40ปี มูลนิธิมูรณะชนบทฯ

Page 1






ศิริวรรณ เจนการ





ชื่อเรื่อง

คณะผูจัดทำและชื่อ sponsor การจัดพิมพ รายนามประธาน กก. อำนวยการ และรายนามผูอำนวยการ คำนำ สาสนแสดงความยินดี คำใหการของผูจัดพิมพ คุณภาพแหงชีวิต ปฏิทินแหงความหวัง Credo of Rural Construction สารบัญ

มูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยฯ อดีต ปจจุบัน และอนาคต ภาพรวมมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยฯ ประวัติการกอตั้งมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยฯ เมื่อมรสุมทางการเมืองรุมเรา บชท. บชท.-มรดกทางปญญาชิ้นสำคัญของ อาจารยปวย บันทึกชวยจำ บชท. ในวัย 40 ป ถึงจุดเปลี่ยนผานอีกครั้ง ฟนฟูแลวปรับและกลับฐาน สานพลัง 5 องคกรใตรม บชท. สถาบันการจัดการเพื่อชนบทและสังคม ศูนยการเรียนรูชุมชน ปวย อึ๊งภากรณ อาสาสมัครเพื่อความแตกตาง...เมื่อเรายังเปนนักศึกษา จิตอาสา... จากเชิงตะกอนความดีสูเสรีแหงครรภธรรมชาติ สถาบันไทยพัฒน - พันธะกิจดานการสงเสริมธุรกิจเพื่อสังคม โรงเรียนเพื่อชีวิต (School for Life) ประสานพลังภายนอกรวมปฏิบัติการ AIC : การพัฒนาพลังสรางสรรคขององคกรดวยกระบวนการมีสวนรวม ความรวมระหวางรัฐและเอกชน: ประสบการณการทำงานกับ บชท. ธกส. กับ บชท. มูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยฯ และสำนักบัณฑิตอาสาสมัคร หอสมุด ปวย อึ๊งภากรณ ของฝากจากชัยนาท ชีวิตบูรณากร บชท. รุนหนึ่ง วิถีชีวิต สมาชิก บชท. รุนลาสุดป 2550 ที่ศูนยฯ ปวย ประสบการณเกษตรอินทรียที่ศูนยการเรียนรูชุมชน ปวย อึ๊งภากรณ ศูนยเด็กเล็ก รากแกวของชีวิต คบเด็กสรางบาน : เด็กแนว..เศรษฐกิจพอเพียง ที่ ตำบลบานกลวย บันทึกอนุสรณสถานอาจารยปวย อึ๊งภากรณ เชิงตะกอนแหงความดี

ผูแตง

หนา

ประธานกรรมการอำนวยการ ไพบูลย วัฒนศิริธรรม ศิริวรรณ เจนการ

นายแพทย เฉก ธนะสิริ คุณหญิง สมศรี กันธมาลา ไพบูลย วัฒนศิริธรรม ไพบูลย วัฒนศิริธรรม ศิริชัย สาครรัตนกุล ศิริวรรณ เจนการ รศ. ดร. ปทมาวดี ซูซูกิ ศรีสกุล บุญยศักดิ์ สุนิตย เชรษฐา วินย เมฆไตรภพ ดร. พิพัฒน ยอดพฤติการ โยธิน สมโนนนท ศ.นพ. ประเวศ วะสี ชินชัย ชี้เจริญ เอ็นนู ซื่อสุวรรณ ผศ. ศุภรัตน รัตนมุขย วนิดา จันทนทัศน ดร. ไพสานต เพ็ชรพลาย สองเกลอผูมีบุญ (นามแฝง) นพดล กลิ่นถนอม สมควร พักผอน พี่ปานาอา ในศูนยฯ ปวย (นามแฝง) กลุมแกนนำชุมชนบานวังน้ำขาว

1 2 10 20 24 30 38 42 61 66 70 82 86 96 98 105 106 112 116 118 120 131 132 136 148 154 164 174 198


มูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยฯ

อดีต ปจจุบัน และอนาคต


ภาพรวมมูลนิธิบูรณะชนบท แหงประเทศไทยฯ อดี ต ป จ จุ บั น และอนาคต มูลนิธิบูรณะชนบทแหง ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ (บชท.) มีชื่อเปนภาษา อั ง กฤษว า Foundation for Thailand Rural Reconstruction Movement Under Royal Patronage (TRRM) เป น องค ก รพั ฒ นาเอกชนแห ง แรกในประเทศไทย กอตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2510 โดยมี ศาสตราจารย ดร.ปวย อึ๊งภาภรณ เปนผูนำในการกอตั้งรวมกับคณะบุคคล ในวงราชการและธุรกิจเอกชน ดวยความมุงมั่นที่จะรวบรวม และประสานความคิด กำลังกาย กำลังใจ และทรัพยากร ทั้ง ของภาคราชการและภาคเอกชน ในการบูรณะและพัฒนาให ชาวชนบทไทยมีสภาพความเปนอยูที่ดีขึ้น เริ่มบุกเบิกงานใน ยุคแรกดวยการพัฒนาชนบทแบบผสมผสานในรูปแบบตางๆ คื อ พั ฒ นาอาชี พ พั ฒ นาการศึ ก ษา พั ฒ นาสุ ข อนามั ย พั ฒ นาการพึ่ ง ตนเองแบบร ว มมื อ กั น และเพิ่ ม ขี ด ความ สามารถในการจัดการ ผลจากความมุงมั่นดังกลาว มูลนิธิบูรณะชนบทแหง ประเทศไทยจึงไดรับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ รับไวในพระบรมราชูปถัมภเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2512 ตลอดเวลาที่ผานมาการดำเนินงานของมูลนิธิฯ ตั้งอยู บนฐานของปรัชญาแหงการทำงานพัฒนา คือใหความสำคัญ กับผลประโยชนและการมีสวนรวมของชุมชนเปนหลัก สวนวิธี การและปฏิบัติการไดมีการปรับเปลี่ยนเพื่อใหเหมาะสมกับ สถานการณ แ ละความต อ งการของชุ ม ชนที่ เ ปลี่ ย นไปตาม กาล-เวลา 2 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 3


จั ด การเพื่ อ ชนบทและสั ง คมมี ง านวิ จั ย เต็ ม ศั ก ยภาพและพึ่ ง ตัวเองไดดีแลว พ.ศ. 2547 องคกรพันธมิตรอีก 3 องคกร ไดแก ศูนยการเรียนเพื่อชีวิต (School for Life, SCL) สถาบัน ไทยพัฒน (Thaipat) และเครือขายเยาวชนอาสาสมัครเพื่อ พัฒนาชนบท (Thai Rural Net, TRN) ที่ไดรูจักและทำงาน รวมกันมาระยะหนึ่ง มีความเห็นตรงกันวาการเขามาอยูรวมกัน ใตรมเงาของมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยฯ นาจะชวย

เพิ่มพลัง (synergy) เพื่อรวมกันปฎิบัติงานพัฒนาชนบทและ สังคมไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น กลาวคือสามารถสราง ผลงานที่มีคุณประโยชนตอกลุมเปาหมายไดเปนทวีคูณมากขึ้น พ.ศ. 2548 มูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทย ใน พระบรมราชูปถัมภจึงมีมติจัดรูปองคกรขึ้นใหม ในการประชุม ครั้ ง แรกของคณะกรรมการอำนวยการ เมื่ อ วั น ที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2548 เวลา 14.00 น. ณ สมาคมนักเรียน เกาวชิราวุธ เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร

โครงสรางองคกร มูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ กรรมการอำนวยการ กรรมการบริหาร

ตราสัญลักษณของมูลนิธิฯ ไดรับโปรดเกลา ใหอยูในพระบรมราชูปถัมภ เมื่อ ป พ.ศ. 2512

พ.ศ. 2510-2521 เนนการทำงานในพื้นที่ชนบท ของจังหวัดชัยนาทเปนหลัก โดยมีศูนยปฏิบัติการ 13 แหงใน จังหวัดชัยนาท สวนที่กรุงเทพฯ มีเพียงสำนักประสานงานโดย อาศัยพื้นที่ชั้นสองของธนาคารไทยพาณิชยสาขาพหลโยธิน บุ ค ลากรและเงิ น ทุ น ดำเนิ น งานมี จ ำนวนพอเพี ย งรองรั บ ปริมาณงาน มูลนิธิฯ ไดรับการยอมรับวาเปนองคกรพัฒนา เอกชนระดับแนวหนาที่ทำงานพัฒนาชนบทเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2522-2532 เปนชวงที่มูลนิธิเผชิญกับความ ยากลำบาก เนื่องจากเกิดความเขาใจผิดระหวางการพัฒนา ชนบทที่เนนหลักการมีสวนรวมของประชาชนกับการปลุกระดม แย ง ชิ ง ประชาชนของผู ฝ ก ใฝ ลั ท ธิ ค อมมิ ว นิ ส ต มู ล นิ ธิ ฯ ได ชะลอการทำงานภาคสนาม บุคลากรของมูลนิธิฯ บางสวน ได แ ยกย า ยออกไปทำงานพั ฒ นาในพื้ น ที่ ที่ มีค วามปลอดภั ย บางสวนไดเปลี่ยนไปทำงานดานอื่น 4 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

พ.ศ. 2533-2543 เริ่มดำเนินงานอีกครั้ง แตปรับ เปลี่ยนรูปแบบจากกิจกรรมที่เนนภาคสนามเปนการผลักดัน นโยบายสาธารณะ การสรางความเขมแข็งดานบริหารจัดการ (ทักษะ ความรู บุคลากร การพึ่งตนเองทางการเงิน) แกภาค องคกรพัฒนาเอกชนซึ่งรวมทั้งมูลนิธิฯ เองดวย ลดการทำงาน ในพื้นที่ 13 ศูนยปฏิบัติการ ณ จังหวัดชัยนาท เหลือเพียงที่ สำนักประสานงาน ณ ตำบลบานกลวย อำเภอเมือง จังหวัด ชัยนาท เพียงแหงเดียว โดยจัดใหเปนศูนยฝกอบรมหรือการ จัดประชุมสัมมนาตางๆ สำหรับประชาชนทั่วไป โดยมีบริการ ดานที่พัก หองประชุม และอาหาร ในขณะเดียวกันไดจัดหา สำนักงานที่กรุงเทพแหงใหม อยู ณ ถนนเพชรบุรีตัดใหม ซึ่ง เปนสำนักงานทีด่ ำเนินงานระดมทุนประสานงานกับภาครัฐและ เอกชน ทำงานวิจัย งานฝกอบรม และงานดานผลักดันนโยบาย ในชื่อของสถาบันการจัดการเพื่อชนบทและสังคม (Rural and Social Management Institute) พ.ศ. 2544-2547 ยกระดับศูนยฝกอบรมที่จังหวัด ชัยนาทเปนศูนยการเรียนรูชุมชน เรียกชื่อวาศูนยการเรียนรู ชุ ม ชน ป ว ย อึ๊ ง ภากรณ (Puey Community Learning Centre, PLCL) เพื่อเปนสถานที่จัดอบรมและการสาธิตตางๆ มีการจัดทำโครงการอบรมตางๆ ที่เปนประโยชนและเปนที่ ต อ งการของสั ง คม อี ก ทั้ ง มี ก ารปรั บ ปรุ ง สถานที่ พ ร อ มสิ่ ง อำนวยความสะดวกตางๆ โดยหวังวาศูนยการเรียนรูชุมชนฯ จะสามารถพึ่งตนเองทางการเงินได ในขณะที่สถาบันการ

หนวยประสานงานกลาง (secretariat) PCLC

RASMI

TRN

Thaipat

SFL

งาน ปฏิบัติการ ดานการพัฒนาชนบทและสังคม

งานวิจัย/ศึกษา การพัฒนาชนบทและสังคม

เครือขายอาสาสมัครเยาวชน เพื่อชนบทและสังคม

เครือขายสงเสริมธุรกิจ เพื่อสังคม

งานจัดการศึกษาเพื่อ เด็กและเยาวชนที่ขาดโอกาส

1. ศูนยการเรียนรูชุมชน ปวย อึ๊งภากรณ (Puey Community Learning Centre, PCLC) ในป 2546 บชท. ได จั ด ตั้ ง ศู น ย ก ารเรี ย นรู ชุ ม ชน ปวย อึ๊งภากรณ นิยมเรียกสั้นๆ วา Puey Center โดยเปน พั ฒ นาการต อ เนื่ อ งมาจากศู น ย ฝ ก อบรมของมู ล นิ ธิ บู ร ณะ ชนบทฯ จังหวัดชัยนาท ซึ่งมีมาตั้งแตเดิม เพื่อเปนสถานที่ให บริการจัดประชุม อบรม และสัมมนา แกหนวยงานภายนอก โดยมีบริการดานที่พักและอาหารอยางพรอมบริบูรณในราคา ประหยัด ตอมาไดเพิ่มบริการดานการจัดฝกอบรมและการ เรียนรูในมิติตางๆ ตามความตองการของชุมชน ไดแก บริการ ด า นห อ งสมุ ด เพื่ อ การศึ ก ษาค น คว า จั ด ทำแปลงสาธิ ต การ เกษตรอินทรีย พัฒนากิจกรรมและโครงการนำรองวิถีชีวิต เศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้งเปนแหลงศึกษาดูงานและจัดทำ โครงการนำรองตางๆ เพื่อถายทอดและเชื่อมโยงองคความรูสู ชุมชนและหนวยงานอื่นๆ ตัวอยางกิจกรรมตางๆ มีดังตอไปนี้ ก. การใหบริการสถานที่สัมมนา ที่พัก อาหาร ที่มี เอกลักษณในดานความพอเพียง รักษสิ่งแวดลอม อาหารเมนู

สุขภาพและปลอดจากสารเคมี ข. งานฝกอบรมและใหคำปรึกษา เชน กระบวนการ มีสวนรวม และการบริหารจัดการ เปนตน ค. การจั ด ค า ยฝ ก อบรมเยาวชน ที่ ส ำคั ญ ได แ ก คายตามรอยอาจารยปวยฯ เพื่อสงเสริมคุณธรรม ความจริงความงาม-ความดี คายเยาวชนสืบสานอาชีพเกษตรกรรม ปลูกฝง สรางทัศนคติ และฝกปฎิบัติดานเกษตรอินทรียใหเปน อาชีพ คายเยาวชนอาสาเพื่อพัฒนาประชาธิปไตย นอกจากนี้ ยังมีการจัดงานประชุมเชิงสรางสรรคและบูรณาการระหวาง หลายหนวยงานที่เกี่ยวของกับกลุมเปาหมาย เชน งานวันเด็ก งานวันผูสูงอายุ เปนตน ง. ศูนยขอมูลเฉพาะเรื่อง เชน เศรษฐกิจพอเพียง ประชาธิปไตย การสรางเครือขาย เปนตน จ. ศูนยถายทอดความรูและเทคโนโลยีหลายสาขา ที่สำคัญไดแก - เผยแพรแนวคิดและสงเสริมแนวทางปฏิบัติ เศรษฐกิจพอเพียง พรอมทั้งจัดทำแปลงสาธิตการทำเกษตร หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 5


อิ น ทรี ย การฝ ก อบรมวิ ช าชี พ เพื่ อ การเพิ่ ม รายได แ ละลด รายจาย - ในป 2549 สำนักงานเกษตรและสหกรณ จังหวัด ไดเลือกศูนยปวยฯ เปนพื้นที่ตนแบบสาธิตการทำเกษตร ตามแนวพระราชดำริ ประจำอำเภอเมือง จังหวัดชัยนาทจัด ใหมีอำเภอละ 1 แหง รวม 8 แหง - ปฏิบัติการ สรางและสานเครือขายเชื่อมโยง กลุมตางๆ ทั้งในและตางพื้นที่ - ศู น ย ป ว ยฯ ได เ ป น ศู น ย เรี ย นรู เ ครื อ ข า ย ตร เอ็นทียู ในโครงการอบรมทางไกลผานดาวเทียม ตั้งแต พ.ย. 2549 เปนตนไป - ติดตอประสานงานการดูงานในพื้นที่ ของ สถาบันการศึกษาทั้งในและตางประเทศ ฉ. งานพัฒนาชุมชนในพื้นที่ ไดแก การรณรงคจิต สำนึกอาสาสมัคร การสืบสานภูมิปญญาทองถิ่น การพัฒนา จิตสำนึกเยาวชน ดานคุณธรรม ความจริง ความงาม และ ความดี ดานจริยธรรม และประชาธิปไตย

ดานการวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาชนบท และงานวิจัยเชิงปฏิบัติ การเพื่อผลักดันนโยบายสาธารณะดานการพัฒนาชนบทและ สังคม เชน - การปรับรูปแบบกองทุนพัฒนาชุมชนเมือง (2534) ซึ่งตอมาพัฒนาเปนสถาบันพัฒนาองคกรชุมชน - การปรับปรุงรูปแบบกองทุนเพื่อการพัฒนาชนบท (2537) - โครงการวิ จั ย และพั ฒ นาระบบการแลกเปลี่ ย น ชุมชนเพื่อการพึ่งตนเอง (2547-2550)

3. เครือขายอาสาสมัครเยาวชน (Thai Rural Net, TRN) เครือขายอาสาสมัครเยาวชนนักศึกษามหาวิทยาลัย ทั้งที่กำลังศึกษาอยูหรือจบการศึกษาแลว มีการนำเทคโนโลยี IT มาประยุกตใชอยางเหมาะสมกับงานพัฒนาชนบท และการ สงเสริมนวัตกรรมดานกิจกรรมสรางสรรคเพื่อเยาวชน ความสัมพันธระหวางมูลนิธิฯ กับ TRN เริ่มตนเมื่อ ประมาณ พ.ศ. 2546 โดยในเบื้องตน TRN เปนโครงการ พัฒนาชนบทที่อาศัยการสนับสนุนจากแหลงทุน จึงจำเปนตอง 2. สถาบันการจัดการเพื่อชนบทและสังคม (Rural and So มีองคกรที่เปนนิติบุคคลรองรับ และในขณะนั้นสำนักงานของ cial Management Institute, RASMI) TRN อยูในอาคารเดียวกับมูลนิธิฯ ที่กรุงเทพฯ ในปจจุบัน กอตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2537 มีวัตถุประสงคเพื่อทำงาน ถึงแมจะแยกสำนักงานออกไป แตในสวนของการทำงานและ

6 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

ลักษณะกิจกรรมยังคงตองอาศัย เกื้อกูลและมีการประสานงาน อยางใกลชิดกับมูลนิธิฯ ผูส นใจโปรดดูรายละเอียดเกีย่ วกับเครือขายอาสาสมัคร เยาวชนที่ www.thairuralnet.org

ซึ่งกันและกัน กลาวคือนอกจากจะเปนการเกื้อหนุนใหสถาบัน ไทยพัฒนมีสถานะเปนองคกรพัฒนาเอกชนตามกฏหมายแลว ยังชวยใหการทำงานของมูลนิธิฯ สามารถครอบคลุมไปยังกลุม เปาหมายอื่นดวย

4. สถาบันไทยพัฒน (Thaipat Institute, Thaipat) สถาบันไทยพัฒนเกิดจากการรวมตัวของนักธุรกิจที่ ตองการทำงานเชิงสังคม เพื่อสงเสริมหนวยธุรกิจใหมีความ รับผิดชอบตอสังคม (Corporate Social Responsibility, CSR) ดวยการปรับใชกลยุทธแบบตางๆ รวมทั้งการถายทอด แนวคิดธุรกิจแบบเศรษฐกิจสถาบัน มีการนำแนวพระราชดำริ เรื่องเศรษฐกิจพอเพียงและพุทธเศรษฐศาสตรไปประยุกตใช ในภาคธุรกิจดวยวิธีการตางๆ ในระยะแรกสถาบันไทยพัฒน มีความคิดที่จะจัดตั้งเปนมูลนิธิเพื่อรองรับการทำงานเชิงสังคม แตกระบวนการจัดตั้งมูลนิธิคอนขางใชเวลานาน ในขณะที่ สถาบั น ไทยพั ฒ น ไ ด เริ่ ม ดำเนิ น กิ จ กรรมไปแล ว จึ ง มี ค วาม ประสงคที่เขามาเปนสวนหนึ่งของมูลนิธิฯ เมื่อคณะกรรมการ มู ล นิ ธิ ฯ ได พิ จ ารณาและเห็ น ว า แนวนโยบายของสถาบั น ไทยพั ฒ น มี ค วามสอดคล อ งกั บ นโยบายหลั ก ของมู ล นิ ธิ ฯ ตางกันที่กลุมเปาหมายเทานั้น ดังนั้นนาจะเปนการดีหากมีการ รับสถาบันไทยพัฒนเขามาปนองคกรรวมและทำงานสนับสนุน

5. โรงเรียนเพื่อชีวิตเชียงใหมและโรงเรียนเพื่อชีวิตพังงา (เบลูกาอุปถัมภ) เรื่ ม จากเป น โครงการพั ฒ นาชนบทด า นการศึ ก ษา ดำเนินการโดยสถาบันการจัดการเพื่อชนบทและสังคม (RASMI) ในป 2547 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อจัดการศึกษาตั้งแตระดับ อนุ บ าลจนถึ ง ประถมศึ ก ษา ให กั บ เด็ ก กลุ ม เป า หมาย คื อ เด็กกำพราและเด็กดอยโอกาสในพื้นที่จังหวัดเชียงใหมและ เชียงราย เดิมดำเนินงานในลักษณะเปนสวนหนึ่งของโรงเรียน หมูบานเด็กที่กาญจนบุรี ตอมากลุมเปาหมายเด็กมีจำนวน เพิ่มมากขึ้น ประกอบกับมีการจัดตั้งโครงการเพิ่มขึ้นในจังหวัด พั ง งาเพื่ อ รองรั บ เด็ ก กำพร า และผู ป ระสบภั ย สึ น ามิ ทาง ผูบริหารของโรงเรียนหมูบานเด็ก จึงมีแนวคิดที่จะจัดตั้งเปน โรงเรียนแยกตางหาก โดยขอใหมูลนิธิฯ เปนผูดำเนินการขอ จัดตั้งและเปนผูรับใบอนุญาต ซึ่งคณะกรรมการมูลนิธิฯ ได พิจารณาแลวเห็นวาทั้งสองโครงการเปนโครงการพัฒนาทาง ดานการศึกษาของชนบทที่เนนกลุมเปาหมายที่เปนเด็ก รวม หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 7


ทั้งมีนโยบายจัดการศึกษาที่เปนเอกลักษณ อีกทั้งสามารถ พัฒนาใหเปนแหลงเรียนรูของชุมชนในอนาคตได มูลนิธิฯ จึง ไดรับไวเปนองคกรเครือขายของมูลนิธิฯ ในป 2548 ทั้งนี้เพื่อ ใหงายตอการขอใบอนุญาตจัดตั้งเปนโรงเรียน ใบอนุญาตจัดตั้งโรงเรียนระบุใหเปนโรงเรียนศึกษา สงเคราะห ที่ ไ ม เ ก็ บ ค า ใช จ า ยใดๆ จากนั ก เรี ย น ในเดื อ น พฤษภาคม ป 2549 โรงเรี ย นเพื่ อ ชี วิ ต เชี ย งใหม ได รั บ ใบ อนุญาตใหเปนโรงเรียนศึกษาสงเคราะหเอกชน 15 (3) จาก เขตพื้นที่การศึกษาเขต 1 จังหวัดเชียงใหม เปดการเรียนการ สอนในระดั บ อนุ บ าลจนถึ ง ระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนต น ส ว น โรงเรียนเพื่อชีวิตพังงา (เบลูกาอุปถัมภ) ไดรับใบอนุญาตให เปดสอนในระดับอนุบาล จากเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดพังงา สถานภาพของโรงเรียนทั้งสองแหง คือเปนโรงเรียน ศึกษาสงเคราะห ที่มีมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทย ใน พระบรมราชูปถัมภ เปนผูรับใบอนุญาต ในการทำนิติกรรม ใดๆ จะมีการมอบอำนาจจากผูอำนวยการมูลนิธิฯ หรือผูที่ มูลนิธิฯ แตงตั้งเปนครั้งๆ ไป ทั้งนี้ในสวนของการบริหารจัดการ ภายในใหเปนไปตามระเบียบของกระทรวงศึกษาธิการ โดยให มีการจัดตั้งคณะกรรมการสถานศึกษาโดยมีผูแทนของมูลนิธิฯ 8 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

เขารวมเปนกรรมการ มีการรายงานผลการดำเนินงานและ รายงานผลการเงินเสนอตอมูลนิธิฯ ทุก 3 เดือน อย า งไรก็ ต าม เนื่ อ งจากมู ล นิ ธิ ฯ มี บุ ค ลากรจำกั ด คณะกรรมการของมูลนิธิฯ ลวนเปนอาสาสมัคร แตละทาน มีหนาที่การงานและความรับผิดชอบคอนขางรัดตัว ประกอบ กับโรงเรียนทั้งสองแหงอยูหางไกลจากกรุงเทพฯ จึงมีโอกาส นอยที่ผูแทนมูลนิธิฯ จะเขารวมประชุมเพื่อพิจารณากิจการ ของโรงเรียน สงผลใหเกิดความลาชาและความไมสะดวกใน การพิจารณาตัดสินใจ นอกจากนี้ แหลงทุนที่สำคัญของทั้งสอง โรงเรียนมาจากตางประเทศ ซึ่งจะตองผานเขามายังบัญชีกลาง ของมูลนิธิฯ กอน แลวจึงจะจัดสรรไปยังโรงเรียนทั้งสองแหง ทำใหเกิดความลาชาและไมคลองตัวในการอนุมัติงบประมาณ และการบริหารจัดการในโรงเรียน คณะกรรมการมูลนิธิฯ และผูบริหารโรงเรียนทั้งสอง แหงจึงไดทบทวนถึงบทบาทของมูลนิธิฯ ในฐานะผูรับใบอนุญาต อีกครั้ง ในการประชุมเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2549 ได ขอสรุปวาใหโรงเรียนเพื่อชีวิตเชียงใหม และโรงเรียนเพื่อชีวิต พังงา (เบลูกาอุปถัมภ) ไปดำเนินการจัดตั้งมูลนิธิเปนเอกเทศ ของตนเอง ในลั ก ษณะขององค ก รสาธารณประโยชน ที่ ไ ม

2. เพื่อสงเสริมใหชาวชนบทและกลุมดอยโอกาส แสวงหากำไร โดยรวมกับองคกรในทองถิ่น หรือองคกรนิติ บุคคลหรือบุคคลที่มีคุณสมบัติไมขัดตอการเปนผูรับใบอนุญาต รู จั ก การรวมกลุ ม ช ว ยเหลื อ ตนเอง และเน น การช ว ยเหลื อ โรงเรียน มูลนิธิฯ จะสงมอบการดูแลโรงเรียนใหกับผูรับใบ ซึ่งกันและกัน ในการแกปญหาดานอาชีพ อนามัย และการ ศึกษาของชุมชน อนุญาตใหมตามที่โรงเรียนเสนอตอไป 3. เพื่ อ ช ว ยให ชุ ม ชนในชนบทและกลุ ม ด อ ย แผนการดำเนินงานของ บชท. พ.ศ. 2549-2551 โอกาส สามารถปรับปรุงฐานะความเปนอยูทางเศรษฐกิจและ ก. วิสัยทัศน มูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยฯ สังคมดีขึ้น ค. วิธีการ กำหนดเปาหมายในชวงป พ.ศ. 2549-2551 ดังนี้ 1. ประสานพลั ง ร ว มกั บ องค ก รพั น มิ ต รและ 1. เปนองคกรพัฒนาเอกชน ที่สังคมประจักษ เครือขายภายนอก ที่มีประเด็นการพัฒนาชนบทและสังคม วาเปนองคกรแหงการเรียนรู 2. มี ค วามสามารถโดดเด น ในการประสาน เหมือนกัน มีพื้นที่หรือกลุมเปาหมายเดียวกัน 2. เสริมสรางกิจกรรมที่สามารถพึ่งตนเองไดใน ความรวมมือจากหลายภาคสวน เพื่อพัฒนาชนบทและสังคม ทางการเงิน โดยการรวมสรางปญญาและโอกาส 3. การบริหารจัดการทันสมัย มีประสิทธิภาพ 3. รวมสงเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตดวยหลัก โปรงใส มีระบบรายงานการดำเนินงาน ระบบการเงิน และ เศรษฐกิจพอเพียง บการติดตอสื่อสารภายในและภายนอกองคกรที่สะดวกรวดเร็ว ข. พันธะกิจ 1. เพื่อขจัดความไมรู ซึ่งเปนตนเหตุของความ ยากจนและบั่นทอนความเจริญกาวหนาของชาวชนบท หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 9


คณะกรรมการมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยรุนแรก

ประวัติการกอตั้งมูลนิธิบูรณะชนบท แหงประเทศไทยฯ ในพระบรมราชูปถัมภ นายแพทย เฉก ธนะสิริ ประธานมูลนิธิฟนฟูสงเสริมการแพทยไทยเดิม ในพระสังฆราชูปถัมภ และในพระราชูปถัมภ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ประธานกิติมศักดิ์ชมรมอยูรอยปชีวีเปนสุข 10 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

เมื่อประมาณ พ.ศ. 2510 พ.ต.ท. กษม จาติกวณิช สมั ย นั้ น ท า นดำรงตำแหน ง ผู จั ด การใหญ บริ ษั ท เชลล แ ห ง ประเทศไทย จำกัด ทานไดรับจดหมายจาก Mr. Greg Feliciano เพื่อนชาวฟลิปปนสที่เคยทำงานอยูดวยกันที่บริษัทเชลล ใน ประเทศฟลิปปนส ระยะตอมา Mr. Feliciano ไดลาออกไป ทำหน า ที่ ป ระธานกรรมการบริ ห ารองค ก ารเอกชนที่ ชื่ อ ว า Philippines Rural Reconstruction Movement หรือ เรียกยอๆ วา P.R.R.M. Mr. Feliciano ผู นี้ เ คยเป น นายกยุ ว สมาคมแห ง ประเทศฟ ลิ ป ป น ส และเป น อุ ป นายกยุ ว สมาคมระหว า ง ประเทศ และเคยเปนนายกภาคโรตารี ในประเทศฟลิปปนส ขอความในจดหมายของ Mr. Feliciano ถึงคุณกษม จาติกวณิช มีใจความวา ขอใหคุณกษม ชวยแนะนำคนที่กวางขวางในวงสังคม ในประเทศและเกี่ยวกับระหวางประเทศเชนผูที่เคยเปนนายก ยุวสมาคมในประเทศไทย หรือประธานสโมสรโรตารี หรือ ไลออนสใหดวย แลวก็เลาใหคุณกษม ซึ่งครั้งหนึ่งรับตำแหนง ของบริษัทเชลลในประเทศฟลิปปนส วาเขาไดไปทำงานกับ ดร.วาย ซี เจมส เยน (Dr. Y.C. James Yen) ประธาน องคการ Institute of International Rural Reconstruction (I.I.R.R.) ซึ่ ง มี ส ำนั ก งานอยู ที่ ป ระเทศฟ ลิ ป ป น ส มี ค วาม ประสงคใหประเทศไทยไดมีการจัดตั้งองคการบูรณะชนบท ภาคเอกชนขึ้น จึงจำเปนที่จะขอทำความรูจักกับคนไทยที่เคย

ทำงานภาคเอกชนที่ มี ค วามสั ม พั น ธ กั บ องค ก ารระหว า ง ประเทศ เชน ยุวสมาคม คือ เจ ซี (J.C. Junior Chamber International) หรือ Rotary หรือ Lions Club คุณกษมซึ่ง รูจักกับผมดีจึง ไดนำจดหมายมาใหผมและไดใหชื่อและที่อยู ของผมไปให Mr. Feliciano ทราบ หลังจากนั้นไมนาน Mr. Feliciano ก็ไดเดินทาง มายังประเทศไทย พรอมดวย ดร.วาย ซี เจมส เยน พรอม ดวยภรรยาของ ดร.เยน และไดมาพบกับผม พรอมอธิบาย วัตถุประสงคความมุงหมายของการขอใหกลุมผูรักการพัฒนา ชนบทในประเทศไทย ไดชวยกันคิดจัดตั้งองคการบูรณะชนบท ภาคเอกชนขึ้นในประเทศไทย โดยองคการระหวางประเทศ ซึ่ง ดร.เยน เปนผูริเริ่มและเปนประธานองคการระหวางประเทศ ในดานการบูรณะชนบทในระยะนั้น โดยขอใหผมไดติดตอนำ ดร.เยน และ Mr. Feliciano ได มี โ อกาสพบปะกั บ บุ ค คล สำคัญๆ ของประเทศไทย ทั้งในภาครัฐบาลและภาคเอกชน อาทิ จอมพลถนอม กิตติขจร อดีตนายกรัฐมนตรีและปลัด ประทรวงเกษตรและสหกรณ (ม.ร.ว.จักรทอง ทองใหญ) ปลัด กระทรวงสาธารณสุข (น.พ. สมบุญ ผองอักษร) ปลัดกระทรวง ศึ ก ษาธิ ก าร (ดร.อภั ย จั น ทวิ ม ล) และอธิ บ ดี ก รมอนามั ย (ศ.ดร.นพ. กำธร สุวรรณกิจ) พลอากาศเอกทวี จุลทรัพย ขณะนั้นดำรงตำแหนงเปน ผูอำนวยการคณะกรรมการรักษา ความปลอดภัยแหงชาติ (กรป.กลาง) ซึ่งทำหนาที่ในการพัฒนา ชนบทภาคทหาร คุณชำนาญ ยุวบูรณ อธิบดีกรมการปกครอง หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 11


คุณเสนาะ นิลกำแหง และ Dr. Y. C. .James Yen ขณะเขาเฝาฯ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชฯ

และนายกเทศบาลนครกรุงเทพ และ ดร. มาลัย หุวะนันท ซึ่งเปนผูริเริ่มผูหนึ่ง ในการจัดตั้งกรมการพัฒนาชุมชนขึ้นมาใน สมัยนั้น ทางดานนักหนังสือพิมพ และบุคคลผูมีชื่อเสียง ก็มี อาทิเชน ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช และ ม.ร.ว. พันธทิพย บริพัตร และคุณนิลวรรณ ปนทอง ซึ่งไดรับรางวัลแมกไซไซ ในระยะนั้น สำหรับ ดร.ปวย อึ๊งภากรณ และอาจารยนิลวรรณ ปนทอง นั้น ดร.เยน มีรายชื่ออยูกอนแลว เพราะทานทั้งสอง ไดรับรางวัลแมกไซไซ เชนเดียวกับ ดร. เยน หากแตยังไมเคย รูจักกัน บุคคลสำคัญมากอีกทานหนึ่งที่จะงดกลาวถึงไมได เลย ทานผูนั้นคือ คุณสุรเทิน บุนนาค ผูลวงลับไปนานแลว ท า นเป น สามี ข องท า นผู ห ญิ ง มณี รั ต น บุ น นาค นางสนอง พระโอษฐ ซึ่งผมรูจักทานทั้งสองดีมากอน จึงไดนำใหรูจัก ใน ขณะนั้นทานดำรงตำแหนง ผูอาวุโสในองคการ เอฟ เอ โอ (F.A.O., องคการอาหารและเกษตรแหงสหประชาชาติ) ผมได นำ ดร.เยน และ Mr. Feliciano ไปสนทนากับคุณสุรเทิน ผูซึ่ง เขาใจงานดานนี้อยูแลว ทานจึงไดชวยสนับสนุนอยางเต็มใจยิ่ง และในที่สุดไดพาคณะของเราเขาเฝาพระบาทสมเด็จพระเจา-

อยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ณ พระราชวังไกลกังวล หัวหิน จังหวัด ประจวบคีรีขันธ ผูที่เดินทางไปกับคณะก็มี ดร.ปวย คุณเสนาะ นิลกำแหง และผม โดยคุณสุรเทิน เปนผูนำใหคณะเขาเฝาตั้ง แตเวลา 15.00 น. ของวันที่ 17 เมษายน 2510 ณ พระที่นั่ง เปยมสุข พระราชวังไกลกังวล หัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ พระบาทสมเด็จพระเขาอยูหัว ไดพระราชทานวโรกาสสนทนา ดวยเปนเวลานานมากทีเดียว ไดสนทนากันในเรื่องแนวความ คิดในงานพัฒนาชนบทของ ดร.เยน ในวันนั้น พระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัว ทรงพระราชทานเลี้ยงน้ำชา จวบจนพลบค่ำ เลยเวลา 18.00 น. รวมกวา 3 ชั่วโมงเต็ม ซึ่งตามปกติ พระองคทานจะทรงซอมเรื อใบในเวลาบายเพื่อการแข งขัน ซีเกมส หากแตพระองคทรงสนพระทัยในโครงการพัฒนา ชนบทอยางยิ่ง ประกอบกับไดพบตนตอของผูที่เขาใจในการ พัฒนาชนบทเขาโดยบังเอิญ พระองคทานจึงทรงลืมเวลาทรง เรือใบโดยสิ้นเชิง ความจริงดังกลาวนี้ผมไดทราบจากเจาหนาที่ ของกรมวัง ระหวางเดินทางกลับ ดร.เยน ไดคุยถึงความรูสึก ซาบซึ้งในพระมหากรุณาธิคุณ ตลอดจนเลาใหฟงไมไดหยุด ไดหยอนวา

“เกิดมาไม่เคยพบเคยเห็นผู้ปกครองแผ่นดินคนใด รักประชาชนเท่าพระมหากษัตริย์ไทยพระองค์นี้” 12 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

Dr.Y. C. James Yen เยี่ยมชมมูลนิธิ เมื่อ พ.ศ. 2512

นอกจากนั้น ผมไดไปขอรอง ม.ร.ว.พันธทิพย บริพัตร ขอใหทานไดกรุณาเปนเจาภาพจัดเลี้ยงอาหารกลางวันโดย ปรึกษากับ ดร.เยน วางแผนเชิญบุคคลสำคัญๆ ในวงการตางๆ ใหไดมาพบปะและรับประทานอาหาร พรอมกับฟงคำบรรยาย และประวัติของ ดร.เยน ในการตอสูระบบคอมมิวนิสตในจีน ด ว ยการใช ห ลั ก การพั ฒ นาชนบทและแนวคิ ด ในการจั ด ตั้ ง องคกรพัฒนาชนบทโดยภาคเอกชนในประเทศไทย ณ วัง สวนผักกาดดวยสถานที่ที่เหมาะสมแหงนี้ประกอบกับบุคลิก ลักษณะเฉพาะตัวของ ดร.เยน ทำใหบรรยากาศในวันนั้นสำเร็จ ลุลวงไปดวยดีอยางยิ่ง ประเด็นสำคัญในสุนทรพจนของ ดร.เยน ที่จับใจผม จนสามารถจดจำไวมิรูลืมจนถึงวันนี้ดังตอไปนี้ ดร.เยน แนะนำในการที่จะเขาไปพัฒนาชนบทนั้น ตองกระทำดังนี้

“Go to the people, Love them, Live with them, Learn from them, Work with them, Help them, and start from what they have…” ถาจะขยายความเปนภาษาไทย จะไดดังนี้ “การที่จะเขาไปพัฒนาชาวบานในชนบทนั้น เราผู เปนนักพัฒนา จะตองเขาไปหาคน หรือ ประชาชนในทองถิ่น นั้น ใหความรักความปรารถนาดีและใหความเมตตาเขาเปน เบื้องตนกอน จะตองเขาไปคลุกคลีอยูกับชาวบาน คือ สราง ความเปนกันเอง เรียนรูความเปนอยู ขนบธรรมเนียมประเพณี และความเชื่อถือของเขาใหเขาใจถองแท เราตองเขาไปชวย หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 13


อาจารยปวยกับกรรมการ และเจาหนาที่ บชท.

เหลือเขา ทำงานรวมไปกับเขา เริ่มตั้งตนพัฒนาจากพื้นฐาน เดิมของชาวบานนั้นเอง” ดร. เยน สอนใหนักพัฒนาทุกคนพยายามที่จะสอน ชาวบานดวยคำพูดงายๆ ใหเขาเขาใจแจมแจงไมตองใชศัพท ยากๆ หรือภาษาอื่นนั่นคือ ถายทอดความรูท กุ ชนิดใหงา ย & ธรรมดา คือ Simple ถายทอดหรือสอนใหคิดจะทำอะไรใหประหยัดใชเงิน นอยที่สุด คือ Economical สอนใหเขารูซึ้งวิธีปฏิบัติที่ชาวบานเขาสามารถทำเอง หรือนำไปปฏิบัติดวยตัวเองได Practical และสุดทายวิธีการตางๆ ที่แนะนำไปนั้นตองใหชาว บานยอมรับเปนอยางดีคือ Acceptable อีกประโยคหนึ่งหรือคำๆ หนึ่งทีดร.เยน มักจะพูด เสมอวา คนสวนมากใจไมถึง ใจไมสู ยอมแพเสียกอนตั้งแต ยกตนๆ คือใชคำวา “Crusading Spirit” โดยใหเหตุผลวา “งานพัฒนาชนบท เปนงานยากที่ จะตองกระทำอยางตอเนื่อง จะตองใชเวลาและความมุมานะ พยายาม ไมจับจด เพื่อใหประชาชนเขาเห็นดีเห็นงามในการ ปรับปรุงตัวของเขาเอง ซึ่งตองใชเวลามาก เปรียบเทียบกับ สงครามครูเสดที่มีการติดตอกันระหวาง มุสลิม และคริสเตรียน 14 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

นายแพทย เฉก ธนะสิริ

เปนระยะนานถึง 2-3 รอยป โดยไมระยนระยอทอ พูดงายๆ คือ ตองอดทน ใจสู (เหมือนมุสลิมสูกับคริสเตียน/ยิว) ที่จะ สอนใหชาวบานยอมรับ ในที่สุดพวกเราก็ขอรองเปนเอกฉันท เลือก ดร.ปวย เปนประธานและใหผมเปนเลขานุการและมีมติใหจัดตั้งเปน รูปมูลนิธิฯ แทนที่จะเปนสมาคม หรือบริษัทอยางเชนในตาง ประเทศโดยทั่วๆ ไป เมื่อมติเปนดังนี้ จึงไดดำเนินขอจัดตั้ง มูลนิธิฯ โดยมี ดร.ปวย คุณนิลวรรณ ปนทอง คุณเสนาะ นิลกำแหง เพื่อนเสรีไทยสายอังกฤษของ ดร.ปวย และคณะกรรมการไดไปขอรองคุณเชาว เชาวขวัญยืน ประธานบริษัท โรงกลั่นน้ำมันไทยออยสใหเปนผูบริจาครายใหญดูเหมือนจะ เป น เงิ น 300,000 บาท ประเดิ ม การจดทะเบี ย นมู ล นิ ธิ ฯ ดร.ปวย ไดรับเลือกเปนเอกฉันทใหเปนประธานมูลนิธิและ เลือกผมเปนเลขานุการ แตที่จริงแลว ดร.ปวย ไดใชเจาหนาที่ ของธนาคารแหงประเทศไทย ทำหนาธุ รการทุกชนิดใหแก ประธานแทนผม ซึ่งเปนเลขาธิการ เพราะเปนความสะดวก ดวยกันทุกฝาย สำหรับผมจึงเปนเลขาธิการในนาม ที่ทำหนาที่ ติดตอประสานงานกับคณะกรรมการและบุคคลภายนอก โดย เฉพาะอยางยิ่งในสายขาราชการ ในขณะนั้นผมดำรงตำแหนง

ผู อ ำนวยการสำนั ก งานอนามั ย กรุ ง เทพมหานครและเป น กรรมการอำนวยการและกรรมการบริหารสภาสงเคราะหแหง ประเทศไทย จากผลงานของมูลนิธิฯ ในการชวยงานพัฒนาชนบท ในระยะแรก คณะกรรมการบริ ห ารจึ ง เห็ น สมควรนำความ ขึ้ น กราบบั ง คมทู ล พระบาทสมเด็ จ พรเจ า อยู หั ว ภู มิ พ ลอดุลยเดช ขอใหทรงรับมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทย อยูในพระบรมราชูปถัมภ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ได ทรงรับมูลนิธิบูรณะชนบทฯ อยูในพระบรมราชูปถัมภ เมื่อ วันที่ 31 ตุลาคม 2512 ตามหนังสือที่ รล.0002/4296 ลง วันที่ 31 ตุลาคม 2512 ทั้ ง ดร.เยน และ Mr. Feliciano ได พ ยายาม เกลี้ยกลอมและชักชวนใหผมลาออกจากราชการหรือลาราชการ ชั่วคราว ใหมารับตำแหนงผูอำนวยการมูลนิธิฯ โดยใหไดรับ เงินเดือนตามระบบองคการระหวางประเทศ คือ I.I.R.R. จะ เป น ผู จ า ยให แน น อนเงิ น เดื อ นคงสู ง ในอั ต ราที่ ม ากกว า ขาราชการ ทั้ง 2 ทานใชเวลาหลายครั้งหลายคราว เทียวไป เทียวมา อี กทั้งชวนให ผมและภรรยาบิ นไปดู กิ จกรรมของ I.I.R.R และ P.R.R.M. ที่ประเทศฟลิปปนส ณ ที่นั่นก็ไดพบกับ หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 15


ภาพถาย วิถีชีวิตของชาวบาน จ. ชัยนาท ในสมัยนั้น

ภาพถาย เด็กๆ จ. ชัยนาท ในสมัยนั้น

ผูอำนวยการ P.R.R.M. คือ Dr. Flavia ซึ่งบังเอิญเปนแพทย เหมือนผมเสียดวย เวลานั้นประธานาธิบดี มารกอส ไดรับ เลือกตั้งเปนประธานาธิบดีสมัยแรก ระยะนั้นผมเดินทางไป ประเทศฟลิปปนสคอนขางบอย ในฐานะอดีตนายกยุวสมาคม แหงประเทศไทย และเปนผูริเริ่มสมาคมไทย-อเมริกัน ดวย ผูหนึ่ง ก็ไดรับเชิญจากยูซิส ไปสังเกตการประชุมของสมาคม ฟลิปปนส-อเมริกัน และ I.I.R.R. ทุกครั้งที่เดินทางไป ก็ไดไป อาศัยอยูที่บานของ พ.อ.บรรจบ บุนนาค (ยศขณะนั้น) อดีต รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม ซึ่งเปนผูชวยทูตฝายทหาร บก ไปพักอยูถึง 2 ครั้ง ขณะนั้นผูชวยทูตฝายทหารอากาศ คือ น.อ.จรรยา สุคนธทรัพย ตอมาดำรงตำแหนงประธานบริษัท การบิ น ไทย และ น.อ.ประพั น ธ ธู ป เตมี ย ต อ มาเป น ผู บัญชาการทหารอากาศ ทั้ง 3 ทานเปนเพื่อนรวมรุน และรวม รับราชการที่นครราชสีมา ตามลำดับมาดวยกัน เลยไดรับความ สะดวกสบาย และไดรับการแนะนำใหรูจักกับบุคคลสำคัญใน วงการตางๆ ตลอดจนวุฒิสมาชิกของฟลิปปนสที่เคยเปนนายก ยุวสมาคมของฟลิปปนส และเคยเปนเอกอัครราชทูตฟลิปปนส ประจำประเทศสหรัฐอเมริกาดวย เปนตน สมัยนั้น ประเทศฟลิปปนส เปนประชาธิปไตยเต็มใบ ประเทศของเขามีการเลือกตั้งทุกระดับตั้งแตทองถิ่น เทศบาล ของเขามีจำนวนนับหมื่นๆ เทศบาล เขามีการเลือกตั้งทุกระดับ จากระดับเทศบาล ระดับจังหวัด คือ การเลือกตั้งผูแทนราษฎร จนถึงการเลือกตั้งวุฒิสมาชิกและเลือกประธานาธิบดี ซึ่งตรง ขามกับเมืองไทยในยุคนั้น ซึ่งเปนยุคเผด็จการ จอมพลสฤษดิ์, 16 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

ถนอม, ประภาส ฯลฯ ไมมีการเลือกตั้งทุกระดับ ทั้ง ดร.เยน และ Mr. Feliciano จะยกแมน้ำทั้ง ห า ให ผ มฟ ง ถึ ง ผลพลอยได จ ากการรั บ ตำแหน ง นี้ จ ะทำให ประชาชนชาวไทยเปนประชาธิปไตยเหมือนอยางเชน ประเทศ ฟลิปปนส จะกอใหเกิดการตื่นตัวทางการเมืองและตัวเราเอง จะมี ชื่ อ เสี ย ง มี ป ระชาชนรู จั ก เราสามารถก า วกระโดดมา ทางการเมืองไดนั่นประการหนึ่ง นอกจากนั้นอีกประการหนึ่ง เนื่องจากงานบูรณะชนบทภาคเอกชนนี้ มีองคการ I.I.R.R. และนอกเหนือจากองคกร I.I.R.R. ก็มีองคกรอื่นๆ ที่ใหญกวา ในประเทศสหรัฐอเมริกาสนับสนุนรวมทั้งรัฐสภาของสหรัฐก็ให เงินสนับสนุน ผมก็อาจจะกาวกระโดดเขาไปทำงานองคการ ระหวางประเทศอื่นๆ ได นั่นคือ ทัศนะของคนฟลิปปนส ซึ่ง คอนขางจะเปนจริงสำหรับคนฟลิปปนส กลาวคือ Mr. Feliciano ซึ่ ง เป น ประธานกรรมการบริ ห าร ต อ มาเพราะชื่ อ เสี ย งของ ดร.เยน และ Mr. Feliciano ดีมาก ประธานาธิบดีมารกอส จึงไดเชิญชวน Mr. Feliciano เขารวมคณะรัฐมนตรี เปน รัฐมนตรีวาการกระทรวงสังคมสงเคราะห Mr. Feliciano นี้ เคยพบปะพูดคุยกับผมบอยๆ ทำใหทราบถึงความในใจลึกๆ ของเขาวา เขาคงจะสมัครเลือกตั้งวุฒิสมาชิก และเปาหมาย สูงสุดของเขาก็คือการสมัครรับเลือกตั้งประธานาธิบดี ผมเลาใหฟงเพื่อใหเห็นความเปนอนิจจัง กลาวคือ Mr. Feliciano เปนรัฐมนตรีอยูไมนานก็มีขาวลาออก สืบไป สืบมาจึงทราบจากขาวกรองทาง พ.อ.บรรจบ บุนนาค สมัย โนนวา ประธานาธิบดีมารกอส กำลังศึกษาวิธีการยึดอำนาจ

ตามแบบอยางในเมืองไทย การณกลับกลายเปนเชนนั้นไป ดังนั้นทูตฟลิปปนสในเมืองไทย คงตองทำงานหนักในการปอน ขาวสาร วิธีการปฏิวัติของบานเราสมัยเผด็จการไปใหฟลิปปนส ในที่สุดก็เปนความจริง ประธานาธิบดีมารกอส ขอแกรัฐธรรมนูญ เพื่อใหตนเองเปนประธานาธิบดีไดตลอดกาล ตอมาไมนานนัก Mr. Feliciano ทนไมไดจึงลาออกไปจากคณะรัฐบาลมารกอส และก็คงจะอยูในประเทศฟลิปปนสไมได เลยไปทำงานองคการ UNDP ประจำอัฟริกา และไตหวันตามลำดับ เขาอยากที่จะมา ทำงานในเมื อ งไทยมาก แต ไ ม ส ำเร็ จ ในที่ สุ ด เขาก็ ต ายด ว ย โรคมะเร็งที่ปอดเพราะสูบบุหรี่มาก Dr. Flavia ผูชวยของเขาจึง ไดรับตำแหนงผูอำนวยการ I.I.R.R. แทนเขาจวบจนกระทั่งทุก วันนี้ เคยกลาวไวตอนตนแลววา เดิมนั้น Mr. Feliciano นิยมชื่นชมความเปนประชาธิปไตยของประเทศฟลิปปนสของ เขา และตั้งความหวังวาไมชาไมนานประเทศไทย ก็คงเหมือน ฟลิปปนส ถาผมมารับตำแหนงนี้ก็จะเปนทางกาวไปสูวงการ เมื อ ง เมื่ อ มี ป ระชาธิ ป ไตยที่ ส มบู ร ณ คื อ มี ก ารเลื อ กตั้ ง แต เหตุการณกลับอนิจจัง คือ ประเทศฟลิปปนสกลับหันไปสู เผด็จการเบ็ดเสร็จ เอาตัวอยางจากประเทศไทยเสียอีกและเปน อยู น าน จนกระทั่ ง ถึ ง กาลอวสานไปตามกฎแห ง กรรม โดย มารกอสถูกจับไลออกจากประเทศ และในที่สุดก็ถูกโรคราย รุม ล อ ม และเสี ย ชี วิ ต ในเวลาต อ มา นี่ แ หละเป น อนิ จ จั ง ซึ่ ง เป น สัจธรรมของพระพุทธเจาโดยเที่ยงแท ที นี้ ก็ หั น มาดู ท างเมื อ งไทยบ า ง คื อ เมื่ อ ผมปฏิ เ สธ

เด็ดขาดที่จะไมรับตำแหนงผูอำนวยการมูลนิธิภายหลังจาก การพูดจาเกลี้ยกลอมครั้งสุดทาย ดร.เยน พูดเกลี้ยกลอมผม ตั้งแตหลังอาหารเย็น จนเลยเวลา 24.00 น. จำไดวาเปน โรงแรมแถวสุขุมวิท เพราะใกลบานผม เนื่องจากผมไมสะดวก ไม มี เวลาและไม ค ล อ งตั ว และไม มี ค วามคิ ด เหมื อ น Mr. Feliciano ดวยเหตุนี้ผมจึงไมตองการเสี่ยงในการลาออก จากราชการ คือ ตั้งแต ปู พอ และตัวเอง เคยมีอาชีพแต เพียงรับราชการ สวนความหวังทางการเมืองนั้น จริงอยูผม สนใจติดตามการเมืองมาตั้งแตหนุมๆ แตขณะนั้นผมไมมีความ หวังในระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทยเลย และคิ ดว า เมืองไทยสมัยโนนภาคเอกชนเกือบไมมีความหมายเลยจริงๆ ในการที่จะโยกยายตัวเอง ไปเปนลูกจางองคการตางประเทศ ไมไดอยูในความคิด ความรักบาน ปญหาครอบครัว และ ความไมคลองตัวอื่นๆ ที่สุดจึงปฏิเสธเด็ดขาด แตขอชวยเปน กรรมการ เปนคนจัดสรรฝายบุคลากรดานการแพทย และ สาธารณสุข เพื่อสงไปอบรม เขารับตำแหนง หัวหนาฝาย แพทย แ ละสาธารณสุ ข ในโครงการของมู ล นิ ธิ ฯ ก็ ไ ด เ กลี้ ย กลอม นพ.สาโรช รัตนากร (ผูอำนวยการกองวิชาการ สำนัก แพทย กทม.) สมัยนั้นเปนแพทยในกองสุขาภิบาล สำนัก อนามัย ซึ่งผมเปนผูอำนวยการสำนัก กทม. ในขณะนั้น กับ คุณมนู ผลพันธพิณ (หัวหนางาน ในสำนักรักษาความสะอาด กทม.)ซึ่งเปนเจาหนาที่สุขาภิบาลในสมัยนั้น ใหทั้ง 2 คนลา ชั่วคราวเพื่อไปฝกอบรม ในประเทศฟลิปปนสที่ P.R.R.M. เปนเวลาคนละ 3 เดือน ทั้ง 2 คน ไปอบรมงานพัฒนาชนบท หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 17


1

3 1. อ.ปวย เจาหนาที่ และชาวบาน ถายรูปหมูรวมกัน 2. ภาพถายกิจกรรมคายอาสาของนักศึกษา 3. อ. ปวย ทามกลางเด็กๆ ขณะออกเยี่ยมคายอาสา ของนักศึกษา ธรรมศาสตร

2

18 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

ทางสาธารณสุ ข ส ว นทางด า นการศึ ก ษาการปกครอง การเกษตร คณะกรรมการของมูลนิธิฯ ทานอื่นๆตางก็จัดการ หาเจาหนาที่ไปฝกอบรมแลวในที่สุดก็กลับมารวมงานเปนทีมที่ จังหวัดชัยนาท ในระยะแรกนั้นคณะกรรมการมีการประชุมที่ธนาคาร แหงประเทศไทย คอนขางบอยครั้ง ซึ่ง ดร.ปวย นั่งทำงาน ที่นั่น ทานไดรับเงินบริจาคจำนวนไมนอย จากพอคา นาย ธนาคาร โดยเฉพาะอยางยิ่งธนาคารไทยพาณิชย คุณประจิตร ยศสุ น ทร เพื่ อ นของท า นเป น ผู จั ด การ ซึ่ ง ครั้ ง หนึ่ ง เคยร ว ม เรียนและรวมงานที่ธนาคารแหงประเทศไทย ไดสนับสนุนและ เปนกรรมการดวย และตอมาทานก็ดำรงตำแหนงประธาน กรรมการอำนวยการ แทน ดร.ปวย ซึ่งมีเหตุการณทางการ เมืองภายหลังวันที่ 6 ตุลาคม 2519 จำเปนตองลี้ภัยไปอยู ต า งประเทศ มู ล นิ ธิ ฯ ได อ าศั ย ธนาคารไทยพาณิ ช ย สาขา พหลโยธิน เปนที่ทำการสำนักงาน เปนเวลาหลายป จนกระทั่ง ได คุ ณ ไพบู ล ย วั ฒ นศิ ริ ธ รรม เป น ผู อ ำนวยการและได ซื้ อ อาคารพาณิชย 1 คูหาเมื่อ พ.ศ.2534 เปนที่ทำการจนทุกวันนี้ ประมาณป พ.ศ.2512 คณะกรรมการได อ นุ มั ติ เห็นชอบ ตามขอเสนอของคุณเสนาะ นิลกำแหง ประธาน กรรมการบริหาร ใหทดลองจัดทำการพัฒนาชนบท เปน โครงการนำรองเริ่มแรกที่จังหวัดชัยนาท ซึ่งเปนจังหวัดบาน เกิดของคุณเสนาะเอง และตอมาไดรับเงินอุดหนุนจากองคกร I.I.R.R. และโครงการตอตานความอดอยาก ประเทศเยอรมันนี จั ด สร า งที่ ท ำการถาวรในลั ก ษณะที่ พ ร อ มในการจั ด สั ม มนา จัดการฝกอบรม มีอาคารหอ พัก สำหรับผูเขารับการฝกอบรม และที่พักเจาหนาที่ซึ่งเปนที่ดินจำนวนถึง 48 ไร 1 งาน 44 ตารางวา ตั้งอยูเลขที่ 64 ฝายน้ำลน ตำบลบานกลวย อำเภอ เมืองชัยนาท ทีด่ นิ ดังกลาวนี้ คุณเสนาะ ไดตดิ ตอขอบริจาคจาก ชาวบานและบางสวนก็ซื้อมาจากชาวบานตามความสมัครใจ ทั้งนี้เพื่อใหไดพื้นที่เปนผืนเดียวกันตลอด นั บ ตั้ ง แต ดร. เยน ได เ ดิ น ทางเข า มายั ง ประเทศ ไทยในครั้งนั้น ทำใหบุคคลสำคัญในวงการตางๆ ในเมืองไทย ไดรูจักกับ ดร.เยน โดยเฉพาะอยางยิ่งในวงการพัฒนาชนบท และรู จั ก เรื่ อ งการพั ฒ นาชนบทมากขึ้ น มี อ ยู ค รั้ ง หนึ่ ง เมื่ อ ประมาณ พ.ศ.2522 ในสมัยนั้น พลเอกเปรม ติณสูลานนท เปนนายกรัฐมนตรี สมัยที่ 2 ในขณะนั้น นพ. กระแส ชนะวงศ เปนรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงสาธารณสุข ไดเดินทางไป ประชุมเกี่ยวกับงานสาธารณสุขในประเทศสหรัฐอเมริกา ก็ได ไปเยี่ยม ดร. เยน ที่บานของทานในนครนิวยอรค อันที่จริง

นพ. กระแส ไดเคยพบปะสนทนากับ ดร. เยน เมื่อครั้งไป ศึกษาปริญญาเอกสาธารณสุข ณ มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย ที่ กรุงนิวยอรคหลายครั้ง คราวนั้นไดเชิญ ดร. เยน ใหมาเยี่ยม เมืองไทยอีกครั้งหนึ่ง และเพื่อมาตรวจงานของมูลนิธิบูรณะ ชนบทในประเทศไทย ตลอดจนมาแสดงปาฐกถาที่ทำเนียบ รัฐบาล ครั้งนั้นนายกเปรม ก็ไดใหเกียรติไปรวมฟงสุนทรพจน ครั้งนี้ดวย ตั้งแตตนจนจบใชเวลา 2 ชั่วโมงเต็ม พูดถึงสุนทรพจนของ ดร. เยน ซึ่งเปนที่ยอมรับทั่ว ไปวา ดร.เยน มีความสามารถพิเศษที่สามารถกลั่นคำพูด ดวยภาษาที่ถอดเอามาจากหัวใจของทานเอง ทานเคยแสดง สุ น ทรพจน ต อ หน า ที่ ป ระชุ ม รั ฐ สภาคองเกรส (วุ ฒิ ส มาชิ ก อเมริกา) จนในที่สุดรัฐสภาสหรัฐอเมริกา ไดอนุมัติเงินจำนวน มหึมา เพื่อชวยพัฒนาประเทศจีนในดานการพัฒนาชนบท กอนที่จีนจะถูกยึดครองโดยพรรคคอมมิวนิสต หากแตวาสาย เกินไปที่จะลุกขึ้นตอตาน ดวยเหตุนี้ ดร. เยน ผูไมยอมแพ จึงหนีภัยคอมมิวนิสตไปอยูในสหรัฐอเมริกาและดำเนินกิจการ งานพัฒนาชนบทที่ทานถนัดและรักเปนชีวิตจิตใจ ชวยเหลือ ประเทศดอยพัฒนาประเทศตางๆ ดวยการริเริ่มจัดตั้งขบวนการ (Movement) ขึ้นในหลายประเทศ ทั้งในทวีปเอเชีย และทวีป อาฟริกา นั่นคือ องคการ I.I.RR. ซึ่งรัฐบาลสหรัฐอเมริกา ได สนับสนุนเรื่อยมาจนถึงปจจุบันนี้ คุณประจิตร เปนประธานกรรมการอำนวยการอยู ระยะหนึง่ ก็ขอลาออก ทีป่ ระชุมไดเลือกคุณหญิงสมศรี กันธมาลา ซึ่ ง ขณะนั้ น ดำรงตำแหน ง รองเลขาธิ ก าร สำนั ก งานเร ง รั ด พัฒนาชนบท กระทรวงมหาดไทย ซึ่งทำงานเกี่ยวของกับการ พัฒนาชนบทของภาครัฐ และไดเปนประธานอยูจนถึงปจจุบัน โดยมีคุณไพบูลย วัฒนศิริธรรม เปนผูอำนวยการมูลนิธิผูเขม แข็งติดตอกันเปนเวลาถึง 7 ป จนถึงปจจุบัน ผมมีความหวังวา มูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยนี้จะกาวตอไปคูไปกับการ พัฒนาประชาธิปไตยของประเทศไทยที่รักของเรา

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 19


คณะทำงานของมูลนิธิ บชท.

เมื่อมรสุมทางการเมือง รุมเรา บชท. คุณหญิงสมศรี กันธมาลา อดีตอธิบดีกรมประชาสงเคราะห อดีตประธานกรรมการอำนวยการมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ ปจจุบันหลังจากเกษียณอายุราชการ ป 2535 ทำงานอาสาสมัครดาน สังคมสงเคราะหหลายแหง ไดแก ประธานมูลนิธิสงเคราะหเด็กและเยาวชนในชุมชนแออัดในพระอุปถัมภ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชมกุฏราชกุมาร เลขาธิการ มูลนิธิสงเคราะหเด็กออนสภากาชาดไทย ในพระอุปถัมภ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ประธานมูลนิธิงานสวัสดิการสังคม เฉลิมพระเกียรติ 5 รอบ ประธานมูลนิธิเด็กออนพิการทางสมองและปญญา นายกสมาคมคลังปญญาอาวุโสแหงประเทศไทย ประธานมูลนิธิบานบางแค ประธานมูลนิธิบานราชวิถี 20 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

ข าพเจ าไดมี โอกาสทำงานกับมูลนิธิบู รณะชนบทฯ ตั้งแตประมาณ พ.ศ. 2515 ที่มี ดร.ปวย อึ๊งภากรณ เปน ประธานกรรมการอำนวยการ สมั ย นั้ น ข า พเข า เป น ผู ช ว ย เลขาธิการสำนักงานเรงรัดพัฒนาชนบท ตองเขาประชุมมูลนิธิฯ แทนเลขาธิการสำนักงานเรงรัดพัฒนาชนบท (ร.พ.ช.) ซึ่งเปน กรรมการอำนวยการมูลนิธิฯ ขาพเจาตื่นเตนที่ไดเขารวมประชุม กับ “อาจารยปวย” ซึ่งเปนคนที่มีชื่อเสียง เปนที่เคารพนับถือ ในวงการสังคมเมืองไทยเปนอยางยิ่ง ไมวา ดร.ปวย จะทำอะไร จะมีผูสนับสนุนอยางมากมาย ดร.ปวย เปนผูวาการธนาคาร แหงประเทศไทย และดำรงตำแหนงสำคัญๆ อีกหลายแหง รวมทั้งเปนอาจารยในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรดวย ขาพเจาเคารพเลื่อมใสในการใชชีวิตแบบงายๆ ธรรมดา ที่สุดของ ดร.ปวย เปนตนวาใชรถญี่ปุนคันเล็กๆ ขับรถเอง เวลาไปประชุม สนใจเอาใจใสลูกนองชั้นผูนอย ใครเดือดรอน ทานจะใหความชวยเหลืออยางจริงใจ แมแตนักการภารโรง ในธนาคารแหงประเทศไทยก็ไดรับความชวยเหลือเอาใจใสจาก ท า น เท า ที่ จ ำได ดร.ป ว ย ได ข อลาออกจากตำแหน ง ผู ว า ธนาคารแหงประเทศไทย และพอใจที่จะทำงานเปนอธิการบดี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรอยางเดียว

พ.ศ. 2516 เปนตนมา บรรยากาศการเมืองผันผวน มาก ลั ท ธิ ค อมมิ ว นิ ส ต ก็ เข า มี บ ทบาทแทรกซึ ม ในวงการ นักศึกษา ทำให ดร.ปวย ถูกเพงเล็งหาวาเปนผูนำปลุกระดม นักศึกษาธรรมศาสตร ขาพเจาจำไดวาคุณพิสุทธิ์ นิมมานเหมินทร คุณกรองทอง ชุติมา ผูอาวุโสในธนาคารแหงประเทศ ไทย และคนอื่นในคณะกรรมการอำนวยการ เคยปรารภกันวา คนอยาง ดร.ปวย ซึ่งมักนอยไมเห็นแกตัว อุทิศตัวเพื่อสังคม ทำไมจึ ง โชคร า ยถู ก กล า วหาเช น นั้ น ทั้ ง นี้ ค งจะเป น เพราะ รัฐบาลคงจะหวาดระแวงกลัวอิทธิพลความดี ความสามารถ ของ ดร.ป ว ย ที่ ส ร า งศรั ท ธาความเชื่ อ ถื อ ในหมู นั ก ศึ ก ษา ประชาชน รวมถึงตัวขาพเจาดวย ภาวะวิ ก ฤตทางการเมื อ งในเดื อ นตุ ล าคม 2519 ดร.ปวย ถูกมรสุมรายแรงมากทางการเมืองจน ดร.ปวยฯ ตอง หลบภัยทางการเมืองไปอยูประเทศอังกฤษ ซ้ำรายเกิดเสนโลหิต ในสมองแตกเปนอัมพาตพูดไมได หลังจากที่ ดร.ปวย ตอง หลบไปอยูนอกประเทศแลว งานตางๆ ที่ ดร.ปวย สรางไว จะถูกเพงเล็งอยางมาก รวมทั้งงานมูลนิธิบูรณะชนบทฯ นี้ดวย ไมคอยมีใครอยากเขามายุงเกี่ยว เพราะเกรงวาจะถูกรัฐบาล เพงเล็ง ติดรางแหถูกกลาวหาวาเปนคอมมิวนิสตไปดวย

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 21


มูลนิธิฯ เริ่มลมลุกคลุกคลานขาดผูนำและผูสนับสนุน ระยะนั้นขาพเจาดำรงตำแหนงทางราชการเปนรองเลขาธิการ สำนักงานเรงรัดพัฒนาชนบท ซึ่งทำงานกับชาวชนบทคลาย กับงานของมูลนิธิฯ และกอนที่จะเกิดเรื่องใหญกับ ดร.ปวย ทานไดแตงตั้งขาพเจาเปนรองประธานกรรมการอำนวยการใน มู ล นิ ธิ ฯ ในเมื่ อ ดร.ป ว ย ต อ งลี้ ภั ย ทางการเมื อ งไปแล ว ขาพเจาจึงตองปฏิบัติหนาที่แทนเพื่อใหมูลนิธิฯ ยังคงอยูตอไป ใหได ข า พเจ า จำได ว า ความระแวงเรื่ อ งการแทรกแซง คุกคามของระบอบคอมมิวนิสตในประเทศไทยมีมาก จะมีคน ตองสงสัยเปนคอมมิวนิสตกันหลายคนแมแตตัวขาพเจาเอง ก็ยังถูกรัฐมนตรีคนหนึ่งในสมัยนั้นเพงเล็งหาวา “เขียวนอก แดงใน” ในเมื่อขาพเจาตองทำหนาที่ในมูลนิธิแทน ดร.ปวย จึงจำตองเขาพบ ฯพณฯ นายกรัฐมนตรีในสมัยนั้นคือ ฯพณฯ ธานินทร กรัยวิเชียร เพื่อชี้แจงใหทานรับรูเกี่ยวกับงานที่มูลนิธิ บู ร ณะชนบทฯ ทำอยู ว า ไม ใช ฐ านของคอมมิ ว นิ ส ต ตั ว ขาพเจาเองก็เปนขาราชการชั้นผูใหญและบิดาของขาพเจาเปน

องคมนตรี ขาพเจาจะเปนผูนำลัทธิคอมมิวนิสตเขามาแทรกแซง บอนทำลายประเทศชาติไดอยางไร และเพื่อความสบายใจ ของรัฐบาล จึงเสนอขอให ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี แตงตั้ง ผูแทนของรัฐบาลเขามาทำหนาที่เปนประธานคณะกรรมการ อำนวยการแทน ดร.ปวย จำไดวากรรมการผูที่ไปพบ ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี กับขาพเจาในวันนั้นมีคุณนิลวรรณ ปนทอง และคุณเสนาะ นิลกำแหง ฯพณฯ ธานิ น ทร กรั ย วิ เชี ย ร รั บ ฟ ง และแต ง ตั้ ง ท า นผู ห ญิ ง เลอศั ก ดิ์ สมบั ติ ศิ ริ ซึ่ ง ดำรงตำแหน ง รั ฐ มนตรี ว า การกระทรวงคมนาคม มาเป น ประธานคณะกรรมการ อำนวยการ ตอมาทานผูหญิงเลอศักดิ์ฯ ลาออก นายทำนอง สิงคาลวนิช รัฐมนตรีในคณะรัฐบาลนี้เหมือนกันไดมาทำหนาที่ แทนอยูระยะหนึ่งก็ลาออกไปสมัครเลือกตั้งเปนผูแทนราษฎร คณะกรรมการอำนวยการ จึงอุปโหลกใหขาพเจาเปนประธาน คณะกรรมการอำนวยการเสียเอง เพื่อใหมูลนิธิฯ นี้ ไดดำเนิน งานตอไป การทำงานของมูลนิธิฯ ในสมัยนั้น คอนขางอับจน มีแตคนเพงเล็งเพราะงานที่ทำเปนงานในชนบท ทำกับกลุม

ประชาชน เพื่อชวยใหเขามีความรู ความสามารถดีขึ้น เพื่อ ชวยตัวเองใหมี การกิ นอยูดีขึ้ นตามอุ ดมการณของ ดร.ป วย หลายๆ ครั้ ง ที่ ค ณะกรรมการเกิ ด ความท อ แท โ ดยเฉพาะ นายเสนาะ นิลกำแหง ผูรวมกอตั้งมูลนิธิฯ นี้มากับ ดร.ปวย ต อ งการที่ จ ะเลิ ก มู ล นิ ธิ ฯ และยกทรั พ ย สิ น ให กั บ สำนั ก งาน เรงรัดพัฒนาชนบท เพราะลักษณะงานคลายๆ กัน แตขาพเจาพิจารณาเห็นวาการลมเลิกนั้นงาย แตการ สรางใหเกิดขึ้นนั้นยากกวา ถึงแมวาขาพเจาจะอยูในสำนักงาน เรงรัดพัฒนาชนบท (ร.พ.ช.) ก็ไมควรที่จะรับทรัพยสินที่ดิน ของมูลนิธิฯ มาเปนของสำนักงาน ร.พ.ช. ในทางตรงขาม ราชการควรสนับสนุนใหภาคเอกชนทำงานใหดีขึ้น เพื่อกระจาย ความชวยเหลือประชาชนใหทั่วถึง ข า พเจ า จึ ง พยายามชั ก ชวนข า ราชการชั้ น ผู ใ หญ ที่ มีอุดมการณ และเกษียณจากราชการแลว เชน นายจรูญ โลกะกลิน อดีตผูวาราชการจังหวัด ทานผูนี้ทำงานดวยความ เขมแข็งมาตลอด จิตใจสะอาดดีงามมาก พล.ต.ท. สมควร หริกุล ผูที่ริเริ่มกอตั้งลูกเสือชาวบานทั่วประเทศ ซึ่งเกษียณ จากราชการแลว ใหมาชวยบริหารงานมูลนิธิฯ ทั้งสองทาน

รับมารวมงานดวยความเต็มใจ ซึ่งขาพเจาตองขอขอบคุณไว ณ ที่นี้ดวย สมั ย นั้ น กรรมการทุ ก คนจะช ว ยกั น ทำงานและ แกปญหาตางๆ ของมูลนิธิฯ โดยไมไดคิดวาใครเปนใคร ใน ตำแหนงใด ทั้งนี้เพื่อชวยกันพยุงฐานะของมูลนิธิฯ ใหคงอยู ดวยดีใหได และตอมามูลนิธิฯ ไดคุณไพบูลย วัฒนศิริธรรม เขามาชวยอีกแรงหนึ่ง กรรมการทุกทานพยายามทุมเทใหกับ มูลนิธิฯ และปจจุบันเปนที่นายินดีอยางยิ่ง ที่คุณวิจิตร สุพินิจ ผูวาการธนาคารแหงประเทศไทย เขามารับตำแหนงประธาน กรรมการอำนวยการมูลนิธิฯ แทนขาพเจา ซึ่งทำใหภาพพจน ความเชื่อถือของมูลนิธิฯ ในสายตาของสังคมเมืองไทยเปนที่ น า เชื่ อ ถื อ มากยิ่ ง ขึ้ น โดยลำดั บ และคงจะได ช ว ยกั น สื บ สา นการพั ฒ นาชุ ม ชน กลุ ม ชน ตามเจตนารมย ข อง ดร.ป ว ย ใหเจริญกาวหนาตอไป

บทความเรื่องนี้ ขาพเจาไดเขียนใหมูลนิธิฯ เมื่อป พ.ศ.2538 ในโอกาส งานรวมรุนกรรมการมูลนิธิบูรณะชนบท แหงประเทศไทยฯ ณ ธนาคารแหง ประเทศไทย ขอความที่เขียนไวนั้น ถึงแมวาเวลาจะผานไปนานแลว แตเหตุการณ ตางๆ ยังอยูในความทรงจำของ ขาพเจา และยังระลึกถึงอุดมการณที่ชว ยกันพยุง ฐานะของมูลนิธิฯ ใหอยูรอดมาจนถึงปจจุบัน หลายๆ ทานไดถึงแกกรรมไปแลว หลายทานยังมีชีวิตอยู แตแยกยายกันไปทำหนาที่อื่นๆ สวนตัวขาพเจาถึงแมวาในปจจุบันไมไดเปนกรรมการ ในมูลนิธิบูรณะ ชนบทฯ แตก็ยังระลึกถึงและภูมิใจที่ไดมีสวนรวมงานกับ ดร. ปวย อึ๊งภากรณ ผูที่ ขาพเจามีความศรัทธาในจิตใจที่ดีงามของทาน และชื่นชมคุณไพบูลย วัฒนศิริ ธรรม ที่สรางเสริมสถานภาพของมูลนิธิฯ ใหเปนที่ยอมรับในสังคมดียิ่งขึ้นตลอด มาจนปจจุบัน คุณหญิงสมศรี กันธมาลา 16 มกราคม 2550

อาคารตางๆ ของมูลนิธิฯ ทั้งในสวนที่ใชงานอยูและที่ถูกทิ้งรางภายหลังจากยุครุงเรือง 22 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 23


มรดกทางปญญาชิ้นสำคัญ ของอาจารยปวย : มูลนิธิบูรณะชนบท แหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ ไพบูลย วัฒนศิริธรรม

24 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 25


อาจารยปวย จำตองเดินทางออกจากประเทศไทย เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2519 ดวยเหตุผลทางการเมืองที่สังคม ยังเสียดายอยูจนทุกวันนี้ อาจารยปวย เปนผูบุกเบิกและผลักดันใหเกิดโครงการ และกิจกรรมพัฒนาชนบทมากมาย และกิจกรรมพัฒนาชนบท ครั้งทายสุดของอาจารยปวย กอนตองเดินทางออกจากประเทศ ไทย ไดแก การไปปาฐกถาและใหการดูแลในการสัมมนาอาสา สมัครนานาชาติในประเทศไทย ระหวางวันที่ 1-5 ตุลาคม 2519 ณ สำนั ก งานชั ย นาท ของมู ล นิ ธิ บู ร ณะชนบทแห ง ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ อาจารยปวย เปนผูมีสวนสำคัญในการกอตั้งมูลนิธิ บูรณะชนบทแหงประเทศไทยฯ และคงจะรูสึกผูกพันกับมูลนิธิ นี้เปนอันมาก เพราะทานไดติดตามดูแลและมีกิจกรรมเกี่ยวของ อยางใกลชิดตลอดเวลานับแตการกอตั้งอยางเปนทางการ เมื่อ วันที่ 10 ตุลาคม 2510 และไดเริ่มปฏิบัติงานภาคสนาม เมื่อ 1 มกราคม 2512 จนกระทั่งวันกอนที่ทานจำตอง “ลี้ภัย”

ตอมาไดเพิ่มเปน “หากระทรวงหลัก” “หกกระทรวง หลัก” และลาสุดในองคประกอบของ “คณะกรรมการนโยบาย กระจายความเจริญไปสูภูมิภาคและทองถิ่น” ของรัฐบาล บรรหาร ศิลปอาชา กระทรวงที่เกี่ยวของกับการพัฒนาชนบท ไดกลายเปน “เกากระทรวงหลัก” ไดแก a กระทรวงเกษตรและสหกรณ a กระทรวงศึกษาธิการ a กระทรวงสาธารณสุข a กระทรวงมหาดไทย a กระทรวงพาณิชย a กระทรวงอุตสาหกรรม a กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม a กระทรวงวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม a กระทรวงการคลัง มูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยฯ ไดสรางอิทธิพล ทางความคิดใหแกทั้งภาครัฐบาลและภาคองคกรพัฒนาเอกชน

เปน “สื่อ” ใหแกความคิดของอาจารยปวย เปน “สนาม” เพื่อการแปล ความคิดสูการปฏิบัติ เปน “เวที” สำหรับการแลกเปลี่ยนเรียนรูวิเคราะห สังเคราะหความรูและประสบการณตางๆ และเปน “สะพาน” ที่นำไปสู การพัฒนาทางแนวคิดและการสราง “นักพัฒนา” รุนใหมๆ ตอไปอีก ออกจากประเทศไทย แนวทางสำคัญของมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศ ไทยฯ คือ การสงเสริม “การพึ่งตนเอง” และ “การรวมมือ กัน” ของชาวบาน ในกิจกรรมหลัก 4 ดาน ที่ผสมผสาน ไดแก a การประกอบอาชีพ a การศึกษาเรียนรู a สุขภาพอนามัย a การจัดองคกรชุมชน นี่คือที่มาของคำวา “สี่กระทรวงหลัก” ในการดำเนิน นโยบายพั ฒ นาชนบทของรั ฐ บาลไทยที่ ป ระกอบไปด ว ย กระทรวงเกษตรและสหกรณ (การประกอบอาชีพ) กระทรวง ศึกษาธิการ (การศึกษาเรียนรู) กระทรวงสาธารณสุข (สุขภาพ อนามัย) และกระทรวงมหาดไทย (การจัดองคกรชุมชน)

ในเรื่ อ ง “การพั ฒ นาชนบทแบบผสมผสาน” (Integrated Rural Development) ที่เนนการพัฒนา 4 ดานอยางผสม ผสานดั ง กล า วข า งต น รวมถึ ง เน น การพั ฒ นา “คน” และ “องค ก รชุ ม ชน” เพื่ อ เป น “ป จ จั ย หลั ก ” ในการ “พั ฒ นา ชนบท” ไม ไ ด ใช ค ำว า “คน” และ “องค ก รชุ ม ชน” เป น “ศู น ย ก ลางของการพั ฒ นา” ดั ง เช น ที่ ใช กัน อยู ข ณะนี้ และ ถือวาเปนแนวคิดที่กาวหนาอยางทันสมัยที่สุด แตความหมาย คงใกลเคียงกันมาก และถาจะให เครดิตกับมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยฯ ที่จับประเด็น เรื่ อ ง “คน” “องค ก รชุ ม ชน” และ “การพั ฒ นาแบบ ผสมผสาน” มาเกือบ 30 ป แลว ก็นาจะไมใชการใหเกียรติ ที่มากเกินไป

บทความนี้เขียนขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2538 เนื่องในวาระการรวมรุ่นกรรมการมูลนิธิบูรณะชนบทแห่งประเทศไทยฯ นำมาพิมพ์อีกครั้งตามต้นฉบับเดิม เพื่อคง บรรยากาศขณะที่เขียนไว้ 26 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

อ. ไพบูลย วัฒนศิริธรรม

งานของมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยฯ เปน สวนหนึ่งที่สะทอนความคิดและความพยายามของอาจารย ปวย ที่จะชวยใหสังคมไทยพัฒนาไปสูสภาพที่พึงปราถนามาก ยิ่งขึ้น ซึ่งสภาพสังคมที่พึงปราถนาตามความคิดของอาจารย ปวยไดแกสังคมที่... a มีความยุติธรรม a มีความเมตตากรุณา อาจารย ป ว ย เป น ทั้ ง “นั ก คิ ด ” และ “นั ก ทำ” ความคิดของอาจารยปวย ลึกซึ้ง กวางไกล แตอาจารยปวย มี ค วามสามารถพิ เ ศษในการถ า ยทอดความคิ ด ที่ ลึ ก ซึ้ ง และ กวางไกลนั้น ในลักษณะและดวยภาษาที่ เรียบงาย พรอมกัน นั้ น อาจารย ป วย ก็ พยายามแปลความคิ ดของทานออกมา เปนการกระทำ เปนโครงการ เปนองคกร เปนสถาบัน เชน ใน สวนที่เกี่ยวกับการพัฒนาชนบท ก็ไดแก “มูลนิธิบูรณะชนบท แห ง ประเทศไทยฯ” และ “โครงการพั ฒ นาชนบทลุ ม น้ ำ แมกลอง” เปนตน มู ล นิ ธิ บู ร ณะชนบทแห ง ประเทศไทยฯ จึ ง เป น

“สื่อ” ใหแกความคิดของอาจารยปวย เปน “สนาม” เพื่อ การแปลความคิดสูการปฏิบัติ เปน “เวที” สำหรับการแลก เปลี่ยนเรียนรูวิเคราะห สังเคราะหความรูและประสบการณ ตางๆ และเปน “สะพาน” ที่นำไปสูการพัฒนาทางแนวคิด และการสราง “นักพัฒนา” รุนใหมๆ ตอไปอีก ในชวงเวลาเกือบ 30 ป มูลนิธิบูรณะชนบทแหง ประเทศไทยฯ ไดสราง” “นักพัฒนา” ไวจำนวนมาก หลายคน ไดกลายเปน “ผูบุกเบิก” เปน “ผูนำ” เปน “ตนแบบ” เปน “ผูเผยแพร” เปน “ผูสรางนวัตกรรม” ใหแกวงการพัฒนา ชนบทของไทย ตัวอยางเชน a คุณบำรุง บุญปญญา (ปจจุบันทำงานอยูในภาค อีสาน) a คุณสมพงษ สุทธิวงศ (ปจจุบันทำงานอยูในภาค เหนือตอนลาง) a คุณเรือง สุขสวัสดิ์ (ปจจุบันทำงานอยูในภาค กลาง) หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 27


a คุณพิศิษฐ ชาญเสนาะ (ปจจุบันทำงานอยูใน ภาคใต) ซึ่งลวนเริ่มชีวิต “นักพัฒนา” ที่มูลนิธิบูรณะชนบท แหงประเทศไทยฯ และยังคงเปน “นักพัฒนา” ตราบจน ทุกวันนี้ โดยไดรับการยอมรับอยางกวางขวาง เชน ในรูปของ รางวัลเกียรติยศตางๆ ทั้งจากภายในประเทศไทย และจาก ตางประเทศ ความเปน “องคกร” ของมูลนิธิบูรณะชนบทแหง ประเทศไทยฯ ไดชวยให “มรดกทางปญญา” ของอาจารย ปวย มีการสืบทอด สรางสม สานตอ แตกแขนง งอกเงยไปได โดยไมหยุด แมจะออนแรงลงในชวงที่มูลนิธิฯ มีกิจกรรมนอยมาก ระหวางป 2526-2531 แตก็กลับกลาแข็งขึ้นมาอีกเมื่อมูลนิธิฯ เขาสูยุคฟนฟูตั้งแตประมาณป 2532 เปนตนมา ในชวงเวลาที่เรียกวายุคฟนฟูจนถึงปจจุบัน มูลนิธิฯ ไดมีสวนสำคัญหรือไมนอยในการผลักดันและสงเสริมแนวทาง การพัฒนาเหลานี้… a การพั ฒ นาโดยส ง เสริ ม ความสามารถด า นการ ตลาดและการจัดการ a การอาศั ย “องค ก รเพื่ อ การออมทรั พ ย แ ละ สินเชื่อ” ของชุมชน เปนยุทธศาสตรสำคัญในการพัฒนาชุมชน ผูมีรายไดนอยทั้งในชนบทและในเมือง a การพัฒนาที่ประชาชนเปนศูนยกลาง (Peoplecentered Development) a การให “ชุ ม ชน” และ “องค ก รชุ ม ชน” เป น “แกนหลัก” ในการพัฒนา a การพัฒนาที่เนนความรวมมือและการรวมพลัง ระหวางฝายตางๆ ที่เกี่ยวของในลักษณะ “พหุภาคี” (Multiparty Partnership) a การส งเสริ มความเป น “ประชาสังคม” (Civil Society)

28 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

แนวทางการพั ฒ นาที่ มู ล นิ ธิ ฯ พยายามผลั ก ดั น และสงเสริมดังกลาว ไดปรากฎผลเปนรูปธรรมชัดเจน เชน “ศูนยหัตถกรรมชนบท” ที่จังหวัดชัยนาท ซึ่งใหความสามารถ ดานการตลาดและการจัดการชวยใหชาวชนบทหลายหมูบาน มีอาชีพเสริมที่สรางรายไดอยางสม่ำเสมอมาเปนเวลาหลายป และตัว “ศูนยหัตถกรรมชนบท” เองก็สามารถดำเนินงานอยู อยางมีกำไรและเติบโตตอเนื่อง การใช “องคกรเพื่อการออมทรัพยและสินเชื่อ” เปน ยุ ท ธศาสตร ก ารพั ฒ นาชุ ม ชนนั้ น เป น ผลงานของมู ล นิ ธิ ฯ ที่ทำการศึกษาความเปนไปไดและใหคำปรึกษาแกหนวยงาน ที่ เ กี่ ย วข อ ง จนกระทั่ ง เกิ ด “สำนั ก งานพั ฒ นาชุ ม ชนเมื อ ง (พชม.)” ขึ้นในการเคหะแหงชาติ ซึ่งไดดำเนินงานมาแลว กวา 3 ป ไดรับงบประมาณจากรัฐใหเปนทุนประเดิม 1,250 ลานบาท และมูลนิธิฯ ยังไดมีสวนสำคัญทำใหเกิด “โครงการ สิ น เชื่ อ เพื่ อ พั ฒ นาชนบท (สพช.)” ขึ้ น ในธนาคารออมสิ น เมื่อตนป 2538 โดยใชยุทธศาสตรการพัฒนาชุมชนที่เนนการ สงเสริม “องคกรเพื่อการออมทรัพยและสินเชื่อ” เชนเดียวกัน มูลนิธิฯ ไดใหความรวมมือกับหนวยงานทั้งภาครัฐ และภาคเอกชนหลายแหง ในการผลักดัน และสงเสริมแนว คิดและแนวทางการพัฒนาที่เนน “ประชาชนเปนศูนยกลาง” เนน “คน” “ชุมชน” และ “องคกรชุมชน” ใหเปนแกนหลัก ในการพั ฒ นา เน น “การร ว มมื อ รวมพลั ง ” ระหว า ง ฝายตางๆ ที่เกี่ยวของ และเนนการสงเสริม “ประชาสังคม” ใหพัฒนาและเขมแข็งกาวหนามากยิ่งขึ้น ความรวมมือดังกลาว ไดสงผลเปนรูปธรรมในระดับที่นาพอใจหลายกรณีดวยกัน เชน ในการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 8 ในการก อ ตั้ ง “ภาคี ค วามร ว มมื อ สนั บ สนุ น การพั ฒ นา” (Develop-ment Support Consortium/DSC) เปนตน อาจกลาวไดวา แนวทางการพัฒนาที่มูลนิธิฯ พยายาม ผลักดันและสงเสริม ไมวาจะโดยลำพัง หรือโดยรวมกับบุคคล และหนวยงานอื่นๆ ตางไดรับอิทธิพลทางความคิดของอาจารย

ปวย มาบางไมมากก็นอย ไมทางตรงก็ทางออม ลองพิ จ ารณาแนวคิ ด เรื่ อ งสั ง คมที่ พึ ง ปราถนาของ อาจารยปวย ที่จะตองเปนสังคมที่มีสมรรถภาพ มีเสรีภาพ มี ความยุติธรรม และมีความเมตตากรุณา หรือหลักการ “สันติ ประชาธรรม” ที่ ก ลายเป น คำขวั ญ ซึ่ ง ได รั บ การกล า วถึ ง อยู เนืองๆ ก็จะเห็นความเกี่ยวโยงระหวางความคิดของอาจารย ปวย กับแนวทางการพัฒนาที่มูลนิธิบูรณะชนบทฯ พยายาม ผลักดันและสงเสริมในปจจุบันได แน ชัดที่ สุดก็ คื อ ความคิ ดของอาจารย ปวย มี สวน สำคัญในการทำใหเกิดมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศฯ ซึ่ง เปนชองทางทำใหเกิดนโยบายการพัฒนา เกิดยุทธศาสตรการ พั ฒ นา เกิ ด แนวทางการพั ฒ นา เกิ ด นั ก พั ฒ นาที่ ก ลายเป น ผูบุกเบิกหรือผูนำการพัฒนา ฯลฯ ตอไปอีก นอกจากนั้ น บรรดาผู บ ริ ห ารและเจ า หน า ที่ ข อง มูลนิธิฯ ในรุนตางๆ จำนวนมาก ยังไดรับอิทธิทางความคิด หรือแรงบันดาลใจจากอาจารยปวย อีกตางหาก ทั้งทางตรง และทางอ อ ม และเมื่ อ ได รั บ อิ ท ธิ พ ลทางความคิ ด หรื อ แรง บันดาลใจมาแลว ก็มาคิดตอทำตอ แตกแขนงงอกเงยตอไป จึงกลาวไดวา “มูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศ ไทย ในพระบรมราชูปถัมภ” คือ “มรดกทางปญญา” ชิ้น สำคัญชิ้นหนึ่งของ ศ.ดร.ปวย อึ๊งภากรณ ผูซึ่งมี “ลูกศิษย” มากมาย และ “ลู ก ศิ ษ ย ” ทั้ ง หลายรวมทั้ ง ผู เขี ย นด ว ย นิยมเรียกทานอยางสั้นๆ และงายๆ ตามบุคลิกของทานวา “อาจารยปวย”

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 29


บันทึกชวยจำ : คิดเหมือนเดิม แตทำแบบใหม ไพบูลย วัฒนศิริธรรม บั น ทึ ก นี้ เ ป น เอกสารภายในของมู ล นิ ธิ ฯ บันทึกไวเมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2530 นำ มาพิมพรวมไวเพื่อเปนหลักฐานแสดงใหเห็น ถึงการทำงานอยางเปนระบบของคณะกรรมการมูลนิธิฯ โดยมีการประมวลสถานการณ สถานภาพ และประเมินศักยภาพขององคกร เพื่อประกอบการพิจารณาและตัดสินใจวาจะ เลิกกิจการของมูลนิธิฯ หรือจะดำเนินการ ตอไป ถาจะดำเนินการตอไป จะเลือกแนวทาง อยางไรจึงจะมีประสิทธิภาพและเปนไปได บรรณาธิการ 30 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 31


อ. ไพบูลย วัฒนศิริธรรม

1. แนวความคิดและนโยบาย มูลนิธิฯ ไดรับแนวความคิดดานพัฒนาจาก Dr. J. C. Yen ผูริเริ่มกอตั้งโครงการบูรณะชนบททั่วโลก ซึ่งมีแนวความ คิดวาปญหาประชากรทั่วโลกมี 4 ประการ คือ 1. ความไมรู (Ignorance) 2. ความยากไร (Poverty) 3. ความเฉื่อยชา (Inert) 4. ความเจ็บปวย (Sickness) จึงไดกำหนดลักษณะแผนงาน 4 ประเภท คือ 1. แผนงานส ง เสริ ม การศึ ก ษา (Education) เพื่อขจัดความไมรู 2. แผนงานสงเสริมอาชีพ (Livelihood) เพื่อขจัด ความยากจน 3. แผนงานส ง เสริ ม สุ ข ภาพอนามั ย (Health) เพื่อขจัดโรคภัยไขเจ็บ 4. แผนงานส ง เสริ ม อั ต -ประชาภิ บ าล (Self Government) เพื่อขจัดความเฉื่อยชาตอชีวิต กระตุนใหชาว บานรูจักคิด-ทำ-ชวยเหลือซึ่งกันและกัน จากแนวคิดดังกลาว มูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทย ไดยึดเปนแนวทางดำเนิน งาน โดยตั้งวัตถุประสงควา 1. ชวยประชาชนในชนบทใหสามารถปรับปรุงฐานะ และสภาพความเปนอยูทางเศรษฐกิจและสังคมใหดีขึ้น 2. ขจัดความยากจน ความไมรูและโรคภัยไขเจ็บ ซึ่งเปนเหตุบั่นทอนความเจริญกาวหนาและกอความทุกขยาก ใหแกชาวชนบท 3. สงเสริมใหชาวชนบทรูจักชวยตนเอง และชวย ซึ่งกันและกันเพื่อทนุบำรุงอาชีพ การศึกษา และอนามัย 32 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

การปฏิบัติงาน 1. จัดตั้งศูนยปฏิบัติการบูรณะชนบทขึ้นในชนบท 48 แหง 2. จัดตั้งสำนักงานปฏิบัติการขึ้นเปนศูนยกลางที่ จังหวัดชัยนาท มีเนื้อที่ดิน 33 ไร ไดมาจากการบริจาคของผูมี จิตศรัทธา และเปนศูนยฝกอบรมชาวชนบท ผูนำชนบทและ กลุมอาชีพตางๆ โดยมีวิทยากรแตละสายงานเปนผูใหการฝก อบรมในดานการอาชีพ การศึกษา และการอนามัย ใหถูกตอง ตามหลักวิชาการ ในระดับที่ชาวชนบทจะนำไปปฏิบัติใหเกิด ประโยชนไดตามความสามารถของตนเอง ของครอบครัว และ ของกลุม 3. กำหนดแผนงาน โดยมีเปาหมายที่จะดำเนินงาน ใหบรรลุวัตถุประสงคที่ตองการภายในระยะเวลาอันควร ตอ จากนั้นก็จะไดพิจารณาถอนบูรณกรออกไปจัดตั้งศูนยปฏิบัติ การในชุมชนอื่นตอไป เพื่อขยายงานบูรณะชนบทใหกวางขวาง ยิ่งขึ้น โครงการที่ปฏิบัติในพื้นที่ 48 จุด เนนหนักดานตางๆ ดังนี้ 1. ดานอาชีพ สงเสริมอาชีพหลัก เชน การทำนา แผนใหม การปลูกพืชหลังฤดูเก็บเกี่ยว ปรัปบรุงอาชีพเสริม เชน การเลี้ยงสัตว การอุตสาหกรรมการในครัวเรือน การปลูก พืชผักสวนครัว ทั้งนี้เพื่อใหมีรายไดสูงขึ้น ใหรูจักแกปญหา ซึ่งเปนอุปสรรคในการประกอบอาชีพ 2. ดานสาธารณะสุข สงเสริมใหรูจักปองกัน การ รักษาสุขภาพอนามัย โภชนาการเบื้องตน ตลอดจนการวางแผน ครอบครัว

3. ดานการศึกษา สงเสริมการศึกษาของเด็กกอน วัยเกณฑเรียน ของเยาวชนและของผูใหญ ดำเนินการฝกอบรม ใหเกิดความรูความชำนาญ ที่สามารถนำไปใชประโยชนในการ ปรับปรุงความเปนอยูของชีวิตประจำวันใหสอดคลองกับสภาพ ในปจจุบัน 4. ดานอัต-ประชาภิบาล สงเสริมการรวมกลุม อยางมีระบบ โดยการสรางความสำนึก สมัครสมาน ฝกนิสัย ใหมีความรับผิดชอบรวมกัน รูจักชวยตนเองและชวยเหลือ ซึ่ งกั นและกั น และใชระบบกลุมดำเนิ นการแก ปญหาความ ยากไร ปรับปรุงฐานะความเปนอยูทางเศรษฐกิจและสังคมให ดีขึ้น โครงการที่เคยไดรับความรวมมือจากภายนอก 1. USAID ตั้งแต พ.ศ. 2523 ถึง พ.ศ. 2526 2. C.C.F ตั้งแต พ.ศ. 2516 ถึง พ.ศ. 2529 เจาหนาที่ปฏิบัติงาน เดิม 17 คน

ข. งานโครงการอบรมเครื่องจักรกลการเกษตร มี เยาวชนสำเร็จการอบรมไปแลวจำนวน 5 รุน ไดขอไปกูเงิน ธนาคารเปดอูซอม จำนวนทั้งสิ้น 12 อู การชำระหนี้ยังไมครบ จำนวนเงินกู ประมาณ 300,000 บาท มูลนิธิฯ มีเงินฝาก ค้ำประกันอยูในธนาคาร และงานนี้จะดำเนินตอไป ค. ติดตามงานโครงการชาวนานอย ใหดำเนินงาน ตอไป และติดตามเงินกูที่สมาชิกไดกูไปประกอบอาชีพเพื่อ ชำระคืนตอธนาคาร มูลนิธิฯ มีเงินฝากค้ำประกัน 200,000 บาท ง. ติดตามงานกลุมตางๆ เชน กลุมแมบานดงขวาง กูเงินเลี้ยงหมู เลี้ยงไก กลุมทอผากุดจอก กลุมโรงสีดงขวาง กลุมธนาคารขาวหวยกรด กลุมออมทรัพย (เครดิตยูเนี่ยน) ข อ สั ง เกต งานด า นอาชี พ ช ว ยเหลื อ การให เ งิ น Revolving Fund-CCF อบรมงานดานอาชีพเลี้ยงหมู ไก ปลา การทำนา เปนตน ประสบความสำเร็จมาก สวนธนาคารขาว การออมทรัพยไมไดผลดีเทาที่ควร

2. งานปจจุบันคงเหลือ

3. งานของสวนราชการที่มีอยูในพื้นที่ปฏิบัติงาน

ขณะนี้มีสวนราชการโดยเฉพาะอยางยิ่ง 4 กระทรวง ก. งานโครงการ ซี.ซี.เอฟ เกี่ยวกับการชวยเหลือ หลั กในการพั ฒนาชนบทเขาไปปฏิ บั ติงานในพื้ น ที่ ที่ มูลนิ ธิ ฯ เด็กเล็กกอนวัยเรียน โดยอุปการะศูนยเด็กเล็ก 4 ศูนย คือ ปฏิบัติ คือ 1. ศูนยเด็กเล็ก ตำบลหวยกรด หมู 11 1. มีพัฒนากรประจำตำบล 2. ศูนยเด็กเล็ก ตำบลดงคอน 2. มีเกษตรกรตำบล 3. ศูนยเด็กเล็ก ตำบลแพรกศรีราชา 3. มี อสม. และ ผสส. ของกระทรวงสาธารณสุข 4. ศูนยเด็กเล็ก ตำบลเที่ยงแท หมู 3 4. มีโครงการใหสินเชื่อของ ธกส. นอกจากชวยเหลือเด็กเล็กแลว ยังชวยเหลือบิดา 5. มีการจัดตั้งสภาตำบล คณะกรรมการหมูบาน มารดา หรือผูอุปการะเด็กที่ยากจน โดยมีเงินทุนหมุนเวียนใน ดานอาชีพปรับปรุงที่อยูอาศัย ดานสาธารณสุข หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 33


4. ทรัพยากรของมูลนิธิฯ 1. สถานที่ - หอพัก ขนาด 4 หองๆ ละ 3 เตียง จำนวน 4 หลัง ABCD - หอพัก ขนาด 4 หองๆ ละ 2 เตียง จำนวน 1 หลัง หอง E - บานรับรอง 3 หองๆ ละ 2 เตียง จำนวน 1 หลัง - ห อ งประชุ ม ขนาด 70 คน พร อ มเครื่ อ งโสตฯ จำนวน 1 หลัง - โรงอาหาร ขนาด 70-100 คน พรอมจัดเปนที่ อบรม หรือเวทีแสดง จำนวน 1 หลัง - โรงฝกงานเครื่องจักรกลการเกษตรพรอมเครื่องมือ การอบรม จำนวน 1 หลัง - บานพักเจาหนาที่ 3 หลัง - เรือนรับรองใหญ 1 หลัง - หอยาวสำหรับเจาหนาที่ (หอ F) 1 หลัง 2. การเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2526 มูลนิธิฯ มีเงินเพื่อใชในการปฏิบัติงาน ดังนี้ 34 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

- เงินฝากธนาคาร 6 แหง 1,089,643.61 บาท 1,150,000.00 บาท - ตั๋วเงิน - เงินทดรอง 81,000.00 บาท - เงินโครงการ 28,275.00 บาท - FMT ประกัน 300,000.00 บาท - ชาวนานอย 200,000.00 บาท รวม 2,848,918.61 บาท (มีสิทธิใช ประมาณ 600,000 บาท) 3. กำลังคน เจาหนาที่ปฏิบัติงานขณะนี้มีจำนวน 11 คน มี เจ า หน า ที่ ห ลั ก 3 คนนอกนั้ น เป น ระดั บ เสมี ย น คนงาน จำนวน 8 คน เจาหนาที่หลักมีดังนี้ 1. นายศุภนิมิต งานการเงินและบัญชีทั้ งหมด งานสงเสริมการเกษตรและชนบท และอื่นๆ 2. นายชาญชัย งานโครงการ C.C.F ฯลฯ 3. นายปรีชา งานชางกลและการอบรมเครื่อง จักรกล งานโสตฯ 4. วัสดุเครื่องมือ - โรงงานเครื่องจักรกลและอุปกรณการสอนเกี่ยวกับ

การประกอบ หรือแกไขเครื่องยนต เครื่องจักรกลเล็ก ใช 0 % - รถยนตปฏิบัติงานที่ใชได 5 คัน ใช 50% - รถ JCB (รถขุด) 1 คัน ใช 0% - รถมอเตอรไซด 7 คัน ใช 0% - รถไถนา อีแตน ไถเดินตาม อยางละ 1 คัน ใช 15% 5. อื่นๆ วัว 7 ตัว, ไก 200 ตัว, เปด 10 ตัว, ปลา 2 บอ, นาขาวไร นาขาวโพด 100 ตรว. ซากรถ 4 คัน, ไม 100,000 บาท

5. ปญหาของมูลนิธิฯ ปญหาเกี่ยวกับบุคคล ปญหาดานนี้อาจพิจารณาได เปน 2 ระยะ คือ 1. ป ญ หาระยะแรก คื อ ช ว งเวลาหลั ง วั น ที่ 6 ตุลาคม 2519 เปนตนมา บุคคลภายนอก (เจาหนาที่ของรัฐ และประชาชน) มองว า มู ล นิ ธิ ฯ เกี่ ย วข อ งกั บ กิ จ กรรมด า น การเมืองเนื่องจากวา ก) ประธานกรรมการอำนวยการ (ดร.ป ว ย

อึ๊ ง ภากรณ ) ถู ก กล า วหาว า เป น ผู ส นั บ สนุ น และนิ ย มการ ปกครองระบอบสังคมนิยม และใชมูลนิธิฯ เปนฐานในการ ปลุกระดมมวลชนในพื้นที่ ข) บูรณากรของมูลนิธิฯ บางคนที่ปฏิบัติงานใน พื้ น ที่ มี ก ารทำงานในลั ก ษณะที่ เ ป น การปลุ ก ระดมมวลชน ทำใหสวนราชการในระดับจังหวัดเกิดความระแวง มูลนิธิฯ ไดพยายามที่จะชี้แจงรัฐบาลในระยะนั้น ใหเขาใจวา หลักการของมูลนิธิฯ นั้นมิไดเกี่ยวกับการเมือง และได เชิ ญ บุ ค คลในคณะรั ฐ บาล คื อ คุ ณ หญิ ง เลอศั ก ดิ์ สมบัติศิริ รัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคม มาเปนประธาน กรรมการอำนวยการ และตอมาไดเชิญนายทำนอง สิงคาลวนิช รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ มาเปนประธาน ทั้งนี้ เพื่อที่จะใหรัฐบาลและสวนราชการไดเขาใจการปฏิบัติ ของมูลนิธิฯ อยางแทจริง ซึ่งปญหานี้ก็สามารถแกไขไดแลว 2. ปญหาระยะที่สอง เปนปญหาที่เกิดขึ้นจากการ ปฏิบัติงานของเจาหนาที่มูลนิธิฯ ซึ่งแยกไดเปน 2 ประเด็น คือ ก) ผูอำนวยการมูลนิธิฯ ผูอำนวยการมูลนิธิฯ นับวาเปนตำแหนงที่มีความสำคัญตอการบริหารงานเปนอยาง หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 35


ยิ่ง เนื่องจากเปนผูที่จะรับนโยบายแนวคิดจากคณะกรรมการ อำนวยการ คณะกรรมการบริหาร ไปปฏิบัติซึ่งจะคลายกับ ผูจั ดการบริษัท แตจากอดีตที่ผานมา ผูอำนวยการมูลนิธิฯ หลายทานยังไมสามารถดำเนินการใหเปนไปตามหลักการที่ กล า วได เช น ไม ส ามารถดู แ ลบั ง คั บ บั ญ ชาเจ า หน า ที่ ข อง มูลนิธิฯ ใหปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ ไมดูแลควบคุม ดานการเงินของมูลนิธิฯ รวมทั้งไมสามารถประสานงานกับ จังหวัดไดดีเทาที่ควร ปญหาเหลานี้ตองตกเปนภาระของคณะ กรรมการบริหาร และคณะกรรมการอำนวยการ ข) เจาหนาที่ผูปฏิบัติงาน จากการตรวจสอบ และติดตามผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่มูลนิธิฯ ที่ผานมา พบวา มีปญหาเกิดขึ้นดังนี้ 1. มีเจาหนาที่หลายคนไมตั้งใจปฏิบัติงาน และมีพฤติกรรมสอไปในทางทุจริต 2. โครงการแตละโครงการแบงแยกกันโดย เด็ดขาด เชน เจาหนาที่ปฏิบัติงานของโครงการ เอฟ.เอ็ม.ที ก็ จะรับผิดชอบเฉพาะโครงการ เอฟ.เอ็ม.ที เวลาไปปฏิบัติงาน ในสนามก็ไมชวยติดตามดูแลโครงการอื่นๆ ทั้งๆ ที่อยูหมูบาน เดี ย วกั น หรื อ แม แ ต มู ล นิ ธิ ฯ จะมี โ ครงการของมู ล นิ ธิ เ องก็ ไมสามารถใชเจาหนาที่ของโครงการอื่นๆ ได ทำใหคาใชจาย ในการบริ ห ารบุ ค คลสู ง นอกจากนี้ บ างโครงการผู ใ ห ค วาม ช ว ยเหลื อ เข า มายุ ง เกี่ ย วกั บ การบริ ห ารมากเกิ น ไป ทำให มูลนิธิฯ ขาดเอกภพในการบริหารงาน 3. เจ า หน า ที่ แ ตกความสามั ค คี กั น เนื่ อ ง จากมีความแตกตางกันทั้งในเรื่องรายได และผลประโยชน ตอบแทน ปญหาดานการเงิน ปญหาดานนี้คอนขางมี ความเกี่ยวของกับปญาดานบุคคล กลาวคือ ในขั้นแรกเงิน 36 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

ของมูลนิธิฯ ที่ใชในการปฏิบัติงาน เปนตั๋วเงินประมาณ 5 แสนบาทเศษ สวนเงินโครงการตางๆ ก็เปนคาใชจายในสวน ของโครงการ ซึ่งมีระบุไวเปนเงินคาจางเจาหนาที่ คาใชจาย เกี่ ย วกั บ การฝ ก อบรม หรื อ วั ส ดุ อุ ป กรณ โ ดยเฉพาะ ทำให มู ล นิ ธิ ฯ ไม ส ามารถบริ ห ารการเงิ น ได อ ย า งเต็ ม ที่ เช น ไม สามารถตรวจสอบการใชจายเงินได ไมสามารถหมุนเวียนเงิน และคนของโครงการมาใชในกิจกรรมของมูลนิธิฯ ในสวนรวม ได บางกรณีผูใหความชวยเหลือกำหนดเงื่อนไขผูกมัดมูลนิธิฯ มาก ดังนั้น เมื่อสิ้นสุดโครงการ ประมาณกลางป พ.ศ.2526 มูลนิธิฯ จึงไมรับความชวยเหลือจากองคกรใดทั้งสิ้น นอกจาก ซี.ซี.เอฟ ซึ่งยังคงผูกพันตอจากโครงการเดิม ขณะนี้มูลนิธิฯ มีรายจายประมาณเดือนละ 56,350 บาท ซึ่งจำเปนอยางยิ่งที่จะตองดำเนินการใหมีรายได ประจำ เพิ่มขึ้น การแกปญหาดานบุคคลและการเงิน ไดมีการ แกไขไปแลวบางสวน ดังนี้ ก) คณะกรรมการอำนวยการ ไดแตงตั้งนาย จรู ญ โลกะกลิ น (อดี ต ผู ว า ราชการจั ง หวั ด ) เป น กรรมการ อำนวยการ เปนประธานกรรมการบริหารและดำรงตำแหนง ผูอำนวยการมูลนิธิฯ อีกตำแหนงหนึ่งโดยไมขอรับคาตอบแทน ข) คณะกรรมการบริหารมูลนิธิฯ ไดพิจารณา เลิกจางเจาหนาที่ในสวนที่ไมจำเปน 6 คน ขณะนี้มีเจาหนาที่ เหลือเพียง 11 คน ทำหนาที่บริหารและปฏิบัติการ 3 คน เสมียน คนงาน ภารโรง รวม 8 คน นอกจากนี้ยังไดดำเนิน การปรั บ ปรุ ง การบริ ห ารของมู ล นิ ธิ ฯ ให มี เ อกภาพและ ประสิทธิภาพ ปญหาเรื่องสถานที่ มูลนิธิฯ มีสถานที่ซึ่งจะ สามารถใชเปนที่ฝกอบรมสัมมนา โดยมีอุปกรณ และหอพัก

อยางพรอมมูล สามารถบริการไดถึง 70 คน หากมีผูมาใช บริ ก ารดั ง กล า วเป น ประจำจะเป น รายได ใ ห แ ก มู ล นิ ธิ ฯ ที่ แนนอน และสามารถเลี้ยงตัวเองได

6. แนวทางปฏิบัติงานของมูลนิธิฯ ในอนาคต

จากแนวความคิดและนโยบายการปฏิบัติงานที่ผาน มาในชวงเวลา 17 ป มูลนิธิฯ ไดลงไปเปนผูปฏิบัติงานพัฒนา ชนบทในพื้นที่ ซึ่งในหวงแรกของเวลาดังกลาวหนวยงานของ รัฐที่ลงไปสูตำบลและหมูบานยังมีนอย จากการศึกษานโยบาย ดานการพัฒนาชนบทของรัฐบาลตามแผน ฉบับที่ 5 ไดชี้ให เห็นวารัฐไดจัดใหมีเจาหนาที่ลงไปปฏิบัติงานที่หมูบาน และ ตำบลมากขึ้น พัฒนากร เกษตรกร ตำบล อสม. และ ผสส. นอกจากนี้หนวยงานของกระทรวงมหาดไทย เชน ศูนยการ ศึกษานอกโรงเรียน ยังไดจัดหนวยเคลื่อนที่ออกไปใหความรู ในดานตางๆ แกประชาชนมากขึ้น จึงเปนเรื่องที่นาจะได ทบทวนนโยบายและวิธีดำเนินการของมูลนิธิฯ วาจะเปนไป ในแบบเดิ ม หรื อ ไม สำหรั บ ความเห็ น ที่ เ ป น ข อ เสนอเพื่ อ พิจารณาก็คือ การปฏิบัติงานของมูลนิธิฯ นาจะพิจารณา ดังนี้ ก. กิจกรรมหรือโครงการตางๆ ไมควรแขงขันกับ กิจกรรมหรือโครงการของรัฐบาล ข. กิจกรรมหรือโครงการควรเปนการเสริมกิจกรรม หรือโครงการของรัฐในสวนที่ขาด หรือกลาวอีกนัยหนึ่งก็คือ โครงการของรัฐเปนตัวนำ สวนโครงการของมูลนิธิฯ เปนสวน เสริมและควรเปนระยะเวลาสั้นๆ เชน โครงการฝกอบรม เปนตน

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 37


บชท. ในวัย 40 ป ถึงจุดเปลี่ยนผานอีกครั้ง ศิริชัย สาครรัตนกุล

แมจะไมเปนที่นิยมในการเปรียบเทียบชีวิตขององคกร กั บ ชี วิ ต มนุ ษ ย แต ใ นฐานะที่ ผู เขี ย นเป น คนไทยที่ รั บ รู ก าร เปลี่ ย นแปลงของสั ง คมไทยอย า งกะตื อ รื อ ร น ตลอด 40 ป ที่ผานมา ก็อดที่จะเปรียบเทียบชีวิตของ บชท. กับวงจรชีวิต ของคนไทยหลายคน โดยเฉพาะพวก ‘นักกิจกรรมเพื่อสังคม’ ไมได 40 ป ของ บชท. จะมีสวนเหมือนกับ หรือสวนตาง จาก ชีวิต “เด็กวัยรุนเมื่อ 40 ปกอน” มากนอยเพียงใด “เด็ก วัยรุน เมื่อ 40 ปกอน” แตละคนคงตองวินิจฉัยเอาเอง 40 ป ของ บชท. นาจะแบงออกไดเปน 4 ยุค คือ (1) ยุคเฟองฟู ซึ่งไดแกชวงแรกๆ ที่อาจารยปวย ได กอตั้ง บชท. ขึ้น และวางรากฐานของ บชท. ไวอยางมั่นคง บชท. เปนแหลงสรางนักพัฒนาชนบท ในสไตล ‘NGO เย็น’* ขึ้นมากมาย และหลายคนที่เปนผลผลิตของ บชท. ในยุคนั้น ยังคงโลดแลนในฐานะของผูนำของขบวนการพัฒนาชนบทไทย ในปจจุบัน ดวยบารมีของอาจารยปวย บชท. ไดรับแรงศรัทธา และความสนับสนุนจากทุกฝาย ไมวาจะเปนองคกรตางประเทศ องคกรในประเทศ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน บชท. สามารถ

ระดมสรรพกำลัง ไมวา จะเปนกำลังคน กำลังทรัพย (รวมถึง ที่ดิน**) ในการทำงานพัฒนาชนบทตามอุดมการณและแนวคิด ของ บชท. ซึ่งไดแก “ไมใชไปสอนชาวบาน แตไปอยูกับ ชาวบาน และรวมคิด รวมทำกับชาวบาน” (2) ยุ ค จำศี ล เริ่ ม ตั้ ง แต ช ว งรั ฐ บาลหอยเรื่ อ ยมา ชวงนั้น อาจารยปวย ตอง ‘ลี้ภัย’ ไปตางประเทศ นักพัฒนา ทั้งหลายที่ไปคลุกคลีอยูกับชาวบาน ไมเวนแมแตนักพัฒนา ของ บชท. ตางถูกเพงเล็งจากทางการวาเปนคอมมิวนิสต บชท. ในยุ ค นี้ จึ ง ต อ งประคองตั ว อยู ด ว ยการดำรงสถาน ภาพของการเปนมูลนิธิตามกฎหมาย กิจกรรมตางๆ ก็มลาย หายไป (3) ยุคฟนฟู ยุคนี้เริ่มตั้งแตคุณไพบูลย วัฒนศิริธรรม และทีมงานเขามาบริหาร บชท. งานเดนของ บชท. ใน ยุคนี้คืองานที่ คุณไพบูลย เรียกวา ‘เสนอแนะเชิงนโยบาย (policy advocacy)’ ซึ่งเริ่มดวยการรับจางวิจัย ‘สไตลไพบูลย’ และจบลงดวยการเสนอแนะนโยบายใหผูวาจางรับไปพิจารณา ซึ่งรอยทั้งรอยที่ขอเสนอของ บชท. ในฐานะผูวิจัย ไดรับการ ตอบสนองจากผูวาจางดวยการนำไปปฏิบัติ ทั้งนี้ดวย วิธีการ วิจัย ‘สไตลไพบูลย’ นั่นเอง

* ‘NGO เย็น’ vs ‘NGO รอน’ เปนศัพทที่ไดยินมาวา อาจารยหมอประเวศ วะสี บัญญัติขึ้นเพื่อเรียกชาว NGO ไทยในยุคปจจุบัน ที่อาจแบงคราวๆ ออกได เปนสองลักษณะ คือพวก‘NGO เย็น’ ไดแก พวกที่กมหนากมตาทำงาน พยายามประสานพลังจากทุกฝาย เพื่อประโยชนของชาวบาน ไมนิยมการปะทะ หรือการประทวง ตางจากพวก ‘NGO รอน’ ที่มักปรากฏเปนขาววาเปนผูนำชาวบานจัดม็อบ ประทวงเรื่องนั้น ประทวงเรื่องนี้ อยูเปนระยะ ทั้งสองกลุมตางก็มี เปาหมายในการทำงานอยูที่ชาวบานเหมือนกัน แตมีวิธีการตางกัน ** ปจจุบัน บชท. เปนเจาของกรรมสิทธิ์ที่ดินหลายแหง ในจังหวัดชัยนาท 38 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 39


วิธีวิจัย ‘สไตลไพบูลย’ คือ “ไมคิดแทนชาวบาน แต ไปถามชาวบานวาชาวบานตองการอะไร แลวนำมาเรียบ เรียงเสนอผูดำเนินนโยบาย (ผูวาจาง)” ผลงานที่โดดเดนตามแนวนี้ คือการเสนอใหการ เคหะแหงชาติและรัฐบาลจัดตั้ง ‘กองทุนพัฒนาคนจนเมือง’ และ‘สำนั ก งานพั ฒ นาชุ ม ชนเมื อ ง (พชม.)’ ในสั ง กั ด การ เคหะแหงชาติขึ้น และอีกหลายปตอมาก็มีการควบรวม พชม. เขากับกองทุนพัฒนาชนบท เปน ‘สถาบันพัฒนาองคกรชุมชน (พอช.)’ ที่มีขอบเขตการดำเนินงานกับคนจน ทั้งในเมืองและ ชนบททั่วประเทศ ผลงานที่โดดเดน ของ พอช. ไมวาจะเปนเรื่อง ‘บาน มั่ น คง’ (ที่ โ ด ง ดั ง ในระดั บ ประเทศ และเริ่ ม จะโด ง ดั ง ใน ระดับนานาชาติ) ‘สวัสดิการชุมชน’ (ที่กำลังกอหวอดเปน ‘ไข’ ที่พรอมจะฟก เปน ‘ผล’ ที่นาทึ่ง ในระดับประเทศ และเปนที่ เชื่อไดวาจะโดงดังเชน ‘บานมั่นคง’ ในระดับนานาชาติ) ‘แผน แมบทชุมชน’ (ที่นักพัฒนาชนบท/ชุมชน ตางก็หวังวาจะเปน เครื่องมือสำคัญในการสรางความเขมแข็งใหกับชุมชน ซึ่งจะ เปนกุญแจสำคัญในการแกปญหาสังคม ทั้งในระดับชุมชน ระดับเมือง และระดับประเทศ ตามความเชื่อของพวก ‘เรา’) 40 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

และผลงานอื่นๆ อีกมากมาย (4) ยุคปรับฐาน เมื่อ คุณไพบูลย มีภารกิจที่ใหญขึ้น ในตำแหนงผูอำนวยการธนาคารออมสิน บชท. ก็เปลี่ยน ผอ. จากคุณไพบูลย มาเปน คุณศิริวรรณ ซึ่งดำรงตำแหนงรอง ผอ. ในช ว งที่ คุ ณ ไพบู ล ย เป น ผอ. ประจวบกั บ ดอกเบี้ ย ไทย ชวงนี้อยูในขาลง ชนิดดิ่งลงอยางรวดเร็วและอยูในระดับต่ำมา ตลอด นอกจากนี้เงินสนับสนุนจากตางประเทศก็เหือดแหง หายไป เพราะตางก็มองวาไทยเจริญแลว ผันเงินชวยเหลือไป ที่อื่นดีกวา บชท. จึงตองปรับตัวขนานใหญ ลดรายจายดวยวิธี การตางๆ นานา รวมถึงการใหเชาอาคารสำนักงานในกรุงเทพฯ และย า ยฐานกิ จ กรรมลงพื้ น ที่ ที่ ชั ย นาทแต เ พี ย งแห ง เดี ย ว และที่ ชั ย นาทนี้ มีก ารจั ด ตั้ ง ‘ศู น ย ก ารเรี ย นรู ชุ ม ชน ป ว ย อึ๊งภากรณ’ ขึ้น ในช วงเดียวกันนี้ ภายใตการนำของ คุณศิ ริวรรณ บชท. ไดมีโอกาสตอนรับลูกศิษยของอาจารยปวย ทานหนึ่ง จากค า ยธรรมศาสตร ซึ่ ง ได แ ก ศ าสตราจารย ดร.อภิ ชั ย พันธเสน ที่ไดนำทีม ซึ่งมีอาจารย ดร.ปทมาวดี ซูซูกิ เปนตัว จักรสำคัญเขามาบริหาร สถาบันการจัดการเพื่อชนบทและ สังคม (RASMI) ที่เกิดขึ้นในยุคของคุณไพบูลย นอกจากนี้ยังมี

ทีมงานลูกศิษยอาจารยอภิชัย อีก 2 ทีม คือ สถาบันไทยพัฒน ภายใตการนำของ ดร.พิพัฒน ยอดพฤติการ และเครือขาย อาสาสมัครเยาวชน (Thai Rural Net) ภายใตการนำของ คุณสุนิตย เชรษฐา เขามารวมกับ บชท. ดวย กิ่งที่ 5 ของ บชท. ที่เปนกิ่งใหมลาสุดและเปนกิ่ง ใหญสุดในแงบุคลากร จำนวนเงินที่ใช ตลอดจน ความยากและ สลับซับซอนในเชิงการบริหารจัดการ ไดแก โรงเรียนเพื่อชีวิต (School for Life) ที่เชียงใหม และที่พังงา ที่ไดเขามารวมกับ มูลนิธิฯ ในชวงป 2547-2548 Prof. Dr. Juergen Zimmer จาก Free University Berlin ซึ่งเปนสหายสนิทของ อาจารย ดร.อภิชัย เปนเจาของ แนวความคิดโรงเรียนเพื่อชีวิตนี้ และเปนผูบุกเบิกและพัฒนา แนวความคิดนี้ใหเกิดขึ้นเปนจริงที่ดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม และกำลังจะขยายผลไปที่ นาไน จังหวัดพังงา พวกเรา ชาว บชท. (ดั้งเดิม) ตื่นเตนกับกิจกรรมของ โรงเรียนเพื่อชีวิต ที่ไดชวย กำลังชวย และจะชวยใหชีวิตเด็กที่ บริ สุทธิ์ ผุดผอง แต ดอยโอกาส มี ปญหา และบางกรณี ถู ก รังแก ใหมีโอกาสไรปญหา (ระดับหนึ่ง) ไมถูกรังแกอีกตอไป พวกเราไดเห็นของจริงแลวที่ดอยสะเก็ด และกำลังจะไดเห็น ของจริงที่นาไน ในเร็ววันนี้ และอยากจะเห็นของจริงแบบนี้ ในทุกที่ทุกมุมของประเทศไทย และทั่วโลก เราดี ใจที่ ไ ด มี โ อกาสฝ น ร ว มกั บ Prof. Zimmer และทีมงานโรงเรียนเพื่อชีวิต และนอกจากดีใจที่ไดฝนแลว เราก็ดีใจที่จะรวมกันทำใหฝนเปนจริงมากที่สุดเทาที่พวกเรา จะทำได***

40 ป ของ บชท. ถานำมาเบียดกันดวยตัวอักษร ไมกี่ตัว ไมกี่บรรทัด อาจเปน 40 ปที่ตื่นเตน เราใจ แตใน ความเปนจริงแลวมันเปน 40 ป เยิ่นเยื้อ ยาวนาน และเปน 40 ป ที่เหนื่อยยาก สนุกสนาน ชื่นมื่น มีสุข มีทุกข มี หวัง สมหวัง ผิดหวัง หดหู ฮึกเหิม และจะไมหยุดอยูกับที่ ณ ปที่ 40 นี้ บชท. จะตอง มีชีวิตกาวตอไปอยางที่ทุกทาน ที่รัก บชท. ทุกคนจะชวย กันเติมแตงตามที่ทานประสงค ดังตอไปนี้ ............................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................

*** ฝนหรือแนวคิด หรือปรัชญาโรงเรียนเพื่อชีวิตนี้ ตามที่เพื่อนผม (ผศ.ดร.ไชยันต รัชชกูล) เคยคุยกับ Prof. Zimmer ในวันหนึ่งที่ดอยสะเก็ด โดย อาจารย ไชยันต ถาม Prof. Zimmer วาโรงเรียนเพื่อชีวิตนี้ มีแนวคิดแบบใด เปนแนว Summer hill หรือ Waldorf หรือ Alternative Schooling แบบอื่น คำตอบ จาก Prof. Zimmer คือ Paulo Freir : “Pedagogy of the Oppressed” ซึ่งเปนแนวคิดในทำนอง “Empowering the people” กลาวคือ “เพิ่มพลังให ประชาชน” ดวยการปลุกใหประชาชน (ผูยากไร) รูจักพลังของตนเอง และมั่นใจวาสามารถพึ่งพาพลังของตนเองได อันที่จริง หลักนี้ไมใชของใหมในศตวรรษที่ 21 แตเกิดขึ้นแลวในพุทธกาล หรือกอนพุทธกาลดวยซ้ำ (ตนเปนที่พึ่งแหงตน) หรืออยางนอยใน 150-200 ป กอนหนานี้ ในยุโรป ดวยอุดมการณ สหกรณ (พึ่งตนเอง และ รวมดวยชวยกัน) ที่อยากจะบันทึกไว ณ ที่นี้ : อุดมการณ ของโรงเรียนเพื่อชีวิต คือ “Empowering the people (esp. the poors)” เทียบกับอุดมการณ ของ บชท. พชม. และ พอช. คือ “ใหชุมชน (ประชาชนในชุมชน) ตระหนักในพลังของตนและพึ่งตนเอง” นี่คือ ‘จุดหลอม’ ของกิ่งตางๆ ของ บชท. หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 41


ฟนฟู แลวปรับ และกลับฐาน ศิริวรรณ เจนการ ศิริวรรณ เจนการ เศรษฐศาสตรธรรมศาสตรรุน 18 สมัยอาจารยปวย อึ๊งภากรณ เปนคณบดี หลังจากจบ ปริญญาโทที่นิดา ผานการทำงานดานวิจัยเศรษฐกิจและพั ฒนาทรัพยากรบุคคลในระบบธนาคารพาณิชยไทย 15 ป ไดหันเข็มชีวิตมาเริ่มใหมกับงานพัฒนาชนบทเมื่ออายุเลยห ลักสี่มาเล็กนอย จนถึงปจจุบันเธออยูใกลสะพานพระรามห กแลว นับเปนผูหนึ่งซึ่งอยูกับมูลนิธิชวงหลังอยางตอเนื่อง ยาวนาน ลงรายละเอียดพอสมควรที่จะประมวลเหตุการณแ ละประสบการณมาบันทึกไวเพื่อสงตอบทเรียนแกนักพัฒนา รุนตอๆ ไป

42 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

ผูเขียนเริ่มเขามาทำงานใหกับมูลนิธิบูรณะชนบทแหง ประเทศไทยฯ (บชท.) เมื่อกลางป 2532 เนื่องจากปูมหลังเคย ทำงานวิจัยและงานพัฒนาบุคลากรในภาคธุรกิจการธนาคาร มาก อ น ประมาณ 15 ป จึ ง ได รั บ การพิ จ ารณาบรรจุ ใ น ตำแหนงผูชวยผูอำนวยการ สถาบันการจัดการเพื่อชนบทและ สังคม (Rural and Social Management Institute, RASMI) ตอมาเปนผูอำนวยการตั้งแต ป พ.ศ. 2541 จนถึงปจจุบัน ในระยะเวลาเกือบ 20 ป ที่อยูในตำแหนงผูชวย ผูอำนวยการสถาบันฯ และผูอำนวยการมูลนิธิฯ ซึ่งฟงดูโกหรู มิใชนอย แตในความเปนจริงผูเขียนตองทำงานตางๆ ที่ขวาง หนา ทั้งดานบริหารและดานปฏิบัติการตางๆ ตามความจำเปน ที่เกิดขึ้น เนื่องจากเมื่อแรกเขามาเปนระยะของการกอบกูและ ฟนฟูสถานภาพขององคกร ซึ่งกอนหนานี้จำตองหยุดนิ่งอยูชั่ว ขณะหนึ่งเพื่อประคับประคองตัวไมใหลมครืนทามกลางพายุ การเมืองที่กำลังพัดโหมมาปะทะอยางรุนแรง การทำงานใน ชวงนั้นจึงเปรียบเหมือนการพลิกฟนตนไมใหญที่สลดเหี่ยวเฉา เพราะขาดน้ำและปุยไประยะหนึ่ง จึงตองริดกิ่งและใบที่เหี่ยว แหงโรยรา ตกแตงรูปทรงลำตน ปรับปรุงดินและใสปุย และ อื่นๆ อีกมากมาย เพื่อใหสามารถเติบโตงอกเงยใหมได เรื่องเลาตอไปนี้ เปนเกร็ดบริหารจัดการองคกรพัฒนา เอกชน หรื อ NGO Management ซึ่ ง กล า วถึ ง เฉพาะ ประสบการณตรงของผูเขียนเปนหลัก บางเรื่องไปคนละทาง กับตำราการบริหารจัดการ จิตวิทยาองคกร ที่เรียนมา แบ ง ประสบการณ เ ป น 2 ช ว ง ช ว งแรกในฐานะ ผูชวย/รองผูอำนวยการ (ป 2532-40) และชวงที่สอง ในฐานะ ผูอำนวยการ (ป 2541- 2550)

ชวงแรก: การฟนฟูมูลนิธิฯ 1. ดานภารกิจ ภารกิจสำคัญๆ ของมูลนิธิฯ ชวงแรกที่คุณไพบูลย วัฒนศิริธรรม เขามาฟนฟู มีหลายเรื่องทำประสานกันไป นับตั้งแตการจัดหาสำนักงานถาวรในกรุงเทพฯ ในขณะที่วาง สถานะภาพของสำนักงานชัยนาทเปนศูนยสัมมนา ใหบริการ สถานที่จัดอบรมแบบพักแรมพรอมอาหารและที่พัก โดยตั้ง เปาหมายใหเปนแหลงทำรายไดหลอเลี้ยงองคกร ยกเลิกการ ดำเนินงานของศูนยปฏิบัติการประจำตำบลทั้งหลายของมูลนิธิฯ เพื่อลดภาระการระดมทุนและการหาบุคลากรมาทำงาน พรอมๆ กัน ตองตั้งตนประชาสัมพันธการกลับมา ทำกิจกรรมใหมของมูลนิธิฯ ผนวกกับการระดมทุนหลอเลี้ยง องคกร และทุนดำเนินกิจกรรมพัฒนา โดยเพิ่มวัตถุประสงค ของมูลนิธิฯ จากเดิมที่มุงเฉพาะการพัฒนาในเขตพื้นที่ชนบท ขยายรวมเขตเมืองดวย ทั้งกลุมเปาหมาย และวิธีการ ดังนี้ “สงเสริมประชาชนในชนบทและผูมีรายไดนอยและดอยโอกาส สงเสริมการพัฒนาชนบทและสังคมในรูปแบบตางๆ รวมถึง การทำมาหากิน การศึกษา การอนามัย การรูจักชวยตนเอง ชวยเหลือซึ่งกันและกัน และการเพิ่มขีดความสามารถในการ จัดการ”

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 43


ผลจากการประชุมสามัญคณะกรรมการประจำปี 2532 คณะกรรมการกำหนดนโยบาย การดำเนินงานของมูลนิธิชัดเจนคือ “ไม่แข่งขัน ไม่ทำซ้ำ แต่ทำเสริมงานภาครัฐ” • ยุทธศาสตร์ “จิ๋วแต่แจ๋ว” และ “ร่มสามชั้น” ร่มชั้นนอก = งานผลักดันนโยบาย

ร่มชั้นกลาง = งานสร้างความเข้มแข็งให้องค์กร พัฒนาเอกชน /ฝึกอบรม/ให้คำปรึกษา

ร่มชั้นใน =งานโครงการ งานภาคสนาม

ยุ ท ธศาสตร “ร ม สามชั้ น ” แบ ง การทำงานเป น 4 หมวด คือ หมวด 1 รมชั้นใน : งานปฏิบัติการในพื้นที่ ไดแก งานโครงการ เพื่อพัฒนาชุมชน หรือกลุมชาวชนบท เนนการ ชวยเพิ่มขีดความสามารถในการจัดการดานตางๆ รวมถึง การ ตลาด การผลิต และการเงิน เชน - โครงการพัฒนาการตลาดและการจัดการเพื่อ ชาวชนบทจังหวัด ชัยนาท (โครงการตอเนื่องระยะยาว) - โครงการพัฒนาสตรีในธุรกิจชุมชน 8 จังหวัด ภาคกลาง (ระยะเวลา 3 ป) - โครงการถายทอดเทคโนโลยีการผลิตและการ ใชปุยชีวภาพในนาขาว จังหวัด ชัยนาท (ระยะเวลา 3 ป) - โครงการพัฒนาชุมชน จังหวัดตาก (ระยะเวลา 3 ป) - โครงการพัฒนาชุมชนหลังภัยพิบัติ จังหวัดชุมพร (ระยะเวลา 3 ป) หมวด 2 รมชั้นในและรมชั้นกลาง : งานใหบริการ เฉพาะดาน - “ศู น ย เ สาะหาผลิ ต ภั ณ ฑ ช นบท” เป น งานให บริการเชื่อมโยงการตลาดสำหรับผลิตภัณฑชนบท ซึ่งตอมามี ความพยายามรวมมือกับองคกรเครือขายที่ทำงานแนวเดียวกัน 44 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

นี้ผลักดันจนปรับสถานะภาพเปน สมาคมสงเสริมธุรกิจชุมชน (Community Enterprise Promotion Association/ CEPA) - ศูนยฝกอบรมและสัมมนา จังหวัดชัยนาท เปด ใหบริการแกบุคคลทั่วไปใชสถานที่จัดอบรม รวมทั้งมีการจัด หลั ก สู ต รเฉพาะของมู ล นิ ธิ ฯ ด ว ย โดยความช ว ยเหลื อ ของ CIDA ให ก ารสนั บ สนุ น ด า นโสตทั ศ นู ป กรณ เพื่ อ ให พ ร อ ม บริการ หมวด 3 รมชั้นกลาง : งานใหคำปรึกษา ฝกอบรม และใหความรวมมือ - งานใหคำปรึกษาแกโครงการที่เปนการพัฒนา ชนบทและสังคมในดานตางๆ อาทิ การพัฒนาธุรกิจภูมิภาค การพั ฒ นากิ จ กรรมสร า งรายได ใ ห แ ก ส มาชิ ก สหกรณเครดิตยูเนี่ยน การพัฒนาการจัดการใหแกกลุมออมทรัพยเพื่อ การผลิต การจัดตั้งสถาบันชุมชนทองถิ่นพัฒนา การวางแผนการเงินเพื่อการปฏิรูปที่ดิน การพัฒนาธุรกิจในภาคกลางตอนบน การพัฒนาการพึ่งตนเองของชุมชนแออัด - งานฝกอบรมเพื่อการพัฒนาทรัพยากรบุคคล

ใหแกวงการพัฒนาชนบทและสังคม ในระยะแรกจั ด 3 หลั ก สู ต ร เพื่ อ พั ฒ นาศั ก ยภาพ ของนักพัฒนาองคกรเอกชน และกลุมผูนำชาวบานที่ทำงาน สงเสริมธุรกิจชุมชน คือ หลักสูตรการศึกษาความเปนไปได ของธุรกิจขนาดยอม หลักสูตรการสงเสริมธุรกิจขนาดยอม หลักสูตรการบัญชีเบื้องตน โดยเฉพาะหลักสูตรการบัญชีและ การเงิน เปนที่ตองการของทั้งองคกรเอกชนขนาดเล็กซึ่งมีอยู จำนวนมาก และกลุมแมบานอาชีพตางๆ มูลนิธิไดจัดอบรม บัญชี และใหคำปรึกษาตอเนื่องมาจนถึงปจจุบันโดย มูลนิธิ อาเซียไดใหการสนับสนุนทั้งโปรแกรมคอมพิวเตอรและการจัด ฝกอบรม ประมาณ ป 2537 เปนตนมา มูลนิธิฯ เริ่มศึกษาและ นำกระบวนการมีสวนรวมตามเทคนิค AIC และไดขยายผล การจัดอบรมวิทยากรเกี่ยวกับเทคนิค AIC อยางแพรหลาย รวมกับองคกรพัฒนาที่เปนภาคีรวมขบวนการเคลื่อนไหวให สังคมตื่นตัวกับการมีสวนรวม จนในรัฐธรรมนูญฉบับป 2540 ตองบรรจุ “การมีสวนรวมภาคประชาชน” ไวเปนคำสำคัญ - งานใหความรวมมือกับองคกรอื่น ในการทำงาน พั ฒ นาชนบทและสั ง คม เพื่ อ ให มี พ ลั ง ต อ งเคลื่ อ นไหวเป น ขบวนในประเด็นที่ตองการผลักดันรวมกัน ลักษณะงานคือ ให ความรวมมือ รวมประสานงาน เขารวมเครือขายกับหนวยงาน หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 45


อื่นๆ ที่ทำงานพัฒนาชนบทหรือสังคม หลายหนวยงาน ทั้ง ภาครัฐ องคกรพัฒนาเอกชน สถาบันการศึกษา องคกรธุรกิจ และองคกรตางประเทศ เชน รวมเปนคณะกรรมการประสาน งานองคกรเอกชนพัฒนาชนบท คณะกรรมการอื่นๆ รวมประชุม กับ ADB เปนกรรมการมูลนิธิฯ อื่น รวมประชุมสัมมนาทั้งใน และตางประเทศ ฯลฯ หมวด 4 รมชั้นนอก : งานศึกษาวิจัย และเสนอ แนะนโยบาย เป น กลยุ ท ธ ที่ ช ว ยให แ นวความคิ ด และวิ ธี ก ารที่ มูลนิธิฯ ใหคำแนะนำ สงผลถึงประชาชนไดกวางขวางรวดเร็ว โดยที่มูลนิธิฯ ไมตองดำเนินการเอง เริ่มจากการศึกษาเรื่องแนวทางการพัฒนาชนบทเชิง กลยุทธ และเรื่องเครื่องชี้วัดคุณภาพสังคม ที่พยายามเสนอ แนะนโยบายการพัฒนาชนบทและสังคมที่เนนการกระจาย บทบาทการบริหารประเทศสูภูมิภาค รวมยกรางแผนพัฒนาชนบทฉบับประชาชน การปรับปรุงรูปแบบ โครงสราง และวิธีบริหารจัดการ กองทุนพัฒนาชนบท กองทุนพัฒนาที่อยูอาศัยและชุมชนเมืองแบบครบ วงจร 46 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

2. ดานสถานที่ “บาน บชท.” สำนักงานมูลนิธิฯ ที่เปนของ ตนเองแหงแรกในกรุงเทพฯ เมื่อเริ่มกอตั้งใน พ.ศ. 2510 มูลนิธิฯ ไดอาศัยสถานที่ ของสำนักงานกรรมการทานหนึ่ง (ฟงมาวา เปนที่ทำงานของ คุณเชาว เชาวขวัญยืน บริษัทไทยออยล) เปน “สำนักงาน ใหญ” (Head Office) ในกรุงเทพ ตามที่จดทะเบียน คือ 39 ถนนราชประสงค ตำบลปทุมวัน อำเภอปทุมวัน จังหวัด พระนคร ตอมาเมื่อมูลนิธิฯ กอสรางที่ทำการที่ชัยนาทเสร็จ และเริ่มดำเนินการในป พ.ศ. 2512 สำนักงานที่ชัยนาท เลขที่ 64 ฝายน้ำลน ตำบลบานกลวย อำเภอเมือง จังหวัดชัยนาท มี สถานภาพเป น สำนั ก งานใหญ ส ว นที่ ก รุ ง เทพฯ เป น สำนั ก ประสานงาน เนื่องจากกิจกรรมทั้งหมดอยูที่ภาคสนาม ที่ กรุงเทพฯ เปนสถานที่ประชุมกรรมการ และประสานแหลงทุน งานบัญชี-การเงิน สำนั ก งานที่ ก รุ ง เทพแห ง ที่ 2 อยู ที่ ชั้ น 2 อาคาร ธนาคารไทยพาณิชย สาขาพหลโยธิน เลขที่ 1271 ถนน พหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท วันที่ 1 พฤษภาคม 2532 ที่กรุงเทพฯ มีการยาย สำนักงานมาอยูที่อาคาร “บาน บชท.” ณ เลขที่ 2044/21 ถนนเพชรบุรีตัดใหม แขวงบางกะป เขตหวยขวาง เปน

อาคารพาณิชย หรือที่เรียกกันวาตึกแถว 5 ชั้น 1 คูหา ในบานหลังนี้ แรกๆ อยูกัน 4 องคกร คือมูลนิธิ บูรณะชนบทฯ บริษัทการตลาดเพื่อชนบท จำกัด บริษัทรวม ทุนชนบท จำกัด และบริษัทรวมคิด จำกัด ตอมาเปนแหลง ก อเกิ ดของ “ภาคี สนั บสนุ นงานพัฒนา” (Development Support Consortium, DSC) และมูลนิธิกองทุนไทย ซึ่งเปน อีกสององคกรที่เปนผลจากการรวมศึกษา กอตั้งของมูลนิธิฯ โดยคุณไพบูลย วัฒนศิริธรรม เปนหลัก ในป 2547 ทั้ง DSC มูลนิธิกองทุนไทย และบริษัท รวมทุน ไดขยายตัว เพิ่มกิจกรรมและบุคลากร จนตองไปหา สำนักงานใหมที่มีขนาดเหมาะสม เปนตึกแถว 5 ชั้น 2 คูหา ซึ่งอยูฝงตรงขามกับ “บานบชท.” สามารถเปดหนาตางตะโกน หากันได ในกรณีโทรศัพทเสีย หรือขาหักกระทันหัน 3. องคกรธุรกิจเพื่อสังคม รวมขบวนการพัฒนา เนื่องจากสถานะภาพของการเปนมูลนิธิ คือองคกร สาธารณะกุศล ไมแสวงหากำไร แตในการรวมพัฒนาอาชีพให ชาวบานตองมีเครื่องมือทำงาน / องคกรที่ชัดเจน เชน เมื่อไป สงเสริมใหเกิดอาชีพหลัก หรือ อาชีพเสริมก็ตาม จำเปนตอง ชวยใหเกิดการเรียนรูดานการจัดการทั่วไป ดานการเงิน-บัญชี ดานการตลาด และการแสวงหาแหลงทุนสนับสนุนดวย

ในเวลานั้น รัฐบาลยังไมไดตื่นตัวเรื่องหนึ่งตำบลหนึ่ง ผลิตภัณฑ หรือ OTOP เสนทางเขาถึงแหลงทุนที่เปนธนาคาร ก็มืดมนเพราะทุกธนาคารไมมีสินเชื่อรายยอย / สินเชื่อเพื่อ ธุรกิจชุมชนอยางปจจุบัน จึงตองสรางเครื่องมือในการชวย สงเสริมธุรกิจชุมชนขึ้นมาเอง ไดแก - บริ ษั ท ร ว มทุ น ชนบทจำกั ด (Rural Capital Partners, RCP) กำหนดภารกิจหลัก คือ รวมลงทุนกับกลุม อาชีพ ในสัดสวนหนึ่ง (อาจเปน 50:50) เมื่อเริ่มตนกิจการ แลวทยอยลดลงในระยะเวลาหนึ่งเมื่อกลุมตั้งตัวไดแลว พรอม กันนั้นก็ใหบริการคำแนะดานการจัดการไปดวย ผู ถื อ หุ น หลั ก ของ RCP เมื่ อ แรกก อ ตั้ ง ได แ ก SIDI (The Societe D’ Investment ET DE Development International), บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย (IFCT) ธนาคารกสิกรไทย และบรรดานักธุรกิจที่สนับสนุนงาน ธุรกิจเพื่อสังคมจำนวนหนึ่ง ดวยทุนจดทะเบียนเมื่อแรกตั้ง จำนวน 10 ลานบาท - บริ ษั ท การตลาดเพื่ อ ชนบทจำกั ด (Rural Marketing Company, RMC) ทุนจดทะเบียน 2 ลานบาท ตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงคหลักคือชวยสงเสริมดานการตลาดให แกกลุมอาชีพในพื้นที่ ที่มูลนิธิสงเสริม เชน กลุมหัตถกรรม หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 47


สานผักตบชวา จังหวัดชัยนาท กลุมผาทอมือยอมสีธรรมชาติ จังหวัดรอยเอ็ด ฯลฯ โดยที่แตเดิมชาวบานและกลุมสตรีมักได รับการอบรม หรือสงเสริมดานการผลิตกอน แลวจึงคอยหา ทางทำตลาด แนวทางที่มูลนิธิฯ สงเสริมจะเริ่มจากการมอง ลูทางการตลาดทั้งในทองถิ่นและนอกพื้นที่ และการพึ่งตนเอง ดานวัตถุดิบในทองถิ่นเปนหลัก - บริ ษั ท ร ว มคิ ด จำกั ด ตามที่ จ ดทะเบี ย นบริ ษั ท (ทุ น จดทะเบี ย น 1 ล า นบาท) คื อ ธุ ร กิ จ ที่ ใ ห บ ริ ก ารด า นคำ ปรึกษาเนนเชิงบริหารจัดการ เพื่อใหสามารถรับงานและเปน แหลงทำรายไดสนับสนุนมูลนิธิฯ โดยมีผูเชี่ยวชาญใหบริการ แตในทางปฏิบัติ คือบริษัทสนับสนุนเปนสวนเพิ่มเงินเดือน เจาหนาที่มูลนิธิฯ เนื่องจากฐานะการเงินของมูลนิธิฯ ในระยะ กอรางสรางตัวใหมอีกครั้ง ไมสามารถใหเงินเดือนเจาหนาที่ได ในอัตราที่เหมาะสม บริษัทรวมคิดจึงจายสวนเพิ่มให ในฐานะ เจาหนาที่บริษัท การอุปถัมภที่สำคัญที่สุดเห็นจะเปนเมื่อใหเงิน จำนวน 3 แสนบาทมาตั้งกองทุน “เครือ บชท.” เปนทุนประเดิมตั้ง กลุมออมทรัพยและใหกูยืมแกพนักงานมูลนิธิฯ (สนง.ชัยนาท และกรุงเทพฯ และอีก 2 บริษัท คือบริษัทรวมทุน และบริษัท การตลาด) เนื่องจากเมื่อเริ่มตนนั้นพนักงานไดรับเงินเดือน อยางเดียว สวนใหญเปนเงินเดือนระดับไมเสียภาษีเงินได (คือ ไมสูงขนาดตองเสียภาษี) กองทุนเครือ บชท. จึงเปนสวัสดิการ แรกของเรา อานิสงคของกองทุนฯ ชวยใหหลายๆ คนไดสงตัว เองเรียนตอจนจบการศึกษา ไดมีที่อยูอาศัย ไดบรรเทาความ เดือดรอนฉุกเฉินตางๆ ซื้อคอมพิวเตอรของตนเอง ฯลฯ บัดนี้ กองทุนฯ ยังอยูดี เติบโต และเปนที่พึ่งตอไป ในปจจุบัน RCP ยังคงดำเนินการอยูอยางดี เลี้ยงตัว เองได สวน RMC เงียบไปเนื่องจากมีภาครัฐสนับสนุน OTOP เปนนโยบายระดับประเทศแลว

48 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

4. การระดมทุนเพื่องานพัฒนา อุปปเกนป เมธาวี ปาภเฏน วิจักขโณ คนฉลาดยอมตั้งตัวไดดวยทุนเล็กนอย “ทุน” ที่มีอยูในชวงเวลานั้น คือมีที่ดินอันเปนที่ตั้ง ของศูนยชัยนาท ในศูนยมีบานพักและอาคาร (รายละเอียด ปรากฏในเอกสารบันทึกชวยจำฯ ของคุณไพบูลย วัฒนศิริธรรม ซึ่งพิมพอยูในหนังสือเลมนี้) และเงินฝากในธนาคาร ประมาณ 2 ลานบาท ผูอำนวยการขณะนั้น คือคุณไพบูลย วัฒนศิริธรรม ทำงานใหมูลนิธิฯ โดยไมรับคาตอบแทนในชวง ปแรก เพราะทานยังทำงานเต็มเวลาที่บริษัทที่ปรึกษา IMC (Industrial Management Consultancy) ซึ่งอยูในเครือ บรรษัทเงินทุนเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย (Industrial Finance Corporation of Thailand, IFCT) และเมื่อมาทำงานเต็มเวลาที่มูลนิธิฯ ก็ขอรับแตคา ใชจายในการปฎิบัติภารกิจ ตามการอนุมัติของกรรมการบริหาร เวลานั้ น มี ร องผู อ ำนวยการ 2 คน คนหนึ่ ง อยู ที่ กรุงเทพฯ อีกคนหนึ่งอยูที่ชัยนาท เจาหนาที่สนับสนุนมีเพียง แหงละ 2-3 คน งานที่ตองบุกเบิก คือ ที่ ชั ย นาท ต อ งพลิ ก ฟ น ความเป น ศู น ย ฝ ก อบรม สั ม มนา มี ทั้ ง หลั ก สู ต รที่ จั ด เอง และให บ ริ ก ารด า นสถานที่ หวังเปนแหลงทำรายไดหลอเลี้ยงมูลนิธิฯ ที่กรุงเทพฯ เนนงานเปดตัวสูวงการงานวิจัย งานให คำปรึกษา และงานระดมทุนแบบคอยๆ ซึมซับ ตามจังหวะ และโอกาส ผูเขียนอยูที่สำนักงานกรุงเทพฯ เปนหลัก ทั้งสองสำนักงานประสานกันโดยผูอำนวยการนำทีม กรุงเทพฯ ไปเยี่ยมเยือน รวมประชุมแผนงานกับสำนักงาน ชัยนาทอยางสม่ำสมอ ในชวงป พ.ศ. 2532-2535 เราโชคดีที่ไดรับเงิน สนั บ สนุ น ต อ เนื่ อ งเพื่ อ สร า งความเข ม แข็ ง แก มู ล นิ ธิ ฯ จาก

องคกรชื่อ NOVIB ประเทศเนเธอรแลนด เกิดจากการที่คุณ ไพบูลย ผูอำนวยการขณะนั้นไดมีโอกาสพบผูแทนขององคกร ดังกลาว Mr. Peter de Hans เลาใหฟงถึงความพยายามที่จะ ฟนฟูการดำเนินงานของมูลนิธิฯ อีกครั้ง แตเปลี่ยนยุทธศาสตร มาเนนตอเติมเสริมความเขมแข็งดานการจัดการแกกลุมองคกร พัฒนาเอกชน และการผลักดันนโยบายสำคัญ สวนภาคสนาม จะลดลงเนื่องจากมีหลายหนวยงานภาครัฐทำแลว และเปน การลดภาระการจัดหาทุนของเราดวย แตกอนอื่นเราตองสราง ความเขมแข็งใหองคกรกอน และขอความชวยเหลือในการจัด ตั้ง สถาบันการจัดการเพื่อชนบทและสังคม (Rural and Social Management Institute/ RASMI) “ทุน” ในชวงของการฟนฟูมีความหมายครอบคลุม กวางกวาเม็ดเงิน ทุนรวมถึงโอกาสเขารวมฝกอบรมเพื่อพัฒนา บุคคล เชน IIRR ฟลิปปนส ใหทุนเจาหนาที่ บชท. ไปฝก อบรม หรือ Canada Fund ใหทุนแกกรรมการสถาบันการ จัดการทั้งคณะไปดูงานดานพัฒนาชนบทและสังคมที่ประเทศ แคนาดา ทรั พ ยากรอื่ น ในรู ป สิ่ ง ของหรื อ บริ ก ารที่ ไ ด รั บ เพื่ อ อำนวยความสะดวกในกิจกรรมของมูลนิธิฯ อาทิ เมื่อมูลนิธิฯ ขอซื้ออาคารพาณิชย เพื่อตั้งสำนักงานมูลนิธิฯ ในกรุงเทพฯ เมื่อป 2532 ธนาคารไทยพาณิชย โดยบริษัทสยามลีสซิ่งไดลด ราคาใหกึ่งหนึ่ง เปนการรวมบริจาคสนับสนุน หรื อ ในกรณี ที่ โรงแรมอิ ม พี เรี ย ล โดยคุ ณ อากร ฮุนตระกูล อนุญาตใหใชบริการของหองอาหารเปนเวลารวม 3 ป เพื่อใหมูลนิธิฯ จัดประชุม และรับรองแขกตางประเทศ หรือแขกระดับผูใหญ ซึ่งการรับรองครั้งสำคัญที่ยังประทับใจ ผู เขี ย นไม รู ลื ม คื อ การที่ ก รรมการมู ล นิ ธิ ฯ จั ด งานต อ นรั บ อาจารย ป ว ย ครั้ ง กลั บ มาเยี่ ย มบ า นเมื่ อ วั น ที่ 30 มี น าคม 2536

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 49


รายนามผูอุปถัมภ เงินกองทุน ตั้งแต ป 2530 - 2549 ชื่อกองทุน

สรุปขอมูลสำคัญจากงบการเงิน มูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ หนวย : บาท รายการ 1. รายรับจากการดำเนินงาน 2. เงินรับบริจาค (ไมรวมเงินสนับสนุนโครงการ) 3. เงินบริจาคคั้งกองทุน 4. ดอกเบี้ยรับ 5. รายรับทั้งสิ้น (ไมรวมเงินสนับสนุนโครงการ) 6. คาใชจายทั้งสิ้น (ไมรวมคาใชจายโครงการ) 7. รายรับสูงกวาคาใชจาย 8. เงินสนับสนุนโครงการ 9. คาใชจายโครงการ *10. สินทรัพยสภาพคลอง ณ สิ้นป 11. สินทรัพยสภาพคลองสำรองคาใชจายโครงการ 12. เงินกองทุน (ใชเฉพาะดอกผล) 13. สินทรัพยสภาพคลองที่ไมมีภาระผูกพัน (10-11-12) 13. เงินกองทุน (ใชเฉพาะดอกผล) 14. สินทรัพยทั้งสิ้น ณ สิ้นป * ไดแก เงินสด เงินฝากธนาคาร ตั๋วสัญญาใชเงิน หุนกู

50 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

2529 434,558 408,072 842,630 1,197,668 -355,038 3,134,829 794,288 669,845 1,670,696 4,423,944

2539 3,780,387 148,889 1,200,000 2,709,189 8,262,716 5,927,664 2,335,051 15,872,001 15,872,001 29,685,598 6,137,169 10,930,000 12,618,429 10,930,000 33,670,198

2549 1,701,260 1,090,092 10,000 932,577 3,723,930 5,737,303 -2,013,373 994,200 994,200 28,513,862 3,050,071 14,320,000 11,143,791 14,310,000 33,296,055

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38

สิริวัฒนภักดี (คุณเจริญ สิริวัฒนภักดี) เกรียง-อาภ เกียรติเฟองฟู ระวิพรรณ (คุณทศพงศ จารุทวี) กฤษ สมบัติศิริ มูลนิธิโอสถานุเคราะห ธนาคารศรีนคร-เงินทุนเพื่อการกอสรางอาคาร บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย คณะแบงคชาติ ปริญญา และศจ.คุณหญิงบุญศิริ ชวลิตธำรง ธนาคารแหงประเทศไทย-อนุสรณ ดร.ปวย อึ๊งภากรณ ธนาคารไทยพาณิชย เตียบ-สงัด(คุณสุวัตถิ์ รัชไชยบุญ คุณพรรณี ตรีสวัสดิ์) ปนทอง ศาลยาชีวิน พิชชา (คุณไกรรงค นาวิกผล) บริษัทจันทรเกษมอินเตอรแนทชั่นแนล จำกัด (บัณฑิต ชาญคณิต) กองทุน ธกส. กองทุนวัฒนศิริธรรม กองทุนโชควัฒนา (คุณณรงค โชควัฒนา) สหธนาคาร ภัทรา-ชัย อภิชัยศิริ ธนาคารไทยธนุ เอสโซ สแตนดารด บริษัทหลักทรัพยกองทุนรวม ธนาคารนครหลวงไทย สามัคคีมาวิน คุณโอฬาร ไชยประวัต ครอบครัววงควสุ นิลวรรณ ปนทอง ธนาคารกรุงเทพฯพาณิชยการ ธนาคารกสิกรไทย เอก วีสกุล คุภสิทธิ์ มหาคุณ น้ำใจสูชนบท ไพโรจน-นวลศรี อุดมวณิช ศิษยอาจารยปวย บุญยง วองวานิช และครอบครัว เชียร - บุญศรี ธีรศานต มูลนิธิกองทุนออมทรัพยพนักงานธนาคารแหงประเทศไทย รวม

จำนวนเงิน ป 2530-2549 8,000,000.00 1,975,000.00 1,000,000.00 500,000.00 400,000.00 300,000.00 200,000.00 177,000.00 102,000.00 100,000.00 100,000.00 100,000.00 100,000.00 100,000.00 100,000.00 100,000.00 110,000.00 100,000.00 70,000.00 66,000.00 60,000.00 50,000.00 50,000.00 50,000.00 50,000.00 50,000.00 40,000.00 40,000.00 30,000.00 30,000.00 30,000.00 30,000.00 30,000.00 25,000.00 20,000.00 15,000.00 10,000.00 10,000.00 14,320,000.00 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 51


อัตอัราดอกเบี ้ยเงินฝาก ่ยตอป เฉลี่ยตอป ตราดอกเบี ้ยเงิเฉลี นฝาก

รายงานการเงินมูลนิธิ 2528 ถึง 2549 1994

1995

1996

1997

1998

1999

2000

2001

2002

2003

2004

2005

2006

2528

2529

2538

2539

2540

2541

2542

2543

2544

2545

2546

2547

2548

2549

รายรับ

1.387

0.843

25.16

24.13

18.45

16.53

14.66

10.61

9.29

5.96

5.56

5.02

7.79

4.71

รายจาย

1.5

1.2

23.33

21.8

18.01

14.96

14.05

9.56

9.24

6.73

5

5.82

9.09

6.73

รายรับสูงกวาคาใชจาย

-0.113

-0.357

1.83

2.33

0.44

1.57

0.61

1.05

0.05

-0.77

0.56

-0.8

-1.3

-2.02

อัตราดอกเบี้ย

8.229

8.063

9.885

10.947

9.896

9.739

4.677

3.292

2.521

1.958

1.385

1

1.594

3.76

สินทรัพยรวม

4.779

4.424

30.546 33.670 37.145 43.790 45.915 46.566 45.281 43.775 37.778 36.186 36.077 33.296

10.947 9.739

9.885 9.896

ดอกเบี้ยเงินฝาก ( % )

1993

10.00

8.229 8.063

4.677

3.292

3.760 2.521 1.958

1.594

1.3851 1.00

0 2528

2529

2538

2539

2540

2541

2542

2543

2544

2545

2546

2547

2548

2549

รายงานการเงินมูลนิธิ 2528 ถึง 2549 สินทรัสิพน ยรทรั วม พยรวม

ดุลรายรั - รายจ ดุลบรายรั บา-ย รายจาย 30.00

50.00

20.00

21.8

18.45 18.01

16.53 14.66 14.96 14.05

10.61 9.29

10.00 9.56

9.24

9.09 6.73 5.96

1.83 1.5

-

2.33

1.57

1.2 0.84 0.44

(0.11)

46.57

45.28

43.77

24.13

23.33

1.39

45.91 43.79

1.05 0.61

0.05

(0.36)

5.56 5 0.56

6.73

5.82 7.79 5.02

4.71 (1.30)

(0.77)

(0.80) (2.02)

-10.00

จำนวนเงิน ( ลานบาท )

จำนวนเงิน ( ลานบาท )

25.16

37.78

40.00

36.19 33.67

36.08 33.30

37.15

30.55 30.00

20.00

10.00 4.78 4.42 -

-10.00 2528

2529

2538

2539

2540

รายรับ

52 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

2541

2542

รายจาย

2543

2544

2545

2546

2547

2548

2549

2528

2529

2538

2539

2540

2541

2542

2543

2544

2545

2546

2547

2548

2549

รายรับสูงกวาคาใชจาย

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 53


การพัฒนาบุคลากร คุณสุธารักษ ปญญา (เหรัญญิก) อบรมระบบบัญชี-การเงินใหพนักงานมูลนิธิ

และที่สำคัญ คือทุนทางสังคมที่มูลนิธิบูรณะชนบทฯ มีอยู คือความเปนองคกรพัฒนาเอกชนลำดับแรกๆ ที่มีผลงาน ดานการพัฒนาแบบผสมผสานเดนชัด ที่กอตั้งโดยสัตตบุรุษ ศาสตราจารย ดร.ปวย อึ๊งภากรณ ที่มีผูคนเคารพศรัทธามาก มายหลายวงการ บชท. หรือ TRRM เปนที่รูจักแพรหลายทั้ง ภายในประเทศและตางประเทศ อานิสงคจากทุนทางสังคม เดิมที่มีอยู ทำใหการฟนฟูองคกรผานการประชาสัมพันธเปน ไปอยางราบรื่น ไดรับการตอนรับรวมมือเปนอยางดี ฐานะทางการเงินของมูลนิธิฯ ระหวางป 2529-2549 นาจะแสดงถึงความสามารถกลับมาดำเนินกิจกรรมไดอยาง ยั่งยืนอีกครั้ง ถา...........(โปรดติดตาม ความระทึกใจ ในชวง ปรับฐาน ป 2541-2550) 2529 2539 2549 สินทรัพย 3.13 29.69 28.51 สินทรัพยสภาพคลอง 1.67 12.62 11.14 รายรับ 0.84 8.26 3.72 คาใชจาย 1.20 5.93 5.74

54 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

ขอสังเกต คือสามารถบริหารโดยคุมคาใชจายใหอยูในระดับป ละประมาณ 5 ลานบาท เปนเวลา 10 ป ได แตดานรายรับอยู นอกเหนื อ ความพยายามของเราโดยสิ้ น เชิ ง ทั้ ง ที่ สิ น ทรั พ ย สภาพคลองลดลงเพียงเล็กนอย

ชวงสอง: การปรับฐาน ในชวงนี้ คุณไพบูลย วัฒนศิริธรรม มีภารกิจเพิ่มขึ้น และกวางขึ้น จากเดิมที่เปนกรรมการผูจัดการสำนักงานพัฒนา ชุมชนเมือง การเคหะแหงชาติ (2535-2540) ทานพอจะแบง เวลามาควบภารกิจผูอำนวยการมูลนิธิฯ ได และที่ทำงานก็อยู ข า งๆ กั น แต เ มื่ อ ต อ งไปบริ ห ารธนาคารออมสิ น ในฐานะผู อำนวยการ ซึ่งเปนฐานบุกเบิกงานสินเชื่อเพื่อการพัฒนาชนบท และกองทุนเพื่อสังคม (Social Investment Fund, SIF) ตั้งแตเดือนธันวาคม 2540 นั้น ทานขอลาออกจากตำแหนง ผูอำนวยการมูลนิธิฯ แตยังไมทิ้ งขาดลอย โดยทานรั บเป น ประธานกรรมการอำนวยการ และเสนอคณะกรรมการให แตงตั้ง ศิริวรรณ เจนการ เปนผูอำนวยการตอไป

เหมือนสมหลนเลยนะ ศิริวรรณ อยูดีๆ ไดเปนผู อำนวยการ แต...มาคนพบภายหลังวา ที่หลนมาใสศรีษะนะ ไมใชสมหรอก เปนทุเรียน มากกวา ยังดิบอยูอีกตะหาก !! ปกติ กรรมการมูลนิธิฯ มีวาระ 3 ป ที่ประชุมคณะ กรรมการสามัญประจำปในปที่ครบวาระ จะมีการหารือขยับ ถอนตั ว ในกรณี ที่ ไ ม ส ะดวก หรื อ เชิ ญ ท า นผู ท รงคุ ณ วุ ฒิ ประสบการณและเต็มใจเขามารวมเปนกรรมการเพิ่ม ตาม ตราสารมูลนิธิกำหนดจำนวนคณะกรรมการไวไมต่ำกวา 15 คนไมเกิน 30 คน ผูอำนวยการเปนกรรมการและเลขานุการ โดยตำแหนง รูสึกภูมิใจ ดีใจที่ไดเปนกรรมการ (แมจะโดยตำแหนง ก็ตาม) มูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยฯ ที่อาจารยปวย อาจารยของเราเปนผูกอตั้ง เปนประธานกรรมการทานแรก จากที่ไดมีโอกาสเขารวมประชุมคณะกรรมการมาเกือบ 10 ป เพื่อรายงานผลการปฏิบัติงาน จดบันทึกการประชุม ประสาน งานกับกรรมการหลายทาน ในหลายเรื่อง ไดรับความรู ความ เขาใจ ความคิดที่ละเอียดออนลึกซี้ง ในมิติการพัฒนาคนโดย เฉพาะแกผูที่ขาดโอกาส การระดมความคิดเชิงนโยบาย การ หลอมรวมความคิดตางๆ ใหคมชัด เหลานี้ลวนเปนบทเรียน อันจะหาที่สำนักตักศิลาไหนไมมีแลว ในสถานะผูอำนวยการมือใหม จะทำอะไรดีละจึงจะ ทำไดดีที่สุด เปนสิ่งที่มีประโยชน แกกลุมเปาหมาย งานนี้ตอง “สะหวอด – SWOT ” ใหม มีอะไรอยู มีอะไรเปลี่ยนไปบาง จุดแข็ง S : ก็ฐานงานที่ทำมาแลว รมสามชั้น งานสี่กลุม คิด ใหเชื่อมโยง จุดออน W : ตนเองไม ถ นั ด งานเชิ ง นโยบายระดั บ ประเทศ

จับไมติด จริตไมให ชอบทำกิจกรรมที่เปนรูป ธรรม เชน งานอบรม งานจัดการ งานโครงการ มากกวา โอกาส O : สั ง คมกำลั ง ตื่ น ตั ว เรื่ อ งการมี ส ว นร ว มภาค ประชาชน NGO เปนที่ยอมรับโดยทั่วไป อุปสรรค T : ทุนสนับสนุนจากตางประเทศลดลงจนถึงหมด ไป ดอกเบี้ยเงินฝากมีแนวโนมดิ่งลง ดังนั้น ในป 2542 จึงเสนอคณะกรรมการขอ “ปรับ ฐาน” งานมูลนิธิฯ โดยปรับสถานะภาพของศูนยฝกอบรมที่ ชัยนาท เปนศูนยการเรียนรูชุมชน ใหชื่อวา “ศูนยการเรียนรู ชุมชน ปวย อึ๊งภากรณ” ชื่อนั้น เพื่อเปนอนุสรณแดการจาก ไปของอาจารยปวย แตบทบาทของศูนยฯ ปวย นาจะเปน เสมือนแหลงขอมูลดานงานพัฒนา ไมวาจะเปน เกษตร อาชีพ เด็ก เยาวชน สตรี ผูสูงอายุ สิ่งที่สมควรอยูในศูนยเรียนรู นอกจากหนังสือในหองสมุดแลว ยังมีสื่อการเรียนรู ชองทาง คนหาขาวสาร ตนแบบภาคปฏิบัติจริง การเชื่อมโยงทรัพยากร ตางๆ .....ตอนที่เสนอความคิดนั้น ฟุงมาก อยากทำเหลือ เกิน ฝนบรรเจิด จนลืมไปเลยวาตนเองกำลังเปนมะเร็งอยู กรรมการเห็นดีดวย แถมบอกเชิงสรุปรวบยอดวา กิจกรรมทุกอยางในศูนยฯ ปวย ถือวาใหประชาชนสามารถมา เรียนรูไดทั้งนั้น แมบางอยางอาจจะเปน “ตัวอยาง”ที่ไมควร “ตามอยาง” อาว ตอนทาย รสชาดแปลกๆ งานอยางนี้ตองการมีสวนรวมสูงมากจากสมาชิกทุก ชี วิ ต ในมู ล นิ ธิ ฯ และก็ ไ ม ผิ ด หวั ง เลย เราช ว ยกั น สั ง คายนา เอกสารทั้งหลายทั้งปวง หนังสือเลมๆ ที่ควรมีไวในหองสมุด เอกสารงานวิจัยของเราเอง ของคนอื่นที่ดีๆ ฯลฯ โชคดีที่ได

เหลาอาสาสมัครวิชาชีพ

ถายทำรายการทีวี รายการชัยนาทเมืองนาอยู พรอมทั้ง ผูวาราชการ จ. ชัยนาท หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 55


อาสาสมัครมาชวยเรื่องการจัดตั้งหองสมุด อยาแมแตจะคิดวา ตั้งหองสมุดแลว คือความสำเร็จ ตองรณรงคใหมีคนโดยเฉพาะ เยาวชนรอบๆ ศูนยฯ มาใชอีกหลายระลอก ในขณะกอรางศูนยการเรียนรูชุมชนปวย ไดดำเนิน กิจกรรมสรางอนุสรณสถาน ศ.ดร.ปวย ที่วัดวังน้ำขาว กิ่ง อำเภอหนองมะโมง ชัยนาท ไปดวยพรอมกัน ซึ่งก็ไดชักชวน อาสาสมัครจากวงการตางๆ มาชวยจึงสำเร็จดวยดี หมายถึ ง ศู น ย ฯ ป ว ย ที่ ส ำเร็ จ ด ว ยดี ส ว นอนุ ส รณ สถาน เป น มหากาพย ที่ ไ ด บั น ทึ ก และตี พิม พ ไว ใ นหนั ง สื อ เลมนี้ ทานที่สนใจเชิญอานได ตรงนี้ ขอแทรกดวยการเลาเรื่องโครงการอาสาสมัคร วิชาชีพ ที่มูลนิธิดำเนินการตอเนื่องจนถึงปจจุบันเพื่อความ สมบูรณของภาพการบริหารงานชวงปรับฐาน มูลนิธิฯ ไดเริ่มโครงการ “อาสาสมัครวิชาชีพ” มา ตั้งแตป 2534 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเชื่อมโยงผูที่ทำงานอยูใน องคกร หรือมีอาชีพของตนเองแลว แตตองการถายทอดความ เชี่ยวชาญ ใหแกภาคสังคมที่ขาดโอกาสเขาถึงความเชี่ยวชาญ นั้ น ได โครงการอาสาสมั ค รวิ ช าชี พ เปรี ย บเหมื อ นการจั บ คู ที่เหมาะสม โดยที่ทั้งสองฝายบรรลุความพอใจ win-win ผูให 56 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

พอใจสุขใจที่ไดทำประโยชน มีคนเห็นคุณคา ผูรับพอใจที่ได รับบริการ ซึ่งไมสามารถมีไดดวยตนเอง และไดเรียนรูซึ่งกัน และกัน ตัวอยางอาสาสมัครวิชาชีพ ไดแก กรณี ดังตอไปนี้ การเงิน/การบัญชี/การตรวจสอบ - คุณสุทธารักษ ปญญา กรรมการและเหรัญญิก ของมูลนิธิฯ นอกจากจะชวยดูแลการเงินและบัญชีของมูลนิธิฯ ให ถูกตองเปนระบบแลว ทานยังจัดอบรมพนักงานของมูลนิธิฯ เกี่ยวกับระบบการเงิน และบัญชี เปนวิทยากรอาสาสอนแก นักพัฒนาและชาวบานในโครงการบัญชีเพื่อชุมชน และที่ ประทับใจที่สุด จำไดไมลืมคือ สมัยเมื่อทำงานที่ธนาคาร สหธนาคาร ทานอาสาไปชวยกลุมพรรณไม ที่จังหวัดรอยเอ็ด จัดทำระบบบัญชีสินคาคงเหลือ คือผาตางๆ ที่กลุมทอไดเก็บ ไวในที่ทำการกลุม โดยใชเวลาชวงพักรอนไปกับทีมงาน และ ขอออกคาใชจายเอง - บริษัทสำนักงาน เอ.เอ็ม.ซี จำกัด โดยคุณจรุง หนูขวัญ/ประธานบริษัท เปนองคกรตรวจสอบทางดานการ เงิ น การบั ญ ชี ไ ด ต รวจสอบบั ญ ชี ใ ห กั บ มู ล นิ ธิ ฯ และองค ก ร เครือขาย ทุกงวดบัญชีอยางตอเนื่องมากวา 5 ป โดยไมรับ

ผูวาราชการจังหวัดชัยนาทขณะนั้น (คุณวิชัย ศรีขวัญ) นำชุมชนเขา เยี่ยมโครงการ บชท.เพื่อสิ่งเแวดลอม

งานวัน “ชาวชัยนาทภูมิใจไดอาสา”

งานเสวนาประชาคม 8 จังหวัดภาคกลาง

บูรณากร

คาตอบแทน การแปลภาษาตางประเทศ - คุณจักรกฤษณ ศรีวะลี ขาราชการกระทรวง การต า งประเทศ และคอลั ม นิ ส ต ห นั ง สื อ พิ ม พ ไ ด เ คยจั ด หา เพื่ อ นเป น ที ม ทำงานช ว ยแปลการประชุ ม NGO ระหว า ง ประเทศ - คุณระบิลยศ บุญปญญา วิศวกรผูชวย บริษัท ฮิตาชิโลโคโมทีพประเทศไทยใชเวลาวางชวงพักรอนไปชวย เปนลามแปลภาษาญี่ปุนใหกับกลุมเด็กรักษปา จังหวัดสุรินทร โดยการเชื่อมโยงของมูลนิธิฯ และใชคาใชจายของตนเอง - คุณศินารถ (เจนการ) คิง นักแปลอิสระแปล เอกสารโครงการตางๆ ของมูลนิธิฯ เปนภาษาอังกฤษ จัดทำ เว็บไซตภาษาอังกฤษ เผยแพรกิจกรรมของมูลนิธิฯ งานออกแบบ/นิเทศศิลป/ศิลปกรรม/วัฒนธรรม - บริษัทแปลน สตูดิโอ จำกัด เปนบริษัทเอกชน ที่ดำเนินการธุรกิจออกแบบงานกอสราง โดยคุณธีรพล นิยม ไดรับทราบเรื่องงานสรางอนุสรณสถาน ศาสตราจารย ดร.ปวย อึ๊งภากรณ ของชาวบานชุมชนวังน้ำขาว กิ่งอำเภอหนอง มะโมง จังหวัดชัยนาท สงสถาปนิกอาสาสมัคร ไปออกแบบ และควบคุมการกอสรางใหกับชุมชนรวมทั้ง จัดทำแบบภูมิ

สถาปตย ใหกับศูนยการเรียนรูชุมชน ปวย อึ๊งภากรณ จังหวัด ชัยนาท - อาจารยนนทิวรรธน จันทนะผะลิน ภาควิชา ประติมากรรมและภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร อาสา ปนรูป ศ.ดร.ปวย อึ๊งภากรณ - นายจร โสภณศิริ นักศึกษาจากคณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อาสาสมัครจัดทำปาย และนิทรรศการอนุสรณสถาน ศ.ดร.ปวย อึ๊งภากรณ - คุณลุงสำอางค มธุรส อาสาสมัครดีเดนป 2545 จังหวัดชัยนาท ชาวบาน ตำบลวังตะเคียน ผูเสียสละ อุทิศแรงกายแรงใจใหกับชุมชนและเปนกำลังสำคัญยิ่งในการ กอตั้งอนุสรณสถาน “ดร. ปวย อึ๊งภากรณ” - รศ. มณีรัตน จันทนะผลิน อาจารยประจำ คณะวิทยาศาสาตร สถาบันราชภัฎสวนดุสิต มีความสามารถ ในการประกอบพิธีบวงสรวง ไดทำพิธีบวงสรวงประดิษฐาน รูปปน ศ.ดร.ปวย อึ๊งภากรณ ณ ศูนยการเรียนรูชุมชน ปวย อึ๊งภากรณ จังหวัดชัยนาท - นางสาวกุณฑลี ตันติทวีวัฒน นายเกริกพันธุ เล็กลอม นายนิวัฒน บริรักษ นักศึกษาคณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดทำ หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 57


จิตรกรรมฝาผนัง “จากครรภมารดาสูเชิงตะกอน” ที่ศูนยการ เรียนรู ปวย อึ๊งภากรณ จังหวัดชัยนาท - คุณพรหมสุรี กิตติธนศักดิ์ เจาของธุรกิจขนาด ย อ ม SMEs ชื่ อ โกเจ ก ดี ไซน ช ว ยจั ด นิ ท รรศการ/ จั ด ทำ หนังสือจารยปวยฯ/ออกแบบเสื้อผาทำสื่อระดมทุนตางๆ ใหกับ มูลนิธิฯ งานบรรณารักษหองสมุด - คุณศิริพร ดวงเกตุ เจาหนาที่บรรณารักษจาก ธนาคารแห ง ประเทศไทย ใช เวลาวั น หยุ ด เสาร - อาทิ ต ย ประมาณ 2-3 สัปดาห จัดระบบหองสมุดขนาดเล็ก ใหกับ มูลนิธิฯ ที่สำนักงานกรุงเทพ - รศ.สุภัทรา วันทายนต และทีมงาน จากสำนัก หอสมุดกลางมหาวิทยาลัยรามคำแหง รวมกับ อาจารยบุษบา โพธิคงคา และนักเรียนโรงเรียนพณิชยการชัยนาท ดำเนิน โครงการ อาสาสมัครบริการหองสมุดเพื่อชุมชน ณ ศูนยการ เรียนรูชุมชน ปวยฯ จ.ชัยนาท - น.ส.พรกมล นุมหอม จัดอาสาสมัครนักเรียน และครูโรงเรียนพณิชยการชัยนาท ชวยงานหองสมุดมูลนิธิฯ ตอเนื่อง

58 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

ดานการเกษตร - อาจารยชนวน รัตนวราหะ อาจารยพิเศษ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร รั ง สิ ต ข า ราชการบำนาญอดี ต ผูตรวจการกระทรวงเกษตร อาสาชวยริเริ่มโครงการเกษตร อินทรียเพื่อเปนตนแบบการเรียนรู ณ ศูนยฯ ปวย โดยทั้งให คำปรึ ก ษาและลงพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติ เ ป น ตั ว อย า ง และเชื่ อ มโยง องคความรู-แหลงดูงานเปนเวลาตอเนื่องเกือบ 2 ป ถือไดวา โครงการเกษตรอินทรีย ที่ศูนยฯ ปวย เกิดขึ้น และตั้งตัวได ดวยการรวมคิด รวมผลักดันจากอาจารยชนวน เปนสำคัญ - คุณเสรี กล่ำนอย เจาของสวนสมโอพันธุขาว แตงกวาลือชื่อ ตำบลเขาทาพระ อำเภอเมือง จังหวัดชัยนาท ทั้งเปนแหลงศึกษาดูงานและเปนวิทยากรเผยแพรการทำเกษตร ปลอดสารพิษ ไดบริจาคกิ่งพันธุ ชวยดูแล ใหคำแนะนำแก แปลงสาธิต การปลูกสมโอขาวแตงกวาปลอดสารพิษในศูนยฯ ปวย ดวย - คุณสมพงษ แยมยิ้ม เจาของไรองุน ตำบล ไพรนกยูง อำเภอหันคา จัดทำแปลงสาธิตการปลูกองุน และ แกวมังกร ในศูนยฯ ปวย และชวยดูแลตอเนื่อง

การถายทอดภูมิปญญาชาวบาน ชาวบานที่จังหวัด ชัยนาท มาชวยสอนเยาวชนในโอกาสตางๆ เชน คายเยาวชน การจัดงานวันเด็ก ฯลฯ ไดแก - นางชูทิศ คำพันธุ ดานสมุนไพร - นางสีนวล มาแกว ขนมกง ขนมไทยโบราณ - นางพัลลภา วิริยานุสรณ ขนมไทย หอใบตอง - น.ส.เสนาะ ภูมั่ง จักสานผักตบชวา - นายวิชัย เขียนเปา การแสดงลิเก การละเลน พื้นบาน ยอนกลับมาเรื่องการบริหารจัดการ ในฐานะผูอำนวย การ ชางแตกตางอยางมากกับการเปนผูชวยฯ หรือเปนรอง ผูอำนวยการ ถึงแมไมมีความกดดัน แตเปนความรับผิดชอบ ตรงๆ ที่หนักใจมีอยู 2 เรื่องซึ่งเกี่ยวพันกัน คืออัตราการเขา ออก (turnover) ของเจาหนาที่มูลนิธิฯ คอนขางสูง ซึ่งตาม ตำราบริหารงานบุคคลบอกวาไมดี แสดงวาองคกรไมมั่นคง พนักงานไมพอใจสภาพการทำงาน / ลักษณะงาน / เพื่อนรวม งาน / ผูบังคับบัญชา ผูบริหารตองแกไขปรับปรุง ทำ exit interview แทบทุกคนที่ขอลาออก นองๆ บอกวางานไมลำบาก ออกสนุกดวยซ้ำ และไมใชไมรักมูลนิธิฯ

คนอยูนานสุดประมาณ 3 ปบอกวาเมื่อเทียบกับเพื่อนที่ทำ ราชการ หรื อ บริ ษั ท เอกชนแล ว รายได ห า งจากเขาไกลจน ใจหาย ในขณะที่ตองกอรางสรางครอบครัว แลวใคร ประเภทไหนละหนอ จะมาทำงานพัฒนา เปนอาชีพพอเลี้ยงตัวได มีความสุข ความพอใจ ตองเปนผูที่ “พอ” แลวทางเศรษฐกิจ เหรอ ? ครอบครัวตองเห็นชอบดวยมั๊ง ตองเปนผูมีความรู ความชำนาญ หรือประสบการณ ในงานที่ ท ำมากพอ เช น นั ก พั ฒ นาด า นเด็ ก สิ่ ง แวดล อ ม กฎหมาย คุณภาพชีวิต การบริหารจัดการ ฯลฯ ตองเชี่ยวชาญ ในสาขางานของตน คงต อ งมี เ ป า หมายของตนเองว า อยากบรรลุ ค วาม สำเร็จอะไร ขั้นไหน ซักอยาง หรือคนที่กำลังแสวงหา แลวปรากฎวา ใชงานที่ถูก จริต ก็จะทำตอเนื่องยาวนาน ละมั๊ง ดังนั้นเมื่อมีคนเขาใหม จึงทำใจตั้งแตตนวานอง/เขา จะอยูประมาณ 3 ป เปน 3 ปที่เขาคงตั้งใจทุมเต็มที่ ก็ไมมีใคร บังคับใหอยูได จากนั้นเขาจะพา “เชื้อจิตอาสา”ไปสูองคกร ใหมที่เขาไปทำงาน

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 59


แพรเชื้อนี้ใหกระจายเติบโต เทากับเปนการรวมสราง สังคมนาอยูทางหนึ่ง ใครจะรู วันขางหนา เขาอาจยูเทิรนมาอีกก็ได หนทางแกไขเบื้องตน คือตรวจสอบคาจาง สวัสดิการ วาอยูในระดับแขงขันดึงดูด คนมาทำงานไหม ลองปรับเงิน เดือนซักหนอย นาจะเปนแรงจูงใจได โอ เงิน เอยเงิน บรรดาปราชญชอบพูดกัน (ไปเรื่อย) วาเงินไมเปนปญหา แตไมมีเงินนี่ สงสัยจะเปนปญหานะ สูอุตสาหเก็บออมเงินกองทุนเพื่อใชดอกผลเปนคา ใชจาย ดอกเบี้ยเงินฝากก็รองแตเพลงสาละวันเตี้ยลงๆ ตั้งแต ประมาณ 10% ในป 2539 ลงมาเรื่อยๆ จนถึง1% ในป 2547 แลวเงยขึ้นเล็กนอยแตก็ยังไมถึง 4% ถาถวงน้ำหนักดวยอัตรา เงินเฟอแตละปไปดวยยิ่งเขาขายโคมา ในความเครียดของการบริหารการเงิน ยังพอมีเรื่อง คลายอารมณไดฮากัน วิธีการตอสูความยากจนของลูกบาน บชท. 1. ประหยัดทุกหยด ลดทุกอยาง ทั้งสองสำนักงาน 2. สำนักงานกรุงเทพฯ เก็บเบี้ยใตถุนราน ลงมือ สำรวจบัญชีเงินฝากตางๆ เชน หลายโครงการจบไปแลวแต ยังมีเงินคงคางในบัญชีเงินฝาก บางบัญชีอยูที่ธนาคารไกลๆ จัดการถอนมากองรวมกันใหหมด เพื่อนำไปฝากแหลงที่ให ผลตอบแทนสูงกวาธนาคาร 3. สำนักงานชัยนาท เริ่มมองหาทรัพยในดินอยาง จริงจัง เริ่มจากทำสวนครัว ใกลครัวกลาง จนถึงทำเกษตร จริงจังบนแปลงพื้นที่ 2 ไร ปรับปรุงสวนสมโอ เพาะเห็ด เก็บ มะขามมาแปรรูป แปรรูปมะมวง เผาถานสมควัน ทำปุยหมัก ปุยคอก กลวยตาก 4. วิธีขำๆ คือซื้อสลากออมสิน และ สลาก ธกส. ใน จำนวนมากพอที่จะถูกเลขทายแนๆ และไดลุนกันทุกเดือนให 60 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

ถูกรางวัลที่หนึ่ง 5. การตั ด สิ น ใจสุ ด ยอด คื อ ให เช า สำนั ก งาน กรุงเทพฯ เพราะระดมกำลังไปทำกิจกรรมเพื่อจัดทำศูนยการ เรียนรูที่ชัยนาทหมด แลวฝากงานประสานดานเอกสารไวกับ บริษัทรวมทุนจำกัด สวนการติดตอกับพันธมิตร องคกรอื่นๆ และงานกรรมการ ใชโทรศัพท อีเมล และการสื่อสารอื่นๆ เมื่อยายกำลังคนมารวมกันอยูที่ชัยนาท กิจกรรม ภาคสนามกลับคึกคักมีชีวิตชีวา ในขณะที่ภาครัฐมีนโยบายลด ขนาดองคกร และสงตองบประมาณมาใหองคกรเอกชนทำ กิจกรรม ศูนยฯ ปวย มุงเนนกิจกรรมสงเสริมวิถีชีวิตเศรษฐกิจ พอเพียง การเกษตรปลอดสารพิษ คายเยาวชนตางๆ โดยคาย ที่เปนเอกลักษณของ บชท. คือคายเยาวชนตามรอยอาจารย ปวยฯ : บนถนนสูความจริง ความงาม ความดี ที่จัดติดตอกัน มา 3 ป แลว และวางโครงการเปนคายหลักของศูนยฯ ตอ เนื่องตอไป

สานพลัง 5 องคกรใตรม บชท.

ป 2547 มีองคกรพันธมิตร เขารวมเปนสมาชิก บชท อีก 3 องคกร คือ TRN, Thaipat, School for Life (ราย ละเอียดกลาวไวแลวในบทกอนหนา) การบริหารจัดการสวน กลางเพิ่มขึ้นพอสมควร แตก็สนุกประทับใจ ที่อยากบันทึกไว ณ ที่นี้ คือ รูสึกดีใจที่ไดเห็นคลื่นลูก ใหม / นักพัฒนารุนใหมของบูรณะชนบทแลว ผูเขียนตั้งใจไว วากอนหนาจะ “วางมือ” จากงานบริหาร บชท. ในวาระที่จะ ครบเทอมกรรมการ ป 2551 ที่จะถึงนี้ แนนอน จะไมแนก็ตรงที่อาจจากไปกอนเวลาอันสมควร (และ หากเปนเชนนั้น ผูเขียนก็ขอสัญญาวาจะมาเยี่ยมผูอานทุกทาน)

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 61


โครงสรางองคกร มูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ กรรมการอำนวยการ กรรมการบริหาร หนวยประสานงานกลาง (secretariat) PCLC

RASMI

TRN

Thaipat

SFL

งาน ปฏิบัติการ ดานการพัฒนาชนบทและสังคม

งานวิจัย/ศึกษา การพัฒนาชนบทและสังคม

เครือขายอาสาสมัครเยาวชน เพื่อชนบทและสังคม

เครือขายสงเสริมธุรกิจ เพื่อสังคม

งานจัดการศึกษาเพื่อ เด็กและเยาวชนที่ขาดโอกาส

สานพลัง 5 องคกรใตรม บชท. ตั้งแต พ.ศ.2547 มูลนิธิบูรณะชนบทฯ ไดมีแนวทาง ที่ จ ะจั ด รู ป แบบองค ก รใหม ซึ่ ง ทำให มี ข อบเขตของกลุ ม เป า หมายกวางขึ้นและมีพลังในการทำงานเพิ่มขึ้น องคกรลูกภายใตโครงสรางใหม ประกอบดวย องคกร เดิม 2 องคกร คือ ศูนยการเรียนรูชุมชน ปวย อึ๊งภากรณ Community Learning Centre, PLCL / Puey Centre) และสถาบั น การจั ด การเพื่ อ ชนบทและสั ง คม (Rural and Management Institute, RASMI) ป พ.ศ. 2547 มีองคกรพันธมิตรเพิ่มอีก 3 องคกร คือ ศูนยการเรียนเพือ่ ชีวติ (School for Life, SCL) สถาบันไทยพัฒน

62 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

(Thaipat) และเครือขายเยาวชนอาสาสมัครเพื่อพัฒนาชนบท (Thai Rural Net, TRN) ที่ไดรูจักและทำงานรวมกันมาระยะ หนึ่ง องคกรเหลานี้เห็นตรงกันวา การรวมตัวภายใตรมเงาของ มูลนิธิฯ นาจะไดพลังเพิ่ม (synergy) เพื่อรวมกันปฎิบัติงาน พัฒนาชนบทและสังคมไดอยางเต็มที่ตอกลุมเปาหมายมากกวา เดิม พ.ศ. 2548 มู ล นิ ธิ บู ร ณะชนบทแห ง ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภจึงจัดรูปองคกรใหม ตามมติการประชุม ของคณะกรรมการอำนวยการ เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2548 ณ สมาคมนักเรียนเกาวชิราวุธ ดุสิต กรุงเทพฯ

เราคาดหวังวาการจัดองคกรใหมจะชวยใหมูลนิธิฯ สามารถดำเนินกิจกรรมที่สอดคลองกับวิสัยทัศนในปจจุบันของ องคกร คือ เปนองคกรเรียนรู มีความสามารถโดดเดนในการประสานความรวมมือจากหลายภาคสวนเพื่อพัฒนาชนบทและ สังคม โดยการรวมสรางปญญาและโอกาส สูการพัฒนาคุณภาพชีวิตดวยหลักเศรษฐกิจพอเพียง ดวยวิสัยทัศนและองคประกอบของโครงสรางองคกรใหม บทบาทหนาที่ในปจจุบันของมูลนิธิฯ จึงมีขอบเขตกวางไกลทั้ง ในแงพื้นที่การทำงาน กลุมเปาหมาย ที่รวมภาคชนบท ชุมชนเมืองดอยโอกาส เยาวชน และธุรกิจเพื่อสังคม ทั้งยังครอบคลุมมิติ ภาควิชาการและภาคปฏิบัติ ซึ่งหวังวาจะมีพลังในการขับเคลื่อนสังคมอยางเปนระบบภายใตแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งมูลนิธิ ไดดำเนินการมุงสูทิศทางนี้มาเปนเวลาครึ่งทศวรรษแลว

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 63


RASMI งานวิจัยและฝกอบรม เพื่อชนบทและสังคม

ศูนยการเรียนรู ปวยฯ

ผูกำหนด นโยบาย

ฝกอบรมเพื่อชนบท และเยาวชน

ไทยรูรัลเน็ท งานปฏิบัติการภาคสนาม โดยเยาวชนเพื่อชนบท

ตอสังคม (corporate social responsibility) และถายทอด แนวคิดธุรกิจแบบเศรษฐกิจพอเพียง ไดเปนผูดำเนินโครงการ ศึ ก ษาและจั ด ทำฐานข อ มู ล กลุ ม องค ก ร พื้ น ที่ ที่ ใช ห ลั ก เศรษฐกิจพอเพียงในการดำเนินชีวิต ระยะที่ 1 (2547) และ ระยะที่ 2 (2549) ฐานข อ มู ล และตั ว ชี้ วั ด จากโครงการ ครอบคลุมทั้งภาคชนบทและภาคธุรกิจเปนประโยชนสำหรับ มู ล นิ ธิ ฯ และองค ก รหน ว ยงานต า งๆ ในการทำงานเพื่ อ ขั บ เคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงอยางเปนระบบตอไป การประสาน พลังระหวาง RASMI กับสถาบันไทยพัฒน ชวยเนนย้ำการ

นอกจากนี้ จะมีแผนการประสานพลังระหวางงาน วิชาการของ RASMI กับงานภาคสนามของไทยรูลัลเน็ท โดย RASMI จะทำงานวิเคราะหเชิงวิชาการเพื่อสนับสนุนผลงาน เชิงคุณภาพของไทยรูลัลเน็ท เพื่อชวยเพิ่มน้ำหนักความถูกตอง นาเชื่อถือใหกับผลการปฏิบัติภาคสนาม เชน การวิเคราะห ต น ทุ น และผลตอบแทนของการทำเกษตรประณี ต ซึ่ ง เป น กิ จ กรรมที่ ไ ทยรู ลั ล เน็ ท ลงไปช ว ยขั บ เคลื่ อ นสนั บ สนุ น จน ประสบผลสำเร็จดวยดี และเนื่องจากไทยรูลัลเน็ทในฐานะ เปนกลุมเยาวชนคนรุนใหมไดมีโอกาสเขารวมเสนอความคิด ภาพแดงความรวมมือองค์กรลูก ภายใต้โครงการระบบแลกเปลี่ยนชุมชน

สถาบันไทยพัฒน งานวิจัยและปฏิบัติการ เพื่อธุรกิจที่รับผิดชอบ ตอสังคม

ไทยรูรัลเน็ท

การขยายขอบเขตกลุมเปาหมายจากชนบทสูภาค สนาม มีกลุมบานทาระบาด ต.เที่ยงแท และกลุมเยาวชน ต.บานกลวย เปน 2 กลุมหลักที่รับแนวคิดระบบการแลกเปลี่ยน ธุรกิจ (เชิงสังคม) และเยาวชน การฟนฟูกิจกรรมงานวิจัยของ RASMI ภายใตการนำ ของศาสตราจารย อ ภิ ชั ย พั น ธเสน และการเข า ร ว มเป น องค ก รเครื อ ข า ยของสถาบั น ไทยพั ฒ น เครื อ ข า ยเยาวชน อาสาสมัครเพื่ อการพัฒนาชนบท และศูนยการเรียนเพื่อ ชีวิต ไดเปดพื้นที่งานของมูลนิธิบูรณะชนบทฯ สูภาคธุรกิจ (เชิงสังคม) และเยาวชน เปนการตอยอดจากงานในภาคชนบท และภาคเมืองเพื่อชุมชนดอยโอกาสที่คุณไพบูลย วัฒนศิริธรรม และคุณศิริวรรณ เจนการ ไดเคยวางรากฐานไว งานวิ จั ย ชุ ด โครงการวิ จั ย และพั ฒ นาเพื่ อ การขั บ เคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง ระยะที่ 1-3 ซึ่ง RASMI ไดรับ การสนับสนุนทุนวิจัยจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) โดยเฉพาะโครงการวิจัยและพัฒนาระบบแลกเปลี่ยน ชุมชนเพื่อการพึ่งตนเองระยะที่หนึ่ง (2546) และระยะที่สอง (2547-2550) เปนตัวอยางของการประสานพลังองคกรลูก ของมูลนิธิฯ ที่ทำงานรวมกันเพื่อบรรลุวัตถุประสงคเดียวกันคือ การหาเครื่องมือที่ปฏิบัติไดจริงเพื่อสรางภูมิคุมกันใหแกชุมชน ชนบทและชุมชนเมือง โดยทีมงานวิชาการของ RASMI ประสาน การขับเคลื่อนงานภาคสนามและสังเคราะหบทเรียนจากงาน วิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวมกับกลุมชาวบานใน 13 จังหวัด ทั่วประเทศ โดย 1 ใน 13 จังหวัด คือที่จังหวัดชัยนาท มี ศูนยการเรียนรูชุมชน ปวย อึ๊งภากรณ เปนพี่เลี้ยง โดยคุณ ศิริวรรณ เจนการ และทีมงาน ไดเปดพื้นที่ขับเคลื่อนงานภาค 64 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

เพื่อชวยเหลือกันเองในชุมชนมาทดลองปฏิบัติ กิจกรรมการ แลกเปลี่ ย นกลายเป น กิ จ กรรมที่ ก ลุ ม ผู ใ หญ แ ละเยาวชนใน พื้นที่ใหความสนใจ ทั้งในแงการเรียนรูเกี่ยวกับทองถิ่นของตน และการรื้อฟนวัฒนธรรมและความสัมพันธของคนในชุมชนบน ฐานคิดของการให การแบงปนในชุมชน และการลดรายจาย อี ก ด า นหนึ่ ง สถาบั น ไทยพั ฒ น โดยคุ ณ พิ พั ฒ น ยอดพฤติการ รวมทุนกับ RASMI ภายใตชื่อ “ไทยพัฒนรัศมี” เพื่อสนับสนุนองคกรชาวบานในการจัดการแลกเปลี่ยน ระหวางพื้นที่ตางๆ (เครือขายเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อน-เสี่ยวเกลอ) และมี ค วามตั้ ง ใจที่ จ ะเชื่ อ มโยงสิ น ค า จากผู ผ ลิ ต ใน ภาคชนบท สูผูบริโภคที่ทำงานภาคธุรกิจในเมือง นอกจากนี้ แนวคิดเรื่องระบบการแลกเปลี่ยนชุมชนยังเปนที่สนใจของ ศูนยการเรียนรูบานแสงจันทร ต.สนามชัย อ.สตึก บุรีรัมย ซึ่งเปนพื้นที่ดำเนินโครงการของ เครือขายเยาวชนอาสาสมัคร เพื่อการพัฒนาชนบท (Thai Rural Net, TRN) จึงคาดวาจะ มีการขยายเครือขายการเรียนรูและทดลองปฏิบัติเรื่องระบบ การแลกเปลี่ยนชุมชนไปสูพื้นที่ดังกลาวในอนาคต ภายใตชุดโครงการวิจัยและพัฒนาเพื่อการขับเคลื่อน เศรษฐกิจพอเพียง ระยะที่ 1-3 ที่มีศาสตราจารย ดร. อภิชัย พันธเสน เปนผูประสานงานนั้น นอกจากมีงานวิจัยและพัฒนา ระบบแลกเปลี่ ย นชุ ม ชนแล ว สถาบั น ไทยพั ฒ น ซึ่ ง สร า ง เครือขายนักธุรกิจที่รวมตัวกันเพื่อทำงานที่มีความรับผิดชอบ

เครือขายเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อน เสี่ยว เกลอ : แลกเปลี่ยนระหวางชุมชน

ระบบแลกเปลี่ยน ในชุมชน ระบบแลกเปลี่ยน ในชุมชน ระบบแลกเปลี่ยน ในชุมชน

ระบบแลกเปลี่ยน ในชุมชน

RASMI ระบบแลกเปลี่ยน ในชุมชน

ระบบแลกเปลี่ยน ในชุมชน ระบบแลกเปลี่ยน ในชุมชน

ศูนยการเรียนรู ปวยฯ

ไทยพัฒน - รัศมี สถาบันไทยพัฒน

ขยายขอบเขตของกลุ ม เป า หมายในการทำงานของมู ล นิ ธิ ฯ เห็นเกี่ยวกับบทบาทของเยาวชนดานการพัฒนาตอผูกำหนด วานอกจากรวมภาคชนบท และชุมชนเมืองที่ดอยโอกาสแลว นโยบายภาครัฐ จึงมีความตองการขอมูลสนับสนุนทางวิชาการ ยังรวมถึงกลุมเปาหมายที่อยูในภาคธุรกิจที่จะเขามามีสวนรวม และคาดวา RASMI จะชวยทำหนาที่นี้ได RASMI เห็นวาการสรางองคความรูและทฤษฎีที่มี ในกิจกรรมพัฒนาสังคมดวย การประสานภาคปฎิบัติ ภาควิชาการ และการขับ รากฐานจากสังคมไทยเปนสิ่งที่มีความจำเปน ความเขมแข็งทั้ง ทางปฏิบัติ ทางวิชาการ จะมีน้ำหนักในการผลักดันขอเสนอใน เคลื่อนสูนโยบายสาธารณะในอนาคต RASMI จะทำงานร ว มกั บ สถาบั น ไทยพั ฒ น แ ละ เชิงนโยบาย เพื่อนำไปสูการกำหนดนโยบายสาธารณะตอไป ศูนยฯปวย อยางตอเนื่อง และจะรวมงานกับไทยรูลัลเน็ทมาก ขึ้นเพื่อขยายขอบเขตความเขาใจของคนทั่วไปวา เศรษฐกิจ พอเพียงมิใชเปนแนวทางเฉพาะสำหรับคนชนบท แตควรเปน ปรั ช ญาและแนวปฏิ บั ติ ข องภาคธุ ร กิ จ และทุ ก ภาคส ว นของ สังคมไทยดวย หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 65


เดียว โดยในระยะแรกรวมกับ HelpAge ตอมากอตั้งองคกร รองรับ ชื่อมูลนิธิพัฒนางานผูสูงอายุ กรรมการที่เหลือเปน แกนหลักของ RASMI คือ คุณไพบูลย วัฒนศิริธรรม ซึ่งเปน ผูอำนวยการ และ คุณศิริวรรณ เจนการ ผูชวยผูอำนวยการ “ตอมาหลายๆ องคกร เชิญคุณไพบูลย เปนที่ปรึกษาบาง คณะทำงานบาง และเชิญเปนกรรมการเลยก็หลายแหง ...โดย สรุ ป (ความเข ม แข็ ง ของ) RASMI น า จะขึ้ น กั บ ผู น ำองค ก ร และ นักวิจัยเปนสำคัญ ก็คงเหมือนกับโครงการวิจัยโดยทั่วไป ที่ผูจางจะพิจารณานักวิจัยกอนเปนหลัก” ผลงานที่ ส ำคั ญ ของ RASMI ในระยะแรกภายใต การนำของคุณไพบูลย ไดแก การปรับรูปแบบกองทุนพัฒนา RASMI ยุคกอตั้ง ชุมชนเมือง (2534) (ซึ่งตอมาพัฒนาเปน สถาบันพัฒนาองคกร ผูเปนกำลังสำคัญในการกอตั้งสถาบันการจัดการเพื่อ ชุ ม ชน) การปรั บ ปรุ ง รู ป แบบกองทุ น เพื่ อ การพั ฒ นาชนบท ชนบทและสังคม คือ คุณไพบูลย วัฒนศิริธรรม “คุณไพบูลย (2537) การศึกษาเรื่ององคกรการเงินของประชาชนฐานราก เปนผูที่มียุทธศาสตรล้ำเลิศ ในการสรางความหมายตอการกอ (2538) เกิดขององคกร ทานเชิญกรรมการที่เปนผูแทนหนวยงานตางๆ ที่สำคัญมารวมกันผลักดันสถาบันฯ เชน ดร.กลา สมตระกูล RASMI ยุคปจจุบัน จากกรมการศึกษานอกโรงเรียน (กศน.) ขณะนั้น ดร.ไพโรจน หลังยุคคุณไพบูลย กิจกรรมของ RASMI ซบเซาไป สุ ข สั ม ฤทธิ์ จากกระทรวงมหาดไทย อาจารย ส มชาติ บาง แตกลับมาฟนตัวอีกครั้ง เมื่อมี ศาสตราจารย ดร.อภิชัย เศรษฐสมภพ จากธรรมศาสตร ผูแทนสมาคมธนาคารไทย พั น ธเสน เป น ผู อ ำนวยการสถาบั น คนต อ มา ตั้ ง แต วั น ที่ 2 ผูแทนจากธนาคารแหงประเทศไทย อดีตผูตรวจราชการ มกราคม พ.ศ. 2546 ถึงปจจุบัน กระทรวงเกษตรและสหกรณ ฯลฯ” กอนเริ่มงานกับ RASMI ศาสตราจารยอภิชัย ให สถาบั น ฯ ได รั บ การสนั บ สนุ น ทางการเงิ น จาก ความสนใจและมี ผลงานทางวิ ชาการมากมายเกี่ ยวกั บพุ ทธ Canada Fund ถึง 9 ทุน ใหกรรมการไดไปศึกษาดูงานดาน เศรษฐศาสตร และเปนกำลังสำคัญในการขับเคลื่อนแนวคิด องคกรพัฒนาเอกชน 10 องคกรในแคนาดา เปนเวลา 2 เศรษฐกิจพอเพียงในเชิงวิชาการ รวมทั้งการศึกษาเพื่อหา สัปดาห ตนแบบการเปนเศรษฐกิจพอเพียงทั้งในภาคชนบทและภาค “การทำงานของ RASMI ในระยะแรก มีคุณไพบูลยฯ ธุรกิจ ดังนั้น เมื่อทานเขามาเปนผูอำนวยการ RASMI ทาน เปนสมอง ใหความคิดคมๆ หาหุนสวนที่เปนอาจารยสนใจ จึ ง เป น กำลั ง สำคั ญ ในการผลั ก ดั น ให RASMI และมู ล นิ ธิ ฯ เรื่องที่จะทำ ผูกพันกันในระยะแรกของแตละโครงการ … ขับเคลื่อนงานดานเศรษฐกิจพอเพียงมาตั้งแตป 2546 คุณไพบูลย ไดรับการยอมรับมากในเรื่องความคิดริเริ่ม คิด RASMI ภายใตการนำของศาสตราจารยอภิชัยจนถึง เชิงบวก สรางสรรค ทำนอง “คิดใหม-ทำใหม” ความจริงทาน ปจจุบัน มีศาสตราจารย ดร.ฉัตรทิพย นาถสุภา เปนที่ปรึกษา ใชคำนี้กอนพรรคไทยรักไทยมาตั้งนานแลว” 2 โครงสรางการดำเนินงานประกอบดวยกิจกรรมวิจัยและกิจกรรม ตอมา กรรมการ RASMI มีพันธะกิจของตัวเองมาก ฝกอบรม โดยมีกรรมการมาจากภาควิชาการ RASMI ยุคนี้ ขึ้น บางทานสนใจลงลึกบางเรื่อง อยางเชน อาจารยนายแพทย จึงเนนหนักความเปนวิชาการคอนขางมาก ตางจากยุคคุณ เมืองทองฯ มุงมั่นทำกิจกรรมเรื่องผูสูงอายุเปนเรื่องสำคัญเรื่อง ไพบูลยที่มีกรรมการที่มาจากหนวยงานราชการซึ่งเกี่ยวของกับ การขับเคลื่อนงานสูนโยบาย สถาบั น การจั ด การเพื่อ ชนบทและสั ง คม ก อ ตั้ง ขึ้ น ภายใตรมของมูลนิธิบูรณะชนบทฯ เมื่อ 17 มิถุนายน 2534 ซึ่งเปนยุคที่องคกรพัฒนาเอกชนในประเทศไทยไดฟนตัวหลัง จากสถานการณทางการเมืองไดคลี่คลาย การกอตั้งองคกร สอดรับกับการปรับเปลี่ยนรูปแบบการดำเนินงานของมูลนิธิฯ จากการเน น งานภาคสนามเป น การผลั ก ดั น เชิ ง นโยบาย สถาบันฯ ดำเนินงานดานการวิจัย ทั้งงานวิจั ยเชิงนโยบาย และวิจัยเชิงปฏิบัติการในประเด็นสำคัญเพื่อขับเคลื่อนทาง สังคม โดยใหความสำคัญกับการที่สามารถนำผลการวิจัยไป ประยุกตใชเปนประโยชนไดจริง

สถาบันการจัดการเพื่อชนบท และสังคม (Rural and Social Management Institute, RASMI) ปทมาวดี ซูซูกิ

1 2

66 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

จากคำบอกเล่าทางอีเลคโทรนิคส์เมล์ของคุณศิริวรรณ เจนการ ถึงผู้เขียน เมื่อ 3 มกราคม 2550 เพิ่งอ้าง หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 67


โครงสราง RASMI (2546 - ปจจุบัน) ผูอำนวยการ

ที่ปรึกษา

ศ.ดร อภิชัย พันธเสน

ศ.ดร.ฉัตรทิพย นาถสุภา

รองผูอำนวยการ ฝายฝกอบรม

ผูจัดการ

รองผูอำนวยการ ฝายวิจัย

เจาหนาที่สนับสนุนงานวิจัยและอบรม 1. งานวิจัยและพัฒนา และงานฝกอบรม ในป จ จุ บั น RASMI เน น งานวิ จั ย และพั ฒ นาเพื่ อ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีโครงการใหญที่ไดรับทุน สนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) คือ โครงการขบเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง ระยะที่ 1-3 (25472551) ซึ่งประกอบดวยชุดโครงการวิจัย 14 โครงการ เชน โครงการวิจัยและพัฒนาระบบการแลกเปลี่ยนชุมชน เพื่อการ พึ่ ง ตนเองระยะที่ 1 (2546) และระยะที่ 2 (2547-50) โครงการสั ง เคราะห อ งค ค วามรู เ กี่ ย วกั บ เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง (2547) โครงการศึกษาและจัดทำฐานขอมูลกลุม / องคกร / พื้นที่ ที่ใชหลักเศรษฐกิจพอเพียงในการดำเนินชีวิตระยะที่ 1 และ 2 (2547-50) และโครงการศึกษาเศรษฐกิจนอกภาค ทางการในเขตเมือง (2548) นอกจากการวิจัยแลว RASMI ยังจัดการฝกอบรม ในเรื่องตางๆ ที่เกี่ยวของกับการจัดการเพื่อชนบทและสังคม กลุมเปาหมายของการฝกอบรม คือ องคกรหรือกลุมชาวบาน และกลุมตางๆ ในภาคประชาสังคม รวมทั้งอบรมใหความรู เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงดานแนวคิดและการปฏิบัติ เชน การอบรมใหแกคณาจารยจาก 12 โรงเรียน ในโครงการพัฒนา หลั ก สู ต รสถานศึ ก ษาในเขตพื้ น ที่ ก รุ ง เทพมหานคร เขต 1 (2550) 2. ความร ว มมื อ กั บ องค ก รภายในประเทศและ ตางประเทศ นอกจากการดำเนินงานวิจัยและฝกอบรมโดย RASMI เป น ผู รั บ ทุ น สนั บ สนุ น โดยตรงแล ว RASMI ยั ง ได ด ำเนิ น กิจกรรมรวมกับสถาบันการศึกษาอื่นๆ โดยมีทีมงาน RASMI 68 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

เปนทั้งนักวิจัยรวมและเปนฝายจัดการและประสานงาน ทำ ใหเกิดการรวมมือระหวาง RASMI และนักวิจัย จากสถาบัน การศึกษาตางๆ ประกอบกับเมื่อศาสตราจารย ดร.อภิชัย ไดเกษียณ ราชการจากมหาวิทยาลัยธรรศาสตร ทานไดดำรงตำแหนง คณบดีคณะบริหารศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จึงได ขยายขอบเขตความรวมมือของทีมงาน RASMI กับสถาบันการ ศึกษาในสวนภูมิภาคอยางใกลัชิดดวย สถาบันการศึกษาที่มี คณาจารยรวมงานภายใตการประสานงานของ RASMI ไดแก มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย อุ บ ลราชธานี มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม มหาวิ ท ยาลั ย นเรศวร มหาวิ ท ยาลั ย บู ร พา มหาวิ ท ยาลั ย วลัยลักษณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร และมหาวิทยาลัย ราชภัฏในหลายจังหวัด นอกจากความรวมมือประสานงานกับองคกรพันธมิตร ในประเทศแล ว สถาบั นการจั ดการเพื่ อชนบทและสั งคมยั ง ร ว มงานกั บ องค ก รในต า งประเทศ ได แ ก STROHALM Foundation เนเธอรแลนด (2548-2549) และ National University of Timor Leste (2547-2548) ประเทศติมอร เลสเต (ผานมูลนิธิสถาบันธรรมรัฐเพื่อการพัฒนาสังคมและ สิ่งแวดลอม) นอกจากนี้ ยังมีนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยใน หลายประเทศ เชน อังกฤษ สหรัฐอเมริกา และญี่ปุน สนใจมา ศึกษางานภาคสนามในโครงการตางๆ ของ RASMI เปนระยะๆ อีกดวย 3. การขับเคลื่อนงานสูนโยบายสาธารณะ การขับเคลื่อนผลการศึกษาวิจัยสูนโยบายสาธารณะ

ภาพถายคณะทำงาน

ศ. ดร. อภิชัย พันธเสน ผูอำนวยการ RASMI งานวิจัยและพัฒนาระบบ การแลกเปลี่ยนชุมชนเพื่อการพึ่งตนเอง

เปนสิ่งที่สถาบันการจัดการเพื่อชนบทและสังคมเคยประสบ ความสำเร็ จ เป น อย า งดี ใ นช ว งการทำงานของคุ ณ ไพบู ล ย วัฒนศิริธรรม จนเกิดเปนองคกรใหมๆ ในประเทศที่ทำงาน ดานการพัฒนาอยางเปนรูปธรรม เชน สถาบันพัฒนาองคกร ชุ ม ชน (พอช.) ในป จ จุ บั น มู ล นิ ธิ ฯ คาดหวั ง ว า ผลงานของ RASMI จะชวยสรางองคความรูและเกิดการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ พอเพียงอยางเปนรูปธรรมไดเชนกัน ทั้งนี้สถาบันการจัดการ เพื่ อ ชนบทและสั ง คม ภายใต ก ารนำของศาสตราจารย ดร.อภิชัย พันธเสน ไดทำงานอยางใกลชิดกับหนวยงานเพื่อขับ เคลื่อนเชิงนโยบาย ไดแก สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม

แหงชาติ สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ หนวย งานสนั บ สนุ น งานวิ จั ย เพื่ อ สร า งองค ค วามรู ที่ มี ผ ลสู ก ารขั บ เคลื่อนนโยบาย ไดแก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย และสภาวิ จั ย แห ง ชาติ และได ท ำงานร ว มกั บ องค ก รพั ฒ นา เอกชน เชน มูลนิธิสถาบันธรรมรัฐเพื่อการพัฒนาสังคมและสิ่ง แวดล อ ม (GSEI) ที่ มี เ ป า หมายการพั ฒ นาสั ง คมและสิ่ ง แวดลอมตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงเชนเดียวกัน เปนตน

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 69


การกอตั้ง PCLC

ศูนยการเรียนรูชุมชน “ปวย อึ๊งภากรณ” ศรีสกุล บุญยศักดิ์ 70 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

ในการประชุมคณะกรรมการประจำป ครั้งที่ 3/2542 ได มี ม ติ ใ ห ป รั บ เปลี่ ย นแนวทางการดำเนิ น งานของศู น ย ฝ ก อบรม มูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยฯ ที่จังหวัดชัยนาท เปนศูนยการเรียนรูชุมชน เพื่อใชทรัพยากรดานอาคารสถานที่ และอุปกรณที่สะสมมาตลอดระยะเวลาเกือบสี่สิบป ใหเปน ประโยชนตอการเรียนรูของชุมชนและประชาชนไดอยางคุมคา ศูนยฝกอบรมแหงนี้เคยเปนเวที เปนแหลงรวมพลัง และแลกเปลี่ ย นความรู ความสามารถ และประสบการณ ระหวางนักพัฒนาทั้งภาครัฐและเอกชน แกนนำชุมชน ชาว บานทั่วไปทั้งคนเมืองและคนชนบท โดยมีเปาหมายรวมกันคือ พัฒนาชุมชนและสังคมใหนาอยู บนพื้นฐานของความเอื้ออาทร แบบสังคมไทย เปนสถานที่สืบสานเจตนารมณและอุดมการณ ของอาจารยปวย อยางตอเนื่องมาเปนเวลารวมสามสิบป ถึง แมวาจะมีชวงเวนวรรคสืบเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงทางการ เมืองระยะหนึ่งก็ตาม การปรับเปลี่ยนแนวทางการดำเนินงานของมูลนิธิฯ จึงเปนเพียงการปรับเปลี่ยนวิธีการใหสอดคลองกับภาวะของ สังคมที่เปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว อยางที่กลาวกันวาการ พัฒนาไมเคยหยุดนิ่ง แตหลักการ อุดมการณ เปนสัจธรรม ไมเคยเปลี่ยนแปลง ยังไมทันที่ศูนยการเรียนรูชุมชนจะเปดตัว อาจารย ปวย ก็ถึงแกอนิจกรรมในเดือนกรกฎาคม ป 2542 ยังความ อาลัยใหกับญาติสนิท มิตรสหาย ลูกศิษย ลูกหายิ่งนัก เพื่อ เปนอนุสรณแหงความเคารพรักและศรัทธา คณะกรรมการ มูลนิธิฯ จึงไดมีมติ ใหตั้งชื่อศูนยการเรียนรูชุมชนแหงนี้วา หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 71


ศูนยการเรียนรูชุมชน ปวย อึ๊งภากรณ Puey Community Learning Centre (PCLC) ซึ่ ง นิ ย มเรี ย กกั น สั้ น ๆ ง า ยๆ ว า ศู น ย ฯ ป ว ย หรื อ Puey Centre ไมวาดวยญานวิถีใด ขอใหอาจารยปวย ไดทราบวา เราขออนุญาตใชชื่ออาจารย เปนชื่อ ศูนยการเรียนรูแหงนี้ ประโยชน ใ ดที่ เ กิ ด ขึ้ น แก ชุ ม ชนแก ป ระชาชนที่ เ ข า มาใช สถานที่แหงนี้เพื่อการศึกษา เพื่อการเรียนรู เพื่อการอาชีพ ขอไดแปรเปนผลบุญกุศล อุทิศแดอาจารยปวย แกนนำผูกอตั้ง ทั้งแนวคิดและสถานที่ 72 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

พิธีเปดอยางเปนทางการมีขึ้นเมื่อวันที่ 11 เมษายน 2544 โดยคุณไพบูลย วัฒนศิริธรรม ประธานคณะกรรมการ อำนวยการในสมัยนั้นและ คุณศิริวรรณ เจนการ ผูอำนวยการ เปนผูดำเนินการ ศูนยฯ ปวย เปดตัวครั้งแรกดวยการจัดเวทีแหงการ เรียนรู ชี้แจงเรื่องแนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐ โดยคุณไพบูลย วัฒนศิรธิ รรม สมาชิกสภาทีป่ รึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ในขณะนั้น มีแกนนำชาวบานในจังหวัดชัยนาท หลากหลาย อาชีพเขารวมเสวนา ตกบายขบวนกลองยาวของชาวบาน กลวยก็นำขบวนแหพาคุณไพบูลย ไปเปดผาคลุมปายชื่อหนา ศูนยฯ ปวย

คุณศิริวรรณฯ ผูอำนวยการ ไดลงมาดูแลรายละเอียด ที่ศูนยฯ ปวย เพื่อใหสามารถเปนศูนยการเรียนรูอยางแทจริง มิใชแคกายภาพ แตตองทุกสวนของกิจกรรมรวมทั้งบุคลากร ทุกคนตองสามารถเปน “บทเรียน” ได โดยเริ่มจากภายใน องคกรกอน มีการประชุมทำความเขาใจถึงบทบาทของทุกคน แตละคนมีความสำคัญในหนาที่ความรับผิดชอบเฉพาะของตน และเชื่อมโยงกัน เพื่อใหภารกิจสวนรวมประสบความสำเร็จ ศู น ย ฯ ป ว ย เริ่ ม เคลื่ อ นไหวอย า งเปน ทางการโดย พิจารณาจากสิ่งที่เปนอยู และมีอยูดังนี้ 1. สถานที่แหงนี้ เปนประวัติศาสตรสำคัญของการ เปลี่ยนแปลงแนวทางการพัฒนาชนบทและสังคมของประเทศ

ไทย อยางมีหลักการ อุดมการณ ที่เปนสัจธรรม 2. สั่ ง สมประสบการณ และองค ค วามรู ด า นการ พัฒนาชนบท สัมพันธกับกลุม ชุมชน มวลชนตางๆ ในชนบท ทั้งในจังหวัดชัยนาทและจังหวัดใกลเคียง มานานกวา 30 ป 2. เปนตนแบบของงานปฏิบัติการพัฒนาชนบทแบบ บูรณาการ แหงแรกในประเทศไทย 3. มีผลงานทั้งดานการวิจัย และการวิจัยเชิงปฏิบัติการ สะสมไวอยางตอเนื่อง ทั้งที่เปนรูปธรรม และเชิงวิชาการ 4. เปนแหลงกำเนิดของนักพัฒนาที่มีชื่อเสียงหลาย ทาน และบางทานยังคงทำงานพัฒนาอยางตอเนื่อง 5. มีศูนยฝกอบรมแบบครบวงจร ทั้งหองประชุม หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 73


หอพัก อาหาร บนพื้นที่ราว 33 ไร ที่สามารถเปนแหลงหาทุน เมื่อมีการโยกยายสำนักงานจากกรุงเทพฯ ไปรวมอยู หลอเลี้ยงการทำงานแบบพึ่งตนเองได ที่ศูนยฝกอบรมชัยนาท ในป 2547 ปรากฏวามีหนังสือและ เอกสาร ทั้งภาษาไทย และอังกฤษ หลากหลายหัวขอที่เกี่ยว กิจกรรม PCLC เนื่องกับงานพัฒนา มีผลงานวิจัย บทความ สารคดี มากมาย จากทุนทางกายภาพและทุนทางสังคมดังระบุขางตน หลายรอยชุด ที่สำนักงานกรุงเทพ เพียงพอที่จะตั้งเปนหอง เราจึงเริ่มการเปนศูนยการเรียนรูชุมชนอยางงายๆ โดยวิธีการ สมุดเล็กๆ ได บางเลมยังใชได บางเลมชำรุดเสียหาย ตองคัด ดังนี้ เลือกเอาเฉพาะที่เปนประโยชนจริงๆ เพื่อประหยัดเนื้อที่ 1. จัดทำหองอานหนังสือ โดยรวบรวมหนังสือและ 2. สรางฐานขอมูล เนื่องจากมูลนิธิฯ ไดปรับเปลี่ยน เอกสารตางๆ ที่มีอยู นำมาจัดเก็บในที่เดียวกัน สวนหนึ่งเปน รูปแบบการทำงาน จากการเนนงานปฏิบัติการในพื้นที่ มา หนังสือที่ไดรับบริจาคซึ่งมีหลากหลายประเภท ตั้งแตเรื่องของ เปนการกระจายงานสูดานอื่นๆ ไดแก งานวิจัย งานฝกอบรม ธนาคารแหงประเทศไทย ไปจนถึง นวนิยาย นิตยสารรายปกษ และงานคายเยาวชน จึงจำเปนตองมีฐานขอมูล โดยรวบรวม หนังสือการตูน ฯลฯ อีกสวนหนึ่งเปนเอกสารการวิจัยที่เกี่ยว ความรูและประสบการณงานพัฒนาตางๆ ใหเปนหมวดหมู ข อ งกั บ การพั ฒ นา ทั้ ง ที่ ด ำเนิ น การในนามของสถาบั น การ อาทิ เศรษฐกิจพอเพียง ประชาธิปไตย การสรางเครือขาย จัดการเพื่อชนบทและสังคม (RASMI) และรวมกับองคกรอื่นๆ ฯลฯ ทำใหเห็นวิวัฒนาการของงานผลักดันนโยบายของมูลนิธิบูรณะ 3. งานฝกอบรม-ใหคำปรึกษา เชน เรื่องกระบวน ชนบทแหงประเทศไทยฯ หลายเรื่องราว ในระยะชวง 20 ป การการมีสวนรวม และการบริหารจัดการ เปนตน หลัง ตั้งแตเรื่องขององคกรการเงินชุมชน เรื่องของการพัฒนา 4. งานคายเยาวชน เพื่อสงเสริมความเขมแข็งของ ชุมชนเมือง ไปจนถึง กรณีศึกษาการรวมกลุมของชุมชนเมือง เยาวชนดานคุณธรรมและจริยธรรม และในชนบท - คายตามรอยอาจารยปวยฯ โครงการระยะ 74 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

ยาวประจำศูนยการเรียนรู โดยยึดหลักการ คนจะสมบูรณได ดวยคุณธรรม 3 ประการ คือ ความจริง-ความงาม-ความดี - คายเยาวชนสืบสานอาชีพเกษตรกรรม เพื่อ ปลูกฝง สรางทัศนคติ และฝกปฎิบัติดานเกษตรอินทรียเปน อาชีพ - คายเยาวชนอาสาเพื่อพัฒนาประชาธิปไตย สงเสริมการเรียนรูวิถีชีวิตแบบประชาธิปไตย เพื่อนำสูความ โปรงใสทางการบริหารจัดการ และการเมือง - จั ด งานวั น สำคั ญ เพื่ อ สร า งความสั ม พั น ธ ระหวางหลายหนวยงานที่เกี่ยวของกับกลุมเปาหมาย เชน งาน วันเด็ก งานวันผูสูงอายุ เปนตน 5. การส ง เสริ ม งานด า นบริ ก ารสถานที่ สั ม มนาที่พัก-อาหาร ใหมีเอกลักษณ เพื่อการเรียนเรื่อง - ความพอเพียง - รักษสิ่งแวดลอม - การบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพและปลอดจาก สารเคมี 6. ศูนยถายทอดความรูและเทคโนโลยีหลายสาขา - เผยแพร แ นวคิ ด และส ง เสริ ม แนวทางปฏิ บั ติ

เศรษฐกิจพอเพียง - แปลงสาธิ ต การทำเกษตรอิ น ทรี ย ประกอบ แปลงผักระยะสั้น ตามฤดูกาล และแปลงผักระยะยาว เพื่อสง ผลผลิตเปนอาหารเขาโรงครัว และจำหนายถามีมากเกินความ ตองการ การทำปุยอินทรีย ทั้งปุยคอก ปุยน้ำ และเทคโนโลยีที่ ประกอบการเกษตรที่เหมาะสม ไดแกระบบกระจายน้ำฝอยยู เล็ม เตาเผาถานน้ำสมควันไม จักรยานปนน้ำ เครื่องกรองน้ำ แบบประหยัด และ แปลงสมโอขาวแตงกวา สมโอลือชื่อของ ชั ย นาทกว า 100 ต น ในป จ จุ บั น เป น สถานที่ ศึ ก ษาดู ง าน สำหรับเกษตรกรตางพื้นที่ - พันธุไมนานาชนิด สะสมพันธไมหลากหลาย ตามใจผูปลูกกวา 200 ชนิด อาทิ ปบ สุพรรณิการ กรรณิการ ตะลิงปลิง ยานนาง ยางนา ทองหลาง ทองกวาว กาหลง ฯลฯ - เรือนสมุนไพร รวบรวม สมุนไพรไดกวา 40 ชนิด - บ า นดิ น บ า นอยู อ าศั ย แนวทางสมานฉั น ท และการพึ่งตนเอง - การฝกอบรมวิชาชีพเพื่อการเพิ่มราได ลดราย จาย เชน ทำน้ำยาลางจาน สบู น้ำยาซักผา น้ำยาทำความ หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 75


คายเยาวชนสืบสานอาชีพเกษตร

76 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

การสงเสริมงานดานบริการสถานที่สัมมนา

สะอาด แบงกันใชในชุมชน เปนตน - ในป 2549 สำนั ก งานเกษตรและสหกรณ จังหวัด ไดเลือกศูนยฯ ปวย เปนพื้นที่ตนแบบสาธิตการทำ เกษตรตามแนวพระราชดำริ อำเภอเมือง ซึ่งจังหวัดชัยนาทได จัดใหมีขึ้นอำเภอละ 1 แหง รวม 8 แหง - ปฏิบัติการ สรางและสานเครือขายเชื่อมโยง กลุมตางๆ ทั้งใน และตางพื้นที่ - ศู น ย ฯ ป ว ย ได รั บ เป น ศู น ย เรี ย นรู เ ครื อ ข า ย พันธมิตร NTU ในโครงการอบรมทางไกลผานดาวเทียม ตั้งแต จัดทำหองอานหนังสือ เดือนพฤศจิกายน 2549 เปนตนไป - ประสานการดู ง านในพื้ น ที่ ของสถาบั น การ ศึกษาทั้งในและตางประเทศ 7. งานพัฒนาชุมชนในพื้นที่ - การรณรงค จิ ต สำนึ ก อาสาสมั ค ร ผ า นการ ถายทอดภูมิปญญาใหกลุมเยาวชน - การสืบสานภูมิปญญาทองถิ่น สงเสริมเยาวชน ใหเรียนรูภูมิปญญาทองถิ่น - การพั ฒ นาจิ ต สำนึ ก เยาวชน ด า นคุ ณ ธรรม ความจริง ความงาม และความดี ดานจริยธรรม ประชาธิปไตย พันธไมนานาชนิด-สวนสมโอ และความเขมแข็ง

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 77


รูปปูนปน อ. ปวย ภายในหองประชุม

78 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

- การสนั บ สนุ น ความเข ม แข็ ง ของชุ ม ชน บ า น ทาระบาด ในการกอตั้งโรงเรียนในชุมชน โดยชุมชน เพื่อชุมชน - สนับสนุนชุมชนบานวังน้ำขาว โดยรวมกับชุมชน สรางอนุสรณสถานอาจารยปวยฯ เปนแหลงทองเที่ยวประจำ จังหวัดเพื่อสงเสริมรายไดภาคประชาชน - โครงการเยาวชน “เด็กแนว...เศรษฐกิจพอ เพี ย ง” ต.บ า นกล ว ย สนั บ สนุ น กลุ ม เด็ ก และเยาวชน ต.บ า นกล ว ย อ.เมื อ ง จ.ชั ย นาท ให ร วมตั ว กั น เรี ย นรู แ ละ ปฏิบัติตนตามแนวทางพระราชดำรัส เศรษฐกิจพอเพียง และ ทำกิจกรรมที่เปนประโยชนตอตัวเองและสังคมรอบตัว นับจากเปดศูนยฯ ปวย มาแลว 5 ป มีกิจกรรมการ เรียนรูที่เปนประโยชนตอพี่นองประชาชน ทั้งชาวชัยนาท และ จังหวัดอื่นๆ ที่ผานมาและผานไป ไดเรียนรูดวยตัวเอง ได แลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ซ่ึ ง กั น และกั น อย า งสั น ติ แ ละเอื้ อ อาทร ประมาณปละ 8,000 คน ไม ว า เวลาจะผ า นไปอี ก นานเท า ไร ไม ว า สั ง คมจะ เปลี่ยนแปลงไปอยางไร แมการพัฒนาจะเปนพลวัฒน ตราบ เท า ที่ สั ง คมยั ง มี ป ญ หา ศู น ย ฯ ป ว ย ก็ จ ะยั ง คงตั้ ง ปณิ ธ าน สืบสานเจตนารมยของอาจารยปวย จากรุนสูรุนตอไปอยาง บานดิน-ศูนยถายทอดความรูและเทคโนโลยีหลายสาขา6 ไมมีที่สิ้นสุด

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 79


รายนามผูสนับสนุนการกอสรางในศูนยการเรียนรูชุมชน ปวย อึ๊งภากรณ จารึกไวที่ศูนยการเรียนรูชุมชน ปวย อึ๊งภากรณ ศูนยฝกอบรม ของมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ ปรับปรุงและเปลี่ยนชื่อ เพื่อเปนที่ระลึกถึง ศ.ดร.ปวย อึ๊งภากรณ แกนนำผูกอตั้งมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยฯ ซึ่งถึงแกอนิจกรรมเมื่อวันที่ 28 กรกฏาคม 2542 ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ตาม มติที่ประชุมคณะกรรมการอำนวยการ ครั้งที่ 3/2542 วันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ.2542

ดำเนินการโดย คณะกรรมการมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยฯ พ.ศ.2545 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15.

นายไพบูลย ดร.พนม นายไพโรจน นายศิริชัย นางอิงอร นายกิติพงศ รศ. ทองศรี นางนารี ผศ. นำยุทธ นายวิจิตร นายวิชัย น.ส. สมสุข นายเอ็นนู ศ. ดร. อภิชัย นางศิริวรรณ

วัฒนศิริธรรม พงษไพบูลย สุจินดา สาครรัตนกุล ประกฤติเวศย อุรพีพัฒนพงษ กำภู ณ อยุธยา กวิตานนท สงคธนาพิทักษ สุพินิจ รูปขำดี บุญญะบัญชา ซื่อสุวรรณ พันธเสน เจนการ

80 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

ประธานคณะกรรมการอำนวยการ รองประธานคณะกรรมการอำนวยการ ประธานคณะกรรมการบริหาร รองประธานคณะกรรมการบริหาร กรรมการ/เหรัญญิก กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ. กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ/เลขานุการ

ลานรวมใจ เครือญาติ มิตรสหายของ ศ.ดร.ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ศิษย์เก่าคณะเศรษฐศาสตร์ รุ่น 18 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ทุนสนับสนุนการสร้างรูปปั้น ศ.ดร.ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ธนาคารแห่งประเทศไทย ประติมากร อาจารย์ นนทิวรรธน์ จันทนะผะลิน นายกสมาคมประติมากรไทย คณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ปรึกษา นายไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม ประธานสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) ม.ร.ว. ปรีดิยาธร เทวกุล ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย จารึกแนวคิด/ปรัชญา อาจารย์ นนทิวรรธน์ จันทนะผะลิน และนักศึกษาคณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ทุนสนับสนุนจัดทำฐานพระพุทธรูปประจำมูลนิธิฯ นายไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม ประธานกรรมการอำนวยการมูลนิธิบูรณะชนบทแห่งประเทศไทย ฯ นายไพโรจน์ สุจินดา

ประธานกรรมการบริหารมูลนิธิบูรณะชนบทแห่งประเทศไทยฯ

ดูแลการก่อสร้าง นางศิริวรรณ เจนการ ผู้อำนวยการมูลนิธิบูรณะชนบทแห่งประเทศไทยฯ ออกแบบป้ายชื่อศูนย์ฯ นายธีรพล นิยม และทีมงาน บริษัทแปลนอาร์คิเท็ค จำกัด สนับสนุนการจัดพิมพ์หนังสือที่ระลึก “มรดกทางปัญญาฯ ของอาจารย์ป๋วยฯ” นายสถาพร-นางนารี กวิตานนท์ ลานกีฬา ลู่วิ่งเพื่อสุขภาพ ศิษย์เก่าคณะเศรษฐศาสตร์ รุ่น 18 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สนามเปตอง ร่วมแรงสร้างโดยเจ้าหน้าที่ในศูนย์ สนามบาสเก็ตบอล สภาพเดิมยังใช้ได้พอสมควร รอการปรับปรุงให้สมบูรณ์ เครื่องออกกำลังกาย นางศรีวรรณ สุจินดา

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 81


อาสาสมัครเพื่อความแตกตาง.... เมื่อเรายังเปนนักศึกษา สุนิตย เชรษฐา เครือขายอาสาสมัครเยาวชนเพื่อชนบทและสังคม (Thai RuralNET, TRN) กำเนิดจากนักศึกษากลุมหนึ่งที่ เชื่อวาพวกเขาสามารถจะเปลี่ยนแปลงโลกไปในทางที่ดีขึ้นได ก อ นที่ จ ะมาเป น TRN นั้ น ได มี ก ารรวมตั ว ของนั ก ศึ ก ษาที่ มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร เพื่ อ คุ ย กั น เรื่ อ งบทบาทของ เทคโนโลยีสารสนเทศกับระบบเศรษฐกิจสังคมในโลกยุคใหม ไมวาจะเปนสังคมเมืองหรือในระดับชนบท ในชวงนั้นเองไดมี สมาชิกคนหนึ่งไปเห็นโปสเตอรของธนาคารโลกเชิญชวนให สงโครงการไปประกวดเกี่ยวกับเรื่องการใช ICT เพื่อการพัฒนา ชนบทพอดีเหมือนกับเรื่องบังเอิญครั้งใหญ ทีมพวกเราก็เลยรีบ ระดมสมองแลวสง proposal ไปใหทางธนาคารโลก ตอนแรก ก็คิดวาคงเปนงานระดับนักศึกษาเพราะโปสเตอรมาติดไวที่ หนาคณะเศรษฐศาสตร ธรรมศาสตร 82 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

ผมเองยังจำไดวาไดรับโทรศัพทจากธนาคารโลกบอก วาทีมเราผานเขาเปน finalist หรือผูเขารอบสุดทายซึ่งก็ทำ ใหดีใจอยางมาก และแอบนึกในใจอยูวาไอที่เสนอไปนั้นเรา จะตองทำจริงๆ หรือเปลา จะทำไดหรือเปลาก็ยังไมแนใจ แตก็ ยังไมไดคิดอะไรมากนัก จนไปเขารวมงานนำเสนอโครงการ ที่เขารอบสุดทายที่จัดขึ้น ณ โรงแรมแชงกรีลา กรุงเทพฯ ซึ่ง ทำให ที ม งานช็ อ กตกใจกั น ไปหมด เพราะนอกจากจะได check-in ไปอยูที่หอง suite อยางหรูเพื่อเตรียมตัวนำเสนอใน วันรุงขึ้นแลว ยังเพิ่งรูวาจริงๆ ไมใชงานระดับนักศึกษาอยาง เดียวตามที่เคยเขาใจ แตเปนการแขงขันระดับประเทศ มีผูเขา รวมแขงขันจากองคกรพัฒนาเอกชนที่มีชื่อเสียง บริษัท IT หนวยงานตางๆ ของรัฐ เราเปนเพียงนักศึกษากลุมเดียวที่หลุด เขาไปในรอบนี้

เราลองเดิ น ดู บ อร ด ประกอบการนำเสนอของทุ ก โครงการก็พบวาเราเปนรองอยูมาก เทียบพวกเขาไมติดทั้ง ความคิด รายละเอียด เทคโนโลยี ฯลฯ ผลก็คือทีมงานทั้งหมด ไดถอดใจในคืนนั้นวาคงไมมีทางนำเสนอใหสูคนอื่นไดในวัน รุ ง ขึ้ น แต สุ ด ท า ยสมาชิ ก คนหนึ่ ง ซึ่ ง เด็ ก ที่ สุ ด ในที ม ก็ เ กิ ด ความคิดบรรเจิดขึ้นวา จริงๆ แลวเราควรจะมองวาจุดแข็งของ เราคืออะไร แลวขายโครงการดวยจุดนั้น ซึ่งแนนอนจุดแข็ง ที่สุดของเราก็คือการที่เราเปนตัวแทนของโครงการนักศึกษา ซึ่งสุดทายก็ขายความเปนนักศึกษาวาโครงการเราจะพยายาม ระดมความช ว ยเหลื อ จากนั ก ศึ ก ษามากมายให หั น มาสนใจ ทำงานพัฒนาอยางจริงจัง ไมใชสักแตจะออกคายพัฒนาแบบ เดิมๆ ตลอดไป และหากโครงการเราไดรับการสนับสนุนก็ยอม เป น สั ญ ญาณที่ ดี กั บ นั ก ศึ ก ษากลุ ม อื่ น ๆ ว า พวกเขาสามารถ

ทำงานเพื่อสังคมไดอยางจริงจังระหวางที่เรียน และสามารถหา การสนั บ สนุ น จากหน ว ยงานขนาดใหญ เช น ธนาคารโลก ไดอีกดวย ผลก็ คื อ กรรมการตั ด สิ น ชอบใจจุ ด ขายนี้ ม าก โดย ประธานกรรมการตอนนั้นคือคุณอานันท ปณยารชุน ก็ได ตกลงให TRN เปนหนึ่งในโครงการที่ชนะการประกวดและ สนับสนุนโครงการ Thai RuralNET เปนจำนวนเงินเกือบสี่ แสนบาท จากเดิมที่ขอไวเพียงราวสองแทนบาท เพราะ กรรมการเห็ น ว า ไม ส ามารถจะทำงานที่ เ สนอไว ไ ด ด ว ยงบ ประมาณที่ ข อไว ซึ่ ง เป น โครงการเดี ย วที่ ไ ด รั บ ทุ น สนุ น มาก กวาที่ขออีกเทาตัว ผมยังจำไดในวันนั้นวาในเวลาชั่วขามคืน Thai Rural NET ไดกลายสภาพจากโครงการที่ไมมีตัวตนกลายเปนโครงการ หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 83


ประชุม 29 มิถุนายน 2549

ที่เชื่อมโยงเครือขายองคกรและบุคคลชั้นนำในวงการพัฒนา เพราะธนาคารโลกพยายามส ง เสริ ม ให นั ก ศึ ก ษากลุ ม เล็ ก ๆ เขาไปอยูในแวดวงของนักพัฒนา จนทำใหสามารถเติบโตระดม ทุนทรัพยากรไดดวยตัวเองในที่สุด ในชวงแรกนั้นเมื่อโครงการ Thai RuralNET ไดรับ การสนับสนุนจากธนาคารโลก ขณะนั้นทีมงานสวนใหญเปน นักศึกษาป 3 และป 4 จึงไดขอความสนับสนุนจากคณะ เศรษฐศาสตร ธรรมศาสตร ซึ่งไดใหหองพักอาจารยมาเปน office แหงแรก ซึ่งมี อาจารยอภิชัย พันธเสน เปนที่ปรึกษา และอยูหองขางๆ ในชวงแรกนั้น TRN เปนองคกรอาสาสมัคร ล ว นๆ ผมเองก็ แ ทบไม ค อ ยได เข า เรี ย นเพราะมั ว แต ไ ปทำ กิจกรรมตางๆ ของ TRN ปรากฏว า โครงการแรกที่ เราทำล ม เหลวไม เ ป น ท า เพราะพยายามจะไปช ว ยทำเว็ บ ไซต e-commerce ให สหกรณการเกษตรขนาดใหญแหงหนึ่งใน กทม. เพราะคิดวา เขามี ส มาชิ ก อยู ทั่ ว ประเทศ หากไปช ว ยก็ จ ะได ผ ลมาก แต ปรากฏวาการพยายามทำเว็บไซตนั้นยอมทำใหสหกรณมีความ

84 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

โปรงใสมากขึ้นในเชิงขอมูล อาจทำใหความสัมพันธของสหกรณ กับสมาชิกที่มีอยูเดิมเปลี่ยนไป สหกรณก็เลยไมคอยใหความ รวมมือกับเรานัก สุดทายก็ไมไดทำอะไรเปนเรื่องเปนราว สถานการณ เ ปลี่ ย นไปเมื่ อ เราไปคุ ย กั บ กระทรวง เกษตรฯ ผานสวนงานดานยุวเกษตร เราก็เลยไดไปรวมงานกับ กลุมยุวเกษตรที่ทานัด ราชบุรี งานหลักๆ ก็คือการทำเว็บไซต ใหเกษตรกรรุนใหมที่นั่นใหสามารถเขาถึงขอมูลทางการเกษตร ที่สำคัญตางๆ ได เชน เรื่องราคา ตลาด โรคพืช และความรู ตางๆ ซึ่งก็เปนที่สนุกมาก เพราะสุดทายก็เกิดเปนเว็บไซตที่มี แตรูปและมีสีขาวดำเพื่อใหชาวบานใชไดงายๆ ขณะที่ไมเสีย เวลาในการ download มากนัก เชนขอมูลราคาก็จะเปนรูป กระดานราคา ขอมูลตลาดก็เปนรูปคนขายของ ขอมูลความรู ดานการเกษตรเปนรูปคนขี่ควาย ขอมูลการพยากรณสถานการณ ทางการเกษตรก็เปนรูปหมอดู เปนตน ผลก็คือชาวบานกลุม นั้นสามารถเขาถึงขอมูลราคาตามตลาดสำคัญๆ ที่เราทำ link ไปยังเว็บราคาของกระทรวงเกษตรซึ่งอยูลึกมากนั้น จนชาว บานสามารถเขาถึงไดอยางงายดาย ไมตองตื่นตั้งแตตีหามา

นั่งฟงราคาในสถานีวิทยุทองถิ่น และสามารถตอรองราคากับ พ อ ค า คนกลางได ดี ขึ้ น หลายสตางค ต อ กิ โ ลกรั ม ซึ่ ง ทำให ชาวบานสนใจเทคโนโลยีอินเทอรเน็ตขึ้นมาทันตาเห็น และ สามารถใชคอมพิวเตอรไดอยางมั่นใจ ในที่สุดพื้นที่ตรงนั้นก็ กลายเปนศูนยคอมพิวเตอรชุมชน ในชวงนั้นเรายังไดเริ่มอีกกิจกรรมหนึ่ง คือการพัฒนา พื้ น ที่ ท อ งเที่ ย วที่ จั ด การโดยชุ ม ชน (Community-based tourism) ซึ่งเริ่มจากการที่มีสมาชิกคนหนึ่งของ TRN ไดไป คายอาสาฯ ที่หมูบานคลองเรือ อำเภอพะโตะ จังหวัดชุมพร ซึ่งเปนพื้นที่ในปาลึกที่สวยงามมาก ชาวบานที่นั่ นอยากทำ ทองเที่ยวเชิงนิเวศแบบที่ชาวบานดูแลกันเอง สุดทายก็ไดทำ รวมกับ TRN โดยไปชวยกันศึกษาวิธีทำ พัฒนาพื้นที่ตั้งแตกรุย ทางถางหญา ขึ้นปาย ทำเอกสารแนะนำตางๆ และทำการ ตลาดงายๆรวมกับชาวบาน จนกลายเปนสถานที่ทองเที่ยวที่ จั ด การโดยชุ ม ชน มี ค นไปเที่ ย วทุ ก ๆ เดื อ นต อ เนื่ อ งมาจน ป จ จุ บั น นอกจากจะเพิ่ ม รายได ใ ห ชุ ม ชนโดยแบ ง เงิ น ไป สรางสรรคชุมชน เชน โรงเรียน หองสมุด เปนตน ยังทำให ชุมชนภูมิใจและเห็นคุณคาของพื้นที่และวัฒนธรรมการดำเนิน ชีวติ แบบงายๆ และพอเพียงของตนที่ทำใหนักทองเที่ยวทุกคน ประทับใจ อีกกิจกรรมหนึ่งที่ทีม TRN ไดลงไปทำในชวงนั้นก็คือ การชวยเครือขายปราชญชาวบานอีสาน โดยเฉพาะในพื้นที่ ของปราชญคนหนึ่ง ณ อำเภอสตึก จังหวัดบุรีรัมย เราเขาไป ช ว ยจั ด ระบบข อ มู ล และทำสื่ อ การเรี ย นรู ส ำหรั บ ชาวบ า น เกี่ยวกับวิธีการแกปญหาทางการเกษตรตางๆ โดยใชภูมิปญญา ทองถิ่น สื่อที่ทำแลวไดรับความนิยมสูงสุดก็คือ VCD ชาวบาน ที่มีเครื่องรับโทรทัศนก็มักจะมีเครื่องเลน หรือไมก็มาดูกันที่ ศูนยการเรียนรูชุมชนในเครือขายปราชญชาวบาน เราไปชวย ใหปราชญชาวบานบางคนสามารถใชคอมพิวเตอรในการทำงาน และการนำเสนองานจนดังไปทั่วประเทศ ที่สำคัญก็คือเราไป ชวยจัดกระบวนการเรียนรูระหวางปราชญชาวบาน ชาวบานที่ มีภูมิปญญาทองถิ่น และนักวิชาการเกษตร ใหมาระดมสมอง พัฒนานวัตกรรมในการแกปญหาความยากจน โดยวิถีเกษตร อินทรียในลักษณะเศรษฐกิจพอเพียง จนเกิดเปนองคความรู

ที่ เรี ยกวา ‘เกษตรปราณีตหนึ่ งไร ’ ซึ่งฮิ ตในหมู ชาวบ านทั่ว ประเทศในปจจุบัน อยางไรก็ตาม ทามกลางความสำเร็จเราก็มองเห็น ปญหาบางอยาง อาทิ การประชุ ม ชาวบ า นที่ มี เ งิ น เบี้ ย เลี้ ย งก็ ส ง ผลเสี ย เพราะทำใหชาวบานมาเอาเงิน ถาไมจายเงินก็จะไมมีชาวบานมา หรือการที่ปราชญชาวบานบางคนเมื่อมีชื่อเสียงมากๆ ก็ไมมีเวลามาดูแลชาวบาน บินไปประชุมที่นั่นที่นี่ตามคำเชิญ ของนักวิชาการและองคกรพัฒนาฯ ทั้งหลาย จนเกิดความ หางเหินในชุมชน หรือบางครั้งในเครือขายระดับชุมชนมีปญหาความ ไมโปรงใสทางการเงิน โดยใชคำวา ‘ชาวบาน’ มาเปนขออาง ที่จะไมทำบัญชีการเงินแบบงายๆ ดวยซ้ำ สุ ด ท า ยก็ เ กิ ด เป น เครื อ ข า ยใหม ที่ ชื่ อ เครื อ ข า ย นวัตกรรมชาวบาน ซึ่งสามารถแกปญหาตางๆ ที่กลาวมาได ทั้งหมด มีสมาชิกเปนชาวบานเพื่อชาวบาน และมีความยั่งยืน ทางการเงิ น โดยไม ต อ งขอเงิ น อุ ด หนุ น แบบให เ ปล า ทั้ ง หมด อีกดวย จากตัวอยางประสบการณที่กลาวมาของ TRN จะ เห็นไดวาจริงๆ แลวนักศึกษามีพลังความคิดสรางสรรค และ สามารถขับเคลื่อนใหเกิดความเปลี่ยนแปลงตางๆ ไดอยาง มากมายและยั่งยืน ปญหาที่สำคัญก็คือมุมมองของนักศึกษา จำนวนมากที่ไมเชื่อมั่นในพลังของตน และไมสามารถใช ความเปนนักศึกษาซึ่งเปนจุดแข็งที่สุดของพวกเขาใหเกิด ประโยชนได เราจึงอยากแลกเปลี่ยนประสบการณนี้ในฐานะที่ป 2550 นี้จะเปนปแหงการใหและอาสาสมัครเพื่อฉลอง 80 ป ในหลวง และเราจำเปนตองชวยกันอาสาคนละไมคนละมือ อยางสรางสรรคเพื่อทำใหประเทศชาติเราพนจากวิกฤตการณ ที่เกิดจากความโลภและความไมใสใจดูแลกันและกันในสังคม ทุนนิยม ใหคอยๆ กลายเปนสังคมที่พอเพียงและดูแลกันและ กันไดอยางมีความสุขในที่สุด

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 85


จิตอาสา... จากเชิงตะกอนความดี สูเสรีแหงครรภธรรมชาติ วินย เมฆไตรภพ รองผูอำนวยการ TRN, จิตอาสา ผูประสานงานศูนยสงเสริมการให และการอาสาชวยเหลือสังคม

ความเชื่อที่วาคนในสังคมไทยนั้นเปนปจเจกชนตัว ใครตัวมัน ไดถูกทำลายลงอยางสิ้นเชิงหลังเหตุการณภัยพิบัติ สึนามิ เหตุการณครั้งนี้ไดกอใหเกิดกระแสจิตอาสาหลั่งไหล ไปในพื้นที่ประสบภัย และยังสงผลใหเกิดการขับเคลื่อนงาน จิตอาสาตอๆ มา ในชวงที่เกิดภัยพิบัตินั้นผมไดไปทำงาน อาสาสมัครอยูที่กรุงนิวเดลี ประเทศอินเดีย ซึ่งมีความสูญเสีย จากสึนามิมากกวาประเทศไทยหลายเทา ทาง TRN ไดสงผม ไปเรี ย นรู ก ารจั ด การอาสาสมั ค รกั บ iVolunteer ผ า นทาง Global Knowledge Partnership เหตุที่ผมสมัครไปเพราะ อยากเรี ย นรู ก ารจั ด การอาสาสมั ค รในประเทศที่ ถื อ ว า ประชาธิไตยไดเบงบานที่สุดประเทศหนึ่ง มีองคกรพัฒนา 86 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

เอกชนมากที่สุดในโลก ที่อินเดียผมไดเรียนรูวาการแกปญหาตางๆ ตองเริ่ม จากการเปลี่ยนวิธีคิด โดยเริ่มจากคนรุนใหม ใหคำนึงถึงสังคม แตเปนการเปลี่ยนวิธีคิดดวยการชวนมาทำจริง ไมใชแคพูด ปากเปล า ซึ่ ง ถ า เที ย บกั บ เมื อ งไทยเรี ย กได ว า ยากกว า มาก เพราะฐานความพรอมการใหแตกตางกัน ขณะเดียวกัน ผมเพิ่งรับรูวาทานองคทะไลลามะไดลี้ ภั ย มาอยู ที่ ป ระเทศอิ น เดี ย ผมโชคดี ที่ ไ ด เข า ร ว มงานเทศน ประจำปของทานที่ Dharamsala หรือชาวทิเบตเรียกสั้นๆ วา Dhasa ตัวจริงของทานก็เหมือนในรูป หรือรอยยิ้มของทานก็ เหมือนภาพในหนังสือ ยิ่งไดทราบประวัติตอนที่ทานลี้ภัยจาก

ทิเบตมานั้นถือเปนรอยยิ้มยิ่งใหญ บรรยากาศที่ผูคนจากทั่ว โลกไดมารวมกันปละครั้งเพื่อคนหาความสงบกลางเทือกเขา หิมะนั้นเกิดขึ้นไมบอยนัก เพราะเปนความหนาวกายอุนใจ ตางจากบางเทือกเขาที่ผมเดินเลนซึ่งหนาวเหน็บ หลังจากที่ผมเสร็จสิ้นงานที่นิวเดลีซึ่งใชเวลากวาสาม เดื อ น ผมได มี โ อกาสทำงานวิ จั ย เชิ ง ท อ งเที่ ย วเกี่ ย วกั บ ผูประกอบการทางสังคมรุนใหม Youth Social Enterprise Initiative (YSEI) โดยเดินทางไปยังเมืองตางๆ ของอินเดีย เพื่อสนทนากับกลุมคนรุนใหมที่เปนผูประกอบการทางสังคม รวมทั้งไปเยี่ยมชมองคการพัฒนาเอกชนที่นาสนใจตางๆ อาทิ Swaminathan Foundation ที่เชนไนไดฟงปาฐกถาประจำ

ป 2007 โดย Professor Swaminathan เรื่อง Hunger Free ผานการใช ICTเพื่อการพัฒนา ทานผูนี้ถือไดวาเปนบิดาแหง การปฏิ วั ติ เขี ย ว นิ ต ยสาร Times ยกย อ งให ท า นเป น หนึ่ ง ในสามที่เปนชาวอินเดียผูมีบทบาทตอการเปลี่ยนแปลงโลก คนแรกคือ มหาตมะคานธี คนที่สองคือ วิโนบา บาเว และคน ที่สามคือ Professor Swaminathan ทานเนนแนวคิดไมตาง กับพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวคือการลงสูดิน ทำงานรากหญา มีชีวิตที่เรียบงาย งดงาม ทานเนนใหคนเปลี่ยนวิธิคิด จาก Khow-how เป น Do-how และท า นยั ง ชื่ ม ชนสิ่ ง ที่ ในหลวงของเราทำมาก นี้เปนหนึ่งใน 20 องคกรที่ไดไปเรียนรู ทั่วอินเดีย อันไมสามารถนำมาอธิบายไดหมด ณ ที่นี้ หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 87


หลังจากไปอยูอินเดีย 6 เดือน ตอนกลับมาผอมมาก เพราะกินแตผักแปงถั่ว ตางกับตอนไปลิบลับ หลังจากกลับมา แลวไดทำงานรวมกับเครือขายจิตอาสาที่ตองการขับเคลื่อน งานอาสาสมั ค รต อ จากช ว งสึ น ามิ ที่ ผ า นมาได สั ก ระยะหนึ่ ง ในนาม TRN ผมอาสาชวยเปนผูประสานงานเครือขายจิตอาสา ซึ่งมีพันธกิจหลักคือประสานงานจัดใหอาสาสมัครไดทำงานใน พื้ น ที่ ห รื อ องค ก รที่ ต อ งการ การจั ด กิ จ กรรมรณรงค สื่ อ สาธารณะ พัฒนาผลักดันนโยบายที่เกี่ยวกับงานอาสาสมัคร ทำวิ จั ย พั ฒ นารวบรวมองค ค วามรู ที่ เ กี่ ย วข อ ง ส ง เสริ ม การ พัฒนาศักยภาพ รวมเปน JAI ซึ่งเปนเครือขายขององคกร อาสาสมัครกวา 20 องคกร อาทิ มูลนิธิอาสาสมัครเพื่อสังคม เครือขายพุทธิกา มูลนิธิกระจกเงาที่ทำศูนย Thai Tsunami Volunteer Centre กลุมนวัตกรรมเยาวชนเพื่อสังคม (YIY) Green Peace สำนักบัณฑิตอาสาสมัคร อโชกา เครือขาย

อาสารักษธรรมชาติที่เปนการรวมตัวของกลุมคนที่ไปชวยงาน อาสาสมัครที่ยานยาว United Nation Volunteer ฯลฯ ซึ่ง ไดรับการสนับสนุนจากแผนงานพัฒนาจิตเพื่อสุขภาพ โดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) ผาน มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ ซึ่งเล็งเห็นความสำคัญของการพัฒนา จิตผานงานอาสาสมัคร จากการทำงานนี้ทำใหผมไดรูจักผูคนตางๆ หลาก หลายภาคสวน ที่มองเห็นโอกาสในการขับเคลื่อนงานอาสา สมั ค ร โดยถื อ ว า จิ ต อาสานั้ น เป น คลื่ น สึ น ามิ ลู ก ที่ ส องที่ ปลุกจิตสำนึกสาธารณะใหเกิดขึ้นอีกครั้งในสังคมไทย จึงควร รักษาจิตอาสานี้ใหมีความยั่งยืนดวยการจัดกอจกรรมตางๆ อาทิ โครงการฉลาดทำบุญ จิตอาสาปนศรัทธาและอาทร ที่เครือขายพุทธิกาเปนเจาภาพรวมกับเครือขายอื่น โดยทาง TRN ชวยทำ Website volunteerspirit เพื่อประชาสัมพันธ และรณรงคการทำงานจิตอาสาในชวงเทศกาลเขาพรรษา มี การเปดรับกิจกรรมจิตอาสาตางๆ เชน ปลูกปากับดาบตำรวจ วิชัย และพระไพศาล วิสาโล สรางบานดินใหวัด อาสานวดเด็ก สรางบานใหหมา ฟนฟูพื้นที่สึนามิ ทำใหผมไดเรียนรูมุมมองที่ แตกตางของงานจิตอาสา เชน ผูที่ตองการจะ “ให” โดยการ นวดเด็กกลับ “ได” ดวยการที่หายจากโรคไมเกรน หรือการ ไปปลูกปากับดาบตำรวจวิชัยนั้น ไมนาเชื่อวาเราเปนกลุมแรก ที่ไดไปปลูกปากับลุงดาบ ถึงแมวาทานจะมีชื่อเสียงเปนที่รูจัก กันมานานแลว

เด็กหญิงตัวนอย มองทอดไปในทะเล เนื่องในงานรำลึกครบรอยวันซึนามิ จิตอาสาเจาพระยาใสสะอาด 27 ธันวาคม 2548 88 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 89


ประสบการณค รั้ง นั้ น สง ผลให TRN มารับ งานที่มี ความทาทายมากขึ้น โดยผมเปนผูรับผิดชอบโครงการอาสา เพื่อในหลวง ซึ่งเปนหนึ่งในโครงการตามรอยเบื้องพระยุคลบาท ด ว ยความรั ก และความดี 60 ป 60 ล า นความดี นอมเกลาถวายในหลวง ของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการ สรางเสริมสุขภาพ (สสส.) เปนการรณรงคทำความดีรวมกับ เครือขายจิตอาสาตลอดเดือนธันวาคม โดยเฉพาะกำหนดให วันที่ 27 ธันวาคม 2548 เปนวันจิตอาสาครั้งแรก เพราะถือวา เปนวันแรกที่กระแสจิตอาสาไดหลั่งไหลลงไปในพื้นที่ประสบ ภัยสึนามิ ผานการใหและอาสาสมัครเปลี่ยนวิกฤติเปนโอกาส เรามองวาวันครบรอบ 1 ปสึนามินั้น ไมควรเปนการรำถึงความ สูญเสียเพียงอยางเดียว แตควรถือเปนโอกาสในการรวมกัน ทำความดีกับสังคม โดยมีการประสานความรวมมือของอาสาสมัครระหวางพังงากับกรุงเทพฯ ในกรุงเทพฯ มีการเชิญชวน องคกรตางๆ เปดโอกาสใหพนักงานของตนมาเปนอาสาสมัคร ปรากฏวามีอาสาสมัครมาจากหลายองคกร อาทิ พนักงาน บริษัทปูนซิเมนตไทยกวา 100 คน พนักงานจากสำนักงาน กองทุ น สนั บ สนุ น การสร า งเสริ ม สุ ข ภาพหลายสิ บ คน ฯลฯ อาสาเหล า นี้ ไ ด ม าทำงานเพื่ อ สั ง คมในโครงการต า งๆ อาทิ “จิตอาสาเจาพระยาใสสะอาด” รณรงคการรักษาสิ่งแวดลอม โดยการเก็บขยะในแมน้ำเจาพระยา มีการรับอาสาสมัครจุด ตางๆ 10 จุดทั่วกรุงเทพฯ ไดกวา 2,000 คน สวนที่พังงามีการจัดเสวนา “การจัดการอาสาสมัคร ในสภาวะวิกฤต” สำหรับเตรียมความพรอมในสภาวะวิกฤตซึ่ง กำลังจะกอรางเปนศูนยอาสาสมัครในสภาวะวิกฤติเร็ววันนี้ กิจกรรม “อาสามากอด” พาอาสาสมัครลงพื้นที่ประสบภัยสึ นามิชวยฟนฟูจิตใจ กิจกรรม “อาสารักษปาชายเลน” รวมกัน

ปลูกปาชายเลนเพื่อปองกันสึนามิที่จังหวัดพังงา ซึ่งเปนการ เรียนรูการทำงานแบบเครือขายที่แบงพื้นที่แตมีเปาหมายรวม กัน จากนั้ น ก็ ไ ด มี ก ารต อ ยอดเป น โครงการอาสาเพื่ อ ในหลวง ตลอดป 2549 ซึ่งประกอบดวยโครงการแรลลี่ทำดี เล็กๆ นอยๆ โครงการฉลาดทำบุญป 2 และโครงการอาสา ฟนฟูผูประสบภัยน้ำทวม โครงการแรกนั้นเกิดจากเราเห็นวา หลายครั้งผูใหญมักบอกใหเด็กไปทำดี แตเด็กเองหรือแมแต ผูใหญก็ไมรูวาจะใหไปทำดีอะไร ที่ไหน และอยางไร จึงได รวบรวมขอมูลการทำความดีในรูปแบบตางๆ เปนลายแทงการ ทำดี โดยเลือก 60 ตนแบบความดี อาทิ การบริจาคสิ่งของ การบริ จ าคโลหิ ต การทำงานอาสาสมั ค รในด า นต า งๆ (เชน ดานสิ่งแวดลอม การชวยเหลือเด็ก ชวยเหลือผูสูงอายุ เปนตน) เพื่อใหเห็นตัวอยางการทำความดีตางๆ อยางงายๆ ใกลๆ ตัว ไดรวมกับกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง มนุษยในโครงการ “คนพบความดีในใจคุณ” ชักชวนใหสงเรื่อง ราวการทำความดีที่ไดทำตั้งแตวันที่ 9 มิถุนายน 2549 ที่ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงขึ้นครองราชยครบ 60 ป ปรากฏวามีผูสงเรื่องการทำความดีตางๆ มาใหมากกวา 5,000 ราย และสงมาในรูปแบบตางๆ อาทิ บทเพลงที่แตงขึ้น ภาพถาย ฯลฯ โครงการฉลาดทำบุญป 2 จิตอาสา ปนศรัทธา และ อาทร เครือขายพุทธิกา ซึ่งป 2549 เนนที่การพัฒนาศักยภาพ แกนนำอาสาสมัคร พรอมทั้งมีกิจกรรมใหมๆ ตัวอยางเชน อาสาปลูกปะการังเทียม อาสาพบธรรมโดยพาคนลงไปทำ กิจกรรมที่สวนโมกข จัดเก็บหนังสือทานพุทธทาส อาสาขาง เตี ย ง โดยรั บ อาสาสมั ค รทำงานกั บ ผู ป ว ยระยะสุ ด ท า ย

จิตอาสาเจาพระยาใสสะอาด 27 ธันวาคม 2548 90 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

โครงอาสาฟ น ฟู ผู ป ระสบภั ย น้ ำ ท ว มภาคเหนื อ โดยมู ล นิ ธิ กระจกเงาไปตั้ ง ศู น ย รั บ อาสาสมั ค รในช ว งที่ โ คลนถล ม พาอาสาสมัครกวา 2000 รายในชวง 4 เดือนไปชวยขุดโคลน มีกิจกรรมตนแบบที่หลากหลายเกิดขึ้นอยางตอเนื่อง องค ก รเครื อ ข า ยที่ ท ำงานร ว มกั น มี ก ารประสาน ประโยนชวยเหลือกันมากขึ้น ไมแบงงานเขางานเรา ทำใหได เรียนรูความแตกตางเสมือนดอกไมหลากสี ไดพบกรณีอาสาสมั ค รหายจากไมเกรนตอนขุ ด โคลน หรื อ พี่ พ าน อ งๆ บ า น กาญจนาซึ่งเปนเด็กที่สังคมมองวาเปนปญหา ไปนอกสถานที่ พรอมทั้งสรางมิตรภาพเพื่อใหนองๆ เหลานี้มีความมั่นใจในตัว เองและลดความขัดแยงระหวางกัน ซึ่งบางทานเรียกวาเปน volunteer therapy จั ง หวะก า วกระโดดอี ก ช ว งหนึ่ ง คื อ การที่ เราได ม า ทำงานรวมกับกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษย เปนภาคีรวมในการจัดงานวันอาสาสมัครไทยและวัน สังคมสงเคราะหแหงชาติ ผลักดันแนวคิดจิตอาสาเพื่อในหลวง 60 ป 60 ลานความดี ประกอบกับเปนจังหวะที่ทานอาจารย ไพบู ล ย วั ฒ นศิ ริ ธ รรม ได เข า รั บ ตำแหน ง รั ฐ มนตรี ว า การ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงมนุษย ทานไดเล็ง เห็นถึงความสำคัญของงานอาสาสมัครและการให ทำใหการ ขับเคลื่อนเชิงนโยบายของเรามีการตอยอด ขณะเดียวกัน คณะทำงานสมัชชาสังคมไทย ที่ทำงานดานอาสาสมัครในภาค ประชาสังคม ไดมี “หองจิตอาสา” เปนที่ทำงานในกระทรวงนี้ นอกจากนี้ ศูนยสงเสริมและพัฒนาพลังแผนดินเชิงคุณธรรมได ริเริ่มนำแนวคิดของมูลนิธิฉือจี้ มาใชในการสรางกระแสจิต อาสา...พลังสรางโลก สนับสนุนจนเกิดการแพทยแนวรักษาโรค รักษามนุษย (Humanized Health Care) ในระบบสุขภาพ

ซึ่งเราเองไดรวมประสานวิทยากรกับแผนพัฒนาจิตอาสาของ กลุมนวัตกรรมเยาวชนเพื่อสังคม (YIY) จัดเวทีทำสื่อสิ่งพิมพ และวิ ดี ทั ศ น ให ห อ งจิ ต อาสา ในงานสมั ช ชาสุ ข ภาพไทย ทำใหไดเรียนรูเรื่องราวจิตอาสาในระบบสุขภาพ เดือนธันวาคม 2549 เราไดเปดตัวโครงการ “รถดี” ในวัน Young Expo เปนผลึกความดี ที่พี่ๆ นองๆ ไดรวมกัน ทำขึ้น ตอยอดไปจนถึงวันจิตอาสา ที่ไดมีการปรับ “ลายแทง ทำดี” เปน “แผนที่ทำดี” ซึ่งบอกถึงพื้นที่การทำดีตางๆ ทั่ว กรุงเทพ พรอมกับรับอาสาสมัครและเครือขายมาชวยแจก แผนที่ทำดี ในวันนั้นรถเมล 8 คันแลนไปทั่วกรุงเทพ ที่ผมประทับใจมากคือเราไดเชิญทานรัฐมนตรีวาการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย มาเปน ประธานเปดงานในวันนั้น เราคิดอยูวาพิธีเปดจะทำแบบไหนดี ปรึกษากันเลนๆ วาถาใหทานรัฐมนตรีสตารทรถเมลแลวบีบ แตร 3 ครั้ง นาจะพอเปนไปได แตถาจะใหทานขับสักหนอย น า จะดี แต เราก็ ไ ม ก ล า เอ ย ปากขอให ท า นทำ ที่ ไ หนได พอทานมาถึงก็จับพวงมาลัยสตารทรถขับออกไปและถอยกลับ ที่เดิม เปนการซอมกอนขับจริงเปดงาน หลายทานอาจเห็นใน ทีวีจากสะเก็ดขาวในคืนวันนั้น การเปดงานครั้งนี้ถือไดวาเปนการประกาศความรวม มือระหวางเครือขายจิตอาสา กระทรวงพัฒนาสังคมและความ มั่นคงมนุษย และสสส. ในการสงเสริมเรื่องจิตอาสา โดย กระทรวงเองไดมีการตั้งศูนยสงเสริมการใหและการอาสาชวย เหลื อ สั ง คม พร อ มทั้ ง รั บ ข อ เสนอการให แ ละการอาสาช ว ย เหลือสังคมเปนวาระแหงชาติ สิ่งที่ผมไดเรียนรูครั้งสำคัญคือการสอนดวยการทำให ดู ทำจริง ทำใหนานตอเนื่อง การเปดใจเรียนรูของเยาวชน

งานวันจิตอาสา 27 ธันวาคม 2549 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 91


ตอผูมีประสบการณ ผูสูงอายุที่ผานรอนผานหนาวมาแลว เปนสิ่งสำคัญมาก เราควรศึกษาเรียนรูจากคนรุนกอนๆ ที่ได เดินผานอะไรมาแลวบางเพื่อไมใหพลาดพลั้ง แตก็ไมถึงกับจะ ตองยึดติดกับความคิดเดิมๆ ซึ่งจะทำใหไมสามารถกาวออกไป นอกกรอบได เราควรมีความ “ออนเยาว” (youth) ในทุกชวง วัยของชีวิต ผมพบวาการผลักดันนโยบายนั้นตองมีจังหวะควบคู ไปกับการสื่อสารสาธารณะกับฐานขอมูลองคความรูสนับสนุน พรอมทั้งมีกิจกรรมพื้นที่ทำงานจริงรวมกับเครือขาย แนวคิด สามเหลี่ยมเขยื้อนภูเขา โครงการรถดีและแผนที่ทำดีก็เปนสิ่ง หนึ่งที่ตองการจุดประกายใหคนในเมืองคำนึงถึงการออกไป ทำความดีนอกบาน การลงสูขางลางซึ่งอยูใกลๆ ตัว

เมื่อไดทำความดีและเห็นน้ำตาเปลี่ยนเปนรอยยิ้ม เปนจิตที่ เปยมดวย “บุญ” คือความสงบเย็นและพลังแหงความดี ” พระไพศาล วิสาโล จนบัดนี้งานที่ผลักดั นมารวมกับเครื อข ายจิตอาสา และกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ได กลายเปนวาระแหงชาติไปแลว การใหและการอาสาชวยเหลือ สังคมเปนงานที่คนเดียวหรือองคกรเดียวไมสามาถทำได ผมได เรียนรูวาแกนของการทำงานรวมกันคือการทำใหตัวตนของเรา มีอยูนอยที่สุด ไมยึดติดวาเปนงานของใคร ชวยเหลือกันใน รูปแบบตางๆ เพื่อใหบรรลุถึงเปาหมายที่วาดไว ผมขออางคำ ของพี่หนูหริ่งวา “ความจริงคือสิ่งที่อาสาคนหา ความงามคือ สิ่งที่อาสาทำ ความดีคือผลของการอาสา”

“จิตอาสาคือ...จิตที่พรอมจะสละเวลา แรงกาย และสติปญญา เพื่อสาธารณประโยชน เปนจิตที่ไมนิ่งดูดายเมื่อพบ เห็นปญหาหรือความทุกขยากเกิดขึ้นกับผูคน เปนจิตที่มีความสุขเมื่อไดทำความดีและเห็นน้ำตาเปลี่ยนเปนรอยยิ้ม เปนจิตที่เปยมดวย “บุญ” คือความสงบเย็นและพลังแหงความดี ”

แผนที่ทำดี ในงานวันสังคมสงเคราะห 24 มกราคม 2550

พระไพศาล วิสาโล

มองยอนกลับไปตอนแรกเริ่ม ผมยังจำภาพที่สุนิตย มาขายไอเดียใหหลายๆ คนหลังจากที่โครงการ TRN ไดรับการ สนับสนุนจาก World Bank และมีหองทำงาน ณ หอง 201 บนชั้นสองของคณะเศรษฐศาสตร ตอนนั้นผมกำลังเรียนอยูป สอง หลั ก สู ต รปริ ญ ญาตรีเ ศรษฐศาสตรภ าคภาษาอัง กฤษ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เขาเปนรุนพี่หนึ่งปเพราะเขามา กอน แตเราเปนเพื่อนรุนเดียวกันจากโรงเรียนเซนตคาเบรียล เวลานั้นเปนชวงที่ผมไดทำกิจกรรมนักศึกษาหลากหลาย ทั้ง คายพัฒนาชนบท ทำหนัง ทำละครเวที สอนเลนหุนจำลอง จัดสัมมนาการตลาด ผมมารวมทำงานกับ TRN เปนพักๆ จนมาทำเต็มตัวหลังจากจบแลว งานชิ้นแรกๆ คืองานวิจัย ศึกษาความเปนไปไดในการตั้งมหาชีวาลัยอีสาน ซึ่งมีครูบา สุ ท ธิ นั น ทน เป น คนต น คิ ด แม จ ะไม ไ ด ดั ง หวั ง ด ว ยข อ จำกั ด ตางๆ จนตองแยกออกมา แตก็ทำใหผมไดเรียนรูมากขึ้น อัน เปนการปูฐานจิตอาสามาจนถึงทุกวันนี้ “จิ ต อาสาคื อ ...จิ ต ที่ พ ร อ มจะสละเวลา แรงกาย และสติ ปญญา เพื่อสาธารณประโยชนเปนจิตที่ไมนิ่งดูดายเมื่อพบเห็น ปญหาหรือความทุกขยากเกิดขึ้นกับผูคน เปนจิตที่มีความสุข 92 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

และคำที่ทานอาจารยไพบูลยไดกลาวไววา “ความดี นั้ น มี ม าแต อ ดี ต ยั ง คงอยู ใ นป จ จุ บั น และจะมี ต อ ไปใน อนาคต…” ผมมีความเชื่อวาจิตวิญญาณอาสาสมัครนั้นยังคงมีอยู แมมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยฯ ไดกาวเดินมาแลว 40 ป จิตอาสามีความเปนธรรมชาติ สังคมและตัวเรานั้นมีความ เปนอนิจจัง ตราบใดที่เหตุปจจัยหนอเนื้อแหงความดียังมีอยู ความดี ความงามยังคงมีอยู เพราะสิ่งนี้มีสิ่งนี้จึงมี เพราะสิ่งนี้ ไมมีสิ่งนี้จึงไมมี เพื่อใหเราทุกคนไดคนหาและเขาถึงความจริง ตอไป จิตอาสาเปนเหมือนประตูของการเดินทางสูความเปน มนุษยที่แท ขอบคุณที่ไดอานมาถึงตรงนี้ครับ ผมขอจบดวย ปจฉิมโอวาทของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาซึ่งเปนคำที่ผม ระลึกและนอมนำมาปฏิบัติอยูเสมอวา “…สัพเพวะยะธัมมา สังขารา อัปปะมาเทนะ สัมปาเทถะติ ”สังขารทั้งหลาย มีความเสื่อมไปเปนธรรมดา ทานทั้งหลาย จงทำความไมประมาทใหถึงพรอมดวยเถิด…” งานรำลึกครบรอยวันซึนามิ หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 93


งานรำลึกครบรอยวันซึนามิ

อาสาปลูกปากับดาบวิชัย 22 กรกฏาคม 2548

งานผลักดันกฎหมายและนโบาย

รมต.ไพบูลย วัฒนศิริธรรม ในซุม แผนที่ทำดี ในงานวันสังคมสงเคราะห 24 มกราคม 2550 94 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

อาสานวดเด็กปากเกร็ด วันที่ 10 สิงงหาคม 2548

งานวันจิตอาสา 27 ธันวาคม 2549

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 95


สถาบันไทยพัฒน : พันธกิจ ดานการสงเสริมธุรกิจ เพื่อสังคม ดร. พิพัฒน ยอดพฤติการ สถาบันไทยพัฒน (Thaipat Institute/Thaipat) 2034/65 (14-01/2) ชั้น 14 อาคารอิตัลไทยทาวเวอร ถ. เพชรบุรีตัดใหม แขวงบางกะป เขตหวยขวาง กทม. 10310 โทร. 02-723-4108 โทรสาร. 02-7234109 e-mail:info@thaipat.org Website: www.thaipat.org สถาบันไทยพัฒน (Thaipat Institute) กอตั้งขึ้น เมื่อวันที่ 9 กันยายน 2542 ในรูปของชมรมไทยพัฒน และ ไดเปลี่ยนแปลงสถานภาพมาเปนสถาบันไทยพัฒน เมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม 2544 เนนงานดานการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ พอเพี ย งและความรั บ ผิ ด ชอบของธุ ร กิ จ ที่ มี ต อ สั ง คม โดยมี เปาหมายที่กลุมธุรกิจเอกชน วิสาหกิจชุมชน และครัวเรือน ภาคเมือง ไดเขารวมเปนภาคีภายใตมูลนิธิบูรณะชนบทแหง ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ เมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2548 จุ ด กำเนิ ด ของสถาบั น ไทยพั ฒ น ม าจากการรวมตั ว ของกลุมบุคคลในวงธุรกิจเอกชนจำนวนหนึ่งที่ตองการคนหา วิธีในการดำเนินธุรกิจโดยไมขึ้นกับเงื่อนไขของระบบเศรษฐกิจ 96 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

ทุนนิยมซึ่งมีการแสวงหากำไรสูงสุด (Maximize Profit) เปน เปาหมายหลัก เนื่องจากกาลเวลาที่ผานมาไดเปนเครื่องพิสูจน แลววา การไดมาซึ่งกำไรสูงสุดขององคกรธุรกิจโดยไมคำนึงวิธี การวาจะทำลายวิถีที่ดีงามของสังคม ทำลายสิ่งแวดลอม หรือ ทำลายคุณคาทางดานจิตใจหรือไมนั้น ไดกลับกลายเปนตนทุน คาใชจายของสังคม ซึ่งตองมีหนวยงานทางสังคมไมแหงใดก็ แหงหนึ่ง เขาแบกรับภาระในการรักษาและเยียวยาผลกระทบ ที่เกิดขึ้นอยางหลีกเลี่ยงไมได และโดยมากมักจะเปนหนวยงาน ภาครัฐ ซึ่งก็หนีไมพนการใชภาษีของประชาชน มาชดเชยกับ ความเสียหายที่เกิดขึ้น ทั้งที่มิใชผูกอเหตุแหงปญหานั้น แนวทางการดำเนินงาน สถาบันไทยพัฒน ดำเนินงานโดยเนนกิจกรรมเพื่อ การพัฒนาตามแนวทาง “การรวมมือกัน” ทั้งที่เปนการริเริ่ม โครงการและกิจกรรมใหแกหนวยงานอื่นไดเขามีสวนรวม และ การเขามีสวนรวมในโครงการและกิจกรรมของหนวยงานอื่นที่ ดำเนินการอยูแลว เพื่อใหเกิดการตอยอดขยายผลความสำเร็จ ในแตล ะโครงการ กอ ใหเ กิด ประโยชนแ กสั ง คมอย า งเต็ ม ที่ โดยแนวทาง “การรวมมือกัน” มี 3 ระดับ คือ รวมแรง รวม ทรัพย รวมสื่อ

โครงการและกิจกรรมในสถาบันไทยพัฒน l โครงการศึกษาและจัดทำฐานขอมูล กลุม องคกร พื้นที่ ที่ใชหลักเศรษฐกิจพอเพียงในการดำเนินชีวิต เพื่อ ประโยชน ใ นการศึ ก ษา วิ จั ย ค น คว า และการเรี ย นรู เ พื่ อ ตอยอดใหเกิดกระบวนการขับเคลื่อนอยางเปนรูปธรรม นำ ไปสูการประยุกตใชปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในวงกวาง (www.sedb.org) l เผยแพร “บัญชีแกมลิง” สำหรับการแกไข และ ปองกันปญหาหนี้สิน (www.kaemling.com) l โครงการพัฒนาซีเอสอารในกระบวนการบริหาร จั ด การองค ก รธุ ร กิ จ รวมทั้ ง การสร า งเครื่ อ งมื อ สำหรั บ การ พัฒนาซีเอสอาร ภายใตหลักการ Balanced Score Card (www.thaicsr.com) l กิจกรรม bangkokfreecycle คือ ที่ชุมนุมของ คนที่ตองการ “ให” หรือ “บริจาค” สิ่งของที่มิไดใชงานแลว แกผูอื่นที่ยังสามารถนำไปใชประโยชนได (http://bangkok. mosociety.com)

นิทรรศการม.เกษตรบางเขน1

รายการพ.ศ.พอเพียง3 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 97


โรงเรียนเพื่อชีวิต (School for Life) โยธิน สมโนนนท โรงเรียนเพื่อชีวิตเชียงใหม หรือ School for Life Chiang Mai เปนสถานศึกษาสถานศึกษาสงเคราะหเอกชน 15 (3) เขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดเชียงใหม เขต 1 โดยมี มูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ เปน ผูรับใบอนุญาตโรงเรียน และไดแตงตั้งนายโยธิน สมโนนนท กรรมการอำนวยการและกรรมการบริหาร มูลนิธิบูรณะชนบท แหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ และปฏิบัติหนาที่ ผูอำนวยการโรงเรียนและเปนผูลงนามแทนผูรับใบอนุญาต ตั้ง อยู เ ลขที่ 185/3 หมู 4 ตำบลป า เมี่ ย ง อำเภอดอยสะเก็ ด จังหวัดเชียงใหม ภายในศูนยพัฒนาโครงการตามพระราชดำริ หวยฮองไคร วิสัยทัศน โรงเรียนเพื่อชีวิตเชียงใหม มีนโยบายที่มุงมันในการ จัดการศึกษาใหกับผูเรียนตามมาตรฐานการศึกษา เพื่อใหมี การพัฒนาทางดานรางกาย สติปญญา อารมณและสังคม รวม ทั้งมีทักษะของการเปนผูประกอบการเพื่อความเปลี่ยนแปลง 98 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

เป น มนุ ษ ย ที่ ส มบู ร ณ บ นพื้ น ฐานแห ง คุ ณ ธรรม 3 ประการ ความจริง ความงาม และความดี พันธกิจ พัฒนาหลักสูตรและระบบการจัดการศึกษาที่มีความ สอดคลองสัมพันธกันระหวางมนุษยกับสังคมอยางมีมาตรฐาน โดยอาศัยหลักของการเรียนรูจากการปฏิบัติจริง อาศัยการ เรียนรูตามหลักธรรมชาติ โดยธรรมชาติและเพื่อธรรมชาติ เพื่ อ นำไปสู ก ารพั ฒ นาความเป น เลิ ศ ทางวิ ช าการ และการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม พัฒนาปญญาและทักษะของการเปน ผู ป ระกอบการตามแนวพุ ท ธเศรษฐศาสตร ทั้ ง นี้ โ ดยมี จุ ด มุงหมายของการศึกษา คือการสรางปญญาใหเกิดกับผูสอน และผูเรียนเพื่อการพัฒนาเปนมนุษยที่สมบูรณบนพื้นฐานของ ปรัชญา อาจารย ดร. ปวย อึ๊งภากรณ “คนจะสมบูรณไดดวย คุณธรรม 3 ประการ ความจริง ความงาม และความดี” พรอม กับมีทักษะและความคิดที่สรางสรรคของการเปนผูประกอบ การ

ภาพกิจกรรมตางๆ ใน School for Life

ปรัชญาโรงเรียน “Wisdom can never be communicated, it has to be experienced” “ปญญาไมสามารถถายทอดได นอกจากจะตองเรียน รูจากประสบการณ” เปาหมายของการจัดการศึกษา มุงพัฒนาใหเปนโรงเรียนตนแบบในการพัฒนาแนว คิ ด ของปรั ช ญาการจั ด การศึ ก ษาที่ เ น น การสร า งทั ก ษะของ ผู ป ระกอบการบนพื้ น ฐานของพุ ท ธเศรษฐศาสตร โ ดยใช กระบวนการเรียนการสอนการเรียนรูจากการปฏิบัติจริง การมี รายไดระหวางเรียน การแกปญหาในสถานการณจริงและการ เรียนรูทักษะชีวิตที่สามารถนำไปใชในชีวิตประจำวันบนพื้นฐาน ของแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้งสอดแทรกการ เรียนรูทางดานภาษา มารยาทสังคม และเทคโนโลยี พรอมทั้ง อาศัยแหลงเรียนรูในพื้นที่และผสมผสานกระบวนการการแก สภาพป ญ หาในชุ ม ชน สั ง คม การใช ภู มิ ป ญ ญาในท อ งถิ่ น

และเทคโนโลยีสมัยใหม ทั้งนี้เพื่อมุงพัฒนาอิสรภาพทางปญญา และคุณภาพชีวิตของผูเรียนและผูสอน เพื่อนำไปสูการเปลี่ยน แปลงพฤติกรรม การมีความรู ความคิด ความสามารถ ความ ดีงาม มีคุณธรรม มีความรับผิดชอบตอสังคม มีการพัฒนา ความสามารถในการประกอบอาชีพและพัฒนาชุมชน รวมทั้ง การพัฒนาองคความรูเพื่อการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น วัตถุประสงคของการกอตั้ง คือ 1. เพื่อสงเสริมและจัดการศึกษาในระดับอนุบาล การศึกษาขั้นพื้นฐานโดยไมแสวงหาผลกำไรใหกับเด็กที่ไดรับ ผลกระทบการจากคลื่นสึนามิ เด็กเรรอน เด็กกำพรา และเด็ก ดอยโอกาสเนื่องมาจากผูปกครองยากจนไมสามารถสงบุตร หลานใหเขารับบริการการศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐได 2. เพื่อสรางโอกาสใหเด็กดอยโอกาสที่เปนเด็กกลุม เป า หมาย ได มี โ อกาสแสดงถึ ง ทั ก ษะ และความสามารถที่ สามารถนำมาใชใหเปนประโยชนตอตนเอง ครอบครัว และ สังคมได หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 99


ขั้นพื้นฐานของรัฐได การจัดการเรียนการสอน ระดับชั้นระดับชวงชั้น กำหนดหลักสูตรเปน ๓ ชวง ชั้น ตามระดับพัฒนาการของผูเรียน ดังนี้ ชวงชั้นที่ 1 ชั้นประถมศึกษาปที่ 1–3 ชวงชั้นที่ 2 ชั้นประถมศึกษาปที่ 4–6 ชวงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1–3 สาระการเรียนรู 1. ระดับกอนประถมศึกษา จัดประสบการณสำคัญ เพื่อพัฒนาดานรางกาย ดานอารมณและจิตใจ ดานสังคม และ ดานสติปญญา โดยมีสาระการเรียนรู ดังนี้ 1) เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก 2) เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและ สถานที่แวดลอมเด็ก 3) ธรรมชาติรอบตัว 4) สิ่งตาง ๆ รอบตัวเด็ก 2. ระดั บ ประถมศึ ก ษาและมั ธ ยมศึ ก ษาตอนต น กำหนดสาระการเรียนรูตามหลักสูตร ซึ่งประกอบดวย องค ความรู ทักษะหรือกระบวนการการเรียนรู และคุณลักษณะ หรือคานิยม คุณธรรม จริยธรรมของผูเรียนเปน 8 กลุม ดังนี้ 2.1 ภาษาไทย 2.2 คณิตศาสตร 2.3 วิทยาศาสตร 2.4 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 2.5 สุขศึกษาและพลศึกษา 2.6 ศิลปะ 2.7 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 2.8 ภาษาตางประเทศ

ทั้งนี้ โดยมีนโยบายการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ตามหลักการพัฒนาหลักสูตร ดังนี้ l พั ฒ นาหลั ก สู ต รสถานศึ ก ษา โดยพั ฒ นาจาก หลั ก สู ต รการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานของกระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร (National Curriculum) l ปฏิ บั ติ ต ามแนวพระราชดำริ เ ศรษฐกิ จ พอเพี ย ง (Sufficiency Economy) l บนพื้ น ฐานพุ ท ธเศรษฐศาสตร (Buddhist Economics) l การสร า งทั ก ษะของการเป น ผู ป ระกอบการ (Social Entrepreneurial Skills) l และการพั ฒ นาอิ ส รภาพทางป ญ ญา พั ฒ นา บุ ค ลิ ค ภาพและคุ ณ ภาพชี วิ ต (Wisdom & Personal Development) การจัดบขวนการเรียนการสอน l ขบวนการเรียนรูจากการปฏิบัติจริง (Learning by Doing) l การมีรายไดระหวางเรียน (Earning by Learning) l การเรียนรูจากสภาพจริง (Situation Approach) l การแก ป ญ หาในสถานการณ จ ริ ง (Problem Solving-Real Life Situation) l การบูรณาการโครงงาน/โครงการศูนยความเปน เลิศ (Centers of Excellence) l การสรางบริษัทจำลองตามโครงการ/ โครงงาน และงานอาชีพ (Mini-company) l และการเรี ย นรู ทั ก ษะชี วิ ต ที่ ส ามารถนำไปใช ใ น ชีวิตประจำวัน (Daily-life Skills)

ทั้ ง นี้ โ ดยมี เ ป า หมาย เพื่ อ พั ฒ นาสร า งศู น ย ค วาม เปนเลิศ (Centers of Excellence) ทางดานตางๆ ดังนี้ 1. ด า นการจั ด การฟาร ม ชี ว ภาพ (Center for Organic Farming) 2. ดานการทองเที่ยวเชิงอนุรักษและเชิงวัฒนธรรม (Center for Cultural Sensitive Tourism) 3. ดานชีวจิตและสรีระบำบัด (Center for Body & Soul) 4. ดานมรดกวัฒนธรรมและการพัฒนา (Center for Cultural Heritage & Development) 5. ด า นโภชนาการและสาธารสุ ข (Center for Health & Nutrition) 6. ด า นการสื่ อ สารสากล (Center for International Communication) 7. ดานเทคโนโลยีและหัตถกรรมทองถิ่น (Center for Technology Ecology & Crafts) การดำเนินงานในปจจุบัน ไดกอตั้งโรงเรียนเพื่อชีวิต พั ง งา (เบลู ก า อุ ป ถั ม ภ ) หรื อ Beluga School for Life Phang Nga ซึ่งเปนสถานศึกษาสถานศึกษาสงเคราะหเอกชน 15 (3) ขึ้นอีกหนึ่งแหงในเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดพังงา ตั้ง อยูเลขที่ 7/5 หมูบานนาใน หมู 4 ตำบลทุงมะพราว อำเภอ ท า ยเหมื อ ง จั ง หวั ด พั ง งา เป ด การเรี ย นการสอนในระดั บ อนุบาล 1-3 และคาดวาจะไดสามารถเปดในระดับประถม ศึกษาไดในปการศึกษา 2550 นี้

คุณไพบูลย วัฒนศิริธรรม, อ. ชนวน รัตนวราหะ, ศ. ดร. อภิชัย พันธเสน, คุณศิริวรรณ เจนการ ใหกำลังใจเด็กๆ จากโรงเรียนเพื่อชีวิต ที่มาเปดการแสดงศิลปะ ณ พิพิธภัณฑเด็ก กรุงเทพฯ

การปฏิบัติจริง

เรียนรูภาษากับอาสาสมัคร

3. เพื่อสงเสริมและสรางโอกาสใหเด็กดอยโอกาสที่ เปนกลุมเปาหมาย ไดเรียนรูและมีประสบการณอยางทัดเทียม ในสังคม รวมทั้งสามารถนำทักษะ ความรูและประสบการณ ที่ ไ ด รั บ ไปประยุ ก ต ใช ใ นชี วิ ต ประจำวั น เพื่ อ ให มี อ าชี พ และ สามารถอยูในสังคมไดอยางปกติสุข 4. เพื่อสรางทักษะของการเปนผูประกอบการ วิชาชีพ อิสระและทัศนะคติที่ดีในการออกไปประกอบอาชีพอิสระตาม ความสามารถ ความถนัด ความสนใจและความรูพื้นฐาน ทั้งนี้ เพื่อขจัดความยากจนไปจากชุมชนและสังคม 5. เพื่ อ ส ง เสริ ม ให เ ด็ ก ด อ ยโอกาสที่ เ ป น เด็ ก กลุ ม เปาหมาย ชาวบานและชุมชนทองถิ่น ตระหนักถึงความสำคัญ ในการเขารับการศึกษาและมีสวนรวมในการจัดการศึกษา นักเรียนกลุมเปาหมาย 1. เด็กที่ไดรับผลกระทบจากปญหาโรคเอดส โดย พอแมหรือผูปกครองเสียชีวิตจากการติดเชื้อเอดส 2. เด็กเรรอน ไมมีพอแมหรือผูปกครองดูแล หรือ พอแมหรือผูปกครองไมสามารถเลี้ยงดูและสงเสียใหเด็กเขารับ บริการการศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐได 3. เปนเด็กกำพราที่พอแมหรือบุคคลใดคนหนึ่งเสีย ชี วิ ต และไม มี ผู ป กครอง หรื อ ผู ป กครองหายสาบสู ญ หรื อ ผูปกครองไมสามารถเลี้ยงดูหรือไรสมรรถภาพ 4. เด็กที่ครอบครัวไดรับผลกระทบจากภัยธรรมชาติ เชน จากคลื่นสึนามิ 5. เด็กชาวเขาที่พอแมหรือผูปกครองยากจนไมสามารถสงใหเขารับบริการการศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐได รวมทั้ง มีการยายถิ่นฐานบอยจนเด็กไมสามารถเขาเรียนตามระบบได 6. เป น เด็ ก ที่ ด อ ยโอกาสเนื่ อ งจากพ อ แม ห รื อ ผู ปกครองยากจนและไมสามารถสงใหเขารับบริการการศึกษา

100 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 101


สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เสด็จพระราชดำเนินเปนการสวนพระองคไปยัง School for Life เชียงใหม

102 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เสด็จพระราชดำเนินเปนการสวนพระองคไปยัง School for Life เชียงใหม

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 103


ประสานพลังภายนอกรวมปฏิบัติการ

104 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 105


การพัฒนาพลังสรางสรรค ขององคกรดวยแนวคิดและ กระบวนการเอไอซี (AIC) ศ. นพ. ประเวศ วะสี

บทบาทองคกรวิชาชีพครูกับการพัฒนาการศึกษา โดยกระบวนการ AIC

ทูริด ซาโต (Turid Sato) และบิลล สมิท (Bill Smith)

ผมอนุญาตและยินดีใหมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ พิมพซ้ำบทความเรื่อง การ พัฒนาพลังสรางสรรคขององคกรดวยแนวคิดและกระบวนการ AIC ในวาระครบรอบการดำเนินงาน 40 ของมูลนิธิฯ ซึ่งผม เคยรวมเปนกรรมการดวยในชวงที่คุณไพบูลย วัฒนศิริธรรม เปนผูอำนวยการ จำไดวาในเวลานั้นเราปูพรมเรื่องแนวคิดและกระบวนการมีสวนรวมลงไปในแทบทุกภาคสวนของงานพัฒนาสังคม ที่เขมขนกวางขวางดูเหมือนจะเปนในกระบวนการจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 8 และมีคำขวัญที่ ฮิตอยูจนถึงทุกวันนี้ คือ “สังคมดีไมมีขาย อยากไดตองรวมสราง” ขอแสดงความชื่นชมที่มูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยฯ ไดยืนหยัด รวมสรางสรรคสังคมมายาวนาน และขอ อวยพรใหสามารถเดินรวมเสนทางพัฒนา นี้ตอไปอยางยั่งยืนสมดังเจตนารมยของผูรวมกอตั้ง ประเวศ วะสี

106 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

ทูริด ซาโต เดิมไดยินแตชื่อนึกวาเปนชาวญี่ปุน แตที่ จริงเปนผูหญิงชาวนอรเวย เปนนักเศรษฐศาสตร เคยทำงาน กับธนาคารโลก ทูริดไดเอาโครงการที่ธนาคารโลกใหความ ช ว ยเหลื อ ประเทศต า งๆ มาทบทวนดู แ ล ว พบว า ไม ค อ ยมี ประโยชน เ ท า ที่ ค วร จึ ง พยายามคิ ด หาวิ ธี บ ริ ห ารจั ด การ โครงการเหลานี้เพื่อใหเกิดประโยชนจริงจัง ถึงกับตัดสินใจ ไปเรียนวิชาบริหารจัดการที่มหาวิทยาฮารวารด บิลล สมิท เปนผูชายชาวอังกฤษ เคยเปนผูจัดการ ภาคพื้นสนามของบริติชแอรเวย ที่กรุงโรม บิลล สมิท พยายาม ปรับปรุงบริการภาคพื้นสนามของบริติชแอรเวยที่นั่น ระหวาง ที่ทำงานอยูนั้นมีปรากฎการณอยางหนึ่งที่เต็มไปดวยความสุข และความระตือรือรนในการทำงานดวย จนกระทั่งบริการของ บริติชแอรเวยที่นั่นไดรับรางวัลที่ 1 บิลล สมิท รูวามีพลังสรางสรรคอยางประหลาดเกิด ขึ้นในองคกร แตไมรูวาสาเหตุคืออะไร เขาพยายามคนหาคำ อธิบายจากตำราที่วาดวยการบริหารจัดการตางๆ ก็ไมพบ หรือ พบวาอธิบายไวผิดๆ

ในที่สุดเขาตัดสินใจทำปริญญาเอกโดยคนควาหาคำ อธิบายปรากฎการณที่เขาประสบจากการศึกษาวิจัยนี้ ทำให เขาคนพบคำอธิบายวาพลังสรางสรรคมหาศาลในองคกรเกิด ขึ้นไดอยางไร เขาไดตีพิมพบทความเกี่ยวกับเรื่องนี้ในวารสาร ทางวิชาการ ขางฝายทูริด ซาโต ที่ไปศึกษาวิธีบริหารจัดการอยูนั้น ไปอานพบบทความของบิลล สมิท เขาก็อุทานวา “นี่แหละ คือสิ่งที่ฉันแสวงหา!” หลังจากนั้นทูริดก็เที่ยวไปตามหาวาคนเขียนบทความ นี้อยูที่ไหน ดั้นดนไปจนพบ ผลแหงการเห็นคุณคา (Appreciation) ซึ่งกันและกัน ทำให ทูริด ซาโต กับบิลล สมิท ไมเพียงแต รวมงานกันเทานั้น ยังรวมชีวิตกันอีกดวย ทูริดกับบิลล ไดรวมกันตั้งสถาบันชื่อ Organizing for Development : International Institute หรือ ODII ตั้งอยูที่วอชิงตัน ดีซี เพื่อทำการฝกอบรมใหเกิดพลังสรางสรรคในการแก ปญหาตางๆ โดยเฉพาะปญหาที่ยากๆ โดยฝกอบรมใหประเทศ ตางๆ รวมทั้งประเทศไทยก็เคยมา เทคนิคที่เขาคนพบและ ใชอยูเรียกวา AIC

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 107


งานอบรมวิทยากร กระบวนการ AIC (จากซายไปขวา) ศิริวรรณ เจนการ, ผศ. สมชาติ เศรษฐสมภพ, บุญปลูก สวนพงษ และไพบูลย วัฒนศิริธรรม

เอไอซี (AIC) AIC (Appreciation, Influence and Control) เป น ทฤษฏี แ ละวิ ธี ก ารบริ ห ารที่ พั ฒ นาขึ้ น โดยบิ ล ล สมิ ท ดังกลาวขางตน กอนที่จะคนควาและนำเสนอทฤษฎีและวิธี การบริหารแบบใหมนี้ บิลล สมิท ไดศึกษาวิเคราะหทฤษฎี และวิธีการบริหารตางๆ ที่มีมากอน พบวาโดยปกติใชไดผล เมื่อเกี่ยวของกับการบริหารโครงการหรือองคกรเดี่ยวๆ เชน การสรางถนน สรางโรงงาน และบริษัท แตทฤษฎีและวิธีเชนนี้ ใช กั บ งานพั ฒ นาชนบทหรื อ ชุ ม ชนไม ค อ ยได ผ ล เพราะงาน พัฒนาชนบทยุงยากสลับซับซอนมากกวางานเชิงเดี่ยวเหลานั้น มาก งานพัฒนาชนบทมีบุคคล องคกร และเรื่องที่มาเกี่ยวของ หลายมิติ เชน 1. การพัฒนาคน และองคกรชุมชน 2. ทรัพยากรธรรมชาติ มีหนวยงานราชการเขามา เกี่ ย วข อ งหลายหน ว ย เช น กรมที่ ดิ น กรมป า ไม กรม ชลประทาน 3. งานทางเกษตร เช น กรมส ง เสริ ม การเกษตร กรมสงเสริมสหกรณ 4. มหาดไทย เช น กรมการปกครอง กรมการ พัฒนาชุมชน 108 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

5. ธุรกิจ และการเงิน เชน ธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณการเกษตร ผูใหกูเงินนอกระบบ 6. กระทรวงศึกษาธิการ มีหลายกรมซึ่งประสาน งานกันยาก 7. องคกรการพัฒนาเอกชน (NGOs) 8. นโยบายรัฐบาล ฯลฯ การใชทฤษฎีและวิธีการบริการแบบเดิมมาใชในงาน พั ฒ นาชนบทและชุ ม ชน จึ ง เป น อุ ป สรรคต อ การพั ฒ นาใน ประเทศโลกที่สามเรื่อยมา ระบบกับองคประกอบ ระบบใดระบบหนึ่ง เชน ระบบ ชนบท มี บุ ค คล องค ก ร สถาบั น และป จ จั ย ต า งๆ มากมายและหลายมิติ ซึ่งมีความเขาใจ วัตถุประสงค วิธีการ และการเรียนรูแตกตางกัน ควบคุมกันไมได แตมีผลกระทบตอ ระบบทั้งหมด การบริหารจัดการของแตละองคกรหรือสถาบันไมมี พลังเพียงพอที่จะทำใหระบบเคลื่อนไปในทางที่เปนคุณ มี ความจำเปนที่องคประกอบทุกสวนในระบบมีกระบวนการเรียน รูรวมกันอยางมีปฏิสัมพันธจากการปฏิบัติจริง (interactive learning through action) ระบบทั้ ง ระบบจึ ง จะมี พ ลั ง

ภาพถายระหวางกระบวนการ AIC (ยืน)ศ.นพ.ประเวศ วะสี (จากซายไปขวา) ประสาน มฤคพิทักษ, ศิริวรรณ เจนการ, นพ.วิจารณ พานิช

สรางสรรคเพียงพอที่จะกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงอยางเปน คุณคา บุคคลและองคกรตางๆ เหลานี้มีความเขาใจไปคนละ ทาง มีจุดมุงหมายและวิธีปฏิบัติคนละอยาง แตมีผลกระทบ หรื อ อิ ท ธิ พ ล (influence) ถึ ง กั น และกั น ทั้ ง ทางบวกและ ทางลบ และไมมีใครควบคุม (control) ใครได ตางคนตางทำ ไปคนละทางสองทาง อาจจะไมพอใจหรือขัดแยงและไมเห็น คุณคา (appreciation) ซึ่งกันและกัน หรืออาจจะเกลียดกันไป เลย ระบบพัฒนาชนบททั้งระบบจึงยุงยาก สับสน ขัดแยง ไมมีพลังสรางสรรคเพียงพอ และยากตอการบริหารจัดการให ไดผล สภาพของคนชนบทจึงไมไดดีขึ้นหรือกลับเลวลง ที่กลาวมาคือตัวอยางความยากของงานพัฒนา AIC เปนทฤษฎีและวิธีการบริหารจัดการงานที่ยากๆ และสลับซับซอนเชนนี้ การที่จะเขาใจและเห็นคุณคาของ AIC ควรทำความเขาใจเรื่องราวตางๆ บางเรื่องดังตอไปนี้เสียกอน

โครงการพัฒนาอยางใดอยางหนึ่ง เชน สรางถนน สรางแหลง น้ำ ฯลฯ และหาแหลงสนับสนุนทางการเงิน ลงมือทำงาน หา ผูเชี่ยวชาญมาสมทบเพิ่มขึ้น ทำโครงการเสร็จ ประเมินผลวา ประสบผลสำเร็จเปนที่พอใจของผูเชี่ยวชาญหรือนักพัฒนาและ ของผูใหเงิน แตชีวิตชาวบานไมดีขึ้น! วิธีการดังกลาวขางตนเปน “ประเพณีแหงการใช เหตุผล” (rationalistic tradition) ซึ่งมองโลกแยกออกเปน สวนๆ และวิเคราะหหาความจริงโดยแยกเปนสวนๆ โดยเชื่อ วานี่คือความจริงหรือความมีเหตุผล ทำใหไมเห็นวิธีอื่น แต โ ลกของชาวบ า นแตกต า งโดยสิ้ น เชิ ง จากโลก ของผูเชี่ยวชาญ โลกของชาวบานเกิดขึ้นจากและดำรงอยูในปฏิสัมพันธ ทางสังคมระหวางกัน เรื่องนี้เปนเรื่องของวิ ธี ก ารแบบแยกส ว น (compartmentalization) กั บ ความเป น จริ ง แบบองค ร วม (holistic) นั่นเอง 1. ผูเชี่ยวชาญโครงการ “ความมีเหตุผล” กับโลก โลกของผูเชี่ยวชาญนั้นเปนโลกแบบแยกสวน แหงความเปนจริงของชาวบาน แตโลกหรือความเปนจริงของชาวบานนั้นเปนองค ผูเชี่ยวชาญก็ดี นักพัฒนาก็ดี ใช “ความมีเหตุผล” ทำ รวม หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 109


เรื่องนี้เปนเรื่องที่ผูหวังดีหรือผูเชี่ยวชาญใดๆ พึงสังวร ทำงานและเรีย นรูร ว มกัน โดยคำนึง ถึ ง มิติ ท างสัง คม จิ ต ใจ วิทยาศาสตร และการบริหารจัดการ ไวเมื่อคิดจะ “เขาไปพัฒนา” ชนบทจากภายนอก วิธีนี้ไดรับการนำเสนอไปใชในการแกปญหาหรือพัฒนา 2. ความแตกตางระหวาง “ความรู” กับ “การ เรื่ อ งยากๆ ในหลายประเทศ และพิ สู จ น ว า ทำให เ กิ ด พลั ง เรียนรู” สรางสรรคจริง ผู เชี่ ย วชาญมี ค วามรู ห รื อ ข อ สนเทศและต อ งการ ที่มาของตัวยอ AIC คือ ถายทอดความรูนั้นใหชาวบาน ประดุจชาวบานเปนเครื่อง A = Appreciation เทป ที่จะบันทึกความรูนั้นไปอยางที่ไดรับมา ฟลอเรส (Flores) I = Influence และทริสต (Trist) กลาววานี่เปนความคิดแบบตะวันตกใน C = Control เรื่องความรู และการมองชาวบานเปนแบบเครื่องเทปที่จะรับ มีขั้นตอนการปฏิบัติดังนี้ ถายทอดความรูไปแบบนั้น 1. มี ก ารสร า งที ม วิ ท ยากรหรื อ ผู ป ระสานงานที่ แตในความเปนจริงชาวบานเรียนรูจากปฏิสัมพันธ เขาใจเทคนิค AIC ทางสังคมผานการกระทำ (interactive learning through 2. ตองรูวาใครมีสวนไดเสีย (stakeholders) ใน action) ระบบที่กำลังจะทำงาน ตองกำหนดรูวาใคร (กลุมหรือองคกร “ความรู” ของผูเชี่ยวชาญ กับ “โลกแหงการเรียนรู” ใด) บางที่จะมีสวนไดเสีย หรือใหผลดีผลรายกับระบบที่กำลัง คิดปรับปรุง ของชาวบานจึงแตกตางกัน 3. รวมวางแผน เชิญผูแทนของทุกกลุมที่มีสวนได การที่ บุ ค คลภายนอกไป “สอน” ชาวชนบทจึ ง ไมไดผล แตควรไปเปนผูมีสวนรวมในการเรียนรูรวมกัน หรือ สวนเสียมาวางแผนรวมกัน ในการวางแผนรวมกันนี้มี 3 ชวง คือ เรียนรูจากปฏิสัมพันธทางสังคมผานการกระทำ ก. ชวงซาบซึ้งคุณคา (Appreciation) : สราง นี้ เปนเหตุ ผลที่ว าทำไมการพัฒนาจึ งมีความสำเร็จ เฉพาะทางวัตถุซึ่งทำไดงายกวา แตขาดการปรับปรุงเปลี่ยน นโยบาย ข. ชวงปฏิสัมพันธ หรือ อิทธิพลระหวางกัน แปลงความรูความสามารถในการดำรงชีวิตใหดีขึ้นอยางแทจริง ซึ่งทำไดยากกวา และทำไมไดโดยการไปสอนความรู ซึ่งไมใช (Influence) : สรางแผนกลวิธี ค. ช ว งควบคุ ม ไปสู ก ารกระทำ (Control) : กระบวนการเรียนรูของชาวบาน 3. การเปลี่ ย นแปลงสร า งสรรค โ ดยปฏิ บั ติ ก าร สรางแผนปฏิบัติงาน รวมกัน (Social Engagement) และวิถีทางแหง มีรายละเอียดดังนี้ การทำใหเกิดพลังสรางสรรค (Empowerment ก. ชวงซาบซึ้งคุณคา (Appreciation) Approach) ผู เข า ร ว มทั้ ง หมดปนกั น ไม ว า จะเป น รั ฐ มนตรี ในระบบที่ ส ลั บ ซั บ ซ อ น ที่ มี บุ ค คลและองค ก ร นักวางแผน นักพัฒนาเอกชน ฯลฯ ถากลุมใหญไปก็แบงกลุม เกี่ยวของดวยจำนวนมาก การเรียนรูของแตละบุคคลและของ เล็กลงพอที่ทุกคนจะมีสวนรวม ใหทุกคนไดพูดถึงระบบและ แตละองคกรมักจะแยกกัน หรือถามีความเปนปฏิปกษตอกัน ความคิดหรือจินตนาการของแตละคนวาอยากเห็นสิ่งที่ดีงาม ดวยความไมรักและความไมรู จะทำใหไมมีพลังพอที่จะเอา อะไรเกิดขึ้น ชนะความยากจนของระบบทั้ ง หมดที่ จ ะเคลื่ อ นตั ว ไปอย า ง มีกติกาวา หาม วิพากษวิจารณสิ่งที่คนอื่นใหความ สรางสรรค เห็น แตละคนตองเคารพและเห็นคุณคาในความคิดของคนอื่น แตตองอาศัยปฏิบัติการรวมกันดวยความรัก หรือการ กติกาตรงนี้จะปลดเปลื้องความกลัวหรือภยาคติ ตาม เห็นคุณคา (Appreciation) ซึ่งกันและกัน และเรียนรูรวมกัน ปกติบุคคลจะมีความสัมพันธอยางไมเทาเทียมกัน ดวยวัย วุฒิ จากการกระทำจริงๆ จึงจะทำใหระบบทั้งระบบเรียนรูและเกิด ซี วรรณะ อำนาจ ตำแหนง การวิพากวิจารณกันในชวงนี้จะ พลังสรางสรรคไดอยางเพียงพอที่จะเปลี่ยนแปลงไปสูความดี ทำใหเกิดความกลัว และไมกลาแสดงออก วิธีการบริหารจัดการแบบ AIC คำนึงถึงปญหาและ การไดแสดงออกซึ่งความคิดหรือจินตนาการโดยไม หลักการดังกลาวขางตน และสรางวิธีการที่ใหทั้งระบบเขามา ถูกวิพากษวิจารณ แตตรงขาม โดยคนอื่นเห็นคุณคา ยอมกอ 110 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

ใหเกิดอิสรภาพ หลุดจากความบีบคั้น เปนความสุข มีความรัก กัน เกิดพลังสรางสรรคขึ้น สิ่ ง ที่ ทุ ก คนพู ด มาเมื่ อ ร อ ยเรี ย งขึ้ น ก็ คื อ นโยบาย ของระบบ เปนนโยบายที่คนในระบบชวยกันสรางขึ้น ไมใช นโยบายที่ผูเชี่ยวชาญ 2-3 คน ชวยกันสรางขึ้น เมื่อเปนโยบาย ที่คนในระบบไดคิดหรือฝนรวมกัน จึงเปนพันธกรณีที่มีพลัง มากที่คนในระบบจะชวยกันทำใหเปนจริง ในช ว งนี้ อ าจจะให แ ต ล ะคนเขี ย นความคิ ด หรื อ จิ น ตนาการออกมาเป น ภาพ แล ว เอาติ ด ไว ข า งฝาหรื อ บน บอรด การเขียนและการเห็นภาพเปนการกระตุนสมองซีก ขวา อันวาดวยสุนทรียะ ความรัก การเห็นคุณคา ซึ่งเปนการ รวมคนเข า มาหากั น ได ดี ก ว า การใช ส มองซี ก ซ า ยซึ่ ง ทำให แตกแยก ข. ช ว งปฏิ สั ม พั น ธ ห รื อ อิ ท ธิ พ ลระหว า งกั น (Influence) ในชวงแรกทุกคนมีอิสรภาพเต็มที่ คือ มีจินตนาการ ไดเต็มที่ แตในความเปนจริงนั้นมีขอจำกัด กลุมหรือองคกร ตางๆ มีผลกระทบตอกัน (Influence) ทั้งทางบวกและทางลบ ในชวงที่สองนี้เปนการทำงานรวมกันภายใตขอจำกัด ที่จะทำใหอิทธิพลตอกันนำไปสูการสรางสรรค ในช ว งนี้ แ บ ง กลุ ม ย อ ยเหมื อ นกั น แต ก ลุ ม ไม ค ละ ปะปนกันเทาในชวงแรก แตเปนกลุมตามงานหรือตามความ ถนัดมากขึ้น สมาชิกในกลุมพูดหรือเขียนรูป วาถาจะใหสิ่งที่ ชวยกันคิดไวในชวงแรกเปนความจริง จะตองทำอะไรบางใน ชวงแรก เพราะรูวาอะไรทำได อะไรทำไมได เมื่อไดรายการสิ่งที่ควรทำออกมาวามีกี่อยาง อะไร บาง สิ่งเหลานี้ก็คือแผนกลวิธี (Strategies) ในการทำในชวงนี้ เนื่องจากสมาชิกไดผานชวงแรก คือ การเห็นคุณคาของระบบทั้งหมดมากอน จึงมีพลังมาก ในการคิดทำกลวิธี ผู มี ส ว นได ส ว นเสี ย ทุ ก กลุ ม รู ว า ต อ งการทำหรื อ ไม ตองการทำอะไร และสิ่งที่พูดออกไปอยางเปดเผยไดกลาย เปนพันธะทางสังคมที่จะตองทำตามที่ตกลงไว หลังจากชวงนี้ ควรมีการเสนอ คณะทำงาน กลุม หนึง่ โดยเลือกมาจากสมาชิก คณะทำงานไปตรวจตราเรียบเรียง สิ่ง ที่ ต กลงกั น ไว ทั้ ง นโยบายและแผนกลวิ ธี และส ง ให ผู ที่ มี สวนเกี่ยวของที่ไมไดเขาประชุมดวย ถ า มี อ ะไรต อ งค น คว า ศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม ก็ จั ด ทำเสี ย ให เรียบรอย จะไดนโยบาย และแผนกลวิธีที่ดี

ค. ชวงควบคุมไปสูการกระทำ (Control) ชวงนี้หมายถึง การแปลแผนกลวิธีไปสูแผนปฏิบัติ การลงมือปฏิบัติ การติดตามประเมินผลการปฏิบัติ แตละกลุม หรือสถาบันที่เกี่ยวของไปทำแผนปฏิบัติ โดยมีตัวแทนของผูมี สวนไดสวนเสียรวมดวย ในการกระทำดั ง กล า วจะเกิ ด การปรั บ ปรุ ง เปลี่ ย น แปลงโดยทุกกลุมหรือสถาบันในระบบมีการประสานสัมพันธ กันดวยดี

สาเหตุที่วิธี AIC ใชไดผลดี โดยวิธีนี้ทุกกลุมหรือสถาบันไดเรียนรูจากการทำงาน รวมกัน ไดมีการรวมอุดมการณหรือคุณคาดวยกัน เรียนรูจาก กัน คนพบปจจัยรวมจากการมีชีวิตและทำงานดวยกัน คนพบ วาแตละคนมีทักษะในการเจรจาตอรองเพื่อใชทรัพยากรที่มี รวมกัน เพื่อบรรลุสิ่งที่ตองการรวมกัน และเปนการใหสัญญา ตอสาธารณะถึงพันธสัญญาที่จะลงมือกระทำการในสิ่งที่เขาใจ และเห็นคุณคารวมกัน ในกระบวนการ AIC มีการใชสมองทั้งซีกซายและซีก ขวา มีการใชทั้งธรรมะ วิทยาศาสตร และการบริหารจัดการ กลาวคือ ใชวิธีการอันเปนองครวม (Holistic Method) สำหรับสิ่งที่มีความเปนองครวม (Holism) การรับ ฟงคนอื่นและเห็นคุณคาของคนอื่น ตองการธรรมะอยางยิ่ง คือ ตองใชทั้งเมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา ขันติ โสรัจจะ มุ ทิ ต า ก็ คื อ Appreciation นั่ น เอง เมื่ อ ใช ม ากก็ ทำใหเกิดความสุขและพลังสรางสรรคในองคกร วิธี AIC เปนการปฏิบัติธรรมไปดวย ถามีการเจริญสติ เจริญสมาธิ (Meditation)เปนเนืองนิตย ยิ่งทำใหกระบวนการ AIC ไดผลยิ่งขึ้น

การประชุมคณะทำงานประชาคม หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 111


ความรวมมือระหวางรัฐ และเอกชน :ประสบการณ การทำงานกับ บชท. ชินชัย ชี้เจริญ* กอนอื่นตองขอขอบคุณ ผูอำนวยการมูลนิธิบูรณะ ชนบทแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ คุณศิริวรรณ เจนการ ที่ใหเกียรติผมเขียนบทความลงตีพิมพในหนังสือที่ ระลึ ก 40 ป มู ล นิ ธิ บู ร ณะชนบทฯ ซึ่ ง เมื่ อ ผมได อ า น วัตถุประสงคและโครงรางของหนังสือแลว ถือไดวาเปนหนังสือ ที่มีคุณคาอยางยิ่งเพราะเปนการบันทึกกระบวนการทำงาน และผลการดำเนินงานของมูลนิธิฯ อยางเปนระบบโดยผูอยูใน เหตุก ารณ ซึ่ ง หนัง สือ เลม นี้ จ ะเปน ประวัติ ศ าสตร และเปน จุดเดนในการดำเนินงานของมูลนิธิฯ ที่จะถายทอดประสบการณการทำงานที่ผานมาออกเปนความรูใหแกผูที่เกี่ยวของได ใชประโยชนตอไป สมแลวที่มูลนิธิฯ แหงนี้ไดรับการยกยองให เปนมูลนิธิชั้นนำและเปนสถาบันหลักสถาบันหนึ่งในหมูองคกร พัฒนาเอกชนในประเทศไทย เนื่องจากวัตถุประสงคของหนังสือฉบับนี้ตองการ ผูกเนื้อหาเขากับเหตุการณในการทำงานของมูลนิธิฯ ที่ผานมา และเนื้อหาความรวมมือระหวางรัฐและเอกชนที่ผมจะนำมา เลาสูกันฟง ซึ่งเกี่ยวกับบางตอนในชีวิตการศึกษาและชีวิตการ

ทำงานของผมที่เกี่ยวของกับมูลนิธิฯ ผมจึงขออนุญาตปูพื้นสิ่ง ที่ผมไดพบไดเห็นไดสัมผัสกับมูลนิธิฯ ทั้งในเชิงนามธรรมและ รูปธรรมกอน เริ่มตนจากนามธรรมกอน ในขณะที่ผมกำลังศึกษา ดานสังคมสงเคราะหศาสตร วิชาที่ผมโปรดปรานวิชาหนึ่งใน คณะสังคมสงเคราะหศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร คือ วิชาความมั่นคงทางสังคม (Social Security) วิชานี้ทำใหผม ได สั ม ผั ส กั บ ข อ เขี ย นของผู ก อ ตั้ ง มู ล นิ ธิ บู ร ณะชนบทฯ คื อ อาจารยปวย อึ๊งภากรณ คือ เรื่อง คุณภาพแหงชีวิต ปฏิทิน แหงความหวัง : จากครรภมารดาถึงเชิงตะกอน ซึ่งนาจะเปน ความหวั ง และความฝ น ของผูที่ เข า มาทำงานด า นสวั ส ดิ ก าร สังคมและสังคมสงเคราะห ตลอดจนผูสนใจในสาขาที่เกี่ยวของ ที่อยากเห็นระบบของสังคมไทยที่กอใหเกิดความมั่นคงของคน ในแผนดินไทยและประชากรในประชาคมโลกไดเปนอยางดี ในดานรูปธรรมนั้นหลังจากจบการศึกษา ผมมีโอกาส ทำงานกับองคกรเอกชนระหวางประเทศ (องคกรอนุเคราะหเด็ก) ไดสัมผัสกับศิษยเกามูลนิธิฯ อยางเชนพี่พิสิษฐ ชาญเสนาะ

ที่เขามาทำงาน ณ องคกรเดียวกัน ซึ่งยุคนั้นเปนยุคที่มูลนิธิฯ ชะลอกิ จ กรรมภาคสนาม ทำให นั ก พั ฒ นาฝ มื อ ดี ห ลายคน กระจายออกไปทำงานยังองคกรเอกชนตางๆ และในชวงนั้น ผมไดมีโอกาสใชบริการศูนยฝกอบรมของมูลนิธิฯ ที่จังหวัด ชัยนาท ทำใหเห็นบทบาทการทำงานของอดีตศิษยเกาฝมือ เยี่ยมและเนื้องานของมูลนิธิฯ พอสมควร เมื่อรับราชการที่กรมประชาสงเคราะห เปนโชคของ ผมที่ไดมาทำงานกับหนวยงานที่ทำหนาที่ใหการสงเสริมการ ดำเนินงานขององคกรเอกชน ไดแก ฝายสงเสริมองคการสังคม สงเคราะหเอกชน กองวิชาการ ซึ่งพัฒนามาเปนสำนักงาน คณะกรรมการสงเสริมการจัดสวัสดิการสังคมแหงชาติ ตาม พระราชบัญญัติสงเสริมการจัดสวัสดิการสังคม พ.ศ. 2546 ที่ ผมรับราชการอยูในปจจุบัน ทำใหมีโอกาสสัมผัสกับมูลนิธิ สมาคมและองคกรเอกชนตางๆ รวมทั้งมูลนิธิบูรณะชนบทแหง ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ และเปนความภาคภูมิใจ ที่ชวงสมัยหนึ่งที่ผูบังคับบัญชาของผม คือ คุณหญิงสมศรี กันธมาลา อดีตอธิบดีกรมประชาสงเคราะห ไดเปนประธาน กรรมการอำนวยการมูลนิธิฯ

การปรับเปลี่ยนรูปแบบการทำงานของมูลนิธิตั้งแต ป 2533 เปนตนมา ที่เนนจากงานภาคสนามเปนการผลักดัน นโยบายและการสรางความเขมแข็ง ไมวาจะเปนการบริหาร จัดการ การพัฒนาบุคลากร การอบรม การพัฒนางาน อาสาสมัคร การระดมทุน การสงเสริมบทบาทของธุรกิจในงาน พัฒนาชนบท การวิจัย การจัดการความรู และการมีบทบาท ประสานงานกับภาครัฐและเอกชนเพิ่มมากขึ้น ทำใหงานของ มูลนิธิฯ มีความของเกี่ยวกับกรมประชาสงเคราะห กระทรวง แรงงานและสวัสดิการสังคม ซึ่งตอมาเปนกระทรวงการพัฒนา สังคมและความมั่นคงของมนุษยมากขึ้น การที่รูจักกัน มีสายใยเชื่อมโยงกันไมทางใดทางหนึ่ง จะเป น ป จ จั ย หนึ่ ง ที่ จ ะก อ ให เ กิ ด ความร ว มมื อ ที่ ดี ต อ กั น ได ไมเฉพาะบุคคล แตรวมถึงความรวมมือระหวางรัฐและเอกชน ดวย ซึ่งถือเปนประเด็นเริ่มแรกของความรวมมือที่เจาหนาที่ ของรัฐและเอกชนพึงปฏิบัติ และเมื่อไดมีโอกาสพบปะพูดคุย ประชุมปรึกษาหารือ ไดเรียนรูแนวคิดและสื่อใหเห็นถึงเจตนา ที่ดีตอกันอยางกัลยาณมิตร และหากไดมีการปฏิบัติงานรวม กันยอมทำใหความรวมมือดีขึ้นเปนทวีคูณ

* นักพัฒนาสังคม 8 ว ปฏิบัติหนาที่รองผูอำนวยการสำนักงานคณะกรรมการสงเสริมการจัดสวัสดิการสังคมแหงชาติ สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย 112 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 113


ความร ว มมื อ ด า นแนวคิ ด จากประสบการณที่ได สั ม ผั ส กั บ มู ล นิ ธิ ฯ เริ่ ม จากการที่ ไ ด มี โ อกาสพู ด คุ ย กั บ คุ ณ ศิริวรรณถึงความมุงมั่นของกรมประชาสงเคราะห ที่อยากเห็น บทบาทของรัฐในการสงเสริมการดำเนินงานขององคกรเอกชน ระบบการประสานงานและการเกื้อกูลกันเองระหวางองคการ เอกชน การประสานงานระหวางรัฐและเอกชน การสราง ความเขมแข็งใหแกองคกรเอกชนในรูปแบบตางๆ ไมวาจะเปน บุคลากร งบประมาณ วัสดุอุปกรณ วิชาการและการบริหาร จัดการ ทำใหตางฝายตางมีจุดรวมกันในแนวคิดที่อยากเห็น อยากเปน ความรวมมือดานการอบรม ในสมัยนี้ไดมีการนำ เครื่องมือการวิเคราะหหลังการปฏิบัติงาน (After Action Review, AAR) มาใช ในกระบวนการจั ดการความรู อยาง กวางขวาง แตกอนที่มี AAR นั้น กรมประชาสงเคราะหไดรวม กับมูลนิธิฯ ในการนำเทคนิค AIC (Appreciation Influence and Control) มาใช มีการจัดอบรมใหกับบุคลากรของกรม ประชาสงเคราะห และภาคสวนที่เกี่ยวของเปนจำนวนมาก ถือเปนความรวมมือทางวิชาการและมีการนำแนวคิดดังกลาว ไปใชในการทำงานทั้งในระดับหนวยงานและประชาชนในพื้นที่ ตาง ๆ อยางกวางขวาง

114 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

ความร ว มมื อ ด า นพั ฒ นาบุ ค ลากร มู ล นิ ธิ บู ร ณะ ชนบทฯ ไดมีความพยายามที่จะพัฒนาศักยภาพคนทำงานให เปนนักพัฒนามืออาชีพ มีการศึกษาและสัมมนารับฟงความคิด เห็นในเรื่องดังกลาว ถือเปนความพยายามที่ดีของภาคเอกชน ในการสรางความเขมแข็งใหแกผูปฏิบัติ ซึ่งสอดรับกับรัฐบาลที่ บรรจุเรื่องการพัฒนาบุคลากรขององคกรสาธารณประโยชน และการรับรองมาตรฐานของนักสังคมสงเคราะห อาสาสมัคร ไว ใ นพระราชบั ญ ญั ติ ส ง เสริ ม การจั ด สวั ส ดิ ก ารสั ง คม พ.ศ. 2546 และการเสนอรางพระราชบัญญัติวิชาชีพสังคมสงเคราะห พ.ศ. .... ในปจจุบัน ความรวมมือดานอาสาสมัคร อาสาสมัครวิชาชีพ เปนความพยายามหนึ่ งของมูล นิธิฯ ที่อยากเห็นผูป ระกอบ อาชีพธุรกิจ นำความรูความสามารถของตนเขาไปมีสวนรวม เปนอาสาสมัครในการพัฒนาชนบท อาสาสมัครวิชาชีพของ มูลนิธิบูรณะชนบทฯ ไดเขามามีสวนรวมกับรัฐตั้งแตป 2544 ในโอกาสที่สหประชาชาติประกาศใหเปนปอาสาสมัครสากล โดยปรากฏในทำเนียบอาสาสมัครของประเทศไทย และมี โควตาใหมูลนิธิฯ ในการเสนออาสาสมัครวิชาชีพเขารับโล ประกาศเกี ย รติ คุ ณ เป น อาสาสมั ค รดี เ ด น เนื่ อ งในโอกาส วันสังคมสงเคราะหแหงชาติและวันอาสาสมัครไทยเปนประจำ

ทุกป มีความพยายามรวมกันระหวางกรมประชาสงเคราะหกับ มูลนิธิฯ ในการทำฐานขอมูลเพื่อเชื่อมโยงงานอาสาสมัครทาง website (www.civilsociety.or.th) งานอาสาสมัครของ มูลนิธิฯ พัฒนามาจนปจจุบันที่มีเครือขายเยาวชนอาสาสมัคร พัฒนาชนบท หรือไทยรูรัลเนท ที่เขามามีบทบาทในการศึกษา วิจัยงานอาสาสมัคร และมีสวนรวมกับกระทรวงการพัฒนา สังคมและความมั่นคงของมนุษยในการดำเนินงานศูนยสงเสริม การใหและการอาสาชวยเหลือสังคมในปจจุบัน ความร วมมื อด านการประสานงาน จากประสบการณการทำงานที่ผานมา หากหนวยงานใดสนใจแตงานของ ตน โดยไมสนใจภายนอกวาหนวยงานอื่น เขาทำอะไรกัน ก็ จะทำใหหนวยงานนั้นหยุดนิ่งและเหี่ยวเฉาไปในที่สุด และไม สามารถเขามาเปนพลังรวมในการสรางสรรคสังคมไดอยางมี ประสิทธิภาพ เมื่อครั้งกรมประชาสงเคราะหไดรับความเห็น ชอบจากคณะรั ฐ มนตรี ส ง เสริ ม ให เ กิ ด ความร ว มมื อ กั น ของ องคการเอกชนในรูปศูนยประสานงานระดับชาติและจังหวัด นั้ น มู ล นิ ธิ บู ร ณะชนบทฯ มี ค วามกระตื อ รื อ ร น และร ว มมื อ กั บ รั ฐ เป น อย า งดี ใ นการขั บ เคลื่ อ นการดำเนิ น งานของศู น ย ประสานงานภาคเอกชนแหงชาติในระยะเริ่มแรก การเขาไปมี สวนรวมในการขับเคลื่อนศูนยประสานงานองคการเอกชน

ประจำจังหวัดชัยนาท รวมทั้งการประสานการปฏิบัติในพื้นที่ ร ว มกั บ สำนั ก งานพั ฒ นาสั ง คมและความมั่ น คงของมนุ ษ ย จังหวัดและสำนักงานสนับสนุนวิชาการในกิจกรรมตาง ๆ เปน อยางดี ซึ่งทำใหเกิดการเรียนรูและพัฒนาการอีกขั้นหนึ่งของ ความพยายามในการเชื่อมโยงประสานงานระหวางองคการ เอกชนดวยกันเอง และการดำเนินงานรวมกับรัฐ ความรวมมือดานงบประมาณ มูลนิธิบูรณะชนบทฯ เคยไดรับเงินอุดหนุนจากกรมประชาสงเคราะห และมูลนิธิฯ ใหเครือขายตางๆ ไดใชประโยชนจากกลไกของมูลนิธิฯ ในการ ขอรับเงินอุดหนุนจากแหลงตางๆ ซึ่งเปนการเปดกวางและ ชวยใหเครือขายตางๆ ที่มีความเกี่ยวของกับงานของมูลนิธิฯ สามารถดำเนินกิจกรรมสรางสรรคสังคมได ที่เขียนมาทั้งหมดนั้นเปนเพียงเสี้ยวหนึ่งของบันทึก การทำงาน ที่ ยั ง ไม จ บสิ้ น และเชื่ อ ว า ด ว ยความร ว มมื อ ที่ ดี ระหวางรัฐและเอกชน ในอนาคตอันใกลนี้นาจะทำใหทุกฝาย ตางบรรลุเปาหมายที่ตั้งไวรวมกัน คือ ความอยูเย็นเปนสุขของ ประชาชน

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 115


ปฏิบัติของทานและจะนำไปประยุกตใชในงาน ธ.ก.ส. ตอไป เนื่องจาก ธ.ก.ส. กำลังมีแนวคิดจะปรับเปลี่ยนบทบาทจากการ เปนธนาคารสินเชื่อเกษตรมาเปนธนาคารพัฒนาชนบทตาม ภารกิจใหมซึ่งจะตองแกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติ ธ.ก.ส. จน กระทั่งในป พ.ศ.2543 จึงไดรวมเปนกรรมการของมูลนิธิฯ ซึ่ง เปนโอกาสที่ผมไดเขามาเรียนรูและแลกเปลี่ยนประสบการณ กั บ กรรมการท า นอื่ น ๆ รวมทั้ ง ร ว มในกิ จ กรรมเชิ ด ชู ท า น อาจารยปวย เชน การจัดตั้งศูนยการเรียนรูชุมชน ปวย อึ๊ ง ภากรณ (Puey Center) การก อ ตั้ ง อนุ ส รณ ส ถาน ศาสตราจารย ดร.ป ว ย อึ๊ ง ภากรณ ที่ ชุ ม ชนบ า นวั ง น้ ำ ขาว เปนตน และเชิญชวนให ธ.ก.ส.ชัยนาท นำเกษตรกรโครงการ

ธ.ก.ส. กับ บชท. เอ็นนู ชื่อสุวรรณ รองผูจัดการ ธ.ก.ส. รองประธานกรรมการบริหาร และกรรมการอำนวยการ บชท.

ธนาคารเพื่ อ การเกษตรและสหกรณ ก ารเกษตร (ธ.ก.ส.) ไดเขามามีสวนรวมกับมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศ ไทย (บชท.) ตั้งแตกอตั้งไมนานนัก คุณจำลอง โตะทอง ผูจัดการ ธ.ก.ส.ในสมัยนั้นเลาใหผมฟงวาไดเปนกรรมการของ บชท. เมื่อป พ.ศ. 2523 เนื่องจากทานเคยเปนขาราชการ สภาพั ฒ น ฯ ในสมั ย ที่ อาจารย ป ว ย เป น กรรมการของ สภาพัฒน และมีความเคารพนับถืออาจารยปวย เปนสวนตัว เมื่ออาจารยปวย ไดกอตั้งมูลนิธิบูรณะชนบทฯ จึงสนใจที่จะ มารวมงานดวย แตไดเขารวมเปนกรรมการเพียงชวงระยะเวลา สั้น เนื่องจากภารกิจงาน ธ.ก.ส.กำลังอยูระหวางปรับปรุงเพื่อ ขยายงานให เ ติ บ โต ทำให จ ำเป น ต อ งลาออกจากการเป น กรรมการมูลนิธิฯ จนกระทั่งในป พ.ศ.2543 ผมไดรับเกียรติมารวม เปนกรรมการอำนวยการของมูลนิธิฯ เนื่องจากมีความศรัทธา ตอแนวคิดแนวปฏิบัติของทานอาจารยปวย และเคารพนับถือ อาจารย ไ พบู ล ย วั ฒ นศิ ริ ธ รรม ซึ่ ง เป น ประธานกรรมการ มูลนิธิฯ ในชวงเวลาดังกลาว รวมทั้งสนใจในกิจกรรมของ มูลนิธิฯ ซึ่งเนนการพัฒนาชนบทดวยวิธีการสรางความรูใหแก ประชาชน และเปนแหลงผลิตนักพัฒนาชนบทจำนวนมาก ที่มีบทบาทดานนี้ในสังคมปจจุบัน ธ.ก.ส. กอตั้งเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2509 ตาม พระราชบัญญัติธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร เปนรัฐวิสาหกิจในกระทรวงการคลัง มีบทบาทหนาที่ในการ ชวยเหลือสนับสนุนทางการเงินแกเกษตรกร สหกรณการ เกษตร และกลุมเกษตรกร โดยมีอาจารยจำเนียร สาระนาค 116 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

เปนผูจัดการ ธ.ก.ส. ทานแรก (ปพ.ศ. 2509 – 2518) ซึ่งเปน ผูวางรากฐานอุดมการณการทำงานดานสินเชื่อเกษตรใหแก พนั ก งาน ธ.ก.ส. ทุ ก คน เพื่ อ ให ส ามารถปฏิ บั ติ ห น า ที่ ด ว ย ความซื่อสัตยสุจริต ขยันหมั่นเพียร อดทน และใฝหาความรู ตลอดจนอุทิศตนเพื่อชวยเหลือเกษตรกรผูยากไรอยางจริงจัง และตอเนื่อง จวบจนปจจุบัน (ป 2549) ธ.ก.ส. ก็มีอายุครบ 40 ป เชนเดียวกับมูลนิธิบูรณะชนบทฯ จึงเปนองคกรที่เกิด ขึ้นในเวลาใกลเคียงกัน และเปนองคกรที่มีผูกอตั้งเปนบุคคล ดี เ ด น เช น เดี ย วกั น นอกจากนั้ น ช ว งป 2517-2519 ท า น อาจารยปวย อึ๊งภากรณ เคยเปนประธานกรรมการบริหาร ธ.ก.ส. และทานก็กลาวถึง ธ.ก.ส.ไวดังนี้ “ดีใจที่ไดมาดูแล ธ.ก.ส. เพราะครั้งหนึ่งเคยไปดูแล ธปท. และไดพัฒนาการเงิน การคลัง พัฒนาพนักงานจนเปน ชั้นนำ แตเมื่อเปรียบเทียบระหวาง ธ.ก.ส. กับ ธปท. ธปท. เปนการปฏิบัติงานในระดับมหภาค สำหรับ ธ.ก.ส. ก็มีความ สำคัญระดับชาติเชนเดียวกัน แตเปนการปฏิบัติงานในระดับ จุลภาค เพราะเปนการสงเสริมเพื่อกระจายทุน กระจายรายได ในอันที่จะยกฐานะความเปนอยูของเกษตรกร ซึ่งถือวาเปน คนจน ใหมีฐานะดีขึ้น ตองเขาถึงประชาชน ความยิ่งใหญของ สองแบงคมีทัดเทียม ผมจะพยายามนำ ธ.ก.ส.ไปสูทิศทางที่ ทัดเทียมกับ ธปท. ในแงรายไดและการพัฒนาพนักงาน รวม ทั้งสวัสดิการที่ดีดวย” เมื่อผมไดอานขอความขางตน จึงมีความซาบซึ้งใน แนวคิดของทานอาจารยปวย และคิดวานาจะมีโอกาสมีสวน รวมในมูลนิธิที่อาจารยปวย ไดกอตั้ง เพื่อเรียนรูแนวคิดแนว

- สาธิตอุปกรณกระจายน้ำฝอย (ULEM – Ultra Low Energy Mist) ในแปลงพืชสมุนไพรเพื่อทดลองระบบ การใหน้ำพืชในแปลงแบบประหยัดน้ำ ซึ่งจัดทำโดยคณะ วิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร - สาธิตเตาเผาถานน้ำสมควันไม เปนระบบการผลิต พลังงานจากวัสดุเศษไมอยางคุมคาโดยเผาเปนถานไมไรควัน และผลพลอยไดเปนน้ำสมควันไม (Wood Vinegar) สำหรับ ใชกำจัดเชื้อรา และไลแมลงศัตรูพืชซึ่งจัดทำโดยวิทยากร สจส. - สาธิตระบบเครื่องกรองน้ำ โดยใชวัสดุอยางงาย เพื่อใชผลิตน้ำบริโภคที่สะอาด ซึ่งจัดทำโดยวิทยากร สจส. นอกจากนั้น ผมก็ยังมีโอกาสทำงานรวมกับกรรมการ

“ดีใจที่ไดมาดูแล ธ.ก.ส. เพราะครั้งหนึ่งเคยไปดูแล ธปท. และไดพัฒนาการเงิน การคลัง พัฒนาพนักงานจนเปนชั้นนำ แตเมื่อเปรียบเทียบระหวาง ธ.ก.ส. กับ ธปท. ธปท. เปนการปฏิบัติงาน ในระดับมหภาค สำหรับ ธ.ก.ส. ก็มีความสำคัญระดับชาติเชนเดียวกัน แตเปนการปฏิบัติงานในระดับจุลภาค เพราะเปนการสงเสริมเพื่อกระจายทุน กระจายรายได ในอันที่จะยกฐานะความเปนอยูของเกษตรกร ซึ่งถือวาเปนคนจน ใหมีฐานะดีขึ้น ตองเขาถึงประชาชน ความยิ่งใหญของสองแบงคมีทัดเทียม ผมจะพยายามนำ ธ.ก.ส.ไปสูทิศทางที่ทัดเทียมกับ ธปท. ในแงรายไดและการพัฒนาพนักงาน รวมทั้งสวัสดิการที่ดีดวย” พักชำระหนี้มาฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรมของมูลนิธิฯ จังหวัด ชัยนาท ในป พ.ศ.2548 คณะกรรมการมู ล นิ ธิ ฯ มี ม ติ ย า ย สำนักงานมูลนิธิฯ ไปอยูที่ศูนยฝกอบรมจังหวัดชัยนาท และ ยกฐานะศูนยฝกอบรมเปนศูนยการเรียนรูชุมชนปวย ซึ่งทำให กิจกรรมการเรียนรูของชุมชนสามารถขยายผลออกไปกวาง ขวางมาก เปนที่รูจักและยอมรับจากสวนราชการและประชาชน ในจั ง หวั ด โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง โครงการเกษตรอิ น ทรี ย ที่ อาจารยชนวน รัตนวราหะ กรรมการอำนวยการของมูลนิธิฯ และที่ปรึกษาดานเกษตรอินทรีย จัดทำขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2547 ได รับการขยายผลตอเนื่อง พืชผลในแปลงเกษตรเจริญเติบโต สามารถจำหนายจายแจก และบริโภคกันเองในศูนยฯ ปวย รวมทั้งมีลูกคาประจำมาซื้อไปบริโภคดวยความไววางใจ พื้นที่ 2 ไรจึงเปนศูนยสาธิตเกษตรอินทรียที่เปนตัวอยางของการทำ เกษตรตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงอีกดวย ผมจึงไดประสานงานขอใชงบประมาณจาก ธ.ก.ส. เพื่อเชื่อมโยงองคความรูดานเทคโนโลยีเกษตรมาตอยอดให เปนศูนยสาธิตเทคโนโลยีเกษตรอินทรีย เชน

ทานอื่นในมูลนิธิฯ เชน คุณพิพัฒน ยอดพฤติการ กรรมการ บริหารมูลนิธิจากสถาบันไทยพัฒน โดยเสนอให ธ.ก.ส. เปน องคกรตัวอยางในงานวิจัยเรื่อง Corporate Social Responsibility (CSR) ซึ่งคุณพิพัฒน กำลังดำเนินงานวิจัยเรื่องนี้จาก การสนับสนุนของกองทุนสงเสริมการวิจัย (สกว.) ผมรูสึกยินดีที่มูลนิธิฯ มีอายุครบ 40 ป และมีผลงาน เปนที่ยอมรับของบุคคลทั่วไป รวมทั้งมีบุคคลดีเดนและทรง คุณวุฒิไดอาสาเขามารวมงานในฐานะกรรมการอำนวยการ และกรรมการบริหาร เปนจำนวนมาก ผมหวังเปนอยางยิ่งวา จะสามารถปฏิ บั ติ ห น า ที่ ใ นฐานะกรรมการมู ล นิ ธิ ฯ ให เ ป น ประโยชนตอพี่นองประชาชน และประสานเชื่อมโยงกิจกรรม ของ ธ.ก.ส. กับ บชท. เพื่อเปนการเสริมพลังใหบังเกิดผลดี ตอชาวบานในชนบท ซึ่งเปนไปตามอุดมการณความตั้งใจของ ทาน อาจารยจำเนียร สาระนาค ผูกอตั้ง ธ.ก.ส. และทาน อาจารย ป ว ย อึ๊ ง ภากรณ ผู ก อ ตั้ ง มู ล นิ ธิ บู ร ณะชนบทแห ง ประเทศไทยฯ

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 117


มูลนิธิบูรณะชนบท แหงประเทศไทยฯ และ สำนักบัณฑิตอาสาสมัคร ผูชวยศาสตราจารย ศุภรัตน รัตนมุขย อดีตผูอำนวยการสำนักบัณฑิตอาสาสมัคร มธ. 118 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

มูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยฯ นับวาเปน องค ก รพี่ อ งค ก รน อ งกั บ สำนั ก บั ณ ฑิ ต อาสาสมั ค ร (สบอ.) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร กลาวคือ ทั้ง 2 องคกรมีอาจารย ปวย อึ๊งภากรณ เปนผูกอตั้ง องคกรทั้งสองนี้มีความคลายคลึง กันใน 2 เรื่องคือ มีพื้นที่ปฏิบัติงานอยูในเขตชนบทของประเทศ ไทย และการดำเนินงานเชิงอาสาสมัคร จะแตกตางกันบาง ก็ตรงรูปแบบขององคกร กลาวคือมูลนิธิบูรณะชนบทฯ เปน องคกรภาคประชาสังคม ขณะที่สำนักบัณฑิตอาสาสมัคร เปน หนวยงานราชการที่เทียบเทาคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร มูลนิธิบูรณะชนบทฯ เนนที่บุคคลทั่วไป ขณะที่ สำนักบัณฑิตอาสาสมัครเนนที่บัณฑิตที่ใฝฝนจะไปใหบริการ และเรียนรูในชุมชนชนบท ตลอดเวลาที่ผานมาเราตางรวมมือชวยเหลือซึ่งกัน และกั น มาโดยตลอด มากบ า งน อ ยบ า งตามแต ล ะยุ ค สมั ย ขาพเจาจะขอกลาวถึงการทำงานรวมกันในยุคสมัยที่ขาพเจา ดำรงตำแหน ง ผู อ ำนวยการสำนั ก บั ณ ฑิ ต อาสาสมั ค ร (พ.ศ. 2542 – 2544) ซึ่งขณะนั้น คุณศิริวรรณ เจนการ เปน ผูอำนวยการของมูลนิธิบูรณะชนบทฯ เราไดมีความรวมมือ กันหลายๆ เรื่อง เชน สำนักบัณฑิตอาสาสมัครไดสงบัณฑิต อาสาสมัครจำนวนหนึ่งเขาไปรวมบริการชุมชนและเรียนรูใน พื้นที่จังหวัดชัยนาทภายใตการดูแลของมูลนิธิบูรณะชนบทฯ อี ก ทั้ ง นั ก ศึ ก ษาหลั ก สู ต รปริ ญ ญาโทสาขาชนบทศึ ก ษาและ การพัฒนาของสำนักบัณฑิตอาสาสมัคร ก็ไดมีโอกาสไปศึกษา

ดูงานที่มูลนิธิบูรณะชนบทฯ ที่จังหวัดชัยนาท ดานงานอาสาสมัคร ขาพเจากับคุณศิริวรรณ เจนการ ไดทำงานเปนอนุกรรมการสงเสริมการจัดงานปอาสาสมัคร สากล (พ.ศ. 2544) และอนุกรรมการสงเสริมปอาสาสมัครไทย (พ.ศ. 2545) โดยเราทั้งสองไดรวมกับกรรมการทานอื่นๆ ใน การพยายามปูพื้นฐานงานอาสาสมัครของประเทศ นอกจากนี้ เราในฐานะที่เปนตัวแทนขององคกรทั้งสองยังไดรวมงานกัน อีกหลายเรื่อง โดยเฉพาะอยางยิ่ง การเปนกรรมการสถาบัน ปวย อึ๊งภากรณ อันเปนสถาบันที่ทำงานในการสงเสริมและ พัฒนาความรูและจริยธรรมในการบริหารและปกครอง สถาบัน นี้ตั้งขึ้นเพื่อเปนการเชิดชูเกียรติทานอาจารยปวย ซึ่งเปรียบ เสมือนบิดาของทั้งมูลนิธิบูรณะชนบทฯ และสำนักบัณฑิต อาสาสมัคร กาลเวลาแมจะผานลวงเลยไปถึง 40 ป ขาพเจาเชื่อ วาองคกร 2 แหงนี้จะคงไวซึ่งความเปนพี่นองรวมอุดมการณ จากพอผูใหกำเนิดคนเดียวกัน ในการชวยกันสนับสนุนใหเกิด การพั ฒ นาชนบทของประเทศไทย ข า พเจ า หวั ง ว า มู ล นิ ธิ บู ร ณะชนบทฯ จะยื น หยั ด และก า วไปข า งหน า พร อ มเป น องคกรเกาแกที่เปนที่พึ่งพิงของบรรดาคนรุนใหม

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 119


สำนักหอสมุดไดรับจัดสรรอาคารแฮนดบอล (ยิมเนเซี่ยม 3) ปรับปรุงเปนอาคาร หองสมุดกลุมสังคมศาสตรและ มนุษยศาสตร ดวยงบประมาณทั้งสิ้น 74,349,000 บาท เริ่มดำเนินการวันที่ 29 ตุลาคม 2542 แลวเสร็จรับมอบอาคารวันที่ 30 มิถุนายน 2544 มีพื้นที่ใชสอย 18,669 ตาราเมตร แบงออกเปน 3 ชั้น คือ

หอสมุดปวย อึ๊งภากรณ : อนุสรณแดผูริเริ่มขยาย มหาวิทยาลัยไปรังสิต

บริเวณโถงทางเขาดานหนา

วนิดา จันทนทัศน หัวหนาหอสมุดปวย อึ๊งภากรณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ศูนยรังสิต

โครงการขยายมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เริ่มขึ้นสมัยที่กรมหมื่นนราธิปพงศประพันธ เปนอธิการบดี โดยรัฐบาล ยกพื้นที่ที่เปนบริเวณนิคมอุตสาหกรรมบางชันปจจุบันให แตดวยเหตุผลบางประการจึงไดขอเปลี่ยนพื้นที่มาเปนรังสิต ตอมา ในสมัยที่อาจารยปวยเปนอธิการบดี ทานไดเสนอ “โครงการขยายมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ไปยังรังสิต” ตอทบวงมหาวิทยาลัย เพื่อบรรจุในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2520 - 2524 โดยเปนโครงการตอเนื่องระยะเวลา 20 ป สวนผูมีบทบาทการขยายอยางจริงจังคือ ศาสตราจารยคุณหญิง นงเยาว ชัยเสรี อธิการบดีในสมัยตอมา โดยเริ่มจากคณะวิชาเปด ใหมทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และคณะแพทยศาสตรเทานั้นอยูที่รังสิต แตเนื่องจากพื้นที่อันจำกัดของทาพระจันทร มหาวิทยาลัยจึงมีนโยบายขยายการเรียนการสอนระดับปริญญาตรีทางสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร มาที่รังสิตดวย ภายหลังการ แขงขันกีฬาเอเชียนเกมสครั้งที่ 13 ในเดือนธันวาคม ป พ.ศ.2541 เนื่องจากศูนยรังสิตมีความพรอมทั้งดานที่พัก โครงสราง พื้นฐาน สนามกีฬา สวนสาธารณะและการเดินทางที่สะดวกรวดเร็ว

บรรยากาศชั้นที่ 1

ชั้นที่ 1 มีพื้นที่รวม 7,478 ตารางเมตร ใชเปนคลังหนังสือ ชั้นหนังสือทั่วไปภาษาไทย หนังสืออางอิงภาษาไทยและ ภาษาตางประเทศ หนังสือพิมพฉบับยอนหลัง วารสารฉบับปจจุบันภาษาไทยและภาษาตางประเทศ วารสารเย็บเลม พื้นที่แสดง นิทรรศการ พื้นที่อานหนังสือและวารสาร เคานเตอรยืมหนังสือ บริการตอบคำถามชวยการคนควา หองทำงานเจาหนาที่และ หองถายเอกสาร

บรรยากาศชั้นที่ 2

บริเวณดานหนาของหอสมุดปวย อึ๊งภากรณ 120 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

ชั้นที่ 2 มีพื้นที่รวม 5,441.50 ตารางเมตร ใชเปนพื้นที่อานหนังสือ ชั้นหนังสือทั่วไปภาษาตางประเทศ วิทยานิพนธ ภาษาไทยและภาษาตางประเทศ นวนิยาย เรื่องสั้น วรรณกรรมเยาวชน หองบริการมัลติมีเดีย Sound Lab บริการสื่อ การศึกษา หองกิจกรรมอเนกประสงค หองฟงดนตรีและดูวีดิทัศน และสวนสำนักงานสำนักหอสมุด หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 121


บรรยากาศชั้นที่ 3

ชั้นที่ 3 มีพื้นที่ 2,483 ตารางเมตร ใชเปนพื้นที่อานหนังสือ และหองคนควาเฉพาะ (Study room) จำนวน 6 หอง และพื้นที่ประกอบอาคารไดแกหองเครื่อง ทางเชื่อมและหองน้ำ รวมพื้นที่ 3,266.50 ตารางเมตร ตอมาไดเปลี่ยนชื่อจากหองสมุดกลุมสังคมศาสตรและมนุษยศาสตรเปน หอสมุดปวย อึ๊งภากรณ ตามมติที่ประชุม สภามหาวิทยาลัย ครั้งที่ 13/2544 วันที่ 24 ธันวาคม 2544 เพื่อเปนที่ระลึกแดอาจารยปวย ผูมีวิสัยทัศนยาวไกลที่แลกเปลี่ยน ที่ดินและริเริ่มการขยายมหาวิทยาลัยมายังรังสิต

ปจจุบันหอสมุดปวย อึ๊งภากรณ มีวัสดุสารสนเทศที่เกี่ยวกับการเรียนการสอนระดับปริญญาตรีทางสังคมศาสตรและ มนุษยศาสตร ใหบริการในระบบชั้นเปดจำนวน 150,000 เลม วารสารภาษาไทย 278 รายการ ภาษาตางประเทศ 130 รายการ หนังสือพิมพภาษาไทยและภาษาตางประเทศ 28 รายการ ฐานขอมูล Online ตางๆหลายสิบฐานขอมูล สืบคนไดพรอมๆกับที่ ทาพระจันทร

ภาพพิธีเปดหอสมุดปวย อึ๊งภากรณ

เริ่มเปดบริการเมื่อวันที่ 3 มิถุนายน 2545 ดวยเวลาเปดทำการวันจันทร – ศุกร วันละ 13 ชั่วโมง (8.00-21.00 น.) วัน เสาร-อาทิตยวันละ 9 ชั่วโมง (9.00-18.00 น.) กอนสอบจนถึงสอบเสร็จปลายภาคทุกภาคการศึกษาระยะเวลา 2 เดือนเปด ทำการวันจันทร – ศุกร วันละ 15 ชั่วโมง (8.00-23.00 น.) วันเสาร-อาทิตยวันละ 10 ชั่วโมง (9.00-19.00 น.) บริการของหองสมุดประกอบดวย บริการยืม – คืนหนังสือและสื่อการศึกษา บริการยืมระหวางหองสมุด บริการสิ่ง พิมพสำรอง บริการจองสิ่งพิมพ บริการวารสารและหนังสือพิมพ บริการสารสนเทศ บริการสื่อการศึกษา บริการถายเอกสาร บริการนำชมและแนะนำการใชหองสมุด บริการสืบคนขอมูล บริการหองมัลติมีเดีย บริการรายชื่อทรัพยากรสารสนเทศใหมทาง Internet บริการ Sound Lab บริการหนังสือในคลัง นิทรรศการและแนะนำหนังสือใหม บริการใชหองกิจกรรม บริการฉาย ภาพยนตร

122 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

บริเวณนั่งอานหนังสือ

มีที่นั่งอานหนังสือ 1,495 ที่นั่ง ที่นั่งอานเฉพาะบุคคล 75 ที่ หองบริการสื่อการศึกษา 152 ที่ พรอมสื่อประเภทตางๆ เชน เทปเสียง วิดีทัศน ซีดี ดีวีดี ทั้งเพลงและภาพ ใหบริการยืมฟงและดูในหอง หองกิจกรรม 120 ที่นั่ง สำหรับการแสดง ฉาย ภาพยนตร ฟงดนตรี และใหหนวยงานภายใน บุคลากรและนักศึกษาใชจัดกิจกรรม บริการน้ำดื่ม ตามจุดตางๆ ภายในหองสมุด บริเวณโถงทางเขาหองสมุดมีพื้นที่กวางขวางสำหรับใหหนวยงานหรือนักศึกษาใชสถานที่จัดนิทรรศการตามวาระหรือ เทศกาล จัดบริการหนังสือและวารสารในคลังหนังสือที่หองสมุดสาขาทุกแหงฝากเก็บประมาณ 120,000 เลม ดวยการดูแล รักษาอยางดี มีการควบคุมอุณหภูมิ ความชื้นสม่ำเสมอ พรอมเปดใหบริการตลอดเวลาที่หองสมุดเปดบริการและจัดสงดวย บริการ Book Delivery ระหวางรังสิต – ทาพระจันทร ภายใน 24 ชั่วโมง หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 123


หองมัลติมีเดีย และ Sound Lab

หองคอมพิวเตอรมัลติมีเดีย ใหบริการสืบคนฐานขอมูล Internet E-mail และพิมพงาน จำนวน 100 เครื่อง พรอม Printer โดยใชระบบควบคุมหองอัตโนมัติ (STAQ Smart Control) ควบคุมเวลาใชบริการและตรวจสอบการใชบริการ (Monitor) หากนักศึกษาใชคอมพิวเตอรผิดวัตถุประสงค พรอมหอง Sound Lab 30 ที่ สำหรับฝกฟงและทบทวนภาษา

ทางเชื่อมและทัศนียภาพบริเวณดานหนาหอสมุดปวย อึ๊งภากรณ

สรางสะพานเชื่อมทางเขาดานหนาและทำทางเดินเชื่อมดานหนาอาคารชวยใหนักศึกษา อาจารยและบุคลากร สามารถ เดินผานไปมาไดสะดวก ระหวางอาคารเรียนรวมสังคมศาสตรและอาคารบรรยายรวม 1 ติดตั้งปายประกาศและปายชี้ตำแหนงทิศทางทั่วทั้งอาคาร

ระบบยืม คืนอัตโนมัติ

มีระบบยืม - คืนอัตโนมัติ (SelfCheck System) ที่ใชเทคโนโลยี ทันสมัยที่สุดในขณะนี้ คือ RFID (คลื่นสัญญานวิทยุ) อานและบันทึกขอมูลของหนังสือสำหรับใหบริการ เพื่ออำนวยความสะดวกแกผูใชใหสามารถยืมหนังสือไดดวยตนเองพรอม พิมพสลิปการยืมใหเปนหลักฐาน ตออายุการยืมหนังสือไดจากระบบหองสมุดอัตโนมัติที่บาน และคืนหนังสือไดตลอดเวลา 24 ชั่ ว โมงแม ห อ งสมุ ด ป ด ระบบจะทำการรั บ คื น พร อ มบั น ทึ ก รายการรั บ คื น ของผู คื น ให โ ดยอั ต โนมั ติ ติ ด ตั้ ง เป น แห ง แรกใน มหาวิทยาลัยของรัฐ จึงเปนสถานที่ที่หนวยงานตาง ๆ ขอเขาเยี่ยมชมและศึกษาดูงานเสมอ นอกจากบริการตางๆ ดังกลาวแลวหอสมุดปวยฯ ไดพัฒนาการบริการ กิจกรรม และปรับปรุงทางกายภาพดานตางๆ ตลอดมา อาทิ บริการสั่งหนังสือออนไลน (Book Suggestion) สำหรับบุคลากรของมหาวิทยาลัย ทำหองเก็บตนฉบับไมโครฟลมวารสาร หนังสือพิมพ ที่เปนลิขสิทธของสำนักหอสมุดที่ไดรับการดูแลรักษาอยางดี ควบคุมอุณหภูมิและความชื้นตลอดเวลา ดวยระบบปรับอากาศ 24 ชั่วโมง ปรับปรุงภูมิทัศนรอบอาคารดวยการลอกคูคลอง สรางฝายน้ำลน ปลูกบัว จัดสวนภายในอาคารและปลูกตนไมรอบ อาคาร พรอมทั้งติดตั้งระบบถังน้ำสำรองใตดิน 20,000 ลิตร ระบบกรองน้ำคลองเพื่อใชรดตนไมในสวนเพื่อประหยัดคาน้ำ ประปา ทำทางเดินเชื่อมจากลานจอดรถสูทางเขาหองสมุด สรางโรงรถและที่จอดจักรยานสำหรับนักศึกษา ลานจอดรถของผูมา ใชบริการดานหลังอาคาร ติดตั้งไฟฟาแสงสวางทางเดินดานหนาหอสมุด

124 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

ปายตางๆ

ติดตั้งแผงกั้นกันฝนสาดดานหนาอาคาร 2 ดาน ปองกันหนังสือเสียหายจากน้ำฝน

รานจำหนายอาหารวางและเครื่องดื่ม

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 125


มีรานจำหนายอาหารวางและเครื่องดื่มและเปดสาขายอยธนาคารกรุงไทยเพื่อบริการดานขางอาคารที่วาง บริการ Mobile Zone ใหนักศึกษาใชโทรศัพทมือถือไดในบริเวณที่กำหนด ติดตั้งระบบ Key Card ควบคุมและกำหนดสิทธิการเขา – ออกอาคารของบุคลากร เพื่อความปลอดภัย และระบบ บารโคดบัตรนักศึกษาใชรูดประตูทางเขาหองสมุด ดวยการสนับสนุนจากโครงการภาพลักษณใหมสูบริการที่เปนเลิศของมหาวิทยาลัยติดตั้งปายธงแนะนำบริการใน หองสมุดและเปลี่ยนคอมพิวเตอรเปนจอแบนเพื่อสืบคนขอมูลและบริการตอบคำถาม ติดตั้งเครือขายไรสายภายในหองสมุด ตามโครงการ Wireless Campus ตอมาคณะเศรษฐศาสตรไดมอบ Puey’s Collection ซึ่งอยูในหองอนุสรณ 72 ปอาจารยปวย อึ๊งภากรณ อาคารวิจัย และบริการ ตั้งแต พ.ศ. 2532 เปนตนมา แตปจจุบันหองดังกลาวมีขนาดเล็ก ไมเหมาะสมที่จะใชเปนที่จัดแสดงเผยแพร เกียรติคุณและศึกษาคนควาเกี่ยวกับผลงานของอาจารยปวยฯ ประกอบกับไดมีการเปลี่ยนชื่ออาคารวิจัยและบริการ เปนอาคาร เดือน บุนนาค คณะเศรษฐศาสตรจึงรวมกับหอสมุดปวย อึ๊งภากรณ จัดทำหองนิทรรศการปวย อึ๊งภากรณ และหองสืบคนชีวิต และงานอาจารยปวย อึ๊งภากรณ ไวในหอสมุดปวย อึ๊งภากรณ โดยมีเปาหมายที่จะเผยแพรอุดมการณ ความคิด และผลงานของ อาจารยปวย ที่สรางคุณูปการมากมายใหประเทศชาติ ทั้งดานเศรษฐกิจ การศึกษา สังคม การเมือง และคุณธรรมจริยธรรม ให เปนที่รับรูตอสาธารณชน เพื่อกระตุนและเปนแบบอยางแกเยาวชน โดยเฉพาะนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เพื่อสงตอ ความคิด แบบอยางการดำเนินชีวิตทั้งชีวิตสวนตัวและชีวิตการงานใหแกคนหนุมสาว ซึ่งเปนคนรุนใหมและเปนความหวังของ สังคมไทย รวมถึงเชิดชูคุณความดีของอาจารยปวย ในฐานะปูชนียบุคคลของสังคมไทยที่สมควรไดรับการยกยอง จดจำ และ รำลึกถึง

1. โถงตอนรับ เกริ่นนำดวยภาพเขียนอาจารยปวย และคติธรรมที่ทานยึดถือ

โถงตอนรับ

2. ชีวิตสามัญชน ตั้งแตปฐมวัยจนสำเร็จการศึกษา สมรส การเขาเปนสมาชิกเสรีไทย

โซนที่ 2 บรรยากาศบริเวณหนาหองนิทรรศการปวย อึ๊งภากรณ

3. เศรษฐกิจไทยยุคนายปวย การทำงานดานเศรษฐกิจ ดวยความซื่อสัตยสุจริต การจัดแสดงนิทรรศการแบงออกเปน 2 หอง คือ หองนิทรรศการ “ปวย อึ๊งภากรณ” และหองสืบคนชีวิตและงาน “อาจารยปวย อึ๊งภากรณ” หองนิทรรศการ “ปวย อึ๊งภากรณ” ทำหนาที่บอกเลาปะวัติชีวิตของอาจารยปวย ตามลำดับเวลา นับจากจุดกำเนิด “จากครรภมารดาถึงเชิงตะกอน” แบงการจัดแสดงออกเปน 7 โชนคือ

โซนที่ 3 126 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 127


7. ความเงียบในต่างแดน ชีวิตหลังการลี้ภัยไปอยู่ต่างแดน

4. การศึกษาเพื่อมวลชน จิตวิญญาณของการเปนครูที่ใหความสำคัญกับการศึกษาและการพัฒนาคน

โซนที่ 4

โซนที่ 7

5. การพัฒนาชนบท ดวยการเขาไปอยูและเรียนรูจากชาวบาน หองสืบคนชีวิตและงาน“อาจารยปวย อึ๊งภากรณ” เปนหองสำหรับศึกษาคนควาผลงานและตัวตนของอาจารยปวย โดยผานหนังสือ เอกสาร สื่อการศึกษา ของใช ของที่ระลึก ที่รวบรวมจากผูบริจาค ของสวนตัว และเอกสารที่เกิดจากการปฏิบัติ งานของอาจารย เปดใหผูสนใจเขามาคนควาดวยตนเอง รวมถึงการใชเปนสถานที่จัดกิจกรรมในวาระตางๆ ผูสนใจเขาเยี่ยมชมและศึกษาชีวิตและงานของอาจารยปวยไดที่หอสมุดปวย อึ๊งภากรณ เลขที่ 99 หมู 18 ถนน พหลโยธิน ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12121 หรือที่เว็บไซต http://library.tu.ac.th/pueyr/pueyrt.html

โซนที่ 5

6. การเมืองเพื่อประชาชน มีบทบาทในการคัดค้านรัฐประหาร 2514 เสนอแนวคิดสันติประชาธรรม บรรยากาศหองสืบคนชีวิตและงาน อาจารยปวยฯ

โซนที่ 6

128 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

บรรณานุกรม - วันรักษ มิ่งมณีนาคิน. 80 ปอาจารยปวย:ชีวิตและงาน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2539. - หองนิทรรศการปวย อึ๊งภากรณ. เอกสารในพิธีเปดหองนิทรรศการและหองสืบคนชีวิตและงานอาจารยปวย 2549. (แผนพับ) - มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. รายงานการประชุมสภามหาวิทยาลัย. ครั้งที่13/2544 (24 ธันวาคม 2544) - มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร . คณะเศรษฐศาสตร . เอกสารโครงการสร า งนิ ท รรศการถาวร “อาจารย ป ว ย 2547.

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 129


ของฝากจากชัยนาท

130 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 131


ชีวิตบูรณากร มูลนิธิบูรณะชนบทฯ รุนแรก บรรยากาศห องสืบคนชีวิตเพ็ และงาน อาจารยปวยฯ ดร. ไพสานต ชรพลาย

ผมเปนชาวกรุงเทพฯ เขตภาษีเจริญ ไมรูเรื่องชาว ชนบทเลย ดวยความอยากรูจึงสมัครเขามาทำงานในมูลนิธิ บูรณะชนบทแหงประเทศไทยฯ ดวยใจรักวาจะไดทำงานกับ ชาวชนบท อาจารย ดร.พนม สมิตรานนท เปนผูมาชักชวน จึง ตัดสินใจเขาไปสอบสัมภาษณ สอบผานไดไปอบรมการพัฒนา ชนบทที่ ฟ ลิ ป ป น ส 4 เดื อ น ที ม ที่ ไ ปอบรมด ว ยกั น และเป น รุนแรกของมูลนิธิฯ มี 15 คน อาจารยเสนาะ นิลกำแหง เปน หัวหนาทีม ผมเปนคนอายุนอยที่สุดในทีม ขณะนั้นอายุยาง 24 ป กำลังเปนอาจารยที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เพิ่ง ปรับเปนชั้นโทหมาดๆ เมื่อผมมาทำงานประจำที่ชัยนาท จึง ตองลาออกจากตำแหนงที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร หลังจากกลับจากฟลิปปนส ก็กลับมาเริ่มงานทันที ในป 2510 การทำงานในระยะเริ่มแรกใชวิธีประชุมทีมบอยๆ แทบทุกสัปดาห เพื่อวางแผนและสำรวจ รวมทั้งการประเมิน งาน ตอนนั้นมีแบบฟอรมอยู 3 ชุด คือ บชท. 1 รายงานประจำสัปดาห บชท. 2 รายงานประจำเดือน บชท. 3 แบบเขียนโครงการงานที่ตองปฏิบัติ กลวิธีการทำงานก็ยึดหลัก excellence point not area coverage คือสำรวจวาพื้นที่ใดมีชาวบานแสดงความ 132 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

สนใจและพรอมที่จะทำงานรวมกัน ก็เริ่มที่พื้นที่นั้นกอน ผมเริ่มตนงานแรกที่ตำบลโพงาม หมู 4 มีผูใหญ โปย วัดนอย ใหความรวมมือดีเลยเริ่มที่นั่นกอน ทำงานดวยกัน 2 คน กับอาจารยชอบ ประพันธเนติวุฒิ ซึ่งรับผิดชอบดานการศึกษา ทานอื่นๆ ในทีมจับคูดังนี้ อาจารยพิทยา ทุมกุล จับคูกับ อาจารยพงษเฉลียว เขมนดี อยูที่ ดงดอน อาจารยพยูร สุนทรชิต จับคูกับ อาจารยเดช รัชฏา อยูที่ เที่ยงแท อาจารย ส นั่ น เอกพจน จั บ คู กั บ อาจารย ธ นู ผลพันธชิน อยูที่ หวยกรด อาจารยบัญญัติ สูญสิ้นภัย จับคูกับ อาจารยอุทัย ณ เชียงใหม อยูที่ หวยกรด ที่เหลืออยูสวนกลาง คือ อาจารยเสนาะ นิลกำแหง เปนผูอำนวยการ ประจำ ที่ กทม. อาจารยพนม สมิตรานนท เปนผูอำนวยการฝาย สนาม ประจำที่ชัยนาท ศูนยกลางที่ฝายน้ำลน อาจารยกิจจำนงค วัฒนะจินดา เปนผูชำนาญการ ดานการศึกษา

อาจารย นพ. สาโรจน รัตนกร เปนผูชำนาญการดาน สาธารณสุข อาจารยสกุล เปนผูชำนาญการดานอัตประชาภิบาล กลาวโดยสรุป มูลนิธิฯ ไดสรรหาบุคลากรเขาทำงาน รวม 4 รุน ผมเขามาเปนรุนที่ 1 ซึ่งมีจำนวน 15 คน รุนที่ 2 ถึง รุนที่ 4 รับมาอีกประมาณ 20 คน ตอนนั้น มูลนิธิฯ มี จำนวนบุคลากรรวมประมาณ 30-40 คน เฉพาะคนที่ทำงาน เป นบูรณากรจะถู กส งไปฝ กอบรมที่ IIRR ประเทศฟลิป นส เพื่ อ เรี ย นรู ห ลั ก การและดู ง านภาคสนามเป น การสร า งแรง บันดาลใจ

การทำงานในชวงแรก (2510-2514) ในชวง 2-3 ปแรก ทีมงานทำงานกันอยางสนุก มีทีม งานจาก IIRR ที่ฟลิปนสมาเยี่ยมเปนครั้งคราว รวมทั้ง ดร.เยน และภริยา ก็มาเยี่ยมดวย เมื่อ ดร. เยน และภรรยา มาเยี่ยมที่โพงาม ชาวบาน โพงามจัดพิธีตอนรับทานดวยความตื่นเตนยินดี ขอเลาฝากไว ในที่นี้วา ภรรยาของผมซึ่งขณะนั้นกำลังปดเทอมปลอดงาน สอนในกรุงเทพฯ และมาพักอยูกับผมที่ชัยนาท ไดรับอาสา ชวยฝกสอนการฟอนรำและดูแลการจัดขบวนฟอนรำตอนรับ ทาน ทำใหไดรูจักกัน ทานไดชวยเหลือเสนอแนะใหผูบริหาร

ของมูลนิธิฯ พิจารณารับภรรยาของผมเขามาทำงานดวย เลย เปนเหตุใหภรรยาของผมเขามาทำงานดานการศึกษาของมูลนิธิ เปนรุนที่ 2 ภรรยาและลูก 2 คนจึงไดตามมาอยูดวยกันที่ ชัยนาท สำหรับบูรณากรรุนที่ 2 เทาที่จำไดมี อาจารย ดร. พุทธชาติ ชุณสาคร อาจารยเรือง สุขสวัสดิ์ อาจารยบำรุง บุญปญญา อาจารยสมพงษ สุทธิวงศ และอาจารยวันชัย เลิศฤทธิ์ สำหรับการทำงานใชหลักการพัฒนาแบบบูรณาการ หรือผสมผสาน คือทำงานดานตางๆ ไปพรอมกัน ในงาน สาธารณสุ ข ก อ นที่ ห มอจะออกไปตรวจรั ก ษาให ใ นพื้ น ที่ สัปดาหละครั้ง บูรณากรประจำศูนยจะประชาสัมพันธบอก กลาวชาวบานไวกอน งานดานสาธารณสุขจะเนนการปองกัน มากกวาการรักษา โดยจะใหการรักษาเบื้องตนไปดวย เจ า หน า ที่ บชท. ต อ งประจำอยู ที่ ศู น ย ใ นหมู บ า น ซึ่งสรางขึ้นในที่ดินที่ชาวบานมอบให แลวหาคนบริจาคสราง อาคารเปนศูนยปฎิบัติการ ผลการทำงานในชวงแรกนี้ประเมินไดวา ชาวบานยึด ติดกับตัวบูรณากร บชท.

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 133


เปลี่ ย นแนวไม ใ ห ยึ ด ติ ด กั บ เจ า หน า ที่ (25152518) มีการเสวนาเพื่อมองหาการพัฒนาในแนวที่ไมยึดติด กับตัวเจาหนาที่ ทำให บชท. มีการปรับเปลี่ยนวาบูรณากรไม จำเปนตองอยูประจำที่ศูนยในหมูบาน ในชวงที่ บชท. เริ่มตนทำงานโดยใชแนวทางแบบ ผสมผสาน ขณะนั้นทางราชการยังทำงานในลักษณะแยกสวน ตางกรมตางกอง ตางคนตางทำ สงผลใหภาคราชการมีการ ทำงานสี่ - ห า -หก-จนถึ ง เก า กระทรวงหลั ก ในเวลาต อ ๆ มา หลายกระทรวงมี การส งเจาหน าที่มาประจำพื้นที่โดยลงลึก ถึงระดับตำบล ตัวอยางเชน ทางการเกษตรก็มีเกษตรตำบล เขามาทำงานและมีศูนยประจำในหมูบาน ทางสาธารณสุข ก็ มี ก ารฝ ก ชาวบ า นทำหน า ที่ เ ฉพาะอย า งประจำพื้ น ที่ ฯลฯ สำหรับกรมการพัฒนาชุมชน ตามที่ตกลงกันเบื้องตนวาใน ตำบลที่เปนพื้นที่เปาหมายของ บชท. กรมการพัฒนาชุมชน ก็จะไมมีเจาหนาที่ประจำ อยางไรก็ตาม ในชวงตอมามีการรวมมือกันมากขึ้น ระหวาง บชท. กับหนวยงานของรัฐ มีการถอนตัวของบูรณากร จากที่เคยอยูประจำในหมูบานเปลี่ยนเปนการไปเยี่ยมเปนครั้ง คราว บชท. จึงสามารถขยายเพิ่มเติมจุดปฏิบัติการใหมากขึ้น โดยโยกยายบูรณากรไปทำงานในจุดเปดใหม 134 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

หนวยงานที่ขยายออกไปจาก 4 ศูนยเดิม ไดแก หวยกรด เพิ่มจาก 2 จุดเปน 4 จุด โพงาม เพิ่มจาก 1 จุดเปน 2 จุด เทีย่ งแท ขยายเพิม่ ขามตำบล ไปอีก 2 จุด คือ บางขุด และดอนกำ ดงคอน ขยายเพิม่ ไปทีแ่ พรกศรีราชา หันคา และหวยงู แลวขยายไปที่ วัดสิงห ดงขวาง จังหวัดอุทัยธานี บานกลวย หมู 5 และหมู 6 รวมขยายไปจุดตางๆ ประมาณ 25-30 จุด งานที่เห็นชัดเจนในชวงหลัง คือ งานกลุมออมทรัพย พัฒนา ซึ่งชวยใหมีการออมเกิดขึ้นในชุมชนชนบท และผมได ศึกษาเรื่องนี้เปนวิทยานิพนธระดับปริญญาโท

ยุคสับสนของงาน บชท. 2519-2524 ในยุคนี้พายุการเมืองไทยไดพัดโหมมากระทบ บชท. ทำให บชท. จำเปนตองหยุดดำเนินการชั่วคราว ในชวงเวลา ดังกลาวผมและเพื่อนรวมงานคนอื่นๆ ไดทะยอยลาออก และ แยกยายกันไปตามเสนทางของแตละคน หลังจาก 2524 ผมไดทำงานเปนที่ปรึกษาดานการ เกษตรใหแก EEC และเปนที่ปรึกษาใหแกบริษัท SGS เปน ผู ช ำนาญการด า นสิ่ ง แวดล อ ม พร อ มกั บ ศึ ก ษาต อ ในระดั บ

ปริญญาเอก ปจจุบันนอกจากงานประจำแลว ยังแบงเวลาสวน หนึ่งใหกับงานสาธารณะกุศลตางๆ เชน เปนครูอาสา กศน. ประธานโปรแกรมพัฒนาชุมชน อชช. กทม. วัดพรหมรังษี ดอนเมือง อาจารยพิเศษ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ปริญญา โท และเอก สาขาจัดการลุมน้ำ

ประสบการณที่ไดรับจาก บชท. เนื่องจาก บชท. เปนองคกรพัฒนาชนบทเอกชนแหง แรกและแหงเดียวของประเทศไทย บุคลากรทั้งฝายบริหาร ฝายจัดการ และฝายปฏิบัติงานภาคสนาม ตางก็เปน “มือ ใหม” ดวยกันทั้งสิ้น นอกจากนี้ บุคคลในฝายบริหารลวนเปน ผูมีงานประจำในกรุงเทพฯ แตอาสาสมัครมาทำหนาที่ใน บชท. แบบไมเต็มเวลา ประกอบกับการพัฒนาชนบทแนวผสมผสาน ก็เปนเรื่องใหมสำหรับเมืองไทย ดังนั้น จึงเปนธรรมดาที่จะ เกิดชองวางทางความคิดระหวางผูบริหารกับผูปฏิบัติงานภาค สนาม เปนตนวาขณะที่ฝายบริหารมาดูงานที่สนามเพื่อหาทาง สนับสนุน ผูปฏิบัติงานสนามอาจมีความรูสึกวาไดรบั คำแนะนำ แปลกๆ จากผูบริหารบางทานเพราะขาดความรูจริงภาคสนาม อยางไรก็ตาม ชีวิตการทำงานในชนบท ทำใหรูคุณคา ของความเป น มนุ ษ ย ศั ก ดิ์ ศ รี ค วามเป น มนุ ษ ย ม ากขึ้ น การ ไมเบียดเบียนกัน คาของน้ำใจ คาของความเอื้ออาทรตอกัน

ความสุขจากความไมโลภ ความพอเพียงในการดำเนินชีวิต สัจธรรมของชีวิต ธรรมชาติของชนบท ความเหงา ความเงียบ ความมืดที่ทั้งนากลัวและเปนสุข รวมความแลวสำหรับผม การทำงานใน บชท. ไดใหประสบการณตางๆ ที่หาไมไดจาก การทำงานที่อื่น ผมจึงขอถือโอกาสนี้ จารึกคำขอบคุณที่มีตอทุกทาน เกี่ยวของกับงาน บชท. และขอบคุณเปนพิเศษถึงบุคคลตอไป 1. อาจารยเสนาะ นิลกำแหง อาจารย ดร.พนม สมิตรานนท ที่ใหบทเรียนชีวิตแกผม ไดมีโอกาสทำงานที่ บชท. 2. พี่นองชาวตำบลโพงาม และทุกทานในเขตงาน บชท. ที่ให บทเรียนชี วิ ตแก ผม ให รู ถึ ง คุ ณค าของความเป น มนุ ษ ย ให ก ารสั ม ผั ส จริ ง ๆ ของชี วิ ต ผมได น ำมาใช ส อน แลกเปลี่ยน ณ วิทยาลัยชุมชน กทม. วัดพรหมรังษี ที่ผมเปน ประธานโปรแกรมอยูขณะนี้ 3. ดร.เยน (Dr.Y.C. James Yen) และพี่ชายกระดิ่ง (Kuya Carding) จากฟลิปปนส ที่ใหความรู ซึ่งไดนำมาปรับ ใชในชีวิตประจำวันของตัวเองเรื่อยมาจนถึงปจจุบัน

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 135


วิถีชีวิตสมาชิก บชท. รุนลาสุดป 2550 ที่ ศูนยฯ ปวย “สองเกลอผูมีบุญ” หวั ด ดี ฮ ะ.....!!! ยิ น ดี ต อ นรั บ สู ศู น ย ฯ ป ว ย ฮะ.. เราทั้งสองเปนสมาชิกใหมรายลาสุดของศูนยฯ ปวย เขามาอยู ประมาณเดือนพฤษภาคม 2549 ออ..มาจาก..อุทัยธานี..ฮะ... “นาสมสวน” เขาไปรับเรามา มาถึง เขาก็จัดบานพักรับรองใหเราทั้งสองอยูชั้นลาง ของบานเรือนไทย ทางทิศใตของศูนยฯ ปวย ใกลกับบาน “ป า เบิ ร ด ” บรรยากาศดี ม ากๆ เลยฮะ หลั ง บ า นติ ด คลอง “วังไร” สายที่แยกมาจากแมน้ำเจาพระยา ตกเย็นเดินเลน ริมคลองไดสบายๆ หนาบานก็มีตนมะขามใหญ 5-6 ตน ให รมเงาบังแดดไวผูกเปลนอนพักยามบาย.. เลยไปนิด..ก็เปน แปลงเกษตรอินทรียที่ ปาเบิรด ดูแลอยู มีผักสดไรสารพิษ มีเรือนเพาะเห็ดนางฟา มีกลวย มะมวง มะละกอ ฯลฯ เยอะ ใหเก็บกินไดเกือบทุกวัน แต ปาเบิรด แกสั่งหามผมเด็ดขาดวา “ถ า เอ็ ง จะอยู ที่ นี่ ใ ห ย าวนาน ก็ อ ย า มาแหยม.. กับแปลงผักของขาฯ ไมเชนนั้นเอ็งจะโดนน..มิใชนอยย... !!!” ตั้งแตเขามาอยูที่ศูนยฯ ปวย นี่ ใครๆ เขาก็คอนขาง จะเกรงใจเรากันทั้งนั้น ยกเวนปาเบิรด กับ “นาสมสวน” ซึ่ง เปนคนคอยดูแลเรา เขาบอกเราวา 136 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

“เอ็งนะมันเด็กเสนรัฐมนตรี ถึงโชคดีเขามาอยูที่นี่ได แถมยังไดอยูบานเรือนไทยซะอีก ..เจาหนาที่คนอื่นๆ แมแตขา หรือ ปา ของเอ็งเขายังไมไดอยูบานเดี่ยวอยางเอ็งเลย” เราก็เพิ่งรูวาเปน..เด็กเสน มินา.!! ผูอำนวยการที่นี่ ยังเกรงใจเราเลยย.. ยิ่ง ปาแอด ผูชวย “ผอ. ปาหมู” ซึ่งเปน ผูหลักผูใหญอยูประจำที่นี่ ไมใชแคเกรงใจ ทาทางแกจะกลาๆ กลัวๆ อีกตางหาก สงสัยกลัวจะเอาเรื่องไปรองเรียนทาน รัฐมนตรี หรือไงก็ไมรู... ศูนยฯ ปวย .. !!! เล็กกวาบานของเราที่อุทัยธานีเสีย อีก ไมไดแกลงคุย เนื้อที่แค 33 ไร มีโรงเรือน อาคาร และ บานพัก รวมๆ แลว 14 หลัง แบงเปนบานพักสำหรับเชาใช บริการเวลามีแขกเขาอบรมหรือสัมมนา 9 หลัง ทั้งแอรทั้ง พัดลม บานพนักงาน 1 หลัง อาคารหองอบรม สองหอง มี สวนสมโอ สวนผัก เรือนเห็ด เรือนสมุนไพร อาคารปฏิบัติการ ถาพอ แม พี่นอง ญาติโกโหติกาของเราเขามาอยูดวยละกอ พื้นที่แคนี้ไมพอหรอก ...ดีวาใหเรามากันแคสองเทานั้น ไมเอา มาหมด

เราก็เพิ่งรูวา ที่นี่สรางมา 40 ปแลว ก็ตอนที่ “ผอ. ปาหมู” แกมาสั่งใหสมาชิกรุนลาสุดเขียนบทความไปลงหนังสือ ฉลองสี่สิบปของมูลนิธิฯ เพื่อเทียบกับพี่บูรณากรรุนเกาๆ ซึ่ง เขาจะเลาเรื่องชีวิตสมัยของเขาเหมือนกัน “คนอื่นๆ มีงานมี การทำกันทั้งนั้น ปาเห็นวาเธอทั้งสองยังไมไดทำอะไร เดินไป เดินมา แลวก็เปนสมาชิกลาสุดตัวจริงของที่นี่ เหมาะสมที่สุด ที่จะเลาเรื่องนี้ได ไปหาขอมูลมาเขียนบทความใหที แลวก็จะ ไดเรียนรูไปดวยวาพี่ๆ ที่นี่ เขาทำอะไร อยูกันยังไง นะจะ” เราก็เลยตองออกสำรวจขอมูลไปทั่วศูนยฯ ปวย ตั้ง แตเขามาอยูเราก็ยังไมไดเดินไปไหนไกลๆ กวาบานที่แสนหรู ของเราสักที ที่เห็นๆ.. มีผูคนที่ทำงานอยูในศูนยฯ ปวย นี้ รวม 18 คน รวมทั้ง “ผอ.ปาหมู” ดวย บางคนอยูประจำ บางคน ไปกลับ บางคนนานๆ มาที ที่เปนดังนี้เพราะวาที่นี่เขาไมได จางประจำไปหมดทุกคน วันไหนงานแยะ เขาก็จางแรงงาน พิเศษมาชวย หรืองานไหนที่ทำเองไมได เชนทำปลวก ซอม เครื่องเสียง งานรักษาความปลอดภัย เขาก็หาบริษัทมาประมูล

ทำไป แตถาไมถึงขนาดแยะมาก ทุกคนจะตองชวยๆ กันทำ ไมเกี่ยงวางานไหนของใคร ทำไดก็ชวยกันทุกเรื่องเพื่อประหยัด งบประมาณ ผอ.ปาหมู บอกวาที่นี่กินเงินคาบำรุงรักษาสูง มาก เวนวรรคไมดูแลไปสักสองเดือน ตองซอมไปอีกหลายป เราก็เลยชวนกันไปแอบดูพี่ๆ นาๆ ปาๆ เขาทำงาน กัน ออ..รูแลว ตอนกลางวันเขาแบงการทำงานกันเปนโซนๆ โซนที่ ผ มอยู นี้ เขาเรี ย กว า “โครงการเกษตร อินทรีย” ที่นี่..คุณนพดล กลิ่นถนอม ที่ใครๆ รวมทั้งเราตอง เรียกแกวา “ปาเบิรด” เปนหัวหนาโครงการเกษตรอินทรีย จบภาควิชาเทคโนโลยีชนบท จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เชี ย วนะ..แถมยั ง จบหลั ก สู ต รปริ ญ ญาโทครึ่ ง ใบจากบั ณ ฑิ ต อาสาสมัคร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เสียดวย เทานั้นยัง ไมพอ ตั้งแตผมยายมาอยูเนี่ย.. ปา เขาก็ไปเรียนการบริหาร เพิ่ ม เติ ม ที่ มหาวิ ท ยาลั ย สุ โขทั ย ฯ ให ไ ด ป ริ ญ ญาอี ก ใบ ผม ไปถามแกว า เรี ย นไปทำอะไรกั น นั ก หนา แกบอกว า “เอาไวบริหารควาย มั้ง..??” เอา.!!.เห็นไมพูดๆ อยางนี้ บทจะ ขึ้นมาแสบนะปา.. ที่บานผมเขาเรียกวาพูดประชดอะ... หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 137


138 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 139


ป า เบิ ร ด เขามี ผู ช ว ย เป น เจ า หน า ที่ ป ระจำ 4 คน รวมทั้งปา ดวย และมีลูกจางรายวันทั่วไปอีก 2 คน ทุกคน มีบานอยูนอกศูนยฯ ปวย มีเฉพาะเรากับปา เทานั้นที่ตอง อยูเคียงขางกันทั้งกลางวันกลางคืน แอะ ที่นี่..มีนาสมสวน ไดรับมอบหมายให เปนคนดูแล เราทั้งสอง ดูแลแปลงผัก ดูแลเตาเผาถาน ทำน้ำสมควันไม แลวก็ชวยงานดูแลตนหมากรากไมทั่วไป แกเชี่ยวชาญเรื่อง ปลูกผักปลูกหญาสารพัด “ผอ.ปาหมู” บอกเราวา นาสมสวน เปนครอบครัวเกษตรกรตัวจริง ที่คุนกับการทำนาทำไรทำสวน ในชีวิตประจำวัน แกเลยคลองตัวเรื่องของการปลูกตนไมไป ทุกเรื่อง รูวาฤดูนี้ตองปลูกหรือไมปลูกอะไร แตแกจะอธิบาย ผลที่เปนวิชาการไมได เวลามีคนมาดูงานที่แปลงเกษตรอินทรีย ปาเบิรดเขาจึงเปนคนอธิบาย นาสมสวน กับปาเบิรดจะผลัด มาปลุกผมแตเชา ชวนไปชวยงานบาง ไปเดินเลนนอกบานบาง นอกนั้นก็มีนาคูณ เปนผูหญิง คอยชวยนาสมสวน ดูแลแปลงผัก ดูแลโรงเลี้ยงเห็ด และอื่นๆ ตามแตปาเบิรดจะ สั่ง มี พี่โนต โกญจนาท เกศบุรมย คนนี้ไมธรรมดา ถา บวชได แกคงบวชไปแลว พี่โนตมาจากกลุมสันติอโศก เรียนรู เรื่ อ งการดำรงชี วิ ต แบบพอเพี ย งมาล ว นๆ ชี วิ ต พี่ โ น ต ก็ เ ลย พอเพียงเอามากๆ ไมกินขาวเย็น ไมกินเนื้อสัตว ไมแตงตัว หวือหวา มียังไงอยูอยางนั้น หองนอนพี่โนตไมมีมาน ไม ตกแตงใดๆ มีเครื่องใชเทาที่จำเปน เงินเดือนหรือเบี้ยเลี้ยง พี่ โนตก็ไมเคยถามวาไดเทาไหร หรือเบิกยังไง ใหก็เอา ไมใหก็ ไมถาม ขอใหมีขาวกินเปนใชได กับขาวไมตองก็ไดหาเอาจาก แปลงผัก อยูไดสบายๆ ชิลล ชิล.. ถาจะใชใหพี่โนตทำงานอะไร

ทางเดินขางหองประชุม 2 140 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

ที่ตองมีคาใชจาย ปาแอด ตองสั่งพี่ออม ใหคอยดูแลเรื่องคา ใชจายพี่โนตดวย พี่โนตเขาเกงเรื่องการทำผลิตภัณทใชเอง มากๆ เนื่องจากเขาเรียนและอยูในสังคมที่ตองพึ่งตัวเอง ปา แอดก็เลยใหเขาสอนเด็กๆ ที่เขามาเรียนรูทำผลิตภัณฑนี้ดวย อีกวิชาหนึ่ง นอกจากนั้ น บางวั น เราจะเจอลุ ง กมล เป น ช า ง เครื่องยนต คอยซอมแซมเครื่องไมเครื่องมือในแปลงเกษตร บาง ตามบานพักบาง ดูแลสวนสมโอบาง ตัดหญาใหบางแลว แตใครจะเรียกใช ลุงกมลก็ไมธรรมดา จบ ปวช.ชางยนตมา เชียวนะ และบางวันก็มีพี่เดวิด คนชื่อฝรั่งหัวใจไทย เขามา ชวยอีกคน เปนเจเนรัล เซอรวิส รดน้ำตนไม ชางซอม แบก หาม ทำครัว ตัดตนไม ฯลฯ สองคนหลังนี่ เขาเปนลูกจางรายวัน ทำงานตามใบสั่ง

โซนโรงครัว หองอาหาร และแถวๆ บานพัก 9 หลัง เห็ น มี ค นหลายคนเดิ น เข า บ า นนั้ น ออกบ า นนี้ มิไดขาด เราก็เลยแวะไปดูบาง เจอ “ปาแจว” หรือ คุณศรีสวัสด รุจิมิ เปนหัวหนา งานบริการและสถานที่ ปาแจวบอกเราวา มีหนาที่คอยดูแล เรื่องอาหารการกินสำหรับแขกที่มาพักในศูนยฯ ปวย ดูแล เรื่องความสะดวกสบายของบานพักและสถานที่ ใครจะมานอน มากิน มาอบรม มาจัดสัมมนา ปาแจวจะดูแลหมด คนนี้ก็ไม ธรรมดา เคยทำงานเซอรวิสที่โรงแรมในกรุงเทพฯ มากอน แถมยังเคยทำงานบริษัทกอสรางบานจัดสรรมาอีกดวย แกก็ เลยจั ด การได เ กื อ บทุ ก เรื่ อ งที่ เ ป น เรื่ อ งสถานที่ ได ยิ น แกคุ ย

หองประชุม 1 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 141


ภายในหองอานหนังสือ

กับใครๆ วา “ถาปนั้นเศรษฐกิจไมพัง ชั้นคงไมไดมาทำงานที่ ศูนยฯ ปวย แลว แตมาแลวก็ไมเสียดายเลย ชีวิตนี้จะได ทำงานเพื่ อ ประโยชนต อ สั ง คมเสี ย บ า ง .....ทำเพื่ อ ลู ก และ ครอบครัวมาเสียนักหนาแลว” โซนนี้ มีทีมทำงานทั้งหมด 7 คน รวมทั้งปาแจว เปน เจาหนาที่จางประจำ 4 คนไดแก ปาใจ ลุงประสิทธิ์ พี่พัช และ พี่แมง ปาใจ (สมใจ บุญเล็ก) เปนแมครัวประจำศูนยฯ ปวย โอโห..เพิ่งรูวาปาใจ อยูมาตั้งสามสิบกวาป โตมากับมูลนิธิฯ เลยนะเนี่ ย .. บู ร ณากรรุ น แรกๆ รู จั ก ป า ใจกั น ทุ ก คน เวลาแวะมาเยี่ยมที่นี่ เขาจะถามหาปาใจคนแรกเลย..แขกที่เขา มาพักนอน พักกิน ในศูนยฯ ปวย ร่ำลือกันวา ปาใจมีฝมือทำ อาหารอรอยมากๆ ลุงประสิทธิ์ เปนชางซอม เปนชางกอสราง และที่ สำคั ญ เป น แฟนป า ใจ ไม เชื่ อ ถามลู ก ชายอายุ สิ บ ขวบ เป น พยานได เดิมลุงสิทธไมคอยไดอยูบานตองเรตามงานไปในที่ ตางๆ มาเมื่อปที่แลวขอสมัครอยูกับมูลนิธิฯ เพื่อจะไดพรอม หนาครอบครัว รายไดนอยลงก็ยอม ปาใจและลุงสิทธิ์จึงเปน

142 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

ตัวอยางใหเรียนรูเรื่องครอบครัวอบอุนแบบพอเพียงของสมาชิก ศูนยฯ เลยละ พี่ พั ช รี และพี่ แ มง เป น ผู ช ว ยป า ใจ ช ว ยทั้ ง งาน บานพักและงานครัว แหม..ที่บานผมไมเห็นพี่พัชรีไปชวยทำ ใหบางเลยนะ นอกจากนั้น มีลูกจางรายวัน มาตามออเดอร สอง คน คือ พี่นุช กับพี่เดียว ทั้งสองคนเปน เจนเนรัล เซอรวิส ในครัวและนอกครัว เพิ่งเขามา กอนหนาเราแปบบ เดียว ... ที ทำไมปาหมูไมใหเขาเขียนมั่งละ ..?? ที่ในครัว เนี่ย... มีเรื่องพิเศษอยูอยางหนึ่ง ที่เรา ชอบมาก เมื่อไรที่มีผูใชบริการอาหาร แลวมีอาหารเหลือ เจาหนาที่ ลูกจาง คนงาน ทุกคนที่อยูในศูนยฯ ปวย จะได รวมรับประทานอาหารฟรี หลังครัว.. มีปาใจ พี่พัช พี่แมง คอยเชียร ใหกินใหหมด จะไดไมเหลือทิ้งขวาง และลางงาย ! แต อ ย า มาวาดหวั ง ว า จะได กิ น ครบทุ ก อย า งที่ แขกกิ น นะจ ะ บางทีก็จะเหลือแตน้ำแกงราดขาวเทานั้น เอาเถอะ ..ถาฝมือ ปาใจ แคน้ำแกง ก็อรอยเหาะ สำหรับพวกเราแลวละ.... ออกจากโรงครัว เราเดินยอยอาหารไปถึง....

บานบุญมี บุญมา

โซนอาคารหองประชุม มีหองประชุมสองหอง อยูตรงขามกัน ซึ่งเปนอาคาร กลางของศูนยฯ ปวย 2 หลัง มีเสาธงประดับธงชาติไทย ตั้ง เดนเปนสงา ใหเคารพไดตลอด 24 ชั่วโมง ไมตองเอาขึ้นเอาลง ตามเวลาเคารพธงชาติ ที่นี่เขาใชอบรม ใชประชุม หรือจัด สัมมนา ใหชาวบาน ชาวเมือง หรือใครจะใชเขามานั่งคุยกัน เลนๆ ก็ไมวากัน แตชวยจายเงินบำรุง คาแอร คาทำความ สะอาด คาทำปลวก คาดูแลรักษาศูนยฯปวย ตางๆ ไมงั้นจะ เอาเงินที่ไหนมาจาย คาน้ำ คาไฟ คาอินเตอรเน็ท ทำกิจกรรม สอนเด็ก หรือ สงเสริมชุมชน ละ..ใชไหมฮะ พี่นอง?? ที่นี่ เราไดเจอ พี่ตน-อนิวัฒน หาโภคี เขาบอกเรา วาเขาเปนหัวหนางานฝกอบรม และดูแลเรื่องโสตทัศนูปกรณ ในหองประชุมสองหอง อยูกับ พี่ไบรท -ชื่อ..อนิรุทธ สองคนนี้ เปนเพื่อนรุนพี่รุนนองกัน จบปริญญาตรี สาขาสุขศึกษา จาก มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครสวรรค .เชียวนา ไง?? มารักดีทางนี้ ก็ไมรู ตัวพี่ตน-อนิวัฒน เลาใหฟงวา ทำงานมาจะสามปแลว ตอนแรกๆ เง า..เหงา กลางคืนก็เงียบจนได ยินเสียงแมว ทะเลาะกัน..พอแม พี่นอง เขาก็ไมอยากใหอยู แตอยูๆ ไป ใน

ความเหงา และเงียบ คือความสงบ ..อุย..พูดเปนพระเลย.. บวชหรือยังนี่.. นอกจากงานฝกอบรม พี่ตนกับพี่ไบรทยังตองชวยทำ โครงการตางๆ ที่จะสงผานงานพัฒนาถึงชุมชน หรือชาวบาน ดวย อยางเชนถามีคายเด็ก พี่ตนเขาก็จะเปนพี่เลี้ยง เปน พิธีกร เปนวิทยากร ถามีงานวิจัยในทองถิ่น พี่ไบรทเขาก็จะ ประสานงานในพื้นที่ ฯลฯ เปนโครงการๆ ไป แตถาวาง พี่สอง คนเขาก็แปลงรางเปนเจาหนาที่ประจำออฟฟศ ดูแลเว็บไซท ดูแลเครื่องไมเครื่องมือสำนักงาน จัดหองประชุม จัดการเรื่อง สื่อตางๆ...แมแตลงไปชวยตัดหญา ถาขาดคน ก็ตองชวยกัน ทำ ยิ่งตอนนี้ เราเห็นเด็กๆ เขามาศูนยฯปวย ทุกวันศุกร พี่ สองคนเขาก็ยังอาสาดูแลเด็กดวย เราเองก็ . .คุ น ๆ หน า พี่ เ ค า อยู . .โดยเฉพาะพี่ ไ บรท เวลาแกยิ้มให ดูเปนกันเอง กันเอง คุนหนาคุนตากันยังไงก็ ไมรู.... อาจจะเคยเดินสวนกันที่ตลาดนัดควาย อุทัยธานี หรือ เปลา ?? ยังไมทันจะถาม พี่ตนก็บอกใหผมรีบๆ ไปใหพนๆ “ที่นี่ไมใชที่เดินเลนนะครับ คุณทั้งสอง ถึงคุณจะเปนเด็ก ร.ม.ต. (รัฐมนตรี) แตถาคุณย่ำทำเอาวัสดุอุปกรณหองประชุมของ

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 143


เจาหนาที่ และบรรยากาศภายในศูนย

ผม เครื่องเสียง แอล ซีดี กลองวีดีโอ ราคาแพงๆ ในนี้ละก็ ผม จะ ต.ม.ล. (ตบไมเลี้ยง) นะครับ ก็เลยตองเผน ออกจากโซนหองประชุม แลวเราก็มา ถึง..... โซนสำนักงาน และ หองอานหนังสือ สวนนี้อยูดานหนาศูนยฯ ปวย เกือบจะออกประตู แลวฮะ.. เปนอาคารตอติดกับหองประชุมเล็ก มีหองหนังสือให อานหลากหลาย ที่เห็นก็คงเปนพันเลมละมั๊ง.. ทุกเย็นวันศุกร หองนี้จะมีเด็กมาชุมนุมกันหลายคน ทั้งเด็กโตเด็กเล็ก ไดขาว วาเด็กโตเขาไปขอศาลา “ผอ. ปาหมู” ทำเปนออฟฟศกัน แลว แตเด็กเล็กยังตองเติม ความจริง ความงาม ความดี อยูที่นี่กอน ห อ งอ า นหนั ง สื อ นี้ เป ด โล ง ติ ด ต อ กั บ สำนั ก งาน ทำหนาที่เปน สำนั ก งานกลางด ว ย มี โ ทรศั พ ท ก ลางหมายเลข 056-411220-1 มี เ ครื่ อ งโทรสารกลางหมายเลขเดี ย วกั น มีอีเมล กลาง.trrmchainat @hotmail.com มีระบบอินเตอรเตอรเน็ตความเร็วสูงของ ทศท./TOT และเปดสำหรับผูใชบริการที่ประสงคจะใชในการติดตอสื่อสาร ลูกคาหรือใครๆ ก็ตามที่เขามาติดตอศูนยฯ ปวย ไมวาดวย 144 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

เรื่องอะไร ถามาแจงตรงนี้ ก็จะมีคนอำนวยความสะดวกให ผูมาติดตอ ไมตองเดินไปไกล พื้นที่ขนาดนี้ เดี๋ยวจะพลัดหลง มาเจอเราเสียเปลาๆ เพราะโซนอื่นเขาลงพื้นที่กันหมด กวาจะ หากันเจอ คงเหนื่อยแฮกเสียกอน ในสำนักงานมีคอมพิวเตอร 2 เครื่อง ใชทำงานไป ดวย ใชสอนเด็กๆ ไปดวย แมแตเขียนโครงการ ทำรายงาน รับหนังสือ ตอบจดหมาย ขอเลขที่หนังสือออก ตอบ อี-เมล ผลิตใบปลิว ถายเอกสาร ติดตอองคกร เก็บเรื่องเขาแฟม ออก ใบเสร็จรับเงิน เบิกคาใชจาย นำเงินเขาบัญชี ก็เปนหองนี้ แหละ ถือเปนตัวเชื่อมสำคัญของศูนยฯ ปวย ก็วาได คนที่ตองทำทุกเรื่องในสำนักงานนี้ คือ พี่ออม ลินดา พุฒนาค สาวสวยคนเดียวของที่นี่ ...จริงๆ ฮะ.. เพราะ คนอื่นนอกจากพี่ออม ก็เปนผูชายเสียครึ่งหนึ่ง ผูหญิงอีกครึ่ง แตงงานหมดแลวทูกคน .... อายุเลยหลักสี่ จะถึงดอนเมือง อยูรอมมะรออีกตางหาก นอกจากงานเหลานี้..แลว พี่ออม ยังดูแลหองอาน หนังสือ สอนนองๆ กลุมเด็กแนวของที่นี่ แถมวันเสาร-อาทิตย ยังขยันไปเรียนเอาประกาศนียบัตรครูมาประดับบารมีอีกดวย.. โฮยย..!! ทำไมคนที่นี่เขาขยันเรียนรูกันจัง.... สมกับอยูศูนย

โครงการบานดิน

เรียนรูจริงๆ สวน “ผอ.ปาหมู” นั้น วิ่งไปวิ่งมาระหวางนโยบายกับ ปฏิบัติการ ตองไปเขารวมประชุมตามเวทีตางๆ ในกรุงเทพ บาง จังหวัดตางๆ บาง เขาเรียกวาเวทีผลักดันนโยบาย ถึงไม ผลักดัน ก็ตองไปติดตามวาสังคมเขาทำอะไรกันไปถึงไหน แลว แตกอนปาหมูตองไปเกือบทุกเวที แตหลังๆ ตองเลือกเอา วาเรากำลังทำเรื่องอะไร ก็ไปเวทีนั้น ปาหมูเขาบนวา “วิ่งไม ไหวแลว ตองเลือกเรื่องที่เปนประโยชนตอชุมชนที่เราทำจริงๆ เทานั้นแหละ” บางครั้งตองติดตอระดมทุน เชื่อมประสานหา ทรัพยากร หาอาสาสมัครมาสนับสนุนโครงการ เราไดยินปาแอด เลาใหพวกพี่ๆ ฟงวา ปาหมูเปน ผูแทนมูลนิธิฯ ตามตราสาร มีหนาที่ปฏิบัติการตามนโยบาย จะมาจุก..อยูในพื้นที่เดียวไมได เขามีหนาที่ตองมองสังคม รอบดาน และดูวา องคกรของเราจะทำประโยชนใหสังคม อยางไรดวย ถานับไปนับมา ปาหมูคงระดมทุนมาทำงานหลาย โครงการมากโขอยู แมแตคาตัวเราทั้งสองเนี่ย..ปาแกก็ไดเงิน สนับสนุนมาจากคุณไพบูลย วัฒนศิริธรรม ตอนนั้นทานเปน ประธานกรรมการของมู ล นิ ธิ ฯ พอท า นได รั บ เชิ ญ ให เ ป น

รัฐมนตรีกระทรวงพัฒนาสังคมฯ ในยุค ค.ม.ช...เราก็เลยกลาย เปนเด็กเสนรัฐมนตรี เทห..ซะยังงั้น...... มีเรื่องของใจกันอยูวา ถาตางคนตางอยูในพื้นที่ตัวเอง ยังงี้ ..เขาจะทำงานเชื่อมโยงกันยังไง พี่ออมบอกวา “ออ..เรา ประชุมรวมกันสัปดาหละหนึ่งครั้งนะจะ จะเปนวันไหนพี่จะ เปนคนกลางนัดหมาย แตเดิมกำหนดกันวาทุกวันอังคาร ตอ มาวันว างจะไม เท ากัน โซนหองประชุ มกั บที่ พักอาหาร มั ก ติดพันงานแขกที่เขามาใชบริการ กวาจะเสร็จงานตกเขาไป สาม-สี่ทุมก็เคย..หรือโซนเกษตรอินทรีย ตองลงเมล็ดผักให หมดทั้งแปลง ไปเรียกเขาประชุมในวันที่เขาลงแปลงก็ไมได จึงตองเลื่อนวันเอาตามความเหมาะสม แตยังไงๆ สัปดาห หนึ่งก็ตองประชุมใหไดหนึ่งครั้งเสมอ ยกเวนถามีอะไรเรงดวน เราก็จะเรียกประชุมทันที ในที่ประชุม เราจะแลกเปลี่ยนประสบการณ หรือ รายงานผลการปฏิบัติงานของแตละคน กำหนดกิจกรรมงาน สัปดาหตอไป บางทีถามีปญหา ก็ตองชวยกันระดมความคิด เห็นเปนอยางนี้ประจำเลยจะ” เราปรึกษากันวา อาทิตยหนา ถาเราไปประชุมกับ เขาดวย คงไดอมพระมาพูด..ก็ไมเชื่อ กันบางหรอก !!.. เอ.. หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 145


บุญมี - บุญมา เองครับ

จะเขาประชุมดวยดีไม นา...??? นั่นนะ .. คือวิถีชีวิตในตอนกลางวัน พอตกเย็น ไดเวลาเลิกงานแลว ถาไมมีงาน จัดเลี้ยง บริการแขก หรืองานที่เรงดวน เชนวางแผนงานคายเยาวชน หรือ งานระดมความดิดเห็นอื่นๆ พี่ ปา นา อา ที่เขามีบานอยู ชัยนาท เขาก็ควบมอร’ไซด กลับบานกันประมาณหาโมงเย็น แตถามีงานเรง งานดวน งานบริการ ถึงไหนถึงกัน หรือบางเย็น ก็เห็นชมรมเด็กบานกลวย แวะมาคุยกับปาแอด พี่ออม พี่ตน จนมืดค่ำ พี่ๆ ปาๆ ที่พักอยูในศูนยฯ ปวย จึงดำเนินชีวิตยาม ค่ำตามอัธยาศัย บางก็เขาหองหับที่ “บานยี่โถแดง” ที่เขา เรียกวาบานพักเจาหนาที่ พี่โนต พี่ออม พี่ตน อยูชั้นบน คน ละหอง สวนพี่ไบรท อยูบางไมอยูบาง เพราะ “คุณแมขอรอง งงง ..” ใหกลับนครสวรรค คุ ณ ป า แจ ว มี ห อ งหั บ อั น โอ โ ถงอยู ชั้ น ล า งของบ า น เอาไวเปนที่พักเก็บพัสดุที่ใชงานประจำเชน ถวยโถโอชามที่ ราคาแพงบาง อุปกรณที่ตองการการดูแลเปนพิเศษก็ฝากไว ในหองนอนปาแจวได ตามประสาคนมีหนาที่ดูแลสถานที่ 146 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

นอกจากนั้นปาแจวยังมีอารมณสุนทรียะจัดสวนหยอมนอยๆ เอาไวชื่นชมขางหองนอนดวย แกบอกกับใครๆ วา “เปนความ สุขเล็กๆ ยะ” ส ว น ป า เบิ ร ด ของเราไม ไ ด อ ยู ที่ บ า นพั ก นี้ แกอยู กระทอมนอยริมคลอง ขางแปลงผัก ใกลบานพักของเรา นี่ก็ อีกคน ใชวิถีชีวิตแบบพอเพียง ตกเย็น ปาฯ เขาจะไปรวมกวน เลนบอล กับ พี่ตน พี่โนตและกลุมเด็กๆ เสร็จแลวกลับบาน มาทำกับขาวกินเอง บางวันพวกพี่ๆ ขางบนเขาก็ลงไปแจมดวย บางวันปาฯ แกก็แอบกินคนเดียว แกบอกวารำคาญผูคน พวกพี่ๆ เขานินทาปาฯวา “ใจคอปาฯ จะคบแตเด็กเสนเทานั้น เองเหรอ..คบหวังผลละซี้....” สวนปาแอดพักอยูชั้นลางของบานตะแบกมวง ติดกับ บานพักพนักงาน แกตั้งชื่อบานของแกซะหรูวา กิ่งตะแบกมวง ซึ่งแกเปนปลื้มนักหนาวาเปนบานหลังที่สอง ที่ทุกคนรวมกัน สรางใหแก เนื่องจากสมัยกอนที่พวกพี่ๆ ปาๆ เขาจะยายมาอยู นี้ ใตถุนบานตะแบกมวงจะเปนที่เก็บของรกเลอะเทอะ และ เปนที่อยูของแมว แมว แมว..ออกลูกออกหลาน ยั๊วเยี้ย เหม็น หึ่งไปหมด ปาแอดไปอาศัยนอนบานปาแจวมั่ง บานปาหมูมั่ง

รายงานตัวตอ ดร. ธาริษา วัฒนเกส ผูวา ธปท. เมื่อไปเยี่ยมชัยนาท

เพราะแกเปนคนกลัวผี จนผูคนเขารำคาญ ผอ.ปาหมู เลยสั่ง รื้อหองเก็บของ แลวปรับปรุงตกแตงตอเติมใหใหม มีปาแจว เปนคนดำเนินการ ใชแรงงานชางและพวกเราในศูนยฯ ปวย นี่แหละ ชวยกันปรับปรุงจนเสร็จ เปนบานนอยแสนอบอุน ใตตนจามจุรี นี่แหละฮะ...ไลฟสไตลของคนในศูนยฯ ปวย รุนลาสุด ไดหมดทุกคนแลวนะเนี่ย..ขอเมาทอีกสักคนเดียว คือ “ปา แอด” ศรีสกุล บุญยศักดิ์ ผูชวยของ “ผอ.ปาหมู”เคาละ....เห็น กันอยูหลัดๆ...เอย..เห็นกันอยูทุกวัน แตเห็นไกลๆ แกชอบ แตงตัวแปลกๆ เหมือนยายผมที่บานนอก เชน บางวันแกก็ นุงผาถุง ใสเสื้อคอกระเชา บางวันใสหมวก บางวันใสแวน บาง วันนุงกระโปรงหรูหราหาแตม บางวันทำโจสะพายยาม ไมรู จะเอายังไง ตามแฟชั่นแกไมทันจริงๆ เร รูวาแกคอยดูแลทุกข สุขของคนที่นี่ เปนมือเปนเทา เอย..เปนหูเปนตาแทนเวลา ป า หมู ไ ม อ ยู คอยกลั่ น แกล ง เอ ย กลั่ น กรอง งานโครงการ งบประมาณ ตามนโยบายที่ปาหมูรับมา วาจะไปหาขอมูลกับ แกสักหนอย ดูสิ.. ตั้งแตเรามาอยูที่นี่หลายเดือนแลว แกไม เคย..จะเขามาดูแลทุกขสุขของเราใกลๆ เลย..เห็นแตชี้โบชี้เบ

ถามคนอื่น มีคนบอกวาแกมักวนๆ เวียนๆ อยูแถวออฟฟศกับ หองอานหนังสือนี่แหละ… ฮั่นแน.. เจอแลว.. นั่งอยูในหองเล็กหรู ตรงหอง ทำงาน ผอ.นี่เอง.. พอเห็นเราเดินไปหา เทานั้นแหละฮะ แก ทำหนาเหมือนถูกผีหลอก “อุย ตาย ตาย..วาย!! กรี๊ด!! ..ควาย ควาย เวย!!! ชวยดวยๆ..!!! ควายบุกออฟฟศ .. ใครปลอย ไอสองตัวมาที่นี่ ชั้นกลัว..ชั้นกลัว !!!..ชั้นเคยโดนควายขวิด มาแลว ไป ..ไปใหพน เหวย..เหวย..ใครมาลากไอสองตัวนี่ไป เขาคอกที่เรือนไทยใหที อยา..อยาใหมันเขามาใกลชั้น....ชั้น กลัว..!! ” ซะยังงั้น !! ...เราก็เลยตองเผนกลับบานพักเรือนไทย ของเราแทบไมทัน ไมรูวาใครกลัวใคร กันแน..เรากอกลัวปา แอดเหมือนกันนะ ขอบอก ลงชื่อ บุญมี-บุญมา ผูรายงาน

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 147


ประสบการณเกษตรอินทรีย ที่ศูนยการเรียนรูชุมชน ปวย อึ๊งภากรณ นพดล กลิ่นถนอม หัวหนาโครงการเกษตรอินทรีย บชท.

อาชี พ การเกษตรมี ค วามสำคั ญ อย า งมากกั บ การ พัฒนาประเทศประเทศไทย ทั้งนี้เพราะประชากรกวาครึ่งหนึ่ง ของประเทศมี อ าชี พ เกษตรกรรม ชี วิ ต ความเป น อยู และ วัฒนธรรมประเพณี ลวนเกี่ยวของกับการเกษตร วิ ถี ก ารเกษตรดั้ ง เดิ ม เป น การผลิ ต ที่ ป ลู ก พื ช แบบ หลากหลายเพื่ อ อยู เ พื่ อ กิ น ตอบสนองความต อ งการของ ครอบครัวและชุมชน จนกระทั่งไดมีการรับระบบการเกษตร แผนใหม ที่ เรี ย กว า “การปฏิ วั ติ เขี ย ว” วิ ถี ก ารผลิ ต ที่ พึ่ ง พา ธรรมชาติเปลี่ยนเปนการผลิตพืชเชิงเดี่ยวตอบสนองตอความ ตองการของตลาด มีการใชสารเคมี และปุยเคมี การขายผลผลิตมุงเพื่อใหไดเงินเปนสำคัญ ไดละเลย และเลิ ก ให ค วามสนใจต อ สภาพแวดล อ ม และสุ ข ภาพของ ผูบริโภคและรวมทั้งผูผลิตเอง ผลตอบแทนที่เกษตรกรไดรับ กลั บ เป น เพี ย งการมี ห นี้ สิ น เพิ่ ม มากขึ้ น และการอพยพย า ย ถิ่นฐานเขามายังเมือง กอใหเกิดปญหาทางสังคมตามมา “สูงสุด คืนสูสามัญ” นาจะเปนสัจจะธรรมของชีวิตที่ ดีของเกษตรกร บทเรียนความลมเหลวของการทำการเกษตร แผนใหมไดกอใหเกิดกระแสการปรับวิถีการทำเกษตรมาเนน ที่การพึ่งพาตนเอง ใชหลักพึ่งพิงความสมดุลของธรรมชาติ 148 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

และการสรางความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่เกษตร ศูนยการเรียนรูชุมชน “ปวย อึ๊งภากรณ” มูลนิธิ บูรณะชนบทแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ เปน องคพัฒนาเอกชน ไดดำเนินการพัฒนาชนบทและสังคม มา เปนเวลารวม 40 ป ปจจุบันพื้นที่ดำเนินการของศูนยฯ อยูใน จังหวัดชัยนาทซึ่งเปนจังหวัดที่อยูในภาคกลาง และมีความ สำคัญในฐานะเมืองเกษตรกรรม ทั้งพื้นที่สวนใหญของจังหวัด เปนพื้นที่ทำการเกษตร และใชสารเคมีในการผลิต ศูนยปวยฯ ไดเล็งเห็นถึงปญหาดังกลาวจึงไดดำเนินการโครงการเกษตร อินทรีย ในป 2547 เพื่อถายทอดองคความรูทางดานการทำ การเกษตรแกเกษตรกรภายในจังหวัด และผูสนใจทั่วไป แบบ ปลอดสารเคมี เนนการใชวัสดุธรรมชาติที่หาไดงายภายใน ท อ งถิ่ น ทั้ ง ยั ง เป น การใช ท รั พ ยากรคื อ พื้ น ที่ ที่ มี อ ยู ใ ห เ กิ ด ประโยชนสูง และสรางผลผลิตทางการเกษตรเพื่อจำหนาย เปนรายไดของโครงการ ปจจุบันการดำเนินงานของโครงการเกษตรอินทรีย ประกอบไปดวยกิจกรรมตาง ๆ เชน แปลงสาธิตการปลูก พืชผัก แปลงสมุนไพรพรอมอุปกรณกระจายน้ำฝอย (ยูเล็ม) เตาเผาน้ำสมควันไม การเลี้ยงควาย และการเพาะเห็ดฟาง

ลักษณะการดำเนินกิจกรรมที่หลากหลาย เพื่อเปนประโยชน เกื้อกูลซึ่งกันและกัน แปลงสาธิตการปลูกพืชผักอินทรีย มีเนื้อที่จำนวน 2 ไร เหตุที่ทำเพียง 2 ไร เพื่อตองการทำเปนตนแบบวาเกษตรกร ที่มีพื้นที่เพียง 2 ไร ก็สามารถที่จะทำการเกษตรโดยสามารถ ที่จะมีรายได หรือเลี้ยงครอบครัว 1 ครอบครัวได และเปน จุดเริ่มตนของการทำเกษตรอินทรียโดยใชพื้นที่นอย ใหกับ เกษตรกรทดลองทำดู ก อ น เมื่ อ ปรากฏผลว า ได ผ ลสำเร็ จ เกษตรกรอาจขยายพื้นที่ปลูกเพิ่มขึ้น การดำเนินงานในแปลงสาธิตมีการเลี้ยงปลาดุกใน รองสวน และปลูกพืช ระบบการปลูกพืชเนนหลักการใชพื้นที่ ใหเกิดประโยชนสูงสุด และปลูกพืชแบบหลากหลายชนิดเพื่อ เปนการสรางความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งนับวาเปนหลัก การที่สำคัญของการทำ “เกษตรอินทรีย” พืชที่ปลูกเปนพืชผัก สวนครัว เชน มะเขือ มะละกอ ผักกวางตุง คะนา ผักบุงจีน ฯลฯ ซึ่งในแปลงดังกลาวจะไมมีการใชปุยเคมี และสารเคมี ปราบศัตรูพืช แตจะใชปุยหมักแหงชีวภาพ ซึ่งผลิตจากวัสดุ ธรรมชาติ ส ว นการควบคุ ม ศั ต รู พื ช ใช วิ ธี น ำพื ช สมุ น ไพร เช น สะเดา ขา ตะไครหอม ฯลฯ มาหมักกับกากน้ำตาลทิ้งไว และ นำไปผสมน้ำฉีด ผลผลิตที่ไดจากแปลงจะสงใหกับทางโรงครัว ของศูนยฯ ปวย และมีแมคามารับซื้อถึงที่ ซึ่งรายไดที่ไดจาก การขายผลผลิ ต จะนำมาใช เ ป น เงิ น ลงทุ น ซื้ อ วั ส ดุ ท างการ

เกษตร และเปนคาจางแรงงานในการดำเนินการโครงการ ทั้ง ยังมีการจดบัญชีฟารมคือรายรับ-รายจายของการดำเนินงาน เพื่ อ ใช ใ นการเปรี ย บเที ย บการลงทุ น และการวางแผนการ ระบบปลูกพืช แปลงสมุนไพรพรอมอุปกรณกระจายน้ำฝอย (ยูเล็ม) เปนแหลงรวบรวมสมุนไพรนานาชนิด และเผยแพรความรูทาง ดานสมุนไพร ทั้งยังมีอุปกรณกระจายน้ำฝอย (ยูเล็ม) ไดรับ การสนับสนุนจาก ธกส. เพื่อทดลองใชกับการปลูกสมุนไพร เตาเผาน้ำสมควันไม ไดรับการสนับสนุนจาก ธกส. เชนกัน ดวยพื้นที่ภายในศูนยฯ มีตนไมนอยใหญเปนจำนวน มาก จำเป น ต อ งตั ด แต ง กิ่ ง และตั ด บางต น ที่ ต าย ซึ่ ง กิ่ ง ไม ดั ง กล า วสามารถนำมาใช เ ผาถ า น และได น้ ำ ส ม ควั น ไม ใช สำหรับปองกันศัตรูพืชในแปลงเกษตรได เปนการใชทรัพยากร ที่มีอยูใหเกิดประโยชน การเลี้ยงควาย ศูนยฯ ไดซื้อควายดวยเงินบริจาคเพื่อ การนี้โดยเฉพาะจากคุณไพบูลย วัฒนศิริธรรม อดีตประธาน กรรมการอำนวยการมู ล นิ ธิ ฯ ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ส ง เสริ ม การอนุ รั ก ษ ควายไทย ชวยลดปริมาณหญาที่ขึ้นรกภายในมูลนิธิฯ และมูล ควายสามารถนำมาทำเปนปุยไดอีกดวย โรงเรื อ นเพาะเห็ ด นางฟ า เป น การสาธิ ต เพื่ อ สร า ง รายไดจากการจำหนายอีกกิจกรรมหนึ่ง มีการเพาะเลี้ยงกอน เห็ด ปจจุบันสามารถสรางรายไดโดยการจำหนายใหกับโรง ครัว และแมคาที่เขามารับซื้อ

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 149


นอกจากกิจกรรมภายในศูนยฯ แลว โครงการเกษตร อิ น ทรี ย ยั ง ได ร ว มกั บ สำนั ก งานเกษตรและสหกรณ จั ง หวั ด ชัยนาท จัดทำโครงการคายปลุกจิตสำนึกเยาวชนสืบสาน อาชี พ เกษตรกรรม ในเดื อ นมกราคม – กุ ม ภาพั น ธ 2549 จำนวนเยาวชนที่เขารวมโครงการ 2 รุน รุนละ 100 คน รวม ทั้ ง สิ้ น 200 คน และโครงการค า ยเยาวชนตั ว น อ ยร อ ยรั ก อาชีพเกษตรกรรรม (เยาวชนระดับประถมปลาย) จำนวน 120 คน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อปลุกจิตสำนึกใหเยาวชนมีความ สนใจที่จะสืบสานอาชีพเกษตรกรรม นับวาไดรับความสำเร็จ จากผลการดำเนินงานเปนอยางดี ผลของการดำเนิ น โครงการด ว ยระยะเวลา 2 ป ที่ ผานมา โครงการไดรับความสำเร็จในระดับหนึ่ง และโครงการ มีความพรอมเปนสถานที่ถายทอดความรูทางดานการเกษตร โดยมี กิ จ กรรมต า งๆ ที่ ห ลากหลายไว ใ ห ศึ ก ษาเรี ย นรู แ ก เกษตรกร และผู ส นใจ ซึ่ ง การดำเนิ น งานต อ ไปในอนาคต จำเปนที่จะตองพัฒนากิจกรรมตางๆ ที่มีอยู และใหควาสำคัญ กับเรื่องของผลผลิตที่จะจำหนายเพื่อนำรายไดมาใชในการ ดำเนินงานโครงการตอไป

150 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

เห็ด พืชเศรษฐกิจทุกฤดูกาล

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 151


152 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

เตาเผา น้ำสมควันไม

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 153


“ครูแปน” คือลูกชาวนา บานทาระบาด อ.สรรคบุรี จ.ชัยนาท ตองออกจากโรงเรียนตอน ป.4 ทั้งๆ ที่เปนเด็กรักเรียน สาเหตุเพียงเพราะยากจน ตองชวยพอแมเลี้ยงควาย ถาไมมีศูนยปฏิบัติ การบูรณะชนบท ของมูลนิธิฯ ที่บานทาระบาดเมื่อสี่สิบปกอน ใหเขาไปแอบเรียนรูยามวางจากการ เลี้ยงควาย ถาไมใชเพราะพี่ๆ บูรณากรในศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานทาระบาดชวยสอน ปานฉะนี้ ครู แปน อาจจะตองเขาสูวิถีการดำรงชีพแบบสังคมเมือง เปนมนุษยกินเงินเดือนในกรุงเทพ สงเงินกลับ บานใหพอแม ซึ่งก็เปนชีวิตที่แสนจะเปนปกติในยุคปจจุบัน แตทุกวันนี้ ครูแปน คือ ครูใหญผูดูแลศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานทาระบาด สืบทอดเจตนารมณ ของอาจารยปวยฯ ตอจากบูรณากรยุคบุกเบิก เปนหนึ่งในแกนนำชาวบานที่ผันชีวิตตัวเองมาทำงาน เพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม เปนผูกอตั้งโรงเรียนอนุบาลสุธิชา รวมกับแกนนำชาวบานทาระบาด และมี ความฝนแรงกลา ที่จะใหโรงเรียนของชุมชน เพื่อชุมชน และดำเนินการโดยชุมชนแหงนี้ มีจุดยืนในการ สรางเด็กของชุมชนใหเดินอยูบนเสนทางสายคุณธรรม ความจริง ความงาม และความดี ตามที่ลูกศิษย อาจารยปวยฯเคยสอนมา มูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยฯ ชุมชนบานทาระบาด และผูรวมอุดมการณทั้งนอก และในจังหวัดชัยนาทที่มีสวนรับรูการทำงานของครูแปน จึงรวมกันสนับสนุน เปนกำลังใจ และ สานฝน ให “ครูแปน” เปนจริง....

ศูนยเด็กเล็ก รากแกวของชีวิต สมควร พักผอน “ครูแปน” แกนนำผูกอตั้งโรงเรียนอนุบาลสุธิชา ครูประจำศูนยพัฒนาเด็กเล็ก บานทาระบาด ต.เที่ยงแท อ.สรรคบุรี จ.ชัยนาท

ตั้ ง แต เรี ย นจบ ป.4 จากโรงเรี ย นวั ด สั ง ฆาราม ตำบลเที่ยงแท อำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท ที่อยูใกลบาน แลวก็ไมไดเรียนตออีก ตองออกมาชวยพอแมเลี้ยงควายจนลืม หนังสือ อานหนังสือไมออกเลย ชวงระหวางเวลาดังกลาวเมื่อ 40 ปมาแลว อายุประมาณ 8 ขวบ มูลนิธิบูรณะชนบทแหง ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ ไดจัดตั้งศูนยปฏิบัติการ พัฒนาชนบทแบบผสมผสาน และจัดตั้งโรงเรียนเด็กเล็ก ที่ ตำบลเที่ยงแท อำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท เพื่อชวยพัฒนา ดานสุขภาพ การศึกษา อาชีพเกษตรกรรม และอาชีพเสริม เชน การตัดเย็บเสื้อผา เสริมสวย ซึ่งอยูใกลๆ กับบานพัก จึง เปนโอกาสที่ไดเขารวมกิจกรรมทุกกิจกรรมที่จัดโดยมูลนิธิฯ แตเนื่องจากอยากเรียนหนังสือมากๆ จึงเขาไปแอบ เรียนหนังสือในโรงเรียนเด็กเล็ก ที่เขาตั้งขึ้นที่บานทาระบาด ดวย ตอนนั้นพี่ๆ ที่เปนบูรณากรจากมูลนิธิฯ เชน คุณสมชาย ยกตรี คุณเดช รัชฏาวงศ และพี่คนอื่นๆ อีกหลายคน ผลัดกัน มาประจำอยูที่ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก ซึ่งเปนสวนหนึ่งของศูนย ปฏิ บั ติ ก ารบูร ณะชนบท เขตตำบลเที่ย งแท เปน เหมือ นครู สอนให พวกพี่ๆ สอนอะไรให เราก็เรียนรูไปดวยทุกอยาง วิ่งเขาวิ่งออกโรงเรียนเด็กเล็กจนอายุประมาณ 14 ป พอจะเปนน้ำพักน้ำแรงได แมก็สงไปเปนลูกจางที่กรุงเทพฯ 154 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

พักหนึ่ง หลังจากนั้นจึงกลับมาบาน และเขาเรียนหนังสือที่ โรงเรียนเด็กเล็ก อีกเปนระยะๆ ตอนนี้แหละที่พออานหนังสือ ออกไดบาง จนกระทั่งมีการเปดสอนการศึกษาผูใหญจึงไดมี โอกาสเขาเรียนและสอบเทียบไดอยางเปนทางการจนจบชั้น ประถมปที่ 7 และเรียนวิ ชาชี พเสริมไปดวย เพราะทำมา หากินได ชวงนี้ไดทั้งประสบการณและความรู สำหรับชาวบาน ในสมัยนั้นแหลงงานที่จะเรียนรูอาชีพและทำเงินไดที่ดีที่สุด คือกรุงเทพฯ และเริ่มจะโตพอที่จะกลับไปทำงานที่กรุงเทพฯ ไดอีกครั้งหนึ่งแลว จึงตามนาสาวเขาไปหางานทำที่กรุงเทพฯ อีกครั้งหนึ่ง ทำงานหาเงินสงบานและเลี้ยงดูตัวเองอยูหลายป โชคดี ที่ ไ ด น ายที่ ดี ๆ หลายท า นช ว ยสั่ ง สอน ช ว ยให เ พิ่ ม ประสบการณในการใชชีวิตมากขึ้นไปอีก ประมาณป 2534 โรงเรียนเด็กเล็ก บานทาระบาด ของมูลนิธิบูรณะชนบทฯ เริ่มประสบปญหาขาดแรงสนับสนุน เนื่ อ งจากมู ล นิ ธิ ฯ กำลั ง ชะงั ก การดำเนิ น การเพราะความ เข า ใจผิ ด ทางการเมื อ ง แต โรงเรี ย นเด็ ก เล็ ก ก็ ยั ง ดำเนิ น การ อยูตอไปอยางออนแรงเต็มที ครูสอนเด็กเล็กในชวงนั้นกำลัง จะลาออก ระหวางที่เรากลับมาเยี่ยมบาน ก็ไดรับรูสถานการณ มาโดยตลอดเพราะโรงเรียนเด็กเล็กอยูติดๆ กับบาน เลยเกิด

ความรูสึกสงสารเด็กที่กำลังเรียน และคิดวายังมีเด็กที่ตองการ โอกาสในการเรียนเหมือนเราอีกหลายคน นึ ก ถึ ง ตอนที่ เราอยากเรี ย นหนั ง สื อ แล ว ไม ไ ด เรี ย น เพียงเพราะวาบานเรายากจน ถาไมไดพี่ๆ ที่มูลนิธิฯ สอนให เราก็คงจะลืมหนังสือไปแลว เด็กๆ ที่อยูในโรงเรียนเด็กเล็กนี้ ก็เปนลูกๆ หลานๆ ของคนบานเราทั้งนั้น ขณะนี้เราเองก็พอ จะมีความรูอยูบาง แคสอนเด็กเล็กใหอานหนังสือออกเหมือน เรา แคนั้นก็นาจะพอทำได พี่ๆ บูรณากรเปนคนจากที่อื่นแทๆ เขายังมาเสียสละสอนใหไดเลย ถาจะปลอยใหโรงเรียนเด็ก เล็กตองเลิกไปเพราะวิกฤติทางการเมือง เด็กๆ ก็คงไมมีที่เรียน ตองรอจนกวาจะโตเขาโรงเรียนวัดได ทำใหตัดสินใจลาออก จากงานในกรุงเทพฯ เขามาทำงานทีโ่ รงเรียนเด็กเล็ก บานทา ระบาด กลับมาเปนผูดูแลเด็ก โดยอาศัยประสบการณจากที่เคยได เรียนรู และไดรับการดูแลจากพี่ๆ ในมูลนิธิบูรณะชนบทฯ ขณะนั้น พี่ๆ บูรณากรกำลังจะอำลาศูนยปฏิบัติ การไปหมดแลว เพราะเกรงจะเขาขายมีปญหาทางการเมือง เมื่อตองมารับรูสถานการณในชวงระยะเวลาดังกลาว จึง ต อ งสั ญ ญากั บ ตั ว เองว า จะต อ งกลั บ มาสร า งความเจริ ญ กาวหนาใหโรงเรียนเด็กเล็ก ใหเหมือนกับตอนที่เริ่มตนให ได เพราะจะมีประโยชนตอเด็กในชุมชนอยางมากเหมือน

กับที่เราไดรับประโยชนมาแลว ระหวางนั้นเปนเวลาเปดเทอมพอดี มีเด็กเรียนอยู 9 คน มูลนิธิฯ ยังคงมีเงินทุนใหคาตอบแทนแกครูพี่เลี้ยงอยูเดือน ละ 400 บาท อาศัยวามีบานพอแมใหอยูกิน จึงดำเนินชีวิต อยูได จากนั้ น ก็ ไ ปสมั ค รเรี ย นการศึ ก ษานอกโรงเรี ย นวั น เสาร-อาทิตย ไหนๆ ก็จะเปนครูสอนเด็กใหไดแลว ก็ตอง เรียนเพิ่มเติมเสียหนอย ดูแลเด็กไปเรียนไปจนจบมัธยมตน แลวไปตอปริญญาตรี สถาบันราชภัฎนครสวรรค เรียนเฉพาะ วันเสาร-อาทิตย จนไดปริญญาตรี วทบ. แลวไปเรียนเพิ่มจน ไดรับประกาศนีบัตรสาขาวิชาชีพครู ทำงานเปนพี่เลี้ยงโรงเรียน เด็ กเล็ ก อยู เป นระยะเวลา 9 ป ได รับค าตอบแทนเพิ่มขึ้ น เปน 700 บาท และ1,000 บาทตอเดือน ตามลำดับ ตอมาเริ่มมีบทบาทในชุมชนเพราะชาวบานมอบหมาย ใหเปนอาสาสมัครทำงานแทนชุมชน โดยเฉพาะเรื่องที่เกี่ยวกับ การศึกษา เนื่องจากเปนครูพี่เลี้ยงที่ทำงานตอเนื่องในทองถิ่น มานาน คุนเคยและมีประสบการณกับการทำงานในชุมชนของ พี่ๆ บูรณากรมูลนิธิฯ ในสมัยนั้น ทำใหทำงานรวมกับชุมชนได งาย นอกจากนั้นยังมีการติดตอประสานงานเชื่อมโยงกับองคกร ภาครัฐและเอกชนแทนชุมชนมากขึ้นดวย จึงตองหารุนนอง หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 155


ที่จบ ปกศ.สูง มาชวย โดยแบงเงินเดือนของตนเองใหครึ่งหนึ่ง เพราะไมรูจะไปขอรับการสนับสนุนจากใคร จนกระทั่งเมื่อป 2542 มีโครงการกองทุนเพื่อสังคม ของภาครัฐ (SIF) เขามาในหมูบาน จึงไดเรียนรูและทำโครงการ เสนอขอสรางศาลาเปนศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานทาระบาด ป 2545 จำนวนนั ก เรี ย นมี เ พิ่ ม มากขึ้ น จึ ง ของบประมาณตอเติมศาลาใหเปนอาคารเรียน ซึ่งก็คือสภาพศูนย พัฒนาเด็กเล็กทาระบาดในปจจุบันนี้ อยางไรก็ตาม ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานทาระบาด ซึ่ง ปจจุบันอยูภายใตการดูแลของ อบต.เที่ยงแท แมจะเปนศูนย พัฒนาเด็กเล็กดีเดน ใน อำเภอสรรคบุรี แตก็ยังไมสามารถ ขยายการศึ ก ษาออกไปถึ ง ระดั บ อนุ บ าลเพื่ อ ให เ ด็ ก ได มี วุ ฒิ การศึ ก ษานำไปเรี ย นต อ สถานที่ ใ หม ไ ด เด็ ก ที่ จ บจากศู น ย พัฒนาเด็กเล็ก ยังตองออกไปเรียนตอโรงเรียนอนุบาลนอก ชุมชน ทำความลำบากใหพอแม ผูปกครอง และตัวเด็กเอง เปนที่รูกันอยู แตยังไมรูจะหาทางแกไขอยางไร แมจะรูหนทาง แกไข แตก็เกินกำลังตนเอง จึงนำความไปปรึกษาแกนนำชาวบานในชุมชน ตำบล เที่ยงแท ซึ่งเห็นพองตองกันวาควรสรางโรงเรียนขึ้นมาใหมใน ชุมชนของเราอีกแหงหนึ่ง โดยใหขึ้นกับกระทรวงศึกษาธิการ ตามระบบการศึกษา เพื่อรองรับเด็กจากศูนยพัฒนาเด็กเล็ก บานทาระบาด ประมาณป 2548 แกนนำชาวบาน บานทาระบาด ประมาณ 15 คน จึงไดพรอมใจกันรวมวางแผนจัดตั้งโรงเรียน อนุ บ าลสุ ธิ ช า โดยวิ ธี ก าร รวมทุ น รวมหุ น ขายหุ น กั น เอง ภายในชุมชน เสนอแนวคิดไปขอการสนับสนุนจากผูมีฐานะ ทางเศรษฐกิจภายในชุมชน วางแนวทางการสงเสริมการศึกษา ใหเด็กๆ ลูกหลานในชุมชน ตำบลเที่ยงแท เพื่อขยายศักยภาพ ไปจนถึงระดับประถมปลาย รวมทั้งหวังจะใหเปนศูนยกลาง การพัฒนาผูใหญภายในชุมชนเพื่อชวยรัฐ ชวยผูที่วางงานใหมี งานทำมีอาชีพ และไดพัฒนาลูกหลานตนเองใหอยูในสังคม โดยไมกอปญหาใหสังคมดังเชนปจจุบัน คลายกับศูนยปฏิบัติ การบูรณะชนบทฯ ไดเคยทำมาแลวในอดีต และเกิดประโยชน ตอเราตอชุมชนของเรามาจนถึงทุกวันนี้ ชวงเวลาดังกลาว ไดเขาไปประชุมคณะกรรมการ พัฒนาสตรี (Woman in Small Enterprise= WISE) ใน ฐานะแกนนำจั ง หวั ด ชั ย นาท ที่ ศู น ย ก ารเรี ย นรู ชุ ม ชน ป ว ย อึ๊งภากรณ มูลนิธิบูรณะชนบทฯ จังหวัดชัยนาท บังเอิญไป พบ “พี่ ห มู ” คุ ณ ศิ ริ ว รรณ เจนการ ผู อ ำนวยการมู ล นิ ธิ ฯ คนปจจุบัน ซึ่งเปนผูจัดหาเงินกองทุนจากประเทศแคนาดา 156 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 157


มาเริ่มตนใหคณะกรรมการชุดนี้บริหารงานดานอาชีพชุมชน 10 จังหวัดภาคกลาง ไดแก ชัยนาท สิงหบุรี อุทัยธานี ลพบุรี นครสวรรค พิ จิ ต ร อ า งทอง สุ โขทั ย สุ พ รรณบุ รี และ กำแพงเพชร โครงการแบบนี้ เ ป น จุ ด เริ่ ม ต น ที่ เ ป น ที่ ม าของการ ส ง เสริ ม อาชี พ OTOP ทุ ก วั น นี้ กองทุ น ที่ พี่ ห มู ด ำเนิ น การ ใหเริ่มตนจาก 500,000 บาท ก็ยังคงอยูและงอกเงยเพิ่มพูนอยู ในองค ก รของเรา แม จ ะมี เ ม็ ด เงิ น จากภาครั ฐ มาสนั บ สนุ น ชุมชนอีกหลากหลายโครงการ แตเงินกองทุนของเราก็ยังเปน ประโยชนตอสมาชิกรุนเดิมๆ อยางมั่นคง บอกกับพี่หมูวาเรา ยังยึดมั่นในสินเชื่อแบบสัจจะ มีคณะกรรมการเหลืออยู 8 จังหวัด ที่ขาดไปเพราะปวยมาไมไดก็มี กรรมการไดรวมกัน พิจารณาสินเชื่อใหสมาชิกผูประกอบอาชีพอยางเปนธรรม ไม เคยมีปญหาการเบี้ยวหนี้ จนขณะนี้มีเงินในกองทุนคงเหลือ อยูประมาณ 1 ลานบาทเศษ ไดเลาเรื่องการสรางโรงเรียนสุธิชา ของชุมชนบาน ทาระบาดใหพี่หมูฟง และขอวาอยากเรียนรูเรื่อง โรงเรียน 158 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

School for Life ของมูลนิธิฯ ที่เชียงใหมและพังงาดวย แตยัง ขายหุ น โรงเรี ย นไม ห มดเลย อยากได ทุ น ดำเนิ น การสั ก ประมาณ 1.5 ล า นบาท ชุ ม ชนมี ก ำลั ง แค 500,000 บาท เทานั้น กำลังปวดหัวกับการหาผูซื้อหุนโรงเรียนใหครบอยู พี่ หมูบอกใหเขียนสรุปแนวทางการดำเนินงานมาใหดู และได ใหการชี้แนะหลายอยางที่เปนประโยชนเกี่ยวกับเรื่องการศึกษา และรับปากวาถาชุมชนรวมมือรวมใจ ตั้งใจทำดังที่เสนอนี้ จริงๆ มูลนิธิฯ ก็จะชวยสนับสนุนอีกแรงหนึ่ง แลวพี่หมูก็ชวย ระดมผูถือหุนโรงเรียนจากนอกชุมชนใหไดจริง ๆ ตอนนี้ โรงเรียนอนุบาลสุธิชาเปดดำเนินการไดแลว มี เ ด็ ก ๆ เข า เรี ย นในป เริ่ ม ต น 30 คน โดยมู ล นิ ธิ ฯ กรุ ณ า สนับสนุนเรื่องการระดมทุนให แมจะยังไมครบตามจำนวน แต โรงเรียนเล็กๆ ในชุมชนระดับนี้ถือวาดีที่สุดแลว เรื่องของการ พัฒนาขางหนาก็จะคอยเปนคอยไปตามความฝนของชุมชน ตอนนี้ ตั ว เองยั ง มี ป ญ หาด า นสุ ข ภาพ เพราะต อ ง ทำงานหนักเพื่อพัฒนาเด็ก พัฒนาโรงเรียน ประสานกับชาว บานในชุมชน ประสานกับภาครัฐและองคกรเอกชน

จากวันนั้นถึงวันนี้ แมยังจะตองเหนื่อยอยู แต เปนความเหนื่อยที่อยูบนพื้นฐานแหงความสุข สุขใจที่ไดมี โอกาสตอบแทนชุมชน ตอบแทนบานเกิด ตอบแทนสังคม ที่เคยใหเรามา เหมือนดังที่พี่มูลนิธิฯ เคยเปนตัวอยางเอาไว เปนความภาคภูมิใจ ถึงจะไมมีใครรับรู ก็มีความสุขได และระลึ ก ไว เ สมอว า ชี วิ ต นี้ เริ่ ม ต น สองครั้ ง จาก มู ล นิ ธิ บู ร ณะชนบทแห ง ประเทศไทยฯ จนยื น หยั ด ได ด ว ย ตนเอง จะมั่นคงแคไหน ก็ตองขึ้นอยูกับความเขมแข็งของ เราและชุมชนของเรา ที่มาถึงจุดนี้ไดเพราะเราไดพยายาม เดินบนเสนทางความจริง ความงาม ความดี ของอาจารย ปวย และเราก็จะใชเสนทางนี้สอนลูกหลานของเราตอไป ขอบคุณพี่ๆ ในมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยฯ ทั้งใน อดีตและปจจุบัน และจะตั้งปณิธานไววาขอเปนลูกศิษยของ ลูกศิษย สืบสานเจตนารมณของอาจารยปวย ดวยอีกสักคน เถิด

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 159


นายเจด็จ มุสิกวงศ ผูวาราชการจังหวัดชัยนาท เปนประธานเปดโรงเรียนสุธิชา

160 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 161


162 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 163


คบเด็กสรางบาน: เด็กแนว..เศรษฐกิจพอเพียง ที่ตำบลบานกลวย พี่ปานาอา ในศูนยการเรียนรูชุมชน ปวย อึ๊งภากรณ

164 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

เรื่องมันเกิดขึ้นประมาณเดือนมิถุนายน ป 2548.... เมื่อ “ปาหมู” ไป ชักชวนกลุมเด็ก 5-6 คน อายุระหวาง 7-10 ขวบ ที่ หมู 6 ตำบลบานกลวย อำเภอเมือง จ.จังหวัดชัยนาท เปนตัวแทนผูใหญใน ตำบลบานกลวยเขาประชุมโครงการวิจัย การพัฒนาการแลกเปลี่ยนชุมชนเพื่อการพึ่งตนเอง ในวันนั้น “ปาหมู” อุ ตส าหไปเชิญวิทยากรที่แสน เกง ชื่อ ดร.ทิพวัลย สีจันทร อาจารยจาก มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร กำแพงแสน รวมกับ สถาบันการจัดการเพื่อ ชนบทและสังคม มาพูดเรื่องการแลกเปลี่ยนในชุมชนเพื่อการ พึ่งตนเอง ใหชาวบานสองหมูบานฟง คือ บานกลวย อำเภอ เมือง และ บานทาระบาด อำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท ณ ศูนยการเรียนรูชุมชน ปวย อึ๊งภากรณ เพื่อใหรูจักแนวคิด แบบเศรษฐกิจพอเพียง แตปรากฏวาคนที่เปนผูใหญๆ ใน หมู 6 ตำบลบานกลวย มี ลุงโตก วัย 80 ป ไปนั่งสังเกตการณ อยูคนเดียว ทั้งๆ ที่มีพื้นที่ที่ติดกับศูนยฯ ปวย แคกาวเดินมา ก็ถึง ในขณะที่ชาวบานทานระบาด ซึ่งอยูหางไปตั้งยี่สิบ กิโลเมตร มานั่งกันเต็มอัตรา.....ทั้งเด็กทั้งผูใหญ เมื่อผูใหญไมมา ลองสอนเด็กดูบางก็ไมเสียหายอะไร เผื่อเด็กจะเขาใจ ..เผื่อไวแคนั้นเอง... วาแลวก็ไปบอกกับ อาจารยทิพวัลย ใหบรรยายเปนภาษางายๆ โดยมีปาหมู คอย กำกับแปลเปนภาษาเด็กอีกทีหนึ่ง ถึงเด็กจะไมเขาใจก็ไมเสีย หนาหรอก เพราะเด็กก็คือเด็ก สอนใหผานๆ หูไปบอยๆ ก็ คงจะเขาสมองไปเองเมื่อโตขึ้น สอนไปไดสักพักถึงไดรูสึกวา ผิดความคาดหมาย ถึงตอนเลนเกมสบทบาทสมมติเพื่อแลก เปลี่ยนสินคาในชุมชนระหวางทีมผูใหญและทีมเด็ก เด็กๆ

“ทันเกมส.” ...สามารถเขาใจคำวาพอเพียงและจดจำรูรั่วจาก โองน้ำของอาจารยตุมไดทุกคน จากวันนั้นมา ปาหมู ก็เริ่มไดใจ ชักชวนเยาวชนกลุม ที่ 2 ซึ่งเปนกลุมเด็กผูชายเลนฟุตบอลสัญจรอยูในชุมชนหลัง มูลนิธิฯ กลุมนี้อายุไมเกิน 13 ป อายุต่ำสุด 8 ป รวมตัวกัน เปนกลุมประมาณ 15 คน อยางสม่ำเสมอ สวนใหญมีบานพัก อาศัยอยูใน ตำบลบานกลวย หมู 6 และหมูอื่นๆ ที่อยูใกลเคียง กัน เชน หมู 5 หมู 7 บางก็อยูโรงเรียนเดียวกัน บางก็เปน เพื่อนตางโรงเรียน แตมารวมตัวกันไดเพราะชอบเลนฟุตบอล เหมือนกัน จึงนัดมาซอมฟุตบอลกันทุกเย็นหลังเลิกเรียน สนามที่ ใช ซ อ มเป น ประจำคื อ สนามหน า โรงเรี ย น ลัดดาประชาสรรค ซึ่งเปนโรงเรียนภายใต อบต.บานกลวย รวมเลนกันมานานกวา 5 ป บางคนบอกวามาเลนตั้งแตอยู ป.2 โดยมีสราวุฒิ ประเสริฐปน หรือตอง ตอนนั้นอายุ 13 ป เปนผูจัดการทีม สราวุฒิก็เคยอยากเปนนักฟุตบอล มาซอม สม่ำเสมอ แตประสบอุบัติเหตุดวยมอรเตอรไซค ทำใหวิ่งได ไมถนัด จึงผันตัวเองมาเปนผูจัดการทีม อาศัยที่พอเปนผูใหญ บานในตอนนั้น จึงพอจะจัดหาทุนจากพอมาชวยไดบาง แตถา ใหสนับสนุนจริงจัง พอบอกวางบประมาณชวยหมูบานจาก อบต.ของพอ ยังเอาตัวไมรอดเลย ตอนที่เขียนเรื่องนี้พอไดรับ เลือกตั้งเปนกำนันแลว ยังไมรูวาจะชวยทีมฟุตบอลนี้ไดมาก นอยแคไหน ทุกครั้งที่ ปาหมู เขาไปแวะเยี่ยมเยียนชุมชน เพื่อ ชวนเขารวมโครงการตางๆ เด็กๆ กลุมนี้จำไดวาเปนวิทยากร จากศูนยฯ ปวย จึงตะโกนเรียก “ปาหมูๆ” และเขามาทักทาย

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 165


เด็กๆ เขามาเลาให ปาหมู ฟงวาอยากเปนนักฟุตบอลตาม ความฝน จึงมาซอมกันทุกๆ วันที่สนามนี้ ปาหมูชวนใหมา เลนที่มูลนิธิฯ แตเด็กๆ บอกวาชินกับสนามนี้แลว สนามกวาง เหมาะจะเปนสนามฟุตบอลมากกวา ตอนนี้มีเรื่องขาดแคลน อื่นๆ มากมาย ถา “ปาหมู”จะชวย ขอใหชวยเรื่องชุดฟุตบอล ดีกวา เด็ ก ๆ ชอบเล น ฟุ ต บอลและเล น กั น ตามมี ต ามเกิ ด ตองการการสนับสนุนชุดทีม ระบุวา กางเกงตองเปนสีดำ เสื้อ ตองเปนสีน้ำเงิน ถุงเทาดำ เพื่อใสเขาแขงขันในโอกาสตางๆ เป น การเพิ่ ม ทั ก ษะและประสบการณ เด็ ก ๆ ต อ งการลู ก ฟุตบอลสำหรับฝกซอม เด็กๆ ตองการผูเชี่ยวชาญมาชวย ฝกสอน เด็กๆ บางคนยังไมมีแมแตรองเทาฟุตบอล บางก็ใส รองเทานักเรียนเตะบอลทั้งเพื่อการฝกซอมและลงสนามแขง ทีมของเด็กๆ เคยเขาแขงขันไดถวยมาแลวสองครั้ง คือถวยชนะเลิศประเภทเยาวชนอายุไมเกิน 13 ป ในงานวัน สงกรานต ป 2548 ของหมูบาน และเคยไดถวยรองชนะเลิศใน การแขงขันที่วัดพระยาตาก โดยอาศัยผูจัดการทีมไปเก็บเสื้อที่ นักการเมืองแจกพวกผูใหญและผูใหญไมใชแลว มาทำเปนเสื้อ ทีม ถึงแมจะเปนเสื้อเกา ก็จะตองระวังรักษาไวใสเฉพาะโอกาส 166 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

การแขงขันเทานั้น ปาหมู กลับมาวิเคราะหกับพวกเราที่เปนเจาหนาที่ โครงการวา “เด็กๆ กลุมนี้มีศักยภาพที่จะพัฒนาใหเปนเยาวชน ที่ เข ม แข็ ง เพื่ อ เป น เกราะป อ งกั น สภาพป ญ หาทางสั ง คม เยาวชนที่ เ กิ ด ขึ้ น ในป จ จุ บั น ได เขารวมตั ว กั น เองเป น กลุ ม ธรรมชาติอยูแลว มีความชอบและมีความฝนอยากเปนนัก ฟุตบอลตามประสาเด็ก แตขาดการสนับสนุนอันเนื่องมาจาก ไมไดเปนตัวเดนของโรงเรียน จึงไมไดเขาอยูในกลุมฟุตบอลทีม โรงเรียน ที่สำคัญ สภาพของครอบครัวไมอำนวยใหสนับสนุน เรื่องที่เกินกวาคาใชจายใชีวิตประจำวัน หากปลอยไปตามธรรมชาติ ก็ยอมได แตถาเด็กมี ตัวแปรทางดานสังคมในทิศทางเชิงลบ อาจทำใหศักยภาพ สวนบวกในชีวิตสูญเสียไปอยางนาเสียดาย ใหพวกเราชวยกันรักษาความฝนของเขาไว แลวใส ความจริง ความงาม ความดีของอาจารยปวย ลงไปดวย ...” นี่เปนอีกขอมูลหนึ่ง ที่ทำใหปาหมูนำเสนอโครงการ “คายเยาวชน บนถนนสูความจริง ความงาม ความดี” ที่เราเรียกกันงายๆ วา คาย “ตามรอยอาจารยปวย” เปนโครงการระยะยาวของศูนยฯ ปวย โดยออกแบบหลักสูตร

คายเยาวชน ใหไดสาระดังกลาว ควบคูไปกับความสนุกสำหรับ เด็กๆ อยางลงตัว และวัดผลได พวกเราเจาหนาที่โครงการแยงปาหมูวา สนุกอยางมี สาระพอทำได แตพอถึงตอนวัดผล วัตถุประสงคของคายฯ มันเปนนามธรรมลวนๆ เลยนะ ปาหมู... ปาหมู ใหกำลังใจวาอยาทอถอย งานพัฒนาไมควร หวังผลระยะสั้น ไมใชแคจบงานแลวจบเลย ใหดูกรณีของครู แปน แหงบานทาระบาด เปนตัวอยาง ครูแปนเมื่อตอนอายุ 8 ขวบ ก็คือเด็กขางศูนยปฏิบัติการฯ เมื่อสี่สิบปกอนเหมือน กั น ดู สิ . .กว า จะเห็ น ผล ครู แ ป น อายุ 48 ป เข า ไปแล ว บูรณากรรุนพี่ๆ ของเราก็คงทำอยางที่พวกเราคิดจะทำอยางนี้ เหมือนกัน ถาพี่ๆ เขาไดเห็นครูแปนตอนนี้ ก็คงภูมิใจที่ไดมี สวนสราง “คนดี คนกลาคิด กลาทำสิ่งดีๆ” ในชุมชน แลวนั่น แหละคืออนาคตของประเทศไทย วาแลวก็ไมวาเปลา ไปเชิญชวนสถาบันและองคกร ต า งๆ ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ อาจารย ป ว ย มาร ว มกั น สานพลั ง ใส ความจริง ความงาม ความดี เพื่อเด็กใหได เชน ไปลากเอา “ครู ตุ ” “พี่ เ พี๊ ย ะ” คนชำนาญการทำค า ยเด็ ก จากป ว ย

เสวนาคาร มูลนิธิเสฐียรโกเศศ-นาคะประทีป นองๆ จาก สำนักบัณฑิตอาสาสมัคร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร มาชวยกัน วางแผน ทำหนังสือไปขอรับการสนับสนุนตามองคกรตางๆ ที่ เกี่ยวของ เชน ธนาคารแหงประเทศไทย สถาบันปวยฯ หอ สมุดปวย อึ๊งภากรณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ศูนยรังสิต รวมไปถึ ง องค ก รในพื้ น ที่ เช น พั ฒ นาสั ง คมจั ง หวั ด ชั ย นาท สภาวัฒนธรรม จังหวัดชัยนาท สถานีวิทยุกระจายเสียงแหง ประเทศไทย จังหวัดชัยนาท ฯลฯ ใหมารวมกันทำกิจกรรม สรางถนนสู ความจริง ความงาม ความดี เสนนี้ทันที ไมจำกัด แตเฉพาะเด็กกลุมนี้เทานั้น เด็กๆ ในทุกชุมชนที่มูลนิธิฯ เคย สนับสนุน เชน ชุมชนบานทาระบาด ชุมชนวัดวังน้ำขาว หรือ แมแตเด็กๆ ชุมชนอื่นๆ ที่สนใจ โดยกำหนดเปาหมายวาคายนี้ จะสรางทิศทางการดำเนินชีวิตใหเด็กเดินสูเสนทาง คุณธรรม เหมือนดังที่อาจารยปวยฯ เคยสอนลูกศิษยมาแลว เด็ ก ๆ กลุ ม บ า นกล ว ย จึ ง ถู ก กำหนดให เ ป น กลุ ม เปาหมายเขาคายตามรอยอาจารยปวยฯ ทุกครั้งไป เพื่อตอกย้ำ และทบทวน ความจริง ความงาม ความดีอยางตอเนื่อง ปละ ครั้ง จนเด็กๆ รองเปนเพลงประจำกลุมวา หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 167


ด.ญ. เบญจวรรณ แกวปาน อายุ 14 ป เปนประธานจัดงานวันเด็ก เด็กแนวเศรษฐกิจพอเพียง ป 2548 ปจจุบันยายไปเรียนตอชั้นระดับมัธยมในตัวเมืองชัยนาท

“รำวงมะโรง มะเส็ง มารองเปนเพลง มะเมีย มะแม ชีวิตสมบูรณแทๆ ชีวิตสมบูรณแทๆ อาจารยปวยฯ มอบแดสังคมไทย ความจริง ความงาม ความดี !!! ความดี ความงาม ความจริง !!! ความจริง ความงาม ความดี !!! ความจริงนั้นสำคัญยิ่ง ความจริงนั้นสำคัญยิ่ง เพราะ มันเปนสิ่งทำลายมายา ความงามนั้นสำคัญยิ่ง ความงามนั้นสำคัญยิ่ง เพราะ มันเปนสิ่งสรางสรรคชีวา ความดี นั้นสำคัญยิ่ง ความดี นั้นสำคัญยิ่ง เพราะมัน เปนสิ่งเชิดชูคุณธรรม “ กลุมเด็กบานกลวย ยังไดรับการชักชวนใหเขารวม กิจกรรมแลกเปลี่ยนชุมชนเพื่อการพึ่งตนเอง กับกลุมผูใหญ บานทาระบาด ตำบลเที่ยงแท อำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท เรียนรูเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงอยางตอเนื่องอีกหลายครั้ง เชน อบรมการผลิตผลิตภัณฑของใชในครัวเรือน เพื่อการลดคาใช จาย น้ำยาลางจาน ทำสบูใชเอง ยาหมอง น้ำยาซักผา วิเคราะห 168 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

คาใชจายในการซื้อผลิตภัณฑ อบรมการทำบัญชีครัวเรือน รูจักการบันทึกรายรับ-รายจายประจำวัน ฯลฯ นอกจากนั้น อาจารย ปทม (รศ.ปทมาวดี โพชนุกูล ซูซูกิ ) จากสถาบันการจัดการเพื่อชนบทและสังคม ยังชักชวน ใหเด็กๆ เขารวมกิจกรรมแลกเปลี่ยนชุมชนกับกลุมอื่นๆ รวม ทั้งยังแนะนำใหเด็กๆ เห็นประโยชนและทดลองปฏิบัติจริง ทดลองจั ด ตลาดแลกเปลี่ ย นสิ น ค า ในชุ ม ชนบ า นท า ระบาด ทดลองนำของที่มีหรือสินคาที่ผลิตขึ้นเองมาแลกเปลี่ยนกัน ชี้ ใหเห็นกระบวนการที่เงินจะไมรั่วไหลออกนอกชุมชน เปรียบ เทียบกับรายไดของจังหวัด และรายไดของประเทศ คือเงินจะ ไมรั่วไหล หากซื้อแตสินคาที่ผลิตขึ้นเองในชุมชน ในจังหวัด ในประเทศไทย เด็กรุนแรกๆ จำอาจารยปทม ไดทุกคน นอกจาก อาจารยจะสอนเด็กในฐานะเจาของโครงการวิจัยฯ แลว ยัง แวะมาเยี่ยมเอาขนมมาฝากเด็กๆ เปนครั้งคราวเวลาที่ผาน จังหวัดชัยนาท ดวย ในฐานะที่พวกเราเปนเจาหนาที่โครงการของศูนย การเรียนรูชุมชน ก็ตองพาเด็กๆ ไปศึกษาเรียนรูวิถีชีวิตกลุม

อาชีพในชุมชน ศึกษาภูมิปญญาชาวบานตางๆ ในทองถิ่น การนำวัสดุธรรมชาติ และผลผลิตในพื้นบานมาแปรรูปเพื่อให เกิ ด ประโยชน แ ละเพิ่ ม มู ล ค า เช น จั ก สานผั ก ตบชวา การ แปรรูปขาว การทำขาวซอมมือ เปลือกสมโอกวน การแปรรูป กลวยน้ำวา ขนมไทยหอใบตอง ฯลฯ สิ่งที่อยูใกลตัวที่เด็กๆ ไม ไดเรียนรูมากอน และสุดทาย เด็กๆ ก็ถูกทดสอบใหรวมกันจัดงานวัน เด็ก นำเสนอวิถีชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงในงานวันเด็ก ป 2549 ใช ชื่องานวา “วันเด็กแนว... เศรษฐกิจพอเพียง ตาม รอยเบื้องพระยุคลบาท” สงเสริมใหเด็กเรียนรูเอง คิดเอง ทำ เอง ตามแนวทางในการพึ่งตนเอง จากนั้ น เป น ต น มา เด็ ก กลุ ม นี้ ก็ เรี ย กตั ว เองว า “กลุมเด็กแนว...เศรษฐกิจพอเพียง” พี่ๆ ปาๆ ที่ศูนยฯ ปวย “แซว” เด็กๆ วาถาใชชื่อ อยางนี้ ก็ตองทำใหไดอยางชื่อนะ...ไมงั้น “เสียฟอรม” แน... กลุมเด็กแนว..เศรษฐกิจพอเพียง ตำบลบานกลวย จึงเปนกลุมที่กอตั้งขึ้นในศูนยฯ ปวย โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ

ดึงดูดกลุมเด็กในชุมชนใกลมูลนิธิฯ ใหใชเวลาวางหลังเวลาเลิก เรียน เขามาใชหองหองอานหนังสือ ใชพื้นที่ของศูนยฯ ปวย ใหเกิดประโยชน ขณะที่พอแมผูปกครองไปทำงานยังไมกลับ ถึ ง บ า น โดยจั ด ให มี กิ จ กรรมแนะนำองค ค วามรู ที่ เ ป น ประโยชนสลับกับการบันเทิง เชน เรียนภาษาอังกฤษจาก ภาพยนตร เ สี ย งในฟ ล ม การทำอาหารรั บ ประทานเองใน ครอบครั ว การเล น ฟุ ต บอล รวมทั้ ง สอดแทรกวิ ถีชี วิ ต แบบ เศรษฐกิจพอเพียงใหกับเด็ก การเรียนรูเทาทันการโฆษณา การ เรียนรูวิถีชีวิตแบบเกษตรอินทรีย การปลูกพืชผักไวกินเอง การทำของใชในบานเพื่อการประหยัด การทำบัญชีคาใชจาย รายวัน ฯลฯ รวมทั้งคุณธรรม จริยธรรมของการอยูรวมกันใน ชุมชน เด็กๆ จะมีกิจกรรมอยางตอเนื่องทุกเย็นวันศุกร ตอ ไปถึงวันเสารครึ่งวันเปนบางกิจกรรม ศูนยฯ ปวย จึงเปน เหมือนสโมสรของเด็กในชุมชน ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันมา ตามความสะดวกของแตละคน เพื่อที่จะไดมาพบปะพูดคุย แลกเปลี่ยนหรือทำกิจกรรมรวมกันกับพี่ๆ ปาๆ เจาหนาที่ใน หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 169


ศูนยฯ ปวย ซึ่งแปลงตัวเปนอาสาสมัครนอกเวลาทำงานดวย เพื่อใหเวลาแกเด็กประมาณสองชั่วโมงเต็ม มีการเตรียมความรู ที่จะใหกอนจะพบเด็ก หวังผลสัมฤทธิ์ทั้งดานการพัฒนาศักยภาพ และจิตวิญญาน ใหมีความจริง ความงาม และความดี ไมวา ผลนั้นจะเกิดนานแคไหนก็ตาม เมื่อเริ่มตนบันทึกเรื่องนี้ จำนวนรายชื่อกลุมเด็ก แนว..ฯ 15 คน ที่เริ่มตนในป 2548 เพิ่มเปน 30 คน ในป 2549 กลายเปน 50 คน ตอนตนป 2550 ชวงอายุของเด็กๆ ขยายเพิ่มมากขึ้น เปน 7 - 18 ป มีเด็กทั้งในและนอกระบบ การศึกษา เด็กๆ ไมไดมาทำกิจกรรมพรอมๆ กัน แตผลัด เปลี่ ย นหมุ น เวีย นกันมาตามความสะดวก จึ ง จำเป นตองมี ระบบสมาชิกประจำศูนยฯ กิจกรรมที่เด็กๆ สนใจเริ่มมีความ หลากหลายมากขึ้น อายุการเปนสมาชิกอยูระหวาง 1-2 ป ก็ จะหายหนากันไป และมีคนใหมๆ เขามาแทนที่ มักจะเปน สมาชิกประจำกันไดไมนานนักเนื่องจากตองยายตามครอบครัว ออกนอกชุมชน ผูปกครองของเด็กสวนใหญมีอาชีพรับจาง ก อ สร า งและรั บ จ า งทั่ ว ไป ต อ งสั ญ จรไปตามสถานที่ ต า งๆ 170 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

นอกจากพวกที่มีบานอยูในพื้นที่จริงๆ แตเมื่อจบการศึกษา จากโรงเรียนที่อยูใกลศูนยฯ ปวย ก็ตองยายโรงเรียนไปเรียน ในเมือง บางคนจึงไมสะดวกที่มารวมกิจกรรมประจำ แตจะ มาทุกครั้งเมื่อมีศูนยฯ ปวย มีกิจกรรมใหญๆ หลังจากตั้งกลุมมาแลวเกือบป เราก็พบวาสมาชิก สวนมากอยูในครอบครัวที่ไมคอยจะสมบูรณ บางคนมีแมใหม บางคนอยูกับพอใหม บางคนพอแมทำมาหากินอยูตางพิ้นที่ ทิ้งใหอยูกับปูยาตายาย นอยคนนักที่จะอยูกันพรอมหนา พอ แมลูก ชมรมของเด็กในศูนยฯ ปวย จึงนาจะเปนรูปแบบ ของอาสาสมัครดูแลเด็กในชุมชนไดอีกรูปแบบหนึ่ง เชน เด็กคนหนึ่ง ที่มีแนวโนมที่จะเปนกลุมเสี่ยงทาง สังคม ไมชอบอานหนังสือ แตชอบเลนเกมสคอมพิวเตอร อาศัยอยูกับญาติซึ่งมีอาชีพขายของ พอ แม แยกทางกันเดิน นานแลว เขามาเปนสมาชิกเพราะวาตามเพื่อนรุนเดียวกันเขา มาแลว ก็ไดเลนเกมสคอมพิวเตอรฟรี ไมเชนนั้นตองไปเสียเงิน เลนที่ราน พวกเราจึงชวนใหเขาคายเยาวชนเพื่อใหพบและ

แลกเปลี่ยนเรียนรูกับเพื่อนคนอื่นๆ ที่ตางสังคม หลังการเขา คายจึงรูวาเขามีทักษะการเลนดนตรีโดยเฉพาะอยางยิ่งการ ตีกลอง เขาพยายามจะขอใหลงโปรแกรมที่สามารถฝกดนตรีได แตเครื่องคอมพิวเตอรของเราคุณภาพไมพอจะลงโปรแกรม อยางนั้นใหได พี่ตน อนิวัฒน และเพื่อนๆ จึงชวนเขาไปเลน ฟุตบอลแทน เขาเขามาถามวา ถาไมไดมารวมกิจกรรมที่ศูนยฯ ปวย อีก จะตองลาออกจากสมาชิกหรือไม เพราะเขาตองยาย ไปอยูกับครอบครัวใหมของพอ ที่จังหวัดอื่นในป 2550 แมก็มี ครอบครัวใหมอยูที่นั่นเหมือนกัน โชคดีที่จะไดเจอหนาทั้งพอ และแม แมจะไมไดอยูรวมกันทั้งสองคนก็ตาม ถากลับมาหา ญาติที่ชัยนาท จะเขามารวมกิจกรรมที่ศูนยฯ ปวย ไดอีกหรือ ไม พี่ปานาอา ก็ชวยกันตอบไปวา หนูไดรับความรูหลาย อยางจากศูนยฯ ปวยไปแลว ทั้งเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง และ เรื่องของ ความจริง ความงาม ความดี ถาปฏิบัติตามที่เรียนรู ไปได หนูก็คือสมาชิกของศูนยฯ ปวย ตลอดไป

ก อ นหน า นี้ ไ ม น าน เขาพาเพื่ อ นบ า นวั ย 13 ป มาสมัครเปนสมาชิกอีกคนหนึ่ง คนนี้เพิ่งยายมาจากจังหวัดอื่น เปนเด็กสุภาพ คลองแคลวเกินกวาวัย หนาตาดี เขาเลาวา ติดตามพอซึ่งมาทำงานในจังหวัด กอนหนานั้นตองอยูบานเชา คนเดียวที่ตางจังหวัดเนื่องจากพอกับแมเลิกกันนานแลว โดย พอจายคาเชาบานไวใหเปนรายเดือน และฝากใหกินอาหารกับ รานใกลบาน สิ้นเดือนพอกลับมาจายเงิน พอยายมาอยูชัยนาท จึงตามเพื่อนมาที่ศูนยฯ ปวย เพราะมีที่เลนบอล และคอมพิวเตอร ฟรี พวกเรามานั่งนึกกันวา เด็กอายุ 12-13 ป ใชชีวิตอยู คนเดียวทามกลางชุมชนและสังคมแปลกหนา ไมรูจะสรุปวา เกง หรือ เสี่ยงดี...….. อีกคนหนึ่งวัย 18 ป เปนเด็กนอกระบบการศึกษา มี งานทำประจำอยูแลว เขามาเลนบอลกับ พี่ตน อนิวัฒน คนนี้ อยากเรี ย นรู ด า นคอมพิ ว เตอร แต ไ ม มี เ งิ น เรี ย นต อ ต อ ง ทำงานไปดวย และเรียนการศึกษานอกโรงเรียนไปดวย เขามา เขาคายสืบสานอาชีพเกษตรกรรม แลวติดใจ จึงขอสมัครเปน หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 171


สมาชิกดวยคน พี่ตน อนิวัฒน จึงชวนเขามารวมเปนอาสา สมัครพี่เลี้ยงดูแลเด็กๆ ดวย มีทางเปนไปไดวาเด็กในชุมชนกำลังเสี่ยงตอการถูก ละเลย แมไมถึงกับถูกทอดทิ้ง เพราะยังโชคดีที่วัฒนธรรม ความเปนอยูในชุมชนหมูบานแบบไทยๆ นั้น ยังมีความเอื้อ อาทรกันอยู เด็กๆ ยังไมถึงกับขาดแคลนปจจัยความเปนอยู ขั้นพื้นฐาน แตเด็กก็ไมอาจจะตัดสินใจเลือกปจจับทางสังคม ไดถูกตองเสมอไป หากไมไดรับการชี้แนะจากสังคมที่ดี เด็กขาดโอกาสในชุมชนอยาง “ครูแปน” เปนคำตอบ เรื่องการพัฒนาเด็กในชุมชนไดเปนอยางดี และอีกหลายกรณี ที่ทำใหเห็นวาโครงการสรางความเขมแข็งใหเยาวชน ไมวา จะเปนคายตามรอยอาจารยปวยฯ หรือคายสืบสานอาชีพ เกษตรกรรม จะมีสวนชวยสรางอนาคคตใหกํบเด็กเหลานี้ ไม มากก็นอย พอถึงวันหยุด เสารหรืออาทิตย ถาพี่ๆ ปาๆ ที่ศูนยฯ ปวย ไมกลับบาน เด็กๆ ก็มักจะแวะเวียนเขามาคุย ดวยเรื่อง สัพเพเหระของวัยรุน เรื่องที่ฟงแลวใจหาย คือเรื่องเซ็กสของ วัยรุน ดวยวัย แค 7-14 ป เด็กๆ พูดคุยเรื่องการมีแฟนและ

172 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

เรื่องเซ็กสอยางเปดเผยจนนาตกใจ ชวงหลังๆ ของการตั้งกลุม มีเด็กหลากหลาย กิจกรรม ระหวางชวงอายุมีความแตกตางกันไป พวกเราจึงเชิญชวน อาสาสมัคร ทั้งในและนอกพื้นที่ใหเขามาชวยสอนเด็กๆ ดวย ....และที่ชวยไดมากคือ อาสาสมัครในชุมชน ที่เปนกลุมอาชีพ ตางๆ ในพื้นที่ อยางเชน ปาพัลภา อาสาสมัครของพัฒนา สังคมฯ จังหวัดชัยนาท ยินดีชวยสอนเด็กๆ ทำขนมไทยหอ ใบตองจนเปนอาชีพได ปาสีนวล ยินดีสอนทำขนมกง นาชูทิศ สอนเรื่องสมุนไพร อาสาสมัครจากองคกรกรีนเวย ที่จังหวัด สิงหบุรี มาสอนภาษาอังกฤษไดบาง เปนครั้งคราว สถานะปจจุบันของกลุมเด็กแนว..ฯ ที่เปนสมาชิก ศูนยฯ ปวย คือการมีกลุมอยางเปนทางการ มีประธานกลุม ชื่ อ เน็ ท อายุ 17 ป รองประธาน คื อ ต อ ง อายุ 15 ป มี ก รรมการในตำแหน ง ต า งๆ รวมแล ว 15 คน รวมมี สมาชิ ก กลุ ม ประมาณ 50 คน อายุ อ ยู ร ะหว า ง 7-18 ป กิ จ กรรมของสมาชิ ก ก็ เ ริ่ ม พั ฒ นาจากกลุ ม เด็ ก แนว.. เศรษฐกิจพอเพียง เริ่มมีความคิดที่จะรวมตัวกันจัดตั้งกลุม ออมทรัพย และตั้ งร านซอมจักรยานขึ้นที่ศูนยฯ ป วย โดย

เหตุผลที่วานอกจากดำเนินรอยตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ที่ไดเรียนรูมาแลว เด็กๆ ก็จะไดทดลองปฏิบัติจริงดวย มีราย ไดเสริมชวยพอแมอีกดวย พี่ตน อนิวัฒน จึงใหเด็กๆ ชวยกันคิดกิจกรรมเริ่มตน ไดขอสรุปวา เด็กๆ จะออมเงินกันวันละหนึ่งบาท ตอนนี้กลุม ออมทรัพยยังเริ่มตนไมไดเต็มที่ เพราะตองประชุมใหญสมาชิก หาขอสรุปของกฎกติกากอน เด็กๆ จึงขอเริ่มตนดวยการปลูก ผักขายใหครัวของศูนยฯ ปวย โดยมีปาแจว ปาใจ คอยรับซื้อ ดวยราคาที่เปนธรรม สวนโรงซอมจักรยานนั้น ถาไดเงินจากการขายผัก และการออม ก็จะเริ่มเปดดำเนินการได โดยขอใชสถานที่ใน ศูนยฯ ปวย ซึ่งปาหมู ก็อนุมัติใหใชที่จอดรถดานติดถนนหนา ศูนยฯ ปวย เปนรานซอมจักรยาน ใหใชพื้นที่ติดเรือนสมุนไพร เปนที่ปลูกผัก แถมยังอนุมัติใหตั้งสำนักงานของกลุม ที่ศาลา ใกลหองประชุมอีกดวย เหลือแตจะตองเก็บเงินซื้อเครื่องมือ และหาวิทยากรเก ง ๆ มาอบรมเรื่อ งการซอ มจั ก รยานให ไ ด เทานั้นเอง ความนี้ทราบไปถึง อาจารยปทม ฯ เจาของโครงการ

แลกเปลี่ยนชุมชนที่เคยมาสอนเด็กรุนแรกๆ อาจารยปทมฯ จึงอนุญาตใหใชเงินในโครงการสวนที่เหลือ มาเริ่มตนกิจกรรม ซอมจักรยานโดยนำมาซื้อเครื่องมือ ตกแตงราน คาจางชาง เด็ก ไดประมาณ 3,000 บาท คงเหลือแตรอวิทยากรอาสา สมัครวิชาชีพ ที่จะมาสอนการซอมจักรยานอาชีพใหเทานั้น เรื่องนี้ จึงขอจบลงดวยการ เชิญชวนอาสาสมัคร วิชาชีพ ไมเฉพาะแตเรื่องซอมจักรยานใหก ลุ ม เด็ ก แนว... เศรษฐกิจพอเพียง เทานั้น แตจะขอเชิญชวนอาสาสมัครทุก สาขา มารวมกันสืบสานสรางถนนสายคุณธรรม ความจริง ความงาม ความดี จากรุนสูรุน ในศูนยฯ ปวย เหมือนดังที่ “ครูแปน” อดีตเด็กดอยโอกาสในชุมชนบานทาระบาด ไดเดิน ตามเสนทางนี้มาแลว เพื่อให “เด็กสรางบาน” ไดกลายเปน กำลังในการสรางชุมชนและสรางชาติตอๆ กันไป

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 173


อนุสรณสถาน ศาสตราจารย ดร. ปวย อึ๊งภากรณ ที่ชุมชนบานวังน้ำชาว

ถึ ง แ ม ว า ก า ร ก อ ตั้ ง มู ล นิ ธิ บู ร ณ ะ ช น บ ท แ ห ง ประเทศไทยฯ ที่จังหวัดชัยนาท โดยการนำของอาจารยปวย อึ๊งภากรณ ผานพนมาเปนเวลานานถึง 40 ปแลว แตความ ผูกพันระหวางอาจารยปวยกับชาวบาน ที่ชุมชนบานวังน้ำขาว กิ่งอำเภอหนองมะโมง จังหวัดชัยนาท ยังดำรงอยูไมเสื่อมคลาย ทั้งนี้เพราะปฏิสัมพันธระหวางกันไดกอตัวขึ้นกอนหนา นั้น คือตั้งแตสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 นับตอเนื่องมาจนถึงป 2550 ก็ 60 กวา ปแลว ดวยความผูกพันอันหนักแนนระหวางอาจารยปวย กั บ ชาวบ า นชุ ม ชนบ า นวั ง น้ ำ ขาว จึ ง มี ค วามตั้ ง ใจที่ จ ะสร า ง อนุ ส รณ ส ถานขึ้ น มาเพื่ อ เป น ที่ ร ะลึ ก ถึ ง อาจารย ป ว ย ที่ วั ด วังน้ำขาว กิ่งอำเภอหนองมะโมง จังหวัดชัยนาท แตแลวก็เกิด ความขัดแยงอยางคาดไมถึงเกี่ยวกับสถานที่ตั้งอนุสรณสถาน ซึ่งเริ่มมาตั้งแตป 2540 เรื่องราวของการสรางอนุสรณสถาน อาจารยปวย ณ วัดวังน้ำขาว จึงเปนบทเรียนสำคัญอีกบทหนึ่งในการทำงาน พัฒนากับชุมชน ที่สมควรจะบันทึกไวเปนกรณีศึกษา บันทึก ขอมูลตอไปนี้มาจากการบอกเลาของแกนนำชาวบานในชุมชน บานวังน้ำขาว ขณะที่บันทึกอยูนี้ (พ.ศ. 2550) ความขัดแยงยังไมยุติ บริบูรณ แตขอเสนอแนะของผูบริหารมูลนิธิฯ เกี่ยวกับเรื่องนี้ นาจะเปนทางออกที่เหมาะสม เพื่อชวยใหเกิดกระบวนการ สันติประชาธรรมขึ้นในชุมชน สมตามเจตนารมณของอาจารย ปวย อึ๊งภากรณ

รวบรวมสาระและคำใหการจาก ลุง สำอางค มธุรส นาย ธนิต นิ่มพระยา อาจารยสงบ วงศกลม

นายชนุตย นิ่มพระยา กำนันสมบัติ อินทรเล็ก นาย ไพรัช มณีวงษ

ปราชญชาวบาน ชุมชนบาน วังน้ำขาว ต.วังตะเคียน กิ่ง อ.หนองมะโมง จ.ชัยนาท อดีตหัวหนาการประถมศึกษา อ.สรรพยา จ.ชัยนาท ผูอำนวยการโรงเรียนวัดวังน้ำขาว ต.วังตะเคียน กิ่ง อ.หนองมะโมง จ.ชัยนาท - โรงเรียนตนแบบตามโครงการ 1 อำเภอ 1 โรงเรียนในฝน - โรงเรียนพระราชทานป 2549 ระดับประถมศึกษาภาคกลาง นายกองคการบริหารสวนตำบลวังตะเคียน กิ่ง อ.หนองมะโมง จ.ชัยนาท กำนันตำบลวังตะเคียน กิ่ง อ.หนองมะโมง จ.ชัยนาท เลขานุการ ทีมงานวิจัยคณะกรรมการการศึกษาประวัติศาสตร ทองถิ่นชุมชนวังน้ำขาว และเลขานุการ คณะกรรมการบริหาร อนุสรณสถาน ศ.ดร.ปวย อึ๊งภากรณ

174 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 175


เปน “ตนแบบความจริง ความงาม ความดี” แกคนรุนหลัง โดยเฉพาะเยาวชน 3. เปนสถานที่ระดมทรัพยากรเพื่อการพัฒนาวัด วังน้ำขาวใหเปนศูนยกลาง ในการสรางชุมชนเขมแข็ง ที่สื่อ ถึงความรวมมือ ระหวาง บาน วัด โรงเรียน

ป 2540 - 2541 ความคิดในการกอตั้งอนุสรณสถานเกิดจาก เวลามี ผู แวะมาเยี่ ย มเยี ย นมู ล นิ ธิ บู ร ณะชนบทแห ง ประเทศไทยฯ โดยเฉพาะอยางยิ่งกลุมนักศึกษารวมทั้งผูที่สนใจประวัติศาสตร เสรีไทย มักเขาใจวาเหตุที่อาจารยปวย อึ๊งภากรณ มาตั้งมูลนิธิ บูรณะชนบทแหงประเทศไทยฯ ที่เลขที่ 64 ตำบลฝายน้ำลน อำเภอเมือง จังหวัดชัยนาท เพราะเปนจุดที่กระโดดรมของ เสรีไทยในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 แตไดรับคำตอบวา “ไมใช” จึงมีการคนหาจุดกระโดดรมและประวัติศาสตรการ กระโดดรมลงที่บานวังน้ำขาว กิ่งอำเภอหนองมะโมง จังหวัด ชัยนาท จากขอเขียน “ทหารชั่วคราว” ซึ่งเขียนโดยอาจารย ปวย ดร. กุณฑล ไชยเศรษฐ รองผูอำนวยการ (ขณะนั้น) เปนผูดูแลศูนยฝกอบรมของมูลนิธิฯ ที่ จังหวัดชัยนาท ได ลงพื้นที่ดูสถานที่จริง และพูดคุยหารือกับชาวบานวัดวังน้ำขาว มี ก ารอ า งอิ ง ถึ ง ชาวบ า นที่ อ ยู ใ นเหตุ ก ารณ หรื อ บุ ค คลที่ ถู ก กลาวถึงปรากฏชื่ออยูในขอเขียน “ทหารชั่วคราว” ซึ่งยังมีชีวิต อยูหลายคนในขณะนั้น ที่สำคัญคือ ลุงบุญธรรม หรือ พลฯ บุญธรรม ซึ่งเคยชวยชีวิตอาจารยปวย รวมอยูดวย ดร.กุณฑล

176 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

ไดนำเสนอตอมูลนิธิฯ สำนักงานกรุงเทพ ขออนุญาตสราง ศาลาที่ ร ะลึ ก เพื่ อ ให เ ป น สถานที่ ศึ ก ษาประวั ติ ศ าสตร ข องผู สนใจเรื่องเสรีไทย และแจงวาคณะกรรมการวัดวังน้ำขาว เห็น ชอบดวยแลว จึงเขียนแบบนำเสนอเปนลักษณะศาลาทรงไทย งายๆ นางศิริวรรณ เจนการ ผูอำนวยการมูลนิธิฯ จึงลง พื้นที่บานวังน้ำขาว เพื่อหาขอมูลและหารือกับคณะกรรมการ วัดวังน้ำขาว ซึ่งเปนแกนนำของชุมชน เพื่อหยั่งเสียงความ ตองการของชุมชน เนื่องจากไมเคยมีการสรางอนุสรณสถาน อาจารยปวย ที่ใดมากอน นอกจากที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร จึงมีความเห็ นวาควรจะตองเป นความยิ นยอมพรอมใจและ เห็นชอบของแกนนำชาวบาน ลูกศิษย ตลอดจนครอบครัว ของอาจารยปวยดวย จากนั้น นายไพบูลย วัฒนศิริธรรม ประธานกรรม การมู ล นิ ธิ ฯ (ขณะนั้ น ) ได ล งพื้ น ที่ เ พื่ อ พู ด คุ ย และหารื อ กั บ ชุมชนดวยตนเองเพื่อหาขอมูลความตองการที่แทจริง และได ใหขอคิดเห็นวาถาจะสรางอนุสรณสถานอาจารยปวย จะตอง เปนไปเพื่อประโยชนของชุมชน ไมใชเปนเพียงศาลาที่ระลึก - ขอสรุปของการหารื อการสรางอนุสรณสถาน เมื่อป 2540 คือ 1. ใชเปนสถานที่ศึกษาประวัติชีวิตบุคคลธรรมดา ทางประวัติศาสตร ณ สถานที่จริง ที่สื่อถึงคุณธรรม จริยธรรม ความเสียสละ ความรักประเทศชาติ ณ ชวงชีวิตหนึ่งของ อาจารยปวย ซึ่งเปนบุคคลที่ทำคุณประโยชนใหกับประเทศ ชาติและเปนแบบอยาง คนดี ในสังคมไทย รวมทั้งริเริ่มการ พัฒนาชนบทแบบบูรณาการในจังหวัดชัยนาทเปนครั้งแรกใน ประเทศไทย 2. อนุสรณสถานแหงนี้ตองสามารถใชประโยชน เพื่อชุมชนและสาธารณะ อันไดแก เปนแหลงทองเที่ยวทาง ประวัติศาสตร การศึกษารูปแบบชีวิต เพื่อจุดประกาย เพื่อ

ป 2542 - มีการจัดงานทอดกฐินเพื่อระดมทุนสรางอนุสรณ สถาน ศ.ดร.ปวยฯ ที่วัดวังน้ำขาว และวางศิลาฤกษอาคาร อนุสรณสถาน ซึ่งมีเจาภาพรวมหลายองคกร โดยมีชาวบานใน ชุมชนวัดวังน้ำขาวเปนแกนหลัก พรอมดวยชาวบานอำเภอ วัดสิงห ที่เคยรูเรื่องราวของอาจารยปวย มาสมทบดวย - มูลนิธิฯ ประชาสัมพันธกิจกรรมไปยังเจาภาพรวม อื่นๆ ที่มีสวนรวมใหรับรู และบางองคกรที่เกี่ยวของโดยตรง กับอาจารยปวย ไดแก คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร สำนักบัณฑิตอาสาสมัคร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร บรรดาศิษยเกา ญาติสนิทมิตรสหายของอาจารยปวย ธนาคาร ออมสิน ธนาคารแหงประเทศไทย มีผูมารวมทอดกฐินที่เปน บุคคลสำคัญระดับชาติหลายทาน รวมทั้งบุคคลสำคัญระดับ จังหวัด ประมาณ 200 คน ไดเงินเปนทุนกอสรางอนุสรณ สถานประมาณ 8 แสนบาทเศษ มี ก ารแสดงนิ ท รรศการ ประวัติศาสตรที่เกี่ยวของ เพื่อใหเห็นภาพความสำคัญของ สถานที่วัดวังน้ำขาว และเสรีไทย มีการนำเสาตนที่อาจารย ปวยถูกมัดในศาลาวัด ซึ่งถูกทางวัดรื้อไปแลว เกวียนของชาว บาน รวมทั้งรมชูชีพสมัยเดียวกับที่อาจารยปวยใชมาตั้งแสดง เพื่อใหเห็นความสำคัญของหมูบานวัดวังน้ำขาวแหงนี้ ที่ชาว บ านมี น้ำใจจนสามารถชวยชี วิตบุคคลสำคัญที่เกี่ยวข องกั บ ประวัติศาสตรของชาติและของโลกได - ปนี้ ชาวบานไดเริ่มกอสรางอาคารที่จะใชประดิษฐาน รูปปนอาจารยปวย โดยใชงบประมาณที่ทอดกฐินได และ มอบหมายใหมูลนิธิฯ รับหนาที่ไปจัดทำรูปปน ซึ่งอาจารย

นนทิวรรธน จันทนะผลิน ศิลปนแหงชาติสาขาประติมากรรม อดี ต คณบดี ค ณะจิ ต รกรรมและภาพพิ ม พ มหาวิ ท ยาลั ย ศิลปากร อาสาปนรูปอาจารยปวย โดยไมคิดมูลคา คงเสียแต คาหลอทองเหลืองประมาณสามแสนบาท และจัดทำนิทรรศการ ประกอบอาคารให สวนชาวบานจัดทำอาคารโดยใชแรงงาน ชางในชุมชน - งบประมาณไดหมดลง โดยอาคารยังไมสำเร็จ - นางศิริวรรณ เจนการ ผูอำนวยการมูลนิธิบูรณะ ชนบทฯ ลงพื้นที่เพื่อสำรวจขอมูลอาคาร พรอมสถาปนิกมือ อาชีพอาสาสมัครจากบริษัทแปลนโมทีฟ ซึ่งเปนบริษัทออกแบบ กอสรางที่อยูในอันดับตนๆ ของประเทศ เพื่อใหคำแนะนำ ปรึ ก ษาและออกแบบสถานที่ ใ ห วั ด วั ง น้ ำ ขาว เป น แหล ง ทองเที่ยวทางประวัติศาสตรที่สำคัญของจังหวัดชัยนาทและ ของประเทศ - บริษัทแปลนโมทีฟ นำเสนอแนวคิดสรางลานวัด วังน้ำขาวใหมีความหมายดังเชน “ลานหินโคง” ของทานพุทธ ทาส ที่อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฏรธานี และกำหนดใหรูปปน ยืนตรงกลางลาน และมีแผนนิทรรศการประวัติรอบลาน เพื่อ แสดงความจริง ความงาม ความดี ที่เกี่ยวพันกับหลักการทาง พุทธศาสนาใหปรากฏ ขอนำรายละเอียดจากขอเสนอของนายธีรพล นิยม ผูบริหารและสถาปนิกของบริษัทฯ มาบันทึกไว ณ ที่นี้ ดังตอ ไปนี้

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 177


ภาพ Perspective “ลานรวมใจ” โครงการ อนุสรณ์สถาน ศ.ดร.ป๋วย อึ๊งภากรณ์ วัดวังน้ำขาว กิ่งอำเภอหนองมะโมง จ.ชัยนาท 178 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 179


“ลานรวมใจ” โครงการ อนุสรณ์สถาน ศ.ดร.ป๋วย อึ๊งภากรณ์ วัดวังน้ำขาว กิ่งอำเภอหนองมะโมง จ.ชัยนาท คณะอาสาสมัครโครงการ ดร. ชาญวิทย เกษตรศิริ เนื้อหานิทรรศการ นายวันชัย ตันติวิทยาพิทักษ เนื้อหานิทรรศการ ผ.ศ.นนทิวรรธน จันทนะผะลิน ปฏิมากร นายอภินันท จุโฬฑก ภูมิสถาปนิก บริษัท แปลนโมทิฟ จำกัด ผูออกแบบนิทรรศการถาวร บริษัทแปลน สตูดิโอ จำกัด ผู ร ว มวางผั ง และออกแบบ ภายใน บริษัท แปลน คอนซัลแตนทส จำกัด ที่ปรึกษางานกอสราง วันที่ 11 สิงหาคม 2544 เหตุผลที่คณะผูออกแบบเขารวมเปนอาสาสมัครใน โครงการนี้ 1. ด ว ยความเชื่ อ มั่ น ว า ป ญ หาของท อ งถิ่ น สั ง คม ประเทศชาติ และในโลกอันเชื่อมโยง ยุงยากสลับซับซอน วิกฤตการณดานตางๆ อันนาวิตกในขณะนี้ จะแกไดดวยการ รวมคิด รวมทำ รวมใจ ของสามัญชน คนเล็กๆ ในทองถิ่น กับ ฝายตางๆ ในภาคสงฆ ภาครัฐ องคการเอกชนนักวิชาการ นักธุรกิจ ฯลฯ เปนพหุภาคีกอกระบวนการที่เกิดเปน ชุมชน 180 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

แหงการเรียนรูที่ เขมแข็ง และพึ่งตนเองไดเปนคำตอบจาก หมูบาน เปนเมือง เปนประเทศ และโลกที่เขมแข็งและยั่งยืน ในที่สุด 2. ด ว ยศรั ท ราในพระพุ ท ธศาสนา อั น เป น ศาสนา แหงการเรียนรู เพื่อยกระดับจิตวิญญาณแหความเปนมนุษย ใหสมบูรณยิ่งขึ้น เพื่อการอยูรวมกันของชาวโลกอยางศานติ พุทธศาสนา หรือธรรมจึงเปนรากฐานที่สำคัญ เปนรากแกว แหงความเขมแข็งของชุมชน 3. เปนโอกาสอันดีที่ชุมชน อันประกอบดวย พระสงฆ ชาวบาน เจาหนาที่รัฐ องคกรเอกชน ไดตระหนักรวมกันถึง ความสำคัญของสถานที่แหงนี้ คือ วัดวังน้ำขาว วาเปน สถานที่ประวัติศาสตรของเหตุการณหนึ่ง ในการปฏิบัติการ ของขบวนการรักชาติ “คณะเสรีไทย” โดยสามัญชน ปวย อึ๊งภากรณ ผูซึ่งเปนแบบอยางของการดำเนินชีวิตโดยยึด หลักธรรม เปนพุทธศาสนิกชนที่ดี เปนศิษยแทของพระ ตถาคตคนหนึ่ง เนื้ อ หาและองค ป ระกอบที่ ง ดงามเหล า นี้ เ ป น แรง บันดาลใจในการสรางโครงการขึ้นมา โดยมุงสรางเสริมใหวัด วังน้ำขาวมีบทบาทสูงเดน เปนศูนยรวมจิตใจของชาวบาน เปน

ศูนยกลางทางจิตวิญญาณของชุมชน เปนศูนยกลางแหงการ เรียนรู ซึ่งไมเฉพาะในชุมชนวังน้ำขาวเทานั้น ยังจะขยายผล ไปยังชุมชนอื่นๆ ในจังหวัดชัยนาท และระดับประเทศอีกดวย เมื่อบวกกับการบริหารจัดการที่ดีจากชุมชน โครงการนี้จะสราง ลานวัดของวัดวังน้ำขาวใหเปนลานวัดระดับชาติอีกแหงหนึ่ง ดั ง เช น “ลานหิ น โค ง แห ง สวนโมกขพลาราม” อั น เป น การ สงเสริมใหสังคมไทยเปนสังคมแหงการเรียนรู และทำนุบำรุง พุทธศาสนาใหเจริญรุงเรือง เปนหลักสำคัญในการค้ำจุนสังคม ไทยตลอดไป ดวยเหตุดังกลาวคณะผูออกแบบจึงสมัครเปนอาสา สมัครเขารวมกระบวนการ อันเปนกุศลที่กอใหเกิดประโยชน ตนและประโยชนทานโดยสมบูรณ วัตถุประสงคในการออกแบบ วัตถุประสงคในการออกแบบนี้เปนผลมาจากกระบวน การการปรึกษาหารือ การเรียนรูรวมกันระหวางชุมชน คือ คณะกรรมการวัด ชาวบาน เจาหนาที่รัฐ มูลนิธิบูรณะชนบ ทแหงประเทศไทยฯ และคณะผูออกแบบ ซึ่งโดยหลักการ แลว คณะผูออกแบบพยายามทำความเขาใจในวัตถุประสงค ของชุมชน แลวแปรไปสูการนำเสนอในเนื้อหา และกายภาพ

ไดขอสรุปเปนวัตถุประสงคในการออกแบบดังนี้ 1. เพื่อเสริมสรางให “วัด” เปนศูนยกลางของ ชุมชน โดยปรับปรุงกายภาพของลานวัดเดิม เพื่อสรางความ เป น เอกภาพขององค ป ระกอบต า งๆ ได แ ก โบสถ ศาลา การเปรียญ เมรุ สวนสมุนไพร ฯลฯ และเปนลานกิจกรรม ตางๆ ของวัดและชุมชน ไดแก พิธีกรรม งานบุญ ลานฟงธรรม ลานแลกเปลี่ยนความคิดเห็น งานประเพณี ชมนิทรรศการการ เรียนรูประวัติศาสตร เปนตน โดยการ :1.1 ใชธรรมชาติ คือ ตนไม เปนองคประกอบ สำคัญในการสรางเอกลักษณ ความงดงาม และบรรยากาศ โดยเนนใหเกิดความเปนลานวงกลมที่ชัดเจนขึ้น ใหความรูสึก ของความเปนศูนยรวม อยูทามกลางธรรมชาติอันละเอียดออน รมเย็น ใหมีความรูสึกเปนสวนหนึ่งของมนุษยกับธรรมชาติ เพื่อนอมนำใหจิตสงบ และเกิดความออนนอมถอมตนที่จะ ศึกษาเรียนรู 1.2 สรางแกน (AXIST) จากจุดตางๆ ที่สำคัญ ไดแก ถนนหนาวัด โรงเรียน โบสถ ศาลาการเปรียญ อาคาร หองประชุม หองสมุด และนิทรรศการ ฯลฯ เพื่อใหบรรยากาศ ของการเขาถึงของผูคนสูลานวัด เปนไปดวยความนาสนใจ หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 181


และตระหนักถึงความสำคัญของ “ลานวัด” ในการทำหนาที่ เปนเสมือนศูนยกลางที่เชื่อมองคประกอบที่สำคัญ คือ โบสถ ศาลาการเปรียญ เมรุ กุฏิ และอาคารประกอบอื่นๆ ใหเปน เอกภาพ และจากลานวัดนี้ก็จะเนนการเขาถึงความสำคัญของ องคประกอบดังกลาวอีกครั้งหนึ่ง เปนภาพรวมทางกายภาพที่ ทำให เ กิ ด ความสำคั ญ และเชื่ อ มโยงของเขตพุ ท ธาวาสและ สังฆาวาสอยางเหมาะสม 1.3 สร า งองค ป ระกอบที่ เ ป น จุ ด เด น ที่ ส ำคั ญ เปนสัญลักษณที่มีความหมายทางจิตวิญญาณ และใหขอมูล ความรู อันไดแกพระพุทธรูป รูปปนทานอดีตเจาอาวาส (โครงการในอนาคต) รูปปนอาจารยปวย อึ๊งภากรณ แทน นิทรรศการแสดงขอมูลความรู หองประชุมแลกเปลี่ยนความ คิด ความรู 1.4 จั ด ทางสั ญ จรภายในให เ หมาะสมกับ การ ใชสอย โดยจัดใหมีลานจอดรถเปนสัดสวนอยูหนาวัดใหคน “เดิน” เขาสูลานวัด เพื่อใหเกิด “ความสงบ” ที่จะเขาสูพิธี กรรมตางๆ เชน การทำ “มรณานุสติ” กอนเขาสูเมรุเผาศพ การ “สงบจิตสงบใจ” เพื่อการฟงธรรม เปนตน นอกจากนี้ เปนการปองกันไมใหรถผานและจอดที่บริเวณลานกิจกรรม ซึ่ง จะทำใหลานเสียหาย บำรุงรักษายาก และสิ้นเปลือง ขณะ เดียวกันยายแนวถนนจากที่จอดรถไปยังจุดที่จำเปนที่รถตอง ไปถึง เชน เมรุ โบสถ ฯลฯ โดยออมลานไป 1.5 ยกระดับปรับพื้นที่บริเวณลานวัดใหสะดวก ในการใชสอย เชน การระบายน้ำจากลาน การยายตนไม บางตนที่จำเปนจริงๆ เพื่อไมใหเกิดการกีดขวาง เปนตน

ไดแก พระพุทธรูป รูปปนอาจารยปวย หองสมุด หองแสดง นิทรรศการกลางแจง ที่บรรจุเนื้อหา (ตามรางรายละเอียด แนบในเลม) ทางประวัติศาสตร ที่เชื่อมโยงมาสูปจจุบันจะ ทำใหลานวัดแหงนี้เปรียบเสมือนหองเรียนนอกโรงเรียนที่จะให ความรู ความเขาใจแก เยาวชน ประชาชน ในดานตางๆ ไดแก: - ประวัติศาสตรไทยในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 ผานปฏิบัติการโดดรมของอาจารยปวย อึ๊งภากรณ - การพัฒนาชนบทของมูลนิธิฯ - คุณธรรมและจริยธรรมในการดำเนินงานและ ชีวิตของอาจารยปวย ที่เปนประโยชนตนและสังคม ดังขอความที่จะขอยกตัวอยาง เชน “เราตถาคตไมเห็นความสวัสดีอื่นใดของสัตวทั้ง หลาย นอกจากปญญาเครื่องตรัสรู ความเพียร ความสำรวม อินทรียและความเสียสละ” พุทธวจนะ จาก “เหลียวหนา แลหลัง” 2516 “ผูใหญในธนาคารชาติจะตองมีความกลาหาญ พอสมควร ถาอะไรที่ไมดีจำเปนตองพูดออกมา ถาไมมีความ กลาแลวอยาเปนดีกวา และผูใหญในธนาคารชาติเปนนักบุญ ไมได เมื่อมีความจำเปนจะตองทวงติงรัฐบาล” จาก “ศาสตรและศิลปแหงการเปนผูวาธนาคารกลาง” “โดยถือหลักประชาธรรม คือ ธรรมเปนอำนาจ ไมใชอำนาจเปนธรรม และธรรมเกิดจากประชาชน รวมความ วา อำนาจสูงสุดมาจากธรรมของประชาชน.......” จาก“จดหมายจากนายเขม เย็นยิ่ง”

2. เพื่อเปนลานการเรียนรูประวัติศาสตร เพื่อความ “บุ ค คลสำคั ญ ผู แ สดงบทบาทอยู เ บื้ อ งหลั ง ความ เขมแข็งของชุมชน จากองค ป ระกอบที่ ไ ด จั ด ทำขึ้ น ในลานแห ง นี้ สำเร็ จ ของประเทศไทยในการขยายตั ว ทางเศรษฐกิ จ โดยมี

182 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

เสถียรภาพทางการเงินควบคูไป นายธนาคารระหวางประเทศ ยกยองนายปวยวา เปนผูวาการธนาคารกลางที่มีความสามารถ ดีเดนคนหนึ่งของโลก นายปวยผูซึ่งถือวา ความเรียบงายคือ ความงดงาม และความซื่อสัตยสุจริตนั้น อยางเพียงพอที่จะ เรียกรองใหผูอื่นมีความซื่อสัตยสุจริตดวย” คำประกาศเกียรติคุณรางวัลแมกไซไซ พ.ศ.2508 “ผมเสียดายที่รูสึกวาไดบกพรองไปในการพิจารณา เรื่องเศรษฐกิจของประเทศ คือดูแตความเจริญเติบโตของสวน รวมเปนสวนใหญไมไดเฉลียวถึงความยุติธรรมในสังคม ขอนี้ พยายามแกดวยวิธีพัฒนาชนบทอยางแทจริง” จาก “เหลียวหลัง แลหนา” 2516 จากประสบการณ ที่ ล านแห ง นี้ จ ะทำให เ ยาวชน ประชาชน เกิดสำนึกรักทองถิ่น สำนึกรักชาติ มีความกลาหาญ ทางจริยธรรม เขาใจในระบบคุณคาที่สำคัญของภูมิปญญาไทย คือธรรม ทำใหเกิดปญญาที่จะนำพาชีวิตตน และชุมชน ตลอด จนสังคมและประเทศ ใหเจริญรุงเรืองตอไปได เปนการศึกษา ประวัติศาสตรที่สามารถนำไปใชใหเปนประโยชนในปจจุบัน ลานแหงนี้จำเปนที่จะตองมีนิทรรศการกลางแจงที่ใหขอมูลแก เยาวชนและประชาชน ลำพังสัญลักษณตางๆ เชน รูปปน ยัง ไมสามารถทำหนาที่นี้ไดอยางสมบูรณ เพราะคนสวนใหญยัง ขาดความรูพื้นฐานในเรื่องเหลานี้ 3. เปนลานสงเสริมเศรษฐกิจของชุมชน จากการดำเนิน การตามวั ต ถุป ระสงค ข อ ที่ 1 และ การเตรียมในเรื่องประโยชนใชสอย เชน อาคารหองประชุม เพื่อการฝกอาชีพ ฝกอบรม แลกเปลี่ยนความคิดความรู การ สรางผลิตภัณฑชุมชน ลานแสดงและขายสินคาชุมชน ลาน

จอดรถผูมาเยือน ผนวกกับการดำเนินกิจกรรมตางๆ ใน “ลาน วัด” ที่เขมแข็งตอเนื่อง จะสงเสริมเศรษฐกิจของชุมชนบาน วังน้ำขาว ยิ่งกวานั้น สถานที่ตั้งของโครงการที่อยูไมหางจาก สถานที่สำคัญ คือ วัดมะขามเฒาและถ้ำเขาตะพาบ ซึ่งมีผู คนเดินทางมาจำนวนมากเปนประจำ ในอนาคตสถานที่แหงนี้ ก็จะเปนจุดหมายที่สำคัญอีกแหงหนึ่งของผูมาเยือนชัยนาท ซึ่งจะชวยเสริมความเขมแข็งของเศรษฐกิจชุมชน 4. บำรุงรักษาและกอสรางงาย ใชงบประมาณอยาง ประหยัดโดยการออกแบบที่เรียบงาย ใชวัสดุราคาถูก บาง อยางชาวบานสามารถทำไดเองอยางเชนตนไม โครงการนี้ใช เงินงบประมาณทั้งสิ้นประมาณ 1.2 ลานบาทเศษ จากวัตถุประสงคในการออกแบบดังกลาว คณะ ผูออกแบบคาดหวังวาโครงการนี้จะนำไปสูการใชสอย การ ประกอบกิจกรรมตางๆ รวมกันของ พระสงฆ ชาวชุมชน และ ผูมาเยือนจากพื้นที่ใกลเคียงและจากแดนไกล จะกอใหเกิดจิต วิญญาณแหงชุมชนในฐานะเปนลานวัด ลานแหงการเรียนรู เปนลานอันศักดิ์สิทธิ์ เปนใจบานใจเมือง ดังเชนปู ยา ตา ยาย บรรพบุรุษของเราที่ใชลานวัด สรางบานแปงเมืองและรักษา ความเปน “ชาติ” ความเปน “ไท” ใหเราไดอยูอาศัย ไดมีชีวิต ในวันนี้และสืบสานตอไปใหลูกหลานในภายภาคหนา - คณะกรรมการชุมชนบานวังน้ำขาว ไดพิจารณา แบบกอสรางของบริษัทแปลนโมทีฟ และเห็นควรวาตองปรับ รูปแบบใหรับกับอาคารวิหารดานขาง ซึ่งเปนที่ตั้งรูปเคารพเจา อาวาสองคเกาที่ชาวบานเคารพนับถือ และตองใหความสำคัญ กับปูชนียวัตถุในวัดดวย ซึ่งสถาปนิกรับไปปรับรูปแบบใหม ตามที่คณะกรรมการวัดตองการ และนำเสนอใหชาวบานดู อีกครั้งหนึ่ง ซึ่งชาวบานเห็นชอบดวยกันแลว และพรอม ดำเนินการตอเนื่องเพื่อใหเสร็จทัน

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 183


ป 2543 - เดือนกันยายน 2543 ศ.ดร. อภิชัย พันธเสน นำ นักศึกษาคณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ลง พื้นที่วัดวังน้ำขาว บันทึกขอมูลจากปากคำของชาวบานที่รู เห็ น เหตุ ก ารณ ต ามความเข า ใจ เพื่ อ ประกอบการจั ด สร า ง นิทรรศการ ในอาคารอนุสรณสถาน ในจำนวนชาวบาน 23 คน ที่มาใหการ มีอายุระหวาง 60-89 ป ในที่นี้ มีลุงบุญธรรม ปานแกว อายุ 89 ป ซึ่งอาจารยปวย ถือเปนเพื่อนชวยชีวิต ระหวางถูกจับเปนเชลย เคยไปมาหาสูกันหลายครั้ง ตอนที่ อาจารยปวยยังมีชีวิตอยู และลุงกวาง กกศรี อายุ 85 ป อดีต สารวัตรกำนันซึ่งชาวบานใหการวาเปนผูลงมือซอมอาจารย ปวย บันทึกคำใหการ ไดจัดพิมพอยางเรียบงาย เก็บไว จำนวนหนึ่งในอนุสรณสถาน ในหองสมุด ปวย อึ๊งภากรณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร รังสิต และที่มูลนิธิบูรณะชนบท แหงประเทศไทยฯ จังหวัดชัยนาท - ระหวางเวลานี้ ไดมีชาวบานบางคนรองเรียนวา สถานที่ตั้งอนุสรณสถาน ไมเหมาะสม - ชาวบานที่เปนแกนนำ สวนใหญเห็นดวยกับการ กอสรางตามแบบในลักษณะลานบานลานเมือง เพราะเขาใจถึง ความสำคัญของการสรางอนุสรณสถาน จึงยังคงดำเนินการ สรางตอไป - ชวงทายๆ ของป นายอารยะ วิวัฒนวานิช ผูวา ราชการจังหวัดชัยนาท ไดจัดเวทีรับฟงความคิดเห็นระหวาง ฝายสงฆ (ประมาณ 20 รูป) กับชาวบานซึ่งเปนคณะกรรมการ วั ด และแกนนำชุ ม ชน ประมาณ 30 คน และมี เจ า หน า ที่ มูลนิธิฯ (น.ส.ศรีสกุล บุญยศักดิ์ นางศรีสวัสดิ์ รุจิมิ นายสำรวย 184 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

สังเกตุกิจ น.ส.กรรณิการ แสงราช) เขารับฟงดวยที่กิ่งอำเภอ หนองมะโมง - ได ข อ สรุ ป ว า ชาวบ า นส ว นใหญ ยื น ยั น ให มี ก าร จัดสรางอนุสรณสถานอาจารยปวย ตอไปใหแลวเสร็จ แตให สถาปนิกปรับรูปแบบลานวัดใหเหมาะสมตามความตองการ ของคณะสงฆในตำบล โดยยายรูปปนอาจารยปวย เขามาไว ในอาคาร - มีการทอดกฐินเปนครั้งที่ 2 เพื่อหาทุนดำเนินการ สรางอาคารตอเนื่องใหแลวเสร็จ ครั้งนี้มูลนิธิฯ ชวยบอกบุญ ไปยังเจาภาพรวมอื่นๆ ที่มีสวนรวมและรับรู และบางองคกร เกี่ยวของกับเรื่องราวโดยตรงกับอาจารยปวยฯเชนเคย ไดแก คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร บรรดาศิษยเกา ญาติสนิท มิตรสหาย ของอาจารยปวย ธนาคารออมสิน ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร และธนาคาร แหงประเทศไทย มีผูรวมงานมากกวาครั้งที่แลว โดยมีขอตกลง กับคณะกรรมการวัดวาจะแบงรายรับเขาบัญชีของวัดสองแสน บาท และหากการกอสรางเสร็จสิ้นลง เงินที่เหลือจะเปดบัญชี ไวเปนทุนในการทำงานพัฒนาชุมชนวัดวังน้ำขาว ซึ่งตองเปน เรื่องการแกปญหาความยากจนของชุมชน - ทอดกฐินปนี้ ไดปจจัยเพิ่มเติมอีกประมาณ 1.5 ล า นบาท หลั ง จากแบ ง เงิ น เข า บั ญ ชี วั ด แล ว ชาวบ า นก็ เริ่ ม ดำเนินการกอสรางตอไป - ระหวางการกอสราง สถาปนิกจาก บริษัทแปลน โมทีฟ ใหคำปรึกษา เปนระยะๆ หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 185


ป 2544 - 11 สิงหาคม 2544 นัดเปดเวทีหารือชุดใหญ ที่ วัดโพธิ์งาม อำเภอสรรพยา ทั้งคณะสงฆระดับเจาคณะอำเภอ เจาคณะตำบล อดีตรักษาการเจาอาวาสวัดวังน้ำขาว / คณะ เจาหนาที่ภาครัฐ ซึ่งประกอบดวย เลขาธิการนายกรัฐมนตรี (นายแพทย พรหมินทร เลิศสุริยเดช) รองผูวาราชการจังหวัด ชัยนาท (นายพรสรรค ศรีวโร) สส. กทม.ชาวชัยนาท (น.ส. ศันสนีย นาคพงษ) ฯลฯ / ภาคเอกชน ไดแก นายไพบูลย วัฒนศิริธรรม (ประธานสถาบันพัฒนาองคกรชุมชน-พอช.) นายเอนก นาคะบุตร (กองทุนเพื่อสังคม) นายเรือง สุขสวัสดิ์ (NGO ในพื้นที่) นางศิริวรรณ เจนการ (ผูอำนวยการมูลนิธิฯ) นายธี ร พล นิ ย ม (สถาปนิ ก และผู บ ริ ห าร บ.แปลนโมที ฟ ) อาจารยนนทิวรรธน จันทนะผะลิน (ศิลปนแหงชาติ และ ประติมากร) ผูแทนชุมชนวัดวังน้ำขาว / คณะกรรมการวัด เชน ผญ.สมบัติ อินทรเล็ก ลุงสำอางค มธุรส ฝายสงฆประกอบ ด ว ยเจ า คณะอำเภอ เจ า คณะตำบล เจ า อาวาส คณะสงฆ หลายรูป รวมทั้งชาวบานอีกประมาณ 50 คน รวมๆ แลวเปน เวทีประชาคมขนาดยอม ที่มีผูเขารวมประมาณ 100 คน เพื่อ รวมชี้แจงการสรางอนุสรณสถาน ศ. ดร. ปวย ที่บานวังน้ำขาว สรุปการหารือไดดังนี้

186 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

1. สถาปนิกไดชี้แจงแบบแปลนที่ปรับปรุงใหม และ แนวคิดในการออกแบบใหที่ประชุมรับทราบ และขอความคิด เห็นในที่ประชุม 2. คณะสงฆใหทำหนังสือขออนุญาตเปนลายลักษณ อักษร ซึ่งชุมชนไดทำหนังสือขออนุญาตสรางอนุสรณสถาน เสนอตอรักษาการเจาอาวาสวัดวังน้ำขาวเปนลายลักษณอักษร โดยกำหนดใหรูปปนอาจารยจะอยูในอาคารตามความตองการ ของคณะสงฆ

ป 2545 - เสาร ที่ 27 กรกฏาคม 2545 ถื อ เป น ฤกษ ง าม ยามดี ทำพิธีเปดอนุสรณสถาน ศ.ดร.ปวย อึ๊งภากรณ โดย ผูวาราชการจังหวัดชัยนาท นายวิชัย ศรีขวัญ และ นายไพโรจน สุจินดา ประธานกรรมการบริหารมูลนิธิบูรณะชนบทฯ - ร ว มฉลอง โดยขบวนชมรมจั ก รยานสุ ข ภาพ แหงประเทศไทยฯ ประมาณ 100 คันนำโดย ศ. ดร. ธงชัย พรรณสวัสดิ์ เปดเสนทางการทองเที่ยวจังหวัดชัยนาท จาก อนุสรณสถานวัดวังน้ำขาว กิ่งอำเภอหนองมะโมง ขามแมน้ำ ทาจีน สูมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยฯ อำเภอเมือง จังหวัดชัยนาท โดย เสนทางจักรยาน

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 187


นิทรรศการ อนุสรณสถาน ปวย อึ๊งภากรณ

188 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

นิทรรศการ อนุสรณสถาน ปวย อึ๊งภากรณ

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 189


มณฑป หลวงพอจำปา หนาอนุสรณสถาน อาจารยปวย

มณฑป หลวงพอจำปา หนาอนุสรณสถาน อาจารยปวย

190 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

ป 2546-2547

ป 2548

เจาคณะตำบลไดแตงตั้งเจาอาวาสวัดวังน้ำขาว รูป ใหม ทำหนาที่แทนรักษาการเจาอาวาสรูปเดิม เจ า อาวาสวั ด วั ง น้ ำ ขาวรู ป ใหม ได ก อ สร า งมณฑป หลวงพอจำปา หนาอนุสรณสถาน อาจารยปวย ในบริเวณที่ คาดวาจะเปนลานรวมใจ

ตลอดระยะเวลาการกอสรางมณฑป (ซึ่งยังไมแลว เสร็จ และไมมีกำหนดแนนอนเนื่องจากยังขาดปจจัยสนับสนุน อยูอีกมาก) อนุสรณสถาน อาจารยปวย จึงถูกปดทิ้งไว คณะ กรรมการไมสามารถเขาไปดำเนินการเรื่องสถานที่ใหเปนแหลง เรียนรูทางประวัติศาสตรอาจารยปวยได

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 191


ป 2549 อนุสรณสถานฯ จะเปดตอเมื่อมีผูมาขอศึกษาเรียนรู และแจงใหคณะกรรมการวัดทราบลวงหนาเทานั้น - ขณะเดี ย วกั น งานศึ ก ษาข อ มู ล ประวั ติ ศ าสตร ชุมชนบานวังน้ำขาว ไดเสร็จสิ้นลงแลว นักวิจัยชุมชนทองถิ่น ที่ เ ป น แกนนำชาวบ า นเริ่ ม เรี ย นรู ป ระวั ติ ศ าสตร ใ นส ว นที่ เกี่ยวของกับอาจารยปวยมากขึ้น และเริ่มตระหนักถึงความ หมายของอนุสรณสถานแหงนี้ กำหนดจะทำเปนแหลงทอง เที่ยวทางประวัติศาสตรของจังหวัดชัยนาท โดยบรรจุขอมูลไว เปนคำขวัญประจำ กิ่งอำเภอหนองมะโมง วา เห็ดโคนของแท ถิ่นแยเกากอน หินออนงามตา ทอผาพื้นเมือง ลือเรื่องไมกวาด ประวัติศาสตรดร.ปวยฯ และกำหนดจะนำประวั ติ อ าจารย ป ว ย ทำเป น หลักสูตรการศึกษาในทองถิ่นของเยาวชนในชุมชนดวย

ทางเลือกใหมของชุมชน ชาวบานแกนนำสวนใหญของชุมชนไดประชุมหารือ สรุปไดวาเมื่อไมมีทางเลือกอื่นใดก็เห็นควรถอยหลังออกมากาว นึ่ง เพื่อความสมานฉันทระหวางเพื่อนบานที่มีความคิดแตก ตาง และหาทางยุติความขัดแยงกับเจาอาวาสวัดวังน้ำขาวใน การสรางสิ่งกอสรางในวัด ลุงสำอางค มธุรส วัย 82 ป ปราชญชาวบาน ที่ เปนหัวหอกสำคัญ ในการจัดการเรื่องการกอสรางอนุสรณ สถาน อาจารยปวยฯ เพราะความผูกพันกับเหตุการณในอดีต กลาวไววา

192 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

“ลุงอยากเห็นอนุสรณสถานอาจารย ปวยฯ อยูในที่ ที่เหมาะสมกอนตาย คนที่เกี่ยวของ ที่รูเรื่องราวสำคัญๆ เกี่ยวกับ อาจารยปวย เมื่อเปนเสรีไทยครั้งนั้น ก็พากันรวงโรย ลมตายกันไปจนจะหมดแลว นับตั้งแตเราเริ่มกอสราง จนบัดนี้ ก็ยังไมมีที่ถาวรเสียที เหลืออยูแตลุงที่จะตองถายทอดเรื่องราว ที่นำเอาชุมชนวัดวังน้ำขาว เขาไปเกี่ยวของกับประวัติศาสตร ของโลก ใหลูกหลานชาววัดวังน้ำขาวไดรับรูและภาคภูมิใจกัน ตอๆ ไป รวมทั้งยึดเอาความดี ความกลาหาญ ความเกงของ อาจารยปวย ไวเปนแบบอยาง เปนสถานที่ศึกษาเรียนรูใน ชุมขนของเราและของคนที่เขาตั้งใจมาเรียนรูใหได แตลุงจะ ทำไปไดนานอีกสักแคไหน เพราะฉะนั้นที่ลุงเรงรัด ก็อยาหาวา ลุงเปนวัยรุนใจรอนเลย...” เมื่ อ วั น เสาร ที่ 11 พฤศจิ ก ายน 2549 ได มี ก าร ประชุ ม คณะกรรมการบริ ห ารอนุ ส รณ ส ถาน ศ.ดร.ป ว ย อึ๊งภากรณ ซึ่งมีนางศิริวรรณ เจนการ ผูอำนวยการมูลนิธิ บูรณะชนบทแหงประเทศไทยฯ เปนกรรมการดวย ที่ประชุมมี มติเปนเอกฉันทใหยายรูปปน ศ. ดร. ปวย ออกจากบริเวณวัด วังน้ำขาว ไปอยูที่ใหมในพื้นที่โรงเรียนวัดวังน้ำขาว ซึ่งอยูฝง ตรงขามกับวัด โดยกอสรางอาคารขึ้นใหม ใหอยูในความดูแล รับผิดชอบของโรงเรียนวัดวังน้ำขาว ดวยความเห็นชอบและ เต็มใจของคณะครูอาจารย โดยมีการสรุปสาระและพันธะสัญญา ดังนี้ l ใหผูอำนวยการโรงเรียนวัดวังน้ำขาวเปนกรรมการ โดยตำแหนง l เมื่ อ สร า งเสร็ จ แล ว ต อ งการให เ ป ด ตลอด....มี ผู ดูแลรักษา

มูลนิธิฯ มีหนาที่ใหการอบรมไกด (มัคคุเทศก) เอกสารแนะแนว เอกสารประวัติอาจารยปวย ทำเว็ปไซด และ หนังสือ l ตนไมประดับขนาดใหญ/เรือนพักตองมีปายชื่อที่ ไพเราะ/จัดทำปาย ณ จุดโดดรมของทานอาจารยปวย เปน หนาที่ของชุมชน l รายได ข องอนุ ส รณ ส ถานมาจาก ขายเครื่ อ งดื่ ม และของระลึก รานคา จำหนายเอกสารและหนังสือ ใหบริการ หองน้ำ (20 หอง) l ใหกำนันประสานกับชาง อบต. หรือสถาปนิก ใน การคิดแบบ เพื่อดูยอดและงบประมาณกอสราง l ให ส ง แบบงบประมาณรายจ า ยภายในสิ้ น เดื อ น พฤศจิกายน 2549 ที่ ป ระชุ ม ขอให ผู อ ำนวยการมู ล นิ ธิ ฯ ช ว ยจั ด หา งบประมาณสรางอาคารตามแนวคิดเดิมของ บริษัท แปลน โมทิฟ แตผูอำนวยการมูลนิธิฯ ไดแจงวาไมสามารถจัดหางบ ประมาณมาสนับสนุนการกอสรางไดอีก เพราะไดเคยดำเนิน การอยางเต็มที่มาแลว 2 ครั้ง ชุมชนวัดวังน้ำขาวจำเปนตองหา วิธีการอื่น โดยเสนอวาใหของบสนับสนุนจากจังหวัดชัยนาท กำนันสมบัติ อินทรเล็ก วัย 42 ป กำนันตำบล วั ง ตะเคี ย น และกรรมการวั ด วั ง น้ ำ ขาว อดี ต ผู ใ หญ บ า น และแกนนำคนสำคัญของชุมชน ที่ตระหนักถึงความสำคัญของ การมีอนุสรณสถานอาจารยปวยฯ ในทองถิ่นแหงนี้ ไดเรียก ประชุมแกนนำชุมชนบานวังน้ำขาวในเวลาตอมา และมีขอสรุป เกี่ยวกับการดำเนินการยายอนุสรณสถานอาจารยปวย ออก จากวัดวังน้ำขาว ไวดังนี้ l

- ขอใหมูลนิธิฯ ชวยแนะนำการเขียนโครงการขอ งบประมาณกอสรางในนามของชุมชน - ชุมชนดำเนินการเรื่องแบบการกอสรางอนุสรณ สถานแห ง ใหม พร อ มทั้ ง จั ด ทำงบประมาณเสนอต อ ผู ว า ราชการจังหวัดชัยนาท - มูลนิธิฯ ควรจะสนับสนุนเรื่องของสื่อเอกสาร/สื่อ การเรียนรูเรื่องราวประวัติของอาจารยปวย หรือจัดอบรมให ตามความจำเปน - มูลนิธิฯ ควรประสานใหแกนนำชุมชนไดเรียนรู ประวัติและความสำคัญของอาจารยปวย จากองคกรที่เกี่ยว ของ ไดแก หอสมุดปวยฯ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และ ธนาคารแหงประเทศไทย เพื่อจะไดเชื่อมโยงกับอนุสรณสถาน อาจารยปวย ซึ่งจะมีไดเฉพาะจังหวัดชัยนาทเทานั้น ดังไดกลาวไวในตอนตนวา เรื่องนี้ยังไมมีบทสรุปที่ ลงตัว ชุมชนวังน้ำขาวในวันนี้ยังตองการเวลาในการตระหนัก และซึ ม ซั บ ถึ ง คุ ณ ค า ของความร ว มมื อ ร ว มใจ แต ที่ น า พอใจยิ่งคือไมวาจะเปนขอเสนอแนะจากผูแทนมูลนิธิฯ ลูก ศิษยอาจารยปวย หรือการตัดสินใจของแกนนำชุมชน สิ่ง สำคัญคือการไมติดยึดอยูกับความตองการของตน จะยึดติด อยูอยางเดียว นั่นคือแนวคิดสันติประชาธรรมของอาจารย ปวย ใชสติปญญาสรางชุมชนดวยแนวทางสันติและความ สงบ พรอมที่จะถอยเพื่อเดินกาวใหมที่ปราศจากความขุน ของหมองใจในสังคม

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 193


ญาติ อ. ปวย ในวันเปดอนุสรณสถานอาจารยปวย

มุมมองของชุมชน “วังน้ำขาว” ตอ อนุสรณสถาน ศ.ดร.ปวย อึ๊งภากรณ ไพรัช มณีวงษ เลขานุการทีมงานวิจัยประวัติศาสตรชุมชนทองถิ่น บานวังน้ำขาว และ เลขานุการคณะกรรมการบริหารอนุสรณสถาน ศ.ดร.ปวย อึ๊งภากรณ บานวังน้ำขาว เมื่อสร า งเสร็จ และมีพิธี ก ารเป ดอนุ สรณ สถานของ ทานอยางเปนทางการเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2545 โดยมีพิธีการเปดอยางยิ่งใหญ ผานไป... คณะกรรมการบริ ห ารอนุ ส รณ ส ถาน ศ.ดร.ป ว ย อึ๊ ง ภากรณ วั ด วั ง น้ ำ ขาว โดยท า นอาจารย ธ นิ ต นิ่ ม พระยา ประธานอนุ ส รณ ส ถานฯ พร อ มทั้ ง คณะกรรมการบริ ห าร อนุสรณสถาน อาจารยปวย อีกจำนวนหนึ่ง รวมทั้ง คุณลุง สำอางค มธุรส โดยมีกระผมนายไพรัช มณีวงษ เปนเลขานุการ

194 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

อนุสรณสถาน ศ. ดร. ปวย อึ๊งภากรณ ไดมีการประชุมปรึกษา หารือกันในเรื่องกิจกรรมตางๆ ของอนุสรณสถาน ถึงบทบาท และความสำคัญของชุมชนอยูอยางไมขาด อันจะเห็นไดจาก การประชุมวางแผนพัฒนารูปแบบการบริหารงานของคณะ กรรมการบริหาร อนุสรณสถานฯ อยูเปนประจำทุกวันศุกร ของเดื อ น มี หั ว ข อ และวาระการประชุ ม ในเรื่ อ งต า งๆ เพื่ อ สืบสานความคิด และปรัชญาของทานอาจารยปวยฯ อยูตลอด เวลา อาทิ ผมไดพูดในที่ประชุมสามัญครั้งที่ 7 /2545 เมื่อวัน ที่ 6 ธันวาคม 2545 ถึงคุณธรรมความดีของทาน อาจารยปวย วา “การสรางอนุสรณสถานของอาจารยปวย ที่หมูบาน วังน้ำขาวของเรานั้น นับวาเปนโชคดีของชาวบานวังน้ำขาว และหมูบานใกลเคียงเปนอยางยิ่ง เพราะนอกจากจะเปนแหลง เรียนรูทางประวัติศาสตรของทานอาจารยแลว นักศึกษาจาก มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร นักศึกษาจากสถาบันการศึกษา อื่นๆ ที่สนใจศึกษาเรียนรูเกี่ยวกับ คุณธรรม ความดี ความงาม

สำรวจพื้นที่ตั้ง อนุเสารีย อ. ปวย แหงใหม

ความกลาหาญ ของทานอาจารยปวยฯ จะไดมาเรียนรูถึงแหลง ประวัติศาสตรของทานอยางแทจริง รวมทั้งบุคคลหรือกลุม บุคคล หนวยงานของรัฐ หนวยงานเอกชนและบุคคลผูสนใจ จากทั่วทุกสารทิศ จะหลั่งไหลเขามาทัศนศึกษา ดูงาน และ ทองเที่ยวภายในหมูบานเรามากขึ้น ความดีของการมีอนุสรณสถานของทานอาจารยปวย ยังมีผลสะทอนไปยังชาวบานของเรา ทำใหพอแมพี่นองชาว บานวังน้ำขาวทั้งหลายมีอาชีพเสริมเพิ่มมากขึ้น นั้นก็คือ อาชีพ คาขาย...ขายของฝาก.... คือมีผาทอดวยกี่กระตุก ไมวาจะเปน ผาขาวมา ผาถุง ผาผืน ก็สามารถนำออกมาขายเพื่อเปนของ ฝากใหกับนักศึกษา ครู อาจารย หรือนักทองเที่ยวได หรือใคร มีฝมือทำอาหารคาว-หวาน มีผลหมากรากไม งานชาง งาน ฝมือ ก็สามารถนำมาวางขายใหกับผูคนที่สัญจรผานไปมาได จึงนับวาเปนความโชคดีของชาวบานวังน้ำขาวเปน อยางยิ่ง นับตอจากนี้เปนตนไปหมูบานของเราจะเปนหมูบาน แหงความเจริญรุงเรือง เหมือนเมื่อครั้งกรุงสุโขทัยเปนราชธานี

ที่เคยรุงเรืองในอดีต ดังคำกลาวของพอขุนรามคำแหงมหาราช พระองคทรงตรัสไวในตอนหนึ่งวา “ใครใครคา..คา.. ใครใคร ขาย..ขาย” บัดนั้นความรุงเรืองนั้นจะมาตอบสนองใหกับชุมชน วังน้ำขาวในยุคปจจุบัน” จากคำพูดของผมดังกลาวลวงรูไปยังชาวบานในชุมชน วังน้ำขาวทั่วทุกหัวระแหง เหมือนกับมีแรงกระตุนโดยอัตโนมัติ ชาวบานวังน้ำขาวและชุมชนใกลเคียงตระหนักดี ถึงความโชค ดีโดยบังเอิญของชุมชนที่ไดมาซึ่งแหลงเรียนรู อนุสรณสถาน ศ.ดร.ปวย อึ๊งภากรณ ตางคนก็ตางมีความกระตือรือรนที่จะมี สวนรวมในกิจกรรมตางๆ ของอนุสรณสถานฯ อยางเห็นไดชัด ตางเกิดความรัก ความหวงแหนในอนุสรณสถานที่ไดมา แตก็ยังมีสังคมของชุมชนวังน้ำขาว อีกกลุมหนึ่ง ที่มี การ “มองตางมุม” เกิดขึ้น ทำใหชุมชนวัดวังน้ำขาวแยกเปน 2 ฝาย คือ 1. ฝายที่มองตามมุม คือ ฝายของคณะกรรมการ บริหารอนุสรณสถานฯ อันประกอบไปดวยขาราชการ กำนัน

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 195


วันเปดอนุสรณสถานอาจารยปวย

ผู ใ หญ บ า น ปราชญ บั ณ ฑิ ต นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษา รวมทั้ ง คณะ กรรมการการปกครองหมูบาน และชาวบานวังน้ำขาวบางสวน ซึ่งลวนแตเปนคลังสมอง มองภาพลักษณ เปนคนรุนใหมไฟแรง ติดตามการเปลี่ยนแปลงอยูตลอด มีทักษะในการทำงาน มี วิสัยทัศนที่กวางไกล มีการอบรมเพิ่มศักยภาพใหกับตนเองและ ชุมชนอยูตลอดเวลา พูดจาในทางสรางสรรค ผลักดันศูนยการ เรียนรูอนุสรณสถาน ศ.ดร.ปวยฯ อยูตลอดเวลา ไมวาจะอยูใน สถานการณใดๆ พายุ ฝน หรือมรสุม เราก็ไมหวั่นไหว เพราะ เราคือ.... “คนหัวไวใจสู” 2. ฝายที่มองตางมุม คือ ฝายที่ไมเห็นดวยกับการมี อนุสรณสถาน ศ. ดร. ปวย อึ๊งภากรณ อาจเปนเพราะไมได รับทราบขอมูลอยางถูกตองชัดเจนในความดี ความงาม ความ กลาหาญ และความเสียสละของสัตตบุรุษอยางทานอาจารย ป ว ย ที่ ท า นได เ คยสร า งไว เ มื่ อ ครั้ ง อดี ต และมองไม อ อกว า เรื่องราวในอดีตจะเชื่อมโยงไปถึงการพัฒนาชุมชนของเราได อย า งไร คงต อ งให เวลาแก ค นกลุ ม นี้ เ พื่ อ ทำความเข า ใจอี ก ระยะหนึ่ง จากการที่ ผ มได มี โ อกาสศึ ก ษาเรื่ อ งราวเกี่ ย วกั บ อาจารย ปวย ทั้งอัตชีวประวัติ และขอเขียนสำคัญๆ รวมทั้งที่

196 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

ผอ.ศิริวรรณฯ เลาใหผมฟง ทำใหผมเกิดไฟ..และพลังทาง ความคิด มากไปกวาการยายอนุสรณสถานฯ เสียอีก ผมเคย คิดไปถึงการจัดแสดงแสงและเสียงเกี่ยวกับประวัติของทาน อาจารยปวย ในเรื่องที่เชื่อมโยงกับชุมชนวังน้ำขาว ในวันครบ รอบปของการเปดอนุสรณสถาน ศ. ดร. ปวย อึ๊งภากรณ ประจำ ทุกป หรือรอบพิเศษ ในกรณีมีการขอชม..เปนหมูคณะ.โดย มีชาวบานวังน้ำขาวเปนตัวละครและนักแสดง ทั้ ง นี้ . ..ผมจะเป น ผู เขี ย นบทและกำกั บ การแสดง เปาหมาย...เพื่อเปนการยกยองเชิดชูเกียรติใหแก “สัตตบุรุษ ผูกลา” อาจารยปวย อึ๊งภากรณ รวมทั้งเปนการสงเสริม การทองเที่ยวจังหวัดชัยนาท ใหโดงดังเหมือนกับงาน “วีรชน บางระจัน” ของจังหวัดสิงหบุรี เปนผลดีตอชาวบานและชุมชน วังน้ำขาว ที่จะมีรายไดเพิ่ม มีอาชีพเสริมจากการแสดง กอ ใหเกิดความรัก ความหวงแหนในอนุสรณสถาน ศ. ดร. ปวย อึ๊งภากรณ บานวังน้ำขาว และเขาใจถึงบทบาท “ความดี ... ความงาม...ความกลาหาญ ของทานอาจารยปวย” ดวยตนเอง ... อยางไมรูตัว

เชิงตะกอนแหงความดี

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 197


อ. ปวย กับครอบครัว

อ. ปวย ขณะเปนอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 198 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 199


200 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 201


202 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 203


204 หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ

หนังสือ 40 ปมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 205



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.