมีปรกติอยูดวยความ ประมาท และของภิกษุผูมีปรกติอยูดวยความไมประมาท แกพวกเธอทั้งหลาย. พวกเธอ ทั้งหลายจงฟงซึ่งความขอนั้น. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ภิกษุเปนผูมีปรกติอยูดวยความประมาท เปนอยาง ไรเลา? ดูก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ อภิ กษุ ไม สํ ารวมระวัง ซึ่งอิ นทรีย คือตาอยู จิ ต ยอมเกลือกกลั้ว ในรูปทั้งหลายอันเปนวิสัยแหงการรูสึกดวยตา; เมื่อภิกษุนั้นมีจิตเกลือกกลั้วแลว ปราโมทย ยอมไมมี; เมื่อ ปราโมทย ไมมี ปติ ก็ไมมี; เมื่อ ปติ ไมมี ปสสัทธิ ก็ไมมี; เมื่อ ปสสัทธิ ไมมี ภิกษุนั้นยอม อยูเปนทุกข; เมื่อ มีทุกข จิตยอมไมตั้งมั่น; เมื่อ จิตไมตั้งมั่น ธรรม ทั้งหลายยอม ไมปรากฏ;

www.buddhadasa.info เพราะธรรมทั้งหลายไมปรากฏ ภิกษุนั้นยอมถึงซึ่งการถูกนับวาเปนผู มีปรกติอยูดวยความประมาท โดยแท.

สูตรที่ ๔ ฉฬวรรค สฬายตนสังยุตต สฬา.สํ. ๑๘/๙๗/๑๔๓-๔.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๖๐๑

(ในกรณีแหงอินทรีย คือ หู จมูก ลิ้น กาย และใจ ก็มีนัยะอยางเดียวกัน)

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! อยางนี้แล ภิกษุเปนผูมีปรกติอยูดวยความประมาท. (ในกรณี แห งภิ กษุ ผู มี ปรกติ อยู ด วยความไม ประมาท ได ทรงแสดงไว โดยปฏิ ป กขนั ย, ผูศึกษาพึงเทียบเคียงเอาเอง). หมายเหตุ ผู ร วบรวม : ผู ศึ ก ษาพึ ง สั ง เกตุ ใ ห เห็ น ว า สู ต รนี้ เป น ตั ว อย า ง ที่ แ สดงให เห็ น ว า สิ่ ง ที่ เรี ย กว า ปฏิ จ จสมุ ป บาทนั้ น มี อ ยู ใ นรู ป ต า ง ๆ กั น ไม จํ า เป น จะต อ ง ขึ้นตนดวยคําวา "อวิชฺชาปจฺจยา สงฺขารา...ฯลฯ..." เสมอไป.

ปฏิจจสมุปบาท แหง ปปญจสัญญาสังขาสมุทาจรณะ๑ ดู ก อนท านผู มี อายุ ทั้ งหลาย! เพราะอาศั ย ตา ด วย รู ป ทั้ งหลายด วย จึ งเกิ ด จั กขุ วิ ญญาณ; การประจวบพรอมแห งธรรมสามประการ (ตา + รูป + จั กขุ วิ ญญาณ) นั่ น คื อ ผั ส สะ; เพราะมี ผั ส สะเป น ป จ จั ย จึ ง มี เ วทนา; บุ ค คลเสวยซึ่ ง เวทนาใด, ย อ ม รู สึ ก (สั ญ ญา) ซึ่ ง เวทนานั้ น ; บุ ค คลรูสึ ก ซึ่ ง เวทนาใด, ย อ มตริ ต รึ ก (วิ ต ก) อยู ก ะเวทนานั้ น ; บุ ค คลตริ ต รึ ก อยู ก ะเวทนาใด, ย อ มประพฤติ ซึ่ ง ความเนิ่ น ช า (ปป ญ จะ) อยู กะเวทนานั้ น; บุ คคลประพฤติ ซึ่ งความเนิ่ นช าอยู กะเวทนาใด, สั ญ ญา (กลาวคืออนุสัย) ชนิดตาง ๆ อันเปนเครื่องทําความเนิ่นชา (ปปญจสัญญาสังขา) ย อมกลุ มรุมซึ่ งบุ รุษนั้ น โดยมี เวทนานั้ นเป นเหตุ ในรูปทั้ งหลายอั นจะพึ งรูแจ งได ด วยตา ทั้งที่เปนอดีตอนาคตและปจจุบัน.

www.buddhadasa.info

มธุปณฑิกสูตร สีหนาทวรรค มู.ม. ๑๒/๒๒๖/๒๔๘, พระมหากัจจานะ กลาวแกภิกษุทั้งหลาย.

www.buddhadasa.info


๖๐๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐

ดู ก อนท านผู มี อายุ ทั้ งหลาย! เพราะอาศั ยหู ด วย เสี ยง ทั้ งหลายด วย จึ งเกิ ด โสตวิ ญ ญาณ; การประจวบพร อมแห งธรรมสามประการ (หู +เสี ยง+โสตวิ ญ ญาณ) นั ่น คือ ผัส ส ะ; ...ฯลฯ... ...ฯลฯ... ในเสีย งทั ้ง หลายอัน จะพึง รู แ จง ไดด ว ยหู ทั้งที่เปนอดีตอนาคตและปจจุบัน. ดูกอนทานผูมี อายุทั้ งหลาย! เพราะอาศัยจมู ก ด วย กลิ่ น ทั้งหลายดวย จึงเกิ ด ฆานวิ ญ ญาณ; การประจวบพร อมแห งธรรมสามประการ (จมู ก+กลิ่ น+ฆานวิ ญ ญาณ) นั ่น คือ ผัส สะ; ...ฯลฯ... ...ฯลฯ... ในกลิ ่น ทั ้ง หลายอัน จะพึง รู แ จง ไดด ว ยจมูก ทั้งที่เปนอดีตอนาคตและปจจุบัน. ดู ก อนท านผู มี อายุ ทั้ งหลาย! เพราะอาศั ยลิ้ น ด วย รส ทั้ งหลายด วย จึ งเกิ ด ชิ วหาวิ ญ ญาณ; การประจวบพร อมแห งธรรมสามประการ (ลิ้ น+รส+ชิ วหาวิ ญ ญาณ) นั ่น คือ ผัส ส ะ; ...ฯล ฯ... ...ฯล ฯ... ใน รส ทั ้ง ห ล าย อัน จะพึง รู แ จง ไดด ว ย ลิ ้น ทั้งที่เปนอดีตอนาคตและปจจุบัน.

www.buddhadasa.info ดู ก อนท านผู มี อายุ ทั้ งหลาย! เพราะอาศั ยกาย ด วยโผฏฐั พพะ ทั้ งหลายด วย จึ งเกิ ด กายวิ ญ ญาณ; การประจวบพร อมแห งธรรมสามประการ(กาย+โผฏฐั พ พะ+ ก าย วิญ ญ าณ ) นั ่น คือ ผัส ส ะ ; ..ฯ ล ฯ ... ...ฯ ล ฯ ... ใน โผ ฏ ฐัพ พ ะ ทั ้ง ห ล าย อันจะพึงรูแจงไดดวยกาย ทั้งที่เปนอดีตอนาคตและปจจุบัน.

ดู ก อนท านผู มี อายุ ทั้ งหลาย! เพราะอาศั ย ใจ ด วย ธั มมารมณ ทั้ งหลายด วย จึ ง เกิ ด มโนวิ ญ ญาณ; การประจวบพร อ มแห ง ธรรมสามประการ (ใจ+ธั ม มารมณ +มโนวิญญาณ) นั่นคือผัสสะ; เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมีเวทนา; บุคคลเสวย

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๖๐๓

ซึ ่ง เวทนาใด, ยอ มรู ส ึก (สัญ ญ า) ซึ ่ง เวทนานั ้น ; บุค คลรู ส ึก ซึ ่ง เวทนาใด, ยอ ม ตริ ต รึ ก (วิ ต ก) อยู ก ะเวทนานั้ น ; บุ ค คลตริ ต รึ ก อยู ก ะเวทนาใด, ย อ มประพฤติ ซึ่ ง ความเนิ่ นช า(ปป ญจะ) อยู กะเวทนานั้ น; บุ คคลประพฤติ ซึ่ งความเนิ่ นช าอยู กะเวทนาใด, สัญญา (กลาวคืออนุสัย) ชนิดตาง ๆ อันเปนเครื่องทําความเนิ่นชา (ปปญจสัญญาสั งขา) ย อมกลุ มรุ มซึ่ งบุ รุ ษ นั้ น โดยมี เวทนานั้ นเป นเหตุ ในธั มมารมณ ทั้ งหลาย อั นจะ พึงรูแจงไดดวยใจ ทั้งที่เปนอดีตอนาคตและปจจุบัน. ---- ---- ---- ---ดู ก อ นท า นผู มี อ ายุ ทั้ งหลาย! บุ รุ ษ นั้ น หนอ เมื่ อ ตามี อ ยู , เมื่ อ รู ป มี อ ยู , เมื่ อ จั ก ขุ วิ ญ ญาณมี อ ยู ; เขาก็ จั ก บั ญ ญั ติ ซึ่ ง ผั ส สบั ญ ญั ติ : ข อ นี้ เป น ฐานะที่ มี ได ; เมื่ อการบั ญญั ติ ซึ่ งผั สสะมี อยู เขาก็ จั กบั ญญั ติ ซึ่ ง เวทนาบั ญญั ติ : ข อนี้ เป นฐานะที่ มี ได ; เมื่ อการบั ญญั ติ ซึ่ งเวทนามี อยู เขาก็ จั กบั ญญั ติ ซึ่ ง สั ญญาบั ญญั ติ : ข อนี้ เป นฐานะที่ มี ได ; เมื่ อการบั ญญั ติ ซึ่ งสั ญญามี อยู เขาก็ จั กบั ญญั ติ ซึ่ ง วิ ตกบั ญญั ติ : ข อนี้ เป นฐานะที่ มี ได ; เมื่อการบั ญญั ติซึ่งวิตกมี อยู เขาก็จักบั ญญั ติ ซึ่ง ปป ญจสั ญญาสั งขาสมุ ทาจรณบั ญญั ติ : ขอนี้เปนฐานะที่มีได;

www.buddhadasa.info ดู ก อ นท า นผู มี อ ายุ ทั้ ง หลาย! บุ รุ ษ นั้ น หนอ เมื่ อ หู มี อ ยู , เมื่ อ เสี ย งมี อ ยู , เมื่ อ โสตวิ ญ ญาณมี อ ยู ; เขาจั ก บั ญ ญั ติ ซึ่ ง ผั ส สบั ญ ญั ติ ...ฯลฯ... ...ฯลฯ... ข อ นี้ เป น ฐานะที่มีได.

ดู ก อนท านผู มี อายุ ทั้ งหลาย! บุ รุ ษ นั้ นหนอ เมื่ อจมู กมี อยู , เมื่ อกลิ่ นมี อยู , เมื่ อ ฆานวิ ญ ญ าณ มี อ ยู ; เขาจั ก บั ญ ญั ติ ซึ่ ง ผั ส สบั ญ ญั ติ ...ฯลฯ... ...ฯลฯ... ข อ นี้ เปนฐานะที่มีได.

www.buddhadasa.info


๖๐๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐

ดู ก อ นท า นผู มี อ ายุ ทั้ ง หลาย! บุ รุ ษ นั้ น หนอ เมื่ อ ลิ้ น มี อ ยู , เมื่ อ รสมี อ ยู , เมื ่อ ชิว หาวิญ ญ าณ มีอ ยู ; เขาจัก บัญ ญ ัต ิซึ ่ง ผัส สบัญ ญ ัต ิ ...ฯลฯ... ...ฯลฯ... ขอนี้เปนฐานะที่มีได. ดู ก อนท านผู มี อายุ ทั้ งหลาย! เมื่ อกายมี อยู , เมื่ อโผฏฐั พพะมี อยู , เมื่ อกายวิญ ญ าณ ม ีอ ยู ; เข า จัก บ ัญ ญ ัต ิซึ ่ง ผ ัส ส บ ัญ ญ ัต ิ ...ฯ ล ฯ ... ...ฯ ล ฯ ...ข อ นี้ เป น ฐานะที่มีได. ดู ก อนท านผู มี อายุ ทั้ งหลาย! บุ รุษนั้ นหนอ เมื่ อใจมี อยู , เมื่ อธั มมารมณ มี อยู, เมื่ อมโนวิญญาณมี อยู; เขาก็จักบัญญั ติซึ่ง ผั สสบั ญญั ติ : ขอนี้เปนฐานะที่มีได; เมื่ อการบั ญญั ติ ซึ่ งผั สสะมี อยู เขาก็ จั ก บั ญญั ติ ซึ่ ง เวทนาบั ญญั ติ : ข อนี้ เป นฐานะที่ มี ได ; เมื่ อการบั ญญั ติ ซึ่งเวทนามี อยู เขาก็ จักบั ญญั ติ ซึ่ง สั ญญาบั ญญั ติ : ขอนี้ เป นฐานะที่ มี ได ; เมื่ อการบั ญญั ติ ซึ่งสัญญามี อยู เขาก็ จักบั ญญั ติซึ่ง วิตกบั ญญั ติ : ขอนี้เป น ฐานะที่ มี ได ; เมื่ อการบัญญั ติซึ่งวิตกมีอยู เขาก็จักบัญญั ติซึ่ง ปป ญจสั ญญาสังขาสมุ ทาจรณบั ญญั ติ : ขอนี้ เปนฐานะที่มีได;

ปฏิจจสมุปบาทแหงปปญจสัญญา www.buddhadasa.info อันทําความเนิ่นชา แกการละอนุสัย ๑

(เมื่ อ พระผู มี พ ระภาคเจ า ทรงเล าเรื่ องการสนทนากั บ ทั ณ ฑปาณิ ศากยะจบลงแล ว, ภิ กษุ รูปหนึ่ง ไดทูลถามขึ้นวา :-)

มธุ ป ณ ฑิ กสู ต ร มู .ม.๑๒/๒๒๒,๒๒๕/๒๔๕,๒๔๘, ตรั ส แก ภิ ก ษุ รู ป หนึ่ ง ต อ หน า ภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย ที่ นิ โครธาราม ใกลกรุงกบิลพัสดุ.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๖๐๕

"ขาแตพระองคผูเจริญ! พระผูมีพระภาคทรงมีปรกติตรัสอยางไร จึงไม โตเถียงกับผูใดผูหนึ่ง ในโลกพรอมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก ในหมูสัตวพรอม ทั้งสมณพราหมณ พรอมทั้ งเทวดาและมนุษย, ดํ ารงอยูในโลก; อนึ่ ง จะเป นไปไดโดย วิธีใด ที่สัญญาทั้งหลาย จะไมนอนตาม ซึ่งบุคคลผูเปนพราหมณ ผูปราศจากกาม ทั้งหลายอยู, ผูหมดความสงสัยอันเปนเหตุใหถามวาอะไรเปนอยางไร, ผูมีความรําคาญ อันตัดขาดแลว, ผูปราศจากตัณหาในภพนอยและภพใหญ; พระเจาขา!" ดู ก อนภิ กษุ ! สั ญ ญา (ความสํ าคั ญ มั่ นหมายซึ่ งเป นอนุ สั ย)๑ ชนิ ดต าง ๆ อันเปนเครื่องทําความเนิ่นชา (ปปญจสัญญา), ยอมกลุมรุมบุรุษ เพราะมีอารมณใดเปน ตนเหตุ ถาสิ่งใด ๆเพื่อความเปนอารมณ นั้น มี ไม ได (ดวยเหตุใดก็ตาม) เพื่อบุ รุษนั้น จะพึงเพลิดเพลิน พราสรรเสริญ เมาหมก แลวไซร; นั่นแหละคือที่สุดแหงราคานุสัย, แหงปฏิฆานุสัย , แหงทิฏฐานุสัย, แหงวิจิกิจฉานุสัย, แหงมานานุสัย แหง ภวราคานุสัย แหงอวิชชานุสัย; และนั่นแหละคือที่สุดแหงการใชอาวุธไมมีคม การ ใช อาวุ ธมี คม, การทะเลาะ การแก งแย ง การวิ วาท การกล าวคํ าหยาบว า "มึ ง! มึ ง!", การพู ดคํ าส อเสี ยด และการพู ดเท็ จ ทั้ งหลาย : ธรรมอั นเป นบาปอกุ ศลเหล านั้ น ในเพราะ เหตุนั้น, ยอมดับไปโดยไมมีสวนเหลือ, ดังนี้.๒

www.buddhadasa.info (ครั้นพระผู มี พระภาคตรัสดั งนี้ แล ว เสด็ จเขาสู ที่ ประทั บ, พวกภิ กษุ ที่ ฟ งอยู ยั งไม เข าใจในเนื้ อ ความแห งพุ ทธพจน นี้ จึ งพากั นไปหาพระมหากั จจานะให ชวยขยายความ. พระมหากัจจานะกล าวขยายความ ดังนี้ :-)

สั ญญาในที่ นี้ มิ ใช เป นเพี ยงความจํา; แต เป นความสํ าคั ญมั่ นหมาย เช น สุ ขสั ญญา = สั ญญาวาสุ ข; อัตตสัญญา = สั ญญาวาตั วตน เป นต น, เกิดขึ้นดวยอุปาทาน; เกิ ดเมื่อใด ยอมก ออนุ สัย และเพิ่ มความ เปนอนุสัย (ความเคยชิน) ยิ่งขึ้นทุกที; ก็ทําความเนิ่นชา หรือความยากแกการดับทุกข ยิ่งขึ้นทุกที. ๒ การที่ พระผู มี พระภาคเจ า ไม ตรัสตอบคํ าถามที่ หนึ่ งโดยตรง เพราะตอบรวมกั นได กั บคํ าตอบของคํ าถาม ที่ ส องนั่ น เอง, ถ า พิ จ ารณาดู ใ ห ดี ก็ จ ะเห็ น ได , ไม ต อ งฉงน : ข อ ความตอนที่ ว า "นั่ น คื อ ที่ สุ ด แห ง การใชอาวุธไมมีคม...", นั่นเองเปนคําตอบของปญหาที่หนึ่ง ที่ถามวา มีปรกติตรัสอยางไร?

www.buddhadasa.info


๖๐๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐

ดู ก อ นท านผู มี อ ายุ ทั้ งหลาย! ข อ ที่ พ ระผู มี พ ระภาคเจ า ทรงแสดงอุ เทศ ไว แ ต โ ดยย อ ว า "ดู ก อ นภิ า ษุ ! สั ญ ญาชนิ ด ต า ง ๆ อั น เป น เครื่ อ งทํ า ความเนิ่ น ช า ย อมกลุ มรุ มบุ รุ ษ เพราะมี อารมณ ใดเป นต นเหตุ ถ าสิ่ งใด ๆ เพื่ อความเป นอารมณ นั้ น มี ไ ม ไ ด (ด ว ยเหตุ ใ ดก็ ต าม) เพื่ อ บุ รุ ษ นั้ น จะพึ ง เพลิ ด เพลิ น ...ฯลฯ...ฯลฯ...ธรรม อั น เป นบาปอกุ ศลเหล านั้ น ในเพราะเหตุ นั้ น , ย อมดั บ ไปโดยไม มี ส วนเหลื อ ",ดั งนี้ แล ว ไม ท รงจํ า แนกเนื้ อ ความโดยพิ ส ดาร และเสด็ จ ลุ ก จากอาสนะเข า สู ที่ ป ระทั บ เสี ย นั้ น ; ดู ก อ นท า นผู มี อ ายุ ทั้ ง หลาย! เราย อ มรู เนื้ อ ความแห ง อุ เทศที่ พ ระผู มี พ ระภาคเจ า ทรงแสดงไว แ ต โ ดยย อ , ไม ท รงชี้ แ จงเนื้ อ ความไว โ ดยพิ ส ดารนี้ ; ได โ ดยพิ ส ดาร อยางนี้คือ :ดู ก อ นท า นผู มี อ ายุ ทั้ ง หลาย! เพราะอาศั ย ตาด ว ย, รู ป ทั้ ง หลายด ว ย, จึ ง เกิ ด จั ก ขุ วิ ญ ญ าณ ; การประจวบพร อ มแห ง ธรรม ๓ ประการ (ตา+รู ป +จั ก ขุ วิญญาณ) นั่นคือ ผัสสะ; เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมีเวทนา; บุคคลเสวยซึ่งเวทนาใด, ยอมรูสึกซึ่งเวทนานั้น; บุคคลรูสึกซึ่งเวทนาใด, ยอมมีวิตกอยูกะเวทนานั้น; บุคคลมีวิตกอยูกะเวทนาใด, ยอมประพฤติซึ่งความเนิ่นชาอยูกะเวทนานั้น๑ บุคคลประพฤติซึ่งความเนิ่นชาอยูกะเวทนาใด, สัญญา(ความมั่นหมาย) ชนิดตาง ๆ อันเปนเครื่องทําความเนิ่นชา ยอมกลุมรุมซึ่งบุรุษนั้น, โดยมีเวทนานั้น เปนเหตุ, เปนไปในรูปทั้งหลาย อันพึงรูแจงไดดวยตา, ทั้งที่เปนอดีต อนาคต และปจจุบัน.

www.buddhadasa.info

ผูอานควรจะสังเกตใหเห็นไดตรงนี้เลยวา เวทนานี้แหละคืออาการของปฏิจจสมุปบาทที่สําคัญอันหนึ่งที่ทําความ เนิ่นชาแกการละอนุสัย.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๖๐๗

ดูกอนทานผูมีอายุทั้งหลาย! เพราะอาศัยหูดวย, ...ฯลฯ...๑ และปจจุบัน. ดูกอนทานผูมีอายุทั้งหลาย! เพราะอาศัยจมูกดวย, ...ฯลฯ... และปจจุบัน. ดูกอนทานผูมีอายุทั้งหลาย! เพราะอาศัยลิ้นดวย, ...ฯลฯ... และปจจุบัน. ดูกอนทานผูมีอายุทั้งหลาย! เพราะอาศัยกายดวย, ...ฯลฯ... และปจจุบัน. ดู ก อนท านผู มี อายุ ทั้ งหลาย! เพราะอาศั ยใจด วย, ธั มมารมณ ทั้ งหลายด วย, จึ ง เกิ ด มโนวิ ญ ญาณ; การประจวบพร อ มแห ง ธรรม ๓ ประการ (ใจ+ธั ม มารมณ +มโนวิญญาณ) นั่นคือ ผัสสะ; เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมีเวทนา; บุคคลเสวยซึ่งเวทนาใด, ยอมรูสึกซึ่งเวทนานั้น; บุคคลรูสึกซึ่งเวทนาใด, ยอมมีวิตกอยูกะเวทนานั้น; บุคคลมีวิตกอยูกะเวทนาใด, ยอมประพฤติซึ่งความเนิ่นชาอยูกะเวทนานั้น; บุคคลประพฤติซึ่งความเนิ่นชาอยูกะเวทนาใด, สัญญา(ความมั่นหมาย) ชนิดตาง ๆ อันเปนเครื่องทําความเนิ่นชา ยอมกลุมรุมซึ่งบุรุษนั้น, โดยมีเวทนานั้น เป น เหตุ , เป น ไปในธั ม มารมณ ทั้ งหลาย อั น พึ งรู แจ งได ด วยใจ, ทั้ งที่ เป น อดี ต อนาคต และปจจุบัน. ---- ---- ---- ----

www.buddhadasa.info

ในกรณี แห งตากั บรูป มี ข อความพิ สดารอย างไร ในกรณี แห งหู กั บเสี ยง, จมู กกั บกลิ่ น, ลิ้ นกั บรส, กายกั บ โผฏฐัพพะ ซึ่งละ...ฯลฯ...ไว, ก็พึงทราบวามีขอความเต็มอยางเดียวกัน ทุกตัวอักษร ตางกันแตเพียงชื่อแหง อายตนะ แตละอายตนะเทานั้น.

www.buddhadasa.info


๖๐๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐

ดู ก อ นท านผู มี อ ายุ ทั้ งหลาย! บุ รุ ษ นั้ น หนอ เมื่ อ ตามี อ ยู , เมื่ อ รู ป มี อ ยู , เมื่ อ จั กขุ วิ ญ ญาณมี อยู ; เขาก็ จั กบั ญ ญั ติ ซึ่ ง ผั สสบั ญ ญั ติ ๑ : ข อนี้ เป นฐานะที่ มี ได ; เมื่ อ การบั ญ ญั ติ ซึ่ ง ผั ส สะมี อ ยู เขาก็ จั ก บั ญ ญั ติ ซึ่ ง เวทนาบั ญ ญั ติ : ข อ นี้ เป น ฐานะ ที่ มี ได ; เมื่ อ การบั ญ ญั ติ ซึ่ ง เวทนามี อ ยู เขาก็ จั ก บั ญ ญั ติ ซึ่ ง สั ญ ญาบั ญ ญั ติ : ข อ นี้ เป น ฐานะที่ มี ได ; เมื่ อ การบั ญ ญั ติ ซึ่ งสั ญ ญามี อ ยู เขาก็ จั ก บั ญ ญั ติ ซึ่ งวิ ต กบั ญ ญั ติ : ข อนี้ เป นฐานะที่ มี ได ; เมื่ อการบั ญญั ติ ซึ่ งวิ ตกมี อยู เขาก็ จั กบั ญญั ติ ซึ่ ง ปป ญจสั ญญาสังขาสมุทาจรณบัญญัติ ๒ :ขอนี้เปนฐานะที่มีได. ดู ก อ นท า นผู มี อ ายุ ทั้ งหลาย! บุ รุ ษ นั้ น หนอ เมื่ อ หู มี อ ยู , เมื่ อ เสี ย งมี อ ยู , เมื่ อ โสตวิ ญ ญาณมี อ ยู ; เขาก็ จั ก บั ญ ญั ติ ซึ่ ง ผั ส สบั ญ ญั ติ ...ฯลฯ...ฯลฯ...๓ข อ นี้ เป น ฐานะที่มีได. ดูก อ นทา นผู ม ีอ ายุทั ้ง หลาย| บุร ุษ นั ้น หนอ เมื ่อ จมูก มีอ ยู , เมื ่อ กลิ ่น มี อ ยู , เมื่ อ ฆานวิ ญ ญาณมี อ ยู ; เขาก็ จั ก บั ญ ญั ติ ซึ่ ง สั ม ผั ส สบั ญ ญั ติ ...ฯลฯ...ฯลฯ... ขอนี้เปนฐานะที่มีได.

www.buddhadasa.info ดู ก อ นท า นผู มี อ ายุ ทั้ ง หลาย| บุ รุ ษ นั้ น หนอ เมื่ อ ลิ้ น มี อ ยู , เมื่ อ รสมี อ ยู , เมื่ อ ชิ ว หาวิ ญ ญาณมี อ ยู ; เขาก็ จั ก บั ญ ญั ติ ซึ่ ง สั ม ผั ส สบั ญ ญั ติ ...ฯลฯ...ฯลฯ... ข อ นี้ เปนฐานะที่มีได

ผั ส สบั ญ ญั ติ คื อ การกล า วไป ตามความรู สึ ก ของเขา เกี่ ย วกั บ ผั ส สะ ว า มี อ ยู โ ดยชนิ ด โดย อาการเป น ต น ว ามี อ ยู อ ย า งนั้ น ๆ, ไม มี อ ะไรอื่ น มากไปกว า นั้ น . แม ในการบั ญ ญั ติ ข อ อื่ น ๆ มี เวทนาบัญญัติเปนตนก็มีนัยอยางเดียวกัน. ๒ ปป ญจสั ญญาสั งขาสมุ ทาจรณบั ญญั ติ คื อการบั ญญั ติ ซึ่ งการกลุ มรุ มของสั ญญา กล าวคื อความสํ าคั ญ ซึ่ ง เปนอนุสัยมีชนิดตาง ๆ ลวนแตทําความเนิ่นชา. ๓ ในกรณี แ ห ง ตากั บ รู ป มี ข อ ความพิ ส ดารอย า งไร; ในกรณี แ ห ง หู กั บ เสี ย ง, จมู ก กั บ กลิ่ น , ลิ้ น กั บ รส, กายกับโผฏฐัพพะ, ซึ่งละ...ฯลฯ...ไว; พึงทราบวามีขอความเต็มอยางเดียวกัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๖๐๙

ดู ก อ นท า นผู มี อ ายุ ทั้ งหลาย! บุ รุษ นั้ น หนอ เมื่ อ กายมี อ ยู , เมื่ อ โผฏฐั พ พะมี อ ยู , เมื่ อ กายวิ ญ ญาณมี อ ยู ; เขาก็ จั ก บั ญ ญั ติ ซึ่ ง ผั ส สบั ญ ญั ติ ...ฯลฯ... ฯลฯ...ขอนี้เปนฐานะที่มีได. ดูกอนทานผูมีอายุทั้งหลาย! บุรุษนั้นหนอ เมื่อใจมีอยู, เมื่อธัมมารมณ มีอยู, เมื่อมโนวิญ ญาณมีอยู; เขาก็จักบัญญั ติซึ่งผัสสบัญ ญั ติ : ขอนี้เปนฐานะ ที่ มี ได ; เมื่ อ การบั ญ ญั ติ ซึ่ งผั ส สะมี อ ยู เขาก็ จั ก บั ญ ญั ติ ซึ่ งเวทนาบั ญ ญั ติ : ข อ นี้ เปนฐานะที่มีได; เมื่อการบัญญั ติซึ่งเวทนามีอยู เขาก็จักบัญญั ติซึ่งสัญญาบัญญั ติ : ข อ นี้ เป น ฐานะที่ มี ได ; เมื่ อ การบั ญ ญั ติ ซึ่ ง สั ญ ญามี อ ยู เขาก็ จั ก บั ญ ญั ติ ซึ่ ง วิ ต กบัญ ญัต ิ : ขอ นี ้เปน ฐานะที ่ม ีไ ด; เมื ่อ การบัญ ญัต ิซึ ่ง วิต กมีอ ยู  เขาก็จ ัก บัญ ญัติ ซึ่ง ปปญจสัญญาสังขาสมุทาจรณบัญญัติ : ขอนี้เปนฐานะที่มีได. ----

(ปฎิปกขนัย)

----

ดู ก อ นท า นผู มี อ ายุ ทั้ ง หลาย! บุ รุ ษ นั้ น หนอ เมื่ อ ตาไม มี อ ยู , เมื่ อ รู ป ไม มี อ ยู , เมื่ อ จั ก ขุ วิ ญ ญาณไม มี อ ยู ; เขาจั ก บั ญ ญั ติ ซึ่ ง ผั ส สบั ญ ญั ติ : ข อ นี้ เป น ฐานะที่ มี ไม ได ; เมื่ อการบั ญ ญั ติ ซึ่งผั สสะไม มี อยู เขาจักบั ญ ญั ติ ซึ่งเวทนาบั ญ ญั ติ : ข อ นี้ เป น ฐานะที่ มี ไ ม ไ ด ; เมื่ อ การบั ญ ญั ติ ซึ่ ง เวทนาไม มี อ ยู เขาจั ก บั ญ ญั ติ ซึ่ ง สั ญ ญาบั ญ ญั ติ : ข อ นี้ เป น ฐานะที่ มี ไม ได ; เมื่ อ การบั ญ ญั ติ ซึ่ งสั ญ ญาไม มี อ ยู เขา จั กบั ญ ญั ติ ซึ่ งวิ ตกบั ญ ญั ติ : ข อ นี้ เป นฐานะที่ มี ไม ได ; เมื่ อการบั ญ ญั ติ ซึ่ งวิ ตกไม มี อยู เขาจักบัญญัติซึ่งปปญจสัญญาสังขาสมุทาจรณบัญญัติ :ขอนี้เปนฐานะที่มีไมได.

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๖๑๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐

ดู ก อ นท า นผู มี อ ายุ ทั้ ง หลาย! บุ รุ ษ นั้ น หนอ เมื่ อ หู ไ ม มี อ ยู , เมื่ อ เสี ย ง ไมม ีอ ยู , เมื ่อ โสตวิญ ญ าณ ไมม ีอ ยู ; เขาจัก บัญ ญัต ิซึ ่ง ผัส สบัญ ญัต ิ ...ฯลฯ ...ฯลฯ... ๑ขอนี้เปนฐานะที่มีไมได. ดู ก อนท านผู มี อายุ ทั้ งหลาย! บุ รุษ นั้ นหนอ เมื่ อ จมู กไม มี อ ยู , เมื่ อกลิ่ น ไมม ีอ ยู , เมื ่อ ฆาน- วิญ ญ าณ ไมม ีอ ยู ; เขาจัก บัญ ญัต ิซึ ่ง ผัส สบัญ ญัต ิ ...ฯลฯ ...ฯลฯ... ขอนี้เปนฐานะที่มีไมได. ดู ก อ นท า นผู มี อ ายุ ทั้ ง หลาย! บุ รุ ษ นั้ น หนอ เมื่ อ ลิ้ น ไม มี อ ยู , เมื่ อ รส ไมม ีอ ยู , เมื ่อ ชิว หาวิญ ญาณไมม ีอ ยู ; เขาจัก บัญ ญัต ิซึ ่ง ผัส สบัญ ญัต ิ ...ฯลฯ ... ฯลฯ... ขอนี้เปนฐานะที่มีไมได. ดู ก อ นท า นผู มี อ ายุ ทั้ ง หลาย! บุ รุ ษ นั้ น หนอ เมื่ อ กายไม มี อ ยู , เมื่ อ โผฏฐัพ พะไมม ีอ ยู , เมื ่อ กายวิญ ญาณไมม ีอ ยู ; เขาจัก บัญ ญัต ิซึ ่ง ผัส สบัญ ญัติ ...ฯลฯ...ฯลฯ... ขอนี้เปนฐานะที่มีไมได.

www.buddhadasa.info ดูก อ นทา นผู ม ีอ ายุทั ้ง หลาย! บุร ุษ นั ้น หนอ เมื ่อ ใจไมม ีอ ยู , เมื ่อ ธั ม มารมณ ไ ม มี อ ยู , เมื่ อ มโนวิ ญ ญาณไม มี อ ยู ; เขาจั ก บั ญ ญั ติ ซึ่ ง ผั ส สบั ญ ญั ติ : ข อ นี้ เ ป น ฐานะที่ มี ไ ม ไ ด ; เมื่ อ การบั ญ ญั ติ ซึ่ ง ผั ส สะไม มี อ ยู เขาจั ก บั ญ ญั ติ ซึ่ ง เวทนาบัญ ญ ัต ิ :ขอ นี ้เ ปน ฐานะที ่ม ีไ มไ ด; เมื ่อ การบัญ ญ ัต ิซึ ่ง เวทนาไมม ีอ ยู เขาจักบัญญัติซึ่งสัญญาบัญญัติ : ขอนี้เปนฐานะที่มีไมได; เมื่อการบัญญัติซึ่ง

ในกรณี แห งตากั บรู ป มี ข อความพิ สดารอย างไร ในกรณี แห งหู กั บเสี ยง, จมู กกั บกลิ่ น, ลิ้ นกั บรส, กาย กับโผฏฐัพพะ, ซึ่งละ...ฯลฯ...ไว, พึงทราบวามีขอความเต็มอยางเดียวกัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๖๑๑

สัญ ญาไมม ีอ ยู เขาจั กบั ญ ญั ติ ซึ่ งวิ ตกบั ญ ญั ติ : ข อนี้ เป นฐานะที่ มี ไม ได ; เมื่ อการ บัญญั ติซึ่งวิตกไมมีอยูเขาจักบัญญั ติซึ่งปปญจสัญญาสังขาสมุทาจรณบัญญั ติ : ขอ นี้เปนฐานะที่มีไมได. ---- ---- ---- ----

ดูกอนทานผูมีอายุทั้งหลาย! ขอที่พระผูมีพระภาคเจา ทรงแสดงอุเทศไว แตโดยยอวา "ดูกอนภิกษุ! สัญญา (ความมั่นหมาย) ชนิดตาง ๆ อันเปนเครื่องทําความ เนิ่นชา ยอมกลุมรุมบุรษ เพราะมีอารมณ ใดเปนตนเหตุ ถาสิ่งใด ๆ เพื่อความเปนอารมณ นั้ นมี ไม ได (ด วยเหตุ ใดก็ ตาม) เพื่ อบุ รุษนั้ นจะพึ งเพลิ ดเพลิ น ...ฯลฯ...ฯลฯ... ธรรม อันเปนบาปอกุศลเหลานั้น ในเพราะเหตุนั้น, ยอมดับไปโดยไมมีสวนเหลือ" ดังนี้ แลว ไม ทรงจํ าแนกเนื้ อความโดยพิ สดาร และเสด็ จลุ กจากอาสนะเข าสู ที่ ประทั บ เสี ยนั้ น; ดู ก อนท านผู มี อายุ ทั้ งหลาย! เราย อมรู เนื้ อความแห งอุ เทศที่ พระผู มี พระภาคทรง แสดงไว แต โดยย อ ไม ท รงชี้ แจงเนื้ อความโดยพิ ส ดารนี้ ได โดยพิ ส ดาร อย างนี้ แล. ดูก อ นทา นผู ม ีอ ายุทั ้ง หลาย! ก็ถ า ทา นทั ้ง หลายหวัง อยู  ก็จ งเขา ไปเฝา พระผู มี พระภาคเจ า แล วทู ลถามซึ่ งความข อนั้ นเถิ ด พระผู มี พ ระภาคทรงพยากรณ แก ท าน ทั้งหลายอยางไร ทานทั้งหลาย จงทรงจําไวอยางนั้นเถิด.

www.buddhadasa.info (ภิกษุ เหลานั้น ไดเขาไปกราบทูลเรื่องนี้แตพระผูมีพระภาคเจา, ไดตรัสรับรองขอความนั้นวา ถูกตองตามที่พระองคจะตรัสเอง และไดตรัสสรรเสริญพระมหากัจจานะวา เปนบัณฑิต มีปญญามาก). หมายเหตุ ผู ร วบรวม : ผู ศึ ก ษาพึ งสั ง เกตอาการแห ง ปฏิ จ จสมุ ป บาท เพี ยงอาการเดี ยว ซึ่ งในที่ นี้ ได แก เวทนา อั น เกิ ด มาจากอวิ ชชาสั ม ผั สนั่ น แหละ ไม ว าจะเป น ทางตา หู จมู ก ลิ้ น กาย หรื อ ใจก็ ต าม เป น สิ่ งทํ าความเนิ่ น ช าแก ก ารละเสี ยซึ่ งอนุ สั ย คื อ ความเคยชิ น ในการสยบมั วเมาในเวทนาแต กาลก อ น, ยิ่ งเสวยเวทนาอี ก ก็ ยิ่ งเพิ่ ม อนุ สั ย ยิ่ ง ขึ้นไปอีก : สุขเวทนา เพิ่มกําลังแกอนุสัยประเภทราคะ, ทุกขเวทนา เพิ่มกําลังแกอนุสัย

www.buddhadasa.info


๖๑๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐ ประเภทโทสะ, อทุ ก ขมสุ ข เวทนา เพิ่ ม กํ า ลั ง แก อ นุ สั ย ประเภทโมหะ. มั น เพิ่ ม กํ า ลั ง แก อ นุ สั ย อย า งไร รู ไ ด ที่ อ าการแห ง ปฏิ จ จสมุ ป บาททั้ ง หลาย นั่ น เอง; กล า วคื อ ทํ า ความเคยชิ น เพิ่ ม ขึ้ น ในการสร า งภพ-ชาติ -ตามแบบปฏิ จ จสมุ ป บาท; ดั ง นั้ น จงระวั ง แม แ ต ป ฏิ จ จสมุ ป บาท เพี ย งอาการเดี ย ว คื อ "เวทนา" ในลั ก ษณ ะที่ ก ล า วไว ใ นสู ต รนี้ แ ล ว ซ อ นตั ว อยู ในนามของ "สัญญา" ซึ่งในที่นี้หมายถึงความสําคัญมั่นหมายในเวทนานั้น.

ปฏิจจสมุปบาท แหง การดับปปญจสัญญาสังขา๑ "ข าแต พระองค ผู นิ รทุ กข ! อะไรเป นเครื่ องผู กพั นเทวดา มนุ ษย อสู ร นาค คั นธั พพ ทั้ งหลาย อั นมี อยู เป นหมู ๆ (ซึ่ งแต ละหมู ) ปรารถนาอยู ว า เราจั กเป นคนไม มี เวร ไม มี อาชญา ไม มี ข าศึ ก ไม มี การเบี ยดเบี ยนแก กั นและกั น แต แล วก็ ไม สามารถจั กเป นผู อยู อยางผูไมมีเวร ไมมีอาชญา ไมมีขาศึก ไมมีเบียดเบียนแกกันและกันเลา พระเจาขา?" ดูกอนจอมเทพ! อิสสาและมัจฉริยะ นั่นแล เปนเครื่องผูกพัน...ฯลฯ... "ข าแต พระสุ คต! ความสงสั ยของข าพระองค ในเรื่ องนั้ นสิ้ นแล ว เรื่ องที่ จะต อง ถามใครวาอย างไรในเรื่องนั้ น ก็ ปราศจากไปแล ว เพราะได ฟ งป ญหาพยากรณ ของพระผู มี พระภาคเจ า. ข าแต พระองค ผู นิ รทุ กข ! ก็ อิ สสาและมั จฉริ ยะนั้ น มี อะไรเป นนิ ทาน (ต นเหตุ ) มี อะไรเป นสมุ ทั ย (เครื่ องก อขึ้ น) มี อะไรเป นชาติ กะ (เครื่ องทํ าให เกิ ด) มี อะไรเป นปภวะ (แดนเกิ ด)? เมื่ ออะไรมี อยู อิ สสาและมั จฉริ ยะจึ งมี ? เมื่ ออะไรไม มี อยู อิ สสาและมั จฉริ ยะ จึงไมมี พระเจาขา?"

www.buddhadasa.info

สักกปญหสูตร มหา.ที.๑๐/๓๑๐/๒๕๕, ตรัสแกทาวสักกเทวราช ที่ถ้ําอินทสาละ ภูเขาเวทยิกบรรพต.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๖๑๓

ดูกอนจอมเทพ! อิสสาและมัจฉริยะนั้น มีสิ่งเปนที่รักและสิ่งไมเปน ที่ รัก (ป ยาปฺ ป ย) นั่ น แล เป น นิ ท าน ...ฯลฯ... เมื่ อ สิ่งเป นที่ รักและสิ่งไม เป นที่ รัก ไมมีอยู อิสสาและมัจฉริยะ ก็ไมมี. "ขาแตพระองคผูนิรทุกข! ก็สิ่งเปนที่รักและสิ่งไมเปนที่รักนั้นเลา มีอะไรเปน นิทาน เปนสมุทัย เปนชาติกะ เปนปภวะ? เมื่ออะไรมีอยู สิ่งเปนที่รักและสิ่งไมเปนที่รัก จึงมี? เมื่ออะไรไมมีอยู สิ่งเปนที่รักและสิ่งไมเปนที่รักจึงไมมี พระเจาขา?" ดูกอนจอมเทพ! สิ่ งเป น ที่ รัก และสิ่ งไม เป น ที่ รัก นั้ น มี ฉั น ทะ(ความ พอใจ)เปนนิทาน ...ฯลฯ... เมื่อฉันทะ ไมมีอยู สิ่งเปนที่รักและสิ่งไมเปนที่รักก็ไมมี. "ข าแต พระองค ผู นิ รทุ กข ! ก็ ฉั นทะนั้ นเล า มี อะไรเป นนิ ทาน เป นสมุ ทั ย เปนชาติกะ เปนปภวะ? เมื่ออะไรมีอยู ฉันทะจึงมี? เมื่ออะไรไมมีอยู ฉันทะจึงไมมี พระเจาขา?"

www.buddhadasa.info ดู ก อนจอมเทพ! ฉั น ทะนั้ น มี วิ ตก (ความตริ ตรึ ก )เป น นิ ทาน...ฯลฯ... เมื่อวิตกไมมีอยู ฉันทะก็ไมมี

"ขาแตพระองคผูนิรทุกข! ก็วิตกนั้นเลา มีอะไรเปนนิทาน เปนสมุทัย เป น ชาติกะ เปนปภวะ? เมื่ออะไรมีอยู วิตกจึงมี? เมื่ออะไรไมมีอยู วิตกจึงไมมี พระเจาขา?" ดูกอนจอมเทพ! วิตกนั้น มีปป ญจสัญญาสังขา เปนนิ ทาน ...ฯลฯ... เมื่อปปญจสัญญาสังขาไมมีอยู วิตกก็ไมมี.

www.buddhadasa.info


๖๑๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐

“ข า แต พ ระองค ผู นิ รทุ ก ข ! ก็ ภิ ก ษุ เป น ผู ป ฏิ บั ติ อ ย า งไรเล า จึ งชื่ อ ว า เป น ผู ปฏิ บั ติ ข อ ปฏิ บั ติ เครื่ อ งยั งสั ต ว ให ถึ งซึ่ งสมควรแก ก ารดั บ ไม เหลื อ แห งปป ญ จสัญญาสังขา พระเจาขา?" ดู ก อนจอมเทพ! เราตคถาคตย อมกล าวซึ่ งโสมนั ส ไว เป น ๒ อย าง คื อโสมนั สที่ ควรเสพ อยางหนึ่ ง โสมนั สที่ ไม ควรเสพ อย างหนึ่ ง (ตอไปไดตรัสถึงโทมนัส และอุเบกขา ซึ่งแตละอยาง ๆ ไดตรัสไวโดยแยกเปนสองอยางเชนเดียวกัน).

ดู ก อนจอมเทพ! คํ านี้ ว า "เราตถาคตย อมกล าวซึ่ งโสมนั ส ไว เป น ๒ อย าง คื อโสมนั สที่ ควรเสพอย างหนึ่ ง โสมนั สที่ ไม ควรเสพอย างหนึ่ ง" ดั งนี้ เป นคํ าที่ เรากล าว แลว ก็คํานั้น เราอาศัยเหตุผลอะไรกลาวเลา? ดู ก อ นจอมเทพ! ในบรรดาโสมนั ส ๒ อย างนั้ น บุ ค คลพึ งรู จั ก ซึ่ งโสมนั ส อั น ใดว า "เมื่ อ เราเสพโสมนั ส นี้ แ ลอยู ธรรมอั น เป น อกุ ศ ลทั้ ง หลาย ย อ มเจริ ญ ยิ่ ง ขึ้ น ธรรมอั น เป น กุ ศ ลทั้ ง หลาย ย อ มเสื่ อ มสิ้ น ไป" ดั ง นี้ ; โสมนั ส อั น มี ลั ก ษณะอย า งนี้ เปน โสมนัส ที ่ไ มค วรเสพ. ดูก อ นจอมเทพ! ในบรรดาโสมนัส อยา งนั ้น บุค คล พึ งรู จั กซึ่ งโสมนั สอั นใดว า "เมื่ อเราเสพโสมนั สนี้ แลอยู ธรรมอั นเป นอกุ ศลทั้ งหลาย ย อม เสื่ อ มสิ้ น ไป ธรรมอั น เป น กุ ศ ลทั้ ง หลาย ย อ มเจริ ญ ขึ้ น " ดั ง นี้ ; โสมนั ส อั น มี ลั ก ษณะ อย า งนี้ เป น โสมนั ส ที่ ค วรเสพ. ดู ก อ นจอมเทพ! ในบรรดาโสมนั ส ทั้ ง ๒ อย างนั้ น โสมนั ส ใดแล มี วิ ต กมี วิ จ าร, โสมนั ส ใดแล ไม มี วิ ต กไม มี วิ จ าร; โสมนั ส ที่ ไม มี วิ ต ก ไมมีวิจารนั่น เปนโสมนัสที่ประณีตกวาโสมนัสที่มีวิตกมีวิจารนั้น.

www.buddhadasa.info ดู ก อ นจอมเทพ! คํ าใดที่ เรากล าวแล วว า "โสมนั ส มี ส องอย าง คื อ โสมนั ส ที่ ควรเสพอย างหนึ่ ง โสมนั สที่ ไม ควรเสพอย างหนึ่ ง" ดั งนี้ นั้ น คํ านั้ น เรากล าวแล วอาศั ย เหตุผลเหลานี้แล.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๖๑๕

(ตอไปนี้ก็ไดตรัสคําอธิบายเกี่ยวกับโทมนัส และอุเบกขา โดยนัยอยางเดียวกันทุกประการ)

ดู ก อนจอมเทพ! ภิ กษุ เป นผู ปฏิ บั ติ แล ว (ในลั กษณะที่ ทํ าให รูจั กโสมนั ส โทมนัสและอุเบกขา ดังที่กลาวแลว) อยางนี้แล ชื่อวาเปนผูปฏิบัติขอปฏิบัติเครื่องยังสัตว ใหถึงซึ่งความสมควรแกการดับไมเหลือแหงปปญจสัญญาสังขา.

ปฏิจจสมุปบาท ที่ยิ่งกวาปฏิจจสมุปบาท (มี ๒๔ อาการ)๑ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เรากลาวความสิ้นไปแหงอาสวะทั้งหลาย สําหรับ บุคคลผูรูอยู เห็นอยู มิใชสําหรับบุคคลผูไมรูอยู ไมเห็นอยู. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ ความสิ้ นไปแห งอาสวะทั้ งหลาย ย อมมี แก บุ คคลผู รูอยู เห็นอยู ซึ่งอะไรเลา? ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ความสิ้นไปแหงอาสวะทั้งหลาย ยอมมีแกบุคคลผู รูอยู เห็ นอยู วา "รูป คื ออย างนี้ ๆ, เหตุ ให เกิ ดรูป คื อย างนี้ ๆ, ความไม ตั้ งอยู ได แห งรูป คื ออย างนี้ ๆ;" และว า "เวทนา คื ออย างนี้ ๆ, เหตุ ให เกิ ดเวทนา คื ออย างนี้ ๆ, ความ ไม ตั้ งอยู ได แ ห ง เวทนา คื อ อย างนี้ ๆ"; และว า "สั ญ ญา คื อ อย างนี้ ๆ, เหตุ ให เกิ ด สั ญ ญา คื อย างนี้ ๆ, ความไม ตั้ งอยู ได แห งสั ญ ญา คื อ อย างนี้ ๆ"; และว า "สั งขาร ทั้งหลาย คืออยางนี้ๆ, เหตุใหเกิดสังขารทั้งหลาย คืออยางนี้ๆ, ความไมตั้งอยูไดแหง

www.buddhadasa.info

สูตรที่ ๓ ทสพลวรรค นิทานสังยุตต นิทาน.สํ. ๑๖/๓๕/๖๘, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๖๑๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐

สั งขารทั้ งหลาย คื ออย างนี้ ๆ"; และว า "วิ ญ ญาณ คื ออย างนี้ ๆ, เหตุ ให เกิ ดวิ ญ ญาณ คื ออย างนี้ ๆ, ความไม ตั้ งอยู ได แห งวิ ญญาณ คื ออย างนี้ ๆ"; ดั งนี้ . ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ความสิ้นไปแหงอาสวะทั้งหลายยอมมีแกบุคคลผูรูอยู เห็นอยูอยางนี้ ๆ แล. (๑) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! เมื่ อ ความสิ้ น ไปแห ง อาสวะทั้ ง หลาย มี อ ยู , ญาณในความสิ้ นไปแห งอาสวะนั้ นย อมมี . ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เรากล าวญาณแม นั้ น วาเปนญาณมีที่เขาไปตั้งอาศัย, หาใชไมมีที่เขาไปตั้งอาศัยไม. (๒) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ก็ อ ะไรเล า เป น ที่ เข า ไปตั้ ง อาศั ย ของญาณใน ความสิ้ นไป? คํ าตอบพึ งมี ว า "วิ มุ ตติ คื อธรรมเป นที่ เข าไปตั้ งอาศั ยของญาณในความ สิ้ น ไป". ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! เรากล า วว า แม วิ มุ ต ติ ก็ เป น ธรรมมี ที่ เข า ไปตั้ ง อาศั ย , หาใชเปนธรรมไมมีที่เขาไปตั้งอาศัยไม. (๓) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ก็ อ ะไรเล า เป น ที่ เ ข า ไปอาศั ย ของวิ มุ ต ติ ? คํ าตอบ พึ งมี ว า "วิ ราคะ คื อธรรมเป นที่ เข าไปตั้ งอาศั ยของวิ มุ ตติ ". ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เรากล าวว า แม วิ ราคะ ก็ เป นธรรมมี ที่ เข าไปตั้ งอาศั ย , หาใช เป นธรรมไม มี ที่ เข าไปตั้ ง อาศัยไม.

www.buddhadasa.info (๔) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ก็ อ ะไรเล า เป น ที่ เข า ไปอาศั ย ของวิ ร าคะ? คํ าตอบ พึ งมี ว า "นิ พพิ ทา คื อธรรมเป นที่ เข าไปตั้ งอาศั ยของวิ ราคะ". ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เรากล า วว า แม นิ พ พิ ท า ก็ เป น ธรรมมี ที่ เข า ไปตั้ ง อาศั ย , หาใช เป น ธรรมไม มี ที่ เข าไป ตั้งอาศัยไม.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๖๑๗

(๕) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ อะไรเล า เป นที่ เข าไปตั้ งอาศั ยของนิ พพิ ทา? คําตอบ พิงมีวา "ยถาภู ตญาณทั สสทะ คือธรรมเปนที่เขาไปตั้งอาศัยของนิพพิ ทา". ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เรากล าวว า แม ยถาภู ตทั สสนะ ก็ เป นธรรมมี ที่ เข าไปตั้ งอาศั ย, หาใชเปนธรรมไมมีที่เขาไปตั้งอาศัยไม. (๖) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ อะไรเล า เป นที่ เข าไปตั้ งอาศั ยของยถาตภู ตญาณทัสสนะ? คําตอบ พึงมีวา "สมาธิ คือธรรมเปนที่เขาไปตั้งอาศัยของยถาภูตญาณทัสสนะ". ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เรากล าวว าแม สมาธิ ก็ เป นธรรมมี ที่ เข าไปตั้ งอาศั ย, หาใช เป น ธรรมไมมีที่เขาไปตั้งอาศัยไม. (๗) ดู ก อ นภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ อะไรเล า เป น ที่ เข าไปตั้ งอาศั ยของสมาธิ ? คําตอบ พึ งมี วา "สุ ข คื อธรรมเป นที่ เขาไปตั้ งอาศั ยของสมาธิ". ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เรากลาววาแมสุข ก็เปนธรรมมีที่เขาไปตั้งอาศัย, หาใชเปนธรรมไมมีที่เขาไปตั้งอาศัยไม. (๘) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ก็ อ ะไรเล า เป น ที่ เข า ไปตั้ ง อาศั ย ของสุ ข ? คําตอบ พึงมีวา "ปสสัทธิ คือธรรมเปนที่เขาไปตั้งอาศัยของสุข". ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เรากล าวว า แม ป สสั ทธิ ก็ เป นธรรมมี ที่ เข าไปตั้ งอาศั ย, หาใช เป นธรรมไม มี ที่ เข าไปตั้ ง อาศัยไม.

www.buddhadasa.info (๙) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ อะไรเล า เป นที่ เข าไปตั้ งอาศั ยของป สสั ทธิ ? คําตอบ พึ งมีวา "ป ติ คือธรรมเปนที่ เขาไปตั้งอาศั ยของปสสัทธิ". ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย! เรากล าวว า แม ป ติ ก็ เป น ธรรมมี ที่ เข าไปตั้ งอาศั ย , หาใช เป น ธรรมไม มี ที่ เข าไปตั้ ง อาศัยไม.

www.buddhadasa.info


๖๑๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐

(๑๐) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ก็ อ ะไรเล า เป น ที่ เข า ไปตั้ ง อาศั ย ของป ติ ? คํ า ตอบ พึง มีว า "ปราโมทย คือ ธรรมเปน ที ่เ ขา ไปตั ้ง อาศัย ของปต ิ".ดูก อ นภิก ษุ ทั้ งหลาย! เรากล า วว า แม ป ราโมทย ก็ เป น ธรรมมี ที่ เข า ไปตั้ ง อาศั ย , หาใช เป น ธรรม ไมมีที่เขาไปตั้งอาศัยไม. (๑๑) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ อะไรเล า เป นที่ เข าไปตั้ งอาศั ยของปราโมทย ? คํ า ตอบ พึ ง มี ว า "สั ท ธา คื อ ธรรมเป น ที่ เข า ไปตั้ ง อาศั ย ของปราโมทย ".ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! เรากล าวว า แม สั ท ธา ก็ เป นธรรมมี ที่ เข าไปตั้ งอาศั ย, หาใช เป นธรรมไม มี ที่ เขาไปตั้งอาศัยไม. (๑๒) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ก็ อ ะไรเล า เป น ที่ เข า ไปตั้ ง อาศั ย ของสั ท ธา? คํ าตอบ พึ งมี ว า "ทุ กข คื อธรรมเป นที่ เข าไปตั้ งอาศั ยของสั ทธา". ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เรากล า วว า แม ทุ ก ข ก็ เป น ธรรมมี ที่ เข า ไปตั้ ง อาศั ย , หาใช เป น ธรรมไม มี ที่ เข า ไปตั้ ง อาศัยไม.

www.buddhadasa.info (๑๓) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ก็ อ ะไรเล า เป น ที่ เข า ไปตั้ ง อาศั ย ของทุ ก ข ? คํ าตอบ พึ งมี ว า "ชาติ คื อธรรมเป นที่ เข าไปตั้ งอาศั ยของทุ กข ". ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เรากล า วว า แม ช าติ ก็ เป น ธรรมมี ที่ เข า ไปตั้ ง อาศั ย , หาใช เป น ธรรมไม มี ที่ เข า ไปตั้ ง อาศัยไม. (๑๔) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ก็ อ ะไรเล า เป น ที่ เข า ไปตั้ ง อาศั ย ของชาติ ? คํ าตอบ พึ งมี ว า "ภพ คื อ ธรรมเป น ที่ เข าไปตั้ งอาศั ย ของชาติ ". ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! เรากลาววา แมภพ ก็เปนธรรมมีที่เขาไปตั้งอาศัย, หาใชเปนธรรมไมมีที่เขาไปตั้งอาศัยไม.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๖๑๙

(๑๕) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ก็ อ ะไรเล า เป น ที่ เข า ไปตั้ ง อาศั ย ของภพ? คําตอบ พึงมีวา "อุปาทาน คือธรรมเปนที่เขาไปตั้งอาศัยของภพ". ดูกอนภิ กษุทั้งหลาย! เรากลาววา แมอุปาทาน ก็ เปนธรรมมีที่เขาไปตั้งอาศัย, หาใชเปนธรรมไมมีที่เขาไปตั้ง อาศัยไม. (๑๖) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ อะไรเล า เป นที่ เข าไปตั้ งอาศั ยของอุ ปาทาน? คํ าตอบ พึ งมี ว า "ตั ณ หา คื อธรรมเป นที่ เข าไปตั้ งอาศั ยของอุ ปาทาน". ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เรากล าววา แม ตั ณ หา ก็ เป นธรรมมี ที่ เข าไปตั้ งอาศั ย, หาใช เป นธรรมไม มีที่เขาไปตั้งอาศัยไม. (๑๗) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ อะไรเล า เป นที่ เข าไปตั้ งอาศั ยของตั ณ หา? คําตอบ พึงมีวา "เวทนา คือธรรมเปนที่เขาไปตั้งอาศัยของตัณหา". ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เรากล าวว า แม เวทนา ก็ เป นธรรมมี ที่ เข าไปตั้ งอาศั ย, หาใช เป นธรรมไม มี ที่ เข าไปตั้ ง อาศัยไม.

www.buddhadasa.info (๑๘) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ อะไรเล า เป นที่ เข าไปตั้ งอาศั ยของเวทนา? คําตอบ พึ งมี วา "ผั สสะ คื อธรรมเป นที่เขาไปตั้ งอาศัยของเวทนา". ดูกอนภิกษุ ทั้ งหลาย! เรากล าววา แม ผั สสะ ก็ เป นธรรมมี ที่ เขาไปตั้ งอาศั ย, หาใช เป นธรรมไม มี ที่ เขาไปตั้ ง อาศัยไม. (๑๙) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ อะไรเล า เป นที่ เข าไปตั้ งอาศั ยของผั สสะ? คําตอบ พึ งมี วา "สฬายตนะ คื อธรรมเป นที่ เข าไปตั้ งอาศัยของผั สสะ". ดู กอนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เรากล าวว า แม สฬายตนะ ก็ เป นธรรมมี ที่ เข าไปตั้ งอาศั ย, หาใช เป นธรรม ไมมีที่เขาไปตั้งอาศัยไม.

www.buddhadasa.info


๖๒๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐

(๒๐) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ อะไรเล า เป นที่ เข าไปตั้ งอาศั ยของสฬายตนะ? คํ าตอบ พึ งมี ว า "นามรู ป คื อ ธรรมเป น ที่ เข าไปตั้ งอาศั ยของสฬายตนะ". ดู ก อ นภิ กษุ ทั้ งหลาย! เรากล าวว า แม นามรู ป ก็ เป นธรรมมี ที่ เข าไปตั้ งอาศั ย, หาใช เป นธรรมไม มี ที่ เขาไปตั้งอาศัยไม. (๒๑) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ก็ อะไรเล า เป น ที่ เข าไปตั้ งอาศั ย ของนามรู ป ? คํ า ตอบ พึ งมี ว า "วิ ญ ญาณ คื อ ธรรมเป น ที่ เข า ไปตั้ ง อาศั ย ของนามรู ป ". ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! เรากล าวว า แม วิ ญญาณ ก็ เป นธรรมมี ที่ เข าไปตั้ งอาศั ย, หาใช เป นธรรมไม มี ที่ เขาไปตั้งอาศัยไม. (๒๒) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ อะไรเล า เป นที่ เข าไปตั้ งอาศั ยของวิ ญ ญาณ? คํ าตอบ พึ งมี ว า "สั งขาร ทั้ งหลาย คื อธรรมเป นที่ เข าไปตั้ งอาศั ยของวิ ญ ญาณ". ดู ก อน ภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! เรากล าวว า แม สั งขารทั้ งหลาย ก็ เป นธรรมมี ที่ เข าไปตั้ งอาศั ย, หาใช เปนธรรมไมมีที่เขาไปตั้งอาศัยไม.

www.buddhadasa.info (๒๓) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ก็ อ ะไรเล า เป น ที่ เข าไปตั้ งอาศั ย ของสั งขาร? ทั้ งหลาย คํ าตอบ พึ งมี ว า "อวิ ชชา คื อธรรมเป นที่ เข าไปตั้ งอาศั ยของสั งขารทั้ งหลาย". [เมื่อนับความสิ้นอาสวะเขาดวย ก็เปน ๒๔ พอดี ] ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ด วยเหตุ ดั งกล าวมานี้ แล สั งขารทั้ งหลาย ชื่ อว ามี อวิชชาเปนที่เขาไปตั้งอาศัย;

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๖๒๑

วิญญาณ ชื่อวามี สังขาร เปนที่เขาไปตั้งอาศัย; นามรูป ชื่อวามี วิญญาณ เปนที่เขาไปตั้งอาศัย; สฬายตนะ ชื่อวามี นามรูป เปนที่เขาไปตั้งอาศัย; ผัสสะ ชื่อวามี สฬายตนะ เปนที่เขาไปตั้งอาศัย; เวทนา ชื่อวามี ผัสสะ เปนที่เขาไปตั้งอาศัย; ตัณหา ชื่อวามี เวทนา เปนที่เขาไปตั้งอาศัย; อุปาทาน ชื่อวามี ตัณหา เปนที่เขาไปตั้งอาศัย; ภพ ชื่อวามี อุปาทาน เปนที่เขาไปตั้งอาศัย; ชาติ ชื่อวามี ภพ เปนที่เขาไปตั้งอาศัย; ทุกข ชื่อวามี ชาติ เปนที่เขาไปตั้งอาศัย; สัทธา ชื่อวามี ทุกข เปนที่เขาไปตั้งอาศัย; ปราโมทย ชื่อวามี สัทธา เปนที่เขาไปตั้งอาศัย; ปติ ชื่อวามี ปราโมทย เปนที่เขาไปตั้งอาศัย; ปสสทธิ ชื่อวามี ปติ เปนที่เขาไปตั้งอาศัย; สุข ชื่อวามี ปสสัทธิ เปนที่เขาไปตั้งอาศัย; สมาธิ ชื่อวามี สุข เปนที่เขาไปตั้งอาศัย; ยถาภูตญาณทัสสนะ ชื่อวามี สมาธิ เปนที่เขาไปตั้งอาศัย; นิพพิทา ชื่อวามี ยถาภูตญาณทัสสนะ เปนที่เขาไปตั้งอาศัย; วิราคะ ชื่อวามี นิพพิทา เปนที่เขาไปตั้งอาศัย; วิมุตติ ชื่อวามี วิราคะ เปนที่เขาไปตั้งอาศัย; ญาณในความสิ้นไป ชื่อวา วิมุตติ เปนที่เขาไปตั้งอาศัย.

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เปรียบเหมื อนเมื่ อฝนหนั ก ๆ ตกลงบนภู เขา, น้ํ าฝน นั้นไหลไปตามที่ลุม ยอมทําซอกเขา ซอกผา และลําหวยทั้งหลายใหเต็ม; ครั้นซอกเขา

www.buddhadasa.info


๖๒๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐

ซอกผา และลํ าห วยทั้ งหลาย เต็ มแล ว ย อมทํ าบึ งน อยทั้ งหลายให เต็ ม; บึ งน อยทั้ งหลาย เต็ มแล ว ย อมทํ าบึ งใหญ ทั้ งหลายให เต็ ม; บึ งใหญ ทั้ งหลายเต็ มแล ว ย อมทํ าแม น้ํ าน อย ทั้ ง หลายให เต็ ม ; แม น้ํ า น อ ยทั้ ง หลายเต็ ม แล ว ย อ มทํ า แม น้ํ า ใหญ ทั้ ง หลายให เต็ ม ; แมน้ําใหญทั้งหลายเต็มแลว ยอมทํามหาสมุทรใหเต็ม, นี้ฉันใด; ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ข อนี้ ก็ ฉั นเดี ยวกั นนั้ นแล คื อ สั งขารทั้ งหลาย ชื่ อว า มี อวิ ชชาเป นที่ เข าไปตั้ งอาศั ย; วิ ญ ญาณ ชื่ อว ามี สั งขารเป นที่ เข าไปตั้ งอาศั ย; นามรู ป ชื่ อว ามี วิ ญ ญาณเป นที่ เข าไปตั้ งอาศั ย; สฬายตนะ ชื่ อว ามี นามรู ปเป นที่ เข าไปตั้ งอาศั ย; ผั สสะ ชื่ อว ามี สฬายตนะเป นที่ เข าไปตั้ งอาศั ย; เวทนา ชื่ อว ามี ผั สสะเป นที่ เข าไปตั้ งอาศั ย; ตั ณ หา ชื่ อ ว า มี ส ฬายตนะเป น ที่ เข า ไปตั้ ง อาศั ย ; อุ ป าทาน ชื่ อ ว า มี ตั ณ หาเข า ไปตั้ ง อาศั ย ; ภพ ชื่ อ ว า มี อุ ป าทานเป น ที่ เข า ไปตั้ ง อาศั ย ; ชาติ ชื่ อ ว า มี ภ พเป น ที่ เข า ไปตั้ ง อาศั ย; ทุ กข ชื่ อว ามี ชาติ เป นที่ เข าไปตั้ งอาศั ย; สั ทธา ชื่ อว ามี ทุ กข เป นที่ เข าไปตั้ งอาศั ย; ปราโมทย ชื่ อว ามี สั ทธาเป นที่ เข าไปตั้ งอาศั ย; ป ติ ชื่ อว ามี ปราโมทย เป นที่ เข าไปตั้ งอาศั ย; ป ส สั ท ธิ ชื่ อ ว า มี ป ติ เป น ที่ เข า ไปตั้ ง อาศั ย ; สุ ข ชื่ อ ว า มี ป ส สั ท ธิ เป น ที่ เข า ไปตั้ ง อาศั ย ; สมาธิ ชื่ อว ามี สุ ขเป นที่ เข าไปตั้ งอาศั ย; ยถาภู ตญาณทั สสนะ ชื่ อว ามี สมาธิ เป นที่ เข าไป ตั้ งอาศั ย; นิ พพิ ทา ชื่ อว ามี ยถาภู ตญาณสั ททนะเป นที่ เข าไปตั้ งอาศั ย; วิ ราคะ ชื่ อว ามี นิ พ พิ ท าเป น ที่ เข า ไปตั้ งอาศั ย ; วิ มุ ต ติ ชื่ อ ว า มี วิ ราคะเป น ที่ เข า ไปตั้ ง อาศั ย ; ญาณใน ความสิ้นไป ชื่อวามีวิมุตติเปนที่เขาไปตั้งอาศัย, ดังนี้ แล.

www.buddhadasa.info ปฏิจจสมุปบาท แหง อาหารของอวิชชา๑ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ที่สุดในเบื้องตนของอวิชชา ยอมไมปรากฏ; กอน แตนี้ อวิชชามิไดมี; แตวา อวิชชาเพิ่งมีตอภายหลัง. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย!

อวิชชาสูตรที่ ๑ ยมกวรรค ทสก.อํ. ๒๔/๑๒๐/๖๑, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๖๒๓

คํ ากล าวอย างนี้ แหละ เป นคํ าที่ ใครๆ๑ ควรกล าว และควรกล าวด วยวา "อวิ ชชาย อม ปรากฏเพราะมีสิ่งนี้สิ่งนี้เปนปจจัย" ดังนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เรากล าววา ถึ งแม อวิ ชชานั้ น ก็ เป นธรรมชาติ มี อาหาร หาใชเป นธรรมชาติ ที่ ไม มี อาหารไม . ก็ อะไรเล า เป นอาหารของอวิชชา? คํ าตอบพึ งมี วา "นิวรณทั้งหลาย ๕ ประการเปนอาหารของอวิชชา" ดังนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เรากล าววา ถึ งแม นิ วรณ ทั้ งหลาย ๕ ประการ ก็ เป น ธรรมชาติ มี อ าหารหาใช เป น ธรรมชาติ ที่ ไม มี อ าหารไม . ก็ อ ะไรเล า เป น อาหารของ นิวรณทั้งหลาย ๕ ประการ? คําตอบพึงมีวา "ทุจริตทั้งหลาย ๓ ประการ" ดังนี้ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เรากล าวว า ถึ งแม ทุ จริ ตทั้ งหลาย ๓ ประการ ก็ เป น ธรรมชาติ มีอาหาร หาใชเป นธรรมชาติที่ ไม มี อาหารไม. ก็อะไรเลา เป นอาหารของทุจริต ทั้งหลาย ๓ ประการ? คําตอบพึงมีวา "การไมสํารวมอินทรีย" ดังนี้.

www.buddhadasa.info ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! เรากล า วว า ถึ ง แม ก ารไม สํ า รวมอิ น ทรี ย ก็ เป น ธรรมชาติ อาหาร หาใช เป นธรรมชาติ ที่ ไม มี อาหาไม . ก็ อะไรเล า เป นอาหารของการ ไมสํารวมอินทรีย? คําตอบพึงมีวา "ความเปนผูไมมีสติสัมปชัญญะ" ดังนี้.

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เรากลาววา ถึงแมความเปนผูไมมีสติสัมปชัญญะ ก็เปน ธรรมชาติ มี อ าหาร หาใช เป น ธรรมชาติ ที่ ไม มี อ าหารไม . ก็ อะไรเล า เป น อาหารของ ความเปนผูไมมีสติสัมปชัญญะ? คําตอบพึงมีวา "อโยนิโสมนสิการ" ดังนี้.

คํ าวา วุจฺ จติ คํ านี้ เคยแปลกั นแต วา อั นตถาคตย อมกลาว กันจนเป นธรรมเนี ยมไปเสี ย ในที่ นี้ พิ จารณา ดู แล ว เห็ นได วาควรจะแปลวาใคร ๆ ทุ กคนที่ เป นผู รู รวมทั้ งพระองค เองด วยควรจะกล าว หาใช เป น การผูกขาดเฉพาะไวแตพระองคผูเดียวไม.

www.buddhadasa.info


๖๒๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เรากล าวว า ถึ งแม อโยนิ โสมนสิ การ ก็ เป นธรรมชาติ มี อ าหาร หาใช เป น ธรรมชาติ ที่ ไม มี อาหารไม . ก็ อะไรเล า เป น อาหารของอโยนิ โสมนสิ การ? คําตอบพึงมีวา "ความไมมีสัทธา" ดังนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เรากล าวว า ถึ งแม ความไม มี สั ท ธา ก็ เป นธรรมชาติ มี อ าหาร หาใช เป น ธรรมชาติ ที่ ไม มี อ าหารไม . ก็ อ ะไรเล า เป น อาหารของความไม มี สัทธา? คําตอบพึงมีวา "การไมไดฟงพระสัทธรรม" ดังนี้. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! เรากล า ว า ถึ งแม ก ารไม ได ฟ งพระสั ท ธรรม ก็ เป น ธรรมชาติ มี อาหาร หาใช เป นธรรมชาติ ที่ ไม มี อาหารไม . ก็ อะไรเล า เป นอาหารของการ ไมไดฟงพระสัทธรรม? คําตอบพึงมีวา "การไมคบสัตบุรุษ" ดังนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ด วยอาการอย างนี้ แล ที่ เมื่ อการไม คบสั ตบุ รุ ษเป น ไปบริบูรณแลว ยอมทําการไมไดฟงพระสัทธรรมใหบริบูรณ;

www.buddhadasa.info การไม ได ฟ งพระสั ท ธรรมบริ บู ร ณ แ ล ว ย อ มทํ า ความไม มี สั ท ธาให

บริบูรณ;

ความไมมีสัทธาบริบูรณแลว ยอมทําอโยนิโสมนสิการใหบริบูรณ;

อโยนิโสมนสิการบริบูรณ แลว ยอมทําความเปนผูไมมีสติสัมปชัญญะ ใหบริบูรณ; ความเป น ผู ไม มี ส ติ สั ม ปชั ญ ญะบริ บู รณ แ ล ว ย อ มทํ าการไม สํ ารวม อินทรียใหบริบูรณ;

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๖๒๕

การไมสํารวมอินทรียบริบูรณแลว ยอมทําทุจริตทั้งหลาย ๓ ประการ ใหบริบูรณ ทุ จริตทั้ งหลาย ๓ ประการบริบู รณ แล ว ย อมทํ านิ วรณ ทั้ งหลาย ๕ ประการใหบริบูรณ; นิวรณทั้งหลาย ๕ ประการบริบูรณแลว ยอมทําอวิชชาใหบริบูรณ. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! อาหารแห งอวิ ชชานี้ ย อมมี ได ด วยอาการอย างนี้ และ บริบูรณแลวดวยอาการอยางนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เปรี ยบเหมื อนเมื่ อฝนหนั ก ๆ ตกลงบนภู เขา, น้ํ าฝน นั้ น ไหลไปตามที่ ลุ ม ย อ มทํ า ซอกเขา ซอกผา และลํ า ห ว ยทั้ ง หลายให เต็ ม ; ครั้ น ซอกเขา ซอกผา และลํ าห วยทั้ งหลาย เต็ มแล ว ย อมทํ าบึ งน อยทั้ งหลายให เต็ ม; บึ งน อย ทั้ งหลายเต็ มแล ว ย อมทํ าบึ งใหญ ทั้ งหลายให เต็ ม; บึ งใหญ ทั้ งหลายเต็ มแล ว ย อมทํ า แม น้ํ าน อยทั้ งหลายให เต็ ม; แม น้ํ าน อยทั้ งหลายเต็ มแล ว ย อมทํ าแม น้ํ าใหญ ทั้ งหลาย ให เต็ ม ; แม น้ํ า ใหญ ทั้ งหลายเต็ ม แล ว ย อ มทํ า มหาสมุ ท รสาครให เต็ ม . ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! อาหารแห งมหาสมุ ทรสาครนั้ น ย อมมี ได ด วยอาการอย างนี้ และเต็ มแล วด วย อาการอยางนี้, นี้ฉันใด;

www.buddhadasa.info ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ข อ นี้ ก็ ฉั น นั้ น กล าวคื อ การไม ค บสั ต บุ รุ ษ เป น ไป บริ บู รณ แล ว ย อ มทํ าการไม ได ฟ งพระสั ท ธรรมให บ ริ บู รณ ; การไม ได ฟ งพระสั ทธรรม บริบูรณแลว ยอมทําความไมมีสัทธาใหบริบูรณ; ความไมมีสัทธาบริบูรณแลว ยอมทํา

www.buddhadasa.info


๖๒๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐

อโยนิ โสมนสิ ก ารให บ ริ บู รณ ; อโยนิ โสมนสิ ก ารบริ บู รณ แ ล ว ย อ มทํ า ความเป น ผู ไม มี สติ สั มปชั ญ ญะให บริ บู รณ ; ความเป นผู ไม มี สติ สั มปชั ญ ญะบริบู รณ แล ว ย อมทํ าการไม สํ ารวมอิ น ทรี ย ให บ ริ บู รณ ; การไม สํ ารวมอิ น ทรี ย บ ริ บู รณ แล ว ย อ มทํ าทุ จ ริ ต ทั้ งหลาย ๓ ประการให บริ บู รณ ; ทุ จริ ตทั้ งหลาย ๓ ประการบริ บู รณ แล ว ย อมทํ านิ วรณ ทั้ งหลาย ๕ ประการให บ ริ บู ร ณ ; นิ ว รณ ทั้ ง หลาย ๕ ประการบริ บู ร ณ แ ล ว ย อ มทํ า อวิ ช ชาให บริ บู รณ . ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! อาหารแห งอวิ ชชานี้ ย อมมี ได ด วยอาการอย างนี้ และ บริบูรณดวยอาการอยางนี้. ห มายเห ตุ ผู รวบ รวม : ผู ศึ ก ษ าพึ งสั ง เกตให เ ห็ นว า ข อ ความทั้ งหมดนี้ ก็ มี ลั ก ษณะแห ง อิ ทั ป ป จ จยตา คื อ เป น อาการแห ง กระแสปฏิ จ จสมุ ป บาทของอวิ ช ชาโดยตรง เกิ ด แก อ วิ ช ชา ก อ นหน า แต อ วิ ช ชาจะทํ า หน า ที่ ป รุ ง แต ง ปฏิ จ จสมุ ป บาทสายที่ เป น ใหญ เป น ประธาน ของการเกิดแกงกองทุกข.

ปฏิจจสมุปบาท แหงอาหารของภวตัณหา๑ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ที่ สุ ด ในเบื้ อ งต น ของภวตั ณ หา ย อ มไม ป รากฏ; กอนแตนี้ภวตัณหามิไดมี;แตวา ภวตัณหาเพิ่มมีตอภายหลัง. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! คํ ากล าวอย างนี้ แหละเป น คํ าที่ ใครๆ ควรกล าวและควรกล าวด วยว า "ภวตั ณ หาย อ ม ปรากฏ เพราะมีสิ่งนี้สิ่งนี้เปนปจจัย" ดังนี้.

www.buddhadasa.info ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! เรากล า วว า ถึ ง แม ภ วตั ณ หานั้ น ก็ เป น ธรรมชาติ มี อ าหาร หาใช เป น ธรรมชาติ ที่ ไม มี อ าหารไม . ก็ อ ะไรเล า เป น อาหารของภวตั ณ หา? คําตอบพึงมีวา "อวิชชา เปนอาหารของภวตัณหา" ดังนี้.

สูตรที่ ๒ ยมกวรรค ทสก.อํ. ๒๔/๑๒๔/๖๒, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๖๒๗

ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! เรากล า วว า ถึ งแม อ วิ ช ชา ก็ เป น ธรรมชาติ มี อ าหาร หาใช เป น ธรรมชาติ ที่ ไม มี อ าหารไม . ก็ อ ะไรเล า เป น อาหารของอวิ ช ชา? คํ า ตอบพึ ง มีวา "นิวรณทั้งหลาย ๕ ประการ เปนอาหารของอวิชชา" ดังนี้. ดู ก อ นภิ กษุ ทั้ งหลาย! เรากล าวว า ถึ งแม นิ วรณ ทั้ งหลาย ๕ ประการ ก็ เป น ธรรมชาติ มี อ าหาร หาใช เป น ธรรมชาติ ที่ ไ ม มี อ าหารไม . ก็ อ ะไรเล า เป น อาหารของ นิวรณทั้งหลาย ๕ ประการ? คําตอบพึงมีวา "ทุจริตทั้งหลาย ๓ ประการ ดังนี้. (คํ า ต อ ไปนี้ เหมื อ นกั บ ข อ ความในหั ว ข อ ว า "ปฏิ จ จสมุ ป บาทแห ง อาหารของอวิ ช ชา" คื อหั วข อที่ แล วมา ตั้ งแต คํ าว า "ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เรากล าวว า ถึ งแม ทุ จริ ตทั้ งหลาย ๓ ประการ ก็ เป น ธรรมชาติ มี อ าหาร"...ไปจนกระทั่ ง ถึ ง คํ า ว า ..."การไม สํ า รวมอิ น ทรี ย บ ริ บู ร ณ แ ล ว ย อ มทํ า ทุ จ ริ ต ทั้ ง หลาย ๓ ประการใหบริบูรณ;" เปนขอความ ๒๙ บรรทัด ผูศึกษาพึงเติมเอาเองใหเต็ม)

ทุจริตทั้งหลาย ๓ ประการบริบูรณแลว ยอมทํานิวรณทั้งหลาย ๕ ประการ ใหบริบูรณ;

www.buddhadasa.info นิวรณทั้งหลาย ๕ ประการบริบูรณแลว ยอมทําอวิชชาใหบริบูรณ; อวิชชาบริบูรณแลว ยอมทําภวตัณหาใหบริบูรณ.

ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! อาหารแห งภวตั ณ หานี้ ย อ มมี ได ด วยอาการอย างนี้ และบริบูรณแลวดวยอาการอยางนี้. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! เปรี ย บเหมื อ นเมื่ อ ฝนหนั ก ๆ ตกลงบนภู เขา, น้ํ าฝน นั้นไหลไปตามที่ลุม ยอมทําซอกเขา ซอกผา และลําหวย ทั้งหลาย ใหเต็ม;

www.buddhadasa.info


ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐

๖๒๘

ครั้นซอกเขา ซอกผา และลํ าห วย ทั้ งหลาย เต็ มแล ว (ข อความต อไปนี้ เหมื อนกั บขอความ ที่ เป นอุ ปมาในหั วข อวา "ปฏิ จจฯ แห งอาหารของอวิ ชชา" จนกระทั่ งถึ งคํ าว า...."ทุ จริตทั้ งหลาย ๓ ประการ บริบู รณ แล ว ย อมทํ านิ วรณ ทั้ งหลาย ๕ ประการให บริบู รณ ;") นิ วรณ ทั้ งหลาย ๕ ประการบริ บู รณ

แล ว ย อมทํ าอวิ ชชาให บ ริบู รณ ; อวิ ชชาบริบู รณ แล ว ย อมทํ าภวตั ณ หาให บ ริบู รณ . ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! อาหารแห งภวตั ณหานี้ ย อมมี ได ด วยอาการอย างนี้ และบริบู รณ แลวดวยอาการอยางนี้.

ปฏิจจสมุปบาท แหง อาหารของวิชชาและวิมุตติ๑ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เรากลาววา แมวิชชาและวิมุ ตติ ก็เปนธรรมชาติ มี อ าหาร หาใช เป นธรรมชาติ ที่ ไม มี อาหารไม . ก็ อะไรเล า เป น อาหารของวิ ชชาและ วิมุตติ? คําตอบพึงมีวา "โพชฌงคทั้งหลาย ๗ ประการ" ดังนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เรากล าวว า ถึ งแม โพชฌงค ทั้ งหลาย ๗ ประการ ก็ เป นธรรมชาติ มี อาหาร หาใช เป นธรรมชาติ ที่ ไม มี อาหารไม . ก็ อะไรเล า เป นอาหาร ของโพชฌงค ทั้ ง ๗ ประการ? คํ าตอบพึ งมี วา "สติ ป ฏฐานทั้ งหลาย ๔ ประการ" ดังนี้.

www.buddhadasa.info ดูกอนภิ กษุ ทั้งหลาย! เรากลาววา ถึงแม สติ ป ฏฐานทั้ งหลาย ๔ ประการ ก็เป น ธรรมชาติ มี อ าหาร หาใช เป น ธรรมชาติ ที่ ไม มี อ าหารไม . ก็ อะไรเล า เป น อาหารของ สติปฏฐานทั้งหลาย ๔ ประการ? คําตอบพึงมีวา "สุจริตทั้งหลาย ๓ ประการ" ดังนี้.

สูตรที่ ๑-๒ ยมกวรรค ทสก.อํ. ๒๔/๑๒๒,๑๒๖/๖๑,๖๒.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๖๒๙

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เรากล าวว า ถึ งแม สุ จริตทั้ งหลาย ๓ ประการ ก็ เป น ธรรมชาติ มี อ าหารหาใช เป น ธรรมชาติ ที่ ไม มี อ าหารไม . ก็ อ ะไรเล า เป น อาหารของ สุจริตทั้งหลาย ๓ ประการ? คําตอบพึงมีวา "การสํารวมอินทรีย" ดังนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เรากล าววา ถึ งแม การสํ ารวมอินทรีย ก็ เป นธรรมชาติ มี อาหาร หาใช เป น ธรรมชาติ ที่ ไม มี อ าหาไม . ก็ อ ะไรเล า เป น อาหารของการสํ ารวม อินทรีย? คําตอบพึงมีวา "ความเปนผูสีสติสัมปชัญญะ" ดังนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เรากลาววา ถึ งแม ความเป นผู มี สติ สั มปชัญญะ ก็ เป น ธรรมชาติ มี อ าหาร หาใช เป น ธรรมชาติ ที่ ไม มี อ าหาไม . ก็ อ ะไรเล า เป น อาหารของ ความเปนผูมีสติสัมปชัญญะ? คําตอบพึงมีวา "โยนิโสมนสิการ" ดังนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เรากล าวว า ถึ งแม โยนิ โสมนสิ การ ก็ เป นธรรมชาติ มี อาหาร หาใช เป นธรรมชาติ ที่ ไม มี อาหารไม . ก็ อะไรเล า เป นอาหารของโยนิ โสมนสิ การ? คําตอบพึงมีวา "สัทธา" ดังนี้.

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เรากล าวว า ถึ งแม สั ทธา ก็ เป นธรรมชาติ มี อาหาร หาใช เป นธรรมชาติ ที่ ไม มี อาหารไม . ก็ อะไรเล า เป นอาหารของสั ทธา? คํ าตอบพึ งมี ว า "การไดฟงพระสัทธรรม" ดังนี้.

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ถึ งแม การได ฟ งพระสั ทธรรม ก็ เป นธรรมชาติ มี อาหาร หาใช เป นธรรมชาติ ที่ ไม มี อาหารไม . ก็ อะไรเล า เป นอาหารของการได ฟ งพระสั ทธรรม? คําตอบพึงมีวา "การคบสัปบุรุษ" ดังนี้.

www.buddhadasa.info


๖๓๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ด วยอาการอย างนี้ แล ที่ เมื่ อการคบสั ปบุ รุ ษเป นไป บริ บู ร ณ แ ล ว ย อ มทํ า การได ฟ ง พระสั ท ธรรมให บ ริ บู ร ณ ; การได ฟ ง พระสั ท ธรรม บริบู รณ แล ว ย อมทํ าสั ทธาให บริบู รณ ; สั ทธาบริบู รณ แล ว ย อมทํ าโยนิ โสมนสิ การให บริบู รณ ; โยนิ โสมนสิการบริบู รณ แลว ย อมทํ าความเป นผู มี สติ สัมปชัญญะให บริบู รณ ; ความเปนผูมีสติสัมปชัญญะบริบูรณ แลว ยอมทําการสํารวมอินทรียใหบริบูรณ; การสํารวม อิ นทรี ย บริ บู รณ แล ว ย อมทํ าสุ จริ ตทั้ งหลาย ๓ ประการให บริ บู รณ ; สุ จริ ตทั้ งหลาย ๓ ประการบริบู รณ แล ว ย อมทํ าสติ ป ฏฐานทั้ งหลาย ๔ ประการให บริบู รณ ; สติ ป ฏฐาน ทั้ งหลาย ๔ ประการบริ บู รณ แล ว ย อมทํ าโพชฌงค ทั้ งหลาย ๗ ประการให บริ บู รณ ; โพชฌงค ทั้ ง หลาย ๗ ประการบริ บู ร ณ แ ล ว ย อ มทํ า วิ ช ชาและวิ มุ ต ติ ใ ห บ ริ บู ร ณ . ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! อาหารแหงวิชชาและวิมุตตินี้ ยอมมีไดดวยอาการอยางนี้ และ บริบูรณแลวดวยอาการอยางนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เปรียบเหมื อนเมื่ อฝนหนั ก ๆ ตกลงบนภู เขา, น้ํ าฝนนั้ น ไหลไปตามที่ ลุ ม ย อมทํ าซอกเขา ซอกผา และลํ าห วยทั้ งหลายให เต็ ม; ครั้นซอกเขา ซอกผา และลํ าห วยทั้ งหลาย เต็ มแล ว ย อมทํ าบึ งน อยทั้ งหลายให เต็ ม; บึ งน อยทั้ งหลาย เต็ มแล ว ย อมทํ าบึ งใหญ ทั้งหลายให เต็ ม; บึ งใหญ ทั้ งหลายเต็ มแล ว ย อมทํ าแม น้ําน อย ทั้งหลายให เต็ ม; แม น้ํ าน อยทั้ งหลายเต็ มแลว ยอมทํ าแม น้ําใหญ ทั้ งหลายให เต็ม; แม น้ํ า ใหญ ทั้ งหลายเต็ มแล ว ย อมทํ ามหาสมุ ทรสาครให เต็ ม. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! อาหาร แห งมหาสมุ ทรสาครนั้ น ย อมมี ได ด วยอาการอย างนี้ และเต็ มแล วด วยอาการอย างนี้ , นี้ฉันใด;

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ข อนี้ ก็ ฉั นนั้ น กล าวคื อ การคบสั ปบุ รุษบริบู รณ แล ว ยอมทําการไดฟงพระสัทธรรมใหบริบูรณ; การไดฟงพระสัทธรรมบริบูรณแลว ยอมทํา

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๖๓๑

สั ทธาให บริบู รณ ; สั ทธาบริบู รณ แล ว ย อมทํ าโยนิ โสมนสิ การให บริบู รณ ; โยนิ โสมนสิ การ บริบู รณ แลว ยอมทําความเป นผูมี สติสัมปชัญญะให บริบู รณ ; ความเป นผูมี สติสัมปชัญญะ บริ บู รณ แล ว ย อ มทํ าการสํ ารวมอิ น ทรี ย ให บ ริ บู รณ ; การสํ ารวมอิ น ทรี ย บ ริ บู รณ แล ว ย อมทํ าสุ จริตทั้ งหลาย ๓ ประการให บริ บู รณ ; สุ จริ ตทั้ งหลาย ๓ ประการบริบู รณ แล ว ย อมทํ าสติ ป ฏฐานทั้ งหลาย ๔ ประการให บ ริ บู รณ ; สติ ป ฏฐานทั้ งหลาย ๔ ประการ บริ บู รณ แ ล ว ย อ มทํ า โพชฌงค ทั้ งหลาย ๗ ประการให บ ริ บู รณ ; โพชฌงค ทั้ งหลาย ๗ ประการบริ บู รณ แ ล ว ย อ มทํ า วิ ช ชาและวิ มุ ต ติ ให บ ริ บู รณ . ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! อาหารแห งวิ ชชาและวิ มุ ตตนี้ ย อมมี ได ด วยอาการอย างนี้ และบริ บู รณ แล วด วยอาการ อยางนี้, ดังนี้ แล.

ปฏิจจสมุปบาทแหงวิชชาและวิมุตติ (โดยสังเขป)๑ กุ ณ ฑลิ ยปริ พพาชก ได ทู ลพระผู มี พระภาคเจ าว า "ข าแต พระโคดมผู เจริ ญ ! ข าพเจ าเป นผู ชอบเที่ ยวไปตามหมู บริษั ทในอารามต างๆ. ข าแต พระโคดมผู เจริญ ! เมื่ อข าพเจ าเสร็ จภั ตตกิ จในเวลาเช า แล ว หลั งจากเวลาแห งภั ตแล ว กิ จเป นประจํ าวั นของข าพเจ า คื อ เที่ ยวไปจากอารามนั้ นสู อารามนี้ จาก อุทยานนั้นสูอุทยานนี้. ในที่ นั้น ขาพเจาได เห็ นสมณพราหมณ พวกหนึ่งๆ เป นผูมีการเปลื้ องวาทะแกกันและกั น วาอย างนี้ ๆ เป นเครื่องสนุ กสนานชอบใจ (อานิ สงส ) ก็ มี , มี การติ เตี ยนกั นเมื่ อกล าวกถานั้ น ๆ อยู เป นเครื่อง

www.buddhadasa.info สนุกสนานชอบใจก็มี ก็พระสมณะโคดมเลา เปนผูอยูดวยการมีอะไรเปนเครื่องสนุกสนาน

ชอบใจ?"

ดูกอนกุณฑลิยะ! ตถาคตอยูดวยการมีผลแหงวิชชาและวิมุตติ เปนเครื่อง สนุกสนานชอบใจ.

ปพพตวรรค มหาวาร.สํ. ๑๙/๑๐๕/๓๙๔, ตรัสแกกุณฑลิยปริพพาชก ที่มิคทายอัญชนวัน.

www.buddhadasa.info


๖๓๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐

"ข าแต พระโคดมผู เจริ ญ ! ก็ ธรรมเหล าไหนเล า ที่ บุ คคลเจริ ญ แล ว กระทํ าให มากแลว ยอมทําวิชชาและวิมุตติใหบริบูรณ?" ดูกอนกุณฑลิยะ! โพชฌงค ๗ ประการ แล.... "ข าแต พระโคดมผู เจริ ญ ! ก็ ธรรมเหล าไหนเล า ที่ บุ คคลเจริ ญ แล ว กระทํ าให มากแลว ยอมทําโพชฌงค ๗ ประการใหบริบูรณ?" ดูกอนกุณฑลิยะ! สติปฏฐาน ๔ ประการ แล.... "ข าแต พระโคดมผู เจริ ญ ! ก็ ธรรมเหล าไหนเล า ที่ บุ คคลเจริ ญ แล ว กระทํ าให มากแลว ยอมทําสติปฏฐาน ๔ ประการใหบริบูรณ?" ดูกอนกุณฑลิยะ! สุจริต ๓ ประการ แล....

www.buddhadasa.info "ข าแต พระโคดมผู เจริ ญ ! ก็ ธรรมเหล าไหนเล า ที่ บุ คคลเจริ ญ แล ว กระทํ าให มากแลว ยอมทําสุจริต ๓ ประการใหบริบูรณ?"

ดู ก อนกุ ณ ฑลิ ยะ! อิ นทรี ย สั งวรแล ที่ บุ คคลเจริ ญ แล ว กระทํ าให มากแล ว ยอมทําสุจริต ๓ ประการใหบริบูรณ.

ดู ก อ นกุ ณ ฑลิ ย ะ! อิ น ทรี ย สั ง วร ที่ บุ ค คลเจริ ญ แล ว กระทํ า ให ม ากแล ว อย างไรเล าจึ งจะทํ าสุ จ ริ ต ๓ ประการให บ ริ บู รณ ? ดู ก อ นกุ ณ ฑลยะ! ภิ ก ษุ ในกรณี นี้ เห็นรูปที่นาพอใจดวยจักษุแลวยอมไมเพงเล็งดวยความโลภ, ไมหวังจะเอามาทะนุถนอม,

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๖๓๓

ไม ทํ าราคะให เกิ ด ขึ้ น ; กายของเธอก็ ค งที่ จิ ต ก็ ค งที่ ตั้ งมั่ น ดี แ ล ว หลุ ด พ น ดี แ ล วใน ภายใน. อนึ่ง เธอเห็นรูปที่ไมนาพอใจดวยจักษุแลว ยอมเปนผูไมเงอะงะ, ไมมีจิต ตั้ งอยู ด วยโทสะ, มี ใจอั นความโกรธไม ครอบงําแล ว, มี จิ ตไม มาดรายแล ว; กายของเธอ ก็ ค งที่ จิ ต ก็ ค งที่ ตั้ ง มั่ น ดี แ ล ว หลุ ด พ น ดี แ ล ว ในภายใน. (ในกรณี แห ง เสี ย ง กลิ่ น รส โผฏฐัพพะ ธัมมารมณ ก็ตรัสไวมีนัยเดียวกัน).

ดู ก อนกุ ณฑลิ ยะ! เพราะเหตุ ที่ ภิ กษุ เห็ นรูปด วยจั กษุ แล ว เป นผู คงที่ มี จิ ต อันกิเลสไม ครอบงําแลว ไม มี จิตถึงความผิดปรกติแลว ในรูปทั้ งหลายทั้ งที่น าพอใจและ ไม น า พอใจ; กายของเธอจึ ง คงที่ จิ ต ของเธอจึ ง คงที่ เป น จิ ต ตั้ ง มั่ น ดี แ ล ว หลุ ด พ น ดีแลวในภายใน. (ในกรณีแหงเสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธัมมารมณ ก็ตรัสไวมีนัยเดียวกัน). ดู ก อนกุ ณ ฑลิ ยะ! อิ นทรี ยสั งวร อั นบุ คคลเจริ ญ แล ว กระทํ าให มากแล ว อยางนี้แล จึงจะทําสุจริต ๓ ประการใหบริบูรณ. ดูกอนกุณฑลิยะ! สุจริต ๓ ประการ อันบุคคลเจริญแลว กระทําใหมากแลว อย างไรเล า จึ งจะทํ าสติ ป ฏฐาน ๔ ประการให บริบู รณ ? ดู ก อนกุ ณ ฑลิ ยะ! ภิ กษุ ใน กรณีนี้ (๑) ยอมเจริญกายสุจริตเพื่อละกายทุจริต, (๒) ยอมเจริญวจีสุจริตเพื่อละ วจีทุจริต (๓) ยอมเจริญ มโนสุจริตเพื่อละมโนทุจริต . ดูกอนกุณ ฑลิยะ! สุจริต ๓ ประการ อั นบุ คคลเจริ ญ แล ว กระทํ าให มากแล ว อย างนี้ แล จึ งจะทํ าสติ ป ฏฐาน ๔ ประการใหบริบูรณ

www.buddhadasa.info ดูกอนกุณฑลิยะ! สติป ฏฐาน ๔ ประการ อันบุคคลเจริญแลว กระทําให มากแล วอย างไรเล าจึ งจะทํ าโพชฌงค ๗ ประการให บริบู รณ ? ดู ก อนกุ ณฑลิ ยะ! ภิ กษุ ในกรณีนี้ (๑) ยอมเปนผูพิจารณาเห็นกายในกายอยูเปนประจํา มีความเพียรเผา

www.buddhadasa.info


๖๓๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐

กิ เลส มี สั มปชั ญญะ มี สติ พึ งกํ าจั ดอภิ ชฌาและโทมนั สในโลกออกเสี ยได , (๒) ย อมเป น ผู พ ิจ ารณาเห็น เวทนาในเวทนาทั ้ง หลายอยู เ ปน ประจํ า ...ฯลฯ..., (๓)ยอ มเปน ผู พิ จ ารณาเห็ น จิ ต ในจิ ต อยู เป น ประจํ า ...ฯลฯ..., (๔) ย อ มเป น ผู พิ จ ารณาเห็ น ธรรมในธรรมทั้ งหลายอยูเป นประจํา มี ความเพี ยรเผากิเลส มี สัมปชัญญะ มีสติ พึ ง กํ าจั ดอภิ ชฌาและโทมนั สในโลกออกเสี ยได . ดู ก อนกุ ณ ฑลิ ยะ! สติ ป ฏฐาน ๔ ประการ อั น บุ ค คลเจริ ญ แล ว กระทํ าให ม ากแล ว อย างนี้ แล จึ งจะทํ าโพชฌงค ๗ ประการให บริบูรณ ดู ก อนกุ ณ ฑลิ ยะ! โพชฌงค ๗ ประการ อั นบุ คคลเจริ ญ แล ว กระทํ าให มากแล ว อย า งไรเล า จึ ง จะทํ า วิ ช ชาและวิ มุ ต ติ ให บ ริ บู ร ณ ? ดู ก อ นกุ ณ ทลิ ย ะ! ภิ ก ษุ ในกรณี นี้ (๑) ย อมเจริ ญ สติ สั ม โพชฌงค อั นอาศั ยวิ เวก อาศั ยวิ ราคะ อาศั ยนิ โรธะ น อ มไปเพื่ อ ความปล อ ยวาง, (๒) ย อ มเจริ ญ ธั ม มวิ จ ยสั ม โพชฌงค ...ฯลฯ..., (๓) ย อ มเจริ ญ วิ ริ ย สั ม โพชฌงค ...ฯลฯ..., (๔) ย อ มเจริ ญ ป ติ สั ม โพชฌงค ...ฯลฯ..., (๕) ยอ มเจริญ ป ส สั ท ธิ สั ม โพชฌงค ...ฯลฯ..., (๖) ย อ มเจริญ สมาธิ สั ม โพชฌงค ...ฯลฯ...,(๗) ย อ มเจริ ญ อุ เบกขาสั ม โพชฌงค อั น อาศั ย วิ เวก อาศั ย วิ ราคะ อาศั ย นิ โรธะ น อมไปเพื่ อความปล อยวาง. ดู ก อนกุ ณ ฑลิ ยะ! โพชฌงค ๗ ประการ อั นบุ คคล เจริญแลว กระทําไปมากแลว อยางนี้แล จึงจะทําวิชชาและวิมุตติใหบริบูรณ.

www.buddhadasa.info เมื่ อพระผู มี พระภาคเจ าตรั สดั งนี้ แล ว กุ ณ ฑลิ ยปริ พ พาชกยกย องชมเชยในพระธรรมเทศนา แลวแสดงตนเปนอุบาสก รับนับถือพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ เปนสรณะ จนตลอดชีวิต. หมายเหตุ ผู รวบรวม : ผู ศึ ก ษาพึ งสั ง เกตให เห็ น ว า ปฏิ จจสมุ ป บาทสายนี้ เป น การแสดงโดยสั ง เขปเพี ย งไม กี่ อ าการ มี ลํ า ดั บ คื อ อิ น ทรี ย สั ง วร สุ จ ริ ต ๓ สติ ป ฏ ฐาน ๔ โพชฌงค ๗ และวิ ช ชาวิ มุ ต ติ ถึ ง กระนั้ น ก็ พึ ง ทราบว า อาจจะขยายออกให มี ม ากครบทุ ก ประการ ดังที่ไดแสดงไวแลวในหัวขอเรื่องที่แลวมา.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๖๓๕

ปฏิจจสมุปบาท แหง ปฏิสรณาการ๑ อุ ณณาภพราหมณ ทู ลถามวา "ข าแต พระโคดมผู เจริ ญ! อิ นทรี ย ๕ อย างเหล านี้

มีวิสัยตางกันมีโคจรตางกัน ไมเสวยโคจรและวิสัยของกันและกัน. หาอยางคือจักขุนทรีย โสตินทรีย ฆานินทรีย ชิวหินทรีย กายินทรีย. ขาแตพระโคดมผูเจริญ! อะไรเปนปฏิสรณะ(ที่ แลนไปสู) ของอินทรียเหลานั้น? อะไรยอมเสวยซึ่งโคจรและวิสัย ของอินทรียเหลานั้น?" ดู ก อนพราหมณ ! ...ใจ เป นปฏิ สรณะของอิ นทรีย เหล านั้ น; ใจ ย อม เสวยซึ่งโคจรและวิสัยของอินทรียเหลานั้น. "ขาแตพระโคดมผูเจริญ! อะไรเปนปฏิสรณะของใจ?" ดูกอนพราหมณ! สติแล เปนปฏิสรณะของใจ. "ขาแตพระโคดมผูเจริญ! อะไรเปนปฏิสรณะของสติ?" ดูกอนพราหมณ! วิมุตติแล เปนปฏิสรณะของสติ. "ขาแตพระโคดมผูเจริญ! อะไรเปนปฏิสรณะของวิมุตติ?" ดูกอนพราหมณ! นิพพานแล เปนปฏิสรณะของวิมุตติ.

www.buddhadasa.info "ขาแตพระโคดมผูเจริญ! อะไรเปนปฏิสรณะของนิพพาน?" ดู ก อนพราหมณ ! แล นเตลิ ดเลยไปเสี ยแล ว, ไม อาจถื อเอาที่ สุ ดแห งป ญหา เสียแลว; เพราะวาพรหมจรรย นั้น เขาอยูประพฤติกัน มีนิพพานเปนที่ห ยั่งลง มีนิพพานเปนเบื้องหนา มีนิพพานเปนที่สุด..

สูตรที่ ๒ ชราวรรค มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๘๘/๙๖๘-๙๗๑.

www.buddhadasa.info


๖๓๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐ ห ม ายเห ตุ ผู รวบ รวม : ผู ศึ กษ าพึ งสั งเกตให เห็ นว า สิ่ งที่ ควรสั งเกตใน สู ต รนี้ คื อ คํ าว าปฏิ สรณะ ซึ่ งตามธรรมดาเราแปลกั น ว า ที่ พึ่ งอาศั ย เช น คํ าว า กมฺ ม ปฏิ ส รโณ ซึ่ ง แปลว า มี ก รรมเป น ที่ พึ ง อาศั ย ส วนในกรณี นี้ หมายถึ ง ที่ เป น ที่ แ ล น ไปสู ของมโนเป น ต น , ขอให ถื อ เอาความตามที่ มี อ ยู ใ นวงเล็ บ นั้ น . อี ก อย า งหนึ่ ง ข อ ความในสู ต รนี้ กล า วได ว า ได เ ป น ที่ แ สดงให เ ห็ น หลั ก ธรรมที่ แ ปลกเป น พิ เ ศษ อี ก แนวหนึ่ ง ซึ่ ง ไม ค อ ยจะได ผ า นการ ได ยิ น ได ฟ ง กั น นั ก กล า วคื อ อิ น ทรี ย แ ล น ไปสู ใ จ, ใจแล น ไปสู ส ติ , สติ แ ล น ไปสู วิ มุ ต ติ , วิมุตติแลนไปสูนิพพาน, ซึ่งถาเขาใจกันดีแลว จะมีประโยชนเปนอันมาก.

ปฏิจจสมุปบาท แหง สัจจานุโพธ และผลถัดไป๑ กาปทิ กมาณพผู ภารทวาชโคตร ได ทู ลถามพระผู มี พระภาคเจ าว า "...พระโคดมผู เจริ ญ !

สั จจานุ โพธ (การรูตามซึ่ งสั จจธรรม) ย อมมี ได ด วยเหตุ เพี ยงเท าไร? บุ คคลย อมรูตามซึ่ ง สั จ จธรรมได ด วยเหตุ เพี ยงเท าไร? พวกเราถามซึ่ งการรู ต ามซึ่ งสั จ จธรรมกะพระโคดม ผูเจริญแลวละ" ดังนี้. พระผูมีพระภาคเจาไดตรัสตอบแกมาณพนั้น ดวยขอความตอไปขางลางนี้วา :ดู ก อนภารทวาชะ! ได ยิ นว า ภิ กษุ ในธรรมวิ นั ยนี้ ได เข าไปอาศั ยอยู ในบ าน หรื อ ในนิ ค มแห ง ใดแห ง หนึ่ ง . คหบดี ห รื อ คหบดี บุ ต ร ได เ ข า ไปใกล ภิ ก ษุ นั้ น แล ว ใคร ครวญดู อยู ในใจเกี่ ยวกั บ ธรรม ๓ ประการ คื อธรรมเป น ที่ ตั้ งแห งโลภะ ธรรมเป น ที่ ตั้ งแห งโทสะ ธรรมเป น ที่ ตั้ งแห งโมหะ ทั้ งหลาย (โดยนั ย เป น ต น ว า) "ท านผู มี อ ายุ ผู นี้ จะมี ธรรมอั นเป นที่ ตั้ งแห งโลภะหรื อไม หนอ อั นเป นธรรมที่ เมื่ อครอบงํ าจิ ตของท านแล ว จะทํ าให ท านเป นบุ คคลที่ เมื่ อไม รู ก็ กล าวว ารู เมื่ อไม เห็ นก็ กล าวว าเห็ น หรือว าจะชั กชวน ผูอื่นในธรรมอันเปนไปเพื่อความทุกข ไมเปนประโยชนเกื้อกูล แกสัตวทั้งหลายเหลาอื่น

www.buddhadasa.info

สู ต รที่ ๕ พราหมณวรรค ม.ม. ๑๓/๖๐๒/๖๕๗, ตรั ส แก ก าปทิ ก มาณพ ที่ พ ราหมณคามชื่ อ โอปาสาทะ ในหมูชนชาวโกศล.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๖๓๗

ตลอดกาลนาน" ดั งนี้ ; เมื่ อเขาใคร ครวญดู อ ยู ในใจซึ่ งภิ กษุ นั้ น ก็ รู ว า "ธรรมเป นที่ ตั้ ง แห งโลภะชนิ ดนั้ นมิ ได มี แก ท านผู มี อายุ นี้ , อนึ่ ง กายสมาจาร วี สมาจาร ของท านผู มี อายุ ผู นี้ ก็ เป นไปในลั กษณะแห งสมาจารของบุ คคลผู ไม โลภแล ว, อนึ่ ง ท านผู มี อายุ นี้ แสดงซึ่ งธรรมใด ธรรมนั้ น เป น ธรรมที่ ลึ ก เห็ น ได ยาก รูต ามได ยาก เป น ธรรมที่ รํ างั บ ประณี ต ไม เป นวิ สั ยที่ จะหยั่ งลงง ายแห งความตรึ ก เป นธรรมละเอี ยดอ อน รู ได เฉพาะ บั ณ ฑิ ต วิ สั ย , ธรรมนั้ น มิ ใ ช ธ รรมที่ ค นผู มี ค วามโลภ จะแสดงให ถู ก ต อ งได"ดั ง นี้ . เมื่ อเขาใครครวญดู อยู ซึ่ งภิ กษุ นั้ น ย อมเล็ งเห็ นวา เป นผู บริสุ ทธิ์ จากธรรมอั นเป นที่ ตั้ งแห ง โลภะ. ต อแต นั้ น เขาจะพิ จารณาใคร ครวญภิ กษุ นั้ นให ยิ่ งขึ้ นไป ในธรรมทั้ งหลายอั นเป นที่ ตั้ ง แห ง โทสะ... ในธรรมทั้ ง หลายอั น เป น ที่ ตั้ ง แห ง โมหะ ... (ก็ ได เห็ น ประจั ก ษ ในลั ก ษณะ อย างเดี ยวกั น กั บ ในกรณี แห งโลภะ ตรงเป น อั น เดี ยวกั น ทุ กตั วอั กษร ไปจนถึ งคํ าว า "เมื่ อเขาใครครวญ ดูอยูซึ่งภิกษุนี้ ยอมเล็งเห็นวา เปนผูบริสุทธิ์จากธรรมเปนที่ตั้งแหงโมหะ"). ลําดับนั้น เขา (๑)ปลูกฝง

ศรั ท ธาลงไปในภิ ก ษุ นั้ น ครั้ น มี สั ท ธาเกิ ด แล ว (๒) ย อ มเข า ไปหา ครั้ น เข า ไปหา แล ว (๓) ย อมเข าไปนั่ งใกล ครั้นเข าไปนั่ งใกล แล ว(๔) ย อมเงี่ยโสตลง ครั้นเงี่ยโสต ลง(๕) ย อมฟ งซึ่ งธรรม ครั้งฟ งซึ่ งธรรมแล ว (๖) ย อมทรงไว ซึ่ งธรรม (๗) ย อมใคร ครวญซึ่ งเนื้ อความแห งธรรมทั้งหลาย อันตนทรงไวแลว เมื่อใครครวญซึ่งเนื้ อความ แหงธรรมอยู (๘) ธรรมทั้ งหลายยอมทนต อความเพ งพิ นิ จ, เมื่อการทนตอการเพิ่ ง พิ นิ จของธรรมมี อยู (๙) ฉั นทะย อมเกิ ดขึ้ น ผู มี ฉั นทะเกิ ดขึ้ นแล ว (๑๐) ย อมมี อุ สสาหะ ครั้นมีอุสสาหะแลว (๑๑) ยอมพิ จารณาหาความสมดุ ลยแหงธรรม ครั้นมีความสมดุลย แห ง ธรรมแล ว (๑๒) ธรรมเป น เครื่ อ งตั้ ง มั่ น ย อ มตั้ ง มั่ น ; เขาผู มี ต นส ง ไปแล ว อยางนี้อยู ยอมกระทําใหแจงซึ่งปรมัตถสัจจะ ดวย(นาม)กายดวย, ยอมแทงตลอด ซึ่งธรรมนั้ นแลวเห็ นอยูด วยป ญ ญาดวย. ดูกอนภารทวาชะ! ดวยเหตุ เพี ยงเทานี้แล สั จจานุ โพธ(การรูตามซึ่ งสั จจธรรม) ย อมมี ได , บุ คคลย อมรูตามซึ่ งสั จจธรรมได ด วย เหตุ เพี ยงเท านี้ , พวกเราบั ญญั ติ ซึ่งสั จจานุ โพธ ดวยเหตุเพี ยงเทานี้ ; แตวา สั จจานุ ป ตติ (การบรรลุซึ่งสัจจธรรม) ยังมิไดมี ดังนี้.

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๖๓๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐

"ข าแต พระโคดมผู เจริ ญ! ถ าสั จจานุ โพธ มี ได ด วยเหตุ เพี ยงเท านี้ , บุ คคลย อม รู ตามซึ่ งสั จจธรรมได ด วยเหตุ เพี ยงเท านี้ , และพวกเราก็ หวั งได ซึ่ งสั จจธรรม ด วยเหตุ เพี ยงเท านี้ ดั งนี้ แล ว ข าแต พระโคดมผู เจริญ! สั จจานุ ป ตติ (การบรรลุ ซึ่ งสั จจธรรม) จะมี ได ด วยเหตุ เพี ยงเท าไรเล า?บุ คคลจะบรรลุ ซึ่ งสั จจธรรมได ด วยเหตุ เพี ยงเท าไรเล า? และ พวกเราถามซึ่งสัจจานุปตติ กะพระโคดมผูเจริญแลวละ" ดูก อนภารทวาชะ! การเสพคบ การทํ าให เจริญ การกระทํ าให มาก ซึ่ ง ธรรมทั้ งหลายเหล านั้ น แหละ เป น ตั ว สั จ จานุ ป ต ติ ; ดู ก อ นภารทวาชะ! สั จ จานุ ป ตติ ย อมมี ได ด วยเหตุ เพี ยงเท านั้ นแหละ, บุ คคลย อมบรรลุ ซึ่ งสั จจธรรม ด วยเหตุ เพี ยง เทานี้แหละ, และพวกเราก็บัญญัติซึ่งสัจจานุปตติ ดวยเหตุเพียงเทานี้แหละ. (๑)"ข า แต พ ระโคดมผู เจริ ญ !...(ถ า เป น ดั ง นี้ แ ล ว )ธรรมชื่ อ อะไรเล า เป น ธรรมมี อุ ปการะมากแก สั จจานุ ป ตติ ? พวกเราถามซึ่ งธรรมมี อุ ปการะมากแก สั จจานุ ป ตติ กะพระโคดมผูเจริญแลวละ".

www.buddhadasa.info ดู ก อ นภารทวาชะ! ธรรมเครื่ อ งตั้ ง มั่ น (ปธาน) เป น ธรรมมี อุ ป การะ มากแก สั จจานุ ป ตติ : ถ าบุ คคลไม ตั้ งไว ซึ่ งธรรมเป นเครื่ องตั้ งมั่ น (ปธาน) แล วไซร เขา ก็ ไม พึ งบรรลุ ซึ่ งสั จจธรรม. เพราะเหตุ ที่ เขาตั้ งไว ซึ่ งธรรมเป นเครื่ องตั้ งมั่ น เขาจึ งบรรลุ ซึ่ ง สั จ จธรรม; เพราะเหตุ นั้ น ธรรมเป น เครื่ อ งตั้ งมั่ น จึ งชื่ อ ว า เป น ธรรมมี อุ ป การะมากแก สัจจานุปตติ. (๒) "ข าแต พระโคดมผู เจริ ญ ! ก็ ธรรมชื่ ออะไรเล า เป นธรรมมี อุ ปการะมากแก ธรรมเป น เครื่ อ งตั้ งมั่ น ? พวกเราถามซึ่ งธรรมมี อุ ป การะมากแก ธ รรมเป น เครื่ อ งตั้ งมั่ น กะพระโคดมผูเจริญแลวละ".

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๖๓๙

ดูกอนภารทวาชะ! การพิ จารณาหาความสมดุ ลย แห งธรรม (ตุลนา) เป น ธรรมมีอุปการะมากแกธรรมเปนเครื่องตั้งมั่น : ถาบุคคลไมพึงพบซึ่งความสมดุลยแหง ธรรมนั้ น แล ว ไซร ธรรมเป น เครื่ อ งตั้ งมั่ น ก็ ไม พึ ง ตั้ งมั่ น . เพราะเหตุ ที่ เขาพบซึ่ ง ความ สมดุล ยแ หง ธรรม ธรรมเปน เครื ่อ งตั ้ง มั ่น จึง ตั ้ง ; เพราะเหตุนั ้น การพิจ ารณ า หาความสมดุลยแหงธรรม จึงเปนธรรมมีอุปการะมากแกธรรมเปนเครื่องตั้งมั่น. (๓) "ข าแต พระโคดมผู เจริ ญ ! ก็ ธรรมชื่ อไรเล า เป นธรรมมี อุ ปการะมากแก การพิ จารณาหาความสมดุ ลย แห งธรรม? พวกเราถามซึ่ งธรรมมี อุ ปการะมากแก การพิ จารณา หาความสมดุลยแหงธรรมกะพระโคดมผูเจริญแลวละ". ดูกอนภารทวาชะ! อุสสาหะ เปน ธรรมมีอุปการะมากแกการพิจารณาหา ความสมดุลยแหงธรรม : ถาบุคคลไมพึงมีอุสสาหะแลวไซร ก็ไมพึงพบซึ่งความสมดุลย แห งธรรม. เพราะเหตุ ที่ เขามี อุ สสาหะ เขาจึ งพบความสมดุ ลย แห งธรรม; เพราะเหตุ นั้ น อุสสาหะ จึงเปนธรรมมีอุปการะมากแกการพิจารณาหาความสมดุลยแหงธรรม.

www.buddhadasa.info (๔) "ข าแต พ ระโคดมผู เจริ ญ ! ก็ ธรรมชื่ อ ไรเล า เป น ธรรมมี อุ ป การะมาก แก อุ ส สาหะ? พวกเราถามซึ่ ง ธรรมมี อุ ป การะแก อุ ส สาหะ กะพระโคดมผู เ จริ ญ แลวละ".

ดูกอนภารทวาชะ! ฉันทะ เปน ธรรมมีอุปการะมากแกอุสสาหะ : ถาบุคคล ไม พึ งยั งฉั นทะให เกิ ดแล วไซร ก็ ไม พึ งมี อุ สสาหะ. เพราะเหตุ ที่ ฉั นทะเกิ ดขึ้ น เขาจึ งมี อุสสาหะ; เพราะเหตุนั้น ฉันทะจึงเปนธรรมมีอุปการะมากแกอุสสาหะ.

www.buddhadasa.info


๖๔๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐

(๕) "ข า แต พ ระโคดมผู เจริ ญ ! ก็ ธ รรมชื่ อ ไรเล า เป น ธรรมมี อุ ป การะมาก แกฉันทะ? พวกเราถามซึ่งธรรมมีอุปการะมากแกฉันทะ กะพระโคดมผูเจริญแลวละ". ดูก อนภารทวาชะ! ความที่ ธรรมทั้ งหลายทนได ต อการเพ งพิ นิ จ (ธมฺ มนิ ชฺ ฌานกฺ ขนฺ ติ ) เป นธรรมมี อุ ปการะมากแก ฉั นทะ : ถ าธรรมทั้ งหลายไม พึ งทนต อการ เพ งพิ นิ จแล วไซร ฉั นทะก็ ไม พึ งเกิ ด. เพราะเหตุ ที่ ธรรมทั้ งหลายทนต อการเพ งพิ นิ จ ฉั นทะ จึ งเกิ ด; เพราะเหตุ นั้ น ความที่ ธรรมทั้ งหลายทนต อการเพ งพิ นิ จ จึ งเป นธรรมมี อุ ปการะ มากแกฉันทะ. (๖) "ข าแต พระโคดมผู เจริ ญ ! ก็ ธรรมชื่ ออะไรเล า เป นธรรมมี อุ ปการะมาก แก ความที่ ธรรมทั้ งหลายทนต อการเพ งพิ นิ จ? พวกเราถามซึ่ งธรรมมี อุ ปการะมากแก ความ ที่ธรรมทั้งหลายทนตอการเพงพินิจ กะพระโคดมผูเจริญแลวละ". ดู ก อนภารทวาชะ! ความเข าไปใคร ครวญซึ่ งอรรถะ (อตฺ ถุ ปปริ กฺ ขา) เป น ธรรมมีอุปการะมากแกความที่ธรรมทั้งหลายทนตอการเพงพินิจ : ถาบุคคลไมเขาไป ใคร ครวญซึ่ งอรรถะแล วไซร ธรรมทั้ งหลายก็ ไม พึ งทนต อการเพ งพิ นิ จ. เพราะเหตุ ที่ บุ คคล เข าไปใคร ครวญซึ่ งอรรถะ ธรรมทั้ งหลายจึ งทนต อการเพ งพิ นิ จ; เพราะเหตุ นั้ นการเข าไป ใครครวญซึ่งอรรถะ จึงเปนธรรมมีอุปการะมากแกความที่ธรรม ท. ทนตอการเพงพินิจ.

www.buddhadasa.info (๗) "ข า แต พ ระโคดมผู เจริ ญ ! ก็ ธ รรมชื่ อ ไรเล า เป น ธรรมมี อุ ป การะมาก แก ความเข าไปใคร ครวญซึ่ งอรรถะ? พวกเราถามซึ่ งธรรมมี อุ ปการะมากแก ความเข าไป ใครครวญซึ่งอรรถะ กะพระ- โคดมผูเจริญแลวละ".

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๖๔๑

ดูกอนภารทวาชะ! การทรงไวซึ่งธรรม (ธมฺมธารณา) เปนธรรมมีอุ ปการะ มากแกความเขาไปใครครวญซึ่งอรรถะ. ถาบุคคลไมทรงไวซึ่งธรรมะแลวไซร เขา ก็ ไม อาจเข าไปใครครวญซึ่ งอรรถะ เพราะเหตุ ที่ เขาทรงธรรมไว ได เขาจึ งเข าไปใครครวญ ซึ่ งอรรถะได . เพราะเหตุ นั้ น การทรงไว ซึ่ งธรรม จึ งเป น ธรรมมี อุ ป การะมากแก ความ เขาไปใครครวญซึ่งอรรถะ. (๘) "ข าแต พ ระโคดมผู เจริ ญ ! ก็ ธรรมชื่ อ ไรเล า เป น ธรรมมี อุ ป การะมาก แก ก ารทรงไว ซึ่ ง ธรรม? พวกเราถามซึ่ ง ธรรมมี อุ ป การะมากแก ก ารทรงไว ซึ่ ง ธรรม กะพระโคดมผูเจริญแลวละ". ดูกอนภารทวาชะ! การฟ งซึ่งธรรม (ธมฺ มสฺสวน) เปนธรรมมี อุ ปการะมาก แก การทรงไวซึ่ งธรรม. ถาบุ คคลไม พึ งฟ งซึ่ งธรรมแล วไซร เขาก็ ไม พึ งทรงธรรมไวได เพราะเหตุ ที่ เขาฟ งธรรมซึ่ งธรรม เขาจึ งทรงธรรมไว ได . เพราะเหตุ นั้ น การฟ งซึ่ งธรรม จึงเปนธรรมมีอุปการะมากแกการทรงไวซึ่งธรรม.

www.buddhadasa.info (๙) "ข าแต พ ระโคดมผู เจริ ญ ! ก็ ธรรมชื่ อ ไรเล า เป นธรรมมี อุ ป การะมาก แก การฟ งซึ่ ง ธรรม? พวกเราถามซึ่ งธรรมมี อุ ปการะมากแก การฟ งซึ่ งธรรม กะพระโคดม ผูเจริญแลวละ".

ดูกอนภารทวาชะ! การเงี่ยลงซึ่ งโสตะ (โสตาวธาน) เป นธรรมมี อุ ปการะ มากแกการฟ งซึ่งธรรม. ถาบุ คคลไม เงี่ยลงซึ่งโสตะแลวไซร เขาก็ไมพึ งฟ งซึ่งธรรมได เพราะเหตุ ที่ เขาเงี่ ยลงซึ่ งโสตะ เขาจึ งฟ งซึ่ งธรรมได . เพราะเหตุ นั้ น การเงี่ ยลงซึ่ งโสตะ จึงเปนธรรมมีอุปการะมากแกการฟงซึ่งธรรม.

www.buddhadasa.info


๖๔๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐

(๑๐) "ข าแต พระโคดมผู เจริ ญ ! ก็ ธรรมชื่ ออะไรเล า เป นธรรมมี อุ ปการะมาก แก ก ารเงี่ ย ลงซึ่ ง โสตะ? พวกเราถามซึ่ ง ธรรมมี อุ ป การะมากแก ก ารเงี่ ย ลงซึ่ ง โสตะ กะพระโคดมผูเจริญแลวละ". ดู ก อนภารทวาชะ! การเข าไปนั่ งใกล (ปยิ รุปาสนา) เป นธรรมมี อุ ปการะ มากแก การเงี่ยลงซึ่ งโสตะ. ถ าบุ คคลไม พึ งเข าไปนั่ งใกล แล วไซร เขาก็ ไม พึ งเงี่ยลงซึ่ ง โสตะ เพราะเหตุ ที่ เขาเข าไปนั่ งใกล เขาจึ งเงี่ ยลงซึ่ งโสตะได เพราะเหตุ นั้ น การเข าไป นั่งใกล จึงเปนธรรมมีอุปการะมากกวาการเงี่ยลงซึ่งโสตะ. (๑๑) "ข าแต พ ระโคดมผู เจริ ญ ! ก็ ธรรมชื่ อ ไรเล า เป น ธรรมมี อุ ป การะมาก แก การเข าไปนั่ งใกล ? พวกเราถามซึ่ งธรรมมี อุ ปการะมากแก การเข าไปนั่ งใกล กะพระโคดม ผูเจริญแลวละ". ดู ก อนภารทวาชะ! การเข าไปหา (อุ ปสงฺกมน) เป นธรรมมี อุ ปการะมาก แก ก ารเข า ไปนั่ ง ใกล . ถ า บุ ค คลไม เข า ไปหาแล ว ไซร เขาก็ ไม พึ ง เข า ไปนั่ ง ใกล ไ ด เพราะเหตุ ที่ เขาเข าไปหา เขาจึ งเข าไปนั่ งใกล ได . เพราะเหตุ นั้ น การเข าไปหาจึ งเป น ธรรมมีอุปการะมากแกการเขาไปนั่งใกล.

www.buddhadasa.info (๑๒) “ข าแต พระโคดมผู เจริ ญ! ก็ ธรรมชื่ อไรเล า เป นธรรมมี อุ ปการะมากแก การ เขาไปหา.? พวกเราถามซึ่งธรรมมีอุปการะมากแกการเขาไปหา กะพระโคดมผูเจริญแลวละ” .

ดู ก อนภารทวาชะ! สั ทธา เป น ธรรมมี อุ ปการะมากแก การเข าไปหา. ถ า สั ทธาไม พึ งเกิ ดแล วไซร เข าก็ จะไม เข าไปหา เพราะเหตุ ที่ สั ทธาเกิ ดขึ้ น เข าจึ งเข าไปหา เพราะเหตุนั้น สัทธาจึงเปนธรรมมีอุปการระมากแกการเขาไปหา.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๖๔๓

"ข าแต พระโคดมผู เจริ ญ! ข าพเจ าได ทู ลถามพระสมณโคดมด วยเรื่ องสั จจานุ รักขณา ...ด วยเรื่องสั จจานุ โพธ ...ด วยเรื่องสั จจานุ ป ตติ ...และเรื่องใด ๆ ดั งที่ กล าว แล วนั้ นก็ ตาม พระโคดมผู เจริญได พยากรณ ซึ่ งเรื่องนั้ น ๆ นั่ นเที ยว. ก็ คํ าพยากรณ นั้ น เป นที่ ชอบใจด วย เหมาะสมด วย แก พวกข าพระองค ทั้ งหลาย ข าพระองค ทั้ งหลายพอใจ ดวยคํ าพยากรณ นั้ น. ขาแต พระโคดมผูเจริญ! ในกาลก อนแต นี้ พวกขาพระองครูสึกวา จะเอาอะไรกะมั นกะพวกสมณะหั วโล นทั้ งหลาย ซึ่ งเป นเชื้ อไพรกุ ฎ มพี กั ณหโคตร เกิ ดแต เท าแห งพรหม (วรรณศทร) อะไรกะมั นที่ จะเป นผูรูธรรมได. บั ดนี้ พระโคดมผู เจริญไดทํ า ความรักของสมณะใหเกิดแลวในสมณะทั้งหลาย ทําความเลื่อมใสในสมณะใหเกิดแลวในสมณะ ทั้งหลาย ทําความเคารพในสมณะใหเกิดขึ้นแลวในสมณะทั้งหลาย. ขาแตพระโคดมผูเจริญ! วิ เศษนั ก พระเจ าข า วิ เศษนั ก พระเจ าข า พระโคดมผู เจริ ญ! เปรี ยบเหมื อนบุ คคลหงาย ของที่คว่ําอยู หรือวาเปดของที่ป ดอยู หรือวาบอกหนทางใหแกบุ คคลที่หลงทาง หรือวา จุดประทีปอันโพลงขึ้นดวยน้ํามันไวในที่มืด ดวยความหวังวา ผูมีจักษุทั้งหลายจัดไดเห็นรูป ทั้ งหลาย ฉั นใด; ธรรมอั นพระผู มี พระภาคประกาศแล ว โดยปริยายเป นอเนก ก็ ฉั นนั้ น. ข าแต พระองค ผู เจริญ! ข าพระองค ขอถึ งซึ่ งพระผู มี พระภาคด วย ซึ่ งพระธรรมด วย ซึ่ ง พระสงฆ ด วยวาเป นสรณะ. ขอพระผู มี พระภาคเจ า จงทรงถื อวา ขาพระองค เป นอุ บาสก ผูถึงสรณะแลวจําเดิมแตวันนี้เปนตนไป จนตลอดชีวิต", ดังนี้ แล.

www.buddhadasa.info หมายเหตุ ผู ร วบรวม : ผู ศึ ก ษาพึ ง สั ง เกตให เห็ น ว า ลั ก ษณ ะของสิ่ ง ที่ เรี ยกว าปฏิ จจสมุ ป บาท อาจจะมี ได ในแบบต าง ๆ กั น ดั งเช น ในสู ตรนี้ แสดงลั กษณะแห ง ปฏิ จ จสมุ ป บาท ของการบรรลุ ธ รรม เช น เดี ย วกั บ ข อ ความในเรื่ อ งที่ แ ล ว มา โดยหั ว ข อ ว า "ปฏิจจสมุปบาท ที่ยิ่งกวาปฏิจจสมุปบาท" ควรแกการสนใจ.

www.buddhadasa.info


๖๔๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐

ปฏิจจสมุปบาทแหงการอยู ดวยความประมาทของอริยสาวก๑ พระเจ านั นทิ ยสั กกะ ได ทู ลพระผู มี พระภาคเจ าว า "ข าแต พระองค ผู เจริ ญ ! โสตาป ตติ -

ยั งคะทั้ งหลาย ๔ ประการ ของอริ ยสาวกใด ย อมไม มี เสี ยเลยโดยประการทั้ งปวง; อริยสาวก นั้นหรือหนอที่พระองคตรัสวา เปนผูอยูดวยความประมาท?" ดู ก อ นนั น ทิ ย ะ! โสตาป ต ติ ยั งคะทั้ งหลาย ๔ ประการ ของบุ ค คลใด ย อ ม ไม มี เลยโดยประการทั้ ง ปวง เราเรี ย กบุ ค คลนั้ น ว า เป น คนนอกวง ตั้ ง อยู ใ นฝ า ย แหงปุถุชน. ดู ก อนนั นทิ ยะ! อริยสาวก เป นผู อยู ด วยความประมาท และเป นผู อยู ด วย ความไมประมาท มีอยูอยางไรนั้น เราจักแสดงแกเธอ เธอจงฟงใหสําเร็จประโยชน.... ดู ก อ นนั น ทิ ย ะ! อริ ย สาวกในธรรมวิ นั ย นี้ เป น ผู ป ระกอบพร อ มแล ว ด ว ย พุ ทธอเวจจั ปปสาทะ (ความเลื่ อมใสในพระพุ ทธเจ าอย างไม หวั่ นไหวอี กต อไป) ดั งนี้ ว า "แม เพราะเหตุ อย างนี้ ๆ พระผู มี พระภาคเจ านั้ น เป นผู ไกลจากกิ เลส ตรั สรู ชอบได โดย พระองค เอง เป นผู ถึ งพร อมด วยวิ ชชาและจรณะ เป นผู ไปแล วด วยดี เป นผู รู โลกอย าง แจ มแจ ง เป นผู สามารถฝ กบุ รุษที่ สมควรฝ กได อย างไม มี ใครยิ่ งกว า เป นครูผู สอนของเทวดา และมนุ ษย ทั้ งหลาย เป นผู รูผู ตื่ นผู เบิ กบาน เป นผู มี ความจํ าเริญจํ าแนกธรรมสั่ งสอนสั ตว ". อริยสาวกนั้ น ยิ นดี อยู แต ในธรรมเพี ยงเท านั้ น ไม พ ยายามให ยิ่ งขึ้ นไปเพื่ อปวิ เวกใน กลางวัน เพื่อปฏิสัลลาณะในกลางคืน.

www.buddhadasa.info

มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๐๐/๑๖๐๐-๒, ตรัสแกพระเจานันทิยสักกะ ที่นิโครธาราม.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๖๔๕

เมื่ออริยสาวกนั้น เปนผูประมาทแลวอยางนี้อยู, ปราโมทยยอมไมมี; เมื่อปราโมทยไมมี, ปติก็ไมมี (ปามุชฺเช อสติ ปติ น โหติ); เมื่อปติไมมี, ปสสัทธิก็ไมมี (ปติยา อสติ ปสฺสทฺธิยา น โหติ); เมื่อปสสัทธิไมมี, ยอมอยูเปนทุกข (ปสฺสทฺธิยา อสติ ทุกฺขํ วิหรติ); ผูมีทุกข จิตยอมไมตั้งมั่น (ทุกฺขิโน จิตฺตํ น สมาธิยติ); เมื่อจิตไมตั้งมั่น, ธรรมทั้งหลายยอมไมปรากฏ (อสมาหิเต จิตฺเต ธมฺมา น ปาติภวนฺติ); เพราะธรรมทั้งหลายไมปรากฏ อริยสาวกนั้นยอมถึงซึ่งการถูกนับวา เปน ผูอยูดวยความประมาท. (ในกรณี แห งโสตาป ตติ ยั งคะที่ สอง คื อธั มมอเวจจั ปปสาทะ (ความเลื่ อมใสในพระธรรม อยางไม หวั่นไหวอีกต อไป) ก็ ดี , ที่ สาม คื อสั งฆอเวจจัปปสาทะ (ความเลื่ อมใสในพระสงฆ อยางไม หวั่นไหว อีกตอไป) ก็ดี, ที่สี่ คืออริยกันตศีล (ศีลที่พระอริยเจาพอใจก็ดี ไดตรัสไวมีนัยะอยางเดียวกัน).

ดูกอนนันทิยะ! อยางนี้แล อริยสาวกเปนผูอยูดวยความประมาท.

www.buddhadasa.info (สํ าหรับอริยสาวกผู อยู ด วยความไม ประมาทนั้ น ได ทรงแสดงไว โดยปฏิ ป กขนั ย ผู ศึ กษาพึ ง เทียบเคียงเอาเอง). หมายเหตุ ผู รวบรวม : ผู ศึ กษาพึ งสั งเกตให เห็ น ว านั น ทิ ย สั ก กะได ใช คํ าว า อริ ย สาวก แก ผู ไม ป ระกอบด ว ยโสตาป ต ติ ยั งคะสี่ ซึ่ งเป น การผิ ด หลั ก ธรรมตามที่ ถื อ กั น อยู ในธรรมวิ นั ย นี้ . ส ว นพระพุ ท ธองค ได ท รงแยกบุ ค คลชนิ ด นั้ น ออกไปจากวงของอริ ย สาวก และยั งได ต รั ส ต อ ไปว า แม เป น อริ ย บุ ค คลที่ ห นึ่ ง คื อ พระโสดาบั น แล ว ถ า ไม พ ยายามสื บ ต อ ในการบรรลุ ธรรมให สู งขึ้ น ไป จนกว าจะถึ งความเป น พระอรหั น ต เสี ยก อ น ก็ ยั งตกอยู ใน ฐานะแห งบุ คคลผู อยู ด วยความประมาทอยู นั่ น เอง. สิ่ งที่ น าสนใจในสู ตรนี้ อี กอย างหนึ่ งก็ คื อ ได ตรั สปวิ เวกว าเป น สิ่ งที่ เป น ไปในกลางวั น และปฏิ สั ลลาณะว าเป น สิ่ งที่ เป น ไปในกลางคื น เปนสิ่งที่ยังเขาใจไดยากอยู ของฝากผูรูไวพิจารณาดวย. อนึ่ง ขอความนี้แสดงใหเห็นวา

www.buddhadasa.info


ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐

๖๔๖

สิ่ ง ที่ เรี ย กว า ปฏิ จ จสมุ ป บาทมี อ ยู ห ลายนั ย ไม จํ า เป น ต อ งขึ้ น ต น ด ว ยคํ า ว า "อวิ ชฺ ช าปจฺ จ ยา ส งฺ ข า ร า ...ฯ ล ฯ ..."เส ม อ ไป ดั ง เช น ใ น สู ต ร นี ้ เ ป น ตั ว อ ย า ง ซึ ่ ง ไ ด แ ส ด ง อ า ก า ร แ ห ง อิทัปปจจยตาสําหรับความเปนผูอยูดวยความประมาท ไวอยางชัดแจงแลว.

ปฏิจจสมุปบาท แหงการขาดที่อิงอาศัย สําหรับวิมุตติญาณทัสสนะ๑ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ อทุ ศี ล มี ศี ลอั นวิ บั ติ แล ว, อวิ ปปฏิ สาร (ความไม รอนใจ) ก็ขาดที่ตั้งอาศัย; เมื่ ออวิ ปปฏิ สารไม มี , ความปราโมทย ของผู มี อวิ ปปฏิ สารอั นวิ บั ติ แล ว ก็ ขาด ที่ตั้งอาศัย; เมื่ อความปราโมทย ไม มี , ป ติ ของผู มี ความปราโมทย อั นวิ บั ติ แล ว ก็ ขาดที่ ตั้งอาศัย;

www.buddhadasa.info เมื่อปติไมมี, ปสสัทธิ ของผูมีปติอันวิบัติแลว ก็ขาดที่ตั้งอาศัย;

เอ ก าท ส ก .อฺ . ๒๔/๓๓๘/๒๑๐; แล ะใน ที่ อื่ น ๆ อี ก ห ล าย สู ต ร (ป ฺ จก .อํ .๒๒/๒๑/๒๔; ท ส ก .อํ .๒๔/ ๔/๓;ฯลฯ) อั น มี ทั้ ง ที่ เ ป น พุ ท ธภาษิ ต และสารี ปุ ต ตเถรภาษิ ต เป น ต น : ที่ เ ป น พุ ท ธภาษิ ต ได ต รั ส ไว โดยย อ กว า สู ต รข า งบนนี้ ; ที่ เป น เถรภาษิ ต ได ก ล า วไว โดยพิ ส ดารอย า งสู ต รข า งบนนี้ ก็ มี ย อ กว า ก็ มี , ซึ่ งล วนแต กล าวไว โดยนั ยะเดี ยวกั บ ที่ ทรงแสดงทุ กประการ; ต างกั นแต อาลปนะที่ ใช เรี ยกภิ กษุ ทั้ งหลาย เทา นั ้น ; กลา วคือ ที ่เ ปน พุท ธภาษิต ทรงใชว า "ดูก อ นภิก ษุทั ้ง หลาย!" ที ่เ ปน เถรภาษิต ทา นใชว า "ดูกอนทานผูมีอายุทั้งหลาย!".

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๖๔๗

เมื่อปสสัทธิไมมี, สุข ของผูมีปสสัทธิอันวิบัติแลว ก็ขาดที่ตั้งอาศัย; เมื่อสุขไมมี, สัมมาสมาธิ ของผูมีสุขอันวิบัติแลว ก็ขาดที่ตั้งอาศัย; เมื่อสัมมาสมาธิไมมี, ยถาภูตญาณทัสสนะ ของผูมีสัมมาสมาธิอันวิบัติแลว ก็ขาดที่ตั้งอาศัย; เมื่อยถาภูตญาณทัสสนะไมมี, นิพพิทาของผูมียถาภูตญาณทัสสนะอันวิบัติแลว ก็ขาดที่ตั้งอาศัย; เมื่อนิพพิทาไมมี, วิราคะ ของผูมีนิพพิทาอันวิบัติแลว ก็ขาดที่ตั้งอาศัย; เมื่อวิราคะไมมี, วิมุ ตติญาณทั สสนะ ของผูมีวิราคะอันวิบัติแลว ก็ขาดที่ ตั้งอาศัย; ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! เปรี ย บเหมื อ นต น ไม ซึ่ งมี กิ่ งและใบอั น วิ บั ติ แล ว สะเก็ ดเปลื อกนอกของมั นก็ ไม บริบู รณ เปลื อกชั้นในก็ ไม บริบู รณ กระพี้ ก็ ไม บริบู รณ แกนก็ไมบริบูรณดวย, นี้ฉันใด; ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เมื่อทุศีล มีศีลอันวิบัติแลว อ วิป ป ฏิส าร ก็ข าด ที ่อ าศัย ; ...ฯ ล ฯ ... ...ฯ ล ฯ ... เมื ่อ วิร าค ะ ไม ม ี วิม ุต ติญาณทัสสนะของผูมีวิราคะอันวิบัติแลว ก็ขาดที่ตั้งอาศัย; ฉันนั้นเหมือนกัน.

www.buddhadasa.info (ตอไปนี้ มี ขอความที่ ทรงแสดงโดยปฏิ ป กขนั ย คื อเป นเรื่องของฝ ายที่ มี ศี ลสมบู รณ มี ที่ ตั้ ง อาศั ยสมบู รณ มี ผลตรงกั นข ามจากฝ ายทุ ศี ล จนตลอดสาย โดยทํ านองเดี ยวกั น หากแต เป นปฏิ ป กขนั ย คือตรงกันขาม ทั้งในสวนที่เปนอุปมัย (ตัวเรื่อง)และสวนที่เปนอุปมาที่นํามาเปรียบเทียบ).

www.buddhadasa.info


๖๔๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐ (อีกนัยหนึ่งซึ่งตรัสไวในที่อื่น)๑

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เมื่อสติสัมปชัญญะไมมี, หิริและโอตตัปปะ ของผูมี สติสัมปชัญญะอันวิบัติแลว ก็ขาดที่ตั้งอาศัย ; เมื่อหิริและโอตตัปปะไมมี, อินทรียสัง วร ของผูมีหิริและโอตตัปปะอันวิบัติ แลว ก็ขาดที่ตั้งอาศัย ; เมื่ออินทรียสังวรไมมี, ศีล ของผูมีอินทรียสังวรอันวิบัติแลว ก็ขาดที่ตั้ง อาศัย ; เมื่อศีลไมมี, สัมมาสมาธิ ของผูมีศีลอันวิบัติแลว ก็ขาดที่ตั้งอาศัย ; เมื่อสัมมาสมาธิไมมี, ยถาภูตญาณทัสสนะของผูมีสัมมาสมาธิอันวิบัติแลว ก็ขาดที่ตั้งอาศัย ;

www.buddhadasa.info เมื่อยถาภูตญาณทัสสนะไมมี, นิพพิทาวิราคะของผูมียถาภูตญาณทัสสนะอัน วิบัติแลว ก็ขาดที่ตั้งอาศัย ; เมื่อนิพพิทาวิราคะไมมี, วิมุตติญาณทัสสนะของผูมีนิพพิทาวิราคะอันวิบัติ แลว ก็ขาดที่ตั้งอาศัย ;

สูตรที่ ๑ สติวรรค อฏฐก. อํ. ๒๓/๓๔๘/๑๘๗, ในที่อื่น (ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๐๑/๓๒๑) ตรัสเริ่มตนแตคําวา "เมื่ออินทรียสังวรไมมี....", และในสตฺตก.อํ. ๒๓/๑๐๐/๖๒ ตรัสเริ่มตนแตคําวา "เมื่อหิริและโอตตัปปะไม มี...."; ตอจากนั้นเหมือนกันกับสูตรขางบนนี้ทุกประการ.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๖๔๙

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เปรียบเหมือนตนไม ซึ่งมีกิ่งและใบอันวิบัติแลวสะเก็ด เปลื อ กนอกของมั น ก็ ไ ม บ ริ บู ร ณ เปลื อ กชั้ น ในก็ ไ ม บ ริ บู ร ณ กระพี้ ก็ ไ ม บ ริ บู ร ณ แก นก็ ไม บริบู รณ ด วย, นี้ ฉั นใด; ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ อสติ สั มปชั ญ ญะไม มี , หิ ริ และโอตตั ป ปะของผู มี ส ติ สั ม ปชั ญ ญะอั น วิ บั ติ แ ล ว ก็ ข าดที่ ตั้ งอาศั ย ; ...ฯลฯ...ฯลฯ ...เมื่อนิพพิทาวิราคะไมมี, วิมุตติญาณทัสสนะของผูมีนิพพิทาวิราคะอันวิบัติแลว ก็ขาด ที่ตั้งอาศัย; ฉันนั้นเหมือนกัน. (ตอไปนี้ มีขอความที่ ทรงแสดงโดยปฏิปกขนัย คือเปนเรื่องของฝายที่มีสติสัมปชัญญะสมบูรณ มี ที่ ตั้งอาศัยสมบู รณ มีผลตรงกันขามจากฝายมี สติสัมปชัญญะอันวิบั ติ จนตลอดสาย โดยทํานองเดี ยวกั น หากแตเปนปฏิปกขนัย คือตรงกันขาม ทั้งในสวนที่เปนอุปไมย และสวนที่เปนอุปมา).

ปฏิจจสมุปบาทเพื่อความสมบูรณแหงอรหัตตผล๑ พระอานนทไดทูลพระผูมีพระภาคเจาวา "ข าแต พระองค ผู เจริญ! ศี ลอั นเป นกุ ศล มี

อะไรเปนประโยชนที่มุงหมาย มีอะไรเปนอานิสงส?"

www.buddhadasa.info ดูกอนอานนท! ศีลอันเปนกุศล มีอวิปปฏิสาร (ความไมรอนใจ) เปน อานิสงส ที่มุงหมาย. "ขาแตพระองคผูเจริญ! ก็อวิปปฏิสารเลา มีอะไรเปนอานิสงสที่มุงหมาย?" ดูกอนอานนท! อวิปปฎิสาร มีความปราโมทย เปนอานิสงส ที่มุงหมาย.

สู ต ร ที่ ๑ นิ ส ส า ย ว ร ร ค เอ ก า ท ส ก .อํ . ๒๔/๓๓๕/๒๐๘, ต รั ส แ ก พ ร ะ อ า น น ท ที่ เช ต วั น . พระบาลี ในที่ อื่ น (สู ตรที่ ๑ อานิ สั งสวรรค ทสก. อํ . ๒๔/๑/๑) ตรั สเหมื อนกั บ สู ตรนี้ ทุ กประการ ต าง กันแตเพียงไดตรัสนิพพิทาและวิราคะ รวมเปนอันเดียวกันเทานั้น.

www.buddhadasa.info


๖๕๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐

"ขาแตพระองคผูเจริญ! ก็ความปราโมทย มีอะไรเปนอานิสงส ที่มุงหมาย?" ดูกอนอานนท! ความปราโมทย มีปติ เปนอานิสงส ที่มุงหมาย. "ขาแตพระองคผูเจริญ! ก็ปติเลา มีอะไรเปนอานิสงส ที่มุงหมาย?" ดูกอนอานนท! ปติ มีปสสัทธิ เปนอานิสงส ที่มุงหมาย. "ขาแตพระองคผูเจริญ! ก็ปสสัทธิเลา มีอะไรเปนอานิสงส ที่มุงหมาย?" ดูกอนอานนท! ปสสัทธิ มีสุข เปนอานิสงส ที่มุงหมาย. "ขาแตพระองคผูเจริญ! ก็สุขเลา มีอะไรเปนอานิสงส ที่มุงหมาย?" ดูกอนอานนท! สุข มีสมาธิ เปนอานิสงส ที่มุงหมาย. "ขาแตพระองคผูเจริญ! ก็สมาธิเลา มีอะไรเปนอานิสงส ที่มุงหมาย?" ดูกอนอานนท! สมาธิ มียถาภูตญาณทัสสนะ เปนอานิสงส ที่มุงหมาย. "ขาแตพระองคผูเจริญ! ก็ยถาภูตญาณทัสสนะเลา มีอะไรเปนอานิสงส ที่มุงหมาย?" ดูกอนอานนท! ยถาภูตญาณทัสสนะ มีนิพพิทา เปนอานิสงส ที่มุงหมาย. "ขาแตพระองคผูเจริญ! ก็นิพพิทา มีอะไรเปนอานิสงส ที่มุงหมาย?" ดูกอนอานนท! นิพพิทา มีวิราคะ เปนอานิสงส ที่มุงหมาย. "ขาแตพระองคผูเจริญ! ก็วิราคะเลา มีอะไรเปนอานิสงส ที่มุงหมาย?" ดูกอนอานนท! วิราคะ มีวิมุตติญาณทัสสนะ เปนอานิสงส ที่มุงหมาย.

www.buddhadasa.info ดูกอนอานนท! ดวยอาการอยางนี้แล : ศีลอันเปนกุศล มีอวิปปฏิสารเปนอานิสงส ที่มุงหมาย; อวิปปฏิสาร มีความปราโมทยเปนอานิสงส ที่มุงหมาย; ความปราโมทย มีปติเปนอานิสงส ที่มุงหมาย; ปติ มีปสสัทธิเปนอานิสงส ที่มุงหมาย;

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๖๕๑

ปสสัทธิ มีสุขเปนอานิสงส ที่มุงหมาย; สุข มีสมาธิเปนอานิสงส ที่มุงหมาย; สมาธิ มียถาภูตญาณทัสสนะ เปนอานิสงส ที่มุงหมาย; ยถาภูตญาณทัสสนะ มีนิพพิทาเปนอานิสงส ที่มุงหมาย; นิพพิทา มีวิราคะเปนอานิสงส ที่มุงหมาย; วิราคะ มีวิมุตติญาณทัสสนะเปนอานิสงส ที่มุงหมาย; ดูกอนอานนท! ศีลอันเปนกุศล ยอมยังความเปนพระอรหันตใหเต็ม ไดโดยลําดับ ดวยอาการอยางนี้แล. หมายเหตุ ผู ร วบรวม : ผู ศึ ก ษาพั ง สั ง เกตให เห็ น ลั ก ษณะอั น สํ า คั ญ อย า ง หนึ่ ง ว า เป น หลั ก เกณฑ อั น ตายตั ว อย า งไร กล า วคื อ ลํ า ดั บ แห ง ธรรม ที่ แ สดงไว ใ นสู ต รนี้ และที ่ม าแหง อื ่น ๆ อีก เปน อัน มากอยา งที ่จ ะกลา วไดว า ตรงเปน แบบเดีย วกัน . ลํ า ดับ ที ่ก ลา ว นี ้ค ือ ศีล - อ วิป ป ฏ ิส า ร - ป รา โม ท ย - ป ต ิ- ปส สัท ธิ - สุข - ส ม า ธิ -ยถาภู ต ญาณทั ส สนะ - นิ พ พิ ท า - วิ ราคะ - วิ มุ ต ติ ญ าณทั ส สนะ และควรสั งเกตเป น พิ เศษ อี ก อย า งหนึ่ ง ว า ปราโมทย เป น สิ่ ง ที่ จ ะขาดไม ไ ด ใ นตอนต น แห ง กระแส และสุ ข กั บ สมาธิ เป น สิ่ ง ที่ แ ยกกั น ไม ได . และควรถื อ ว า ธรรม ๑๑ อย า งนี้ แ ล คื อ คํ า ขยายความของคํ า ว า ศี ล สมาธิ ปญญา นั่นเอง. ศีลเปนกุศล คือมิไดรักษาเพื่อลาภ เพื่อสวรรค; หากแตเพื่อวิมุตติ.

ปฏิจจสมุปบาท แหง บรมสัจจะ www.buddhadasa.info ๑

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เรายอมไมกลาว การประสพความพอใจในอรหัตตผล ด วยการกระทํ าอั นดั บแรกเพี ยงอั นดั บเดี ยว. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ แต ว า การประสบ ความพอใจในอรหัตตผล ยอมมีไดเพราะการศึกษาโดยลําดับ เพราะการกระทํ า โดย ลําดับ เพราะการปฏิบัติ โดยลําดับ

กีฏคิริสูตร ภิกขุวรรค ม.ม. ๑๓/๒๓๓/๒๓๙, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่กีฏาคิรินิคมของชนชาวกาสี.

www.buddhadasa.info


๖๕๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ การประสบความพอใจในอรหั ตตผล ย อมมี ได เพราะ การศึ ก ษาโดยลํ าดั บ เพราะการกระทํ า โดยลํ า ดั บ เพราะการปฏิ บั ติ โดยลํ าดั บ เป น อยางไรเลา? ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! บุรุษบุคคลในกรณีนี้: เปนผูมีสัทธาเกิดขึ้นแลว ยอมเขาไปหา; เมื่อเขาไปหา ยอมเขาไปนั่งใกล; เมื่อเขาไปนั่งใกล ยอมเงี่ยโสตลงสดับ; ผูเงี่ยโสตลงสดับ ยอมไดฟงธรรม; ครั้นฟงแลว ยอมทรงจําธรรมไว, ยอมใครครวญพิจารณา ซึ่งเนื้อความแหงธรรมทั้งหลายที่ตนทรงจําไว; เมื่อเขาใครครวญพิจารณา ซึ่งเนื้อความแหงธรรมนั้นอยู, ธรรมทั้งหลายยอมทนตอการเพงพิสูจน; เมื่อธรรมทนตอการเพงพิสูจนมีอยู ฉันทะ (ความพอใจ) ยอมเกิด; ผูเกิดฉันทะแลว ยอมมีอุตสาหะ; ครั้นมีอุตสาหะแลว ยอมใชดุลยพินิจ (เพื่อหาความจริง); ครั้นใชดุลยพินิจ (พบ) แลว ยอมตั้งตนไวในธรรมนั้น; ผูมีตนสงไปแลวในธรรมนั้นอยู ยอมกระทําใหแจงซึ่งบรมสัจจดวยกายดวย, ยอมเห็นแจงแทงตลอดซึ่งบรมสัจจนั้นดวย ปญญา ดวย.

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๖๕๓

ปฏิจจสมุปบาท แหง สุวิมุตตจิต๑ กอนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ภิ กษุ เห็ นจักษุ อันไม เที่ ยงนั่ นแล วาไม เที่ ยง ความเห็ น เชนนั้น เปนสัมมาทิฏฐิ (การเห็นอยูโดยถูกตอง) ของเธอนั้น. เมื่อเห็นอยูโดยถูกตอง ยอมเบื่อหนาย (สมฺมา ปสฺสํ นิพฺพินฺทติ); เพราะความสิ้นไปแหงนันทิ จึงมีความสิ้นไปแหงราคะ (นนฺทิกฺขยา ราคกฺขโย); เพราะความสิ้นไปแหงราคะ จึงมีความสิ้นไปแหงนันทิ (ราคกฺขยา นนฺทิกฺขโย); เพราะความสิ้นไปแหงนันทิและราคะ กลาวไดวา "จิตหลุดพนแลว ดวยดี" ดังนี้ (นนฺทิราคกฺขยา จิตฺตํ สุวิมุตฺตนฺติ วุจฺจติ)

www.buddhadasa.info (ในกรณี แห งอายตนะภายในที่ เหลื ออี ก ๕ คื อ โสตะ ฆานะ ชิ วหา กายะ มโน และในกรณี แห งอายตนะภายนอก ๖ คื อ รูป เสี ยง กลิ่ น รส โผฏฐัพพะ ธัมมารมณ ก็ ตรัสอย างเดี ยวกั นกั บในกรณี แห ง จักษุ ทุกประการ). (อีกนัยหนึ่งซึ่งตรัสไวในที่อื่น)๒

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เธอทั้งหลายจงกระทําโยนิโสมนสิการซึ่งจักษุ และ จงพิจารณาเห็นความที่จักษุเปนสิ่งที่ไมเที่ยง ตามที่เปนจริง. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย!

สูตรที่ ๑-๒ นันทิกขยวรรค สฬา.สํ. ๑๘/๑๗๙/๒๔๕-๖. สูตรที่ ๓-๔ นันทิกขยวรรค สฬา.สํ. ๑๘/๑๗๙/๒๔๗-๘.

www.buddhadasa.info


๖๕๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐

ภิ กษุ , เมื่ อกระทํ าโยนิ โสมนสิ การซึ่ งจั กษุ และพิ จารณาเห็ นความที่ จั กษุ เป นสิ่ งที่ ไม เที่ ยง ตามที่เปนจริงอยู, ยอมเบื่อหนายแมในจักษุ. เพราะความสิ้นไปแหงนันทิ จึงมีความสิ้นไปแหงราคะ; เพราะความสิ้นไปแหงราคะ จึงมีความสิ้นไปแหงนันทะ; เพราะความสิ้ น ไปแห งนั น ทิ และราคะ กล าวได ว า "จิ ต หลุ ด พ น แล ว ดวยดี" ดังนี้. (ในกรณี แห งอายตนะภายในที่ เหลื ออี ก ๕ และในกรณี แห งอายตนะภายนอก ๖ ก็ ตรั สอย าง เดียวกันกับในกรณีแหงอายตนะภายในคือจักษุ ที่กลาวมาแลวนี้ ทุกประการ.) หมายเหตุ ผู ร วบรวม : ผู ศึ ก ษาพึ ง สั ง เกตให เห็ น ว า ปฏิ จ จสมุ ป บาทฝ า ย วิ มุ ต ติ จั ก ต อ งตั้ ง ต น ขึ้ น มาด ว ยวิ ช ชา ซึ่ ง ตรงกั น ข า มจากอวิ ช ชา. ในที่ นี้ ใ ช คํ า ว า สั ม มาทิ ฏ ฐิ แทนคํ า ว า วิ ช ชา เพราะทํ า หน า ที่ ไ ด อ ย า งเดี ย วกั น . อี ก อย า งหนึ่ ง น า จะถื อ เป น หลั ก ว า วิ มุ ต ติ ที่ ตั้ ง ต น ขึ้ น มาจากสั ม มาทิ ฏ ฐิ เติ ม คํ า นํ า หน า ว า สุ เข า ไปอี ก พยางค ห นึ่ ง นั่ น เป น การ ถูก ตอ งแท.โด ยห ลัก ให ญ ๆ แ ลว แ น วแห ง วิม ุต ติก ็ต รงกัน ห ม ด คือ ตั ้ง ตน ดว ยค วาม รู ความเห็ น ที่ ถู ก ต อ ง แล ว เบื่ อ หน า ย คลายกํ า หนั ด แล ว ก็ ถึ ง ความหลุ ด พ น เป น แนวเดี ย วกั น หมด การเพิ่ ม จํ า นวนชื่ อ ของข อ ธรรมให ม ากขึ้ น เป น เพี ย งการขยายออกไปในส ว นที่ เป น บท ประกอบอยูรอบ ๆ ใจความสําคัญเพียง ๓ อยาง ดังที่กลาวมาแลวนั่นเอง.

ปฏิจจสมุปบาท แหง การปรินิพพานเฉพาะตน www.buddhadasa.info ๑

ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! รู ป เป น สิ่ ง ที่ ไ ม เที่ ย ง. สิ่ ง ใดไม เที่ ย ง สิ่ ง นั้ น เป น ทุกข สิ่งใดเปนทุกข สิ่งนั้นเปนอนัตตา สิ่งใดเปนอนัตตา สิ่งนั้นนั้น ไมใชของเรา

สูตรที่ ๔ อัตตทีปวรรค ขนฺธ.สํ. ๑๗/๕๗/๙๓, ตรัสแกงภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๖๕๕

ไม ใช เป นเรา ไม ใช เป นตั วตนของเรา : เธอทั้ งหลายพึ งเห็ นข อนั้ น ด วยป ญญาโดยชอบ ตรงตามที่เปนจริง อยางนี้ ดวยประการดังนี้. (ในกรณี แห ง เวทนา สั ญ ญา สั ง ขาร และวิ ญ ญาณ ก็ ต รั ส อย า งเดี ย วกั น กั บ ในกรณี แหงรูปทุกประการ).

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เมื่อบุคคลเห็นขอนั้น ดวยปญญาโดยชอบตรงตาม ที่เปนจริงอยูอยางนี้, ปุพพันตานุทิฏฐิทั้งหลาย ยอมไมมี; เมื่อปุพพันตานุทิฏฐิทั้งหลายไมมี, อปรันตานุทิฏฐิทั้งหลาย ยอมไมมี; เมื่ออปรันตานุทิฏฐิทั้งหลายไมมี, ความยึดมั่นลูบคลําอยางแรงกลา ยอมไมมี; เมื่อความยึดมั่นลูบคลําอยางแรงกลาไมมี, จิตยอมจางคลายกําหนัด ในรูป ในเวทนา ในสัญญา ในสังขารทั้งหลาย ในวิญญาณ ยอมหลุดพนจาก อาสวะทั้งหลาย เพราะไมมีความยึดมั่นถือมั่น; เพราะจิตหลุดพนแลว จิตจึงดํารงอยู (ตามสภาพของจิต); เพราะเปนจิตที่ดํารงอยู จิตจึงยินดีราเริงดวยดี; เพราะเปนจิตที่ยินดีราเริงดวยดี จิตจึงไมหวาดสะดุง; เมื่อไมหวาดสุดุง ยอมปรินิพพาน(ดับรอบ) เฉพาะตนนั่นเทียว. เธอนั้ น ย อ มรู ชั ด ว า "ชาติ สิ้ น แล ว, พรหมจรรย ได อ ยู จบแล ว, กิ จที่ ควร ทําไดทําเสร็จแลว, กิจอื่นที่จะตองปฏิบัติเพื่อความเปนอยางนี้ มิไดมีอีก" ดังนี้.

www.buddhadasa.info หมายเหตุ ผู ร วบรวม : ผู ศึ ก ษาพึ ง สั ง เกตให เห็ น ว า คํ า ว า "ปริ นิ พ พาน" หรือ "ปริน ิพ ฺพ ายติ"ก็ต าม ไมใ ชเ ปน สิ ่ง ที ่ม ีขึ ้น เมื ่อ ตายลงไป หรือ หลัง จากตายแลว แต เปนสิ่งที่มีไดแกจิตที่ยังมีความรูสึกอยูหรือยังเปนๆ อยู โดยไมสําคัญผิดไปวา ปรินิพพาน

www.buddhadasa.info


ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐

๖๕๖

นั้ น จะมี ต อ ตายแล ว หรื อ แม กํ า ลั ง ตายลงในขณะนั้ น ซึ่ งไม มี ป ระโยชน อ ะไร หรื อ เป น ความ เข า ใจที่ ง มงายอย า งยิ่ ง . ผู ศึ ก ษาทุ ก ท า นจงให ค วามสนใจในเรื่ อ งนี้ เป น พิ เศษ และควรจะ เห็ น ว า ปริ นิ พ พาน หรื อ การดั บ รอบนั้ น คื อ เย็ น สนิ ท ปราศจากกิ เลสที่ เผาลน หรื อ แม แ ต ความรบกวนใด ๆ ของเวทนาภายหลั ง จากการสิ้ น กิ เ ลสแล ว ทั้ ง สิ้ น . และยิ่ ง เมื่ อ มี คํ า ว า ปจฺ จ ตฺ ตํ (เฉพาะตน) เอว ประกอบเข า มาด ว ยแล ว ย อ มเป น การยื น ยั น ถึ ง ที่ สุ ด ว า เป น ความ รูสึกในใจที่ผูนั้นกําลังรูสึกอยูจริง ๆ, จะไปมีตอตายแลวไดอยางไรกันเลา.

ปฏิจจสมุปบาท แหง การดับอุปาทานสี๑่ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! อุ ปาทานทั้ งหลาย ๔ อย างเหล านี้ มี อยู . สี่ อย างเป น อย างไรเล า? สี่ อย างคื อ กามุ ป าทาน ๑, ทิ ฏ ุ ป าทาน ๑, สี ลั พ พั ต ตุ ป าทาน ๑, อัตตวาทุปาทาน ๑. .... ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ อุ ปาทานทั้ งหลาย ๔ อย างเหล านี้ มี อะไรเป นนิ ทาน (ต น เหตุ )มี อะไรเป น สมุ ทั ย (เครื่ องก อขึ้ น ) มี อะไรเป นชาติ กะ(เครื่ อ งทํ าให เกิ ด ) มี อะไร เปนปภวะ(แดนเกิด)?

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! อุ ปาทานทั้ งหลาย ๔ อย างเหล านี้ มี ตั ณ หาเป น นิทาน ...ฯลฯ...

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ ตั ณ หานี้ มี อะไรเป นนิ ทาน เป นสมุ ทั ย เป นชาติ กะ เปนปภวะ?

จูฬสีหนาทสูตร สีหนาทวรรค มู.ม. ๑๒/๑๓๒, ๑๓๔/๑๕๖, ๑๕๘, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๖๕๗

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ตัณหา มีเวทนาเปนนิทาน ...ฯลฯ... ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ เวทนานี้ มี อะไรเป นนิ ทาน เป นสมุ ทั ย เป นชาติ กะ เปนปภวะ? ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เวทนา มีผัสสะเปนนิทาน ...ฯลฯ... ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ ผั สสะนี้ มี อะไรเป นนิ ทาน เป นสมุ ทั ย เป นชาติ กะ เปนปภวะ? ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ผัสสะ มีสฬายตนะเปนนิทาน ...ฯลฯ... ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ สฬายตนะนี้ มี อะไรเป นนิ ทาน เป นสมุ ทั ย เป น ชาติกะเปนปภวะ? ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! สฬายตนะ มีนามรูปเปนนิทาน ...ฯลฯ...

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็ นามรู ปนี้ มี อะไรเป นนิ ทาน เป นสมุ ทั ย เป นชาติ กะ

เปนปภวะ?

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! นามรูป มีวิญญาณเปนนิทาน ...ฯลฯ...

ดูกอนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ก็วิญญาณนี้ มีอะไรเป นนิ ทาน เป นสมุ ทั ย เป นชาติกะ เปนปภวะ?

www.buddhadasa.info


ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๐

๖๕๘

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! วิญญาณ มีสังขารเปนนิทาน ...ฯลฯ... ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย! ก็สังขารทั้งหลายเหลานี้ มีอะไรเปนนิทาน เปนสมุทัย เปนชาติกะ เปนปภวะ? ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! สังขารทั้งหลาย มีอวิชชาเปนนิทาน เปนสมุทัย เปนชาติกะ เปนปภวะ. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ในกาลใดแล อวิชชา ภิกษุละไดแลว วิชชาเกิด ขึ้ น แล ว ; ในกาลนั้ น ภิ ก ษุ นั้ น , เพราะความสํ า รอกออกโดยไม เหลื อ แห งอวิ ช ชา เพราะวิช ชาเกิด ขึ้น , เธอยอ มไมย ึด มั ่น ซึ ่ง กามุป าทาน เธอยอ มไมย ึด มั ่น ซึ ่ง ทิฏ ุป าทาน เธอยอมไมยึดมั่น ซึ่งสีลัพ พัต ตุป าทาน ยอมไมยึด มั่น ถือมั่น ซึ่ง อั ต ตวาทุ ป าทาน. เมื่ อไม ยึ ดมั่ น ถื อมั่ น , เธอย อ มไม ส ะดุ ง; เมื่ อ ไม สะดุ ง, ย อ ม ปรินิพพาน (ดั บรอบ) เฉพาะตนนั่ นเที ยว. ภิกษุนั้น ยอมรูชัดวา "ชาติสิ้นแลว, พรหมจรรย ได อ ยู จบแล ว, กิ จที่ ค วรทํ าได ทํ าเสร็ จแล ว, กิ จอื่ น ที่ จะต อ งปฏิ บั ติ เพื่ อ ความเปนอยางนี้มิไดมีอีก" ดังนี้.

www.buddhadasa.info ปฏิจจสมุปบาท แหง ความสิ้นสุดของโลก ๑

พระผูมีพระภาคเจา ไดทรงชักชวนภิกษุ ทั้งหลายดวยธัมมิกถาอันเนื่ องเฉพาะดวยนิพพาน, ไดทรงเห็นวาภิกษุทั้งหลายสนใจฟงอยางยิ่ง จึงไดตรัสพระพุทธอุทานนี้ขึ้น ในเวลานั้น วา :-

สูตรที่ ๔ ปาฏลิคามิยวรรคที่ ๘ อุทาน.ขุ. ๒๕/๒๐๘/๑๖๑.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ

๖๕๙

"ความหวั่นไหว ยอมมีแกบุคคลผูอันตัณหาและทิฏฐิอาศัยแลว" (นิสฺสิตสฺส จลิตํ).

ความหวั่นไหว ยอมไมมีแกบุคคลผูอันตัณหาและทิฏฐิไมอาศัยแลว (อนิสฺสิตสฺส จลิตํ นตฺถิ);

เมื่อความหวั่นไหวไมมี, ปสสัทธิ ยอมมี (จลิเต อสติ ปสฺสทฺธิ);

เมื่อปสสัทธิมี, นติ(ความนอมไป) ยอมไมมี (ปสฺสทฺธิยา สติ นติ น โหติ);

เมื่อนติไมมี, อาคติคติ (การมาและการไป) ยอมไมมี (นติยา อสติ อาคติคติ น โหติ);

เมื่ออาคติคติไมมี, จุตูปปาตะ (การเคลื่อนและการเกิดขึ้น) ยอมไมมี

www.buddhadasa.info (อาคติคติยา อสติ จุตูปปาโต น โหติ);

เมื่ อ จุ ตู ป ปาตะไม มี , อะไรๆ ก็ ไ ม มี ใ นโลกนี้ ไม มี ใ นโลกอื่ น ไม มี ใ น ระหวางแหงโลกทั้งสอง(จุตูปปาเต อสติ เนวิธ น หุรํ น อุภยมนฺตเร):

นั่นแหละ คือที่สุดแหงทุกขละ (เอเสวนฺโต ทุกฺขสฺส)",

ดังนี้ แล.

หมวดที่สิบ จบ ------------

www.buddhadasa.info


www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


หมวด ๑๑ วาดวย ลัทธิหรือทิฏฐิ ที่ขัดกับปฏิจจสมุปบาท (: มิจฉาทิฏฐิ)

www.buddhadasa.info

๖๖๑

www.buddhadasa.info


www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


กฎอิทัปปจจยตา : หัวในปฏิจจสมุปบาท. ………………………... อิมสฺมึ สติ อิทํ โหติ เมื่อสิ่งนี้ มี สิ่งนี้ ยอมมี อิมสฺสุปฺ ปาทา อิทํ อุปฺปชฺชติ เพราะความเกิดขึ้นแหงสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น อิมสมึ อสติ อิทํ น โหติ เมื่อสิ่งนี้ ไมมี สิ่งนี้ ยอมไมมี อิมสฺส นิโรธา อิทํ นิรุชฺฌติ เพราะความดับไปแหงสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงดับไป (ม.ม.๑๓/๓๕๕/๓๗๑, นิทาน.สํ.๑๖/๘๔/๑๕๔,...)

www.buddhadasa.info ๖๖๓

www.buddhadasa.info


ลําดับเรื่องเฉพาะหมวด สําหรับปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ หมวดที่ ๑๑ วาดวย ลัทธิหรือทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจสมุปบาท (มี ๑๔ เรื่อง) มี เรื่ อง : สั มมาทิ ฏฐิ คื อทิ ฏฐิ ที่ ปราศจากอั ตถิ ตาและนั ตถิ ตา -- ปฏิ จจสมุ ปบาท มีห ลัก วา "ไมม ีต นเอง ไมม ีผู อื ่น ที ่ก อ ทุก ข"--แมท ุก ขใ นลัท ธิทั ้ง หลายอื ่น ก็ม ีผ ัส สะเปน จุ ด ตั้ ง ต น -- พวกกรรมวาที _ทุ ก พวกกั บ หลั ก ปฏิ จ จสมุ ป บาท -- เงื่อ นงํา ที่ อ าจนํ า ไปสู สั ส สต ทิ ฏ ฐิ ห รือ อุ จ เฉททิ ฏ ฐิ ในอาการหนึ่ ง ๆ_ของปฏิ จ จสมุ ป บาท--โลกายตะ ๔ ชนิ ด ที่ ท รงปฏิ เสธ - - ทิฏ ฐิชั ้น หัว หนา ๑๘ อยา ง ลว นแตป รารภ ธรรมที ่เ ปน ฐานะ ๖ อยา ง --ทิฏ ฐิ ๒๖ อย า ง ล ว นแต ป รารภขั น ธ ห า --อั น ตคาหิ ก ทิ ฏ ฐิ สิ บ ๒,๒๐๐ นั ย ล ว นแต เ ป น ไปในขั น ธ ห า ล ว นแต ป ด บั ง การเห็ น ปฏิ จ จสมุ ป บาท--ผั ส สะคื อ _ป จ จั ย แห ง ทิ ฏ ฐิ ๖๒ --ทิ ฏ ฐิ ๖๒ เป น เพีย งความรู ส ึก ผิด ๆของผู ไ มรู ป ฏิจ จสมุป บาท--ผัส สะคือ ที ่ม าของทิฏ ฐิ_ ๖๒ --ทิฏ ฐิ ๖๒ เปน ผลของการไมรู ป ฏิจ จสมุป บาท--ถา รู ป ฏิจ จสมุป บาทก็จ ะไมเ กิด ทิฏ ฐิอ ยา งพวก ตาบอดคลําชาง.

www.buddhadasa.info

๖๖๔

www.buddhadasa.info


ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ

หมวดที่ ๑๑ วาดวย ลัทธิหรือทิฏฐิที่ขัดกันกับปฏิจจสมุปบาท ( : มิจฉาทิฏฐิ) -------------สัมมาทิฏฐิ คือทิฏฐิที่ปราศจาก อัตถิตาและนัตถิตา๑ ครั้งหนึ่งที่เชตวัน ทานพระกัจจานโคตต ไดเขาไปเฝาพระผูมีพระภาคเจาถึงที่ประทับ แลวทูลถามวา "ขาแตพระองคผูเจริญ! ที่กลาวๆกันวา สัมมาทิฏฐิ-สัมมาทิฏฐิ ดังนี้

สัมมาทิฏฐิ ยอมมีไดดวยเหตุเพียงเทาไรหนอ พระเจาขา?" ดูกอนกัจจานะ! สัตวโลกนี้ อาศัยแลวซึ่ง สวนสุดทั้งสอง โดยมาก คือ สวนสุดวา อัตถิตา (ความมี) และสวนสุดวา นัตถิตา (ความไมมี).

www.buddhadasa.info

สูตรที่ ๕ อาหารวรรค นิทานสังยุตต นิทาน.สํ.๑๖/๒๑/๔๓, ตรัสแกภิกษุกัจจานโคตต ที่เชตวัน.

๖๖๕

www.buddhadasa.info


๖๖๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑

ดูกอนกัจจนะ! สวนสุดวา นัตถิตา ยอมไมมีแกบุคคลผูเห็นอยูดวยปญญา อันชอบตามที่เปนจริง ซึ่งธรรมอันเปนเหตุใหเกิดขึ้นแหงโลก. ดูกอนกัจจานะ! สวนสุดวา อัตถิตา ยอมไมมีแกบุคคลผูเห็นอยูดวยปญญา อันชอบตามที่เปนจริง ซึ่งธรรมคือความดับไมเหลือแหงโลก. ดูก อนกัจจานะ! สั ตวโลกนี้ โดยมาก ถูกผูกพั นแล วด วยตั ณหา ด วยอุ ปาทาน ดวยทิฏฐิ (อุป ายุปาทานาภิ นิเวสวินิพ นฺโธ). แตอริย สาวกนี้ ไม เขาถึง ไม ถื อ เอา ไม ถึ งทั บ ซึ่ งตั ณหาและอุ ปาทาน อั นเป นเครื่องถึ งทั บแห งใจ อั นเป นอนุ สั ยแห งทิ ฏฐิ ว า "อั ตตาของเรา" ดั งนี้ ; ย อมไม สงสั ย ย อมไม ลั งเล ในข อที่ ว า "เมื่ อจะเกิ ด ทุ กข เท านั้ น ย อ มเกิ ด ขึ้ น ; เมื่ อจะดั บ ทุ ก ข เท านั้ น ย อ มดั บ " ดั งนี้ . ญาณในข อ นี้ ย อ มมี แกอริยสาวกนั้น โดยไมตองเชื่อตามผูอื่น. ดูกอนกัจจานะ! สัมมาทิ ฏฐิ ยอมมีได ดวยเหตุเพียงเทานี้แล. ดู ก อนกั จจานะ! คํ ากล าวที่ ยื นยั นลงไปด วยทิ ฏฐิ วา "สิ่ งทั้ งปวง มี อยู " ดั งนี้ นี ้ เปน สว นสุด ที ่ห นึ ่ง (ไมใ ชท างสายกลาง); คํ า กลา วที ่ย ืน ยัน ลงไปดว ยทิฏ ฐิว า "สิ่ งทั้ งปวง ไม มี อยู " ดั งนี้ เป นส วนสุ ดที่ สอง(ไม ใช ทางสายกลาง); ดู ก อนกั จจานะ! ตถาคต ย อมแสดงธรรมโดยสายกลาง ไม เขาไปหาส วนสุ ดทั้ งสองนั้ น คื อตถาคตยอม แสดงดั งนี้ วา "เพราะมี อวิชชาเป นป จจัย จึงมี สังขารทั้ งหลาย; เพราะมี สั งขารเป นป จจัย จึ ง มี ว ิ ญ ญ าณ ; ...ฯลฯ... ...ฯลฯ...; เพ ราะมี ช าติ เ ป น ป จ จั ย , ชราม รณ ะ โสกะปริเทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งเกิ ดขึ้ นครบถ วน : ความเกิ ดขึ้ นพรอม แหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมีดวยอาการอยางนี้.

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๖๖๗

เพราะความจางคลายดั บไปโดยไมเหลือแหงอวิชชานั้นนั่ นเที ยว, จึงมี ความดั บ แหง สัง ขาร; เพราะความดับ แหง สัง ขาร จึง มีค วามดับ แหง วิญ ญาณ; ...ฯลฯ... ...ฯลฯ...; เพราะมี ความดั บแห งชาติ นั่ นแหละ ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขะโทมนั ส อุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งดั บสิ้ น : ความดั บลงแห งกองทุ กข ทั้ งสิ้ นนี้ ย อมมี ด วยอาการ อยางนี้", ดังนี้ แล.

ปฏิจจสมุปบาท มีหลักวา "ไมมีตนเอง ไมมีผูอื่น ที่กอทุกข" ๑ ครั้นอเจลกั สสปะ ได รับพุ ทธานุ ญาตให ทู ลถามป ญหาได จากพระผู มี พระภาคเจ าแล ว ได ทู ล ถามปญหาพระผูมีพระภาคเจาวา "ขาแตพระโคดมผูเจริญ! ความทุกข เปนสิ่งที่บุคคลกระทํา

เองหรือพระเจาขา?" ดังนี้. พระผูมีพระภาคเจา ไดตรัสตอบวา "อยากลาวอยางนั้นเลย กัสสปะ!" ดังนี้.

"ข าแต พ ระโคดมผู เจริ ญ ! ความทุ ก ข เป น สิ่ งที่ บุ ค คลอื่ น กระทํ าให ห รื อ

www.buddhadasa.info พระเจาขา?"

อยากลาวอยางนั้นเลย กัสสปะ!

"ข าแต พระโคดมผู เจริญ! ความทุ กข เป นสิ่ งที่ บุ คคลกระทํ าเองด วย และ บุคคลอื่นกระทําใหดวยหรือ พระเจาขา?"

สูตรที่ ๗ อาหารวรรค นิทานสังยุตต นิทาน.สํ. ๑๖/๒๓/๔๙, ตรัสแกอเจลกัสสปะ ที่เวฬุวัน.

www.buddhadasa.info


๖๖๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑

อยากลาวอยางนั้นเลย กัสสปะ! "ขาแต พระโคดมผู เจริญ! ความทุ กข เป นสิ่ งที่ ไม ใชทํ าเองหรือใครทํ าให เกิ ด ขึ้นไดหรือ พระเจาขา?" อยากลาวอยางนั้นเลย กัสสปะ! "ขาแตพระโคดมผูเจริญ! ความทุกขไมมีหรือ พระเจาขา?" ดูกอนกัสสปะ! มิใชความทุกขไมมี ที่แท ความทุกขมีอยู. "ข าแต พระโคดมผู เจริ ญ ! ถ าอย างนั้ น พระโคดมผู เจริญ ย อมไม รู ไม เห็ น ความทุกข กระมัง?" ดู ก อนกั สสปะ! เราจะไม รู ไม เห็ นความทุ กข ก็ หามิ ได . เราแล ย อ มรู ยอมเห็น ซึ่ง ความทุกข "ขาแต พระโคดมผู เจริญ! พระองค , เมื่ อข าพระองค ทู ลถามวา `ข าแต พระ โคดมผูเจริญ! ความทุกข เปนสิ่งที่บุคคลกระทําเองหรือ พระเจาขา?' ดังนี้, ทรงตอบวา ‘อยากลาวอยางนั้นเลย กัสสปะ!' ดังนี้; เมื่อขาพระองคทู ลถามวา `ขาแตพระโคดม ผูเจริญ! ความทุ กขเป นสิ่ งที่ บุ คคลอื่ นกระทํ าให หรือ พระเจ าขา?' ดั งนี้ , ทรงตอบวา ‘อยากลาวอยางนั้นเลย กัสสปะ!' ดังนี้; เมื่อขาพระองคทู ลถามวา `ขาแตพระโคดม ผูเจริญ! ความทุกข เปนสิ่งที่บุคคลกระทําเองดวย และบุคคลอื่นกระทําใหดวยหรือ พระ เจาขา?' ดั งนี้ ทรงตอบวา `อย ากลาวอย างนั้ นเลย กัสสปะ!' ดั งนี้ ; เมื่ อขาพระองค ทูลถามวา ‘ขาแตพระโคดมผูเจริญ! ความทุกข เปนสิ่งที่ไมใชทําเองหรือใครทําใหก็เกิดขึ้น ไดหรือ พระเจาขา?' ดังนี้, ทรงตอบวา `อยากลาวอยางนั้นเลยกัสสปะ!' ดังนี้; เมื่อ

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๖๖๙

ข าพระองค ทู ลถามว า ‘ข าแต พระโคดมผู เจริ ญ ! ความทุ กข ไม มี หรื อ พระเจ าข า?' ดั งนี้ , ทรงตอบว า ‘ดู ก อ นกั ส สปะ! มิ ใช ความทุ กข ไม มี ; ที่ แท ความทุ กข มี อ ยู ' ดั งนี้ ; ครั้ น ข าพระองค ทู ลถามว า ‘ข าแต พระโคดมผู เจริ ญ ! ถ าอย างนั้ น พระโคดมผู เจริ ญ ย อมไม รู ไม เห็ นความทุ กข กระมั ง?' ดั งนี้ , ก็ ยั งทรงตอบว า `ดู ก อนกั สสปะ! เราจะไม รู ไม เห็ น ความทุ ก ข ก็ ห ามิ ได ; เราแล ย อ มรู ย อ มเห็ น ซึ่ งความทุ ก ข ' ดั งนี้ . ข าแต พ ระองค ผู เจริญ! ขอพระผู มี พระภาคเจ า จงตรัสบอกซึ่ ง (เรื่องราวแห ง) ความทุ กข ; และจงทรงแสดง ซึ่ง (เรื่องราวแหง) ความทุกข แกขาพระองคเถิด". ดู ก อนกั สสปะ! เมื่ อบุ คคลมี ความสํ าคั ญ มั่ นหมายมาแต ต นว า "ผู นั้ นกระทํ า ผู นั้ นเสวย (ผล)" ดั งนี้ เสี ยแล ว เขามี วาทะ(คื อลั ทธิ ยื นยั นอยู ) ว า "ความทุ กข เป นสิ่ งที่ บุคคลกระทําเอง" ดังนี้ : นั่นยอมแลนไปสู (คลองแหง) สัสสตะ (ทิฏฐิที่ถือวาเที่ยง). ดู ก อนกั สสปะ! เมื่ อบุ คคลถู กเวทนากระทบให มี ความสํ าคั ญมั่ นหมายว า "ผู อื่ นกระทํ าผู อื่ น เสวย (ผล)" ดั ง นี้ เสี ย แล ว เขามี ว าทะ(คื อ ลั ท ธิ ยื น ยั น อยู )ว า "ความทุ ก ข เป น สิ่ ง ที่ บุคคลอื่นกระทําให" ดังนี้ : นั่นยอมแลนไปสู (คลองแหง) อุจเฉทะ (ทิฏฐิ ที่ถือวา ขาดสูญ).

www.buddhadasa.info ดู ก อนกั สสปะ! ตถาคตย อมแสดงธรรมโดยสายกลาง ไม เข าไปหาส วนสุ ด ทั้ งสองนั้ น คื อตถาคตย อมแสดงดั งนี้ ว า "เพราะมี อวิ ชชาเป นป จจั ย จึ งมี สั งขารทั้ งหลาย; เพ ราะ ม ีส ัง ข ารเป น ปจ จัย จึง มีว ิญ ญ าณ ; ...ฯ ล ฯ ...ฯ ล ฯ ...ฯ ล ฯ ...; เพ ราะ มี ชาติ เป นป จจั ย, ชรามรณะ โสกะปริ เทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งเกิ ดขึ้ นครบ ถวน : ความเกิดขึ้นพรอมแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมีดวยอาการอยางนี้.

เพราะความจางคลายดั บไปโดยไม เหลื อแห งอวิ ชชานั้ นนั่ นเที ยว, จึ งมี ความดั บ แห ง สั ง ขาร; เพราะมี ค วามดั บ แห ง สั ง ขาร จึ ง มี ค วามดั บ แห ง วิ ญ ญาณ; ...ฯลฯ... ฯลฯ...ฯลฯ...; เพราะมีความดับแหงชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะ-

www.buddhadasa.info


๖๗๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑

โทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการ อยางนี้" ดังนี้. อเจลกั สสปะนั้ น กล าวสรรเสริญ พระธรรมโอวาทนั้ นแล ว ทู ลขอบรรพชาอุ ปสมบทกะ พระผูมีพระภาคเจา ครั้นไดอุปสมบทแลว ไมนานนัก ก็ทําใหแจงซึ่งอรหัตตผลอันเปนที่สุดแหงพรหมจรรย ไดเปน พระอรหันตองคหนึ่ง ในบรรดาพระอรหันตทั้งหลาย, ดังนี้ แล.

แมทุกขในลัทธิทั้งหลายอื่น ก็มีผัสสะเปนจุดตั้งตน๑ ดู ก อนอานนท ! คราวหนึ่ ง เราอยู ที่ ป าไผ เป นที่ ให เหยื่ อแก กระแต ใกล กรุงราชคฤห นี่ เอง.ครั้งนั้ น เวลาเช า เราครองจี ว รถื อ บาตร เพื่ อ ไปบิ ณ ฑบาตใน กรุงราชคฤห คิดขึ้นมาวา ยังเชาเกินไปสําหรับการบิณฑบาตในกรุงราชคฤห ถาไฉน เราเขาไปสูอารามของปริพพาชก ผูเปนเดียรถียเหลาอื่นเถิด. ดูกอนอานนท! เราไดเขาไปสูอารามของปริพพาชก ผูเปนเดียรถียเหลาอื่น กระทําสัมโมทยียกถาแกกันและกัน นั่งลง ณ ที่ควรขางหนึ่ง. ดูกอนอานนท! ปริพพาชก ผูเปนเดียรถียอื่นเหลานั้น ไดกลาวแกเราผูนั่งแลว อยางนี้วา “ทานโคตมะ! มีสมณพราหมณบางพวกที่กลาวสอนเรื่องกรรม ยอมบัญญัติความทุกข วาเปนสิ่งที่ตนทําเอาดวย ตนเอง; มีสมณพราหมณ อีกบางพวกที่กลาวสอนเรื่องกรรม ยอมบัญญั ติความทุกข วาเปนสิ่งที่ผูอื่นกระทําให; มีสมณพราหมณอีกบางพวกที่กลาวสอนเรื่องกรรม ยอม

www.buddhadasa.info

สูตรที่ ๔ ทสพลวรรค นิทานสังยุตต นิทาน.สํ. ๑๖/๔๑/๗๖, ตรัสแกพระอานนท ที่เวฬุวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๖๗๑

บัญญั ติความทุกขวา เปนสิ่งที่ตนทําเอาดวยตนเองดวย ผูอื่นทําใหดวย; มีสมณพราหมณ อีกบางพวก ที่กลาวสอนเรื่องกรรม ยอมบัญญัติความทุกขวาเปนสิ่งที่ไมใชทําเองหรือใครทําให ก็ เกิ ดขึ้ นได . ในเรื่องนี้ ท านโคตมะของพวกเรา จะพู ดวาอย างไร จะกล าววาอย างไร; และพวกเรากลาวอยู อย างไร จึงจะเป นอั นกล าวตามคํ าที่ ท านโคตมะกล าวแล ว, ไม เป น การกลาวตู ดวยคํ าไม จริง แตเป นการกล าวโดยถูกต อง และสหธรรมิ กบางคนที่ กลาวตาม จะไมพลอยเปนผูควรถูกติเตียนไปดวย?" ดังนี้. ดู ก อนอานนท ! เราเมื่ อถู กถามอย างนี้ แล ว ได ตอบแก ปริพพาชกเหล านั้ นวา "ดูกอนทานทั้งหลาย! ทุกขนั้นเรากลาววา เปนเพียงสิ่งที่อาศัยปจจัยอยางใดอยาง หนึ่ งแล วเกิ ด ขึ้ น (เรีย กวา ปฏิ จ จสมุ ป ป น ธรรม). ทุ ก ขนั้ น อาศั ย ป จ จัย อะไรเล า? ทุกขนั้น อาศัยปจจัยคือผัสสะ. ผูกลาวอยางนี้แลชื่อวากลาวตรงตามที่เรากลาว, ไม เป นการกล าวตู เราด วยคํ าไม จริง แต เป นการกล าวโดยถู กต อง และสหธรรมิ กบางคน ที่กลาวตาม ก็จะไมพลอยกลายเปนผูควรถูกติไปดวย. ดูกอนท านทั้งหลาย! ในบรรดาสมณพราหมณ ที่กลาวสอนเรื่องกรรมทั้ งสี่ พวก นั้น : สมณพราหมณ ที่กลาวสอนเรื่องกรรมพวกใด บั ญญั ติความทุกข วาเป นสิ่งที่ ตนทํ า เอาดวยตนเอง; แมความทุกขที่พวกเขาบัญญัตินั้น ก็ยังตองอาศัยผัสสะเปนปจจัย จึง เกิดมีได. สมณพราหมณ ที่กลาวสอนเรื่องกรรมพวกใด บัญญั ติความทุกข วาเปนสิ่งที่ ผูอื่นทําให; แมความทุกขที่พวกเขาบัญ ญั ตินั้น ก็ยังตองอาศัยผัสสะเปนปจจัยจึง เกิดมีได. สมณพราหมณ ที่กลาวสอนเรื่องกรรมพวกใด บัญญั ติความทุกข วาเปนสิ่งที่ ตนทํ าเอาด วยตนเองด วย ผู อื่ นทํ าให ด วย; แม ความทุ กข ที่ พวกเขาบั ญ ญั ติ นั้ น ก็ ยั ง ตองอาศัยผัสสะเปนปจจัยจึงเกิดมีได. ถึงแมสมณพรามหณที่กลาวสอนเรื่องกรรมพวก ใด บัญญัติความทุกข วาเปนสิ่งที่ไมใชทําเองหรือใครทําใหเกิดขึ้นได ก็ตาม; แมความทุกขที่ พวกเขาบัญญัตินั้น ก็ยังตองอาศัยผัสสะเปนปจจัยจึงเกิดมีได อยูนั่นเอง.

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๖๗๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑

ดู ก อนท านทั้ งหลาย! ในบรรดาสมณพราหมณ ที่ กล าวสอนเรื่ องกรรมทั้ งสี่ พวกนั้ น : สมณพราหมณ ที่ กล าวสอนเรื่องกรรมพวกใด บั ญญั ติ ความทุ กข ว าเป นสิ่ งที่ ตนทํ าเอาด วยตนเอง; สมณพราหมณ พวกนั้ นหนา เว นผั สสะเสี ยแล ว จะรู สึ กต อความ ทุ ก ข นั้ น ได ดั ง นั้ น หรื อ : นั่ น ไม ใ ช ฐ านะที่ จั ก มี ไ ด . ถึ ง แม ส มณพราหมณ ที่ ก ล า ว สอนเรื่ องกรรมพวกใด บั ญญั ติ ความทุ กข ว าเป นสิ่ งที่ ผู อื่ นทํ าให ก็ ตาม; สมณพราหมณ พวกนั้ น หนา เว น ผั ส สะเสี ยแล ว จะรูสึ ก ต อ ความทุ กข นั้ น ได ดั งนั้ น หรื อ : นั่ น ไม ใช ฐานะที่ จั กมี ได . ถึ งแม สมณพราหมณ ที่ กล าวสอนเรื่องกรรมพวกใด บั ญญั ติ ความทุ กข ว าเป นสิ่ งที่ ตนทํ าเอาด วยตนเองด วย ผู อื่ นทํ าให ด วย ก็ ตาม; สมณพราหมณ พวกนั้ น หนา เว น ผั ส สะเสี ย แล ว จะรูสึ ก ต อ ความทุ ก ข นั้ น ได ดั ง นั้ น หรือ : นั่ น ไม ใ ช ฐ านะที่ จั กมี ได . ถึ งแม สมณพราหมณ ที่ กล าวสอนเรื่องกรรมพวกใด บั ญญั ติ ความทุ กข ว าที่ ไม ใช ทํ าเองหรือใครทํ าให ก็ เกิ ดขึ้ นได ก็ ตาม; สมณพราหมณ พวกนั้ นหนาเว นผั สสะเสี ยแล วจะ รูสึกตอความทุกขนั้นได ดังนั้นหรือ : นั่นไมใชฐานะที่จักมีได", ดังนี้.

พวกกัมมวาทีทุกพวก กับหลักปฏิจจสมุปบาท๑

www.buddhadasa.info ดู ก อ นอานนท ! คราวหนึ่ ง เราอยู ที่ ป าไผ เป น ที่ ให เหยื่ อ แก ก ระแต ใกล กรุ งราชคฤห นี่ เอง.ครั้ งนั้ น เวลาเช า เราครองจี วรถื อ บาตร เพื่ อ ไปบิ ณ ฑบาตในกรุ ง ราชคฤห คิ ดขึ้ นมาว า ยั งเช าเกิ นไปสํ าหรั บ การบิ ณ ฑบาตในกรุ งราชคฤห ถ าไฉนเรา เขาไปสูอารามของปริพพาชก ผูเปนเดียรถียเหลาอื่นเถิด.

สู ต รที่ ๔ ทสพลวรรค นิ ท านสั งยุ ต ต นิ ท าน.สํ . ๑๖/๔๑/๗๖, ตรั ส แก พ ระอานนท ที่ เวฬุ วั น . ข อ ความ ตอนต น แห งเรื่ อ งนี้ เหมื อ นกั บ ข อความในหั วข อ ที่ แล วมา คื อหั วข อ ว า "แม ทุ ก ข ในลั ท ธิ ทั้ งหลายอื่ น ก็ มี ผั สสะเป นจุ ดตั้ งต น" ทุ กตั วอั กษร; แต จํ าเป นต องยกมาใส ไว ในที่ นี้ อี ก ก็ เพื่ อสะดวกแก การศึ กษา ในประเด็ นแห งหั วข อนี้ ซึ่ งมุ งจะเปรี ยบเที ยบลั ทธิ กรรมนอกพระพุ ทธศาสนากั บหลั กปฏิ จจสมุ ปบาทแห ง พระพุทธศาสนา.

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๖๗๓

ดู ก อนอานนท ! เราได เขาไปสู อารามของปริพพาชก ผู เป นเดี ยรถี ย เหล าอื่ น กระทําสัมโมทยียกถาแกกันและกัน นั่ งลง ณ ที่ควรขางหนึ่ ง. ดู กอนอานนท! ปริพพาชก ผู เป นเดี ยรถี ย อื่ นเหล านั้ น ได กล าวแก เราผู นั่ งแล ว อย างนี้ วา “ท านโคตมะ! มี ส มณพราหมณ บางพวกที่กลาวสอนเรื่องกรรม ยอมบัญญั ติความทุกข วาเปนสิ่งที่ตนทําเอาดวย ตนเอง; มี สมณพราหมณ อีกบางพวกที่ กล าวสอนเรื่องกรรม ย อมบั ญญั ติ ความทุ กข วา เปนสิ่งที่ผูอื่นกระทําให; มีสมณพราหมณ อีกบางพวกที่กลาวสอนเรื่องกรรม ยอมบัญญั ติ ความทุ กข วา เป นสิ่ งที่ ตนทํ าเอาด วยตนเองด วย ผู อื่ นทํ าให ด วย; มี สมณพราหมณ อี ก บางพวกที่ กล าวสอนเรื่องกรรม ยอมบั ญญั ติ ความทุ กขวาไม ใชทํ าเองหรือใครทํ าให ก็เกิ ด ขึ้ นได . ในเรื่องนี้ ท านโคตมะของพวกเราจะพู ดว าอย างไร จะกล าวว าอย างไร; และ พวกเรากล าวอยู อย างไร จึ งจะเป นอั นกล าวตามคํ าที่ ท านโคตมะกล าวแล ว, ไม เป นการ กล าวตู ด วยคํ าไม จริง แต เป นการกล าวโดยถู กต อง และสหธรรมิ กบางคนที่ กล าวตาม จะไมพลอยเปนผูควรถูกติเตียนไปดวย?" ดังนี้. ดู ก อนอานนท ! เราเมื่ อถู กถามอย างนี้ แล ว ได ตอบแก ปริพพาชกเหล านั้ นว า "ดูกอนทานทั้งหลาย! ทุกขนั้นเรากลาววา เปนเพียงสิ่งที่อาศัยปจจัยอยางใดอยางหนึ่ง แลวเกิดขึ้น (เรียกวา ปฏิจจสมุปปนธรรม). ทุกขนั้น อาศัยปจจัยอะไรเลา? ทุกขนั้น อาศัยปจจัยคือผัสสะ. ผูกลาวอยางนี้แล ชื่อวา กลาวตรงตามที่เรากลาว, ไมเปน การกลาวตูเราดวยคําไมจริง แตเปนการกลาวโดยถูกตอง และสหธรรมิกบางคนที่กลาวตาม ก็จะไมพลอยกลายเปนผูควรถูกติไปดวย.

www.buddhadasa.info ดู ก อนท านทั้ งหลาย! ในบรรดาสมณพราหมณ ที่ กล าวสอนเรื่องกรรมทั้ งสี่ พวกนั้น : สมณพราหมณ ที่กลาวสอนเรื่องกรรมพวกใด บั ญญั ติ ความทุกข วาเป นสิ่งที่ ตนทําเอาดวยตนเอง; แมความทุกขที่พวกเขาบัญญัตินั้น ก็ยังตองอาศัยผัสสะเปน

www.buddhadasa.info


๖๗๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑

ปจจัยจึงเกิดมีได. สมณพราหมณ ที่กลาวสอนเรื่องกรรมพวกใด บัญญั ติความทุกข วา เปนสิ่งที่ผูอื่นทําให; แมความทุกขที่พวกเขาบัญญัตินั้น ก็ยังตองอาศัยผัสสะเปนปจจัย จึงเกิดมี ได . สมณพราหมณ ที่กลาวสอนเรื่องกรรมพวกใด บัญญั ติความทุกข วาเป น สิ่งที่ตนทําเอาดวยตนเองดวย ผูอื่นทําใหดวย; แมความทุกขที่พวกเขาบัญญั ตินั้น ก็ยัง ตองอาศัยผัสสะเปนปจจัยจึงเกิดมีได. ถึงแมสมณพรามหณที่กลาวสอนเรื่องกรรม พวกใด บัญญัติความทุกข วาเปนสิ่งที่ไมใชทําเองหรือใครทําใหเกิดขึ้นได ก็ตาม; แมความทุกข ที่พวกเขาบัญญัตินั้น ก็ยังตองอาศัยผัสสะเปนปจจัยจึงเกิดมีได อยูนั่นเอง. ดู ก อนท านทั้ งหลาย! ในบรรดาสมณพราหมณ ที่ กล าวสอนเรื่องกรรมทั้ งสี่ พวกนั้ น : สมณพราหมณ ที่กล าวสอนเรื่องกรรมพวกใด บั ญญั ติ ความทุ กข วาเป นสิ่ งที่ ตนทํ าเอาด วยตนเอง; สมณพราหมณ พวกนั้ นหนา เว นผั สสะเสี ยแล ว จะรูสึ กต อความ ทุกขนั้นได ดังนั้นหรือ : นั่นไมใชฐานะที่จักมีได. ถึงแมสมณพราหมณ ที่กลาวสอน เรื่ องกรรมพวกใด บั ญ ญั ติ ความทุ กข ว าเป นสิ่ งที่ ผู อื่ นทํ าให ก็ ตาม; หมณพราหมณ พวกนั้ นหนา เวนผั สสะเสี ยแล ว จะรูสึ กต อความทุ กขนั้ นได ดั งนั้ นหรือ : นั่ นไม ใช ฐานะที่จักมีได. ถึงแมสมณพราหมณ ที่กลาวสอนเรื่องกรรมพวกใด บัญญั ติความทุกข วาเป นสิ่งที่ตนทําเอาดวยตนเองดวย ผูอื่นทําให ดวย ก็ตาม; สมณพราหมณ พวกนั้นหนา เวนผัสสะเสียแลว จะรูสึกตอความทุกขนั้นไดดังนั้นหรือ : นั่นไมใชฐานะที่จักมีได. ถึ งแม สมณพราหมณ ที่ กล าวสอนเรื่องกรรมพวกใด บั ญญั ติ ความทุ กข ว าไม ใช ทํ าเองหรื อ ใครทํ าให ก็ เกิ ดขึ้นได ก็ ตาม; สมณพราหมณ พวกนั้ นหนาเวนผั สสะเสี ยแล ว จะรูสึ ก ตอความทุกขนั้นได ดังนั้นหรือ : นั่นไมใชฐานะที่จักมีได",

www.buddhadasa.info "น าอั ศจรรย พระเจ าข า! ไม เคยมี แล ว พระเจ าข า! คื อข อที่ ในกาลใด อรรถะทั้งปวง จักเปนอรรถะที่พระผูมีพระภาคตรัสแลวดวยบทเพียงบทเดียว (วาผัสสะ) และ

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๖๗๕

อรรถะนั้น จึงพึงเปนอรรถะที่ เมื่อกลาวโดยพิสดารแลว จะพึงเปนของลึกซึ้งดวย มีลักษณะ ดูลึกซึ้งดวยไหม พระเจาขา?" ดูกอนอานนท! ถาอยางนั้น คําตอบในกรณีนี้ จงแจมแจงกะเธอเองเถิด. "ขาแตพระองคผูเจริญ! ถาคนทั้งหลาย จะพึ งถามขาพระองคอยางนี้วา ‘ขาแต ทานอานนท! ชรามรณะ มีอะไรเปนเหตุใหเกิด? มีอะไรเปนเครื่องกอใหเกิด? มีอะไร เป นเครื่องกํ าเนิ ด? มี อะไรเป นแดนเกิ ด?' ดั งนี้ . ข าแต พระองค ผู เจริญ! ข าพระองค ถู ก ถามอยางนี้ จะตอบแกเขาอยางนี้วา ‘ดูกอนทานทั้งหลาย! ชรามรณะ มีชาติเปนเหตุให เกิด มีชาติเปนเครื่องกอใหเกิด มีชาติเปนเครื่องกําเนิด มีชาติเปนแดนเกิด' ดังนี้. ขาแต พระองคผูเจริญ! ขาพระองคถูกถามอยางนี้แลว จะตอบแกเขาอยางนี้". "ข าแต พระองค ผู เจริญ ! ถ าคนทั้ งหลาย จะพึ งถามข าพระองค อย างนี้ ว า ‘ขาแตทานอานนท! ชรามรณะ มีอะไรเปนเหตุใหเกิด? มีอะไรเปนเครื่องกอใหเกิด? มีอะไร เป นเครื่องกําเนิด? มีอะไรเปนแดนเกิด?' ดังนี้. ขาแตพระองคผูเจริญ! ขาพระองคถูกถาม อยางนี้ จะตอบแกเขาอยางนี้วา ‘ดูกอนทานทั้งหลาย! ชาติ มีภพเปนเหตุใหเกิด มีภพ เปนเครื่องกอใหเกิด มีภพเปนเครื่องกําเนิดมีภพเปนแดนเกิด' ดังนี้.ขาแตพระองคผูเจริญ! ขาพระองคถูกถามอยางนี้แลว จะตอบแกเขาอยางนี้".

www.buddhadasa.info ...ฯลฯ... ภพมีอุปาทาน เปนเหตุใหเกิด ...ฯลฯ...ฯลฯ... ...ฯลฯ... อุปาทานมีตัณหา เปนเหตุใหเกิด ...ฯลฯ...ฯลฯ... ...ฯลฯ... ตัณหามีเวทนา เปนเหตุใหเกิด ...ฯลฯ...ฯลฯ... ...ฯลฯ... เวทนาผัสสะ เปนเหตุใหเกิด ...ฯลฯ...ฯลฯ...

"ขาแตพระองคผูเจริญ! ถาคนทั้งหลาย จะพึ งถามขาพระองค(ตอไปอีก) อยางนี้ วา ‘ขาแตทานอานนท! ก็ผัสสะเลา มีอะไรเปนเหตุใหเกิด? มีอะไรเปนเครื่องกอใหเกิด?

www.buddhadasa.info


๖๗๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑

มี อะไรเป นเครื่องกํ าเนิ ด? มี อะไรเป นแดนเกิ ด?' ดั งนี้ . ข าแต พระองค ผู เจริญ! ข าพระองค ถู ก ถามอยางนี้ จะตอบแกเขาอยางนี้วา `ดูกอนทานทั้งหลาย! ผัสสะ มีสฬายตนะเป นเหตุ ให เกิ ด มสฬายตนะเป นเครื่องก อให เกิ ด มี สฬายตนะเป นเครื่องกํ าเนิ ด มี สฬายตนะเป น แดนเกิด. ดู ก อนท านทั้ งหลาย! เพราะความจางคลายดั บไปโดยไม เหลื อแห งผั สสายตนะทั้ งหกนั่ นแหละ, จึ งมี ความดั บแห งผั สสะ; เพราะมี ความดั บแห งผั สสะ จึ งมี ความดั บ แห งเวทนา; เพราะมี ความดั บ แห งเวทนา จึ งมี ความดั บแห งตั ณ หา; เพราะมี ความดั บ แห งตั ณหา จึ งมี ความดั บแห งอุ ปาทาน; เพราะมี ความดั บแห งอุ ปาทาน จึ งมี ความดั บแห ง ภพ; เพราะมี ความดั บแห งภพ จึ งมี ความดั บแห งชาติ ; เพราะมี ความดั บแห งชาติ นั่ นแล ชรามรณะ โสกะปริ เทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งดั บสิ้ น : ความดั บลงแห งกอง ทุ กข ทั้ งสิ้ นนี้ ย อมมี ด วยอาการอย างนี้ ' ดั งนี้ . ข าแต พระองค ผู เจริ ญ ! ข าพระองค ถู ก ถามอยางนี้แลว จะตอบแกเขาอยางนี้", ดังนี้. เงื่อนงําที่อาจนําไปสูสัสสตทิฏฐิหรืออุจเฉททิฏฐิ ในอาการหนึ่ง ๆ ของปฏิจจสมุปบาท๑

www.buddhadasa.info ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เพราะมีอวิชชาเปนปจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย; เพราะ มี สั ง ขารเป น ป จจั ย จึ ง มี วิ ญ ญ าณ ; ฯลฯ..ฯลฯ..ฯลฯ...เพ ราะมี ชาติ เ ป น ป จจั ย ,

สู ต รที่ ๕ กฬารขั ต ติ ย วรรค นิ ท านสั งยุ ต ต นิ ท าน. สํ . ๑๖/๗๒/๑๒๘, ตรั ส ตอบแก ภิ ก ษุ รู ป หนึ่ ง ในหมู ภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน ๒. ความหมายเล็งถึง ความจางคลายแหงอุปาทาน ที่มีตออัสสาทะ ในผัสสายตนะ

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๖๗๗

ชรามรณะ โสกะปริ เทวะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งเกิ ดขึ้ น ครบถ วน : ความเกิ ด ขึ้นพรอมแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมีดวยอาการอยางนี้. เมื่ อพระผู มี พระภาคเจ า ตรัสอย างนี้ แล ว, ภิ กษุ รูปหนึ่ งได ทู ลถามพระผู มี พระภาคเจ าว า

"ข าแต พระองค ผู เจริญ! ชรามรณะ เป นอย างไรหนอ? และชรามรณะนี้ เป นของใคร? พระเจาขา!" พระผูมีพระภาคเจา ไดตรัสวา "นั่นเปนปญหาที่ไมควรจะเปนปญหาเลย : ดูกอน

ภิ กษุ !บุ คคลใดจะพึ งกล าวเช นนี้ วา `ชรามรณะ เป นอยางไร และชรามรณะนี้ เป นของใคร' ดั งนี้ ก็ ดี ; หรือว าบุ คคลใดจะพึ งกล าวเช นนี้ ว า `ชรามรณะเป นอย างอื่ น (: ตรงกั นข าม จากที่กลาววาเปนอยางไร, ตามนัยแรก)และชรามรณะนี้ เปนของผูอื่น๑ (: ตรงกันขามจากที่ กล าววาเป นของใคร, ตามนั ยแรก)ดั งนี้ ก็ ดี : คํ ากล าวของบุ คคลทั้ งสองนั้ น มี อรรถ (ความหมาย เพื่อการยึดมั่นถือมั่น) อยางเดียวกัน, ตางกันแตเพียงพยัญชนะ (เสียงที่ กลาว) เทานั้น. ดูกอนภิ กษุ ! เมื่ อทิ ฏฐิวา `ชีวะก็อันนั้น สรีระก็อันนั้น' ดังนี้ก็ดี มี อยู, การ อยู อย างประพฤติ พรหมจรรย ก็ ไม มี . ดู ก อนภิ กษุ ! หรื อว า เมื่ อทิ ฏฐิ ว า ‘ชี วะก็ อั นอื่ น สรี ระก็ อั น อื่ น ’ ดั งนี้ ก็ ดี มี อ ยู , การอยู อ ย า งประพฤติ พ รหมจรรย ก็ ไม มี .๒ ดู ก อ น ภิกษุ!

www.buddhadasa.info ๑

คําวา "อื่น" ในที่นี้ หมายความวาตรงกันขามจากความเปนตัวมันเอง หรือกลาวอีกอยางหนึ่ง ก็วามิใช ชรามรณะนั่นเอง จึงเกิดเปนของคูขึ้นมา วาสิ่งนี้เปนอยางนี้ และสิ่งอื่นเปนอยางอื่นจากความเปนอยางนี้. พุทธศาสนา ไมยอมกลาววา "อยางนี้" หรือ "อยางอื่น" ทั้งสองอยาง แตจะกลาวโดยสายกลางวา เพราะสิ่งนี้มี สิ่งถัดมาจึงมี เปนลําดับ ๆ ไป ไมมีลักษณะเปนตัวมันเอง หรือไมเปนตัวมันเองเสียเลย.

- ผูรวบรวม. ๒

"การประพฤติ พรหมจรรย ก็ ไม มี " นี้ หมายความว า การประพฤติ กระทํ าของชนเหล านั้ น แม มี อยู ก็ ไม เรียกวา การประพฤติพรหมจรรย,เพราะวา การกระทําของเขานั้น มิไดเปนไป เพื่อดับทุกข นั่นเอง.

www.buddhadasa.info


๖๗๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑

ตถาคต ย อมแสดงธรรมโดยสายกลาง ไม เขาไปหาส วนทั้ งสองนั้ น คื อตถาคต ย อม แสดงดังนี้วา ‘เพราะมีชาติเปนปจจัย จึงมีชรามรณะ' ดังนี้. "ข าแต พระองค ผู เจริญ ! ชาติ เป นอย างไรหนอ? และชาติ นี้ เป นของใคร? พระเจาขา!" นั่ นเป นป ญหาที่ ไม ควรจะเป นป ญหาเลย : ดู ก อนภิ กษุ ! บุ คคลใดจะพึ งกล าว เช น นี้ ว า "ชาติ เป น อย า งไร และชาติ นี้ เป น ของใคร" ดั ง นี้ ก็ ดี ; หรื อ ว า บุ ค คลใดจะ พึ งกลาวเชนนี้วา "ชาติเป นอยางอื่น(: ตรงกันขามจากที่ กลาววาเป นอยางไร, ตามนั ยแรก) และชาติ นี้ เป นของผู อื่น (: ตรงกั นขามจากที่ กล าววาเป นของใคร, ตามนั ยแรก)" ดั งนี้ ก็ ดี : คํ ากล าวของบุ ค คลทั้ งสองนั้ น มี อ รรถ (ความหมายเพื่ อ การยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น อยางเดียวกัน, ตางกันแตเพียงพยัญชนะ (เสียงที่กลาว) เทานั้น. ดู ก อ นภิ ก ษุ ! เมื่ อ ทิ ฏ ฐิ ว า "ชี ว ะก็ อั น นั้ น สรี ระก็ อั น นั้ น " ดั งนี้ ก็ ดี มี อ ยู , การอยูอยางประพฤติ พรหมจรรย ก็ ไม มี . ดู กอนภิ กษุ ! หรือวา เมื่ อทิฏฐิวา "ชีวะก็อันอื่ น สรีระก็ อั นอื่ น" ดั งนี้ ก็ ดี มี อยู , การอยู อย างประพฤติ พรหมจรรย ก็ ไม มี . ดู ก อนภิ กษุ ! ตถาคตย อมแสดงธรรมโดยสายกลาง ไม เขาไปหาส วนสุ ดทั้ งสองนั้ น คื อ ตถาคตยอม แสดงดังนี้วา "เพราะมีภพเปนปจจัย จึงมีชาติ" ดังนี้.

www.buddhadasa.info "ข าแต พ ระองค ผู เจริ ญ ! ภพเป นอย างไรหนอ? และภพนี้ เป นของใคร? พระเจาขา!" นั่ นเป นป ญ หาที่ ไม ควรจะเป นป ญ หาเลย : ดู ก อนภิ กษุ ! บุ คคลใดจะพึ ง กลาวเชนนี้วา "ภพเปนอยางไร และภพนี้เปนของใคร" ดังนี้ก็ดี; หรือวาบุคคลใด

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๖๗๙

จะพึ งกลาวเชนนี้วา "ภพเป นอยางอื่น (: ตรงกันขามจากที่ กลาววาเปนอยางไร, ตามนั ย แรก) และภพนี้ เป นของผูอื่น (: ตรงกันขามจากที่กลาววาเปนของใคร, ตามนั ยแรก)" ดังนี้ก็ดี : คํากลาวของบุคคลทั้งสองนั้น มีอรรถ (ความหมายเพื่อการยึดมั่นถือมั่น อยางเดียวกัน, ตางกันแตเพียงพยัญชนะ (เสียงที่กลาว)เทานั้น. ดู ก อ นภิ ก ษุ ! เมื่ อ ทิ ฏ ฐิ ว า "ชี วะก็ อั น นั้ น สรี ระก็ อั น นั้ น " ดั งนี้ ก็ ดี มี อ ยู , การอยูอยางประพฤติ พรหมจรรย ก็ ไม มี . ดู กอนภิ กษุ ! หรือวา เมื่ อทิฏฐิวา "ชีวะก็อันอื่ น สรีระก็ อั นอื่ น" ดั งนี้ ก็ ดี มี อยู , การอยู อย างประพฤติ พรหมจรรย ก็ ไม มี . ดู ก อนภิ กษุ ! ตถาคตย อมแสดงธรรมโดยสายกลาง ไม เขาไปหาส วนสุ ดทั้ งสองนั้ น คื อ ตถาคตยอม แสดงดังนี้วา "เพราะมีอุปาทานเปนปจจัย จึงมีภพ" ดังนี้. "ข าแต พระองค ผู เจริญ! อุ ปาทานเป นอย างไรหนอ? และอุ ปาทานนี้ เป น ของใคร? พระเจาขา!" นั่ น เป น ป ญ หาที่ ไม ค วรจะเป น ป ญ หาเลย: ดู ก อ นภิ กษุ ! บุ ค คลใดจะพึ ง กล าวเช นนี้ ว า "อุ ปาทานเป นอย างไร และอุ ปาทานนี้ เป นของใคร" ดั งนี้ ก็ ดี ; หรือว า บุคคลใดจะพึงกลาวเชนนี้วา "อุปาทานเปนอยางอื่น (: ตรงกันขามจากที่กลาววาเปนอยางไร, ตามนั ยแรก)และอุ ปาทานนี้ เป นของผู อื่ น (: ตรงกั นข ามจากที่ กล าวว าเป นของใคร, ตามนั ยแรก)" ดั งนี้ ก็ดี : คํ ากล าวของบุ คคลทั้ งสองนั้ น มี อรรถ (ความหมายเพื่ อ การยึดมั่นถือมั่น) อยางเดียวกัน, ตางกันแตเพียงพยัญชนะ (เสียงที่กลาว)เทานั้น.

www.buddhadasa.info ดู ก อ นภิ ก ษุ ! เมื่ อ ทิ ฏ ฐิ ว า "ชี วะก็ อั น นั้ น สรี ระก็ อั น นั้ น " ดั งนี้ ก็ ดี มี อ ยู , การอยูอยางประพฤติพรหมจรรย ก็ไมมี. ดูกอนภิกษุ! หรือวา เมื่อทิฏฐิวา "ชีวะก็

www.buddhadasa.info


๖๘๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑

อันอื่น สรีระก็ อั นอื่ น" ดั งนี้ ก็ ดี มี อยู , การอยู อย างประพฤติ พรหมจรรย ก็ ไม มี . ดู ก อน ภิ กษุ ! ตถาคตย อมแสดงธรรมโดยสายกลาง ไม เขาไปหาส วนสุ ดทั้ งสองนั้ น คือ ตถาคต ยอมแสดงดังนี้วา "เพราะมีตัณหาเปนปจจัย จึงมีอุปาทาน" ดังนี้. "ขาแต พระองค ผู เจริญ! ตั ณหาเป นอย างไรหนอ? และตั ณหานี้ เป นของใคร? พระเจาขา!" นั่ นเป นป ญ หาที่ ไม ควรจะเป นป ญ หาเลย: ดู ก อนภิ กษุ ! บุ คคลใดจะพึ ง กลาวเชนนี้วา "ตัณหาเปนอยางไร และตัณหานี้เปนของใคร" ดังนี้ก็ดี; หรือวาบุคคลใด จะพึงกลาวเชนนี้วา ตัณหาเปนอยางอื่น (: ตรงกันขามจากที่กลาววาเปนอยางไร, ตาม นัยแรก) และตัณหานี้ เปนของผูอื่น (: ตรงกันขามจากที่กลาววาเปนของใคร, ตามนัย แรก)" ดังนี้ก็ดี : คํากลาวของบุคคลทั้งสองนั้น มีอรรถ (ความหมายเพื่อการยึดมั่น ถือมั่น) อยางเดียวกัน, ตางกันแตเพียงพยัญชนะ (เสียงที่กลาว) เทานั้น. ดู ก อ นภิ ก ษุ ! เมื่ อ ทิ ฏ ฐิ ว า "ชี วะก็ อั น นั้ น สรี ระก็ อั น นั้ น " ดั งนี้ ก็ ดี มี อ ยู , การอยูอยางประพฤติ พรหมจรรย ก็ ไม มี . ดู กอนภิ กษุ ! หรือวา เมื่ อทิฏฐิวา "ชีวะก็อันอื่ น สรี ระก็ อั นอื่ น" ดั งนี้ ก็ ดี มี อยู ,การอยู อย างประพฤติ พรหมจรรย ก็ ไม มี . ดู ก อนภิ กษุ ! ตถาคตย อมแสดงธรรมโดยสายกลาง ไม เข าไปหาส วนสุ ดทั้ งสองนั้ น คื อ ตถาคตย อม แสดงดังนี้วา "เพราะมีเวทนาเปนปจจัย จึงมีตัณหา" ดังนี้.

www.buddhadasa.info "ข าแต พระองค ผู เจริญ! เวทนาเป นอย างไรหนอ?และเวทนานี้ เป นของใคร? พระเจาขา!"

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๖๘๑

นั่ นเป นป ญหาที่ ไม ควรจะเป นป ญหาเลย: ดู ก อนภิ กษุ ! บุ คคลใดจะพึ งกล าว เช น นี้ ว า "เวทนาเป น อย างไร และเวทนานี้ เป นของใคร" ดั งนี้ ก็ ดี ; หรือ ว าบุ คคลใด จะพึงกลาวเชนนี้วา เวทนาเปนอยางอื่น (: ตรงกันขามจากที่กลาววาเปนอยางไร, ตาม นัยแรก) และเวทนานี้ เปนของผูอื่น (: ตรงกันขามจากที่กลาววาเปนของใคร, ตามนัยแรก)" ดังนี้ก็ดี : คํากลาวของบุคคลทั้งสองนั้น มีอรรถ (ความหมายเพื่อการยึดมั่นถือมั่น) อยางเดียวกัน, ตางกันแตเพียงพยัญชนะ (เสียงที่กลาว) เทานั้น. ดู ก อ นภิ ก ษุ ! เมื่ อ ทิ ฏ ฐิ ว า "ชี วะก็ อั น นั้ น สรี ระก็ อั น นั้ น " ดั งนี้ ก็ ดี มี อ ยู , การอยู อ ย า งประพฤติ พ รหมจรรย ก็ ไม มี . ดู ก อ นภิ ก ษุ ! หรือ ว า เมื่ อ ทิ ฏ ฐิ ว า "ชี ว ะ ก็ อั น อื่ น สรี ร ะก็ อั น อื่ น " ดั ง นี้ ก็ ดี มี อ ยู ,การอยู อ ย า งประพฤติ พ รหมจรรย ก็ ไ ม มี . ดู ก อ นภิ กษุ ! ตถาคตย อมแสดงธรรมโดยสายกลาง ไม เข าไปหาส วนสุ ดทั้ งสองนั้ น คือตถาคตยอมแสดงดังนี้วา "เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมีเวทนา" ดังนี้. "ขาแตพระองค ผู เจริญ! ผั สสะเป นอย างไรหนอ? และผั สสะนี้ เป นของใคร? พระเจาขา!"

www.buddhadasa.info นั่ น เป น ป ญ หาที่ ไม ค วรจะเป น ป ญ หาเลย: ดู ก อ นภิ กษุ ! บุ ค คลใดจะพึ ง กล าวเช นนี้ ว า "ผั สสะเป นอย างไร และผั สสะนี้ เป นของใคร" ดั งนี้ ก็ ดี ; หรือว าบุ คคล ใดจะพึ งกล าวเช นนี้ วา ผั สสะ เป นอย างอื่ น (: ตรงกั นขามจากที่ กล าววาเป นอย างไร, ตามนัยแรก) และผัสสะนี้ เปนของผูอื่น (: ตรงกันขามจากที่กลาววาเปนของใคร, ตาม นัยแรก)" ดังนี้ก็ดี : คํากลาวของบุคคลทั้งสองนั้น มีอรรถ (ความหมายเพื่ อการ ยึดมั่นถือมั่น) อยางเดียวกัน, ตางกันแตเพียงพยัญชนะ (เสียงที่กลาว)เทานั้น.

www.buddhadasa.info


๖๘๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑

ดู ก อ นภิ ก ษุ ! เมื่ อ ทิ ฏ ฐิ ว า "ชี วะก็ อั น นั้ น สรี ระก็ อั น นั้ น " ดั งนี้ ก็ ดี มี อ ยู , การอยู อย างประพฤติ พ รหมจรรย ก็ ไม มี . ดู ก อ นภิ กษุ ! หรือ ว า เมื่ อ ทิ ฏ ฐิ ว า "ชี วะก็ อั น อื่ น สรี ร ะก็ อั น อื่ น " ดั ง นี้ ก็ ดี มี อ ยู ,การอยู อ ย า งประพฤติ พ รหมจรรย ก็ ไ ม มี . ดู ก อ นภิ กษุ ! ตถาคตย อมแสดงธรรมโดยสายกลาง ไม เข าไปหาส วนสุ ดทั้ งสองนั้ น คือตถาคตยอมแสดงดังนี้วา "เพราะมีสฬายตนะเปนปจจัย จึงมีผัสสะ" ดังนี้. "ข าแต พระองค ผู เจริญ! สฬายตนะเป นอย างไรหนอ? และสฬายตนะนี้ เป น ของใคร? พระเจาขา!" นั่ น เป น ป ญ หาที่ ไม ค วรจะเป น ป ญ หาเลย: ดู ก อ นภิ กษุ ! บุ ค คลใดจะพึ ง กล า วเช น นี้ ว า "สฬายตนะเป น อย า งไร และสฬายตนะนี้ เป น ของใคร" ดั ง นี้ ก็ ดี ; หรือวาบุคคลใดจะพึงกลาวเชนนี้วา สฬายตนะเปนอยางอื่น (: ตรงกันขามจากที่กลาววา เป นอย างไร, ตามนั ยแรก) และสฬายตนะนี้ เป นของผู อื่ น (: ตรงกั นข ามจากที่ กล าว ว า เป น ของใคร, ตามนั ย แรก)" ดั ง นี้ ก็ ดี : คํ า กล า วของบุ ค คลทั้ ง สองนั้ น มี อ รรถ (ความหมายเพื่อการยึดมั่นถือมั่น) อยางเดียวกัน, ตางกันแตเพียงพยัญชนะ (เสียง ที่กลาว)เทานั้น.

www.buddhadasa.info ดู ก อ นภิ ก ษุ ! เมื่ อ ทิ ฏ ฐิ ว า "ชี วะก็ อั น นั้ น สรี ระก็ อั น นั้ น " ดั งนี้ ก็ ดี มี อ ยู , การอยู อ ย า งประพฤติ พ รหมจรรย ก็ ไม มี . ดู ก อ นภิ ก ษุ ! หรือ ว า เมื่ อ ทิ ฏ ฐิ ว า "ชี ว ะ ก็ อั น อื่ น สรี ร ะก็ อั น อื่ น " ดั ง นี้ ก็ ดี มี อ ยู ,การอยู อ ย า งประพฤติ พ รหมจรรย ก็ ไ ม มี . ดู ก อ นภิ กษุ ! ตถาคตย อมแสดงธรรมโดยสายกลาง ไม เข าไปหาส วนสุ ดทั้ งสองนั้ น คือตถาคตยอมแสดงดังนี้วา "เพราะมีนามรูปเปนปจจัย จึงมีสฬายตนะ" ดังนี้.

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๖๘๓

"ข าแต พระองค ผู เจริ ญ! นามรู ปเป นอย างไรหนอ? และนามรู ปนี้ เป นของใคร?

พระเจาขา!" นั่ นเป นป ญหาที่ ไม ควรจะเป นป ญหาเลย: ดู ก อนภิ กษุ ! บุ คคลใดจะพึ งกล าว เช นนี้ วา "นามรูป เป นอย างไร และนามรูปนี้ เป นของใคร" ดั งนี้ ก็ ดี ; หรือวาบุ คคล ใดจะพึงกลาวเชนนี้วา “นามรูปเปนอยางอื่น (: ตรงกันขามจากที่กลาววาเปนอยางไร, ตาม นัยแรก) และนามรูปนี้ เปนของผูอื่น (: ตรงกันขามจากที่กลาววาเปนของใคร, ตามนัย แรก)" ดังนี้ก็ดี : คํากลาวของบุคคลทั้งสองนั้น มีอรรถ (ความหมายเพื่อการยึดมั่น ถือมั่น) อยางเดียวกัน, ตางกันแตเพียงพยัญชนะ(เสียงที่กลาว)เทานั้น. ดูกอนภิกษุ ! เมื่อทิฏฐิวา "ชีวะก็อันนั้น สรีระก็อันนั้น" ดังนี้ก็ดี มีอยู, การ อยู อย างประพฤติ พรหมจรรย ก็ ไม มี . ดู ก อนภิ กษุ ! หรือวา เมื่ อทิ ฏฐิ วา "ชี วะก็ อั นอื่ น สรีระก็ อั นอื่ น" ดั งนี้ ก็ ดี มี อยู ,การอยู อย างประพฤติ พรหมจรรย ก็ ไม มี . ดู ก อนภิ กษุ ! ตถาคตย อมแสดงธรรมโดยสายกลาง ไม เขาไปหาส วนสุ ดทั้ งสองนั้ น คื อ ตถาคตยอม แสดงดังนี้วา "เพราะมีวิญญาณเปนปจจัย จึงมีนามรูป" ดังนี้.

www.buddhadasa.info "ขาแตพระองคผูเจริญ! วิญญาณ เป นอยางไรหนอ? และวิญญาณนี้เป นของ ใคร? พระเจาขา!"

นั่ น เป น ป ญ หาที่ ไม ค วรจะเป น ป ญ หาเลย: ดู ก อ นภิ กษุ ! บุ ค คลใดจะพึ ง กล าวเช นนี้ วา "วิญญาณ เป นอย างไร และวิญญาณนี้ เป นของใคร" ดั งนี้ ก็ ดี ; หรือว า บุคคลใดจะพึงกลาวเชนนี้วา “วิญญาณเปนอยางอื่น (: ตรงกันขามจากที่กลาววาเปนอยางไร, ตามนัยแรก) และวิญญาณนี้ เปนของผูอื่น (: ตรงกันขามจากที่กลาววาเปนของใคร, ตาม

www.buddhadasa.info


๖๘๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑

นัยแรก)" ดังนี้ก็ดี : คํากลาวของบุคคลทั้งสองนั้น มีอรรถ(ความหมายเพื่อการยึดมั่น ถือมั่น) อยางเดียวกัน, ตางกันแตเพียงพยัญชนะ(เสียงที่กลาว)เทานั้น. ดู ก อ นภิ ก ษุ ! เมื่ อ ทิ ฏ ฐิ ว า "ชี ว ะก็ อั น นั้ น สรี ระก็ อั น นั้ น " ดั งนี้ ก็ ดี มี อ ยู , การอยู อย างประพฤติ พ รหมจรรย ก็ ไม มี . ดู ก อ นภิ กษุ ! หรือ ว า เมื่ อ ทิ ฏ ฐิ ว า "ชี วะก็ อั นอื่ น สรีระก็ อั นอื่ น" ดั งนี้ ก็ ดี มี อยู ,การอยู อย างประพฤติ พรหมจรรย ก็ ไม มี . ดู ก อน ภิ กษุ ! ตถาคตย อมแสดงธรรมโดยสายกลาง ไม เข าไปหาส วนสุ ดทั้ งสองนั้ น คื อตถาคต ยอมแสดงดังนี้วา "เพราะมีสังขารเปนปจจัย จึงมีวิญญาณ" ดังนี้. "ข าแต พระองค ผู เจริ ญ ! สั งขารทั้ งหลาย เป นอย างไรหนอ? และสั งขาร ทั้งหลายเหลานี้ เปนของใคร? พระเจาขา!" นั่ น เป น ป ญ หาที่ ไม ค วรจะเป น ป ญ หาเลย: ดู ก อ นภิ กษุ ! บุ ค คลใดจะพึ ง กล าวเช นนี้ วา "สั งขารทั้ งหลาย เป นอย างไร และสั งขารทั้ งหลายเหล านี้ เป นของใคร" ดั งนี้ ก็ ดี ; หรือวาบุ คคลใดจะพึ งกล าวเช นนี้ วา สั งขารทั้ งหลายเป นอย างอื่ น (: ตรง กันขามจากที่กลาววาเปนอยางไร, ตามนัยแรก) และสังขารทั้งหลายเหลานี้ เปนของผูอื่น (: ตรงกั นขามจากที่ กล าววาเป นของใคร, ตามนั ยแรก)" ดั งนี้ ก็ ดี : คํ ากล าวของบุ คคล ทั้งสองนั้น มีอรรถ (ความหมายเพื่อการยึดมั่นถือมั่น) อยางเดียวกัน, ตางกันแต เพียงพยัญชนะ (เสียงที่กลาว) เทานั้น.

www.buddhadasa.info ดู ก อ นภิ ก ษุ ! เมื่ อ ทิ ฏ ฐิ ว า "ชี ว ะก็ อั น นั้ น สรี ระก็ อั น นั้ น " ดั งนี้ ก็ ดี มี อ ยู , การอยูอยางประพฤติ พรหมจรรย ก็ ไม มี . ดู กอนภิ กษุ ! หรือวา เมื่ อทิฏฐิวา "ชีวะก็อันอื่ น สรีระก็อันอื่น" ดังนี้ก็ดี มีอยู, การอยูอยางประพฤติพรหมจรรย ก็ไมมี. ดูกอนภิกษุ!

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๖๘๕

ตถาคตย อมแสดงธรรมโดยสายกลาง ไม เข าไปหาส วนสุ ดทั้ งสองนั้ น คื อ ตถาคตย อม แสดงดังนี้วา "เพราะมีอวิชชาเปนปจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย" ดังนี้. ดู ก อ นภิ ก ษุ ! เพราะความจางคลายดั บ ไปไม เหลื อ แห งอวิ ช ชานั้ น นั่ น เอง, ทิ ฏฐิ ทั้ งหลาย บรรดามี มิ ว าชนิ ดใดชนิ ดหนึ่ ง ที่ ดํ าเนิ นไปผิ ดทาง อั นบุ คคลเสพผิ ดแล ว ดิ้ นรนไปผิ ดแล วว า "ชรามรณะ" เป นอย างไร และชรามรณะนี้ เป นของใคร" ดั งนี้ ก็ ดี : หรื อว า "ชรามรณะเป นอย างอื่ น (: ตรงกั นข ามจากที่ กล าวว าเป นอย างไร, ตามนั ยแรก) และชรามรณะนี้ เป นของผู อื่ น (: ตรงกั นข ามจากที่ กล าวว าเป นของใคร, ตามนั ยแรก)" ดั ง นี้ ก็ ดี ; หรื อ ว า "ชี ว ะก็ อั น นั้ น สรี ร ะก็ อั น นั้ น " ดั ง นี้ ก็ ดี ; หรื อ ว า "ชี ว ะก็ อั น อื่ น สรีระก็อันอื่น" ดังนี้ก็ดี; ทิฏฐิทั้งหมดนั้น เปนธรรมอันบุคคลนั้นละไดแลว มีราก เงาอันเขาตัดขาดแลว อันเขาทําใหเหมือนตาลมีขั้วยอดอันเนาแลว ถึงซึ่งความมี ไมไดแลว ทําใหเปนสิ่งที่เกิดขึ้นไมไดอีกตอไป. ดู ก อ นภิ ก ษุ ! เพราะความจางคลายดั บ ไปไม เหลื อ แห งอวิ ช ชานั้ น นั่ น เอง, ทิ ฏฐิ ทั้ งหลาย บรรดามี มิ ว าชนิ ดใดชนิ ดหนึ่ ง ที่ ดํ าเนิ นไปผิ ดทาง อั นบุ คคลเสพผิ ดแล ว ดิ้ น รนไปผิ ด แล ว ว า "ชาติ เป น อย า งไร และชาติ นี้ เป น ของใคร" ดั ง นี้ ก็ ดี : หรื อ ว า "ชาติ เป นอย างอื่ น (: ตรงกั นข ามจากที่ กล าวว าเป นอย างไร, ตามนั ยแรก) และชาติ นี้ เป น ของผู อื่ น (: ตรงกั น ข ามจากที่ ก ล าวว าเป น ของใคร, ตามนั ย แรก)" ดั งนี้ ก็ ดี ; หรื อ ว า "ชี วะก็ อั น นั้ น สรี ระก็ อั น นั้ น " ดั งนี้ ก็ ดี ; หรื อ ว า "ชี วะก็ อั น อื่ น สรี ระก็ อั น อื่ น " ดั งนี้ ก็ ดี ; ทิฏฐิทั้งหมดนั้ น เปนธรรมอันบุ คคลนั้ นละไดแลว มีรากเงาอัน เขาตัดขาดแลว อันเขาทําใหเหมือนตาลมีขั้วยอดอันเนาแลว ถึงซึ่งความมีไมไดแลว ทําใหเปน สิ่งที่เกิดขึ้นไมไดอีกตอไป.

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๖๘๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑

ดูกอนภิกษุ! เพราะความจางคลายดับไปไมเหลือแหงอวิชชานั้นนั่นเอง, ทิฏฐิทั้ งหลาย บรรดามี มิ วาชนิดใดชนิ ดหนึ่ ง ที่ ดําเนินไปผิ ดทาง อั นบุ คคลเสพผิ ดแล ว ดิ ้น รนไปผิด แลว วา " ภพ เปน อยา งไร ...ฯลฯ...ฯลฯ... เขาทํ า ใหเ ปน สิ ่ง ที ่เ กิด ขึ้นไมไดอีกตอไป. (คําที่ละเปยยาลนี้ พึงเทียบดูกับขอที่แลวมา) ดูกอนภิกษุ! เพราะความจางคลายดับไปไมเหลือแหงอวิชชานั้นนั่นเอง, ทิฏฐิทั้ งหลาย บรรดามี มิ วาชนิดใดชนิ ดหนึ่ ง ที่ ดําเนินไปผิ ดทาง อั นบุ คคลเสพผิ ดแล ว ดิ้นรนไปผิดแลววา "อุปาทาน เป นอยางไร ...ฯลฯ...ฯลฯ... เขาทํ าให เป นสิ่ งที่ เกิ ด ขึ้นไมไดอีกตอไป. ดูกอนภิกษุ! เพราะความจางคลายดับไปไมเหลือแหงอวิชชานั้นนั่นเอง, ทิฏฐิทั้ งหลาย บรรดามี มิ วาชนิดใดชนิ ดหนึ่ ง ที่ ดําเนินไปผิ ดทาง อั นบุ คคลเสพผิ ดแล ว ดิ้น รนไปผิด แลว วา "ตัณ หา เปน อยางไร ...ฯลฯ...ฯลฯ... เขาทํ า ใหเปน สิ่ง ที ่เกิด ขึ้นไมไดอีกตอไป. ดูกอนภิกษุ! เพราะความจางคลายดับไปไมเหลือแหงอวิชชานั้นนั่นเอง, ทิฏฐิทั้ งหลาย บรรดามี มิ วาชนิดใดชนิ ดหนึ่ ง ที่ ดําเนินไปผิ ดทาง อั นบุ คคลเสพผิ ดแล ว ดิ้น รนไปผิดแลววา "เวทนา เปน อยางไร ...ฯลฯ...ฯลฯ... เขาทํ าใหเปน สิ่งที ่เกิด ขึ้นไมไดอีกตอไป.

www.buddhadasa.info ดูกอนภิกษุ! เพราะความจางคลายดับไปไมเหลือแหงอวิชชานั้นนั่นเอง, ทิฏฐิทั้ งหลาย บรรดามี มิ วาชนิดใดชนิ ดหนึ่ ง ที่ ดําเนินไปผิ ดทาง อั นบุ คคลเสพผิ ดแล ว ดิ้น รนไปผิด แลว วา "ผัส สะ เปน อยางไร ...ฯลฯ...ฯลฯ... เขาทํ า ใหเปน สิ ่ง ที ่เกิด ขึ้นไมไดอีกตอไป.

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๖๘๗

ดูกอนภิกษุ! เพราะความจางคลายดับไปไมเหลือแหงอวิชชานั้นนั่นเอง, ทิ ฏฐิ ทั้ งหลาย บรรดามี มิ ว าชนิ ดใดชนิ ดหนึ่ ง ที่ ดํ าเนิ นไปผิ ดทาง อั นบุ คคลเสพผิ ดแล ว ดิ้ น รนไปผิ ด แล ว ว า "สฬายตนะ เป น อย า งไร ...ฯลฯ...ฯลฯ... เขาทํ า ให เ ป น สิ่ ง ที่ เกิดขึ้นไมไดอีกตอไป. ดูกอนภิกษุ! เพราะความจางคลายดับไปไมเหลือแหงอวิชชานั้นนั่นเอง, ทิ ฏฐิ ทั้ งหลาย บรรดามี มิ ว าชนิ ดใดชนิ ดหนึ่ ง ที่ ดํ าเนิ นไปผิ ดทาง อั นบุ คคลเสพผิ ดแล ว ดิ้ น รนไปผิ ด แล ว ว า "นามรูป เป น อย า งไร ...ฯลฯ...ฯลฯ... เขาทํ า ให เป น สิ่ ง ที่ เกิ ด ขึ้นไมไดอีกตอไป. ดูกอนภิกษุ! เพราะความจางคลายดับไปไมเหลือแหงอวิชชานั้นนั่นเอง, ทิ ฏฐิ ทั้ งหลาย บรรดามี มิ ว าชนิ ดใดชนิ ดหนึ่ ง ที่ ดํ าเนิ นไปผิ ดทาง อั นบุ คคลเสพผิ ดแล ว ดิ้ น รนไปผิ ด แล วว า "วิ ญ ญาณ เป นอย างไร ...ฯลฯ...ฯลฯ... เขาทํ าให เป น สิ่ งที่ เกิ ด ขึ้นไมไดอีกตอไป. ดูกอนภิกษุ! เพราะความจางคลายดับไปไมเหลือแหงอวิชชานั้นนั่นเอง, ทิ ฏฐิ ทั้ งหลาย บรรดามี มิ ว าชนิ ดใดชนิ ดหนึ่ ง ที่ ดํ าเนิ นไปผิ ดทาง อั นบุ คคลเสพผิ ดแล ว ดิ้ นรนไปผิ ดแล วว า "สั งขารทั้ งหลาย เป นอย างไร และสั งขารทั้ งหลายเหล านี้ เป นของใคร" ดังนี้ ก็ดี : หรือวา "สังขารทั้งหลายเป นอยางอื่น (: ตรงกันขามจากที่กลาววาเป นอยางไร, ตามนั ย แรก) และสั ง ขารนี้ เ ป น ของผู อื่ น (: ตรงกั น ข า มจากที่ ก ล า วว า เป น ของ ใคร, ตามนั ยแรก)" ดั งนี้ ก็ ดี ; หรือวา "ชี วะก็ อั นนั้ น สรีระก็ อั นนั้ น" ดั งนี้ ก็ ดี ; หรือว า "ชีว ะก็อ ัน อื่น สรีร ะก็อ ัน อื่น " ดัง นี ้ก็ด ี; ทิฏ ฐิทั ้ง หมดนั ้น เปน ธรรมอัน บุค คลนั ้น ละไดแลว มีรากเงาอันเขาตัดขาดแลว อันเขาทําใหเหมือนตาลมีขั้วยอดอันเนา แลว ถึงซึ่งความมีไมไดแลว ทําใหเปนสิ่งที่เกิดขึ้นไมไดอีกตอไป, ดังนี้ แล.

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๖๘๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑ หมายเหตุ ผู ร วบรวม : ยั ง มี สู ต รถั ด ไปอี ก สู ต รหนึ่ ง (สู ต รที่ ๖ แห ง กฬาร ขั ต ติ ย วรรคนิ ท านสั ง ยุ ต ต นิ ท าน.สํ . ๑๖/๗๕/๑๓๗) มี เนื้ อ ความตรงเป น อั น เดี ย วกั น ทุ ก ตั ว อั ก ษร ผิ ด กั น แต ว า ในสู ต รหลั ง นี้ ตรั ส แก ภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย โดยพระองค เอง ไม มี ภิ ก ษุ รู ป ใด ทูลถาม เหมือนในสูตรขางบนนี้.

โลกายตะ ๔ ชนิด ที่ทรงปฏิเสธ๑ โลกายติ กพราหมณ ได เข าเฝ าพระผู มี พระภาคเจ า แล วทู ลถามว า "ข าแต พ ระโคดม

ผูเจริญ! สิ่งทั้งปวง มีอยูหรือหนอ?" พระผู มี พ ระภาคเจ า ตรั ส ตอบว า "ดู ก อ นพราหมณ ! คํ า กล า วที่ ยื น ยั น ลงไป

ดวยทิฏฐิวา ‘สิ่งทั้งปวง มีอยู' ดังนี้ : นี้ เปนลัทธิโลกายตะชั้นสุดยอด”. "ขาแตพระโคดมผูเจริญ! ก็สิ่งทั้งปวง ไมมีอยูหรือ?" ดู ก อนพราหมณ ! คํ ากล าวที่ ยื นยั นลงไปด วยทิ ฏฐิ ว า `สิ่ งทั้ งปวง ไม มี อยู ' ดังนี้ : นี้ เปนลัทธิโลกายตะอยางที่สอง.

www.buddhadasa.info "ขาแตพระโคดมผูเจริญ! สิ่งทั้งปวง มีสภาพเปนอยางเดียวกันหรือ?"

ดู ก อนพราหมณ ! คํ ากล าวที่ ยื นยั นลงไปด วยทิ ฏฐิ ว า ‘สิ่ งทั้ งปวง มี สภาพ ตางกัน' ดังนี้ : นี้ เปนลัทธิโลกายตะอยางที่สาม.

สูตรที่ ๘ คหปติวรรค อภิสมยสังยุตต นิทาน.สํ.๑๖/๙๒/๑๗๖, ตรัสแกโลกายติกพราหมณ ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๖๘๙

"ขาแตพระโคดมผูเจริญ! สิ่งทั้งปวง มีสภาพเปนตางกันหรือ?" ดู ก อนพราหมณ ! คํ ากล าวที่ ยื นยั นลงไปด วยทิ ฏฐิ ว า ‘สิ่ งทั้ งปวง มี สภาพ ตางกัน' ดังนี้ : นี้ เปนลัทธิโลกายตะอยางที่สี่. ดู ก อนพราหมณ ! ตถาคต ย อมแสดงธรรมโดยสายกลาง ไม เข าไปหาส วนสุ ด ทั้ งสองนั้ น คื อตถาคต ย อมแสดงดั งนี้ ว า "เพราะมี อวิ ชชาเป นป จจั ย จึ งมี สั งขารทั้ งหลาย; เพราะมีส ัง ขารเปน ปจ จัย จึง มีว ิญ ญ าณ ; ...ฯลฯ...ฯลฯ...ฯลฯ... เพราะมีช าติ เป นป จจั ย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งเกิ ดขึ้ นครบถ วน : ความเกิดขึ้นพรอมแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้. เพราะความจางคลายดั บไปโดยไม เหลื อแห งอวิ ชชานั้ นนั่ นเที ยว, จึ งมี ความ ดั บ แห ง สั ง ขาร; เพราะมี ค วามดั บ แห ง สั ง ขาร จึ ง มี ค วามดั บ แห ง วิ ญ ญาณ; ...ฯลฯ ...ฯลฯ...ฯลฯ... เพราะมี ค วามดั บ แห งชาติ นั่ น แหละ ชรามรณะ โสกะปริ เทวะทุ ก ขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งดั บสิ้ น : ความดั บลงแห งกองทุ กข ทั้ งสิ้ นนี้ ย อมมี ด วย อาการอยางนี้", ดังนี้.

www.buddhadasa.info พราหมณ นั้ น กล าวสรรเสริ ญ พระธรรมโอวาทนั้ นแล ว ประกาศตนเป นผู รั บนั บถื อพระพุ ทธ ศาสนา จนตลอดชีวิต, ดังนี้ แล.

www.buddhadasa.info


๖๙๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑

ทิฏฐิชั้นหัวหนา ๑๘ อยาง ลวนแตปรารภธรรมที่เปนฐานะ ๖ อยาง๑ [ทิฏฐิที่ ๑ : เอสิกัฏฐายิฏฐิตสัสสตทิฏฐิ]

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ ออะไรมี อยู หนอ เพราะเข าไปยึ ดถื อซึ่ งอะไร เพราะ ปกใจเขาไปสูอะไร ทิฏฐิจึงเกิดขึ้นอยางนี้วา "ลมก็ไมพัด แมน้ําก็ไมไหล สตรีมีครรภ ก็ไมคลอด พระจันทรและพระอาทิตยก็ไมขึ้นไมตก แตละอยาง ๆ เปนของตั้ง อยูอยางมั่นคง ดุจการตั้งอยูของเสาระเนียด" ดังนี้? ภิ กษุ ทั้ งหลายเหล านั้ น กราบทู ลวิ งวอนว า "ข าแต พระองค ผู เจริ ญ ! ธรรมทั้ งหลายของพวก ข าพระองค มี พระผู มี พระภาคเป นมู ล มี พระผู พระภาคเป นผู นํ า มี พระผู มี พระภาคเป นที่ พึ ง. ข าแต พระ องค ผู เจริ ญ ! เป นการชอบแล วหนอ ขอให อรรถแห งภาษิ ตนั้ น จงแจ มแจ งกะพระผู มี พระภาคเองเถิ ด ภิ กษุ ทั้ งหลายได ฟ งจากพระผู มี พ ระภาคแล ว จั กทรงจํ าไว " ดั งนี้ . พระผู มี พ ระภาคเจ า จึ งตรั สเตื อ นให ภิ กษุ ทั้งหลายเหลานั้นตั้งใจฟงดวยดีแลว ไดตรัสขอความดังตอไปนี้ :-

ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! เมื่ อ รู ป นั่ น แล มี อ ยู ; เพราะเข า ไปยึ ด ถื อ ซึ่ ง รู ป เพราะป กใจเข าไปสู รูป ทิ ฏฐิ จึ งเกิ ดขึ้ นอย างนี้ ว า "ลมไม พั ด แม น้ํ าก็ ไม ไหล สตรีมี ครรภ ก็ไม คลอด พระจันทรและพระอาทิตยก็ไมขึ้นไม ตก แตละอยาง ๆ เป นของตั้งอยูอยางมั่ นคง ดุ จการตั้ งอยู ของเสาระเสี ยด" ดั งนี้ . (ในกรณี แห งเวทนา สั ญ ญา สั งขาร วิ ญ ญาณ ก็ มี ถ อยคํ าที่

www.buddhadasa.info ตรัสอยางเดียวกันทุกตัวอักษรกับในกรณีแหงรูปนี้ตางกันแตเพียงชื่อแหงขันธแตละขันธเทานั้น).

สูตรที่ ๑ โสตาปตติวรรค ทิฏฐิสังยุตต ขน.ธ.สํ. ๑๗/๒๔๘/๔๑๗, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๖๙๑

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! พวกเธอจะสํ าคั ญความข อนั้ น ว าอย างไร? รูปเที่ ยง หรือไม เที่ ยง? ("ไม เที่ ยง พระเจ าข า!") ก็ สิ่ งใดไม เที่ ยง สิ่ งนั้ นเป นทุ กข หรือเป นสุ ขเล า? ("เป นทุ กข พระเจ าขา!") แม สิ่ งใดไม เที่ ยง เป นทุ กข มี ความแปรปรวนเป นธรรมดา แต ถ าไม เขาไปยึ ดถื อ ซึ่งสิ่ งนั้ นแล วไซร ทิ ฏฐิ อย างนี้ จะเกิ ดขึ้ นได ไหมวา "ลมก็ ไม พั ด แม น้ํ าก็ ไม ไหล สตรีมี ครรภ ก็ ไม คลอด พระจั นทรและพระอาทิ ตย ก็ ไม ขึ้ นไม ตก แต ละอย าง ๆ เปนของตั้งอยูอยางมั่นคงดุจการตั้งอยูของเสาระเนียด" ดังนี้? ("ขอนั้นหามิได พระเจาขา!") (ในกรณี แห งเวทนา สั ญญา สังขาร วิญญาณ ก็ มี ถอยคํ าที่ ตรัสถามและพวกภิ กษุ ทู ลตอบ อยางเดี ยวกั นทุ ก ตัวอักษร กับในกรณีแหงรูปนี้ ตางกันแตเพียงชื่อแหงขันธแตละขันธ เทานั้น).

ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! แม สิ่ ง ใดที่ บุ ค คลได เห็ น แล ว ฟ ง แล ว รู สึ ก แล ว รูแจงแลว บรรลุแลว แสวงหาแลว ครุนคิดอยูดวยใจแลว เหลานี้เปนของเที่ยงหรือไมเที่ยง? (ไม เที่ ยง พระเจ าข า!) ก็ สิ่ งใดไม เที่ ยง สิ่ งนั้ น เป น ทุ กข หรือ เป น สุ ขเล า? ("เป น ทุ กข พระเจ า ข า !") แม สิ่ ง ใดไม เที่ ย ง เป น ทุ ก ข มี ค วามแปรปรวนเป น ธรรมดา แต ถ า ไม เข าไปยึ ดถื อ ซึ่ งสิ่ งนั้ น แล วไซร ทิ ฏ ฐิ อ ย างนี้ จะเกิ ด ขึ้ น ได ไหมวา "ลมก็ ไม พั ด แม น้ํ า ก็ไม ไหล สตรีมี ครรภ ก็ไม คลอด พระจันทรและพระอาทิ ตย ก็ไม ขึ้นไม ตก แต ละอย าง ๆ เป นของตั้ งอยู อย างมั่ นคงดุ จการตั้ งอยู ของเสาระเนี ยด" ดั งนี้ ? ("ข อนั้ นหามิ ได พระเจาขา!")

www.buddhadasa.info ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ในกาลใดแล ความสงสั ย (กงฺ ข า) ในฐานะ ทั้งหลาย ๖ ประการเหลานี้๑ เปนสิ่งที่อริยสาวกละขาดแลว; ในกาลนั้น ก็เปน อั นว า ความสงสั ยแม ในทุ กข แม ในเหตุ ให เกิ ดขึ้ นแห งทุ กข แม ในความดั บไม เหลื อ แหงทุกข แมในทางดําเนินใหถึงความดับไมเหลือแหงทุกข ก็เปนสิ่งที่อริยสาวกนั้น ละขาดแลว.

ฐานะ ๖ ประการ คือ ขันธ ๕ และสิ่งที่ไดเห็นแลวเปนตน; ดังที่กลาวแลวขางบน.

www.buddhadasa.info


๖๙๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! อริยสาวกนี้ เราเรียกว า เป นอริ ยสาวกผู เป นโสดาบั น มี อั นไม ตกต่ํ าเป นธรรมดา เป นผู เที่ ยงแท (ต อนิ พ พาน) มี การตรั สรู พร อมในเบื้ องหน า, ดังนี้. [ทิฏฐิที่ ๒ : อัตตา - อัตตนิยานุทิฏฐิ]๑

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ ออะไรมี อยู หนอ เพราะเข าไปยึ ดถื อซึ่ งอะไร เพราะ ป ก ใจเข า ไปสู อ ะไร ทิ ฏ ฐิ จึ ง เกิ ด ขึ้ น อย า งนี้ ว า "นั่ น ของเรา; นั่ น เป น เรา; นั่ น เป น ตัวตนของเรา;" ดังนี้? ...ฯลฯ... (ข อความตรงที่ ละเปยยาลไว นี้ มี การตรั ส การถาม การตอบ เหมื อนกั บข อความในทิ ฏฐิ ที่ ๑ ตั้ งแต คํ าว า "ภิ กษุ ทั้ งหลายเหล านั้ น กราบทู ลวิ งวอนว า ข าแต พ ระองค ผู เจริ ญ ! ธรรมทั้ งหลายของพวกข า พระองค "...ไปจนจบข อ ความด ว ยคํ า ว า ... "เป น โสดาบั น มี อั น ไม ต กต่ํ า เป น ธรรมดา เป น ผู เที่ ย งแท (ต อนิ พ พาน) มี การตรั สรู พ ร อ มในเบื้ อ งหน า ดั งนี้ ." เป น ข อ ความซึ่ งเหมื อ นกั น ทุ กตั วอั กษร จนตลอดข อ ความ ตางกันแตเพียงชื่อแหงทิฏฐิ เทานั้น.); [ทิฏฐิที่ ๓ : สัสสตทิฏฐิ (ทั่วไป)]๒

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ ออะไรมี อยู หนอ เพราะเข าไปยึ ดถื อซึ่ งอะไร เพราะ ป กใจเข าไปสู อะไร ทิ ฏ ฐิ จึ งเกิ ด ขึ้ นอย างนี้ ว า "อั ต รา (ตน) ก็ อั น นั้ น ; โลกก็ อั น นั้ น ; เรานั้น ละไปแลว จักเปนผูเที่ยง ยั่งยืน เที่ยงแท มีความไมแปรปรวนเปนธรรมดา" ดังนี้? ...ฯลฯ...

(ข อความตรงที่ ละเปยยาลไว นี้ มี การตรั ส การถาม การตอบ เหมื อนกั บข อความในทิ ฏฐิ ที่ ๑ ตั้งแตคําวา "ภิกษุทั้งหลายเหลานั้น กราบทูลวิงวอนวา ขาแตพระองคผูเจริญ! ธรรมทั้งหลาย ของพวก

สูตรที่ ๒ โสตาปตติวรรค ทิฏฐิสังยุตต ขนฺธ.สํ.๑๗/๒๕๐/๔๑๙, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน. สูตรที่ ๓ โสตาปตติวรรค ทิฏฐิสังยุตต ขนฺธ.สํ.๑๗/๒๕๑/๔๒๑, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๖๙๓

ข า พระองค " ...ไปจนจบข อ ความด ว ยคํ า ว า ... "เป น โสดาบั น มี อั น ไม ต กต่ํ า เป น ธรรมดา เป น ผู เที่ ย งแท (ต อนิ พ พาน) มี การตรั สรู พ ร อ มในเบื้ อ งหน า ดั งนี้ ". เป น ข อความซึ่ งเหมื อนกั น ทุ กตั วอั กษร จนตลอดข อ ความ ตางกันแตเพียงชื่อแหงทิฏฐิ เทานั้น.); [ทิฏฐิที่ ๔ อุจเฉททิฏฐิ(ทั่วไป)]๑

ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! เมื่ อ อะไรมี อ ยู ห นอ เพราะเข า ไปยึ ด ถื อ ซึ่ ง อะไร เพราะป ก ใจเข า ไปสู อ ะไร ทิ ฏ ฐิ จึ ง เกิ ด ขึ้ น อย า งนี้ ว า "เราไม พึ ง มี ด ว ย; ของเราไม พึงมีดวย; เราจักไมมี ของเราจัก ไมมี" ดังนี้? ...ฯลฯ... (ข อ ความตรงที่ ล ะเปยยาลไว นี้ มี ก ารตรั ส การถาม การตอบ เหมื อ นกั บ ข อ ความ ในทิ ฏ ฐิ ที่ ๑ ตั้ ง แต คํ า ว า "ภิ ก ษุ ทั้ ง หลายเหล า นั้ น กราบทู ล วิ ง วอนว า ข า แต พ ระองค ผู เจริ ญ ! ธรรม ทั้ ง หลายของพวกข า พระองค "...ไปจนจบข อ ความด ว ยคํ า ว า ... "เป น โสดาบั น มี อั น ไม ต กต่ํ า เป น ธรรมดา เป นผู เ ที่ ย งแท (ต อ นิ พ พ าน ) มี ก ารตรั ส รู พ ร อ มในเบื้ องหน า ดั ง นี้ ." เป นข อ ความซึ่ ง เหมือนกันทุกตัวอักษร จนตลอดขอความ ตางกันแตเพียงชื่อแหงทิฏฐิ เทานั้น.); [ทิฏฐิที่ ๕ : นัตถิกทิฏฐิ]๒

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ ออะไรมี อยู หนอ เพราะเข าไปยึ ดถื อซึ่ งอะไร เพราะ ป กใจเข าไปสู อะไร ทิ ฏ ฐิ จึ งเกิ ด ขึ้ น อย างนี้ ว า "ไม มี ท างอั น บุ ค คลบริ จ าคแล ว, ไม มี ยัญญะอันบุคคลประกอบแลว, ไมมีโหตระอันบุคคลบูชาแลว, ไมมีผลวิบากแหง กรรมอันบุคคกระทําดีแลวกระทําชั่วแลว, ไมมีโลกนี้, ไมมีโลกอื่น, ไมมีมารดา, ไมมีบิดา, ไมมีสัตวทั้งหลายอันเปนโอปปาติกะ, ไมมีสมณะและพราหมณ ผูไป แลวถูกตอง ผูปฏิบัติแลวถูกตอง ผูทําใหแจงซึ่งโลกนี้ และโลกอื่น ดวยปญญา

สูตรที่ ๔ โสตาปตติวรรค ทิฏฐิสังยุตต ขนฺธ.สํ.๑๗/๒๕๒/๔๒๓, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน. ๒ สูตรที่ ๕ โสตาปตติวรรค ทิฏฐิสังยุตต ขนฺธ.สํ.๑๗/๒๕๔/๔๒๕, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๖๙๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑

อั น ยิ่ งเอ ง แ ล วป ระก าศ อ ยู ใน โล ก ; ค น เรานี้ เป น แ ต การป ระชุ ม ขอ งม ห าภู ต ทั้ ง ๔ ; เมื่ อ ใด ทํ าก าล ะ, เมื่ อ นั้ น ดิ น ย อ ม เข าไป สู ห มู แ ห งดิ น , น้ํ าย อ ม เข าไป สู ห มู แ ห งน้ํ า, ไฟ ย อม เข าไป สู ห มู แห งไฟ , ลม ย อ ม เข าไป สู ห มู แห งลม , อิ น ท รี ย ทั้ งห ลาย ย อม ห าย ไป ใน อ า ก าศ ; บุ รุ ษ ทั้ งห ล า ย มี เตี ย ง ว า งศ พ เป น ที่ ค ร บ ห า จ ะ พ า เข าผู ต า ย แ ล ว ไป ; ร อ งร อ ย ทั้ งห ล าย ป ร าก ฎ อ ยู เพี ย งแ ค ป าช า เป น เพี ย งก ระดู ก ทั้ งห ล าย มี สี เพี ย งดั ง ส ี แ ห  ง น ก พ ิ ล า ป ; ก า ร บ ู ช า เ ซ  น ส ร ว ง ม ี ขี ้ เ ถ  า เ ป  น ที ่ ส ุ ด ; สิ ่ ง ที ่ เ ร ี ย ก ว  า ท า น นั ้ น เป น บ ท บ ัญ ญ ัต ิข อ ง ค น เข ล า ; คํ า ข อ ง พ ว ก ที ่ก ล า ว ว า อ ะ ไ ร ๆ ม ีอ ยู นั ้น เป น คํ า เป ล า (จ า ก ค ว า ม ห ม า ย ) เป น คํ า เท็ จ เป น คํ า เพ อ เจ อ ; ทั้ ง ค น พ า ล แ ล ะ บั ณ ฑิ ต ค รั้ น ก าย แ ต ก ทํ าล าย แ ล ว ย อ ม ข าด สู ญ พิ น าศ ไป มิ ได มี อ ยู ภ าย ห ลั งแ ต ก ารต าย " ดังนี้? ...ฯลฯ... (ข อความตรงที่ ละเปยยาลไว นี้ มี การตรั ส การถาม การตอบ เหมื อนกั บข อความในทิ ฏฐิ ที่ ๑ ตั้ งแต คํ าว า "ภิ ก ษุ ทั้ งหลายเหล านั้ น กราบทู ลวิ งวอนว า ข าแต พ ระองค ผู เจริ ญ ! ธรรมทั้ งหลายของพวก ข า พระองค "...ไปจนจบข อ ความด ว ยคํ า ว า ... "เป น โสดาบั น มี อั น ไม ต กต่ํ า เป น ธรรมดา เป น ผู เที่ ย งแท (ต อ นิ พ พาน) มี ก ารตรั ส รู พ ร อ มในเบื้ อ งหน า ดั ง นี้ ." เป น ข อ ความซึ่ ง เหมื อ นกั น ทุ ก ตั ว อั ก ษร จนตลอด ขอความ ตางกันแตเพียงชื่อแหงทิฏฐิ เทานั้น.); [ทิฏฐิที่ ๖ : อกิริยทิฏฐิ]๑

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ ออะไรมี อยู หนอ เพราะเข าไปยึ ดถื อซึ่ งอะไร เพราะ ป ก ใจเข า ไปสู อ ะไร ทิ ฏ ฐิ จึ ง เกิ ด ขึ้ น อย า งนี้ ว า "เมื่ อ กระทํ า เองหรื อ ยั ง บุ ค คลอื่ น ให กระทําก็ดี, เมื่อตัดเองหรือยังบุคคลอื่นใหตัดก็ดี, เมื่อกําจัดเองหรือยังบุคคลอื่นให กําจัดก็ดี, เมื่อทําสัตวใหเศราโศกเองหรือยังบุคคลอื่นใหทําสัตวใหเศราโศกก็ดี,

สูตรที่ ๖ โสตาปตติวรรค ทิฏฐิสังยุตต ขนฺธ.สํ.๑๗/๒๕๖/๔๒๗, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๖๙๕

เมื่อทําสัตวใหลําบากเองหรือยังบุคคลอื่นใหทําสัตวใหลําบากก็ดี, เมื่อทําสัตวให ดิ้นรนเองหรือยังบุคคลอื่นใหทําสัตวใหดิ้นรนก็ดี, เมื่อยังสัตวมีปราณใหตกลวงไป ก็ดี, เมื่อถือเอาสิ่งของที่บุคคลไมไดใหแลวก็ดี, เมื่อตัดซึ่งที่ตอ(ตัดของยองเบา) ก็ดี, เมื่อ ปลน ทั้งหมูบานก็ดี, เมื่อ ปลน เฉพาะเรือ นก็ดี, เมื่อ ซุม ปลน อยูต าม หนทางก็ดี, เมื่อลวงเกินภรรยาของผูอื่นก็ดี, เมื่อกลาวเท็จก็ดี; บาปยอมไมเปน อัน กระทํา สํา หรับ ผูก ระทํา . แมวา ผูใ ดจะกระทํา ซึ่ง สัต วทั้ง หลายในแผน ดิน นี้ ดวยจักรอัน คมดั งมีด โกน ให กลายเป น ลานเนื้ อลานหนึ่ งก็ดี , บาปเพราะการ กระทําอยางนั้น ยอมไมมี; การมาแหงบาป ยอมไมมี. แมวาบุรุษจะไปที่ฝงขวา แหงแมน้ําคงคา ฆาเองอยู ใชผูอื่นฆาอยู, ตัดเองอยู ใชผูอื่นตัดอยู, กําจัดเอง อยูใชผูอื่น กําจัด อยู; บาปเพราะการกระทําอยางนั้น ยอ มไมมี; การมาแหง บาป ยอ มไมมี. แมวาบุรุษ จะไปที่ฝงซายแหงแมน้ําคงคา ใหท านเองอยูก็ดี, ยังบุคคลอื่นใหใหทานอยูก็ดี, บูชาเองอยูก็ดี, ยังบุคคลอื่นใหบูชาอยูก็ดี; บุญ เพราะการกระทําอยางนั้น ยอมไมมี; การมาแหงบุญ ยอ มไมมี. เพราะการ ใหทานก็ตาม เพราะการฝกจิตก็ตาม เพราะการสํารวมก็ตาม เพราะการกลาว คําสัจก็ตาม บุญยอมไมมี; การมาแหงบุญ ยอมไมมี" ดังนี้? ...ฯลฯ... (ข อความตรงที่ ละเปยยาลไว นี้ มี การตรั ส การถาม การตอบ เหมื อนกั บข อความในทิ ฏฐิ ที่ ๑ ตั้ งแต คํ าว า "ภิ กษุ ทั้ งหลายเหล านั้ น กราบทู ลวิ งวอนว า ข าแต พ ระองค ผู เจริ ญ ! ธรรมทั้ งหลายของพวก ข า พระองค "...ไปจนจบข อ ความด ว ยคํ า ว า ... "เป น โสดาบั น มี อั น ไม ต กต่ํ า เป น ธรรมดา เป น ผู เที่ ย งแท (ต อนิ พพาน) มี การตรั สรู พร อมในเบื้ องหน า ดั งนี้ ." เป นข อความซึ่ งเหมื อนกั นทุ กตั วอั กษร จนตลอดข อ ความ ตางกันแตเพียงชื่อแหงทิฏฐิ เทานั้น.);

www.buddhadasa.info [ทิฏฐิที่ ๗ : อเหตุกทิฏฐิ]๑

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ ออะไรมี อยู หนอ เพราะเข าไปยึ ดถื อซึ่ งอะไร เพราะ ปกใจเขาไปสูอะไร ทิฏฐิจึงเกิดขึ้นอยางนี้วา "เหตุไมมี, ปจจัยไมมี, เพื่อความเศรา

สูตรที่ ๗ โสตาปตติวรรค ทิฏฐิสังยุตต ขนฺธ.สํ.๑๗/๒๕๗/๔๒๙, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๖๙๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑

หมองแห งสัตวทั้ งหลาย. ไม มีเหตุ ไมมี ป จจัย สัตวทั้ งหลายก็เศรางหมอง. เหตุ ไมม ี ปจ จัย ไมม ี, เพื ่อ ความบริส ุท ธิ ์แ หง สัต วทั ้ง หลาย. ไมม ีเ หตุ ไมม ีป จ จัย สั ต ว ทั้ ง หลายก็ บ ริ สุ ท ธิ์ . กํ า ลั ง ไม มี , ความเพี ย รไม มี , เรี่ ย วแรงแห ง บุ รุ ษ ไม มี , ความบากบั่ น ของบุ รุษ ไม มี . สั ต วทั้ งปวง ปาณะทั้ งปวง ภู ต ทั้ งปวง ชี ว ะทั้ งปวง ไมมีอํานาจ ไมมีกําลัง ไมมีความเพียร; ยอมแปรปรวนไปตามสภาวะ นิยติและ สัง คติ; ยอ มเสวยซึ ่ง สุข และทุก ขใ นอภิช าติทั ้ง หลาย ๖ ประการ นั ่น เอง". ดังนี้? ...ฯลฯ... (ข อความตรงที่ ละเปยยาลไว นี้ มี การตรั ส การถาม การตอบ เหมื อนกั บ ข อความในทิ ฏฐิ ที่ ๑ ตั้ ง แต คํ า ว า "ภิ ก ษุ ทั้ งหลายเหล า นั้ น กราบทู ล วิ งวอนว า ข า แต พ ระองค ผู เจริ ญ ! ธรรมทั้ งหลายของพวก ข า พระองค "...ไปจนจบข อ ความด ว ยคํ า ว า ... "เป น โสดาบั น มี อั น ไม ต กต่ํ า เป น ธรรมดา เป น ผู เที่ ย งแท (ต อนิ พพาน) มี การตรั สรู พร อมในเบื้ องหน า ดั งนี้ ." เป นข อความซึ่ งเหมื อนกั นทุ กตั วอั กษร ต างกั นแต เพี ยง ชื่อแหงทิฏฐิ เทานั้น.); [ทิฏฐิที่ ๘ : สัตตกายทิฏฐิ]๑

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ ออะไรมี อยู หนอ เพราะเข าไปยึ ดถื อซึ่ งอะไร เพราะ ป กใจเข าไปสู อะไร ทิ ฏฐิ จึ งเกิ ดขึ้ นอย างนี้ ว า "กาย (หมู แห งธรรมชาติ ) ทั้ งหลาย ๗ หมู เ หลา นี ้ ไมม ีใ ครทํ า ไมม ีใ ครจัด ระเบีย บ ไมม ีใ ครนฤมิต ร ไมม ีร ะเบีย บ อันใครนฤมิตร ไมคลอดผลใด ๆ ตั้งอยูอยางยอดภูเขา ตั้งอยูอยางมั่นคงดุจการตั้งอยู ของเสาระเนี ย ด. กายทั้ ง หลายเหล า นั้ น ไม ห วั่ น ไหว ไม แ ปรปรวน ไม ก ระทบ กระทั่งซึ่งกันและกัน ไมอาจกระทําซึ่งสุขและทุกขแกกันและกัน. กายทั้งหลาย ๗ หมูเปนอยางไรเลา? กาย ๗ หมู คือ ปฐวีกาย อาโปกาย เตโชกาย วาโยกาย

www.buddhadasa.info

สูตรที่ ๘ โสตาปตติวรรค ทิฏฐิสังยุตต ขนฺธ.สํ.๑๗/๒๕๙/๔๓๑, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๖๙๗

สุข (กาย) ทุก ข(กาย) ชีว ะ(กาย). กาย ๗ หมู เ หลา นี ้เ ปน กายที ่ไ มม ีใ ครทํ า ไมมีใครจัดระเบียบ ไมมีใครนฤมิตร ไมมีระเบียบอันใครนฤมิตร ไมคลอดผลใด ๆ ตั้งอยูอยางยอดภูเขา ตั้งอยูอยางมั่นคงดุจการตั้งอยูของเสาระเนียด. กายทั้งหลาย เหล า นั้ น ไม ห วั่ น ไหว ไม แ ปรปรวน ไม ก ระทบกระทั่ ง ซึ่ ง กั น และกั น ไม อ าจ กระทําซึ่งสุขและทุกขแกกันและกัน. แมผูใดจะตัดศีรษะใครดวยศาสตราอันคมก็ไม ชื่อวาใครปลงชีวิต ใคร: เป น แตเพี ยงศาสตราผานไปตามชองในระหวางแหงกาย ทั้ งหลาย ๗ หมู เหล านั้ นเท านั้ น. ก็ โยนี ประมุ ขทั้ งหลายเหล านี้ แลมี อยู ๑,๔๐๐,๐๐๐; มี อ ยู ๖,๐๐๐; มี อ ยู ๖๐๐; กรรม ๕๐๐;กรรม ๕; กรรม ๓; กรรมเต็ ม กรรม ด ว ย; กรรมกึ ่ ง กรรมด ว ย; ปฏิ ป ทา ๖๒; อั น ตรกั ป ป ๖๒; อภิ ช าต ๖; ป ุร ิส ภ ูม ิ ๘; อ า ช ีว ก ๔,๙๐๐; ป ร ิพ พ า ช ก ๔,๙๐๐; น า ค ว า ส ๔,๙๐๐; อ ิน ท รีย  ๒,๐๐๐; น ร ก ๓,๐๐๐; ร โช ธ า ต ุ ๓๖; ส ัญ ญ ีค ร ร ภ  ๗; อ ส ัญ ญี ครรภ ๗; นิ ค รนถครรภ ๗; เทพ ๗; มนุ ษ ย ๗; ป ศ าจ ๗; สระ ๗; ปวุ ฎ ะ ๗ ด ว ย, ๗๐๐ ด ว ย; ปปาตะ ๗ ด ว ย, ๗๐๐ ด ว ย; สุ ป น ะ ๗ ด ว ย, ๗๐๐ ด ว ย; มหากั ป ป ๘,๔๐๐,๐๐๐; เหล า นี้ เป น สั ง สารวั ฏ ซึ่ ง ทั้ ง คนพาลและ บั ณ ฑิ ต แล น ไปแล ว ท อ งเที่ ย วไปแล ว จัก กระทํ าที่ สุด แห งทุ ก ขได ; ในสั งสารวัฏ นั้น ไมมีกฎเกณฑที่ใครตะหวังไดวา กรรมที่ยังไมแกรอบ เราจักกระทําใหแกรอบ, หรือวา จักเสวยผลแห งกรรมที่ แกรอบแลว กระทําซึ่งที่สุดแห งทุ กขได, ดวยขอ ปฏิบ ัต ิค ือ ดว ยศีล หรือ ดว ยวัต ร ดว ยตบะ ดว ยพรหมจรรย; สุข และทุก ขที่ หมดไปสิ ้น ไป ราวกะวา ตวงของดว ยทะนาน จึง ไมม ี ในสัง สารวัฏ นั ้น ไมมี อะไรที่ ชื่ อ ว า ความเสื่ อ มหรื อ ความเจริ ญ , ความดี ขึ้ น หรื อ ความเลวลง, เปรี ย บ เหมือนกลุมดวยอันบุคคลซัดใหกลิ้งไป ยอมคลี่ออกๆ จนหมดกลุมแลวก็หยุดเอง, ฉันใด; ทั้งคนพาลและบัณ ฑิต แลนไปในสงสาร ยอมมีสุขและทุกขอันคลี่คลาย จนหมดไปเอง, ฉันนั้น" ดังนี้? ...ฯลฯ...

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๖๙๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑

(ข อความตรงที่ ละเปยยาลไว นี้ มี การตรัส การถาม การตอบ เหมื อนกั บข อความในทิ ฏฐิ ที่ ๑ ตั้ งแต คํ าว า "ภิ กษุ ทั้ งหลายเหล านั้ น กราบทู ลวิ งวอนว า ข าแต พระองค ผู เจริญ ! ธรรมทั้ งหลายของพวก ข าพระองค "...ไปจนจบข อ ความด วยคํ าว า... "เป น โสดาบั น มี อั น ไม ตกต่ํ าเป น ธรรมดา เป น ผู เที่ ย งแท (ต อนิ พพาน) มี การตรัสรูพรอมในเบื้ องหน า ดั งนี้ ." เป นขอความซึ่งเหมื อนกั นทุ กตั วอั กษร ต างกันแต เพียงชื่อแหงทิฏฐิ เทานั้น.); [ทิฏฐิที่ ๙ : สัสสตโลกทิฏฐิ] ๑

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ ออะไรมี อยู หนอ เพราะเข าไปยึ ดถื อซึ่ งอะไร เพราะ ปกใจเขาไปสูอะไร ทิฏฐิจึงเกิดขึ้นอยางนี้วา "โลกเที่ยง" ดังนี้? ...ฯลฯ... (ข อความตรงที่ ละเปยยาลไว นี้ มี การตรั ส การถาม การตอบ เหมื อนกั บข อความในทิ ฏฐิ ที่ ๑ ตั้ งแต คํ าว า "ภิ กษุ ทั้ งหลายเหล านั้ น กราบทู ลวิ งวอนว า ข าแต พระองค ผู เจริญ ! ธรรมทั้ งหลายของพวก ข าพระองค "...ไปจนจบข อ ความด วยคํ าว า... "เป น โสดาบั น มี อั น ไม ตกต่ํ าเป น ธรรมดา เป น ผู เที่ ย งแท (ต อนิ พพาน) มี การตรัสรูพรอมในเบื้ องหน า ดั งนี้ ." เป นข อความซึ่ งเหมื อนกั นทุ กตั วอั กษร ต างกั นแต เพียงชื่อแหงทิฏฐิ เทานั้น.); [ทิฏฐิที่ ๑๐ : อสัสสตโลกทิฏฐิ] ๒

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ ออะไรมี อยู หนอ เพราะเข าไปยึ ดถื อซึ่ งอะไร เพราะ ปกใจเขาไปสูอะไร ทิฏฐิจึงเกิดขึ้นอยางนี้วา "โลกเที่ยง" ดังนี้? ...ฯลฯ...

(ข อความตรงที่ ละเปยยาลไว นี้ มี การตรั ส การถาม การตอบ เหมื อนกั บข อความในทิ ฏฐิ ที่ ๑ ตั้งแตคําวา "ภิกษุทั้งหลายเหลานั้น กราบทูลวิงวอนวา ขาแตพระองคผูเจริญ! ธรรมทั้งหลายของพวก

สูตรที่ ๙ โสตาปตติวรรค ทิฏฐิสังยุตต ขนฺธ.สํ.๑๗/๒๖๑/๔๓๓, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน. สูตรที่ ๑๐ โสตาปตติวรรค ทิฏฐิสังยุตต ขนฺธ.สํ.๑๗/๒๖๓/๔๓๕, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๖๙๙

ข าพระองค " ...ไปจนจบข อความด วยคํ าวา... "เป นโสดาบั น มี อั นไม ตกต่ํ าเป นธรรมดา เป นผู เที่ ยงแท (ต อนิ พพาน) มี การตรัสรูพรอมในเบื้ องหน า ดั งนี้ ." เป นข อความซึ่ งเหมื อนกั นทุ กตั วอั กษร ต างกั นแต เพียงชื่อแหงทิฏฐิ เทานั้น.); [ทิฏฐิที่ ๑๑ : อันตวันตโลกทิฏฐิ]๑

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ ออะไรมี อยู หนอ เพราะเข าไปยึ ดถื อซึ่ งอะไรเพราะ ปกใจเขาไปสูอะไร ทิฏฐิจึงเกิดขึ้นอยางนี้วา "โลกมีที่สุด" ดังนี้? ...ฯลฯ... (ข อความตรงที่ ละเปยยาลไว นี้ มี การตรัส การถาม การตอบ เหมื อนกั บข อความในทิ ฏฐิ ที่ ๑ ตั้ งแต คํ าว า "ภิ กษุ ทั้ งหลายเหล านั้ น กราบทู ลวิ งวอนว า ข าแต พระองค ผู เจริญ ! ธรรมทั้ งหลายของพวก ข าพระองค "...ไปจนจบข อ ความด วยคํ าว า... "เป น โสดาบั น มี อั น ไม ตกต่ํ าเป น ธรรมดา เป น ผู เที่ ย งแท (ตอนิพพาน) มี การตรัสรูพรอมในเบื้องหนา ดังนี้." เป นขอความซึ่งเหมื อนกันทุกตัวอั กษร ตางกั นแต เพียง ชื่อแหงทิฏฐิ เทานั้น.); [ทิฏฐิที่ ๑๒ : อนันตวันตโลกทิฏฐิ]๒

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ ออะไรมี อยู หนอ เพราะเข าไปยึ ดถื อซึ่ งอะไรเพราะ ปกใจเขาไปสูอะไร ทิฏฐิจึงเกิดขึ้นอยางนี้วา "โลกไมมีที่สุด" ดังนี้? ...ฯลฯ...

www.buddhadasa.info (ข อความตรงที่ ละเปยยาลไว นี้ มี การตรัส การถาม การตอบ เหมื อนกั บข อความในทิ ฏฐิ ที่ ๑ ตั้ งแต คํ าว า "ภิ กษุ ทั้ งหลายเหล านั้ น กราบทู ลวิ งวอนว า ข าแต พระองค ผู เจริญ ! ธรรมทั้ งหลายของพวก ข าพระองค "...ไปจนจบข อ ความด วยคํ าว า... "เป น โสดาบั น มี อั น ไม ตกต่ํ าเป น ธรรมดา เป น ผู เที่ ย งแท (ตอนิ พพาน) มี การตรัสรูพรอมในเบื้ องหน า ดั งนี้ ." เป นขอความซึ่งเหมื อนกันทุ กตั วอั กษร ต างกั นแต เพี ยง ชื่อแหงทิฏฐิ เทานั้น.);

สูตรที่ ๑๑ โสตาปตติวรรค ทิฏฐิสังยุตต ขนฺธ.สํ.๑๗/๒๖๓/๔๓๖, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน. สูตรที่ ๑๒ โสตาปตติวรรค ทิฏฐิสังยุตต ขนฺธ.สํ.๑๗/๒๖๓/๔๓๗, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๗๐๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑ [ทิฏฐิที่ ๑๓ : ตังชีวตังสรีรทิฏฐิ] ๑

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ ออะไรมี อยู หนอ เพราะเข าไปยึ ดถื อซึ่ งอะไร เพราะ ปกใจเขาไปสูอะไร ทิฏฐิจึงเกิดขึ้นอยางนี้วา "ชีวะก็ อันนั้ น สรีระก็ อันนั้ น" ดังนี้? ...ฯลฯ... (ข อความตรงที่ ละเปยยาลไว นี้ มี การตรัส การถาม การตอบ เหมื อนกั บข อความในทิ ฏฐิ ที่ ๑ ตั้ งแต คํ าว า "ภิ กษุ ทั้ งหลายเหล านั้ น กราบทู ลวิ งวอนว า ข าแต พระองค ผู เจริญ ! ธรรมทั้ งหลายของพวก ข าพระองค "...ไปจนจบข อ ความด วยคํ าว า... "เป น โสดาบั น มี อั น ไม ตกต่ํ าเป น ธรรมดา เป น ผู เที่ ย งแท (ต อ นิ พ พาน) มี การตรัสรูพ รอมในเบื้ องหน า ดั งนี้ ." เป น ข อความซึ่ งเหมื อนกั น ทุ กตั ว ต างกั นแต เพี ยง ชื่อแหงทิฏฐิ เทานั้น.); [ทิฏฐิที่ ๑๔ : อัญญังชีวอัญญังสรีรทิฏฐิ] ๒

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ ออะไรมี อยู หนอ เพราะเข าไปยึ ดถื อซึ่ งอะไรเพราะ ปกใจเขาไปสูอะไร ทิฏฐิจึงเกิดขึ้นอยางนี้วา "ชีวะก็อันอื่น สรีระก็อัน อื่น " ดังนี้? ...ฯลฯ... (ข อความตรงที่ ละเปยยาลไว นี้ มี การตรัส การถาม การตอบ เหมื อนกั บข อความในทิ ฏฐิ ที่ ๑ ตั้ งแต คํ าว า "ภิ กษุ ทั้ งหลายเหล านั้ น กราบทู ลวิ งวอนว า ข าแต พระองค ผู เจริญ ! ธรรมทั้ งหลายของพวก ข าพระองค "...ไปจนจบข อ ความด วยคํ าว า... "เป น โสดาบั น มี อั น ไม ตกต่ํ าเป น ธรรมดา เป น ผู เที่ ย งแท (ต อ นิ พ พาน) มี การตรัสรูพ รอมในเบื้ องหน า ดั งนี้ ." เป น ข อความซึ่ งเหมื อนกั น ทุ กตั ว ต างกั นแต เพี ยง ชื่อแหงทิฏฐิ เทานั้น.);

www.buddhadasa.info [ทิฏฐิที่ ๑๕ : โหติตถาคโตทิฏฐิ]๓

ดูกอนภิ กษุ ทั้งหลาย! เมื่ออะไรมี อยูหนอ เพราะเขาไปยึดถือซึ่งอะไร เพราะป ก ใจเขาไปสูอะไร ทิฏฐิจึงเกิดขึ้นอยางนี้วา "ตถาคตภายหลังแตตายแลว ยอมมีอีก" ดังนี้? ...ฯลฯ...

สูตรที่ ๑๓ โสตาปตติวรรค ทิฏฐิสังยุตต ขนฺธ.สํ.๑๗/๒๖๔/๔๓๘, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน. สูตรที่ ๑๔ โสตาปตติวรรค ทิฏฐิสังยุตต ขนฺธ.สํ.๑๗/๒๖๔/๔๓๙, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน. ๓ สูตรที่ ๑๔ โสตาปตติวรรค ทิฏฐิสังยุตต ขนฺธ.สํ.๑๗/๒๖๔/๔๓๙, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน. ๒

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๗๐๑

(ข อความตรงที่ ละเปยยาลไว นี้ มี การตรัส การถาม การตอบ เหมื อนกั บข อความในทิ ฏฐิ ที่ ๑ ตั้ งแต คํ าว า "ภิ กษุ ทั้ งหลายเหล านั้ น กราบทู ลวิ งวอนว า ข าแต พระองค ผู เจริญ ! ธรรมทั้ งหลายของพวก ข า พระองค "...ไปจนถึ งข อความด วยคํ าว า... "เป น โสดาบั น มี อั น ไม ต กต่ํ าเป น ธรรมดา เป น ผู เที่ ยงแท (ตอนิ พพาน) มี การตรัสรูพรอมในเบื้ องหน า ดั งนี้ ." เป นขอความซึ่งเหมื อนกันทุ กตั วอั กษร ต างกั นแต เพี ยง ชื่อแหงทิฏฐิ เทานั้น.); [ทิฏฐิที่ ๑๖ : นโหติตถาคโตทิฏฐิ]๑

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ ออะไรมี อยู หนอ เพราะเข าไปยึ ดถื อซึ่ งอะไรเพราะ ปกใจเขาไปสูอะไร ทิฏฐิจึงเกิดขึ้นอยางนี้วา "ตถาคตภายหลังแตตายแลว ยอมไมมี อีก" ดังนี้? ...ฯลฯ... (ข อความตรงที่ ละเปยยาลไว นี้ มี การตรัส การถาม การตอบ เหมื อนกั บข อความในทิ ฏฐิ ที่ ๑ ตั้ งแต คํ าว า "ภิ กษุ ทั้ งหลายเหล านั้ น กราบทู ลวิ งวอนว า ข าแต พระองค ผู เจริญ ! ธรรมทั้ งหลายของพวก ข าพระองค "...ไปจนจบข อความด วยคํ าว า... "เป น โสดาบั น มี อั น ไม ตกต่ํ าเป น ธรรมดา เป น ผู เที่ ย งแท (ตอนิพพาน) มี การตรัสรูพรอมในเบื้องหนา ดังนี้." เป นขอความซึ่งเหมื อนกันทุกตัวอั กษร ตางกั นแต เพียง ชื่อแหงทิฏฐิ เทานั้น.);

www.buddhadasa.info [ทิฏฐิที่ ๑๗ : โหติจนจโหติทิฏฐิ]๒

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ ออะไรมี อยู หนอ เพราะเข าไปยึ ดถื อซึ่ งอะไร เพราะ ปกใจเขาไปสูอะไร ทิฏฐิจึงเกิดขึ้นอยางนี้วา "ตถาคตภายหลังแตตายแลว ยอมมีอีก ก็มี ยอมไมมีอีกก็มี" ดังนี้? ...ฯลฯ...

สูตรที่ ๑๖ โสตาปตติวรรค ทิฏฐิสังยุตต ขนฺธ.สํ.๑๗/๒๖๔/๔๔๑, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน. สูตรที่ ๑๗ โสตาปตติวรรค ทิฏฐิสังยุตต ขนฺธ.สํ.๑๗/๒๖๔/๔๔๒, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๗๐๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑

(ข อความตรงที่ ละเปยยาลไว นี้ มี การตรัส การถาม การตอบ เหมื อนกั บข อความในทิ ฏฐิ ที่ ๑ ตั้ ง แต คํ า วา "ภิ ก ษุ ทั้ ง หลายเหล า นั้ น กราบทู ล วิ ง วอนว า ข า แต พ ระองค ผู เจริ ญ ! ธรรมทั้ ง หลายของ พวกข าพระองค "...ไปจนจบข อความด วยคํ าว า... "เป นโสดาบั น มี อั นไม ตกต่ํ าเป นธรรมดา เป นผู เที่ ยงแท (ตอนิพพาน) มี การตรัสรูพรอมในเบื้องหนา ดังนี้." เป นขอความซึ่งเหมื อนกันทุกตัวอั กษร ตางกั นแต เพียง ชื่อแหงทิฏฐิ เทานั้น.); [ทิฏฐิที่ ๑๘ : เนวโหตินนโหติทิฏฐิ]๑

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ ออะไรมี อยู หนอ เพราะเข าไปยึ ดถื อซึ่ งอะไรเพราะ ปกใจเขาไปสูอะไร ทิฏฐิจึงเกิดขึ้นอยางนี้วา "ตถาคตภายหลังแตตายแลว ยอมมีอีก ก็มี ก็หามิได ยอมไมมีอีกก็หา มิได"ดังนี้? ภิ กษุ ทั้ งหลายเหล านั้ น กราบทู ลวิงวอนวา "ข าแต พระองค ผู เจริญ! ธรรมทั้ งหลาย ของพวก ขาพระองค มี พระผู มี พระภาคเป นมู ล มี พระผู มี พระภาคเป นผู นํ า มี พระผู มี พระภาคเป นที่ พึ่ ง. ขาแต พระ องค ผู เจริญ ! เป นการชอบแล วหนอ ขอให อรรถแห งภาษิ ตนั้ นจงแจ มแจ งกะพระผู มี พระภาคเองเถิ ดภิ กษุ ทั้ งหลายได ฟ งจากพระผู มี พ ระภาคแล ว จั กทรงจํ าไว " ดั งนี้ พระผู มี พระภาคเจ า จึ งตรัสเตื อนให ภิ กษุ ทั้งหลายเหลานั้นตั้งใจฟงดวยดีแลว ไดตรัสขอความดังตอไปนี้ :-

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ อรูปนั้ นแล มี อยู เพราะเข าไปยึ ดถื อซึ่ งรูป เพราะ ป กใจเข าไปสู รูปทิ ฏฐิ จึ งเกิ ดขึ้ นอย างนี้ วา "ตถาคตภายหลั งแต ตายแล ว ย อมมี อี กก็ หา มิ ได ย อมไม มี อี กก็ หามิ ได " ดั งนี้ . (ในกรณี แหงเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ก็มี ถอยคําที่ตรัส อยางเดียวกันทุกตัวอักษรกับในกรณีแหงรูปนี้ ตางกันแตเพียงชื่อแหงขันธแตละขันธ เทานั้น.)

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! พวกเธอจะสํ าคั ญความข อนี้ ว าอย างไร? รูปเที่ ยงหรือ ไม เที่ ย ง? ("ไม เที่ ย ง พระเจ าข า!") ก็ สิ่ งใดไม เที่ ย ง สิ่ งนั้ น เป น ทุ ก ข ห รื อ เป น สุ ขเล า? ("เปนทุกข พระเจาขา!") แมสิ่งใดไมเที่ยง เปนทุกข มีความแปรปรวนเปนธรรมดา แตถา

สูตรที่ ๑๘ โสตาปตติวรรค ทิฏฐิสังยุตต ขนฺธ.สํ.๑๗/๒๖๔/๔๔๓, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๗๐๓

ไม เขาไปยึดถือ ซึ่งสิ่งนั้ นแลวไซร ทิฏฐิอยางนี้ จะเกิดขึ้นไดไหมวา "ตถาคตภายหลังแต ตายแล ว ย อมมี อี กก็ หามิ ได ย อมไม มี อี กก็ หามิ ได " ดั งนี้ ? ("ขอนั้ น หามิ ได พระเจ าขา!") (แม ในกรณี แห งเวทนา สัญญา สั งขาร วิญญาณ ก็มี ถ อยคํ าที่ ตรัสถามและพวกภิ กษุ ทู ลตอบ อย างเดี ยวกั น ทุกตัวอักษรกับในกรณีแหงรูปนี้ ตางกันแตเพียงชื่อแหงขันธแตละขันธ เทานั้น.)

ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! แม สิ่ ง ใดที่ บุ ค คลได เห็ น แล ว ฟ ง แล ว รู สึ ก แล ว รูแจงแลว บรรลุแลว แสวงหาแลว ครุนคิดอยูดวยใจแลว เหลานี้เปนของเที่ยงหรือไมเที่ยง? ("ไม เที่ ยง พระเจาขา!") ก็ สิ่ งใดไม เที่ ยง สิ่ งนั้ นเป นทุ กข หรือเป นสุ ขเล า? (“เป นทุ กข พระเจ าข า!”) แม สิ่ งใดไม เที่ ยง เป นทุ กข มี ความแปรปรวนเป นธรรมดา แต ถ าไม เข า ไปยึดถือซึ่งสิ่งนั้นแลวไซร ทิฏฐิอยางนี้ จะเกิดขึ้นไดไหมวา "ตถาคตภายหลังแตตายแลว ยอมมีอีกก็หามิได ยอมไมมีอีกก็หากมิได” ดังนี้? ("ขอนั้นหามิได พระเจาขา!") ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ในกาลใดแล ความสงสั ย (กงฺ ข า) ในฐานะ ทั้งหลาย ๖ ประการเหลานี้๑ เปนสิ่งที่อริยสาวกละขาดแลว; ในกาลนั้น ก็เปน อั นว า ความสงสั ยแม ในทุ กข แม ในเหตุ ให เกิ ดขึ้ นแห งทุ กข แม ในความดั บไม เหลื อ แหงทุกข แมในทางดําเนินใหถึงความดับไมเหลือแหงทุกข ก็เปนสิ่งที่อริยสาวกนั้น ละขาดแลว.

www.buddhadasa.info ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! อริยสาวกนี้ เราเรียกวา เปน อริยสาวกผูเปนโสดาบัน มี อั นไม ตกต่ํ าเป นธรรมดา เป นผู เที่ ยงแท (ต อนิ พพาน) มี การตรัสรูพรอมในเบื้ องหน า, ดังนี้ แล. ทิ ฏฐิ ทั้ ง ๑๘ ประการนี้ เกิ ดขึ้ นเพราะไม รูปฏิ จจสมุ ปบาท หรืออิ ทั ปป จจยตา ที่ เกี่ ยวข องกั น อยูฐานะทั้ ง ๖; กล าวคืออุปาทานขันธทั้ ง ๕ และสิ่งที่ รูสึกทางอายตนะทั้ งหลาย; หรือกล าวอีกอย างหนึ่ งก็ว า ถายังมีทิฏฐิเหลานี้อยูเพียงใด ก็ไมอาจจะรูแจงในปฏิจจสมุปบาท อยูเพียงนั้น.- ผูรวบรวม.

ฐานะ ๖ ประการคือ ขันธ ๕ และสิ่งที่ไดเห็นแลว เปนตน; ดังที่กลาวแลวขางบน.

www.buddhadasa.info


๗๐๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑

ทิฏฐิ ๒๖ อยาง ลวนแตปรารภขันธหา๑ [ทิฏฐิที่ ๑ : เอสิกัฏฐายิฏฐิตทิฏฐิ]

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ ออะไรมี อยู หนอ เพราะเข าไปยึ ดถื อซึ่ งอะไร เพราะ ป ก ใจเข า ไปสู อ ะไร ทิ ฏ ฐิ จึ ง เกิ ด ขึ้ น อย า งนี้ ว า "ลมก็ ไ ม พั ด น้ํ า ก็ ไ มไหล สตรี มี ครรภก็ไมคลอด พระจันทรและพระอาทิตยก็ไมขึ้นไมตก แตละอยาง ๆ เปนของ ตั้งอยูอยางมั่นคงดุจการตั้งอยูของเสาระเนียด" ดังนี้? ภิ กษุ ทั้ งหลายเหล านั้ น กราบทู ลวิ งวอนว า "ข าแต พระองค ผู เจริ ญ ! ธรรมทั้ งหลาย ของพวก ข าพระองค มี พระผู มี พ ระภาคเป นมู ล มี พระผู มี พระภาคเป นผู นํ า มี พ ระผู มี พระภาคเป นที่ พึ่ ง. ข าแต พระ องค ผู เจริ ญ ! เป น การชอบแล ว หนอ ขอให อ รรถแห ง ภาษิ ต นั้ น จงแจ ม แจ ง กะพระผู มี พ ระภาคเองเถิ ด ภิ กษุ ทั้ งหลายได ฟ งจากพระผู มี พระภาคแล ว จั กทรงจํ าไว " ดั งนี้ . พระผู มี พระภาคเจ า จึ งตรั สเตื อนให ภิ กษุ ทั้งหลายเหลานั้นตั้งใจฟงดวยดีแลว ไดตรัสขอความดังตอไปนี้:-

ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! (๑) เมื่ อ รู ป นั่ น แล มี อ ยู เพราะเข า ไปยึ ด ถื อ ซึ่ ง รู ป เพราะป ก ใจเข า ไปสู รู ป ทิ ฏ ฐิ จึ งเกิ ด ขึ้ น อย า งนี้ ว า "ลมก็ ไม พั ด แม น้ํ า ก็ ไม ไหล สตรี มี ครรภ ก็ ไม คลอด พระจั นทร และพระอาทิ ตย ก็ ไม ขึ้ นไม ตก แต ละอย าง ๆ เป นของตั้ งอยู อยางมั่นคงดุจการตั้งอยูของเสาระเนียด" ดังนี้.

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! พวกเธอทั้ งหลาย จะสํ าคั ญ ความข อนั้ น ว าอย างไร? รู ป เที่ ย งหรื อ ไม เที่ ย ง? ("ไม เที่ ย ง พระเจ า ข า !") ก็ สิ่ ง ใดไม เที่ ย ง สิ่ ง นั้ น เป น ทุ ก ข ห รื อ เป น สุ ข เล า ? ("เป น ทุ ก ข พระเจ า ข า !") แม สิ่ งใดไม เที่ ย ง เป น ทุ ก ข มี ค วามแปรปรวน เปนธรรมดา แตถาไมเขาไปยึดถือ ซึ่งสิ่งนั้นแลว ทิฏฐิอยางนี้ จะเกิดขึ้นไดไหมวา "ลมก็

สูตรที่ ๑ ทุติยเปยยาบ ทิฏฐิสังยุตต ขนฺธ.สํ. ๑๗/๒๖๖/๔๔๕, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๗๐๕

ไม พั ด แม น้ํ าก็ ไม ไหล สตรีมี ครรภ ก็ไม คลอด พระจันทรและพระอาทิ ตย ก็ไม ขึ้นไม ตก แต ละอย าง ๆ เป นของตั้ งอยู อย างมั่ นคงดุ จการตั้ งอยู ของเสาระเนี ยด" ดั งนี้ ? ("ข อนั้ น หามิได พระเจาขา!"). ดูกอนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ด วยอาการอยางนี้แล : เมื่ อทุ กขมี อยู เพราะเข าไป ยึดถือซึ่งทุกข เพราะปกใจเขาไปสูทุกข ทิฏฐิจึงเกิดขึ้นอยางนี้วา "ลมก็ไมพัด แมน้ํา ก็ไม ไหล สตรีมี ครรภ ก็ไม คลอด พระจันทรและพระอาทิ ตย ก็ไม ขึ้นไม ตก แต ละอย าง ๆ เปนของตั้งอยูอยางมั่นคงดุจการตั้งอยูของเสาระเนียด" ดังนี้. (ในกรณี แห งเวทนา สั ญ ญา สั งขาร วิ ญ ญาณ ก็ มี การตรั ส การตรั สถาม และการทู ลตอบ อย างเดี ยวกั นกั บในกรณี แห งรูปนี้ ซึ่ งเริ่มตั้ งแต คํ าว า "ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ อรู ปนั่ นแล มี อยู ...ไปจน จบข อความด วยคําวา... แต ละอย าง ๆ เป นของตั้ งอยูอย างมั่ นคงดุ จการตั้ งอยู ของสาระเนี ยด ดั งนี้ ." ซึ่ ง ตรัสเป นคํ าสุ ดท ายในกรณี แห งรูป; เป นขอความที่ เหมื อนกั นทุ กตั วอั กษร จนตลอดข อความ ต างกั นแต เพียงชื่อแหงขันธแตละขันธ เทานั้น. ในทิ ฏฐิ ที่ ๒ ที่ ๓ ต อไปจนถึ งทิ ฏฐิ ที่ ๒๖ มี ข อความนํ าเรื่องเหมื อนกั นตอนต นของทิ ฏฐิ ที่ ๑ ทุ กตั วอั กษร คื อตั้ งแต คํ าวา "ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ ออะไรมี อยู หนอ เพราะเข าไปยึ ดถื อซึ่ งอะไร ...จน ไปถึ งคํ าวา... พระผู มี พระภาคเจา จึงตรัสเตื อนให ภิ กษุ ทั้ งหลายเหล านั้ นตั้ งใจฟ งด วยดี แล ว ได ตรัสข อ ความดังตอไปนี้:-";ในทิฏฐิตอๆ ไป ขอความเหลานี้จะไมเขียนไว จะเริ่มที่ตัวทิฏฐิเลยทีเดียว.

www.buddhadasa.info และขอความตอนสรุปท ายของเรื่องทิ ฏฐิหนึ่ ง ๆ ตั้ งแต คํ าวา ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! พวกเธอ ทั้ งหลาย จะสํ าคั ญความข อนี้ ว าอย างไร? ...ไปจนจบเรื่องทิ ฏฐิ นั้ น ๆ ก็ มี ข อความเหมื อนกั นทุ กทิ ฏฐิ ทุ ก ตัวอั กษร ต างกั นแต ชื่ อแห งทิ ฏฐิแต ละทิ ฏฐิ เท านั้ น; ดังนั้ น ขอความตอนสรุปท ายเช นนี้ ในทิ ฏฐิ ต อ ๆ ไป จะไมเขียนไว เปนอันรูกันไดเอง. สําหรับทิฏฐิที่ ๒๖ ไดนํามาใสไวเต็ม ดังที่กลาวไวในทิฏฐิที่หนึ่ง.

อนึ่ ง ผู ศึ กษาต องไม ลื มสั งเกตว า ทิ ฏฐิ ทั้ ง ๒๖ นี้ แม แต ละทิ ฏฐิ ล วนเป นไปในป ญจุ ปาทาน ขันธแตละขันธดวยกันทั้งนั้น.)

www.buddhadasa.info


๗๐๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑ [ทิฏฐิที่ ๒ : อัตตา - อัตตนิยานุทิฏฐิ]๑

ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! (๒) เมื่ อ รู ป นั่ น แลมี อ ยู เพราะเข า ไปยึ ด ถื อ ซึ่ ง รู ป เพราะป กใจเขาไปสู รูป ทิ ฏฐิจึงเกิดขึ้นอย างนี้ วา "นั่ นของเรา; นั่ นเป นเรา; นั่ นเป น ตัวตนของเรา" ดังนี้. ... [ทิฏฐิที่ ๓ สัสสตทิฏฐิ (ทั่วไป)]๒

ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! (๓) เมื่ อ รู ป นั่ น แลมี อ ยู เพราะเข า ไปยึ ด ถื อ ซึ่ ง รู ป เพราะป กใจเขาไปสู รูป ทิฏฐิจึงเกิดขึ้นอยางนี้ วา "อั ตตา (ตน) ก็ อั นนั้ น; โลกก็ อั นนั้ น; เรานั้นละไปแลว จักเปนผูเที่ยง ยั่งยืน เที่ยงแท มีความไมแปรปรวนเปนธรรมดา" ดังนี้. ... [ทิฏฐิที่ ๔ อุจเฉททิฏฐิ (ทั่วไป)๓

ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! (๔) เมื่ อ รู ป นั่ น แลมี อ ยู เพราะเข า ไปยึ ด ถื อ ซึ่ ง รู ป เพราะป กใจเข าไปสู รูป ทิ ฏ ฐิ จึ งเกิ ด ขึ้ น อย างนี้ ว า "เราไม พึ งมี ด วย; ของเราไม พึ งมี ดวย; เราจักไมมี ของเราจักไมมี" ดังนี้. ...

www.buddhadasa.info [ทิฏฐิที่ ๕ นัตถิกทิฏฐิ (ทั่วไป)๔

...ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! (๕) เมื่ อ รู ป นั่ น แลมี อ ยู เพราะเข า ไปยึ ด ถื อ ซึ่ ง รู ป เพราะปกใจเขาไปสูรูป ทิฏฐิจึงเกิดขึ้นอยางนี้วา "ไมมีทางอันบุคคลบริจาคแลว, ไมมี

สูตรที่ ๒ ทุติยเปยยาล ทิฎฐิสังยุตต ขนฺธ.สํ. ๑๗/๒๕๐/๔๑๙, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน. สูตรที่ ๓ ทุติยเปยยาล ทิฎฐิสังยุตต ขนฺธ.สํ. ๑๗/๒๕๑/๔๒๑, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน. ๓ สูตรที่ ๔ ทุติยเปยยาล ทิฎฐิสังยุตต ขนฺธ.สํ. ๑๗/๒๕๒/๔๒๓, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน. ๔ สูตรที่ ๕ ทุติยเปยยาล ทิฎฐิสังยุตต ขนฺธ.สํ. ๑๗/๒๕๔/๔๒๕, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน. ๒

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๗๐๗

ยัญญะอันบุคคลประกอบแลว, ไมมีโหตระอันบุคคลบูชาแลว, ไมมีผลวิบากแหง กรรมอัน บุค คลกระทํ า ดีแ ลว กระทํ า ชั ่ว แลว , ไมม ีโ ลกนี ้, ไมม ีโ ลกอื ่น , ไมมี มารดา, ไมมีบิดา, ไมมีสัตวทั้งหลายอันเปนโอปปาติกะ,ไมมีสมณะและพราหมณ ผูไปแลวถูกตอง ผูปฏิบัติแลวถูกตอง ผูทําใหแจงซึ่งโลกนี้และโลกอื่น ดวยปญญา อัน ยิ่งเอง แลว ประกาศอยูในโลก; คนเรานี้เปน การประชุม ของมหาภูต ทั้ง ๔; เมื่อใดทํากาละ, เมื่อนั้นดินยอมเขาไปสูหมูแหงดิน, น้ํายอมเขาไปสูหมูแหงน้ํา, ไฟยอมเขาไปสูหมูแหงไฟ, ลมยอมเขาไปสูหมูแหงลม, อินทรียทั้งหลาย ยอม หายไปในอากาศ; บุรุษ ทั ้ง หลายมีเตีย งวางศพเปน ที ่ค รบ ๕ จะพาเขาผู ต าย แลว ไป; รอ งรอยทั้งหลายปรากฎอยูเพีย งแคปา ชา เปน เพีย งกระดูก ทั้งหลาย มีสีเพีย งดังสีแ หงนกพิล าป; การบูช าเซน สรวง มีขี้เถาเปน ที่สุด ; สิ่งที่เรีย กวา ทานนั้ น เป น บทบั ญ ญั ติ ข องคนเขลา; คํ าของพวกที่ กล าววา อะไรๆ มี อ ยูนั้ น เปน คํ า เปลา (จากความหมาย) เปน คํ า เท็จ เปน คํ า เพอ เจอ ; ทั ้ง คนพาลและ บัณ ฑิ ต ครั้นกายแตกทํ าลายแล ว ยอ มขาดสูญ พิ น าศไป มิไดอ ยู ภายหลังแต ตายแลว." ดังนี้... [ทิฏฐิที่ ๖ อกิริยทิฏฐิ]๑

www.buddhadasa.info ...ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! (๖) เมื่ อ รู ป นั่ น แลมี อ ยู เพราะเข า ไปยึ ด ถื อ ซึ่ ง รู ป เพราะป กใจเข าไปสู รูป ทิ ฏฐิจึ งเกิ ดขึ้นอย างนี้ วา "เมื่ อกระทํ าเองหรือยั งบุ คคลอื่ นให กระทําก็ดี, เมื่อตัดเองหรือยังบุคคลอื่นใหตัดก็ดี, เมื่อกําจัดเองหรือยังบุคคลอื่นให กําจัดก็ดี, เมื่อทําสัตวใหเศราหมองเองหรือยังบุคคลอื่นใหทําสัตวใหเศราหมองเอง ก็ดี, เมื่อทําสัตวใหลําบากเองหรือยังบุคคลอื่นใหทําสัตวใหลําบากก็ดี, เมื่อทําสัตว

สูตรที่ ๖ ทุติยเปยยาล ทิฎฐิสังยุตต ขนฺธ.สํ. ๑๗/๒๕๖/๔๒๗, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๗๐๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑

ใหดิ้นรนเองหรือยังบุคคลอื่นใหทําสัตวใหดิ้นรนก็ดี, เมื่อยังสัตวมีปราณใหตกลวง ไปก็ดี, เมื่อถือเอาสิ่งของที่บุคคลไมไดใหแลวก็ดี, เมื่อตัดซึ่งที่ตอ (ตัดชองยอง เบา) ก็ดี, เมื่อปลนทั้งหมูบานก็ดี, เมื่อปลนเฉพาะเรือนก็ดี, เมื่อซุมปลนอยูตาม หนทางก็ด ี, เมื ่อ ลว งเกิน ภรรยาของผู อื่น ก็ด ี, เมื ่อ กลา วเท็จ ก็ด ี; บาปยอ มไม เปนอันกระทําสําหรับผูกระทํา. แมวาผูใดจะกระทําซึ่งสัตวทั้งหลายในแผนดินนี้ ดวยจักรอันคมดังมีดโกน ใหกลายเปนลานเนื้อลานหนึ่งก็ดี, บาปเพราะการกระทํา อยา งนั ้น ยอ มไมม ี; การมาแหง บาป ยอ มไมม ี. แมว า บุร ุษ จะไปที ่ฝ ง ขวา แหง แมน้ํ า คงคา ฆา เองอยู ใชผูอื่น ฆา อยู, ตัด เองอยู ใชผูอื่น ตัด อยู, กํา จัด เองอยู  ใชผู อื ่น กํ า จัด อยู ; บาปเพราะการกระทํ า อยา งนั ้น ยอ มไมม ี; การมา แหงบาป ยอมไมมี. แมวาบุรุษจะไปที่ฝงซายแหงแมน้ําคงคา ใหทานเองอยูก็ดี, ยังบุ ค คลอื่น ให ให ท านอยูก็ดี, บู ชาเองอยูก็ดี, ยังบุ ค คลอื่น ให บู ชาอยูก็ดี ; บุ ญ เพราะการกระทําอยางนั้นยอมไมมี; การมาแหงบุญยอมไมมี. เพราะการใหทาน ก็ตาม เพราะการฝกจิตก็ตาม เพราะการสํารวจก็ตาม เพราะการกลาวคําสัตยก็ตาม บุญยอมไมมี; การมาแหงบุญยอมไมมี." ดังนี้. ... [ทิฏฐิที่ ๗ : อเหตุกทิฏฐิ]๑

www.buddhadasa.info ...ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! (๗) เมื่ อ รู ป นั่ น แลมี อ ยู เพราะเข า ไปยึ ด ถื อ ซึ่ งรู ป เพราะป กใจเขาไปสูรูป ทิ ฏฐิจึงเกิ ดขึ้นอย างนี้ วา "เหตุ ไม มี , ป จจั ยไม มี , เพื่ อความ เศราหมองแหงสั ตวทั้งหลาย. ไม มีเหตุ ไม มีป จจัย สัต วทั้ งหลายก็เศราหมอง. เหตุไ มม ี, ปจ จัย ไมม ี, เพื ่อ ความบริส ุท ธิ ์แ หง สัต วทั ้ง หลาย. ไมม ีเ หตุ ไมมี ปจจัย สัตวทั้งหลายก็บริสุทธิ์. กําลังไมมี, ความเพียรไมมี, เรี่ยวแรงแหง

สูตรที่ ๗ ทุติยเปยยาล ทิฎฐิสังยุตต ขนฺธ.สํ. ๑๗/๒๕๗/๔๒๙, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๗๐๙

บุ รุษ ไม มี , ความบากบั่ น ของบุ รุษ ไม มี . สั ต วทั้ งปวง ปาณะทั้ งปวง ภู ต ทั้ งปวง ชี ว ะทั้ ง ปวง ไม มี อํ า นาจ ไม มี กํ า ลั ง ไม มี ค วามเพี ย ร; ย อ มแปรปรวนไปตาม สภาวะ นิยติ และสังคติ; ยอมเสวยซึ่งสุขและทุกขในอภิชาติทั้งหลาย ๖ ประการ นั่นเอง" ดังนี้. .... [ทิฏฐิที่ ๘ : สัตตกายทิฏฐิ]๑ ...ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! (๘) เมื่ อ รู ป นั่ น แลมี อ ยู เพราะเข า ไปยึ ด ถื อ ซึ่ ง รู ป

เพราะป กใจเข าไปสู รู ป ทิ ฏฐิ จึ งเกิ ดขึ้ นอย างนี้ ว า "กาย (หมู แห งธรรมชาติ ) ทั้ งหลาย ๗ หมูเหลานี้ ไมมีใครทํา ไมมีใครจัดระเบียบ ไมมีใครนฤมิต ร ไมมีระเบียบ อันใครนฤมิตร ไมคลอดผลใดๆ ตั้งอยูอยางยอดภูเขาตั้งอยูอยางมั่นคงดุจการตั้งอยู ของสาระเนี ย ด. กายทั้ งหลายเหล า นั้ น ไม ห วั่น ไหว ไม แ ปรปรวน ไม ก ระทบ กระทั่งซึ่งกันและกัน ไมอาจกระทําซึ่งสุขและทุกขแกกันและกัน. กายทั้งหลาย ๗ หมู เปนอยางไรเลา? การ ๗ หมู คือปฐวีกาย อาโปกาย เตโชกาย วาโยกาย สุช(กาย) ทุ ก ข(กาย) ชีว(กาย).กาย ๗ หมู เหลานี้ เป น กายที่ ไมี มี ใครทํ า ไม มี ใครจัดระเบียบ ไมมีใครนฤมิตร ไมมีระเบียบอันใครนฤมิตร ไมคลอดผลใด ๆ ตั้งอยูอยางยอดภูเขา ตั้งอยูอยางมั่นคงดุจการตั้งอยูของเสาระเนียด. กายทั้งหลาย เหลานั้นไมหวั่นไหว ไมแปรปรวน ไมกระทบกระทั่งซึ่งกันและกัน ไมอาจกระทํา ซึ่งสุข และทุก ขแกกัน และกัน . แมผูใดจะตัดศีรษะใครดวยศาสตราอัน คม ก็ไม ชื่อวาใครปลงชีวิตใคร : เปนแตเพียงศาสตราผานไปตามชองในระหวางแหงกาย ทั้งหลาย ๗ หมูเหลานั้นเทานั้น. ก็โยนีประมุขทั้งหลายเหลานี้แลมีอยู๑,๔๐๐,๐๐๐; มีอยู ๖,๐๐๐; มีอยู ๖๐๐; กรรม ๕๐๐; กรรม ๕; กรรม ๓; กรรมเต็ม

www.buddhadasa.info

สูตรที่ ๘ ทุติยเปยยาล ทิฎฐิสังยุตต ขนฺธ.สํ. ๑๗/๒๕๙/๔๓๑, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๗๑๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑

กรรมดวย; กรรมกึ่งกรรมดวย; ปฏิปทา ๖๒; อันตรกัปป ๖๒; อภิชาติ ๖; ป ุร ิส ภ ูม ิ ๘; อ าช ีว ก ๔,๙๐๐; ป ริพ พ า ช ก ๔,๙๐๐; น า ค ว าส ๔,๙๐๐; อิน ทรีย ๒,๐๐๐; นรก ๓,๐๐๐; รโชธาตุ ๓๖; สัญ ญีครรภ ๗; อสัญ ญีครรภ; นิ ค รนถครรภ ๗; เทพ ๗; มนุ ษ ย ๗; ป ศ าจ ๗; สระ ๗; ปวุฏ ะ ๗ ด วย, ๗๐๐ ด วย; ปปาตะ ๗ ด วย, ๗๐๐ ด วย; สุ ป นะ ๗ ด วย, ๗๐๐ ด วย; มหากั ปป ๘,๔๐๐,๐๐๐; เหลา นี ้ เปน สัง สารวัฎ ซึ ่ง ทั ้ง คนพาลและบัณ ฑิต แลน ไปแลว ทองเที่ยวไปแลว จักกระทําที่สุดแหงทุกขได; ในสังสารวัฏนั้น ไมมีกฎเกณฑ ที่ใครจะหวังไดวา กรรมที่ยังไมแกรอบ เราจักกระทําใหแกรอบ, หรือวาจักเสวย ผลแหงกรรมที่แกรอบแลว กระทําซึ่งที่สุดแหงทุกขได, ดวยขอปฏิบัตินี้คือ ดวย ศีลหรือดวยวัตร ดวยตบะ ดวยพรหมจรรย; สุขและทุกขที่หมดไปสิ้นไป ราวกะ วาตวงของดวยทะนาน จึงไมมี.ในสังสารวัฎฎนั้น ไมมีอะไรที่ชื่อวาความเสื่อม หรือความเจริญ, ความดีขึ้นหรือความเลวลง, เปรียบเหมือนกลุมดวยอันบุคคล ซัดใหกลิ้งไป ยอมคลี่ออก ๆ จนหมดกลุม แลวก็หยุดเอง, ฉันใด; ทั้งคนพาล และบัณฑิต แลนไปในสงสาร ยอมมีสุขและทุกขอันคลี่คลาย จนหมดไปเอง, ฉันนั้น" ดังนี้. ... [ทิฏฐิที่ ๙ : สัสสตโลกทิฏฐิ] ๑

www.buddhadasa.info ...ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! (๙) เมื่ อ รู ป นั่ น แลมี อ ยู เพราะเข าไปยึ ด ถื อ ซึ่ งรู ป เพราะปกใจเขาไปสูรูป ทิฏฐิจึงเกิดขึ้นอยางนี้วา "โลกเที่ยง" ดังนี้. ...

สูตรที่ ๙ ทุติยเปยยาล ทิฎฐิสังยุตต ขนฺธ.สํ. ๑๗/๒๖๑/๔๓๓, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๗๑๑ [ทิฏฐิที่ ๑๐ : อสัสสตโลกทิฏฐิ] ๑

...ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! (๑๐) เมื่ อ รู ป นั่ น แลมี อ ยู เพราะเข า ไปยึ ด ถื อ ซึ่งรูป เพราะปกใจเขาไปสูรูป ทิฏฐิจึงเกิดขึ้นอยางนี้วา "โลกไมเที่ยง" ดังนี้. ... [ทิฏฐิที่ ๑๑ : อันตวันตโลกทิฏฐิ] ๒

...ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! (๑๑) เมื่ อ รู ป นั่ น แลมี อ ยู เพราะเข า ไปยึ ด ถื อ ซึ่งรูป เพราะปกใจเขาไปสูรูป ทิฏฐิจึงเกิดขึ้นอยางนี้วา "โลกมีที่สุด " ดังนี้. ... [ทิฏฐิที่ ๑๒ : อันตวันตโลกทิฏฐิ] ๓

...ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! (๑๒) เมื่ อรู ปนั่ นแลมี อยู เพราะเข าไปยึ ดถื อซึ่ งรู ป เพราะปกใจเขาไปสูรูป ทิฏฐิจึงเกิดขึ้นอยางนี้วา "โลกไมมีที่สุด" ดังนี้. ... [ทิฏฐิที่ ๑๓ : อันตวันตโลกทิฏฐิ] ๔

www.buddhadasa.info ...ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! (๑๓) เมื่ อรู ปนั่ นแลมี อยู เพราะเข าไปยึ ดถื อซึ่ งรู ป เพราะปกใจเขาไปสูรูป ทิฏฐิจึงเกิดขึ้นอยางนี้วา "ชีวะก็อันนั้น สรีระก็อันนั้น" ดังนี้. ...

สูตรที่ ๑๐ ทุติยเปยยาล ทิฎฐิสังยุตต ขนฺธ.สํ. ๑๗/๒๖๓/๔๓๕, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน. สูตรที่ ๑๑ ทุติยเปยยาล ทิฎฐิสังยุตต ขนฺธ.สํ. ๑๗/๒๖๓/๔๓๖, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน. ๓ สูตรที่ ๑๒ ทุติยเปยยาล ทิฎฐิสังยุตต ขนฺธ.สํ. ๑๗/๒๖๓/๔๓๗, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน. ๔ สูตรที่ ๑๓ ทุติยเปยยาล ทิฎฐิสังยุตต ขนฺธ.สํ. ๑๗/๒๖๔/๔๓๘, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน. ๒

www.buddhadasa.info


๗๑๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๗๑๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑ [ทิฏฐิที่ ๑๔ : อัญญังชีวอัญญังสรีรทิฏฐิ] ๑

...ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! (๑๔) เมื่ อรู ปนั่ นแลมี อยู เพราะเข าไปยึ ดถื อซึ่ งรู ป เพราะปก ใจเขา ไปสู รูป ทิฏ ฐิจ ึง เกิด ขึ้น อยา งนี ้วา "ชีว ะก็อ ัน นั ้น สรีร ะก็อ ัน อื ่น " ดังนี้. ... [ทิฏฐิที่ ๑๕ : โหติตถาคโตทิฏฐิ] ๒

...ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! (๑๕) เมื่ อ รู ป นั่ น แลมี อ ยู เพราะเข า ไปยึ ด ถื อ ซึ่งรูปเพราะปกใจเขาไปสูรูป ทิฏฐิจึงเกิดขึ้นอยางนี้วา "ตถาคตภายหลังแตตายแลว ยอมมีอีก" ดังนี้. ... [ทิฏฐิที่ ๑๖ : นโหติตถาคโตทิฏฐิ] ๓

...ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! (๑๖) เมื่ อรู ปนั่ นแลมี อยู เพราะเข าไปยึ ดถื อซึ่ งรู ป เพราะปกใจเขาไปสูรูป ทิฏฐิจึงเกิดขึ้นอยางนี้วา "ตถาคตภายหลังแตตายแลว ยอม ไมมีอีก" ดังนี้. ...

www.buddhadasa.info [ทิฏฐิที่ ๑๗ : โหติจนจโหติทิฏฐิ] ๔

...ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! (๑๗) เมื่ อรู ปนั่ นแลมี อยู เพราะเข าไปยึ ดถื อซึ่ งรู ป เพราะปกใจเขาไปสูรูป ทิฏฐิจึงเกิดขึ้นอยางนี้วา "ตถาคตภายหลังแตตายแลว ยอมมี อีกก็มี ยอมไมมีอีกก็มี" ดังนี้. ...

สูตรที่ ๑๔ ทุติยเปยยาล ทิฎฐิสังยุตต ขนฺธ.สํ. ๑๗/๒๖๔/๔๓๙, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน. สูตรที่ ๑๕ ทุติยเปยยาล ทิฎฐิสังยุตต ขนฺธ.สํ. ๑๗/๒๖๗/๔๔๖, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน. ๓ สูตรที่ ๑๖ ทุติยเปยยาล ทิฎฐิสังยุตต ขนฺธ.สํ. ๑๗/๒๖๗/๔๔๖, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน. ๔ สูตรที่ ๑๗ ทุติยเปยยาล ทิฎฐิสังยุตต ขนฺธ.สํ. ๑๗/๒๖๗/๔๔๖, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน. ๒

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๗๑๓

[ทิฏฐิที่ ๑๘ : เนวโหตินนโหติทิฏฐิ] ๑

...ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! (๑๘) เมื่ อรู ปนั่ นแลมี อยู เพราะเข าไปยึ ดถื อซึ่ งรู ป เพราะปกใจเขาไปสูรูป ทิฏฐิจึงเกิดขึ้นอยางนี้วา "ตถาคตภายหลังแตตายแลว ยอมมี อีกก็หามิได ยอมไมมีอีกก็หามิได" ดังนี้. ... [ทิฏฐิที่ ๑๙ : รูปอัตตาทิฏฐิ] ๒

...ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! (๑๙) เมื่ อรู ปนั่ นแลมี อยู เพราะเข าไปยึ ดถื อซึ่ งรู ป เพราะปกใจเขาไปสูรูป ทิฏฐิจึงเกิดขึ้นอยางนี้วา "(ตองเปน) อัตตามีรูป ๓ (เทานั้น จึงจะ) เปนอัตตาหาโรคมิได (อโรโค)๔ หลังจากตายแลว" ดังนี้. ... [ทิฏฐิที่ ๒๐ : นโหติตถาคโตทิฏฐิ] ๕

...ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! (๒๐) เมื่ อรู ปนั่ นแลมี อยู เพราะเข าไปยึ ดถื อซึ่ งรู ป เพราะปกใจเขาไปสูรูป ทิฏฐิจึงเกิดขึ้นอยางนี้วา "(ตองเปน)อัตตาไมมีรูป๖ (เทานั้น จึงจะ) เปนอัตตาหาโรคมิได" หลังจากตายแลว" ดังนี้. ...

www.buddhadasa.info ๑

สูตรที่ ๑๘ ทุติยเปยยาล ทิฎฐิสังยุตต ขนฺธ.สํ. ๑๗/๒๖๗/๔๔๗, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน. ๒ สูตรที่ ๑๙ ทุติยเปยยาล ทิฎฐิสังยุตต ขนฺธ.สํ. ๑๗/๒๖๘/๔๔๙, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน. ๓ อัตตามีรูป คืออัตตาที่มีรูปสมาบัติเปนนิทานสัมภวะ. ๔ อโรโค หรือหาโรคมิได หมายถึงความที่ยั่งยืน ไมมีอะไรกระทบกระทั่งใหเกิดการเปลี่ยนแปลงได. ๕ สูตรที่ ๒๐ ทุติยเปยยาล ทิฎฐิสังยุตต ขนฺธ.สํ. ๑๗/๒๖๙/๔๕๑, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน. ๖

อัตตาไมมีรูป คืออัตตาที่มีอรูปสมบัติ เปนนิทานสัมภวะ.

www.buddhadasa.info


๗๑๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑ [ทิฏฐิที่ ๒๑ : รูปจอรูปจอัตตาทิฏฐิ] ๑

...ดูก อ นภิก ษุทั ้ง หลาย!(๒๑)เมื ่อ รูป นั ่น แลมีอ ยู  เพราะเขา ไปยึด ถือ ซึ่งรูป เพราะปกใจเขาไปสูรูป ทิฏฐิจึงเกิดขึ้นอยางนี้วา "อัตตามีรูปก็ไดไมมีรูปก็ได เปนอัตตาหาโรคมิไดหลังจากตายแลว" ดังนี้. ... [ทิฏฐิที่ ๒๒ : เนวรูปนารูปจอัตตาทิฏฐิ] ๒

...ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย!(๒๒)เมื่ อรู ป นั่ นแลมี อ ยู เพราะเข าไปยึ ดถื อซึ่ งรู ป เพราะปกใจเขาไปสูรูป ทิฏฐิจึงเกิดขึ้นอยางนี้วา "(ตองเปน) อัตตามีรูปก็มิใชไมมีรูป ก็มิใช(เทานั้น จึงจะ) เปนอัตตาหาโรคมิได หลังจากตายแลว" ดังนี้. ... [ทิฏฐิที่ ๒๓ : เอกันตสุขีอัตตาทิฏฐิ] ๓

...ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย!(๒๓)เมื่ อรู ป นั่ นแลมี อ ยู เพราะเข าไปยึ ดถื อซึ่ งรู ป เพราะป กใจเข าไปสู รู ป ทิ ฏฐิ จึ งเกิ ดขึ้ นอย างนี้ ว า "(ต องเป น ) อั ตตามี สุ ขโดยส วน เดียว(เทานั้น จึงจะ) เปนอัตตาหาโรคมิได หลังจากตายแลว" ดังนี้. ...

www.buddhadasa.info [ทิฏฐิที่ ๒๔ : เอกันตทุกขีอัตตาทิฏฐิ] ๔

...ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย!(๒๔)เมื่ อรู ป นั่ นแลมี อ ยู เพราะเข าไปยึ ดถื อซึ่ งรู ป เพราะปกใจเขาไปสูรูป ทิฏฐิจึงเกิดขึ้นอยางนี้วา "(ตองเปน) อัตตามีทุกขโดยสวนเดียว (เทานั้น จึงจะ) เปนอัตตาหาโรคมิได หลังจากตายแลว" ดังนี้. ...

สูตรที่ ๒๑ ทุติยเปยยาล ทิฎฐิสังยุตต ขนฺธ.สํ. ๑๗/๒๖๙/๔๕๒, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน. สูตรที่ ๒๒ ทุติยเปยยาล ทิฎฐิสังยุตต ขนฺธ.สํ. ๑๗/๒๖๙/๔๕๓, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน. ๓ สูตรที่ ๒๓ ทุติยเปยยาล ทิฎฐิสังยุตต ขนฺธ.สํ. ๑๗/๒๖๙/๔๕๔, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน. ๔ สูตรที่ ๒๔ ทุติยเปยยาล ทิฎฐิสังยุตต ขนฺธ.สํ. ๑๗/๒๖๙/๔๕๔, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน. ๒

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๗๑๕

[ทิฏฐิที่ ๒๕ : สุขทุกขีอัตตาทิฏฐิ]๑

...ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย!(๒๕)เมื่ อรู ป นั่ นแลมี อ ยู เพราะเข าไปยึ ดถื อซึ่ งรู ป เพราะปกใจเขาไปสูรูป ทิฏฐิจึงเกิดขึ้นอยางนี้วา "(ตองเปน) อัตตามีทั้งสุขและทุกข (เทานั้น จึงจะ) เปนอัตตาหาโรคมิได หลังจากตายแลว" ดังนี้. ... [ทิฏฐิที่ ๒๖ : เอกันตทุกขีอัตตาทิฏฐิ]๒

...ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ ออะไรมี อยู หนอ เพราะเข าไปยึ ดถื อซึ่ งรูป เพราะ ปกใจเขาไปสูรูป ทิฏฐิจึงเกิดขึ้นอยางนี้วา "(ต องเปน ) อัต ตาไม มีทั้ งทุ กขและสุ ข (เทานั้น จึงจะ) เปนอัตตาหา โรคมิได หลังจากตายแลว" ดังนี้. ... ภิ กษุ ทั้ งหลายเท านั้ น กราบทู ลวิงวอนว า "ข าแต พระองค ผู เจริญ! ธรรมทั้ งหลาย ของพวก ขาพระองค มี พระผู มี พระภาคเป นมู ล มี พระผู มี พระภาคเป นผู นํ า มี พระผู มี พระภาคเป นที่ พึ่ ง. ขาแต พระ องคผู เจริญ! เป นการชอบแล วหนอ ขอให อรรถแห งภาษิ ตนั้ นจงแจมแจ งกกะพระผู มีพระภาคเองเถิด ภิ กษุ ทั้ งหลายได ฟ งจากพระผู มี พระภาคแล ว จั กทรงจํ าไว" ดั งนี้ . พระผู มี พระภาคเจ า จึ งตรัสเตื อนให ภิ กษุ ทั้งหลายเหลานั้นตั้งใจฟงดวยดีแลว ไดตรัสขอความดังตอไปนี้ :-

www.buddhadasa.info ...ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย!(๒๖)เมื่ อรู ป นั่ นแลมี อ ยู เพราะเข าไปยึ ดถื อ ซึ่ งรู ป เพราะป กใจเข าไปสู รูป ทิ ฏฐิ จึงเกิ ดขึ้นอย างนี้ วา "(ต องเป น) อั ตตาไม มี ทั้ งทุ กข และสุ ข (เทานั้น จึงจะ) เปนอัตตาหา โรคมิได หลังจากตายแลว" ดังนี้. ...

สูตรที่ ๒๕ ทุติยเปยยาล ทิฎฐิสังยุตต ขนฺธ.สํ. ๑๗/๒๖๙/๔๕๖, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน. ๒ สูตรที่ ๒๖ ทุติยเปยยาล ทิฎฐิสังยุตต ขนฺธ.สํ. ๑๗/๒๖๙/๔๕๗, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๗๑๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! พวกเธอทั้ งหลาย จะสํ าคั ญความข อนั้ นว าอย างไร? รูป เที่ ย งหรือ ไม เที่ ย ง? ("ไม เที่ ย ง พระเจ าข า!") ก็ สิ่ งใดไม เที่ ย ง สิ่ งนั้ น เป น ทุ ก ข ห รื อ เป นสุ ขเล า? ("เป นทุ กข พระเจ าข า!") แม สิ่ งใดไม เที่ ยง เป นทุ กข มี ความแปรปรวน เป น ธรรมดา แต ถ าไม เข าไปยึ ด ถื อ ซึ่ งสิ่ งนั้ นแล ว ทิ ฏ ฐิ อ ย างนี้ จะเกิ ด ขึ้ น ได ไหมว า "(ต องเป น) อั ตตาไม มี ทั้ งทุ กข และสุ ข (เท านั้ น จึ งจะ) เป นอั ตตาหาโรคมิ ได หลั งจาก ตายแลว" ดังนี้? ("ขอนั้น หามิได พระเจาขา!") ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ด วยอาการอย างนี้ แล : เมื่ อทุ กข มี อยู เพราะเข าไป ยึดถือซึ่งทุกข เพราะปกใจเขาไปสูทุกข ทิฏฐิจึงเกิดขึ้นอยางนี้วา "(ตองเปน) อัตตาไมมี ทั้งทุกขและสุข (เทานั้น จึงจะ) เปนอัตตาหาโรคมิได หลังจากตายแลว" ดังนี้. (ในกรณี แห งเวทนา สั ญญา สั งขาร วิ ญญาณ ก็ มี การตรัส การตรัสถาม และการทู ลตอบอย าง เดี ยวกั นกั บในกรณี แห งรูป นี้ ซึ่ งเริ่มตั้ งแต คํ าว า "ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ อรู ปนั่ นแลมี อยู " ...ไปจนจบ ข อ ความด ว ยคํ าว า ... "อั ต ตาไม มี ทั้ งทุ ก ข แ ละสุ ข หาโรคมิ ได ห ลั งจากตายแล ว ดั งนี้ ." ซึ่ งตรัส เป น คํ า สุดทายในกรณี แหงรูป เปนขอความที่เหมือนกันทุกตัวอักษร จนตลอดขอความ ตางกันแตเพียงชื่อแหงขันธ แตละขันธ เทานั้น).

www.buddhadasa.info หมายเหตุ ผู ร วบรวม : ทิ ฏ ฐิ ทั้ ง ๒๖ ทิ ฏ ฐิ นี้ ผู ศึ ก ษาพึ ง สั ง เกตให เห็ น ว า เพราะไม รู ไ ม เห็ น ปฏิ จ จสมุ ป บาท จึ ง เกิ ด ทิ ฏ ฐิ ทั้ ง หลายเหล า นี้ ขึ้ น โดยเห็ น อุ ป าทานขั น ธ ทั้ ง ๕ พร อ มกั บ ความทุ ก ข อั น เนื่ อ งด ว ยขั น ธ ๕ นั้ น ไปในแง ใดแง ห นึ่ ง ตามลั ก ษณะแห ง ทิ ฏฐิ นั้ น ๆ ทั้ ง ๒๖ ทิ ฏฐิ ครั้ นเกิ ดทิ ฏฐิ เหล านี้ แล ว ก็ กลั บป ดบั งการรู การเห็ นปฏิ จจสมุ ปบาท ยิ ่ง ขึ ้น ไปอีก ; ดัง นั ้น จึง ถือ วา ทิฏ ฐิทั ้ง หลายเปน เครื ่อ งปด กั ้น การเห็น ปฏิจ จสมุป บาท ทุ ก ทิ ฏ ฐิ ที เดี ย ว นั บ ว า เป น เรื่ อ งที่ เกี่ ย วข อ งกั น อยู กั บ เรื่ อ งปฏิ จ จสมุ ป บาท ในส ว นลึ ก ซึ่ ง บางทีก็มิไดกลาวไวชัด โดยตัวอักษรตรง ๆ.

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๗๑๗

อันตคาหิกทิฏฐิ สิบ ๒,๒๐๐ นัย ลวนแตเปนไปในขันธหา ลวนแตปดบังการเห็นปฏิจจสมุปบาท๑ ปริ พพาชกชื่ อวั จฉโคตต ได เข าไปเฝ าพระผู มี พระภาคเจ า แล วทู ลถามว า "ข าแต พระโคดม

ผู เจริญ! อะไรหนอเป นเหตุ อะไรหนอเป นป จจั ย ทิ ฏฐิ ทั้ งหลายมี ประการต าง ๆ เป นอเนก เหลา นี ้ จึง เกิด ขึ ้น (๑) วา โลกเที ่ย ง ดัง นี ้บ า ง; (๒) วา โลกไมเ ที ่ย ง ดัง นี ้บ า ง; (๓) วา โลกมีที ่ส ุด ดัง นี ้บ า ง; (๔) วา โลกไมม ีที ่ส ุด ดัง นี ้บ า ง; (๕) วา ชีว ะก็ อั น นั้ น สรี ร ะก็ อั น นั้ น ดั ง นี้ บ า ง; (๖) ว า ชี ว ะก็ อั น อื่ น สรี ร ะก็ อั น อื่ น ดั ง นี้ บ า ง; (๗) ว า ตถาคตภายหลั งแต ตายแล ว ย อมมี อี ก ดั งนี้ บ าง; (๘) ว าตถาคตภายหลั ง แต ตายแล ว ย อมไม มี อี ก ดั งนี้ บ าง; (๙) ว าตถาคตภายหลั งแต ตายแล ว ย อมมี อี กก็ มี ย อ มไม มี อี ก ก็ มี ดั งนี้ บ าง; (๑๐) ว าตถาคตภายหลั งแต ต ายแล ว ย อ มมี อี ก ก็ ห ามิ ได ยอมไมมีอีกก็หามิได ดังนี้บาง?" (๑) ดูกอนทานผูวัจฉโคตต! เพราะความไมรู (อฺญาณ) ...ฯลฯ... (๒) ดูกอนทานผูวัจฉโคตต! เพราะความไมเห็น (อทสฺสน) ...ฯลฯ... (๓) ดูกอนทานผูวัจฉโคตต! เพราะความไมถึงพรอมเฉพาะ (อนภิสมย) ...ฯลฯ... (๔) ดูกอนทานผูวัจฉโคตต! เพราะความไมรูโดยลําดับ (อนนุโพธ) ...ฯลฯ...

www.buddhadasa.info

วัจฉโคตตสังยุตต ขนฺธ.สํ. ๑๗/๓๑๙/๕๕๔, ตรัสแกปริพพาชกชื่อวัจฉโคตต ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๗๑๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑

(๕) ดูกอนทานผูวัจฉโคตต! เพราะความไมแทงตลอด (อปฺปฏิเวธ) ...ฯลฯ... (๖) ดูกอนทานผูวัจฉโคตต! เพราะความไมกําหนดทั่วถึง (อสลฺลกฺขณ) ...ฯลฯ... (๗) ดูกอนทานผูวัจฉโคตต! เพราะความไมเขาไปกําหนด (อนุปลกฺขณ) ...ฯลฯ... (๘) ดูกอนทานผูวัจฉโคตต! เพราะความไมเพงพินิจอยางสม่ําเสมอ (อสมเปกฺขณ) ...ฯลฯ... (๙) ดูกอนทานผูวัจฉโคตต! เพราะความไมพิจารณาโดยเจาะจง (อปฺปจฺจเวกฺขณ) ...ฯลฯ... (๑๐) ดูกอนทานผูวัจฉโคตต! เพราะความไมเขาไปกําหนดโดยเฉพาะ (อปฺปจฺจุปลกฺขณ) ...ฯลฯ... (๑๑) ดูกอนทานผูวัจฉโคตต! เพราะการไมทําใหประจักษ (อปฺปจฺจกฺขกมฺม) (๑) ใน รูป (๒) ใน เห ตุใ หเ กิด ขึ ้น แหง รูป (๓) ใน ค วาม ดับ ไมเ ห ลือ แหง รูป (๔) ในขอปฏิ บั ติ เครื่อทํ าสัตวให ลุถึ งความดั บไม เหลื อแห งรูป, ทิ ฏฐิทั้ งหลายมี ประการ ต า ง ๆ เป น อเนกเหล า นี้ จึ ง เกิ ด ขึ้ น ว า "โลกเที่ ย ง" ดั ง นี้ บ า ง; ว า "โลกไม เที่ ย ง" ดัง นี ้บ า ง; วา "โลกมีที ่ส ุด " ดัง นี ้บ า ง; วา "โลกไมม ีที ่ส ุด " ดัง นี ้บ า ง; วา "ชีว ะ ก็อ ัน นั ้น สรีร ะก็อ ัน นั ้น " ดัง นี ้บ า ง; วา "ชีว ะก็อ ัน อื ่น สรีร ะก็อ ัน อื ่น " ดัง นี ้บ า ง; ว า "ตถาคตภายหลั ง แต ต ายแล ว ย อ มมี อี ก " ดั ง นี้ บ า ง; ว า "ตถาคตภายหลั ง แต ตายแล ว ย อ มไม มี อี ก " ดั งนี้ บ าง; ว า "ตถาคตภายหลั งแต ต ายแล ว ย อ มมี อี ก ก็ มี ย อ มไม มี อี ก ก็ มี " ดั ง นี้ บ า ง; ว า "ตถาคตภายหลั ง แต ต ายแล ว ย อ มมี อี ก ก็ ห ามิ ไ ด ยอมไมมีอีกก็หามิได" ดังนี้บาง.

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๗๑๙

ดู ก อนท านผู วั จฉโคตต ! อั นนี้ แลเป นเหตุ อั นนี้ เป นป จจั ย ทิ ฏฐิ ทั้ งหลาย มี ป ระการต าง ๆ เป น อเนกเหล านี้ จึ งเกิ ด ขึ้ น ว า "โลกเที่ ยง" ดั งนี้ บ าง; ว า "โลกไม เที ่ย ง" ดัง นี ้บ า ง; วา "โลกมีที ่ส ุด " ดัง นี ้บ า ง; วา "โลกไมม ีที ่ส ุด " ดัง นี ้บ า ง; ...ฯลฯ...ฯลฯ... ว า "ตถาคตภายหลั งแต ต ายแล ว ย อ มมี อี ก ก็ ห ามิ ได ย อ มไม มี อี ก ก็หามิได" ดังนี้บาง, ดังนี้ แล. ขางบนนี้ เป นการถามและการตอบแกป ญหาที่ วา อะไรเป นเหตุ เป นป จจั ย แห งการเกิ ดขึ้น ของอั นตคาหิ กทิ ฏฐิ ๑๐ ประการ ในกรณี อั นเกี่ยวกั บรูปขั นธ ซึ่งมี ลักษณะ ๔ ประการ ตามนั ยะแห งอริยสั จสี่ . แม ในกรณี แห งเวทนาขันธ สั ญญาขั นธ สังขารขันธ วิญญาณขันธ ก็ มี การถามและการตอบโดยนั ยะอย าง เดี ย วกั น ทุ ก ตั ว อั ก ษรกั บ ในกรณี แ ห ง รู ป ขั น ธ ต า งกั น แต เพี ย งชื่ อ ของขั น ธ เท า นั้ น . ผู ศึ ก ษาพึ ง สั ง เกต ใหเห็นวา วิธีการกําหนดรูนั้น มีถึง ๑๑ อยาง กําหนดรูลงไปที่ขันธถึง ๕ ขันธ ในขันธหนึ่ง ๆ ยังตองกําหนด รู ถึ ง ๔ นั ย จึ งกลายเป นการกํ าหนดรูถึ ง ๒๒๐ นั ย และนั ยหนึ่ งๆ สามารถให เกิ ดทิ ฏฐิ ได ถึ ง ๑๐ ทิ ฏฐิ ; ดั งนั้ น ทางเกิดหรือไมเกิดแหงทิฏฐิ จึงมีไดถึง ๒,๒๐๐ อยาง ดังนี้ ลวนแตเปนเครื่องปดบังอริยสัจสี่ ซึ่งไดแกปฏิจจสมุปบาท ทั้งฝายสมุทยวารและฝายนิโรธวาร นั่นเอง. -ผูรวบรวม.

ผัสสะ คือปจจัยแหงทิฏฐิ ๖๒๑

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณพราหมณ ทั้ งหลายเหล าใด เป นพวกสั สสตวาท ยอมบัญญั ติอัตตาและโลกวาเที่ยง ดวยวัตถุ ๔ ประการ; เหตุการณ นี้มีได เพราะผัสสะ เปนปจจัย, ...สมณพราหมณทั้งหลายเหลานั้นหนอ เวนจากผัสสะเสียแลว จะรูสึก

พรหมชาลสู ตร สี .ที . ๙/๕๓-๕๗/๖๔-๘๙, ข อความในพระบาลี ตอนนี้ แยกกล าวเป นสองกลุ ม ต างกั น แต คํ าสํ าคั ญ ท ายกลุ ม (คํ าสํ าคั ญ ท ายกลุ มที่ หนึ่ ง คื อคํ าวา "เหตุ การณ นี้ มี ได เพราะผั สสะเป นป จจั ย"; ท ายกลุ มที่ สอง ตั้ งแต คํ าว า "สมณพราหมณ ทั้ งหลายเหล านั้ นหนอ" เป น ต นไป จนจบข อแต ละข อ.) ในที่นี้ นํามารวมเปนกลุมเดี ยว โดยนําขอความสําคัญทายกลุมที่ สอง มาตอท ายขอความสํ าคัญทายกลุม ที่ หนึ่ ง แต ได คั่ นละไว ให เห็ นด วย...ขอให สั งเกตด วย. ข อความนี้ เป นข อความที่ ตรัสแก ภิ กษุ ทั้ งหลาย ที่สวนอัมพลัฏฐิกา.

www.buddhadasa.info


๗๒๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑

ต อเวทนาตามทิ ฏฐิเฉพาะอย างๆ ของตนๆ ขึ้นมา (ปฏิ สํ เวทิ สฺ สนฺ ติ ) ได ดั งนี้ นั้ น : ข อนี้ มิใชฐานะที่จะมีไดเลย. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! สมณพราหมณ ทั้งหลายเหลาใด เปนพวกเอกัจจสัสสติกเอกัจจอสั สสติ กวาท ยอมบั ญญั ติอัตตาและโลกวา เที่ ยงบางอยาง ไม เที่ ยงบางอยาง ด วยวั ต ถุ ๔ ประการ เหตุ การณ นี้ มี ได เพราะผั ส สะเป น ป จ จั ย , ...สมณพราหมณ ทั้ งหลายเหล านั้ นหนอ เว นจากผั สสะเสี ยแล ว จะรู สึ กต อเวทนาตามทิ ฏฐิ เฉพาะอย าง ๆ ของตน ๆ ขึ้นมาได ดังนี้นั้น : ขอนี้มิใชฐานะที่จะมีไดเลย. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณพราหมณ ทั้ งหลายเหล าใด เป นพวกอั นตานั นติ กวาท ย อมบั ญ ญั ติ ความมี ที่ สุ ดหรื อความไม มี ที่ สุ ดแห งโลก ด วยวั ตถุ ๔ ประการ; เหตุ การณ นี้ มี ได เพราะผั ส สะเป น ป จ จั ย , ...สมณพราหมณ ทั้ ง หลายเหล า นั้ น หนอ เว นจากผั สสะเสี ยแล ว จะรูสึ กต อเวทนาทิ ฏฐิ เฉพาะอย างๆ ของตนๆ ขึ้ นมาได ดั งนี้ นั้น : ขอนี้มิใชฐานะที่จะมีไดเลย. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณพราหมณ ทั้ งหลายเหล าใด เป นพวกอมราวิ กเขปกวาท เมื่อถูกถามปญหาในที่นั้น ๆ ยอมถึงความสายแหงวาจาอันดิ้นไดไมตายตัว ดวยวัตถุ ๔ ประการ; เหตุ ก ารณ นี้ มี ได เพราะผั ส สะเป น ป จ จั ย , ...สมณพราหมณ ทั้ งหลาย เหล านั้ นหนอ เว นจากผั สสะเสี ยแล ว จะรู สึ กต อเวทนาตามทิ ฏฐิ เฉพาะอย าง ๆ ของตน ๆ ขึ้นมาได ดังนี้นั้น : ขอนี้มิใชฐานะที่จะมีไดเลย.

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณพราหมณ ทั้ งหลายเหล าใด เป นพวกอธิ จจสมุ ปป นนิ กวาท ยอมบั ญญั ติอัตตาและโลกวา เกิดเองลอย ๆ ดวยวัตถุ ๒ ประการ; เหตุการณ นี้มีได เพราะผัสสะเปนปจจัย,...สมณพราหมณทั้งหลายเหลานั้นหนอ เวนจากผัสสะ

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๗๒๑

เสี ยแล ว จะรู สึ กต อเวท น าต าม ทิ ฏ ฐิ เฉพ าะอย างๆ ของต น ๆ ขึ้ น ม าได ดั งนี้ นั้ น : ข อ นี้ มิใชฐานะที่จะมีไดเลย. (๑๘ พวกนี้ เปนพวกปุพพันตานุทิฏฐิ) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณ พราหมณ ทั้ งหลายเหล าใด เป นพ วกอุ ท ธมาฆ ตนิ กสั ญ ญี วาท ย อมบั ญ ญั ติ อั ตตามี สั ญ ญ าภายหลั งแต ตายแล ว ด วยวั ตถุ ๑๖ ประการ; เห ตุ ก า ร นี้ มี ได เพ ร า ะ ผั ส ส ะ เป น ป จ จั ย , ...ส ม ณ พ ร า ห ม ณ ทั้ ง ห ล า ย เห ล า นั้ น ห น อ เว นจากผั สสะเสี ยแล ว จะรู สึ กต อเวทนาตามทิ ฏฐิ เฉพาะอย าง ๆ ของตน ๆ ขึ้ นมาได ดั งนี้ นั้น : ขอนี้มิใชฐานะที่จะมีไดเลย. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณ พราหมณ ทั้ งหลายเหล าใด เป นพ วกอุ ท ธมาฆ ตนิ กอสั ญ ญี วาท ย อมบั ญ ญั ติ อั ตตาไม มี สั ญ ญ าภายหลั งแต ตายแล ว ด วยวั ตถุ ๘ ประการ; เห ตุ ก ารณ นี้ มี ได เพ ร า ะ ผั ส ส ะ เป น ป จ จั ย , ...ส ม ณ พ ราห ม ณ ทั้ งห ล า ย เห ล า นั้ น ห น อ เว นจากผั สสะเสี ยแล ว จะรู สึ กต อเวทนาตามทิ ฏฐิ เฉพาะอย าง ๆ ของตน ๆ ขึ้ นมาได ดั งนี้ นั้น: ขอนี้มิใชฐานะที่จะมีไดเลย. ดู ก อนภิ กษู ทั้ งหลาย! สมณ พราหมณ ทั้ งหลายเหล าใด เป นพ วกอุ ท ธมาฆ ตนิ กเนวสั ญญี นาสั ญญี วาท ย อมบั ญญั ติ อั ตตามี สั ญญาก็ ไม ใช ไม มี สั ญญาก็ ไม ใช ภายหลั งจาก ต า ย แ ล ว ด  ว ย ว ัต ถ ุ ๘ ป ร ะ ก า ร ; เ ห ต ุก า ร นี ้ ม ีไ ด  เ พ ร า ะ ผ ัส ส ะ เ ป  น ป จ จ ัย ,... สมณ พ ราหมณ ทั้ งหลายเหล านั้ นหนอ เว น จากผั สสะเสี ยแล วจะรู สึ กต อเวทนาตามทิ ฏ ฐิ เฉพาะอยาง ๆ ของตน ๆ ขึ้นมาได ดังนี้นั้น : ขอนี้มิใชฐานะที่จะมีไดเลย.

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๗๒๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณพราหมณ ทั้ งหลายเหล าใด เป นพวกอุ จเฉทวาท ยอมบั ญญั ติ ความขาดสู ญ ความวินาศ ความไม มี แห งสั ตวที่ มี อยู ด วยวัตถุ ๗ ประการ; เหตุ ก ารณ นี้ มี ได เพราะผั ส สะเป น ป จ จั ย , ...สมณพราหมณ ทั้ งหลายเหล านั้ น หนอ เวนจากผั สสะเสี ยแล ว จะรูสึ กต อเวทนาตามทิ ฏฐิเฉพาะอย าง ๆ ของตน ๆ ขึ้นมาได ดั งนี้ นั้น: ขอนี้มิใชฐานะที่จะมีไดเลย. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณพราหมณ ทั้ งหลายเหล าใด เป นพวกทิ ฏฐธั มมนิพพานวาท ยอมบัญญั ตินิพพานอยางยิ่งในทิฏฐธรรมแหงสัตวผูมีอยูดวยวัตถุ ๕ ประการ; เหตุ ก ารณ นี้ มี ได เพราะผั ส สะเป น ป จ จั ย , ...สมณพราหมณ ทั้ งหลายเหล านั้ น หนอ เว น จากผั ส สะเสี ย แล ว จะรู สึ ก ต อ เวทนาตามทิ ฏ ฐิ เฉพาะอย า ง ๆ ของตน ๆ ขึ้ น มาได ดังนี้นั้น: ขอนี้มิใชฐานะที่จะมีไดเลย. (๔๔ พวกนี้ เปนพวกปรันตานุทิฏฐิ)

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณพราหมณ ทั้ งหลายเหล าใด เป นพวกปุ พพั นตกัปปกวาทก็ดี เปนพวกอปรันตกัปปกวาทก็ดี เปนพวกปุพพันตอปรันตกัปปกวาทก็ดี ล ว นแต เป น ผู มี ปุ พ พั น ตาปรั น ตานุ ทิ ฏ ฐิ ปรารภปุ พ พั น ตาปรัน ตขั น ธ แล ว กล า ว บั ญญั ติ ซึ่ งทิ ฏฐิ อั นเป นอธิ มุ ตติ บท (ทางแห งความหลุ ดพ นอย างยิ่ งของสั ตวตามทิ ฏฐิ แห ง ตน ๆ) มี อย างต างๆ เป นอเนก ด วยวั ตถุ (ที่ ตั้ งแห งทิ ฏฐิ รวมหมดด วยกั น) ๖๒ ประการ; เหตุ การณ นี้ มี ได เพราะผั ส สะเป น ป จ จั ย , ...สมณพราหมณ ทั้ งหลายเหล านั้ น หนอ เว นจากผั สสะเสี ยแล ว จะรู สึ กต อเวทนาตามทิ ฏฐิ เฉพาะอย าง ๆ ของตน ๆ ขึ้ นมาได ดังนี้นั้น: ขอนี้มิใชฐานะที่จะมีไดเลย.

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๗๒๓

หมายเหตุ ผู ร วบรวม : ผู ศึ ก ษาพึ งสั งเกตให เห็ น เป น พิ เศษ เฉพาะในกรณี อั นสํ าคั ญ ยิ่ งนี้ ว า ผั สสะอย างเดี ยว เป นตั วสํ าคั ญ อั นร ายกาจ นํ าให เกิ ดสิ่ งอั นไม พึ งปรารถนา ทุ กชนิ ดทุ กประการ รวมทั้ งทิ ฏ ฐิ ๖๒ ประการนี้ ด วย ขออย าได ศึ กษาอย างเล น ๆ กั บ คํ าว า ผัส สะ. หรือ เมื ่อ ไดย ิน คํ า วา "ผัส สะคือ ปจ จัย แหง ทิฏ ฐิ ๖๒" ก็อ ยา ไดสํ า คัญ ไป วา เป นคํ าพู ดขบขั นหรือเพ อเจ อแล วก็ ไม สนใจที่ จะเข าใจ นั่ นแหละคื อต นตอของความไม เข าใจ โดยแทจริงในเรื่องปฏิจจสมุปบาท หรือ ทิฏฐิ ๖๒ ก็ตาม. คํ าว า "ผั สสะ" ในที่ นี้ หมายถึ ง "อวิ ชชาสั มผั ส" คื อผั สสะที่ มี อวิ ชชาเข าผสมอยู ด วย มิ ใ ช ผั ส สะที่ เป น สั ก ว า การกระทบระหว า งอายตนะ; คื อ ในขั้ น สุ ด ท า ย ซึ่ ง เล็ ง ถึ งมโนสั ม ผั ส ที่ มี เวทนาอย า งใดยอย า งหนึ่ ง เป น ตั ว ธรรมารมณ ; ดั ง นั้ น จึ ง เป น ช อ งทางให อ วิ ช ชาเข า ผสมอยู ในสั ม ผั ส นั้ น ได ตั้ งแต ต น จนปลาย; ด ว ยเหตุ นี้ จึ งมี น ามว า "อวิ ช ชาสั ม ผั ส " เป น ที่ เกิ ด แห ง ทิ ฏ ฐิ ทั้ ง หลาย ทุ ก ชนิ ด โดยผ า นเวทนาทุ ก ๆ ขั้ น จนถึ ง ขั้ น ที่ จิ ต สั ม ผั ส เวทนาอั น ประกอบอยูดวยทิฏฐินั้น ๆ ทุกคราวไป จนเปนทิฏฐิที่แนนแฟนตายตัว.

ทิฏฐิ ๖๒ เปนเพียงความรูสึกผิด ๆ ของผูไมรูปฏิจจสมุปบาท๑ ดูก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณพราหมณ ทั้ งหลายเหล าใด เป นพวกสั สสตวาท ยอมบัญญั ติอัตตาและโลกวาเที่ยง ดวยวัตถุ ๔ ประการ; นั่นเปนเพียงความรูสึกของ สมณพราหมณ ทั้ งหลาย ผู ไม มี ญาณเครื่องรูเครื่องเห็ น เหลานั้ น ซึ่งเป นเพี ยงความหวาด เสียวสั่นคลอนแหงจิตใจของบุคคลผูมีตัณหาเทานั้น.

www.buddhadasa.info ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย! สมณพราหมณ ทั้งหลายเหลาใด เป นพวกเอกั จจสั สสติกเอกัจจอสัสสติกวาท ยอมบัญญัติอัตตาและโลกวา เที่ยงบางอยาง ไมเที่ยงบางอยาง

พรหมชาลสูตร สี.ที. ๙/๕๐/๕๑. ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่สวนอัมพลัฏฐิกา.

www.buddhadasa.info


๗๒๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑

ดวยวัตถุ ๔ ประการ; นั่ นเป นเพี ยงความรูสึ ก ของสมณพราหมณ ทั้ งหลาย ผูไม มี ญาณเครื่องรูเครื่องเห็นเหลานั้น ซึ่งเปนเพียงความหวาดเสียว สั่นคลอน แหงจิตใจ ของบุคคลผูมีตัณหาเทานั้น. ดูก อนภิ กษู ทั้ งหลาย! สมณพราหมณ ทั้ งหลายเหล าใด เป นพวกอั นตานั นติ กวาท ย อมบั ญ ญั ติ ความมี ที่ สุ ดหรือความไม มี ที่ สุ ดแห งโลก ด วยวั ตถุ ๔ ประการ; นั่นเปนเพียงความรูสึกของสมณพราหมณทั้งหลาย ผูไมมีญาณเครื่องรูเครื่องเห็นเหลานั้น ซึ่งเปนเพียงความหวาดเสียว สั่นคลอน แหงจิตใจ ของบุคคลผูมีตัณหาเทานั้น. ดูก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณพราหมณ ทั้ งหลายเหลาใด เป นพวกอมราวิกเขปกวาท เมื่อถูกถามปญหาในที่นั้น ๆ ยอมถึงความสายแหงวาจาอันดิ้นไดไมตายตัว ดวยวัตถุ ๔ ประการ; นั่นเป นเพี ยงความรูสึก ของสมณพราหมณ ทั้งหลาย ผูไม มี ญาณเครื่องรูเครื่องเห็น เหลานั้น ซึ่งเปนเพียง ความหวาดเสียว สั่นคลอน แหงจิตใจ ของบุคคลผูมีตัณหาเทานั้น.

www.buddhadasa.info ดูกอนภิ กษุ ทั้งหลาย! สมณพราหมณ ทั้ งหลายเหลาใด เป นพวกอธิจจสมุ ปป น นิ กวาท ย อมบั ญ ญั ติ ซึ่ งอั ตตาและโลกว า เกิ ดเองลอยๆ ด วยวั ตถุ ๒ ประการ; นั่ น เป น เพี ย งความรู สึ ก ของพราหมณ ทั้ ง หลาย ผู ไ ม มี ญ าณเครื่ อ งรู เครื่ อ งเห็ น เหลานั้น ซึ่งเปนเพียง ความหวาดเสียว สั่นคลอน แหงจิตใจ ของบุคคลผูมีตัณหา เทานั้น. (๑๘ พวกนี้ เปนพวกปุพพันตานุทิฏฐิ)

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๗๒๕

ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย! สมณพราหมณ ทั้งหลายเหลาใด เป นพวกอุ ทธมาฆตนิกสัญญี วาท ยอมบัญญั ติอัตตามีสัญญาภายหลังแตตายแลว ดวยวัตถุ ๑๖ ประการ; นั่น เปนเพียงความรูสึกของสมณพราหมณ ทั้งหลาย ผูไมมีญาณเครื่องรูเครื่องเห็น เหลา นั้น ซึ่งเปนเพียง ความหวาดเสียว สั่นคลอน แหงจิตใจของบุคคลผูมีตัณหาเทานั้น. ดูกอนภิ กษุ ทั้งหลาย! สมณพราหมณ ทั้งหลายเหลาใด เป นพวกอุ ทธมาฆตนิกอสัญญีวาท ยอมบัญญัติอัตตาไมมีสัญญาภายหลังแตตายแลว ดวยวัตถุ ๘ ประการ; นั่น เป นเพี ยงความรูสึ กของสมณพราหมณ ทั้งหลาย ผูไมมีญ าณเครื่องรูเครื่องเห็ น เหลานั้น ซึ่งเปนเพียงความหวาดเสียว สั่นคลอน แหงจิตใจของบุคคลผูมีตัณหาเทานั้น. ดูกอนภิ กษุ ทั้งหลาย! สมณพราหมณ ทั้งหลายเหลาใด เป นพวกอุ ทธมาฆตนิกเนวสัญญีนาสัญญีวาท ยอมบัญญัติอัตตามีสัญญาก็ไมใช ไมมีสัญญาก็ไมใช ภายหลัง แตตายแลว ดวยวัตถุ ๘ ประการ; นั่น เป นเพียงความรูสึกของสมณพราหมณ ทั้งหลาย ผูไมมีญาณเครื่องรูเครื่องเห็น เหลานั้น ซึ่งเปนเพียงความหวาดเสียว สั่นคลอน แหง จิตใจของบุคคลผูมีตัณหาเทานั้น.

www.buddhadasa.info ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! สมณพราหมณ ทั้งหลายเหลาใด เปนพวกอุจเฉทวาท ยอมบัญญั ติความขาดสูญ ความวินาศ ความไมมี แหงสัตวที่มีอยู ดวยวัตถุ ๗ ประการ; นั่ น เป น เพี ยงความรู สึ ก ของสมณพราหมณ ทั้ งหลาย ผู ไม มี ญ าณเครื่ อ งรูเครื่ อ งเห็ น เหลานั้น ซึ่งเปนเพียงความหวาดเสียว สั่นคลอน แหงจิตใจของบุคคลผูมีตัณหา เทานั้น.

www.buddhadasa.info


๗๒๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑

ดูก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณพราหมณ ทั้ งหลายเหล าใด เป นพวกทิ ฏฐธั มมนิพพานวาท ยอมบัญญัตินิพพานอยางยิ่งในทิฏฐธรรม แกสัตวผูมีอยู ดวยวัตถุ ๕ ประการ; นั่น เปนเพียงความรูสึกของสมณพราหมณทั้งหลาย ผูไมีมีญาณเครื่องรูเครื่องเห็นเหลานั้น ซึ่งเปนเพียง ความหวาดเสียว สั่นคลอน แหงจิตใจของบุคคลผูมีตัณหาเทานั้น. (๔๔ พวกนี้ เปนพวกอปรันตานุทิฏฐิ)

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! สมณพราหมณ ทั้งหลายเหลาใด เปนพวกปุพพันตกัปปกวาท ก็ดี เปนพวกอปรันตกัปปกวาทก็ดี เปนพวกปุพพันตอปรันตกัปปกวาท ก็ดี ล วนแต เป น ผู มี ปุ พ พั น ตาปรั น ตานุ ทิ ฏ ฐิ ปรารภปุ พ พั น ตาปรัน ตขั น ธ แล วกล า ว บัญญั ติซึ่งทิฏฐิอันเปนอธิมุตติบท (ทางแหงความหลุดพ นอยางยิ่งของสัตวตามทิฏฐิแหง ตนๆ) มี อยางตางๆ เปนเอนก ดวยวัตถุ (ที่ตั้งแห งทิฏฐิรวมหมดดวยกัน) ๖๒ ประการ ; นั่น เปนเพียงความรูสึกของสมณพราหมณทั้งหลาย ผูไมมีญาณเครื่องรูเครื่องเห็นเหลานั้น ซึ่งเปนเพียง ความหวาดเสียว สั่นคลอน แหงจิตใจของบุคคลผูมีตัณหาเหลานั้น. หมายเหตุ ผู ร วบรวม : ผู ศึ ก ษาพึ ง สั ง เกตให เห น ว า ทิ ฏ ฐิ ๖๒ ประการ เป น เพี ย งความรู สึ ก (เวทยิ ตํ )ของจิ ต ที่ ไ ม รู ป ฏิ จ จสมุ ป บาท ในเมื่ อ กระทบอารมณ ก็ เกิ ด ความตื่ น เต น ฟุ ง ซ า น หวาดเสี ย ว สั่ น คลอน แห ง จิ ต , จากความรู สึ ก นั้ น ๆ ผู นั้ น สรุ ป ความเห็ น ของตนว า สิ่ งนั้ น ๆ เป น อย างไร ได ต ามความรู สึ ก ของตน แล ว ก็ ถื อ เอาเป น ทิ ฏ ฐิ ของตน ว านี้ เท านั้ น จริ ง อย างอื่ น เป น โมฆะ เป น เหตุ ให เกิ ด มี ทิ ฏ ฐิ ขึ้ น ต า ง ๆ นานา แปลก กั นไปตามลั กษณะของอารมณ ที่ มากระทบ หรือตามลั กษณะของจิ ตที่ มี ภาวะต าง ๆ กั น ของ ผู เ ปน เจา ของทิฏ ฐิ. ถา เปน ผู ม ีญ าณ เครื ่อ งรู เ ครื ่อ งเห็น โดยเฉพาะอยา งยิ ่ง ในปฏิจ จสมุปบาท แลว ทิฏฐิเหลานี้ ยอมไมเกิดขึ้นไดเลย.

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๗๒๗

ผัสสะ (แหงปฏิจจสมุปบาท) คือที่มาของทิฏฐิ ๖๒๑ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! บรรดาสมณพราหมณ ทั้ งหลายเหล านั้ น สมณพราหมณ ทั้ งหลายเหล าใด เป นพวกสั สสตวาท ย อมบั ญญั ติ อั ตตาและโลกว าเที่ ยง ดั งนี้ (๔ จํ าพวก) ก็ดี, สมณพราหมณ ทั้ งหลายเหล าใด เป นพวกที่ บั ญญั ติ ว า เที่ ยงแต บางอย าง ไม เที่ยงบางอยาง ดังนี้ (๔ จําพวก)ก็ดี, สมณพราหมณ ทั้งหลายเหลาใด เปนพวกที่บัญญั ติวา มีที่สุดหรือไมมีที่สุด ดังนี้ (๔ จําพวก)ก็ดี, สมณพราหมณ ทั้ งหลายเหล าใด เป นพวกที่ บั ญญั ติ ด วยคํ าดิ้ นได ไม ตายตั ว ดั งนี้ (๔ จําพวก)ก็ดี,

www.buddhadasa.info สมณพราหมณ ทั้ งหลายเหล าใด เป นพวกที่ บั ญ ญั ติ เกิ ดเองลอยๆ ดั งนี้ (๒ จําพวก)ก็ดี, (รวมเป น)สมณพราหมณ ทั้ งหลายเหล าใด ที่ บั ญญั ติ ทิ ฏฐิ ปรารภปุ พพั นตขั นธ (๑๘ จําพวก ดังกลาวแลวขางบน)ก็ดี;

พรหมชาลสูตร สี.ที.๙/๕๗/๙๐,ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่สวนอัมพลัฏฐิกา.

www.buddhadasa.info


๗๒๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑

สมณพราหมณ ทั้งหลายเหลาใด เปนพวกที่บัญญั ติวา ตายแลวมีสัญญา ดังนี้ (๑๖ จําพวก)ก็ดี, สมณพราหมณ ทั้ งหลายเหลาใด เป นพวกที่ บั ญญั ติวา ตายแลว ไม มีสั ญญา ดังนี้ (๘ จําพวก)ก็ดี, สมณพราหมณ ทั้งหลายเหลาใด เปนพวกที่บัญญั ติวา ตายแลว มีสัญญาก็ไมใช ไมมีสัญญาก็ไมใช ดังนี้ (๘ จําพวก)ก็ดี, สมณพราหมณ ทั้ งหลายเหล าใด เป นพวกที่ บั ญญั ติ ว า (ตายแล ว) ขาดสู ญ ดังนี้ (๗ จําพวก)ก็ดี, สมณพราหมณ ทั้ งหลายเหล าใด เป นพวกที่ บั ญ ญั ติ นิ พพานในทิ ฏฐธรรม (๕ จําพวก)ก็ดี,

www.buddhadasa.info (รวมเป น)สมณพราหมณ ทั้ งหลายเหล าใด ที่ บั ญญั ติ ทิ ฏฐิปรารภอปรันตขั นธ (๔๔ จําพวก ดังที่กลาวแลวขางบน)ก็ดี;

(รวมทั้ งหมดเป น)สมณพราหมณ ทั้ งหลายเหล าใด ที่ บั ญญั ติ ทิ ฏฐิ ปรารภปุ พพันตขันธ ก็ดี ปรารภอปรันตขันธ ก็ดี ปรารภทั้งปุพพั นตะและอปรันตขันธ ก็ดี ลวนแต เปนผูมีปุพ พั น ตาปรัน ตานุ ทิฏ ฐิ ปรารภขันธทั้งที่เปนปุพ พันตะและอปรันตะ ดังนี้ แลว กลาวบัญญั ติทิฏฐิอันเปนอธิมุตติบท (ทางแหงความหลุดพนอยางยิ่งของสัตว ตาม ทิฏ ฐิแ หง ตนๆ) มีอ ยา งตา งๆกัน เปน อเนก ดว ยวัต ถุ (ที ่ตั ้ง แหง ทิฏ ฐิ)ทั ้ง หลาย ๖๒ ประการก็ดี;

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๗๒๙

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! สมณพราหมณทั้งหลายเหลานั้นทั้งหมด รูสึกตอ เวทนาตามทิฏฐิเฉพาะอยางๆของตนๆ ขึ้นมา (ปฏิสํเวเทนฺติ)๑ เพราะการถูกตอง แลวๆดวยผัสสายตนะทั้งหลาย ๖ ประการ. เพราะเวทนาแหงสมณพราหมณ ทั้งหลาย เหล า นั้ น เป น ป จ จั ย จึ งมี ตั ณ หา; เพราะมี ตั ณ หาเป น ป จ จั ย จึ งมี อุ ป าทาน; เพราะ มี อุ ป าทานเป น ป จ จั ย จึ งมี ภ พ; เพราะมี ภ พเป น ป จ จั ย จึ งมี ช าติ ; เพราะมี ชาติ เป น ปจจัย, จึงมีชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ในกาลใดแล ภิ ก ษุ ย อ มรู ชั ด ตามที่ เป น จริงซึ่ ง ความเกิดขึ้น (สมุทัย) ซึ่งความตั้งอยูไมได (อัตถังคมะ) ซึ่งรสอรอย (อัสสาทะ) ซึ่งโทษอันต่ําทราม (อาทีนวะ) ซึ่งอุบายเปนเครื่องออกไปพน (นิสสรณะ) แหง ผัส สายตนะทั้งหลาย ๖ ประการ; ภิก ษุนี้ชื่อ วายอ มรูชัด (ซึ่งเรื่องอัน เกี่ยวกับ ผัสสายตนะ ๖ ประการนั้ น) ยิ่งกวาสมณพราหมณ ทั้ งหลายเหล านั้ นทั้ งหมดที เดียวในกาลนั้น. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณพราหมณ ทั้ งหลายเหล าใดเหล าหนึ่ ง ที่ บั ญญั ติ ทิ ฏฐิ ปรารภปุ พพั นตขั นธ บ าง ปรารภอปรันตขั นธ บ าง ปรารภทั้ งปุ พพั นตะและอปรันตขั น ธ บ าง ล วนแต เป น ผู มี ปุ พ พั นตาปรั นตานุ ทิ ฏ ฐิ ปรารภขั นธ ทั้ งที่ เป น ปุ พ พั นตะและ อปรันตะ ดังนี้แลว กลาวบัญญัติทิฏฐิอันเปนอธิมุตติบท (ทางแหงความหลุดพนอยางยิ่ง

www.buddhadasa.info ๑

คํ าว า "รูสึ ก"(ปฏิ สํ เวเทนฺ ติ )ในที่ นี้ เป น ความรูสึ กต อธั ม มารมณ ด วยมโน,เมื่ อคนมี ทิ ฏ ฐิ อยู อ ย างไร การ เสวยเวทนาของเขา ย อมทํ าให เกิ ดความรูสึ กชนิ ดที่ เป นไปตามอํ านาจแห งทิ ฏฐิ ที่ เขามี อยู ; ดั งนั้ นเมื่ อมี ทิ ฏฐิ ต างกั น แม อารมณ ที่ มากระทบจะเป นอย างเดี ยวกั น เขาย อมเกิ ดความรู สึ กต ออารมณ ต างกั นไปตาม ทิ ฏ ฐิ ข องเขา; ดั งนั้ น เวทนาที่ ม าจากอารมณ เดี ย วกั น จึ งมี ค วามหมายต างกั น ได เป น เหตุ ให มี ทิ ฏ ฐิ ชนิ ด ที่ ห ล อ เลี้ ย งทิ ฏ ฐิ เดิ ม ให แ น น แฟ น อยู เสมอไป : นี้ เรี ย กได ว า ผั ส สะหรื อ เวทนาสร า งทิ ฏ ฐิ แล ว ก็ หลอเลี้ยงทิฏฐินั้นไว.ถาปราศจากผัสสะหรือเวทนาเสียอยางเดียวเทานั้น ยอมไมมีทางที่จะเกิดทิฏฐิได.

www.buddhadasa.info


๗๓๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑

ของสั ต ว ตามทิ ฏ ฐิ แ ห ง ตนๆ)มี อ ย า งต า งๆกั น เป น อเนก; สมณพราหมณ ทั้ ง หลาย เหลานั้นทั้งหมด ถูกกระทําแลวใหตกอยูภายในแห งขาย ดวยวัตถุ (ที่ตั้งแหงทิฏฐิ) ทั้งหลาย ๖๒ ประการเหลานั้นเอง เมื่อโงหัวอยูทีเดียว ก็โงหั วอยูในข ายนั้ น เมื่อเที่ ยว โงหัวอยูในที่ทั่วๆไป ก็โงหัวอยูในขายนั้น. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เปรี ยบเหมื อนชาวประมงและลู กมื อของชาวประมงผู เชี่ยวชาญ ไดลอมแหลงน้ํ านอยไวดวยอวนตาถี่ เมื่ อเป นอยางนี้ สัตวมีชีวิตทั้ งหลายเป น อั นมากเหล าหนึ่ งเหล าใด ในแหล งน้ํ านี้ สั ตว ทั้ งหลายเหล านั้ น แม ทั้ งหมด ชื่ อว าถู ก กระทํ าไว แล วในภายในแห งอวน เมื่ อผุ ดอยู ที่ เดี ยว ก็ ผุ ดอยู ในอวนนั้ น เมื่ อเที่ ยวผุ ดอยู ในที ่ทั ่ว ๆไป ก็ย ัง คงผุด อยู ใ นอวนนั ้น นั ่น เอง,นี ้ฉ ัน ใด; ดูก อ นภิก ษุทั ้ง หลาย! ขอ นี้ ก็ฉันนั้น กลาวคือ สมณพราหมณ ทั้งหลายเหลาใดเหลาหนึ่ง ที่บัญญั ติทิฏฐิปรารภปุพพันตขันธบ าง ปรารภอปรันตขันธบ าง ปรารภทั้ งปุ พพั นตะและอปรันตขันธบ าง ล วนแตเป น ผูมี ปุพพั นตาปรันตานุทิฏฐิ ปรารภขันธทั้งที่เปนปุพพั นตะและอปรันตะ ดังนี้แลว กลาว บัญญั ติทิ ฏฐิอันเปนอธิมุตติบท (ทางแห งความหลุดพ นอยางยิ่งของสัตว ตามทิฏฐิแห ง ตนๆ)มี อย างต างๆกั นเป นอเนก; สมณพราหมณ ทั้ งหลายเหล านั้ นทั้ งหมด ถู กกระทํ า แล วให ตกอยู ภายในแห งข าย ด วยวัตถุ(ที่ ตั้ งแห งทิ ฏฐิ)ทั้ งหลาย ๖๒ ประการเหล านั้ นเอง เมื่ อ โงหั ว อยู ที่ เดี ย ว ก็ โงหั ว อยู ในข า ยนั้ น เมื่ อ เที่ ย วโงหั ว อยู ในที่ ทั่ วๆไป ก็ โงหั ว อยู ในขายนั้นนั่นเอง.

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! กาย(หมู แห งนามรู ป)ของตถาคต มี ตั ณ หาเครื่ องนํ า ไปสู ภพถู กตั ดขาดแล วยั งตั้ งอยู .กายนั้ น ยั งตั้ งอยู ตลอดกาลเพี ยงใด เทวดาและมนุ ษย ทั้งหลาย จักเห็นซึ่งกายนั้นอยูเพี ยงนั้น แตจักไมเห็นซึ่งกายนั้น ในที่สุดแหงชีวิต เพราะ การทําลายแหงกาย.ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เปรียบเหมือนเมื่อพวงแหงผลมะมวง ขาดแลว

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๗๓๑

ที่ ขั้ ว ผลมะม ว งใดๆที่ มี ขั้ ว เนื่ อ งกั น ย อ มหล น ลงมาด ว ยกั น ทั้ ง หมดทั้ ง สิ้ น ,นี้ ฉั น ใด; ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ข อนี้ ก็ ฉั นนั้ น กล าวคื อ กายของตถาคตมี ตั ณหาเครื่องนํ าไปสู ภพ ถู กตั ดขาดแล ว ยั งตั้ งอยู . กายนั้ นยั งตั้ งอยู ตลอดกาลเพี ยงใด เทวดาและมนุ ษย ทั้ งหลาย จั ก เห็ น ซึ่ ง กายนั้ น อยู เพี ย งนั้ น แต จั ก ไม เห็ น ซึ่ ง กายนั้ น ในที่ สุ ด แห ง ชี วิ ต เพราะการ ทําลายแหงกาย. (เมื่ อพระผู มี พระภาคเจ าตรัสอย างนี้ แล ว พระอานนท ได กราบทู ลวา "น าอั ศจรรย พระ-

เจ า ข า !ไม เ คยมี พระเจ า ข า ! ข า แต พ ระองค ผู เ จริ ญ ! ธรรมปริ ย ายนี้ มี น ามว า กระไร พระเจาขา!" ดังนี้). ดู ก อนอานนท ! ถ าอย างนั้ น เธอจงจํ าธรรมปริ ยายนี้ ไว ว า ชื่ อ ว า "อั ต ถชาละ" บา ง "ธัม มชาละ" บา ง "พระชาละ" บา ง "ทิฏ ฐิช าละ" บา ง "อนุต ตรสังคามวิชัย" บาง ดังนี้เถิด. ห มายเห ตุ ผู ร วบ รวม: ผู ศึ ก ษ าพึ ง สั ง เกตให เ ห็ น ใจความของพระพุ ท ธ ภาษิ ต ที่ ต รั ส ไว ใ นตอนนี้ ว า ถ า รู จั ก สมุ ทั ย ,อั ต ถั ง คมะ,อั ส สาทะ,อาที น วะ,และนิ ส สรณ ะ ของผั สสายตนะทั้ ง ๖ ตามที่ เป นจริ งแล ว ก็ จะเป นความรู ที่ ยิ่ งกว าทิ ฏฐิ ๖๒ ประการเหล านั้ น. ข อ นี้ แ สดงว าทิ ฏ ฐิ ๖๒ ประการเหล านั้ น เกิ ด ขึ้ น จากการที่ ไม รู ลั กษณะ ๖ ประการ อั น เกี่ ย ว กั บ ผั ส สายตนะนั่ น เอง.โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง คื อ ไม รู ว า ผั ส สะคื อ อะไร อะไรเป น มู ล เหตุ ข อง ผั ส สะ อะไรเป น ความตั้ ง อยู ไม ได ข องผั ส สะ อะไรเป น รสอร อ ยที่ ได รั บ จากผั ส สะ อะไรเป น โทษที่ เลวทรามของผั สสะ อะไรเป น อุ บ ายที่ จะอยู เหนื ออํ านาจของผั สสะ รวมกั น เป นลั กษณะ ๖ ประการ.ความรู ต ามเป น จริ งทั้ ง ๖ ประการ ที่ เกี่ ยวกั บ ผั ส สะ ก็ คื อ ความรู ป ฏิ จ จสมุ ป บาท ทั้ ง สายนั่ น เอง : ผั ส สะ เกิ ด มาจากอวิ ช ชา สั ง ขาร วิ ญ ญาณ เป น ต น มี ผ ลให เกิ ด เวทนา ตั ณ หา อั น เป น รสอร อ ยของผั ส สะ แล ว ให เกิ ด อุ ป าทาน ภพ ชาติ อั น เป น ทุ ก ข ซึ่ ง เป น โทษอั น เลวทรามของผั ส สะ และปฏิ จ จสมุ ป บาทส ว นนิ โ รธวารทั้ ง สาย เป น ความตั้ ง อยู ไ ม ได หรือ เปน อุบ ายเครื ่อ งออกไปพน จากอํ า นาจของผัส สะนั ่น เอง. ทิฏ ฐิ ๖๒ ประการ ไม มี ท างที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น เพราะมี ค วามรู เกี่ ย วกั บ ผั ส สะ ตลอดสายแห ง ปฏิ จ จสมุ ป บาท ดั ง นี้ . อยาลืมวา ผัสสะในที่นี่ ก็คือ "อวิชชาสัมผัส"ดังที่กลาวมาแลว ในเรื่องกอนๆนั่นเอง.

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๗๓๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑

ทิฏฐิ ๖๒ เปนผลของการ ไมรูปฏิจจสมุปบาท๑ ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! มี ธรรม๒ที่ ลึ ก ที่ สั ตวอื่นเห็ นได ยาก ยากที่ สั ตวอื่ นจะ รูตาม เป นธรรมเงียบสงบ ประณี ต ไม เป นวิสั ยที่ จะหยั่ งลงงายแห งความตรึก เป นของ ละเอียด รูไดเฉพาะบัณฑิตวิสัย;ซึ่งเราตถาคตไดทําใหแจงดวยปญญาอันยิ่งเอง แลวสอน ผูอื่นให รูแจง, เป นคุ ณวุฒิ เครื่องนําไปสรรเสริญของผู ที่เมื่ อจะพู ดสรรเสริญเราตถาคตให ถูกตองตรงตามที่เปนจริง. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ธรรมทั้งหลายเหลานั้น เปนอยางไรเลา?

[ หมวด ๑ ปุพพันตกัปปกวาท ๑๘ ประการ ] ดูก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! มี สมณพราหมณ พวกหนึ่ ง เป นพวกปุ พพั นตกั ปป กวาท มีปุ พพันตานุทิฏฐิ [ทิฏฐิเปนไปตามซึ่งขันธอันเปนปุพพันตะ (ขันธที่มีแลวในกาลกอน)] ปรารภขันธอันมีแลวในกาลกอน ยอมกลาวบั ญญั ติซึ่งอธิมุตติบท(ทางแห งความหลุดพ น อย างยิ่ งของสั ตวตามทิ ฏฐิแห งตนๆ)มี อย างต างๆ เป นอเนก ด วยวัตถุ (ที่ ตั้ งแห งทิ ฏฐิ ) ทั้ งหลาย ๑๘ ประการ. สมณพราหมณ ทั้ งหลายเหล านั้ น อาศั ยอะไร ปรารภอะไร จึงบัญญัติอธิมุตติบทดวยวัตถุ ๑๘ ประการเหลานั้น?

www.buddhadasa.info ๑

พรหมชาลสูตร สี.ที. ๙/๑๖/๒๖,ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่สวนอัมพลัฏฐิกา. คํ า วา "ธรรม"(ธมฺม า)ในขอ ความอยา งนี ้ เปน คํ า นามนามธรรมดา หมายถึง "เรื ่อ ง"หรือ "สิ ่ง " ตามธรรมดาสามั ญ เท านั้ น มิ ได หมายความว า เป นพระธรรม หรือตั วคํ าสั่ งสอนใดๆ. ผู ที่ ไม เคยศึ กษา ภาษาบาลี อาจจะเข าใจผิ ดได จึ งต องอธิ บ ายไว ดั งนี้ .สํ าหรั บ ในกรณี นี้ คํ าว า "ธรรม" หมายถึ งเรื่ อง ทิฏฐิ ๖๒ เรื่อง ซึ่งพระองคทรงรูแจงและไมติดอยูในทิฏฐิเหลานั้น นั่นเอง.

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๗๓๓

(ก. สัสสตทิฏฐิ ๔ ประการ) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! มี สมณพราหมณ พวกหนึ่ ง เป นพวกสั สสตวาท ย อม บั ญ ญั ติ อั ต ตาและโลกว าเที่ ย ง ด วยวั ต ถุ ทั้ งหลาย ๔ ประการ... (ต อไปนี้ จะตั ดข อความ อั นยื ดยาวแห งทิ ฏฐิ หนึ่ งๆให เหลื อเฉพาะแต ใจความ นํ ามาเรียงลํ าดั บติ ดต อกั นไปจนกว าจะครบทั้ ง ๖๒ ทิ ฏฐิ วัตถุ และจัดเปนหมวดยอยๆตามลําดับหมวดดังที่มีอยูในพระบาลีนับตั้งแตหมวด ก.ขางบนนี้ไป):-

(๑) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณพราหมณ บางท านในโลกนี้ อาศั ยความเพี ยร เผากิ เลส...จึ งมี เจโตสมาธิ ในลั กษณะที่ เมื่ อจิ ตตั้ งมั่ นแล ว เขาย อมระลึ กถึ งขันธ อั นเคยอยู ใน ก าล กอ น ม ีป ระก ารตา งๆ เป น อ เน ก คือ ระลึก ได ๑ ชาติบ า ง,...ฯล ฯ... หลายแสนชาติ เป น อเนกบ าง;...แล วกล าว(ตามความเห็ น ของตน)อย างนี้ วา"อั ต ตา และโลกเป นของเที่ ยง คงตั ว ยื นอยู เหมื อนยอดภู เขา ตั้ งอยู อย างมั่ นคงดุ จการตั้ งอยู ของ เสาระเนี ยด; แม (ปรากฏการณ ของ)สั ตว ทั้ งหลาย จะแล นไป ท องเที่ ยวไป เคลื่ อนไป บั ง เกิ ด ไป,แต สิ่ ง ซึ่ ง เที่ ย งแท ส ม่ํ า เสมอ ยั ง คงอยู นั่ น เอง"ดั ง นี้ ; ...เพราะว า เราย อ ม ระลึ กได ซึ่ งขั นธ อั นเคยอยู ในกาลก อนมี ประการต างๆเป นอเนกได พรอมทั้ งอาการ พรอม ทั้ ง อุ เทศ ดั ง นี้ . ...ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! นี้ เป น ฐานะที่ ๑ อั น สมณพราหมณ พ วก หนึ่งซึ่งเปนพวกสัสสตวาท อาศัยแลว ปรารภแลว จึงบัญญัติอัตตาและโลกวาเที่ยง.

www.buddhadasa.info (๒)ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! สมณพราหมณ บ างท าน อาศั ย ความเพี ย รเผา กิ เลส...จึ งมี เจโตสมาธิ ในลั กษณะที่ เมื่ อจิ ตตั้ งมั่ นแล ว เขาย อมระลึ กถึ งขั นธ อั นเคยอยู ใน กาลก อ น มี ป ระการต า งๆเป น อเนก คื อ ระลึ ก ได ๑ สั ง วั ฏ ฏะ-วิ วั ฏ ฏกั ป ป บ า ง... กระทั่ ง สิ บ สั ง วั ฏ ฏะ-วิ วั ฏ ฏกั ป ป บ า ง...แล ว กล า ว(ตามความเห็ น ของตน)อย า งนี้ ว า "อั ตตาและโลก เป นของเที่ ยง คงตั ว ยื นอยู เหมื อนยอดภู เขา ตั้ งอยู อย างมั่ นคงดุ จการตั้ ง อยูของเสาระเนียด; แม(ปรากฏการณของ)สัตวทั้งหลาย จะแลนไป ทองเที่ยวไป

www.buddhadasa.info


๗๓๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑

เคลื่ อ นไปบั งเกิ ด ไป, แต สิ่ งซึ่ งเที่ ย งแท ส ม่ํ า เสมอ ยั งคงอยู นั่ น เอง"ดั งนี้ ; ...เพราะว า เราย อ มระลึ ก ได ซึ่ งขั น ธ อั น เคยอยู ในกาลก อ น มี ประการต างๆเป น อเนกได พร อ มทั้ ง อาการ พร อ มทั้ ง อุ เทศ ดั ง นี้ . ...ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! นี้ เป น ฐานะที่ ๒ อั น สมณพราหมณ พวกหนึ่ งซึ่ งเป นพวกสั สสตวาท อาศั ยแล ว ปรารภแล ว จึ งบั ญญั ติ อั ตตาและ โลกวาเที่ยง. (๓)ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! สมณพราหมณ บ างท าน อาศั ย ความเพี ย รเผา กิ เลส...จึ งมี เจโตสมาธิ ในลั กษณะที่ เมื่ อจิ ตตั้ งมั่ นแล ว เขาย อมระลึ กถึ งขั นธ อั นเคยอยู ในกาลก อ น มี ป ระการต า งๆเป น อเนก คื อ ระลึ ก ได สิ บ สั ง วั ฏ ฏะ-วิ วั ฏ ฏกั ป ป บ า ง... กระทั่ ง ถึ ง สี่ สิ บ สั ง วั ฏ ฏะ-วิ วั ฏ ฏกั ป ป บ า ง...แล ว กล า ว(ตามความเห็ น ของตน)อย า ง นี้ ว า "อั ตตาและโลก เป นของเที่ ยง คงตั ว ยื นอยู เหมื อนยอดภู เขา ตั้ งอยู อย างมั่ นคง ดุ จการตั้ งอยู ของเสาระเนี ยด; แม (ปรากฏการณ ของ)สั ตว ทั้ งหลาย จะแล นไป ท องเที่ ยว ไป เคลื่ อ นไป บั ง เกิ ด ไป,แต สิ่ ง ซึ่ ง เที่ ย งแท ส ม่ํ า เสมอ ยั ง คงอยู นั่ น เอง" ดั ง นี้ ; ... เพราะว าเราย อมระลึ กได ซึ่ งขั นธ อั นเคยอยู ในกาลก อน มี ประการต างๆเป นอเนกได พรอม ทั้ งอาการ พร อ มทั้ งอุ เทศ ดั งนี้ . ...ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! นี้ เป นฐานะที่ ๓ อั น สมณพราหมณ พวกหนึ่ งซึ่ งเป นพวกสั สสตวาท อาศั ยแล ว ปรารภแล ว จึ งบั ญญั ติ อั ตตาและ โลกวาเที่ยง.

www.buddhadasa.info (๔)ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! สมณพราหมณ บ างท าน เป น นั ก ตรึ ก นั ก ตรอง เขายอมกลาวตามที่ความตรึกพาไป ความตรองแลนไป ตามปฏิภาณของตนเอง ว า "อั ตตาและโลก เป นของเที่ ยง คงตั ว ยื นอยู เหมื อนยอดภู เขา ตั้ งอยู อย างมั่ นคงดุ จการ ตั้ งอยู ของเสาระเนี ยด; แม (ปรากฏการณ ของ)สั ตว ทั้ ง หลาย จะแล นไป ท องเที่ ยวไป เคลื่อนไป บังเกิดไป,แตสิ่งซึ่งเที่ยงแทสม่ําเสมอ ยังคงอยูนั่นเอง" ดังนี้; ...ดูกอน

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๗๓๕

ภิ กษุ ทั้ งหลาย! นี้ เป นฐานะที่ ๔ อั นสมณพราหมณ พวกหนึ่ งซึ่ งเป นพวกสั สสตวาท อาศั ย แลว ปรารภแลว จึงบัญญัติอัตตาและโลกวาเที่ยง. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย; สมณพราหมณ ทั้ งหลายเท าใด เป นพวกสั สสตวาท บัญญั ติอัตตา และโลกวาเป นของเที่ ยง สมณพราหมณ ทั้ งหลายเหลานั้ นทั้งหมด บั ญญั ติ โดยอาศั ยวัตถุ ทั้ งหลาย ๔ ประการเหล านี้ หรือวาวัตถุ ประการใดประการหนึ่ ง ในบรรดา วั ตถุ ทั้ งหลาย ๔ ประการเหล านี้ , วั ตถุ อื่ นนอกจากนี้ มิ ได มี . ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ตถาคต ยอมรูชัดวา ฐานะที่ตั้งแหงทิฏฐิเหลานี้ เมื่อใครถือเอาแลวอยางนี้ ลูบคลําแลว อย างนี้ ก็ จะมี คติอย างนั้ น มี อภิ สัมปรายภพอยางนั้ น: ตถาคต ยอมรูชัดซึ่งขอนั้ นด วย รูชัดซึ่งธรรมอันยิ่งไปกวานั้นดวย และไม จับฉวยไวซึ่งสิ่งที่ตถาคตรูแลวนั้นดวย และเมื่ อ ไม จับฉวยอยู ความดั บเย็ น (นิ พฺ พุ ติ )ก็ เป นสิ่ งที่ ตถาคตรูแจ งแล ว เฉพาะตนนั่ นเที ยว เพราะรูแจ งตามที่ เป นจริงซึ่ งเหตุ ให เกิ ดขึ้ น ซึ่ งความตั้ งอยู ไม ได ซึ่ งรสอรอย ซึ่ งโทษ อันเลวทราม และซึ่งอุบายเปนเครื่อง ออกไปพน แหงเวทนาทั้งหลาย. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ตถาคตเป นผู พ นวิ เศษแล ว เพราะความไม ยึ ดมั่ น. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ธรรมทั้ งหลายเหล านี้ แล เป นธรรมที่ ลึ ก ที่ สั ตว อื่ นเห็ นได ยาก ยากที่สัตวอื่นจะรูตาม เปนธรรมเงียบสงบ ประณี ต ไมเปนวิสัยที่จะหยั่งลงงายแหงความ ตรึก เป นของละเอียด รูได เฉพาะบั ณฑิ ตวิสัย, ซึ่งเราตถาคตได ทํ าให แจงด วยป ญญา อั นยิ่ งเอง แล วสอนผู อื่ นให รูแจ ง, เป นคุ ณวุ ฒิ เครื่องนํ าไปสรรเสริญ ของผู ที่ เมื่ อจะพู ด สรรเสริญเราตถาคตใหถูกตองตรงตามที่เปนจริง.

www.buddhadasa.info หมายเหตุ ผู ร วบรวม : ผู ศึ ก ษาพึ ง สั ง เกตให เ ห็ น ความสํ า คั ญ ของสิ่ ง ที่ เรี ย กว า "เวทนา"ดั ง ที่ พ ระองค ไ ด ต รั ส ว า เพราะรู เหตุ ใ ห เกิ ด ขึ้ น ความตั้ ง อยู ไ ม ได รสอร อ ย โทษต่ํ าทราม อุ บายเครื่อง ออก ตถาคตจึ งรูแจ งสั สสตทิ ฏฐิ เหล านั้ นรูแจ งซึ่ งสิ่ งที่ ยิ่ งขึ้ นไปกว า ทิฏฐิเหลานั้น แลวไมยึดมั่น จนกระทั่งรูแจงนิพพุติ(ความดับเย็น)อันเปนภายใน.ความ

www.buddhadasa.info


๗๓๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑ รู แ จ ง เวทนาในลั ก ษณะ ๕ ประการ มี รู แ จ ง เหตุ ใ ห เกิ ด ขึ้ น เป น ต น นั้ น คื อ รู แ จ ง เวทนาในสาย แห ง ปฏิ จ จสมุ ป บาท ทั้ ง ส ว นหน า และส ว นหลั ง ของเวทนานั้ น เอง.ถ า ไม รู แ จ ง เวทนาใน ลักษณะอยางนี้ ยอมไมพนไปจากขายแหงสัสสตทิฏฐิ ๔ ประการนี้.

(ข.เอกัจจสัสสติก - เอกัจจอสัสสติกทิฏฐิ ๔ ประการ) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! มี สมณพราหมณ พ วกหนึ่ ง เป นพวกเอกั จจสั สสติ กเอกั จจอสั ส สติ กวาท ย อมบั ญ ญั ติ อั ต ตาและโลกว าเที่ ย งบางอย าง ไม เที่ ยงบางอย าง ดวยวัตถุทั้งหลาย ๔ ประการ: (๕) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ...ฯลฯ... ข อ นี้ เ ป น ฐานะที่ มี ไ ด คื อ สั ต ว ตนใดตนหนึ่ ง เคลื่ อนจากหมู อาภั สรเทพนั้ นแล ว มาสู ความเป นอย างนี้ , ครั้นมาสู ความ เป น อย า งนี้ แ ล ว ได อ อกบวชจากเรื อ น เป น ผู ไม มี เรื อ น อาศั ย ความเพี ย รเผากิ เลส.... มี เจโตสมาธิ ในลั กษณะที่ เมื่ อจิ ตตั้ งมั่ นแล ว เขาย อมระลึ กถึ งขั นธ อั นเคยอยู ในกาลก อน (ชั่ วเวลาที่ เขาอยู ในหมู อาภั สสรเทพ), ที่ เกิ นกว านั้ น เขาระลึ กไม ได . สั ตว นั้ นได กล าวว า "พรหมผู เจริ ญ ผู ใด เป นมหาพรหม เป นผู ครอบงํ าสั ตว ทั้ งหลาย ไม มี สั ตว ใดครอบงํ าเขา ได เห็น สิ ่ง ทั ้ง หลายอยา งถอ งแท เปน ผู ใ หอํ า นาจเปน ไป เปน อิศ วร เปน ผู ส รา ง เป น ผู นิ รมิ ต เป น ผู ป ระเสริ ฐ สุ ด เป น ผู จั ด สรร (สิ่ ง ทั้ ง ปวง) ผู มี อํ า นาจ เป น บิ ด าแห ง สั ตว ทั้ งหลายทั้ งที่ เป นแล วและจั กเป น. พวกเราทั้ งหลายเป น ผู อั นพรหมนั้ นนิ รมิ ตแล ว. พรหมนั้น เปนผูเที่ยง ผูยั่งยืน ผูเที่ยงแท ผูไมมีความแปรปรวนเปนธรรมดา จักตั้งอยูอยางเที่ยงแทสม่ําเสมอเชนนั้น นั่นเทียว. สวนวาเราทั้ งหลายเป นผูอัน พรหมนั้นนิรมิตแลว จึงเปนผูไมเที่ยง ไมยั่งยืน มีอายุนอย มีการจุติเปนธรรมดา มาสูความเปนอยางนี้แลว" ดังนี้. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! นี้เปนฐานะที่ ๑ อันสมณ-

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๗๓๗

พรหมณ พวกหนึ่ งซึ่ งเป นพวกเอกั จจสั สสติ กเอกั จจอสั สสติ กวาทอาศั ยแล ว ปรารภแล ว จึงบัญญัติอัตตาและโลกวาเที่ยงบางอยาง ไมเที่ยงบางอยาง. (๖) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ...ฯลฯ... ข อ นี้ เป น ฐานะที่ จ ะมี ไ ด คื อ สั ต ว ตนใดตนหนึ่ ง เคลื่ อนจากหมู ขิ ฑฑาปโทสิ กเทพนั้ นแล ว มาสู ความเป นอย างนี้ , ครั้ นมา สู ความเป นอย างนี้ แล ว ได ออกบวชจากเรื อน เป นผู ไม มี เรื อน อาศั ยความเพี ยรเผากิ เลส ...มี เจโตสมาธิ ในลั กษณะที่ เมื่ อจิ ตตั้ งมั่ นแล วเขาย อมระลึ กถึ งขั นธ อั นเคยอยู ในกาลก อนได , ที่ เกิ นกว านั้ นเขาระลึ กไม ได . สั ตว นั้ นได กล าวว า "ท านผู เจริ ญทั้ งหลายเอ ย! เทพทั้ งหลาย เหล าใด ซึ่ งมิ ใช พวกขิ ฑฑาปโทสิ กา เทพทั้ งหลายเหล านั้ น ถึ งพร อมด วยธรรมคื อ ความ ยิ นดี ในการร าเริ งและการเล นหั ว ไม เกิ นเวลา (ไม เกิ นขนาด) เป นอยู เมื่ อเทพทั้ งหลาย เหลานั้น ไมยินดีในการราเริงเลนหัวจนเกินเวลาเปนอยู สติยอมไมหลงลืม เพราะ ความไมหลงลืมแหงสติ เทพทั้งหลายเหลานั้นยอมไมเคลื่อนจากเทพนิกายนั้น จึงเปนผูเที่ยง ผูยั่งยืน ผูเที่ยงแท มีความไมแปรปรวนเปนธรรมดา ตั้งอยูอยาง เที่ยงแทสม่ําเสมอเชนนั้นนั่นเทียว. สวนวาเราทั้งหลายซึ่งเปนพวกขิฑฑาปโทสิ กาไดเปนผูยินดีในการราเริงเลนหัว จนเกินเวลา เมื่อพวกเรายินดีในการราเริง เลนหัว จนเกินเวลา สติยอมหลงลืม เพราะความหลงลืมแหงสติ พวกเราทั้งหลาย จึงเคลื่อนแลวจากเทพนิกายนั้น เปนผูไมเที่ยง ไมยั่งยืน มีอายุนอย มีการจุติ เป น ธรรมดา มาแล วสู ความเป น อย างนี้ " ดั งนี้ . ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! นี้ เป นฐานะ ที่ ๒ อั นสมณพราหมณ พวกหนึ่ งซึ่ งเป นพวกเอกั จจสั สสติ กเอกั จจอสั สสติ กวาทอาศั ยแล ว ปรารภแลว จึงบัญญัติอัตตาและโลกวาเที่ยงบางอยาง ไมเที่ยงบางอยาง.

www.buddhadasa.info (๗) ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ...ฯลฯ... ขอนี้เปนฐานะที่จะมีได คือ สัตวตนใดตน หนึ่ง เคลื่อนจากหมูมโนปโทสิกเทพนั้นแลว มาสูความเปนอยางนี้, ครั้นมาสู

www.buddhadasa.info


๗๓๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑

ความเป นอย างนี้ แล ว ได ออกบวชจากเรื อน เป นผู ไม มี เรื อน อาศั ยความเพี ยรเผากิ เลส ... มี เจโตสมาธิ ในลั ก ษณะที่ เมื่ อ จิ ต ตั้ งมั่ น แล ว เขาย อ มระลึ กถึ งขั น ธ อั น เคยอยู ในกาล ก อ นได , ที่ เกิ น กว านั้ น เขาระลึ ก ไม ได . สั ต ว นั้ น ได ก ล าวว า "เทพทั้ งหลายที่ ไม ใช พ วก มโนปโทสิ ก า ย อ มไม เพ งโทษซึ่ งกั น และกั น เกิ น เวลา (เกิ น ขนาด); เมื่ อ เทพทั้ งหลาย เหลานั้นไมเพงโทษซึ่งกันและกันเกินเวลา จิตก็ไมประทุษรายซึ่งกันและกัน เมื่อ มีจิตไมประทุษรายซึ่งกันและกัน กายก็ไมบอบช้ํา จิตก็ไมบอบช้ํา เทพทั้งหลาย เหลานั้น จึงไมเคลื่อนจากเทพนิกายนั้น เปนผูเที่ยง ผูยั่งยืน ผูเที่ยงแท มีความ ไมแปรปรวนเปนธรรมดา ตั้งอยูอยางเที่ยงแทสม่ําเสมอเชนนั้นนั่นเทียว. สวน พวกเราเหลามโนปโทสิกา มีปรกติเขาไปเพงโทษซึ่งกันและกันอยูเกินเวลา, เมื่อ เพ ง โทษซึ่ ง กั น และกั น อยู เกิ น เวลา จิ ต ก็ ป ระทุ ษ ร า ยในกั น และกั น ; เมื่ อ มี จิ ต ประทุ ษ ร า ยในกั น และกั น กายก็ บ อบช้ํ า จิ ต ก็ บ อบช้ํ า . พวกเราทั้ ง หลาย จึ ง เคลื่อนแลวจากเทพนิกายนั้น เปนผูไมเที่ยง ไมยั่งยืน มีอายุนอย มีการจุติเปน ธรรมดา แล วมาสู ค วามเป น อย างนี้ " ดั งนี้ . ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! นี้ เป น ฐานะที่ ๓ อั นสมณพราหมณ พวกหนึ่ งซึ่ งเป นพวกเอกั จจสั สสติ กเอกั จจอสั สสติ กวาทอาศั ยแล วปรารภ แลว จึงบัญญัติอัตตาและโลกวาเที่ยงบางอยาง ไมเที่ยงบางอยาง.

www.buddhadasa.info (๘) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! สมณพราหมณ บางท าน เป น นั ก ตรึ ก นั ก ตรอง เขายอมกลาวตามที่ความตรึกพาไป ความตรองแลนไป ตามปฏิภาณของตน อยาง นี้ ว า "อั ต ตาใด ที่ เขาเรี ย กว า ‘จั ก ษุ ' ดั ง นี้ บ า ง `โสตะ' ดั ง นี้ บ า ง `ฆานะ' ดั ง นี้ บ า ง ‘ชิ วหา' ดั งนี้ บ าง `กายะ' ดั งนี้ บ าง อั ตตานี้ ๆ ไม เที่ ยง ไม ยั่ งยื น ไม เที่ ยงแท มี ความแปร ปรวนเป นธรรมดา. ส วนว าอั ตตาใด ที่ เขาเรี ยกกั นว า ’จิ ต' ก็ ดี ‘มโน' ก็ ดี `วิ ญ ญาณ' ก็ ดี อั ตตานี้ เป น ของเที่ ยง ยั่ งยื น เที่ ยงแท มี อั น ไม แปรปรวนเป น ธรรมดา จั กตั้ งอยู อ ย าง เที่ยงแท สม่ําเสมอ เชนนั้น นั่นเทียว" ดังนี้. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! นี้เปนฐานะที่ ๔

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๗๓๙

อันสมณพราหมณ พวกหนึ่งซึ่งเปนพวกเอกัจจสัสสติกเอกัจจอสัสสติกวาทอาศัยแลว ปรารภ แลว จึงบัญญัติอัตตาและโลกวาเที่ยงบางอยาง ไมเที่ยงบางอยาง. ดูกอนภิ กษุ ทั้งหลาย! สมณพราหมณ ทั้ งหลายเหลาใด เป นพวกเอกัจจสัสสติ กเอกั จจอสั สสติ กวาท บั ญญั ติ อั ตตาและโลกวาเที่ ยงบางอยาง ไม เที่ ยงบางอย าง สมณพราหมณ ทั้งหลายเหลานั้นทั้งหมด บัญญั ติโดยอาศัยวัตถุทั้งหลาย ๔ ประการเหลานี้ หรือ วาวัตถุ ประการใดประการหนึ่ ง ในบรรดาวั ตถุ ทั้ งหลาย ๔ ประการเหล านี้ , วัตถุ อื่ น นอกจากนี้ มิ ได มี . ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ตถาคตย อ มรู ชั ด ว า ฐานะที่ ตั้ งแห งทิ ฏ ฐิ เหลานี้ เมื่อใครถือเอาแลวอยางนี้ ลบคลําแลวอยางนี้ ก็จะมีคติอยางนั้น มีอภิสัมปรายภพ อย างนั้ น : ตถาคตย อมรูชั ดซึ่ งข อนั้ นด วย รูชั ดซึ่ งธรรมอั นยิ่ งไปกวานั้ นด วย และไม จับฉวยไวซึ่งสิ่งที่ตถาคตรูแลวนั้นดวย และเมื่อไมจับบฉวยอยู ความดับเย็น (นิพฺพุติ) ก็เปน สิ่งที่ ตถาคตรูแจงแลวเฉพาะตนนั่ นเที ยว เพราะรูแจงตามที่เป นจริงซึ่งเหตุ ให เกิดขึ้น ซึ่ง ความตั้ งอยู ไม ได ซึ่ งรสอรอย ซึ่ งโทษอั นเลวทราม และซึ่ งอุ บายเป นเครื่องออกไปพ น แห งเวทนาทั้ งหลาย. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ตถาคตเป นผู พ นวิเศษแล ว เพราะความ ไม ยึ ด มั่ น . ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ธรรมทั้ งหลายเหล านี้ แลเป น ธรรมที่ ลึ ก ที่ สั ต ว อื่ น เห็ นไดยาก ยากที่ สัตวอื่นจะรูตาม เป นธรรมเงียบสงบ ประณี ต ไม เป นวิสั ยที่ จะหยั่งลง งายแห งความตรึก เป นของละเอียด รูได เฉพาะบั ณฑิ ตวิสั ย, ซึ่งเราตถาคตได ทํ าให แจ ง ดวยป ญญาอันยิ่งเอง แลวสอนผูอื่นใหรูแจง, เปนคุณวุฒิ เครื่องนําไปสรรเสริญ ของผูที่ เมื่อจะพูดสรรเสริญเราตถาคตใหถูกตองตรงตามที่เปนจริง.

www.buddhadasa.info หมายเหตุ ผู ร วบรวม : ผู ศึ ก ษาพึ ง สั ง เกตให เ ห็ น ว า แม ทิ ฏ ฐิ ข องพวก เอกั จจสั สสติ กเอกั จจ- อสั สสติ กวาท ๔ จํ าพวกนี้ ก็ มี มู ลมาจากสิ่ งที่ เรี ยกว า "เวทนา" ; มี ข อ ความอย างเดี ยวกั บข อความที่ พระองค ตรัสเกี่ ยวกั บพวกสั สสตวาท; ขอให ย อนไปดู หมายเหตุ ท ายหมวดสั สสตวาท อี ก ครั้ งหนึ่ ง จนเห็ น ว า ถ าไม รู แจ งเวทนา ในลั ก ษณะอย างนั้ น ย อ ม ไม พ นไปจากข ายแห งเอกั จจสั สสติ กเอกั จจอสั สสติ กทิ ฏ ฐิ ๔ ประการนี้ ได . นี่ แหละคื อความ สําคัญของสิ่งที่เรียกวา "เวทนา" เพียงสิ่งเดียว.

www.buddhadasa.info


๗๔๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑

(ค. อันตานันติกทิฏฐ ๔ ประการ) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! มี สมณพราหมณ พวกหนึ่ ง เป นพวกอั นตานั นติ กวาท ยอมบัญญัติซึ่งโลกวามีที่สุดหรือไมมีที่สุด ดวยวัตถุทั้งหลาย ๔ ประการ: (๙) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณพราหมณ บางท าน อาศั ยความเพี ยรเผา กิ เลส ... มี เจโตสมาธิในลั กษณะที่ เมื่ อจิตตั้ งมั่ นแล ว เป นผู มี สั ญญาวา มี ที่ สุ ดอยู ในโลก สมณพราหมณ ผู นี้ กล าวอย างนี้ ว า "โลกอั นกลมรอบตั วนี้ มี ที่ สุ ด". เพราะเหตุ ไร ข าพเจ า จึ งกล าวอย างนี้ ? เพราะเหตุ ว า ข าพเจ าอาศั ยความเพี ยรเผากิ เลส... มี เจโตสมาธิ ใน ลักษณะที่เมื่อจิตตั้งมั่นแลว เปนผูมีสัญญาวา "มีที่สุดอยูในโลก".ดวยเหตุนี้ขาพเจา จึ งรู ค วามข อ นี้ ว า "โลกอั น กลมรอบตั วนี้ มี ที่ สุ ด " ดั งนี้ . ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! นี้ เป น ฐานะที่ ๑ อั นสมณพราหมณ พวกหนึ่ งซึ่ งเป นพวกอั นตานั นติ กวาทอาศั ยแล ว ปรารภแล ว จึงบัญญัติซึ่งโลกวามีที่สุดหรือไมมีที่สุด. (๑๐) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณพราหมณ บางท าน อาศั ยความเพี ยรเผา กิ เลส... มี เจโตสมาธิ ในลั กษณะที่ เมื่ อจิ ตตั้ งมั่ นแล ว เป นผู มี สั ญญาวาไม มี ที่ สุ ดอยู ในโลก. สมณพราหมณ ผู นี้ กล าวอย างนี้ ว า "โลกอั นไม มี ที่ สุ ดรอบนี้ ไม มี ที่ สุ ด"; สมณพราหมณ ทั้ งหลายเหล าใด เป นพวกที่ กล าวว า โลกอั นกลมรอบตั วนี้ มี ที่ สุ ด ดั งนี้ นั้ น คํ าพู ดของ สมณพราหมณ เหล านั้ น เป นมุ สา; เพราะว า โลกอั นไม มี ที่ สุ ดรอบนี้ ไม มี ที่ สุ ด. ข อนี้ เพ ร า ะ เ ห ตุ ไ ร เล า ข า พ เจ า อ า ศั ย ค ว า ม เพี ย ร เผ า กิ เ ล ส ... มี เ จ โ ต ส ม า ธิ ในลักษณะที่เมื่อจิตตั้งมั่นแลว เปนผูมีสัญญาวา "ไมมีที่สุดอยูในโลก". ดวยเหตุนี้ ขาพเจาจึงรูความขอนี้วา "โลกอันไมมีที่สุดรอบนี้ ไมมีที่สุด" ดังนี้. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย!

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๗๔๑

นี้ เป นฐานะที่ ๒ อั นสมณพราหมณ พวกหนึ่ งซึ่ งเป นพวกอั นตานั นติ กวาทอาศั ยแล ว ปรารภ แลว จึงบัญญัติซึ่งโลกวามีที่สุดหรือไมมีที่สุด. (๑๑) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณพราหมณ บ างท าน อาศั ยความเพี ยรเผา กิ เลส... มี เจโตสมาธิ ในลั กษณะที่ เมื่ อจิ ตตั้ งมั่ นแล ว เป นผู มี สั ญ ญาว ามี ที่ สุ ดในเบื้ องบน และเบื้ องต่ํ า อยู ในโลก มี สั ญ ญาว าไม มี ที่ สุ ดในเบื้ อ งขวาง(รอบตั ว)อยู ในโลก. สมณพราหมณ ผู นี้ กล าวอย างนี้ ว า "โลกนี้ มี ที่ สุ ดด วย ไม มี ที่ สุ ด วย"; สมณพราหมณ ทั้ งหลาย เหล าใด เป น พวกที่ ก ล าวว า โลกอั น กลมรอบตั วนี้ มี ที่ สุ ด ดั งนี้ นั้ น คํ าพู ด ของสมณพราหณ เหล านั้ น เป นมุ สา; ถึ งแม สมณพราหมณ ทั้ งหลายเหล าใด ซึ่ งเป นพวกที่ พู ดว า โลกอั นไม มี ที่ สุ ดรอบนี้ ไม มี ที่ สุ ด ดั งนี้ นั้ น คํ าของสมณพราหมณ แม เหล านั้ น ก็ เป นมุ สา; เพราะเหตุ ว า โลกนี้ มี ที่ สุ ด ว ยไม มี ที่ สุ ด ด ว ย. ข อ นั้ น เพราะเหตุ ไ รเล า ? ข อ นั้ น เพราะ เหตุ ว า ข าพเจ าอาศั ยความเพี ยรเผากิ เลส... มี เจโตสมาธิ ในลั กษณะที่ เมื่ อจิ ตตั้ งมั่ นแล ว เปนผูมีสัญญาวา "มีที่สุดในเบื้องบนและเบื้องต่ํา อยูในโลก" มีสัญญาวา "ไมมี ที่ สุ ดในเบื้ องขวาง(รอบตั ว) อยู ในโลก". ด วยเหตุ นี้ ขาพเจาจึงรูความขอนี้ วา "โลก นี้ มี ที่ สุ ด ว ย ไม มี ที่ สุ ด ว ย" ดั ง นี้ . ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! นี้ เป น ฐานะที่ ๓ อั น สมณพราหมณ พวกหนึ่ งซึ่ งเป นพวกอั นตานั นติ กวาทอาศั ยแล ว ปรารภแล ว จึ งบั ญญั ติ ซึ่ งโลก วามีที่สุดหรือไมมีที่สุด.

www.buddhadasa.info (๑๒) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณพราหมณ บ างท าน เป นนั กตรึ กนั กตรอง เขายอมกลาวตามที่ความตรึกพาไป ความตรองแลนไป ตามปฏิภาณของตนเอง ว า"โลกนี้ มี ที่ สุ ดก็ หามิ ได ไม มี ที่ สุ ดก็ หามิ ได .สมณพราหมณ ทั้ งหลายเหล าใด เป นพวก ที่ ก ล าวว า โลกอั น กลมรอบตั วนี้ มี ที่ สุ ด ดั งนี้ นั้ น คํ าพู ด ของสมณพราหมณ เหล านั้ น เปนมุสา; แมสมณพราหมณทั้งหลายเหลาใด ซึ่งเปนพวกที่กลาววา โลกอันไมมีที่สุด

www.buddhadasa.info


๗๔๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑

รอบนี้ ไม มี ที่ สุ ด ดั งนี้ นั้ น คํ าพู ดของสมณพราหมณ แม เหล านั้ น ก็ เป นมุ สา; ถึ งแม สมณพราหมณ ทั้ งหลายเหล าใด ซึ่ งเป นพวกที่ กล าวว าโลกนี้ มี ที่ สุ ด วย ไม มี ที่ สุ ดด วย ดั งนี้ นั้ น คํ าพู ดของสมณพราหมณ แม เหล านั้ น ก็ เป นมุ สา; เพราะวา โลกนี้ มี ที่ สุดก็ หา มิ ได ไม มี ที่ สุ ด ก็ ห ามิ ได " ดั ง นี้ . ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! นี้ เป น ฐานะที่ ๔ อั น สมณพราหมณพวกหนึ่งซึ่งเปนพวกอันตานันติกวาทอาศัยแลว ปรารภแลว จึงบัญญั ติซึ่งโลก วามีที่สุดหรือไมมีที่สุด. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณพราหมณ ทั้ งหลายเหล าใด เป นพวกอั นตานั นติ กวาท บัญญั ติโลกวามีที่สุดหรือไมมีที่สุด สมณพราหมณ ทั้งหลายเหลานั้นทั้งหมด บัญญั ติ โดยอาศั ยวัตถุ ทั้ งหลาย ๔ ประการเหล านี้ หรือวาวัตถุ ประการใดประการหนึ่ ง ในบรรดา วั ตถุ ทั้ งหลาย ๔ ประการเหล านี้ , วั ตถุ อื่ นนอกจากนี้ มิ ได มี . ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ตถาคตยอมรูชัดวา ฐานะที่ ตั้ งแห งทิ ฏฐิเหล านี้ เมื่ อใครถื อเอาแล วอยางนี้ ลบคลํ าแล ว อย างนี้ ก็ จะมี คติอย างนั้ น มี อภิ สัมปรายภพอยางนั้ น : ตถาคตยอมรูชัดซึ่งขอนั้ นด วย รูชัดซึ่งธรรมอันยิ่งไปกวานั้นดวย และเมื่อไมจับฉวยไวซึ่งสิ่งที่ตถาคตรูแลวนั้นดวย และเมื่อ ไม จับฉวยอยูความดั บเย็ น (นิ พฺ พุ ติ ) ก็เป นสิ่ งที่ ตถาคตรูแจงแลวเฉพาะตนนั่ นเที ยว เพราะ รูแจงตามที่ เป นจริง ซึ่งเหตุ ให เกิดขึ้น ซึ่งความตั้ งอยูไม ได ซึ่งรสอรอย ซึ่งโทษอันเลวทราม และซึ่งอุบายเปนเครื่องออกไปพนแหงเวทนาทั้งหลาย. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ตถาคต เป น ผู พ น วิ เศษแล ว เพราะความไม ยึ ด มั่ น . ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ธรรมทั้ ง หลาย เหล านี้ แล เป นธรรมที่ ลึ ก ที่ สั ตว อื่ นเห็ นได ยาก ยากที่ สั ตว อื่ นจะรูตาม เป นธรรมเงียบ สงบ ประณี ต ไม เป นวิ สั ยที่ จะหยั่ งลงงายแห งความตรึก เป นของละเอี ยด รูได เฉพาะ บั ณ ฑิ ตวิสั ย, ซึ่ งเราตถาคตได ทํ าให แจ งด วยป ญญาอั นยิ่ งเอง แล วสอนผู อื่ นให รูแจ ง, เป นคุ ณวุฒิ เครื่องนํ าไปสรรเสริญ ของผูที่ เมื่ อจะพู ดสรรเสริญเราตถาคตให ถูกต องตรงตาม ที่เปนจริง.

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๗๔๓

หมายเหตุ ผู ร วบรวม : ผู ศึ ก ษาพึ ง สั ง เกตให เห็ น ว า แม ทิ ฏ ฐิ ข องพวก อั นตานั นติ กวาท ๔ จํ าพวกนี้ ก็ มี มู ลมาจากสิ่ งที่ เรี ยกว า "เวทนา" ; มี ข อความอย างเดี ยวกั บ ข อความที่ พระองค ตรัสเกี่ ยวกั บพวกสั สสตวาท ขอให ย อนไปดู หมายเหตุ ท ายหมวดสั สสตวาท อี ก ครั้ งหนึ่ ง จนเห็ น ว า ถ า ไม รู แ จ งเวทนา ในลั ก ษณะอย างนั้ น ย อ มไม พ น ไปจากข า ยแห ง อั น ตานั น ติ ก ทิ ฏ ฐิ ๔ ประการนี้ ไ ด . นี่ แ หละคื อ ความสํ า คั ญ ของสิ่ ง ที่ เ รี ย กว า "เวทนา” เพียงสิ่งเดียว.

(ฆ. อมราวิกเขปกทิฏฐิ ๔ ประการ) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! มี สมณพราหมณ พวกหนึ่ ง เป นพวกอมราวิ กเขป กวาท เมื่ อถูกถามป ญหาในที่ นั้ น ๆ ยอมถึ งความส ายแห งวาจาอันดิ้นได ไม ตายตั ว ด วยวัตถุ ทั้งหลาย ๔ ประการ: (๑๓) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! สมณพราหมณ บ างท า น ...มี ค วามคิ ด ว า เราไม รูชั ดตามที่ เป นจริงว า นี้ เป น กุ ศ ล นี้ เป นอกุ ศ ล, เมื่ อ ไม รูตามที่ เป นจริงอย างนี้ ไปพยากรณ เข าวานี้ เป นกุ ศล นี้ เป นอกุ ศล ดั งนี้ แล ว นั่ นจะเป นการกล าวเท็ จของเรา; การกล าวเท็ จ เป นความคั บแคน, ความคับแค น เป นอันตราย. ดังนี้ สมณพราหมณ ผู นี้ กลัวตอมุสาวาท ขยะแขยงตอมุสาวาท อยูอยางนี้ ก็ไมยอมกลาววา เชนนี้เปนกุศล เชนนี้ เป นอกุศล; เมื่ อถูกเขาถามอยูด วยป ญหาขอนี้ ก็ถึงซึ่งความส ายแห งวาจาอันดิ้ นได ไม ตายตั ว เช นนี้ วา "อย างนี้ ก็ มิ ใช , อย างนั้ น ก็ มิ ใช , อย างอื่ น ก็ มิ ใช , ไม ใช ก็ มิ ใช , ไม ไม ใช ก็ มิ ใช " ดั งนี้ . ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! นี้ เป น ฐานะที่ ๑ อั น สมณพราหมณ พวกหนึ่งซึ่งเปนพวกอมราวิกเขปกวาทอาศัยแลว ปรารภแลว เมื่อถูกถามปญหานั้น ๆ ยอมถึงความสายแหงวาจาอันดิ้นไดไมตายตัว.

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๗๔๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑

(๑๔) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! สมณ พราหมณ บางท า น ...มี ค วามคิ ด ว า เราไม รู ชั ด ตามที่ เป น จริ ง ว า นี้ เป น กุ ศ ล นี้ เป น อกุ ศ ล, เมื่ อ ไม รู ต ามที่ เป น จริ ง อย า งนี้ ไปพยากรณ เข าว า นี้ เป น กุ ศ ล นี้ เป น อกุ ศ ล ดั งนี้ แ ล ว นั่ น จะทํ าให เกิ ด ฉั น ทะ (ความ พอใจ) บ า ง ราคะบ าง โทสะบ าง ปฏิ ฆ ะ(ความหงุ ด หงิ ด ) บ าง; ฉั น ทะ ราคะ โทสะ ปฏิ ฆ ะ เกิ ด ในธรรมใด ธรรมนั้ น เป น อุ ป ทานแก เรา อุ ป าทานนั้ น เป น ความคั บ แค น แก เรา ความคั บแค น เป นอั นตรายดั งนี้ สมณพราหมณ ผู นี้ กลั วต ออุ ปาทาน ขยะแขยง ต อ อุ ป ทาน อยู อ ย า งนี้ ก็ ไม ย อมกล า วว า เช น นี้ เป น กุ ศ ล เช น นี้ เป น อกุ ศ ล; เมื่ อ ถู ก เขาถามอยู ด วยป ญหาข อนี้ ก็ ถึ งซึ่ งความส ายแห งวาจาอั นดิ้ นได ไม ตายตั ว เช นนี้ ว า "อย าง นี้ ก็ มิ ใ ช , อย า งนั้ น ก็ มิ ใ ช , อย า งอื่ น ก็ มิ ใ ช , ไม ใ ช ก็ มิ ใช , ไม ไม ใ ช ก็ มิ ใ ช " ดั ง นี้ . ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! นี้ เป นฐานะที่ ๒ อั นสมณพราหมณ พวกหนึ่ งซึ่ งเป นพวกอมราวิ กเขป ก วาทอาศั ย แล ว ปรารภแล ว เมื่ อ ถู ก ถามป ญ หานั้ น ๆ ย อ มถึ งความส ายแห ง วาจาอันดิ้นไดไมตายตัว. (๑๕) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! สมณ พราหมณ บางท า น ...มี ค วามคิ ด ว า เราไม รู ชั ด ตามที่ เป น จริ ง ว า นี้ เป น กุ ศ ล นี้ เป น อกุ ศ ล, เมื่ อ ไม รู ต ามที่ เป น จริ ง อย า งนี้ ไปพยากรณ เข าว า นี้ เป นกุ ศล นี้ เป นอกุ ศล ดั งนี้ แล ว เกิ ดมี สมณพราหมณ ทั้ งหลายที่ เป น บั ณ ฑิ ต มี ป ญ ญาละเอี ยดอ อน เชี่ ยวชาญในการข มด วยวาทะ มี ความเฉี ยบแหลมดุ จยิ ง ถู กเส นขนเนื้ อทราย เผอิ ญ มาเที่ ยวทํ าลายทิ ฏฐิ ของผู อื่ น ด วยป ญ ญาอยู สมณพราหมณ เหล านั้ น จะพึ งรุ มกั นซั กไซ ไล เลี ยงเราในที่ นั้ น เราจะไม สามารถตอบโต แก เขาได การที่ ตอบโต เขาไม ได นั้ น มั นเป นความคั บ แค นแก เรา ความคั บ แค นนั้ น เป นอั นตราย ดั งนี้ . สมณพราหมณผูนี้กลัวตอการรุมลอมซักถาม ขยะแขยงตอการรุมลอมซักถาม อยูอยางนี้ ก็ ไม ยอมกล าวว า เช น นี้ เป น กุ ศ ลเช น นี้ เป น อกุ ศ ล; เมื่ อ ถู กเขาถามอยู ด วยป ญ หาข อ นี้ ก็ถึงซึ่งความสายแหงวาจาอันดิ้นไดไมตายตัว เชนนี้วา "อยางนี้ ก็มิใช, อยางนั้น ก็มิใช,

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๗๔๕

อยา งอื ่น ก็ม ิใ ช, ไมใ ช ก็ม ิใ ช, ไมไ มใ ช ก็ม ิใ ช" ดัง นี ้. ดูก อ นภิก ษุทั ้ง หลาย! นี้ เป น ฐานะที่ ๓ อั น สมณพราหมณ พ วกหนึ่ งซึ่ งเป น พวกอมราวิ กเขป ก วาทอาศั ยแล ว ปรารภแลว เมื่อถูกถามปญหานั้นๆ ยอมถึงความสายแหงวาจาอันดิ้นไดไมตายตัว. (๑๖)ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! สมณพราหมณื บ างท าน เป น คนเขลา เป น คน งมงาย เพราะความเป นคนเขลา เพราะความเป นคนงมงาย เมื่อถูกถามป ญหาในที่ นั้ น ๆ ก็ ถึ งซึ่ งความส ายแห งวาจาอั นดิ้ นได ไม ตายตั ว โดยกล าวว า ถ าท านถามเราว า โลก อื่ นมี อยู หรื อ? ถ าเรารู สึ กว าโลกอื่ นมี อยุ เราก็ จะพยากรณ ข อนั้ นแก ท านว า โลกอื่ นมี อยู . แต ความจริ งนั้ น แม การตอบว าอย างนี้ ก็ ไม เป นที่ ชอบใจแก เรา, แม การตอบว าอย างโน น ก็ มิ ได เป นที่ ชอบใจแก เรา, แม การตอบว าอย างอื่ น ก็ ไม เป นที่ ชอบใจแก เรา, แม การตอบว า ไม ก็ มิ ได เป นที่ ชอบใจแก เรา, แม การตอบว า ไม ก็ หามิ ได ก็ ไม เป นที่ ชอบใจแก เรา.... (จะมี การตอบส ายไปส ายมา ไม ตายตั วถึ ง ๕ ประการ ในลั กษณะอย างนี้ ในทุ ก ๆ คํ าถาม ซึ่ งได สมมติ ขึ้ นต อ ไปอี กถึ ง ๑๕ คํ าถาม. รวมกั นทั้ งหมดเป น ๑๖ คํ าถาม ทั้ งคํ าถามที่ กล าวแล วข างต น. สํ าหรั บอี ก ๑๕คํ าถาม

ต อไปนั้ น คื อ ๒. โลกอื่ นไม มี หรื อ? ๓. โลกอื่ นมี และไม มี หรื อ? ๔. โลกอื่ นมี ก็ หามิ ได ไม มี ก็ หามิ ได หรื อ? ๕. สั ตว เป นโอปปาติ กะ (เกิ ดผุ ดขึ้ น) มี หรื อ? ๖. สั ตว เป นโอปปาติ กะ ไม มี หรื อ? ๗. สั ตว เป นโอปปาติ กะมี และไม มี หรื อ? ๘. สั ตว เป นโอปปาติ กะมี ก็ หามิ ได ไม มี ก็ หามิ ได หรื อ? ๙. ผลแห งกรรมดี กรรมชั่ วมี หรื อ? ๑๐. ผลแห งกรรมดี กรรมชั่ วไม มี หรื อ? ๑๑. ผลแห งกรรมดี กรรมชั่ วมี และไม มี หรื อ? ๑๒. ผลแห งกรรมดี กรรมชั่ วมี ก็ หามิ ได ไม มี ก็ หามิ ได หรื อ? ๑๓. ตถาคตตายแล วมี อี กหรื อ? ๑๔. ตถาคตตายแล วไม มี อี กหรื อ? ๑๕. ตถาคตตายแล วมี อี กและไม มี อี กหรื อ? ๑๖. ตถาคตตายแล วมี อี กก็ หามิ ได ไม มี อี กก็ หา มิ ได หรื อ? แล วก็ มี คํ าตอบต อท ายทุ ก ๆ ป ญหาว า ถ าเขารูสึ กว าอย างไร เขาก็ จะตอบว า อย างนั้ น ตามตั ว

www.buddhadasa.info ป ญ หาที่ ถาม แล วก็ กลั บปฏิ เสธว า แต ความจริ งนั้ น แม การตอบว า อย างนี้ ก็ ไม เป นที่ ชอบใจแก เรา, แม การตอบว าอย างโน น ก็ ไม เป นที่ ชอบใจแก เรา, แม การตอบว าอย างอื่ น ก็ ไม เป นที่ ชอบใจแก เรา, แม การตอบว า

ไม ก็ไมเปนที่ชอบใจแกเรา, แมการตอบวา ไมก็หามิได ก็ไมเปนที่ชอบใจแกเรา.) ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย!

www.buddhadasa.info


๗๔๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑

นี้ เป นฐานะที่ ๔ อั นสมณพราหมณ พวกหนึ่ งซึ่ งเป นพวกอมราวิกเขป กวาทอาศั ยแล ว ปรารภแลว เมื่อถูกถามปญหานั้น ๆ ยอมถึงซึ่งความสายแหงวาจาอันดิ้นไดไม ตายตัว. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณพราหมณ ทั้ งหลายเหล าใด ที่ เป นพวกอมราวิ กเขปกวาท เมื่อถูกเขาถามปญหาในที่นั้น ๆ ยอมถึงซึ่งความสายแหงวาจาอันดิ้นไดไมตายตัว; สมณพราหมณ ทั้ งหลายเหล านั้ นทั้ งหมด ก็อาศั ยวัตถุ ทั้ งหลาย ๔ ประการเหล านี้ , หรือวา วัตถุ ประการใดประการหนึ่ ง ในบรรดาวั ถตุ ทั้ งหลาย ๔ ประการเหล านี้ วั ตถุ อื่ นนอกจากนี้ มิ ไดมี . ดู กอนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ตถาคตย อมรูชัดวา ฐานะที่ ตั้ งแห งทิฏฐิเหลานี้ เมื่ อใคร ถื อเอาแล วอย างนี้ ลู บคลํ าแล วอย างนี้ ก็ จะมี คติ อย างนั้ น มี อภิ สั มปรายภพอย างนั้ น: ตถาคตยอมรูชัดซึ่งขอนั้ นดวย รูชัดซึ่งธรรมอันยิ่งไปกวานั้นดวย และไมจับฉวยไวซึ่งสิ่ง ที่ตถาคตรูแลวนั้ นด วย และเมื่ อไม จับฉวยอยู ความดั บเย็น(นิ พฺ พุ ติ ) ก็เป นสิ่งที่ ตถาคต รูแจ งแล วเฉพาะตนนั่ นเที ยว เพราะรูแจ งตามที่ เป นจริงซึ่ งเหตุ ให เกิ ดขึ้ น ซึ่ งความตั้ ง อยูไม ได ซึ่งรสอรอย ซึ่งโทษอันเลวทราม และซึ่งอุบายเป นเครื่องออกไปพ น แห งเวทนา ทั้ งหลาย. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ตถาคตเป นผู พ นวิ เศษแล ว เพราะความไม ยึ ดมั่ น. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ธรรมทั้ งหลายเหล านี้ แล เป นธรรมที่ ลึ ก ที่ สั ตว อื่ นเห็ นได ยาก ยากที่สัตวอื่นจะรูตาม เปนธรรมเงียบสงบ ประณี ต ไมเปนวิสัยที่จะหยั่งลงงายแหงความ ตรึก เป นของละเอี ยด รูได เฉพาะบั ณฑิ ตวิสั ย, ซึ่ งเราตถาคตได ทํ าให แจงด วยป ญญาอั น ยิ่ งเอง แล วสอนผู อื่ นให รูแจ ง, เป นคุ ณ วุฒิ เครื่องนํ าไปสรรเสริญ ของผู ที่ เมื่ อจะพู ด สรรเสริญเราตถาคตใหถูกตองตรงตามที่เปนจริง.

www.buddhadasa.info หมายเหตุ ผู ร วบรวม : ผู ศึ ก ษาพึ ง สั ง เกตให เ ห็ น ว า แม ทิ ฏ ฐิ ข องพวก อมราวิ กเขป กวาท ๔ จํ าพวกนี้ ก็ มี มู ลมาจากสิ่ งที่ เรียกว า "เวทนา" ; มี ข อความอย างเดี ยวกั บ ขอความที่พระองคตรัสเกี่ยวกับพวกสัสสตวาท ขอใหยอนไปดูหมายเหตุทายหมวดสัสสตวาท

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๗๔๗

อี ก ครั้ งหนึ่ ง จนเห็ น ว า ถ า ไม รู แ จ งเวทนา ในลั ก ษณะอย างนั้ น ย อ มไม พ น ไปจากข า ยแห ง อมราวิ ก เขป ก ทิ ฏ ฐิ ๔ ประการนี้ ไ ด . นี่ แ หละคื อ ความสํ า คั ญ ของสิ่ ง ที่ เรี ย กว า "เวทนา เพียงสิ่งเดียว.

(ง. อธิจจสมุปปนทิกทิฏฐิ ๒ ประการ)

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณพราหมณ พวกหนึ่ ง เป นพวกอธิ จจสมุ ปป นนิ กวาท ยอมบัญญัติอัตตาและโลกวาเกิดเองลอย ๆ ดวยวัตถุทั้งหลาย ๒ ประการ: (๑๗) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! พวกเทพทั้ งหลายมี ชื่ อว า อสั ญญี สั ตว (สั ตว ผู ไม มี สั ญญา) มี อยู . ก็ พวกเทพเหล านั้ น ย อมเคลื่ อนจากอสั ญญี เทพนิ กายนั้ น เพราะการ เกิ ด ขึ้ น แห ง สั ญ ญา. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย!ข อ นี้ เป น ฐานะที่ มี ได คื อ สั ต ว ต นใดตน หนึ่ ง เคลื่ อนจากอสั ญ ญี เทพนิ กายนั้ นแล ว มาสู ความเป น(มนุ ษย )อย างนี้ , ครั้นมาสู ความเป นอย างนี้ แล ว ออกบวชจากเรือน เป นผู ไม มี เรือน ครั้นออกบวชจากเรือนแล ว เป น ผู ไม มี เรื อ น ครองชี วิ ต อยู , ได อ าศั ย ความเพี ย รเผากิ เลส... เกิ ด เจโตสมาธิ ใ น ลักษณะที่เมื่อจิตตั้งมั่นแลว เขายอมระลึกไดถึงการเกิดขึ้นแหงสัญญานั้น; ที่ไกลไป กวานั้น (เมื่อเปนอสัญญีสัตว) เขาระลึกไมได เขาจึงกลาวอยางนี้วา "อัตตาและโลก เกิ ดขึ้ นเองลอย ๆ ข อนั้ นเพราะเหตุ ไรเล า? ข อนั้ นเพราะเหตุ ว า ในกาลก อน ข าพเจ ามิ ไดมีอยูเลย แตบัดนี้ขาพเจามี เพราะขาพเจานอมจิตไป เพื่ อความไมมีแลวกลับมี" ดังนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! นี้ เป นฐานะที่ ๑ อั นสมณพราหมณ พวกหนึ่ งซึ่ งเป นพวกอธิ จจสมุปปนนิกวาทอาศัยแลว ปรารภแลว จึงบัญญัติซึ่งอัตตาและโลกวาเกิดเองลอย ๆ.

www.buddhadasa.info (๑๘) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมรพราหมณ บางท าน เป นสั กตรึ กนั กตรอง เขายอมกลาวตามที่ความตรึกพาไป ความตรองแลนไป ตามปฏิภาณของตน เอง

www.buddhadasa.info


๗๔๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑

อยางนี้วา "อัตตาและโลกเกิดเองลอย ๆ"ดังนี้. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! นี้เปนฐานะที่ ๒ อั นสมณพราหมณ พวกหนึ่ งซึ่ งเป นพวกอธิ จจสมุ ปป นนิ กวาทอาศั ยแล ว ปรารภแล วจึ ง บัญญัติซึ่งอัตตาและโลกวาเกิดเองลอย ๆ. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณพราหมณ ทั้ งหลายเหล าใด ที่ เป นพวกอธิ จจสมุ ปป นนิ กวาท บั ญญั ติอั ตตาและโลกวาเกิดขึ้นเองลอย ๆ; สมณพราหมณ ทั้ งหลายเหลานั้ น ทั้ งหมด ก็ บั ญญั ติ โดยอาศั ยวัตถุ ทั้ งหลาย๒ ประการเหล านี้ หรือวัตถุ ประการใดประการ หนึ่ ง ในบรรดาวั ตถุ ทั้ งหลาย ๒ ประการเหล านี้ , วั ตถุ อื่ นนอกจากนี้ มิ ได มี . ดู ก อน ภิกษุ ทั้งหลาย! ตถาคตยอมรูชัดวา ฐานะที่ตั้งแหงทิฏฐิเหลานี้ เมื่อใครถือเอาแลวอยางนี้ ลูบคลําแลวอยางนี้ ก็จะมีคติอยางนั้น มีอภิสัมปรายภพอยางนั้น: ตถาคตยอมรูชัดซึ่งขอ นั้นด วย รูชัดซึ่งธรรมอันยิ่งไปกวานั้ นดวย และไม จับฉวยไวซึ่งสิ่งที่ ตถาคตรูแลวนั้ นดวย และเมื่อไม จับฉวยอยู ความดับเย็น(นิ พฺ พุ ติ ) ก็เป นสิ่งที่ตถาคตรูแจงแลวเฉพาะตนนั่นเทียว เพราะรูแจ งตามที่ เป นจริงซึ่ งเหตุ ให เกิ ดขึ้ น ซึ่ งความตั้ งอยู ไม ได ซึ่ งรสอรอย ซึ่ งโทษอั น เลวทราม และซึ่งอุบายเปนเครื่องออกไปพน แห งเวทนาทั้งหลาย. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ตถาคตเป น ผู พ น วิ เศษแล ว เพราะความไม ยึ ด มั่ น . ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ธรรมทั้ ง หลายเหลานี้ แล เป นธรรมที่ลึก ที่ สัตวอื่นเห็ นไดยาก ยากที่ สัตวอื่นจะรูตามเป นธรรมเงียบ สงบ ประณี ต ไมเปนสิ่งที่หยั่งลงงายแหงความตรึก เปนของละเอียด รูไดเฉพาะบัณฑิ ตวิสัย, ซึ่งเราตถาคตไดทําใหแจงดวยปญญาอันยิ่งเอง แลวสอนผูอื่นใหรูแจง, เปนคุณวุฒิ เครื่อง นําไปสรรเสริญ ของผูที่เมื่อจะพูดสรรเสริญเราตถาคตใหถูกตองตรงตามที่เปนจริง.

www.buddhadasa.info (สรุป ปุพพันตกัปปกทิฏฐิ ๑๘ ประการ)

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณพราหมณ ทั้ งหลายเหล าใด ซึ่ งเป นพวกปุ พพั นตกัปปวาท มีปุพพันตานุทิฏฐิ ปรารภขันธอันมีแลวในกาลกอน (ขันธมีสวนสุดในกาล

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๗๔๙

ก อน); ย อมกล าวบั ญญั ติ ซึ่ งอธิ มุ ตติ บททั้ งหลายมี อ ย า งเป น อเนก ด ว ยวั ต ถุ ทั้ ง หลาย ๑๘ ประการเหล านี้ นั่ นเที ยว หรื อว าด วยวั ตถุ ประการใดประการหนึ่ ง ในบรรดาวั ตถุ ทั้ ง หลาย ๑๘ ประการเหล า นี้ , วั ต ถุ อื่ น นอกจากนี้ มิ ได มี . ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ตถาคตยอมรูชัดวา ฐานะที่ตั้ งแห งทิ ฏฐิเหล านี้ เมื่ อใครถื อเอาแล วอยางนี้ ลูบคลําแล ว อย างนี้ ก็จะมี คติอย างนั้ นมี อภิ สัมปรายภพอย างนั้ น : ตถาคตย อมรูชัดซึ่งขอนั้ นด วย รูชั ดซึ่ งธรรมอั นยิ่ งไปกวานั้ นด วย และไม จับฉวยไวซึ่ งสิ่ งที่ ตถาคตรูแล วนั้ นด วย และ เมื่ อไม จับฉวยอยูความดับเย็น (นิ พฺ พุ ติ ) ก็ เป นสิ่ งที่ ตถาคตรูแจงแล วเฉพาะตนนั่ นเที ยว เพราะรูแจ งตามที่ เป นจริงซึ่ งเหตุ ให เกิ ดขึ้ น ซึ่ งความตั้ งอยู ไม ได ซึ่ งรสอรอย ซึ่ งโทษ อัน เลวทราม ซึ ่ง อุบ ายเปน เครื ่อ งออกไปพน แหง เวทนาทั ้ง หลาย. ดูก อ นภิก ษุ ทั้ งหลาย! ตถาคตเป น ผู พ น วิ เศษแล ว เพราะความไม ยึ ดมั่ น . ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ธรรมทั้ งหลายเหล านี้ แล เป นธรรมที่ ลึ ก ที่ สั ตว อื่ นเห็ นได ยาก ยากที่ สั ตว อื่ นจะรูตาม เปนธรรมเงียบสงบ ประณี ต ไม เป นวิสัยที่จะหยั่งลงงายแหงความตรึก เปนของละเอียด รูได เฉพาะบั ณฑิ ตวิสั ย, ซึ่ งเราตถาคตได ทํ าให แจงด วยป ญญาอั นยิ่ งเองแล วสอนผู อื่ น ให รู แจ ง, เป น คุ ณ วุ ฒิ เครื่ องนํ าไปสรรเสริ ญ ของผู ที่ เมื่ อ จะพู ด สรรเสริ ญ เราตถาคต ใหถูกตองตรงตามที่เปนจริง.

www.buddhadasa.info หมายเหตุ ผู ร วบรวม : ผู ศึ ก ษาพึ ง สั ง เกตให เ ห็ น ว า แม ทิ ฏ ฐิ ข องพวก อธิ จจสมุ ปป นนิ กวาท ๒ จํ าพวกนี้ ก็ มี มู ลมาจากสิ่ งที่ เรียกว า "เวทนา" มี ข อความอย างเดี ยว กั บ ข อ ความที่ พ ระองค ต รั ส เกี่ ย วกั บ พวกสั ส สตวาท ขอให ย อ นไปดู ห มายเหตุ ท า ยหมวด สั ส สตวาท อี ก ครั้ง หนึ่ ง จนเห็ น ว า ถ า ไม รูแ จ ง เวทนา ในลั ก ษณะอย า งนั้ น ย อ มไม พ น ไป จากข ายแห งอธิ จจสมุ ปป นนิ กทิ ฏฐิ ๒ ประการนี้ ได . นี่ แหละคื อความสํ าคั ญ ของสิ่ งที่ เรี ยกว า "เวทนา" เพียงสิ่งเดียว.

(ครั้ นตรัสปุ พพั นตกั ปป กทิ ฏฐิ ๑๘ ประการ จบลงดั งนี้ แล ว ต อนี้ ไปเป นการตรัสอปรันตกั ปป ก ทิฏฐิ ๔๔ ประการ:-)

www.buddhadasa.info


๗๕๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑

[หมวด ๒ อปรันตกัปปกวาท ๔๔ ประการ] ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! มี สมณพราหมณ พวกหนึ่ ง เป นพงกอปรั นตกั ปป กวาท มี อปรั นตานุ ทิ ฏฐิ [ ทิ ฏฐิ เป นไปตามซึ่ งขั นธิ อั นเป นอปรั นติ (ขั นธ มี ส วนสุ ดในเบื้ องหน า)] ปรารภซึ่ งขั นธ มี ที่ สุ ดในเบื้ องหน า ย อมกล าวบั ญ ญั ติ ซึ่ งอธิ มุ ตติ บททั้ งหลาย มี อย างเป น อเนก ด ว ยวั ต ถุ ทั้ งหลาย ๔๔ ประการ. สมณพราหมณ ทั้ .หลายเหล า นั้ น อาศั ย อะไร ปรารภอะไร จึงบัญญัติอธิมุตติบท ดวยวัตถุทั้งหลาย ๔๔ ประการเหลานั้น!

(จ.อุทธมาฆตนิก ชนิด สัญญีทิฏฐิ ๑๖ ประการ) ดู ก อ นภิ กษุ ทั้ งหลาย! มี ส มณพราหมณ พ วกหนึ่ ง เป น พวกอุ ท ธมาฆตนิ ก สัญญีวาท ยอมบัญญัติอัตตาหลังจากตายแลววามีสัญญาดวยวัตถุทั้งหลาย ๑๖ ประการ: (๑๙) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! มี ส มณพราหมณ พวกหนึ่ ง ย อ มบั ญ ญั ติ ว า "(ตอ งเปน ) อัต ตามีรูป ๑ (เทา นั ้น จึงจะ) เปน อัต ตาหาโรคมิได (อโรโค)๒หลัง จากตายแลว, เปนสัตวมีสัญญา" ดังนี้ (นี้อยางหนึ่ง).

www.buddhadasa.info (๒๐) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! สมณพราหมณ พวกหนึ่ ง ย อ มบั ญ ญั ติ ว า "(ตองเปน) อัตตาไมมีรูป ๓(เทานั้น จึงจะ) เปนอัตตาหาโรคมิได หลังจากตายแลว, เปนสัตวมีสัญญา" ดังนี้ (นี้อยางหนึ่ง).

อัตตามีรูป คืออัตตาที่มีรูปสมาบัติเปนนิทานสัมภวะ. อโรโค หรือหาโรคมิได หมายถึงความที่ยั่งยืน ไมมีอะไรกระทบกระทั่งใหเกิดการเปลี่ยนแปลงได. ๓ อัตตาไมมีรูป คือัตตาที่มีอรูปสมาบัติเปนนิทานสัมภวะ ๒

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๗๕๑

(๒๑) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! สมณพราหมณ พวกหนึ่ ง ย อ มบั ญ ญั ติ ว า "อัตตามีรูปก็ได ไมมีรูปก็ได เปนอัตตาหาโรคมิได หลังจากตายแลว, เปนสัตว มีสัญญา" ดังนี้ (นี้อยางหนึ่ง). (๒๒) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! สมณพราหมณ พวกหนึ่ ง ย อ มบั ญ ญั ติ ว า "(ตองเปน) อัตตามีรูปก็มิไชไมมีรูปก็มิใช (เทานั้น จึงจะ) เปนอัตตาหาโรคมิได หลังจากตายแลว, เปนสัตวมีสัญญา" ดังนี้ (นี้อยางหนึ่ง). (๒๓) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! สมณพราหมณ พวกหนึ่ ง ย อ มบั ญ ญั ติ ว า "(ต อ งเป น อั ต ตามี ที่ สุ ด (เท านั้ น จึ งจะ) เป น อั ต ตาหาโรคมิ ได หลั งจากตาย แลว,เปนสัตวมีสัญญา" ดังนี้ (นี้อยางหนึ่ง). (๒๔) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณพราหมณ พวกหนึ่ ง ย อมบั ญ ญั ติ ว า "(ต อง เปน) อัตตาไมมีที่สุด (เทานั้น จึงจะ) เปนอัตตาหาโรคมิได หลังจากตายแลว, เปนสัตวมีสัญญา" ดังนี้ (นี้อยางหนึ่ง).

www.buddhadasa.info (๒๕) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! สมณพราหมณ พวกหนึ่ ง ย อ มบั ญ ญั ติ ว า "อัต ตามี ที่ สุ ด ก็ ได ไม มี ที่ สุด ก็ ได เป น อั ต ตาหาโรคมิ ได หลั งจากตายแล ว, เป น สัตวมีสัญญา" ดังนี้ (นี้อยางหนึ่ง).

(๒๖) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณพราหมณ พวกหนึ่ ง ย อมบั ญ ญั ติ ว า "(ต อง เปน) อัตตามีที่สุดก็มิใชไมมีที่ สุดก็มิใช (เทานั้น จึงจะ) เป นอัตตาหาโรคมิได หลังจากตายแลว, เปนสัตวมีสัญญา" ดังนี้ (นี้อยางหนึ่ง).

www.buddhadasa.info


๗๕๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑

(๒๗) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! สมณพราหมณ พ วกหนึ่ ง ย อ มบั ญ ญั ติ ว า " (ตองเปน) อัตตามีสัญญาอยางเดียวกัน (เทานั้น จึงจะ) เปนอัตตาหาโรคมิได หลังจากตายแลว, เปนสัตวมีสัญญา" ดังนี้ (นี้อยางหนึ่ง). (๒๘) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! สมณพราหมณ พ วกหนึ่ ง ย อ มบั ญ ญั ติ ว า "(ตองเป น ) อัตตามีสัญ ญานานาอยาง (เท านั้น จึงจะ) เปน อัตตาหาโรคมิได หลังจากตายแลว, เปนสัตวมีสัญญา" ดังนี้ (นี้อยางหนึ่ง). (๒๙) ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! สมณพราหมณพวกหนึ่ง ยอมบัญญัติวา "(ตองเปน) อัตตามีสัญญานอย (เทานั้น จึงจะ) เปนอัตตาหาโรคมิไดหลังจากตายแลว,เปน สัตวมีสัญญา" ดังนี้ (นี้อยางหนึ่ง). (๓๐) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณพราหมณ พวกหนึ่ ง ย อมบั ญญั ติ ว า "(ต อง เปน) อัตตามีสัญญา (มาก) ไมมีประมาณ (เทานั้น จึงจะ) เปนอัตตาหาโรคมิได หลังจากตายแลว, เปนสัตวมีสัญญา" ดังนี้ (นี้อยางหนึ่ง).

www.buddhadasa.info (๓๑) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! สมณพราหมณ พ วกหนึ่ ง ย อ มบั ญ ญั ติ ว า "(ตองเปน) อัตตามีสุขโดยสวนเสดียว (เทานั้น จึงจะ) เปนอัตตาหาโรคมิได หลังจากตายแลว, เปนสัตวมีสัญญา" ดังนี้ (นี้อยางหนึ่ง).

(๓๒) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! สมณพราหมณ พ วกหนึ่ ง ย อ มบั ญ ญั ติ ว า "(ตองเปน) อัตตามีทุกขโดยสวนเดียว (เทานั้น จึงจะ) เปนอัตตาหาโรคมิได หลังจากตายแลว, เปนสัตวมีสัญญา" ดังนี้ (นี้อยางหนึ่ง).

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๗๕๓

(๓๓) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! สมณพราหมณ พวกหนึ่ ง ย อ มบั ญ ญั ติ ว า "(ตองเปน) อัตตามีทั้งสุขและทุกข (เทานั้น จึงจะ) เปนอัตตาหาโรคมิได หลังจาก ตายแลว, เปนสัตวมีสัญญา" ดังนี้ (นี้อยางหนึ่ง). (๓๔) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! สมณพราหมณ พวกหนึ่ ง ย อ มบั ญ ญั ติ ว า "(ตอ งเปน ) อัต ตาไมม ีทั ้งทุก ขแ ละสุข (เทา นั ้น จึงจะ) เปน อัต ตาหาโรคมิไ ด หลังจากตายแลว, เปนสัตวมีสัญญา" ดังนี้ (นี้อยางหนึ่ง). ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณพราหมณ ทั้ งหลายเหล าใด ที่ เป นพวกอุ ทธมาฆตนิ กสั ญญี วาท ย อมบั ญญั ติ อั ตตาหลั งจากตายแล วว ามี สั ญญา; สมณพราหมณ ทั้ งหลาย เหล านั้ นทั้ งหมด ก็ บั ญ ญั ติ โดยอาศั ยวั ตถุ ทั้ งหลาย ๑๖ ประการเหล านี้ นั่ นเที ยว หรื อว า ด วยวั ตถุ ประการใดประการหนึ่ ง ในบรรดาวั ตถุ ทั้ งหลาย ๑๖ ประการเหล านี้ , วั ตถุ อื่ น นอกจากนี้ มิ ไ ด มี . ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ตถาคตย อ มรู ชั ด ว า ฐานะที่ ตั้ ง แห ง ทิ ฏ ฐิ เหล านี้ เมื่ อใครถื อเอาแล วอย างนี้ ลู บคลํ าแล วอย างนี้ ก็ จะมี คติ อย างนั้ น มี อภิ สั มปรายภพ อย า งนั้ น : ตถาคตย อ มรู ชั ด ซึ่ ง ข อ นั้ น ด ว ย รู ชั ด ซึ่ ง ธรรมอั น ยิ่ ง ไปกว า นั้ น ด ว ย และไม จับฉวยไวซึ่ งสิ่ งที่ ตถาคตรูแล วนั้ นด วย และเมื่ อไม จั บฉวยอยู ความดั บเย็ น (นิ พฺ พุ ติ ) ก็ เป น สิ่ งที่ ต ถาคตรู แ จ ง แล ว เฉพาะตนนั่ น เที ย ว เพราะรู แ จ ง ตามที่ เป น จริ งซึ่ ง เหตุ ให เกิ ด ขึ้ น ซึ่ งความตั้ งอยู ไม ได ซึ่ งรสอร อย ซึ่ งโทษอั นเลวทราม และซึ่ งอุ บายเป นเครื่ องออกไปพ น แห งเวทนาทั้ งหลาย. ดู ก อ นภิ กษุ ทั้ งหลาย! ตถาคตเป นผู พ น วิ เศษแล ว เพราะความ ไม ยึ ด มั่ น . ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ธรรมทั้ งหลายเหล า นี้ แ ล เป น ธรรมที่ ลึ ก ที่ สั ต ว อื่ น เห็ นได ยาก ยากที่ สั ตว อื่ นจะรู ตาม เป นธรรมเงี ยบสงบ ประณี ต ไม เป นวิ สั ยที่ จะหยั่ งลง งายแหงความตรึก เปนของละเอียด รูไดเฉพาะบัณฑิตวิสัย, ซึ่งเราตถาคตไดทําใหแจง

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๗๕๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑

ด วยป ญ ญาอั นยิ่ งเอง แล วสอนผู อื่ นให รู แจ ง, เป นคุ ณ วุ ฒิ เครื่ องนํ าไปสรรเสริ ญ ของผู ที่เมื่อจะพูดสรรเสริญเราตถาคตใหถูกตองตรงตามที่เปนจริง.!

(ฉ.อุทธมาฆตนิก ชนิด อสัญญีทิฏฐิ ๘ ประการ) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! มี สมณพราหมณ พ วกหนึ่ ง เป น พวกอุ ท ธมาฆตนิ กอสั ญ ญี วาท ย อมบั ญ ญั ติ อั ตตาหลั งจากตายแล ว ว าไม มี สั ญ ญา ด วยวั ตถุ ทั้ งหลาย ๘ ประการ : (๓๕) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! สมณพราหมณ พวกหนึ่ ง ย อ มบั ญ ญั ติ ว า “(ตองเปน) อัตตามีรูป (เทานั้น จึงจะ) เปนอัตตาหาโรคมิได หลังจากตายแลว, เปนสัตวไมมีสัญญา" ดังนี้ (นี้อยางหนึ่ง). (๓๖) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! สมณพราหมณ พวกหนึ่ ง ย อ มบั ญ ญั ติ ว า “(ตองเปน) อัตตาไมมีรูป (เทานั้น จึงจะ) เปนอัตตาหาโรคมิได หลังจากตายแลว, เปนสัตวไมมีสัญญา" ดังนี้ (นี้อยางหนึ่ง).

www.buddhadasa.info (๓๗) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! สมณพราหมณ พวกหนึ่ ง ย อ มบั ญ ญั ติ ว า “อัตตามีรูปก็ไดไมมีรูปก็ได เปนอัตตาหาโรคมิได หลังจากตายแลว, เปนสัตว ไมมีสัญญา" ดังนี้ (นี้อยางหนึ่ง).

(๓๘)ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! สมณ พราหมณ พวกหนึ่ ง ย อ มบั ญ ญั ติ ว า “(ตองเปน) อัตตามีรูปก็ มิใชไมมีรูปก็มิใช (เทานั้น จึงจะ) เปนอัตตาหาโรคมิได หลังจากตายแลว, เปนสัตวไมมีสัญญา" ดังนี้ (นี้อยางหนึ่ง).

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๗๕๕

(๓๙) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! สมณพราหมณ พ วกหนึ่ ง ย อ มบั ญ ญั ติ ว า (ตองเป น) อัตตามี ที่ สุด (เท านั้ น จึงจะ) เป นอั ตตาหาโรคมิ ได หลั งจากตาย แลว,เปนสัตวไมมีสัญญา" ดังนี้ (นี้อยางหนึ่ง). (๔๐)ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! สมณพราหมณ พ วกหนึ่ ง ย อ มบั ญ ญั ติ ว า “(ตองเปน) อัตตาไมมีที่สุด(เทานั้น จึงจะ) เปนอัตตาหาโรคมิได หลังจากตายแลว, เปนสัตวไมมีสัญญา" ดังนี้(นี้อยางหนึ่ง). (๔๑)ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! สมณพราหมณ พ วกหนึ่ ง ย อ มบั ญ ญั ติ ว า “อัตตามีที่สุดก็ไดไมมีที่สุดก็ได เปนอัตตาหาโรคมิได หลังจากตายแลว, เปนสัตว ไมมีสัญญา" ดังนี้(นี้อยางหนึ่ง). (๔๒)ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! สมณพราหมณ พ วกหนึ่ ง ย อ มบั ญ ญั ติ ว า “(ตองเปน) อัตตามีที่สุดก็มิใชไมมีที่สุดก็มิใช(เทานั้น จึงจะ) เปนอัตตาหาโรค มิได หลังจากตายแลว, เปนสัตวไมมีสัญญา" ดังนี้(นี้อยางหนึ่ง).

www.buddhadasa.info ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณพราหมณ ทั้ งหลายเหล าใด ที่ เป นพวกอุ ทธมาฆตนิ กอสั ญญี วาท ย อมบั ญญั ติ อั ตตาหลั งจากตายแล ววามี สั ญญา; สมณพราหมณ ทั้ งหลาย เหล านั้ นทั้ งหมด ก็ บั ญญั ติ โดยอาศั ยวั ตถุ ทั้ งหลาย ๘ ประการเหล านี้ นั่ นเที ยว หรือว าด วย วั ตถุ ประการใดประการหนึ่ ง ในบรรดาวั ตถุ ทั้ งหลาย ๘ ประการเหล านี้ , วั ตถุ อื่ นนอกจากนี้ มิ ได มี . ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ตถาคตย อมรูชั ดว า ฐานะที่ ตั้ งแห งทิ ฏฐิ เหล านี้ เมื่ อใคร ถื อเอาแล วอย างนี้ ลู บคลํ าแล วอย างนี้ ก็ จะมี คติ อย างนั้ น มี อภิ สั มปรายภพอย างนั้ น: ตถาคตยอมรูชัดซึ่งขอนั้นดวย รูชัดซึ่งธรรมอันยิ่งไปกวานั้นดวย และไมจับฉวยไวซึ่งสิ่ง

www.buddhadasa.info


๗๕๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑

ที่ ตถาคตรูแล วนั้ นด วย และเมื่ อไม จั บฉวยอยู ความดั บเย็ น (นิ พฺ พุ ติ ) ก็ เป นสิ่ งที่ ตถาคต รูแจ งแล วเฉพาะตนนั่ นเที ยว เพราะรูแจ งตามที่ เป นจริงซึ่ งเหตุ ให เกิ ดขึ้ นซึ่ งความตั้ งอยู ไม ได ซึ่ งรสอร อย ซึ่ งโทษอั นเลวทราม และซึ่ งอุ บายเป นเครื่ องออกไปพ น แห งเวทนา ทั้ งหลาย. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ตถาคตเป น ผู พ น วิ เศษแล ว เพราะความไม ยึ ด มั่ น . ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ธรรมทั้ งหลายเหล านี้ แ ล เป น ธรรมที่ ลึ ก ที่ สั ต ว อื่ น เห็ น ได ย าก ยากที่ สั ตวอื่ นจะรูตาม เป นธรรมเงียบสงบ ประณี ต ไม เป นวิ สั ยที่ จะหยั่ งลงงายแห งความ ตรึก เป นของละเอี ยด รูได เฉพาะบั ณ ฑิ ตวิ สั ย, ซึ่ งเราตถาคตได ทํ าให แจ งด วยป ญ ญา อั นยิ่ งเอง แล วสอนผู อื่ นให รู แจ ง, เป นคุ ณ วุ ฒิ เครื่ องนํ าไปสรรเสริ ญ ของผู ที่ เมื่ อจะพู ด สรรเสริญเราตถาคตใหถูกตองตรงตามที่เปนจริง.

(ช.อุทธมาฆตนิก ชนิด เนวสัญญีนาสัญญีทิฏฐิ ๘ ประการ) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! มี สมณพราหมณ พวกหนึ่ ง เป นพวกอุ ทธมาฆตนิ กเนวสั ญ ญี น าสั ญ ญี วาท ย อ มบั ญ ญั ติ อั ต ตาหลั งจากตายแล ว ว ามี สั ญ ญาก็ ห ามิ ได ไมมีสัญญาก็หามิได ดวยวัตถุทั้งหลาย ๘ ประการ :

www.buddhadasa.info (๔๓) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! สมณพราหมณ พ วกหนึ่ ง ย อ มบั ญ ญั ติ ว า “(ตองเปน) อัตตามีรูป (เทานั้น จึงจะ)เปนอัตตาหาโรคมิได หลังจากตายแลว, เปนสัตวมีสัญญาก็หามิได ไมมีสัญญาก็หามิได" ดังนี้ (นี้อยางหนึ่ง).

(๔๔) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! สมณพราหมณ พ วกหนึ่ ง ย อ มบั ญ ญั ติ ว า “(ตองเปน) อัตตาไมมีรูป (เทานั้น จึงจะ)เปนอัตตาหาโรคมิได หลังจากตายแลว, เปนสัตวมีสัญญาก็หามิได ไมมีสัญญาก็หามิได" ดังนี้ (นี้อยางหนึ่ง).

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๗๕๗

(๔๕) ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! สมณพราหมณ พวกหนึ่ ง ย อ มบั ญ ญั ติ ว า “อัตตามีรูปก็ได ไมมีรูปก็ได เปนอัตตาหาโรคมิได หลังจากตายแลว, เปนสัตว มีสัญญาก็หามิได ไมมีสัญญาก็หามิได" ดังนี้ (นี้อยางหนึ่ง). (๔๖)ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณพราหมณ พวกหนึ่ ง ย อมบั ญ ญั ติ ว า “(ต อง เปน) อัตตามีรูปก็ มิใชไมมีรูปก็มิใช (เทานั้น จึงจะ) เปนอัตตาหาโรคมิได หลัง จากตายแลว, เปนสัตวมีสัญญาก็หามิได ไมมีสัญญาก็หามิได" ดังนี้ (นี้อยางหนึ่ง). (๔๗)ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! สมณ พราหมณ พวกหนึ่ ง ย อ มบั ญ ญั ติ ว า “(ตองเปน) อัตตามีที่สุด (เทานั้น จึงจะ) เปนอัตตาหาโรคมิได หลังจากตายแลว, เปนสัตวมีสัญญาก็หามิได ไมมีสัญญาก็หามิได" ดังนี้ (นี้อยางหนึ่ง). (๔๘)ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! สมณ พราหมณ พวกหนึ่ ง ย อ มบั ญ ญั ติ ว า “(ตองเปน) อัตตาไมมีที่สุด(เทานั้น จึงจะ) เปนอัตตาหาโรคมิได หลังจากตายแลว, เปนสัตวมีสัญญาก็หามิได ไมมีสัญญาก็หา มิได" ดังนี้ (นี้อยางหนึ่ง).

www.buddhadasa.info (๔๙)ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณพราหมณ พวกหนึ่ ง ย อมบั ญ ญั ติ ว า “อั ตตา มี ที่ สุ ดก็ ได ไม มี ที่ สุ ดก็ ได เป นอั ตตาหาโรคมิ ได หลั งจากตายแล ว, เป น สั ต ว มี สัญญาก็หามิได ไมมีสัญญาก็หา มิได" ดังนี้ (นี้อยางหนึ่ง).

(๕๐)ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณพราหมณ พวกหนึ่ ง ย อมบั ญ ญั ติ ว า “(ต อง เปน) อัตตามีที่สุดสุดก็มิใช ไมมีที่สุดก็มิใช(เทานั้น จึงจะ) เปนอัตตาหาโรคมิได หลังจากตายแลว, เปนสัตวมีสัญญาก็หามิได ไมมีสัญญาก็หามิได" ดังนี้ (นี้อยางหนึ่ง).

www.buddhadasa.info


๗๕๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณพราหมณ ทั้ งหลายเหล าใด ที่ เป นพวกอุ ทธมาฆตนิกเนวสัญญี นาสัญญี วาท ยอมบัญญั ติอัตตาหลังจากตายแลววา มีสัญญาก็หามิได ไมมี สัญญาก็หามิได; สมณพราหมณ ทั้งหลายเหลานั้นทั้งหมด ก็บัญญั ติโดยอาศัยวัตถุทั้งหลาย ๘ ประการเหลานี้ นั่ นเที ยว หรือวาด วยวัตถุประการใดประการหนึ่ ง ในบรรดาวัตถุ ทั้ งหลาย ๘ ประการเหล านี้ , วัตถุ อื่ นนอกจากนี้ มิ ได มี . ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ตถาคตย อมรูชัดวา ฐานะที่ ตั้ งแห งทิ ฏฐิเหล านี้ เมื่ อใครถื อเอาแล วอย างนี้ ลู บคลํ าแล วอย างนี้ ก็ จะมี คติ อย างนั้ น มี อภิ สั มปรายภพอย างนั้ น: ตถาคตย อมรูชั ดซึ่ งข อนั้ นด วย รูชั ดซึ่ งธรรมอั น ยิ่ งไปกวานั้ นด วย และไม จั บฉวยไว ซึ่ งสิ่ งที่ ตถาคตรูแล วนั้ นด วย และเมื่ อไม จั บฉวยอยู ความดับเย็น (นิพฺพุติ) ก็เปนสิ่งที่ตถาคตรูแจงแลวเฉพาะตนนั่นเทียว เพราะรูแจงตามที่ เป นจริงซึ่ งเหตุ ให เกิ ด ขึ้ น ซึ่ งความตั้ งอยู ไม ได ซึ่ งรสอรอ ย ซึ่ งโทษอั น เลวทราม และ ซึ่งอุ บายเป นเครื่องออกไปพ น แห งเวทนาทั้ งหลาย. ดู กอนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ตถาคต เป น ผู พ น วิ เศษแล ว เพราะความไม ยึ ด มั่ น . ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ธรรมทั้ ง หลาย เหล านี้ แล เป นธรรมที่ ลึ ก ที่ สั ตว อื่ นเห็ นได ยาก ยากที่ สั ตว อื่ นจะรูตาม เป นธรรมเงียบ สงบ ประณี ต ไม เป นวิ สั ยที่ จะหยั่ งลงงายแห งความตรึก เป นของละเอี ยด รูได เฉพาะ บั ณ ฑิ ตวิสั ย, ซึ่ งเราตถาคตได ทํ าให แจ งด วยป ญญาอั นยิ่ งเอง แล วสอนผู อื่ นให รูแจ ง, เป นคุ ณวุฒิ เครื่องนํ าไปสรรเสริญ ของผูที่ เมื่ อจะพู ดสรรเสริญเราตถาคตให ถูกต องตรงตาม ที่เปนจริง.

www.buddhadasa.info (ฌ. อุจเฉททิฏฐิ ๗ ประการ)

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! มี สมณพราหมณ พวกหนึ่ ง เป นพวกอุ จเฉทวาท ย อม บั ญ ญั ติ ซึ่ ง ความขาดสู ญ ซึ่ ง ความพิ น าศ ซึ่ ง ความไม มี แห ง สั ต ว ที่ มี อ ยู ด ว ยวั ต ถุ ทั้งหลาย ๗ ประการ : -

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๗๕๙

(๕๑) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณพราหมณ บางท าน มี วาทะอย างนี้ มี ทิ ฏฐิ อยางนี้วา "ดูกอนท านผูเจริญ! อัตตานี้ใด ที่ เปน อั ตตามี รูป ประกอบขึ้นด วยมหาภู ต ทั้ง ๔ มีมารดาบิดาเปนแดนเกิด ภายหลังแตการตาย เพราะการทําลายแหงกาย ย อ มขาดสู ญ ย อ มวิ น าศ ย อ มไม มี . ท านผู เจริญ เอ ย ! อั ต ตานี้ เท านั้ น ที่ ชื่ อ ว าเป น อั ต ตาอั นขาดสู ญ โดยถู กต อง" ดั งนี้ . สมณพราหมณ พ วกหนึ่ ง ย อ มบั ญ ญั ติ ซึ่ งความ ขาดสูญ ซึ่งความวินาศ ซึ่งความไมมี แหงสัตวที่มีอยู อยางนี้. (๕๒) สมณพราหมณ ผู อื่ น กล าวกะสมณพราหมณ ผู นั้ น อย างนี้ ว า ดู ก อน ท านผู เจริ ญ! อั ตตาชนิ ดที่ ท านกล าวนั้ น มี อยู จริ ง ท านกล าวอั ตตาใดว ามี อยู ข าพเจ าก็ มิ ได กล าวว าอั ตตานั้ นไม มี ; แต ว าอั ตตาที่ ท านกล าวเพี ยงเท านั้ น จะชื่ อว าเป นอั ตตาที่ ขาด สู ญ โดยถู กต อง หาได ไม . ท านผู เจริญ เอ ย! เพราะว ายั งมี อั ต ตาอื่ น ที่ เป น ทิ พ ย เป น อั ต ตามี รูป เป น พวกกามาพจร มี ก วฬิ งการาหารเป น ภั ก ษา๑ ท านไม รูไม เห็ น ซึ่ ง อั ต ตานั้ น แต ข าพเจ า ย อ มรู ย อ มเห็ น ซึ่ งอั ต ตานั้ น . ท านผู เจริ ญ เอ ย ! อั ต ตานี้ ใด ภาย หลังแตการตาย เพราะการทําลายแหงกาย ก็ยอมขาดสูญ ยอมวินาศ ยอมไมมี. ท านผู เจริ ญ เอ ย! อั ตตาอย างนี้ ต างหาก จึ งจะชื่ อว าเป นอั ตตาอั นขาดสู ญ โดยถู กต อง" ดั งนี้ . สมณพราหมณ พวกหนึ่ ง ย อมบั ญญั ติ ซึ่ งความขาดสู ญ ซึ่ งความวิ นาศ ซึ่ งความไม มี แหงสัตวที่มีอยู อยางนี้.

www.buddhadasa.info

ผู ศึ ก ษาพึ งสั งเกตให เห็ น ว า โดยทั่ ว ไปเขาเชื่ อ ว า พวกกายทิ พ ย กิ น อาหารทิ พ ย แต ในที่ นี้ มี พ ระพุ ท ธภาษิ ต กล าวถึ งลั ทธิ ที่ ว ามี พวกกายทิ พย จํ าพวกที่ กิ นอาหารคํ าข าว. ความเชื่ อเรื่ องกายทิ พย ของคนทั่ วไป ยั งไม ต รงกั บ ข อ ความในพระบาลี อยู อ ย างนี้ . พึ งใคร ค รวญและพึ งถื อเอาใจความให ถู ก ต อ งด วย จะได หายงมงาย. ในบาลี ที่ กล าวถึ งอาหารทั้ งสี่ ก็ กล าวทํ านองว า แม กพฬิ งการาหาร ก็ เป น ไปเพื่ อการตั้ งอยู ของภูตสัตว และเพื่ออนุเคราะหแกสัมภเวสีสัตว.

www.buddhadasa.info


๗๖๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑

(๕๓) สมณพราหมณ ผู อื่ น กล า วกะสมณพราหมณ ผู นั้ น อย างนี้ ว า "ดู ก อ น ท านผู เจริ ญ ! อั ต ตาชนิ ด ที่ ท านกล าวนั้ น มี อ ยู จริ ง ท านกล าวอั ต ตาใดว ามี อ ยู ข าพเจ าก็ มิ ได กล าวว าอั ตตานั้ นไม มี แต ว าอั ตตาที่ ท านกล าวเพี ยงเท านั้ น จะชื่ อว าเป นอั ตตาที่ ขาดสู ญ โดยถู ก ต อ ง หาได ไม . ท า นผู เจริ ญ เอ ย ! เพราะว า ยั ง มี อั ต ตาอื่ น อั น เป น อั ต ตาที่ มี รู ป สํ าเร็ จ มาจากใจ (มโนมโย) มี อ วั ย วะใหญ น อ ยครบถ ว น มี อิ น ทรี ย ไม ท ราม ท าน ไม รู ไม เห็ น ซึ่ งอั ต ตานั้ น แต ข าพเจ าย อ มรู ย อ มเห็ น ซึ่ งอั ต ตานั้ น . ท านผู เจริ ญ เอ ย ! อั ต ตา นี้ ใด ภายหลั งแต ก ารตาย เพราะการทํ าลายแห งกาย ก็ ย อ มขาดสู ญ ย อ มวิน าศ ย อ มไม มี . ท า นผู เจริ ญ เอ ย ! อั ต ตาอย า งนี้ ต า งหาก จึ ง จะชื่ อ ว า เป น อั ต ตาอั น ขาดสู ญ โดยถู กต อง" ดั งนี้ . สมณพราหมณ พวกหนึ่ งย อมบั ญ ญั ติ ซึ่ งความขาดสู ญ ซึ่ งความวิ นาศ ซึ่งความไมมี แหงสัตวที่มีอยู อยางนี้. (๕๔) สมณพราหมณ ผู อื่ น กล าวกะสมณพราหมณ ผู นั้ น อย างนี้ ว า "ดู ก อ น ท านผู เจริ ญ ! อั ตตาชนิ ดที่ ท านกล าวนั้ นมี อยู จริ ง ท านกล าวอั ตตาใดว ามี อยู ข าพเจ าก็ มิ ได กล าวว าอั ตตานั้ นไม มี แต ว าอั ตตาที่ ท านกล าวเพี ยงเท านั้ น จะชื่ อว าเป นอั ตตาที่ ขาดสู ญ โดยถู ก ต อ ง หาได ไม . ท า นผู เจริ ญ เอ ย ! เพราะว า ยั ง มี อั ต ตาอื่ น อั น เป น อั ต ตาซึ่ ง เข า ถึ งอากาสานั ญ จายตนะ อั น มี ค วามรู สึ กอยู แต เพี ย งว า `อากาศหาที่ สุ ด มิ ได ' ดั งนี้ อ ยู , เพราะว าเป นอั ตตาซึ่ งก าวล วงรู ปสั ญ ญาเสี ยได โดยประการทั้ งปวง เพราะดั บไปแห งปฏิ ฆ สั ญ ญา เพราะไม ก ระทํ าสั ญ ญาต าง ๆ ไว ในใจ. ท านผู เจริ ญ เอ ย ! ท านย อ มไม รู ไม เห็ น ซึ่ งอั ต ตาใด ข าพเจ าย อ มรู ย อ มเห็ น ซึ่ งอั ต ตานั้ น . ท านผู เจริ ญ เอ ย ! อั ต ตานี้ ใด ภายหลั ง แตตายแลว เพราะการ_ทําลายแหงกาย ก็ยอมขาดสูญ ก็ยอมขาดสูญ ยอมวินาศ ยอมไมมี. ท า นผู เจริ ญ เอ ย ! อั ต ตาอย า งนี้ ต า งหาก จึ ง จะชื่ อ ว า เป น อั ต ตาอั น ขาดสู ญ โดยถู ก ต อ ง" ดั งนี้ . สมณพราหมณ พ วกหนึ่ งย อมบั ญ ญั ติ ซึ่ งความขาดสู ญ ซึ่ งความวิ นาศ ซึ่ งความไม มี แหงสัตวที่มีอยู อยางนี้.

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๗๖๑

(๕๕) สมณพราหมณ ผู อื่น กล าวกะสมณพราหมณ ผู นั้ นอยางนี้ วา "ดูก อนทาน ผูเจริญ! อัตตาชนิดที่ทานกลาวนั้น มีอยูจริง ท านกลาวอัตตาใดวามี อยู ขาพเจาก็มิได กลาววาอัตตานั้นไม มี แตวาอัตตาที่ ทานกลาวเพี ยงเทานั้ น จะชื่อวาเป นอัตตาที่ขาดสูญ โดยถูกตอง หาไดไม. ทานผูเจริญ เอย! เพราะวายังมีอัตตาอื่น อันเป นอัตตาซึ่งเข า ถึงวิญญาณั ญจายตนะ อันมีความรูสึกอยูแตเพียงวา `วิญญาณหาที่สุดมิได' ดังนี้อยู, เพราะวาเป นอัตตาซึ่งกาวลวงอากาสานัญจายตนะเสียไดโดยประการทั้ งปวง ทานผูเจริญ เอ ย ท านย อมไม รูไม เห็ นซึ่ งอั ตตาใด ช าพเจ าย อมรูย อมเห็ นซึ่ งอั ตตานั้ น.ท านผู เจริญ เอย! อัตตานี้ใด ภายหลังแตตายแลว เพราะการทําลายแหงกาย ก็ยอมขาดสูญ ยอมวินาศ ยอมไมมี. ทานผูเจริญเอย! อัตตาอยางนี้ตางหาก จึงจะชื่อวาเปนอัตตา อันขาดสูญโดยถูกต อง" ดั งนี้. สมณพราหมณ พวกหนึ่ งยอมบั ญญั ติซึ่งความขาดสู ญซึ่ง ความวินาศ ซึ่งความไมมีแหงสัตวที่มีอยู อยางนี้. (๕๖) สมณพราหมณ ผู อื่น กล าวกะสมณพราหมณ ผูนั้ นอยางนี้ วา "ดูก อนท าน ผูเจริญ! อัตตาชนิดที่ทานกลาวนั้น มีอยูจริง ท านกลาวอัตตาใดวามี อยู ขาพเจาก็มิได กลาววาอัตตานั้นไม มี แตวาอัตตาที่ ทานกลาวเพี ยงเทานั้ น จะชื่อวาเป นอัตตาที่ขาดสูญ โดยถูกตอง หาไดไม. ทานผูเจริญ เอย! เพราะวายังมีอัตตาอื่น อันเป นอัตตาซึ่งเข า ถึงอากิญจัญญายตนะ อันมีความรูสึกอยูแตเพี ยงวา `ไมมีอะไร' ดังนี้อยู, เพราะเป น อัตตาซึ่งกาวล วงวิญญาณั ญจายตนะเสี ยได โดยประการทั้ งปวง. ท านผู เจริญเอ ย! ท าน ย อ มไม รู ไม เห็ น ซึ่ ง อั ต ตาใด ข า พเจ า ย อ มรู ย อ มเห็ น ซึ่ ง อั ต ตานั้ น . ท า นผู เจริญ เอ ย ! อัตตานี้ใด ภายหลังแตตายแลว เพราะการทําลายแหงกาย ก็ยอมขาดสูญ ยอม วินาศ ย อมไม มี . ท านผูเจริญ เอย! อัตตาอยางนี้ตางหาก จึงจะชื่อวาเปนอัตตาอัน ขาดสู ญโดยถู กต อง" ดั งนี้ .สมณพราหมณ พวกหนึ่ ง ย อมบั ญญั ติ ซึ่ งความขาดสู ญ ซึ่ ง ความวินาศ ซึ่งความไมมีแหงสัตวที่มีอยู อยางนี้.

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๗๖๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑

(๕๗) สมณพราหมณ ผู อื่ น กล าวกะสมณพราหมณ ผู นั้ น อย างนี้ ว า "ดู ก อ น ท านผู เจริ ญ ! อั ตตาชนิ ดที่ ท านกล าวนั้ น มี อยู จริ ง ท านกล าวอั ตตาใดว ามี อยู ข าพเจ าก็ มิ ได กล าวว าอั ตตานั้ นไม มี แต ว าอั ตตาที่ ท านกล าวเพี ยงเท านั้ น จะชื่ อว าเป นอั ตตาที่ ขาดสู ญ โดยถู ก ต อ ง หาได ไม . ท า นผู เจริ ญ เอ ย ! เพราะว า ยั งมี อั ต ตาอื่ น อั น เป น อั ต ตาซึ่ งเข า ถึ งซึ่ งเนวสั ญญานาสั ญญายตนะอยู เพราะว าเป นอั ตตาซึ่ งก าวล วงอากิ ญจั ญญายตนะ เสี ย ได โดยประการทั้ งปวง. ท านผู เจริ ญ เอ ย ! ท านย อ มไม รู ไม เห็ น ซึ่ งอั ต ตาใด ข าพเจ า ย อมรู ย อมเห็ นซึ่ งอั ตตานั้ น. ท านผู เจริ ญ เอ ย! อั ตตานี้ ใด ภายหลั งแต ตายแล ว เพราะ การทําลายแหงกาย ก็ยอมขาดสูญ ก็ยอมขาดสูญ ยอมวินาศ ยอมไมมี. ทานผูเจริญเอย! อัตตา อย า งนี้ ต างหาก จึ งจะชื่ อ ว าเป น อั ต ตาอั น ขาดสู ญ โดยถู ก ต อ ง" ดั งนี้ . สมณพราหมณ พวกหนึ่ ง ย อ มบั ญ ญั ติ ซึ่ ง ความขาดสู ญ ซึ่ ง ความวิ น าศ ซึ่ ง ความไม มี แ ห ง สั ต ว ที่ มี อ ยู อยางนี้. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณพราหมณ ทั้ งหลายเหล าใด ที่ เป นพวกอุ จเฉทวาท ย อ มบั ญ ญั ติ ซึ่ ง ความขาดสู ญ ซึ่ ง ความวิ น าศ ซึ่ ง ความไม มี แห งสั ต ว ที่ มี อ ยู ; สมณพราหมณ ทั้ งหลายเหล านั้ นทั้ งหมด ก็ บั ญญั ติ โดยอาศั ยวั ตถุ ทั้ งหลาย ๗ ประการเหล านี้ นั่ น เที ยว หรื อว าด วยวั ตถุ ประการใดประการหนึ่ งในบรรดาวั ตถุ ทั้ งหลาย ๗ ประการเหล านี้ , วั ต ถุ อื่ น นอกจากนี้ มิ ได มี . ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ตถาคตย อ มรู ชั ด ว า ฐานะที่ ตั้ งแห ง ทิ ฏ ฐิ เหล านี้ เมื่ อ ใครถื อ เอาแล วอย างนี้ ลู บ คลํ าแล วอย างนี้ ก็ จ ะมี ค ติ อ ย างนั้ น มี อ ภิ สั มปรายภพอย างนั้ น : ตถาคตย อมรู ชั ดซึ่ งข อนั้ นด วย รู ชั ดซึ่ งธรรมอั นยิ่ งไปกว านั้ นด วย และไม จั บฉวยไว ซึ่ งสิ่ งที่ ตถาคตรูแล วนั้ นด วย และเมื่ อไม จั บฉวยอยู ความดั บเย็ น (นิ พฺ พุ ติ ) ก็ เป นสิ่ งที่ ตถาคตรู แจ งแล วเฉพาะตนนั่ นเที ยว เพราะรู แจ งตามที่ เป นจริ งซึ่ งเหตุ ให เกิ ดขึ้ น ซึ่ งความตั้ งอยู ไม ได ซึ่ งรสอร อย ซึ่ งโทษอั นเลวทราม และซึ่ งอุ บายเป นเครื่ องออกไปพ น แหงเวทนาทั้งหลาย. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ตถาคตเปนผูพนวิเศษแลว เพราะความ

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๗๖๓

ไม ยึ ดมั่ น. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ธรรมทั้ งหลายเหล านี้ แล เป นธรรมที่ ลึ ก ที่ สั ตว อื่ น เห็ นไดยาก ยากที่ สัตวอื่นจะรูตาม เป นธรรมเงียบสงบ ประณี ต ไม เป นวิสั ยที่ จะหยั่งลง งายแห งความตรึก เป นของละเอี ยด รูได เฉพาะบั ณ ฑิ ตวิสั ย, ซึ่ งเราตถาคตได ทํ าให แจ งด วยป ญ ญาอั นยิ่ งเอง แล วสอนผู อื่ นให รู แจ ง, เป นคุ ณ วุ ฒิ เครื่ องนํ าไปสรรเสริ ญ ของผูที่เมื่อจะพูดสรรเสริญเราตถาคตใหถูกตองตรงตามที่เปนจริง.

(ญ. ทิฏฐธัมมนิพพานทิฏฐิ ๕ ประการ) ดู กอนภิ กษุ ทั้ งหลาย! มี สมณพราหมณ พวกหนึ่ ง เป นพวกทิ ฏฐิ ธัมมนิ พพานวาท ย อมบั ญ ญั ติ ซึ่งปรมทิ ฏฐธัมมนิ พพาน (นิ พพานอย างยิ่งในทิ ฏฐธรรม) แก สั ตว ที่มีอยู ดวยวัตถุทั้งหลาย ๕ ประการ : (๕๘) ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณพราหมณ บางท าน มี วาทะอย างนี้ มี ทิ ฏฐิ อยางนี้วา "อัตตานี้ใด อิ่มเอิบแลว เพียบพรอมแลว ใหเขาบําเรออยู ดวย กามคุณ ทั้งหลาย ๕ ประการ. ทานผูเจริญ เอย!อัตตาอยางนี้เทานั้น เป น อัต ตา ที่ถึงแลวซึ่งปรมทิฏฐธัมมนิพพาน" ดังนี้. สมณพราหมณ พวกหนึ่ง ยอมบัญ ญั ติ ซึ่งปรมทิฏฐธัมมนิพพาน แกสัตวที่มีอยู อยางนี้.

www.buddhadasa.info (๕๙) สมณพราหมณ ผู อื่ นกล าวกะสมณพราหมณ ผู นั้ น อย างนี้ ว า "ดู ก อน ทานผูเจริญ! อัตตาชนิดที่ทานกลาวนั้น มีอยูจริง ทานกลาวอัตตาใดวามีอยู ขาพเจาก็ มิ ได กล าวว าอั ตตานั้ นไม มี แต ว าอั ตตาที่ กล าวเพี ยงเท านั้ น จะชื่ อว าเป นอั ตตาที่ บรรลุ ปรมทิฏฐธัมมนิพพาน หาไดไม. ขอนั้นเพราะเหตุไรเลา? ทานผูเจริญเอย! ขอนั้นเพราะ

www.buddhadasa.info


๗๖๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑

เหตุ ว า กามทั้ งหลาย ไม เที่ ยง เป นทุ กข มี ความแปรปรวนเป นธรรมดา;โสกะปริ เทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย ย อมบั งเกิ ดขึ้ นเพราะความแปรปรวนเป นอย างอื่ น ของ กามทั้งหลายเหลานั้น. ทานผูเจริญเอย! แตวาอัตตานี้ใด เป นอัตตาที่ สงัดแลวจาก กามทั้งหลาย สงัดแลวจากอกุศลธรรมทั้งหลาย เขาถึงซึ่งปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มี ป ติ และสุ ขอั นเกิ ดแต วิ เวก แล วแลอยู . ท านผู เจริญ เอ ย! อั ตตาอย างนี้ เท านั้ นแล ที่ ชื่ อ วาเป น อั ต ตาอั น บรรลุ แ ล วซึ่ งปรมทิ ฏ ฐธั ม มนิ พ พาน" ดั งนี้ . สมณพราหมณ พ วก หนึ่งยอมบัญญัติปรมทิฏฐธัมมนิพพาน แกสัตวที่มีอยู อยางนี้. (๕๙) สมณพราหมณ ผู อื่ นกล าวกะสมณพราหมณ ผู นั้ น อย างนี้ ว า "ดู ก อน ท านผู เจริญ! อั ตตาชนิ ดที่ ท านกล าวนั้ น มี อยู จริง ท านกล าวอั ตตาใดว ามี อยู ข าพเจ าก็ มิ ได กล าวว าอั ตตานั้ นไม มี แต ว าอั ตตาที่ กล าวเพี ยงเท านั้ น จะชื่ อว าเป นอั ตตาที่ บรรลุ ปรมทิ ฏ ฐธั ม มนิ พ พาน หาได ไม . ข อ นั้ น เพราะเหตุ ไรเล า ? ท า นผู เจริ ญ เอ ย ! ข อ นั้ น เพราะเหตุ ว า ในปฐมฌานนั้ น องค ฌ านใด เป นเพี ยงธรรมอั นบุ คคลทํ าการวิ ตกทํ าการ วิ จารแล ว, เพราะเหตุ แห งองค ฌ านนั้ น ท านจึ งกล าวซึ่ งปฐมฌานนั้ น ว าเป นของที่ ยั ง หยาบอยู . ท านผู เจริญ เอ ย! แต วาอั ต ตานี้ ใด เป น อั ต ตาที่ ร ะงับ วิต กวิ จ ารเสี ย ได แล วเข าถึ งทุ ติ ยฌาน อั นไม มี วิตกไม มี วิจาร มี แต ป ติ และสุ ขอั นเกิ ดแต สมาธิ อั นเป น เครื่ องผ องใสแห งใจในภายใน ทํ าให สมาธิ เป นธรรมอั นเอกผุ ดมี ขึ้ น, แล วแลอยู . ท าน ผูเจริญเอย! อัตตาอยางนี้เทานั้นแล ที่ชื่อวาเปนอัตตาอันบรรลุแลวซึ่งปรมทิฏฐธัมมนิ พพาน" ดั งนี้ . สมณพราหมณ พวกหนึ่ ง ย อมบั ญ ญั ติ ปรมทิ ฏฐธั มมนิ พพาน แก สั ตว ที่มีอยู อยางนี้.

www.buddhadasa.info (๖๐) สมณพราหมณ ผู อื่ นกล าวกะสมณพราหมณ ผู นั้ น อย างนี้ ว า "ดู ก อน ทานผูเจริญ! อัตตาชนิดที่ทานกลาวนั้น มีอยูจริง ทานกลาวอัตตาใดวามีอยู ขาพเจาก็

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๗๖๕

มิ ได กล าวว าอั ตตานั้ นไม มี แต ว าอั ตตาที่ กล าวเพี ยงเท านั้ น จะชื่ อว าเป นอั ตตาที่ บรรลุ ปรมทิ ฏ ฐธั ม มนิ พ พาน หาได ไม . ข อ นั้ น เพราะเหตุ ไรเล า ? ท า นผู เจริญ เอ ย ! ข อ นั้ น เพราะเหตุ วา ในทุ ติ ยฌานนั้ น องค แห งฌานใด ถึงซึ่ งป ติเป นที่ เฟ องฟู แห งใจ, เพราะ เหตุ แห งองค ฌานนั้ น ท านจึงกล าวซึ่งทุ ติ ยฌานนั้ นวายั งเป นของที่ ยังหยาบอยู . ท านผู เจริญเอย! แตวาอัตตานี้ใด เปนอัตตาที่เขาถึงซึ่งตติยฌาน เพราะความจางคลายแหง ป ติ ด วย เป นผู อุ เบกขาด วย มี สติ สั มปชั ญญะด วย เสวยสุ ขโดยนามกายด วย อั นเป น ฌานที่ พระอริยเจาทั้ งหลาย กล าวสรรเสริญผู เขาถึงฌานนี้ วา เป นผูอยูอุ เบกขา มี สติ อยู เป น สุ ข ดั งนี้ , แล ว แลอยู . ท า นผู เจริญ เอ ย ! อั ต ตาอย า งนี้ เท า นั้ น แล ที่ ชื่ อ ว า เป น อัตตาอันบรรลุแลวซึ่งปรมทิฏฐธรรมนิพพาน" ดังนี้. สมณพราหมณพวกหนึ่ง ยอม บัญญัติปรมทิฏฐธัมมนิพพาน แกสัตวที่มีอยู อยางนี้. (๖๑) สมณพราหมณ ผู อื่ นกล าวกะสมณพราหมณ ผู นั้ น อย างนี้ ว า "ดู ก อน ทานผูเจริญ! อัตตาชนิดที่ทานกลาวนั้น มีอยูจริง ทานกลาวอัตตาใดวามีอยู ขาพเจาก็ มิ ได กล าวว าอั ตตานั้ นไม มี แต ว าอั ตตาที่ กล าวเพี ยงเท านั้ น จะชื่ อว าเป นอั ตตาที่ บรรลุ ปรมทิ ฏ ฐธั ม มนิ พ พาน หาได ไม . ข อ นั้ น เพราะเหตุ ไรเล า ? ท า นผู เจริญ เอ ย ! ข อ นั้ น เพราะเหตุ วา ในตติ ยฌานนั้ น องค แห งฌานใดเป นเพี ยงความยิ นดี แห งจิ ตวา ‘สุ ขๆ' ดั งนี้ , เพราะเหตุ แห งฌานนั้ น ท านจึ งกล าวซึ่ งตติ ยฌานนั้ นวาเป นของที่ ยั งหยาบอยู . ทานผูเจริญเอย! แตวาอัตตานี้ใด เปนอัตตาที่เขาถึงซึ่งจตุตถฌาน อันไมมีทุกขและ สุ ข มี แต ความที่ สติ เป นธรรมชาติ บริสุ ทธิ์เพราะอุ เบกขา เพราะเหตุ ที่ ละสุ ขและทุ กขเสี ยได และเพราะความตั้งอยูไมไดแหงโสมนัสและโทมนัสทั้งหลายในกาลกอน ดังนี้, แลวแลอยู. ทานผูเจริญเอย! อัตตาอยางนี้เทานั้นแลที่ชื่อวาเปนอัตตาอันบรรลุแลวซึ่งปรมทิฏฐธัมมนิ พพาน" ดั งนี้ . สมณพราหมณ พวกหนึ่ ง ย อมบั ญญั ติ ปรมทิ ฏฐธัมมนิ พพาน แก สัตวที่มีอยู อยางนี้.

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๗๖๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณพราหมณ ทั้ งหลายเหล าใด ที่ เป นพวกทิ ฏฐธั มมนิ พพานวาท ย อมบั ญญั ตซึ่ งปรมทิ ฏฐธั มมนิ พพาน แก สั ตวที่ มี อยู ; สมณพราหมณ ทั้ ง หลายเหลานั้นทั้งหมด ก็บั ญญั ติโดยอาศัยวัตถุทั้งหลาย ๕ ประการเหลานี้นั่นเทียว หรือ ว า ด ว ยวั ต ถุ ป ระการใดประการหนึ่ ง ในบรรดาวั ต ถุ ทั้ ง หลาย ๕ ประการเหล า นี้ , วัตถุอื่นนอกจากนี้ มิไดมี. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ตถาคตยอมรูชัดวา ฐานะที่ตั้งแหงทิฏฐิเหลานี้ เมื่ อใครถื อเอาแล วอย างนี้ ลู บคลํ าแล วอย างนี้ ก็ จะมี คติ อย างนั้ น มี อภิ สั มปรายภพ อยางนั้น : ตถาคตย อมรูชัดซึ่งขอนั้ นดวย รูชัดซึ่งธรรมอันยิ่ งไปกวานั้ นดวย และไม จับ ฉวยไวซึ่งสิ่งที่ตถาคตรูแลวนั้นดวย และเมื่อไมจับฉวยอยู ความดับเย็น (นิพฺพุ ติ) ก็เป น สิ่ งที่ ตถาคตรู แจ งแล วเฉพาะตนนั่ นเที ยว เพราะรู แจ งตามที่ เป นจริ งซึ่ งเหตุ ให เกิ ดขึ้ นซึ่ ง ความตั้ งอยู ไม ได ซึ่ งรสอรอย ซึ่ งโทษอั นเลวทราม และซึ่ งอุ บายเป นเครื่องออกไปพ น แห งเวทนาทั้ ง หลาย. ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ตถาคตเป น ผู พ น วิ เศษแล ว เพราะ ความไม ยึ ด มั่ น . ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ธรรมทั้ งหลายเหล านี้ แ ล เป น ธรรมที่ ลึ ก ที่ สั ตว อื่ นเห็ นได ยาก ยากที่ สั ตว อื่ นจะรูตาม เป นธรรมเงี ยบสงบ ประณี ต ไม เป นวิ สั ยที่ จะหยั่ งลงง ายแห ง ความตรึ ก เป น ของละเอี ย ด รู ไ ด เฉพาะบั ณ ฑิ ต วิ สั ย , ซึ่ ง เรา ตถาคตไดทําใหแจงดวยป ญญาอันยิ่งเอง แลวสอนผูอื่นใหรูแจง, เป นคุณวุฒิ เครื่องนํ า ไปสรรเสริญ ของผูที่เมื่อจะพูดสรรเสริญเราตถาคตใหถูกตองตรงตามที่เปนจริง.

www.buddhadasa.info (สรุป อปรันตกัปปกทิฏฐิ ๔๔ ประการ)

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณพราหมณ ทั้ งหลายเหล าใด ซึ่ งเป นพวกอปรันตกั ป ป ก วาท มี อ ปรั น ตานุ ทิ ก ฐิ ปรารภขั น ธ มี ส ว นสุ ด ในเบื้ อ งหน า ; สมณพราหมณ ทั้งหลายเหลานั้นทั้งหมด ยอมกล าวบั ญญั ติซึ่งอธิมุ ตติบททั้งหลาย มีประการตาง ๆ เป น อเนก ด วยวั ต ถุ ทั้ งหลาย ๔๔ ประการเหล านี้ นั่ น เที ย ว หรื อ ว าด วยวั ต ถุ ป ระการใด ประการหนึ่ง ในบรรดาวัตถุทั้งหลาย ๔๔ ประการเหลานี้, วัตถุอื่นนอกจากนี้มิไดมี.

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๗๖๗

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ตถาคตยอมรูชัดวา ฐานะที่ตั้งแหงทิฏฐิเหลานี้ เมื่อใครถือเอา แล วอย างนี้ ลู บคลํ าแล วอย างนี้ ก็ จะมี คติ อย างนั้ น มี อภิ สั มปรายภพอย างนั้ น : ตถาคต ยอมรูชัดซึ่งขอนั้ นดวย รูชัดซึ่งธรรมอันยิ่งไปกวานั้นดวย และไม จับฉวยไวซึ่งสิ่งที่ตถาคต รูแลวนั้นดวย และเมื่อไมจับฉวยอยู ความดับเย็น(นิพฺพุติ) ก็เปนสิ่งที่ตถาคตรูแจงแลว เฉพาะตนนั่ นเที ยว เพราะรูแจ งตามที่ เป นจริงซึ่ งเหตุ ให เกิ ดขึ้นซึ่ งความตั้ งอยู ไม ได ซึ่ ง รสอรอย ซึ่งโทษอันเลวทราม และซึ่งอุบายเปนเครื่องออกไปพ น แห งเวทนาทั้ งหลาย. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ตถาคตเป นผู พ นวิ เศษแล ว เพราะความไม ยึ ดมั่ น. ดู ก อนภิ กษุ ทั้งหลาย! ธรรมทั้ งหลายเหลานี้ แล เป นธรรมที่ลึก ที่ สัตวอื่นเห็ นได ยาก ยากที่สัตวอื่นจะ รูตามเป นธรรมเงียบ สงบ ประณี ต ไม เป นวิสั ยที่ จะหยั่ งลงงายแห งความตรึก เป นของ ละเอียด รูได เฉพาะบั ณฑิ ตวิสั ย, ซึ่งเราตถาคตได ทํ าให แจงด วยป ญญาอันยิ่ งเอง แล ว สอนผู อื่ นให รูแจ ง, เป นคุ ณ วุฒิ เครื่องนํ าไปสรรเสริญ ของผู ที่ เมื่ อจะพู ดสรรเสริญ เรา ตถาคตใหถูกตองตรงตามที่เปนจริง. (สรุปทิฏฐิหมดทั้ง ๖๒ ประการ)

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! สมณพราหมณ ทั้ งหลายเหล าใด ที่ บั ญญั ติ ทิ ฏฐิปรารภ ปุ พพั นตขั นธ บ าง (คื อพวกปุ พพั นตกั ปปกวาท) ปรารภอปรันตขั นธ บ าง (คื อพวกอปรันตกัปป กวาท) ปรารภทั้ งปุ พพั นตะและอปรันตขันธบ าง (คื อพวกปุ พพั นตาปรันตกั ปป กวาท) ล วนแต เป นผู มี ปุ พพั นตาปรันตานุ ทิ ฏฐิ ปรารภขั นธ ทั้ งที่ เป นปุ พพั นตะและอปรันตะ; ดังนี้แลว กลาวบัญญั ติทิฏฐิอันเปนอธิมุตติบท (ทางแหงความหลุดพนอยางยิ่งของสัตว ตามทิฏฐิแหงตนๆ) มีอยางตางๆ กันเป นเอนก ดวยวัตถุ (ที่ตั้งแห งทิ ฏฐิ) ทั้งหลาย ๖๒ ประการเหล านี้ นั่ นเที ยว หรือวาด วยวัตถุประการใดประการหนึ่ ง ในบรรดาวัตถุทั้ งหลาย ๖๒ ประการเหล านี้ , วัตถุ อื่ นนอกจากนี้ มิ ได มี . ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ตคาคตย อม รูชัดวา ฐานะที่ตั้งแหงทิฏฐิเหลานี้เมื่อใครถือเอาแลวอยางนี้ ลูบคลําแลวอยางนี้ ก็จะมี

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๗๖๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑

คติ อย างนั้ น มี อภิ สั มปรายภพอย างนั้ น : ตถาคตย อมรูชั ดซึ่ งข อนั้ นด วย รูชั ดซึ่ งธรรม อันยิ่งไปกวานั้นดวย และไม จับฉวยไวซึ่งสิ่งที่ตถาคตรูแลวนั้ นดวย และเมื่อไมจับฉวยอยู ความดั บเย็ น(นิ พฺ พุ ติ ) ก็ เป นสิ่ งที่ ตถาคตรูแจ งแล วเฉพาะตนนั่ นเที ยว เพราะรูแจ งตาม ที่ เป นจริงซึ่ งเหตุ ให เกิ ดขึ้นซึ่ งความตั้ งอยู ไม ได ซึ่ งรสอรอย ซึ่งโทษอั นเลวทราม และ ซึ่งอุ บายเป นเครื่องออกไปพ น แห งเวทนาทั้ งหลาย. ดู กอนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ตถาคต เป นผู พ นวิเศษแล ว เพราะความไม ยึ ดมั่ น. ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ธรรมทั้ งหลายเหล านี้ แล เป น ธรรมที่ ลึ ก ที่ สั ต ว อื่ น เห็ น ได ยาก ยากที่ สั ต ว อื่ นจะรูต ามเป น ธรรมเงี ยบสงบ ประณี ต ไมเปนวิสัยที่จะหยั่งลงงายแหงความตรึก เป นของละเอียด รูไดเฉพาะบัณฑิ ตวิ สั ย, ซึ่ งเราตถาคตได ทํ าให แจ งด วยป ญ ญาอั น ยิ่ งเอง แล วสอนผู อื่ น ให รู แจ ง, เป น คุณวุฒิ เครื่องนําไปสรรเสริญ ของผูที่เมื่อจะพู ดสรรเสริญเราตถาคตใหถูกตองตรงตามที่ เปนจริง. หมายเหตุ ผู ร วบรวม : ผู ศึ ก ษาพึ ง สั ง เกตให เ ห็ น ว า ทุ ก ๆ ตอนที่ ท รง แสดงซึ่ งทิ ฏฐิ หมวดหนึ่ งๆจบลงไปทั้ ง ๑๐ หมวดย อย จะมี คํ าสรุปท ายให เห็ นความสํ าคั ญ ของ สิ่ งที่ เรี ยกว า "เวทนา" ในลั กษณะที่ ว าเป น ตั วการสํ าคั ญ : ถ าไม รู สมุ ทั ย ความดั บ รสอร อย โทษต่ํ าทราม และอุ บ ายเป น เครื่อ งออก แห งเวทนาทั้ งหลายแล ว จะไม มี ค วามดั บ เย็ น จะ มี แต การเกิ ดขึ้ นแห งทิ ฏฐิ ทั้ งหลาย ๖๒ ประการนี้ ด วยความยึ ดมั่ นถื อมั่ นอย างใดอย างหนึ่ ง. ในทางที่ ต รงกั น ข า ม ถ ารู ข อ เท็ จจริงทั้ ง ๕ ประการนี้ เกี่ ย วกั บ เวทนาแล ว ไม มี ท างที่ จ ะถื อ เอา หรื อ จะลู บ คลํ า หรื อ จะถึ ง ทั บ ด ว ยอุ ป าทาน ในสิ่ ง ใดเลย. ข า พเจ า ขอรอ งให ต รวจดู คํ า ว า "ผั ส สะ" และ "เวทนา" มากมายหลายสิ บ คํ า ที่ เกี่ ย วข อ งกั น อยู กั บ ทิ ฏ ฐิ เหล า นี้ ดั ง ที่ ปรากฏอยู ใ นพระพุ ท ธภาษิ ต ที่ นํ า มาแสดงไว ก อ นหน า เรื่ อ งทิ ฏ ฐิ ๖๒ นี้ โดยหั ว ข อ ที่ ว า

www.buddhadasa.info "ผั สสะ คื อป จจั ยแห งทิ ฏฐิ ๖๒", และวา "ทิ ฏฐิ ๖๒ เป นเพี ยงความรูสึ กผิ ดๆ ของผู ไ มรู ป ฏิจ จสมุป บาท", "ผัส สะ (แหง ปฏิจ จสมุป บาท) คือ ที ่ม าของ ทิฏฐิ ๖๒". ทิฏฐิวัตถุ คือตนเหตุเดิมอันจะใหเกิดทิฏฐิตาง ๆ ขึ้น มีอยู ๖๒ วัตถุ แตเราเรียกกัน วาทิฏฐิ๖๒ เฉย ๆ.

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๗๖๙

ถารูปฏิจจสมุปบาท ก็จะไมเกิดทิฏฐิอยางพวกตาบอดคลําชาง๑ ครั้ งนั้ น ภิ กษุ ทั้ งหลายเป นอั นมาก ครองจี วรถื อบาตรเข าไปสู เมื องสาวั ตถี เพื่ อบิ ณ ฑบาต ในเวลาเชา; กลับจากบิณฑบาตแลว ไดเขาไปเฝาพระผูมีพระภาคเจาถึงที่ประทับ แลวกราบทูลวา :-

"ข าแต พระองค ผู เจริ ญ ! ในเมื องสาวั ตถี นี้ มี สมณพราหมณ ปริ พพาชกผู มี ทิฏฐิตาง ๆ กันเปนอันมาก อาศัยอยู ลวนแตมีทิฏฐิตาง ๆ กัน มีความชอบใจตาง ๆ กัน มีความพอใจตาง ๆ กัน อาศัยทิฏฐิตาง ๆ กัน: สมณพราหมณ บางพวก มี วาทะอย างนี้ มี ทิ ฏฐิ อย างนี้ ว า `คํ านี้ ว า โลกเที่ ยง เทานั้นเปนคําจริง คําอื่นเปนโมฆะ'; สมณพราหมณ บางพวก มี วาทะอยางนี้ มี ทิ ฏฐิอยางนี้ วา `คํ านี้ วา โลกไม เที่ ยง เทานั้นเปนคําจริง คําอื่นเปนโมฆะ';

www.buddhadasa.info สมณพราหมณ บางพวก มี วาทะอยางนี้ มีทิฏฐิอยางนี้วา `คํานี้วา โลกมีที่ สุด เทานั้นเปนคําจริง คําอื่นเปนโมฆะ';

สมณพราหมณ บางพวก มี วาทะอย างนี้ มี ทิ ฏฐิ อย างนี้ ว า `คํ านี้ ว า โลกไม มี ที่สุด เทานั้นเปนคําจริง คําอื่นเปนโมฆะ';

สมณพราหมณ บางพวก มีวาทะอยางนี้ มีทิฏฐิอยางนี้วา `คํานี้วา ชีวะก็อันนั้น สรีระก็อันนั้น เทานั้นเปนคําจริง คําอื่นเปนโมฆะ';

สูตรที่ ๔ ชัจจันธรรค อุ.ขุ. ๒๕/๑๘๒/๑๓๗, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

www.buddhadasa.info


๗๗๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑

สมณพราหมณบางพวก มีวาทะอยางนี้ มีทิฏฐิอยางนี้วา `คํานี้วา ชีวะก็อันอื่น สรีระก็อันอื่น เทานั้นเปนคําจริง คําอื่นเปนโมฆะ'; สมณพราหมณ บางพวก มีวาทะอยางนี้ มีทิฏฐิอยางนี้วา `คํานี้วา ตถาคต ภายหลังแตตาย แลว ยอมมีอีก เทานั้นเปนคําจริง คําอื่นเปนโมฆะ'; สมณพราหมณ บางพวก มีวาทะอยางนี้ มีทิฏฐิอยางนี้วา `คํานี้วา ตถาคต ภายหลังแตตาย แลว ยอมไมมีอีก เทานั้นเปนคําจริง คําอื่นเปนโมฆะ'; สมณพราหมณ บางพวก มี วาทะอย างนี้ มี ทิ ฏฐิ อย างนี้ วา `คํ านี้ วา ตถาคต ภายหลั ง แต ต าย แล ว ย อ มมี อี ก ก็ มี ย อ มไม มี อี ก ก็ มี เท า นั้ น เป น คํ า จริ ง คํ า อื่ น เปนโมฆะ'; สมณพราหมณ บางพวก มี วาทะอย างนี้ มี ทิ ฏฐิอย างนี้ วา `คํ านี้ วา ตถาคต ภายหลังแตตาย แลว ยอมมีอีกก็หามิได ยอมไมมีอีกก็หามิได เทานั้นเปนคําจริง คําอื่น เปนโมฆะ';

www.buddhadasa.info สมณพราหมณ ทั้ งหลายเหล านั้ น เกิ ดการบาดหมางกัน ทะเลาะกัน วิวาทกั น ทิ่ มแทงซึ่ งกั นและกั นอยู ด วยหอกคื อปากทั้ งหลายว า `ธรรมเป นอย างนี้ ธรรมมิ ใช เป น อยางนี้; ธรรมมิใชเปนอยางนี้ ธรรมเปนอยางนี้' อยูดังนี้".

ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย! ปริพพาชกทั้งหลายผูเปนเจาลัทธิอื่น ๆ เหลานั้น เปนคน บอดไรจักษุ จึงไมรูอัตถะ ไมรูอนัตถะ; จึงไมรูธรรมะ ไมรูอธรรมะ : เมื่อ ไมรูอัตถะอนัตถะ เมื่อไมรูธรรมะอธรรมะ ก็เกิดการบาดหมางกัน ทะเลาะกัน

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๗๗๑

วิวาทกัน ทิ่มแทงซึ่งกันและกันอยูดวยหอกคือปากทั้งหลายวา "ธรรมเปนอยางนี้ ธรรมมิใชเปนอยางนี้: ธรรมมิใชเปนอยางนี้ ธรรมเปนอยางนี้"อยูดังนี้". ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย!เรื่ องเคยมี มาแล ว ในเมื องสาวั ตถี นี้ เอง มี พ ระราชา องค ห นึ่ ง ตรั ส กะราชบุ รุ ษ คนหนึ่ งว า มานี่ ซิ บุ รุ ษ ผู เจริ ญ ! คนตาบอดแต กํ าเนิ ด ใน เมื องสาวั ตถี นี้ มี ประมาณเท าใด ท านจงให คนทั้ งหมดนั้ น มาประชุ มกั นในที่ แห งหนึ่ ง. บรุ ษ นั้ น ทํ า ตามพระประสงค แ ล ว . พระราชานั้ น ได ต รั ส สั่ ง กะบุ รุ ษ นั้ น ว า ดู ก อ น พนาย! ถาอยางนั้น ทานจงแสดงซึ่งชาง แกคนตาบอดแตกําเนิดเถิด. ราชบุรุษนั้น ไดทําตามพระประสงค โดยการ :ให ค นตาบอดแต กํ า เนิ ด พวกหนึ่ ง คลํ า ซึ่ ง ศี รษะช า ง พร อ มกั บ บอกว า นี่ แ หละช า ง ใหค นตาบอดแตกํ า เนิด พวกหนึ ่ง คลํ า ซึ ่ง หูช า ง พรอ มกับ บอกวา นี ่แ หละชา ง ใหค นตาบอดแตกํ า เนิด พวกหนึ ่ง คลํ า ซึ ่ง งาชา ง พรอ มกับ บอกวา นี ่แ หละชา ง ให ค นตาบอดแต กํ า เนิ ด พวกหนึ่ ง คลํ า ซึ่ ง งวงช า ง พร อ มกั บ บอกว า นี่ แ หละช า ง ให ค นตาบอดแต กํ า เนิ ด พวกหนึ่ ง คลํ า ซึ่ ง กายช า ง พร อ มกั บ บอกว า นี่ แ หละช า ง ให ค นตาบอดแต กํ า เนิ ด พวกหนึ่ ง คลํ า ซึ่ ง เท า ช า ง พร อ มกั บ บอกว า นี่ แ หละช า ง ให ค นตาบอดแต กํ า เนิ ด พวกหนึ่ ง คลํ า ซึ่ ง หลั ง ช า ง พร อ มกั บ บอกว า นี่ แ หละช าง ให ค นตาบอดแต กํ าเนิ ดพวกหนึ่ ง คลํ าซึ่ งโคนหางช าง พร อ มกั บ บอกว า นี่ แหละช าง ใหคนตาบอดแตกําเนิดพวกหนึ่ง คลําซึ่งพวงหางชาง พรอมกับบอกวา นี่แหละชาง ดังนี้.

www.buddhadasa.info ครั้ งบุ รุ ษนั้ นแสดงซึ่ งช าง แก พวกคนตาบอดแต กํ าเนิ ด ดั งนั้ นแล ว ได เข าไป กราบทู ลพระราชาว า "พวกคนตาบอดแต กํ าเนิ ดเหล านั้ น ได เห็ นช างแล ว. ข าแต เทวะ! ขอพระองคจงทรงทราบซึ่งสิ่งอันพึงกระทําตอไป ในกาลนี้เถิด พระเจาขา!".พระราชาได

www.buddhadasa.info


๗๗๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๑

เสด็จไปสูที่ ประชุมแหงคนตาบอดแตกําเนิ ด แลวตรัสวา "พ อบอดทั้งหลาย! พ อเห็นชาง แล ว หรื อ ?" ครั้ น ได ท รงรั บ คํ า ตอบว า เห็ น แล ว จึ ง ตรั ส ว า "ถ า เห็ น แล ว พ อ บอด ทั้งหลายจงกลาวดูทีวา ชางนั้น เปนอยางไร?" ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! คนตาบอดพวกใด ได ค ลํ าศี รษะช าง ก็ ก ล าวว า ขาแตเทวราชเจา! ชางเหมือนหมอ, คนตาบอดพวกใด ได คลํ าหู ช าง ก็ กล าวว า ข าแต เทวราชเจ า! ช างเหมื อนกระด ง, คนตาบอดพวกใด ได ค ลํ า งาช า ง ก็ ก ล า วว า ข า แต เทวราชเจ า ! ช า งเหมื อ นผาล, คนตาบอดพวกใด ได คลํ างวงช าง ก็ กล าวว า ข าแต เทวราชเจ า! ช างเหมื อนงอนไถ, คนตาบอดพวกใด ได คลํ ากายช าง ก็ กล าวว า ข าแต เทวราชเจ า! ช างเหมื อนพ อม, คนตาบอดพวกใด ได ค ลํ า เท า ช า ง ก็ ก ล า วว า ข า แต เทวราชเจ า ! ช า งเหมื อ นเสา, คนตาบอดพวกใด ไดคลําหลังชาง ก็กลาววา ขาแตเทวราชเจา! ชางเหมือนครก กระเดื่อง, คนตาบอดพวกใด ไดคลําโคนหางชาง ก็กลาววา ขาแตเทวราชเจา!ชางเหมือนสาก ตําขาว, คนตาบอดพวกใด ไดคลําพวงหางชาง ก็กลาววา ขาแตเทวราชเจา! ชางเหมือน ไมกวาด,

www.buddhadasa.info คนตาบอดแตกําเนิดทั้ งหลายเหลานั้นเถียงกันอยูวา ชางเป นอยางนี้ ชางมิใช อยางนี้ บ าง; ช างมิ ใชอยางนี้ ชางเป นอย างนี้ ต างหาก ดั งนี้ บ าง; ได ประหารซึ่ งกั นและ กันด วยกําหมั ดทั้ งหลาย. ดูก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! พระราชามี ความพอพระทั ยเป นอั นมาก ดวยเหตุนั้น, นี้ฉันใด;

www.buddhadasa.info


วาดวยลัทธิหรืออทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ

๗๗๓

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ข อนี้ ก็ ฉั นนั้ น กล าวคื อ ปริ พพาชกทั้ งหลายผู เป น เจาลัทธิอื่น ๆ เหลานั้นเปนคนบอดไรจักษุ จึงไม รูอัต ถะ ไม รูอนั ต ถะ; จึงไม รู ธรรมะ ไมรูอธรรมะ: เมื่อไมรูอัตถะอนัตถะ เมื่อไมรูธรรมะอธรรมะ ก็เกิดการ บาดหมางกัน ทะเลาะกัน วิวาทกัน ทิ่งแทงซึ่งกันและกันอยูดวยหอก คือปาก ทั้งหลายวา "ธรรมเปน อยางนี้ ธรรมมิใชเปน อยางนี้;ธรรมมิใชเปน อยางนี้ ธรรมเปนอยางนี้" อยูดังนี้. ลํ าดั บนั้ นแล พระผู มี พ ระภาคเจ า ทรงรู สึ กความข อนี้ แล ว ได ทรงเปล งอุ ทานนี้ ในเวลา นั้นวา:-

"ไดยินวา สมณพราหมณทั้งหลายพวกหนึ่ง ๆ ยอมของอยู ในทิฏฐิหนึ่งๆ แหงทิฏฐิทั้งหลายเหลานี้. ชนทั้งหลาย ผูมี ความเห็นแลนไปสูที่สุดขางหนึ่ง ๆ ถือเอาซึ่งทิฏฐิตางกัน แลว ยอมวิวาทกัน เพราะเหตุนั้น," ดังนี้ แล. ห ม ายเห ตุผู ร วบ รวม : ผู ศ ึก ษ าพึง สัง เกตใหเ ห็น วา การทะเลาะวิว าทกัน ด ว ย เรื ่ อ ง เดี ย ว กั น มี ขึ ้ น ม า ไ ด เ พ ร า ะ เห ตุ ที ่ พ ว ก ห นึ ่ ง ๆ ถื อ เอ า เพี ย ง ส ว น ห นึ ่ ง ๆ ข อ ง เรื ่อ งนั ้น มายืน ยัน แกผู อื ่น จึง เกิด ความตา งกัน ถึง กับ เปน เหตุใ หว ิว าททํ า รา ยกัน เหมือ นพวก ตาบอดคลํ า ช า ง ๙ พวก ประหั ต ประหารกั น เพราะคลํ า อวั ย วะของช า งคนละส ว นกั น ทั้ ง ๙ พวก. ธรรมหรือ สัต ถุศ าสนใ นพระพุท ธศาสนา เปน เหมือ นชา งที ่ต ัว ใหญยิ ่ง กวา ชา ง แลว ยั ง อาจจะแบง ไดเ ปน ๙ สว น ตามจํ า นวนแหง นวัง คสัต ถุ ศ าสน กลา วคือ สุต ตะ เคยยะ เวยยากรณ ะ คาถา อุท าน อิต ิว ุต ตกะ ชาดก อัพ ภูต ธรรม เวทัล ละ รวม ๙ องคด ว ยกัน ฉัน ใด ก็ฉ ั น นั ้น . แ ตถ า ทุก ค น เขา ใจเรื ่อ งสํ า คัญ เพีย งเรื ่อ งเดีย ว คือ อิท ัป ปจ จ ย ต า ห รือ ปฏิจ จสมุป บาท ที ่ส ามารถแสดงใหเ ห็น วา ธรรมทั ้ง หลายเกี ่ย วขอ งกัน อยา งไร ทั ้ง ในฝา ยเกิด และฝา ยดับ แหง กองทุก ขแ ลว ก็จ ะเทา กับ คลํ า ชา งทีเ ดีย วทั ้ง ตัว ไมม ีโ อกาสจะเถีย งกัน แลว วิวาทหรือทํารายกันไดแตประการใดเลย.

www.buddhadasa.info หมวดที่สิบเอ็ด จบ -------------

www.buddhadasa.info


www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


หมวด ๑๒ วาดวย ปฏิจจสมุปบาท ที่สอไปในทางภาษาคน -เพื่อศีลธรรม

www.buddhadasa.info

๗๗๕

www.buddhadasa.info


www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


กฏอิทัปปจจยตา : หัวใจปฏิจจสมุปบาท -----------------อิมสฺมึ สติ อิทํ โหติ เมื่อสิ่งนี้ มี สิ่งนี้ ยอมี อิมสฺสุปฺปาทา อิทํ อุปฺปชฺชติ เพราะความเกิขึ้นแหงสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น. อิมสฺมึ อสติ อิทํ น โหติ เมื่อสิ่งนี้ ไมมี สิ่งนี้ ยอมไมมี อิมสฺส นิโรธา อิทํ นิรุชฺฌติ เพราะความดับไปแหงสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงดับไป. (ม.ม. ๑๓/๓๕๕/๓๗๑,นิทาน.สํ.๑๖/๘๔/๑๕๕,…)

www.buddhadasa.info

๗๗๗

www.buddhadasa.info


ลําดับเรื่องเฉพาะหมวด สําหรับปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ หมวดที่ ๑๒ วาดวย ปฏิจจสมุปบาทที่สอใหในทางภาษาคน -เพื่อศีลธรรม (มี ๒ เรื่อง)

มีเรื่อง: ทรงขยายความปฏิจจสมุปบาทอยางประหลาด—ธาตุ๓ อยางเปน ที่ตั้งแหงความเ)นไปไดของปฏิจจสมุปบาท.

www.buddhadasa.info

๗๗๘

www.buddhadasa.info


ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ หมวดที่ ๑๒ วาดวย ปฏิจจสมุปบาทที่สอ ไปในทางภาษาคน -เพื่อศีลธรรม ---------------

ทรงขยายความปฏิจจสมุปบาท อยางประหลาด๑ ดูกอนอานนท ! ก็คํานี้วา “ชารามรณะมี เพราะปจจัยคือชาติ” ดังนี้, เชน นี้และ เปนคําที่เรากลาวแลว. ดูกอนอานนท ! ความขอนี้ เธอตองทราบอธิบายโดย ปริยายดังตอไปนี้ ที่ตรงกับหัวขอที่เรากลาวไวแลวา “ชรามณะมี เพราะปจจัยคือชาติ”:ดูกอนอานนน! ถาหากวาชาติ จักไมไดมีแกใครๆ ในที่ไหนๆ โดยทุกชนิด โดยทุก อาการ กลาวคือ เพื่อความเปนเทพ แหงหมูเทพทั้งหลายก็ดี, เพื่อความ

www.buddhadasa.info

มหานิทานสูตร มหา. ที. ๑๐/๖๗/๕๘, ตรัสแกพระอานนท ที่กัมมาสทัมมนิคม แควนกุรุ.

๗๗๙

www.buddhadasa.info


๗๘๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๒

เปนคนธรรพแหงพวกคนธรรพทั้งหลายก็ดี, เพื่อความเปนยักษแหงพวกยักษทั้งหลาย ก็ดี, เพื่ อความเป นภู ตแหงพวกภู ตทั้ งหลายก็ดี , เพื่ อความเป น มนุ ษย แห งพวกมนุ ษย ทั้งหลายก็ดี, เพื่อความเปนสัตวสี่เท าแหงพวกสัตวสี่เทาทั้งหลายก็ดี, เพื่อความเปน สัตวมีปกแหงพวกสัตวมีปกทั้งหลายก็ดี, เพื่อความเปนสัตวเลื้อยคลานแหงพวกสัตว เลื้อยคลานทั้งหลายก็ดี , แลวไซร; ดูกอนอานนท ! ชาติ ก็จักไม ไดมี แลวแกสัตวทั้ งหลาย เหล า นั้ น ๆ เพื่ อ ความเป น อย า งนี้ แ ล. เมื่ อ ชาติ ไ ม มี เพราะความดั บ ไปแห ง ชาติ โดยประการทั้ งปวงแล ว; ชรามรณะ จะมี ขึ้ นมาให เห็ น ได (ปฺ ญ าเยถ) ไหมหนอ? ("ข อนั้ น หามิ ได พระเจ าข า!") ดู ก อนอานนท ! เพราะเหตุ นั้ น ในเรื่ องนี้ , นั่ นแหละ คื อ เหตุ นั่ น แหละคื น นิ ท านนั่ น แหละคื อ สมุ ทั ย นั่ น แหละคื อ ป จ จั ย ของชรามรณะ; นั้นคือ ชาติ. ดูก อ นอานนท! ก็คํ า นี ้ว า "ชาติ เพราะปจ จัย คือ ภพ" ดัง นี ้, เชน นี้ แล เป น คํ า ที่ เรากล า วแล ว . ดู ก อ นอานนท ! ความข อ นี้ เธอต อ งทราบอธิ บ ายโดย ปริยายดั งต อไปนี้ ที่ ตรงกั บหั วขอที่ เรากล าวไวแล ววา "ชาติ มี เพราะป จจัยคื อภพ" : ดู ก อนอานนท ! ถ าหากวาภพ จั กไม ได มี แก ใคร ๆ ในที่ ไหน ๆ โดยทุ กชนิ ด โดยทุ กอาการ กลา วคือ กามภพ ก็ด ี, รูป ภพ ก็ด ี, อรูป ภพ ก็ด ี, แลว ไซร; เมื ่อ ภพไมมี เพราะความดั บ ไปแห งภพ โดยประการทั้ งปวงแล ว; ชาติ จะมี ขึ้ น มาให เห็ น ได ไหม หนอ? ("ข อ นั้ น หามิ ไ ด พระเจ า ข า !") ดู ก อ นอานนท ! เพราะเหตุ นั้ น ในเรื่ อ งนี้ , นั่ นแหละคื อเหตุ นั่ นแหละคื อนิ ทาน นั่ นแหละคื อสมุ ทั ย นั่ นแหละคื อป จจั ย ของชาติ ; นั้นคือ ภพ.

www.buddhadasa.info ดูกอนอานนท! ก็คํานี้วา "ภพมี เพราะปจจัยคืออุปาทาน" ดังนี้, เชน นี้แล เปนคําที่เรากลาวแลว. ดูกอนอานนท! ความขอนี้ เธอตองทราบอธิบายโดย

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ที่มีลักษณะเพื่อศีลธรรม

๗๘๑

ปริยายดั งต อไปนี้ ที่ ตรงกั บหั วข อที่ เรากล าวไว แล วว า "ภพมี เพราะป จจั ยคื ออุ ปาทาน": ดู ก อนอานนท ! ถ าหากวาอุ ปาทาน จั กไม ได มี แก ใคร ๆ ในที่ ไหน ๆ โดยทุ กชนิ ด โดย ทุกอาการ กลาวคือ กามุปาทาน ก็ดี ทิฏุปาทาน ก็ดี สีลัพพัตตุปาทาน ก็ดี อัตตวาทุปาทาน ก็ ดี , แล ว ไซร ; เมื่ อ อุ ป าทานไม มี เพราะความดั บ ไปแห ง อุ ป าทาน โดย ประการทั้ งปวงแล ว; ภพ จะมี ขึ้นมาให เห็ นได ไหมหนอ? ("ขอนั้ น หามิ ได พระเจ าขา!") ดู ก อ นอานนท ! เพราะเหตุ นั้ น ในเรื่ อ งนี้ , นั่ น แหละคื อ เหตุ นั่ น แหละคื อ นิ ท าน นั่นแหละคือสมุทัย นั่นแหละคือปจจัย ของภพ; นั้นคือ อุปาทาน. ดูกอนอานนท! ก็คํานี้วา "อุปาทานมี เพราะปจจัยคือตัณ หา" ดังนี้, เช น นี้ แล เป น คํ าที่ เรากล าวแล ว. ดู ก อ นอานนท ! ความข อ นี้ เธอต อ งทราบอธิ บ าย โดยปริยายดั งต อไปนี้ ที่ ตรงกั บหั วขอที่ เรากล าวไวแล วา "อุปาทานมี เพราะป จจัยคื อ ตั ณ หา": ดู ก อ นอานนท ! ถ า หากว า ตั ณ หา จั ก ไม ได มี แ ก ใคร ๆ ในที่ ไหน ๆ โดย ทุกชนิด โดยทุกอาการ กลาวคือ รูปตัณหา สัททตัณหา คันธตัณหา รสตัณหา โผฏฐัพพตัณหา ธัมมตัณหา, แลวไซร; เมื่อตัณหาไมมี เพราะความดับไปแหงตัณหา โดยประการทั้ งปวงแล ว; อุ ปาทาน จะมี ขึ้ นมาให เห็ นได ไหมหนอ? ("ข อนั้ น หามิ ได พระเจ าข า!") ดู ก อ นอานนท ! เพราะเหตุ นั้ น ในเรื่อ งนี้ , นั่ นแหละคื อ เหตุ นั่ น แหละ คือนิทาน นั่นแหละคือสมุทัย นั่นแหละคือปจจัย ของอุปาทาน; นั้นคือ ตัณหา.

www.buddhadasa.info ดู ก อ นอานนท ! ก็ คํ า นี้ ว า "ตั ณ หามี เพราะป จ จั ย คื อ เวทนา" ดั งนี้ , เช น นี้ แล เป น คํ าที่ เรากล าวแล ว. ดู ก อ นอานนท ! ความข อ นี้ เธอต อ งทราบอธิ บ าย โดยปริยายดั งต อไปนี้ ที่ ตรงกั บหั วข อที่ เรากล าวไว แล วว า "ตั ณหามี เพราะป จจั ย คื อ เวทนา": ดู ก อ นอานนท ! ถ า หากว า เวทนา จั ก ไม ไ ด มี แ ก ใ ครๆ ในที่ ไ หน ๆ โดย ทุกชนิด โดยทุกอาการ กลาวคือ จักขุสัมผัสสชาเวทนา โสตสัมผัสสชาเวทนา

www.buddhadasa.info


๗๘๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๒

ฆานสัมผัสสชาเวทนา ชิวหาสัมผัสสชาเวทนา กายสัมผัสสชาเวทนา มโนสัมผัสสชา เวทนา. แลว ไซร; เมื ่อ เวทนาไมม ี เพราะความดับ ไปแหง เวทนา โดยประการ ทั้ ง ปวงแล ว ; ตั ณ หา จะมี ขึ้ น มาให เห็ น ได ไหมหนอ? ("ข อ นั้ น หามิ ได พระเจ า ข า !") ดู ก อ นอานนท ! เพราะเหตุ นั้ น ในเรื่ อ งนี้ , นั่ น แหละคื อ เหตุ นั่ น แหละคื อ นิ ท าน นั่ น แหละคือสมุทัย นั่นแหละคือปจจัย ของตัณหา; นั้นคือ เวทนา. ดู ก อนอานนท ! ก็ ด วยอาการดั งนี้ แล (เป นอั นกล าวได ว า) เพราะอาศั ยเวทนา จึงมีตัณหา; เพราะอาศัยตัณหา จึงมี การแสวงหา ๑(ปริเยสนา); เพราะอาศัยการแสวงหา จึงมี การได (ลาโภ); เพราะอาศัยการได จึงมี ความปลงใจรัก (วินิจฺฉโย); เพราะอาศัยความปลงใจรัก จึงมี ความกําหนัดดวยความพอใจ (ฉนฺทราโค); เพราะอาศัยความกําหนัดดวยความพอใจ จึงมี ความสยบมัวเมา (อชฺโฌสานํ); เพราะอาศัยความสยบมัวเมา จึงมี ความจับอกจับใจ (ปริคฺคโห); เพราะอาศัยความจับอกจับใจ จึงมี ความตระหนี่ (มจฺจริยํ); เพราะอาศัยความตระหนี่ จึงมี การหวงกั้น (อารกฺโข); เพราะอาศั ยการหวงกั้ น จึ งมี เรื่ องราวอั นเกิ ดจากการหวงกั้ น (อารกฺ ขาธิ ก รณํ ); กล า วคื อ การใช อ าวุ ธ ไม มี ค ม การใช อ าวุ ธ มี ค ม การทะเลาะ การแก งแย ง การวิ วาท การกล าวคํ าหยาบว า "มึ ง! มึ ง!" การพู ดคํ าส อเสี ยด และการพู ดเท็ จ ทั้ งหลาย: ธรรมอั น เป น บาปอกุ ศ ลเป น อเนกย อ มเกิ ด ขึ้ น พร อ ม ด ว ยอาการอย า งนี้ ; (เป น อั น ว า ) ขอความเชนนี้ เปนขอความที่เราไดกลาวไวแลว.

www.buddhadasa.info

คํ าว า "แสวงหา" ในที่ นี้ หมายถึ งแสวงด วยตั ณ หา นั่ น เอง. มิ ใช เป น การแสวงด วยวิ ชชา หรื อ ยถาภู ต ญาณทัสสนะ.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ที่มีลักษณะเพื่อศีลธรรม

๗๘๓

ดู ก อนอานนท ! ความข อนี้ เธอต องทราบอธิ บายโดยปริยายดั งต อไปนี้ ที่ ตรงกับหัวขอที่เรากลาวไวกลาวไวแลววา "ธรรมเปนบาปอกุศลเปนอเนก กลาวคือ การใชอาวุธ ไม มี คม การใช อาวุ ธมี คม การทะเลาะ การแก งแย ง การวิ วาท การกล าวคํ าหยาบว า ‘มึ ง! มึ ง!' การพู ดคํ าส อเสี ยด และการพู ดเท็ จ ทั้ งหลาย; ย อมเกิ ดขึ้ นพรอม เพราะ เรื่องราวอันเกิดจากการหวงกั้นเปนเหตุ " ดังนี้ : ดูกอนอานนท! ถาหากวาการหวงกั้น จั กไม ได มี แก ใคร ๆ ในที่ ไหน ๆ โดยทุ กชนิ ด โดยทุ กอาการ แล วไซร; เมื่ อการหวงกั้ น ไม มี เพราะความดั บ ไปแห ง การหวงกั้ น โดยประการทั้ ง ปวงแล ว ; ธรรมเป น บาป อกุ ศลเป นอเนก กล าวคื อ การใช อ าวุ ธไม มี คม การใช อาวุ ธมี คม การทะเลาะ การ แก งแย ง การวิวาท การกล าวคํ าหยาบวา "มึ ง! มึ่ ง!" การพู ดคํ าส อเสี ยด และการพู ดเท็ จ ทั้ งหลาย จะพึ งเกิ ด ขึ้ น พรอ มได ไหมหนอ? ("ข อ นั้ น หามิ ได พระเจ า ข า !") ดู ก อ น อานนท ! เพราะเหตุ นั้ น ในเรื่ อ งนี้ , นั่ น แหละคื อ เหตุ นั่ น แหละคื อ นิ ท าน นั่ น แหละ คื อสมุ ทั ย นั่ นแหละคื อป จจัย ของความเกิ ดขึ้นพรอมแห งธรรมเป นบาปอกุ ศลเป นอเนก เหล านี้ กล าวคื อ การใช อาวุ ธไม มี คม การใช อ าวุ ธมี คม การทะเลาะ การแก งแย ง การวิ วาท การกล าวคํ าหยาบว า "มึ ง! มึ ง!" การพู ดคํ าส อเสี ยด และการกล าวเท็ จ; นั้ นคื อ การหวงกั้น.

www.buddhadasa.info ดูกอนอานนท! ก็คํานี้วา "เพราะอาศัยความตระหนี่ จึงมีการหวงกั้น" ดั ง นี้ , เช น นี้ แ ล เป น คํ า ที่ เ รากล า วแล ว . ดู ก อ นอานนท ! ความข อ นี้ เธอต อ ง ทราบอธิบายโดยปริยายดั งต อไปนี้ ที่ ตรงกั บหั วขอที่ เรากล าวไวแล ววา "เพราะอาศั ยความ ตระหนี่ จึ ง มี ก ารหวงกั้ น " : ดู ก อ นอานนท ! ถ า หากว า ความตระหนี่ จั ก ไม ไ ด มี แก ใคร ๆ ในที่ ไหน ๆ โดยทุ กชนิ ด โดยทุ กอาการ แล วไซร , เมื่ อความตระหนี่ ไม มี เพราะความดั บไปแห งความตระหนี่ โดยประการทั้ งปวงแล ว; การหวงกั้ น จะมี ขึ้ นมา ใหเห็นไดไหมหนอ? ("ขอนั้น หามิได พระเจาขา!") ดูกอนอานนท! เพราะเหตุนั้น

www.buddhadasa.info


๗๘๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๒

เรื่องนี้ , นั่ นแหละคื อเหตุ นั่ นแหละคื อนิ ทาน นั่ นแหละคื อสมุ ทั ย นั่ นแหละคื อป จจั ย ของการหวงกั้น; นั้นคือ ความตระหนี่. ดูกอนอานนท! ก็คํานี้วา "เพราะอาศัยความจับอกจับใจ จึงมีความ ตระหนี่ " ดั งนี้ , เช น นี้ แ ล เป น คํ าที่ เรากล าวแล ว . ดู ก อ นอานนท ! ความข อ นี้ เธอ ต องทราบอธิบายโดยปริยายดั งต อไปนี้ ที่ ตรงกั บหั วขอที่ เรากล าวไวแล ววา "เพราะอาศั ย ความจั บ อกจั บ ใจ จึ งมี ค วามตระหนี่ ": ดู ก อ นอานนท !ถ า หากว า ความจั บ อกจั บ ใจ จั ก ไม ได มี แ ก ใคร ๆ ในที่ ไหน ๆ โดยทุ ก ชนิ ด โดยทุ ก อาการ แล ว ไซร ; เมื่ อ ความ จับอกจับใจไมมี เพราะความดับไปแหงความจับอกจับใจ โดยประการทั้ งปวงแลว; ความตระหนี่ จะมี ขึ้ นมาให เห็ นได ไหมหนอ? ("ขอนั้ น หามิ ได พระเจาขา!") ดู ก อนอานนท ! เพราะ เหตุ นั้ น ในเรื่องนี้ , นั่ นแหละคื อเหตุ นั่ นแหละคื อนิ ทาน นั่ นแหละคื อสมุ ทั ย นั่ นแหละ คือปจจัย ของความตระหนี่; นั้นคือ ความจับอกจับใจ. ดูกอนอานนท! ก็คํานี้วา "เพราะอาศัยความสยบมัวเมา จึงมีความ จั บ อกจั บ ใจ" ดั งนี้ , เชน นี้ แ ล เป น คํ าที่ เรากล าวแล ว. ดู ก อ นอานนท ! ความข อ นี้ เธอต องทราบอธิบายโดยปริยายดั งต อไปนี้ ที่ ตรงกั บหั วข อที่ เรากล าวไวแล ววา "เพราะ อาศั ยความสยบมั วเมา จึ งมี ความจั บอกจั บ ใจ". ดู ก อนอานนท ! ถ าหากความสยบ มั วเมา จั กไม ได มี แก ใคร ๆ ในที่ ไหน ๆ โดยทุ กชนิ ด โดยทุ กอาการ แล วไซร; เมื่ อ ความสยบมั วเมาไม มี เพราะความดั บไปแห งความสยบมั วเมา โดยประการทั้ งปวงแล ว; ความจั บ อกจั บ ใจ จะมี ขึ้ น มาให เห็ น ได ไหมหนอ? ("ข อ นั้ น หามิ ได พระเจ า ข า !") ดูก อ นอานนท! เพราะเหตุนั ้น ในเรื ่อ งนี ้, นั ่น แหละคือ เหตุ นั ่น แหละคือ นิท าน นั่นแหละคือสมุทัย นั่นแหละคือปจจัย ของความจับอกจับใจ; นั้นคือ ความสยบมัวเมา.

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ที่มีลักษณะเพื่อศีลธรรม

๗๘๕

ดูกอนอานนท! ก็คํานี้วา "เพราะอาศัยความกําหนัดดวยความพอใจ จึ ง มี ค วามสยบมั ว เมา" ดั ง นี้ , เช น นี้ แ ล เป น คํ า ที่ เรากล า วแล ว . ดู ก อ นอานนท ! ความนี้ เธอต องทราบอธิบายโดยปริยายดั งต อไปนี้ ที่ ตรงกับหั วขอที่ เรากลาวไวแล ววา "เพราะอาศั ยความกํ าหนั ดด วยความพอใจ จึ งมี ความสยบมั วเมา" : ดู ก อนอานนท ! ถาหากวาความกํ าหนั ดดวยความพอใจ จักไม ได มี แกใคร ๆ ในที่ ไหน ๆโดยทุ กชนิ ด โดย ทุกอาการ แลวไซร; เมื่ อความกําหนั ดดวยความพอใจไมมี เพราะความดับไปแหงความ กํ าหนั ดด วยความพอใจ โดยประการทั้ งปวงแล ว; ความสยบมั วเมา จะมี ขึ้ นมาให เห็ นได ไหมหนอ? ("ข อนั้ น หามิ ได พระเจ าข า!") ดู ก อนอานนท ! เพราะเหตุ นั้ น ในเรื่ องนี้ , นั่ นแหละคื อเหตุ นั่ นแหละคื อนิ ทาน นั่ นแหละคื อสมุ ทั ย นั่ นแหละคื อป จจั ย ของความ สยบมัวเมา; นั้นคือ ความกําหนัดดวยความพอใจ. ดู ก อ นอานนท ! ก็ คํ า นี้ ว า "เพราะอาศั ย ความปลงใจรั ก จึ งมี ค วาม กําหนั ดดวยความพอใจ" ดังนี้, เชนนี้แล เปนคําที่เรากลาวแลว. ดูกอนอานนท! ความขอนี้ เธอต องทราบอธิบายโดยปริยายดังตอไปนี้ ที่ ตรงกับหั วขอที่ เรากลาวไวแลววา "เพราะอาศั ย ความปลงใจรัก จึ งมี ความกํ าหนั ด ด วยความพอใจ" : ดู ก อ นอานนท ! ถ าหากว าความปลงใจรั กจั กไม ได มี แก ใคร ๆ ในที่ ไหน ๆ โดยทุ กชนิ ด โดยทุ กอาการ แล วไซร; เมื่ อความปลงใจรักไม มี เพราะความดั บไปแห งความปลงใจรัก โดยประการ ทั้ งปวงแล ว; ความกํ าหนั ดด วยความพอใจ จะมี ขึ้ นมาให เห็ นได ไหมหนอ? ("ข อนั้ น หามิ ได พระเจ า ข า !") ดู ก อ นอานนท ! เพราะเหตุ นั้ น ในเรื่อ งนี้ , นั่ น แหละคื อ เหตุ นั่ นแหละคื อนิ ทาน นั่ นและคื อสมุ ทั ย นั่ นแหละคื อป จจั ย ของความกํ าหนั ดด วยความ พอใจ; นั้นคือ ความปลงใจรัก.

www.buddhadasa.info ดูกอนอานนท! ก็คํานี้วา "เพราะอาศัยการได จึงมีความปลงใจรัก" ดังนี้, เชนนี้แลเปนคําที่เรากลาวแลว. ดูกอนอานนท! ความขอนี้ เธอตองทราบอธิบาย

www.buddhadasa.info


๗๘๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๒

โดยปริยายดั งตอไปนี้ ที่ ตรงกับหัวขอที่ เรากลาวไวแลววา "เพราะอาศั ยการได จึงมี ความ ปลงใจรั ก " : ดู ก อ นอานนท ! ถ า หากว า การได จั ก ไม ไ ด มี แ ก ใ คร ๆ ในที่ ไ หน ๆ โดยทุ กชนิ ด โดยทุ กอาการ แล วไซร; เมื่ อการได ไม มี เพราะความดั บไปแห งการได โดยประการทั้ ง ปวงแล ว; ความปลงใจรั ก จะมี ขึ้ น มาให เห็ น ได ไหมหนอ? ("ข อ นั้ น หามิ ได พระเจ า ข า !") ดู ก อ นอานนท ! เพราะเหตุ นั้ น ในเรื่อ งนี้ , นั่ น แหละคื อ เหตุ นั่ นแหละคื อนิ ทาน นั่ นแหละคื อสมุ ทั ย นั่ นแหละคื อป จจัย ของความปลงใจรัก; นั้ นคื อ การได. ดูกอนอานนท! ก็คํานี้วา "เพราะอาศัยการแสวงหา จึงมีการได" ดังนี้, เช นนี้ แลเป นคํ าที่ เรากล าวแล ว. ดู ก อนอานนท ! ความข อนี้ เธอต องทราบอธิบายโดย ปริยายดั งต อไปนี้ ที่ ตรงกับหั วขอที่เรากลาวไวแลวา "เพราะอาศัยการแสวงหา จึงมี การ ได " : ดู ก อ นอานนท! ถ าหากว าการแสวงหาจั ก ไม ได มี แ ก ใคร ๆ ในที่ ไหน ๆ โดย ทุ กชนิ ด โดยทุ กอาการ แล วไซร; เมื่ อ การแสวงหาไม มี เพราะความดั บ ไปแห งการ แสวงหา โดยประการทั้ งปวงแล ว; การได จะมี ขึ้ น มาให เห็ น ได ไหมหนอ? ("ข อ นั้ น หามิ ไ ด พ ระเจ า ข า !") ดู ก อ นอานนท ! เพราะเหตุ นั้ น ในเรื่ อ งนี้ , นั่ น แหละคื อ เหตุ นั่ นแหละคื อนิ ทาน นั่ นแหละคื อสมุ ทั ย นั่ นแหละคื อป จจั ย ของการได ; นั้ นคื อ การ แสวงหา.

www.buddhadasa.info ดูกอนอานนท! ก็คํานี้วา "เพราะอาศัยตัณหา จึงมีการแสวงหา" ดังนี้. เช นนี้ แลเป นคํ าที่ เรากล าวแล ว. ดู ก อนอานนท ! ความข อนี้ เธอต องทราบอธิบายโดย ปริยายดังต อไปนี้ ที่ ตรงกับหั วขอที่ เรากลาวไวแลววา "เพราะอาศั ยตั ณหา จึงมี การแสวง หา" : ดู ก อนอานนท ! ถ าหาว าตั ณ หา จั กไม ได มี แก ใคร ๆ ในที่ ไหน ๆ โดยทุ กชนิ ด โดยทุกอาการกลาวคือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา, แลวไซร; เมื่อตัณหา

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ที่มีลักษณะเพื่อศีลธรรม

๗๘๗

ไม มี เพราะความดั บไปแห งตั ณ หา โดยประการทั้ งปวงแล ว; การแสวงหา จะมี ขึ้ นมา ให เห็ น ได ไหมหนอ? ("ข อ นั้ น หามิ ได พระเจ าข า!") ดู ก อ นอานนท ! เพราะเหตุ นั้ น ในเรื่องนี้ , นั่ นแหละคื อเหตุ นั่ นแหละคื อนิ ทาน นั่ นแหละคื อสมุ ทั ย นั่ นแหละคื อป จจั ย ของการแสวงหา; นั้นคือ ตัณหา. ดู ก อนอานนท ! ก็ ด วยอาการดั งนี้ แล (เป นอั นกล าวได ว า) ธรรมทั้ งสอง๑ เหลานี้รวมเปนธรรมที่มีมูลอันเดียวกันในเวทนา; คือเวทนาอยางเดียว ก็เปนมูล สําหรับใหเกิดตัณหาแตละอยาง ๆ ทั้งสองอยางได. ดูกอนอานนท! ก็คํานี้วา "เวทนามี เพราะปจจัยคือผัสสะ" ดังนี้, เชน นี้ แล เป น คํ าที่ เรากล าวแล ว. ดู ก อ นอานนท ! ความข อ นี้ เธอต อ งทราบอธิ บ ายโดย ปริยายดั งต อไปนี้ ที่ ตรงกั บหั วข อที่ เรากล าวไวแล ววา "เวทนามี เพราะป จจั ยคื อผั สสะ" : ดู ก อนอานนท ! ถ าหากว าผั สสะ จั กไม ได มี แก ใคร ๆ ในที่ ไหน ๆ โดยทุ กชนิ ด โดย ทุกอาการ กลาวคือ จักขุสัมผัส โสตสัมผัส ฆานสัมผัส ชิวหาสัมผัสกายสัมผัส มโนสัม ผัส , แลว ไซร;เมื ่อ ผัส สะไมม ี เพราะความดับ ไปแหง ผัส สะ โดยประการ ทั้ ง ปวงแล ว ;เวทนา จะมี ขึ้ น มาให เห็ น ได ไหมหนอ? (ข อ นั้ น หามิ ได พระเจ า ข า !") ดูก อ นอานนท! เพราะเหตุนั ้น ในเรื ่อ งนี ้, นั ่น แหละคือ เหตุ นั ่น แหละคือ นิท าน นั่นแหละคือสมุทัย นั่นแหละคือปจจัย ของเวทนา; นั้นคือผัสสะ.

www.buddhadasa.info

ธรรมทั้ งสองในที่ นี้ คื อ ตั ณ หา ในบทว า "เพราะเวทนาเป นป จจั ย จึ งมี ตั ณ หา" นี้ อย างหนึ่ ง; อี กอย าง หนึ่ ง คื อ ตั ณ หา ที่ ทํ าหน าที่ แสวงหาอารมณ หรือเพลิ ดเพลิ นในอารมณ , รวมเป นสองอย างด วยกั น ; อย างแรก ได ในบทว า โปโนพฺ ภวิ กา, ที่ อรรถกถาเรียกว า วั ฏฏมู ลตั ณ หา; อย างหลั งได ในบทว า ตตฺ ร ตตฺราภนนฺทินี, หรือที่อรรถกถาเรียกวา สมุทาจารตัณหา.

www.buddhadasa.info


๗๘๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๒

ดู กอนอานนท ! ก็ คํ านี้ วา "ผั สสะมี เพราะป จจั ยคื อนามรูป" ดั งนี้ , เช น นี้ แ ล เป น คํ า ที่ เรากล า วแล ว . ดู ก อ นอานนท ! ความข อ นี้ เธอต อ งทราบอธิ บ ายโดย ปริยายดั งต อไปนี้ ที่ ตรงกั บหั วข อที่ เรากล าวไว แล วว า "ผั สสะมี เพราะป จจั ยคื อนามรูป๑ " ดูกอนอานนท! การบัญญัติซึ่งหมูแหงนาม ยอมมีไดโดยอาศัยอาการ ลิงค นิ มิ ต อุ เทศ ทั้ งหลายเป นหลั ก, เมื่ ออาการ ลิ งค นิ มิ ต อุ เทศ เหล านั้ น ไม มี เสี ยแล ว การสัมผัสดวยการเรียกชื่อ (อธิวจนสมฺผสฺโส) ในกรณีอันเกี่ยวกับรูปกาย จะมีขึ้นมา ใหเห็นไดไหมหนอ? ("ขอนั้น หามิได พระเจาขา!"); ดูก อนอานนท ! การบั ญญั ติ ซึ่ งหมู แห งรูป ย อมมี ไดโดยอาศั ยอาการ ลิ งค นิ มิ ต อุ เทศ ทั้ งหลายเป นหลั ก, เมื่ ออาการ ลิ งค นิ มิ ต อุ เทศ เหล านั้ น ไม มี เสี ยแล ว การสัมผัสดวยการกระทบ (ปฏิฆสมฺผสฺโส) ในกรณี อันเกี่ยวกับรูปกาย จะมีขึ้นมา ใหเห็นไดไหมหนอ? ("ขอนั้น หามิได พระเจาขา!");

www.buddhadasa.info ดู ก อ นอานนท ! การบั ญ ญั ติ ซึ่ ง หมู แ ห ง นามด ว ย ซึ่ ง หมู แ ห ง รู ป ด ว ย ย อมมี ได โดยอาศั ยอาการ ลิ งค นิ มิ ต อุ เทศ ทั้ งหลายเป นหลั ก, เมื่ ออาการ ลิ งค นิ มิ ต อุเทศ เหลานั้น ไมมีเสียแลว การสัมผัสดวยการเรียกชื่อ ก็ดี การสัมผัสดวยการกระทบ ก็ดี จะมีขึ้นมาใหเห็นไดไหมหนอ? ("ขอนั้น หามิได พระเจาขา!");

ดู ก อนอานนท ! การบั ญ ญั ติ ซึ่ งนามรู ป ย อมมี ได โดยอาศั ยอาการ ลิ งค นิ มิ ต อุ เทศ ทั้ งหลายเป นหลั ก, เมื่ ออาการ ลิ งค นิ มิ ต อุ เทศ เหล านั้ น ไม มี เสี ยแล ว ผัสสะ จะมีขึ้นมาใหเห็นไดไหมหนอ? ("ขอนั้น หามิได พระเจาขา!");

พึ งสั งเกตไว ว า ปฏิ จจสมุ ปบาท แบบที่ หยุ ดลงเพี ยงนามรู ป-วิ ญ ญาณ ไม เลยขึ้ นไปถึ งสั งขารและอวิ ชชา นี้; สําหรับสูตรนี้ ไมมี สฬายตนะ เหมือนสูตรอื่น ๆ แหงแบบนี้.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ที่มีลักษณะเพื่อศีลธรรม

๗๘๙

ดู ก อนอานนท ! เพราะเหตุ นั้ นแหละ ในเรื่ องนี้ , นั่ นแหละคื อเหตุ นั่ นแหละ คือนิทาน นั่นแหละคือสมุทัย นั่นแหละคือปจจัย ของผัสสะ; นั้นคือ นามรูป. ดูกอนอานนท! ก็คํานี้วา "นามรูปมี เพราะปจจัยคือวิญญาณ" ดังนี้, เช น นี้ แล เป น คํ าที่ เรากล าวแล ว. ดู ก อ นอานนท ! ความข อ นี้ เธอต อ งทราบอธิ บ าย โดยปริยายดั งต อไปนี้ ที่ ตรงกั บหั วข อที่ เรากล าวไวแล ววา "นามรูปมี เพราะป จจั ยคื อ วิญญาณ" : ดู ก อนอานนท ! ถ าหากวาวิญญาณ จักไม กาวลงในท องแห งมารดา แล วไซร; นามรูปจักปรุงตัวขึ้นมาในทองแหงมารดาไดไหม? (ขอนั้น หามิไดพระเจาขา!"); ดู ก อนอานนท ! ถ าหากว าวิ ญญาณก าวลงในท องแห งมารดาแล ว∗ จั กสลายลง เสี ยแล วไซร; นามรูป จั กบั งเกิ ดขึ้ น เพื่ อความเป นอย างนี้ ได ไหม? ("ข อนั้ น หามิ ได พระเจาขา!"); ดู ก อนอานนท ! ถ าหากว าวิ ญญาณของเด็ กอ อน ที่ เป นชายก็ ตาม เป นหญิ ง ก็ ตาม จั กขาดลงเสี ยแล วไซร; นามรู ป จั กถึ งซึ่ งความเจริญ ความงอกงาม ความไพบู ลย บางหรือ? ("ขอนั้น หามิไดพระเจาขา"!);

www.buddhadasa.info ดู ก อนอานนท ! เพราะเหตุ นั้ น ในเรื่องนี้ , นั่ นแหละคื อเหตุ นั่ นแหละคื อ นิทาน นั่นแหละคือสมุทัย นั่นแหละคือปจจัย ของนามรูป; นั้นคือ วิญญาณ.

ขอความนี้ เป นข อความที่ มี ลั กษณะเป นปฏิ จจสมุ ปบาทอย างภาษาคน, หรือภาษาศี ลธรรม. แต เราอาจถื อ เอาข อความนี้ เป นเพี ยงอุ ปมา แล วถื อเอาข อความในภาษาธรรมเป นอุ ป ไมย. หรือมิ ฉะนั้ น ก็ ถื อว า เปนเรื่องศีลธรรม โดยสวนเดียว.

www.buddhadasa.info


๗๙๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๒

ดู ก อนอานนท ! ก็ คํ านี้ ว า "วิ ญ ญาณมี เพราะป จจั ยคื อ นามรู ป " ดั งนี้ , เช นนี้ แล เป นคํ าที่ เรากล าวแล ว. ดู ก อนอานนท ! ความข อนี้ เธอต องทราบอธิ บายโดย ปริยายดั งต อไปนี้ ที่ ตรงกั บหั วข อที่ เรากล าวไว แล วว า "วิ ญญาณมี เพราะป จจั ยคื อนามรูป": ดู ก อ นอานนท ! ถ าหากว าวิ ญ าณ จั ก ไม ได มี ที่ ตั้ งที่ อ าศั ย ในนามรู ป แล วไซร ; ความ เกิ ดขึ้ นพรอมแห งทุ กข คื อชาติ ชรามรณะต อไป จะมี ขึ้ นมาให เห็ นได ไหม? ("ข อนั้ น หามิ ได พระเจาขา!") ดูกอนอานนท! เพราะเหตุนั้นแหละ ในเรื่องนี้, นั่นแหละคือเหตุ นั่นแหละ คือนิทาน นั่นแหละคือสมุทัย นั่นแหละคือปจจัย ของวิญญาณ; นั่นคือ นามรูป. ดู ก อ นอานนท ! ด ว ยเหตุ เ พี ย งเท า นี้ สั ต ว โ ลก จึ ง เกิ ด บ า ง จึ ง แก บ า ง จึงตายบ าง จึ งจุ ติ บ าง จึ งอุ บั ติ บ าง : คลองแห งการเรียก (อธิวจน) ก็ มี เพี ยงเท านี้ , คลองแหงการพูดจา (นิรุตฺติ) ก็มีเพียงเทานี้, คลองแหงการบัญญั ติ (ปฺ ญตฺติ) ก็มี เพียงเทานี้, เรื่องที่ จะตองรูดวยป ญญา (ปฺ ญาวจร) ก็มีเพี ยงเทานี้, ความเวียนวาย ในวัฏฏะ ก็มีเพียงเทานี้ : นามรูปพรอมทั้งวิญญาณตั้งอยู เพื่อการบัญญัติซึ่งความเปน อยางนี้ (ของนามรูปกับวิญญาณ นั่นเอง).

ธาตุ ๓ อยาง www.buddhadasa.info เปนที่ตั้งแหงความเปนไปไดของปฏิจจสมุปบาท ๑

"ข าแต พระองค ผู เจริ ญ ! คํ าที่ กล าว ๆ กั นว า ‘ภพ-ภพ' ดั งนี้ นั้ น ภพย อม มีได ดวยเหตุมีประมาณเทาไรแล พระเจาขา?"

สูตรที่ ๖ อานันทวรรค ติก.อํ. ๒๐/๒๘๗/๕๑๖, ตรัสแกพระอานนท.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ที่มีลักษณะเพื่อศีลธรรม

๗๙๑

ดู ก อ นอานนท ! ถ า กรรมอั น มี ก ามธาตุ เป น วิ บ าก (วิ บ าก=ผลแห ง การ กระทํ า) จักไม ได มี แล วไซร, กามภพจะพึ งปรากฎได แลหรือ? ("ขอนั้ น หามิ ได พระเจ า ข า!") ดู ก อนอานนท ! ด วยเหตุ ดั งนี้ แล กรรม จึ งชื่ อวาเนื้ อนา, วิ ญ ญาณ ชื่ อว าพื ช, ตัณหา ชื่อวายางในพืช. เมื่อวิญญาณ ของสัตวทั้งหลายผูมีอวิชชาเปนเครื่องกั้น มีตัณหา เปนเครืองผูก ตั้งอยูดวย ธาตุอันทราม (กามธาตุ) อยางนี้แลว, การบังเกิดขึ้นใน ภพใหมตอไป (อายตึ ปุนพฺภวาภินิพฺพตฺติ) ยอมมี ดวยอาการอยางนี้. ดู ก อ นอานนท ! ถ า กรรมอั น มี รู ป ธาตุ เป น วิ บ าก จั ก ไม ได มี แ ล ว ไซร , รู ป ภพ จะพึ ง ปรากฎได แ ลหรื อ ? ("ข อ นั้ น หามิ ไ ด พระเจ า ข า !") ดู ก อ นอานนท ! ด วยเหตุ ดั งนี้ แล กรรม จึ งชื่ อว าเนื้ อหา, วิญญาณ ชื่ อว าพื ช, ตั ณหา ชื่ อว ายางในพื ช. เมื่อวิญญาณของสัตวทั้งหลายผูมีอวิชชาเปนเครื่องกั้น มีตัณหาเปนเครื่องผูก ตั้งอยูดวย ธาตุป านกลาง(รูป ธาตุ)อยา งนี ้แ ลว , การบัง เกิด ขึ ้น ในภพใหมต อ ไป ยอ มมี ดวยอาการอยางนี้. ดูกอนอานนท ! ถากรรมอั น มี อ รูป ธาตุ เป น วิบ าก จักไม ไดมี แลวไซร, อรูป ภพ จะพึ ง ปรากฎได แ ลหรือ ? ("ข อ นั้ น หามิ ได พระเจ า ข า !") ดู ก อ นอานนท ! ด วยเหตุ ดั งนี้ แล กรรม จึ งชื่ อว าเนื้ อหา, วิญญาณ ชื่ อว าพื ช, ตั ณหา ชื่ อว ายางในพื ช. เมื่อวิญญาณของสัตวทั้งหลายผูมีอวิชชาเปนเครื่องกั้น มีตัณหาเปนเครื่องผูก ตั้งอยูดวย ธาตุอ ัน ประณีต (อรูป ธาตุ) อยา งนี ้แ ลว , การบัง เกิด ขึ ้น ในภพใหมต อ ไป ยอมมี ดวยอาการอยางนี้.

www.buddhadasa.info ดูกอนอานนท! ภพ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้ แล.

www.buddhadasa.info


๗๙๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๒ (ตอไปนี้ เปนขอความในสูตรอีกสูตรหนึ่ง๑ ซึ่งมีหลักธรรมทํานองเดียวกัน:-)

"ข าแต พระองค ผู เจริ ญ ? คํ าที่ กล าว ๆ กั นว า ‘ภพ-ภพ' ดั งนี้ นั้ น ภพย อม มีได ดวยเหตุที่ประมาณเทาไรแล พระเจาขา?" ดู ก อนอานนท ! ถ ากรรมอั นมี กามธาตุ เป นวิ บาก (วิบาก = ผลแห งการกระทํ า) จั กไม ได มี แล วไซร, กามภพ จะพึ งปรากฎได แลหรือ? ("ข อนั้ น หามิ ได พระเจ าข า!") ดู ก อนอานนท ! ด วยเหตุ ดั งนี้ แล กรรม จึ งชื่ อว าเนื้ อนา, วิ ญ ญาณ ชื่ อว าพื ช, ตั ณ หา ชื่ อว ายางในพื ช. เมื่ อเจตนา ก็ ดี ความปรารภนา (ปตฺ ถนา) ก็ ดี ของสั ตว ทั้ งหลายผู มี อวิชชาเปนเครื่องกั้น มีตัณหาเปนเครื่องผูก ตั้งอยูดวยธาตุ อันทราม (กามธาตุ) อยางนี้ แลว, การบังเกิดในภพใหมตอไป ยอมมี ดวยอาการอยางนี้. ดูกอนอานนท! ถากรรมอั นมี รูปธาตุเป นวิบาก จักไมไดมีแลวไซร, รูปภพ จะพึ ง ปรากฎได แ ลหรื อ ? ("ข อ นั้ น หามิ ได พระเจ า ข า !") ดู ก อ นอานนท ! ด ว ยเหตุ ดั ง นี้ แ ล กรรม จึ ง ชื่ อ ว า เนื้ อ นา, วิ ญ ญาณ ชื่ อ ว า พื ช , ตั ณ หา ชื่ อ ว า ยางในพื ช . เมื่ อเจตนา ก็ ดี ความปรารภนา ก็ ดี ของสั ตว ทั้ งหลายผู มี อวิ ชชาเป นเครื่องกั้ น มี ตั ณหา เป นเครื่องผู ก ตั้ งอยู ด วยธาตุ ป านกลาง (รูปธาตุ ) อย างนี้ แล ว, การบั งเกิ ด ในภพใหมตอไป ยอมมี ดวยอาการอยางนี้.

www.buddhadasa.info ดู ก อ นอานนท ! ถ า กรรมอั น มี อ รู ป ธาตุ เป น วิ บ าก จั ก ไม ได มี แ ล ว ไซร, อรูปภพ จะพึงปรากฎไดแลหรือ? ("ขอนั้น หามิได พระเจาขา!") ดูกอนอานนท!

สูตรที่ ๗ อานันทวรรค ติก.อํ. ๒๐/๒๘๘/๕๑๗, ตรัสแกพระอานนท.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ที่มีลักษณะเพื่อศีลธรรม

๗๙๓

ด ว ยเหตุ ดั ง นี้ แ ล กรรม จึ ง ชื่ อ ว า เนื้ อ นา, วิ ญ ญาณ ชื่ อ ว า พื ช , ตั ณ หา ชื่ อ ว า ยาง ในพื ช . เมื่ อ เจตนา ก็ ดี ความปรารภนาก็ ดี ข องสั ต ว ทั้ ง หลายผู มี อ วิ ช ชาเป น เครื่อ ง กั้น มีตัณหาเปนเครื่องผูก ตั้งอยูดวยธาตุอันประณีต (อรูปธาตุ) อยางนี้แลว, การบังเกิด ในภพใหมตอไป ยอมมี ดวยอาการอยางนี้. ดูกอนอานนท! ภพ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้ แล. หมายเหตุ ผู ร วบรวม : ผู ศึ ก ษาพึ ง สั ง เกตให เห็ น ว า การเกิ ด ขึ้ น แห ง ภพ ใหม ต อ ไปในที่ นี้ หมายถึ งการเกิ ด แห งภพ เพราะอํ านาจแห งอุ ป าทาน ของสั ต ว ผู ป ระกอบ ด วยอวิ ชชาและตั ณหา ในขณะแห งปฏิ จจสมุ ปบาทสายหนึ่ ง ๆ ทุ กสาย ต างกั นไปตามอารมณ ของตั ณ หา ซึ่ ง เป น กามธาตุ บ า ง รู ป ธาตุ บ า งอรู ป ธาตุ บ า ง; ดั ง นั้ น ถ า ธาตุ ทั้ ง ๓ นี้ ยั ง มี อยู แม เพี ย งอย างใดอย า งหนึ่ ง การเกิ ด ในภพใหม ในกระแสแห งปฏิ จ จสมุ ป บาทนั้ น ก็ พึ ง มีตอไป.

หมวดที่สิบสอง จบ ------------

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


บทสรุป วาดวย คุณคาพิเศษ ของปฏิจจสมุปบาท

www.buddhadasa.info

๗๙๕

www.buddhadasa.info


www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


กฏอิทัปปจจยตา : หัวใจปฏิจจสมุปบาท -----------------อิมสฺมึ สติ อิทํ โหติ เมื่อสิ่งนี้ มี สิ่งนี้ ยอมี อิมสฺสุปฺปาทา อิทํ อุปฺปชฺชติ เพราะความเกิขึ้นแหงสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น. อิมสฺมึ อสติ อิทํ น โหติ เมื่อสิ่งนี้ ไมมี สิ่งนี้ ยอมไมมี อิมสฺส นิโรธา อิทํ นิรุชฺฌติ เพราะความดับไปแหงสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงดับไป. (ม.ม. ๑๓/๓๕๕/๓๗๑,นิทาน.สํ.๑๖/๘๔/๑๕๕,…)

www.buddhadasa.info

๗๙๗

www.buddhadasa.info


ลําดับเรื่อง ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ บทสรุป วาดวย คุณคาพิเศษของปฏิจจสมุปบาท (มี ๕ เรื่อง)

มี เรื่ อง : ปฏิ จจสมุ ปบาทคื อเรื่องความไม มี สั ตวบุ คคลตั วตนเราเขา - - ที่ สุ ด แห ง ปฏิ จ จสมุ ป บาทคื อ ที่ สุ ด แห ง ภพ -- ธรรมไหลไปสู ธ รรมโดยไม ต อ งมี ใ ครเจตนา -แม พ ระพุ ท ธองค ก็ ท รงสาธยายปฏิ จ จสมุ ป บาท -- เรื่ อ งปฏิ จ จสมุ ป บาทรวมอยู ใ นเรื่ อ งที่ พุทธบริษัทควรทําสังคีติ.

www.buddhadasa.info

๗๙๘

www.buddhadasa.info


ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ

บทสรุป วาดวย คุณคาพิเศษ ของปฏิจจสมุปบาท --------------ปฏิจจสมุปบาท คือเรื่องความไมมีสัตวบุคคลตัวตนเราเขา๑ ภิกษุโมลิยผัคคุนะ ไดทูลถามวา "ขาแตพระองคผูเจริญ! ก็ใครเลา ยอมกลืนกิน

ซึ่งวิญญาณาหาร พระเจาขา?" พระผูมีพระภาคเจา ไดตรัสตอบวา :"นั่นเปนปญหาที่ไมควรจะเปนปญหาเลย: เรายอมไมกลาววา ‘บุคคลยอม กลืนกิน' ดังนี้ ถาเราไดกลาววา ‘บุคคลยอมกลืนกิน' ดังนี้ นั่นแหละจึงจะเปนปญหา

www.buddhadasa.info

สูตรที่ ๒ อาหารวรรค นิทานสังยุตต นิทาน.สํ. ๑๖/๑๕/๓๒, ตรัสแกพระโมลิยผัคคุนะในที่ชุมนุมสงฆ ที่เชตวัน.

๗๙๙

www.buddhadasa.info


๘๐๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๒

ในขอนี้ที่ควรถามขึ้นวา `ก็ใครเลา ยอมกลืนกิน (ซึ่งวิญญาณาหาร) พระเจาขา?' ดั งนี้ . ก็เรามิไดกลาวอยางนั้น, ถาผูใดจะพึงถามเราผูมิไดกลาวอยางนั้น เชนนี้วา `ขาแตพระองค ผูเจริญ ! วิญ ญาณาหาร ยอมมี เพื่ ออะไรเลาหนอ?’ ดังนี้แลว, นั่ นแหละจึ งจะเป น ป ญ หาที่ ค วรแกค วามเป น ป ญ หา. คําเฉลยที่ควรเฉลยในปญ หาขอ นั้น ยอมมีวา ‘วิญญาหาร ยอมมีเพื่อความเกิดขึ้นแหงภพใหมตอไป. เมื่อภูตะ (ความเปน ภพ) นั้น มีอยู' สฬายตนะ ยอมมี;เพราะมีสฬายตนะเปนปจจัย จึงมีผัสสะ (การสัมผัส)', ดังนี้". "ขาแตพระองคผูเจริญ! ก็ใครเลา ยอมสัมผัส พระเจาขา?" นั่ นเป นป ญหาที่ ไม ควรจะเป นป ญหาเลย: เราย อมไม กล าววา "บุ คคล ย อม สัมผั ส" ดั งนี้ ถาเราได กล าววา "บุ คคล ยอมสั มผั ส" ดั งนี้ นั่ นแหละจึงจะเป นป ญหาใน ข อนี้ ที่ ควรถามขึ้ นวา "ก็ ใคร เล า ย อมสั มผั ส พระเจ าข า?" ดั งนี้ . ก็ เรามิ ได กล าวอย าง นั้ น, ถ าผู ใดจะพึ งถามเราผู มิ ได กล าวอย างนั้ น เช นนี้ วา "ผั สสะมี เพราะมี อะไรเป น ปจจัย พระเจาขา?" ดังนี้แลว นั่นแหละจึงจะเปนปญหาที่ควรแกความเปนปญหา. คําเฉลยที่ควรเฉลยในปญหาขอนั้น ยอมมีวา "เพราะมีสฬายตนะเปนปจจัย จึงมี ผัสสะ; เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมีเวทนา (ความรูสึกตออารมณ)", ดังนี้.

www.buddhadasa.info "ขาแตพระองคผูเจริญ! ก็ใครเลา ยอมรูสึกตออารมณ พระเจาขา?"

นั่ นเป นป ญหาที่ ไม ควรจะเป นป ญหาเลย: เราย อมไม กล าววา "บุ คคล ย อม รูสึ กต ออารมณ "ดั งนี้ ถ าเราได กล าววา "บุ คคล ย อมรูสึ กต ออารมณ " ดั งนี้ นั่ นแหละ จึงจะเปนปญหาในขอนี้ที่ควรถามขึ้นวา "ก็ใครเลา ยอมรูสึกตออารมณ พระเจาขา?"

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ที่มีลักษณะเพื่อศีลธรรม

๘๐๑

ดั งนี้ . ก็ เรามิ ได ก ล าวอย างนั้ น , ถ าผู ใดจะพึ งถามเราผู มิ ได ก ล าวอย างนั้ น เช น นี้ ว า "เพราะมี อ ะไรเป น ป จจัย จึงมี เวทนา พระเจาข า?" ดั งนี้ แล ว นั่ น แหละจึ งจะเป น ป ญ หาที่ ค วรแก ค วามเป น ป ญ หา. คําเฉลยที่ ควรเฉลยในป ญ หาขอ นั้น ยอ มมี วา "เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมีเวทนา; เพราะมีเวทนาเปนปจจัย จึงมีตัณหา (ความอยาก)", ดังนี้. "ขาแตพระองคผูเจริญ! ก็ใครเลา ยอมอยาก พระเจาขา?" นั่ นเป นป ญหาที่ ไม ควรจะเป นป ญหาเลย: เราย อมไม กล าววา "บุ คคล ย อม อยาก" ดั งนี้ , ถ าเราได กล าวว า "บุ คคลย อมอยาก" ดั งนี้ นั่ นแหละจึ งจะเป นป ญ หา ในข อ นี้ ที่ ค วรถามขึ้ น ว า "ก็ ใ ครเล า ย อ มอยาก พระเจ า ข า ?" ดั ง นี้ . ก็ เรามิ ได ก ล า ว อย างนั้ น, ถ าผู ใดจะพึ งถามเราผู มิ ได กล าวอย างนั้ น เช นนี้ วา "เพราะมี อะไรเป นป จจั ย จึงมีตัณหา พระเจาขา?" ดังนี้แลว นั่นแหละจึงจะเปนปญหาที่ควรแกความเปน ปญ หา. คําเฉลยที่ควรเฉลยในปญ หาขอนั้น ยอมมีวา "เพราะมีเวทนาเปนปจจัย จึงมีตัณหา; เพราะมีตัณหาเปนปจจัย จึงมีอุปาทาน (ความยึดมั่น)", ดังนี้.

www.buddhadasa.info "ขาแตพระองคผูเจริญ! ก็ใครเลา ยอมยึดมั่น พระเจาขา?"

นั่ นเป นป ญหาที่ ไม ควรจะเป นป ญหาเลย: เราย อมไม กล าววา "บุ คคลย อม ยึ ดมั่ น" ดั งนี้ ถ าเราได กล าววา "บุ คคลย อมยึ ดมั่ น" ดั งนี้ นั่ นแหละจึ งจะเป นป ญหาใน ข อ นี้ ที่ ค วรถามขึ้ น ว า "ก็ ใครเล า ย อ มยึ ด มั่ น พระเจ า ข า ?" ดั งนี้ . ก็ เรามิ ได ก ล า ว อยางนั้ น, ถาผู ใดจะพึ งถามเราผู มิ ได กลาวอยางนั้ น เช นนี้ วา "เพราะมี อะไรเป นป จจั ย จึงมีอุปาทาน พระเจาขา?" ดังนี้แลว นั่นแหละจึงจะเปนปญหาที่ควรแกความเปน

www.buddhadasa.info


๘๐๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๒

ปญหา. คําเฉลยที่ควรเฉลยในปญหาขอนั้น ยอมมีวา "เพราะมีตัณหาเปนปจจัยจึง มีอุป าทาน; เพราะมีอุป าทานเปน ปจ จัย จึง มีภ พ;" เพราะมีภ พเปน ปจ จัย จึง มีช าติ; เพราะมีช าติเ ปน ปจ จัย , ชรามรณะ โสกะปริเ ทวะทุก ขุโ ทมนัส อุปายาสทั้ งหลาย จึ งเกิ ดขึ้ นครบถ วน: ความเกิ ดขึ้นพรอมแห งกองทุ กข ทั้ งสิ้ นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้. ดูกอนผัคคุนะ! เพราะความจางคลายดับไปโดยไมเหลือแหงผัสสายตนะ (แดนเกิด แหง ผัส สะ)ทั ้ง ๖ นั ้น นั่น เทีย ว จึง มีค วามดับ แหง ผัส สะ; เพราะมี ความดับแหงผัสสะ จึงมีความดับแหงเวทนา; เพราะมีความดับแหงเวทนา จึงมีความ ดับแหงตัณหา; เพราะมีความดับแหงตัณหา จึงมีความดับแหงอุปาทาน; เพราะมี ความดับแหงอุปาทาน จึงมีความดับแหงภพ; เพราะมีความดับแหงภพ จึงมีความดับ แห งชาติ ; เพราะมี ค วามดั บ แห งชาติ นั่ น แล ชรามรณะโสกะปริเทวะทุ ก ขุโทมนั ส อุปายาสทั้งหลาย จึงเดับสิ้น: ความดั บลงแห งกองทุ กข ทั้ งสิ้ นนี้ ยอมมี ด วยอาการ อยางนี้. ดังนี้ แล.

www.buddhadasa.info ที่สุดแหงปฏิจจสมุปบาท คือที่สุดแหงภพ๑

ลํ าดั บนั้ น พระผู มี พระภาคเจ า ทรงออกจากสมาธิ นั้ น โดยกาลอั นล วงไปแห งวั นทั้ ง ๗ ทรง ตรวจดู โลกดวยพุ ทธจักษุ แลว ไดทรงเห็นหมูสัตวผูเดือนรอนอยู ดวยความเดือนรอนมีประการตาง ๆ และเรา รอนอยู ด วยความเรารอนมี ประการต าง ๆ อั นเกิ ดจากราคะบ าง อั นเกิ ดจากโทสะบ าง อั นเกิ ดจากโมหะบ าง, ครั้นทรงรูสึกความขอนี้แลว ไดทรงเปลงอุทานนี้ ในเวลานี้วา :-

สูตรที่ ๑๐ นันทวรรค อุ.ขุ ๒๕/๑๒๑/๘๔, ทรงเปลงอุทาน ที่โคนแหงตนโพธิ์ใกลผั่งแมน้ําเนรัญชรา.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ที่มีลักษณะเพื่อศีลธรรม

๘๐๓

{ "สัตวโลกนี้ เกิดความเดือนรอนแลว มีผัสสะบังหนา๑ ยอมกลาวซึ่งโรค (ความเสียบแทง) นั้น โดยความเปนตน." { เขาสําคัญสิ่งใด โดยความเป นประการใด แตสิ่ งนั้ นยอมเป น (ตามที่ เป นจริง) โดยประการอื่น จาก ที่เขาสําคัญนั้น. { สัตวโลกติดของอยูในภพ ถูกภพบังหนาแลว มีภพโดยความเปนอยางอื่น (จากที่มันเปนอยูจริง) จึงได เพลิดเพลินยิ่งนักในภพนั้น. { เขาเพลิดเพลินยิ่งนักในสิ่งใด สิ่งนั้น ก็เปนภั ย(นากลัว); เขากลัวตอสิ่งใด สิ่งนั้น ก็เปนทุกข. { พรหมจรรยนี้ อันบุคคลยอมประพฤติ ก็เพื่อการละขาดซึ่งภพ นั้นเอง. { สมณะหรือพราหมณ ทั้งหลายเหลาใด กลาวความหลุนพนจากภพวามี ไดเพราะ ภพ; เรากลาววา สมณะทั้งปวงนั้น มิใชผูหลุดพนจากภพ. { ถึงแมสมณะหรือพราหมณ ทั้งหลายเหลาใด กลาวความออกไปไดจากภพ วามี ได เพราะวิภพ๒ เรา กล าววา สมณะหรือพราหมณ ทั้ งปวงนั้ น ก็ ยังสลั ดภพ ออกไปไมได. { ก็ทุกขนี้เกิดขึ้นเพราะอาศัยซึ่ง อุปธิ ทั้งปวง. { ความเกิดขึ้นแหงทุกข ไมมี ก็เพราะความสิ้นไปแหงอุปาทานทั้งปวง. { ทานจงดูโลกนี้เถิด (จะเห็นวา) สัตวทั้งหลาย อันอวิชชาหนาแนนบังหนา

www.buddhadasa.info ๑

คํ าว า "มี ผั สสะบั งหน า (ผสฺ สปเรโต)" หมายความว า เมื่ อเขาถู กต องผั สสะใด จิ ตทั้ งหมดของเขายึ ดมั่ น อยูในผั สสะนั้ น จนไม มองเห็ นสิ่ งอื่ น แม จะใหญ โตมากมายเพี ยงใด ทํ านองเส นผมบั งภู เขา : เขาหลงใหล ยึ ดมั่ นแต ในอั สสาทะของผั สสะนั้ นจนไม มองเห็ นสิ่ งอื่ น; อย างนี้ เรี ยกว า มี ผั สสะบั งหน า คื อบั งลู กตา ของเขา ใหเห็นสิ่งตาง ๆ ผิดไปจากตามที่เปนจริง. ๒ คํ าว า "วิ ภ พ" ในที่ นี้ ตรงกั น ข ามกั บ คํ าว า "ภพ" คื อ ไม มี ภ พตามอํ านาจของนั ตถิ กทิ ฏ ฐิ ห รื อ อุ จเฉททิ ฏฐิโดยตรง คื อไม เป นไปตามกฎของอิ ทั ปป จจยตา; ดั งนั้ น แม เขาจะรูสึ กวาไม มี อะไร มั นก็ มี ความ ไมมีอะไรนั้นเอง ตั้งอยูในฐานะเปนภพ ชนิดที่เรียกวา "วิภพ" เปนที่ตั้งแหงวิภวตัณหา.

www.buddhadasa.info


๘๐๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๒

แลว; และวาสัตวผูยินดีในภพ อันเปนแลวนั้น ยอมไมเปนผูหลุดพนไปจาก ภพได. { ก็ ภพทั้ งหลายเหล าหนึ่ งเหล าใด อั นเป นไปในที่ หรือในเวลาทั้ งปวง๑ เพื่ อ ความมีแห งประโยชนโดยประการทั้งปวง; ภพทั้งหลายทั้งหมดนั้ น ไม เที่ ยง เปนทุกข มีความแปรปรวนเปนธรรมดา. { เมื่อบุคคลเห็นอยูซึ่งขอนั้น ดวยปญญาอันชอบตามที่เปนจริง อยางนี้อยู; เขายอมละภวตัณหาได และไมเพลิดเพลินซึ่งวิภวตัณหาดวย. { ความดั บเพราะความสํ ารอกไม เหลื อ (แห งภพทั้ งหลาย)เพราะความสิ้ นไป แหงตัณหาโดยประการทั้งปวง นั้นคือ นิพพาน. { ภพใหมยอมไมมีแกภิกษุนั้น ผูดับเย็นสนิทแลว เพราะไมมีความยึดมั่น. { ภิกษุนั้นเปนผูครอบงํามารไดแลว ชนะสงครามแลว กาวลวงภพทั้งหลาย ทั้งปวงไดแลว เปนผูคงที่(คือไมเปลี่ยนแปลงอีกตอไป), ดังนี้แล. หมายเหตุ ผู ร วบรวม : ผู ศึ ก ษาพึ ง สั ง เกตให เ ห็ น ว า เมื่ อ ประทั บ เสวย วิ มุ ต ติ สุ ข หลั ง การตรั ส รู ใ หม ๆ บริ เวณต น โพธิ์ นั้ น บางเวลาทรงพิ จ ารณาทบทวนปฏิ จ จสมุ ป บาท บางเวลาทรงพิ จ ารณาความเป น ไปของหมู สั ต ว ที่ เป น ไปตามอาการของปฏิ จ จสมุ ป บาท อย างประจั กษ ชั ด จนถึ งกั บ ออกพระอุ ท านนี้ ซึ่ งก็ แสดงอยู ในตั วแล วว า ความมี ผั สสะบั งหน า ในขณะแห งการกระทบของผั สสะนั่ น เอง เป น จุ ดตั้ งต น ของปฏิ จจสมุ ป บาทที่ ทํ า ให เกิ ด ภพ และมี ค วามหลงใหลในภพต า งๆจนเกิ ด ทุ ก ข มี ค วามกลั ว เป น ต น .เขารู ทุ ก ๆ สิ่ ง ชนิ ด ที่ ต รงกั น ข า มจากที่ มั น เป น จริ ง ; ดั ง นั้ น จึ ง กล า วว า เขาย อ มรู ย อ มสํ า คั ญ ย อ ม เห็นโดยประการอื่น จากที่ธรรมชาติเหลานั้นเปนอยูจริง: อันนี้เรียกวาเปนอวิชชาของเขา,

www.buddhadasa.info ๑

คํ า ว า "ในที่ ห รือ ในเวลาทั้ ง ปวง"ตลอดถึ ง คํ า ว า "เพื่ อ ความมี แ ห ง ประโยชน โดยประการทั้ ง ปวง" เป น คุ ณบทแห งค าอั นเป นที่ ตั้ งแห งความยึ ดถื อของภพ.ความมี ความเป นอย างใดก็ ตาม ย อมเนื่ องด วยเวลา ที่พอเหมาะเนื้อที่ที่พอดี ประโยชนที่นารัก มันจึงจะเปนที่ตั้งแหงความยึดถือ หรือยั่วยวนใหยึดถือ; ดังนั้น ภพชนิ ดไหนก็ ตาม ย อมเนื่ องอยู ด วยสิ่ งทั้ ง ๓ นี้ แต แล วในที่ สุ ดมั นก็ เป นเพี ยงสิ่ งที่ ไม เที่ ยง เป นทุ กข มีความแปรปรวนเปนธรรมดา ดังที่กลาวแลว ในพุทธอุทานนั้น.

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ที่มีลักษณะเพื่อศีลธรรม

๘๐๕

เป น สิ่ ง ซึ่ ง จะเข า มาประกอบกั บ สั ม ผั ส จนได น ามว า "อวิ ช ชาสั ม ผั ส "; เป น เงื่ อ นต น แห ง ปฏิจ จสมุป บาท ดัง ที ่ไ ดก ลา วไวแ ลว โดยหัว ขอ ชื ่อ นั ้น (อวิช ชาสัม ผัส คือ ตน เหตุ

อันแทจริงของปฏิจจสมุปบาท; ซึ่งเปนเรื่องที่ ๖ แหงหมวดที่ ๔)

ธรรมไหลไปสูธรรม โดยไมตองมีใครเจตนา๑ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เมื่อมีศีลสมบู รณ แลว ก็ไมตองทําเจตนาวา "อวิปปฏิ ส าร จงบั ง เกิ ด แก เรา".ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ข อ นี้ เป น ธรรมดา ว า เมื่ อ มี ศี ล สมบูรณแลว อวิปปฏิสารยอมเกิด(เอง). ดูกอนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่อไม มี วิปปฏิ สาร ก็ไมตองทําเจตนาวา "ปราโมทย จงบั งเกิ ด แก เรา".ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ข อ นี้ เป น ธรรมดา วา เมื่ อ ไม มี วิป ปฏิ ส าร ปราโมทยยอมเกิด(เอง). ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! เมื่ อ ปราโมทย แ ล ว ก็ ไม ต อ งทํ า เจตนาว า "ป ติ จงบังเกิดแกเรา". ดูกอ นภิ กษุ ทั้ งหลาย! ข อ นี้ เป น ธรรมดา วา เมื่ อ ปราโมทยแล ว ปติยอมเกิด(เอง).

www.buddhadasa.info ดูก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ อมี ใจป ติ แล ว ก็ ไม ต องทํ าเจตนาวา "กายของเรา จงรํางับ". ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ขอนี้เปนธรรมดา วา เมื่อมีใจปติแลว กายยอม รํางับ(เอง).

สู ต รที่ ๒ นิ ส สายวรรคเอกาทสก.อํ .๒๔/๓๓๖/๒๐๙.พระบาลี ในที่ อื่ น (สู ต รที่ ๑ อานิ สั งสวรรค ทสก.อํ . ๒๔/๒/๒)ตรัสเหมื อนกั บ สู ตรนี้ ทุ กประการ ต างกั นแต เพี ยงได ตรัสตอน เบื่ อหน าย และคลายกํ าหนั ด รวมเปนอันเดียวกันเทานั้น

www.buddhadasa.info


๘๐๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๒

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ อกายรํ างั บ แล ว ก็ ไม ต องทํ าเจตนาวา "เราจง เสวยสุขเถิด".ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ขอนี้เปนธรรมดา วา เมื่อกายรํางับแลว ยอมได เสวยสุข(เอง). ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ อมี สุ ข ก็ ไม ต องทํ าเจตนาวา "จิ ตของเราจงตั้ งมั่ น เปนสมาธิ".ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ขอนี้เปนธรรมดา วา เมื่อมีสุข จิตยอมตั้งมั่นเปน สมาธิ(เอง). ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เมื่อจิตตั้งมั่นเปนสมาธิแลว ก็ไมตองทําเจตนาวา "เราจงรูจงเห็นตามที่เปนจริง". ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ขอนี้ เป นธรรมดา วา เมื่อจิต ตั้งมั่นเปนสมาธิแลว ยอมรู ยอมเห็นตามที่เปนจริง(เอง). ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เมื่อรูอยูเห็นอยูตามที่เปนจริง ก็ไมตองทําเจตนาวา "เราจงเบื่อหนาย" ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย! ข อนี้ เป นธรรมดา วา เมื่อรูอยูเห็นอยูตามที่ เปนจริง ยอมเบื่อหนาย(เอง).

www.buddhadasa.info ดู กอนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ อเบื่ อหน ายแล ว ก็ ไม ต องทํ าเจตนาวา "เราจง คลายกําหนัด". ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ขอนี้เปนธรรมดา วา เมื่อเบื่อหนายแลว ยอม คลายกําหนัด(เอง).

ดู ก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! เมื่ อจิ ตคลายกํ าหนั ด แล ว ก็ ไม ต องทํ าเจตนาวา "เราจงทําใหแจงซึ่งวิมุตติญาณทัสสนะ". ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ขอนี้เปนธรรมดา วา เมื่อคลายกําหนัดแลว ยอมทําใหแจงซึ่งวิมุตติญาณทัสสนะ(เอง).

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ที่มีลักษณะเพื่อศีลธรรม

๘๐๗

ดูก อนภิ กษุ ทั้ งหลาย! ด วยอาการอยางนี้ แล วิราคะ ยอมมี วิมุ ตติ ญาณทั สสนะ เป นอานิ สงส ที่ มุ งหมาย; นิ พพิ ทา ย อมมี วิราคะเป นอานิ สงส ที่ มุ งหมาย; ยถาภู ตญาณทั สสนะ ยอมมีนิพพิทาเปนอานิสงสที่มุงหมาย; สมาธิ ยอมมียถาภู ตญาณทั สสนะเป นอานิ สงส ที่ มุ งหมาย; สุ ข ย อมมี สมาธิเป นอานิ สงส ที่ มุ งหมาย; ปสสัทธิ ยอมมีสุขเปนอานิสงส ที่มุงหมาย; ปติ ยอมมีปสสัทธิเปนอานิสงส ที่มุงหมาย; ปราโมทย ยอ มมีป ติเป นอานิสงส ที่มุ งหมาย; อวิป ปฏิ สาร ยอมมี ป ราโมทยเป น อานิสงส ที่มุงหมาย; ศีลอันเปนกุศล ยอมมีอวิปปฏิสารเปนอานิสงส ที่มุงหมาย. ดูกอนภิ กษุ ทั้งหลาย! ดวยอาการอยางนี้แล ธรรมยอมไหลไปสู ธรรม; ธรรมยอมทําธรรมใหเต็ม เพื่อการถึงซึ่งฝง (คือนิพพาน)จากที่มิใชฝง(คือสังสาระ) ดังนี้. หมายเหตุ ผู ร วบรวม : ผู ศึ ก ษาพึ งสั งเกตให เห็ น ว า เราเพี ย งแต ตั้ งเจตนา ในการกระทํ า ให ถู ก ต อ ง ก็ พ อแล ว ; ไม ต อ งตั้ ง เจตนาในการที่ จ ะให ก ารกระทํ า นั้ น ออกผล, นั่ น เป น สิ่ งที่ ไม จํ าเป น แถมยั งจะเป น สิ่ งที่ ทํ าให เกิ ดความกระวนกระวาย หรื อเป น ทุ กข โดย ไม จํ าเป น อี กด วย.คนโดยมากกระทํ าผิ ดในข อนี้ จึ งทํ าการงานอยู ด วยความทนทรมาน หรื อ ป ว ยเป น โรคทางจิ ต .หลั ก เกณฑ อั น นี้ ใ ช ไ ด ทั้ ง ในทางคดี โ ลกและคดี ธ รรม; แม ที่ สุ ด แต ก าร ที่เหตุใหเกิดผลในกระแสแหงปฏิจจสมุปบาท ก็ยังมีลักษณะเชนนี้และโดยเด็ดขาด.

www.buddhadasa.info แมพระพุทธองคก็ทรงสาธยายปฏิจจสมุปบาท (เกียรติสูงสุดของปฏิจจสมุปบาท)๑ ครั้งหนึ่ ง พระผู มี พระภาคเจ า เมื่ อเสด็ จประทั บอยู ในที่ หลี กเร นแห งหนึ่ งแล ว ได ทรงกล าว ธรรมปริยายนี้ (ตามลําพังพระองค) วา:-

สู ต รที่ ๑๐ โยคั ก เขมิ วรรค สฬายตนสั งยุ ต ต สฬา.สํ .๑๘/๑๑๑/๑๖๓,สู ต รที่ ๕ คหปติ วรรค อภิ ส มยสังยุตต นิทาน.สํ.๑๖/๘๙/๑๖๖-๘; กลาวตามลําพังพระองคในคราวประทับหลีกเรนอยู.

www.buddhadasa.info


๘๐๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๒

เพราะอาศั ยซึ่ งจั กษุ ด วย, ซึ่ งรู ปทั้ งหลายด วย, จึ งเกิ ดจั กขุ วิ ญ ญาณ; การ ประจวบพร อ มแห ง ธรรม ๓ ประการ (จั ก ษุ +รู ป +จั ก ขุ วิ ญ ญาณ) นั้ น คื อ ผั ส สะ; เพราะมี ผั สสะเป นป จจั ย จึ งมี เวทนา; เพราะมี เวทนาเป นป จจั ย จึ งมี ตั ณ หา; เพราะ มี ตั ณ หาเป น ป จ จั ย จึ ง มี อุ ป าทาน; เพราะมี อุ ป าทานเป น ป จ จั ย จึ ง มี ภ พ; เพราะ มี ภ พเป นป จจั ย จึ งมี ช าติ ; เพราะมี ชาติ เป นป จจั ย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งเกิ ดขึ้ นครบถ วน : ความเกิ ดขึ้ นพรอมแห งกองทุ กข ทั้ งสิ้ นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้. เพราะอาศั ยซึ่ งโสตะด วย, ซึ่ งเสี ยงทั้ งหลายด วย, จึ งเกิ ดโสตวิ ญ ญาณ;การ ประจวบพร อมแห งธรรม ๓ ประการ(โสตะ+เสี ยง+โสตวิ ญ ญาณ) นั่ นคื อ ผั สสะ; เพราะ มีผ ัส ส ะ เปน ปจ จัย จึง มีเ ว ท น า ;...ฯ ล ฯ ... ...ฯ ล ฯ ... (ใน ก รณ ีแ หง โส ต ะ ฆ า น ะ ชิ วหา และกายะ ตอนที่ ละเปยยาลไวเช นนี้ ทุ กแห ง หมายความวามี ข อความเต็ มดุ จในกรณี แห งจั กษุ และกรณี แหงมนะทุกตัวอักษร).

เพราะอาศั ย ซึ่ งฆานะด วย, ซึ่ งกลิ่ น ทั้ งหลายด วย, จึ งเกิ ด ฆานวิ ญ ญาณ; การประจวบพร อมแห งธรรม ๓ ประการ (ฆานะ+กลิ่ น+ฆานวิ ญ ญาณ) นั่ นคื อ ผั สสะ; เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมีเวทนา;...ฯลฯ... ...ฯลฯ...

www.buddhadasa.info เพราะอาศั ย ซึ่ งชิ ว หาด ว ย, ซึ่ ง รสทั้ ง หลายด ว ย, จึ งเกิ ด ชิ ว หาวิ ญ ญาณ; การประจวบพร อมแห งธรรม ๓ ประการ (ชิ วหา+รส+ชิ วหาวิ ญญาณ) นั่ นคื อ ผั สสะ; เพราะ มีผัสสะเปนปจจัย จึงมีเวทนา;...ฯลฯ... ...ฯลฯ...

เพราะอาศั ยซึ่ งกายะด วย, ซึ่ งโผฏฐั พพะทั้ งหลายด วย, จึ งเกิ ดกายวิ ญญาณ; การประจวบพรอมแห งธรรม ๓ ประการ (กายะ+โผฏฐั พพะ+กายวิ ญญาณ) นั่ นคื อ ผั สสะ; เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมี เวทนา; ...ฯลฯ... ...ฯลฯ...

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ที่มีลักษณะเพื่อศีลธรรม

๘๐๙

เพราะอาศั ยซึ่ งมนะด วย, ซึ่ งธั มมารมณ ทั้ งหลายด วย, จึ งเกิ ดมโนวิ ญญาณ; การประจวบพร อ มแห งธรรม ๓ ประการ (มนะ+ธั ม มารมณ +มโนวิ ญ ญาณ) นั้ น คื อ ผั สสะ; เพราะมี ผั สสะเป นป จจั ย จึ งมี เวทนา; เพราะมี เวทนาเป นป จจั ย จึ งมี ตั ณ หา; เพราะมี ตั ณหาเป นป จจั ย จึ งมี อุ ปาทาน; เพราะมี อุ ปาทานเป นป จจั ย จึ งมี ภพ; เพราะ มี ภ พเป นป จจั ย จึ งมี ช าติ ; เพราะมี ชาติ เป น ป จจั ย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุ กขะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งเกิ ดขึ้ นครบถ วน : ความเกิ ดขึ้ นพรอมแห งกองทุ กข ทั้ งสิ้ นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้. --- (ปฏิปกขนัย) ---

เพราะอาศั ย ซึ่ ง จั ก ษุ ด ว ย, ซึ่ ง รู ป ทั้ ง หลายด ว ย, จึ ง เกิ ด จั ก ขุ วิ ญ ญาณ; การประจวบพรอมแห ง ธรรม ๓ ประการ (จั กษุ +รูป+จั กขุ วิ ญญาณ) นั้ นคื อผั สสะ; เพราะ มี ผั ส สะเป น ป จ จั ย จึ ง มี เ วทนา; เพราะมี เ วทนาเป น ป จ จั ย จึ ง มี ตั ณ หา; เพราะ ความจางคลายดั บ ไปไม เ หลื อ แห ง ตั ณ หานั้ น นั่ น แหละจึ ง มี ค วามดั บ แห ง อุ ปาทาน; เพราะมี ความดั บแห งอุ ปาทาน จึงมี ความดั บแห งภพ; เพราะมี ความดั บ แหง ภพ จึง มีค วามดับ แหง ชาติ; เพราะมีค วามดับ แหง ชาตินั ่น แล ชรามรณะ โสกะปริ เทวะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งดั บสิ้ น : ความดั บลงแห งกองทุ กข ทั้ งสิ้ นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้.

www.buddhadasa.info เพราะอาศั ย ซึ่ งโสตะด วย, ซึ่ งเสี ย งทั้ งหลายด วย, จึ งเกิ ด โสตวิ ญ ญาณ; การประจวบพร อมแห งธรรม ๓ ประการ(โสตะ+เสี ยง+โสตวิ ญ ญาณ) นั่ น คื อ ผั ส สะ; เพ ราะมีผ ัส ส ะเปน ปจ จัย จึง มีเ วท น า; ...ฯล ฯ... ...ฯล ฯ... (ใน ก รณ ีแ หง โส ต ะ

ฆานะ ชิ วหา และกายะ ตอนที่ ละเปยยาลไวเช นนี้ ทุ กแห ง หมายความว ามี ข อความเต็ มดุ จในกรณี แห งจั กษุ และกรณีแหงมนะทุกตัวอักษร).

www.buddhadasa.info


๘๑๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๒

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๘๑๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๒

เพราะอาศั ยซึ่ งฆานะด วย, ซึ่ งกลิ่ นทั้ งหลายด วย, จึ งเกิ ดฆานวิ ญ ญาณ; การประจวบพร อมแห งธรรม ๓ ประการ(ฆานะ+กลิ่ น+ฆานวิ ญ ญาณ) นั่ นคื อ ผั สสะ; เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมีเวทนา; ...ฯลฯ... ...ฯลฯ... เพราะอาศั ยซึ่ งชิ วหาด วย, ซึ่ งรสทั้ งหลายด วย, จึ งเกิ ดชิ วหาวิ ญ ญาณ; การประจวบพรอมแห งธรรม ๓ ประการ (ชิ วหา+รส+ชิ วหาวิ ญ ญาณ) นั่ นคื อ ผั สสะ; เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมีเวทนา;...ฯลฯ... ...ฯลฯ... เพราะอาศั ยซึ่ งกายะด วย, ซึ่ งโผฏฐั พพะทั้ งหลายด วย, จึ งเกิ ดกายวิ ญญาณ; การประจวบ พร อมแห งธรรม ๓ ประการ(กายะ+โผฏฐั พพะ+กายวิ ญ ญาณ) นั่ นคื อ ผัสสะ; เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมีเวทนา; ...ฯลฯ... ...ฯลฯ... เพราะอาศั ยซึ่ งมนะด วย, ซึ่ งธั มมารมณ ทั้ งหลายด วย, จึ งเกิ ดมโนวิญญาณ; การประจวบ พร อมแห งธรรม ๓ ประการ (มนะ+ธั มมารมณ +มโนวิ ญ ญาณ) นั่ นคื อ ผัสสะ; เพราะมี ผัสสะเปนป จจัย จึงมีเวทนา; เพราะมีเวทนาเป นปจจัย จึงมีตั ณหา; เพราะความจางคลายดับ ไปไมเ หลือ แหง ตัณ หานั ้น นั ่น แหละ จึง มีค วาม ดับแหงอุปาทาน; เพราะมีความดับแหงอุปาทาน จึงมีความดับแหงภพ; เพราะมี ความดับแหงภพ จึงมีความดับแหงชาติ; เพราะมีความดับแหงชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะโทมนั สอุ ปายาสทั้ งหลาย จึ งดั บสิ้ น : ความดั บลงแห งกองทุ กข ทั้ งสิ้ นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้.

www.buddhadasa.info สมั ยนั้ นแล ภิ กษุ องค หนึ่ ง ได ยื นแอบฟ งพระผู มี พระภาคเจ าอยู .พระผู มี พระภาคเจ าทอด พระเนตรเห็ น ภิ ก ษุ ผู ยื น แอบฟ งนั้ น แล ว ได ต รัส คํ านี้ ก ะภิ ก ษุ นั้ น ว า "ดู ก อ นภิ ก ษุ ! เธอได ยิ น ธรรมปริยายนี้แลวมิใชหรือ?" (ไดยิน พระเจาขา!")

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ที่มีลักษณะเพื่อศีลธรรม

๘๑๑

ดู ก อ นภิ ก ษุ ! เธอจงรั บ เอาธรรมปริ ย ายนี้ ไ ป; ดู ก อ นภิ ก ษุ ! เธอจงเล า เรี ย นธรรมปริ ย ายนี้ ;ดู ก อ นภิ ก ษุ ! เธอจงทรงไว ซึ่ ง ธรรมปริ ย ายนี้ ; ดู ก อ นภิ ก ษุ ! ธรรมปริยายนี้ ประกอบดวยประโยชน,เปนเบื้องตนแหงพรหมจรรย", ดังนี้ แล. หมายเหตุ ผู ร วบรวม : เรายั ง ไม เคยพบเลยว า มี สู ต รใดบ า ง, นอกจาก สู ต รนี้ , ที่ พ ระพุ ท ธองค ท รงนํ า เอาข อ ความเรื่ อ งปฏิ จ จสมุ ป บาทมาสาธยายเล น ตามลํ า พั ง พระองค, เหมือ นคนสมัย นี ้ ฮัม เพลงบางเพลงเลน อยู ค นเดีย ว. เรื ่อ งปฏิจ จสมปบาท เป น เรื่ อ งที่ มี เกี ย รติ สู ง สุ ด ด ว ยเหตุ ผ ล กล า วคื อ ถึ ง กั บ ทรงนํ า มาสาธยายเล น ในยามว า ง ลํ า พั ง พระองค ๑; ทรงกํ า ชั บ ให ภิ ก ษุ เล า เรี ย น ๑; ทรงบั ญ ญั ติ ว า เรื่ อ งนี้ เป น อาทิ พ รหม จรรย ๑; ดั ง ที่ ป รากฏอยู ใ นข อ ความแห ง สู ต รนี้ แ ล ว ; และทรงตี ค า เรื่ อ งปฏิ จ จสมุ ป บาท เทา กับ พระองคเ อง โดยตรัส วา "ผู ใ ดเห็น ปฏิจ จสมุป บาท ผู นั ้น เห็น ธรรม : ผู ใ ด เห็น ธ รรม ผู นั ้น เห็น ป ฏิจ จ ส มุป บ า ท " (ม ห า หัต ถิป โท ป ม สูต ร ๑๒/๓๕๙/๓๔๖) ซึ่ ง เที ย บกั น ได กั บ พุ ท ธภาษิ ต ในขั น ธวารวรรค สั ง ยุ ต ตนิ ก าย ว า "ผู ใ ดเห็ น ธรรม ผู นั้ น เห ็น ต ถ า ค ต : ผุ ใ ด เห ็น ต ถ า ค ต ผู นั ้น เห ็น ธ ร ร ม " (๑๗/๑๔๗/๒๑๖)๑; ดัง นั ้น จึ ง ถื อ ว า เรื่ อ งปฏิ จ จสมุ ป บาท เป น เรื่ อ งที่ มี เกี ย รติ สู ง สุ ด สมแก ก ารที่ เป น หั ว ใจของพุ ท ธศาสนา แต ก ลั บ เป น เรื่ อ งที่ มี ผู ส นใจน อ ยที่ สุ ด ; ดั ง นั้ น จึ ง นํ า เอาข อ ความแห ง สู ต รข า งบนนี้ มาอ า งไว ในหนั ง สื อ เล ม นี้ ถึ ง ๕ แห ง ด ว ยกั น โดยหั ว ข อ ว า "ทรงแนะนํ า อย า งยิ่ ง ให

www.buddhadasa.info ศึ ก ษ า เรื ่ อ งป ฏิ จ จ ส มุ ป บ า ท " แ ล ะ ว า "ป ฏิ จ จ ส มุ ป บ า ท มี เ มื ่ อ มี ก า รก ระ ท บ ท า ง อ า ย ต น ะ ", "ต รั ส ว า ป ฏิ จ จ ส มุ ป บ า ท เป น เบื ้ อ ง ต น แ ห ง พ ร ห ม จ ร ร ย " "ท ร ง กํ า ช ับ ส า ว ก ใ ห เ ล า เรีย น ป ฏ ิจ จ ส ม ุป บ า ท ", "แ ม พ ร ะ พ ุท ธ อ ง ค ก ็ท ร ง สาธยายปฏิจจสมุปบาท"

เรื่องปฏิจจสมุปบาทรวมอยูในเรื่อง ที่พุทธบริษัทควรทําสังคีต๑ิ ดู ก อนท านผู มี อายุ ทั้ งหลาย! ธรรมสองอย าง อั นพระผู มี พระภาคเจ า ผู รู ผูเห็น ผูอรหันตสัมมาสัมพุทธเจา ไดตรัสไวดีแลว มีอยู; อันพุทธบริษัททั้งหลาย

สังคีติสูตร ปา.ที. ๑๑/๒๒๖/๒๒๗, ภาสิตของพระสารีบุตร ซึ่งอางถึงพระพุทธภาสิตอีกตอหนึ่ง,

www.buddhadasa.info


๘๑๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – หมวดที่ ๑๒

(ภิ กษุ ภิ กษุ ณี อุบาสก อุบาสิกา) ทั้ งปวงนั่ นเที ยว พึ งทํ าสั งคี ติ (คื อสอบสวน จนเป นที่ เขาใจ ตรงกั น ทุ ก คน แล ว ช วยกั น สาธยาย เพื่ อ ทรงจํ า ไว อ ย างมั่ น คง)ในธรรมสองอย างนั้ น , ไม พึ ง วิ ว าทกั น ในธรรมสองอย า งนั้ น ,โดยประการที่ พ รหมจรรย (ศาสนา)นี้ จะพึ ง มั่ น คง ตั้ ง อยู น าน.ข อ นั้ น จะพึ ง เป น ไป เพื่ อ หิ ต สุ ข แก ม หาชนเป น อั น มาก เพื่ อ อนุ เคราะห โลก เพื่ อ ประโยชน หิ ต สุ ข แกเทวดาและมนุ ษ ยทั้ งหลาย. ธรรมสอง อยางนั้นเลาคืออะไร? ธรรมสองอยางนั้นคือ :-

อายตนกุสลตา -ความเปนผูฉลาดในอายตนะ ๑ ปฏิจจสมุปบาทกุสลตา -ความเปนผูฉลาดในปฏิจจสมุปบาท ๑ ดู ก อ นท า นผู มี อ ายุ ทั้ ง หลาย! เหล า นี้ แ ลคื อ ธรรมสองอย า ง อั น พระผู มี พระภาคเจ า ผู รู ผู เ ห็ น ผู อ รหั น ตสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ า ได ต รั ส ไว ดี แ ล ว ; อั น พุ ท ธ บริ ษั ททั้ งหลาย (ภิ กษุ ภิ กษุ ณี อุ บาสก อุ บาสิ กา) ทั้ งปวงนั่ นเที ยว พึ งทํ าสั งคี ติ (คื อ สอบสวน จนเป น ที่ เข า ใจตรงกั น ทุ ก คน แล ว ช ว ยกั น สาธยาย เพื่ อ ทรงจํ า ไว อ ย า ง มั่ น คง) ในธรรมสองอย า งนั้ น , ไม พึ ง วิ ว าทกั น ในธรรมสองอย า งนั้ น , โดยประการที่ พรหมจรรย (ศาสนา)นี้ จะพึ ง มั่ น คง ตั้ ง อยู น าน. ข อ นั้ น จะพึ ง เป น ไปเพื่ อ หิ ต สุ ข แกมหาชนเปนอันมาก เพื่ออนุเคราะหโลก เพื่อประโยชนหิตสุข แกเทวดาและ มนุษยทั้งหลาย, ดังนี้ แล.

www.buddhadasa.info (อตฺ ถิ โข อาวุ โส เตน ภควตา ขานตา ปสฺ สตา อรหตา สมฺ มาสมฺ พุ ทฺ เธน เทฺ ว ธมฺ มา สมฺ มทกฺ ขาตา ตตฺ ถ สพฺ เพเหว สงฺ คายิ ตพฺ พํ น วิ วทิ ตพฺ พํ ยถยิ ทํ พฺ รหฺ มจริ ยํ อทฺธนิยํ อสฺส จิรฏติกํ ตทสฺส พหุชนหิตาย พหุชนสุขาย โลกานุกมฺปาย อตฺถาย หิตาย

www.buddhadasa.info


วาดวยปฏิจจฯ ที่มีลักษณะเพื่อศีลธรรม

๘๑๓

สุขาย เทวมนุ สฺ สานํ . กตเม เทฺ ว ธมฺ มา? ...อายตนกุ สลตา จ ปฏิ จฺ จสมุ ปฺ ปาทกุ สลตา จ ....อิ เม โข อาวุ โส เตน ภควตา ชานตา ปสฺ สตา อรหตา สมฺ มาสมฺ พุ ทฺ เธน เทฺ ว ธมฺ มา สมฺมทกฺขาตา ตตฺถ สพฺเพเหว สงฺคายิตพฺพํ น วิวทิตพฺพํ ยถยิทํ พฺรหฺมจริย อทฺธนิยํ อสฺส จริฏติกํ ตทสฺส พหุชนหิตาย โลกานุกมฺปาย อตฺถาย หิตาย สุขาย เทวมนุสฺสานนฺติ). ห ม ายเห ตุ ผู ร วบ รวม : ผู ศึ ก ษ าพึ งสั ง เกตจนเข า ใจได อ ย า งชั ด เจน ว า ความฉลาดในอายตนะ ก็ คื อ ฉลาดในสิ่ ง ที่ เป น ที่ ตั้ ง ของปฏิ จ จสมุ ป บาทนั่ น เอง; และเมื่ อ ฉลาดในการควบคุ ม อายตนะแล ว ก็ ส ามารถคุ ม การเกิ ด แห ง กระแสของปฏิ จ จสมุ ป บาท; นั บ ว า เนื่ อ งกั น อย า งที่ จ ะแยกกั น ไม ไ ด , และเป น หั ว ใจของพระพุ ท ธศาสนาในแง ข องการ ปฏิบัติโดยแท.

บทสรุป จบ

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ จบ

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ในหนังสือปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ (เรียงลําดับตามหลักอักษรไทย) (จํานวน ๒,๕๗๖ คํา) -----------

ก กฎสูงสุดของธรรมชาติ ๔๓ กรรมอันกระทําแลวดวยอโลภะ ๑๓๔ กฎแหงธรรมฐิติ-ธรรมนิยาม ๔๓ กรรมอันมีกามธาตุเปนวิบาก ๗๙๑ กฎอิทัปปจจยตา ๓ กรรมอันมีรูปธาตุเปนวิบาก ๗๙๑ กพฬีการาหาร ๖๕/๓๖๓ กรรมอันมีอรูปธาตุเปนวิบาก ๗๙๑ กรณีของกาย ๖๔ กระทําในใจโดยแยบคายเปนอยางดีกรณีที่อวิชชาเปนสิ่งที่ละเสียได ๑๖๕ -ซึ่งปฏิจจสมุปบาท ๓๘๒ กรรมกึ่งกรรม ๖๙๗ กระทําโยนิโสมนสิการซึ่งจักษุ ๖๕๓ กรรมเกาก็เปนอันสิ้นสุดไป ๒๐๗ กระทําใหแจงซึ่งนิพพาน ๔๘๔ กรรมเกา (กาย) นี้ ๖๔ กระทําใหแจงซึ่งบรมสัจจดวยกาย ๖๕๒ กรรมเกิดและดับในอัตตภาพนี้ ๒๗๗ กระทําใหแจงซึ่งปรมัตถสัจจะดวยกรรมดวยกายดวยวาจาดวยใจ ๒๗๖ -(นาม) กาย ๖๓๗ กรรมเต็มกรรม ๖๙๗ กระแสปฏิจจสมุปบาท ๖๔ กรรมเปนเครื่องรึงรัดเหมือนลิ่มสลัก ๑๓๗ กระแสแหงการปรุงแตงของปจจัยที่ – กรรมใหมก็เปนอันไมกระทํา ๒๐๗ - ทยอยกันไป ๔๒๗ กรรมใหผลในอัตตภาพที่กระทํากรรม ๑๓๑ กระแส (แหงนิพพาน) ๕๓๘ กรรมอันกระทําแลวดวยโทสะ ๑๓๒ กลหวิวาทนิโรธ ๕๙๕ กรรมอันกระทําแลวดวยโมหะ ๑๓๒ กลองปณวะเสียงแข็ง ๓๖๗ กรรมอันกระทําแลวดวยโลภะ ๑๓๒ กลัวตอการรุมลอมซักถาม ๗๔๔ กรรมอันกระทําแลวดวยอโทสะ ๑๓๔ กลัวตออมุสาวาท ๗๔๓ กรรมอันกระทําแลวดวยอโมหะ ๑๓๔ กลัวตออุปาทาน ๗๔๔ ๘๑๕

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๘๑๖ กลาวตรงตามที่เรากลาว ๑๕๙ กลาวแตสิ่งที่พวกเธอรูเองเห็นเอง-รูสึกเอง ๔๓๑ กลาวอยางที่ทานกลาวเพราะความ-เคารพในพระพระศาสดา ๔๓๐ กอนแตนี้อวิชชามิไดมี ๖๒๒ ก็ยังเปนอารมณเพื่อการตั้งอยูแหง-วิญญาณ ๑๖๖ ก็เวทนา(โดยละเอียด)เปนอยางไรเลา? ๓๓๙ กัมมนิโรธ ๒๗๗ กัมมาสทัมมนิคมแควนกุรุ ๑๕/๓๑ กามของคนเรา ๒๗๑ กามคุณทั้งหลาย ๕ ประการ ๗๖๓ “กามคุณ” (หาเรียกวากามไม) ๒๗๑ กามคุณ ๕ ประการ ๒๗๑ กามฉันทะ (ความพอใจในกาม) ๕๘๗ กามธาตุ (ธาตุเปนที่ตั้งแหงความรูสึก-ทางกาม) ๕๘๗ กามปริเยสนา(การแสวงหากาม) ๕๘๘ กามปริฬาหะ (ความเรารอนเพื่อกาม) ๕๘๘ กามภพ ๒๗/๘๗ กามวิตก ๑๔๒ กามวิตก (ความครุนคิดในกาม) ๔๘๗ กามสังสัปปะ (ความตริตรึกในกาม) ๕๘๗ กามสัญญา (ความหมายมั่นในกาม) ๕๘๗ กามุปาทาน ๒๗/๘๗/๑๘๓/๓๔๗

ปฏิจจ ฯจากพระโอษฐ กายกรรมวจีกรรมมโนกรรมที่ไดรับ-การรักษา ๕๘๐ กายกรรมวจีกรรมมโนกรรมบูดเนา ๕๘๐ กายกรรมวจีกรรมมโนกรรมเปยกแฉะ ๕๘๐ กายกรรมวจีกรรมมโนกรรมอันไมได-รับการรักษา ๕๗๙ กายกรรมวจีกรรมและอาชีวะของเขา-เปนธรรมบริสุทธิ์มาแลวแตเดิม ๓๓๖ กาย (กายทวารที่ทําหนาที่อยูดวยอวิชชา) ๑๖๐ กายของตถาคตมีตัณหาเครื่องนําไปสูภพ-ถูกตัดขาดแลวยังตั้งอยู ๗๓๑ กายจิตของผูมีใจปติยอมสงบรํางับ ๒๘๑ กายนี้ไมใชของใคร ๖๔ กายนี้ไมใชของเธอทั้งหลาย ๖๔ กายเปนเพียงกระแสปฏิจจสมุปบาท ๖๔ กายยอมรํางับ (เอง) ๘๐๕ กายรํางับแลวยอมรูสึกเปนสุข ๒๗๙ กายสมารัมภะ ๒๐๓ กายสังขาร ๒๘/๙๐ กายสังขาร (อํานาจที่ใหเกิดการเปนไป-ทางกาย) ๑๖๐ “กาย (หมูแหงธรรมชาติ)ทั้งหลาย ๗หมู- เหลานี้ไมมีใครทํา ฯลฯ” ๖๙๖ กายอันเปนที่ประชุมแหงมหาภูตทั้งสี่ ๓๘/๓๘๒

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ปทานุกรม การกระทําใหบริบูรณในศีล ๑๘๔ กายกระทําอันติดตอ ๒๕๓ การกระทําอันเลว ๔๘๗ การกระทําอันเลิศ ๔๘๗ การกลาวคําหยาบวา “มึง ! มึง !..” ๕๙๐/๗๘๒ การกลาวถึงปฏิจจสมุปบาททุกอาการ-อยูในตัว ๔๒๒ การกอขึ้นแหงทุกข ๙๖ การกาวลงสูครรภของสัตวผูเกิดในครรภ ๑๔๙ การกาวลงแหงนามรูป ๑๖๖/๕๖๙ การกาวลงแหงอินทรีย ๑๖๔ การกาวลวงเสียซึ่งโสกะปริเทวะ ๔๘๔ การกําจัดอุปสรรคขณะเจริญสติปฏฐาน ๒๗๘ การเกิดขึ้นของปฏิจจสมุปบาทโดยตรง ๒๑๓ การเกิดขึ้นแหงรูปสัญญา ๒๒๓ การเกิดขึ้นแหงจักษุ ๒๒๐ การเกิดขึ้นแหงไตรทวาร ๑๕๘ การเกิดขึ้นแหงทุกข ๒๒๐ การเกิดขึ้นแหงธรรมจักษุ ๔๒๓ การเกิดขึ้นแหงนามรูป ๓๔๑ การเกิดขึ้นแหงปฐวีธาตุ ๒๒๕ การเกิดขึ้นแหงผัสสะ ๓๓๙ การเกิดขึ้นแหงภพใหมตอไป ๗๙๓ การเกิดขึ้นแหงรูป ๑๒๘/๒๒๑/๓๓๘ การเกิดขึ้นแหงรูปขันธ ๒๒๖

๘๑๗ การเกิดขึ้นแหงรูปตัณหา ๒๒๕ การเกิดขึ้นแหงรูปสัญเจตนา ๒๒๔ การเกิดขึ้นแหงโลก ๑๗๓/๑๗๕ การเกิดขึ้นแหงวิชชา ๑๖๕/๑๘๗ การเกิดขึ้นแหงวิญญาณ ๓๔๑ การเกิดขึ้นแหงเวทนา ๑๒๘ การเกิดขึ้นแหงสังขาร ๓๔๐ การเกิดขึ้นแหงสัญญา ๑๒๘/๓๔๐ การเกิดขึ้นแหงอวิชชา ๑๕๘ การเกิดขึ้นแหงอาหาร ๓๓๘ การเกิดดับแหงกิเลสและความทุกข ๑๘๓ การเกิดในภพใหมในกระแสแหง-ปฏิจจสมุปบาท ๗๙๓ การเกิดสังขาร ๔ ประเภท ๑๙๒ การเกิดแหงกระแสปฏิจจสมุปบาทที่เกิด- ขึ้นในใจคนทุกคราว ๑๗๓ การเกิดแหงโลก ๒๑๖ การแกไขอุปสรรคแหงการเจริญ- สติปฏฐาน ๒๗๙ การขอทาน ๑๔๑ การขาดที่อิงอาศัยสําหรับวิมุตติญาณ- ทัสสนะ ๖๔๖ การขาดแหงอินทรียคือชีวิต ๒๖/๘๖ การขึ้นลงของน้ําทะเล ๔๑ การเขาไปนั่งใกล (ปยิรุปาสนา) ๖๔๒ การเขาไปสงบระงับแหงโรค ๒๒๑ การเขาไปหา (อุปสงฺกมน) ๖๔๒

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๘๑๘ “การคบสัปบุรุษ” ๖๒๙ การครอบงําซึ่งอุปาทานทั้งปวง ๓๔๙ การควบคุมกาเกิดปฏิจจสมุปบาท ๔๑๐ การควบคุมผัสสายตนะ ๔๑๐ การควบคุมเวทนา ๒๗๘ การคํานวณเทียวสวนแหงความตองการ-ของกิเลสกับความเปนอยูของมนุษย ๕๘๒ การคิดคนปฏิจจสมุปบาทกอนการตรัสรู ๔๖๙ การคิดคนปฏิจจสมุปบาทของ-พระพุทธเจาในอดีต ๔๗๔ การคิดคนปฏิจจสมุปบาทอยูอยาง- ขะมักเขมน ๒๖๕ การเคลื่อนและการบังเกิด (จุติอุปปาตะ) ๑๖๘ การใครครวญชนิดที่จิตจะไมแลนไป-ขางนอกและไมสยบอยูในภายใน ๓๐๕ การใครครวญซึ่งธรรมนั้นดวยปญญา ๒๘๐ การเงี่ยลงซึ่งโสตะ (โสตาวธาน) ๖๔๑ การจับและการวางปรากฏ ๑๕๖ การใชศัสตราวุธติดตอกันไมหยุดหยอน-ตลอดเวลา ๗ วัน ๕๘๔ การดับของนันทิในเวทนาทั้งหลาย ๓๗๐ การดับปปญจสัญญาสังขา ๖๑๒ การดับไมเหลือแหงรูปสัญญา ๒๒๔ การดับไมเหลือแหงจักษุ ๒๒๑ การดับไมเหลือแหงปฐวีธาตุ ๒๒๕

ปฏิจจ ฯจากพระโอษฐ การดับไมเหลือแหงรูป ๒๒๑ การดับไมเหลือแหงรูปขันธ ๒๒๖ การดับไมเหลือแหงรูปตัณหา ๒๒๕ การดับไมเหลือแหงรูปสัญเจตนา ๒๒๔ การดับลงแหงทุกข ๙๘ การดับลงแหงโลก ๑๗๖/๑๗๗ การดับแหงกระแสปฏิจจสมุปบาท ๑๗๕ การดับแหงปฏิจจสมุปบาท ๒๒๗ การดับแหงภพคือนิพพาน ๒๘๔ การดับแหงโลก ๒๒๗ การดับแหงโลกที่ดับลงในใจคน ๑๗๕ การดับอุปาทานสี่ ๖๕๖ การไดเฉพาะซึ่งธรรมจักษุ ๔๓๖ “การไดฟงพระสัทธรรม” ๖๒๙ การได (ลาโภ) ๕๘๙ การไดอารมณหก ๕๘๕ การตริตรึกไปตามอาการ ๒๘๒ การตั้งจิตในนิมิตอยางใดอยางหนึ่ง- ซึ่งเปนที่ตั้งแหงความเลื่อมใส ๒๗๙ การตายที่ไมงดงาม ๕๘๐ การถึงความตั้งอยูไมไดแหงชราและมรณะ ๒๒๑ การถึงซึ่งฝง (คือนิพพาน) จากที่มิใชฝง- (คือสังสาระ) ๘๐๗ การถึงซึ่งอันตั้งอยูไมไดแหงทุกข ๙๘ การถึงทับจับฉวยวา “เรามีอยู” ๑๖๔ การถึงพรอมดวยทัสสนทิฏฐิ ๔๓๕ การถึงอมตภาวะอันไมมีการแบงแยก ๓๓๗

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ปทานุกรม การทรงพิจารณาปฏิจจสมุปบาท ๕ การทรงไวซึ่งธรรม (ธมฺมธารณา) ๖๔๑ การทะเลาะวิวาทมีขึ้นมาจากสิ่งเปนที่รัก ๕๙๕ การทําความเพียรในที่สงัด ๒๘๖ การทําความสิ้นสุดแหงกรรม ๒๗๘ การทําในใจโดยแยบคายเปนอยางดี-ซึ่งปฏิจจสมุปบาท ๕๔๑ การที่กําลังดําเนินอยูในอริยอัฏฐังคิกมรรค ๒๖๕ การที่สัตวได ซึ่งอายตนะทั้งหลาย ๒๗/๘๖ การทูลถามถึงการปรินิพพานในปจจุบัน ๒๐ การนําจิตเฉพาะตออารมณ ๒๗๙ การนําออกเสียไดซึ่งความกําหนัด ๓๓๘ การบรรลุคุณวิเศษของอริยสาวกซึ่งเปน-บุคคลผูถึงพรอมดวย (สัมมา) ทิฏฐิ ๕๔๓ การบรรลุคุณวิเศษแหงสมณพราหมณ-และปริพาชกผูเปนเดียรถียเหลาอื่น ๕๔๓ การบรรลุซึ่งญายธรรม ๔๘๔ การบรรลุถึงฐานะที่ไดพยายาม- เพื่อจะบรรลุ ๑๕๓ การบรรลุธรรมอันเลิศ ๔๘๗ การบรรลุนิพพานอันเทียบกันไดกับ-ไกวัลยหรือปรมาตมัน ๔๕๒ การบรรลุอรหัตตผลในทิฏฐธรรม ๕๕๐ การบริโภคที่มีผลใหญมีอานิสงสใหญ-แกชนทั้งหลาย ๔๘๘

๘๑๙ การบังเกิดในภพ ๓๓๓ การบังเกิดในภพใหมตอไป ๓๒๘/๓๒๙ การบัญญัติซึ่งผัสสะ ๖๐๓ การบัญญัติซึ่งวิตก ๖๐๓ การบัญญัติซึ่งเวทนา ๖๐๓ การบัญญัติซึ่งสัญญา ๖๐๓ การบัญญัติซึ่งหมูแหงนาม ๗๘๘ การบัญญัติซึ่งหมูแหงนามดวยซึ่งหมู- แหงรูปดวย ๗๘๘ การบัญญัติซึ่งหมูแหงรูป ๗๘๘ การบัญญัติวาอดีตหรืออนาคตก็เปนอัน- ยกเลิกเพิกถอนไป ๔๒๘ การปฏิบัติชอบโดยไตรทวาร ๕๘๘ การปฏิบัติธรรมโดยสมควรแกธรรม ๒๖๙ การปฏิบัติผิดโดยไตรทวาร ๕๘๗ การปฏิบัติเพื่อการดับปฏิจจสมุปบาท ๒๖๖ การประจวบพรอมแหงธรรม ๓ ประการ- คือผัสสะ ๑๗๓/๒๓๙ การประจวบพรอมแหงปจจัย ๑๔๙ การประพฤติซึ่งวัตตโกตูหลมงคลทั้งหลาย ๔๓๐ การปรินิพพานเฉพาะตน ๖๕๔ การปรากฎแหงจักษุคือการปรากฎ- แหงชราและมรณะ ๒๒๑ การปดกั้นทางเกิดแหงปฏิจจสมุปบาท ๒๙๔ การพิจารณาปฏิจจสมุปบาท ๓๐๖ การพิจารณาปฏิจจสมุปบาทอยางถูกวิธี ๔๔๔

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๘๒๐ การพิจารณาปจจัยในภายใน ๓๐๖ การพิจารณาหาความสมดุลยแหงธรรม-(ดุลนา) ๖๓๙ การฟงซึ่งธรรม (ธมฺมสฺสวน) ๖๔๑ การฟงตามๆ กันมาเสีย ๒๘๒ การมาการไป (อาคติคติ) ๑๖๘ การมีผลแหงวิชชาและวิมุตติ- เปนเครื่องสนุกสนานชอบใจ ๖๓๑ การไมควบคุมการเกิดแหง-ปฏิจจสมุปบาท ๓๙๐ การไมควบคุมผัสสายตนะ ๓๙๐ การไมทําใหประจักษ (อฺปปจฺจกฺขกมฺม) ๗๑๘ การไมสามารถกาวลง-ปฏิจจสมุปปนนธรรม ๓๗๘ การยึดซึ่งขันธทั้งหา ๓๘๓ การรวมหมูกันแหงอุปาทานขันธทั้งหา ๒๐๙ การรูซัดซึ่งอาการทุกอาการของ-ปฏิจจสมุปบาท๙๓ การรูตามซึ่งสัจจธรรม ๖๓๖ การรูเทาทันเวทนาในปฏิจจสมุปบาท ๓๓๕ การรูปฏิจจสมุปบาท ๓๖๒ การรูปฏิจจสมุปบาทไปตามลําดับ-พรอมกันไปในตัว ๒๖๕ การรูพรอมเฉพาะซึ่งธรรม ๔๓๕ การรูหรือไมรูปฏิจจสมุปบาท ๓๙๓

ปฏิจจ ฯจากพระโอษฐ การละผัสสายตนะได ๕๑๐ การละเสียซึ่งสัญญา ๒๗๘ การละเสียไดซึ่งความกําหนัด ๓๓๘ การละอุปาทานขอที่ ๔ ๑๘๗ การละอุปาทานละไดดวยการละอวิชชา ๑๘๘ การศึกษาเพื่อใหรูในชรามรณะ ๒๔๖ การสงเคราะหในรูปูปาทานขันธ ๒๐๘ การสงเคราะหในวิญญาณูปาทานขันธ ๒๐๘ การสงเคราะหในเวทนูปทานขันธ ๒๐๘ การสงเคราะหในสังขารูปาทานขันธ ๒๐๘ การสงเคราะหในสัญูปาทานขันธ ๒๐๘ การสนทนาของพระมหาสาวก ๕๑๔ การสมควรแทที่กุลบุตรผูบวชแลว-ดวยสัทธาจะปรารภความเพียร ๔๘๖ การสมควรเพื่อจะเรียกภิกษุนั้น-วา “ภิกษุธรรมกถึก” ๕๙ การสัมผัสดวยการกระทบ (ปฏิฆสมฺผสฺโส) ๗๘๘ การสัมผัสดวยการเรียกชื่อ-(อธิวจนสมผสโส) ๗๘๘ การสําคัญเห็น ๑๖๔ การสําคัญเห็นซึ่งตนในรูป ๑๙๔ การสําคัญเห็นซึ่งตนวามีรูป ๑๙๓ การสําคัญเห็นซึ่งรูปโดยความเปนตน ๑๙๒ การสําคัญเห็นซึ่งรูปในตน ๑๙๓

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ปทานุกรม การสําคัญเห็นอันเปนสังขาร ๑๙๒ “การสํารรวมอินทรีย” ๖๒๙ การสํารอกไมเหลือแหงอวิชชา-ของอริยสาวก ๑๖๕ การสํารอกเสียไดหมดซึ่งอวิชชา๑๘๗ การสิ้นกรรม ๒๐๒ การสิ้นกรรมที่ถาวร ๒๐๗ การสิ้นกรรมที่แทจริง ๒๐๖ การสิ้นกรรมไปคราวหนึ่ง ๒๐๖ การเสพคบการทําใหเจริญการกระทํา-ใหมากซึ่งธรรมทั้งหลาย ๖๓๘ การแสดงความงามเบื้องปลาย ๔๙๒ การแสดงชางแกคนตาบอดแตกําเนิด ๗๗๑ การแสดงธรรมเนื่องดวยปฏิจจสมุปบาท ๔๘๘ การแสดงธรรมมีความงามทามกลาง ๔๙๑ การแสดงธรรมมีความงามเบื้องตน ๔๙๑ การแสดงอวิชชาดวยโวหาร-วา “เราถูกจิตคดโกงหลอกลวง” ๔๒๔ การแสวงหาครู ๒๔๕ การแสวงหา (ปริเยสนา) ๕๘๙ การหยั่งลงสูความผูกพันดวยสังโยชน-และอภินิเวส ๓๘๘ การหยั่งลงแหงนามรูป ๑๓๘/๓๒๘/๓๒๙/๓๓๓ การหยั่งลงแหงวิญญาณเกิดมี ๑๗๐ การหยั่งลงแหงวิญญาณไมมี ๑๗๑ การหลีกเรน ๒๕๘

๘๒๑ การหลีกเรนเปนเวลากึ่งเดือน ๑๕๒ การหวงกั้น (อารกฺโข) ๕๙๐ การเห็นความฉิบหายความเจริญ-กันที่วัตถุธรรม ๕๙๕ การเห็นชอบตามที่เปนจริงเกี่ยวกับ-อุปาทานขันธหา ๒๘๗ การเห็นตถาคตในรูปแหงธรรมหรือ-ธรรมกาย ๔๓ การเห็นธรรม ๔๒ การเห็นธรรมทั้งปวงวาไมควรยืดมั่น ๒๘๙ การเห็นปฏิจจสมุปบาท ๔๒ การเห็นวามันเขากันไดกับทิฎฐิของตน ๒๘๒ การเห็นอนิจจัง ๒๙๑ การอยูดวยความประมาท ๖๐๐ การอยูหางไกลออกไปจาธรรมวินัยนี้ ๕๐๙ การอยูอยางมี “คนเดียว” ๕๙๘ การอยูอยางมี “เพื่อนสอง” ๕๙๗ กาลกิริยาที่ไมงดงาม ๕๘๐ กาลใดอวิชชาเปนสิ่งที่ละไดแลว ๑๘๗ กาลยืดยาวนานฝายอดีต ๓๐๙ กาลยืดยาวนานฝายอนาคต ๓๑๐ กาลอันเปนปจจุบันบัดนี้ ๓๑๐ กําหนดรูใจของสัตวอื่น ๓๖๕ กําหนดรูซึ่งธรรมอันบุคคลพึงกําหนดรู ๓๓๖ กําหนัดในจักษุ ๒๑๓

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๘๒๒ กําหนัดในจักขุสัมผัส๒๑๓ กําหนัดในจักขุวิญญาณ ๒๑๓ กําหนัดในรูป ๒๑๓ กําหนัดในเวทนาเกิดเพราะจักขุสัมผัส ๒๑๓ กิจที่ควรทําไดทําเสร็จแลว ๔๐/๑๔๔ การในปฏิจจสมุปบาท ๔๔๑ กิเลสที่เปนเหตุใหสะดุงคืออุปทานขอที่ ๔ ๑๘๗ กิเลสรั่วรด ๕๘๐ กุมารเห็นรูปดวยตา ๑๕๑ กุศลกรรมบถหายไปไมมีรองรอย ๕๘๔ เกพลี ผู จ บกิ จ อั น บุ ค คลพึ ง กระทํา ๓๓๙/๓๔๒ เกพลีอยูจบกิจแหงพรหมจรรย ๓๓๗/๓๔๒/๔๕๑ เกิดกายวิญญาณ ๑๗๔/๑๙๐ เกิดขึ้นโดยตนเอง ๑๖๐/๑๖๑/๑๖๒ เกิดขึ้นโดยไมรูสึกตัวอยู ๑๖๑/๑๖๒ เกิดขึ้นโดยรูสึกตัวอยู ๑๖๑/๑๖๒ เกิดขึ้นโดยอาศัยการกระตุนจากผูอื่น ๑๖๑/๑๖๒ เกิดฆานวิญญาณ ๑๗๔/๑๘๙ เกิดจักขุวิญญาณ ๑๗๓/๑๘๘ เกิดชิวหาวิญญาณ ๑๗๔/๑๙๐ เกิดมโนวิญญาณ ๑๗๕/๑๙๐ เกิดสังขารวิญญาณนามรูปอายตนะ-ครบถวนอยูในสัมผัส ๑๙๕

ปฏิจจ ฯจากพระโอษฐ เกิดโสตวิญญาณ ๑๗๔/๑๘๙

ข ขโมยธรรม ๓๖๗ ของเกิดรวมแหงสมันนาหารจิต ๒๐๘/๒๑๑ ของไมเที่ยง ๒๙ ของไมเที่ยงเปนทุกขมิใชตัวตน-เสียบแทงนากลัว ๓๑๔ ของเย็นในอัตตภาพนี้ ๒๐๕ ของลึกเกินประมาณ๕๒ ของเลนสําหรับทารก๑๕๐ ขอบเขตแหงอิทัปปจจยตา ๔๒๒ ขอความเกี่ยวกับการคิดคนปฏิจจ- สมุปบาทของพระพุทธเจาวิปสสี ๔๗๙ ขอความที่พระองคตรัสเกี่ยวกับพวก-สัสสตวาท ๗๔๖ ขอเท็จจริงอันมีความสําคัญอยางยิ่ง ๑๐๑ ขอนั้นจักเปนความเหนื่อยเปลาแกเรา ๕๔ ขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับ-ไมเหลือแหงธรรมอันเปนปจจัย ๕๓๗ ขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงซึ่งธรรม-อันสมควรแกความดับไมเหลือแหง-ชรามรณะ ๔๔๕ ขอปฏิบัติเครื่องยังสัตวใหถึงซึ่งความ-สมควรแกการดับไมเหลือแหง-ปปญจสัญญาสังขา ๖๑๔ ขันธอันมีอาการอันจะพึงเห็นผิด-ถึง๔อาการ ๑๙๕

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ปทานุกรม

๘๒๓

ขายเครื่องคลุมสัตว ๑๐๑

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ปทานุกรม

๘๒๓

เขต(ที่เกิดที่งอบแหงสุขและทุกข-ในภายใน)๑๖๓ เขาเพลิดเพลินยิ่งนักในสิ่งใด-สิ่งนั้นก็เปนภัย๘๐๓ เขายอมเกิดความรูสึกตออารมณตางกัน-ไปตามทิฏฐิของเขา๗๒๙

ค คนตั้งอยูในฝายแหงปุถุชน ๖๔๔ คนธรรพแหงพวกคนธรรพทั้งหลาย๗๘๐ คนนอกวง : ตั้งอยูในฝายแหงปุถุชน ๖๔๔ คนพาลกับบัณฑิตตางกัน ๓๙๑ คนรับใช ๑๓๗ คบสัตบุรุษ ๒๖๘ คลองแหงการบัญญัติ (ปฺตฺติ) ๗๙๐ คลองแหงการพูดจา (นิรุตฺติ) ๗๙๐ คลองแหงการเรียก (อธิวจน) ๗๙๐ คลองแหงสัสสตะ (ทิฏฐิที่ถือวาเที่ยง) ๖๖๙ คลองแหงอุจเฉทะ (ทิฏฐิที่ถือวาขาดสูญ) ๖๖๙ คลายกําหนัดยอมหลุดพน ๑๔๔ คลายกําหนัด(เอง) ๘๐๖ ความกระวนกระวาย (ทรถ) ทางกาย ๒๑๓/๓๓๕ ความกระวนกระวายทางจิต ๒๑๔/๓๓๕ ความกอขึ้นแหงโลก ๒๑๖

ความกําหนัดดวยความพอใจ (ฉนฺทราโค) ๕๙๐ ความกําหนัดไปตามอํานาจความตริตรึก ๒๗๑ ความเกิ ด ขึ้ น พร อ มแห ง กองทุ ก ข ๖/๗๑/๑๖๖ ความเกิดขึ้นพรอมแหงธรรมเปนบาป-อกุศล๗๘๓ ความเกิดขึ้นพรอมแหงสักกายะ๔๙๑ “ความเกิดขึ้นแหงทุกขมีไดเพราะ-ความเกิดขึ้นแหงนันทิ”๕๗๔ ความเกิดขึ้นแหงภพใหมตอไป ๑๖๙/๑๗๐ ความเกิดขึ้นแหงรูปเวทนาสัญญาสังขาร-วิญญาณ ๒๖๐ ความเกิดขึ้นแหงวิญญาณ๑๒๙ ความเกิดขึ้นแหงสังขาร ๑๒๙ ความเกิดและความดับของโลก๕๓๐ ความแกรอบแหงอินทรียทั้งหลาย ๒๖/๘๖ ความเขาไปใครครวญซึ่งอรรถะ-(อตฺถุปปริกฺขา) ๖๔๐ ความเขาไปสงบรํางับแหงวิญญาณ ๕๕๔ ความคิดฆาเปนไอยางแรงกลาแมใน-ระหวางมารดากับบุตร ๕๘๔ ความคิดฆาเปนไปอยางแรงกลาเหมือน-กับที่นายพรานมีความรูสึกตอเนื้อ- ทั้งหลาย ๕๘๔ ความงามเบื้องตน-ทามกลาง-เบื้องปลาย ๔๘๘

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๘๒๔ ความจับอกจับใจ (ปริคฺคโห) ๕๙๐ ความจางคลายดับไปไมเหลือแหงตัณหา ๑๗๕/๒๐๐/๒๒๗ ความจางคลายดับไปโดยไมเหลือ-แหงผัสสายตนะ ๖๘/๖๗๖ ความจางคลายดับไปโดยไมเหลือ-แหงอวิชชา๖ ความเจริญในอริยวินัย ๓๖๗ ความเจริญแหงสังขาร ๓๓๓ ความเจริญแหงสังขารทั้งหลาย ๓๒๘/๓๒๙ ความฉงน (จากปริวิตก) ๕๕๙ ความชอบใจ(ตามที่บุคคลบางคนกลาว ) ๒๘๒ ความเชื่อ(ตามที่ไดฟงจาก-พระผูมีพระภาคเจา) ๒๘๒ ความดับโดยสํารอกไมเหลือแหงอุปธิ ๕๕๐ “ความดับไปไมมีเหลือของทุกขมีได-เพราะความดับไปไมเหลือของนันทิ” ๕๗๔ ความดับไปไมเหลือของนันทิ ๕๗๔ ความดับเพราะความสํารอกไมเหลือ-(แหงภพทั้งหลาย) ๘๐๔ ความดับไมเหลือแหงทุกข ๔๓/๒๒๑ ความดับไมเหลือแหงธรรมอันเปนปจจัย ๕๓๗ ความดับไมเหลือแหงนามรูป ๓๔๑ ความดับไมเหลือแหงผัสสะ ๓๓๙

ปฏิจจ ฯจากพระโอษฐ ความดับไมเหลือแหงรูป ๓๓๘ ความดับไมเหลือแหงวิญญาณ ๓๔๑ ความดับไมเหลือแหงเวทนา ๓๓๙ ความดับไมเหลือแหงสังขาร ๓๔๐ ความดับไมเหลือแหงสัญญา ๓๔๐ ความดับไมเหลือแหงอาหาร ๓๓๘ ความดับไมเหลือแหงอุปธิ ๓๐๗ ความดับเย็น (นิพฺพุติ) ๗๓๕ ความดับลงแหงกองทุกข ๗/๗๑/๑๗๐/๒๓๓ ความดับลงแหงกองทุกขทั้งสิ้น ๑๖๗ ความดับแหงกรรม ๒๗๗ ความดับแหงกาม ๒๗๒ ความดับแหงนันทิ ๓๖๘ ความดับแหงภพ ๓๖๘ ความดับแหงรูป ๑๒๙/๑๓๑ ความดับแหงรูปเวทนาสัญญาสังขาร-วิญญาณ๒๖๒ ความดับแหงวิญญาณ๑๒๙/๑๓๑ ความดับแหงเวทนา ๑๒๙/๑๓๑ ความดับแหงเวทนามี ๒๗๔ ความดับแหงสังขาร ๑๒๙/๑๓๑ ความดับแหงสัญญา ๑๒๙/๑๓๑ ความดับแหงสัญญามี ๒๗๕ ความดับแหงอาหาร ๕๕๘ ความดํารงอยูของภูตสัตวทั้งหลาย๕๗๗ ความตระหนี่ (มจฺฉริยํ) ๕๙๐ ความตั้ ง ขึ้ น เฉพาะแห ง วิ ญ ญาณ ๑๖๖/๑๖๗/๕๖๙

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ปทานุกรม ความตั้งขึ้นพรอมแหงกองทุกข ๕๗๒ ความตั้งอยูไมไดแหทุกขโทมนัส ๔๘๔ ความตั้งอยูแหงธรรมดา ๓๔/๔๔ ความติดตาม (อนุนโย) ๔๓ ความแตกตางของภาษาคนและภาษาธรรม ๔๙๘ ความถึงทับจับฉวยวา “เรามีอยู”๑๖๕ ความที่จักษุเปนสิ่งที่ไมเที่ยง ๖๕๓ ความที่ธรรมทั้งหลายทนไดตอการ-เพงพินิจ (ธมฺมนิชฺฌานกฺขนฺติ) ๖๔๐ ความที่เมื่อมีสิ่งนี้เปนปจจัยสิ่งนี้จึงเกิดขึ้น ๓๕/๔๔ ความที่สิ่งนี้ๆ เปนปจจัยแกสิ่งนี้ ๆ ๕๓ ความทุกขเปนสิ่งที่บุคคลกระทําเอง ๖๖๗ ความทุกขเปนสิ่งที่บุคคลกระทําเองดวย-และบุคคลอื่นกระทําใหดวย ๖๖๗ ความทุกขเปนสิ่งที่บุคคลอื่นกระทําให ๖๖๗ ความทุกขเปนสิ่งที่ไมใชทําเอง-หรือใครทําใหก็เกิดขึ้นได๖๖๘ ความทุกขอันจะพึงเกิดจากเวทนา-ในภายใน ๗๖ ความทุกขอันเปนไปทางกาย ๒๑๔ ความทุกขอันเปนไปทางจิต ๒๑๔ ความนําออกซึ่งฉันทราคะ (ฉนฺทราควินโย) ๔๓ ความนึกไปวา “ราจักมีแลว” ๑๐๓

๘๒๕ ความนึกไปวา “ราจักมีแลวดวยขันธอันนี้” ๑๐๔ ความนึกไปวา “ เราจักมีแลวอยางนั้น” ๑๐๓ ความนึกไปวา “ เราจักมีแลวอยางนั้น -ดวยขันธอันนี้” ๑๐๔ ความนึกไปวา “เราจักมีแลวอยางนี้” ๑๐๓ ความนึกไปวา “เราจักมีแลวอยางนี้-ดวยขันธอันนี้” ๑๐๔ ความนึกไปวา “เราจักมีแลวอยางอื่น” ๑๐๓ ความนึกไปวา “ เราจักมีแลวอยางอื่น-ดวยขันธอันนี้” ๑๐๔ ความนึกไปวา “เราเปนอยางเที่ยงแท” ๑๐๓ ความนึกไปวา “เราเปนอยางเที่ยงแท-ดวยขันธอันนี้” ๑๐๔ ความนึกไปวา “เราเปนอยางนั้น” ๑๐๓ ความนึกไปวา “เราเปนอยางนั้น-ดวยขันธอันนี้”๑๐๔ ความนึกไปวา “เราเปนอยางนี้” ๑๐๓ ความนึกไปวา “เราเปนอยางนี้-ดวยขันธอันนี้” ๑๐๓ ความนึกไปวา “เราเปนอยางไมเที่ยงแท” ๑๐๓ ความนึกไปวา “เราเปนอยางไมเที่ยงแท-ดวยขันธอันนี้”๑๐๔

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๘๒๖ ความนึกไปวา “เราเปนอยางอื่น” ๑๐๓ ความนึกไปวา “เราเปนอยางอื่น-ดวยขันธอันนี้”๑๐๔ ความนึกไปวา “เราพึงมี” ๑๐๓ ความนึกไปวา “ เราพึงมีดวยขันธอันนี้” ๑๐๔ ความนึกไปวา “เราพึงมีดวยขันธอันนี้บางหรือ.” ๑๐๔ ความนึกไปวา “เราพึงมีบางหรือ” ๑๐๓ ความนึกไปวา “เราพึงมีอยางนั้น” ๑๐๓ ความนึกไปวา “เราพึงมีอยางนั้นดวยขันธอันนี้” ๑๐๔ ความนึกไปวา “เราพึงมีอยางนั้นดวยขันธอันนี้บางหรือ”๑๐๔ ความนึกไปวา “เราพึงมีอยางนั้นบางหรือ” ๑๐๓ ความนึกไปวา “เราพึงมีอยางนี้” ๑๐๓ ความนึกไปวา “เราพึงมีอยางนี้- ดวยขันธอันนี้” ๑๐๔ ความนึกไปวา “เราพึงมีอยางนี้-ดวยขันธอันนี้บางหรือ” ๑๐๔ ความนึกไปวา “เราพึงมีอยางนี้บางหรือ” ๑๐๓ ความนึกไปวา “เราพงมีอยางอื่น” ๑๐๓ ความนึกไปวา “เราพึงมีอยางอื่น-ดวยขันธอันนี้” ๑๐๔ ความนึกไปวา “เราพึงมีอยางอื่น-ดวยขันธอันนี้บางหรือ” ๑๐๔

ปฏิจจ ฯจากพระโอษฐ ความนึกไปวา “เราพึงมีอยางอื่นบางหรือ” ๑๐๓ ความนึกวา “เรามีอยู” ๑๐๒ ความนึกวา “เรามีอยูดวยขันธอันนี้” ๑๐๓ ความเนิ่นชาหรือความยากแกการดับทุกข ๖๐๕ ความประมาทของอริยสาวก ๖๔๔ ความปรากฎแหงสวนของวิญญาณ ๒๐๘/๒๑๑ ความปราโมทยของผูมีอวิปปฎิสาร-อันวิบัติแลว ๖๔๖ ความปราโมทยมีปติเปนอานิสงส-ที่มุงหมาย ๖๕๐ ความปริวิตกวาการออกจากทุกขคือชรา-มรณะนี้จักปรากฎขึ้นไดอยางไร ๔๖๑ ความปริวิตกแหงใจ ๕๕๙ ความปลงใจรัก (วินิจฺฉโย) ๕๘๙ ความเปนกฎตายตัวแหงธรรมดา ๓๕/๔๔ ความเปนที่รักที่พอใจกันในหมูสหธัมมิก ๑๘๔ ความเปนปจจัยใหสุขและทุกขอันเปน-ภายในเกิดขึ้น ๑๖๓ ความเปนผูฉลาดในปฏิจจสมุปบาท ๘๑๒ ความเปนผูฉลาดในอายตนะ ๘๑๒ ความเปนผูมีความสงสัยนั้นเปนสังขาร ๑๙๘ “ความเปนผูมีสติสัมปชัญญะ” ๖๒๙ ความเปนพราหมณชั้นสูงสุด ๑๓๘

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ปทานุกรม ความเปนภพ ๖๖ ความเปนอยางนั้น ๓๕/๔๔ ความผิดแผกแตกตางกันระหวาง-อริยสาวกผูมีการสดับจากปุถุชน-ผูไมมีการสดับ ๕๒๗ ความผูกพันดวยสังโยชนและอภินิเวส ๓๘๘ ความผูกพันในอัสสาทะของปติและสุข-อันเกิดแตวิเวก ๒๙๗ ความผูกพันในอารมณดวยกิเลสเปน-เครื่องผูกและทิฏฐิเปนเครื่องตามเห็น ๓๘๘ ความแผดเผาทางจิต ๒๑๔/๓๓๕ ความแผดเผา (สนฺตาป) ทางกาย๒๑๔/๓๓๕ ความพนวิเศษในภายใน ๗๖ ความพยายามยิ่งขึ้นไปของอริยสาวก ๖๔๔ ความพอใจ (ฉนฺโท) ๔๓ ความเพียรในที่สงัด ๒๘๖ ความเพียรแผดเผากิเลส ๒๕๑ ความเพียรเพื่อกิจเกี่ยวกับปฏิจจสมุปบาท ๔๘๕ ความเพียรเพื่อเขาถึงธรรมที่ยังไมได-เขาถึง๔๘๗ ความเพียรเพื่อทําใหแจงธรรมที่ยัง-ไมไดทําใหแจง ๔๘๗ ความเพียรเพื่อบรรลุธรรมที่ยังไมไดบรรลุ ๔๘๗ ความเพียรเพื่อใหรูตามที่เปนจริง ๕๘

๘๒๗ ความเพลินนั้นคืออุปาทาน ๑๒๘ ความมีผัสสะบังหนาในขณะแหงการ-กระทบของผัสสะ ๘๐๔ ความมีสติเปนตัวปฏิปทาที่เกี่ยวกับ-ปฏิจจสมุปบาท ๒๕๘ ความมืดอันใหญหลวงทําใหสัตวตอง-ทองเที่ยวไปในวัฏฏสงสาร ๕๕๒ ความไมกําหนดทั่วถึง (อสลฺลกฺขณ)๗๑๘ ความไมเขาไปกําหนดโดยเฉพาะ-(อปฺปจฺจุปลกขณ)๗๑๘ ความไมเขาไปกําหนด (อนุปลกฺขณ)๗๑๘ ความไมตั้งอยูไดแหงทุกข ๑๙๙ ความไมตั้งอยูไดแหงโลก ๒๒๗ ความไมถึงพรอมเฉพาะ (อนภิสมย) ๗๑๗ ความไมแทงตลอด (อปฺปฏิเวธ) ๗๑๘ ความไมประมาท ๒๕๖ ความไมเปนไปโดยประการอื่น ๓๕/๔๔ ความไมผิดไปจากความเปนอยางนั้น๓๕/๔๔ ความไมพิจารณาโดยเจาะจง-(อปฺปจฺจเวกฺขณ)๗๑๘ ความไมเพงพินิจอยางสม่ําเสมอ -(อสมเปกฺขณ) ๗๑๘ ความไมมีโรค ๔๒๓ ความไมมีโรค ๔๒๓ ความไมรูโดยลําดับ (อนนุโพธ) ๗๑๗ ความไมรู (อฺาณ) ๗๑๗ ความไมสะดุงยอมมีเพราะเหตุไมมีความ-ยึดมั่นถือมั่น ๓๐๓/๓๐๕

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๘๒๘ ความไมหวาดเสียวเพราะความไมยึดมั่น ๓๐๓ ความไมเห็น (อทสฺสน) ๗๑๗ ความยินดีความไมยินดีที่กลาวกัน-อยูในโลก ๕๙๕ ความยินดีและความไมยินดีมีผัสสะ-เปนแดนเกิด ๕๙๖ ความยึดมั่นลูบคลําอยางแรงกลา ๖๕๕ ความรอบรูซึ่งอุปาทานทั้งปวง ๓๔๖ ความรอบรูซึ่งอุปาทานทั้งปวง -โดยชอบ ๑๘๕ ความรูแจงอยางยิ่งดวยปญญา ๕๕๙ ความรูแจงอยางยิ่งดวยปญญาเพราะการ -ทําในใจโดยแยบคาย ๔๗๑ ความรูนี้ของอริยสาวกนั้น-ชื่อวาณาณในการรูตาม ๓๕๓ ความรูนี้ของอริยสาวกนั้นชื่อวา-ญาณในธรรม ๓๕๒/๓๕๔/๓๕๖ ความรูพิเศษกวาทุกแหงสําหรับ-คําวาสังขาร ๑๙๖ ความรูสึกผิดๆ ของผูไมรู-ปฏิจจสมุปบาท ๗๒๓ ความรูสึก (เวทยิตํ) ของจิตที่ไมรู-ปฏิจจสมุปบาท ๗๒๖ ความเรารอนทางจิต ๒๑๔/๓๓๕ ความเรารอน (ปริฬาห) ทางกาย ๒๑๔/๓๓๕ ความเรารอนอื่นที่ใหญหลวงกวา-นากลัวกวา ๕๗

ปฏิจจ ฯจากพระโอษฐ ความละขาดซึ่งฉันทราคะ-(ฉนฺทราคปฺปหานํ) ๔๓ ความละขาดซึ่งฉันทราคะ-ในอุปาทานขันธ ๒๐๙ ความลับแหงความเปนปฏิจจสมุปบาท ๔๒๒ ความลึกของน้ําเนาสีดํา ๕๒ ความลึกของปฏิจจสมุปบาท ๕๒ ความเลื่อมใสในธรรม ๑๘๔ ความเลื่อมใสในพระพุทธเจา-อยางไมหวั่นไหว ๖๔๔ ความเลื่อมใสในพระศาสดา ๑๘๔ ความเลื่อมใสอันหยั่งลงมั่น-ไมหวั่นไหวในพระธรรม ๕๔๐ ความเลื่อมใสอันหยั่งลงมั่น-ไมหวั่นไหวในพระพุทธเจา๕๔๐ ความเลื่อมใสอันหยั่งลงมั่น -ไมหวั่นไหวในพระสงฆ ๕๔๐ ความวิตกกังวลอันใหญหลวง ๑๕๐ ความเวียนวายในวัฎฎะ ๗๙๐ ความสงสัย (กังขา) ๑๐๘/๑๑๑ ความสังสัย (กงฺขา) ในฐานะทั้งหลาย-๖ ประการ ๖๙๑ ความสงสัยเกี่ยวกับตนปรารภกาล-อันเปนปจจุบัน ๔๒๕/๔๒๙ ความสงสัยในพระสัทธรรม ๑๙๘ ความสงสัยยอมหายไป ๗/๙ ความสงสัยเรื่องตัวตนทั้ง ๓ กาล ๔๒๔

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ปทานุกรม ความสมควรแกการดับไมเหลือแหง-ปปญจสัญญาสังขา๖๑๕ ความสมบูรณแหงอรหัตตผล ๖๔๙ ความสยบมัวเมาในอุปาทานขันธ ๒๐๙ ความสยบมัวเมา (อชฺโฌสานํ) ๔๓/๕๙๐ ความสะดุงยอมมีเพราะเหตุมีความ-ยึดมั่นถือมั่น ๓๐๐ ความสะดุงอันเกิดจากความเปลี่ยนแปลง-ไปตามความแปรปรวน ๓๐๐ ความสําคัญแกกันและกันราวกะวาเนื้อ ๕๘๕ ความสําคญของปฏิจจสมุปบาท ๔๒ ความสําคัญของสิ่งที่เรียกวา “เวทนา” ๗๖๘ ความสําคัญมั่นหมายมาแตตนวา “เวทนา-ก็อันนั้นบุคคลผูเสวยเวทนา-ก็คนนั้น” ๗๐ ความสํารอกออกโดยไมเหลือแหงอวิชชา ๖๕๘ ความสายแหงวาจาอันดิ้นไดไมตายตัว ๗๔๓ ความสิ้นทุกขโดยชอบโดยประการทั้งปวง ๔๔๔ ความสิ้นไปแหงนันทิ ๖๕๓ ความสิ้นไปแหงนั้นและราคะ ๖๕๓ ความสิ้นไปแหงราคะ ๖๕๓ ความสิ้นไปแหงอาสวะ ๖๑๖ ความสิ้นสุดของโลก ๖๕๘

๘๒๙ ความสุขอันเปนไปทางกาย ๓๓๕ ความสุขอันเปนไปทางจิต ๓๓๕ ความหมดจดแหงสัตวทั้งหลาย ๔๘๔ ความหมายของคําวา “ยถา-ภูตสัมมัปปญญา” โดยชัดเจน ๒๘๖ ความหมายของปฏิจจสมุปบาท ๒๕ ความหมายของอานิสงสอันประเสริฐสูง-สุดแหงการเห็นปฏิจจสมุปบาท ๔๓๑ ความหวั่นไหว ๖๕๙ ความหวาดเสียวเพราะความยึดมั่น ๓๐๑ ความหวาดเสียวสั่นคลอนแหงจิตใจ-ของบุคคลผูมีตัณหา ๗๒๓ ความเห็นตรงกันในเรื่องปฏิจจสมุปบาท ๔๙๒ ความเห็นแลนไปสูที่สุดขางหนึ่งๆ ๗๗๓ ความเหนี่ยวแนนของสัสสตทิฎฐิ ๑๐๖ ความออนนอมตามฐานะสูงต่ํา ๕๘๔ ความอาลัย (อาลโย) ๔๓ คัดคานขอที่ควรคัดคาน ๒๐๒ คันธัพพะเขาไปตั้งอยูเฉพาะแลวดวย ๑๕๐ คาถาอันนาเศรา ๕๔ คํากลาวที่ไมเขาถึงซึ่งฐานะแหงเหตุผล ๔๙๐ คําที่เรา (พระองค) กลาวแลว ๔๙๒ คําแปลกพิเศษคําหนึ่งคือคําวา “เกพลี” ๔๕๒ คําวา “ทิฏฐธรรม” ๑๓๖ คําวา “ปฏิจจสมุปปนนธรรม” ๓๑

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๘๓๐ คําวา “”สวนสุด” ๖๑ คําวา “อปริปริยายะ” ๑๓๖ คําวา “อุปปชชะ” ๑๓๖ คําสอนของพระผูมีพระภาคเจา-ที่กระทําใหมากแลว ๒๐๙ คําสาปแชงอยางยิ่งในโลกนี้ ๑๔๑ คิด(เจเตติ) ถึงสิ่งใดอยู ๑๖๖/๑๖๙ คืนและวันมีปริวรรคไมสม่ําเสมอ ๕๘๑ คุณคาพิเศษของปฏิจจสมุปบาท ๗๙๙ คุณวิเศษอันโอฬารอื่นจากคุณวิเศษ-ที่มีแลวในกอน ๒๗๘ เคหสิตและเนกขัมมสิต ๑๐๕ เคล็ดลับในการปดกั้น ๒๙๔ เครื่องกําหนดภูมิของปุถุชน ๔๑๓ เครื่องกําหนดภูมิของพระศาสดา ๔๒๑ เครื่องกําหนดภูมิของเสขบุคคล ๔๑๖ เครื่องกําหนดภูมิของอเสขบุคคล ๔๑๘ เครื่องเกาะเกี่ยวของสัตว ๑๐๑ เครื่องดื่มที่ถึงพรอมดวยสีกลิ่นและรสแตเจือดวยยาพิษ ๓๑๑ เครื่องทําใหตางกันระหวางคนพาล-กับบัณฑิต ๓๙๒ เครื่องทําใหเพลินอยางยิ่งในอารมณ ๒๑๓ เครื่องนําไปสูภพใหม ๒๑๓ เครื่องนําไปสูภพใหม (นติ= ตัณหา) ๑๖๘ เครื่องปดกั้นการเห็นปฏิจจสมุปบาท ๗๑๖ เครื่องผูกพันเทวดา ๖๑๒ เครื่องสนุกสนานชอบใจ ๖๓๑

ปฏิจจ ฯจากพระโอษฐ เครื่องวัดการพยากรณอรหัตตผล ๗๖ เคลื่อนจากหมูขิฑฑาปโทสิกเทพนั้นแลว-มาสูความเปนอยางนี้ ๗๓๗ เคลื่อนจากหมูมโนปโทสิกเทพนั้นแลว-มาสูความเห็นอยางนี้ ๗๓๗ เคลื่อนจาหมูอาภัสสรเทพนั้นแลว-มาสูความเปนอยางนี้ ๗๓๖ ใครเลายอมกลืนกิน ๖๕ ใครเลายอมยึดมั่น ๓๗ ใครเลายอมรูสึกตออารมณ ๖๖ ใครเลายอมสัมผัส ๖๖ ใครเลายอมอยาก ๖๗ ใครครวญซึ่งเนื้อความแหงธรรมทั้งหลาย ๖๓๗ ใครครวญธรรมโดยวิธี ๓ ประการ - (ติวิธูปปริกฺขี) ๓๓๗

www.buddhadasa.info ง เงื่อนงําที่อาจนําไปสูสัสสตทิฏฐิหรือ-อุจเฉททิฏฐิ ๖๗๖

จ จงเจริญสมาธิเถิด ๑๒๗ จงประกอบความเพียรในการหลีเรนเถิด ๒๕๘

www.buddhadasa.info


ปทานุกรม จงปลงซึ่งความเชื่อในขอนั้น ๔๕๑ จงเปนผูหมดความเคลือบแคลงสงสัย -ในขอนั้น๔๕๑ จงสําคัญจงเชื่อซึ่งขอนั้น ๔๕๑ จองมองตออัสสาทะอยูปญจุปาทานขันธ – -ทั้งหลายยอมเกิด๒๑๓ “จะเอาอะไรกะมันกะพวกสมณะหัวโลน-ทั้งหลาย” ๖๔๓ จักษุเกิดขึ้นจักษุดับไปโดยที่คน-ไมตองเกิดใหมหรือตาย ๒๒๑ จักษุและสหคตธรรมของจักษุ ๓๓๗ จับชายสังฆาฎิเดินตามรอยเทาเรา ๑๓ จําแนกปฏิจจสมุปบาท ๒๕ จิตของภิกษุผูมีกายสงบและเปนสุข ๒๘๑ จิตจางคลายกําหนัด ๖๕๕ จิตดํารงอยู (ตามสภาพของจิต) ๖๕๕ จิตตวิทยาที่เปนสัจจธรรม ๕๙๔ จิตตสังขาร ๒๘/๙๐ จิตตั้งสยบอยูในภายใน ๒๙๗/๒๙๘ จิตที่ยินดีราเริงดวยดี ๖๕๕ จิตนี้คดโกงหลอกลวงปลิ้นปลอก ๔๒๓ จิตเปนสมาธิตั้งมั่นแลวยอมรูชัด-ตามที่เปนจริง ๑๒๗ จิตเปนเหมือนกลุมดายยุง ๑๕/๓๒/๕๓ จิตไมตั้งมั่น ๖๐๐ จิตไมตั้งมั่นธรรมทั้งหลายยอมไปปรากฏ ๖๔๕ จิตไมหวาดสะดุง๖๕๕

๘๓๑ จิตยอมเกลือกกลั้ว ๖๐๐ จิตยุงเพราะไมรูปฏิจจสมุปบาท ๑๕ จิตสัตวยุงเปนปม ๓๗๕ จิตหลุดพนโดยชอบ ๒๐๕ จิตหลุดพนแลว ๖๕๕ “จิตหลุดพนแลวดวยดี” ๖๕๓ จิ ต อั น ไม ตั้ ง สยบอยู ใ นภายใน ๒๙๘/๒๙๙/๓๐๐ จุดตั้งตนของปฏิจจสมุปบาท ๑๕๖ จุดประทีปอันโพลงขึ้น ๒๐๖ จุตูปปาตะ (การเคลื่อนและการเกิดขึ้น) ๖๕๙ เจตนาเปนผลของเจเตติ ๒๙๓ เจโตวิมุตติปญญาวิมุตติ ๑๕๑/๓๖๘ เจริญกายสุจริตเพื่อละกายทุจริต ๖๓๓ เจริญมโนสุจริตเพื่อละมโนทุจริต ๖๓๓ เจริญวจีสุจริตเพื่อละวจีทุจริต ๖๓๓ เจริญอยูซึ่งสมาธิอันหานิมิตมิได ๑๔๒ โจร ๑๓๗ ใจเปนปฏิสรณะของอินทรีย ๖๓๕ ใจยอมเสวยซึ่งโคจรและวิสัยของอินทรีย ๖๓๕ ใจแลนไปสูสติ ๖๓๖

www.buddhadasa.info ฉ ฉลาดในฐานะ ๗ ประการ-(สตฺตฎานกุสโล) ๓๓๗ ฉลาดในฐานะและอฐานะ ๔๕๓

www.buddhadasa.info


๘๓๒

ปฏิจจ ฯจากพระโอษฐ

ฉลาดในธาตุดวย ๔๕๓ ฉลาดในปฏิจจสมุปบาท ๔๕๓ ฉลาดในเรื่องกรรม ๑๓๗ ฉลาดในอายตนะดวย ๔๕๓ ฉันทนานัตตะ ๕๘๖ ฉันทะเพื่อใหรูในชรามรณะ ๒๔๘ ฉั น ทะมี วิ ต ก (ความตริ ต รึ ก ) เป น นิทาน ๖๑๓

ช ชรา ๒๖ ชรามรณนิโรธสารุปฺปคามินี ๔๔๕ ชรามรณะ ๒๖ “ชรามรณะเปนอยางไร”และ-“ ชรามรณะนี้เปนของใคร” ๖๗๗ “ชรามรณะเปนอยางอื่น”และ-“ชรามรณะนี้เปนของผูอื่น” ๖๗๗ ชรามรณะมีไดแมแกเด็กๆ ๑๕๒ “ชรามรณะมีเพราะปจจัยคือชาติ” ๓๒ ชรามรณะยอมมีแกสัตวผูเกิดแลว ๔๒๑ ชาติ ๒๗/๘๔ ชาติเขามายอมทําใหชรามรณะเขามา ๔๑ “ชาติคือธรรมเปนที่เขาไปตั้ง-อาศัยของทุกข” ๖๑๘ ชาตินิโรธสารุปฺปคามินี ๔๔๕ “ ชาติ” ในภาษาปฏิจจสมุปบาท ๑๓๖ “ชาติเปนอยางไร” และ “ชาตินี้-เปนของใคร” ๖๗๘

“ชาติเปนอยางอื่น” และ “ ชาตินี้-เปนของผูอื่น” ๖๗๘ “ชาติมีเพราะปจจัยคือภพ” ๓๒ ชาติมีภพเปนทีเขาไปตั้งอาศัย ๖๒๑ ชาติมีภพเปนเหตุใหเกิด ๗๓ ชาติสิ้นเพราะความสิ้นแหงเหตุ ๗๒ ชาติสิ้นแลว ๑๔๔ ชาติออกไปยอมทําใหชรามรณะออกไป ๔๒ ชาวนา ๑๓๗ ชาวเมืองและชาวชนบททั้งหลาย-ไมตองอยูในธรรม ๕๘๑ “ชีวะก็อันนั้นสรีระก็อันั้น” ๗๐๐ ชีวิตประจําวันของคนเรา ๑๔๙

www.buddhadasa.info ฌ ซ

เซิงหญามุญชะและหญาปพพชะ ๑๐๒ ฌานที่ ๑ ๒๙๗ ฌานที่ ๒ ๒๙๗ ฌานที่ ๓ ๒๙๗ ฌานที่ ๔ ๒๙๘

ญ ญาณเกิดขึ้นแกอริยสาวกนั้นวา-“หลุดพนแลว” ๒๘๗

www.buddhadasa.info


ปทานุกรม

๘๓๓

ญาณ ๗ ในปฏิจจสมุปบาทแตละอาการ ๓๕๘

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ปทานุกรม ญาณในการรูตาม (อนฺวยาณ) ๓๕๓/๓๕๔/๓๕๖ ญาณคือความรูในชรามรณะ ๓๕๐ ญาณคือความรูในชาติ ๓๕๐ ญาณคือความรูในตัณหา ๓๕๐ ญาณคือความรูในนามรูป ๓๕๑ ญาณคือความรูในผัสสะ ๓๕๑ ญาณคือความรูในภพ ๓๕๐ ญาณคือความรูในวิญญาณ ๓๕๑ ญาณคือความรูในเวทนา ๓๕๑ ญาณคือความรูในสฬายตนะ ๓๕๑ ญาณคือความรูในสังขาร ๓๕๑ ญาณคือความรูในอุปาทาน ๓๕๐ ญาณในความสิ้นไปมีวิมุตติเปนที่ – -เขาไปตั้งอาศัย ๖๒๑ ญาณในความสิ้นไปแหงอาสวะ ๖๑๖ ญ า ณ ใ น ธ ร ร ม ( ธ มฺ ม  า ณ ) ๓๕๒/๓๕๔/๓๕๖ ญาณในนิพพาน ๓๖๒ ญาณในนิพพานเปนสิ่งที่เกิดภายหลัง ๓๖๒ ญาณเปนเครื่องรูเฉพาะตนจริงๆ ๒๘๒ ญาณเปนไปตามหลักของปฏิจจ-สมุปบาทเปนกรณีๆ ไป ๓๕๘ ญาณวัตถุ ๗๗ ในปฏิจจสมุปบาท ๓๕๗ ญาณวัตถุ ๔๔ในปฏิจจสมุปบาท ๓๔๙ ญาณวั ต ถุ เ พื่ อ ความเป น โสดาบั น ๓๔๙/๓๕๗

๘๓๓

ฐ ฐานะ ๗ประการ ๔๕๑ ฐานะที่จักมีได ๑๙๑/๓๔๔/๓๔๖ ฐานะที่เปนเขต ๑๖๓ ฐานะที่เปนวัตถุ๑๖๓ ฐานะที่เปนอธิกรณะ๑๖๓ ฐานะที่เปนอายตนะ๑๖๓ ฐานะสามคือโดยกายโดยวาจาโดยใจ ๕๘๘

ด ดวงจันทรและดวงอาทิตย-มีปริวรรตไมสม่ําเสมอ ๕๘๑ ดวงตา-ญาณ-ปญญา-วิชชา-แสงสวาง-ในความเกิดขึ้นพรอม (สมุทโย) ๔๖๔ ดวงอื่นเกิดขึ้นดวงอื่นดับไปตลอดวัน-ตลอดคืน ๓๘๒ ดับตัณหากอนแตเกิดอุปาทาน ๑๙๙ ดับอวิชชาที่นี่เดี๋ยวนี้ ๓๗๐ ดาวนักษัตรและดาวทั้งหลาย-มีปริวรรตไมสม่ําเสมอ ๕๘๑ ดําริ (ปกปฺเปติ) ถึงสิ่งใดอยู ๑๖๖/๑๖๙ ดิน ๔๑๑ ดุนฟนไฟติดอยูทั้งสองขางตรงกลาง-ก็เปอนอุจจาระ ๑๔๒ เด็กโตพอที่จะรูจักยึดมั่นในเวทนา ๑๕๒

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๘๓๔

ปฏิจจ ฯจากพระโอษฐ

เดือนและปกษมีปริวรรคไมสม่ําเสมอ ๕๘๑ แดนเกิดแหงกรรม ๒๗๗ แดนเกิดแหงสัมผัส ๖๘ แดนใหกรรมทําหนาที่ใหผล ๒๐๗ ไดยินเสียงสองชนิด ๓๖๕ “ไดเห็นพระสัทธรรมนี้” ๓๕๕/๓๕๗

ต ตถตา ๓๕/๔๔ “ตถาคตภายหลังแตตายแลวยอมมีอีก” ๗๐๐ “ตถาคตภายหลังแตตายแลวยอมมีอีกก็มี-ยอมไมมีอีกก็มี” ๗๐๑ “ตถาคตภายหลังแตตายแลวยอมมีอีก-ก็หามิไดยอมไมมีอีกก็หามิได” ๗๐๒ “ตถาคตภายหลังแตตายแลวยอมไมมีอีก” ๗๐๑ ตถาคตยอมแสดงธรรมโดยสายกลาง ๖๒ ตนเงื่อนของปฏิจจมสมุปบาท ๒๘๙ ตนเงื่อนของปฏิจจสมุปบาททางฝาย-การปฏิบัติ ๓๙๐ ตนเงื่อนแหงปฏิจจสมุปบาท ๒๙๑ ตนตาลที่ถูกทําลายแลวที่ขั้วแหงยอด ๓๗๗ ตนเหตุอันแทจริงของปฏิจจสมุปบาท ๑๖๓ ตรัสอยางไรจึงไมโตเถียงกับผูใด ๖๐๕

ตอบปญหาในลักษณะชื่อวาไดตอบ-โดยชอบ ๑๕๘ “(ตองเปน) อัตตามีทั้งสุขและทุกข-(เทานั้นจึงจะ)เปนอัตตาหาโรค-มิไดหลังจากตายแลว” ๗๑๕ “(ตองเปน) อัตตามีรูปก็มิใชไมมีรูป-ก็มิใช (เทานั้นจึงจะ) เปนอัตตา-หาโรคมิไดหลังจากตายแลว” ๗๑๔ “(ตองเปน) อัตตามีรูป( เทานั้นจึงจะ)-เปนอัตตาหาโรคมิได(อโรโค)-หลังจากตายแลว” ๗๑๓ “(ตองเปน) อัตตามีสุขโดยสวนเดียว-(เทานั้นจึงจะ) เปนอัตตาหาโรค-มิไดหลังจากตายแลว”๗๑๔ “(ตองเปน) อัตตาไมมีทั้งทุกขและสุข-(เทานั้นจึงจะ)เปนอัตตาหาโรค-มิไดหลังจากตายแลว” ๗๑๔ “(ตองเปน) อัตตาไมมีรูป (เทานั้นจึงจะ)-เปนอัตตาหาโรคมิไดหลังจาก-ตายแลว” ๗๑๓ ตังชีวตังสรีรทิฏฐิ๗๐๐ ตั้งจิตในนิมิตเปนที่ตั้งแหงความเสื่อมใส-ปราโมทยยอมเกิด ๒๗๙ ตั้งอยูอยางมั่นคงดุจจากตั้งอยูของ-เสาระเนียด ๖๙๐ ตัณหา ๒๗/๘๕/๕๘๙

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ปทานุกรม ตัณหาเกิดขึ้น ๑๖๗ ตัณหาเกิดขึ้นเขาไปตั้งอยูในปยรูป-สาตรูป ๓๐๘ ตัณหาเขามายอมทําใหอุปาทานเขามา ๔๑ “ตัณหาคือธรรมเปนที่เขาไปตั้งอาศัย-ของอุปาทาน” ๖๑๙ ตัณหานั่นแลเปนเพื่อนสอง ๕๙๘ “ตัณหามีเพราะปจจัยคือเวทนา” ๓๓ ตัณหามีเวทนาเปนที่เขาไปตั้งอาศัย ๖๒๑ ตัณหามีเวทนาเปนเหตุใหเกิด ๗๔ ตัณหายอมเจริญถึงที่สุด ๒๑๓ ตัณหายอมเจริญอยางทั่วถึง ๓๗๖ ตัณหาวิจริต ๓๖ ประการ ๑๐๕ ตัณหาวิจริต ๑๐๘ ประการ ๑๐๕ ตัณหาวิจริตอันเขาไปจับยึดขันธ – -ในภายนอก ๑๐๒ ตัณหาวิจริตอันเขาไปจับยึดขันธ- ในภายใน ๑๐๒ ตัณหาออกไปยอมทําใหอุปาทาน-ออกไป ๔๒ ตัดกระแสแหงปฏิจจสมุปบาท ๑๗ ตัวการที่แทรกแซงแลวในธรรมทั้งหลาย ๑๖๒ ตัวการสําคัญในกระแสแหงปฏิจจสมุปบาท๒๗๘ ตัวสัจจานุปตติ ๖๓๘ ตาบอดคลําชาง ๗๖๙ ตามเห็นอาทีนวะอยูเนื่องๆ ๓๓๕ ติดของอยูในภพถูกภพบังหนา ๘๐๓

๘๓๕ ติวิธูปปริกฺขี ๓๓๗ แตถาไมเขาไปยึดถือ ๒๘๘ โตขึ้นถึงขนาดรูสึกยึดถือในเวทนา ๑๔๙

ถ ถอนอวิชชานุสัยอันเกิดจากอทุกขมสุข-เวทนา ๓๔๔ ถาปราศจากเวทนาเสียเพียงอยางเดียว ๑๐๑ ถามีราคะมีนันทิมีตัณหา-ในกพฬีการาหาร ๓๒๗ ถามีราคะมีนันทิมีตัณหา-ในผัสสาหาร ๓๒๘ ถามีราคะมีนันทิมีตัณหา-ในมโนสัญเจตนาหาร ๓๒๘ ถามีราคะมีนันทิมีตัณหา-ในวิญญาณาหาร ๓๒๘ ถาไมมีราคะไมมีนันทิไมมีตัณหา-ในกพฬีการาหาร ๓๓๐ ถาไมมีราคะไมมีนันทิไมมีตัณหา-ในผัสสาหาร ๓๓๑ ถาไมมีราคะไมมีนันทิไมมีตัณหา-ในมโนสัญเจตนาหาร ๓๓๑ ถาไมมีราคะไมมีนันทิไมมีตัณหา-ในวิญญาณาหาร ๓๓๒ ถาไมยึดมั่นถือมั่น ๑๐๗ ถึงซึ่งการนับวา” รูป (กาย)” ๒๐๗ ถึงซึ่งการนับวา “เรือน” ๒๐๗ ถูกเวทนาสะกิดใหมีความสําคัญมั่นหมาย ๗๐

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๘๓๖

ปฏิจจ ฯจากพระโอษฐ

ท ทรงนิ่งเสียเมื่อทรงถูกกระทบกระเทียบ ๔๘๔ ทรงพยากรณแตอริยญายธรรม ๔๘๑ ทรงแสดงธรรมแกสาวกทั้งหลาย-ดวยปญญาอันยิ่ง ๔๘๔ ทรงใหศึกษาปฏิจจสมุปบาท ๑๖ ทางสายกลาง ๖๖๖ ทานนั้นเปนบทบัญญัตของคนเขลา ๑๐๘ “ทานทั้งหลายจงมาดู” ๓๕/๔๔ ทําความเคารพในสมณะใหเกิดขึ้นแลว-ในสมณะทั้งหลาย๖๔๓ ทําความรักของสมณะใหเกิดแลว-ในสมณะทั้งหลาย ๖๔๓ ทําความเลื่อมใสในสมณะใหเกิดแลว-ในสมณะ ๖๔๓ ทําตัณหาใหเจริญ ๓๐๙ ทําทุกขใหเจริญ ๓๐๙ ทําวิชชาและวิมุตติใหบริบูรณ ๖๓๔ ทําไวในใจโดยแยบคายซึ่ง-ปฏิจจสมุปบาท ๑๔ ทําใหเจริญซึ่งธรรมอันบุคคลพึงทําใหเจริญ ๓๓๖ ทําใหแจงซึ่งธรรมอันบุคคลพึงทําใหแจง ๓๓๖ ทําใหแจงซึ่งประโยชนแหงความเปน-สมณะ ๓๙๗

ทําใหแจงซึ่งวิมุตติญาณทัสสนะ(เอง) ๘๐๖ ทําใหเปนเหมือนการหงายของที่คว่ํา ๓๕/๔๔ ทําใหเหมือนตาลมีขั้วยอดอันเนาแลว ๖๘๕ ทําอุปธิใหเจริญ ๓๐๙ ทิฎฐธรรม ๑๓๒ ทิฏฐธัมมนิพพานทิฏฐิ ๕ ๗๖๓ ทิฏธมฺมนิพพานปฺปตฺโต ๔๔๑ ทิฏญฐานุสัย ๖๐๕ ทิฏฐิชั้นหัวหนา ๑๘ ๖๙๐ “ทิฏฐิชาละ” ๗๓๑ ทิฏฐิตางกันแมอารมณที่มากระทบ-จะเปนอยางเดียวกัน ๗๒๙ ทิฏฐิแตละทิฏฐิยอมปดบังอิทัปปจจยตา ๓๘๙ ทิฏฐิทั้งลาย ๒อยาง ๑๔๒ ทิฏฐิปรารภขันธหา ๑๙๒ ทิฏฐิเปนไปตามซึ่งขันธอันเปนปุพพันตะ ๗๓๒ ทิฏฐิเปนไปตามซึ่งขันธอันเปนอปรันตะ ๗๕๐ ทิฏฐิ๒๖ ปรารภขันธหา ๗๐๔ ทิฏฐิและการหยั่งลงแหงทิฏฐิ ๓๘๓ ทิฏฐิวัตถุคือตนเหตุเดิมอันจะใหเกิด-ทิฏฐิ ๗๖๘ ทิฏฐิวา “ผูนั้นกระทําผูนั้นเสวย” ๖๓ ทิฏฐิวา “ผูอื่นกระทําผูอื่นเสวย” ๖๓

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ปทานุกรม ทิฏฐิวา “ราไมพึงมีดวย ; ของเราไมพึง-มีดวย ; เราจักไมมีดวย ;-ของเราจักไมมีดวย ;” ๑๙๗ ทิฏฐิวา “สิ่งทั้งปวงมอยู “ ๖๑ ทิฏฐิวา “สิ่งทั้งปวกไมมีอยู” ๖๒ ทิฏฐิวา “อัตตาก็อันนั้นโลกก็อันนั้น” ๑๙๖ ทิฏฐิอยางพวกตาบอดคลําชาง ๗๖๙ ทิฏฐิอันปรารภที่สุดในเบื้องตน ๔๒๕ ทิฏฐิอันปรารภที่สุดในเบื้องตน-(ปุพพันตทิฏฐิ) ๔๒๙ ทิฏฐิอันปรารภที่สุดในเบื้องปลาย ๔๒๕ ทิฏฐิอันปรารภที่สุดในเบื้องปลาย (อปรันตทิฏฐิ) ๔๒๙ ทิฏฐิปาทาน ๒๗/๘๗/๑๘๓/๓๔๗ ทิพพโสตธาตุอันบริสุทธิ์เกินกวา -โสตของมนุษย ๓๖๕ ทิ่มแทงซึ่งกันและกันอยูดวย-หอกคือปาก ๗๗๑ ที่เกิดและที่ดับแหงสัญญาและแหงกรรม ๒๗๘ ที่ดับโดยไมเหลือแหงธรรมอันเปน-บาปอกุศลทั้งหลาย ๓๖๘ ที่ดับแหงกรรม ๒๗๗ ที่ดับแหงกาม ๒๗๓ ที่ดับแหงเวทนา ๒๗๔ ที่ดับแหงสัญญา ๒๗๖ ที่ตองของสํญญาที่เปนแดนเกิด-ของปปญจสังขา ๕๙๗

๘๓๗ ที่ตั้งแตแหงความเปนไปได-ของปฏิจจสมุปบาท ๗๙๐ ที่เที่ยวที่โคจรของตัณหา ๑๐๖ ที่มาของทิฏฐิ ๖๒ ๗๒๗ ที่มีโศกมีธุลีความคับแคน ๓๒๘/๓๒๙ “ที่ไมมีโศกไมมีธุลีไมมีความคับแคน” ๓๓๑ “ที่ไมมีโศกไมมีธุลีไมมีความคับแคน” ๓๓๒ ที่สุดในเบื้องตนของภวตัณหา-ยอมไมปรากฎ ๖๒๖ ที่สุดในเบื้องตนของอวิชชา-ยอมไมปรากฎ ๖๒๒ ที่สุดแหงทุกข ๖๕๙ ที่สุดแหงปฏิจจสมุปบาทคือที่สุดแหงภพ ๘๐๒ ทุกขนิโรธ(ความหมายพิเศษ) ๒๐๙ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ ๘๓ ทุกขนิโรธอริยสัจ ๘๒ ทุกขเวทนาถูกตองอยูยอมจะนึก-พอใจซึ่งกามสุข ๕๒๗ ทุกขสมุทยอริยสัจ ๘๒ ทุกขสมุทัย (ความหมายพิเศษ) ๒๐๙ ทุกขอริยสัจ ๘๒ “ทุกขคือธรรมเปนที่เขาไปตั้งอาศัย-ของสัทธา”๖๑๘ ทุกขใดๆ เกิดขึ้นทุกขทั้งหมดนั้นเกิดขึ้น-เพราะมีตัณหาเปนปจจัย ๕๕๕

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๘๓๘ ทุกขทั้งหมดนั้นเกิดขึ้นเพราะมีผัสสะ-เปนปจจัย ๕๕๔ ทุกขทั้งหมดนั้นเกิดขึ้นเพราะมีวิญญาณ-เปนปจจัย ๕๕๓ ทุกขทั้งหมดนั้นเกิดขึ้นเพราะมีเวทนา-เปนปจจัย ๕๕๔ ทุกทั้งหมดนั้นเกิดขึ้นเพราะมีสังขาร-เปนปจจัย ๕๕๒ ทุกขทั้งหมดนั้นเกิดขึ้นเพราะมีอวิชชา-เปนปจจัย ๕๕๑ ทุกขทั้งหมดนั้นเกิดขึ้นเพราะมีอารัมภะ-เปนปจจัย ๕๕๗ ทุกขทั้งหมดนั้นเกิดขึ้นเพราะมีอาหาร-เปนปจจัย ๕๕๘ ทุกขทั้งหมดนั้นเกิดขึ้นเพราะมีอุปาทาน-เปนปจจัย ๕๕๖ ทุกขนั้นอาศัยปจจัยคือผัสสะ ๖๗๑ ทุกขนี้เกิดขึ้นเพราะอาศัยซึ่งอุปธิ ๘๐๓ ทุกขนี้มีอุปธิเปนเหตุใหเกิด ๓๐๗ ทุกขในลัทธิทั้งหลายอื่นก็มีผัสสะ-เปนจุดตั้งตน ๖๗๐ ทุกขมีชาติเปนที่เขาไปตั้งอาศัย ๖๒๑ ทุกขมีเพราะวิญญาณเปนปจจัย ๕๕๔ ทุกขมีเพราะสังขารเปนปจจัย ๕๕๓ ทุกขมีอยางมิใชนอยนานาประการ ๔๔๔ ทุกขมีอุปธิเปนแดนเกิด ๕๕๑ ทุพพลภาวะของมนุษย ๕๘๐ เทพทั้งหลาย ๔๑๑

ปฏิจจ ฯจากพระโอษฐ เทพแหงหมูเทพทั้งหลาย ๗๗๙ เทวดาทั้งหลายระส่ําระสาย ๕๘๑ แทงตลอดซึ่งธรรมนั้นแลวเห็นอยู-ดวยปญญา ๖๓๗ โทสะเปนเหตุเพื่อความเกิดขึ้น-แหงกรรม ๑๓๑

ธ ธรรมกถึก ๕๙ ธรรมชื่อวาปฏิจจสมุปปนนธรรม ๔๒ ธรรมซึ่งฟงแลวจะเปนผูหลีกออก-ผูเดียว ๒๘๖ ธรรมซึ่งเมื่อละไดแลววิชชายอม-เกิดขึ้น ๒๘๙ ธรรมเงียบสงบประณีต ๗๓๕ ธรรมทั้ง๒๔ ประการอันเปนที่ตั้ง-แหงอุปาทาน ๔๒๑ ธรรมทั้งหลายตามที่กําหนดไว-เปนสองฝาย ๕๕๐ ธรรมทั้งหลายทั้งปวงอันบุคคลไมควร-ยึดมั่นถือมั่น ๒๙๐ ธรรมทั้งหลายที่เราไมเคยฟง-มาแตกอน ๔๖๖ ธรรมทั้งหลายมีอยู ๑๖๕ ธรรมทั้งหลายยอมทนตอการ-เพงพิสูจน ๖๕๒

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ปทานุกรม ธรรมทั้งหลายยอมทนตอความเพงพินิจ ๖๓๗ ธรรมที่ทรงแสดงเพื่อไมใหรูสึก-วามีสัตวบุคคล ๖๕ ธรรมที่บุคคลพึงรูแจง ๒๗๐ ธรรมที่เปนฐานะ ๖อยาง ๖๙๐ ธรรมที่พระสัมมาสัมมาพุทธเจาประกาศ ๑๘๕ ธรรมที่เมื่อจะพูดสรรเสริญเราตถาคต-ใหถูกตองตรงตามที่เปนจริง ๗๓๕ ธรรมที่รูปอยางเดียวยอมรูทั้ง ๔ อยาง ๔๕๕ ธรรมที่ลึกที่สัตวอื่นเห็นไดยาก ๗๓๕ ธรรมธาตุ ๓๔ ธรรมนําสัตวออกจากทุกข ๑๘๕ ธรรมปริยายชื่อนิพเพธิกปริยาย ๒๖๙ ธรรมปริยายนี้ประกอบดวยประโยชน ๑๗/๕๐๙/๘๑๑ ธรรมปริยายนี้เปนเบื้องตนแหง -พรหมจรรย ๑๗/๕๐๙/๘๑๑ ธรรมปริยายประกอบดวยประโยชน ๒๔๕ ธรรมปริยายเปนเบื้องตนแหง-พรหมจรรย ๒๔๕ ธรรมเปนเครื่องตั้งมั่น (ปธาน) ๖๓๘ ธรรมเปนที่สงบระงับแหงสังขารทั้งปวง ๕๓ ธรรมเปนไปเพื่อความรอบรูซึ่งอุปาทานทั้งปวง ๓๔๖

๘๓๙ ธรรมเปนเหตุใหเนิ่นชาแกการหลุดพน ๕๙๖ ธรรมมีอุปาการะมากแกการเขาไป-นั่งใกล ๖๔๒ ธรรมมีอุปการะมากแกการเขาไปหา ๖๔๒ ธรรมมีอุปการะมากแกการเงี่ยลง-ซึ่งโสตะ ๖๔๒ ธรรมมีอุปการะมากแกการทรงไว-ซึ่งธรรม ๖๔๑ ธรรมมีอุปการระมากแกการพิจารณา-หาความสมดุลยแหงธรรม ๖๓๙ ธรรมมีอุปการะมากแกการฟงซึ่งธรรม๖๔๑ ธรรมมีอุปการระมากแกความเขาไป-ใครครวญซึ่งอรรถะ ๖๔๑ ธรรมมีอุปการะมากแกความที่ธรรม-ทั้งหลายทนตอการเพิ่งพินิจ ๖๔๐ ธรรมมีอุปการะมากแกฉันทะ ๖๔๐ ธรรมมีอุปการะมากแกธรรม-เปนเครื่องตั้งมั่น ๖๓๙ ธรรมมีอุปการะมากแกสัจจานุปตติ ๖๓๘ ธรรมมีอุปการะมากแกอุสสาหะ ๖๓๙ ธรรมไมเปนวิสัยที่จะหยั่งลงงาย-แหงความตรึก ๗๓๕ ธรรมไมรูจักเกา ๒๐๓ ธรรมยอมทําธรรมใหเต็มเพื่อการถึง -ซึ่งฝง (คือนิพพาน) ๘๐๗ ธรรมละเอียดรูไดเฉพาะบัณฑิตวิสัย ๗๓๕

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๘๔๐ ธรรมวินัยอันบุคคลกลาวไวชั่วแลว ๑๘๔ ธรรมวินัยอันมีการบัญญัตอุปทาน-ไมครบถวน ๑๘๔ ธรรมวินัยอันเรากลาวดีแลว ๑๘๕ ธรรมสามคือ ชาติ ๑ชรา ๑ มรณะ ๑ ๓๑๗/๓๒๐ ธรรมสามคือมุฎฐสัจจะ ๑ อสัมปชัญญะ๑– -เจตโสวิกเขปะ ๑ ๓๑๗/๓๒๐ ธรรมสามคือราคะ ๑ โทสะ ๑ โมหะ ๑ ๓๑๗/๓๒๐ ธรรมสามคือสักกายทิฏฐิ ๑ วิจิกิจฉา๑ -สีลัพพัตตปรามาส๑ ๓๑๗/๓๒๐ ธรรมสามคือนาทริยะ ๑ โทวจัสสตา ๑– - ปาปมิตตตา ๑ ๓๑๘/๓๒๑ ธรรมสามคืออโยนิโสมนสิการ ๑ กุมมัคค-เสวนา ๑ เจตโสลีนัตตา ๑ ๓๑๗/๓๒๐ ธรรมสามคืออริยานังอทัสสนกัมยตา๑– -อริยธัมมังอโสตุกัมยตา๑– -อุปารัมภจิตตตา ๑ ๓๑๘/๓๒๐ ธรรมสามคืออสัทธิยะ ๑ อวทัญุตา๑– -โกสัชชะ๑ ๓๑๘/๓๒๑ ธรรมสามคืออุทธัจจะ อสังวระ๑– -ทุสสีลยะ ๑ ๓๑๘/๓๒๑ ธรรมหมวดละหกหมวดที่สอง ๔๘๙ ธรรมหมวดละหกหมวดที่สาม ๔๘๙ ธรรมหมวดละหกหมวดที่สี่ ๔๙๐ ธรรมหมวดละหกหมวดที่หก ๔๙๐ ธรรมหมวดละหกหมดที่หนึ่ง ๔๘๙

ปฏิจจ ฯจากพระโอษฐ ธรรมหมวดละหกหมวดที่หา ๔๙๐ ธรรมหาอันเปนที่ตั้งแหงอุปาทาน ๓๔๖ ธรรม,เหตุเกิดธรรม,ความดับธรรม,-ทางใหถึงความดับธรรม, ๓๙๗ ธรรมไหลไปสูธรรมโดยไมตองมีใคร-เจตนา ๘๐๕ ธรรมอันบุคคลพึงกําหนดรูดวยปญญา-อันยิ่ง ๓๓๖ ธรรมอันบุคคลพึงทําใหเจริญดวยปญญา-อันยิ่ง ๓๓๗ ธรรมอันบุคคลพึงทําใหแจงดวยปญญา-อันยิ่ง ๓๓๗ ธรรมอันบุคคลพึงละดวยปญญาอันยิ่ง ๓๓๖ ธรรมอันเปนที่ตั้งแหงสังโยชน ๑๓๘/๑๗๑ ธรรรมอันเปนธรรมชาติอาศัยกันแลว-เกิดขึ้น ๓๕/๔๓ ธรรมอันเปนปจจัย ๕๓๗ ธรรมอันไปทวนกระแส ๕๔ ธรรมอันผูปฏิบัติพึงเห็นเอง ๒๐๓ ธรรมอันมีความไพเราะในเบื้องตน-ไพเราะในทามกลางไพเราะ-ในเบื้องปลาย ๔๘๘ ธรรมอันลึกสัตวอื่นเห็นไดยาก ๕๓ ธรรมอันสมควรแกความดับไมเหลือ-แหงชรามรณะ ๓๐๗ ธรรมอันสมณพราหมณผูรูทั้งหลาย-ขมขี่ไมได ๘๑

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ปทานุกรม ธรรมอันสมณพราหมณผูรูทั้งหลาย-คัดงางไมได ๘๑ ธรรมอันสมณพราหมณผูรูทั้งหลาย-ติเตียนไมได ๘๑ ธรรมอันสมณพราหมณผูรูทั้งหลาย-ทําใหเศราหมองไมได ๘๑ ธรรมอาศัยซึ่งกันและกันเกิดขึ้น ๔๒ “ธัมมาชาละ” ๗๓๑ ธัมมญาณและอันวยญาณ ๓๕๓/๓๕๕/ ๓๕๗ ธัมมตัณหา ๓๐๙ ธัมมนิยามตา ๓๕/๔๔ ธัมมวิจยสัมโพชฌงค ๒๘๐ ธัมมวิจาร ๓๐๙ ธัมมวิตก ๓๐๙ ธัมมสัญเจตนา ๓๐๙ ธัมมสัญญา ๓๐๙ ธัมมอเวจัปปสาท ๕๔๐ ธัมมัฏฐิตตา ๓๕/๔๔ ธัมมัฏฐิติญาณเปนสิ่งที่เกิดกอน ๓๖๒ ธัมมิกถกาอันเนื่องเฉพาะดวยนิพพาน ๖๕๘ ธาตุทั้งหลาย ๖ ประการ ๑๑๒ ธาตุนานัตตะ ๕๘๕ ธาตุปานกลาง (รูปธาตุ) ๗๙๑ ธาตุอันทราม(กามธาตุ) ๗๙๑ ธาตุอันประณีต (อรูปธาตุ) ๗๙๑ เธอทั้งหลายจงเจริญสมาธิเถิด ๑๒๗

๘๔๑

น นติ (ความนอมไป) ๖๕๙ นติ= ตัณหา ๑๖๘ นรกชื่อวามหาปริฬาหะ ๕๕ นรกที่รอนยิ่งกวานรก ๕๘ นรกในปจจุบันสําหรับสัตวที่ยังมี-ความรูสึกอยู ๕๕ นรกปฏิจจสมุปบาทรอนยิ่งกวานรก ๕๘ นรกเพราะไมรูปฏิจจสมุปบาท ๕๕ นรกยิ่งกวานรกไหนหมด ๕๕ นรกแหงการไมเห็นปฏิจจสมุปบาท ๕๘ นโหติตถาคโตทิฏฐิ๗๐๑ นักรบ ๑๓๗ นัตถิกทิฏฐิ๑๐๘ นัตถิกทิฏฐิ(โดยพิศดาร) ๖๙๓ นัตถิตา(ความไมมี) ๖๖๕ นันทิ ๑๒๘ นันทิเกิดก็มีปฏิจจสมุปบาท ๑๒๗ นันทิดับปฏิจจสมุปบาทดับ ๑๒๙ นันทิในเวทนานั่นคืออุปาทาน ๑๕๑ นันทิเปนมูลแหงความทุกข ๔๑๙/๔๒๑ นันทิหรือตัณหาไมเขาไปตั้งอยูในเวทนา ๗๖ “นั่นของเรา’ ; นั่นเปนเรา ; นั่นเปน – -ตัวตนของเรา” ; ๖๙๒ “นั้นของรา , นั่นเปนเรา, นั่นเปนอัตตา-ของเรา” ๔๙๑

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๘๔๒ นั่นไมใชของเราไมใชเราไมใช-ตัวตนของเรา ๒๘๖ นั่นไมใชฐานะที่จักมีได ๑๕๙/๓๗๘ นั่นแหละที่สุดแหงทุกขละ-(อีกความหมายหนึ่ง) ๔๕๑ นานจริงหนอที่เราถูกจิตนี้คดโกง-หลอกลวงปลนปลอก ๔๒๓ นานาภาวะ (นานตฺตํ) ๔๑๓ นาม ๒๘/๙๘ นามรูป ๒๘/๘๕/๘๙ นามรูปกาวลง ๑๖๖ นามรูปเขามายอมทําใหสฬายตนะเขา มา๔๑ “นามรูปคือธรรมเปนที่เขาไปตั้งอาศัย-ของสฬายตนะ” ๖๒๐ “นามรูปเปนอยางไร ” และ “นามรูปนี้-เปนของใคร” ๖๘๓ “นามรูปมีเพราะปจจจัยคือวิญญาณ” ๓๓/๗๘๙ นามรูปมีวิญญาณเปนที่เขาไปตั้งอาศัย ๖๒๑ นามรูปไมหยั่งลง ๑๓๙ นามรูปหยั่งลง ๑๓๘ นมรูปออกไปยอมทําใหสฬายตนะ-ออกไป๔๒ นามรูปอันเปนภายนอก ๓๙๑ นําออกเสียซึ่งฉันทะในอารมณ ๒๗๑ น้ํา ๔๑๑

ปฏิจจ ฯจากพระโอษฐ น้ําที่จุมแลวขึ้นดวยปลายใบหญาคา ๔๓๖ น้ําในบอนั้นมีอยูแตเขาไมอาจจะทํา- ใหน้ํานั้นถูกตองกายเขาได ๒๘๕ นิทานสมุทัยปจจัยของผัสสะ ๗๘๙ นิทานสัมภวะสวนมากของนิพเพธิกธรรม ๒๖๙ นิทานสัมภวะแหงกรรม ๒๗๐/๒๗๖ นิทานสัมภวะแหงกาม ๒๗๐/๒๗๒ นิทานสัมภวะแหงเวทนา ๒๗๓ นิทานสัมภวะแหงสัญญา ๒๗๔ นิทานสัมภวะแหงอาสวะ ๒๗๐ นิพพานแลเปนปฏิสรณะของวิมุตติ ๖๓๕ นิพพานอยางยิ่งในทิฏฐธรรม ๗๖๓ นิพพิทาของผูมียถาภูตณาณทัสสนะ-อันวิบัติแลว ๖๔๗ “นิพพิทาคือธรรมเปนที่เขาไปตั้ง-อาศัยของวิราคะ” ๖๑๖ นิพพิทามียถาภูตญาณทัสสนะเปนที่ – -เขาไปตั้งอาศัย ๖๒๑ นิพพิทามีวิราคะเปนอานิสงสที่หมาย ๖๕๐ นิพพิทายอมมีวิราคะเปนอานิสงส ๘๐๗ นิพพิทาวิราคะของผูมียถาภูตญาณ-ทัสสนะอันวิบัติแลว ๖๔๘ นิพเพธิกปริยาย ๒๗๘ นิมิตอันเปนที่ตั้งแหลงความเลื่อมใส ๒๗๙ นิรามิสปติ(ปติอิงธรรมไมอิงอามิส)๒๘๐ นิโรธคามินีปฏิปทาแหงกรรม ๒๗๐/๒๗๗

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ปทานุกรม

๘๔๓

นิโรธคามินีปฏิปทาแหงกาม ๒๗๐/๒๗๒

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ปทานุกรม นิโรธคามินีปฏิปทาแงสัญญา ๒๗๕ นิโรธคามินีปฏิปทาแหงอาสวะ ๒๗๐ นิโรธแหงกรรม ๒๗๐ นิโรธแหงกาม ๒๗๐ นิโรธแหงอาสนะ ๒๗๐ นิสสรณะเครื่องออกจากรูป ๓๓๘ นิสสรณะเครื่องออกจากวิญญาณ ๓๔๑ นิสสรณะ(อุบายเครื่องออกพนไป)-ของเวทนา ๓๔๓ นี้คือโรคนี้คือหัวฝนี้คือลูกศร ๒๖๘ “นี้เปนเรา (อยมหมสฺมีติ)” ๑๖๕ เนกขัมมฉันทะ ๕๘๙ เนกขัมมธาตุ ๕๘๘ เนกขัมมปริเยสนา ๕๘๙ เนกขัมมวิตก ๕๘๘ เนกขัมมวิตก ๕๘๘ เนกขัมมสังกัปปะ ๕๘๘ เนกขัมมสัญญา ๕๘๘ “เนกขัมมสิต” ๑๐๖ เนวรูปนารูปอัตตาทิฏฐิ๗๑๔ เนวสัญญีนาสัญญีทิฏฐิ ๘ ๗๕๖ เนวสัญญานาสัญญาตนะ ๔๑๒ เนวโหตินนโหติทิฏฐิ ๗๐๒ เนื้อความโดยบทและโดยพยัญชนะ ๗๒ เนื้อบุตรเปนอาหาร ๓๒๔ ในสังสารวัฏนั้นไมมีอะไรที่ชื่อวา-ความเสื่อมหรือความเจริญ ๖๙๗

๘๔๓

บ บรมสัจจะ ๖๕๑ บรรเทาปฏิฆานุสัยอันเกิจากทุกขเวทนา ๓๔๔/๓๔๕ บรรพชาที่ไมเปนหมัน ๔๘๘ บรรพชาเปนโอกาสวาง ๓๖๗ บรรพชามีผลมีกําไร ๔๘๘ บรรพชาไมต่ําทราม ๔๘๗ บรรลุอิทธิวิธีมีประการตางๆ ๓๖๔ บริโภคเนื้อบุตร ๓๒๔ บวชแลวเพื่อขโมยธรรม ๓๖๖ บอกหนทางใหแกผูหลงทาง ๒๐๖ บัญญัติแกสัตวผูสามารถเสวยเวทนา อยู ๘๒/๑๐๑/๑๑๕ บัญญัติซึ่งทิฏฐิอันเปนอธิมุตติบท ๗๒๖ บัณฑิต ๑๓๗ บัณฑิตผูประกอบไปดวยปญญาเปน-เครื่องพิจารณา ๔๕๓ บัดนี้ไมเห็นแมแตปงสุปศาจ-(ปศาจเลนฝุน) ๔๒๗ “บาปยอมไมมี; การมาแหงบาปยอม-ไมมี. บุญยอมไมมี; การมา-แหงบุญยอมไมมี” ๖๙๕ บุคคลผูถึงพรอมดวย(สัมมา)ทิฏฐิ-(ทิฏิสมฺปนฺโน) ๕๔๓ บุคคลผูไมรู ๓๙๕ บุคคลผูรู ๓๙๗

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๘๔๔ บุคคลผูรูอยูเห็นอยู ๖๑๕ บุคคลมีเจตนาแลวยอมกระทํา-ซึ่งกรรม ๒๗๖ บุพพภาคของการดับแหงปฏิจจสมุปบาท ๒๖๘ บุรพภาคแหงการทําลายกระแส-ปฏิจจสมุปบาท ๒๖๙ บุรุษตามืดบอดมาแตกําเนิด ๔๒๒ เบื่อหนายแมในจักขุวิญญาณ๓๔๖ เบื่อหนายแมในจักขุสัมผัส ๓๔๖ เบื่อหนายแมในตา ๓๔๖ เบื่อหนายแมในรูป ๓๔๖ เบื่อหนายแมในเวทนา ๓๔๖ เบื่อหนายยอมคลายกําหนัด ๑๔๔ เบื่อหนาย(เอง) ๘๐๖ เบื้องตนแหงพรหมจรรย ๒๓๙

ปฏิจจ ฯจากพระโอษฐ ปฏิจจสมุปบาทเกิดไดเสมอ ๑๔๘ ปฏิจจสมุปบาทเกี่ยวกับความเปน-พระพุทธเจา ๔๖๑ ปฏิจจสมุปบาทของการบรรลุธรรม ๖๔๓ ปฏิจจสมุปบาทคืออริยญายธรรม ๑๓ ปฏิจจสมุปบาทจะมีไดแกทารก๑๔๙ ปฏิจจสมุปบาทซึ่งนาอัศจรรย ๕๘๙ ปฏิจจสมุปบาทดับไดกลายสาย ๑๒๕ ปฏิจจสมุปบาทโดยอนุโลมและปฏิโลม ๕ ปฏิจจสมุปบาทตั้งตนเมื่อสมันนาหาร-จิตทําหนาที่ ๒๑๓ ปฏิจจสมุปบาทแตละอาการ ๒๙ ปฏิจจสมุปบาททั้งสายรวมอยูใน-ประโยคเดียว ๑๙๕ ปฏิจจสมุปบาทที่ซอนอยูในปฏิจจ-สมุปบาท ๕๔๙ ปฏิจจสมุปบาทที่ตรัสอยางเขาใจงายที่สุด ๒๒๙ ปฏิจสมุปบาทที่ตรัสอยางยอที่สุด ๕๗๒ ปฏิจจสมุปบาทที่ตรัสอยางสั้นที่สุด ๕๗๓ ปฏิจจสมุปบาทที่เปนสวนหนึ่งของ-ปฏิจสมุปบาทสายปรกติ ๕๙๔ ปฏิจจสมุปบาทที่ยิ่งกวาปฏิจจสมุปบาท ๖๑๕ ปฏิจจสมุปบาทที่สอไปในทางภาษาคน ๗๗๙ ปฏิจจสมุปบาทที่สําคัญอาการหนึ่ง ๔๑๐

www.buddhadasa.info ป ปชาปดี ๔๑๑ ปฏิฆานุสัย ๖๐๕ ปฏิฆานุสัยเกิดจากทุกขเวทนา ๑๙๑ ปฏิฆานุสัยใชคําวา “บรรเทา” ๑๙๑ ปฏิฆานุสัยอันใดอันเกิดจากทุกขเวทนา ๕๒๗ ปฏิจจสมุปบาท ๓๕ ปฏิจจสมุปบาทกับอริยสาวก ๕๐๓ ปฏิจจสมุปบาทกุสลตา-ความเปนผู-ฉลาดในปฏิจจสมุปบาท ๘๑๒

www.buddhadasa.info


ปทานุกรม ปฏิจจสมุปบาทนี้และปฏิจจสมุปปนน-ธรรมเหลานี้ ๔๒๔ ปฏิจจสมุปบาทนานาแบบ๕๔๙ ปฏิจจสมุปบาทแบบที่ตรัสโดย-พระพุทธเจาวิปสสี ๕๕๙ ปฏิจจสมุปบาทแบบที่ตรัสเหมือนแบบ-ของพระพุทธเจาวิปสสี ๕๖๔ ปฏิจจสมุปบาทแบบที่ตั้งตนดวยอารัม-มณเจตน-ปกับปน-อันสยะ ๕๖๙ ปฏิจจสมุปบาทแบบไปสุดลงเสีย-เพียงแควิญญาณ-นามรูป ๓๔ ปฏิจจสมุปบาทเปนทางสายกลาง ๑๕ ปฏิจจสมุปบาทเปนเบื้องตนแหงพรหมจรรย -๒๓๙ ปฏิจจสมุปบาทเปนเรื่องของการปฏิบัติ ๒๕๗ ปฏิจจสมุปบาทเพื่อความสมบูรณ-แหงอรหัตตผล ๖๔๙ ปฏิจจสมุปบาทมีเมื่อมีการกระทบ-ทางอายตนะ ๑๒๓ ปฏิจจสมุปบาทไมใชเรื่องขามภพ-ขามชาติ ๑๒๓ ปฏิจจสมุปบาทรอบสุดทายของคนเรา ๓๖๗ ปฏิจจสมุปบาทสลายตัว ๓๔๖ ปฏิจจสมุปบาทสุดลงเพียงแควิญญาณ ๕๕๙

๘๔๕ ปฏิจจสมุปบาทแหงกลหวิวาทนิโรธ ๕๙๕ ปฏิจจสมุปบาทแหงการขาดที่อิงอาศัย-สําหรับวิมุตติญาณทัสสนะ๖๔๖ ปฏิจจสมุปบาทแหงการดับปปญจ-สัญญาสังขา ๖๑๒ ปฏิจจสมุปบาทแหงการดับอุปาทานสี่ ๖๕๖ ปฏิจจสมุปบาทแหงการปฏิบัติชอบ-โดยไตรทวาร ๕๘๘ ปฏิจจสมุปบาทแหงการปฏิบัติผิด-โดยไตรทวาร ๕๘๗ ปฏิจจสมุปบาทแหงการปรินิพพาน-เฉพาะตน ๖๕๔ ปฏิจจสมุปบาทแงการรบราฆาฟนกัน ๕๘๙ ปฏิจจสมุปบาทแหงการละองคสาม-ตามลําดับ ๓๑๖ ปฏิจจสมุปบาทแหงการอยูดวยความ-ประมาท ๖๐๐ ปฏิจจสมุปบาทแหงการอยูดวยความ-ประมาทของอริยสาวก ๖๔๔ ปฏิจจสมุปบาทแหงการอยูอยางมี-“คนเดียว” ๕๙๘ ปฏิจจสมุบาทแหงการอยูอยางมี-“เพื่อสอง” ๕๙๗ ปฏิจจสมุปบาทแหงความเนิ่นชา-แกการละอนุสัย๖๐๔

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๘๔๖ ปฏิจจสมุปบาทแหงความสิ้นสุดของโลก ๖๕๘ ปฏิจจสมุปบาทแหงทุพพลภาวะของมนุษย ๕๘๐ ปฏิจจสมุปบาทแหงบรมสัจจะ ๖๕๑ ปฏิจจสมุปบาทแหงปฏิสรณาการ ๖๓๕ ปฏิจจสมุปบาทแหงปปญจสัญญา ๖๐๔ ปฏิจจสมุปบาทแหงปปญจสัญญาสังขา-สุมทาจรณะ๖๐๑ ปฏิจจสมุปบาทแหงมิคสัญญี-สัตถันตรกัปป๕๘๑ ปฏิจจสมุปบาทแหงวิชชาและวิมุตติ-(โดยสังเขป) ๖๓๑ ปฏิจจสมุปบาทแหงสัจจานุโพธและผล-ถัดไป ๖๓๖ ปฏิจจสมุปบาทแหงสุวิมุตตจิต ๖๕๓ ปฏิจจสมุปบาทแหงอภัททกาลกิริยา ๕๗๙ ปฏิจจสมุปบาทแหงอารัมมณลาภนานัตตะ ๕๘๕ ปฏิจจสมุปบาทแหงอาหารของภวตัณหา ๖๒๖ ปฏิจจสมุปบาทแหงอาหารของวิชชา-และวิมุตติ ๖๒๘ ปฏิจจสมุปบาทแหอาหารของอวิชชา ๖๒๒ ปฏิจจสมุปบาทแหงอาหารสี่ ๕๗๕/๕๗๗ ปฏิจจสมุปบาทอยางวิธีถามตอบ ๓๑ ปฏิจจสมุปปนนธรรม ๒๙

ปฏิจจ ฯจากพระโอษฐ ปฏิจจสมุปปนนธรรมคือปญจุปาทานขันธ ๒๐๙ ปฏิญญาตําแหนงจอมโลก ๔๗๙ ปฏิบัติชอบโดยฐานะสาม ๕๘๙ ปฏิบัติดีแลว ๓๔๒ ปฏิบัติธรรมสมควรแกธรรม ๒๖๖/๒๖๘ ปฏิบัติผิดโดยฐานะสาม ๕๘๘ ปฏิปทาเปนเครื่องสิ้นกรรม ๒๐๓ ปฏิปทาใหถึงความดับไมเหลือแหงรูป ๓๓๘ ปฏิปทาใหถึงความดับไมเหลือแหง-วิญญาณ ๓๔๑ ปฏิปทาใหถึงความดับไมเหลือแหงเวทนา ๓๓๙ ปฏิปทาใหถึงความดับไมเหลือแหงสังขาร ๓๔๐ ปฏิปทาใหถึงความดับไมเหลือแหงสัญญา ๓๔๐ ปฏิปทาอันใหถึงความเกิดขึ้นพรอม-แหงสักายะ ๔๙๑ ปฏิสรณะ (ที่แลนไปสู) ของอินทรีย ๖๓๕ ปฏิสรณาการ ๖๓๕ ปฏิสัลลาณะในกลางคืน ๖๔๔ ปฐมยามแหงราตรี ๕ ปปญจสังขามีสัญญาเปนแดนเกิด ๕๙๖ ปปญจสัญญาสังขาสมุทาจรณบัญญัติ ๖๐๓ ปปญจสัญญาสังขาสมุทาจรณะ ๖๐๑ ปรมทิฏฐธัมมนิพพาน ๗๖๓

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ปทานุกรม ประกาศการนับถือศาสนาอื่น ๔๓๐ ประกาศพรหมจักรในทามกลางบริษัท ๔๘๐ ประเทศแหงวิหารธรรม ๑๕๒ ประพฤติซึ่งความเนิ่นชา (ปปญจะ) ๖๐๑ ประพฤติพรหมจรรยเพื่อความสิ้นไป-แหงทุกข ๓๙๒ ประโยชนตน ๔๘๘ ประโยชนทั้งสองฝาย ๔๘๘ ประโยชนที่มุงหมายแหงการฟงธรรม ๕๔๙ ประโยชนเพื่อผูอื่น ๔๘๘ ประโยชนแหงความเปนพราหมณ ๓๙๕ ประโยชนแหงความเปนสมณะ ๓๙๕ “ ปราโมทยคือธรรมเปนที่เขาไปตั้ง-อาศัยของปติ” ๖๑๘ ปราโมทยมีสัทธาเปนที่เขาไปตั้งอาศัย ๖๒๑ ปราโมทยยอมเกิด(เอง)๘๐๕ ปราโมทยยอมมีปติเปนอานิสงส ๘๐๗ ปรารภขันธหาตามวิธีการของ-ปฏิจจสมุปบาท ๒๘๖ ปริกรรมอันกระทําดีแลวในเนื้อนาดี๑๓๒ ปรินิพพานเฉพาะตน ๔๔๗ ปรินิพพานนั้นคือการิ้นสุดแหง-ปฏิจจสมุปบาท ๒๐ ปรินิพพานในทิฏฐธรรม ๑๗

๘๔๗ ปริพพาชกทั้งหลายผูเปนเจาลัทธิอื่นๆ ๗๗๐ ปริเยสนานานัตตะ ๕๘๖ ปริฬาหนานัตตะ ๕๘๖ ปรุงแตงซึ่งสังขารอันเปนบุญ ๔๔๗ ปรุงแตงซึ่งสังขารอันเปนอเนญชา ๔๔๗ ปรุงแตงซึ่งสังขารอันมิใชบุญ ๔๔๗ ปลงชีวิตซึ่งกันและกันราวกะวาฆาปลา-ฆาเนื้อ ๕๘๕ ปวิเวกในกลางวัน ๖๔๔ ปจจยาธรรม ๕๓๗ ปจจยาการแหงเวทนา ๑๕๒ ปจจัยที่ทําใหสัตวปรินิพพาน-ในทิฏฐธรรม ๑๙ ปจจัยที่ทําใหสัตวไมปรินิพพาน-ในทิฏฐธรรม ๑๘ ปจจัยในภายใน ๓๐๖ ปจจัย ๒๒ หรือ ๔๑ ปจจัย ๑๕๖ ปจจัยแหงทิฏฐิ ๖๒ ๗๑๙ ปจจัยแหงวิญญาณก็ลวนเปนสิ่งที่ไมเที่ยง ๒๙๒ ปจจัยแหงสัมผัสก็ลวนเปนสิ่งที่ไมเที่ยง ๒๙๓ ปจฉิมยามแหงราตรี ๙ ปญจุปาทานขันธ ๔๒ ปญจุปาทานขันธทั้งหลาย ๓๓๖ ปญจุปาทานขันธเพิ่งจะมีเมื่อเกิดเวทนา ๒๑๓

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ปญจุปทานขันธไมกอเกิดตอไป ๓๓๕ ปญจุปาทานขันธไมอาจจะเกิด ๓๓๕ ปญชสา(ระบบแหงทิศทางลมอันถูกตอง)-แปรปรวน ๕๘๑ ปญญาโดยชอบตรงตามที่เปนจริง ๖๕๕ ปญหาที่ควรแกความเปนปญหา ๖๕ ปญหาที่ไมควรจะเปนปญหา ๖๕ ปญหาหนักใจตางๆ ที่เกิดมาจาก “ ความ-หมาย” ของคําวา “แก-ตาย” ๑๕๒ ปสสัทธิของผูมีปติอันวิบัติแลว ๖๔๖ “ปสสสัทธิคือธรรมเปนที่เขาไปตั้งอาศัย-ของปสสัทธิ” ๖๑๗ ปสสัทธิมีปติเปนที่เขาไปตั้งอาศัย ๖๒๑ ปสสัทธิมีสุขเปนอานิสงสที่มุงหมาย ๖๕๐ ปสสัทธิยอมมีสุขเปนอานิสงส ๘๐๗ ปสสัทธิสัมโพชฌงค ๒๘๑ ปยรูปสาตรูป ๓๐๘ ปติของผูมีความปราโมทยอันอิบัติแลว ๖๔๖ “ปติคือธรรมเปนที่เขาไปตั้งอาศัย-ของปสสัทธิ” ๖๑๗ ปติมีปราโมทยเปนที่เขาไปตั้งอาศัย๖๒๑ ปติมีปสสัทธิเปนอานิสงสที่มุงหมาย ๖๕๐ ปติยอมเกิด(เอง) ๘๐๕ ปติยอมมีปสสิทธิเปนอานิสงส ๘๐๗ ปติสัมโพชฌงค ๒๘๐ ปุญญาภิสังขาร ๔๔๘

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ปทานุกรม ผัสสนานัตตะ๕๘๕ ผัสสบัญญัติ ๖๐๓ ผัสสะ ๒๘/๘๕/๑๗๕ ผัสสะกระทบแลวยอมคิด (เจเตติ) ๒๙๓ ผัสสะกระทบแลวยอมจําไดหมายรู-(สฺชานาติ) ๒๙๓ ผัสสะกระทบแลวยอมรูสึก (เวเทติ) ๒๙๓ ผัสสะเขามายอมทําใหเวทนาเขามา ๔๑ “ผัสสะคือธรรมเปนที่เขาไปตั้งอาศัย-ของเวทนา” ๖๑๙ ผัสสะคือนิทานสัมภวะ ๒๖๙ ผัสสะคือปจจัยแหงทิฏฐิ ๖๒ ๗๑๙ ผัสสะในโลกนี้ยอมเกิดเพราะอาศัย-ซึ่งนามและรูป ๕๙๖ “ผัสสะมีเพราะปจจัยคือนามรูป” ๓๓/๗๘๘ ผัสสะมีสฬายตนะเปนที่เขาไปตั้งอาศัย ๖๒๑ ผัสสะหรือเวทนาสรางทิฏฐิ ๗๒๙ ผัสสะออกไปยอมทําใหเวทนาออกไป ๔๒ ผัสสะอันเปนที่ตั้งแหงทุกขเวทนา ๓๙ ผัสสะอันเปนที่ตั้งแหงสุขเวทนา ๓๙ ผัสสะอันเปนที่ตั้งแหงอทุกขมสุขเวทนา ๓๙ ผัสสายตนะทั้งหลาย ๖ ๗๙๐ ผัสสายตนะทั้งหลาย ๖ ประการ ๑๑๒ ผัสสายตนิกนรก ๕๕ ผัสสาหาร ๖๕/๓๒๔ แผดเผามารและเสนาใหสิ้นไป ๑๐ ผูกลาวคําเท็จอยูเปนปรกติ ๕๓๙

๘๔๙ ผูกลาวตรงตามที่เรากลาว ๖๗๑ ผูกลาวตามที่ความตรึกพาไปความ-ตรงแลนไป ๗๔๑ ผูขี้มักถามอยางนี้ ๒๘๕ ผูเขาถึงแลวซึ่งอวิชชา (อวิชฺชาคโต) ๔๔๗ ผูฆาสัตวอยูเปนปรกติ ๕๓๘ ผูคงที่(คือไมเปลี่ยนแปลงอีกตอไป) ๘๐๔ ผูครอบงํามารไดแลวชนะสงครามแลว ๘๐๔ ผูควรไดรับการสมมติวาเปนพรามณ ๓๙๗ ผูควรไดรับการสมมติวาเปนสมณะ ๓๙๗ ผูควรถามปญหาปรารภขันธสวนอดีต-กะเรา ๔๒๖ ผูควรถามปญหาปรารภขันธสวนอนาคต-กะเรา ๔๒๗ ผูจบเวท ๕๕๘ ผูจะพึงยังจิตของเราใหยินดีไดดวย-การพยากรณปญหา ๔๒๖ ผูฉลาดในฐานะ ๗ ประการ ๔๕๑ ผูฉลาดในปฏิจจสมุปบาท ๔๕๒/๔๕๓ ผูฉลาดในเรื่องวิบากแหงกรรม ๑๓๗ ผูดับเย็นสนิทแลว (โดยไมตองตาย) ๘๐๔ ผูดื่มสุราและเมรัยอันเปนที่ตั้งของ-ความปรามาท ๕๓๙ ผูใดเห็นตถาคตผูนั้นเห็นธรรม ๔๓ “ผู ใ ดเห็ น ธรรมผู นั้ น เห็ น ตถาคต” ๔๓/๘๑๑

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ผูใดเห็นธรรมผูนั้นเห็นเรา ๑๓ “ผูใดเห็นปฏิจจสมุปบาทผูนั้นเห็นธรรม” ๘๑๑ ผูใดเห็นเราผูนั้นเห็นธรรม ๑๓ “ผูใดเห็นพระสัทธรรมนี้”๕๓๗ ผูใดเห็นอยูซึ่งพระสัทธรรมนี้ ๓๕๓ ผูตองทําการศึกษา ๒๔๖ ผูตองเที่ยวแสวงหาครู ๒๔๕ ผูตองบําเพ็ญความไมประมาท ๒๕๖ ผูตองบําเพ็ญโยคะ ๒๔๗ ผูตองบําเพ็ญอัปปฏิวาณี ๒๕๐ ผูตองบําเพ็ญอุสโสฬหี ๒๔๙ ผูตองประกอบการกระทําอันติดตอ ๒๕๓ ผูตองประกอบฉันทะ ๒๔๘ ผูตองประกอบวิริยะ ๒๕๒ ผูตองเพียรแผดเผากิเลส ๒๕๑ ผูตองอบรมสติ ๒๕๔ ผูตองอบรมสัมปชัญญะ ๒๕๕ ผูตั้งยูในธรรม ๕๕๘ ผูติดพัน(ในเวทนา) เสวยเวทนา ๕๒๘ ผูติดพันแลวดวยชาติชรามณะโสกะ-ปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปยาส-ทั้งหลาย ๕๒๘ ผูติดพันแลวดวยทุกข ๕๒๘ “ผูถึงซึ่งกระแสแหงธรรมแลว” ๙๒/๓๕๓/๓๕๕/๓๕๗/๕๓๗ ผูถึงพรอมดวย (สัมมา) ทิฏฐิ ๔๓๕ ผูถึงพรอมแลวดวยวิชชา ๓ ๑๓๘

“ผูถึงแลวซึ่งกระแสแหงธรรม” ๙๒/๓๕๕/๓๕๗ ผูถึงแลวซึ่งกระแส (แหงนิพพาน) ๕๔๒ ผูถือเอาสิ่งของที่เขาไมไดใหอยูเปนปรกติ ๕๓๘ ผูที่ประพฤติพรหมจรรยจบโดยแทจริง ๓๗๐ ผูที่เราควรถามปญหาปรารภขันธ-สวนอดีต ๔๒๖ ผูที่เราควรถามปญหาปรารภขันธ-สวนอนาคต ๔๒๗ ผูเที่ยงแทตอนิพพาน ๕๓๘ “ผูนั้นกระทําผูนั้นเสวย(ผล)” ๖๖๙ ผูบรรลุนิพพานไปปจจุบัน ๔๔๑ ผูบรรลุแลวซึ่งนิพพานในทิฏฐธรรม ๔๔๑ ผูปฏิบัติดีแลว ๓๓๙ ผูปฏิบัติธรรมสมควรแกธรรมแลว ๒๖๖ ผูปฏิบัติเพื่อความสิ้นทุกขโดยชอบ ๓๐๗ ผูปฏิบัติเพื่อความสิ้นทุกขโดยชอบ-โดยประการทั้งปวง ๔๔๕ ผูปฏิบัติเพื่อเบื่อหนายคลายกําหนัด-ดับไมเหลือ ๒๖๖ ผูปฏิบัติแลวเพื่อความดับไมเหลือ ๓๓๙ ผูปฏิบัติแลวเพื่อความเบื่อหนาย ๓๓๙ ผูปฏิบัติแลวเพื่อความสํารอก ๓๓๙ ผูปฏิบัติแลวอยางสมควรแกธรรม ๔๔๕

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ปทานุกรม ผูประกอบพรอมแลวดวยความเลื่อมใส-อันไมหวั่นไหว ๙๓ “ผู ป ระกอบแล ว ด ว ยญาณอั น เป น เสขะ”๙๒/๓๕๓/๓๕๕/๓๕๗/๕๓๗ “ผูประกอบแลวดวยวิชชาอันเปนเสขะ” ๙๒/๓๕๓/๓๕๕/๓๕๗/๕๓๗ ผูประพฤติผิดในกามทั้งหลายอยูเปนปรกติ ๕๓๙ “ผูประเสริฐมีปญญาเครื่องชําแรกกิเลส” ๙๒/๓๕๓/๓๕๕/๓๕๗/๕๓๗ “ผูประเสริฐมีปญญาชําแรกกิเลส” ๙๒/๓๕๕/๓๕๗ ผูปรารภความเพียรแลวไมยอหยอน ๒๘๐ ผูปราศจากตัณหาในภพนอยและภพใหญ ๖๐๙ ผูปราศจากสัญญา ๕๙๖ ผูเปนไปในอํานาจแหงประโยชน ๑๔๑ ผูไปดวยวิชชา ๕๕๒ ผูพนวิเศษแลว ๓๓๙/๓๔๒ ผูพิจารณาใครครวญธรรมโดย-วิธี ๓ ประการ ๓๔๒/๔๕๑ ผูเพงซึ่งจิตอันตั้งมั่นดีแลว ๒๘๑ “ผูมาถึงพระสัทธรรมนี้แลว” ๙๒/๓๕๓/๓๕๕/๓๕๗/๕๓๗ ผูมิไดสดับแลวจะพึงเบื่อหนายไดบาง ๓๘ ผูมีกัลยาณมิตตะ ๓๒๑ ผูมีการบรรลุอันใหญหลวง (มหาธิคโม) ๕๔๓

๘๕๑ ผูมีการอยูอยางผูเดียว ๕๙๘ ผูมีโกสัชชะ ๓๑๙ ผูมีความเกียจคราน ๔๘๗ ผูมีความเพียรอันปรารภแลว ๔๘๗ ผูมีความรําคาญอันตัดขาดแลว ๖๐๕ ผูมีความรูยิ่งอันใหญหลวง (มหาภิฺโ) ๕๔๓ ผูมีจักษุอันเปนทิพยบริสุทธิ์กวาจักษุ-ของสามัญมนุษย ๔๒๖ ผูมีจิตตั้งมั่นดีแลวในสติปฏฐาน ๔ ๒๗๘ ผูมีเจตโสลีนัตตา ๓๑๙ ผูมีเจตโสวิกเขปะ ๓๑๙ ผูมีทิฏฐิดําเนินไปตรงแลว ๙๓ ผูมีทุกขจิตยอมไมตั้งมั่น ๖๔๕ ผูมีทุสสีลยะ ๓๑๙ ผูมีนรกสิ้นแลว ๕๓๘ ผูมีปฏิฆะเพราะทุกขเวทนา ๕๒๗ ผูมีปมาทะ ๓๑๙ ผูมีปรกติเห็นโดยความเปนอัสสาทะ ๑๓๙/๒๑๘/๓๗๖ ผูทีปรกติเห็นโดยความเห็นอาทีนวะ ๑๔๐/๒๓๑/๓๗๗ ผูมีปรกติอยูดวยความประมาท ๖๐๐ ผูมีปรกติอยูดวยความไมประมาท ๖๐๑ ผูมีปญญา ๒๗๑ ผูมีบาปมิตตตา ๓๑๙ ผูมีผัสสะบังหนา ๕๕๔ ผูมีภัยเฉพาะหนา ๔๕๓

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๘๕๒ ผูมีสติมีสุขในภายใน ๒๗๙ ผูมีสัญญาดวยสัญญาปรกติ ๕๙๖ ผูมีสัญญาดวยสัญญาวิปริต ๕๙๖ ผูมีสัญญาวา “มีที่สุดในเบื้องบน-และเบื้องต่ําอยูในโลก” ๗๔๑ ผูมีสัญญาวา “มีที่สุดอยูในโลก” ๗๔๐ ผูมีสัญญาวา “ไมมีที่สุดในเบื้องขวาง-(รอบตัว) อยูในโลก” ๗๔๑ ผูมีสัญญาวา “ไมมีที่สุดอยูในโลก” ๗๔๐ ผูมีวิจิกิจฉา ๓๑๙ ผูมีศีล ๓๒๒ ผูมีสัมมาทิฏฐิ ๙๓ ผูมีหิริมีโอตตัปปะ ๓๒๑ ผูมีอนุปารัมภจิตตะ ๓๒๒ ผูมีอลีนจิตตะ ๓๒๒ ผูมีอวิกขิตตจิตตะ ๓๒๒ ผูมีอหิริกะมีอโนตตัปปะ ๓๑๘ ผูมีอัปปมาทะ ๓๒๑ ผูมีอารัทธวิริยะ ๓๒๑ ผูมีอุปสรรค ๔๕๓ ผูมีอุปททวะ ๔๕๓ ผูมีอุปาทานยอมไมปรินิพพาน ๑๘ ผูมีอุปารัมภจิตตตา ๓๑๙ ผูไมเขาถึงซึ่งการถูกนับวาเปนอะไร ๕๕๘ ผูไมติดพัน(ในเวทนา) เสวยเวทนา ๕๒๙ ผูไมติดพันแลวดวยชาติชรามรณะโสกะ-ปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาส-ทั้งหลาย ๙๒๕

ปฏิจจ ฯจากพระโอษฐ ผูไมติดพันแลวดวยทุกข ๕๒๙ ผูไมประมาทมีความเพียรเผากิเลส-มีตนสงไปแลว ๒๘๖ ผูไมมีภัยเฉพาะหนา ๔๕๓ ผูไมมีวิจิกิจฉา ๓๒๒ ผูไมมีวิตกไมมีวิจาร ๒๗๙ ผูไมมีสัญญา ๕๙๖ ผูไมมีอุปสรรค ๔๕๓ ผูไมมีอุปททวะ ๔๕๓ ผูไมมีอุปาทานยอมปรินิพพาน ๑๙ ผูไมรูปฏิจจสมุปบาทโดยอาการ-แหงอริยสัจสี่ ๓๗๘ ผูไมรูยอมกระทําซึ่งอุปธิ ๕๕๑ ผูไมรูสึกวามีอดีตหรืออนาคต ๔๒๗ “ผูยืนอยูจดประตูแหงอมตะ” ๙๒/๓๕๓/๓๕๕/๓๕๗/๕๓๗ ผูระลึกถึงขันธที่เคยอยูอาศัยไมภพกอน ๔๒๖ ผูรูทั่วถึงแลวจึงเสพ ๕๕๘ ผูรับปฏิจจสมุปบาทโดยอาการ-แหงอริยสัจทั้งสี่ ๔๓๒ ผูรูพรอมเฉพาะแลว ๔๓๕ ผูละเสียไดแลวซึ่งความยินดีและ-ความยินราย ๓๘๖ ผูวิภูตสัญญี ๕๙๖ ผูวิสัญญสัญญี ๕๙๖ “ผู ส มบู ร ณ แ ล ว ด ว ยทั ส สนะ” ๙๒/๓๕๓/๓๕๕/๓๕๗/๕๓๗

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ปทานุกรม “ผู ส มบู ร ณ แ ล ว ด ว ยทิ ฎ ฐิ ” ๙๒/๓๕๓/๓๕๕/๓๕๗/๕๓๗ ผูสัญญสัญญี ๕๙๖ ผูเสร็จกิจในปฏิจจสมุปบาท ๔๔๑ ผูแสดงธรรมโดยหลักปฏิจจสมุปบาท ๕๙ ผูหมดความสงสัยอันเปนเหตุใหถามวา-อะไรเปนอยางไร ๖๐๕ ผูหมดสิ่งปรารภนาดับสนิทไมมีสวน-เหลือ ๕๕๔ ผูหยั่งลงในธรรมวินัยนี้ ๓๓๙ ผูหลีกเรนยอมรูชัดตามที่เปนจริง ๒๕๘ ผูเห็นชัดปฏิจจสมุปบาทโดยวิธีแหง-อริยสัจสี่ ๕๓๒ ผูเห็นปฏิจจสมุบาท ๑๓๗ ผูอสัญญี ๕๙๖ ผูอยูดวยความประมาท ๖๔๕ ผูอยูดวยความไมประมาท ๖๔๔/๖๔๕ ผูอยูเหนืออิทธิพลของอดีตและอนาคต ๔๒๗ ผูอยูอุเบกขา ๒๐๕ ผูอันตัณหาและทิฏฐิไมอาศัยแลว ๖๕๙ ผูอันตัณหาและทิฏฐิอาศัยแลว ๖๕๙ ผูอันตัณหาอาศัยไมได ๕๕๘ ผูอันพรหมนั้นนิรมิตแลว ๗๓๖ ผูอันเวทนาจากอวิชชาสัมผัสถูกตองแลว ๑๖๕ ผูอันเวทนาที่เกิดแตอวิชชาสัมผัส-ถูกตองแลว ๑๙๒

๘๕๓ “ผูอื่นกระทําผูอื่นเสวย (ผล)” ๖๖๙ ผูเอิบอิ่มเพรียบพรอมดวยกามคุณหา ๑๕๐

ฝ ฝนตกลงมาอยางไมเหมาะสม ๕๘๑ ฝุนนิดหนึ่งที่เราชอนขึ้นดวยปลายเล็บ ๔๓๕

พ พยากรณโดยปริยายใดปริยายหนึ่ง ๗๒ พยากรณอรหัตตผล ๗๒ พยากรณอรหัตตผลในสํานักพระพุทธเจา ๓๖๒ พยาปาทวิตก ๑๔๒/๕๘๘ พยายามใหยิ่งขึ้นไปเพื่อปวิเวกในกลาง-วันเพื่อปฏิสัสลาณะในกลางคืน ๖๔๔ พรหม๔๑๑ พรหมจรรยตั้งมั่นและรุงเรืองแลว ๒๖๕ พรหมจรรยที่ทั้งเทวดาและมนุษย-สามารถประกาศไดดวย ๒๖๕ พรหมจรรยนี้มีลักษณะนาดื่มเหมือนมัณฑะ ๔๘๗ พรหมจรรยแผไพศาล ๒๖๕ พรหมจรรยมีนิพพานเปนที่หยั่งลง ๖๓๕ พรหมจรรย(ศาสนา) นี้จะพึงมั่นคง-ตั้งอยูนาน ๘๑๒

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๘๕๔ พรหมจรรยอันเปนเครื่องเจาะแทงกิเลส ๒๗๓ พรหมจรรยอันภิกษุนั้นไมไดอยูประพฤติ ๕๐๙ พรหมจรรยอันเราอยูจบแลว ๑๔๔ พรหมจริยวาส ๓๙๒ “พรหมชาละ” ๗๓๑ พรหม,สักกะของทานผูรูท. ๑๓๘ พระจันทรและพระอาทิตยก็ไมขึ้นไมตก ๑๐๗ พระพุทธจริยา ๔๘๕ พระพุทธเจามีพระนามวาเมตเตยย-สัมมาสัมพุทธะ๕๘๕ พระราชา ๑๓๗ พระโสดาบัน ๕๓๒ พระโสดาบันผูเปนสัตตักขัตตุปรมะ๔๓๕ พระอรหันต ๔๑๖ พระอรหันตผูถึงซึ่งความสิ้นเชิงแหงสิ่ง-ทั้งปวง ๓๓๗ พราหมณ ๑๓๗ พราหมณบางพวกที่กลาวสอนเรื่องกรรม ๖๗๐ พราหมณและคหบดีทั้งหลายไมตั้งอยู-ในธรรม ๕๘๑ พลญาณ๑๐ ๔๗๙ พละถึงซึ่งความเต็มรอบ ๓๓๖ พวกกัมมวาที ๖๗๒ พวกกัมมวาทีกับหลักปฏิจจสมุปบาท ๖๗๒

ปฏิจจ ฯจากพระโอษฐ พวกฉลาดพูดกลาวถึงชั้น “อนุปาทิเสส” ๕๙๖ พวกเทพทั้งหลายมีชื่อวา อสัญญีสัตว ๗๔๗ “พวกเธอก็กลาวอยางนี้; แมเราก็กลาว-อยางนี้” ๔๙๔ พวกเธอทั้งหลายก็กลาวอยางนั้น,-แมเราตถาคตก็กลาวอยางนั้น ๔๒๘ พวกปุพพันตกัปปกวาท ๗๔๘ พวกหนึ่งๆ ถือเอาเพียงสวนหนึ่งๆ-ของเรื่องนั้นมายืนยัน ๗๗๓ พวกหนึ่งๆ ยอมของอยูในทิฏฐิหนึ่งๆ ๗๗๓ พวกอธิจจสมุปปนนิกวาท ๗๔๘ พอคา ๑๓๗ พิจารณาใครครวญธรรมโดยความ-เปนธาตุ ๓๔๒/๔๕๑ พิจารณาใครครวญธรรมโดยความ-เปนปฏิจจสมุปบาท ๓๔๒/๔๕๑ พิจารณาใครครวญธรรมโดยความ-เปนอายตนะ ๓๔๒/๔๕๑ พิจารณาสภาวธรรมตามวิธีปฏิจจสมุปบาท ๓๓๗ พิจารณาหาความสมดุลยแหงธรรม ๖๓๗ พึงปลอยวางไดบางในกายอันเปนที่-ประชุมแหงมหาภูตทั้งสี่ ๓๘๑ พืชพรรณขาวแกและสุกไมสม่ําเสมอ ๕๘๑ พืชมีมูลอันขาดแลว ๑๓๕ พื้นที่ทีกรรมจะใหผลแกผูกระทํา ๑๓๖

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ปทานุกรม พุทธศาสนาแปลกไปจากศาสนาอื่น ๑๘๘ พุทธอเวจจัปปสาท ๕๔๐/๖๔๔ พูดหรือสอนกันอยูโดยไมยอมใหมีการ-วิพากษวิจารณ ๒๘๑ เพราะเขาไปยึดถือซึ่งรูป ๑๐๗/๑๐๙ เพราะความเกิดขึ้นแหงธรรมเปนเครื่อง-ทําความสะดุง ๓๐๐ เพราะความคลายกําหนัดยอมหลุดพน ๓๔๖ เพราะตัณหามีอุปธิจึงมี ๓๐๗ “เพราะอาศัยการไดจึงมีความปลงใจรัก” ๕๙๓ “เพราะอาศัยการแสวงหาจึงมีการได” ๕๙๓ “เพราะอาศัยความกําหนัดดวยความ-พอใจจึงมีความสยบมัวเมา” ๕๙๒ “เพราะอาศัยความจับอกจับใจ-จึงมีความตระหนี่ ๕๙๑ “เพราะอาศัยความตระหนี่-จึงมีการหวงกั้น” ๕๙๑ “เพราะอาศัยความปลงใจรักจึงมี-ความกําหนัดดวยความพอใจ” ๕๙๒ “เพราะอาศัยความสยบมัวเมา จึงมีความจับอกจับใจ” ๕๙๒ เพราะอาศัยซึ่งธาตุ ๖ ประการการกาว-ลงสูครรภยอมมี ๘๑/๑๑๕ “เพราะอาศัยตัณหาจึงมีการแสวงหา” ๕๙๔

๘๕๕ เพราะอุปธิมีชารมรณะจึงมี ๓๐๗ เพลิดเพลินพร่ําสรรเสริญเมาหมก ๑๘/๑๕๑ เพลินอยางยิ่งซึ่งดิน ๔๑๑ เพื่อความดํารงอยูของภูตสัตว ๖๕/๓๒๓ เพื่อนสองที่เขาไปยูถึงภายในจิต ๕๙๘ เพื่อนสองในภาษาธรรม ๕๙๘ เพื่อประโยชนหิตสุขแกเทวดาและ-มนุษยทั้งหลาย ๘๑๒ เพื่ออนุเคราะหแกสัมภเวสีสัตว ๖๕/๓๒๓ โพชฌงค ๗ ประการ ๖๓๔ “โพชฌงคทั้งหลาย๗ ประการ” ๖๒๘

ฟ ฟงธรรมของสัตบุรุษ ๒๖๘ ไฟ ๔๑๑

www.buddhadasa.info ภ ภพ ๒๗/๘๔ ภพเขามายอมทําใหชาติเขามา ๔๑ “ภพคือธรรมเปนที่เขาไปตั้งอาศัย-ของชาติ” ๖๑๘ ภพชาติมีทุกคราวที่ยึดมั่นในเวทนา ๑๕๒ “ภพเปนอยางไร” และ “ภพนี้เปนของใคร” ๖๗๘

www.buddhadasa.info


ปทานุกรม

๘๑๕

“ภพมีเพราะปจจัยคืออุปาทาน” ๓๒ ภพมีอุปาทานเปนที่เขาไปตั้งอาศัย ๖๒๑ ภพมีอุปทานเปนเหตุใหเกิด ๗๓ ภพใหมเกิดขึ้น ๑๖๙ ภพออกไปยอมทําใหชาติออกไป ๔๒ ภวตัณหาเพิ่งมีตอภายหลัง ๖๒๖ ภวทิฏฐิ ๑๔๒ ภวราคานุสัย ๖๐๕ ภยเวร ๕ ประการ ๕๓๘ ภัยทั้งหลาย ๔๕๒ “ภาวนา” ยอมมีเพราะการตั้งจิตไว ๒๗๙ ภาวะเปนที่รักเปนที่ยินดีในโลก ๓๐๘ ภาษาปฏิจจสมุปบาท ๑๓๑ “ภิกษุธรรมกถึก” ๕๒๐ ภิกษุนั้นชื่อวาอยูไกลจากเรา ๑๓ “ภิกษุผูบรรลุแลวซึ่งนิพพานใน-ทิฏฐธรรม” ๕๒๑ “ภิกษุผูปฏิบัติธรรมสมควรแกธรรมแลว” ๕๒๐ ภิกษุภิกษุณีอุบาสกอุบาสิกา ๔๖๙ ภิกษุมีจิตหลุดพนโดยชอบ ๒๐๕ ภิกษุ ๖๐ รูปบรรลุอรหัตตผล ๔๙๒ ภูตสัตวทั้งหลาย ๖๕/๔๑๑ ภูตแหงภูติทั้งหลาย ๗๘๐ ภูตะ ๖๖

มนุษยมีอายุขัยลดลงมาเหลือเพียง ๑๐ ป ๕๘๔ มนุษยหลายคนไมเขารวมวงแหง-สัตถันตรกัปป ๕๘๕ มนุษยแหงพวกมนุษยทั้งหลาย ๗๘๐ มโนปโทสิกา ๗๓๘ มโนปวิจารทั้งหลาย ๑๘ ประการ ๑๓๓ มโน มโนทวารที่ทําหนาที่อยูดวยอวิชชา) ๑๖๐ มโนมีอยู ๑๖๕ มโนยอมเขาไปเที่ยวในกลิ่น ๑๑๔ มโนยอมเขาไปเที่ยวในธัมมารมณ ๑๑๔ มโนยอมเขาไปเที่ยวในรส ๑๑๔ มโนยอมเชาไปเที่ยวในรูป ๑๑๔ มโนยอมเขาไปเที่ยวในสัมผัสทางผิวหนัง๑๑๔ มโนยอมเขาไปเที่ยวในเสียง ๑๑๔ มโนสังขาร(อํานาจที่ใหเกิดการเปนไป-ทางใจ) ๑๖๒ มโนสัญเจตนาหาร ๖๕/๓๒๕ มรณะ ๒๗ มหาธิคโค ๕๔๓ มหาพรหมเปนผูครอบงําสัตวทั้งหลาย ๗๓๖ มหาภิฺโ ๕๔๓ มหาภูตทั้งสี่ ๒๘ มหาภูตรูป ๓๓๘ มัชฌิมยามแหงราตรี ๗

www.buddhadasa.info

ม มนุษย ท. ๕๘๔

กินหญาที่เรียกวากุทรุสกะ

www.buddhadasa.info


ปทานุกรม มัณฑะอุปมาแหงพรหมจรรย ๔๘๗ มั่นคงดุจการตั้งอยูของเสาระเนียด ๑๐๗ มานานุสัย ๖๐๕ มารดาบิดาอยูรวมกันดวย ๑๕๐ มารดามีระดูดวย ๑๕๐ มิคสัญญีสัตถันตรกัปป๕๘๑ มิจฉาทิฏฐิ ๖๖๕ มิจฉาทิฏฐิดุจเสาระเนียด ๖๙๐ มิจฉาปฏิปทา ๒๕๗ “มิใช ความทุกขไม มีที่แทความทุ กข มี อยู ๖๖๘ มีจิตปกลงไป (อนุเสติ) ในสิ่งใดอยู ๑๖๖/๑๖๙ มีใจปติแลวกายยอมรํางับ ๒๗๙ มีแตธรรมชาติที่เปนปฏิจจสมุปปนน-ธรรมอยางหนึ่งๆ ๖๘ มีนิพพานเปนที่สุด ๖๓๕ มีนิพพานเปนที่หยั่งลง ๖๓๕ มีนิพพานเปนเบื้องหนา ๖๓๕ มีปรกติเขาไปเพงโทษซึ่งกันและกัน-อยูเกินเวลา ๗๓๘ มีปรกติไหลนอง ๑๐๑ มีปราโมทยแลวปติยอมเกิดขึ้น ๒๗๙ มีพระผูมีพระภาคเปนที่พึ่ง ๓๘๔ มีพระผูมีพระภาคเปนผูนํา ๓๘๔ มีพระผูมีพระภาคเปนมูล ๓๘๔ มีภพจึงมีชาติ ๔๒๑

๘๕๗ มีสติอยูในลักษณะที่อาสวะทั้งหลาย-จะไหลไปตามไมได ๗๖ มีสวนขี้ริ้วอันเราเฉือนออกสิ้นแลว ๔๘๖ มีหลักวาไมมีตนเองไมมีผูอื่น ๖๘ มีอยูในโลกตามประสาของมัน ๒๗๑ มีอวิชชาเปนเครื่องหอหุม ๓๙๑ มูลเหตุแหงการทะเลาะวิวาท ๕๙๔ มูลแหงความทุกข ๔๑๙ เมื่อขอแขนขาทั้งหลายมีอยู ๑๕๖ เมื่อขอแขนขาทั้งหลายไมมี ๑๕๗ เมื่อความพยายามเปนสัมมาวายามะ ๓๓๕ เมื่อโงหัวอยูที่เดียวก็โงหัวอยูในขายนั้น ๗๓๐ “เมื่อจะเกิดทุกขเทานั้นยอมเกิดขึ้น;-เมื่อจะดับทุกขเทานั้นยอมดับ” ๖๖๖ เมื่อจักษุมีอยู ๑๕๖ เมื่อจักษุไมมี ๑๕๗ เมื่อจิตไมไดรับการรักษา ๕๗๙ เมื่อทองไสมีอยู ๑๕๖ เมื่อทองไสไมมี ๑๕๗ เมื่อทิฏฐิเปนสัมมาทิฏฐิ ๓๓๕ เมื่อทุกขเวทนาถูกตอง ๑๘๘/๑๔๕ เมื่อทุกขเวทนาถูกตองอยู ๓๔๓ เมื่อทุกขเวทนถูกตองอยู , ก็ไมเศราโศก ๕๒๙ เมื่อเทาทั้งหลายมีอยู ๑๕๖ เมื่อเทาทั้งหลายไมมี ๑๕๗

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๘๕๘ เมื่อเที่ยวโงหัวอยูในที่ทั่วไปก็โงหัว-อยูในขายนั้น ๗๓๐ เมื่อนามรูปเปนสิ่งที่อริยสาวกกําหนด-รูไดแลว ๓๒๗ เมื่อเบื่อหนายยอมคลายกําหนัด ๓๔๖ เมื่อภูตะ (ความเปนภพ) นั้นมีอยู,-สฬายตนะยอมมี; ๘๐๐ เมื่อมือทั้งหลายมีอยู ๑๕๖ เมื่อมือทั้งหลายไมมี ๑๕๗ เมื่อไมยึดมั่นยอมไมสะดุง ๑๘๗ เมื่อไมรูไมเห็นตามที่เปนจริงยอมกําหนัด ๒๑๓ เมื่อไมสะดุงยอมปรินิพพานเฉพาะตน ๑๘๗ เมื่อยังไมลุถึงประโยชนอันบุคคลจะลุได๔๘๗ เมื่อยึดถือก็ยึดถือรูปเวทนาสัญญาสังขาร-วิญญาณ ๑๔๓ เมื่อรูปเทาทันเวทนาในปฏิจจสมุปบาท ๓๔๓ เมื่อวิญญาณนั้นไมตั้งขึ้นเฉพาะไมเจริญ-งอกงามแลว ๕๗๑ เมื่อเวทนาอันไมใชทุกขไมใชสุขถูกตองอยู ๑๘๙/๓๔๕ เมื่อเวทนาอันไมใชทุกขไมใชสุข-ถูกตองอยู ๓๔๓/๓๔๕ เมื่อสติเปนสัมมาสติ ๓๓๖ เมื่อสมาธิเปนสัมมาสมาธิ ๓๓๖

ปฏิจจ ฯจากพระโอษฐ เมื่อสุขเวทนาถูกตอง ๑๘๘/๓๔๕ เมื่อสุขเวทนาถูกตองอยู ๓๔๓ เมื่อโสตะมีอยู ๑๕๖ เมื่อโสตะไมมี ๑๕๗ เมื่ออนุสัยกอขึ้น ๑๖๖/๑๖๗/๑๖๙ เมื่ออารมณไมมี, ความตั้งขึ้นเฉพาะ-แหงวิญญาณยอมไมมี ๕๗๑ แมโคนมที่ปราศจากหนังหอหุม๓๒๔ แมน้ําก็ไมไหล ๑๐๗ แมจะอยูหางกันรอยโยชน ๑๓ แมธัมมัฎฐิติญาณก็มีความสิ้นไป – -เสื่อมไป…เปนธรรมดา; ๓๕๘ แมธัมมัฏฐิติญาณในกรณีนี้ก็มีความ-สิ้นไป… ดับไปเปนธรรมดา ๓๖๒ แมในกาลยืดยาวนานฝายอดีต ๓๕๘/๓๖๑ แมในกาลยืดยาวนานฝายอนาคต ๓๕๘/๓๖๑ แมพระพุทธองคก็ทรงสาธยาย-ปฏิจจสมุปบาท ๘๑๑ แมเพียงอาการเดียวก็เรียกวา-ปฏิจจสมุปบาท ๓๔ โมหะเปนเหตุเพื่อความเกิดขึ้นแหงกรรม ๑๓๑ ไมกระทํากรรมใหมและกรรมเกา-สิ้นไปดวย ๒๐๓ ไมของใจในอาสวะที่พระสมณะกลาวแลว ๗๖ ไมคิด(โน เจเตติ) ถึงสิ่งใด ๑๖๙

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ปทานุกรม ไมฉลาดในธรรมของพระอริยเจา ๑๖๔ ไมฉลาดในธรรมของสัปบุรุษ ๑๖๔ ไมดําริ(โน ปกปฺเปติ) ถึงสิ่งใด ๑๖๙ ไมดูหมิ่นซึ่งตนเอง ๗๖ ไมไดรับการแนะนําในธรรมของ-พระอริยเจา ๑๖๔ ไมไดรับการแนะนําในธรรมของสัปบุรุษ ๑๖๔ ไมตองสยบอยูในภายใน ๒๙๕ ไมเปนไปเพื่อการเกิดใหมแหงผัสสายตนะ ๕๑๐ ไมเปนวิสัยที่จะหยั่งลงงายแหงความตรึก ๕๓/๖๓๗ ไมเพลิดเพลินไมพร่ําสรรเสริญ-ไมเมาหมกอยู ๑๓๐ ไมฟุงไปไมซานไปในภายนอก ๒๙๕ ไมมีกุลเชฏฐาปจารยนธรรม ๕๘๔ ไมมีคําพูดวากุศล ๕๘๔ ไมมีคําพูดวาเมียของครู ๕๘๔ ไมมีความพูดวาแมนาชายนาหญิง ๕๘๔ ไมมีใจฝงลงไป(โน อนุเสติ ) ในสิ่งใด ๑๗๐ “ไมมีตนเองไมมีผูอื่นทีกอทุกข” ๖๖๗ ไมมีตนเองไมมีผูอื่นที่กอสุขและทุกข ๖๘ ไมมีทานอันบุคคลบริจาคแลว ๑๐๘ ไมมีผูนั้นหรือผูอื่น ๖๒ ไมมีสิ่งใดเกิดหรือดับไดโดยลําพัง-ตัวมันเอง ๑๕/๖๑

๘๕๙ ไมมีสิ่งใดยึดถืออยูจักเปนผูหาโทษมิได ๑๔๓ ไมมีเหตุไมมีปจจัยสัตวทั้งหลายก็บริสุทธิ์ ๖๙๖ ไมมีเหตุไมมีปจจัยสัตวทั้งหลาย-ก็เศราหมอง ๖๙๖ ไมยกยองสรรเสริญมัตเตยยธรรม-(ความเคารพเกื้อกูลตอมารดา) ๕๘๔ ไมยินดีในการราเริงเลนหัวจนเกินเวลา-สติยอมไมหลงลืม ๗๓๗ ไมลวงพนซึ่งสังสาระที่เปนอบายทุคติ-วินิบาต ๑๕ ไมลังเลสงสัยวาอาสวะทั้งหลายละแลว-หรือยัง ๗๖ ไมสะดุงเพราะเหตุไมมีความยึดมั่นถือมั่น ๒๙๕ ไมเห็นพระอริยเจา ๑๖๔ ไมเห็นสัปบุรุษ ๑๖๔ ไมสองอันเสียดสีกันไปมา ๓๙

www.buddhadasa.info ย ยถาภูตญาณทัสสนะของผูมีสัมมาสมาธิ-อันวิบัติแลว ๖๔๗/๖๔๘ “ยถาภูตญาณทัสสนะคือธรรมเปนที่ – -เขาไปตั้งอาศัยของนิพพิทา” ๖๑๗ ยถาภูตญาณทัสสนะมีนิพพิทาเปน-อานิสงสที่มุงหมาย ๖๕๐

www.buddhadasa.info


๘๖๐ ยถาภูตญาณทัสสนะมีสมาธิเปนที่เขาไป-ตั้งอาศัย ๖๒๑ ยถาภูตญาณทัสสนะยอมมีนิพพิทาเปน-อานิสงส ๘๐๗ ยถาภูตสัมมปญญา ๑๔๓ ยถาภูตสัมมัปปญญาแมที่ยังเปนเสขะ-เปนอยางนอย ๒๘๒ ยถาภูตสัมมัปปญญาไมตองอาศัยเหตุ-๕ ประการ ๒๘๕ “ยอมขาดสูญพินาศไปมิไดมีอยูภายหลัง-แตกาลตาย” ๖๙๔ “ยอมพิจารณาโดยประจักษ” ๑๔. ยอมเพลิดเพลินพร่ําสรรเสริญเมาหมกอยู ๑๒๘ ยอมรูทั่วถึงเนื้อความแหงภาษิตได-แมดวยอุปมา ๕๑๙ “ยอมเห็นซึ่งพระสัทธรรมนี้” ๙๒ ยักษแหงพวกยักษทั้งหลาย ๗๘๐ ยากนักที่จะเห็นนิพพาน ๕๓ ยากนักที่จะเห็นฏิจจสมุปบาท ๕๓ ยินดียินรายอยูเสวยซึ่งเวทนา ๑๕๑ ยินยอมขอที่ควรยินยอม ๒๐๒ ยึดถือกายเปนตัวตน ๓๘๑ ยึดถือจิตเปนตัวตน ๓๘๑ ยึดถือเอากายเปนตัวตนยังดีกวา ๓๘ ยึดถือเอาจิตเปนตัวตนไมดีเลย ๓๘ “ยืนอยูจดประตูแหงอมตะ” ๙๒/๓๕๕ โยคะเพื่อใหรูในชรามรณะ ๒๔๗

ปฏิจจ ฯจากพระโอษฐ “โยนิโสมนสิการ” ๖๒๙ โยนีประมุขทั้งหลาย ๖๙๗

ร รสทั้งหาไมปรากฎ ๕๘๔ รอบรูซึ่งธรรมทั้งปวง ๒๙๐ รอบรูในเรื่องอันเกี่ยวกับอุปาทาน ๓๔๗ รอยทางเกา ๒๖๓ รอยทางเกาที่เคยเปนหนทางเกา ๔๖๗ รอยแหงพระพุทธเจาองคกอนๆ ๔๖๑ ระบบพรหมจริยวาสที่แตกตางกัน ๓๙๒ ระลึกถึงขันธที่เคยอยูในภพกอน ๓๖๕ ระหวางแหงโลกทั้งสอง ๖๕๙ รากฐานของปฏิจจสมุบาท ๕๑๐ รากฐานของปฏิจจสมุปบาททางฝาย-การปฏิบัติ ๓๙๐ รากฐานแหงปฏิจจสมุปบาท ๓๙๐/๔๐๙/๕๐๙ ราคะที่มีเบญจกามคุณเปนแดนเกิด ๓๒๔ ราคานุสัย ๖๐๕ ราคานุสัยเกิดจากสุขเวทนา ๑๙๑ ราคานุสัยทรงใชคําวา “ละ” ๑๙๑ ราคานุสัยอันใดอันเกิดจากสุขเวทนา ๕๒๘ ราชยุตต(ขาราชการ)ไมตั้งอยูในธรรม ๕๘๐

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ปทานุกรม ราชาไมตองอยูในธรรม ๕๘๐ รูป ๒๘/๘๙ “รูป(กาย)” ๒๐๗ รูปฉันทะ ๕๘๖ รูป(โดยละเอียด)เปนอยางไรเลา? ๓๓๘ รูปทั้งหลายทั้งที่เปนอดีตอนาคตและ-ปจจุบัน ๖๐๑ รูปที่เห็นแลว ๔๑๒ รูปที่อาศัยมหาภูตทั้งสี่ ๒๘ รูปที่อาศัยมหาภูตรูป ๓๓๘ รูปธาตุ ๕๘๖ รูปปริเยสนา ๕๘๖ รูปปริฬาหะ ๕๘๖ รูปภพ ๒๗/๘๗ รูปลาภะ ๕๘๖ รูปสังกัปปะ ๕๘๖ รูปสัญญา ๕๘๖ รูปสัมผัสสชาเวทนา ๕๘๖ รูปสัมผัสสะ ๕๘๖ รูปจอรูปจอัตตาทิฏฐิ ๗๑๔ รูปอัตตาทิฏฐิ ๗๑๓ รูดวยปญญาอันยิ่ง ๓๓๘/๓๔๑ รูทั่วถึงเหตุเกิดและความดับแหงโลก ๕๑๒ รูปโทษนั้นแหงอาหาร ๕๕๘ รูปฏิจจสมุปบาทโดยไมตองเชื่อผูอื่น ๕๑๐ รูปประจักษซึ่งอุปธิ ๓๐๗ รูยิ่งซึ่งธรรมทั้งปวง ๒๘๙ รูสึกซึ่งดินโดยความเปนดิน ๔๑๑

๘๖๑ รูสึกตอเวทนาตามทิฏฐิเฉพาะอยางๆ – -ของตนๆ ๗๒๙ รูสึกเปนสุขจิตยอมตั้งมั่น ๒๗๙ รูเองเห็นเองวา “นี้คือโรค,นี้คือหัวฝ,-นี้คือลูกศร”, ๒๖๙ รูอยูเห็นอยูอยางไรอวิชชาละไป-วิชชาเกิดขึ้น ๒๘๙ รูอยูอยางไรเห็นอยูอยางไรจึงพยากรณ-อรหัตตผล ๗๒ เรากลาวซึ่งเจตนาวาเปนกรรม ๒๗๖ “เราจักเปนสัตวมีรูป (รูปภวิสฺสํอิต)ิ ” ๑๖๕ “เราจักเปนสัตวมีสัญญาก็ไมใช-ไมมีสัญญาก็ไมใช-(เนวส ฺีนาสส ฺีภวิสฺสํอิติ)” ๑๖๕ “เราจักเปนสัตวมีสัญญา (สฺีภวิสฺสํอิติ)” ๑๖๕ “เราจักเปนสัตวไมมีรูป(อรูป ภวิสสฺ ํอิต)ิ ”๑๖๕ “เราจักเปนสัตวไมมีสัญญา (อสฺี-ภวิสฺสํอิติ)” ๑๖๕ “เราจักมี (ภวิสฺสํอิติ)” ๑๖๕ “เราจักไมมี(นภวิสฺสํอิติ)” ๑๖๕ “เรามีอยู (อสฺมีติ)” ๑๖๕ “เราไมพึงมีดวยของเราไมพึงมีดวย” ๓๘๖ “เราไมพึงมีดวย; ของเราไมพึงมีดวย; -เราจักไมมีของเราจักไมมี” ๖๙๓ “เราแลยอมรูยอมเห็นซึ่งความทุกข” ๖๖๘

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๘๖๒ เรียกวา “สังขาร” เพราะเปนสิ่งที่-ปจจัยปรุงแตง ๑๙๒ “เรือน” ๒๐๗ “เรื่องขันธในอดีตยกไวกอน” ๔๒๗ “เรื่องขันธในอนาคตก็ยกไวกอน” ๔๒๗ เรื่องความไมมีสัตวบุคคลตัวตนเราเขา ๗๙๙ เรื่องที่งดงาม ๒๘๕ เรื่องที่ควรสนใจกวาเรื่องอื่นๆ ๔๓ เรื่องที่ใครคัดคานไมได ๑๑๒ เรื่องที่จะตองรูดวยปญญา(ปฺาวจร) ๗๙๐ เรื่องที่ทรงชักชวนวิงวอนเหลือประมาณ ๔๘๕ เรื่องที่ทูลถามโดยคฤหัสถผูครองเรือน ๒๐ เรื่องที่เปนกุศล ๒๘๕ เรื่องที่พุทธบริษัทควรทําสังคีติ ๘๑๑ เรื่องที่มีเกียรติสูงสุด ๘๑๑ เรื่องที่ศาสดาและสาวกยอมมีความเห็น-ตรงกัน ๔๙๒ เรื่องปฏิจจสมุปบาทคือเรื่ออริยสัจ ๘๑ เรื่องราวอันเกิดจาการหวงกั้น-(อารกฺขาธิกรณ) ๕๙๐ เรื่องลึกซึ้งเทากับเรื่องนิพพาน ๕๓ เรื่องลึกและดูลึก ๕๒ เรืองอริยสัจทั้งเนื้อทั้งตัว ๙๓ โรคหัวฝลูกศร ๒๖๙

ปฏิจจ ฯจากพระโอษฐ

ฤ ฤดูและปมีปริวรรตไมสม่ําเสมอ ๕๘๑

ล ลม ๔๑๑ ลมก็ไมพัด ๑๐๗ ลม(ทุกชนิด) พัดไปไมสม่ําเสมอ ๘๕๑ ละซึ่งธรรมอันบุคคลพึงละ ๓๓๖ ละตัณหาไดแลว ๓๑๓ ละทุกขไดแลว ๓๑๓ ละราคานุสัยอันเกิดจากสุขเวทนา๓๔๔/ ๓๔๕ ละอุปธิไดแลว ๓๑๓ ลักษณะของการบรรลุความเปนโสดาบัน ๙๖ ลักษณะของการปฏิบติ ๓๒๒ ลักษณะของปฏิจจสมุปบาท ๒๕ ลักษณะของสิ่งที่เรียกวา – -“ยถาภูตสัมมัปปญญา” ๒๘๖ ลักษณะที่เปนวิทยาศาสตร ๑๕/๖๑ ลักษณะแหงความเปนอริยสัจสี่ ๘๔ ลักษณะแหงสังขารชนิดที่แปลกออกไป ๑๙๖ ลังเลในพระสัทธรรม๑๙๘ ลัทธิโลกายตะชั้นสุดยอด ๖๘๘ ลัทธิโลกายตะอยางที่สอง ๖๘๘

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ปทานุกรม ลัทธิโลกายตะอยางที่สาม๖๘๘ ลัทธิโลกายตะอยางที่สี่ ๖๘๙ ลัทธิหรือทิฏฐิที่ขัดกันกับฏิจจสมุปบาท ๖๖๕ ลาภนานัตตะ ๕๘๖ ลึกซึ้งดวยมีลักษณะดูลึกซองดวย ๓๑ ลึกซึ้งดวยมีลักษณะเปนธรรมลึกซึ้งดวย ๓๗๕ ลึกซึ้งเห็นไดยากเปนอณู ๕๔ “แลนไปในสงสารสุขและทุกขคลี่คลาย-จนหมดไปเอง” ๖๙๗ “โลกเที่ยง” ๖๙๘ “โลกนี้มีที่สุดดวยไมมีที่สุดดวย ๗๔๑ “โลกนี้ยอมเกิดขึ้นดวยอาการอยางนี้” ๕๑๑ “โลกนี้ยอมดับดวยอาการอยางนี้” ๕๑๒ โลกนี้อันตัณหายึดโยงไว ๑๐๒ “โลกมีที่สุด” ๖๙๙ “โลกไมเที่ยง” ๖๙๘ “โลกไมมีที่สุด ๖๙๙ “โลกอันกลมรอบตัวนี้มีที่สุด ” ๗๔๐ โลกายตะ ๔ ชนิดที่ทรงปฏิเสธ ๖๘๘ โลภะเปนเหตุเพื่อความเกิดขึ้นแหงกรรม ๑๓๑ “โลหิต” หมายถึงน้ํานมแหงมารดา ๑๕๐

๘๖๓

ว วจีสมารัมภะ๒๐๓ วจีสังขาร ๒๘/๙๐ วจีสังขาร(อํานาจที่ใหเกิดการเปนไป-ทางวาจา) ๑๖๑ วัฏฏะยอมไมมีเพื่อจะบัญญัติแกบุคคล-เหลานั้น ๓๓๙/๓๔๒ วัตถุ ๑๖๓ วัตถุประสงคของปฏิจจสมุปบาท ๖๑ วัตถุแหงสัมมาทิฏฐิ ๙๓ วาจา (วจีทวารที่ทําหนาที่อยูดวยอวิชชา) ๑๖๐ วิจิกิจฉานุสัย ๖๐๕ วิชชาดวยวิมุตติดวย ๓๓๗ วิชชาและวิมุตติก็เปนธรรมชาติมีอาหาร ๖๒๘ วิญญาณ ๒๘/๘๕ “วิญญาณ” ๓๘ วิญญาณเกิดขึ้นแลวเพราะอาศัยปจจัย-ที่ไมเที่ยง ๒๙๒ วิญญาณเขาถึงซึ่งวิบากอันเปนบุญ ๔๔๗ วิญญาณเขาถึงซึ่งวิบากอันเปนอเนญชา ๔๔๗ วิญญาณเขาถึงซึ่งวิบากอันมิใชบุญ ๔๔๗ วิญญาณเขามายอมทําใหนามรูปเขามา ๔๑

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๘๖๔ “วิญญาณคือธรรมเปนที่เขาไปตั้ง-อาศัยของนามรูป” ๖๒๐ วิญญาณตั้งอยูได ๓๒๘ วิญญาณตั้งอยูไมได ๓๓๐ วิญญาณที่เปลี่ยนแปลงไปตามความ-แปรปรวน ๓๐๐ วิญญาณที่ประกอบพรอมแลวดวย-ความผูกพันในสุขอันเกิดแตอุเบกขา ๒๙๙ วิญญาณที่ไมประกอบพรอมแลวดวย-ความผูกพันในอทุกขมสุข ๓๐๐ วิญญาณที่ไมประกอบพรอมแลวดวย -ความผูกพันในอัสสาทะของ-ปติและสุขอันเกิดแตวิเวก๒๙๙ วิญญาณที่ไมประกอบพรอมแลวดวย-ความผูกพนในอัสสาทะของ-ปติและสุขอันเกิดแตสมาธิ ๒๙๙ วิญญาณที่ไมเปลี่ยนแปลงไปตาม-ความแปรปรวน ๓๐๓ วิญญาณที่ไมแลนไปตามปติและสุข-อันเกิดแตวิเวก ๒๙๘ วิญญาณที่ไมแลนไปตามปติและสุข-อันเกิดแตสมาธิ ๒๙๙ วิญญาณที่ไมแลนไปตามอทุกขมสุข ๓๐๐ วิญณาณที่ไมแลนไปตามอุเบกขา ๒๙๙ วิญญาณที่ไมหยั่งลงในอัสสาทะของ-ปติและสุขอันเกิดแตวิเวก ๒๙๙

ปฏิจจ ฯจากพระโอษฐ วิญญาณที่ไมหยั่งลงในอัสสาทะของ-ปติและสุขอันเกิดแกสมาธิ ๒๙๙ วิญญาณที่ไมหยั่งลงในอัสสาทะของ-สุขอันเกิดแตอุเบกขา ๒๙๙ วิญญาณที่ไมหยั่งลงในอัสสาทะของ-อทุกขมสุข ๓๐๐ วิญญาณที่แลนไปตามนิมิต ๒๙๖ วิญญาณที่แลนไปตามปติและสุขอัน-เกิดแตสมาธิ ๒๙๗ วิญญาณที่แลนไปตามปติและสุขอัน-เกิดแตวิเวก๒๙๗ วิญาณที่แลนไปตามอทุกขมสุข ๒๙๘ วิญญาณที่แลนไปตามอุเบกขา ๒๙๘ วิญญาณที่หยั่งลงในอัสสาทะของนิมิต ๒๙๖ วิญญาณที่หยั่งลงในอัสสาทะของปติ-และสุขอันเกิดแตวิเวก๒๙๗ วิญญาณที่หยั่งลงในอัสสาทะของปติ-และสุขอันเกิดแตสมาธิ๒๙๗ วิญญาณทีหยั่งลงในอัสสาทะของสุข-อันเกิดแตอุเบกขา ๒๙๘ วิญญาณที่หยั่งลงในอัสสาทะของอทุกขมสุข ๒๙๘ วิญญาณนั้นคืออุปาทาน ๑๘ วิญญาณนี้ยอมเวียนกลับจากนามรูป-ยอมไมเลยไปอื่น ๔๖๓/๕๖๑ วิญญาณประกอบพรอมแลวดวยความ-ผูกพันในอัสสาทะของนิมิต ๒๙๖

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ปทานุกรม “วิญญาณเปนอยางไร”และ-“วิญญาณนี้เปนของใคร” ๖๘๓ “วิญญาณเปนอยางอื่น”และ-“วิญญาณนี้เปนของผูอื่น”๖๘๓ “วิญญาณมีเพราะปจจัยคือนามรูป” ๓๓/๗๙๐ วิญญาณมีสังขารเปนที่เขาไปตั้งอาศัย ๖๒๑ วิญญาณยอมมีขึ้นเพราะอาศัยธรรม -อยาง ๒๙๒ -วิญญาณ(วิฺาณกายา) ๖หมู ๓๔๑ วิญญาณออกไปยอมทําใหนามรูปออกไป ๔๒ วิญาญาณอันตัณหาในอารมณคือรูป-อาศัยแลว ๑๘ วิญญาณอันฟุงไปซานไปในภายนอก ๒๙๖ วิญญาณอันไมฟุงไปไมซานไปใน-ภายนอก ๒๙๖ วิญญาณอันไมฟุงไมซานไปใน-ภายนอก ๒๙๖ วิญญาณณัญจายตนะ ๔๑๒ วิญญาณาหาร ๖๕/๓๒๖ วิญญาณาหารยอมมีเพื่อความเกิดขึ้น-แหงภพใหม ๖๕ วิญญาณาหารยอมมีเพื่อความเกิดขึ้น-แหงภพใหมตอไป ๘๐๐ วิญญาณาหารยอมมีเพื่ออะไร ๖๕ วิตกบัญญัติ ๖๐๓ วิตกมีปปญจสัญญาสังขาเปนนิทาน ๖๑๓

๘๖๕ วิธีการกําจัดนิวรณโดยวิธีที่ละเอียด – -ลึกซึ้ง ๒๗๙ วิธีปฏิบัติตออาหารสี่ ๓๒๓ วิบากในทิฏฐธรรม ๒๗๗ วิบากในอปรปริยายะ ๒๗๗ วิบากในอุปปชชะ ๒๗๗ วิบากแหงกรรม ๒๗๐/๒๗๗ วิบากแหงกรรมจึงมีไดในอัตตภาพนี้-อยางซ้ําๆซากๆ ๒๗๗ วิาบากแหงกาม ๒๗๐/๒๗๒ วิบากแหงเวทนา ๒๗๔ วิบากแหงสัญญา ๒๗๕ วิบาแหงอาสวะ ๒๗๐ วิปสสี ๕๔ วิภวทิฏฐิ ๑๔๒ “วิมุตติคือธรรมเปนที่เขาไปตั้งอาศัย-ของญาณในความสิ้นไป” ๖๑๖ วิมุตติญาณทัสสนะของผูมีนิพพิทาวิราคะ-อันวิบัติแลว ๖๔๘ วิมุตติญาณทัสสนะของผูมีวิราคะ-อันวิบัติแลว ๖๔๗ วิมุตติที่ตั้งตนขึ้นมาจากสัมมาทิฏฐิ-เติมคํานําหนาวาสุ ๖๕๔ วิมุตติมีวิราคะเปนที่เขาไปตั้งอาศัย ๖๒๑ วิมุตติแลเปนปฏิสรณะของสติ ๖๓๕ วิมุตติแลนไปสูนิพพาน ๖๓๖ วิราคะของผูมีนิพพิทาอันวิบัติแลว ๖๔๗

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๘๖๖ “”วิราคะคือธรรมเปนที่เขาไปตั้งอาศัย-ของวิมุตติ” ๖๑๖ วิราคะมีนิพพิทาเปนที่เขาไปตั้ง-อาศัย ๖๒๑ วิราคะมีวิมุตติญาณทัสสนะเปน-อานิสงสที่มุงหมาย ๖๕๐ วิราคะยอมมีวิมุตติญาณทัสสนะเปน-อานิสงส ๘๐๗ วิริยสัมโพชฌงค ๒๘๐ วิริยะเพื่อใหรูในชรามณะ ๒๕๒ วิหารธรรมชนิดที่ทําความงายแกการ-เกิดญาณ ๑๕๕ วิหารธรรมที่เราเคยอยูแลว เมื่อตรัสรู-แลวใหมๆ ๑๕๒ วิหิงสาวิตก ๑๔๒/๕๘๘ วีมังสกบัณฑิต ๔๕๓ เวทนา ๒๗/๘๕/๕๘๙ เวทนาของปุถุชน ๕๒๖ เวทนาของปุถุชนผูไมมีการสดับ ๕๓๐ เวทนาของอริยสาวก ๕๒๖ เวทนาของอริยสาวกผูมีการสดับ ๕๓๐ เวทนาเขามายอมทําใหตัณหาเขามา ๔๑ “เวทนาคือธรรมเปนที่เขาไปตั้งอาศัย”-ของตัณหา” ๖๑๙ เวทนาทั้งทางกายและทางจิต ๕๒๗ เวทนาทั้งหมดยอมถึงการประชุมลง-ในความทุกข ๗๕

ปฏิจจ ฯจากพระโอษฐ เวทนาทั้งหลายทั้งปวงจักเปนของเย็น-ในอัตตภาพนี้เอง ๔๔๘ เวทนาทั้งหลายทั้งปวงอันเราไม-เพลิดเพลินเฉพาะแลว ๔๔๘ เวทนาที่เกิดแตอวิชชาสัมผัส ๑๙๒ เวทนาที่ตั้งตนหรือเกี่ยวของอยูกับ -อวิชชา๕๓๐ เวทนานานัตตะ ๕๘๕ เวทนาบัญญัติ ๖๐๓ เวทนาเปนผลของเวเทติ ๒๙๓ “เวทนาเปนอยางไร”และ “เวทนานี้-เปนของใคร” ๖๘๑ “เวทนาเปนอยางอื่น”และ “เวทนานี้-เปนของผูอื่น” ๖๘๑ เวทนาเพียงอยางเดียวคือเวทนา-ทางกายหามีเวทนาทางจิตไม ๕๒๙ เวทนามีกายเปนที่สุดรอบ ๒๐๕ เวทนามีชีวิตเปนที่สุดรอบ ๒๐๕ เวทนามีผัสสะเปนที่เขาไปตั้งอาศัย ๖๒๑ เวทนามีผัสสะเปนเหตุใหเกิด ๗๕ เวทนามีเพราะปจจัยคือ := ฉันทะ ๑๕๓ =ฉันทะบาง; ความเขาไปสงบ-รํางับแหงฉันทะบาง ๑๕๕ =ฉันทะวิตกและสัญญาที่เขา-ไปสงบ ๑๕๓ =ฉันทะวิตกและสัญญาที่ยังไม-เขาไปสงบ ๑๕๓

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ปทานุกรม

๘๖๗

=มิจฉาสติบาง; สัมมาสติบาง ๑๕๓ =มิจฉาสมาธิบาง; ความเขาไป-สงบรํางับแหงมิจฉาสมาธิบาง๑๕๕ =มิจฉาสมาธิบาง; สัมมาสมาธิบาง ๑๕๓ = วิตก ๑๕๓ = วิตกบาง ; ความเขาไปสงบรํางับสัญญา ๑๕๓ สัญญาบาง; ความเขาไปสงบรํางับ-แหงสัญญาบาง ๑๕๕ -แหงวิตกบาง ๑๕๕ =สัมมาสติบาง ; ความเขาไปสงบ-รํางับแหงสัมมาสติบาง ๑๕๕ =สัมมาสมาธิบาง ; ความเขาไปสงบ-รํางับแหงสัมมาสมาธิบาง ๑๕๕ เวทนา(เทวนากายา)๖หมู ๓๓๙ เวทนา ๓ ประการ ๒๗๓ เวทนาใหเกิดอนุสัยสาม ๑๘๘ เวทนาออกไปยอมทําใหตัณหาออกไป ๔๒ เวทนาอันมีกายเปนที่สุดรอบ ๔๔๘ เวทนาอันมีชีวิตเปนที่สุดรอบ ๔๔๘ เวทนาอันเราไมเพลิดเพลินแลว ๒๐๕ เวมัตตาแหงกรรม ๒๗๐/๒๗๖ เวมัตตตาแหงกาม ๒๗๐/๒๗๒ เวมัตตาแหงเวทนา ๒๗๓ เวทัตตตาแหอาสวะ ๒๗๐ เวสารัชชญาณ ๔ ๔๗๙ เวหัปผมพรหม ๔๑๒

“ศาสตราผานไปตามชองในระหวาง-แหงกาย” ๖๙๗ ศาสนาของพระพุทธเจามีพระนามวา-เมตเตยสัมมาสัมพุทธะ ๕๘๕ ศิลปน ๑๓๗ ศีลของผูมีอินทรียสังวรอันวิบัติแลว ๖๔๘ ศีลทั้งหลายในลักษณะเปนที่พอใจ-อยูพระอริยเจา ๕๔๑ ศีลที่เปนไทจากตัณหา ๕๔๑ ศีลที่เปนไปพรอมเพื่อสมาธิ ๕๔๑ ศีลที่ไมขาดไมทะลุไมดางไมพรอย ๕๔๑ ศีลเปนกุศลมิไดรักษาเพื่อลาภ-เพื่อสวรรคๆ; หากแตเพื่อวิมุตติ ๖๕๑ ศีลอันเปนกุศลมีอวิปปฏิสารเปน-อานิสงสที่มุงหมาย ๖๔๙ ศีลอันเปนกุศลยอมยังความเปน-พระอรหันตใหเต็ม ๖๕๑ ศีลอันเปนสิกขาสาชีพของภิกษุ ๓๖๗

www.buddhadasa.info ส

สตตวิหารธรรม ๒๐๔ สตรีมีครรภก็ไมคลอด ๑๐๗ สติปฏฐานถึงซึ่งความเต็มรอบ ๓๓๖ “สติปฏฐานทั้งหลาย ๔ ประการ” ๖๒๘ สติปฏฐาน ๔ ประการ ๖๓๓

www.buddhadasa.info


๘๖๘ สติเพื่อใหรูในชารามรณะ ๒๕๔ สติแลเปนปฏิสรณะของใจ ๖๓๕ สติแลนไปสูวิมุตติ ๓๖๓ สติสัมโพชฌงค ๒๘๐ สภาพจิตของผูสิ้นอาสวะแลว ๑๓๗ สมควรเพื่อจะเรียกวา “ธรรมกถึก” ๕๙ สมณพราหมณที่กลาวสอนเรื่องกรรม-สีพวก ๑๕๙ สมถะดวยวิปสสนาดวย ๓๓๗ สมถะและวิปสสนาของเขาเปนธรรม-เคียงคูกันไป ๓๓๖ สมสูส่ําสอนเชนเดียวกันกับแพะ-แกะ ไก สุกร ๕๘๔ สมันนาหารจิต ๒๐๗/๒๑๑ สมัยที่มนุษยมีอายุขัยลดลงมาเหลือ-เพียง ๑๐ ป ๕๘๔ “สมาธิคือธรรมเปนที่เขาไปตั้งอาศัย – -ของยถาภูตญาณทัสสนะ” ๖๑๗ สมาธิมีผลใหญมีอานิสงสใหญ ๑๔๒ สมาธิมียถาภูตญาณทัสสนะเปนอานิสงส-ที่มุงหมาย ๖๕๐ สมาธิมีสุขเปนที่เขาไปตั้งอาศัย ๖๒๑ สมาธิยอมมียถาภูตญาณทัสสนะเปน-อานิสงส ๘๐๗ สมาธิสัมโพชฌงค ๒๘๑ สมาธิอันหานิมิตมิได ๑๔๒ สรรพภาวะ(สพฺพํ) ๔๑๓ สสังขารปรินิพพายี(อนาคามี) ๒๘๑

ปฏิจจ ฯจากพระโอษฐ สฬายตนะ ๒๘/๘๕ สฬายตนะเขามายอมทําใหผัสสะเขามา ๔๑ “สฬายตนะคือธรรมเปนที่เขาไปตั้ง-อาศัยของผัสสะ” ๖๑๙ สฬายตนะมีนามรูปเปนที่เขาไปตั้ง-อาศัย ๖๒๑ สฬายตนะออกไปยอมทําใหผัสสะ-ออกไป ๔๒ สวนของวิญญาณอันเกิดจากอายตนะ-อยาง ๒๐๘ สวนสุดทั้งสอง๖๖๕ สวนสุดที่สอง ๑๕/๖๒/๖๓ สวนสุดที่หนึ่ง ๑๕/๖๑/๖๓ สักกายทิฏฐิ ๓๘๗ สังกัปปนานัตตะ ๕๘๕ สงฺกปฺปราค๗๑ สังขาร ๘๖ สังขารเขามายอมทําใหวิญญาณเขามา ๔๑ สังขารชนิดที่สอง ๑๙๖ สังขารชนิดที่สาม ๑๙๗ สังขารชนิดที่สี่ ๑๙๘ สังขารชนิดที่หนึ่ง ๑๙๒ สังขาร(โดยละเอียด) เปนอยางไรเลา ๓๔๐ สังขารทั้งหลาย ๒๘ “สังขารทั้งหลายคือธรรมเปนที่เขาไป-ตั้งอาศัยของวิญญาณ” ๖๒๐ สังขารทั้งหลายมีอวิชชาเปนที่เขาไป-ตั้งอาศัย ๖๒๐

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ปทานุกรม สติเพื่อใหรูในชารามรณะ ๒๕๔ สติแลเปนปฏิสรณะของใจ ๖๓๕ สติแลนไปสูวิมุตติ ๓๖๓ สติสัมโพชฌงค ๒๘๐ สภาพจิตของผูสิ้นอาสวะแลว ๑๓๗ สมควรเพื่อจะเรียกวา “ธรรมกถึก” ๕๙ สมณพราหมณที่กลาวสอนเรื่องกรรม-สีพวก ๑๕๙ สมถะดวยวิปสสนาดวย ๓๓๗ สมถะและวิปสสนาของเขาเปนธรรม-เคียงคูกันไป ๓๓๖ สมสูส่ําสอนเชนเดียวกันกับแพะ-แกะ ไก สุกร ๕๘๔ สมันนาหารจิต ๒๐๗/๒๑๑ สมัยที่มนุษยมีอายุขัยลดลงมาเหลือ-เพียง ๑๐ ป ๕๘๔ “สมาธิคือธรรมเปนที่เขาไปตั้งอาศัย – -ของยถาภูตญาณทัสสนะ” ๖๑๗ สมาธิมีผลใหญมีอานิสงสใหญ ๑๔๒ สมาธิมียถาภูตญาณทัสสนะเปนอานิสงส-ที่มุงหมาย ๖๕๐ สมาธิมีสุขเปนที่เขาไปตั้งอาศัย ๖๒๑ สมาธิยอมมียถาภูตญาณทัสสนะเปน-อานิสงส ๘๐๗ สมาธิสัมโพชฌงค ๒๘๑ สมาธิอันหานิมิตมิได ๑๔๒ สรรพภาวะ(สพฺพํ) ๔๑๓ สสังขารปรินิพพายี(อนาคามี) ๒๘๑

๘๖๙ สฬายตนะ ๒๘/๘๕ สฬายตนะเขามายอมทําใหผัสสะเขามา ๔๑ “สฬายตนะคือธรรมเปนที่เขาไปตั้ง-อาศัยของผัสสะ” ๖๑๙ สฬายตนะมีนามรูปเปนที่เขาไปตั้ง-อาศัย ๖๒๑ สฬายตนะออกไปยอมทําใหผัสสะ-ออกไป ๔๒ สวนของวิญญาณอันเกิดจากอายตนะ-อยาง ๒๐๘ สวนสุดทั้งสอง๖๖๕ สวนสุดที่สอง ๑๕/๖๒/๖๓ สวนสุดที่หนึ่ง ๑๕/๖๑/๖๓ สักกายทิฏฐิ ๓๘๗ สังกัปปนานัตตะ ๕๘๕ สงฺกปฺปราค๗๑ สังขาร ๘๖ สังขารเขามายอมทําใหวิญญาณเขามา ๔๑ สังขารชนิดที่สอง ๑๙๖ สังขารชนิดที่สาม ๑๙๗ สังขารชนิดที่สี่ ๑๙๘ สังขารชนิดที่หนึ่ง ๑๙๒ สังขาร(โดยละเอียด) เปนอยางไรเลา ๓๔๐ สังขารทั้งหลาย ๒๘ “สังขารทั้งหลายคือธรรมเปนที่เขาไป-ตั้งอาศัยของวิญญาณ” ๖๒๐ สังขารทั้งหลายมีอวิชชาเปนที่เขาไป-ตั้งอาศัย ๖๒๐

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๘๗๐ สัมมาทิฏฐิคือทิฏฐิที่ปราศจากอัตถิตา-และนัตถิยา ๖๖๕ สัมมาปฏิปทา ๒๕๘ สัมมาสมาธิของผูมีศีลอันวิบัติแลว๖๔๘ สัมมาสมาธิของผูมีสุขอันวิบัติแลว ๖๔๗ สัสสตทิฏฐิ ๑๙๖ สัสสตทิฏฐิ(ทั่วไป) ๖๙๒ สสัสตทิฏฐินั้นเปนสังขาร ๑๙๖ สัสสตทิฏฐิ ๔ ๗๓๓ สัสสตโลกทิฏฐิ ๖๙๘ สัสสตะ(ทิฏฐิที่ถือวาเที่ยง) ๖๖๙ สัสสตทิฏฐิ(ธรรมดา) ๓๘๕ สามัญญผลในปจจุบัน ๒๘๐ สามัญญผลในพุทธศาสนา ๕๔๒ สามัญญผลในลัทธิอื่น ๕๔๒ สามารถประกาศไดดวย ๒๖๕ สายกลางไมเขาไปหาสวนสุดทั้งสอง๑๕ สาราคะ(ความกําหนัดกลา) ๕๙๗ สําคัญมั่นหมายซึ่งดิน ๔๑๑ สําคัญมั่นหมายโดยความเปนดิน ๔๑๑ สําคัญมั่นหมายในดิน ๔๑๑ สําคัญมั่นหมายวาดินของเรา ๔๑๑ สําคัญเห็นซึ่งตนในรูป ๑๙๔ สําคัญเห็นซึ่งตนวามีรูป ๑๙๓ สําคัญเห็นซึ่งวิญญาณ ๑๖๔ สําคัญเห็นซึ่งเวทนา ๑๖๔ สําคัญเห็นซึ่งรูป ๑๖๔ สําคัญเห็นซึ่งรูปโดยความเปนตน ๑๙๒ สําคัญเห็นซึ่งรูปในตน ๑๙๓

ปฏิจจ ฯจากพระโอษฐ สําคัญเห็นซึ่งสังขารทั้งหลาย ๑๖๔ สําคัญเห็นซึ่งสัญญา ๑๖๔ สําคัญเห็นซึ่งอัตตา ๑๖๓ สําคัญเห็นซึ่งอุปาทานขันธ ขันธใด-ขันธหนึ่ง ๑๖๔ สําคัญเห็นซึ่งอุปาทานขันธทั้ง ๕อยาง ๑๖๔ สิ่งซึ่งเปนที่กําหนดพิจารณาของญาณ ๓๔๙ สิ่งซึ่งเปนที่ตั้งของอุปาทาน ๓๔๗ สิ่งทั้งปวงในโลก๓๑ “สิ่งทั้งปวงมีอยู” ๑๕ “สิ่งทั้งปวงไมมีอยู”๑๕ สิ่งทั้งหลายทั้งปวงอันใครๆ ไมควร-ยึดมั่นถือมั่น ๕๘๙ สิ่งที่เกิดเองไมได ๓๑ สิ่งที่ควรรู ๔๘๘ สิ่งที่ควรรูอันประเสริฐ ๑๓ สิ่งที่รงพยากรณเสมอไป ๔๘๕ สิ่งที่ตนทําเอาดวยตนเอง ๑๕๙ สิ่งที่ตถาคตรูแจงแลวเฉพาะตน ๗๓๕ สิ่งที่ตนทําเอาดวยตนเองดวย ผูอื่น-ทําใหดวย ๑๕๙ สิ่งที่ตองเห็นดวยยถาภูตสัมมัปปญญา ๒๘๒ สิ่งที่บุคคลกระทําเองก็ไมใช ๕๑๕ สิ่งที่บุคคลกระทําเองดวยบุคคลอื่น-กระทําดวยก็ไมใช ๕๑๕

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ปทานุกรม สิ่งที่บุคคลไดเห็นแลวฟงแลวรูสึกแลว-รูแจงแลวบรรลุแลวแสวงหาแลว-ครุนคิดอยูดวยใจแลว ๖๙๑ สิ่งที่บุคคลอื่นกระทําก็ไมใช ๕๑๕ สิ่งที่ปจจัยทําใหเกิดความรูสึกขึ้น-(อภิสฺเจตยิต) ๖๔ สิ่งที่ปจจัยปรุงแตงขึ้น(อภิสงฺขต) ๖๔ สิ่งที่ปุถุชนไดยึดถือแลวดวยทิฏฐิ ๓๘ สิ่งที่ปุถุชนไดยึดถือแลวดวยทิฏฐิโดย-ความเปนตัวตนมาตลอดกาลชานาน ๓๘๑ สิ่งที่ปุถุชนถึงทับแลวดวยตัณหา ๓๘ สิ่งที่ปุถุชนผูมิไดสดับแลวไดถึงทับ-แลวดวยตัณหา ๓๘๑ สิ่งที่เปนอารมณเพื่อการตั้งอยูแหง-วิญญาณ ๕๖๙ สิ่งที่ผูอื่นทําให๑๕๙ สงิที่พัวพันกันอยูในกระแสแหง-ปฏิจจสมปบาท ๒๒๗ สิ่งที่มีความรูสึกตออารมณได (เวทนีย) ๖๔ สิ่งที่ไมใชทําเองหรือใครทําใหก็เกิดขึ้นได ๑๕๙ สิ่งที่ไมใชบุคคลกระทําเองหรือบุคคล-อื่นกระทําก็เกิดขึ้นไดก็ไมใช ๕๑๕ สิ่งที่ไมเห็นอารมณเพื่อการตั้งอยูแหง-วิญญาณ ๕๗๑ สิ่งที่รูแจงแลว ๔๑๒ สิ่งที่รูสึกแล ว ๔๑๒

๘๗๑ สิ่งที่เราครอบงําแลว ๓๔๙ สิ่งที่เรียกกันวา “จิต” ๓๘ สิ่งที่เรียกกันวา “จิต”บางวา “มโนบาง”-วา “วิญญาณ” บาง ๓๙ สิ่งที่เรียกกันวา “มโน” ๓๘ สิ่งที่เรียกวาจิต ๓๘๒ สิ่งที่เรียกวาปฏิจจสมุปบาท ๑๑ สิ่งที่อริยสาวกเห็นแลวดวยดี ๕๑๔ สิ่งที่อริยสาวกเห็นชัดแลวดวยดีดวย-ปญญาอันชอบตามที่เปนจริง ๔๒๔ สิ่งที่อาศัยปจจัยอยางใดอยางหนึ่งแลว-เกิดขึ้น ๑๙๕ สิ่งที่อาศัยปจจัยอยางใดอยางหนึ่งแลว-เกิดขึ้น(ปฏิจจสมุปปนนธรรม) ๖๗๑ สิ่งเปนที่รักในโลกนี้มีฉันทะเปน-แดงเกิด ๕๕๙ สิ่งที่เปนรักและสิ่งไมเปนที่รัก ๖๑๓ สิ่งเปนที่รักและสิ่งไมเปนที่รักมีฉันทะ-เปนนิทาน ๖๑๓ สิ่งที่ภาวะเปนที่รักเปนที่ยินดี ๓๐๘ สิ่งไรๆ ที่ควรกระทําใหยิ่งขึ้นไป ๓๒๗ สิ้นกรรมตามแบบของปฏิจจสมุปบาท ๒๐๒ สิ้นกรรมในกระแสแหงปฏิจจสมุบาท ๒๐๗ สีลัพพัตตุปาทาน ๒๗/๘๗/๓๔๗/๑๘๓ สีหนาทเพราะทรงรูปจจัยแหงความ-เกิดและความดับ ๔๗๙

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๘๗๒ สุขของผูมีปสสัทธิอันวิบัติแลว ๖๔๗ “สุขคือธรรมเปนที่เขาไปตั้งอาศัย-ของสมาธิ” ๖๑๗ สุขทุกขในภายในเกิดขึ้นเพราะปรารภ-ขันธหา ๒๘๗ สุขทุกขีอัตตาทิฏฐิ ๗๑๕ สุขมีปสสัทธิเปนที่เขาไปตั้งอาศัย ๖๒๑ สุขมีสมาธิเปนอานิสงสที่มุงหมาย ๖๕๐ สุขยอมมีสมาธิเปนอานิสงส ๘๐๗ “สุขและทุกขเปนสิ่งที่บุคคลกระทําเอง” ๗๐ “สุขและทุกขเปนสิ่งที่บุคคลอื่น-กระทําให” ๗๐ สุขและทุกขอันเปนภายในยอมเกิดขึ้น ๑๕๖ สุขและทุกขอันเปนภายในยอมไม-เกิดขึ้น ๑๕๗ สุขและทุกขอาศัยปจจัยคือผัสสะ, ๑๕๙ สุขโสมนัสใดๆ อาศัยรูปเกิดขึ้น ๓๓๘ “สุจริตทั้งหลาย ๓ ประการ” ๖๒๘ สุจริต ๓ ประการ ๖๓๓ สุภกิณหพรหม ๔๑๒ สุวิมุตตจิต ๖๕๓ เสวยซึ่งเวทนาทั้ง ๒ ฝาย ๕๒๗ เสวยสุข (เอง) ๘๐๖ เสียงที่ไดฟงแลว ๔๑๒ แสงสวางเกิดขึ้นแลว ๕๖๑ แสดงธรรมโดยสายกลาง ๑๕

ปฏิจจ ฯจากพระโอษฐ แสดงดวยตัณหา ๕๘๙ แสวงดวยวิชชาหรือ ยถาภูตสัมมัปปญญา ๕๘๙ โสตาปตติยังคะ ๕๓๘ โสตาปตติยังคะทั้งหลาย ๔ ประการ ๖๔๔ โสมนัสที่ควรเสพ ๖๑๔ โสมนัสที่มีวิตกมีวิจาร ๖๑๔ โสมนัสที่ไมควรเสพ ๖๑๔ โสมนัสที่ไมมีวิตกไมมีวิจาร ๖๑๔

ห หงายของที่คว่ํา ๒๐๖ หญามุญชะและหญ็าปพพชะ ๑๕ หญิงอายุ ๕ ป ก็มีบุตร ๕๘๔ หนทางเกาอันพระพุทธเจาในกาลกอน-เคยทรงดําเนิน ๒๖๓ หนทางเพื่อการตรัสรู ๕๖๓ หมวดกาย ๓๐๙ หมวดจมูก ๓๐๘ หมวดใจ ๓๐๙ หมวดตา ๓๐๘ หมวดลิ้น ๓๐๘ หมวดหู ๓๐๘ หมูแหงตัณหาทั้งหลาย ๒๗/๘๗ หมูแหงตัณหาทั้งหลายหก ๔๘๙ หมูแหงผัสสะทั้งหลาย ๒๘/๘๘

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ปทานุกรม หมูแหงผัสสะทั้งหลายหก ๔๘๙ หมูแหงวิญญาณทั้งหลาย ๒๘/๘๙ หมูแหงวิญญาณทั้งหลายหก ๔๘๘ หมูแหงเวทนาทั้งหลาย ๒๗/๘๘ หมูแหงเวทนาทั้งหลายหก ๔๘๙ หยั่งลงในธรรมวินัยนี้ ๓๔๒ หลักการพยากรอรหัตตผล ๗๑ หลักธรรมใดๆ ก็ไดที่เนื่องกันเปนสาย ๓๒๒ หลักธรรมอันภิกษุในกรณีนี้ไดสดับแลว ๒๘๙ หลุดพนแลวจากทุกข ๓๑๓ หลุดพนแลวยอมมีญาณหยั่งรู ๑๔๔ หัวใจของปฏิจจสมุปบาทที่เรียกวา-กฎอิทัปปจจยตา ๔๕๖ หัวใจของพระพุทธศาสนา ๒๙๐ หัวใจของพุทธศาสนาแตกลับมีผูสนใจ-นอยที่สุด ๘๑๑ หัวใจของพุทธศาสนาในแงของการ-ปฏิบัติ ๘๑๓ หัวใจปฏิจจสมุปบาท ๓ หายตาบอดอยางกระทันหัน ๔๒๒ หิริและโอตตัปปะของผูมีสติสัมปชัญญะ-อันวิบัติแหง ๖๔๘ เหตุเครื่องกอขึ้นแหงทุกข ๙๖ เหตุเพื่อความเกิดขึ้นแหงกรรม ๑๓๑/๑๓๓ เหตุไมอาจจะปลอยวางซึ่งสิ่งที่เรียกวาจิต ๓๘

๘๗๓ เหตุแหงธรรมอันเปนปจจัย ๕๓๗ เหตุใหเกิดขึ้นแหงทุกข(ทุกฺขสมุทโย) ๔๓ เห็นขันธโดยความเปนตน ๑๙๕ เห็นขันธในตน ๑๙๕ เห็นแจงแทงตลอดซึ่งบรมสัจจดวยปญญา ๖๕๒ เห็นซึ่งนิมิตทั้งหลายของสิ่งทั้งปวง-โดยประการอื่น ๒๙๐ เห็นโดยความเปนอัสสาทะ ๑๓๘ เห็นโดยความเปนอาทีนวะ ๑๓๙ เห็นตนในขันธ ๑๙๕ เห็นตนวามีขันธ ๑๙๕ เห็นตามที่เปนจริง (เอง) ๘๐๖ เห็นโทษโดยความเปนโทษ ๓๖๗ เห็นธรรมชื่อวาเห็นปฏิจจฯ ๑๒/๔๒/๒๐๙ เห็นปฏิจจ ฯ คือเห็นพระพุทธองค ๑๒ เห็นปฏิจจสมุปบาทชื่อวาเห็นธรรม ๑๒/๔๒/๒๐๙ เห็นแลวดวยดีดวยยถาภูตสัมมัปปญญา-จริงๆแตก็หาเปนพระอรหันต-ขีณาสพไม ๒๘๕ เห็นสัญโญชนิยธรรมโดยความเปน-อัสสาทะ ๑๗๐/๒๑๙ เห็นสัญโญชนิยธรรมโดยความเปน-อาทีนวะ ๑๗๑/๒๓๓ เห็นสิ่งทั้งปวงโดยประการอื่นจากที่-เขาเคยเห็นเมื่อยังไมรูแจง ๓๙๐ เห็นหมูสัตวที่กําลังจุติอยู ๓๖๕

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๘๗๔

ปฏิจจ ฯจากพระโอษฐ

เห็นอยูอยางนี้ยอมเบื่อหนาย ๔๐/๑๔๔ เห็นอยูอยางไรนันทิจึงจะไมเขาไป-ตั้งอยูในเวทนา ๗๕ เห็นอุปาทานิยธรรมโดยความเปน-อัสสาทะ ๒๑๘ เห็นอุปาทานิยธรรมโดยความเปน-อาทีนวะ ๒๓๑ โหติจนจโหติทิฏฐิ ๗๐๑ โหติตถาคโตทิฏฐิ ๗๐๐

อ อกิริยทิฏฐิ(โดยพิศดาร) ๖๙๔ อกุศลกรรมบถรุงเรืองถึงที่สุด ๕๘๔ อกุศลวิตก ๑๔๒ องคแหงโสดาบัน ๔ ประการ ๕๓๘ อทุกขมสุขีอัตตาทิฏฐิ ๗๑๕ อโทสะเปนเหตุเพื่อความเกิดขึ้น-แหงกรรม ๑๓๔ อธิกรณะ(เครื่องมือกระทําใหเกิดสุข-และทุกขในภายใน) ๑๖๓ อธิจจสมุปปนนิกทิฏฐิ ๒ ๗๔๗ อธิมุตติบาท ๗๒๘ อนัญญถตา ๓๕/๔๔ อนันตวันตโลกทิฏฐิ ๖๙๙ อนิมิตตสมาธิ ๑๔๒ อนุเคราะหแกสัมภเวสีสัตวทั้งหลาย ๕๗๗ “อนุตตรสังคามวิชัย” ๗๓๑ อนุปสสนาฝายที่สอง ๕๕๐ อนุปสสนาฝายที่หนึ่ง ๕๕๐

“อนุปาทิเสส”ที่เปนเรื่องของอุจเฉท-ทิฏฐิ ๕๙๖ อนุโมทนายินดีตอคําเปนสุภาษิต-ดวยวัตถุ ๓๖ เรื่อง ๕๒๐ อนุสัยคือปฏิฆะ๓๔๓/๓๔๕ อนุสัยคือปฏิฆะยอมตามนอน ๑๘๘ อนุสัยคือราคะ ๓๔๓/๓๔๕ อนุสัยคือราคะยอมตามนอน ๑๘๘ อนุสัยคืออวิชชา ๓๔๓/๓๔๕ อนุสัยคืออวิชชายอมตามนอน ๑๘๙ อนุสัยชนิดตางๆ อันเปนเครื่องทํา-ความเนิ่นชา(ปปญจสัญญาสังขา) ๖๐๑ อนุสัยไมอาจจะเกิด ๓๔๓ อเนญชาภิสังขาร๔๔๘ อปรปริยายะ ๑๓๒ อปรันตกัปปกวาท ๗๒๖ อปรันตานุทิฏฐิทั้งหลายยอมไมมี ๖๕๕ อปุญญาภิสังขาร ๔๔๘ อภัททกาลกิริยา(ตายชั่ว) ๕๗๙ อภิภู ๔๑๒ อมตภาวะอันไมมีการแบงแยก ๓๓๗ อมราวิกเขปกทิฏฐิ๔ ๗๔๓ อโมหะเปนเหตุเพื่อความเกิดขึ้น-แหงกรรม ๑๓๔ อยูเหนือความมีและความไมมี ๖๑

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ปทานุกรม อรรถะทั้งปวงที่พระผูมีพระภาคตรัส-แลวดวยบทเพียงบทเดียว-(วาผัสสะ) ๖๗๔ อรหัตตผลโดยพลันในทิฏฐธรรม ๒๘๑ อรหัตตผลในมรณกาล ๒๘๑ อริยกันตศีล ๕๔๑ อริยญายธรรม ๑๓/๔๘๑/๕๑๒ อริยญายธรรมที่เห็นแลวดวยดี ๑๓ อริยวินัย ๑๕๐ อริยวินัยเรียกอารมณทั้งหลาย ๕ ประการ-วา “กามคุณ” ๒๗๑ อริยสัจมีในขณะแหงเวทนา ๑๐๑ “”อริยสัจเล็ก’ ๘๔ อริยสัจสมบูรณแบบ ๘๑ อริยสัจสี่โดยสมบูรณนั้นคือ – -ปฏิจจสมุปบาท ๕๘ อริยสัจสี่ที่รัดกุม ๑๑๗ “อริยสัจใหญ” ๘๔ อริยสาวกที่เปนผูอยูดวยความประมาท ๖๔๕ อริยสาวกผูไดสดับแลว ๓๙/๖๔ อริยสาวกผูเปนโสดาบัน ๑๐๘/๑๑๑ อริยสาวกผูมีการสดับแลวยอมเสวย-เวทนาเพียงอยางเดียว ๕๒๘ อริยสาวกรูความเกิดและความดับ-ของโลก ๕๓๐ อรูปภพ ๒๗/๘๗ อรูปอัตตาทิฏฐิ ๗๑๓

๘๗๕ อโลภะเปนเหตุเพื่อความเกิดขึ้น-แหงกรรม ๑๓๓ อโลภะอโทสะอโมหะนั้นมีความหมาย๒ ระดับ ๑๓๗ -อวิชชา ๒๘ อวิชชาเขามายอมทําใหสังขารเขามา ๔๑ “อวิชชคือธรรมเปนทีเขาไปตั้งอาศัย-ของสังขาร” ๖๒๐ อวิชชาธาตุมีอยู ๑๖๕ อวิชชาดวยภวตัณหาดวย ๓๓๖ อวิชชานุสัย ๖๐๕ อวิชชานุสัยเกิดจากอทุขมสุขเวทนา ๑๙๑ อวิชชานุสัยใชคําวา “ถอน” ๑๙๑ อวิชชานุสัยอันใดอันเกิดจากอทุกขม-สุขเวทนา ๕๒๘ “อวิชชาเปนอาหารของภวตัณหา” ๖๒๖ อวิชชาเพิ่งมีตอภายหลัง ๖๒๒ อวิชชามีอยูในขณะแหงการสัมผัส๑๙๕ อวิชชาสัมผัส ๑๖๓ อวิชชาออกไปยอมทําใหสังขารออกไป ๔๒ อวิตถตา ๓๕/๔๔ อวิปปฏิสาร(ความไมรอนใจ) ๖๔๖ อวิปปฏิสารมีความปราโมทยเปน-อานิสงสที่มุงหมาย ๖๔๙ อวิปปฏิสารยอมเกิด (เอง) ๘๐๕ อวิปปฏิสารยอมมีปราโมทยเปนอานิสงส ๘๐๗

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๘๗๖ อวิหิงสาวิตก ๕๘๙ อสังขารปรินิพายี(อนาคามี) ๒๘๑ อสัญญีทิฏฐิ ๘ ๗๕๔ อสัสสตโลกทิฏฐิ ๖๙๘ อเหตุกทิฏฐิ (โดยพิศดาร) ๖๙๕ อัชฌัตตวิโมกข ๗๖ อัญญังชีวอัญญังสรีรทิฏฐิ ๗๐๐ อัฏฐังคิกมรรคถึงซึ่งความเต็มรอบ ๓๓๖ อัตตวาทุปาทาน ๒๗/๘๗/๑๘๓/๓๔๗ อัตตาซึ่งเขาถึงซึ่งเนวสัญญานาสัญญา-ยตนะ ๗๖๒ อัตตาซึ่งเขาถึงวิญญาณัญจายตนะ ๗๖๑ อัตตาซึ่งเขาถึงอากาสานัญจายตนะ ๗๖๐ อัตตาซึ่งเขาถึงอากิญจัญญายตนะ๗๖๑ อัตตา(ตน)ก็อันนั้น; โลกก็อันนั้น ๓๘๕/๖๙๒ อัตตาที่เขาถึงซึ่งจตุตถฌาน ๗๖๕ อัตตาที่เขาถึงซึ่งตติยฌาน ๗๖๕ อัตตาที่ถึงแลวซึ่งปรมทิฏฐธัมมนิพพาน ๗๖๓ อัตตาที่มีรูปสําเร็จมาจากใจ (มโนมโย) ๗๖๐ อัตตาที่ระงับวิตกวิจารเสียไดแลวเขาถึง-ทุติยฌาน ๗๖๔ อัตตานี้ใดอิ่มเอิบแลวดวยกามคุณ-ทั้งหลาย ๕ ประการ ๗๖๓ อัตตานุทิฏฐิ ๓๘๗ อัตตามีที่สุด ๗๕๗ อัตตามีที่สุดก็ไดไมมีที่สุดก็ได ๗๕๗ อัตตามีที่สุดก็มิใชไมมีที่สุดก็มิใช ๗๕๗

ปฏิจจ ฯจากพระโอษฐ อัตตามีรูป ๗๕๖ อัตตามีรูปก็ได ไมมีรูปก็ได ๗๕๗ “อัตตามีรูปก็ได ไมมีรูปก็ไดเปนอัตตา-หาโรคมิไดหลังจากตายแลว” ๗๑๔ อัตตามีรูปก็มิใชไมมีรูปก็มิใช ๗๕๗ อัตตามีรูปประกอบขึ้นดวยมหาภูต ๗๕๙ อัตตามีรูปเปนพวกกามาพจรมี-กวฬิงการาหารเปนภักษา ๗๕๙ อัตตาไมมีที่สุด ๗๕๗ อัตตาไมมีรูป ๗๕๖ อัตตา-อัตตานิยานุทิฏฐิ ๓๘๓/๖๙๒ อัตตาอันขาดสูญ ๗๕๙–๗๖๒ อัตตาอื่นที่เปนทิพย ๗๕๙ “อัตถชาละ” ๗๓๑ อัตถิตา (ความมี) ๖๖๕ อัตถิตาและนัตถิตา ๖๖๕ อันตคาหิกทิฏฐิสิบ ๒,๒๐๐นัย๗๑๗ อันตราปรนิพพายี (อนาคามี) ๒๘๑ อันตวันตโลกทิฏฐิ ๖๙๙ อันตานันทิกทิฏฐิ๔ ๗๔๐ อัปปฏิวานิ(ความไมถอยหลัง)๒๕๐ อพยาปาทวิตก ๕๘๙ อัสสาทะ ๑๓๘ อัสสาทะของนิมิต ๒๙๖ อัสสาทะของปติและสุขอันเกิดแตวิเวก ๒๙๗

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ปทานุกรม อัสสาทะของปติและสุขอันเกิดแตสมาธิ ๒๙๗ อัสสาทะของสุขอันเกิดแตอุเบกขา ๒๙๘ อัสสาทะของอทุกขมสุข ๒๙๘ อัสสาทะ(รสอรอย) ของเวทนา ๓๔๓ อัสสาทะแหงรูป ๓๓๘ อัสสาทะแหงวิญญาณ ๓๔๑ อัสสาทะแหงเวทนา ๓๔๐ อัสสาทะแหงสังขาร ๓๔๑ อัสสาทะแหงสัญญา ๓๔๐ อาการเกิดดับแหงอาหารสี่ ๓๒๗ อาการของการเกิดปฏิจจสมุปบาท-โดยสมบูรณ ๕๓๐ อาการของตัณหา ๑๐๑ อาการของภิกษุผูมีปรกติอยูดวยความ-ประมาท ๖๐๐ อาการที่ยุงยากที่สุดของปฏิจจสมุปบาท ๑๐๑ อาการลิงคนิมิตอุเทศ ๗๘๘ อาการ ๔อยางๆ ของปฏิจจสมุปบาท-แตละอาการ ๓๔๙ อาการแหงอนิจจังโดยละเอียด ๒๙๒ อาการสานัญจายตนะ๔๑๒ อากิญจัญญายตนะ ๔๑๒ อาคติคติ(การมาและการไป)๖๕๙ อาชีพต่ําที่สุดในบรรดาอาชีพทั้งหลาย ๑๔๑ อาทีนวะ ๑๓๙

๘๗๗ อาทีนวะ(โทษ)ของเวทนา ๓๔๓ อาทีนวะแหงรูป ๓๓๘ อาทีนวะแหงวิญญาณ ๓๔๑ อาทีนวะแหงสังขาร ๓๔๑ อาทีนวะแหงสัญญา ๓๔๐ อานิสงสของการถึงพรอมดวยทัสสน-ทิฏฐิ๔๓๕ อานิสงสของการเห็นผัสสายตนะ๖ -โดยอาการ ๕ ๕๑๐ อานิสงส ๗ประการของสัมโพชฌงค ๒๘๑ อานิสงสสูงสุดของการพิจารณา-ปฏิจจสมุปบาทอยางถูกวิธี๔๔๔ อานิสงสสูงสุด(อนุปาทิเสสนิพพาน) ๔๔๔ อาภัสสรพรหม ๔๑๒ อายตนกุสลตา-ความเปนผูฉลาดใน-อายตนะ ๘๑๒ อายตนะทั้งหลายหกอันเปนภายนอก ๔๘๘ อายตนะทั้งหลายหกอันเปนภายใน ๔๘๘ อายตนะ(ปจจัยโดยตรงแหงสุขและ-ทุกขในภายใน) ๑๖๓ อายตนะภายนอก ๒๐๗ อายตนะภายใน ๒๐๗ อายตนะยังไมทําหนาที่ ๒๐๗ อารมณเพื่อการตั้งอยูแหงวิญญาณ ๑๖๖ อารมณ ๕ ประการหาใชกามไม ๒๗๑ อารมณอันวิจิตรทั้งหลายในโลก ๒๗๑ อารัมมณเจตน-ปกัปปน-อนุสยะ ๕๖๙ อารัมมณลาภนานัตตะ ๕๘๕

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๘๗๘ อารุปปวิโมกข ๓๖๒/๓๖๖ อาศํยวิโมกขอยางไหนทานจึงพยากรณ-อรหัตตผล ๗๕ อาสวะเกิดขึ้นเพราะกายสมารัมภะ๒๐๒ อาสวะเกิดขึ้นเพราะมโนสมารัมภะ ๒๐๓ อาสวะเกิดขึ้นเพราะวจีสมารัมภะ ๒๐๓ อาสวะเกิดขึ้นเพราะอวิชชา๒๐๔ อาสวะสิ้นไปโดยลําดับไมมีระหวางขั้น ๑๙๓ อาหารของภวตัณหา ๖๒๖ อาหารของวิชชาและวิมุตติ ๖๒๘ อาหารของอวิชชา ๖๒๒ อาหารมีตัณหาเปนตนเหตุ๕๗๕ อาหาร๔ ๖๕ อาหารสี่โดยอุปมา ๓๒๓ อาหรสี่เพื่อภูตสัตวและสัมภเวสีสัตว ๕๗๗ อิทธิบาทถึงซึ่งความเต็มรอบ ๓๓๖ อิทัปปจจยตา ๓๕/๔๔ อิทัปปจจยตาปฏิจจสมุปบาท ๔๔ อิทปฺปจฺจยตาปฏิจฺจสมุปฺปาโท ๕๓ อิทัปปจจยตาฝายเกิด ๔๙๔ อิทัปปจจยตาฝายดับ ๔๙๗ อินทรียคือกาย ๑๖๔ อินทรียคือจมูก ๑๖๔ อินทรียคือตา ๑๖๔ อินทรียคือลิ้น ๑๖๔ อินทรียคือหู ๑๖๔ อินทรียถึงซึ่งความเต็มรอบ ๓๓๖

ปฏิจจ ฯจากพระโอษฐ อินทรียทั้งหลาย ๕ ประการ ๑๖๕ อินทรียแลนไปสูใจ ๖๓๖ อินทรียสังวรของผูมีหิริและโอตตัปปะ-อันวิบัติแลว ๖๔๘ อินทรียสังวร(พิเศษอีกนัยหนึ่ง) ๖๓๒ อิศวรเปนผูสรางเปนผูจัดสรร(สิ่งทั้งปวง) ๗๓๖ อิสสาและมัจฉริยะ๖๑๒ อิสสาและมัจฉริยมีสิ่งเปนที่รักและสิ่งไม-เปนที่รัก(ปยาปฺปย) เปนนิทาน ๖๑๓ อุจเฉททิฏฐิ๑๙๗ อุจเฉททิฏฐิ๗ ๘๕๘ อุจเฉททิฏฐิ(ทั่วไป) ๖๙๓ อุจเฉททิฏฐิ(ธรรมดา) ๓๘๖ อุจเฉททิฏฐินั้นเปนสังขาร ๑๙๗ อุจเฉทะ(ทิฏฐิที่ถือวาขาดสูญ) ๖๖๙ อุดมบุรุษ ๔๕๑ อุดมบุรุษในธรรมวินัยนี้ ๔๕๑ อุทธังโสโตอกนิฏฐคามี(อนาคามี) ๒๘๑ อุทานในปฐมยามแหงราตรี ๗ อุทานในปจจฉิมยามแหงราตรี ๑๐ อุทานในมัชชฌิมยามแหงราตรี ๙ อุบายเครื่องปลดเปลื้องซึ่งทุกขเวทนา ๕๒๘ อุบายเครื่องปลดเปลื้องซึ่งทุกขเวทนา-ซึ่งเปนอุบายอื่นนอกจากกามสุข ๕๒๙ อุบายอื่นนอกจากกามสุข ๕๒๙

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๘๗๙ อุเบกขาสัมโพชฌงค ๒๘๑ อุปธิมีตัณหาเปนเหตุใหเกิด ๓๐๗

www.buddhadasa.info

๘๗๙

www.buddhadasa.info


ปทานุกรม

๘๗๙

อุปริกขีในปฏิจจสมุปบาท ๔๕๑ อุปปชชะ ๑๓๒ อุปมาของปยรูปสาตรูป ๓๑๑ อุปมาแสงอาทิตยสองเขาไปทางชอง-หนาตาง ๓๓๒ อุปมาเหมือนนักโทษถูกประหาร ๓๒๗ อุปมาเหมือนเนื้อบุตร ๓๒๔ อุปมาเหมือนเมื่อมีน้ํายอม(สี) ครบ ๓๒๙ อุปมาเหมือนแมโคนมที่ปราศจากหนัง-หอหุม ๓๒๕ อุปมาเหมือนหลุมถานเพลิง ๓๒๕ อุปมาแหงการทําลายไมใหเหลือเชื้อ ๓๗๗ อุปสรรคทั้งหลาย ๔๕๒ อุปหัจจปรินิพานยี(อนาคามี) ๒๘๑ อุปททวะทั้งหลาย ๔๕๒ อุปาทาน ๒๗/๘๔ อุปาทานของกุมาร ๑๕๑ อุปาทานขันธทั้ง ๕ ๑๖๔ อุปาทานเขามายอมทําใหภพเขามา ๔๑ “อุปาทานคือธรรมเปนที่เขาไปตั้ง-อาศัยของภพ” ๖๑๙ อุปทานทั้งหลาย ๔ อยาง ๑๘๓

“อุปาทานเปนสิ่งที่เรารอบรูแลว-เพื่อความหลุดพน’ ๓๔๙ “อุปาทานเปนสิ่งที่เรารอบรูแลว-เพื่อความหลุดพน(วิโมกฺข)” ๓๔๗ อุปาทานมีตัณหาเปนที่เขาไปตั้งอาศัย ๖๒๑ อุปาทานมีตัณหาเปนเหตุใหเกิด ๗๔ “อุปาทานมีเพราะปจจัยคือตัณหา” ๓๒ อุปาทาน๔ อยางมีตัณหาเปนเหตุใหเกิด ๑๘๕ อุปาทานออกไปยอมทําใหภพออกไป ๔๒ อุปายุปาทานาภินิเวสวินิพนฺโธ ๖๖๖ อุสโสฬหีเพื่อใหรูในชรามรณะ ๒๔๙ เอกภาวะ(เอกตฺตํ) ๔๑๓ เอกัจจสัสสสติก-เอกัจจอสัสสติกทิฏฐิ ๔ ๗๓๖ เอกันตทุกขีอัตตทิฏฐิ ๗๑๔ เอกันตสุขีอัตตาทิฏฐิ๗๑๔ เอสิกัฏฐายิกฏฐิตสัสสตทิฏฐิ ๖๙๐ ไออุนทีเกิดเพราะการเสียดสีระหวาง-ไมสองอัน ๔๐ ไออุนทีหมอนั้นระงับหายไปกระเบื้อง -ทั้งหลายก็เหลืออยู ๔๔๘

www.buddhadasa.info

------------------------

www.buddhadasa.info


ลําดับหมวดธรรม ในหนังสือปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ (เรียงลําดับจากนอยไปหามากและตามลําดับอักษร) (จํานวน๑,๔๑๔ หมวด) ---------------------

๑ กพฬีการาหาร (มีเนื้อบุตรเปนอุปมา) หนึ่ง ๓๒๓ กรรมมีแดนเกิดและดับในอัตตภาพนี้(ที่ธรรมคือผัสสะ) หนึ่ง ๒๗๗ กรรมมีนิทานสัมภวะ (คือผัสสะ) หนึ่ง ๒๗๖ กรรมมีนิโรธคามินีปฏิปทา(คืออริยัฏฐังคิกมรรค) หนึ่ง ๒๗๗ กรรมมีนิโรธ(เพราะความดับแหงธรรมคือผัสสะ) หนึ่ง ๒๗๗ กรรมสามบูดเนาเพราะเหตุแหงธรรม(:การเปยกแฉะแหงตัวเอง)หนึ่ง ๕๘๐ กรรมสามเปยกแฉะเพราะเหตุขาดธรรม(คือการรักษา) หนึ่ง ๕๘๐ กรรมสามไมไดรับการรักษาเพราะไมมีการรักษาแหงธรรม(คือจิต)หนึ่ง ๕๗๙ กามแทของคนเรา(คือสังกัปปราคะ)หนึ่ง ๒๗๑ กามภพมีไมไดเพราะไมมีธรรม(:กรรมมีกามธาตุเปนวิบาก) หนึ่ง ๗๙๑/๗๙๒ กามมีนิทานสัมภวะ(คือผัสสะ) หนึ่ง ๒๗๒ กามมีนิโรธคามินีปฏิปทา(คืออริยัฏฐังคิกมรรค) หนึ่ง ๒๗๒ กามมีนิโรธ (เพราะความดับแหงธรรมคือผัสสะ) หนึ่ง ๒๗๒ การกําหนดรูกพฬีการาหารเปนเหตุแหงการกําหนดรู(ราคะจากกามคุณ)หนึ่ง ๓๒๔

www.buddhadasa.info

๘๘๑

www.buddhadasa.info


๘๘๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ

การกําหนดรูผัสสาหารเปนเหตุแหการกําหนดรู(เวทนาสาม) หนึ่ง ๓๒๕ การกําหนดรูมโนสัญเจตนาหารเปนเหตุแหงการกําหนดรู(ตัณหาสาม) หนึ่ง ๓๒๕ การกําหนดรูวิญญาณาหารเหตุแหงการกําหนดรู(นามรูป) หนึ่ง ๓๒๗ “การกินเนื้อบุตร”เพราะเหตุ(:เพียงเพื่อการขามทะเลทราย) หนึ่ง ๓๒๔ การเกิดขึ้นแหงรูปมีเพราะการเกิดขึ้นแหงธรรม(:อาหาร) หนึ่ง ๓๓๘ การเกิดขึ้นแหงวิญญาณมีเพราะธรรม(:การเกิดขึ้นแหงนามรูป)หนึ่ง ๓๔๑ การเกิดแหงโลกคือการเกิดแหงกระแสธรรม(: ปฏิจจฯ) หนึ่ง ๑๗๓ การเกิดแหงโลกคือการเกิดแหง (ในภายใน) หนึ่ง ๒๑๖ การจับฉวย(ดวยทิฏฐิ) ไมมีเพราะเหตุแหงธรรม หนึ่ง ๑๖๕ การดับแหงโลกคือการดับแหงกระแสธรรม (:ปฏิจจ) หนึ่ง ๑๗๕/๒๒๗ การติดพันอยูในเวทนาคือการติดพันอยูในกองทุกข หนึ่ง ๕๒๘ การทรงแสดงธรรมมีความงามทามกลางคือแสดงการเกิดแหงสักกายะ ท. หนึ่ง ๔๙๑ การทรงแสดงธรรมมีความงามเบื้องปลายคือแสดงการดับแหงสักกายะ ท.หนึ่ง ๔๙๒ การทะเลาะวิวาท (ทุกรูปแบบ) สิ้นสุดลงโดยสิ้นเชิงตอเมื่อลุถึงธรรม-(: อรหันตภาวะ) หนึ่ง๕๙๗ การทําการศึกษาตอไปคือหนาที่ของผูยังไมรูปฏิจจฯ หนึ่ง ๒๔๖ การบําเพ็ญความไมประมาทตอไปคือหนาที่ของผูยังไมรูปฏิจจฯ หนึ่ง ๒๕๖ การบําเพ็ญโยคะตอไปคือหนาที่ของผูยังไมรูปฏิจจ ฯ หนึ่ง ๒๔๗ การบําเพ็ญอัปปฏิวาณีตอไปคือหนาที่ของผูยังไมรูปฏิจจฯ หนึ่ง ๒๕๐ การบําเพ็ญอุสโสฬหีตอไปคือหนาที่ของผูไมรูปฏิจจฯ หนึ่ง ๒๔๙ การประกอบการกระทําอันติดตอตอไปคือหนาที่ของผูยังไมรูปฏิจจฯ หนึ่ง ๒๕๓ การประกอบความเพียรแผดเผากิเลสตอไปคือหนาที่ของผูยังไมรูปฏิจจฯ หนึ่ง๒๕๑ การประกอบฉันทะตอไปคือหนาที่ของผูยังไมรูปฏิจจฯ หนึ่ง ๒๔๘ การประกอบวิริยะตอไปคือหนาที่ของผูยังไมรูปฏิจจฯ หนึ่ง ๒๕๒ การพิจารณาปฏิจจฯ คือการพิจารณาปจจัยในภายใน (ชนิด) หนึ่ง ๓๐๖ การพิจารณาปฏิจจฯ อยางถูกวิธีมีอานิสงสสูงสุด(: อนุปาทิเสสนิพพาน) หนึ่ง๔๔๔ การไมติดพันอยูในเวทนาคือการไมติดพันอยูในกองทุกข หนึ่ง ๕๒๙

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ลําดับหมวดธรรม

๘๘๓

การไมทรงจับฉวยสิ่งที่ทรงรูยิ่ง (เพราะทราบเวทนาโดยอาการหา) มีผล-(:นิพพุติ) หนึ่ง ๗๓๕/ฯลฯ การไมปรินิพพานเฉพาะตนเพราะเหตุแหงธรรม หนึ่ง ๑๘๗ การรูยิ่งซึ่งธรรมทั้งปวงคือรู (เพียงขอเดียว) วา “ไมควรยึดมั่น” หนึ่ง ๒๘๙ การแลนไปสูสัสสตทิฏฐิมีไดดวยความมั่นหมายและวาทะ(ฝายที่กลาววา “เอง”) -หนึ่ง๖๖๙ การแลนไปสูอุจเฉททิฏฐิมีไดดวยความมั่นหมายและวาทะ (ฝายที่กลาววา “อื่น”)-หนึ่ง๖๖๙ การสิ้นกรรมแทจริงมีในกระแสปฏิจจฯ ฝายนิโรธวาร หนึ่ง ๒๐๖ การแสดงที่มุงตรงไปยังการบรรลุนิพพานคือสิ่งที่ทรงพยากรณเสมอ หนึ่ง ๔๘๕ การแสวงหาครูตอไปคือหนาของผูยังไมรูปฏิจจฯ หนึ่ง ๒๔๕ การหลีกเรนคือธรรมทําความงายแกการรูปฏิจจฯ หนึ่ง ๒๕๘ การหายตาบอดอยางกระทันหันในขณะสักวาพอเห็นธรรม(:ปฏิจจฯ) หนึ่ง ๔๒๒ การเห็นถูกตอปยรูปสาตรูปอุปมาดวยการไมหลงดื่มยาพิษ ที่มีลักษณะชวนดื่ม-หนึ่ง๓๑๔ การเห็นธรรมที่เปนการเห็นตถาคตคือเห็นปฏิจจฯ หนึ่ง ๒๑๓ การเห็นนิพพานมีไดพรอมกับการเกิดแหงธรรม(:ธรรมจักษุ) หนึ่ง ๔๒๓ การเห็นผัสสายตนะโดยอนัตตลักษณะสามมีผล (:ทําที่สุดทุกขได) หนึ่ง ๕๑๐ การเห็นผัสสายตนะโดยอนัตตลักษณะสามมีผล (:ทําใหละผัสสายตนะได) หนึ่ง ๕๑๐ การเห็นผิดตอปยรูปสาตรูปอุปมาดวยการดื่มยาพิษทีมีลักษณะแหงเครื่องดื่ม-ที่ชวนดื่ม หนึ่ง๓๑๑ การเห็ น สิ่ ง ต า งๆ ของผู ห ายจากตาบอดแต กํ า เนิ ด เป น อุ ป มาของการเกิ ด ธรรมจักษุ-หนึ่ง ๔๒๓ การอธิษฐานจิตเพื่อความเพียรตองตั้งเปาหมายดวยการเหลือแตหนังหุมกระดูก-เปนเดิมพัน หนึ่ง๔๘๗ การอบรมสติตอไปคือหนาที่ของผูยังไมรูปฏิจจฯ หนึ่ง ๒๕๔ การอบรมสัมปชัญญะตอไปคือหนาที่ของผูยังไมรูปฏิจจฯ หนึ่ง ๒๕๕

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๘๘๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ

“เกพลี”คือ “ผูจบกิจอันบุคคลพึงกระทํา” หนึ่ง ๓๓๙/๔๕๑ “เกพลี” คือไวพจนพิเศษ (ของผูพนวิเศษแลว) หนึ่ง ๓๓๙ ขึ้นชื่อวา “การปรุงแตง” แลวลวนแตเปนไปตามอํานาจแหงธรรม(คืออวิชชา)-หนึ่ง๔๔๗ คนพาลและบัณฑิตตางกันเพราะธรรม(:ความมุงหมายแหงพรหมจรรย) หนึ่ง ๓๙๒ คนเราจิตยุงเพราะไมรูธรรม (:ปฏิจจฯ) หนึ่ง ๑๕/๓๒/๕๓/๓๗๖ คนเราไมปรินิพพานในปจจุบันเพราะเหตุแหงธรรม หนึ่ง ๑๗ ความเกิดขึ้นหรือดับไปแหงทุกข (อีกนัยหนึ่ง) มีเพราะธรรม (คือนันทิ) หนึ่ง ๕๗๔ ความคิดยึดครองมีขึ้นเพราะเหตุแหงธรรม( :ความอยาก) หนึ่ง ๕๙๖ ความฉลาด๔ประการซึ่งมีใจความเนื่องเปนความฉลาดอันเดียวกัน หนึ่ง ๔๕๕ ความดับแหงรูปมีเพราะความดับแหงธรรม(:อาหาร) หนึ่ง ๓๓๘ ความดับแหงวิญญาณมีเพราะธรรม(:ความดับแหงนามรูป) หนึ่ง ๓๔๑ ความถึงทับจับฉวย (ดวยทิฏฐิ) มีเพราะการกระทบของธรรม หนึ่ง ๑๖๕ ความเบื่อหนายเกิดเพราะเห็นเวทนาเปนเพียงผลแหงปจจยาการ แหง ๓๔๖ ความเปนบัณฑิตคือภาวะอันหนึ่งซึ่งทรงชักชวน หนึ่ง ๔๕๓ ความเปนผูหาโทษมิไดขึ้นอยูกับสัมมาทิฏฐิตอธรรม หนึ่ง ๑๔๓ ความเพียรใดๆ ก็ตามตองอิงอาศัยธรรม(: ยถาภูตสัมมัปปญญา) หนึ่ง ๒๘๗ ความเพียรปรารภขันธหาก็ยังตองเปนไปตามวิธีการณแหงธรรม(:ปฏิจจฯ) หนึ่ง ๒๘๖ ความมั่นหมายในสิ่งทั้งปวงหยุดไดเพาระเห็นปฏิจจฯ อาการทีสําคัญหนึ่ง ๔๑๐ ความมืดอันใหญหลวง (ไมมีอะไรยิ่งกวา) คืออวิชชา หนึ่ง ๕๕๒ ความไมสะดุงยอมมีเพราะเหตุ (: อนุปาทาน) หนึ่ง ๓๐๓ ความยินดีและไมยินดี (ตามวิสัยโลก) เปนปจจัยแหงฉันทะ (วิสัยโลก)หนึ่ง ๕๙๕ ความยึดถือวา “ของเรา” ไมมีเพราะความไมมีแหงธรรม (: ความอยาก) หนึ่ง ๕๙๖ ความรอบรู (ปริชานนํ) เปนเหตุใหเห็นสิ่งทั้งปวงโดยประการอื่น (จากปุถุชนเห็น)-หนึ่ง๒๙๐ ความรูแจง(พิเศษ) เกี่ยวกับวิญญาณและนามรูป หนึ่ง ๔๖๓/๕๖๑/๕๖๖ ความรูแจง(พิเศษ) เกี่ยวกับหนทางเพื่อการตรัสรูหนึ่ง ๔๖๕/๕๖๓/๕๖๘

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ลําดับหมวดธรรม

๘๘๕

ความรูผิดตอธรรมยี่สิบสี่โดยอาการหก มีขึ้นเพราะเหตุแหงธรรม หนึ่ง๔๑๑–๔๑๓ ความรูยิ่ง (อภิชานนํ) เปนเหตุใหเกิดความรอบรู(ปริชานนํ) หนึ่ง ๒๙๐ ความรูเริ่มถูกยิ่งขึ้นตอธรรมยี่สิบสี่โดยอาการหกเพราะเหตุแหงธรรม หนึ่ง ๔๑๓–๔๑๕ ความรูสึกฝายยินดีหรือฝายไมยินดีลวนแตเกิดขึ้นจากธรรม(:ผัสสะ) หนึ่ง ๕๙๖ ความรูสึกฝายยินดีหรือฝายไมยินดีลวนแนไมเกิดเมื่อไมมีธรรม (:ผัสสะ) หนึ่ง๕๙๖ ความรูอันสมบูรณเกี่ยวกับผัสสายตนะทําใหตัดกระแสแหงปฏิจจฯได หนึ่ง ๕๑๐ ความสะดุงยอมมีเพราะเหตุ(:อุปาทาน) หนึ่ง ๓๐๐ ความสิ้นทุกขโดยชอบมีไวพจน(อีกอยางหนึ่ง) คือความดับไมเหลือแหงอุปธิ หนึ่ง๓๐๗ คําถามที่ไมทรงตอบอีกประเภทหนึ่ง (คําถามกระทบกระเทียบ) หนึ่ง ๔๘๔ คําแปลกพิเศษ (เกพลี) ในพุทธศาสนาที่ควรที่ควรสนใจเปนพิเศษ หนึ่ง ๔๕๒ เคล็ดลับแหงการใครครวญเพื่อปดกั้นการกอขึ้นแหงกองทุกข หนึ่ง ๒๙๔/๓๐๕ เงื่อนตนอยางยิ่งของพรหมจรรย (:ปฏิจจฯ) หนึ่ง ๑๗/๒๔๕/ฯลฯ จิตเปนสมาธิแลวมีผลเฉพาะโดยอัตโนมัติ หนึ่ง ๑๒๗ จิตยุงเพราะเหตุ(:ไมรูปฏิจจฯ) หนึ่ง ๑๕/๓๒/๕๓/๓๗๖ จิตสัตวยุงเปนปมเพราะไมเห็นแจงธรรม(คือปฏิจจฯ) หนึ่ง ๑๕/๓๒/๕๓/๓๗๕ ใจมีปฏิสรณะ (สําหรับแลนไปหา) คือธรรม (:สติ) หนึ่ง ๖๓๕ ฉันทะคือธรรม (ที่พึงนําออกเสียจากกามคุณ) หนึ่ง ๒๗๑ ฉันทะคือธรรม (:วิตก) ที่เปนเหตุ (นิทาน) หนึ่ง ๖๑๓ ตนเงื่อนของปฏิจจฯ ละไปเพราะเห็นแจงธรรม (:อนิจจัง) หนึ่ง ๒๙๑ ตนเงื่อนของปฏิจจฯ ละไปเพราะเห็นแจงธรรม (:อนุปาทาน) หนึ่ง ๒๘๙ ตัณหาเกิดขึ้นเมื่อมีการกอขึ้นตนแหงธรรม หนึ่ง ๑๖๗ ตัณหาเจริญทั่วถึงเพราะหลงอัสสาทะแหง (สัญโญชนิยะ) ธรรม หนึ่ง ๒๑๙ ตัณหาเจริญทั่วถึงเพราะหลงอัสสาทะแหง(อุปาทานิยะ) ธรรม หนึ่ง ๒๑๘/๓๗๖ ตัณหาเจริญอยางทั่วถึงเพราะหลงเห็นเปนอัสสาทะใน(อุปาทานิยา) ธรรม หนึ่ง ๒๑๘/๓๗๖ ตัณหาดับเพราะเห็นเปนอาทีนวะใน (อุปาทานิยะ) ธรรม หนึ่ง ๒๓๑/๓๗๗ ตัณหาดับเพราะเห็นอาทีนวะแหง (สัญโญชนิยะ) ธรรม หนึ่ง ๒๓๓

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๘๘๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ

ตัณหาทําหนาที่ถึงที่สุดเมื่อมีการกอเกิดแหงธรรม(อุปาทานขันธ) หนึ่ง ๒๑๓ ตัณหายอมละไปเมื่อไมมีการกอเกิดแหงธรรม (อุปาทานขันธ) หนึ่ง ๓๓๕ ตัวการปฏิบัติโดยตรง (ในกรณีปฏิจจฯ) ตั้งตนดวยธรรม (สติในขณะสัมผัส) หนึ่ง๕๑๔ ทางลัดพิเศษแหงอัฏฐังคิกมรรคือการคิดคนปฏิจจฯ หนึ่ง ๒๖๒ ทิฏฐิ ท. บรรดามีมิวาชนิดใดชนิดหนึ่งดับไปเพราะดับแหงธรรม (อวิชชา) หนึ่ง ๖๘๕ ทิฏฐิ(มิจฉา) ท. อยูรวมกันไมไดกับธรรม (ปฏิจจฯ) หนึ่ง ๗๐๓/ฯลฯ ทิฏฐิหกสิบสองมีปจจัยคือธรรม (ผัสสะ) หนึ่ง ๗๑๙ ที่สุดแหงความทุกข (ในความหมายพิเศษอีกความหมาย) หนึ่ง ๔๕๑ ที่สุดแหงปฏิจจฯ คือที่สุดแหงภพ (หรือนิพพาน) หนึ่ง ๘๐๒ ที่สุดแหงอนุสัยมีขึ้นมาเพราะความไมมแี หงอารมณเพื่อปปญจสัญญา หนึ่ง ๖๐๕ ทุกขเกิด (อีกนัยหนึ่ง) เพราะหลงอัสสาทะแหงธรรม (:สัญโญชนิยธรรม) หนึ่ง ๒๑๙ ทุกขเกิด (อีกนัยหนึ่ง) เพราะหลงอัสสาทะแหงธรรม (:อุปาทานนิยธรรม) หนึ่ง ๒๑๘ ทุกขดับในขณะที่ตัณหาดับในธรรม หนึ่ง ๑๐๑ ทุกขดับ (อีกนัยหนึ่ง) เพราะเห็นอาทีนวะแหงธรรม (:สัญโญชนิยธรรม) หนึ่ง ๒๓๓ ทุกขดับ (อีกนัยหนึ่ง เพราะเห็นอาทีนวะแหงธรรม (:อุปาทานิยธรรม ) หนึ่ง ๒๓๑ ทุกข ท. ในทุกขสัจสรุปลงในธรรม หนึ่ง ๘๒/๑๑๕ ทุกขสมุทัย (พิเศ) ไดแกธรรม (คืออุปธิ) หนึ่ง ๓๐๗ โทษ (แหงการไมรูธรรมลักษณะหาของผัสสายตนะหก) อันรายกาจ หนึ่ง ๕๐๙ ธรรมเครื่องรึงรัดสัตวเหมือนหมุดสลัก หนึ่ง ๑๓๗ ธรรม (ซึ่งเปนตัวกรรมอันแทจริง )คือ เจตนา หนึ่ง ๒๗๖ ธรรมดาสัตวโลกตกลงใจ (ในเรื่องไดเสีย) กันแตในแงของ (วัตถุ) ธรรม หนึ่ง ๕๙๕ “ธรรมทั้งปวงไมควรยึดมั่น” คือประมวลหลักสุตะในพุทธศาสนา หนึ่ง ๒๘๙ ธรรมที่จําเปนเกี่ยวกับปฏิจจฯ ในชีวิตประจําวัน หนึ่ง ๒๕๘ ธรรม (ที่ทรงแนะนําในการทําประโยชนสามใหถึงพรอม) คือความไมประมาท -หนึ่ง ๔๘๘ ธรรมที่เปนตัวการสําคัญที่สุดแตรูจักกันนอยที่สุด (คือผัสสะ) หนึ่ง ๒๗๘

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ลําดับหมวดธรรม

๘๘๗

ธรรมที่ไมเคยทรงฟงมาแตกอน (ในกรณีปฏิจจฯ นิโรธวาร) หนึ่ง ๔๖๖/๔๗๔/๔๗๙/ ๔๖๔/๔๖๙ ธรรมที่ไมเคยทรงฟงมาแตกอน(ในกรณีแหงปฏิจจฯ สมุทยวาร) หนึ่ง ๔๖๔/๔๗๑/ ๔๗๗/๕๖๑/๕๖๖ ธรรมที่สามารถดับอกุศลวิตกสาม หนึ่ง ๑๔๒ ธรรมเปน “เครื่องสนุกสนานชอบใจ” ของตถาคต ( :ผลแหงวิชชาและวิมุตติ) หนึ่ง ๖๓๑ ธรรมเปนจุดตั้งตนของปฏิจจฯ หนึ่ง ๑๕๖ ธรรมเปนจุดตั้งตนอันแทจริงของปฏิจจฯ(คืออวิชชาสัมผัส) หนึ่ง ๑๖๓ ธรรมสาม(:สิ่งรัก-ความหวัง-ความสมหวัง) เกิดจากธรรม (ฉันทะ) หนึ่ง ๕๙๕ ธรรมหนึ่ง (อวิชชา) ละไปธรรมหนึ่ง(วิชชา) ยอมเกิดขึ้น หนึ่ง ๒๘๙ ธรรมเอกที่ทรงแสดงเพื่อขจัดความรูสึกวามีบุคคล (:ปฏิจจฯ ) หนึ่ง ๖๕/๗๙๙ นติ (ตัณหา) มีเมื่อมีการตั้งขึ้นงอกงามแหงธรรม (:วิญญาณ ) หนึ่ง ๑๖๘ นัตถิตา (ทิฏฐิ) ไมมีแกผูเห็นตามเปนจริงซึ่งธรรม (โลกสมุทัย) หนึ่ง ๖๖๖ นันทิ (ทุกชนิด) เปนมูลแหงความทุกข (ในความหมายพิเศษ) หนึ่ง ๔๒๑ นามรูปกาวลงเมื่อมีการกอขึ้นแหงธรรม หนึ่ง ๑๖๖ นามรูปหยั่งลง(สูความมี) เพราะหลงอัสาทะแหง (สัญโญชนิยะ) ธรรม หนึ่ง ๑๓๘ นามรูปไมหยั่งลง (สูความมี เพราะเห็นอาทีนวะแหงธรรม หนึ่ง ๑๓๙ นิมิต (ที่ประจําอยูในสิ่งทั้งปวง) คือสิ่งตบตาสําหรับปุถุชน หนึ่ง ๒๙๐ บัณฑิตแมกระหายสุดขีดก็ไมยอมดื่มน้ําเจือดวยโทษทั้งที่อาจแกไขไดทีหลัง-(เปนลักษณะ) หนึ่ง ๓๑๔ บุคคลมีความเปนตางๆ เพราะธรรมเพียงหนึ่งเดียว หนึ่ง ๑๓๗ เบื้องตนอยางยิ่งของพรหมจรรย (:ปฏิจจฯ )หนึ่ง ๑๗/๒๔๕/ฯลฯ (ปฏิฆะ) สัมผัสไมมีเพราะความไมมีแหงธรรม (: รูปธรรม) หนึ่ง ๕๙๖ ปฏิฆานุสัยยอมนอนตามเพราะเหตุแหงธรรม (คือปฏิฆะในทุกขเวทนา) หนึ่ง ๑๘๘/๕๒๗ ปฏิฆานุสัยยอมไมนอนตามเพราะเหตุแหงธรรม (คือไมมีปฏิฆะในทุกขเวทนา)-หนึ่ง ๓๔๓/๕๒๗ ปฏิจจฯ ดับลงเมื่อมีการดับแหงธรรม (:นันทิ) หนึ่ง ๑๒๙ ปฏิจจ ฯ ตั้งตนเมื่อมีการทําหนาที่ทางอายตนะแหงธรรม หนึ่ง ๒๑๓

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๘๘๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ

ปฏิจจฯเปนเรื่องที่ทรงย้ําพิเศษเพื่อการปฏิบัติหนึ่ง ๒๕๗ ปฏิจจฯ เปนสิ่งที่ตองเห็นดวย (ยถาภูตสัมมัป) ปญญา หนึ่ง ๒๘๒/๔๒๔ ปฏิจจฯ ฝายนิโรธวารตรัสวาสัมมาปฏิปทา หนึ่ง ๒๕๘ ปฏิจจฯฝายสมุทยวารตรัสวามิจฉาปฏิปทา หนึ่ง ๒๕๗ ปฏิจจฯมีขึ้นเมื่อมีการเกิดแหงธรรม( :นันทิ) หนึ่ง ๒๑๗ ปฏิจจฯ และปฏิจจสมุปปนนธรรมเปนสิ่งที่ตองเห็นชัดดวย (ยถาภูตสัมมัป) ปญญา-หนึ่ง ๔๒๕ ปฏิจจฯสลายตัวเมื่อรูเทาทันธรรม (อันเปนที่ตั้งแหงอุปาทาน) หนึ่ง ๓๔๖ ปฏิจจฯ อาการหนึ่งที่มีอาการยุงยากที่สุด (:อาการของตัณหา) หนึ่ง ๑๐๑ ปปญจสังขามีแดนเกิดจากธรรม (:สัญญา ) หนึ่ง ๕๙๖ ปจจัยแหงชรามรณะ (:ชาติ) หนึ่ง ๖/๓๒/๔๙๒/ฯลฯ ปจจัยแหงชาติ (:ภพ) หนึ่ง ๖/๓๒/๔๙๓/ฯลฯ ปจจัยแหงตัณหา(:เวทนา) หนึ่ง ๖/๓๓/๔๙๓/ฯลฯ ปจจัยแหงนามรูป (:วิญญาณ) หนึ่ง ๖/๓๓/๔๙๓/ฯลฯ ปจจัยแหงผัสสะ (:สฬายตนะ) หนึ่ง ๖/๔๙๓/ฯลฯ ปจจัยแงผัสสะ (อีกนัยหนึ่ง) (คือนามรูป) หนึ่ง ๓๓/๗๘๘ ปจจัยแหงภพ (:อุปาทาน) หนึ่ง ๖/๓๒/๔๙๓/ฯลฯ ปจจัยแหงวิญญาณ (:สังขาร) หนึ่ง ๖/๔๙๔ ปจจัยแหงวิญญาณอ (อีกนัยหนึ่ง) (คือนามรูป) หนึ่ง ๓๓/๗๙๐ ปจจัยแหงเวทนา (:ผัสสะ) หนึ่ง ๖/๓๓/๔๙๓/ฯลฯ ปจจัยแหงสังขาร (:อวิชชา) หนึ่ง ๖/๔๙๔/ฯลฯ ปจจัยแหงสุขทุกขสี่ไมมีเพราะความดับแหงธรรม (:อวิชชา) หนึ่ง ๑๖๒ ปจจัยแหงอุปาทาน (:ตัณหา ) หนึ่ง ๖/๓๒/๔๙๓/ฯลฯ ปญจุปาทานขันเกิดเพราะมีการทําหนาที่สมบูรณแหงธรรม(: สมันนาหารจิต) -หนึ่ง ๒๐๘ ปญจุปาทานขันธไมอาจเกิดเพราะรูทันธรรม (:เวทนา) ในปฏิจจฯ หนึ่ง ๓๓๕ ปญจุปาทานขันธยังไมเกิดเพราะยังไมมีการทําหนาที่สมบูรณแหงธรรม-(:สมันนาหารจิต) หนึ่ง๒๐๘

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ลําดับหมวดธรรม

๘๘๙

ปญหาเตลิดไมมีที่สุด (เกี่ยวกับนิพพาน) คือการถามถึงธรรม (ที่ซึ่งนิพพานจะแลนไป)-หนึ่ง ๖๓๕ ปยรูปสาตรูปมีอํานาจลึกลับ(ถึงกับทําใหเห็นยาพิษเปนเครื่องดื่ม) หนึ่ง ๓๑๑ ปุถุชนประสบทุกขเวทนาจักหวนระลึกถึงแตธรรม (คือกามสุข) หนึ่ง ๕๒๗ ปุถุชนไมรูอุบายอื่นที่จะปลดเปลื้องทุกขเวทนา,นอกจากธรรม(กรมสุข)หนึ่ง ๕๒๘ ปุถุชนเสวยเวทนาใดยอมติดพันอยูในเวทนานั้น (ตางจากอริยสาวก) หนึ่ง ๕๒๘ ผลแหงพรหมจรรย (ตรัสอีกโวหารหนึ่ง) เพื่อธรรม(:การละขาดซึ่งภพ) หนึ่ง ๘๐๓ ผัสสะคือธรรมที่เปนนิทานสัมภวะ (ของนิพเพธิกธรรมสวนมาก) หนึ่ง ๒๖๙ ผัสสะ(ในความหมายพิเศษ) ตรัสวามีเพราะปจจัย (คือนามรูป) หนึ่ง ๗๘๘ ผัสสะเปนตัวการสําคัญในกระแสแหงปฏิจจฯ ทั้งสิ้น หนึ่ง ๒๗๘ ผัสสาหาร (มีโคปราศจากหนังหุมเปนอุปมา) หนึ่ง ๓๒๔ “ผู” ที่หลอกลวงเราอยางลึกซึ้งและนานแสนนาน หนึ่ง ๔๒๓ ผูบรรลุนิพพานในปจจุบันคือผูเสร็จกิจในธรรม (คือปฏิจจฯ) หนึ่ง ๔๔๑/๕๒๐–๕๒๖ ผูปฏิบัติดีแลวมีไวพจนพิเศษ (คือ “ผูหยั่งลงในธรรมวินัยนี้”) หนึ่ง ๓๓๙ ผูปรินิพพานเฉพาะตนรูประจักษปริยันติกเวทนาทั้งสองโดยเสมอกัน หนึ่ง ๒๐๕/๔๔๘ ผูพนวิเศษแลวมีไวพจนพิเศษ (คือ “เกพลี”) หนึ่ง ๓๓๙ ผูอยูจบพรหมจรรยคือผูหยุดกระแสแหงธรรม(: ปฏิจจฯ) เสียได หนึ่ง ๓๗๐ ผูอยูเหนืออิทธิพลของอดีตและอนาคตคือผูรูธรรม (.:อิทัปปจจยตา) หนึ่ง ๔๒๗ พรหมจรรยมีที่หยั่งลง-เบื้องหนา-ที่สุดคือธรรม(:นิพพาน)หนึ่ง ๖๓๕ พรหมจรรยมีรสนาดื่ม (เปรียบดวยมัณฑะ) หนึ่ง ๔๘๗ พรหมหรือสักกะคือผูหยุดเสียไดซึ่งกระแสแหงธรรม หนึ่ง ๑๓๘ พุทธจริยาพิเศษ(ทรงนิ่งเมื่อมีการกลาวประชดแดกดัน) หนึ่ง ๔๘๕ ภพใหมเกิดขึ้นเมื่อมีการกอขึ้นแหงธรรม(:อนุสัย) หนึ่ง ๑๖๙ มโนสัญเจตนาหาร (มีหลุมถานเพลิงเปนอุปมา) หนึ่ง ๓๒๕ มัณฑะมีรสชวนดื่มเปรียบดวยรสชวนดื่มของพรหมจรรย หนึ่ง ๔๘๗ มาตรฐานของพระโสดาบัน (คือการรูปฏิจจฯโดยวิธีอริยสัจสี่) หนึ่ง ๕๓๒ มารดาเลี้ยงลูกดวยผลิตผลจากทรวงอก หนึ่ง ๑๕๐

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๘๙๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ

มิจฉาทิฏฐิทุกชนิดเกิดขึ้นเพราะไมเห็นธรรมสัจจะ (คือกฎอิทัปฯ ) หนึ่ง ๔๘๕ มิจฉาปฏิปทาคือปฏิจจฯฝายสมุทยวาร หนึ่ง ๒๕๗ มูลแหงความทุกข(โวหารพิเศษ)คือนันทิ หนึ่ง ๔๒๑ ยถาภูตสัมมัปปญญาตอนิพพานมีไดแกบุคคลแมมิใชขีณาสพ หนึ่ง ๒๘๕ “ยึดกายดีกวายึดจิต” ในกรณีที่ยังไมสามารถเขาใจธรรม (ปฏิจจฯ) หนึ่ง ๓๘/๓๘๑ ระหวางกลางแหงมิจฉาทิฏฐิสองยอมมีสัมมาทิฏฐิ หนึ่ง ๑๔๒ ราคานุสัยยอมนอนตามเพราะเหตุแหงธรรม(คือมีราคะในสุขเวทนา) หนึ่ง ๑๘๘/๕๒๘ ราคานุสัยยอมไมนอนตามเพราะเหตุแหงธรรม (คือไมมีราคะในสุขเวทนา) หนึ่ง ๓๔๓/๕๒๙ รูปภพมีไมไดเพราะไมมีธรรม(:กรรมอันมีรูปธาตุเปนวิบาก) หนึ่ง ๗๙๑/๗๙๒ เรื่องที่ทรงแนะนําใหศึกษาอยางยิ่ง(:ปฏิจจฯ) หนึ่ง ๑๖ เรื่องที่ทุกคนตองฉลาด หนึ่ง ๑๓๗ เรื่องที่ลึกซึ้งเทากับเรื่องนิพพาน (: ปฏิจจฯ) หนึ่ง ๕๓ เรื่องที่ลึกซึ้งเทากับเรื่องปฏิจจฯ (:นิพพาน) หนึ่ง ๕๓ เรื่องที่ลึกและดูก็รูสึกวาลึก (:ปฏิจจฯ) หนึ่ง ๓๑/๕๒/๓๗๕ โลกเกิดขึ้นในใจคนเพราะกระแสแหงธรรม (:ปฏิจจฯ) หนึ่ง ๑๗๓ โลกดับในใจคนเพราะดับกระแสแหงธรรม (:ปฏิจจฯ) หนึ่ง ๑๗๕ โลกยุงเพราะเหตุ หนึ่ง ๑๐๒ โลก(สัตว)ไมลวงพนสังสารวัฏฏเพราะเหตุ หนึ่ง ๑๐๒ “โลหิต” มีความหมายพิเศษในอริยวินัย หนึ่ง ๑๕๐ วิญญาณที่ไดชื่อวาอุปทานมีเพราะเหตุ (: ถูกตัณหาในอารมณอาศัยแลว) หนึ่ง ๑๘ วิญญาณมีอาการเกิดขึ้นโดยลําดับแหงปจจยาการ หนึ่ง ๑๒๓/ฯลฯ วิญญาณไมหยั่งลง(สูความมี) เพราะเห็นอาทีนวะแหงธรรม(:สัญโญชนิยธรรม)-หนึ่ง๑๗๑ วิญญาณหยั่งลง(สูความมี) เพราะหลงอัสสาทะแหงธรรม (:สัญโญชนิยธรรม) หนึ่ง ๑๗๐ วิญญาณาหาร (มีนักโทษประหารเปนอุปมา) หนึ่ง ๓๒๖ วิตกมีธรรม(:ปปญจสัญญาสังขา)ที่เปนเหตุ(นิทาน) หนึ่ง ๖๑๓

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ลําดับหมวดธรรม

๘๙๑

วิมุตติมีปฏิสรณะ (สําหรับแลนไปหา) คือธรรม(“นิพพาน) หนึ่ง ๖๓๕ วิหารธรรมที่ทําความงายแกการเกิดญาณ หนึ่ง ๑๕๕ วิหารธรรมที่ทําใหเห็นธรรมอยางละเอียดลึกซึ้ง หนึ่ง ๑๕๒ เวทนาทั้งหลายยอมประชุมในธรรม หนึ่ง ๗๕ เวทนามีนิทานสัมภวะ(คือผัสสะ) หนึ่ง ๒๗๓ เวทนามีนิโรธคามินีปฏิปทา(คืออริยัฏฐังคิกมรรค) หนึ่ง ๒๗๔ เวทนามีนิโรธ(เพราะความดับแหงธรรมคือผัสสะ) หนึ่ง ๒๗๔ เวทนาเย็นสนิทในอัตตภาพนี้จนกระทั้งสิ้นชีวิต หนึ่ง ๒๐๕/๔๔๘ ไวพจนของมูลแหงความทุกข (โวหารพิเศษ) ไดแกธรรม (:นันทิ) หนึ่ง ๔๒๑ ไวพจน (พิเศษ) ของนันทิ หนึ่ง ๑๒๘/๑๕๑/๒๕๙ ไวพจนพิเศษของนิพพาน(คือความดับแหงภพ) หนึ่ง ๒๘๔ ไวพจน(พิเศษ) ของปฏิจจฯ (:อริยญายธรรม) หนึ่ง ๑๓ ไวพจน(พิเศษ)แหงทางสายกลาง(:ปฏิจจฯ) หนึ่ง ๑๕ ไวพจน(พิเศษ)แหงอุปาทาน หนึ่ง ๑๒๘/๑๕๑/ฯลฯ ไวพจน(พิเศษอยางยิ่ง) สําหรับ “ผูอ ยูจบกิจแหงพรหมจรรย” หนึ่ง ๓๓๗/๔๕๑ ศีลอันเปนกุศลตรัสวาเปนไปเพื่อธรรม (ความเต็มแหงอรหัตตผล) หนึ่ง ๖๕๐/๖๕๑ สติปฏฐานสี่เปนขณะสําคัญแหงการรูคุณวิเศษยิ่งขึ้นไป หนึ่ง ๒๗๘ สติมีปฏิสรณะ(สําหรับแลนไปหา)คือธรรม(:วิมุตติ) หนึ่ง ๖๓๕ สามาธิที่มีผลใหญมีอานิสงสใหญ หนึ่ง. ๑๔๒ สังกัปปราคะคือความหมายอันแทจริงของ “กาม” หนึ่ง ๒๗๑ สังขาร (ที่มีความหมายพิเศษ) ชนิดที่สองมีอาการแหงสัสสตทิฏฐิ หนึ่ง ๑๙๖ สังขาร(ที่มีความหมายพิเศษ) ชนิดที่สามมีอาการแหงอุจเฉททิฏฐิ หนึ่ง ๑๙๗ สังขาร (ที่มีความหมายพิเศษ) ชนิดที่สี่มีอาการแหงวิจิกิจฉา หนึ่ง ๑๙๘ สังขารสาม (บุญ-อบุญ-อเนญชะ) ลวนแตขึ้นอยูกับธรรม (คือวิชชา) หนึ่ง ๔๔๗ สัจจะที่ทรงพยากรณ (คืออริยญายธรรม) หนึ่ง ๔๘๑ สัญญามีนิทานสัมภวะ (คือผัสสะ) หนึ่ง ๒๗๔ สัญญามีนิโรธคามินีปฏิปทา(คืออริยัฎฐังคิกมรรค) หนึ่ง ๒๗๕

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๘๙๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ

สัญญามีนิโรธ (เพราะความดับแหงธรรมคือผัสสะ) หนึ่ง ๒๗๕ สัญญามีวิบาก(ใหเกิดโวหารพูดตามสัญญานั้น) หนึ่ง ๒๗๕ สัตวไปสูสังสาระร่ําไปเพราะคติ (เครื่องไป) คืออวิชชา หนึ่ง ๕๕๒ สัตวไมลวงพนสังสารวัฏฎเพราะเหตุ (:ไมรูปฏิจจฯ) หนึ่ง ๑๕/๓๒/๕๓/๓๗๖ สัตวไมหลงพอใจในการไปสูภพใหมเพราะธรรม(วิชชา) หนึ่ง ๕๕๒ สัตวโลกเปนไปตามอํานาจแหงธรรม หนึ่ง ๑๓๘ สัมมาทิฏฐิเพื่อความเปนผูหาโทษมิไดขึ้นอยูกับธรรม หนึ่ง ๑๔๓ สัมมาทิฏฐิระดับโลกุตตระ(เนื่องดวยอัตถิตา-นัตถิตา) หนึ่ง ๖๖๕ สัมมาปฏิปทาคือปฏิจจฯฝายนิโรธวาร หนึ่ง ๒๕๘ สิ่งควรรูอันประเสริฐ หนึ่ง ๑๓ สิ่งที่จักกาวลงในทองแหงมารดาเพื่อปรุงเปนนามรูป, คือธรรม(วิญญาณ) หนึ่ง ๗๘๙ สิ่งที่นายึดถือยิ่งกวาจิต(:กาย) หนึ่ง ๓๘/๓๘๒ สิ่งที่ปุถุชนถึงทับยึดถือแลวตลอดกาลนาน (:จิต) หนึ่ง ๓๘/๓๘๑ สิ่งที่ยากที่สุดที่ปุถุชนจะปลอยวาง (:จิต) หนึ่ง ๓๘/๓๘๑ สิ่งเปนที่รักและสิ่งไมเปนที่รักมีธรรม(:ฉันทะ) ที่เปนเหตุ(นิทาน) หนึ่ง ๖๑๓ สุขและทุกขในภายในมีปจจัย หนึ่ง ๑๕๖ สุขและทุกขบัญญัติโดยลัทธิภายนอกก็ยังอาศัยปจจัย หนึ่ง ๑๕๙/๖๗๑ สุขและทุกข(ชนิดไหนก็ตาม) อาศัยปจจัย (:ผัสสะ) หนึ่ง ๑๕๙/๖๗๑ สุขและทุกขไมมีทางรูสึกไดถาเวนธรรม หนึ่ง ๑๕๙/๖๗๑ หมุดสลัก(ตรึงสัตว) หนึ่ง ๑๓๗ หลักธรรม (พิเศษ) เพื่อการพยากรณอรหัตตผล หนึ่ง ๗๑ หลักสุตะเพียงขอเดียว (วาไมควรยึดมั่น) เปนเหตุใหเกิดความรูยิ่ง (อภิชานนํ) หนึ่ง๒๘๙ เหตุของการกาวลงแหงอินทรียหา หนึ่ง ๑๖๔ เหตุที่ทําใหผูแมอยูคนเดียวก็ยังชื่อวา “มีเพื่อนสอง” (คือตัณหา) หนึ่ง ๕๙๘ เหตุที่ทําใหผูแมอยูทามกลางคนหมูมากก็ยังชื่อวา “อยูคนเดียว” (:ไมมีตัณหา)-หนึ่ง ๕๙๙ เหตุที่ทําใหสัตว เกิด-แก –ตาย-จุติ-อุบัติ หนึ่ง ๔๖๓/๕๖๑/๕๖๖

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ลําดับหมวดธรรม

๘๙๓

เหตุที่ทําใหเห็นปฏิจจฯและนิพพานไมได หนึ่ง ๕๓ เหตุที่ปุถุชนไมสามารถปลอยวางจิต หนึ่ง ๓๘/๓๘๑ เหตุแหงความไมสะดุง หนึ่ง ๑๘๗ “อนุปาทิเสส” ในฝายมิจฉาทิฏฐิเล็งถึงธรรม (อุจเฉททิฏฐิในความหมายหนึ่ง)หนึ่ง ๕๙๖ อนุสัยสิ้นสุดลงเพราะธรรม (:ความไมมีแหงอารมณเพื่อปปญจสัญญา) หนึ่ง ๖๐๕ อริยญายธรรม (:ปฏิจจฯ) หนึ่ง ๑๓ อริยสัจทรงบัญญัติสําหรับสัตวผูยังรูสึกตอธรรม หนึ่ง ๘๒/๑๐๑/๑๑๕ อริยสาวกประสบทุกขเวทนาจักไมหวนระลึกถึงธรรม(คือกามสุข) หนึ่ง ๕๒๙ อริยสาวกมีลักษณะ(เปนผูไมสงสัยในปจจยาการ ๙) หนึ่ง ๕๓๑ อริยสาวกมีลักษณะ(เปนผูไมสงสัยในปจจยากร๑๑) หนึ่ง ๕๑๑ อริยสาวกมีลักษณะ(รูทั่วถึงเหตุเกิดและความดับแหงโลก) หนึ่ง ๕๑๒/๕๓๒ อริสาวกมีลักษณะ (รูปฏิจจฯ โดยไมตองเชื่อตามผูอื่น) หนึ่ง ๕๑๐/๕๓๐ อริยสาวกมีลักษณะ (รูปจจยธรรมโดยนัยอริยสัจสี่) หนึ่ง ๕๓๗ อริยสาวกมีลักษณะ (รูวาโลกเกิดอยางไรโดยไมตองเชื่อตามผูอื่น) หนึ่ง ๕๑๑/๕๓๑ อริยสาวกมีลกั ษณะ (รูวาโลกดับลงอยางไรโดยไมตองเชือ่ ตามผูอ ื่น) หนึ่ง ๕๑๒/๕๓๑ อริยสาวกรูปอุบายอื่นที่จะปลดเปลื้องทุกขเวทนา (โดยไมหวังพึ่งกามสุข) หนึ่ง ๕๒๙ อรูปภพมีไมไดเพราะไมมีธรรม (:กรรมอันมีอรูปธาตุเปนวิบาก) หนึ่ง ๗๙๑/๗๙๒ อวิชชานุสัยยอมนอนตามเพราะเหตุแหงธรรม (คือไมมีความรูในอทุกขมสุขเวทนา)-หนึ่ง ๑๘๙/๕๒๘ อวิชชานุสัยยอมไมนอนตามเพราะเหตุแหงธรรม(คือมีความรูในเวทนา ท.) หนึ่ง ๓๔๓/๕๒๙ อวิชชาละไป : วิชชาเกิดขึ้นเพราะเห็นธรรม(ความไมควรยึดมั่น) หนึ่ง ๒๙๐ อวิชชาละไป : วิชชาเกิดขึ้นเพราะเห็นธรรม (:อนิจจัง) หนึ่ง ๒๙๑ อัฏฐังคิกมรรคมีโดยอัตโนมัติ (อยูในตัวความไมกอเกิดแหงอุปาทานขันธ) หนึ่ง ๓๓๕ อัตถิตา (ทิฏฐิ) ไมมีแกผูเห็นตามเปนจริงซึ่งธรรม (โลกนิโรธ) หนึ่ง ๖๖๖ อาการที่มีตออทุกขมสุขเวทนาซึ่งทําอวิชชานุสัยใหนอนตาม หนึ่ง ๑๘๙ อาการที่มีตออทุกขมสุขเวทนาซึ่งไมทําอวิชชานุสัยใหนอนตาม หนึ่ง ๓๔๓ อาชีพต่ําสุดในบรรดาอาชีพทั้งหลาย หนึ่ง ๑๔๑

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๘๙๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ

อานิสงส (อันนามหัศจรรย) ของพระโสดาบันแมในอันดับต่ําสุด หนึ่ง ๔๓๕ อารมณเพื่อการตั้งอยูแหงวิญญาณมีขึ้นเมื่อจิตมีอาการแม หนึ่ง ๑๖๖/ฯลฯ อํานาจลึกลับของปยรูปสาตรูป (ลึกถึงกับเห็นยาพิษเปนเครื่องดื่ม) หนึ่ง ๓๑๑ อิทัปฯประกอบดวยคุณคาพิเศษถึงกับทรงนํามาบันลือสีหนาท หนึ่ง ๔๘๐/๔๘๖ อินทรีย(แตละอินทรีย) มีปฏิสรณะ (สําหรับแลนไปหา) คือธรรม(:.ใจ) หนึ่ง ๖๓๕ อุดมบุรุษในธรรมวินัยนี้มีไวพจนพิเศษ (คืออุปปริกขีในปฏิจจฯ) หนึ่ง ๓๔๒/๔๕๑ อุปธิคือสมุทัย(พิเศษ) แหงทุกข หนึ่ง ๓๐๗ อุปธิมีแดนเกิดจากธรรม(คือตัณหา) หนึ่ง ๓๐๗ อุปธิสมุทัยไดแกธรรม (คือตัณหา) หนึ่ง ๓๐๗ อุปมา (การทําลายเสาสดมภ) ที่ควรเห็นวาเปนอุปมาแหงอนุปาทิเสสนิพพานธาตุ-หนึ่ง๒๐๕ อุปมา(การเย็นของกระเบื้อง) ที่ควรเห็นวาเปนอุปมาแหงอนุปาทิเสสนิพพานธาตุ-หนึ่ง๔๔๘ อุปมาการเสวยทุกขเวทนาของอริยสาวกดวยการถูกยิงดวยศร หนึ่ง ๕๒๘ อุปมาดวยชางเขียนที่มีสี่ครบ(แกปฏิจจฯแหงอาหารสี่ที่มีปจจยาการครบ) หนึ่ง ๓๒๙ อุปมาดวยแสงไมปรากฏเมื่อไมมีวัตถุดานแสง(แกความไมมีปจจยาการแหงปฏิจจฯ)-หนึ่ง๓๓๒ อุปมาพิเศษแหงพรหมจรรย(เปรียบดวยมัณฑะ) หนึ่ง ๔๘๗ อุปมาวิญญาณกับนามรูปอิงอาศัยกันเหมือนกําไมสองกําอิงกัน หนึ่ง ๕๑๙ อุปมาแหงกรรมสามที่ไมมีการรักษา (ดวยเรือนที่มุงไมด:ี ผุลงมาตามลําดับ) หนึ่ง ๕๘๐ อุปมาแหงการทรงดําเนินตามรอยทางเกา หนึ่ง ๒๖๒/๔๖๖ อุปมาแหงการทรงดําเนินตามรอยทางเกา หนึ่ง ๒๖๒/๔๖๖ อุปมาแหงการเห็นนิพพานของบุคคที่ยังไมเปนขีณาสพ หนึ่ง ๒๘๕ อุปมาแหงจิต (เปรียบดวยวานร) หนึ่ง ๓๘๒ อุปมาแหงปยรูปสาตรูปดวยยาพิษที่มีสี่-กลิ่น-รส ที่ชวนดื่มอยางยิ่ง หนึ่ง ๓๑๑ อุปมาแหงเวทนาที่เปนของเย็นในอัตตภาพนี้ (ของผูปรินิพพานเฉพาะตน) หนึ่ง ๒๐๕/๔๔๘ อุปสรรคแหงการเจริญสติปฏฐานก็ยังสิ้นไปตามวิธีการแหงปฏิจจฯ หนึ่ง ๒๗๙ อุปาทานดับเพราะความจางคลายไปไมเหลือแหงธรรม หนึ่ง ๑๗๕/๑๙๙/ฯลฯ

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ลําดับหมวดธรรม

๘๙๕

๒ กฎสูงสุดของธรรมชาติมีโดยชื่อ สอง ๔๓ กฎอิทัปปจจยาตาขยายออกไดเปนปฏิจจฯ โดยวาร สอง ๑๔/๓๙/๖๔/๓๘๒/๔๒๗/๔๕๓/ ๔๘๐/๔๘๕/๕๑๓/๕๔๑ กฎอิทัปปจจยาตาปฏิจจฯ แสดงนัย สอง ๑๔/๓๙/๖๔/๓๘๒/๔๒๗/๔๕๓/ ๔๘๐/๔๘๕/๕๑๓/๕๔๑ กามมีวิบาก (จําแนกตามอัตตภาพที่เกิดขึ้น) สอง ๒๗๒ การกระทําความสิ้นกรรมมีลักษณะ สอง ๒๐๓ การคบหาผูออนดวยปญญามีโทษ สอง ๒๐๖ การทรงรับขมาโทษตอบุคคลผูประกอบดวยองค สอง ๓๖๗ การทรงแสดงอิทัปปจจยตาเพื่อทรงขจัดเสียซึ่งความหมายแหงกาล สอง ๔๒๗ การบรรลุธรรมไดหรือไมได, ขึ้นอยูกับการกระทํามีอยาง สอง ๔๘๗ การบริโภคที่มีผลใหญอานิสงสใหญคือการบริโภคดวยการสําเหนียก สอง ๔๘๘ การบวชเพื่อขโมยธรรมมีโทษ สอง ๓๖๗ การบัญญัติความบริสุทธิ์นอกพุทธศาสนา (มีทั้งอยาง “สอุปาทิเสส”และ-“อนุปาทิเสส” สอง ๕๘๖ การบันลือสีหนาทประกาศพรหมจักรเพราะทรงประกอบดวยญาณมีหมวด สอง ๔๗๙/๔๘๕ การปฏิญญาตําแหนงจอมโลกเพราะทรงประกอบดวยญาณมีหมวด สอง ๔๗๙/๔๘๕ การปฏิบัติจนบรรลุผลเปนความหลุดพนมีขั้นตอน สอง ๓๓๘–๓๓๙ การประกาศพรหมจักรคือการประกาศธรรมสัจจะของเบญจขันธและอิทัปปจจยตา-สอง๔๘๐/๔๘๖ การประพฤติพรหมจรรยที่ไมเปนการประพฤติพรหมจรรยเพราะเหตุ-มีทิฐฐิสุดโตง สอง ๖๗๗ การพยากรณอรหัตตผล (อีกนัยหนึ่ง) โดยอาการ สอง ๗๖

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๘๙๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ

การรู ชั ด ขั น ธ ห า (เมื่ อ จิ ต เป น สมาธิ ) โดยอาการ สอง ๑๒๗ การรู ชั ด ซึ่ ง ขั น ธ ห า โดยอาการ สอง ๑๒๗/๒๕๙ การรูปฏิจจฯทําใหหมดปญหาเกี่ยวกับขันธในกาล (ทั้ง) สอง ๔๒๕ การแสดงธรรมโดยสายกลาง(ปฏิจจฯ) เพื่อหลีกเลี่ยงที่สดุ โดง สอง ๑๕/๖๒/๖๓/๗๑/ ๖๖๖/๖๖๙/๖๗๘/๖๘๙ การเห็นกรรมตามเปนจริงทําผูนั้นใหไดรับชื่อ สอง ๑๓๗ การเห็นธรรมมีนัย สอง ๑๒–๑๓ การเห็นภพไมเที่ยงตามเปนจริงมีผลใหละและไมเพลิดเพลินตัณหา สอง ๘๐๔ กุมารพึงมีแมวิมุตติ สอง ๑๕๑ กุมารเริ่มรูจักหวั่นไหวดวยการมคุณโดยอาการ สอง ๑๕๑ ขันธเพิ่งเกิดเมื่อมีการกระทบทางอายตนะ สอง ๒๒๖ คนผูถามที่ไมควรถูกตําหนิเพราะถามอยูในขอบเขตแหงธรรม สอง ๒๘๕ คนบวชที่สูญเสียประโยชนทุกฝาย สอง ๑๔๒ คนพาลและบัณฑิตเสวยสุขและทุกขเสมอกันเพราะเหตุแหงธรรม สอง ๓๙๑ ความกระวนกระวาย (ทรถ) มีวิภาค สอง ๒๑๓/๓๓๕ ความทุกข(อีกนัยหนึ่ง) มีวิภาค สอง ๒๑๔/๓๓๕ ความปริวิตกกอนตรัสรู(ปรารภสัตวโลกและการออกจากทุกข) สอง ๔๖๑/๔๗๔/ ๕๕๙/๕๖๔ ความเปนผูฉลาด(กุสลตา) ในธรรม (เนื่องดวยปฏิจจฯ) สอง ๘๑๒ ความแผดเผา (สนฺตาป) มีวิภาค สอง ๒๑๔/๓๓๕ ความไมมีอาสวะมีผล(พิเศษเกี่ยวกับกรรม) สอง ๒๐๓ ความสงสัยเกี่ยวกับตัวตนทั้ง๓ กาลหมดไปเมื่อรูชัดซึ่งธรรม สอง ๔๒๔ ความสําคัญมั่นหมายสองชนิดนําไปสูทิฏฐิมีชนิด (สัสสตะ-อุจเฉทะ) สอง ๖๖๙ ความสําเหนียก(อันภิกษุพึงกระทําในกรณีอันเกี่ยวกับบรรพชาแหงตน) สอง ๔๘๗ ความสุข(อีกนัยหนึ่ง)มีวิภาค สอง ๓๓๕ ความรูเรื่องปฏิจจฯ ทําใหอยูเหนือภาวะ สอง ๑๕/๖๑–๖๓/๗๑/๖๖๖/๖๖๙/๖๗๘/๖๘๙ ความรูสึก(ของผูฟงตอคําพยากรณของพระองค) มีนัย สอง ๖๔๓

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ลําดับหมวดธรรม

๘๙๗

ความเรารอน (ปริฬาห)มีวิภาค สอง ๒๑๔/๓๓๕ ความลึกของปฏิจจฯ(มีนัยที่พึงสังเกต) สอง ๓๑/๕๓/๓๗๕ คํากลาว(ของพวกอัตตานุทิฏฐิ) แมมีคําพูดตรงกันขามก็มีอรรถอยางเดียวกัน สอง๖๗๗ ฆราวาสที่มีหนาที่ประกาศพรหมจรรยใหดีมีประเภท สอง ๒๖๕/๔๖๙ ใจความสําคัญเกี่ยวกับปจจยาการของกุมาร สอง ๑๕๒ ใจเสวยสมบัติของอินทรีย (:โคจรและวิสัย) สอง ๖๓๕ ญาณ (เกี่ยวกับการเกิดกอนหรือเกิดหลัง) มีประเภท สอง ๓๖๒ ญาณที่ทําความเปนโสดาบัน (เกี่ยวกับการรูปฏิจจฯ) สอง ๓๕๓ ญาณ(ที่ทําใหทรงสามารถบันลือสีหนาทประกาศพรหมจักร) มีหมวด สอง ๔๗๙/๔๘๕ ญาณ(ในการรูปฏิจจสมุปปนนธรรมแตละอาการโดยนัยอริยสัจสี่) สอง ๓๕๒–๓๕๓ ญาณ (มีชื่อพิเศษ) เกี่ยวกับการรูปฏิจจฯ โดยอริยสัจสี่ สอง ๓๕๓ ดุนฟนอุปมาแกคนบวชชั่วประกอบดวยโทษ สอง ๑๔๒ ตัณหาวิจริต สอง ๑๐๒ ทางสายกลาง(อีกนัยหนึ่ง) ระหวาง “ชีวะนั้น” กับ “ชีวะอื่น” สอง ๖๗๘–๖๘๕ ทางสายกลาง (อีกนัยหนึ่ง) ระหวาง “ทําเอง” กับ “อื่นทํา” สอง ๗๑/๖๙ ทางสายกลาง(อีกนัยหนึ่ง) ระหวาง “นั้น” กับ “อื่น” สอง ๖๓/๗๑/๖๖๙ ทางสายกลาง(อีกนัยหนึ่ง) ระหวาง “มีอยู”กับ “ไมมีอยู” สอง ๑๕/๖๒/๖๖๖ ทางสายกลาง(อีกนัยหนึ่ง) ระหวาง “อยางเดียวกัน”-“ตางกัน” สอง ๖๘๘–๖๘๙ ทิฏฐิ(เกี่ยวกับอัตตา-อัตตนิยา) สอง ๓๘๓/๖๙๒/ฯลฯ ทิฏฐิบัญญัติวาอัตตาและโลกเกิดเองลอยๆ, มีจําพวก สอง ๗๒๗ ทิฏฐิมีวิภาค สอง ๑๔๒ ทุกขนิโรธ (ที่เปนไปในปญจุปาทานขันธ)อาศัยธรรม สอง ๔๓/๒๐๙ โทมนัสมีวิภาค (ควรเสพ-ไมควรเสพ) สอง ๖๑๕ โทมนัสมีวิภาค (สวิตกสวิจาร-อวิตกอวิจาร) สอง ๖๑๕ โทษ(เกิดจากบุคคลผูมีธรรมเปนที่ตั้งแหง โลภะ-โทสะ-โมหะ) สอง ๖๓๖ ธรรม(ทําความไมมีแหงสังโยชนเครื่องนํามาสูโลกนี้) สอง ๓๒๔

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๘๙๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ

ธรรม(ทําความไมมีแหงสิ่งที่ควรทําใหยิ่งขึ้นไป) สอง ๓๒๕ ธรรม(ทําความไมมีแหงสิ่งที่ควรทําใหยิ่งขึ้นไป-อีกนัยหนึ่ง) สอง ๓๒๕/๓๒๗ ธรรม (ที่มีมูลอันเดียวกันในเวทนา) คือตัณหา,มีประเภท สอง ๗๘๗ ธรรมเปนที่ตั้งแหงความยึดถือวาอัตตามีประเภท สอง ๑๖๔ ธรรมและพรหมจรรยที่ทรงแสดงและประกาศประกอบดวยคุณลักษณะ สอง ๔๘๘ ธรรมสอง (สมถะและวิปสสนา) เคียงคูกันไปเมื่อโพธิปกขิยธรรม๓๗เต็มรอบสอง๓๓๖ ธรรมอันบุคคลพึงทําใหเจริญดวยปญญาอันยิ่ง (สมถะและวิปสสนา สอง ๓๓๗ ธรรมอันบุคคลพึงทําใหแจงดวยปญญาอันยิ่ง (วิชชาและวิมุตติ) สอง ๓๓๗ ธรรมอันบุคคลพึงละดวยปญญาอันยิ่ง(อวิชชาและภวตัณหา) สอง ๓๓๖ ธรรม(อันพุทธบริษัทพึงทําสังคีติเพื่อศาสนาตั้งอยูนาน) สอง ๘๑๒ นันทิไมเขาไปตั้งอยูในเวทนาเพราะเห็นธรรม สอง ๗๕ นิมิตที่แสดงอยูที่สิ่งทั้งปวงเปนที่ตั้งแหงการมองเห็นอยางตรงขาม สอง ๒๙๐ บุคคล (ที่ควรถามปญหาปรารภขันธในกาลสองกะพระองค) สอง ๔๒๖ ปฏิจจฯโดยวาระ (:สมุทยวารและนิโรธวาระ) สอง ๖/ฯลฯ ปฏิจจฯทําใหไมมี “ผู” (ตรงกันขาม) ในลักษณะ สอง ๖๒/๖๖๙ ปฏิจจฯที่ตรัสอยางสั้นที่สุด (ยกนันทิเปนหลัก) มีปจจยากร สอง ๕๗๓–๕๗๔ ปฏิจจฯที่พระพุทธเจาทุกพระองคตรัสเหมือนกัน (อยางนอยมีแบบ) สอง ๔๖๙/๔๗๔/ ๕๕๙/๕๖๔ ปฏิจจฯ มีขึ้นเมื่อมีการกระทบทางอายตนะ สอง ๑๒๓/ฯลฯ ปฏิจจฯ แหงทุกข(โดยปฏิโลม) ซึ่งสั้นที่สุดมีปจจยาการเพียง สอง ๓๐๖–๓๐๗ ปฏิจจฯอยูเหนือภาวะสุดโตง สอง ๑๕/๖๑–๖๓/๗๑–/๖๖๖/๖๖๙/๖๗๘/๖๘๙ ปฏิปทา(เกี่ยวกับปฏิจจฯ) มีวิภาค สอง ๒๕๗ ประโยชนแหงการฟงอริยธรรมคือการไดความรูตามที่กําหนดไวเปนฝาย สอง ๕๔๙ ปจจยาการ(ของปฏิจจฯที่เนื่องดวยนันทิ) สอง ๕๗๓–๕๗๔ ปจจยาการ(แหงความไมมีสังโยชนเครื่องนํามาสูโลกนี้) สอง ๓๒๔ ปจจยาการ(แหงความไมมีสิ่งที่ควรทําใหยิ่งขึ้นไป) สอง ๓๒๕

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ลําดับหมวดธรรม

๘๙๙

ปจจยาการ(แหงความไมมีสิ่งที่ควรทําใหยิ่งขึ้นไป-อีกนัยหนึ่ง) สอง ๓๒๕/๓๒๗ ปจจยาการ(แหงปฏิจจฯของทุกขโดยปฏิโลมที่ลัดสั้นที่สุด) สอง ๓๐๖–๓๐๗ ปุถุชนและอริยสาวกตางกันในการเสวยเวทนาโดยนัย สอง ๕๒๖–๕๒๙ ผลที่พึ่งหวังได (จากอนุปสสนาแตละคู)มีอยาง สอง ๕๕๐–๕๕๘ ผัสสะมีอาการเกิดขึ้นโดยลําดับแหงปจจยาการ สอง ๑๒๓/ฯลฯ ผัสะยอมเกิดเพราะอาศัยการกระทบแหงธรรม (:นาม+รูป) สอง ๕๙๖ ผูจบกิจแหงพรหมจรรยคือผูปฏิบัติแลวโดยวิธี สอง ๓๓๗/๔๕๑ ผูฉลาดในปฏิจจฯคือฉลาดในอิทัปปจจยตาปฏิจจฯ โดยนัย สอง ๔๕๓ ผูที่จะพึงยังจิตของพระองคใหยินดี(ในการพยากรณปญหา)มีจําพวก สอง ๔๒๖/๔๒๗ ผูที่พระองคควรถามปญหา(ปรารภขันธในกาลสอง)มีจําพวก สอง ๔๒๖ ผูที่พระองคจะพึงยังจิตของเขาใหยินดี(ในการพยากรณปญหา) มีจําพวก สอง๔๒๖/๔๒๗ ผูปฏิบัติ (ปฏิจจฯ) โดยนัยอริยสัจสี่ชื่อวาผูปฏิบัติแลวดีโดยความหมาย สอง ๔๔๕ ผูมีตนสงไปแลวในธรรมยอมประสบผลสูงสุด สอง ๖๓๗/๖๕๒ ผูไมรูปฏิจจฯ โดยนัยอริยสัจสี่ยอมประกอบดวยโทษ สอง ๓๙๕ ผูรูปฏิจจฯ โดยนัยอริจสัจสี่ยอมประกอบดวยประโยชน สอง ๓๙๗ ผูหลีกเรน (ตามทางธรรม) จักรูชัดซึ่งธรรม สอง ๒๕๙ พรหมจักรคือธรรมสัจจะของเบญจขันธและอิทัปปจจยตา สอง ๔๘๐/๔๘๖ พระคุณอันใหญหลวงของมารดาเมื่อบริหารครรภ สอง ๑๕๐ พระศาสดาและสาวกมีการเห็นและกลาวตรงกันในอิทปั ปจจยตาวาร สอง ๔๙๔/๔๙๗ พระอรหันตหมดความของใจสงสัยโดยสถาน สอง ๗๖ ภาษามีระดับแหงการใช(ในการสื่อความหมาย) สอง ๕๙๘ มนสิการปฏิจจฯ โดยอาการ สอง ๕/๗/๙ รูป (ในนามรูป) มีวิภาค สอง ๒๘/๘๙/ฯลฯ เรื่องชนิดที่ทรงขอใหยกไวกอน (ซึ่งอาจจะเขาใจไดเองที่หลัง) มีชนิด สอง ๔๒๗ วาทะที่ไมทรงกลาว(เกี่ยวกับ “เอง” และ “อื่น” ) สอง ๗๐ วิญญาณเกิดขึ้นเพราะอาศัยธรรม(อายตนะนอก+ใน) สอง ๒๙๐/ฯลฯ

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๙๐๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ

วิมุตติที่แมกุมารก็พึงมี สอง ๑๕๑ เวทนา(ที่ทําความตางระหวางปุถุชนกับอริยสาวก)มีวิภาค สอง ๕๒๗ เวทนาที่เปนไปถึงที่สุด(ปริยนฺต)มีวิภาค สอง ๒๐๕/๔๔๘ เวทนา(ทุกข) ซึ่งเปนไปถึงที่สุดมีระดับ สอง ๒๐๕/๔๔๘ เวทนามีวิบาก (จําแนกตามอัตตภาพที่เกิดขึ้น) สอง ๒๗๓ ไวพจนแหงการบรรลุธรรม (ที่นาสนใจ) สอง ๔๓๕–๔๔๑/๕๔๓ สมันนาหารจิตเกิดเพราะการอาศัยกันแหงอายตนะ สอง ๒๐๗ สมาธิตั้งมั่นแลวยอมรูชัดซึ่งธรรม สอง ๑๒๗ สวนสุด(เกี่ยวกับ “ทําเอง-อื่นทํา” ) สอง ๗๑/๖๖๙ สวนสุด(เกี่ยวกับ “นั้น-อื่น”) สอง ๖๓/๖๖๙ สวนสุด(เกี่ยวกับ “มี-ไมมี”) สอง ๑๕/๖๑–๖๒/๖๖๖ สวนสุด(เกี่ยวกับสิ่งทั้งปวง) สอง ๑๕/๖๑–๖๒/๖๖๖ สวนสุด(ทางทิฏฐิ) ซึ่งสัตวโดยมากอาศัยแลว สอง ๖๖๕ สวนสุดมิใชทางสายกลาง(เกี่ยวกับ “ชีวะนั้น-ชีวะอื่น”) สอง ๖๗๘–๖๘๕ สวนสุดมิใชทางสายกลาง(เกี่ยวกับ “นั้น” กับ “อื่น”) สอง ๖๓/๗๑/๖๖๙ สวนสุดมิใชทางสายกลาง(เกี่ยวกับ “อยางเดียวกัน’-“ตางกัน”) สอง ๖๘๘–๖๘๙ สวนสุดมิใชทางสายกลาง(อัตถิตา-นัตถิตา)สอง ๖๖๕ สัตวผูไมหลุดพนจากภพ (โดยหลักกวางๆ)มีประเภท สอง ๘๐๓ สัตวผูไมอยางอยูดวยความมีเวรไมพนไปจากการกอเวรเพราะธรรม สอง ๖๑๒ สัมผัสมีความหมายตางกันเปนชั้น(และโดยเวลา) สอง ๗๘๘ สัมมาทิฏฐิหนึ่งยอมมีในระหวางแหงมิจฉาทิฏฐิ สอง ๑๔๒ สิ่งที่ลึกซึ้งเห็นไดยาก สอง ๕๓ สิ่งที่สมณพราหมณบางพวกเขาใจวาเปนเครื่องหลุดพนจากภพ (:ภพและวิภพ)-สอง๘๐๓ สีหนาที่ทรง “แผด” ออกมา(คือธรรมสัจจะเกี่ยวกับเบญจขันธและอิทัปฯ) สอง๔๘๐/๔๘๖ “เสขะ” มีเพราะเหตุแหงความหมาย สอง ๔๑๓ โสมนัสมีวิภาพ (ควรเสพ-ไมควรเสพ) สอง ๖๑๔ โสมนัสมีวิภาค (สวิตกสวิจาร-อวิตกอวิจาร) สอง ๖๑๔

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ลําดับหมวดธรรม

๙๐๑

หลักที่ทรงแสดงวาญาณสอง(ปุพเพนิวาส-จุตูปปาต) เปนไปในกาล สอง ๔๒๘ เหตุเกี่ยวกับการปรินิพพานในทิฏฐธรรม สอง ๑๗ เหตุที่ทําใหไดนามวา “ยังเปนเสขะ” สอง ๔๑๓ เหตุผล (ที่ทรงอางเพื่อชี้ชวนภิกษุในการปรารภความเพียร) สอง ๔๘๗ เหตุผล (ที่ทําใหกลาวไดวาจักษุเปนตน,เปนอนัตตา) สอง ๔๙๑ เหตุผล(ที่ทําใหไมอาจกลาวไดวาจักษุเปนตน,เปนอัตตา) สอง ๔๙๐ อรหัตตผล (ในกรณีแหงโพชฌงคเจ็ด) มีวิภาคโดยกาล สอง ๒๘๑ อกิริยทิฏฐิปรารภทั้งฝายบุญและฝายบาปมีนัย สอง ๖๙๔/๗๐๗ อกุศลวิตกดับไดโดยฐานะใดหนึ่งแหงฐานะ สอง ๑๔๒ อธิจจสมุปปนนิกทิฏฐิแหงพวกอธิจจสมุปปนนิกวาท(เกิดลอยๆ) มีประการ สอง ๗๔๗ อนุปสสน(ในธรรมตามที่กําหนดไวเปนสองฝาย) เนื่องดวยตัณหา,มีนัย สอง ๕๕๕ อนุปสสนา(ในธรรมตามที่กําหนดไวเปนสองฝาย)เนื่องดวยทุกข,มีนัย สอง ๕๕๐ อนุปสสนา(ในธรรมตามที่กําหนดไวเปนสองฝาย) เนื่องดวยผัสสะ,มีนัย สอง ๕๕๔ อนุปสสนา(ในธรรมตามที่กําหนดไวเปนสองฝาย) เนื่องดวยวิญญาณ,มีนัย สอง ๕๕๓ อนุปสสนา(ในธรรมตามที่กําหนดไวเปนสองฝาย) เนื่องดวยเวทนา,มีนัย สอง ๕๕๔ อนุปสสนา(ในธรรมตามที่กําหนดไวเปนสองฝาย) เนื่องดวยสังขาร,มีนัย สอง ๕๕๒ อนุปสสนา(ในธรรมตามที่กําหนดไวเปนสองฝาย) เนื่องดวยอวิชชา,มีนัย สอง ๕๕๑ อนุปสสนา(ในธรรมตามที่กําหนดไวเปนสองฝาย) เนื่องดวยอารัมภะ,มีนัย สอง ๕๕๗ อนุปสสนา(ในธรรมตามที่กําหนดไวเปนสองฝาย) เนื่องดวยอาหาร,มีนัย สอง ๕๕๘ อนุปสสนา(ในธรรมตามที่กําหนดไวเปนสองฝาย) เนื่องดวยอุปธิ,มีนัย สอง ๕๕๐ อนุปสสนา(ในธรรมตามที่กําหนดไวเปนสองฝาย) เนื่องดวยอุปาทาน,มีนัย สอง๕๕๖ อนุปจจนา(๑๑คู) แตละคูมีวิภาค สอง ๕๕๐–๕๕๘ อภิสังขารไมถูกปรุงแตงอีกตอไปเพราะการละไปและเกิดขึ้นแหงธรรม-(คูตรงขา) สอง๔๔๗ อริยญายธรรมคือ (ความรูเรื่อง) อิทัปจจยตาปฏิจจฯ โดยวาระ สอง๕๑๓/๕๑๔

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๙๐๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ

อริยญายธรรมเปนสิ่งที่อริยสาวกรูโดยกิริยาการ สอง ๑๔/๕๑๔/๕๔๒ อริยสัจมีลีลาแหงการแสดงโดยแบบ สอง ๘๔ อริยสาวกไมสงสัย-ไมลังเล-ไมตองเชื่อตามผูอื่นเกี่ยวกับทุกขโดยนัย สอง ๖๖๖ อโลภะเปนตนมีความหมายตางกันอยูโดยระดับ สอง ๑๓๗ อเหตุกทิฏฐิปรารภความไมมีหตุปจจัยทั้งเพื่อเศราหมองและบริสุทธ สอง ๖๙๕/๗๐๘ อัตตภาพอันเกิดจากกาม (ในอารมณนั้นๆ)มีวิภาค สอง ๒๗๒ อัตตภาพอันเกิดจากเวทนามีวิภาค สอง ๒๗๓ อัตตานุทิฏฐิยี่สิบเกิดขึ้นเพราะไมไดสดับธรรมฯแหงบุคคล สอง ๑๖๔/๑๙๒/ฯลฯ “อัตตา”เปนคําที่ใชพูดกันอยู (ครั้งโบราณ) โดยความหมายสอง ๗๓๘ อาหารสี่เปนไปเพื่อเกื้อกูลและอนุเคราะหแกสัตวมีจําพวก สอง ๖๕/๓๒๓/๓๒๗/๕๗๗ อาหารสี่เปนไปเพื่อประโยชน สอง ๖๕/๓๒๓/๓๒๗/๕๗๗ อินทรียมีสิ่งสําหรับใจเสวย (คือโคจรและวิสัย) สอง ๖๓๕ อินทรียสังวร(ชนิดตรัสเปนพิเศษ) มีผลทั้งทางกายและจิต สอง ๖๓๓ อินทรียสังวร (ที่ทําสุจริตสามใหบริบูรณ)มีอารมณ สอง ๖๓๓ อิสสาและมิจฉริยะมีธรรมที่เปนเหตุ (นิทาน) สอง ๖๑๓ อุเบกขามีวิภาค(ควรเสพ-ไมควรเสพ) สอง ๖๑๕ อุเบกขามีวิภาค(สวิตกสวิจาร-อวิตกอวิจาร) สอง ๖๑๕ อุปมาการเสวยทุกขเวทนาของปุถุชนดวยการถูกยิงดวยศร สอง ๕๒๗ อุปมาแกสมณพราหมณผูตกอยูในขายทิฏฐิดุจปลาติดอยูในอวนดวยอาการ สอง ๗๓๐ อุปมาแหงอาการของจิต (เปรียบดวยอาการแหงวานร) สอง ฯลฯ๓๘๒ อุปาทานขันธเพิ่งเกิดเมื่อมีการกระทบทางอายตนะ สอง ๒๒๖ อุปาทานสี่ละไดเพราะการละไปและเกิดขึ้นแหงธรรม(คูตรงขาม) สอง ๑๘๗

www.buddhadasa.info ๓ กรรมเกา(กาย) พึงเห็นโดยลักษณะ สาม กรรม(ฝายกุศล)มีประเภท สาม

๖๔ ๑๓๔

www.buddhadasa.info


ลําดับหมวดธรรม

๙๐๓

กรรม(ฝายกุศล) มีเหตุแหงการเกิด สาม ๑๓๓ กรรม(ฝายอกุศล) มีประเภท สาม ๑๓๒ กรรม(ฝายอุกุศล)มีเหตุแหงการเกิด สาม ๑๓๑ กรรมมีชื่อตามกาละที่ใหผล สาม ๑๓๒ กรรม(มีทวาร) สาม ๒๗๖ กรรมมีวิบาก (จําแนกตามกาลที่ใหผล)สาม ๒๗๗ กรรมมีอาการเกิดซึ่งมีไวพจน สาม ๑๓๒ กรรมใหผลในอัตตภาพที่กระทําจําแนกโดยชนิด สาม ๑๓๒/๑๓๖ กองทุกขกอขึ้นไมไดเมื่อใครครวญอยูโดยอาการที่จิตมีคุณธรรม สาม ๒๙๕ การกลาวตรงตามที่ทรงกลาวมีอานิสงส สาม ๑๕๙/๖๗๑ การเกิดดับแหงธรรมอื่นไมมี,นอกจากแหงธรรม สาม ๒๒๐ การเจริญธรรมสามเพื่อละธรรมสาม,เพื่อความมีแหงสุจริต สาม ๖๓๓ การดับลงแหงทุกขประกอบดวยอาการ สาม ๒๒๑ การดับลงแหงสังขารธรรม(สิบหมวด)ประกอบดวยอาการ สาม ๒๒๑ การตายที่ไมงดงามมีมูลมาจากการบูดเนาแหงกรรม สาม ๕๘๐ การถึงทับสสตวิหารธรรมมีผล(พิเศษ) สาม ๒๐๕ การทําที่สุดทุกขในทิฏฐิธรรมไดเพราะเหตุ สาม ๓๔๔ การทําที่สุดทุกขในทิฏฐธรรมไมไดเพราะเหตุ สาม ๑๘๙ การบรรพชามีผลสมบูรณ(โดยลักษณะ ๓ ) เพราะภิกษุสําเหนียกการกระทํา-(โดยอาการ) สาม๔๘๗–๔๘๘ การปฏิบัติเพื่อดับ “โรค-หัวฝ-ลูกศร” มีปจจยาการ สาม ๒๖๘ การประสบความพอใจในอรหัตตผลมีไดโดยลําดับ สาม ๖๕๑ การปรากฏขึ้นแหงภพใหมสําเร็จไดโดยองคประกอบ สาม ๗๙๑/๗๙๒ การปรินิพพานเฉพาะตน(ในกรณีแหงอุปาทานสี่)มีปจจยาการ สาม ๑๘๗ การพิจารณาใครครวญธรรม(ของผูเปนเกพลี)โดยวิธี สาม ๓๔๓/๔๕๑ การพิจารณาปจจัยในภายใน(มีวัตถุตามที่ทรงระบุ) สาม ๓๐๖–๓๐๗ การละเสียไดซึ่งตัณหาไมนํามาซึ่งอาการแหงความทุกขโดคู สาม ๓๓๕

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๙๐๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ

การละอุปาทานขอที่สี่มีอานิสงส(พิเศษ) สาม ๑๘๗ การสนทนาของสัตบุรุษตองประกอบดวยลักษณะ สาม ๒๐๒ การเสวยเวทนา (ของผูปราศจากกิเลสเครื่องรอยรัด) เปนไปเสมอกันในเวทนา-สาม๔๔๗ การแสดงธรรม (เนื่องดวยปฏิจจฯ) มีความงม สาม ๔๘๘ การหลงยึดเบญจขันธคือการลวงของจิตเองโดยลักษณะ สาม ๔๒๓ การเห็นชัดปฏิจจฯและปฏิจจสมุปปนนธรรมทําใหไมมีทิฏฐิและกังขาในธรรม-สาม๔๒๕ การเห็นผัสสายตนะโดยธรรมลักษณะหามีคาเทากับเห็นโดยอนัตตลักษณะ-สาม๕๐๙–๕๑๐ การเห็นผัสสายตนะในลักษณะทําที่สุดไดคือเห็นโดยอนัตตลักษณะ สาม ๕๑๐ การเห็นอนัตตลักษณะแหงเบญจขันธมีลักษณะ สาม ๑๔๓/๒๘๖ กาลกิริยาที่ไมงดงามมีมูลมาจากการบูดเนาแหงกรรม สาม ๕๘๐ ขอปฏิบัติสมควรแกการดับไมเหลือแหงปปญจสัญญาสังขามีคู สาม ๖๑๔ ขันธแตละขันธมีลักษณะตามธรรมชาติ (ที่ปุถุชนมองไมเห็น) สาม ๑๐๗/ฯลฯ คนพาลเปนทางมาแหงสิ่งอันพึงรังเกียจ สาม ๔๕๓ ความคิดที่ทําใหออกบวชโดยบริสุทธปรารภเหตุ สาม ๑๔๑ ความงาม(ในการแสดงธรรม) สาม ๔๘๘ ความเจริญถึงที่สุดแหงตัณหานํามาซึ่งอาการแหงความทุกขโดยคู สาม ๒๑๓ ความเจริญในอริยวินัย(เกี่ยวกับการขมาโทษ)ประกอบดวยองค สาม ๓๖๗ ความเดือดรอนมีประการตางๆมีมูลมาจากกิเลสมีประเภท สาม ๘๐๒ ความตั้งอยูมั่นคงแหงศาสนาเปนไปเพื่อประโยชนโดยนัย สาม ๘๑๒ ความตางระหวางคนพาลกับบัณฑิตมีทางกําหนดไดโดยสิ่งพึงรังเกียจ สาม ๔๕๒ ความตางแหงคํากิริยา(เกี่ยวกับการทําลายอนุสัย) สาม ๑๘๙ ความเพียรปรารภการกระทํามีอาการ สาม ๔๘๗ ความยินดีหรือไมยินดีลวนแตอาจนํามาซึ่งธรรม (:โกรธ-พูดเท็จ-สงสัย) สาม ๕๙๕ ความสิ้นอาสวะมีแกผูรูเห็นขันธ(แตละขันธ)โดยนัย สาม ๖๑๕

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ลําดับหมวดธรรม

๙๐๕

ความหลุดพนเพราะเหตุแหงอาการ สาม ๔๔๑–๔๔๓/๕๒๑–๕๒๖ ความเห็นถูกตองเกี่ยวกับอนัตตามีนัย สาม ๑๔๓/๒๘๖/๔๙๒/๕๑๐ ความเห็นถูกในปยรูปสาตรูปโดยอาการหาทําใหละธรรมฝายทุกข สาม ๓๑๓ ความเห็นถูกในปยรูปสาตรูปใหผลอยางเดียวกันแมในกาลทั้ง สาม ๓๑๓ ความเห็นวิปริตในปยรูปสาตรูปโดยอาการหาทําความเจริญฝายทุกข สาม ๓๐๙ ความเห็นวิปลาสในปยรูปสาตรูปใหผลอยางเดียวกันแมในกาลทั้ง สาม ๓๐๙ คํากิริยา(เกี่ยวกับการทําลายอนุสัย) คําเดียวใชแกอนุสัย สาม ๑๙๑ “จิต”มีไวพจน สาม ๓๘/๓๘๑ จิตไมไดรับการรักษาเปนเหตุใหไมมีการรักษาแกกรรม สาม ๕๗๙ จิต “อนุเสติ”ในเวทนาสาม, กอใหเกิดอนุสัย สาม ๑๖๙ ฉันทะเปนแดนเกิดแหงธรรม (:สิ่งรัก-ความหวัง-ความสมหวัง) สาม ๕๙๕ ฐานะหก(แหงการดับทุกขในทิฏฐธรรม) เพราะเหตุ สาม ๓๔๔ ตัณหา (ในกรณีที่เกี่ยวกับการแสวงหา) มีวิภาค สาม ๕๙๔/๗๘๖ ตัณหาวิจริตสิบแปดจําแนกโดยกาล สาม ๑๐๒–๑๐๔ ตัณหาวิจริตหนึ่งรอยแปดมีนัย (แหงการรับ) สาม ๑๐๕ ที่ตั้งแหงเจตนา (ของผูมอี วิชชาเปนเครื่องกัน้ , ตัณหาเปนเครื่องผูก)คือธาตุ สาม๗๙๒ ที่ตั้งแหงวิญญาณ (ของผูมีอวิชชาเปนเครื่องกั้น, ตัณหาเปนเครื่องผูก)-คือธาตุ สาม๗๙๑ ทุคติละไดเพราะรูประจักษซึ่งธรรม สาม ๑๓๖ ธรรม(ที่ตองมีเปนพื้นฐาน “บริสุทธิ์มาแลวแตเดิม”) สาม ๓๓๖ ธรรมธาตุ(เกี่ยวกับอิทัปปจจยตาปฏิจจฯ) มีไวพจน สาม ๓๔/๔๔/ฯลฯ ธรรมธาตุ(เกี่ยวกับอิทัปปจจยตาปฏิจจ)มีอยูโดยชื่อ สาม ๓๕/๔๔/ฯลฯ ธรรมเปนเครื่องผูกพันสัตวโลกโดยมาก สาม ๖๖๖ ธรรมสัจจะที่ทรงนํามาบันลือสีหนาทเกี่ยวกับเบญขันธมีสัจจะ(เพียง) สาม ๔๘๐/๔๘๖ ธรรมสําหรับฆราวาสใชตรวจสอบภิกษุ(คือธรรมเปนที่ตั้งแหงธรรม) สาม ๖๓๖ ธาตุเปนที่ตั้งแหงความเปนไปไดของปฏิจจฯมีอยาง สาม ๗๙๐ ธาตุเปนที่ตั้งแหงเจตนาหรือปรารถนา(ของสัตวผูจักเกิดในภพใหม)มีชนิด สาม ๗๙๒ ธาตุเปนที่ตั้งแหงวิญญาณ (ของสัตวผูจักเกิดในภพใหม) มีชนิด สาม ๗๙๑

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๙๐๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ

นันทิในขันธเกิดขึ้นเพราะเหตุแหงอาการ สาม ๑๒๘/๑๕๑/๑๕๙ บัณฑิตไมเปนทางมาแหงสิ่งอันพึงรังเกียจ สาม ๔๕๓ บุพพภาคของการปฏิบัติเพื่อดับปฏิจจฯ สาม ๒๖๘ เบญจขันธพึงเห็นดวยยถาภูตสัมมัปปญญาโดยลักษณะ สาม ๑๔๓/๒๘๖ ปฏิจจฯ(แหงการดับอุปาทานสี่) มีปจจยาาร สาม ๖๕๘ ปฏิจจฯแหงการปฏิบัติชอบโดยไตรทวาร, ตั้งตนที่กุสลธาตุ(แตละธาตุ) สาม ๕๘๘ ปฏิจจฯแหงการปฏิบัติชอบโดยไตรทวาร, ตั้งตนที่อกุสลธาตุ(แตละธาตุ) สาม ๕๘๗ ปฏิจจฯแหงการเห็นโดยประการอื่น (จากที่ปุถุชนเห็น) มีปจจยาการ สาม ๒๘๙ ปฏิจจฯ(แหง “การอยูคนเดียว”) มีปจจยาการ สาม ๕๙๙ ปฏิจจฯ(แหง “การอยูอยางมีเพื่อนสอง”) มีปจจยาการ สาม ๕๙๗ ปฏิจจฯแหงความไมเรารอนมีอาการ สาม ๕๘ ปฏิจจฯแหงความเรารอนอันใหญหลวงมีอาการ สาม ๕๗ ปฏิบัติธรรม “สมควรแกธรรม” ตองเปนไปเพื่อธรรม สาม ๒๖๖/๕๒๐–๕๒๖ ปฏิปทา(การสําคัญผิดเกี่ยวกับอัตตา)ทําใหเกิดสักกายะ (เกี่ยวกับ “เรา”) สาม๔๙๒ ปฏิปทา(ความเห็นถูกตองเกี่ยวกับอนัตตา)ทําใหมีการดับสักกายะ(“เรา”)สาม ๔๙๒ ปปญจสัญญา (ธรรมเปนเหตุใหเนินชาแกการหลุดพน) มีวิภาค สาม ๕๙๖ ปปญจสัญญาสังขายอมเปนไปในอายตนะภายนอกแหงกาล สาม ๖๐๑ ประโยชน(ที่พึงกระทําใหสมบูรณดวยความไมประมาท) มีวิภาค สาม ๔๘๘ ปจจยาการ (ของปฏิจจฯแหงการดับอุปาทานสี่) สาม ๖๕๘ ปจจยาการ (ของปฏิจจฯแหงการเห็นโดยประการอื่นจากที่ปุถุชนเห็น) สาม ๒๘๙ ปจจยาการ (ของปฏิจจฯแหง“การอยูคนเดียว”) สาม ๕๙๙ ปจจยาการ (ของปฏิจจฯแหง“การอยูอยางมีเพื่อนสอง”) สาม ๕๙๗ ปจจยาการ (แหงอาการของจิตในกรณีแหงการหลุดพน) สาม ๓๔๗ ปจจัยที่ประจวบพรอมเพื่อการกาวลงสูครรภ สาม ๑๔๙ ผัสสะเกิดเพราะการประจวบแหงธรรม สาม ๙๗/ฯลฯ ผัสสะบัญญัติมีเพราะมีองคประกอบแหงการบัญญัติ สาม ๖๐๓ ผัสสะบัญญัติไมมีเพราะไมมีองคประกอบแหงการบัญญัติ สาม ๖๐๙ ผัสสะเปนเหตุเกิดแหงธรรม (เวทนา-เจตนา-สัญญา) สาม ๒๙๓

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ลําดับหมวดธรรม

๙๐๗

ผัสสะมีชนิด สาม ๓๙ ผูเกียจครานยอมประสบ(อนิฏฐ) ผล สาม ๔๘๗ ผูปฏิบัติดีแลวคือเห็นขันธโดยลักษณะเจ็ดแลวปฏิบัติเพื่อธรรม สาม ๓๓๙ ผูปฏิบัติธรรม “สมควรแกธรรม” ตองเปนไปเพื่อธรรม สาม ๒๖๖/๕๐๒–๕๒๖ ผูประกอบภัยเวรหาประการ (แตละอยาง) ยอมประสบโทษมีอยาง สาม ๕๓๘ ผูปรารภความเพียรยอมประสบ (อิฎฐิ) ผล สาม ๔๘๗ ผูปรินิพพานเฉพาะตนยอมรูประจักษชัดเวทนาโดยลักษณะ สาม ๔๔๗ ผูพนวิเศษแลวคือเห็นขันธโดยลักษณะเจ็ดแลวพนดวยธรรม สาม ๓๓๙ ผูพิจารณาใครครวญธรรมโดยวิธี (ของผูเปนเกพลี) สาม ๓๔๒/๔๕๑ ผูไมมีภพใหมยอมถึงความเปนผูประเสริฐ(อยางนอยก็)โดยนัย สาม ๘๐๔ พรหมจรรยมีนิพพานเปนที่เปนไป, ในลักษณะ สาม ๖๓๕ พระขีณาสพอยูเหนือวิสัยแหงการปรุงแตงอภิสังขาร สาม ๔๔๘ พุทธอุทานเฉพาะยาม สาม ๗,๙,๑๐ ภพทุกชนิดไมวาที่ไหนหรือเมื่อไรยอมประกอบดวยลักษณะ สาม ๘๐๔ ภพมีวิภาค สาม ๒๗/๘๗/ฯลฯ “ภิกษุธรรมกถึก’ แทยอมแสดงปฏิจจฯ เพื่อผล สาม ๕๙/๕๒๐ ภิกษุธรรมกถึก (แท) แสดงธรรมเพื่อใหเกิดปฏิกิริยา(ตอปฏิจจสมุปปนนธรรม)-สาม๕๙/๕๒๐ ภิกษุบรรลุนิพพานในทิฏฐธรรมคือสําเร็จในการทําปฏิกิริยา(ตอปฏิจจ-สมุปปนนนธรรม) สาม๔๔๑/๕๒๑ ภิกษุปฏิบัติธรรมสมควรแกธรรมคือมีปฏิกิรยิ า(ตอปฏิจจสมุปปนนธรรม)--สาม๒๖๖/๕๒๐ ภิกษุผูสามารถอํานวยใหเกิดสัจจานุโพธ,มีคุณสมบัติ สาม ๖๓๗ มนสิการปฏิจจฯ โดยยาม สาม ๕,๗,๙ ยถาภูมสัมมัปปญญาในเบญขันธมีลักษณะ สาม ๑๔๓/ฯลฯ ระบบการถามเกี่ยวกับขันธหาที่นําไปสูยถาภูมสัมมัปปญญา(มีระยะ) สาม๑๔๓/๒๘๖ วัตถุ(ที่ทรงระบุ) เพื่อการพิจารณาปจจัยในภายใน สาม ๓๐๖–๓๐๗ วิญญาณ(จิต) ของบุคคลผูไปตามอวิชชา ยอมเขาถึงวิบากแหงสังขาร สาม ๔๔๗ วิญญาณตั้งอยูเจริญงอกงามในกพฬีการาหารเพราะเหตุแหงธรรม สาม ๓๒๗

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๙๐๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ

วิญญาณตั้งอยูเจริญงอกงามในผัสสาหารเพราะเหตุแหงธรรม สาม ๓๒๘ วิญญาณตั้งอยูเจริญงอกงามในมโนสัญเจตนาหารเพราะเหตุแหงธรรม สาม ๓๒๘ วิญญาณตั้งอยูเจริญงอกงามในวิญญาณเพราะเหตุแหงธรรม สาม ๓๒๙ วิญญาณตั้งอยูเจริญงอกงามไมไดในอาหารสี่เพราะไมมีเหตุ สาม ๓๓๐–๓๓๒ วิญญาณปรากฏเพราะความสมบูรณแหงธรรม สาม ๒๐๘ วิญญาณยังไมปรากฏเพราะความไมสมบูรณแหงธรรม สาม ๒๐๗ วิธีพิจารณาใครครวญธรรมทั้งปวงประมวลลงในการพิจารณาโดยความเปนธรรม— -สาม๓๔๒/๔๕๑ วิบากแหงสังขาร (กรรมที่เนื่องดวยอวิชชา)มีวิภาคไปตามสังขาร สาม ๔๔๗ เวทนามีชนิด สาม ๓๙ เวทนามีวิภาค สาม ๒๗๓ เวทนามีอาการเกิดขึ้นโดยลําดับแหงปจจยาการ สาม ๑๒๓/ฯลฯ ไวพจน(ของกันและกัน) แหงคําวา “ผูไมประมาท” มีอยาง สาม ๕๕๐ ไวพจนแหงความทุกขโดยอุปมา สาม ๒๖๙ สมารัมภะมีวิภาค สาม ๒๐๒–๒๐๓ สักกายะ(ความเห็นผิดเกี่ยวกับอัตตา,หรือ “เรา’) มีนัย สาม ๔๙๑ สังขาร(กรรมที่เนื่องดวยอวิชชา)มีวิภาค สาม ๔๔๗ สังขารมีวิภาค สาม ๒๘/๙๐/ฯลฯ สังคมปญญาชน(ครั้งพุทธกาล)จําแนกเปนพวก สาม ๕๙๙ สัจจนุปตติคือการทําอาการสิบสองแหงสัจจนุโพธใหถึงที่สุด,โดยอาการ สาม ๖๓๘ สัญเจตนาเกิดขึ้นโดยทวาร สาม ๑๖๐ สัตวโลกเพลิดเพลินอยูในภพ,ถูกลวงโดยภพดวยอาการ สาม ๘๐๓ สาวกปฏิญญาวายึดถือในธรรมของพระผูมีพระภาคโดยฐานะ สาม ๑๐๖/ฯลฯ “สิ่ง”ที่มีอยู สาม ๑๖๕ สิ่งเปนอารมณเพื่อการตั้งอยูแหงวิญญาณประกอบดวยลักษณาการ สาม ๑๖๖/ฯลฯ สิ่งพึงรังเกียจ(อันเกิดจากคนพาล,ไมเกิดจากบัณฑิต) สาม ๔๕๒ สิ่งไมเปนอารมณเพื่อการตั้งอยูแหงวิญญาณประกอบดวยลักษณาการ-สาม๑๖๗/๑๖๘/๑๗๐/๕๗๑

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ลําดับหมวดธรรม

๙๐๙

สุขและทุกขเกิดขึ้นเพราะสัญเจตนา สาม ๑๖๐ สุจริต (ที่ทําสติปฏฐานสี่ใหบริบูรณ)มีวิภาค สาม ๖๓๓ โสดาบันมีคุณลักษณะ สาม ๑๐๘/ฯลฯ เหตุ(ที่ทําใหตถาคตตองเกิดและธรรมวินัยรุงเรืองในโลก) สาม ๓๑๖ อกุศลวิตกมีวิภาค สาม ๑๔๒ องคแหงสุตะ สาม ๑๗/๒๔๕/ฯลฯ อฐานะ(ที่ผูรูชัดปฏิจจฯแลวจักสงสัยในธรรมสาม) สาม ๔๒๕ อฐานะหก(แหงการดับทุกขในทิฏฐธรรม)เพราะเหตุ สาม ๑๘๙ อภิสังขารมีวิภาค สาม ๔๔๗ อนุสัยมีขึ้นเพราะเหตุแหงเวทนา(มีคู) สาม ๑๘๘/๕๒๗ อนุสัย(มีปจจัยตางกันดวยอํานาจเวทนาตางกัน)มีวิภาค สาม ๑๘๘/๕๒๗ อนุสัยไมอาจมีขึ้น (แกผูรูเทาทันเวทนา) แมเพราะเหตุแหงเวทนา สาม ๓๔๓/๕๒๙ อริยสาวกพยากรณความเปนโสดาบันของตนได,เมื่อประกอบดวยองคคุณมีหมวด-สาม๕๓๘ อริยสาวกไมเขาถึง-ไมถือเอา-ไมถึงทับซึ่งธรรม สาม ๖๖๖ อวิชชาเปนปจจัยแหงสังขาร สาม ๑๖๐ อัตตา-อัตตนิยานุทิฏฐิเปนไปในความหมาย(วาของเรา,เปนเรา,ตัวตนของเรา)-สาม๓๘๓/๖๙๒/ฯลฯ อาการที่ควรรู-เห็นเกี่ยวกับขันธ(แตละขันธ) มีนัย สาม ๔๘๐/๔๘๕/๖๑๕ อาการ(ที่เนื่องดวยการทรงทราบคติของมิจฉาทิฏฐิ ท.) สาม ๗๓๕/ฯลฯ อาการที่มีตอสุขเวทนาซึ่งทําราคานุสัยใหนอนตาม สาม ๑๘๘ อาการที่มีตอสุขเวทนาซึ่งไมทําราคานุสัยใหนอนตาม สาม ๓๔๓ อาการแหงสุตะ สาม ๑๗/๒๔๕/ฯลฯ “อาชีวมัฏฐกศีล”คือธรรมสามที่ตอง “บริสุทธิ์มาแลวแตเดิม” สาม ๓๓๖ อารมณเพื่อการตั้งอยูแหงวิญญาณมีขึ้นเมื่อจิตมีอาการ สาม ๑๖๖/ฯลฯ อารมณเพือ่ การตั้งอยูแหงวิญญาณมีไมไดเมื่อจิตไมมอี าการ สาม๑๖๗/๑๖๘/๑๗๐/๕๗๑ อินทรีย(แตละอินทรีย) มีลักษณะเฉพาะซึ่งทําความตางจากกัน สาม ๖๓๕

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๙๑๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ

อุปปริกขีคือผูพิจารณาธรรมโดยวิธี สาม ๓๔๒/๔๕๑ อุปมาแหงองคประกอบเพื่อภพใหม (: เนื้อหา-พืช-ยางในพืช) แหงภพสาม-สาม๗๙๑/๗๙๒ อุปสรรค(ที่มักจะเกิด) ในขณะเจริญสติปฏฐานทั้งสี่ สาม ๒๗๙

๔ กรรมบัญญัต(เกี่ยวกับทุกขนี้ใครทําให) นอกพุทธศาสนามีวิภาค สี่ ๖๗๐/๖๗๓ กระแสปฏิจจฯหยุดไดเพราะธรรม สี่ ๑๓๘ กายมีอาการที่เห็นไดงาย สี่ ๓๘/๓๘๑ การกอเกิดแหงปญจุปาทานขันธไมมีเพราะไมมีลําดับแหอาการ สี่ ๓๓๕ การกอขึ้นแหงทุกขประกอบดวยอาการ สี่ ๒๒๐ การกอขึ้นแหงสังขารธรรม(สิบหมวด) ประกอบดวยอาการ สี่ ๒๒๐ การกาวลวงปฏิจจสมุปปนนธรรมเพราะรูทั่วถึงสิ่งนั้นโดยอาการ สี่ ๔๓๒ การเกิดแหงกองทุกข(ที่มีนันทิเปนหลัก)มีปจจยาการ สี่ ๑๒๘/๑๕๑/๒๕๙ การเกิดแหงอิสสาและมัจจฉริยะ(เครื่องผูกพันเทวดาฯลฯ)มีปจจยาการ สี่ ๖๑๓ การเจริญโพชฌงค(ที่ทําวิชชาและวิมุตติใหบริบูรณ)ประกอบดวยลักษณะ สี่ ๖๓๔ การดับแหงกองทุกข(ที่มีนันทิเปนหลัก)มีปจจยาการ สี่ ๑๓๐/๒๖๑ การตามเห็นขันธ(แตละขันธ) ในความหมายแหงตัวตนโดยอาการ สี่ ๓๐๐/ฯลฯ การตามเห็นรูปเปนอัตตามีอาการ สี่ ๑๖๔/ฯลฯ การตามเห็นวิญญาณเปนอัตตามีอาการ สี่ ๑๖๔/ฯลฯ การตามเห็นเวทนาเปนอัตตามีอาการ สี่ ๑๖๔/ฯลฯ การตามเห็นสังขารเปนอัตตามีอาการ สี่ ๑๖๔/ฯลฯ การตามเห็นสัญญาเปนอัตตามีอาการ สี่ ๑๖๔/ฯลฯ การถึงทับสสตวิหารธรรมมีลักษณะ สี่ ๒๐๔ การประกาศธรรมของพระพุทธเจามีผลเปรียบดวยอุปมา สี่ ๒๐๖/ฯลฯ

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ลําดับหมวดธรรม

๙๑๑

การปรินิพพานเฉพาะตน (ในกรณีแหงอภิสังขาร) มีปจจยาการ สี่ ๔๔๗ การพยากรณอรหัตตผลดวยลักษณะ สี่ ๗๒ การไมตามเห็นขันธ(แตละขันธ) ในความหมายแหงตัวตนโดยอาการ สี่ ๓๐๓ การไมสามารถกาวลวงปฏิจจสมุปปนนธรรมเพราะไมรทู ั่วถึงสิ่งนั้นโดยอาการ สี่ ๓๗๘ การรูปฏิจจฯ โดยวิธีแหงอริยสัจสี่ สี่ ๒๔๕/ฯลฯ การรูปฏิจจสมุปปนนธรรมเปนไปโดยอาการ สี่ ๘๔/๘๖/ฯลฯ การละสงสัยในฐานะหกทําใหละสงสัยในอริยสัจ สี่ ๑๐๘/๖๙๑/ฯลฯ การหลุดพนของอริยสาวกเนื่องดวยขันธหามีขั้นตอนโดยปจจยาการ สี่ ๑๔๔/ฯลฯ การอยูจบพรพมจรรยประกอบดวยลักษณะ สี่ ๔๐/ฯลฯ กิจควรกระทําทั้งสี่เปนอันกระทําอยูในเมื่อโพธิปกขิยธรรม๓๗เต็มรอบอยู สี่ ๓๓๖ กิจ (ที่บุคคลพึงกระทําเกี่ยวกับผัสสายตนะ) สี่ ๔๐๙ กิจ(ที่บุคคลละเลยเกี่ยวกับผัสสายตนะจนเกิดทุกข) สี่ ๓๙๐ ขันธ(แตละขันธ) มีอาการอันจะพึงเห็นผิด สี่ ๑๙๕ คนนอกวง(:ตั้งอยูในฝายแหงปุถุชนเพราะปราศจากโสตาปตติยังคะ) สี่ ๖๔๔ ความกอเกิดแหงปญจุปาทานขันธมีลําดับแหงอาการ สี่ ๒๑๓ ความดับแหงอวิชชาทําใหไมมีปจจัยแหงสุขทุกข สี่ ๑๖๒ ความประมาทของอริยสาวกเกี่ยวกับโสตาปตติยังคะ สี่ ๖๔๔ ความเปนไปโดยชอบ(ในธรรมวินัย)มีลักษณะ สี่ ๑๘๕ ความเปนผูฉลาด(ในธรรมขั้นปรมัตถ)มีวิภาค สี่ ๔๕๓ ความเปนพราหมณชั้นสูงสุดมีเพราะธรรม สี่ ๑๓๘ ความเปนสมณะขึ้นอยูกับการรูปฏิจจฯโดยนัย (แหงอริยสัจ)สี่ ๓๙๕ ความเปนโสดาบัน (อีกนัยหนึ่ง) มีไดเพราะการละกังขาในสัจจะ-สี่๑๐๘/๑๑๑/๖๙๑–๗๐๓ ความเพียรที่ตองทําเพื่อใหรูตามเปนจริง สี่ ๕๘ ความไมเปนไปโดยชอบ(ในธรรมวินัย)มีลักษณะ สี่ ๑๘๔ ความไมเปนสมณะขึ้นอยูกับการไมรูปฏิจจฯโดยนัย(แหงอริยสัจ)สี่ ๓๙๓ ความไมยึดมั่นขันธทําใหไมเกิดความกระทบกระทั่งแหงจิตโดยอาการ สี่ ๓๐๓ ความยึดมั่นขันธใหเกิดความกระทบกระทั่งแหงจิตโดยอาการ สี่ ๓๐๑/ฯลฯ

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๙๑๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ

ความรูชัดแจง (ภูมิศาสดา) ตอธรรมยี่สิบสี่โดยอาการหกเพราะเหตุแหงธรรม-สี่๔๑๙–๔๒๑ ความรูชัดแจง(อเสขะ)ตอธรรมยี่สิบสี่โดยอาการหกเพราะเหตุแหงธรรม สี่ ๔๑๖–๔๑๘ ความสิ้นอาสวะลุถึงนิพพานเปนเหตุใหไดสมญา(พิเศษ) สี่ ๕๕๘ คุณวิเศษยิ่งขึ้นไปหวังไดในขณะจิตตั้งมั่นอยูในสิตปฏฐาน สี่ ๒๗๘ เครื่องผูกพันเทวดามนุษยฯลฯไวในการจองเวรมีปจจยาการ สี่ ๖๑๒ จิตพนจากทุกขเพราะอาศัยปฏิจจสมุปปนนธรรม สี่ ๕๘ จิตไมพนจากทุกขเพราะปฏิจจสมุปปนนธรรม สี่ ๕๗ ชาละที่เปนชื่อของทิฏฐิ,มีปริยาย สี่ ๗๓๑ ญาณคือความรูในปฏิจจสมุปบันนธรรม(แตละอาการโดยนัยแหงอริยสัจ) สี่ ๓๕๐ ฐานะที่ไมอาจจะมีได(อฐานะ) สี่ ๑๕๙/๖๗๒ ตัณหามีลักษณะอาการ สี่ ๑๐๑ ตัณหามีอาการเกิดขึ้นโดยลําดับแหงปจจยาการ สี่ ๑๒๓/ฯลฯ ทิฏฐิเนื่องดวย “เอง” หรือ “อื่น”มนัยแหงการถาม สี่ ๕๑๔ ทิฏฐิบัญญัติคําดิ้นไดไมตายตัวมีจําพวก สี่ ๗๒๗ ทิฏฐิบัญญัติวามีที่สุดหรือไมมีที่สุดมีจําพวก สี่ ๗๒๗ ทิฏฐิบัญญัติอัตตาและโลกวาเที่ยงแตบางอยางมีจําพวก สี่ ๗๒๗ ทิฏฐิบัญญัติอัตตาและโลกวาเที่ยง,มีจําพวก สี่ ๗๒๗ ทุกขบัญญัติ(เกี่ยวกับทุกขนี้ใครทําให) นอกพุทธศาสนามีวิภาค สี่ ๖๗๐/๖๗๓ ทุกขสมุทัย(ที่เปนไปในปญจุปาทานขันธ) อาศัยธรรม สี่ ๔๓/๒๐๙ โทษของธรรมวินัยที่ไมเปนไปโดยชอบ สี่ ๑๘๔ โทษของธรรมวินัยที่ไมสมบูรณในการบัญญัติอุปาทาน สี่ ๑๘๔ ธรรมทําความเปนพราหมณชั้นสูงสุด สี่ ๑๓๘ ธรรมธาตุมีลักษณะ สี่ ๓๕/ฯลฯ ธรรมวินัยปญญัติไวไมดีคือบัญญัติอุปาทานไมครบ สี่ ๑๘๔ ธรรมอันผูรูขมขี่คัดคานไมไดมีหมวด สี่ ๑๑๒ ธัมมัฏฐิติญาณแมรูเห็นธัมมัฏฐิติอันไมเปลี่ยนแปลงก็ยังมีความเปลี่ยนแปลง-โดยอาการ สี่๓๕๘

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ลําดับหมวดธรรม

๙๑๓

ธาตุหกเปนคําตรัสที่ใครทําอะไรไมไดโดยอาการ สี่ ๑๑๒ นิทเทสโดยพิศดารแหงอริยสัจ(อีกนัยหนึ่ง)สี่ ๘๒/๑๑๕ แนวปฏิบัติที่ตั้งตนดวยการเห็นความไมเที่ยงของอายตนะมีลําดับ สี่ ๖๕๓–๖๕๔ บริษัทที่พลอยไดรับผลแหงการคนพบของพระองค สี่ ๒๖๕/๔๖๙ บัณฑิตผูประกอบดวยปญญา(วีมังสกบัณฑิต) ประกอบดวยความฉลาด สี่ ๔๕๓ ปฏิจจฯดับลงที่กลางสายมีปจจยาการ สี่ ๙๙/๑๒๕/๑๗๕/ฯลฯ ปฏิจจฯตั้งตนดวยเจตน-ปกัปปน-อนุสย-แหงจิตมีปจจยาการ สี่ ๑๖๙ ปฏิจจฯ(แตละอาการ) พึงรูโดยวิธีแหงอริยสัจสี่ สี่ ๑๔๕/ฯลฯ ปฏิจจฯ ที่เกิดเพียงครึ่งสายมีปจจยาการ สี่ ๙๘/๑๒๕/๑๗๕/ฯลฯ ปฏิจจฯที่ตรัสอยางยอที่สุด(เพียงตัณหา) มีปจจยาการ สี่ ๕๗๒/ฯลฯ ปฏิจจฯ(ที่ตั้งตนดวยการลวงของจิต)มีปจจยาการ สี่ ๔๒๓ ปฏิจจฯที่เปนนิโรธวารกลางสายมีปจจยาการ สี่ ๑๒๕/ฯลฯ ปฏิจจฯที่เปนสมุทยวารเพียงครึ่งสายมีปจจยาการ สี่ ๑๒๕/ฯลฯ ปฏิจจฯแมตั้งตนดวยอนุสยะอยางเดียวก็มีปจจยาการ สี่ ๑๖๙ ปฏิจจสมุปปนนธรรมมีอาการแหงอริยสัจ สี่ ๘๔/๘๖/ฯลฯ ปฏิจจสมุปปนนธรรมแหงความไมเรารอน สี่ ๕๘ ปฏิจจสมุปปนนธรรมแหงความเรารอนอันใหญหลวง สี่ ๕๗ ปฏิจจฯแหงการเกิดสังขารมีประเภทแหงชนิด สี่ ๑๙๒ ปฏิจจฯ(แหงปฏิสรณาการ) มีลักษณะแหงปจจยาการ สี่ ๖๓๕ ปฏิจจฯ(แหงภพใหม)มีปจจยาการ สี่ ๑๖๙/๑๗๐ ปฏิจจฯ(แหงวิชชาและวิมุตติ) โดยสังเขปมีปจจยาการ สี่ ๖๓๑–๖๓๒ ปฏิจจฯ(แหงสุวิมุตมจิต-จิตหลุดพนวิเศษดวยดีป มีปจจยาการ สี่ ๖๕๓ ปฏิจจฯ(แหงสุวิมุตตจิต-อีกนัยหนึ่ง)มีปจจยาการ สี่ ๖๕๓ ปฏิจจฯ(แหงอภัททกาลกิริยา “ตายชั่ว”) มีปจจยาการ สี่ ๕๗๙ ปฏิบัติธรรมสมควรแกธรรมคือสมควรแกความรูที่รูโดยนัยอริยสัจ สี่ ๓๐๗/๔๔๕ ปฏิบัติเพื่อสิ้นทุกโดยชอบคือสมควรแกการรูอุปธิโดยนัยอริยสัจ สี่ ๓๐๗ ปจจยาการ(ของการเกิดแหงกองทุกขที่มีนันทิเปนหลัก) สี่ ๑๒๘/๑๕๑/๒๕๙

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๙๑๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ

ปจจยาการ(ของการดับกองทุกขที่มีนันทิเปนหลัก) สี่ ๑๓๐/๒๖๑ ปจจยาการ(ของปฏิจจฯดับลงที่กลางสาย) สี่ ๙๙/๑๒๕/๑๗๕/ฯลฯ ปจจยาการ(ของปฏิจจฯตั้งตนดวยเจตน-ปกัปปน-อนุสย-แหงจิต) สี่ ๑๖๙ ปจจยาการ(ของปฏิจจฯที่เกิดขึ้นเพียงครึ่งสาย) สี่ ๙๘/๑๒๕/๑๗๕/ฯลฯ ปจจยาการ(ของปฏิจจฯที่ตรัสอยางยอที่สุดเพียงตัณหา) สี่ ๕๗๒/ฯลฯ ปจจยาการ(ของปฏิจจฯที่ตั้งตนดวยการลวงของจิต) สี่ ๔๒๓ ปจจยาการ(ของปฏิจจฯที่แมตั้งตนดวยอนุสยะอยางเดียว) สี่ ๑๖๙ ปจจยาการ(ของปฏิจจฯแหงปฏิสรณาการ)มีลักษณะ สี่ ๖๓๕ ปจจยาการ(ของปฏิจจฯแหงภพใหม ) สี่ ๑๖๙/๑๗๐ ปจจยาการ(ของปฏิจจฯแหงวิชชาและวิมุตติโดยสังเขป) สี่ ๖๓๑–๖๓๒ ปจจยาการ(ของปฏิจจฯแหงสุวิมุตตจิต) สี่ ๖๕๓ ปจจยาการ(ของปฏิจจฯแหงสุวิมุตตจิต-อีกนัยหนึ่ง) สี่ ๖๕๓ ปจจยาการจากการกาวลงสูครรภจนถึงเวทนามีอาการ สี่ ๘๑/๑๐๑/๑๑๕ ปจจยาการ(ที่ตั้งตนจากความเพลิน) สี่ ๑๒๘/๑๕๑/๒๕๙ ปจจยาการ(นิโรธวาร-พิเศษ) สี่ ๑๗๐ ปจจยาการ(สมุทยวาร-พิเศษ) สี่ ๑๖๙ ปจจยาการ(แหงปฏิจจฯของอภัททกาลกิริยา) สี่ ๕๗๙ ปจจยาการ(แหงปฏิจจฯที่เปนนิโรธวารกลางสาย) สี่ ๑๒๕/ฯลฯ ปจจยาการ(แหงปฏิจจฯที่เปนสมุทยวารเพียงครึ่งสาย) สี่ ๑๒๕/ฯลฯ ปจจยาการ(แหงวิมุตติญาณ) สี่ ๔๐/ฯลฯ ปุถุชนตามปรกติมีลักษณาการ สี่ ๑๖๔/๑๙๒/ฯลฯ ผัสสะจะปรากฎใหเห็นไดเพราะองคประกอบแหงการบัญญัติ สี่ ๗๘๘ ผัสสะเปนที่เกิดและดับแหงนิพเพธิกธรรม สี่ ๒๗๙ ผัสสายตนะหกเปนคําตรัสที่ใครทําอะไรไมไดโดยอาการ สี่ ๑๑๒ ผูที่ไดรับบอกผลแหงการคนพบของพระองคคือบริษัท สี่ ๒๖๕/๔๖๙ ผูปฏิบัติ(ปฏิจจฯ) โดยสมควรแกธรรมคือปฏิบัติโดยอาการแหงอริยสัจ สี่ ๔๔๕ ผูปฏิบัติ(ปฏิจจฯ) เพื่อสิ้นทุกขโดยชอบคือปฏิบัติโดยอาการแหงอริยสัจ สี่ ๔๔๕ มโนปวิจารสิบแปดคําตรัสที่ใครทําอะไรไมไดโดยอาการ สี่ ๑๑๓

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ลําดับหมวดธรรม

๙๑๕

รูป (อันเปนที่ตั้งแหงสุขและทุกข) ไมมีเพราะไมอยูในภาวะแหงสัญญีวิภาค สี่ ๕๙๖ เรื่องที่ทรงทาวาผูรูคัดคานไมได สี่ ๑๑๗ เรื่องปฏิจจฯเปนเรื่องที่มีเกียรติสูงสุดดวยเหตุผล สี่ ๘๑๑ ลักษณะแหงอาหารสี่โดยอุปมา สี่ ๓๒๓ โลกายะตะ(ที่ไมอาจนับเนื่องในทางสายกลาง)มีวิภาค สี่ ๖๘๘ วาทะที่ทรงแนะวาไมควรกลาว(เกี่ยวกับ “อืน่ ”- “เอง”) สี่ ๖๘/๖๖๗ วิญญาณฟุงไปภายนอกทางอายตนะหกโดยอาการ สี่ ๒๙๖ วิญญาณไมฟุงไปภายนอกทางอายนนะหกโดยอาการ สี่ ๒๙๖ วิญญาณไมสยบในภายใน:ในสุขจากรูปฌานสี่โดยอาการ สี่ ๒๙๘–๓๐๐ วิญญาณสยบในภายใน:. ในปติและสุขเกิดแตวิเวก(แหงปฐมฌาน) โดยอาการ สี่ ๒๙๗ วิญญาณสยบในภายใน:. ในปติและสุขเกิดแตสมาธิ(แหงทุติยฌาน) โดยอาการ สี่๒๙๗ วิญญาณสยบในภายใน:. ในสุขจากรูปฌานสี่โดยอาการ สี่ ๒๙๗ วิญญาณสยบในภายใน: ในสุขอันเกิดแตอุเบกขา (แหงตติยฌาน)โดยอาการ สี่ ๒๙๗ วิญญาณสยบในภายใน:.ในอทุกขมสุข (แหงจตุตถฌาน) โดยอาการ สี่ ๒๙๘ วิมุตติญาณมีลําดับแหงอาการ สี่ ๔๐/ฯลฯ วีมังสกบัณฑิตคือบุคคลผูประกอบดวยความฉลาดในธรรม สี่ ๔๕๓ เวสารัชชญาณ(ดู พุ. โอ. หัวขอวา “ทรงมีเวสารัชชญาณสี่”) สี่ ๔๗๙/๔๘๕ ไวพจน(แกกันและกัน) ของคําวา “สมุทัย” สี่ ๗๓/ฯลฯ ไวพจน(แกกันและกัน) แหงคําวา “ความเชื่อ” สี่ ๔๕๑ ไวพจนของคําวา “ละไดขาดแลว” (สําหรับกิเลสและสิ่งที่ตองละอื่นๆ) สี่ ๖๘๕ ไวพจน(แหงกันและกัน) ของคําวา “เหตุ” สี่ ๕๙๐/๗๘๔ สติปฏฐาน (ที่ทําโพชฌงคเจ็ดใหบริบูรณ)มีวิภาค สี่ ๖๓๓ สมณพราหมณที่สอนเรื่องกรรม (เกี่ยวกับสุขทุกข) มีพวก สี่ ๑๕๙/๖๗๐ สังขาร (ชนิดที่มีความหมายพิเศษ) มีประเภท สี่ ๑๙๒ สังขารปรุงแตงสุขทุกขโดยอาการ สี่ ๑๖๐ สัญเจตนาตั้งอยูในฐานะแหงธรรม สี่ ๑๖๓ สัญญีบัญญัติ(เกี่ยวกับการมีสัญญา-ไมมีสัญญา)มีวิภาค สี่ ๕๙๖

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๙๑๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ

สัมมาทิฏฐิ(นัยพิเศษนัยหนึ่ง) สมบูรณดวยอาการแหงเหตุ สี่ ๖๖๖ สัสสตทิฏฐิ(ชนิดเอสิกัฏฐายี) มีนัยแหงอุปมา สี่ ๑๐๖/๖๙๐/ฯลฯ สัสสตทิฏฐิแหงพวกสัสสตวาท(บัญญัติอัตตาและโลกวาเที่ยง) มีประการ สี่ ๗๓๓–๗๓๕ สิ่งเปนที่ตั้งอาศัยแหงการบัญญัติ (ซึ่งหมูแหงรูปและนาม) สี่ ๗๘๘ องคประกอบ (แหงความสมควรที่จะไดนามวา “ผูบรรลุนิพพานในทิฏฐธรรม”)-สี่ ๔๔๑–๔๔๓/๕๒๑/๕๒๖ องคแหงโสดาบัน (โสตาปตติยังคะ) มีวิภาค สี่ ๕๓๙ อฐานะ (สิ่งที่ไมอาจจะมีได) เกี่ยวกับการบัญญัติทุกขโดยไมเนื่องดวยผัสสะ-สี่๑๕๙/๖๗๒/๖๗๔ อมราวิกเขปกทิฏฐิแหงพวกอมราวิกเขปกวาท(พูดสาย) มีประการ สี่ ๗๔๓–๗๔๖ อรรถแหง “ผัสสะ” คําเดียวสามารถลบลางลัทธิกัมมวาที (นอกพุทธศาสนา) มีพวก สี๖่ ๗๔ อวกาศสวนที่ถูกกันออกมาเปนรูป (กาย ) โดยสิ่งสี่ ๒๐๗ อริยสัจมีนิทเทสโดยพิศดาร (อีกนัยหนึ่ง) สี่ ๘๒/๑๑๕ อริยสัจสี่เปนคําตรัสที่ใครทําอะไรไมไดโดยอาการ สี่ ๘๑/๑๑๓ อริยสาวกแทจริงประกอบดวยความหมาย สี่ ๙๓ อริยสาวกแทจริงเพราะรูปฏิจจฯโดยนัย สี่ ๙๓ อริยสาวกมีลักษณะ(ตรงกันขามจากปุถุชน) สี่ ๓๐๓ อวิชชามีวิภาค สี่ ๒๘ อันตานันติกทิฏฐิแหงพวกอันตานันติกวาท(มีที่สุด-ไมมีที่สุด) มีประการ สี่๗๔๐–๗๔๒ อาการของกาย(ที่เห็นไดงายเพื่อความเบื่อหนาย) สี่ ๓๘/๓๘๑ อาสวะเกิดขึ้นเพราะเหตุปจจัย สี่ ๒๐๒–๒๐๔ อาสวะไมมีเพราะความไมมีแหงปจจัย สี่ ๒๐๓–๒๐๔ อาหารมีวิภาค สี่ ๖๕/๓๒๓/๓๒๗/๕๗๗ อุปธิดับเมื่อปฏิบัติสมควรแกการรูอุปธิโดยนัยแหงอริยสัจ สี่ ๓๐๗ อุปธิเปนสิ่งที่ตองรูโดยนัยแหงอริยสัจ สี่ ๓๐๗ อุปาทานที่บัญญัติโดยพระสัมมาสัมพุทธเจา (ตองมี) สี่ ๑๘๕ อุปาทานมีวิภาค สี่ ๒๗/๘๗/ฯลฯ เอกกัจจสัสสติก-เอกัจจอสัสสติกทิฏฐิ(เที่ยงแตบางอยาง)มีประการ สี่ ๗๓๖–๗๓๙

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ลําดับหมวดธรรม

๙๑๗

๕ กรณีที่ไมตรัสวามีบุคคลเปนผูกระทํา หา ๖๕–๖๗/๗๙๙–๘๐๒ กรรมมีเวมัตตา(จําแนกตามคติ) หา ๒๗๖ กามคุณที่ใชบําเรอกุมาร หา ๑๕๐ กามคุณมีวิภาค หา ๒๗๑ กามมีเวมัตตา(จําแนกตามอารมณ) หา ๒๗๒ การเกิดแหงกองทุกขคือการเกิดแหง (อุปาทาน) ขันธ หา ๑๒๘/๒๖๐ การดับแหงกองทุกขคือการดับแหง(อุปาทาน) ขันธ หา ๑๓๑/๒๖๒ การทรงแสดงธรรมดวยปญญาอันยิ่งเพื่อประโยชนอันมีนัย หา ๔๘๔ การไมยึดมั่นจับฉวยสิ่งที่รูยิ่งกวาผูอื่นมีไดเพราะรูเวทนาโดยอาการ หา ๗๓๕/ฯลฯ การรูชัด(ดวยสมาธิจิต) ซึ่งการเกิดดับของขันธ หา ๑๒๗ การรูตามที่เปนจริงซึ่งธรรมหายอมไมกําหนดในธรรมหา หา ๓๓๕ การรูวานิพพานเปนอะไรไมเนื่องดวยวิธีการรูของสามัญชน หา ๒๘๔ การสําคัญเห็นปยรูปสาตรูปโดยอาการที่ทําตัณหาใหเจริญมีอาการ หา ๓๐๙ การแสดงธรรมของพระองคประกอบดวยลักษณะ หา ๕๘๖ การเห็นความไมมีโรคคือนิพพานมีไดเมื่อละนันทิราคะในธรรม หา ๔๒๓ การเห็นถูกในปยรูปสาตรูปโดยอาการที่ละตัณหาไดมีอาการ หา ๓๑๓ กุมารเกิดทุกขไดแมโดยปจจยาการ หา ๑๕๑ กุมารหลงใหลในเวทนาเพราะเหตุ หา ๑๕๑ ขันธหาเกิดเนื่องกันทางอายตนะหกโดยวิธีแหงปจจยาการ หา ๒๙๒ ความดับทุกขของผูไมหลงใหลในเวทนามีปจจยาการ หา ๓๖๘ ความเบื่อหนาย (ในธรรมเปนที่ตั้งแหงตัณหา) หา ๓๔๖ ความไมมีสัตวบุคคลตัวตนเราเขาทรงแสดงไวดวยความไมมีผูกระทํา “กิจ”-หา๖๕–๖๗/๗๙๙–๘๐๒ ความไมรูตามเปนจริงในสิ่งใดยอมกําหนัดในสิ่งนั้น หา ๒๑๓

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๙๑๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ

ความสงสัย(กถํกถี) เกี่ยวกับตนอันเปนปจจุบันมีแนวแหงความหมาย หา ๔๒๕/๔๒๙ คําตอบที่ทรงตอบตอปญหาที่ควรตั้งขึ้นเปนปญหาเกี่ยวกับธรรม-หา๖๕–๖๗/๘๐๐–๘๐๒ ชาติมีปจจยาการ(โดยปฏิโลม) หา ๗๓ ญาณเครื่องรูปฏิจจฯไมเนื่องดวยทางมาแหงความรูของสามัญชน หา ๒๘๒/๒๘๓ ฐานที่ตั้งแหงความกําหนัดมีวิภาค หา ๒๑๓/๓๓๕ ฐานะทีมีได(เกี่ยวกับการบัญญัติแกสิ่งที่มีอยูจริง) หา ๖๐๓ ทิฏฐิธัมมนิพพานทิฏฐิ(นิพพานในทิฏฐธรรม) มีประการ หา ๗๖๓–๗๖๕ ทิฏฐิบัญญัตินิพพานในทิฏฐิธรรม,มีจําพวก หา ๗๒๘ ทิฏฐิปรารภที่สุดในเบื้องตน (ปุพพันตทิฏฐิ) มีแนวแหงความหมาย หา ๔๒๕/๔๒๙ ทิฏฐิปรารภที่สุดในเบื้องปลาย (อปรันตทิฏฐิ) มีแนวแหงความหมาย หา ๔๒๕/๔๒๙ ทิฏฐิผิด(แมขยายออกไปเปน๒๖)ก็ยังปรารภขันธ หา ๗๐๔ ทิฏฐิและการหยั่งลงดวยทิฏฐิ (รวมแปด) เกิดเพราะเขาไปยึดถือในขันธ หา๓๘๐–๓๘๙ ทิฏฐิและการหยั่งลงแหงทิฏฐิเนื่องมาจากการยึดธรรม(คือขันธ) หา ๓๘๓ ธรรม(ขันธ)เปนที่ตั้งแหงความเบื่อหนาย หา ๔๔/ฯลฯ ธรรมจักษุมีไวพจน หา ๕๖๑/๕๖๔/ฯลฯ ธรรมที่ไมเที่ยง หา ๑๙๒ ธรรมเปนที่ตั้งแหงความเบื่อหนาย(อีกนัยหนึ่ง) หา ๔๐ ธรรมเปนที่ตั้งแหงอุปาทานมีวิภาค หา ๓๔๖ ธรรมวินัยที่เปนไปโดยชอบมีลักษณะ หา ๑๘๕ ธรรมวินัยที่ไมเปนโดยชอบมีลักษณะ หา ๑๘๔ ธรรม(สิ่งเปนที่ตั้งของอุปาทาน) หา ๓๔๗ ธรรมอันบุคคลพึงกําหนดรูดวยปญญาอันยิ่ง (อุปาทานขันธ) หา ๓๓๖ นัตถิกทิฏฐิเกิดเพราะยึดในขันธ หา ๑๐๙/ฯลฯ นาม(ในนามรูป) มีวิภาค หา ๒๘/๘๙/ฯลฯ นามรูปมีความเปนอยางนี้ๆ(ตามที่มันเปน) ทําใหเกิดการบัญญัติในรูปแบบ หา ๗๙๐ นิพพานมีลักษณะหรือไวพจน หา ๕๓

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ลําดับหมวดธรรม

๙๑๙

บัญญัติที่เปนฐานะ (เพราะบัญญัติแกสิ่งที่มีอยูจริง ) หา ๖๐๓ ปฏิจจฯ(ที่ตั้งตนดวยอัสสาทะในุอุปาทานนิยธรรม) มีปจจยาการ หา ๒๑๘/๓๗๖ ปฏิจจฯ(นิโรธวารที่ตั้งตนดวยการเห็นอาทีนวะในสัญโญชนิยธรรม) มีปจจยาการ-หา๒๓๓ ปฏิจจฯ(นิโรธวารที่ตั้งตนดวยการเห็นอาทีนวะในอุปาทานิยธรรมมีปจจยาการ-หา๒๓๑/๓๗๗ ปฏิจจฯเนื่องดวยสัญโญชนิยะมีปจจยาการ หา ๒๑๙/๒๓๓ ปฏิจจฯเนื่องดวยอุปาทานนิยะมีปจจยาการ หา ๒๑๘/๒๓๑/๓๗๖/๓๗๗ ปฏิจจฯ(แหงการเกิดขันธหาโดยสมบูรณ)มีปจจยาการ หา ๒๙๒ ปฏิจจสมุปปนนธรรม(ในกรณีแหงขันธ) หา ๔๒/๒๐๙ ปฏิจจฯ (แหงกลหวิวาทสมุทัย) มีปจจยาการ หา ๕๙๕ ปฏิจจฯ(แหงความสิ้นสุดของโลก) มีปจจยาการ หา ๖๕๙ ปปญจสัญญาสังขาสมุทาจรณบัญญัติเปนบัญญัติสุดทายแหงบัญญัติ หา ๖๐๓ ปจจยาการ (ของปฏิจจฯนิโรธวาที่ตั้งตนดวยการเห็นอาทีนวะในสัญโญชนิยธรรม)-หา๒๓๓ ปจจยาากร (ของปฏิจจฯนิโรธวารที่ตั้งตนดวยการเห็นอาทีนวะในอุปาทานิยธรรม)-หา๒๓๑/๓๗๗ ปจจยาการ (ของปฏิจจฯแหงกลหวิวาทสมุทัย) หา ๕๙๕ ปจจยาการ(ของปฏิจจฯแหงความสิ้นสุดขอโลก ) หา ๖๕๙ ปจจยาการ(แหงปฏิจจฯที่ตั้งตนดวยอัสสาทะ) หา ๒๑๘/๓๗๖ ปจจยาการ(แหงฏิจจฯเนื่องดวยสัญโญชนิยะ) หา ๒๑๙/๒๓๓ ปจจยาการ(แหงปฏิจจฯเนื่องดวยอุปาทานิยะ) หา ๒๑๘/๒๓๑/๓๗๖/๓๗๗ ปญหาที่ควรตั้งขึ้นเปนปญหาเกี่ยวกับธรรม(วิญญาณ-ผัสสะ-เวทนา-ตัณหา-อุปาทาน) หา๖๕/๘๐๐ ปญหาที่ไมควรตั้งขึ้นเปนปญหาเกี่ยวกับธรรม(วิญญาณ-ผัสสะ-เวทนา-ตัณหา-อุปาทาน ) หา๖๕–๖๗/๗๙๙–๘๐๒ ปุถุชนยอมไรูจักเวทนาโดยธรรมลักษณะ หา ๕๒๘

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๙๒๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ

ผูเจริญสติปญญาอยาสมบูรณประกอบอยูดวยลักษณะ หา ๖๓๓ ผูที่ควรปฏิบัติตามคือผูประกอบดวยธรรมขันธ หา ๒๘๐ ผูไมหลงใหลในเวทนาเพราะประกอบดวยคุณธรรม หา ๓๖๘ พรหมจรรยที่ทรงประกาศ(สําเร็จ) แลวมีลักษณะ หา ๒๖๕/๔๖๙ พรหมชาลปริยาย(สูตร)มีชื่อตางๆแทนกันไดถึง หา ๗๓๑ พรหมหรือสักกะของผูรูยอมประกอบดวยธรรม หา ๑๓๘ พระธรรมคุณ (ในบางครั้งตรัสไวแตเพียง) หา ๔๓๑ ภยเวร(อันอริยสาวกพึงใหสงบระงับแลวเพื่อความเปนโสดาบัน) หา ๕๓๘ ภิกษุชื่อวาไมไดอยูประพฤติพรหมจรรยเพราะไมรูธรรมลักษณะ หา ๕๐๙ ภิกษุชื่อวาอยูหางไกลจากธรรมวินัยนี้เพราะไมรูธรรมลักษณะ หา ๕๐๙ ภิกษุรูจักผัสสายตนะยิ่งกวาที่สมณพราหมณรู, เพราะรูโดยอาการ หา ๗๒๙ รากฐานแหงปฏิจจฯ(ผัสสายตนะ) อันบุคคลพึงรูโดยธรรมลักษณะ หา ๕๐๙ ลักษณะแหงการไมรูอทุกขมสุขเวทนาตามที่เปนจริง หา ๑๘๙ ลักษณะแหงการรูอทุกขมสุขเวทนาตามที่เปนจริง หา ๓๔๓ ลักษณะแหงการรูอทุกขมแทจริงนิยมแสดงดวยโวหารอันประกอบดวยนัย หา ๑๓๔/๖๘๕ ไวพจน(ของกันและกัน)แหงธรรมในประเภทปญญา หา ๔๖๔/๔๖๖/๔๗๑/๔๗๔/๔๗๗/ ๔๗๙/๕๖๑/๕๖๔/๕๖๖/๕๖๙ ไวพจนแหงคําวา “เที่ยง” (ของพรหม) หา ๗๓๖ สัญโญชนาภินิเวสวินิพันธะเกิดเพราะเขาไปยึดถือในขันธ หา ๓๘๘ สัญโญชนาภินิเวสวินิพันธาชโฌสานะเกิดเพราะเขาไปยึดถือในขันธ หา ๓๘๘ สัญโญชนิยธรรมมีวิภาค หา ๑๓๘ สัสสตทิฏฐิ (เอสิกัฏฐายี) เกิดเพราะยึดในขันธ หา ๑๐๗/๖๙๐/ฯลฯ สิ่งที่เคยหลงกันวาเปน (ปรมทิฏฐธัมม) นิพพาน หา ๗๖๓ สิ่งเปนที่ตั้งแหงความเบื่อหนาย หา ๓๘๓/ฯลฯ สิ่งเปนที่ตั้งแหงความยึดถือ หา ๑๔๓/ฯลฯ สุขและทุกขในภายในเกิดขึ้นเพราะเขาไปยึดถือในธรรม(คือขันธ) หา ๒๘๘ เหตุผล(สําหรับการปรารภความเพียรมีอยูในลักษณะแหงธรรมที่ทรงแสดง) หา ๕๘๖

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ลําดับหมวดธรรม

๙๒๑

องคมรรคประเภทปญญาขันธสมาธิขันธ(จักเต็มรอบภายหลังประเภทสีลขันธ) หา๓๓๖ อฐานะ(สิ่งที่มีไมได,เกี่ยวกับการบัญญัติแกสิ่งที่ไมมีอยู) หา ๖๐๙ อนาคามี (ในกรณีแหงโพชฌงคเจ็ด) มีวิภาค หา ๒๘๑ อริยวันยเรียกอารมณ (อฏิฐารมณ) หาวากามคุณ หา ๒๗๑ อวิชชานุสัยยอมนอนตามปุถุชนเพราะไมรูชัดแจงเวทนาโดยธรรมลักษณะ หา๕๒๘ อัตตา(ที่เคยหลงสมมติกันวาบรรลุปรมทิฏฐธัมมนิพพาน) หา ๗๖๓ อัตตาที่ถึงแลวซึ่งปรมทิฏฐธัมมนิพพาน (ทิฏฐิกอนพุทธกาล) หา ๗๖๓–๗๖๕ อันตคาหิกทิฏฐิสิบก็ลวนแตปรารภขันธ หา ๗๑๗ อาการที่มีตอทุกขเวทนาซึ่งทําปฏิฆานุสัยใหนอนตาม หา ๑๘๘/๕๒๗ อาการที่มีตอทุกขเวทนาซึ่งไมทําปฏิฆานุสัยใหนอนตาม หา ๓๔๓/๕๒๙ อายตนะหนึ่งๆมีระยะขั้นตอนเปนที่ตั้งแหงการยึดถือ หา ๒๙๐ อารมณ (มิใชกาม,เปนเพียงกามคุณ) หา ๒๗๑ อินทรีย (ซึ่งมีใจเปนปฏิสรณะ - ที่แลนไปหา) มีวิภาค หา ๖๓๕ อินทรีย มีวิภาค หา ๑๖๔ อินทรียสังวรตออนิฏฐารมณมีอานิสงส(ตามที่ตรัสเปนพิเศษ) โดยลักษณะ หา ๖๓๓ อินทรียสังวรตออิฏฐารมณมีอานิสงส(ตามที่ตรัสเปนพิเศษ) โดยลักษณะ หา ๖๓๒ อุปาทานขันธ มีวิภาค หา ๑๖๔ อุปาทานมีอาการเกิดขึ้นโดยลําดับแหงปจจยาการ หา ๑๒๓/ฯลฯ อุปาทานิยธรรมมีวิภาค หา ๒๑๘/๓๗๖

www.buddhadasa.info ๖ กรรมพึงรูแจงโดยนิพเพธิกลักษณะ หก กังขา(ความสังสัย)ในฐานะ หก กามพึงรูแจงโดยนิพเพธิกลักษณะ หก การกาวลงสูครรภมีเพราะอาศัยธาตุ หก

๒๗๐ ๑๐๘/๖๙๑/ฯลฯ ๒๗๐ ๘๑/๑๐๑/๑๑๕

www.buddhadasa.info


๙๒๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ

การกําจัดอุปสรรค (ในขณะเจริญสติปฏฐาน) โดยปจจยาการ หก ๒๗๙ การเกิดแหงโลกมีทางมาโดยอายตนะ หก ๑๗๓/๒๑๖ การดับแหงโลกโดยทางอายตนะ หก ๑๗๕/๒๒๗ การตั้งอยูไมไดแหทุกขทางอายตนะ หก ๙๘/๑๒๕/ฯลฯ การบรรลุอรหันตสุกขวิปสสกไมเกี่ยวกับการบรรลุอภิญญา(ชนิดพิเศษ) หก ๓๖๒ การรูชัดพรหมจรรยนี้วาเปนที่ดับแหงกรรม,เมื่อรูกรรมโดยลักษณะ หก ๒๗๗ การรูชัดพรหมจรรยนี้วาเปนที่ดับแหงกาม,เมื่อรูกามโดยลักษณะ หก ๒๗๓ การรูชัดพรหมจรรยนี้วาเปนที่ดับแหงเวทนา, เมื่อรูเวทนาโดยลักษณะ หก ๒๗๔ การรูชัดพรหมจรรยนี้วาเปนที่ดับแหงสัญญา,เมื่อรูสัญญาโดยลักษณะ หก ๒๗๖ การรูปฏิจจฯไมเกี่ยวกับการบรรลุอภิญญา(ชนิดพิเศษ) หก ๓๖๒ ความเปนโสดาบัน(อีกนัยหนึ่ง)มีไดเพราะการละกังขาในฐานะ หก ๑๐๘/๑๑๑/๖๙๑–๗๐๓ ความรูชัดแจงแหงภูมิพระศาสดาตอธรรมยี่สิบสี่โดยอาการ หก ๔๑๙–๔๒๑ ความรูชัดแจงแหงภูมิอเสขะตอธรรมยี่สิบสี่โดยอาการ หก ๔๑๖–๔๑๘ ความรูผิดแหงภูมิปุถุชนตอธรรมยี่สิบสี่โดยอาการ หก ๔๑๑–๔๑๓ ความรูเริ่มถูกยิ่งขึ้นแหงภูมิเสขะตอธรรมยี่สิบสี่โดยอาการ หก ๔๑๓–๔๑๕ ความรูสึกตอเวทนาตามทิฏฐิเฉพาะอยางของตนๆเนื่องจากผัสสายตนะ หก ๗๒๙ ความเลื่อมใสไมหวั่นไหวในพระธรรมประกอบดวยองคคุณ หก ๕๔๐/๖๔๔ ความสงสัย (กังขา) ในฐานะ หก ๑๐๘/๖๙๑/ฯลฯ ความสงสัยในอริยสัจละไดเพราะละสงสัยในฐานะ หก ๑๐๘/๖๙๑/ฯลฯ ฐานที่ตั้งที่เกิดแหงความสงสัย(กังขา) มีหมวด หก ๑๐๘/๑๑๑/๖๙๑–๗๐๓ ฐานที่ตั้งที่เกิดแหงทิฏฐิทั่วๆไปมีหมวด หก ๖๙๑–๗๐๓ ฐานะ(ที่ตั้งแหงทิฏฐิ) หก ๑๐๘/๖๙๑/ฯลฯ ตัณหามีวิภาค หก ๒๗/๘๗/๔๙๐/ฯลฯ ทางมาแหงทุกขหรือสุขลวนแตขึ้นอยูกับกิจเกี่ยวกับผัสสายตนะ หก ๓๙๐+๔๐๙ ทุกขสมุทยะโดยทางอายตนะ หก ๙๗/ฯลฯ ทุกขอัตถังคมะโดยทางอายตนะ หก ๙๘/๑๒๕/ฯลฯ ทุกขเกิดเพราะไมมีการควบคุมผัสสายตนะ หก ๓๙๐

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ลําดับหมวดธรรม

๙๒๓

ทุกขพึงรูแจงโดยนิพเพธิกลักษณะ หก ๒๗๐ ธรรมเปนรากฐานแหงการเกิดปฏิจจฯที่ควรรูฝายปฏิบัติ หก ๓๙๐ ธรรมมีอุปการะมากมีลําดับแหงการปฏิบัติ หก ๒๘๐ ธรรมหมวดละหก (ที่ทรงประสงคแสดงเปนพิเศษ) มีหมวด หก ๔๘๘ ธัมมอเวจจัปปสาทประกอบดวยองคคุณ หก ๕๔๐/๖๔๔ ธาตุ มีวิภาค หก ๑๑๓ นัตถิกทิฏฐิไมเกิดเพราะไมยึดในฐานะ หก ๑๑๐/ฯลฯ นานัตตะ(แตละหมวดทั้งเกาหมวด)มีวิภาคตามอารมณ หก ๕๘๖ นิพเพธิกธรรมมีวิภาค (โดยหมวด) หก ๒๗๐ ปฏิจจฯ(เกี่ยวกับการดับปปญจสัญญาสังขา) มีปจจยาการ หก ๖๑๒ ปฏิจจฯตั้งตนดวยเจตน-ปกัปปน-อนุสัย-แหงจิต มีปจจยาการ หก ๑๖๗ ปฏิจจฯ(ที่ตั้งตนดวยราคะในกพฬีการาหาร)มีปจจยาการ หก ๓๒๗ ปฏิจจฯ(ที่ตั้งตนดวยราคะในผัสสาหาร) มีปจจายาการ หก ๓๒๘ ปฏิจจฯ(ที่ตั้งตนดวยราคะในมโนสัญเจตนาหาร)มีปจจยาการ หก ๓๒๘ ปฏิจจฯ(ที่ตั้งตนดวยราคะในวิญญาณาหาร)มีปจจยาการ หก ๓๒๙ ปฏิจจฯ(นิโรธวาร,ที่ตั้งตนดวยไมมีราคะในอาหารสี่) มีปจจยาการ หก ๓๓๐–๓๓๒ ปฏิจจฯมีความสําคัญ หก ๔๒–๖๐ ปฏิจจฯมีลักษณะ หก ๒๕–๔๑ ปฏิจจฯมีวัตถุประสงค หก ๖๑–๗๖ ปฏิจจฯแมตั้งตนดวยอนุสยะ(การปกใจ) เพียงอยางเดียวก็มีปจจยาการ หก ๑๖๘ ปฏิจจฯ(แหงการปฏิบัติชอบโดยไตรทวาร) มีปจจยาการ หก ๕๘๘ ปฏิจจฯ(แหงการปฏิบัติผิดโดยไตรทวาร) มีปจจยาการ หก ๕๘๗ ปฏิจจฯ(แหงการรบราฆาฟงตั้งตนที่เวทนา(แตละอยาง)หก ๕๘๙/๗๘๒ ปฏิจจฯ(แหงที่มีโศกมีธุลีมีความคับแคน)มีปจจยาการ หก ๓๒๘ ปฏิจจฯ(แหงที่ไมมีโศกไมมีธุลีไมความคับแคน)มีปจจยาการ หก ๓๓๑ ปฏิจจฯ(แหงอาคติคติ)มีปจจยาการ หก ๑๖๘ ปฏิจจฯแหงอารัมมณลาภนานัตตะตั้งตนที่ธาตุ (แตละธาตุ) หก ๕๘๕

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๙๒๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ

ปฏิปทา (ธรรม) เปนเครื่องสิ้นกรรมมีลักษณะ หก ๒๐๓ ปจจยาการ(ของปฏิจจฯเกี่ยวกับการดับปปญจสัญญสังขา) หก ๖๑๒ ปจจยาการ(ของปฏิจจฯที่ตั้งตนดวยเจตน-ปกับปน-อนุสย-แหงจิต) หก ๑๖๗ ปจจยาการ(ของปฏิจจฯที่ตั้งตนดวยราคะในกพฬีการาหาร) หก ๓๒๗ ปจจยาการ(ของปฏิจจฯที่ตั้งตนดวยราคะในผัสสาหาร) หก ๓๒๘ ปจจยากร(ของปฏิจจฯที่ตั้งตนดวยราคะในมโนสัญเจตนาหาร)หก ๓๒๘ ปจจยาการ(ของปฏิจจฯที่ตั้งตนดวยราคะในวิญญาณาหาร)หก ๓๒๙ ปจจยาการ[ของปฏิจจฯที่แมตั้งตนดวยอนุสยะ(การปกใจ)เพียงอยางเดียว] หก ๑๖๘ ปจจยาการ(ของปฏิจจฯนิโรธวารที่ตั้งตนดวยไมมีราคะในอาหารสี่) หก ๓๓๐–๓๓๒ ปจจยาการ(ของปฏิจจฯแหงการปฏิบัติชอบโดยไตรทวาร) หก ๕๘๘ ปจจยาการ(ของปฏิจจฯแหงการปฏิบัติผิดโดยไตรทวาร) หก ๕๘๗ ปจจยาากร(ของปฏิจจฯแหงที่มีโศกมีธุลีมีความคับแคน) หก ๓๒๘ ปจจยาการ(ของปฏิจจฯแหงที่ไมมีโศกไมมีธุลี ไมมีความคับแคน) หก ๓๓๑ ปจจยาการ(ของปฏิจจฯแหงอาคติคติ ) หก ๑๖๗/๑๖๘ ปจจยาการ(นิโรธวาร-พิเศษ) หก ๑๖๘ ปจจยาการ(สมุทยวาร-พิเศษ) หก ๑๖๗ ปจจยาการ(แหงความรูสึกตอเวทนาตามทิฏฐิเฉพาะอยางของตนๆ) หก ๗๒๙ ปาหรือปาชัฏประกอบดวยคุณลักษณะมีไวพจนแกกันและกัน หก ๕๙๘ ผัสสะมีวิภาค หก ๒๘/๘๘/๔๘๙/ฯลฯ ผัสสายตนะมีวิภาค หก ๑๑๓/๓๙๐/๔๑๐ ผูที่ยังไมใชสาวกในศาสนานี้เพราะยังไมรูธรรมลักษณะแหงผัสสายตนะ หก ๕๐๙ ภพมีอาการเกิดขึ้นโดยลําดับแหงปจจยาการ หก ๑๒๔/ฯลฯ มหาปริฬาหนรกมีภาวะไมนาปรารถนา หก ๕๕–๕๖ รากฐานของปฏิจจฯฝายการปฏิบัติคือคูแหงผัสสายตนะ(แตละคู) หก ๓๙๐/๔๑๐ วิญญาณมีทางเกิดโดยคูแหงอายตนะ หก ๙๗/ฯลฯ วิญญาณมีวิภาค หก ๒๘/๘๙/๔๘๙/ฯลฯ เวทนาพึงรูแจงโดยพนิพเพธิกลักษณะ หก ๒๗๐

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ลําดับหมวดธรรม

๙๒๕

เวทนามีวิภาค หก ๒๗/๘๘/๔๙๐/ฯลฯ เวทนามีเวมัตตา(จําแนกตามอามิส) หก ๒๗๓ ไวพจนแหงคําที่มีความหมายแหง “กามคุณ” หก ๒๗๑ สตตวิหารธรรมมีวิภาค หก ๒๐๔ สฬายตนะมีวิภาค หก ๒๘/๘๙/ฯลฯ สัญญาพึงรูแจงโดยนิพเพธิกลักษณะ ๒๗๐ สัญญามีวิภาค หก ๒๗๔ สัญญามีเวมัตตา(จําแนกตามอารมณ) หก ๒๗๕ สัญโญชนิยธรรมมีวิภาค หก ๑๓๘ สัญโญชนิยธรรมมีวิภาค (อีกนัยหนึ่ง) หก ๑๓๘ สัสสตทิฏฐิไมเกิดเพราะไมยึดในฐานะ หก ๑๐๗/๖๙๑/ฯลฯ สุขเกิดเพราะมีการควบคุมผัสสายตนะ หก ๔๐๙ สุขและทุกขในภายในมีทางมาโดยอายตนะ หก ๑๕๖ สุขและทุกขในภายในไมอาจเกิดขึ้นเมื่อไมมีทางมา หก ๑๕๗ หมูแหงตัณหามีวิภาค หก ๔๙๐ หมูแหงผัสสะมีวิภาค หก ๔๘๙ หมูแหงวิญญาณมีวิภาค หก ๔๘๙ หมูแหงเวทนามีวิภาค หก ๔๙๐ เหตุแหงทุกขมีทางมาโดยอายตนะ หก ๙๗/ฯลฯ อภิญญา(ชนิดที่ไมเกี่ยวกับความเปนพระอรหันต) หก ๓๖๒ อริยอัฏฐังคิกมรรคเต็มรอบแลวโพธิปกขิยธรรมที่เหลือ-(๖หมวด) ยอมเต็มรอบ หก๓๓๖ อายตนะภายนอกมีวิภาค หก ๔๘๙ อายตนะภายในมีวิภาค หก ๔๘๙ อาสวะพึงรูแจงโดยนิพเพธิกลักษณะ หก ๒๗๐ อุปาทานิยธรรมมีวิภาค หก ๒๑๘/๓๗๖ อุปาทานิยธรรมมีวิภาค (อีกนัยหนึ่ง) หก ๒๑๘/๓๗๖

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๙๒๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ

๗ การรูชัดซึ่งขันธโดยลักษณะ เจ็ด ๓๓๘ กิริยาอาการที่สัตวจะพึงกระทําตออายตนะหก(ภายนอก) มีอาการ เจ็ด ๑๐๗/๑๑๑/ ๖๙๑–๗๐๓ ขอทานที่เปนปูชนียบุคคลมีลักษณะ เจ็ด ๑๔๑ คนตาบอด “ลุกขึ้นหายจากตาบอด” เพราะรูธรรมมีปจจยาการ เจ็ด ๒๖๘ ความรูสึกทางสฬายตนะมีไดโดยอาการ เจ็ด ๑๗๐/๙๐๙/ฯลฯ ความลึกของธรรมที่ตรัสรูแลวไดนํามาสอน (ในระดับทิฏฐิ๖๒) มีลักษณะเจ็ด ๗๓๒/๗๓๕/ฯลฯ คุณลักษณะของพระอรหันต (ทั่วไป) เจ็ด ๔๑๓ ชราลักษณะมีวิภาค เจ็ด ๒๖/๘๖/ฯลฯ ชาติมีอาการเกิดขึ้นโดยลําดับแหงปจจยาการ เจ็ด ๑๒๔/ฯลฯ ชาติลักษณะมีวิภาค เจ็ด ๒๗/๘๖/ฯลฯ ญาณในปฏิจจฯ(แตละปจจยาการทั้ง๑๑หมวด) เจ็ด ๓๕๗ ฐานะ๗ประการที่จําเปนตองรูสําหรับผูเปนอุดมบุรุษ (เกพลีผูอยูจบพรหมจรรย)-เจ็ด๓๔๒/๔๕๑ ฐานะแหงขันธ(แตละขันธ) อันบุคคลพึงรูชัดโดยประการ เจ็ด ๓๓๘/๔๕๑ ทิฏฐบัญญัติวา(ตายแลว)ขาดสูญ,มีจําพวก เจ็ด ๗๒๘ ปฏิจจฯ(ที่ตั้งตนดวยการคบสัตบุรุษ) มีปจจยาการ เจ็ด ๒๖๘ ปฏิจจฯนิโรธวาร(ที่ตั้งตนจากผัสสะ) มีปจจยาการ เจ็ด ๖๘/๖๗๖/๘๐๒ ปฏิจจสมุปปนนธรรมทั้งหลายมีลักษณะ เจ็ด ๒๙ ปฏิจจฯ(แหงการขาดที่ตั้งอาศัยสําหรับวิมุตติญาณทัสสนะ) มีปจจยาการ เจ็ด ๖๔๘ ปฏิจจฯ(แหงการอยูดวยความประมาทของอริยสาวก) มีปจจยาการ เจ็ด ๖๔๔ ปฏิจจฯ(แหงปปญจสัญญาสังขาสมุทาจรณะ) มีปจจยาการ เจ็ด ๖๐๑ ปฏิจจฯ (แหงปปญจสัญญาอันทําความเนิ่นชาแกการละอนุสัย)มีปจจยาการ เจ็ด๖๐๖

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ลําดับหมวดธรรม

๙๒๗

ปจจยาการ(ของปฏิจจฯแหงการขาดที่ตั้งอาศัยสําหรับวิมุตติญาณทัสสนะ) เจ็ด ๖๔๘ ปจจยาการ(ของปฏิจจฯแหงการอยูดวยความประมาทของอริยสาวก) เจ็ด ๖๔๔ ปจจยาการ(ของปฏิจจฯแหงปญจสัญญาสังขาสมุทาจรณะ) เจ็ด ๖๐๑ ปจจยาการ (ของปฏิจจฯแหงปปญจสัญญาอันทําการเนิ่นชาแกการละอนุสัย) เจ็ด๖๐๖ ปจจยาการ (แหงปฏิจจฯที่ตั้งตนดวยการคบสัตบุรุษ) เจ็ด ๒๖๘ ปจจยาการ(แหงสัมโพชฌงคที่สมบูรณ)เจ็ด ๒๘๐ ผูฉลาดในฐานะ (แหงขันธ) โดยประการ เจ็ด ๓๓๘ โพชฌงค(ที่ทําวิชชาและวิมุตติใหบริบูรณ)มีวิภาค เจ็ด ๖๓๔ รูปขันธมีลักษณะที่ตองรู เจ็ด ๓๓๘ วัฏฏะไมมีเพื่อจะบัญญัติแกผูหลุดพนแลวเพราะรูเห็นขันธโดยฐานะ เจ็ด ๓๓๙ วิญญาณขันธมีลักษณะที่ตองรู เจ็ด ๓๔๑ เวทนาขันธมีลักษณะที่ตองรู เจ็ด ๓๓๙ สังขารขันธมีลักษณะที่ตองรู เจ็ด ๓๔๐ สัญญาขันธมีลักษณะที่ตองรู เจ็ด ๓๔๐ สัตตกายทิฏฐิปรารภความเปลี่ยนแปลงไมไดแหงกาย เจ็ด ๖๙๖ สัมโพชฌงคที่สมบูรณเปนไปโดยปจจยาการ เจ็ด ๒๘๐ สามัญผลของการเจริญโพชฌงคเจ็ดมีโดยประการ เจ็ด ๒๘๑ สิ่งเปนที่ตั้งแหงความรูสึกทางสฬายตนะโดยอาการ เจ็ด ๑๐๗/๙๐๙ฯลฯ องคแหงการประกาศ เจ็ด ๓๕/ฯลฯ อนุสัย (อันมีมูลมากจาปปญจสัญญา)มีวิภาค เจ็ด ๖๐๕ อรรถแหง “ผัสสะ” คําเดียวสามารถขยายออกเปนปจจยาการ เจ็ด ๖๗๕ อาการแหงการประกาศ เจ็ด ๓๕/ฯลฯ อุจเฉททิฏฐิแหงพวกอุจเฉทวาท (ขาดสูญ) มีประการ เจ็ด ๗๕๘–๗๖๒

www.buddhadasa.info ๘ การเกิดแหงอุปาทานมีปจจยาการ แปด ๑๘๕/๖๕๖ การบัญญัติ “สัตวปญญัติ’ (โดยภาษาคนแตโบราณ) มีจําพวก แปด ๗๗๙ การพิจารณาปฏิจจฯคือการเดินตามอัฏฐังคิกมรรคมีองค แปด ๒๖๕/๔๖๙

www.buddhadasa.info


๙๒๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ

การเห็นปฏิจจฯมีผลอานิสงสพิเศษ แปด ๔๒๘ ขันธหาเปนที่ตั้งแหงทิฏฐิและการหยั่งลงดวยทิฏฐิ(รวมดวยกัน) แปด ๓๘๓–๓๘๙ ความเปนโสดาบันพยากรณไดโดยประกอบดวยองคคุณ แปด ๕๓๘ ทิฏฐิบัญญัติวาตายแลวมีสัญญาหรือไมมีสัญญาก็ไมใช,มีจําพวก แปด ๗๒๘ ทิฏฐิบัญญัติวาตายแลวไมมีสัญญา,มีจําพวก แปด ๗๒๘ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทามีองค แปด ๘๓/๑๑๖ แนวปฏิบัติที่ตั้งตนดวยยถาภูตสัมมัปปญญาในเบญจขันธมีลําดับ แปด ๖๕๕ บาปอกุศลอันเกิดจาการหวงกั้น (เนื่องดวยเวทนา) แปด ๕๙๐/๗๘๔ เบื้องตนแหงพรหมจรรย (นัยพิเศษ) คือธรรมปริยายมีปจจยาการ แปด ๒๓๙/๕๐๓/ฯลฯ ปฏิจจฯชนิดที่มีปจจยาการ แปด ๑๒๓/ฯลฯ ปฏิจจฯโดยนัยอริยสัจสี่เห็นไดเมื่อเดินตามรอยทางเกามีองค แปด ๒๖๓/๔๖๗ ปฏิจจฯ(ที่ตั้งตนดวยการกระทบทางอายตนะ)มีปจจยาการ แปด ๑๒๓/ฯลฯ ปฏิจจฯ(ที่แสดงแดนเกิดแหงอาหารสี่)มีปจจยาการ แปด ๕๗๕/๕๗๗ ปฏิจจฯ(ที่แสดงแดนเกิดแหงอุปาทานสี่) มีปจจยาการ แปด ๑๘๕/๖๕๖ ปฏิจจฯในรูปแบบที่ทรงนํามาสาธยายเองมีปจจยาการ แปด ๘๐๗ ปฏิจจฯในรูปแบบที่ทรงใหถือวาเปน “เบื้องตนแหงพรหมจรรย” มีปจยาการ-แปด๒๓๙/๕๐๓/ฯลฯ ปฏิจจฯ(แหงการเกิดขึ้นของโลก) มีปจจจยาการ แปด ๑๗๓/๒๑๖ ปฏิจจฯ(แหงการปรินิพพานเฉพาะตน)มีปจจยาการ แปด ๖๕๕ ปฏิจจฯ(แหงการอยูดวยความประมาท) มีปจจยาการ แปด ๖๐๐ ปฏิจจ ฯ (แหงสามัญญผลในปจจุบัน) มีปจจยาการ แปด ๒๘๐/๒๘๑ ปฏิจจฯ(แหงอารัมมณลาภนานัตตะ) มีปจจยาการ แปด ๕๘๕ ปฏิจจฯ(แหงอาหารของอวิชชา) มีปจจยาการ แปด ๖๒๒–๖๒๔ ปจจยาการ(ของปฏิจจฯที่แสดงแดนเกิดอุปาทานสี่) แปด ๑๖๕/๖๕๖ ปจจยาการ(ของปฏิจจฯในรูปที่ทรงนํามาสาธยายเอง) แปด ๘๐๗ ปจจยาการ(ของปฏิจจฯในรูปแบบที่ทรงใหถือวาเปน “เบื้องตนแหงพรหมจรรย”)-แปด๒๓๙/๕๐๓/ฯลฯ

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ลําดับหมวดธรรม

๙๒๙

ปจจยาการ(ของปฏิจจฯแหงการเกิดขึ้นเอง “โลก”) แปด ๑๗๓/๒๑๖ ปจจยาการ(ของปฏิจจฯแหงการปรินิพพานเฉพาะตน) แปด ๖๕๕ ปจจยาการ(ของปฏิจจฯแหงการอยูดวยความประมาท) แปด ๖๐๐ ปจจยาการ(ของปฏิจจญแหงอารัมมณลาภนานัตตะ) แปด ๕๘๕ ปจจยาการ(แหงปฏิจจฯที่ตั้งตนดวยการกระทบทางอายตนะ) แปด ๑๒๓/ฯลฯ ปจจยาการแหงปฏิจจฯที่แสดงแดนเกิดแหงอาหารสี่ แปด ๕๗๕/๕๗๗ มรรคในมรรคสัจมีองค แปด ๘๓/๑๑๖ รอยทางเกา(ของพระพุทธเจา ท.) ก็ประกอบดวยองค แปด ๒๖๓/๔๖๗ ศีลชนิดเปนที่พอใจของพระอริยเจาประกอบดวยคุณลักษณะ แปด ๕๔๑ สิ่งที่เปนที่รักเปนทีออกมาแหงโทษที่อาการ แปด ๕๙๕ เหตุรายอันเกิดจาการหวงกั้น (เนื่องดวยเวทนา) แปด ๕๙๐/๗๘๔ อริยกันตศีลประกอบดวยคุณลักษณะ แปด ๕๔๑/๕๔๕ อัฏฐังคิกมรรคคือทางเกาตลอดอนันตกาลมีองค แปด ๒๖๓/๔๖๗ อานิสสงส(ที่ทําใหสนใจในการเห็นปฏิจจฯ) แปด ๔๓๑ อุทธมาฆาตนิกเนวสัญญีนาสัญญีทิฏฐี(ตายแลวไมใชมีและไมมีสัญญา) มีประการ-แปด๗๕๖–๗๕๗ อุทธมาฆตนิกอสัญญีทิฏฐิ (ตายแลวไมมีสัญญา) มีประการ แปด ๗๕๔/๗๕๕

www.buddhadasa.info ๙ การเกิดแหงวิชชาทําใหไมมีการจับฉวย เกา ๑๖๕ การบวชที่ไมเปนการบวชประกอบดวยโทษ เกา ๑๔๒ การรูปฏิจจฯโดยอริสัจสี่ประสบอานิสงสมีไวพจน เกา ๙๒/๓๕๓/๕๓๓ การรูปจจยธรรมโดยนัยแหงอริยสัจสี่ทําใหประสบอานิสงสมีไวพจน เกา ๕๓๗

www.buddhadasa.info


๙๓๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ

ความถึงทับจับฉวย (ดวยทิฏฐิ) มีวิภาค เกา ๑๖๕ ความเลื่อมใสไมหวั่นไหวในพระพุทธเจาประกอบดวยองคคุณ เกา ๕๔๐/๖๔๕ ความเลื่อมใสไมหวั่นไหวในพระสงฆประกอบดวยองคคุณ เกา ๕๔๐/๖๔๔ ความหมายแหงคําวา “มหาพรหม’ แหงลัทธิภายนอกมีปริยาย เกา ๗๓๖ ชื่อวา “อยูไกลพระพุทธองค” เพราะจิตมีอาการ เกา ๑๓ ทิฏฐิ(เนื่องดวยการจับฉวย) มีวิภาค เกา ๑๖๕ นานัตตะ(:ความตางแหงพฤติของจิตที่มีความหลงในธาตุ) มีวิภาค เกา ๕๘๕ ปฏิจจฯ[ที่ตั้งตนจากนามรูป(แบบหนึ่ง)] มีปจจยาการ เกา ๓๔ ปฏิจจฯ(ที่ตั้งตนดวยอัสสาทะในสัญโญชนิยธรรม) มีปจจยาการ เกา ๑๓๘ ปฏิจจฯ(ที่ตั้งตนลงไปจากวิญญาณ)มีปจจยาการ เกา ๕๓๑ ปฏิจจฯ(นิโรธวารที่ตั้งตนดวยการเห็นอาทีนวะในสัญโญชนิยธรรม) มีปจจยาการ-เกา๑๓๙ ปฏิจจฯเนื่องดวยสัญโญชนิยะมีปจจยาการ เกา ๑๓๘–๑๔๐ ปฏิจจฯ(แหงการเกิดขึ้นของ “โลก”) มีปจจยาการ เกา ๕๓๑ ปฏิจจฯ(แหงการละองคสามตามลําดับโดยปฏิโลม)มีปจจยาการ เกา ๓๑๗ ปฏิจจฯ(แหงการไมละองคสามตามลําดับโดยอนุโลม) มีปจจยาการ เกา ๓๑๙ ปฏิจจฯ(แหงการไมละองคสามตามลําดับโดยปฏิโลม) มีปจจยาการ เกา ๓๒๐ ปฏิจจฯ(แหงการละองคสามตามลําดับโดยอนุโลม) มีปจจยาการ เกา ๓๒๑ ปฏิจจฯ(แหงอาหารของภวตัณหา) มีปจจยาการ เกา ๖๒๖–๖๒๗ ปฏิจจฯ(แหงอาหารของวิชชาและวิมุตติ) มีปจจยาการ เกา ๖๒๘–๖๒๙ ปจจยาการ เกา ๑๓๘/๑๔๐ ปจจยาการ [ของปฏิจจฯที่ตั้งตนจากนามรูป(แบบหนึ่ง)]เกา ๓๔ ปจจยาการ(ของปฏิจจฯที่ตั้งตนลงไปจากวิญญาณ) เกา ๕๓๑ ปจจยาการ(ของปฏิจจฯนิโรธวารที่ตั้งตนดวยการเห็นอาทีนวะใน-สัญโญชนิยธรรม) เกา๑๓๙ ปจจยาการ (ของปฏิจจฯแหงการเกิดขึ้นของ “โลก” ) เกา ๕๓๑ ปจจยาการ(ของปฏิจจฯแหงอาหารของภวตัณหา) เกา ๖๒๖–๖๒๗ ปจจยาการ(ของปฏิจจฯแหงอาหารของวิชชาและวิมุตติ) เกา ๖๒๘–๖๒๙

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ลําดับหมวดธรรม

๙๓๑

ปจจยาการ(แหงปฏิจจฯที่ตั้งตนดวยอัสสาทะในสัญโญชนิยธรรม) เกา ๑๓๘ ปจจยาการ(แหงปฏิจจฯเนื่องดวยสัญโญชนิยะ) เกา ๑๓๘–๑๔๐ ปจจยาการ(แหงปฏิจจฯในการละและไมละองคสาม ) เกา ๓๑๗–๓๒๒ ผูรูทั่วถึงเหตุเกิดและดับแหงโลกชื่อวาอริยสาวกประกอบดวยเกียรติคุณมีไวพจน-เกา๕๑๒/๕๓๒ พุทธอเวจจัปปสาทประกอบดวยองคคุณ เกา ๕๔๐/๖๔๕ เวทนาจากอวิชชาสัมผัสใหเกิดการจับฉวย เกา ๑๖๕ ไวพจนของโสดาบัน เกา ๙๒/๓๕๓/๕๑๒/๕๓๒/๕๓๗ สังฆอเวจจัปปสาทประกอบดวยองคคุณ เกา ๕๔๐/๖๔๔ โสดาบันผูมีญาณสองประกอบดวยองคคุณ เกา ๓๕๓ โสดาบันมีไวพจน เกา ๙๒/๓๕๓/๕๑๒/๕๓๒/๕๓๗

๑๐ การรบราฆาฟนกันมีปจจยาการ สิบ ๕๘๙/๗๘๒ ความฉงนและความรูแจงเกี่ยวกับปฏิจจฯมีเงื่อนงํา สิบ ๔๖๒–๔๖๕/๕๕๙–๕๖๘ ความเปนพระอรหันตเต็มมาไดโดยลําดับโดยอาการ สิบ ๖๕๐–๖๕๑ แดนเกิดดับแหงทุกข โรค ชรา มรณะ จําแนกโดยธรรมมีหมวด สิบ ๒๒๐–๒๒๖ “ตาบอดคลําชาง” เปนอุปมาสํารับพวกยึดถืออันตคาหิกทิฏฐิ สิบ ๗๗๑ ทศพลญาณ (ดู พุ.โอ.หัวขอวา “ทรงมีตถาคตพลฯาณสิบ”)สิบ ๔๗๙/๔๘๕ ทิฏญิ(อันตคาหิก: แลนไปจับเอาที่สุด)มีวิภาค สิบ ๔๘๑/๖๙๘/๗๑๐/๗๑๗/๗๓๓/๗๖๙ “ธรรมดา” ของความที่ “ธรรมไหลไปสูธรรม” มีอาการ สิบ ๘๐๕ ธรรมไหลไปสูธรรมโดยไมตองมีใครเจตนามีอาการ สิบ ๘๐๕ ปฏิจจฯ(ที่ตั้งตนจากวิญญาณชนิดที่เวียนกลับจากนามรูป) มีปจจยาการ สิบ ๕๖๓/๔๖๕/๕๖๑/๕๖๓/๕๖๖/๕๖๘

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๙๓๒

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ

ปฏิจจฯที่ตั้งตนจากศีลสมบูรณ(จนถึงวิมุตติญาณทัสสนะ) มีปจจยาการ สิบ ๘๐๕ ปฏิจจฯ(ที่ตั้งตนดวยอัสสาทะในสัญโญชนิยธรรม) มีปจจยาการ สิบ ๑๗๐ ปฏิจจฯนิโรธวาร (ที่ตั้งตนจากนามรูป) มีปจจยาการ สิบ ๔๖๕/๕๒๐/๕๖๓/๕๖๘ ปฏิจจฯ(นิโรธวารที่ตั้งตนดวยการเห็นอาทีนวะในสัญโญชนิยธรรม)-มีปจจยาการ สิบ๑๗๑ ปฏิจจฯเนื่องดวยสัญโญชนิยะมีปจจยาการ สิบ ๑๗๐–๑๗๒ ปฏิจจฯแบบที่ตรัสโดยพระพุทธเจาวิปสสีแบบหนึ่ง) มีปจจยาการ สิบ ๕๕๙ ปฏิจจฯ(เพื่อความสมบูรณแหงอรหัตตผล)มีปจจยาการ สิบ ๖๔๙–๖๕๐ ปฏิจจฯ(แหงการขาดที่ตั้งอาศัยสําหรับวิมุตติญาณทัสสนะ) มีปจจยาการ สิบ ๖๔๖ ปฏิจจฯ(แหงการมีเรื่องราวอันเกิดจากการหวงกั้น) มีปจจยาการ สิบ ๕๘๙/๗๘๒ ปฏิจจฯ(แหงการรบราฆาฟนกัน) มีปจจยาการ สิบ ๕๘๙/๗๘๒ ปฏิจจฯ(แหงวิมุตติญาณทัสสนะ)มีปจจยาการ สิบ ๘๐๕ ปจจยาการ(ของปฏิจจฯนิโรธวาที่ตั้งตนดวยการเห็นอาทีนวะในสัญโญชนิยธรรม)-สิบ๑๗๑ ปจจยาการ(ของปฏิจจฯ เพื่อความสมบูรณแหงอรหัตตผล) สิบ ๖๔๙–๖๕๐ ปจจยาการ(ของปฏิจจฯ แหงการขาดที่ตั้งอาศัยสําหรับวิมุตติญาณทัสสนะ) สิบ๖๔๖ ปจจยาการ(ของปฏิจจฯ แหงการมีเรื่องราวอันเกิดจากการหวงกั้น) สิบ๕๘๙/๗๘๒ ปจจยาการ(ของปฏิจจฯ แหงการรบราฆาฟนกัน) มีปจจยาการ สิบ ๕๘๙/๗๘๒ ปจจยาการ(ของปฏิจจฯ แหงวิมุตติญาณทัสสนะ) มีปจจยาการ สิบ ๘๐๕ ปจจยาการ(แหงปฏิจจฯ ที่ตั้งตนจากวิญญาณชนิดที่เวียนกลับจากนามรูป) สิบ ๔๖๓/๔๖๕/๕๖๑/๕๖๓/๕๖๘ ปจจยาการ(แหงปฏิจจฯ ที่ตั้งตนดวยอัสสาทะในสัญโญชนิยธรรม)สิบ ๑๗๐ ปจจยาการ(แหงปฏิจจฯ เนื่องดวยสัญโญชนิยะ) สิบ ๑๗๐–๑๗๒ ปยรูปสาตรูปหมวดกายมีวิภาค สิบ ๓๐๙ ปยรูปสาตรูปหมวดฆานะมีวิภาค สิบ ๓๐๘ ปยรูปสาตรูปหมวดจักษุมีวิภาค สิบ ๓๐๘

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ลําดับหมวดธรรม

๙๓๓

ปยรูปสาตรูปหมวดชิวหามีวิภาค สิบ ๓๐๘ ปยรูปสาตรูปหมวดมโนมีวิภาค สิบ ๓๐๙ ปยรูปสาตรูปหมวดโสตะมีวิภาค สิบ ๓๐๘ มรณลักษณะมีวิภาค สิบ ๒๖/๘๖/ฯลฯ โมฆสัจ(สัจจภินิเวส) ที่ตางลัทธิตางยึดมั่นและดูหมิ่นกัน สิบ ๔๘๑/๔๖๙ สัจจะที่ไมทรงพยากรณ(คืออันตคาหิกทิฏฐิ) มีวิภาค สิบ ๔๘๑–๔๘๓ สัจจะ(สัจาภินิเวส) ที่ผลัดกันกลาวหากันและกันวาโมฆะ สิบ ๔๘๑/๗๖๙ เหตุ(หรือปจจัย)แหงทุกขมีชื่อตางๆกัน(โดยไวพจน) สิบ ๕๕๐–๕๕๘ อริยญายธรรมหรือปฏิจจฯเปนสิ่งที่ปองกันไมใหเกิดอันตคาหิกทิฏฐิ สิบ ๔๘๕ อุปมา(ของความสิ้นไปแหงทุกขอันใหญหลวงระดับโสดาบัน) สิบ ๔๓๕–๔๔๐

๑๑ การพิจารณาเพื่อความสิ้นทุกขโดยชอบมีวิธีแหงการพิจารณา สิบเอ็ด ๔๔๔–๔๔๖ ขันธแตะลขันธจําแนกโดยรายละเอียด สิบเอ็ด ๑๔๓/๒๘๖ ความฉงนและความรูแจงเกี่ยวกับปฏิจจฯมีเงื่อนงํา สิบเอ็ด ๔๗๐/๔๗๒/๔๗๔/๔๗๗ ความพอใจในอรหัตตผลชนิดที่มีโดยลําดับ สิบเอ็ด ๖๕๒ ความสิ้นทุกขโดยชอบคือความดับไมเหลือแหงอาการของปฏิจจฯสิบเอ็ด ๔๔๕–๔๔๖ ฐานะ(ความเปนไปได) ในการกาวลวงปฏิจจสมุปปนนธรรม สิบเอ็ด ๔๓๒–๔๓๔ ทุกขในทุกขสัจมีวิภาค สิบเอ็ด ๘๒/๑๑๕ ธรรมที่ทรงขอรองใหปลงความเชื่ออยางปราศจากเคลือบแคลงสงสัย-(คือปจจยาการ) สิบเอ็ด๔๕๑ ธรรมธาตุ(เกี่ยวกับอิทัปปจจยาตาปฏิจจฯ)มีอาการ สิบเอ็ด ๓๔–๓๗/๔๔–๕๑ นิโรธในนิโรธสัจ(โดยพิศดาร) มีปจจยาการ สิบเอ็ด ๘๒/๑๑๖ ปฏิจจฯ ตั้งตนดวยเจน-ปกัปปน-อนุสย-แหงจิต มีปจจยาการ สิบเอ็ด ๑๖๖/๕๖๙ ปฏิจจฯ ตั้งตนดวยอนุสยะแหงจิตก็มีปจจยาการ สิบเอ็ด ๑๖๖/๕๗๐ ปฏิจจฯ(ที่ตั้งตนจากอวิชชาา)มีปจจยาการ สิบเอ็ด ๖/ฯลฯ

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


๙๓๔

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ

ปฏิจจฯนิโรธวาร(ที่ตั้งตนจากอวิชชา) มีปจจยาการ สิบเอ็ด ๖/ฯลฯ ปฏิจจฯ(ที่ตั้งตนดวยอวิชชา)มีปจจยาการ สิบเอ็ด ๖/ฯลฯ ปฏิจจฯ(แบบที่ตรัสโดยพระพุทธเจาวิปสสีแบบหนึ่ง)มีปจจยาการ สิบเอ็ด ๔๗๔ ปฏิจจฯ(สุมทยวาร (ที่ตั้งตนดวยอวิชชา) มีปจจยาการ สิบเอ็ด ๖/ฯลฯ ปฏิจจสมุปปนนธรรมที่เปนผล สิบเอ็ด ๒๙–๓๑ ปฏิจจสุมปนนธรรมที่เปนเหตุ สิบเอ็ด ๒๙–๓๑ ปฏิจจสมุปนนธรรมที่อาจถูกนําไปกลาวอยางเปนอัตตา (ดวยอัตตานุทิฏฐิ)-สิบเอ็ด๖๗๗–๖๘๔ ปฏิจจฯ(แหงการเกิดขึ้นเอง “โลก” )มีปจจยาการ สิบเอ็ด ๕๑๑ ปฏิจจฯ(แหงบรมสัจจะ)มีปจจยาการ สิบเอ็ด ๖๕๒ ปจจยาธรรม(ธรรมที่เปนปจจัยแหงธรรมอื่น) มีวิภาค สิบเอ็ด ๕๓๗ ปจจาการ(ของปฏิจจฯตั้งตนดวยเจตน-ปกัปปน-อนุสย-แหงจิต)สิบเอ็ด ๑๖๖/๕๖๙ ปจจยาการ(ของปฏิจจฯตั้งตนดวยอนุสยะแหงจิต) สิบเอ็ด ๑๖๖/๕๗๐ ปจจยาการ(ของปฏิจจฯแหงการเกิดขึ้นของ “โลก”) สิบเอ็ด ๕๑๑ ปจจยาการ(ของปฏิจจฯแหงบรมสัจจะ) สิบเอ็ด ๖๕๒ ปจจยาการ(นิโรธวาร-พิเศษ) สิบเอ็ด ๑๖๗/๕๗๑ ปจจยาการ(สมุทยาวาร-พิเศษ)สิบเอ็ด ๑๖๖/๕๖๙ ปจจยาการ(แหงปฏิจจฯที่ตั้งตนดวยอวิชชา) สิบเอ็ด ๖/ฯลฯ พระศาสดาและสาวกมีการเห็นและกลาวตรงกันปจจยาการ สิบเอ็ด ๔๙๔/๔๙๗ มิจฉาปฏิปทาชนิดที่มีปจจยาการ สิบเอ็ด ๒๕๗ สมุทัยในสมุทยสัจ(โดยพิศดาร)ปจจยาการ สิบเอ็ด ๘๒/๑๑๕ สัมมาปฏิปทาชนิดที่มีปจจยาการ สิบเอ็ด ๒๕๘ อฐานะ(ความเปนไปไมได) ในการกาวลวงปฏิจจสมุปปนนธรรม สิบเอ็ด ๓๗๘–๓๘๑ อันตคาหิกทิฏฐิสิบเกิดขึ้นเพราะปจจัยคือความไมแจมแจง (ในขันธ) โดยอาการ-สิบเอ็ด๗๑๗ อาการเขามา-ออกไป (ดุจน้ําไหล) ในกระแสปฏิจจฯ สิบเอ็ด ๔๑

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ลําดับหมวดธรรม

๙๓๕

อานิสงสแหงการ “เดินตามรอยทางเกา”สิบเอ็ด อุปมาแหงการทําลายรากเหงาของกิเลสมีระยะ สิบเอ็ด

๒๖๓/๔๖๗ ๑๔๐/๓๗๗

๑๒ การบรรลุวิมุตติของกุลบุตรในศาสนานี้มีขั้นตอน สิบสอง ๓๖๗ การปฏิบัติธรรม “สมควรแกธรรม” ที่หนึ่งดวยปฏิจจสมุปปนนธรรม สิบสอง ๒๖๖/๕๒๐–๕๒๖ ธรรมเปนอุปการระแกกันและกันจนกระทั่งถึงสัจจานุปตติมีลําดับ สิบสอง ๖๓๘–๖๔๒ ปฏิจจสมุปปนนธรรม (ในกรณีปฏิจจฯ) สิบสอง ๒๙–๓๑ ปฏิจจ ฯ (แหงมิคสัญญีสัตถันตรกัปป ) มีปจจยาการ สิบสอง ๕๘๑ ปฏิจจฯ(แหงสัจจานุโพธ :รูตามบุคคลที่ควรรูตาม) มีปจจยาการ สิบสอง ๖๓๗ ปจจยาการ (ของปฏิจจฯแหงมิคคสัญญีสัตถันตรกัปป) สิบสอง ๕๘๑ ปจจยาการ (ของปฏิจจฯแหงสัจจานุโพธ :รูตามบุคคลที่ควรรูตาม) สิบสอง ๖๓๗ ผูไมรูปฏิจจฯ โดยวิธีอริยสัจสี่ตรัสวายังมีหนาที่อีก สิบสอง ๒๔๕/๒๕๖ สัจจานุปตติ(การตามบรรลุซึ่งสัจจธรรม) มีอาการแหงขั้นตอน สิบสอง ๖๓๘ สัจจานุโพธ (การรูสัจจะตามบุคคลที่ควรรูตาม) มีอาการแหงขั้นตอน สิบสอง ๖๓๗ หนาที่สําหรับผูไมรูปฏิจจฯ โดยอริยสัจสี่มี สิบสอง ๒๔๕–๒๕๖ อวิชฃาแทรกแซงการปรุงแตงสุขทุกขโดยอาการ สิบสอง ๑๖๒

www.buddhadasa.info ๑๔ ความวิปริต (ที่จักปรากฏเมื่อมนุษยมีอายุขัยสิบป) มีอยาง สิบสี่ ปฏิจจฯ(แหงทุพพลภาวะของมนุษยโลก) มีปจจยาการ สิบสี่ ปจจยาการ (ของปฏิจจฯแหงทุพพลภาวะของมนุษยโลก) สิบสี่

๕๘๔ ๕๘๐ ๕๘๐

www.buddhadasa.info


๙๓๖

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ

๑๕ ทิฏฐิปรารภความสงสัยเปนไปในกาลสาม (สามหมวด) รวม สิบหา๔๒๕

๑๖ ทิฏฐิบัญญัติวาตายแลวมีสัญญา, มีจําพวก สิบหก ๗๒๘ นัตถิกทิฏฐิมีวัตถุ สิหก ๑๐๘/๖๙๓/ฯลฯ อุทธมาฆตนิกสัญญีทิฏฐิ (ตายแลวมีสัญญา) มีประการ สิบหก ๗๕๐–๗๕๓

๘ ตัณหาวิจริตจับยึดขันธภายนอก สิบแปด ตัณหาวิจริตยึดขันธภายใน สิบแปด ทิฏฐิบัญญัติปรารภปุพพันตชันธรวม๕กลุม,มีจําพวก สิบแปด ทิฏฐิผิด (ชั้นหัวหนาที่ควรเขาใจกันไวกอน) มีชนิด สิบแปด ทิฏฐิ๖๒ หมวดที่๑ มีหมวดยอย ๕หมวด รวมเปนทิฏฐิ สิบแปด ปุพพันตกัปปกวาทผูมีปุพพันตานุทิฏฐิมีประการ สิบแปด มโนปวิจารมีวิภาค สิบแปด

๑๐๓ ๑๐๒ ๗๒๗ ๖๙๐ ๗๓๒–๗๔๘ ๗๓๒/๗๔๙ ๑๑๔

www.buddhadasa.info ๒๐ การตามเห็นขันธหา (ในความหมายแหงตัวตน) โดยอากร ยี่สิบ ๓๐๐–๓๐๒/ฯลฯ การตามเห็นขันธหาเปนอัตตามีอาการ ยี่สิบ ๑๖๔/ฯลฯ การไมตามเห็นขันธหา(ในความหมายแหงตัวตน) โดยอาการ ยีส่ ิบ ๓๐๓–๓๐๕

www.buddhadasa.info


ลําดับหมวดธรรม

๙๓๗

สังขาร (ที่มีความหมายพิเศษ) ชนิดที่หนึ่งมีอาการแหงอัตตานุทิฏฐิ ยี่สิบ ๑๙๒–๑๙๕ อัตตานุทิฏฐิมีวิภาค ยี่สิบ ๑๖๔/๑๙๕/๓๐๐ อุปาทานขันธมีวิภาค (โดยพิศดาร) ยี่สิบ ๑๖๔/ฯลฯ

๒๒ ปจจัยแหงเวทนา (โดยพิศดาร) ยี่สิบสอง

๑๕๒

๒๓ ธรรมเปนที่เขาไปตั้งอาศัยของธรรม ยี่สิบสาม ๖๑๖–๖๒๐ ปฏิจจฯที่ยิ่งกวาปฏิจจฯ (ถอยหลังจากดับทุกขไปสูเหตุแหงทุกข) มีปจจยาการ-ยี่สิบสาม๖๑๖–๖๒๐ ปจจยาการ(ของปฏิจจฯที่ยิ่งกวาปฏิจจฯ)ยี่สิบสาม ๖๑๖–๖๒๐ อาสวะสิ้นไปโดยรวดเดียวเมื่อรูเห็นสังขารสี่โดยอาการ ยี่สิบสาม ๑๙๓–๑๙๙

๒๔

www.buddhadasa.info ธรรมเปนที่ตั้งแหงการกําหนด (เพื่อใหรูซึ่งปุถุชัน-เสข-อเสข-ศาสดาภูมิ)-ยี่สิบสี่๔๑๑–๔๒๑ สิ่งเปนที่ตั้งแหงความรูสึก-ยึดถือ-สําคัญมั่นหมาย-เพลิดเพลิน(โดยสิ้นเชิง)-ยี่สิบสี่ ๔๑๑–๔๒๒

๒๖ ทิฏฐิผิด(ขยายความตออกไปจากทิฏฐิสิบแปด) มีชนิด ยี่สิบหก

๗๐๔

www.buddhadasa.info


๙๓๘

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ

๒๗ อกุศลธรรม (เนื่องดวยเหตุที่ตองมีการเกิดแหงตถาคต) เกาหมวดหมวดลงสาม-ยี่สิบเจ็ด ๓๑๗–๓๒๒

๓๐ ธรรมเปนที่ตั้งแหงการเห็นอนิจจัง (หกหมวด,หมวดละหา) สามสิบ ๒๙๑ ธรรมเปนที่ตั้งแหงความเบื่อหนาย (อีกนัยหนึ่ง) หกหมวด, หมวดละหา สามสิบ ๓๔๖–๓๔๘ ธรรมมีนิมิตเปนที่ตั้งแหงความยึดถือ(หกหมวด,หมวดละหา) สามสิบ ๒๙๐

๓๖ คํากลาวที่เขาถึงฐานะแหงเหตุผล(กลาวอนัตตาของอายตนะและสหคตธรรม)-สามสิบหก๔๙๑ คํากลาวที่ไมเขาถึงฐานะแหงเหตุผล (กลาวอัตตาของอายตนะและสหคตธรรม)-สามสิบหก ๔๙๐–๔๙๑ คําอนุโมทนา ในการแสดงปฏิจจสมุปปนนธรรมสิบสอง, อยางละสามๆ,สามสิบหก ๕๒๐ ตัณหาวิจริต (ประมวลโดยขันธที่จับยึด) สามสิบหก ๑๐๕ วัตถุ(สิ่งเปนที่ตั้ง) แหงความสําคัญผิดวาอัตตา(หกหมวด,หมวดละหก)-สามสิบหก๔๙๑ วัตถุ (สิ่งเปนที่ตั้ง) แหงความเห็นถูกตองวาอนัตตา (หกหมวด,หมวดละหก)-สามสิบหก๔๙๒

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


ลําดับหมวดธรรม

๙๓๙

๔๑ ปจจัยแหงเวทนา (โดยพิศดาร) สี่สิบเอ็ด

๑๕๔

๔๔ ญาณวัตถุ (เกี่ยวกับปฏิจจฯ สิบเอ็ดหมวด, หมวดละสี่) สี่สิบสี่ ทิฏฐิบัญญัติปรารภอปรันตขันธรวม ๕ กลุม,มีจําพวก สี่สิบสี่ ทิฏฐิ๖๒ หมวดที่ ๒ มีหมวดยอย ๕ หมวด,รวมเปนทิฏฐิ สี่สิบสี่ อปรันตกัปปกวาทผูมีอปรันตนุทิฏฐิมีประการ สี่สิบสี่

๓๕๐ ๗๒๘ ๗๕๐–๗๖๖ ๗๕๐–๗๖๖

๕๔ อารมณ (แหงนานัตตะเกาหมวด,หมวดละหก) หาสิบสี่

๕๘๖–๕๘๗

๕๙ แดนเกิดดับแหงทุกขโรคชรามรณะจําแนกโดยขอธรรมเรียงอยาง หาสิบเกา๒๒๐–๒๒๖

www.buddhadasa.info ๖๐

ตัณหามีแดนเกิดแดนตั้งอยูสิบหมวด(หมวดละหก) หกสิบ ๓๐๘ ทุกขสมุทัย (ตัณหา) อาศัยเปนไปในปยรูปสาตรูป หกสิบ ๓๐๘ ปยรูปสาตรูป (ที่เกิดที่ตั้งอยูแหงตัณหา) สิบหมวด (หมวดละหก) หกสิบ ๓๐๘ สิ่งที่ภาวะเปนที่รักเปนที่ยินดี (ปยรูปสาตรูป) สิบหมวด (หมวดละหก) หกสิบ ๓๐๘

www.buddhadasa.info


๙๔๐

ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ

๖๒ การชนะสงครามอันสูงสุด (อนุตตรสังคามวิชัย) คือการทําลายขายแหงทิฏฐิ หกสิบสอง ๗๓๑ ความรูสึกผิดๆของผูไมรูปฏิจจฯมีผลออกมาเปนทิฏฐิ หกสิบสอง ๗๒๓–๗๒๖ ความหวาดเสียวสั่นคลอนแหงจิตดวยตัณหาคือบอเกิดแหงทิฏฐิ หกสิบสอง ๗๒๓–๗๒๖ ทิฏฐิ (แตละอยาง) เปนเพียงผลแหงความหวาดเสียวสั่นคลอนแหงใจของผูมีตัณหา-หกสิบสอง๗๒๓–๗๒๖ ผลแหงความไมมีสัมมาทิฏฐิในปฏิจจฯ ก็คืมิจฉาทิฏฐิ หกสิบสอง ๗๓๒ ผัสสะคือปจจัยแหงเวทนาอันใหเกิดทิฏฐิเฉพาะอยางตน หกสิบสอง๗๑๙–๗๒๒ วัตถุ(ที่ทําสมณพราหมณใหตกอยูใ นขายแหงทิฏฐิ) หกสิบสอง ๗๒๒/๗๒๖/๗๓๐/๗๖๗ ฐานะ (การไมมีผัสสะแลวจะมีเวทนาอันใหเกิดทิฏฐิเฉพาะอยาง) หกสิบสอง ๗๑๙–๗๒๒

๗๗ ญาณวัตถุ (เกี่ยวกับปฏิจจฯสิบเอ็ดหมวด,หมวดละเจ็ด) เจ็ดสิบเจ็ด

๓๕๗

๑๐๘ www.buddhadasa.info ตัณหาวิจริต(ประมวลโดยกาลและขันธ) หนึ่งรอยแปด ๑๐๕ สักกายะ(มีนัยสามเปนไปในวัตถุที่ตั้งหกหมวด,หมวดละหก) หนึ่งรอยแปด ๔๙๑

๒๒๐๐ อันตคาหิกทิฏฐิสิบมีทางที่จะขยายออกไปไดโดยนัย สองพันสองรอย

๗๑๗

www.buddhadasa.info


ลําดับหมวดธรรม

๙๔๑

หมวดคํานวณไมได การบรรลุคุณวิเศษ (ระหวางลัทธิ) ที่ตางกันถึงขนาดยิ่งกวา หนึ่งตอแสน ๕๔๓ พอสักวาบรรลุโสดาบัน, ทุกเหลืออยูไมถึง หนึ่งในแสน ๔๓๕/ฯลฯ อุปมาแหงคุณวิเศษ (ระหวางลัทธิ) ที่ตางกันถึงขนาดยิ่งกวา หนึ่งตอแสน ๕๔๒ ---------------------------------

www.buddhadasa.info

www.buddhadasa.info


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.