eco170

Page 1


<0E2D>.<0E2A><0E38><0E1E><0E08><0E19><0E4C>.indd 1

openbooks

1/1/70 7:13:08 AM


คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

บทเรียนจากวิกฤตซับไพรม

พิมพครั้งที่ 1 สิงหาคม 2553

บทเรียนจากวิกฤตซับไพรม

สํานักพิมพ openbooks 286 ถนนพิชัย แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300 โทรศัพท 0-2669-5145 โทรสาร 0-2669-5146

เลขมาตรฐานสากลประจําหนังสือ 978-616-7347-11-0 ราคา 80 บาท บรรณาธิการบริหาร ภิญโญ ไตรสุริยธรรมา บรรณาธิการ วศิน ศิวสฤษดิ์ ถอดความ พนิต วัฒนกูล ออกแบบปกและรูปเลม ธีรณัฏฐ ขวัญกิจประณิธิ

www.onopen.com onopenon@yahoo.com จัดจําหนาย บริษัท เคล็ดไทย จํากัด 117-119 ถนนเฟองนคร ตรงขามวัดราชบพิธ กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท 0-2225-9536-40 โทรสาร 0-2222-5188

บทเรียนจาก วิกฤตซับไพรม รศ.ดร.สุพจน จุนอนันตธรรม รวมดวย รศ.ดร.ภาณุพงศ นิธิประภา

ขอมูลทางบรรณานุกรมของสํานักหอสมุดแหงชาติ สุพจน จุนอนันตธรรม. บทเรียนจากวิกฤตซับไพรม. -- กรุงเทพฯ : โอเพนบุกส, 2553. 96 หนา. 1. วิกฤตการณการเงิน -- สหรัฐอเมริกา. 2. สหรัฐอเมริกา – ภาวะเศรษฐกิจ I. ชื่อเรื่อง. 330.973 ISBN 978-616-7347-11-0

-2<0E2D>.<0E2A><0E38><0E1E><0E08><0E19><0E4C>.indd 2-3

ศ.ดร.อารยะ ปรีชาเมตตา รศ.ดร.วิมุต วานิชเจริญธรรม

เศรษฐ’ธรรมศาสตร สัมมนา ลำดับที่ 5 -3-

1/1/70 7:13:09 AM


คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

บทเรียนจากวิกฤตซับไพรม

คำนำ ดวยยึดมั่นวาหนาที่สำคัญประการหนึ่งของสถาบัน การศึกษา คือการใหบริการทางวิชาการแกสังคม คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร จึง ได ป ฏิ บั ติ ห น า ที่ ดั ง กล า วอย า งต อ เนื่ อ ง ทั้ ง การ จั ด ทำตำราเศรษฐศาสตร การจั ด ทำวารสาร เศรษฐศาสตรธรรมศาสตร การจัดทำ เศรษฐสาร และการจัดสัมมนาทางวิชาการ ไมวาจะในรูปแบบ ของงานอภิ ป ราย การเสวนา และการนำเสนอ ผลงานวิจัยของอาจารยและนักศึกษา เพื่อเผยแพร องคความรูดานเศรษฐศาสตรสูสาธารณะ เพื่ อ ให อ งค ค วามรู ด า นเศรษฐศาสตร แพร ห ลายในวงกว า งยิ่ ง ขึ้ น คณะเศรษฐศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร จึ ง ได ริ เ ริ่ ม โครงการ “เศรษฐ’ธรรมศาสตร ตลาดวิ ช า” เพื่ อ ตี พิ ม พ ผลงานวิชาการของอาจารยและอดีตอาจารยคณะ -4<0E2D>.<0E2A><0E38><0E1E><0E08><0E19><0E4C>.indd 4-5

เศรษฐศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร และ ถอดความการสัมมนาทางวิชาการครั้งสำคัญของ คณะ ออกมาในรู ป แบบหนั ง สื อ เล ม และวาง จำหน า ยตามร า นหนั ง สื อ ทั่ ว ไป โดยได รั บ ความ รวมมือจากสำนักพิมพ openbooks โครงการ “เศรษฐ’ธรรมศาสตร ตลาดวิชา” ประกบดวยการตีพิมพหนังสือ 3 ชุด ไดแก 1. ชุ ด เศรษฐ’ธรรมศาสตร คลาสสิ ก (ECON TU Classics Series) เพื่อตีพิมพผลงาน วิ ช าการด า นเศรษฐศาสตร ชิ้ น สำคั ญ การแสดง ปาฐกถาพิเศษที่คณะจัดขึ้น รวมทั้งหนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระสำคัญของคณะ 2. ชุ ด เศรษฐ’ธรรมศาสตร สั ม มนา (ECON TU Seminar Series) เพื่อถอดความงาน สัมมนาครั้งสำคัญของคณะ 3. ชุ ด เศรษฐ’ธรรมศาสตร วิ ช าการ (ECON TU Academics Series) เพื่ อ ตี พิ ม พ บทความวิชาการดานเศรษฐศาสตรสาขาตางๆ หนั ง สื อ บทเรี ย นจากวิ ก ฤตซั บ ไพรม เป น หนึ่ ง ในชุ ด เศรษฐ’ธรรมศาสตร สั ม มนา (ECON TU Seminar Series) เนื้อหาของหนังสือ มาจากการถอดความและเรี ย บเรี ย งงานเสวนา -51/1/70 7:13:09 AM


คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

บทเรียนจากวิกฤตซับไพรม

วิชาการเชิดชูเกียรติ รศ.ดร.สุพจน จุนอนันตธรรม อดี ต คณบดี ค ณะเศรษฐศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร ซึ่ ง ประกอบด ว ยปาฐกถาเรื่ อ ง “เราเรียนรูอะไรจากวิกฤตซับไพรม” โดย รศ.ดร. สุพจน จุนอนันตธรรม เศรษฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต กิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ ประจำป ก ารศึ ก ษา 2551 และงาน เสวนาทางวิชาการเรื่อง “การจัดการภาคเศรษฐกิจ การเงิ น ระหว า งประเทศของไทย: บทเรี ย นจาก วิกฤตการเงินสหรัฐอเมริกา” ซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2552 ผูรวมเสวนาประกอบดวย รศ.ดร.ภาณุพงศ นิธิประภา ศ.ดร.อารยะ ปรีชาเมตตา และ รศ.ดร.วิมุต วานิชเจริญธรรม โดยมี ดร.พิสุทธิ์ กุลธนวิทย เปนผูดำเนินรายการ คณะ เศรษฐศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร ขอ ขอบคุณผูรวมเสวนาทุกทานมา ณ โอกาสนี้ ท า นที่ ส นใจสามารถติ ด ตามข า วสาร เกี่ยวกับการสัมมนาทางวิชาการที่จัดขึ้นตอเนื่อง ตลอดทั้งปของคณะ รวมทั้งดาวนโหลดไฟลเสียง ของการสัมมนาในอดีตไดที่ http://www.econ.tu. ac.th/seminar/ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร -6<0E2D>.<0E2A><0E38><0E1E><0E08><0E19><0E4C>.indd 6-7

เราเรียนรูอะไรจากวิกฤตซับไพรม รศ.ดร.สุพจน จุนอนันตธรรม

ผมไดรับเชิญใหมาพูดเรื่องซับไพรม ตอนแรก ผมก็ พ ยายามหาข อ มู ล และใช ค วามคิ ด ทาง ด า นเศรษฐศาสตร ว า ซั บ ไพรม คื อ อะไร แล ว นํ า ไปสู ป ญ หาวิ ก ฤตทางการเงิ น ของสหรั ฐ อเมริกาไดอยางไร คําวา ซับไพรม (Subprime) คือ ของที่ ต่ ำ กว า มาตรฐาน ไพรม บอร โ รเวอร (Prime Borrower) คือผูกูจากธนาคารพาณิชยชั้นดี ดังนั้น ซับไพรมคือผูกูชั้นสอง ชั้นสาม บางคนกูเงินจาก ธนาคารไม ไ ด เ ลย เช น SMEs ทั้ ง หลายที่ ข าย บะหมี่ ขายปาทองโก ดังนั้น ซับไพรมพวกนี้จึง เปนปญหา ปญหาที่เกิดขึ้นนั้นเกิดจากซับไพรม และอสังหาริมทรัพยเปนหลักใหญ

-71/1/70 7:13:10 AM


คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

บทเรียนจากวิกฤตซับไพรม

ทีนี้ผมอยากจะยอนไปที่ อลัน กรีนสแปน1 (Alan Greenspan) ช ว งที่ เ ขาดํ า รงตํ า แหน ง ประธานธนาคารกลางสหรัฐอเมริกา ผมติดตาม นโยบายการเงิ น ของกรี น สแปน เขาลดอั ต รา ดอกเบี้ย 11 ครั้ง2 ถาผมจําไมผิด อัตราดอกเบี้ย จาก 6.75 เปอรเซ็นต หลังจากฟองสบูดอตคอม ในป 2000 3 ลดลงมาเหลื อ 1 เปอร เ ซ็ น ต พอ ดอกเบี้ยถูก คนอเมริกันก็อยากจะลงทุนกันเยอะ สวนหนึ่งของการลงทุนก็คือบาน คนอยากมีบาน ดังนั้นจึงเกิดการกอสรางมากขึ้น ดอกเบี้ยถูก คนก็ อดีตประธานธนาคารกลางสหรัฐอเมริกา ดำรงตำแหนงตั้งแต วันที่ 11 สิงหาคม 1987 ถึงวันที่ 31 มกราคม 2006 2 คณะกรรมการกำหนดนโยบายการเงิน (The Federal Open Market Committee: FOMC) ไดประกาศลดอัตราดอกเบี้ย นโยบาย (The Federal Funds Rate) เพื่อกระตุนเศรษฐกิจ หลังฟองสบูดอตคอมแตกในป 2000 อยางตอเนื่อง ตั้งแตการ ประชุมในวันที่ 3 มกราคม 2001 - 25 มิถุนายน 2003 รวม ทั้งสิ้น 13 ครั้ง อัตราดอกเบี้ยนโยบายปรับลดจากรอยละ 6.5 ในการประชุมเดือนมกราคม 2000 มาอยูที่รอยละ 1 ในการ ประชุมเดือนมิถุนายน 2003 3 ฟองสบูดอตคอม (dot-com bubble/I.T. bubble) เกิดขึ้นใน ชวงป 1995-2000 โดยสงผลใหดัชนีหุนแนสแด็ก (Nasdag) เพิ่มขึ้นสูงสุดในวันที่ 10 มีนาคม 2000 ณ ระดับ 5132.52 จุด ทั้งนี้สาเหตุสำคัญคือการเก็งกำไร (Speculative) ในหุนกลุม เทคโนโลยี 1

-8<0E2D>.<0E2A><0E38><0E1E><0E08><0E19><0E4C>.indd 8-9

กูไปลงทุน ไมจําเปนตองลงทุนในบานเทานั้น ผมเคยไปเขารวมสัมมนาที่มหาวิทยาลัย ธุ ร กิ จ บั ณ ฑิ ต ย ผมถามวิ ท ยากรในการประชุ ม ครั้งนั้นวา Construction Boom นี้จะเปนอยางไร เขาบอกวาไมนาจะมีปญหา แตผมคิดถึงป 1997 ของเมืองไทย เพราะตอนนั้นเราก็มี Construction Boom เราได เ งิ น สนั บ สนุ น จากมู ล นิ ธิ ข องญี่ ปุ น มามาก ผมไดไปทํางานวิจัยที่ญี่ปุน ในงานเลี้ยง มีการเชิญเอกอัครราชทูตญี่ปุนมา ทานยังบอกผม เลยวา เวลาทานขึ้นไปบนตึกสูงๆ ทานเห็นเครน ทั่วกรุงเทพฯ เลย แสดงวาตอนนั้นกรุงเทพฯ มี Construction Boom ความจริงกอนหนานั้นสัก 10 กวาป ผม จําไดวาตอนนั้นก็มีปญหาอุปทานมากกวาอุปสงค แต ส ว นใหญ เ ป น บ า นห อ งแถว และฟองสบู นี้ ไมรุนแรง แตป 1997 ของเรารุนแรงมาก ไมใชแค เรื่ อ งที่ ดิ น อย า งเดี ย ว ธนาคารพาณิ ช ย ล ม หมด อัตราแลกเปลี่ยนก็คงไวที่ 25 บาทเศษๆ ทั้งๆ ที่ เราใช ร ะบบอั ต ราแลกเปลี่ ย นคงที่ ที่ ส ามารถ ปรับเปลี่ยนได ผมก็แปลกใจประกาศของธนาคาร แหงประเทศไทย วาทําไมเขาไมเปลี่ยนระบบอัตรา แลกเปลี่ยน ในประกาศบอกวาเรามีอัตรานี้อยูที่ 27 บาท แตมีขอหนึ่งบอกวาเราสามารถเปลี่ยน -91/1/70 7:13:10 AM


คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

บทเรียนจากวิกฤตซับไพรม

อัตรานี้ได ถาประเทศคูคาที่สําคัญและสถานการณ การคาระหวางประเทศมีปญหา ผมจําได เพราะวา ผมอยู ใ น ศปร. 24 และได ทํ า การประเมิ น ความ เสียหายของระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบคงที่ แต พอเกิดปญหา อัตราแลกเปลี่ยนไปอยูที่ 50 กวา บาท จะเห็นไดวาเกิด Disequilibrium รุนแรงมาก กลับมาที่ระบบการเงินอเมริกา เนื่องจาก ตลาดเงินและตลาดทุนของที่นั่นมีขนาดใหญมาก Money Market Fund ในอเมริกาเปนกองทุนที่ถูก จัดตั้งขึ้นมา 30-40 ปแลว เพื่อที่จะรับเงินออมจาก ประชาชน ซึ่งใหผลตอบแทนดีกวาธนาคารและมี ความมั่ น คงพอสมควร ทํ า ให ดึ ง ดู ด คนอเมริ กั น จํานวนหนึ่ง ประชาชนไมไดคาดการณเลยวาจะมี ปญหาเกิดขึ้น โดยมีจํานวนเงินหมุนเวียนอยูเปน ลานลานดอลลาร สมัยกอน กองทุนเหลานี้ก็จะนําเงินออม จากประชาชนไปลงทุน ทั้งในสวนของพันธบัตร รัฐบาลสหรัฐอเมริกา ตราสารหนี้ของบริษัทตางๆ ที่มีเกรดสูง เชน CD (Certificate of Deposit) ซึ่ง ใหดอกเบี้ยสูงกวาธนาคารพาณิชยทั่วไป ตัว CD สวนใหญจะเปนเงินฝากกอนใหญๆ ตอนผมเรียน คณะกรรมการศึกษาและเสนอแนะมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการระบบการเงินของประเทศ (ศปร.) 4

- 10 <0E2D>.<0E2A><0E38><0E1E><0E08><0E19><0E4C>.indd 10-11

ที่อเมริกา ผมตองดูเรื่อง CD เหมือนกัน มีการ ควบคุ ม อั ต ราดอกเบี้ ย ไม ใ ห เ กิ น ตามกฎเกณฑ ที่ กําหนด5 ธนาคารพาณิชยก็สามารถเลี่ยงมาออก CD เพราะ CD ไม ใ ช เ งิ น ฝากธรรมดา อย า งนี้ เปนตน ตอมา Money Market Fund เริ่มหันเหไป ลงทุนใน CDO (Collateralized Debt Obligation) ตัว CDO ไดรับการค้ำประกันจากเงินกูซื้อบาน ของลูกคาชั้นสอง (Subprime Mortgage Loan) ที่ อเมริ ก ามี Freddie Mac 6 และ Fannie Mae 7 สถาบันทางการเงินที่ปลอยเงินกูซื้อบาน แลวทั้ง การกำหนดเพดานอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก (Interest Rate Ceiling) ในประเทศสหรัฐอเมริกา เกิดขึ้นในป 1933 หลังเกิด เศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ (The Great Depression) ในป 1930 เพื่อปองกันไมใหธนาคารพาณิชยระดมเงินฝากจากประชาชน โดยการขึ้นดอกเบี้ยเงินฝากที่สูงเกินไป ซึ่งสงผลใหธนาคาร ตองเพิ่มรายไดโดยการนำเงินไปปลอยกูในโครงการที่มีความ เสี่ยงสูงๆ (Excessive Risk Project) นโยบายนี้รูจักกันในชื่อ “Regulation Q” 6 Freddie Mac คือชื่อยอของ The Federal Home Loan Mortgage Corporation (FHLMC) ซึ่งเปนสถาบันการเงินที่ ปลอยสินเชื่อที่อยูอาศัย 7 Fannie Mae คือชื่อยอของ The Federal National Mortgage Association (FNMA) ซึ่งเปนสถาบันสินเชื่อบานที่ไดรับการ สนับสนุนจากรัฐ 5

- 11 1/1/70 7:13:10 AM


คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

บทเรียนจากวิกฤตซับไพรม

สองสถาบันก็ลมละลายไปเรียบรอย โดยสรุปก็คือ CDO เปนชุด (Package) ของพันธบัตรและเงินกูที่ ขายในอเมริกา แลวมีหนี้ดอยคุณภาพ (Subprime Debt) หนุ น หลั ง อยู เพราะฉะนั้ น จะเห็ น ได ว า ตลาดเงินอเมริกาคอนขางซับซอน พอมี ก ารซื้ อ ขายสิ น ค า ทางการเงิ น ตั ว นี้ ในรอบแรก คนซื้อคนแรกไมอยากถือ จึงนําไปรวม เปนชุดตอ เรียกวา Securitization แลวขายใน ตลาดหลั ก ทรั พ ย โดยมี ห นี้ ต า งๆ หนุ น หลั ง อยู กระบวนการคื อ ถ า ลู ก หนี้ ผ อ นบ า นได เขาก็ ไ ด ดอกเบี้ ย และเงิ น ต น คื น แต ถ า ลู ก หนี้ ผ อ นไม ไ ด หลักทรัพยตัวนี้จะดอยคา พอล ครุกแมน (Paul Krugman) เขาประเมินวา การปลอยกูแบบนี้ได ผลตอบแทนและมี ค วามเสี่ ย งสู ง มาก Highly Leverage8 ประมาณ 30 เทา สำหรับประเทศไทย ธนาคารแหงประเทศ ไทยจะควบคุ ม การปล อ ยสิ น เชื่ อ ของธนาคาร พาณิ ช ย คื อ ต อ งมี เ งิ น กองทุ น 12.5 เท า แต ที่ อเมริกา 30 เทา ดังนั้น ภาวะทางการเงินที่อเมริกา จึงมีความเสี่ยงมาก เพราะฉะนั้น เมื่อเศรษฐกิจ ตกต่ ำ มู ล ค า ป จ จุ บั น (Present Value) ของ สินทรัพยจึงมีคานอยลง ราคาบานก็ตก ระยะหลัง พวกสถานีขาวของอเมริกามีการไปติดตามวาราคา - 12 <0E2D>.<0E2A><0E38><0E1E><0E08><0E19><0E4C>.indd 12-13

บานลดลงไปเทาไร ถึงแมจะลดเยอะขนาดไหน ก็ ยังหาคนซื้อลําบาก จริ ง ๆ แล ว ครั ว เรื อ นในอเมริ ก าไม ค อ ย ออมเทาไร สมัยนั้นผมพยายามคํานวณหารายรับ ของแต ล ะบุ ค คลและรายรั บ รายจ า ยของแต ล ะ ครัวเรือนในอเมริกา ผมพบวาเขาใชจายมากกวา ที่หาได สมัยประธานาธิบดีจอรจ ดับเบิลยู. บุช (George W. Bush) รั ฐ ขาดดุ ล เยอะ ใน เศรษฐศาสตรมหภาค เราแบงเปน 3 สวน คือภาค รัฐ ครัวเรือน และภาคเอกชน สองกลุมใหญคือ ครัวเรือนและรัฐบาลไมมีการออม สวนภาคเอกชน ที่ มี ก ารออมก็ จ ะเป น พวกบริ ษั ท ใหญ ๆ ป ญ หา อัตราสวนวัดภาระหนี้สิน (Leverage Ratio) ซึ่งนิยมใชวัด ในทางการเงิน ประกอบดวย 1. อัตราสวนหนี้สินตอทุน (Debt to Equity Ratio: D/E) = หนี้สินรวม (Total Liabilities) / สวนของเจาของ (Total Equity) 2. อัตราสวนหนี้สินตอสินทรัพยรวม (Debt to Total Asset) = หนี้สินรวม (Total Liabilities) / สินทรัพยรวม (Total Asset) ดังนั้น หากธุรกิจมีลักษณะ Highly Leverage จะ หมายความวา ธุรกิจดังกลาวมีความเสี่ยงสูงในการดำเนินธุรกิจ และความสามารถในการกูยืมเงินใหมเพื่อรักษาสภาพคลอง จะต่ำ 8

- 13 1/1/70 7:13:11 AM


คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

บทเรียนจากวิกฤตซับไพรม

ตางๆ เกิดจากคนที่ทําตราสารอนุพันธมักจะไมให ความสนใจกับเศรษฐกิจระดับมหภาค วันๆ อยูแต กับ Option, Future หรือราคาหุน แตพอพูดถึง ระดับมหภาคแลวไมรูเรื่อง ทีนี้กลับมาที่ Highly Leverage 30 เทา ผมอยากใหดูตัวเลขจากนิตยสารฉบับหนึ่งเมื่อ 3 ป ที่แลว เขาเขียนเกี่ยวกับ CDO ดวย จากตารางที่ ผมมี อ ยู ธนาคารพาณิ ช ย ใ หญ ๆ ในอเมริ ก าถื อ สินทรัพยพวกนี้อยูคอนขางมาก รวมทั้งกองทุน ต า งๆ ด ว ย เมื่ อ มองย อ นกลั บ ไปดู เ หตุ ก ารณ ทั้ ง หมดที่ เ กิ ด ขึ้ น ผมมองว า สถาบั น การเงิ น ใน อเมริกาไมมีความรับผิดชอบเทาที่ควร ประกอบ กับตลาดหลักทรัพยอเมริกาชวยสงเสริมดวย พอล ครุกแมน เคยพูดวา กรีนสแปนเปน คนทําใหเกิดฟองสบูอสังหาริมทรัพยดวยการลด ดอกเบี้ยเหลือ 1 เปอรเซ็นต แทนฟองสบูดอตคอม ณ ตอนนั้นฟองสบูดอตคอมแตก มีการลดดอกเบี้ย เหลือ 1 เปอรเซ็นต ทําใหอสังหาริมทรัพยเจริญ รุงเรือง จึงกอใหเกิดฟองสบูถัดมา ดังนั้นจึงสรุปได วา ธนาคารตางๆ ในอเมริกาลมเพราะไปเลนกับ ฟองสบู เ หล า นี้ แต พื้ น ฐานที่ สํ า คั ญ คื อ ครั ว เรื อ น อเมริกันไมออมทรัพย แตตอนนี้พอครัวเรือนไมมี งานทํา เริ่มกลับมาออมมากขึ้น ทั้งนี้ทั้งนั้น ครัว- 14 <0E2D>.<0E2A><0E38><0E1E><0E08><0E19><0E4C>.indd 14-15

เรือนก็เพิ่งเริ่มตนออม รัฐดําเนินนโยบายขาดดุล 8,000 ลานดอลลาร ภาคเอกชนปลดคนงานเพื่อ ปรับตัวกับภาวะทางเศรษฐกิจ ทีนี้สิ่งที่สําคัญคือ สถานการณเศรษฐกิจ ของสหรัฐอเมริกามีผลสะทอนตอไทยอยางไร ผม คิดวาธนาคารแหงประเทศไทยไดรับบทเรียนจาก ป 1997 แล ว พยายามดํ า เนิ น นโยบายอั ต รา แลกเปลี่ ย นที่ ไ ม ค งที่ บริ บ ทต า งๆ ก็ เ ปลี่ ย นไป ไม เ หมื อ นเมื่ อ ป 1997 นอกจากนี้ ยั ง พยายาม ควบคุมธนาคารพาณิชยและบริษัทลูกของธนาคาร พาณิชยดวย ยกตัวอยางเชน ธนาคารกรุงเทพจะ ตองมีเงินสํารองเทานี้ มีอัตราสวนสินทรัพยเสี่ยง เทานั้น นอกจากนี้ ถามีบริษัทลูก ธนาคารกรุงเทพ จําตองแสดงในบัญชีผลประกอบการดวย บริษัท ลูกนั้นมีความสําคัญ เพราะบางครั้งบริษัทลูกอาจ ดําเนินการไมดี ขาดทุน บริษัทแมก็ตองจาย ซึ่ง ทําใหแยลง ดังนั้น ธนาคารแหงประเทศไทยจึงตอง ดูแล แล ว ธนาคารพาณิ ช ย ใ นไทยลงทุ น ใน ซั บ ไพรม ห รื อ ไม เพราะเดี๋ ย วนี้ ก ฎต า งๆ ก็ เ ป ด กวาง ดุลการคา ดุลบัญชีเดินสะพัดของประเทศ เกินดุล แลวก็มีวิกฤตการเงินที่เมืองนอก เงินตางๆ ก็เขามาในไทย หอการคาไทยมักจะพูดอยูเรื่อยวา - 15 1/1/70 7:13:11 AM


คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

บทเรียนจากวิกฤตซับไพรม

อยาใหอัตราแลกเปลี่ยนแข็งคาจนเกินไป เนื่องจาก เขาคิดดานเดียว วิกฤตเศรษฐกิจครั้งนี้ทําใหการ สงออกของเราลดลง รวมทั้งการนําเขาดวย ดุล การค า ยั ง เกิ น ดุ ล อยู ถึ ง แม เ ศรษฐกิ จ ในประเทศ จะซบเซา อย า งไรก็ ต าม เศรษฐกิ จ ก็ จ ะค อ ยๆ ปรั บ ตั ว ดี ขึ้ น ตามเศรษฐกิ จ โลก เดี๋ ย วนี้ ธ นาคาร แหงประเทศไทยดูอัตราแลกเปลี่ยนของประเทศ คูคาและคูแขงของเราดวย เพราะฉะนั้น ผมคิดวา นี่เปนนโยบายที่ดี เกียรติประวัติที่สําคัญมากอีกอยางหนึ่ง คื อ ช ว งป 1982-1985 ละติ น อเมริ ก ามี ป ญ หา รายจ า ยมากกว า รายได มี ก ารกดราคาการให บริ ก ารของรั ฐ วิ ส าหกิ จ เพราะมี ก ารใช น โยบาย ประชานิ ย ม กู เ งิ น จากธนาคารในอเมริ ก าก็ ม าก ดั ง นั้ น เมื่ อ ไม ส ามารถชํ า ระหนี้ ไ ด ธนาคารใน อเมริกาก็ลม ผมยังจําได Baker Plan9 และ Brady Plan10 อะไรพวกนี้ มีการนําหนี้ของละตินอเมริกา ที่เขากูมา securitization ไปขายในตลาด หนี้ 100 แผนชวยเหลือปลดภาระหนี้แกประเทศโลกที่สาม จัดทำขึ้นใน ป 1985 โดยการนำเสนอของรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง เจมส เบเกอร (James Baker) แตไมประสบความสําเร็จ เพราะ ไมสามารถบรรลุขอตกลงกันไดวาประเทศใดควรจะไดรับความ ชวยเหลือ ตอมามีการออก Brady Plan แทนแผนดังกลาว

เหรียญจะมีคนซี้อเทาไร ตองไปเก็บเงินจากลูกหนี้ เอง ไดหรือไมไดเปนอีกเรื่อง แตขายถูก แลวแต ประเทศ แลวแตเวลา ครุกแมนก็บอกวาการแก ปญหานี้ก็ไมเลว ตัดเปนหนี้สูญ อาศัยกลไกทาง ตลาดเงินและตลาดทุน ใหราคาแกหนี้สินที่เสียแลว มีการทําเปนตลาดเปดประมูลดวย

9

- 16 <0E2D>.<0E2A><0E38><0E1E><0E08><0E19><0E4C>.indd 16-17

แผนการออกพันธบัตรเพื่อชวยเหลือประเทศละติน-อเมริกา โดยนําชื่อนี้มาจาก นิโคลัส เบรดี (Nicholas Brady) รัฐมนตรี วาการกระทรวงการคลังของสหรัฐอเมริกาในสมัยนั้น 10

- 17 1/1/70 7:13:11 AM


คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

บทเรียนจากวิกฤตซับไพรม

เรื่อง “การจัดการภาคเศรษฐกิจ การเงินระหวางประเทศของไทย: บทเรียนจากวิกฤตการเงินสหรัฐอเมริกา” จัดขึ้นเพื่อเชิดชูเกียรติ รศ.ดร.สุพจน จุนอนันตธรรม

โดย รศ.ดร.ภาณุพงศ นิธิประภา ศ.ดร.อารยะ ปรีชาเมตตา รศ.ดร.วิมุต วานิชเจริญธรรม

รศ.ดร.ภาณุพงศ นิธิประภา: วันนี้ผมรูสึกภูมิใจที่ไดมานั่งคูกับอาจารย สุพจนผูเคยประสิทธิ์ประสาทวิชาเศรษฐศาสตรให เปนครั้งแรก เรื่องที่ผมจะพูดวันนี้คงจะขยายความ จากเรื่องที่ทานอาจารยไดพูดไป และอาจจะเลา เรื่องความหลังเล็กนอย เมื่ อ สั ก ครู อ าจารย สุ พ จน ก ล า วถึ ง อั ต รา แลกเปลี่ยน จากภาพที่ 1 จะเห็นไดวาประเทศไทย เราใชอัตราแลกเปลี่ยนที่คอนขางจะตายตัวมาโดย ตลอด มีการปรับขึ้นบางตามที่อาจารยสุพจนได กลาวไปแลวในชวงตนในเรื่องของตะกราเงินตรา ตางๆ และตอนหลังๆ คาเงินบาทก็เริ่มแข็งขึ้น

ดำเนินรายการโดย ดร.พิสุทธิ์ กุลธนวิทย - 18 <0E2D>.<0E2A><0E38><0E1E><0E08><0E19><0E4C>.indd 18-19

- 19 1/1/70 7:13:12 AM


คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

บทเรียนจากวิกฤตซับไพรม

ภาพที่ 1 อัตราแลกเปลี่ยนบาทตอดอลลาร

Source: International Financial Statistics

ทานอาจารยสุพจนเริ่มสอนหนังสือเมื่อป 2513 ผมมีโอกาสไดเปนลูกศิษยรุนแรกๆ ชวงนั้น อาจารย ส อนวิ ช าการเปลี่ ย นแปลงเศรษฐกิ จ ประเทศไทย (EC 204) ตอนนั้ น ก็ ไ ด เ รี ย นรู ถึ ง ระบบอัตราแลกเปลี่ยนตางๆ ที่มีการเปลี่ยนแปลง มาเรื่อยๆ โดยปกติ ถาเราเรียนหนังสือแลวเราชอบ อาจารยทานนั้น เราจะมานั่งขางหนาเสมือนเปน สาวก ผมก็มานั่งแถวหนาเวลาอาจารยสุพจนสอน หองเรียนใหญมาก เปนรอยๆ คน อาจารยเดิน เข า มาก็ ห ยิ บ หนั ง สื อ ของอิ น แกรม 1 (James C. Ingram) ขึ้นมาเปด แลวอาจารยก็พูดรายยาวไป - 20 <0E2D>.<0E2A><0E38><0E1E><0E08><0E19><0E4C>.indd 20-21

หนั ง สื อ เล ม นี้ ต อ งถื อ ว า เป น หนั ง สื อ เล ม แรกที่ผมไดอาน เปนหนังสือที่ใหความรูมาก สมัย นั้นไมมีหลักสูตรภาษาอังกฤษ เรียนเปนภาษาไทย เวลาผมมีปญหาอะไร ผมก็เดินไปเคาะประตูหอง อาจารยสุพจน ถามอาจารยวาหนานี้มีความหมาย วาอยางไร อาจารยก็ชวยกรุณาอธิบายใหฟง หลังจากนั้นอาจารยก็พูดถึงทฤษฎีตางๆ ที่อยูเบื้องหลัง สมัยที่มีสนธิสัญญาเบาวริง มีการ เป ด การค า ข า ว ตามทฤษฎี ก็ คื อ มี ก ารใช ป จ จั ย ที่ดินในการผลิตขาวมาก เพราะฉะนั้น ผูที่ไดรับผล ประโยชนคือเจาของที่ดิน ตอมาอาจารยสุพจนก็ได แนะนําบทความของ ปเตอร เอฟ. เบลล (Peter F. Bell) มีการพูดถึงแนวคิดมารกซิสม การกระจุกตัว ของเศรษฐกิจในกรุงเทพฯ และมีความสัมพันธกับ ตางจังหวัดแบบเมืองหลวงกับเมืองบริวาร นั่นคือความทรงจําของผมเมื่อประมาณ 30-40 ปกอน ชวงที่มีการลดคาเงิน วันเวลาตามตาราง ที่ 1 อาจารยสุพจนไดกลาวถึงการลอยตัวคาเงิน ผมก็ จํ า ได เ หมื อ นกั น ช ว งวั น ลอยกระทง เดื อ น พฤศจิกายน 1984 พลเอกอาทิตย กำลังเอก ออก James C. Ingram, Economic Change in Thailand Since 1850 (Stanford, CA: Stanford University Press, 1955). 1

- 21 1/1/70 7:13:13 AM


คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

บทเรียนจากวิกฤตซับไพรม

ที วี พู ด คั ด คา นการลดคาเงิน ประเด็นสําคัญคือ มูลคาของอาวุธยุทโธปกรณที่ซื้อจากตางชาติจะ แพงขึ้ น ถึ ง 14-15 เปอร เ ซ็ น ต ส ว นวั น ที่ 2 กรกฎาคม 1997 ผมได พ บกั บ อาจารย สุ พ จน อาจารยถามผมวา รูไหมวาธนาคารแหงประเทศ ไทยประกาศลอยตัวคาเงินบาทแลว

ไมไดปรับตัวมาก และการสงออกก็ยังสามารถไป ไดดี ภาพที่ 2 การเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยน บาทตอดอลลารในระยะยาว

ตารางที่ 1 วันและอัตราการเปลี่ยนแปลง อัตราแลกเปลี่ยนของประเทศไทย วันที่ พฤษภาคม 1981 กรกฎาคม 1981 พฤศจิกายน 1984 ธันวาคม 1985 2 กรกฎาคม 1997

อัตราการเปลี่ยนแปลง 1.1 8.7 14.8 1.9 ลอยคาเงินบาท

ถ า ดู ร าคาของเงิ น ดอลลาร ใ นป 1950 (ภาพที่ 2) 1 ดอลลารมีราคาประมาณ 200 บาท แต ป จ จุ บั น อย า งที่ เ ราทราบกั น คื อ 30 กว า บาท เพราะฉะนั้ น จะเห็ น ได ว า เงิ น ดอลลาร มี ค า ถู ก ลง มากเมื่อเทียบกับในอดีต โดยมากผูสงออกมักจะ ขอรองใหคาเงินบาทออน แตจากภาพ เราจะเห็น วาในขณะที่ราคาสินคาเพิ่มขึ้น แตราคาคาเงินบาท - 22 <0E2D>.<0E2A><0E38><0E1E><0E08><0E19><0E4C>.indd 22-23

Source: International Financial Statistics

เดื อ นกั น ยายนมั ก จะเป น เดื อ นที่ เ กิ ด เหตุการณที่เราจําไดไมลืมเลือน วันที่ 9 กันยายน 2001 ที่ตึกเวิลดเทรดเซ็นเตอร วันที่ 19 กันยายน 2006 วั น รั ฐ ประหารของประเทศไทย ซึ่ ง ทำให ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงไปอยางมาก เมื่อสักครู อาจารยสุพจนพูดถึงสถาบันการเงินที่ปลอยกูให กับอสังหาริมทรัพย ก็ลมไปเมื่อวันที่ 7 กันยายน 2007 พรุงนี้ (15 กันยายน 2008) ก็จะครบรอบ 1 ป ก ารล ม ละลายของ Lehman Brothers ที่ เ คย - 23 1/1/70 7:13:15 AM


คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

บทเรียนจากวิกฤตซับไพรม

มากวานซื้อสินทรัพยในประเทศไทยในชวงที่เกิด วิกฤตป 1997 มีคนตั้งคําถามวา ประวัติศาสตรจะชวย ชี้นําอะไรเราไดบาง ผมอยากจะเรียนวา มนุษย มักจะลืมเลือนประวัติศาสตร ถ า เราไปดูตัวกระตุนเศรษฐกิจ ตัวหลัก สํ า คั ญ คื อ การส ง ออก ซึ่ ง เป น ทางสุ ด ท า ยของ ประเทศไทย ในชวงป 2007-2008 มีการพูดกัน มากว า เราต อ งการให ค า เงิ น บาทอ อ นลง แต ผ ล กลับกลายเปนวาการสงออกยังขยายตัวได สวน หนึ่งเปนเพราะวาสินคาสงออกมีราคาดี จึงไมถูก กระทบมากจากอัตราแลกเปลี่ยน แตการลงทุนถูก กระทบไปแลวจากความผันผวนทางการเมือง

อาจารย สุ พ จน ไ ด พู ด ถึ ง ความสั ม พั น ธ ระหวางการสงออกและการนําเขา ภาพที่ 4 อัตรา การเปลี่ยนแปลงในป 2008 ทั้งการนําเขาและการ สงออกมีคาลดลง แตบังเอิญวาการนําเขาลดลง มากกว า ผลก็ คื อ เราเกิ น ดุ ล ในบั ญ ชี เ ดิ น สะพั ด มูลคาการสงออกและการนําเขามีความสัมพันธกัน ในระยะยาว ภาพที่ 4 ความสัมพันธระหวาง การสงออกและการนําเขา

ภาพที่ 3 อัตราสวนของการสงออก การนําเขา และการลงทุน ตอ GDP

Source: Bank of Thailand

ในชวงที่เรามีการปรั บ อั ต ราแลกเปลี่ ย น การสงออกกระเตื้องขึ้นมาก ทั้งนี้เพราะคาเงินบาท Source: Bank of Thailand

- 24 <0E2D>.<0E2A><0E38><0E1E><0E08><0E19><0E4C>.indd 24-25

- 25 1/1/70 7:13:18 AM


คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

บทเรียนจากวิกฤตซับไพรม

อ อ นตั ว ลง ในขณะที่ ป ระเทศอื่ น มิ ไ ด ป ระสบกั บ สถานการณเศรษฐกิจตกต่ำ ทําใหเราสงออกไดใน ชวงป 1997-1998 ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน (ภาพ ที่ 5) ชวงที่อัตราแลกเปลี่ยนตายตัว จะเห็นไดวา มี ค วามผั น ผวนน อ ยมาก หลั ง จากนั้ น เกิ ด การ เคลื่อนไหววูบวาบมากขึ้น หากการเปลี่ยนแปลง มี น อ ย ความเสี่ ย งจากอั ต ราแลกเปลี่ ย นจะมี ต่ ำ เปนผลดีตอการคาระหวางประเทศ แตจะมิไดสอน ให เ ราพยายามปรั บ ตั ว ให พ ร อ มสํ า หรั บ การ เปลี่ยนแปลงในอนาคต ภาพที่ 5 ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน

ในดานความสามารถในการแขงขัน ถา เราไปดูตัวเลข Real Effective Exchange Rate2 จะพบวา ขณะที่เงินดอลลารมีคาออนลง แตเงิน บาทกลับแข็งคาขึ้น ประเด็นที่ผมจะชี้ใหเห็นก็คือ เราไมสามารถพูดถึงความสามารถในการแขงขัน โดยพิจารณาจากทิศทางการเคลื่อนไหวของอัตรา แลกเปลี่ยนที่แทจริงไดเพียงอยางเดียว บางครั้งถา หากมี ก ารเปลี่ ย นแปลงไปในทิ ศ ทางสู ดุ ล ยภาพ การแข็งของคาเงินก็มิไดหมายถึงการสูญเสียความ สามารถในการแขงขัน ถาเรามีการเกินดุลอยูมาก อัตราแลกเปลี่ยนของเราก็นาจะตองแข็งขึ้นเปน ธรรมดา เพราะฉะนั้น อยาเพิ่งดวนสรุปวาความ สามารถในการแขงขันของเราจะตกลงเมื่อเงินบาท มีคาแข็งขึ้น

ดัชนีคาเงินบาทที่แทจริง (Real Effective Exchange Rate: REER) เปนการหาคาเฉลี่ยแบบถวงน้ำหนักของคาเงิน (บาท) จาก Bilateral Exchange Rate สกุลตางๆ ตอ 1 บาท โดยนำ ป จ จั ย ด า นระดั บ ราคาสิ น ค า ในแต ล ะประเทศมาคำนวณด ว ย โดยปกติ การถ ว งน้ ำ หนั ก แต ล ะสกุ ล จะให ค วามสำคั ญ ตาม สัดสวนการคา ในปจจุบัน ดัชนีคาเงินบาทที่แทจริงของธนาคาร แหงประเทศไทย คำนวณจากสกุลเงินที่สำคัญ 21 สกุล โดยให น้ำหนักตามความสำคัญในฐานะคูคาและคูแขงในตลาดโลก 2

Source: Bank of Thailand

- 26 <0E2D>.<0E2A><0E38><0E1E><0E08><0E19><0E4C>.indd 26-27

- 27 1/1/70 7:13:19 AM


คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

บทเรียนจากวิกฤตซับไพรม

ภาพที่ 6 ความสามารถในการแขงขัน กับการคาตางประเทศของไทย สหรัฐอเมริกา และญี่ปุน

Source: International Financial Statistics

ผมจําไดวา 3 เดือนหลังจากการปฏิวัติป 2006 มีการใชนโยบายควบคุมเงินทุนไหลเขา ผล ก็คือ เกิดสวนตางระหวางอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ภายในกับภายนอกประเทศ จึงทําใหธนาคารแหง ประเทศไทยประสบกับการขาดทุน ทําใหผมนึกขึ้น มาไดวา ในปาฐกถากีรตยาจารยของทานอาจารย สุพจน ทานไดพูดถึงการขาดทุนของธนาคารแหง ประเทศไทยในชวงลดคาเงินบาทป 1997 ถาใคร สนใจ สามารถอานไดจากบทความปาฐกถาในครั้ง นั้นของอาจารยสุพจน

โดยปกติ เงิ น ไหลเข า มาลงทุ น โดยตรง (Foreign Direct Investment: FDI) ในประเทศ ไทยมั ก จะเข า มาอยู อ ย า งถาวร (ภาพที่ 7) แต ปรากฏวากลับมีความผันผวน ทั้งๆ ที่เปนเงินเย็น (Cool Money) ส ว นหนึ่ ง อาจเป น เพราะมี ก าร เปลี่ ย นแปลงเกิ ด ขึ้ น ในช ว งนี้ ทํ า ให เ กิ ด ความ ไม แ น น อนต า งๆ นั ก ลงทุ น ที่ เ ข า มาเขาสนใจ นโยบายของประเทศเราดวย ถานโยบายคงเสนคงวา ไมเปลี่ยนแปลงมาก ความเสี่ยงจะลดลงไป ดังนั้นจะเห็นไดวามีความผิดปกติเกิดขึ้น ถาเปน เงินที่ไหลเขามาทางธนาคารพาณิชย จะเห็นไดวา ชวงหลังๆ ก็เกิดการเปลี่ยนแปลงมากขึ้นเชนกัน (ภาพที่ 8) ภาพที่ 7 เงินทุนไหลเขาประเทศไทย

Source: Bank of Thailand

- 28 <0E2D>.<0E2A><0E38><0E1E><0E08><0E19><0E4C>.indd 28-29

- 29 1/1/70 7:13:22 AM


คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

บทเรียนจากวิกฤตซับไพรม

ภาพที่ 8 เงินทุนไหลเขาธนาคารพาณิชย ในประเทศ

Source: Bank of Thailand

ผมเคยเรียนกับอาจารยสุพจน 2 วิชา คือ วิชาการเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจประเทศไทย (EC 204) กับวิชาเศรษฐศาสตรการเงินการธนาคาร (EC 330) ใชหนังสือของ SS&W อาจารยสอนทั้ง รอบเช า และรอบค่ ำ ผมก็ เ อาเปรี ย บคนอื่ น โดย เขาไปเรียนทั้งสองรอบ เพราะประทับใจอาจารย มาก หลังจากนั้น ผมและอาจารยสุพจนก็ไดเปน เพื่อนรวมงานกัน อาจารยสุพจนเคยพาผมไปที่ สมาคมธนาคารไทย ไปทํางานวิจัยเกี่ยวกับเรื่อง ผลกระทบจากการเก็บภาษีจากดอกเบี้ยเงินฝาก คําถามของงานวิจัยคือจะเกิดอะไรขึ้นถาดอกเบี้ยที่ - 30 <0E2D>.<0E2A><0E38><0E1E><0E08><0E19><0E4C>.indd 30-31

ประชาชนไดรับจากธนาคารถูกนํามาใชเปนฐาน ในการคํานวณภาษีเงินได งานนั้นถือวาเปนงาน วิจัยชิ้นแรกของผม ซึ่งมีอาจารยสุพจนคอยชวย ดูแล ตอรอง และนําเสนอผลงานใหกับทางสมาคม กลั บ มาที่ เ รื่ อ งการกู ยื ม เงิ น ในระยะสั้ น (OTHER) (ภาพที่ 9) ชวงวิกฤตการณจะมีความ ผันผวนมาก จากนั้นก็คอยๆ หายไป เพราะไมมี ประโยชน อ ะไรที่ จ ะเข า มาเก็ ง กํ า ไร ในเมื่ อ ไม มี ปจจัยที่ทําใหเกิดการเก็งกําไร ภาพที่ 9 ความผันผวนของการกูยืมระยะสั้น

Source: Bank of Thailand

- 31 1/1/70 7:13:25 AM


คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

บทเรียนจากวิกฤตซับไพรม

หลายๆ คนอาจจะเคยไดยินคําวา YenCarry Trade (ภาพที่ 10) เนื่ อ งจากดอกเบี้ ย ในญี่ปุนนั้นต่ำมาก เพราะฉะนั้น ชาวญี่ปุนก็จะกู เงินในอัตราดอกเบี้ยต่ำ แลวเอาเงินไปซื้อพันธบัตร ตางประเทศที่ใหผลตอบแทนสูง เงินพวกนี้ไมได กลับเขาไปในประเทศ แตลอยไปมาอยูที่อื่นเพื่อหา กําไร ทําใหหลัก Interest Rate Parity3 ไมเปนจริง และนี่เองก็เปนเหตุผลหนึ่งที่ทําใหเงินหมุนเวียน ในสหรัฐอเมริกามีมาก ในชวงหลังๆ เราจะเห็นได วาอัตราแลกเปลี่ยนแข็งคาขึ้นไปเรื่อยๆ ภาพที่ 10 Yen-Carry Trade

อาจารยสุพจนกลาววากรีนสแปนทําผิด จริงๆ แลวตั้งแตป 2002 สําหรับบิน ลาเดน เขา ไม ไ ด แ ค ป ระสบความสํ า เร็ จ กั บ การทํ า ลายตึ ก เวิลดเทรดเซ็นเตอรเทานั้น เขายังสามารถทําลาย เศรษฐกิ จ ของอเมริ ก าด ว ย เพราะหลั ง จากที่ ตึ ก เวิลดเทรดเซ็นเตอรถูกถลม กรีนสแปนพยายามใช อัตราดอกเบี้ยที่คอนขางต่ำจนถึงวันนี้ เพื่อปองกัน ไมใหเศรษฐกิจของอเมริกาตกต่ำ โดยการกระตุน การใชจายของภาคเอกชน ชวงนี้เปนชวงสวนตาง อัตราดอกเบี้ย เงินก็ไหลเขาไปในอเมริกา ทําให เกิ ด ฟองสบู ซึ่ ง สิ่ ง เหล า นี้ เ กิ ด จากการที่ อั ต รา ดอกเบี้ยต่ำยาวนาน สํ า หรั บ CDO (Collateralized Debt Obligation) และ CDS (Credit Default Swap) สิ่ง เหลานี้คือ Weapon of Mass Destruction เพราะ ทําใหเกิดปญหา หลังจากนั้นราคาบานก็ตกต่ำลง เศรษฐกิจตกต่ำ ครัวเรือนไม ส ามารถจ า ยหนี้ ไ ด ครัวเรือนบางสวนจึงกลายเปน Ponzi Borrowers4 ทฤษฎีอัตราดอกเบี้ยเสมอภาค (The Interest Rate Parity) กลาวไววา เปอรเซ็นตความแตกตางของอัตราดอกเบี้ยระหวาง สองประเทศ จะเท า กั บ เปอร เ ซ็ น ต ส ว นเพิ่ ม หรื อ ส ว นลด (Forward Premium/Discount) ของอัตราแลกเปลี่ยนลวงหนา ของเงินสองสกุลนั้น แตมีเครื่องหมายหรือทิศทางตรงกันขาม 4 ผูกูที่พยายามคืนดอกเบี้ยและเงินตนแกผูใหกูโดยการกูจาก ผูใหกูรายใหม 3

Source: International Financial Statistics

- 32 <0E2D>.<0E2A><0E38><0E1E><0E08><0E19><0E4C>.indd 32-33

- 33 -

1/1/70 7:13:26 AM


คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

บทเรียนจากวิกฤตซับไพรม

กลับมาที่เหตุการณในบานเรา นโยบาย กระตุนเศรษฐกิจ ทั้งนโยบายการคลัง นโยบาย อัตราดอกเบี้ยที่ต่ำ อัตราแลกเปลี่ยน หรือใชการ บริโภคนํา ซึ่งอยางหลังนี้จีนประสบความสําเร็จ มาแลวกับการกระตุนเศรษฐกิจของเขา ถาสงออก ไม ไ ด ก็ อ าศั ย การกระตุ น เศรษฐกิ จ ในประเทศ สิงคโปรก็ใชการลงทุนจากภาครัฐ เนื่องจากเขามี แผนสํารองไวอยูแลวสําหรับการลงทุน ในชวงที่ เศรษฐกิ จ ดี เขาจะยั ง ไม ใ ช แต เ มื่ อ การส ง ออก ลดลง ก็สามารถนําแผนการลงทุนที่ทําไวลวงหนา มาใชไดทันที แตบานเรากําลังศึกษากันอยู ซึ่งชา ไป ไมทันการณ นโยบายการเงินยังคงมีผลในการกระตุน เศรษฐกิจ ในขณะที่นโยบายการคลังอาจไมมีผล มากนัก สุดทาย เศรษฐกิจของเราจะฟนตัวอยาง ยั่งยืนไดนั้น ตองรอการฟนตัวของสหรัฐอเมริกา และญี่ ปุ น เสี ย ก อ น จริ ง ๆ แล ว ผู ส ง ออกมี ค วาม สามารถในการปรั บ ตั ว สู ง การช ว ยดู แ ลอั ต รา แลกเปลี่ยนใหมีคาต่ำกวาความเปนจริงจะทําให ผูสงออกเคยตัว และรัฐบาลไมสามารถที่จะเขาไป พยุงไดตลอดเวลา อยางไรก็ตาม หากความเชื่อมั่นกลับคืน มาแลว ทุกอยางก็เปนไปดวยดี ในชวงหลังๆ จะ - 34 <0E2D>.<0E2A><0E38><0E1E><0E08><0E19><0E4C>.indd 34-35

เห็นไดวาการลงทุนในตลาดทุนดีขึ้น ถาดูจากเดือน มกราคมจนถึ ง ตอนนี้ (กั น ยายน 2552) หุ น ใน ตลาดทุกแหงสูงขึ้น ถามองทางดานนโยบายอัตรา แลกเปลี่ ย น เรายั ง เคยชิ น กั บ การเติ บ โตทาง เศรษฐกิจโดยพึ่งพาการสงออก แตถาหากจะให เติบโตอยางยั่งยืน ก็ตองเริ่มจากการบริโภคภายใน ประเทศ การสงออกของเราขึ้นอยูกับผลทางรายได กับผลทางการทดแทนในอุปสงคของการสงออก ถาเนนแตเพียงผลทางการทดแทน ตางฝายตาง เนนการลดคาเงิน ก็คงจะมีปญหาการแขงกันลด คาเงิน อเมริกาเขาเริ่มใชอัตราภาษีในการตอบโต จีน แตสําหรับผลทางรายไดนั้นขึ้นอยูกับเศรษฐกิจ ของอเมริกา ถาเขาฟน เราก็ฟนดวย เราไมคอยจะเรียนรูจากประสบการณใน อดีตที่ผิดพลาด เรายังคงใชนิสัยเดิม ใชนโยบาย เดิม ยิ่งฟนตัวเร็วเทาไร เชน การฟนตัวรูปตัววี จะ ทําใหเราลําบากในอนาคต เพราะไมมีความจําเปน ที่จะตองปรับตัว “Time is a great teacher, but unfortunately it kills all its pupils” Berlioz, Hector (1803-1869) - 35 1/1/70 7:13:27 AM


คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

บทเรียนจากวิกฤตซับไพรม

- 36 <0E2D>.<0E2A><0E38><0E1E><0E08><0E19><0E4C>.indd 36-37

ศ.ดร.อารยะ ปรีชาเมตตา: ประเด็ น ที่ ผ มจะพู ด ในวั น นี้ คื อ สาเหตุ ผลกระทบ รวมทั้งบทเรียนที่เราไดรับจากวิกฤต เศรษฐกิจในครั้งนี้ สุดทายคือนัยยะตอการจัดการ การเงินระหวางประเทศของไทย ผมขอเริ่มดวยภาพที่ 1 เสนดานบนเปน เสนที่ปรับดวยอัตราเงินเฟอ เราจะเห็นวาในชวง 25 ปที่ผานมา ดัชนีราคาบานจะอยูที่ 100-125 แต พอใกลๆ ป 2000 ก็เริ่มปรับตัวสูงขึ้น และสูงสุด ที่ป 2006 กอนที่จะตกลงมา ภาพที่ 1 ดัชนีราคาบานของสหรัฐอเมริกา U.S. Home Price Index Inflation-Adjusted Home Price Index

Nominal Home Index

Home Price Index

รศ.ดร.สุพจน จุนอนันตธรรม: มีนักเศรษฐศาสตรของไทยบางคนบอกวา เมื อ งไทยเป ด เศรษฐกิ จ มากเกิ น ไป การส ง ออก คิดเปน 70 เปอรเซ็นตของ GDP เราควรจะหันมา พึ่งการบริโภคภายในประเทศ นักเศรษฐศาสตร จากธนาคารโลกก็บอกวาเราเปดประเทศนี่ดีแลว เพราะชวยใหเราเติบโตไดเร็ว ในระยะยาวก็ขึ้นอยู กับวาโลกจะดีไหม ถาโลกดี ประเทศเราก็ดี ทีนี้ ตองกลับมาดูนโยบายในบานเรา นโยบายดอกเบี้ย ตองดี ไมใชลดอยูเรื่อยๆ เหมือนกรีนสแปน เรา ต อ งให เ งิ น ออมของประชาชนเป น บวก ส ว น นโยบายการคลังก็ไมควรใหขาดดุลมากจนเกินไป เพราะฉะนั้ น ผมอยากจะให มี ก ารเป ด ประเทศแบบดั้งเดิม ขณะเดียวกัน เราตองจัดการ นโยบายของประเทศใหมีประสิทธิภาพ ทั้งเรื่อง ดอกเบี้ยและการใชจายของรัฐบาล สําหรับธนาคาร พาณิชย ผมมองวาเปนตลาดผูคานอยราย ทําให เขามีอํานาจในการกําหนดอัตราดอกเบี้ยในระดับ หนึ่ ง ดั ง นั้ น ธนาคารแห ง ประเทศไทยต อ งมี กฎเกณฑที่สามารถควบคุมไดจริง

Year

Source: http://mysite.verizon.net/vzeqrguz/housingbubble/

- 37 1/1/70 7:13:28 AM


คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

บทเรียนจากวิกฤตซับไพรม

สวนภาพที่ 2 แสดงการเปรียบเทียบราคา บานกับวิกฤตการเงินครั้งนี้กับครั้งกอนๆ ผมเอา มาจากงานที่ตีพิมพใน AER (American Economic Review) สิ่งที่เขาทําคือเปรียบเทียบราคาบาน ของสหรัฐอเมริกากับวิกฤต 5 ครั้งใหญๆ และเฉลี่ย วิกฤตอื่นๆ หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยสมมติวา วิกฤตเกิดที่เวลา T แลวมองยอนกลับไปดูการปรับ ตัวของราคาบาน สิ่งที่เห็นจากภาพนี้คือ เริ่มตนที่ ป 2003 ราคาบ า นปรั บ ขึ้ น ไปสู ง กว า ราคาเฉลี่ ย แลวก็ตกลงมา เราจะเห็นวาเปนตัวชี้อยางหนึ่งที่ ทําใหเราทราบวามีฟองสบูเกิดขึ้น

คําถามก็คือ สาเหตุมาจากอะไร ก็มาจาก การที่ธนาคารกลางลดอัตราดอกเบี้ย (ภาพที่ 3) จาก 6 เปอรเซ็นตเหลือ 1 เปอรเซ็นต เราจะเห็น วา ARM (Adjustable Rate of Mortgage Loan) เริ่ ม ปรั บ ตั ว สู ง ขึ้ น ในป 2004 เพราะกลั ว ป ญ หา เงินเฟอ แลวพอเกิดวิกฤตก็ปรับอัตราดอกเบี้ยลง แตตอนที่ปรับลง จะสังเกตไดวาอัตราการกูซื้อบาน ไม ไ ด ล ดลงด ว ย เพราะสิ น ทรั พ ย เ หล า นี้ มี ค วาม เสี่ยง ภาพที่ 3 อัตราดอกเบี้ยนโยบายของ สหรัฐอเมริการะหวางป 2001-2008

ภาพที่ 2 ราคาบานเปรียบเทียบ

Source Data: U.S. Federal Reserve, Freddie Mac

Source: Reinhart and Rogoff (AER, Vol. 98, No. 2, May 2008)

- 38 <0E2D>.<0E2A><0E38><0E1E><0E08><0E19><0E4C>.indd 38-39

- 39 1/1/70 7:13:31 AM


คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

บทเรียนจากวิกฤตซับไพรม

นอกจากอัตราดอกเบี้ยจะเปนสาเหตุของ วิกฤตในครั้งนี้ ราคาบานก็มีสวนสําคัญ ในชวงป 2006-2007 เนื่องจากเปนวัฏจักรของตลาดอยูแลว พอราคาปรั บ ตั ว สู ง ขึ้ น ตลาดก็ ป รั บ ตั ว โดยผลิ ต สินคาออกมามากขึ้น ทายที่สุด เนื่องจากมีบาน เยอะเกินไป ราคาก็เลยตกลงมา นอกจากนี้ก็ยังมีอีกปญหาหนึ่ง ในระยะ หลัง สหรัฐอเมริกาเปนประเทศที่กูเงิน บริโภคเกิน ความสามารถในการผลิต แลวเงินที่เกินมานี้ก็ไหล ไปจากประเทศในแถบเอเชียและประเทศที่ผลิต น้ ำ มั น ซึ่ ง หากเราดู จ ากภาพที่ 4 เส น ด า นล า ง แสดงสัดสวนการคาของประเทศพัฒนาแลวกับของ โลก โดยมี แ นวโนมลดลง ขณะที่สัดสวนการถือ สิ น ทรั พ ย ร ะหวางประเทศในประเทศพัฒนาแลว สูงขึ้นเรื่อยๆ จึงทําใหเกิดปญหาในเชิงโครงสราง มีหลายสาเหตุที่ทําใหเกิดปรากฏการณนี้ ขึ้น เชน กฎเกณฑที่กํากับการเงินการลงทุน การ พัฒนาทางเทคโนโลยีทําใหตนทุนการสื่อสารลดลง และการเกิดขึ้นของตลาดยูโรมีสวนทําใหประเทศ สมาชิกไปถือสินทรัพยตางประเทศมากขึ้น เพราะ ความเสี่ ย งทางด า นความผั น ผวนของอั ต ราแลก เปลี่ยนลดลง

- 40 <0E2D>.<0E2A><0E38><0E1E><0E08><0E19><0E4C>.indd 40-41

ภาพที่ 4 สัดสวนการคาของประเทศพัฒนาแลว กับของโลกและสัดสวนในการถือสินทรัพย

Source: Reinhart and Rogoff (AER, Vol .98, No. 2, May 2008)

ถาเราเปรียบเทียบบัญชีเดินสะพัดขาดดุล ของป 2003 (ภาพที่ 5) เวลา t คือปที่เกิดวิกฤต การเงิ น ก อ นป นั้ น บั ญ ชี เ ดิ น สะพั ด ติ ด ลบที่ 6 เปอร เ ซ็ น ต ซึ่ ง การขาดดุ ล นี้ สู ง กว า ค า เฉลี่ ย ของ วิกฤตครั้งกอนๆ ที่ผานมา สะทอนใหเห็นปญหา เรื่องการใชจาย รวมทั้งนิสัยการไมเก็บออมของ ครัวเรือนอเมริกัน

- 41 1/1/70 7:13:32 AM


คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

บทเรียนจากวิกฤตซับไพรม

ภาพที่ 5 สัดสวนบัญชีเดินสะพัดตอ GDP

ภาพที่ 6 Leverage Ratio

Source: Reinhart and Rogoff (AER, Vol. 98, No. 2, May 2008)

ภาพที่ 6 เป น ข อ มู ล Leverage Ratio ของธนาคารใหญๆ ในสหรัฐอเมริกา ซึ่งเราจะเห็น วาธนาคารเหลานี้ตัดสินใจเสี่ยงมากขึ้นจนถึงปที่ เกิดวิกฤตการเงิน

- 42 <0E2D>.<0E2A><0E38><0E1E><0E08><0E19><0E4C>.indd 42-43

Source Data: Company Annual Reports (SEC Form 10K)

หลั ง จากปลายป 2007 ฟองสบู แ ตก จํานวนบานที่ถูกยึดก็มีมากขึ้นเรื่อยๆ (ภาพที่ 7) ซึ่ ง เป น ผลมาจากอั ต ราดอกเบี้ ย และราคาบ า น เนื่ อ งจากก อ นหน า นี้ อั ต ราดอกเบี้ ย ต่ ำ และกู ใ น ลักษณะอัตราดอกเบี้ยลอยตัว เงื่อนไขในการขอกู นั้ น ง า ย แต พ อไปถึ ง จุ ด ที่ เ ศรษฐกิ จ จํ า เป น ต อ งมี อัตราดอกเบี้ยสูงขึ้น ดอกเบี้ยเงินกูก็ตองปรับสูง ขึ้น ทำใหผอนไมไหว แลวราคาบานหรือสินทรัพย ที่นําไปค้ำประกันก็ลดลงอีก สองอยางนี้รวมกันจึง ทําใหเกิดปญหา

- 43 1/1/70 7:13:35 AM


คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

บทเรียนจากวิกฤตซับไพรม

แล ว ป ญ หาในเรื่ อ งของอสั ง หาริ ม ทรั พ ย ก็โยงไปถึงสถาบันการเงิน พอถูกยึดมากๆ ความ สามารถในการจายเงินกูของผูกูไปซื้อบานก็ลดลง เพราะคนจ า ยเงิ น กู ไ ม ไ ด สิ น ทรั พ ย MortgageBacked Security (MBS) ก็ มี ค า ลดลง ทํ า ให ธนาคารขาดทุ น เมื่ อ ทุ น น อ ยลง ธนาคารจึ ง พยายามไมปลอยกู จนเกิด Credit Crunch แลวก็ ไปเสริมตอปญหาโครงสรางตลาดบาน กลายเปน ปญหาของเศรษฐกิจโดยรวม ซึ่งเปนวัฏจักรที่เรา ทราบกันดี ภาพที่ 7 จํานวนบานที่ถูกยึด

สถานการณวิกฤตการณการเงินของโลก ที่เริ่มเมื่อเดือนกันยายน 2008 สามารถดูไดจาก ภาพที่ 8 ซึ่งแสดงใหเห็นวาธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาไดดําเนินมาตรการอะไรบาง และประเทศ อื่นๆ ก็มีมาตรการตางๆ ออกมา เพื่อที่จะควบคุม ความเสียหายไมใหลุกลาม แตโดยสรุปก็มีหลาย มาตรการ แลวผลที่เกิดขึ้นจากแตละมาตรการก็ ไมเหมือนกัน เราจะเห็นวาแคนาดาออกนโยบาย มาน อ ยกว า อั ง กฤษ เพราะแคนาดาได รั บ ผล กระทบนอยกวา มาตรการแรกที่ออกมาคือ Short Sell Ban 5 ต อ มาก็ มี Counter Injection เพื่ อ ปองกันปญหาลูกโซ ประเด็นที่ยากก็คือ จะจัดการ กับปญหา Moral Hazard อยางไร

Short-Sell Ban คือมาตรการหามทำธุรกรรม Short-Sell หรือ การขายหุนโดยมิไดเปนเจาของหุน เพื่อลดแรงเก็งกำไรของนัก ลงทุน 5

Source Data: RealtyTrac Press Releases of “U.S. Foreclosure Market Report”

- 44 <0E2D>.<0E2A><0E38><0E1E><0E08><0E19><0E4C>.indd 44-45

- 45 1/1/70 7:13:36 AM


คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ภาพที่ 8 ตารางเวลาของการเกิดวิกฤตการณทางการเงิน

บทเรียนจากวิกฤตซับไพรม

- 46 <0E2D>.<0E2A><0E38><0E1E><0E08><0E19><0E4C>.indd 46-47

- 47 1/1/70 7:13:41 AM


คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

บทเรียนจากวิกฤตซับไพรม

หลังจากวิกฤตการณการเงินครั้งนี้มีผลตอ ภาคเศรษฐกิจจริง ผมก็ลองไปดูงานที่ตีพิมพแลว (ภาพที่ 9) เขาเปรียบเทียบวิกฤตตางๆ ที่มีผลตอ ราคาบาน ถาเราไปดูประวัติศาสตรในชวงที่เกิด วิกฤตการณการเงินโลก จะพบวาราคาบานโดย เฉลีย่ จะตกลงประมาณ 35 เปอรเซ็นต (วัดจากต่ำ สุดไปสูงสุด) และกินเวลาประมาณ 6 ปในการฟน ตัว ถาเราดูกรณีของประเทศไทยในป 1997 จะพบ วาราคาบานลดลงไปประมาณ 20 กวาเปอรเซ็นต และใชเวลาประมาณ 4-5 ปในการฟน ตัว

- 48 <0E2D>.<0E2A><0E38><0E1E><0E08><0E19><0E4C>.indd 48-49

Source: Reinhart and Rogoff (AER, Vol. 98, No. 2, May 2008)

Source: hhtp://www.ny.frb.org/research/global_economy/Crisis_Timeline.pdf

ภาพที่ 9 ผลกระทบของวิกฤตเศรษฐกิจตอราคาบาน

ตารางที่ 1 มาตรการปองการปญหา วิกฤตเศรษฐกิจของประเทศตางๆ

- 49 1/1/70 7:13:44 AM


คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

- 50 <0E2D>.<0E2A><0E38><0E1E><0E08><0E19><0E4C>.indd 50-51

Source: Reinhart and Rogoff (AER, Vol. 98, No. 2, May 2008)

ตัวชี้วัดที่นาสนใจอีกตัวหนึ่งคือรายไดที่ แท จ ริ ง ต อ หั ว ของประชาชน (ภาพที่ 10) จาก ประวั ติ ศ าสตร ข องช ว งที่ มี วิ ก ฤตการณ ก ารเงิ น จะลดลงโดยเฉลี่ยประมาณ 9.3 เปอรเซ็นต แลว ใชเวลาในการฟนตัวประมาณ 2-3 ป คนสวนใหญ อาจใช ตั ว เลขนี้ ใ นการพยากรณ ว า เศรษฐกิ จ จะ ฟนตัวภายใน 2-3 ปก็ได

ภาพที่ 10 ผลกระทบของวิกฤตเศรษฐกิจตอรายไดที่แทจริงตอหัวของประชาชน

บทเรียนจากวิกฤตซับไพรม

- 51 1/1/70 7:13:46 AM


คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

- 52 <0E2D>.<0E2A><0E38><0E1E><0E08><0E19><0E4C>.indd 52-53

Source: Reinhart and Rogoff (AER, Vol. 98, No. 2, May 2008)

อย า งไรก็ ต าม ถึ ง แม จ ะใช เ วลา 2-3 ป กวาผลผลิตจะกลับไปสูจุดเดิม แตปญหาคือการ จ า งงานที่ ใ ช เ วลาในการฟนตัวนานกวา (ภาพที่ 11) คือใชเวลาในการฟนตัวโดยเฉลี่ย 4.8 ป จากภาพที่ 11 เราจะสังเกตไดวาปญหา การว า งงานในประเทศพั ฒ นาแล ว จะมากกว า ประเทศกําลังพัฒนาโดยสวนใหญ สาเหตุก็เพราะ คาจางในประเทศกําลังพัฒนาจะปรับตัวไดงายกวา เนื่องจากอํานาจตอรองของสหภาพมีนอยกวา และ ความเขมขนของระบบประกันสังคมของประเทศ เหลานี้ก็มีนอยกวา ดังนั้น ถาหากนายจางจะลด ค า จ า งของแรงงาน แรงงานก็ ยั ง ยิ น ดี ที่ จ ะอยู ทํางานตอ เพราะเห็นวายังดีกวาการออกมาเปน คนว า งงาน อย า งไรก็ ต าม การฟ น ตั ว ของภาค เศรษฐกิจจริงจะใชเวลาพอสมควร

ภาพที่ 11 ผลกระทบของวิกฤตเศรษฐกิจตอการจางงาน

บทเรียนจากวิกฤตซับไพรม

- 53 1/1/70 7:13:48 AM


คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

- 54 <0E2D>.<0E2A><0E38><0E1E><0E08><0E19><0E4C>.indd 54-55

Source: Reinhart and Rogoff (AER, Vol. 98, No. 2, May 2008)

หนี้ ส าธารณะของรั ฐ บาลเพิ่ ม ขึ้ น ตลอด (ภาพที่ 12) สาเหตุ ม าจากเวลาที่ เ กิ ด วิ ก ฤต เศรษฐกิจ รายรับของภาครัฐจะลดลง และยังตอง ใชจายเงินเพื่อกระตุนเศรษฐกิจ จึงทําใหวิกฤตการณการเงินที่เกิดขึ้นในอดีต จะเกิดหนี้สาธารณะ เพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ย 86 กวาเปอรเซ็นต ซึ่งในครั้งนี้ ไทยเราก็จะมีหนี้สาธารณะเพิ่มขึ้น อันเนื่องมาจาก การดําเนินการตามแผนของโครงการไทยเขมแข็ง ซึ่งจากมุมมองของรัฐบาลนั้นเชื่อวาการใชจายของ โครงการไทยเขมแข็งภายในเวลา 3 ปจากนี้ ไมนา จะมี ป ญ หาอะไร ซึ่ ง เป น เรื่ อ งที่ ต อ งติ ด ตามดู กั น ตอไป

ภาพที่ 12 การเพิ่มขึ้นของหนี้สาธารณะหลังจากวิกฤตเศรษฐกิจ

บทเรียนจากวิกฤตซับไพรม

- 55 1/1/70 7:13:50 AM


- 56 <0E2D>.<0E2A><0E38><0E1E><0E08><0E19><0E4C>.indd 56-57

กรอบที่ 1 หาบทเรียนที่ไดรับจากวิกฤตการณการเงิน

แลวเราเรียนรูอะไรจากวิกฤตการณการ เงิ น ครั้ ง นี้ บ า ง ผมไปพบคํ า พู ด ของผู บ ริ ห ารของ บริษัทวานิชธนกิจแหงหนึ่ง (กรอบที่ 1) เขาสรุปวา ขอแรก จะตองมีการควบคุมระบบการเงินใหมาก ยิ่งขึ้น แตก็มีประเด็นคือ ผูบริหารสถาบันการเงิน บางแหงอาจจะเห็นแกอัตราผลตอบแทนในระยะ สั้นมากกวาความมั่นคงของสถาบันการเงิน แลวก็ เกิดการรับความเสี่ยงที่มากเกินไป จนกอใหเกิด ปญหา อย า งไรก็ ต าม ความเข ม งวดที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ไมควรที่จะทําใหเกิดอุปสรรคตอการคิดคนนวัตกรรมทางการเงินและการเจริญเติบโต ยกตัวอยาง เชน ระบบการเงินสมัยใหมเปรียบไดกับเครื่องบิน ไอพน เราไดประโยชนจากความสามารถในการ ทํ า งานที่ ไ วขึ้ น สะดวกสบายขึ้ น แต เ วลาที่ เ กิ ด อุบัติเหตุ ความเสียหายจะรุนแรงมากกวาแนนอน ดังนั้น วิธีแกปญหาจึงไมใชการไปทําใหความเร็ว ลดลง แตคือการสรางสนามบินที่ปลอดภัย และ เพิ่มมาตรการรักษาความปลอดภัยในดานตางๆ ให ดี ขึ้ น เพื่ อ ให ร ะบบสามารถทํ า งานได อ ย า งมี ประสิทธิภาพและปลอดภัย

Quote from a managing director at Morgan Stanley (1) A strong and well-regulated financial system should be the first line of defense against financial shocks. The challenge is to ensure stability without stifling innovation and growth (2) Aggressive and persistent policy responses are the second line of defense for financial crises. The challenge is to time exit strategies to accommodate recovery. (3) Macroprudential supervision and asset prices should both play bigger roles in monetary policy. (4) Flexible exchange rates enhance the ability of monetary policy to respond to shocks. (5) Global imbalances contributed to the crisis by allowing internal imbalances to grow. Source: http://www.finfacts.com/irishfinancenews/article_1017853.shtml

คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

บทเรียนจากวิกฤตซับไพรม

- 57 1/1/70 7:13:50 AM


คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

บทเรียนจากวิกฤตซับไพรม

ขอที่สองคือ นโยบายการเงินการคลังที่ใช ในการกระตุนเศรษฐกิจมีความสําคัญ แตรองลงมา จากขอแรก และที่ทาทายคือ ควรจะหยุดเมื่อใด ถา หยุดในจังหวะเวลาที่ไมเหมาะสม อาจจะกอใหเกิด ป ญ หา ข อ ที่ ส ามคื อ นโยบายเศรษฐกิ จ มหภาค จํ า เป น จะต อ งคํ า นึ ง ถึ ง ราคาสิ น ทรั พ ย ใ ห ม ากขึ้ น ที่ผานมา โดยเฉพาะกรีนสแปน ไมไดคํานึงถึงขอนี้ ขอที่สี่ เรื่องของอัตราแลกเปลี่ยนแบบยืดหยุน ซึ่ง อาจารยภาณุพงศไดพูดไปเยอะแลว ขอที่หาคือ ความไมสมดุลของระบบเศรษฐกิจโลกทําใหเกิด วิกฤตเศรษฐกิจในสหรัฐอเมริกา นั่นคือหาประเด็น หลักๆ สําหรับนัยยะตอการจัดการภาคเศรษฐกิจ การเงินในกรณีของประเทศไทย กอนวิกฤตครั้งนี้ เรามี ก ารดํ า เนิ น นโยบายการเงิ น แบบ Inflation Targeting โดยที่นโยบายการเงินจะไมเขาไปยุงกับ ราคาสิ น ทรั พ ย ยกเว น ว า การเพิ่ ม ขึ้ น ของราคา สิ น ทรั พ ย เ หล า นั้ น มี ผ ลต อ การคาดการณ ข อง เงินเฟอในอนาคต คือดู Output Gap กับอัตรา เงิ น เฟ อ เป น หลั ก ซึ่ ง ถ า กลั บ ไปดู อั ต ราดอกเบี้ ย ในภาพที่ 3 ชวงที่กรีนสแปนดำรงตำแหนง ตราบ ใดที่ เ งิ น เฟ อ ไม เ ป น ป ญ หา ก็ ส ามารถลดอั ต รา ดอกเบี้ ย ลงไปได เ รื่ อ ยๆ เมื่ อ ถึ ง จุ ด จุ ด หนึ่ ง ที่ - 58 <0E2D>.<0E2A><0E38><0E1E><0E08><0E19><0E4C>.indd 58-59

เงินเฟอมีปญหา อัตราดอกเบี้ยก็จะขยับขึ้นไป เพื่อ ควบคุมอัตราเงินเฟอ ซึ่งทําใหเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ เพราะไมไดคํานึงถึงเรื่องฟองสบูในราคาสินทรัพย ขอเสนอหนึ่งก็คือ นโยบายการเงินตอจาก นี้ควรจะตองคํานึงถึงราคาสินทรัพยดวย จากแบบ จํ า ลองทางเศรษฐศาสตร ที่ มี น โยบายการเงิ น ที่ คํานึงถึงความเปนไปไดที่จะเกิดวิกฤตทางการเงิน และ Credit Crunch ในอนาคต เราจะพบขอสรุป ที่ ว า นโยบายการเงิ น ที่ เ หมาะสมคื อ การรั ก ษา Output Gap ใหมีไดมากขึ้นกวากรณีของการใช นโยบาย Inflation Targeting ทั้งนี้เพื่อตองการสง สัญญาณใหเอกชนทราบวาอัตราดอกเบี้ยจะอยูใน ระดับที่สูงกวานโยบายเดิมนั่นเอง ถ า เรากลั บ ไปที่ ภ าพที่ 3 ในกรณี ที่ ใ ช นโยบายการเงินที่คํานึงถึงปญหาฟองสบูในราคา สินทรัพยดวยนั้น อัตราดอกเบี้ยก็จะมีการเปลี่ยน แปลงนอยกวาที่แสดงในภาพที่ 3 ซึ่งจะทําใหเกิด การเก็งกําไรจากฟองสบูสินทรัพยนอยลง โอกาสที่ จะเกิดวิกฤตทางเศรษฐกิจก็จะนอยลงไปดวย แต ขอสรุปเหลานี้ไดจากการวิเคราะหจากกรณีของ ประเทศที่พัฒนาแลวเปนหลัก คําถามที่ตามมาก็ คือ แลวกรณีของประเทศไทยจะใชไดหรือเปลา เนื่ อ งจากเราเป น ประเทศเล็ ก หากเราตั้ ง อั ต รา - 59 1/1/70 7:13:50 AM


คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

บทเรียนจากวิกฤตซับไพรม

ดอกเบี้ยไวสูงกวาตลาดโลกมากเพื่อคง Output Gap ที่สูงเอาไว ปญหาก็คือเงินทุนจะไหลเขามา ในบานเรา และนําไปสูปญหาไดเชนกัน ประเทศเล็กนั้นมักจะไมมีความสามารถ ในการจั ด การเงิ น ทุ น ที่ ไ หลเข า มาได ดี เ ท า กั บ ประเทศที่พัฒนาแลว เพราะฉะนั้นอาจจะนําไปสู การออกมาตรการควบคุมเงินทุนไหลเขา ซึ่งแมวา นโยบายนี้ จ ะสามารถลดความเสี่ ย งในการเกิ ด วิกฤตเศรษฐกิจได แตประโยชนสวนนี้ตองนําไป เปรียบเทียบกับคาเสียโอกาสของการเจริญเติบโต ในระยะยาว ซึ่งอาจจะไมคุมก็ได เพราะโดยทั่วไป แลว เมื่อประเทศมีระดับการพัฒนาเชิงเศรษฐกิจ มากขึ้น การขยายตัวของการผลิตก็จะมากขึ้นตาม ไปดวย กิจกรรมหรือธุรกรรมตางๆ ในระบบการ เงินจะตองเพิ่มขึ้นอยูแลวตามปกติ การไปควบคุม การเติบโตนี้ก็จะมีผลเสียไดเชนกัน รศ.ดร.สุพจน จุนอนันตธรรม: ผมอยากให ค ณะเศรษฐศาสตร ติ ด ตาม ดู แ ลเรื่ อ งเหล า นี้ เนื่ อ งจากเรื่ อ งเหล า นี้ มี ค วาม สํ า คั ญ มาก เพราะเราค า ขายกั บ ตลาดโลกเยอะ ตลาดการเงินก็คอยๆ กาวหนา รวมทั้งมีการลงทุน ในตางประเทศดวย เราจึงมีความจําเปนอยางยิ่ง - 60 <0E2D>.<0E2A><0E38><0E1E><0E08><0E19><0E4C>.indd 60-61

ที่จะตองตรวจสอบตลาดตางประเทศ และวิเคราะห รวมทั้งประชาสัมพันธใหประชาชนมีสวนรวม อาจ จะจั ด งานสั ม มนา แล ว เชิ ญ นายกรั ฐ มนตรี ห รื อ รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังมารวม ทั้งยังชวย ใหอาจารยที่คณะเรากระตือรือรนดวย รศ.ดร.วิมุต วานิชเจริญธรรม: ความจริ ง ผมอยากจะพู ด เหมื อ นกั บ อาจารยภาณุพงศบาง คืออยากมีโอกาสพูดบางวา เปนแฟนพันธุแทของอาจารยสุพจน แตนาเสียดาย ที่ผมไมมีโอกาสไดเปนลูก ศิ ษ ย ข องท า นอาจารย สุพจนแบบอาจารยภาณุพงศ อยางไรก็ดี ผมยัง โชคดี ที่ ไ ด อ าจารย สุ พ จน เ ป น อาจารย ที่ ป รึ ก ษา วิทยานิพนธ เมื่อครั้งที่ผมเรียนปริญญาโทที่คณะนี้ ดังนั้น ผมจึงยินดีมากที่คณะไดจัดงานนี้ขึ้นมาเพื่อ เปนเกียรติแดอาจารยสุพจน งานเชิดชูเกียรติของอาจารยครั้งนี้ทําให ผมนึกถึงสมัยที่เรียนที่มหาวิทยาลัยชิคาโก ซึ่งที่ นั่นก็มีการจัดงานคลายๆ กันนี้เพื่อเปนเกียรติให กับศาสตราจารยที่สรางคุณูปการใหกับคณะ ซึ่ง งานที่ผมไดเขารวมเปนงานที่จัดใหกับศาสตราจารย อ าร โ นลด ฮาร เ บอร เ กอร (Prof. Arnold Harberger) ในครั้งนั้น ทางคณะไดใหศาสตรา- 61 1/1/70 7:13:51 AM


คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

บทเรียนจากวิกฤตซับไพรม

จารยโรเบิรต ลูคัส (Prof. Robert Lucas) เปนคน กล า วแนะนํ า ว า สมั ย ที่ ท า นได เ รี ย นกั บ อาจารย ฮารเบอรเกอรนั้นเปนอยางไรบาง อาจารยสุพจน ของผมมีความละมายคลายคลึงกับทานอาจารย ฮารเบอรเกอรคอนขางมาก เพราะทั้งสองทานเปน อาจารย ท างด า นเศรษฐศาสตร ก ารเงิ น ระหว า ง ประเทศเหมือนกัน ผลงานทางดานวิชาการของ อาจารยสุพจนมีเยอะมาก ที่สําคัญคืออาจารยเปน ผู มี พ ระคุ ณ ต อ พวกเรา เหล า นั ก ศึ ก ษาทั้ ง หลาย ที่อาจารยเปนที่ปรึกษาวิทยานิพนธ ผมก็เปนหนึ่ง ในนั้น ตอนที่เขียนวิทยานิพนธปริญญาโท ผมได เรี ย นรู จ ากท า นอาจารย สุ พ จน ห ลายเรื่ อ ง ที่ ผ ม ประทั บ ใจก็ คื อ ท า นอาจารย สุ พ จน เ ป น ทั้ ง นั ก เศรษฐศาสตร เ ชิ ง ทฤษฎี แ ละเชิ ง ประจั ก ษ ที่ อาจารย เ ล า ว า อาจารยเก็บขอมูลหรือใหลูกศิษย คํานวณ ผมยืนยันได อาจารยสุพจนเคยเลาใหผม ฟงวา ชวงกอนวิกฤตการเงิน อาจารยเคยคํานวณ เก็บตัวเลข คิดเรื่องดุลการคา เปรียบเทียบอัตรา สวนของดุลการคากับทุนสํารองระหวางประเทศ อาจารย เ ก็ บ ข อ มู ล เช น นี้ อ ยู เ สมอ อาจารย เ ป น ตัวอยางของการเปนนักเศรษฐศาสตรที่เชื่อมโยง ระหวางทฤษฎีกับตัวเลขไดเปนอยางดี ซึ่งเปนสิ่งที่ - 62 <0E2D>.<0E2A><0E38><0E1E><0E08><0E19><0E4C>.indd 62-63

ยากที่พวกเราจะเลียนแบบ เพราะเรามักพบวานัก วิชาการเศรษฐศาสตรสวนใหญมักไมสามารถเปน ทั้ ง นั ก ทฤษฎี แ ละนั ก วิ จั ย เชิ ง ประจั ก ษ ไ ด ใ นเวลา เดียวกัน ประเด็นที่ผมอยากจะพูดในวันนี้ก็อาจจะ ตอเนื่องจากที่หลายๆ ทานไดพูดมาแลว อาจารย สุพจนไดพูดถึง พอล ครุกแมน วาเขาไดเตือนวา จะเกิดวิกฤต ผมขอเลียนแบบทานอาจารยสุพจน นิดหนึ่ง ผมมีนิตยสาร BusinessWeek ในเลมนี้มี บทความเรื่อง “What Good Are Economists Anyway?” ซึ่งเหมือนกับจะตั้งคําถามวาพวกนัก เศรษฐศาสตรนี่มีประโยชนอยางไร ทั้งนี้ก็เพราะ นักเศรษฐศาสตรทั้งหลาย ไมเคยทํานายลวงหนา ไดเลยวาเมื่อไหรจะเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ อันที่จริง นักเศรษฐศาสตรเราก็พอจะมอง เห็นอยูวาใครมีพฤติกรรมสุมเสี่ยง หรือลักษณะ ที่ ว า มี Leverage มากๆ แล ว ก็ จ ะทราบดี ว า สถานการณเชนนี้ไมคอยปลอดภัย แตผมคิดวา สิ่งหนึ่งที่เราไมเคยคิดกันเลยก็คือ สถานการณเชน นี้ จ ะลุ ก ลามจนก อ ให เ กิ ด ความเสี ย หายมากมาย มหาศาล ไมเคยคิดวาวันหนึ่งตลาดหุนจะลม จะ คลายโรคระบาดที่ลุกลามไป ไมใชจํากัดวงแคภาค การเงิน แตยังไปถึงภาคเศรษฐกิจจริงดวย ตรงนี้ - 63 1/1/70 7:13:51 AM


คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

บทเรียนจากวิกฤตซับไพรม

นาสนใจวาทําไมเราไมสามารถมองไปจนถึงตรง นั้นได ส ว นหนึ่ ง ผมคิ ด ว า หนึ่ ง ธรรมชาติ ข อง ตราสารการเงิน (โดยเฉพาะพวกตราสารอนุพันธที่ ซื้อขายแบบ over-the-counter) ไมใชสิ่งที่มีการ ควบคุมกํากับ ดังนั้นจึงเปนตลาดตราสารการเงินที่ ผูทําหนาที่กํากับดูแลไมสามารถทราบถึง Position หรือ Outstanding ตางๆ ได แลวสิ่งที่เลวรายก็คือ มีการสรางความเชื่อมโยงระหวางบัญชีและความ มั่นคงของสถาบันการเงินใหผูกเขาดวยกัน จึงทํา ใหเกิด Systematic Risk ขึ้น กลาวคือ เปนความ เสี่ยงที่เริ่มตนจากสถาบันการเงินใดสถาบันการ เงินหนึ่ง และสงผลลุกลามไปถึงสถาบันการเงิน อื่นๆ จนกระทั่งทําใหระบบลมสลาย แลวก็มีนัยยะ ตอมาถึงการกํากับดูแลสถาบันการเงินดวย ถึงแมวาเราจะมีระบบที่พยายามเตือนภัย สถาบันการเงินอยูแลว เรามี Value at Risk (VaR) ที่คํานวณความเสี่ยงของสถาบันการเงินออกมาได แตนี่คือการประเมินความเสี่ยงของสถาบันเดียว เราไมไดมองในลักษณะลูกโซหรือตอเนื่อง เชน ถา เกิดสถาบันการเงิน A ลม แลวจะสงผลกระทบตอ สถาบั น การเงิ น B อย า งไร แล ว จะทํ า ให ร ะบบ สถาบันการเงินทั้งระบบเสียหายมากนอยเพียงใด - 64 <0E2D>.<0E2A><0E38><0E1E><0E08><0E19><0E4C>.indd 64-65

ตรงนี้เปนสิ่งที่เราไมไดนึกถึงกันมากอน จนกระทั่ง วิ ก ฤตครั้ ง นี้ เพราะฉะนั้ น นี่ คื อ บทเรี ย นสำหรั บ เราที่จะตองมองทุกอยางใหมหมด ในเชิงเศรษฐศาสตร เราเรียกไดวาเปน ปญหา Externality ที่วาดวยเรื่องความมั่นคงของ สถาบันการเงิน การลงทุนในสินทรัพยของสถาบัน การเงินแหงหนึ่ง ไมใชวาเราจะตองประเมินความ เสี่ยงเฉพาะของสถาบันการเงินนั้นๆ เทานั้นแลว ตอนนี้ เ ราต อ งมองต อ ไปด ว ยว า การลงทุ น ของ สถาบันการเงินแหงนั้น ถาเกิดความเสียหายขึ้นมา จะกระจายตอไปถึงสถาบันการเงินอื่นๆ และระบบ โดยรวมอยางไร เวลาที่เราพูดถึง Externality นักเศรษฐศาสตรจะมองวามีวิธีการอยางไรที่จะ Internalize Externality นั้น ซึ่งไมใชเรื่องงายที่เราจะควบคุม พฤติกรรมสุมเสี่ยงของธนาคาร แลวที่อาจจะหนัก ไปกวานั้นก็คือ Value at Risk ของธนาคารแหงนี้ อาจจะมาก แลว Externality ที่ปลอยไปสูธนาคาร อื่นก็มากตามไปดวย การที่ Value at Risk ของ ธนาคารแหงหนึ่งมากนั้น อาจจะเปนเพราะเปน ธนาคารที่ใหญ เวลาเกิดความเสียหายก็เสียหาย มาก แลวมีผลกระทบตอ จึงเปนประเด็นที่วา Too Big to Fail (TBTF) เราจะเกิดความรูสึกที่วายิ่ง - 65 1/1/70 7:13:52 AM


คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

บทเรียนจากวิกฤตซับไพรม

ธนาคารใหญ เราจะปลอยใหลมไมได เราจึงตองมา คิดกันวาจะทําอยางไรที่จะปองกันปญหา หรือถา เกิดปญหาแลวจะมีแนวทางการชวยเหลืออยางไร แลวก็จะกอใหเกิดปญหาตามมาอีก เชน ปญหา Moral Hazard เรื่ อ งของการตรวจสอบ เพราะ ฉะนั้นจึงเปนโจทยที่ทาทายสำหรับคนที่ทําหนาที่ กํากับ อย า งที่ อ าจารย สุ พ จน บ อกก็ คื อ ผู ที่ รั บ ภาระหนักก็คือธนาคารแหงประเทศไทย นอกจาก จะต อ งจั บ ตาดู ค วามเคลื่ อ นไหวของอั ต ราแลก เปลี่ยนและนโยบายการเงินตางๆ แลว การกํากับ ดูแลสถาบันการเงินก็เปนเรื่องสําคัญ เพราะมีผล ต อ ระบบโดยรวม และการออกแบบเรื่ อ งพวกนี้ ไม ใ ช เ รื่ อ งง า ย ต อ งพึ่ ง นั ก ทฤษฎี ใ นส ว นของ Mechanism Design เวลาที่เกิดปญหา สิ่งหนึ่งที่เราเห็นคือการ ตอบสนองของรัฐบาลทั่วโลกในการใชนโยบายการ คลังเปนตัวนําในการแกปญหา จากสมการรายได ของประเทศ Y = C + I + G + X - M ในกรณีของ อเมริกาสามารถมองคลายๆ อยางนั้นได เวลาที่ เศรษฐกิจทุกภาคย่ำแย สวนไหนที่จะสามารถทํา หนาที่ในการกระตุนเศรษฐกิจได สําหรับการคา ตางประเทศ อเมริกามีปญหาอยูแลว การบริโภค - 66 <0E2D>.<0E2A><0E38><0E1E><0E08><0E19><0E4C>.indd 66-67

ภายในประเทศลดลง ประชาชนตกงาน ความเสี่ยง ในระบบเพิ่มขึ้น เพราะฉะนั้น การใชจายของเขา ยอมลดลง การลงทุนก็ไมคอยเกิด เพราะสวนที่มี ปญหาคืออสังหาริมทรัพย ซึ่งสงผลใหการลงทุนใน ประเทศลดลง เหลือเพียงแคภาครัฐที่หวังพึ่งได จึง ตองรับบทบาทนําในการกระตุนเศรษฐกิจ อยางไรก็ตาม มีการถกเถียงกันระหวาง สองฝาย ฝายหนึ่งเชื่อในการใชจายของภาครัฐที่จะ ช ว ยกระตุ น เศรษฐกิ จ ส ว นอี ก ฝ า ยนั้ น ไม เ ชื่ อ ใน เรื่องของการใชจายภาครัฐ โดยเฉพาะคนที่ศึกษา เศรษฐศาสตร ม หภาคในสมั ย หลั ง ๆ จะเชื่ อ ใน Ricardian Equivalence คื อ เชื่ อ ว า การเพิ่ ม ค า ใชจายมากๆ จนกระทั่งเกิดการขาดดุลในปจจุบัน จะไมชวยกระตุนเศรษฐกิจ เพราะในอนาคตจะตอง มีการเพิ่มภาษีเพื่อใชหนี้ เพราะฉะนั้น คนที่มอง ออกก็จะเก็บออมไวเพื่อที่จะเสียภาษีในอนาคต ฝายที่สนับสนุนการกระตุนเศรษฐกิจโดย การใช จ า ยของภาครั ฐ ก็ จ ะอ า งอิ ง งานศึ ก ษาของ Christina Romer and Jared Bernstein (2009)6 ซึ่งคํานวณวาถารัฐบาลอเมริกาเพิ่มคาใชจายอยาง Christina Romer and Jared Bernstein (2009), “The Job Impact of the American Recovery and Reinvestment Plan,” January 9, 2009. 6

- 67 1/1/70 7:13:52 AM


คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

บทเรียนจากวิกฤตซับไพรม

ถาวร 1 เปอรเซ็นตของ GDP จะทําให GDP เพิ่ม ขึ้น 1.6 เปอรเซ็นต เขาเชื่อวามี Multiplier Effect ในทางทฤษฎี ทีนี้ในเดือนกุมภาพันธ 2009 รัฐบาล อเมริกาก็ออกกฎหมาย Recovery and Reinvestment Act ซึ่งเปนกฎหมายที่รัฐบาลจะใสเงินเขาไป ในระบบอยางมหาศาล ดวยขนาดของเงินกอนนั้น จะทําให GDP ของอเมริกาโตขึ้น 3-4 เปอรเซ็นต ภายในสิ้นป 2010 นั่นคือสิ่งที่คํานวณออกมา แต งานศึกษานี้ก็ใชวาจะมีคนเห็นดวยทั้งหมด นักเศรษฐศาสตรที่มองตางมุมจะอางอิง งานศึ ก ษาของ Cogan, Cwik, Taylor and Wieland (2009)7 ซึ่งเปนงานวิจัยที่ใชแบบจําลอง แนว DSGE (Dynamic Stochastic General Equilibrium Model) ตามทฤษฎี แ บบ New Keynesian ที่มี Nominal Rigidity (กลาวคือ ระดับ ราคาไม ส ามารถปรั บ เปลี่ ย นตามกลไกตลาดได อย า งสมบู ร ณ ) แต ก็ เ ป น แบบจํ า ลองเศรษฐกิ จ มหภาคที่ มี พื้ น ฐานทฤษฎี เ ศรษฐศาสตร จุ ล ภาค (Microeconomics Foundation) อยูเฉกเชนแบบ จําลองแนว New Classical John Cogan, Tobias Cwik, John Taylor and Volker Wieland (2009) “New Keynesian versus Old Keynesian: Government Spending Multipliers,” Working Paper. 7

- 68 <0E2D>.<0E2A><0E38><0E1E><0E08><0E19><0E4C>.indd 68-69

เขาพบว า Multiplier นั้ น น อ ยกว า 1 เพราะวาเกิด Crowding Out Effect ขึ้น ดวยเหตุที่ การใชจายของรัฐบาลไปเบียดเบียนการใชจายของ เอกชน พอคํานวณผลกระทบของโครงการแกไข เศรษฐกิจตัวนี้แลว พบวาเพิ่มอัตราการจางงาน นอยกวาที่ Romer and Bernstein (2009) พบ สิ่ ง เหล า นี้ ยั ง เกิ ด การโต เ ถี ย งกั น อยู ว า นโยบาย การคลังสามารถแกปญหาไดหรือไม แตสิ่งหนึ่งที่ เราตองคิดก็คือ เงินไมไดลอยมาจากอากาศ เมื่อ รัฐบาลใชจาย รายรับจะมาจากไหน หากมองยอน กลับมาที่ประเทศไทย นโยบายไทยเขมแข็งที่จะกอ ใหเกิดรายจายของภาครัฐจํานวนมหาศาลนั้นก็จะ สะทอนนโยบายภาษีไทยเขมแข็งดวยเชนกัน นั่ น คื อ สิ่ ง ที่ เ ราได เ ห็ น กั น ในต า งประเทศ คือเมื่อเกิดวิกฤตแลวก็เกิดการศึกษาตามมา เมื่อ เกิดการศึกษาที่มีความเห็นแตกตางกันก็เกิดการ โตเถียงกัน ทำใหเกิดบทเรียนจากวิกฤตเหลานี้ สําหรับประเทศไทย เรามีวิกฤต แตจะมีบทเรียน หรือเปลา ผมไมแนใจ อาจจะมีผูที่ศึกษางานของ อาจารยสุพจนที่รวมอยูในหนังสือครบรอบ 60 ป ของคณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ซึ่งเปนบทความที่สามารถใหภาพเศรษฐกิจไทย ทั้งกอนวิกฤตและหลังวิกฤตได ถือเปนงานศึกษา - 69 1/1/70 7:13:52 AM


คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

บทเรียนจากวิกฤตซับไพรม

ชิ้นหนึ่งที่ใหบทเรียนแกพวกเรา นอกเหนือจากนี้ นั ก เศรษฐศาสตร ไ ทยเราค อ นข า งอาภั พ ในเรื่ อ ง ของการคนหาองคความรูที่จะไปตอยอดหรือตอบ คําถามใหเราไดเรียนรูอะไรใหมๆ วั น นี้ เ รามาพู ด กั น ถึ ง เรื่ อ งบทเรี ย น ฟ ง อาจารยภาณุพงศบอกวาตอนนี้เศรษฐกิจฟนตัว แลว ผมกลัววาพวกเราก็จะลืมเรื่องวิกฤต วันนี้ผม ยังคุยกับอาจารยพิสุทธ (กุลธนวิทย) อาจารยกลับ จากเมืองนอกมาหนึ่งปคงไมรูสึกวาประเทศไทยอยู ในชวงวิกฤต ก็คงเหมือนกับการดําเนินชีวิตปกติ หลายๆ คนก็รูสึกเชนนั้น เหมือนกับวาเราไมได เรียนรูอะไร นักวิชาการตองทํางานวิจัย คนที่จะไดรับ การเชิ ด ชู ท างวิ ช าการต อ งทํ า งานวิ จั ย ที่ มี ค นมา วิเคราะหและทํางานศึกษาตอไปได สรางเปนความ รูเพิ่มขึ้น ใหคนไดเรียนรูและเขาใจมากขึ้นกวาเดิม ผมจึงขอสรุปตรงที่วา บทเรียนของเราคงตองหา ทางเรียนรูกันตอไปดวยการศึกษาและการทํางาน วิจัย ผมชื่นชมคณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร ที่เริม่ มีการผลิตหนังสือออกมา มีการ รวบรวมองคความรูวาที่ผานมาเราไดเรียนรูอะไร บาง

- 70 <0E2D>.<0E2A><0E38><0E1E><0E08><0E19><0E4C>.indd 70-71

ชวงถาม-ตอบ รศ.สุขุม อัตวาวุฒิชัย: วิกฤตที่เกิดขึ้นแตละครั้ง ทุกคนจะหันไป หาคําตอบอื่น ซึ่งตีความจากความรูดั้งเดิม มีการ พูดถึงการกํากับดูแล G-20 คุยกันวาจะทําอยางไร เพื่ อ ป อ งกั น ไม ใ ห วิ ก ฤตทางการเงิ น เกิ ด ขึ้ น อี ก คงจะมีการออกกฎหมายตางๆ เพื่อควบคุมระบบ การเงิน ผมสงสัยวาในขณะที่โครงสรางตลาดเงิน ของโลกเรามุงไปยังระบบตลาด ซึ่งโดยหลักการ แลวจะไมมีการพึ่งพาภาครัฐ ปลอยใหตลาดดําเนิน การเอง วิกฤตการเงินที่เกิดขึ้นครั้งนี้ทําใหความ เชื่อตรงนี้สั่นคลอนไปหรือไม เพราะมีการพูดกัน มากในเรื่องของการเขามาควบคุมของรัฐ แนวคิด อยางนี้เนนไปทางไหน พอเกิดวิกฤตเนนไปที่การ กํากับดูแล แตพอไมมีวิกฤตเนนไปที่ระบบตลาด นั่นคือประเด็นที่หนึ่ง ประเด็นที่สอง วิกฤตการเงินในอเมริกา เกิดจากหลักทรัพยทางการเงินสมัยใหมที่คนไม คุนเคย เรื่องของ CDO และ CDS ผมกลัววาตลาด เงิ น ในบ า นเราจะสร า งนวั ต กรรมทางสิ น ทรั พ ย ตางๆ ขึ้นโดยที่ตัวละครในตลาดขาดความรูและ ความเขาใจ เชน สมัยหนึ่งพูดถึงการพัฒนาตลาด อนุพันธ ซึ่งยุงยาก คนทั่วไปไมเขาใจ ตัว CDO - 71 1/1/70 7:13:53 AM


คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

บทเรียนจากวิกฤตซับไพรม

และ CDS ทําใหเศรษฐกิจพัง คนในอเมริกาก็ไม เข า ใจเลยว า สองตั ว นี้ คื อ อะไร นั ย ยะอย า งนี้ จ ะ อันตรายหรือไม ถาหากตลาดเงินในบานเราดําเนิน ตามอเมริกา สำหรับสองปญหานี้ รัฐบาลควรจะ เขามาแทรกแซงตลาดหรือไม รศ.ดร.สุพจน จุนอนันตธรรม: ตามปกติแลวเกิดปญหาอยูตลอด ตั้งแต สมัยกอน คอมมิวนิสตเชื่อวารัฐบาลทําทุกอยาง เสรีนิยมก็เชื่อวารัฐบาลควรทํานอย ในที่สุด รัฐบาล จีนปลอยเสรีมากยิ่งขึ้น ผมคิดวาทางที่ดีที่สุดคือ นักวิชาการที่มีความรูจะตองคอยจับตาเรื่องของ โลก เราจะตองเขาถึงขอมูลของประเทศที่สําคัญๆ มี ค วามเข า ใจในเรื่ อ งเศรษฐกิ จ ของเขา ผมตาม เรื่องเงินออมในอเมริกาอยูตลอด ผมตระหนักถึงสิ่ง เหลานี้ตลอดเวลา ผมคิดวาเราจะตองเปดหูเปดตา คอยตรวจสอบวาเมื่อไรฟองสบูจะแตก ถึงแมจะ ไมใชเรื่องงาย แตเราตองตระหนัก เราตองเชิญ ผูนําประเทศมา แลวบอกเขา เพราะอาจารยรูเรื่อง มากกวาเขา วันๆ เขามีแตเรื่องการเมือง หมอมอุย (ม.ร.ว.ปรีดิยาธร เทวกุล) ยัง เคยติ ด ต อ อาจารย ที่ นี่ ไ ปสอนนั ก ข า วที่ ธ นาคาร แห ง ประเทศไทย เพราะนั ก ข า วมั ก จะไม เ ข า ใจ - 72 <0E2D>.<0E2A><0E38><0E1E><0E08><0E19><0E4C>.indd 72-73

เศรษฐศาสตร จึ ง ถามคํ า ถามที่ ไ ม ต รงจุ ด พอล แซมมวลสัน (Paul Samuelson) ก็ เ คยไปสอน เศรษฐศาสตรใหกับนักการเมืองในสภา วิกฤตในครั้งนี้ นักเศรษฐศาสตรจํานวน หนึ่งทราบวาจะเกิดปญหาขึ้นกอนหนานี้หลายป ถ า เรารู ก อ น รั ฐ บาลไทยก็ จ ะสามารถเตรี ย มตั ว รั บ มื อ ได เ ลย เราต อ งมี ข อ มู ล เพื่ อ ที่ จ ะบอกแก รัฐบาลได ศ.ดร.พรายพล คุมทรัพย: ก อ นอื่ น ต อ งขอกล า วว า ดี ใ จที่ อ าจารย สุพจนไดกลับมาบานอีกครั้งหนึ่ง ผมเองก็ดีใจที่ได เจอเพื่อนเกา ถึงแมจะอายุนอยกวา แตก็ถือวาเปน รุนไลๆ กัน รวมงานกันมาหลายสิบป ผมชื่นชมอาจารยสุพจนเปนอยางยิ่ง ทาน เป น นั ก เศรษฐศาสตร อ ย า งแท จ ริ ง ทุ ก ครั้ ง ที่ ไ ด คุยกับอาจารยสุพจนถือเปนการประเทืองปญญา สําหรับผม วั น นี้ ต อ งชื่ น ชมว า ลู ก ศิ ษ ย ทั้ ง สามของ อาจารยทําหนาที่ไดดีมาก มาวิเคราะห วิจารณ และเสนอแนะในเรื่องที่ผมคิดวาเปนประเด็นที่นา สนใจทั้งสิ้น และการนําเสนอตอสาธารณะ รวมทั้ง การติดตามเศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก ผม - 73 1/1/70 7:13:53 AM


คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

บทเรียนจากวิกฤตซับไพรม

หวังวาลูกศิษยทั้งสามจะดำเนินการตอไป ผมคิด วาจะเปนประโยชนสําหรับสาธารณชนและคณะ ของเรา ผมขอมองไปข า งหน า นิ ด หนึ่ ง เกี่ ย วกั บ วิกฤตคราวนี้ บทเรียนที่ผมไดรับฟงจากวิทยากร ทั้งสามทานคือการกํากับดูแลสถาบันการเงิน ซึ่ง เรื่องนี้อาจจะเกี่ยวของกับประเทศไทยนอยหนอย แตสําหรับโลกนี่สําคัญมาก ประเทศไทยนาจะมี บทเรียนอะไรบางอยาง ผมคิดวาระบบปจจุบันใช ไมได อาจารยอารยะพูดถึงเครื่องบินไอพน ระบบ ป จ จุ บั น เป น เครื่ อ งบิ น ไอพ น ก็ จ ริ ง แต เ วลาตก ผูโดยสารตายหมด คนขับรอด พอธนาคารลม ผู ฝากเงินและผูที่เกี่ยวของไดรับความเสียหาย แตผู บริหารธนาคารไดโบนัส ผมคิดวาเปนระบบที่ใช ไมได ไมเพียงแคไมยุติธรรม แตยังมีผลกระทบตอ โลก อยางประเทศไทยเราตองดูใหดีเรื่องที่เราทํา และเรื่องที่คนอื่นทําดวย เรื่ อ งที่ ส องคื อ หลายคนพู ด ถึ ง นโยบาย การเงินและการคลัง นาสนใจมาก เปนประเด็นที่ เราน า จะเก็ บ เอาไปคิ ด และวิ เ คราะห การแลก เปลี่ยนความคิดเห็นในเรื่องตางๆ เหลานี้เปนเรื่อง ที่สําคัญมากๆ แตเรื่องที่ผมอยากจะถามทั้งจาก ทานอาจารยสุพจนและวิทยากรทั้งสามทานก็คือ - 74 <0E2D>.<0E2A><0E38><0E1E><0E08><0E19><0E4C>.indd 74-75

บังเอิญวาทุกหกสัปดาห ผมตองไปที่ธนาคารแหง ประเทศไทย ผมยืนยันไดวาดอกเตอรทั้งหลายที่ ธนาคารแหงประเทศไทยทําอยางที่ทานอาจารย สุพจนเสนอแนะ คือวิเคราะหและติดตามนโยบาย ทางเศรษฐกิ จ ของประเทศต า งๆ เพราะผมได มี โอกาสไปใชประโยชนจากบริการของเขา ผมยัง หวังวาคณะของเราจะทําบาง และทําลึกไปกวาเขา เพราะเราสอนลูกศิษยลูกหาทางดานนี้อยูแลว สวน เขาทํางานวิจัยอยางเดียว ไมไดสอนใคร เราจึงได เปรียบ ประเด็นที่ผมอยากจะโยงก็คือ เราทราบดี วานโยบายการเงินไดดําเนินการไปถึงจุดที่เรียก ไดวานิ่งแลว ลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลงไป จาก 3.75 เหลือ 1.25 และสองครั้งแลวที่คณะกรรมการ นโยบายการเงินคงดอกเบี้ยไวในระดับนั้น ปญหา เหลานี้ไมใชนโยบายการเงิน นโยบายการคลังนา จะเปนพระเอกอีกครั้ง ก็มีขอโตเถียงกันในเรื่องนี้ แตอีกประเด็นหนึ่งคืออัตราแลกเปลี่ยนตอนนี้ตรง กั บ ใจของอาจารย สุ พ จน ซึ่ ง ได ใ ช เ วลา กํ า ลั ง ใจ และกําลังสมอง ในการศึกษาเรื่องอัตราแลกเปลี่ยน ตอนนี้ ใ ช น โยบายอั ต ราแลกเปลี่ ย นแบบลอยตั ว ภายใต ก ารจั ด การ มาระยะหลั ง จะเป น แบบเข า ไปจัดการมากกวาปลอยลอยตัว - 75 1/1/70 7:13:54 AM


คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

บทเรียนจากวิกฤตซับไพรม

อยางที่ทุกคนวิเคราะห วิกฤตเศรษฐกิจ เกิ ด ขึ้ น การส ง ออกลดลง แต ก ารนํ า เข า ลดลง มากกวา เกินดุลการคาในระดับหนึ่ง ถึงแมการ ท อ งเที่ ย วจะแย ก็ ต าม ดุ ล บั ญ ชี เ ดิ น สะพั ด ยั ง คง เกินดุลอยู เพราะฉะนั้น เราจะเห็นไดวาเงินทุนไหล เขา คาเงินดอลลารออนมากเมื่อเทียบกับเงินสกุล อื่นๆ เงินบาทจึงหนีไมพนแรงกดดันเมื่อเทียบกับ เงินดอลลาร สํ า หรั บ เงิ น บาท หลายท า นพู ด กั น ว า ไมอยากใหแข็งจนเกินไปเมื่อเทียบกับคูแขงหรือ คูคา โดยใชขอมูล NEER (Nominal Effective Exchange Rate) สิ่งที่เขาทําคือพยายามไมให NEER เปลี่ ย นไปมากนั ก แต ก็ มี แ รงกดดั น จาก ภายนอก ทํ า ให ธ นาคารแห ง ประเทศไทยต อ ง แทรกแซงมาก ในการประชุมทุกครั้งมีการพูดคุย กันในเรื่องนี้วา เราควรจะมีโควตาในการแทรกแซง คาเงินบาทหรือไม ในการแทรกแซงแตละครั้งตอง มีการทํา Sterilization กํากับไปดวย เพราะการ แทรกแซงเชนนี้ก็เหมือนกับขายเงินบาท ซื้อเงิน ดอลลาร เงินบาทในตลาดจะเยอะ ถาไมทําอะไร จะทํ า ให อั ต ราดอกเบี้ ย ต่ ำ ลงไป ซึ่ ง จะไปลบล า ง อั ต ราดอกเบี้ ย นโยบาย ดั ง นั้ น จึ ง ต อ งมี ก ารดึ ง เงิ น กลั บ ด ว ยการขายพั น ธบั ต ร ซึ่ ง ธนาคารแห ง - 76 <0E2D>.<0E2A><0E38><0E1E><0E08><0E19><0E4C>.indd 76-77

ประเทศไทยก็ตองจายดอกเบี้ย ตอนนี้ ถ า เราไปดู บั ญ ชี ข องธนาคารแห ง ประเทศไทย จะเห็นไดวาสินทรัพยตางประเทศสูง ขึ้นมาก แลวเปนเปอรเซ็นตที่สูงมาก 80 เกือบ 90 กวาเปอรเซ็นต เมื่อเทียบกับสินทรัพยชนิดอื่นๆ ของธนาคารแหงประเทศไทย เนื่องจากแทรกแซง มาก ธนาคารแหงประเทศไทยก็จะเปนหนี้ในรูป เงินบาทมาก ก็จะขาดทุน ประเด็นก็คือ แลวจะทําอยางไร คําตอบ งายๆ อาจจะบอกวาเลิกแทรกแซง แลวปลอยให เงินบาทแข็งคาตามภาวะตลาด ซึ่งเปนคําตอบที่จะ ถู ก วิ พ ากษ วิ จ ารณ ดั ง นั้ น พอจะมี วิ ธี อื่ น หรื อ ไม ที่จะทําใหคาเงินบาทไมแข็งจนเกินไป แตในขณะ เดียวกันก็ทําใหขอจํากัดตางๆ ลดลงไปดวย ทั้งทุน สํ า รองระหว า งประเทศและหนี้ ข องธนาคารแห ง ประเทศไทย รศ.ดร.สุพจน จุนอนันตธรรม: ตอนนี้ ธ นาคารแห ง ประเทศไทยเขา Sterilize อยางที่อาจารยวา เพื่อกดปริมาณเงินลง ไป ผมคิดวาเขามีขอจํากัด ทางออกคือปลอยใหคา เงินบาทแข็งไปเลย ซึ่งจะสงผลตอการสงออก และ ทําใหเกิดภาวะเศรษฐกิจถดถอยยิ่งขึ้น ผมคิดวา - 77 1/1/70 7:13:54 AM


คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

บทเรียนจากวิกฤตซับไพรม

รัฐบาลจะตองใชจายเงินเร็วกวานี้ ซึ่งการใชจาย เงิ น ของรั ฐ บาลควรจะเพิ่ ม ความสามารถในการ ผลิตดวย คือสวนหนึ่งรัฐบาลปจจุบันไดเพิ่มการ บริโภคในประเทศไปแลว เชน เช็คสองพันบาท กระตุนเศรษฐกิจรอบแรก การใชจายของรัฐบาล ครั้งตอมา 1.43 ลานลานบาท ควรจะไปเพิ่มความ สามารถในการผลิตโดยตรง ที่จริงแซมมวลสันก็ เคยพูดไวที่อเมริกาวา การขาดดุลตองคํานึงถึงการ ใช เ งิ น ไม ใ ช เ พื่ อ ไปเพิ่ ม รายได ใ ห แ ก ป ระชาชน เพียงอยางเดียว ประเทศไทยควรจะลงทุนในดาน การขนสงมากขึ้น แมสิ่งเหลานี้จะใชเวลานาน แต ในระยะยาวจะดีกวา รศ.ดร.ภาณุพงศ นิธิประภา: การใช จ า ยด า นการลงทุ น เป น เรื่ อ งที่ ดี เพราะจะชวยเพิ่มความสามารถในการผลิต แตเรา ต อ งคํ า นึ ง ถึ ง วิ ธี ก ารหาเงิ น ด ว ย ถ า หากเราขาย พันธบัตรเพื่อเพิ่มการใชจายดานการลงทุน เราก็ ไมควรที่จะนํามาใชกับการบริโภคในปจจุบัน จะ สังเกตไดวารายจายปจจุบันของรัฐบาล สวนใหญ จะเนนไปที่การใชจายเพื่อการบริโภค ไมใชเรื่อง ของการลงทุน สวนของการลงทุนนั้นตกต่ำไปมาก ทั้งๆ ที่เปนโอกาสดีที่จะไดกระตุนเศรษฐกิจ เบี้ย - 78 <0E2D>.<0E2A><0E38><0E1E><0E08><0E19><0E4C>.indd 78-79

ยังชีพเพื่อผูสูงอายุ นโยบายเรียนฟรี เช็คสองพัน บาท รายจายเหลานี้ควรจะมาจากการเก็บภาษี ไมใชการขายพันธบัตรที่ภาระจะไปตกอยูกับคนรุน หลัง นี่เปนการใชจายเงินที่ผิด ยิ่งการใชจายเงินใน ปจจุบัน รัฐบาลชุดกอนๆ ใชนโยบายประชานิยม แตรัฐบาลชุดนี้กลับใชนโยบายอภิมหาประชานิยม ใกลเลือกตั้งแลว การใชจายเพื่อการบริโภคกลับ เปนไปเพื่อการหาเสียง นี่คือขอสังเกตเรื่องการ กระตุนเศรษฐกิจ ในแงของนโยบายการคลัง นอกจากจะดู ว า มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพหรื อ ไม ต อ งดู ด ว ยว า จะมี ผ ล อยางยั่งยืนหรือเปลา ถาเงินที่จายไปไปตกอยูกับ คนที่ไมไดใชจาย ผลของตัวคูณก็มีไมมาก สวน เรื่องของการสงออกที่มีสัดสวนเปน 70 เปอรเซ็นต ของ GDP จริงๆ แลวการสงออกมากขึ้น การนํา เขามากขึ้น เพราะฉะนั้น การกระตุนไมใชวา GDP จะเพิ่ม บางสวนอาจจะไหลออกไปดวย ผมคิดวา อัตราแลกเปลี่ยนไมชวยอะไรมาก จะชวยในแงของ Output Effect มากกว า ถ า เศรษฐกิ จ อเมริ ก า ฟนตัว นั่นละ การสงออกของเราจะเพิ่มขึ้น ซึ่งไป เกี่ยวของกับการจางงานดวย สําหรับผูยากไรที่ได รับเงินไปแลวรีบใชจายทันที นั่นก็เปนเรื่องที่ดีที่ สามารถกระตุนเศรษฐกิจได - 79 1/1/70 7:13:54 AM


คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

บทเรียนจากวิกฤตซับไพรม

กลั บ มาที่ อั ต ราแลกเปลี่ ย น ผมมองว า ถาหากเราคอยพะเนาพะนอผูสงออก เขาจะไมรูวา ในโลกนี้ไมมีอะไรที่ตายตัว มันมีขึ้นมีลง มีของแพง ของถูก หลักการก็คือ เราตองสรางแรงจูงใจทั้งจาก ตลาดในประเทศและตลาดนอกประเทศ นี่คือจุด สําคัญ เราตองคิดถึงผูนําเขาดวย ผูผลิตเพื่อตลาด ในประเทศก็ตองนําเขาสินคามาผลิต ถาเงินบาท แข็ ง ค า ผมคิ ด ว า เป น เรื่ อ งที่ ดี เงิ น เฟ อ จะไม สู ง ราคาน้ำมันจะไมสูง เราตองมองทั้งสองดาน ผมไม เห็นวาการดูดซับสภาพคลองจะไดผล ในระยะสั้น จะไดผลหรือไมไดผลอยางไร แตตามทฤษฎีแลว ในระยะยาวจะไมไดผล แถมตนทุนยังสูงขึ้นดวย บางครั้ ง ธนาคารแหงประเทศไทยมีกําไรนอยลง เขาก็สงเงินเขากระทรวงการคลังนอยลง สุดทาย งบประมาณของรัฐบาลก็ถูกกระทบไปดวย ผมอยากจะพูดวาประวัติศาสตรเปนเรื่อง สําคัญ ในอดีต กอนเกิดวิกฤตป 1997 เราไมเคย ปลอยใหคาเงินบาทปรับตัว ชวงนั้นถาเราปลอย ใหคาเงินบาทแข็งกอนหนานั้น วิกฤตเศรษฐกิจก็ จะไมเกิด ที่เราไมยอมใหคาเงินบาทแข็งก็เพราะ เรากลัววาการสงออกจะตก ซึ่งไมเปนความจริง เสมอไป นั่นเปนอดีตที่เราไมเคยเรียนรู

- 80 <0E2D>.<0E2A><0E38><0E1E><0E08><0E19><0E4C>.indd 80-81

ปจจุบัน ถาเราไมยอมใหคาเงินบาทผิด แปลกไปจากที่เราคิดวาควรจะเปน เราก็จะกลับไป เหมื อ นเดิ ม อี ก เราคอยแต จ ะให ค า เงิ น บาทคงที่ ตายตั ว อย า งนี้ ซึ่ ง เป น ไปไม ไ ด เหมื อ นกั บ ค า หนวยกิตของนักศึกษาธรรมศาสตรไมคอยปรับขึ้น เทาไร ถึงแมตนทุนจะสูงขึ้นแลว ทางที่ดีตองทําให ผูสงออกเขาใจ คาเงินของไตหวันแข็งขึ้น เขาก็ยัง สงออกได เขาถือวาเปนการกระตุนใหแข็งแกรง ในทางออม เพื่อจะแขงขันกับตางชาติได เปนการ เพิ่มความสามารถในการผลิตดวย ศ.ดร.อารยะ ปรีชาเมตตา: ผมเดาคําตอบของอาจารยพรายพลวา ถา เกิดทุนสํารองเกินดุล เราก็ควรเอามาใชประโยชน ในทางใดทางหนึ่ง จะลงทุนหรืออะไรก็แลวแต ถาม ว า เหมาะสมหรื อ ไม ผมไม ท ราบ เพราะผมไม มี ขอมูลเพียงพอที่จะตัดสินได แตการนํามาใชก็มี ความเสี่ ย งที่ เ ราต อ งศึ ก ษา เรามี บ ทเรี ย นจากป 1997 แลว การนําทุนสํารองมาใชอาจจะกอใหเกิด ผลเสียมากกวาประโยชนที่จะไดรับ ทางออกก็คือ เราต อ งศึ ก ษาให ล ะเอี ย ดว า มี ค วามเป น ไปได แ ค ไหน แลวจะนําออกมาใชเทาไร

- 81 1/1/70 7:13:55 AM


คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

บทเรียนจากวิกฤตซับไพรม

รศ.ดร.วิมุต วานิชเจริญธรรม: ผมคิดเหมือนกับอาจารยภาณุพงศ การ ดูดซับสภาพคลองของระบบ ผมไมไดยินมานาน แลว สมัยวิกฤตป 1997 เราพูดถึงสามอยางที่ไป ดวยกันไมได (Impossible Trinity)8 เรามีการเปด เสรีทางการเงิน ใชนโยบาย Inflation Targeting เพื่อธนาคารแหงประเทศไทยจะไดดําเนินนโยบาย ทางการเงินที่เปนอิสระได แตเราก็ยังคงอยากให อัตราแลกเปลี่ยนคงที่ไมเปลี่ยนแปลงอีก ผมเห็นดวยกับอาจารยภาณุพงศ บางครั้ง การปรั บ ตั ว ที่ ดี ที่ สุ ด คื อ การถู ก บั ง คั บ ให ต อ งปรั บ ตัว และประสิทธิภาพจะเกิดขึ้นตามมา ตามราคา สัมพัทธที่เปลี่ยนไป ประเทศเรากอนหนานี้มีระดับ การพัฒนาระดับหนึ่ง อัตราแลกเปลี่ยนที่เหมาะสม ต อ ระบบเศรษฐกิ จ ของเราจะมี ค า หนึ่ ง ตอนนี้ ประเทศเรามีระดับการพัฒนาสูงกวาเมื่อกอน เรา คงต อ งมองว า รายได ต อ หั ว ของประชาชนมี ค า เทาไร แลวอัตราแลกเปลี่ยนที่เหมาะสมกับรายได Impossible Trinity หรือ Trilemma เปนปรากฏการณที่ เกิดขึ้นในกรณีที่ประเทศหนึ่งๆ มีการใชระบบอัตราแลกเปลี่ยน คงที่ (Fixed Exchange Rate) ในขณะเดียวกัน เงินทุนระหวาง ประเทศไหลเขา-ออกไดอยางเสรี ในกรณีดังกลาว ทางการ ไมสามารถใชนโยบายการเงินที่มีประสิทธิผลได 8

- 82 <0E2D>.<0E2A><0E38><0E1E><0E08><0E19><0E4C>.indd 82-83

นั้นๆ ควรจะเปนเชนไรในระยะยาว สําหรับนโยบายการเงิน ผมรูสึกวาผูคน สวนใหญเริ่มเขาใจวานโยบายการเงินเกี่ยวของกับ อั ต ราดอกเบี้ ย และมองว า การที่ ธ นาคารแห ง ประเทศไทยใชนโยบายการเงินที่ผอนคลาย คือ การลดอัตราดอกเบี้ยจนถึงต่ำสุดที่ 0 เปอรเซ็นต คงจะทําอะไรอีกไมได สิ่งหนึ่งของนโยบายการเงิน คือ ที่สุดแลวจะตองมีปริมาณเงินจํานวนหนึ่งเขาสู ระบบ ถามองวาสิ่งที่ธนาคารกลางทําไดคือการใส เงินเขาสูระบบ ซึ่งมีหลายวิธี ในปจจุบันไมไดมีแค การซื้ อ ขายพั น ธบั ต รเพี ย งอย า งเดี ย ว ธนาคาร กลางสามารถใชเงินซื้อขายสินทรัพยอื่นๆ ได สมัย นี้ มี ก ารใช น โยบายการเงิ น หลายรู ป แบบ เพราะ ฉะนั้น ถามองในแงของการใสเงินเขาไปในระบบ ถาดอกเบี้ยเทากับ 0 เปอรเซ็นตแลวทุกอยางจบ ไมมีนโยบายการเงินอีกแลว ความจริงคือธนาคาร กลางยังสามารถทําอะไรไดอีก อ.ดร.พิสุทธิ์ กุลธนวิทย: ผมเห็นนายกสมาคมบานออกมาบอกวา ปหนาราคาบานจะเพิ่มขึ้น 7 เปอรเซ็นต ประเทศ ไทยเราจะเกิ ด ฟองสบู ขึ้ น อี ก ครั้ ง หรื อ ไม อั ต รา ดอกเบี้ยต่ำเชนนี้ดวย และคาเงินบาทก็ไมแข็ง เรา - 83 1/1/70 7:13:55 AM


คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

บทเรียนจากวิกฤตซับไพรม

จะเรียนรูอะไรจากวิกฤตครั้งนี้หรือไม รศ.ดร.สุพจน จุนอนันตธรรม: ผมตอบลําบาก เพราะผมไมไดตามเรื่อง ราคาบานจะสูงขึ้น 7 เปอรเซ็นต กระทรวงการคลัง จะเริ่มเก็บภาษีที่ดิน แตก็กลัววาธนาคารจะเสีย หาย เพราะภาษีจะทําใหมูลคาของที่ดินที่ธนาคาร ยึดไวมีราคาต่ำลง สําหรับทุนสํารองที่มีมากไป วิธี หนึ่งที่ผมคิดไดคือใหรัฐบาลใชจายเงินซื้อของจาก ตางประเทศ เชน รถไฟ ปูนซิเมนต เปนตน ผม แนะนําใหรวมมือกันกําหนดนโยบายการเงินและ การคลังเพื่อเพิ่มความสามารถในการผลิต รศ.ดร.ภาณุพงศ นิธิประภา: สําหรับเรื่องฟองสบู ผมคิดวาเมื่อใดก็ตาม ที่เราเห็นอัตราดอกเบี้ยเงินฝากในบานเราสูงขึ้น แสดงวาธนาคารเริ่มตองการหาเงินปลอยกู นั่นคือ ประเด็นที่หนึ่ง ประเด็นที่สองคือ ไมใชวาตนทุน การกูยืมที่ต่ำอยางเดียว แตอยูที่ปริมาณสินเชื่อ ที่ไดรับดวย ตอนนี้ธนาคารแหงประเทศไทยเริ่ม ควบคุมการปลอยสินเชื่อ ประเด็นที่สามคือ ฟอง สบู ใ นตลาดหุ น ไปด ว ยกั น กั บ ฟองสบู ใ นตลาด อสังหาริมทรัพย ปกติแลวฟองสบูที่เกิดในตลาด - 84 <0E2D>.<0E2A><0E38><0E1E><0E08><0E19><0E4C>.indd 84-85

หุนจะเกิดกอนฟองสบูในตลาดอสังหาริมทรัพย นี่ เปนตัวชี้วัดไดในระดับหนึ่ง ตอนนี้อัตราดอกเบี้ย ต่ำทั่วโลก และราคาบานสูงขึ้นตลอด เพราะฉะนั้น มีความเปนไปไดที่จะมีฟองสบูเกิดขึ้นอีกครั้ง ศ.ดร.อารยะ ปรีชาเมตตา: ผมคิดวาตอนนี้ยังไมใช เพราะการลงทุน ในบานคอนขางเปนการตัดสินใจที่ถาวร การจะ ลงทุนหรือไมนั้นมีหลากหลายปจจัย อัตราดอกเบี้ย ที่ลดลงอาจจะทําใหคนเริ่มที่จะอยากลงทุนมากขึ้น แตปจจุบันนี้ หากเกิดฟองสบู ฟองสบูจะสงผลให คนตัดสินใจงายขึ้นกับการลงทุนในบาน และตองมี การซื้ อ ขายเพื่ อ เก็ ง กํ า ไรเหมื อ นในป 1997 ซึ่ ง สภาพเช น นั้ น ยั ง ไม มี ณ ตอนนี้ ถึ ง แม อั ต รา ดอกเบี้ ย จะต่ ำ ก็ ต าม แต ที่ ก ารซื้ อ ขายบ า นเริ่ ม มี มากขึ้น อาจจะมาจากนโยบายของภาครัฐในการ ลดภาษีตางๆ สําหรับผูซื้อบาน ซึ่งยังไมถึงกับเกิด ฟองสบู รศ.ดร.วิมุต วานิชเจริญธรรม: สมมติวาคุณคาดคะเนวาราคาจะขึ้น แลว ราคาก็เพิ่มขึ้นจริงตามที่คุ ณ คาดคะเน เราจะไม มองสถานการณนั้นวาเปนภาวะฟองสบู แตถาคุณ - 85 1/1/70 7:13:55 AM


คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

บทเรียนจากวิกฤตซับไพรม

คาดคะเนวาราคาจะขึ้น แตราคากลับตกลง นั่นคือ ภาวะที่ฟองสบูแตก ปรากฏการณเชนนี้เรามักจะ พบเสมอเมื่อฟองสบูจะแตก เพราะฉะนั้น ตอนนี้ คงยังเร็วเกินไปที่จะสรุป ถาดูตัวเลข GDP ที่ตกลง มาเรื่ อ ยๆ แบบนอยลง ชวงหนึ่งปจากนี้ไป ทุก อยางอาจจะเริ่มมีการขยายตัวหรือการฟนตัว การ เพิ่มขึ้นของราคาและการที่ผูผลิตสามารถปรับตัว ตามมาได เ ป น เรื่ อ งธรรมดา จนกว า วั น หนึ่ ง ที่ อาจารยอารยะบอกวาราคาไปเร็วกวาการผลิต นั่น คือมีแนวโนมที่จะเกิดฟองสบู

- 86 <0E2D>.<0E2A><0E38><0E1E><0E08><0E19><0E4C>.indd 86-87

คําประกาศสดุดีเกียรติคุณ รองศาสตราจารย ดร.สุพจน จุนอนันตธรรม เศรษฐศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ประจําปการศึกษา 2551

ในยามที่ประเทศไทยประสบกับวิกฤตการณทาง เศรษฐกิ จ เช น วิ ก ฤตการณ ก ารเงิ น ในป พ.ศ. 2540 หรือวิกฤตการณเศรษฐกิ จ ตกต่ ำ อั น เป น ผลพวงจากวิกฤตการณเศรษฐกิจโลกในปจจุบัน สถาบันการศึกษาขั้นสูงที่เ ป ด การเรี ย นการสอน ทางด า นเศรษฐศาสตร ย อ มมี ห น า ที่ นํ า เสนอ ถกเถียง และชี้แนะทางออกเชิงนโยบาย ซึ่งผาน กระบวนการตรึ ก ตรองค น คว า วิ จั ย อย า งถี่ ถ ว น ถูกตอง และเปนไปตามหลักวิชา รองศาสตราจารย ดร.สุ พ จน จุ น อนั น ตธรรม เป น นั ก วิ ช าการ เศรษฐศาสตร ร ะหว า งประเทศคนสํ า คั ญ ซึ่ ง ได ทํ า หน า ที่ ผ ลิ ต สร า งองค ค วามรู และนํ า เสนอ ข อ เสนอแนะเชิ ง นโยบายแก ภ าครั ฐ และภาค สาธารณะอย า งแข็ ง ขั น และตรงไปตรงมาตลอด - 87 1/1/70 7:13:55 AM


คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

บทเรียนจากวิกฤตซับไพรม

ชีวิตรับราชการของทาน กลาวไดวาอาจารยสุพจน เป น นั ก วิ ช าการด า นเศรษฐศาสตร ที่ มี คุ ณู ป การ สูงยิ่งตอเศรษฐกิจไทย รองศาสตราจารย ดร.สุพจน จุนอนันตธรรม เกิดเมื่อวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2485 ที่ กรุงเทพมหานคร สําเร็จการศึกษาระดับปริญญา ตรีจากคณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เมื่ อ ป พ.ศ. 2509 ท า นได รั บ ทุ น การศึ ก ษาจาก มูลนิธิการศึกษาไทย-อเมริกัน (Fulbright) เพื่อ ศึกษาตอในระดับปริญญาโท สาขาเศรษฐศาสตร ที่ Louisiana State University ประเทศ สหรัฐอเมริกา จนสําเร็จการศึกษาในป พ.ศ. 2513 และได เ ข า รั บ ราชการเป น อาจารย ป ระจํ า ที่ ค ณะ เศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ในยุค สมัยที่ศาสตราจารย ดร.ปวย อึ๊งภากรณ คณบดี ในขณะนั้น กําลังบุกเบิกพัฒนาคณะเศรษฐศาสตร ใหมีมาตรฐานเทียบเทาสากล อาจารยสุพจนจึงมี โอกาสไดเรียนรูแนวคิด ปรัชญาการทํางาน และ วัตรปฏิบัติจากอาจารยปวยโดยตรง ตั้งแตชวงตน ชีวิตรับราชการ ตอมาทานไดรับทุนไปศึกษาตอ ในระดั บ ปริ ญ ญาเอกในสาขาเศรษฐศาสตร ที่ University of Oregon ประเทศสหรั ฐ อเมริ ก า ภายหลังสําเร็จการศึกษาเมื่อป พ.ศ. 2520 ทานได - 88 <0E2D>.<0E2A><0E38><0E1E><0E08><0E19><0E4C>.indd 88-89

กลับมาปฏิบัติราชการเปนอาจารยประจําของคณะ เศรษฐศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร จน กระทั่งเกษียณอายุราชการเมื่อป พ.ศ. 2545 ตลอดระยะเวลารับราชการ รองศาสตราจารย ดร.สุพจน จุนอนันตธรรม ไดอุทิศตนเพื่อ ปฏิ บั ติ ห น า ที่ ใ นฐานะครู แ ละนั ก วิ ช าการอย า งดี เยี่ยม ทานมีความสนใจศึกษาวิจัยเพื่อสรางองคความรูเกี่ยวกับเศรษฐศาสตรระหวางประเทศของ ไทยและการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ไทยอย า งต อ เนื่ อ ง โดยเฉพาะอยางยิ่งในชวงกอนหนาที่ประเทศไทย จะประสบกับวิกฤตการณทางเศรษฐกิจเมื่อป พ.ศ. 2540 ทานไดผลิตผลงานวิชาการเพื่อสรางความ เขาใจที่ถูกตองและนําเสนอขอเสนอเชิงนโยบาย อยางสม่ำเสมอ ทานไดวิพ ากษ วิ จ ารณ น โยบาย อัตราแลกเปลี่ยนแบบตะกราเงินซึ่งเปนระบบกึ่ง คงที่ของธนาคารแหงประเทศไทยในขณะนั้น และ เสนอใหธนาคารแหงประเทศไทยปรับระบบอัตรา แลกเปลี่ยนใหมีความยืดหยุนมากขึ้น เปนระยะ เวลาล ว งหน า หลายเดื อ นก อ นที่ ธ นาคารแห ง ประเทศไทยจะประกาศลอยตั ว ค า เงิ น บาท เมื่ อ วันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2540 การทํ า หน า ที่ นั ก วิ ช าการของท า นไม ไ ด จํากัดขอบเขตเฉพาะการผลิตผลงานทางวิชาการ - 89 1/1/70 7:13:56 AM


คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

บทเรียนจากวิกฤตซับไพรม

เท า นั้ น แต ยั ง รวมถึ ง การนํ า ความรู ท างวิ ช าการ ของตนมาใช ใ ห เ กิ ด ประโยชน ต อ ประเทศชาติ บานเมืองดวยความซื่อสัตยและเสียสละ ดังเชน เมื่อทานรวมเปนกรรมการในคณะกรรมการสอบ ข อ เท็ จ จริ ง ความผิ ด ทางแพ ง กั บ อดี ต ผู บ ริ ห าร ธนาคารแหงประเทศไทยในการปกปองคาเงินบาท ท า นได ป ฏิ บั ติ ห น า ที่ ดั ง กล า วโดยยึ ด หลั ก ความ ถู ก ต อ งและหลั ก วิ ช าการทางด า นเศรษฐศาสตร ในการพิจารณาปญหาดังกลาวดวยความตรงไป ตรงมาและเปนกลาง โดยไมไดเอนเอียงไปทางฝาย การเมืองฝายหนึ่งฝายใดทั้งสิ้น นอกจากภาระหน า ที่ ก ารงานทางด า น วิ ช าการ การเรี ย นการสอน และการรั บ เป น ที่ ปรึ ก ษาวิ ท ยานิ พ นธ ใ ห กั บ นั ก ศึ ก ษาในระดั บ ปริญญาโทและปริญญาเอกจํานวนมากแลว รอง ศาสตราจารย ดร.สุ พ จน จุ น อนั น ตธรรม ยั ง ได ทุมเทเวลาของทานเพื่อชวยเหลืองานบริหารของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร อย า งเต็ ม ที่ แ ละสม่ ำ เสมอ ท า นได ป ฏิ บั ติ ห น า ที่ ในฐานะคณบดีคณะเศรษฐศาสตรครั้งแรกในชวงป พ.ศ. 2531 ถึง 2534 ซึ่งในชวงดังกลาว ทานได มุ ง มั่ น ปฏิ บั ติ ห น า ที่ ใ นตํ า แหน ง ดั ง กล า วอย า งดี เยี่ยม โดยยึดหลักธรรมาภิบาลและผลประโยชน - 90 <0E2D>.<0E2A><0E38><0E1E><0E08><0E19><0E4C>.indd 90-91

อันพึงไดของนักศึกษา คณาจารย และสังคมโดย รวมเป น สํ า คั ญ ท า นกลั บ มารั บ ตํ า แหน ง คณบดี ในชวงสั้นๆ อีกครั้งเมื่อป พ.ศ. 2543 ทานมีวิสัยทัศนกวางไกลเกี่ยวกับความ จําเปนและทิศทางการแขงขันเพื่อผลิตผลงานวิจัย เชิ ง วิ ช าการของหน ว ยงานและองค ก รต า งๆ ใน ประเทศ จึ ง ได ผ ลั ก ดั น และเป น ผู ร ว มก อ ตั้ ง ศู น ย บริการวิชาการเศรษฐศาสตร (ERTC) ของคณะ เศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เพื่อใช เปนฐานที่มั่นในการผลิตงานวิ จั ย และงานศึ ก ษา อบรมดานเศรษฐศาสตรที่มีคุณ ภาพใหกับหนวย งานภาครัฐและเอกชน กอนหนาที่มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตรจะจัดตั้งสถาบันวิจัยและใหคําปรึกษา แหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (TU-RAC) หลายป ท า นยั ง ดํ า รงตํ า แหน ง ผู อํ า นวยการศู น ย บริการวิชาการเศรษฐศาสตรคนแรกในระหวางป พ.ศ. 2536 ถึง 2537 ในชวงนั้น อาจารยสุพจน เล็งเห็นวาระบบอัตราแลกเปลี่ยนของประเทศไทย เริ่มเกิดปญหา ทานจึงไดริเริ่มเปดโครงการอบรม ความรู ท างเศรษฐศาสตร เ กี่ ย วกั บ เรื่ อ งอั ต รา แลกเปลี่ยนใหแกหนวยงานภาครัฐและเอกชนที่ สนใจ ซึ่งเปนชวงเวลากอนหนาที่ประเทศไทยจะ ประสบกับวิกฤตการณคาเงินบาท - 91 1/1/70 7:13:56 AM


คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

บทเรียนจากวิกฤตซับไพรม

ทานไดกลับมารับตําแหนงผูอํานวยการ ศูนยบริการวิชาการฯ อีกครั้งระหวางป พ.ศ. 2543 ถึง 2544 ในชวงนี้เอง ทานไดรับการยกยองจาก สภามหาวิทยาลัยใหเปนกีรตยาจารย สาขาสังคมศาสตร แหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ประจําป 2543 นับเปนกีรตยาจารยคนแรกของคณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หลั ง เกษี ย ณอายุ ร าชการ รองศาสตราจารย ดร.สุพจน จุนอนันตธรรม ไดรับเชิญใหดํารง ตํ า แหน ง ผู อํ า นวยการสถาบั น วิ จั ย สั ง คมและ เศรษฐกิจ (ISES) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย แม ว า ท า นจะมี ภ าระหน า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบทางดานการงานมากมาย รองศาสตราจารย ดร.สุ พ จน จุ น อนั น ตธรรม ก็ ยั ง ได ใ ห เ วลาแก ครอบครัวของทานอยางเต็มที่ ซึ่งเปนที่ประจักษ แกคณาจารยของคณะเศรษฐศาสตรตลอดมา เชน ในอดีตเมื่อครั้งลูกสาวคนเล็กเริ่มเขาเรียนในระดับ มัธยมศึกษา เรามักเห็นภาพของอาจารยสุพจน ไปรับลูกสาวซึ่งเรียนอยูที่โรงเรียนใกลๆ แลวยอน กลับมาที่คณะเพื่อทํางานที่คั่งคางของแตละวันจน แลวเสร็จ กอนที่จะกลับบานพรอมกัน ทานและ ภรรยาไดทุมเทเวลาในการอบรมเลี้ยงดูบุตรสาว ทั้ ง สองเป น อย า งดี จนทั้ ง คู สํ า เร็ จ การศึ ก ษาใน - 92 <0E2D>.<0E2A><0E38><0E1E><0E08><0E19><0E4C>.indd 92-93

ระดับปริญญาโท มีหนาที่การงานที่ดี และมีชีวิต ที่มีความสุข ดวยเกียรติประวัติทางดานความรูความ สามารถ การอุทิศตนทุมเททํางานอยางเสียสละ ซื่ อ สั ต ย สุ จ ริ ต มี คุ ณ ภาพ มี คุ ณ ธรรม และ เปยมดวยจิตวิญญาณแหงธรรมศาสตร ของรอง ศาสตราจารย ดร.สุพจน จุนอนันตธรรม อันมีสวน สําคัญในการเสริมสรางความเจริญกาวหนาของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร ควบคูไปกับการทําหนาที่ของนักวิชาการในการ ผลิ ต สร า งองค ค วามรู นํ า เสนอข อ เสนอแนะเชิ ง นโยบาย และวิพากษวิจารณการดําเนินนโยบาย เศรษฐกิจในระดับมหภาคและระหวางประเทศของ หนวยงานรัฐบาลอยางตรงไปตรงมา ภายใตหลัก วิชา เปนกลาง และมีความโดดเดนเปนที่ประจักษ สภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ในการประชุมครั้งที่ 4/2552 เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2552 จึงมีมติให รองศาสตราจารย ดร.สุพจน จุนอนันตธรรม เปนผู เหมาะสมที่จะไดรับพระราชทานปริญญาเศรษฐศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ประจําปการศึกษา 2551 จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เพื่อเปนการ เชิดชูคุณงามความดี ความรูความสามารถ และ เกียรติประวัติ ใหเปนที่ประจักษสืบไป - 93 1/1/70 7:13:56 AM


รายชื่อหนังสือในโครงการ “เศรษฐ’ธรรมศาสตร ตลาดวิชา” คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร รวมกับ สํานักพิมพ openbooks

1. ชุดเศรษฐ’ธรรมศาสตร คลาสสิก (ECON TU Classics Series) (1) 20 ป ปาฐกถาพิเศษ ปวย อึ๊งภากรณ (2550) หนังสือรวบรวมบทปาฐกถาพิเศษ ปวย อึ๊งภากรณ ครั้งที่ 1-10 (พ.ศ. 2530-2550) (2) 60 ป เศรษฐกิจไทย 60 ป เศรษฐศาสตร ธรรมศาสตร (2551) หนั ง สื อ รวบรวมบทความวิ ช าการ ชิ้ น สํ า คั ญ เรื่ อ งเศรษฐกิ จ ไทย โดย 14 อาจารย ค ณะ เศรษฐศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร เนื่ อ งในวาระ ครบรอบ 60 ปของคณะ (3) “...เศรษฐศาสตร จึ ง ต อ งเป น เศรษฐศาสตร การเมือง” (2552) หนังสือรวบรวมบทความเศรษฐศาสตร การเมืองของ ทวี หมื่นนิกร (4) เศรษฐธรรม (2553) รวมบทปาฐกถากีรตยาจารยแหงเศรษฐศาสตรธรรมศาสตร

<0E2D>.<0E2A><0E38><0E1E><0E08><0E19><0E4C>.indd 94-95

2. ชุดเศรษฐ’ธรรมศาสตร สัมมนา (ECON TU Seminar Series) (1) Crisis: วิกฤตเศรษฐกิจโลก วิกฤตเศรษฐกิจ ไทย (2552) (2) U.S. Crisis: วิกฤตเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา (2552) (3) วิพากษโลกเศรษฐศาสตร (2552) (4) Microfinance และการเงินชุมชน (2552) (5) บทเรียนจากวิกฤตซับไพรม (2553) 3. ชุดเศรษฐ’ธรรมศาสตร วิชาการ (ECON TU Academics Series) (1) เศรษฐศาสตร ก ารเมื อ งและสถาบั น สํ า นั ก ทาพระจันทร (2552) (2) Macrotrends: ภูมิทัศนเศรษฐกิจโลกใหมและ การปรับตัวของไทย (2552) (3) มองเศรษฐกิจ มุมเศรษฐศาสตร (2553)

1/1/70 7:13:57 AM


<0E2D>.<0E2A><0E38><0E1E><0E08><0E19><0E4C>.indd 96

1/1/70 7:13:57 AM



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.