www.buddhadasa.info
www.buddhadasa.info
www.buddhadasa.info
www.buddhadasa.info
www.buddhadasa.info
www.buddhadasa.info
www.buddhadasa.info
www.buddhadasa.info
www.buddhadasa.info
ปรมัตถสภาวธรรม
www.buddhadasa.info
ปรมัตถสภาวธรรม คําบรรยายธรรม ประจําวันเสาร ป พ.ศ.๒๕๑๖ ในสวนโมกขพลาราม ไชยา พ.ศ. ๒๕๑๖ ของ
พุทธทาสภิกขุ
www.buddhadasa.info จัดพิมพดวยทุนบริจาค ทาง “สวนอุศมมูลนิธิ” เปนอันดับสองแหงทุนนี้ เปนการพิมพครั้งแรก อันดับที่ ๑๔ ก บนพื้นแถบสีแดง ของหนังสือชุด ธรรมโฆษณ จํานวน ๑,๕๐๐ ฉบับ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๑๘ (ลิขสิทธิ์ไมสงวนสําหรับการพิมพแจกเปนธรรมทาน , สงวนเฉพาะการพิมพจําหนาย)
www.buddhadasa.info
www.buddhadasa.info
www.buddhadasa.info
คําปรารภ การสรางหนังสือชุดธรรมโฆษณ ขึ้นไวในพระพุทธศาสนา การจั ด พิ ม พ ห นั งสื อ ชุ ด ธรรมโฆษณ อั น ดั บ ที่ ๑๔ ก. บนพื้ น แถบสี แดง เล มนี้ มี ชื่ อว า ปรมั ตถสภาวธรรม. สวนอุ ศมมู ลนิ ธิ จั ดทํ าขึ้ นเป นอั นดั บที่ ๒. ต อจาก ธรรมปาฏิ โมกข โดยได รั บ ฉั น ทานุ มั ติ ข องท า นอาจารย “พุ ท ธทาสภิ ก ขุ ” ให ใช เงิ น บริ จ าคเป น ทุ น ของสามอุ บ าสิ ก า คื อ อุ บ าสิ ก า ประกอบ โปษยนั น ทน , ประดั บ โปษยนั นทน และอุ บาสิ กา ประยู ร เศวตเศรนี ร วมกั นถวายแด ท านอาจารย เพื่ อจั ด พิ ม พ คํ าบรรยาย “ชุ ดธรรมโฆษณ ” เรื่ องใดเรื่ องหนึ่ งตามประสงค ของท าน โดยขอตั้ ง ชื่อทุนนี้วา “ทุน ประกอบ – ประดับ - ประยูร” อุทิศสวนกุศลถึง พระพรหมปริญญา (โกย โปษยานันทน) กับ พระอโศกมนตรี (เรียม เศวตเศรณี) การดํ าเนิ นงานจั ดพิ มพ , แจกจ าย, หรื อจํ าหน าย, คงจั ดทํ าตามความมุ งหมาย และหลั กการปฏิ บั ติ ทุ กประการ ของธรรมทานมู ลนิ ธิ ทั้ งนี้ เพื่ อ ช วยแบ งเบางานของ ธรรมทานมู ลนิ ธิ และช วยรวบรวมคํ าบรรยายขององค บรรยายไว ให ครบถ วน สะดวกแก การคนควา และเผยแพรไปใหทันแกเวลา ที่มีอยูนอย สําหรับงานอันมีอยูเปนจํานวนมาก. หากท านผู ใดศรั ทธาจะบริ จาคเงิ นสมทบทุ น ร วมกั บ สวนอุ ศมมู ลนิ ธิ และ ธรรมทานมู ลนิ ธิ เพื่ อวัตถุ ประสงค ดั งกล าวมาแล วนั้ นอี ก ก็ ดี หรือหากมี เงินรายได พิ เศษ ใดๆ จากการรั บบริ จาค ก็ ดี , จากการจํ าหน ายหนั งสื อนี้ “ในราคาที่ เอากุ ศลเป นกํ าไร” บ า งก็ ดี , สวนอุ ศ มมู ล นิ ธิ จะได นํ า เงิ น นั้ น รวมสมทบทุ น ไว เพื่ อ จั ด พิ ม พ ห นั งสื อ ชุ ด นี้ ในอันดับอื่นอีกตอไป
www.buddhadasa.info สวนอุศมมูลนิธิ ๗๗ สุขุมวิท ซอย ๑๐๓ กรุงเทพ ฯ ๑๑.
สารบาญ ปรมัตถสภาวธรรม ๑.ขอควรทราบกอน เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวา “ธาตุ” ๒.ขอควรทราบกอน เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวา “ธาตุ” (ตอ) ๓.ธาตุเกี่ยวของกัน จนถึงความดับทุกข ๔.ความเนื่องกันระหวางกลุมธาตุ ๕.ลักษณะอาการที่ธาตุปรุงแตงสิ่งทั้งปวง ๖.หลักปฏิบัติเกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวา “ธาตุ” ๗.พระอรหันต กับสิ่งที่เรียกวา ธาตุ-อายตนะ-ขันธ ๘.ธาตุที่อยูในรูปอายตนะ ๙.ความสําคัญของการสัมผัสทางอายตนะ ๑๐.อายตนสัมผัส ใหเกิดสิ่งที่เรียกวา ขันธ ๑๑.อาการที่เกิดไดและเกิดไมไดแหงปญจุปาทานักขันธ โดยวิธีปหงปฏิจจสมุปบาท ๑๒.ภาวะพื้นฐาน ของสิ่งที่เรียกวา “คน” ๑๓.ประโยชนแหงการเขาถึง ปรมัตถสภาวธรรม พระบาลีปรมัตถสภาวธรรม บทสวดมนตแปล ธาตุปจจเวกขณปาฐะ
หนา ” ” ” ” ” ” ” ” ”
๔๑ ๖๗ ๑๐๑ ๑๓๓ ๑๖๓ ๑๙๗ ๒๒๙ ๒๖๓ ๒๙๗
” ” ” ” ”
๓๒๙ ๓๖๑ ๓๘๙ ๔๓๕ ๔๕๕
www.buddhadasa.info
โปรดดูสารบาญละเอียดในหนาตอไป [๑]
สารบาญละเอียด ปรมัตถสภาวธรรม -----------------------
๑.ขอควรทราบกอน เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวา ธาตุ การบรรยายธรรมะนี้ เปนงานประจําวันเสารแรกของป ๒๕๑๖ …. …. ๑ เหตุผลที่บรรยายเพราะ ขอ ๑.ใครทําใหธรรมะเปนเครื่องชวยตานทานมิคสัญญี ๒ ขอ ๒.ปรับปรุงสมรรถภาพของพุทธบริษัททั้งปริยัติ ทั้งปฏิบัติ …. …. …. ๓ ขอ ๓.ปริยัติธรรมยังไมเพียงพอในความละเอียด,ตองชวยเผยแผ …. …. ๓ ขอ ๔.พุทธบริษัทตองทําการเผยแผธรรมะ เปนงานประจํา …. …. …. ๔ ขอ ๕.ปริยัติธรรมเปนรากแกว จึงจําเปนตองมีปริยัติอันถูกตอง …. …. ๔ เลือกพูดเรื่องธาตุกอน เพราะธาตุเปนทุกสิ่ง ทั้งในและนอกกาย …. …. ๕ “ธาตุ” เปนปจจัยในขั้นรากฐานของทุกสิ่ง มนุษยควรรูจัก …. …. …. ๖ ศึกษาเรื่องธาตุใหเขาใจ แลวจะเห็นจริงในเรื่องอนัตตา, สุญญตา …. …. ๗ พูดอยางสั้นมีธาตุ : สัพพสังขาร กับอมต หรือรูป, อรูป, นิโรธเทานั้น …. ๘ การคบหาก็คบกันตามธาตุ : เลวกับเลว, ดีกับดี …. …. …. …. …. ๙ ในบาลีแบงธาตุอีกอยางเปน หีนะ มัชฌิม ปณีต-เลว กลาง ประณีต ก็มี ๑๐ มนุษย สัตว เทวดา แมจะเลือกคู ก็เลือกกันตามธาตุที่ถูกกัน …. …. ๑๑ สิ่งที่เรียกวาธาตุ นี้เปนเรื่องสําคัญ ที่ควรจะตองศึกษา …. …. …. …. ๑๒ ธาตุ แปลวาทรงไว : ทรงอยูไดไมสลายไป, มีลักษณะกําหนดได …. …. ๑๓ ธาตุ มาจาราชาศัพท ธ-ร คือทรงตัวเอง, ทรงสิ่งอื่น, ถูกสิ่งอื่นทรง …. …. ๑๔ คําวา “ธรรม” นี้ก็มาจาก ธ-า-ตุ คือสิ่งที่ทรงผูปฏิบัติไว …. …. …. …. ๑๕
www.buddhadasa.info
[๒]
[๓] ธาตุ ในภาษาอังกฤษ ภาษาละติน ก็มีความหมายตรงกันวา “ทรงอยู” …. ๑๖ ธาตุ ในภาษาทางวัตถุ เขาเล็งถึงตัวธาตุ ที่เปนวัตถุโดยตรง …. …. …. ๑๗ ในพุทธศาสนาตองการพูดถึงธาตุทางนามธรรม คือ คุณสมบัติของวัตถุ ๑๘ วัตถุธาตุทุกชนิดมีคุณสมบัติที่ทรงไวในตัวมัน …. …. …. …. …. ๑๙ ในสวนตาง ๆ ของรางกายมี ธาตุดิน น้ํา ไฟ ลม ผสมกันอยูตามมากนอย ๒๐ ธาตุที่เปนตัวเองโดยเด็ดขาด เรียกวา อสังขตะ, ที่อาศัยกันเรียก สังขตะ ๒๑ พึงศึกษาใหเขาใจวา ธาตุคืออะไร มาจากอะไร เปนสังขตะ หรืออสังขตะ ๒๒ ธาตุมีเพื่อประโยชนอะไร ก็เพื่อมนุษยจะตองชนะใหได จึงตองศึกษามัน ๒๓ จะเอาชนะได โดยมีสัมมาทิฏฐิ : อยาไปยึดมั่นถือมั่นจนตกเปนทาสของธาตุ ๒๔ ดูใหดีใหรูวา ธาตุขางนอกกระทบกับขางใน เกิดธาตุที่ ๓ มีอวิชชาดวยก็เปนทุกข ๒๕ ธาตุแทๆ เปนคุณคาอยางใดอยางหนึ่งที่แสดงออกมาจากทางวัตถุนั้น ๒๖ พวกนามธาตุมีจิตเปนที่แสดงออก, นิพพานธาตุแสดงออกทางธัมมารมณ ๒๗ ธาตุแบงเปนกลุมได ๓ : รูป อรูป นิโรธ …. …. …. …. …. …. ๒๘ ธาตุฝายสังขตะจะปรากฏตอเมื่อมีเหตุ ปจจัย และโอกาสปรุงแตง …. ๒๙ รูป หรือ อรูปธาตุปรากฏ ตองมีปจจัย โอกาส และการปรุงแตง …. …. ๓๐ เมื่อสิ้นโลภะ โทสะ โมหะ แลว อสังขตธาตุจะปรากฏ …. …. …. …. ๓๑ ทุกสิ่งเปนธาตุ จะแสดงคุณคาออกมา เมื่อถึงโอกาสไดปจจัยและปรุงแตง ๓๒ คนยุคปจจุบันรูแตเรื่องวัตถุธาตุ ไมรูจักธาตุทางนามธรรม …. …. …. ….๓๓ พุทธบริษัทควรตองรูจักทั้งวัตถุธาตุ รูปธาตุ อรูป และนิโรธธาตุ …. …. ๓๔ ธาตุมิใชมีเพียงวัตถุ ยังมีธาตุ มโน วิญญาณ จิต นําสุข ทุกขมาใหอีก …. ๓๕ พุทธบริษัทจะตองศึกษาเรื่องธาตุใหละเอียดทั้งวัตถุธาตุ และนามธาตุ …. ๓๖ ดูธาตุใหรูจัก แมมีที่เสนผมวามีธาตุอะไร เพื่อเกิดความไมยึดมั่นฯ …. ๓๗ คน กับ ธาตุ เปนอยางเดียวกัน มีสวนประกอบตางๆ เชนเดียวกับรถยนต ๓๘ รูหลักทั่วๆ ไปเกี่ยวกับ “ธาตุ” ไวกอน เมื่อฟงตอไปจะเขาใจไดงาย …. …. ๓๙
www.buddhadasa.info
[๔]
๒.ขอควรทราบกอน เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวา “ธาตุ” (ตอ) ขอใหทานทําความเขาใจเกี่ยวกับธาตุโดยทั่วๆ ไปกอน …. …. …. ๔๑ ทุกสิ่งเปนธาตุ และ “ธาตุ” ไมใชตัวตน มีคําสอนดังเรื่องธาตุปจจเวกขณ ๔๒ ทุกสิ่งเปนสักวา ธาตุ หรือ ธรรมชาติ หรือเปนธรรมลวนๆ ไมใชสัตว บุคคล ๔๓ แตละธาตุยังประกอบดวยธาตุอื่นอีก, ถาไปยึดมั่นเปนตัวตน ก็มีความทุกข ๔๔ คนประกอกดวยธาตุ ๕ : รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ …. …. ๔๕ รูปธาตุประกอบดวย ธาตุ ดิน น้ํา ลม ไป เปนพื้นฐานที่จะเปนขันธตอไป ๔๖ ธาตุทั้ง ๕ จะทําหนาที่เปนขันธ ตอเมื่อสัมผัสกับสิ่งภายนอก …. …. ๔๗ พอธาตุขางในกระทบกับขางนอก วิญญาณธาตุทําหนาที่ ธาตุ ๕ ก็เปนขันธ ๕ ขึ้น๔๘ เมื่อธาตุทําหนาที่เปนขันธยังไมทุกข ตอมีอวิชชาเขาผสมปรุงเปนอุปาทานจึงทุกข๔๙ เรื่องดับทุกขจะตองรูจักธาตุทั้ง ๕ และสําเหนียกไววา ทุกสิ่งสักวาเปนธาตุ ๕๐ พึงพิจารณาทุกสิ่งสักวาธาตุตามบทสวดมนต “ธาตุปจจเวกขณปาฐะ” ๕๑ พิจารณาใหเห็นคุณลักษณะของธาตุ ๔ มีอยูในรูปธาตุ …. …. …. ๕๒ รูปธาตุ กับ นามธาตุ พบกันจะปรุงแตงเปนธาตุอื่นๆ อีก …. …. …. ๕๓ ปญหาเกี่ยวกับความทุกขจะมีแกคนมีชีวิต มีธาตุรูสึกคิดนึกได …. …. ๕๔ ความสัมพันธของธาตุมาปรุงแตงกันตองมีแนนอน “คน” จึงเกิดขึ้น …. ๕๕ ถาไมรูจักโทษของอวิชชาธาตุ เผลอสติ อวิชชาผสม เปนอกุศล ก็เปนทุกข ๕๖ ถาเผลอขาดสติประมาท อวิชชาก็เขาผสมทันที …. …. …. …. …. ๕๗ เราควบคุมกิเลสไมได ก็เพราะไมรูจักธาตุหมดทุกธาตุ …. …. …. ๕๘ ธาตุมีชื่อเรียกตางๆ กันทั้งฝายสังขตะและอสังขตะ แยกออกไปเปนอันมาก ๕๙ การผสมระหวางธาตุ ฝายวัตถุก็ยังยักยายเปลี่ยนไปไดมาก …. …. …. ๖๐ ธาตุปรุงแตงทั้งหลายมีการเกิดขึ้น-ตั้งอยู-ดับไป ไหลเวียนอยูเสมอ …. ๖๑ การเกิดขึ้น-ตั้งอยูแหงธาตุนั้น ก็คือ เกิดขึ้น-ตั้งอยูแหงทุกข …. …. …. ๖๒
www.buddhadasa.info
[๕] “เกิดขึ้น” หมายถึงเกิดทางนามธรรม ไมใชเกิดทางวัตถุ …. …. …. ภาษาธาตุ มีการเกิด-ดับ หรือตายอยูวันละหลายๆ หน, ขณะดับเปนนิโรธธาตุ ถาพบกันกับนิโรธธาตุจะหยุดการปรุงแตง กรณีนั้น ๆ ก็ดับขณะนั้น …. ใหรูสึกวาเปนสักวาธาตุ จะเปนอานิสงสใหถึงนิโรธธาตุ ทุกขดับได ….
๖๓ ๖๔ ๖๕ ๖๖
๓.ธาตุเกี่ยวของกัน จนถึงความดับทุกข เรื่องธาตุเปนรากฐานของทุกเรื่อง แตไมใครเขาใจจึงไมสนใจ …. …. …. การปฏิบัติตามมรรคมีองค ๘ ก็ควรตองศึกษาลึกถึงรากฐานคือเรื่องธาตุ ความทุกขเกิดขึ้นไดเพราะยึดมั่นในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งไมรูวาเปนเพียงธาตุ เรียนพุทธศาสนาก็ใหรูวา ทุกอยางสักวาเปนธาตุ จะไดไมยึด ไมทุกข …. คนประกอบอยูดวยธาตุ ๖ เปนพื้นฐาน สัมพันธกันปรุงเปนนั่นเปนนี่ …. ทุกธาตุอาศัยกันและกันเปนฐานที่ตั้ง มีธาตุที่สําคัญคือ วิญญาณธาตุ …. ธาตุทั้งหมดมีการปรุงแตงเรียกสังขตะ, ที่ไมมีการปรุงแตงเรียกอสังขตะ ประเภทสังขตะแบงได ๒ พวก: ดิน น้ํา ลม ไฟ เปนรูป, เวทนา-วิญญาณเปนอรูป รูปธาตุแยกไดเปนคูๆเชน ตา-รูป,หู-เสียง,จมูก-กลิ่น,ลิ้น-รส,กาย-สัมผัส …. แตละธาตุที่กายมีประสาทใหเกิดความรูสึก แลวทําตามหนาที่ของมัน …. ตัวอยาง จักขุกับกับรูปธาตุทําหนาที่กระทบกัน เปนจักขุ กับรูปอายตนะขึ้น อายตนะคูหนึ่งทําหนาที่แลว จะเกิดวิญญาณธาตุ, ๓ อยางนี้พบกันเรียกผัสสะ ผัสสะเกิดทําใหเวทนาธาตุที่มีอยูกลายเปนเวทนา สัญญา สังขารขันธ ความคิดนึกเกิดเปนสาย นับแตมี สัญญา-สัญญเจตนา-ตัณหา-วิตก-วิจาร ขันธ ๕ พอมีอวิชชาธาตุปรุงกลายเปนอุปาทานขันธ แลวมีทุกข …. …. ธาตุทั้งปวงปรุงแตงกันทําใหเกิดทุกข, วิญญาณชวยทําหนาที่หลายตอน ธาตุฝายสังขตะจะปรุงแตงเรื่อย จะดับตอเมื่อพบนิโรธธาตุ …. ….
๖๗ ๖๘ ๖๙ ๗๐ ๗๑ ๗๒ ๗๓ ๗๔ ๗๕ ๗๖ ๗๗ ๗๘ ๗๙ ๘๐ ๘๑ ๘๒ ๘๓
www.buddhadasa.info
[๖] ทางที่จะใหนิโรธธาตุมาดับทุกข ตองเจริญภาวนาใหเกิดปญญา …. …. ๘๔ นิโรธธาตุเมื่อถึงขั้นสูงสุดเรียกวานิพพานธาตุ เกิดไดดวยเจริญวิปสสนา …. ๘๕ ตองรูสึกอยูเสมอวา “ไมมีอะไรที่ไมใชธาตุ” ทั้งเห็นดวยตา และไมเห็น …. ๘๖ ทุกธาตุมีอยูตามธรรมชาติ จะแสดงตัวเมื่อไดปจจัยปรุงแตง …. …. ๘๗ ความทุกขก็เปนธาตุเพราะเปนเวทนา ซึ่งเปนธาตุอยางใดอยางหนึ่ง …. ๘๘ ความทุกขเกิดขึ้นเปนเวทนาธาตุ เมื่อดับลงเปนนิโรธธาตุ หรือนิพพานธาตุ ๘๙ ทุกธาตุจะเกิดขึ้นในเมื่อไดทําหนาที่ของธาตุนั้นๆ …. …. …. …. ๙๐ ธาตุในและนอกกับวิญญาณพบกันทําใหมี ๑๘ ธาตุ อยูเปนประจําชีวิต ๙๑ สัญญาเปนความจําหมาย พอสําคัญวาเปนอะไร นี่เปนสัญญาขันธ …. ๙๒ “ความสําคัญ” นี้เปนตัวการใหเกิด สุภสัญญา-อัตตสัญญา-สําคัญวาเปน ฯลฯ ๙๓ สัญญาของคนจะผิดอยูมากคือ เห็นตรงกันขามกับที่เปนจริง เปนสัญญาวิปลาส ๙๔ คนธรรมดายึดมั่นมาก จึงมีทุกขมาก ถามีแตสติปญญาจะไมทุกข …. ๙๕ ยิ่งเรียนมากยิ่งหันหลังใหศาสนา ไมเห็นวาทุกอยางสักวาเปนธาตุจึงมีทุกข ๙๖ ธาตุตามธรรมชาติเปนไปตามเหตุตามปจจัยอยูเนืองนิจ …. …. …. ๙๗ ธาตุที่ปรุงผิดทาง อวิชชาแทรก จะทําใหเกิดวัฏฏสงสาร …. …. …. ๙๘ ใหรูจักธาตุทั้งหลายแลวควบคุมใหอยูในทางไมทุกข ทุกขจะดับได …. ๙๙ จําเปนหลักไววา ธาตุปรุงแตงไปมาก ไปยึดมั่นเขาจะเปนตัวทุกข …. ๑๐๐
www.buddhadasa.info ๔.ความเนื่องกันระหวางกลุมธาตุ รูเรื่องธาตุมุงหมายใหไมยึดมั่นถือมั่นสิ่งใดเปนตัวตน-ของตน …. …. ใหมีสติสัมปชัญญะ รูสึกตัวอยูทุกเวลาวา “ไมมีอะไรที่ไมเรียกวาธาตุ” มีความฉลาดรูใ นธาตุ และทําในใจใหแยบคาย นี้จะเปนการตั้งอยูแหงพุทธศาสนา พระพุทธเจาตรัสยืนยัน ที่เปนสัมพุทธะ เพราะรูเรื่องธาตุดวย …. ….
๑๐๑ ๑๐๒ ๑๐๓ ๑๐๔
[๗] ถาเขาใจเรื่องธาตุไมถูกตรง ทําใหยึดมั่น ฯ ไมชวยใหเกิดความสงบ …. ๑๐๕ “เปนสักวาธาตุ” ถาเขาใจผิดจะเปนมิจฉาทิฏฐิ ทําอะไรตามกิเลส …. ๑๐๖ “ธาตุเทานั้น” ถาเขาใจผิดจะเปนอันตรายขนาดไมรับผิดชอบใด ๆ ก็ได ๑๐๗ ที่พูดเรื่อง “ธาตุเทานั้น” มุงหมายไมใหยึด ฯ เพื่อไมเกิดกิเลส …. …. ๑๐๘ รูเรื่องธาตุใหถูกตองวา ประกอบเปนนรก-สวรรคก็ได ในจิตใจ …. …. ๑๐๙ เรื่องขางในใจนั้นตั้งตนจากขางนอก แลวเกิดวิญญาณ ฯลฯ สังขาร ไมมีดีเลย ๑๑๐ การปรุงแตงของธาตุ สรางนรกหรือสวรรคขึ้นในจิตใจเอง …. …. ๑๑๑ เดือดรอนเปนนรก, พอใจเปนสวรรค ไปรวมอยูที่เวทนาธาตุ …. …. ๑๑๒ การเห็นรูปดวยตาบางทีสุข บางทีทุกข ซึ่งลวนมีธาตุตาง ๆ ผสมกันมาก ๑๑๓ ตากับรูปกับวิญญาณธาตุ ทําใหเกิดผัสสะ ซึ่งเปนสวนหนึ่งของเวทนาธาตุ ๑๑๔ ผัสสะที่เนื่องกับวิญญาณธาตุเปนสังขารธาตุ, อีกสวนหนึ่งเปนเวทนาธาตุ ๑๑๕ ในขณะแหงผัสสะ ถาวิชชา หรืออวิชชาเขาผสม ผัสสะก็เปนไปตามที่ผสม ๑๑๖ เวทนาเปนธาตุหนึ่ง ยังไมแสดงตัวจนกวาจะมีสัมผัสระหวางธาตุนอกในกับวิญญาณ๑๑๗ เวทนาเกิดแลว เกิด “ความสําคัญวา” ธาตุ สัญญาจึงปรากฏ …. …. ๑๑๘ ในขณะแหงสังขารธาตุเกิด, ผสมอวิชชา จะเกิดธาตุกุศล อกุศลก็ได ๑๑๙ อกุศลธาตุก็แจกออกเปนธาตุ กาม พยาบาท วิหิงสา …. …. …. ๑๒๐ กามธาตุสงใหเกิด กามสัญญา ฯลฯ-กามปริฬาหะ, รอนเปนนรก …. ๑๒๑ พยาบาท และวิหิงสา เปนอกุศลทําใหเปน นรก เปรต เดรัจฉาน อสุรกาย ๑๒๒ ฝายกุศลธาตุ ตรงกันขามกับอกุศล มีผลเปนสวรรค …. …. …. ๑๒๓ ถารูจักผสมธาตุใหถูกตอง จะไดสวรรคที่นี่และเดี๋ยวนี้ …. …. …. ๑๒๔ เมื่อเกิดความยึดถือแลวตองเปนทุกข เพราะมีอวิชชาทําใหยึดมั่น …. ๑๒๕ ฉลาด โง มืด บอด ไมงาม ก็เปนธาตุที่เนื่องอยูกับรูป …. …. …. ๑๒๖ ธัมมารมณ-รูสึกดวยใจยังแยกเปนธาตุเวทนา สัญญา หรือเปนขันธ …. ๑๒๗
www.buddhadasa.info
[๘] สังขารธาตุ หรือสังขารขันธ อยูในฐานะเปนธรรมธาตุ ใหเกิดมโนวิญญาณ เอาภาวะของรูป หรืออสังขตธาตุมาเปนอารมณของมโน ก็ได …. …. ธาตุมีอยูทั้งในฐานะเปนเหตุและเปนผล สับเปลี่ยนกันก็มี …. …. การรูจักธาตุ ก็เพื่อใหเห็นสุญญตา-ความไมมีตัวตน …. …. …. ถาเห็น “ธาตุเทานั้น” อยางถูกตองแลว จะไมยึดมั่นจนเกิดกิเลส ….
๑๒๘ ๑๒๙ ๑๓๐ ๑๓๑ ๑๓๒
๕.ลักษณะอาการที่ธาตุปรุงแตงสิ่งทั้งปวง ใหอดทนศึกษาเรื่องธาตุ เพราะเปนรากฐานของทุกอยาง …. …. พิจารณาใหเห็นวา ธาตุเปนสวนยอยๆ ที่ประกอบกันเปนสิ่งใดๆ …. ความปรากฏของธาตุนี่แหละคือความเกิดขึ้นแหงทุกข …. …. …. ธาตุ ทุกข ปรากฏแลว ก็มีความตั้งอยูแหงโรค คือทุกข …. …. …. ธาตุปรุงแตงเปนสัตว บุคคล จนเกิดความรูสึกทุกข นี้ควรศึกษาใหรูไว ธาตุในตัวคนที่ปรุงแตงไมหยุด นี้พึงศึกษาใหรูจัก …. …. …. นามธาตุ ที่เปนธาตุแกงวงนอนได ก็มี เชน อารัมภธาตุ …. …. ธาตุแกงวงนอน กําจัดถีนมิทธะได มีอยูในอีงคุตตรนิกาย …. …. สังขตธาตุปรุงแตงกันเรื่อย แตอสังขตธาตุ ไมปรุงและหยุดปรุง …. …. ธาตุหมวดเกี่ยวกับตา-ใจ ๖ หมวดๆ ละ ๓ ธาตุ มี ๑๘ ธาตุ …. …. กิริยาของธาตุปรุงแตงเปนไปตามหลักของปฏิจจสมุปบาท …. …. การสัมผัส เวทนา ตัณหา หรือขันธ ๕ ลวน เปนธาตุ จับกลุมเปนอุปาทานขันธ เมื่อจิตถูกปรุงแตงอยูดวยกามธาตุ เรียกวาอยูในกามภพ …. …. การปรุงแตงจากรูปธาตุสัมพันธกันอยางยอ ๆ สืบไป ๖ ระยะ …. …. ถาปรุงอยางละเอียด จะเคลื่อนไหวไปถึง ๙ ระยะ …. …. …. จากรูปเปนสัญญา-ครุนคิด-สัมผัส-เวทนา-พอใจ-เรารอน-แสวงหา-ไดผล
๑๓๓ ๑๓๔ ๑๓๕ ๑๓๖ ๑๓๗ ๑๓๘ ๑๓๙ ๑๔๐ ๑๔๑ ๑๔๒ ๑๔๓ ๑๔๔ ๑๔๕ ๑๔๖ ๑๔๗ ๑๔๘
www.buddhadasa.info
[๙] พิจารณาอีกวิธีหนึ่ง ธาตุที่สัมพันธกันอยูจะมี กามธาตุ รูปธาตุ อรูปธาตุ คนธรรมดาบางเวลาก็เกี่ยวกับกามธาตุ หรือรูปธาตุ อรูปธาตุบาง …. กามธาตุมีอยูทั่วไป เมื่อโอกาสมีก็แสดงตัวในจิตของมนุษย …. …. การแสดงตัวของกามธาตุ ก็มีอาการปรุงทํานองเดียวกับรูปธาตุ …. ครั้นไดกามลาภะก็เปนเหตุใหไดอื่นเปน : ตัณหา-อุปทาน-กามภพ …. ธาตุตามธรรมชาติถูกเอามากระทําใหไดเปนวัตถุของสัญญา จึงมีความหมาย กามธาตุใหผลเปนกามภพ รูปภพ อรูปภพ ก็ได …. …. …. …. มนุษยทุกระดับจิตใจมีธาตุที่มุงจะไดกามธาตุเปนอารมณทั้งนั้น …. มนุษย เทวดา มารก็ตองการกามธาตุมาปรุงแตงบริโภคกาม …. …. ถาเปนพรหมไมชอบกาม ไปเอารูปธาตุ อรูปธาตุมาปรุงภพก็ได …. …. ทั้งกามภพ รูปภพ อรูปภพ ลวนยังเปนอุปธิ แบกไวเพื่อทุกข …. …. คน เปนกลุมของธาตุ ๖ พอมีอวิชชาก็ไปทําสิ่งที่ไมนาทํา …. …. การศึกษาตัวพุทธศาสนาไมใชทองจํา ตองรูจักการปรุงแตงของธาตุ …. ใหพยายามมีความฉลาดในธาตุ, ฉลาดทําในใจเกี่ยวกับธาตุ จะไมผิดทาง
๑๔๙ ๑๕๐ ๑๕๑ ๑๕๒ ๑๕๓ ๑๕๔ ๑๕๕ ๑๕๖ ๑๕๗ ๑๕๘ ๑๕๙ ๑๖๐ ๑๖๑ ๑๖๒
www.buddhadasa.info ๖.หลักปฏิบัติเกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวา “ธาตุ”
ที่บรรยายมาแลว ตองการใหรูจักวา ธาตุคืออะไร ปรุงแตงกันอยางไร ครั้งนี้ใหรูจักหลักปฏิบัติเกี่ยวกับธาตุใหถูกตอง …. …. …. พุทธบริษัทควรจะรูจักปรมัตถสภาวธรรมตามสมควร …. …. ปรมัตถสภาวะมีอยูในทุกสิ่งทั้งวัตถุ กาย จิต …. …. …. แมกฎเกณฑตัวธรรมชาติ ก็เปนปรมัตถ เรียกวา ธรรมธาตุ …. รางกายประกอบดวยธาตุ ๔ หรือ ๖ ก็มีคุณสมบัติเปนปรมัตถ …. ตองรูจักคุณลักษณะของของแตละธาตุ เชน อาโป มีลักษณะเกาะกุม
…. …. …. …. …. …. ….
๑๖๓ ๑๖๔ ๑๖๕ ๑๖๖ ๑๖๗ ๑๖๘ ๑๖๙
[๑๐] วาโยธาตุ ระเหย เคลื่อนที่ได, อากาสธาตุ ทําใหมีที่วาง …. …. …. ตองรูจักธาตุที่ประกอบขึ้นมาเปนคนๆ หนึ่ง เพื่อแกปญหาเรื่องทุกข …. เพราะจะแกปญหาเรื่องทุกข จึงจําเปนตองรูวาธาตุคืออะไร …. …. ตองรูจักธาตุเทาที่จําเปนตองรูคือฝายกระทํา กับถูกกระทํา …. …. ฝายกระทําเปนฝายแรกที่ไปสัมผัสกับธาตุฝายตรงกันขาม …. …. ธาตุไหนก็ตามปรุงแตงแลว มีอวิชชา ตัณหา อุปทาน ก็ไปสูทุกขทั้งนั้น นอกจากนิพพานธาตุแลว ทุกธาตุเปนที่ตั้งแหงความยึดมั่น …. …. เมื่อเปนเรื่องยึดมั่นถือมั่นแลว จะตองเปนทุกขทั้งนั้น …. …. …. การปฏิบัติเกี่ยวกับธาตุ ตองไมยึดมั่นในธาตุนั้นๆ …. …. …. ตองมองลงไปใหเห็นชัดวาเปนอยางไรจึงยึดมั่นไมได …. …. …. จงมองใหเห็นความจริงวา ทุกสิ่งเปนสักวาธาตุไปหมด …. …. …. เมื่อใดเขาไปยึดถือในธาตุใดแลว ก็เทากับธาตุนั้นเกิดขึ้นแลว …. …. ระยะแรกตองรูจักละกามธาตุวามันเผาลน ผูกพัน ครอบงําอยางไร …. ระยะตอมาไปพอใจในรูปธาตุตางๆ ซึ่งก็เปนที่ตั้งแหงทุกข …. …. พนเรื่องรูปธาตุไปติดอรูปธาตุ หนักเขา ก็ดับไมเหลือ ไมได …. …. ถารอบรูธาตุกาม รูป อรูป แลว นิโรธธาตุจะแสดงตัวเอง …. …. …. ตองถอนจิตออกมาเสียจากธาตุปรุงแตง นอมจิตไปยังอมตธาตุ …. บรรดาอุปธิคือของหนัก ตองสลัดปลอยไป …. …. …. …. …. แมบุญ กุศล ความดี ตองรูจักในลักษณะที่ไมกลายเปนอุปธิ …. …. ถอยจากความไมยึดถือ แลวหันไปหาธาตุที่ดับความยึดถือ …. …. ทําอานาปานสติโดยกําหนดวา “เปนธาตุตามธรรมชาติ” ไมใชเรา-ของเรา เมื่ออยูตามธรรมดา ก็ทําความรูสึกใหจิตใจเปนเหมือนธาตุทั้ง ๖ …. ผูปฏิบัติถูกตองยอมมองเห็นความไมมีสาระของทุกภาวะตลอดจนธาตุ พิจารณาจนเห็นอนัตตา แลวสลัดคืนได, สิ้นความยึดมั่นถือมั่น …. ….
๑๗๐ ๑๗๑ ๑๗๒ ๑๗๓ ๑๗๔ ๑๗๕ ๑๗๖ ๑๗๗ ๑๗๘ ๑๗๙ ๑๘๐ ๑๘๑ ๑๘๒ ๑๘๓ ๑๘๔ ๑๘๕ ๑๘๖ ๑๘๗ ๑๘๘ ๑๘๙ ๑๙๐ ๑๙๑ ๑๙๒ ๑๙๓
www.buddhadasa.info
[๑๑] “สลัดคืน” คือคืนใหธรรมชาติ อันเปนเจาของเดิม …. …. …. ๑๙๔ เมื่อเห็นอยูรูอยู จิตก็พนอาสวะ เพราะไมยึดมั่นธาตุ …. …. …. ๑๙๕ สรุปวาตองดูความเปนธาตุ วาเปนไปตามปจจัย ไมใชสัตวบุคคล …. ๑๙๖
๗.พระอรหันต กับ สิ่งที่เรียกวา ธาตุ-อายตนะ-ขันธ การบรรยายวันนี้พองวันมาฆบูชา จึงพูดเนื่องกันกับวันนี้ …. …. ใหสังเกตวา เรายึดมั่นถือมั่นตอเมื่อเราโง มิใชยึดตลอดเวลา …. …. ถายึดมั่นขึ้นทีไร ก็เปนทุกข เหมือนตกนรกทั้งเปน …. …. …. ถาไมยึดมั่นก็ไมมีความทุกขเลย นี้เปนกฎธรรมดา …. …. …. ทําการงานใดๆ ใหทําตามหนาที่ ทําดวยสติปญญา ไมยึดมั่นก็ไมทุกข เราชินกันแตจะยึดมั่น เพราะอบรมแวดลอมอยางเปนตัวตน - ของตน ความยึดมั่นในธาตุทําใหจิตรูสึกเปนนรก หรือสวรรคก็ได …. …. การบรรยายวันนี้จะดูธาตุเกี่ยวกับพระอรหันต …. …. …. …. พระอรหันตทั้งหลายทานรอบรูในสังขตธาตุ วาเปนสักวาธาตุ …. ทานมีสติตลอดกาลตอธาตุในระดับที่เปนอายตนะ …. …. …. ทานไมมีความยึดมั่น, ไมมีอวิชชา, มีแตทุกขตามธรรมชาติ …. …. คนธรรมดาจะเจ็บปวย ๒ ชั้นทั้งกายใจ, ผูสิ้นอาสวะเจ็บชั้นเดียว …. พระอรหันตมีแตทุกขกาย และไมมีความยึดมั่นในทุกขนั้น …. …. แมอสังขตธาตุ-ไมมีปจจัยปรุงแตง พระอรหันตก็มิไดยึดมั่น …. …. ธาตุที่ทําใหเปนพระอรหันตนัยที่ ๑. อรหันต วิมุตติ, หรือนิสสรณะ …. นัยที่ ๒. เรียกนิจจธาตุ อิสสรธาตุ หรือ อมุสาธาตุ …. …. …. นัยที่ ๓. เรียกนิพพานธาตุ นิโรธธาตุ สันติธาตุ เขมธาตุ ทีปธาตุ …. นัยที่ ๔. ชื่อ สุญญตา อมต อนันต โลกุตตร ปฏินิสสัคค อนุตตร ….
๑๙๗ ๑๙๘ ๑๙๙ ๒๐๐ ๒๐๑ ๒๐๒ ๒๐๓ ๒๐๔ ๒๐๕ ๒๐๖ ๒๐๗ ๒๐๘ ๒๐๙ ๒๑๐ ๒๑๑ ๒๑๒ ๒๑๓ ๒๑๔
www.buddhadasa.info
[๑๒] พระอรหันตไมมีอุปาทาน เพราสิ้นอาสวะแลว …. …. …. …. บุญ บาป สุข ทุกข ฯลฯ ไมเปนที่ตั้งแหงความยึดมั่นแกพระอรหันต …. พระอรหันตไมมีอวิชชา จึงอยูเหนือสุข เหนือทุกข …. …. …. สภาวธรรมของพระอรหันต กลาวไดเพียงเปนคําสมมติมีหลายคํา …. ภาวะของความเปนพระอรหันตมีคําเดียววา “วาง” หรือพูดวาอะไรไมได การจะสอนเรื่องความเปนอรหันตก็ไดแตบอกวิธีประพฤติปฏิบัติ …. อุปมาเหมือนเสียงของมือที่ตบขางเดียว เพราะเปนเสียงสงบ …. อยากรูภาวะของพระอรหันตตองหัดคิดอยาง “ตบมือขางเดียว” …. การพูดเรื่องปรมัตถสภาวธรรม นี้มุงจะใหรูเรื่องที่ลึกเห็นยาก …. …. รูเรื่องธาตุ ก็คือที่ตัวตน และสิ่งแวดลอมซึ่งประกอบดวยอวิชชา …. มองเห็นโดยความเปนธาตุ เพื่อถึงความวาง และไมเปนทุกข …. …. ขอใหมีความรูในธาตุทั้งปวง และมีสติเกี่ยวของกับธาตุ …. …. ไมมีอะไรเหนือความสามารถของผูตั้งใจจริง, นิพพานก็ไมเหลือวิสัย
๒๑๕ ๒๑๖ ๒๑๗ ๒๑๘ ๒๑๙ ๒๒๐ ๒๒๑ ๒๒๒ ๒๒๓ ๒๒๔ ๒๒๕ ๒๒๖ ๒๒๗
www.buddhadasa.info ๘.ธาตุที่อยูในรูปอายตนะ
ครั้งนี้จะพูดกันถึงธาตุที่เปลี่ยนรูปมาเปนอายตนะ …. …. …. ยกตัวอยาง ตากับรูปอาศัยกัน ทําหนาที่เห็น, ตากลายเปนจักขุอายตนะ ถาเห็นปรมัตถสภาวธรรม ตองเห็นลึกวา “ตัวกู” คือธาตุประชุมกันอยู ลักษณะของปรมัตถก็คือใหเห็นจริงลึกลงไปจนทําใหไมยึดมั่น …. ตองพยายามเห็นแจงจนวางเฉยไดในสิ่งที่เขามากระทบ …. …. ใหทุกคนพยายามที่จะรู ทั้งภาษาคน ภาษาธรรม และปรมัตถใหถูกตอง ถารูจริงยอมมีผลเปนความหลุดพนจากความยึดมั่น ฯ …. …. …. คนยังไมหลุดพนจากความมืด, ปรุงแตงและผูกพัน, ก็ยังมีทุกข ….
๒๒๙ ๒๓๐ ๒๓๑ ๒๓๒ ๒๓๓ ๒๓๔ ๒๓๕ ๒๓๖
[๑๓] จะหลุดออกจากการผูกพัน ตองรูแจงในปรมัตถสภาวธรรม …. …. ๒๓๗ ธาตุเดิมเมื่อมาอยูในรูป ลักษณะ หนาที่ ของอายตนะ จึงไดชื่อเปนอายตนะ ๒๓๘ อายตนะใชไดทั้งวัตถุและนามธรรม หมายถึงสิ่งที่รูสึกได …. …. ๒๓๙ ความทุกขเปนตัวเรื่อง บอเกิดของมันคือ อายตนะ ๖ …. …. …. ๒๔๐ พระพุทธเจาตรัสวา “สมุทร” ก็คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ …. …. ๒๔๑ อายตนะนอก-ในทําหนาที่ปรุงแตง จึงเปนสมุทรขึ้นมา …. …. ๒๔๒ กามคุณ ๕ เกิดขึ้นมา ก็เพราะอายตนะเปนบอเกิดแหงเรื่อง …. …. ๒๔๓ เพราะมีอายตนะมีการสัมผัส จึงเกิดนามธรรมทั้งหลาย …. …. ๒๔๔ เพราะมีอายตนะสัมผัสจึงเกิดเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ …. ๒๔๕ อายตนะมีไดทั้งสังขตะ, อสังขตะซึ่งไดแกนิพพาน …. …. …. ๒๔๖ ธาตุฝายนิพพานเปนอสังขตะ, ฝายสังขารเปนสังขตะ …. …. …. ๒๔๗ ธาตุเมื่อเปนอายตนะหมายถึงมันทําหนาที่รับการเกี่ยวพัน …. …. ๒๔๘ มีหนาที่ของอายตนะที่ไหน เมื่อไร เมื่อนัน้ มีไดทั้งนรกหรือสวรรค …. ๒๔๙ นรกหรือสวรรคเกิดไดในลักษณะอุปปาติกะผลุงขึ้นมาเลย …. …. ๒๕๐ การบรรลุมรรค ผล นิพพาน ก็ตองอาศัยความเปนไปทางอายตนะ ๒๕๑ ไมตองการทุกข ตองมีสติควบคุมอายตนะนั้นเสีย …. …. …. ๒๕๒ “ดับอายตนะ” คือ ใชวิชชา-ปญญาเห็นแจง ไมยึดมั่นในสิ่งใด …. ๒๕๓ เมื่อฆาอายตนะพวกสังขตะได อสังขตะจะปรากฏ …. …. …. ๒๕๔ ใหพิจารณาเห็นอายตนะนี้นากลัวเหมือนภัยในมหาสมุทร …. …. ๒๕๕ ตองมีสติหยุด “อายตนะเวคะ” คือกําลังของการปรุงแตงของอายตนะเสียใหได ๒๕๖ ประโยชนจากการรูปรมัตถสภาวธรรม จะเขาสูสังขตธาตุได …. …. ๒๕๗ ทบทวนใหรูวามองดูนรกสวรรคที่อายตนะ อยารอดูที่โลกอื่นเลย …. ๒๕๘ เราเปนทาสของธาตุ เพราะมีอวิชชาหลงรสเสนหของอายตนะ …. ๒๕๙
www.buddhadasa.info
[๑๔] โลกเปนทาสของอายตนะมากขึ้น เพราะไมรูปรมัตถสภาวธรรม …. ธาตุเปลี่ยนรูปมาเปนอายตนะ นี่ยิ่งเปนพิษแกเรายิ่งขึ้น …. ….
๒๖๐ ๒๖๑
๙.ความสําคัญของการสัมผัสทางอายตนะ ปรมัตถสภาวธรรมเปนเรื่องซ้ําซากไมชวนฟง, ตองทนฟงเปนธรรมดา เรารูเรื่องปรมัตถอยางที่พระพุทธเจา รูจักได เห็นได …. …. …. ที่อายตนะ ๖ นี่แหละ มีสภาพเปนนรกบาง สวรรคบาง …. …. ตองรูจักธาตุดังที่วา เหลียวไปทางไหนรูสึกชัดวา “สักวาธาตุ” …. ธาตุสังขตะ ปรุงแตงขึ้นเปนวิญญาณธาตุเนื่องกันไปจนเปนอื่นๆ …. ตอมาเปลี่ยนหนาที่เปนอายตนะ จะเปนที่ของการสัมผัสตอไป …. ตา+รูป+จักขุวิญญาณ นี้เปนผัสสะ; จะปรุงตอไปตามลําดับ …. ไมมีอะไรสําคัญรายกาจ ยิ่งไปกวา เรื่องผัสสะ …. …. …. ความประจวบกัน ดังตา-รูป-จักขุวิญญาณ นี้ตองจําใหแมน …. …. ผัสสะคือการกระทบมี ๓ ๑.ปกติสัมผัส คือสัมผัสตามธรรมชาติ ๒.อวิชชาสัมผัส มีความโง ไมมีสติสัมปชัญญะควบคุมจิต ๓.มีสติสัมปชัญญะ มีความรู สัมผัสดวยวิชชา …. …. การสัมผัสดวยวิชชาเปนลักษณะของพระอริยเจา …. …. …. อวิชชาสัมผัสเปนอันตราย ทําใหรัก กลัว เกลียด …. …. …. ถาขาดสัมผัสแลว “โลก” ไมมีความหมาย …. …. …. …. “โลก” ไดแกสัตวโลก และสัตวโลกคือโลกของกิเลส …. …. …. อีกอยางหนึ่งสังขารโลกคือ การปรุงแตงไมรูหยุด …. …. …. สังขารโลกฝายจิตปรุงดวยอวิชชา ปราศจากสติ ไปสุดที่ทุกข …. …. โลกทั้ง ๓ ประเภทมีขึ้นไดดวยอํานาจของผัสสะ …. …. ….
๒๖๓ ๒๖๔ ๒๖๕ ๒๖๖ ๒๖๗ ๒๖๘ ๒๖๙ ๒๗๐ ๒๗๑
www.buddhadasa.info ๒๗๒ ๒๗๓ ๒๗๔ ๒๗๕ ๒๗๖ ๒๗๗ ๒๗๘ ๒๗๙ ๒๘๐
[๑๕] พิจารณาโลกแยกตามที่พระพุทธเจาตรัส เรื่องที่ ๑. คือ กา-มะ …. กามคุณ ๕ ทานตรัสเรียกวาโลก ในอริยวินัยนี้เกิดจากผัสสะ …. …. เรื่องที่ ๒. กรรมคือการกระทําดวยเจตนา ก็มาจากผัสสะ …. …. กรรมทั้งหลายมาจากผัสสะ ไมมีผสั สะก็ไมมีเจตนาทํากรรม …. …. เรื่องที่ ๓-๔ เวทนา-สัญญา ก็มีมูลมาจากผัสสะ …. …. …. เรื่องที่ ๕. ทิฏฐิ-ความเห็น ความเชื่อ มาจากผัสสะ …. …. …. ถาผัสสะประกอบดวยวิชชาเปนสัมมา, ประกอบดวยอวิชชาก็เปนมิจฉา เรื่องที่ ๖. กิเลสที่เกิดเปนโลภะ โทสะ โมหะ ก็มาจากผัสสะ …. …. โลภะ โทสะ โมหะ มีลักษณะเนื่องกันคือ ดึงเขามา, ผลักไป, สงสัยลังเลอยู เรื่องที่ ๗. อาสวะ อนุสัย คือความเคยชินของกิเลสก็มาจากผัสสะ …. เรื่องที่ ๘. ทุกขทั้งหลายโดยแทจริง มาจากผัสสะ …. …. …. ทุกอยางไปรวมจุดที่ผัสสะ เกิดเปนปญหาไมพึงปรารถนาก็มีมาก ผัสสะในแงดีนั้น เปนสัมมาทิฏฐิ เพราะมีวิชชาสัมผัส …. …. …. ถาจิตสัมผัสตอความวางจากกิเลสไดก็เรียกวา สุญญตาสัมผัส …. ถาไมมีสัมผัสเสียอยางเดียว ก็เทากับไมมีอะไรในจักรวาล …. ….
๒๘๑ ๒๘๒ ๒๘๓ ๒๘๔ ๒๘๕ ๒๘๖ ๒๘๗ ๒๘๘ ๒๘๙ ๒๙๐ ๒๙๑ ๒๙๒ ๒๙๓ ๒๙๔ ๒๙๕
www.buddhadasa.info ๑๐.อายตนสัมผัส ใหเกิดสิ่งที่เรียกวา ขันธ
การบรรยายเรื่องนี้ทําความเขาใจกันในเรื่องธาตุ อายตนะ และขันธ …. ๒๙๗ เพื่อกันความสับสน ใหรูจักธาตุวา ตั้งอยูเปนพื้นฐาน :…. …. ๒๙๘ ธาตุ อายตนะ ขันธ มีชื่ออยางเดียวกัน สับสนกันอยู :ธาตุ -สิ่งที่มีรูป, มีอาการแตกทําลาย, อายตนะ -ธาตุมาสัมผัสกับคูของมัน, ขันธ -ทําหนาที่ปรุงกันขึ้นมาเปนสวนสําคัญ …. …. ๒๙๙
[๑๖] ปญหายุงยากอยูที่ อายตนะนอกในกระทบกันเกิดวิญญาณธาตุ …. แลวเกิดผัสสะ เกิดเจตนาที่เปนตัวกรรม และอื่นๆ ตามลําดับ ผัสสะทําใหเกิดขันธ พอไปยึดมั่น ขันธก็เปนอุปาทานขันธ ขันธคือกลุมของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เปนของลมๆ แลงๆ ยิ่งกวาอายตนะ ขันธนี่หลอกลวงเรามาก “เรา” คือจิตที่โงไปสําคัญขันธเปนตัวตน ผัสสะทําใหเกิดเวทนาและอื่นๆ ตอนที่เปนขันธนี้ปรุงกันหลายซอน เมื่ออายตนะ ๒ ฝายพบกัน แลวทําหนาที่เต็มตั้งแต รูป-วิญญาณ ขันธ ๕ เขาเรียงไวเปนรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ นี้ถูกตองแลว แตละขันธเกิดทยอยกัน ปรุงแตงไปเรื่อย ไมเกิดพรอมกัน ขันธจะไดชื่ออยางนั้นๆ ตอเมื่อมันทําหนาที่ของขันธนั้นๆ เปนขันธแลว ถายึดมั่นก็เปนทุกข ไมยึดมั่นก็ไมเปนทุกข ในบางขณะขันธไมทําหนาที่เชนหลับอยู ขณะนั้นยังไมเปนขันธ ธาตุ ๖ มีตลอดเวลานี้ถูก แตมีขันธ ๕ ตลอดเวลา นี้เปนไปไมได เมื่อธาตุทําหนาที่เปนอายตนะ ก็ทําทีละอยาง เพราะผัสสะมีทีละอยาง ขันธ ๕ มีเมื่อธาตุปรุงกันตามหนาที่ พออวิชชาผสมจึงเปนอุปาทาน ขันธ ๕ ยังไมทุกข ตอเปนอุปาทานขันธจึงเปนทุกข รูจักขันธใหชัดใจวา เกิดเมื่อทําหนาที่สมบูรณทีละขันธ เพื่อความเขาใจถูก ตองรูวาเมื่อไรเกิดอายตนะ ขันธ อุปาทานขันธ เมื่อเปนอุปาทานขันธ สังเกตไดวาเปนไปกับดวยอาสวะกิเลส เชน ๑.ปญจุปาทานขันธมีลักษณะประกอบดวยสักกายทิฏฐิถึง ๒๐ อยาง ๒. ในบาลีบางแหงระบุวามีฉันทะเปนมูล ก็เปนอุปาทานขันธ ๓. บางแหงวาขันธเปนอุปาทาน เพราะสัมผัสดวยอวิชชา ๔. ถาสังเกตที่เขียนเชน รูปูปาทานักขันโธ นี่ขันธถูกยึดดวยอุปาทานแลว
๓๐๐ ๓๐๑ ๓๐๒ ๓๐๓ ๓๐๔ ๓๐๕ ๓๐๖ ๓๐๗ ๓๐๘ ๓๐๙ ๓๑๐ ๓๑๑ ๓๑๒ ๓๑๓ ๓๑๔ ๓๑๕ ๓๑๖ ๓๑๗ ๓๑๘ ๓๑๙ ๓๒๐ ๓๒๑ ๓๒๒
www.buddhadasa.info
[๑๗] ๕. ถาขันธไหนรูสึกวาหนัก นั่นคืออุปาทานขันธ ตัวอยางเชนเห็นลูกหลานนาเอ็นดู, รูปนั้นก็เปนอุปาทานักขันธแลว ในกรณีที่จิตประกอบดวยอวิชชา ขณะนั้นสมุทัยไดตั้งขึ้นแลว ๗. ทุกขเกิดขึ้นเพราะขันธใด ขันธนั้นนับเปนปญจุปาทานักขันธ ตัวอยางวันหนึ่งๆ จะถูกศรอยูเรื่อย ถามีอุปาทานเมื่อไรก็เปนทุกข ที่แนนอนที่สุดคือ ขันธไหนเปนทุกข ขันธนั้นเปนปญจุปาทานักขันธ
๓๒๓ ๓๒๔ ๓๒๕ ๓๒๖ ๓๒๗ ๓๒๘
๑๑.อาการที่เกิดได และเกิดไมได แหง ปญจุปาทานักขันธ โดยวิธีแหงปฏิจจสมุปบาท การบรรยายครั้งนี้เกี่ยวกับธาตุ ฯลฯ กระทั่งถึงทุกขละเอียดขึ้น ตองรูจักตัวเองกับความทุกข วาตางกันอยางไรเสียกอน ปญหายุงยากมาจากคําวา “ตัวตน” นี้มีในขั้นศีลธรรม ไมมีในขั้นปรมัตถ ตัวตนมีเฉพาะเวลาที่คิดวาเปนตัวตน นอกนั้นไมมี ความทุกขมีความหมายกวางที่สุด คือ นาเกลียด อุปาทานขันธเปนทุกข หมายถึงตองทนทรมานอยางใดอยางหนึ่ง ขันธเฉยๆ ไมเที่ยง เปนเพียงนาเกลียด พอมีอุปาทานก็เปน ๒ นาเกลียด ถาไมยึดถือจะเปนขันธเฉยๆ ถายึดถือจะเปนอุปาทานและทุกข ตองรูเปนหลักวาขันธอุปาทานขันธ มิใชสิ่งเดียวกัน เมื่อใดเปนกลุมธาตุ ขณะนั้นแทบจะไมมีความรูสึกนึกคิดอะไร เมื่อเปนอายตนะ ก็กอเกิดการกระทบ จนปรุงตอไป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เกิดขึ้นตามลําดับจากการปรุง การคิดใดๆ ถาไมมุงมาถึงเปนตัวเรา-ของเรา ก็ไมใชอุปาทานักขันธ เมื่อใดมีฉันทราคะในขันธ ขันธนั้นก็เปนอุปาทานักขันธ
๓๒๙ ๓๓๐ ๓๓๑ ๓๓๒ ๓๓๓ ๓๓๔ ๓๓๕ ๓๓๖ ๓๓๗ ๓๓๘ ๓๓๙ ๓๔๐ ๓๔๑ ๓๔๒
www.buddhadasa.info
[๑๘] อวิชชามีอยูทุกหนทุกแหง พรอมที่จะเขาผสมไปในผัสสะ อวิชชาจะเขาผสมไดเมื่อมีโอกาส เปนที่ตั้งแหงอาสวะ เมื่อขันธเปนที่ตั้งแหงอาสวะ จะเกิดอวิชชาสัมผัสเต็มที่ เปนอุปาทานักขันธ เมื่อคิดไปตามความรูสึกยังไมเปนอุปาทานักขันธ ไมทุกข ถามีทุกขขึ้นมา ควรศึกษาคนวาเปนปญจุปทานักขันธอยางไร สิ่งตางๆ เปนไปตามอํานาจของจิต+อวิชชา+สัมผัส ตองพยายามรูจักตัวเรา โดยศึกษาจากขางในเริ่มแตธาตุ ฯลฯ การปองกันมิใหเกิดอวิชชาสัมผัส ตองมีสติสัมปชัญญะนําวิชชามาทันทวงที ถาไมมีสติสัมปชัญญะ อวิชชาไดโอกาส ก็เปนอวิชชาสัมผัส ตองศึกษาจนเขาใจ และรูจักควบคุมการกระทบ รูทัน วาผิดหรือถูก การเกิดกิเลสจนทุกขก็เพราะยังไมมีสติสัมปชัญญะขนวิชชามาทัน การทําใหกาย วาจา มีสีลขันธเปนพื้นฐาน จะมีสมาธิ ปญญาขันธไดงาย พิจารณาธาตุรูป นอกกับในพบกันเปนรูปขันธ แลวปรุงตอไปเปนนามขันธ วิญญาณขันธมีนามรูปเปนปจจัย นี้เขาใจยาก ตองคอยๆ ศึกษา “วิญญาณ” ไมใชสิงเขาราง แตหมายถึงมีเหตุปจจัย ทําใหเกิดธาตุนี้ขึ้น ถารูจัก “วิญญาณ” ดังกลาวมา เราจะควบคุมไมใหปฏิสนธิเปนอุปาทานได อุปาทานักขันธ จะเกิดหรือไมเกิด ตองดูตามกรรมวิธีของปฏิจจสมุปบาท ใหมีสติสัมปชัญญะ เปนวิชชาสัมผัส นี้เปนวิปสสนาที่ตองทําตลอดเวลา
๓๔๓ ๓๔๔ ๓๔๕ ๓๔๖ ๓๔๗ ๓๔๘ ๓๔๙ ๓๕๐ ๓๕๑ ๓๕๒ ๓๕๓ ๓๕๔ ๓๕๕ ๓๕๖ ๓๕๗ ๓๕๘ ๓๕๙ ๓๖๐
www.buddhadasa.info ๑๒.ภาวะพื้นฐาน ของสิ่งที่เรียกวา “คน” การบรรยายปรมัตถสภาวธรรม มุงหมายใหพุทธบริษัทเห็นธรรมชาติ ที่เราดับทุกขไมได เพราะไมรูพอสมควร ที่จะดับทุกขได รูปธรรมมิใชเปนเพียงเรื่องตื้นๆ มีสวนเปนปรมัตถเหมือนกัน
๓๖๑ ๓๖๒ ๓๖๓
[๑๙] ในรางกายก็ยังมีสวนเปนปรมัตถมาก แตมีปญหาทางจิตใจ จงดูสวนนี้ ปรมัตถสภาวธรรมสวนจิตมีผลเปนสมาธิ และปญญา ปรมัตถสภาวธรรมมีมาก แตรูเพียงเทาที่จําเปนจะดับทุกขไดก็พอ ไมใครมีผูทนศึกษาเรื่องธาตุ ขันธ ทั้งที่เปนเรื่องเดียวที่จะเอาตัวรอด ถาคิดวาดับทุกขไดดวยเรื่องปรมัตถสภาวธรรม คงจะสนใจกันบาง เรื่องของคน นี้ควรตองศึกษากันอยางละเอียดลออ “คน” บางเวลาเปนธาตุ, เปนอายตนะ, ขันธ, มีกิเลส เปนทุกข เปรียบสวนประกอบของคนกับรถยนตจะมีสภาพคลายกัน ทุกคนมักไมสนใจตัวเอง ไปสนใจแตเรื่องใหเกิดทุกข ปรมัตถสภาวธรรมจริงนั้นเปนวิชชาที่จะชวยแกโง พระพุทธเจาตรัสเรียก “สิ่งทั้งปวง” ในชื่ออาตนะ ๖ คู ตรัสเรียก รูป เสียงฯ ที่นาปรารถนานั้นวา “สมุทร” ตรัสวา อยามีตัวตนอะไรกันนัก ใหมีแตความรูสึกเปนธาตุฯ เพราะ “มี” ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ จึงมีทุกข ปลอยวางเสียทุกขไมมี จะตกนรกขึ้นสวรรค ก็อยูที่อายตนะ ๖ ถาจิตทําไวดี อะไรๆ ก็จะเปนที่ถูกใจไปได รูตามที่เปนจริงเสียวา อายตนะ ๒ ฝายเปนเหตุ, ไมยึดถือก็ไมตกสมุทร คน ยังไมเปนอิสระตองอบรมจนมีความรู ไมตกสมุทร ถาจิตมิไดรูสึกอะไร ก็เทากับวา ไมมีตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ปุถุชนทั่วไปตกอยูในกามาวจรมากที่สุดกวาพวกอื่น เราพยายามรูปรมัตถเพื่อถอนตนออกจากวัฏฏะ, ขึ้นบกไปทีละชั้น ถาทําใหขันธไมปรุงเปนอุปาทาน ก็หยุดทุกขได จะทําลายทุกขไดก็ตองอยูใหถูกตองตามมรรคมีองค ๘
๓๖๔ ๓๖๕ ๓๖๖ ๓๖๗ ๓๖๘ ๓๖๙ ๓๗๐ ๓๗๑ ๓๗๒ ๓๗๓ ๓๗๔ ๓๗๕ ๓๗๖ ๓๗๗ ๓๗๘ ๓๗๙ ๓๘๐ ๓๘๑ ๓๘๒ ๓๘๓ ๓๘๔ ๓๘๕ ๓๘๖
www.buddhadasa.info
[๒๐] ใหรูจักพื้นฐานของ “คน” แลวมองดูจนเกิดญาณทัสสนะรูทั้งสวนกาย ใจ รูจัก “คน” ในวาระ สถานะตางๆ กัน แลวเขาใจปรมัตถฯ ดีขึ้น
๓๘๗ ๓๘๘
๑๓.ประโยชนแหงการเขาถึง ปรมัตถสภาวธรรม การบรรยายปรมัตถสภาวธรรม จะทําสิ่งที่ทอดทิ้งใหเปนประโยชน แตตองทําเอามายัดเยียดใหคนรับเอาไป โลกจะฉิบหายเพราะไมสนใจปรมัตถสภาวธรรม ธาตุทําหนาที่เปนอายตนะ เปนขันธอยูประจําวัน ตัองรูและจํา คนไมสนใจเรื่องธาตุ เพราะไมรูวาจะดับทุกขไดโดยวิธีนี้ ถาอุปาทานขันธเกิดได ทุกขก็เกิดขึ้นมา พระพุทธเจาทรงถือเปนเรื่องสําคัญ อุปาทานขันธทั้ง ๕ เปนตัวทุกขเพราะยึดมั่นถือมั่น พระองคไมทรงสอนเรื่องอืน่ นอกจากทุกขกับดับทุกข ในรางกายมีโลกฯ..จนความดับสนิทของโลก นี้คือตัวปรมัตถธรรม ปญหาการศึกษาพุทธศาสนามัก “ฟงไมศัพทจับไปกระเดียด” ที่เขาใจผิดกัน เชนเรื่องกรรม สอนกันวาใหผลทันทีชาตินี้ชาติหนา แตขั้นปรมัตถถือวาขณะจิตตอมาจากการทํากรรมก็ไดผลไปตามนั้น ขณะที่ทําผิดทางอายตนะยอมเกิดนรก ทําถูกก็เกิดสวรรค ทันที นรก สวรรค ไมใชเรื่องนอกเหนือ แตเปนวิทยาศาสตรของพระพุทธเจา วิทยาศาสตรของพระพุทธเจาพิสูจนใหเห็นได ประโยชนของการถึงปรมัตถมี ๓. ๑.รอบรูปริยัติถูกตามเปนจริง ๒.การปฏิบัติจะทําไปไดไมผิด ๓.รับผลไดไมมีทุกขเลย เมื่อรูวาอะไรเปนอะไรแลว ไมยึดมั่น ทําใหหายโง รูปรมัตถแลว ทําใหหายตื่น หายหลง รูจักสิ่งที่ควรหยุด มนุษยตองเกี่ยวดวยเรื่องกาย จิต วิญญาณใหถูกตองจะดับทุกขได
๓๘๙ ๓๙๐ ๓๙๑ ๓๙๒ ๓๙๓ ๓๙๔ ๓๙๕ ๓๙๖ ๓๙๗ ๓๙๘ ๓๙๙ ๔๐๐ ๔๐๑ ๔๐๒ ๔๐๓ ๔๐๔ ๔๐๕ ๔๐๖ ๔๐๗ ๔๐๘
www.buddhadasa.info
[๒๑] ความรูของทั้ง ๓ เรื่องขางตน เรียกวาปรมัตถสภาวธรรม=เปนอยางนั้นเอง ๔๐๙ ความรูปรมัตถตรงตามจุดหมายที่แทจริงของสิ่งมีชีวติ ๔๑๐ พอรูเรื่องปรมัตถจะเขาถึงอสังขตะ ไมเกิดตัวกู-ของกู ๔๑๑ เดี๋ยวนี้มนุษยจิตใจไมสูง มุง ไปหาความทุกขยาก ยิ่งขึ้นทุกที ๔๑๒ ถารูปรมัตถสภาวธรรมจะสามารถจัดใหตัวมีความตองการนอย ๔๑๓ พระพุทธเจาตรัสวา คิดวา “ตัวกู” ทีหนึ่ง นี่เทากับชาติหนึ่ง ๔๑๔ รูปรมัตถสภาวธรรมจะชวยใหไมมีทุกข ในกรณีของสิ่งที่เปนคู ๔๑๕ ทรงหวังใหทุกคนถึงโลกุตตระโดยอาศัยปรมัตถสภาวธรรม ๔๑๖ เรามีความทุกขเพราะโงไปยึดมั่นอะไรเขา ๔๑๗ ที่วา “นิพพานเปนสุขอยางยิ่ง” นี้พูดเพื่อศีลธรรม ปรมัตถไมพูดวาสุข ๔๑๘ มีอะไรก็ได แตถาไปยึดมั่นเขาแลว มันจะกัดเอาทันที ๔๑๙ เพราะไมรูปรมัตถสภาวธรรมจึงสลัดความทุกขออกไปไมได ๔๒๐ พึงมีสติสมั ปชัญญะในการเกิดขึ้น ตั้งอยู ดับไป ของเวทนา สัญญา และวิตก ๔๒๑ ถาควบคุมเวทนา สัญญา วิตก ไมได ก็ไมมีสติสัมปชัญญะ ๔๒๒ ศีลธรรมแกปญหาทางจิตไมได ตองอาศัยปรมัตถสภาวธรรม ๔๒๓ คนในโลกศีลธรรมไมดี เพราะมีศรัทธาในพระรัตนตรัยไมถูก ๔๒๔ คนเห็นแกตัวจัดยิ่งขึ้น เพราะหลงวัตถุเนื้อหนัง ๔๒๕ คนหลงเปนทาสเนื้อหนังเพราะโง ไมสนใจปรมัตถฯและประมาทมานาน ๔๒๖ ถารูจักปรมัตถฯ จิตจะเปนอิสระ มีเมตตา ไมเห็นแกตัว ๔๒๗ โลกตองการเมตตาสามัคคีธรรม แตมีไมได เพราะมีปรมัตถแตทางวัตถุ ๔๒๘ ทุกศาสนายิ่งเลอะเทอะเพราะไปเอาสมมติธรรมมาแทนปรมัตถ ๔๒๙ ถาทุกขศาสนารวมมือกันมีปรมัตถตรงกัน คือไมเห็นแกตัว จะชวยได ๔๓๐
www.buddhadasa.info
[๒๒] อยาติดอยูในศาสนาสมมุติ เขาถึงปรมัตถแลว ทุกศาสนาจะแกทุกขได ๔๓๑ คนรูจักแตรสอรอยของกิเลส ไมรูจักอรอยแทจริง ที่ธรรมะมอบให ๔๓๒ ขอใหตื่นจากหลับคืออวิชชา รูสิ่งทั้งหลายตามเปนจริง; จบคําบรรยายเทานี้ ๔๓๓ พระบาลีปรมัตถสภาวธรรม ๔๓๕-๔๔๘ ธาตุปจจเวกขณปาฐะ ๔๔๙-๔๕๔ บทสวดมนตแปล ธัมมปหังสนปาฐะ ๔๕๕-๔๕๗
www.buddhadasa.info
ปรมัตถสภาวธรรม
๑ ๖ มกราคม ๒๕๑๖
ขอควรทราบกอน เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวาธาตุ
ทานสาธุชนผูสนใจในธรรมทั้งหลาย, การบรรยายธรรมะประจํ า วั น เสาร ได เวี ย นมาถึ ง เข า อี ก ในรอบป ใ หม นี้ ซึ ่ ง จะมี ท ุ ก วั น เส าร เ รื ่ อ ยๆ ไป จน กว า จะถึ ง ฤดุ ฝ น , รวม เวล าที ่ บ รรยายนี้ ๙ เดือ น ตอ ปห นึ ่ง ; เวน ไว ๓ เดือ น ฤ ดูฝ น . วัน นี ้เ ปน วัน ตั ้ง ตน วัน เส าร แรกของปใหม ๒๕๑๖ นี้ เปนสิ่งที่เราไดทํากันมาเปนประจํา
ทําไมจึงมีการบรรยายประจําวันเสารในทํานองนี้? www.buddhadasa.info ขอบอกกล าวแก ผู ที่ ยั งไม ทราบอี กครั้งหนึ่ ง, และขอย้ํ าความเข าใจแก ผู ที่ ทราบอยูแลวอีกครั้งหนึ่ง; เพื่อจะไดทําในใจใหถูกตอง, แลวก็มีการกระทําที่มันมี
๑
๒
ปรมัต ถสภาวธรรม
ความหมาย, ไม ใ ช ทํ า เป น พิ ธี รี ต อง. เวลานาตั้ ง ป อ าจจะลื ม เลื อ นไปบ า ง; ก็ ต อ ง ฟนความจํากันใหม วาทําไมจึงมีการบรรยายวันเสาร ทํานองนี้ เราอาจจะมองดู เห็นเหตุผลที่จะเปนคําตอบไดมากมายหลายสถานทีเดียว. ข อที่ ๑ จะพู ดอย างหยาบคายที่ สุ ด ก็ จะพู ดว า โลกกํ าลั งจะฉิ บหาย คื อ ยุคที่เรียกวา สัตถันตรกัปป : ความนิยมยินดีในการใชอาวุธฆากันอยางมิคสัญญี นี่ แหละ มั นกํ าลั งมา, ที่จะมาถึงอยางที่ กล าวไวในพระคั มภี ร; และเราก็เห็ นๆกันอยู ว า ถ าจะปล อยกั นไปในรู ปนี้ มั นก็ ต องถึ งแน ๆ. เพราะฉะนั้ นจะต องช วยกั นต านทาน ตามแต ที่ จ ะต า นทานได ; แม จ ะเป น การต า นทานอย า งช ว ยกั น ตี ป อ งตี แ ป ง ช ว ย พระจั นทรที่ ถู กราหู จั บ; อย างนี้ มั นก็ ยั งดี กว าจะไม ทํ าอะไรเสี ยเลย. ถ าจะเปรียบกั นแล ว เราทํ าอย างนี้ มั นอาจจะถู กหั วเราะเยาะ ว ามั นมี ค าเท ากั บติ๊ ป บตี กระป อง ช วยพระจั นทร ในวั นจั นทรคราส ซึ่ งเป นเพี ยงพิ ธี รี ตอง; แม อย างนี้ ก็ ยั งพอใจ เพราะว าเราได มี ความ รู สึ ก มี ความคิ ดความนึ ก ความพยายาม ที่ จะทํ าหน าที่ ของเรา : กล าวคื อ ธรรมะนี้ เปนเครื่องชวยตานทานความฉิบหายของโลก.
www.buddhadasa.info เราจะใชธรรมะเปนเครื่องตานทาน มันก็ตองทําใหธรรมะนี้เปนที่ปรากฏ ออกไป, ให เป นที่ รูกั นทั่ วๆ ไปมากขึ้ น ก็ จะมี ส วนช วยให โลกนี้ ลื มหู ลื มตาขึ้ นมาบ าง; หรื อว าถ าบั งเอิ ญ เป นไปได มากๆ มั นก็ จะหมุ นกลั บได . ดั งนั้ นเรามี สติ ป ญ ญา มี ความ สามารถเทา ไร เราก็ทํ า กัน เทา นั ้น : อยา งทํ า กัน ที ่นี ่, มีผู ฟ ง เทา นี ้, และยัง จะ เผยแพร เป น ลายลั กษณ อั กษรต อ ไปอี ก, มั น ก็ ค งจะมี ผ ลบ าง; แม อ ย างน อ ย ก็ ทํ าให ผู อื่ นเกิ ดความสนใจ, ไม ดู ดาย. ถึ งจะเรียกว า ช วยกั นตี ประป องกระแป งช วยพระจั นทร ในทํ า นองนั้ น ก็ ยั ง เป น ที่ น า พอใจ; หรื อ มี เหตุ ผ ลอยู . แปลว า ไม ดู ด าย ไม เฉยเมย ในสิ่ งที่ เป นความทุ กข รอนของเพื่ อนมนุ ษย ด วยกั น. นี้ เป นข อหนี่ ง ที่ เราจั ดการบรรยาย ธรรมะ ในวั น เสาร ซึ่ ง เป น เหตุ ใ ห เกิ ด การพิ ม พ เป น ลายลั ก ษณ อั ก ษร เพื่ อ อยู เป น หลักฐานตอไปอีก.
ขอ ควรทราบก อ น เกี่ย วกั บ สิ่ง ที่ เรี ยกวา ธาตุ
๓
ข อ ที่ ๒. มองดู อี ก ทางหนึ่ ง ฝ า ยภายในของพวกพุ ท ธบริ ษั ท เรา; มั น ก็ เป น การปรับ ปรุ งพวกพุ ท ธบริ ษั ท เรา ให มี ส มรรถภาพเพิ่ ม ขึ้ น . ท านทั้ ง หลายอย า ได อวดดี ทั้ งในฝ ายปริ ยั ติ และปฏิ บั ติ ; ในฝ ายปริ ยั ติ ก็ ยั งมื ดมั ว ยั งสลั วอยู มาก, ในฝ าย ปฏิ บั ติ ก็ ยั งโลเลเหลาะแหละอยู ม าก; นี่ เรี ย กว าไม มี ส มรรถภาพ ทั้ งในฝ ายปริ ยั ติ และ ฝ ายปฏิ บั ติ . เราจะต อ งปรั บ ปรุ งพุ ท ธบริ ษั ท เราให มี ส มรรถภาพเพิ่ ม ขึ้ น ในข อ นี้ ; ดั งนั้ น จึ งได พยายาม ให มี การบรรยายในวั นเสาร เช นนี้ ด วยการเลื อกเอา ในสิ่ งที่ เห็ นว ายั งไม เคยฟ ง บ า ง, หรื อ ว า ได ฟ ง แล ว เข า ใจผิ ด ๆ กั น อยู บ า ง, เอามาบรรยายเป น การเพิ่ ม ความรู บ า ง, เป น การชํ า ระสะสางความรู ที่ มี อ ยู แ ล ว บ า ง, ให มั น สํ า เร็ จ ประโยชน ยิ่ง ๆ ขึ้นไป. อันนี้ก็เปนเหตุผลอันหนึ่ง ที่ทําใหเรามีการบรรยายวันเสารในทํานองนี้. ข อ ที่ ๓. ถ าจะดู อี ก ที ห นึ่ ง มั น เป น หน า ที่ ข องพุ ท ธบริ ษั ท ที่ ต อ งทํ าการ เผยแผ ธ รรมะอยู เป น งานประจํ า . ลองไปคิ ด ดู เถิ ด ว า ความเป น พุ ท ธบริ ษั ท นี้ นอก จากจะปฏิ บั ติ ส วนตนแล ว ก็ ยั งมี หน าที ที่ จะต องช วยกั นเผยแผ ธรรมะหรื อพระพุ ทธศาสนา; เพราะว า ข อ นี้ ก็ เป น พุ ท ธประสงค อ ย า งยิ่ ง ด ว ยเหมื อ นกั น . พระองค ท รงส ง สาวกไป ประกาศพระศาสนา ในทั น ที ที่ อ าจจะส ง ได แล ว ก็ ส ง ไปเรื่ อ ยๆ : ให ไ ปแสดงธรรม, ให ไปประกาศพรหมจรรย มี ค วามไพเราะทั้ งเบื้ อ งต น ท ามกลาง เบื้ อ งปลาย, ให เป น ประโยชน แก สั ตว ทั้ งหลาย ทั้ งเทวดาและมนุ ษ ย . นี้ เป นเหมื อนกั บ คํ าสั่ ง หรื อคํ าขอร อ ง หรื อ คํ า อ อ นวอนของพระพุ ท ธเจ า . ฟ ง ดู ต ามสํ า นวนนี้ แ ล ว มี ลั ก ษณะเป น ได ทั้ ง คํ า ออนวอน และคําสั่งพรอมกันไป.
www.buddhadasa.info ขอที่ ๔. ปริยัติธรรมยังไม เพี ยงพอในความถูกตอ ง ในความละเอี ยด ลออ; เรายั ง ต อ งช ว ยกั น ในข อ นี้ ให ก ารเผยแผ นี้ มี ค วามถู ก ต อ งมากพอ, และมี ค วาม ละเอียดลออมากพอ ที่จะเขาใจและปฏิบัติไดจริง.
๔
ปรมัต ถสภาวธรรม
ถาจะสรุปอีกทีหนึ่งก็อาจจะกลาวไดวาความกาวหนาในกิจการทางพระพุทธศาสนานี้ ก็อยูที่ การเผยแผ, การบรรยายธรรมก็เปนหัวใจของความกาวหนาในการ เผยแผ , หรือ อาจจะเรี ยกว า เป น หั วใจของปริยั ติ ซึ่ งคนโบราณเขาถื อ กั น . สํ าหรั บ สมัยนี้แลว ปริยัตินั้นเปนรากแกวของศาสนา; เพราะวา เมื่อไมมีพระพุทธเจาแลว ไมรูจะไปถามใครที่ไหน. ขอที่ ๕. เราหวังอยูแตปริยัติอันถูกตอง อยางที่พระพุทธองคไดตรัสเมื่อจะ ปรินิ พ พานนั้ น ว า : “ธรรมะที่ แสดงแล ว วิ นั ย ที่ บั ญ ญั ติ แล ว จั ก อยู เป น ศาสดาของ พวกเธอ หลั ง แต ก าลล ว งลั บ ไปแล ว แห งเรา”. เราจึ งได ถื อ กั น เป น หลั ก ว า ปริ ยั ติ ธรรมนี้จะเปนรากแกว, หรือความคงอยูของพุทธศาสนาในสมัยปจจุบันนี้ ฉะนั้น จึงตองมีปริยัติที่ถูกตอง และก็ตองละเอียดลออเพียงพอดวย; เพียงเทานี้ มันก็เปน เหตุ ผลที่ เพี ยงพอ สํ าหรับพวกเราที่ จะเหน็ ดเหนื่ อย ที่ จะหมดเปลื อง สํ าหรับการเผยแผ แมแตดวยการบรรยายประจําวันเสาร อยางวันนี้. ทําไมจึงพูดเรื่องธาตุ และเรียกวา ปรมัตถสภาวธรรม
www.buddhadasa.info เรื่ อ งที่ อ ยากจะบอกต อ ไปก็ คื อ ว า ในภาคมาฆบู ช า ๓ เดื อ น คื อ เดื อ น มกราคม กุมภาพั นธ มีนาคม นี้ จะไดบรรยายโดยหัวขอใหญ เรียกวา ปรมั ตถสภาวธรรม ที ่เกี ่ย วกับ ธาตุ. ทํ า ไมจึง เรีย กวา ปรมัต ถสภาวธรรม? นี ้เปน ภาษาบาลี ฟ งไม ค อยจะรู เรื่ อง. ถ าเป นภาษาไทย ก็ จะมี ใจความว า : พู ด ถึ งเรื่ อ ง สภาวธรรม ที ่ม ีอ รรถอัน ลึก ซึ ้ง . สภ าวธรรม ก็ค ือ ธรรมที ่ม ัน เปน ไปเอง เปน อยู เ อง, เป น ธรรมทั้ งปวงที่ เป น เองไปตามธรรมชาติ ; ปรมั ต ถ แปลวา มี อ รรถอั น ซึ้ ง. คํ าว า ปรมัต ถสภาวธรรม ก็คือ เรื่อ งของธรรมชาติที่ม ีค วามหมายอัน ลึก ซึ้ง. นี่คือ ความหมายของคํ า ที่ เอามาใช เป นชื่ อของการบรรยายในรอบนี้ ; และในรอบ ๓ เดื อน, มาฆบูชานี้จะไดกลาวปรมัตถสภาวธรรม ในสวนที่เรียกวา ธาตุ, ธา-ตุ หรือ ธาตุ.
ขอ ควรทราบกอ น เกี่ ย วกับ สิ่ง ที่เรี ยกวา ธาตุ
๕
ทําไมจึงเลือกเอาเรื่องสิ่งที่เรียกวา “ธาตุ” มาพูดกอนเรื่องอื่น? ถา ทานทั้งหลายสังเกตดูสักเล็กนอย ก็จะเขาใจได วาทําไมจึงเลือกเอาเรื่องธาตุมาพูดกอน เรื่องอื่น. คําตอบในขอนี้มีไดหลายแงหลายกระแส; นับตั้งแตวา : สิ่งที่เรียกวา ธาตุ นั้นแหละ มันคือทุกสิ่ง; ที่กําลังเปนตัวเราอยูในกายเรา, หมายความวาภายในเรา ภายในตัวเรานี้ ก็คือสิ่งที่เรียกวา ธาตุ; และทุกสิ่งที่อยู ภายนอกเรา ที่แ วดลอ มเราอยู ก็เ รีย กวา ธาตุอีก นั่น เอง. ที่เ ปน ภายในตัว เรา ก็ เรียกวา ธาตุ อันเป นภายใน : มีจักขุธาตุ โสตธาตุ ฆานธาตุ ชิวหาธาตุ กายธาตุ มโนธาตุ , ธาตุ คื อ ตา ธาตุ คื อ หู ธาตุ คื อ จมู ก ธาตุ คื อ ลิ้ น ธาตุ คื อ กาย ธาตุ คื อ ใจ; คือ อายตนะ ๖ นั่นเอง. แตเมื่อมันยังไมทําหนาที่เปนอายตนะนั้นๆ; เราเรียกวา ธาตุ; ตอเมื่อมันทําหนาที่รับอารมณ จึงจะเรียกวาอายตนะ, แตเมื่อมันอยูตามธรรมชาติ เรียกวา ธาตุ. ภายในเราก็มี ธาตุ ๖ : คือ ธาตุตา ธาตุหู ธาตุจมูก ธาตุลิ้น ธาตุกาย ธาตุใจ. ภายนอกตัวเราก็มีธาตุ ๖ ซึ่งมันคูกัน : คือรูปธาตุ สัททธาตุ คันธธาตุ รสธาตุ โผฏฐั พพธาตุ ธัมมธาตุ , คื อธาตุ รูป ธาตุ เสี ยง ธาตุ กลิ่ น ธาตุ รส ธาตุ โผฏฐั พพะ ธาตุ ธัมมารมณ มั นอยูขางนอก แล วมั นก็จะเขาสั มผั สกับธาตุ ขางใน; ถ ามั นยังไม ถู ก สัมผัส, มันมีอยู ก็เรียกวาธาตุ; ถามีการสัมผัสเกี่ยวของกันจึงจะเรียกวาอายตนะ ภายนอก.
www.buddhadasa.info ธาตุภายใน ที่เปนตัวเรา กับธาตุภายนอก มีการสัมผัสกัน ก็มีผลแหง การสั ม ผั ส, มี กิ ริยาอาการแห งการสั มผั ส; ผลเหล านั้ นก็ เรี ยกว า ธาตุ คื อมั นเกิ ด เป น ความทุ กข ความสุ ข เป นเวทนา สั ญ ญา สั งขาร อะไรก็ เรียกว าธาตุ , จะเป น ความเป น ความตาย นี้ ก็ เรี ย กว า ธาตุ . ผลอั น ใด ที่ มั น เกิ ด ขึ้ น จากการกระทบกั น ระหวางธาตุภายใน กับธาตุภายนอก นั้นก็คือธาตุที่เปนผล.
๖
ปรมัต ถสภาวธรรม
พึงเห็นไดเสียทีหนึ่งกอนวา สิ่งที่เรียกวาธาตุนั้ นมันคือตัวเรา, คือสิ่งที่ ครอบงําตัวเรา, คือสิ่งที่เปนปญหาทุกอยางที่มันเกี่ยวกับตัวเรา. ถาเราไมสนใจกับสิ่ง เหล า นี้ เราก็ เป น คนโง เต็ ม ที ; ไปสนใจแต เรื่ อ งเงิ น เรื่ อ งทอง เรื่ อ งข า ว เรื่ อ งของ เรื่อ งลู ก เรื่องผั ว ก็โงไป, เพราะวานั้ น ก็ เป น เพี ย งสั ก วาธาตุ ; แต มั น เป น ธาตุ ที่ ยั่ ว ให เกิ ดการเกี่ ยวข อง หรือยึ ดมั่ นถื อมั่ นมากกว า. แต แล วมั นก็ ยั งเป นธาตุ ตามธรรมดา ซึ่งเราจะไดกลาวกันโดยละเอียดในการบรรยายขางหนา. ถ าจะพู ดอี กที หนึ่ ง คํ าว า “ธาตุ ” นั้ น ขอให จํ าไว เป น ประโยคสั้ น ๆ ว า: คื อ ป จ จั ย ในขั้ น รากฐานของสิ่ ง ทุ ก สิ่ ง มั น เป น มู ล หรือ เป น เหตุ หรือ เป น ป จ จั ย เรียกวาเป นป จจั ยก็ แล วกั น; ในชั้นที่ เป นรากฐานลึ กสุ ดของสิ่ งทุ กสิ่ ง หมายความวาสิ่ ง ทุกสิ่ งมั นตั้ งรากฐานอยูบนสิ่งที่ เรียกวาธาตุ . ธาตุหลายๆ ธาตุ ประกอบกันขึ้นหลายๆ ซั บ หลายๆ ซอน ก็มาเปนสิ่งนั้นสิ่งนี้ขึ้นมา; แตวา ธาตุที่แทจริงนั่น คือสิ่งแรกที่สุด ที่ เป นป จจัยในชั้นแรกที่ สุ ด เป นชั้นรากฐานที่ สุ ดของสิ่ งทุ กสิ่ ง ไม วาทางรูปธรรม และ ทางนามธรรม. นี้ ก็ เรียกว า มั น มี ความสํ าคั ญ อย างยิ่ ง ที่ ม นุ ษ ย จะต อ งรูจั กต น เหตุ , มูลเหตุอะไรของทุกสิ่ง, จึงจะแกปญหาของสิ่งเหลานั้นได.
www.buddhadasa.info สิ่งที่ไมมีชีวิต ก็เปนธาตุ, มีชีวิต ก็เป นธาตุ, เปนวัตถุมีแตรูป ก็เปนธาตุ, เปนจิตเปนใจก็เรียกวา ธาต, แมที่สุดแตพระนิพพานก็เรียกวาธาตุ คือนิพพานธาตุ. สิ่งเหล านี้ มี อยูในส วนลึ กตามธรรมชาติ จึงเรียกวา สภาวธรรม; แต เมื่ อมี เหตุ ป จจั ย โอกาสเหมาะสม ก็ จะแสดงตั วออกมา. ที่ พู ดอย างนี้ ก็ เรียกวาพู ดตามภาษาธรรม หรือ ภาษาสภาวธรรม; เชน วา นิพ พานธาตุ ความดับ สนิท แหง ความทุก ขนี ้ เดี ๋ย วนี้ ไมป รากฏ; ตอ เมื ่อ ใด มีก ารประพฤติก ระทํ า ถูก ตอ ง เปน ปจ จัย และมีโ อกาส มั นก็ ปรากฏ. อย างนี้ ท านก็ เรียกวา เป น ธาตุ , นิ พพานนั้ นเป นธาตุ ที่ มี อยู ตามสภาพ ตามธรรมชาติ สามารถทําใหปรากฏออกออกมาอยางนี้; แมนิพพานก็ถูกจัดวา เปน ธาตุ.
ขอ ควรทราบกอ น เกี่ ย วกับ สิ่ง ที่เรี ยกวา ธาตุ
๗
ทีนี้ จะดูกันอีกมุ มหนึ่ง การพู ดกั นเรื่องธาตุ . บรรยายเรื่องธาตุใหเขาใจ แจมแจงนี้, มันตรงกับจุดประสงคอันเปนความมุงหมายของพระพุทธศาสนา. พระพุท ธศาสนาตอ งการจะใหท ุก คน ไมย ึด มั ่น ถือ มั ่น ในสิ ่ง ใด โดยความเปน ตัวกู ของกู, ใหม องเห็น ตามที่เปน จริงวา มัน เปน แตสัก วา ธาตุ ; คื อ ธาตุ ม ตฺ ต โก -สั ก แต ว า ธาตุ หรื อ ธาตุ ม ตฺ ตํ เอว-มั น เป น สั ก แต ว า ธาตุ เทานั้นเอง. ถามองเห็นขอนี้ มั นไมมี ทางจะเกิดกิ เลส ไม มี ทางจะเกิดความยึดมั่ นถือมั่ น ไมมีทางที่จะเปนทุกข; ฉะนั้นการที่บรรยายเรื่องธาตุ ใหมองเห็นความจริงขอนี้ จึงเป นสิ่ งที่ สํ าคั ญ ที่ควรกระทําอยางยิ่ง ที่ ทํ าให เห็นเรื่องอนัตตา เรื่องสุญ ญตา วา เปน ธาตุ มตฺต โก-สัก วา ธาตุ นิส ฺส ตฺโ ต-ไมใ ชส ัต ว, นิช ฺช ีโ ว-ไมใ ชช ีว ะ, สุ ฺโ วางเปลาจากความหมายแหงความเปนตัวตน. ถาเรามาศึกษาเรื่องธาตุจนเขาใจกันดีแลว ก็จะมองเห็นความจริง ขอนี้ คื อ เรื่ อ งอนั ต ตา, หรื อ เรื่ อ งสุ ญ ญตา; เหตุ ผ ลเพี ย งเท า นี้ ก็ พ อแล ว สํ า หรั บ ที่ จ ะ ตอบวา ทํ าไมจึ งเอาเรื่องธาตุ นี้ มาพู ดกั นก อน เป นจุดตั้ งต น, เป นเหมื อนชนวนที่ จะ ตั้ ง ต น ไปยั งเรื่ อ งทั้ ง หลายอื่ น ที่ เกี่ ย วเนื่ อ งกั น เป น ลํ า ดั บ ไป. ดั งนั้ น ในระยะแรกๆ ของการบรรยายนี้ เราจะตองพูดกันเรื่องธาตุ.
www.buddhadasa.info ความสําคัญของสิ่งที่เรียกวา “ธาตุ” ที่ตองสนใจ สํ าหรับวั นนี้ จะบรรยายแต เพี ยงโดยหั วข อวา : “เรื่องที่ ควรทราบก อน” เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวาธาตุ; เพราะยังไมสามารถจะพูดถึงเรื่องตัวธาตุโดยตรง อยาง ละเอียด เปนธาตุๆ ไปได; จะตองพูดถึงเรื่องที่ควรทราบกอนเกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวาธาตุ.
๘
ปรมัต ถสภาวธรรม
มั นคล ายกั บวาเรามองดู คราวๆ ทั่ วไปให รูที่ เราเรียกกั นวา back ground :ภู มิ หลัง ของ สิ่งที่ เรียกวาธาตุ ; ทั้งภู มิ หนาภู มิ หลัง เท าที่เกี่ยวกับมนุษยเรานี้แหละ เพื่ อให เกิดความ สนใจกันเสียกอน. วันนี้ แม วาจะพู ดเรื่องธาตุ แต ก็ พู ดได เพี ยงวา “เรื่ องที่ ควรทราบก อน” เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวา ธาตุ; ไมสามารถจะบรรยายเรื่องธาตุโดยตรงโดยละเอียด ทีละ ธาตุ ที ละธาตุ ได ซึ่ งจะต องบรรยายกั นหลายคราว จึ งจะจบเรื่องธาตุ ซึ่ งมี อยู มากมาย เหลือเกิน; เพราะมันเปนเรื่องครอบหมดไมยกเวนอะไร อย างเช น สิ่ งทุ กสิ่ งที่ มี ในฝ ายโลกเรานี้ ก็ เรี ยกว า สพฺ พสงฺ ขารธาตุ -ธาตุ คื อ สั ง ขารทั้ ง ปวงนี้ ก็ พ รรณนากั น ไม ไ หวแล ว มั น มาก มั น เป น ทุ ก สิ่ ง ; แล ว ที่ ต รง กั นข ามก็ คื อ อมตธาตุ ซึ่ งหมายถึ งนิ พ พาน ก็ เลยหมด เลยไม มี อะไรเหลื อ ที่ จะไม เรีย กว า ธาตุ ห รือ ไม เกี่ ย วกั บ ธาตุ . ในที่ บ างแห ง ท า นแบ งไว เป น รูป ธาตุ อรูป ธาตุ แล ว ก็ นิ โรธธาตุ , เพี ย ง ๓ ชื่ อ เท า นั้ น แหละ มั น ก็ ห มด คื อ ว า หมดเลย หมดทั้ ง จักรวาล และหมดทุกฝายดวย.
www.buddhadasa.info รูป ธาตุ ก็ค ือ ธาตุที ่ม ีร ูป รา ง, อรูป ธาตุ ก็ค ือ ธาตุที ่ไ มร ูป ไมม ีร า ง คื อ เป น นามหรือ เป น จิ ต , นิ โรธธาตุ ก็ คื อ ธาตุ เป น ที่ ดั บ ของสิ่ งทั้ งสองขางต น ก็ คื อ นิ พ พาน. พู ด เพี ย ง ๓ คํ าเท านี้ มั น หมดไม มี อ ะไรเหลื อ ; เราจะบรรยายกั น ในเวลา ครั้งเดียว สองครั้ง มันทําไมได, มันกตองเอาไวพูดกันไปทีละอยางละอยางตามลําดับ.
อิทธิพล หรือ คาของธาตุ เกี่ยวกับมนุษย สําหรับ เรื่อ งที่ ค วรทราบก อ น เกี่ ย วกั บ สิ่ งที่ เรียกวาธาตุ นี้ มั น ก็มี มาก เหมื อนกั น ถ าจะพู ดกั นให หมดแล วก็ พู ดไม จบได ในการบรรยายคราวเดี ยว; แต จะ ลองพยายาม เทาที่วาจะใหเกิดความสนใจเปนพิเศษกันในสิ่งที่เรียกวาธาตุนี้.
ขอ ควรทราบกอ น เกี่ ย วกับ สิ่ง ที่เรี ยกวา ธาตุ
๙
สัตวทั้งหลายยอมคบหาสมาคมกันตามธาตุ ตัวอยางอั นที่ หนึ่ ง พระพุ ทธเจาทานตรัสวา : ธาตุโส ว ภิ กฺขเว สตฺตา สํ ส นฺ ท นฺ ติ สเมนฺ ติ -ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย สั ต ว ทั้ ง หลาย ย อ มคบหาสมาคมกั น ตามธาตุ . ที่ พระพุ ทธเจ าตรัสวาสั ตวทั้ งหลายจะคบหาสมาคมกั นแต ตามธาตุ : ธาตุ โส-โดยธาตุ , ว-เท านั้ น, ธาตุ โส ว- โดยธาตุ หรือตามธาตุ เท านั้ น. สั ตวที่ มี จิ ตใจเลว ก็ จ ะคบหาสมาคมกั น แต สั ต ว ที่ มี จิ ต ใจเลว -หี น าติ มุ ตฺ ติ ก า หี น าติ มุ ตฺ ติ เกหิ สทฺ ธึ สํสนฺ ทนฺ ติ สเมนฺ ตี ติ ; แลวสั ตวที่มี จิตใจดี ก็จะคบสมาคมกันแตพวกสัตวที่ มี จิตใจดี เป น บาลี ว า -กลฺ ย าณาธิ มุ ตฺ ติ ก า กลฺ ย าณาธิ มุ ตฺ ติ เกหิ สทฺ ธึ สํ ส นฺ ท นฺ ติ สเมนฺ ตี ติ ก็ ได ความว าคนที่ คบหาสมาคมกั นนี้ คบกั นตามธาตุ . นี้ เราอาจจะไม นึ ก หรือไม เคย สังเกต หรือไมเคยใชคําๆ นี้. ที่วาคบหาสมาคมกันตามธาตุนี่ ในบาลีสังยุตตนิกาย ระบุไวสองอยาง: คื อธาตุ เลว กั บธาตุ ดี . พวกธาตุ เลวมั นก็ คบกั นแต พวกธาตุ เลว พวกธาตุ ดี ก็ คบกั น แต พ วกธาตุ ดี ; ใช คํ า ว า หี น ะ แปลว า เลว; กั ล ยาณะ แปลว า ดี . นี้ ย อ มมอง เห็ น กั น ได แล วว า คนดี จะคบกั น แต พ วกคนดี , คนเลวคบกั น แต พ วกคนเลว; เพราะ มั นมี อะไรตรงกั น; แม ว าคนเลวมั นจะคิ ดว า เลวนั้ นคื อดี . มั นก็ มี ความเห็ นตรงกั นว า เลวนั้นแหละคือดี; มันก็คบกันไดตามเลว; และโดยคิดวาดี.
www.buddhadasa.info ถ าจะถื อตามบาลี แห งอื่ น เช นบาลี ที ฆนิ กาย ก็ แบ งธาตุ ออกไปเป น อย าง ละ ๓ : เปน ฝา ยอกุศ ลกอ น; อกุศ ล คือ กามธาตุ พยาบาท วิหิง สาธาตุ นี้ ธาตุ อกุ ศล : ความรูสึ กนึ กคิ ด หรือสั นดานอะไรก็ ตามที่ มั นหมกมุ นในกาม, หมกมุ น ในความพยาบาท, หมกมุ นในความเบี ยดเบี ยน; นี้ เป นอกุ ศลธาตุ . พวกที่ มี อกุ ศลธาตุ มันก็พอใจแตจะคบพวกที่มีอกุศลธาตุดวยกัน
๑๐
ปรมัต ถสภาวธรรม
สวนกุศลธาตุนั้น ทานระบุเปน เนกขัมมธาตุ อัพยาปาทธาตุ อวิหิง สาธาตุ . เนกขัมมธาตุ คือ ไมติดอยูในกาม หลีกออกจากกาม ไมเปนผูลุมหลงในกาม; แล วก็ ไม พยาบาท; ไม เบี ยดเบี ยน; ธาตุ นี้ เรียกวา กุ ศลธาตุ . พวกที่ มี กุ ศลธาตุ ก็ พอใจ คบกั น แต พวกที่ มี กุ ศลธาตุ ด วยกั น ; ยกมาให เป นตั วอย างเท านั้ น ไม อ าจจะอธิ บ าย โดยละเอียด เฉพาะธาตุนั้นๆ ได. ธาตุ อี กหมวดหนึ่ งในที่ มาเดี ยวกันนั้ น แบ งไวงายเหลือเกินวา หี นธาตุ ธาตุเลว มัชฌิ มธาตุ-ธาตุขนาดกลาง ปณี ตธาตุ-ธาตุอันละเอียดประณี ต. หีนธาตุ ธาตุ เลวนั้ น ได แ ก : กามธาตุ คื อ มี สั น ดานที่ ห มกมุ น อยู ใ นกาม, มั ช ฌิ ม ธาตุ นั้ น คื อ รูป ธาตุ ไม เกี่ ย วกั บ กาม หมกมุ น อยู ในรูป ที่ บ ริสุ ท ธิ์, ปณี ต ธาตุ -ธาตุ อั น ละเอี ย ด ได แก อรูปธาตุ ไม เกี่ ยวกับกาม ไม เกี่ ยวกั บรูป ไปหมกมุ นอยู ในอรูปอันละเอี ยด; แต นี้ ยั งไม ถึ งนิ พพาน เพราะที่ ว าเป นอย างเลว อย างกลาง อย างประณี ต. นี้ เป นเรื่องฝ าย โลกๆยั ง ไม ถึ ง นิ พ พาน; เพราะว า ถ า บรรลุ นิ พ พานแล ว ไม ต อ งพู ด กั น ถึ ง เรื่ อ งการ คบหาสมาคม มันอยูเหนืออะไรทั้งหมด.
www.buddhadasa.info คบก็คบกันตามธาตุ สัตวก็คบกันตามธาตุ
ที่นี้ อยากจะพูดแตวา คนมีธาตุเลว หมกมุนอยูในกามนี้ มันก็คบกันแต คนที่มีธาตุเลวดวยกัน คนที่มีธาตุขนาดกลางคือรูปธาตุนี้ ก็คบหาสมาคมกันแลวแตพวกที่ พอใจในรู ป ธาตุ ; เช น ฤาษี ชี ไพร ตั้ งหน าตั้ งตาเจริ ญ สมาธิ พอใจอยู ในความสุ ขอั น เกิ ดแต รูปสมาบั ติ . คนพวกนี้ ก็ พอใจจะคบกั นแต คนพวกเดี ยว จะมาคบกั บชาวบ าน ที่ ห มกมุ น อยู ในกามได อ ย างไร. เราจะเห็ น ได ทั น ที ดั งที่ พ ระพุ ท ธเจ าตรั ส ไว ชั ด เจน วา : สัตวทั้งหลายจะคบหาสมาคมกันแตโดยธาตุเทานั้น.
ฝายคนที่ ไปไกล ถึ งขนาดเป นพวกที่ ได อรูปสมาบั ติ ก็มี ลั กษณะคล ายจะดู หมิ่ นคนต่ํ าๆ, ไม อยากจะมาสนทนาคบหากั นกั บคนต่ํ าๆ. พวกอรูปสมาบั ติ ก็ คบหา สมาคมกันแตพวกที่อยูในชั้นสูง มีจิตใจสูง พอใจในอรูปสมาบัติดวยกัน
ขอ ควรทราบก อ น เกี่ ย วกับ สิ่ง ที่ เรียกวา ธาตุ
๑๑
นี่ เห็ นได ชั ดว า มนุ ษย ย อมชอบคบกั นแต ผู ที่ มี ธาตุ อย างเดี ยวกั น; แม เป น เทวดาก็ ตาม เป นเทวดาชั้ นไหน มี กามธาตุ ชั้ นไหน เทวดาที่ มี กามธาตุ ชั้ นนั้ น ก็ คลุ กคลี กั น แต กั บ เทวดาในกามธาตุ ชั้ น นั้ น ; ถ า มั น มี . หรื อ ถ า ว า เป น พรหม, ในพรหมโลก ที่มีพรหมเหลานั้น พรหมก็จะคบหาสมาคมกันแตตามธาตุหรือตามภูมิตามชั้น. เดี๋ ย วนี้ เราเอาจิ ต ใจที่ มี ค วามรู สึ ก จริ ง ๆกั น อยู , ที่ เห็ น ๆกั น อยู นี้ แ หละ เป น หลั ก : คนที่ มั ว เมาในกาม ก็ ย อ มคบคนที่ มั ว เมาในกาม, คนที่ พ อใจในรู ป สุ ข ความสุขอันเกิดแตรูปอันบริสุทธิ์ ก็ยอมพอใจ จะคบกันแตคนที่มีจิตใจอยางนั้น. ทีนี้ แมไมตองพูดถึงคนแลว แมแตสัตวเดรัจฉาน มันก็ยังคบกันตามธาตุ, มั น จั บ คู กั น ตามธาตุ . แม แ ต น กหนู อ ย า งนี้ มั น ก็ เลื อ กคู แ ต ที่ มั น ถู ก อารมณ ข องมั น , มั น พอใจของมั น ; ถ าดู ผิ ด ท าผิ ด ทาง แล วมั น ไม เล น ด ว ย. หรื อ ว ามั น จะต อ งเหมื อ น มัน พอใจของมัน ; ถา ดูผ ิด ทางแลว มัน ไมเ ลน ดว ย. หรือ วา มัน จะตอ งเหมือ น กั นอย างน อย เช นว า ควายก็ เข าฝู งควาย, วั วก็ เข าฝู งวั ว, ม าก็ เข าฝู งม า; มั นจะไปกั น ตามธาตุอยางนี้. แมมันจะคบหากันจะจับคูกันมันก็ทําไปตามธาตุแมแตสัตวเดรัจฉาน.
www.buddhadasa.info จะดู ให ล ะเอี ย ด ให ใกล เข า มาว า คนเรานี่ แ หละ, ที่ เป น ผั ว เมี ย รั ก กั น ปานจะกลื น กั น นั้ น ก็ เพราะมั น ถู ก กั น โดยธาตุ อย า งพระพุ ท ธเจ า ตรั ส . ถ า ผั ว เมี ย คู ไ หนธาตุไ มถ ูก ัน เลย มัน ตอ งอยา กัน แน, หรือ ถา ขนากพอทนได มัน ก็ม ีส ว น ที่เรียกวามีธาตุตรงกันบาง มันจึงทนกันอยูได.
หี น ธาตุ -ธาตุ ห ยาบ ธาตุ เ ลว ธาตุ ไ พร ; คิ ด ดู ซิ กั บ ปณี ตธาตุ ธาตุ ประณี ต ดี ธาตุ ผู ดี . ธาตุ ไพร มั น ก็ ยากจะคบกั บ ธาตุ ผู ดี , ธาตุ ผู ดี ก็ ยากที่ จ ะคบกั น ได กั บ ธาตุ ไพร ; เพราะอั น หนึ่ งเป น หี นธาตุ อี กอั น หนึ่ งเป น ปณี ต ธาตุ . ถึ งแม ว าเป นธาตุ ชื่ อเดี ยวกั น แต ถ าต างระดั บกั นนั ก คื อเลวมากเกิ นไป มั นก็ คบกั บพวกที่ เลวน อยไม ได มันตองมีอะไรพอดีๆ กัน จึงจะคบกันได.
ปรมัต ถสภาวธรรม
๑๒
แมที่สุดแตวาศิษยกับอาจารย บางทีไมอยากจะสนใจกันและกัน เพราะวา มั น มี ธาตุ ไม ต รงกั น ; เท าที่ เห็ น มาบางสํ านั ก นี้ จะเอาศิ ษ ย ไปฝาก ต อ งดู เดื อ นดู วั น ดู ป ตามโหราศาสตร ว าธาตุ มั น พอจะไปกั น ได ไหม? ถ าดู แ ล ว ตั วเลขมั น บอกว า พอจะไปกันไดจึงจะรับไวอยางนี้ก็มี. นี่ก็เรียกวากลัวมากหรือวาเชื่อถืออยางนี้มาก. บ า วกั บ นาย ก็ เหมื อ นกั น แหละ ถ า ธาตุ ไม กิ น กั น แล ว มั น อยู กั น ไม ไ ด คนหนึ่ งเป น นาย คนหนึ่ งเป น บ าว มั น ก็ ยั งรั บ ใช กั น ยาก; ถ าว าธาตุ อ ะไรบางอย าง มั น ไม กิ น กั น . เพื่ อ นกั บ เพื่ อ น นี้ ยิ่ งชั ด มากที เดี ย ว; ถ า มั น มี อ ะไรที่ ไม ต รงกั น แล ว จะเปนเพื่อนกันไมได. แม แตวาพ อแม กับลู ก : พ อแมฝายหนึ่งกับลูกฝายหนึ่ง; ถามีธาตุอะไร ไกลกันเหลือเกินแลวมันก็ไมรัก หรือไมรักมาก. มันสําคัญอยูที่วามีธาตุตรงกันนั่นแหละ จึ งจะมี ความรั ก มาก; ไม ใช เพี ย งแต ว าคลอดออกมาเองแล วก็ จ ะรัก . มั น ก็ ค งจะรั ก กั น บ า งในส ว นนั้ น ; แต มั น จะเท า กั น ไม ไ ด . ถ า ลู ก คนไหนมี ธ าตุ ต รงกั น กั บ พ อ แม พ อ แม จ ะรั ก มาก, ลู ก คนไหนมั น ดื้ อ กระด า ง มั น เกเร พ อ แม ก็ รัก น อ ย, หรือ บางที อาจจะไมรักเลย.
www.buddhadasa.info นี้ คื อเหตุ ผลที่ เป นตั วอย างที่ ว า แม การสั งคมมั นก็ เป นไปตามธาตุ , โดย ส วนป จเจกชน ส วนคนหนึ่ งๆ มั นก็ เป นไปตามธาตุ ประกอบอยู ด วยธาตุ . พอจะไป สังคมกันอีก มั นก็ยังตองอาศั ยสิ่งที่ เรียกวาธาตุ นั่ นเอง; ดั งนั้ น ควรจะยุ ติ กันได ที หนึ่ ง แลววา สิ่งที่เรียกวาธาตุนี้เปนเรื่องสําคัญ เปนสิ่งสําคัญที่ควรจะศึกษา.
คําวา ธาตุ ในทางพุทธศาสนา เอาละที นี้ จ ะได พู ด กั น ต อ ไปถึ ง คํ า ว า “ธาตุ ”; สํ า หรั บ คํ า นี้ เมื่ อ เป น ที่ คุนหูแกเรา ก็เรียกวา ธาตุนั้น ธาตุนี้ กันอยูมากแลว; แตก็ไดแตพูดไปตามๆ กัน
ขอ ควรทราบกอ น เกี่ ย วกับ สิ่ง ที่ เรียกวา ธาตุ
๑๓
หรือเท าที่ เขาพู ดกั นอยู ที่ ลึ กซึ้ งกว านั้ นยั งไม รู. เดี๋ ยวนี้ เราต องการจะพู ดธรรมะในทาง พุ ทธศาสนา ต องการจะพู ดอย างละเอี ยดลออ ก็ ต องพู ดกั นมากหน อย แม แต สํ าหรั บ คําวา “ธาตุ” เพียงคําเดียว. ขอให ตั้ ง ใจฟ งให เข าใจ คํ า ว า ธาตุ . ถ า คํ า อธิ บ ายอั น ใดเป น ส ว นเกิ น สํ าหรับคนธรรมดาสามั ญ ก็ ต องเห็ นใจบ าง เพราะคนที่ อยากจะรูอย างละเอี ยดลอออย าง ทั่ ว ถึ ง นั้ น ก็ มี อ ยู ; มั น ไม เกิ น สํ า หรั บ ผู ที่ มี ส ติ ป ญ ญา สามารถจะรู ใ ห ล ะเอี ย ดลออ เพราะฉะนั้น อาตมาจะขอโอกาสพูดถึงคําวาธาตุนี้อยางละเอียดลออสักหนอย เพื่อ เปนการพูดคราวเดียวเสร็จไปเลย ไมตองพูดถึงอีก. คํ า ว า ธาตุ ; ธอ ธง สระ อา ตอ เต า สระ อุ , ในบาลี อ อกเสี ย ง ว า ธา-ตุ , ภาษาไทยว าธาตุ . คํ าๆ นี้ เป น คํ าที่ ต รงกั น ทั้ งบาลี และสั น สกฤต; ฉะนั้ น จึงพูดถึงนัยะแหงภาษาบาลีและสันสกฤต กอน. คํ าว า ธา-ตุ หรื อ ธาตุ นี้ มาจากธาตุ ศั พท หรื อรากศั พท ว า ธร คื อ ธอ ธง รอ เรื อ . ธร ธาตุ มี ค วามหมายว า ธารเณ คื อ ทรงไว ; มี ค วามหมายว า อวิ ทฺ ธํ ส เน คื อ ไม สลายไป; มี ความหมายว า อวตฺ ถาเน คื อการ กํ าหนดได ทั้ ง ๓ ความหมายนี้ เนื่ องกั น : ถ ามั น ทรงตั วอยู ได มั นจึ งจะ ไม สลาย; เมื่ อมั นทรงตั วอยู อย างไม สลาย มั นจึ งเป นสิ่ งที่ กํ าหนดได ว าอะไรเป นอะไร. รวมความทั้ ง ๓ ความหมาย มั นก็ เป น คําวา ธาตุ : คือสิ่งที่ทรงตัวอยูไดไมสลายไป, มีลักษณะที่อาจจะกําหนดไดวา เปนอยางนั้น อยางนี่.
www.buddhadasa.info ถ า จะตอบให สั้ น ที่ สุ ด คํ า ว า ธาตุ ธาตุ นี้ “แปลว า ทรงไว ”; แต ถึ ง อยางนั้น มันก็แยกความหมายออกไปไดหลายอยาง : ทรงตัวเองไวก็มี ก็เรียกวา ธาตุ,
๑๔
ปรมัต ถสภาวธรรม
แลวก็ทรงสิ่งอื่นไวก็มี, และก็ถูกสิ่งอื่นทรงไวอีกทีหนึ่งก็มี. คําวา “ทรง” เพียงคําเดียว มันทรงตัวเองก็ได ทรงสิ่งอื่นก็ได และถูกสิ่งอื่นทรงไวก็ได; ดังคําบาลีวา นิพฺพานํ นิจฺจํ ธรติ -พระนิ พพานอั นเป นของเที่ ยงย อมทรงอยู ; แปลว านิ พพานนั้ นทรงอยู ; นิ พพาน นั้ นเป นธาตุ อั นหนึ่ งทรงตั วเองอยู แต ถ า พู ด ว า ธาเรติ สตฺ ถุ สาสนํ -ย อ มทรงไว ซึ่ ง ศาสนาของพระศาสดา อยางนี้. นี้มั นทรงสิ่งอื่นอยู มั นมีผูใดผูหนึ่งทรงสิ่งใดสิ่งหนึ่ งอยู; สาวกยอมทรงไว ซึ่งศาสนาของพระศาสดา คื อยอมดํารงศาสนาของพระศาสดาใหยังคงอยู. คําวา ทรง ในรูปนี้ มันหมายถึงทรงสิ่งใดสิ่งหนึ่งไว. ทีนี้ อันสิ่งใดสิ่งหนึ่งทรงไว หรือทรงอยู เชน ภูเขา เรียกวา : ภูธโร -อั นแผ นดิ นทรงไว ภู ธร แปลว า อั นแผ นดิ นทรงไว , ศั พท เดิ มหมายถึ งภู เขา จะหมาย ถึ งพระราชา หมายถึ งอะไรก็ ได แล วแต มั นจะเล็ งถึ งอะไร แต ต องมี สิ่ งหนึ่ งสิ่ งใดทรงไว เชน พระราชานี้ ต องมี ราษฎรทรงไว, หรือพระเจาอย างนี้ เรียกวา ภู ธร ก็ ได แต ต องมี สาวกหรือ ผู นั บ ถื อ ทรงไว . คํ าแรกที เดี ย ว ภู ธร, ภู ธโร นี้ แปลว าภู เขา : ภู แปลว า แผ น ดิ น , ธร ทรงไว, ภู ธระ อั น แผ น ดิ น ทรงไว. นี้ หมายถึ งภู เขา, แต แ รกที เดี ย ว เขาใหหมายถึงภูเขามากกวาอยางอื่น.
www.buddhadasa.info ยกตั วอย างทางธรรม ทางภาษามาให ฟ ง คงจะลํ าบากสํ าหรับผู ที่ ไม สนใจ. แต ขอใหจับใจความใหไดวา “คําวา ธาตุ นี้ มาจากรากศัพทวา ทรง” ทรงตัวเอง ก็ได, ทรงสิ่ ง อื่ น ก็ ได , ถู ก สิ่ ง อื่ น ทรงไว ก็ ได , เรี ย กว า ธาตุ ทั้ ง นั้ น . ธาตุ จึ ง มี ม าก มี ค รบ ทุกอยาง ทุกสิ่ง ทุกอยาง เรียกวา ธาตุ. ทีนี้จะตองไมลืมก็คือวาธาตุ กับคําวาธรรมะนี้ มูลธาตุเปนธาตุเดียวกัน ธาตุ ทรงไว ทรงสิ่งอื่น หรือถูกสิ่งอื่นทรงก็ตาม.
ข อ ควรทราบกอ น เกี่ย วกับ สิ่ง ที่ เรียกว า ธาตุ
๑๕
คําวา ธาตุ หรือ ธรรม ตามภาษาบาลี คํ าวา ธรรม ที่ เราเรียกกั นวา พระธรรมนี้ ก็ มาจากธาตุ ที่ วาทรงเหมื อน กั น, ธรรมะคื อ สิ่ งที่ ทรงตั วไวหรือวา สิ่ งที่ ทรงผู ปฏิ บั ติ ไว ไม ให ตกไปในที่ ชั่ ว อย างนี้ เป น ต น . ธา-ตุ กั บ ธมฺ ม นั้ น เป น ธาตุ เดี ยวกั น คื อ ธาตุ ท รงด วยกั น . ธาร ที่ ม าใน หมวด จุ ธาตุ นี้ แจกได รูปเป น ธมฺ ม, ธร ธาตุ ที่ มาในหมวด ภู ธาตุ แจกรูป ได เป น ธาตุ. นี ่ม ัน ยุ ง ทางไวยากรณ ไมต อ งพูด ก็ไ ด; เอาความหมายวา :- ธาตุก ็ดี ธรรมะนี้ก็ดี มีคําแปลวา ทรง, ทรงตัวเองดวย, ทรงสิ่งอื่นดวย ถูกสิ่งอื่นทรงไวดวย นี้เป นภาษาบาลี มองดูสิ่งที่เรียกวาธาตุ ตามหลักเกณฑ แหงภาษาบาลีจะไดความอยางนี้: วามั นเป นสิ่ งที่ มี อยู , หรือทรงอยู โดยตั วมั นเอง แล วมั นก็ ทรงสิ่ งอี่ นด วยก็ ได , หรือวา มันถูกสิ่งอื่นทรงดวยก็ได, เปน ๓ ความหมายอยูดังนี้.
คําวา ธาตุ ตามความหมายภาษาอังกฤษ ถ าสํ าหรับภาษาอั งกฤษ แปลคํ าวาธาตุ ธา-ตุ นี้ เป นภาษาอั งกฤษว า element แปลว าส วนที่ เป นรากฐาน. ถ าจะให คํ านิ ยามให มั นชั ดๆ ต องพู ดว า “ส วน ประกอบ, ส ว นสุ ด ท า ยที่ เป น ขั้ น รากฐาน ที่ ถู ก ต อ งและจํ า เป น เพื่ อ ประกอบเป น สิ่ งสมบู รณ ขึ้ น มาสิ่ งหนึ่ งๆ”. ความหมายของคํ าว า element ในภาษาอั งกฤษ คื อ ส วนประกอบส วนสุ ดท าย; หมายความว าเราแยก ส วนประกอบ แยกออกไป จนแยก ออกไปไมไดอีก.
www.buddhadasa.info สวนประกอบสวนสุดทาย ที่เปนขั้นรากฐาน ที่ถูกตอง; หมายความวา ถูกตองสําหรับจะเปนอยางนั้น, ที่จําเปนที่จะเปนอยางนั้น, เพื่อประกอบใหเปนสิ่งสมบูรณ ขึ้นมาสักสิ่งหนึ่ง. นี้ก็หมายความวา สิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งสําเร็จรูปมาไดแลวนี้แหละ จะตองประกอบอยูดวยสิ่งที่เรียกวาธาตุ หรือ element เปนสวนสุดชั้นลาง ขั้นพื้นฐาน
๑๖
ปรมัต ถสภาวธรรม
ที่ ถู ก ต อ ง และจํ า เป น ให คํ า นิ ย ามสั้ น ๆ ว า Ultimate constituent of a whole-ส ว น ประกอบที่จําเปนอยางเด็ดขาด สําหรับสิ่งทั้งหมด เรียกวา element หรือตรงกับคําวาธาตุ. ถ าเราดู เราก็ จะเห็ นว า เป นความถู กต องอย างนั้ น, มี ความหมายถู กต อง อย างนั้ น . สิ่ งใดสิ่ งหนึ่ งแยกออกไปเป น ส วนๆ, แยกออกไปอี ก เป น ส ว นๆ จึ งถึ งส ว น สุ ดท าย; แต ละส วนละส วน ที่ จํ าเป นจะต องมี , จะต องมี อย างถู กต อง, สํ าหรับจะประกอบ กันขึ้นมาเปนสิ่งนี้. ยกตั ว อย า งเช น คนๆ หนึ่ ง แยกออกไปดู มั น ก็ จ ะเป น ธาตุ น้ํ า ธาตุ ดิ น ธาตุ ลม ธาตุ ไฟ ธาตุ อากาส ธาตุ วิ ญ ญาณ; ก็ เลยถื อว าส วนนั้ นแต ละส วนละส วนนั้ น คื อส วนประกอบชั้ นสุ ดท าย ในขั้ นลึ กที่ เป นรากฐานที่ จํ าเป นอย างยิ่ ง ที่ จะต องมี ; และจะ ต องมี อย างถู กต อง; แล วคนๆ หนึ่ งจึ งจะมี ขึ้ นมาได . ภาษาบาลี มี อยู เป นหลั กเดิ มอย างนี้ , ถ ายออกไปเป นภาษาอื่ นโดยความหมายเดิ ม. ในภาษาอั งกฤษ ผู รูภาษาก็ ใช คํ าว า element คือรากฐานเบื้องตน ที่ถูกตอง และจําเปน สําหรับสิ่งสมบูรณสิ่งหนึ่ง.
www.buddhadasa.info คําวาธาตุ ตามความหมายในภาษาละติน
มี นั ก ศึ ก ษาบางคน ที่ ค งแก เรี ย นเขาสอบสวนแล ว ; เขาบอกว า คํ า ว า ธา-ตุ นี้ มั นตรงกั บภาษาละติ นว า conditor, คํ า conditor นี้ ตรงกั บคํ าว า “ธร ธาตุ ” ในภาษาบาลี . คํ า นี้ แ ปลว า เนื่ อ งกั น อยู และทรงกั น ไว ; แสดงความหมายเด น ขึ้ น ไปอี ก ว ามั น แยกกั น ไม ได , มั น ต อ งเนื่ อ งกั น อยู มั น เนื่ อ งกั น อยู ผู กพั น กั น อยู , มั น จึ ง ทรงตั ว กั น ไว ไ ด . อย า งว า คนเรานี้ ป ระกอบด ว ยธาตุ ๖; ธาตุ ทั้ ง ๖ ต อ งเนื่ อ งๆ กั น อยู ต อ งสั ม พั น ธ กั น อยู . ถ ามั น เกิ ด แยกกั น มั น ก็ ส ลาย, มั น ต อ งเนื่ อ งกั น อยู มั น จึงจะทรงตัวไวได ก็เปนความหมายวามันทรงไวนั่นเอง, คือ “ทรงอยู” นั่นเอง.
ข อ ควรทราบกอ น เกี่ย วกับ สิ่ง ที่ เรียกว า ธาตุ
๑๗
นี่ เรียกวา “ธาตุ ” ตามตั วหนั งสื อ ตามความหมาย ตามตั วหนั งสื อของภาษา ต างๆ, ขื น พู ด ไปมั น ก็ ไม รูจั ก จบจั ก สิ้ น . แต ส รุ ป ความได ว า ทุ กชาติ ทุ กภาษา จะมี ความหมายที่ ต รงกั น สํ า หรั บ คํ า ๆ หนึ่ ง คื อ คํ า ว า ธาตุ ซึ่ ง ส ว นประกอบ, ส ว น รากฐานที่ สุ ด ของสิ่ งทั้ งปวง; มี ด วยกั น ทุ ก ชาติ ทุ กภาษา ทุ ก ลั ท ธิ ทุ ก ศาสนา มั น ต อ งมี สิ่ ง ๆ นี้ . พู ด ไปทางภาษามั น ก็ เป น เรื่ อ งเวี ย นหั ว แต เมื่ อ ถื อ เอาความหมาย มั นก็ยิ่ งได ชั ดเจนขึ้ น วาถ ามี สิ่ งที่ ทรงตั วเองได และสั มพั นธกั นอยู ก็ ทรงหมู หรือทรง กลุมนั้นไวได นี่ก็คือคําวาธาตุ.
ธาตุในภาษาวัตถุ ถาวาจะดูสิ่งที่เรียกวาธาตุใหชัดเจนอีก ก็จะตองดูกันในแงที่วา เปนภาษาวัตถุ หรือวาเปนภาษานามธรรม; ถาเปนภาษาวัตถุ มันก็หมายถึงตัววัตถุ อยางภาษาเคมี หรือแม แต ภาษาฟ สิ คส . คํ าวา element หรือธาตุ มั นหมายถึ งวัตถุ , หมายถึ งตั ววัตถุ . พวกที่เรียนวิทยาศาสตรมาแลว ก็จะรูวาเคมีนี้แหละเขาเล็งถึงตัวธาตุตางๆ ที่เปนธาตุแท เชน ไฮโดร-เจน ไนโตรเจน อะไรทํ า นองนี ้. มัน ก็เ ปน สิ ่ง หนึ ่ง ซึ ่ง เปน วัต ถุ แล วก็ ไม มี อะไรปน เรี ยกว าธาตุ แท หนึ่ งๆ ซึ่ งเดี๋ ยวนี้ เขาว ามี ตั้ ง ๑๐๘ : ธาตุ ทางเคมี ธาตุ แ ท ห ลายๆ ธาตุ ม าผสมกั น เข า จนกระทั่ ง สํ า เร็จ เป น วั ต ถุ นี้ , เป น ยาขนานนั้ น เปนยาขนานนี้ อันนี้มันเปนวัตถุธาตุ. พุ ทธศาสนาไมไดพู ดถึงสิ่งนี้ ; อยาเขาใจวา พุ ทธศาสนามุ งจะพู ดถึ งวัตถุ ธาตุ อย างนี้ นั้ นเป นเรื่องทางวัตถุ ทางชาวบ านที่ เขาค นพบ เขาปรับปรุง เขาอะไรตออะไรกันไป แตก็เรียกวาธาตุไดอยูนั่นเอง.
www.buddhadasa.info ถ าพู ด ทางฟ สิ ค ส แม แต แสงสว าง ก็ เป นธาตุ ชนิ ดหนึ่ ง, เสี ยงที่ ได ยิ น ก็เปนธาตุชนิดหนึ่ง, ความรอนก็เปนธาตุชนิดหนึ่ง; เพราะมันระบุอยูแลววา : มัน
ปรมัต ถสภาวธรรม
๑๘
มี รูปธาตุ นั่ นแหละคื อแสง มี สั ททธาตุ นั่ นแหละคื อเสี ยง, มี เตโชธาตุ เป นต น นั่ นแหละ ความรอน. วัตถุ ล วนๆ ก็ เป นธาตุ แล วยั งจะหมายถึ งตั ววัตถุ ก็ ได , ตั วกิ ริยาอาการแห ง วัตถุ ก็ได , ตัวปฏิ กิ ริยาอาการที่ เกิดขึ้นก็ได , เรียกวาธาตุ ทั้ งนั้ น จึงเป นรูปธาตุ ได ทั้ งนั้ น. อย างน อยที่ สุ ดก็ เพราะมั นแสดงให เห็ นได สั มผั สได ทางตา ทางหู ทางลิ้ น ทางกาย นี้ ก็ เรียกวาวัตถุ ธาตุ . พุ ทธศาสนาไม ต องการจะสอน ไม ต องการจะพู ดถึ ง, ถ าพู ดถึ ง ก็พูดถึงในฐานะไวเปนธาตุทั้งปวง ไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตา.
ธาตุในภาษานามธรรม ในทางพุทธศาสนา ตองการจะพูดถึงธาตุ ในภาษานามธรรม ไมใช ภาษาวัตถุ, เป นภาษาจิตใจ; แม จะเรียกวารูปธาตุ ก็หมายถึ งนามธรรม คื อคุ ณสมบั ติ ที่มีอยูในวัตถุ : ธาตุ ดิ น, ปฐวีธาตุ วัตถุนี้ มี ลักษณะแข็ง คํ าวาแข็งคือมั นไม ยอมให สิ่งอื่ น มากินเนื้อที่ของมัน. มันกินเนื้อที่อยูเรื่อย, ของแข็งมันกินเนื้อที่, มีความหมายสําคัญวา มันกินเนื้อที่ นั่นแหละคือของแข็ง. ของแข็ง เรียกวาธาตุดิน แตมิไดหมายถึงตัวดิน; หมายถึงคุณสมบัติที่มีอยูในดิน เปนตน ที่มันเปนของแข็ง และกินเนื้อที่. ตองพูดวา ความที่ มั น แข็ ง และกิ น เนื้ อ ที่ นั่ น แหละคื อ ธาตุ ดิ น ; มิ ได เล็ ง ถึ ง ตั ว ดิ น . เข า ใจกั น เสียอยางนี้กอนวา พุทธศาสนาไมไดเรียกดินวาธาตุดิน; แตเรียกคุณสมบัติที่มี อยูในธาตุดินนั้นวาดิน.
www.buddhadasa.info ทีนี้ มาถึงธาตุน้ํา อาโปธาตุ นี้ มิไดเล็งถึงน้ํา แตเล็งถึงคุณสมบัติของน้ํา คือ ออ นตัว ได; แตเ กาะกุม กัน อยู มัน จึง ไหลไปได มัน เกาะกัน อยู มัน ดึง กัน ไว มันจึงไหลไปได. มันกุมเกาะกันอยู มันหมายความวามันจะรวมกันอยู มันไมยอมแยกกัน
ขอควรทราบกอน เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวาธาตุ
๑๙
จนกวาจะมีเหตุสุดวิสัย, อาการนี้เรียกวาธาตุน้ํา; แตมิไดหมายถึงตัวน้ํา. คุณสมบัติ อันนั้นเรียกวาธาตุน้ํา ธาตุไฟก็เหมือนกัน หมายถึงคุณสมบัติที่รอนที่เผาไหม, ที่ทําใหสิ่งอื่น ไหมไปได นี้แหละธาตุไฟ; แตมิไดหมายถึงตัวเปลวไฟ. ธาตุลม ก็หมายถึงคุณสมบัติ ที่มันระเหยได เคลื่อนได ลอยได นี่แหละธาตุลม; แตมิไดหมายถึงตัวลม; หมายถึงคุณสมบัติที่เปนอยางนั้นๆ. การพูดถึงคุณสมบัติอยางนี้เรียกวาพูดถูกกวาหรือพูดสูงกวา คือไมไดหมายถึง ตัววัตถุ แตหมายถึงคุณสมบัติในวัตถุ; เชนวา ดินกอนหนึ่ง สวนที่มันเปนของแข็ง กินเนื้อที่นั้น เปนคุณสมบัติของธาตุดิน; ที่ในดินไมวาดินชนิดไหน มันมีน้ํา มันมี ความชื้น รวมอยูในนั้นดวย, และดินไมวาดินชนิดไหนมันมีธาตุไฟ มีอุณหภูมิระดับใด ระดับหนึ่งรวมอยูดวย, แลวดินไมวาดินชนิดไหนมันก็มีแกส ซึ่งกําลังระเหยอยูตลอดเวลา. ยกตัวอยางเชน เมื่อเราหยิบดินมากอนหนึ่งแลวบอกวานี้ธาตุดิน อยางนี้มัน ไมถูก; เพราะในดินกอนหนึ่งมีธาตุน้ํา ธาตุไฟ ธาตุลมดวย. แตถาระบุวา ธาตุดินนั้นคือคุณสมบัติ หรือํานาจ หรืออะไรก็ตาม ที่มันกินเนื้อที่ เปนของแข็ง, ของแข็งที่กินเนื้อที่; นั่นแหละคือธาตุดิน. ฉะนั้น ในน้ําก็มีธาตุดิน เพราะวาน้ํา ก็มีของแข็งที่ละเอียด ที่มันกินเนื้อที่; ในน้ําก็มีธาตุไฟ เราะวาน้ําก็มีอุณหภูมิระดับใด ระดับหนึ่ง; ในน้ําก็มีธาตุลม เพราะวามีคุณสมบัติที่กําลังระเหยอยูตลอดเวลา.
www.buddhadasa.info คุณสมบัติ ที่ทรงไวในตัวมัน และทรงสิ่งอื่นไว ในฐานะเปนรูปธาตุ ขอใหเขาใจกันเสียใหมวา คําวา ธาตุในพระพุทธศาสนานั้น ไมไดเล็ง ถึงตัววัตถุ; แมจะเรียกวารูปธาตุ ธาตุที่มีรูป ก็เถอะ ไมไดเล็งถึงเนื้อวัตถุนั้นๆ;
๒๐
ปรมัต ถสภาวธรรม
แต เล็ งถึ งคุ ณ สมบั ติ ที่ มี อยู ในวั ตถุ นั้ นๆ. วั ตถุ บางอย าง ส วนมากมี ครบทั้ งสี่ ธาตุ อย าง ก อนหิ นอย างนี้ มั นก็ มี ธาตุ ดิ นเป นส วนใหญ . จะเห็ นได งาย แต มั นก็ มี ธาตุ น้ํ า มี ธาตุ ไฟ ธาตุ ลม อะไรอยู ในก อ นหิ น นั้ นด วยเหมื อนกั น; ฉะนั้ น เราจะต องระบุ ไปที่ คุ ณ สมบั ติ ของมัน แลวก็เรียกวาธาตุนั้นๆ. ที นี้ อยากจะพู ดกั นเสี ยเลยว า ที่ สอนกั นอยู ในโรงเรี ยนนั กธรรมนั้ น ใช คํ าผิ ด เช น : จะพู ด ว า ปฐวี ธ าตุ , ธาตุ ดิ น มี ลั ก ษณะแค น แข็ ง มี อ ยู ในกายนี้ ได แ ก ผม ขน เล็ บ ฟ น หนั ง เป นต น นี้ เรี ยกว าธาตุ ดิ น. ได แต ผม ขน เล็ บ ฟ น หนั ง เรี ยกว า ธาตุ ดิ น นี้ อย างนี้ พู ดชนิ ด ที่ ไม เป น logic, มั น เป น ill-logical คื อ ว ามั น ขั ดต อ เหตุ ผล; เพราะวาในผม เส น หนึ่ งนั้ น ส วนที่ เป น ธาตุ ดิ น คื อ แข็ งนั้ น ก็ มี , ในผมเส น หนึ่ งนั้ น มีน้ํา, มีน้ํามัน, เสนผมก็มีอุณหภู มิคือธาตุไฟ ระดับใดระดับหนึ่ง, ผมก็มีสวนที่จะ ระเหยเป น แก ส หายไปอยู ต ลอดเวลา; ดั งนั้ น ในเส น ผมเส น หนึ่ งมี ธาตุ ดิ น ธาตุ น้ํ า ธาตุไ ฟ ธาตุล ม. ในขนเสน หนึ ่ง ในสว นอื ่น ๆ ก็เ หมือ นกัน ในเล็บ ฟน ในหนัง ก็เหมือนกัน ถาพูดวาธาตุดินไดแกผม ขน เล็บ ฟน หนัง นี้ไมถูก.
www.buddhadasa.info ควรจะพูดเสียใหมวาธาตุดิน ในรางกายเรานี้ จะสังเกตเห็นไดงาย ที่ “ผม ขน เล็ บ ฟ น หนั ง ” อย า งนี้ ไม มี ท างค า น. ปฐวี ธ าตุ -ธาตุ ดิ น เป น ของแข็ ง ในร างกายนี้ จะสั งเกตเห็ นได ที่ ผม ขน เล็ บ ฟ น หนั ง เพราะเอาสิ่ งที่ มั นมี ลั กษณะแข็ ง เห็ นได งายมาเป นตั วอย า แต ต องไม ใช คํ าว า “ได แก ” เพราะเราเคยสั งเกตเห็ นได แต ที่ ผม ขน เล็บ ฟน หนัง เราก็เอาแตสวนเหลานี้ เพราะมันแข็ง เห็นงาย.
อาโปธาตุ ธาตุ น้ํ า เป น ของเหลว, ไหลได . ในร างกายเรานี้ เห็ น ได ง าย ที่ เลื อ ด หนอง น้ํ า ลาย น้ํ า มู ก น้ํ า ตา อย า งนี้ ได . แต ถ า จะพู ด ว า อาโปธาตุ ธาตุ น้ําไดแก เลือด หนอง น้ํามูก น้ําตา; นี้มันผิดไปแลว เพราะในเลือด ในหนอง
ข อ ควรทราบกอ น เกี่ย วกับ สิ่ง ที่ เรียกว า ธาตุ
๒๑
น้ํ ามู ก น้ํ าตา นั้ น มั นมี ธาตุ ดิ นอยู ด วย, มี ธาตุ ไฟอยู ด วย, มี ธาตุ ลมอยู ด วย. ควรจะ ไปพูดกันเสียใหมใหใชคําวา “เห็นไดงายในรางกายนี้ก็ไดแก” ผม ขน เล็บ ฟน หนัง , ไดแ ก น้ํ า เลือ ด น้ํ า เหลือ ง น้ํ า มูก น้ํ า หนอง ก็เ พราะวา สว นที ่ม ัน เห็น ไดงายเทานั้นเอง. นี้ คื อ รู ป ธาตุ ใ นทางพุ ท ธศาสนา ไม ใ ช วั ต ถุ ธ าตุ ; วั ต ถุ ธ าตุ เป น ภาษา ชาวบ าน ภาษานักวิทยาศาสตร และป จจุบั นที่เปนชาวบ าน; เขาเรียกวาวัตถุธาตุ หมายถึง ไฮโดรเจน ออกซิเจน ธาตุเหล็ก ธาตุทองธาตุกํามะถัน คารบอน เปนสวนมาก. ธาตุ ห นึ่ งๆ ในภาษานั กวิ ท ยาศาสตร นั้ น เป น วั ต ถุ ธาตุ แต ในทางธรรมะ ในทางศาสนาจะเรียกเสียวารูป ธาตุ แลวไมไดหมายถึงสิ่งเหลานั้น; แตห มายถึ ง คุณสมบัติ หรือคา หรืออํานาจอะไรก็แลวแต ที่มีอยูในสื่งเหลานั้น, ที่มีอยูในธาตุ ดิน น้ํา ลม ไฟ อะไรอยางนี้, หรือแมมี อยูในธาตุตางๆตามภาษาป จจุบั นนี้. รูปธาตุ มี คุ ณ สมบั ติ อ ย า งนี้ มั น ทรงตั ว เองไว ได ;ดั งนั้ น จึ งเรีย กว า ธาตุ , รูป ธ า ตุ ที่ มี คุ ณ ลักษณะอยางนี้ มันทรงดํารงสิ่งอื่นไวดวยก็ได นั่นก็คงเรียกวาธาตุ.
www.buddhadasa.info ธาตุที่มีความเปนตัวเองโดยเด็ดขาด เรียกวา อสังขตธาตุ
ถ าว ามั นเป นตั วมั นเองโดยเด็ ดขาด ไม มี อะไรมากระทํ าแก มั นได ; นี้ ก็ เลย เรียกเป นพวกที่ ตรงกั นข ามอี กพวกหนึ่ ง ก็ เรียกวา อสั งขตธาตุ . ในเมื่ อเรียกสิ่ งนอกนั้ น วาสังขตธาตุ เราก็เรียกสิ่งที่ตรงกันขามนี้วา อสังขตธาตุ, หรือสุญญธาตุ-ความวาง, หรือ นิพ พานธาตุ นิโ รธธาตุ ก็แ ลว แต; มีค วามหมายในทางนามธรรมทั ้ง นั ้น . สิ่ ง ที่ เรี ย กว า ธาตุ ในพุ ท ธศาสนา มิ ได ห มายเอาก อ นเนื้ อ หรื อ วั ต ถุ นั้ น เป น ตั ว ธาตุ ; แต หมายเอาคุ ณสมบั ติ , และยั งหมายเอาคุ ณสมบั ติ ที่ ถู กยึ ดถื อว า เป นตั วกู -ของกู นั้ น เปนสวนสําคัญ; มันยิ่งเปนนามธาตุมากขึ้น.
ปรมัต ถสภาวธรรม
๒๒
ขอให ศึ ก ษาไว เรื่ อ ยๆ เกี่ ยวกั บ คํ าว า “ธาตุ ” โดยละเอี ย ดลออให เข าใจ อยางนี้:-
ขอที่ ๑ ความหมายของคําวา “ธาตุ” คืออะไร? สรุปความทั้งที่วามันจะเปนความหมายทางตัวหนังสือก็ดี, จะเปนตัวหนังสือ ก็ดี , จะเป นความหมายของตั วหนั งสือ ของคํ าพู ดก็ ดี ; มั นหมายถึ งสิ่ งที่ มั นทรงตั วเอง ไว ได , และทรงสิ่ ง อื่ น ไว ด ว ย, หรื อ ถู ก สิ่ ง อื่ น ทรงด ว ย. นี้ คื อ ความหมายของคํ า ว า ธาตุ อยู ใ นรูป ที ่เ ปน วัต ถุก ็ไ ด, ในคุณ สมบัต ิที ่อ ยู ใ นวัต ถุก ็ไ ด, เปน นามธรรมก็ ได;สู งสุ ดอยู เพี ยงนิ พพาน คื อเป นอสั งขตธาตุ ที่ แท จริง ไม หลอกลวง และทรงตั วเอง โดยไมมี สิ่งใดมาชวยทรง. นี้คือคําอธิบายของคําวา ธาตุ มันคืออะไร; แลวก็ดูวามั น จะเป น อย างไร เป น ส วนใหญ คื อ ลั กษณะของมั น ไม เที่ ย ง เป น ทุ ก ข เป น อนั ต ตา จะเป นอสั งขตธาตุ หรือสั งขตธาตุ ก็ ตามใจ ยั งคงเป นอนั ตตา. เราจะศึ กษากั นให รูว า ธาตุนี้คืออะไร? คืออยางนี้เปนขอที่ ๑
www.buddhadasa.info ขอที่ ๒ ธาตุมาจากอะไร?
ธาตุนี้มันมาจากอะไร? ถาเปนสังขตธาตุ คือธาตุที่มันมีปจจัยปรุงแตง มันก็มาจากปจจัยบวกกับวิวัฒนาการตามกฎแหงอนิจจัง มันก็มีเหตุมีปจจัย มันบวกกัน กั บ วิ วั ฒ นาการ; คื อ ป จ จั ย นั้ น มิ ได อ ยู นิ่ ง มั น เปลี่ ย นแปลง. ความเปลี่ ย นแปลงนั้ น มั นต องบวกกั น เท ากั บกฎแห งการเปลี่ ยนแปลง เช นกฎแห งอนิ จจั ง เป นต น. นี้ มั นเป น ต น ตอที่ ม า ของธาตุ ทั้ งหลาย ที่ เป น สั งขตธาตุ : มี เหตุ ป จจั ยของมั น , แล วก็ มี ก าร วิ วั ฒ นาการ, แล ว ก็ มี ก ฎแห ง วิ วั ฒ นาการ เช น กฎอนิ จ จั ง เป น ต น ; รวมกั น ได แ ล ว มันจึงจะปรากฏเป นธาตุประเภทสังขตะ อยางใดอยางหนึ่ งออกมา. แตที่ มันเป นประเภท อสังขตธาตุ นี้ไมตองมีเหตุ ไมตองมีปจจัย; นั่นแหละ คือความหมายที่แทจริง
ขอ ควรทราบก อ น เกี่ย วกั บ สิ่ง ที่ เรี ยกวา ธาตุ
๒๓
ของคํ าว าธาตุ คื อทรงตั วอยู ได เอง แล วก็ เป นนิ รันดร เป นอนั นตกาล ไม เกี่ ยวกั บเวลา. แตถามันเปนสังขตธาตุ มันตองเกี่ยวกับปจจัย เกี่ยวกับเวลา แลวก็ชั่วเวลา ระยะเวลา ไมเปนนิรันดร. ถาใครจะถามวา ธาตุมาจากอะไร? เราก็ตอบเขาไดเลยวา ถาเป นสังขตธาตุ ก็มาจากปจจัยนั้นๆ. ถาเปนอสังขตธาตุ มันเปนอยูในตัวมันเอง โดยไมตอง มาจากอะไร.โดยอย าลื มเสี ยว าได บอกแล วแต ที แรกวา ความหมายของคํ าว า “ธาตุ ” นี้ แปลวา ทรงไว : ทรงตั วเองก็ ได โดยไม ต องมี อะไรมาช วย คื อพวกอสั งขตธาตุ . ที่ ว า ทรงสิ่งอื่นไว หรือถูกสิ่งอื่นทรงนี้ คือพวกสังขตธาตุ.
ขอที่ ๓ ธาตุมี เพื่อประโยชนอะไร? ตามหลั ก logic เราจะพู ดวามั นเพื่ อประโยชน อะไรกั นธาตุ ทั้ งหลายนี้ ? ตอบ ไดวา มีไวเพื่ อใหมนุษยเอาชนะใหได ให ม นุ ษ ยไดรับ สิ่งที่ ดีที่ สุด ที่ มนุ ษ ยควรจะ ไดรับ มนุษยจะตองชนะธาตุทั้งหลาย, ถามนุษยพายแพแกธาตุทั้งหลาย เปนบาว เป นทาส เป นขี้ขาของธาตุ ทั้ งหลายแล ว มนุ ษย ก็ไม เป นมนุ ษย ไม ได สิ่ งที่ ดี ที่ สุ ดที่ มนุ ษย ควรจะได.
www.buddhadasa.info ขอใหยอมรับวา ธาตุ ทั้งหลายนี้มั นมี ไวเพื่ อให มนุ ษย เอาชนะให ได , หรือ ชนะได แ ม มั น เป น สั ง ขตธาตุ อย าไปหลงไปโง กั บ มั น ; หรื อ มั น เป น อสั ง ขตธาตุ เช น นิ พพาน เป นต น ก็ ต องเอามาให ได ในฐานะเป นสิ่ งที่ ดี ที่ สุ ดที่ มนุ ษย ควรจะได . ดั งนั้ น เราจึงถือวา ธาตุทั้ งหลายมี ไวเพื่ อให มนุษยชนะ, และให มนุ ษยได รับสิ่ งที่ ดีที่ สุด ที่ มนุษย ควรจะได . นี้ เราควรจะคิ ด ดู สั ก หน อ ย ว าเรากํ าลั งพ ายแพ ห รื อ เรากํ าลั งชนะ หรื อ ว า เรากํ าลั งได อ ะไร ในฐานะเป น สิ่ งที่ ดี ที่ สุ ด ที่ ม นุ ษ ย ค วรจะได . ดู ยั งจะเหลวอยู ทั้ งนั้ น ยังจะไมไดอะไร ก็ได จึงตองศึกษามัน ใหรูจักมัน เอาชนะมันใหได; เพราะวาธาตุ
๒๔
ปรมัต ถสภาวธรรม
ทั้ งหลาย มี ม าเพื่ อให ม นุ ษ ย เอาชนะให ได มนุ ษ ย จะได สิ่ งที่ ดี ที่ สุ ด ที่ ม นุ ษ ย ค วรจะได ไมเสียชาติเกิดมาเปนมนุษย นั่นเอง.
ขอที่ ๔ ธาตุนี้เอาชนะมันไดโดยวิธีใด? พู ด อย าง logie ข อ ที่ ๔ นี้ ก็ อ ยากจะพู ด เสี ย เลย ว าโดยวิ ธี ใด จะได ม า โดยวิ ธี ใ ด? ก็ ต อบว า โดยสั ม มาทิ ฏ ฐิ , มี สั ม มาทิ ฏ ฐิ เ ท า นั้ น แหละพอ; เพราะว า สั ม มาทิ ฏฐิ จะนํ าไปสู การปฏิ บั ติ ที่ ถู กต อง คื อมั นรูวา ธาตุ นี้ คื ออะไร, ธาตุ นี้ มาจาก อะไร, ธาตุ นี้ เพื่ อ ประโยชน อ ะไร. สั ม มาทิ ฏ ฐิ มั น รู มั น เห็ น มั น เข า ใจ อย า งถู ก ต อ ง แล วมั นยั งรู ว าควรทํ าอย างไร มั นก็ ทํ า เท านั้ นแหละ; ฉะนั้ นเราจึ งใช สั มมาทิ ฏฐิ นี้ แหละ ให เ ป น เครื่ อ งบั น ดาล ให ช นะสิ่ ง ทั้ ง ปวง ให ไ ด สิ่ ง ที่ ดี ที่ สุ ด ที่ ค วรจะได . พู ด อย า ง ตรงไปตรงมา ก็ ว า อย า ไปยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น “อย า ไปยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น จนตกไปเป น ทาส ของธาตุ นะโวย” . คํ าว าเป นทาสของธาตุ นี้ ฟ งให ดี ; เป นทาสก็ คื อเป นขี้ ข าของธาตุ ทั้ งหลาย. สัมมาทิฏฐิจะชวยให ไมไปยึดมั่นถือมั่น นั่นนี่ จนตกไปเปนทาสของธาตุทั้งหลาย; เช น ตกไปเป น ทาสของกามธาตุ ก็ ไปบ า กามอยู อ ย า งนี้ ; เรี ย กว า มั น ยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น , ตกไปเป น ทาสของธาตุ ที่ เรี ยกว ากามธาตุ . หรื อแม แต ฤาษี มุ นี บางพวกก็ ตกไปเป น ทาสของรู ป ธาตุ หลงใหลในความสุ ข เกิ ด แต รู ป เรี ย กว า “จํ า ศี ล กิ น วาตา เป น ผาสุ ก ทุ ก คื น วั น ” นี้ ก็ เพราะว าหลงใหลเหมื อ นกั น . แม จ ะไปในชั้ น อรู ป มั น ก็ อ ย างเดี ย วกั น นั้นแหละ; ถานิพพานไมได มันก็ยังใชไมได เพราะมันตองไปจนถึงนิพพาน.
www.buddhadasa.info สัมมาทิฏฐิจะชวยใหไดสิ่งที่ดีที่สุดจากการมีธาตุ เราจะต อ งมี สั ม ม าทิ ฏ ฐิ รู ว า : ธาตุ คื อ ะไร? ม าจากอะไร? เพื่ อ ประโยชนอะไร? แลวก็โดยวิธีใด? จึงจะไดรับสิ่งที่ดีที่สุดที่มนุษยควรจะไดรับจาก
ข อ ควรทราบกอ น เกี่ย วกับ สิ่ ง ที่เรี ยกว า ธาตุ
๒๕
การที่ มั นมี ธาตุ อยู ในโลกนี้ . เมื่ อดู ให ดี แล วก็ จับใจความให ได วา; ในตั วเราก็ คื อธาตุ , นอกตัวเราก็คือธาตุ, แลวมาพบกัน เกิดปฏิ กิริยามี ผลอะไรขึ้นมา นั้นมันก็คือธาตุ , เชน เวทนาธาตุ เปน ตน ; มัน หลีก ไมพ น . เนื ้อ ตัว ของเราเปน ธาตุภ ายใน; ของตา งๆ อยู ข างนอกเป นธาตุ ภายนอก พอมาสั มพั นธ กระทบกั นเข า มาสั มผั สกั นเข า มั นก็ มี การปรุ งแต ง ก็ เกิ ดธาตุ ที่ ส าม : เช น เวทนาธาตุ สั ญ ญาธาตุ สั งขารธาตุ เป น ต น . ถาอวิชชาธาตุ เขามาครอบงําด วยก็เป นทุ กข; แต ถาวิชชาธาตุ เขามาเกี่ ยวของด วยก็ไม เปนทุกข. มั น ยั งมี วิ ช ชาธาตุ -ธาตุ วิ ช ชา, อวิ ช ชาธาตุ -ธาตุ อ วิ ช ชา, อยู เป น สอง แผนก. ถาพูดวา สัมมาทิฏฐิก็ตองหมายถึงมีวิชชาธาตุ; เพราะฉะนั้นอวิชชาธาตุ เขาไม จุ, เขาไม จุในสัมมาทิ ฏฐิ. เดี๋ ยวนี้ เรามี สั มมาทิ ฏฐิ ความรูก็ดํ าเนิ นไปๆ จนกระทั่ ง เอาชนะธาตุทั้งหลายได ชนะธาตุสุดทายก็คือชนะนิพพานธาตุ ทํานิพพานธาตุให ปรากฏแกเรา ก็ไดสิ่งที่ดีที่สุดที่มนุษยควรจะได. นี้แหละปญหาที่เราจะตองสะสาง หรือแกไข เกี่ยวกับธาตุ; ก็คือใหรู กั น เสี ย ให แ น น อนว า : ธาตุ นั้ น คื อ อะไร? ธาตุ นั้ น มาจากไหน? ธาตุ นั้ น เพื่ อ ประโยชน อั นใด? แล วก็ ธาตุ นั้ นจะสํ าเร็จได โดยวิ ธีใด? ก็ เรียกว ามี ความรูพอสมควร แล ว เกี่ ย วกั บ ธาตุ . ถ า รูเท า นี้ ก็ พ อแล ว มั น ก็ โดยนั ย อั น เดี ย วกั บ การรู อ ริ ย สั จ จ . อริ ย สั จ จ ทั้ ง ๔ เราต อ งรู คื อ อะไร? มาจากอะไร? เพื่ อ ประโยชน อ ะไร? แล วก็ โดย วิธีใด? ถารูและปฏิบัติไดตามที่รูนี้ ก็เปนอันวา หมดปญหาเกี่ยวกับความทุกข.
www.buddhadasa.info ธาตุแทๆ นั้นมันคืออะไร ทีนี้ จะได พู ดกันตอไปตามลําดับ อยากจะพู ดเน นถึงตั วสิ่ งที่ เรียกวาธาตุ นั้ น ใหชัดยิ่งขึ้นไปอีก โดยจะตั้งหัวขอวา ตัวธาตุแทๆ นั้นมันคืออะไร.
๒๖
ปรมัต ถสภาวธรรม
จะพู ดกั นตามหลั กธรรมในฝ ายพุ ทธศาสนา แล วจะไม พู ดถึ งเรื่ องชาวบ าน ไมพูดถึงเรื่องของฝรั่งมังคาที่หมายถึงวัตถุทั้งนั้น. ถาเมื่อถามวาตัวธาตุแทๆ นั้นมันคือ อะไร ก็ต อ งบอกวา คุณ สมบัต ิห นึ ่ง ๆ, หรือ วา คา , คุณ คา อยา งหนึ ่ง ๆ, ที ่แ สดง ออกมาจากวั ต ถุ ห นึ่ ง ๆ. ไม ใ ช วั ต ถุ ไม ใ ช เนื้ อ วั ต ถุ นั้ น ; แต ว า เป น คุ ณ ค า อย า งใด อยางหนึ่งที่มันแสดงออกมาจากวัตุนั้น; นั่นแหละคือธาตุ. ถ าเอาธาตุ อย างธรรมดาสามั ญ มา ก็ ต องรู ให ได ว า เช นว า ธาตุ อ อกซิ เจน มี คุ ณ ค าอย างไร, ไฮโดรเจนมี คุ ณ ค าอย างไร, คารบอนมี คุ ณ ค าอย างไร หรือธาตุ พวก ประเภทโลหะมี คุ ณค าอยางไร, ธาตุประเภทอโลหะมี คุ ณค าอยางไร? คุ ณค านั้ นๆคื อ ตั ว ธาตุ ; มิ ได ห มายถึ งตั ววั ต ถุ คุ ณ ค าทางธรรมต างกั น อย างนี้ ไม ใช อ ย างชาวบ าน; มั นเป นคุ ณ ค าอั นหนึ่ งที่ มี อยู ในวั ตถุ หนึ่ งๆ, คิ ดดู เถิ ดว ามั นมี ปรากฏการณ หรื อมี วั ตถุ นั้นๆ แหละเปนเครื่องแสดง. คุ ณ ค าทั้ งหลายเป น นามธรรม; ที นี้ มั น ไม รูว าจะแสดงออกมาทางไหน มันก็ตองแสดงมาทางวัตถุนั้น; คือทางปรากฏการณที่เราเห็นไดจากวัตถุนั้นๆเชน:-
www.buddhadasa.info ความรอนเปนคุณสมบัติอันหนึ่ง เปนนามธรรม มันแสดงออกมาทาง ไม ฟ น หรื อ ถ า นไฟ, หรื อ ปรากฏการณ ที่ ไ ฟกํ า ลั ง ลุ ก อยู ที่ ไ ม ฟ น หรื อ ถ า นไฟ; ไม ฟ น หรือ ถา นไฟ หรือ แมแ ตเ ปลวไฟก็ย ัง มิใ ชธ าตุไ ฟโดยตรง. ธาตุไ ฟโดยตรงก็ค ือ คุ ณสมบั ติ ที่ เผาไหม สิ่ งใดสิ่ งหนึ่ งได , ทั้ งที่ มั นไม ต องแสดงเปลวไฟ, ทั้ งที่ มั นไม ต องการ ถานและฟน, มันก็รอนไดและเผาได; จึงตองกลาววามันมีปรากฏการณ.
วัตถุมีคุณคาที่แสดงออกมาทางปรากฏการณ ของวัตถุนั้นๆ; เชนวัตถุใด ที่เรียกวาธาตุนี้แหละ; มันก็มีคุณสมบัติแข็ง อยางธาตุดิน, คุณสมบัติเหลวอยาง
ข อ ควรทราบกอ น เกี่ย วกับ สิ่ ง ที่เรี ยกว า ธาตุ
๒๗
ธาตุ น้ํ า, คุ ณ สมบั ติ ไหม เผาอยางธาตุ ไฟ, คุ ณ สมบั ติ ลอยระเหยอยางธาตุ ลม; นี้ เป น รูปธาตุ.
การแสดงออกของนามธาตุ ถาวามันเปนนามธาตุ มันมีจิตเปนที่แสดงออก; สวนวารูปธาตุ ธาตุไฟ อย างนี้ มั นมี คุ ณ สมบั ติ ของไม ฟ น มี ถ าน มี เปลวโพลงๆเป นเครื่องแสดงออก. แต ถาเปนนามธาตุเชนความรูสึกความคิดดความนึก ความจํา สติปญญา อยางนี้เปนนามธาตุ; นี้เรียกวามันมีสิ่งที่เรียกวา จิตเปนที่แสดงออก. ถาจะเปรียบ ก็เปรียบเหมือนไมฟน หรือถ านไฟ ให สิ่ งที่ เรียกวานามธาตุ ในรูปของสติ ป ญญา ความคิ ด ความนึ ก ความจํ า อะไร แสดงออกมา; สิ่งทั้งหลายทั้งหมดนี้เปนเรื่องธาตุที่มีเหตุมีปจจัย.
การแสดงออก ของนิพพานธาตุ ถาเปนนิพพานธาตุ ตัวแทของนิพพานธาตุ มิไดขึ้นอยูกับเหตุปจจัย; มันก็เลยตองมีการแสดงออกอีกแบบหนึ่ง คือทางธัมมารมณ อันเปนสิ่งที่รูไดทางจิต รูได แตเพียงปรากฏการณ หรือปฏิกิริยาที่แสดงออกมา. ตัวธาตุนิพพานแทๆ ไมมีทางจะ ทราบได ไม มี ท างจะสั ม ผั ส ได ; แตวาปฏิ กิริยาที่ สิ่งนั้ นกระทําแกจิต นี้ เมื่ อ จิ ต มั น หลุ ด พ น จากเครื่องผู ก มั ด แลว สิ่ งนั้ น สั ม ผั ส กั บ จิ ต แล ว มี ค วามรูสึ ก ได ทางจิ ต นั้ น ; มันก็ใหความรูสึกที่ไมมีความทุกขเลย. นี้เรียกวานิพพานธาตุแสดงออกมาทางจิต; แต วาจิตนั้ นก็ ไม ใชนิ พพาน หรือวาความรูสึ กนั้ นปรากฏการณ นั้ นก็ไม ใชนิ พพานธาตุ . แตหากวามันมาจากนิพพานธาตุที่มันแสดงออกมาทางจิต, หรือทางปรากฏการณทางจิต.
www.buddhadasa.info พูดไปเทาไรก็ตองสรุปความไดแตเพียงแคนี้วา : ตัวธาตุแทๆ นั้น มันมี คุณสมบัติอันหนึ่ง แสดงมาทางวัตถุ บาง ทางจิต บาง แลวแตวามันเปนธาตุชนิดไหน.
ปรมัต ถสภาวธรรม
๒๘
ธาตุ แบงกลุมไดเปน ๓ ความหมายของคํ าว า “ธาตุ ” ถ าจะจํ าแนกให มั นเป นเค าๆ, ก็ จํ าแนกอย าง พระท านสวดเมื่ อตะกี้ นี้ ว า : ธาตุ มี อยู ๓ ธาตุ ๑. รู ปธาตุ ธาตุ ที่ ทํ าให ปรากฏเป นรู ป ธรรมขึ้ น มา. ๒.อรู ป ธาตุ ธาตุ ที่ ทํ า ให ป รากฏเป น อรู ป ธรรมขึ้ น มา. ๓.นิ โ รธธาตุ ธาตุที่ทําใหปรากฏความดับแหงธาตุทั้งหลายทั้งปวงขึ้นมา. มีอยู ๓ ธาตุเทานั้น. ธาตุ ที่ ๑ รูปธาตุ นี้ เราคุ นเคยกั นมาก ทั้ งในแงของวัตถุ และทั้ งในแง ของคุ ณ สมบั ติ ที่ มี อ ยู ใ นวั ต ถุ นั้ น ; นี้ เรี ย กว า รู ป ธาตุ ห รื อ สั ง ขตธาตุ , หรื อ เรี ย กอี ก อย างหนึ่ งก็ เรียกวารูปธรรมก็ ได . เมื่ อตะกี้ นี้ ได บอกแล วว า คํ าว า ธาตุ ,ธา-ตุ กั บคํ าว า รู ป ธรรม, พู ด ว า รู ป ธรรมก็ คื อ รู ป ธาตุ . แต เดี๋ ย วนี้ เรากํ า ลั ง พู ด กั น ด ว ยคํ า ว า ธาตุ , พูดดวยคําวารูปธาตุ. ธาตุที่ ๑ คือรูปธาตุ ที่ทําใหเกิด รูปธรรมทั้งหลาย. ธาตุที่ ๒ เรียกวา อรูปธาตุ ที่ทําใหเกิดอรูปธรรมทั้งหลาย. ธาตุนี้ เรียกวา สังขตธาตุ.
www.buddhadasa.info ธาตุที่ ๓ เรียกวา นิโรธธาตุ หรืออสังขตธาตุ คือธาตุที่จะเปนที่ดับเสีย ทั ้ง แกรูป ธรรม และอรูป ธรรม. ธาตุม ีเ ทา นี ้ ไมม ีม ากไปกวา นี ้; ตั ้ง แตขี ้ฝุ น เม็ ดหนึ่ ง สู งขึ้ นไปจนถึ งเทวดา พระเจ า จนกระทั่ งถึ งนิ พพาน รวมได เป น สามอย าง เทานั้นเอง คือรูป อรูป และนิโรธ.
การปรากฏแหงธาตุอันเปนนามธรรมจะปรากฏอยางไร ที นี้ จะดู กั นในแง ที่ ว ามั นจะปรากฏอย างไร? เพราะสิ่ งที่ เรี ยกว า ธาตุ นั้ น มิ ใช ตั ววัตถุ ; ในทางธรรมะในทางศาสนาถื อวาคุ ณ สมบั ติ แห งวัตถุ แห งสิ่ งที่ เรียกว า ธาตุนั้น มันเปนนามธรรม; แลวมันจะปรากฏอยางไร?
ขอ ควรทราบก อ น เกี่ย วกั บ สิ่ง ที่ เรี ยกวา ธาตุ
๒๙
การปรากฏแหงธาตุ ที่เปนสังขตะ คือมีเหตุมีปจจัยปรุงแตงนี้ มันปรากฏ ไดต อ เมื ่อ มีเ หตุ มีป จ จัย , แลว ก็ม ีโ อกาสแหง การปรุง แตง . ถา มีแ ตป จ จัย ไม มี โอกาส มั น ไม มี ท างจะปรุ ง แต ง ได ; ต อ งมี ป จ จั ย ด ว ย และมี โอกาสที่ จ ะทํ า การ ปรุ ง แต ง นั้ น ด ว ย. เหมื อ นว า เรามี ดิ น เหนี ย ว มั น เป น หม อ ไม ได ; มั น ก็ ต อ งมี โอกาส หรือสามารถ ที่ จะป นดิ นเหนี ยวให กลายเป นหม อได . บรรดาธาตุ ทั้ งหลายที่ เป นสั งขตะ คื อ ต อ งอาศั ย ป จ จั ย ปรุ ง แต งแล ว, มั น ต อ งมี ป จ จั ย ด ว ย, แล วก็ ต อ งมี โอกาสแห งการ ปรุงแตงนั้นดวย.
การปรากฏของกามธาตุ ยกตั วอย างเช น กามธาตุ คื อธาตุ อั นหนึ่ ง ซึ่ งถ าแสดงออกมาแล ว ก็ ทํ าให เกิ ด ความรู สึ ก ทางกามระหว างเพศ. นี้ เรี ย กว า กามธาตุ ต อ งมี ป จ จั ย แห งกามธาตุ เช นเพศตรงกั นข าม พรอมอยู , แล วต องมี โอกาสแห งการสั มผั สทางอายตนะ ระหว าง สิ่ ง ทั้ ง สองนั้ น , แล ว ก็ ด ว ยอํ า นาจของอวิ ช ชา; นั้ น แหละเรี ย กว า โอกาส, แล ว ก็ มี การปรุงแต งไปตามกฎเกณฑ ของปฏิ จจสมุ ปบาท; กามธาตุ ก็ สํ าเร็จประโยชน ตามความ หมายของกามธาตุ : มี ก ารบริ โภคกาม หรื อ ว า มี ป ฏิ กิ ริ ย า มี วิ บ ากอะไรเกิ ด ขึ้ น มา จากกามนั้นๆ.
www.buddhadasa.info นี่ ส วนที่ เป น กามธาตุ ต อ งมี เหตุ ป จจั ยของกามธาตุ เช น เพศตรงกั น ข าม ต อ งมี โอกาสแห งการสั ม ผั ส ทางอายตนะ เพราะความโง ; แล วต อ งมี ก ารปรุ งแต งไป ตามลําดับในลักษณะปฏิจจสมุปบาท เชน กระทบ เกิดวิญญาณ เกิดผัสสะ เกิดเวทนา เกิดตัณหา เกิดอุปาทาน อยางนี้เปนตน เรียกวาสมบูรณฺ; นี้เปนสวนกามธาตุ.
การปรากฏของรูปธาตุ ในส วนรู ปธาตุ หรื ออรู ปธาตุ ก็ เหมื อนกั นอี ก; แต มั นไม เกี่ ยวกั บกามธาตุ หรือเรื่องระหวางเพศ. มันไมตองมีกามตัณหา สําหรับรูปธาตุ; แตมันก็ตองมี
ปรมัต ถสภาวธรรม
๓๐
ภวตั ณหา หรือวิ ภวตั ณหาอย างใดอย างหนึ่ ง ตามแต ว าจะไปพอใจในรูปล วนๆ ไม เกี่ ยว กั บ กาม; หรื อ เกลี ยดกาม เช น รู ป ฌาน และอรู ป ฌานอย างนี้ มั น ก็ ต อ งมี ภ วตั ณ หา, หรื อ มี วิ ภ วตั ณ หา คื อ ความรั ก หรื อ ความเกลี ย ดสิ่ ง ตรงข า ม ด ว ยความโง ความ หลงในสิ่ งนั้ น. เหมื อนว าคนเราจะไปหลงนกเขา หลงปลากั ด หลงต นบอน หลงอะไรที่ เป น วั ต ถุ ล ว นๆ; นี้ มั น ก็ ต อ งมี ตั ณ หาชนิ ด หนึ่ ง แม ไ ม ใ ช ก ามตั ณ หา. นี้ เ ป น เรื่ อ ง ของรูปธาตุ ที่มันจะแสดงตัวออกมา จะตองมีปจจัยนั้นๆ. หรื อว า จะยกตั วอย างด วยเรื่ อง เล นต นบอน หรื อเล นเครื่ องแก วเจี ยระไน อย างนี้ มั นก็ ต องมี วั ตถุ นั้ นเป นอารมณ , ก็ ต องมี โอกาสที่ จะได สั มผั ส ที่ จะได เกี่ ยวข อง, แล วก็ มี การปรุ งแต งในจิ ตใจ จนกระทั่ งเกิ ดความรั กความหลง, รู ปธาตุ จึ งจะแสดงตั ว ออกมา.
การปรากฏของอรูปธาตุ จะยกตั วอย าง เรื่ อ งเกี ย รติ ย ศชื่ อ เสี ย ง ซึ่ งบ า ซึ่ งหลงใหลกั น นั ก ซึ่ งเป น ของไม มี รูป มั นก็ต องมี เหตุ ป จจั ย แม ไม มี รูป; ก็เอานามธรรมที่ นึ กเห็ นมาเป นป จจัย และมี โอกาสที่ จ ะได รั บ ได รู สึ ก ว า มี เกี ย รติ อ ะไรอย า งนี้ มั น ต อ งมี ; มั น ก็ ต อ งปรุ ง แต งไปตามกฎเกณฑ ของปฏิ จจสมุ ปบาท จึ งเกิ ดตั ณหา อุ ปาทาน. นี้ เรียกว าอรูปธาตุ มันแสดงออกมาแลว หรือมันทําพิษแลว.
www.buddhadasa.info ดั ง ที่ ก ล า วมาแล ว จะเรี ย กว า กามธาตุ หรื อ รู ป ธาตุ อรู ป ธาตุ อย า งใด อย างไหนก็ ตามเถอะ การที่ จะปรากฏออกมานี้ มั นจะต องมี ลั กษณะอย างเดี ยวกั น : คือตองมีปจจัย แลวก็มีโอกาส แลวก็มีการปรุงแตงตามกฎเกณฑ. สามคํานี้จะตอง จําไวใหดี จะตองมีปจจัย ตองมีโอกาส แลวตองมีการปรุงแตงตามกฎเกณฑ; สิ่ง ที่เรียกวากาม วารูป วาอรูป จะเกิดขึ้น
ข อ ควรทราบกอ น เกี่ย วกับ สิ่ง ที่ เรียกว า ธาตุ
๓๑
นี้ ฝ ายสั งขตธาตุ มั นเป นอย างนี้ ; ยกเว นแต ฝ ายอสั งขตธาตุ คื อพระนิ พพาน หรือนิโรธธาตุ ซึ่งไมตองเปนอยางนี้.
การปรากฏของฝายอสังขตธาตุ ที นี้ สํ าหรับฝ ายอสั งขตธาตุ ที่ จะปรากฏออกมาได จะเป นอย างไร? เพราะว า พระนิ พพานไม มี ป จจัย, พระนิ พพานไมอยูใตอํานาจป จจัย. มั นก็ตองโอนมาเป นเรื่อง ของฝ ายสั งขตธาตุ โอนมาเป นเรื่องของจิ ต, มั นเป นเรื่องของจิ ตที่ เป นฝ ายสั งขตธาตุ ; ไมใชเรื่องของนิพพานซึ่งเปนอสังขตธาตุ. แตวาเราจะสามารถไดรับประโยชนจาก พระนิพพาน ดวยการที่เราอบรมจิตใหดี ใหถูกตอง ตามวิธีที่พระพุทธเจาทานได ตรัสไววา กิเลสและอาสวะทั้งหลาย มันจะสิ้นไปไดอยางไร? เมื่อกิเลสและอาสวะทั้งหลายออกไป มันก็นิพพานนั่นแหละ, หรือ อย างน อยก็ รสของพระนิ พพาน คื อความไม มี ทุ กข เลย นั่ นแหละ ก็ ปรากฏแก จิ ต. มั น ทํ าได เพี ยงเท านี้ ; เพราะวา กายและจิ ต นี้ มั นเป นสั งขตธาตุ . แต สามารถจะปรับปรุง ใหไ ดร ับ ประโยชน ไดร ับ ผลจากธาตุ ที ่เ ปน อสัง ขตธาตุ; ไมใ ชค วามหมดกิเ ลส โดยตรงจะเป นตั วธาตุ . มั นมี อะไรอี กอั นหนึ่ ง ซึ่ งซ อนอยู หลั งนั้ น ซึ่งอยูหลั งนั้ นไปอี ก ทีหนึ่ง ; คือ วาเมื่อหมดกิเลส ธาตุนี้จึงจะปรากฏ แตเวลาพูดก็พูดไมไดอยางนั้น; ก็ ต องพู ดเอาว า ความที่ สิ้ นโลภะ โทสะ โมหะ นั้ นเป นอสั งขตธาตุ . นี่ คํ าอธิ บายใน บาลี พบอย างนี้ ; แม ไม ใช พุ ท ธภาษิ ต ก็ พ บอย างนี้ ; เพราะว าเราไม ส ามารถจะพู ด อยางอื่นได.
www.buddhadasa.info ที่ แ ท ค วรจะพู ด ว าภาวะอะไรอั น หนึ่ ง ซึ่ งปรากฏออกมา เมื่ อ สิ้ น โลภะ โทสะ โมหะ แล ว นั ่ น แหละ เป น อสั ง ขตธาตุ ; แต ไ ม เ ห็ น ท า นพู ด อย า งนี้ ทานพูดวา สิ้นโลภะ สิ้นโทสะ สิ้นโมหะ นั้นเปนอสังขตธาตุ มันก็ตองเอาความที่,
ปรมัต ถสภาวธรรม
๓๒
หรือลักษณะ หรือภาวะ หรืออะไร ที่สิ้นโลภะ โทสะ โมหะ นั่นแหละ เปนอสังขตธาตุ; นี่การปรากฏแหงธาตุเปนอยางนี้ ทั้งฝายสังขตะและฝายอสังขตะ.
ทุกสิ่งเปนธาตุ สรุป สั ้น ๆ ขอ ความนี ้ ก็จ ะไดว า ทุก สิ ่ง เปน ธาตุ; นี ่แ หละขอ แรก. จะต อ งมองให เห็ น ให เข า ใจชั ด เลย ไม ต อ งเชื่ อ ใคร ว า ทุ ก สิ่ ง ไม ว า อะไร สั ง ขตะ หรืออสั งขตะ หรืออะไรก็ ตาม เป นธาตุ ; แต วาธาตุ นั้ นๆ ไม อาจจะแสดงคุ ณ หรือค า หรือคุ ณสมบั ติ ออกมาจนกวาจะถึ งโอกาส. หมายความวาธาตุ นั้ นๆ จะเป นสั งขตธาตุ หรืออสังขตธาตุก็ตาม แตยังไมแสดงคุณคา หรือคุณสมบัติออกมาจนกวาจะถึงโอกาส; เมื่ อมั นได ป จจั ยเฉพาะ ได โอกาสแห งการปรุงแต ง ปรับ ปรุงถู กต อ ง มั นจึ งจะแสดง คุณคาอันแทจริงออกมา. ธาตุ ดิ น ธาตุ น้ํ า ธาตุ ไฟ ธาตุ ล ม ก็ เหมื อ นกั น โอกาสเหมาะ มั น จึ ง แสดงคุณคานั้นออกมาได; ไมใชตัววัตถุนั้นๆ. ถึงแมแตนิพพานธาตุก็เหมือนกัน ต องมี การปรั บปรุง กาย วาจา ใจ ครบถ วนถู กต องพรอมแล ว มั นจึ งจะแหวกออกมา ให “เห็ น”; อย างที่ นิ พพานธาตุ แสดงออกมาเป นความสุ ข นั้ นไม ใช ตั วนิ พพาน; มั น เปนเพียงปฏิกิริยาที่ออกมา จากการที่จิตสัมผัสกับนิพพานธาตุ หรือคุณคาของนิพพานธาตุ. ผลคือความสุขนั้น มันก็เปนธาตุ เรียกวา เวทนาธาตุ.
www.buddhadasa.info เรื่องที่ เกี่ ยวกั บพระนิ พพานนี้ ขอให ไปศึ กษาเรื่องนิ พพานธาตุ สองอย าง : สอุ ป าทิ เสสนิ พ พานธาตุ , อนุ ป าทิ เสสนิ พ พานธาตุ . อั น สู ง สุ ด เรี ย กว า อนุ ป าทิ เสสนิพ พานธาตุ ไดแ ก : “ภิก ษุนั ้น มี ราคะ โทสะ โมหะ สิ ้น แลว , มีอ าสวะ สิ้ น แล ว, มี กิ จควรทํ า ทํ าเสร็จแล ว, เวทนาทั้ งหลายของเธอนั้ น จั กเป นของเย็ น” ; นี่คือลักษณะของอนุปาทิเสสนิพพานธาตุ มีความเย็นอะไรอันหนึ่งแสดงออกมาใน
ขอ ควรทราบก อ น เกี่ย วกั บ สิ่ง ที่ เรี ยกวา ธาตุ
๓๓
เวทนาทั้ งหลาย คื อไม มี เวทนาที่ เป นของรอนอี กต อไป. นี้ เรียกว าการปรากฏแห งธาตุ ทั้งที่เปนสังขตะและเปนอสังขตะ.
การเปรียบเทียบ ระหวางธาตุกับคน ชั่ วเวลาที่ เหลื ออยู เล็ กน อยนี้ จะพู ดเพื่ อความเข าใจชั ดขึ้ น โดยการเปรี ยบ เทียบระหวางสิ่งที่เรียกวาธาตุ กับสิ่งที่เรียกวาคน. เดี๋ ยวนี้ เราจะมองโลกในป จจุ บั น กั น ก อน เพื่ อ ให รู จั กคํ าว า “คน” ในโลก ป จ จุ บั น นี้ . เราจะได รู ว า คน ในโลกป จ จุ บั น นี้ มั น เกี่ ย วข อ งกั บ สิ่ ง ที่ เรี ย กว า ธาตุ ในลัก ษณ ะอยา งไร; แลว เราจะรู จ ัก ไดเ องวา คนคือ อะไร, ธาตุค ือ อะไร, เพราะคนในโลกป จ จุ บั น นี้ เราก็ เคยวิ จารณ กั น มามากแล ว ว ามั น เป น ยุ ค อะไรก็ ไม รู ไมอ ยากจะเรีย ก. มัน เปน ยุค ปจ จุบ ัน นี ้ ที ่ค นหลงใหลกัน แตว ัต ถุ. คนหลงใหล กัน แตว ัต ถุ, รู จ ัก กัน แตว ัต ถุ; รู จ ัก แตเ นื ้อ หนัง รู จ ัก แตค วามสุข ทางเนื ้อ หนัง ; ไม รู จั กนามธรรม จิ ตใจ วิ ญ ญาณ ธรรมะ พระเจ า นี้ ไม รู , ไม เอาใจใส สลั ดทิ้ งไปเสี ย; ไม มี พระเจ า พระเจ าตายแล ว ศาสนาไม จํ าเป น ธรรมะไม มี ประโยชน ซื้ อของกิ นไม ได อย า งนี้ เป น ต น : คนโดยเฉพาะในยุ ค ป จ จุ บั น นี้ เขารู เรื่ อ งแต ฝ า ยวั ต ถุ ธ าตุ ที่ เป น ตัววัตถุ.
www.buddhadasa.info คนสมั ยป จจุ บั นสามารถเอาวั ตถุ เอาตั ววั ตถุ มาประดิ ษฐ เป นอุ ปกรณ สํ าหรั บ ให ความสุ ข สนุ กสนานทางเนื้ อหนั งกั นถึ งที่ สุ ด, หรื อว าเพื่ อจะใช สอยสะดวกอย างใด อย างหนึ่ งจนถึ งที่ สุ ด. แต ว าทั้ งหมดนั้ นเป นไปเพื่ อความสุ ขทางเนื้ อหนั งกั นทั้ งนั้ น คื อเพื่ อ กามธาตุ ทั้ งนั้ น; แม ว าจะมี วิ ชาไปโลกพระจั นทรไปอะไรได แต ผลมุ งหมายปลายทางมั นก็ เพื่ อเนื้ อหนั ง, เพื่ อความสุ ขทางเนื้ อหนั ง เพื่ อกามธาตุ ทั้ งนั้ น, เขาจึงรูแต ฝ ายวัตถุ ธาตุ แลวก็เพื่อสงเสริมกิเลสแระเภทตัวกู-ของกู ใหมากขึ้นๆ. เราเลยเรียกพวกนี้วา
๓๔
ปรมัต ถสภาวธรรม
พวกวัตถุ นิ ยม, เป นไปแต เรื่องวัตถุ , วัตถุ ธาตุ . มั นต างจากพวกพุ ทธบริษั ทที่ แท จริง; พุทธบริษัทที่แทจริงจะรูแตอยางนั้น จะทําอยางนั้นไมได.
พุทธบริษัทจะตองรูทั้งวัตถุธาตุ กระทั่งนิโรธธาตุ พุ ทธบริษั ทนี่ จะตองรูทั้ งวัตถุธาตุ ทั้งรูปธาตุ ทั้งอรูปธาตุ กระทั่งทั้ง นิ โรธธาตุ ; ในเมื่ อคนธรรมดาสามั ญ ในโลกนี้ รูจั กกั นแต เรื่องวั ตถุ ธาตุ เรื่องกามธาตุ . พุ ท ธบริ ษั ท จะต อ งรู ห มด: เรื่ อ งกามธาตุ เรื่ อ งรู ป ธาตุ เรื่ อ งวั ต ถุ ธ าตุ อรู ป ธาตุ ก็ รู แล วต องรูนิ พพานธาตุ ด วย จึ งจะเรียกว าเป นพุ ทธบริษั ท; ต องมี ความรูที่ จะขจั ดตั วกู ของกู ออกเสี ย. ขจั ดธาตุ ที่ เป นป จจัยแห งความทุ กข ออกเสี ย, แล วก็ ปรับปรุงธาตุ ที่ เป น ปจจัยแหงความดับทุกข ใหมันเจริญ กาวหนา. สรุ ปแล วพุ ทธบริ ษั ทต องไปจบที่ นิ พพาน; ดั งนั้ นพวกเราพุ ทธบริ ษั ทจึ งพู ด กั นแต เรื่องนิ พพานอยู เป นประจํ า ในเมื่ อพวกอื่ นเขาพู ดกั นแต เรื่องวั ตถุ และความสุ ขทาง เนื้ อหนั งเท านั้ นเอง. พวกที่ รู จั กแต วั ตถุ มั นก็ กลายเป น วั ตถุ นิ ยม; พวกพุ ทธบริษั ท รูหมด ก็กลายเปนพวกรูความจริงเปนสัจจนิยม ธรรมนิยม อะไรไป.
www.buddhadasa.info พวกวั ต ถุ นิ ย มรู แ ต วั ต ถุ ; เขาเลยถื อ ว า ไม มี ธาตุ อื่ น แล ว มี แต ธาตุ วั ต ถุ นั่ นแหละ, ธาตุ อื่ นจากวั ตถุ ไม มี . ถ าไปถามเขาว า แล วจิ ตใจของคนเราที่ คิ ดนึ กได นี้ มั น เป นอะไร มั นเป นธาตุ อะไร? เขาบอกว ามั นเป นผลิ ตภั ณ ฑ ของวั ตถุ , เนื้ อหนั งร างกาย เป นวั ตถุ . พอมี อะไรมากระทํ าให เกิ ดปฏิ กิ ริยา มั นก็ เป นปฏิ กิ ริยา ออกมาเป นจิ ตเป นใจ เป นความรูสึ กนึ กคิ ด; ธาตุ ที่ แท จริงสํ าหรับเป นจิ ตเป นใจ นั้ นไม มี เป นเพี ยงปฏิ กิ ริยาจาก วัตถุ . เช นเดี ยวกั บว า พอมั นเกิ ดการถู หรือการหมุ นวั ตถุ กระแสไฟฟ าก็ เกิ ดขึ้ น อย างนี้ เปนตน.
ขอ ควรทราบก อ น เกี่ย วกั บ สิ่ง ที่ เรี ยกวา ธาตุ
๓๕
ยกตั วอย างง ายๆ เอาวั ตถุ สองอย าง มี ศั กดิ์ ต างกั นมาถู เกิ ดกระแสไฟฟ าขึ้ น หรื อ ทํ า เป น ขดลวดไดนาโมให ห มุ น ปฏิ กิ ริ ย าก็ อ อกมาเป น กระแสไฟฟ า ; เขาเห็ น ว า มี แ ต วั ต ถุ ธ าตุ อั น แท จ ริ ง นอกนั้ น ไม ใช ไม มี ; ดั งนั้ น ที่ เรี ย กว าจิ ต วิ ญ ญาณอะไรนี้ เป นเพี ยงปฏิ กิ ริยาออกมาจากวัตถุ . เขาจึ งสรุปความว า : เพราะฉะนั้ นจิ ตใจนี้ อยู ภายใต อํ า นาจวั ต ถุ ; เมื่ อ จิ ต ใจอยู ใต อํ า นาจวั ต ถุ เราก็ ไม ต อ งไปสนใจกั บ จิ ต ใจ, เราสนใจ แตเรื่องวัตถุ แลววัตถุก็จะสรางจิตใจไปตามที่เราตองการ. นี้ เรี ย กว าวั ต ถุ นิ ย ม ซึ่ งจะต อ งรู ไว อย า ให ไปเข าพวกเขาโดยไม ทั น รู ตั ว เดี๋ยวนี้โลกมันกําลังถูกครอบงําดวยวัตถุธาตุมากขึ้น.
พุทธบริษัท ตองรูสูงถึง นิพพาน พวกพุ ทธบริษัทเห็ นตรงกันขาม วา มันมีธาตุประเภทนามธาตุ วิญญาณธาตุ มโนธาตุ อะไร ตามที่ พระพุ ทธเจ าได ตรัสไว , แล วยั งแถมมี อสั งขตธาตุ คื อไกลลิ บ ไปถึ ง สู ง สุ ด เป น นิ พ พานโน น . แต ใ นระดั บ ทั่ ว ไปนี้ ถื อ ว า มี ม โนธาตุ วิ ญ ญาณธาตุ จิ ต ธาตุ อะไรนี้ แหละเป น ตั วสํ าคั ญ ,เป น ตั วประธาน ซึ่ งมี อํ านาจนํ า หรื อ บั งคั บ วั ต ถุ . มั นกลั บตาลป ตรกั นอย างสิ้ นเชิง ในเมื่ อฝ ายนี้ ถื อวา จิ ตนี้ มั นเป นธาตุ เป นตั วเองอยางหนึ่ ง แลว นํ า หรือ บัง คับ วัต ถุทั ้ง หลาย, บัง คับ รูป ธรรมทั ้ง หลาย; ดัง นั ้น สุข หรืท ุก ข ขึ้นอยูกับมโนธาตุ มิไดขึ้นอยูกับวัตถุเลย. นี้แหละถาวาคนเขารูเรื่องนี้กันแลว ก็ไม เกิดวัตถุนิยม ก็ไมเกิดคอมมูนิสต ไมเกิดนายทุน กรรมกรขึ้นมาได.
www.buddhadasa.info เขาไปหลงบู ช าวั ต ถุ นิ ย ม; มั น ก็ เ กิ ด คอมมู นิ ส ต ซึ่ ง เป น dialectic materialism คือเปนวัตถุนิยมที่สามารถแสดงใหเห็นแจมแจงไดดวยเหตุผล ก็เรียกวา
๓๖
ปรมัต ถสภาวธรรม
dialectic materialism ซึ่ งกํ าลั งเป นป ญ หายุ งยากลํ าบากเหลื อประมาณ ในโลกเวลานี้ . เพราะว าไปเอาวั ตถุ เป นหลั ก; ไม ได เอาจิ ตใจเป นหลั ก จึ งไม ยอมเสี ยสละวั ตถุ , ยอมตาย เพื่อวัตถุ; ก็เลยไดฆากันเพราะวัตถุ. พวกพุ ท ธบริ ษั ท มี ค วามรู เรื่ อ งธาตุ ; นี้ ห มายความว า เป น พุ ท ธบริ ษั ท จริ ง ๆ ไม ใ ช พุ ท ธบริ ษั ท เก . ต อ งมี ค วามรู เรื่ อ งธาตุ รู วั ต ถุ ธ าตุ รู รู ป ธาตุ รู อ รู ป ธาตุ รู นิ โ รธธาตุ , หรื อ สรุ ป ความสั้ น ๆ ก็ ว า รู ทั้ ง สั ง ขตธาตุ และอสั ง ขตธาตุ ; นี้ แ หละ จึงจะเปนพุทธาบริษัท. ที นี้ ก็ เหลื อ แต ว า เราจะทํ าไปตามวิ ถี ท างของเราอย างไร? คื อ หมาย ความวา เราไมไปตามกนฝรั่งแลว; เราจะไปตามวิถีทางของพุทธบริษัท : ก็ตอง ศึ ก ษาเรื่ อ งธาตุ อย า งที่ ว า มาแล ว ให ล ะเอี ย ดลออให ยิ่ ง ขึ้ น ไป, ให รู ว า เรื่ อ งธาตุ อย า งชาวบ า นเป น วั ต ถุ นั้ น อย า งหนึ่ ง , เรื่ อ งธาตุ อ ย า งทางธรรมะอย า งพุ ท ธบริ ษั ท นี้ อย างหนึ่ ง. แต เรื่องธาตุ นี้ ก็ มี กฎเกณฑ บางอย าง ที่ ยั งคล ายๆ กั นอยู มาก ทั้ งฝ ายวั ตถุ และฝายนามธรรม.
www.buddhadasa.info เปรียบเทียบ ธาตุ ฝายวิทยาศาสตร กับฝายธรรม
จะพู ดกั นด วยธาตุ ทางวิ ทยาศาสตร : เรื่องธาตุ แท ; ธาตุ ที่ เดี๋ ยวนี้ เขาพบ กั นว ามี ตั้ ง ๑๐๘ อย างแล วกระมั ง. ส วนหนึ่ งเป นอโลหะ, ส วนหนึ่ งเป นโลหะ. ส วนใด มี คาร บอนมากเรี ยกว า organic นี้ มั นก็ เป นที่ ตั้ งแห งชี วิ ต, เป นที่ ตั้ งแห งธาตุ จิ ตตธาตุ เป น ชี วิ ต . อี ก พวกหนึ่ ง เป น อโลหะ เป น inorganic เป น อโลหะ นี่ ก็ ไ กลจากการ ที่จะเปนชีวิต; แตแลวมันก็ยังตองปนกันผสมปนเปกัน.
ข อ ควรทราบกอ น เกี่ย วกับ สิ่ ง ที่เรี ยกว า ธาตุ
๓๗
อย างเช นในเส นผมของเราเส นเดี ยว มั นก็ มี ธาตุ นั บไม ไหว, ในผมเส นเดี ยว มี ธาตุ นั บ ไม ไหว; แต ค รูนั กธรรมในโรงเรียนจะสอนลู ก ศิ ษ ย ว า ในผมเส น หนึ่ งก็ เป น เพี ยงธาตุ ดิ นเพี ยงพาตุ เดี ยว. อย างนี้ มั นน าหั วเราะ เพราะในผมเส นหนึ่ งของคนเรา ที่ยังเป น ๆ อยู; ถ าพู ดทางฝ ายวัตถุธาตุ เท านั้ นแหละ ผมเส นหนึ่ งมั นก็มี ธาตุ คารบอน มีธาตุกํามะถัน มีธาตุเหล็ก มีธาตุอะไรอีกหลายธาตุ ประกอบๆ กันขึ้นมาเปนผมเสนหนึ่ง; นี้แหละฝายวัตถุธาตุ. ทีนี้ ธาตุฝายทางธรรม ฝายรูปธาตุ มันก็มีคุณสมบัติแหงธาตุดิน ธาตุน้ํา ธาตุ ไ ฟ ธาตุ ล มอยู ใ นผมเส น เดี ย วนั้ น : ความที่ มั น แข็ ง เป น ธาตุ ดิ น , ความที่ มั น มี น้ํ าปนอยู เป นธาตุ น้ํ า, ความที่ มั นอุ ณ หภู มิ ปนอยู เป นธาตุ ไฟ, ความที่ มั นระเหยได เป น ธาตุ ล ม. ที นี้ ข อ ที่ มั น เป น ผมเส น หนึ่ ง นี้ มั น ต อ งเป น สั ง ขตธาตุ คื อ มี เหตุ ป จ จั ย มี โอกาสปรุงแต ง มั นจึงมาอยูในรูปของเส นผมอย างนี้ ; แตถ ามองดู อีกอันหนึ่ งมั นก็เป น รู ป ธาตุ ; เพราะมั น มี สิ่ ง แสดงออกให เห็ น ได ท างตา จึ ง ได เรี ย กว า รู ป ธาตุ . โอ ย , เยอะแยะไปเลย ในผมเส นเดี ยวนั้ นมี ธาตุ ตั้ งยี่ สิ บ สามสิ บอย าง. นี้ เรียกว า วิ ถี ทาง พุทธบริษัท มองดูธาตุอยางนี้ เพื่อจะเกิดความไมยึดมั่นถือมั่น.
www.buddhadasa.info ทุกสิ่ง มีแต กลุม แหงธาตุ
ดั งนั้ น เราดู ให ครบวา ธาตุ ทั้ งหลายที่ ประกอบกั นขึ้ นเป นผมเส นหนึ่ ง เป น เล็ บ เป น ฟ น เป น เนื้ อ เป น หนั ง เป น เอ็ ด เป น กระดู ก นั้ น แหละ มั น คื อ ธาตุ แ ท ๆ รวมกั น ครบหมดแล ว. ทํ าไม เราไปเรียกมั นวาคน? ก็ ลองตั้ งป ญหาถามดู วา : อั นไหน เป นคน? อั นไหนเป นธาตุ ? หรือว าสิ่ งที่ เรียกว าธาตุ กั บ สิ่ งที่ เรียกว าคน นั้ นมั น ต าง กันอยางไร?
๓๘
ปรมัต ถสภาวธรรม
เราจะพบกฎเกณฑ อั น หนึ่ งซึ่ งเขาเรี ย กว า : ถ าพู ด กั น ตามความจริ ง คื อ ปรมั ต ถ นี่ อ ย างหนึ่ ง, ถ าพู ด ตามสมมติ ตามที่ ค นรู สึ ก ด วยอวิ ช ชาของตั วเองนี้ ก็ ไปอี ก อย า งหนึ่ ง . ถ า รู สึ ก ด ว ยอวิ ช ชาด ว ยการอบรมกั น มา อย า งอวิ ช ชากั น แต อ อ นแต อ อก มั น ก็ พู ด วาคน. แต ถ าศึ ก ษาอย างละเอี ย ด ตามวิถี ท างของพระอริย เจ า ก็บ อกวา กลุ ม แหง ธาตุ มิใ ชค น, กลุ ม แหง ธาตุแ ลว ก็ม ิใ ชค น. คนหนึ ่ง พูด วา คน แลว ก็ ไม พ ยายามที่ จ ะรู เรื่ อ งธาตุ หรื อ ไม เข า ใจสิ่ ง ที่ เรี ย กว า ธาตุ . สิ่ ง ที่ เรี ย กว า คน กั บ สิ่ ง ที่ เรีย กวา ธาตุที ่แ ทม ัน สิ ่ง เดีย วกัน ; แตถ ูก มองในลัก ษณ ะตรงกัน ขา มเสีย เลย. คนก็ไปอยาง ธาตุก็ไปอยาง แตที่แทมันสิ่งเดียวกัน. นี่ พุ ท ธบริ ษั ท จะต อ งเข าใจสิ่ งที่ เรี ยกว าคน กั บ สิ่ งที่ เรียกว าธาตุ นี้ ให ถู ก ต อ ง; แล ว ก็ จ ะได รั บ ประโยชน จ ากการที่ เ ป น พุ ท ธบริ ษั ท , หรื อ ว า เป น คนที่ ไ ม มี ความทุ ก ข นั่ น แหละ. ถ า มิ ฉ ะนั้ น แล ว ต อ งปล อ ยไปตามธรรมดาสามั ญ : ต อ งเป น คน มี ค วามทุ ก ข แล ว ก็ ต ายไป โดยไม มี ค วามหมาย ไม มี ค า อะไร ในการที่ เกิ ด มาที ห นึ่ ง . ถ าจะให คนมี ค าเป นมนุ ษย จะให สู งสุ ดหรื ออะไรขึ้ นมา, รู จั กแก ป ญ หาต าง ๆ ได , ก็ ต อง รู จั ก ธาตุ แทนที่ จ ะรู จั ก คน. เหมื อ นคนชาวบ า นรู จั ก รถยนต ก็ รู จั ก คั น หนึ่ ง เท า นั้ น . แต พ วกนายช าง พวก technician ทั้ งหลาย เขาไม ได รู จั กรถยนต ห นึ่ งคั น , เขารู จั กอะไร ทุ ก ชิ้ น ที่ ป ระกอบกั น ขึ้ น เป น รถยนต แล ว ยั งรู อ ะไรมากไปกว า นั้ น อี ก . นี่ แ หละสายตา มันตางกันอยางนี้.
www.buddhadasa.info ขอใหพุท ธบริษัท เรามีส ายตาแบบที่เ ห็น เปน ธาตุ อยา เห็น เปน คน. คนทั่ ว ไปเขาเห็ น เป น คน ตามความรู สึ ก ของเขา ก็ ต ามใจเขา แตเราจะเห็นเปนธาตุ.
ขอ ควรทราบก อ น เกี่ย วกั บ สิ่ง ที่ เรี ยกวา ธาตุ
๓๙
นี้คือความรู รูเรื่องที่ควรทราบกอน เป นหลักทั่ว ๆ ไป เกี่ยวกับสิ่งที่ เรี ย กว า ธาตุ ที่ อ าตมาได เอามาบรรยายเป น วั น แรก เป น ครั้ ง แรก; เรี ย กว า เรื่ อ งที่ ควรรูคราว ๆ ทั่ ว ๆ ไปก อน เกี่ ยวกั บสิ่ งที่ เรียกวาธาตุ ; แล ววันหลั งก็ จะได พู ดถึ งตั วธาตุ โดยเฉพาะ เป น พวก ๆ เป น หมู ๆ เป น ชั้ น ไป เป น ลํ าดั บ จะเข าใจได ง าย. เชื่ อ ว า ทานทั้งหลาย คงจะมีความสนใจในสิ่งที่เรียกวาธาตุขึ้นมาพอ สมควรแลว.
โอกาสวันนี้ก็หมดแลว คือเวลาหมดแลว, จึงขอยุติไวเพียงเทานี้กอน.
www.buddhadasa.info
www.buddhadasa.info
ปรมัตถสภาธรรม
- ๒ ๑๓ มกราคม ๒๕๑๖
ขอควรทราบกอน เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวา “ธาตุ” (ตอ)
ทานสาธุชนผูสนใจในธรรมทั้งหลาย, การบรรยายเรื่ อ ง ปรมั ต ถสภาธรรม เป น ครั้ ง ที่ ๒ นี้ ก็ ยั ง เป น เรื่ อ ง เกี ่ย วกับ ธาตุต อ ไปตามเดิม เพราะวา ยัง ไมจ บ. แมจ ะเปน เรื่อ งเกี ่ย วกับ ธาตุ ก็ย ัง ไมไ ดก ลา วถึง สิ ่ง ที ่เ รีย กวา ธาตุ โดยเฉพาะ; ไดก ลา วถึง แตเ รื ่อ งที ่ค วร ท รา บ กอ น ทั ่ว ๆ ไป เกี ่ย ว กับ สิ ่ง ที ่เ รีย ก วา ธ า ตุเ ทา นั ้น ; ทั ้ง นี ้ ก็เ พื ่อ จ ะ ให เขา ใจสิ ่ง ที ่เ รีย กวา ธาตุ ได โดยสะดวก โดยงา ย หรือ โดยชัด เจนทีห ลัง . ฉะนั ้น จึง ขอใหตั ้ง ใจทํ า ความเขา ใจ เกี ่ย วกับ เรื ่อ งควรทราบกอ นทั ่ว ๆ ไป เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวาธาตุ.
www.buddhadasa.info
๔๑
ปรมัตถสภาวธรรม
๔๒
ในครั้งที่ แลวมา ก็ไดพู ดโดยใจความที่สรุปไดวา ธาตุ คื อทุ กสิ่ งที่ กํ าลั ง เปน ตัวเราในภายใน และเปน ทุกสิ่งภายนอกตัวเรา; ธาตุจะเปน ทุกสิ่งที่เกี่ย ว ของกันระหวางภายนอกและภายในตัวเรา จึงเปนอันวา ไมมีอะไรที่ไมใชสิ่งที่เรียกวา “ธาตุ”. แตแลวเราก็ไปเขาใจ เปนตัวตนบุคคลไปเสีย ไมเขาใจวาเปนแตเพียงสักวาธาตุ โดยแท จริง; เช น นี้ เรียกว า ยึ ด ถื อเอาธาตุ แท ๆ ตามธรรมชาติ นี้ ว า เป น ตั วเป นตน. ดังนั้น เมื่อคนจะเขามาบวชในพุทธศาสนา จึงสอนกันเปนเรื่องแรก ใหเขาใจ สิ่งที่เรียกวา “ธาตุ” วาไมใชตัวตน. พอคนเข าวัดวันแรก ก็ ให เรียนเรื่องธาตุ หรือธาตุ ป จจเวกขณ มี บทท องว า ยถาปจฺจยํ ปวตฺตมานํ ธาตุมตฺตเมเวตํ ยทิ ทํ จีวรํ ตทุ ปภุ ฺชโก จ ปุคฺ คโล ธาตุ มตฺ ต โก, อธิ บายเป น นิ สฺ สตฺ โต นิ ชฺ ชี โว สุ ฺ โ ฯลฯ นี่ คื อ เรื่อ งที่ บอกให รูว า จี วร หรือคนที่ใชสอยจีวรนั้นก็ตาม เปนสักแตวาธาตุ มิใชสัตว หรือบุคคล ซึ่งจะถือ วาเปนการวางจากบุคคล เรียกวาธาตุ. ในขออาหารก็เหมือนกัน : อาหารก็ดี ผูกิน อาหารก็ดี เป นสักแตวาธาตุ, เปนไปตามธรรมชาติ วางเปลาจากบุคคล. ที่ อยู อาศัย และผูที่เขาไปอยูอาศัยก็เปนสักวาธาตุ ดวยกันทั้งสองฝาย ไมใชสัตวบุคคล วางจากสัตวบุคคล. แมแตยาแกไขและคนเปนไขบริโภคยาเขาไป ทั้งสองอยางนี้ ก็ไมใชสัตวหรือบุคคล หรือตัวตนอะไร เปนสักแตวาธาตุ.
www.buddhadasa.info ทุกสิ่งเปนสักวา ธาตุ
ขอใหถือวานี่เปนหัวใจของพุทธศาสนา ที่แสดงใหเห็นวา ทุกสิ่งเปนสัก วาธาตุ; ทั้งนี้ก็เพื่อไมใหไปหลงสําคัญผิดวา เปนสัตวเปนบุคคล. ถาเกิดเปนตัวเปนตน ขึ้นมา : เปนเราพวกหนึ่ง เปนเขาพวกหนึ่ง เปนของเราอยางหนึ่ง เปนของเขา
ขอควรทราบกอน เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวา “ธาตุ” (ตอ)
๔๓
อย า งหนึ่ ง ; อย า งนี้ เรี ย กว า มื ด มนเต็ ม ที ที่ ไม เห็ น ว า “เป น สั ก แต ว า ธาตุ ” ไปเห็ น เป น ตัวตน. อยางนี้ก็มีเรื่องธาตุนี้เรื่องเดียวที่เปนหัวใจของธรรมะในพุทธศาสนา. ถายังเห็ นวาเป นธาตุ อยู ไม ยึ ดมั่ นวาเป นตั วตน ก็ ไม เห็ นแก ตน และไม มี ของตน; แล ว ก็ จ ะไม เ กิ ด กิ เ ลส และไม เ กิ ด ทุ ก ข . พอเห็ น ว า เป น บุ ค คล : สํ า คั ญ ไปว า ร า งกายนี้ จิ ต ใจนี้ เป น บุ ค คล เป น ตั ว เป น ตน; ฝ า ยนี้ เป น เราขึ้ น มา ฝ า ยโน น ก็ เป น เขาขึ้ น มา; เป น ของเราของเขาขึ้ น มา. ความเห็ น แก ต นของแต ล ะฝ า ยทํ า ให เกิ ด เบี ย ดเบี ย นกั น ก็ ได ; แม ฝ า ยเดี ย วก็ ยั ง เป น ทุ ก ข เป น รอ น เพราะกิ เลสที่ เกิ ด ขึ้ น เพราะความเห็ นแต ตนนั้ นก็ ได . ขอให เข าใจเรื่ องเป นพื้ นฐานทั่ ว ๆ ไปเกี่ ยวกั บสิ่ งที่ เรี ยก วาธาตุ อยางนี้กอน. ที นี้ ก็ มี ป ญ หาที่ เ ราจะดู กั น ต อ ไป ว า ทั้ ง หมดนี้ มั น เป น สั ก ว า ธาตุ อยา งไร? เรื ่อ งนี ้ต อ งขออภัย ขอโอกาสที ่จ ะพูด ซ้ํ า ๆ ซาก ๆ ทํ า ใหบ างคนเบื ่อ ทนไมคอยจะได ในเมื่อพูดกันซ้ํา ๆ ซาก ๆ เรื่องมิใชตัวมิใชตน.
www.buddhadasa.info เรื่ อ งมิ ใ ช ตั ว มิ ใ ช ต น นี้ อ ธิ บ ายได ห ลายอย า ง : อธิ บ ายเป น สั ก ว า ธาตุ ก็ไ ด เปน ธรรม ชาติก ็ไ ด เปน ธรรม ลว น ๆ ก็ไ ด อะไรก็ไ ด; แตใ น ที ่นี ้เ ราจ ะ อธิบายวาเปนธาตุ คือเปนสักวาธาตุ ไมใชสัตวบุคคล.
มนุษยรูเรื่องธาตุมาตั้งแตกอนพุทธกาล ขอให นึ ก ถึ ง คํ า ว า “โลกธาตุ ”, หมื่ น โลกธาตุ ในบางครั้ ง ก็ ห วั่ น ไหว. โลกธาตุ คื อ ธาตุ ที่ ป ระกอบกั น เป น โลกนี้ กล า วไว ว า มี ตั้ ง หมื่ น โลกธาตุ ; จะจริ ง หรื อ ไม จ ริ ง ก็ สุ ด แท . ในที่ นี้ ข อแต เพี ย งว า มนุ ษ ย ก็ รู เรื่ อ งธาตุ อ ยู ไ ม น อ ย ถึ ง กั บ บั ญ ญั ติ กัน แลว กอ นพระพุท ธเจา เกิด วา มีโ ลกธาตุตั ้ง หมื่น โลกธาตุ. ถา มีอ ะไรพิเ ศษ รุนแรงก็ไหว หวั่นไหวไป กระทั่งหมื่นโลกธาตุ.
ปรมัตถสภาวธรรม
๔๔
เราได ยิ นบาลี ธั มมจั กกั ปปวั ตตนสู ตรตอนท ายว า หมื่ นโลกธาตุ หวั่ นไหว เพราะ การประกาศธรรมจั กรของพระพุ ทธเจ านั่ นแหละ ค อยรูกั นต อไปวา โลกธาตุ อั นแท จริ ง นั้นคืออะไร?
ธาตุ คือสิ่งที่เปนพื้นฐานที่สุด เดี๋ ยวนี้ จะดู กั นเกี่ ยวกั บเรื่องเบื้ องต นนี้ ก อน : สํ าหรับสิ่ งที่ เรียกว า “ธาตุ ” นั้ น ก็ได อธิบายแล ว ในการบรรยายครั้งที่ แลวมา; ตามความหมายทางตั วหนั งสื อนี้ ก็ คื อ สิ่ งที่ เป นรากฐาน ชั้ นพื้ นฐานที่ สุ ด สํ าหรับที่ จะประกอบกั นขึ้น เป นสิ่ งต าง ๆ ต อมา. สิ่ ง ๆ หนึ่ งต องประกอบอยู ด วยส วนหลายส วน, แต ละส วนเป นธาตุ ทั้ งนั้ น อย างนี้ เป นต น. คําวา “ธาตุ ” จึงเปนคําที่เล็งถึง สิ่งซึ่งอยูในชั้นรากฐานชั้นตนที่สุด และเป นหน วยยอย หนวยหนึ่ง ที่จะประกอบกันขึ้น เปนหนวยใหญ ทั้งหมด คือทั้งหมดของหนวยใหญ ประกอบอยูดวยธาตุหนึ่ง ๆ. ทีนี้ ธาตุหนึ่ง ๆ ก็ยังประกอบกันขึ้น เปนธาตุอื่นไดหลาย ๆ ธาตุ จนกระทั่งเกิดเปนธาตุจิต ธาตุใจขึ้นมา แลวไปยึดมั่นถือมั่น “ธาตุ” นั้นเอง วาเป นตัว เปนตน มันก็เกิดเปนความคิดขึ้นวาเปนตัวเปนตนโดยสําคัญผิด แลวก็มีความทุกข.
www.buddhadasa.info มนุษยมีความทุกข เพราะไมรูเรื่องธาตุ
ในที่ นี้ จ ะพู ด ต อ ไปถึ ง สิ่ ง ที่ เราเรี ย กกั น ว า คน ว า สั ต ว คื อ สิ่ ง ที่ มี ชี วิ ต นี้ ป ระกอบอยู ด ว ยธาตุ อ ย า งไร. บางส ว นของเรื่ อ งนี้ ก็ ไ ด ก ล า วไปแล ว ในการ บรรยายครั้งกอน. ในครั้งนี้ก็จะกลาวเพื่อสรุปความบางสวนนั้น ใหมาอยูในที่เดียวกัน. ปญหาเรื่องความทุกขนี้ มันมีแตแกสิ่งมีชีวิต หรือสัตวที่มีชีวิต; ถาไมมี ชีวิตแลวก็ไมมีปญหาอะไร ที่จะพูดกันถึงความทุกข. เดี๋ยวนี้เรากําลังพูดถึงสิ่งที่มีชีวิต
ขอควรทราบกอน เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวา “ธาตุ” (ตอ)
๔๕
โดยเฉพาะก็คื อมนุ ษย หรือคน ที่ กําลังมี ความทุ กขก็เพราะไม รูเรื่องธาตุ ไปยึ ดถื อกลุ ม แหงธาตุวาเปนตัวตนเขา.
สิ่งมีชีวิตชั้นมนุษย ประกอบดวยธาตุ ๕ อยาง สํ าหรั บ คน ๆ หนึ่ ง ๆ มี ห ลั ก ที่ จะแบ งออกได เป น ๕ ส วน สํ าหรั บ การศึ ก ษาเรื่ อ งนี้ . ในพระบาลี ที่ จ ะไม ค อ ยพบเห็ น กั น นั ก มี อ ยู แ ห ง หนึ่ ง คื อ พวก ขันธสังยุตต สังยุตตนิกาย นี้ชี้ระบุไววา สิ่งที่จะประกอบกันขึ้นเปนคนหนึ่ง ๆ นั้น ประกอบด วยธาตุ ๕ : รูปธาตุ เวทนาธาตุ สัญ ญาธาตุ สังขารธาตุ วิญ ญาณธาตุ , ที่ เ ราเคยเรี ย กกั น ว า ขั น ธ ๕ ; รู จั ก เรี ย กกั น แต ว า ขั น ธ ๕. ส ว นธาตุ ๕ ที่ มี ชื่ อ อย างเดี ยวกั บขั นธ ๕ นี้ ไม ค อยรูจั ก ไม ค อยได พู ดกั น; ฉะนั้ นขอให รูเสี ยว า เมื่ อมั น ยังไมเปนขันธ ก็เรียกวาธาตุ เชน รูปธาตุ.
คุณสมบัติของรูปธาตุแบงยอยออกไปไดอีก เมื่อยังไมประกอบขึ้นเปนขันธอยูตามธรรมชาติแท ๆ ก็เรียกวารูปธาตุ คื อ ธาตุ ที่ เป น วั ต ถุ ,ที่ ป ระกอบด วยคุ ณ สมบั ติ ของวั ต ถุ และเล็ งถึ งคุ ณ สมบั ติ ของวั ต ถุ นั้ น ๆ ก็ เรี ยกว ารู ปธาตุ . นี้ ยั งจะอยู ในลั กษณะที่ อาจแบ งย อยออกไปว า เป นปฐวี ธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ.
www.buddhadasa.info ธาตุที่มีลักษณะหรือคุณสมบัติ แข็ง กินเนื้ อที่ นี้ก็เรียก ปฐวีธาตุ-ธาตุดิน. ธาตุ ที่ มี คุ ณ สมบั ติ ไ หลได แต ก็ ยั ง เกาะกุ ม กั น อยู มั น จึ ง พากั น ไหลไปได ; อย า งนี้ ก็ เรียกวา อาโปธาตุ หรือธาตุน้ํา. ธาตุที่มีคุณสมบั ติรอน หรือตัวคุ ณสมบั ติ รอน ที่มี อยู ใ นวั ต ถุ ใ ดก็ ต าม นี้ ก็ เรี ย กว า เตโชธาตุ คื อ ธาตุ ไ ฟ ธาตุ ค วามร อ น. ส ว นที่ มั น ระเหยลอยไปได กระจายตัวเรื่อย ก็เรียกวา วาโยธาตุ คือธาตุลม. ทั้งหมดนี้มิได
๔๖
ปรมัตถสภาวธรรม
หมายความถึ งตั ววั ตถุ หรือลั กษณะวั ตถุ ข างนอก; แต ห มายถึ งคุ ณ สมั บั ติ ในธาตุ นั้ น เสมอไป. ยกตั ว อย า งให ฟ งง า ย ๆ เช น ว า เราหายใจออกมา; ลมหายใจนี้ ถู ก หายใจออกมา เป น ลมหายใจ. ในลมหายใจนั้ น มี ส ว นที่ เป น ธาตุ ดิ น คื อ ส วนที่ เป น อณู น อย ๆ ที่ มั นแข็ งหรือมั นกิ นเนื้ อที่ แต ละเอี ยดดู ไม ค อยเห็ น; อย างนี้ ก็ เรียก ว า ธาตุ ดิ น มั น จะออกมากั บ ลมหายใจนั้ น . และมี ธ าตุ น้ํ า อาโปธาตุ ก็ อ อกมากั บ ลมหายใจนั้ น เพราะมั น มี ส วนที่ เป น น้ํ า; ในลมหลายใจมี ส วนที่ เป น น้ํ า ซึ่ งน อ ยมาก หรื อ ละเอี ย ดมาก. และลมหายใจนี้ ก็ ยั ง อุ น ; หมายความว า ยั ง ร อ ยอยู ร ะดั บ หนึ่ ง มี ธ าตุ ไฟ เตโชธาตุ อยู ระดั บ หนึ่ ง ติ ด ออกมากั บ ลมหายใจ. และลมหายใจนี้ ก็ เป น วาโยธาตุ คื อมี ธาตุ ลมอยู ในตั วแล ว มี ส วนที่ มั นระเหยกระจายตั วออกลอยได นี้ ก็ เป น ธาตุลม. แมแตในลมหายใจก็มีครบทั้ง ๔ ธาตุดังกลาวมา. ทีนี้ ตัวอยางในของที่หยาบลงไปอีก เชน ในเลือด ก็มีสวนที่เปนธาตุดิน, ธาตุน้ํ า , ธาตุไ ฟ คือ ความรอ น, และธาตุล ม คือ สิ ่ง ที ่ร ะเหยเปน ไอไปได. แม ในเนื้ อ ก อ นหนึ่ ง เชื อ ดออกมาจากคน นี้ ก็ มี ทั้ ง ธาตุ ดิ น คื อ ส ว นที่ เป น ของแข็ ง กิ น เนื้ อ ที่ , ธาตุ น้ํ า คื อ มี น้ํ า อยู ใ นเนื้ อ นั้ น , มี ธ าตุ ไ ฟ คื อ ความอบอุ น ความร อ น ระดั บใดระดั บหนึ่ ง อยู ในเนื้ อก อนนั้ น, ก็ มี ธาตุ ลม คื อส วนที่ จะระเหยลอยไปได . ก็ เรียก ไดวามีทั้ง ๔ ธาตุ; นี้คือธาตุทั้ง ๔ ที่ประกอบกันขึ้นเปนรูปธาตุ เปนพื้นฐาน มีอยู สําหรับที่จะเปนรูปขันธในเมื่อถึงโอกาส.
www.buddhadasa.info มีรูปธาตุแลวยังมีธาตุอื่นสําหรับประกอบเปนขันธตามโอกาส ธาตุที่ จะทํ าความรูสึ ก ก็เรียกวา เวทนาธาตุ ที่ยังไม ทั นจะทํ าหน าที่เป นเวทนา; แตมีไวสําหรับที่จะปรากฏตัวออกมาเปนเวทนา สําหรับเปนเวทนาขันธ ในเมื่อถึงโอกาส.
ขอควรทราบกอน เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวา “ธาตุ” (ตอ)
๔๗
สั ญญาธาตุ ธาตุที่ ทํ าให จําได นี่ ก็คือธาตชนิ ดหนึ่ ง ซึ่งยังไม ทํ าหน าที่ เป น สัญญาขันธ กวาจะถึงโอกาส ที่จะเปนสัญญาขันธ. สั งขารธาตุ ก็เหมื อนกัน ธาตุ ที่เป นธาตุ แห งความคิด เรียกวาสังขารธาตุ , ซึ่งจะเปนสังขารขันธ เมื่อถึงโอกาส. ธาตุที่เปนวิญญาณธาตุ คือธาตุรู ซึ่งจะเปนวิญญาณขันธ เมื่อถึงโอกาส. ธาตุ ทั้ ง ๕ เหล านี้ เมื่ อยั งไม ถึ งโอกาสยั งไม เป นขั นธ ห าได ก็ ยั งเป นธาตุ ทั้งหาอยูนั่นแหละ : รูปธาตุ เวทนาธาตุ สัญญาธาตุ สังขารธาตุ วิญญาณธาตุ.
ธาตุทั้งหลายเกี่ยวของกันอยางไร. บางคนจะไมเขาใจเรื่องของพุทธศาสนา ในขอที่วาธาตุนั้นคืออะไร ถาเป นทางวิทยาศาสตรสมัยใหมทางวัตถุ พู ดวา “ธาตุ ” ก็เล็งถึงวัตถุธาตที่ แท; สวน พระพุทธศาสนานี้เล็งถึงคุณสมบัติอยางใดอยางหนึ่ง ซึ่งแทเหมือนกัน ซึ่งอยูใน วัต ถุธ าตุนั ้น ๆ. เมื ่อ ใดธาตุทั ้ง ๕ มีรูป ธาตุเ ปน ตน นี้ จะทํ า หนา ที ่เ ปน ขัน ธ, มันทําตอเมื่อสัมผัสกันกับสิ่งภายนอก; เชนวา วิญญาณธาตุ ขางใน ที่ทําหนาที่ ทางตา ทางหู ทางจมู ก เปนตน, และก็ไดสั มผั สกับสิ่ งภายนอก คือรูปเสียง กลิ่น รส โผฏฐั พ พะ เป น ต น . หมายความว า วิ ญ ญาณธาตุ จะทหน า ที่ วิ ญ ญาณขั น ธ ตอเมื่อายตนะขางในสัมผัสกับอายตนะขางนอก.
www.buddhadasa.info สิ่งที่มีชื่อวา อายตนะขางใน กับขางนอก ก็เปนรูปธาตุดวย ธาตุ ข างนอกกั บข างในกระทบกั นตามหน าที่ จะประกอบเป นอื่ น ๆ ขึ้ นต อไป ท านจึ งเรียก อายตนะภายในว า จั กษุ ก็ เป นธาตุ ตา ก็ เป นธาตุ หู ก็ เป นธาตุ ฯลฯ คือเปนธาตุขางในชนิดหนึ่ง ซึ่งทําหนาที่ตามหนาที่ของอวัยวะนั้น. ทีนี้ รูป เสียง
๔๘
ปรมัตถสภาวธรรม
กลิ่ น รส ฯลฯ ข า งนอกก็ เ ป น รู ป ธาตุ : ธาตุ รู ป ธาตุ เ สี ย ง ธาตุ ก ลิ่ น ธาตุ ร ส; เปนธาตุขางนอกมีสําหรับจะทํานหนาที่เปนอารมณ หรือเปนวัตถุสําหรับสัมผัสของ ธาตุ ข างใน. แสดงให เห็ นวา อายตนะทั้ ง ๖ ข างในก็ เป นธาตุ ๖ อยู , อายตนะข าง นอกทั้ง ๖ ก็เปนธาตุ ๖ อยู. เมื่ อไรได อาศั ยกั น : จักษุ ธาตุ อาศั ยกับรูปธาตุ วิญญาณธาตุ ก็เกิดขึ้น แล วทํ าหน าที่ ; นี่ มั นจะเกิ ด วิญ ญาณขั น ธ ขึ้น มา. วิญ ญาณธาตุเป น วิญ ญาขัน ธได ก็ตอเมื่อทําหนาที่; ถาอยูเฉย ๆ เราเรียกวาธาตุ คือไมไดทําหนาที่อะไรของตนเลย.
ธาตุตาง ๆ เมื่อทําหนาที่จึงเกิดอาการขันธโดยลําดับ ทุก สิ่งที่ เรียกวา เป น ธาตุ มี รออยู เป น พื้ น ฐาน พอทํ าหน าที่ ก็ ก ลาย เปนขันธ : พอมีตาเห็นรูป วิญ ญาณธาตุเกิดเปนวิญ ญาขันธ, รางกายนี้ก็กลาย เป น รู ป ขั น ธ ขึ้ น มาประกอบกั น . เพราะว าตาก็ เป น รูป อั น หนึ่ ง ก็ อ าศั ยวิ ญ ญาณธาตุ ทางตา และประกอบเข ากั บรูปธาตุ ข างนอก ก็ เกิ ดเป นความเห็ นทางตา และสั ญญาธาตุ ที่ ยั งเป นสั ญญาธาตุ จะลุ กขึ้ นมากลายเป นสั ญญาขั นธ ทํ าหน าที่ รูสึ กได วา มั นรูปอะไร ดวยความจําหรือดวยความรูสึกอะไรก็ตาม สัญญาธาตุเลยกลายเปนสัญญาขันธ.
www.buddhadasa.info ที นี้ รู สึ กได ว า มั นเป นของเย็ น ของร อน ของอะไรก็ แล วแต ว า จะเห็ นได , สวยหรือไมสวยอยางนี้ และเรียกวา เวทนาธาตุก็กลายเปนเวทนาขันธขึ้นมา. ถามี ความคิดเกี่ยวกับเรื่องนั้นเกิดขึ้น สังขารธาตุก็กลายเปนสังขารขันธขึ้นมา.
สรุ ป ความว า ธาตุ ทั้ ง ๕ ซึ่ งมี พ ร อ มอยู เสมอ คื อ รู ป ธาต เวทนาธาตุ สัญญาธาตุ สังขารธาตุ วิญญาณธาตุนี้ เดี๋ยวนี้ก็ไดกลายเปนขันธทั้ง ๕ ขึ้นมา ในชั่ว ขณะที่ตา เปนตน กระทบรูปขางนอก เปนตน และมีการปรุงแตงกันขึ้นเปนขันธ
ขอควรทราบกอน เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวา “ธาตุ” (ตอ)
๔๙
ทั้ ง ๕ ชั่ วเวลานี้ เท านั้ น . ถ าไม ทํ าหน าที่ อ ย างนี้ ก็ ก ลายเป น ธาตุ ต ามเดิ ม , อยู เป น ธาตุ ไปตามเดิ ม . ฉะนั้ น เราจึ งได ห มวดแรก เป น รูป ธาตุ เวทนาธาตุ สั ญ ญธาตุ สังขารธาตุ วิญ ญาณธาตุ ๕ ธาตุ; พอทํ าหน าที่ ก็จะกลายเปน ขัน ธ : รูปขันธ เวทนาขันธ สัญญาขันธ สังขารขันธ วิญญาขันธ ๕ ขันธขึ้นมา. ตอนที่ เป นขันธ นี้ ยั งไม ถื อวาเป นทุ กข ; จะเป นทุ กข ต องเป นในกรณี ที่ มี อ วิ ช ชา-ความหลง ความไม รูจ ริงเข า ไปผสมด วย. เมื่ อ มี อ วิช ชาความคิ ด อั น เป น สังขารขันธก็เกิ ดคิ ดปรุงแต งเป นอุ ปาทาน ยึ ดมั่ นวา เราเห็ นแล ว, เราเห็ น, เราเห็ นสวย, เราอยากจะได ; มั น ก็ เลยกลายเป น : รู ปู ป าทานั ก ขั น ธ -รู ป ขั น ธ ที่ ถู ก ยึ ด มั่ น ด ว ย อุ ป าทาน, เวทนู ป าทานนั ก ขั น ธ -เวทนาขั น ธ ที่ ถู ก ยึ ด มั่ น โดยอุ ป าทาน,สั ญ ญาขั น ธ กลายเป น สั ญ ู ป าทานั ก ขั น ธ - สั ญ ญาขั น ธ ซึ่ งถู ก ยึ ด มั่ น โดยอปาทาน, แม แ ต สังขารขันธ ก็กลายเปนสังขารูปาทานักขันธ, วิญญาณกลายเปนวิญญาณูปาทานักขันธ.
ธาตุปรุงเปนเรื่องอื่น ๆ ไดอีก ๓ ชุด
www.buddhadasa.info เมื่อธาตุทําหนาที่ตาง ๆ นี้ ก็เลยไดปญจุปาทานักขันธ ๕ คือขันธที่มีอุปาทาน ๕ ขึ้ น มา;ซึ่ ง กล า วได เป น ๓ ชุ ด : ชุ ด แรกเป น เพี ย งธาตุ ๕, ชุ ด ที่ ๒ เป น เพี ย ง ขันธ ๕, ชุดที่ ๓ เปนอุปาทานขันธ ๕ เปนขันธที่มีอุปาทาน.
เมื่อยังเปนธาตุ : รูปธาตุ เวทนาธาตุ สัญญาธาตุ ฯลฯ ดูเหมือนกับ วามันยังนอนอยูนิ่ง ๆตามธรรมชาติ พรอมอยูตามธรรมชาติ, หรือวาเมื่อมีเหตุ ปจจัย ก็เป นสักวาธาตุอยูอยางนั้นแหละ ไมปรุงอะไรกอน; จะกวาจะทําหนาที่อายตนะ ธรรมขางนอก ขางใน ธาตุขางนอกกับธาตุขางใน ในรูปของอายตนะ ๖ เกิดสัมผัส
๕๐
ปรมัตถสภาวธรรม
กันเขา ก็กลายสภาพ จากธาตุเปนขันธขึ้นมา เปนรูปขันธ เวทนาขันธ สัญญาขันธ สังขารขันธ วิญญาขันธ. ถาโงดวยอวิชชา ก็กลายเปน อุปาทานนักขันธขึ้นมา : รูปที่ถูกยึดมั่น ถือ มั่น วา กูห รือ ของกูก็ได. เวทนาจะถูก ยึด มั่น วากูห รือ ของกูก็ได. สัญ ญานี ่ก็ ไม ใ ช เ ล น สํ า คั ญ นั ก คื อ รู สึ ก นึ ก คิ ด อะไรได นี้ จํ า อะไรได นี้ ; ยึ ด ว า กู นี่ ถ า ไม มี กู ทํ าไมจะจําได รูสึกได จึงยึ ดสั ญ ญาวากู วาของกู อะไรกั นขึ้นมา. สั งขารเป นตั ว ผู ค ิด นี ้ก ็ยิ ่ง ไปใหญเลย มัน คิด ไดนี ่ ทํ า ไมจะวา ไมใ ชต ัว ตน; มัน ก็เปน กูค ิด อยู นี่ ก็เกิดสั งขารที่เป น สั งขารูปทานนั กขันธ ขึ้นมา ในวิญ ญาณที่ รูแจ ง ทางตาเป นต น รวมทั้งทางหู ทางอื่นดวย; นี่ก็ควรจะเปนตัวกูอีกเหมือนกัน กูเห็นนี่. ขอใหจํา ๓ ชุดนี้ไวใหดี ๆ วาที่เปนเพียงสักวาธาตุ ตามธรรมชาตินั้น เดี๋ยวนี้ไดกลายเปนขันธ และจากนั้นก็จะกลายเปนอุปาทานนักขันธ.
รูจักธาตุทั้ง ๕ ไวเพื่อศึกษาเกี่ยวกับเรื่องดับทุกข
www.buddhadasa.info ธาตุใหญ ๆ ที่จะเปนปญหา สําหรับการศึกษาเกี่ยวกับเรื่องทุกข เรื่องดับ ทุกข นี้จะตองถือเอา ๕ ธาตุ นี้แหละเปนหลัก : รูปธาตุ เวทนาธาตุ สัญญาธาตุ สั งขารธาตุ วิ ญ ญาณธาตุ ก อน; แล วมั นก็ อยู ตามหน าที่ เช นว า วิ ญ ญาณธาตุ ก็ จะ ทํ าหน าที่ เป นวิญญาณขั นธ โดยทางตา ทางหู ทางจมู ก ทางลิ้ น ทางกาย ทางใจนี้ แหละ. หรือวา รูปขางนอก เสียงขางนอก กลิ่นขางนอกที่มันเปนเพียงสักวาธาตุ มันก็ จะเขามาสัมผัสกับขางใน และก็ปรุงใหเปนสัมผัสเปนวิญญาณ เกิดเวทนาอะไรได.
พึงสําเหนียกวาทุกอยางเปนเพียงสักวา “ธาตุ” นี่แหละขอใหมองดูวา โดยหลักสวนใหญนั้น มันก็เปนเพียงสักวาธาตุ ไปทั้งนั้น; พูดอยางธรรมดาสามัญ ก็วา กายนี่มันก็เปนรูปธาตุ ที่ประกอบอยูดวย
ขอควรทราบกอน เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวา “ธาตุ” (ตอ)
๕๑
ธาตุ ดิ น น้ํ า ลม ไฟ อะไร ๆ อี กหลาย ๆ ธาตุ . ความรูสึ กนึ กคิ ด ของเราก็ เป น ธาตุ ทางฝ ายนามธรรมทางจิ ต ซึ่ งมั นมี ความสามารถ มี คุ ณ สมบั ติ ของมั นอย างนั้ นเอง, ตามประสาของสิ่ งที่ เป นนามธาตุ หรือจิ ตตธาตุ หรือวิ ญ ญาณธาตุ ก็ ตาม; ไม อย างนั้ น ก็ไม เรียกวา จิ ตตธาตุ หรือนามธาตุ . ยิ่ งเป นความคิ ด นึ ก รูสึ ก ความจํ า ความ เห็นแจง ทางตา หู จมูก ก็เรียกวาธาตุทั้งนั้นเลย ไมมีอะไร ที่จะไมถูกเรียกวา เปนธาตุ.
หมั่นพิจารณาใหรูจักธาตุ เหมือนดังภิกษุสวดปจจเวกขณ ขอให พิ จารณาดู อยู เสมอ ที่ เรี ยกว า ธาตุ ป จจเวกขณ ; โดยเฉพาะ ภิ กษุ สามเณ ร ที ่พ ิจ ารณ าวา จีว รและผู ใ ชส อยจีว ร เปน สัก วา ธาตุ ไมใ ชต ัว ตน. อาหารบิณ ฑบาตและผู บ ริโ ภค ก็เ ปน สัก วา ธาตุ ไมใ ชต ัว ตน. ที ่อ ยู อ าศัย และผู อยู อาศั ย ก็ สั กว าธาตุ ไม ใช ตั วตน. หยู กยาและคนเจ็ บไข ที่ กิ นเข าไป หลาย ๆ อย าง ก็สักวา ธาตุ ไมใชตัวตน.
www.buddhadasa.info ที นี้ ไม เฉพาะแต ภิ ก ษุ สามเณร แม แ ต ช าวบ า น ก็ ต อ งมี เครื่ อ งนุ ง ห ม มี อ าหาร มี ที่ อ ยู อ าศั ย เมื่ อ มี ก ารเจ็ บ ไข ต อ งใช ห ยู ก ยา ก็ ใ ห รู แ ต ว า เป น เพี ย งสั ก วาธาตุ เปนไปตามเหตุ ตามปจจัยของธรรมชาติ ก็ไมมีตัว ที่จะเปนตัวกู-ของกู แล ว ก็ จ ะไม เกิ ด ความโลภ ความโกรธ ความหลงไปได . ฉะนั้ น การพิ จ ารณาเห็ น เป น สั ก ว า ธาตุ ไม ใช สั ต ว บุ ค คล นี้ เป น หลั ก ธรรมชั้ น สู ง สุ ด ในพุ ท ธศาสนา; แต เรื่ อ ง เชนนี้ไมนาสนใจหรืออยางไร จึงไมคอยมีใครสนใจกัน.
เรื่องธาตุ เป นเรื่องไม สนุ กสนานที่ จะไปสนใจ เพราะไปสนุ กสนานที่ จะมี ตั วกู -ของกู ยึ ดมั่ นถื อมั่ น สนุ กสนานไปด วยกิ เลส ก็ เลยไม สนใจที่ จะพิ จารณาเรื่องธาตุ ; เรื่องธาตุก็เลยเปนหมัน ไมเปนประโยชนอะไร แมแกพุทธบริษัทตามสมควรที่จะเปน.
๕๒
ปรมัตถสภาวธรรม
ที นี้ มั นยิ่ งกวานั้ นก็ คื อวา ถ าใครเกิ ดอยากจะสนใจขึ้นมาบ าง ก็ ไม รูจะสนใจอยางไร, ไม รู จะไปเรี ย นที่ ไหน, ธาตุ มี ลั ก ษณะอย างไรก็ ไม ท ราบ, และก็ ยั งจะพู ด กั น มาบางอย าง ผิดพลาด ไมตรงตามที่พระพุทธเจาตรัสไวก็มี เปนเสียอยางนี้. ถ า พู ด ดั ง เช น ว า ปฐวี ธ าตุ ชี้ ไ ปที่ ดิ น , อาโปธาตุ ชี้ ไ ปที่ น้ํ า , อย า งนี้ มั นลวก ๆ หรือวามั นคราว ๆ เกิ นไป. ต องดู ให รู วาแม แต ในดิ นมั นก็ มี ธาตุ น้ํ า ธาตุ ไฟ ธาตุ ล ม, แม แ ต ในน้ํ า มั น ก็ มี ธ าตุ ดิ น ธาตุ ไฟ ธาตุ ล ม; แม แ ต ในลมมั น ก็ มี ธ าตุ ดิ น ธาตุ ไ ฟและธาตุ น้ํ า อย า งนี้ เป น ต น ; อย า งที่ ย กตั ว อย า งให ดู แ ล ว เราหายใจออก มาครั้งหนึ่ง ก็ยังประกอบดวยธาตุทุกธาตุ.
พิจารณาดูสวนประกอบของสิ่งที่มีชีวิต จะเห็นคุณลักษณะของธาตุ เราดู ค นต อ งดู ให ห มด : ผม ขน เล็ บ ฟ น หนั ง เนื้ อ เอ็ น กระดู ก เยื่ อ ในกระดูก กระทั่งตับ ไต ไส พุ ง อะไรตาง ๆ แตละสวน ๆ จะประกอบอยูดวยธาตุ ทั้ ง ๔. ที่ เป น ของเหลว เช น น้ํ า เลื อ ด น้ํ า หนอง น้ํ า ตา น้ํ า มู ก น้ํ า ลาย น้ํ า เหงื่ อ อะไรก็ต าม ก็ลว นแตป ระกอบดว ยธาตุทั้ง ๔ ทั้งนั้น , หรือ แมแตวา ความอุน ที่ เป น ธาตุ ไฟนี้ มั น ก็ มี ธ าตุ ทั้ ง ๔ อยู ได ; ไม มี อ ะไรที่ จ ะขาดจากธาตุ ทั้ ง ๔ แล ว มัน จะทรงอยู ไ ด. ใหเ ราพิจ ารณาอยา งนี ้ ใหถ ูก ยิ ่ง ขึ ้น กวา เดิม ; แมผ มเสน หนึ ่ง ก็ ประกอบด วยธาตุ ทั้ ง ๔. พิ จารณาอย างนี้ ซึ่ งไม คอ ยจะได คิ ดกั นนั ก ให เห็ นชั ดว าธาตุ ทั้ง ๔ เปนรากฐานของทุกสิ่ง ที่มีรูปมีรางเสียกอน.
www.buddhadasa.info พิจารณาอีกวิธีหนึ่งจะเห็นธาตุในวนที่เปนนามกับรูป ยังมี รูปธาตุ ชนิ ดที่ วาดู เห็ นไม ได ด วยตา แต รูสึกได โดยความรูสึกทางอื่ น ก็มี มันก็ยังมีอีกหลายธาตุ. เราจับกลุมใหเปนธาตุไปเสียเปนสองสวน สวนหนึ่ง
ขอควรทราบกอน เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวา “ธาตุ” (ตอ)
๕๓
เรี ยกว ารู ป : เป นของมี รู ปร าง, สั มผั สได โดย ตา หู จมู ก ลิ้ น กาย นี้ . อี กส วนหนึ่ ง เป นนาม เป นจิ ต, สั มผั สไม ได โดยตา หู จมู ก ลิ้ น กาย โดยตรง; แต สั มผั สด วยจิ ต คื อ มโนธาตุ หรื อ จิ ต ตธาตุ :สิ่ งใดที่ รู ได ด ว ยจิ ต ด ว ยมโนธาตุ สิ่ ง นั้ น เรี ย กว า ธรรม หรือธัมมารมณ.
ธาตุรูปกับธาตุนามทําหนาที่แลวปรุงเปนธาตุอื่นอีก ตาคู กั บ รู ป หู คู กั บ เสี ย ง จมู ก คู กั บ กลิ่ น , ลิ้ น คู กั บ รส กายคู กั บ สิ่ ง ที่ มาสั ม ผั ส ผิ ว หนั ง มโน - ใจ คู กั บ สิ่ ง ที่ ม ารู สึ ก ได ท างจิ ต ใจ; สองฝ า ย ๆ ละ ๖ ก็ เป น ๑๒ เรี ย กว า เป น ธาตุ ก็ เป น ๑๒ ธาตุ . ๖คู อ ย า งนี้ ก็ เป น การแบ ง เสี ย ที ห นึ่ ง ว า ธาตุข า งใน ตา หู จมูก ลิ ้น กาย ใจ และธาตุข า งนอก รูป เสีย ง กลิ ่น รส โผฏฐั พ พะ ธั ม มารมณ ; พอมาพบกั น เข า ก็ ป รุ ง แต ง เป น พวกมโนธาตุ วิ ญ ญาณ ธาตุอะไรขึ้นมา, กระทั่งเปนเวทนาบาง เปนสัญญาบาง เปนสังขารบาง เปนวิญญาณเองบาง. ไม มี อะไรเลยที่ จะไม เกี่ ยวกั บธาตุ ; แม แตแสงสวางที่ เราเห็ นไดด วยตา, แสงแดดที่ มากระทบตา ก็ เป นธาตุ ชนิ ดหนึ่ งที่ ต องสมทบเอาไว ในรู ปธาตุ ที่ จะเห็ นได ด วยจั กษุ . นี่ เรี ยกว าแม สิ่ งที่ ไม ได มาเกี่ ยวข อ งกั บคนที่ มี ชี วิ ตอยู โดยตรง, แม เป นสิ่ งที่ ไม มี ชี วิ ต , เป น วั ต ถุ ก็ ล ว นแต เป น ธาตุ , และเป น ธาตุ ที่ เห็ น ง า ย ที่ เรี ย กว า มั น ยั งไม มี ค า อะไรทางความรู สึ ก เช น เป น ไม เป น ดิ น เป น หิ น เป น ภู เขา อะไรพวกนี้ มั น ก็ ยั งเป นธาตุ ; แต ธาตุ วั ตถุ นั้ น ๆ ไม มี ความหมาย ไม มี ป ญ หาอะไรเกี่ ยวกั บ ความทุ กข หรือดับทุกข.
www.buddhadasa.info คนมีปญหา เรื่องดับทุกข จึงตองพิจารณาธาตุที่เกี่ยวกับจิตกอน เดี๋ ยวนี้ เราจะพู ดกั นเกี่ ยวกั บส วนที่ เกี่ ยวกั บจิ ตใจก อน สิ่ งที่ มี จิ ตใจและมี ความ รูสึก จึงจะมีปญหาเกี่ยวกับความทุกข หรือดับทุกข. เหมือนดังบาลีที่พระสวด
๕๔
ปรมัตถสภาวธรรม
เมื่อกี้นี้วา : สําหรับสัตวซึ่งมีความรูสึกตอเวทนาอยู เราตถาคตจึงจะบัญญั ติทุกข เปนอยางนี้ ๆ, เหตุใหเกิดทุกขเปนอยางนี้ ๆ, ความดับทุกขเปนอยางนี้ ๆ, ทางให ถึ งความดั บทุ กข เป นอย างนี้ ๆ. แปลวาเรื่องนี้ พู ดกั นได กั บสิ่ งที่ มี ชี วิต ซึ่ งมี ความรูสึ ก เกี่ ย วกั บ เวทนาอยู ; ถ า ไม รู สึ ก ก็ พู ด ไม รู เ รื่ อ ง. เป น อั น ว า เรื่ อ งนี้ เ ป น เรื่ อ งจะพู ด สําหรับคนที่มีชีวิต รูสึกคิดนึกได. สิ่งมีชีวิตที่เปนสัตวนั้น ก็มีธาตุในลักษณะเดียวกับคน แตมันยังไมได เป นป ญหา. ให รูไววาสั ตวก็มี เรื่องหลั กเกณฑ อยางสิ่งที่ มี ชีวิต และเป นธาตุ เหมื อน ๆ กั น แต ยั งไม เป นป ญหา เพราะยังไม ใช คน ที่ จะเกิ ดความรูสึ กอย างคน; เวนไวแต จะศึ กษา ให มากออกไป. เรารูวาสั ตวเหมื อนกั นกั บคน แต มั นอยู ในระดั บที่ ต่ํ ากวา ยั งอ อนกวา ยังดิบ ๆ อยู ไมรุงเรือง ไมรูสึกเหมือนกับคน. สิ่งมีชีวิตที่เปนตนไม ที่เราถือวาไมมีวิญญาณมาแตเดิมนั้น ถาดูใหดีมันก็มี ความรูสึ ก มี หลั กเกณฑ อย างเดี ยวกั บสิ่ งที่ มี ชี วิตทั้ งหลาย; แต วามั นยั งต่ํ ามาก มั นยั ง ไม แ สดงชั ด . คนเราเลยไปถื อ ว าไม มี วิ ญ ญาณ ไม มี อ ะไร; ที่ แ ท มั น ก็ มี ห ลั ก เกณฑ อยางเดียวกัน ที่จะมีความรูสึก แมกระทั่งวา ตองดิ้นรนตอสูเพื่อจะใหรอดอยู.
www.buddhadasa.info ทุกสิ่งเปนธาตุ แตระวังจะสับสนที่คําพูด
ทีนี้ ดูตอไปอีกหนอยหนึ่งวา สิ่งที่จะทําใหสับสน ฟงไมคอยรูเรื่อง เข าใจไม ได ทั น ที ในขณะที่ ได ยิ น นี้ ก็ ยั งมี อ ยู . นี้ คื อ คํ า พู ด ที่ ไม ค อ ยจะแน น อน : บางที ในพระพุ ท ธภาษิ ต นั่ น เอง ตรั ส เรี ย กสิ่ งที่ เป น ธาตุ นั้ น ธาตุ นี้ ; แต ไม ได ต รั ส ใช คํ า ว า ธาตุ ; เช น คํ า ว า รู ป อรู ป นิ โ รธ นี้ บ า ง. ที่ ต รั ส ถึ ง ธาตุ หมายถึ ง ที่ เป น ธาตุ โดยไมไดต รัส วา รูป ธาตุ อรูป ธาตุ นิโ รธธาตุ ก็มี; แตที่แ ทก็คือ ธาตุ เปน รูป ธาตุ อรูป ธาตุ นิโ รธาตุ. เมื ่อ อา นแตห นัง สือ ก็ไ มรู เ รื ่อ งอยา งนี ้, ไมรู จ ริง ขอนี้, แลวก็จะสับสนไปหมด วานี้เปนอะไร เปนธาตุหรือไม?
ขอควรทราบกอน เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวา “ธาตุ” (ตอ)
๕๕
บางที เราพู ด กั น ว า ดิ น น้ํ า ลม ไฟ เราไม ถื อ ว า เป น ธาตุ ดิ น ธาตุ น้ํ า ธาตุ ล ม ธาตุ ไ ฟ ก็ มี ; แต มั น ก็ ห มายถึ ง ธาตุ ดิ น ธาตุ น้ํ า ธาตุ ไ ฟ ธาตุ ล ม. เพราะ ถึ งแม จะหมายถึ งดิ น น้ํ า ไฟ ลม หรือเป นสิ่ งปรากฏอยู อย างนี้ ก็ หมายถึ งส วนที่ เป นธาตุ มี คุ ณสมบั ติ ที่ เป นธาตุ รวมกั นในสิ่ งนั้ นนั่ นแหละ. ขอให ทราบไว ด วยว าคํ าว า “ธาตุ ” นี้ บางทีก ็พ ูด ถึง ตอ ทา ยชื ่อ นั ้น ๆ, บางทีก ็ไ มพ ูด ถึง คํ า วา ธาตุ; อยา งไรก็ด ีข อให เขาใจวา ทุกสิ่งเปนธาตุหนึ่ง ๆ. ที นี้ ยั ง มี ธ าตุ ที่ เจื อ กั น จะบริ สุ ท ธิ์ ห รื อ ไม บ ริ สุ ท ธิ์ , เป น ธาตุ เดี ย ว หรื อ หลายธาตุ เจื อ กั น ก็ มี .ธาตุ บ ริสุ ท ธิ์ ในที่ นี้ เราจะให คํ า วา ไม มี ธ าตุ อื่ น เจื อ , ยั งไม มี ธาตุ อื่ น เจื อ ; เป น วั ต ถุ ธ าตุ ล ว น ๆ สิ่ ง ใดสิ่ ง หนึ่ ง ยั ง ไม มี ธ าตุ อื่ น เจื อ . ธาตุ บ ริ สุ ท ธิ์ นั้ น ๆ เมื่ อไม มี สิ่ งอื่ นเจื อ นี้ หมายความว า ไม มี การปรุ งแต ง เป นสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ งขึ้ นมา. ฉะนั ้น ในการที ่ ธาตุจ ะเจือ กัน จะสัม พัน ธั ์ก ัน จะปรุง แตง กัน เปน ของที่ ต อ งมี แ น น อน; ไม อ ย า งนั้ น เรื่ อ งก็ ค งไม มี แม ก ระทั่ ง ชี วิ ต มั น ก็ จ ะไม เกิ ด อย า งนี้ เป น ต น . อย างหลั ก ในพระพุ ท ธภาษิ ต ที่ พ ระสวดเป น บทแรก ดั งได บ รรยายไปแล ว ในคราวกอนนั้นแหละ.
www.buddhadasa.info ธาตุตาง ๆ ยอมเจือและปรุงแตงเปนอยางอื่นอีกมาก
โดยสวนใหญแลวคน ๆ หนึ่งประกอบดวยธาตุ ๖ คือปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ อากาสธาตุ วิ ญญาณธาตุ ; นี่ ดู กั นแต หยาบ ๆ คื อมี ตั้ งแต ธาตุ ดิ น ธาตุ น้ํ า ธาตุลม ธาตุ ไฟ ธาตุ อากาส ธาตุ วิญญาณ ในหนึ่ งคนก็มี ธาตุ ๖. ถ าธาตุ นั้ น ๆ แยกกันอยู แตละอัน แตละธาตุ ๆ คนก็เกิดขึ้นไมได, สิ่งที่เรียกวาคนก็เกิดขึ้นไมได. แต เมื่ อธาตุ มารวมกั น ทํ าหน าที่ ด วยกั น ก็ จะเกิ ดคน, เกิ ดสิ่ งที่ เรี ยกว า “คน” ขึ้ นมา; ครั้นแยกเปนธาตุ ก็กลายเป นธาตุ แตละอยางไป, ถาทําหนาที่รวมกันก็เป นของใหม ขึ้นมาสิ่งหนึ่ง ซึ่งสมมติเรียกวาคน หรือวาสัตวก็แลวแตจะเรียก.
ปรมัตถสภาวธรรม
๕๖
นี่จะเห็นวาแมแตเรียกวาธาตุหนึ่งแลว ก็ยังประกอบดวยสวนอื่นอีกหลาย ธาตุ , และมั น ยั งมี ก ารแบ ง ออกเป น กุ ศ ลธาตุ อกุ ศ ลธาตุ คื อ ธาตุ ที่ ดี ธาตุ ที่ ไม ดี อยางนั้น อยางนี้ ยังมีอีก.
ธาตุที่เจืออยูดวยอวิชชาธาตุก็มีอยู นี่คงจะแปลกสําหรับคนทั่วไป ที่พระพุ ทธเจาท านตรัสวา : อวิชชาธาตุ ก็ มี อ ยู , ใจก็ มี อ ยู , ธั ม มารมณ ทั้ ง หลายที่ ใจจะรู สึ ก ก็ มี อ ยู . นี่ แ สดงว า อวิ ช ชาธาตุ ก็มีอยู คําพูดนี้เปนพระพุทธภาษิต ที่เปนหลักโดยตรง และสําคัญที่ควรจะทราบ. ทีนี้พระพุทธเจาทานมองไป ในทางที่จะเกิดกุศลขึ้นมา ก็มาตรัสเทศน ใหฟงวา : ใจหรือมโนนี้ก็มีอ ยูธาตุหนึ่ง เรียกวา มโนธาตุ, สิ่งตาง ๆ ที่ใจจะ รูสึกได ก็มีอยูเรียกวาธัมมารมณหรือธัมมธาตุ, และยังแถมมีสิ่งที่ ๓ คืออวิชชาธาตุ. ถ าอวิชชาธาตุ เข ามาปนเข ากั บใจ และธั มมารมณ แล ว ความรูสึ กนึ กคิ ดที่ เป นอกุ ศล, เป นอวิ ชชาโดยตรงนี้ ก็ เกิ ดขึ้ น; เพราะมั นเป นอวิ ชชา มั นไม รู. ฉะนั้ น สิ่ งที่ เรียกว า อวิชชาธาตุนั้น เปนสิ่งที่มีอยูตามธรรมชาติ เหมือนกับธาตุอื่น ๆเหมือนกัน, และก็ พรอมทีจะพลัดเขามาปรุงอยูในจิตใจ ในเมื่อไดโอกาส.
www.buddhadasa.info ถาสัตวนั้น ๆ ไมเคยรูจักโทษของอวิชชามากอน ไมเคยถูกมากอน ยัง เผลอสติ อยู อวิชชาธาตุ ก็จะเขาผสมเขาไปในขณะที่ ปรุงแต ง : เชน ตาเห็ นรูป เป นต น, จะมี การปรุงแต งทางจิ ต แล วก็ เผลอสติ เป นช องให อวิชชาธาตุ เข าไปผสมกั นพอดี ทํ า ใหเปนอกุศลและเปนทุกข. ขอให รูจั ก ระวั งอวิ ช ชาธาตุ คล า ยกั บ ว า ผี ป ศ าจอั น หนึ่ ง ซึ่ งมี อ ยู ใ น ทุกหนทุกแหง; เผลอไมได, ไมมีสติ ไมมีความรู ไมมีปญญา เปนไมได;
ขอควรทราบกอน เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวา “ธาตุ” (ตอ)
๕๗
ถาเผลอ อวิชชาธาตุจะเขามาผสมความคิด หรือการกระทําอันนั้น ใหมันเกิดทุกขขึ้นมา จนได. ยกตัว อยา งเชน เด็ก เล็ก ๆ เกิด ขึ้น มาใหม ไมรูเรื่อ งอะไร ไมรูจัก อะไร ก็เ รีย กวา ยัง ไมม ีว ิช ชา; พอพบเห็น ไฟเปน สิ ่ง ที ่น า สนใจ ก็เ อามือ ไปขยํ า ไฟดู ไปจั บไฟดู เด็ กก็ มี ความรูเกิ ดขึ้ นมาทั นที . ที แรกไม มี ค วามรู มี แต อวิ ชชา : ลู กตา เห็ นไฟ มโนธาตุ ที่ จะทํ าให สั กแต ว ามองเห็ น ก็ มี , ธั ม มารมณ ก็ มี , ก็ ไปจั บ เอาไฟเข า เพราะมันมีอวิชชา ไมรู เขามาชวยดวย. ทีนี้ พอถูกไฟเขาทีหนึ่งมือพองก็เกิดวิชชาขึ้นมา เปนความรูวา สิ่งชนิดนี้ มัน รอ น หรือ มัน เปน อยา งนี ้, จะเรีย กวา มัน เปน อะไรก็ไ มรู ; แลว สัญ ญามัน ก็ ช วยจํ าไว . ครั้งที่ สองพอมาเห็ นไฟอย างนี้ ก็ ไม จั บแล ว นี่ ก็ คื อมั นไม มี โอกาส แห ง อวิชชาชนิดนั้นแลว. เมื่อมีวิชชาเขามาแทนแลว ก็มีปญ ญา มีความรู มีสัญ ญา มี ความจํ า วาอย างนี้ ไปจับเขาไม ได . แม แต สั ตวเดรัจฉาน ที แรกก็ ยั งเป นอย างที่ ไม รู อะไร; อย า ว า แต ค น ซึ่ ง เด็ ก ๆ ยั ง ไม มี ค วามรู ใ นเรื่ อ งอะไร; ก็ ทํ า ไปโดยอวิ ช ชา เกี่ ย วกั บ เรื่ อ งนั้ น . พอถู ก เข าเป น อย างนั้ น อย างนี้ ทํ า ให ค อ ย ๆ จํ าได และก็ รู เอง ที่เปนความเจ็บความปวดก็คอย ๆ รูจัก และไมทําอีกตอไป.
www.buddhadasa.info ถาเผลอ อวิชชาธาตุจะเขาผสมปรุงแตจิตทันที
อวิชชาจะเขาผสมหรือไม, นี้มันเหลืออยูแตวา จะเผลอหรือไมเผลอ; ถ าเผลอเป น เรื่อ งของไม มี ส ติ เป น เรื่อ งประมาท เป น เรื่ อ งไม มี ส ติ : เช น ทั้ งที่ รูอ ยู ว า รอนก็ยังเผลอไปจับเขา นี่เปนเรื่องขาดสติ.
ตัวอยางดังกลาวมาขางตนจะเห็นวา อวิชชาธาตุนี่พรอมเสมอที่จะผสม เขาไปในการปรุงแตงทางจิตไมวาในกรณีใด ตั้งแตลูกทารกเด็ก ๆ ขึ้นมา เปนเด็ก เดินได เปนวัยรุน เปนหนุมสาว เปนพอบานแมเรือน คนเฒา คนแก; ลวนแตมีอวิชชา
๕๘
ปรมัตถสภาวธรรม
ซึ่ ง พร อ มที่ จ ะเข า ไปผสมโรง แทรกแซงในทุ ก กรณี . ต อ เมื่ อ เจ็ บ ปวดเป น ทุ ก ข ขึ้ น มา ที ห นึ่ ง ก็ จ ะรู จั ก เข็ ด หลาบ คอยระวั ง ไว ; ไม เ ผลอก็ แ ล ว ไป ถ า เผลอก็ ม าอี ก สั ก สองสามหน แลวก็ไมเผลออีกในเรื่องนั้น. ทีนี้ ยังมีปญหาเหลือในเรื่องธาตุที่ปรุงเปนกิเลส ซึ่งระวังยาก เขาในยาก. ไฟคื อกิ เลสนี่ เราจั บกั นแล วจั บกั นอี ก; กิ เลสไม เหมื อนอย างถ านไฟแดง ๆ ซึ่ งเหยี ย บที ห นึ่ งแล วก็ ไม เหยี ย บอี ก . เรื่ อ งทางกายทางวั ต ถุ นั้ น เห็ น ง าย; แต เรื่ อ งทาง จิ ตในนี้ เห็ นยาก เพราะจิ ตมี ความไว ควบคุ มยาก และเป นเรื่องลึ กซึ้ งขึ้ นไปทุ กที , ลึ กซึ้ ง ยิ่ งขึ้ นไปทุ กที . เรื่องงาย ๆ ต่ํ า ๆ เราค อย ๆ รูโดยลํ าดั บ แล วฉลาดเข าไปทุ กที ; ค นไป ๆ ๆ เมื่อคนเขาไป ติดในชั้นลึก ๆ จึงจะรูวาเขาใจยาก ดังเชนวา : ทํ า ไมเราจึ ง ควบคุ ม ความโลภ ความรั ก ความอะไรไม ไ ด ? ทํ า ไม ควบคุม ความโกรธ หรือ บัน ดาลโทสะก็ไ มไ ด, กระทั ่ง วา ทํ า ไมควบคุม ความโง ก็ไมได? นี่เปนปญ หายากอยางนี้; ก็เพราะวามันมีธาตุชนิดที่ละเอียด ๆ ไปตาม ลําดับ ; แมแตความโง ก็ยังมีอยางหยาบ อยางกลาง อยางละเอียด.
www.buddhadasa.info ปญหาที่ควบคุมกิเลสไมได เพราะรูจักธาตุไมเพียงพอ
นี่เปนปญหาที่คนเราจักตองรู วาสิ่งที่ เรียกวาธาตุ - ธาตุนั้นมันมีอยู หลายชั้ น มี อ ยู ห ลายอย าง, พรอ มกั น นั้ น ยั งเจื อ ปนกั น ให ยุ งไปหมด แทบจะสางไม ออกวา มันเปนเรื่องของธาตุอะไร. ทีนี้ดูใหดีวา ยังมีความยากลําบากที่ทําใหเขาใจ เรื่ อ งธาตุ นี้ ไ ม ไ ด อ ยู อี ก หลายอย า ง; สํ า หรั บ พุ ท ธบริ ษั ท เรานี่ แ หละ ก็ นั บ ว า ยั ง ไม เคยได ยิ น ชื่ อ ธาตุ บ างธาตุ ที่ มี อ ยู แม ใ นพระไตป ฎ ก. พู ด อย า งนี้ ไ ม ใ ช จ ะตํ า หนิ ติ เตี ย น หรื อ ว าจะโยนความผิ ด ไปให ใคร; แต ป รากฏชั ด อยู ว า แม พุ ท ธบริ ษั ท เรานี่ ก็ไมรูจักธาตุทุกธาตุ ไมเคยไดยินเรื่องธาตุบางธาตุ แมที่มีอยูในพระไตรปฎก.
ขอควรทราบกอน เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวา “ธาตุ” (ตอ)
๕๙
ตองศึกษาชื่อของธาตุที่ควรรูไวบาง ธาตุ มี ชื่ อ เรี ย กต า ง ๆ กั น เช น สั ง ขตธาตุ อสั ง ขตธาตุ ก็ ยั ง ยากที่ จ ะรู . รู ป ธาตุ เวทนาธาตุ สั ญ ญาธาตุ สั ง ขารธาตุ วิ ญ ญาณธาตุ ก็ ยั ง ยากที่ จ ะได ยิ น . ธาตุ ที่ ลึ ก ยิ่ ง ไปกว า นั้ น อี ก เช น กุ ศ ลธาตุ อกุ ศ ลธาตุ ก็ ไ ม เ คยรู ; เพราะเคยได ยิ น แตก ุศ ลธรรม อกุศ ลธรรม; ไมเ คยไดย นิว า กุศ ลธาตุ อกุศ ลธาตุ. แมธ าตุที ่จ ริง เป นสั จจธาตุ อมุ สาธาตุ นี้ ก็ จะไม เคยได ยิ น คื อธาตุ ที่ ไม เคยโกหก ซึ่ งหมายถึ งอสั งขตะ หมายถึ งนิ พพานเท านั้ นแหละที่ จะเป นอมุ สาธาตุ , ธาตุ นอกนั้ นเป นมุ สาธาตุ ซึ่ งหลอก ลวงเปลี่ยนแปลง ไมเที่ยงไมแนนอน. เราอาจพู ด ได แม ว า ธาตุ อ บาย ธาตุ ส วรรค หรื อ ธาตุ สั ต ว เดรั จ ฉาน; พู ด ได อ ย างนี้ เพราะว ามี ธาตุ ช นิ ด หนึ่ ง หรื อ สิ่ งหนึ่ ง ที่ ทํ าให เกิ ด ความหมายเป น สั ต ว เดรั จ ฉาน หรื อ เป น สั ต ว ม นุ ษ ย หรื อ เป น อบาย หรื อ เป น สวรรค ขึ้ น มา. นี่ ก็ คื อ พวก กุศล พวกอกุศล พวกสังขตะ พวกอสังขตะ ความสุข ความทุ กขเหลานี้ก็เป นธาตุ คือเปนเวทนาธาตุ.
www.buddhadasa.info ที นี้ ธาตุ หนึ่ ง ๆ มี อยู อย างแท จริ ง; นี้ ก็ ยั งไม เคยเรี ยกว าธาตุ แต ไปเรี ยกเสี ย อย างอื่ นอย างนี้ มั นก็ ยิ่ งเข าในยาก; เพราะว าในธาตุ หนึ่ ง ๆ ในทางวั ตถุ ธรรมดาแท ๆ นี้ ก็ยังเรียกชื่อไดหลายอยาง ผู ที่เรียนวิทยาศาสตรแลวเขาจะยิ่งรู. ผูที่ เรียนวิทยาศาสตรอยาง ป จ จุ บั น ทางวั ต ถุ นี้ จ ะรู ดั ง เช น : ธาตุ ถ า น ที่ เรีย กว า คารบ อนเป น ธาตุ ห นึ่ ง แน เป น ธาตุแทธาตุหนึ่งแน; แตถามันอยูในลักษณะที่หลวมๆ มันก็เปนถานไฟ สําหรับ ติ ด ไฟหุ งข าว หรือ วาติ ด ไฟเพื่ อ อะไรก็ ได . แต วาถ ามั น อั ด ตั วกั น แน น ถึ งที่ สุ ด กลั บ เรีย กวาเพชร; คิดดู ถายังไมรูก็รูเสีย วาสิ่งที่ เรียกวาเพชร ซึ่งแพงนัก ที่ จ ริงก็ คื อ ถ านไฟ แต ว าอั ดกั นแน น จนแปรสภาพเป นอย างนั้ น. นี่ ถ าไม เคยเรียนวิ ทยาศาสตร ก็ไมเชื่อ และก็ไมรูวาเปนอะไรกัน; เพียงแตบอกใหรูวา ถานไฟก็คือ คารบอนบริสุทธิ์;
๖๐
ปรมัตถสภาวธรรม
เพชรนั้ น ก็ คื อ คาร บ อนหรื อ ธาตุ ถ า นที่ บ ริ สุ ท ธิ์ อย า งนี้ เป น ต น ; เท า นี้ ก็ ทํ า ให ง ง หรือวามันหลอก หรือเปนอวิชชา หนักมากอยูแลว. เคยถามพวกที่เขาเรียนวิทยาศาสตร เขาก็บอกวามันนาหัวเราะอยางนี้แหละ. น้ําตาลที่เรากินอยูนี้ ก็คือคารบอน ผสมกันไฮโดรเจน ลูกกลม ๆ เหม็น ๆ ใส ตู ห นั งสื อ กั น มด นั่ น ก็ คื อ คาร บ อนผสมกั บ ไฮโดรเจน มั น เป น ไฮโดรเจน กั บ คาร บ อนด ว ยกั น ทั้ ง นั้ น . อั น หนึ่ ง อยู ใ นสภาพ เป น น้ํ า ตาล กิ น ได อั น หนึ่ ง อยู ใ น สภาพที่เปนกอนขาวๆกลมๆ ใสตูยากันแมลง เหม็น กินไมลง เรื่องของธาตุนี้ ให ถือวา การผสมระหวางธาตุ นี่ ยั ก ย ายไปได , และ แม แต ธาตุ เดี ยว ถ าอยู ในสภาพไม เหมื อนกั น เช นแน น เช นหลวม เช นรอน เช นเย็ น ก็กลับเปนคนละอยาง ที่ ใหคุณสมบั ติต างกัน นี่ มันแลวแต วากําลังอยูในสภาพอยางไร ในเวลาอย า งไร, คื อ มั น มี เหตุ ผ ล ที่ ทํ า ให เป น อย า งไร มี อ ะไรเปลี่ ย นแปลงออกไป ก็เลยทําใหภาษาที่พูดนั้นสับสน.
www.buddhadasa.info เดี๋ยวนี้เราจะศึกษาใหเขาใจเรื่องธาตุ ก็ตองรู เชน : พวกหนึ่งมีธาตุดิน ธาตุ น้ํ า ธาตุ ไฟ ธาตุ ลม. พวกหนึ่ งมี ธาตุ ตา ธาตุ หู ธาตุ จมู ก ธาตุ ลิ้ น ธาตุ กาย ธาตุ ใจ. พวกหนึ่ งมี ธาตุ รูป ธาตุ เสี ยง ธาตุ ก ลิ่ น ธาตุ รส ยั งมี ธาตุ ที่ จะกล าวแยกได อี ก เช น : สีเขียว สีแดง นี้ก็เปนธาตุสี, เสียง เสียงนก เสียงกา เสียงอะไร มันก็เปนธาตุเสียง, กลิ่นตางๆ ก็เป นธาตุ กลิ่น ซึ่งมี บาลีเรียกชัดๆ ทั้งนั้น. รสเปรี้ยว รสเค็ม รสหวาน ที ่ถ ูก กับ ลิ ้น นี ่ ก็เ รีย กวา ธาตุ : ธาตุเค็ม ธาตุเปรี้ย ว ธาตุอ ะไร. แมสิ ่ง ที ่ม าถูก ผิวหนั ง เป นรอน เปนเย็น เปนแข็ง เป นนิ่มนวลอะไรพวกนี้ ก็เปนสภาวะที่เรียกวา ธาตุอยางหนึ่งๆ, ก็เปนอันวา ไมมีอะไรเลย ที่ไมใชธาตุ.
ขอควรทราบกอน เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวา “ธาตุ” (ตอ)
๖๑
www.buddhadasa.info
ขอควรทราบกอน เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวา “ธาตุ” (ตอ)
๖๑
ลองคิ ด ดู อ ะไรบ างที่ จ ะไม ใช ธ าตุ : ขี้ ฝุ น ตามพื้ น ดิ น ก็ เรี ย กว าธาตุ ชนิ ด หนึ่ ง, แล วมั น ก็ ป รุ งแต งเป น นั่ น เป น นี่ ได กระทั่ งดอกไม ใบไม ที่ เห็ น ๆ นี่ มั น ก็ มี ธาตุ อยู หลายธาตุ : มี ธาตุ ดิ น ธาตุ น้ํ าธาตุ ไฟ ธาตุ ลม, กระทั่ งธาตุ สี ที่ ว าเป นอยู ในรูป ธาตุ ; ทุ กอย างไม มี อะไรที่ ไม ใช ธาตุ ที่ กล าวมานี้ คื อความมุ งหมายที่ จะบอกว า ไม มีอะไรที่ไมใชธาตุ การที่จะสรุปก็สรุปไดเปนหมวด ๆ แลวแตเราจะมีความมุงหมาย อย างไรกั นแน ; แต ที่ สรุปนั่ น ก็ สรุปไปตามลั กษณะอาการก็ มี , ตามหน าที่ การงานก็ มี ตามปจจัยที่ปรุงแตก็มี. ธาตุที ่ม ีป จ จัย ปรุง แตง ก็ห มายความวา มีห ลายสว น ปรุง กัน เขา ; ซึ่งเรียกวาธาตุที่มีการปรุง มีเหตุปจจัยปรุง. ถาไมมีการปรุงก็เรียกวา ธาตุแท ไมมี ปจจัยปรุง; บาลีเรียกวา “สังขตะ” กับ “อสังขตะ”. อสั ง ขตธาตุ นั้ น บางที ก็ เรี ย กว า นิ พ พาน หรื อ นิ โ รธ, นิ โ รธธาตุ นิ พ พานธาตุ ก็ มี . นี่ จะเข าใจไว ก อ นก็ ได และได เคยพู ด มาแล วหลายหนแล ว ว าแม แต นิ พพานนี่ ก็ เป นธาตุ : ธาตุ เป นที่ ดั บแห งธาตุ อื่ น เรียกว า สอุ ปาทิ เสสนิ พพานธาตุ อนุ ป าทิ เสสนิ พ พานธาตุ ; มี อ ยู ๒ นิ พ พาน. ธาตุ นิ พ พาน บางที ก็ เรี ย กว า ธาตุ นิโรธ; ธาตุนิโรธก็เปนที่ดับแหงธาตุทั้งหลายที่มันปรุงแตง.
www.buddhadasa.info ธาตุปรุงแตงทั้ งหลายตองมีการเกิดขึ้น ตั้งอยู ดับไป. ที่ดับไปก็คือ เ มื่ อ ถึงกันเขากับนิโรธธาตุ; ดังนั้น ความทุกข จึงเปนสิ่งที่ดับได. อยาไดกลัว อยาได เข าใจ ลั งเลอะไรเลยกั บ ความทุ กข ; ความทุ กข ก็ เป น ธาตุ อั นหนึ่ ง เป นสั งขตธาตุ มาในรูปของเวทนาธาตุ . เมื่ อเป นสั งขตธาตุ ก็ เป นสิ่ งที่ ดั บได , สิ่ งที่ ดั บได คื อ นิ โรธธาตุ . นิ โรธธาตุ นั้ นจะออกมา โดยอํ านาจของป ญ ญาของความรู ข อไหนก็ สุ ดแท แต ; ถ าออก มาได ก็เปนที่ดับของธาตุที่มีการปรุงแตง มีเหตุปจจัย ใหไหลใหเวียน อยางนี้เปนตน.
๖๒
ปรมัตถสภาวธรรม
www.buddhadasa.info
๖๒
ปรมัตถสภาวธรรม
นิโรธาตุเปนที่ดับแหงทุกขทั้งหมด ธาตุอะไรที่จะปรุงแตงใหเปนความทุกขละก็ นิโรธธาตุก็สามารถดับได เปนการดับทุกขดวย.
พิจารณากันใหเขาใจถึงสิ่งที่เขาใจยาก คือการเกิดของธาตุ เวลาเหลื อเล็ กน อย ก็ อยากจะพู ดถึ งสิ่ งที่ เข าใจได ยากต อไปอี ก ว าพระพุ ทธภาษิ ต ที่ ต รั ส ไว นั้ น บางที เราเข า ใจไม ได ในข อ ที่ ว า “เมื่ อ ใดธาตุ ป รากฏขึ้ น ปรากฏ ออกมา, เมื่ อ นั้ น คื อ การปรากฏออกแห งความทุ ก ข ”; นี่ ฟ งดู ให ดี พระพุ ท ธเจ า ท า น ได ต รั ส ไว เหมื อ นกั บ บทสวดที่ พ ระสวดเมื่ อ ตะกี้ นี้ . การเกิ ด ขึ้ น การตั้ งอยู , หรื อ การ บังเกิด การปรากฏออกมา แห งธาตุทั้งหลายแมธาตุห นึ่ง ๆนั้นก็คือ การเกิดขึ้น การตั้ ง อยู การปรากฏ ออกมาแห งทุ ก ข . ถ า ฟ งไม ดี จ ะเข า ใจว า ตั ว ธาตุ นั้ น เป น ตัวทุกขอยูแลว. แม ว า พระพุ ท ธเจ า ท า นจะตรั ส ว า “ปรากฏขึ้ น บั ง เกิ ด ขึ้ น ” นี่ ห มาย ความวา ธาตุ ทํ าหน าที่ ของมั นเสมอไป; เบญขขันธนี้ ถาไมทํ าหน าที่ ก็ยังไม เรียกวา มี เ บญ จขั น ธ . ที่ เ ราเข า ใจกั น ว า รู ป เวทนา สั ญ ญ า สั ง ขาร วิ ญ ญ าณ ที่ เ รามี อยู ต ลอดเวลานั ้น เราเขา ใจผิด ; ที ่แ ทเปน แต รูป ธาตุ เวทนาธาตุ สัญ ญาธาตุ สังขารธาตุ วิญญาณธาตุ เทานั้นแหละที่พอพูดไดวา มีอยูตลอดเวลา.
www.buddhadasa.info ทํ า ไมพระพุ ท ธเจ าไม ต รั ส ว า มั น เกิ ด ขึ้ น ? ก็ เพราะมั น ยั งไม ทํ าหน า ที่ . ถามัน “ทํ าหน าที่ในลักษณะแห งขันธ หรืออุปาทานขันธ” นั่ นแหละคือเกิดขึ้นจริง, เรีย กวา ไดเ กิด ขึ ้น จริง และก็เ ปน ทุก ข; ทํ า นองเดีย วกับ ธาตุด ิน ธาตุน้ํ า ธาตุไ ฟ ธาตุ ลม ๔ อยาง งาย ๆ นี้. ถาพู ดกันอยางหลักธรรมแลว ก็ถือวา ธาตุ นั้ น ๆ ยังไม ได เกิ ด ขึ้ น เพราะไม ไ ด เกิ ด หน า ที่ ไม ไ ด ทํ า หน า ที่ ; ไม ไ ด เกิ ด ขึ้ น เป น ไปตามความ หมายวา มันมีคุณสมบัติอยางไร มีหนาที่อยางไร. ตอเมื่อไดทําหนาที่นั้น มีคุณ
ขอควรทราบกอน เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวา “ธาตุ” (ตอ)
๖๓
สมบั ติ อย างนั้ น; เมื่ อนั้ น จึ งจะเรี ย กว าได เกิ ด ขึ้ น . แต ถ าอย างอยู ตามธรรมดาสามั ญ อยางนี้เหมือนกับวาธรรมชาติ ที่ยังอยูตามธรรมชาติอยางนี้; ยังไมไดเกิดขึ้น. ธรรมชาติ ที่ เป นธาตุ ใดก็ ดี อย างหนึ่ ง ๆ จะเกิ ดขึ้ น ต อเมื่ อเกิ ดทํ าหน าที่ แสดงหน าที่ แสดงคุ ณ สมบั ติ แสดงผล หรื อแสดงปฏิ กิ ริ ยาอะไรออกมาแล ว; อย างนี้ จึ ง เรี ย กว า สิ่ ง นั้ น ได เกิ ด ขึ้ น . พู ด ว า ธาตุ ดิ น ได เกิ ด ขึ้ น ธาตุ น้ํ า ได เกิ ด ขึ้ น ธาตุ ไ ฟได เกิ ด ขึ้ น ธาตุ ล มได เกิ ด ขึ้ น ; อย า งนี้ ก็ พู ด ได คื อ มั น ได เกิ ด ขึ้ น ทํ า หน า ที่ เป น ร า งกายนี้ สํ าหรั บจะเป นที่ รองรั บวิ ญ ญาณธาตุ สํ าหรั บทํ าหน าที่ ทางตา ทางหู ทางจมู ก ทางลิ้ น ทางกาย; ดั งนั้ น ทางธรรมจึ งพู ด ได ดั งเช น ว า เราเห็ น รู ป ด ว ยตาครั้ งหนึ่ ง เกิ ด จั ก ขุ วิ ญ ญาณสั ม ผั ส จนกระทั่ ง มี ค วามคิ ด เกี่ ย วกั บ เรื่ อ งนี้ แ ล ว นั่ น แหละจึ ง จะเรีย กว า ธาตุ ดิ น ธาตุ น้ํ า ธาตุ ไฟ ธาตุ ล ม อะไรก็ เกิ ด ขึ้ น พร อ มกั น เลย. เมื่ อ ก อ นนี้ ไม ได เกิ ด คือไมไดชวยกันทําหนาที่ทั้งหมด. คํ า ว า “เกิ ด ขึ้ น ” ของพระพุ ท ธเจ า ส ว นมากเป น อย า งนี้ ทั้ ง นั้ น เกิ ด ขึ้ น โดยหน า ที่ เกิ ด ขึ้ น ทางนามธรรม ที่ ไม ได ม องเห็ น ตั ว ; ไม ใช เกิ ด อย างวั ต ถุ หรือ เกิ ดคลอดออกมาจากพ อแม ทางวั ตถุ อย างนี้ . เกิ ดอย างที่ เกิ ดทางวั ตถุ นี้ ไม มี ป ญหาอะไร เกิดทีเดียวก็เลิกกันและก็หมดกันแลว.
www.buddhadasa.info ส วนการเกิ ดทางนามธรรมอย างนี้ เกิ ดอยู เรื่ อย ๆ ไป : เช นเกิ ดเป นตั วกู ขึ้ น มา เรี ย กว า เป น อวิ ช ชา เป น อุ ป าทานขึ้ น มา. เมื่ อ ตาเห็ น รู ป ก็ ต อ งได จั ก ษุ ธ าตุ รู ปธาตุ เวทนาธาตุ เอามารวมกั นเข า มี ความรู สึ กครบ ๕ อย าง, และยึ ดมั่ นด วยธาตุ กิ เ ลส อวิ ช ชาธาตุ ธาตุ ตั ว กู ; ขณ ะนั้ น มั น จะมี ธ าตุ ดิ น ธาตุ น้ํ า ธาตุ ไ ฟ ธาตุ ล ม ลุกขึ้นมาใหม เกิดขึ้นมาใหม.
๖๔
ปรมัตถสภาวธรรม
ถาพูดวาเกิดอยูตลอดเวลา นี่ก็พูดอยางภาษาธาตุ ที่ไมมีความรูสึก เปน ธาตุ ดิ น ธาตุ ก อนหิ น อะไรก็ ตาม ในความหมายที่ เกี่ ยวกั บความทุ กข แล ว จะต องหมาย ถึ ง เมื่ อ ทํ า หน า ที่ อ ยู ; พอทํ า หน า ที่ เสร็จ แล ว มั น ก็ ดั บ ลงไปอี ก . นี่ เป น เหตุ ให พู ด ว า แมแตคนเรานี้ เกิดตาย-เกิดตายอยูวันละหลาย ๆ หน : อุปาทานหรืออวิชชา เกิด ขึ้ น ว า ตั ว กู ที ห นึ่ ง ของกู ที ห นึ่ ง เกิ ด ที ห นึ่ ง เดี๋ ย วก็ ดั บ ไปอี ก . ธาตุ แ ต ล ะธาตุ : รู ป เวทนา สั ญ ญา สั ง ขาร วิ ญ ญาณ เดี๋ ย วก็ เ กิ ด ขึ้ น เดี๋ ย วก็ ดั บ ไป อยู ใ นรู ป ธาตุ เวทนาธาตุ สั ญ ญาธาตุ ฯลฯ. แม แ ต ในรู ป ธาตุ เมื่ อ แจกออกเป น ธาตุ ดิ น ธาตุ น้ํ า ธาตุ ไฟ ธาตุ ลมแล ว; ก็ ยั งถื อว า แม แต ธาตุ ดิ นก็ เพิ่ มเกิ ด ชั่ วขณะที่ มั นไปทํ างานร วม กันกับขันธทั้ง ๕ เหมือนกัน, ธาตุน้ําก็เพิ่งเกิด, ธาตุไฟก็เพิ่งเกิด, ธาตุลมก็เพิ่งเกิด. นี่ แหละคื อข อที่ เข าใจยาก จะเขาในพุ ทธภาษิ ตยากอยูที่ ตรงนี้ ถ าไม เขาใจ ที่ ต รงนี้ ก็ เป น อั น ไม ต อ งเข าใจเลย. ทํ า ไมไม เข าใจ? ก็ เพราะว ามั น ไม เข าใจที่ ต รงนี้ ตรงเมื่ อ เกิด หรือ ตั้ งอยูห รือ ปรากฏออก; ตรงนี้ไมเขาใจ ก็เลยไม เขาใจวานิ โรธ นิโรธคือดับลงนี้ก็มี.
www.buddhadasa.info ทุกคราวที่มีความดับลงดวยเหตุผลอะไรก็ตามแต มันก็เปนนิโรธของธาตุ ที ่ป รุง กัน ชั ่ว คราวๆ; มิใ ชด ับ กิเลสโดยตรงโดยถาวร. นิโ รธนี ้จ ึง ดับ ทุก ขชั ่ว คราว ชั่ ว ขณะ : เกิ ด ตั ว กู ขึ้ น มา ร อ นเป น ไฟ ขณะหนึ่ ง ไม กี่ น าที บางที ไ ม ถึ ง ชั่ ว โมง ก็ ดั บเย็ นลงไป, เป นนิ โรธชั่ วขณะ นิ โรธชั่ วคราว; แต ถึ งอย างไรก็ ดี เราก็ ต องเรียกว านิ โรธ. นิโรธธาตุเขามา กิเลสคือความรอนนี้จึงดับลงไดชั่วขณะ ๆ. การเกิ ดขึ้นก็เกิดขึ้นแห ง ธาตุ การดับ ลงก็ดับ ลงแหง ธาตุ และสิ่ง ที่มีม าทํา การชว ยดับ ลงนี้ก็เปน ธาตุ. นี่ คื อเรื่ องที่ ต องเข าใจก อน. ขอให ท านทั้ งหลายทุ ก ๆ คนเข าใจเรื่ องทั่ ว ๆ ไป เกี่ ยวกั บการ ศึกษาเรื่องธาตุไวในลักษณะอยางนี้.
ขอควรทราบกอน เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวา “ธาตุ” (ตอ)
๖๕
สรุ ป ความว า ไม มี อ ะไรที่ ไ ม ใ ช ธ าตุ ข า งในเราทั้ ง หมดนี่ ก็ เป น ธาตุ , นอกเราทั้ งหมดก็ เป นธาตุ , ข างใน ข างนอก ทั้ งหมดมาพบกั น ปรุ งแต ง อะไรเกิ ด ขึ้ น ใหม ๆ เป นรูปก็ ดี เป นความคิ ดทางนามก็ ดี ก็ เป นธาตุ ; ดั งนั้ น จึ งเป นอั นว าหมดกั นเลย ไม มี อ ะไรที่ ไม เป น ธาตุ ที่ เกี่ ย วกั บ คนนี้ . ให พิ จ ารณามองเห็ น สิ่ ง เหล า นี้ โดยความ เปน ธาตุ มิใ ชส ัต วบ ุค คลตัว ตนเราเขา; อยา งนี ้เรีย กวา เห็น เปน ธาตุ เมื ่อ เห็น เปนธาตุก็ไมเห็นเปนอัตตา คือเห็นเปนอนัตตา หรือเรียกอีกทีหนึ่งซึ่งคนกลัวมาก ก็เรียกวาสุญญตา คือวาง : วางจากตัว วางจากตน ซึ่งไมมีใครชอบ. ที นี้ แม แ ต สุ ญ ญตาหรื อ ความว า งก็ เป น ธาตุ เป น ธาตุ พ วกนิ โรธธาตุ พวกอสั งขตธาตุ . ความว าง-สุ ญ ญตานี่ ก็ ยั งเป นธาตุ อยู นั่ นแหละ ไม ใช อะไร; หลั บตา มองใหเห็น พิจารณาอยูบอย ๆ, หลับตามองใหเห็น วามิใชอะไรอื่นนอกจากธาตุ. ธาตุที่มีเหตุปจจัยปรุงแตง ก็แตงกันไปแตงกันมา เปนนั่นเปนนี่ขึ้นมา; ในเมื่อธาตุหนึ่งไมมีเหตุ ไมมีปจจัย, ก็ไมปรุงแตง ไมเปลี่ยนแปลง ไมไหลเวียน. สวนที่ปรุงแตงไปนั่นแหละ ถาไดมาพบกันเขากับนิโรธธาตุแลว จะหยุดปรุงแตง; ดั บ ไปในกรณี นั้ น ๆ. ถ าเป น เรื่อ งกิ เลส เรื่อ งความทุ ก ข ก็ ต อ งเป น นิ โรธชนิ ด ที่ จ ะ ต องดั บกั นให ถาวร คื อต องสราง วิ ชชา ป ญญา แสงสว าง ในเรื่องธาตุ นี้ มาให ถึ งที่ สุ ด ให สู งสุ ดถึ งที่ สุ ด ที่ เรี ยกว า ญาณ : มรรคญาณ ผลญาณ อะไรทํ านองนี้ จึ งจะดั บ หรือหยุดเรื่องความทุกข เรื่องกิเลสนี้ได.
www.buddhadasa.info สําหรับผูที่จะปฏิบัติในชีวิตประจําวัน ศึกษาเรื่องธาตุใหเขาใจก็เพื่อปอง กั นอย าได ไปหลงใหล เรื่องที่ ทํ าให รัก และที่ ทํ าให เกลียด ให โกรธ; ซึ่งมี อยู ๒ ขาง ๒ ฝ ายเท านั้ น : เรื่ อ งหนึ่ งมั น ทํ าให รั ก ให ต อ งการ ยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น ในทางที่ จะรั กจะ ต องการ, อี กทางหนึ่ งมาทํ าให โกรธ ให เกลี ยด ยึ ดมั่ นถื อมั่ นในทางที่ จะเกลี ยด จะโกรธ จะทําลาย; เชนนี้ เดี๋ยวก็ขึ้น เดี๋ยวก็ลง, เดี๋ยวขึ้นเดี๋ยวลง อยูอยางเปนบาในโลกนี้.
ปรมัตถสภาวธรรม
๖๖
ความรูสึกในจิตใจ ก็ ให รูสึ กวาเป น สั กวาธาตุต ามธรรมชาติ เท านั้ น เมื่ อรู สึ ก “สั กว าเป นธาตุ ตามธรรมชาติ เท านั้ น” ก็ คงจะไม หลงรั กเกิ นไป ไม หลงเกลี ยด เกิ นไป, แล วก็ ค อยซาลง ๆ จนไม รักไม โกรธ อย างนี้ เป นต น. นี่ เป นความมุ งหมาย เปนอานิสงสของการที่จะทําใหถึงนิโรธธาตุ หรือความดับลง สนิท แหงความทุกข ทั้งปวง. ข อสุ ดท ายนี้ คื อข อที่ แสดงให เห็ นว า สิ่ งที่ เราเข าใจไม ได ว า เป น ธาตุ ก็เพราะมี อะไรบางอยางเป นเหตุ เชนวาภาษาบ านนอก แสดงออกมาไม ตรงตามที่ ควรจะเรี ย กบ าง, แม แ ต พ ระพุ ท ธภาษิ ต ได ต รั ส ไว โดยภาษาธรรมโดยเฉพาะ. เรามา พู ดกั นอย างภาษาคน ตี ความหมายอย างภาษาคน อย างเช นคํ าว า “เกิ ด” ในภาษาคน ใชไมไดในตอน “เกิด” ในภาษาธรรม ก็เวียนหัว.
เอาละ พอกันที สําหรับวันนี้.
www.buddhadasa.info
ปรมัตถสภาวธรรม
-๓๒๐ มกราคม ๒๕๑๖
ธาตุเกี่ยวของกันจนถึงความดับทุกข
ทานสาธุชนผูสนใจในธรรมทั้งหลาย, ในการบรรยายเรื ่อ งปรมัต ถสภาวธรรม เปน ครั ้ง ที ่ ๓ นี ้ จัก ได กล า วด ว ยเรื ่ อ งธาตุ ใ ห ช ั ด เจนยิ ่ ง ๆ ขึ ้ น ไป. เรื่ อ งที ่ เ กี ่ ย วกั บ ธาตุ เป น เรื่ อ ง ที ่ล ึก ซึ ้ง ซึ ่ง เรีย กวา เปน เรื ่อ งรากฐานของทุก เรื ่อ ง แตเ ราก็ไ มค อ ยจะเขา ใจ กัน อยา งนั ้น จึง ไมไ ดส นใจ; ดัง นั ้น จึง ตอ งใชเ วลาหรือ ความพยายามอยา ง มาก ใน การที ่จ ะใหเ ขา ใจเรื ่อ งนี ้ใ หจ น ได. มัน เปน เรื ่อ งที ่ช วน เบื ่อ ชวน ให งว งนอ น สํ า ห รับ ผู ที ่ไ มอ ยากจะศึก ษ าโดยลึก ซึ ้ง ; แ ตเ ราก็ไ มม ีท างห ลีก เลี ่ย งที ่จ ะไมพ ูด กัน ถึง เรื ่อ งนี ้ ซึ ่ง ทา นทั ้ง หลายก็ท ราบดีอ ยู แ ลว วา ความ มุ ง หมายของการบรรยายประจํา วั น เสาร นี้ ก็ ป รารภเหตุ ส ว นใหญ คื อ
www.buddhadasa.info
๖๗
๖๘
ปรมัตถสภาวธรรม
ตอ งการที ่จ ะทํ า การศึก ษาของพุท ธบริษ ัท ใหมั ่น คง ใหถ ึง ที ่ส ุด ใหเ ปน ที่ เขาใจกันอยางทั่วถึง. ที่ แล วมา ไม เรี ยกว า เป นที่ เข าใจกั นอย างทั่ วถึ ง โดยเฉพาะอย างยิ่ งในเรื่ อง ธาตุ นี้ นี้ เรี ยกว าพุ ทธบริ ษั ท ยั งไม ใช พุ ทธบริ ษั ทก็ ได เพราะยั งไม ได รู จริ งตามความหมาย ของคํ าว า “พุ ทธ”. พุ ท ธก็ รู กั นอยู แล วว า แปลว า รู ; เมื่ อ ถามว าเรื่ องอะไรที่ จะต องรู ? มั น ก็ มี เป น ลํ าดั บ ๆ ไป ตั้ งแต เรื่ อ งง าย ๆ ผิ วเผิ น ที่ สุ ด จนถึ งเรื่ อ งที่ ลึ กที่ สุ ดที่ จะทํ าให ดับทุกขทั้งปวงได.
เรื่องที่จะทําใหดับทุกขทั้งปวงไดโดยสิ้นเชิงนั้น ก็คือ ตองรูเรื่องธาตุโดยตรง แม ว าในที่ อื่ นจะได กล าวว า ทุ กข เกิ ดมาจากตั ณ หา และจะต องรู เรื่ องความ ทุ ก ข และเหตุ ให เกิ ด ทุ ก ข คื อ ตั ณ หา และวิ ธี ดั บ เสี ย ให ได ; พึ งทราบเถิ ด ว า ในคํ าพู ด เหล า นั้ น ได ร วมคํ า ว า “ธาตุ ” อยู พ ร อ มมู ล เพราะว า จะต อ งเล็ ง กั น ถึ ง อุ ป าทานขั นธ ทั้ ง ๕ มี รู ป เวทนา สั ญ ญา สั งขาร วิ ญ ญาณ ที่ เป นที่ ตั้ งแห งความยึ ดถื อ; และ นั่นแหละคือธาตุ.
www.buddhadasa.info ถ าจะรู เพี ยงว าปฏิ บั ติ ในมรรคมี องค ๘ เป นอยู ให ถู กต องแล ว ก็ ไม เกิ ดตั ณหา ไม เกิ ดทุ กข อย างนี้ ก็ ได เหมื อนกั น แต มิ ได ลึ กซึ้ งถึ งที่ สุ ด และบางที จะไม เป นการทํ าให งายหรือ เร็วได . เราจึ งตอ งศึ ก ษาให ลึ ก ลงไปถึ งส ว นที่ เป น รากฐาน คื อ เรื่ อ งสิ่ งที่ เรียกวา ธาตุ.
ท านทั้ งหลายที่ เป นผู สู งอายุ แล ว คงจะเคยได ยิ นได ฟ ง คนสมั ย ปู ย า ตา ยาย พูดเรื่องธาตุ ไดมากกวาคนสมัยนี้ คือ มักจะพลั้งปากออกไปวา “มันเปนเพียง
ธาตุเกี่ยวของกันจนถึงความดับทุกข
๖๙
สั ก วาธาตุ ” “ไม มี อ ะไรมากไปกว าธาตุ ”; หรือ บางที ก็ จ ะพู ด เป น ทํ า นองขบขั น ตลก ว า “ไม มี อ ะไร นอกจากธาตุ มั น กระทบกั น ”, มี ก ารกระทบกั น ระหว า งธาตุ นั้ น ธาตุ นี้ จึ งทํ า ให ค นเราเกิ ด ความรู สึ ก อย า งนั้ น อย า งนี้ ; นี้ มั น ก็ ถู ก ต อ ง แต ว า พู ด ไปโดยที่ ยั งไม รู ชั ด เจน. ส ว นลึ ก ที่ ค วรต อ งรู มี อ ยู ว า ต อ งการให ม องเห็ น ชั ด ลงไปว า ไม มี สิ่ ง ที่เรียกวาตัวตน มีแตสักวาที่เปน “ธาตุ”. แต ที นั้ มี ธ าตุ บ างชนิ ด ในหลาย ๆ ชนิ ด นั้ น มี บ างชนิ ด ที่ รู สึ ก ได ; เมื่ อ ธาตุ นั้ นกระทบกั นเข ากั บธาตุ ใด ได ป จจั ยปรุงแต งครบถ วนแล ว ก็ เกิ ดความรูสึ กอย างที่ เรากําลังรูสึก อยูในใจ. มโนธาตุเปน สิ่งที่รูสึก คิด นึก ได ในเมื่อ ไดธ าตุภ ายนอก เชน รูปธาตุเปน ตน ก็เกิด ความรูสึก ขึ้น มาวาเราอยางนั้น เราอยางนี้; คนนั้น ก็ เลยคิด ไปวา มีต ัว ตน มีต ัว กู-ของกู, มีเ รา-มีเ ขา; มิไ ดรู ส ึก วา ความรู ส ึก วาตน วาเรา วาเขานั้น มันเป นเพี ยงปฏิกิริยา ของสิ่งที่ เรียกวาธาตุเทานั้น. เมื่อไมรู อยู อย างนี้ ก็ ย อมไปยึ ดถื อเอาส วนใดส วนหนึ่ ง ของธาตุ ใดธาตุ หนึ่ ง, หรื อทั้ งกลุ มก็ ได ว าเป นตั วเรา; ก็ เลยมี่ ความยึ ดมั่ นถื อมั่ น เป นตั วเรา ก็ เกิ ดความทุ กข ขึ้ น. ความทุ กข จึงเกิดมาเพราะความยึดมั่นถือมั่นในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งเราไมรูวาเปนเพียงธาตุ.
www.buddhadasa.info ยกตั วอย างเช น บางที ก็ ยึ ดเอา วิ ญญาณธาตุ ที่ รู ทางตา ทางหู ได นี้ ว า เป น ตั วเราก็มี . บางที ก็ เอาสั ญ ญา รูสึ ก นึ ก ได จํ าได สํ าคั ญ มั่ น หมายเอาได วา อะไรเป น อะไร เราเป น อะไร อย า งนี้ ขึ้ น มาเป น ตั ว ตนก็ มี ; ที่ แ ท มั น ก็ เป น เพี ย ง สัญญาธาตุ. บางทีเอาความคิดนึกอยางนั้นอยางนี้ที่เกิดขึ้นมาใหมวาเปนตัวเราก็มี เพราะเราคิดนึกได นี่ก็เปนเพียง สังขารธาตุ.
ธาตุทั้งหลายอาศัยกันแลวจึงเกิดความรูสึกขึ้นมา ขอให เข า ใจว า ในบรรดาธาตุ ทั้ ง หลาย ซึ่ ง ไม ใ ช ตั ว ตนขึ้ น เมื่ อ มั น ได อาศัยซึ่งกันและกัน ไดเหตุไดปจจัยครบถวนแลว มันจึงเปนความรูสึกขึ้นมา
๗๐
ปรมัตถสภาวธรรม
ไดวา ตัวฉัน ตัวเรา ตัวกู ซึ่งเปนตัวตนขึ้นมาทีเดียว. ถามันไมไดเหตุปจจัย ไมได อาศัยธาตุอื่น ๆ ปรุงแตงแลว ก็ไมเกิดความรูสึกอยางนี้เลย. การที่ จ ะให รู ว า สิ่ งที่ จ ะรู สึ ก ขึ้ น มาเป น ตั ว ตน นั้ น ไม ใช ตั วตน นี้ เป น ของ ยากลํ าบาก; เพราะฉะนั้ น เราจึ งต องเรี ยนเรื่ องธาตุ นี้ กั นให มากเป นพิ เศษ อย างที่ เคย บอกให ฟ งวา : สมั ยก อน ท านถื อกั นเป นระเบี ยบธรรมเนี ยม เครงครัดวา มาบวชนี้ เพื่อมาเรียน เพื่อใหรูเรื่องธาตุ วาสิ่งทั้งหลายทั้งปวง เปนสักวาธาตุ ไมใชตัวตน. เรื่ อ งแรกที่ ให เรี ย นก็ คื อ ยถาปจฺ จ ยํ ปวตฺ ต มานํ ธาตุ ม ตฺ ต เมเวตํ ซึ่ ง ได ยิ นกั นอยู โดยเฉพาะผู ที่ เคยบวชแล ว, ก็ บ วชเพื่ อให รู ว า “เรา” ที่ เรี ยกว าตั วเรา ผู กิ น อาหาร ผู นุ งห ม ผู อ ยู อ าศั ย ผู เจ็ บ ไข รั ก ษาความเจ็ บ ไข นี้ ก็ ดี สิ่ งที่ เรารั บ ประทาน ใชส อย นุ ง หม อะไรก็ด ี ลว นแตส ัก วา ธาตุ. อยา ไดถ ือ สว นใดวา เปน ตัว เรา หรือวาเป นของเรา, หรือวาจิตอยาไดยึดมั่ นถือมั่ นวา เป นตัวเรา และก็ไม มี ความทุ กข ไม มี ความหนั ก เพราะวาไม ได ยึ ดมั่ นถื อมั่ นนั่ นเอง; ก็ แปลวาเมื่ อยั งไม ได เรียนพุ ทธศาสนา ก็ยังไมรูเรื่องนี้. เมื่อมาเรียนพุทธศาสนา ก็คือมาเรียนใหรูวา ทุกอยางเปนสักวา ธาตุ ไมใชตัวเรา และจะไดไมยึดมั่นถือมั่น และไมเปนทุกข. ไมยึดมั่นถือมั่นนี้ เปนความฉลาดอยูแลว จึงสามารถจะทําอะไรไปได ตามที่จิตรูอยูวาจะตองทําอยางไร.
www.buddhadasa.info ธาตุ ทําใหเกิดความรูสึกเปนตัวตนไดอยางไร
ที นี้ เราจะศึ กษาเรื่ องนี้ ให ละเอี ยดยิ่ งไปกว าครั้ งที่ แล วมา แม ว ามั นเป นเรื่ อง ที่ไมนาสนุก หรือวาเปนเรื่องชวนใหงวงนอน ก็ตองขอรองใหชวยศึกษากันตอไปอีก เพื่อใหเห็นวา สิ่งที่เรียกวา ธาตุ ไมใชตัวไมใชตนนี้ มันทําใหเกิดความรูสึก ที่เปนตัวเรา เปนตัวตน เปนของตนขึ้นมาไดอยางไร, กระทั่งเกิดความทุกข และ กระทั่งความทุกขดับไป.
ธาตุเกี่ยวของกันจนถึงความดับทุกข
๗๑
ความทุ ก ข นั้ น ก็ เป น ธาตุ ความดั บ ทุ ก ข นั้ น ก็ เป น สั ก ว า ธาตุ ; ไม มี อ ะไร ที ่ไ มใ ชธ าตุ. เมื ่อ ไดย ิน ครั ้ง แรกอาจจะไมเ ชื ่อ วา “ไมม ีอ ะไรที ่ไ มใ ชธ าตุ”, คิด วา จะมี ยกเว นอะไรไว บางอย าง. แต เมื่ อได ศึ กษาพิ จารณา ศึ กษาไปจนละเอี ยดถึ งที่ สุ ดแล ว ก็จะรูเองไดทันทีวา ไมมีอะไรที่จะไมใชธาตุ, ลวนแตเปนธาตุ, อยางใดอยางหนึ่งทั้งนั้น. คํ า ว า “ธาตุ ” หมายถึ ง อะไร? เราก็ ไ ด พู ด กั น โดยละเอี ย ดแล ว ในตอน บรรยายครั้ งที่ ๑ ที่ ๒ ที่ แล วมาว า ธาตุ เป นสิ่ งที่ มี อยู ตามธรรมชาติ ; แต มั นต างกั นตรงที่ จะมาดู ค ราวเดี ย วหมด ให รูจั ก สิ่ ง ที่ เรี ย กว า ธาตุ ในฐานะเป น พื้ น ฐาน ที่ จ ะปรุ ง เป นนั่ นเป นนี่ ขึ้ นมาให ได โดยอาศั ยธาตุ ช วยกั นเอง สํ าหรับจะเป นคนขึ้ นมาสั กคนหนึ่ ง; อยางพระบาลีที่พระไดสวดไปแลวเมื่อตะกี้นี้ วาคนเราประกอบอยูดวยธาตุ ๖ ธาตุ. คํ าว า คนเราประกอบอยู ด วยตรง ๖ ธาตุ นี้ หมายความว า สิ่ งที่ มี ชี วิ ต ละก็ จะต องประกอบอยู ด วยธาตุ ๖ ธาตุ . ส วนที่ เป น โครงร างนี้ ก็ เรี ยกว า ธาตุ ดิ น น้ํ า ลม ไฟ ๔ ธาตุ แต ละอย าง เป นธาตุ หนึ่ ง ๆ คื อ ธาตุ ดิ น ธาตุ น้ํ า ธาตุ ไฟ ธาตุ ล ม. อี ก ธาตุ ห นึ่ งก็ คื อ อากาส หรื อ ที่ ว า งสํ า หรั บ เป น ที่ ตั้ ง ที่ อ าศั ย แห ง ธาตุ เหล า นั้ น ; แล ว อี ก อย า งหนึ่ ง ก็ คื อ วิ ญ ญาณธาตุ , นี่ คื อ ธาตุ ใ จ ที่ จ ะปรุ ง กั น ขึ้ น เป น จิ ต เป น ใจ เป น ความรูสึกคิดนึกได.
www.buddhadasa.info ก อนแต ที่ ไม ปรุ งอะไร ก็ เรี ยกเป นสั กว า ธาตุ , เป นสั กว าธาตุ ใจ หรื อธาตุ จิ ต หรื อธาตุ วิ ญ ญาณ; ยั งไม ได เหตุ ไม ได ป จจั ยมาปรุ งแต ง ธาตุ นี้ ก็ ยั งรู สึ กคิ ดนึ กไม ได แล ว จะไม ป รากฏให เห็ น ด วยซ้ํ าไป. ดั งนั้ นจึ งเห็ น ได ว า ในคนเราที่ ประกอบด วย ธาตุ ๖ คื อ ธาตุ ดิ น ธาตุ น้ํ า ธาตุ ไฟ ธาตุ ล ม ฯลฯ นี้ ยั งจะต อ งอาศั ย สั ม พั น ธ กั น และก็ ไม ได แ ยก จากกัน; ไมมีสวนใดของสิ่งที่มีชีวิต ที่จะไมประกอบอยูดวยธาตุเหลานี้,
๗๒
ปรมัตถสภาวธรรม
อนึ่ ง อย าลื มว าได เคยขอให สั งเกต สนใจเป นพิ เศษว า คํ าว า ธาตุ ดิ น นั้ น มิ ได หมายเอา ดิ น, ธาตุ น้ํ า ก็ มิ ได หมายเอา น้ํ า, ธาตุ ไฟ ก็ มิ ได หมายเอาตั ว ไฟ, หรือ ธาตุลม ก็มิไดหมายเอาตัว ลม; แตหมายถึงคุณสมบัติอยางใดอยางหนึ่ง ที่ตางกัน เชน : - ธาตุ ดิ น มี คุ ณสมบั ติ คื อกิ นเนื้ อที่ ทั้ งยั งปรากฏอาการเป นของแข็ ง. อย าง เนื้ อ หนั ง กระดู ก อะไรเหล า นี้ มี อ าการที่ กิ น เนื้ อ ที่ เป น ของแข็ ง ลุ ก เนื้ อ ที่ ; นี้ ก็ เลย ยกเอาว านี้ เป นธาตุ ดิ น ที่ จะเห็ นได โดยง าย. แต ดู ให ดี จะเห็ นว าในเนื้ อหนั งเป นต นนั้ น ก็มีทั้งธาตุดิน ธาตุน้ํา ธาตุไฟ ธาตุลม รวมอยูดวย. - ในธาตุ น้ํ าที่ ระบุ ไปยั งเลื อด หนอง น้ํ าลาย น้ํ ามู ก นี้ ก็ เหมื อนกั น มั นมี ส วนที่ เป นของเหลว เป นคุ ณสมบั ติ ของธาตุ น้ํ า คื อเกาะกลุ มกั นแล วก็ จะไหลไปได ดึ งกั น ไปได ก็ เรี ย กว า ธาตุ น้ํ า ; แต ว า ในเลื อ ด ในน้ํ า มู ก น้ํ า ลาย น้ํ า เหลื อ ง อะไรที่ เป น ธาตุน้ํานี้ มันก็ยังมีธาตุดิน และก็ยังมีธาตุไฟ คือมีอุณหภูมิดวย. ทุ กธาตุจะต องสัมพั นธกันอยู จนเปนวาแตละธาตุมันแยกออกได; แตละ อย าง ๆ หรือส วนประกอบอย างหนึ่ งในร างกายของคนเรานี้ มั นจะต องประกอบอยู ด วย ธาตุ ทั้ ง ๔ นี้ . ในลมที่ หายใจออกมา ก็ ยั งมี อุ ณ ภู มิ ที่ เป น ธาตุ ไฟ, มี วั ตถุ ห รื ออนุ ภ าค เล็ ก ๆ ซึ่ งเป นธาตุ ดิ นนี้ ก็ มี ส วนที่ เป นน้ํ าอั นละเอี ยดรวมอยูด วย. เป นอันวาไม มี ธาตุ ใด ที่จะอยูไดตามลําพัง มันตองมีการอาศัยซึ่งกันและกัน เปนฐานเปนที่ตั้ง.
www.buddhadasa.info ที่ เป น ส ว นโครงสร า ง ที่ เป น ร า งกาย ก็ ต อ งมี ที่ ว า งให มั น อยู ไม เช น นั้ น มัน จะอยู ไ ดอ ยา งไร ถา ไมม ีที ่ว า ง; สว นที ่เ ปน ที ่ว า งนี ้ ก็เ รีย กวา ธาตุว า ง หรือ อากาสธาตุ. มี ธาตุ อี กอั นหนึ่ ง ที่ สํ าคั ญมากคื อ ธาตุ วิ ญญาณ หรือวิญญาณธาตุ ธาตุ นี้ จะเปนสวนจิตใจ แตเมื่อยังไมไดอาศัย ปจจัยที่เหมาะ มันก็ไมปรากฏ ไมแสดง
ธาตุเกี่ยวของกันจนถึงความดับทุกข
๗๓
ให เ ห็ น . ที นี้ ใ นธาตุ ทั้ ง ๖ นี้ ยั ง อาจกระจายออกไปได ม าก เช น วิ ญ ญาณธาตุ นี้ ยังกระจายออกไปไดอีกมาก ซึ่งเราจะไดพิจารณากันตอไป.
ธาตุทั้งหมด แบงเปนกลุมใหญ มีสองกลุม : สังขตะ, อสังขตะ เดี๋ ยวนี้ อยากจะบอกให ทราบ ก อนว า ใน ๖ ธาตุ นั้ น เป นพวกสั งขตธาตุ คื อธาตุ มี ป จจัยปรุงแต ง แลวก็ไหลเวียนเปลี่ยนแปลงไป. ธาตุ จะอยูในลักษณะที่ มี รูป ก็ ดี เช น ดิ น น้ํ า ลม ไฟ อย า งนี้ , หรื อ ไม มี รู ป เป น อรู ป ก็ ดี ; เช น วิ ญ ญาณหรื อ อากาสอย างนี้ ก็ เป นสั งขตธาตุ คื อธาตุ ที่ มี อะไรปุ รงแต ง ส งเสริมให เกิ ดขึ้ น เจริ ญ ขึ้ น งอกงามต อ ไป, แล วก็ ป รุ งแต งสิ่ งอื่ น ต อ ไปอี ก . ธาตุ ทั้ งหมดนี้ จ ะกี่ สิ บ ธาตุ ห รื อ จะแยก ไปไดกี่รอยธาตุ ก็เปนสังขตธาตุหมด. ที นี้ มี ธาตุ ที่ ตรงกั นข าม คื อไม เป นอย างนั้ น เรียกว า อสั งขตธาตุ : คื อ เติม ตัว อะ เขา ไป แปลวา ไม หรือ วา ไมใ ช, ก็ค ือ ไมใ ชส ัง ขตธาตุ. ธาตุนี ้ไ มมี เหตุไม มี ป จ จัย ปรุงแตง ฉะนั้ น จึ งไม มี ก ารเกิ ด หรือ การเปลี่ ย นแปลง จะถือ ได วา เป นของที่ มี อยู ก อนสิ่ งใดก็ ได เพราะว ามั นไม ได มี การเกิ ด มิ ได มี การเปลี่ ยน มาตั้ งแต แรกเริ่ ม เดิ ม ที . ส ว นสั ง ขตธาตุ ทั้ ง หลายนั้ น มี ก ารเกิ ด ขึ้ น – ตั้ ง อยู - ดั บ ไป, เกิ ด ขึ้ น ตั้งอยู - ดับไป, ไมมีที่สิ้นสุด.
www.buddhadasa.info ในชั้ นแรกนี้ เราจะต องเห็ นว า ในบรรดาธาตุ ทั้ งหลาย จะมี อยู จํ านวน เทา ไรก็ต าม แยกออกไปไดเ ปน สองฝา ย สองพวก กอ น คือ สัง ขตธาตุ กับ อสั งขตธาตุ : ที่ เป นสั งขตธาตุ ซึ่ งจะแยกเป นร างกาย หรือเป นจิ ตใจส วนไหน ก็ ยั ง เปนสังขตธาตุ เพราะยังมีการเกิดขึ้น – ตั้งอยู - ดับไป; สวนที่ตรงกันขาม เปน
๗๔
ปรมัตถสภาวธรรม
ธรรมชาติ อั นหนึ่ ง ซึ่ งแม จะเห็ นไม ได ง าย ๆ หรื อบางคนจะไม เข าใจว ามี มั นก็ ได มี อยู โดยแท คือ อสังขตธาตุ บางทีเรียกวา นิโรธธาตุ. เมื่ อเราจะกล าวสรุป ให เหลื อ เพี ยง ๒ ธาตุ นี้ ได แก : สั งขตธาตุ คื อ ธาตที่ มี เหตุ มี ป จจัย ปรุงแต งนี้ อย างหนึ่ ง, และอสั งขตธาตุ คื อธาตุ ที่ ไม มี เหตุ ไม มี ปจจัยปรุงแตง นี้อีกอยางหนึ่ง. ทีนี้ สวนประเภทที่มีเหตุปจจัยปรุงแตง อาจแยกเปน ๒ อยาง : คือ เป น รู ป ธาตุ -มี รู ป ปรากฏ, และอรู ป ธาตุ -ไม มี รู ป ปรากฏ ซึ่ ง เป น นามหรื อ เป น จิ ต . ถ าจะดู ฝ ายที่ เป นรู ปธาตุ คื อที่ เป นธาตุ ดิ น น้ํ า ไฟ ลม นี้ เป นรู ปธาตุ มี รู ปปรากฏ. ที่ เป น อรู ป ธาตุ ก็ เช น วิ ญ ญาณธาตุ เวทนาธาตุ สั ญ ญาธาตุ สั ง ขารธาตุ นี้ ล ว น แต เป น นาม เป น ฝ า ยจิ ต เป น ความรู สึ ก คิ ด นึ ก ของจิ ต ไม มี รู ป ร า งปรากฏ. ข อ นี้ ได เคยแนะให ฟ งแล วว า บางคนอาจจะไม เคยได ยิ นว า รู ปธาตุ เวทนาธาตุ สั ญ ญาธาตุ สั งขารธาตุ วิ ญ ญาธาตุ ; อย างนี้ ไม เคยได ยิ น เพราะเคยได ยิ นแต ว า รูปขั นธ เวทนาขั น ธ สั ญ ญาขั น ธ สั ง ขารขั น ธ วิ ญ ญาณขั น ธ ; หรื อ บางที ก็ ได ยิ น แต ว า รู ป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ๕ อยางเฉย ๆ ยังไมเคยไดยินคําวาธาตุ.
www.buddhadasa.info ขอให ได ยิ น ได ฟ ง ให ทราบไววา พระพุ ทธเจ าท านก็ ได ตรัสสิ่ งทั้ ง ๕ นี้ ไว ใ นฐานะที่ ว า เป น ธาตุ : เรี ย กว า รู ป ธาตุ เวทนาธาตุ สั ญ ญาธาตุ สั ง ขารธาตุ วิญ ญาณธาตุ ตามลํ าดั บขั้นธ ๕ นั่ นเอง. แต ทํ าไมยั งไม เรียกวา ขั นธ เพราะมั น ยังไมไดปรุงแตงกันขึ้นมา เพื่อจะเปนขันธกลุมใดกลุมหนึ่ง มันจึงยังเปนเพียงธาตุ.
ธาตุ ปรุงแตง เปนขันธ เมื่อมีโอกาส ธาตุ ที่ เ ป น พื้ น ฐานนี้ เป น รู ป ธาตุ ที่ จ ะปรุ ง แต ง รู ป ขั น ธ ก็ ดี . ที่ เ ป น เวทนาธาตุ ที่ จะปรุ งแต งเวทนาขั นธ ก็ ดี , ที่ เป นสั ญ ญาธาตุ ที่ จะปรุงแต งเป นสั ญ ญาขันธก็ดี, ที่เปนสังขารธาตุ ที่จะปรุงแตงเปนสังขารขันธก็ดี, ที่เปนวิญญาณธาตุ
ธาตุเกี่ยวของกันจนถึงความดับทุกข
๗๕
ที ่จ ะปรุง แตง เปน วิญ ญาณขัน ธก ็ด ี, มัน เปน สัก วา ธาตุ; ไดโ อกาสเมื ่อ ไรก็จ ะ ปรุงแตงเปนขันธนั้น ๆ ขึ้นมา. ที นี้ ธาตุ พื้ นฐานนี้ ต องอาศั ยอะไร ที่ จะปรุ งแต งได ? ก็ ต องอาศั ยธาตุ แรก ๆ ซึ่ งจะอยู เป นพื้ นฐานก อน ก็ คื อรู ปธาตุ ; รู ปธาตุ นี้ มั นจะแยกออกไปตามประเภท หรื อ ตามลั กษณะที่ มั นจะทํ าหน าที่ เป น ตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ก อ น; และต องมี ของคู กั น คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ : - ตา เรียกวา จั กขุ ธาตุ คู กับรูปที่ เห็นดวยตา เรียกวา รูปธาตุ อีกชื่อหนึ่ ง ซึ่งมันพองกันกับชื่อรวมของมัน. - หู เรียกวา โสตธาตุ ซึ่ งคู กั บ เสี ยง ซึ่ งทํ าให ได ยิ น เรียกวา สั ททธาตุ -ธาตุเสียง. - จมูก เรียกวา ฆานธาตุ ซึ่งคูกันกับกลิ่น คือ คันธธาตุ ซึ่งเปนกลิ่น. - ลิ้น ก็เรียกวา ชิวหาธาตุ ซึ่งตองคูกันกับรส คือ รสธาตุ. - กาย นีก้ ็เรียกวา กายธาตุ คูกันกับ โผฏฐัพพธาตุ ที่มากระทบกาย.
www.buddhadasa.info ที นี้ จะดู ที เดี ย วหมดก็ : ตา หู จมู ก ลิ้ น กาย นี้ คื อ จั ก ขุ ธาตุ โสตธาตุ ฆานธาตุ ชิ วหาธาตุ กายธาตุ . บางคนอาจจะสงสั ย เช น ว า ตาเป น ธาตุ ได อ ย างไร? นี้ ขอให ศึ กษาต อไปตามหลั กธรรมนี้ แล วก็ ถื อวาเป นธาตุ อั นหนึ่ ง ซึ่ งมั นเป นรูปธาตุ ก็ จริง แต มิ ได หมายถึ งส วนที่ เป นก อนเนื้ อของลู กตา หรืออะไรทํ านองนั้ น; แต หมายถึ งธาตุ อัน หนึ ่ง ซึ ่ง อยู ใ นลัก ษณะที ่อ าจจะรูส ึก อะไรได ทางตา หรือ ทางลูก ตา. ที ่เปน บาลีใชคําวา ปสาท, ประสาท แปลวา สิ่งที่ทําใหรูสึกได : จั ก ขุ ป ระสาท สิ่ ง ที่ ทํ า ให รู สึ ก ทางตาได นั่ น แหละคื อ จั ก ษุ ธ าตุ , หรื อ จักขุธาตุ-ธาตุทางตา.
๗๖
ปรมัตถสภาวธรรม
ธาตุ ท างหู ก็ หมายถึ งประสาทที่ ทํ าให เกิ ด ความรูสึ กได ทางหู . สิ่ งนี้ มั น เป นรูป แต วาดูไมเห็นดวยตาธรรมดา จึงจัดวา แมแตโสตประสาทก็ยังจัดไวในพวกรูป, รูปธรรม. จมู ก ก็เรียกวา ฆานประสาท; หรือใชคํ าวา ธาตุ ก็ ดี กวา ฆานธาตุ คื อ ทํ าให เกิดความรูสึกไดทางจมูก เรียกวาฆานธาตุ หรือธาตุจมูก. ลิ้น ก็เรียกวา ชิวหาธาตุ ธาตุ ลิ้น คือประสาททางลิ้น ตั้งอยูในฐานะเป น สิ่ งพื้ นฐานอั นหนึ่ ง เรียกวา ธาตุ สํ าหรับทํ าให เกิ ดความรูสึ กทางลิ้ น; ส วนนี้ เรียกวา ชิวหาธาตุ. กายธาตุ นี่ ก็หมายถึงประสาทที่ มี อยูทั่ วผิ วหนั ง ทั่ วกาย ทั่ วไป ที่ จะทํ าให เกิ ดความรูสึ กทางผิ วกาย แต ก็ มิ ได หมายถึ ง ตั วเนื้ อหนั งโดยตรง. แต หมายถึ งธาตุ อันหนึ่ง ที่จะอาศัยเนื้อหนังนั้นแลวทําความรูสึกตามหนาที่ของมันได.
www.buddhadasa.info ธาตุนั้น ๆ ยังไมอาจจะรูสึกได จนกวาจะมีอีกอันหนึ่งเขามาชวย
เช น ตาจะต องมี ธาตุ ช วย ซึ่งจะต องอาศั ยสิ่ งที่ เรียกวารูปข างนอก ที่ จะมา กระทบตา. สิ่ ง ที่ จ ะมากระทบตาก็ เรี ย กว า รู ป ; ในบาลี ใ ช คํ า ว า วั ณ ณนิ ภ า ซึ่ ง ตามตั วหนั งสื อก็ แปลวา รัศมี ของสี ทั้ งหลาย, หมายความวา สิ่ งที่ เป นสี เขี ยว สี แดง ที่ เราจะได เห็ นอยู ในโลกนี้ ซึ่ งวิ ทยาศาสตรว าจะออกมาจากดวงอาทิ ตย ก็ ตาม; มั นมี รัศมี คื อเป นกระแสที่ ซานออกมา สําหรับจะกระทบตาเรียกวา วัณณนิภา แลวแต วามั น จะนิ ภาของวัณณะอะไร. ถามั นเป นนิ ภาของวัณณะสีแดง ก็เห็นเป นสี แดง, เป นนิ ภาของ วัณณะสีเขียว ก็เห็นเปนสีเขียวอยางนี้เปนตน. นิภาเหลานี้ตองมากระทบตา; แตเรา
ธาตุเกี่ยวของกันจนถึงความดับทุกข
๗๗
เรี ยกกั นตามธรรมดาว ารู ปเฉย ๆ จะเป นเขี ยว แดง ดํ า เหลื อง ก็ สุ ดแท กระทั่ งมั นจะเป น รู ปทรงอย างไรก็ สุ ดแท มั นมาโดยอาศั ยการเป นรั ศมี ของสิ่ งนั้ น ๆ ที่ เข ามาสู ตา; อย างนี้ เรียกวารูป และก็เรียกวาธาตุ อยูนั้นแหละ.
ดูตัวอยางธาตุตา+รูป+วิญญาณธาตุ เปนวิญญาณขันธ ยกตัว อยางคูแ รก ประสาทที ่จ ะรูส ึก ไดท างตานี ้ เรีย กวา จัก ขุธ าตุ -ธาตุจักษุ หรือธาตุตา; รูปที่จะมากระทบตาไดนี้ เรียกวา รูปธาตุ. ที นี้ ตากั บรู ป อาศั ยกั นแล ว จึ งจะเกิ ดสิ่ งที่ เรี ยกว า การเห็ นทางตา คื อจั กขุ วิญญาณ พระบาลี จะกล าวไว ชั ดว า จกฺ ขุ ญจฺ ปฏิ จฺ จ รูเป จ อุ ปฺ ปชฺ ชติ จกฺ ขุ วิ ฺาณํ -อาศั ยตาด วย อาศั ยรู ปด วย ย อมเกิ ดจั กขุ วิ ญ ญาณขึ้ นมา; แม จั กขุ ซึ่ งเป นเพี ยงธาตุ เดี๋ ยวนี้ ก็ ได ทํ าหน าที่ เป น ฝ ายหนึ่ ง ซึ่ งจะกระทบ ก็ เลยเรี ย กว าอายตนะขึ้ น มา ที่ เคย เรี ยกที แรก เป นพื้ นฐานที่ สุ ดว า จั กขุ ธาตุ เท านั้ น มั นกลายเป นจั กขุ อายตนะขึ้ นมาแล ว. ที นี้ ที่ มั น เป น เพี ย ง รู ป ธาตุ หรื อ วั ณ ณนิ ภ าต าง ๆ ที่ จ ะมากระทบตา ซึ่ งเราเรี ย กว า รูปธาตุ นั้ น เดี๋ ยวนี้ ก ลายเป น รู ป อายตนะขึ้ นมา, พอเป นรูปอายตนะขึ้ นมา, ก็ เลย ได เป นคู สํ าหรับที่ จะกระทบกั น : จากจั กขุ ธาตุ มาเป นจั กขุ อายตนะ และก็ จากรูปธาตุ มาเปนรูปายตนะ; อยางที่ ๑ เปนอายตนะขางใน, อยางที่ ๒ อายตนะขางนอก.
www.buddhadasa.info อายตนะสองอย าง นี้ อาศั ยกั นเข าแล ว ย อมจะเกิ ดสิ่ งที่ เรียกวา วิญญาณ; ดั งนั้ น มั นจึงเกิ ดจั กขุ วิญญาณ. จั กขุ วิญญาณนี้ ก็ ออกมาจากวิญญาณธาตุ ซึ่ งตามปกติ ทรงตั วอยู ในลั กษณะเป นวิ ญญาณธาตุ ยั งไม เป นจั กขุ วิ ญญาณ หรือวิ ญญาณอะไรหมด จนกว าจะมากระทํ าหน าที่ ทางตา สํ าเร็จแล ว จึ งจะเกิ ดจั กขุ วิ ญญาณ เพราะตาอาศั ยกั บรูป จึงเกิดจักขุวิญญาณ.
๗๘
ปรมัตถสภาวธรรม
ลองยอนไปดู อีกที วา ที แรกก็เป นเพี ยงธาตุ เปนจักขุธาตุ เป นรูปธาตุ พอทําหนาที่ก็กลายเปนจักขุอายตนะ, รูปายตนะ. พออายตนะนี้ทําหนาที่ก็กลาย เปนจักขุวิญ ญาณขันธขึ้นมา. ของเดิมมีแตเพียง ๓ อยาง : จักขุธาตุ อยางหนึ่ง, รูป ธาตุ อย างหนึ่ ง, วิ ญ ญาณธาตุ อย างหนึ่ ง; ๓ ธาตุ เท านั้ น . วิ ญ ญาณธาตุ นี้ จะกลายเปน วิญญาณขันธ อะไรขึ้นมาได ก็ตองอาศัย จักขุธาตุ กับ รูปธาตุ ได อ าศั ย กั น เสี ย ก อ น ดั ง นั้ น จึ ง ต อ งมี ธ าตุ ทั้ ง ๓ คื อ จั ก ขุ ธ าตุ -ธาตุ ต า, รูป ธาตุ ธาตุ รูป, และก็ วิญญาณธาตุ -ธาตุ จิต; พบกั นแล วจึงจะเกิ ด วิญญาณ ขึ้ นทางตา หู จมู ก ลิ้น กาย แลวแตกรณีไหน.
อาการที่ธาตุ ตา+รูป+วิญญาณธาตุ นี้เรียกวาผัสสะ ที นี้ ธาตุ ๓ อย างนี้ พบกั น ท านเรี ยกว าผั สสะ; พระพุ ทธเจ าท านตรั สว า ติณฺ ณํ ธมฺมานํ สงฺคติ ผสฺโส - ความพบกันประจวบกันระหวางสิ่งทั้ง ๓ คือ ตากับรูป และวิญญาณ ทางตานี่. ตากับรูปและวิญญาณทางตา ๓ อยางพบกันแลว เรียกวา ผัสสะ. ผัสสะนี้ ดูโดยเนื้อแทก็เปนธาตุ สงเคราะหอยูในพวกเวทนาธาตุ เพราะวา นั บ ตั้ งแต ผั ส สะนี้ ไป จะเป นเวทนาขัน ธ. ที่ วาผั ส สะนี้ ก็ คื อ การกระทบ; กระทบ ระหวางอะไร? ระหวางสิ่งทั้ง ๓ คือตากับรูป และจักขุวิญ ญาณ. วิญ ญาณขันธ เกิ ดขึ้ นเป นจั กขุ วิญญาณแล ว ที นี้ อาศั ยทั้ ง ๓ อย างนี้ กระทบกั น จึงจะเรียกวาผั สสะ ไดเกิดขึ้น.
www.buddhadasa.info ที่จริงผัสสะก็เปนแตเพียงอาการ แตเปนความรูสึกไดที่จิตใจ ก็เลย สงเคราะหเขาไวในฝายเวทนาขันธ; ผัสสะเกิดขึ้นแลวเปนปจจัย ก็ยอมเกิดเวทนา โดยตรง อยางบาลีวา ผสฺสปจฺจยา เวทนา-เพราะผัสสะเปนปจจัย จึงเกิดเวทนา.
ธาตุเกี่ยวของกันจนถึงความดับทุกข
๗๙
ผัสสะ + เวทนาธาตุ ออกมาเปนเวทนขันธ เวทนานี้ ม าจากไหน? ที่ แ ท มั น ก็ เป น เวทนาธาตุ อั น หนึ่ ง ซึ่ งมี อ ยู เป น พื้ นฐาน ประจํ าอยู ตลอดเวลา เป นสั กว าธาตุ เวทนา แต มั นไม ได ออกมา จนกว าจะมี ผั สสะ อย า งที่ ว า . พอออกมาก็ ล ะจากความเป น เวทนาธาตุ มาเป น เวทนาขั น ธ ที่ กํ า ลั ง ทํ าหน าที่ อยู นี่ เราจึ งเปลี่ ยนชื่ อจากเวทนาธาตุ มาเป นเวทนาขั นธ , เพราะมี อยู เป นกลุ มๆ : เวทนาทางตา ทางหู ทางจมู ก ทางลิ้ น ทางกาย แม ก ระทั่ ง ทางใจ มั น เป น กลุ ม ขึ้ น มา จึ ง เรี ย กว า เวทนาขั น ธ . เวทนาธาตุ ที่ ยั ง ไม ถู ก ปรุ ง บั ด นี้ ถู ก ปรุ ง ขึ้ น มาแล ว เปน เวทนาขัน ธ; รูป ขัน ธ ก็เ กิด แลว , วิญ ญาณขัน ธ ก็เ กิด แลว , เวทนาขัน ธ ก็เกิดแลว.
พอเวทนาขันธเกิด จะปรุงแตงเปน สัญญา-สังขารตามลําดับ ที นี้ เวทนานี้ เกิ ดขึ้ นแล ว จะปรุงแต งให เกิ ดความรูสึ กทางจิ ตใจขึ้ นตามลํ าดั บ ในอั น ถั ด ไป :จะมี สั ญ ญาขั น ธ ก อ น, เวทนาเกิ ด ขึ้ น เป น สุ ขเป น ทุ ก ข เป น อทุ ก ขมสุ ข อย างไรก็ ตาม จะต องมี ความรูสึ กสํ าคั ญวามั นเป นอะไร สํ าคั ญวาเป นสุ ข สํ าคั ญวาเป น ทุ กข สํ าคั ญ ว าเป นอทุ กขมสุ ข. สิ่ งสํ าคั ญ ยิ่ งไปกว านั้ นที่ จะเป นกิ เลส ก็ คื อ สํ าคั ญ ว า เที่ ยง สํ าคั ญ ว าของเรา, สํ าคั ญ ส วนใดส วนหนึ่ ง ที่ เป นแต เพี ยงสั กว า ความรู สึ กนั้ นว า ตั วเรา วาของเรา นั่ นแหละสั ญญาเกิ ดขึ้ นเป นอั ตตสั ญญาวาเรา เรารูสึ กได : ในเวทนานั้ น เรารูสึกได คื อรูสึ กวาเรานั้ นต องมี ตั วเรา ก็ เลยเกิดเป นอัตตสั ญญาขึ้นมา เป นสั ญญาขันธ ที่ ทํ าหน าที่ รุนแรงที่ สุ ด ในบรรดาสั ญญาขั นธ ทั้ งหลาย. สั ญญาว าเที่ ยง สั ญญาว าไม เที่ ยง สัญญาวาสุขวาทุกข นี่ไมรุนแรงเทากับสัญญาวา “เรา”, วาอัตตสัญญา.
www.buddhadasa.info หลังจากเวทนาเกิ ดแล ว จะมี ความสํ าคั ญในเวทนานั้ นวาเป นอยางไร อยางใด อยางหนึ่ง จะกระทั่งสําคัญวาเปนเวทนาของเรา; จึงเห็นไดวาสัญญาขันธไดเกิดขึ้น
ปรมัตถสภาวธรรม
๘๐
แลว สําคั ญวาเป นอยางนั้นอยางนี้ขึ้นมาแล ว ที นี้ หลั งจากสั ญญาขั นธ แลว ยอมเกิ ด สั งขารขั นธ ก็ มาจากสั งขารธาตุ อย างที่ กล าวแล วข างต น; เพราะมั นมี อยู เป นรากฐาน พื้นฐาน ในที่ทั่วไป จนกวาจะไดโอกาสจึงจะแสดงตัวออกมา. ทีนี้เมื่อสัญญาธาตุกลายเปนสัญญาขันธ สําคัญอยางนั้นอยางนี้แลว สังขารธาตุก็กลายเปนสังขารขันธ : รูสึกคิดนึกอยางนั้นอยางนี้ขึ้นมา ; ดังนั้นจากความคิดนึก เหล านั้ นมั นก็ มี เป นสายไป นั บตั้ งแต วามี สั ญญาวา “เรา” แล วมั นก็ มี สั ญเจตนา ที่ จะทํ า, ที่เราจะทําอยางใดอยางหนึ่ง; นี่เรียกวามีสัญเจตนา, แลวก็มี ตัณหา. จากสัญเจตนา ก็ จะเกิ ดตั ณ หา เกิ ดความอยากอย างใดอย างหนึ่ ง ตามสั ญ เจตนา; แล วก็ จะเกิ ดวิ ตก แลวก็จะเกิดวิจาร. กลุมนี้ เป น สั งขารขั นธ ทั้ งนั้ น มันก็มีรวมกันหมดเรียกวา สังขารขันธ นับตั้งแตเกิดสัญเจตนา เกิดตัณหา เกิดวิตกวิจาร ตามลําดับ; นี้รวมทั้งหมดแลว ก็ เรี ยกว าสั งขารขั นธ . นั บตั้ งแต มี เจตนาไปตามสั ญ ญา แล วเกิ ดตั ณ หา ความต องการ และก็ วิ ต ก ไปตามความต อ งการ, และได ม า ก็ วิ ต กไปตามที่ ไ ด ม า, และก็ วิ จ ารคือวาผูกพันธหลงใหล รูสึกอยูในสิ่งนั้น. กลุมที่เรียกวา สังขารขันธนี้ก็เลยมีมาก หลายอาการ เรียกวา สังขารขันธ ทั้งนั้น, รวมแลวครบ ๕ ขันธ.
www.buddhadasa.info ทบทวนอาการที่ธาตุปรุงกัน
ถ าลื มไปบ างก็ ทบทวนเสี ยใหม : เมื่ อ ตา พบกั บรู ป ได อาศั ย กั นกั บรู ป ยอ มเกิด จัก ขุว ิญ ญาณขึ ้น มา; นี ่ร ูป ขัน ธเ กิด ขึ ้น แลว วิญ ญาณขัน ธก ็เ กิด แลว . ระหวางตากับรูป กับวิญญาณขันธนั้น เมื่อมาสัมพั นธกันแลวก็เรียกวาผัสสะ, จาก ผัส สะก็ เกิด เวทนา คือเวทนาขัน ธ; จากเวทนาขั น ธก็ทํ าใหสําคัญ อยางนั้น อยางนี้ ในเวทนาขั น ธ มั น ก็ เป น สั ญ ญาขั น ธ เกิ ด ขึ้ น มาว า เป น อะไร เพื่ อ จะยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น ในขั้นตอไป ซึ่งเรียกวา สังขารขันธ.
ธาตุเกี่ยวของกันจนถึงความดับทุกข
๘๑
ธาตุ ป รุ งกั น มั น จึ งเกิ ด รู ป ขั น ธ วิ ญ ญาณขั น ธ เวทนาขั น ธ สั ญ ญาขั น ธ สังขารขันธ ครบทั้ง ๕ ขันธดังนี้. เมื่อยังไมทําหนาที่ปรุงอยางนี้ ก็ยังเรียกวาธาตุ: คื อ รู ป ธาตุ วิ ญ ญาณธาตุ เวทนาธาตุ สั ญ ญาธาตุ สั งขารธาตุ มี ๕ ธาตุ พอได ทํ า หน า ที่ ตามหน า ที่ ที่ จ ะต อ งทํ า ในชี วิ ต ประจํ า วั น เมื่ อ ได อ ารมณ ข า งนอก ก็ เกิ ด เป น รูปขันธ วิญญาณขันธ เวทนาขันธ สัญญาขันธ สังขารขันธ ขึ้นมา.
ขันธทั้ง ๕ + อวิชชา จะเปนอุปาทานขันธ ตอนที่ เป นขั นธ นี้ ก็ แยกออกเป น ๒ ฝ าย : ถ าไม มี อวิ ชชาธาตุ ธาตุ เหล านั้ น ก็ทําหนาที่ขันธลวน ๆ ตามเดิม; ถามีอวิชชาธาตุ ความโงเขลาเขาไปปรุง ปนอยูดวย มัน ก็ก ลายเปน อุป าทานขัน ธ; ไมใ ชข ัน ธเฉย ๆ ตอ งเปน อุป าทานขัน ข. รูป ก็เปน รูปู ปาทานขั นข ที่ เป นเวทนาก็ เป นเวทนู ปาทานขั นธ ที่ เป นสั ญญาก็ เป นสั ญู ปาทานขั นธ ที่ เป นสั งขารก็ เป นสั งขารูปาทานขั นธ และที่ เป นวิ ญญาณก็ เป นวิ ญญาณู ปาทานขั นธ ก็ เกิ ด อุปาทานขันธ ๕ ขึ้นมา. เมื่อเปนอุปาทานขันธสมบูรณอยางนี้แลว ก็คือตัวความทุกข ที่ มี อ ยู ใ นนั้ น ; เพราะความยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น เป น เรา-เป น ของเรามี อ ยู แ ล ว ตั้ ง แต มี สั ญญาขั นธ ในรูปของสั ญญาขั นธ กระทั่ งมาอยู ในสั งขารขั นธ คิ ดนึ กอยู เต็ มที่ เป นอุ ปาทาน เปนภพขึ้นมาแลว.
www.buddhadasa.info ถ าถื อตามหลั กปฏิ จจสมุ ปบาท จะเข าใจได ง าย โดยเริ่ มขึ้ นมาว า จกฺ ขุ ฺจ ปฏิ จฺจ รูเป จ อุปฺ ปชชติ จกฺ ขุวิฺาณํ - อาศั ยตากับรูปเกิ ดจักขุวิญญาณ ติ ณฺ ณํ ธมฺ มานํ สงฺ ค ติ ผสฺ โส ๓ อย างนี้ รวมกั น เรี ย กว าผั ส สะ. ผสฺ ส ปจฺ จยา เวทนา -เพราะผั ส สะ เปนปจจัยจึงเกิดเวทนา. ขอให สั ง เกตดู ใ ห ดี ว า รู ป ขั น ธ ได เกิ ด ขึ้ น แล ว ในขณะตากระทบรู ป , วิญญาณขันธเกิดขึ้นเพราะอาศัยตากระทบรูป. แมผัสสะกับเวทนานั้นคือเวทนาขันธ
๘๒
ปรมัตถสภาวธรรม
ที่ เกิ ด มาในรองลํ าดั บ : ผสฺ ส ปจฺ จ ยา เวทนา; จากเวทนาปจฺ จ ยา ตณฺ ห า -เวทนา เป นป จจั ยให เกิ ดตั ณหา นี่ มั นรวมกั นที เดี ยวหมดเลย : จากเวทนานั้ น ก็ จะเป นสั ญญา แล วก็ เป นสั ญญา เจตนา เป นตั ณหา เป นวิ ตก เป นวิ จาร รวมอยู ในคํ าเดี ยวกั บตั ณหา. จากเวทนาเปนปจจัย ยอมเกิดตัณหา กระทั่งมาถึงอุปาทาน นี่ก็ยังอยู ในพวกสังขารขั น ธ , กระทั่ งเป น ภพ ชนิ ด ที่ เป น กั ม มภพ ความรู สึ ก คิ ด นึ ก ที่ ส มบู รณ เป น นั่ น เป น นี่ นี้ ก็ ยั ง เป น สั ง ขารขั น ธ ; ก็ เลยเกิ ด ทุ ก ข . สั ง ขารขั น ธ ป รุง แต งเป น ความทุ ก ข ขึ้ น มา โดยสมบูรณ คือเปนชาติ ชรา มรณะ. ในกระแสแหงปฏิจจสมุปบาทสายหนึ่ง เราจะพบความเปนขันธ ๕ เกิดขึ้นมาจากธาตุ ทั้ง๕; และขันธ ๕ นั้น ถูกกระทําใหเปน อุปาทานขันธ ๕ เลยเปนทุกข.
พุทธบริษัทตองเขาใจเรื่องธาตุปรุงกันใหเกิดทุกข ถาเขาใจเรื่องนี้ ก็ เป นอั นวาเขาใจเรื่องธาตุ ทั้ งปวงที่ มี อยู ปรุงแต งกั นจน เกิ ด เป น ความทุ ก ข ขึ้ น มา, เป น ความรูอ ย างเดี ย วที่ เรีย กว า เป น ความรูจ ริง รูแ จ ง ของคนที่ เป นพุ ทธบริ ษั ท. ดั งนั้ น ขอให พยายามทํ าความเข าใจ ให เข าใจจนได ในเรื่ อง ธาตุ ทั้ งหลาย ปรุ งแต งขึ้ น มาจนเป น อายตนะนอก อายตนะใน; การพบกั น ระหว า ง อายตนะนอกกั บอายตนะใน ก็ เกิ ดวิ ญญาณขึ้ นมา ระหว าง ๓ สิ่ งนั้ นรวมกั นเข า ก็ เรี ยกว า ผัสสะ ขึ้นมา, แลวก็เปนเวทนาขึ้นมา เปนสัญญาขึ้นมา เปนสังขารขึ้นมา.
www.buddhadasa.info วิญ ญาณนั้ นอาจจะทํ าหน าที่ ได หลายตอน ตอนตากระทบรูปก็ เรียกวา จั ก ขุ วิ ญ ญาณนี้ วิ ญ ญาณก็ เกิ ด แล ว ; พอเวทนาเกิ ด ขึ้ น ในจิ ต ในความรู สึ ก ของจิ ต มโนก็ ทํ าหน าที่ มโนวิญญาณได เป นวิญญาณ; หรือกํ าลั งคิ ดนึ กอยู ถ ามั นเกิ ดความรูสึ ก อะไรขึ้นมา มันก็เปนมโนวิญญาณได. ฉะนั้นวิญญาณจะมีไดหลาย ๆ หน โดยอาศัย
ธาตุเกี่ยวของกันจนถึงความดับทุกข
๘๓
เวทนาเป น อารมณ ก็ ได , กลายเป น ธั ม มารมณ ข างใน สํ า หรับ จิ ต กระทบและรูสึ ก หรือจะเอาสัญญาเปนอารมณก็ได เอาสังขารเปนอารมณเองก็ได. ยิ่ งพิ จารณาไปจะยิ่ งเห็ นว า ไม มี อะไรที่ ไม ใช ธาตุ แม จะกิ นเวลามากจน น าเบื่ อที่ สุ ดอย างไร ก็ ยั งขอรองให ท านทั้ งหลาย พยายามทํ าความเข าใจให จงได . ค อย ๆ เข า ใจไปที ล ะนิ ด ๆ ก็ ยั ง ดี , จะพู ด กั น สั ก กี่ ค รั้ ง หรื อ กี่ สิ บ ครั้ ง ก็ ยั ง ดี . อาตมาผู พู ด ก็ ไม รูสึ กเหนื่ อย เพราะว าต องพู ดไปจนรูเรื่อง เกรงแต ว าท านทั้ งหลายจะไม อดทนพอที่ จะ ทํ าความเข าใจ เรื่ อ งสิ่ งที่ เรี ย กว าธาตุ ซึ่ งมี อ ยู เป น พื้ น ฐาน และปรุ งขึ้ น มาเป น ความ รู สึ ก คิ ด นึ ก ว า เรา ว า ของเรา จึ ง เกิ ด ความทุ ก ข และก็ จ ะดั บ ไป. ถึ ง แม จ ะดั บ ไป มันก็ตองดับดวยธาตุอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งเรียกวานิโรธธาตุ หรือนิพพานธาตุก็ตาม.
ธาตุฝายสังขตะ จะปรุงแตงเรื่อย จะดับตอเมื่อพบกับธาตุฝายอสังขตะ สรุปความอี กที หนึ่ งว า ธาตุ ทั้ งหลายนี้ ฝ ายสั งขตะ จะเกิ ดขึ้ น ๆ ๆ ปรุงแต ง ให เกิ ด ขึ้ น จะเป น รู ป ธาตุ ก็ ได อรู ป ธาตุ คื อ นามธาตุ ก็ ไ ด , มั น จะปรุ ง แต ง กั น ขึ้ น จนเป นวิญ ญาณ จนเป นผัสสะ เวทนา ครบขันธ ๕ ; แต แล ว ที่ สุ ดมั นจะดั บลงไป ดว ยธาตุอ ีก ธาตุห นึ ่ง ซึ ่ง เรีย กวา นิโ รธธาตุ ซึ ่ง เปน ฝา ยอสัง ขตะ. ฉะนั ้น ความดั บ นี่ มั น มิ ได โดยธาตุ ข องความดั บ ที่ เรี ย กว า นิ โรธธาตุ ; ไม อ ย า งนั้ น มั น ดั บ ไมได.
www.buddhadasa.info จะยกตั วอย างทางวั ตถุ เหมื อนอย างไฟ กว ามั นจะเกิ ดเป นไฟขึ้ นมาได มั น ตองอาศั ยหลาย ๆ ธาตุ , กวาไฟจะลุ ก เป น ไฟขึ้ น มาได ต อ งอาศั ย ธาตุ นั้ น ธาตุ นี้ ธาตุ โน น ตามธาตุ ทางวั ตถุ ทางวิ ทยาศาสตร ซึ่ งก็ รูกั นได ดี ว า ไฟจะเกิ ดขึ้ นได อย างไร. มันตองมีเชื้อเพลิง เชนไมฟน หรือน้ํามัน นี้ก็ตาม, มันก็จะตองมีความรอน มีธาตุ
๘๔
ปรมัตถสภาวธรรม
ที่ ห ล อ เลี้ ย งไฟเป น อ็ อ กซิ เจน หรื อ อะไรก็ สุ ด แท , และยั งต อ งมี อ ะไรอี ก บางอย า งมา ชวยกัน ไฟจึงจะลุกเปนไฟขึ้นมา. ทีนี้เมื่อจะดับไป ก็ตองไปตามกฎที่วา เหตุปจจัย นั ้น มัน สิ ้น , เหตุป จ จัย จะสิ ้น จนทํ า ใหไฟดับ นี ้ ปจ จัย สิ ้น หมดเองไปก็ไ ด เชน วา น้ํ ามั นมั นหมด ไฟมั นก็ ดั บ อย างนี้ เรียกว า เหตุ ป จจั ย ที่ ทํ าให ไฟลุ กนั้ นหมดเสี ยแล ว; ไฟก็ ดั บเองด วยเหตุ ผล เพราะเหตุ ป จจัยมั นสิ้นเอง. ที นี้ ถ าป จจัยไม สิ้ นเอง แต มี อํ านาจ อันใดอันหนึ่งมาทําใหไฟดับก็ได เชนวา ถาไฟที่มันดับไดดวยน้ํา ก็เอาน้ําสาดเขาไป หรื อ เอาแผ น อะไรทั บ เสี ย ไฟก็ ต อ งดั บ โดยที่ มี อ ะไรแทรกแซงเข า มา; ไม ใ ช ดั บ เพราะว าป จ จั ย ค อ ย ๆ สิ้ น ไปเอง; ทั้ งหมดนี้ เรี ย กว า ความดั บ . จะต อ งมี ค วามดั บ ที่ เป น พื้ น ฐานอยูอีกอั นหนึ่ ง มั น จึ งจะปรากฏเป น ความดั บ ออกมาได; ในทางธรรม ถื อเป นอย างนี้ . ฉะนั้ นความทุ กข ที่ เกิ ดขึ้ นเพราะป ญ จุ ปาทานั กขั นธ ทั้ งหลาย มั นจะถึ ง ความดับ ก็โดยเมื่อมีนิโรธธาตุเขามา:ดั บ เพราะว า เหตุ ป จ จั ย สิ้ น สุ ด ลง ตามธรรมชาติ ตามโอกาส; ตั ว อย า ง เช นว า : ตาเห็ นของที่ น ารั ก น าพอใจ จนเกิ ดกิ เลส จนยึ ดมั่ นถื อมั่ นจนเป นความทุ กข แต มั น จะอยู อ ย างนั้ น ตลอดวั น ตลอดเดื อ นตลอดป ไม ได ; เหตุ ป จ จั ย ส วนใดส วนหนึ่ ง มั นเปลี่ ยน มั นรอยหรอ มั นก็ หยุ ดไปได , คื อว าหยุ ดทรมานด วยการหลงรักหลงอะไรได . นี้ เรี ยกว าดั บไป ตามโอกาส หรื อการสิ้ นสุ ดของป จจั ยตามธรรมชาติ ; อย างนี้ ก็ เรี ยกว า ดับชั่วขณะหนึ่ง ซึ่งไมใชฝไมลายมืออะไรของคนนั้นนัก.
www.buddhadasa.info แต ยั งมี ทาง หรือวิธี ที่ จะปฏิ บั ติ ให นิ โรธธาตุ เข ามาดั บทุ กข นี้ ได โดยเร็วไปตาม ต องการ ยิ่ งกวานั้ น; นี่ คื อดั บความทุ กข นี้ ด วยสติ ป ญญา ที่ เจริญภาวนา เช นวิ ป สสนาภาวนา เป นตน . นี่เราทํ าให เกิ ด สติ ป ญ ญา ที่ เป น วิป ส สนาเขามา ก็ เลยหายโง หายหลงรัก หายยึดมั่นถือมั่นที่นั่นเดี๋ยวนั้นทันทีก็ได.
ธาตุเกี่ยวของกันจนถึงความดับทุกข
๘๕
ที นี้ ถ าจะพู ดอี กที หนึ่ งก็ พู ดว า ทุ กข ดั บเพราะว ามั นมาพบกั นเข ากั บนิ โรธธาตุ เชนนิพพานธาตุเปนตน. นิโรธธาตุนี้เมื่อถึงขั้นสูงสุด เขาจะเรียกเปนวานิพพาน ธาตุ : เจริ ญ วิ ป สสนาอยู เป นประจํ าจนกระทั่ งว า เกิ ดความรู แจ ง เห็ นแจ ง มรรคญาณ ผลญาณ นิ พพิ ทา วิ ราคะ วิ มุ ตติ ไปตามลํ าดั บ จนกระทั่ ง นิ พพานธาตุ ชนิ ดสอุ ปาทิ เสสนิ พพาน หรื ออนุ ปาทิ เสสนิ พพานก็ ดี ปรากฏขึ้ น สั งขารทั้ งปวงก็ ดั บ; ไม มี ทางจะปรุ งแต ง เปนนี่เปนนั่น เพื่อจะเปนอุปาทานขันธอีกตอไป; นี้ก็เรียกวานิโรธธาตุโดยแทจริง นิ พพานนี้ ก็ เป นธาตุ ครั้งสุ ดท าย สู งสุ ดกว าเขาหมด แล วก็ ยั งคงเป นธาตุ ; คื อ ธา-ตุ , ก็ เรี ย กว า นิ พ พานธาตุ บ าง นิ โรธธาตุ บ าง อสั งขตธาตุ บ าง อมตธาตุ บ าง; แลวแตจะเรียก. นี่คือ ธาตุแหงความดับซึ่งมาถูกเขากับสังขาร หรือสังขารมาถูกเขา กั บธาตุ แห งความดั บแล ว มั น ก็ ต องดั บ . ที่ เห็ นได งาย ๆ เชนวา ไฟมั นลุ กโพลงอยู พอมันถูกเขากับน้ํา มันก็ดับลง เพราะมันเปนธรรมชาติตรงกันขามอยู.
พิจารณาใหดี ไมมีอะไรที่ไมใชธาตุ
www.buddhadasa.info เอาละที นี้ ก็ ต องย้ํ าหรื อขอร องให พิ จารณาย้ํ า ให ซ้ํ า ให ดู ใหม ว า : ตั้ งแต ต น จนถึง ที ่ส ุด นั ้น มัน มีอ ะไรที ่ม ิใ ชธ าตุ? คือ นับ ไดตั ้ง แตค วามทุก ข ยัง มิไ ดเ กิด ขึ ้น จนกระทั่ งความทุ กข เกิ ด ขึ้ น และเป น ไป เป น ทุ ก ข ท รมานไป จนกว าทุ ก ข นั้ นจะดั บ ลง หมดสิ้ น . นี่ มั น มี อ ะไรส ว นไหนที่ มิ ใช ธ าตุ ? แม แ ต ตั ว วั ต ถุ มั น ก็ ธ าตุ และตั ว กริ ย า อาการที่ เปลี่ ยนแปลงไป มั นก็ เป นธาตุ คื อเป นสั งขตธาตุ หรื อเป นสั งขารธาตุ ก็ สุ ดแท ; กระทั่ ง มั น ดั บ ลง มั น ก็ เ ป น นิ โ รธธาตุ หรื อ นิ พ พานธาตุ . ถ า มั น ดั บ ชั่ ว คราว ก็ เป น นิโรธธาตุปรากฏชั่วคราว มิไดปรากฏอยูตลอดเวลา หรือเด็ดขาดลงไปได. ขอใหด ูว า วัน หนึ ่ง กี ่ว ัน กี ่เ ดือ น กี ่ป ; ในวัน หนึ ่ง ๆ ในเรื ่อ งหนึ ่ง ๆ ก็ไมมีอะไรที่มิใชธาตุ : ลมหายใจก็คือธาตุ, รางกายนี้ก็คือธาตุ, การปรุงแตงกันระหวาง
๘๖
ปรมัตถสภาวธรรม
สิ่ ง นี้ ก็ คื อ ธาตุ , ความรู สึ ก เกิ ด ขึ้ น ก็ คื อ ธาตุ , กิ ริ ย าอาการที่ มั น ปรุ ง แต ง กั น ก็ เ ป น อาการของธาตุ ที่ เรี ยกว า สั งขตธาตุ , ส วนที่ ว ามั นจะหยุ ดไปดั บไป ก็ เพราะธาตุ คื อ นิโรธธาตุ. ตอ งขอโอกาสย้ํ า แลว ย้ํ า อีก วา ไมม ีอ ะไรที ่ไ มใ ชธ าตุ. ถา จะแจก รายละเอี ยดก็ จะแจกได ม ากมาย คน ๆ หนึ่ ง เรานี่ แหละไม ต องใครละ; ตรงไหนบ าง ที่ ไ ม ใ ช ธ าตุ ? ผม ขน เล็ บ ฟ น หนั ง ที่ เป น พวกเดี ย วกั น นี้ , และก็ น้ํ า เลื อ ด น้ํ า หนองน้ํ ามู ก น้ํ าลาย นั่ นก็ เป นส วนธาตุ , และความรอน ชนิ ดใดชนิ ดหนึ่ ง ที่ อยู ในรางกายนี้ เหล านี้ ก็ เป นส วนธาตุ , และส วนที่ เป นแก ส เป นความระเหยอยู ที่ เรี ยกว า ธาตุ ลม นั้ น ก็ คื อ ธาตุ ; เพราะว า วั ต ถุ อาศั ย ๔ ธาตุ นี้ ประกอบกั น เข า เป น โครงร า ง เนื้ อ หนั ง ของมนุษย; ทุกสวนเปนธาตุหมด. ผมเส น หนึ่ ง เอามาดู ก็ ป ระกอบอยู ด ว ย ธาตุ ดิ น ธาตุ น้ํ า ธาตุ ไฟ และ ธาตุ ล ม. นี่ ก็ พ อจะเข าใจได ว า ผมก็ มี ความเป น ของแข็ ง, ในผมก็ มี น้ํ า ที่ จ ะบี บ คั้ น ออกมาได , และก็ มี อุ ณ ภู มิ ธาตุ ไฟอยู ระดั บ ใดระดั บ หนึ่ ง, ในผมเส น เดี ยวนั้ น แหละ ก็ มี ล ม ธาตุ ล ม คื อ ส ว นที่ ร ะเหยไปได , มี อ ากาศมี ที่ ว า ง ที่ จ ะให ผ มเส น นี้ ตั้ ง อยู ไ ด ถาไมมีที่วาง ผมก็ตั้งอยูไมได. นี่เรียกวา ในผมเสน หนึ่ งก็มี แตความเปน ธาตุลวน แตเปนฝายรูปธาตุ. ยิ่งไปพิจารณาเล็บ ฟน หนัง กระดูก เลือก เนื้อ หมดทุกสวน ของร างกาย ล วนเป นธาตุ ทั้ ง ๔ รวมกั นอยู ในรูปใดรูปหนึ่ ง; เป นอั นวา ส วนรางกาย ไมม ีอ ะไรที ่ไ มใ ชธ าตุ. แมแ ตเ นื ้อ ที ่ว า ง มัน ก็เ ปน ธาตุ. สว นที ่ก ิน หรือ ครอง เนื้อที่วางอยู มันก็ลวนแตเปนธาตุใดธาตุหนึ่ง.
www.buddhadasa.info ทีนี้ สวนจิตใจมันเริ่มขึ้นมาเปนความคิดนึกได ก็เพราะวา รูปธาตุนี้ ทํา หนาที่ของธาตุ; ตาก็เปนรูปธาตุ รูปขางนอกก็เปนรูปธาตุ อาศัยกันเขาแลวก็เปนอายตนะ
ธาตุเกี่ยวของกันจนถึงความดับทุกข
๘๗
สํ าหรั บ กระทบกั บ ตา ข างใน รู ป ข างนอก. ตาก็ เป น รู ป ธาตุ รู ป ก็ เป น รู ป ธาตุ อ ยู แล ว แม ว าจะเป นสิ่ งละเอี ยด เห็ นไม ได ด วยตา ก็ ยั งคงเป นธาตุ ; เช น ความรู สึ กต าง ๆ นี้ ก็เปนธาตุ แตวาเห็นดวยตามไมได. ถารูสึกที่ตาได นั่นก็เรียกวา จักขุธาตุ. ที นี้ รู ป ที่ ม ากระทบตา ก็ เป น ธาตุ เป น ส วนที่ จั บ ไม ได แต เห็ น ได ก็ มี เช นว ารั ศมี หรื อวั ณ ณนิ ภาของคลื่ นแสงต าง ๆ ที่ มากระทบตา เราจั บ มั นไม ได แต มั นก็ ยั งเห็ น ได ด วยตา ด วยความรู สึ ก ที่ ต า นี้ ก็ คื อ ธาตุ . ส วนรู ป ธาตุ อยู ในฝ ายนี้ เรี ย กว า จั ก ขุ ธ าตุ , ฝ า ยโน น เรี ย กว า รู ป ธาตุ อาศั ย กั น เกิ ด วิ ญ ญาณขึ้ น มาจากธาตุ ที่ เป น วิญญาณธาตุ ซึ่งมีอยูเปนปกติตามธรรมชาติ เหมือนกับธาตุอื่น ๆ นั่นแหละ.
ทุกธาตุมีอยูตามธรรมชาติ มีโอกาสเมื่อไร ก็แสดงตัว ไมวาธาตุไหน ลวนมีอยูอยางนั้น ตามธรรมชาติ คลาย ๆ กับวา รออยู อย างนั้ น จนกว าจะมี โอกาส ที ค จะแสดงตั ว คื อ ได ป จจั ยที่ ป รุงแต ง เมื่ อได ป จจั ย ที่ ปรุ งแต ง ก็ แสดงตั วออกมาอี กที หนึ่ ง. เมื่ อเรากํ าลั งมี ความคิ ดนึ กอยู ในใจ ความคิ ดนึ ก นั้ น มั น เป น สาย หรื อ ว า เป น วิ ถี ข องการที่ ป รุ ง แต ง กั น มาทางจิ ต โดยอํ า นาจของสิ่ ง ที่ เรี ยกว า นามธาตุ นั บ ตั้ งแต พ อเห็ นก็ เป นวิ ญ ญาณ แล วก็ เป นผั สสะ แล วก็ เป นเวทนา แล วก็ เป นสั ญ ญา แล วก็ เป นสั งขาร ไม มี ส วนไหนที่ มิ ใช ธาตุ , แล วก็ ยั งหาส วนที่ มิ ใช ธาตุไมพบ แมแตที่วางก็เปนอากาสธาตุ.
www.buddhadasa.info ตั ว ตนจะมี อ ยู ที่ ไ หน; ตั ว ตนก็ เป น เพี ย งสั ง ขารธาตุ ที่ ถู ก ปรุ ง ด ว ย อวิชชาออกมาเปน สังขารขันธ เปนความคิดนึกอยางนั้นอยางนี้ และอาจจะมีได ปรุงได ตั้งแต พอมีเวทนาขึ้นมาโดยสมบูรณแลว ก็จะเกิดสัญญา ก็ปรุงเปน เรารูสึก
๘๘
ปรมัตถสภาวธรรม
อย างนั้ น เรารู สึ กอย างนี้ ในเวทนา; และสํ าคั ญ เวทนาว าเป นอย างนั้ นอย างนี้ . ต อมา เมื่ อเกิ ดวิ ญญาณ รูสึ กในสิ่ งเหล านี้ หลายซั บหลายซ อนขึ้น แล วก็ ไปคว าเอาวิญญาณขันธ นั้ น มาเป น ตั ว ตนก็ ได , หรื อ บางที เพราะเหตุ ที่ มั น อาศั ย สิ่ ง เหล า นี้ เป น เครื่ อ งรู สึ ก ได รวมกั นในรูป เวทนา สั ญญา สั งขาร วิ ญญาณ ทั้ ง ๕ อย างนี้ ; คนที่ ยั งรูน อย ยั งไม ฉลาด ยังโงอยูบาง อาจจะไปควาเอารูปขันธ มาเปนตัวตนก็ได. พระพุ ท ธเจ าท านได ต รั ส ไว ทั้ ง ๕ ขั น ธ เลย ว า “เอารู ป เป นตั วตนก็ มี เวทนาเป นตั วตนก็ มี สั ญ ญาเป นตั วตนก็ มี สั งขารเป นตั วตนก็ มี วิ ญ ญาณเป นตั วตน ก็ มี ” ; แล วแต ว า คน ๆ นั้ นมั นกํ าลั งโง อยู อย างไร. หรื อถ าพู ดให ถู กว านั้ นก็ แล วแต ว า กลุ มธาตุ หรือกลุ มขั นธ กลุ มนั้ น มั นยั งโง อยู ในระดั บไหน; ซึ่ งจะเอารูปเป นตั วตนก็ ได เอาเวทนาเป นตั วตนก็ ได สั ญ ญาเป นตั วตนก็ ได สั งขารเป น ตั วตนก็ ได วิ ญ ญาณเป น ตั ว ตนก็ ไ ด . เหมื อ นที่ ส วดท อ งเวลาไหว พ ระสวดมนต อ ยู ทุ ก เช า ทุ ก เย็ น ว า “รู ป ง อนิ จจั งเวทนา อนิ จจา เรื่อยไปกระทั่ งวา รูป ง อนั ตตา เวทนา อนั ตตา”. นี่ เป นคํ าบอก ของพระพุ ทธเจ าว า ทุ กอย างเป นอนั ตตาทั้ งนั้ น ในทั้ ง ๕ นั่ นแหละ; พอโง ไปยึ ดมั่ นว า มิใชอนัตตา แตเปนอัตตา เปนตัวเราหรือของเราก็ตาม ความทุกขก็เกิดขึ้น.
ความทุกข ก็เปนธาตุ เพราะเปนพวกเวทนาธาตุ www.buddhadasa.info ที นี้ ตั วความทุ กข ที่ เกิ ดขึ้ นนี้ เป นธาตุ หรื อ มิ ใช ธาตุ ? ใครที่ ได เรี ยนมาแล ว อย างไร? แตหนหลั ง มี ความรูมาเท าไร? ความทุ กขเกิดขึ้น ตั วความทุ กข นั้ นคื อธาตุ หรือมิใชธาตุ? และก็คงลืมเสียอีกวา ความทุกขนี้ เปนเวทนา เวทนาก็ตองเปน ธาตุ คื อ เป นเวทนาธาตุ , ความสุ ขก็ เป นธาตุ เพราะเป นเวทนา และเป นเวทนาธาตุ . ที นี้ เวทนาธาตุ จะแบ งเป น สุ ขธาตุ ทุ กขธาตุ อทุ กขมสุ ขธาตุ ก็ ได ; แต ไม ต องแบ งก็ ได เพราะเวทนาทั้งหลายเปนธาตุอยูแลว.
ธาตุเกี่ยวของกันจนถึงความดับทุกข
๘๙
นี้เรียกวา ความทุกขที่เกิดขึ้นก็เปนธาตุ คือเปนเวทนาธาตุ; หรือวา ความทุก ขจ ะดับ ลง ก็ตอ งเปน นิโรธธาตุ หรือ เปน นิพ พานธาตุ ชั่วขณะ ๆ เป นนิ โรธธาตุ โดยส วนรวมเรี ยกได ว า เป นนิ โรธธาตุ . เมื่ อทุ กข เกิ ดขึ้ นเป นเวทนาธาตุ ; เมื่ อ ทุ ก ข ดั บ ลง ก็ เป น นิ โรธธาตุ คื อ ความดั บ แห ง เวทนาธาตุ นั้ น เอง; จะเหลื อ เนื้ อ ที่ ตรงไหนไว ที่วาจะมีสิ่งไรที่มิใชธาตุ มันก็ไมมีแลว. ขอใหทบทวนอยางนี้เรื่อยไป : ในสวนรูปก็ไมมีอะไรที่มิใชธาตุ ตั้งแต ผม ขน เล็ บ ฟ น หนั ง แม ก ระทั่ ง ขี้ มู ก น้ํ า ลาย น้ํ า ตา ล ว นเป น ธาตุ ไปทั้ ง นั้ น , ส วนฝ ายจิ ต ก็ มี ผั สสะ เวทนา ตั ณหา วิ ตก วิจาร จนกระทั่ ง เป นทุ กข เป นต นไปเลย ก็ เป นธาตุ . กลั วแต วาจะไม มองเห็ นอย างนี้ ; จะไปเข าใจวา มี อะไรเหลื ออยู บางอย าง ซึ่ งมิ ใช ธาตุ คื อนอกเหนื อไปจากธาตุ ตามธรรมชาติ แล วก็ จะไปเอาอั นนั้ นแหละมาเป น ตั วตนเข าอี ก. บางคนเป นเอามาก จนถึ งกั บว ายอมรั บว า รู ป เวทนา สั ญ ญา สั งขาร วิ ญ ญาณ ทั้ ง ๕ นี้ ก็ เป น ธาตุ , นั่ น ถู ก แล ว ; แต จ ะมี อ ะไรที่ น อกไปจากนั้ น อี ก ; ซึ่ ง เขาไปเรี ยกว าจิ ตบ าง จิ ตอมตะบ าง มั นไม ถู ก; ถ าเป นจิ ตมั นก็ ต องรวมอยู ในขั นธ ๕ นี้ ถ า เป น อมตะมั น เป น อมตธาตุ มั น อยู ฝ า ยนิ โรธธาตุ โน น ; นี่ ก็ เลยไม มี อ ะไรที่ ไ ม ใ ช ธาตุ.
www.buddhadasa.info ธาตุ เกิดมีเมื่อไร ทุกขปรากฏขึ้นเมื่อนั้น ทีนี้ก็มีสิ่งที่ตองทราบตอไปวา เมื่อไร ธาตุเกิดขึ้น ตั้งอยู หรือปรากฏ ออกมา เมื่อนั้น เปนความเกิดขึ้น ตั้งอยู หรือปรากฏแหงทุกข. นี่ขอใหเขาใจวา ในพระบาลี อ ย า งนี้ จะมี ม าก : เมื่ อ ใด ตา หู ฯลฯ เกิ ด ขึ้ น , เมื่ อ ใดธาตุ เกิ ด ขึ้ น , หรื อ เมื่ อ ใดขั น ธ ใ ดขั น ธ ห นึ่ ง , ธาตุ ใ ดธาตุ ห นึ่ ง เกิ ด ขึ้ น . นี้ ท า นหมายความว า เมื่ อ ธาตุ ทํ าหน าที่ ปรุงแต งจนถึ งขนาดที่ เป นที่ ตั้ งแห งความยึ ดมั่ นถื อมั่ น ว าตั วกู - ว าของกู เขาแลว เชนวา รูปธาตุของกู เวทนาธาตุของกู สัญญาธาตุของกู สังขารธาตุของกู
๙๐
ปรมัตถสภาวธรรม
วิญญาณธาตุ ของกู จนไปติ ดมั่ นยึ ดมั่ นในธาตุ นั้ นๆอย างใดอย างหนึ่ งเข าแล ว; ก็ คิ ดดู ซิ วา ความทุกขจะไมเกิดขึ้นอยางไรได. เรื่ อ งดั ง กล า วมานี้ ใ ห ค วามหมายลึ ก ลึ ก มากขนเข า ยากตรงที่ ว า : สิ่ ง ทั้งหลายจะเปนธาตุใด ธาตุไหน ก็ตาม ถายังมิไดอยูในการทําหนาที่ของธาตุแลว จะไม เรียกวาธาตุ เกิ ดขึ้ น; ดั งนั้ นจึ งถื อวา ตายังมิ ได เกิดขึ้นอยางตามธรรมดานี่ จน กวาเมื่อใดนัยนตาทําหนาที่เห็น จึงเรียกวาเกิดขึ้น. แมรูปที่ตาเห็น ก็เหมือนกัน; ถื อว า ยั งมิ ได เกิ ดขึ้ น จนกว าเมื่ อใดรู ป นั้ นถู กเห็ นด วยตา ปรากฏเป นรู ปอะไรแล วนั้ น จึ ง จะเรี ย กว า รู ป เกิ ด ขึ้ น . จั ก ขุ วิ ญ ญาณก็ เหมื อ นกั น ก อ นหน า นั้ น ไม รู ว า อยู ที่ ไ หน จนกวาเมื่อไรทําหนาที่ดวยการเห็นทางตา เมื่อนั้นจึงจะเรียกวา จักขุวิญญาณ เกิ ด ขึ้ น . พอเสร็ จ หน า ที่ ข องการเห็ น ทางตา เมื่ อ นั้ น จึ ง จะเรี ย กว า จั ก ขุ วิ ญ ญาณ เกิ ด ขึ้ น . พอเสร็ จ หน า ที่ ข องการเห็ น ทางตา จั ก ขุ วิ ญ ญาณนั้ น ก็ ดั บ ไป; เพราะได เกิ ด ผั ส สะ เกิ ด เวทนา ตั ณ หา อะไรขึ้ น มาแทนเสี ย แล ว . ฉะนั้ น จึ ง มี ก ารเกิ ด ขึ้ น ตามลําดับ, ดับลงไปตามลําดับ.
www.buddhadasa.info ในกรณี ข องตาเป น อยางไร, ในกรณี ของหู จมู ก ลิ้ น กาย ก็ เป น อย า งนั้ น ; ในกรณี ข องจิ ต นั้ น ก็ ยิ่ ง เร็ ว มากในการที่ จ ะเป น อย า งนั้ น . ฉะนั้ น เราจึ ง ได ธ าตุ ที่ จ ะแจกออกไปได เป น หมวด ๆ ในฝ า ยธาตุ ที่ จ ะเป น พื้ น ฐาน โดยแท จ ริ ง แจกออกไดเปนหมวด ๆ : หมดวตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ.
หมวดตา นี้ ก็ เป น ตั วตา เป น ตั วรู ป , เป น ตั ววิ ญ ญาณทางตา, จั กขุ +รู ป , แล วก็ +จั กขุ วิ ญ ญาณ. ที นี้ หู ก็ มี โสต คื อ หู ก็ มี เสี ยง และก็ มี โสตวิ ญ ญาณ-วิ ญ ญาณ ที่ รู แจ งทางหู . มี อ ย างนี้ จนครบทั้ ง ๖ อายตนะแยกอย างละ ๓ ก็ เลยได ๑๘ ธาตุ : จั ก ขุ ธ าตุ +รู ป ธาตุ +จั ก ขุ วิ ญ ญ าณ ธาตุ ; และก็ ยั ง มี โ สต+สั ท โท คื อ เสี ย ง+โสตวิญญาณคือวิญญาณทางหู; ไปแจกเอาเองก็ได ไมใชลึกลับอะไร:-
ธาตุเกี่ยวของกันจนถึงความดับทุกข
๙๑
- ตา แลวก็ รูป แลวก็วิญญาญสําหรับเห็นรูปทางตา. - หู แลวก็มีเสียง วิญญาณสําหรับรูสึกตอเสียงทางหู. - จมูก แลวก็มีกลิ่น แลวก็มีวิญญาณสําหรับรูกลิ่นทางจมูก. - ลิ้ น แล วก็ มี รส ที่ จะมากระทบลิ้ น แล วก็ มี วิ ญญาณที่ จะรูจั กรสนั้ นทางลิ้ น. - กาย กั บ สั ม ผั ส คื อ ส ว นที่ ม าถู ก กาย และก็ มี วิ ญ ญาณสํ า หรั บ รู สึ ก สัมผัสที่มาถูกกาย. - ใจหรื อมโนกั บ ธั ม มารมณ คื อ สิ่ งที่ จะเข ามาถู กใจได แล วก็ มี วิ ญ ญาณ สําหรับจะรูจักสิ่งนั้นทางมโน หรือโดยมโน. เราก็ ท อ งกั น บ อ ย ๆ เป น ๑๘ ธาตุ : จั ก ขุ ธาตุ รู ป ธาตุ จั ก ขุ วิ ญ ญาณธาตุ, โสตธาตุ สัท ทธาตุ โสตวิญ ญ าณ ธาตุ, ฆ านธาตุ คัน ธธาตุ ฆ านวิ ญ ญาณธาตุ , ชิ ว หาธาตุ รสธาตุ ชิ ว หาวิ ญ ญาณธาตุ , กายธาตุ โผฏฐั พ พธาตุ กายวิ ญ ญาณธาตุ , มโนธาตุ ธั มมธาตุ มโนวิ ญ ญาณธาตุ . ทั้ งหมดมี อยู ๖ อายตนะ เอา ๓ คูณเขาไป จนะเปน ๑๘ ธาตุ.
www.buddhadasa.info ใครรู จั ก ๑๘ ธาตุ นี้ โดยชั ด เจนโดยละเอี ย ด ว า คื อ อะไร? อยู อ ย า งไร? มี เมื่ อ ไร? ในอาการอย า งไร? ก็ เรี ย กว า รู จั ก ธาตุ อย า งละเอี ย ด อย า งดี ที่ สุ ด โดย หลักอยางที่กลาวมาแลววา : คลายกับ วา ชีวิต วัน หนึ่ ง ๆ นี้ วนเวีย นอยูแต เรื่อ ง ธาตุ ๑๘ นี้ ไมมีอะไรมากไปกวานี้ จนกระทั่งจะเกิดเปน ธาตุ ที่เปนความทุกข อะไรขึ้นมา แลวก็ดับลงไปเรื่องหนึ่ง. ชีวิตแตละวัน มีแตธาตุเกิดขึ้น แลวธาตุดับลง เมื่อธาตุปรุงเสร็จเรื่องนี้แลว เรื่องใหมก็มาอีก : เดี๋ยวมาทางตา เดี๋ยว มาเรื่องทางหู เดี๋ยวมาทางจมูก. ถาไมมีเรื่องอะไร จากขางนอก มันก็เอาใจ เปน
๙๒
ปรมัตถสภาวธรรม
ตั ว รู เรื่ อ งที่ เคยผ า นมาแล ว แต ห นหลั ง มาคิ ด มานึ ก ได ; แม จ ะคิ ด เรื่ อ งอนาคตก็ ต อ ง เอาเรื่องแตหนหลังแตอดีต มาเปนรากฐาน เปนวัตถุสําหรับจะคิดตอไปขางหนา. สวนที่เรียกวาสัญญา ที่เปนความจํา นั่นก็ชวยใหจิตนี้ สรางอารมณ ภายในขึ้ น มา; มโนก็ ไ ด ธั ม มารมณ ขึ้ น มา เป น มโนวิ ญ ญาณ ปรุ ง แต ง คิ ด นึ ก ได . แม ว า เราจะป ด ตา ป ด หู ป ด อะไร ไม ทํ า อะไร จิ ต ก็ ยั งเอาอารมณ ในอดี ต มาทํ า ได . สัญญาอยางนี้เปนเพียงสัญญา จําหมาย ไมไดเปนความหมายอันแทจริง ของ คํ าวา สั ญ ญาขั นธ ; สั ญญาขันธ จะต องหมายความ สํ าคั ญ วามั นเป นอะไร เรียกว า สัญญาขันธ. สัญญาที่ จําได วาเปนอะไร นี่มันยังไม ถึงกับสําคัญดวยอํานาจกิเลสตัณหา; เพี ยงแต วา เป นความจํ าตามธรรมดา อันสั ญ ญาประเภทนี้ ต องมากอนสั มผัส หรือ ก อ นวิ ญ ญาณด ว ยซ้ํ า ไป. เช น ตาเห็ น รู ป เข า ความจํ า แต ห นหลั ง มั น รู ว า รู ป อะไร? ตนไม หรือใบไม หรือดอกไมหรือลูกไม; นี่จะเปนการเห็นทางตาที่สมบูรณ. สั ญญาอย างนี้ ไม ใช สั ญญาสํ าคั ญมั่ นหมาย ที่ จะเอาเป นตั วเป นตนได ก อน; มัน ยัง ไมถ ึง . มัน ตอ งเกิด เวทนากอ น : เปน สุข หรือ ทุก ข หรือ เปน อทุก ขมสุข ; ทีนี้จะสําคัญมั่นหมายในเวทนานี้ ในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง ที่จะยึดมั่นถือมั่น. เช นสุ ข สํ าคั ญวาสุ ข เรียกว า สุ ขสั ญญา เกิ ดขึ้ น; หมายมั่ นป นมื อที่ จะเอาสุ ขนี้ เวทนานี้ ไว ให ได ; หรื อ แม แ ต ว า ลึ ก ลงไปกว านั้ น อี ก ก็ ว า สุ ข เวทนาอั น นี้ จ ะต อ งเที่ ย ง, จะต อ ง เป นของเที่ ยง เป นนิ จจสั ญ ญา ในสุ ขเวทนานั้ น; อย างนี้ เรี ยกว า สั ญ ญาที่ หมายมั่ น ดวยอวิชชา นี่คือสัญญาขันธ.
www.buddhadasa.info เมื่ อเรามี ความหมายมั่ นได เพราะว ามี สั ญ ญา ลงไปในสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ ง; และ บางทีก็ผิด อยางตรงกันขามเลย: เชนสิ่งนี้มันไมเที่ยงเลย แตสัญญานี้ มันสําคัญไปตาม
ธาตุเกี่ยวของกันจนถึงความดับทุกข
๙๓
อวิ ช ชา มั น ว า เที่ ย ง, สํ าคั ญ เอาเองว าเที่ ย ง, สํ าคั ญ เอาเองว าเป น สุ ข , สํ าคั ญ เอาเอง ว าเป นตั วตน. พอสํ าคั ญ ว าเป นตั วตน ไม ใช ธาตุ ไม ใช ขั นธ ไม ใช อะไรตามธรรมชาติ แลว ก็เรียกวาสัญญานี้ผิดอยางยิ่ง ผิดขนาดที่จะเปนทุกขรอยเปอรเซ็นตเต็มที่.
เรื่องของ “สัญญา” สําคัญมาก ถาสัญญาวิปลาสตองเกิดทุกข ขอให ระวั งสุ ภ สั ญ ญา-สํ าคั ญ ว างาม ในสิ่ งที่ มั น ไม งาม, นิ จ จสั ญ ญาสํ า คัญ วา เที ่ย ง ในสิ ่ง ที ่แ ทจ ริง มิไ ดเ ที ่ย ง, ในสุข สัญ ญา - สํ า คัญ วา เปน สุข ซึ่งแทจ ริง มัน มิไดเปน สุข เลย, อัต ตสัญ ญา - สําคัญ วา ตัว ตนที ่แ ทจ ริง แลว ไมมี อะไรที ่เ ปน ตัว ตน. “ความสํ า คัญ ” นี ้เ ปน ตัว การที ่จ ะทํ า ใหเ กิด สัง ขารขัน ธเ ปน อะไรขึ้ น มา เป น รู ป อะไรขึ้ น มา, เป น ภพ เป น ชาติ เป น มึ ง เป น กู อย า งนั้ น อย า งนี้ ขึ้นมาก็ดวยอาศัยสัญญานี้ทั้งนั้น. พระพุ ทธเจ าท านจึ งเรี ยงลํ าดั บว า : เวทนา สั ญ ญา สั งขาร ๓ อย างนี้ ; เวทนาทําใหเกิดสัญญา ในเวทนานั้น, สัญญานั้นทําใหเกิดสังขาร-ความคิดที่จะ เปนตัวเปนตนขึ้นมา สําหรับจะยึดมั่นถือมั่นและเปนทุกข. พอเปนทุกขก็กลับไป เปนเวทนาอีก เวทนานั้นก็จะชวยใหเกิดความคิดนึก ที่เปนสังขารอยางใดอยางหนึ่ง ตอไปอีก.
www.buddhadasa.info ดั ง นั้ น สั ง ขารในบางรู ป ก็ คื อ ลั ก ษณ ะของกรรม หรื อ มโนกรรม; การ กระทํ าทางจิ ต ใจ ก็ มี ผ ลออกมาเป น ทุ ก ข เป น เวทนาอี ก ; ซึ่ งวนกั น อยู อ ย างนี้ เพราะ ความสําคั ญผิด ด วยอํานาจของสั ญญาที่ มี มาตามอวิชชา ไมรูวาอันนี้เปนอยางไร; จึงเรียกวา สัญญานี้จะวิปลาสอยูเปนสวนมาก.
๙๔
ปรมัตถสภาวธรรม
สั ญ ญาของคนเรานี้ จะผิ ดอยู เป นส วนมาก เชน เห็ นของสกปรกวาไม สกปรก, เห็น ของไมเ ที ่ย งวา เที ่ย ง, กระทั ่ง เห็น สิ ่ง ที ่ไ มใ ชต ัว ตน ก็ว า ตัว ตน. เมื ่อ เปน อยู อ ยา งนี ้ เคยชิน อยู แ ตอ ยา งนี ้ ก็เ ปน สิส สัย เปน อาสวะ เปน อนุส ัย , เห็ นอย างไรอี ก มั นก็ ยั งโงอยู อย างนั้ นแหละ; ยั งไม ค อยฉลาดขึ้ นมาได ก็ เลยหลงในของ ไม เที่ ยง ว าเที่ ยง, ของเป นทุ กข ว าสุ ข, ของไม ใช ตั วตนว าตั วตน; อย างนี้ เป นสั ญ ญา วิ ปลาสอั น ใหญ ห ลวง อยู ในจิ ต ใจ. ถ าไม มี สั ญ ญาวิ ป ลาสนี้ แ ล ว กิ เลสก็ เกิ ด ไม ได เพราะไม เป นที่ ตั้ งแห งความอยาก หรื อความต องการอย างใดอย างหนึ่ ง ในขณะแห ง สั งขารขั น ธ พอเกิ ด สั ญ ญาแล ว จะเกิ ด สั งขารขั น ธ ; ตอนนี้ จ ะมี ก ารปรุ งแต งทางจิ ต หลาย ๆ ชั้ น และก็ รวมเรี ย กว าสั งขารหมด. ฉะนั้ น หลั งจากสั ญ ญาขั น ธ แล ว ก็ เกิ ด สั ง ขารขั น ธ , ในรู ป ของสั ญ เจตนาบ า ง ตั ณ หาบ า ง วิ ต กบ า ง วิ จ ารบ า ง; นี่ เป น การ กระทํ า กรรมอยู โดยมโนกรรมแล ว , ก็ เลยปรุ ง เป น ภพ เป น ตั ว กู - ของกู อ ะไรขึ้ น มา ไดเปนทุกข เรียกวาสิ้นไปกรณีหนึ่ง. ความเป นทุ กข นี้ กว าจะหมดไปเรื่ องหนึ่ ง ทุ กข ก็ เข ามาในรู ปอื่ นอี ก; วั นหนึ่ ง เกิดตาย - เกิดตาย โดยสัญญาวิปลาส หรือยึดมั่นถือมั่นอยางนี้ หลาย ๆ หน เดี๋ยว เข า มาเพราะเหตุ ท างตา เดี๋ ย วเข ามาเพราะเหตุ ท างหู . ถ าผู ใดได ยิ น ได ฟ ง คํ าของ พระพุ ทธเจ า ของพระอริยเจ า สอนให เห็ นมาตั้ งแต ที แรก คื อให เห็ นวา : นี่ เป นสั กว า ธาตุตามธรรมชาติ เขามาแลวพบกัน แลวเปนอยางนั้น ๆ , นับตั้งแตทีแรกแลว มั นก็ ไม ต องเป นอย างนี้ ซิ วัน หนึ่ ง ๆ จะไม ต องมี ความทุ กข . เมื่ อยั งไม รู ก็ ปรุงเป น วิ ญ ญาณ เวทนา สั ญ ญา สั งขารอยู เรื่ อยไป, ขั น ธ ๕ เกิ ดขึ้ น แล วก็ ดั บ ไป. และใน บางกรณี ขัน ธ ๕ กลายเปน อุป าทานขัน ธ คือ ถูก ยึด มั ่น ถือ มั ่น แลว ก็เ ปน ทุก ข จนหมดอํ านาจสุ ด เหวี่ ย งแล ว ก็ ดั บ ไป; มั น ก็ มี อ ยู แ ต อ ย า งนี้ . นี่ แ หละคื อ คนธรรมดา ที่ เวี ยนว ายอยู ในกองทุ กข หมายความว าอย างนี้ ; ก็ เลยวนเป นทะเลวน เป นวั ฏฏสงสาร เปนโอฆะ อันใหญหลวงอยูที่นี่.
www.buddhadasa.info
ธาตุเกี่ยวของกันจนถึงความดับทุกข
คนธรรมดา วนอยูในทุกข เพราะยึดมั่นถือมั่นผิด
๙๕ ๆ
คนธรรมดาเที่ยวอยูในความวนเวียน ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ที่ได รู ป เสี ย งกลิ่ น รส โผฏฐั พ พะ ธั ม มารมณ ผสมปรุ ง แต ง สร า งนรก สร า งสวรรค สร างอะไรขึ้ น ที่ นี่ , สร า งโลกทั้ งปวงกั น ขึ้ น ที่ นี่ : ที่ ต า หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจ; ทั้ งที่ มั นไม มี เลย. ไม มี นรก สวรรค ไม มี อะไร มั นมี แต ธาตุ ธาตุ ตามธรรมชาติ เป นไปอยู : เป นรูปธาตุ เวทนาธาตุ สั ญญาธาตุ สั งขารธาตุ วิญญาณธาตุ . แต คนปุ ถุ ชนไม อาจ จะรูได ; เพราะเห็ นเป นตั วตน เป นนรก เป นสวรรค เป นคนเป นอะไร ก็ แล วแต เถอะ ลวนแตวาจะสําคัญไปอยางไร ก็ลวนแตวายึดมั่น แลวเปนความทุกขทั้งนั้น. ถาไมยึดมั่นแลว จะไมมีความทุกข มีแตสติปญญา รูวาจะทําอยาง ไ ร ควรทํ าอย างไร : ตาเห็ นรูป เกิดความรูสึกอะไรขึ้น ก็รูวาอะไรเป น อยางไร, อะไร เป น อย างไร, ก็ ไม เกิ ด ความยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น ในสิ่ งเหล า นั้ น ไม ว า ในระยะไหน ไม ได เกิ ดความยึ ดมั่ นถื อมั่ น; แล วก็ ทํ าไปตามที่ ควรจะทํ า; เรื่องอาหาร ก็ หากิ นโดยไม ต อง ยึดมั่นถือมั่นในเวทนา เชนความอรอย เปนตน.
www.buddhadasa.info ถา ยิ ่ง ยึด มั ่น ถือ มั ่น เกง ก็ยิ ่ง มีค วามทุก ขม าก. ขอใหส ัง เกตวา คนที่ยึดมั่นถือมั่นมากจะมีความทุกขมาก คนที่ไมคอยจะยึดมั่นถือมั่นก็ไมมีความทุกข กระทั่งไมยึดมั่นถือมั่นเลย ก็ไมมีความทุกขเลย; ถาถึงที่สูงสุดอยางนั้น ก็เรียกวา พระอรหันตไปเสียเลย.
พระอรหั นต ท านเป นผู ที่ ไม อาจจะมี ความทุ กขได อี กต อไป; แต ในคนปุ ถุ ชน เรานี่ แหละ ถ าคนไหนยึ ดมั่ นถื อมั่ นเก ง หรือมาก ก็ ต องเป นทุ กขมาก; สู สุ นั ขก็ ไม ได มันยึดมั่ นถือมั่ นน อยกวาคน มั นไม เป นทุ กขมากเหมื อนคน. นี่ ไม ใชจะแกลงพู ดประชด ประชัน หรือวาจะแกลงดาแกลงวา; พูดเพื่อจะชี้ตัวอยางใหเห็นงาย ๆ วาใครยึดมั่น
๙๖
ปรมัตถสภาวธรรม
ถื อมั่ นมาก ก็ ย อมเป นทุ กข มาก, ยิ่ งอบรมจิ ตไปในทางยึ ดมั่ นถื อมั่ นมาก แล วมั นก็ เป น ทุกขมาก เหมือนอยางคนสมัยนี้.
คนสมัยนี้ มีทุกขมาก เพราะยึดมั่นมาก ขอให ดู ใ ห ดี คนสมั ย นี้ เป น ทุ ก ข มากกว า สมั ย ปู ย า ตา ทวด ของเรา ใช ไหม? เพราะวาคนสมั ยนี้ ถู กหลอกให ยึ ดมั่ น ถื อ มั่ น มาก, ถู กหลอกให โงมากกว า คนชั้ น ปู ย า ตา ยาย ของเรา ในทางที่ จ ะยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น . ฉะนั้ น คนสมั ย นี้ ที่ เป น ลู กหลานมี ความทุ กข มาก เพราะว ายึ ดมั่ นถื อมั่ นมากกว ารุ นบิ ดามารดา ปู ทวด ยายทวด ขึ้นไปทางโนน ซึ่งเขายึดมั่นถือมั่นนอย. การเรี ย นในสมั ย นี้ แม จ ะก า วหน า วิ เศษอย า งไร ส ว นใหญ ก็ เรี ย นเพื่ อ ยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น จึ งได เป น ทุ ก ข ม ากทั้ งที่ เรี ย นมาก, มี อั น ธพาลมาก ทั้ งที่ ก ารศึ ก ษาใน โลกนี้ เจริญ , มี การรบราฆ าฟ นเบี ยดเบี ยนกั นมาก ทั้ งที่ ว าการศึ กษาในโลกนี้ กํ าลั งเจริ ญ , ยิ่งเรียนมากก็ยิ่งหันหลังใหพระเจา ยิ่งหันหลังใหศาสนาที่สอนวาอยายึดมั่นถือมั่น, ยิ่ งเรี ยนมากมั นยิ่ งยึ ดมั่ นถื อมั่ นเก งจนไม ดู หน าใคร จนไม เห นแก ศาสนา หรื อไม เห็ นแก หลักธรรมหรือพระเจาอะไรเลย. นี่คือความที่ไมเห็นวา ทุกอยางเปนสักวาธาตุ.
www.buddhadasa.info พิจารณาเห็น “สักวาธาตู” จะไมเปนทุกข
ที่ ส วยทางตา ก็ สั ก แต ว า ธาตุ , ไพเราะทางหู ก็ เป น สั ก ว า ธาตุ , ที่ ห อม ทางจมู ก ก็ สั ก แต ว า ธาตุ ; แต เ ขาไม นึ ก กั น อย า งนี้ นึ ก แต เ ป น ของที่ ถู ก ใจของกู , พอใจเป น ตั ว ตน ของกู เป น ของของตั ว ตนของกู เป น ทรั พ ย ส มบั ติ ข องกู เป น อะไร ของกูไปหมด. นี้คือโทษของการที่ไมเห็นวาเปนธาตุเทานั้น ใจความสําคัญ มันก็ มีเทานี้.
ธาตุเกี่ยวของกันจนถึงความดับทุกข
๙๗
นี่ ขอให ใคร ครวญดู ให ดี ก็ จะรู จั ดสิ่ งที่ เรี ยกว า “ธาตุ ตามธรรมชาติ เป นไป ตามเหตุ ตามป จจั ยอยุ เนื องนิ จ” ซึ่ งอุ บาสก อุ บสิ กา ภิ กษุ สามเณร สวดทุ กเช าทุ กเย็ น ก็ยังเหมื อนกับนกแก ว นกขุนทองอยู อีก : “สิ่ งเหล านี้ เป นสั กวาธาตุ ตามธรรมชาติ เปนไปตามเหตุ ตามปจจัย อยูเนืองนิจ; ไมใชสัตว ไมใชบุคคล ไมใชตัวตน เป นของวางจากความหมายแห งตั วตน”. ทํ าไมวาแตปาก? ก็เพราะวาไม รูจักคําวา “ธาตุ ” ไม รูจั กสิ่ งที่ เรียกว าธาตุ หรือเป นสั กแต ว าธาตุ ; แล วก็ ลํ าบากยุ งยาก อยู ตรงที่ เวทนา, เวทนามีรส มี กําลังมาก และเพราะเวทนามีรสรุนแรงมากที่จะทํ าให คนหลง จนไมสามารถที่จะมองเห็นวา “นี่สักวาธาตุ” ซึ่งเกิดขึ้นมาหยก ๆ จากการพบกันระหวาง ธาตุตามธรรมชาตินั่น นี่ ก็ปรุงกันขึ้นมาเปนวิญญาณ เปนผัสสะ เปนเวทนา เทานั้นเอง. วั น หนึ่ ง ครั้ ง หนึ่ ง ของการบรรยายนี้ ยรรยายอะไรไม ไ ด ม ากไปกว า นี้ สํ าหรับทั้ งผู พู ดและผู ฟ ง ดั งนั้ นจึ งต องค อยบรรยายไปตามลํ าดั บ ตามลํ าดั บ ของเรื่อง หนึ ่ง ๆ เชน เรื ่อ งธาตุ ขอใหค ิด ดูว า เราไดพ ูด ถึง เรื ่อ งธาตุก ัน ครั ้ง ละชั ่ว โมงเศษ มา ๒ ครั้ งแล ว และก็ ๓ ครั้ งนี้ ก็ มี แ ต ข อ เดี ย วนี้ ที่ จ ะชี้ ห รื อ อธิ บ าย หรื อ แยกแยะ ใหเห็นวา เปนแตสักวาธาตุตามธรรมขาติเทานั้น.
www.buddhadasa.info ทีนี้อาศัยที่เราเรียนกันกอน ๆ สอนกันมาแตกอน ๆ นั้น รวบรัดเกินไปบาง และผิดพลาดไปบ าง; แมแตคําวาธาตุดิน ธาตุน้ํา ธาตุไฟ ธาตุลม อยางนี้ ก็ยังอธิบาย กั น ผิ ด ๆ จนเข าใจไม ได : ว าเนื้ อ เป นธาตุ ดิ น เลื อดเป นธาตุ น้ํ า แต แล วทํ าไม ในเนื้ อ มี น้ํ าเล า? ทํ าไมในเนื้ อมี อุ ณภู มิ คื อความรอน? ทํ าไมในเนื้ อมี ธาตุ ลมที่ ระเหยอยู เรื่อย? ก็ตอบไมได; อยางนี้ ก็คือการอธิบายที่ไมถูกตองถึงที่สุดนั่นเอง.
ขอให มารูเสี ยใหม ว า ธาตุ ๔ นี้ เขาเล็ งถึ งคุ ณสมบั ติ หนึ่ ง ๆ ที่ มี อยู ในวั ตถุ สิ่ ง ใดสิ่ ง หนึ่ ง .วั ต ถุ สิ่ ง เดี ย วมี ค รบทั้ ง ๔ ธาตุ สํ า หรั บ สิ่ ง ที่ มี ชิ วิ ต ; ใช คํ า ว า สิ่ ง ที่ มี ชีวิตนี้ สวนใดสวนหนึ่ง ของสิ่งนั้นจะครบอยูทั้ง ๔ ธาตุ, ยิ่งรวมกันหมดก็ยิ่งครบ
๙๘
ปรมัตถสภาวธรรม
ทั ้ง ๔ ธาตุ. ธาตุที ่เปน วัต ถุ ไดโ อกาสเมื ่อ ไร ก็ป รุง ใหธ าตุว ิญ ญาณแสดงตัว ออกมา, ธาตุ จิ ต ธาตุ วิ ญญาณ ธาตุ มโน แสดงตั วออกมา แล วก็ ปรุงตั วมั นเองเรื่อยไป จนเป น ความทุ ก ข ได โดยที่ ไม ต อ งเป น ตั ว ตน, แล ว จะไม เกิ ด ทุ ก ข ดั บ ทุ ก ข ล งไปได เมื่อเปนไปถูกกฏเกณฑของมัน โดยที่ไมตองมีตัวตน.
ธาตุที่ปรุงไปตามอํานาจอวิชชาธาตุ จะทําใหเกิดวัฏฏสงสาร ถ าจะมี อ ะไรเป น ผู ส ร างทุ ก ข ขึ้ น มา ก็ คื อ ธาตุ ที่ ป รุ งไปผิ ด ทาง เพราะ เหตุ ว าอวิ ช ชาธาตุ นี้ เข ามาแทรก เป นเจ ากี้ เจ าการเสี ยเรื่อย. ความไม รูนี้ ก็ เป นธาตุ ความรู ก็ เป นธาตุ อวิ ชชาก็ เป นธาตุ วิ ชชาก็ เป นธาตุ ; จะสงเคราะห ไปในสั ญ ญาขั นธ หรือสั งขารขั นธ หรื ออะไร ก็ แล วแต รูปรางของมั นที่ จะอยู ในลั กษณะอย างไร และอย าง นอยก็เปนพวกมโนธาตุ หรือวาที่เนื่องกันอยูกับมโนธาตุ คือธัมมธาตุ. เป น อั น ว า วั น นี้ เราพู ด กั น ได เ พี ย งเค า โครงคร า ว ๆ พอให ม องเห็ น ได ไปที ห นึ่ งก อ น แม ไม ชั ด เจนและละเอี ย ด ว าทุ ก สิ่ งไม มี อ ะไรที่ ไม ใช ธ าตุ : จะเป น ฝ ายโลกิ ยะ ฝ ายสั งขตะ นี้ ก็ เป น ธาตุ , เป น ฝ ายโลกุ ต ตระ เป น ฝ ายดั บ ฝ ายนิ พ พาน นี ้ก ็ย ัง คงเปน ธาตุ; เพราะสรุป รวมได เปน สัง ขตธาตุ กับ อสัง ขตธาตุ หรือ นิโ รธธาตุ นั ่น เอง, ตั ้ง ตน ดว ยธาตุ ที ่ทํ า ใหเ กิด ขึ้น และก็ไ ปจบลงดว ยธาตุ ที่ทําใหดับลง.
www.buddhadasa.info วั ฏ ฏสงสาร จะเป น อย างนี้ ตั้ งต น ด วยการเกิ ด ขึ้ น แห งสั งขารที่ ป ระกอบ ด ว ยอวิ ช ชา ไปจนถึ ง ที่ สุ ด แล ว ; หมดฤทธิ์ ของสั ง ขตธาตุ แ ล ว ก็ เป น โอกาสแห ง นิโ รธธาตุที ่จ ะทํ า ใหด ับ ลง; มัน ก็ม ีอ ยู อ ยา งนี ้ จะเปน ชั ่ว คราวก็ต าม จะทํ า ให เด็ดขาดถาวรก็ตาม. ดังนั้น อยาไดเขาใจผิดในเรื่องของธรรมชาติ ซึ่งเปนตัวธาตุแท ๆ
ธาตุเกี่ยวของกันจนถึงความดับทุกข
๙๙
หรือ เป น กฎของธรรมชาติ ซึ่ งมี อํ านาจบั งคั บ ให ธ าตุ ทั้ งหลายทั้ งปวงนี้ เปลี่ ย น แปลงปรุงแตงกันไป ตามกฎเกณฑ ของธรรมชาตินั้น ๆ และเมื่อมีผลออกมาก็สัก วาธาตุ แลวในที่สุดดับไปก็สักวาธาตุ ของความดับไป; นี่สรุปความก็เปนอยางนี้.
ธาตุแยกไปไดมากชนิด แตรวมแลวมีเพียงสอง ขอย้ํ า อี ก ครั้ ง หนึ่ ง ว า ธาตุ แ บ ง ได เป น ๒ ชนิ ด : เป น สั ง ขตธาตุ ที่ จ ะ ปรุงแต งกั น ขึ้ น เกิ ดนั่ นนี่ ขึ้ นมาอั นหนึ่ ง, อี กอั นหนึ่ งก็ เป นอสั งขตธาตุ จะไม ปรุงแต ง อะไร และจะดั บลง หรือสิ้ นสุ ดลง; มี เท านี้ เอง. เดี๋ ยวนี้ ธาตุ กํ าลั งเป นอย างไร : ในทาง ฝายวัตถุก็ เป นไปอยางหนึ่ ง ไม ค อยสําคั ญ เพราะไม ใชความทุ กขโดยตรง; ฝ ายจิ ตใจนี่ ถาปรุงในลักษณะของสังขตะธาตุแลว ก็เปนความทุกขเกิดขึ้น จนกวาจะมีการ จั ดการทํ าที่ ถู กต อง ให เกิ ดธาตุ ที่ เป นอสั งขตะ หรือเป นนิ โรธธาตุ ปรากฏออกมา, ความ รูสึกเปนทุกข ในจิตนั้นก็ดับไป. ที่ เรียกวา เป นเรื่องสํ าคั ญของพระศาสนาก็ มี วา ความทุ กข เกิ ดขึ้ นก็ คื อ เรื่ อ งธาตุ นี้ , ความทุ ก ข ดั บ ลงก็ คื อ เรื่ อ งธาตุ นี้ ; ผู รูที่ มี ส ติ ป ญ ญาในเรื่อ งนี้ ก็ คื อ พระพุท ธเจา ที ่แ ทจ ริง , กฎเกณฑอ ัน นี ้ ความจริง อัน นี ้ ก็ค ือ พระธรรมอัน แทจ ริง , ผูปฏิบัติอันมีสติปญญาเกิดขึ้นตอสูอยูนั้น ก็คือพระสงฆที่แทจริง ดังนี้.
www.buddhadasa.info ขอใหเรามีพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ จริงอยูขางใน คือการรูจัก ธาตุทั้งหลาย และก็ควบคุมใหเปนไปแตในทางที่จะไมทุกข จะดับทุกขไดเพราะ เหตุ นี้ . คํ าว า ธาตุ คํ าเดี ยวก็ จะขยายออกไปได เป นธรรมทั้ งหมด ในพระพุ ทธศาสนา ได เหมื อนกั น. ฉะนั้ น ขอให ฟ งสิ่ งที่ เรียกว าธาตุ ไว ในลั กษณะอย างนี้ ที ก อน ซึ่ งเราจะ ไดพูดถึงคําวาอายตนะ วาขันธ วาอุปาทานขันธ ใหละเอียดตอไปอีก.
๑๐๐
ปรมัตถสภาวธรรม
ข อ ให จํ าไว เป น ห ลั ก ว า พื้ น ฐ าน แ ท ๆ คื อ คํ าว าธ าตุ เมื่ อ ถู ก ป รุ งแ ต งขึ้ น ม าแล ว มั น ก็ จะสํ าเร็ จรู ป ม าเป น อายต น ะ จากธาตุ จะม ากลายเป น อายต น ะ อายต น ะน อก อ า ย ต น ะ ใ น ; จ า ก อ า ย ต น ะ ได ป รุ ง แ ต ง กั น แ ล ว มั น ก็ จ ะ เกิ ด พ ว ก ขั น ธ คื อ เป น ห มู ๆ ขึ้ น ม า ห มู ต า ห มู หู ห มู จ มู ก ห มู ลิ้ น ห มู อ ะ ไรขึ้ น ม า ; ถ า ไป เกิ ด ยึ ด มั่ น เข า ห มู ขั น ธ นั้ น ก็จะกลายเปนหมูอุปาทานขันธขึ้นมา คือตัวทุกข.
สําหรับวันนี้ก็ขอยุติการบรรยายเรื่องธาตุไวแตเพียงเทานี้กอน.
www.buddhadasa.info
ปรมัตถสภาธรรม
-๔๒๗ มกราคม ๒๕๑๖
ความเนื่องกันระหวางกลุมธาตุ
ทานสาธุชนผูสนใจในธรรมทั้งหลาย, การบรรยายประจํ า วัน เสารใ นครั ้ง ที ่ ๔ นี ้ เปน การบรรยายในชุด ที ่ เ รี ย กว า ป รมั ต ถส ภ าวธรรม , และในตอนต น ๆ ของการบรรยายชุ ด นี้ ไดก ลา วถึง เรื ่อ งธาตุ; ในวัน นี ้ก ็ย ัง จะได กลา วถึง เรื ่อ งธาตุ อีก นั ่น เอง. อาตม าคิด วา คงจะเปน ที ่รํ า คาญ แกค นบ างคนก็ไ ด; แตก ็ไ มก ลัว วา จะ เปน ที ่รํ า คาญ เพราะไมม ีท างจะหลีก เลี ่ย ง; แตสํ า หรับ ผู ที ่ส นใจ แลว ก็จ ะ ไมรูสึกรําคาญ.
www.buddhadasa.info เรื่องธาตุนี้เปนเรื่องที่มีความมุงหมายสวนใหญ คือจะใหไมมีความ ยึดมั่นถือมั่น ในสิ่งใดโดยความเปนตัวตน หรือเปนของของตน.
๑๐๑
๑๐๒
ปรมัตถสภาวธรรม
เพราะไม รู เรื่ องธาตุ จึ งได ยึ ดมั่ นถื อมั่ นในธาตุ บางสิ่ งบางอย างนั้ น ว าเป น ตัว ตนหรือ ของตน ดังที่ ได กล าวมาแล วตั้ งแต ต น วา ไม มี อ ะไรที่ จ ะไม เรีย กวาธาตุ ; ถ า เรารู ว า มั น เป น ธาตุ ความยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น ก็ จ ะเกิ ด ขึ้ น ไม ได ; เพราะไม รู ว า เป น ธาตุ โดยแท จริง จึ งเกิ ดความยึ ดมั่ นถื อมั่ น. นี้ เป นความประสงค ส วนใหญ สํ าหรับการศึ กษา ของพุทธบริษัท ซึ่งมีหลักไปในทางที่วา “ใหมีสติสัมปชัญญะ รูสึกตัวอยูทุกเวลา”.
ทุกสิ่งที่เกี่ยวของกันอยูเปนธาตุทั้งนั้น ให รูไว วาทุ กสิ่ งทุ กอย าง ที่ แวดล อมเราอยู เกี่ ยวของกั บเราอยู หรือเกิ ดขึ้ น ในจิ ต ใจเราก็ ต าม ทุ ก อย า งเป น สิ่ ง ที่ เรี ย กว า ธาตุ ทั้ ง นั้ น . ฉะนั้ น ชื่ อ ของธาตุ จึ ง มี มากมายหลายสิ บชื่ อ : เป นชื่ อธาตุ ที่ เป นหมวดใหญ ๆ ก็ มี , เป นรายละเอี ยดก็ มี และ ที่ เกี่ ยวกั บคนอยู เป นประจํ านั้ น ก็ หมายถึ งธาตุ ๑๘ อย าง จํ าแนกไปตามอายตนะคื อ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ซึ่งมีอยู ๖ อยาง. เรื่ องนี้ ก็ เคยพู ดกั นมาแล ว ที่ เรี ยกว า จั กขุ ธาตุ – ธาตุ สํ าหรั บรู อะไรทางตา, รูปธาตุ - ธาตุ ที่ มี รู ป สํ าหรับจั กษุ จะได รู ได ทางตา, และจั กขุ วิ ญญาณธาตุ – วิ ญญาณธาตุ ที่ จะเกิ ด ทางจั ก ษุ ; ในเรื่ อ งตามี ๓ อย าง ในเรื่ อ ง หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจ แต ล ะ อยางก็มี ๓ อยาง นั้นจึงเปน ๑๘ อยาง
www.buddhadasa.info ที่ เป น ๑๕ อย างตอนต น หมวดนั้ น เป นพวกรู ปธาตุ ห รื อเกี่ ยวกั บ รู ป ธาตุ ที ่เ ห็น ไดช ัด เปน สว นใหญ; ๓ อยา งขา งทา ย เปน นามธาตุ คือ ธาตุท างจิต ใจ; ก็ เลยได เป นธาตุ ๑๘ อย างใน ๑๘อย างนั้ นมั นแยกออกไปได . โดยเฉพาะธาตุ ที่ จิ ตใจ จะรูนั้ นแยกออกไปได อี กมามาย ซึ่ งเราจะคอ ย ๆ พิ จารณากั นไปตามลํ าดั บ จนกระทั่ งรูว า รอบตัวเราไมมีอะไร ที่มันไมใชธาตุ.
ความเนื่องกันระหวางกลุมธาตุ
๑๐๓
เนื้ อ หนั งร างกายนี้ ก็ เป น ธาตุ แ ต ล ะอย าง ๆ, อาหารที่ รั บ ประทานเข าไป ก็ สั ก ว า ธาตุ , เครื่ อ งนุ ง หุ ม ที่ นุ ง ห ม อยู นี้ ก็ สั ก ว า ธาตุ หลาย ๆ ธาตุ ป ระกอบกั น อยู , บ านเรือนที่ เราอยู อาศั ย มั นก็ สั กวาธาตุ ความเจ็ บไข ก็ เกิ ดมาจากธาตุ เป นธาตุ ยาแกไข ก็เปนธาตุ อยางนี้เปนตน. ขอใหรูวาไมมีอะไรนอกจากธาตุตาง ๆ ที่กําลังเปลี่ยนแปลงไปตามปจจัย คือ ตามเหตุข องมัน ; แมแ ตต ัว ใจเองนั ้น ก็เ ปน ธาตุ, และก็ไ ดอ ะไรมาปรุง แตง ก็ ล วนแต เป นธาตุ ; ที่ เราคิ ดนึ กว าเป นตั วเรา เป นของเราเหล านี้ มั นก็ กลายเป นอวิ ชชาธาตุ คื อ ธาตุ แ ห ง อวิ ช ชาขึ้ น มา; ธาตุ อ วิ ช ชาไม เคยปรากฏ เดี๋ ย วนี้ ก็ ป รากฏออกมา. นี่ คื อ ความสํ าคั ญที่ ต องขอร องให ท านทั้ งหลายทนฟ ง เรื่ องธาตุ เราจะถื อเป นโอกาสพู ดเรื่ องนี้ ใหละเอียดลออ ใหจบไปเสียสักเรื่องหนึ่ง.
พุทธบริษัท ตองรูเรื่องธาตุใหตรงกัน พระสารีบุ ตรไดกลาววา ความฉลาดในธาตุ กับความฉลาดในการกระทํ า ในใจเรื่องธาตุนี้ เปนสิ่งสําคัญที่พระผูมีพระภาคเจาไดตรัสไว เพื่อไมใหเราถือ ผิด ๆ กัน จนทะเลาะวิวาทกัน แลวจะไดเปนการตั้งอยู อยางถูกตองของพระ สัทธรรม คือของพระพุทธศาสนา ชนิดที่จะเปนประโยชนแกโลกทั้งหลายได.
www.buddhadasa.info นี่ ขอให ล องคิ ด ดู ทบทวนดู อี ก ครั้ งหนึ่ งว า “ความเป น ผู ฉ ลาดในเรื่ อ งธาตุ และเรื่ องการทํ าในใจโดยแยบคายเกี่ ยวกั บธาตุ ” เป นสิ่ งที่ พระผู มี พระภาคเจ าได ตรั สไว เพื่ ออย าให พุ ทธบริ ษั ททั้ งหลายถื อผิ ด ๆ แผก ๆ แตกต างกั นไป ให รู ตรงกั น ถื อตรงกั น นั่ น แหละจะเป น การตั้ ง อยู แ ห ง พระพุ ท ธศาสนา ชนิ ด ที่ อ าจจะเป น ประโยชน แ ก สั ต ว ทั้งหลายได.
๑๐๔
ปรมัตถสภาวธรรม
พอเขาใจผิดเรื่องธาตุก็ถือไมตรงกัน มีความรูไมตรงกัน ก็เลยสอนผิด ออกไปนอกลู นอกทางพุ ทธศาสนา จนพุ ทธศาสนาไม เป นประโยชน แก ใครเลย อย างนี้ เป นต น. เราจึ งพยายามกั นอย างยิ่ ง ในการจะให มี ความก าวหน าในทางการศึ กษาในที่ นี้ ก็คือ การรูเรื่องธาตุใหถูกตอง. พระพุ ทธเจาเองท านก็ตรัสยืนยันวา : ที่กลาปฏิญ ญาวา เป นสัมมาสั ม พุ ท ธะ บั น ลื อ สิ ง หนาท ในท า มกลางบริ ษั ท ทั้ ง หลาย แล ว ประกาศธรรมจั ก ร หรื อ พรหมจั ก รให เป น ไปในโลกนี้ ก็ เพราะอํ า นาจแห ง ความรู ๑๐ ประการ, ใน ๑๐ ประการนั้ น มี ค วามรู เรื่ อ งธาตุ อ ยู ด ว ย; เรี ย กว า มี ค วามรู ถู ก ต อ งตามที่ เป น จริ ง ซึ่ งโลกอั นประกอบด วยธาตุ เป นอเนก ต าง ๆ กั น ที่ เรี ยกว า นานาธาตุ ญ าณ เรี ยกสั้ น ๆ วา นานาธาตุญาณ - ญาณของพระพุทธเจาที่รูแจมแจงในเรื่องธาตุตาง ๆ. นานาธาตุ ญ าณ ขยายความออกไปก็ วา : โลกนี้ ประกอบไปด วยธาตุ เปน อเนก ประกอบดว ยธาตุต า ง ๆ ตา ง ๆ กัน ; มิใ ชห นึ ่ง ธาตุ แลว ยัง แปลก ๆ กั น อี ก ด ว ย. นี้ ห มายความว า “ถ า ไม ท รงมี ญ าณในเรื่ อ งนี้ แ ล ว ก็ จ ะไม ป ระกาศ พระองค เองว า เป น พระสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ า ”. นี่ จึ งไม ต อ งพู ด ถึ งเรา ซึ่ งเป น สาวกของ พระสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ า ที่ จ ะไม ต อ งรู เรื่ อ งธาตุ ; แม แ ต พ ระพุ ท ธเจ า เองท า นก็ ยั ง ตรั ส อยางนั้น.
www.buddhadasa.info เพราะรูเรื่องธาตุไมตรงกัน การประพฤติปฏิบัติจึงตางกัน ขอที่ สัตวทั้งหลายไม มี ค วามเข าใจ ในเรื่อ งธาตุ อยางถูกตอ งนี้; พระพุ ท ธเจ า ท า นตรั ส ว า เป น เหตุ ใ ห เกิ ด มี ก ารกล า ว หรื อ การยื น ยั น การประพฤติ ปฏิ บั ติ ต า งกั น ; เลยทํ า ให คํ า พู ด ต า งกั น มี ศี ล ต า งกั น มี ค วามพอใจต า งกั น มี ก าร ยืนยันตางกัน, นี่ก็พอจะเห็นไดโดยทั่วไปวา ทําไมจึงพูดเรื่องธรรมะไมตรงกัน
ความเนื่องกันระหวางกลุมธาตุ
๑๐๕
แม ในวงพุ ท ธบริ ษั ท เอง ก็ พู ด ไม ต รงกั น , ก็ เพราะเข า ใจความหมายของธาตุ ไม ถู ก ต อ ง เป น ไปอย างนั้ น เป น ไปอย างนี้ . แต นี้ ก็ ยั งไม สํ าคั ญ มากนั ก เท า กั บ ที่ ว า ในโลกนี้ เกิ ด มี ศาสนาต าง ๆ กั นขึ้ นมา ก็ เพราะว า ไปยึ ดถื อในเรื่ องธาตุ โดยนั ยต าง ๆ กั นไป; พอตั วมี ความเขาใจอยางไรก็ยื นยันวา “อิ ทเมว สจฺจํ โมฆมฺ - นี่ เท านั้ นจริง ที่ คนอื่ นวา นั้ น ไม จ ริ ง ” แล ว ก็ ท ะเลาะกั น . ฉะนั้ น การที่ โ ลกจะต อ งมี ศ าสดาต า งกั น มี คํ า สอน อะไรตาง ๆ กันนี่ ก็เพราะวาเขาใจเรื่องธาตุไมตรงกัน. ถาจะสรุป ให สั้นที่สุดก็คือวา เพราะรูจักโลกนี้ไมถูกตอง จึงมีเรื่องที่ พู ด ออกไปไม ต รงกั น ; ถ า สมมติ ว า แต ล ะคนรู จั ก โลกนี้ ถู ก ต อ ง ก็ พู ด เหมื อ นกั น และก็ ไม มี ความคิ ดเห็ นต างกั น ไม ต องวิ วาทกั นทางวาจาหรื อว าทางร างกายที่ ต องทํ าร ายกั นนั้ น. ไม เฉพาะแต คํ าสอนทางศาสนา แม แต ลั ทธิ อื่ น ๆ ที่ ไม เกี่ ยวกั บทางศาสนามั นก็ อาศั ยเรื่ อง ธาตุ นี้ . ที่ เป น อยู ในครอบครั วหนึ่ ง ๆ พู ด กั น ไม รู เรื่ อ ง พู ด ไปคนละทิ ศ ละทาง นี้ ก็ เพราะ เขาใจสิ่งที่เรียกวาธาตุนี้ ไมเหมือนกัน ไมตรงกัน จึงทําใหยึดมั่นถือมั่น หลงรัก หลงพอใจอะไรต า งกั น ไปหมด; ไม เป น ไปในทางที่ จ ะช ว ยให เกิ ด ความสงบ หรื อ ดั บความโกลาหลวุ นวายเสี ยได . เมื่ อเข าใจต างกั น ทํ าให พู ดก็ ต างกั น มี ระเบี ยบปฏิ บั ติ ยึดถือก็ตางกัน, เพราะชอบใจในสิ่งที่ตางกัน จึงตองขัดแยงกันอยูเสมอ.
www.buddhadasa.info การเขาใจผิดในเรื่องธาตุยอมกอความไมสงบ ที นี้ ม าถึ งตอนนี้ ก็ อยากจะพู ด ออกไปให ชั ดอี กอย างหนึ่ งว า การเข าใจเรื่ อ ง ธาตุ นี้ นอกจากจะแตกต างกั น จนพู ดผิ ด ๆ แตกต างกั นแล ว ยั งมี ผลบางอย าง ที่ ร ายแรง ไปกว า นั้ น ก็ มี คื อ ว า เข า ใจผิ ด เรื่ อ งธาตุ อย า งที่ ส อนหรื อ ที่ พู ด อยู นี้ , แต เข า ใจผิ ด ไปในทางที่ ว าไม มี อะไรเสี ยเลย ก็ คื อความคิ ดนึ กหรือความรูสึ กที่ เรียกวาเป นอั นธพาล เรื่องจิตวางอยางอันธพาลก็หมายถึงเรื่องนี้. เมื่อสักวาธาตุเทานั้นแลวก็เลยไมตอง
๑๐๖
ปรมัตถสภาวธรรม
มี บุ ญ ไม ต อ งมี บ าป; แม ก ระทั่ ง แต เ รื่ อ งชกต อ ยกั น ก็ ไ ม มี บ าปอะไร เป น สั ก ว า ธาตุ เท า นั้ น ชกต อ ยกั น , หรื อ กิ จ กรรมทางเพศระหว า งเพศ ก็ ถื อ ว า ธาตุ เท า นั้ น ไม มี อะไร ไม มี ศี ล ธรรมที่ จ ะต อ งยึ ด ถื อ ; แล ว ก็ เลยประพฤติ อ ย างอั น ธพาลเข า ข างตั วเป น อย า งอั น ธพาล, ไม ต อ งมี ระเบี ย บไม ต อ งมี วั ฒ นธรรม; นี้ เป น เรื่ อ งของการที่ เข า ใจ คํ าว าธาตุ ผิ ด โดยที่ คํ าพู ดนั้ นเหมื อนกั น; คํ าพู ดนี้ ก็ คื อคํ าพู ดที่ พู ดสั้ น ๆ ว า “มั น เป น สักวาธาตุเทานั้น”. พระพุ ท ธเจ า ก็ ต รั ส อย า งนี้ , หลั ก เกณฑ ก็ มี อ ยู อ ย า งนี้ ที่ ว า “มั น เป น สั กว าธาตุ เท านั้ น” นี้ เกิ ดมี ความหมาย ๒ อย าง : อย างหนึ่ ง จะไม ยึ ดถื อเพื่ อจะไม เกิดกิเลส และไมเกิดทุกข นี้ก็ถูกตอง; อีกอยางหนึ่งจะกลายเปนโอกาส ที่จะ ทํ าอะไรตามกิ เลส คื อไม ยอมรับ ผิ ดชอบ ว ามี สั ตว มี บุ ค คล มี อ ะไรที่ จะต อ งผิ ด จะ ต องถู ก จะต องดี หรื อจะต องชั่ ว ก็ เลยเป นอั นธพาล; หมายความว า กิ เลสออกมารั บเอา “ความเป น สั ก ว า ธาตุ เท านั้ น ” ก็ เพื่ อ ให ค นที่ มี กิ เลส เป น เจ า ของกิ เลสนั้ น ทํ า อะไรไป ตามอํานาจของกิเลส โดยไมรับผิดชอบ.
www.buddhadasa.info เรื่ อ งอนั ต ตา เรื่ อ งสุ ญ ญตา หรื อ “เรื่ อ งธาตุ เท า นั้ น ” นี้ ก็ เหมื อ นกั น ถ า ถือเอาความผิดไปแล ว นั้ นก็ เป นมิ จฉาทิ ฏฐิ. พอวา “ธาตุเทานั้น” แลวก็ไมตองนึก ตองคิดอะไร; นี่เปนมิจฉาทิฏฐิ.
เจาลัทธิพองสมัยไดเคยสอนเรื่องธาตุตาง ๆ กันมา ที่ เคยมี มาแล วแต ก อนในครั้ งพุ ทธกาล พร อม ๆ กั นกั บพระพุ ทธเจ านั้ น ก็ มี เจ าลั ทธิ ที่ สอนอย างนี้ ว ามี แต “ธาตุ เท านั้ น” ดั งนั้ นจึ งไม มี บุ ญไม มี บาป; การถื ออย างนี้ จึ งเป นลั ทธิ ศาสนาขึ้ นมาเป นศาสนาหนึ่ ง. เจ าลั ทธิ นั้ นเป นศาสดาชื่ อว า ปกุ ธะกั จจายนะ เปนคูแขงกับพุทธศาสนาดวย, สมัยนั้นเขาเรียกกันวา ครูทั้ง ๖; ในครูทั้ง ๖
ความเนื่องกันระหวางกลุมธาตุ
๑๐๗
มี คนชื่ อนี้ รวมอยู ดวย ก็ เลยสอนในทํ านองวา “ธาตุ เท านั้ น” แล วก็ ไม ต องมี ความรับ ผิดชอบเรื่องบุญเรื่องบาป. ลั ทธิ นี้ เขาสอนว ามี ธาตุ อยู ๗ อย าง ซึ่ งอะไร ๆ ก็ ทํ าไม ได เปลี่ ยนแปลง ไม ได แก ไขไม ได เป นของตายตั วอยู อย างนั้ น. ที นี้ การที่ เกิ ดการฆ าการฟ นกั นขึ้ นนั้ น ก็ไม มี ความหมายอะไร ธาตุ ๗ อยางนั้ นเรียกวา ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ : คื อ ดิ น น้ํ า ไฟ ลม แล ว ก็ มี เรื่ อ งสุ ข เรื่ อ งทุ ก ข เรื่ อ งชี ว ะ. ความรู สึ ก เป น สุ ข เป นทุ กข เหล านี้ เป นธาตุ ที่ ตายตั วเปลี่ ยนแปลงไม ได ; ชี วะคื อชี วิ ต หรืออาตมั น นี่ ก็ เปลี่ ยนแปลงไม ได เป น ๗ ธาตุ อยู ด วยกั น; ไม มี อะไรทํ าขึ้ นหรือไม มี อะไรทํ าให เปลี่ ยน แปลงได . ฉะนั้ นการที่ ว าคนจะเอาดาบมาฟ นคอคนให ขาดไป นี้ ก็ ไม มี ความหมายอะไร ไม มีบุ ญ ไมมี บาปอะไร เพราะ “สั กวาธาตุ เท านั้ น ” มั น ผานไป ในระหวางธาตุ . อย างนี้ เรีย กวาเป น มิ จ ฉาทิ ฎ ฐิ ซึ่งในพุ ทธศาสนา ไม อธิบายคําวา “ธาตุเทานั้น ” ในลั กษณะอย างนี้ ซึ่งเราก็ จะต องศึ กษากั นต อไป. มี ครูอี กคนหนึ่ งใน ๖ คนนั้ น ซึ่ ง ชื่อวา อชิตเกสกัมพลี เขาสอนวาบุ รุษนี้ ประกอบด วยธาตุ ๔ เท านั้น พอตายปฐวีธาตุ ก็ ไปหาปฐวี ธาตุ อาโปธาตุ ก็ ไปหาอาโปธาตุ เตโชธาตุ ก็ ไปหาเตโชธาตุ วาโยธาตุ ก็ ไปหาวาโยธาตุ; ฉะนั ้น ไมม ีป ระโยชนอ ะไรในการทํ า บุญ ทํ า ทาน การบูช ายัญ ที่ เรี ย กกั น ว า ดี , แล ว ก็ ไม มี ผ ลอะไรที่ เรีย กกั น ว า ชั่ ว หรื อ บาป. นี้ มี ป รากฏชั ด อยู ใน พระคัมภีร โดยเฉพาะพระบาลีในพระไตรปฎก.
www.buddhadasa.info “ธาตุเทานั้น” เขาใจผิดก็เปนอันตราย ขอใหเขาใจวา คําวา “ธาตุเทานนั้น” ถาเขาใจผิดก็เปนอันตราย กลาย เปนมิจฉาทิฏฐิ ไปก็ได คือไปถือวาไมมีตัวไมมีตน แลวก็ไมตองรับผิดชอบอะไร. ทีนี้ ที่พวกเราศึกษาหรือฟ งกันอยูเรื่อย ๆ มานี้ หลั กเกณฑ ก็ อยูในความ หมายอันนี้วา “ธาตุเทานั้น” ไมใชสัตว ไมใชบุคคล. ถาไปถือตามที่เขาวาใคร
๑๐๘
ปรมัตถสภาวธรรม
จะไปตกนรก ใครจะไปขึ้ น สวรรค ใครจะบรรลุ ม รรคผลนิ พ พาน มั น ก็ ไ ม มี ใ ครไป ใครบรรลุ เพราะว า เป น สั ก ว า “ธาตุ เท า นั้ น ”, และโดยเฉพาะคนที่ เขายึ ด มั่ น ใน เรื่ อ งโลกหน า ตายแล วไปเกิ ด ใหม เป น นั่ น เป น นี่ ไปตามดี ต ามชั่ ว ตามบุ ญ ตามบาป ก็ จะพลอยไม มี ใครผู ไปด ว ย; เพราะเห็ น ว า มั น “สั ก ว า ธาตุ เท า นั้ น ” ไม มี ใครกระทํ า ไมมีใครรับผลของการกระทํา : อยางนี้มันก็ผิดไปมาก. สําหรับพวกเราที่นี่ พูดเรื่องธาตุกันนี้ มุงหมายความไมยึดมั่นถือมั่น เพื ่อ จะไมเ กิด กิเลส, และก็บ อกใหเห็น วา “เปน สัก วา ธาตุ ธาตุ เทา นั ้น ” ไมไ ด มุ งหมายจะยกเลิ กเรื่องดี เรื่องชั่ ว เรื่องบุ ญ เรื่องบาป หรือเรื่องนรก เรื่ องสวรรค ; ยั งไม ได พู ด ยั งไม ได บ อกว า ตายแล ว ไม เกิ ด , ยั งไม ได บ อกว านรกหรื อ สวรรค ไม มี ; หาก แตวา ใหมาสนใจกันที่นี่กอน ใหรูจักวาอะไรมีอยูที่นี่ และก็มีนรก หรือมีสวรรค ชนิ ด อื่ น ในความหมายอี ก อย า งหนึ่ ง ซึ่ งอยู ที่ นี่ ซึ่ งจะเห็ น อยู ชั ด ๆ นี่ และถ า ไม ต ก ก็ไมตกไดที่นี่ หรือถาจะเอาใหไดเชนสวรรคเปนตน ก็จะเอาไดที่นี่.
การสอน “เรื่องธาตุเทานั้น” ตองการใหรูจักความจริงอันมีประโยชน
www.buddhadasa.info การเรีย นเรื่อ งธาตุ ที่ มี ป ระโยชน ที่ ถู ก ต อ ง จะทํ า ให เห็ น นรกที่ นี่ ที่ จ ะ หลีกเลี่ยงไมตกได, และเห็นสวรรคที่นี่ ถาตองการแลวก็ทําใหได ใหถึงที่นี่ได, และถาตองการจะพนจากนั้นไปอีก จะเปนมรรคผลนิพพาน ก็ยังทําใหสําเร็จ ไดที่นี่และเดี๋ยวนี้; เพราะความรูเรื่องเกี่ยวกับธาตุ.
อาตมาพู ดว า “ที่ นี่ และเดี๋ ยวนี้ ” บ อย ๆ เข า บางคนก็ เลยพาลหาเอาว า ยกเลิ ก เรื ่อ งนรกสวรรคโ ลกหนา . ฉะนั ้น ขอใหถ ือ วา ไมไ ดพ ูด ถึง เรื ่อ งยกเลิก อะไรเลย ไมไดยกเลิก หรือไมไดสนับสนุนอะไรในที่นี้; เพียงแตวาขอใหมาดู เรื่องนรก
ความเนื่องกันระหวางกลุมธาตุ
๑๐๙
ที่จริงกวา เรื่องสวรรคที่จริงกวา “ที่นี่และเดี๋ยวนี้” ก็ได, และก็ดูเรื่องมรรค ผล นิพพาน “ที ่นี ่แ ละเดี ๋ย วนี ้” ก็ไ ด. แตถ า เมื ่อ ที ่นี ่ไ มต กนรกหรือ ไดส วรรคแ ลว ; สมมติว า ถ า ตายไปแล ว มี ไปเกิ ด ใหม มี น รกสวรรค ก็ ไม ต อ งตกนรก, และก็ จ ะได ส วรรค อ ยู นั่ นเอง. แต ถ ามั วสนใจเรื่องนรกสวรรค ข างหน าซึ่งอยู ที่ ไหนก็ ไม รู ก็ จะกลายเป นเรื่อง งมงายอยูเรื่อ ย ๆ จะไมรูจัก สิ่ง ที ่เรีย กวา นรกสวรรคก็ได; ฉะนั ้น มารูเรื่อ งธาตุ ให ถู ก ต อ ง ที่ ป ระกอบกั น อยู เป น ชีวิต จิ ต ใจของมนุ ษ ย และก็ เข ามาประกอบกั น อยูเปนความรูสึกในจิตใจ ที่เรียกวานรกก็มี ที่เรียกวาสวรรคก็มี. นี่เปนสิ่ง ที่จะต องสนใจมาก อย างยิ่ง เป นพิ เศษที่ นี่ เพื่ อจะแกป ญหาได ตลอดกาลไปเลย; เพราะ ฉะนั้ น จึ งเห็ นว าจะต องทนหน อย การที่ จะศึ กษาให เข าใจนี่ ต องทนหน อย ทนศึ กษา เรื่องธาตุนี้เรื่อย ๆ ไป. เรื่ องธาตุ เป นเรื่องที่ ซั บซ อนกั นมาก พู ดคราวเดี ยวเข าใจไม ได จํ าต องพู ด หลาย ๆ หน, พู ดหลายหนก็ต องมี ซ้ํากันด วยเรื่องเดียวกัน. แต วาอธิบายให เห็ นความต าง โดยรายละเอียดแยกออกไป แยกออกไป จนกวาจะเขาใจได ด วยการฟ งในไม กี่ ครั้งนั ก; ไม ใ ช จ ะต อ งพู ด กั น ตั้ ง ร อ ยครั้ ง พั น ครั้ ง แต มั น ก็ ค งจะ ๔-๕ ครั้ ง ๙ ครั้ ง ๑๐ ครั้ ง ก็เปนได. ขออยาใหเขาใจผิดวา ทําไมจึงพูดแตเรื่องธาตุ - ธาตุ ไมรูจักจบจักสิ้น.
www.buddhadasa.info ธาตุที่แวดลอมเรา ปรุงแตงกันอยูตลอดเวลา ที นี้ ก็ มาถึ งหลั กสั้ น ๆ ที่ เคยเตื อนไว เสมอ หรื อให ถื อเป นหลั กว า “ไม มี อะไรนอกจากธาตุ”, ธาตุเทานั้น ที่แวดลอมเราอยู ที่ปรุงแตงรางกายชีวิต จิตใจนี้ อยู ที่เปนความรูสึกนึกคิด เปนความสุข เปนความทุกขอยู; ก็หมายความวา ไม มี อะไรที่ เกี่ ย วขอ งกั น อยูกั บ มนุ ษ ยนี้ แลว ที่ จะไม ใชธาตุ นั้ น ไม มี . เราจะต อ งรูว า ธาตุ เหล านี้ เป นอยู กั นอย างไร; ก็เคยกลาวมาแลวสั้น ๆ วา ธาตุมี การปรุงแต งกั น อยางไร ในเรื่องประจําวันของคนเรา.
๑๑๐
ปรมัตถสภาวธรรม
ในวั น หนึ่ ง ๆ คนเราก็ มี เรื่ อ งทางหู ทางตา ทางจมู ก ทางลิ้ น ทางกาย; ๕ เรื่ องนี้ เป นส วนที่ ถู กเรี ยกว า “ข างนอก”, และมี เรื่ องทางใจที่ เรี ยกว า “ข างใน”. เรื่ อง ทางใจนี้ ตองอาศัยเรื่องขางนอก จนกลาวไดวาเรื่องต าง ๆ ตั้ งต นจากข างนอกแล วจึ ง เข าไปข างใน. เมื่ อ ตาเห็ น รูป รู ป ก็ อ ยู ข างนอก ตานี้ ก็ เป น เนื้ อ หนั ง, ประสาทนี้ เป น เรื่ อ งของรู ป ธรรมอยู ข างนอก. ตาเห็ น รู ป จึ งเกิ ด ความคิ ด หรื อ ความรู สึ ก ไปตามลํ าดั บ เชนตาเห็นรูปก็เรียกวาจักขุวิญญาณ เห็นแลวก็จะไดวาอะไร ก็มีความคิดนึกตอไป. เรื่ องข างในนั้ นเกิ ดที หลั ง เรื่ องข างนอกตั้ งต นก อน; หรื อจะเรี ยกว าตั้ งต น ที่รูปธรรม ตามเห็นรูป ก็จะเกิดจักขุวิญญาณที่เปนนามธรรม. ความประจวบกัน นี ้ก ็เ รีย กวา ผัส สะ ซึ ่ง เปน เหตุใ หเกิด เวทนา; รู ส ึก หรือ ทุก ข นี ้ก ็เ ปน นามธรรม แล วสํ าคั ญมั่ นหมายเอาเวทนานี้ เป นของกู บ าง เวทนานี้ เที่ ยงแท ถาวรบ าง. นี่ เป นสั ญญา ขึ้ น มา นี้ ก็ เป น นามธรรม; เมื่ อ มี สั ญ ญาอย างไรแล ว ก็ มี ค วามคิ ด อย างนั้ น อย า งนี้ จะจั ด การกั บ สิ่ งนั้ น ที่ รั ก หรื อ ไม รั ก ที่ ช อบหรื อ ไม ช อบนี้ เรีย กว าสั งขาร สั งขารก็ เป น นามธรรม เป นความคิ ดของจิต, ก็ ทํ าให เกิ ดมโนกรรม คื อความคิ ดที่ จะกระทํ าอยางนั้ น อย า งนี้ จนกระทั่ งแยกออกไปได เป น ดี ห รื อ ชั่ ว . ที่ เรี ย กว า ดี ห รื อ ชั่ ว นี้ ไม ใช เรื่ อ งของ ธรรมชาติ โดยแท เป นเรื่ องของมนุ ษ ย เรา เรารู สึ กว าอย างไหนมั นเป นประโยชน แก เรา ไม ทํ าให เรายุ งยากลํ าบาก เราก็ ว าดี ; ส วนอั น ไหนทํ าให เรายุ งยากลํ าบาก เป น ทุ ก ข เราก็วาไมดี.
www.buddhadasa.info เรื่องดีเรื่องไมดีนี้ เปนเรื่องของมนุษยบัญญัติขึ้นตามความรูสึก หรือ ความต อ งการของตน; ส วนธรรมชาติ นั้ นมี แต วา ถ าลองกระทํ าลงไปอย างนี้ ผลก็ ต องเกิ ดออกมาอย างนี้ ก็ เลยมี เรื่อ งที่ ดี ไม ดี ขึ้ นมา; แล วก็ จะมี นรกและสวรรค ขึ้ นมา ทั นที เหมื อนกั น : ที่ ไม ดี ไม ชอบและเป นทุ กข นั้ นเป นนรกขึ้ นมาทั นที และเห็ นได ชั ดเจน เห็นไดงาย หรือเห็นไดประจักษเลย, ถาเปนเรื่องดี ทําใหสบายใจ ก็เปนสวรรคขึ้นมา.
ความเนื่องกันระหวางกลุมธาตุ
๑๑๑
สวรรค หรือ นรก ก็ตาม เรามองเห็นชัดใจความคิดที่ถูกปรุงขึ้นมา จาก การที่ ตาเห็ นรูปบ าง จากการที่ หู ได ยิ นเสี ยงบ าง จมู กได ดมกลิ่ นบ าง ลิ้ นได สั มผั สรสบ าง ผิ ว หนั งได สั ม ผั ส ทางผิ วหนั งบ า ง, แล ว ใจก็ เอาไปคิ ด ไปปรุ ง . ที นี้ ในบางกรณี ที่ ไม ได เกี่ ยวกั บ ตา หู จมู ก ลิ้ น กาย; ใจก็ ไปเอาความจํ าเดิ ม ๆ ที่ ได มาทางตา หู จมู ก ลิ้ น กาย แต เก าก อน ซึ่ งยั งจํ าได อยู ยั งยึ ดถื ออยู นั้ น เอามาทํ าเป นอารมณ ของใจล วน ๆ ก็ ได . เหมื อนอย างในความฝ น ก็ มี ความคิ ดนึ กรู สึ กอะไรได ทั้ งที่ ตาก็ ไม ได ลื ม หู ก็ ไม ได ยิ น นี่เพราะวาใจเก็บสะสมเอาไวสําหรับเปนเรื่องทางจิตใจ.
การปรุงแตงของธาตุ สรางนรกสวรรคขึ้นก็ได เมื่ อกล าวใจความย อก็ คื อว าวั นหนึ่ ง ๆ ความเป นไปในทางจิ ตใจ นั้ นย อม มี ก ารปรุงแต งเป น นรกเป น สวรรค ขึ้นมาได. ถาเราอยาตกนรกอยางนี้ ตายแลวก็ ไม ตกนรกชนิ ดไหน ถ าเราอยากจะได สวรรค ก็ ให ได สวรรค ชนิ ดนี้ เถิ ด ตายแล วก็ ต อง ได ส วรรค ช นิ ด เดี ย วกั น อี ก . ป ญ หามี อ ยู ที่ ว า จะต อ งจั ด การกั น ที่ เรื่ อ งจริ ง ตั ว จริ ง ให ถู กต อง ไม ใช สั กแต ว าคิ ด ๆ นึ กปรารถนาเอา หรื อว าอ อนวอนเอา; และในบรรดา สิ่งเหลานี้ ก็เรียกวาธาตุทั้งนั้น, ธา-ตุ หรือธาตุ ทั้งนั้น ไมยกเวนอะไร.
www.buddhadasa.info ที่ เป น ความเลว ความชั่ ว ความผิ ด นั้ น ก็ เรี ย กว า อกุ ศ ลธาตุ . หรื อ ธาตุอ กุศ ล, ที ่เ ปน ดี เปน ถูก ตามความตอ งการ ที ่จ ะไมทํ า ใหเ ปน ทุก ข นี ้ก็ เรี ย กว า กุ ศ ลธาตุ . ธาตุ เหล านี้ มี อ ยู เป น ปกติ เหมื อ นกั บ ธาตุ ทั้ งหลายอื่ น หากแต ยั ง ไม ปรากฏออกมา ยั งไม ปรากฏแก จิ ตใจหรือความรูสึ ก จนกว าจิ ตนั้ นรวมกั บรางกายนั้ น ได กระทํ าลงไปทางใดทางหนึ่ ง อย างใดอย างหนึ่ ง สํ าหรั บ เรื่ องนั้ น เพื่ อสิ่ งนั้ น จึ งจะ ปรากฏออกมาเป นกุ ศลธาตุ เป นอกุ ศลธาตุ แล วแต กรณี ที่ ว าจะเป นนรกสวรรค ได ที่ นี่ . ฉะนั้น นรกหรือสวรรคนั้นก็ไมมีอะไรมากไปกวาธาตุ.
๑๑๒
ปรมัตถสภาวธรรม
แต ม องดู กั น ให ลึ ก แล ว มั น ไปรวมกั น อยู ที่ คํ าว า “เวทนาธาตุ ” เวทนาก็ เปน สัก วา ธาตุ; ความรู ส ึก ที ่เ ปน ทุก ข เดือ ดรอ น ก็เ ปน เวทนาธาตุ. เราใหชื ่อ ยี่ ห อ ว า นรก. ที่ ไ ม เ ป น ทุ ก ข ไม เดื อ ดร อ นและเป น ที่ พ อใจของคนทั้ ง หลาย นี้ ก็ เรี ย กว า เวทนาธาตุ แต เราไปให ชื่ อ ว า สวรรค ; เพราะว า คํ า ว า นรก หรื อ คํ า ว า สวรรค นี้ เป น คํ าสมมุ ติ ไม ได ก ล าวเป น คํ าจริ ง หรื อ ภาษาปรมั ต ถ . นี้ เป น เค าคร าว ๆ เปนเคา ๆ แสดงเปนแนวพอใหรูวา เรื่องธาตุมีอยูอยางนี้ ในคนเราประจําวัน.
พิจารณาดูธาตุที่ปรุงกันเปนประจํา ที นี้ ก็ มาดู ให ชั ดยิ่ งขึ้ นไปอี ก ในเรื่ องเดี ยวกั นนี้ จะยกเอาคู แรกเป นตั วอย าง ก อ น ดู คู ต ากั บ รู ป ให ทุ กคนสั งเกตเอาเองด วยตั วเอง ในเรื่ องของตั วเอง ให เข าใจว า เราเห็นรูปดวยตา แลวมันก็มีผลเกิดขึ้น อยางนอยก็เปน ๓ ชนิดดวยกันคือ : ๑. เห็ น รู ป แล ว ก็ เ ลิ ก กั น ไป แม จ ะรู ว า รู ป อะไร หรื อ กระทั่ ง รู ว า สวย ไม ส วยด ว ยซ้ํ า แล ว ก็ เลิ ก กั น ไป; ความคิ ด ไม ไ ด ไ ปมากกว า นั้ น . เช น ว า ทุ ก คนนั่ ง อยู ที่ นี่ เวลานี้ ก็ ยั งลื มตา แล วตาก็ ยั งดี อยู ยั งไม บอด ยั งมองเห็ นรู ปภาพทั้ งหลาย เห็ น ตน ไม ฯลฯ; ภาพที ่เ ห็น อยู ด ว ยตานี ้ ก็เ ห็น ทํ า ไมจะไมเ ห็น . แตใ นกรณีอ ยา งนี้ พอเห็ น พอรู ว า มั น เป น อะไร หรื อ ว า ภาพอะไร แล ว ก็ เลิ ก กั น ไป; การเห็ น หยุ ด เสี ย เพียงเทานั้นก็ไมเกิดเปนนรก หรือเปนสวรรคขึ้นมา.
www.buddhadasa.info ๒. ในกรณี ที่ เห็ น รู ป คราวอื่ น หรื อ มั น มี อ ะไรผิ ด ธรรมดาไป : เราไปมี การปรุ งแต งในทางจิ ต ใจที่ เป น กิ เลส จนเกิ ดตั ณ หา อุ ป าทาน อะไรอย างนี้ ก็ เป น ทุ ก ข ห รื อ เป น นรกไป; เรี ย กว า เป น ทุ ก ข ห รื อ ตกนรกเพราะการเห็ น รู ป นั้ น ทํ า ให เกิ ด เปนทุกข ที่เรียกวาตกนรกก็ได. ๓. บางที ไ ด เห็ น รู ป นั้ น แต ค วามคิ ด เดิ น ไปอี ก ทางหนึ่ ง ได ค วามเข า ใจ ได ค วามฉลาด ไม เกิ ด กิ เลส แต เกิ ด ความรู สึ ก ที่ เป น บุ ญ เป น กุ ศ ล การที่ เห็ น รูป นั้ น ก็ทําใหไดความไมมีทุกข หรือไดความรู ไดความฉลาด ไดบุญ ไดกุศล ไดความสุข
ความเนื่องกันระหวางกลุมธาตุ
๑๑๓
สรุปสั้น ๆ ก็วา ในการเห็นรูปดวยตานี้ บางทีก็ใหก็มีความสุข บางทีก็ให ความทุ กข และบางทีก็ไมไปถึงนั้ น เลิกกันเสียครึ่งทาง; แตถึงอยางนั้นก็ตองเรียกวา ในกรณี ที่ ตานั้ นเห็ นรูปเหมื อนกัน. จะยกตั วอย างกรณี ตาเห็ นรูปนี้ ให เขาใจชัดยิ่ งขึ้ น วามาเปนธาตุ ลวนแตธาตุทั้งนั้น ไมมีอะไร.
ดูตัวอยางในกรณี ที่ตาเห็นรูป ; ธาตุตางผสมกันมากมาย วันก อน ๆ ได กล าวแล ววา ส วนที่ เป นรางกายของคนเรานี้ เป นเนื้ อเป นหนั ง เปนรางกาย ในตัวคนนี้ ก็ประกอบอยูดวยธาตุตางๆ ฝายวัตถุ คือธาตุดิน ธาตุน้ํา ธาตุ ไฟ ธาตุ ลม, และธาตุ อากาส คื อความวาง สํ าหรับให ธาตุ ต างๆ ตั้ งอยู ได ; เพราะ ถ า ไม มี ที่ ว า ง ก็ ไ ม มี อ ะไรตั้ ง อยู ได ; ก็ แ ปลว า ร า งกายซึ่ ง รวมก อ นลู ก ตานี้ อ ยู ด ว ย ก็ เป น รู ป ธาตุ , แม ใยเส นประสาท ทํ าความรูสึ กทางตา นั้ นก็ จั ดไวเป นพวกรูป ธาตุ เป น รู ป ธรรม. เราจึ งได รู ป ธาตุ เป น ๒ ฝ า ย รู ป ธาตุ หรื อ รู ป ธรรม นี่ เป น ๒ ฝ า ย : ฝายหนึ่ งอยูขางในตัวเรา คือลูกตา กอนลูกตา รวมทั้งเสนประสาท, อี กฝายหนึ่ ง คืออะไรก็ตามซึ่งอยูขางนอก ที่ตามันจะเห็นนั้น ก็คือรูปธรรมขางนอก.
www.buddhadasa.info บัด นี้เกิด เป นรูป ธรรมขางใน คื อดวงตา, รูป ธรรมข างนอก คื อ รูป ที่ มองเห็ น ; และก็ ห ลี ก ไม พ น ที่ ว า ทั้ ง รู ป ธรรมข า งใน และรู ป ธรรมข า งนอกนี้ มั น ก็ ประกอบอยู ด วยธาตุ ดิ น น้ํ า ลม ไฟ และอากาสธาตุ เป นต น. เดี๋ ยวนี้ มั นสํ าเร็จมา เป นจักขุธาตุ -คื อธาตุ สําหรับจะทํ าความรูสึ กทางตา หรือจักษุ ประสาท อันนี้ เป นต น; คื อ รูปธาตุ ที่ จะสํ าเร็จการเห็ นทางตา และรูปธาตุ ข างนอก ที่ จะทํ าให การเห็ นทางตา สํ า เร็ จ ได คื อ จะถู ก เห็ น : ตามั น จะเป น สิ่ ง ที่ เห็ น , รู ป ข า งนอกก็ จ ะเป น สิ่ ง ที่ จ ะถู ก ตาเห็น, เรียกวาเปนธาตุทั้ง ๒ ฝาย. เป น รู ป ธาตุ ด ว ยกั น ทั้ ง ๒ ฝ า ย ต า งแต อั น หนึ่ ง อยู ข า งใจ อั น หนึ่ ง อยู ขางนอก; โดยเหตุที่อันหนึ่งทําหนาที่อยูขางใน เราจึงเรียกวา อายตนะภายในคือตา
๑๑๔
ปรมัตถสภาวธรรม
สวนอีกอันหนึ่งทําหนาที่อยูขางนอก เราก็เรียกวาอายตนะภายนอก คือรูป, ทั้งสอง อายตนะนี้ก็คือธาตุ อันหนึ่งเรียกวาจักขุธาตุ อีกอันหนึ่งเรียกวารูปธาตุ. ที นี้ เมื่ อ เราลื ม ตามองเห็ น อะไร เราก็ ไม มี ค วามรู สึ ก ว าธาตุ เรารูสึ ก ว า มองเห็ น นั่ น นี่ เป น รู ป ร างอย างนั้ น อย างนี้ ไปเสี ย เลย. เดี่ ย วนี้ ต อ งการให รู ว ายั งไม มี อะไร มี แต ว าตา จั กขุ ธาตุ คื อธาตุ ทํ าให เห็ นทางตา และก็ รู ปข างนอกเป นรู ปธาตุ คื อ เป น ธาตุ สํ าหรับ ที่ ต าจะได เห็ น ; พอ ๒ ธาตุ นี้ เกิ ด ถึ งกั น เข า ที่ เรีย กว ากระทบ หรื อ อาศัยกัน ก็เกิดจักขุ วิญญาณธาตุ -คือวิญญาณธาตุทางตา. อั นนี้ กลายเป นนามธรรม เป น เรื่ อ งของจิ ต ที่ อ าศั ย รู ป ธรรมเกิ ด ขึ้ น : อาศั ย ตากั บ รู ป แล ว ก็ เกิ ด วิ ญ ญาณธาตุ ที่ เป นเรื่ องทางจิ ตขึ้ นมา. แต โดยเหตุ ที่ มั นอาศั ย ตา จึ งเลยให ชื่ อมั นว า วิ ญ ญาณธาตุ ทางตา นี้เรียกวาธาตุที่ ๓ ซึ่งเปนเรื่องสําคัญ เกิดขึ้นแลว คือวิญญาณธาตุ. ที่ใชคําวา “เกิด” นี้ หมายความวา กอนนี้มันแสดงตัวออกมาไมได จนกวาจะไดมี ตากับรูป มาเนื่องกันกอน วิญญาณธาตุนี้จึงจะแสดงออกมาได.
www.buddhadasa.info ตากับรูปกับวิญญาณธาตุ ทําใหเกิดผัสสะ
ที นี้ ต ากั บ รู ป และวิ ญ ญาณธาตุ ได ๓ ธาตุ แล ว จั ก ขุ ธ าตุ รู ป ธาตุ วิญญาณธาตุ รวม ๓อยางนี้ เกิดมาพรอมกัน มาถึงพรอมกัน มาประจวบกันเขา ก็เ กิด ธาตุอ ัน ใหม ที ่เ รีย กวา ผัส สะ; ผัส สะที ่แ ปลวา การกระทบ; บางทีก ็เ รีย ก เต็ ม ๆ ว า สั ม ผั ส . ถ า เป น การกระทบที่ ส มบู ร ณ แล ว ก็ เรี ย กว า สั ม ผั ส . เรื่ อ งสั ม ผั ส นี้ ก็ เป น ธาตุ สิ่ ง ที่ ม าสั ม ผั ส นี้ ก็ เป น ธาตุ ; ทั่ ว ๆ ไปเขาอธิ บ ายว า เป น สั ง ขารธาตุ : คื อ การกระทบ การปรุ ง การทํ าให เป น ขึ้ น เรี ย กว าสั งขารธาตุ อย างนี้ ก็ มี . แต ถ า เราดู จากบาลี โดยตรง ก็ มี อยู หลายแห งเหมื อนกั นที่ แสดงวา ผั สสะไม ใช สั งขารธาตุ แตเปนเวทนาธาตุ, หรือเปนสวนหนึ่งของเวทนาธาตุ.
ความเนื่องกันระหวางกลุมธาตุ
๑๑๕
ผัสสะปรุงเปนสังขารธาตุก็ได เปนเวทนาธาตุก็ได ผั สสะนี้ น าจะถู กแบ งออกเป น ๒ ซี ก ซี กที่ ยั งเนื่ องอยู กั บวิ ญญาณธาตุ นั่ นก็ เป น สั ง ขารธาตุ ไ ปได คื อ การพบกั น กระทบกั น แล ว ปรุ ง เป น อะไรขึ้ น มา; ส ว นอี ก ซี ก หนึ่ ง มั น เนื่ อ งอยู กั บ เวทนาธาตุ เพราะฉะนั้ น ผั ส สะนี้ จะต อ งเรี ย กส วนนี้ ว าเป น เวทนาธาตุ. ธรรมะชื่ อ เดี ยวข อเดี ย ว จะต อ งผ าตรงกลาง เอาซี กหนึ่ งไว ฝ ายโน น เอา ซี ก หนึ่ ง ไว ฝ า ยนี้ ก็ มี อ ยู เหมื อ นกั น ไม ใ ช เฉพาะเรื่ อ งนี้ เรื่ อ งเดี ย ว. ยกตั ว อย า งเช น เรื่ อ งอุ ป าทาน ให เกิ ด ภพ, ภพให เกิ ด ชาติ . ภพนั้ น ซี ก แรกอยู ฝ า ยอุ ป าทาน มั น ก็ เป น กรรมไป, อี ก ซี ก หนึ่ ง อยู ฝ า ยชาติ ก็ ก ลายเป น วิ บ ากไป; ภพนั้ น เป น ได ทั้ ง กรรมและวิบาก. สิ่ งที่ เรี ยกว าผั สสะ คื อการกระทบระหว างตากั บรู ป และจั กขุ วิ ญ ญาณนี้ ก็ เหมื อ นกั น มี ลั ก ษณะที่ จ ะถู ก แบ ง ครึ่ง แรกนี้ ไว เป น สั ง ขาร, การมาพรอ มกั น เข า ปรุงอั นนี้ ขึ้นเรียกวาสั งขาร หรือสั งขารขันธ หรือสั งขารธาตุ ที นี้ ส วนที่ มั นมี ความรูสึ กได นี้ เพื่ อ มาอยู ฝ ายข างล าง เป น เวทนาธาตุ สงเคราะห ไว ในเวทนา; เพราะว าเวทนานั้ น ก็ ยั งมี พระบาลี ตรัสว า อุ ปฺ ปนฺ นา มนาปา อมนาปา ผสฺ สา -ผั สสะทั้ งหลายที่ เป นที่ ชอบใจ และไมเปนที่ชอบใจ อันบังเกิดขึ้นแลว.
www.buddhadasa.info ฟ งดู ให ดี ผัสสะ ซึ่งมี ลั กษณะ เป นที่ ชอบใจ คือ มนาปา, อมนาปา คื อไม ชอบใจ; อยางนี้มันเปนลักษณะของเวทนาเกิดขึ้นแลว มันก็จะครอบงําจิตตั้งอยู. พระพุ ทธเจ าตรั ส สอนพระราหุ ลว า : ถ าเราทํ าจิ ต เจริ ญ จิ ต นี้ ให เหมื อ น กับแผนดิน ใหมันเฉยเหมือนกับแผนดิน แลวผัสสะทั้งหลายที่เกิดขึ้นเปนมนาปะ
๑๑๖
ปรมัตถสภาวธรรม
หรื อ อมนาปะ ก็ ดี จะไม ค รอบงํ า จิ ต ของเธอแล ว ตั้ ง อยู . ลั ก ษณะอย า งนี้ แ สดงว า เป น เวทนาชั ด ๆ เลย. หรื อ แม แ ต คํ าของพระสารี บุ ต ร ที่ ว า อ างคํ าของพระพุ ท ธเจ า ไปกล าวอี กที หนึ่ ง ก็ ยั งมี คํ าที่ กล าววา ผสฺ โส สาสโว อุ ปาทานิ โย -ผั ส สะนั้ น เป น ไปดวยอาสวะ และเปนที่ตั้งแหงอุปาทาน ถาเปนที่ตั้งแหงอุปาทาน ตองเปนเวทนา จะเปนสังขารไมได อยางนี้เปนตน. เรารูกันเสียวา ผัสสะนี้ ซีกหนึ่งจะเปนสังขารธาตุ อีกซีกหนึ่งจะเปน เวทนาธาตุ ; แม ไม มี คํ าที่ ระบุ ไว ชั ด เราจะต องศึ กษาเอาเอง; เพราะว าคํ าที่ ระบุ ไว ชั ด แสดงไว แต ลั ก ษณะของผั ส สะว า : เป น มนาปะ และอมนาปะ คื อ เป น ที่ พ อใจ และ ไม เ ป น ที่ พ อใจได , หรื อ เป น ที่ ตั้ ง แห ง อุ ป าทานได ; นี่ เ ป น ลั ก ษณะของความเป น เวทนา. ตากับ รูป กับ จัก ขุว ิญ ญาณ พบกัน แลว เกิด ผัส สะขึ ้น มา; ผัส สะนี้ เปนสังขารธาตุในระยะแรก และเปนเวทนาธาตุในระยะหลัง; ฉะนั้น ผัสสะก็สัก วาธาตุอยูนั่นแหละ.
ระหวาง มีผัสสะ เปนโอกาสที่วิชชา หรืออวิชชาธาตุผสมก็ได
www.buddhadasa.info ในระหว างที่ มี ผั ส สะนั้ น มั น จะต างกั น ไปอี ก ว า ในขณะแห ง ผั ส สะนั้ น ถาเป นโอกาสแห งอวิชชาธาตุ เข ามาผสมได หรือวา ให เกิดอวิชชาธาตุขึ้นมาได ผัสสะ นั้ น ก็ เป น ผั ส สะของอวิ ช ชา คื อ ผั ส สะโดยอวิ ช ชาธาตุ เรี ย กว า อวิ ช ชาสั ม ผั ส ; แต ถ า เผอิ ญ ในขณะนั้ น มี ส ติ สั ม ปชั ญ ญะดี อวิ ช ชาไม เกิ ด คงเป น ความรู สึ ก ตั ว มี ส ติ สัมปชัญญะอยู ก็เรียกวามีวิชชาธาตุ ประกอบอยูในสัมผัสนั้น. ดังนั้น การสัมผัสจึง แยกออกเปน ๒ ชนิด วาสัมผัสดวยอวิชชาก็ได สัมผัสดวยวิชชาก็ได. ในกรณี ที่ จะเป นเรื่องกิ เลส เป นเรื่องความทุ กขแล ว ก็หมายถึงอวิชชาธาตุ เขามาประกอบกับผัสสะ ก็เลยเปนการสัมผัสดวยอํานาจของอวิชชาไปเลย. ทีนี้ก็เกิด
ความเนื่องกันระหวางกลุมธาตุ
๑๑๗
เวทนา เป น รู ป ขึ้ น มา เป นเวทนาธาตุ ที่ มาจากการสั ม ผั สด วยอวิชชา; แล วเวทนา นั้ นก็ ถู กปรุ งขึ้ นด วยอํ านาจของอวิ ชชาอยู ส วนหนึ่ ง เวทนานี้ ก็ เรี ยกว า เวทนาธาตุ . เรา รูสึกเปนสุข เปนทุกข เปนไมสุข ไมทุกขก็ตาม นี้เรียกวาเวทนา ก็ยังสักแตวาเปนธาตุ.
ธาตุใดก็ตามมีอยูแตยังไมแสดงตัว คนที่ ไม เคยได ฟ งมาแต ก อน จะไม เข าใจหรื อไม ยอมรับถื อว าเวทนาเป นสั กว า ธาตุ ก็ เลยเห็ นเวทนาเป นอะไรก็ ไม รู เห็ นเป นดี ที่ สุ ด เป นตั วเราเป นของเราไปเสี ยเลย. แตพระพุทธเจาทานตรัสวา เวทนาเปนธาตุอันหนึ่งเหมือนกับเปนธาตุทั้งหลายที่มีอยู ในโลกนี้; แตยังไมแ สดงตัว ออกมา จนกวาจะมีการสัม ผัส ระหวางสิ่งทั้ง ๓ เช น ในตั วอย างนี้ คื อตา และรูป และจั กขุ วิ ญญาณ-วิญญาณทางตา มี ผั สสะอย างนี้ แล ว ก็ เวทนาจะออกมา. นี้ จะเรี ยกว าเกิ ดขึ้ นก็ ได และโดยที่ แท แล วต องใช ว าปรากฏออกมา กอนนี้มันไมปรากฏออกมา. จะยกตัวอยางเหมือนวาเอาเหล็กมาตีลงไปที่หินเหล็กไฟ ก็เกิดประกายไฟ ออกมา; เราจะพู ด ว า ประกายไฟนั้ น เพิ่ ง เกิ ด หรื อ ว า ประกายไฟนั้ น มี อ ยู เป น ธาตุ ชนิ ดหนึ่ ง อยู ตามธรรมชาติ ในโลกนี้ แต มั นยั งไม ปรากฏออกมา จนกว าจะมี การกระทํ า ชนิ ดที่ ให มั น ปรากฏออกมา; ซึ่ งในกรณี นี้ ได แก การที่ เอาแท งเหล็ ก ไปฟาดเข าที่ หิ น ประกายไฟจึงปรากฏออกมา.
www.buddhadasa.info ประกายไฟจะเรี ยกว า เป นธาตุ ไฟก็ ได หรื อจะเรี ยกว า ธาตุ ความร อนก็ ได อุ ณ หภู มิ ความรอนก็ ได นี้ มี อยู ; แต ยั งไม แสดงตั วออกมา หรือมั นจะแสดงออกมามาก หรือน อยก็ ตาม ก็ต อเมื่ อมี เหตุ ป จจัย ที่ จะทํ าให ธาตุ ไฟสามารถแสดงตั วออกมาได . ถ าเรา เล็ งอย า งนี้ ก็ จ ะเห็ น ว า มี ธ าตุ ช นิ ด หนึ่ ง อยู ต ลอดเวลาในโลกนี้ ยั งไม แ สดงตั ว จนกวาจะไดเหตุปจจัยหรือโอกาสที่จะแสดงตัวออกมา; นี่คือความหมายที่คอน ขางจะเรนลับ หรือคําอธิบายที่วา ทําไมพระพุทธเจาทานจึงตรัสสิ่งเหลานี้เปน ธาตุไปหมด.
๑๑๘
ปรมัตถสภาวธรรม
แมแตที่เรารูสึกพอใจ ไมพอใจ เปนสุขเปนทุกข นี้ก็เปนธาตุอยางหนึ่ง แต เป น ธาตุ ท างจิ ตใจ ธาตุ ฝ ายจิ ตใจ ธาตุ ฝ ายนามธรรม. เกิ ดเวทนาซึ่ งเป นธาตุ ชนิ ด หนึ่ ง ขึ้ น มา ก็ พู ด ได เพราะพู ด อย า งมองข า งนอก มั น เพิ่ ง เกิ ด เดี๋ ย วนี้ . เวทนาธาตุ ปรากฏออกมาพู ดอย างนี้ ก็ ได ; เพราะว ามั นอาศั ยเหตุ ป จจั ยอั นหนึ่ งเป ดโอกาสให มั นปรากฏ ออกมา; ก็เอาเปนวาเวทนาธาตุ ไดเกิดขึ้นแลว ปรากฏแลว แสดงตัวออกมาแลว.
เวทนาเกิดแลว ปรุงใหเกิดสัญญาธาตุ ที นี้ ในความรู สึ กของจิ ตต อไป ก็ จะเกิ ดสั ญ ญาธาตุ คื อความรู สึ กสํ าคั ญ มั่ นหมาย อย างใดอย างหนึ่ งในเวทนานั้ น เช นเรารู สึ กเวทนาว าเป นสุ ข ก็ สํ าคั ญมั่ นหมาย ว า เป น สุ ข . อย า งนี้ เขาเรี ย กว า สุ ข สั ญ ญา เห็ น รู ป สวย เห็ น รู ป คนที่ เรารั ก เราพอใจ ก็ ส บายตา มี สุ ข เวทนา แล ว เกิ ด ความสํ า คั ญ มั่ น หมายว า ของเรา ว า คนรั ก ของเรา. ถ าเห็ นคนเกลี ยด ก็ มี สั ญ ญาว าเกลี ยด ไม ชอบคนที่ เป นข าศึ กศั ตรู ของเรา; ความสํ าคั ญ มั่ น หมายที่ เกี่ ยวกั บ ตั วเรา ก็ เกิ ด สั ญ ญาขึ้ น ว าความสุ ขความสบาย ความเอร็ ด อร อ ย สนุ ก สนานของเรา หรื อ ความเจ็ บ ปวดรวดร าว ความไม พ อใจของเรา. หรื อ ถ าสั ญ ญา มาในรู ป ของบุ ค คล ก็ ก ลายเป น บุ ค คล ที่ เรารั ก หรื อ เราไม รั ก อย างนี้ เป น ต น ; สํ าคั ญ ว าเขาเป น ศั ต รู สํ าคั ญ ว าเขาเป น คู รั ก อย างนี้ ก็ เรี ยกว า สั ญ ญาทั้ งนั้ น . ความสํ าคั ญ มั่ น หมายลงไปอย างนี้ นี่ ก็ เรียกว าธาตุ ซึ่ งมี อยู แล วในโลกนี้ ซึ่ งมี อยู แล วในที่ ทั่ วไป เหมื อนกั บธาตุ ทั้ งหลาย แต ยั งไม ปรากฏออกมาเป นธาตุ จนกว าจะได โอกาสเช นมี เวทนามา ใหสําหรับเปนที่สําคัญมั่นหมาย
www.buddhadasa.info เมื่ อ ใดเราสํ าคั ญ ว า นี่ ข องเรา นี่ เราชอบ นี่ เป น สุ ข แม แ ต นี้ เป น ได กํ าไร นี้เปนขาดทุนอะไรก็ตาม นี้เรียกวาสัญญาทั้งนั้น, ธาตุสัญญาปรากฏออกมาอยางนี้.
สัญญาธาตุ ปรากฏแลวเกิดสังขารธาตุ เมื่อธาตุสัญญาปรากฏแลว อยางนี้แลว ก็จะมีธาตุที่ถัดไป คือสังขารธาตุ; สังขารธาตุนี้คือความคิดที่ปรุงแตงออกมาจากสัญญานั้น เชน สัญญาวา สวย สัญญาวาดี
ความเนื่องกันระหวางกลุมธาตุ
๑๑๙
สั ญญาว าน ารั ก สั ญญาว าคนที่ เรารั ก ฯลฯ สั งขารก็ จะเกิ ดขึ้ น เกิ ดเป นความคิ ดที่ ปรุ งแต งว า เราจะทํ า อย า งไร หรื อ เราจะต อ งการอย า งไร เราจะต อ งทํ า อย า งไร. ส ว นที่ เรี ย กว า ความคิดที่ประกอบกันขึ้นมาเต็มรูป ตามความหมายของคําวาสังขาร พระพุทธเจา ท านก็ ตรั สให เป นธาตุ . แม แต สั งขาร-ความคิ ดว าอย างนี้ ๆ ก็ ยั งเป นธาตุ เรียกว าสั งขาร ธาตุ , ในขณะแห งสั งขารธาตุ นี้ จะซอยให ละเอี ยดออกไปได เรี ยกว าสั ญ เจตนา, ที แรก เมื่ อ มี สั ญ ญาว าเป น อะไรแล ว ก็ จ ะเกิ ด เจตนาที่ จ ะทํ าอะไรกั บ สิ่ งนั้ น ;เจตนานี้ ก็ เรี ย กว า สั ง ขารธาตุ . เมื่ อ เจตนาแล ว ก็ มี ตั ณ หา ที่ อ ยากจะทํ าลงไปอย างนั้ น ต อ งการอย างนั้ น อย างที่ ท นอยู ไม ได แม ตั ณ หานี้ ก็ เป น สั งขารธาตุ ; แล วก็ มี สิ่ งที่ เรี ย กว า วิ ต ก-ตริ ต รึ ก , วิจาร -ใครครวญโดยละเอียด อันนี้ก็เปนสังขารธาตุ.
สวรรคหรือนรกเกิดได เพราะมีอวิชชาธาตุในขณะที่มีสังขารธาตุ ในขณะที่ สั งขารธาตุ หรื อสั งขารขั นธ ป รากฏขึ้ นนี้ เราจะมองดู มั นในรู ปของ สั ญ เจตนาก็ ไ ด ตั ณ หาก็ ไ ด วิ ต กก็ ไ ด วิ จ ารก็ ไ ด ก็ ร วมเรี ย กว า สั ง ขารหมด; และ ตอนนี้เองที่จะไดนรกหรือสวรรคกัน แลวแตวาสังขานนั้น จะถูกปรุงไปในลักษณะ อย า งไร. จะได น รกหรื อ สวรรค ต อ งนึ ก ถึ ง ธาตุ ๒ ธาตุ ที แ รก คื อ อวิ ช ชาธาตุ กั บ วิ ช ชาธาตุ ที่ จ ะเข ามาปรุ งในขณะของการสั ม ผั ส . ถ าอวิ ช ชาธาตุ เข า มาปรุ งแล ว ก็ เป น ไปในทางกิ เลสในทางผิ ด ที่ ต อ งเป น ไปในทางอกุ ศ ล, ถ า วิ ช ชาธาตุ เข า มาแทน ก็ ป รุ ง ไปในทางถูกหรือที่เรียกวา กุศล.
www.buddhadasa.info สังขารธาตุผสมวิชชาหรืออวิชชาจะเกิดกุศล อกุศลธาตุตาง ๆ ในขณะแห งสั งขารธาตุ ปรากฏออกมาผสมวิ ชชาหรื ออวิ ชชานั้ น ก็ เลยถู ก จําแนกออกไปเปนกุศลธาตุ หรืออกุศลธาตุ อีกทีหนึ่ง.
๑๒๐
ปรมัตถสภาวธรรม
เราเคยได ยิ นกั นแต คํ าว ากุ ศลหรืออกุ ศลเฉย ๆ ไม ใช คํ าวาธาตุ ; เพราะวาเรา ไม พู ด กั น เป น ภาษาปรมั ต ถ หรื อ ภาษาอภิ ธรรม, เราพู ด ภาษาธรรมดา ก็ พู ด ว ากุ ศ ล อกุ ศลเฉย ๆ ก็ ได คื อดี หรื อชั่ วเท านั้ น. แต ถ าพู ดให เป นปรมั ตถธรรม ที่ ลึ กซึ้ งถึ งที่ สุ ด ก็ กลายเป น ว า ไม ใช อะไร ที่ มากไปกว ากุ ศ ลธาตุ และอกุ ศ ลธาตุ . เมื่ อ อวิ ชชาเข าไป ปนอยู แล ว ในขณะแห งการสั ม ผั ส ; พอมาถึ งตอนสั งขารนี้ มั น ก็ กลายเป น อกุ ศ ลธาตุ ปรากฏออกมา. ที นี้ อกุ ศ ลธาตุ นี้ ก็ แ จกออกไปได เป น กามธาตุ พยาปาทธาตุ วิหิงสาธาตุ: ๑. ออกมาเป นกามธาตุ คื อ ธาตุ ที่ ทํ าให เกิ ดความรูสึ กเป นกามหรือความ ใคร ไปตามความหมายของกาม โดยเฉพาะอย างยิ่ ง ก็ เป นเรี่ องระหว างเพศ; ความรู สึ ก อั นนี้ เรี ยกว ากามธาตุ ซึ่ งมี อยู แล วเป นปกติ ธรรมดา เหมื อนกั บธาตุ ทั้ งหลายอื่ น, เดี๋ ยวนี้ เพิ่งปรากฏออกมา เพราะไดโอกาสไดเหตุไดปจจัย กามธาตุก็แสดงออกมา.
www.buddhadasa.info ความคิ ด ครั้ ง หนึ่ ง เป น เรื่ อ งของกามธาตุ ก็ ได หรือ จะเป น เรื่อ งของ พยาบาท คื อ เกลี ย ดชั ง ก็ ไ ด , หรื อ เป น เรื่ อ งของวิ หิ ง สา คื อ เบี ย ดเบี ย นก็ ไ ด . ถ า สมมติ ว าเป นเรื่องที่ ทํ าให เกิ ดความใคร ในทางกามก็ ว า กามธาตุ ปราฏกออกมา แสดง ตั วออกมา; แล วมั นก็ ทํ าให มี ความสํ าคั ญมั่ นหมายในสิ่ งที่ ตั วรักตั วใคร อย างนี้ ก็ เรียกว า กามสัญ ญาอีก ทีห นึ ่ง . เปน เรื ่อ งสัญ ญาขึ ้น มา อีก ทีห นึ ่ง มั ่น หมายเปน กาม เปนกามของเราอะไรขึ้นมา กามธาตุก็ใหเกิด กามสัญญา.
กามสั ญ ญา คื อ สํ าคั ญ มั่ น หมาย ในกามนี้ ก็ ให เกิ ด กามสั งกั ป ปะ หรื อ ตริ ต รึ ก ไปแต ใ นเรื่ อ งกามของเรานั้ น กามสั ง กั ป ปะก็ ทํ า ให เ กิ ด กามฉั น ทะ-พอใจ หลงใหลในกามนั้น กามฉันทะก็ทําใหเกิด กามปริเยสนา -แสวงหาซึ่งกามนั้น
ความเนื่องกันระหวางกลุมธาตุ
๑๒๑
แม ด ว ยลํ า พั ง จิ ต ใจล ว น ๆ หรื อ จะออกมา ทางกาย ทางวาจา ด ว ยก็ ได ; ในที่ สุ ด ก็เกิด กามปริฬ าหะ -คื อ ความเรารอ น เหมื อ นกั บ ถู ก เผาไฟ เพราะอํ านาจแห ง กามนั้น. นี่ คิ ด ดู ว า กามธาตุ เป น สั ง ขารธาตุ ช นิ ด หนึ่ ง แต อ ยู ใ นรู ป ที่ ทํ า ให เกิ ด ความรัก ความต องการ ซึ่ งเป นอกุ ศลธาตุ ; หมายความว า ธาตุ ฝ ายผิ ด ฝ ายบาป ฝ าย ที่ จ ะทํ าให เกิ ด ทุ ก ข . กามธาตุ -ให เกิ ด กามสั ญ ญา-เกิ ด กามสั งกั ป ปะ-เกิ ด กามฉั ท ะเกิ ด กามปริ เยสนา-เกิ ด กามปริ ฬ าหะ; ดั งที่ ได ก ล าวไปแล ว . นี่ คื อ นรก ที่ นี่ ใช ห รื อ ไมใช? ใชคําวา ปริฬาหะ นี่หมายความวา รอนจนไมมีคําอะไรจะพูด จะวัดได คื อวา รอนถึ งที่ สุ ด ถ าจะถื อวา อย างนี้ เป นสวรรค นั้ นก็ ได สํ าหรับผู ที่ เขาไม มองกั น ไปในแงร อ น เขามองไปในแงข องกิเ ลส เพราะวา เปน ทาสกามเสีย แลว ก็ไ ด; มั นแล วแต ความรู สึ กของคนนั้ นจะเป นอั นธพาล สั กกี่ มากน อย, หรื อว า จะเป นบั ณฑิ ต สั กกี่ มากน อย. นี้ เรียกว า อกุ ศลธาตุ อย างที่ หนึ่ งแสดงตั วออกมา เป นกามธาตุ และก็ มี ความเปนไปอยางนั้น.
www.buddhadasa.info ๒. ออกมาเป น พยาปาทธาตุ หรื อ มั น ตรงกั น ข า มกั บ กาม; โกรธ ไมชอบนึกตรงกันขามกับกาม เขาเรียกวา พยาปาทธาตุ นี้ไมรักไมพอใจ มุงแตจะ ทํ าลาย มุ งแต ที่ จ ะผลั ก ออกไป. ถ าเป น เรื่อ งของกามธาตุ ก็ จ ะดึ งเข า มาหา, ถ า เป นเรื่องของพยาปาทธาตุ ก็ จะผลั กออกไป คื อมั นไม ชอบ; มั นก็ มี สั ญ ญา อย างเดี ยว กั นอี กนั่ นแหละ. เมื่ อมี พยาปาทธาตุ แล ว ก็ มี สั ญญาด วยพยาบาทนั้ น : เป นศั ตรู ของกู เปนอะไรของกู; ในที่สุดก็อยากจะทําลายมันเสีย ก็มีความเรารอนเพราะขอนี้อีก.
๑๒๒
ปรมัตถสภาวธรรม
๓. ถ า ว า ออกมาเป น วิ หิ งสาธาตุ . นี้ อ าศั ย โมหะ อาศั ย ความโง ก็ คิ ด ทํ าการเบี ยดเบี ยนผู อื่ นไปโดยไม ได เจตนา; ถ าพยาปาทธาตุ นี้ เบี ยดเบี ยนด วยเจตนา ด วยความรู สึ กสํ านึ ก; ถ าเป นเรื่องของกาม ก็ ไม เบี ยดเบี ยนใคร จะเอาเข ามา ดึ งเข ามา เปนของเรา. ทีนี้ ทั้งกามธาตุก็ดี พยาปาทธาตุก็ดี วิหิงสาธาตุก็ดี เปนอกุศลทั้งนั้น เมื่อสําเร็จตามหนาที่ของมันแลว ก็ทําใหเกิด นรก เปรต เดรัจฉาน อสุรกาย อยางใด อยางหนึ่ง ที่เรียกวา อบาย.อบายที่นี่ และเดี๋ยวนี้. ในกรณี นี้ ที่ ยกมาเป นตั วอย าง โดยอาศั ยตากั บรู ป, ในกรณี อื่ น เวลาอื่ น อาจอาศั ยหู กั บเสี ยง, ในเวลาอื่ น ก็ อาจจะอาศั ย กลิ่ น กั บ จมู ก, อาศั ยลิ้ นกั บรส, อาศั ย ผิ วกายกั บ สิ่ งที่ ม ากระทบผิ วกาย. ยกตั วอย างแต เพี ยง ทางตา ให ฟ ง นอกจากนั้ น ก็ ศึ กษาเอาเอง : ดั งเช น ทางหู ทางจมู ก ทางลิ้ น ทางกาย : หู ได ยิน เสี ยงที่ น ารัก ก็ เกิ ดความปรุ งแต ง ทํ านองเดี ยวกั นกั บกามธาตุ ; หู ได ยิ น เสี ยง ที่ ไม ชอบ น าเกลี ยด เป น ศั ต รู เป น การที่ เราเกลี ย ด มั น ก็ ป รุ ง แต ง เป น พยาปาทธาตุ . จมู ก ก็ เหมื อ นกั น ลิ้ น ก็ เ หมื อ นกั น , ผิ ว หนั ง ก็ เ หมื อ นกั น ; ไม มี เ วลาพอที่ จ ะแจก และแจกก็ ไ ม มี ประโยชนอะไรมันรําคาญเปลา ๆ.
www.buddhadasa.info รวมใจความแตเพียงวา ถาในขณะนั้น การสัมผัสมีมูลมาจากอวิชชาแลว ก็ตองปรุงเปนสังขาร ชนิดที่เปนกุศลธาตุ เกิดกามธาตุ พยาปาทธาตุ วิหิงสาธาตุ; แลวก็เบียดเบียนตนเอง เบียดเบียนผูอื่น นี่เปนนรกที่นี่และเดี๋ยวนี้.
ที นี้ สมมติ ว ามั นตรงกั นข าม คื อสั มผั สนั้ นได อาศั ยสติ สั มปชั ญญะบ างตาม สมควร หมายความวา มี วิชชาอยู แทนอวิชชา ตอนที่ ปรุงมาจนถึงเวทนา ถึ งสั ญญา ถึงสังขาร นี้ก็เปนโอกาสที่ กุศลธาตุ จะเกิดขึ้น. กุศลธาตุก็ไมมีอะไร นอกจากตรง กันขามกับ ๓ อยาง ที่วามาแลว ;
ความเนื่องกันระหวางกลุมธาตุ
๑๒๓
คู ที่ ๑ ถ าเป น อกุ ศล ก็ เกิ ด กามธาตุ , ถ าเป น กุ ศล ก็ เกิ ด เนกขั มมธาตุ คือหลีกออกมาเสียจากกาม ไมโง ไมหลง ในเรื่องกาม. คู ที ่ ๒ ถา เปน อกุศ ล ก็อ อกมาเปน พยาปาทธาตุ, แตถ า เปน กุศ ล ก็ออกมาเปน อพยาบาท คือไมพยาบท แตรักใคร พอใจยินดีดวย. คู ที่ ๓ ถ า เป น อกุ ศ ล ก็ อ อกมาในรู ป ของ วิ หิ ง สาธาตุ -ธาตุ แ ห ง ความ เบี ย ดเบี ย น, ถ าเป น กุ ศ ล ก็ อ อกมาในรู ป ของอวิ หิ งสาธาตุ ระมั ด ระวั งที่ จ ะไม ก ระทบ กระทั่ง ที่จะทําใครใหเดือดรอนแมโดยไมเจตนา. เนกขัมมธาตุ ก็ดี อพยาปาทธาตุ ก็ดี อวิหิ งสาธาตุ ก็ดี นี้ทานเรียกวาเป น กุ ศ ลธาตุ . เมื่ อกระทํ าไปแล วมั นก็ ต องให เกิ ดสวรรค ; สิ่ งที่ เรี ยกว าสวรรค คื อความสุ ข ความพอใจ จะเป นสวรรค อย างกามาวจรก็ ได อย างรู ปาวจร ก็ คื อพวกพรหมมี รู ปก็ ได , อยางอรูปาวจร คือพวกพรหมไมมีรูปก็ได นี่ก็ลวนแตเรียกวาเปนสุคติชั้นสวรรค.
www.buddhadasa.info เรื่ อ งพรหมมี รู ป พรหมไม มี รู ป นี้ ค อ ยอธิ บ ายกั น ที ห ลั ง อย า เพ อ เข า ใจ ไปเอง. ถ าเข าในเอาเองก็ ต องเข าใจเหมื อนที่ เขาพู ดกั น : อยู ที่ โลกไหนก็ ไม รู , เป นสั ตว เปน คนมีร ูป รา งก็ม ี ไมม ีร ูป รา งก็ม ี. เปน พรหมนั ้น เปน พรหมที ่ย ัง ไมท ัน จะเห็น อยูที่ไหนก็ยังไมรู.
ถากุศลธาตุ แสดงตัวออกมา ผลจะเปนสวรรคที่นี่เดี๋ยวนี้ เดี๋ ยวนี้ เราจะดู กั นที่ นี่ ก็ คื อวา ถ ากุ ศลธาตุ แสดงตั วออกมา เป นเนกขั มมธาตุ, เปน เนกขัม มธาตุห ลีก ออกจากกามก็ด ี ไมห ลงใหลในกามก็ด ี, หรือ วา เปนอพยาปาทธาตุ ไมกระทบกระทั่งผูใดโดยเจตนาก็ดี, เปนอวิหิงสาธาตุ ไมกระทบ
๑๒๔
ปรมัตถสภาวธรรม
กระทั่ ง ผู ใ ด แม โ ดยไม เจตนาก็ ดี ; อย า งนี้ ก็ เป น สวรรค คื อ ไม มี ก ารเบี ย ดเบี ย น, อยู เป น ความสงบสุ ขสํ าหรั บ คนทั่ วไป ซึ่ งจะให ค วามพอใจ เป น ที่ พ อใจในตั วเอง ให ชี วิ ต ของตัวเองก็ได. โดยการกระทํ าอย างมี กุ ศลธาตุ นี้ จะทํ าให สามารถหลี กตั วออกไปจากชุ มนุ มชน ไปแสวงหาความสุ ขจากรูปฌาน ทํ าสมาธิ ให เกิ ดฌานประเภทรูปฌาน อย างที่ เคยได ฟ ง กั น อยู เสมอในคํ า อธิ บ ายของสั ม าทิ ฏ ฐิ ก็ ยิ่ ง มี สุ ข ในรู ป ฌานที่ สู ง ไปกว า สุ ข อย า ง ชาวบา น. ถา ยิ ่ง ไปกวา นั ้น อีก ก็ถ ึง กับ ทํ า อรูป ฌาน ฌานที ่ไ มม ีรูป เปน อารมณก็ ยิ่ งมี ค วามสุ ข ที่ สู งละเอี ย ดยิ่ งขึ้ น ไปอี ก ก็ แปลว า จะเป น สวรรค กามาวจร สวรรค รูปาวจร หรื อสวรรค อรู ปาวจร ก็ สรางเอาได ที่ นี่ เดี๋ ยวนี้ ในเมื่ อรู จั กทํ าสิ่ งที่ เรียกว าธาตุ นั้ น ใหถูกตอง. พู ดอย างสมั ยนี้ พู ด หรื อว าพู ดอย างภาษาวั ตถุ ก็ จะพู ดได เลยว า ถ ารู จั กผสม ธาตุ ให ถู กต อง แล วจะได สวรรค ทั้ งกามาวจร รูปาวจร อรูปาวจร ที่ นี่ และเดี๋ ยวนี้ โดยผ านทางตา ทางหู ทางจมู ก ฯลฯ นี่ คื อเป นเรื่ องของฝ ายกุ ศลธาตุ มี เพราะธาตุ ที่ วิ ชชาธาตุ เข าไปผสมกั บการปรุ งแต งของจิ ต ในขณะที่ กํ าลั งเป นผั สสะคื อ เป นสั งขาร ธาตุ หรือเวทนาธาตุ ก็ ตาม. ฉะนั้ นเราจะต องระวั งกั นที่ สุ ดก็ ตรงที่ มี ผั สสะ ตากั บรูปหู กั บเสี ยง จมูกกับกลิ่น เปนตน.
www.buddhadasa.info ขณะที ่ม ีก ารกระทบ ที ่เรีย กวา ผัส สะนั ้น จะตอ งระวังกัน ที ่ต รงนั ้น ; ถ า เป น โอกาสของอวิ ช ชามั น ก็ ไ ปทางอกุ ศ ลและมี ทุ ก ข , ถ า เป น ในทางวิ ช ชาก็ เป น ฝา ยกุศ ลและไมต อ งทุก ข; เพราะวา ในขณะแหง ผัส สะที ่ม ีว ิช ชานั ้น ก็ค ือ รูส ึก ตัว มีส ติสัม ปชัญ ญะอยู ไมเผลอ ไมห ลง อวิช ชาก็ไ มไ ดเขา มาแทรกแซงมัน ก็มี สติ ป ญ ญา ทํ า ให สํ า เร็ จ ประโยชน ใ นหน า ที่ ก ารงาน ที่ เราจะต อ งทํ า ในเวลานั้ น หรือเมื่อไรก็ตามใจ.
ความเนื่องกันระหวางกลุมธาตุ
๑๒๕
หน าที่ การงานอะไรที่ เราจะต องทํ า ย อมต องทํ าด วยการเกี่ ยวข องกั นกั บเรื่ อง ทางตา ทางหู ทางจมู ก ทางลิ้ น ทางกาย เหล า นี้ ทั้ ง นั้ น . นี้ ก็ ห มายความว า ไม เป น ทุ กข ด วย หน าที่ การงานก็ สํ าเร็ จด วย และยั งแถมเป นการประพฤติ ธรรมอยู ในตั วด วย. มี ผัส สชนิ ด นี้ มั น ไม เป น อาสวะ ไม มี อ าสวะ ไม เป นที่ตั้งแหงกิเลสตัณ หา นั่ น คื อ ผั ส สะของผู ป ฏิ บั ติ ธ รรมอย า งถู ก ต อ งแล ว . จะเป น ตาเห็ น รู ป ก็ ดี หู ได ยิ น เสี ย งก็ ดี จมู กได กลิ่ น ก็ ดี ทุ ก ๆ คู ไป มั น ก็ เป น ผั ส สะที่ ไม เป น ช อ ง ไม เป นโอกาสของกิ เลส หรื อ อาสวะและก็ไมเปนที่ตั้ง แหงอุปาทาน ที่จะไปยึดถือใหเกิดความทุกข. ที นี้ ถ ามั นตรงกั นข าม มั นก็ ให เกิ ดความยึ ดถื อแล วก็ ต องเป นทุ กข ทุ กข อย าง ที่ เรี ย กว า : เมื่ อ มี อุ ป าทานแล วก็ ต อ งมี ภ พ-เมื่ อ มี ภ พแล วก็ มี ชาติ มี ชรา มรณะ โสกะ ปริ เทวะ; ซึ่ ง ล ว นแต เป น ชื่ อ ของความทุ ก ข ทั้ ง นั้ น ; เพราะว า มั น มี อ วิ ช ชาทํ า ให ยึ ด มั่ น ถือมั่น เปนกระแสแหงความผิด คืออกุศลทั้งนั้น มันก็ตองเปนทุกข. นี่ ลองคิ ดดู ซิ ว า อะไรที่ ไม ใช ธาตุ จนกระทั่ งเป นทุ กข มั นก็ เป นเวทนาธาตุ ; อย างเป นอุ ปาทานอย างนี้ มั นก็ อยู ในพวกที่ เป นสั งขารธาตุ : เรามี ความเข าใจผิ ด มี ความ คิ ดผิ ด รู สึ กผิ ด มั น ก็ เป น ธาตุ ใดธาตุ ห นึ่ ง ในพวกสั งขารธาตุ ทั้ งนั้ น ซึ่ งเราไม เคยได ฟ ง กั นอย างนี้ ว า อะไร ๆ มั นก็ ธาตุ ทางฝ ายวั ตถุ นี้ ก็ ธาตุ ทางฝ ายจิ ตใจ นามธรรมมั นก็ ธาตุ และมี ตั้ งมากมายหลาย ๆ ธาตุ ที่ ออกชื่ อไปว า รู ป าวจร อรู ป าวจร มั นยั งมี ธาตุ อยู อี ก เยอะแยะ เช นอรู ปาวจรก็ ยั งมี อากาสานั ญจายตนธาตุ วิ ญญาณั ญจายตนธาตุ อากิ ญจั ญญายตนธาตุ เนวสั ญ ญานาสั ญ ญาตนธาตุ ซึ่ งเราเคยได ยิ น แต คํ า ว าฌาน พระพุ ท ธเจ า จะตรัสไวในลักษณะที่เปนธาตุ ตามธรรมชาติที่มันมีอยู.
www.buddhadasa.info เมื่ อ ใดคนไปทํ าถู ก วิธี ถู ก เรื่อ งถู ก ราวของมั น ก็ เป น โอกาสให ธ าตุ นั้ น แสดงตัวออกมา เชนวา อากาสานัญจายตนธาตุ ก็จะไดแสดงตัวออกมาเปนอากาสานัญ-
๑๒๖
ปรมัตถสภาวธรรม
จายตนะฌานอย างนี้ เป นต น กระทั่ งมี ชื่ อธาตุ แปลก ๆ ที่ ว า อาภาธาตุ คื อธาตุ สว าง ธาตุฉ ลาด ธาตุไ มโ ง ก็ต รงขา มกับ อัน ธการธาตุ คือ ธาตุโ ง ธาตุม ืด ธาตุบ อด, หรือสุภธาตุ-ธาตุซึ่งงามซึ่งนาดู ก็มีตรงกันขามกับ อสุภธาตุ-ไมงาม ไมนาดู. แมแตความงาม ความไมงามนี้ มันก็เปนธาตุ แลวก็เปนธาตุที่เนื่องอยู กั บ รูป จึ งยั งไม จั ด ว าเป นนามธรรมแท เป น รูป ธาตุ ที่ แฝงอยู ที่ รูป หยาบ. ความงาม ความไมงามก็แฝงอยูที่ รูปธรรม อยางใดอยางหนึ่ง; เชนความงามอยูที่ ดอกไม ตัวดอกไม ก็ เป นรูป ธาตุ โดยตรง, ความงามนั้ นก็ เป น รูปธาตุ โดยอ อ ม. ที นี้ ความงามก็ ดี ความ ไม งามก็ ดี ก็ ล วนแต เป นธาตุ เรื่อยไป กระทั่ งถึ งวา ดั บเสี ยซึ่ งสั ญ ญาก็ เป น สั ญ ญาเวทยิตนิโรธ ก็เปนธาตุ. แมแตนิ พพานก็เป นธาตุ เรียกวานิพพานธาตุ มีอยู ๒ ชนิด หรือบางที ก็ เรี ย กว า “อมตธาตุ ” -คื อ ธาตุ ที่ ไ ม รู จั ก เกิ ด ไม รู จั ก ตาย, หรื อ บางที ก็ เรี ย กว า อสังขตธาตุ - คือธาตุที่ไมมีปจจัยปรุงแตง นี่ออกชื่อธาตุอยางนี้ตั้งหลายสิบหรือตั้ง รอยสองรอย ล วนแต ใช คํ าวาธาตุ เสมอกั น ถื อ ว ามี อยู ต ามธรรมชาติ จนกว าเมื่ อไร จะมีโอกาส มีเหตุปจจัยใหปรากฏออกมา.
www.buddhadasa.info ที นี้ ที่ วามั นไม มี อะไรที่ ไม เป นธาตุ หรือไม เกี่ ยวกั บธาตุ ก็ ไปทบทวนเอาเอง เถอะ อธิบายมาอย างละเอี ยด ก็ เป นตั วอย าง เฉพาะตากั บรูป นอกนั้ นเรื่องหู กั บเสี ยง กลิ่นกับจมูก ฯลฯ ไปทบทวนไดเองเหมือนกันเลย.
ปญหาที่เขาใจยากอยูที่คูสุดทาย คือใจกับธัมมารมณ คนที่ เขาเรี ยนนั กธรรมมาในโรงเรี ยนแล ว ก็ เข าใจคํ าคู ๆ นี้ แล ว ตากั บรู ป แลวก็หูกับเสียง จมูกกับกลิ่น ลิ้นกับรส กายกับสัมผัสผิวหนัง แลวก็ใจกับธัมมารมณ.
ความเนื่องกันระหวางกลุมธาตุ
๑๒๗
ใจคือมโน อารมณ ของมโนเรียกวา “ธรรมหรือธัมมารมณ ” ก็แลวแตจะเรียก. สําหรับ ธั มมารมณ นี้ เคยเข าใจกั นว าอย างไร? ผู ที่ เคยเล าเรี ยนธรรมะในโรงเรี ยนนั กธรรมกั น มาแล ว เข าใจว าอะไร? ก็ คงจะเข าใจสรุ ปสั้ น ๆ ว า ส งที่ รูสึ กได ด วยใจ และเมื่ อถามว า มีอะไรบาง? ก็คงจะวากันไปตามี่วาใจมันจะนึกได. พวกที่ ๑. สําหรับธรรมที่เปนอารมณของใจหรือเรียกวาธัมารมณก็ตาม นี้ก็แบงเปนพวก ๆไป คือเวทนาธาตุ สัญ ญาธาตุ สังขารธาตุ, จะมาเปนธรรม ธัมมารมณ สําหรับเปนอารมณของใจได. อยางที่ ๑. เวทนารูสึกเปนสุขเปนทุกข กําลังรูสึกอยู นี่เกิดขึ้นมาจากการ ปรุ ง แต ง ตั้ ง แต ตาหรื อ หู อะไรก็ สุ ด แท แ ต เดี๋ ย วนี้ เป น เวทนา รู สึ ก เป น สุ ข อยู ; ที นี้ ในก็สัมผัสลงไปบนอารมณ คือเวทนาที่กําลังรูสึกเปนสุขอยูอยางนี้ ก็เรียกวา เวทนานั้นเปนธัมารมณของใจ. เรากํ า ลั ง รู สึ ก เป น สุ ข สนุ ก สนาน เอร็ ด อร อ ย เพิ ล ดเพลิ น อะไรอยู นั้ น เรียกวามีเวทนา, แลวใจสัมผัสลงไปบนเวทนานั้น นี่เรียกวา มีมโนวิญญาณเกิดขึ้น. คือมี การสัมผั สระหวางมโนวิญญาณกั บธัมมารมณ , แลวมโนกั บธัมมารมณ กับมโนวิญญาณ ก็ ปรุงแต งต อไปได ; เมื่ อเป นมโนวิ ญญาณขึ้ นมาแล วก็ ปรุงเป นสิ่ งที่ เรียกว า ผั สสะ เวทนา สัญญา สังขาร จนกระทั่งเกิดทุกขไปไดเหมือนกัน.
www.buddhadasa.info อยางที่ ๒. เรียกวา สั ญญาธาตุ หรือสัญญาขันธ -ความจําได หมายรู; เราหลั บหู หลั บตาป ดหมด ใจก็ นึ กถึ งความหนหลั งจํ าอะไรได เอามาเป นอารมณ สํ าหรั บ มโนจะสัมผัสลงไปบนสัญญานั้น. ลองนึ กคิ ดถึ งเหตุ การณ หนหลั ง ที่ เรายั งจํ าได ดี อยู ว าเมื่ อเด็ ก ๆ เป นอย างไร, เมื่อเด็กเล็ก ๆ เปนอยางไร, เคยทําอะไรผิดถูกที่ไหน, เอาอันหนึ่งมาเปนอารมณ
๑๒๘
ปรมัตถสภาวธรรม
สํ าหรั บใจจะสั มผั สลงไปบนสั ญ ญานั้ น ก็ จะปรุ งแต งเป นมโนวิ ญ ญาณ เกิ ดเป นเวทนา สัญญา สังขาร จนเปนทุกขไดอีกเหมือนกัน. อย างที่ ๓. สํ าหรั บ สั งขาร สั งขารธาตุ หรื อ สั งขารขั น ธ คื อ ความคิ ด ที่ กําลังปรุงแต งอยู รูสึกอยู เวลานี้ ก็เป นอารมณ ของจิต ที่ จะสั มผั สทั บลงไป อี กที หนึ่ ง ก็ ไ ด ; คิ ด ดี คิ ด เลว คิ ด ชั่ ว อยู ใ นใจ ใจก็ สั ม ผั ส ลงไปจนรู ว า อ า ว, นี่ คิ ด ดี คิ ด เลว คิ ด ชั่ วคิ ด ถู ก อะไรอยู ก็ ได ; นี่ ก็ เรี ย กว าสั งขารนั้ น เป น อารมณ ของใจ. สั งขารธาตุ ห รื อ สั งขารขั นธ ในที่ นี้ ตั้ งอยู ในฐานะเป นธรรมะหรื อธรรมธาตุ ที่ เป นอารมณ ของใจกระทบ แลวเกิดมโนวิญญาณธาตุได. อย างว า อยากมาวั ดนี้ ก็ ลองคิ ดดู : ทํ าไมจึ งรู สึ กเกิ ดอยากมาวั ดนี้ ? นี่ ก็ อาศั ย สั ญ ญาหรื อ สั ง ขาร อย า งใดอย า งหนึ่ ง ; รู เรื่ อ งดี ว า มาวั ด นี้ ทํ า อะไร, มานั่ ง ตรงนี้ มาทํ าอะไร, ได ผ ลอะไร, นี่ เป น สั ญ ญาอั น หนึ่ งหรื อ สั งขารอั น หนึ่ ง. จิ ต ที่ รู สึ ก ต อผลอั นนี้ แล วมั นก็ ปรุ งแต งเป นมโนวิ ญ ญาณ; เกิ ดความคิ ดที่ รู สึ กพอใจ แล วก็ อยาก จะมา แลวก็มาวัดนี้ มานั่งอยูที่นี่.
www.buddhadasa.info หรื อแม ที่ สุ ดแต ว าเราอยากจะไปไหน ไปทํ าอะไรที่ ไหน ไปหาเงิ นหาทอง คาขายอะไรที่ไหน ก็ตองอาศัยนามธรรมเหลานั้นแหละเป นอารมณ ของใจ ที่จะคิดนึก ที่ จ ะทํ า ไป. นี้ ห มายความว า ไม ต อ งอาศั ย ทางตา ทางหู ; เพราะว า เราอาจจะนอน ก ายหน าผาก อยู ในที่ นอนกลางคื น ไม เห็ นอะไรแต คิ ดนึ กคิ ดถึ งการ ถึ งงาน ที่ กรุงเทพฯ ที่เมืองอื่น จังหวัดอื่น ก็ได; มันเปนอารมณของใจไดอยางนี้.
แม ที่ สุ ดแต ว าเกิ ดอยากดี อยากเด นขึ้ นมา อยากยกหู ชู หางขึ้ นมา; นี่ มั นก็ ตองมีเวทนาหรือสัญญา หรือสังขาร อันใดอันหนึ่งเปนอารมณของใจ ก็เกิดมโนวิญญาณ เกิดปรุงแตงมาก็อยากจะออกทาเปนยกหูชูหางเปนดีเปนเดน เปนอะไรขึ้นมา.
ความเนื่องกันระหวางกลุมธาตุ
๑๒๙
อย างนี้ ไม ต อ งอาศั ย รู ป ธรรมในขั้ น ต น ๆ ก็ ได ; เพราะว าสั ญ ญานั้ น มี อ ยู ระลึ ก จํ าได สํ าคั ญ มั่ นหมายขึ้ นมาใหม ก็ ได . อย างนี้ เรียกว าคู สุ ดท ายคื อใจกั บธั มมารมณ ที่ อาศั ย เวทนาธาตุ สัญญาธาตุ สังขารธาตุ. พวกที่ ๒ ในกรณี ที่ ผิ ด ไปจากนั้ น ก็ ยั งอาศั ย รูป ธรรม ชนิ ด ละเอี ย ด ชนิ ดสุ ขุมที่ ไม ใช นามธาตุ ; แต วาเป นรูปธาตอั นละเอี ยด เชนความงาม ความไม งาม เป น ต น ที่ มี อ ยู ในรู ป ธาตุ ใด อั น นี้ เขาก็ ส งเคราะห ไว ในฝ ายธั ม มายตนะ เหมื อ นกั น . เช นดอกไม ก็ เป นรู ปธาตุ เป นอารมณ ของตา แต ว าความงามนั้ นกลายเป นธั มมายตนะ เป นอารมณ ของใจ นี้ ก็ เป นธั มมารมณ พ วกที่ ๒ คื อภาวะของรู ป หรื อภาวะของอะไร ก็ตาม ที่มันไมใชตัวรูปอันแทจริง. ทีนี้ถาผิดไปจากนี้อีกก็พวกอสังขตธรรมทั้งหลายมาเปนอารมณของใจได เชนจะคิ ดถึ งพระนิ พพานเป นอารมณ พิ จารณาอยูถึงพระนิ พพาน เป น เอตํ สนฺ ตํ เอตํ ปณี ตํ -นั่ นสงบระงั บยิ่ ง นั่ นประณี ตยิ่ ง, นั่ นเป นที่ สงบระงั บของสั งขารทั้ งหลาย เป นที่ สิ้ นสุ ดอุ ปธิ ทั้ งหลาย เป นที่ สิ้ นตั ณหา เป นที่ จางคลาย แห งความยึ ดมั่ นถื อมั่ น เป นความ ดั บ แห ง กิ เลส เป น นิ พ พาน. อย า งนี้ เป น อารมณ ข องใจได โดยเอาลั ก ษณะของ อสั งขตธาตุ ม าเป นอารมณ หรื อว าได บ รรลุ ม รรคผลนิ พ พานจริ ง ๆ อยู ในใจ อั น นั้ น ก็ เป น อารมณ . อารมณ อ ย างนี้ ก็ ก ลายเป น ธรรม หรื อ ธั ม มารมณ สํ าหรั บ มโนธาตุ ด วย เหมือนกัน; ก็รวมเรียกสั้นๆ วาอสังขตธาตุ.
www.buddhadasa.info อสังขตธาตุนี้เอามาเปนอารมณของมโน ก็ได จะเรียกอมตธาตุ ก็ได. ก็ เลยเป นว าธั มมารมณ นี้ มี พวกเจตสิ กธรรม เช น เวทนา สั ญญา สั งขาร ก็ เป นธั มมารมณ และรู ปธรรมอั นละเอี ยดจะต องมาสงเคราะห ไว ฝ ายธั มมายตนะนี้ ก็ เป นธั มมารมณ , และ อสังขตธาตุในแงไหนก็ตาม ก็เปนธัมมารมณสําหรับใจสัมผัสอันนี้คนธรรมดายิ่งเห็นยาก
๑๓๐
ปรมัตถสภาวธรรม
และบางอย างไม เกี่ ยวข องกั น; ที่ เกี่ ยวข องกั นคื อความรู สึ กคิ ดนึ ก ที่ เราไม ต องอาศั ยตา หู จมู ก ลิ้ น กายอี ก แล ว, อาศั ย สั ญ ญาเก า หรื อ อาศั ย เวทนาที่ กํ าลั งรู สึ ก อยู แ ล วนั้ น ไม ต อ งตั้ ง ต น อี ก . หรื อ ความคิ ด นึ ก ที่ กํ า ลั ง ปรุ ง แต ง อยู แ ล ว นั้ น ระวั ง ให ดี , ที่ ว า เป น อารมณ ของมโน เกิ ด มโนวิ ญ ญาณ แล วก็ ป รุ งไปหากิ เลสและความทุ กข ได เหมื อ นกั น ตามลักษณะของปฏิจจสมุปบาท.
ธาตุมีอยูมาก ปรุงแตงเนื่อง ๆ กัน เกิดผลทั้งกุศล, อกุศล นี่คือสิ่งที่เรียกวา ธาตุ ธาตุ มี มากถึ งขนาดนี้ : ในฐานะที่ เป นเหตุให เกิ ด สิ่ ง อื่ น ก็ มี , ในฐานะที่ เป น ผล ที่ เกิ ด มาจากสิ่ ง อื่ น ก็ มี . ครั้ ง เป น ผลแล ว มั น กลาย เป นเหตุ ทํ าหนาที่เป นเหตุ อีก, แล วให เกิ ดผลอี กไม มี ที่ สิ้ นสุ ด; มีลักษณะเปนเหมื อน กับวากระแสไหนไปเป นเกลียว ของสิ่งที่เรียกวาธาตุทั้งหลายอยางนี้ นับตั้งแตจักษุ ธาตุ รู ปธาตุ วิ ญญาณธาตุ , ผั สสะ ซึ่ งเป นสั งขารธาตุ ผั สสะซึ่ งเป นเวทนาธาตุ แล วก็ สั ญญาธาตุ สั งขารธาตุ จนกระทั่ งเป นกุ ศลธาตุ อกุ ศลธาตุ เกิ ดขึ้ นเป นความสุ ขหรื อความทุ กข เป น นรก หรื อ เป น สวรรค ; ซึ่ ง ล ว นแต เป น ธาตุ ทั้ ง หลายที่ ร อคอยอยู แ ล ว ได โ อกาส เมื่ อไรก็ แสดงตั วออกมา, และนี่ คื อข อที่ ว า ถ าเรารู เรื่ องธาตุ ดี เหมื อนคํ าพู ดธรรมดา ๆ ว า ถ าเรารูจั กผสมธาตุ ดี หรือเป น แล วเราจะได นรกที่ นี่ ก็ ได หรือทางตรงกั นข ามจะได สวรรค ที่ นี่ ก็ ไ ด นรกชั้ น ไหนก็ ไ ด สวรรค ชั้ น ไหนก็ ได เราอาจจะผสมขึ้ น มาได เหมื อ น กั บ การผสมธาตุ . ที่ เรี ย กว า สวรรค ก็ มี ม ากมายหลายชนิ ด ล ว นแต เป น ธาตุ ทั้ ง นั้ น ออกชื่อธาตุใหหมดก็คงจะเวียนหัว คือวาจําไมไหว ควรจะไวพูดกันเปนคราว ๆ.
www.buddhadasa.info เป นอั นว าในครั้ งนี้ เราก็ พู ดกั นเรื่ องธาตุ อี กนั่ นแหละ แต แสดงพฤติ หรื อ ว า กรรมวิ ธี ข องมั น ในลั ก ษณะที่ ล ะเอี ย ดยิ่ ง ขึ้ น ไปกว า ครั้ ง ที่ แ ล ว ; โดยเฉพาะต อ งการ จะใหส ัง เกตในขอ ที ่ว า คํ า วา “ธาตุเ ทา นั ้น ” ไมม ีอ ะไรมากกวา ธาตุ. ธาตุ เทานั้นแหละ, ระวังใหดี เปนมิจฉาทิฏฐิเมื่อไรก็ได ตอเมื่อทําถูกตองตามวิธี
ความเนื่องกันระหวางกลุมธาตุ
๑๓๑
เท านั้ นจึ งจะเป นสั มมาทิ ฏฐิ เดิ นไปถู กทาง และก็ ดั บทุ กขได ไม ทํ าให ผู อื่ นลํ าบาก. พอเข าใจผิ ดทางรูผิ ดทาง ทํ าผิ ดทาง ก็ เป นมิ จฉาทิ ฏฐิ ทํ าตั วเองให ลํ าบาก ทํ าผู อื่ น ใหลําบาก เรื่องธาตุก็มีอยางนี้.
การใหเห็นเรื่องธาตุ ก็คือใหเห็นสุญญตา ความไมมีตัวตน ถ า รู จั ก ธาตุ ถู ก เห็ น ถู ก ก็ ไม เป น ไร, พอเห็ น ผิ ด ก็ เป น สุ ญ ญตาอั น ธพาล; สุ ญ ญตาไม รั บผิ ดชอบอะไร เอาแต กิ เลส เอาแต ประโยชน ส วนตั ว ก็ มี บ างเหมื อนกั น; แม กระทั่ งคํ าว า “จิ ตว าง” ก็ ยั งมี ความหมายว า ว างที่ ถู กต อง หรื อว างอย างอั นธพาล. ถ าเห็ นวาเป นสุ ญญตาธาตุ จริงแล ว ก็ ไม เป นไร เพราะถู กต องและเป นสั มมาทิ ฏฐิ ไม ทํ า อันตรายใคร. ถาเป นสุ ญญตาธาตุ ที่ ปลอม เก ไม จริง ก็ไม ใชสุญญตาธาตุ; เป นเรื่อง ว าเอาเอง เหมาเอาเอง เข าใจผิ ดเอาเอง ก็ เป นอั นธพาลขึ้ นมา; เช นเดี ยวกั บตั วอย าง ที่ ยกขึ้ นมาเรื่องครูทั้ ง ๖. เขาสอนเรื่อง สุ ญญตาอั นธพาลอยู อย างที่ ปกุ ธะกั จจายนะ กล าวว า มี ธาตุ อยู ๗ หมู ; ฉะนั้ นการที่ มนุ ษย เอาดาบฟ นคอกั น ก็ ไม มี บาปหรือบุ ญอะไร เพราะเป นสั กว าธาตุ ผ านไปในระหว างธาตุ ; นี่ เป นอั นธพาลสั กกี่ มากน อย. อั นธพาล ที่ ไม ยอมรั บผิ ดชอบเรื่ องกามารมณ เรื่ องอะไรต างๆ ถื อ “สั กว าธาตุ เท านั้ นแหละ” นี่ ก็ เป นอั นธพาลอย างยิ่ ง, เป นอั นธพาลที่ สกปรก หรือเป นอั นธพาลที่ จะทํ าทุ กฝ ายให มั น เดือดรอน. นี่ขอใหเขาใจไวอยางดวยวาเรื่องธาตุเทานั้น มันเปนไดถึงอยางนี้.
www.buddhadasa.info พระพุ ทธศาสนามุ งหมายสอนเพื่ อจะให รู ว า “ธาตุ เท านั้ น” ไม ใช สั ตว บุ คคล ตั วตน เรา เขา; พอบวชเข ามาวั น แรกก็ ให เรียน ยถาปจฺ จยํ ปวตฺ ต มานํ ธาตุ เมตฺ ต เมเวตํ วา “นั่นแหละธาตุเทานั้น กําลังเปนไปตามเหตุตามปจจัยอยูเนืองนิจ”. คนที่กําลังทําอะไรอยู หรือสิ่งที่ถูกกระทําอยูนั้นก็ธาตุมตฺตโก นิสฺสตฺโต นิชฺชีโว สฺุโ
ปรมัตถสภาวธรรม
๑๓๒
นี้ คื อ ว า เป น สั ก ว า ธาตุ ไม ใช สั ต ว ไม ใช ชี ว ะ ไม ใช บุ ค คล ว า เปล า จากความหมาย แหงความเปนตัวตน. คนที่ บ วชเข ามาพอเรี ยนวั นแรก จะรู อ ย างไรก็ ไม ท ราบ จะเข าใจอย างไรก็ ไม ทราบ อาจจะเป นอั นธพาลไปก็ ได ; เว นไว แต ว าครู บาอาจารย จะช วยทํ าความเข าใจดี ๆ. ที่ เรามาบวชนี่ เรี ยน ยถาปจฺ จยํ นี่ ก็ เพื่ อจะให รู จั ก “ธาตุ เท านั้ น” อย างถู กต อง, และ เราจะได ไ ม มั่ น หมายสิ่ ง ใด จนเกิ ด กิ เลส เกิ ด โลภะ โทสะ โมหะ. ถ า เห็ น ว า “ธาตุ เท า นั้ น ” เห็ น อย า งถู ก ต อ งแล ว ; ไม เ กิ ด ความโลภได เ พราะเป น “ธาตุ เท า นั้ น ”ไม เกิด ความโลภ ; และ “ธาตุเ ทา นั ้น ” ก็ไ มโ กรธได, ไมโ กรธไดจ ริง เพ ราะเปน สักวา “ธาตุเทานั้น”. ผู ที่ ม าชกปากเรา หรื อ ว า เราถู ก เขาชกปาก นี่ ก็ ธ าตุ เ ท า นั้ น ; แต แ ล ว อาจจะเกิ ด ความคิ ด ว า “ธาตุ เท า นั้ น ” แล ว ชกสวนกลั บ ไป เราก็ ช กเขาบ า ง เพราะ วา “ธาตุเทานั้น”; อยางนี้ก็ไมสําเร็จประโยชนที่ถูกตองกลายเปนอันธพาลเสียอีก.
www.buddhadasa.info ที่จ ริง เขาตอ งการจะใหรูใ นลัก ษณะที ่ไ มเ กิด กิเ ลส ไมวา ชนิด ไหน ไมมีความโลภ ไมมีความโกรธ ไมมีความโงเกิดขึ้น เพราะวาเห็นธาตุ เหลานี้ อยูอยางถูกตอง ตามที่เปนจริง.
สํ าหรั บวั นนี้ ก็ สรุ ปความว า ให เข าใจคํ าว า “ธาตุ เท านั้ น” ยิ่ งขึ้ นไปอี ก อย าง ที่ เห็ น ได ชั ด ถึ ง ขนาดที่ จ ะสร า งนรก สวรรค เมื่ อ ไรก็ ได หรื อ ว า ถ า ไม ต อ งการ แล ว ก็ จะใหพนไปเสียจาก นรกสวรรค ทั้งหมดทั้งสิ้นก็ได. เอาละเปนอันวาพอกันทีสําหรับวันนี้.
ปรมัตถสภาวธรรม
-๕๓ กุมภาพันธ ๒๕๑๖
ลักษณะอาการที่ธาตุปรุงแตงสิ่งทั้งปวง
ทานสาธุชนผูสนใจในธรรมทั้งหลาย, ก ารบ รรย าย เรื ่อ งป รม ัต ถ ส ภ าวธรรม ใน ค รั ้ง ที ่ ๕ นี ้ ก็ย ัง ค งเป น เรื ่อ งที ่เ กี ่ย วกับ สิ ่ง ที ่เ รีย กวา ธาตุต อ ไปอีก . อาตมาเคยขอรอ งในการบ รรยาย ครั ้ง ที ่แ ลว ๆ มาวา ขอใหอ ดทนศึก ษาเรื ่อ งธาตุนี ้ใ หม ากเปน พิเ ศษ แมว า จะ เปน เรื ่อ งที ่ไ มช วนฟง ชวนงว งนอนก็ต ามที แตก ็ม ีค วามสํ า คัญ มาก เพราะวา ทุกอยางมีรากฐานอยูที่สิ่งที่เรียกวาธาตุ.
www.buddhadasa.info เราไม ค อยจะได ยิ นได ฟ งเรื่ องธาตุ ทั้ งหมดตามที่ มี อยู ในพระบาลี แม ในพระไตรปฎก จะไดยินไดฟงก็แตเรื่อง ดิน น้ํา ลม ไฟ อะไรทํานองนี้เทานั้น; แตเมื่อสํารวจ
๑๓๓
๑๓๔
ปรมัตถสภาวธรรม
ดู แล วยั งมี ธาตุ มากมายหลายสิ บชื่ อ ล วนแต เกี่ ยวข องหรื อแวดล อมกั นอยู กั บมนุ ษย . ถ า ไม รู จั ก สิ่ งเหล านั้ น ก็ เท ากั บ ว าไม รู จั ก ตั วมนุ ษ ย นั่ น เอง เพราะตั วมนุ ษ ย นั้ น ก็ เป น ธาตุ หลาย ๆ ส วนประกอบกั น ; สิ่ งที่ เกี่ ย วข อ ง เกิ ด ขึ้ น ปรุ งแต งอยู ในร างกายมนุ ษ ย เรื่อย ๆ ไป ตอไปอีก ๆ ตลอดเวลานั้นก็คือสิ่งที่เรียกวาธาตุ. สิ่ ง แวดล อ มอยู ร อบ ๆ มนุ ษ ย ทั่ ว ไปในโลกนี้ ก็ คื อ สิ่ ง ที่ เรี ย กว า ธาตุ ; แม ที่ สุ ดแต สิ่ งที่ มนุ ษย จะใช ติ ดต อกั นกั บสิ่ งนอกตั ว คื อสิ่ งที่ เป นสื่ อ เช น ตา หู จมู ก ลิ้ น กาย เปนตนนี้ ก็ยังคงเปนสิ่งที่เรียกวาธาตุอยูนั่นเอง. ขอรบเร าเซ าซี้ ให ท านทั้ งหลายสนใจกั บคํ าว าธาตุ นี้ ให ละเอี ยดลออเป นพิ เศษ ยิ่ง ๆ ขึ้นไปทุกทีจนกวาจะเพียงพอ.
จับใจความใหไดเสียกอนวาธาตุคืออะไร เท าที่ กล าวมานี้ ท านทั้ งหลายก็ คงจะพอจั บใจความได ว า สิ่ งที่ เรี ยกว าธาตุ นั่นคืออะไร? โดยตัวหนังสือ คําวา “ธาตุ” ก็แปลวา สิ่งที่ เปนสวนยอยที่สุด ที่ทรง ตัว มัน เองอยูไ ด แลว ก็ป ระกอบกัน ขึ้น เพื ่อ จะเปน สิ ่ง ใดสิ่ง หนึ ่ง โดยสมบูร ณ ; หรือจะกล าวอี กที หนึ่ งก็ คื อว า ความสมบู รณ อย างหนึ่ ง ๆ มั นก็ ประกอบอยู ด วยสิ่ งที่ เรียกว า ธาตุ นั้ น หลาย ๆ ธาตุ ด วยกั น ; ดั งนั้ น จึ งไม มี อ ะไรที่ เรี ย กว าไม ใช ธ าตุ จะเป น เรื่ อ งทาง วั ตถุ ก็ ดี เป นเรื่ องทางจิ ตใจก็ ดี แม ที่ สุ ดเป นเรื่ องที่ ว างหมด ไม มี ร างกาย ไม มี จิ ตใจก็ ดี ก็ยังคงเปนสิ่งที่เรียกวาธาตุนั่นแหละ.
www.buddhadasa.info ขอให หลั บตามองด วยสติ ป ญ ญา ให เห็ นกว างขวางและลึ กซึ้ งออกไป จะเห็ น ว า ไม มี อ ะไรที่ ไ ม เรี ย กว า ธาตุ , ที่ พ ระพุ ท ธเจ า ท า นได ต รั ส ไว ในลั ก ษณะที่ ค วรจะ สนใจ; หรือถึงขนาดที่เรียกวาควรจะตกใจเหมือนกับบทที่พระสงฆไดสวดคณะสาธยาย
ลักษณะอาการที่ธาตุปรุงแตงสิ่งทั้งปวง
๑๓๕
ออกไปแลว เมื ่อ ตะกี ้นี ้ ก็ค ือ พระพุท ธภาษิต ที ่ว า : ดูก อ นภิก ษุทั ้ง หลาย, ภาวะ อัน ใดเปน ความเกิด ขึ้น ความตั้ง อยู ความปรากฏออก ของธาตุทั้ง หลาย ๖ นั่น แหละคือ ความเกิด ขึ้น แหงทุก ข นั่น แหละคือ ความตั้งอยูแ หง โรค นั่น แหละคือความปรากฏของชราและมรณะ. พระพุ ทธภาษิ ตเพี ยงเท านี้ ก็ มี ใจความสํ าคั ญ ที่ จะต องเข าใจมากที่ เดี ยว; แต ก็ เป นเพี ยงคํ าที่ ผ านไปผ านมา ไม มี ใครสนใจที่ จะเข าใจ. เมื่ อไรเข าใจก็ คิ ดว าไม จริง, หรื ออย างน อยก็ คิ ดว าไม จํ าเป นสํ าหรั บว าเราที่ จะต องรู; เพราะว าเราไม เข าใจ. เดี๋ ยวนี้ ก็ พ ยายามที่ จะให ท านทั้ งหลายทราบยิ่ ง ๆ ขึ้ นไป, ได รบเร าให ทราบเรื่ องธาตุ นี้ มาเป น เวลาหลายสัปดาหแลว. ขอที่พระพุทธเจาทานตรัสวา “ความปรากฏออกมาของสิ่งที่เรียกวาธาตุ นั้นแหละคือความเกิดขึ้นแหงทุกข นั่นแหละคือความตั้งอยูแหงโรค คือความ ปรากฏออกของชราและมรณะ”; ขอนี้มีใจความสําคัญอยูตรงที่วา สิ่งที่เรียกวาธาตุนั่น เมื่ อ ไรจึ งจะปรากฏออกมา? หมายความว าธาตุ ใด ๆ เหล านั้ น ถ าไม ได อ าศั ย ผสม ปรุงแตงซึ่งกันและกันแลว มีคาเทากับมิไดปรากฏออกมา; เชนวา ธาตุ ดิน น้ํา ลม ไฟ อากาสธาตุ ที่ จะปรุ งเป นร างกายมนุ ษย นี่ ไม ได ปรากฏออกมา จนกว าเมื่ อไรจะ มี การปรุ งกั นขึ้ นมา เป นร างกายของมนุ ษย . เมื่ อปรุ งออกมาเป นร างกายของมนุ ษย ได อยางนี้ เรียกวา ปรากฏออกมา; กอนนี้ไมไดปรากฏออกมา.
www.buddhadasa.info นี่ แหละธาตุ ล วน ๆ แท ๆ ยั งมิ ได ปรากฏละก็ ยั งไม มี เรื่ อง; ธาตุ ตามธรรมดา เป นส วนย อยส วนหนึ่ ง จึ งยั งไม ปรากฏ เวนไวแต เมื่ อมาประกอบกั นเข าเป นสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ ง จึงจะเรียกวา “ปรากฏ”. นี้ คื อลั กษณะของสั งขตธาตุ คื อธาตุ ที่ มี เหตุ ป จจั ยปรุงแต ง หมุนเวียนเปลี่ยนไปเปนอยางนี้ทั้งนั้น; ดังนั้น เมื่อใดธาตุปรากฏออกมานั่นแหละ
๑๓๖
ปรมัตถสภาวธรรม
คื อ ความปรากฏแห งทุ ก ข ; ข อ นี้ ห มายความว า ถ าธาตุ ป รากฏออกมาอย างเป น คน เป นสั ตว อย างที่ เราเห็ นกั นอยู นี้ ก็ มี ลั กษณะแห งความทุ กข แสดงออกมา. เมื่ อยั งเป น ธาตุ ล วน ๆ ธาตุ ใดธาตุ หนึ่ งอยู ยั งแสดงเป นความทุ กข ออกมาไม ได ; เพราะยั งไม พร อม ที่ จะรูสึ ก คิ ดนึ ก หรือรูสึกอยางนั้ นอย างนี้ ได . เมื่ อปรากฏออกมาเป นความทุ กข แล ว ก็ม ีพ ระบาลีที ่ต รัส วา “นั ่น แหละคือ ความตั ้ง อยู แ หง โรค” คํ า วา “โรค” ในที ่นี้ ก็ห มายถึง สิ ่ง ที ่เ สีย บแทงใหเ จ็บ ปวด. คํ า วา “โรค” นี ้แ ปลวา แทง คือ แทงให เจ็ บ ปวด; ไม ว า โรคอะไร ถ า ไม มี ก ารแทงให เกิ ด การเจ็ บ ปวดอย า งใดอย า งหนึ่ ง แล ว ก็ไมเรียกวาโรค. เมื่ อ ธาตุ ป รากฏออกมาในลั ก ษณะที่ ทํ า อะไรได ทํ าให เป น สั ต ว เป น คน อย า งที่ เรี ย กกั น นี้ ได แ ล ว ก็ มี ค วามทุ ก ข ป รากฏออก มี ค วามตั้ ง อยู แ ห ง โรค; คื อ ว า ตลอดชี วิ ต นั้ น จะมี ก ารเสี ย บแทง ไม ท างกายก็ ท างใจ; ทางกายก็ เจ็ บ ปวดป ว ยเป น โรคไปตามประสาของกาย, แต ก็ ไม ร ายแรงเท า กั บ ความเจ็ บ ป ว ยเสี ย บแทงในทางจิ ต ซึ่ งละเอี ยดกวา สุ ขุ มกว า และมากลั กษณะกวา. ดั งนั้ นจึ งถื อว า ความปรากฏออกแห ง ธาตุ นั่ นแหละ คื อความปรากฏแห งชราและมรณะ; เมื่ อเป นธาตุใดธาตุหนึ่ งล วน ๆ ก็ ไม มี ชราและมรณะปรากฏ. ต อเมื่ อธาตุ ป ระชุ มกั นเข า แสดงตั วออกมาได ก็ เกิ ดเป น สิ่ ง ที่ จ ะต อ งเปลี่ ย นแปลง เกิ ด ขึ้ น -ตั้ ง อยู -ดั บ ไป จึ ง ปรากฏอาการที่ เรี ย กว า ชรา และ มรณะออกมา.
www.buddhadasa.info ที นี้ เราก็ พิ จารณาดู ว าความทุ ก ข หรื อ โรค หรื อ ความชรา และความตาย นี่ ไม เคยมี ก อนแต ที่ ธาตุ ทั้ งหลายจะประชุ มกั นแล วปรากฏออกมา; ฉะนั้ น ขอให เข าใจ กันเสียวา ธาตุทั้งหลายเหลานี้ ถามิไดประชุมกันจนปรากฏออกมาแลว เราก็จะ ไม มี ป ญ หา เรื่ อ งความทุ ก ข เรื่ อ งโรค เรื่ อ งชรา และมรณะ เป น ต น . หมายความว า ความทุกขทั้งหลายจะไมปรากฏได ในเมื่อธาตุทั้งหลายจะมิไดประชุมกัน ทําหนาที่ของ
ลักษณะอาการที่ธาตุปรุงแตงสิ่งทั้งปวง
๑๓๗
ตั ว แล วแสดงออกมา; แม ตั วความทุ ก ข นั่ น เอง ตั วโรคนั่ น เอง ชราและมรณะนั่ น เอง ก็เปนธาตุอันหนึ่ง ซึ่งเรียกวา สังขตธาตุ มีอาการที่ถูกปรุงแตง แลวก็เปลี่ยนไป. ทีนี้ ธาตุปรุงแตงจนถึงขนาดที่เรียกวา เปนสัตว เปนคน ที่ มี ความรูสึกได ก็ เลยมี ค วามรู สึ ก ที่ เป น ทุ ก ข ไ ด ; ถ า ปรุ ง แต ง เป น ก อ นหิ น ก อ นดิ น อย า งนี้ ก็ ไ ม มี ทางจะรูสึ กเป นทุ กข ได . แม แต จะปรุงแต งขึ้ นมาเป นต นไม ก็ รูสึ กต อความทุ กข ได น อย ที่ สุ ด; พอเป นสั ตวเดี ยรัจฉานขึ้ นมา ก็ จะมี ความรูสึ กที่ เรียกวาเป นความทุ กขนั่ นมากขึ้ น; แต พอมาเป นมนุ ษย แล ว ความทุ กข จะมากขึ้ นตั้ งหลายรอยเท าพั นเท าที เดี ยว เพราะ มนุ ษย นี้ สู งด วยจิ ตใจ คิ ดเก งจํ าเก ง รูสึ กได เก ง อะไรได เก งไปหมดด วยจิ ตใจ; ฉะนั้ น จึ งจํ าเป นอยู เองที่ ต องรูสึ กต อความเปลี่ ยนแปลง หรือความเป นทุ กข นั้ นมากกว า. ดั งนั้ น ถ อยคํ าเหล านี้ ที่ พระผู มี พระภาคเจ าได ตรัสไว ท านเล็ งถึ งสั ตว ที่ เรียกว ามนุ ษย , และก็ ยั งเป นมนุ ษ ย ที่ เป น ๆ คื อไม ตาย แล วก็ ยั งมี ความรู สึ กได ตามปกติ ไม ใช เป นอั มพาต เป น ต น . จึ งหมายถึ งมนุ ษ ย ที่ ยั ง มี ชี วิ ต มี จิ ต ใจ พร อ มทั้ ง สั ญ ญา สมปฤดี ต า ง ๆ ; นี่ แหละคื อมนุ ษย ที่ เป นเจาของป ญหาต าง ๆ ที่ เราต องเอามาพู ด มาเทศน มาปรึกษาหารือกั น ในลักษณะอยางนี้.
www.buddhadasa.info เท าที่ พู ดมานี้ ก็ พอจะแสดงให เห็ นได แล วว า เรื่ องธาตุ นี่ เป นเรื่ องที่ จํ าเป น จะตองรู; ธาตุบางอยางก็มีลักษณะที่นาหวาดเสียว คือวาเปนเหตุ เปนที่ตั้งแหง ความทุกขโดยตรง.
สํ าหรั บในครั้ งนี้ จั กได บ รรยายเรื่ องธาตุ โดยหั วข อว า “ลั กษณะอาการที่ ธาตุปรุงแตงสิ่งทั้งปวง”. ลักษณะอาการที่ธาตุปรุงแตงธรรม คือ สิ่งทั้งปวง แมวาเราจะไดเคย กลาวมาแลวในการบรรยายครั้งที่ ๓ แหงชุดนี้วา ธาตุใหเกิดอายตนะ ขันธ อุปาทานขันธ
๑๓๘
ปรมัตถสภาวธรรม
และความทุ กข ได อย างไรมาครั้ งหนึ่ งแล วก็ จริ ง; แต นั่ นเป นการกล าวโดยเค าโดดหมวด หรือเรียกวากลาวอยางคราว ๆ.
ในตัวคน มีแตเรื่องของธาตุปรุงแตงกันไมรูหยุด ในวั นนี้ จะได กล าวถึ งกิ ริ ยาอาการและลั กษณะโดยละเอี ยด ของการที่ ธาตุ แต ละอย าง ๆ นั้ น จะปรุ งแต งธรรม คื อ สิ่ งทั้ งปวงขึ้ น มาอย างไร; และก็ ห ลี กไม พ น ไปได จากภาวะต าง ๆ, อาการต าง ๆ ที่ เป น อยู ในร างกายและจิ ต ใจของเรา. พู ด โดยสมมติ ก็ วา เป นเรื่ องในคนเรา ที่ เรียกวาเรา ๆ กั นตามธรรมดานี่ แหละ มี แต เรื่องของสิ่ งที่ เรีย กวา ธาตุแ ตง กัน อยา งนั ้น อยา งนี ้ไ มรู ห ยุด ; เปน ไปอยา งละเอีย ดลึก ซึ ้ง ยากที่ จะเข า ใจ, และมี อ ยู ในจิ ต ใจของมนุ ษ ย เราเป น ประจํ า วั น ตลอดวั น หรื อ ว า ตลอดคื น ; เป น เรื่ องที่ เป น ไปในจิ ตใจนั้ นมากกว า สํ าคั ญ วา เป นป ญ หากว า ที่ จะเป นเรื่องของ รางกาย. การศึ กษาในทํ านองนี้ ดู ๆ ก็ คล ายกั บว า จะเป นเรื่ องของจิ ตวิ ทยาอยู มาก แต ก็ ยั ง มี สิ่ ง ที่ จํ า เป น ที่ จ ะต อ งศึ ก ษา; เพราะว า เรื่ อ งที่ เกี่ ย วกั บ จิ ต หรื อ จิ ต วิ ท ยาใน พุ ทธศาสนาที่ เป นไปตามแบบของพุ ทธศาสนา ไมใชจิตวิทยาอยางวิชาจิตวิทยา ป จจุ บั น . จิ ต วิ ท ยานั้ น มี ความหมายกว างไปในทํ านองที่ ว า ถ าเรื่ อ งใดเกี่ ย วข อ งกั น กั บ จิ ต ที่ เราจะต อ งทราบ ต อ งรู ก็ เรี ย กว าจิ ต วิ ท ยาทั้ งนั้ น ; แต ในพุ ท ธศาสนานั้ น มุ งกั น แตจิตวิทยา ในแงเพื่อใหรูจักจิต ใหรูจักควบคุม รูจักจัดแจงเกี่ยวกับสิ่งที่เรียก วาจิ ต จนกระทั่ งไม มี ความทุ กข ; จํากั ดไวชั ดเจนหรือแคบได ในขอบเขตเพี ยงเท านี้ . ฉะนั้ น เราจึ งยิ นดี ที่ จะศึ กษาในฐานะที่ แม จะเป นจิ ตวิ ทยา, แต ไม ใช จิ ตวิ ทยาที่ จะดํ าเนิ น การงานแก สั ง คม หรื อ แก ป ระโยชน อ ะไรจากสั ง คม; แต เป น จิ ต วิ ท ยา ที่ จ ะจั ด การ แกไขปองกันกับเรื่องภายในตนเอง ไมใหเกิดความทุกขขึ้นมาได, ใหอยูเปนปกติสุข
www.buddhadasa.info
ลักษณะอาการที่ธาตุปรุงแตงสิ่งทั้งปวง
๑๓๙
แล วก็ ยั งแถมให มี สมรรถภาพในการที่ จะทํ าอะไรได ดี ด วยจิ ตนั้ น ๆ ที่ เราศึ กษาดี แล วอบรม ดีแลวเปนตน. สํ าหรับสิ่ งที่ เรียกว าธาตุ ทั้ งหลายนั้ น ทํ าอะไรไม ได มาก หรือทํ าอะไรไม ได เลยตามลํ าพั งตั งเอง เวนไวแต จะเขามาเกี่ ยวของ หรือเข ามาปรุงกั นจนกลายเป น เรื่อ งของจิ ต ไปเสี ย ก อ นเท า นั้ น ; ฉะนั้ น คํ าว า ธาตุ ล ว น ๆ ในทางวั ต ถุ ล ว น ๆ ก็ ไม เป นป ญหาอะไร แต เดี๋ ยวนี้ มาเป นที่ ตั้ งที่ อาศั ยของธาตุ ประเภทที่ เป นจิ ต คื อประเภทที่ เป น นาม. มั น มาเข าคู กั น ทั้ งรู ป ธาตุ และนามธาตุ ก็ เลยได ทั้ งรางกายและจิ ต ใจ ปรุง แตง เขา เปน อัน เดีย วกัน จนทํ า หนา ที ่อ ยา งใดอยา งหนึ ่ง ได; นี ่แ หละจึง จะ เกิดเปนปญหาขึ้นมา.
ธาตุที่มีชื่อแปลก ๆ ก็ควรตองศึกษา ขอให ทราบไว ว า เรื่ องธาตุ เป นสิ่ งที่ ลึ กลั บ น าอั ศจรรย หรื อลึ กซึ้ ง; สํ าหรั บ สิ ่ง ที ่เรีย กวา ธาตุ ไมม ีอ ะไรที ่ไ มใ ชธ าตุ; แมที ่ส ุด แตธ าตุที ่ม ีชื ่อ แปลก ๆ ซึ ่ง ทา น ทั้งหลายก็อาจจะยังไมเคยไดยินคือวา “ธาตุ ที่แกงวงนอนได”. เดี๋ยวนี้ใครกําลังงวงนอน แล วก็ จะต องมี ธาตุ หนึ่ งที่ จะแก ความง วงนอนนั้ นได เป นธาตุ ที่ พระพุ ทธเจ าท านได ตรั ส ไวเอง เรียกวา อารัมภธาตุ หรือนิ กกมธาตุ หรือปรั กกมธาตุ สามชื่อนี้ เป นธาตุ ที่ ตรัสไว กําจัดสิ่งที่เรียกวา ถีนะมิทธะได.
www.buddhadasa.info ถีน ะมิท ธะ คือ ความซึม เซางว งนอน ละเหี ่ย ออ นเพลีย ; นี ่เ รีย กวา ถี น ะมิ ท ธะ โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง ก็ คื อ ความมึ น ความง ว ง; นี่ ก็ เ ป น ธาตุ อั น หนึ่ ง เหมื อ นกั น . ธาตุ ที่ ต รงกั น ข า มที่ เรี ย กว า อารั ม ภธาตุ นั้ น คื อ เมื่ อ ธาตุ นี้ เกิ ด ขึ้ น แล ว ทํ าให เกิ ดความรู สึ กชนิ ดที่ สลั ดความง วงนอนออกไปได เพื่ อจะเริ่ มเรื่ องอะไรอื่ นที่ ตรง กันขาม.
๑๔๐
ปรมัตถสภาวธรรม
ลองคิ ดดู ว าบางเวลาเราก็ ง วงนอนไม อยากทํ าอะไร อยากจะนอนต อไปอย างที่ เรี ยกว าขี้ เกี ยจก็ แล วกั น; แต ถ ามี อะไรเกิ ดแทรกแซงเข ามา ทํ าให สะดุ ง ตาสว างขึ้ นมา ทั นที ลุ กขึ้ นไปทํ านั่ นทํ านี่ ทั นที นอนอยู ไม ได ; นี่ คื อธาตุ ประเภทที่ เรียกวาอารั มภธาตุ คือธาตุที่ทําใหเราลุกขึ้นปรารภเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ไมงวงนอนอยูได. บางทีก็เรียกวา นิกกมธาตุ คือกาวออกไปบางหนา ก็หมายความวากาวออกมาจากความงวงนอน มึนชา ซบเซา. บางทีก็เรียกวา ปรักกมธาติ ธาตุเปนเครื่องกาวไปสูความเบื้องสูง. นี่ เป นสิ่ งที่ น าแปลกหรื อไม สํ าหรั บคํ าว าธาตุ ; แม แต ธาตุ ที่ ทํ าให ง วงนอน และธาตุ ที่ จะกํ าจั ดความง วงนอน ไม ให ถี นมิ ทธะที่ ยั งไม ได เกิ ด เกิ ดขึ้ นมาได , และให ถีนมิทธะที่เกิดขึ้นแลวนั้นสลายตัวไป. ที่ ยกมาให ฟ งเป นตั วอย างนี้ เพื่ อให ทราบว า เรื่ องสิ่ งที่ เรี ยกว าธาตุ นี่ มี อะไร มากมายถึ งอย างนี้ . ข อความที่ กล าวไว ในพระคั มภี ร เช นเรื่องนี้ มี อยู ในอั งคุ ตตรนิ กาย หมวดที่ ๑ ก็ ไม ค อยจะมี ใครเอามาพู ดกั นในฐานะที่ เป นธาตุ หนึ่ งที่ แก ง วงนอนได . เราจะ แก ง ว งนอนด ว ยเหตุ อั น ใดก็ ต าม ด ว ยวิ ธี ใดก็ ต าม; ถ าธาตุ ชื่ อ นี้ ไม เข า มา ไม เกิ ด ขึ้ น ไม ผ สมเข าไปด วยกั น แล ว ไม ห ายง วงนอนได ; ถ าธาตุ ชื่ อ นี้ เข ามาเกี่ ยวข อ งด วยแล ว มันก็จะสะดุงหายงวงนอน ลุกขึ้นไปทําอะไรไดอยางกระปรี้กระเปราตอไปอีก.
www.buddhadasa.info นี่เรียกวาเปนตัวอยางที่แสดงไดยิ่งขึ้นไปอีก วาไมมีอะไร ที่เกี่ยวกับมนุษย เราแล วจะไม เรียกวาธาตุ ได, คือสามารถจะเรียกวาธาตุไดทั้งนั้น ไมวาจะเป นอะไร ในแง ใดแง ห นึ่ ง ในมุ ม ใดมุ ม หนึ่ ง ; คล า ย ๆ กั บ ว า พุ ท ธศาสนานี้ ไม ได พู ด อะไรเลย นอกจากจะพูด เรื ่อ งธาตุ; นี ้เ ปน ความจริง อยา งยิ ่ง . นับ ตั ้ง แตขี ้ฝุ น สัก อณูห นี ่ง ก็ เ ป น ธาตุ ขึ้ น มา เป น ก อ นหิ น ก อ นดิ น ต น หญ า ต น บอน ต น ไม สั ต ว มนุ ษ ย กระทั่งมีจิต ความคิด ความนึก ความทุกข ความสุข กระทั่งถึงนิพพานนั้น แตละ
ลักษณะอาการที่ธาตุปรุงแตงสิ่งทั้งปวง
๑๔๑
อย า งละอั น ก็ ล ว นแต เป น ธาตุ ; แม แ ต นิ พ พานก็ เป น ธาตุ ดั งที่ เคยพู ด ให ฟ ง มาแล ว . เราจะตองรูวาธาตุเหลานี้มีการปรุงแตงกันอยางไร จึงเกิดเปนนั่นเปนนี่ขึ้นมา.
ธาตุแมมีมาก กลาวโดยสรุปมีเพียงสอง : สังขตะ, อสังขตะ เมื่ อ กล า วโดยสรุ ป แล ว ก็ มี ก ารกล า วไว แ ต เพี ย งว า สิ่ ง สองสิ่ ง ที่ ค วรรู อยางยิ่งดวยปญญานั้น ก็คือสังขตธาตุ และอสังขตธาตุ. สั งขตธาตุ คื อ ธาตุ ที่ ป ระกอบกั น เป น สิ่ งนั่ น สิ่ งนี่ ปรุงแต งกั นเรื่อ ยไป ไม มี ห ยุ ด ; ถ า ยั ง มี ก ารเกิ ด ขึ้ น -ตั้ ง อยู -ดั บ ไป ของสิ่ ง อะไรในกายเรา นอกกายเรา อะไรก็ ตามนี้ เรียกว า สั งขตธาตุ หมด. คํ าว าสั งขตธาตุ จึ งรวม ธาตุ ดิ น ธาตุ น้ํ า ธาตุ ไฟ ธาตุ ล ม ธาตุ ทั้ ง หลายต า ง ๆ แม แ ต ธ าตุ ที่ ว า แก ง ว งนอน เอาไว ด ว ยเสร็ จ เป น พวก สังขตธาตุ แปลวา ธาตุที่มีปจจัยปรุงแตง. อีกธาตุหนึ่งเรียกวา อสังขตธาตุ แปลวา ธาตุที่ไมมีปจจัยปรุงแตง ก็ตรง กั นข ามและก็ เป นที่ สุ ด ที่ ดั บ แห งการปรุ งแต งของสั งขตธาตุ ด วย. จิ ตใจของมนุ ษ ย นี้ ลุ ถึ ง สิ่ ง ที่ เรี ย กว า อสั ง ขตธาตุ แ ล ว ก็ ห ยุ ด การปรุ ง แต ง ; ดั ง นั้ น จึ ง ได แ ก สิ่ ง ที่ เรี ย กว า นิ พ พาน หรือ นิ พ พานธาตุ ธาตุ คื อ นิ พ พาน, บางที ก็ เรีย กว า อมตธาตุ คื อ ธาตุ ที่ ไม รูจักตาย, หรือจะเรียกวานิ โรธธาตุ ธาตุ ที่ เป นที่ ดั บแห งสังขตธรรม คือสิ่ งปรุงแต ง ทั้ งหลายอย า งนี้ . นี่ มั น เป น ส ว น ๆ หนึ่ งที่ ต รงกั น ข า ม; เรี ย กว า อสั ง ขตธาตุ มี อ ยู อยางเดียว แตเรียกชื่อไดมากอยาง.
www.buddhadasa.info ทีนี้ในสังขตธาตุนี้ แยกออกไปมากมายทีเดียว จนนับไมไหววาจะเปน ธาตุอะไรบาง ซึ่งเราจะไดศึกษากันตอไป.
๑๔๒
ปรมัตถสภาวธรรม
ในการบรรยายครั้ งที่ แล วได พู ดแล วพู ดอี กถึ งธาตุ ที่ จั ดไว เป นหมวด ๆ เรี ยกว า ธาตุ ๑๘ ธาตุ : หมวดที่เกี่ยวกับตา ก็ไดแก จักขุธาตุ แลวก็รูปธาตุที่จะมากระทบกับตา และจักขุวิญญาณธาตุ คือความรูแจงที่เกิดขึ้นทางจักษุ. จับเคาเงื่อนใหไดเสียกอนวา เรานั้นประกอบอยูดวย ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ๖ อยาง; ทีนี้แตละอยางนั้น เราจะ ดูกัน ๓ สวนเสมอไป เชน : ตา ก็ดูกันที่ตาและรูปที่จะมากระทบตา มาพบกันแลว ก็เกิดวิญญาณทางตาขึ้นมา นี่หมวดนี้ก็มี ๓ ทุกหมวดมี ๓. หมวดหู ก็มีหู แลวก็มีเสียงที่จะมากระทบหู หูกับเสียงกระทบกันแลว ก็เกิด วิญญาณธาตุทางหู คือไดยินทางหู เรียกวารูแจงทางหู. หมวดจมูกก็มีจมูก คือที่เรียกวาฆานธาตุ แลวก็กลิ่นที่มากระทบจมูก เรียกวาคันธธาตุ กระทบแลวก็เกิดสิ่งที่เรียกวา ฆานวิญญาณธาตุ เปนการรูแจงทางจมูก; มันจะมี ๓ อยางนี้ทั้งนั้น.
www.buddhadasa.info หมวดลิ้น ก็มีลิ้นซึ่งเรียกวา ชิวหาธาตุ ก็มีรสธาตุ รสที่มากระทบลิ้น เรียกวารสธาตุ กระทบแลวก็มีชิวหาวิญญาณธาตุ การรูแจงทางลิ้น.
หมวดกาย ก็มีกาย เรียกวากายธาตุ ก็มีสิ่งที่มากระทบกาย เรียกวา โผฏฐัพพธาตุ, อะไรจะมากระทบกาย ทําใหเกิดความรูสึกขึ้น อันนั้นเรียกวา โผฏฐัพพธาตุ; ธาตุโผฏฐัพพะมากระทบแลวก็เกิดกายวิญญาณธาตุความรูแจงทางกาย ขึ้นมา นี่ก็ ๓ อีก. หมวดสุดทาย หมวดใจ หรือมโนก็เรียกวา มโนธาตุ เปนธาตุอันหนึ่ง; สิ่งที่มากระทบใจเรียกวา ธัมมารมณ เรียกสั้น ๆ วาธรรมธาตุ ธรรมธาตุนี้กระทบแลว ก็เรียกวา เกิดมโนวิญญาณธาตุ ธาตุนี้ทําความรูแจงทางมโน หรือทางใจ.
ลักษณะอาการที่ธาตุปรุงแตงสิ่งทั้งปวง
๑๔๓
รวมเปน ๖ หมวด ๆ ละ ๓ ก็เลยเปน ๑๘. ธาตุ ๑๘ นี้ เป นแม บทที่ จะต องศึ กษาเกี่ ยวกั บสั งขตธาตุ และที่ เกี่ ยวกั บมนุ ษย โดยตรง. เราจะต อ งจํ า ไว ใ ห แ ม น ยํ า ว า มี อ ยู โ ดยหลั ก ทั่ ว ไปอย า งนี้ , เป น ความ สั ม พั น ธ กั น ครบถ ว นหมด ทั้ ง ระหว า งรู ป ธาตุ แ ละนามรู ป ธาตุ คื อ ทั้ ง กายและจิ ต . เช นว า จั กขุ ธาตุ อย างนี้ ธาตุ ตานี้ ก็ ไม หมายความแต เพี ยงก อนเนื้ อลู กตา แต หมายถึ ง ประสาทที่ อ าจจะมี ค วามรู สึ ก ทางตารวมอยู ด ว ย ไม ใช ก อ นเนื้ อ ล ว น ๆ. ที นี้ รู ป ที่ จ ะ มากระทบตานั้ น ก็ เป น รู ป แม โดยทั่ ว ไปแล ว ก็ ไม ใช เป น วั ต ถุ ล วน ๆ ต อ งมี อ ะไรอยู ในสิ่ ง ที่ เรี ย กว า รู ป นั้ น ที่ ทํ า ให เคลื่ อ นไหว ให มี ค วามหมายอะไรต า ง ๆ; นี่ จึ ง จะเกิ ด เปนปญหาขึ้นมาได. จักขุวัญญาณธาตุนั้น ยิ่งเห็นไดชัดวา เปนเรื่องทางจิตใจ.
ดูวิธีการปรุงแตงของธาตุ ตามหลักปฏิจจสมุปบาท การที่เราจะมาดูวา ธาตุปรุงแตงใหเกิดสิ่งทั้งปวงนี้มีกิริยาอาการอยางไร; นี่ดูไดหลายแบบ ดูไดมากแบบ. ที่เปนหลักทั่วไปนั่นก็คือหลักของปฏิ จจสมุปบาท ที่ เคยพู ดกั นมาอย างละเอี ยดลออที่ สุ ดแล ว ตั้ งแต ป ก อนโน น. ถ าใครยั งจํ าได ก็ จะเข าใจได ทั น ที เมื่ อ เอามาพู ด ในฐานะที่ เป น เรื่ อ งธาตุ ; ขอให ล องกํ า หนดสั ง เกตดู อี ก ครั้ ง หนึ่ ง ดังนี้ :-
www.buddhadasa.info เรามี จั ก ขุ ธ าตุ ธาตุ ต า, แล ว ก็ มี รู ป ธาตุ คื อ ธาตุ ที่ เป น รู ป ที่ จ ะเห็ น ได ทางตา ที่ มากระทบตา, กระทบแล วเกิ ดจั กขุ วิ ญ ญาณธาตุ ธาตุ วิ ญญาณที่ อาศั ยจั กษุ ; สามอย างนี้ เกิ ด ขึ้ น พร อ มกั น แล ว; แล วสามอย างนี้ ก็ เรี ย กว าจั ก ขุ สั ม ผั ส . จั ก ขุ สั ม ผั ส นี้ จะจัดไว เปนสังขารธาตุก็ได เวทนาธาตุก็ได แลวแตจะเอาระยะไหนเปนหลัก.
๑๔๔
ปรมัตถสภาวธรรม
การสั มผั สทางตานี้ ก็ ยั งเป นธาตุ . เมื่ อมี การสั มผั สทางตาแล ว ก็ เกิ ดเวทนา ที่ ม าจากการสั ม ผั ส ทางตา; เวทนานี้ ก็ เรี ย กว าเวทนาธาตุ . เวทนาเกิ ด แล วก็ ทํ าให เกิ ด ความอยากอยางนั้นอยางนี้ ที่เรียกวา ตัณหา, เวทนา เปนปจจัยใหเกิดตัณหา. ตั ณหานี้ ก็ เป นธาตุ จะเรี ยกว าธาตุ ตั ณหาเฉย ๆ ก็ ได แต ถ าถื อตามหลั กแล ว มั น เป น สั ง ชารธาตุ , เป น ธาตุ ห นึ่ ง ในธาตุ ทั้ ง ๕ ที่ มี ชื่ อ คล า ยกั บ ขั น ธ . ข อ นี้ ต อ งไม ลืม เสีย วา รูป เวทนา สัญ ญา สัง ขาร วิญ ญาณ ๕ คํ า นี ้ บางทีเรีย กวา ขัน ธ บางที เ รี ย กว า ธาตุ บางที ก็ เ รี ย กว า อุ ป าทานขั น ธ ก็ มี . ในที่ นี้ มุ ง หมายจะให เป น ธาตุ อั น หนึ่ ง เป น ส ว นประกอบส ว นหนึ่ ง เป น ธาตุ ล ว น ๆ; ถ า เป น ขั น ธ มั น จั บ กลุ ม กั นมากกว านั้ น; ถ าเป นอุ ปาทานขั นธ จะจั บกลุ มกั นยิ่ งกว านั้ นอี ก คื อมี อุ ปาทานเข าไป แทรกดวย. เดี ยวนี้ เราเรี ยกว าตั ณหา ความอยากเกิ ดขึ้ นเป นสั งขารขั นธ ก็ คื อสั งขารธาตุ ; แล ว ก็ เกิ ด อุ ป ทาน ความยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น ในสิ่ ง ที่ เป น อารมณ ข องตั ณ หานั่ น หรื อ ตั ว ตั ณ หาเองก็ ได ก็ เลยเรี ย กว า สั ง ขารธาตุ เหมื อ นกั น ; กระทั่ ง ไปถึ ง ภพ ซึ่ ง ส ว นหนึ่ ง ก็ เปนกรรม สวนหนึ่งก็เปนวิบาก.
www.buddhadasa.info เมื่อเรามีความอยากอยางไรแลว ยึดมั่นในความอยากนั้นอยางไรแลว ก็ มี ส ว นที่ จ ะเป น ความรู สึ ก เป น ตั ว กู -ของกู ขึ้ น มาเต็ ม ที่ แ ล ว ; เพราะที่ เรี ย กว า อุ ป าทานนั่ น ก็ คื อ ยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น ที่ เอี ย งไปในทางจะเป น เรา เป น ของเราขึ้ น มาแล ว ; เสร็ จแล วก็ เป นภพ เรี ยกว าภพใด ภพหนึ่ ง อย างที่ เรากํ าลั งเป นอยู นี้ . ถ าจิ ตมั่ นหนั กไป ในทางกาม เพราะว ามี กามธาตุ เข ามาปนอยู มาก อุ ปาทานและภพนั้ นก็ เป นไปในทางกาม เพราะอยูในกามภพ.
ลักษณะอาการที่ธาตุปรุงแตงสิ่งทั้งปวง
๑๔๕
ขณะที่มนุษยมีจิตใจถูกปรุงแตงอยูดวยกามธาตุเต็มที่ ก็เรียกวาอยูใน กามภพ; หรื อว าถ ามี รู ปธาตุ อรูปธาตุ อย างอื่ นมาปรุงแต งเต็ ม ที่ ก็ เรียกเป น รูป ภพ อรูปภพ ไปได. แตถึงอยางไรก็ตาม เมื่อเปนภพอยางนี้แลวก็เกิดสิ่งที่เรียกวาชาติ คือความเบิกบานเต็มที่ ปรากฏออกมาเต็มที่ แหงสิ่งที่ประชุมปรุงแตงกันขึ้นดวยธาตุ ทั้งหลาย ที่นี้ ก็มี ป ญหาเรื่องแก เรื่องเจ็บ เรื่องตาย เอามาคิ ดมานึ กให เป นเรื่องตั ว เรื่องของตัว สําหรับจะมีความทุกขนานาชนิด; นี่ทุกขทั้งหลายมันเกิดขึ้นไดอยาง นี้ . นี้คือลักษณะอาการอันหนึ่งที่เรียกวา ตั้งตนขึ้นมาดวยจักขุธาตุ คือธาตุตา. ก็ เมื่ อมองกั นในแงนี้ ก็ หมายความวา เอาธาตุ ตานี้ เป นหลั ก แล วเกิ ดการ เห็ นรู ป เกิ ดวิ ญ ญาณ เกิ ดผั สสะ เกิ ดเวทนา เกิ ดตั ณ หา เกิ ดอุ ปาทาน ภพ ชาติ เป น ตั วฉั น กลั ดกลุ มอยู ด วยกามธาตุ เป นต น; เรียกว าอยู ในกามภพเวลานั้ น นี้ เอาจั กขุ ธาตุ เปนของเริ่มตน แลวก็เล็งไปตามหลักของจักขุธาตุ.
www.buddhadasa.info พิจารณาโดยเริ่มตนจากรูปธาตุก็สัมพันธกัน ๖ ระยะ
ทีนี้ถาเราจะเอารูปธาตุ เปนขอเริ่มตน การปรุงแตงก็จะมีไปอีกแนวหนึ่ง ในอี ก รู ป หนึ่ ง ; ที่ เป น อย า งหยาบ ๆ คร า ว ๆ. พระพุ ท ธเจ า ตรั ส ไว ในธาตุ สั งยุ ต ต นั้ น เปน ๖ ระยะ; ๖ ระยะนี้ก็คือ :-
๑. รู ป ธาตุ -ธาตุ ที่ เ ป น รู ป นี้ หมายถึ ง มี รู ป เป น ลั ก ษณะของธาตุ นั้ น . รูปธาตุนี้ยอมจะกอใหเกิดรูปสัญญา สัญญาวารูป หมายถึงรูป ที่จะเห็นทางตานี้ก็ได : มีรูปธาตุ แลวก็จะกอใหเกิด รูปสัญญา ความสําคัญวารูป.
๑๔๖
ปรมัตถสภาวธรรม
นี่ เป น เรื่ องทางจิ ตใจ; ขอให เข าใจไว ตลอดเวลาว า ที่ กํ าลั งพู ด นี้ เป น เรื่ อ ง ทางจิตใจ. ๒. รูปธาตุ มี อยู ในที่ ทั่ วไป; แตพอเขามาเกี่ ยวของกับจิตใจ รูปธาตุ นั้ น ก็ทําใหเกิดความรูสึกที่เรียกวา รูปสัญญา รูสึกตอรูป สําคัญในรูป มั่นหมายในรูป, เปนรูปสัญญาขึ้นมา. ๓. พอมี รูปสั ญ ญาอย างไรแล ว จะมี “รูป สั งกั ป ปะ” คื อความครุ นคิ ด ใครครวญ ครุนคิ ด เกี่ ยวกั บรูปสั ญญา นั่ นแหละ. ตั วมี ความสํ าคั ญมั่ นหมายว านั่ นรู ป อะไร ก็จะมีสังกัปปะ -ความครุนคิดเกี่ยวกับรูปนั้น ในลักษณะอยางนั้น อยูในใจ. ๔. จากรูป สั งกั ป ปะ ก็ จ ะเกิ ด รู ป ฉั น ทะ-พอใจในรู ป สั ญ ญา ที่ เอามา กระทํ าเป น รูป สั งกั ปปะอยู ; ไม ต อ งมี รูป เข ามาทางตาก็ ยั งได เพราะว า รูปทางตาแต ก อน ๆ ที่ เคยผ านมาแล ว อยู ในความจํ าหมายก็ มี หรื อจะอาศั ยรู ป ในป จจุ บั นนี้ ก็ ได . แต ในที่ นี้ โดยส วนใหญ แ ล ว ก็ ห มายถึ งรู ป ที่ อ ยู ในความจํ าที่ ล วงมาแล วแต ห นหลั ง; เพียงแตเรามาคิดก็ใครครวญได ใครครวญ ๆ แลวเกิดทอใจขึ้นมาก็ได.
www.buddhadasa.info ๕. เมื ่อ มีร ูป ฉัน ทะ พอใจในรูป นั ้น แลว , ก็ม ีไ ดแ มแ ตร ูป ปริฬ าหะ คือความเรารอน กระวนกระวายเพราะรูป ที่เนื่องมาจากความพอใจในรูป.
๖. พอมี ค วามกระวนกระวาย ก็ ท นอยู ไม ได ก็ เกิ ด ปริ เยสนา คื อ ต อ ง แสวงหาโดยทางกาย ทางวาจา ทางใจ ก็ ออกแสวงหารู ป จนได รู ปนั้ นเป นวั ตถุ เป น ของเฉพาะหน า หรือเป นของป จจุ บั นขึ้ นมา หรือแม แต เพี ยงความรูสึ ก ที่ รูสึ กว าได มา ซึ่งรสอรอย หรืออะไรของรูปนั้น ตามที่ตัวตองการอยูในใจนี้ ก็เรียกวาเปนเรื่องที่
ลักษณะอาการที่ธาตุปรุงแตงสิ่งทั้งปวง
๑๔๗
แสวงหาอยู ในใจ ถ าออกแสวงหาทางกายก็ ทํ าอะไรที่ เป นการแสวงทางกาย หรื อแสวงหา โดยใชวาจาเปนเครื่องมือ ก็มีการแสวงหาทางวาจา. ธาตุ ปรุ งกั นกล าวอย างย อ ๆ พระพุ ทธเจ าท านตรั สไว ๖ ระยะอย างนี้ ; ถ า ทบทวนอี ก ครั้ งหนึ่ งก็ คื อ ว า รู ป ธาตุ : ให เกิ ด รู ป สั ญ ญา-สํ าคั ญ มั่ น หมายในรู ป นั้ น , รูป สัญ ญาใหเ กิด รูป สัง กัป ปะ-ดิ ้น รนใครค รวญครุ น คิด ในรูป นั ้น , รูป สัง กัป ปะ ใหเ กิด รูป ฉัน ทะ-พอใจในรูป ที ่ต นรู ส ึก อยู นั ้น ในเวลานั ้น , รูป ฉัน ทะ-แลว ก็ต อ ง เกิ ด รู ป ปริ ฬ าหะ-ความกระวนกระวายใจ เรารอ น นิ่ งอยู ไม ได , รู ป ปริ ฬ าหะ ก็ ให เกิดรูปปริเยสนา แสวงหา. นี่ คิ ด ดู เถิ ด ว า การที่ อ อกแสวงหาในส ว นที่ เป น รู ป ก็ มี ลั ก ษณะอย า งนี้ ; แม วาเราจะแสวงหารูปอะไร ก็ มี ลั กษณะอยางนี้ , ที นี้ มั นยั งมี เสียง มี กลิ่ น มี รส มี สั มผั ส มีอะไรตอไปอีกที่แสวงหากัน ขอใหทราบไดวามันเปนลักษณะเดียวกันกับรูปนี้.
รูปธาตุ ปรุงอยางละเอียดมี ๙ ระยะ
www.buddhadasa.info ที นี้ ที่ ได ตรั สไว อย างละเอี ยดนั้ น ขยายออกไปอี กสามเป น ๙ ระยะ : ครั้ ง แรกที่สุดก็รูปธาตุอีกนั่นแหละ ๑. เริ่มดวยรูปธาตุ. ๒. รูปธาตุก็ให เกิดรูปสัญ ญา เหมือนกับที่แลวมา. ๓. รูปสัญญาก็ใหเกิดรูปสังกัปปะ-ความตริตรึกไปในเรื่องรูป.
๔. เรื่ อ งนี้ เป น เรื่ อ งทางจิ ต ใจ คื อ ทํ าการเคลื่ อ นไหวไปในทางจิ ต ใจ หรื อ ทางมโนทั้ง นั้น ; เมื ่อ เอารูป มาตริต รึก เปน รูป สัง กัป ปะอยูก็ไ ดสัม ผัส กับ รูป นั ้น ก็เลยมี สิ่ งที่ แทรกเขามาตรงนี้ อย างละเอี ยดอี กอั นหนึ่ ง เรียกวา รูปสั มผั ส หลั งจากรู ป สังกัปปะแลวก็มีรูปสัมผัส.
๑๔๘
ปรมัตถสภาวธรรม
เมื่ อ มี รู ป สั ม ผั ส ในทางจิ ต ใจ คื อ ใครค รวญรูป ใดอยู ครุ น คิ ด รู ป ใดอยู นั่ น เป น สั ง กั ป ปะ คื อ เป น สั ง ขารขั น ธ อั น หนึ่ ง จึ ง เป น อารมณ ข องจิ ต ที่ จ ะเอารู ป ใน สั งกั ปปะนั้ นมาเป นอารมณ ของสั มผั สในที่ นี้ เป นเรื่ องทางใจล วน ๆ แต สั มผั สรู ป ที่ กํ าลั ง เป น อารมณ ของรูป สั งกั ป ปะ จึ งเรี ยกว า มี รู ป สั ม ผั ส ที่ ต รงนี้ ได ; แต มิ ได ห มายสั มผั ส ข างนอก ถ าสั ม ผั ส ด วยตาข างนอก เขาเรี ย กว าจั ก ขุ สั ม ผั ส มิ ได เรี ย กว ารู ป สั ม ผั ส เลย เดี๋ยวนี้เปนเรื่องรูปทั้งนั้น. ๕. จากรูป สั ม ผั ส นั้ น ก็ ให เกิ ด รูป สั ม ผั ส สชาเวทนา-คื อ เวทนาอั น ใหม ที่ จิ ตรู ได โดยการสั มผั สข างใน, ในสั มผั สรู ปที่ เป นอารมณ ของสั งกั ปปะ ก็ เกิ ดรูปสั มผั สสชา เวทนา. ๖. หลั งจากนั้ นก็ เกิ ด รู ป ฉั น ทะอย างเดี ยวกั บ หมวดที่ แล วมา คื อ พอใจใน รูปนั้น เพราะมันเปนที่ตั้งแหงเวทนา ก็ตองหมายถึงเปนสุข หรือพอใจละ. ๗. ที นี้ รู ป ฉั น ทะ ก็ ทํ า หน า ที่ ต อ ไป ให เกิ ด รู ป ปริ ฬ าหะ-เร า ร อ นกระวน กระวายใจเพราะรูป.
www.buddhadasa.info ๘. ร อ นใจทนอยู ไม ไ ด ก็ เกิ ด รู ป ปริ เยสนา-แสวงหารู ป กระทั่ ง ออกมา เปนทางการกระทํา ทางกาย ทางวาจา ทางใจก็ได. ๙. รู ป ปริ เยสนา ก็ ให เกิ ด ต อ ไปอี ก ชั้ น หนึ่ ง เรี ย กว า รู ป ลาภะ -คื อ การ ไดมาซึ่งรูป. ถ า จะจํ า ก็ จํ า ให ดี ดั ง จะทบทวนอี ก ครั้ ง หนึ่ ง : ๑. รู ป ธาตุ -ธาตุ คื อ รู ป ก อ ให เ กิ ด ๒. รู ป สั ญ ญ า-ความสํ า คั ญ มั่ น หมายในรู ป . ๓. รู ป สั ญ ญ าให เ กิ ด รู ป สัง กัป ปะ-คือ ครุ น คิด ในรูป . ๔. รูป สัง กัป ปะ ใหเ กิด รูป สัม ผัส สะ-คือ ไดส ัม ผัส กับรูป ในอารมณของรูป สังกัปปะ. ๕. รูปสัมผัสสะใหเกิด รูปสัมผัสสชาเวทนา
ลักษณะอาการที่ธาตุปรุงแตงสิ่งทั้งปวง
๑๔๙
-ความรู สึ กเป นเวทนา สุ ข ทุ กข อุ เบกขา ออกมาจากรู ปสั มผั สสะ. ๖. รู ปสั มผั สสชาเวทนานี้ ให เกิ ด รู ป ฉั น ทะ-ความพอใจในรู ป ที่ กํ า ลั ง เกิ ด เป น อารมณ อ ยู นั่ น . ๗. รู ป ฉั น ทะนี้ ให เกิ ด รู ป ปริ ฬ าหะ-เร า ร อ นกระวนกระวายทนอยู ไม ได เพราะรู ป ฉั น ทะนั่ น เปน เหตุ. ๘. รูป ปริฬ าหะนี ้ก ็ทํ า ใหเ กิด ลุก ขึ ้น แสวงหา เรีย กวา รูป ปริเ ยสนา ๙. การแสวงหาในที่ สุ ด ก็ ต อ งได ; ไม ไ ด ใ นครั้ ง แรก ก็ ต อ งได ใ นครั้ ง หลั ง ก็ ต อ งได อะไรอย างใดอย างหนึ่ ง ได รู ปนั้ นมาก็ ตาม. ได สิ่ งที่ เกี่ ยวข องกั บรู ปก็ ตามหรื อได สิ่ งซึ่ ง มี รู ป นั้ น เป น เหตุ แม แ ต ค วามทุ ก ข ก็ เรี ย กว า เป น การได ; นี่ เรี ย กว า เป น ๙ ระยะ อยางนี้. ทีนี้ในเรื่องของเสียง, กลิ่น เปนตน แตละอยางก็มีระยะอยางเดียวกันนี้.
พิจารณาธาตุสัมพันธอีกวิธีหนึ่งเริ่มทางใจลวน ๆ ที่ กล าวมานี้ เพื่ อจะชี้ ให เห็ นว า กิ ริ ยาอาการลั กษณะโดยละเอี ยด ที่ ว าสิ่ งที่ เรี ยกว า ธาตุ ธาตุ เฉย ๆ ที่ ป รุ งแต งธรรมทั้ งปวงขึ้ นมาได อ ย างไร. ในที่ นี้ ก็ เห็ น ได ชั ด แล ว ว า รู ป ธาตุ ซึ่ ง เป น ธาตุ อั น หนึ่ ง นี่ ก็ ป รุ ง แต ง สั ญ ญา สั ง กั ป ปะ ผั ส สชาเวทนา ฉันทะ ปริฬาหะ ปริเยสนา กระทั่งลาภะ คือการไดขึ้นมา.
www.buddhadasa.info ที นี้ จะยกตั วอย างด วย หมวดที่ ชั ดขึ้ นมาอี ก ให เห็ นใกล ชิ ดตามที่ เป นอยู จริ ง ในเราคนหนึ่ งๆ วั น หนี่ ง ๆ โดยะจยกเอาเรื่ อ งของสิ่ งที่ เรี ย กว า กาม หรื อ กามะขึ้ น มา. แต ว าจะขอให ทุ กคนนึ กถึ งการบรรยายในครั้งที่ แล วมา ที่ เราได ฟ งกั นมาแล วว า ถ าจะ แบ งแยกธาตุ ออกเป น ๓ หมวด อีกชนิ ดหนึ่ ง ก็ มี ได วา กามธาตุ -ธาตุ ที่ เป นกาม, รู ป ธาตุ -ธาตุ ที่ เป น รู ป บริ สุ ท ธิ์ ไม เจื อ ด ว ยกาม. อรู ป ธาตุ -ธาตุ ที่ ไม มี รู ป ไม เจื อ ด ว ย กาม แล วก็ ไม มี รู ปด วย; นี่ มี อยู ๓ ธาตุ อย างนี้ . เมื่ อตะกี้ นี้ พระสงฆ ก็ สวดบทนี้ ว ามี อยู ๓ ธาตุ ที่ จะเป นเครื่ องวั ดภาวะ หรื อสถานะอะไรของจิ ต : กามธาตุ อย างหนึ่ ง รู ปธาตุ อยางหนึ่ง อรูปธาตุอยางหนึ่ง.
๑๕๐
ปรมัตถสภาวธรรม
คนที่ จิ ตตกไปในทางความรั ก ความใคร โดยเฉพาะอย างยิ่ งเกี่ ยวกั บเพศ อาศั ยสิ่ งที่ เรียกว า กามธาตุ . บางคนจะด วยอะไรก็ ต ามใจเถอะ เขาไม ได ส นใจใน สิ่ งที่ เรี ย กว ากาม; เขาไปสนใจเรื่ อ งที่ เรี ยกว ารู ป ล วน ๆ บริ สุ ท ธิ์ ไม เกี่ ย วกั บกาม, ก็ มี สิ่ ง ที่ เรี ย กว า รู ป ธาตุ เป น ที่ ตั้ ง . บางคนไปไกลกว า นั้ น รู ป นี่ ก็ ยั ง เกะกะนั ก เอาที่ ไมมีรูปดีกวา พอใจอยูในสิ่งที่ไมมีรูปอะไร ไมมีความหมายแหงกามดวย; นี่ก็เรียกวา อรูปธาตุ. คนธรรมดาหมกมุ นอยู กั บกามธาตุ เชนเรื่องเพศ แต ถึงอยางนั้ น บาง เวลาก็ ไม ไหวเหมื อ นกั น มั น เบื่ อ มั น ระอา แม ไม ต ลอดไปก็ เบื่ อ เป น ครั้งคราว แล ว ไปสนใจในรู ป ธรรมอั น ใดอั น หนึ่ ง ซึ่ ง ไม เกี่ ย วกั บ กาม; แต ว า พระฤาษี โยคี มุ นี เขาไปหาวิธีที่จะใชรูปบริสุทธิ์เปนอารมณของสมาธิ ทําใหเกิดฌาน ไมเกี่ยวกับกาม ก็ เป น สุ ข อยู กั บ รู ป ธรรมเหล า นั้ น ได . ฤาษี มุ นี โยคี บ างหมู ไปไกลกว า นั้ น : ไม เอา แล ว รู ป นี่ เห็ น ว า ยั ง เกะกะนั ก หยาบนั ก กระทบกระทั่ ง ได ด ว ย; จึ ง ไปเอาสิ่ ง ที่ ไ ม เป นรู ป ไม มี รูป คื อเป นนามล วน ๆ เช นธาตุ จิ ต หรื อธาตุ วิ ญ ญาณ หรื อว าเอาความ ไมมีอะไรเปนตนมาเปนอารมณสําหรับทําจิตใหเปนสมาธิ แลวเกิดความสุข พอใจ อยูดวยอรูปธาตุ ชนิดนั้น.
www.buddhadasa.info นี่เราก็ไดเปนกามธาตุอยางหนึ่ง รูปธาตุอยางหนึ่ง อรูปธาตุ อยางหนึ่ง เป น ๓ อยางในหมวดนี้ อย างแรกที่ เรียกวา กาม หรือกามธาตุ นี้ เราอาจจะศึ กษาได จากหลั กที่ พระพุท ธเจา ทา นไดต รัส ไวใ นธาตุส ัง ยุต ต อยา งเดีย วกัน อีก ; แตแ ลว ก็ยัง อยาก จะให มองเห็ น ให ชั ดมากออกไปอี กบางอย าง หรื อบางระยะ บางขณะที่ มากไปกว าที่ พระองคไดตรัสไว และเราเห็นไดวามันมีอยูจริง
ลักษณะอาการที่ธาตุปรุงแตงสิ่งทั้งปวง
๑๕๑
ทีนี้ก็จะเริ่มขึ้นดวยสิ่งที่เรียกวาตัวอยาง อันนี้จะเริ่มขึ้นดวยสิ่งที่เรียกวา กามธาตุ : ธาตุ ก าม ธาตุ เป น ที่ ตั้ งแห งกาม ธาตุ ป รุ งแต งกาม ธาตุ เป น ไปเพื่ อ กาม เป นผลในที่ สุ ดอะไรก็ ต ามเพื่ อ ความหมาย เราเรี ยกสั้ น ๆ ว า กามธาตุ . ความรู สึ ก ที่ เป นกามธาตุ นี้ จะมี อยู เหมื อนกั บว ามี อยู ทั่ วไป ในบรรยากาศ หรือว านอกบรรยากาศ ในสากลจั กรวาล ธาตุ นี้ ก็ มี อยู แต ยั งไม มี โอกาสจะแสดงตั วอะไรออกมา จนกว าจะมี โอกาส มี ที่ ตั้ ง มี อ ะไร คื อ มี จิ ต ของมนุ ษ ย มี อ ะไรให โอกาส มี อ ารมณ ให โอกาส; กามธาตุ ที่มีอยูในที่ทุกหนทุกแหงนี่ ก็แสดงตัวออกมาในจิตใจของมนุษยคนนั้น ในขณะนั้น. เหมื อนอย างที่ ได เคยยกตั วอย างในการบรรยายครั้ งก อน ๆ ว า ธาตุ ไฟ ความ รอนก็ มี อยู ในที่ ทุ กหนทุ กแห ง ที่ เราจะหาพบได ; ไฟธรรมดาก็ดี ไฟฟ าก็ดี ไฟอะไรก็ดี มันจะแสดงออกมาไดก็ตอเมื่อมีโอกาส มีการกระทํา มีอะไร; แมที่สุดแตวาเอาเหล็ก มาโขกลงไปบนหิ น เกิ ด เป น ประกายไฟ มี ทั้ ง ความร อ น มี ทั้ ง แสง มี ทั้ งอะไรขึ้ น มา ธาตุไฟจึงจะปรากฏออกมา; เรื่องกามธาตุก็มีนัยอยางเดียวกัน.
www.buddhadasa.info บางคนจะคิ ดไปว า ธาตุ ไฟเพิ่ งสร างขึ้ นมา ด วยการโขกเหล็ กลงไปบนหิ น อยา งนี ้; แตท างหลัก ธรรมะ เขาไมถ ือ อยา งนั ้น . เขาถือ วา ธาตุไ ฟ หรือ ความ ร อนนั้ น มั นมี อยู ตลอดเวลาเป นธาตุ ๆ หนึ่ ง แต มั นไม แสดงออกมา จนกว าจะได โอกาส ไดเหตุ ไดปจจัย.
ธาตุ ไฟเป นอย างไร กามธาตุ นี้ ก็ เหมื อนกั น จะต องมี คน และจะต องมี คน ที่ โตพอสมควรที่ จะรูค วามหมายอั น นี้ . เด็กทารกแรกคลอด ยังไม สามารถจะรูได เต็ ม รู ป อย า งนี้ ; ต อ งโตขึ้ น มาพอสมควร แล ว ก็ ต อ งได อ ารมณ ซึ่ ง มี ก ารปรุ ง แต ง ตามกระแส ของสิ่งที่เรียกวา กามธาตุ.
๑๕๒
ปรมัตถสภาวธรรม
๑. เมื่ อ ใดมี อ ารมณ แ ห งกามธาตุ ที่ จ ะแสดงตั ว ในจิ ต ใจของมนุ ษ ย ได กามธาตุจึงแสดงตัว, ๒. กามธาตุ นั้ นก็ ให เกิ ดสิ่ งที่ เรี ยกว า กามสั ญ ญา, ลํ าดั บนี้ คล ายกั นมาก ซ้ํ า ๆ กั น . กามธาตุ ทํ าให เกิ ด กามสั ญ ญา-สํ าคั ญ มั่ น หมายว ากาม ว าของรั ก ของใคร รู สึ ก ของรั ก ของใคร รู สึ ก กระสั น ได ด ว ยอํ า นาจของกิ เลสชื่ อ นี้ . กามธาตุ ทํ า ให เกิ ด กามสัญญา-สําคัญวา ของใคร ของรัก สําคัญวากาม. ๓. กามสั ญ ญาก็ ทํ าให เกิ ด กามสั งกั ป ปะ-ความครุ งคิ ดในกาม; ครุ นคิ ด ใครครวญในกาม เรียกวากามสังกัปปะ; มีกามสังกัปปะ ก็ทําใหเกิด กามสัมผัส. ๔. เมื่ อมี ความหมายของกามธาตุ หรือตั วกามธาตุ มาทํ าสั งกั ปปะอยู จิ ต ก็ สั ม ผั สกามธาตุ นั้ น หรือกามนั้ น ; อย างนี้ เรี ย กว ากามสั ม ผั ส สะ. มิ ใช ทางเนื้ อหนั ง ระหวางบุคคล แตเปนเรื่องจิตใจเทานั้น, จิตใจของบุคคลกําลังเปนไปอยางนั้น.
www.buddhadasa.info ๕. กามสั มผัสสนั้ นทํ าให เกิ ดกามสัมผัสสะชาเวทนา คือความรูสึกเวทนา สนุ กอยู ในใจ เป นสุ ขอยู ในใจ อะไรก็ ตามที่ เรี ยกว าเวทนา ซึ่ งเนื่ องมาแต กามสั มผั สสะ ที่เปนภายใน เปนสักวากระแสแหงความครุนคิดปรุงแตง.
๖. เวทนานั้ น ทํ า ให เ กิ ด กามฉั น ทะ ความรู สึ ก ที่ พ อใจในกาม. แม ไ ม ได เกี่ ยวข องกั บบุ คคลที่ สอง บุ คคลเดี ยวภายในใจของบุ คคลนั้ น ก็ มี สิ่ งที่ เรียกว า กามฉั นทะ เกิดได โดยอาศัยเหตุปจจัยตาง ๆ ขางตน. ๗. เมื่ อ มี ก ามฉั น ทะ ก็ ใ ห เกิ ด กามปริ ฬ าหะ คื อ ความเรา รอ นกระวน กระวายเหมือนไฟเผา, เนื่องมาแตกามนั้น. ๘. มี กามปริ ฬาหะ ก็ ให เกิ ดกามปริ เยสนา คื อการแสวงหากาม แสวงหา อยู ด วยจิ ตใจข างใน หรื อออกมาข างนอก เป นการกระทํ าทางกาย วาจา หรื ออะไรก็ ตาม มันเปนการแสวงหากาม.
ลักษณะอาการที่ธาตุปรุงแตงสิ่งทั้งปวง
๑๕๓
๙. กามปริ เยสนา แสวงหากามนี้ ก็ ทํ า ให เกิ ด กามลาภะ, กามลาโภ กามลาภะ,แลวแตจะเรียก คือไดมาซึ่งกาม. ที นี้ เราก็ ดู เอาเองต อจากรายชื่ อในพระบาลี ที่ ตรั สไว เราก็ อาศั ยหลั กพระบาลี ที่อื่นมาชวยประกอบกัน ทําใหเขาใจไดวา : เมื่ อ มี ก ามลาภะ การได ม าซึ่ ง กาม ต อ ไปก็ มี ก ามโภคะ คื อ การบริ โภค ซึ่ ง กามนั้ น . เมื่ อ มี ก ารบริ โภค แล ว มั น ก็ จ ะต อ งมี ค วามรู สึ ก ต อ ไป เช น กามตั ณ หา โดยตรง, มี ค วามอยาก... ที่ เ กิ ด ขึ้ น เพราะเวทนาในระยใหม ระยะหลั ง นี้ อี ก เป น กามตั ณ หา. จากกามตั ณ หาก็ เป นกามุ ปาทาน-ความยึ ดมั่ นถื อมั่ น ในฐานะที่ เป นกาม เรี ย กว า กามุ ป าทาน ซึ่ ง ทุ ก คนก็ มี ค วามรู สึ ก เป น กามุ ป าทาน ตามวิ สั ย ของปุ ถุ ช น คนธรรมดา; เมื่ อ มี ก ามุ ป าทานอย า งนี้ อ ยู ใ นใจ เมื่ อ นั้ น ภาวะอั น นั้ น ก็ เ ป น กามภพของบุ ค คลนั้ น คื อบุ ค คลนั้ น ในเวลานั้ น เขาอยู ในกามภพ, ตั้ งอยู ในกามภพ หรื อเป นอยู อย างกามภพ; เขาได มี ภพอั นหนึ่ งขึ้ นมา เป นกามภพ จนกว าความรู สึ กอั นนี้ จะหายไป จะเปลี่ยนเปนเรื่องอื่น.
www.buddhadasa.info บางเวลาจะเป น กามภพมาอี ก ในรู ป ใหม อารมณ อื่ น ก็ เป น กามภพได , อยู ในกามภพ หรื อ จะเปลี่ ย นเป น รู ป ภพ อรู ป ภพบ า งก็ ยั ง ได ; แต ถ า วิ สั ย คนธรรมดา สามั ญ แล ว ก็ จะซ้ํ าซากกั นอยู แต ในลั กษณะของกามภพ. เป นอั นว ามี ภพโดยอาศั ยกาม เป นไปเพื่ อกาม เป นอยู ด วยกาม กํ าลั งมี ผลเป นกามอยู อย างนี้ เรี ยกว ากามภพ ที่ นี่ และ เดี๋ยวนี้ไมตองรอตอตายแลว เรียกวาคนนั้นกําลังอยูในกามภพแลว.
ที นี้ ก็ ไม มี อะไรนอกจากที่ จะเป นไปตามหลั กทั่ วไปว า มี ภพแล วก็ มี ชาติ คื อ ตนเองมีความเปนอยางนั้นขึ้นมาเต็มที่ เกิดเปนอยางนั้นแลวในเวลานั้น.
๑๕๔
ปรมัตถสภาวธรรม
ต อ ไปก็ มี ป ญ หาเกี่ ย วกั บ ชรา มรณะ โสกะ ปริ ท วะ ทุ ก ขะ โทมนั ส อุ ป ายาส ไม ได อ ย า งใจ พลั ด พรากของรั ก กระทบของไม รั ก ; สรุ ป แล ว ก็ คื อ ความ ยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น ในขั น ธ ใ ดขั น ธ ห นึ่ ง แล ว ความทุ ก ข ก็ เกิ ด ขึ้ น ; นี่ เรี ย กว า ความทุ ก ข ทั้งปวงเกิด ขึ้น แลวโดยสมบูรณ. ขอใหพิจารณาดูวา “ธาตุ” คําเดีย วทําใหเกิด อะไรขึ้นมา กี่อยาง ๆ จนธรรมทั้งหลายทั้งปวงเกิดขึ้นเปนความทุกขทั้งปวง ความทุกข ทั้งมวลเกิดขึ้นมาไดอยางนี้.
ธาตุตามธรรมชาติ มีความหมายเพราะ “สัญญา” โดยหลั กนี้ เราก็ พอจะสรุปความได ว า ที่ เรียกว าเป น “ธาตุ ”, ธาตุ มี อยู ตาม ธรรมชาตินั้น ถาไมถูกนํามากระทําเปนสัญญาขึ้นในใจ ก็ไมมีความหมายอะไร มันก็เปนธาตุตามเดิม. แตจิตที่ประกอบดวยอวิชชาธาตุ คือความโงนั่นแหละไปเอา ธาตุ ล วน ๆ โดยเฉพาะอย าง “กามธาตุ ” นี้ มากระทํ าเป นกามสั ญญา-สํ าคั ญมั่ นหมายว า เปนกาม ที่มีความหมายวา จะใหคุณคาแกตน แกกิเลสตัณหาของตน. ธาตุตามธรรมชาติถูกเอามากระทําใหเปนวัตถุของสัญญา อารมณของ สั ญ ญา สํ าคั ญ อย างนั้ น อย างนี้ , มี สั ญ ญาอย างนี้ แล ว ก็ ทํ าให มี สั งกั ป ปะ ครุ น คิ ด ใครครวญอยู , สั งกั ปปะอย างนี้ ทํ าให เกิ ดสั มผั ส คื อจิ ตสั มผั สกั บสิ่ งนั้ นถึ งที่ สุ ด, สั มผั ส อย างนี้ ให เกิ ดเวทนา รูสึ กเป นไปในทางที่ วา สุ ข ทุ กข ชอบใจ หรือไม ชอบใจอย างนี้ . เวทนาให เกิ ดฉั นทะขึ้ นมา ฉั นทะให เกิ ดปริ ฬาหะเรารอนขึ้นมา ปริฬาหะเรารอนทน อยู ไม ได ก็ ให เกิ ด ปริ เยสนา คื อ แสวงหา มี แสวงหาแล ว ก็ มี ได ได แ ล ว ก็ มี บ ริ โภค บริโภคแลวก็มี ตั ณหาในเวทนาที่ มาจากการบริโภค ก็เลยเกิ ดอุ ปาทาน ยึดมั่ น ถือมั่ น ก็เกิดเปนภพนี้ขึ้นมาอยางใดอยางหนึ่ง.
www.buddhadasa.info สรุปแล วในกรณี ก าม ก็ เรียกว ากามภพ, ในกรณี รู ป ก็ เรียกวารู ป ภพ, ในกรณีอรูปก็เรยกวาอรูปภพ. สิ่งที่เรียกวารูปภพ อรูปภพนี้ก็มีไดที่นี่และเดี๋ยวนี้
ลักษณะอาการที่ธาตุปรุงแตงสิ่งทั้งปวง
๑๕๕
ในลั กษณะอย างนี้ คื อปรุ งจากธาตุ ล วน ๆ ขึ้นมาเป นความรูสึ กทางจิต เป นจิต เป น เจตสิก เป นการกระทําทางจิต เกิดวิบากทางจิต; นี่เป นอยางที่ เรากําลังรูสึกวาเป น ความทุกข.
กามธาตุปรุงเปนภพสามก็ได คําวา “กามธาตุ” ให ผลในที่ สุดท ายเป นกามภพ; ความเป นอยางนั้ น จะเรียกว าเป นกามาวจรภพ หรือกามาวาจรภู มิ ก็ ได . ถ าหมายถึ งชั้ นหรือลํ าดั บก็ เรียกว า กามาวจรภู มิ คื อจิ ตที่ กํ าลั งตั้ งอยู ในระดั บของกาม; ถ าหมายถึ ง “ความเป น” อั นนั้ น ก็ เ รีย กวา กามาวจรภพ คือ จิต เปน จิต ที ่วุ น อยู แ ตใ นเรื ่อ งกาม; ถา เปน เรื ่อ งรูป ไม เกี่ ยวกั บเรื่ องกาม ก็ เรี ยกว ารู ปาวจรภู มิ รู ปาวจรภพ อย างที่ เราได ยิ นได ฟ งบ อย ๆ แล วก็ ไมคอยจะรูวา เปนอะไร. จิ ต อยู ในรูป าวจรภู มิ ก็ คื อ จิ ต นี้ ไม ต กลงไปในกาม จิ ต นี้ ไปเกี่ ยวขอ ง พั วพั นอยู กั บสิ่ งที่ เรียกว ารูปล วน ๆ รูปบริสุ ทธิ์ ล วน ๆ; เมื่ อยึ ดมั่ นแล วก็ เกิ ดเป นรูปสั ญญา สั งกั ปปะ ผั สสะ เวทนา ฉั นทะ ปริ ฬาหะ ปริ เยสนา ลาภะ บริ โภค ตั ณ หา อุ ปาทาน กระทั่งเปนภพไดเหมือนกัน.
www.buddhadasa.info แมในอรูป ที่วาจิตเอาสิ่งที่ไมมีรูปเทานั้นมาเปนอารมณ เปนอรูปธาตุ มาเป นอารมณ ก็ เกิ ดสั ญญา เกิ ดสั งกั ปปะ ฯลฯ ขึ้ นในสิ่ งนั้ น จนในที่ สุ ดก็ มาได หลงใหล อยูในสิ่ งที่ ไม มี รูปนั้ น. จิตอยางนี้ ก็ เรียกวา เป นอรูปาวจรภู มิ ก็ ยังเป นความบ าเท าเดิ ม คื ออารมณ เปลี่ ยนจากกามไปเป นรู ป จากรู ปเป นอรู ป; ภาวะอย างนั้ นก็ เรี ยกว า อรู ปาวจรภู มิ ซึ่ งย อ มมี ได แ ม ที่ นี่ แ ละเดี๋ ย วนี้ . เผอิ ญ ว า ใครสั ก คนหนึ่ ง ได ห ลงใหลในสิ่ งที่ ไม มี รู ป ซึ่ งเป น นามธรรมล วน ๆ; อย างเช น เกี ย รติ ย ศชื่ อ เสี ย งอย างนี้ ไม เล็ งถึ งผลที่ จะได มาจากเกี ยรติ ยศชื่ อเสี ยง อย างไปหลงเกี ยรติ ยศชื่ อเสี ยงก็ จั ดเป นอรู ปได แล วก็ มี ความทุกขได เหมือนกับกามหรือรูป.
๑๕๖
ปรมัตถสภาวธรรม
มนุ ษ ย เรานี่ จึ งมี ธาตุ ๓ ธาตุ นี้ เป นรากฐานที่ จะปรุ งแต งให เป นอย างนั้ น อยางนี้; ธาตุ ๓ ธาตุ คือ กามธาตุ รูปธาตุ อรูปธาตุ. มนุษยเราสวนใหญ ปุถุชน ทั่ วไป ก็ ลุ ม หลงอยู ในกามธาตุ เรี ย กว าตกอยู ในกามาวจรภู มิ เป น กามาวจรภพอยู . แม จะมองลงไปถึ งสั ตว เดรัจฉาน มั นก็ มี ส วนที่ เป นอย างนี้ อยู เหมื อนกั น แต ว าไม เต็ มที่ เหมือนมนุษยเทานั้น ฉะนั้นจึงมีความทุกขนอยกวามนุษย.
พิจารณาดูธาตุของสัตวโลกทั้งหลาย ที นี้ มองมาถึ งมนุ ษ ย ชั้ น ต่ํ า ชั้ นเลวที่ เรียกวา อยู ในอบาย ในกองทุ กข นรก เปรต อะไรก็ ตาม จิ ตใจก็ ยั งมี ธาตุ ที่ มุ งหมายจะได กาม อยูนั่ นแหละ; แม วา ในขณะนั้ น จะทํ าการแสวงหากาม หรื อ บริ โภคกาม เต็ ม ที่ ไม ได ; แต จิ ต ใจก็ ยั งเป น อยางเดียวกัน. สมมุติวาอยูในนรก อยางที่เขาพูดกันวาในนรก หรือพู ดวาจะอยูในนรกปจจุบั น เช น คุ กตะราง ถู กกั ก ถู กขั ง ถู กล าม ถู กอะไรอยู จิ ตของเขาที่ อยู ในวิสั ยแห งกามาวจรภูมินี้ เขาอาจจะทํ าได ต ลอดสาย : เขานึ ก ถึงกามธาตุ ม าเป น อารมณ แลวก็ทํ า กามสัญญา กามสังกัปปะ กามสัมผัสสะ กามเวทนา กามฉันทะ กามปริฬาหะ อยู ใ นใจเรื่ อ ย ทั้ ง ที่ ว า มั น ถู ก ขั ง อยู ใ นนรก หรื อ ในคุ ก . นี่ คื อ วิ สั ย ของสั ต ว ที่ เป น ไป ในกาม.
www.buddhadasa.info ถ าเป น มนุ ษ ย อิ ส ระ ไม ถู กขั ง ไม เป น สั ตว นรก เป นมนุ ษ ย เต็ ม ที่ ส บายดี ก็ อ ย า งเดี ย วกั น นั่ น แหละ. เมื่ อ ยู ในวิ สั ย แห ง กามาวจรภู มิ แล ว เขาก็ เอากามธาตุ มาทํ าเป นกามสั ญญา กามสั งกั ปปะ กามสั มผั สสะ เป นเวทนา ฉั นทะ ปริฬาหะ ปริเยสนา เรื่อยมา จนถึงที่สุด.
ลักษณะอาการที่ธาตุปรุงแตงสิ่งทั้งปวง
๑๕๗
ถ าเป นเทวดา ที่ เรี ยกว า ชั้ นกามาวจร ๖ คื อฉกามาวจร, เทวดาประเภทนี้ เขาบริโภคกาม ก็มีธาตุที่ทําอยางเดียวกับมนุษย ผิดกันแตวาเทวดานั้นไดสะดวกดาย ได ไวได ชนิ ดที่ ไม ต องแลกเอาด วยเหงื่ อเท านั้ น; นี่ เรี ยกว าสวรรค แล ว สวรรค ชั้ นเทวดา ชั้นเทพ. ที นี้ สวรรค ชั้ นมาร ก็ คื อยอดของเทวดาประเภทนี้ นี้ ก็ ต องเข าใจกั นเสี ย ใหม ว ามาร วสวั ตตี มาร ที่ ลงมาผจญพระพุ ทธเจ าที่ ต นโพธิ์ ที่ เรียกว าวสวั ตตี มาร มาจาก สวรรค ชั้ น ปรินิ มมิ ตวสวั ตตี ; นี่ คื อสวรรค ในอั นดั บสู งสุ ดของกามาวจรภู มิ มี กามธาตุ มาเป นเครื่องปรุงแต ง ไดกาม แล วก็ ไดอยางที่ เรียกวาสะดวกดายที่ สุ ด เต็ มที่ที่ สุ ด มี คน ประคบประหงม ชั้นสูงสุดของพวกกาม เขาเรียกวาชั้นมาร มารโลก. จากมนุ ษย โลกถึ งเทวโลก เทวโลกนี้ มี ยอดสุ ดอยู แค มารโลก พอเลยมารโลก ก็ จ ะเป น พรหมโลก; สภาพของพรหมโลกนี้ ไม เกี่ ย วกั บ กามเลย. ถ า เอารู ป ธาตุ เป นอารมณ เป นธานที่ ตั้ ง ก็ เกิ ดเป นรูปาวจรภู มิ หรือพรหมโลกชนิ ดที่ มี รูป เป นรากฐาน ขึ้นมา เปนพรหมอยางมีรูป; ถาเลยนั้นไปก็เปนพรหมอยางเปนอรูป.
www.buddhadasa.info นี่ก็เปนอันเห็นไดวา บรรดาสิ่งที่มีชีวิต แลวก็จะตองเกี่ยวของพัวพันผูกมัด รัดรึงกันอยูกับธาตุทั้ง ๓ นี้ ไดแกกามธาตุ รูปธาตุ อรูปธาตุ แลวก็แจกออกไปเถอะ ไม มี ที่ สิ้ น สุ ด . สั ต ว น รกกี่ ช นิ ด เปรตกี่ ช นิ ด ต างต อ งการกามธาตุ นี้ ป รุ งแต ง, มนุ ษ ย กี่ ชนิ ด กี่ ยุ คกี่ สมั ย ก็ ต องการกามธาตุ นี้ ปรุงแต งเป นส วนใหญ , ที่ เป นเทวดา กามาวจร หรือเป นชั้ นมาร ชั้ นสู งสุ ด ก็ ต องการกามธาตุ นี้ ; ที่ ผิ ดไปจากนั้ น ไปชั้ นพรหมก็ คื อ รูปธาตุอยางหนึ่ง กับอรูปธาตุ อีกอยางหนึ่ง; จะเห็นไดวามันเนื่องอยูใน ๓ ธาตุนี้.
สัตวโลกทุกประเภท มีจิตประกอบดวยธาตุทั้ง ๓ ถ าเราจะถื ออย างที่ เขาถื อกั นโดยมาก เข าใจกั นว ามั นอยู กั นคนละโลก ก็ ตาม ใจเขาซิ; เขาถือวาตายแลวจึงจะไปเปนเทวดา ไปเปนเปรต เปนพรหม ตายแลวจึง
๑๕๘
ปรมัตถสภาวธรรม
จะไปเป น นั่ น นี่ ตายอี กกี่ ห นจึ งจะไปเป น ก็ ต ามใจเขาซิ . แต ว าหลั กธรรมะนี้ ไม ต องการ อยางนั้น; หลักธรรมนี้ตองการที่นี่และเดี๋ยวนี้ วาจิตใจกําลังเปนอยางไร. ถ าเดี๋ ยวนี้ จิ ตใจกํ าลั งจั บเอากามธาตุ มาทํ าเป น กามสั ญญา กามสั งกั ปปะ กามสั มผั สสะ กามเวทนา กามฉั นทะ กามปริ ฬาหะ เรื่ อยไปจนถึ งกามภพแล ว ก็ ต องเป น ที ่นี ่ เดี ๋ย วนี ้ ทัน ที; อ ยา งเลวก็เ ปน ของม นุษ ย, อยา งดีก ็เ ปน ขอ งเท วดา, สูงสุดก็เปนของชั้นมาร คือจอมเทวดา. ถ า เป น พรหมก็ เหมื อ นกั น อี ก บางคน บางเวลา บางโอกาส ไม ช อบ เรื่ อ งกาม ก็ ไ ปคว า เอารู ป ธาตุ ม าปรุ ง เป น รู ป สั ญ ญา รู ป สั ง กั ป ปะ รู ป สั ม ผั ส สะ รู ปสั มผั สสชาเวทนา รู ปฉั นทะ รู ปปริ ฬาหะ รู ปปริ เยสนา รู ปลาภะ รู ปบริ โภค รู ปตั ณ หา รูป อุป าทาน รูป ภโวรูป ภพ; ซึ ่ง เปน ไดที ่นี ่ และเดี ๋ย วนี ้ไ ด. พิจ ารณ าอยา งนี ้เ ห็น ได ชั ด ไม ต อ งเชื่ อ ตามคนอื่ น , ไม ต อ งฝากใจกั บ เหตุ ผ ลอะไรที่ ไ หนอี ก แล ว , รู สึ ก ชัดแจงอยูในใจอยางนี้.
www.buddhadasa.info ถ า ว า ใครเก ง ไปกว า นั้ น ก็ ไ ปเอาสิ่ ง ที่ ไ ม มี รู ป เอาอรู ป ธาตุ ม าทํ า เป น อรู ปสั ญ ญา อรู ปสั งกั ปปะ อรู ปสั มผั สสะ อรู ปสั มผั สสชาเวทนา อรู ปฉั นทะ อรู ปปริ ฬาหะ อรู ป ปริ เยสนา อรู ปลาภะ มั น ก็ เป นไปได ในที่ สุ ดเป นอรู ปภพ อยู อย างอรู ป คื อไม สนใจ กับรูป จิตใจไมสนใจกับรูป สนใจแตสิ่งที่ไมมีรูป.
มโนธาตุ ไปควาเอาธาตุอะไรมาปรุงแตงจิตจนทุกขก็ได เป น อั น ว า เรื่ อ งธ าตุ นี่ มี อ ยู พ ร อ ม พ รั่ งร อ บ ตั ว เร า ทุ ก ห น ทุ ก แ ห ง; จิ ต ซึ่ งก็ เป น ธาตุ อั น ห นึ่ ง เรี ย ก ว า ม โน ธาตุ นี้ มั น ยั งไป ค ว าเอ าธาตุ ไห น ม า ไป ค ว าเอ าก าม ธาตุ ม า รู ป ธ า ตุ ม า อ รู ป ธ า ตุ ม า แ ล ว ก็ มี ก า ร ป รุ ง แ ต ง ใ น ใ จ จ น เป น อ ย า ง นี้ ม า ก ม า ย ห ล า ย ชื่ อ จนกระทั่งไดเปนทุกข เพราะเหตุนี้.
ลักษณะอาการที่ธาตุปรุงแตงสิ่งทั้งปวง
๑๕๙
ตั้งแตเบื้องตนจนที่สุด คือความทุกขนี้ จะมีลักษณะอยางที่กลาวมานี้ จะเปน อยา งนี ้เ รื ่อ ยๆ ๆ ซ้ํ า ๆ ซาก ๆ คือ เกิด แลว เกิด อีก , เกิด แลว เกิด อีก ; แลว ก็อ ยา ลืมวา มันมีคําวา “ปริฬาหะ” อยูคําหนึ่งแลว. ทีแรกความเผาลนจากกาม ความ เผาลนจากรูป จากอรูปา คือความกระหาย แลวก็มาถึงตัณ หาในสิ่งนั้น. มาถึง อุ ป าทานในสิ่ งนั้ น มั น ก็ เป น เรื่อ งหนั ก เรื่อ งทุ ก ข : อุ ป าทานก็ แ บก ไว เหมื อ นกั บ แบกของหนั ก ๆ อยู ; พวกแรกก็ เอากามมาแบกไวเป นของหนั ก เรียกวา กามู ป ธิ , พวกอื่ นก็ เอารู ป อรู ปบ าง เป นขั นธู ปธิ เป นอุ ปธิ คื อของหนั กด วยกั นทั้ งนั้ น. รวม ความวา ถายังติดอยูในกาม ในรูป ในอรูปแลว จะกลายเปนของหนักมาสําหรับให แบกไวโ ดยจิต ใจ จิต ใจมัน ก็ห นัก ; หนัก อยูก็เ ปน ทุก ข. อุป ธิ แปลวา แบก, แปลวาเขาไปทรงไวขางใต ก็คือแบกทูนไว แบกไว. อาการแบกมาจากกามธาตุ รูปธาตุ อรูปธาตุ ซึ่ งได มาเป นก อนหิ นหนั ก กดอยู บนหั วของคน ในกามภพ รูปภพ อรูปภพ สลั บ สั บ เปลี่ ยนกั นไป; ตามธรรมดาโดยมากก็ เป นกามภพ แบกกามมาเป นก อนหิ น กดอยู บ นหั ว . สิ่ ง ทั้ ง หลายทั้ ง ปวง ธรรมทั้ ง ปวงที่ เป น ไปเพื่ อ ทุ ก ข เกิ ด ขึ้ น มาใน ลักษณะอยางนี้.
www.buddhadasa.info คนทํากรรมทั้งกุศล อกุศล เพราะโง ถูกธาตุกิเลสบังคับ
ทีนี้ลองดูตัวเรา ที่วาเราตองทําการงานเพราะกิเลส ตัณหา บังคับใหทํา ก็ เพราะว าเราโง ทํ าผิ ด เรื่องธาตุ จึ งได ผ ลมาตามลํ าดั บ จนได เป นทุ กข . ในชั้ น แรก เราไม รู อะไรเลย เราก็ ต องทํ าไปตามธรรมดาสามั ญ ที่ เขาทํ า ๆ กั น จึ งได ปรารถนากาม แสวงหากาม, กามปริเยสนาโดยตรงบ าง โดยทางอ อมบ าง โดยสลั บซั บซ อนหลายชั้ น บ าง; แต โดยเนื้ อแท ก็ คื อ กามปริเยสนา สํ าหรับมนุ ษย ธรรมดา ที่ เป นไปในกามภพ หรือกามภูมิ. เมื่อมีปริเยสนา ก็มีการทํากรรมเพื่อใหไดมาซึ่งสิ่งนั้น.
๑๖๐
ปรมัตถสภาวธรรม
กรรมนี้ ก็ ทํ ากั นอยู เห็ นกั นอยู หลาย ๆ แบบ ทางกายก็ มี ทางวาจาก็ มี ทางใจ ก็ มี ; กายกรรม วจี ก รรม มโนกรรม นี้ ก็ ทํ า กั น อยู เพราะอํ า นาจของกามปริ เยสนา บั งคั บ ให ทํ า ซึ่ งมี เป นชนิ ด ว า ชนิ ด กุ ศ ล ชนิ ด อกุ ศ ล คื อ ดี หรื อ ชั่ ว แล วก็ ชนิ ด ที่ ยั งไม อาจจะกลาวไดวา ดีหรือชั่ว คืออัพยากฤต นี้ก็มี. การทํ ากรรมเพื่ อให ได มาซึ่ งสิ่ งนั้ นก็ มี นานาแบบ, เพื่ อผลอั นนี้ ก็ นานาแบบ : บางคนก็ ทํ านา บางคนก็ ค าขาย บางคนก็ รั บ จ าง ทํ าไปตามที่ จะทํ าได , อย างนี้ ไม ผิ ด ที่ เรี ยกว าไม ผิ ดกฏหมาย. ที นี้ บางคนไม ได อย างใจ ก็ ทํ าสิ่ งที่ ผิ ดกฎหมาย ไปปล น ไปฆ า ไปขโมย ไปอะไรก็ ต ามใจ ซึ่ ง เป น กรรมเพราะกามปริ เยสนา มาบั ง คั บ ทั้ ง นั้ น แหละ. ขอใหไปดูอาชญากรรมตาง ๆ ลวนถูกบังคับใหกระทําขึ้นมาโดยกามปริเยสนา บางที ก็โดยตรง บางทีก็โดยออม บางทีก็ซับซอนหลายชั้น. กรรมนั้ น บางที ก็ เบี ย ดเบี ย นตนเอง, บางที ก็ เบี ย ดเบี ย นผู อื่ น , บางที ก็ เบียดเบียนทั้งตนเองและทั้งผูอื่น; นี่เปนทุกข เกิดมาจากการกระทํ ากรรม ที่กระทํ า ไปเพราะกามปริ เยสมา ซึ่ งมั น ก็ ไม ใช อ ะไรเลย นอกจากว าหลงเข าไปในสิ่ งเรีย กว า “ธาตุ ” ตามธรรมชาติ ที่ มี อ ยู ต ามธรรมชาติ ; ที่ ตั ว มนุ ษ ย ก ลุ ม นี้ ซึ่ งประกอบอยู ด ว ย ธาตุ ๖.
www.buddhadasa.info มนุ ษ ย ค นนี้ เป น กลุ ม ของธาตุ ๖ นี่ ; ในธาตุ นั้ น มี อ วิ ช ชาธาตุ รวมอยู ด วย จึ งเห็ นผิ ด ๆ ไปในเรื่ องที่ ไม รู , ไม รู แล วก็ เห็ นไปว าเป นเรื่ องที่ น าทํ า ควรทํ าไปเลย; อาการที่ ไปเอากามธาตุ มาปรุ งเป นกามสั ญญา กามสั งกั ปปะ กามสั มผั สสะ ฯลฯ อะไรต าง ๆ ก็เกิดขึ้น จนไดมีความทุกขเปนปกติเกี่ยวกับกามนั้น ๆ ที่เรียกวาเขาอยูในกามาวจรภูมิ.
ที่ กล าวมาเป นตั วอย างสํ าหรั บวั นนี้ ที่ แสดงให เห็ นว าธาตุ แท ๆ นี้ มั นปรุ งแต ง ๆ โดยละเอี ยด โดยกิ ริ ยาอาการลั กษณะอย างนั้ น อย างนั้ น ๆ จนเกิ ดสิ่ งทั้ งปวง คื อธรรม ทั้งปวงขึ้นมา ทั่วไปหมดในที่ทุกหนทุกแหง.
ลักษณะอาการที่ธาตุปรุงแตงสิ่งทั้งปวง
๑๖๑
ถาถือตามหลักพระพุทธศาสนา : ไมไดสอนใหดูขางนอก. ไมตองไปดู ขางนอก, ใหดูในจิตใจเรื่อย หรือวาอยางนอยก็ดูอยูที่กาย วาจา ใจ ของเรานี่ ที่กายที่วาจานี่ก็เรียกวาขางนอกหนอย แตมันก็เนื่องอยูกับใจ; ฉะนั้นก็เปนการดูขางใน. ขอให ดู จนเปนที่เขาใจ ดูทุกวัน ดูทุ กคราวที่ มั นเกิดเรื่องเกิดราวนี้ขึ้น; พอเข าใจสิ่ งนี้ ก็ จ ะเห็ น ธรรมทั้ งปวง จะเห็ น ธาตุ ทั้ งปวง; เห็ น ธรรมทั้ งปวงแล ว จะ แทงตลอดธาตุทั้งปวง แลวก็จะเขาถึงอมตธาตุได. วันนี้เราไมมีเวลาพอที่จะกลาว ถึ งในเรื่องนั้ น จะกล าวแต เพี ยงว า นี่ แหละคื อธาตุ ทั้ งปวง คื อธรรมทั้ งปวง ธาตุ ทั้ งปวง ปรุง แตง เปน ธรรมทั ้ง ปวง. ธรรมทั ้ง ปวงก็ไ มม ีอ ะไรนอกจากธาตุ ซึ่ง เพีย งแต ผสมผสานกันไปเรื่อย ๆ อยางนั้น อยางนี้ จนมีสิ่งทั้งปวงอยางนี้. ถ าเรามองเห็ นความจริ งข อนี้ ธรรมทั้ งปวงมี แต เรื่องของธาตุ นี้ ก็ คื อการแทง ตลอดธรรมธาตุ ม ากขึ้ น ๆ ๆ จนกว าจะสมบู รณ ; เมื่ อ เป น อย างนี้ ก็ เรี ยกว าเราเข าใจ พระพุ ทธศาสนา อยางอื่ นไม มี หนทางที่ จะเข าใจและเห็ นแจ งแทงตลอดพระพุ ทธศาสนา. การศึกษาที่ไดแตทอง ๆ จํา ๆ พระพุ ทธศาสนาไวตามตัวหนั งสือเชนนั้น ไมใชตัว พระพุทธศาสนาที่แทจริง เวนเสียแตวา เราจะทําในใจโดยแยบคายที่สุด จนแจมแจง ซึมซาบอยูในใจ ถึงลักษณะอาการอันละเอียดที่วา “ธาตุมันปรุงแตงขึ้นมาเปนธรรม ทั้ งปวงอย างไร” โดยนั ยที่ ได กล าวมาแล วตลอดวันนี้ ; ที่ แสดงวันนี้ มี วา ธาตุ ปรุงแต ง ใหเกิดธรรมทั้งปวงขึ้นมาไดอยางไร.
www.buddhadasa.info ศึกษาเรื่องธาตุใหแจมแจง เพื่อไมตกเปนทาสของวัตถุ เราศึ กษาพระพุ ทธศาสนาจากการศึ กษาว า “การที่ ธาตุ ปรุ งแต งสิ่ งทั้ งปวง ขึ้น มาในจิต ใจ เป น ลําดั บ ๆ อยางไร” นี้เรียกวาเปน ผูฉลาดในธาตุดวย เป น ผู ฉลาดในมนสิการดวย, สมตามลักษณะความฉลาดที่พระสารีบุตร อางเอาคําของ
๑๖๒
ปรมัตถสภาวธรรม
พระพุ ท ธเจ า มากล า ว ว า ความฉลาดนั้ น มี อ ยู ๒ อย า ง : ธาตุ กุ ส ลตา - เป น ผู ฉ ลาด ในเรื่ อ งของธาตุ , มนสิ ก ารกุ ส ลตา - ความฉลาดในการกระทํา ในใจ คื อ ทํ าในใจในเรื่ องธาตุ เข าใจเรื่ องธาตุ ถู กต องจนเกิ ดความไม ยึ ดมั่ นถื อมั่ น ในธาตุ ทั้ งปวง. ความฉลาด ๒ อยางนี้ เปนสิ่งที่พุทธบริษัทจะตองฝกฝนศึกษา ซักซอมอยาให ผิดได; ความเปนพุทธบริษัทก็จะปลอดภัย ถูกตอง หรือวาดีดวยกันแกทุก ๆ ฝาย. ขอให พ ยายามทํ าให สุ ด ความสามารถของตน ในการที่ จะมี ธ าตุ กุ ส ลตาความฉลาดในธาตุ , มนสิ ก ารกุ ส ลตา - ความฉลาดในการกระทํา ในใจใน เรื่องที่เกี่ยวกับธาตุ, ใหถูกตองครบถวนทุกประการ. ถ ายั งพู ด ผิ ด กั น อยู ถื อ ผิ ด กั น อยู ค านกั น อยู ก็ ต อ งมี ค วามโง อ ย างใด อย า งหนึ่ ง ของคนใดคนหนึ่ ง ในเรื่ อ งที่ เกี่ ย วกั บ ธาตุ ทั้ ง นั้ น จึ งได เกิ ด หลายลั ท ธิ หลายศาสดา, หรื อแม ว าในศาสนาเดี ยวกั น ยั งเช าใจขั ดแย งกั น ก็ เพราะไม เข าใจเรื่ อง ธาตุ โดยถู ก ต อ ง. เรื่ อ ง “ธาตุ ” นี้ เป น สิ่ ง ที่ รู แ จ ง ได ด ว ยจิ ต ใจแล ว ไม ต อ งใช เหตุ ผ ล อยางอื่น เพราะวาเปนเรื่องที่รูสึกดวยใจจริง ๆ.
www.buddhadasa.info ขอให พยายามกระทํ าไปเถิ ด ไม มี ทางที่ จะผิ ดได มี แต ว าจะช าหรื อเร็ วเท านั้ น ที่ เราจะรู แ จ ง ในสิ่ งที่ เรี ย กว า ธาตุ ที่ ป รุ งแต งกั น จนเป น อั น ทํ า นั่ น ทํ า นี่ ขึ้ น มา จนเป น ปญหายุงยากไปหมด จนกระทั่งมันจะดับลงไปไดดวยธาตุที่ตรงกันขาม คืออสังขตธาตุ. ที่ เราพู ด ทั้ ง หมดนี้ เป น สั ง ขตธาตุ -ธาตุ ที่ มี ป จ จั ย ปรุ ง แต ง ทํ า ไปก็ เกิ ด ความเบื่ อหน ายความเอื อมความระอา; เมื่ ออวิชชาค อย ๆ หมดไป จิ ตก็ ค อย ๆ เดิ นไปสู ธาตุ ที่ ต รงกั น ข า ม คื อ อสั ง ขตธาตุ ซึ่ ง จะทํ า ให นิ พ พานธาตุ ป รากฏออกมา หรื อ ว า อมตธาตุปรากฏออกมา. เป น อั น ว า วั น นี้ พ อสมควรแก เวลา ขอให พ ระสงฆ ส วดธรรมเป น ที่ ตั้ งแห ง ศรัทธา ปสาทะ วิริยะ เพื่อการศึกษาและปฏิบัติตอไป.
ปรมัตถสภาวธรรม
-๖๑๐ กุมภาพันธ ๒๕๑๖
หลักปฏิบัติเกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวา “ธาตุ”
ทานสาธุชนผูสนใจในธรรมทั้งหลาย,
การบ รรยายวัน เส ารใ น ชุด ป รมัต ถสภ าธรรมนี ้ ไดดํ า เนิน ม าเปน ครั ้ง ที ่ ๖ แลว ใน วัน นี ้.ใน ๕ ค รั ้ง ที ่แ ลว ม า ก็ไ ดก ลา วถึง แตเ รื ่อ งที ่เ กี ่ย วกับ ธาตุ; แมใ น วัน นี ้ก ็จ ะไดก ลา วถึง เรื ่อ งที ่เ กี ่ย วกับ ธาตุเ ปน ค รั ้ง สุด ทา ย โด ย หัวขอวา หลักปฏิบัติ เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวา ธาตุ.
www.buddhadasa.info การบรรยายเกี่ยวกับเรื่องธาตุนี้ ไดแสดงให เห็ นในแงใดแงหนึ่ งมาทุกครั้ง นับตั้งแตวาสิ่งที่เรียกวาธาตุนั้นคืออะไร ใหทราบไวกอนแตที่จะทราบเรื่องอื่นตอไป เปนลําดับมา, จนกระทั่งใหทราบวา สิ่งที่เรียกวาธาตุลวน ๆ นั้นปรุงใหเกิดสิ่งที่เรียกวา
๑๖๓
๑๖๔
ปรมัตถสภาวธรรม
อายตนะ หรื อ ขั น ธ หรื อ อุ ป าทานขั น ธ กระทั่ ง ความทุ ก ข ทั้ ง ปวง ขึ้ น มาได อ ย า งไร; ยั งได แสดงได เห็ นถึ งความเนื่ องกั น ระหว างธาตุ นานาชนิ ด หรื อนานากลุ มเป นกลุ ม ๆ ไป. ในครั้งสุด ท ายของวัน ที่ แล วมานั้ น แสดงถึงอาการที่ ธาตุ ป รุงแต งกัน ใหเกิดสิ่งที่ เรียกวาธรรม หรือธรรมทั้งปวง. ในวันนี้จะไดกลาวถึง หลั กปฏิ บั ติ เกี่ยวกั บสิ่ งที่ เรียกวาธาตุ ให ถู กต อง ตามธรรมชาติ ของสิ่งที่เรียกวาธาตุ เพื่ออยาใหความทุกขเกิดขึ้นจากสิ่งที่เรียกวา ธาตุ . ถ าสรุ ปความก็ อาจจะกล าวได ว า เรามี วิ ธี ปฏิ บั ติ ไม ให ความทุ กข เกิ ดขึ้ นจากการ ยึดถือธาตุ แมธาตุใดธาตุหนึ่ง วาเปนตัวเรา หรือเปนของเรานั่นเอง. สิ่งที่เรียกวาธาตุแลว ยอมเปนของธรรมชาติ เปนไปตามธรรมชาติ ตั้ งอยู ตามธรรมชาติ ; แม ที่ สุ ดแต จะเป นอสั งขตธาตุ หรือนิ พ พานธาตุ ก็ ตาม ก็ คงถื อ ว าเป นธรรมชาติ จะเอามาเป น ตั วเราไม ได จะเอามาเป นของเราไม ได . ถ าใครคิ ด ไป รูสึ ก ไป ในทํ านองเป น ตั วเรา เป น ของเรา นั้ น ก็ เป นความคิ ด ที่ ผิ ด แล วก็จ ะต อ ง เกิด ความทุก ขขึ้น เพราะความคิด ที่ผิด นั้น ไมวาในธาตุไหน. นี่เปนหลักใหญที่ จะต องปฏิ บั ติ เกี่ ยวกั บสิ่ งที่ เรี ยกว าธาตุ ; แต เพื่ อจะให ทราบโดยละเอี ยดยิ่ งขึ้ นไป ก็ มี การ พิ จ ารณาในส ว นที่ ลึ ก ซึ้ ง เรี ย กว า “ปรมั ต ถสภาวะ” ซึ่ ง เป น หั ว ข อ บรรยายของการ บรรยายชุ ด นี้ . ดั งนั้ น เราจะทํ า ความเข า ใจ เป น การทบทวนถึ งสิ่ งที่ เรี ย กว า ปรมั ต ถสภาวะนี้ กั น อี ก สั ก ครั้ งหนึ่ ง พอสมควรแก ก ารที่ จ ะทํ า ความเข า ใจเกี่ ย วกั บ การปฏิ บั ติ เรื่องธาตุ.
www.buddhadasa.info ทําความเขาใจเรื่องธาตุตามแนวปรมัตถสภาวะกอน คําวา ปรมั ต ถะ นี่ ก็แปลวา มี อั ต ถ อั น ลึ ก ซึ้ ง อั น สู งสุ ด หรือ อย างยิ่ ง; เมื่อพูดถึงลักษณะอาการ ก็สูงสุดอยางยิ่ง, พูดถึงประโยชนก็สูงสุดอยางยิ่ง แลวแตวา
หลักปฏิบัติ เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวา “ธาตุ”
๑๖๕
จะมองกั นในแงไหนก็ เป นเรื่องสู งสุ ดอย างยิ่ ง; เรียกว าปรมั ตถสภาวะ คื อเป นสภาพตามที่ เป นอยู เอง และเป นอยู จริง ตามธรรมชาติ ในส วนที่ ลึ ก. เดี๋ ยวนี้ เราไม ค อยจะทราบ ถึง สว นที ่ล ึก ก็เ พราะไปคิด เสีย วา ไมค อ ยจะจํ า เปน . ความจํ า เปน มัน อยู ที ่ว า จะทํ าอย างไรกั นก อนกั บสิ่ งเหล านั้ น. จะยกตั วอย างให เห็ นง าย ๆ ว าเรามี ร างกายและ จิ ต ใจ เราก็ ใ ช ร า งกาย หรื อ จิ ต ใจของเรานี้ ใ ห ทํ า นั่ น ทํ า นี่ เป น ไปอย า งนั้ น อย า งนี้ โดยที่ เกื อบจะไม รูเรื่องปรมั ตถ ของรางกายและจิ ตใจเลย. ต องขออภั ยที่ จะยกตั วอย าง ดวยสัตวเดรัจฉานอีกตามเคย :จงมองดู ที่ สั ตว เดรั จฉานมั นเกิ ดขึ้ นมา มั นเจริ ญเติ บโต มั นกิ น มั นวิ่ ง มั นทํ า ทุ กอย างเป นไปตามธรรมชาติ โดยที่ มั นไม ต องรู ว ารางกายนี้ ประกอบด วยอะไร, จิ ตใจนี้ ประกอบด วยอะไร, หรื อโดยละเอี ยดถี่ ยิ บขึ้ นไป ที่ เรี ยกว าปรมั ตถธรรม หรื อปรมั ตถสภาวะ ปรมั ตถลั กษณะ; สั ตว เดรัจฉานเป นอย างนี้ . คนเราก็ เหมื อนกั นอี ก พอเกิ ด มาแลว ก็ทําอะไรไป ตามที่ ความรูสึกตองการใหทํา ใหกิน ใหเลน ใหทําอะไร ทุ กอย างที่ มนุ ษย ธรรมดาเขาทํ ากั น โดยที่ ไม ต องรูวา รางกายหรือจิ ตใจนี่ ประกอบอยู ด วย อะไรที่เปนสวนลึกซึ้ง; คนเราจึงไมคอยรูจักสวนที่เปนปรมัตถสภาวะ.
www.buddhadasa.info ป ญ หาก็ มี บ างว า เราควรจะรู จั กหรื อจะไม รู จั กกั นดี , หรื อถ าจะรู จั กก็ ควร จะรูจักสักเทาไร. สําหรับพุทธบริษัทเรา ถือกันวาควรจะรูจักปรมัตถสภาวธรรม ตามสมควร.
เรารู จั กวั ตถุ เครื่ องใช ในบ านในเรื อนของเราน อยมาก เพี ยงเท าที่ จะใช มั นได : เรามี น าฬิ ก าใช เราก็ ใช มั น เท า นั้ น เรื่ อ งลึ ก ซึ้ ง ของนาฬิ ก า ที่ มั น เกิ ด ขึ้ น มา มั น ปรุ ง ขึ้ น มา ทํ า กั น มาอย า งไร ไม รู . ถ า ไปเปรี ย บกั น กั บ พวกที่ เขาประดิ ษ ฐ น าฬิ ก าขึ้ น มา เขารูกวาเรามากมายเหลือที่จะคํานวณได; หรือวาเราไปซื้อรถยนตมา พอรับคําอธิบาย
๑๖๖
ปรมัตถสภาวธรรม
นิ ด หน อ ย ฝ ก ฝนกั น บ างนิ ด หน อ ย แล วก็ ขั บ ไปได ใช ป ระโยชน ได โดยที่ รู เรื่ อ งรถยนต นั้ น น อ ยมาก; ไม เ หมื อ นกั บ ผู ที่ เ ขาผลิ ต รถยนต ขึ้ น มา. นี่ ข อให นึ ก ดู ถึ ง ส ว นนี้ ว า ธรรมดาเราก็ไมค อยไดสนใจสวนที่ ลึกซึ้งเป นปรมั ตถ เราก็ใชรางกายนี้ตามแตที่จะใช ไปวันหนึ่ง ๆ. สิ ่ง ที ่เ รีย กวา “ป รมัต ถสภ าวะ” หรือ “ป รมัต ถลัก ษ ณ ะ” นี ้ม ีไ ด ในทุกสิ่ง นับตั้งแตวัตถุลวน ๆ :หมวดที่ ๑ วั ต ถุ ล ว น ๆ; เช น ในก อ นหิ น ก อ นดิ น อย า งนี้ มั น ก็ เ ป น วั ต ถุ ล ว น ๆ. แต อ ย า ลื ม ว า มั น มี ส ว นที่ ลึ ก ซึ้ ง ที่ เข า ใจไม ไ ด อ ยู อี ก มาก; ต อ งเป น ผู ที่ ศึ กษาเฉพาะทางนี้ จึ งจะรู เรื่ องนี้ โดยละเอี ยด และลึ กซึ้ งถึ งที่ สุ ด ราวกั บ ว าเขาจะสร าง ก อ นหิ น หรื อ สร า งอะไรขึ้ น มาได . นี่ ท างวั ต ถุ ล ว น ๆ ก็ ยั งมี ส ว นที่ เป น ปรมั ต ถสภาวะ; แต เมื่ อเราไม จํ าเป น เราก็ ไม ต องรู พวกที่ เขาจํ าเป นจะต องรู เขาก็ ต องรู เขาจึ งจะสามารถ ทํ า ก อ นหิ น ก อ นดิ น อะไรต า ง ๆ ให เป น ประโยชน ม ากที่ สุ ด ได ; นี้ ส ว นหนึ่ ง เรี ย กว า สวนวัตถุลวน ๆ.
www.buddhadasa.info หมวดที่ ๒ คือเนื้ อหนั งรางกายของคนเรา ก็ เป นวัตถุ เหมื อนกั น แต เป น วั ต ถุ ที่ แปลกไปจากก อ นหิ น ก อ นดิ น ; เพราะว าร างกายนี้ เป น ของสด เป น ที่ ตั้ งของชี วิ ต จึ งมี ค วามลึ ก ซึ้ ง เป น ปรมั ต ถลั กษณะมากขึ้ น ไปอี ก . เราก็ ไม ค อ ยรู เรื่ อ งร างกาย เช น ว า ร างกายนี้ ประกอบอยู ด วยธาตุ อะไรกี่ อย าง, ปรุ งแต งกั นอย างไร จึ งจะเกิ ดเป นความรู สึ ก ทางตา หู เปนตน ขึ้นมาได; นี้เรื่องทางกายแท ๆ ก็ยังรูนอยมาก. สู งขึ้ น ไปอี ก เป น หมวดที่ ๓ เรื่ อ งทางจิ ต ซึ่ งรวมทั้ งเรื่ อ งเจตสิ ก คื อ ความ รู สึ ก คิ ด นึ ก ที่ จ ะปรุ ง แต ง จิ ต ; เรื่ อ งจิ ต นี้ ก็ ยิ่ ง ละเอี ย ดลึ ก ซึ้ ง รวดเร็ ว ยิ่ ง ขึ้ น ไปอี ก เป น ปรมัตถที่มากขึ้นไปอีก กวาเรื่องของกอนดิน.
หลักปฏิบัติ เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวา “ธาตุ”
๑๖๗
และในที่สุด หมวดที่ ๔ มี ธาตุ ที่ เรียกวา ธรรมธาตุ ที่ มีความหมายเป น กลาง ๆ หมายถึ งตั วธรรมชาติ ตั วธรรมดาอะไรต าง ๆ เหล านี้ , ก็ ยิ่ งมี ความลึ กซึ้ งยิ่ งขึ้ น ไปกว า เรื่ อ งจิ ต เรื่ อ งเจตสิ ก อะไรเสี ย อี ก ; เช น เรื่ อ งนิ พ พาน หรื อ ว า เรื่ อ งธรรมธาตุ อื่ น ๆ ที่ เป นกฎเกณฑ ตามธรรมชาติ ธรรมดาเป นต น ที่ จะทํ าให ร างกายหรื อจิ ตใจของ มนุษยนี้ เปลี่ยนแปลงไปตามกฎเกณฑนั้น ๆ; กฎเกณฑ นั้น ๆ ก็เปนธาตุอันหนึ่งดวย เหมือนกัน ยิ่งมีความลึกซึ้งมาก. เมื่อเปนดังนั้นแลว เราจะมองเห็นไดบางวา ความลึกซึ้งนั้ นมีอยูในทุกสิ่ง : จะเป นวั ตถุ ล วน ๆ ก็ มี ความลึ กซึ้ ง; อย างเข าใจวั ตถุ ล วน ๆ ว าไม มี ความลึ กซึ้ งอะไร มั นก็ มี ความลึ กซึ้ งพอๆ กั น กั บสิ่ งที่ มี ชี วิ ตจิ ตใจไปตามแบบของมั น. พวกที่ เขามี ความเข าใจ ลึ ก ซึ้ ง ในเรื่ อ งวั ต ถุ ล ว น ๆ นี่ เขาทํ า อะไรได ม าก อย า งไม น า เชื่ อ ยิ่ ง ขึ้ น ทุ ก ที ; อย า ง พลั งปรมาณู นี้ เป นเรื่ องวั ตถุ ล วน ๆ แต ว าลึ กซึ้ งถึ งที่ สุ ด เราเอามาใช เป นกํ าลั งงานก็ ได ใช เป นลู กระเบิ ดร ายแรง ทํ าให คนตายที ละแสน ที ละล านก็ ได ; คิ ดดู เรื่ องวั ตถุ ล วน ๆ มีความลึกลับอยูอยางนี้.
www.buddhadasa.info ยกตัวอยางมานี้ก็เพื่อจะใหเขาใจคําวาปรมัตถลักษณะนี้มีอยูแมในสิ่งที่เปน วั ต ถุ ล วน ๆ และสู งขึ้ น มาถึ งเรื่อ งร างกายมนุ ษ ย เรื่ อ งจิ ตใจของมนุ ษ ย กระทั่ งเรื่อ ง ธรรมชาติเรื่องกฎธรรมชาติ.
ที นี้ เราพุ ทธบริษั ทกํ าลั งศึ กษาธรรมะกั นอยู ในลั กษณะอย างนี้ ต องการจะรู เรื่องของปรมัตถสภาวธรรมตามที่ควร. เมื่อถือเอาตามหลักคําสั่งสอนของพระพุทธเจา ท านก็ แนะเรื่องธาตุ ขึ้ นมาก อน ซึ่ งก็ มี ความเป นปรมั ตถ มาก รายละเอี ยดบางอย างก็ ได พู ดกั นมาแล วทุ ก ๆ คราวที่ พู ดใน ๕ ครั้ งที่ แล วมา; ในครั้ งนี้ ก็ จะได สรุ ป ความให สั้ น วา มีสิ่งที่เปนปรมัตถสภาวะอยูในทุก ๆ สิ่ง.
๑๖๘
ปรมัตถสภาวธรรม
รางกายประกอบดวยธาตุนี้ก็เปนปรมัตถสภาวะ อย างว า ในร างกายเราคนหนึ่ งนี่ เมื่ อพู ดถึ งเรื่ องส วนร างกายล วน ๆ ก็ ว ามี อยู ถึ ง ๕ธาตุ ด วยกั น : ปฐวี ธาตุ ที่ เราชอบเรียกกั น ว า ธาตุ ดิ น , อาโปธาตุ ที่ ชอบ เรีย กกัน วา ธาตุน้ํ า ,เตโชธาตุ - ธาตุไ ฟ, วาโยธาตุ-ธาตุล ม, อากาสธาตุธาตุอากาส คือความวาง. เราไมคอยจะไดทราบกัน ไม คอยจะไดนึกกันวา รางกายนี้ ประกอบอยู ด วย ๕ ธาตุ อย างนี้ ; แต เรามั กจะได ยิ น ได ฟ งเมื่ อเขาพู ด หรือเมื่ อมี การแสดงธรรม ก็ พู ดถึ งเรื่ องว า ร างกายนี้ ประกอบด วยธาตุ สี่ ดิ น น้ํ า ลม ไฟ กั นบ าง; บางที ก็ บอก กั น ไปถึ ง ๕ ว าอากาศด ว ย, บางที ก็ บ อกไปถึ ง ๖ ว า มี วิ ญ ญาณธาตุ อี ก ธาตุ ห นึ่ ง . ที นี้ เอาแต ว าธาตุ เป นวั ตถุ มหาภู ต เช นธาตุ ดิ น ธาตุ น้ํ า ธาตุ ไฟ ธาตุ ลม; เราก็ มั กจะ ฟ ง ไปในทางที่ มั น เป น ดิ น เหมื อ นกั บ ดิ น ข า งนอก, เป น น้ํ า เหมื อ นกั บ น้ํ า ในบ อ มอง ไปยั งลั ก ษณะนั้ น ทั้ งนั้ น ; แต ธ าตุ ในร างกายเรานั้ น มี ค วามละเอี ย ดลึ ก ซึ้ งยิ่ ง กว านั้ น เชนวา :-
www.buddhadasa.info ธาตุ ดิ น มั กจะระบุ กั นไปที ขน ผม เล็ บ ฟ น หนั ง อย างนี้ ก็ อาจจะคล าย กันกั บดินขางนอกก็ได จริงเหมื อนกัน; แตตามความมุ งหมายอั นแท จริงนั้ น คํ าวา ธาตุ ดิ น หรือปฐวีธาตุ นี้ หมายถึ งอะไรก็ ตาม ที่ มี คุ ณ สมบั ติ เป นของแข็ ง ใช เป น โครงร า งหรื อ โครงสร า งได . ธรรมดาของแข็ ง ก็ ต อ งกิ น เนื้ อ ที่ จึ ง จะเป น รู ป เป น โครง อะไรขึ้ นมา เพราะมั นแข็ ง; ฉะนั้ นสิ่ งใดก็ ตามที่ มี คุ ณ สมบั ติ แข็ ง ใช เป นโครงร างสร าง อะไรขึ้ น มาได นี้ ก็ เรี ย กว า ธาตุ ดิ น เช น จะสร า งเป น เส น ผม เส น ขน เล็ บ ฟ น หนั ง กระดู กอะไรขึ้ น มา ต องมี ส วนที่ เป น ของแข็ งนั้ น ยื น อยู เป น โครงร าง แล วเราก็ เรี ยกว า ธาตุดินได.
หลักปฏิบัติ เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวา “ธาตุ”
๑๖๙
ส วนอาโปธาตุ นั้ น คื อ ธาตุ ที่ ช วยให เกิ ด การเกาะกั น ยึ ด กั น หรื อ ให เป น ความสด สํ าหรับเลี้ ยงสิ่ งที่ มี ชี วิ ต. เราพอจะเข าใจได ว า สิ่ งที่ สดเขี ยวอยู ได รอบตั วเรา เช นต นไม เป นต น ก็ เพราะมี อาโปธาตุ เลี้ ยงอยู . ส วนร างกายภายในของเราก็ เหมื อนกั น ที่ จะสดชื่ นอยู ได ก็ เพราะมี สิ่ งที่ เรียกว าอาโปธาตุ เลี้ ยง. ในรางกายเราไม ใช เป นก อนหิ น; แต มี เซลล เล็ ก ๆ ที่ มี ชี วิ ตต องการความชื้ น ต องการน้ํ า. ชี วิ ตนี้ ตั้ งต นในน้ํ า เกิ ดในน้ํ า ก็ตองมีน้ํา อันเปนสวนสําคัญแกการที่จะเลี้ยงชีวิตนั้นใหสดชื่น. เนื้ อ หนั งของคนเรานี่ เมื่ อ แยกออกเป น เซลล เล็ ก ๆ เป น ตั วเล็ ก ๆ เรี ย กว า เซลล ห นึ่ ง ๆ, เป น โครงสร า งขึ้ น มาด ว ยของแข็ ง ; แต ว า มั น เล็ ก ละเอี ย ดมาก แล ว ในนั้ น มี เ ยื่ อ วุ น ที่ ส ด ที่ มี ชี วิ ต ซึ่ ง ต อ งการธาตุ น้ํ า ที่ ห ล อ เลี้ ย เซลล นี้ ไ ว เป น ส ว น ย อยที่ สุ ดของเนื้ อหนั งเรี ยกว าเซลล หนึ่ ง มี โปรโตปลาสซึ มอยู ข างใน สดอยู ใได เพราะมี น้ํ าเลี้ ยง. ถ าไม มี น้ํ าเลี้ ยงเซลล ก็ ตายหมด รางกายก็ เลยตาย ด วยอย างนี้ เป นต น; ฉะนั้ น อาโปธาตุนั่น คือสวนที่จะชวยเลี้ยงใหเกิดความสด. และชวยใหเกิดการเกาะกุม ยึดหนวงกันไวได.
www.buddhadasa.info คํ าว า “น้ํ า” นี่ มี ลั กษณะเกาะกุ ม คื อมั นจะวิ่ งเข าหากั นเรื่ อย ไม ยอมจาก กั นตามปกติ เว นไว แต จะมี อะไรมาทํ าให แยกออกจากกั น แต แล วมั นก็ พยายามที่ จะกลั บ เข ารวมกั น มั นจึ งมี การเกาะกุ มเป นน้ํ าอยู ได แล วก็ เลี้ ยงสิ่ งต าง ๆ ให สดอยู ได ; คุ ณสมบั ติ อั น นี้ เองที่ เรี ย กกั น ว า ธาตุ น้ํ า . ไม จํ า เป น จะต อ งระบุ ที่ น้ํ า เลื อ ดน้ํ า หนอง; น้ํ า อะไรก็ ไดเพราะมีทั่วไปหมด ที่จะเปนธาตุน้ํา ที่จะหลอเลี้ยงสวนนอย สวนเล็กที่สุดของ เซลลที่ประกอบกันเปนชีวิต แลวก็ประกอบกันเปนรางกายเรานี้. เตโซธาตุ คือ ธาตุไ ฟ ถา ไปนึก ถึง ไฟขา งนอกไมถ ูก เพราะในที ่นี้ ในภายในคนนี่ก็มีธาตุไฟ; หมายถึงอุณหภูมิหรือความรอนระดับหนึ่ง ซึ่งจําเปน;
๑๗๐
ปรมัตถสภาวธรรม
ร อ นมากก็ ไม ได ร อ นน อ ยก็ ไม ได ; ต อ งร อ นเท านี้ สิ่ งที่ เรี ย กว าน้ํ า มั น จึ งจะทํ างานได , สิ่ งที่ เรี ยกว าดิ นจึ งจะทรงอยู ได , เป น อุ ณ หภู มิ ในระดั บ ที่ พ อเหมาะแก สิ่ งต าง ๆ ตั้ งอยู ได และเจริ ญ งอกงามออกไป กระทั่ งทํ าให สิ่ งที่ ควรจะสลายไป ก็ ได สลายไป เปลี่ ยนอั นใหม ขึ้ น มา นี่ เ ตโชธาตุ หรื อ ธาตุ ไ ฟ ทํ า หน า ที่ อ ย า งนี้ ; คุ ณ สมบั ติ ใ ดที่ ทํ า หน า ที่ อ ย า งนี้ เราเรียกคุณสมบัตินั้นวา ธาตุไฟ - เตโชธาตุ ที่อยูขางในรางกาย. วาโยธาตุ ห รื อ ธาตุ ล ม ก็ มี คุ ณ สมบั ติ อี ก ทางหนึ่ ง คื อ จะต อ งระเหยได จะต อ งเคลื่ อ นย ายได จะต อ งยื ด หยุ น ได ; เพราะอาศั ย คุ ณ สมบั ติ ของธาตุ ล ม เราจึ ง มี ค วามไหลเวี ย นในร างกาย มี ยื ด หยุ น ได มี ก ารระเหยออกมาได หรื อ ดู ด ซึ ม เข าไปได เป นหน าที่ ของส วนที่ เรี ยกว าเป นวาโยธาตุ . วาโยธาตุ นี้ ไม เฉพาะแต จะเล็ งถึ งลมหายใจ อย างเดี ยว; นั้ น มั นง ายเกิ น ไป. ยั งมี วาโยธาตุ อย างอื่ น ๆ ที่ ลึ กลั บ ซั บ ซ อนละเอี ยด ที่ จะ ทําใหรางกายนี้มีชีวิตอยูได ประกอบกันดวยธาตุอื่นหลาย ๆ ธาตุ. คํ า ว า ธาตุ ล มนี้ หมายถึ ง ความลอยไปได ระเหยไปได ซึ่ ง จะเป น สื่ อ อะไร ที่ จะทํ าให ร างกายนี้ มี การถ ายเข า ถ ายออก ด วยของที่ ละเอี ยด คื อรั บเอาธาตุ อากาส ภายนอกเข า ไปภายใน, ภายในออกมาภายนอก ได ทั่ ว ทั้ ง ตั ว ; ไม เ ฉพาะแต ก าร หายใจ แม แต ในเนื้ อ ในหนั งก็ ต อ งมี ก ารระเหย มี การเปลี่ ย นแปลงในลั กษณะนี้ อ ยู ด วย เปนหนาที่ของวาโยธาตุ.
www.buddhadasa.info อั น สุ ด ท ายที่ เนื่ องกั น อยู กั บ ร างกาย ก็ เรี ย กว า อากาสธาตุ ; อากาสธาตุ นี้ ก็ ห มายถึ ง ที่ ว า ง มี ห น า ที่ มี คุ ณ สมบั ติ คื อ ให เนื้ อ ที่ , ให เนื้ อ ที่ ที่ ธ าตุ อื่ น ๆ จะได ตั้ ง อยู , หรื อ จะเจริ ญ งอกงามออกไป. นี่ เป น สิ่ ง ที่ จ ะต อ งพิ จ ารณาดู ว า ถ า ไม มี ที่ ว า ง ให แล ว สิ่ งต าง ๆ จะมาปรากฏได อ ย างไร. ที่ ดู กั นอย างหยาบ ๆ ง าย ๆ เหมื อ นเช น ว า ถาไมมีที่วางเราจะเดินมาไดอยางไร หรือจะนั่งลงไดอยางไร; มันตองมีที่วางให.
หลักปฏิบัติ เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวา “ธาตุ”
๑๗๑
คุณสมบัติที่ใหเนื้อที่อยางนี้ เรียกวาอากาสธาตุ ก็มีสวนที่ประกอบกัน อยู ในร างกายนี้ ให ผม ขนเล็ บ ฟ น หนั ง เป นต น ได มี เนื้ อที่ ได ตั้ งอยู , ให ธาตุ อื่ น ๆ ทุ ก ๆ ธาตุ ที่ ทํ าหน าที่ ของแต ล ะธาตุ นั้ น มี เนื้ อ ที่ สํ าหรั บ เกิ ด ขึ้ น สํ าหรั บ ปรุ งแต งกั น และสําหรับเปนไปได; นี่เปนหนาที่ของอากาสธาตุ. ถาพูดอยางปรมัตถ เขาก็พูดกันวาอากาสธาตุ นี้ เปนฐานสําหรับรองรับ ธาตุ อื่ น ๆ. พู ด อย า งนี้ ค นก็ จ ะฟ ง ไม เข า ใจ; อากาสมั น ว า ง แล ว ก็ ไ ม ใ ช ข องแข็ ง อะไร, แล ว มั น จะเป น ฐานรองรั บ ธาตุ อื่ น ๆ ได อ ย า งไร. นี่ ห มายความว า พู ด กั น อยางปรมัตถ ทุกสิ่งทุกอยางจะตองวางอยูบนอากาสธาตุ หรือบนที่วาง, แมวาเรา จะนั ่ง อยู บ นพื ้น ดิน พื ้น ดิน นี ้ก ็ย ัง บนสิ ่ง ที ่ม ัน รองรับ พื ้น ดิน , ใตล งไปเปน โลก ใต โลกทั้ ง โลกนี้ ก็ เป น ที่ ว า ง. ที นี้ ไม ต อ งคิ ด อย า งนั้ น แม ที่ นี่ ในที่ เฉพาะแห ง เล็ ก ๆ น อ ย ๆ นี่ ก็ ต อ งมี สิ่ ง ใดสิ่ ง หนึ่ ง ซึ่ ง วางอยู บ นที่ ว า งทั้ ง นั้ น ; ไม มี ที่ ว า งแล ว ธาตุ ดิ น ธาตุน้ํา ธาตุไฟ ธาตุลม ก็ไมมีที่จะตั้ง ไมมีที่จะวาง ไมมีที่จะอาศัย.
เราจําเปนตองรูจักธาตุ เพื่อแกปญหาเรื่องทุกข
www.buddhadasa.info นี้ จึ งถื อว า แม แต สิ่ งที่ เรี ยกว าธาตุ ที่ ประกอบกั นขึ้ นเป นเรา คนหนึ่ ง ๆ นี่ เราก็ รู จั ก มั น น อ ย; เมื่ อ ไม จํ า เป น เราไม รู จั ก ก็ ได ; แต ถ า เกิ ด ป ญ หา เป น ความทุ ก ข ขึ้นมา เราก็ตองรูจัก เทาที่จะแกไขความทุกขนั้นได.
พระพุทธเจาทานไดตรัสไววา เมื่อใด ธาตุถูกปรุงแตงใหเกิดขึ้น (ใหมี คาเทากับเกิดขึ้น ใหมีคาเทากับออกมา) เมื่อนั้นเปนความทุกข; ขอนี้กินความ ทั้งทางวัตถุ ทั้งทางจิตใจ. ที่วา “ธาตุใ ดจะเกิด ขึ้น มา ปรากฏออกมา” ก็เพราะวา มนุษ ยไป ยึดถือมันเขา วาธาตุดินของฉัน ธาตุน้ําของฉัน ธาตุไฟของฉัน, หรือวาทั้งหมดนี้เปน
๑๗๒
ปรมัตถสภาวธรรม
ของฉั น อะไรก็ ต ามใจ; พอไปมี ค วามยึ ด ถื อ อย า งนี้ เข า สิ่ ง ที่ เรี ย กว า ธาตุ นั้ น ก็ มี ลั ก ษณะเหมื อ นกั บ “ออกมา”; ก อ นนี้ เหมื อ นกั บ ไม ได อ อกมา เพราะไม มี ใครไป สนใจมั น . พอมี ก ารยึ ด ถื อ ก็ เหมื อ นกั บ ออกมาปรากฏขึ้ น หรื อ ว า ตั้ งอยู ด วยความ ยึดถือของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ที่ไมมีสติปญญาอันถูกตอง ก็เลยเปนทุกขขึ้นมา. ทีนี้ เพื่อจะแกไขความทุกขนี้ เราก็เลยจําเปนขึ้นมาทีเดียว ที่จะตอง รูเรื่องสิ่ งที่ เรียกว าธาตุ : วาธาตุ นั้ นคื ออะไร? มี ความมั่ นหมายวาเป นเราเป นของเรา หรือไม? เลยทําใหตองมีความรูในขั้นที่เรียกวา ปรมัตถธรรมขึ้นในสิ่งที่เรียกวาธาตุ. ต อไปอี กก็ ยิ่ งมี การปรุ งละเอี ยดออกไปอี ก ธาตุ ดิ น ธาตุ น้ํ า ธาตุ ไฟ ธาตุ ลม อากาสธาตุ กระทั่งวิญญาณธาตุ เมื่อเปนธาตุอยางธรรมดานั่น ยังทํ าหน าที่ อะไรไม ได ก็ไมม ีป ญ หาอะไร; แตพ อธาตุทํ าหนาที่ข องมัน ไดเมื่อ ไร ก็ม ีป ญ หาเมื่อ นั้น . เช น ธาตุ ดิ น ธาตุ น้ํ า ธาตุ ไฟ ธาตุ ล ม ได เหตุ ได ป จ จั ย ปรุ งแต ง กั น ขึ้ น เป น ร า งกาย เป นที่ ตั้ งที่ อาศั ยของจิ ต ของวิญญาณ ก็ ทํ าให เกิ ดธาตุ สํ าหรับรูทางตา สํ าหรับรูทางหู สํ าหรั บรู ทางจมู ก สํ าหรั บรู ทางลิ้ น ทางผิ วหนั ง ทางใจเอง ขึ้ นมา เหมื อนอย างที่ พ ระ ท านสวดเมื่ อตะกี้ นี้ . เดี๋ ยวก็ มี ป ญหาเกิ ดขึ้ นมาทางตา ทางหู ทางจมู ก ทางลิ้ นทางกาย ทางใจ; เรียกวาธาตุ ทําใหเกิดปญหาขึ้นมา.
www.buddhadasa.info บางที เราก็ ไปยึ ด ถื อ เอาตรงที่ ธ าตุ . บางที ก็ ไปยึ ด ถื อ เอาตรงสิ่ งที่ ธ าตุ ปรุง แตง ขึ ้น มา; เชน วา เนื ้อ หนัง เปน ที ่ตั ้ง แหง ความสัม ผัส ทางกาย มีค วามอบอุ น มี ความนิ่ มนวล อะไรต าง ๆ ซึ่ งเมื่ อบุ คคลไม รูสึ กว าเป นธาตุ แล ว ก็ ไปหลงใหลในเนื้ อหนั ง นั้นได. ถามีความรูถูกตองอยูวา เปนเพียงสักวาธาตุ ก็คงจะไมหลงใหล หรือ วาจะยับยั้งได ไมถึงกับหลงใหล.
นี่ก็คือขอที่ เป นป ญหา และเป นความลึกลับซอนเรนอยู จนตองเรียกชื่อ กันวา ปรมัตถธรรม คือธรรมชั้นปรมัตถ, หรือปรมัตถลักษณะ ลักษณะในชั้น
หลักปฏิบัติ เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวา “ธาตุ”
๑๗๓
ปรมั ตถ ; เป นเหตุ ให ต องรู ส วนที่ ลึ กที่ ละเอี ยด ที่ เป นปรมั ตถ นี้ ตามสมควร. ถ าจะรู หมด มัน ก็รู ไ มไ ด สํ า หรับ คนธรรมดา; แมจ ะรู ไ ดม ัน ก็เ กิน จํ า เปน , ไมม ีป ระโยชนอ ะไร คือไมจําเปนจะตองไปรูสวนที่ไมเปนปญหา. ป ญ หาในที่ นี้ คื อ ความทุ ก ข , เมื่ อ จะแก ค วามทุ ก ข ไ ด นั่ น แหละ เป น ส ว นที่ ค วรรู ; ถ า นอกไปจากนั้ น แล ว เราไปนอนเสี ย ไม ดี ก ว า หรื อ จะไปทํ า ให ลํ า บาก ทํ า ไม หรื อ ทํ า ไปมั น เกิ น ; พอมั น เกิ น ก็ จ ะสร า งความทุ ก ข แ บบอื่ น ขึ้ น มาก็ ได . นี่ ต อ ง ถื อ หลั ก ที่ ว าพอเหมาะพอดี หรื อ มั ช ฌิ ม าปฏิ ป ทาอยู นั่ น เอง. เราจะรู จั ก สิ่ งทั้ งปวงสั ก เท าไร? เราก็ ต อบว า เท าที่ จ ะแก ป ญ หาได , คื อ ว า พอเหมาะพอดี ที่ จะแก ป ญ หาได ไมตองมากกวานั้น แลวก็ตองไมนอยกวานั้น. ที นี้ เราก็ ดู สํ า หรั บ เรื่ อ งธาตุ ว า เราจะต อ งรู กั น สั ก เท า ไร; เมื่ อ คนบางคน เขาไม มี ป ญ ญาจะรู ไ ด ก็ ไ ม ต อ งรู ม าก. คนที่ อ าจจะรู ไ ด ก็ รู ก็ ค งจะมี ป ระโยชน บ า ง ไม ม ากก็ น อ ย; แต ทุ ก คนจะต อ งรู เ ท า ที่ จํ า เป น จะต อ งรู คื อ ที่ จ ะดั บ ทุ ก ข ไ ด . ที่ จ ะ ต องรู เป นส วนสํ าคั ญที่ สุ ด ก็ คื อรู การที่ สิ่ งที่ เรี ยกว าธาตุ นั่ น ว าจะปรุ งแต งให เกิ ดความทุ กข ขึ้นมาไดอยางไร.
www.buddhadasa.info ถา เราจะมองดูทั ้ง หมดในบรรดาธาตุทั ้ง หมด ก็พ อจะแยกออก ไปไดเ ปน สองฝา ยดว ยกัน : ธาตุพ วกหนึ ่ง เปน ธาตุที ่ม ีห นา ที ่สํ า รหับ กระทํ า , หรื อเป น ฝ ายกระทํ า เช น ตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจ ๖ อย างนี้ ก็ ล วนแต เป น ธาตุ ห นึ่ ง ๆ เรี ย กว า จั ก ขุ ธ าตุ โสตธาตุ ฆานธาตุ อะไรเป น ต น อย า งนี้ ; ธาตุ ฝ า ยนี้ มั น เป น ฝ า ย ที่จะกระทํา. ธาตุ อี ก ฝ า ยหนึ่ ง จะเป น ฝ า ยที่ ถู ก กระทํ า ; นี่ ก็ คื อ รู ป เสี ย ง กลิ่ น รส โผฏฐัพพะ ธัมมารมณ ก็เรียกวา รูปธาตุ สัททธาตุ คันธธาตุ รสธาตุ กระทั่ง
ปรมัตถสภาวธรรม
๑๗๔
โผฏฐัพพธาตุ และธรรมธาตุ ๖ อย างนี้ เป นฝ ายที่ จะถู กอี กฝ ายหนึ่ งกระทํ า ฝ ายที่ กระทํ าก็ คื อ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ นี้ ๖ ธาตุนี้เปนธาตุ ฝายที่จะกระทําตออีกฝายหนึ่งที่เปนคูกัน.
พิจารณาฝายที่เปนผูกระทํา ยกตั ว อย า งธาตุ แ รกก็ คื อ จั ก ขุ ธ าตุ -ธาตุ ต า ก็ ก ระทํ า แก ธ าตุ ฝ า ยที่ ถู ก กระทําคือรูป ที่จะเห็นดวยตา, แลวจะเกิดธาตุที่เรียกวา วิญญาณธาตุขึ้นมาทางตา, การเห็ น ทางตา หรื อ จั ก ขุ วิ ญ ญาณ; อั น นั้ น เรี ย กว า ผั ส สะ : หรื อ ลั ก ษณะ ๓ ธาตุ พบกั น ก็ เรี ย กว า ผั ส สะ. ผั ส สะให เกิ ด เวทนา-เวทนาให เกิ ด ตั ณ หา-เกิ ด อุ ป าทานเกิ ด ภพ-เกิ ดชาติ -แล วก็ เป น ทุ ก ข ทั้ งปวง. นี่ อ าศั ยธาตุ ฝ ายแรกคื อ จั กขุ ธาตุ ที่ จะเป น ผูกระทํา; นี่เรามองในสายฝายนี้ ฝายที่เปนผูกระทํา.
พิจารณาฝายที่ถูกกระทํา ที นี้ เรามองจากทางสายฝ ายที่ ถู กระทํ า คื อรูปธาตุ ; รูปธาตุ นี้ ทํ าอะไร เองไมได ตองมี จักขุธาตุ เป นผูกระทํา; แลวรูปธาตุ-ธาตุสําหรับตาเห็น, สําหรับตา -จัก ษุ เห็น . เมื ่อ ตาไดเ ห็น แลว , รูป ธาตุนี ้ก ็ใ หเ กิด รูป สัญ ญ าขึ ้น มา สํ า คัญ มั่ นหมายวา รูปอะไร; แล วเกิ ดรู ปสั งกั ป ปะขึ้ นมา คื อความใคร ความดํ าริในรูปนั้ น; แล ว เกิ ด รู ป สั ม ผั ส คื อ สั ม ผั ส ต อ รู ป ในทางมโน ในทางมโนคติ ในทางภาพ ในทาง ภายใน สัมผั สรูป นั้ นเป นรูปสั มผัส; แลวเกิดเวทนาขึ้นมา เป นรูปสั มผั สสชาเวทนา ขึ ้ น ม า; ก็ เ กิ ด รู ป ฉั น ท ะ-ค วาม พ อ ใจใน รู ป นั ้ น ; เกิ ด รู ป ป ริ ฬ าห ะ-เร า ร อ น ทนอยู ไ ม ไ ด เพราะรู ป นั้ น ; เกิ ด รู ป ปริ เ ยสนา -ขวนขวายเพื่ อ จะให ไ ด ม าซึ่ ง รู ป นั้ น ; เกิ ด รู ป ลาภะ การได ม าซึ่ ง รูป นั้ น ; แล ว เกิ ด การบริ โภคซึ่ ง รู ป นั้ น ก็ เป น รู ป ปริ โภคะ; แลว ก็ต อ งเกิด รูป ตัณ หา ในรูป นั ้น , เกิด อุป าทานในรูป นั ้น , เกิด ภพในรูป นั ้น , เกิดชาติในรูปนั้น, เกิดทุกขทั้งปวงในรูปนั้น; มันไปจบลงอยูที่ทุกขทั้งปวง.
www.buddhadasa.info
หลักปฏิบัติ เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวา “ธาตุ”
๑๗๕
ถ าตั้ งต นมาจากตา มั นก็ มาในแนวของปฏิ จจสมุ ปบาทแบบหนึ่ ง จนกระทั่ ง เกิ ด ความทุ ก ข ทั้ ง ปวง; ถ า ตั้ ง ต น มาจากรู ป ที่ ม ากระทบตา มั น ก็ เกิ ด กระแสแห ง ปฏิ จจสมุ ปบาทอี กแบบหนึ่ ง เพราะว าเล็ งเอาทางฝ ายรู ปเป นหลั ก เกิ ดสั ญ ญา สั งกั ปปะ ผั ส สะ เวทนา เป น ต น จนในที่ สุ ด ก็ เ กิ ด ตั ณ หา อุ ป าทาน และเกิ ด ภพ เกิ ด ชาติ คือทุกขทั้งปวงอีกเหมือนกัน. นี้ เป น ตั ว อย า งที่ แ สดงให เห็ น ว า ธาตุ ไหนก็ ต ามเถอะ ถ า ไปเกิ ด ปรุ ง แต ง กั นขึ้ น แล วมี ความสํ าคั ญมั่ นหมายด วยอวิ ชชา ด วยตั ณหา อุ ปาทาน ละก็ นํ าไปสู ความ ทุ ก ข ทั้ ง นั้ น . ดั ง ที่ พ ระพุ ท ธเจ า ท า นตรั ส ว า การเกิ ด ขึ้ น แห ง ธาตุ คื อ การเกิ ด ขึ้ น แหง ทุก ข, หรือ การตั ้ง อยู แ หง โรค (คือ ความตอ งทนทรมาน), หรือ การ ปรากฏออกมาแหง ชาติ ชรา มรณะ คือ ความทุก ขทั ้ง ปวง. ถา เราไมศ ึก ษา อย างนี้ เราก็ ไม เข าใจคํ าที่ พระพุ ทธเจ าท านตรั สไว ดั งคํ าที่ พระสงฆ เอามาสวดเป นข อแรก ตั้งแตการบรรยายชุดนี้ไดเริ่มแรกมาคือเรื่องธาตุ.∗ พิ จ ารณาดู จ ะเห็ น ว า จากธาตุ ทั้ ง ปวงที่ มี อ ยู ไม ว า ธาตุ ไหนหมด ตั้ งต น ที่ นั่ น แล ว มาจบลงที่ ค วามทุ ก ข ไ ด ทุ ก ธาตุ เลย; จากที่ รูป ก็ ได ที่ เสี ย งก็ ได ที่ ก ลิ่ น ที่รสก็ได ที่ตา หู จมูก ลิ้น ที่กายอันไหนก็ได.
www.buddhadasa.info พิจารณาจากผลที่เกิดขึ้นมา
บางที ก็ ไ ม ร ะบุ ไ ปยั ง ตั ว ธาตุ ที่ เป น ฝ า ยกระทํ า หรื อ ฝ า ยถู ก ระทํ า ; แต ไ ป ระบุ เ อาธาตุ ที่ เ ป น ผล ที่ เกิ ด มาจากการกระทํ า หรื อ การถู ก กระทํ า ก็ มี ; ถ า อย า งนี้ ก็ใช คํ าเรียกไปอี กอย างหนึ่ ง เรียกวา กามธาตุ รูปธาตุ อรูปธาตุ นี่ หมายถึ งความรู สึกที่เกิดเปนสุขขึ้นมาในใจ หรือวาจะเปนทุกขก็แลวแต.
∗
(ดูคําสวดเรื่องธาตุทายเลม)
๑๗๖
ปรมัตถสภาวธรรม
ที่ เป นกามธาตุ ก็ คื อ ว า ให เกิ ค วามใคร ในทางกาม ทางสามั ญ สั ตว ที่ มี ความรูสึ กทางกาม; หรื อถ าเป นรู ป ธาตุ ก็ เป นความสุ ข ที่ ไม เกี่ ยวกั บกาม แต มี รู ปเป น ที่ตั้งแหงความเปนสุข. ที นี้ ถ าละเอี ยดไปกว านั้ นก็ มี เป นอรู ปธาตุ ไม ต องมี รู ป แต เป นที่ ตั้ งความ รู สึ ก คิ ด นึ ก ก็ ทํ า ให เ กิ ด ความรู สึ ก เป น สุ ข ยึ ด มั่ น ในอรู ป ธาตุ นั้ น ได เหมื อ นกั น . ฉะนั้ น กามธาตุ ก็ เป นที่ ตั้ งแห งความยึ ดมั่ นถื อมั่ น, รู ปธาตุ ก็ เป นที่ ตั้ งแห งความยึ ดมั่ น ถือมั่น, อรูปธาตุ ก็เปนที่ตั้งแหงความยึดมั่นถือมั่น, ทั้งหมดมันมีไดเทานี้เพียง ๓ ธาตุ. ถาพ นจากนี้ ก็ จะเป นนิ พพานธาตุ ซึ่งไม เป นที่ ตั้งแห งความยึดมั่ นถือมั่ นได แต ว า ใครห า มใครไม ได . ใครจะไปยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น ก็ ได ; แต ที่ แ ท เป น สิ่ ง ที่ ยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น ไม ไ ด เพราะว า ถ า ไปยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น ก็ ไ ม มี นิ พ พ าน ไม มี นิ พ พ านธาตุ ไม เ ป น นิ พพานธาตุ . ฉะนั้ น ธาตุ เหล านี้ ก็ เป นที่ ตั้ งแห งความยึ ดมั่ นถื อมั่ น จะเป นกามหรื อเป นรู ป เป น อรู ป แล ว ก็ เป น ทุ ก ข ในที่ สุ ด . นิ พ พานไม เป น ที่ ตั้ งแห ง ความยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น ; ใครขื น ไปยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น เข า ก็ เป น ความทุ ก ข อี ก แบบหนึ่ ง ไม มี ป ระโยชน อ ะไร ก็ แ ปลว า ธาตุ ทุกธาตุ ไมควรยึดมั่นถือมั่น.
www.buddhadasa.info พึงศึกษาใหเขาใจวาธาตุทุกธาตุ ไมควรยึดมั่นถือมั่น แม จะแยกเป นสั งขตธาตุ -ธาตุ มี ป จจั ยปรงุ แต งทั้ งหมดทั้ งสิ้ ง มี มากมายนั บ ไม ไ หว นี่ ก็ ไ ม ค วรยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น ; แม เป น อสั ง ขตธาตุ ไม มี อ ะไรเป น ป จ จั ย ปรุ ง แต ง และมี เพี ยงอย างเดี ยว นี่ ก็ ไม ควรยึ ดมั่ นถื อมั่ นอยู นั่ นแหละ. พึ งถื อว า ธรรมทั้ งปวงไม ควร ยึดมั่นถือมั่น วาเราก็ตาม วาของเราก็ตาม ไมวาจะเปนสังขตธาตุ หรืออสังขตธาตุ. ทั้ งหมดนี้ เป น การสรุ ป ใจความให สั้ น ๆ ย อ ๆ เข ามาอี ก ครั้ งหนึ่ ง จากการ บรรยายหลาย ๆ ครั้ง วา ธาตุทั้งปวงนี้ ไมเปนที่ตั้งแหงความยึดมั่นถือมั่นตาม
หลักปฏิบัติ เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวา “ธาตุ”
๑๗๗
ธรรมชาติ ; แตคนเราก็ไปยึดมั่ นถือมั่ นเอาจนได เพราะอํ านาจของความไม รูวานี้ ไม ควรยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น . ลั กษณะหรื อภาวะที่ ไม ค วรยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น นั้ น ลึ กเกิ น ไป, คื อ เป น ปรมั ต ถสภาวะ ซึ่ งลึ ก เกิ น ไป มองไม เห็ น จึ งได ไปหลงรั ก หลงยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น . หรื อ ว า โกรธด วยยึ ดมั่ นถื อมั่ น, หรือไปสงสั ย ไปพั วพั นด วยความยึ ดมั่ นถื อมั่ น. พู ดกลั บกั นอี ก ที่หนึ่ งวาไปยึดมั่ นถือมั่ น สําหรับจะรักก็ มี, ยึดมั่นถือมั่ นสําหรับจะเกลียดก็มี , สําหรับจะ กลัวก็มี สําหรับจะพะวงสงสัยลังเลก็มี; เปนเรื่องความยึดมั่นถือมั่นแลวก็จะตองเปน ทุกขทั้งนั้น. ถ าเรามารู ว า เราไม ต องยึ ดมั่ นถื อมั่ น เพื่ อจะเป นทุ กข อย างนั้ น ๆ; เราต อง การอะไรก็ ทํ าไป ตามที่ ควรจะต องการ ให สํ าเร็จประโยชน ที่ จํ าเป นที่ จะต องการ; เช น จะกิน จะอยู จะนุ ง จะหม อะไรก็ทํ า ไป โดยที ่วา ทุก สิ ่ง เปน ธาตุธ รรมชาติ อยา ไปยึ ดมั่ นถื อมั่ น. นี่ เริ่มแสดงให เห็ นวา การปฏิ บั ติ ธรรมนี้ จํ าเป นอย างไร ที่ เราจะต อง ไมยึดมั่นถือมั่นในสิ่งทั้งปวง จึงจะไมมีความทุกข. ทีนี ้เ รามองดูต อ ไปวา เราตอ งอ ยู ด ว ยเห ตุ ปจ จัย แวดลอ ม ปรุงแตง ตามที่จําเปนอยางไร.
www.buddhadasa.info ข อ นี้ รั บ รู กั น ทั่ วไปแล ว ว า ถ า สํ า หรั บ ชี วิ ต ล ว น ๆ เราจะต อ งมี อ าหารกิ น เราจะต องมี เครื่ องนุ งห ม เราต องมี ที่ อยู ที่ อาศั ย เราจะต องมี หยู กยา หรื อการบํ าบั ด โรคภั ยไข เจ็ บ นี่ อย างน อยก็ ๔ อย างแล ว. สี่ อย างดั งกล างนั้ น ถ าดู ให ดี ก็ เป น ธาตุ ทั้ ง นั้ น แหละ : อาหาร ก็ เป น ธาตุ ใดธาตุ ห นึ่ ง ประกอบกั น ขึ้ น เป น อาหาร, เสื้ อ ผ า เครื่อ งนุ งห ม ชนิ ด ไหนก็ ต ามใจ ชนิ ด ไหนก็ ล วนแต เป นธาตุ ช นิ ด หนึ่ ง , ที่ อ ยู ที่ อ าศั ย บ านเรือน เครื่ องใช ไม สอยรอบตั วเราก็ เป นธาตุ เป นธาตุ ใดธาตุ หนึ่ งซึ่ งประกอบกั นอยู สักวาธาตุเทานั้น, ยาสําหรับแกโรคภัยไขเจ็บ ก็ยิ่งเปนธาตุที่เห็นไดชัด ๆ วาประกอบ ขึ้นดวยธาตุนั้นธาตุนี้; ทุกสิ่งลวนเปนธาตุ.
๑๗๘
ปรมัตถสภาวธรรม
ปจจัยสี่อยางนี้ประกอบอยูดวยธาตุ เปนธาตุ; แตเราก็ไมเคยคิดอยางนั้น เราไปยึ ดมั่ นถื อมั่ น ขนาดที่ ว าจะต องเกิ ดความรั กขึ้ นมา ความโกรธขึ้ นมา อะไรขึ้ นมา จนเปนทุกขไดดวยกัน ทั้งนั้นแหละ. ฉะนั้น ถาใครจะทําไดดวยตนเอง อยาใหเกิด ความทุ กข ยาก ลํ าบากใจขึ้ นมา เพราะการกิน การนุ ง การห ม การอยู การเจ็บไข แลว; คนนั้นก็เรียกวา มีธรรมะในพระพุทธศาสนา หรือปฏิบัติตามคําสอนของ พระพุทธเจาไดถูกตองในเรื่องธาตุ. นี่ เป นการแสดงให เห็ นแล วขึ้ นมารูปหนึ่ งว า การปฏิ บั ติ ที่ เกี่ ยวกั บสิ่ งที่ เรียกว า ธาตุนั้น จะตองมีอะไรบาง. การปฏิบัติที่เราพุทธบริษัท จะพึงปฏิบัติเกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวาธาตุนี้ มีได หลายแบบ หรือหลายสิบแบบ; แตรวมความแลว ตองเล็งถึงความไมยึดมั่นถือมั่นใน ธาตุ นั้ น ทั้ ง นั้ น . หลั ก เกี่ ย วกั บ การปฏิ บั ติ ที่ มี ชื่ อ ต า ง ๆ กั น ก็ เช น คํ า ว า : ธาตุ ป จ จเวกขณ - พิจ ารณาที ่เ กี ่ย วกับ ธาตุ, ธาตุว วัต ถานะ – การกํ า หนดกับ สิ ่ง ที่ เรีย กวา ธาตุ, เหลา นี ้เ ปน ชื ่อ ของกัม มฐานวิป ส สนา หรือ การปฏิบ ัต ิท างจิต ใจ. ปจ จเวกขณ กํ า หนดเกี ่ย วกับ ธาตุ เปน คํ า ที ่ใ ชอ ยู ทั ่ว ไปในหมู ผู ป ฏิบ ัต ิ; ดัง นั ้น จึงถือเอาอันนี้เปนขอปฏิบัติหมวดแรก ที่จะเอามาอธิบาย.
www.buddhadasa.info หลักปฏิบัติเกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวาธาตุ
การปฏิ บั ติ เกี่ ยวกั บธาตุ หรื อเกี่ ยวกั บอายตนะอื่ นใดก็ ดี ในที่ นี้ เราจะพู ดกั น เฉพาะเรื่องธาตุกอนวามันเหมือนกัน จะแบงออกไปเปน ๒ ระยะ : ระยะทีแรกนั้น ก็ใหเห็นความจริงหรือปรมัตถธรรมของธาตุนั้นกอน; ระยะที่สอง จะเกิดความคลี่คลายจากการยึดมั่นถือมั่น : ตองทําใหเห็นความจริง
หลักปฏิบัติ เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวา “ธาตุ”
๑๗๙
พิ จารณาให เห็ นความจริง ให รูจั กความจริงก อน แล วจึ งจะเกิ ดเป นความคล ายจากความ ยึดมั่นถือมั่น; เปน ๒ ระยะอยางนี้. ถ าเราไม มี ความเข าใจเห็ นแจ งเกี่ ยวกั บความจริงของสิ่ งนั้ น ๆ แล ว เราไม อาจจะปล อยวางสิ่ งเหล านั้ นได , คื อไม อาจจะคลายจากความยึ ดมั่ นถื อมั่ นในสิ่ งเหล านั้ นได . การที่ บ อกว า ไม ค วรยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น แล ว คนก็ รั บ ปากว า “ไม ยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น ” อย า งนี้ มัน เปน ไปไมไ ด; ดัง นั้น ตอ งมองลงไปใหชัด วา มัน เปน อยา งไร เราจึง ยึด มั่น ถื อ มั่ น ไม ได , หรื อ ขื น ไปยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น เข าจะเป น ทุ ก ข ขึ้ น มาโดยแน น อน. ธาตุ ป จ จเวกขณ คื อพิ จารณา หรือธาตุ ววั ตถานะ คื อกํ าหนดรูก็ ตาม ก็ มุ งหมายอย างนี้ มุ งหมาย ใหรูวาธาตุนั้นเปนอยางไร, แลวจิตก็คลายถอยออกมาจากความยึดมั่นถือมั่น.
ตอนที่ ๑ เรียกวาธาตุปจจเวกขณ เรื่ องธาตุ ป จจเวกขณ นี้ คุ นเคยกั บเรามาก เพราะเราได ยิ น ได ฟ ง ได สวด อะไรกั น อยู : ยถาปจฺ จ ยํ ปวตฺ ต มานํ อย า งนี้ เ ป น ต น . พระเณรก็ ต อ งสวดได พิ จารณาได , ชาวบ านก็ ได ยิ น ได ฟ ง. มาอยู วั ด วั นแรกเขาให เรี ยนบทนี้ ก อ น ในฐานะ ที่ เป นหั วใจของพระพุ ทธศาสนา แล วจึ งจะเรียนบทอื่ น สํ าหรับจะบวชเป นพระ เป นเณร อีก ตอ ไป. หมวดธาตุป จ จเวกขณ : ยถาปจฺจ ยํ ปวตฺต มานํ ธาตุม ตฺต เมเวตํ ยทิท ํ ตทุป ภฺุช โก จ ปุค คโล ธาตุม ตฺต โก นิส ฺส ตฺโ ต นิช ฺช ีโ ว สุ ฺโ เทานี้แหละ เปนบทธาตุปจจเวกขณสําหรับจีวร หรือเครื่องนุงหม.
www.buddhadasa.info ในตอนแรก ยถาปจฺ จ ยํ ปวตฺ ต มานํ นี้ ก็ คื อ บอกให รู ค รึ่ ง หนึ่ ง ก อ นว า สิ่งเหลานี้มัน เปน แตสัก วาธาตุที่เปน ไปตามเหตุ ตามปจจย ตามธรรมชาติที่ ปรุง แต ง กั น อยู เนื อ งนิ จ ; ยกเอาอาหารขึ้ น มาก อ นก็ ได : ว า ตั ว อาหารนั้ น คื อ สิ่ ง ที่ เปนธาตุ เปนไปตามปจจัยอยูเนืองนิจ; คนที่กินอาหารนั้น ก็คือสักวาธาตุ; คน ๆ หนึ่ง
๑๘๐
ปรมัตถสภาวธรรม
ประกอบด ว ยธาตุ และสั ก ว า ธาตุ แล ว เป น ไปตามเหตุ ตามป จ จั ย อยู เนื อ งนิ จ . อาหารก็ ดี คนกิ นอาหารก็ ดี สั กว าธาตุ เท านั้ นเป นไปตามเหตุ ตามป จจั ย อยู เนื องนิ จ; นี่บอกครึ่งหนึ่งกอนอยางนี้. อีกครึ่งหนึ่งบอกวา เพราะฉะนั้นมันจึงเปนนิสสัตโต-ไมใชสัตวบุคคล ตัว ตน, ไมใ ชช ีโ ว - ไมใ ชช ีว ะ เจตภูต วิญ ญาณตัว ตน, สุญ โญ ก็ค ือ วา ง จากตัวตน วางจากสิ่งที่ควรถือวาเปนตัวตน. นี้เปนหลักใหญเกี่ยวกับการปฏิบัติ ซึ่งเนื่องกันอยูกับสิ่งที่เรียกวาธาตุ; เราเอาสิ่ งที่ จําเป น ที่ มนุ ษย จะต องเกี่ยวของเป นประจําวันนั้ นมาเป นวัตถุ สํ าหรับพิ จารณา: เอาอาหาร เอาเครื่ องนุ งห ม เอาที่ อยู อาศั ย เอายาแก โรค เหล านี้ มาเป นหลั กสํ าหรั บ พิ จารณา ว าสิ่ งนั้ น ก็ ดี คนที่ บ ริ โภคใช ส อยสิ่ งนั้ น ก็ ดี เป น สั ก ว าธาตุ . สํ าหรั บ บุ ค คล คนหนึ่ ง ก็ ได พู ดมาแล วหยก ๆ นี้ ว า ประกอบอยู ด วยธาตุ ดิ น ธาตุ น้ํ า ธาตุ ไฟ ธาตุ ลม อากาส วิ ญ ญาณ นี่ สั ก ว าธาตุ ; ที นี้ ตั วสิ่ งต าง ๆ เหล านั้ น คื ออาหาร เครื่อ งนุ งห ม บานที่อยูอาศัย หยูกยา ก็ยิ่งเปนสักวาธาตุ ไมมีชีวิตดวย ไมมีวิญญาณธาตุดวย.
ตอนที่ ๒ พิจารณาเห็นความจริงจะปลอยวางได www.buddhadasa.info ขอให อุต ส าห พิ จ ารณา จนมองเห็ น รอบด านวา เป น สั ก แต วาธาตุ เปน ธาตุ – ธาตุ – ธาตุ ไปหมด, เหลีย วไปทางไหนก็เ ห็น แตส ัก วา ธาตุ. เมื ่อ เป นดั งนี้ ก็ ได ผลคื อวา ความยึ ดมั่ นถื อมั่ น หมายมั่ นจะเอาเป นเรา เป นตั วเรา เป น ของเรา จะค อ ย ๆ สลายไปเอง; ถ า ไม เห็ น อั น นี้ มั น ก็ จ ะหมายมั่ น ป น มื อ เป น เรา เป นของเรา เป นทรัพ ย สมบั ติ ของเรา เป นสิ่ งที่ จะช วยให เรามี ความสุ ขสบาย; หลงรั ก หลงพอใจกั นอย างยิ่ ง จนเกิ ดวิ ตกกั งวล จนเกิ ดเป นทุ กข แล วเป นทุ กข ชนิ ดล วงหน า ดวย; เปนทุกขลวงหนา ในสวนที่อยากจะไดมา, เมื่อเปนที่พอใจอยากจะไดมา ก็เปน
หลักปฏิบัติ เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวา “ธาตุ”
๑๘๑
ทุ กข ล วงหน า กระทั่ งว าเป นทุ กข ล วงหน าว า สิ่ งนั้ นจะตายไป จะวิ บั ติ พลั ดพรากตาย จากไป ก็ เป น ทุ ก ข ล วงหน า, หรื อ บางที จะเป น ทุ ก ข ล วงหน าว า สิ่ งนั้ น จะสู ญ หายไป ก็เปนทุกขลวงหนา. อาการทุ กข ทั้ งหมดล วนแต มาจากความยึ ดมั่ นถื อมั่ นทั้ งนั้ น ว าธาตุ ว าสิ่ งนั้ น เป นของเรา; เราไม ไดเรียกวาธาตุ แล ว ถ าเรารักขึ้ นมาเราไม เรียกวาธาตุ แล ว; เรา จะเรี ยกว านั่ น นี่ โน นเป นของกู ๆ. ถ าเรี ยกว าธาตุ แล ว ก็ หมายความว าเรารู จั กขึ้ นมาแล ว มั นก็ เป นของกู ไม ได . ถ าที นี้ ไม รูจั กว าเป นธาตุ ตามธรรมชาติ ก็ ยึ ดถื อว าของกู เนื้ อหนั ง ของกู อะไรของกู ผ านุ งของกู ผ าห ม ของกู อาหารของกู บ านเรื อ นของกู ทุ ก อย าง ที่ จํ าเป นแก ชี วิ ตก็ ล วนแต ของกู ๆ; ที่ เกิ นกว าความจํ าเป นก็ ของกู ยิ่ งขึ้ นไปอี ก เพราะว า มันมาใหความถูกอก ถูกใจ. นี่ คื อ การปฏิ บั ติ ที่ เกี่ ยวกั บ คํ าว า “ธาตุ ” เป น หลั กใหญ ในเบื้ อ งต น . เมื่ อ บุคคลเขาไปยึด ถือในธาตุใดแลว ก็เทากับ ธาตุนั้น ไดเกิดขึ้น แลว ไดตั้งอยูแลว ได ปรากฏออกมาแล วสํ าหรับบุ คคลนั้ น ก็ เป นความทุ กข สํ าหรับบุ คคลนั้ น; ถ าบุ คคลนั้ น มิไดยึดถือ ธาตุก็มิไดเกิดขึ้น สําหรับที่จะเปนที่ยึดถือสําหรับบุคคลนั้นเพื่อที่จะเปนทุกข. เห็นความจริงขอนี้แลว ก็จะละวางเสียได.
www.buddhadasa.info ตอนที่ ๓ ในการปลอยวางจะเจาถึงนิโรธธาตุได
ที นี้ ก็ ไม มี อะไรที่ จะเป นหลั กแปลกออกไป ก็ เหลื อแต ข อปลี กย อย ที่ จะ ชวยใหเห็นมากขึ้นวา เราจะตองปฏิบัติกันอยางไร. เพราะยึดมั่น ในธาตุโดยความ เป นตั วเราแล ว ความยึ ดมั่ นนั้ นจะทํ าให ไม สิ้ นสุ ด จะมี การยึ ดต อ ต อ ต อ ต อกั นไปยั ง ธาตุ อื่ น ๆ ที่ เกี่ ยวข องกั นอยู อี ก โดยเฉพาะอย างยิ่ งก็ เรื่ องกามธาตุ รู ปธาตุ อรู ปธาตุ . เพราะไมรูเรื่องกามธาตุ ก็ไปยึดมั่นในกามธาตุ; ถารูกามธาตุเขา ก็ไปยึดที่รูปธาตุ,
ปรมัตถสภาวธรรม
๑๘๒
รูรูปธาตุเขาอีกก็ไปยึดที่ อรูปธาตุ, จนกวาจะรูห มดแล วก็ ไม ยึ ด ในสิ่ งใด; นี่เรียกวา ไปถึงเขากับ นิโรธธาตุ. ฉะนั้น การปฏิบัติก็มุงเพื่อใหลุถึงนิโรธธาตุ คือธาตุที่ จะเปนที่ดับความยึดมั่นถือมั่น ทั้งปวงเสีย. เรื่อ งแรก จะตอ งรูจัก กามธาตุ วาเปน เครื่อ งเผาลนอยางไร; แลว ก็รูจั กรูปธาตุ ที่ สู งขึ้นมา กวากามธาตุ วาก็ ยังผู กพั นให หลงใหลอย างไร; กระทั่ ง ในอรู ปธาตุ ซึ่ งมี ความพอใจละเอี ยด ประณี ตสู งสุ ดขึ้ นไปอี ก ก็ รูวามั นผู กพั นอย างไร ยึ ดถื ออย างไร. พอเห็ นอย างนี้ แล ว ส วนที่ เรียกว านิ โรธธาตุ นั้ นก็ จะแสดงตั วออกมาเป น ความดับความยึดมั่นถือมั่น ในสิ่งเหลานั้นเสีย. การปฏิบัติประจําวันของคนเราก็คือ ดูวา ธาตุอะไรมันกําลังกระทํา หรือวาครอบงํา หรือวาติดอยูในจิตใจของเรา.
ปญหาแรก คือการละกามธาตุ เรื่องกามธาตุ สํ าหรับผู ที่ ยั งมี วั ย มี อายุ น อย ที่ ยั งเป นที่ ตั้ งแห งกามธาตุ มาก กามธาตุรบกวนมาก; ก็พิจารณาเห็น โดยที่วามัน เปน สัก วาธาตุ; พอธาตุนี้เกิด มาแล ว ก็ ทํ าให เกิ ด อาการอย างนั้ น ความรู สึ ก อย างนั้ น , รู สึ กอย างนั้ น เหมื อ นที่ เรา กํ าลั งหลงใหลพอใจอยู หรื อเดื อดร อนอยู หรื อน้ํ าตาไหลอยู เพราะเหตุ อั นนั้ นแหละ. การปฏิ บั ติ ก็ มี อย างนั้ นเอง จนกระทั่ งรูจั กเห็ นว าสิ่ งนั้ นมั นเป นอย างนั้ น; เราไม เคยรู จั ก ไม เคยทราบว า เขาเรี ย กกั น ว า กามธาตุ เราก็ ไ ปหลงใหลบู ช าเป น ของดิ บ ของดี ของวิเศษ ของทิพย ของสวรรคอะไรไป.
www.buddhadasa.info เหมื อนกั บที่ ว าในโลกนี้ ในเวลานี้ เขากํ าลั งทํ าให หลงอย างนี้ กั นมาก แม แต การศึ ก ษานั้ น ก็ ยั ง ทํ า ให ค นหลงในเรื่ อ งของกามธาตุ นี้ เป น อย า งมาก; แล ว สิ่ ง ประเล าประโลมใจทั้ งหลาย เรื่ องบทเพลง เรื่ องอะไรต าง ๆ เต็ ม ไปทั้ งโลกนี้ ที่ ส งออก ทางวิทยุทั้งโลก นี่ก็ลวนแตสงเสริมกามธาตุใหไดโอกาสที่จะแสดงออกมา เปนไฟเผา
หลักปฏิบัติ เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวา “ธาตุ”
๑๘๓
จิ ตใจของคนทั้ งโลกอยู . เมื่ อทั้ งโลกเขานิ ยมกั นไปอย างนั้ นแล ว โดยระบบก็ เอาคนทั้ ง โลกเป นส วนใหญ แล วก็ เลยจมลงไปในกามธาตุ ได มี ความลุ มหลงเดื อนดร อน แล วก็ เปนทุกขหลายซับหลายซอนทีเดียว. โลกนี้กําลังลําบากเดือดรอนอยูเพราะอํานาจของ สิ่งที่เรียกวา กามธาตุ. ที นี้ ก็ น าสงสารน าเห็ นใจคนหนุ มคนสาวทั้ งหลาย; ไม มี ใครจะมาสอนเรื่องนี้ . เขามั วแต จะหลอกจะลวงให หลงใหลในกามธาตุ หรื อวั ตถุ ป จจั ยเป นที่ ตั้ งแห งกามธาตุ ยิ่ ง ๆ ขึ้ น ไป; ก็ น า เห็ น ใจ น า สงสารเด็ ก ๆ วั น รุ น . ขอให คิ ด ดู เ ถิ ด ว า จะต อ งทํ า อยางไร; จะไปโทษใครก็ไมได.
ละกามธาตุไดตองพิจารณาละรูปธาตุ ครั้นวั ยล วงกาลมาตามลํ าดั บจนในเรื่องกามธาตุ ไม ค อยมี โอกาส หรือว าไม เปนที่ตั้งแหงโอกาสแลว ก็มาปะทะกับสิ่งที่สอง คือรูปธาตุ คือความพอใจในสิ่งอัน เป นที่ ตั้ งแห งความพอใจ แต มิ ใช เป นกามารมณ . เมื่ อก อนนี้ เราพอใจในเงิ น เพราะว า เงิ นซื้ อกามารมณ ได ; แต พอต อมาเมื่ อไม ต องการในกามารมณ แล วก็ ยั งพอใจในเงิ นเพราะ วาเงินนี้ อาจจะให ความสนุ กความสบายอย างอื่น ซื้ อทรัพยสมบั ติ สะสมทรัพย สมบั ติ หรือ อะไรก็ ได ซึ่ งไม ใช กามารมณ แต เอาไว เลี้ ยงลู ก เลี้ ยงหลานก็ ได อะไรก็ ได แม ไม ใช กามารมณ โดยตรง; ก็ เป นป ญ หาเป นที่ ตั้ งแห งความทุ กข อยู ด วยรู ปธรรมล วน ๆ เช น ทรัพยสมบัติลวน ๆ เปนตน ไมเกี่ยวกับกามารมณ.
www.buddhadasa.info ละรูปธาตุแลวพิจารณาละอรูปธาตุ ถารอดไปไดในสวนรูปธาตุ ก็ไปติดสวนที่เปนอรูปธาตุ ไมใชรูป คือ ไมมีรูป จะเปนความละเมอเพอฝนก็ได จะเปนบุญเปนกุศล เปนเกียรติยศ เปนชื่อเสียง
๑๘๔
ปรมัตถสภาวธรรม
อะไรก็ได ซึ่งไม มี รูป ก็ แลวกัน ฝ งแน น อยู ที่ นั่ น ก็ มี ป ญ หา มี ค วามทุ ก ข ได ; แต เป น ดานสุดทาย. ถาออกไปจากดานนี้ได ก็จะตองไปหาความดับสนิท คือนิโรธธาตุ.
ถาวาอยาใหมีอะไรเขามาแทรกแซง ยั่วยุมากนัก มนุ ษย เราก็ จะเป นไปเองตามลํ าดั บนี้ : เกิ ดมาเป นเด็ กวั ยรุ นขึ้ นแล วก็ มี ป ญหา เฉพาะหนา คือตอสูกันกับกามธาตุที่มันจะมาลากคอไป. พนวัยรุนขึ้นมา เปนพอบาน แมเรือนก็ตอสูกับเรื่องรูปธาตุ จะตองมีทรัพยสมบัติ มีนั่น มีนี่ ตอมาก็พนไปเปลาะหนึ่ง. ในวาระสุดท ายเป นเรื่องหวังในสิ่งที่ ไม มีรูป ก็เปนความหวังจะยึดนั่น ยึดนี่ ยึดโนน ต อไปอี กแม แต ความดี ล วน ๆ อะไรก็ ตาม แม แต ความไม มี อะไรก็ ตามเถอะ มั นก็ เป นที่ ตั้ ง แห ง ความยึ ด ถื อ ได . ถ า ว า ยั ง มี ชี วิ ต ต อ ไปอี ก ก็ เอื อ มระอาเหมื อ นกั น ที่ จ ะยึ ด ถื อ สิ่ ง เหล านั้ นเป นอั นสุ ดท ายแล วจึ งจะปล อยวาง ว าเราจะไม ต องการอะไร. ถ าสั งเกตจะเห็ น พระบาลี ที่ พระพุ ทธเจ าทรงสั่ งสอน หรื อแนะนํ าสาวกสั่ งสอน, คนที่ จะตาย คนแก ที่ กํ าลั ง จะตายนี่ ท านจะสอนอย างนี้ ทั้ งนั้ น ว า อย างนี้ ละแล วหรื อยั ง, กามธาตุ ละแล วหรื อยั ง? ละแลว , รูป ธาตุล ะแลว หรือ ยัง ? ละแลว ; อรูป ธาตุล ะหรือ ยัง ? ก็สั ่น หัว . ถา สั่นหัวเรื่อย ๆ ไปก็นอมไปสูนิโรธธาตุ คือดับไมเหลือได.
www.buddhadasa.info ถ าว ามนุ ษ ย เราไม มี อ ะไรมาแทรกแซงมากนั ก ก็ อ าจจะเป น ไปได อ ย างนี้ : เดี๋ ยวนี้ เป นบาปกรรม หรือว าอะไร ก็ แล วแต จะเรียก ของมนุ ษย สมั ยนี้ มั นมี อั นนี้ อั นโน น มาแทรกแซงเรื่อย จนคนแกแลวก็ยังพนดานของกามธาตุไปไมไดสําหรับชนสมัยนี้; แตครั้งคนสมัยนี้พนกามธาตุไปได ยิ่งไปติดรูปธาตุ อรูปธาตุ หนักอยูที่นั่น; ออกไป ไม ได จนวาระสุ ดท ายก็ สลั ดทิ้ งอะไรไม ได มี ยุ งเรื่ องนุ งนั งอยู ด วยเหตุ อย างใดอย างหนึ่ ง จึ งดั บ ไม เหลื อ ไม ได เป น นิ โรธธาตุ ไม ได . เกี่ ยวกั บ เรื่ อ งนี้ ก็ มี คํ าสอนว า ฝ ายที่ ไปไม รอด นั่นก็เพราะวา ไปของอยูกับกาม; พอออกจากกามไดแลวก็ไปของ
หลักปฏิบัติ เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวา “ธาตุ”
๑๘๕
อ ยู ก ับ รูป , อ อ ก จ า ก รูป ไดแ ลว ก็ไ ป ติด อ ยู ที ่อ รูป แ ลว ก็ไ ม เ ค ย รู เ รื ่อ ง นิโ ร ธ เสี ยเลย. นี่ แหละสั ตวทั้ งหลาย สั ตวชนิ ดนี้ ย อมเวี ยนมาหาการเกิ ด ใหม - เกิ ด ใหม - เกิด ใหม อยู ใ นสิ ่ง ที ่ต ัว กํ า ลัง ยึด มั ่น ถือ มั ่น อยู นั ่น แหละ. บางคนก็ต าย หรือ ยึ ด มั่ น จนตายในกามธาตุ , บางคนก็ ยึ ด มั่ น จนตายในรู ป ธาตุ เป น ปู โสมเฝ า ทรั พ ย ไป, บางคนมั นก็ ยึ ดมั่ นในอรู ปธาตุ เรื่ องดี เรื่ องเกี ยรติ เรื่ องอะไรไป ก็ ดั บไม ได ก็ มาเกิ ดอย างนี้ อี ก เรื่ อ ยไป; จะเป น การเกิ ด หลั ง จากเข า โลงแล ว หรื อ ว า เกิ ด ที่ นี่ เดี๋ ย วนี้ ซ้ํ า ซากก็ ต าม ลวนมีหลักเกณฑอยางนี้ทั้งนั้น.
ฝายที่ตรงกันขาม ฝ ายที่ ต รงกั น ข ามก็ คื อ สั ต ว ที่ รู ว า กามธาตุ เป น อย างไร, รอบรู ก ามธาตุ ว า เป น อย า งไร, ว า รู ป ธรรม ที่ ไ ม เกี่ ย วกั บ กามเป น อย า งไร; แม ใ นอรู ป ธรรมที่ ล ะเอี ย ด ประณี ต ก็ ไม เข า ไปติ ด ไม เข า ไปหมายมั่ น ก็ เลยออกมาได ด ว ยอํ า นาจของนิ โรธธาตุ . เพราะถากามธาตุ รูปธาตุ อรูปธาตุ ไมมาขวางอยูแลว นิโรธธาตุก็แสดงตัวไดเอง; เมื่ อมี อะไรมาขวาง คื อความยึ ดมั่ น ถื อ มั่ น ป ดบั ง ก็ ไม มี โอกาสที่ ความปล อยวางนั้ น จะ แสดงออกมา.
www.buddhadasa.info นี่ เห็ น ได ว า ไม ใช เรื่ อ งของใครที่ ไหน เป น เรื่ อ งของคนทุ ก คนทั้ ง ที่ นั่ ง อยู ที่ นี่ และไม ได ม านั่ งอยู ที่ นี่ ; พอมาติ ด อยู ในบ วงเหล านี้ ของกามธาตุ ของรู ป ธาตุ ของอรู ป ธาตุ เวีย นวนอยู ใ นวัฏ ฏสงสารนี ้ มีภ พใหมเรื่อ ยในธาตุเหลา นี ้แ ลว เมื ่อ ไรจะ ออกไปได . ธรรมชาติ ก็ จํ า กั ด เวลาให เอ า , ให มี อ ายุ ป ระมาณ ๑๐๐ ป ก็ เดิ น มาซิ , เดิ น จากกามธาตุ มาหารู ป ธาตุ อรู ป ธาตุ แล ว ก็ พ อเหมาะที่ ว า วั ย สุ ด ท า ยของชี วิ ต นี้ จะพบกับความสลัดทิ้งออกไปหมด ไมเหลือสักธาตุเดียว; นี่ก็เปนนิโรธธาตุ.
อย า งนี้ เรี ย กว า เป น พุ ท ธบริ ษั ท คื อ เป น ผู รู , พุ ท ธ แปลว า รู ๆ คื อ ลื ม ตา; ลืมตาคือเห็นวาอะไรเปนอยางไร ตามที่เปนจริง. อยางนี้จึงจะเรียกวา พุทธ-
๑๘๖
ปรมัตถสภาวธรรม
บริษั ท; ถาไมอยางนั้นก็ตองตาย หรือจมอยูที่นั่น : สัตวน้ําก็ตายจมอยูในน้ํา สัตวบก ก็ ตายจมอยู ในแผ นดิ น สั ตวบนต นไม ก็ ตายค างอยู บนต นไม ; ล วนแต ตายจมอยู ที่ นั่ น ทั้งนั้นแหละ จะไมตายก็เพราะวาออกไปเสียจากที่ตั้งแหงความยึดมั่นถือมั่นเหลา นั้น.
การถอนจิตออกมาเสียจากธาตุที่ปรุงแตง ขอปฏิบัติที่พระพุทธเจาไดตรัสไว ใหพระสาวกนํามาสั่งสอน หรืออะไร ก็ตาม ก็มีตรงกันอยูที่วา ใหถอนจิตออกมาเสียจากบรรดาธาตุที่เปนของปรุงแตง, สพฺพ สงฺข ารธาตุ-ธาตุที ่เ ปน ของปรุง แตง ทั ้ง ปวง เราตอ งถอนจิต ใหถ อยออกมา เสีย จากธาตุเหลา นั ้น แลว ก็น อ มจิต ไปยัง อมตธาตุ-ธาตุที ่ไ มต าย คือ นิพ พาน ซึ่ง บางทีก็เรีย กวา วิสังขาร, บางทีก็เรีย กวา อสังขตธาตุ. วิสังขารก็คือ ไมมี การปรุง แตง , อสัง ขตธาตุก ็ค ือ ไมถ ูก ปรุง แตง อมตธาตุก ็ค ือ ไมต ายอีก ตอ ไป เพราะมั นไม มี การเกิ ด ไม มี การเปลี่ ยน; อย างนี้ ก็ เรียกวา อมตธาตุ ก็ ได นิ พพานธาตุ ก็ได.
www.buddhadasa.info ครึ่งแรกของแรกปฏิบัติก็วา “ถอนจิตออกมาเสียจากธาตุที่ปรุงแตง ทั้งหลาย; นอมจิตไปสูธาตุที่ไมปรุงแตงเลย” มีสองประโยคเทานี้. ถาทําไดอยาง นี้ ก็ จะรู ว า “เข าถึ งแล ว ถึ งนิ โรธธาตุ แล ว ถึ งนิ พพานธาตุ ถึ งอสั งขตธาตุ แล ว”; นี่ ก็ จะ บอกออกมาเอง พูดออกมาเอง รูเอง วานี่แหละสงบระงับ นี่แหละประณีต; เปนบาลี ที ่ส วดกัน อยู บ อ ย ๆ เอตํ สนฺต ํ เอตํ ปณีต ํ. นี ่แ หละ สัน ตะ สงบระงับ แลว , นี่ แหละประณี ต คื อละเอี ยดประณี ตที่ สุ ด . ความสงบระงับ นี่ ประณี ต ละเอี ยดที่ สุ ด ; ยทิท ํ ส พฺพ ส งฺข ารส ม โถ - นี ่ก ็ค ือ ธรรม เปน ที ่ด ับ แหง สัง ขารทั ้ง ป วง, นี ่ค ือ ธาตุห รือ ธรรมเปน ที ่ด ับ แหง สัง ขารทั ้ง ปวง. สพฺพ ูป ธิป ฏิน ิส ฺส คฺโ ค - นี ่ค ือ การสลัด ทิ้งออกไปได ซึ่งอุปธิทั้งปวง.
หลักปฏิบัติ เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวา “ธาตุ”
๑๘๗
พึงรูจักคําวาออกไปไดซึ่งอุปธิทั้งปวง อุปธินี้เคยอธิบายใหฟ งกันมาแลววา อุ ปธินี้ คื อของหนั ก, “อุปธิ” คํานี้ แปลวา เขา ไปทรงไว -แบกไว -ทูน ไว หรือ อะไรก็ต ามเถอะ คือ วา เราเขา ไป อยู ข า งใต สิ่ ง นั้ น เพื่ อ จะชู ยก แบกดั น สิ่ ง นั้ น ไว สิ่ ง นั้ น แหละคื อ อุ ป ธิ . ตอนนี้ เรา ไมยอมปล อยอุปธิ เรายอมใหอุปธิอยูบนเรา เราแบกไว ดันไว ทู นไว เรียกวา อุ ปธิ คือของหนัก มี ๔ ประการ :๑. การบริ ห ารชี วิ ตร างกายนี้ ก็ เป น ของหนั ก เรี ยกว า ขนฺ ธู ป ธิ ๒. กิ เ ล ส ที่มันบีบคั้นเราอยู บังคับเราอยูก็เปนของหนัก เรียกวา กิเลสูปธิ. ๓.ผลกรรมที่ เราจะตองรับ ไมมีทางหลีกเลี่ยงนี่ก็เรียกวากมฺมูปธิ; มีหลาย ๆ อุปธิ. ๔. ในที่สุด ที่นาหวัวที่ สุด ที่แมพระพุ ทธเจาก็ตรัสไวเองวา โอปธิกํ ปุ ฺํ - แม บุ ญ ก็เปนอุปธิ, เป น บุ ญ ชนิ ด ที่ ค นเขาแบกไว . มี ค นเป น สองพวกอยู : บางคนมี กิ เลส ยึ ด มั่ น มาก ก็ยึดมั่นบุญเปนของกู; บุญก็เลยกลายเปนอุปธิ สุมหัวคนนั้น เปนของหนัก.
www.buddhadasa.info แตถาคนมีปญญา ไมตองยึดมั่นวาบุญของกูก็ได ทําบุญไป เพื่อชําระบาปไป; ทําบุญไปเพื่อชําระบาปไป บุญอยางนี้ก็ไมเปนอุปธิ ไมเปนของหนัก; หรือจะพูด ให งายกวานี้ ก็ วาความดี ที่ เรียกวาความดี ที่ รักกั นนั ก ที่ ชอบกั นนั กวาดี -ดี -ดี นี้ บางที มั นก็ กลายเป นอุ ปธิ เป นของหนั กกดทั บจิ ตใจคนนั้ น. คนนั้ นต องรอนไห เพราะความดี ตองฆาตัวตายเพราะความดี นี้ก็มีอยูมาก; ความดีเปนอุปธิ เปนกอนหิน หนักอยูบน หัวคนนั้น; อยางนี้ไมใชดีตามแบบของพระพุทธเจา.
ถาเป นกุ ศลจริง ดี จริง ตามแบบของพระพุ ทธเจาก็คื อ จะชวยลดความชั่ ว แลวก็ไมต องแบกกันอยางนั้ น. ถาเรามีไวสําหรับยึดมั่นถือมั่น สําหรับแบก แลวก็ เปนอุปธิ เปนของหนัก เปนความทุกขเสียเองหมดไมวาอะไร. ถามีไวใชตามหนาที่
๑๘๘
ปรมัตถสภาวธรรม
ก็ ทํ าหน าที่ นั้ นก็ ได รั บผลจากการทํ าหน าที่ นั้ น ก็ ไม มี ใครเป นทุ กข ; ฉะนั้ น จะมี บุ ญ จะมี ความดีกับเขาบาง ก็จงรูจักมีในลักษณะที่อยาใหมันกลายเปนอุปธิขึ้นมา, อยาใหมัน กลายเป น ของหนั ก ขึ้ น มา; แต ให ก ลายเป น ของเบา หรื อ ของที่ จ ะช ว ยให เบา ต อ งให มั น เป นของที่ จะช วยให ของหนั กกลายเป น ของเบา; เช นว ากิ เลส หรื อความทุ กข นี้ เป น ของหนั ก เราสร างบุ ญ สร างกุ ศล สร างความดี ขึ้ นมา อย าให มั นกลายเป นของหนั กอั นที่ สอง; ใหมันกลายเปนเครื่องชวย ใหของหนักอยูนั้นมันเบาขึ้น ๆ. ดังนั้น ความดี ก็รูจักชวยไมใหยึดถือ, บุญจะชวยชะลางความยึดถือ, กุศลจะมาทําใหฉลาดในการที่จะไมยึดถือ; การมีบุญ มีกุศล มีความดีอยางนี้ มันชวย มาแก ไ ข ความยึ ด ถื อ ในของหนั ก นั้ น ให เบาเข า . ถ า ไม ทํ า อย า งนี้ เพราะเข า ใจผิ ด เพราะมี นิ สั ยเข ายึ ดถื อละโมบโลภมาก ถื อว าบุ ญของกู ดี ของกู บุ ญก็ มาเป นของหนั กเพิ่ ม ให เป นสิ่ งที่ ๒ ที่ ๓ ที่ ๔. โดยมากก็ มั กจะเป นอย างนี้ เพราะว าคนจะต องยึ ดมั่ นถื อมั่ น ในสิ่ ง ที่ ตั ว ชอบใจ บุ ญ ก็ เ ลยเป น อุ ป ธิ ไ ด ; โอปธิ กํ ปุ ฺํ : โอปธิ กํ คื อ เป น อุ ป ธิ , ปฺุํ ก็คือบุญ.
www.buddhadasa.info นี่ คื อหลั กว า “ถอนจิ ต ออกมาเสี ย จากธาตุ ป รุ งแต งทั้ งปวง”. บุ ญ ก็ เป น ธาตุ ปรุ งแต ง เพราะว ามาจากการปรุ งแต งจึ งเกิ ดบุ ญ , และบุ ญ นี้ ก็ จะปรุ งแต งอะไรต อไป ขา งหนา ; ฉะนั ้น เราตอ งใชใ หถ ูก วิธ ี ถา จะปรุง แตง อะไรตอ ไปขา งหนา ก็ใ หม ัน ล างบาป; หรื อว ามั นเป นของปรุ งแต งมาแล ว เราก็ อย ายึ ดมั่ นถื อมั่ นในฐานะเป นตั วกู ของกู , อย า เป น ตั ว เป น ตน. ให บุ ญ นี่ ช ว ยล า งบาป ช ว ยเป น หนทาง ช ว ยเป น บั นได ที่ จะไปหาฝ ายที่ ตรงกั นข าม คื อฝ ายอมตะ หรือฝ ายนิ พพาน; อย างนี้ เรียกว า สลัดออกไปซึ่งอุปธิทั้งปวง.
ต อไปนี้ ก็ มี คํ างาย ๆ ว า ตณฺ หกฺ ขโย - สิ้ นตั ณหา คื อสิ้ นความอยากอย างนั้ น ความอยากอยางนี้ ความอยากอยางโนน; ทุกความอยากมันจะหมดไป เพราะรูวา
หลักปฏิบัติ เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวา “ธาตุ”
๑๘๙
ธาตุ นั้ น ๆ ไม ควรยึ ดถื อ; ถอยออกมาเสี ย แล วหั นไปหาธาตุ ที่ เป นที่ ดั บแห งความยึ ดถือ. เมื่อ ไมยึด มั่นถือมั่น ไมมีอุป าทาน เพราะไมม ีอ วิช ชา มัน ก็ไมอ ยาก ในทุกแง ทุ ก มุ ม : อยากได ก็ ไ ม มี อยากเป น ก็ ไ ม มี อยากไม เป น ก็ ไ ม มี ; นี่ ต ามแบบของ ตัณหามันเปนอยางนี้ : นี่คือสิ้นไปแหงตัณหา. ถัดจากสิ้นตัณหา ก็คือวิราคะ. วิราคะ แปลวา คลายออกจนหมดสิ้น คือคลายความยึดถือจนหมดสิ้น เรี ย กว า วิ ร าคะ; วิ ราคะนี้ เป น พวกนิ โรธธาตุ คื อ เป น วิ ร าคะแล ว เป น นิ โรธ. นิ โรธ เองคือดับสนิทของการปรุงแตงของตัวกู-ของกู, คือเปนนิพพาน คือจบหรือเย็น หรื อ สิ้ น สุ ด ; อย า ที่ เคยอธิ บ ายมาแล ว มากแห ง ว า นิ พ พานนี้ แ ปลได ห ลายอย า ง : แปลวาไม ไปอีกต อ ไป; นิ แปลวา ไม , วน แปลวา ไป, นิ พ พาน แปลวาไม ไป อีกตอไป; แตยังมีความหมายมากกวานั้น คือไมอยูที่ไหนดวย. หรือจะแปลนิพพานวา ไมเ สีย บแทง, นิพ พานนี ้แ ปลวา ไมเ สีย บแทง คือ ไมเ ปน ทุก ข; หรือ แปลวา ดับหมด ดับรอนหมด มันก็เย็น. แม นิ พพานนั้ นเองก็ เป น สั กว าธาตุ จะเรียกวา อมตธาตุ , จะเรียกว า อสั งขตธาตุ ; เรียกให เพราะอย างไรก็ สั กแต วาธาตุ . ฉะนั้ น ออกมาเสี ย จากธาตุ ปรุงแตง มาสูธาตุที่ไมมีการปรุงแตง พูดสองคําก็จบ; แตแลวก็ทํากันไมงาย นัก.
www.buddhadasa.info การพิจารณาธาตุในฐานะแหงอานาปานสติ ที นี้ จะให ละเอี ยดปลี กยอยออกไป เกี่ ยวกับการปฏิ บั ติ นี้ เราก็ต องศึ กษามา ถึงคําที่ พ ระพุ ทธเจาทานสอนพระราหุล. ตรงนี้ เดี๋ยวใครจะคิดวา พระพุทธเจา คงจะรักพระราหุ ลมาก; นี่ ก็ ป องกั นไวเสี ยก อนวา พระพุ ทธเจ าท านไม ได รักพระราหุ ล มากเกิ นกวา พระเทวทั ต หรือช างนาฬาคี รี หรือใครก็ ตามใจ ดั งที่ อรรถกถากล าวไว . พระเทวทัตนั้นเปนศัตรูของพระพุทธเจา, ชางนาฬาคีรีนั้นคือ ชางที่เขาปลอยมา
๑๙๐
ปรมัตถสภาวธรรม
ทํ า ร า ยพระพุ ท ธเจ า ; พวกพระอรรถกถาจารย ก็ ใ ห น้ํ า หนั ก ไว ดี ว า พระพุ ท ธเจ า มี น้ํ าพระทั ยเสมอกั นในระหว างพระราหุ ล ซึ่ งเป นพระโอรสของท านกั บบรรดาข าศึ ก ศั ตรู ทั้ ง หลาย; พระพุ ท ธเจ า ก็ ต อ งสอน ต อ งเห็ น แก พ ระราหุ ล ก็ ต อ งสอนพระราหุ ล ใน ฐานะที่ควรจะสอน. พระพุ ทธเจ าทรงสอนพระราหุ ลว า “ให ทํ าอานาปานสติ ”. อานาปานสติ นี้ มีค วามหมายกวา ง คือ กํา หนดธรรมะหรือ ความจริง ขอ ใดขอ หนึ่ง ไวท ุก ครั้ง ที่ หายใจออกและหายใจเข า; อยางนี้ เรียกวา ทํ าอานาปานสติ ทั้ งนั้ น. พระพุ ทธเจา ท านสอนพระราหุ ลให ทํ าอานาปานสติ โดยไปกํ าหนดธาตุ ปฐวี ธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ อากาสธาตุ วิ ญ ญาณธาตุ ที ละธาตุ ที ละธาตุ ไป; เช นว าปฐวี ธาตุ นี้ ก็ ต อง ให เห็ นทั้ งข างในและข างนอก วาที่ เป นอยุ ในกายนี้ ก็ ดี เป นอยู นอกกายก็ ดี ให เห็ นตามที่ เปนจริง วามันเปนธาตุ เปนไปตามธรรมชาติ เปนธาตุอยูตามธรรมชาติ. ขอให จํ า คํ า นี้ ไว ด วยว า “เป น ธาตุ อ ยู ต ามธรรมชาติ ” ตามเหตุ ตาม ปจ จัย ของมัน เอง มัน จึง เห็น ชัด วา เนตํ มม - นั ่น มิใ ชข องเรา, เนโสหมสฺม ิ นั่ น ไม ใ ช เ ป น เรา, น เมโส อตฺ ต า - นั่ น มิ ใ ช อั ต ตาของเรา. ในธาตุ ห นึ่ ง ๆ ก็ เ ห็ น อยางนี้ทั้งนั้น ทุกธาตุไป : นั่น มิใชข องเรา นั่น มิใชเปน เรา นั่น มิใชเปน อัตตา ของเรา ทุกครั้งที่หายใจออก หายใจเขา; หมายความวาไมใชใหทองตามตัวหนังสือ แต ให รูสึ กด วยจิ ตสใจอย างชั ดเจนละเอี ยดลออ ถู กต อง อยู ทุ กครั้ง ที่ หายใจออก และ หายใจเขา.
www.buddhadasa.info การเจริญอานาปานสติ เกี่ยวกับธาตุ เปนอยางนี้; มีอุบายอยางไร มีวิธี อยางไร : พิจารณาใหเกิดความเห็นชัดอยูรูสึกอยูวา โอย, มันเปนธาตุตามธรรมชาติ จริงเวย ไมมีทางที่จะเปนตัวเรา หรือเปนของเรา หายใจออกหายใจเขาอยูดวยความ จริงอันนี้.
หลักปฏิบัติ เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวา “ธาตุ”
๑๙๑
ที นี้ ก็ ทรงสอน เพื่ อจะประกอบการกระทํ าอย างนี้ ให งายขึ้น คื อให ทํ าพรอม กัน ไป : เมื่ อทํ าอานาปานสติ ก็ให ทํ าอยางนั้ น ; เมื่ อ อยู ต ามธรรมดา ก็ทํ าความ รูสึกวา ใหทําจิตใจนี่เหมือนปฐวีธาตุ, ใหทําจิตใจของเราเหมือนปฐวิธาตุเหมือน อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ อากาสธาตุ. ที่วาทําจิตใจใหเหมือนปฐวีธาตุ นี่ก็หมายถึงธาตุขางนอก คือดิน แผนดิน นี่ แ หละปฐวี ธาตุ ; ธาตุ ข างนอกแผ น ดิ น นี้ ถื อ เอาตามความรู สึ ก สามั ญ สํ านึ ก ก็ ว า ใครจะทําอะไรลงไป ดินมันก็ไมวาอะไร ใครจะถายปสสวะ อุจจาระรดก็ไมวาอะไร ใครจะเอาน้ํ าหอมมารดมั นก็ ไม ว าอะไร, ใครจะเอาไฟมาเผา เอาน้ํ ามารดมั นก็ ไม วาอะไร; นี่เปนปกติอยางนี้ เรียกวาลักษณะของปฐวีธาตุ. เราจงทําจิตใจใหเหมือนดิน. โดยทํ านองเดี ยวกั น ทํ าจิ ตใจเหมื อนน้ํ าตามธรรมชาติ ใครจะทํ าอะไร ลงไปก็ ไม ว าอะไร. ทํ าจิ ต ใจเหมื อ นไฟตามธรรมชาติ ใครจะเอาอะไรใส ล งไป ไฟก็ ไม ว าอะไร ก็ ทํ าไปตามธรรมดา ไปตามเรื่อง ไม วาอะไร. แม กระทั่ งลมอั นสุ ดท ายก็ เหมือนกัน ลมนี่ ใครจะใสอะไรลงไป ก็ไมวาอะไร.
www.buddhadasa.info ทีนี้ทํ าจิตใจเหมื อนอากาสธาตุ. อากาสธาตุนี้ใชคําแปลกอยูวา อากาโส น กตฺ ถ จิ ปติ ฏ ิโต; อากาโส คื อ อากาสไม ได ตั้ งอยู ที่ ไหน, คื อ ความว า ง แล วมั น ก็ไมไดมี อะไรตั้งอยูที่ไหน. นี่ก็คื อ ทํ าจิ ต ให วางเหมื อ นอยางอากาศ ที่ไมไดตั้งอยู ที่ ไหน ไม ไปติ ดอยู ที่ ไหน ไม ไปตั้ งอยู ที่ ไหน ไม มี การตั้ งอยู ที่ ไหน จึ งจะเรียกว าอากาศ หรือความวางได. อันนี้ลึกหรือสูงกวาสี่อยางขางตน. ทํ าจิ ตใจเหมื อนดิ น น้ํ า ไฟ ลม นี่ ก็ เห็ นง าย ๆ, ทํ าจิ ตใจเหมื อนอากาศ นี่ คื อ ไม ให มั น ตั้ งอยู ที่ ไหน ทํ าไม ให มั น ไปตั้ ง ไปเกาะเกี่ ย วอะไรอยู ที่ ไหน จึ งจะเป น อากาศ. นี่ คื อ คํ าตรั ส ของพระพุ ท ธเจ าแก พ ระราหุ ล ว า “เธอจงทํ าจิ ต ใจเหมื อ นปฐวี ธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ อากาสธาตุ”.
ปรมัตถสภาวธรรม
๑๙๒
ที นี้ เราก็ ถื อ ตามหลั ก นี้ ได : ทํ า จิ ต ใจให เหมื อ นธาตุ ; นี่ ฟ ง ให ดี เดี๋ ย ว จะเข า ใจว า พู ด กลั บ ไปกลั บ มา. ที่ ว า อย า ยึ ด มั่ น ธาตุ ว า เป น เรา เป น ของเรา นั่ น เป น ความหมายหนึ่ ง คื อ อย า ไปเอาธาตุ ดิ น ธาตุ น้ํ า มาเป น ตั ว กู -ของกู ; แต เมื่ อ ปฏิบัติทางจิตใจนี้ กลับ พูด วา ทําจิต ใจปกติ มั่น คงเหมือ นกับ ดิน น้ํา ไฟ ลม ไม หวั่ นไหวทางดี ทางร ายอะไรหมด แล วก็ ให เหมื อนกั บอากาสธาตุ คื ออย าไปตั้ งอยู ที่ไหน อยาไปติดอยูที่ไหน อยาไปเกาะอยูทีไหน.
การเห็นความไมมีสาระของธาตุ ในที่สุดนี้ก็มาถึงคําสอน ที่พระพุทธเจาทานไดตรัสไว สําหรับผูที่มีจิต พ นจากธาตุ ว าเขาปฏิ บั ติ กั นอย างไร. พระพุ ทธเจ าได ตรัสในสู ตรหนึ่ งเรียกวา ฉวิ โสธนสูต ร; ตรัส ไปในทํ า นองวา คนที ่ป ฏิบ ัต ิถ ูก ตอ งนั ้น เขาปฏิบ ัต ิอ ยา งไร; นับ แต เขาครองเหย า ครองเรือน มี บุ ตร ภรรยา สามี .เขามองเห็ น ความไม เป น สาระอะไร แห งความเป นฆราวาส ล วนแต เป นความคั บแคบ เป นการกระทบกระทั่ ง เป นทางมา แหงธุลี คือกิเลส แลวก็ออกบวช.
www.buddhadasa.info ที นี้ ผู ออกบวชแล ว ก็ ปฏิ บั ติ มาตามลํ าดั บ นั บตั้ งแต เรื่ องง าย ๆ : เรื่ องศี ล เรื่ อ งธุ ด งค จนมาถึ ง เรื่ อ งปฏิ บั ติ เกี่ ย วกั บ ธาตุ ก็ มี คํ า ตรั ส ว า กุ ล บุ ต รนั้ น บวชแล ว ปฏิบัติแลว เขายืนยันการปฏิบัติของเขาเปนลําดับมาวา ไดความถูกตองมาอยางไร :-
ประโยคที ่ ๑. วา “ขา พเจาเขา ถึงปฐวีธ าตุโดยความเปน อนัต ตา”. นี่ หมายความว า ผู บวชคนนี้ เขาเอาจริง เข ามาถึ งจุ ด ๆ หนึ่ ง จนยื นยั นว า “ข าพเจ าเข าถึ ง ปฐวีธาตุ โดยความเปนอนัตตา”. ปฐวี ฐาตุ ก็ เป น ส วนหนึ่ ง ที่ ประกอบอยู แห งร างกายนี้ แหละ เข าถึ งตั วมั น รูความจริงตลอดปรุโปรงไปในตัวปฐวีธาตุนี้โดยความเปนอนัตตา ก็คือไมมีอัตตา ไมเปนอัตตาอยูที่ไหนเลย แลวก็มิไดเขาถึงซึ่งอัตตาอันอาศัยปฐวีธาตุ.
หลักปฏิบัติ เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวา “ธาตุ”
๑๙๓
นี่ หมายความว า อาจารย บางพวกที่ เคยสอนกั นมา แม เขาเองเมื่ อยั งไม เคยบวช เขาก็ เชื่ อตามคํ าสอนของอาจารย แต ก อน ๆ ศาสดาก อน ๆ โน น ว ามี อั ตตา คื อตั วตนซึ่ ง อาศั ยอยู ที่ ปฐวี ธาตุ . เขาอาจจะเคยโง เคยหลง เคยเชื่ ออย างนั้ นมาก อนแล วก็ ได ; ครั้ น เขาบวชแล ว เขาพิ จารณาตามทางของพระพุ ทธเจ าแล ว เขาเห็ นปฐวี ธาตุ โดยความ เปน อนัต ตาแลว ก็ม ิไ ดเ ห็น วา มีอ ัต ตา ที ่อ าศัย อยู ที ่ป ฐวีธ าตุ. ในอาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ. เขาเห็นอยางเดียวกันทั้ง ๖ ธาตุเลยกระทั่งวิญญาณธาตุ. ประโยคที่ ๒ “ขาพเจารูชัดวาจิตของขาพเจาหลุดพนแลว”, ที่วาเมื่อ เห็ น อยู ทั้ ง ๖ ธาตุ ในลั ก ษณะอย างนั้ น “ข าพเจ าก็ รู ว าจิ ต ของข าพเจ าหลุ ด พ น แล ว” ก็ คื อหลุ ดพ นจากความเข าไปยึ ดมั่ นในธาตุ นั้ น ๆ โดยความเป นเรา เป นของเรา หรื อเป น อั ตตาของเรา เพราะว าเดี๋ ยวนี้ มั นได สิ้ นคลาย ดั บ สละ และสลั ดคื น; นี้ เป นวิ ธี พู ดใน ภาษาบาลี : วา เดี ๋ย วนี ้ เราสิ ้น ; แปลวา ขยะ เรีย กวา สิ ้น , ทีนี ้เ ราคลายออก จนหมด เรียกวา วิราคะ, เดี๋ ยวนี้ เราดั บ หมด นี่ เรียกวา นิ โรธ, เดี๋ ยวนี้ เราสละแล ว เรีย กวา จาคะ, เดี๋ ยวนี้ เราสลั ด คื น แล ว เรียกวา ปฏิ นิ ส สั ค คะ; ๕ คํ านี่ แทนกั น ได มี ความหมายประกอบกั นเข าให สมบู รณ ไม มี ทางที่ จะหลี กเลี่ ยงได ว าเดี๋ ยวนี้ สิ้ นแล ว เดี๋ยวนี้คลายออกหมดแลว.
www.buddhadasa.info สิ้นในที่นี้ก็คือ สิ้นความยึดมั่นถือมั่น เพราะถูกทําลายดวยปญญา ดวยวิชชา ไมเห็นอะไรที่จะยึดมั่นได ก็สิ้นความยึดมั่นถือมั่น.
ในกิริยาอาการที่เรียกวาสิ้นนั้น มองดูอีกเหลี่ยมหนึ่งมันคลายออกทันที; เพราะเมื่ อ ก อ นมั น ไปกอดรั ด ไว ไม ย อมปล อ ย จั บ ฉวยไว ไม ย อมปล อ ย. ที นี้ พ อความ ยึดมั่นนั้นสิ้นไป ก็มีอาการเหมือนกับคลายมือ คลายออกหมด.
๑๙๔
ปรมัตถสภาวธรรม
คําวาดั บแลว ก็คือดั บแห งอุ ปาทานวาตั วกู-วาชอบกู ในสิ่ งนั้ น เชนวา ปฐวี ธ าตุ เ ป น ตั ว กู ห รื อ ว า ปฐวี ธ าตุ เ ป น ของกู หรื อ ว า เป น อั ต ตาของกู นี่ ดั บ หมด. ดับ ตัว กู-ของกูนั ้น เสีย ในปฐวีธ าตุนั ้น ; ที ่ว า เปน อัน สละแลว ก็ห มายความวา ไมมีความถือเอาไว วาเปนเราเปนของเรา; เรียกวา สละ คือปลอยใหมันหลุดลวงไป. ที่ มี คํ า ว า “สลั ด คื น ” ความหมายนี้ เข า ใจยากหน อ ย; แต อ ยากจะให เขาใจกั นสั กอย างหนึ่ งวา คํ าวา “สลั ดคื น” นี่ คื อคื น “เจ าของเดิ ม”. หมายความวา ธาตุ ทั้ งหลายเป นสั กว าธาตุ ตามธรรมชาติ , ธรรมทั้ งหลายสั กว าธาตุ ตามธรรมชาติ เป นไป ตามป จ จั ย อยู เนื อ งนิ จ ตามธรรมชาติ ; ธรรมชาติ นั่ น แหละคื อ เจ า ของเดิ ม . ที นี้ สลั ดคื นก็ สลั ดคื นให เป นของธรรมชาติ : คื นธาตุ ดิ นไปให ธรรมชาติ ธาตุ น้ํ า ธาตุ อะไร ก็คืนไปใหธรรมชาติ เปนธรรมชาติ เปนสักวาตามธรรมชาติ. “เดี๋ ย วนี้ ข า พเจ า นี้ มี จิ ต หลุ ด พ น แล ว เพราะว า ได สิ้ น แล ว คลายแล ว ดั บ แล ว สละแล ว สลั ด คื น แล ว” ก็ ได ค วามว าสิ้ น จากความยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น อย างหนึ่ ง, แล วก็ สิ้ นจากความเคยชิ นในความยึ ดมั่ นถื อมั่ นด วย. คํ าที่ เรี ยกว า เจตโสอธิ ฏฐานาภิ นิ เวสานุ สยา : สิ้ นจากความเคยชิ นในการถึ งทั บและการฝ งเข าไปแห งจิ ต. นั้ นแยก ใหเห็นไดดังนี้ : เจตโส - ทางจิตใจ, อธิฏฐาน - คือการถึงทับ ตั้งทับ, อภินิเวส แปลวา เชา ไป, อนุส ย แปลวา นอนตาม. นอนตาม นี ่ค ือ ความเคยชิน เปน สัน ดานไปเลย; อภิน ิเ วส - ในการที ่จ ะเขา ไป; อธิฏ ฐาน - การตั ้ง ทับ , เจตโส - ทางจิตใจ บนธรรมที่เปนที่ตั้งแหงความยึดมั่นถือมั่น.
www.buddhadasa.info ทีนี้ “ขาพเจาหมดแลว สิ้นแลว คืนแลว จากสิ่งชนิดนั้น” นี้เพราะวา อุ ปาทาน เดี๋ ยวนี้ ก็ หมดแล ว, และความเคยชิ นที่ จะมี อุ ปาทานนั้ นก็ หมดแล ว; แปลว า สิ้นแลวจากอุปาทาน และจากความเคยชินแหงอุปาทาน ซึ่งแตกอนนี้มันเคยอาศัย อยูที่ปฐวีธาตุ. หมายความวา แตกอนนี้ความโงความหลง ความยึดมั่นอะไรของเรา
หลักปฏิบัติ เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวา “ธาตุ”
๑๙๕
มั นเคยอาศั ยอยู ที่ ปฐวี ธาตุ ก็ เลยเลิ กกั นสํ าหรับปฐวี ธาตุ . อาโปธาตุ ก็ เป นอย างเดี ยวกั น, เตโชธาตุ ก็ เป นอย างเดี ยวกั น วาโยธาตุ ก็ อย างเดี ยวกั น อากาสธาตุ ก็ อย างเดี ยวกั น; แม ที่ สุ ดแต วิ ญญาณธาตุ นั้ น ซึ่ งเป นที่ ตั้ งแห งความยึ ดมั่ นมากกว าสิ่ งใดก็ เป นอย างเดี ยวกั น. เดี๋ ยวนี้ รู ว าวิ ญ ญาณธาตุ นี่ เกิ ดมา ก็ เพราะมี การสั มผั สระหว างอายตนะภายนอกภายใน; ดังเชนจักขุวิญญาณเปนตน เกิดวิญญาณธาตุ เกิดวิญญาณขึ้นมา. ประโยคที่ ๓ ว า “ข า พเจ า เมื่ อ เห็ น อยู รู อ ยู อ ย า งนี้ จิ ต ก็ พ น แล ว จากอาสวะทั้งหลาย เพราะไมย ึด มั่น ในธาตุทั้งหลาย ๖ อยางนั้น ”. นี่ป ระโยค ที่ ๓ เขาว า “ข าพเจ าเมื่ อเห็ นอยู รู อยู อย างนี้ จิ ตก็ พ นจากอาสาวะทั้ งหลายเพราะไม ยึ ดมั่ น ในปฐวี ธาตุ ในอาโปธาตุ ในเตโชธาตุ วาโยธาตุ อากาสธาตุ วิ ญ ญาณธาตุ ๖ อย าง เหลานั้น”. นี่ เป นเรื่องสรุ ปผลของผู ปฏิ บั ติ ที่ ปฏิ บั ติ อย างถู กต องในการปฏิ บั ติ เกี่ ยวกั บ สิ่ ง ที่ เรี ย กว า ธาตุ . สรุ ป ขึ้ น มาได เป น ข อ ความของกุ ล บุ ต รคนหนึ่ ง ผู ป ฏิ บั ติ ถู ก ต อ ง. จะกลาวทวนซ้ําดังนี้ :-
www.buddhadasa.info ประโยคที่ ๑ “ข าพเจ าเข าถึ งปฐวี ธาตุ โดยความเป นอนั ตตา มิ ได เข าถึ ง ซึ่งอัตตา อันอาศัยปฐวีธาตุนั้น” นี่ประโยคหนึ่ง.
ประโยคที่ ๒ “อนึ่ งข าพเจ าย อมรู ชั ด ว าจิ ตของข าพเจ าหลุ ดพ นแล ว เพราะ ความสิ้ น ความคลาย ความดั บ ความสละ และความสลั ด คื น จากเจตโส อธิ ฏ ฐาน อภิ นิ เ วสานุ ส ยา”; อุ ป าทานนี้ จ ะอยู ไ ด ก็ เ พราะมี เ จตโสอธิ ฏ ฐานาภิ นิ เ วสานุ ส ยาฯ คื น อั น หนึ่ งเป น เหมื อ นเชื้ อ ของความเคยชิ น ; อี กอั น หนึ่ งเป น ตั วการกระทํ าที่ อ อกมา ๆ จากความเคยชิน. ประโยคที่ ๓ “ข า พเจ า เมื่ อ รู อ ยู เห็ น อยู อ ย า งนี้ จิ ต พ น แล ว จากอาสวะ ทั้งหลาย เพราะไมยึดมั่นในธาตุทั้งหลายหกอยาง เหลานี้แล”.
ปรมัตถสภาวธรรม
๑๙๖
นี่ คื อคํ าที่ พ ระพุ ทธเจ าท านตรั สเล า ถึ งการที่ กุ ลบุ ตรคนหนึ่ ง ออกบวชจน บรรลุพระอรหันตเปนอยางนี้. ที นี้ แม ส าวกของพระพุ ท ธเจ า เชน พระกั จ จายนะเป น ต น ก็ ก ล าวข อ ความอย างเดี ยวกั น แตก็พบมานี้ เป นเรื่องที่พู ดในขันธ ๕. พระกัจจายนะก็แนะสอน ใหปฏิบัติวา เพราะวาสิ้น หรือวาคลาย หรือวาดับ หรือสละ หรือสลัด คืนเสียได ซึ่งราคะ ซึ่งนันทิ ตลอดถึง เจตโส อธิฏฐานาภินิเวสานุสยา. อยางที่วาเมื่อตะกี้นั้น ซึ่ งมี อยู ในรูปธาตุ ในเวทนาธาตุ ในสั ญญาธาตุ ในสั งขารธาตุ ในวิ ญญาณธาตุ ตั้ ง ๕ นี้ . จิตนี้ก็เปนจิตที่กลาวไดวา หลุดพนดีแลว เพราะสิ้น เพราะคลาย เพราะดับ เพราะสละ เพราะสลั ด คื น ซึ่ ง ความกํ า หนั ด และความเพลิ ด เพลิ น หรื อ อนุ สั ย ที่ เข า ไปตั้ ง ทั บ ด วยจิ ต ใจในธาตุ ตั้ ง ๕ นั้ น แหละ; จึ งเกิ ด ภาวะอั น ใหม แ ก จิ ต จนกล าวได ว า จิ ต นี้ เปนสวิมุตฺตํ -พนวิเศษแลวดวยดี ดังนี้. นี่ ก็ คื อข อที่ เราจะต องทราบในตอนท าย ๆ ของเรื่ องเกี่ ยวกั บธาตุ หรือปรมั ตถธรรม เกี่ ย วกั บ ธาตุ ว า จะต อ งปฏิ บั ติ อ ย า งไร ซึ่ ง ได อ ธิ บ ายมาในวั น นี้ ; สรุ ป ได เปนใจความวา หลักขอแรกที่สุดก็ดูโดยความเปนธาตุ เปนไปตามปจจัย ไมใช สัตวบุคคล เปนตน.
www.buddhadasa.info เมื่อเห็นความเปนธาตุแลว จิตก็ถอนออกมาจากสังขารธาตุทั้งหลาย มาอยู คือนอ มมาทางอมตธาตุ. จะใหเปนอยางนั้นอยูไดเสมอไป ก็เปนเรื่องที่จะตอง ทํ า จิ ต ใจเหมื อ น ปฐวี ธ าตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ ; แล ว วางเฉยในธาตุ ทั้งปวงไดในที่สุด เรียกวา หลุดพนดีแลว. นี่คือแนวการปฏิบัติเกี่ยวกับธาตุ ซึ่งไดอธิบายมาก็พอสมควรแกเวลาในวันนี้แลว. ขอยุติเพียงนี้.
ปรมัตถสภาวธรรม
-๗๑๗ กุมภาพันธ ๒๕๑๖
พระอรหันต กับสิ่งที่เรียกวา ธาตุ-อายตนะ-ขันธ
ทานสาธุชนผูสนใจสนธรรมทั้งหลาย,
การบรรยายประจํ า วัน เสาร ในชุด ที ่เ รีย กวา “ปรมัต ถสภาวธรรม” ได ดํ า เนิ น ม า เป น ค รั ้ ง ที ่ ๗; ใ น วั น นี ้ ก ็ เ ผ อิ ญ ม า พ อ ง กั น กั บ วั น ม า ฆ บู ช า ; การบรรยายเรื่อ งปรมัต ถสภาวธรรมในวัน นี ้ จึง ถือ โอกาสกลา วถึง เรื ่อ งที ่เ นื ่อ ง กับวันมาฆบูชาพรอมกันไปในตัว.
www.buddhadasa.info ขอทบทวนว า การบรรยายชุ ด นี้ ๖ ครั้ งมาแล ว ได กล าวถึ งแต เรื่ อ งธาตุ อย า งเดี ย ว โดยปริ ย ายนั้ น โดยปริ ย ายนี้ ก็ เพื่ อ ให เข า ใจสิ่ ง ที่ เรี ย กว า ธาตุ โดย แจมแจง, และสามารถปฏิบัติเกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวาธาตุนั้น ใหลุลวยไปจนถึงที่สุด.
๑๙๗
๑๙๘
ปรมัตถสภาวธรรม
การบรรยาย เรื่องธาตุ มุงหมายเพื่อความไมมีทุกข ท านทั้ งหลายจะต องทบทวนให ดี ระลึ กให ได ถึ งการบรรยายแนะนํ าสั่ งสอน ที่ นี่ หรื อ ที่ อื่ น ก็ ต าม อั น แสนจะมากมายนั้ น ก็ มี ค วามมุ ง หมายเพี ย งอย า งเดี ย ว คือวาอยาใหเกิดการยึดมั่นถือมั่นในสิ่งใดขึ้นมาสําหรับจะเปนทุกข. สิ่งที่เรียกวา ความทุ กขนั่น เกิดมาจากความยึกมั่นถือมั่ นอยางเดียวเท านั้น; เมื่ อไม มี ความยึดมั่ นถือมั่นใน สิ่งใดโดยที่ ไม มี หมายมั่ นวาเป นตั วเราหรือของเราดั งนี้ แล ว ความทุ กขไม อาจจะเกิ ดขึ้น ไม วา ในอะไรหมด. คนเราเกิดมาไม รูเรื่องนี้ คือไมรูเรื่องความปลอยวาง, รูจักแต ยึดมั่นถือมั่ นนั่ นนี่ : ยึ ดมั่ นของภายในสั งขารร างกายนี้ ว าเป นตั วตน กระทั่ งชี วิ ตนี้ ว าเป นของตน อย างนี้ เปน ตน ; ยึด มั ่น สิ ่ง ของ สัต ว สัง ขาร ในภายนอกอื ่น ๆ วา เปน ของตน; ยึด มั ่น เทาไร ก็เปนทุกขเทานั้น ยึดมั่นเมื่อใด ก็เปนทุกขเมื่อนั้น. ขอใหสังเกตุดูใหดีวา เราไมไดยึดมั่นสิ่งใด ๆ อยูตลอดเวลา ทุก ๆ ครั้งที่ หายใจเขาออก หรือวาตลอดเวลา; เรายึดมั่นถือมั่นเฉพาะตอเมื่อเราโงไปบางครั้ง บางคราวเท านั้ น; บางที ก็ เมื่ อตาเห็ นรู ป บางที ก็ เมื่ อหู ฟ งเสี ยง บางที ก็ เมื่ อจมู กได กลิ่ น ลิ้ น สั ม ผั ส รส กายได สั ม ผั ส ของที่ ม าถู ก กาย หรื อ ว าจิ ต สั ม ผั ส สิ่ งที่ รู สึ ก คิ ด นึ ก ขึ้ น มา; แตไมใชวาจะตองมีความยึดมั่นถือมั่นทุกคราวไป สวนมากก็ไมไดยึดมั่นถือมั่น.
www.buddhadasa.info ตาเราก็ เห็ น อยู เ สมอ หู ก็ ไ ด ฟ ง อยู เ สมอ อย า งเดี๋ ย วนี้ ก็ ไ ด เ ห็ น ได ยิ น ทางตา ทางหู ไดกลิ่นทางจมูก เปนตน แตไมเกิดความยึดมั่น เราจึงไม เป นทุ กข; น อยครั้งที่ จะเกิ ดความยึ ดมั่ นและเป นทุ กข . จะเป นทุ กข ต องประสบเหมาะ คื อว ามี สิ่ ง ที่ มาสั มผั ส ในลั กษณะที่ ยั่ วเย าให เกิ ดอารมณ ที่ จะพอใจก็ มี ที่ จะให เกลี ยดชั งหรื อไม พอใจก็มี; ถาวาอารมณืนั้นมีอํานาจมากพอ แลวเราก็กําลังโง คือเผลอสติ ก็จะตอง
พระอรหันต กับสิ่งที่เรียกวา ธาตุ – อายตนะ - ขันธ
๑๙๙
เกิ ด มี ก ารยึ ด มั่ น ไม ท างใดก็ ท างหนึ่ ง คื อ ทางรั ก หรื อ ว า ทางชั ง ซึ่ ง ต อ งเกิ ด เป น ความโลภ ความโกรธ ความหลง อยางใดอยางหนึ่งขึ้นมา แลวก็เปนทุกข. แต ถึ งอย างไรก็ ดี แม ว าเราจะไม ได มี ความยึ ดมั่ นกั นตลอดวัน ตลอดเวลา; แตถายึดมั่นขึ้นมาทีไรก็เปนทุกข เหมือนกับตกนรกทั้งเปน, แลวยังมียึดมั่นใตสํานึก เช นวิตกกั งวลต าง ๆ กระทั่ งแม แต ฝ น ก็ ฝ นไปในทางที่ เกิ ดความยึ ดมั่ นถื อมั่ น ที่ เป น ทุกขไดเหมือนกัน. เปนอันยุติไดชั้นหนึ่งกอนวา ความทุกขตองเกิดมาจากการยึดมั่นถือมั่น; ถาไม ยึดมั่ นถือมั่ นแล ว ก็หามี ความทุ กขอะไรโดยแท จริงไม ; แม วาจะมี ความเจ็บปวด เมื่ อไม เขลาไปยึดเอาความเจ็บปวดนั้ นเป นของเรา คื อไม ยึดมั่ นถือมั่นแลว มั นก็ เจ็บแต น อย หรือเจ็ บแต ตามธรรมดา. ถ ายึ ดมั่ นถื อมั่ น ก็ เจ็ บมาก และจะเจ็ บก อนแต ที่ จะมี ความเจ็ บมากระทบด วยซ้ํ าไป : ยึ ดมั่ นไวล วงหน า เกิ ดความกลั ว เกิ ดความวิ ตกกั งวล อย างที่ เรากั งวลเรื่องความเจ็บความไข ความตาย อั นจะมาขางหน า, อย างนี้ เรียกวา ยึดมั่นถือมั่นดวยเหมือนกัน.
www.buddhadasa.info บางครั้งสิ่ งที่ ล วงแล วไปในอดี ต จะเอามาคิ ดใหม ให เกิ ดความยึ ดมั่ นถื อมั่ น จนเป นทุ กข เชนเสี ยอกเสี ยใจก็ ได , สิ่ งที่ กํ าลั งประสบอยู ในป จจุ บั น ยึ ดมั่ นแล วก็ เป น ทุก ข เหมือ นกับ ตกนรก, สิ ่ง ที ่ย ัง ไมม าถึง อัน เปน เรื ่อ งอนาคต ก็ห ว งไว สํ า หรับ ที่ จ ะทรมานตั ว ทรมานใจของตนให เป น ทุ ก ข ด ว ยความยึ ด มั่ น นั่ น เอง ก็ มี ไ ด . เพราะฉะนั้นพระพุทธเจาทานจึงไดตรัสไวเปนใจความสั้น ๆ วา สงขิตฺเตน ปฺ จุปาทานกฺฺขนฺ ธา ทุ กฺข า- เมื่ อ กล าวโดยสรุป แลว เบญจขัน ธ (คื อ ขัน ธทั้ ง ๕ ซึ่ งประกอบกั น เปนชิ้นเปนคนนี่) ที่มีอุปาทานยึดมั่น ยึดมั่นนั่นแหละเปนตัวทุกข.
๒๐๐
ปรมัตถสภาวธรรม
ทุกสิ่ง ถาไมยึดมั่นก็ไมมีความทุกข สรุป ว า อะไรก็ ต าม ถ า ไม ได ยึ ด มั่ น แล ว ก็ ไม มี ค วามทุ ก ข ; แต พ อเรา มี ความยึ ดมั่ น ชนิ ดที่ ถอนไม ออก สลั ดออกไปไม ได เราจึ งเป นทุ กข ; เช นความเจ็ บปวด เกิด ขึ ้น เราสลัด ออกไปไมไ ด เราเจ็บ ปวดอยู ส ว นหนึ ่ง , ไปยึด มั ่น ถือ มั ่น เขา อีก ก็เจ็บปวดมากขึ้นในทางจิ ตใจ อี กหลายเท า. ถาเจ็ บปวดแต ทางกายล วน ๆ ก็ เป น สวนนอยสวนหนึ่ง; แตถาเกิดยึดมั่นทางจิตใจ คือมีความกลัวมาก มีความหวั่นวิตก มาก เสียอกเสียใจมาก หรือขัดแคนขึ้นมาโดยวิธีใดก็ตาม ก็กลายเป นเจ็บที่ ใจเพิ่ มขึ้ น อีกสวนหนึ่ง ซึ่งเปนความทุกขมากในที่นี้. รวมความแล วก็ ว า ความทุ ก ข ที่ เกิ ด จากความเจ็ บ ปวดทางร างกายล วน ๆหรือความหิ วกระหายที่ เป นเรื่องทางร างกายล วน ๆ เหล านี้ ไม เป นทุ กข มากมายอะไร, และจะไม เรียกว าความทุ กข ในกรณี ของธรรมะด วยซ้ํ าไป. ต อเมื่ อใดมี ความยึ ดมั่ น ถื อ มั่ น ในความเจ็ บ ปวด ในความหิ วกระหาย หรือ ทุ ก อย างที่ มั น เกิ ด ขึ้ น แก ต นแล ว ก็เรียกวา มีความทุกขจากความยึดมั่นถือมั่นนั้น.
www.buddhadasa.info เมื่อใดวางจากความยึดมั่นถือมั่น ก็ไมมีความทุกขเลย มีจิตใจผิดแปลก ไปอย า งตรงกั น ข า ม; เหมื อ นอย า งว า เวลานี้ ถ า ท า นผู ใ ดไม ไ ด ยึ ด มั่ น อะไร ก็ ไ ม มี ความทุ ก ข . ผิ ด กั น กั บ เมื่ อ อยู ที่ บ าน ที่ เรื อ น หรื อ ที่ อ ยู กั บ สิ่ งที่ ทํ าให ยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น ซึ่ ง ทํ าให เป น ทุ ก ข ; หรื อ ว านั่ งอยู ที่ นี่ กํ าลั งไม เป น ทุ ก ข อ ย างนี้ ลองนึ ก ไปถึ งเรื่ อ งที่ บ าน ที่ เรือน ซึ่ งเป นที่ ตั้ งของความยึ ดมั่ น เหตุ ใด อย างใดก็ ตาม จะเกิ ดเป นทุ กข ขึ้ นมาทั นที ทั้งที่นั่งอยูที่นี่.
ลั ก ษณะดั ง ที่ ก ล า วมานี้ เป น สิ่ ง ที่ เรี ย กได ว า เป น ของธรรมดา เป น ไป ตามกฎของธรรมดา เปนขอเท็จจริงที่มีอยูแกทุกคน; ผิดกันแตวา บางคนไมสนใจ
พระอรหันต กับสิ่งที่เรียกวา ธาตุ – อายตนะ - ขันธ
๒๐๑
ก็ ไ ม ท ราบ; แม ว า เป น ทุ ก ข เหมื อ นกั บ ตกนรกทั้ ง เป น อยู ก็ ไ ม ส นใจ ว า มั น เนื่ อ ง จากเหตุอะไร. บางทีก็อยากจะสนใจ แตก็สนใจผิดทาง : ไปมองเห็นวา ความทุกข ของเรานี่ มาจากเหตุ อั นอื่ น ไม ใช ความยึ ดมั่ นถื อมั่ น; เช นหลงไปว ามาจากโชคชะตาราศี ผี สาง เทวดา อะไรต าง ๆ นานา ก็ ไปจั ดการกั บความทุ กข ผิ ดเรื่ อง ผิ ดวิ ธี ไป ก็ กลาย เปนดับทุกขไมได หรือวาไดก็อยางหลอกลวงตัวเองชั่วครูชั่วยาม. เมื่ อจะถื อเป นหลั กที่ ถู กต องกั นจริง ๆ แล ว ก็ มี อยู อย างเดี ยวตามที่ พระพุ ทธเจ า ท านได ตรัสไวถึ งความทุ กข อั นแท จริงที่ มาจากความยึ ดมั่ นถื อมั่ น; ถ าว าจิ ตของเราถู ก อบรมมาดี ไมมีการยึดมั่นถือมั่น เราก็ไมมีความทุกข ในสิ่งใด. เราก็ทําสิ่งตาง ๆ หน าที่ ก ารงานอะไรได ทุ กอย างโดยที่ ไม ต อ งยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น ; แต ว าทํ าด วยสติ ป ญ ญา ที่ มี ความเข าใจถู กต อง รูจั กหน าที่ ที่ ควรทํ า รูจั กความเหมาะสม ในการที่ จะต องทํ าเท าไร อย างไร เพี ย งไร เมื่ อ ใด อย างนี้ ก็ เป น มนุ ษ ย พิ เศษขึ้ น มาทั น ที คื อ เป น มนุ ษ ย ที่ ไม มี ความทุกข. สรุปความว า เราต องการจะมี ชี วิ ตอยู โดยที่ ไม ต องยึ ดมั่ นถื อมั่ นจนตลอดชี วิ ต และหวัง วา จะไมม ีค วามทุก ขเลย เราจึง ตอ งศึก ษาใหรู ; รู แ ลว ตอ งปฏิบ ัต ิใ หไ ด ในขอเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องความยึดมั่นถือมั่นนั้นเปนทุกข สวนความไมยึดมั่นถือมั่น ก็ไมเปนทุกข.
www.buddhadasa.info สิ่งทั้งปวง เปนสักวา ธาตุ ยึดมั่นไมได ที นี้ ก็ ม าถึ งเรื่ อ งสิ่ งที่ เรี ย กว า “ธาตุ ”; สิ่ งทุ ก สิ่ งนั้ น คื อ ธาตุ ประกอบอยู ด วยธาตุ เดี ย วบ างหลายธาตุ บ าง. ธาตุ นั้ น คื อ สิ่ งที่ เป น อยู มี อ ยู ห รือ เป น ไปตาม ธรรมชาติ; สิ ่ง ที ่เ ปน อยู ต ามธรรมชาตินี ้ ไมใ ชต ัว ตนหรือ สัต ว บุค คล, เปน สัก แตธาตุอยูตามธรรมชาติ; แตแลวจิตใจไมรูสึกอยางนั้นเพราะโง ตั้งแตเกิดมาคน
๒๐๒
ปรมัตถสภาวธรรม
ถู กทํ าให โง มากขึ้ น, ถู กอบรมสั่ งสอนแวดล อมให เข าใจเป นสั ตว บุ คคล เป นตั ว เป นตน เปน ของเรา เปน ตัว กู - เปน ของกู ในที ่ส ุด เรื ่อ ย ๆ มาจนบัด นี ้; เราจึง ชิน กัน แต ที่ จะยึ ดมั่ นถื อมั่ น. ยิ่ งมาถึ งสมั ยที่ มี อะไรยั่ วยวนให ยึ ดมั่ นถื อมั่ นมากขึ้ นไปอี ก ความ ยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น ก็ ยิ่ งมากขึ้ น ไป จนยากที่ จ ะควบคุ ม ได หรื อ แก ไขได . มนุ ษ ย ช นิ ด นี้ ใน สมัยนี้จึงมีความทุกขมาก ยิ่งกวามนุษยในสมัยที่ไมหลงใหลกันมากถึงขนาดนี้. แต ถึ งอย างไรก็ ดี ถ าจะมี อะไรมาทํ าให เขาเกิ ดความรูความเข าใจอย างแจ มแจ ง วาสิ่ งทั้ งหลายทั้ งปวง เป น สั ก วาธาตุ เท านั้ น เป นไปตามธรรมชาติของธาตุนั้น ๆ, ไม มี ส วนที่ จะเป นตั วตน เป นบุ คคล เป นเรา เป นเขาได ; แต ค วามโงของคนเรากลั บ ทํ าให มั น เป น ตั วตนขึ้ น มาจนได คื อ ไปยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น เอาว า เป น เรา เป น ของเรา เป น นั่ น เป น นี่ . ดั งนั้ น สิ่ งที่ ไม ใช ตั วตน ไม ใช สั ต ว ไม ใช บุ ค คล จึ งถู กยึ ดมั่ น สํ าคั ญ มั่ น หมาย ให เป น ตั วเป น ตน เป น สั ต ว เป น บุ ค คลขึ้ น มาได สํ าหรั บ บุ ค คลนั้ น จะได มี ความทุกข. สิ่งที่ เรียกวา “จิ ต” นั้ น คิ ดนึ กได โดยธรรมชาติ ของจิ ตเอง เพราะวา มั น เป นธาตุ จิ ตเป นธาตุ วิ ญ ญาณ ซึ่ งจะต อ งทํ าหน าที่ คิ ดนึ กได ; ถ าธาตุ นี้ คิ ดนึ กอะไร ไม ได ปรุ ง แต งอะไรไม ได มั น ก็ ไม ใช จิ ต และจะไม เรี ย กมั น ว า จิ ต . เดี๋ ย วนี้ เพราะว า ธาตุ นั้ น คิ ด ได สร างสรร ปรุ งแต งในทางความคิ ด นึ กได เขาจึ งเรี ยกว าจิ ต . ถึ งแม จิ ต ก็ เป น สั กแต ว าธาตุ ไม ใช สั ต ว บุ ค คล ตั วตน โดยแท จ ริ ง ถ าเราอยากจะโง ก็ ต ามใจ ก็ ไปคิ ด ไปยึ ด มั่ น เอาว า เป น สั ต ว บุ ค คล ตั ว ตน ที่ แ ท ก็ เป น จิ ต นั่ น เอง; คื อ จิ ต ที่ โง แลวก็ยึดมั่นตัวเองวา เปนตัวเปนตน เปนสัตว เปนบุคคล.
www.buddhadasa.info ถายึดมั่นในธาตุ ก็เปนนรก-สวรรคไปได ถาเกิดความรูสึกขึ้นมา ชนิดที่ทําใหจิตรอน ใหกายรอน ก็เหมือนกับตกนรก ทั้งเปน ดังที่พระพุทธเจาทานไดตรัสวา ผัสสายตนิกนรก เรารูจัก; หมายความวา
พระอรหันต กับสิ่งที่เรียกวา ธาตุ – อายตนะ - ขันธ
๒๐๓
การปรุงแต ง ทางตา ทางหู ทางจมู ก ทางลิ้ น ทางกาย และทางใจ อย างใดอย างหนึ่ ง ใน ๖ อยางนี้ เมื่อทําไปผิด ประกอบไปดวยความยึดมั่นถือมั่นแลวก็เปนนรก ขึ้น ทางตา ทางหู ทางจมู ก ทางลิ้ น ทางกาย ทางจิ ต; นี่ เป นพระพุ ทธภาษิ ตที่ พระสงฆ ไดสวดสาธยายเสร็จไปเมื่อตะกี้นี้. ที่ เป นสวรรค ก็ ตรัสไว เหมื อนกั นว า ผั สสายตนิ กสวรรค (สวรรค เป นไปทาง อายตนะ ๖) เรารู จั ก ; หมายความว า ประพฤติ ป ฏิ บั ติ ให ถู ก ต อ ง ต อ อายตนะนั้ น ๆไมเกิดความยึดมั่นในอายตนะนั้น ๆ ก็ไมเกิดความหนัก ไมเกิดความรอน ไมเกิด ความทุ กข ใด ๆ ที่ ตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจนั้ น ; ตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจนั่ นก็ เป น สวรรค ขึ้นมาที่นั่ นและเดี๋ ยวนั้ น. อะไรจะเขามาทางตาก็เป นที่สบายพออกพอใจไปหมด, อะไรจะเข ามาทางหู ก็ เป นที่ สบายพออกพอใจ, ทางจมู ก ทางลิ้ น ทางกาย ทางใจอี ก ก็เหมื อนกันไม เกิ ดเป นความทุ กขทรมานขึ้นมา, สงบหรือสบายหรือสะดวกเป นที่ พอใจ; ควรที่จะเรียกวาสวรรคอยูที่ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ นั้น. นี่ แหละคื อข อที่ ว าถ าเราทํ าผิ ด คื อ จิ ตนี่ โง ไป ด วยเพราะอะไรก็ ตาม ใน บางครั้งบางคราว, ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ก็กลายเป นนรก; แตถาทําถูกอยู ไดแก ไมยึดมั่นถือมั่นอยูตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ก็ใหความพอใจ เปนสวรรคได ไมมีความ ทุ ก ข . เราจึ งควรจะมองเห็ น ว า การเข า ใจสิ่ งเหล านี้ ถู ก ต อ งตามที่ เป น จริง อย าไป ยึด มั ่น ถือ มั ่น นั ้น เปน เรื ่อ งสํ า คัญ มาก, และเปน เรื ่อ งลึก ซึ ้ง ถึง กับ ตอ งเรีย ก วาปรมัตถสภาวธรรมอยางที่เคยบรรยายมาแลว.
www.buddhadasa.info ปรมั ต ถะ แปลว า มี ป ระโยชน หรื อ มี อ รรถ หรื อ มี เนื้ อ ความอั น ลึ ก ซึ้ ง หรือ อยา งยิ ่ง , สภาวธรรม คือ ธรรมที ่เ ปน อยู ต ามธรรมชาติ. สิ ่ง ที ่เ รีย กวา ธาตุ ทั้งหลายนั่นเอง คือสภาวธรรมที่มีอรรถอันลึกซึ้ง ที่เปนอยูตามธรรมชาติ; เราก็ ไดหยิบเอาหมวดที่เรียกวาธาตุนี้ มาบรรยายเปนลําดับมา.
๒๐๔
ปรมัตถสภาวธรรม
ในการบรรยายชุ ดนี้ ครั้ งแรกที่ สุ ดก็ ได กล าวให ทราบถึ งข อที่ ควรทราบก อน โดยคร าว ๆ ทั่ ว ๆ ไป เกี่ ยวกั บสิ่ งที่ เรี ยกว าธาตุ . ต อมาก็ ได บรรยายถึ งเรื่ องความเนื่ อง กั นระหวางธาตุ หรือระหวางกลุ มของธาตุนานาชนิ ด, และต อมาก็ได บรรยายให เห็ นวา สิ่งที่เรียกวาธาตุนั้นทําใหเกิดสิ่งทั้งหลายทั้งปวงขึ้นมาไดอยางไร. เมื่อมาในครั้งที่ แลวมานี้ ก็ไดกลาวถึงวิธีป ฏิ บั ติ ซึ่งเราจะตองปฏิบัติเกี่ยวกับ สิ่งที่ เราเรียกวาธาตุ ตามสมควร.
พิจารณาดูธาตุ เกี่ยวกับพระอรหันต ในวันนี้ จะได กล าวโดยหั วข อว า “สิ่ งที่ เรี ยกว าธาตุ เป นต นนั้ นกั บพระอรหั น ต ” ; เพราะเหตุ วาวัน นี้ เป น วั น ที่ ร ะลึ ก แก พ ระอรหั น ต ดั งที่ ได ก ล าวแล ว คื อ เป นวั น มาฆบู ชา ที่ เราจะได ประกอบพิ ธี นี้ ในเวลาเย็ นวันนี้ ในลํ าดั บต อไป. แต บั ดนี้ เราจะได พู ดกั นถึ ง พระอรหั นต ที่ เป นใจความสํ าคั ญของวันมาฆบู ชานี้ ว าท านมี อะไรบ าง ที่เราควรจะทราบ.
www.buddhadasa.info หั วข อบรรยายมี ว า “สิ่ งที่ เรี ยกว า ธาตุ เป นต น กั บพระอรหั นต ” นี้ จะต อง ทํ า ความเข า ใจให ก ว า งไปถึ ง ว า ไม มี อ ะไรเลย นอกจากสิ่ ง ที่ เรี ย กว า ธาตุ ; แต ว า สิ่ งที่ เรียกวาธาตุ นั้ นมี มาก มากมายหลายอย างหลายสิ บอย าง ถ าจะแจกกั นแล วก็ เป นตั้ ง หลายรอยอยางก็ได ซึ่งก็ไดบรรยายแจกแจงกันมาแลว หลายครั้งหลายคราว.
ผู ที่ ไม เคยฟ ง ก็ อาจจะเข าใจผิ ด ว ามี ธาตุ เพี ยง ๔ ธาตุ : ดิ น น้ํ า ลม ไฟ อย างนี้ เป นต น; อย างมากก็ ๖ ธาตุ คื อเพิ่ มธาตุ อากาส ธาตุ วิ ญ ญาณ. อาจไม เคยได ยินไดฟ งในทํ านองที่วา ไมมีอะไรที่ไม ใชธาตุ ทุ กอยางเป นธาตุ ในความหมายอยางใด อยางหนึ่ง; จะแยกไดเปน ๒ พวก คือพวกสังขตธาตุ : ธาตุที่มีเหตุปจจัยปรุงแตง หรือว าตั วธาตุ เองก็ เป นเหตุ เป นป จจั ยสํ าหรั บแต งสิ่ งอื่ นต อไป ธาตุ นี้ ก็ มี อยู พวกหนึ่ ง มี จํานวนมากมาย, อีกพวกหนึ่งก็เรียกวา อสังขตธาตุ : ธาตุที่ไมตองมีเหตุปจจัย
พระอรหันต กับสิ่งที่เรียกวา ธาตุ – อายตนะ - ขันธ
๒๐๕
อะไรปรุ ง แต ง และตั ว เองก็ ไม ป รุง แต งอะไรด ว ย; นี้ เรีย กว า อสั ง ขตธาตุ เช น กฎ ของธรรมชาติ , ความจริงของธรรมชาติ อย างนี้ , ไม ต อ งมี อ ะไรปรุ งแต งให เกิ ดขึ้ น มา มั นก็ ตั้ งอยู ในฐานะเป นความจริง เป นธาตุ แห งความจริ ง, เป นธาตุ ที่ ตั้ งอยู ในลั กษณะ ที่ เป น อิ ส ระ, เป น ธาตุ ที่ ต รงกั น ข า ม, เหนื อ เป น ธาตุ ที่ ห ลอกลวง คื อ ตั้ ง อยู ชั่ ว ขณะ เปลี่ ยนแปลงไปตามเหตุ ตามป จจั ย; แต เพราะเหตุ ที่ ว ามี อยู จริ งก็ ต องเรี ยกว าธาตุ ด วย เหมือนกัน. ธาตุ ต าง ๆ เหลานี้ มี อยู ในที่ ทั่ วไปอยางนี้ เกี่ ยวข องกั บบุ คคลประเภทที่ เรียกกันวา พระอรหันตอยางไร.
พระอรหันต กับ สังขตธาตุ เมื่อพูดถึงสังขตธาตุ คือ ธาตุที่มีเหตุปจจัย เราก็มองดูไปยังกลุมแรกที่สุด ที ่ว า ธาตุทั ้ง หลายที ่ย ัง เปน ธาตุห นึ ่ง ๆ เชน ธาตุด ิน ธาตุน้ํ า ธาตุไ ฟ ธาตุล ม อากาสธาตุ วิ ญ ญาณธาตุ , หรื อ ว าธาตุ : จั ก ขุ ธาตุ โสตธาตุ ฆานธาตุ ชิ วหาธาตุ กายธาตุ เป นต น คื อธาตุ ทางตา ธาตุ ทางหู ธาตุ ทางจมู ก ฯลฯ แล วก็ ยั งมี ธาตุ ทางรู ป ทางเสี ย ง ทางกลิ่ น ทางรส ฯลฯ; จะมี ชื่ อ ธาตุ ต า ง ๆ กั น ล ว นแต เรี ย กว า เป น ธาตุ ทั้งหลายที่ยังเปนสักวาธาตุหนึ่ง ๆ; ธาตุทั้งหลายอยางนี้ พระอรหันตทั้งหลายทาน รอบรู.
www.buddhadasa.info ขอใหฟ ง ใหด ีก วา ๑. ธาตุทั ้ง หลายเหลา นี ้ พระอรหัน ตท า นรอบรู คือท านรูอยางทั่ วถึ งวามั นเป นแต เพี ยงธาตุ โดยความเป นสักวาธาตุ. พระอรหันต จะต องรู จั กสิ่ งทั้ งหลายทั้ งปวง ที่ เป นธาตุ เหล านี้ ว ามั นเป นสั กว าธาตุ ; ดั งนั้ นท านจึ ง ไมยึดถือธาตุใดธาตุหนึ่ง โดยการเปนตัวมันหรือวาเปนตัวเรา หรือวาเปนของเรา. คนธรรมดาทั่ วไปไม รอบรูซึ่ งธาตุ ทั้ งหลายเหล านี้ จึ งได ยึ ดเอาว าเป นตั วเรา : โง เกิ นไป ก็ยึดเอารางกายนี้วาเปนตัวเรา, ฉลาดหนอยก็ยึดเอาจิตใจที่คิดนึกรูสึกไดวาเปนตัวเรา,
๒๐๖
ปรมัตถสภาวธรรม
ก็ เอาธาตุ ห นึ่ ง ว า เป น ตั ว เรา : เอารู ป ธาตุ เป น ตั ว เราก็ มี เอาเวทนาธาตุ เป น ตั ว เรา ก็ มี เอาสั ญญาธาตุ เป นตั วเราก็ มี เอาสั งขารธาตุ เป นตั วเราก็ มี หรือเอาวิญ ญาณธาตุ คื อจิ ตที่ คิ ดนึ กรูสึ กอะไรได นี้ เป นตั วเราก็ มี . นี้ เพราะเป นคนชาวบ าน ไม รอบรูเรื่องธาตุ จึ งยึ ดธาตุ ใดธาตุ หนึ่ งโดยความเป นตั วเรา; ส วนพระอรหั นต ท านรอบรูสิ่ งที่ เรียกว าธาตุ ทั้งหลายเหลานี้โดยความเปนสักวาธาตุ ไมใชตัวเรา. นี ่ล องเปรีย บเทีย บกัน ดูว า “เรา” กับ “พระอรหัน ต” นี ้จ ะมีค วาม รูสึกในใจตางกันอยางไร. ในเมื่อ “เรา” นี้ พรอมที่จะเอาอะไรเปนตัวเรา ไมอยางใด ก็ อ ย า งหนึ่ ง อยู เรื่ อ ยไป; ส ว น “พระอรหั น ต ” ไม มี ท างที่ จ ะเอาสิ่ ง ใดสิ่ ง หนึ่ ง หรื อ ธาตุ ใดธาตุ หนึ่ งมาเป นตั วเรา; เพราะวา ท านรอบรูซึ่ งธาตุ ทั้ งหลายว า เป นสั กว าธาตุ ดั งกล าวแล ว. นี่ ห มายถึ งธาตุ ในอั น ดั บแรก คื อธาตุ ที่ เป น สั กว าธาตุ ห นึ่ ง ๆ เป นธาตุ หนึ่ง ๆ ลวน ๆ. ๒. ธาตุอันดับตอมาคือธาตุที่ปรุงกันเขาเปนนั่นเปนนี่ เชนวาธาตุดิน น้ํา ลม ไฟ อากาส วิ ญ ญาณ, หรื อธาตุ ใด กี่ ธาตุ ก็ ตาม ปรุ งขึ้ นเป นจั กขุ ธาตุ คื อธาตุ ตา สําหรับเห็ น, เป นโสตธาตุ-ธาตุหู สําหรับไดยิน, ฯลฯ จนกระทั่งเกิดตา หู จมู ก ลิ้น กาย ใจขึ้ นมา เรี ยกว าอายาตนะ. เราเคยได ยิ นกั นแต อายตนะ ๖ : ตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจ หรื อ จั ก ขุ โสต ฆานะ ชิ ว หา กาย มโน; เราไม เคยได ยิ น ว า จั ก ขุ ธ าตุ โสตธาตุ ฆานธาตุ ชิ ว หาธาตุ กายธาตุ มโนธาตุ ไม ค อ ยได ยิ น ; แต ว า ในพระบาลี ก็ มี อ ยู อย างเดี ยวกั นนี้ . นี่ หมายความว า ธาตุ หนึ่ ง ๆ นี้ มั นถู กกระทํ า หรือว ามั นปรุงกั นเข ามา จนมาเปนธาตุในลําดับที่เรียกวา อายตนะ. อายตนะก็คือ ธาตุกลุมหนึ่ง ที่ปรุงกัน ขึ้ น มา ที่ จ ะได พิ จ ารณากั น ละเอี ย ดเรื่ อ ยไปในส ว นนี้ จนกว า จะไม มี ก ารยึ ด มั่ น . พระอรหันตทานมีสติตลอดกาลตอธาตุ ในระดับที่เปนอายตนะนี้.
www.buddhadasa.info
พระอรหันต กับสิ่งที่เรียกวา ธาตุ – อายตนะ - ขันธ
๒๐๗
๓. ธาตุในระดับถัดขึ้นไปอีก ก็คือเปนธาตุที่มาอยูในรูปรางของสิ่งที่ เราไดยินไดฟ งกันวาขันธ, ขันธทั้ง ๕ ; เคยไดยินวา รูปขันธ เวทนาขันธ สัญญาขันธ สั งขารขั นธ วิ ญ ญาณขั นธ ทั้ งหมดเป น ๕ ขั นธ ; แต ในพระบาลี ทั่ วไปก็ มี ว า รู ปธาตุ เวทนาธาตุ สั ญญาธาตุ สังขารธาตุ วิญญาณธาตุ เป นธาตุ ๕ ดวยกัน. ขั นธ ทั้ งหลาย นั้นก็คือ ธาตุที่ประชุมคุมกันเขา อยูในลักษณะที่เรียกวา ขันธ. ในบรรดาธาตุ ที่มาเปนขันธ ในรูปรางอยางนี้ พระอรหันตทานไมมีความยึดมั่นในขันธเหลานั้น เพราะทานเห็นอนัตตา หรือสุญญตาในสิ่งที่เรียกวาขันธเหลานั้น. ๔. ธาตุ ทั้ งหลายในระดั บหนึ่ ง หรื อว าในสถานการณ อั นหนึ่ ง ๆ ที่ ปรุ งแต ง ซึ่งกันและกัน ; อาการที่ธาตุป รุงแตงซึ่งกัน และกัน นี้ เรีย กวา ปฏิจ จสมุป บาท มีอ วิชชาธาตุเปน ตนเหตุ. พระอรหัน ตทานไมมีอ วิช ชา ดังนั้น ปฏิจจสมุป บาท จึงไมเกิดขึ้นแกพระอรหันตทั้งหลายได. ที นี้ ธาตุ ทั้ งหลายที่ เป นสั งขตธาตุ ที่ ปรุ งแต งกั นด วยอวิ ชชาแล ว ย อมเกิ ดเป น ความทุกขขึ้นมา; พระอรหันตไมมีอวิชชา ทานจึงไมมีความสุขที่เกิดมาจากอวิชชา. ถ าท านจะมี ความทุ กข ก็ เป นความทุ กข ที่ เกิ ดขึ้ นทางกายล วน ๆ แม วาจะเกิ ดขึ้ นทางตา ทางหู อาศั ยตา หู จมู ก ลิ้ น กาย นี้ ก็ ไม มี อวิ ชชาที่ เข าไปผสม ที่ จะปรุงแต งให เป นความทุ กข ที่เปนทุกขกันจริง ๆ คือเปนทุกขดวยการยึดมั่นถือมั่น.
www.buddhadasa.info ๕. พระอรหันตมีแตความทุกขตามธรรมชาติทางกาย เชน สมมติวา รางกายบาดเจ็ บ ก็ มี ความทุ กข แต ที่ เกี่ ยวกั บเรื่องบาดเจ็ บทางกาย; ส วนคนธรรมดานั้ น มี ความยึ ดถื อ เพราะมี ความทุ กข เกิ ดจากความกลั วเพราะบาดเจ็ บนั้ น, มี ความกระวน กระวายเพราะความบาดเจ็ บ นั้ น; กระทั่ งมี ความกลั วตาย พอเห็ น เลื อดออกมา ก็ จะ เปนลมแลว; มีความยึดมั่นสวนนั้นมาก จึงเกิดความทุกขขึ้นอีกประเภทหนึ่ง คือความ
๒๐๘
ปรมัตถสภาวธรรม
ทุก ขท างใจ, ที ่ใ จสรา งขึ ้น มาโดยใจ, เปน ความทุก ขเ พราะความยึด ถือ ; นี ้ค ือ ทุกขจริง. สวนทุกขที่รางกายบาดเจ็บนั้น เปนเพียงความทุกขกายที่ผิว ๆ; ถาบังคับ จิตใจไมใหยึดมั่นถือมั่นได ก็เกือบจะไมมีความทุกขเลย. เชนวาผูที่บาดเจ็บ แลว สามารถจะรํางับจิตเสียดวยฌาน สมาธิอยางใดอยางหนึ่ง จนกระทั่งไมรูจักความเจ็บ ก็ยิ่ง ไมมีความเจ็บปรากฏ. เดี๋ ยวนี้ คนเรามี ความยึ ดมั่ นถื อมั่ นอย างรุนแรงอยู เสมอ เจ็ บนิ ดหนึ่ งก็ ยึ ดมั่ น ถื อมั่ น ถึ งกั บทํ าให กลั วตายได . ขอให ได สั งเกตดู ให ดี ๆ ทุ กคน ว าความทุ กข ที่ เกิ ดขึ้ น แม แต ทางรางกาย ที่ รางกายบาดเจ็บ อยางนี้ เป นทุ กขกั นเพราะยึ ดมั่ นถือมั่ นมากเกิ นไป. เกี่ ยวกั บข อนี้ ควรจะจํ าอุ ปมาที่ พระพุ ทธเจ าท านได ตรัสไว เอง วาคนธรรมดานี่ ต างกั บ บุ คคลที่ สิ้ นอาสวะแลว คื อเป นพระอรหั นต ; ต างกันตรงที่ วา คนธรรมดา ถ าเจ็บปวด หรือเปนทุกข มักเจ็บปวดสองชั้น ; สวนผูที่สิ้นอาสาวะแลวจะเจ็บปวด เพียง ชั้นเดียว. อุ ปมาเหมื อนกั บคน ๆ หนึ่ ง ถู กลู กศรธรรมดาเล็ ก ๆ ไม มี ยาพิ ษอะไรยิ งเอา ก็ เจ็ บ ปวด; ส ว นอี ก คนหนึ่ ง นั่ น ถู ก ลู ก ศรธรรมดายิ ง ดอกหนึ่ ง แล ว ยั ง ถู ก ลู ก ศรที่ อาบด วยยาพิ ษยิ งอี กดอกหนึ่ งด วยเป นสองดอกด วยกั น คนไหนจะเจ็ บกวา? คนถู ก ลูกศรธรรมดาไม มี ยาพิ ษ ก็เจ็บกายธรรมดา; สวนคนที่ ถูกลูกศรอีกดอกหนึ่ ง ที่ อาบดวย ยาพิษนั้นอาจถึงตายได.
www.buddhadasa.info ถ าเราเจ็ บแต ร างกาย รางกายเป นแผล มั นก็ เจ็ บแต ที่ แผลทางรางกาย; แต ถามีอวิชชา อุปาทานเขาไปยึดถือ ความเจ็บนั้นก็จะกลายเปนความเจ็บทางจิต ทางวิญญาณขึ้นมา ซึ่งทําใหเปนทุกข เกือบเหมือนกับถึงตาย. ปุถุชนคนธรรมดา แตกต า งจากพระอรหั น ต อ ย า งนี้ : คนหนึ่ ง เจ็ บ ชั้ น เดี ย วผิ ว ๆ เผิ น ๆ เท า นั้ น แหละ, อีกคนหนึ่งเจ็บถึงสองชั้น และชั้นหนึ่งก็หนักมากจนถึงตาย.
พระอรหันต กับสิ่งที่เรียกวา ธาตุ – อายตนะ - ขันธ
๒๐๙
พระอรหันตทั้งหลายทานมีแตทุกขกาย. ที่ไปพูดวาพระอรหันตจะไมมี ความทุกขเลยนั้นไมได พูดไมได ขืนพูดก็ผิด จึงพูดไดวา มีความทุ กขห าย หรือ ความทุกขลวน ๆ ที่ไมมีความยึดมั่นถือมั่นในความทุกขนั้น. ที่วาสําหรับสังขตธาตุ ทั้ งหลาย ไม ทํ าอั นตรายจิ ตใจของบุ คคลที่ เป นพระอรหั นต สิ้ นอาสวะแล ว ย อมมี ด วย อาการอยางนี้. จะทบทวนอีก ทีห นึ ่ง ก็ไ ด วา ๑. ธาตุด ิน ธาตุน้ํ า ธาตุล ม ธาตุ อะไรเหลานี้ ทําอะไรพระอรหันตไมได เพราะทานไมยึดมั่นถือมั่น โดยความ เปนของตน เรียกวาทานรอบรูในธาตุทั้งหลายเหลานั้น. ๒. ธาตุทั้งหลายนั้นที่มาปรุงกันขึ้นมาเปนอายตนะนี้ ก็ทําอะไรทาน ไม ได เพราะวาท านมี ส ติสั ม ปชัญ ญะอยูต ลอดกาล เป น อัต โนมั ติ ; เพราะวา ความเป น พระอรหั น ต นั้ น ก็ คื อ ความมี ส ติ ส มบู รณ มี ส ติ สั ม ปชั ญ ญะสมบู รณ ไม เผลอไปหลงยึ ดมั่ นถื อมั่ นสิ่ งใดอี ก; อย างนี้ เรียกวาท านมี สติ หรือมี สั มปชั ญ ญะด วย ตลอดกาลและโดยอั ตโนมั ติ . ฉะนั้ น ตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจ ก็ ทํ าอะไรท านไม ได ; คือไมทําใหทานเปนทุกขได เพราะวาทานมีสติอยูตลอดกาล.
www.buddhadasa.info ๓. ธาตุ ทั้ งหลายที่ ปรุงกั นขึ้นเป นรูปขันธ เวทนาขั นธ สั ญญาขันธ สั งขารขั น ธ วิ ญ ญาณขั น ธ , หรือ จะเรีย กว า ธาตุ ก็ ได ; ขั น ธ เหล า นี้ ก็ ทํ า อะไรท า นไม ไ ด เพราะทานไมมีการยึดมั่น ถือมั่นในขันธเหลานั้น, ไมมีอุปาทาน ยึดมั่นถือมั่น ในขั นธ เหล านั้ น. พู ดหยาบ ๆ ก็ ว า “กู ไม เอาอะไรกั บมึ ง” มั นก็ ไม มี ตั ณ หา เพราะว า มองเห็นเปนอนัตตา เปนสุญญตา ในขันธทั้งหลายเหลานั้น.
๔. เมื่อพูดเล็งไปถึงธาตุทั้งหลายที่กําลังปรุงแตงกันอยู เปนกระแส แหงปฏิจจสมุปบาท กระแสแหงปฏิจจสมุปบาทนี้ก็ทําอะไรทานไมได; เพราะวาทาน
๒๑๐
ปรมัตถสภาวธรรม
ไม มี อ วิ ช ชา ที่ จ ะเป น ต น กระแสแห งปฏิ จ จสมุ ป บาท ที่ จ ะทํ า ให เกิ ด ทุ ก ข . ถ า จะเป น ปฏิ จจสมุ ปบาท ก็ เป นฝ ายดั บทุ กข เสี ยเรื่ อย เพราะท านมี วิ ชชา; ฉะนั้ น สิ่ งต าง ๆ มั นก็ จะไม ป รุ งไปในทางที่ จะเกิ ดทุ กข แต ป รุ งไปในทางที่ ดั บ ทุ กข จึ งไม มี ค วามทุ กข ขึ้ น เป น ปฏิจจสมุปบาท. ๕. ถ าพู ดถึ งความทุ กข พระอรหั นต ก็ เหลื ออยู แต เพี ยงความทุ กข ทางกาย ล วน ๆ ไม มี ค วามทุ ก ข ท างจิ ต , แม ว าร างกายจะเจ็ บ ปวด น้ํ าตาไหลเหลื อ ทน ก็ ยั งคง เป นความทุ กข ทางกายอยู นั่ นแหละ; ความทุ กข ส วนที่ จะยึ ดมั่ นถื อมั่ น ว าเป นความทุ กข ของกู ทุกขไดทั้งอดีต ปจจุบัน อนาคตนั้นมันไมมี. นี่ เรี ย กว า ธาตุ ทั้ ง หลายทั้ ง ปวง จะมี กี่ อ ย า , หรื อ ว า จะปรุ ง แต ง กั น ขึ้ น มาเป น ธรรม เป น สั ง ขารธรรม หรื อ เป น ธรรมทั้ ง ปวง อย า งไร กี่ อ ย า ง กี่ ร อ ยอย า ง ก็ทํา อะไรพระอรหัน ตไมได; เพราะวา ทา นรอบรูในธาตุทั ้งหลายทั ้งปวง, มีส ติ อยู ต ลอดเวลา ไม ยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น เพราะไม มี อ วิ ช ชา. นี่ แ หละเรี ย กว า อรหั ต ตธาตุ . ธาตุ ประเภทสั งขตธาตุ นั่ น มี ภาวะเกี่ ยวข องกั บพระอรหั นต อย างนี้ คื อไม ทํ าให พระอรหั นต เปนทุกขได.
www.buddhadasa.info พระอรหันต กับอสังขตธาตุ ที นี้ ก็ จ ะกล า วต อ ไป ถึ ง ธาตุ อี ก พวกหนึ่ ง คื อ พวกอสั ง ขตะ คื อ ว า เป น ธาตุ ที่ ไม มี เหตุ ป จจั ยปรุงแต ง นี่ ก็เชื่อวาทานทั้ งหลาย สวนมากก็ ไม เคยได ยิน แม จะ เคยได ยิ นคํ าว า อสั งขตะ ก็ ไม เคยคิ ด หรื อเคยได รั บคํ าอธิ บายในลั กษณะที่ ว าเป นธาตุ ก็ จะเห็ นเพี ยงแต เป นธรรมะอั นหนึ่ ง เป นอสั งขตธรรม; น อยครั้ งที่ จะรู ว า นี่ คื อธรรมธาตุ หรือธาตุประเภทสังขตะ. ธาตุ ประเภทอสั งขตะทั้ งหลาย จะมี ชื่อเรียกอย างไรก็ตามใจ พระอรหั นต ก็ ไ ม ไ ด ยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น ในธาตุ เหล า นั้ น ว า เป น ตั ว ตน. อสั ง ขตธาตุ มี ชื่ อ มาก และ ก็เปนชื่อธาตุเดียวกันนั่นเอง, ธาตุเดียวกันนั่นเองมีชื่อแปลกมากหลาย ๆ อยาง.
พระอรหันต กับสิ่งที่เรียกวา ธาตุ – อายตนะ - ขันธ
๒๑๑
ถาพูดถึงจิตของพระอรหันต ที่กําลังมีความรูสึกตออสังขตธาตุเหลานี้อยูอยาง ครบถวนแลว; ดังนั้นเราอาจจะเรียกอสังขตธาตุ ที่ปรากฏอยูในจิตใจของบุคคล ที่เรียกกันวาพระอรหันตนั้น วานี่แหละเปนธาตุพระอรหันต, เปนธาตุพระอรหันต เสียเลย. ธาตุของความเปนพระอรหันตนั้น เปนอยางนั้น มีชื่อเรียกอยูเปนอันมาก ในพระบาลี โดยตรงก็ มี และโดยอ อมที่ ท านเปรียบเที ยบจั ดให เป นคู ๆ กั นอย างตรงกั น ขามก็ มี ; เช นคํ าวา อสั งขตธาตุ นั้ นมี มาก จั ดไวโดยตรง เป นธาตุ ที่ ปราศจากป จจั ย ปรุ ง แต ง อยู เหนื อ สิ่ ง ใด; บางที ก็ เรี ย กธาตุ นี้ ว า นิ พ พานธาตุ , บางที ก็ เรี ย กว า สุญญตาธาตุ นิโรธธาตุ อมตธาตุ, มากมายหลายชื่อ ลวนแตหมายถึง อสังขตธาตุ. ในที่ นี้ อยากจะเรียกเป นกลุ มแรกว า อรหั ตตธาตุ ก อน คื อธาตุ แห งความเป นอรหั ตต มีในผูใดผูนั้นก็เปนพระอรหันต.
พึงรูจักธาตุของพระอรหันต นัยที่ ๑
www.buddhadasa.info อรหั ต ตธาตุ - ธาตุ ที่ ทํ าความเป น พระอรหั น ต ก็ ได แ กธาตุที่ ไม มี เ ห ตุ ปจจัยปรุงแตง อยางที่วามาแลว, แลวก็เรียกไดวาปริสุทธิธาตุ คือธาตุที่บริสุทธิ์ เพราะไมมีการเกิดขึ้น ตั้งอยู ดับไป จะมีไดแตเพียงปรากฏแกจิตใจของคนบางคน ที่ ปฏิ บั ติ จนถึงธาตุ อันนั้ น อันนั้ นก็เป นธาตุ ที่ บริสุ ทธิ์อยู ในตั วเอง เรียกวาปริสุ ทธิธาตุ ก็ ได . เมื่ อถึ งธาตุ นี้ จิ ตก็ บริ สุ ทธิ์ ก็ หมายความว าหลุ ดพ นจากสิ่ งเศร าหมอง. หรื อจะ เรียกวา วิมุ ตติ ธาตุ ก็ได : ธาตุที่ทําใหเกิดวิมุตติขึ้นมา; และเมื่ อมี วิมุ ต ติ อยางนี้ ก็หมายความวาออกไปไดจากกองทุกข ออกไปไดจากวัฏฏสงสาร. ดังนั้น จึงเรียก ได อี ก วา นิ ส สรณธาตุ : นิ ส สรณะ แปลวาออกไปได , นิ ส สรณธาตุ นี่ คื อ ธาตุ ที่ เปนเหตุใหออกไปได เปนเครื่องใหออกไปได; มันเปนสิ่งที่มีอยูจริง กวาสิ่งใด
ปรมัตถสภาวธรรม
๒๑๒
จึ ง เรี ย กว า สั จ จธาตุ ; ธาตุ อื่ น นอกจากนี้ ไ ม จ ริ ง หลอก, ธาตุ นี้ ไ ม ห ลอกและจริ ง จึงเรียกวา สัจจธาตุ.
อรหัตตธาตุ นัยที่ ๒ เราจะดูกันไดอีกนัยหนึ่งวา อสังขตธาตุ นี้ เมื่ อไมมี อะไรปรุงแตง สําหรับ จะเกิด ขึ ้น หรือ สํ า หรับ จะดับ ไป จึง เปน สิ ่ง ที ่ม ีอ ยู เ ปน นิจ ; ฉะนั ้น จึง เรีย กวา นิ จ จธาตุ ก็ ไ ด คื อ ธาตุ ที่ มี อ ยู เป น นิ จ . ธาตุ อื่ น ไม มี อ ยู เป น นิ จ เว น แต อ สั ง ขตธาตุ ส วนเดี ยว; ที นี้ เพราะเหตุ ที่ วามั นอาจจะอยู ได เป นนิ จ ไม มี ใครทํ าอะไรให มั นยุ บลงไปได ให ส ลายไปได ให เปลี่ ย นแปลงไปได . เราก็ เรี ย กได ว า เป น อิ ส ระธาตุ ; อิ ส สระธาตุ -ธาตุ ที่ เป น อิ สระอย างยิ่ ง, เป น อิ สระในตั วมั นเองอย างยิ่ ง. มองอี กทางหนึ่ งก็ อ าจจะ เรีย กวา วิส ัง ขารธาตุ -ธาตุที ่ไ มม ีเหตุ ปจ จัย ปรุง แตง และไมป รุง แตง ใคร, หรือ จะเรียกอีกทีหนึ่งก็วา อมุสาธาตุ. คํ าอมุ สานี้ บางคนก็ ไม เคยได ยิ น, คํ าวา อมุ สา นี่ เป น ชื่ อของอสั งขตะ เปน ชื ่อ ของนิพ พาน. อมุส า แปลวา ไมม ุส า คือ ไมโ กหก เปน ชื ่อ ของนิพ พาน เป นชื่ อของอสั งขตะ, แล วก็ มี ชื่ อสํ าหรับ ธาตุ ว า อมุ สาธาตุ ธาตุ นี้ เป น ธาตุ ที่ ไม หลอก ไมโกหก หมายถึงอสังขตะ หรือนิพพาน.
www.buddhadasa.info อรหัตตธาตุ นัยที่ ๓ ที นี้ จ ะมองดู อี ก นั ย หนึ่ งที่ เรีย กวา ๑. นิ พ พานธาตุ นิ พ พานธาตุ เป น ที่ ดั บแห งกิ เลสและทุ กข ; ถ ามองกั นเผิ น ๆ ก็ คื อไม เสี ยบแทง ไม เผาลน. นิ พ พานนี้ ตามธรรมดาที่ เป นภาษาชาวบ าน ก็ แปลว า เย็ น; ถ าพู ดกั นตามชาวบ าน ในบ านใน เรือนคํ าว านิ พพานนี้ แปลว าเย็ น ของเย็ น. ถ านไฟร อน ถ านไฟไม นิ พพานอย างนี้ เป นต น; นิพพานแปลวาเย็น เย็นก็คือไมรอน ไมเสียบแทง ไมเผาลน.
พระอรหันต กับสิ่งที่เรียกวา ธาตุ – อายตนะ - ขันธ
๒๑๓
๒. อสังขตธาตุนี้ไมเสียบแทง ไมเผาลน ชื่อวานิพพานธาตุได; ธาตุนี้ เป น ที่ ดั บ ของสิ่ ง ทั้ ง ปวง ก็ เลยเรี ย กว า นิ โรธธาตุ ไ ด . คํ า นี้ มี ใ ช ม ากที่ สุ ด ในพระบาลี คื อ คํ าว า นิ โรธธาตุ -ธาตุ เป น ที่ ดั บ เมื่ อ ดั บ แล วก็ ต อ งมี ค วามสงบระงั บ จะเรี ย กว า สัน ติธ าตุ หรือ เรีย กวา สัน ตธาตุก ็ไ ด. ๓.เมื ่อ สงบแลว ก็ม ีค วามเกษม ก็เ รีย ก ว าเขมธาตุ ก็ ได . เขมะ แปลว า เกษม เป นชื่ อของพระนิ พ พาน ตามธรรมดา เช น ว า เกษมจากโยคะ นี่ คื อ เกษมจากความทุ ก ข จากกิ เลส. ธาตุ ที่ เกษมจากโยคะ ก็ มี แตอสังขตธาตุ หรือนิพพานธาตุ. ๔. ธาตุ นี้เปนสิ่งที่รุงเรือง หรือเปนที่ พึ่ งอยูได ก็เรียกวาที ปธาตุ -ธาตุที่ เป น ที่ พึ่ ง หรื อ ทิ ว ธาตุ -ธาตุ ที่ รุ ง เรื อ ง ธาตุ อ ย า งอื่ น รุ ง เรื อ งอยู ไ ม ไ ด เพราะมี ป จ จั ย ปรุ งแต ง แล วก็ วอบ ๆ แวม ๆ ไปตามป จจั ยที่ ป รุ งแต ง. ส วนอสั งขตธาตุ นี้ รุ งเรื อ งอยู ได โดยไมมีการเปลี่ยนแปลง ก็เปนที่พึ่งไดเพราะเหตุนั้น.
อรหัตตธาตุ นัยที่ ๔
www.buddhadasa.info ที นี้ เราจะมองกั น ดู อี ก สั ก แนวหนึ่ ง : อสั ง ขตธาตุ นี้ ควรจะเรี ย กว า สุ ญ ญตาธาตุ หรื อ สุ ญ ญธาตุ -ธาตุ ที่ ว าง หรื อ ธาตุ แ ห งความว าง. ธาตุ อื่ น มั น ไม ว า ง มั น รกรุ งรั งไปด ว ยเหตุ ป จ จั ย หรื อ ความยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น ที่ เข า ไปยึ ด ถื อ ในเหตุ ในป จ จั ย . ส ว นธาตุ นี้ ว าง ว างอย างยิ่ ง; เหมื อ นกั บ ที่ มี ห ลั ก กล าวไว ว า นิ พ พานเป น ความว า ง อยางยิ่ง; นั่นคือนิพพานธาตุนั้น เปนสุญญตาธาตุ.
ถ าดู ถึ งอาการอั น หนึ่ ง เป น ธาตุ ที่ ไม รูจั ก ตาย ก็ เลยเรี ย กว าอมตธาตุ . ดู อี ก มุ ม หนึ่ ง เป น ธาตุ ที่ ไม มี สิ้ งสุ ด จึ งเป น อนั น ตธาตุ . ดู อี ก แงห นึ่ ง มั น เหนื อ โลก เหนื อ วิ สั ย โลก เหนื อ ความหมายแห ง โลก คื อ เหนื อ โลกิ ย วิ สั ย ของคน ของมนุ ษ ย ก็เลยเรียกไดวา โลกุตตรธาตุ - ธาตุที่อยูเหนือโลก.ทีนี้ธาตุนี้ไมปรุงแตงอะไร
๒๑๔
ปรมัตถสภาวธรรม
คื อไม ยอมรับอะไร เมื่ อจิ ตใจบรรลุ ถึ งธาตุ นี้ แล ว ย อมจะสลั ดสิ่ งทั้ งปวงออกไปจากความ ยึดมั่นถือมั่น เพราะฉะนั้น ธาตุนี้เรียกชื่อใหมไดอีกอยางหนึ่งวา ปฏิ นิสสัคคธาตุ คื อ ธาตุที่จะสลัด หรือกันสิ่งอื่นออกไปเสียจากตน ไมยอมรับเขามา, มันเปนอิสระ. ในที่สุด สรุปความก็เรียกกันวา อนุ ตตรธาตุ ดีกวา คือธาตุ ที่ สูงสุด ไมมี อะไรจะยิ่ง ไปกวานี่แลว เรียกวาอนุตตรธาตุ. เท าที่ อาตมายกเอามาพู ดให ฟ งเป นตั วอย าง นี่ อสั งขตธาตุ ก็ ตั้ ง ๒๑ ชื่ อแล ว, ๒๑ ชื่อพอดี :อรหัตตธาตุ ปริสุทธิธาตุ วิมุตติธาตุ นิสสรณธาตุ สัจจธาตุ นี้สายหนึ่ง. อสังขตธาตุ นิจจธาตุ อิสสรธาตุ วิสังขารธาตุ อมุสาธาตุ นี้ก็สายหนึ่ง. นิพพานธาตุ นิโรธธาตุ สันติธาตุ เขมธาตุ ทีปธาตุ นี้ก็สายหนึ่ง. สุ ญญตาธาตุ อมตธาตุ อนั นตธาตุ โลกุ ตตรธาตุ ปฏิ นิ สสั คคธาตุ อนุ ตตรธาตุ นี้ก็อีกสายหนึ่ง. ธาตุ ฝ ายที่ ตรงกั นข ามกั บ ธาตุ ธรรมดา ซึ่ งเรี ยกว า สั งขตธาตุ เป นฝ ายนี้ ; ฝ ายโน น ที่ ตรงกั นข ามเรียกว าอสั งขตธาตุ ซึ่ งอยากจะเรียกเสี ยใหม ให น าตกใจว า ธาตุ พระอรหั น ต การบรรลุ ถึ ง ธาตุ ช นิ ด นั้ น คื อ การเป น พระอรหั น ต ; เรี ย กได ว า ธาตุ พระอรหันต ธาตุแทของพระอรหันตเปนอยางนั้น.
www.buddhadasa.info พระอรหันตไมยึดมั่นทั้งสังขตะและอสังขตธาตุ เป นอั นว าพระอรหั นต ไม ได ยึ ดมั่ นสั งขตธาตุ และอสั งขตธาตุ ว าเป นตั วตน เป น สั ต ว เป น บุ ค คล เป น เรา เป น เขา; ถ า มี ค วามยึ ด มั่ น อย างใดเหลื อ อยู ก็ ไม เป น พระอรหันต. เปนพระอรหันตก็คือ ไมมีความยึดมั่นในธาตุใด ๆ โดยความ
พระอรหันต กับสิ่งที่เรียกวา ธาตุ – อายตนะ - ขันธ
๒๑๕
เป นตั วเป นตน; แม แต วา จะเป นตั วของธาตุ นั้ นเองก็ ยั งไม ยึ ดมั่ น; เห็ นเป นสั กวาธาตุ ตามธรรมชาติ เท านั้ น : ปราศจากควาาสํ าคั ญ ว าเป น ของเรา, หรื อ ปราศจากความ สําคัญวามันควรจะถือวาเปนของเรา. การถือวาเปนของเรานี้มันเต็มที่; ถือวา “มัน ควรจะเป น ของเรา” หรื อ “น า จะเป น ของเรา” นี่ มั น ครึ่ ง เดี ย ว; แต มั น ก็ ยั ง ผิ ด อยู นั่นแหละคือเปนที่ตั้งแตงความทุกข.
พระอรหันตไมมีอุปทาน ไมมีอาสวะในบุญบาป, สุขทุกข ในที่ สุ ดเมื่ อมองดู ถึ งผลสุ ดท าย พระอรหั นต นั้ นไม มี ความยึ ดมั่ นถื อมั่ น ในบุ ญ ในบาป ในกุ ศ ล ในอกุ ศ ล หรื อ แม ใ นอพยากฤต, และไม ยึ ด มั่ น ในความสุ ข หรื อ ความทุ กข หรื ออทุ กขมสุ ข โดยความเป น ตั วเรา หรื อ เป น ของเรา. นี่ เมื่ อ เป น อย างนี้ สิ่ งทั้ ง หลายทั้ งปวงเหล านี้ ก็ ไม เป น อุ ป ทานนิ ย ะแก พ ระอรหั น ต ; ไม เป น อุ ป าทานิ ย ะ คื อ ไม เ ป น ที่ ตั้ ง แห ง อุ ป าทาน. ส ว นเรา คนธรรดานี้ สิ่ ง เหล า นี้ เ ป น ที่ ตั้ ง แห ง อุ ป าทานของปุ ถุ ช น; บุ ญ บาป สุ ข ทุ ก ข นี่ เป น ที่ ตั้ ง แห ง อุ ป าทาน ของคนธรรมดา แตไมเปนที่ตั้งแหงอุปาทานแกพระอรหันต เพราะพระอรหันตไมมีอุปาทาน. สิ่งเหลานี้ ก็ ไ ม เป น ที่ ตั้ ง แห ง อาสวะ เพราะพระอรหั น ต ไ ม มี อ าสวะ หรื อ สิ้ น อาสวะ; แต สิ่ ง เหลานี้เปนที่ตั้งแหงอาสวะของคนธรรมดาเชนพวกเรา.
www.buddhadasa.info พอเรารูสึ กเป นสุ ข ก็ เพิ่ มอาสวะชนิ ดที่ หลงใน ความสุ ข, ถ าเป นความ ทุกขก็เปนอาสวะชนิดที่หลงในความทุกข, ถาประสบที่วาไมสุขไมทุกข กลาง ๆ ก็โงไปตามเดิม. นี่เรียกวา มีราคานุสัยเพิ่มขึ้น เมื่อมีความรูสึกเปนสุข, มีปฏิฆานุสัย เพิ ่ม ขึ ้น เมื ่อ รู ส ึก วา เปน ทุก ข, มีอ วิช ชานุส ัย โงไ ปตามเดิม เมื ่อ มีค วามรู ส ึก ไมส ุข - ไมท ุก ข : นี ่เ ปน แกป ุถ ุช น; ไมเ ปน แกพ ระอรหัน ตไ มม ีแ กพ ระอรหัน ต เพราะทานไมมีอุปทาน หรือไมมีอาสวะ.
๒๑๖
ปรมัตถสภาวธรรม
นี่ เป นข อเปรี ยบเที ยบ ซึ่ งอาจจะเปรี ยบเที ยบกั นได อย างดี ระหว างปุ ถุ ชน กั บ บุ ค คลที่ สิ้ น อาสวะ เป น พระอรหั น ต . สํ า หรั บ คนธรรดานี่ บุ ญ ก็ ดี บาป ก็ ดี แมแตไมบุญไมบาปก็ดี ลวนเปนที่ตั้งความยึดมั่นถือมั่นอยางใดอยางหนึ่ง, สุข ก็ดี ทุ กข ก็ ดี อทุ กขมสุ ข ก็ ดี ก็เป นที่ ตั้ งแห งความยึ ดมั่ นถือมั่ นอย างใดอย างหนึ่ ง ไม อยางใด ก็อยางหนึ่ง; แตวาสิ่งเหลานี้ไมเปนที่ตั้งแหงความยึดมั่นแกพระอรหันต. พู ดกั นอีกที หนึ่ งก็วา สิ่งเหลานี้ ซึ่งเป นสั กแต วาธาตุ ตามธรรมชาติ นั้ น เป น ที่ตั้งแหงความยึดมั่นถือมั่ นแกคนธรรมดา; ไม เป นที่ ตั้ งแห งความยึดมั่ นถื อมั่ น แก พระอรหันต. คําวา “สุข” นี้ ก็มี เรียกชื่อเป นธาตุ ; มีพระพุ ทธภาษุ ตเรียกชื่อวา สุขธาตุ ทุก ขธาตุ; โสมนัส สธาตุ โสมนัส สธาตุ; อุเ บกขาธาตุ หรือ อทุก ขมสุข ธาตุ และอวิชชาธาตุ . นี่เปนสิ่งที่นาสนใจอยางยิ่ง วาเมื่อพระพุ ทธเจาไดตรัสถึงธาตุ ๖ อยาง อี กหมวดหนึ่ ง ท านได ตรั สไว ในลั กษณะ ที่ แสดงให เห็ นว า อวิ ชชาซึ่ งมาจากความรูสึ ก ว าสุ ขว าทุ กข ว าโทมนั ส ว าโสมนั ส หรือว าอทุ กขมสุ ขนี้ ; ท านเอามาจั ดไว หมวดเดี ยวกั น เป น ๖ ธาตุ : สุ ขธาตุ ทุ กขธาตุ นี่ คู หนึ่ ง, และโสมนั สสธาตุ โทมนั สสธาตุ นี้ คู หนึ่ ง, และก็มีอุเบกขาธาตุ และอวิชชาธาตุ, นี้อีกคูหนึ่ง.
www.buddhadasa.info ถ าไม มี การรูสึ กวาสุ ข วาทุ กข วาโสมนั สและโทมนั สแลว ดูเป นวาเราจะ ไม มี ท างที่ จะเกิ ด อวิ ชชา; เพราะมั นมี ความรูสึ กแยกกั นอยู เป น คู ตรงกั นข าม วาสุ ข ว า ทุ ก ข ว า โสมนั ส ว า โทมนั ส เราจึ ง ไปโง เข า ในฐานะที่ เห็ น เป น สุ ข น า ปรารถนา น าพอใจ ก็ มี เห็ น ว าเป น ทุ กข น าเกลี ยด น าชั ง ไม น าปรารถนา ไม พ อใจก็ มี . ฉะนั้ น ขอใหสังเกตดุใหดีเถอะวา การที่เราไปรูสึกวาเปนสุขในอะไร ๆ นั้นก็คือความโงของ เรา คืออวิชชาของเรา. หรือวาการที่เราไปรูสึกวา เปนทุกขเขาในกรณีใดกรณีหนึ่ง
พระอรหันต กับสิ่งที่เรียกวา ธาตุ – อายตนะ - ขันธ
๒๑๗
นั่ น ก็ คื อความโง ของเรา อวิ ชชาของเรา. ถ าเราไม มี สองอย างนี้ อวิ ชชา ก็ ไม รู จะเกิ ด ไดอ ยา งไร เพราะในโลกนี ้ม ัน ก็ม ีส องเรื ่อ งนี ่แ หละ ที ่ว า สุข หรือ ทุก ข. โสมนัส หรื อโทมนั ส. ส วนอุ เบกขานั่ นก็ มี หลายความหมาย : ถ าอุ เบกขา เพราะไม รู สึ กอะไร ก็ ยั งเป นความโง อยู นั่ นแหละ; แต ถ าอุ เบกขา เพราะวางเฉยได โดยที่ รู ว าอะไรเป นอะไร มันก็เปนความฉลาด. นี่ ขอให ถื อเอาเป นหลั กก็ ได ว า อวิ ชชา ความไม รู ความโง ความเขลาอะไรนี่ มีรากฐานอยูบนความสุข หรือความทุกข; ที่ มนุ ษยกําลังเป นป ญ หากันที่ สุด ก็คื อ เรื่องสุข เรื่องทุกข; เรื่องสุขเรื่องทุกขนี่ ทุกวัน ๆ นี้ เปนที่ตั้งแหงอวิชชา. พระอรหันตมีความหมายที่สําคัญอยูตรงที่ไมมีอวิชชา จึงอยูเหนือสุข เหนือทุกข. ต อ ไปนี้ เราก็ จ ะดู ถึ ง ภาวะที่ ลึ ก ซึ้ ง ของพระอรหั น ต ว า มี อ ะไรบ า งที่ ควรจะสนใจ สําหรับมาเป นแนวคิดนึ ก, เปนจุด จุดแรก หรือเปนชนวนอันดับแรก สําหรับคิดนึกใหเขาใจ.
www.buddhadasa.info ความลึ กซึ้ งของความเป นพระอรหั นต นี้ ต องแยกออกเป น ๒ ประเภท : ประเภทที่สมมติอยางหนึ่ง, ที่ไมสมมติ คือเปนปรมัตถโดยตรง นี้อีกอยางหนึ่ง.
สภาวธรรมของพระอรหันตอยางสมมติ คนธรรดาปุ ถุ ชนนี้ ติ ดอยู ข างสิ่ งที่ เป นที่ ตั้ งแห งความยึ ดมั่ น ถื อ มั่ น ; นี่ คื อ ติ ด อยู ฝ า ยข า งดี ข า งได ข า งชนะ ข า งอะไรเรื่ อ ย ๆ. อย า งนี้ เรี ย กว า สมมติ ทั้ ง นั้ น เช นสมมติ ว าเลิ ศ ว าดี ว าดี ที่ สุ ดก็ คื อเลิ ศ; เราก็ ไปติ ดป ายให พระอรหั นต ว า เลิ ศที่ สุ ด เปนบุคคลที่เลิศที่สุด ที่ประเสริฐที่สุด.
๒๑๘
ปรมัตถสภาวธรรม
คํ าพู ด ที่ ส มมติ นั้ นเป น คํ าพู ดจริงเหมื อนกั น แต จริ งอย างสมมติ บางที พระพุ ทธเจ าท านก็ มี ค วามจํ าเป น ที่ จะต อ งใช คํ าสมมติ อ ย างนี้ ที่ เรี ยกพระอรหั น ต ว าเลิ ศ ที่ สุ ด ที่ อะไรที่ สุ ด สู งที่ สุ ดไม มี อะไรสู งเท า เลิ ศที่ สุ ดไม มี อ ะไรเลิ ศเท า. บางที ก็ใชคําวา ยิ่งใหญ เปนผูยิ่งใหญ, แมที่สุดแตวาจะใชคําวา เต็มเปยมแลว ไมพรองแลว นี ่ก ็ส มมติ, เปน ที ่ห ยุด แลว ไมวิ ่ง อีก ตอ ไปแลว นี ่ก ็ส มมติ, เปน ผู ป ลงไดแ ลว ก็สมมติ, เปนผูปลอยไดแลว ก็สมมติ, เปนผูเย็น ก็สมมติ, เปนผูอยูนิรันดร นี่ก็ สมมติ . คํ า อย า งนี้ ส มมติ ทั้ ง นั้ น ควรจะใช ส มมติ ใ ห กั บ บุ ค คลที่ ห ลุ ด พ น แล ว เป น พระอรหั น ต แล ว ว าท านเป น ผู ป ระเสริ ฐ ที่ สุ ด เลิ ศ ที่ สุ ด ยิ่ งใหญ ที่ สุ ด เต็ ม เป ย มแห ง ความเปนมนุษยที่สุด หยุดเวียนวายในวัฏฏสงสารแลว. “ปลงภาระ” คื อปลงความยึ ดมั่ นถื อมั่ นได แล ว ปล อยสิ่ งที่ ผู กมั ดรัดรึงแล ว, เย็ น สนิ ท แล ว , มี ชี วิ ต อยู เป น นิ รั น ดร ฯลฯ; ทั้ งหมดนี่ เป น คํ า สมมติ แต เราไม เคย คิ ด ว าเป น สมมติ ถื อว าเป นจริงที่ สุ ด แล วก็ ต องการอย างนี้ . ขอให รูจั กคํ าพู ดที่ เป น ภาษาสมมติ สํ าหรั บใช กั บบุ คคล เช นพระอรหั นต ว ามี อยู อย างนี้ ; ดั งนั้ น จะเรี ยกว า ปรมั ต ถสภาวะของพระอรหั น ต ก็ ไม ถู ก นั ก ; มั น ถู ก ที่ สุ ด สํ าหรั บ คนที่ ใช ภ าษาสมมติ เปนหลัก; แตไมถูกเลยสําหรับคนที่อยูเหนือสมมติ.
www.buddhadasa.info ปรมัตถสภาวธรรม ของพระอรหันต ถาจะพู ดกันอยางเป นปรมั ตถ คื อไม สมมติ กันแล ว สถาวะของพระอรหั นต จะไมเ ปน อยา งที ่ว า นั ้น เลย; แตจ ะพูด ไดคํ า เดีย ววา “วา ง”. คํ า วา “วา ง” นี้ มีความหมายมาก พรรณนากันไมหวาดไหว; วางจากอะไรก็ลองไปคิดดู. ว างเริ่ ม แรก ก็ ต องว างจากตั วตนนั่ นแหละ, ต องว างจากตั วตน คื อไม มี ตัวตน เรียกวาวางจริง ๆ ไมมีความรูสึกวาเปนตัวตน; ถึงจะมีเนื้อมีหนัง มีเลือด มีกาย
พระอรหันต กับสิ่งที่เรียกวา ธาตุ – อายตนะ - ขันธ
๒๑๙
มี ใจ มี จิ ต มี วิญ ญาณ ก็ ไม ใชตั วตน. นี่ คื อวางจากตั วตน. ฉะนั้ น ปรมั ต ถสภาวะ ของพระอรหันตก็คือ ภาวะวาง. ที่ พู ดว า เป นผู เลิ ศ เป นผู ยิ่ งใหญ เป นผู เย็ น เป นผู หยุ ดเวี ยนว าย เป นผู อะไรทุ ก ๆ อย างนั้ นเป นภาษาสมมติ ; เพราะวานั่ นยั งไม วาง ไม วางจากความหมาย ซึ่งเป นที่ ตั้ งแห งความยึดถือ; เพราะวาคนที่ มี ความยึ ดถือเป นผู พู ด ไม ใชพระอรหั นต ท านพู ด เรานี่ แหละไปพู ดให ท าน ไปตั้ งให ท าน ไปว าท านเป นอย างนั้ นอย างนี้ . คน ธรรมดาพู ด ก็ ต องพู ดภาษาสมมติ ; ดั งนั้ น ถึ งจะลึ กซึ้ งจะประเสริฐที่ สุ ดเท าไร ก็ ยั ง เปนสมมติ. ที่ถูก ถาจะพูดถึงภาวะอันแทจริง ของพระอรหันตตองพูดวา วาง; ถา ไม พู ดวาวาง ก็ ต องพู ดให หนั กไปกว านั้ นอี ก ก็ คื อพู ดวา พู ดวาอะไรไม ได , ภาวะของ พระอรหันตเปนอยางไร ก็ตองตอบวา วาอยางไรไมได, จะบรรยายวาอยางไรไมได; นั่นแหละจึงจะลึกซึ้งถึงที่สุด ถึงความจริงของภาวะแหงความเปนพระอรหันต. ถาพู ดให ชัดเป นภาพพจน ให เห็ นงายขึ้ นมาอี กก็ วา ภาวะแห งความเป น พระอรหันตนี่ ก็คือภาวะแหงการหุบปากของผูบรรยายอยางนี้; จะมานั่งบรรยายจอ อยู บ นธรรมาสน อย างอาตมานี้ ไม ได มั น ไม ใช ภ าวะอั นแท จริงของพระอรหั น ต . แต เดี๋ ยวนี้ เราพู ดกั นเพื่ อจะให เข าใจ เราจึ งต องพู ดมาก; แต เราก็ เอาภาวะของพระอรหั นต มาบรรยายให ถู ก ให เต็ ม ให ถึ งที่ สุ ดไม ได ได แต พู ดเลี ยบเคี ยงข างนั้ น ข างนี้ ชั กจู ง โยงกั น มา จากทางนั้ น ทางนี้ ให ค อ ย ๆ เข า ใจขึ้ น ไป; แต พู ด กั น โดยจริ ง ก็ ต อ ง ใช คํ าว า “หุ บปาก” ; ภาวะแห งการหุ บปากของผู บรรยายนั่ นแหละคื อลั กษณะ หรือ ภาวะอันลึกซึ่งของพระอรหันต. มันมีความตางกันอยูตรงกันขามอยางนี้.
www.buddhadasa.info การพูดแบบที่พูดกันอยูนี้ตองเปนสมมติทั้งนั้น จึงพูดได; ถาไมสมมติ พูดไมได เพราะพูดถึงความจริงขึ้นมาจริง ๆ ก็ตอง “หุบปาก” คือพูดลักษณะอยางนั้น
๒๒๐
ปรมัตถสภาวธรรม
อยา งนี ้ไ มไ ด; อยา งจะพูด ไดที ่ส ุด ก็พ ูด ไดว า “วา ง” หรือ พูด วา อัพ ยากฤต. อัพยากฤต ก็แปลวาพูดไมไดชัด วาเปนอยางไร. คํ าว า “อั พ ยากฤต” นั่ นเขามั กจะเข าใจไปว า หมายถึ งลั ก ษณะกลาง ๆ, แต แท จริ งคํ าว า อั พ ยากฤต นี้ แปลว า สิ่ งที่ พู ดให ชั ด ลงไปได ว ามั น เป นอย างไร คื อ มั น ไม เป น อะไรเสี ย หมด ในบรรดาภาษาที่ ม นุ ษ ย รู จั ก กั น นี้ . ใครจะนึ ก ถึ งความว าง. ใครจะบรรยายลั ก ษณะของความว า งได ; ถ า ไปบรรยายให มี อ ะไรเข า มั น ก็ ไม ว า ง ฉะนั้ น คํ าว า “ความว าง” ก็ เป น ลั ก ษณะของอั พ ยากฤต; เห็ น ได ไร ๆ อยู แล ว ว า มั นบรรยายไม ได เดี๋ ยวนี้ พู ดให ชั ดเสี ยเลยก็ เรียกว าอั พยากฤต คื อบรรยายไม ได พู ดให ชัดลงไปวาอะไรไมได แมจะเห็นอยู รูอยู ก็ยังตองหุบปาก. การที ่ จ ะสอนเรื่ อ งนิ พ พาน หรื อ เรื่ อ งความเป น พระอรหั น ต นี้ ก็ ได แ ต บ อกวิ ธี ก ารประพฤติ ป ฏิ บั ติ ว า จงปฏิ บั ติ อ ย า งนั้ น ๆ ๆ แล ว อะไรเกิ ด ขึ้ น นั่นแหละคือภาวะอยางนั้น ซึ่งเอามาพูดเปนคําพูดไมได.
www.buddhadasa.info ต องรูจักด วยใจเอง รูสึกดวยใจเอง เรียกวา ปจฺจตฺตํ เวทิ ตพฺ โพ วิฺ ู หิ ; ต อให เป นวิญู ชนฉลาดแล ว ก็ ยั งจะต องรูด วยเฉพาะใจเองเท านั้ น รูสึ กด วยใจเองเท านั้ น รู แ ทนกั น ไม ได ; นั่ น แหละเป น ปรมั ต ถสภาวะที่ แ ท จ ริ ง เลยต อ งเรี ย กว า ภาวะแห ง การหุ บปากของบุ คคลผู ตั้ งใจจะพู ด อยากจะพู ด พยายามจะพู ด แล วก็ พู ดไม ออก ก็ ต อง หุ บปาก. แต อย าลื มว า การหุ บปากนี่ กลั บพู ด พู ดมากที่ สุ ด แต ไม ได ยิ นเสี ยง. มั นพู ด เปนความรูสึก; ใครอยากมีก็ไปปฏิบัติ ปฏิบัติใหรูสึกขึ้นมาในใจ แลวก็พูดไมไดอีกตามเคย.
อุปมาการสอนเรื่องนิพพาน เหมือนเสียงตบมือบางเดียว ที่ เรี ย กว า “คํ า พู ด ชนิ ด ที่ พู ด ไม ได ” นี่ ฟ งดู ; คํ า พู ด ที่ พู ด ด ว ยปากไม ได นี้ มี ประโยคอยู ประโยคหนึ่ ง ซึ่ งใช เพื่ อให เข าใจเรื่ องที่ เข าใจยากอย างนี้ เช นคํ าพู ดที่ ว า เสียงของมือที่ตบขางเดียว.
พระอรหันต กับสิ่งที่เรียกวา ธาตุ – อายตนะ - ขันธ
๒๒๑
เสี ย งของมื อ ที่ ต บข า งเดี ย ว, มื อ ข า งเดี ย วตบนี่ มั น มี เสี ย งอย า งไร? คนธรรมดาก็ วาไม มี เสี ยงซิ ; แต คนที่ รูความจริงอะไรมากกวานั้ นก็ วา มี เสี ยงอี กชนิ ด หนึ่ง ซึ่งดังกวาเสียงธรรมดา เพราะเปนเสียงของความสงบ เปนเสียงแหงความ ไม มี เสี ยง เป นเสี ยงแห งนิ พพาน เป นเสี ยงแห งการที่ ไม ปรุ งแต ง เป นเสี ยงแห งอสั งขตะ เป นต น. ในตึ กแสดงภาพทั้ งหลาย ก็ มี ภาพเสี ยงแห งการตบมื อข างเดี ยว อยู ภาพหนึ่ ง เหมือนกัน. “มือขางเดียว” หมายความวา จิตที่ไมยึดมั่นอะไร; ถาจิตไปยึดมั่น ถือ มั ่น อะไร เรีย กวา มือ สองขา งกระทบกัน ; เชน ตากระทบรูป หูก ระทบเสีย ง จมู กกระทบกลิ่ นฯลฯ อย างนี้ คื อมื อสองข างมั นตบกั น ก็ มี ปฏิ กิ ริยาเกิ ดขึ้ นมา เป นอย างนั้ น อย า งนี้ เป น ทุ ก ข ทั้ ง นั้ น , แล ว ก็ ห ลอก ไม จ ริ ง เป น มายา : ทุ ก ข แ ล ว ก็ ห มดไป, ทุ กข แล วหมดไป หมดไปแล วก็ ทุ กข อี ก ทุ กข แล วก็ หมดไปอี กนั่ นแหละ; อย างนี้ เรียกว า เปนของหลอกไมจริง. ทีนี้เมื่อเปนอยูเรื่อยมาจนอบรมจิตดีขึ้น ดีขึ้น จนจิตนี่ไมยึดถือสิ่งใด ที่จะ เอามาเป นตั วตนของตน : ตาเห็ นรู ป ก็ สั กว าเห็ น, หู ได ยิ นเสี ยง ก็ สั กว าได ฟ ง, จมู ก ได กลิ่ น ก็ สั กว าได กลิ่ น ฯลฯ; นี่ เรียกว าไม ได รับเอาเข ามาปรุง เป นเวทนาเป นความรูสึ ก ที่ จ ะยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น มั น ก็ เลยเกิ ด เป น ความสงบขึ้ น มา; ดั ง นั้ น เสี ย งแห ง ความเงี ย บ เสียงแหงความสงบ นี่วิเศษที่สุด ประเสริฐที่สุด มันกองไปทั้งจักรวาลเลย.
www.buddhadasa.info อุ ป มา หรื อ คํ า เปรี ย บเที ย บ ภาพพจน ทํ า นองนี้ ก็ เพื่ อ ให ค นคิ ด ได ง า ย ๆหรือพอจะมองเห็ นพอจะคิ ดได ; ถ าไม มี เสียงเลย ก็ไม มี อะไรเป นเงื่อนสําหรับคิ ด สํ าหรับ ที่ จะขยายความคิ ดให ลึ กลงไปถึงสิ่ งที่ ตรงกั นขามกับสิ่ งธรรดาสามั ญ. เรารูจั กแต สิ่ งที่ มีปจจัยปรุงแตง คือ สังขตธาตุทั้งหลาย เราคิดอะไรปวนเปยนอยูแตในขอบเขตอันนี้
๒๒๒
ปรมัตถสภาวธรรม
เราออกไปนอกขอบวงอันนี้ไมได; ฉะนั้นเขาจึงบอกวา “รีบออกไปเสียทีหนึ่ง ไปถึง เขตที่มั นพู ดไม ได บรรยายไมได มันเป นความสงบที่มี เสียงดั งที่สุด”. คนนั้นก็สนใจอยาก จะรู อยากจะเขา ใจ และพยายามจะคิด คอ ย ๆ คลํ า ไป ก็รูว า อา ว, สิ ่ง ที ่ต รง กั น ข า มมั น เป น อย า งนี้ แล ว จึ ง รู ได ชั ด ที เดี ย ว เรื่ อ งสมมติ นี้ เป น เรื่ อ งเด็ ก เล น ; แม จะพูดวาดี. วิเศษประเสริฐสูงสุด มันก็เรื่องเด็กเลนทั้งนั้นแหละ เด็กอมมือดวยซ้ําไป. นี่ คื อเรื่องสมมติ วาดี มาก สนุ กมาก อรอยมาก เลิ ศมาก เย็ นมาก อะไรก็ ตาม ใจ; แต ถ าเป นความจริงถึ งที่ สุ ดแล ว จะหุ บปากเพราะไม อาจจะพู ดวาอะไร อย างนี้ ; อยา งดี ก็จ ะรูสึก วา มัน วา ง ไมมีอ ะไรที่จ ะไปดึง เอามาเปน ตัว เรา หรือ เปน ของเรา. นี่ คื อภาวะ หรือสภาวะอั นลึ กซึ้ งของพระอรหั นต , ของความเป นพระอรหั นต . ถาเราอยากจะหยั่ งทราบถึ งภาวะอั นลึ กซึ้งของพระอรหั นต เราต องหั ดคิ ดทํ านองนี้ : ทํานองที่เราจะเห็น หรือยอมรับ หรือเขาใจทันทีวา เสียงของมือที่ตบขางเดียวนั้น ดังกองไปทั้งจักรวาล; เสียงที่มือตบสองขางนี้ดังเปาะแปะ ๆ อยูที่ตรงนี้ ดังไมกี่วา.
www.buddhadasa.info นี่ลองคิดดูวา ความคิดมันคืบไกลออกไปไดเทาไร, ไกลออกไปไดกี่มาก น อย กี่ รอยเท า พั นเท า หมื่ นเท า แสนเท า, ออกไปเสี ยจากสมมติ ทั้ งหลาย ไปอยู ที่ ความจริง ปรากฏออกมาเปน วาง ไมมีตัวตน หรือของตน ซึ่งมีลักษณะพิเศษ คือ บรรยายด วยปาก ด วยคํ าพู ด หรือด วยตั วหนั งสื อหรือด วยอะไรก็ ไม ได . นี่ ก็ เลยชี้ มาที่ ภาวะของการหุ บปากเสี ยนั่ นแหละ. ไปคิ ดดู เถอะว า นิ พพานมี ลั กษณะอย างไร? ก็ ตอบ โดยหุ บ ปากใส ห น า. ไปนิ พ พานทางไหน ก็ หุ บ ปากใส ห น า. ถามอย างไรก็ หุ บ ปาก ใส หน า; นั่ นแหละคื อความจริง แต แล วเดี๋ ยวก็ จะถู กเขาด า. มั นเป นเรื่องคนละประเภท คนละชั้นคนละระดับอยูอยางนี้.
พระอรหันต กับสิ่งที่เรียกวา ธาตุ – อายตนะ - ขันธ
๒๒๓
ใหรูเรื่องปรมัตถสภาวธรรม เพื่อมองเห็นสิ่งที่เห็นยาก เดี๋ ยวนี้ เราก็ ได พู ดกั นมามากแล ว สํ าหรับอาตมาเองก็ พู ดมาไม รูกี่ รอยครั้ง กี่ พั น ครั้ งแล ว ที่ พู ด ๆ เทศน ๆ มานี้ ; ดั งนั้ น จึ งได ค อย ๆ ดึ งออกไป ดึ งท านทั้ งหลายผู ฟ ง ออกไป ๆ ที ละนิ ด ๆ อย างนี้ ; ดึ งออกไปให พั น เรื่ อ งของสมมติ , ออกไปให พ นจาก ขอบเขตวงของการสมมติ จึงไดพู ดอยางนี้; และก็เลือกเอาเรื่องนี้ คือเรื่อง “ปรมั ตถสภาวธรรม” มาพู ด พู ด เพื่ อ ให ม องเห็ น สิ่ ง ที่ ลึ ก จนเห็ น ได ย าก; เห็ น ได ย ากนั้ น คือเรื่องที่ ไม อยูในขอบเขตจํากั ดของสิ่ งใด; จึงไดเอาเรื่องพระอรหั ตมาพู ด วาท าน มี สภาวะอั นลึ กซึ้ งอย างไร. ในการพู ดนั้ นจํ าเป นที่ จะต องพู ด ในลั กษณะที่ เกี่ ยวข องกั บ สิ่ งใดที่ เราเห็ น ๆ กั น อยู ; ถ าไม อ ย างนั้ นก็ พู ด ไม ได ก็ เลยต องพู ดให เห็ น ว า เกี่ ยวข อ ง หรือวาไมเกี่ยวของกันอยู กับสิ่งที่เรียกวาธาตุทั้งหลายนั้นอยางไร. เป นอั นว า ทั้ งหมดนี้ ก็ พอแล ว หรื อสมควรแล ว ที่ ได ช วยให ท านทั้ งหลาย ได ยิ น ได ฟ งเรื่ องธาตุ คื อ อย างไร มี อ ยู กี่ ธาตุ กี่ สิ บ ธาตุ , กี่ ร อ ยธาตุ . และพระอรหั น ต ท านเกี่ ย วข อ งกั น กั บ ธาตุ เหล า นี้ หรื อ ว าท า นไม ได เกี่ ย วข อ งกั น กั บ ธาตุ เหล านี้ เลยใน ลักษณะอยางไร.
www.buddhadasa.info คําวาธาตุ หรือสิ่งที่เรียกวา ธาตุ นี้เปนสิ่งที่มีความสําคัญมาก มีความ จําเปนมากที่เราจะตองรู ตองเขาใจ; เพราะวาเรากําลังเปนทุกข เพราะสิ่งที่เรียกวาธาตุ นั่นเอง. อยาไปทําเลนกับธาตุ.
ธาตุ ดิ น ธาตุ น้ํ า ธาตุ ไฟ ธาตุ ล ม ธาตุ อ ากาส ธาตุ วิ ญ ญาณ ธาตุ ต า ธาตุ หู ธาตุ จ มู ก ธาตุ ลิ้ น ธาตุ ก าย ธาตุ ใจ ธาตุ รูป ธาตุ เสี ย ง ธาตุ ก ลิ่ น ธาตุ ร ส ธาตุ รูป ธาตุ เวทนา ธาตุ สั ญ ญา ธาตุ สั งขาร ธาตุ วิ ญญาณ เหล านี้ ธาตุ ทั้ งนั้ นแหละ; อยาไปทําเลนกับมัน แมแตดิน น้ํา ลม ไฟ นี่อยาไปทําเลนกับมัน จะทําใหเกิดความ
๒๒๔
ปรมัตถสภาวธรรม
ทุกขไดทันที ที่ไปทําเลนกับมัน. ตองไปทําจริงกับมัน โดยวิธีที่เรารูตามที่เปนจริง วามั นคื ออะไร จนไม มั่ นหมายเอาธาตุ ใดธาตุ หนึ่ ง โดยความเป นตั วตน หรือเป นของตน; อยางนี้เรียกวาอยาทําเลน ไมทําเลนกับมัน. นี่จึงตองเอาเรื่องธาตุมาพูด. ธาตุนั้น ๆ อยูที่ไหน? ก็อยูที่ตัวคนนั่นเอง ถาเปนผูพูดก็คือตัวผูพูดนั่นเอง; แม แ ต เสี ย งที่ พู ด ออกมา ก็ คื อ ธาตุ , แม แ ต เสี ย งที่ เข า ไปในหู ข องคนฟ ง ก็ คื อ ธาตุ . หู ข องคนฟ งก็ คื อ ธาตุ ความรู สึ ก เกิ ด ขึ้ น จากการฟ งเสี ยงนั้ น ก็ คื อ ธาตุ ; เดี๋ ยวก็ เป น เวทนาธาตุขึ้นมา เดี๋ยวก็เปนสัญญาธาตุขึ้นมา เดี๋ยวก็เปนอุปทาน ที่เปนทุกขธาตุขึ้นมา. ความทุ ก ข ก็ คื อ ธาตุ เป น เวทนาธาตุ หรื อ สั ง ขารธาตุ หรื อ สั ง ขตธาตุ ; ไม มี อ ะไรที่ ไม ใช ธ าตุ ทั้ งเนื้ อ ทั้ งตั ว ผม ขน เล็ บ ฟ น หนั ง , หรือ วา ส ว นที่ เป น เลื อดหนอง โลหิ ต อะไรทั้ งเนื้ อทั้ งตั วของรางกาย ทุ ก ๆ ส วนก็ เป นธาตุ ; แม จิ ตใจนั้ น ก็ เป นธาตุ ที่ วางที่ วามี อยู ในระหวาง หรือวาสํ าหรับให ธาตุ เหล านี้ ตั้ งอยู นั้ นก็ เป นธาตุ ไม มี อะไรที่ ไม ใช ธาตุ . ความรูก็ เป นธาตุ , ถ าเป นของจริง ก็ เป นสั จจธาตุ , ถ าไม จริง ก็เปนอวิชชาธาตุ.
www.buddhadasa.info ที นี้ ก็ จงนั่ งหลั บตา อย างสงบลึ กซึ้ ง แล วพิ จารณาดู ว า “เราเป นธาตุ หรือ ว า เรากํ า ลั ง อยู ในท า มกลางสิ่ ง แวดล อ มของธาตุ น านาชนิ ด อย า งไร”; แม แ ต กั บ จิ ต ที่ กํ า ลั ง คิ ด ว า เราเป น เรา, เราคื อ เรา, นั้ น ก็ เป น สั ก ว า ธาตุ ; และเป น ธาตุ ที่ กํ า ลั ง ประกอบดวยอวิชชา มีอวิชชาอยูเต็มตัว จึงเกิดความคิดปรุงไปวา เปนเราเปน ของเรา. นี่ ตรงนี้ จะยากหน อย คล าย ๆ กั บว า เราจะเขี่ ยหนามที่ ในตาตั วเอง เพราะ อวิ ชชามั นเป น ตั วเราอยู แล วเราจะกํ าจั ดอวิ ชชา ด วยตั วเรา; อย างนี้ มั นเหมื อนกั บ เขี่ยหนามที่ในตาของเราเอง.
พระอรหันต กับสิ่งที่เรียกวา ธาตุ – อายตนะ - ขันธ
๒๒๕
ตองทําใหถูกวิธี คือมองเห็นโดยความเปนธาตุเขาไปตามลําดับ ๆ : เอา อั น นี้ แ หละเป น หลั ก ประกั น ไปศึ ก ษาความเป น ธาตุ ให จ ริ ง ให ยิ่ งขึ้ น ไปตามลํ า ดั บ ; แล ว ก็ จ ะค อ ยรู เองว า อ า ว, ตั ว ที่ คิ ด นึ ก นั่ น ก็ ธ าตุ , สิ่ งที่ ถู ก คิ ด ถู ก นึ ก นั่ น ก็ ธ าตุ , ผล ที่ เกิ ดออกมาก็ คื อธาตุ , ก็ กลายเป นว า ธาตุ ไปเสี ยทั้ งหมดในบรรดาธาตุ ทั้ งหลายที่ มี อยู หลายสิบชื่อ หรือหลายรอยชื่อ ถาจะจําแนกออกมา. “อย าสํ าคั ญ มั่ นหมายโดยความเป นธาตุ ” ที่ เป นตั วเป นตนของมั นเองก็ ตาม หรือเป นของเราที่ โง ๆ หรือของจิ ตที่ ประกอบอยู ด วยอวิชชาก็ ตาม อย าได มี ตั วตนเกิ ดขึ้ น ทั้ ง ที่ เป น ภายนอก ทั้ ง ที่ เป น ภายใน ทั้ ง ที่ เป น อดี ต อนาคต ป จ จุ บั น แล ว ก็ เลยว า ง. วางนั้ น ก็ยั งคงเป น ธาตุ แตป ระเสริฐที่ สุด ที่ วาไม เป น ทุ กข ; พอไมวางก็เป นทุกข; พอวางไมเปนทุกข ก็ใหรูจักธาตุที่ไมเปนทุกข ซึ่งเปนธาตุของพระอรหันต. ทําความ เป นพระอรหั นต ก็ เพราะมี ธาตุ อย างนั้ น ปรากฏอยู ในสั งขารที่ ปราศจากอวิ ชชาแล ว มี แต วิชชาธาตุสองแสงสวาง เปนความวางอยูตลอดไป.
คําบรรยายนี้ มุงหมายใหปฏิบัติตามรอยพระอรหันต
www.buddhadasa.info การบรรยายในวัน นี้ โดยหั ว ข อ ว า “สิ่ งที่ เรี ย กว า ธาตุ กั บ พระอรหั น ต ” เพื่ อให เห็ นว าพระอรหั นต ท านทํ าอะไร ท านเป นอะไร หรื อท านไม ทํ าอะไร หรื อท านไม เป นอะไรกั บสิ่ งที่ เรียกว าธาตุ . รวมความแล ว พระอรหั นต นั้ นไม ได มี ตั วมี ตนของตน ที่ เป นองค ตั วพระอรหั นต มี แต ภาวะอั นหนึ่ งของธาตุ ชนิ ดนี้ ปรากฏอยู กั บรางกาย และจิ ต ใจที่ ไม มี อวิ ชชา ที่ ไม มี กิ เลส ตั ณ หา ก็ เลยสมมติ อี ก เรียกว ากลุ ม นี้ แหละคื อ พระอรหันต.
บุคคลนี้เปนพระอรหันต นี่เปนคําพูดสมมติ เพราะวาโลกนี้เปนโลกของ การสมมติ ภาษาพูดก็ตองพูดอยางสมมติ; พูดอยางไมสมมติ ไมมีใครฟงถูก นอกจาก
๒๒๖
ปรมัตถสภาวธรรม
ไม ฟ งถู กแล วก็ ยั งจะหาว าบ า แล วก็ จะตี เอา, ก็ เลยต องพู ดด วยเรื่ องสมมติ ; ค อย ๆ พู ดไป ค อย ๆ พู ดไป จนกว าเขาจะเห็ นเอง แล วก็ ไม ต องพู ด พู ดไม ได แล วก็ ไม ต องพู ดด วย. ที่จริง “พูดก็ไมได” นั่นแหละคือตามรอยพระอรหันต จะทําตามพระอรหันตกันทั้งที ก็ตองทําอยางนี้ทั้งนั้น. สรุปความแลว ก็คือ เขาใจรอบรูในสิ่งที่เรีย กวาธาตุทั้งหลายทั้งปวง มี ส ติ ต ลอดกาลเกี่ ย วกั บ ธาตุ นั้ น ๆ; ไม มี ค วามยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น ในธาตุ ใ ด ๆ ไม มี อวิ ช ชา สํ าหรั บ ปรุ งแต งธาตุ ที่ จ ะนํ ามาซึ่ งความทุ ก ข . ส วนความทุ ก ข ที่ เกิ ด อยู ต าม ธรรมชาติ เช น เจ็ บ ตาย เป น ต น นี้ ก็ เป น เรื่ อ งนิ ด เดี ย ว เป น เรื่ อ งของความเจ็ บ ทางกาย; ไม ใช ความทุ กข เพราะไม มี ความยึ ดมั่ นถื อ มั่ น เลยเป น บุ คคลที่ เรียกได ว า ไมมีทุกข. พระอรหันตอยูในทามหลางธาตุทั้งหลายนี้ ไดโดยไมตองเปนทุกข; เพราะท านก็ ไม ใช เป น ใคร ไม ได เป น ตั วเป น ตนอะไร เป น ความว างด ว ยกั น ทั้ งนั้ น . แต แ ล ว เราก็ ต อ งพู ด ว า ท า นเป น พระอรหั น ต , ท า นเกื อ บเป น พระอรหั น ต แ ล ว หรื อ เป นอนาคามี เป นสกิ ทาคามี เป นโสดาบั น. เรื่องเช นนี้ กํ าลั งต องการกั นนั ก ที่ จะเป นตั ว เป นตน อย างนั้ น อย างนี้ ; ว าที่ จริ งก็ ยั งดี กว า ที่ จะไม ต องการความเป นพระอรหั น ต เสี ย เลย; แต ว า เมื่ อ ต อ งการแล ว ก็ ข อให เดิ น ให ถู ก ทาง โดยการที่ จ ะไม ไปข อ งแวะ ไปยึดมั่นสิ่งที่เรียกวาธาตุนี้โดยความเปนตัวตน.
www.buddhadasa.info ผู ที่ เคยบวชเรี ย นแล ว หรื อ ไม เคยบวชเรี ย น ก็ เ คยท อ งว า ยถาปจฺ จ ยํ ปวตฺ ต มานํ ธาตุ ม ตฺ ต เมเวตํ ; นั่ น แหละเข า ใจให ดี ๆ เถอะ จะเป น พระอรหั น ต ไ ด ดวยขอความเพียงเทานั้นแหละ วานั่นสักวาธาตุเทานั้น เปนไปตามเหตุตามปจจัยอยู เนืองนิจ; คือตัวกู, กับสิ่งตาง ๆ ที่เขามาเกี่ยวของกับตัวกูนั่นแหละ, เปนสักวา
พระอรหันต กับสิ่งที่เรียกวา ธาตุ – อายตนะ - ขันธ
๒๒๗
ธรรมชาติเทานั้น กําลังเปนไปตามเหตุ ตามป จจัยอยูเนื่องนิจ. ขอนี้อยาไดลืม ไม ยาก เกินไป; แตก็คงจะไมงายเกินไป แลวก็ไมมีอะไรที่จะอยูนอกเหนือความสามารถของ บุ ค คลผู ที่ ตั้ งใจจริง ๆ. ธรรมะหมวดหนึ่ งประเภทหนึ่ ง มี อ ยู สํ าหรับ ทํ าให ค นเรามี สมรรถภาพ มี ความตั้ งใจจริง ๆ; แล วสิ่ งเหล านี้ ความหลุ ด พ น หรือ นิ พ พานนี่ ก็ ไม เหลือวิสัย. นี่ พู ดถึ งสิ่ งที่ เรียกวาธาตุ กั บพระอรหั นต มาก็ พอสมควรแก เวลาแล ว ขอ โอกาสให พ ระคุ ณ เจ าทั้ งหลาย สวดคณะสาธยาย เพื่ อ จะส งเสริม กํ าลั งศรัท ธาใน พระพุทธ พระธรรม พระสงฆใหมีการปฏิบัติใหยิ่งขึ้นสืบตอไป.
www.buddhadasa.info
www.buddhadasa.info
ปรมัตถสภาวธรรม
- ๘ ๒๔ กุมภาพันธ ๒๕๑๖
ธาตุที่อยูในรูปอายตนะ
ทานสาธุชนผูสนใจในธรรมทั้งหลาย,
การบรรยายประจํ า วั น เสาร ในชุ ด ปรมั ต สภาวธรรม สํ า หรั บ ภาค มาฆบูช าไดล ว งมาถึง ครั ้ง ที ่ ๘ แลว ในวัน นี ้จ ะไดก ลา วโดยหัว ขอ วา ธาตุที่ มาอยูในรูปของอายตนะ. ธาตุ ที่ มาอยู ในรู ปของอายนะ หมายความว า เมื่ อก อนนี้ เราเรี ยก หรื อพู ดกั น ว าธาตุ นั้ น ธาตุ นี้ มากมายหลายสิ บธาตุ ; บั ดนี้ สิ่ งที่ เรียกว าธาตุ นั้ นเปลี่ ยนชื่ อมาเป น อายตนะ เปลี่ยนรูปลักษณะมาเปนอายตนะ.
www.buddhadasa.info
๒๒๙
๒๓๐
ปรมัตถสภาวธรรม
เหมือนอยางวา ตา ก็เรียกวา จักขุธาตุ เปนธาตุสําหรับทําหนาที่เห็น เป น ธาตุ หนึ่ ง; ต อมาตานั้ นมาเปลี่ ยนชื่ อเป นอายตนะ, อายตนะคื อตา. นี่ หมายความว า เมื่ อ ตาทํ า หน า ที่ เห็ น คื อ กระทบกั น เข า กั บ รูป จึ งได เรีย กตาว า อายตนะไป; ภาษา ธรรมดาเราเรียกวา “ตา”, ภาษาธรรมะที่ ลึ กลงไปก็ เรียกวาธาตุ . ตานี้ เป นสั กวาธาตุ รูปขางนอกก็ เป นธาตุ เรียกวารูปธาตุ พอได อาศั ยกันเขาแลว ตาทํ าหน าที่ เห็ นรูป ตาที่ เคยเรียกวาจักขุธาตุ ก็กลายเปนจักขุอายตนะไป; รูปธาตุ ก็กลายเปนรูปายตะขึ้นมา. นี่คือตัวอยางหนึ่งที่แสดงวา สิ่งที่เรียกวาธาตุนั้น เดี๋ยวนี้ไดเปลี่ยนชื่อ หรือเปลี่ยน รูปลักษณะ มาเป นอายตนะ. ในวันนี้ เราจะไดกลาวถึงสิ่งที่เรียกวา อายตนะ แลวก็ อย าลื มว า ที่ แท ก็ ได แก สิ่ งที่ เรี ยกว า “ธาตุ ” มาแล วแต หนแล ว ในการบรรยายตั้ งหลาย ครั้งนั่นเอง. ในที่นี้อยากจะขอทบทวนความเขาใจ กระทั่งซักซอมความเขาใจของทาน ทั้งหลายอยูเสมอ คือใหระลึกนึกถึงขอความที่แสดงมาแลว ที่ทานไดฟงแลวไดเขาใจแลว อยูบอย ๆ มิฉะนั้นจะลําบากในการที่จะเขาใจตอไป.
www.buddhadasa.info อยากจะทบทวนถึ งคํ าวา “ปรมั ตถสภาวธรรม” วา ความเป นปรมั ตถสภาวธรรมนั้นคือความเปนอยางไร? และเรารูกันเทาไร?
ขอนี้ ต องยกตั วอย าง อย างที่ กล าวมาแล วนั่ นอี กก็ ได วา เราพู ดวา เรามี ตา มี ลู ก ตา; เราไม เคยรู ว าตานั้ น เป น เพี ย งสั ก ว าธาตุ ช นิ ด หนึ่ ง มี คุ ณ สมบั ติ หรือ สมรรถภาพของมั น ก็ เห็ น ได . นั่ น เป น เพี ยงธาตุ ช นิ ด หนึ่ ง แต เราไม รู ; เรารู แ ต ว าตา ฉั นมี ตา ตาของฉั น ถนอมมั นดุ จกั บแก วตาอย างนี้ เรียกว าถนอมตามาก กระทั่ งเป น ความยึดมั่นถือมั่นในดวงตา. ถาตาจะเปนอะไรเขาสักหนอย ก็กลัววา ตาจะบอด เปน
ธาตุที่อยูในรูปอายตนะ
๒๓๑
ทุ ก ข เดื อ นดร อ น ระส่ํ า ระสายไปที เดี ย ว; นี่ เรี ย กว า ไม เห็ น ปรมั ต ถสภาวธรรมแม แ ต สั ก นิ ด หนึ่ ง . ถ า เห็ น ก็ จ ะรู สึ ก ว า ตาเป น ธาตุ ซึ่ ง ต อ งเป น ไปตามเหตุ ต ามป จ จั ย ; อยากลัว ถาเหตุปจจัยยังดีอยูก็จะรักษาตาที่เจ็บใหหายได, ถาเหตุปจจัยหมดแลว ก็ รั ก ษาไม ได ; จะต อ งไปกลั วมั น ทํ าไม. อย างนี้ เรี ยกว าเห็ น โดยความเป น ธาตุ ไปแล ว ไมเห็นเปน “ลูกตาของกู” แลว.
พุทธบริษัทตองรูถึงขั้นปรมัตถสภาวธรรม ที่ รูสึ ก วานั่ น นี่ เป น ตั ว กู -เป น ของกู นั่ น แหละคื อ ไม มี ค วามเห็ น ในชั้ น ที่ เป นปรมั ตถสภาวธรรมเสี ยเลย. สภาวธรรม แปลวา ธรรมชาติที่ เป นอยู เอง หรือ ธรรมดาก็ ได , ความเป น ธรรมดา นั่ น คื อ ธรรมชาติ ที่ เป น อยู เอง. ปรมั ต ถะ แปลว า มีอ ัต ถะอัน ลึก ซึ ้ง , มีค วามหมายที ่ล ึก ซึ ้ง . อยา งเราเห็น ก็ม ัก จะเห็น เปน คน เปน ตั ว ฉั น เป น ตั ว กู หรื อ เป น ของกู ; เห็ น กั น เท า นี้ อย า งนี้ ไม มี ป รมั ต ถสภาวธรรมที่ เห็นเลย.
www.buddhadasa.info เมื่ อเห็ นลึ กลงไป ๆ ว า ที่ ว าตั วกู นี่ คื อรู ป เวทนา สั ญญา สั งขาร วิ ญญาณ ประชุมกันอยู หรือ ธาตุทั้ งหลายประชุ มกันอยู โดยชื่อเรียกอยางนั้นอยางนี้ ลวนแต เป น ธาตุ ทั้ งนั้ น ; นี่ ก็ เรียกว าเริ่ ม เห็ น แล ว , เห็ น ปรมั ต ถสภาวธรรมบ างแล ว. แล วก็ มี หน า ที่ ที่ จ ะต อ งเห็ น ต อ ไปอี ก ให ล ะเอี ย ดลออที่ สุ ด และลึ ก ซึ้ ง ที่ สุ ด ; นี่ เป น เหตุ ที่ ทํ าให อ าตมาต อ งพู ด ถึ งเรื่ องนี้ อย างซ้ํ า ๆ ซาก ๆ จนท านทั้ งหลายรํ าคาญ. ครั้ งที่ ๑ ก็ พู ด เรื่ อ งธาตุ , ที่ ๒ ก็ พู ด เรื่ อ งธาตุ , ที่ ๓ ก็ พู ด เรื่ อ งธาตุ , มาถึ ง ครั้ ง ที่ ๘ นี้ ก็ ยังพูดเรื่องธาตุ. ขอให สั งเกตดู ดี ๆ ว า มิ ได พู ดซ้ํ ากั นไป อย างที่ เรี ยกว าไม มี อะไรแปลกออก ไปเสียเลย; จะมีแปลกออกไป แปลกออกไปโดยรายละเอียด. จากคําวาธาตุ
๒๓๒
ปรมัตถสภาวธรรม
ตั วเดี ยวเท านั้ น แยกแตกออกไปโดยรายละเอี ยด โดยประเภทก็ มี โดยลั กษณะก็ มี โดยความลึ กลั บซั บซ อนอะไรต าง ๆ ก็ มี เราจึ งเข าใจคํ าว าปรมั ตถสภาวธรรมได มากขึ้ น; เพราะมองลึ กขึ้ นไปทุ กที จนไม ใช สั ตว บุ คคล ตั วตน เป นสั กว าธาตุ , เป นสั กว าอายตนะ เป นสั กวาขั นธ , เป นสั กว าเหตุ ป จจั ยซึ่ งปรุงแต งกั นขึ้ นมาเป นความทุ กข . ถ าผู ใดเห็ นอยู อย างนี้ ตลอดเวลา ก็ เรียกว าเห็ นความจริง ของจริ ง ที่ เห็ นยาก หรื อลึ กซึ้ งอยู ตลอดเวลา; นี่ ก็ ทํ าให ไม เที่ ยวยึ ดมั่ นถื อมั่ นนั่ นนี่ จนเกิ ดความรั ก ความโกรธ ความเกลี ยด ความกลั ว ประโยชนเปนอยางนี้, ลักษณะของปรมัตถก็คือ ใหเห็นจริงยิ่งขึ้นไปทุกที. อย างเราเอาโอ งมาลู กหนึ่ ง ก็ ดู ว ามั นเป นโอ ง อย างนี้ ก็ เรี ยกว า เห็ นเท าที่ ตาเห็ น . แต ถ าเอามาดู จ นถึ งรู ว า โอ งนี่ ป ระกอบขึ้ น ด วยดิ น ซึ่ งเมื่ อ ก อ นเป น ดิ น ที่ ใน ทุ งนา เขาเอามาทํ าอย างนั้ นอย างนี้ ตบแต งจนป นเป นรู ปโอ งได แล วไปเผาไฟ ก็ ทํ า มาในลั ก ษณะที่ เห็ น อยู ที่ เราเรี ย กว าโอ ง. ถ า เห็ น โอ ง ก็ เห็ น ของผิ ว เผิ น ธรรมดา; ถ า เห็นธาตุดินเห็นเหตุปจจัยที่ทําการเปลี่ยนแปลงดินนั้น จนมาเปนรูปโองอยูที่ตรงนี้; นี ่ค ือ เห็น ในแงข องปรมัต ถสภาวธรรม, เห็น ในแงป มัต ถนี ่ฉ ลาดกวา , ทํ า อะไร ได เกี่ ยวกั บโอ งลู กนั้ นดี กว าก็ ได . แม แต จะแก ไข จะซ อมแซม จะทํ าอะไรก็ ทํ าได ดี กว า; และจะไมดีใจ ไมเสียแมวาโองจะตองแตกออกไปอยางนี้.
www.buddhadasa.info การเห็น สภาวธรรมในชั้น ปรมัต ถนั ้น ก็คือ เห็น ความจริง ที ่จ ะทํ า ให เราไม ยึดมั่ นถือมั่ น; ถาไมเห็นปรมัตถสภาวธรรมแลว ก็พรอมจะยึดมั่นไปเสียทุกสิ่ง ทุกอยาง นี่วากันโดยประโยชน เปนอยางนี้. นี่ เราลองคิ ด ดู เองว า เราเดี๋ ย วนี้ น ะ เห็ น ปรมั ต ถสภาธรรมหรื อ ไม ? หรือวาเห็นสักเทาไร? โดยเฉพาะอยางยิ่งที่เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกวาตัวกู - ของกู; เรารู ปรมัตถสภาวธรรมของตัวกูหรือของกูนี้กันสักเทาไร? ถาเรามีความรูสึกคิดนึกวาเปน
ธาตุที่อยูในรูปอายตนะ
๒๓๓
ตั ว เรา - เป น ของเรา, พอหยิ บ จั บ ขึ้ น มา ก็ เป น ตั ว กู เป น ของกู ทุ ก อย า ง ก็ เรี ย กว า ยั ง ไม เห็ น เพราะเห็ น ไม ไ ด ด ว ยตา; ต อ งเห็ น ด ว ยสติ ป ญ ญา, หรื อ ว า ถ า ตา ก็ ต อ ง เปนตาของปญญาเรียกวาปญญาจักษุ เปนธาตุพิเศษยิ่งไปกวาจักขุธาตุธรรมดา. ถ ารูอย างเห็ นปรมั ตถ ก็ หมายความวา รูด วยเห็ นแล ว, ประจั กษ ด วยใจแล ว, จึ งจะเรี ยกวารู . เดี๋ ยวนี้ เรารูบ างก็ เพี ยงแต วาภายนอก ที่ ได ยิ นได ฟ งการบรรยายชี้แจง ก็ เรี ยกว ารู บ าง แล วเดี๋ ยวก็ ลื ม บ าง; เรี ยกว ารู อ ย างแบบที่ ไม เห็ น ปรมั ต ถสภาวธรรมรู หรื อ จํ าได แล วก็ ลื ม . รู อ ย างนี้ ยั งไม สํ าเร็ จ ประโยชน , จํ าได พู ด ได เข าใจได อย างนี้ ยั งไม สํ าเร็จประโยชน เต็ มที่ คื อยั งไม มี การเห็ นแจ งในปรมั ตถสภาวธรรม. ต องพยายาม ที่จะใหเราเห็นแจงจนวางเฉยไดในสิ่งที่เขามากระทบ ซึ่งจะทําใหเกิดอภิชฌา หรือ วาเกิดโทมนัส ที่จะพอใจ หรือจะไมพอใจ. ความรูสึ ก ที่ จ ะเกิ ด มี ส องอย างเท านั้ น คื อพอใจกั บ ไม พ อใจ; และทั้ ง สองอยางนั้นเป นเรื่องรบกวน ทํ าให ไม สงบสุ ข เปนเรื่องของคนโง ไม ใชพุ ทธบริษั ท ที่ ฉลาด. ถ าเป นพุ ท ธบริษั ทที่ ฉลาด เขาจะไม มั วเสี ยเวลาเที่ ยวพอใจ เที่ ยวไม พอใจ นั่ น นี่ อ ยู เหวี่ ย งไปเหวี่ ย งมาอยู อ ย า งนั้ น ; ต อ งปกติ ไ ด ต อ งเฉยได . นี่ เรี ย กว า ผู รู อยางที่เปนพุทธบริษัท วาเขารูสิ่งทั้งปวงลึกลงไปถึงขั้นที่เรียกวา รูปรมัตถสภาวธรรม.
www.buddhadasa.info พิจารณาดูความลึกของความรูอยางภาษาคน, ภาษาธรรม, และภาษาปรมัตถ.
ความรู ของเราก็ ลองเปรียบเที ยบกั นดู ก็ แล วกั น : รูอย างที่ เรี ยกในภาษาคน, รู อ ยางที่ เรี ยกในภาษาธรรม นี่ ก็ ต างกั นแล ว, ใช คํ าพู ดก็ ต างกั นแล ว. ที่ พู ดว า “ทาง” พู ดว า “หนทาง” ในภาษาคน ก็ หมายถึ ง ถนนหนทาง, ภาษาธรรม ก็ หมายถึ ง กระแส ของการปฏิ บั ติ ในทางจิ ต ใจ นี่ ก็ เรีย กว า รูในภาษาธรรม. ถ า ภาษาปรมั ต ถธรรมนี้ รูละเอียดมากไปกวานั้นอีก คือลึกกวากัน.
๒๓๔
ปรมัตถสภาวธรรม
เปนอันวาขอใหทุกคนพยายามที่จะรูทั้งภาษาคน ทั้งภาษาธรรม และ ทั้งภาษาปรมัตถสภาวธรรม ซึ่งเปนภาษาธรรมที่ลึกซึ้งถึงที่สุดอีกชั้นหนึ่ง คือเปน ๓ ชั้ นอยู อย างนี้ . เช นพู ดวาคน นาย ก. นาย ข. นาย ค. นี่ เรียกว าภาษาคน. แต ถ า พู ด ว าขั นธ ว าธาตุ ว าอายตนะ นี่ เรียกว าภาษาธรรม. ถ าเรารูละเอี ยดในส วนกลุ ม ของขั น ธ ของธาตุ ของอายตนะ ว าเป น อย างไร สั ม พั น ธ กั น อย างไร, ปรุ งแต งกั น อย างไร. เป นไปอย างไรโดยละเอี ยด; อย างนี้ จึ งจะเรียกว าปรมั ตถสภาวธรรม, คื อว า เปนภาษาธรรมในชั้นที่มันละเอียด ลึกเขาไปตามลําดับ. ข อนี้ จะต องยอมรับว า เราเกิ ดมาในโลกนี้ อยู ในโลกนี้ มาหลายสิ บป แล ว ถ ารูเท าเดิ มมั นจะเป นอย างไร? จะเรียกตั วเองว าอย างไร ถ ายั งรูอะไรเท าเดิ มอย างนี้ ? มั นต องรูมากขึ้ น ต องเลื่ อนชั้ นขึ้ นไปตามลํ าดั บ จนกวาจะพอ หรือถู กต อง. ทั้ งพอ ทั้งถูกตอง วัดไดโดยที่วา ไมมีความทุกขรอนในใจอีกตอไป; นั่นแหละความรู นั้นถูกตองและเพี ยงพอ. ถาใหรูทวมตัว แตถายังไม ดับความทุ กขรอนในใจได ก็เท ากับ ไมรูนั่นแหละ; รูจนทวมหัวเหมือนบาหอบฟางอยางนั้น ก็คือไมรูอยูนั่นแหละ.
www.buddhadasa.info คนสมัยนี้ เขารูอยางนั้นกันโดยมาก คือมีรูอยางชนิดบาหอบฟาง รูมาก พู ดได มาก สอนคนอื่ นได มาก แต ไม มี อะไรเลย จึงคอยติ งไวเสมอวา ระวังให ดี ; เป น ผู รูธรรมะ แล วพู ดธรรมะด วย แต ไม มี ธรรมะเลย ในตั วคนนั้ นไม มี ธรรมเลย ก็ คล ายกั บ เล น ตลก หรื อพู ด เล นตลกไป. คน ๆ นี้ รู ธรรมะพู ดธรรมะเก ง แต แล วในคน ๆ นี้ ไม มี ธรรมะเลย อย างนี้ ค ล าย ๆ เล น ตลก : เมื่ อ ฟ งมากเข า คิ ด มากเข า มั น ก็ มี ค วามรู มี ความเข าใจมาก เลยพู ดได ตามนั้ น ก็ พู ดมาก; แต ในตั วคน ๆ นั้ นไม มี ธรรมะเลย, ไม มี ธรรมะจริงพอที่ จะดั บทุ กข ได เขาไม เคยดั บทุ กข ได . ยิ่ งรูมากก็ ยิ่ งขึ้ นโมโหมาก; เพราะ คนรู นั่ น รู เพื่ อ จะได ดิ ด ได ดี ใ ห มี เกี ย รติ ได ล าภ ได สั ก การะ. พอคนนั บ ถื อ มากเข า ก็ ถื อ ตั ว มากเข า , แล ว ก็ ขี้ โมโหเมื่ อ มี อ ะไรมากระทบเพี ย งนิ ด หน อ ย. นี่ ย กตั ว อย า ง ที่วา “รูได พูดเปน พูดได แตไมมีธรรมะเลย”.
ธาตุที่อยูในรูปอายตนะ
๒๓๕
การรูธรรมะจริงตองมีผลเปนความหลุดพน ในเรื่องของปรมั ตถสภาวธรรมนี้ ถ ายั งรู มากและพู ดได เท านั้ น ก็ ยั งเรี ยกว า ไม รู ป รมั ต ถสภาวธรรม ถึ ง รู ก็ รู อ ย า งบ า หอบฟาง. ถ า รู จ ริ ง ต อ งมี ผ ล เป น ความ หลุ ด พ น จากความยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น ; รู จ ริ งอาจจะมี ป ริม าณน อ ย ก็ ได ไม กี่ คํ าพู ด ก็ ได แตหลุดพนจากความยึดมั่นถือมั่น. ถาจะถามวา จําเป นอยางไรที่จะต องรูถึงปรมัตถสภาวธรรม? ก็ตอบวา จํา เปน ที ่จ ะหลุด พน จากความทุก ข. ถา ไมรูถึงปรมัต ถสภาวธรรมโดยแทจ ริง แลว ก็ ไม หลุ ดพ นจากความทุ กข ; โดยรายละเอี ยด หรื อความรู นั้ นอาจจะมี มาก ก็ ได มี น อย หรือพูดคําเดียว ก็ได. เรา “กํ าลั งไม ห ลุ ด พ น ”; พอให ดู ดี ๆ ว า เรานี่ กํ าลั งไม ห ลุ ด พ น คื อ ว า อยู ในวนของความวนเวี ย น วนไปเวี ย นมา เวี ย นไปวนมาอยู ในวงเวี ย นนี้ , วงเวี ย น ของความทุกข เพราะมันโง มันมีอวิชชา มันไมรูอะไร.
www.buddhadasa.info เรา “ไมหลุดพ น” คือไปวนเวียนยึดมั่ นถือมั่นในสิ่งต าง ๆ ที่เขามาทางตา หู จมู ก ลิ้ นกาย ใจ ที่ เรียกว าอายตนะนั้ น, ไม ออกไปจากวงเวี ยนนี้ ได ก็ เรี ยกว ายั งไม หลุ ดพ น. รูปรมั ตสภาวธรรมก็ มุ งหมายว าจะให หลุ ดพ นออกไป; ฉะนั้ นจึ งต องขอรอง ให ดู ให ม อง ให เห็ น ป ญ หากั น เสี ยก อ น. ตั วเรื่ อ งทุ ก ข รอ นนั้ น มองให เห็ น กั น เสี ยก อ น วาเรายังไมหลุดพนไปจากความวนเวียนนั้นไดแก :-
๑. ไม หลุ ดพ นจากความมื ด ที่ ว า “ไม หลุ ดพ นจากความมื ด” เพราะยั งโง ยั งไม พ น จากอํ า นาจของความโง ยั งไม ห ลุ ด พ น ไปจากบ ว งของความโง ; ความไม รู อยางนี้เรียกวามืด ถาไมรูก็คือมืด. เรายังถูกขังอยูในความมืด แลวเรายังจะเดิน
๒๓๖
ปรมัตถสภาวธรรม
ถู กหรือ? ลองคิ ดดู ถ าความมื ดยั งหุ มห ออยู รอบด าน เราจะเดิ นไปถู กหรือ? หรือว า “มื ด” ในภาษาคน มั นมื ดไปหมดเหมื อนเวลากลางคื น, มื ดที่ สุ ดเหมื อนกั บตาบอด เราก็ เดิ นไปถูก. ที่ มื ดในภาษาธรรม คื อมื ดด วยอวิชชา เต็ มไปหมดอย างนี้ เดิ นถู ก ที่ ไหน; ต องออกจากมื ดนี้ กั นเสี ยก อน ออกจากมื ดคื ออวิชชา เรียกวาหลุ ดพ นมาจาก ขอบวงของความมืดก็ได. ๒. พูดวาไมหลุดพนออกจากขอบวง หรืออํานาจของการปรุงแตง คือ จิ ตของคนเราถู กปรุงแต งเรื่ อย หลี กไม พ น เพราะว ามี อวิ ชชา หรือเพราะว ามี ความมื ด นั่ นแหละ จิตก็ ถู กปรุงแต งเรื่อยไป. อะไรเข ามาทางตา ทางหู ทางจมู ก คื อทางอายตนะ ทั้ งหกนี่ จะมี อาการปรุงแต งเรื่องไป ทํ าอย างอื่ นไม เป น ทํ าไม ได ทํ าไม ถู ก; มี แต วน อยู ในการปรุงแต งตามแนวแห งปฏิ จจสมุ ปบาท เรียกวาการปรุงแต ง. เราติ ดอยู ในตาข าย หรื อ ในวงเวี ย นของการปรุ ง แต ง นี้ , ออกไปไม ได . พู ด แต ป ากนี้ ไม สํ า เร็ จ ประโยชน ได ยิ นได ฟ งคํ าพู ดล วน ๆ นี้ ยั งไม สํ าเร็จประโยชน . ต องเอาไปคิ ดไปนึ กให เห็ นว าเรา ตกอยูในอํานาจ อิทธิพลของการปรุงแตงอยางไร; คือการที่เราตองคิด ก็ตอง รูสึ กไปตามอํ านาจของสิ่ งที่ เข ามาปรุงแต ง จนได โลภ ได โกรธ ได หลง. นี่ เรียกว าเรา ถู ก ปรุ ง แต ง ถู ก กั ก ไว ด ว ยการปรุ ง แต ง , ให ป รุ ง แต ง ไปตามนั้ น ; ต อ งทํ า ให มั น พ น ออกไปใหได.
www.buddhadasa.info ๓. จะดูอีกทีหนึ่ง ใหเขาใจไดรอบดาน ก็คือ คนไมหลุดพนออกไปจาก ความผู กพั น; ถ าพู ดภาษาคนก็ ว า ถู กล ามไว ด วยโซ ด วยตรวน ด วยเครื่ องผู กต าง ๆ เรียกว าเครื่องผู กพั น , พู ดด วยภาษาธรรมก็ แปลว า กิ เลส ตั ณ หา อุ ป าทานของเรา ผูกจิตอยูทั้ งนั้ น มีกิเลส ตั ณหา อุปาทานอยู ก็ผูกพั นจิตไมให พ นไปจากความทุกขได . ทํ าไมจึ งถู กผู กพั น? ก็ เพราะโงอย างที่ ว ามาแล ว จิ ตตกอยู ใต กระแสของการปรุงแต ง, แลวถูกผูกพัน ก็ตองมีความทุกข.
ธาตุที่อยูในรูปอายตนะ
๒๓๗
การจะหลุดออกไปได จากการผู กพั น ก็ตองเปนเรื่องที่ รูแจงในปรมั ตถสภาวธรรม หายโง เกิ ดสว างขึ้ นมา ไม ยอมให ถู กปรุ งแต ง จึ งจะไม ถู กผู กพั น. ฉะนั้ น สรุ ปความเสี ยที ว า ให หลุ ดพ นไปจากความทุ กข ก็ แล วกั น; รูธรรมในชั้ นไหน ระดั บไหน ก็ เพื่ อจะหลุ ดพ นออกไปจากความทุ กข . ถ าถึ งขั้ นลึ กซึ้ งสู งสุ ด ชั้ นปรมั ตถสภาวธรรมละก็ ยอมพนไปไดจากความทุกขโดยประการทั้งปวง. นี่ คื อจะต องรู ว า เรามี ความรู ในส วนปรมั ตถสภาวธรรมเพี ยงไร? อย างไร? เทา ไร? และเพื ่อ ประโยชนอ ะไร? นี ้เ ปน เรื ่อ งทบทวน, และก็อ ยากจะทบทวน ยอนหลังไปถึงเมื่อ ๒ - ๓ ปมาแลววา เราไดเริ่มคําบรรยายวันเสาร นี้โดยเหตุที่วา พุทธบริษัท ยังไมมีความเปนพุทธบริษัทที่ถูกตองเพียงพอ. เราเริ่มการบรรยาย จั ดการบรรยายนี้ ขึ้ นมา เพื่ อให เกิ ดความก าวหน าแก ความเป นพุ ทธบริษั ท ให สมกั บการ เป นพุ ทธบริษั ท เป นต น. นี้ ก็ ต องทบทวนเอามา เพื่ อว าจะได มี กํ าลั ง ความอดกลั้ น อดทน สนใจที่ จะศึ กษาเรื่ องที่ จะต องบรรยายต อไป ให ละเอี ยดลึ กซึ้ งยิ่ งขึ้ นทุ กที สมกั บที่ เป น พุทธบริษัท.
www.buddhadasa.info ตองจํามั่นวา “ไมมีอะไรที่ไมใชธาตุ”
ที นี้ เท าที่ แ ล วมา ในการบรรยาย ๖-๗ ครั้ งนั้ น ล วนแต แ สดงให เห็ น ว า ธาตุ เป น อย า งนั้ น ธาตุ เป น อย า งนี้ แล ว ก็ ไ ม มี อ ะไรที่ ไ ม ใ ช ธ าตุ ; นี่ แ หละเป น สิ่ ง ที่ ต องทบทวนยิ่ งกว าสิ่ งใด, และในที่ สุ ดก็ ทบทวนไปยั งประโยคนั้ นอี ก ประโยคเดี ยวนั้ น อีกวา ไมมีอะไรที่ไมใชธาตุ.
อาตมาคิ ดว า เมื่ อบรรยายถึ งเรื่ องนี้ คงจะเข าใจกั นไม น อยอยู เหมื อนกั น; แต บั ดนี้ อาจจะเลื อนไปเสี ยแล วก็ ได ความเห็ นแจ งรูสึ กนั้ น, ยั งไม ถึ งที่ สุ ด, ยั งไม ตายตั ว, ยอมเลือนได. ฉะนั้น ขอใหฟนขึ้นมาใหมวา ไมมีอะไรที่จะไมใชธาตุ.
๒๓๘
ปรมัตถสภาวธรรม
ในตั วเรา ทุ กอณู ทุ กปรมาณู ที่ เป นเนื้ อหนั งรางกาย ก็ ไม มี อะไรที่ ไม ใช ธาตุ . ที่ เป นส วนจิ ต คิ ดนึ ก รูสึ ก เห็ นแจ งอะไรได ก็ ไม มี อะไรที่ ไม ใช ธาตุ : เป นเวทนาธาตุ สั ญ ญาธาตุ สั งขารธาตุ วิ ญ ญาณธาตุ ; นี้ ถ าเกิ ดเป น กิ เลสขึ้ น มา มั น ก็ เป น อวิ ชชา ธาตุเกิดเปนความทุกขขึ้นมา ก็เปนเวทนาธาตุ ไมมีอะไรที่ไมใชธาตุ. ทุ ก ๆ อณู ทุ ก ๆ ปรมาณู ในทางวั ตถุ ก็ ตาม หรื อในทางนามธรรมก็ ตาม ให ไปสํารวจจิตพินิจพิจารณากันในขอนี้ใหเห็นวา ไมมีอะไรก็ไมใชธาตุอยางนี้อยูเสมอไป; ควรจะรูสึ กไดเพี ยงสั กวาเห็ นแวบหนึ่ งแลวก็ หายไป. และเพราะวานี้ คื อปรมั ตถสภาวธรรม อยางยิ่ง; ถาผูใดมานั่งพิจารณาเห็นแจมแจงอยูโดยความเปนธาตุถึงที่สุดอยางนี้ มีความ สลดสังเวชในความโงของตนที่เคยหลงยึดมั่นถือมั่นแลว มีความจางคลายออกมา จากการยึดมั่นถือมั่น; นี่เรียกวาเขาไดเห็นปรมัตถสภาวธรรม. นี้เปนการทบทวน. จําไวอยาไดเลอะเลือนไปวา ไมมีอะไรที่จะไมใชธาตุ แลวนั่นแหละเปนปรมัตถสภาวธรรมอยางยิ่ง.
www.buddhadasa.info เอาละ ที นี้ ก็ มาถึ งหั วข อเรื่อง ที่ เราจะพู ดกั นในวันนี้ ต อไป. หั วข อในวั นนี้ ว า สิ่งที่เรียกวา ธาตุ ที่มาอยูในรูป ในลักษณะ หรือในชื่อก็ตาม ของอายตนะ, สิ่งนั้นเดิมเรียกวาธาตุ เดี๋ยวนี้มาเรียกเสียใหมวาอายตนะ; สิ่งนั้นเดิมทําหนาที่อยาง เปนธาตุชนิดหนึ่ง เดี๋ยวนี้มาทําหนาที่อยางอายตนะ. เช น ตา เป นธาตุ เฉย ๆ สํ าหรั บ เห็ น ก็ เรี ยกว าจั ก ขุ ธาตุ , มาทํ าหน าที่ รั บ อารมณ โดยตรง ก็ เรียกวาอายตนะ. ฉะนั้ นพอจะมองเห็ นได ทั นที วา คํ าวา “อายตนะ” นี่ มั นเป นชื่ อใหม อี กชื่ อหนึ่ งของสิ่ งที่ เรียกวา ธาตุ ก็ แล วกั น; เคยเรียกวาธาตุ มาเรียก เสียใหมวาอายตนะ. อายตนะ ก็คือ ชื่อ ใหม ของสิ่งที่ เรีย กวาธาตุ ; ฉะนั้น เราก็ ศึกษาคําวาอายตนะกันใหเปนที่เขาใจ ก็จะเขาใจไดเองวา ทําไมธาตุจึงมาไดชื่อใหม วาอายตนะ.
ธาตุที่อยูในรูปอายตนะ
๒๓๙
ความหมายของ “อายตนะ” ข อ ๑. เราจะได พิ จารณากั นถึ งคํ าว า “อายตนะ” ต อไป อั นแรกเอาตาม ภาษาคน. คํ า ว าอายตนะในภาษาคนนี้ ไม ได ระบุ ไปยั ง ตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจ, รูป เสี ยง กลิ่น รส สัมผัส . คําวาอายตนะ หมายถึงที่ ม า, ทางมา หรือ บ อ เกิด , บ อที่ ให เกิ ดอะไรขึ้ นมา, ทางที่ จะให อะไรมาสู แล วมี อั นนั้ นขึ้ นมา, หรือที่ ๆ มี อะไรมาสู แลวมีอะไรอันนั้นขึ้นมา นั่นแหละเรียกวาอายตนะ. คํ าพู ดชาวบ านตามธรรมดาพู ดอยู ตามบ านเรื อน คํ าว า “อายตนะ” หมาย ถึ งบ อ เกิ ด หรื อ ที่ ม า หรื อ ทางมา เช น คํ าว า โรคานํ อายตนํ นี่ แ ปลว า บ อ เกิ ด แห ง โรคภั ยไข เจ็ บ หรือทางมาแห งโรค เชื้ อโรค ก็ เรี ยกอายตนะได , ความเป นอยู ที่ ไม ถู กวิ ธี ก็ เป นอายตนะของโรคได . ความบกพร องใด ๆ ก็ ตามที่ ทํ าให โรคเกิ ดขึ้ นแล ว ก็ เรี ยกว า นั่ น คื อ อายตนะของโรค เป น ที่ ม าถึ ง ของโรค. ถ า เป น เรื่ อ งทางนามธรรม ก็ แ ปลว า เปนบอเกิด, เปนที่เกิด สําหรับเกิดเรื่อง. นั่นคือ อายตนะ ซึ่งใชไดทั้งทางวัตถุธรรม และทั้งนามธรรม.
www.buddhadasa.info ข อ ๒. พิ จารณาดู สั กนิ ดหนึ่ ง จะเห็ นลึ กลงไปอี กสั กหน อยหนึ่ งว า อายตนะ หมายถึง ที ่ หรือ สิ ่ง หรือ อะไรก็ต าม ที ่จ ะทํ า ความรูส ึก ได, ทํ า ใหเกิด ความรูส ึก ขึ้ นมาได , เป นบ อเกิ ดของความรูสึ กทางตา ทางหู เป นต น; จึ งเอามาใช เป นภาษาธรรม. คํ าว าอายตนะ ถู กเอามาใช เป นภาษาธรรม จํ ากั ดความชั ดลงไปว า ตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจ นี้ กลุ มหนึ่ ง, แล วรูป เสี ยง กลิ่ น รส โผฏฐั พพะ ธั มมารมณ นี้ อี กกลุ มหนึ่ ง. อย างแรก เปนอายตนะภายใน, อยางหลังเปนอายตนะภายนอก; นี่เปนทางมา เปนที่มา, เปนบอเกิด, ของ “เรื่อง”.
๒๔๐
ปรมัตถสภาวธรรม
“เรื่อง” นี้คื ออะไร? คือการปรุงแต งทางจิ ต ที่จะเกิดกิเลสและความทุ กข นั่ น แหละคื อ ตั ว “เรื่ อ ง”, นั่ น แหละคื อ ป ญ หา; หรื อ จะพู ด ว า “ความสุ ข ” ก็ ได พู ด อยางหลอกเด็กก็วาความสุข. พูดอยางไมหลอกใคร ก็พูดวาความทุกขนั้นคือตัวเรื่อง, นั้ น คื อ ป ญ หา. ทางมา ที่ ม า หรื อ บ อ เกิ ด ของมั น นั่ น คื อ อายตนะ ๖ ที่ ก ล าวอย าง ภาษาธรรม. เราได มาเป นอายตนะ คื อ ตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจ อยู ข างใน, อายตนะ คื อ รูป เสี ยง กลิ่ น รส โผฏฐั พพะ ธัมมารมณ อยู ข างนอก; เป นสองกลุ มของอายตนะ. ที่นี้ ก็จะเลยพูดไปเสียเลยวา อายตนะทั้ง ๒ กลุมนั่นแหละคือสิ่งที่พระพุทธเจาทานแสดง ว า สิ่ ง ทั้ ง ปวง; ทานตรั ส ว า ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย, เราจะแสดงสิ่ ง ทั้ ง ปวงแก เธอ อย า งนี้ : สพฺ พํ โว ภิ กฺ ข เว เทสิ สฺ ส ามิ แล ว ก็ ท รงแสดง ตากั บ รู ป หู กั บ เสี ย ง จมูกกับกลิ่น ลิ้นกับรส กายกับสัมผัสทางผิวกาย ใจกับความรูสึกที่ รูสึกแกใจ อยางนี้ ; ๖ คู ๑๒ อยาง นี้คือสิ่งทั้งปวง. เราตั้งหลักกันเสียใหมวา อายตนะนี่ คือสิ่งทั้งปวง ไมมีอะไรที่ไมใชอายตนะ; ถาไมเกี่ยวกับอายตนะ สิ่งนั้นมีก็จะเหมือนกับไมมี.
www.buddhadasa.info ตรงนี้ตองคิด ตองสังเกตใหดี เดี๋ยวจะไมเขาใจ. ถาไมเปนสิ่งที่เขามาสูตา หู จมู กลิ้ น กาย ใจได แล ว ก็ เหมื อนกั บไม มี จริงไหม? อะไรล ะ ที่ ว ามั นจะมี อยู ได โดยที่ไมตองเขามาสูทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ? หรือวาถาเราไมมี ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เสียอยางเดียว เทานั้น สิ่งทั้งหลายก็เหมือนกับไมมี, มีคาเทากับไมมี. นี่ อยางเรไรรองอยูเดี๋ยวนี้ ถาเราไมมีหู จะมีเสียงไดอยางไร? นี่ก็เหมือนกับวา เรไรมิไดมี และมิ ได รอง. นี้ จึงเรียกวา สิ่ งทั้ งปวงนั้ นมั นอยู ที่ ตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจ กั บรูป เสี ยง กลิ่ น รส โผฏฐั พ พะ ธั มมารมณ ; เราเรียกสั้ น ๆ ว า อายตนะสิ่ งทั้ งปวงคื ออายตนะ มีเทานั้นเอง.
ธาตุที่อยูในรูปอายตนะ
๒๔๑
ขอ ๓. ดูตอไปอีกหนอย อยางที่พระพุทธเจาทานตรัสถึงคําวา สมุทร. ภาษาคน คํ าว าสมุ ทร หรือทะเล อยู ที่ ทะเลโน น; นั่ นภาษาคน. แต พอถึ งภาษาธรรม ภาษาศาสนา สมุ ทรนั้นคือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ. ตัวอยางในบทสวดสฬายตนสังยุตต พระพุ ทธเจาตรัสวา ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ นั่ นชื่อวาสมุ ทร เพราะวา เป นที่ ตกจมของสั ตว. เราทุกคนที่ นั่งอยูที่ นี่; ลองฟ งดู ให ดีวา เรานี่ กําลังตกจมอยู ในสมุ ท ร เหมื อ นกั บ ตกทะเล ว า ยอยู ใ นน้ํ า ในมหาสมุ ท ร, คื อ ว า เราไม ห ลุ ด พ น ออกไปจากความรูสึกทางตา ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย ทางใจ หกอยางนี้ได. เราเหมือนกับวาตกอยูในสมุทร นี่คือสมุทรจริง ๆ เพราะคําวา “สมุทร” แปลว า ที่ ต กที่ จ ม, จมน้ํ า นั่ น . คํ า ว า สมุ ท รนี่ แปลว า ที่ ต ก ที่ จ ม; ที่ เรานั่ ง อยู ที่ นี่ เราจมทะเล มหาสมุทรนั่นเมื่อไรละ. แตเดี๋ยวนี้เรากําลังจมอยูในมหาสมุทร ในทะเล คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจของเราเอง; เพราะมีอะไร ๆ เขามาทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ แล วท วมทั บจิตใจอยู. พระพุ ทธเจ าจึ งตรัสวา สมุ ทรที่ แท จริงก็ คื อ ตา หู จมู ก ลิ้น กาย ใจ.
www.buddhadasa.info ส วนที่ ทะเล นั้ น เป น แหล งน้ํ าใหญ ๆ เป น ที่ รวมน้ํ ามาก ๆ เท านั้ น แหละ ไม ใช ที่ ต ก ที่ จ มอะไรของใคร. เว น ไว แ ต เป น เรื่อ งทางวั ต ถุ เรื อ จม คนตกทะเลจม นั้ น มั น ก็ เรื่ อ งเล็ ก น อ ย; เดี๋ ยวนี้ เราไม ได จมทะเลอย างนั้ น , แต เราก็ จ มทะเลนี่ : จม ทะเล ตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจ; ไม มี ทางที่ จะพ นออกไปจากขอบเขต หรืออิ ทธิ พ ล ของสิ่ งที่ เรียกวา ตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจ. ฉะนั้ น จงรูจั กสิ่ งที่ เรียกวา อายตนะ ที่ ว า มันเปนสมุทร เปนที่ตกจมของสัตว. พระพุทธองคยังทรงระบุชัดไวดวยวา เปนสมุทรของมนุษยโลก เทวโลก มารโลก พรหมโลก, หมูสัตวพรอมทั้งสมณพราหมณ พรอมทั้งเทวดาและมนุษย
๒๔๒
ปรมัตถสภาวธรรม
พระบาลี วาอยางนั้ น : อยาวาแตคนอย างเรา ๆ ธรรมดา, มนุ ษยธรรมดา; แม แต เทวดา ก็ จมอยู ในสมุ ทรนี้ , เทวดาที่ เรี ยกว ามารโลก ก็ จมอยู ในสมุ ทรนี้ , พวกพรหมทั้ งหลาย จะเปนรูปพรหม หรืออรูปพรหมก็จมอยูในสมุทรนี้. พระพุ ทธเจาท านตรัสไว อี กทางหนึ่ ง วา ทั้ งเทวดาและมนุ ษย จมอยู ใน สมุ ทรนี้ , แล วยั งแถมว าทั้ งสมณะและพราหมณ ; สมณะก็ หมายถึ งพวกครูบาอาจารย ที่เป นสมณะอยูป า เปนพราหมณ ก็อยูบ าน. อาจารยป า หรืออาจารยบ านก็ตาม ยังตก จมอยูในสมุทรนี้ ไมยกเวนอยางนี้; ลูกศิษยก็จม อาจารยก็จม ลวนแตจมอยูในสมุทรนี้. นี่ มี ป รากฏชั ด อยู ในบาลี ที่ พ ระก็ ส วดแล ว และแจกไปแล ว. นี้ เรี ย กว า อายตนะ คือสมุทร และก็เปนมากที่สุด ก็คือที่มันใหความรูสึกพอใจ, อิฏา - นา ปรารถนา, กนฺต า - นา รัก , มนาปา - นา พอใจ : ปย รูป า - มีล ัก ษณะนา รัก , กามู ป สฺ หิ ต า - เป น ที่ ตั้ ง แห ง กาม, รชนิ ย า-เป น ที่ ตั้ ง แห ง ความกํ า หนั ด ; นี่ โ ดย เฉพาะก็ คื ออายตนะภายนอก แต ถ าพู ดถึ งอายตนะแล ว ต องเป นคู กั นไปทั้ งนั้ น; ถ า มี แต อายตนะภายนอก ก็ เหมื อนกั บไม มี , ถ ามี แต อายตนะภายใน ก็เหมื อนกั บไม มี . อายตนะภายนอกได อายตนะภายในเป นที่ กระทบและปรุงแต งได ; นั่ นจึ งจะเป นอายตนะ ภายนอก หรืออายตนะภายในก็ตาม ที่ทําหนาที่ได ก็เปนสมุทรขึ้นมา.
www.buddhadasa.info นี่ มารู จั กสิ่ งที่ เรียกว าอายตนะ ๆ ในฐานะที่ เป นสมุ ทรกั นอย างนี้ . เห็ นไหม ว าเดี๋ ยว นี้ ไม สั กว าธาตุ เฉย ๆ? ตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจ ไม ใช สั กว าธาตุ : จั กขุ ธาตุ โสตธาตุ ฯลฯ เสียแลว, รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะก็เหมือนกัน ไมใชสักวาธาตุแลว กลายเปนสมุทร เปนอายตนะ เปนที่ตกที่จม ในเมื่อไปสัมพันธกันเขากับคูของมัน. ขอ ๔. ดูตอไปอีก พระพุทธเจาไดตรัสไววา กามคุณ ๕ อยางนั้นแหละ คือโลก ในภาษาอริยวินัย. กามคุณ ๕ อยางก็คือ อายตนะ ๕ อยางไดแกรูป เสียง
ธาตุที่อยูในรูปอายตนะ
๒๔๓
กลิ่ น รส โผฏฐั พ พะ ๕ อย า ง; เว น ใจไว เว น ธั ม มารมณ ไ ว เสี ย คู ห นึ่ ง . รู ป เสี ย ง กลิ่ น รสโผฏฐั พ พะอยู ข างนอก สั ม ผั ส ทางตา หู จมู ก ลิ้ น กาย; พระพุ ท ธเจ าท าน ตรั ส หรื อ ชี้ ห รื อ แนะให เห็ น ว านั่ น แหละคื อ โลก เพราะสิ่ งใด ๆ ที่ มั น มี อ ยู ในโลก ไม รู กี่ หมื่ นอย างแสนอย างล านอย าง จะมารวมอยู ในความหมายอั นนี้ : มารวมที่ ความหมายว า เห็ นได ด วยตา ได ยิ นด วยหู ดมได ด วยจมู ก ลิ้ มได ด วยลิ้ น สั มผั สได ด วยกาย แต วามั น ตองมี “คุณ” คํ าว า “คุ ณ ” ในที่ นี้ หมายความว า ค า. คํ าว า “ค า” ในที่ นี้ ก็ หมายความ วาเป นที่ ต องการของมนุ ษย. สิ่งใดที่ จะมี คุณขึ้นมาได สิ่งนั้นตองมีค า, สิ่งใดจะมี ค า ขึ้ นมาได สิ่ งนั้ นต องเป นที่ ต องการของมนุ ษ ย ; ถ าไม เช นนั้ นก็ ไม มี ค า แล วก็ ไม มี คุ ณ . สิ่ งใดจะเป นที่ ตั้ งแห งความรั กความพอใจ ทํ าให เขารู สึ กเป นสุ ขแบบนั้ น แบบกิ เลสนั้ น ก็เรียกวามี “คุณ” ทีนี้ กามคุณเปนสิ่งที่มีคุณสําหรับของความใครของมนุษย คือ รูป เสียง กลิ่ น รส โผฏฐั พ พะ; นี่ ก็ เรี ยกว าโลก ก็ เลยได แก อ ายตนะ ๕ อย างข างต น เก็ บ เอา ใจไวสํ า หรับ เปน ผู ทํ า ความรู ส ึก หรือ เสวย. คํ า วา “โลก” หมายถึง โลกขา งนอก จึงเอาเพียง ๕ อยาง คือ รูป เสียง กลิ่น รสโผฏฐัพพะ เอาใจไวขางในเปนโลกขางใน.
www.buddhadasa.info โลกคื อกามคุ ณ ๕, กามคุ ณ ๕ คื อ รู ป เสี ยง กลิ่ น รส โผฏฐั พพะ ลํ าพั ง รูป เสียง กลิ่นรส โผฏฐัพพะ ทําอะไรไมได ตองเอาตา หู จมูก ลิ้น กาย เขามา ด วยได เป น คู กั น ก็ เกิ ดเป น “กามคุ ณ ” ขึ้ นมา สํ าหรับกิ เลสก็ ตาม. จะเป นอายตนะ เพี ยง ๕ หรื ออายตนะครบทั้ ง ๖ ก็ ล วนแต มี ความหมายเหมื อนกั น : เป นทางมา เป น ที่เกิด เปนบอเกิดแหงเรื่องราวทั้งหลายที่เกี่ยวกับมนุษย.
๒๔๔
ปรมัตถสภาวธรรม
ขอ ๕. ถามองความหมายที่แคบเขามา ก็คือสิ่งที่คนจะรูสึกไดทางตา ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย กระทั่งทางใจดวย; ถาไมมีสิ่งที่ เรียกวาอายตนะแลว ความรู ส ึก อะไรไมไ ดเกิด ขึ ้น . แตนี ่เพราะมีอ ายตนะ ก็จ ะเกิด ความรูส ึก ในทาง จิ ต ใจขึ้ น ในเมื่ อ กระทบกั น ทางอายตนะ. เพราะฉะนั้ น พระพุ ท ธเจ า ท า นจึ ง ตรั ส ว า เพราะมี อ ายตนะ จึ ง มี ก ารสั ม ผั ส ทางอายตนะ; นี่ พู ด ก็ เหมื อ นกั บ กํ า ป น ทุ บ ดิ น แตวาจริงที่สุด เพราะมี อายตนะจึงไดมี การสัมผัสทางอายตนะ, เพราะมี ตา หู จมู ก ลิ้น กาย ใจ จึงมีการสัมผัสทางตา ทางหู ทางลิ้น ทางกาย และทางใจ. เหมื อ นบทสวดที่ ว า เพราะมี มื อ จึ งมี ก ารจั บ หรื อ การวาง, เพราะมี เท า จึ ง มี ก ารเดิ น ไปหรื อ ถอยกลั บ , หรื อ ว า เพราะมี ท อ ง มี ไ ส จึ ง เกิ ด ความหิ ว ความ กระหาย อย างนี้ เป นต น; เพราะตรง ๆ กั นอย างนี้ , เพราะเหตุ และป จจั ยที่ มั นตรง ๆ กั น อย างนี้ มั น จึ งมี อ ย างนี้ . เดี๋ ยวนี้ เพราะมี อ ายตนะ จึ งมี การสั ม ผั ส ทางอายตนะ; คือตาสัมผัสรูป หูสัมผัสเสียง เปนตน นี้เรียกวาสัมผัสทางอายตนะ. ขอ ๖ ตอไปอีกชั้นหนึ่งก็วา เพราะมีการสัมผัสทางอายตนะ จึงเกิด เวทนาคตํ สฺ าคตํ สงฺขารคตํ วิฺ าณคตํ คื อนามธรรม ๔ อยางที่ เหลื อ. ขันธ ๕ สี่ อย างตอนท ายนั้ นเป นนามธรรม คื อเวทนา สั ญญา สั งขาร วิญญาณ นี่ ; แต เดี๋ ยวนี้ เรียกวา “คตํ” เติมเขามา คือวาเกิดขึ้น, หรือวามันถึงเขา.
www.buddhadasa.info สรุปความอีกทีหนึ่งก็วา เพราะมีการสัมผัสทางอายตนะ จึงเกิดการถึง ซึ่ ง เวทนา เกิ ด การถึ ง ซึ่ ง สั ญ ญา เกิ ด การถึ ง ซึ่ ง สั ง ขาร เกิ ด การถึ ง ซึ่ ง วิ ญ ญาณ; หมายความวาเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ที่เรียกวานามสี่อยางนี้ มีขึ้นมาแลว เพราะ การสั มผั สทางอายตนะ. ถ าไม มี การสั มผั สทางอายตนะ เวทนาเกิ ดไม ได สั ญ ญาเกิ ด ไมได สังขารเกิดขึ้นไมได วิญญาณเกิดขึ้นไมได. สําหรับวิญญาณนี้เขามาตนบทเลย :
ธาตุที่อยูในรูปอายตนะ
๒๔๕
อาศั ยตากั บรูป จึ งเกิ ดจั กขุ วิญญาณ; มี คํ าบาลี วา จกฺ ขุ ฺ จ ปฏิ จฺ จ รูเป จ อุ ปฺ ป ชฺ ช ติ จกฺ ขุ วิ ฺ าณํ ก็ แ ปลว า อาศั ย ตากั บ รู ป จึ ง เกิ ด จั ก ขุ วิ ญ ญาณ; ไม มี อายตนะก็ ไม มี วิ ญ ญาณ. ที่ ว า ไม มี อ ายตนะแล ว ก็ ไม เกิ ด เวทนาได นี้ เห็ น ชั ด ; เมื่ อ ไม มี วิ ญญาณก็ ไม มี เวทนา ไม มี ผั สสะไม มี เวทนา, ไม มี เวทนก็ ไม เกิ ดสั ญญาที่ จะสํ าคั ญ มั่ นหมายว า เวทนานี้ เป นสุ ข, เวทนานี้ เป นทุ กข ; หรือจะเกิ ดสํ าคั ญ มั่ นหมายว าตั วเรา ของเราอะไรก็ ตาม. แล วก็ ไม เกิ ดสั งขาร คื อไม เกิ ดความคิ ดนึ กปรุงแต งขึ้ นว าอย างไรหมด; ถาไมมีการสัมผัสอายตนะ. ทีนี้ เพราะมี การสัมผั สทางอายตนะ อยางที่ ได กลาวแลว จึ งเกิ ด เวทนา เกิ ดสั ญญา เกิ ดสั งขาร เกิ ดวิ ญญาณ คื อสี่ อย างของขั นธ ทั้ ง ๕ ตอนท าย ที่ เรียกว าจิ ต เจตสิ ก หรื อนามนี้ . นี่ เป นการยกตั วอย างที่ พอแล ว สํ าหรั บที่ จะให ท านผู ฟ งทั้ งหลาย ทราบไดวา สิ่งที่เรียกวอายตนะนั้นคืออะไร. ทบทวนโดยใจความอี กที หนึ่ งก็ ยั งได ว า คํ าว า “อายตนะ” โดยคํ าพู ด โดย ตั ว หนั ง สื อ นี้ . คํ า ว า “อายตนะ” นี้ ก็ ต อ งแปลว า ทางมา, ที่ ม า หรื อ บ อ เกิ ด ของ เรื่ องราว, นี่ ภาษาคนทั่ วไป. พอมาเป นภาษาธรรม, ทางมาหรื อบ อเกิ ดของเรื่ องราวนั้ น มั นมาอยู ที่ ตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจ, ตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจนี่ คื อเป นสิ่ งที่ ทั้ งหมดในโลกนี้ ตองผานที่นี่ ตองรวมที่นี่.
www.buddhadasa.info จิ ตใจของสั ตว ตกอยู ในมหาสมุ ทร คื อ ตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจ ถ าเป นส วน ที่ ยั่ วยวนต อกิ เลส มั นก็ เรียกวากามคุ ณ จึ งได เกิ ดเรื่อง, เป นกิ เลส, เป นทุ กข . อายตนะ เปนที่เกิดแหงกิเลสและทุกข หรือเรื่องตาง ๆ. ทีนี้ แยกใหเห็ นวา เพราะมี อายตนะ จึ งมี การสั มผั สได ถ าไม มี อายตนะ มันไมมีสัมผัสได เพราะมีการสัมผัสจึงเกิดเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เปนขันธขึ้น
๒๔๖
ปรมัตถสภาวธรรม
มาบริบู รณ ก็ ได , หรือเกิ ดอย างอื่ น ๆ ที่ เป นความทุ กข ก็ ได ทั้ งนั้ น เพราะจบลงด วยความ ทุ กข. ความทุ กข เป นตั วป ญหา เป นตั วเรื่อง; ส วนสิ่ งที่ เรียกวาอายตนะนั้ นเป นทางมา, เปนที่เกิด, เปนบอเกิดของเรื่อง; ใหเขาใจไวอยางนี้. ทั้ งหมดนี้ เป นอายตนะประเภทสั งขตะทั้ งนั้ น เป นพุ ทธบริษั ทถึ งขนาดนี้ แลวก็ยั งต องรู จําตองจํา ขอให รู ไมรูก็เรียกวาไม สมกัน. ตองรูวาอายตนะนั้ น มี ทั้ ง อยางที่เปนสังขตะ และอสังขตะ. ขอ ๗. ที่เราพูดมาเปนวรรคเปนเวรนี้ หมายถึงอายตนะพวกสั งขตะ หรือสั งขาร ซึ่ งมี ป จจั ยปรุงแต งทั้ งนั้ น; มี ยกเวนให คํ าหนึ่ งที่ เป นอายตนะแต วาเป น อสังขตะนั้น ไดแกพ ระนิ พ พาน ซึ่งพระพุทธเจาทานไดตรัสไววา :- อตฺถิ ภิ กฺขเว ตทายตนํ น ปฐวี น อาโป น เตโช น วาโย ฯลฯ ยืด ยาวไปเลย; แต สรุป ท าย ไววา อายตนะนั่นเปนนิพ พาน. นิพ พานเปน อายตนะนี้ไมเกี่ยวกับ เหตุ ปจจัย จึงเรียกวา อสังขตะ; แตถึงอยางนั้นก็ยังเรียกวาอายตนะ เพราะวาเปนสิ่งที่จิตจะรูสึกได.
www.buddhadasa.info อสังขตธรรมทั้งหลายเปนสิ่งที่จิตรูสึกได; ถาจิตรูสึกไดก็เรียกวาอายตนะ หมด. ฉะนั้ นพระนิ พพานก็ เป นอายตนะ อย างที่ พระพุ ทธเจ าท านได ตรัสไว เอง; แต ว า เปนอายตนะประเภทอสังขตะ นี่จึงมีคําวาอายตนะใช ทั้งฝายสังขตะและอสังขตะ.
ที นี้ คนอาจจะถามว าถ าอย างนั้ น คํ าว าอายตนะนี่ จะแปลว าอะไรดี ให ใช ได ทั้ งสั งขตะและอสั งขตะ? อย างนี้ แล วอาตมาเห็ นวา คํ าวาอายตนะนี้ ไม ต องแปลวา อะไรกั น มากมาย; แปลว า “สิ่ ง” เฉย ๆ เท านั้ น แหละ, แปลวา “สิ่ ง” ก็ แล วกั น , ถ าจะพู ดเป นบาลี ก็ แปลว า “ธรรม”. คํ าว า “ธรรม” กลาง ๆ แปลว า “สิ่ ง”; หมายถึ ง อะไรก็ได คําวา อายตนะก็แปลวาสิ่ง. ถา “สิ่ง” นั้นเปนสังขตะ มีเหตุปจจัยปรุงแตง
ธาตุที่อยูในรูปอายตนะ
๒๔๗
ก็ เป นไปอย างที่ วา : ปรุงแต งกั นจนเป นความทุ กข. ถ าสิ่ งนั้ นมั นมิ ได เป นเหตุ ป จจั ยที่ ปรุงแต งใคร และไม ถู กอะไรปรุงแต ง มั นก็ เป นสิ่ งสิ่ งหนึ่ งซึ่ งเป นอสั งขตะ, เป นอมตะ, เปนนิพพาน นั่นแหละ. นิ พพานก็ เลยพู ดได วาเป นสิ่ งสิ่ งหนึ่ ง และสิ่ งทั้ งหลายที่ ไม ใช นิ พพาน เราก็ พู ด ได ว า เป น สิ่ ง สิ่ ง , สิ่ ง แต ล ะสิ่ งละสิ่ ง . คํ า ว า “สิ่ ง ” นั้ น เป น กลาง ๆ ดี ; คํ า ว า อายตนะ แปลวา สิ่ง ก็แลวกัน, เมื่อพูดวาสิ่ง ก็หมายความวาเปนสิ่งที่ทําความรูสึก ไดอยางนอยก็ดวยใจ. ถามันเปนสิ่งใดสิ่งหนึ่งขึ้นมาแลว ก็หมายความวาตองทําความ รู สึ ก ได ด ว ยใจ; ฉะนั้ น พระนิ พ พานก็ เป น สิ่ ง ที่ ป รากฏแก จิ ต ได ; ความดั บ ไปแห ง การปรุงแตงทั้งหลายเปนสิ่งที่ปรากฏแกจิตได. ทีนี้ ลองทบทวนกันอีกครั้งหนึ่ง เดี๋ยวก็จะลืมเลือนกันไปหมดวานิพพานก็ เป นธาตุ เรียกอสังขตธาตุก็มี เรียกวานิ พพานธาตุก็มี และเรียกไดหลายสิ บชื่อ. พระนิ พพานนี้ เป นธาตุ ได พู ดกั นมาแล วครั้งก อนว า เป นนิ โรธธาตุ เป นวิ มุ ตติ ธาตุ เป น โลกุ ตตรธาตุ นิ สสรณธาตุ ฯลฯ นั้ นแหละเป นธาตุ นิ พพาน ธาตุ อสั งขตะ. สิ่ งนอกนั้ น ที่ไมใชนิพพาน, เปนพวกสังขาร พวกสังขตะทั้งหลาย ก็เปนธาตุอยูแลว, อธิบายกันอยู แล ว ตลอดเวลา. ตา หู จมู ก กาย ใจ คื อ ธาตุ , รู ป เสี ย ง กลิ่ น รส โผฏฐั พ พะ ธัมมารมณ คื อธาตุ ; ปรุงแต งออกมาเป น เวทนา สั ญญา สังขาร วิญญาณ ก็ คื อธาตุ , สรุปแลวเปนความทุกข สุข โสมนัส โทมนัส อทุกขมสุขก็เปนธาตุ เปนสักวาธาตุ.
www.buddhadasa.info บางประเภทก็เปนรูปธาตุลวน ๆ, บางประเภทก็เปนนามธาตุลวน ๆ, บางประเภทเอามาผสมกันอยู ปนกันอยู อาศัยกันอยูก็มี. นี้เรียกวาธาตุ ถูกเรียกเสีย ใหม วา อายตนะ, ให ชื่ อเสี ยใหม ว า อายตนะ, เปลี่ ยนลั กษณะกิ ริยาอาการเสี ยใหม ว า อายตนะ. แต ก อนนี้ มี คล าย ๆ กั บวาเป นธาตุ อยู เฉย ๆ เดี๋ ยวนี้ มี การทํ าหน าที่ มาเป นสิ่ ง ที่ทําหนาที่สัมผัส แลวปรุงแตงนั่นนี่ขึ้นมา นี่เรียกวาอายตนะ คือเปนทางมาแหงเรื่อง
๒๔๘
ปรมัตถสภาวธรรม
ทั้ งหลาย. ธาตุ ที่ มาอยู ในรูปของอายตนะนี้ จะต องมองให เห็ นเสี ยก อน; แม ว าจะเป น อสั งขตธาตุ เป นนิ พพานธาตุ ก็ ยั งต องอาศั ย หรื อว าต องเป นไปฝ ายทางอายตนะนั่ น แหละจึ งจะทํ า ให นิ พ พานปรากฏได ; แม ว าสร างขึ้ น มาไม ได แต ก็ ทํ า ให ป รากฏได แลวก็จะคอยพูดกันทีหลัง.
ธาตุเดิมตางกันกับเมื่อเปนอายตนะ ที นี้ ก็ อยากจะชี้ให เห็ นวา ธาตุ ได กลายมาเป นอายตนะได อย างนี้ , แล วเพื่ อ ให เขาใจชัดลงไปวา เมื่ อเป นธาตุ กั บเมื่ อเป นอายตนะนั้ นต างกันอยางไร ให เขาใจกั นให ดีเสียกอน. ธาตุ ลู กตา หรื อ ประสาทตา หรื อสมรรถภาพ คุ ณ สมบั ติ ทางตา ของตา อยางนี้ เรียกวาธาตุ ในเมื่อมันทรงตัวอยูในฐานะเปนสิ่ง ๆ หนึ่ง สวน ๆ หนึ่ง ที่ประกอบกันขึ้นอยูเปนสิ่งใดสิ่งหนึ่ งอีกที หนึ่ง. นี่สวนยอยตั้งอยูในฐานะสวนประกอบนี้ เรีย กวาธาตุ ; ถ ามั น มาอาศั ย กั น กั บ สิ่ งที่ คู กั น แล วมั น ปรุงแต ง แล วมั น กระทํ านั่ น กระทํานี่ หรือวามันถูกเขากระทํานั่นกระทํานี่ อยางนี้ก็เลยเปลี่ยนชื่อเปนอายตนะไป; ลู กตา ประสาทตา คุ ณสมบั ติ ทางตา ก็ถู กเรียกวาอายตนะไป เรียกวาจักขุ ธาตุ อยู หยก ๆ มาเปลี่ยนเปนวาจักขุอายตนะไป.
www.buddhadasa.info แต ถึ งอย างไรก็ ดี ท านทั้ งหลายต องไม ลื มว าเรื่องราวนั้ นมี มาก; ในบางสู ตร บางเรื่องก็ เอามาเป นของแทนกันเสี ยก็ มี จึงต างกันก็แต วาเรียกชื่อแทนกันเท านั้ นก็ มี เหมือนกัน. แตตามปกติตองหมายความวา ธาตุก็คือสวนประกอบสวนหนึ่ง, สวนหนึ่ง ๆ ที่ ประกอบกั นอยู เป นส วนอื่ น ๆ เป นส วนใหญ ส วนหนึ่ งนั้ น. ความหมายหรือหน าที่ โดย ตรงของสิ่งที่เรียกวาธาตุ : เปนที่ตั้ง, เปนที่รองรับ. แตพอมาเรียกเสียใหมวา อายตนะ ก็เลยหมายความถึง การที่มันจะทําหนาที่รับการเกี่ยวพันกัน รับการกระทบ หรือวา
ธาตุที่อยูในรูปอายตนะ
๒๔๙
มี การกระทบกั นและมี ปฏิ กิ ริยา ตามแบบของธรรมชาติ นั้ น ๆ เกิ ดขึ้ นตามลั กษณะแห ง การกระทบ นี่คืออายตนะ.
นรก, สวรรค เปนไปทางอายตนะได เอาละที นี้ ก็ อยากจะพู ดต อไปเสี ยเลย ให เข าใจอายตนะมากขึ้ นด วย และเป น เรื่องที่ควรสนใจอยางยิ่งดวยอีกเรื่องหนึ่ง คือขอที่พระพุทธเจาทานตรัสไววา ฉ ผสฺสา ยตนิ กา นิ รยา - นรกที่ เป น ไปตามทางอายตนะ ๖ นี่ เราเห็ น แล ว; พระพุ ทธเจ าท าน ตรั ส ว าอย างนั้ น . และยั งตรั ส ชื่ อ สวรรค , ฉ ผสฺ ส ายตนิ ก า สคฺ ค า-สวรรค เป น ไปทาง อายตนะ ๖ นี่ เราเห็ นแล ว. นี่ หมายความว าสวรรค ก็ ตาม นรกก็ ตาม มั นเป นอยู หรื อ เปนไป หรือประกอบอยูกับสิ่งที่เรียกวาอายตนะนั่นเอง. เอาละ, ยอมให เป นคนเชื่ ออย างที่ เขาเชื่ อว า สวรรค ต อตายแล วมี ลั กษณะ เหมื อนที่ เขี ยนไวที่ ฝาผนั งโบสถ ก็ ตาม, ตายแล วจึ งได : ได วิ มาน ได นางฟ า ได เทพบุ ตร อะไรก็ ตาม, นรกสวรรค อย างนั้ นก็ ขึ้ นอยู ที่ อายตนะนั่ นเหมื อนกั นนั่ นแหละ ถ าไม อย างนั้ น จะรูสึกอยางไรได. แตที่พระพุทธเจาทานตรัสวา เปนไปทางอานตนะ นี่ หมายถึงที่นี่ ก็ได.
www.buddhadasa.info ถ ามี อายตนะ มี การงานของอายตนะ, มี หน าที่ ของอายตนะที่ ไหน เมื่ อไร; เมื่ อ นั้ น ก็ มี ได ทั้ งนรกและสวรรค ; นี้ ห มายความว า เมื่ อ อายตนะสด ๆ ของคนเป น ๆ พบกั นเขากับอารมณ เกิ ดความรูสึ กที่ เป นที่ สบาย เป นที่ พอใจ หรือ อิฏ า กนฺ ตา มนาปา ป ยรูปา กามู ปสฺ หิ ตา รชนิ ยา คื อน ารัก น าพอใจ ฯลฯ เป นที่ ตั้ งความกํ าหนั ดแล ว, เดี๋ยวนี้แหละคือขณะแหงสวรรค ที่กําลังเปนไปทางอายตนะ.
ถ าต องเผ็ ดร อนเป นไฟไปหมดที่ ตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจ, รู ป เสี ยง กลิ่ น รส สัมผัสที่รับมาจากทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ นั่นแหละคือนรกที่แทจริง. นรกที่แทจริง
๒๕๐
ปรมัตถสภาวธรรม
นี่หมายความวา กําลังรูสึก รูสึกอยูดวยตนเองเป นปจจัตตัง; รูสึกอยูดวยตัวเอง นี่เป น ความจริง . ที่ ยั ง ไม รู สึ ก อยู ด ว ยตนเอง, ไม รูสึ ก อย า งนี้ ยั ง ไม จ ริง มั น จะหลอกก็ ได ; มั นจะจริงก็ต อเมื่ อรูสึ กอยู ที่ จิ ตใจจริง ๆ. ถ าเราทํ าผิ ดเกี่ ยวกั บอายตนะ ที่ เขามาทางตา หรือทางหู ก็ สุ ดแท ซึ่งถารอนเป นไฟอยู แล วเราต อนรับไม เป น อวิชชาเขาต อนรับ ปรุง ให รอนเป นไฟอยู ทางตาก็ ได ทางหู ก็ ได อย างนี้ คื อนรกที่ เป นไปทางอายตนะ ประกอบ อยูกับอายตนะ. ขอนี้ อยาลื มเสีย เราจะต องทบทวนความรูที่ เราได ยิ นได ฟ งมาวาการเกิ ด ในนรกก็ดี การเกิดในสวรรคก็ดี เปนไปในลักษณะอุปปาติกะ คือไมตองเขาใน ท อ งพ อ ท อ งแม อาศั ย พ อ แม แ ล ว จึ ง เกิ ด ได ; นี่ ไม ต อ ง, ไม ต อ งเป น อุ ป ปาติ ก ะแล ว ผลุ งขึ้ นมาเลย. เราจึงมี การเกิ ดในนรกทางอายตนะนี่ ผลุ งขึ้นมาเลย รอนเป นไฟติ ด อยู ในอกเลย; ถ าเป นสวรรค ก็ ถู กต องไปหมด เยื อกเย็ นหมด ก็ ผลุ งขึ้นมาเป นเทวดาเลย ไม ต อ งอาศั ย พ อ แม เกิ ด . นี่ ก็ เข า เรื่อ งเข า ราวกั น กั บ ที่ พระพุ ท ธเจ า ท า นตรัส ว านรก สวรรคอยูที่อายตนะ และเขาเรื่องเขาราวกันกับที่เราไดยินไดฟงมาวา มันเกิดผลุงขึ้นมา ไดเลย ไมตองอาศัยพอแม.
www.buddhadasa.info ที นี้ พู ด ถึ งในเรื่ อ งของมนุ ษ ย มั น ก็ ไม มี อะไร นอกจากนรกกั บ สวรรค จะเปนนรกสวรรคที่นี่ หรือนรกสวรรคตอตายแลว ก็เหมือนกันทั้งนั้น มีสองเรื่อง เท านั้ นแหละ : ถ าเป นทุ กข เดื อนรอนก็ เป นนรก; ถ าเป นสุ ขสนุ กสนานก็ เป นสวรรค , สวรรค นี่อาศัยกามก็ได ไมอาศัยกาม คื อเป นพรหมชั้นพรหมก็ได แต ก็ไม พ นไปจากความ รูสึกทางอายตนะ. สรุปเอาวา ทั้งนรกทั้งสวรรคเปนไปทางอายตนะ ประกอบอยูที่อายตนะ ก็ไมมีอะไรอีก, ใครอยากไดนรกก็เอาซิ ก็ทําใหเกิดไดทันที, ใครอยากไดสวรรค
ธาตุที่อยูในรูปอายตนะ
๒๕๑
ก็ ทํ าให เกิ ด ได ทั นที ไม ต องรอต อตายแล ว. แม แต ชั้ น พรหม ก็ ทํ าให ถู กต องในทางตา หู จมู ก ลิ้ น กายใจ ไม เกี่ ยวข อ งกั บ กาม; เอาอารมณ ที่ ไม เป น ที่ ตั้ งแห งกามมาเป น อารมณ ของจิ ต ทํ าสมาธิ อยู กั บ อารมณ นั้ ฯ; ก็ เป น ภาวะของสวรรค ชั้ น พรหมขึ้ น มา ที่ นั่ น ก็ ท างอายตนะอี กอยู นั่ น เอง. นี้ เป น อั น ว า เรื่ อ งต าง ๆ ของมนุ ษ ย ที่ จะสํ าเร็ จ เป น ผลขึ้ น มา : เป น นรกหรื อ เป น สวรรค ก็ ต าม ต อ งเป น ไปทางอายตนะ; อายตนะ เปนทางมา เปนที่เกิด เปนบอเกิดแหงเรื่องอยางนี้.
การบรรลุนิพพาน ก็อาศัยทางอายตนะ ที นี้ ก็ จะพู ดเรื่องที่ พู ดค างไว เมื่ อตะกี้ ว า แม แต การบรรลุ มรรค ผล นิ พพาน ก็ ยั งต อ งอาศั ย ความเป น ไปทางอายตนะ. เพราะว าความทุ ก ข เกิ ด ขึ้ น ทางอายตนะนี่ แล วการดั บ ทุ กข จะดั บ ทางไหนเล า? มี คํ าพู ด ปริศ นาธรรมอยู คํ าหนึ่ ง เป น ภาษิ ต ของ พระร วงหรื อของใครก็ ลื มไปแล ว อย าเอาเป นประมาณดี กว า; แต ว าข อความนั้ นมั นถู ก ตองที่สุดวา “ขึ้นทางไหน ตองลงทางนั้น”.
www.buddhadasa.info “ขึ ้น ทางไหน ก็ล งทางนั ้น ” นี ่ไ มต อ งอธิบ ายก็ไ ด; ลองขึ ้น ตน ไม ต น นี้ ดู ซิ และถ า ไม ล งทางนั้ น ก็ ต อ งกระโดดลงมา. นี่ ก็ แ สดงให เห็ น ชั ด แล ว : ขึ้ น ทางไหนลงทางนั ้น นั ่น แหละคือ เรื่อ งปฏิจ จสมุป บาท. นี่ก็คือ ขึ้น ไปทางอวิช ชา ขึ้ น ไปยั งสั งขาร วิ ญ ญาณ นามรู ป อายตนะ ผั ส สะ เวทนา ตั ณ หา อุ ป าทาน ภพ ชาติ เป นทุ กข ; ถ าถอยกลั บก็ ต องกลั บจากทุ กข ลงมาหาภพ – มาหาอุ ปาทาน - มาหา ตั ณ หา – มาหาเวทนา – มาหาผั สสะ – อายตนะ – นามรู ป – วิ ญ ญาณ – สั งขาร - อวิ ชชา นี่ ก็ “ขึ้ นทางไหน ลงทางนั้ น”. ถ าทํ าผิ ดทางอายตนะไหน ก็ ต องถอยกลั บทางอายตนะ นั ้น ; ความทุก ขเ กิด ขึ ้น ทางอายตนะก็ต อ งควบคุม แกไ ข จัด การ ที ่อ ายตนะ. ถ าไฟลุ กที่ อายตนะ ต องดั บไฟที่ อายตนะ; เช นเดี ยวกั บว าไฟลุ กที่ ตรงไหน ก็ ต องดั บไฟ ที ่ต รงนั ้น จึง จะมีก ารดับ ไฟขึ ้น มาได. ทุก ขเ กิด ที ่ไ หนตอ งดับ ทุก ขที ่นั ่น ; ทุก ข เกิดที่บาน มาดับที่วัด เหมือนที่เขาทํากันอยูโดยมาก นี่มันนาหวัว.
๒๕๒
ปรมัตถสภาวธรรม
พิจารณาดูอีกที ถึงขอที่วาความทุ กขเกิดขึ้นเพราะอายตนะสัมผัส เปน ความทุ กข เกิ ด ขึ้ น มา สั ม ผั ส นั้ น สั ม ผั ส ด ว ยอวิ ช ชา จึ งเกิ ดความทุ กข ขึ้ น มา; ถ าไม สัม ผัส ดว ยอวิช ชา ก็ไ มเ กิด ทุก ข; แตนี ่เ ราสัม ผัส ดว ยอวิช ชา จึง เกิด ทุก ข. เมื ่อ ไมตองการทุกข ก็ทําสัมผัสที่ไมเจือดวยอวิชชา คือทําลายอวิชชาเสีย คือวามีสติปองกัน เสี ย . สํ า หรั บ การปฏิ บั ติ นั้ น เราจะแยกออกได เป น สองอย า ง : ควบคุ ม อายตนะ นี่อยางหนึ่ง และก็ดับอายตนะนั้นเสียอยางหนึ่ง. ๑. การปฏิ บั ติ ที่ จ ะควบคุ ม อายตนะ นี้ ก็ ส อนกั น อยู ทุ กวั น ๆ อย างต่ํ า ที่ สุ ด ก็ เรี ย กว า อิ น ทรี ย สั งวร : ควบคุ ม ระวั งรั ก ษา ตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจ โดย ประการที่ อภิ ชฌา และโทมนั สจะไม เกิ ด ขึ้ น มาได ; นี่ เรียกว าอิ น ทรี ย สั งวร. อาศั ยสติ มีสติมีสัมปชัญญะควบคุมอยู ไมเผลอใหการปรุงแตงทางอายตนะนี้เกิดเปนอวิชชา เกิ ดเป นทุ กข ขึ้ งมาได . นี่ อาศั ยการควบคุ มด วยสติ ควบคุ มอายตนะให ดี ด วยสติ แล ว ก็ไมมีเรื่อง. ๒. การปฏิ บั ติ ที่ ดั บ อายตนะนั้ น เสี ย ดั บ อายตนะนี่ มี ค วามหมายลึ ก เราจะไปทํ า ตาให บ อด ทํ า หู ให ห นวก ทํ า จมู ก ให เน า นี่ มั น ไม มี ป ระโยชน อ ะไร; ดั บ อายตนะ หมายความว า ให ดั บความหมายที่ เป นไปตามอวิ ชชา : ความหมายที่ เป นอํ านาจ ของอวิ ชชาที่ อายตนะนั้ น ๆ เสี ย; เช นตาเห็ น รู ป ด วยอวิ ชชา, หู ได ยิ นเสี ยด วยอวิ ชชา, จมู กได กลิ่ นด วยอวิ ชชา. นี่ ความหมายของตา หู จมู ก ลิ้ น กาย เกิ ดขึ้ นมาด วยอํ านาจ ของอวิชชา รูผิด รับผิด สํานึกผิด.
www.buddhadasa.info ดั งอายตนะ ก็ คื อดั บความหมายของอายตนะ ที่ สั มผั สกั นอยู ด วยอวิ ชชาเสี ย; อยางนี้มีผลเทากับอายตนะมิไดเกิด. แมพระพุ ทธเจาทานก็ทรงใชสํานวนพูดวา “ดับ” เหมือนกัน; เหมือนที่พระสวด เมื่อตะกี้นี้ก็มีสวดวา :
ธาตุที่อยูในรูปอายตนะ
๒๕๓
เตสํ ฉนฺ นํ อายตนานํ นิ โรโธ วูปสโม อตฺถงฺคโม ความดั บ. ความเข า ไปรํางับ, ความตั้งอยูไมไดแหงอายตนะทั้งหลาย ๖ (มีจักขุอายตนะเปนตน) เหลานั้น :
ทุกฺขสฺเสโส นิโรโธ-นั่นแหละคือความดับไมเหลือแหงทุกข. โรคานํ วูปสโม-ความเขาไประงับแหงโรคทั้งหลาย, ชรามรณสฺส อตฺถงฺคโม-ความถึงซึ่งความตั้งอยูไมไดแหงชราและมรณะ.
ทานใชคําวา นิโรโธ กับ อายตนะ คือ ดับอายตนะเสียได. วูปสโม-ความ เขาไปรํางับเสียซึ่งอายตนะ, อตฺถงฺคโม-ความตั้งอยูไมไดแหงอายตนะ. ดั บอย างนี้ คนก็ ไม ต องตาย เพราะตาก็ ไม ต องถู กทํ าให บอด หู ก็ ไม ถู กทํ าให หนวก. จมู กก็ ไม ถู กทํ าให เน า ให อะไรไป; แต เรียกว าดั บแล ว : ดั บตา ดั บหู ดั บจมู ก ดับลิ้น ดับกายแลว, กระทั่งถึงดับมโนดวย.
www.buddhadasa.info เปนอันวา “ความดั บ” ในที่ นี้ มีความหมายพิ เศษเฉพาะคือ ดั บความหมาย หรือหน าที่ การงานของอายตนะที่ ทํ าไปด วยอํ านาจอวิชชา ตามธรรมชาติ ธรรมดาของ สามั ญ มนุ ษ ย นั้ นเสี ย; เอาวิชชา เอาป ญ ญา เอาความรูที่ ถู กต องเห็ นแจ งในปรมั ตถ สภาวธรรมนี่ เข ามาแทน, เห็ น ชั ด ประจั ก ษ อ ยู ก็ ไม เกิ ด ความยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น ในสิ่ งใด. อยางนี้เรียกวา ดับอายตนะเสียได นี่เปนชั้นสูงชั้นสุด. ถาทําไมได ก็ทําไปทีแรก ๆ เพียงแตควบคุมอายตนะนั้นไวดวยสติ. อยางนอยที่สุด ทุกคนจะตองควบคุมอายตนะอยูตลอดเวลา พูดวาทั้งตื่น และหลับดีกวา คือวาเมื่อเราตื่นอยู เรามีสติควบคุม. เมื่อเวลาหลับนั้น เราควบคุม
ปรมัตถสภาวธรรม
๒๕๔
ทางการทํ าให ดี ขณะเมื่ อเรายั งตื่ นอยู แล วเรามั่ นหมายอธิ ษฐานจิ ตว าจะหลั บลงด วยอาการ อย างนี้ ๆ ประมาณเวลาเท านั้ นเราจะตื่ นขึ้ นมาด วยอาการอย างนี้ อี ก นั้ นแหละ; อย างนี้ เรี ยกว าอายตนะนั้ น ถู กควบคุ มทั้ งหลั บและตื่ น. ผู ที่ ทํ าได จริ ง จะมี กํ าลั งจิ ตสู งพอ ใน ระหว างที่ หลั บนั้ น ก็ ไม ทํ าผิ ดทางอายตนะ, แม จะไม ฝ นไปในทางที่ เป นเรื่องกิ เลส ตั ณหา อะไรได หรือว าไม ฝ นเสี ยเลย. นี่ เรียกว าควบคุ มอายตนะได ทั้ งหลั บและตื่ น นี่ คนธรรมดา สามัญทุกคนทั่วไปควรตองรับเอาไปเปนบทเรียน.
ยังมีอายตนะประเภทอสังขตะ ทีนี้ใครจะทําใหดีกวานั้น ก็ตองรูจักทําการดับอายตนะเสีย ตามวิธีที่พระพุ ทธเจา ท านสอนไว อย าให มั นเป นบ อเกิ ด หรือเป นทางมา หรื อเป นที่ ปรุ งขึ้ นมา แห งกิ เลสและ ความทุ กข อี กต อไป. นี่ เราทํ าลายอายตนะ ดั บอายตนะได อย างนี้ เรียกว าอายตนะส วน สั งขตะถู กควบคุ มและดั บและกํ าจั ดไปหมดแล ว; ที นี้ โผล ขึ้ นมาใหม ก็ เป นอายตนะชนิ ด อสั งขตะ คื อพระนิ พ พาน โดยบทที่ ว า อตฺ ถิ ภิ กฺ ขเว ตทายตนํ ฯลฯ เป น พระพุ ท ธอุ ท าน, ตรั ส ขึ้ น มาเมื่ อ ทรงพิ จารณาเห็ น แจ ม แจ งในสิ่ งนี้ ; เพราะอายตนะชนิ ด นั้ น ยั ง มี อยู คื ออายตนะที่ ไม ใช สั งขตะนี่ ; พระพุ ทธองค จึ งตรั สว า อายตนะนั้ นมี อยู : อายตนะ นั้ นไม ใช ปฐวี ธาตุ เตโชธาตุ อาโปธาตุ วาโยธาตุ ไม ใช อากาสานั ญ จายตนะ วิ ญ ญานั ญ จายตนะธาตุ กระทั่ งเนวสั ญ ญา ฯ ไม ใช การมา ไม ใช การไป ไม ใช การอยู ไม ใช อารมณ ไมใชที่ตั้งแหงอารมณ นี่; วานั่นแหละคือที่ สุดแห งความทุ กข คือนิ พพาน; ดังนั้นนิพพานนั้นก็เปนอายตนะดวยเหมือนกัน.
www.buddhadasa.info เมื่อฆาอายตนะพวกสังขตะใหตายเสีย อายตนะที่เปนอสังขตะก็จะปรากฏ ออกมา หรื อได รั บก็ ตามใจแล วแต จะเรี ยก. เรา “ฆ าชี วิ ตชนิ ดโลก ๆ นั้ นเสี ย ก็ จะได ชี วิ ต ชนิ ด ที่ เหนื อ โลก”; นี่ พู ด สมมติ ให เป น โฆษณาชวนเชื่ อ ให ค นยิ น ดี ห น อ ย : สละของ ไมจริงเสีย แลวก็จะไดของจริงมา; แปลวากําจัดอายตนะมายา หลอกลวง เหลวไหล
ธาตุที่อยูในรูปอายตนะ
๒๕๕
ประเภทสั งขตะเสี ย แล วอายตนะประเภทแท จริง ไม หลอกลวง ไม ทํ าความทุ กข ให แก ผู ใด ก็จะปรากฏแกจิต คือพระนิพพาน.
หลักปฏิบัติ พิจารณา อายตนะ เหมือนมหาสมุทร ที นี้ การปฏิ บั ติ มี หลั กหน อยหนึ่ งที่ ว า อายตนะนี้ มั นเหมื อนกั บมหาสมุ ทร; อยางที่ไดพูดมาแลว ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เหมือนกับมหาสมุทร เหมือนกับทะเล สําหรับมหาสมุทรนั้น ทรงแสดงอาการที่นากลัวไวอยางนี้ : มหาสมุ ท รย อ มมี ค ลื่ น สอุ มฺ มึ -แปลว า มั น มี ค ลื่ น ; ก็ ล องไปลอยคอ เลน ในมหาสมุท รดู มีค ลื ่น นั ้น สนุก อยา งไร, แลว ก็ม ีเ กลีย ว สาวฏฏ ํ -มีเ กลีย ว มั นไม ใช มี แต คลื่ นเฉย ๆ ยั งมี เกลี ยวที่ ไหลไปอย างเชี่ ยว, ลอยอยู ในมหาสมุ ทร จะทน ไดกี่มากนอย เดี๋ยวมันก็จมเทานั้น สูเกลียวไมไหว. และแถมมี เครื่ องจั บยึ ด หรื อผู จั บยึ ด; นี่ ตามความเชื่ อของคนแต โบราณนี้ ก็ ว า มี ยั ก ษ มี ภู ต ป ศ าจอะไร มี ผู จั บ . เดี๋ ย วนี้ ก็ เห็ น ชั ด ; ปลาฉลามมั น จะงั บ เอา. นี่เรียกวาผูจับ สคาหํ -มีผูจับ.
www.buddhadasa.info แล วก็ ยั งเป น สรกฺ ขสํ - มี รากษส, รากษส แปลว าผี ที่ อยู ในน้ํ า; ก็ ตามใจ. นี้ เรี ยกว าเป นของที่ ไม เห็ น ตั วกั น หน อ ย แล วก็ จะจั บ เอาคนนั้ น ไป, จะทํ าอั น ตรายแก คนนั้น อยางนั้นอยางนี้. ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ, รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ รวมกั น เป น สมุ ท รนี่ ในนั้ น มี อ ย างที่ วา มี ค ลื่ น มี เกลี ย ว มี ผู จั บ มี ผี เสื้ อ น้ํ า มี ยักษน้ํา ที่มันมาอยูที่ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ของเรา.
ที นี้ ที่ สํ าคั ญอย างยิ่ งเรียกว า เวคะ นี่ แปลว า กํ าลั ง, กํ าลั งไหล; กํ าลั งไหล ก็คือกําลังของการปรุงแตง; สิ่งนี้เรียกวา อายตนเวคะ อายตนเวคะ คือ ตา หู จมูก
๒๕๖
ปรมัตถสภาวธรรม
ลิ้น กาย ใจ, ในเมื่อได รูป เสี ยง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธัมมารมณ ขึ้นมาเขาคูแลว จะเกิ ด อายตนเวค หรืออายตนเวคะ มี กํ าลั งที่ ตามธรรมดาด านทานไม ไหว ที่ มั นจะพุ งไป. แมกระนั้นเราก็ตองหยุดเสีย; พระพุทธเจาทานตรัสไวอยางนี้. อายตนะขางในคือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ก็มี เวคะ คือมีกําลังพุง; อายตนะภายนอกคือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธัมมารมณ ก็มีเวคะ คือกําลังพุง; รวมกันแลวก็ยิ่งเปนกําลังพุง เพราะวาลําพังอยางเดียวมีกําลังพุงโดยสมบูรณไมได. ถ าผู ใดหยุ ดเสี ยได ซึ่ งอายตนเวคะ, ดั บเสี ยได หยุ ดเสี ยได ซึ่ งอายตนเวคะ จึ ง จะหยุ ด กํ าลั งพุ งได . คํ านี้ ใช คํ าว า สหติ -หยุ ด เสี ย ได , ทํ า ลายให ห ยุ ด ไปเสี ย ได ไม ให มั นไหลได อีกต อไป. โดยที่ แท มั นก็เหมื อนกับเกลี ยวน้ํ าหรือกํ าลังพุ งของสิ่งที่ วิ่งไป เร็ ว ๆ นั่ น แหละ; เช น รถวิ่ งไปเร็ ว ๆ เรื อ วิ่ งไปเร็ ว ๆ หรื อ น้ํ ามั น ไหลไปเร็ ว ๆ; เราหยุ ด กําลังพุงนั้นเสียได เรียกวาหยุดเวคะเสียได. ในที่นี้ตองการใหหยุดเวคะของสิ่งที่เรียกวาอายตนะ : เวคะนี้สําเร็จมา ทางรูปที่เห็นดวยจักษุ , เวคะนี้สําเร็จมาทางเสียงที่ไดยินดวยหู, เวคะนี้สําเร็จมาแตทาง กลิ่นที่ไดกลิ่นดวยจมูก, เวคะนี้มาจากรสที่รูสึกไดดวยลิ้น, เวคะนี้มาจากสัมผัสที่ผิวหนัง เพราะการสัมผั สทางกาย, กระทั่ งที่ มาจากธัมมารมณ ภายในใจที่ รูได ด วยใจ; นี้ เรียกวา เวคะทั้งนั้น; ลวนแตมีคลื่น มีเกลียว มีผูจับ มียักษน้ําทั้งนั้นแหละทุกอายตนะ.
www.buddhadasa.info การปฏิบัติอยางที่วามาเมื่อตะกี้นี้ ก็คือควบคุมอยูดวยสติเรื่อยไป ๆ จน กระทั่งมีการรูแจงในปรมัตถสภาวธรรมอันเพียงพอ กําจัดอวิชชาได; แลวก็ดับ ผั สสายตนะ คื อดั บเวคะของอายตนะเสี ย กลายเป นไม มี การปรุงแต ง ไม มี การปรุงแต ง ชนิดไหนอีกตอไป.
ธาตุที่อยูในรูปอายตนะ
๒๕๗
พระพุทธเจาทานตรัสวา ผูนั้น เวทคู - เปนผูถึงเวท หรือถึงฝงแหงเวท, วุสิตพรฺหฺมจริโย - ผูนั้นประพฟติพรหมจรรยจบแลว, โลกนฺตคู - ผูนั้นถึงที่สุดของโลกแลว, ปารคโต - ผูนั้นถึงฝงนอกโนนแลว. เดี๋ยวนี้อยูกันแตฝงใน เลาะกันอยูแตฝงใน ไมออกไปถึงฝงนอก เพราะวาติดอยูที่ อายตนะ. เมื่ อดั บอายตนะได แล ว ก็ ออกไปฝ งออก ออกไปถึ งฝ งนอกแล ว; ผู ที่ รูจั ก อายตนะในชั้นลึก ควบคุมไดกระทั่งกําจัดได จนกระทั่งหยุดกระแสอายตนเวคะนี้เสียได จะเปนอยางนี้ จะไดผลอยางที่กลาวมานี้.
ประโยชนอันไดจากการรูปรมัตถสภาวธรรม ขอให ท านทั้ งหลายพิ จารณาดู ให ดี วา ความรูในปรมั ตถสภาวธรรมนี่ มี ประโยชน เท าไร? มี ประโยชน กี่ มากน อย? และจะถื อว าเป นประโยชน สู งสุ ดหรือไม ? เราอาศั ย ความรู ชนิ ด ปรมั ต ถสภาวธรรม หรือ ธรรมที่ เป น อยู เอง ในสภาพที่ เป น เอง เป นจริง ในอรรถอั นลึ กซึ้ งถึ งที่ สุ ดอย างยิ่ งแล ว; เราออกจากสั งขตธาตุ ไปสู อสั งขตธาตุ . เราก็ จะออกจากสั งขตอายตนะได , แล วไปสู อสั งขตอายตนะได เลยแยกกั นเป นสองคู ; คื อ ว าเราใช คํ าว าธาตุ ออกมาเสี ย จากสั งขตธาตุ , แล วเข าไปสู อ สั งขตธาตุ . ต อ มา เปลี่ ยนเป นเพ งเล็ งไปที่ อายตนะ; ก็ ออกมาเสี ยจากสั งขตอายตนะไปสู อสั งขตอายตนะ. นี่ ได ผลสู งสุ ดหรือไม ก็ ลองคิ ดดู วา ความรูเรื่องปรมั ตถสภาวธรรมนี่ เรารูเท าไร? เรารู หรือไม? ลองเทียบเคียงดู.
www.buddhadasa.info สรุปเรื่องที่เกี่ยวกับอายตนะที่เราจะตองรูกันในชั้นลึกนี่วามันจําเปนแกเรา หรือไม ? หรือเป นของใหม ของเกา แกเราเท าไร? เราไม เคยทราบวา สิ่ งทั้ งปวงนั้ น อยู ที่ ตาหู จมู ก ลิ้ น กาย ใจ. นี่ เป นป ญหาข อแรก ทบทวนกั นอี กที ที่ แล วมาแต หนหลั ง จนกระทั่งบัดนี้ เรายังไมรูปรมัตถสภาวธรรมดังนี้ :
๒๕๘
ปรมัตถสภาวธรรม
๑. เรายั ง ไม รู เคยเห็ น เคยทราบ ไม เ คยเห็ น จริ ง เห็ น แจ ง ว า อะไร ๆ อะไรคือ สพฺพ ํ ? สิ ่ง ทั ้ง ปวงอยู ที ่ต า หู จมูก ลิ ้น กาย ใจ. เราจึง ไปแกป ญ หา กัน ขา งนอก ไมแ กป ญ หากัน ขา งใน; ไปโทษคนนั ้น ไปโทษคนนี ้ ยกความผิด ของตั วออกไปใส ผู อื่ น ๆ ไปโทษผี ส างเทวดาอะไร ก็ คิ ด ดู เอง; นี่ เพราะว ามี อ วิ ช ชา ในเรื่ อ งนี้ ไม รู ว า อะไร ๆ นี่ อ ยู ที่ อ ายตนะ. ต อ ไปนี้ ต อ งตั้ ง ต น กั น เสี ย ใหม ให อ ะไร ๆ มั นอยู ที่ นี่ และแก ป ญ หากั นที่ นี่ ดั บสั งขตอายตนะเสี ยได เข าไปสู อสั งขตอายตนะกั นที่ นี่ ; อยาไปรอที่อื่น อยาไปรอตอเวลาอื่น เชนตอตายแลวไปเปนตน มันนาหวัว. ๒. ข อ ต อ ไปนี้ ก็ คิ ด ดู ว า เรานี่ เ คยหวั ง นรกสวรรค กั น ที่ อื่ น , เวลาอื่ น ที่ โลกอื่ นต อตายแล วอย างนี้ ; ทั้ งที่ เรากํ าลั งมี นรกสวรรค อยู ที่ ตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจแล ว เราก็ไ มส นใจ. เราไมทํ า ใหห ม ดนรก ใหม ีแ ตส วรรค, หรือ วา ทํ า ใหพ น สวรรค ขึ้นไปอีก ก็จะถึงอสังขตอายตนะ คือนิพพาน. ต อ ไปนี้ เชื่ อ ว า ทุ ก คนที่ ไ ด ฟ ง ข อ ความนี้ แ ล ว คงจะมามองดู น รกสวรรค ที่ อายตนะกั นเสี ยที อย าฝากไว ที่ โลกอื่ น หรื อเวลาอื่ นสมั ยอื่ นเลย นรกสวรรค กํ าลั งเป น อยูที่นี่แลว.
www.buddhadasa.info “คนฉลาดค า ใกล ๆ คนบ า ใบ ค า ไกล ๆ” ใครว า ก็ ไ ม ท ราบ. เมื่ อ อาตมา ยั งเด็ ก ๆ อยู ได ยิ น คํ า นี้ แ ล ว โยมเคยพู ด ให ฟ ง และเคยตวาดเอาบ อ ย ๆ “คนดี ๆ ค า ใกล ๆ คนบ า ใบ ค า ไกล ๆ”. นี่ ทํ า ไมไม ดู ว า นรกสวรรค มั น อยู ที่ นี่ : ตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจ; ทํ า ไมไม จั ด ให เ ป น เรื่ อ งเป น ราว ให ลุ ล ว งไปด ว ยดี พ น นรก พ น สวรรค แลวก็นิพพาน. ๓. ที นี้ ดู ข อต อ ไปอี กที่ สํ าคั ญ มากกว า ที่ เราไม ป ระสี ป ระสาเสี ยที เดี ยวว า มั น ไม มี อ ะไรนอกจากธาตุ ทุ ก อย า งไม มี อ ะไรนอกจากธาตุ ; นี่ ทํ า ไมไม รู . ไม มี อะไรนอกจากธาตุ และเปนไปตามธรรมชาติ, เปนธาตุแลวตองเปนไปตามธรรมชาติ
ธาตุที่อยูในรูปอายตนะ
๒๕๙
ของธาตุ ; อย า เอามาเป น เราเป น ของเรา หรื อ เป น ตั ว กู ห รื อ เป น ของกู . เมื่ อ พู ด อยางนี้แลว บทพิจารณาที่วา :ยถาปจฺ จ ยํ ปวตฺ ต มานํ ธาตุ ม ตฺ ต เมเวตํ ยทิ ทํ จี ว รํ , ตทุ ป ภุ ฺ ช โก จ ปุค ฺค โล ธาตุม ตฺต โก นิส ฺส ตฺโ ต นิช ฺช ีโ ว สุ ฺโ - มัน ก็ก ลับ มาอีก แลว ; เปน บท หัวใจของพุทธศาสนา วามันเปนสักวาธาตุตามธรรมชาติ มิใชสัตว บุคคลชีวะ อาตมั นอะไร. นี่ เราไม ประสี ประสาเสี ยเรื่อย; เราก็ เคยบวชเณรแล ว เราก็ ท องได แล ว เราก็ ยั งไม ประสี ประสาอยู นั่ นเอง. นี่ ก็ ต องเอามาพู ดกั นใหม พู ดกั นเรื่ อยไปจนหนวกหู ; แมจะรําคาญ ก็ตองพูดกันเรื่อยไปวา “ไมมีอะไรนอกไปจากสิ่งที่เรียกวาธาตุ”. ๔. จะใหใกลชิดเขามาอีก ก็อยากจะพูดอีกขอหนึ่งวา ที่เรารูสึกยินดี รักใคร พอใจ หลงใหล เอร็ดอรอยเหลือประมาณในอัสสาทะ คือรสอรอยหรือเสนหที่เกิด จากอายตนะ โดยหลงใหลถึ งกั บว าเป นทาสของมั นที เดี ยว; นี่ มั นคนละคํ า เมื่ อตะกี้ นี้ วาเปนธาตุ นั้นมัน ธา - ตุ ที่วาเปนทาสนี้ หมายถึงทาสขี้ขา.
www.buddhadasa.info เรากําลังเปนทาสของอายตนะ, เราไมรูจักอายตนะหรือธาตุโดยความเป น ธาตุ เราก็ โง ก็ ข นาดไปเป น ทาสขี้ ข า เป น ทาสี ท าสาของอายตนะนั่ น เอง คื อ เราไป เอร็ ดอร อยเหลื อประมาณ ยิ น ดี พอใจ หลงใหล ในอั สสาทะ คื อเสน ห ที่ ออกมาจาก การปรุงแตงของอายตนะนั้น ๆ เพราะอํานาจของอวิชชา.
เรามี อวิชชา ไม ทราบวาเราไม มี ปรมั ตถสภาวธรรม ที่ รูแจงอยู เราก็ไม รู; เราไม รูก็ คื อ เรามี อวิ ชชา; ฉะนั้ นอวิชชาก็ ช วยทํ าให อายตนะปรุงแต งออกมาเป นอั สสาทะ. อั สสาทะ นี่ แปลว า รสอร อย ยั่ วยวน; เราก็ หลงใหลในรสอร อยนั้ น ก็ เลยได เป นทาส ทาสี ท าสา อะไรก็ ต ามนี้ ของอายตนะนั้ น นี้ ห มดความเป น ไป หมดอิ ส รภาพ เพราะ ไมรูธรรมะในขั้นนี้.
ปรมัตถสภาวธรรม
๒๖๐ ที นี้
อย าว าแต เราคนเดี ยว ต อให คนทั้ งโลกกี่ โลกก็ ตามใจ เทวดา มนุ ษ ย ด วยก็ ได เทวดา มาร พรหม อะไรด วยก็ ได , มนุ ษ ย ในโลกทั้ งโลกด วยก็ ได ล วนแต กําลังเปนทาสทางอายตนะ. ๕. โลกกําลังมี วิกฤตกาลถาวรนานาชนิ ด; หมายความวามี เวลาที่ ยุงยาก ระส่ํ า ระสายโกลาหลวุ น วายอั น ถาวร ไม รู จั ก สงบลงได ไม มี ที่ สิ้ น สุ ด . นี่ โลกทั้ งโลก กํ าลั งเป น กั น อย างนี้ ; ก็ เพราะว าเขาไม มี ค วามรู เรื่ อ งอายตนะ เป น ผู โง ต อ อายตนะ, รวมทั้ งโงต อสิ่งที่ เรียกวาธาตุ นั้ นด วย. เพราะวาเดี๋ ยวนี้ ธาตุ มั นเปลี่ ยนรูปมาอยู ในลักษณะ ของอายตนะ มั นจึ งเล นงานตรได ถนั ด รุ นแรงยิ่ งขึ้ นไปอี ก, เพราะมั นทํ าให เกิ ดอั สสาทะ โดยตรงได แปลก ๆ ไม มี ที่ สิ้ น สุ ด . เมื่ อ คนเราในโลกนี้ เป น บ าว เป น ทาส เป น ทาสี ทาสาของอายตนะแล ว ก็ ห านั่ น หานี่ ม าบํ ารุง บํ าเรออายตนะ; กระทั่ งคิ ด นั่ น คิ ด นี่ ขึ้ นมา ปรุ งแต งให เกิ ดความรู สึ กทางอายตนะเรื่ อยไป นี่ เราก็ ต องไปซื้ อไปหาสิ่ งปรุ งนั้ น เรื่อยไปเพื่อมาปรับปรุงแตงอายตนะ. ได เห็ นภาพแค ตตาล็ อกอั นหนึ่ งบอกขายห อง ห องน้ํ าห องส วม ห องน้ํ าประกอบ ทั้ งห องทั้ งชุ ด นั่ นแหละ เหมื อนกั บ วิ ม านอย างนั้ น แหละ จนดู ไม รู ว าห อ งน้ํ าห องส วม; แล วก็ ข ายกั น ได แล วก็ ซื้ อ กั น ไป. นี่ คิ ด ดู เครื่ อ งประกอบทั้ งหมด มั น ประกอบกั น เข า เป นห องน้ํ าห องหนึ่ ง นี่ เห็ นจะเป นหลายแสนบาท มั นเต็ มไปด วยสิ่ งประดิ ษฐ ดู คล ายกั บ ปาที่สวย ๆ มีอะไรสวย ๆ เขาทําขายเปนชุด ๆ.
www.buddhadasa.info นี่ ทํ าไมโลกจึ งได เจริ งก าวหน าแต ในทางที่ จะเป นทาสของอายตนะ; มั นช าง ไม ตลบหลั งขึ้ นมาเป นเรื่องที่ เป นนายเป นเจ าเหนื ออายตนะบ างเลยหรือ? โลกกํ าลั งเป นไป อย างนี้ ที่ จ ะไปเป น ทาสของอายตนะยิ่ งขึ้ น ; เพราะวาเขาขาดความรูในแงข อง ปรมัตถสภาวธรรม. อาตมาเชื่อวาการที่เราลงทุนมาพูดกันถึงเรื่องนี้อยางซ้ํา ๆ ซาก นี่
ธาตุที่อยูในรูปอายตนะ
๒๖๑
คงจะไม เปล าประโยชน หรื อไม น ารํ าคาญล วน ๆ คงจะมี ป ระโยชน บ าง ขอให ไปช วย พินิจพิจารณาดู. ในการบรรยายเรื่ องปรมั ตสภาวธรรมในคํ ารบที่ ๘ นี้ ได เขยิ บขึ้ นมาถึ งขั้ น ที่เรียกวา เดี๋ยวนี้ธาตุ นั้ นไดเปลี่ ยนรูปมาเป นอายตนะแลว มั นจะทํ าพิ ษเอาพวกเรา หรือวาจะบดขยี้พวกเรามากยิ่ง ๆ ขึ้นไปอีก; นี่ขอใหระวังใหดี. นี้ ก็ เป น การบรรยายที่ ส มควรแก เวลาแล ว ขอให พ ระสงฆ ทั้ ง หลายสวด คณ ะส าธยาย เพื ่อ เพิ ่ม พูน ศ รัท ธาความ เลื ่อ ม ใส ใน การที ่จ ะป ฏิบ ัต ิธ รรม ของพระพุทธองคสืบตอไป.
www.buddhadasa.info
www.buddhadasa.info
ปรมัตถสภาวธรรม
-๙๓ มีนาคม ๒๕๑๖
ความสําคัญของการสัมผัสทางอายตนะ ทานสาธุชนผูสนใจในธรรมทั้งหลาย, การบรรยายประจํ า วัน เสารภ าคนี ้ เปน การบรรยายครั ้ง ที ่ ๙ และ ก็จ ะไดก ลา วโดยหัว ขอ วา ปรมัต ถสภาวธรรม ไปตามเดิม ทา นทั ้ง หลายอาจจะ รู ส ึก วา ซ้ํ า ซากและไมช วนฟง ; นี ่ก ็เ คยพูด กัน มาแลว แตค ราวกอ น ๆ วา มัน เปน อยา งนั ้น เอง ก็จํ า เปน ที ่จ ะตอ งขอใหท นฟง , และอาตมาก็จ ะตอ งกลา ว ไปใหจบเรื่อง เพราะมันเปนเรื่องที่สมบูรณเฉพาะเรื่องเรื่องหนึ่ง.
www.buddhadasa.info จะขอทบทวนความหมายของคํ า ว า “ปรมั ต ถสภาวธรรม” นี้ อ ยู เสมอ. ที่แลว ๆ มาแตหนหลังจนกระทั่งบัดนี้นั้น เราสนใจกันอยางผิวเผิน; ไมสนใจถึงขนาด
๒๖๓
๒๖๔
ปรมัตถสภาวธรรม
ที่ เรี ยกว า ปรมั ตถะ หรื อปรมั ตถสภาวะได เลย จึ งจํ าเป นจะต องชั กชวนกั นใหม ขอร อง กั นใหม . ให ขยั บขยายการศึ กษาหรื อความสนใจให ลึ กซึ้ งยิ่ งขึ้ นไป ถึ งขนาดที่ จะเรี ยกว า ปรมั ตถะ คื อมี อรรถอั นยิ่ งนี้ ได ; แต ก็ ไม จํ าเป นจะต องเหมื อนกั บความหมายของคํ าว า ปรมัตถะ ที่พูดถึงกันอยูในที่อื่น ๆ. ยกตั วอย างเช น เมื่ อพู ดถึ งนรกใต ดิ นอย างที่ เขี ยนไว ตามฝาผนั งโบสถ , หรื อ สวรรค บ นฟ า อย างที่ เขี ยนไว ตามผนั งโบสถ รู ป ภาพเทวโลก พรหมโลก อย างฝาผนั ง โบสถ ; พวกอื่ น หรื อ พวกหนึ่ ง เขาก็ ถื อ ว า เป น เรื่ อ งอภิ ธ รรม เป น เรื่ อ งปรมั ต ถ แจก ออกไปเป นอย างนั้ น ด วยจิ ตดวงนั้ นจึ งจะไปสู ที่ นั้ นได . คํ าอธิ บายอย างนั้ นเราไม ถื อว า เปนปรมัตถ หรือวาเปนปรมัตถสภาวะในที่นี้. เราจะถื อ เอาอย า งที่ พ ระพุ ท ธเจ าท า นได ต รั ส ไว เหมื อ นกั บ ที่ พ ระสงฆ ทั้ งหลายท านได สวดแล วเมื่ อตะกี้ นี้ ว า นรกชื่ อฉผั สสายาตนิ กนรก เราเห็ นแล ว อย างนี้ เป น ต น ; หมายความว า นรกที่ มี อ ยู ที่ ตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจ ของคนนั่ น เอง. นี่ พระพุ ทธเจ าท านว าท านเห็ นแล ว และทรงแสดงลั กษณะว า ความเป นนรกที่ ตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจนั้ น มั นอยู ที่ ว า เมื่ อตาได พ บแต สิ่ งที่ ทํ าให เกิ ดความรู สึ กเป นทุ กข ไม เป น ที่ น าพอใจ เผาลนกระวนกระวาย, หรื อจะเรี ย กว านรกอยู ที่ ต า หรื อ ว าเมื่ อ หู ได สั ม ผั ส เสี ยงที่ ทํ าให เกิ ดร อนใจ นี่ ก็ เรี ยกว านรกมั นอยู ที่ หู . เรื่ องสวรรค ก็ เหมื อนกั น ท านตรั สว า ฉผสฺ ส ายตนิ ก า สคฺ ค า - สวรรค ที่ อ ายตนะทั้ ง ๖ เราก็ ได เห็ น แล ว นี้ มั น ตรงกั น ข า ม กั บ นรก มี อ ยู ที่ ต า หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจ; เมื่ อ ใดได รู ป เสี ย ง กลิ่ น รส โผฏฐั พ พะ ธัมมารมณ มาเปนของถูกใจ พอใจ ไมมีความทุกข ก็เรียกวาสวรรค.
www.buddhadasa.info ทีนี้ยังมีตรัสไวตอไปอีกวา สวรรคและนรกนั่นมันเปนที่ตกที่จมของคน ของ สัตวทั้งหลาย; แตคนธรรมดาไมมองเห็นวา นรก สวรรค ที่ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจนั้น
ความสําคัญของการสัมผัสทางอายตนะ
๒๖๕
เป นนรกเป นสวรรค เป นที่ ตกที่ จมของคน. เขาจะพู ดกั นว า ที่ ทะเลโน น ที่ มหาสมุ ทร ที่ ทะเลโน น; พระองค จึ งตรัสว า ที่ คนธรรมดาสามั ญเรียกกั นว าสมุ ทร สมุ ทร มหาสมุ ทร ที่ตกที่จมนั้น ไมใชมหาสมุทรในอริยวินัย คือในความหมายของพระอริยเจา. มหาสมุทรที่ตา ที่หู ที่จมูก ที่ลิ้น ที่กาย ที่ใจ ที่คูกันอยูกับรูป เสียง กลิ่ น รส โผฏฐัพพะ ธั มมารมณ เดี๋ ยวมี สภาพเป นนรก เดี๋ ยวมี สภาพเป นสวรรค ; นั่ นแหละดู ให ดี เถิ ด นั่ นแหละคื อสมุ ทร มหาสมุ ทร; เพราะคํ าวาสมุ ทรนี้ แปลวาเป น ที่ตกที่จม. มหาสมุ ทรใหญ ๆ นั่ นไม ใช มหาสมุ ทร ไม ใช ที่ ตกที่ จม; เป นแต น้ํ ามาก ๆ น้ํ ายื ดยาวเท านั้ นเอง ไม ใช เป นที่ ตกที่ จมของคน. ส วนตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจ เกี่ ยว กั น อยู กั บ รู ป เสี ย งกลิ่ น รส โผฏฐั พ พะ ธั ม มารมณ นี่ แ หละ คื อ ตั ว สมุ ท รที่ แ ท จ ริ ง ; คือคนตกลงไปแลวมันก็มีจิตใจยุงเหยิงเหมือนปมดายยุง, มีปมมาก ๆ มาคลุกมาเคลากัน สางไม ออก. เพราะวามั นพ นกั นซั บซ อนเหมื อนเชิ งหญ ามุ ญชะและหญ าป พพชะ สางไม ออกอยางนี้ เรียกวาสมุทรเปนที่ตกที่จม.
www.buddhadasa.info เพี ยงเท านี้ ก็ ขอให ท านทั้ งหลายพิ จารณาดู เถิ ดวา มั นมี ความเป นปรมั ตถสภาวะ อยูที่ไหน? ชาวบานก็ชี้ที่ต กที่จ มไปที่ท ะเล; แตพ ระพุท ธเจาทา นทรงชี้ที ่ต กที ่จ ม มาที่ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ. มันมีความเปนปรมัตถสภาวะอยูที่ตรงไหน? ถาทาน ทั้ งหลายรู เรื่ องนี้ ดี เข าใจเรื่ องนี้ ดี มั น ก็ จะฉลาดขึ้ น หรื อ ว าจะโง ล ง; ถ าท านมี ค วาม ฉลาดลึ กซึ้ งลงไปก็ เรียกว ามี ความรูทางปรมั ตถสภาวะเพิ่ มขึ้ น. เรื่องชนิ ดนี้ มั นมี มากมาย เหลื อเกิ น จึ งต องเอามาบรรยายกั น บ างตามสมควร มั น ก็ เป น ความซ้ํ า ๆ ซาก ๆ บ าง ขอใหทนเอาหนอย.
๒๖๖
ปรมัตถสภาวธรรม
ความเปนปรมัตถสภาวะนั้นมันก็ไมมีอะไรมากไปกวา ที่วาลึกซึ้งจนตาม ธรรมดาเรามองไม เห็ น และไม ได มอง และยิ่ งไม ชอบมองเพราะมั นรําคาญ หรือมั น ลํ าบาก หรื อ มั น ยุ งหั ว; นี่ พู ด ภาษาธรรมดาสามั ญ เราก็ ป ล อ ยไปตามสบาย ก็ เลยไม ต องรู อะไรที่ ลึ กซึ้ ง. เดี๋ ยวนี้ เราจะพยายามเข าใจความหมายนี้ ในลั กษณะอย างนี้ กั นให เพียงพอ จึงตองทนบรรยายสําหรับผูบรรยาย และก็ทนฟงสําหรับผูที่จะตองฟง. ในครั้ งที่ แ ล วมาหลายครั้ ง ก็ ล วนแต พู ด ถึ งเรื่ อ งธาตุ , ธาตุ ทั้ งหลายที่ ชี้ ให เห็ นว ามั นไม มี อะไรนอกจากธาตุ . เมื่ อเรามามองดู สิ่ งต าง ๆ รอบตั วเรา เราเห็ นต นไม เห็ นก อนหิ น เห็ น สั ตว มด แมลง เห็ นนก คน อยู ทั่ ว ๆ ไป เราไม รู สึ กว านั่ น เป นสั กว า ธาตุ ต ามธรรมชาติ ; เราไปเห็ น เป น สั ต ว เป น คน เป น นั่ น เป น นี่ ไ ปเสี ย เรารู สึ ก เพี ย งเท า นั้ น ; อย า งนี้ ก็ คื อ ว า ไม ไ ด เห็ น ความเป น ปรมั ต ถสภาวะ. ต อ เมื่ อ เหลี ย วไป ทางไหน รูสึ กชั ดเจนแจ มแจ งอยู ในใจว า เป นเพี ยงสั กว าธาตุ ที่ กํ าลั งหมุ นเวี ยนเปลี่ ยน แปลงไปตามธรรมชาติ; นี่จึงจะเรียกวารูสึกตอปรมัตถสภาวะ. ที นี้ เราก็ ได ยิ น กั น แต เพี ย งว า ธาตุ ดิ น ธาตุ น้ํ า ธาตุ ล ม ธาตุ ไฟ สี่ ธ าตุ เท า นั้ น เป น อย า งมาก; นี่ ก็ เรี ย กว า รู นิ ด เดี ย ว คื อ รู เพี ย งส ว นน อ ย ส ว นหนึ่ ง ของธาตุ ประเภทที ่เปน วัต ถุ. สว นธาตุที ่เปน ประเภทนามธรรม ไมใ ชว ัต ถุนั ้น ไมค อ ยจะ ได รู กั น ; แต ถ า ได รู ไ ปถึ ง ธาตุ ที่ เป น นามธรรม เช น วิ ญ ญาณธาตุ เป น ต น ก็ รู แ ต ฝ ายสั งขตธาตุ คื อธาตุ ที่ มี ธาตุ ป จจั ยปรุ งแต ง เปลี่ ยนแปลงไปตามเหตุ ตามป จจั ยเท านั้ น. และเราก็ ไม ได รู ถึ งธาตุ ที่ เป นอสั งขตธาตุ คื อไม มี เหตุ ป จจั ยปรุงแต ง และไม เปลี่ ยนแปลง เลย เชนนิพพานธาตุ เปนตน.
www.buddhadasa.info พู ดถึ งสิ่ งที่ เรี ยกว าธาตุ แล ว เรารู จั กมั นน อยเหลื อเกิ น : โดยปริ มาณก็ รู น อย, โดยคุ ณ ลั กษณะเราก็ รูน อย; ฉะนั้ นเราจึ งต อ งทนศึ กษาสิ่ งที่ เรียกวาธาตุ ให เข าใจไว ในฐานะที่เปนรากฐานสําหรับศึกษาเรื่องทั้งปวงตอไป.
ความสําคัญของการสัมผัสทางอายตนะ
๒๖๗
ถาพู ดถึงเรื่องธาตุก็จะต องนึ กถึงธาตุ สองประเภท : ธาตุที่ มี เหตุ ป จจั ย ปรุงแตง กับธาตุที่ไมมีเหตุปจจัยปรุงแตง ซึ่งไดแกนิพพานหรือนิโรธธาตุ เปนตน; สวนธาตุที่มีปจจัยปรุงแตงนี้มันมีมาก นับตั้งแตวาเราจะตองรูจักธาตุตา ธาตุหู ธาตุจมูก ธาตุ ลิ้ น ธาตุ ก าย ธาตุ ใจ. นี้ ก็ เป น คํ า แปลกสํ า หรับ คนธรรมดาเสี ย แล ว บางที ถ า ได ยิ นจากคนอื่ น ท านทั้ งหลายอาจจะนึ กแช งอยู ในใจวาเอาที่ ไหนมาพู ด แต นี่ อาตมาเอา มาจากพระบาลี ของพระพุ ทธเจ า : ธาตุ ตา ธาตุ หู ธาตุ จมู ก ธาตุ ลิ้ น ธาตุ กาย ธาตุ ใจ, แล วก็ ยังมี ธาตุ รูป ธาตุ เสียง ธาตุ กลิ่ น ธาตุ รส ธาตุโผฏฐัพพะ ธาตุ ธัมมารมณ หรือธรรมธาตุ เปนตน; นี้ก็เปนธาตุที่ไมเคยสนใจกัน. ธาตุเหลานี้ก็ปรุงแตงกันขึ้นมาเปนวิญญาณธาตุ คือเปนวิญญาณธาตุทางตา วิญญาณธาตุ ทางหู วิญญาณธาตุ ทางจมู ก วิญญาณธาตุ ทางลิ้ น วิญญาณธาตุ ทางกาย และวิญญาณธาตุทางใจเอง; แลวก็เกิดเวทนาธาตุสืบตอจากการสัมผัสดวยวิญญาณธาตุนั้น เป นเวทนาธาตุ ที่ มาจากการสั มผั สทางตา เวทนาธาตุ ที่ มาจากาการสั มผั สทางหู เวทนาธาตุ ที่มาจากาการสัมผัสทางจมู ก เป นต น นี่ จนถึ งครบหก.แลวเกิ ดสั ญญาธาต คื อธาตุ แหงความสําคัญมั่นหมายวาเปนนั่นเปนนี่ ตามที่มันเปนรูป เสียง กลิ่น รสก็มี ตามที่มัน เปนตัวตน เปนอัตตสัญญาวาตัวตนก็มี, เปนนิจสัญญาวาเที่ยงก็มี, กระทั่งเปนสัญญา วาหญิ งวาชาย วาอะไรตาง ๆ ไปตามความรูสึกของตน นี้ก็มี, สัญญานี้ก็เปนสักวาธาตุ. แลวเกิดสังขารธาตุ คือธาตุความคิด คิดอยางนั้น คิดอยางนี้ คิดดี คิดชั่ว อยางนี้ ก็เรียกวาสังขารธาตุ เนื่องอยูกับ รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ธัมมารมณ ดวยเหมือนกัน; คิดดูซิ มันไมมีอะไรที่ไมใชธาตุ.
www.buddhadasa.info ที่นี้ การที่มั นจะเป นจักขุธาตุ และรูปธาตุ ขึ้นมา และเป นวิญญาณธาตุ ทางตานี้ มันยังตองอาศัยธาตุดิน ธาตุน้ํา ธาตุไฟ ธาตุลม สี่อยางแรกชวยใหเกิดจักษุประสาท คือชวยใหเกิดสิ่งที่มีรูปรางมากระทบ นี่มันยังตองอาศัยมหาภูตรูป ที่เรียกวามหาภูตธาตุนี้ อีกสวนหนึ่งดวย.
๒๖๘
ปรมัตถสภาวธรรม
ขอสรุ ป ความว า รู ป ที่ อ ยู ข างนอก เป น ของแข็ ง สั ม ผั ส ได นี้ ก็ ดี , ธาตุ ที่ เป น นามธรรม เป น จิ ต เป น ความรู สึ ก ของจิ ต ใจภายในก็ ดี , มั น ล ว นแต เป น ธาตุ ทั้ งนั้ น . ถ า แจกโดยชื่ อ แล ว มี จํ านวนตั้ งหลายสิ บ ธาตุ ล ว นแต เป น ธาตุ ที่ มี เหตุ ป จ จั ย ปรุ งแต ง หมุ น เวี ย นเปลี่ ย นแปลงไปตามเหตุ ป จ จั ย นั้ น ๆ; นี่ เรี ย กว าธาตุ . ถ ามองเห็ น ถึ งขนาดนี้ ก็ พ อจะกล าวได ว ามี ค วามรู เรื่ อ งปรมั ต ถสภาวธรรม ของสิ่ งที่ เรี ยกว าธาตุ จบไปตอนหนึ่ง. ที นี้ ต อไปอี กก็ มี ว า ธาตุ ที่ เคยเรี ยกว าธาตุ นั้ น ต อมามั นเปลี่ ยนความหมาย หรือเปลี่ ย นหน าที่ ก ารงาน หรือ เปลี่ ยนชื่ อ สํ าหรับ เรียก มาเรีย กเป น อายตนะ; เช น ธาตุ ตาหรื อจั กษุ ธาตุ นี่ , มั นมาเปลี่ ยนเป นจั กษุ อายตนะ รู ปธาตุ มาเป นรูปายาตนะ เป นต น. เดี๋ ยวนี้ คํ าว าธาตุ มั น เปลี่ ยนชื่ อ มาเป น อายตนะ; เมื่ อ เป น ธาตุ นั้ น คล าย ๆ กั บ ว ามั น เป น ส ว นประกอบส ว นหนึ่ ง สํ า หรั บ ประกอบเป น ส ว นอื่ น และเป น ส ว นย อ ย และมี ลั ก ษณะเป น รากฐานหรื อ พื้ น ฐาน. พอเปลี่ ย นมาเรี ย กว า อายตนะนี่ กลายเป น การ สัมผัส เปนที่ตั้งแหงการสัมผัส มันเคลื่อนไหว มันปรุงแตงมากขึ้น.
www.buddhadasa.info คํ าว า “ธาตุ ” นั้ นแหละ เมื่ อเรี ยกว าธาตุ เป นสั กว าธาตุ เป นรากฐาน เป น พื้ น ฐาน เป น ส วนประกอบน อ ย ๆ; พอธาตุ ทํ างาน การปรุ งแต งสั ม พั น ธ กั น สร างนั่ น สร า งนี่ ขึ้ น มา ก็ เ รี ย กชื่ อ ว า อายตนะไป อย า งนี้ เ ป น ต น . นี้ ก็ ต อ งรู ใ นฐานะที่ เ ป น ความหมายที่ลึกซึ้งอยางหนึ่งดวยเหมือนกัน.
พอธาตุ ส วนหน าที่ ของธาตุ คื อการปรุงตั วอยู นั่ นมาเป นอายตนะ คื อการ กระทบแล ว มั นก็ เกิ ดเรื่ อง : เกิ ดการลุ กลาม, เกิ ดธรรมทั้ งหลายทั้ งปวงขึ้ นมา เป นนั่ น เป น นี่ เป น โน น เพราะการปรุ ง แต ง นั่ น . ข อ สํ า คั ญ ที่ สุ ด ก็ เ พราะมี ก ารกระทบทาง อายตนะนี ่ ระหวา งตากับ รูป หูก ับ เสีย ง จมูก กับ กลิ ่น ลิ ้น กับ รส สัม ผัส กับ กาย ธัมมารมณกับใจ ทั้งหกคูนี่ จึงจะเรียกวาเกิดเรื่องที่สําคัญขึ้นมา และลุกลาม. เพียง
ความสําคัญของการสัมผัสทางอายตนะ
๒๖๙
แต วาธาตุ มั นจะปรุงแต งกันเป นเนื้ อหนั งเฉย ๆ หรือวาเป นก อนหิ น ก อนดิ น เป นต นไม เฉย ๆ นี้ มั น ยั ง ไม มี ค วามสํ า คั ญ อะไร เพราะมั น ยั ง ไม ใ ช เรื่ อ งโดยตรงของมนุ ษ ย และไม มีป ญหาแกมนุษย; ตอเมื่ อธาตุทํ าหนาที่เป นอายตนะขางในขางนอก มันก็ปรุงแต ง เป นการกระทบ เป นสั มผั ส, เป นเวทนา สั ญญา สั งขาร วิ ญญาณขึ้ นมา นี้ เรียกว ามั น เปนการลุมลาม แหงการเกิดขึ้นของสิ่งทั้งปวงที่เราเรียกรวม ๆ กันวา “โลก”. คิดดูใหดี ใหลึกลงไปอีก จะพบวา มันตองมีการสัมผัส คือการเกี่ยวของ กั นแล วเกิ ดสิ่ งอื่ นขึ้ นมา อย างนี้ เรียกวาการสั มผั ส. ถ าตาอยู แต ตา รูปอยู แต รูป ไม มี ความหมายอะไรนั ก ไม มี เรื่องเกิ ดขึ้ น; พอตาสั ม ผั สกั บ รูป เกี่ ยวข องแตะต องกั บ รูป ก็เกิดจักษุวิญญาณธาตุ สําหรับเห็นรูปนั้นขึ้นมา ก็ไดเปน ๓ เรื่องขึ้นมา. ความเกี่ยวกันกระทบกันระหวางสิ่งนั้งสาม นี้เรียกวาสัมผัส. เพราะ สั มผั สตั วนี้ เท านั้ นแหละจึ งจะมี เรื่อง; ถ าอย ามี สั มผั สตั วนี้ ตั วเดี ยว เรื่องก็ ไม มี . ตาก็ อยูแตตา รูปก็อยูแตรูป อยามาเกี่ยวของกันแลว จักษุ วิญญาณก็มิไดมี; เหมือนกับวา หยุ ดเฉย ในการที่ จะปรุงแต งให เป นเรื่องเป นราว. แต พอมั นมากระทบกั น ตากระทบรูป แลวเกิดความรูแจงทางตา เป นจักษุ วิญญาณขึ้น นี่ คื อเรื่องตั้ งตน ฉะนั้น วิญญาณนี้ จะเรียกวาปฏิสนธิวิญญาณ ก็ได เพราะตอไปมันจะทําใหเกิดการปรุงแตงไปตามลําดับ, ตามลําดับ จนเกิดความรูสึกวาตัวกู-วาของกู.
www.buddhadasa.info ปฏิ สนธิวิญญาณที่ เขาวา ในเมื่ อคนตายแล วมั นก็ จุติ ลงไปปฏิ สนธิ ไปเกิ ด ใหม นั้ น นั่ น เขาว ากั น อี ก พวกหนึ่ ง; ในที่ นี้ เราไม ว าอย างนั้ น เราไม คั ด ค าน หรือ จะ ไมทําอะไรหมดแกคํากลาวอยางนั้น. แตเราจะชี้วา ปฏิสนธิวิญญาณที่เกิดขึ้นนั่นนะ คือวิญญาณที่เกิดขึ้น เมื่อตากระทบรูปแลวเกิดจักขุวิญญาณ; นี่คือปฏิสนธิวิญญาณ อาศัยทางตาปรุงเปนเรื่องเปนราว. ถามันประจวบเพมาะ มันไมตายเสีย หมายความวา
๒๗๐
ปรมัตถสภาวธรรม
มั นไม กระทบเฉย ๆ แต มี อวิ ชชาเกิ ดขึ้ นผสมโรงด วยแล ว ก็ ต องเจริ ญ เติ บโต เป นเวทนา ตั ณ หา อุ ป าทาน เป น ความรู สึ ก ว า เป น ตั ว กู -ของกู เกิ ด ขึ้ น มาครั้ ง หนึ่ ง เป น แน น อน นี่ขอใหเขาใจคําวา “วิญญาณ” ไวในลักษณะอยางนี้. สิ่ ง ที่ เรี ย กว า ผั ส สะ หรื อ สั ม ผั ส แปลว า การกระทบ; การกระทบในที่ นี้ หมายถึ งตา ข างหนึ่ ง, รู ป ที่ เป น อารมณ ของตานั้ น ข างหนึ่ ง, แล วก็ จั ก ษุ วิ ญ ญาณ ที่ เ กิ ด ขึ้ น เพราะของสองอย า งนี้ ก ระทบกั น อี ก ฝ า ยหนึ่ ง , รวมเป น ๓ ฝ า ย : เมื่ อ กระทบกั น , มาอยู พ ร อ มกั น , มาประจวบกั น , หรื ออะไรก็ แล วแต จะเรี ย ก ย อ มจะเกิ ด สิ่ งที่ เรี ยกว าสั มผั สขึ้ นมา. สั มผั สนี้ ถ าเราเรี ยกสั้ น ๆ เราเรี ยกว าผั สสะเฉย ๆ; เรี ยกเต็ มที่ ก็วา สัมผัสสะ, เรียกสั้น ๆ ก็วา ผัสสะ เฉย ๆ. ในวันนี้จะพูดถึงเรื่องผัสสะนี้อยางเดียว ในฐานะที่ เปนปรมัตถสภาวธรรม อย า งยิ่ ง . ที่ ว า อย า งยิ่ ง นี้ หมายความว า ยิ่ ง ทั้ ง ในทางที่ มั น ลึ ก ซึ้ ง ยิ่ ง ในทางที่ มั น กว างขวาง และยิ่ งที่ สุ ดในทางที่ มั นร ายกาจ มั นร ายกาจยิ่ งกว าสิ่ งใดบรรดาที่ เราจะถื อว า ร ายกาจ. คนเรากลั วนั่ นกลั วนี่ กลั วอะไรในฐานะเป น สิ่ งที่ ร ายกาจกั น อย างอื่ น นั้ น ยั ง ไม ฉลาด นั้ นยั งไม ใช ปรมั ตถสภาวะ; ผู ที่ มองเห็ นว าผั สสะนี้ เป นสิ่ งที่ ยิ่ งร ายกาจกว าสิ่ ง ทั้ งปวง คนนั้ นแหละคื อคนที่ มองเห็ นปรมั ตถสภาวะ. ฉะนั้ นขอให ฟ งให ดี ว า ไม มี อะไร ไมมีเรื่องอะไร ที่มากหรือสําคัญ หรือรายกาจยิ่งไปกวาเรื่องผัสสะ.
www.buddhadasa.info นี้ เป นการกล าวทบทวนการบรรยายครั้ งที่ แล วมา ที่ กล าวมาเรื่ อย ๆ ๆ เพื่ อจะ ชี้ใหเห็นชัดยิ่งขึ้นทุกทีวา มันมีสิ่งที่รายกาจอยูสิ่งหนึ่ง คือสิ่งที่เรียกวาผัสสะ. ที นี้ การลองทบทวนความจํ า ความรู อะไรของตั วเองว า ผั สสะมาจากไหน? เดี๋ยวนี้ก็พูดไปหยก ๆ วาผัสสะมาจากการกระทบระหวางอายตนะ : อายตนะขางใน
๒๗๐
ปรมัตถสภาวธรรม
คื อ ตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจ อย างใดอย างหนึ่ ง, อายตนะข างนอกคื อ รู ป เสี ยง กลิ่ น รส โผฏฐั พ พะ ธั ม มารมณ อย า งใดอย า งหนึ่ ง ; มาเนื่ อ งกั น แล ว ก็ เรี ย กว า อายตนะ สองฝ ายตามคู ของมั น นี้ มากระทบกั น มี ปฏิ กิ ริ ยาเกิ ดขึ้ น เป นวิ ญ ญาณที่ อายตนะนั้ น ๆ เช นกระทบทางตา ก็ เกิ ดวิ ญญาณทางตา; ความประจวบกั นของ ๓ อย างนี้ เรี ยกว า ผัสสะ นี่ตองจําใหแมน. อย าถื อเอาแต เพี ยงว าตากั บรู ป กระทบกั น จึ งจะเป นผั สสะที่ สมบู รณ เพราะ พระพุ ทธเจ าท านไม ได ตรัสอย างนั้ น ท านตรัสว าอาศั ยตากั บรูปย อม อุ ปฺ ปชฺ ชติ คื อเกิ ดขึ้ น แห งจั กขุ วิ ญ ญาณ คื อการเห็ นของตา ติ ณฺ ณํ ธมฺ มานํ สงฺ คติ ผสฺ โส-การมาพร อมกั น หรือมาถึงกันเขาของสิ่งทั้ง ๓ นี้เราเรียกวาผัสสะ. คํ าว า ผั สสะ คื อการกระทบแล วต องมี ๓ ส วน ตาส วนหนึ่ ง, รู ปส วนหนึ่ ง, การเห็ น รู ป ทางตานั้ น อี ก ส ว นหนึ่ ง , เป น ๓ ส ว น เรี ย กว า ผั ส สะ. ให จํ า ความข อ นี้ ไว ตลอดชี วิ ตดี กว า ถ ายั งอยากจะศึ กษาเรื่ องธรรมะต อไป; เรื่ องของตากั บรู ปเป นอย างไร เรื่ อ งของหู กั บ เสี ย ง จมู ก กั บ กลิ่ น ฯลฯ ก็ เป น อย า งนั้ น ; นี่ ไ ปพิ จ ารณาเอาเองได . การแสดงธรรมะ จะยกตั ว อย า งแต เพี ย งคู แ รกเท า นั้ น คื อ ตากั บ รู ป เท า นั้ น ใช คํ า ว า ตากับรูปเปนตน แลวเหลืออีก ๕ คู ก็ไปคิดเอาเองได มันเหมือนกัน.
www.buddhadasa.info ในที่ นี้ สรุ ปไว เป นกลาง ๆ ว า ผั สสะ, จะคู ไหนก็ ได เรี ยกว า ผั สสะ ทั้ งนั้ น; แล วผั สสะนั่ นแหละเป นตั วสํ าคั ญ เป นตั วอะไรไปทั้ งหมด ที่ เป นป ญหาสํ าหรั บมนุ ษย เดี๋ ยวก็ จะมองเห็ น เพราะว าจะพู ดเรื่ องนี้ โดยละเอี ยดในวั นนี้ . แม กระทั่ ง ท านทั้ งหลาย ต องมานั่ งจั บกลุ มกั นอยู ที่ นี่ ก็ มี เหตุ มี ป จจั ย มี มู ลรากแท จริ งมาจากสิ่ งที่ เรี ยกว าผั สสะ จะคิดไปพลางก็ได เดี๋ยวก็จะพูดใหเห็น เพราะจะตองพูดไปตามลําดับ :-
ปรมัตถสภาวธรรม
๒๗๒
สิ่งทั้งปวงเกิดมาจาก ผัสสะ สิ่ งทั้ งปวงเกิ ด มาจากผั ส สะ นี่ เป น บทตั้ ง, แล วสิ่ งทั้ งปวงคื อ อะไร? ก็ จะ แจกให เห็ น ตามลํ าดั บ ว า มี อะไรบ าง, แล วก็ จะชี้ ให เห็ น ว า ทุ กสิ่ งนั้ น มั น มาจากผั ส สะ ทั้งนั้น; แลวผัสสะนั้นก็มาจากอายตนะ ในการกระทบกันระหวางอายตนะ. คํ าวา ผั สสะ แปลว า การกระทบ มั นมี อยู ๓ ประเภทด วยกั น. ขอให ฟ ง ให ดี การกระทบทางตา เช น ตากระทบรู ป เป น ต น อย างนี้ จะมี อ ยู ๓ ประเภท หรื อ ๓ ชนิดดวยกันอยู :ประเภทที่ ๑ การกระทบตามธรรมชาติ อยางที่ เรียกวาปกติ สั มผั ส หรือวา ธรรมชาติ สั ม ผั ส ก็ ได คื อ ตากระทบกั บ รู ป อยู ต ามธรรมชาติ ไม มี อ ะไรมากกว านั้ น ; อย างเช นเดี๋ ยวนี้ ทุ กคนก็ ไม ได ตาบอด และตาก็ ลื มอยู ตาก็ เห็ นรู ปอยู มองไปทางไหน ก็ เห็ น รู ป อย างใดอย างหนึ่ งอยู นี่ เรี ย กว า สั ม ผั ส ตามปกติ ต ามธรรมชาติ . นี่ อ ย างหนึ่ ง ซึ่งโดยมากก็จะเปนอยางนี้.
www.buddhadasa.info ส วนประเภทที่ ๒. นั้ น จะเรี ยกว า อวิ ชชาสั มผั ส คื อตาเห็ นรู ป เป นต น; แล ว ไม มี ค วามรู มี แ ต ค วามโง , แล ว ไม มี ส ติ สั ม ปชั ญ ญะควบคุ ม จิ ต ใจ, ถู ก อวิ ช ชา ความโง เข า มาผสมเข า ไปในสั ม ผั ส นั้ น ; สั ม ผั ส นี้ จ ะต อ งเรี ย กชื่ อ ใหม แ ล ว ว า อวิ ช ชา สัม ผัส . อยา งที ่ห นึ ่ง เมื ่อ ตะกี ้นี ้ พูด วา ปกติส ัม ผัส ยัง ไมพ ูด ถึง อวิช ชา อวิช ชา ก็ ยั ง ไม เกิ ด . พวกอื่ น เขาสอนว า อวิ ช ชาเกิ ด อยู ต ลอดเวลา ; แต อ าตมาไม ส อน อยา งนั ้น เชื ่อ คํ า พระพุท ธเจา ; เพราะพระพุท ธเจา ทา นตรัส วา “แมอ วิช ชาก็ เพิ่ งเกิ ด”. เกิ ดเมื่ อไร? เกิ ดเป นคราว ๆ ไป เมื่ อมี การกระทบทางอายตนะแล วเผลอสติ . เมื่ อใดตาเราเหลื อบไปเห็ นรู ป รู ป ใดรู ป หนึ่ ง เกิ ดการเห็ นทางตาขึ้ นมาแล ว, แล วรู ปนั้ น มีความหมายมากที่สุดสําหรับผูนั้น. เชน เห็นรูปที่นารักสําหรับผูนั้น หรือรูปที่นาเกลียด
ความสําคัญของการสัมผัสทางอายตนะ
๒๗๓
สํ า หรั บ ผู นั้ น หรื อ รู ป ที่ ยั่ ว ยวนเฉพาะผู นั้ น ; ผู นั้ น มั น ก็ ไม เพี ย งแต เห็ น เฉย ๆ เขาถู ก อวิ ชชา ความที่ ไม รู ตามที่ เป นจริ งครอบงํ าแล ว เขาก็ เกิ ดความรั ก พอใจในรู ปนั้ นบ าง, หรื อว าเขาเกิ ดความเกลี ยดในรู ปนั้ นบ าง, เกิ ดความโกรธในรู ปนั้ นบ าง, เกิ ดความกลั ว ในรู ปนั้ นบ าง; สั มผั สอย างนี้ เรียกว า อวิ ชชาสั มผั ส คื อสั มผั สลงไปด วยอํ านาจอวิ ชชา นี่เรียกวาสัมผัสประเภทสี่สอง หรือชนิดที่สอง. ประเภทที่ ๓. ก็ตรงกันขาม คือมี สติ สั มปชั ญญะอยู มี ความรูอยู แลวมี การสั ม ผั ส สิ่ งนั้ น ด วยวิ ช ชา คื อ ด ว ยความรู แ ละรู สึ ก ตั ว. อย างนี้ สั ม ผั ส แล วไม รู สึ ก รั ก ไม รู สึ กโกรธ, เกลี ยด, หรื อกลั วอะไร; กลั บ รู แจ งไปในทางว า นี้ คื ออะไร, นี้ เกี่ ยวข อ ง กั บ เราอย า งไร, นี่ เราจะต อ งทํ า อย า งไร, หรื อ ว า เราจะไม ต อ งทํ า อะไรเลยกั บ สิ่ ง นี้ ; รูดีอยางนี้. สัมผัสอยางนี้จะเรียกวา วิชชาสัมผัส. ขอให จํ าไว ว า ที่ เรี ยกว าสั ม ผั ส -สั ม ผั ส นี้ ตามปกติ เราสั ม ผั ส กั น อยู เรื่ อ ย ไม เกิ ด อะไร อย างนี้ มั น ก็ ต ายด า น เพี ย งแต ว าสั ม ผั ส แล วก็ แ ล ว กั น อวิ ช ชาไม เข า มาช ว ยผสม. ทางหู ก็ เหมื อ นกั น เราได ยิ น เสี ย งนก เสี ย งอะไรอยู ไม มี ค วามรู สึ ก มากไปกว า ได ยิ น , ทางจมู ก ก็ เหมื อ นกั น จะได ก ลิ่ น อะไรอยู ก็ แ ล ว กั น ไป; อย า งนี้ ก็เ รีย กวา ปกติส ัม ผัส ไมเ กิด เรื ่อ งอะไร และในชีว ิต ธรรมดาสามัญ ทั ้ง วัน ทั ้ง คืน ก็มักจะเปนอยางนี้.
www.buddhadasa.info ในบางครั้ ง เป นพิ เศษ การเห็ นทางตาเป นต นนั้ น ได โอกาสประจวบเหมาะ คืออารมณ นั้นมันมีความหมายแกผูนั้นขึ้นมา ซึ่งอารมณ เปนที่ตั้งแหงความรัก, อารมณ เป น ที่ ตั้ งแห งความโกรธ, อารมณ เป น ที่ ตั้ งแห งความกลั ว, หรื อ อะไรก็ ได . แล วเขาก็ เผลอสติ, เขาก็ไมมีความรูทันสิ่งเหลานี้.
๒๗๔
ปรมัตถสภาวธรรม
ความโง หรื อ อวิ ช ชา ก็ ไ ด โอกาสเกิ ด ขึ้ น ในขณะนั้ น ทํ า ให สั ม ผั ส นั้ น สั มผั สลงไปด วยอํ านาจอวิ ชชาอี กครั้ งหนึ่ ง ไม ใช สั มผั สเฉย ๆ; นี้ ก็ นั บว ามี มากเหมื อนกั น แต ไม ใช มากเหมื อนกั บอย างที่ แรก; แต ก็ ยั งมากกว าอย างที่ สามที่ เรี ยกว า วิ ชชาสั มผั ส คื อน อยครั้ งละที่ เราจะมี สติ สั มปชั ญ ญะพอ ที่ จะไม หลงรั ก หลงเกลี ยด หลงกลั ว หลงทึ่ ง หลงสงสัย หลงวิตกกังวลในสิ่งใด ๆ อยางนี้. การมี สติ สั มปชั ญ ญะรู สึ กตั ว นี้ เป นวิ ชชาสั มผั สของพระอริ ยเจ ามากกว าของ ปุ ถุ ชนคนธรรมดา ปุ ถุ ชนคนธรรมดาจะสั มผั สด วยอวิชชาเสียเรื่อย; สวนพระอริยเจ า หรื อผู ที่ เสร็ จกิ จแล ว คื อเป นพระอรหั นต แล วนั้ น จะมี การสั มผั สด วยวิ ชชาทั้ งนั้ น เพราะ ท า นมี วิ ช ชาอยู เป น ปกติ มี ส ติ อ ยู เป น ปกติ ; แม พ ระอริ ย เจ า ขั้ น ต น ๆ ท า นก็ เริ่ ม เป น อย างนั้ น แม จะไม สมบู รณ เรี ยกว ามั นเป นเรื่ องของพระอริ ยเจ า ที่ จะมี วิ ชชาสั มผั สใน สิ่งทั้งปวง. นี่ คนเราอย างดี ที่ สุ ดก็ จะเป นสาวกของพระอริ ยเจ า คื อพยายามทํ าตามพระอริ ย เจ า เราจึ งหั ด ที่ จ ะมี วิ ช ชาสั ม ผั ส ทางตา ทางหู ทางจมู ก ทางลิ้ น ทางผิ วหนั ง แม จะนอนคิ ด นอนนึ ก ก็ ให มั นคิ ดนึ กไปด วยสติ สั มปชั ญ ญะ เป นวิ ชชาสั มผั สทางมโน; แล ว ก็ จ ะรู ว า ไม ต อ งคิ ด ไม มี เรื่ อ งที่ จ ะต อ งคิ ด มากมายอะไร, ไปคิ ด ให มั น เป น โรค เสนประสามเปลา ๆ. แตวาคนไมรูความจริงขอนี้ มันทนไมได ก็ทําไปจนเกิดเปนผลราย.
www.buddhadasa.info นี้ เป นเรื่องของสั มผั สช วยจํ าไวให ดี ๆ ว าต องมี อยู ถึ ง ๓ ชนิ ด คื อชนิ ดที่ หนึ่ ง สั มผั สตามปกติ ธรรมดาไม มี เรื่ องราวอะไร เรี ยกว า ปกติ สั มผั ส ก็ ได ; คํ านี้ ไม มี ในพระ บาลี แต มี เรื่ องราวที่ กล าวไว พอให จํ ากั ด ความได ว า สั ม ผั สตามธรรมดา ไม ป รุ งแต ง เป น กิ เลสตั ณ หาอะไร. สั ม ผั ส ชนิ ด ที่ ส อง คื อ สั ม ผั ส ด ว ยความโง จํ า ง า ย ๆ อย า งนี้ . สั ม ผั ส ชนิ ด ที่ ส ามก็ คื อ สั ม ผั ส ด วยความฉลาด และอย างรู สึ ก ตั ว มั น ก็ ไม เหมื อ นกั น ไมมีทางที่จะเหมือนกัน.
ความสําคัญของการสัมผัสทางอายตนะ
๒๗๕
อาตมาจึ งเรี ยกชื่ อบั ญญั ติ ให จํ ากั นง าย ๆ ว า ปกติ สั มผั ส อย างหนึ่ ง อวิ ชชา สั ม ผั ส นี่ อย างหนึ่ ง, และวิ ช ชาสั ม ผั ส นี่ อ ย างหนึ่ ง. แล วก็ อ ย าให มั น อยู ที่ อ าตมาว า หรื อ ในหนั ง สื อ ; ต อ งไปหาให พ บที่ ตั ว เอง ที่ มี อ ยู ทุ ก วั น ทุ ก วั น ทั้ ง หลายวั น และ กลางคืน แตละคนจะตองมีสัมผัสสามอยางนี้. ที นี้ เราก็ ดู เฉพาะอย างที่ สอง ซึ่ งเป นตั วร าย เป นป ญ หา เป นอะไรขึ้ นมา หรื อ เป น ทุ ก ข ใ นที่ สุ ด . สั ม ผั ส ปกติ นั้ น มั น ก็ ไ ม ทํ า อะไรแล ว , คื อ ว า ถ า มั น เป น วิ ช ชา สัม ผัส เสีย มัน ก็ไ มม ีโ ทษ มีท ุก ข มีอ ัน ตรายอะไร. ที ่ว า นา กลัว หรือ อัน ตราย รายกาจที่ สุ ดนั้ นมั นคื ออวิ ชชาสั มผั ส เหลี ยวไปเห็ นทางตานั้ น เดี๋ ยวไปรักก็ มี เกลี ยดก็ มี , กลัวก็มี อะไรก็มี นี่เปนสัมผัสที่ตองสนใจ. ที นี้ สิ่ งทั้ ง ปวงเกิ ด มาจากผั ส สะ เกิ ด มาจากสั ม ผั ส คํ า ว า “เกิ ด -เกิ ด ” นี้ หลายความหมาย : เกิ ด หรื อคลอด ออกมาโดยตรงอย างนี้ ก็ มี , มี เกิ ดทางความหมาย ทํ า ให , มี ค า หรื อ มี ค วามหมายขึ้ น มา อย า งนี้ ก็ มี . เช น ว า ความหนาว ความร อ น อย า งนี้ มั น มี อ ยู ต ามธรรมชาติ มั น ไม มี อ ะไรเรา; แต พ อเราไปสั ม ผั ส มั น เข า มั น กลายเป น ของมี ค า มี ค า ว า มั น เป น ของเย็ น หรื อ เป น ของร อ นขึ้ น มาทั น ที . อย า งนี้ เรียกวาคุณคาแหงสิ่งนั้นเกิดขึ้นมาทันที เพราะเหตุที่มีการสัมผัส อยางนี้ก็เรียกวา โดยออม.
www.buddhadasa.info ถ าโดยตรง ก็ เช นว า สั มผั สแล วก็ เกิ ดรู สึ กเป นเวทนา เวทนาแล วก็ เกิ ด ตัณหา อุปาทาน; นี้เรียกวาสัมผัสคลอดออกมาโดยตรงเปนสิ่งนั้น สิ่งนี้.
ที่ วาโดยอ อ มนั้ น มั น หมายความวา สั ม ผั ส นั่ น ทํ า ให มี ค า ขึ้ น แก สิ่ งนั้ น สิ่ งนี้ , หรื อทํ าให เกิ ดความหมายขึ้ นมาแก สิ่ งนั้ นสิ่ งนี้ โดยเฉพาะอย างยิ่ ง คื อโลกทั้ งหลายนี้ ทั้ งโลก กี่ โลกก็ ต ามใจ; ถ าเรา มนุ ษ ย ไม มี การสั ม ผั สโลกนี้ ได โลกนี้ ก็ ไม มี ความหมาย มันก็เทากับไมมี.
๒๗๖
ปรมัตถสภาวธรรม
นี่ ข ออย า ให เป น เรื่ อ งพู ด เปล า ๆ ไปศึ ก ษาสั ง เกตจนเข า ใจว า อ า ว, โลก ทั้ งหลาย สิ่ งทั้ งหลายในโลกนี้ มั นกลับมี ความหมาย มี ค าขึ้ นมาก็ เพราะวามนุ ษย ไป สั มผั ส, หรื อมนุ ษย อาจจะสั มผั ส คื อมี การสั มผั สโดยมนุ ษย . ถ าขาดสิ่ งที่ เรียกว าสั มผั ส อย างเดี ยวเท านั้ น โลกไม มี ความหมาย ฉะนั้ น จึ งมองดู ไปยั งโลกทุ กโลก แล วพิ จารณา ดู ว า มั นมี ขึ้ นมาเพราะการสั มผั ส, มี ค าขึ้ นมาเพราะการสั มผั ส, มี ป ญ หายุ งยากขึ้ นมา เพราะการสัมผัส อยางไรกัน.
พิจารณา “โลก” ตามคัมภีรวิสุทธิมรรค ถ า พู ด ถึ ง คํ า ว า “โลก” ก็ อ ยากจะยื ม คํ า ในหนั ง สื อ ชั้ น หลั ง เช น คั ม ภี ร วิ สุ ท ธิ ม รรค เป น ต น เอาคํ า ในหนั ง สื อ นั้ น มาใช แต อ ธิ บ ายใหม เ สี ย บ า งในบาง กรณี หรื อ ทั้ ง หมดในบางกรณี ; เขามี คํ า เรี ย กว า โอกาสโลก สั ต วโลก, สั ง ขารโลก, ๓ คํา. โลกที่ ๑. โอกาสโลกในที่ นี้ อยากจะอธิ บ ายว า โลกที่ มั น กิ นเนื้ อที่ คํ าว า โอกาสะ แปลว า เนื้ อที่ หรื อเนื้ อที่ ว าง สํ าหรั บ ให มี อะไรมากิ น เนื้ อ ที่ นั้ น ตรงกั บ คํ าว า space มั น ต อ งมี ; แล ว สิ่ ง ต า ง ๆ มั น จึ ง จะกิ น เนื้ อ ที่ หรื อ รุ ก ล้ํ า space อั น นี้ . สิ่ ง ใด ที่ มั นเป นของกิ นเนื้ อที่ รุ กล้ํ า space นี้ แล ว อั นนั้ นเรี ยกว าโอกาสโลก ลั กษณะอย างนี้ คื อแผ นดิ นนี่ แหละ แผ นดิ นที่ ประกอบไปด วยนั่ นนี่ ทั้ งหลาย เป นตั วโลกกลม ๆ The globe นี่ , ไม ใช The world; The globe เฉย ๆ นี่ ละ The earth เฉย ๆ นี่ คื อ โอกาสโลก. มั น เป น เพี ย งของแข็ งอั น หนึ่ ง ที่ กิ น เนื้ อ ที่ อ อกไปเท า นั้ น . โลกอย า งนี้ คื อ วั ต ถุ ล ว น ๆ, ไม เล็ ง ถึ ง จิ ต ใจเลยก็ ได เรี ย กว า โอกาสโลก-โลกแต ง การกิ น เนื้ อ ที่ คื อ โอกาสก็ เป น วั ต ถุ ล ว น ๆ. โลกวั ต ถุ ล ว น ๆ นี้ มี ค า ก็ เพราะว า มนุ ษ ย ไ ปสั ม ผั ส มั น ได ; ถ า มนุ ษ ย สัมผัสไมไดก็ไมมีคาอะไร เดี๋ยวนี้โลกนี้มีคาเพราะมนุษยไปเกี่ยวของไดดวยการสัมผัส
www.buddhadasa.info
ความสําคัญของการสัมผัสทางอายตนะ
๒๗๗
ทาง ตก หู จมู ก ลิ้ น กาย อะไรก็ ตาม, ก อนโลกล วน ๆ นี่ เกิ ดเป นของมี ค าขึ้ นมาได เพราะการที่มนุษยสัมผัสได และตองสัมผัสอยูดวย. โลกที่ ๒. ที่ เรียกว า สั ตว โลก โลกคื อ หมู สั ตวนี่ เขาอธิ บายกั นอย างอื่ น ก็ ต ามใจเขา; อาตมาวา สั ต ว โลก นี่ คื อ วา โลกกิ เลส คื อ โลกแห งความรูสึ ก ใน จิตใจที่ เข าไปเกี่ ยวของกั บสิ่ งนั้ น ๆ. ก็ อยากจะเอาตามตั วหนั งสื อ คํ าวา สั ตต หรือ สั ตว แปลว า เกี่ ย วข อ ง สั ต ว โลก คื อ โลกแห ง การเกี่ ย วข อ ง, สิ่ ง เกี่ ย วข อ งนั้ น คื อ กิ เลส ฉะนั้ น สั ตวโลก คื อโลกของสิ่ งที่ มี กิ เลส : มนุ ษย ก็ มี กิ เลส เทวดาก็ มี กิ เลส พรหมก็ มี กิ เลส แล วก็ ยั งเป นโลกอยู ด วยกั นทั้ งนั้ น. นี่ เรียกวาสั ตวโลก; ไม ได หมายถึ ง ก อนดิ น, กอ นหิน , ตัว โลกแลว . แตห มายถึง หมู ส ัต ว, และก็ห มายโดยเฉพาะถึง สัต ว ที่ มี กิ เลส กิ เลสที่ มี อ ยู ในจิ ต ใจของสั ต ว . กลุ ม นี้ เรีย กว า สั ต วโลก มั น เป น สั ต วโลก ขึ้นมาได โลกคื อหมู สั ตวขึ้นมาได คื อมี การเกี่ยวของด วยกิเลสได ก็ เพราะมี การสัมผัส; ถาไมมีการสัมผัสทางใดทางหนึ่งแลว กิเลสไมมีทางจะเกิด. กิเลสนี้เปนของใหมหยก ๆ เพิ่ ง เกิ ดมาเมื่ อมี การสั มผั สในทางอายตนะ; ฉะนั้ น เราจึ งเป นสั ตว โลก ต อเมื่ อเรามี เนื้ อมี การสัมผัสทางอายตนะ.
www.buddhadasa.info บางที เราก็ เป นมนุ ษย มี ใจคอปกติ อย างมนุ ษย ทํ าอะไรไปตามมนุ ษย เรีย กวา เกิด เปน สัต วโลกอยา งมนุษ ย. บางทีเ ราหิว , เรากระหาย เพราะกิเลส มี ความหิ ว มี ตั ณ หา เราก็ เป นเปรตอยูในสั ตวโลกนี้ อย างเปรต. บางที เราก็ โง ไม มี ปญญาเสียเลย โงอยางไมมีเหตุผล เวลานั้น เราก็เปนสัตวเดียรัจฉาน เปนสัตวโลกอยู ในโลกนี้. บางทีเราจะรอนใจเหมือนสัตวนรก เปนสัตวนรกอยูในสัตวโลกนี้. บางทีก็ เป นอสุรกาย คือขี้ขลาด ไมมีเหตุผล ก็เปนอสุรกาย เปนสัตวโลกแบบอสุรกายอยูใน โลกนี้ . บางที โชคดี ประจวบเหมาะ ไม มี ทุ ก ข ร อ นเล น หั ว ราเริงกั น ได เต็ ม ที่ ก็ เป น เทวดา อยางนี้อยูในโลกนี้. ก็เปนสัตวโลกนี้.
๒๗๘
ปรมัตถสภาวธรรม
ทั้ งหมดนี้ กี่ อ ย า งก็ ต ามเถอะ ยั งแจกออกได อี ก มาก นี้ รวมเรี ย กกั น สั้ น ๆ ว า “สั ตว โลก” คํ าเดี ยว คื อโลกแห งการเกี่ ยวข องด วยกิ เลส เกาะเกี่ ยวด วยกิ เลส. โลกชนิ ดนี้ ก็ ม าจากการสั ม ผั ส เพราะว าถ าไม มี การสั ม ผั ส ก็ ไม มี ท างจะเกิ ด กิ เลส เป น อั น ว าโลก ที่สองก็มีขึ้นมา เกิดขึ้นมา หรือ มีคาขึ้นมาก็เพราะวามันมีการสัมผัส. โลกที่ ๓. ก็ เรี ย กกั น ว า สั ง ขารโลก เขาจะอธิ บ ายกั น อย า งอื่ น ก็ ต ามใจ ; อาตมาจะระบุ ไปยั งว า อาการที่ มั น ปรุ งแต งไม รู ห ยุ ด . คํ าว า “สั งขาร” นี่ แปลว า ปรุ ง แต ง เรื่ อ ย; สั ง ขารโลก คื อ โลกแห ง การปรุ ง แต ง เรื่ อ ย. ปรุ ง แต ง เรื่ อ ย นี่ ห มายความ ว า จากสิ่ ง นี้ ให เ กิ ด สิ่ ง นั้ น , จากสิ่ ง นั้ น ให เ กิ ด สิ่ ง นู น , จากสิ่ ง นู น ให เ กิ ด สิ่ ง โน น ตอไปอีก; มันไมไดเกิดไดตามลําพัง มันจะเปนไปอยางนี้เรื่อยไป. การปรุ งแต งนี้ เราหมายเฉพาะกิ ริ ย าอาการที่ มั น ปรุ งแต งกั น ในลั ก ษณะ ของกรรม, หรื อว า ไม เกี่ ย วกั บ กิ เลส ก็ เรี ยกว ามั น เป น ปฏิ กิ ริ ยาที่ เกิ ด ขึ้ น ทะยอยกั น ไป ก็ เรี ย กว า สั ง ขารได ทั้ ง นั้ น เป น โลกแห ง การปรุ ง แต ง ได ทั้ ง นั้ น . แล ว มั น ก็ มี อ ยู ที่ ในโลกนี้ ในพื้นโลกนี้ หรือวาในตัวคน หรือในตัวสัตว หรือในทุกสิ่ง.
www.buddhadasa.info เช นว า โลกจะต องมี อะไรอย างหนึ่ งอยู ก อน ซึ่ งเราก็ ยั งไม รู ว าอะไรในแผ นดิ นนี้ มี น้ํ า แล ว ก็ มี แ สงอาทิ ต ย เป น ป จ จั ย ให น้ํ า ระเหยขึ้ น ไปเป น ไอ. นี่ ก็ เรี ย กว า ปรุ ง แต ง ให น้ํ า เกิ ด ไอน้ํ า ไอน้ํ า ก็ ล อยขึ้ น ไปจนไปเกิ ด เมฆ; อย า งนี้ ก็ เรี ย กว า ปรุ ง แต ง ให เกิ ด เมฆ โดยไอน้ํ า ; แล ว เมฆนั้ น รวมตั ว หนั ก เข า ๆ ก็ ถึ ง โอกาสอั น หนึ่ ง มั น ก็ จ ะกลายเป น น้ํ า ฝน เรี ย กว า ปรุ ง แต ง ให เ กิ ด น้ํ า ฝนโดยเมฆ . น้ํ า ฝนตกลงมา แผ น ดิ น เป ย ก. นี้ ก็ คื อ การปรุ ง แต ง ให แ ผ น ดิ น เป ย ก เมื่ อ แผ น ดิ น เป ย ก แล ว แผ น ดิ น ก็ ป รุ ง แต ให เกิ ด พื ช , เกิ ดชี วิ ตและอะไรตามเรื่ อง แล วหล อเลี้ ยงสิ่ งเหล านี้ หมุ นเวี ยนเปลี่ ยนแปลงไปไม รู จั กจบ นี่แหละสังขารโลกฝายขางนอก คือทางวัตถุ.
ความสําคัญของการสัมผัสทางอายตนะ
๒๗๙
ทีนี้ สั งขารโลกข างใน ฝายจิตใจ คือความรูสึ ก แม แตตั วชีวิตมันก็ไดรับ การปรุงแต งอย างนี้ ไม มี หยุ ด; คื อความรูสึ กของสิ่ งมี ชี วิ ต นั่ นแหละสํ าคั ญ . สิ่ งที่ มี ชีวิตมันมีความรูสึก ความรูสึกเกิดเมื่อมีการกระทบ; พอมี การกระทบก็ป รุงแตง. โดยเฉพาะอย างยิ่ ง เหมื อ นกั บ ที่ เราพู ดเสร็ จไปหยก ๆ นี้ ว า พอมี การกระทบทางตา ก็ เกิ ดจั กษุ วิญ ญาณ คื อการเห็ นทางตา, แล วเป นไปในกรณี ของอวิชชาสั มผั ส เพราะ ไมมีความรูแลปราศจากสติ ก็เกิดการปรุงใหเกิดสัมผัสชนิดอวิชชาสัมผัส คือสัมผัสดวย อวิ ชชา. นี้ พอสั มผั สด วยอวิชชาแล วไม ต องสงสั ย มั นจะไปสุ ดโต งที่ ความทุ กข ; เมื่ อ สั มผั สด วยอวิชชา ก็ เกิ ดเวทนาชนิ ดที่ มาจากสั มผั สด วยอวิ ชชา. เวทนาที่ มาจากสั มผั ส ดวยอวิชชา คือความโง ก็ยอมสงใหเกิดตัณหาเทานั้นแหละ. ตัณหานี่คือความอยากชนิดที่เปนกิเลส ความอยากที่เปนกิเลส ตองมา จากความโง; ความอยากที่ไมได มาจากกิเลสนั้นไม เรียกวา ตัณหา ไม เรียกวา กิเลส เปนความอยากตามธรรมดา ไมเรียกวาความโลภดวย. แตที่อื่นเขาอาจจะสอนวา ถาขึ้นชื่อวาความอยากแลว เรียกวาความโลภทั้งนั้นแหละ, ถาขึ้นชื่อวาความอยากเรียก วากิเลส วาตัณหา ทั้งนั้นเลย. อาตมาไมแนะอยางนั้น เพราะตามหลักของพระพุทธเจา ความอยากที่จะเรียกวา ความโลภ หรือตัณหาไดนั้น ตองมาจากอวิชชา เพราะมัน แน ลงไปว ามั นอยากเพราะความโง มั นจึ งจะเป นความโลภ หรือตั ณหา; ถ าอยากด วย สติป ญญา รูสึกผิดชอบชั่วดี ในหนาที่อยางนี้ ความอยากนั้นไม ใชตัณหา ไมใชความโลภ เปนความตองการที่ถูกตอง แลวควรจะกระทําตอไปถึงที่สุด.
www.buddhadasa.info เดี๋ยวนี้ ในกรณีนี้ เนื่องจากเวทนานั้นมาจากการสัมผัสดวยอวิชชา คือ ความโง แลวมันก็จะเกิด ตัณ หา คือความอยากและความโง; นี่ตั ณ หาก็ป รุงเป น อุปาทาน : อยากในสิ่งใดก็หมายมั่นในสิ่งนั้น ยึดมั่นในสิ่งนั้น, เกิดความรูสึกอยากแลว จะเกิ ดความรูสึ กวากู อยาก และมี สิ่ งที่ กู อยาก; สิ่ งที่ อยากนั้ นเป นตั วกู สิ่ งที่ กู อยากนั้ น เปนของกู.
๒๘๐
ปรมัตถสภาวธรรม
นี่ ก็ เกิ ดอุ ปาทานเป นตั วกู -ของกู ก็ เกิ ดความพร อมที่ จะเป นทุ กข มั น ก็ มี ความทุ ก ข เรี ย กว า สั ง ขารโลก คื อ โลกแห ง การปรุ ง แต ง ประเภทที่ เป น ชี วิ ต จิ ต ใจ; ปรุ งแต งด วย อํ านาจของการสั มผั สอวิ ชชา คื อความโง เรียกอี กที ว า การปรุ งแต งด วย กิเลส อยางนี้จะเรียกวาสังขารโลก, แลวจะไมเหมือนกันกับโลก ๒ โลกที่วามาแลว. โอกาสโลก นี่ โลกแผ น ดิ น ล วน ๆ, สั ต ว โลกนี่ โลกจิ ตใจที่ ป ระกอบไปด วย กิ เลส ความข อง คื อจิ ตใจที่ ประกอบอยู ด วยกิ เลสนี่ รวมกั นเรี ยกว าโลก, ที นี้ การปรุงแต ง ของสิ่ ง ที่ เป น เหตุ ป จ จั ย เหล า นี้ รวมทั้ ง จิ ต หรื อ ความคิ ด ของจิ ต ด ว ยนี้ เราจะเรี ย กว า สั ง ขารโลก. สั ง ขารโลกคื อ ส ว นที่ มั น เป น การปรุ ง แต ง , ภาวะที่ มั น เป น การปรุ ง แต ง , กระแสอะไรที่ มั น เป นการปรุ งแต งนี้ , เราเรี ยกว าสั งขารโลก ซึ่ งก็ ม าจากผั สสะ ถ าไม มี ผั ส สะก็ ไม มี ก ารปรุ งแต ง เพราะผั ส สะนี้ เองนั้ น ก็ เป น การปรุ งแต ง ก็ เป น อั น ว า ไม ว า โลกไหน ทั้ง ๓ โลกนี้ตองมาจากการปรุงแตง. บรรดาโลกทั้ ง หลาย จะมี กี่ ร อ ยโลก พั น โลก หมื่ น แสนโลกก็ ต าม มั น มี อยู เพี ยง ๓ ชนิ ดนี้ เท านั้ น หรื อว าอย างเดี ยว เป นได ทั้ ง ๓ ชนิ ดนี้ ก็ ได จึ งกล าวได เลยว า ไมวาโลกไหมหมด เมื่อมีความหมายขึ้นมา หรือคลอดออกมาก็ดวยอํานาจของผัสสะ ถ า เรี ย กอย า งปรมั ต ถ เราจึ งเรี ย กว า โอกาสโลก สั ต วโลก สั ง ขารโลก ; ถ า เราเรี ย ก อย า งคนธรรมดาเขาเรี ย กกั น เราก็ เรี ย กว า โลกมนุ ษ ย โลกเทวดา โลกนรก โลก มารโลก อะไรโลกมากมาเหลื อ เกิ น ; แต ลั ก ษณะแท จ ริ ง มั น จะมี อ ยู ส ามประการนี้ . ส วนที่ เป นวั ตถุ ก็ เป นโอกาสโลก ส วนที่ เป นจิ ตใจก็ เป นส วนสั ตวโลก และส วนที่ เป น อาการแหงการปรุงแตงก็เรียกวา สังขารโลก; ทุกโลกมาจากผัสสะ.
www.buddhadasa.info ฉะนั้ น ถ าว าโลกธาตุ นี้ ก็ มี ถึ งหมื่ นโลกธาตุ ทสฺ สหสฺ สสี โลกธาตุ พู ดในบาลี มี โลกธาตุ ถึ งหมื่ น หมื่ นหน วย หมื่ นโลกธาตุ มั นก็ ไม พ นจากนี้ , ก็ ไม พ นจากการเกิ ดมา จากผัสสะ โดยตรงบาง โดยออมบาง.
ความสําคัญของการสัมผัสทางอายตนะ
๒๘๑
เทวโลก สมมติ ว ามี อ ยู บ นฟ า ไปทางบนโน น ; ถ าสมมติ ว ามี ก็ ม าจาก ผั สสะ เพราะที่ นั่ น มั น มี ค าขึ้ นมาเป น เทวโลก ก็ เพราะมั น มี ผั สสะ : มี ผั ส สะที่ น ารั ก น า พอใจ; คนที่ อ ยากจะไปเกิ ด ในเทวโลกชนิ ด นั้ น ก็ เพราะอยากในผั ส สะชนิ ด นั้ น ; หรือว าจะเกิ ดความอยากอะไรอย างนั้ น ก็ เพราะเคยเกิ ดสั มผั สอะไรขึ้ นมาในโลกนี้ ก อน หน านั้ น จึ งเกิ ดอยากจะไปสวรรค ขึ้ นมา ก็ เรียกวามั นมี เหตุ ป จจั ยอยู ที่ ผั สสะนั้ น. นี้ เรา พู ดที เดี ยว คลุ ม ๆ กั นทั้ งโลก ก็ ว า โลกทุ ก ๆ ชนิ ดของโลกเกิ ดมาจากผั สสะ มี ผั สสะ เปนปจจัย.
พิจารณา “โลก” ตามภาษาอริยวินัย ที นี้ เราจะแยกให มั นละเอี ยดออกไป ให เห็ นงายขึ้นไปอี ก ก็ ถื อตามสู ตรเช น นิพเพธิกสูตร เปนตน ที่พระพุทธเจาทานไดตรัสไว ทานทรงมุงหมายจะใหเห็นชัดลง ไปอีกวาแตละอยาง แตละอยางนั่นมันมาจากผัสสะ. เรื ่อ งที ่ห นึ ่ง สิ ่ง ที ่เ รีย กวา กาม กา - มะ หรือ กามนี ่, ซึ ่ง เปน ปญหาหนักในหมูมนุษยนี่. ถาหมายถึงความรูสึกที่อยูในใจคน เขาเรียกวากิเลสกาม, ความรูสึ กที่ ทํ าให กระสันหรือใครไปในทางกาม นั่ นแหละ เขาเรียกวากิ เลสกาม, กามกิ เลส คื อ กิ เลสในฐานะที่ เป น ตั ว กาม; นี่ ถ า มั น เป น วั ต ถุ ที่ จ ะเป น เหยื่ อ ของกิ เลสนั้ น เขา เรี ยกว า วั ต ถุ กาม หรื อกามคุ ณ มั น ก็ อ ยู ข างนอก เช น รูป เสี ยง กลิ่ น รส สั ม ผั ส นี่มันเปนกามคุณ กามขางในก็คือตัวกาม ตัวราคะโดยตรง.
www.buddhadasa.info กา - มะ โดยตรงอยางนี้ มีอยูเปน ๒ กาม : คือกิเลสกาม กับวัตถุกาม คื อวั ตถุ แห งกาม. กิ เลสกามก็ มาจากผั สสะ; ไม มี ผั สสะ ไม มี เรื่ องของผั สสะมาก อน แล ว กิ เลสเกิ ด ไม ได จะเกิ ด ความใคร ในสิ่ งใดขึ้ น มาไม ได ; เคยรูรส รูอั ส สาทะของ อารมณกอน ๆ แลวมันก็มีความหวัง มีความอยากที่จะไดตอไปอีก. อันนี้ก็เรียกวา
๒๘๒
ปรมัตถสภาวธรรม
กิ เลสกามนั้ นเกิ ดขึ้ นและถู กหล อเลี้ ยงไว เพราะว าเคยมี ผั สสะในสิ่ งนั้ น, ก็ แปลว ากิ เลสกามก็ ม าจากผั ส สะ มี รากฐานอยู บ นผั ส สะ แล วก็ จะเจริญ จะมี อ ยู ต อ ไปข างหน า ก็ตองอาศัยผัสสะ. ที นี้ กามคุ ณ ๕ คื อ รู ป เสี ยง กลิ่ น รส โผฏฐั พพะ ห าอย างนี้ พระพุ ทธเจ า ท า นตรั ส เรี ย กว า “โลกในอริ ย วิ นั ย ”, คื อ ว า เมื่ อ พระอริ ย เจ า พู ด กั น ว า โลก, โลก, โลก นี่ ละก็ หมายถึ งกามคุ ณ ๕ มิ ได หมายถึ งแผ นดิ น. ที่ เรี ยกว ากามคุ ณ บ าง เรี ยกว า วัตถุกามบาง นี้ก็มาจากผัสสะ มีความหมายขึ้นมาไดเพราะมีผัสสะ. คนที่มีผัสสะตอสิ่งนั้นมันครั้งแรก แลวก็ทําความหมายใหเกิดขึ้นตอสิ่งนั้น และตั วเองก็ มี ความยึ ดมั่ นเพราะผั สสะนั้ น อยากได ผั สสะชนิ ดนั้ น หรื ออยากได กามนั้ น ก็ เพราะมั นมี ผั สสะชนิ ดนั้ น; เพราะว าสิ่ งนั้ นมั นมี อั สสาทะ แปลว าเสน ห ที่ ยึ ดเหนี่ ยว ดึงดูดจิตใจ นี่บาลีเรียกวาอัสสาทะ. ทุกอยางจะมีอัสสาทะตามแบบของตัวไมมากก็นอย. ในกามคุ ณ ทั้ งหลายก็ มี อั สสาทะที่ เป นที่ ตั้ งแห งผั สสะ; แปลวากามคุ ณ ทั้ งหลายก็ ต องอาศั ยผั สสะ, ก็ ต องออกมาจากผั สสะ, เกิ ดความหมายขึ้ นมาด วยอํ านาจ ของผั ส สะ. พระพุ ท ธเจ า ท า นจึ ง ตรั ส ว า นิ ท านสั ม ภวะของมั น คื อ ผั ส สะ มู ล เหตุ เป น ที่ เกิ ด ขึ้ น มาของกามนั้ น คื อ ผั ส สะ; กามทั้ งหลายเป น อย า งนี้ . นี่ เราจะลองเอาไป คิ ด นึ ก ศึ ก ษา ว า ตั ว เราก็ ดี ไม ย กเว น , เพื่ อ มนุ ษ ย ทั้ งหลายในโลกนี้ ก็ ดี , มี ป ญ หาใน เรื่องนี้ มีสิ่งที่มารบกวน เปนสวนตัวเหมือนกับตกนรกอยูตลอดเวลา.
www.buddhadasa.info ที นี้ ส วนสั งคม ก็ มี การยื้ อแย งกามคุ ณ ; พู ดไม รั กษามรรยาทหน อย ก็ พู ดว า คอมมู นิ สต ก็ ต องการกามคุ ณ ประชาธิ ปไตยก็ ต องการกามคุ ณ มั นจะต างอะไรกั นในส วน นี้ เล า; ก็ แ ปลว าสั ต ว ทั้ ง หลายทั้ งปวงที่ กํ าลั งทํ าเรื่ อ งลํ าบาก ยุ งยากอยู ในโลกนี้ ล ว น มีมูลมาจากกาม ตองการกามเพื่อประโยชนแกตัวอยางใดอยางหนึ่งอยูดวยกันทุกฝาย.
ความสําคัญของการสัมผัสทางอายตนะ
๒๘๓
การรบกั น นั้ น รบกั นเพื่ อฆ ากั นให ตาย รบกั นนี่ มั นรบเพื่ อฆ ากั นให ตาย การฆ ากั นให ตายนั่นนะ มั นเพื่ ออะไรตอไป? มั นก็เพื่ อสิ่ งที่ ตั วต องการ : ตองการเงิน ต องการอํ านาจ ต องการอะไร ก็ เรี ยกว าต องการ. แต ว าในที่ สุ ดก็ ต องการในสิ่ งที่ ตั วรั ก ตั วใคร เพราะเงินมั นกิ นได เมื่ อไร ต องเอาเงิ นไปหาซื้ อของที่ กิ นได หรือว าไปหาสิ่ งที่ ทํ า ให เกิ ดสั มผั สทาง ตา หู จมู ก กาย ใจ ได . ความต องการไปรวมอยู ที่ สิ่ งที่ เรี ยกว ากาม ที่ทําใหมนุษยรบกันทั้งโลกนี่, แลวรบกันมากกวาสัตวเดียรัจฉานเสียอีก. สั ตว เดี ยรั จฉานมั นไม ได รบกั นตลอดป ตลอดชาติ เหมื อนมนุ ษย เพราะมั นมี ความต องการส วนนั้ นมั นน อย และต องการจํ ากั ด; ส วนมนุ ษย ไม จํ ากั ด อาจนึ กได เรื่อย ปรารถนาไดเรื่อย สะสมไวไดไมมีที่สิ้นสุดก็ได ก็เลยไดรบกันเพราะสิ่งที่เรียกวา กาม. จะมองเห็นไดหรือยัง วาผัสสะนี้ เปนเหตุใหเกิดสิ่งที่เรียกวากาม โดยตรง ก็ได โดยออม ก็ ได, เกิดโดยคา โดยความหมายอะไร ก็ได. เรื่องที่สอง พระพุทธเจาทานตรัสวา สิ่งที่เรียกวา กรรม นี้ ก็เกิดมาจาก ผั ส สะ .คํ า ว า “กรรม” แปลว า การกระทํ า ด ว ยเจตนา; ถ า ไม ก ระทํ า ด ว ยเจตนา เรี ย กเสี ย ใหม ว า “กิ ริ ย า” ไม เรี ย กว า กรรม. ต อ เมื่ อ ทํ า ไปด ว ยเจตนา : เจตนาดี หรื อ เจตนาชั่ ว ก็ สุ ด แท ก็ เรี ย กว า กรรม เป น กุ ศ ลกรรม อกุ ศ ลกรรม หรื อ เป น อะไร ที่ พู ด ไม ไ ด ว า กุ ศ ลหรื อ อกุ ศ ล. ถึ ง แม ว า จะจั ด ว า กรรม ให ผ ลชาติ นี้ กรรมให ผ ล ชาติ หน า กรรมให ผลชาติ ถั ดไปก็ เถอะ, แล วแต กรรมชนิ ดไหน แจกไปอย างไร ๆ ก็ ตาม; กรรมนี้ตองมาจากผัสสะ ระบุใหชัดวาเจตนานั่นแหละ เปนตัวกรรม.
www.buddhadasa.info ที นี้ เจตนามาจากสิ่ งอื่ นไม ได จะต องมาจากการที่ เคยสั มผั ส หรือผั สสะ อะไรลงไปแลว; แลวที่จะเปนเหตุใหทํากรรมนี้ทําดวยความโง คือไมรูถึงที่สุดวา
๒๘๔
ปรมัตถสภาวธรรม
เราเวี ย นว า ยไปในวั ฏ ฏสงสารนั้ น เพราะอวิ ช ชา, หรื อ ความโง , หรื อ ไม รู ว า “ไม ค วร เลยที่ จ ะไปเที่ ย วเวี ย นว า ยในวั ฏ ฏะสงสาร”. ถ า รู เ สี ย แล ว ว า “ไม ค วรเลยที่ จ ะไป เวี ย นว ายในวั ฏ ฏสงสาร” ก็ จ ะไม อ ยาก ไม อ ยากจะทํ าอะไร, ไม อ ยากจะทํ าอะไรที่ มั น เปนกรรม; จะหยุด จะสงบ จะอยูเหนือกรรมนี่. แต เดี๋ ยวนี้ ยั งต อ งการ ยั งเจตนาที่ จ ะทํ ากรรม จะเสวยผลของกรรมตามที่ ตั ว อยาก; ถ า เผลอไปทํ า กรรมชั่ ว นั่ น ก็ เพราะว า มั น เข า ใจผิ ด สองชั้ น : ต อ งการใน สิ่ งที่ ตั วรั ก เมื่ อไม ได ตามที่ ตนต องการ จึ งไปทํ าชั่ ว ด วยหวั งว าจะได สิ่ งที่ ต องรั กอย างนี้ ; นี่ แ สวงหาสิ่ งที่ เขาต อ งการโดยผิ ด วิ ธี ซึ่ งเป น ชั้ น ที่ ส อง ก็ เรี ย กว าผั ส สะทั้ งนั้ น เป น เหตุ ใหเขาหลงรัก. การกระทํ ากรรม ต อ งทํ าด วยเจตนา เจตนานี้ อย างน อ ยก็ ต อ งมี ผั ส สะ ทางมโนกรรม คื อทางในใจเสี ยก อน มี ม โนกรรมในใจเสี ย ก อ น แล วจึ งมี เจตนาอะไรได , ก็ รู สึ ก นึ ก คิ ด ด ว ยสั ญ ญา ด ว ยความจํ า ด ว ยอะไรก็ ต าม เป น เรื่ อ งทางมโน อายตนะ ในทางข างในนี่ ก อน, สํ าเร็ จรู ปเป นสิ่ งที่ ตั วต องการอะไรแล วก็ มี เจตนาที่ จะทํ า อย างนั้ น; ฉะนั ้น กรรมทั ้ง หลายไมว า ชนิด ไหน ตอ งมาจากผัส สะ ไมม ีผ ัส สก็ไ มม ีเ จตนา ไมมีเจตนาก็ไมมีกรรม.
www.buddhadasa.info เรื่ อ งที่ ส าม พระพุ ท ธเจ าท านทรงแสดงให ชั ด ขึ้ น ไปอี กว า เวทนาล วนแต มาจากผั ส สะ; อย างนี้ เกื อ บไม ต องอธิ บ าย เพราะเราได ยิ น ได ฟ งกั น อยู เสมอแล วว า มี ผั ส สะแล ว ก็ มี เ วทนา. ถ า ผั ส สะนั้ น มั น เป น ปกติ ผั ส สะ ไม เกี่ ย วกั บ อวิ ช ชา มั น ก็ มี เวทนาชนิ ด ที่ ไ ม ค อ ยมี ค วามหมาย. เช น คนเราเหลื อ บตาไปเห็ น ต น ไม เห็ น อะไร อย างนี้ มั น ไม มี ค วามหมายอะไร ไม รํ าคาญตา หรื อ ไม ส บายตา หรื อ ไม อ ะไรมากมาย อะไร; เวนไวแตเมื่อมันมีอวิชชา มันจึงมีความหมายมาก. ทีนี้ เวทนาทั้งหลาย
ความสําคัญของการสัมผัสทางอายตนะ
๒๘๕
ก็ ต อ งมาจากผั ส สะทางตา ทางหู ทางจมู ก ทางลิ้ น ทางกาย ทางใจเองเสี ย ก อ น ไม มี ผั ส สะ เวทนามี ไ ม ได ; เป น อั น ว า ไม ต อ งอธิ บ าย ทุ ก ขเวทนาก็ ต าม สุ ข เวทนา ก็ตาม อทุกขมสุขเวทนาก็ตาม ตองมาจากผัสสะ. เรื่องที่สี่ คือสิ่งที่เรียกวาสัญญา เมื่อตะกี้ก็ไดพูดถึงหนอยหนึ่งแลวสําหรับ คํ า ว า สั ญ ญา แต ไม ไ ด พู ด ให ชั ด เจน; เดี๋ ย วนี้ จ ะพู ด แต หั ว ข อ ว า แม แ ต สิ่ ง ที่ เรี ย กว า สั ญ ญา ก็ ต องมี มู ลมาจากผั สสะ. คํ าวา “สัญ ญา” ในที่ นี้ เป นภาษาบาลี หมายถึ ง ความสําคัญมั่นหมาย แมสิ่งที่เรียกวา ความจําหมาย ก็รวมอยุในคําคํานี้. ส วนในภาษาไทยนั้ น คํ าว า “สั ญ ญา” เอาเป นประมาณไม ค อยได เพราะ มี ความหมายเปลี่ ยนแปลงไป เชน สัญญา กลายเป นหนั งสือสัญญา, หรือวาสั ญญา เป นการนั ดหมายตกลงกั นอย างนั้ นอย างนี้ ว า เราจะทํ าอะไรกั นระหว างเรา; อย างนี้ ก็ เรียกวาสัญญา แตในบาลีไมเรียกวาสัญญา. สัญญาในบาลีก็หมายความวา ความมั่นหมายดวยจิตใจวาอะไรเปนอะไร ลงไปด ว ยความโง คื อ ไม สํ า คั ญ มั่ น หมายว า มั น เป น ตามธรรมชาติ ; เพราะว า มั น เป น ไปตามธรรมชาติ จะไม เกิ ด เป น สั ญ ญาอะไรขึ้ น มาได ; มั น เฉยไปได มั น ไม เกิ ด ความมั่ น หมาย. ถ า เกิ ด ความมั่ น หมายแล ว ก็ เกิ ด เป น สั ญ ญาขึ้ น มา; เช น ของ เหล า นี้ เป น ของธรรมชาติ เรามี สั ญ ญาว า ไม ใ ช ธ าตุ ต ามธรรมชาติ ; แต เป น ต น ไม เป นสั ตว แล วก็ เป นของกิ นได เป นของขายได กระทั่ งเป นของกู ขึ้ นมา อย างนี้ เรี ยกว า สัญญา.
www.buddhadasa.info ถายังมีสัญญาวาตัวกู นี่เรียกวา อัตตสัญญา - สําคัญมั่นหมายวามีตัวมีตน, ไม มี ใ ครเกิ ด ความมั่ น หมายว า ไม มี ตั ว มี ต น หรื อ ไม มี อ ะไร. ถ า เป น สั ญ ญาแล ว มันลวนแตจะมั่นหมายวามีอะไรอยางใดอยางหนึ่ง ในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง; เพราะ
๒๘๖
ปรมัตถสภาวธรรม
สั ญ ญานี้ แปลว า “สํ าคั ญ มั่ นหมายเอาด วยอวิ ชชา” : สํ าคั ญ ว าผู หญิ ง สํ าคั ญ ว าผู ชาย สํ าคั ญ ว าเป นผั ว สํ าคั ญ ว าเป นเมี ย; นี้ ล วนแต เป นสิ่ งที่ เรี ยกว า สั ญ ญาในความหมายของ ภาษาบาลี . มั่ นหมายอย างไรก็ ยึ ดถื ออย างนั้ น แล วก็ ต องการจะประพฤติ กระทํ าไปตาม ความหมายอั นนั้ น, แล วก็ เกิ ดความทุ กข เพราะความมั่ นหมายนั้ นไม อย างใดก็ อย างหนึ่ ง ถายังมีสัญญาอยางนี้ เรียกวายังมีความเขาใจผิด. ถ าเห็ นว าเป นธาตุ ไปตามธรรมชาติ เป นไปตามเหตุ ตามป จจั ยโดยถู กต อง อย างนี้ ก็ ไม เกิ ด สั ญ ญาอะไรขึ้ น . ที นี้ สั ญ ญานี้ มั นมาตามอารมณ คื อรู ป เสี ยง กลิ่ น รส โผฏฐั พ พะ ธั ม มารมณ ; ต อ งมี รู ป สั ญ ญา-สั ญ ญาในรู ป , สั ท ทสั ญ ญา-สั ญ ญา ในเสี ย ง คั น ธสั ญ ญ า-สั ญ ญ าในกลิ่ น เป น ต น อย า งนี้ ก อ น; แล ว เกิ ด ความหมาย ในรู ป ในกลิ่ น ในเสี ย ง ในนั้ น ขึ้ น มาอย า งนั้ น อย า งนี้ . ตามกิ เลสของคนนั้ น . แล ว รู ปสั ญญา เป นต นนี้ ก็ ให เกิ ดเป นความสํ าคั ญมั่ นหมายว า สั ญญาว าชาย สั ญญาว าหญิ ง อิ ตถี สั ญญา ปุ ริ สสั ญญา สุ ขสั ญญา ทุ กขสั ญญา กระทั่ งเป นสิ่ งที่ เป นที่ ตั้ งแห งความยึ ดถื อ ที่ สุ ด ; ฉะนั้ น สิ่ งที่ เรี ย กว า สั ญ ญานี้ จะมี กี่ ร อ ยอย า งพั น อย า ง ก็ ม าจากผั ส สะทั้ งนั้ น เกิ ด ผั ส สะแล วเกิ ด เวทนาขึ้ น มาอย างไร แล ว สั ญ ญาจะเกิ ด ขึ้ น ในเวทนานั้ น ว าเป น อยางนั้น อยางนั้น; นี่สัญญาทุกอยางจะมาจากผัสสะอยางนี้.
www.buddhadasa.info อย าลื ม ว าอาตมาได พู ดแต ที แรกแล วว า วั น นี้ ไม พู ด เรื่ องอะไรนอกจากเรื่ อ ง ผัสสะคําเดียว เพราะวาทุกเรื่องทุกสิ่ง มันมาจากผัสสะเพียงสิ่งเดียว.
เรื ่อ งที ่ห า ตอ ไปก็พ ูด ถึง สิ ่ง ที ่เ รีย กวา ทิฏ ฐิ; ทิฏ ฐิ ในที ่นี ้แ ปลวา “ความเห็ น ” คนเราทุ ก คนมี ค วามเห็ น ไม ไ ด ห มายถึ ง ทิ ฏ ฐิ ม านะ โดยตรง; ทิ ฏ ฐิ มานะก็ คื อ ความเห็ น ชนิ ด หนึ่ ง . แต คํ า ว า “ทิ ฏ ฐิ ” หมายกว า งออกไปหมด : ความคิ ด ความเห็ น ความเชื่ อ ความเข าใจอะไรของตั วที่ มี อ ยู เป นของตั วนั้ น อั น นั้ น เขาเรี ยกว า ทิฏฐิของบุคคลนั้น; เชื่ออยางไร เห็นอยางไร หลงไปอยางไร ก็เรียกวาทิฏฐิ
ความสําคัญของการสัมผัสทางอายตนะ
๒๘๗
ของคนนั้ น . แยกได เป น พวก มิ จ ฉาทิ ฏ ฐิ คื อ มั น ผิ ด ความเห็ น ผิ ด , และสั ม มาทิ ฏ ฐิ ความเห็นถูก. มิจฉาทิฏฐินั้น แนชัดวามาจากผัสสะที่ประกอบดวยอวิชชา; เราสัมผัส สิ่ งใดในโลกนี้ ด วยอวิ ชชา แล วมั นก็ เกิ ดมิ ฉาทิ ฏฐิ ขึ้ นในใจเรา เราก็ เชื่ ออย างนั้ น ถื อ เป นหลักอย างนั้ น เป นมิ จฉาทิ ฏฐิประจําตั ว. นี่ เรียกวามิ จฉาทิ ฏฐินั้ น เกิ ดมาจากผัสสะ ดวยอวิชชา. ทีนี้ ถาเป นสั มมาทิ ฏฐิ ความคิด ความเห็น ความเชื่อ ความเขาใจที่ถูกต อง นี้ก็มาจากผัสสะ แตตองมาจากผัสสะที่ประกอบดวยวิชชา. เชนวา เราไปสัมผัสสิ่งนั้น มันเป นอยูดวยวิชชา หรือความรูที่ ถูกต อง มันจึงเกิดเป นความรูที่ ถูกตอง แลวก็ถือเป น หลั ก แล วก็ เป น สั ม มาทิ ฏ ฐิ ขึ้ นมา. นี่ สั ม มาทิ ฏ ฐิ ก็ ต องมาจากผั สสะ ผั สสะนี่ เป น อี ก ชนิ ดหนึ่ ง มั นตรงกั นข ามกั บผั สสะด วยความโง เป นผั สสะด วยความฉลาด, ความรู . ทิฏฐิมิวาชนิดไหนก็ตามตองมาจากผัสสะ, ทิฏฐิธรรมดาสามัญ ซึ่งพอจะถอนได งาย ๆ นี้ ก็ มาจากผั สสะ, ทิ ฏฐิ ประเภทดิ่ งลึ ก เรียกว า อั นตคาหิ กทิ ฏฐิ ยากที่ จะถอน ที่จะคลายออกจากตัวนี้ ก็ตองมาจากผัสสะอยูนั่นเอง.
www.buddhadasa.info สรุปความวา ขึ้ นชื่ อวาทิ ฏฐิ แลว จะถู กหรือผิ ดก็ ตาม จะเปลี่ ยนได งาย ๆ หรื อ จะเปลี่ ย นไม ได จนตายก็ ตาม อย างนี้ มั น ก็ ม าจากผั ส สะทั้ งนั้ น . ไปมองดู สิ่ งที่ เรียกว าผั สสะ ที่ มั นทํ าให เราเป นคนโง หรือเป นคนฉลาดอยู หรืออะไรอยู จนทุ กวั นนี้ อย างน อยที่ สุ ด มั น ก็ ม าจากมโนสั ม ผั ส ; อาศั ยความรู ความจํ า แต เก าก อนนั่ นมา ปรุงใหม เกิ ด เป น ทิ ฏ ฐิ ขึ้ น มาก็ ได โดยไม ต อ งอาศั ย รูป ข างนอกเดี๋ ยวนี้ ก็ ยั งได . แต ว า สัญญาเกานั้น มันก็อาศัยรูปขางนอกคราวใดคราวหนึ่ง มาสรางขึ้นไวกอนแลวเหมือนกัน.
๒๘๘
ปรมัตถสภาวธรรม
เรื่ อ งที่ ห ก ดู ต อ ไป ถึ งสิ่ งที่ เรี ย กว ากิ เลส นี่ มั น ใกล ตั วข าศึ ก เข ามาทุ ก ที , กิ เลสนี่ คื อ ข า ศึ ก ของคน. เราคิ ด ว า พวกคอมมู นิ ส ต เป น ข า ศึ ก , ไม ถู ก ; แต กิ เลสของ คนคนนั้ น ซึ่ ง มี ค วามคิ ด อย า งนั้ น มี ค วามเชื่ อ อย า งนั้ น นั่ น แหละเป น ข า ศึ ก . เราดู แ ต ที่ ค น เราไม ดู ที่ ใ จคน; เพราะฉะนั้ น การที่ เราจะไปว า เขาชั่ ว นี่ อ ย า เพ อ ก อ น; กิ เลส ของเขาตางหากที่ชั่ว, เราไปดูที่กิเลสเขาซิ ก็จะพบกันแตความชั่ว. ในตึ ก นี้ เรามี รู ป ภ าพ ที่ เ ขี ย นว า “น้ํ า ไม ได ค ด ลํ า น้ํ า ต า งหามั น คด “ แม น้ํ าน ะ มั น คด; ถ าเราดู ที่ น้ํ า เราจะไม พ บความคด, แต ถ าเราดู ที่ ลํ าน้ํ าเราจึ งจะพบ ความคด. นี่ เ ราไม ค อ ยดู ที่ กิ เ ลสของคน; เราไปเหมาเอาคน. เปลื อ กคน เนื้ อ หนั ง คนนี้มันดี หรือ ชั่วไมได. กิ เลสนั่ น คื อตั วการ กิ เลสนี่ ก็ มาจากผั สสะ ไม มี มาจากทางอื่ นได ; โลภะ โทสะ โมหะ อะไรก็ ดี ล วนแต ม าจากผั สสะ : เพราะผั สสะอย างนี้ จึ งเกิ ด โลภะ, เพราะ ผั ส สะอย า งนี้ จึ ง เกิ ด โทสะ และเกิ ด โมหะ เป น ต น . แล ว ก็ ต อ งเป น อวิ ช ชาสั ม ผั ส คื อ สั ม ผั ส ด ว ยความโง ; มาททางตา มี ค วามโง สั ม ผั ส ออกไปแล ว เกิ ด เวทนา ชอบใจ, สั ญ ญา มั่ นหมายจะเอาให ได มั นก็ เกิ ดความโลภ; เห็ นได ว าความโลภมั นมาจากผั สสะ คือตั้งตนมันอยูที่ผัสสะ.
www.buddhadasa.info ที นี้ เมื่ อ ไม ได อ ย า งที่ คิ ด โลภก็ เกิ ด โทสะ นี่ มั น เป น สองชั้ น ขึ้ น มา. อย า เข า ใจว า โทสะมั น จะเกิ ด เองได ต ามลํ า พั ง ; โทสะต อ งมาจากความโลภ หรื อ ความ อยาก หรื อความต องการอั นใดอั นหนึ่ งอยู ก อ น ที่ เรารู สึ กตั วก็ ได ไม รู สึ กตั งก็ ได . ความ อยากนั้ น มั น มี อ ยู ก อ นแล ว , เมื่ อ ไม ได อ ย า งใจ มั น ก็ เกิ ด โทสะ; เช น เราเห็ น หน า คนที่ เราเกลี ย ดมา, เราเห็ น พอสั ก แต ว าเห็ น หน า เราก็ รู สึ ก เกลี ย ดหรื อ โกรธเสี ย แล ว. นี่ มั น ไมใชจะเกิดเองไดลําพังอยางนั้น; เรามีความอยากอยางใดอยางหนึ่งอยูกอน, แลวคนนี้
ความสําคัญของการสัมผัสทางอายตนะ
๒๘๙
ไม อํ านวยให เราได ต ามความอยากนั้ น , มั น เป น อุ ป สรรค หรือ มั น เป นขบถ หรือ มั น ทรยศอะไรเรา เราไมม ีท างจะไดสิ ่ง ที ่เ ราตอ งการ เราจึง โกรธเกลีย ดคนนั ้น หรือ สิ่ งนั้ น โทสะต องมาจากความอยาก ซึ่ งความอยากนั้ นต องการจากผั สสะที่ แรกโน น อีกทีหนึ่ง. ถ าเราจะพู ดกั นโดยสรุป โดยรวบหั วรวบหาง ก็ จะพู ดวา โทสะนี้ มาจาก ผัสสะทางตา เพราะเราเห็นคนที่เรากเกลียด อยางนี้ก็ไดเหมือนกัน มันก็มาจากผัสสะอยู นั่ น แหละ, หรือ เราได ฟ งเสี ย งที่ ไม ไพเราะหู ก็ เรีย กได ว า เพราะผั ส สะเสี ย งชนิ ด นั้ น เราจึ งเกิ ดความโกรธหรือโทสะ นี่ มั น ก็ ถู กเต็ ม ที่ อ ยู แล ว. แต ก็ ถู กกว านั้ น ยั งมี คื อ ว า ทําไมเราจึงไมชอบคนนั้น ไมชอบเสียงนั้น? เพราะเราอยากอยางใดอยางหนึ่งอยู แล วมั นไม ได ตามนั้ น, เพราะเรามีความสําคัญมั่นหมายอยูในใจ. พอเห็นหนาคนนี้ ก็ จํ าได ว า ไอ ห มอนี่ เอง, เห็ น หน าสิ่ งนี้ ก็ จํ าได ว า สิ่ งนี้ เอง; เพราะฉะนั้ น เราจึ งโกรธ เราจึงปรุงเปนความโกรธขึ้นมา. ทีนี้ สําหรับโลภะ โทสะนี้มันเปนของที่เนื่องกันอยางนี้; เราเอาเขามา ก็เรียกวา โลภะ, จะตีใหตาย จะผลักออกไป ก็เรียกวา โทสะ, ทีนี้ โมหะนั้ น ก็เป น กิเลสประเภทอยูบนความสงสัย ลังเล คือมีอวิชชาเต็มตัว ยังกลัว ยังสงสัย ยังลังเล ยังไม แน ใจ ยั งวิตกกั งวล ไม รูวาจะเอาหรือจะไม เอา, แล วยั งไม รูจะโกรธดี หรือ รักดี อย างนี้ พ วกหนึ่ ง เรี ย กว า โมหะ ก็ ต อ งมาจากผั ส สะนั่ น แหละ; เพราะว าผั ส สะนั้ น มั นไม กระจ างแก บุ คคลนั้ น วาจะเอาอย างไรดี ; หรือวาทางมโนสั มผั ส มั นไม ชั ดเจน คื อมั นเป นอวิ ชชาอยู เรื่อย มั นก็ ไม รูจะเอาอะไรดี จนกว าจะมี ผั สสะที่ ถู กต องมาแก ไข เปนวิชชาสัมผัส มันจึงจะคอย ๆ จางไปจากสิ่งเหลานี้. นี่เรียกวา กิเลสธรรมดาสามั ญ มาจากผัสสะ.
www.buddhadasa.info
๒๙๐
ปรมัตถสภาวธรรม
เรื่ อ งที่ เจ็ ด ก็ มี กิ เลสอี กชนิ ดหนึ่ ง เขาเรี ยกว า อาสวะ หรื อ อนุ สั ย นี้ คื อ ความเคยชิน ของกิเ ลส, พวกอื ่น ที ่อื ่น เขาจะสอบวา อาสวะหรือ อนุส ัย นี ่ค ือ ตั ว กิ เลสที่ น อนนิ่ ง รอคอยอยู ใ นสั น ดานตลอดกาล. อาตมาก็ เคยเข า ใจผิ ด และสอน ผิ ด ๆ อย างนี้ กั บ เขาด วยเหมื อนกั น แต เดี๋ ยวนี้ ไม พู ดอย างนั้ นแล ว. ถ าจะพู ดว าอาสวะ หรือ อนุ สั ย จะได ไม เล็ งถึ งตั ว กิ เลส แต เล็ ง ถึ ง พฤติ ก รรมอั น หนึ่ ง คื อ ความเคยชิ น พร อ มอยู เสมอที่ จ ะเกิ ด กิ เลส เร็ ว ยิ่ ง กว า สายฟ า แลบ. นี่ ค วามเคยชิ น ส ว นนี้ เรี ย กว า อาสวะบ า ง เรี ย กว า อนุ สั ย บ า ง. เหมื อ นกั บ ว า เรารั ก ที ห นึ่ งมั น ก็ ส ร า งความเคยชิ น ที่ จ ะรั ก ที่ ห นึ่ ง , รั ก ครั้ ง ที่ ส อง ที่ ส าม ก็ ส ร า งความเคยชิ น เพิ่ ม กํ า ลั ง แห ง ความเคยชิ น ที่ จ ะเกิ ด ความรั ก นี่ เ ร็ ว ขึ้ น เร็ ว ขึ้ น เร็ ว ขึ้ น ส ว นนี้ เ รี ย กว า อนุ สั ย . หรื อ ว า เราโกรธก็ เหมื อนกั น ถ าเราโกรธซ้ํ า ๆ ๆ เข าบ อย ๆ กว าจะตายนี้ มั นหลายร อยครั้ ง พั นครั้ งหมื่ นครั้ ง มันกลายเปนวามีความเคยชินที่จะโกรธไดเร็วเหมือนสายฟาแลบ. ความเคยชิ น อั น นี้ เรี ยกว าอนุ สั ย เรี ย กว าอาสวะ, ความเคยชิ น ที่ เราสะสม หมัก ดองไวใ นความเคยชิน ไมใ ชต ัว ตนที ่น อนนิ ่ง อยู ใ นสัน ดาน. ถา อยา งนั ้น มั น ผิ ด หลั ก หมด มั น กลายเป น ว าของเที่ ย ง เป น ของไม ต อ งอาศั ย เหตุ ป จ จั ย ; แต นี่ เป น แต เพี ยงความเคยชิ น มาจากเหตุ ป จจั ย คื อเรามี กิ เลสอย างนั้ นบ อย ๆ มั นเป นคุ ณ สมบั ติ อั นหนึ่ งของความเคยชิ น นี้ ก็ มาจากผั สสะ เพราะว ามั นมาจากกิ เลส กิ เลสมั นมาจาก ผัสสะ ผัสสะใหเกิดกิเลสนี่แนนอนแลว พูดแลว.
www.buddhadasa.info การมี กิ เลสบ อย ๆ นี่ ทํ าให เกิ ดอนุ สั ย หรื ออาสวะ คื อความเคยชิ นแห ง การเกิ ดกิ เลสนั้ น ทํ าไมเราจึ งเกิ ดโกรธได เร็ วแบบสายฟ าแลบ? ทํ าไมเราจึ งรั กได วู บเดี ยว แบบสายฟ า แลบ? ก็ เพราะว า มี สิ่ ง นี้ ม าก คื อ มี อ าสวะ มี อ นุ สั ย นี้ ม าก; เราสะสมไว ทุ ก ๆ ครั้ ง ที่ มี ผั ส สะชนิ ด ที่ ทํ า ให รั ก หรื อ ให โกรธ, หรื อ ให เกลี ย ด หรื อ ทํ า ให ก ลั ว หรื อ อะไรตาง ๆ ทุก ๆ อยางไป, นี่เรียกวา กิเลสก็ดี ความเคยชินแหงกิเลสก็ดี มาจาก
ความสําคัญของการสัมผัสทางอายตนะ
๒๙๑
ผั ส สะ; ในที่ สุ ด ก็ ส รุ ป รวมยอดว า ทุ ก ข ทั้ ง ปวงนี่ น ะ มาจากผั ส สะ. เมื่ อ พู ด ว า ทุ ก ข ทั้ ง ปวงมาจากผั ส สะก็ ข อให จํ า กั ด ความลงไปว า ผั ส สะด ว ยอวิ ช ชา; นี่ พู ด กั น ถึ งส วนลึ กนะ, ทุ กข ในความหมายที่ ลึ กนะ, ไม ใช ว าเอามี ด มาเลื อ ดเนื้ อ แล วเจ็ บ ปวด นี่ เรียกว ามาจากผั สสะ; อย างนี้ ไม ใช มั น งายเกิ นไป แม เป นอย างนั้ น ก็ มาจากผั สสะ เชนเรารูสึกเจ็บปวดรอนที่ผิวหนัง อยางนี้ก็เพราะสัมผัสอันนั้น. เรื่อ งที ่แ ปด คํ า วา “ทุก ข” หมายถึง วา ความเปน ทุก ขใ นจิต ใจ : ยึ ดมั่ น ถื อมั่ น ในความเกิ ด แก เจ็ บ ตาย ว าความเกิ ด แก เจ็ บ ตาย ของเรา อะไรก็ ของเรา อะไร ๆ ก็ ข องเรา นี่ มั น จึ งเป น ทุ ก ข ; นี้ คื อ ทุ ก ข ที่ แ ท จ ริ ง ความเกิ ด เป น ทุ ก ข ความแก เป นทุ กข จนกระทั่ งว าความไม ได อย างใจเป นทุ กข แล วสรุ ป ดั งที่ พระพุ ทธเจ า ท า นตรั ส ว า เบญ จขั น ธ ที่ ป ระกอบอยู ด ว ยความยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น นั้ น เป น ตั ว ทุ ก ข เบญจขันธ ที่ ประกอบอยู ด วยความยึ ดมั่ นถื อมั่ นนั่ นน ะ มาจากผั สสะโดยตรง : ความยึ ดมั่ น ถื อมั่ นนั้ น คื ออุ ปาทาน อุ ปาทานมาจากตั ณหา ตั ณหามาจากเวทนา เวทนามาจากผั สสะ คืออวิชชาสัมผัส; ทุกขทั้งหลายโดยแทจริง ไมวาชนิดไหน มาจากผัสสะอยางนี้.
www.buddhadasa.info นี่ จะเป นทุ กข ชนิ ดไหน กี่ ประเภทก็ ตามเถอะ จะต องมาอย างนี้ ทั้ งนั้ น. ทุ กข น อย ทุ กข มี ปริมาณน อยเหลื อเกิ น ก็ มาจากผั สสะ, ทุ กข ใหญ หลวง ก็ มาจากผั สสะ ทุ กข ที่ จางเร็วก็ มาจากผั สสะ ทุ กข ที่ จางช าก็ มาจากผั สสะ; เขาจํ าแนกทุ กข ไว มากมาย ไม ต อง พู ดละ เพราะว าจะเป นทุ กข ชนิ ดไหนก็ ต องมาจากผั สสะ. ตั้ งต นที่ ผั สสะเป นต นเงื่ อน, ตั้ งต นที่ ผั สสะแล วปรุ ง ๆ ปรุ งกั นมาจนเป นตั วความทุ กข ร อนเร า ๆ อยู ทางใจ หรื อว า ทางกาย หรือวาทางความรูสึกละเอียดสุขุมยิ่งไปกวานั้น.
ความเปนปรมัตถสภาวธรรมของ “ผัสสะ” มีทั้งดีและราย นี่ พู ดมา ๑ ชั่ วโมงนี้ หรือจะพู ดคํ าเดี ยวว า ทุ กอย างขึ้ นอยู ที่ ผั สสะ สํ าเร็จ อยูที่ผัสสะ, มีตนตออยูที่ผัสสะ. นี้เรียกวาเปนปรมัตถสภาวะที่เราตองสูเสียเวลา
๒๙๒
ปรมัตถสภาวธรรม
๑ ชั่วโมงกวานี้ ก็เพื่ อให รู คํ า ๆ เดี ยววา ผั สสะนั้ น เป นเพี ยงสิ่ งเดี ยวที่ ทํ าให เกิ ดสิ่ ง ทั้งปวง หรือมีความหมายใหแกสิ่งทั้งปวงขึ้นมา นั่นคือปรมัตถสภาวธรรม. เราไปหวั ง ที่ นั่ น ที่ นี่ ไปหวั ง ที่ จ ะเป น ป ญ หาที่ นั่ น ที่ นี่ ที่ ที่ ห วั ง , ที่ มี เงิ น หรื อ ไม มี เ งิ น , ที่ เ ทวดา หรื อ ว า ที่ ผี ส าง หรื อ โชคลาง มั น เป น เรื่ อ งที่ น า หั ว เราะ; เพราะไม รู ป รมั ต สภาวธรรม จึ ง ไปหวั ง ภายนอก มองไปภายนอก ไม ม องไปภายใน. แม จ ะมองไปภายใน มั น ก็ ม องไม เ ป น มั น ก็ ไ ม เ ห็ น ; ถ า มองเป น จะเห็ น อย า งที่ พระพุ ทธเจาท านตรัสไว วาทุ กอย างมั น ไปรวมจุ ดอยู ที่ เรียกวาผั สสะ. ส วนที่ จะเป น เรื่องประยุกตกับคนในโลกเวลานี้ไดบางก็จะแนะใหดูขอนี้ :ที ่เ ปน ปญ หาที ่ไ มพ ึง ปรารถนา ที ่เ รีย กวา เลวรา ยนี ้; เชน วา โลกมัน มี วิ กฤตกาลอั นถาวร หรื อว าโลกนี้ กํ าลั งจะฉิ บ หาย จะเป น มิ คสั ญ ญี นี่ เพราะผั ส สะ. คนที่ จ ะไปพู ด ว า เพราะคอมมู นิ ส ต เพราะอะไรนั่ น เพราะมองแคบ ๆ มองกั น สั้ น ๆ ต นตอแท จริ ง มั นอยู ที่ ผั สสะของมนุ ษย ; จะเป นเรื่องดี หรือเรื่องราย มั นก็ มี ต นตออยู ที่ ผัสสะ ถาไมมีสิ่งนี้ ก็ไมมีความรูสึกที่จะทําใหเกิดแยงชิง หรือเกิดทําลายลางอะไรกัน.
www.buddhadasa.info เราจะต องรู จั กตั วเรา แล วเราจึ งจะรูจั กผู อื่ น รูจั กสั ตว อื่ น แล วก็ แก ป ญหา ให ถู ก เรื่ อ ง มั น ก็ จ ะแก ได สํ าเร็ จ ; ไม เช น นั้ น มั น ก็ เป น เพี ย งการทํ าลายซึ่ งกั น และกั น เท านั้ น แหละ ไม เป นการแก ป ญ หาแต อ ย างใด, เป นแต เพี ยงการทํ าลายซึ่ งกั นและกั น ทั้งสองฝ าย. โลกกํ าลั งมี วิก ฤตกาลถาวร เพราะมนุ ษ ย แ ต ล ะคนไปเป น ทาสทาง อายตนะมากขึ้ น; เป นทาส นั่ นคื อเป นบ าว เป นขี้ ข าแก อายตนะคื อ ตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจ มากขึ้น ๆ ๆ. การศึกษาทําไปผิด แทนที่จะใหลูกเด็ก ๆ รูจักควบคุมอายตนะ กลับไป เปดโอกาสใหเด็ก ๆ เปนทาสของอายตนะ หลงใหลในอายตนะมากขึ้น; เด็กวัยรุน
ความสําคัญของการสัมผัสทางอายตนะ
๒๙๓
จึ งเป น อั น ธพาลกั น ทั้ งหนุ ม ทั้ งสาว เต็ ม ไปหมด. นั กศึ กษาเรี ยนแล วก็ ชอบยาเสพติ ด เรี ยนแล วก็ ชอบบ าหลั งในทางกามารมณ ซึ่ งไม จํ าเป นจะต องทํ าเลยก็ มี ; แล วมี อะไร ๆ อี กมากที่ เป นต นเหตุ แห งวิ กฤตกาล แล วก็ บานปลาย เป นเรื่องของคนทั้ งชาติ ทั้ งประเทศ แลวก็ออกไปเปนเรื่องของคนทั้งโลก มีวิกฤตกาลที่ไมรูจักสิ้นสุด. นี่ เรี ย กว าโลกกํ าลั งมี วิ ก ฤตกาลอั น ถาวร อยู เป น ประจํ า เรี ย กว าโลกนี้ กํ า ลั ง ใกล ค วามฉิ บ หาย คื อ แตกสลายของมนุ ษ ย ยิ่ ง ขึ้ น ทุ ก ที ; เพราะสิ่ ง นิ ด เดี ย ว คือผัสสะ ในจิตใจของแตละคน. ที นี้ มองในแง ดี กั นบ าง เดี๋ ยวจะหาว ามองแต ในแง ราย. ในแง ร ายนั้ นว า โลกมี ผั ส สะคื อ อวิ ชชาสั ม ผั ส ไปสั ม ผั ส สิ่ งของต าง ๆ ผิ ด ด วยอํ านาจของอวิ ชชา; นี่ อั นธพาลเกิ ดขึ้ นเต็ มโลก ในกรุงเทพฯ พิ สู จน ได ชั ดวาอั นธพาลมั นมากขึ้ นกว าแต ก อนมาก ปราบกั นไม ได ; อั นธพาลเหล านี้ ยอมตาย จะฆ าเท าไรก็ ได ขายอมตาย เพราะส วนหนึ่ ง มีกําลังสําคัญกวา คือความสําคัญผิด หรือมิจฉาทิฏฐิ ที่มาจากผัสสะ. การที่อันธพาล เกิ ดมากขึ้ น ปราบไม ได ก็ เพราะว าเขายอมตายด วยผ สสะ; เช น มั นไปทํ าอาชญากรรมใน ทางเพศ น าเกลี ยดน าชั งอะไรสั กอย างหนึ่ ง เพราะบั งคั บผั สสะไม ได และตั วเขาก็ รู ว า ถ าถู กเขาจั บได จะต องตาย ก็ ยั งยอมอยู นั่ นแหละ เพราะผั สสะมี อํ านาจเหนื อกว า. นี่ ถ า เราไมใหการศึกษาที่เพียงพอมันก็แกไมได; นี่มองในแงราย.
www.buddhadasa.info ทีนี้ ในแงดีก็ตรงกันขาม ทําใหเกิดมีการสัมผัสสิ่งตาง ๆ ดวยวิชชา ดวย ป ญ ญา หรือความถู กตอง; ความคิ ดก็ เป นไปถู กทาง เป นสั มมาทิ ฏฐิ มั นก็กลาย เป น หมดอั น ธพาล หมดนรก เป น สวรรค ขึ้ น มาแทน, สวรรค ก็ มี มู ล มาจากผั ส สะ เหมื อ นที่ ก ล า วมาตะกี้ นี้ แ ล ว ; ในสวรรค มี สุ ข สั ม ผั ส คนอยากไปสวรรค และคน ประพฤติ ดี อยากไปสวรรค ก็ ตั้ งต นด วยผั สสะที่ ถู กต องคื อ วิ ชชาสั มผั ส ให เข าใจถู กต อง ทางจิตใจเปนสัมมทิฏฐิ เปนตน.
๒๙๔
ปรมัตถสภาวธรรม
ในที่สุดก็พู ดไดเป นคําสุดท ายวา “นิ พพาน” แม วาจะไม เกี่ ยวกั บผัสสะเลย แต ก็ มี ค าขึ้ น มาได ด วยผั ส สะ นิ พพานนั่ น จิ ตรูสึ กต อ พระนิ พพานได ด วยจิ ต; ฉะนั้ น ก็ มี ก ารสั ม ผั ส พระนิ พ พานได . มี คํ า ๆ หนึ่ ง ซึ่ ง เชื่ อ ว า น อ ยคนจะได ยิ น คื อ คํ า ว า “สุ ญญตาสั มผั ส” การสั มผั สต อสุ ญญตา สุ ญญตานั้ นเป นชื่ อของนิ พพาน. จิ ตนี้ สั มผั ส ได ต อ ความว างจากกิ เลส และความทุ กข ก็ เรียกว า สุ ญ ญตาสั มผั ส; ถ าไม มี สั มผั ส ทําไมจะรูความหมาย หรือรสชาติของสุญญตาได ก็ตองสัมผัสอีกนั่นแหละ. นิ พพานมี ค าเป นสิ่ งสู งสุ ดขึ้ นมาก็ เพราะว า เป นสิ่ งที่ สั มผั สได ดั งนั้ น พระพุ ทธเจาท านจึงใช คํ าวาอายตนะ แก สิ่ งที่ เรียกว านิ พพาน. ในครั้งหนึ่ ง พระพุ ทธองค ตรั ส ว า อตฺ ถิ ภิ กฺ ข เว ตทายตนํ -ดู ก อ น ภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย อายตนะนั่ น มี อ ยู น ปฐวี น อาโป น เตโช น วาโย ท า นก็ ว า ของท า นเรื่ อ ยไป ไม ใ ช นั้ น ไม ใ ช นั้ น . นั่ น คื อ ที่สุดของความทุกขก็คือนิพพาน นั่นเปนอายตนะ. ถาเปนอายตนะ ก็หมายความวา มันเปนสิ่งที่มนุษยรูสึกได สัมผัสได โดยวิ ธี ใ ดวิ ธี ห นึ่ ง โดยแง ใ ดแง ห นึ่ ง ปริ ย ายใดปริ ย ายหนึ่ ง ; โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง ก็ เหมือนที่พูดมาแลววา จิตนี้สัมผัสตอภาวะที่วางจากกิเลส และวางจากความทุกขได จึ งรู สึ กว าไม มี ทุ กข เลย. มั นเป นที่ สุ ดแห งความทุ กข จริง ๆ ถ าพู ดอย างสมมติ ก็ เป นยอด สุข; ถาพูดอยางความจริง ก็พูดวาสิ้นสุดแหงความทุกข นี่ก็มาจากผัสสะ.
www.buddhadasa.info เป น อั น วา สิ่ งทั้ งปวงเกิ ด ขึ้ น มาโดยตรง หรือ ว าเกิ ด มี ค าขึ้ น มาก็ ต าม นี้ มั นเพราะสิ่ งที่ เรี ยกว าผั สสะ; ไม มี ผั สสะเสี ยอย างเดี ยว ก็ เท ากั บไม มี อะไรในสากล จั ก รวาล หรื อ ในอะไร ๆ ทั้ ง หมดเลย. แล ว แต จ ะเอาคํ า พู ด ไหนมาใช ; ในที่ ทั้ ง หมด ทุ ก สากลจั กรวาล มั น ก็ ไม มี ค า ไม มี ค วามหมาย, หรื อ ไม มี ส ากลจั กรวาล; ถ าไม มี สิ่ ง สิ่งเดียวที่เรียกวาผัสสะ. และผัสสะจะมีขึ้นมาได ก็ตองเพราะวามนุษยมีอายตนะ
ความสําคัญของการสัมผัสทางอายตนะ
๒๙๕
สําหรับทํ าการสัมผัส และวัตถุขางนอกก็มี คือสิ่งเหลานั้น แลวมาพบกันเขากับอวัยวะ สํ าหรับสั มผั สของมนุ ษย เกิ ดความรูสึ กขึ้ นมาได . นี้ เรียกวาสั มผั ส สิ่ งต าง ๆ เกิ ดขึ้ นและ มีคา. นี่ สรุปวา ถาไมมีสัมผัสเสียอยางเดียว ก็เทา ๆ กับวาไมมีอะไรในสากล จั กรวาล หรือสากลจั กรวาลก็ มิ ได มี ทั้ งทางรูปธรรมทั้ งทางนามธรรม คื อทั้ งทางวัตถุ และ ทั้งทางจิตใจ. นี่ แหละ คื อใจความสํ าคั ญ ของการบรรยายในวั นนี้ เป นเรื่ องปรมั ตถสภาวธรรมครั้ งที่ ๙ เป นการอธิ บายให ชั ดเจนยิ่ งขึ้ นไปทุ กที แล วมั นก็ ซ้ํ ากั บ เรื่ องที่ บรรยาย มาแล วแต ครั้ งก อน ๆ โดยที่ ช วยไม ได ; จํ าเป นต องซ้ํ า เพี ยงแต ว าจะอธิ บายให ละเอี ยด ให ชั ดแจ งยิ่ งขึ้ นไปเท านั้ น. ขอให ทนฟ งไปด วยความรํ าคาญนี้ ไปเรื่ อย ๆ จนกว าจะจบ คําบรรยายชุดนี้. สํ าหรั บ วั น นี้ ก็ พ อกั น ที พระสงฆ ทั้ งหลาย จะได ส วดคณะสาธยายเป น ที่ ตั้งแหงความเลื่อมใสในธรรมตอไปอีกตามสมควรแกเวลา.
www.buddhadasa.info
www.buddhadasa.info
ปรมัตถสภาวธรรม
-๑๐๑๐ มีนาคม ๒๕๑๖
อายตนสัมผัส ใหเกิดสิ่งที่เรียกวา ขันธ ทานสาธุชนผูสนใจในธรรมทั้งหลาย, การบรรยายในชุ ด ปรมั ต ถสภาวธรรมเป น ครั้ ง ที่ ๑๐ นี้ จั ก ได ก ล า ว โดยหั ว ข อ ว า อายตน สั ม ผั ส ให เ กิ ด สิ ่ ง ที ่ เ รี ย กว า ขั น ธ ดั ง ที ่ ไ ด ก ล า วมา, และกลา วแลว กลา วอีก แกท า นทั ้ง หลาย วา การบรรยายในชุด ปรมัต ถสภาวธรรมนี้ ไ ม มี อ ะไร นอกไปจากคํ า เพี ย งสอง-สามคํ า คื อ คํ า ว า ธาตุ คํ า ว า อ าย ต น ะ แล ะคํ า วา ขัน ธ; พูด วน ไป วน ม าจน ทา น ทั ้ง ห ล าย รู ส ึก รํ า ค าญ . บางคนถึง กับ พูด วา ไมเ ปน เรื ่อ งเปน ราวเสีย เลยก็ม ี; นี ้ข อใหเ ขา ใจวา มัน ชว ย ไมได คือมันหลีกไมพน ที่จะตองเปนอยางนี้.ที่อาตมาทําความรําคาญ
www.buddhadasa.info
๒๙๗
๒๙๘
ปรมัตถสภาวธรรม
ใหท า นทั ้ง หลาย ก็เ พราะเหตุว า ทา นทั ้ง หลายเปน ผู ที ่ทํ า ใหต อ งเปน เชน นั ้น ; หมายความวา เราทุก คนนี ้ย ัง ไมรู เ รื ่อ งที ่สํ า คัญ ๒-๓ คํ า นี ้โ ดยละเอีย ด หรือ ถูกตองนั่นเอง. ขอให ท บทวนดู ว า ในการบรรยายที่ แล ว ๆ มา ตั้ ง ๙ ครั้ งนั้ น ได พู ดถึ ง สิ่ งที่ เรี ยกว าธาตุ โดยตรง ตั้ ง ๕-๖ ครั้ ง, และพู ดระคนกั นเกี่ ยวกั บสิ่ งที่ เรี ยกว าธาตุ ว า อายตนะบ างก็ ๒-๓ครั้ ง ไม พ น ไปจากคํ า ๒-๓ คํ านี้ . แต เชื่ อ ว าเดี๋ ยวนี้ ท านทั้ งหลาย ก็ ค งจะพอจั บ เค าเงื่อ นได วาสิ่ งที่ เรี ย กว าธาตุ นั่ น หมายถึ งสิ่ งที่ ตั้ งอยู ในฐานะเป น พื้นฐานทั่ว ๆ ไป แลวก็คอยปรุงใหเกิดสิ่งอื่น ๆ ขึ้นมาเปนลําดับ. ถ าจะกล าวว า ธาตุ ปรุ งให เกิ ดอายตนะ อายตนะปรุ งให เกิ ดขั นธ อย างนี้ ก็ไม มีทางจะผิด. แตมั นมีอะไรบางอยางมากไปกวานั้น เพราะวา สิ่ งที่ เรียกวาอายตนะ นั้นมองในอีกแงหนึ่ง มั นก็เป นธาตุ ดวยเหมื อนกัน เชน จักขุธาตุ รูปธาตุ จักขุวิญญาณธาตุ เป น ต น ; แม ที่ สุ ด แต เมื่ อ มาเป น ขั น ธ คื อ รู ป เวทนา สั ญ ญา สั งขาร วิ ญ ญาณ ๕ ขั นธ นี่ แล ว. ถ าเพ งเล็ งให ลึ กไปกว านั้ น ก็ มี ลั กษณะของความเป นธาตุ อย างหนึ่ งด วย คือเรียกวา รูปธาตุ เวทนาธาตุ สัญญาธาตุ สังขารธาตุ วิญญาณธาตุ อยางนี้ก็ยังมี.
www.buddhadasa.info เพื่ อกั นความสั บสน ก็ ขอให ถื อเอาความหมายว าที่ เรี ยกว า “ธาตุ ” นั้ น เล็ ง ไปในทางที่ เป น สิ่ งที่ ตั้ งอยู เป น พื้ นฐาน, เป นรากฐาน, เป นชั้ นล างสุ ด เช น ธาตุ ดิ น ธาตุ น้ํ า ธาตุ ไฟ ธาตุ ลม ธาตุ อากาส ธาตุ วิ ญญาณ; ๖ ธาตุ นี้ เห็ นได ชั ดว าเป นธาตุ ระดั บ ต่ํ าสุ ด ซึ่ งจะปรุ งขึ้ นมาให เป นอายตนะ คื อ ตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจ. แต ส วนที่ จะมาเป น ตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจ มั นก็ มี กํ าเนิ ดความเป นอย างนั้ นของมั นมาด วย ส วนหนึ่ งเหมื อนกั น เช น ว า ตา หรื อ จั กษุ ป ระสาทนี้ ก็ เรี ยกว าอายตนะก็ ได คื อ จั กขุ อายตนะ; แต แล ว ที่เรียกวาธาตุก็มี คือจักขุธาตุ ธาตุที่มันจะทํางานทางตาฉะนั้น คําวาจักษุ นี้เปนชื่อ
อายตนสัมผัสใหเกิดสิ่งที่เรียกวาขันธ
๒๙๙
ของธาตุ ก็ ห มายความอย างหนึ่ ง, เป น ชื่ อ ของอายตนะ ก็ ห มายความอี ก อย างหนึ่ ง; แม วา ชื่ อมั นจะเหมื อนกั น. เราจะต องศึ กษาความหมายของคํ าที่ สํ าคั ญ ๆ เช นคํ าวา “ธาตุ ” มีอยูตามธรรมชาติ. คําวา “อายตนะ” นั้น หมายถึงสิ่งชนิดนั้นทําหนาที่สําหรับติดตอกับสิ่งอื่น จึงถูกเรียกวาอายตนะขึ้นมา. เมื่อเปนจักขุธาตุ มันก็เปนธาตุสําหรับที่จะเห็นทางตา; แตพอมันมีการเห็น ทําหนาที่เปนการเห็น ก็เรียกวาจักขุอายตนะ -อายตนะที่ทําหนาที่ สํ า หรับ การเห็น อยู . แมสิ ่ง ที ่เ รีย กวา รูป ขา งนอก ก็เ ปน รูป ธาตุ เปน ธาตุที ่ม ีร ูป ตั้ งรู ปตามธรรมชาติ สํ าหรั บที่ จะแตกดั บไป ก็ เรี ยกว ารู ปธาตุ ; แต พอสิ่ งนี้ มาทํ าหน าที่ ติดตอกับตา สิ่งนี้ก็ไดชื่อเสียใหมวา รูปายตนะ -อายตนะคือรูป อยางนี้เปนตน. ขอให เข าใจคํ าว า “ธาตุ ” ที่ มั นสั บสนกั นอยู ในคํ า ๆ นี้ บางที มั นมี ชื่ ออย าง เดียวกัน ทั้งธาตุ ทั้ งอายตนะ และทั้งขันธก็มี; เชนวา รูปธาตุ แลวก็รูปายตนะ แล ว ก็ รู ป ขั น ธ . ดู ใ ห ดี ว า คํ า ว า รู ป อย า งเดี ย วนี้ เป น ธาตุ ก็ ไ ด เป น อายตนะก็ ไ ด เป นขันธก็ได . เมื่ อเป นธาตุ ก็หมายความวา ตั้ งอยูในฐานะเป นสิ่ งที่ มี รูปและมี อาการ แตกทําลายอยูเสมอ เมื่อมามีชื่อวา อายตนะ ก็เพราะวามาสัมผัสกันเขากับคูของมันคือ ตา. เมื่ อจะเรียกว ารูปขั นธ ก็ หมายความว า ทํ าหน าที่ ปรุงกั นขึ้ นมาเป นส วนสํ าคั ญส วน หนึ่ งหรื ออย างหนึ่ ง ในขณะหนึ่ ง ๆ เท านั้ น ที่ จะทํ าให คนเราเกิ ดไปหลงเอามาเป น ตั ว เปนตน ยิ่งขึ้นไปกวาธรรมดา, คือยิ่งไปกวาที่จะเปนเพียงธาตุ หรือเปนเพียงอายตนะ.
www.buddhadasa.info นี่ เราก็ พอจะจั บใจความได คร าว ๆ ชั้ นหนึ่ งว า ถ าเรี ยกว า ธาตุ หมายความว า ยั ง เป น ธรรมชาติ เกิ น ไป; ถ า พอมาเป น อายตนะ มั น คล า ย ๆ กั บ ว า จะกระดุ ก กระดิ กได แล ว คื อจะติ ด ต อ กั บ สิ่ งอื่ น ได โดยทํ าการสัม ผัส . พอมาเรีย กวา ขั น ธ เชนรูปขันธอยางนี้ ก็มีอะไรที่นาดูมากแลว จนทําใหหลงไปวา นี่เปนตัวตน หรือ เปนของตน.
๓๐๐
ปรมัตถสภาวธรรม
ที นี้ ป ญ หาก็ มี อ ยู ต รงที่ ว า ถ า ยั งมี ค วามรู สึ ก ว า ตั ว ตนอยู เพี ย งไร ก็ มี ความทุกขอยูเพียงนั้น; ฉะนั้น เราจึงตองศึกษาใหรูจริง จนไมอาจจะเกิดความรูสึกวา ตั วตนหรือของตนขึ้ นมาในขั นธ หรือในอายตนะ หรือในธาตุ ก็ ตาม, นี่ แหละคื อความ สํ า คั ญ มั น อยู ที่ ต รงนี้ ; เพราะถ า เราไม รู เราก็ จ ะต อ งโง เพราะความโงก็ ทํ า ให เรา ตองมีกิเลส และมีความทุกข. ในการบรรยายครั้ งที่ ๙ ที่ แล วมานี้ ก็ ได พยายามแสดงให เห็ นอย างละเอี ยด ชัดเจนที่สุด วาอะไร ๆ มันตั้งต นเป นป ญ หายุงยากขึ้นมา ก็อยูตรงที่ เรียกวาผั สสะ นั่ นเอง; คื อการกระทบกั นระหว างอายตนะข างในกั บอายตนะข างนอก : ข องในคื อ ตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจ, ข างนอกก็ คื อ รูปเสี ยง กลิ่ น รส โผฏฐั พพะ ธั มมารมณ . เมื่ อสิ่ งที่ เคยเป นแต เพี ยงธาตุมากลายเป นอายตนะทั้ งขางนอกขางในขึ้นมาอยางนี้ ก็มี การพบกั น. กระทบกั น, อาศั ยกั น, ซึ่ งเรียกว าสั มผั ส โดยที่ มี ธาตุ อี กธาตุ หนึ่ งกระเด็ นออกมา คื อ วิ ญ ญาณธาตุ ; อย างที่ พ ระพุ ทธภาษิ ต ตรัสว า จกฺ ขุ ฺ จ ปฏิ จฺ จ รูเป จ อุ ปฺ ป ชฺ ชติ จกฺ ขุ วิ ฺ ญ าณํ -อาศั ยตากั บรูป ย อมบั งเกิ ดจั กขุ วิ ญ ญาณอย างนี้ ; ติ ณ ณํ ธมฺ มานํ สงฺ ค ติ ผสฺ โ ส -ความที่ มั น มามี พ ร อ มกั น มี ด ว ยกั น ทั้ ง สามอย า งนี้ , นี่ เรี ย กว า “ผัสสะ” .
www.buddhadasa.info ผั สสะ นี่คื อใจความสําคั ญที่ สุดของธรรมะทั้ งหมด หรือวาเรื่องราวต าง ๆ ในโลกนี้ มั นจะตั้ งต น ที่ ตรงนี้ ไม มี ที่ อื่ น และไม มี เรื่องอื่ น จึ งขอรองแล วขอรองอี ก พูดแลวพูดอีก ไมกลัววาผูฟงจะรําคาญ วาใหรูเรื่อง อายตนะขางในและขางนอก พบกัน ให เกิ ดจั กขุ วิ ญ ญาณ แล วรวมสามประการนั้ น เรี ยกว า ผั สสะ; แล วผั สสะคํ าเดี ยว เทานั้น ไมมีมากกวานั้น ที่เปนตนตอใหเกิดสิ่งทั้งหลายทั้งปวงในสากลจักรวาล ทั้ง ฝ ายนามธรรมและฝ ายรู ปธรรม; จะเป นเรื่องโลก ทั้ งทุ ก ๆ โลกมั นก็ เกิ ดขึ้ นมาได เพราะ ผัสสะ มีคาเปนโลกขึ้นมาได เพราะมันมีผัสสะ
อายตนสัมผัสใหเกิดสิ่งที่เรียกวาขันธ
๓๐๑
สิ่งที่เรียกวา กาม มีขึ้นมาก็เพราะผัสสะ แลวมันมีคาเปนที่นาปรารถนาของ คนทั้ งหลาย ก็ เพราะว ามั นมี ผั สสะ. ถ าจะเรียกว ากรรม กรรมดี : กรรมชั่ ว ผลกรรม อะไรเหล านี้ มั นก็มี ขึ้นมาเพราะสิ่งที่เรียกวาผั สสะ. ไมมี ผัสสะกอนแลวจะเกิดเจตนาที่ จะ เปนตัวกรรมไมได ตอเมื่อมีเจตนา จึงจะเรียกวากรรม. เจตนานั้นตองมาจากผัสสะ อยางใดอยางหนึ่งกอนเสมอ จึงวากรรมทั้งหลายก็มาจากผัสสะ. ผัสสะนั้นสใหเกิดเวทนา เวทนาจึงมาจากผัสสะ. ลําพังผัสสะก็ยังไมมีอัสสาทะ หรื อ รสอร อ ย เสน ห ดึ ง ดู ด อะไร; แต พ อเป น เวทนาขึ้ น มาเท า นั้ น ก็ มี สิ่ ง ที่ เรี ย กว า อั สสาทะ คื อเครื่องดึ งดู ดใจ เป นที่ ตั้ งแห งกิ เลส ตั ณ หา อุ ปาทาน จนเกิ ดสิ่ งทุ กสิ่ งที่ มีปญหาขึ้นแกมนุษยเรา ที่เกี่ยวกันกับเวทนา ซึ่งทุกคนในโลกนี้เปนทาสของเวทนา. สิ่งที่ เรียกวาสั ญญา ก็มาจากผั สสะ สั ญญาที่ จํ าอะไรได หมายอะไรได ก็เรียกวา สัญญา นี้ก็มาจากผัสสะ ตองผัสสะกอนจึงจะใหเกิดโอกาสที่จะใหรูวา นี่นะมัน คืออะไร; เชนผัสสะทางตา ก็รูวา นี่รูปอะไร, ผัสสะทางหู ก็รูวา นี่เสียงอะไร.
www.buddhadasa.info สั ญ ญาที่ วา สํ าคั ญ มั่ นหมายว า เป นนั่ นเป นนี่ เป นโน น เป นที่ รัก ที่ ไม นารัก เป นตัวตนอยางนี้ ก็มาจากผัสสะชนิ ดใดชนิ ดหนึ่ งมากอนแลวทั้ งนั้ น ซึ่งเป นเหตุ ใหเกิดความสําคัญมั่นหมายขึ้นมาในสิ่งนั้น ๆ ; นี่ก็เรียกวาตัวสัญญาทั้งหลายก็ตองอาศัย ผัสสะจึงจะเกิดขึ้นมาได.
พวกทิ ฏฐิ , มิ จฉาทิ ฏฐิ , สั มมาทิ ฏฐิ อะไรก็ ตาม ต องมาจากมโนสั มผั ส. เมื่อสัมผัสดวยอวิชชา มันก็เกิดมิจฉาทิฏฐิ, เมื่อสัมผัสดวยวิชชา ก็เกิดสัมมาทิฏฐิ อยาง ธรรมดาก็ มี อย างจมดิ่ งเรีย กว า อั น ตคาหิ ก ะ ไปสุ ด โต ง ยากที่ จ ะถอนอย างนี้ ก็ มี . แตไมวาอยางไหนทั้งหมด ลวนตั้งตนมาจากผัสสะ อยูไดดวยผัสสะ ที่ทําใหเกิดความหมาย หรือประโยชนอะไรขึ้นมา ที่จะยึดถือเอาทิฏฐินั้น ๆ ไวตลอดไป.
ปรมัตถสภาวธรรม
๓๐๒
กิ เลสมาจากผั สสะ นี้ เห็ นได งาย จะเกิ ดความโลภ ความโกรธ ความหลง นี้จะเกิดขึ้น ก็หลังจากที่มี ผัสสะโดยอายตนะใดอายตนะหนึ่ ง ในสิ่งใดสิ่งหนึ่งมากอนแลว ทั้ งนั้ น ความเคยชิ นของกิ เลส เช น อนุ สั ย มั นก็ ต องมาจากผั สสะอยู ดี เพราะมั นมาจาก กิเลสที่เคยชิน. ในที่สุดความทุกขทั้งหลาย ไมวาชนิดไหนหมดมันตองตั้งตนที่ผัสสะ. พูดมาตั้งยืดยาวนี้ ก็เพื่อใหทบทวนความจําในครั้งที่แลวมาวา ทุกอยางมั น ขึ้นอยูกับสิ่งที่เรียกวาผัสสะเพียงคําเดียว จนกระทั่งเกิดทุกขในที่สุด. ทีนี้ในวันนี้จะพูดกันในขอที่ผัสสะนี่ทําใหเกิดสิ่งที่เรียกวาขันธทั้งหลาย ขึ้ น มาก อ นอย า งไร; แล ว พอไปยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น ในขั น ธ เหล า นั้ น เข า ขั น ธ ก็ ก ลายเป น ป ญ จุปาทานขันธ, ก็ เป นตัวทุ กขขึ้นมา. ที นี้ เราจะพู ดให ชั ดในขอที่ วา ผั สสะ ให เกิ ด สิ่งที่เรียกวาขันธนี่ขึ้นมาไดในลักษณะอยางไร; จึงตองการเวลาที่มากพอสําหรับบรรยาย หลักเกณฑขอนี้โดยเฉพาะ.
ความหมายสําคัญของผัสสะ
www.buddhadasa.info ผั สสะนั้ น คื อการสั มผั ส หรือการกระทบกั นของอายตนะ ถ าเรียกเป นบาลี ใหสั้น ๆ ใหเพราะ ๆ ก็เรียกวา อายตนสัมผัส เปนคําที่ตองจําไววา มันมีคําวา อายตนสัมผัส คือการสัมผัสดวยอายตนะ เพราะอายตนะสัมผัสนี่ใหเกิดสิ่งที่เรียกวาขันธ.
ความสําคัญของสิ่งที่เรียกวา “ขันธ” ขันธนี้ แปลวา กลุ ม หรือ กอง ของอะไรอันหนึ่ งซึ่งทํ าหน าที่รวมกัน, รวม กั น, เหมื อนกั น; นี่ เรียกว าขั นธ . เกิ ดเป นกลุ มขึ้ นมาจากหลาย ๆ สิ่ ง เป นกลุ มหนึ่ งก็ เรียกวาขันธเหมือนกัน; ใจความสําคัญตองการจะใหมองใหเห็นวา สิ่งที่เรียกวาขันธนี้
อายตนสัมผัสใหเกิดสิ่งที่เรียกวาขันธ
๓๐๓
มั นเป นของลม ๆ แล ง ๆ. เดี๋ ยวนี้ เรามี ความรูสึ กกั นไปในทํ านองที่ วา ขันธนี้ เป นชิ้ น เป นก อน เป นอั น, เป นของที่ เรียกวา อย างน อยก็ ไม แพ ก อนหิ น แต ที่ จริงมั นเป นของ ลม ๆ แล ง ๆ ไม มี ส ว นที่ จ ะเป น ตั ว ตนอะไรได , เห็ น ได ง า ย ๆ ตรงที่ สิ่ ง ที่ เรี ย กว า สัมผัสนั่นแหละ ก็เปนของลม ๆ แลง ๆ. ยกตั วอย างเหมื อนวา เราเอาหินมาตี เขาที่เหล็ก หรือเอาเหล็กมาตีเขาที่ หิ น จะเกิ ดประกายไฟออกมา; ประกายไฟนั้ นจะเป นตั วตนอั นแท จริงได อย างไร เพราะวา มันเพิ่งเกิดออกมาจากการเอาเหล็กฟาดเขาที่หิน. แลวกิริยาอาการที่เอาเหล็กฟาดเขากับที่หินนี่ ไมใชเปนของจริงจังอะไร, เปนของชั่วขณะแวบเดียว ซึ่งก็เปนของลม ๆ แลง ๆ อยูแลว. ดั ง นั้ น สิ่ ง ที่ เรี ย กว า ผั ส สะนั่ น มั น ก็ เป น ของลม ๆ แล ง ๆ ที่ เอาเป น ตั ว เปนตนอะไรไมได เพราะวาเป นเพี ยงกิริยาอาการ ที่กระทบกันเขาในระหวางของ สองสิ่ ง ; เมื่ อ ตั ว ของสิ่ ง นั้ น ก็ ล ม ๆ แล ง ๆ ทั้ ง สองสิ่ ง และกิ ริ ย าอาการที่ ก ระทบกั น ก็ลม ๆ แลง ๆ อีก แลวสิ่งใดที่เกิดมาจากการกระทบกันนั้นมันจะไมยิ่งเปนของลม ๆ แล ง ๆ ไปได อย างไร. ถ าเขาใจขอนี้ ก็ จะเข าใจได ทั นที วา อายตนะสั มผั ส คื อการ สัมผัสทางอายตนะ นั่นก็เปนของ ลม ๆ แลง ๆ ชั่วขณะแวบเดียว แตแลวมันใหเกิดสิ่งที่เรียก วาขันธขึ้นมา : รูปขันธ เวทนาขันธ สัญญาขันธ อะไรก็ตาม.
www.buddhadasa.info ดังนั้น สิ่งที่เรียกวาขันธนั้น จะตองเปนของลม ๆ แลง ๆ ยิ่งไปกวาอายตนสั ม ผั ส , หรื อ ยิ่ ง ไปกว า อายตนะ, หรือ ยิ่ ง ไปกว า สั ม ผั ส . ขั น ธ ยิ่ ง เป น ของที่ เรี ย กว า ลม ๆ แลง ๆ ยิ ่ง ขึ ้น ไปทุก ที; แตใ นความรู ส ึก ในจิต ของคน ไมเ ปน อยา งนั ้น ; จะรู สึ ก ว า เป น ตั ว เป น ตน เป น ก อ น เป น อะไร, เป น ตั ว กู - ของกู ขึ้ น มาในที่ สุ ด . นี่ มั นทวนกลั บ กั นเสี ยอย างนี้ แทนที่ จะเห็ น เป นของลม ๆ แล ง ๆ ยิ่ งขึ้ นไป - ยิ่ งขึ้ น ไป กลั บเห็ นเป นของที่ เป นตั วเป นตน เป นชิ้ นเป นก อนมากขึ้ น ๆ. นี่ คื อตั วป ญ หาในทาง วิชาความรู ที่เราจะตองศึกษาใหเห็นชัด.
๓๐๔
ปรมัตถสภาวธรรม
ทุกอยางมาจากอายตนสัมผัส ในกรณีนี้ เราจะระบุไปยังสิ่งที่เรียกวาขันธ. เพราะเหตุไร จึงระบุไปยังสิ่งที่เรียกวาขันธ? เพราะสิ่งที่เรียกวาขันธนั่นแหละมันเปน สิ่งที่ หลอกเรามากที่ สุด ทําปญหาใหเกิดแกเรามากที่สุด กระทั่งเปนตัวทุกขขึ้นมา; เพราะวา เราไปยึดเอาขันธนั้นโดยความเปนตัวเปนตน. คํ า วา “เรา” ในที ่นี ้ค ือ อะไร? “เรา” ในที ่นี ้ ก็ค ือ จิต ที ่แ สนจะโง มั นโงจนพู ดไม ถู กแล ว; จิ ตที่ มั นประกอบอยู ด วยความโง นั้ นแหละ คื อตั วเรา. เพราะ ฉะนั้ น เราก็ ได , จิ ตที่ ป ระกอบอยู ด วยความโงก็ ได , ที่ ไปเข าใจไปสํ าคั ญ ไปมั่ น หมาย เอาขั นธ นั้ นว าเป นตั วเป นตน ก็ เกิ ดความทุ กข ; เพราะว าต องหอบหิ้ วตั วตน นี่ ก็ เป น ทุกขอยูแล ว, ทีนี้ พอสิ่งที่ หอบหิ้ วไวนั้ นเปลี่ยนแปลงเป นอยางอื่นไป ก็ยิ่งมีความทุ กข มากขึ้นอี ก; หรือแม มั นยั งไม ทั นจะเปลี่ ยน พอคิ ดวามั นจะเปลี่ ยน ก็ เป นทุ กขล วงหน า. นี่จะไมใหเรียกวาเปนอวิชชา หรือเปนความโง แลวจะใหเรียกวาอะไร. ขอใหด ูก ัน ใหด ีส ัง นิด หนึ ่ง วา ผัส สะนั ่น นะ มัน ใหเ กิด ขัน ธขึ ้น มา อย างไร? นี่ ก็ เคยพู ดแล ว ไม ใช ไม เคยพู ด แต ก็ ต องพู ดอี ก เพราะวาท านก็ ลื ม หรือ วาไมเขาใจเต็มที่; ถาไมเขาใจชัดเจนอยูเต็มที่ มันก็ฟงเรื่องตอไปไมถูก.
www.buddhadasa.info เพื่ อความเขาใจ จึงขอทบทวนความจํา ขอให ไล ไปตามความรูที่ มี อยู แลวก็ได : ผู เคยฟ งมาหลายหนแล วก็ พอจะฟ งถู กวา ผั สสะ คื อการกระทบของอายตนะนี้ ย อมจะ เกิ ด เวทนา ขึ้ น มา เป น สุ ข เป น ทุ ก ข เป น อทุ ก ขมสุ ขก็ ได ; พอเกิ ดเวทนาแล วก็ ย อ ม จะสําคัญมั่ นหมายในเวทนานั้ น เป นสัญญา วาสุขสัญญา วาทุ กขสัญญา อัตตสัญญา นิ จจสั ญ ญา กระทั่ ง มมสั ญ ญา - สั ญ ญาว าของเราขึ้ นมา เพราะเวทนานั้ นมั นจั บใจ จับใจนี้ จั บด วยอวิ ชชา คื อความโง; แล วก็ ปรุงความคิ ดที่ จะมั่ นหมายสิ่ งนั้ นแหละว า มี ความหมายอย างใดอย างหนึ่ ง เช นมี ความหมายวา ของฉั น หรือว าเอาเป นตั วฉั นไป เสียเลยก็มี แลวแตกรณีที่มันจะเกิดขึ้น.
อายตนสัมผัสใหเกิดสิ่งที่เรียกวาขันธ
๓๐๕
นี่ แหละ คื อผั สสะให เกิ ด เวทนา, เวทนาให เกิ ดสั ญ ญา, พอมั่ นหมาย เป นสั ญญาอย างนี้ แล ว ก็ มี สั งขารคื อความคิ ด อย างนั้ นอย างนี้ . ตอนที่ เรียกว าสั งขาร คื อ ความคิ ด นี่ เราจะแยกออกไปได ห ลายตอน คื อ เป น สั ญ เจตนา มุ งมั่ น ขึ้ น มาก อ น แล วก็ เป นตั ณหาคื อความอยาก เป นวิ ตก ครุนคิ ด วิ จาร วิ จารณา ทั้ งหมดนี้ ก็ เรียกได ว า เปนสังขารคําเดียวคือ สังขารขันธ. ขอให ย อนไปคิ ด สั งเกต เห็ นให ชั ดวา พอผั สสะให เกิ ดเวทนาแล ว เวทนานี่ ก็ เป น ขั น ธ อั น หนึ่ ง , เวทนาให เกิ ด สั ญ ญา-มั่ น หมาย สั ญ ญานี้ ก็ เป น ขั น ธ อั น หนึ่ ง , สั ญ ญาให เกิ ด สั งขาร นี้ ก็ เป นสั งขารขั นธ เป นขั นธอั นหนึ่ ง; สิ่ งที่ เรียกวาสั งขารหรือ สั งขารขั น ธ นี้ มี ม ากอย างมากชนิ ด แล วก็ ยั งหลายซั บหลายซ อ น จะแจกออกไปเป น สั ญ เจตนา ตั ณ หา วิ ต ก วิ จ าร อะไรก็ ไ ด . แต แ ล ว สั ง ขารนั้ น ก็ ก ลั บ เป น อารมณ คื อเป น ธั ม มารมณ ซึ่ งเป น อารมณ ข องมโนวิ ญ ญาณอี ก ที ห นึ่ ง; นี่ ก็ เกิ ด มี วิ ญ ญาณ ได อี ก แม วาวิญญาณจะมี ขางต นให เกิ ดผั สสะแล ว ในสุ ดท ายก็ มี สั งขารเป นอารมณ ของ มโนวิญญาณ, นี่ ก็ คล าย ๆ กั บว ามั นจบลงที่ มโนวิญญาณ สํ าหรับกรณี หนึ่ ง คื อมั นเป น การรู ส ึก สรุป ในตอนทา ยวา นี ้อ ะไร, นี ่อ ยา งไร, นี ่เ ทา ไร; เพราะมโนนั ่น มัน ไปสั ม ผั ส ในสั งขารขั น ธ อั น สุ ด ท ายนั้ น . นี่ คํ าว า “วิ ญ ญาณขั น ธ ” นี้ มี อ ยู ทั้ งข างหน า มีอยูทั้งขางหลัง มันเกิดสลับอยูตลอดไป.
www.buddhadasa.info บั ดนี้ เราก็ ได เป น ๕ ขั นธ คื อรูปขันธ ได แก อายตนะทั้ งหลายทั้ งภายใน และภายนอก แลว ก็ไ ดเ วทนาขัน ธ ไดส ัญ ญาขัน ธ สัง ขารขัน ธ วิญ ญาณขัน ธ พัวพันกัน ยุงกันไปหมด.
ลักษณะอาการที่เกิดเปนขันธ ๕ ถาตามหลักที่เขาเรียงไว เปน ตัวหนั งสือ เรียกวาขัน ธ ๕; นี่คอยฟ ง ใหดี เรียกไววา รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ จนทุกคนก็ทองไดขึ้นใจอยูแลว
๓๐๖
ปรมัตถสภาวธรรม
หมายเลข ๑. คือรูปขันธ นี้ก็หมายความวา อายตนะทั้งสองฝาย; ฝายใน คื อ ตา หู จมู ก ลิ้ น กาย, ฝ ายนอก คื อ รู ป เสี ยง กลิ่ น รส โผฏฐั พพะ; ทั้ งสองสายนี้ เรียกวารูป ทําหนาที่กันไดเมื่อไรก็เรียกวา รูปขันธเกิดขึ้นแลว. หมายเลข ๒. อายตนะสองผ ายนี้ พบกั น เรี ยกว า ผั สสะ นี้ ทํ าให เกิ ดจั กขุ วิญญาณขึ้ นมา; นี้ วิญญาณขั นธ ส วนนี้ ก็ เกิ ดที หนึ่ งก อน แล วก็ เกิ ดผั สสะเต็ มที่ ผั สสะ ก็ใหเกิดเวทนา คือรูสึกเปนสุข ทุกข อทุกขมสุข. นี้ก็คือเวทนาขันธ หมายเลขสอง. หมายเลข ๓. สั ญ ญา สํ า คั ญ มั่ น หมาย อย า งนั้ น อย า งนี้ ลงไปบน เวทนานั้นอีกที่หนึ่ง ก็เรียกวาเวทนาขันธใหเกิดสัญญาขันธ. หมายเลข ๔. ก็คือ สังขารขันธ เปนความคิดนึกไปตามอํานาจของ สั ญญาขั นธ มั่ นหมายวาอย างไรก็ จะคิ ดนึ กไปให มั นเข ารูปเข ารอยกั นกั บสั ญญานั้ น ๆ; นี่ เรียกว าจะเป น จิ ตจริงจั งขึ้ น มาที่ ต อนนี้ . นี่ ก็ เรี ยกว าสั งขารขั น ธ เกิ ด ขึ้ น เป น ความคิ ด สมบู รณ แ บบเต็ ม ที่ เป น กุ ศ ล เป น อกุ ศ ล เป น อพยากฤต หรื อ จะเรี ย กว า เป น กรรม สําหรับจะเกิดผลกรรมแลว.
www.buddhadasa.info หมายเลข ๕. สั งขารขั น ธ นี้ จะอยู ในรู ป ของสั ญ ญา หรือ ตั ณ หา หรื อ วิ ต ก หรื อ วิ จ าร ก็ อ าจจะเป น อารมณ ข องความรู ท างมโนอี ก ที ห นึ่ ง ; แปลว า มโนนี้ สัมผัสความรูสึกที่ เป นสังขารขันธนั่ นอีกทีหนึ่ง; ก็ถึงหมายเลข ๕ คื อวิญ ญาณขันธ ที่ สมบู รณ เป นมโนวิญญาณที่ เป นไปโดยมากก็ คื อวิญญาณทางตา ทางหู ทางจมู ก ทางลิ้ น ทางกาย นี่ มี อ ยู ด านนอกเป น ส วนมาก พอถึ งมโนวิ ญ ญาณที่ ๖ นี้ ก็ เป น ด านข างใน เปนสวนลึก.
การที่ เรี ยกลํ าดั บขั นธ ทั้ ง ๕ ไว ในลั กษณะที่ เราท องกั นอยู นี้ ก็ นั บว าถู กต อง แล ว คื อรู ปขั นธ มาก อน เป นที่ ตั้ งแห งผั สสะ ให เกิ ดเวทนาขั นธ เกิ ดสั ญ ญาขั นธ เกิ ด สังขารขันธ เกิดวิญญาณขันธ อันดับสุดทายก็นับวาถูกตองแลว.
อายตนสัมผัสใหเกิดสิ่งที่เรียกวาขันธ
๓๐๗
ที่ พู ดว า “ถู กต องแล ว” นี้ ไม ใช วาเราจะลบหลู พระพุ ทธเจ า วาพระพุ ทธเจ า ท า นได ต รั ส ไว ; แล ว เราทํ า มาเป น ผู เก ง กว า พระพุ ท ธเจ า ว า ถู ก ต อ งแล ว อี ก ที ห นึ่ ง อยางนี้ก็หามิได. ขอ นี ้ เปน เพ รา ะ วา เรื ่อ ง ขัน ธทั ้ง ๕ นี ้ เข า พ ูด กัน อ ยู แ ลว กอนพระพู ทธเจา. ถาไม เขาใจ เดี๋ ยวก็จะพู ดกันเฉพาะขอนี้ วาขันธทั้ ง ๕ นี้ เขารูจัก หรื อเขาพู ดถึ งกั นมาแล วก อนพระพุ ทธเจ า. พระพุ ทธเจ าไม ต องมาทรงอธิ บายว า อะไร เป นอย างไร; มาถึ งก็ ตรั สบอกแก เบญจวั คคี ย เลยว ารู ปเป นอนั ตตา เวทนาเป นอนั ตตา สั ญ ญาเป นอนั ตตา, ไม ต องบอกว ารู ปคื ออะไร เวทนาคื ออะไร บอกแต ว าเป นอนั ตตา ไปไดเลย เพราะวาพวกเบญจวัคคียเขารูกันอยูแลว วาขันธทั้ง ๕ นั้นคืออะไร.
เหตุไรจึงลําดับขันธ ๕ ไว ดังที่กลาวมาแลว บั ดนี้ เราจะมองกั นในแง ที่ ว า ทํ าไมคนครั้ งก อนพระพุ ทธเจ าด วยซ้ํ าไปนั้ น จึ งได เรี ยกลํ าดั บขั นธ ๕ ขั นธ ไว ในลั กษณะอย างนี้ ว า รู ป แล วก็ เวทนา แล วก็ สั ญ ญา แลวก็สังขาร แลวก็วิญญาณ.
www.buddhadasa.info เมื่ อ อาตมาเรี ย กนั ก ธรรมก็ งง; ถามครู ก็ ต อบไม ได อู อี้ ๆ. ทํ าไมถึ งเรี ย ง อยางนี้? ทํ าไมจึงเอากอนมาไวหลัง เอาหลังมาไวกอน? ครูก็ไมบอก. พออาตมา เป น ครู เข า เอง มั น ก็ อู อี้ ๆ ไม บ อก หรื อ บอกไม ได อี ก , จนกระทั่ ง มาศึ ก ษาต อ มาใน โอกาสหลั ง ๆ นี้ จึ งมองเห็ นคํ าอธิ บายเหล านี้ อย างชั ดแจ งว า ทํ าไม จึ งต องเรียงลั กษณะ ของขันธทั้ง ๕ ในลักษณะอยางนี้. ที นี้ ก็ ขอให กลั บไปหาตั วเรื่ อง หรื อประเด็ นที่ ว าเรื่ องขั นธ นี้ เท าที่ เรารู กั น อยูเวลานี้นับวาถูกตองหรืยัง? ที่นั่งอยูที่นี่ ถาถามวาขันธ ๕ คืออะไร? ก็ตอบได
๓๐๘
ปรมัตถสภาวธรรม
ก็ท อ งได. แลค ุณ เปน อะไร? เพราะวา ไมม ีอ ะไรนอกจากขัน ธ ๕; นี ่ก ็ต อบได แต จะตอบไปด วยความจํ า หรื อความเข าใจ ความมั่ นหมาย ความสํ าคั ญ ผิ ดวิ ปลาส. บางคนจนถึ งกั บตอบว า ผมมี ขั นธ ๕ ของผมอยู ตลอดเวลา, เดี๋ ยวนี้ ทุ กคนลองคิ ดดู ว า จะจริงไหม ถาใครสักคนหนึ่งมาพูดวา ขาพเจามีขันธ ๕ อยูตลอดเวลา? ถาเรารูจริง เราก็ เห็ น ได ว า เขาพู ด ละเมอไป; มี ขั น ธ ๕ ตลอดเวลา จะมี อ ย า งไรได ; เพราะว า ถ าเขามี เวทนา มั นก็ ยั งไม มี สั ญญา, พอเขามี สั ญญาเกิ ดขึ้ น เวทนามั นก็ ดั บไปเสี ยแล ว, พอว ามี สั งขารขึ้ นมา สั ญญามั นก็ ดั บไปแล ว, จนกว ามั นจะมาเป นวิ ญญาณอั นสุ ดท าย แตละขันธมันมีพรอมกันไมได สิ่งที่เรียกวาขันธ ๕ นี้. นี่ ก็ แปลว าเท าที่ เรารูกั นอยู สอนกั นอยู ในวั ดนี้ มั นยั งไม ถู ก; เพราะว า ทํ าให คนเข าใจไปว า “ข าพเจ ามี ขั นธ ทั้ ง ๕ อยู ตลอดวเลา” ซึ่ งอาตมาเอง เมื่ อเป นผู สอน นั ก ธรรมอยู ก็ ไม รู , แล วก็ ไม รู ว าขั น ธ ๕ นี้ มั น เพิ่ งเกิ ด อย าง ลม ๆ แล ง ๆ สลั บ กั น ไป ตลอดเวลา คิ ดว ามั น มี อยู ตลอดเวลาเป น ขั น ธ ๕ เช น เดี ยวกั บ ธาตุ ; เราเข าใจผิ ดกั น อย างนี้ แม วาเขาจะแจกขั นธ ๕ ไวเป นอย างนั้ น ๆ คื อ รูปแจกเป นมหาภู ตรูป อุ ปาทายรูป เวทนาแจกเป น ๓๖ แจกกั นเหมื อนอย างกั บแจกเม็ ดมะขามที่ มั นกองอยู แล วอย างนี้ ก็ ไม ทําใหรูได วาขันธแตละขันธนี่มันเพิ่งจะเกิดขึ้นอยางทะยอยกันไป ปรุงแตงกันไป ไม มี ท างที่ จะเกิ ด ขึ้ น พร อ มกั น ได ; เพราะว าการที่ จะเกิ ดขั น ธ แต ล ะขั น ธ ห นึ่ ง ๆ นั้ น ตองมีกรณีเฉพาะและตองมาตามลําดับ.
www.buddhadasa.info นี้ เราจะต องถื อว า สิ่ งที่ เรี ยกว าขั น ธ นี้ จะเรี ยกว ามี ขั น ธ อ ะไรขึ้ น มาได ก็ เพราะขั น ธ นั้ น ๆ กํ าลั งทํ าหน าที่ อ ย างนั้ น อยู ; เชน วา รูป ธรรมนี่ ถ าไม ทํ าหน าที่ ของรูป ขั นธ มั นก็ ยั งไม เป น รูป ขั นธ ขึ้ นมา, เวทนาธาตุ ก็ เหมื อนกั น ถ าไม ทํ าหน าที่ ของ เวทนา ก็ยั งไม เป นเวทนาขันธขึ้นมา, เมื่ อสัญญาธาตุ ยั งไม ทํ าหน าที่ ของมั น มั นก็ ยั งเป น เพี ยงสั ญญาธาตุ ไม เป นสั ญญาขันธขึ้นมา, สั งขารขันธ วิญญาณขันธก็ เหมื อนกั น เช น วิญญาณธาตุมีอยูแลว แตถาไมทําหนาที่ของมันก็ยังไมเปนวิญญาณขันธเลย.
อายตนสัมผัสใหเกิดสิ่งที่เรียกวาขันธ
๓๐๙
ขันธ ๕ มิไดมีอยูตลอดเวลา เพิ่งเกิดเมื่อมีผัสสะ เราจึงสรุปใจความไดสั้นที่สุดและถูกที่สุดวา ขันธนั้นจะเปนขันธขึ้นมาได ก็ตอเมื่อมันทําหนาที่ของขันธนั้น ๆ. เราจะกันลืมขอนี้ไดโดยเราจะพูดวา แมวมัน เป นแมวต อเมื่ อมั นทํ าหน าที่ ของแมว; แต คนโง ๆ จะพู ดว าแมวเป นแมวอยู ตลอดเวลา. ถามวาใครกําลังโงอยางนี้? คงจะยกมือกันสลอนไปทีเดียววา แมวมันเป นแมวกันอยูตลอด เวลา. ที่ จ ริง แมวมั น จะเป น แมวก็ ต อ เมื่ อ มั น ทํ า หน า ที่ ข องแมว ซึ่ งมั น ทํ าอะไรบ า ง, ก็ เช นว าจั บหนู โดยเฉพาะ; นอกจากนั้ น มั นเป นอะไรก็ ไม รู มั นเป นเพี ยงธาตุ ธรรมดา ประกอบกันอยู ยังไมเปนแมวตามความหมายของคําวา “แมว”. คําวา รูปขันธ เวทนาขันธ สัญญาขันธ สังขารขันธ วิญญาณขันธ, ๕ ขันธนี้ ก็เหมือนกัน จะไดชื่ออยางนั้น ตอเมื่อมันทําหนาที่ของขันธนั้น ๆ มิฉะนั้นจะลดลง ไปเป นเพี ยงอายตนะบ าง เป นเพี ยงธาตุ , ธาตุ ตามธรรมชาติ ธาตุ ใดธาตุ หนึ่ งบ าง. ที นี้ เมื่ อขั นธ มั นทํ าหน าที่ ตามหน าที่ ของขั นธ นั้ น ๆ แล ว ไม ใช มั นจะคงอยู อย างนั้ น; พอ เสร็จหน าที่ แล วก็ ดั บไป ให โอกาสแก ขันธอื่ นเกิ ดขึ้ น; มั นจึ งไม มี ทางที่ ใครจะมาพู ดว า เรามีขันธทั้ง ๕ อยูตลอดเวลาได.
www.buddhadasa.info เพี ยงแต ขั นธทํ าหน าที่ แล วดั บไปแต ละขั นธ ๆ นี่ ก็ ยั งไม สํ าคั ญเท ากั บข อที่ จะ ขอรองใหมองใหวามันเปนเรื่องลม ๆ แลง ๆ : มันเปนเวทนาขันธวาบเดียวแลว ก็ ดั บไป, เป นสั ญญาขั นธ วาบเดี ยวแล วก็ ดั บไป. เป นสั งขารขันธวาบเดี ยวแล วก็ ดั บไป, มันเหมือนกับวาตีเหล็กไฟดวยหินกับเหล็กวาบ ๆ อยูอยางนี้ มันไม เปนจริงเป นจังที่ตรง ไหนได มั นเป นของลม ๆ แล ง ๆ. แต แล วมั นน าตกใจ น าอั ศจรรย ที่ ว า มั นไม แสดง ใหเห็นวาเปนของลม ๆ แลง ๆ เราไมรูสึกวาเปนของลม ๆ แลง ๆ เราเลยรูสึกเปนดุน เปนกอนเปนตัวเปนตน รูสึกเปนอยางนั้นเสียเรื่อย แลวเปน “ฉัน” อยูเรื่อย; เมื่อ
๓๑๐
ปรมัตถสภาวธรรม
ไปกํ าหนดเข าที่ ขั น ธ ไหน เอาขั น ธ นั้ น เป น ตนขณะหนึ่ งชั่ วคราว คื อ อย างน อ ยก็ เป น ของตน. ที นี้ ป ญ หามั น ก็ มี อ ยู ว า เราเข าใจขั น ธ เข าใจเรื่อ งราว หรื อ ข อ เท็ จจริ ง ทั้งหลายของสิ่งที่เรียกวาขันธนี้ถูกตองหรือไม. ถาเขาใจผิด มันก็เปนทุกข, ถาเขาใจถูกมันก็ไมเปนทุกข. ฉะนั้น เราจะสุ ขหรือทุ กข จะเป นทุ กข หรือจะไม เป นทุ กข มั นก็ เพราะวาเรามองขันธนี่ ถูกต อง ตามที่ เป น จริ งหรื อ ไม ; พอเราไปมองขั น ธ เข าใจขั น ธ ผิ ด จากที่ เป น จริ ง ก็ ไปยึ ด มั่ น ถื อมั่ น เกิ ดเป นทุ กข , พอมองถู ก ก็ ไม ยึ ดมั่ นถื อมั่ น เพราะรูตามที่ เป นจริง ไม ยึ ดมั่ น ถือมั่น ก็ไมเปนทุกข. ที นี้ เรายั งมี ตา หู จมู ก ลิ้ น กาย, แล วก็ มี รูป เสี ยง กลุ น รส มากระทบ ตา หู จมู ก ลิ้ น กาย อยู เรื่ อ ย; คื อ สิ่ ง ที่ จ ะให เกิ ด ขั น ธ นั้ น มั น มี อ ยู เรื่ อ ย มี อ ยู เรื่ อ ยไป วั นหนึ่ งมี โอกาสไม รู จั กกี่ สิ บครั้ง กี่ รอยครั้ง ที่ จะเป นขั นธ หนึ่ ง ๆ ขึ้ นมา; ถ าไปยึ ดมั่ น เขาก็เปนทุกข ไมยึดมั่นเขาก็ไมทุกข. ที่จะหามไมใหมันเปนขันธนั้นไมได เพราะ ว า ตามันยังดีอยู มันยังไมบอด ตาก็เห็นรูป รูปก็ยังมีอยูในโลก แลวก็ตองเกิดจักขุวิญญาณ; เมื่อตากระทบรูป อะไรอยางนี้มันก็เกิดขันธเรื่อย มันเหลืออยูแตวาจะยึดมั่นหรือไมยึดมั่น เพราะความสําคั ญผิดหรือความสําคัญถู ก หรือเพราะความรูถูกต อง; ถาสําคัญละก็ผิ ด ถารูละก็ถูก.
www.buddhadasa.info นี่ แหละ ขอให พิ จารณาดู กั นในส วนนี้ อย าได คิ ดว ากระทบกระเที ยบหรื อ อะไร; มาพิ จ ารณากั น ว า ความรูเรื่อ งขั น ธ ๕ ของพวกเราในเวลานี้ เป น อย างไร? เอาเวลานี้ เดี๋ยวนี้ ที่นี่ เปนหลักก็ได วาความรูเรื่องขันธ ๕ ของเรา มันเปนอยางไร;
อายตนสัมผัสใหเกิดสิ่งที่เรียกวาขันธ
๓๑๑
www.buddhadasa.info
อายตนสัมผัสใหเกิดสิ่งที่เรียกวาขันธ
๓๑๑
ผิ ดหรื อถู ก. ถ าถู กก็ ถู กเท าไร? เราถู กสอนว าขั น ธ ๕ มี อ ยู ตลอดเวลา เพราะว าเรานี่ ประกอบอยู ด วยขั นธ ๕ เราเลยเข าใจเสี ยเองว าประกอบอยู ด วยขั นธ ๕ ตลอดเวลา แล ว เราก็ สอนเพื่ อน หรือสอนลู กศิ ษย ของเราว าอย างนั้ นอี ก เราก็ รูอย างนี้ สอนเขาก็ อย างนี้ ก็เลยวาตาม ๆ กันไปหมดวาเรามีขันธ ๕ อยูตลอดเวลา,
บางขณะขันธ ๕ ยังมิไดเกิดขึ้น ในบางกรณี ถ าขันธไม ได ทํ าหน าที่ เลย ก็เรียกวาเราไม มี ขันธเสียดีกวา; เช นว าเรากํ าลั งสลบอย างนี้ ปราศจากความรูสึ กทั้ งทางตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจ เลย. เมื่ อคน กํ าลั งสลบ ร างกายมั นก็ ทํ าหน าที่ ของร างกายไม ได คื อไม เป นรู ปขั นธ ไม เป นอายตนะ ในหรือว านอกขึ้ นมาได อย างนี้ . เวทนา สั ญญา สั งขาร วิ ญญาณ ไม ปรากฏเลยอย างนี้ มั นก็ เหลื อแต ธาตุ ล วน ๆ เป นธาตุ ดิ น ธาตุ น้ํ า ธาตุ ไฟ ธาตุ ลม หรื อธาตุ อากาส ธาตุ วิ ญ ญาณล วน ๆ ยั งไม เป นขั นธ ขึ้ นมาได . อย าเข าใจว าเมื่ อกํ าลั งสลบอยู นั้ น เราก็ ยั งมี ขั น ธ ๕ อยู นั่ น เอง อย างนี้ ; เมื่ อ ยั งไม ส ลบ เป น ๆ อยู เราจะยั งมี ขั น ธ ๕ พร อ มกั น ในคราวเดี ยวกั น ทั้ ง ๕ ไม ได ; แล วนั บ ประสาอะไรกั บ เวลาที่ เรากํ าลั งสลบ ซึ่ งมั น จะ ไมมีแมแตสักขันธเดียว.
www.buddhadasa.info หรือวาในกรณี ที่เรานอนหลับอยางนี้ ถาเราหลับสนิท ไมทําหนาที่ของขันธ อะไรได ; เว น ไว แ ต ว า มั น จะฝ น เมื่ อ ฝ น ก็ เป น ครึ่ ง สํ า นึ ก ครึ่ ง ขั น ธ ซึ่ ง ก็ ยั ง ไม ใ ช ขั น ธ ไม ค วรจะเรี ย กว า ขั น ธ . ในเวลาอย า งนี้ ก็ ไม ก ล า วได ว า มี วิ ช ชา หรื อ ว า มี อ วิ ช ชา; แม มั น จะเป น ขั น ธ ขึ้ น มา มั น ก็ เป น ป ญ จุ ป าทานขั น ธ ไม ไ ด แต แ ล ว มั น ก็ ไม เป น ขั น ธ อะไรเลย.
นี่ขอใหนึกถึงวาเมื่อเราหลับหรือเราสลบ หรือหยุดอยูในฌานชนิดที่เป น สมาบัติ ไมคิดไมนึก ไมรูสึกอยางนี้ มันก็ไมมีขันธอะไรเลยได; การปรุงหยุดไป
๓๑๒
ปรมัตถสภาวธรรม
เหลืออยูเปนธาตุ เปนเชื้อ สักวาธาตุเหมือนอยู สําหรับจะปรุงเปนขันธขึ้นมาเมื่อออกจาก สมาบัติแลวอยางนี้. นี่ ขอให ยุติ กันได สักที หรือยังวา เรามิ ได มี ขันธ ๕ อยู ตลอดเวลา; เรารูสึ ก เต็ ม ที่ อ ย างนี้ เราก็ มี อ ยู ได แ ต เพี ย งขั น ธ ใดขั น ธ ห นึ่ ง. ถ าเราหมดความรูสึ ก ด วย ประการทั้งปวง เราก็มิ ไดมีขันธใดเลยที่เหลืออยูในความหมายของคําวาขันธ หรืออายตนะ ก็ ตาม; แต อาจจะเหลื ออยู ในความหมายของคํ าว า ธาตุ : ธาตุ ดิ น ธาตุ น้ํ า ธาตุ ไฟ ธาตุ ลม ก็ยังอยูที่รางกายนี้, และวิญญาณธาตุ คือจิตที่ไม ได ทําหน าที่ อะไร ก็ยังเหลื อ อยูในกลุมนี้, อากาสธาตุก็เหลืออยูในกลุมนี้. การที่ จะพู ดว า เราประกอบอยู ด วยธาตุ ๖ ตลอดเวลานั่ นแหละถู ก ถ าเรา พูดวาเราประกอบอยูดวยธาตุ ๖ ตลอดเวลานี้ก็ถูก; แตถาจะพู ดวาเราประกอบดวย ขันธ ๕ ตลอดเวลานี้มันไมมีเหตุมีผล มันไมีมีทางที่จะเปนไปได. มันอาจจะประกอบ อยู ด วยขั นธ ใดขั นธ หนึ่ ง เป นอย างมาก,หรือบางที ก็ ไม มี ขั นธเลย ถ าไม มี ความรูสึ ก สั ม ผั ส ทางอายตนะ. ที นี้ “เราคื อ ขั น ธ ๕, เราอยู กั บ ขั น ธ ๕, ข า พเจ า มี ขั น ธ ๕ อยู ตลอดเวลา” เป นความโง เท าไร เป นความบ าเท าไร เป นความหลงเท าไร; คิ ดดู พระพุทธเจาทานก็พยายามในขอนี้ พยายามสุดความสามารถของทานที่จะใหพวกเรา สาวกทั้งหลายนี้รูวา ไมมีขันธ ๕ ที่เปนตัวตนที่ไหน.
www.buddhadasa.info คนทั้งหลายมักไมสนใจจะศึกษาความจริงเรื่องขันธ ฝายของเราก็ไมสนใจที่จะรูขอเท็จจริงขอนี้ คือเรื่องธาตุ เรื่องอายตนะ เรื่องขั นธ นี้ ไม สนใจจะรูให มั นจริง ๆ จัง ๆ. พออาตมามาพู ดซ้ํ า ๆ ซ้ํา ๆ กั นหลายหนเข า ก็บ น วา เบื ่อ แลว ; ไมรู ว า จะพูด ไปทํ า ไม. เมื ่อ ยัง ไมรู ก ็ย ัง ตอ งพูด เพราะวา ทา น ทั้งหลายไมสนใจที่จะรูเรื่องนี้ใหมันจริง ๆ จัง ๆ. ดูแตพระเฌรในวัดนี้นะมากันกี่องค
อายตนสัมผัสใหเกิดสิ่งที่เรียกวาขันธ
๓๑๓
ที่ ม าฟ งเรื่ อ งนี้ ; ต างก็ ไม ส นใจกั น เหมื อ นกั น ก็ เลยไม ต อ งรู ว า ขั น ธ นี่ มั น คื อ อย างไร, อย า งไรกั น แน แม แ ต พ วกที่ เป น พระเป น เฌร. ที นี้ ช าวบ า นก็ ม ากั น กี่ ค น ชาวบ า น บางคนก็ รู แต ชื่ อ ท องได เพราะทํ าวั ตรเช าได เขาก็ ท องเรื่ องขั นธ ทั้ ง ๕ ได แต ก็ ไม รู ว า มันคืออะไร, อยูที่ไหน, เมื่อไร, ขอเท็จจริงมันเปนอยางไร. ขณะนี้ ก็ จ ะพอรู ว า ถ า เรี ย กว า ธาตุ มั น ก็ อ ย างหนึ่ ง; เราก็ พ อจะดู ธ าตุ ทั้ ง ๖ ได . แต พ อเรี ย กสู งขึ้ น มา เป น อายตนะ : ธาตุ ทํ าหน าที่ เป น อายตนะ เป น รูปธาตุ ทํ าหน าที่ เป นอายตนะภายในภายนอก ก็ เริ่มจะไม เข าใจ. พอเป นอายตนะแล ว มั นไม อาจจะทํ าที เดี ยวทั้ งหมดได ; คื อใคร ๆ ก็ ไม ทํ าหน าที่ รูอะไรพรอมกั นทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ทั้ง ๕ หรือทั้ง ๖ อยางได; มันตองทีละอยาง. แตถาวาเรามีอายตนะ คือพรอมที่จะรูอารมณ ทั้ง ๖ นี้ เรามีได : มี อายตนะที่ ยั งไม ได ทํ างาน คื อธาตุ จั กขุ ธาตุ โสตธาตุ ฆานธาตุ ชิ วหาธาตุ กายธาตุ , พู ดเป นไทย ๆ ว า ธาตุ ทางตา ธาตุ ทางหู ธาตุ ทางจมู ก ธาตุ ทางลิ้ น ธาตุ ทางกาย ที่ จะ ทํ าหน าที่ อย างนั้ น เรามี อยู ตลอดเวลาได . และประสาทอั นนั้ นก็ มี พรอมอยู ตลอดเวลาได , แลวแตวาเราจะใชในทางไหน ในอายตนะอันไหน.
www.buddhadasa.info เรามีสัมผัสทีเดียวพรอมกันทั้ง ๖ อยางไมได เราตองมีทีละสัมผัส ทาง ตาบ าง ทางหู บ าง แล วแต โอกาส; แต ว าอายตนะนั้ น ในฐานะที่ เป น อายตนะรอรั บ อารมณ นั้ น อาจจะมี อยู ได พรอมอยู ได เพราะวาเป นเพี ยงวาธาตุ เท านั้ นเอง : จั กขุ ธาตุ โสตธาตุ ฆานธาตุ ชิ วหาธาตุ กายธาตุ มโนธาตุ รู ปธาตุ สั ททธาตุ คั นธธาตุ รสธาตุ โผฏฐั พพธาตุ มโนธาตุ ธัมมธาตุ ; ธาตุ เหล านี้ พรอมอยู ได ตลอดเวลาที่ จะเป นจั กขุ ปสาท โสตปสาท ฆานปสาท ชิวหาปสาท กายปสาท มโนปสาท.
๓๑๔
ปรมัตถสภาวธรรม
ศึกษาใหรูความตางของธาตุ อายตนะ ขันธ เท าที่ พู ดมานี้ ก็ อยากให เห็ นชั ดจนแยกกั นได วา เมื่ อเป นธาตุ , เป นธาตุ อยูนะคืออยางไร, เมื่อเปนอายตนะขึ้นมามันเปนอยางไร, แลวพอเปนขันธขึ้นมาแลว มันเปนอยางไร. ทีนี้เปนขันธแลว ยังมีอีกชั้นหนึ่งคือวา จะเปนอุปาทานขันธขึ้นมาไดอยางไร; ถาไมถูกยึดถือมันก็เปนขันธแลวเฉย ๆ พอถูกยึดถือมันก็เปนอุปาทานขันธ. โดยทั่วไปเรา พู ดถึ งขั นธ ๕ แล วเราเหมา ๆ ไปหมดทั้ งขั นธ ๕ และอุ ปาทานขั นธ คื อขั นธ ๕ ที่ ถู ก ยึ ด ถื อ ก็ ต าม ไม ถู ก ยึ ด ถื อ ก็ ต าม เราเรี ย กว า ขั น ธ ๕ ไปเสี ย หมด; อย า งนี้ แ สดงว า ไมเอาใจใสและไมรูจริง. ขั นธ ๕ เฉย ๆ หมายถึ งขั นธ ๕ ที่ เกิ ดขึ้ นตามปกติ ธรรมดา ไม มี อ วิ ช ช า หรือวิชชาไปเกี่ยวของ อยางนี้เรียกวาขันธ ๕ ได; แตถามันเกิดขึ้นพรอมกับอวิชชา ที่ ทํ า ไปเกิ ด กิ เลสได เพราะการได สั ม ผั ส กั บ สิ่ ง นั้ น ๆ อย า งนี้ มั น จะมาอยู ใ นรู ป ของ อุ ป าทานขั น ธ ถ าเรีย กกั น ทั้ ง ๕ พรอ มกั น ก็ เรี ย กว า ป ญ จุ ป าทานขั น ธ ; ป ญ จขั น ธ ขั นธ ล วน ๆ ขั นธ ไม มี อะไรเจื อ, ป ญ จุ ปาทานขั นธ หมายความว า ขั นธทั้ ง ๕ นั่ นแหละ มี อุ ปาทานเข าไปเจื ออยู ซึ่ งหมายความวาย อมจะมี อวิชชาด วย; และขั นธ ที่ กํ าลั งเป น ขั น ธ ทั้ ง ๕ ชนิ ด นั้ น ก็ เรี ย กว า ขั น ธ ๕. แต ถ า มี ม าพร อ มกั บ ที เรก เพราะอวิ ช ชา เข าไปเกี่ ยวข อ ง ในเมื่ อ มี ก ารสั ม ผั ส อารมณ แล วละก็ มั น ก็ จ ะมาอยู ในรู ป ที่ เรีย กว า ปญจุปาทานขันธ.
www.buddhadasa.info ที่เกี่ยวกับพระพุทธเจา พระพุทธเจาทานตรัสวา ปญจุปาทานขันธนั้น เปน ตัว ทุก ข; ไมไ ดต รัส วา ขัน ธ ๕ ลว น ๆ เปน ตัว ทุก ข. แตใ นบางกรณี ในคัม ภีร ใชคําวา ขันธ ๕ หรือปญจขันธ แตมีความหมายเปนปญจุปาทานขันธอยางนี้ก็มี;
อายตนสัมผัสใหเกิดสิ่งที่เรียกวาขันธ
๓๑๕
พระพุ ท ธเจ า อาจจะตรัส ไม ผิ ด . แต ค นที่ ม าเขี ย นเป น ตั ว หนั งสื อ มาคั ด ลอกเป น ตั ว หนั งสื ออาจจะทํ าผิ ด เพราะมั นมากนั ก, แล วเวลาก็ ล วงมาตั้ งสองพั นกว าป ม าแล ว อาตมาเชื่อวาพระพุ ทธเจาทานจะไมมีทางตรัสผิด ไมมีทางที่พระพุทธเจาจะตรัสผิด เพราะ ท า นตรัส ยื น ยั น อยู แ ล วว า ปฺ จุ ป าทานกฺ ข นฺ ธ า ทุ กฺ ข า -อุ ป าทานขั น ธ ทั้ ง ๕ เป น ตัวทุกข ถาขันธ ๕ เฉย ๆ ไม ทุกข แตการที่พระไตรปฎกบางบรรทัด จะใชคําวา ป ญ จขั นธาเฉย ๆ เป นทุ กข นี่ อาจจะเขี ยนผิ ด, หรือว าเขาให หมายความว าเป นป ญ จุ ปาทานขั นธ แต เขาไม ได เขี ยนให เต็ มก็ ได , หรือว าข อความรอบ ๆ นั้ นมั นจะแสดงให เห็นชัดไดวา ขันธ ๕ ในที่นี้หมายถึงปญจุปาทานขัธอยางนี้ก็ได. นี่ เรากํ าลั งมี ความรู เรื่ องขั นธ ๕ กั นในเวลานี้ ในลั กษณะอย างนี้ ; แล วก็ อย าลื มวา สงฺขิ ตฺ เตน ปฺ จุ ปาทานกฺ ขนฺ ธา ทุ กฺ ขา ที่ ท องกั นทุ กเข าเวลาทํ าวัตรเช า. อย าลื มหลั กข อนี้ เสี ยซิ แล วก็ ไม มี ทางที่ จะฟ นเฟ อน. ต องป ญ จุ ปาทานขั นธา จึ งจะ เปนทุกข; ถาปญจขันธาแลวอยาไปพูดวาทุกข หรือสุขเลย มันไมมีทางจะพูด.
อยาเอาคําวา “ขันธ” กับ “อุปาทานขันธ” มาปนกัน
www.buddhadasa.info เพราะฉะนั้ น ขอให ทํ าความตกลงกั นอี กครั้ งว า เราจะอดทน อดทนเพื่ อจะ ศึกษาเรื่องนี้อยางเพอเบื่อ; สนใจแลวก็ศึกษา ทําความเขาใจกันเสียใหมใหถูกตอง อย ามาคิ ดว า เรียน ก. ข. กั นใหม อี กละโว ย. นี่ มั นไม ใช เป น ก. ข. ชนิ ดที่ คุ ณเรี ยนกั น มาผิ ด ๆ, แล วจึ งต องเรียนกั นใหม ให มั นถู กเสี ยที เรื่ องธาตุ เรื่ องอายตนะ เรื่ องขั นธ เรื่องป ญจุ ปาทานขั นธ และเรื่องทุ กข . ให นั บไปเถอะ จะต องมี ๕ อย าง หรือ ๕ เรื่อง : ตั้งตนขึ้นมาดวยเรื่องธาตุ แลวก็ปรุงขึ้นมาเปนอายตนะ, อายตนะก็ปรุงขึ้นมาเปนขันธ, ขันธก็ป รุงขึ้นมาเปน อุป าทานขัน ธ, แลวอุปาทานขันธก็ตอ งปรุงขึ้นมาเปน ทุกข; ๕ อยางเทานี้ เปนหลักที่เฝอไมได ถาเฝอแลวไมมีทางจะเขาใจธรรมะ. ฉะนั้น จึงวา
๓๑๖
ปรมัตถสภาวธรรม
อดทนเรี ย น ก. ข. กั น ใหม เสี ย ให ถู ก ต อ ง เรื่ อ งธาตุ เรื่ อ งอายตนะ เรื่ อ งขั น ธ เรื่ อ ง อุปาทานขันธ และเรื่องทุกข; ทีนี้ พอกลับตรงกันขามก็เปนเรื่องดับทุกข. ควรสรุ ป ให ชั ด อยู ในใจเสมอว า โดยแท จ ริ ง แล ว เราไม อ าจจะมี ขั น ธ พรอมกันทั้ง ๕ขันธในคราวเดียวกัน ในกลุมรางกายและจิตใจนี้ เพราะวาขันธนั้น ยอมเกิดทะยอย ๆ กันทีละขันธ และตางเปนปจจัยแกกันและกัน เปนลําดับไป. ถ า เราจะถื อ ว า ขั น ธ เกิ ด เมื่ อ ไร? ขั น ธ ไหนเกิ ด เมื่ อ ไร? ก็ ให รู ว า ขั น ธ นั้ น เกิดเมื่อนั้นมันทําหนาที่ของขันธนั้น ๆ. เมื่อรูปธาตุมันทําหนาที่ของรูปไดสมบูรณ ก็เรียกวารูปขั นธเกิ ดขึ้นแล ว, เวทนาธาตุ ทํ าหน าที่ ของมั นได สมบู รณ ก็ เรียกวาเวทนา ขั นธ เกิ ดขึ้ นแล ว, สั ญ ญาธาตุ ทํ าหน าที่ ของมั นได สมบู รณ เรียกว า สั ญ ญาขั นธ เกิ ด ขึ้ น แล ว , สั ง ขารธาตุ ทํ า หน า ที่ ข องมั น สมบู ร ณ เรี ย กว า สั ง ขารขั น ธ เกิ ด ขึ้ น แล ว , วิญ ญาณธาตุ ทํ าหน าที่ ของมั นสมบู รณ เรียกวา วิญ ญาณขั นธเกิ ดขึ้นแล ว; อย างนี้ ไมมีทางสับสน.
www.buddhadasa.info คิดดูใหดี แมแตขันธลวน ๆ ก็ยังเกิดพรอมกันไมได แลวอุปาทานขันธ ทั้ ง ๕ จะเกิ ดพรอมกั นขึ้ นได อย างไร; มั นต องเกิ ดขึ้ นที ละอย าง ตามเรื่อง ตามเหตุ ตามป จจั ย ตามกรณี ในโอกาสนั้ น ๆ. มั นเหมื อนกั บวาเราจะโงพรอมกั นที เดี ยว ๕ เรื่อง ได ห รื อ ? เราก็ ต อ งโง ไ ด ที ล ะเรื่ อ ง; ฉะนั้ น อวิ ช ชาที่ ไ ปยึ ด รู ป เวทนา สั ญ ญา สังขาร วิญญาณ มันตองคนละทีอยางนี้.
อย าลื มวาพระพุ ท ธเจ าตรัสวา ฉ ธาตุ โย ภิ กฺขเว อยํ ปุ ริโส-คนเรานี้ ประกอบอยู ด วยธาตุ ๖; แต ไม เคยตรัสว า คนเรานี้ ประกอบอยู ด วยขั นธ ๕ ไม เคย ตรั ส; เพราะขั นธ ๕ มั นจะเกิ ดมาคนละที ๆ คนละที ; แต ว าธาตุ ๖ นี้ กํ าลั งประกอบ กันอยูเปนคน ๆ หนึ่งไดในคราวเดียวกัน ฉะนั้น รูใหดีวา ธาตุทั้งหลายที่ปรุงกันเปน
อายตนสัมผัสใหเกิดสิ่งที่เรียกวาขันธ
๓๑๗
อายตนะ เป นขั นธ แล วก็ มี ธาตุ ทั้ งหลายกํ าลั งอยู เป นธาตุ เป นสภาพของธาตุ ยั งมิ ได ปรุงเปนอายตนะ เปนขันธก็มี. เพื่ อให เข าใจเรื่ องนี้ เราถามตั วเองไว บ อย ๆ ว า เมื่ อไรเรี ยกว าเป นเพี ยง ธาตุ เท านั้ น? เมื่ อไรเรียกวาเป นเพี ยงธาตุ คื อพรอมที่ จะประกอบเป นธาตุ อื่ นขึ้ นมาอี ก เป น ธาตุ ดิ น ธาตุ น้ํ า ธาตุ ไฟ ธาตุ ล ม ธาตุ อ ากาส ธาตุ วิ ญ ญาณ เป น ธาตุ ห นึ่ ง ๆ ลวน ๆ? เมื่อไรมันเป นเพี ยงสั กวาธาตุเทานั้น? แลวเมื่ อไรธาตุ นี้ มั นไปทํ าหน าที่ เป น อายตนะ เกิ ดเป นอายตนะขึ้ นมาอยางนี้ เช นจั กขุ ธาตุ เป น จั กขุ อายตนะ เป น ต น ? แล ว ก็ เมื่ อ ไรอายตนะนั้ น ปรุ งให เกิ ด ขั น ธ ขึ้ น มา? แล ว เมื่ อ ไรขั น ธ นั้ น กลายเป น อุปาทานขันธขึ้น? แลวเมื่อไรอุปาทานขันธนี่ทําใหเกิดความทุกข เชน เกิด แก เจ็ บ ตายของเราอย างนี้ ? เมื่ อไรเป นสั กว าธาตุ ? เมื่ อไรเป นสั กว าอายตนะ? เมื่ อไรเป น สักวาเปนขันธ? เมื่อไรเปนอุปาทานขันธ? และเมื่อไรเปนทุกข? ฉะนั้ น ถ า ผู ใ ดมองเห็ น ชั ด จะตอบคํ า ถามข า งต น ได ทั น ที ถู ก ต อ ง คล อ งแคล ว ก็ เรี ย กว า ผู นั้ น รู เรื่ อ งนี้ : รู เรื่ อ งธาตุ เรื่ อ งอายตนะ เรื่ อ งขั น ธ เรื่ อ ง อุปาทานขันธ และเรื่องทุกข เปนหัวขอใหญ ๆ ๕ หัวขอดวยกัน.
www.buddhadasa.info ตองรูจัก อุปาทานขันธ เพื่อดับทุกขได ที นี้ ก็ จะพู ดถึ งใจความสํ าคั ญของคํ าว า ขั นธ คื ออุ ปาทานขั นธ . เมื่ อรู เรื่ อง ขั น ธ ทั่ ว ๆ ไปแล ว ก็ ต อ งรู เฉพาะเป น พิ เศษ เรื่ อ งอุ ป าทานขั น ธ คื อ ขั น ธ ที่ ถู ก ยึ ด มั่ น ดว ยอุป าทาน; เพราะถา ไมม ีข อ นี ้พ ระพุท ธศาสนาก็ไ มต อ งเกิด . นี ่ฟ ง ดูใ หดี พระพุทธเจาก็ไมตองเกิด ถาไมมีปญหาขอที่วา ขันธนี้มันถูกยึดมั่นดวยอุปาทาน ในจิ ตใจของสั ตว , แล ว มั น ก็ ไม มี ค วามทุ ก ข ซิ ; เมื่ อ ไม มี ค วามทุ ก ข แ ล ว จะต อ งเกิ ด พระพุทธเจา หรือเกิดพระพุทธศาสนา เกิดธรรมะทําไมกัน.
๓๑๘
ปรมัตถสภาวธรรม
โดยเหตุที่มันมีปญหาตายตัวลงไป วามีความทุกข ก็ตองเกิดผูดับทุกข, หรื อ ผู มี ค วามรู สํ า หรั บ จะดั บ ทุ ก ข . ฉะนั้ น ป ญ หาจึ ง มาอยู ที่ ป ญ จุ ป าทานขั น ธ อยางที่พระพุทธเจาทานตรัสอยูเสมอวา ทุกขนั้นคือตัวปญจุปาทานขันธ. เมื่ อ ไรเกิ ด ป ญ จุ ป าทานขั น ธ ? จะต อ งรบเร า เซ า ซี้ ไม ก ลั ว โกรธ ว า ต อ ง ไล มาตั้ งแต ธาตุ เมื่ อไรเป นธาตุ , เมื่ อไรเป นอายตนะ, เมื่ อไรเป นขั นธ แล วเมื่ อไรเป น อุ ป าทานขั น ธ แล วเมื่ อไรเป น ทุ กข . เมื่ อ ไรเป น อุ ป าทานขั น ธ ? เราก็ ต อ งรู จั กลั กษณะ ของอุ ปาทานขั นธ ที่ มั นต างจากขั นธ ตามธรรมดา. ข อนี้ มี ตรัสไว มากที่ สุ ด แต คนไม สนใจ เราลองพยายามจะเก็บมาดู ก็มีไดมาก. ที่พระพุ ทธเจาทานไดตรัส ไวที่แสดงใหเห็นวา มั น ต างกัน ระหวางขั น ธ กั บ อุ ป าทานขั น ธ เชน เมื่ อยกเอารูป ขัน ธขึ้น มาเป น หลั ก : ยํ กิ ฺ จิ รูป อตี ต านาคตปจฺ จุ ปฺ ป นฺ นํ อชฺ ฌ ตฺ ตํ วา พหิ ทฺ ธํ วา โอฬาริกํ วา ฯลฯ เรื่อยไปอยางนี้ คือรูปขันธ. แตถาจะเปนรูปูปาทานขันธแลว มีทางสังเกตไดดังตอไปนี้ :๑. มี คํ าเติ มว า สาสวํ อุ ปาทานนิ ยํ เข าไป คื อว ารู ปอดี ต อนาคต ป จจุ บั น ใกล ไกล หยาบ ละเอีย ด. ผลสุด ทา ยแลว ก็ค ือ รูป ขัน ธ; แตถ า มัน เปน สาสวํ อุปาทานิยํ คือเปนไปกับดวยอาสวะกิเลสแลว ก็นั่นแหละ เปนที่ตั้งแหงอุปาทาน แลวนี่ก็เปน รูปูปาทานขันธ.
www.buddhadasa.info เวทนา ก็ เหมื อนกั นอี กนั่ นแหละจะแจกเป นจั กขุ สั มผั สสชาเวทนา โสตสั มผั สสชาเวทนา ฆานสั มผั สสชาเวทนา ชิ วหาสั มผั สสชาเวทนา กายสั มผั สสชาเวทนา มโนสั ม ผั ส สชาเวทนา ๖ อย าง; อย างนี้ มั น เป น เวทนาขั น ธ ทั้ งนั้ น แต พ อไปเติ ม คํ า ขางทายวา สาสวา อุปาทานิยา นั่นคือ ปญจุปาทานขันธ.
ในเรื่องสัญ ญาขัน ธ สั งขารขัน ธ วิญ ญาณขัน ธ ก็เหมื อ นกัน ; นี้คือ พระบาลีที่เขียนไวชัด ในตัวหนังสือ ในพระไตรปฎก. ถาเปนอุปาทานขันธ ก็จะ
อายตนสัมผัสใหเกิดสิ่งที่เรียกวาขันธ
๓๑๙
ต องเติ ม เข าไปอี กสองคํ าวา สาสวา คื อเป นไปด วยอาสวะ และอุ ป าทานิ ยา เป นที่ ตั้งแหงอุปาทานขันธ หรือประกอบอยูดวยอุปาทาน นี้คืออุปาทานขันธ. เพราะฉะนั้ น พระพุ ทธเจ าท านก็ ตรั สไว ขั ด ว า “เอ า, เราจะบอกเธอถึ งเรื่ อง ป ญ จขั น ธ และเรื่ องป ญ จุ ป าทานขั น ธ ” : บอกป ญ จขั น ธ ก็ บ อกล วน ๆ อย างนี้ ; พอ บอกป ญ จุ ป าทานขั น ธ ก็ เติ ม เข าไปอี ก สองคํ าว า สาสวา อุ ป าทานิ ย า นี้ อ ย างหนึ่ ง. จําไววาถามันมี สาสวา อุปาทานิยา เติมเขาไปแลว ก็หมายถึงอุปาทานขันธ. ทีนี้ ขันธที่มีลักษณะของการมั่นหมายดวยสักกายทิฏฐิ ๒๐ อยาง, ทั้ง ๕ ขั น ธ ก็ มี ๒๐อย า ง; นั่ น แหละคื อ ป ญ จุ ป าทานขั น ธ . ขั น ธ มี อ ยู ๕ ขั น ธ แต ล ะ ขั นธ นั่ นถู กกํ าหนดด วยสั กกายทิ ฏฐิ ๔ อย าง : ๔ อย างเช น เห็ นขั นธ โดยความเป นตน เห็น ตนมีข ัน ธ เห็น ขัน ธใ นตน เห็น ตนในขัน ธ ๔ อยา ง; นี ่ก ็ท อ งกัน อยู ไ ด แต ก็ดูจะทองกันอยางนกแกว. เห็ นขันธโดยความ เป นตน นี่ ขอแรก แล วเห็ นตนมี ขั นธ แล วเห็ นขั นธใน ตน เห็ น ตนในขั น ธ ; ๔ อย างนี้ อุ ต ส าห จํ า ไว ด วย มั น มี อ ยู ๔ ความหมาย ที่ จ ะ เป นสั กกายทิ ฏฐิ ขึ้ นมาได . เห็ นขั นธ โดยความเป นตน ข อแรก, เห็ นตนมี ขั นธ ข อสอง เห็นขันธในตน ขอสาม, เห็นตนในขันธ ขอนี่; ในขันธหนึ่งมีไดสี่ หาขันธก็เปนยี่สิบ.
www.buddhadasa.info ถ าขั นธใด มี ลั กษณะแสดงวา ประกอบอยู ด วยความหมายของสั กกายทิ ฏฐิ ๒๐ อยางนี ้ อยางใดอยางหนึ่งก็ต าม นี้ขัน ธนั้น ก็เปน อุป าทานขัน ธแ ลว ; ไมได พู ดสั กวารูป สั กวาเวทนาแล ว แต ได พู ดถึ งรูป ถึ งเวทนา ในลั กษณะที่ ถู กสํ าคั ญมั่ นหมาย ด ว ยสั ก กายทิ ฏ ฐิ โดยความเป น ตน, โดยที่ ต นมี , มี ในตน, ตนมี ในขั น ธ . นี่ ก็ ข อให กํ าหนดไว อย างหนึ่ ง ว า มั นเป นลั กษณะที่ จะแสดงให เรารูได ว า ขั นธ นี้ เป นอุ ปาทานขั นธ , หรือเมื่อจะแสดงลักษณะของอุปาทานขันธ ตองแสดงอยางนี้.
๓๒๐
ปรมัตถสภาวธรรม
๒. ในบาลี มั ชฌิ มนิ กาย บางแห งก็ มี กล าวว า อิ เม โช ภิ กฺ ขเว ปฺ จุ ปาทานกฺ ขนฺ ธา ฉนฺ ทมู ลกา; เติ มคํ าวา ฉนฺ ทมู ลกา เข ามา; หมายความวา มี ฉั นทะเป น มูล ขันธใดเกิดขึ้นมาโดยมีฉันทะเปนมูล แลวก็ขันธนั้นจะเปนอุป าทานขัน ธ เสมอไป ท านจึ งได ตรัสไวเสี ยเลยวา ปฺ จุ ปาทานกฺ ขนฺ ธา ฉนฺ ทมู ลกา -ป ญ จุ ปาทาน ขันธทั้งหลาย ก็มีฉันทะเปนมูล. ข อนี้ ต องย อนไปพิ จารณา เมื่ อมี การสั มผั ส ระหว างอายตนะภายใน ภาย นอกนี่ เป น สั ม ผั ส ขึ้ น มาแล ว มี อ วิ ช ชาเข า ไปเกี่ ย วข อ งด ว ย; มี ฉั น ทะ คื อ ความ พอใจอย างใดอย างหนึ่ ง เข าไปเป นมู ลที่ นั่ น แล วก็ จะเดิ นมา จนถึ งกั บวา เป นเวทนา ที่ มี ฉั นทะเป นมู ล มี สั ญญา สั งขาร วิ ญญาณ มี ฉั นทะเป นมู ล ก็ เลยมี ป ญจุ ปาทานขั นธ ที่ มี ฉั นทะเป นมู ลขึ้ นมา จะเป นรูปขั นธ ก็ ได เวทนาขั นธ ก็ ได สั ญญาขั นธ ก็ ได ในขั นธ ใด ขันธหนึ่ง ๆ ก็ได ซึ่งก็มีฉันทะเปนมูล. เรื่องฉั นทะนี้ ตองรูไววา หมายถึ งกิ เลสประเภทตั ณ หา ทําไมจึงพู ดถึง แต ฉั นทะ ไม พู ดถึ งโทสะ หรื อถึ งโมหะ อะไรด วย? เพราะว าทุ กอย างขึ้ นอยู กั บฉั นทะ หมด คื อ ว าโทสะ หรื อ ว าความโกรธ, หรื อ ว าประทุ ษ ร ายอะไรก็ ต าม มี มู บ รากอยู ที่ ฉัน ทะอีก ทีห นึ่ง . ถา เราไมรัก อะไร ไมพ อใจอะไรอยูอ ยา งหนึ่ง เราโกรธไมไ ด นี่ ไปศึกษากันอยางนี้เสียกอนดวย.
www.buddhadasa.info การที่เรากจะไปโกรธอะไรเปนฟ นเปน ไฟนั้น ก็เพราะมีรักอะไรอยู อย างหนึ่ ง ซึ่ งเป น ฉั น ทะ; ไม ใช วาความโกรธมั น จะเกิ ด ขึ้ น มาได ต ามลํ าพั งโดยไม อาศัย ฉัน ทมูล กา. นี ่ไ มต อ งฟง แลว เชื ่อ ไปตามคํ า พูด ; ตอ งไปดู ใหเ ห็น ตัว จริง ที่ มั นอยู ในใจของเรา. เช นเราโกรธแล ว ไล ตี แมว เพราะทํ าถ วยแก วแตก นี่ เป นโทสะ. แตโทสะนี่เกิดลอย ๆ ไมได มันตองมีฉันทะอะไรอยูที่ใดที่หนึ่งกอน; ก็จะพบวาเรารัก
อายตนสัมผัสใหเกิดสิ่งที่เรียกวาขันธ
๓๒๑
ถ วยแก ว นั่ น แหละคื อฉั นทะเป น มู ล อยู ที่ ถ วยแก ว. แล วพอแมวมาทํ าถ วยแก วแตก เราก็ โกรธแมว และตี แมว โดยไม ได นึ กถึ งฉั นทมู ลกา; คล าย ๆ กั บว าไม ได เนื่ องด วย ฉันทะ. แท จริงกิ เลสทั้ งหลาย แม จะเป น ความโกรธ ความเกลี ย ด ความกลั ว ความอะไรก็ตาม ตองมี ฉันทมู ลกา คือมีฉันทะอยูที่สิ่งใดสิ่งหนึ่งกอน มันจึงจะเกิดนั้น ๆ ขึ้ นมา. อย างว าเราจะกลั วผี ก็ เพราะเรารักตั วเรา; กลั วผี ทํ าอั นตรายเราให ตายอย างนี้ เป นต น. มั นมี ฉั นทมู ลกาอยู เรื่อยไป; ป ญ จุ ปาทานขั นธ ทั้ งหลาย จึ งได ถู กตรัสไว ว า เปนฉันทมูลกา. ๓. ทีนี้ ดูขอตอไปอีก นี่เป นภาษิ ตของพระสารีบุ ตร ละเอียดลออนาฟ งวาขันธ ใดที่ มั น เกิ ด ร วมกั น กั บ สมั น นาหารจิ ต โดยสมควรแก อ ายตนะนั้ น ๆ แล ว เหล านั้ น จะเป น ป ญ จุป าทานขัน ธทั้ งหมด.สมั น นาหารจิ ต เป นคํ าในบาลี ที่ไม คอ ยมาผานหู ผานตานัก; ก็หมายความวา สัมผัสดวยอวิชชานั่นแหละ เรียกวาสมันนาหารจิต ที่ตั้งตนขึ้นมา คือมันไดที่, ครบถวน, พรอมเพรียง, ไดที่, เรียกวาสมันนาหารจิต. เชนวาเมื่ อตากระทบรูป เกิดจั กขุวิญญาณเป นผั สสะนี่ ถาอวิชชาไม เขามาแทรกแซงด วย ก็ยังไมครบเครื่อง; เหมือนกับแกงไมครบเครื่องอยางนั้นแหละ.
www.buddhadasa.info ที่จะเปนเรื่องเปนราวขึ้นมา มันตองมีอวิชชาเขามาชวยดวย ใหเปน อวิชชาสัมผัสใหจนได. จิตในขณะนั้น เรียกวาสมันนาหารจิต เพราะมีอารมณ รูป เสียง กลิ่น รส อันใดอันหนึ่งเปนอารมณ.
ที นี้ สมั นนาหารจิ ตนั้ นต องอนุ รู ปแก อายตนะนั้ น ๆ คื อต องโง ขนาดที่ จะชอบ อารมณ นั้ น ๆ จึ งจะเป นสมั นนาหารจิ ตเต็ มตั ว; เพราะฉะนั้ น ขั นธ ที่ มั นเกิ ดตั้ งต นกั น ขึ้ น มาด ว ยสหารจิ ต คื อ จิ ต ที่ ป ระกอบอยู ด ว ยอวิ ช ชา หลงใหลอยู ในอารมณ นั้ น ๆ; นั่นแหละ มันจะเปนปญจุปาทานขันธมาตั้งแตเดิมทีเดียว, แตแรกตั้งตนทีเดียว.
๓๒๒
ปรมัตถสภาวธรรม
จะเห็ นได ง าย ตั วอย าง เช นว า พอเราเห็ นคนที่ เรารั กหลงอยู อย างยิ่ ง เดิ นมา ตาก็ เห็ น รู ป นั้ น เกิ ด จั ก ขุ วิ ญ ญาณสํ า หรั บ เห็ น แล ว สั ม ผั ส คื อ ว า เห็ น รู ป นั้ น ; นี่ เห็ น ด ว ยความรั ก คื อ มี ฉั น ทมู ล กา เป น อวิ ช ชามาเสร็ จ เลย มั น ก็ เห็ น คนที่ รั ก แล ว ก็ รั ก แล วก็ เป นห วง แล วก็ วิ ตกกั งวล หรื ออะไรแล วแต จะเป นไปเถอะ. นี่ เรี ยกว าป ญ จุ ปาทานขั น ธ ได ตั้ งต น ขึ้ น มา ตั้ งแต การเกิ ด ขึ้ นแห งสมั น นาหารจิ ต ที่ อ นุ วั ต ต ต ามอารมณ หรื อ ตามอายตนะนั้ น ๆ; นี่ คื อป ญ จุ ป าทานขั น ธ หรื อ อุ ป าทานขั น ธ อั น ใดอั น หนึ่ ง ที่ ตั้ งต น ขึ้นมา รวดเดียวตลอดไปเปนปญจุปาทานขันธ. ที นี้ ถ าไม อย างนั้ น ที แรกก็ ตาเห็ นเฉย ๆ เห็ นรู ปที่ สวย มั นก็ สวยเฉย ๆ ก อน แต ว าเกิ ด มี อ ะไรเข ามาช วยให เปลี่ ย นความคิ ด ครั้ งที่ ส อง โดยที่ ว า เช น เห็ น รู ป นี้ ส วย ยั ง เฉยอยู ; แต แ ล ว อวิ ช ชาเพิ่ ง มา เพิ่ ง นึ ก ได เพิ่ ง คิ ด เห็ น หรื อ เพิ่ ง นึ ก ได มาหลง ในความสวยนั้ น มั นจึงตั้ งต นใหม โดยมโนวิญญาณ ไม ใชจั กขุวิญญาณ. จักขุวิญญาณ เห็ น ที แรกก็ ยั งไม มี เรื่ อง; พอว าสวยแล ว มโนวิ ญ ญาณรั บเอาอารมณ สวยมาอี กที หนึ่ ง แล วมาก ออวิ ชชาก็ ได . อย างนี้ เรี ยกว าไม ได ตั้ งต นมาด วยกั นตั้ งแต ที แรก เพิ่ งมาเห็ นว า สวยหรื อ ไม ส วยที ห ลั งอี ก ระยะหนึ่ ง; แต แ ล วมั น ก็ เกิ ด อุ ป าทานขั น ธ เหมื อ นกั น แม จ ะ ไม ได เกิ ดขึ้ นมาแต ในที แรก มั นก็ มาเกิ ดในระยะที่ สองที่ สามได . แล วก็ เป นอุ ปาทานขั นธ แล วก็ เป น ทุ ก ข เหมื อ นกั น ; จะต อ งมี ค วามทุ ก ข เหมื อ นกั น คื อ จะไปรั ก หรื อ ว าไปหลง หรือวาไปอะไรเหมือนกัน.
www.buddhadasa.info ๔. ขั น ธ ๕ ที่ เขี ย นเป น ตั ว หนั งสื อ นี่ เห็ น งา ย ที นี้ พู ด กั น ถึ งตั ว หนั งสื อ ดี กว า : ถ าเขี ยนว า รู ป กขั นโธ เวทนากขั นโธ สั ญ ญากขั นโธ สั งขารั กขั นโธ วิ ญ ญาณั กขั น โธ; นี้ ยั ง ไม แ น คื อ ว า ไม ไ ด เ ป น อุ ป าทานขั น ธ ยั ง ไม เ กี่ ย วกั บ อุ ป าทาน. ถ า ว า ขึ้ น มาถึ งรู ปู ป าทานขั น โธ เวทนู ป ทานขั น โท สั ญ ู ป าทานขั น โธ สั งขารู ป าทานขั น โธ วิ ญญาณู ปาทานขั นโธ อย างนี้ แล ว ไม ต องถามใครให เสี ยเวลา คื อมั นหมายถึ งขั นธ ที่ ถู กยึ ด อยูดวยอุปาทาน; ชื่อมันก็ผิดกันเสียแลว.
อายตนสัมผัสใหเกิดสิ่งที่เรียกวาขันธ
๓๒๓
ที่ เขาสวดอภิ ธ รรมในงานศพ เขาจะสวดกั น เป น กลาง ๆ คื อ ขั น ธ ๕ มี อย างนั้ น , อย า งนี้ , อย างนั้ น ; แล วก็ ไม ได มุ งหมายจะให แ ยกเป น ขั น ธ ๕ ล ว น ๆ; หรื อว าจะให เป นป ญจุ ปาทานขั นธ คื อพู ดไว เป นกลาง ๆ ตามธรรมดา ก็ หมายถึ งขั นธ ๕ ลวน ๆ ไมมีคําวา สาสวา อุปาทานิยัง ตอทาย. นี่ถ าเราเอาตั วหนั งสือเป นหลัก หนั งสือเขาก็เขียนถูกแลว มั นงายนิดเดียว : รูป ขั น ธ เวทนาขั น ธ สั ญ ญาขั น ธ สั งขารขั น ธ วิ ญ ญาณขั น ธ นี่ พ วกหนึ่ ง ยั งไม มี อุปาทาน. พอมีอุปาทาน ก็ไดชื่อเต็มยศวา รูปูปาทานขันธ เวทนูปาทานขันธ สัญู ปาทานขั นธ สั งขารูปาทานขั นธ วิ ญ ญาณู ปาทานขั นธ อย างที่ เราสวดทํ าวัตรเช านั่ น นั้นหมายถึงขันธที่มีอุปาทานยึดครองแลวเปนทุกขแนนอน. ๕. จะให สั งเกตงาย ๆ อี กหน อยหนึ่ ง แล วค อนข างจะขบขั นคื อวา ถ าขั นธ ไหนรูส ึก วา มัน หนัก นั ่น แหละคือ ปญ จุป าทานขัน ธ; ถา ขัน ธไหนมัน ไมห นัก หรือวามันไมไดเอามาแบกไว คือมันไมหนัก นั่นไมใชปญจุปาทานขันธ.
www.buddhadasa.info ทีนี้ พระพุทธเจาทานก็ไดตรัสไวชัด แตวา ถอยคําก็เปลี่ยนเปนคําโคลง คํ า กลอน แล ว มั น อาจจะไม ชั ด เช น ที่ เราสวดว า ภารา หเว ปฺ จ กฺ ข นฺ ธ า-ขั น ธ ทั้ ง ๕ เป น ของหนั ก เน อ , ภารหาโร จ ปุ คฺ ค โล-บุ ค คลนั่ น แหละ เป น ผู แ บกของ หนั ก พาไป ในบาลี ช นิ ด นี้ มั น เป น คํ า กลอน เมื่ อ เป น คํ า กลอนต อ งได รั บ การยกเว น บางที ก็ ไม ต องใส เต็ มรูปเต็ มตั ว; และข อความที่ ติ ดเนื่ องกั นอยู นั่ น มั นบอกให เองว า ปญจขันธา ในที่นี้มิไดหมายถึงขันธลวน ๆ แตหมายถึงขันธที่มีอุปาทาน, เพราะ มั นแสดงวามั นเป นของหนั ก และบุ คคลนั่ นแหละเป นผู แบกของหนั ก เมื่ อมี บุ คคลมั น ก็คืออุปาทานแลว.
๓๒๔
ปรมัตถสภาวธรรม
พระบาลี อย างนี้ ถ าเอาตามตั วหนั งสื อ ก็ ต องดู ให ดี ต องดู ตั วหนั งสื อให มั นตลอดไปทุ กบรรทั ด. เราจะพบได เองวา แม แต พู ดวา “ป ญจขันธา” ก็ มี ความหมาย เท ากั บ “ป ญจุ ปาทานขันธา” คื อป ญจขันธ ที่ ประกอบด วยอุ ปาทาน ๕ อย าง เป นของ หนัก. ฉะนั้น จึงใหสังเกต หรือจําไวงาย ๆ อยางขบขันวา ถาขัน ธไหนหนั ก ขัน ธ นั้นเปนปญจุปาทานขันธ; ถาขันธไหนไมหนักเลย ขันธนั้นก็เปนขันธเฉย ๆ เมื่อใดรูปเกิดหนักขึ้นมา ใหรูไวเถิดวา มันเปนรูปูปาทานขันธแลว; เมื่ อ ใดเกิ ด เวทนา เกิ ด ทํ าป ญ หาหนั ก ขึ้ น มา เป น เวทนู ป าทานขั น ธ แ ล ว . เช น ว าตา ไปเห็ นรูปสวย สบายตาขึ้ นมา แต ถ ามั นไม หนั กอกหนั กใจอะไร มั นก็ เป นขั นธ เฉย ๆ; ถ ามั นเป นป ญ หา เกิ ดหนั กอกหนั กใจขึ้ นมา : รักหรือว าโกรธ หรือเกลี ยด หรือกลั ว หรือวิตกกั งวล เพราะความสวยของสิ่ งที่ เห็ นนั่ นน ะ นี่ มั นเป นป ญ จะปาทานขั นธ แล ว, มันหนักแลว นี่ตัวอยางหนึ่ง. อี กตั วอย างหนึ่ ง อยางวาคนแก ๆ เหลือบตาไปเห็ นลู กหลานเล็ก ๆ น าสงสาร น าเอ็ นดู อย างนี้ บางที ใจก็ เฉย ๆ; ถ ามั นเฉยอย างนี้ รูปนั้ นไม เป นป ญจุ ปาทานขั นธ . บางที เหลื อบไปเห็ นลู กหลานสวย ๆ ก็ เกิ ดรัก เกิ ดเป นห วง วิ ตกกั งวลว ามั นจะเจ็ บไข มั นจะไม ได เล าได เรียน มั นจะเป นทุ กข มั นจะไม ได อย างอกอย างใจ. อย างนี้ เป น ปญจุปาทานขันธแลว เพราะมันหนักแลว ถายังไมหนักก็ยังเปนขันธเฉย ๆ พอมัน หนักแกจิตใจเรา มันก็เปนปญจุปาทานขันธแลวอยางนี้.
www.buddhadasa.info ในขอนี้ ใหถือหลักวา ขันธไหนหนักแลว ขันธนั้นเปนปญจุปาทานขันธ; แล วสิ่ งเดี ยวกันนั่ นแหละ ลู กหลานคนเดี ยวกันนั่ นแหละ บางมื้ อบางเวลา เห็ นแล วก็ มิ ได วิ ต กกั ง วลอะไร; แต บ างเวลาแล ว วิ ต กกั ง วลเกื อ บจะตายไป. นี่ ก็ ไ ม ต อ งอั น อื่ น อันนั้นก็เปลี่ยนเปนขันธเฉย ๆ ได เปนอุปาทานขันธได แลวแตการปรุงแตงในขณะแหง
อายตนสัมผัสใหเกิดสิ่งที่เรียกวาขันธ
๓๒๕
จิ ตสั มผั สนั้ น สั มผั สด วยวิ ชชา หรือด วยอวิชชา; คื อว าด วยมี สติ สั มผชั ญ ญะ หรือว า ปราศจากสติสัมปชัญญะ, นี่ขันธหนักคือปญจุปาทานขันธ ขันธไมหนักคือขันธ เฉย ๆ. จะพูดตอไปอีกหนอยก็วา มันหนักใคร? มันหนักบุคคล ภารหาโร จ ปุคฺคโล บุ คคลนั่ นแหละเป นผู แบกของหนั กพาไป เพราะว าไปโง ไปคิ ดว าเป นตั วฉั น มี บุ ค คล เป น ฉั น ขึ้ น มา; ก็ ต อ งมี ก ารหิ้ ว หิ้ วมั น ก็ ห นั ก . การหิ้ วนั้ น คื อ อะไร? ก็คื อ อาทาน ซึ่งแปลวาการหิ้ ว หมายถึ ง ตั ณ หา อุ ป าทาน นั่ น เอง. ความหิ้ ว หรือ วาเครื่อ ง มั ดผู กให ติ ด ให หิ้ ว นั้ น คื อ ตั ณ หา และอุ ป าทานนั่ น เอง; เมื่ อ ตั ด ตั ณ หา อุ ป าทาน ออกไปไดก็เหมือนกับวางหรือหลุดลงไป มันก็ไมหนัก. ๖. ที นี้ ที่ จะสั งเกตดู ให ละเอี ยดอี กนิ ดหนึ่ ง ในกรณี ที่ เรียกวาสมั นนาหารจิ ต คื อจิ ต ที่ ป ระกอบด วยอวิ ชชามาตั้ งแต ที แรกนั้ น ก็ มี ส มุ ทั ยแห งขั น ธ . สมุ ทั ย แปลว า ก อ ขึ้ น , ตั้ ง ขึ้ น ; อย า แปลว า ความเกิ ด ง า ย ๆ จะเข า ใจผิ ด ได . ชาติ แปลว า เกิ ด หรือคําอื่น แปลวาเกิด; แตคําวา สมุทัย อยาแปลวาเกิด แปลวา ตั้งขึ้น, ตั้งขึ้น, ตั้งขึ้น, สํ=พรอม อุ=ขึ้น ยะ แปลวา ไป : สมุทัย ตั้งขึ้นพรอม อยางนี้.
www.buddhadasa.info ถาขันธนั้นตั้งขึ้นพรอมในลักษณะที่มี อภินนฺทติ มี อภิวทตํ มีอชฺโฌสายติฏ ฐติ แล ว นั่ นแหละคือป ญจุปาทานขันธ. อภิ นั นทติ หรืออภิ นั นทิ หรือ อภิ นั นทนะ แล วแต จะเป นกิริยา หรือเป นนาม; อภิ นั นทติ คื อ จิตใจมั นพอใจอยางยิ่ ง, อภิ วทติ นี่มั นจะทํ าให พู ดออกมา พร่ําสรรเสริญ หรือสู ดปากที เดี ยววา แหม, มั นถูกใจอยางยิ่ง; นี ่อ ภิว ทติ แลว . อชฺโ ฌ สายติฏ ติ ก็ค ือ วา มัว เมา สยบอยู ในสิ ่ง นั ้น , จิต มันไปสยบ มัวเมา ฝงจมดิ่งลงไปในนั้น ก็เรียกวา อชฺโฌสาย ติฏติ. คํ า สามคํ า นี้ ในบทสวดก็ มี ไปดู ใ ห ดี เถอะ : เพลิ น อย า งยิ่ ง แล ว ก็ ออกปากอยางยิ่ง แลวก็มัวเมาหมกอยูอยางยิ่ง. ถากรณีใดตั้งตนขึ้นมาดวยจิตใน
๓๒๖
ปรมัตถสภาวธรรม
ลั กษณะอย างนี้ , อารมณ นั้ น ๆ นี่ ต องปรุงเป น ป ญ จุ ปาทานขั นธ เป น อุ ปาทานขั นธ โดยไมตองสงสัย. ตั วอย างที่ ยกมาจะพอแล ว ที่ ว า จะสั งเกตุ อย างไร จึ งจะรูจั กอุ ปาทานขั นธ หนึ่ ง ๆ, หรือว า ป ญ จุ ปาทานขั นธ คื อ อุ ปาทานขั นธ ทั้ ง ๕ ก็ สั งเกตอย างนี้ , อย างที่ ว ามาแล วเป นลํ าดั บ ๆ มา จะได รูจั กว าขั นธ ไหนเป นทุ กข ขั น ธ ไหนยั งไม เกี่ ยวกั บ ความทุกข. ขันธเฉย ๆ ยังไมเกี่ยวกับความทุกข; พอเปลี่ยนเปนปญจุปาทานขันธก็ เปนตัวทุกขเสียเอง. ๗. ทุ ก ข ทั้ งมวลเกิ ด ขึ้ น เพราะขั น ธ ใด ขั น ธ นั้ น ต อ งเรี ย กวาป ญ จุ ปาทานขันธ คือสิ่งใด อารมณ ใด มีการปรุงแต งทางอายตนสัมผัสแลวเกิดเป นความ ทุ ก ข ขึ้ น มาแล ว นี้ ม องถอยหลั ง พู ด ได เลยว า นั่ น เป น ป ญ จุ ป าทานขั น ธ ; เพราะ มันใหเกิดทุกข. เมื่อเปนขันธ ยังไมมีทุกข; พอมีอุปาทานเขาไปยึด จึงเปนทุกข. พู ดตามสํ านวนพระบาลี พระพุ ทธภาษิ ต ก็ อยากจะพู ดว า ถู กลู กศรดอกที่ สอง; เพี ยงแต ว า ถู ก ยิ งด วยลู กศรดอกที่ ห นึ่ งนี่ มี เรื่อ งนิ ด หน อ ย บางที ก็ มี เพี ยงแต เกะกะรํา คาญ. พอถู ก ยิ งด ว ยลู ก ศรดอกที่ ส อง แล ว ก็ จิ ต ใจเป น อื่ น ไปเลย, เป น ไฟ เป น ทุ ก ข มื ด มนไปเลย. เพราะว า ลู ก ศรดอกที่ ส องนี้ เขาอาบด ว ยยาพิ ษ ; ลู ก ศร ดอกที่หนึ่งนั่นมันเปนลูกศรเฉย ๆ ไมไดอาบดวยยาพิษ.
www.buddhadasa.info ตัวอยาง เชนวา เรามี ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เราจะตองพบกับ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธัมมารมณ อยูเรื่อย ๆ นี้, ยังไมยึดมั่นถือมั่น; อยางนี้เหมือน กั บ ว า ถู ก ลู ก ศรล ว น ๆ ไม ได อ าบยาพิ ษ ก็ ไม เป น ไร มั น ก็ จ ะขู ด ขี ด รูสึ ก เจ็ บ บ า ง เท านั้ นเอง. แต ถ าวาถู กลู กศรซ้ํ าเข ามาอี กดอก ซึ่ งอาบด วยยาพิ ษ นี่ ก็ จะต องตาย คื อ มีทุกขแน มีทุกขจนถึงที่สุด.
อายตนสัมผัสใหเกิดสิ่งที่เรียกวาขันธ
๓๒๗
ในวันหนึ่ง ๆ เราจะอยูในลักษณะที่เรียกวาถูกลูกศรดอกที่หนึ่งกันอยูเรื่อย เพราะหลี ก ไม พ น หรอก แต ไม ต อ งถึ ง กั บ เป น ทุ ก ข ถ า ไม มี อุ ป าทาน. เพราะว า เรามี ตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ที่ จะสั มผั ส รู ป เสี ยง กลิ่ น รส โผฏฐั พพะ อยู มี กระจุ กกระจิ กนิ ด ๆ หน อย ๆ เท านั้ น ; ไม ถึ งกั บ ว าเป นหนั กเหมื อนภู เขา, หรื อว าไม ร อนอย างไฟ, หรื อว า ไมมืดมนเหมือนอยางที่วาเอาไปครอบไวในที่มืด. นี่คือลูกศรดอกที่หนึ่ง. เป นธรรมดาของสั งขารที่ มี ในโลกนี้ มั นก็เปลี่ยนแปลงบาง อะไรบ าง; แตอยาไปอุปาทานกับมัน. พอไปมีอุปาทานมันเขาเมื่อไร จะมีลูกศรอีกดอกหนึ่ง คือมีดอกที่สองที่อาบยาพิษแลนมาเสียบเขาไป แลวก็ตายเลย; นี่คือ เราเปนทุกข. ฉะนั้ น เราไม ต องถึ งเกิ ดความโลภ ความโกรธ ความหลง ในสิ่ งต าง ๆ ที่ เราเกี่ ยวข องอยู ในบานในเรือน. เรื่องสุ นั ข เรื่องแมว เรื่องข าว เรื่องของ เรื่ องอะไรต าง ๆ แลเห็ นก็ ทํ าไป ปฏิ บั ติไป โดยไมต องเป นทุ กข แตวาก็ยังไมใชความสงบลวน ๆ มันก็มีลําบากบาง นิ ดหน อย อย างนี้ ยั งไม เกี่ ยวกั บอุ ปาทาน; เหมื อนเช นว าบางที เรารู สึ กว า “ถ าไม ต อง กิน ขา วถา จะดี เราไมต อ งลุก ขึ ้น ไปกิน ขา วใหม ัน ลํ า บาก เสีย เวลา”; อยา งนี้ มั นก็ ไม ถึ งกั บวาเป นทุ กข. หรือวาเราขี้ เกี ยจอาบน้ํ าอย างนี้ เพราะวาอาบน้ํ านี่ มั นไม สนุ ก เราก็ อยู นิ่ ง ๆ ดี ก ว า อย างนี้ ; แต เราก็ ต อ งอาบน้ํ า อย างนี้ ก็ ทํ าไปโดยที่ เหมื อ นกั บ ว า ไมตองมั่นถือมั่นดวยอุปาทาน.
www.buddhadasa.info ถ าจะลํ าบากบ าง ก็ เหมื อนกั บถู กลู กศรล วน ๆ ดอกเดี ยว ไม มี ยาพิ ษ; แต พอไปเกิดหนักอกหนักใจมากกวานั้น ทําอะไรที่ถึงกับวาจิตมันเกิดโทสะขึ้นมา หรือว าเกิ ดอะไรขึ้ นมาอย างนี้ เรียกว าถู กลู กศรชนิ ดยาพิ ษ เป น อุ ป าทานขั น ธ แ ล ว, เปนเรื่องขางนอกบาง เปนเรื่องขางในบาง, เปนเรื่องเล็กบาง เปนเรื่องใหญบาง เปน
๓๒๘
ปรมัตถสภาวธรรม
เรื่ องเร็ว ๆ ชั่ วเวลานิ ดเดี ยวบ าง เป นเรื่ องยื ดยาวเป นเวลานานบ าง มั นหลาย ๆ อย าง; ฉะนั้ น จึ งต องแยกว า ยํ กิ ฺ จิ รูป อตี ตานาคตปจฺ จุ ปฺ ป นฺ นํ อชฺ ฌ ตฺ ตํ วา พหิ ทฺ ธํ วา โอฬาริกา วา สุขุมํ วา หีนํ วา ปณี ตํ วา ฯลฯ วากันไป มั นก็ตาง ๆ กันอยางนี้ ; แต ทั้ งหมดนั้ นก็ ยั งไม ทั นจะยึ ดถื อ จนเป นอุ ปาทาน. ที่ อั นแน นอนที่ สุ ดก็ คื อวา ขั นธ ไหนเปนทุกข ขันธอันนั้นคือปญจุปาทานขันธ. เอาละ เป นอั นว าเราพู ดเรื่องซ้ํ า ๆ ซาก ๆ กั นอยู นี่ ๙ ครั้ง ๑๐ ครั้งทั้ งครั้ งนี้ ไมไดพูดเรื่องอื่น เรื่องธาตุ เรื่องอายตนะ เรื่องขันธ และเรื่องปญจุปาทานขันธ. วันนี้ เขยิ บออกมาได ถึ งคํ าวา ป ญจุ ปาทานขั นธ. สามสี่ ครั้งแรกพู ดแต เรื่อง ธาตุ , แลวต อมาเขยิบออกมาเป นธาตุ บ าง อายตนะบ าง, ครั้งตอมาพู ดออกมาถึ งขันธ. สวนวันนี้พูดออกมาถึง ปญจุปาทานขันธ โดยชัดแจงวาที่เกี่ยวกับความทุกข, แล วเรายังต องมี พู ดให เขาใจชัดยิ่ งไปกวานี้ อีก ในเรื่องที่ เกี่ยวกั บป ญ จุปาทานขันธใน โอกาสตอไป. บอกไวใหรําคาญลวงหนา เพื่อจะวัดดูวามีปญจุปาทานขันธ หรือไม.
www.buddhadasa.info วั นนี้ พอกั นเท านี้ ให โอกาสพระสงฆ ท านจะได สวดบทสาธยายที่ เป นที่ ตั้ ง แหงความเลื่อมใสในพระรัตนตรัยตอไป ตามสมควร.
ปรมัตถสภาวธรรม
-๑๑๑๗ มีนาคม ๒๕๑๖
อาการที่เกิดไดและเกิดไมได แหงปญจุปาทานขันธโดยวิธีแหงปฏิจจสมุปบาท ทานสาธุชนผูสนใจในธรรมทั้งหลาย, การบรรยายในชุ ด ปรมั ต ถสภาวธรรมครั้ ง ที่ ๑๑ นี้ จะได บ รรยาย เกี ่ย วกับ สิ ่ง ที ่เ รีย กวา ธาตุ วา อายตนะ วา ขัน ธ วา อุป าทานขัน ธ กระทั ่ง ถึง ความทุก ขต อ ไปอีก ตามเคย. แตว า จะไดอ ธิบ ายใหเ ห็น โดยละเอีย ดชัด เจน ยิ่ ง ขึ้ น ๆ ไปในตอนใดตอนหนึ่ ง โดยเฉพาะ ซึ่ ง ในวั น นี้ ก็ จ ะได พู ด โดยหั ว ข อ ว า อาการที ่ เ กิ ด ได และเกิ ด ไม ไ ด แ ห ง ป ญ จุ ป าทานนั ก ขั น ธ โดยวิ ธี แ ห ง ปฏิจจสมุปบาท.
www.buddhadasa.info
๓๒๙
ปรมัตถสภาวธรรม
๓๓๐
ขอให ทบทวนดู เรื่อย ๆ มาตั้ งแต ตน ได พู ดถึงกันแต เรื่องขั นธ กับอุ ปาทานขันธเปนสวนใหญ และก็ยังพูดกันมาทุกครั้ง ตั้ง ๑๐ กวาครั้งทั้งครั้งนี้แลว ก็ยังคงเปน เรื่องขันธหรืออุปาทานขันธอยูนั่ นเอง. นี่ เรียกวาจะพู ดกั นจนคําสองคํ านี้ มั นคลองอยู ที่ ป าก, หรื อ อี ก อย า งหนึ่ ง ที่ เขาเรี ย กกั น ในบั ด นี้ ว า ขึ้ น สมอง. เดี๋ ย วนี้ ค วามเข า ใจ เรื่องขั นธ กั บเรื่องป ญจุ ปาทานขั นธ นี่ มั นยั งไม ขึ้นสมองของท านทั้ งหลาย; ดั งนั้ น ก็ จะ ตองพูดกันตอไปโดยไมกลัววาใครจะรําคาญ. คําบรรยายชุดนี้ จะพูดแตสิ่งที่เรียกวา ธาตุ วา อายตนะ วา ขันธ วา อุ ป าทานขั นธ จนตลอดไปทั้ งชุด. การที่ คนไม มี ความรูความเขาใจแตกฉานใน คํ า ว า ขั น ธ และอุ ป าทานขั น ธ นั้ น จะเป น คนโง โงต รงที่ ว า มั น ไม รูจั ก ตั ว เอง และ นาสงสาร ที่ ไม รูจักตัวเอง ไม รูวาสิ่งที่ เรียกวาขันธกั บป ญจุปาทานขันธนั้ น คื อตั วเอง. เมื่ อไม รูจั กตั วเองแล วจะไม ให เรียกว าคนโงนี่ อย างไรได . ฉะนั้ น ขอให ทนฟ งเรื่องขั นธ และอุปาทานขันธกันตอไป และตองเปนเรื่องทบทวนกันอยูที่นี่ เกี่ยวกับเรื่องนี้.
ตองรูจักตัวเองเพื่อรูจักทุกข
www.buddhadasa.info ที่ วารูจัก ตั ว เอง ทําไมตองรูจักตั วเอง นี่เป น ที่ สํ าคั ญ ที่ สุ ด ถาไม รูจัก ตั วเองจะไม รูวาความทุ กข นั้ นคื ออะไร, แล วตั วเองกั บสิ่ งที่ เรียกวาความทุ กข นั้ น มั น ตางกันอยางไร, หรือวาตัวเองชนิดไหนที่จะเรียกวาไมมีความทุกข.
ข อนี้ ขอให นึ กอยู เสมอ ถึ งข อที่ เคยชี้ แจงอยู เรื่อย ๆ ว า เรื่ องธรรมะ เรื่อง ปรัชญา เรื่องอะไรเหล านี้ มั นลํ าบากอยู ที่ คํ าพู ด นั้ นเอง; เพราะวาคํ าพู ดมั นไม พ อ ใช บ าง, คํ าพู ดมั นกํ ากวมกั นเสี ยบ าง, คํ า ๆ เดี ยวหมายความอย างนั้ นที หมายความ อย างนี้ ที หมายความอย างโน นที ; ดั งนั้ น มั นจึ งลํ าบากที่ จะศึ กษา ที่ จะเข าใจ. และ ถ าเอาไปปนกั นในระหว างฝ ายต าง ๆ แล ว ก็ ยิ่ งลํ าบากมากขึ้ นไปอี ก, กระทั่ งว า เอาไป ปนกันในระหวางศาสนาโนนกับศาสนานี้ มันก็ยิ่งลําบากยิ่งไปกวานั้นอีก.
อาการที่เกิดไดและเกิดไมไดแหงปญจุปาทานักขันธโดยวิธีแหงปฏิจจสมุปบาท
๓๓๑
ตัว อยา งเชน เกี ่ย วกับ “มีต ัว ตน” ศาสนาพราหมณเ ขาก็ต อ งมีต น มี ตั ว-ตน ศาสนาพุ ทธไม มี ตั วตน; ถ าศาสนาพุ ทธมี ตั วตนขึ้ นมา ก็ เป นตั วตนที่ ไม จริง คื อเป นมายา. แต ที นี้ ก็ ยั งมี ถึ งกั บวา ถ าพู ดถึ งศี ลธรรมชั้ นต่ํ า ๆ สํ าหรับเด็ ก ๆ แล ว เราก็ยังตองพูดวามีตัวมีตน; เพราะเรื่องมันตั้งตนไปจากคําวามีตัวมีตน. ป ญ หายุงยากลําบากนี้มันตั้งตนขึ้นมาจากคํ าวา “ตั วตน” ทั้งนั้ น; แม พระพุทธเจาเอง เมื่อทานจะสอนในระดับศีลธรรม ทานก็ตองกลาวไปในทางที่มี ตั ว ตน : ทํ า ดี ได ดี ทํ า ชั่ ว ได ชั่ ว ตายแล ว ก็ ยั งจะได ดี ได ชั่ ว ไปตามที่ ทํ า นั้ น . นี้ ก็ แสดงวา พระพุทธเจาทานก็ตรัสวา มีตัวมีตน แตเปนเรื่องของศีลธรรม. พอจะพูดถึงปรมัตถธรรม ซึ่งแสดงดวยปรมัตถสภาวะดังที่กําลังพูดอยูนี่แลว ก็ทรงปฏิเสธวา สิ่งเหลานั้นทั้งหมดนั้นไมควรจะเรียกวาตน มันจะมีอะไร มันจะ เปนอยางไร มันจะใหเปนเหตุเปนผลแกกันอยางไร ก็ลวนแตไมควรจะเรียกวาตน. ทีนี้ ถาเราเกิดไปเอามาปนกันเขา ทั้งเรื่องของศีลธรรม ทั้งเรื่องของ ปรมั ต ถธรรม ก็ ฟ ง ไม รู เรื่ อ งเท า นั้ น เอง; พู ด มากไปมั น ก็ ยิ่ ง ฟ งไม รูเรื่อ ง กระทั่ ง เวียนหั ว แล วก็ ต องเลิ กกั น. นี่ ความยากลํ าบากมั นอยู ที่ คํ ามี ไม พอ หรือวา คํ ามั นมี ความหมายกํ ากวมบ าง, มี ความหมายเฉพาะในกรณี หนึ่ ง ๆ แล วเอามาปนกั นอย างนี้ ก็เขาใจไมได.
www.buddhadasa.info ที นี้ เราจะตั้ งต นศึ กษาตั้ งแต เบื้ องต่ํ าที่ สุ ด โดยตั้ งต นจากคนโง แล วต อง เกณฑ ให เป นคนโงที่ สุ ดด วย คื อคนโงที่ อะไร ๆ ก็ เป นตั วเป นตนไปเสี ยหมด. แต ก็ คิ ดดู ใหดี วาคนที่โงจนมีตัวตนไปหมดนั้นก็ไมไดมีตัวตนทุกเวลา ไมไดมีทุกนาทีทุกชั่วโมง; อยาวาแตวามีทุกลมหายใจเขาออกเลย. คนโงจะมีตัวตนก็แตบางเวลาเทานั้น ถาใครจะไป
๓๓๒
ปรมัตถสภาวธรรม
เข าใจว าคนโง แล วจะมี ตั วตนทุ กเวลานาที ที่ หายใจเข าออก คนนั้ นก็ ยิ่ งโงต อไปอี ก โงมาก กว า คนโง ที แ รกเสี ย อี ก ; เพราะไม ดู ใ ห ดี ว า สิ่ ง ที่ เรี ย กว า ตั ว ตนแม ข องคนที่ โ ง ที่ สุ ด ก็มี แ ต บ างครั้งบางคราว คื อเฉพาะแต เวลาที่ เขาคิด วาเป น ตัวตน, หรือ มี ค วามคิ ด ประเภทตัวตน กลัดกลุมอยูในใจของเขาเทานั้น เขาจึงจะมีตัวตน. เพราะเวลาที่เขา ไมรูสึกวามีตัวตน มันก็ยังมีอยูมาก. คนเรายังไมรูจักตัว เอง วาเมื่อ ไรมีตัว ตน วาเมื่อ ไรเราไมมีตัวตน; นี่ เพราะว าเขาขี้ เกี ยจจะศึ กษา ขี้ เกี ยจจะสั งเกต มั นก็ มี ความไม รูจั กความจริงของสิ่ งเหล านี้ , มี ความทุ กข มั นก็ รองไห ไป ไม มี ความทุ กข ก็ หั วเราะไป ก็ เลยไม ได ศึ กษาในเรื่องตั วตน วามันเปนอยางไรกันแน. ทีนี้ ภาษาพูดมันก็ตองพูดวามีตัวตน; ไมพูดวามีตัวตน ก็ไมรูวาจะพูด ว าอะไร; เช นเดี๋ ยวนี้ ก็ ต องพู ดว า ตั วเราที่ มี ความทุ กข ตั วเราที่ ไม มี ความทุ กข . จะพู ด ให ดี กว านั้ น ก็ ต องพู ด ว าจิ ต ที่ มี ค วามทุ กข หรื อ จิ ตที่ ไม มี ค วามทุ กข แต ไม ค อยมี ใคร พู ด กั น ; เขาจะพู ด กั น ว าตั วฉั น ตั วเรา กั น ทั้ งนั้ น ที่ เป น ทุ ก ข ห รื อ ไม เป น ทุ ก ข . คนไม รู จั ก “ตั ว เรา” ที่ กํ า ลั ง เป น ทุ ก ข แ ละตั ว เราที่ ไ ม เป น ทุ ก ข : ตั ว เราเป น ทุ ก ข ก็ ไ ม รู จั ก ตัวเราที่ไมเปนทุกขก็ไมรูจัก ก็เลยไมรูจักแมแตสิ่งที่เรียกวา ความทุกข.
www.buddhadasa.info จะขอทบทวนเฉพาะคํ าวา “ความทุ กข ” กอน ซึ่งเป นคํ าที่ กํ ากวม เชนเดี ยว กั นกั บคํ าอื่ น ๆ; อย าลื มว าศึ กษาธรรมะลํ าบากเพราะคํ ามั นกํ ากวม. แม คํ าว าความทุ กข หรื อทุ กข เฉย ๆ นี่ ก็ กํ ากวม ทุ กข แปลว า เจ็ บ ปวด, รวดราว, ทนทรมาน, เหลื อทน, อย า งนี้ ก็ ได , นี่ เรีย กว า เป น ทุ ก ข อ ย า งหนึ่ ง ; ที นี้ ไม เจ็ บ ปวดรวดรา ว ไม ท นทรมาน อะไร แต ก็ เรี ย กว า เป น ทุ ก ข เหมื อ นกั น ; มั น มี อ ยู สอง ทุ ก ข เพราะเหตุ ว า คํ า นี้ มันกํากวม.
อาการที่เกิดไดและเกิดไมไดแหงปญจุปาทานักขันธโดยวิธีแหงปฏิจจสมุปบาท
๓๓๓
คํ าว า “ความทุ กข ” ตามธรรมดาในกรณี ทั่ วไป จะต องแปลว า น าเกลี ยด คือ ทุ แปลวา น าเกลี ยด อิกขะ อั กขะ นี่ แปลวา ดู หรือเห็ น, ทุ กขดูแล วน าเกลี ยด. ที นี้ ความหมายของคํ า ๆ นี้ มี อี กอย างหนึ่ งว า ทุ แปลว า ยาก, ขะแปลว า ทน, ทุ กข แปลว า ทนยาก คื อเจ็ บปวดทนได แสนยาก. นี้ ไม ใช ความหมายเดี ยวกั น แต ถึ งอย างนั้ น ก็ จะพอเห็ นได วา มั นรวมกั นอยู อย างหนึ่ ง คื อความน าเกลี ยด. ตั วเราที่ กํ าลั งเป นทุ กข ทนทรมานนี่ มันก็ทุกขทรมานดวย และความทรมานนั้นก็นาเกลียดดวย. ที นี้ ตั วเราบางเวลาไม ได ท นทุ ก ข ท รมาน กํ าลั งสนุ ก สนาน; แต แล ว มันก็มีอาการแหงความเปลี่ยนแปลง : ความโง ความหลง รวมอยูที่ความเปลี่ยน แปลง; ตัวเองก็ไมรูสึก ; อาการที่เปลี่ย นแปลงนั่น แหละ คือ ความนาเกลีย ด. คนก็ หั วเราะอยู ในเมื่ อสนุ กสนาน; แต สรรพสั งขารเหล านั้ นก็ ยั งคงมี ความไม เที่ ยง คื อ เปลี่ ยนแปลง. ไปดู ที่ อาการเปลี่ ยนแปลง หรือไม เที่ ยง แม ของคนที่ กํ าลั งหั วเราะอยู ก็นาเกลียด นี่ ความหมายของความทุกขที่กวางขวางที่สุดก็คือนาเกลียด : ทุกขเวทนาก็ น าเกลี ยด, สุ ขเวทนาก็ น าเกลี ยด; จึ งพู ดได วาทั้ งสุ ขเวทนาก็ เป นทุ กข ทุ กขเวทนาก็เปนทุกข.
www.buddhadasa.info ที นี้ เราดู ที่ สิ่ งที่ เรียกวา “ตั วเรา” เอง หรือตั วเอง; บางเวลามั นเป นทุ กข เหลื อทนอย างนี้ ทั้ งทางกาย ทางจิ ต เป นทุ กข อย างนี้ ตั วเองที่ เป น ทุ กข ทุ กข ห นั ก ทุกขทรมาน แลวอาการนั้นก็นาเกลียด; บางเวลาไมไดเปนทุกข ไมหนัก ไมทรมาน อะไร แต มั นก็ เป นของที่ เปลี่ ยนแปลงไป อย างกั บเป นมายาชนิ ดหนึ่ ง นี่ ก็ น าเกลี ยด. ความหมายวา นาเกลียด จึงเปน ความหมายทั่วไป ทั้งหมดทั้งสิ้น ของคําวาเปนทุกข; ส วนความหมายวา ทนทรมาน เจ็บปวดนั้ น มั นมี เฉพาะในกรณี ที่ เป นความทุ กขชนิ ดนั้ น เทานั้น.
๓๓๔
ปรมัตถสภาวธรรม
ทีนี้ สําหรับคําวา “อุปาทานขันธเปนทุกข” นั่น ยอมหมายถึงตองทน ทรมานอย างใดอย า งหนึ่ งเสมอ คื อ มั น ละเอี ย ดไปกว า นั้ น ว า แม หั ว เราะอยู ก็ เป น การทนทรมาน ไม ต อ งนั่ งรองไห อ ยู . แม ว าเขาจะหั วเราอยู มั น ก็ มี อาการที่ เรี ยกว า ทนทรมาน; เพราะว าเขายึ ดมั่ นขั นธ นั้ น ๆ วาเป นตั วเราวาเป นของเรา. ดี ใจราเริงอยู ก็ คือทรมานใหเขาตองนั่งหัวเราะอยู ก็มีความนาเกลียดมีความไมจริง มีการที่เปลี่ยน แปลง; แล ว ก็ ต อ งถู ก รั บ โทษให ท นทรมาน คื อ ต อ งหั ว เราะอยู . นี่ ใ ครรู จั ก ตั ว เอง กั นอย างนี้ บ าง; ถ ารูจั กตั วเองอย างนี้ ก็ นั บ ว าไม ใช คนโงแล ว คื อรูจั กความทุ กข นั้ น พอสมควรแลว ก็จะงายเขาที่จะรูวา ทุกขนี้มาจากอะไรกันแน ไดยิ่ง ๆ ขึ้นไป. ทีนี้ ก็ยังมีคําที่จะตองดูตอไปอีกคือคําวา อนิจจัง ที่แปลวา ไมเที่ยง; ถา ขึ้นชื่อวาไมเที่ยงแลว มันก็ตองนาเกลียด คือเปนทุกข ในความหมายวานาเกลียด. สิ่ งใดไม เที่ ยงเปลี่ ยนแปลงเป นธรรมดา สิ่ งนั้ นต องเป นทุ กข คื อน าเกลี ยด. ที นี้ อนิ จจั งนี้ เมื่ อยึ ดถื อให มาเป นของเที่ ยง ให มาตรงตามความประสงค ของเรา มั นก็ ยิ่ งหนั กมากขึ้ น ไปอีก คือเปนทุกขดวย ก็เลยนาเกลียดสองเทาตัว.
www.buddhadasa.info ความที่ไมเที่ยงก็เปนทุกขอยูแลว นาเกลียดอยูแลว, แลวไปเอามายึดถือ จะใหมันเที่ยง เกิดความทุกขทรมานใจขึ้นมา จึงเปนสองนาเกลียด. สวนอนิจจัง ซึ่ ง เป น ไปตามธรรมชาติ ที่ ใ ครมิ ไ ด ยึ ด ถื อ ยั ง ไม ทํ า ความทุ ก ข ท รมานแก ใ คร มั น ก็ น า เกลี ย ดเดี ย ว, น า เกลี ย ดแต เพี ย งว า มั น อนิ จ จั ง คื อ ไม เที่ ย ง. นี้ ก็ คื อ ให ดู ที่ ตั ว เอง ว าตั วเองจะเป น รางกายหรือจิ ตใจก็ ต าม มั น ไม เที่ ยง, เมื่ อ ไม ไปยึ ด ถื อ เข า ก็ ไม เกิ ด ความทุกขชนิดที่ทรมาน; แตความไมเที่ยงของมันนั้น นาเกลียด, นี่เรียกวานาเกลียด หนึ่ง คือวา นาเกลียดอยู ๑ นาเกลียด.
ถาใครไปยึดถือของไมเที่ยงนี้จะใหเปนอยางนั้นอยางนี้ขึ้นมา มันก็เกิดหนัก ขึ้นมาอีก ทรมานขึ้นมาอีก มันจึงเปน ๒ นาเกลียด; นี่ก็เรียกวาไมรูจักตัวเองเหมือนกัน.
อาการที่เกิดไดและเกิดไมไดแหงปญจุปาทานักขันธโดยวิธีแหงปฏิจจสมุปบาท
๓๓๕
ขั น ธ เฉย ๆ มั น ไม เที่ ย ง มั น ไม เที่ ย งอยู แ ต ต ามขั น ธ ไม บี บ คั้ น ใคร; เรียกวามันนาเกลียด ๑ น าเกลี ยดเทานั้น, นาเกลียดเดียว; แตพอขันธนี้ กลายเป น อุ ป าทานขั น ธ ขึ้ น มา ถู กยึ ดมั่ นเป น ตั วกู -เป นของกู ขึ้ นมา มั นก็ เพิ่ มความทนทรมาน ใหอีกสวนหนึ่ง ก็เลยเปนสองนาเกลียด. บางเวลาคนโง มี ความน าเกลี ยดเพี ยงอย างเดี ยว, บางเวลาคนโง มี ความ นาเกลียดเพิ่มขึ้นสองอยางคือ สองนาเกลียด. เมื่อไมไดยึดถือขันธก็เปนไปตามเรื่อง ของอนิจจัง ก็เปนทุกขังชนิดที่นาเกลียดเทานั้น; พอยึดถือก็มีทุกขังชนิดทรมาน เพิ่ ม ขึ้ น มาอี ก มั น จึ ง เป น สองน า เกลี ย ด. ฉะนั้ น วั น หนึ่ ง คื น หนึ่ ง ก็ ค วรจะทดสอบ ตั วเองเรื่ องนี้ กั นบ าง ว าเป นขั นธ เฉย ๆ เมื่ อไร, หรือมั นเป นอุ ปาทานขั นธ เมื่ อไร, มั น น าเกลี ยดสองเท าตั วเมื่ อไร, หรือวาน าเกลี ยดเพี ยงเท าตั วหนึ่ งเมื่ อไร หรือวาไม น าเกลี ยด เลยเมื่อไร.
พึงเขาใจวา ขันธ ไมใชอยางเดียวกัน
www.buddhadasa.info ที่ไดพูดมาแลววา บางเวลาเราก็ ไม ได นึกถึ งขั นธ ไมไดยึดมั่นในขันธใด และก็ ไม นึ กถึ งขั นธ ไม ได ปรุงกั นขึ้ นเป นขั นธ มี รางกายจิ ตใจ ที่ ไม มี การสั มผั สโดยทาง ทวารไหน ไม ป รุ ง เป น ขั น ธ ไ หน; อย า งนี้ มั น ก็ ไ ม ต อ งเป น ทุ ก ข แล ว ก็ เรี ย กว า ไม มี ตั วเองด วย. แต คนก็ ไม เคยคิ ดวาเวลาอย างนี้ เราไม มี ตั วเอง เราก็ จ ะเหมาหมดว า เรามีตัวเองอยูจนตลอดชาติ ตลอดชีวิตทุกเวลานาที.
นี่ คื อข อที่ ว า ไม มี ความรู เรื่ องว าเมื่ อไรมั นเป นเหมื อนกั บว าถู กทรมาน ถู ก จํ า ขั ง , เมื่ อ ไรมั น ไม ถู ก ทรมาน ไม ถู ก จํ า ขั ง ; เพราะมั น ไปมั ว ฟุ ง เฟ อ แต เรื่ อ งต า ง ๆ. ทั้ งที่ ถู กจํ าขั งนั่ นแหละ ก็ เอาเรื่องที่ จํ าขังนั้ นแหละมาโอ อวดกั น นี้ เรียกวาไม รูจั กตั วเอง ทั้งในแงที่วาเปนขันธลวน ๆ หรือวาเปนอุปาทานขันธแลว ก็มีความนาเกลียด หรือ
๓๓๖
ปรมัตถสภาวธรรม
มี ความโงจนกว าเกลี ยด; นี่ หลายซั บหลายซ อน. ดั งนั้ นจึ งถื อวาเป นเหตุ ผลที่ เพี ยงพอที่ เรา จะตองทนศึกษาเรื่องขันธและเรื่องอุปาทานขันธ. พู ดอี กที หนึ่ งก็ วา เรื่องยึ ดถื อกั บเรื่องที่ ไม ได ยึ ดถื อ ถ ามั นเป นเพี ยงขั นธ เฉย ๆ ก็ ไม ได ยึ ดถื อ, พอยึ ดถื อเข ามั นก็ กลายเป นอุ ปาทานขั นธ ; เรื่ องยึ ดถื อไม ยึ ดถื อ มั นก็ สลั บกั นอยู อย างนี้ ในวั นหนึ่ ง ๆ. เนื้ อตั วรางกายของเราประกอบอยู ด วยขั นธ บางเวลา ไม ได ยึดถื อ เดี๋ยวเป นขันธนั้ น เดี๋ ยวเป นขันธนี้ ก็ เป นได เรื่อย ๆ ไปโดยไม ได ยึดถื อ ก็ไม มี ความทุกข; แตพอยึดถือก็กลายเปนอุปาทานขันธ ก็เลยเปนทุกข. เดี๋ ยวนี้ เราพู ดปนเปกั นไปหมด พู ดขั นธเป นอุ ปาทานขั นธ พู ดอุ ปาทานขันธ เป นขั นธ ปนกั นไปหมด; แม ว าตามธรรมชาติ มั นก็ พู ดปน ๆ กั นอย างนั้ นด วยเหมื อนกั น; แม พ ระพุ ทธเจ าเองท านก็ ต รั ส ปน ๆ กั น ไป. ถ ายิ่ งคํ าที่ เอามาแต งเป น คาถา คื อ โคลง กลอน กาพย ด วยแล ว ยิ่ งปนกั นใหญ เพราะคาถาบั งคั บให ต องการจํ านวนพยางค หรื อ หนักเบา อยางนั้นอยางนี้ : ใชคําวาขันธเฉย ๆ แตหมายถึงอุปาทานขันธก็มี.
www.buddhadasa.info ตั วอย างเช น ภาราหเว ปฺ จกฺ ขนฺ ธา -ขั นธ ทั้ งหลาย ๕ เป นของหนั กเน อ อย างนี้ . คํ าวาขั นธ ในที่ นี้ หมายถึ งอุ ปาทานขั นธ เพราะตรงนี้ มั นเป นคํ ากลอน ก็ ต องการ จะพู ดจํ ากั ดตามมาตราของคํ ากลอน ก็ เลยพู ดได แต คํ าว าขั นธ ; แต ถ าโดยหลั กธรรมะ แล ว ขั น ธ ที่ ไม ถู ก ยึ ด ถื อ มั่ น ด ว ยอุ ป าทาน ไม มี อุ ป าทานนั้ น มั น ไม เป น ทุ ก ข . อย า ง พระองค ก็ ต รั ส เองอี ก แหละว า สงฺ ขิ ตฺ เตน ปฺ จุ ป าทานกฺ ข นฺ ธ า ทุ กฺ ข า -เมื่ อ กล า ว โดยสรุปแลว ขันธทั้ง ๕ ที่ประกอบอยูดวยอุปาทาน เปนตัวทุกข.
เป นอันวา แม ในบางคราวที่ พ ระพุ ท ธเจ าท านตรัสวาขั นธ เฉย ๆ ท าน หมายถึ งป ญจุปาทานขั นธ ก็ มี . แต วาการที่ อาตมาพู ดอย างนี้ อาจจะกลายเป นคนโง ไปเองก็ได; เพราะคาถาคํากลอนที่วา ภารา หเว ปฺจกฺขนฺธา นั่นจะเปนพระพุทธเจา
อาการที่เกิดไดและเกิดไมไดแหงปญจุปาทานักขันธโดยวิธีแหงปฏิจจสมุปบาท
๓๓๗
ท านตรั สเองจริ งหรื อไม ก็ ไม ทราบเหมื อนกั น; แต มั นมี อยู ในพระบาลี อย างนั้ น. แล วมี มากเหลื อเกิ นที่ วา พระพุ ทธเจ าตรัสเป นคํ ากลอน ในบางครั้งภี ร แล วก็ ทั้ ง ๆ คั มภี รเลยก็ มี ; พระพุทธเจาดูจะเปนนักกาพยกลอนยิ่งกวาผูใดในโลกเสียอีก. เอาละ, เป น อั น ว า ถ า เราจะศึ ก ษากั น ในแง ข องธรรมะแล ว ต อ งให รู ไ ว เปนหลักที่ตายตัววา คําวาขันธ กับคําวาอุปาทานขันธนั้น มิใชสิ่งเดียวกัน แตก็มิ ได อื่ น จากกั น . ข อ นี้ ก็ มี อ ยู ใ นพระบาลี มั ช ฌิ ม นิ ก าย อุ ป ริ ป ณ ณาสก ชั ด อยู แ ล ว ว า ขัน ธห รือ อุป าทาน, หรือ อุป าทานขัน ธนี ้ ไมใ ชสิ ่ง เดีย วกัน ; แตม ัน ก็ม ิใ ชอื ่น จาก กั น เพราะถ ามั นจะเป นอุ ปาทานขั นธ ขึ้ นมา มั นก็ เป นที่ ขั นธ นั่ นแหละ และอุ ปาทานนั้ น ก็ไมใชสิ่งเดียวกับอุปาทานขันธ. อุ ป าทาน แปลว า ความยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น อุ ป าทานขั น ธ แปลว า ขั น ธ ที่ มี ค วามยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น ; ฉะนั้ น คํ า ว า ขั น ธ ก็ ดี คํ า ว า อุ ป าทานก็ ดี คํ า ว า อุ ป าทานขั น ธ ก็ ดี มั น ไม เป น สิ่ ง เดี ย วกั น ได , มั น มี ค วามต า งกั น อยู ; แต มั น ก็ มิ ไ ด อื่ น จากกั น คื อมั นต องอยู ด วยกั น มั นจึ งจะเป นนั่ นเป นนี่ ขึ้ นมาได : ต องมี ขั นธ และมี อุ ปาทานเข า ไปยึ ดมั่ นในขั นธ จึ งจะเกิ ดเป นอุ ปาทานขั นธ ขึ้ นมา. ในนั้ นจึ งมี ทั้ งขั นธ มี ทั้ งอุ ปาทาน และรวมกั นเป นป ญจุ ปาทานขันธ; ถ าเราไม ดู ให ดี มั นก็ สั บสนปนเปกั นไปหมด เกี่ ยวกั บ คําพูดอยางที่กลาวมาแลว.
www.buddhadasa.info นี่ มั นก็ เป นเหตุ ผลที่ เพี ยงพอแล ว ว า เรายั งมี ความเข าใจน อยอยู มาก ในเรื่ อง ที่ เกี่ ยวกั บคํ าว า ธาตุ , ว าอายตนะ, ว าขั นธ , ว าอุ ปาทานขั นธ . แม แต คํ าว าความทุ กข พอเอามาพู ดเข า ทุ กคนก็ มองเป นเรื่ อง ก. ข. ก. กา ไปหมด ไม อยากจะสนใจ เพราะคิ ด เสี ยว าเดี๋ ยวนี้ เก งแล ว มั นเป นคนที่ เรี ยนมาก มี ปริ ญ ญาแล ว จะให มาเรี ยน ก. ข. ก. กา กันอีกก็กระฟดกระเฟยด ไมยินดีที่จะศึกษา.
๓๓๘
ปรมัตถสภาวธรรม
แต แ ล ว อาตมาก็ เห็ น ว า มั น หลี ก ไม พ น มั น ต อ งทน หรื อ ว า ต อ งบั ง คั บ ให ท นที่ จะศึ ก ษาเรื่อ งที่ เรีย กวา ก. ข. ก. กา นี้ ใหเขาใจชัดเจนแจม แจงให จนได อย างที่ จะเรียกว าขึ้ นสมองคล องแคล วกั นนั่ นเอง; แล วก็ ไม ให ศึ กษาจากหนั งสื อหนั งหา จากอะไรอื่นดวย แตใหศึกษาจากรางกายที่ ยังมี จิตใจนี่ คือรางกายที่ยังเป น ๆ นี่ หรือ ที่จะเรียกวาจากชีวิตนี้เองก็ได อยางที่เราก็มีชีวิตยังไมตาย ก็นั่งอยูที่ตรงนี้ก็มีอยู. ลองสอบสวนตั ว เองดู ว า เมื่ อ ไรเราเป น อะไร, เมื่ อ ไรเราเป น อย า งไร, เมื่ อไรเราเป นเพี ยงสั กว ากลุ มแห งธาตุ , เวลาไหนนาที ไหนเราเป นเพี ยงสั กว ากลุ มแห ง ธาตุ ดิ น ธาตุ น้ํ าธาตุ ไฟ ธาตุ ลม อากาส หรื อวิ ญ ญาณ, เมื่ อไรนาที ไหนเรามั นเกิ ดเป น อายตนะ คื อ ว า เกิ ด ธาตุ ที่ ป รุ ง กั น เป น ธาตุ ท างตา ทางหู เป น ต น ; แล ว ก็ เป น ธาตุ ขางนอกมาแตะตอง แลวปรุงเปนขันธขึ้นมา เปนวิญญาณขันธ. ดู ตั วอย างเช นตากระทบรู ป ก็ เกิ ดวิ ญญาณทางตาขึ้ นมา เวลานั้ นเรียกว า ไม ใช สั กว ากลุ มธาตุ เฉย ๆ แล ว มั นเป นกลุ มธาตุ ที่ ลุ กขึ้ นปรุงแต งกั นชุ ลมุ นแล ว; อย างนี้ ก็ เ รี ย กว า เป น ขั น ธ ขึ้ น มาได . แล ว เมื่ อ ใดมั น เป น ขั น ธ ขั น ธ ไ หน คื อ เป น รู ป ขั น ธ เวทนาขั น ธ สั ญ ญาขั น ธ สั งขารขั น ธ วิ ญ ญาณขั น ธ ก็ ต อ งเข าใจ; ไม ใช ว าจํ าแต ชื่ อ ได แ ลวก็ พู ด ไม ถู ก นี่ เป น ขั น ธแล ว เมื่ อ ไรมั น เลยเตลิ ด ไปเป น อุ ป าทานขั น ธ คื อ ถู ก ยึดมั่น แลวก็เปนตัวทุกข, แลวก็กําลังทุกขอยู.
www.buddhadasa.info ทบทวนอี กที ห นึ่ งก็ ได ว าเมื่ อ ใดเป น เพี ย งกลุ ม ธาตุ ? หมายความว ามั น แทบจะไม มี ค วามรู สึ ก คิ ด นึ ก อะไร; โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง เช น เวลาหลั บ หรื อ เวลาที่ ใจเหม อลอยไปไม ได คิ ดอะไร ก็ เรี ยกว าเวลานั้ นมั นเป นเพี ยงกลุ มหรื อกองของธาตุ ดิ น ธาตุ น้ํ า ธาตุ ไฟ ธาตุ ลม กระทั่ งวิ ญญาณธาตุ ก็ ยั งแทรกแซงอยู . อากาสธาตุ ความว าง ที่วาง เนื้อที่วางก็แทรกแซงอยู เปนกลุมธาตุเทานั้นเอง โดยเฉพาะอยางยิ่งก็เมื่อหลับสนิท.
อาการที่เกิดไดและเกิดไมไดแหงปญจุปาทานักขันธโดยวิธีแหงปฏิจจสมุปบาท
๓๓๙
ทีนี้ เมื่อไรจะเปนอายตนะ? ก็เมื่อมีสิ่งที่ทําใหเกิดการกระทบ เชนวา ตา ธรรมดมันก็ไม ได เป นอายตนะอยูตลอดเวลา มั นเปนเพี ยงธาตุอะไรที่ ประกอบกันขึ้น เป นตา แม จะมี สิ่ งที่ เรียกวาเส นประสาทตา มั นก็ ยั งเป นพวกที่ เรียกวารูปธาตุ ; แต ถ าตานี้ มันไปเกิดพบอาศัยกันเขากับรูปขางนอก ตาเฉย ๆ ก็กลายเปนอายตนะขึ้นมา. ธาตุตาหรือจักษุธาตุกลายเปนจักษุอายตนะขึ้นมา รูปขางนอกมันก็กลาย ไปเป นรูปอารมณ หรือรูปารมณ ขึ้ นมา; เมื่ อตะกี้ มั นไม ได เป นอารมณ อะไร เดี๋ ยวนี้ มั น กลายเปนรูปารมณขึ้นมา. พอจั กษุ อายตนะกั บรู ปารมณ พบกั นเข า หรื อว าเนื่ องกั นเข า มั นก็ มี อะไร กระเด็ น ออกมาอย างหนึ่ ง คื อ จั กษุ วิ ญ ญาณเกิ ด ขึ้ น ; เพราะตากระทบรูป นี่ ก็ เกิ ด จักษุ วิญญาณขึ้นมา. เหมื อนกั บวาคนเขาเอาเหล็ กฟาดลงไปที่ หิ น เกิดประกายไฟขึ้นมา; อยางนี้มันไมเปนเพียงธาตุเฉย ๆ ไมเปนเพียงอายตนะเฉย ๆ ละ มันเกิดเปนขันธขึ้นมาแลว. เชนตาหรือรูปนี้ก็เปนรูปขันธขึ้นมาแลว เกิดวิญญาณขันธขึ้นมาสวนหนึ่ง แล ว. ที นี้ พอเกิ ดเป นวิญญาณขั นธ แล ว กระทบตา กระทบรูปพรอมกั นแล วก็ เรียกว า ผัสสะ, การกระทบนี้สมบูรณ ก็เรียกผัสสะนี้วาขันธหนึ่งเหมือนกัน สงเคราะห เขาไป ในสังขารขันธ คือการปรุง.
www.buddhadasa.info ที นี้ สั งขารขั น ธ การปรุงนี้ คื อ ผั ส สะนี้ มั น ก็ ต องเกิ ด เวทนาขั น ธ ขึ้ น มา รูสึก, ถาทางตา รูสึกสบายตา เป นสุ ขตา ถาไม สบายตาก็เป นทุกขตา, นี่ ก็เป นเวทนาขันธ เกิดขึ้นมาหยก ๆ. เวทนาขันธเกิดอยางนี้แลว, ก็ทําใหเกิดขันธถัดไปอีก, คือสัญญาขันธ. มีจิตใจสําคัญมั่นหมายในเวทนานั้น วาอยางไร, เพื่ออยางไร, อะไรอยางไรก็เรียกวา
๓๔๐
ปรมัตถสภาวธรรม
สัญญาขันธ; เชนสัญญาในเวทนานี้วา เวทนาสุข ก็เป นสั ญญาวาสุข, ถารูสึ กเปนทุ กข ในเวทนานี้ ก็มีสัญญาวาทุ กข คือทุกขสัญญา, กระทั่งจําไดหมายรูวาของอะไรของเพศ หญิง, อะไรของเพศชาย, ลวนแตเปนสัญญาขันธทั้งนั้น. มีสัญญาขันธเต็มที่อยางนี้แลว ก็ปรุงตอไปใหเปนสังขารขันธ คือคิดนึก ลงไปอย างยิ่ ง ที่ เรียกวาตั ณหา วิตก วิจาร เต็ มที่ มากมายหลายชื่ อ. รวมความแล วก็ คื อ ความคิ ด ที่ จะคิ ดดี คิ ดชั่ ว. หรือ คิ ด ไม ดี ไม ชั่ ว หรือ เป นมโนกรรมออกมาแล ว. บางที ก็ เลยออกมาเป น วจี ก รรม พู ด ออกมา, บางที ก็ เลยออกมาเป น กายกรรม ประพฤติ กระทํ าแก สั ตวบุ คคลใดขึ้ นมา ก็ เรียกวาสั งขารทั้ งนั้ น เป นความคิ ด เป นสั งขารขั นธ ทั้งนั้น. ที นี้ ถ าวาสั งขารขั นธ มี ความคิ ดอย างนั้ น ในที่ สุ ดกลายเป นอารมณ สํ าหรับ จิตจะรูสึกอีกทีหนึ่ง ก็มีมโนวิญญาณอันสุดทายที่จะรูวาเราคิด ตัวจิตนั้นคิดอยางไร, มีกรรมอยางไรเปนตน อีกทีหนึ่ง, ก็เปนวิญญาณขันธอีก.
www.buddhadasa.info แตอยางไรก็ดีขันธทั้ง ๕ นี้มีพรอมกันไมได; ฉะนั้น ขอใหทบทวนไวเสมอ อย างที่ พู ดมาแล วในครั้งที่ แล ว ๆ มาว า พวกเรานี่ ยั งพู ดผิ ด ๆ กั นอยู ว าเราประกอบอยู ด วย ขั นธ ทั้ ง ๕. บางคนกล ายื นยั นไปว าเขามี ขั นธ ทั้ ง ๕ พรอมกั นอยู ในตั วเขา ในเวลานั้ น อยางนี้ มั นก็เรียกวาหลั บตาพู ด คื อจํ าเขามาพู ด มั นก็ผิ ดหมด; เพราะคนเราจะมี ขันธ ทั้ง ๕ พรอมกันในคราวเดียวกันมันไมได. ขันธตองมีคนละที อันหนึ่งดับไปแลว อันหนึ่งจึงเกิดขึ้น, อันหนึ่ง ดั บ ไปแล ว อั น หนึ่ งจึ งเกิ ด ขึ้ น . รู ป ธรรมสองฝ ายให เกิ ด วิ ญ ญาณขั น ธ น อ ย ๆ ขึ้ น มา เกิดเปนผัสสะแลวมันจึงเกิดเวทนาขันธ; เวทนาขันธก็ทําใหเกิดสัญญาขันธ เกิดสัญญา ขันธแลวเวทนาขันธมันก็ดับไป. สัญญาขันธทําใหเกิดสังขารขันธ; เมื่อไปมัวคิดอยู
อาการที่เกิดไดและเกิดไมไดแหงปญจุปาทานักขันธโดยวิธีแหงปฏิจจสมุปบาท
๓๔๑
เป น สั งขารขั น ธ แล ว สั ญ ญาขั น ธ มั น ก็ ดั บ ไปอย างนี้ . มั น มี พ ร อ มกั น ไม ได ทั้ ง ๕ ขั น ธ , นี้เราเรียกวาเวลานี้กําลังมีขันธเฉย ๆ ยังไมใชอุปาทานขันธ. เมื่ อ ไรเรามี ขั น ธ เฉย ๆ ก็ ค วรจะรู ; เช น อย างนี้ เวลานี้ เป น ต น นี้ ท าน ทั้ งหลายทุ กคนอาจจมี เพี ยงขั น ธ เฉย ๆ ไม มี ป ญ จุ ป าทานขั น ธ ; แม ว ากํ าลั งฟ งอาตมา พู ดอยู มี ความคิ ดนึ กไปตามอยู พู ดเพราะ พู ดไม เพราะ อะไรก็ ตามใจ ก็ เป นเวทนาขั นธ สั ญญาขั นธ สั งขารขั นธ วิ ญญาณขั นธ อยู ได ; โดยที่ ไม ต องมี อุ ปาทาน จึ งเป นขั นธ เฉย ๆ ยั งไม เป น ทุ ก ข ; จนกว า มั น จะเผอิ ญ ประจวบเหมาะอะไร เกิ ด อุ ป าทานนั่ น นี่ ขึ้ น มาจน ในใจรําคาญเปนทุกข มันจะเปนอุปาทานขันธและเปนทุกข. หรื อ ว าให มั น ง ายไปกว านั้ น ก็ เราก็ นั่ งอยู ที่ นี่ ตาของเราก็ ยั งไม บ อด เรา เหลื อ บไปทางไหนก็ เ ห็ น ต น ไม เห็ น ก อ นดิ น ฯลฯ; นี่ มั น ก็ ต อ งเกิ ด วิ ญ ญ าณขั น ธ เพราะตากระทบภาพนั้ นแล วมั นก็ เกิ ดผั สสะเต็ มที่ ก็ เกิ ดเวทนา คื อสบายตาหรือไม สบายตา. แต ว าความสบายตาหรื อไม สบายตานี้ มั น ไม ม ากพอที่ จะไห เกิ ด ฉั น ทราคะ หรื อนั นทิ ; ฉะนั้น ตาของเราจึงยังไมเปนนรก หรือยังไมเปนสวรรคขึ้นมา.
www.buddhadasa.info บางที ก็ จะคิ ดเล น ๆ ไปได เหมื อนกั น ว าเกี่ ยวกั บต นไม ต นนี้ มั นจะเป นอย างไร; แตถาไมพาดพิ งมาถึงความหมายที่เปนตัวเราเปนของเรา เปนราคะ เปนนันทิแลว มั น ก็ ไม ใช อุ ป าทานขั น ธ . ฉะนั้ น ลองส ายตาไปรอบ ๆ นี้ มั น ก็ จ ะมี ขั น ธ ล วน ๆ เกิ ด ขึ้ น ทั้ ง ๕ ขั น ธ ไ ด ; เรี ย กว า เวลานี้ เรากํ า ลั ง มี ขั น ธ เท า นั้ น และเกิ ด อยู ต ามลํ า ดั บ ทั้ง ๕ ขันธ. หรื อ ว า หู เราได ยิ น เสี ย งลมพั ด ได ยิ น เสี ยงเราไรร อ ง ได ยิ น นกร อ งอย างนี้ เสร็จแลวมันก็เลิกกันอยูนั่นแหละ มันเปนขันธลวน ๆ เปนทางทวารหู ไดยินเสียง
๓๔๒
ปรมัตถสภาวธรรม
เรไรร อ ง; แล ว บางที มั น จะร อ งแรงถึ งกั บ แสบหู มั น ก็ ไม เกิ ด อุ ป าทาน หรื อ เกิ ด กิ เลส อะไรได ก็ มี ; แม จ ะคิ ด นึ ก ว า มั น ร อ งเพราะดี ก็ รู สึ ก แล ว ก็ แ ล ว กั น ไปเท า นั้ น . นี่ เกิ ด ขันธเฉย ๆ อยางนี้อยู กลาวไดวามีอยูแทบจะตลอดเวลา และทางจมูกที่จะเหม็นหรือ หอมอะไรขึ้ นมา มั นก็ เหมื อนกั น; ส วนทางลิ้ นนั้ นมั นต องเฉพาะต อเมื่ อได ไปดื่ ม ไปกิ น ถึ งจะเกิ ดขั นธ ; ส วนผิ วหนั งนี่ ก็ เหมื อนกั น ต อมั นมี การกระทบสิ่ งที่ มากระทบผิ วหนั ง, จึ งจะเกิ ด ขั น ธ เช น ถู กแดด ถู กลม จนกระทั่ งสั ม ผั สระหว างเพศ ซึ่ งนั่ นจะรุ น แรงถึ ง ขนาดที่ จะเกิ ดอุ ปาทานขั นธ . รวมความว าขั นธ เฉย ๆ นี่ มี ได บ อย แต ไม ใช ทุ กเวลานาที และจะมีไดบอยมากที่สุด.
เมื่อใดมีฉันทราคะ เมื่อนั้นมีอุปาทานขันธ ที นี้ เขยิ บออกไปว า เมื่ อ ใดจะมี อุ ป าทานขั น ธ ? นี้ มี ไม บ อ ย มี น อยลง ไปอี ก เพราะว าอุ ปาทานขั นธ หมายความว าไม ใช ขั นธ ล วน ๆ ไม ใช ขั นธ เฉย ๆ มั นเป น ขันธที่ อุปาทานเขาไปยึ ดครองแล ว. พู ดถึงคํ าวาอุปาทานกั นเสี ยหน อย คํ าวา อุ ปาทานนี้ บางทีพระพุ ทธเจา, ทานก็ตรัสเรียกวา นั นทิ ก็มี คือความเพลิน, บางทีก็เรียกวา ฉั น ทราคะ ก็ มี . ในหลาย ๆ สู ตรตรัสว า ยา นนฺ ทิ ตทุ ปาทานํ -สิ่ งใดเรียกว า นั นทิ สิ่ งนั้ นคื ออุ ปาทาน อย างนี้ ก็ มี เชนในตั ณหาสั งขยสู ตร เป นต น ที่ เป นสู ตรที่ สํ าคั ญ อย าง ในมหาปุ ณณมสู ตรมั ชฌิ มนิ กายก็ ว า ฉั นทราคะ ที่ มี อยู แล วในขั นธ นั้ นเรี ยกว าอุ ปาทาน; ถาเรียกวาอุ ปาทานขั นธ ก็ หมายวามี ขั นธด วย มี อุปาทานด วย. ฉั นทราคะนั้ นเรียกว า อุปาทาน; ฉันทราคะมีอยูในขันธนั้น เพราะฉะนั้น ขันธนั้นเรียกวาอุปาทานขันธ, ก็คือขันธที่ มีอุปาทานเขาไปสําคัญมั่นหมาย คือยึดครองอยู, ถาอยางนี้แลวก็หมายความวา เปนตัวทุกขที่ตองทนละ ไมใชนาเกลียดเฉย ๆ นาเกลียดชนิดที่ตองทนดวย.
www.buddhadasa.info ควรจะศึกษาใหเขาใจยิ่งขึ้นไปอีก วาเวลาใดเรามีปญ จุป าทานขันธ. ถาเวลานี้ทุกคนมีแตความรูสึกธรรมดาสามัญ เปนแตเพียงขันธลวน ๆ ทางตา ทางหู
อาการที่เกิดไดและเกิดไมไดแหงปญจุปาทานักขันธโดยวิธีแหงปฏิจจสมุปบาท
๓๔๓
ก็ กํ า ลั ง ไม มี ป ญ จุ ป าทานขั น ธ ฉะนั้ น จึ ง หาไม พ บ. เดี๋ ย วนี้ เราหาขั น ธ ที่ กํ า ลั ง เป น อุ ปาทานขั นธ ในตั วเรายั งไม พบ แล วเราก็ ยั งไม รูสึ กเป นทุ กข ด วย; จะต องไปหาหรือไปดู ใหพบ ใหเห็นและรูจัก ในเมื่อมันมีอุปาทานเขาไปยึดครองในขันธนั้น ๆ. จะบอกไว ให เป น ตั ว อย า ง เหมื อ นอย า งว า พอตาเหลื อ บไป พบสิ่ ง ที่ มี ความหมายมาก สํ าหรับความรัก หรือสํ าหรับความเกลี ยดก็ ตาม; พอตาเหลื อบไปเห็ น สิ่ งนั้ นแล ว มั นไม ใช อย างเดี ยวกั นกั บที่ เรานั่ งที่ นี่ แล ว เห็ นต นไม ต นไล แล ว; เพราะว า สิ่งที่เปนที่ตั้งแหงอาสวะแหงอุปาทานนั่น มันไดมาปรากฏเฉพาะหนาแลว. ยกตั วอย างที่ ดื่ นที่ สุ ดก็ คื อว า เห็ นเพศตรงกั นข าม ก็ คื อตาเห็ นเพศตรงกั น ขามในฐานะเปนรูป นี้เกิดจักขุวิญญาณขึ้นมาทางตา ขณะที่แลเห็นเพศตรงกันขาม.
อวิชชาพรอมอยูเสมอ ที่จะเขาผสม ทีนี้ อวิชชานี่พรอมอยูเสมอ ถึงกับพระพุทธเจาทานตรัสวา มันมีอยูทุกหน ทุ ก แห ง สิ่ งที่ เรี ย กว า สพฺ เพสุ ธมฺ เมสุ อนุ ป ติ ต า มั น พร อ มที่ จ ะลงมาในที่ ทุ ก แห ง . อวิ ชชานี้ เข ามาผสมเข าไปในสั ม ผั สนั้ น คื อ สั ม ผั ส ทางตานั้ นถู กอวิ ชชาผสม มั นจึ งไม สั ม ผั สเฉย ๆ เหมื อนอย างเมื่ อเราเหลื อบเห็ น ต น ไม นี้ ; เพราะมั นไม เกี่ ยวกั บ วิ ชชาหรื อ อวิ ชชา. แต ถ าเราเห็ น ภาพเพศตรงกั น ข ามของคนมี กิ เลสนี่ มั นมี สิ่ งที่ เรียกว า อวิ ชชา ซึ่ ง พร อ มอยู เสมอในที่ ทุ ก หนทุ ก แห ง ที่ จ ะเข า ผสมโรง; พออวิ ช ชาผสมโรงเข า ไปใน ผัสสะนั้น ก็เปนอวิชชาสัมผัส. เมื่อเปนอยางนี้สัมผัสนั้นก็ผิดจากสัมผัสธรรมดาเสียแลว คื อสั มผั สด วยอวิชชาเสี ยแล ว. ตรงนี้ อยากจะแทรกข อที่ ว าทํ าไมจึ งพู ดว า หรือถื อว า อวิชชามีอยูในที่ทุกหนทุกแหง? ทั้งนี้ก็เพราะวา เราไมรู คือเรามีแตความไมรู วาอะไร เป นทุ กข , อะไรเป นเหตุ ให เกิ ดทุ กข , อะไรเป นความไม มี ทุ กข , อะไรเป นทางแห งความ ดับทุกขเราไมรู, เราก็ไมรูมาแตในทอง. ความรูนี้ก็ยังขาดอยู ซึ่งเปนความไมรู แตวามันยัง
www.buddhadasa.info
๓๔๔
ปรมัตถสภาวธรรม
ไม มี โอกาส ทํ าหน าที่ ที่ จะได แสดงบทบาทของมั น; พอตาของเราเห็ นรูปที่ เป นที่ ตั้ งแห ง อาสวะแห งกิ เลสนี่ อวิ ชชาก็ มี โอกาสทั นที ที่ จะแสดงบทบาทของมั น : ความไม รูหรื อ ความปราศจากความไมรูนั่นแหละ เขามาผสมในการสัมผัสนั้น ก็เลยเรียกวาอวิชชาสัมผัส. เหมื อนกั บในสู ตรที่ กล าวว า เด็ กกุ มารน อย ๆ เติ บโตขึ้ นมา มี ความรู สึ ก ทางอายตนะ ไดบริโภคอารมณแลวเกิดนันทิอยางนี้ ก็เกิดอุปาทาน; นี่ก็เพราะ เหตุ วาป ญญาในเรื่อง เจโตวิมุ ตติ หรือป ญญาวิมุ ตติ มิ ได มี แก เด็ กนั้ น, คื อความรูเรื่อง เจโตวิมุ ตติ หรือป ญ ญาวิมุ ตติ มิ ได มี แก เด็ กนั้ น แก กุ มารนั้ น. ดั งนั้ น กุ มารนั้ นก็ เป น ธรรมดาอยูเองที่จะเกิดนันทิ, เกิดอุปาทานในสิ่งที่เด็กนั้นไดกระทบ ในวันนั้นในวันนี้. นี้คืออาการที่เรียกวา อวิชชา ยิ่งกวามีอยูในที่ทุกหนทุกแหงเสียอีก คือมัน พรอมอยูเสมอ; เพราะวาไมรูมาแตในทอง แตวาความไมรูนั้นมันยังไมไดโอกาสที่จะ แสดงบทบาท หรือทํ าพิ ษขึ้ นมา. พอถึ งวันหนึ่ ง คื นหนึ่ งมั นก็ มี โอกาสที่ มี นจะทํ าพิ ษ ขึ้ นมา และก็ เมื่ อเด็ กนั้ นเขาไปได รับอารมณ อั นนี้ เข า; อวิ ชชานี้ ก็ ผสมโรงลงไปในการ ไดเห็นอารมณนั้น ก็เกิดการสัมผัสทางตาที่ประกอบไปดวยอวิชชา.
www.buddhadasa.info ที นี้ ไม ใช แต เด็ กคนนั้ น คนโต ๆ แล วก็ เป น อย างนั้ น และก็ เป น มากขึ้ น ทุ กที , เป นมากขึ้ นทุ กที ที่ เมื่ อโอกาสถึ งเข าแล ว ก็ จะมี อวิชชาสั มผั สในอารมณ อั นเป น ที่ตั้งแหงอุปาทาน. ธรรมดาสิ่งทั้งหลายทั้งปวงก็มีอยู, แตวามันไมมีเหตุไมมีปจจัย ไมมี โอกาสที่ จะเป นที่ตั้ งแห งอาสวะ หรืออุปาทาน; ถามั นมีโอกาสที่ จะเป นที่ ตั้งแห ง อาสวะ อุปาทาน ก็จะเกิดอวิชชาสัมผัสขึ้นมาทันที.
ตั วอย าง เช นวา คนหนุ มเห็ นผู หญิ งสาว ก็ เป นโอกาสที่ จะเกิ ดอาสวะ หรือ เกิ ดอุ ปาทาน. แต ถ าสุ นั ขตั วหนึ่ งเห็ นหญิ งสาวคนนั้ น มั นก็ ไม ใช โอกาสที่ จะเกิ ดอาสวะ และอุปาทาน, ฉะนั้น ขอใหเขาใจเอาเอง วามันตองมีความเหมาะสม ที่ขันธนั้น ๆ
อาการที่เกิดไดและเกิดไมไดแหงปญจุปาทานักขันธโดยวิธีแหงปฏิจจสมุปบาท
๓๔๕
มันจะกลายเปนที่ตั้งแหงอาสวะและอุปาทาน. และตองเขารูปเขารอย ถูกฝาถูกตัว ถูกโอกาสถูกเรื่องของเหตุและปจจัยอยางนี้.
ใหพิจารณาดู การเกิด แหงขันธหา ที่พูดนี้ใหไวเปนตัวอยางสําหรับเอาไปเทียบเคียงเอาเองวา เมื่อไรมันจะ กลายเป นขั นธ ที่ เป นที่ ตั้ งแห งอาสวะและอุ ปาทาน เป นต น; นั่ นแหละ มั นจะเป น อุ ปาทานขั นธ ขึ้ นมาทางตาก็ ได ทางหู ก็ ได ทางจมู กก็ ได . แม แต ทางใจล วน ๆ คิ ดนึ ก ขึ้ น มาก็ ได ; เช น ว า ในที่ มื ด หรือ ว า หลั บ ตาอยู เราก็ คิ ด ถึ งคนที่ เราเกลี ย ด, ภาวะ หรือความหมาย หรือคุ ณค าของคนที่ เราเกลี ยด ก็ เป นธัมมารมณ แก จิตของเรา. จิ ตนั้ น ก็ สั มผั สธั มมารมณ นั้ น อย างนี้ แล วก็ เป นอวิชชาสั มผั สเต็ มที่ ก็ เกิ ดโกรธ เกิ ดเกลี ยด เกิ ดอะไรอยู ในเวลานั้ นได ; ฉะนั้ น ความรูสึ กที่ นึ กได หรือความสั มผั ส หรือเวทนาที่ เกิ ด ขึ้ น สั ญ ญา สั ง ขารที่ เกิ ด ขึ้ น ในเวลานั้ น ในกรณี นั้ น กลายเป น อุ ป าทานขั น ธ ไป หมด. ก็ น อนเป น ทุ ก ข อ ยู มื ด ๆ คนเดี ย วนั้ น ได . อย า งนี้ เรี ย กว า ขั น ธ นั้ น ได ก ลาย เปนอุปาทานขันธแลว.
www.buddhadasa.info เดี๋ยวนี้มันยากที่จะกลายเปนอุปาทานขันธ เพราะวายังไมมีอะไรมายั่ว; ตนไม กอนหิน กอนดินเหลานี้ ลวนแตหยุดนิ่งเปนปกติ ก็เปนอุปาทานขันธเกิดขึ้นไมได ในความรูสึกหรือในจิตของผูเห็น. แตลองไปเห็ นในสิ่งที่ ตั วรัก, ตัวชอบ, ตัวปรารถนา, ตัวตองการ, ตัวโกรธ, ตัวเกลียด, ตัวกลัว, อะไรขึ้นมา มั นก็จะเป นอุ ปาทานขั นธ ขึ้ น มาทั น ที . โดยการเห็ นก็ ได , การได ยิ น ก็ ได , โดยการดมก็ ได , การชิ ม ก็ ได , การ สัมผัสก็ได, การคิดนึกก็ได, อยางนี้เรียกวา อุปาทานขันธ.
ขณะนี้เรามีอุป าทานขันธหรือ เปลา? ก็ตอบวาเปลา; เพราะอาตมา กําลังพูดอยู ทานทั้งหลายกําลังฟงอยู แลวอุปาทานขันธจะเกิดขึ้นไดอยางไร; จนกวา
๓๔๖
ปรมัตถสภาวธรรม
จะไม ฟ ง หรื อ ฟ ง แล ว ไม ไ ด ยิ น แล ว ใจเลื่ อ นลอย คิ ด นึ ก ไปในทางความวิ ต ก กั ง วล อย า งใดอย า งหนึ่ ง จนกระทั่ ง เกิ ด ความกลั ว ความทุ ก ข ขึ้ น มา นั่ น ละจึ งจะเรี ย กว า มี อุ ป าทานขั น ธ เกิ ด ขึ้ น แล ว แก ท า นบางคน, แม ที่ นั่ ง ฟ ง อยู ที่ นี่ เดี๋ ย วนี้ . แต เดี๋ ย วนี้ อุปาทานขั นธเกิ ดไม ได เพราะเสี ยงที่ ได ยิ นนี่ มั นคอยจูงความรูสึ กไปตามคํ าพู ด, ก็ คิ ดนึ ก ไปตามคําพูด, มันไมไดใหโอกาสที่จะเอาไปยึดมั่นถือมั่นดวยอุปาทาน หรือดวยนันทิอะไร. ความต อ งการจะฟ ง ต องการจะเข าใจ มั น ก็ เป น สั งขาร เป น อะไรได ; แต ไม เป น อุ ป าทานขั น ธ ได , เป น ขั น ธ เฉย ๆ ไปได เรื่อ ย แต ไม เป น อุ ป าทานขั น ธ ได . การคิดตามไปที่พูดนี้ ก็เปนสังขารขันธได แตไมเปนสังขารูปาทานขันธได; หรือ แม ที่ สุ ดแต ว า บางประโยคพู ดแล วชอบใจ นี่ ก็ เป นเวทนาที่ เป นสุ ขได มั นก็ เป นเวทนา เฉย ๆ ไมถึงกับมีโอกาสจะเปนเวทนูปาทานขันธได. สมมติ วา อาตมาจะด าท านทั้ งหลายสั งคํ าหนึ่ ง มั นก็ เลยเป นคํ าที่ ไม มี ความหมาย เป นคํ าด าไปเสี ยก็ ได , แล วก็ ไม เกิ ดป ญ จุ ปาทานขั นธ ได มั นก็ คงเป นขั นธ เฉย ๆ อยู นั่ น. ฉะนั ้น คํ า ดา หรือ ไมด า นี ้ มัน ไมไ ดอ ยู ที ่คํ า ที ่พ ูด ออกไป มัน อยู ที ่ค วามหมาย; ถ าโอกาสมั นมี ป จจั ยมั นมี มั นเป นที่ ตั้ งแห งอุ ปาทานแล ว มั นก็ โกรธได ก็ เกิ ดอุ ปาทานขั นธ ขึ้ น, แล วก็ รอนเราอยู . นี่ บางที คํ าด าชนิ ดเดี ยวกั นนั่ นกลายเป นของขบขั นเสี ยก็ มี , แล วถ าท านทั้ งหลายรูว าอาตมาแกล งว า แกล งด าด วยแล วก็ ยิ่ งไม มี ความหมายเลย และก็ ไม เกิ ดป ญ จุ ปาทานขั น ธ ; เมื่ อไม เกิ ดป ญ จะปาทานขั นธ ก็ หมายความว าไม เป นทุ กข เทานั้นแหละ.
www.buddhadasa.info ที นี้ ก็ ลองทบทวนดู อี กที ว า เมื่ อไรเป นสั กว าธาตุ ? กลุ มธาตุ น ะ กอง ๆ กั นอยู นี่ เมื่ อไรธาตุ ลุ กขึ้ นมาเป นอายตนะ? เมื่ อไรอายตนะปรุงกั นขึ้ นเป นขั นธ ? เมื่ อไร ขันธนั้นไดโอกาสใหอุปาทานยึดครองกลายเปนอุปาทานขันธ? แลวเมื่อไรเปนทุกข?
อาการที่เกิดไดและเกิดไมไดแหงปญจุปาทานักขันธโดยวิธีแหงปฏิจจสมุปบาท
๓๔๗
นี้ ไม ต องพู ดแล ว เพราะว าถ าเป นอุ ปาทานขั นธ แล ว เป นทุ กข อยู ในตั วแล ว แล วเมื่ อไร มั นจะสิ้ นกํ าลั ง ถอยกํ าลั ง แล วดั บไปอย างนี้ ? แล วเมื่ อไรมั นจะเกิ ดขึ้ นมาอี ก? ถ าดั บไป มั นก็ ไปอยู เป นกองธาตุ ตามเดิ ม เป นกลุ มธาตุ กลุ มหนึ่ งอยู ตามเดิ ม จนกว ามั นจะปรุงกั น ขึ้ นมาเป นอายตนะ, แล วปรุ งมาเป นขั นธ , ปรุ งเป นป ญ จุ ปาทานขั นธ แล วก็ เป นทุ กข แล วก็ ดั บไป, เหลื ออยู เป นกองธาตุ อยู ตามเดิ ม. นี่ อาตมาเซ าซี้ มาก เพื่ อให เกิ ดความ เข าใจจริงและโดยตรงจากสิ่งที่ มี อยูจริง ไม ใชจากหนั งสือ; เซาซี้ก็เพื่ อวาให ไปสั งเกต ดู ทุ ก คนว าเมื่ อ ไร, เวลาไร, ที่ ไหน, อย างไร, เรามี อ ะไร, เรามี สั ก ว าธาตุ หรื อ ว าเรา มี เป นอายตนะสั มผั สอยู ก็ เกิ ดขั นธ นั่ นนี่ ขึ้ นมาแล ว, พอเผลอไปเป นอุ ปาทานขั นธ แล ว มีความทุกขแลว. พู ดอีกทีหนึ่งวาถาเราเกิดเป นป ญ หามี ความทุ กข ขึ้นมา ก็รีบค น ทีเดียว วามันเปนปญจุปาทานขันธอยางไร, ดวยเรื่องไร, ดวยในสิ่งใด. นี่เรียกวา การศึกษาที่ดีที่สุด หรือวาการทําวิปสสนาที่ดีที่สุด. พอความทุ กข เกิ ดขึ้ นมาอย างหนึ่ งแล วเพราะความรัก ความโกรธ ความเกลี ยด ความกลั ว ความวิ ต ก กั ง วล สารพั ด อย า ง ที่ มั น ทํ า ให จิ ต ใจเป น ทุ ก ข ได ; พอมั น มี ขึ้นในใจแลว ใหพยายามตะครุบเอาโอกาสนั้น ศึกษาใหรูจักตัวสิ่งที่เรียกวา อุปาทานขัน ธ เมื ่อ รวมกัน เขา ทั ้ง ๕ ชนิด แลว ก็เ รีย กวา ปญ จุป าทานขัน ธ, หรือ วา เมื่ อแยกออกไปเป นอย าง ๆ นั้ น เรียกว า รูปู ปาทานขั นธ เวทนู ปาทานขั นธ สั ญู ปทานขันธ สังขารูปาทานขันธ วิญญาณูปาทานขันธ อยางที่สวดอยูทุกวัน อยางนี้.
www.buddhadasa.info นี้คือเวลาที่เห็นแจงในลักษณะของวิปสสนา เขาใจธรรมะดีกวาอานหนังสือ เป นหอบ ๆ หรื อเป นตู ๆ ซึ่ งมั นจะช วยอะไรไม ได , จนกว าจะได เอาความรู นี้ มาใช เพื่ อจะ ศึ กษาให ถู กตั วธรรมทั้ งปวงที่ มี อยู จริง คื อป ญจุปาทานขันธ. นี่ ตั วการ ตั วราย ตั วสํ าคั ญ คื อเป นตั วทุ กข แล วก็ ลดลงมาก็ คื อขั นธ ล วน ๆ ไม มี อุ ปาทาน, ถ าลดลงมาก็ เป นเพี ยง อายตนะที่จะกระทบกัน ทําใหเกิดขันธขึ้นมา และเมื่อมันไมเปนอายตนะ มันก็เหลือ
๓๔๘
ปรมัตถสภาวธรรม
แต ธาตุ กองธาตุ หรือกลุ มธาตุ ที่ ประกอบกั นขึ้นอยู เป นในสิ่ งที่ สมมติ เรียกวาคน วาสัตวนี้ แลวก็เรียกวา ธาตุ ๖ ดิน น้ํา ไฟ ลม อากาส วิญญาณ. ธาตุ ๖ กองนี่ กองอยู ไม ลุกขึ้นมาทํ าอะไร; เมื่ อไรมันเป นอยางนั้ นจะ เห็นงาย ๆ ตอเมื่อเวลาหลับสนิท หรือวาเมื่อไมคิดนึกอะไร ธรรมทั้งหลายก็มีอยู จิต ก็ มี อ ยู มโนหรือ จิ ต นี่ ก็ มี อ ยู แล วอวิชชาธาตุ ก็ มี อ ยู . อยู ที่ ไหน? นี่ พ ระพุ ท ธเจ า ทานตรัสไวชัดมาก : อตฺถิ ภิกฺขเว มโน-มโนธาตุหรือธาตุจิต ธาตุวิญญาณนี้ก็มีอยู; อตฺ ถิ ธมฺ ม า - ธรรมทั้ ง หลายทั้ ง ปวง คื อ ธั ม มารมณ ก็ มี อ ยู ; อตฺ ถิ อ วิ ชฺ ช าธาตุ อวิ ชชาธาตุ ก็ มี อยู . เหล านี้ อยู ที่ ไหน? เราเพี ยงแต ฟ งเฉย ๆ เราก็ ไม รูว ามั นอยู ที่ ไหน; แลวมันจะทํากันอะไร, คือจะปรุงแตงกันอยางไร? ที่วาธรรมทั้งหลายทั้งปวงมีอยู คือวาในโลกสากลจักรวาลทั้งหมดนี้ จะมี อะไร กี่ ชิ้ น กี่ อย างก็ ตาม ที่ เป นรูปธรรมหรือเป นนามธรรม เป นรูปธาตุ หรือเป นนามธาตุ มั น ก็ เรีย กว าธรรมทั้ งนั้ น แหละ และก็ มี อ ยู จ ริง; แต มั น ยั งมี อี ก สิ่ งหนึ่ งที่ เรี ย กว ามโน คื อมโนธาตุ ที่ จะรูอะไรได ที่ จะได เป นอายตนะ ที่ เป นที่ ตั้ งของมั น สํ าหรับจะคิ ดนึ กได อยางนี้มันก็มีอยู; แตที่รายก็คืออวิชชาธาตุ คือความปราศจากความรู ภาวะที่ปราศจาก ความรูนี้ ก็มีอยูดวย.
www.buddhadasa.info ธาตุตาง ๆ ถูกอวิชชาผสมแลวจะเปนอุปาทานขันธ
เพราะฉะนั้น สิ่งตาง ๆ ก็เปนไปตามอํานาจของสิ่งทั้งสามนี้ คือจิตถูก อวิชชาครอบงําเสียแลว ก็สัมผัส หรือรูสึกตอสิ่งทั้งหลายทั้งปวงในลักษณะที่มันเปน อวิชชาสั มผั ส; แล วก็ เกิ ดขั นธนั่ นขันธนี่ ทุ กขันธตามลํ าดั บ ที่ ถู กยึดถื อด วยอุ ปาทาน : รูปขันธก็ถูกยึดถือ, เวทนาขันธถูกยึดถือ, สัญญาขันธถูกยึดถือ, สังขารขันธถูกยึดถือ, วิญ ญาณขันธถูกยึดถือ, นี่ผลมันมาจบลงอยางนี้ สําหรับที่ วาสิ่งทั้ งปวงมี อยู มโน คือใจมีอยู อวิชชาธาตุก็มีอยู; นี่ละคือโลก ก็คือตัวเราในฐานะที่เปนโลกนี้.
อาการที่เกิดไดและเกิดไมไดแหงปญจุปาทานักขันธโดยวิธีแหงปฏิจจสมุปบาท
๓๔๙
ถ าเราไม สนใจเรื่องนี้ ก็ จะไม รูธรรมะหรือความจริงเหลานี้ ; ที่ รายมาก ที่ สุ ดก็ คื อเราไม รูจั กตั วเรา อย างที่ ว ามาแล ว เป นคนโงเท าไรที่ ไม รูจั กตั วเรา. ฉะนั้ นเรื่อง มันจึงไมมีอะไรมากไปกวาที่จะพยายามมองขางใน ศึกษาจากขางใน ศึกษาจากตัวจริง จนให รู จั ก , เข า ใจ, และรู สึ ก , รู แ จ ง แทงตลอดในสิ่ ง นั้ น ๆ. เดี๋ ย วนี้ ดู เหมื อ นว า อ า น หนั งสื อ ก็ ม ากเกิ น ไป, ฟ งพู ด ฟ งบรรยายนี้ ก็ ม ากเกิ น ไป; เมื่ อ เที ย บกั น กั บ ความรู จั ก ความเข าใจ ความแทงตลอดนี้ ยั งมี น อยมาก; จนกระทั่ งพอถามเข าจริ งก็ ไม รู ว า ขั นธ คื อ อะไร อุ ป าทานขั น ธ คื อ อะไร, หรื อ ถามตั ว เองว า เวลานี้ กํ า ลั ง มี อ ะไรก็ ต อบไม ไ ด เช นว า เวลานี้ กํ าลั งมี เพี ยงสั กว าธาตุ เดี๋ ยวนี้ กํ าลั งมี เพี ยงสั กว าอายตนะ เวลานี้ กํ าลั งมี เพี ยงสั กว าขั นธ และเวลานี้ มี ถึ งอุ ปาทานขั นธ เสี ยแล ว อย างนี้ เป นต น คื อมี ความทุ กข . นี่เรียกวาไมรูจักตัวเรา. ทีนี้ก็ดูวาอาการที่เกิดได หรือเกิดไมไดแหงปญจุปาทานขันธนี่ มันก็อยู ที่ เรื่องที่ พู ดมาแล วทั้ งหมด; โดยสรุปวา ถ าเราปราศจากความรู เมื่ อไรที่ มี การสั มผั สแล ว อวิชชาธาตุก็เขามาผสมโรงอยางนี้; เมื่อนั้นแหละปญจุปาทานขันธก็เกิดได.
www.buddhadasa.info ขออยาลืมที่พูดมาแลววา พระพุทธเจาทานตรัสวามโน จิต มีอยู ธรรม ทั ้ง ปวงมีอ ยู อวิช ชาธาตุม ีอ ยู , คือ มีอ ยู ใ นที ่ทั ่ว ไป อยา งนี ้. ทีนี ้ค นมัน ยัง โงอ ยู ก็ ไม มี วิ ชชา อวิ ชชามั นก็ เข ามาเป นเจ ากี้ เจ าการ ในการที่ ตาเห็ นรู ป หู ฟ งเสี ยง จมู กได กลิ่ น ทั้ งหกอย างนี้ นั่ น แหละคื อ การเกิ ด ขึ้ น ได โดยสะดวก โดยง า ยดายแห งป ญ จุ ปาทานขันธ.
อริยสาวกมีวิชชาจะรูจักเรื่องทุกข ที นี้ ถ าว าเราได ยิ นได ฟ งคํ าของพระพุ ทธเจ า ได รั บการศึ กษา ฝ กฝนอบรม ในธรรมของพระอริยเจา; อยางนี้ก็เรียกวา เปนสัตบุรุษ เปนอริยสาวกอยางนี้ มันก็
๓๕๐
ปรมัตถสภาวธรรม
เปลี่ยนเปนวาวิชชาค อย ๆ เกิ ดขึ้น ๆ; ที่ไมเคยมีวิชชาแตกาลกอนนั้น เดี๋ยวนี้ก็มีวิชชา. ถ ายั งเป นปุ ถุ ชนคนพาลคนเขลา ไม ได ยิ น ไม ได ฟ ง ไม ได อบรมในธรรมของพระอริยเจ า มัน ก็ม ีอ วิช ชา; ก็เลยตา งกัน เปน สองพวก พวกหนึ ่ง เปน ปุถ ุช น, พวกหนึ ่ง เปน อริยสาวก. สั ต บุ รุ ษ กั บ ปุ ถุ ช น มี ค วามต า งกั น ตรงที่ ว า พวกหนึ่ งเต็ ม ไปด ว ยอวิ ช ชา ตามธรรมชาติไ ปตามเดิม , พวกหนึ ่ง ก็ม ีอ วิช ชาที ่เ บาบางลงไป. มีว ิช ชาเกิด ขึ้ นแทน จนกระทั่ งมี วิ ชชาพอตั ว คื อความรู ว าอะไรเป นทุ กข อะไรเป นเหตุ ให เกิ ดทุ กข พอตั ว . แต ยั งไม ใช ป ระโยชน อ ะไรได จนกว า จะมี ส ติ เอาความรู นั้ น มาใช ทั น ท ว งที ในขณะที่ ตาเห็ นรู ป หู ฟ งเสี ยง จมู กดมกลิ่ น ลิ้ นได รส กายได สั มผั สทางผั วหนั ง จิ ตได ความรูสึกคิดนึก. วิชชาถูกนํามาดวยสติสัมปชัญญะทันทวงที ก็จะปองกันไมใหเกิดอวิชชาสัมผัสขึ้นมาในจิตนั้น แลวจะไมเกิดอุปาทานขันธ นี่แหละคือกรณี ที่อุปาทานขันธเกิด ไม ได , ถ าจะพู ดให ชัดตามกรรมวิธีของปฏิ จจสมุ ปบาท นี่ ก็ ไม มี ป ายที่ จะเขี ยนกระดานดํ า จะฟงถูกแตคนที่จําสูตรของปฏิจจสมุปบาทไดเทานั้น.
www.buddhadasa.info ขอให ทบทวนอี กที หนึ่ งว า สู ตรปฏิ จจสมุ ปบาทในทางปฏิ บั ติ นั้ น พระพุ ทธเจ า ท า นได ต รั ส ว า จกฺ ขุ ฺจ ปฏิ จฺ จ รู เป จ อุ ปฺ ป ชฺ ช ติ จกฺ ขุ วิ ฺ ญ าณํ -เพราะอาศั ย ตา และรู ป ทั้ ง หลายด ว ย ย อ มเกิ ด จั ก ษุ วิ ญ ญาณ; นี่ ข อ หนึ่ ง จํ า ไว ซิ . ติ ณฺ ณํ ธมฺ ม านํ สงฺค ติ ผสฺโ ส-ความประจวบกัน แหง ธรรมสามประการนี ้ เรีย กวา ผัส สะ; คือ ตาด วย รู ปด วย และจั กษุ วิ ญ ญาณนั้ นด วย ประจวบกั นสามอย างนี้ เรี ยกว า ผั สสะ; ตรงนี้ สํ าคั ญ มาก. แล ว ผสฺ ส ปจฺ จยา เวทนา -เพราะผั สสะเป นป จจั ยจึ งเกิ ดเวทนา นี่ชั้นหนึ่ง. เวทนาปจฺจยา ตณฺหา -เพราะเวทนาเปนปจจัยใหเกิดตัณหา คือกลุม
อาการที่เกิดไดและเกิดไมไดแหงปญจุปาทานักขันธโดยวิธีแหงปฏิจจสมุปบาท
๓๕๑
ความคิ ดนึ กรูสึ กทั้ งปวง. ตณฺ หาปจฺ จยา อุ ปาทานํ - ตั ณ หาเป นป จจั ยก็ เกิ ดอุ ปาทาน อุ ปาทานปจฺ จยา ภโว -เพราะมี อุ ปาทานเป นป จจั ยจึ งมี ภพ นี่ เป นคนใหม เป นเรื่ องใหม คื อ เกิ ด อุ ป าทานขั น ธ เต็ ม ที่ . ภวปจฺ จ ยา ชาติ -เพราะมี ภ พเป น ป จ จั ย จึ ง เกิ ด ชาติ เกิ ด ตั ว กู แ บบนี้ ขึ้ น มา ชาติ ป จฺ จ ยา ชรามรณโสกปริ เทว.....เรื่ อ ยไปจนเอาชาติ ชรา มรณะตาง ๆ มาเปนตัวกูมาเปนของกูมาเปนปญหาสําหรับเกิดทุกขนี่เรียกวาปฏิจจสมุปบาท. นี่มันสําคัญอยูตรงที่วา อายตนะขางในกับอายตนะขางนอก อาศัยกันแลว เกิ ดวิ ญญาณขึ้ น :ถ าทางตาก็ เรียกจั กขุ วิญญาณ ทางหู ก็ เรียกโสตวิญญาณ. ทางจมู ก ก็เรียกฆานวิญญาณ, อยางนี้เปนตน. ทีนี้สามประการนี้ มาพรอมกันเรียกวาผัสสะ; ตรงนี้ แ หละสํ า คั ญ เป น จุ ด ตั้ ง ต น หรื อ ว า จุ ด หั ว เลี้ ย วหั ว ต อ . อายตนะข า งใน, อายตนะขางนอก, วิญ ญาณ, พบกันแลวเกิดผัสสะ แลวแตจะเปนอวิชชาสัมผัส หรือ เป น วิ ช ชาสั ม ผั ส . ถ า เป น อวิ ช ชาสั ม ผั ส คื อ มั น ไม มี ส ติ สั ม ปชั ญ ญะขณะนั้ น อวิชชาตามธรรมชาติ เดิ มที่ มี อยู คื อความไม รูอะไรนั้ น มั นก็ ได โอกาส ก็ เป นอวิชชาสั มผั ส -สั ม ผั ส ด ว ยอวิ ช ชา; ออกมาเป น เวทนา ก็ เป น เวทนาที่ ม าจากอวิ ช ชาสั ม ผั ส , ก็ เป น ที่ตั้งแหงกิเลส ตัณหา โดยไมมีปญหาอะไร เพราะมันเปนอวิชชาสัมผัส.
www.buddhadasa.info แตวาถาเราเปนอริยสาวก มีวิชชาอยู มีสติสัมปชัญญะอยู, พอสิ่งทั้งสามนี้ สั ม ผั ส กั น แทนที่ จ ะมี อ วิ ช ชา ความมื ด นั้ น เป น เจ าเรื อ นอยู มั น ก็ มี วิ ช ชาความรู ว า อะไรเป นอะไรตามที่ เป นจริ งมาทั น มาเป นผู กํ ากั บการในการสั มผั สนั้ น. ดั งนั้ น สั มผั ส นั้ น ก็ เป น วิ ช ชาสั ม ผั ส : สั ม ผั ส ด วยวิ ช ชา สั ม ผั ส ด ว ยความฉลาด สั ม ผั ส ด ว ยสติ สัมปชัญญะ.
ถาออกเป นเวทนามา เกิดเป นเวทนาออกมามันก็เป นเวทนาชนิ ดที่ ไม ใช มาจากอวิชชาสัมผัส แตเปนเวทนาที่จะเปนที่ตั้งของการศึกษา ของสติสัมปชัญญะ,
๓๕๒
ปรมัตถสภาวธรรม
ของความรู . ความเข า ใจไปเสี ย ; ดั งนั้ น เวทนาชนิ ด นี้ จึ งไม ให เกิ ด ตั ณ หาได แต ให เกิดสติปญญา มันไปตามเรื่องของวิชชาไป เรื่อยไป. เวทนา แทนที่จะใหเกิดตัณหา มันกลายเปนใหเกิดวิชชา ความรูที่วานี้ คื ออะไร, คื ออะไร, เป นอย างไร, จะต องทํ าอย างไร, แล วก็ มี ความคิ ด, มี ความเข าใจ, มี อ ะไรถู ก ต อ ง มั น ก็ เ ป น เรื่ อ งถู ก ต อ งไปเสี ย ,เป น มรรคมี อ งค แ ปดที่ ถู ก ต อ งไปเสี ย เพราะการไดสัมผัสอารมณนั้น. นี่ คื อ การที่ ไม อาจจะเกิ ดอุ ปาทานขั นธ ป ญจุ ปาทานขั นธ ไม อาจจะเกิ ดเพราะ เหตุนี้; เราตอ งศึ ก ษาจนเขาใจ และควบคุม การกระทบอยูจ นรูจักทีเดียววา เรา ทํ าผิ ด ทํ าถู ก เราชนะหรื อเราพ ายแพ ในการที่ อารมณ มากระทบในกรณี นี้ ๆ นี้ ๆ ซึ่ ง วั นหนึ่ งก็ มี หลาย ๆ กรณี ทางตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจ อย างนี้ ; หรือบางที อาจจะมาก ที่สุดสําหรับกรณีที่เกี่ยวกับใจ เพราะวาเราจะไปนอนรําพึงอยูก็ได; แลวมันก็เปนโอกาส ทางคู สุ ด ท าย ก็ คื อ ใจกั บ ธั ม มารมณ . นี้ ถ าเราเผลอไป มั น ก็ จะรํ าพึ งไปแต ในทางที่ เป น ทุ ก ข ทั้ ง นั้ น ; อุ ป าทานขั น ธ มั น ก็ เกิ ด ได ม าก เกิ ด ได จ นนอนไม ห ลั บ จนเป น โรค เสนประสาท จนเปนบา.
www.buddhadasa.info เราจะถื อว า ความรู เรื่ อ งอุ ป าทานขั น ธ ไม ใช เรื่ อ งที่ ไม เกี่ ยวกั บ ความเป น ความตายยั งไม ถู ก; ที่ ถู กเป นเรื่ องสํ าคั ญ ขนาดเป นความเป นความตายที่ เดี ยว; เพราะ ฉะนั้ น ขอให สั งเกตจนแยกกั น ได เด็ ด ขาดเลยว า เรื่ อ งสั ม ผั ส ตามธรรมดา ไม ให เกิ ด อุปาทานขันธก็มีอยู, และเกิดอุปาทานขันธก็มีอยู.
ในขณะแหงผัสสะ ตองใชสติสัมปชัญญะควบคุมใหมาก ถาวามันมีสติสัมปชัญญะ มีวิชชาอยู สัมผัสนั้นก็ไมอาจจะเกิดอุปาทานขันธ, อยางมากจะเกิดแตขันธเฉย ๆ แลวก็เปนที่ตั้งแหงการศึกษา แหงการเขาใจยิ่ง ๆ
อาการที่เกิดไดและเกิดไมไดแหงปญจุปาทานักขันธโดยวิธีแหงปฏิจจสมุปบาท
๓๕๓
ขึ้ น ไป ถ า มี ค วามเผลอสติ ด วย ไม มี ค วามรู ด วย ก็ เกิ ด โอกาสของอวิ ช ชา ทํ าให เกิ ด อุปาทานขันธ ก็เปนกิเลส เปนทุกขไป. นี่ จะต องสั งเกตดู ให ดี ว า บางที เรามี ความรูได เล าได เรียน ได อ านมามากแล ว แต ทํ าไมมั น ยั งเกิ ด ได ; เพราะวาเรายั งไม มี ส ติ สั ม ปชั ญ ญะพอ. ฉะนั้ น ต อ งให มี สติ สั มปชั ญญะด วย; ฉะนั้ นคนที่ เรี ยนธรรมะมาก ๆ แต ไม มี ธรรมะเลย เรี ยกธรรมะมาก ศึ กษาธรรมะมาก อ านธรรมะมาก พู ด ธรรมะได เป น ข าวตอกแตก แต เขาไม มี ธรรมะ เลยก็ มี , บางคนก็ เรี ย นเซ็ น สอนเซ็ น พู ด เซ็ น เป น อาจารย เซ็ น แต ไ ม มี เซ็ น เลย. อยางนี้ ก็ลองคิดดูเถอะ; เพราะวาเขาไมมีสติสัมปชัญญะที่จะดึงเอาความรูนั้นมา ทันทวงที ในโอกาสอันสําคัญที่สุด คือผัสสะ. ในขณะแหงผัส สะนี้ ถาวิช ชาความรู วิ่งมาไมท ัน ทว งทีแ ลว ถึง มี ก็ มี เสี ย เปล า ; มี ไว พู ด มี ไว เถี ย ง มี ไว ในหนั ง สื อ หนั ง หา หรื อ แม ว า มี จ ริ ง ๆ เข า ใจ จริ ง ๆ แต เผอิ ญ มั นเผลอสติ สติ สั มปชั ญ ญะไม ได เกิ ด แล วไม เอาความรู นั้ นมาช วยทั น ท วงที ผั ส สะนั้ น มั น ก็ ต กเป น เหยื่ อ ของอวิ ช ชา กลายเป น อวิ ช ชาสั ม ผั ส ไปตามเดิ ม . นักปราชญ ที่ แตกฉานในทางธรรมะก็ยังพลาดได เพราะเหตุที่ วาไมมี สติ ไมมี สติสัมปชัญญะ พอ; ฉะนั้น ความรู หรือวิชชานี้ ยังตองอาศัยสติอีกทีหนึ่ง.
www.buddhadasa.info อย าประมาท อย าเลิ นเล อ อย าวดดี ไปว ามี วิ ชชาแล วมั นจะรั บประกั นได ; มันตองมีสติสัมปชัญญะเปนยานพาหนะ ขนเอาวิชชามาใหทันทวงทีดวย สติอยางนี้ เขาจัดไวในพวกสมาธิ, วิชชาความรูนั้น เขาจัดไวในพวกปญญา; ไมใชพวกเดียวกัน.
มีปญญาขันธ สมาธิขันธ ตองมีสีลขันธดวย สติ นี้ มั นก็ต องประกอบอยู ด วยป ญญา มั นขนเอาป ญญา แต ตั วสติ เอง เปนลักษณะของสมาธิ : เปนจิตที่แนวแน แลวก็มีความวองไว มีความคลองแคลว
๓๕๔
ปรมัตถสภาวธรรม
ในหน า ที่ ข องตั ว อย า งนี้ . คุ ณ สมบั ติ อั น นี้ ข องจิ ต เขาเรี ย กว า สติ มั น สงเคราะห อ ยู ในกลุ มของสมาธิ สิ กขา หรือสมาธิ ขั นธ ; ส วนป ญญารูนั่ นรูนี่ นั้ น มั นเป นกลุ ม ป ญญา สิกขา, ปญญาขันธ. เอาละ, ที นี้ อยากจะพู ดเสี ยเลยว า เมื่ อมี สติ มี ป ญ ญาแล ว แต ถ าร างกาย มั น ไม ดี ร า งกายกํ า ลั ง ไม ส บาย หรื อ ว า ร า งกายกํ า ลั ง ไปทํ า ผิ ด ทํ า เลวอะไรอยู นี้ มั น ก็ จ ะเป น หมั น ได เหมื อ นกั น ; สติ ป ญ ญานั่ น ก็ เลยไม ไ ด ทํ า หน า ที่ . ฉะนั้ น การที่ ทํ าให ร างกาย วาจา อะไรนี่ ให ดี อยู เสมอนี่ ก็ เรี ยกว ามี ศี ล เรี ยกว าสี ลขั นธ คื อความ ปกติแหงกาย วาจา นี่เรียกวาศีล, สีลขันธ ก็ตองมีอยูเปนพื้นฐาน เพื่อวามันจะงาย แก การที่ จะมี สมาธิ ขั น ธ และป ญ ญาขั น ธ . เดี๋ ยวนี้ มี แต ค วามรู เพ อ เจ อ ฟุ งซ าน ก็ ไม ใช ป ญญาแท ; เพราะคนชนิ ดนี้ ไม อาจจะมี สติ และคนชนิ ดนี้ อาจจะมี ความผิ ดพลาดทางกาย ทางวาจา คื อไม มี ศี ลเลยก็ ได . เรื่ องมั นก็ เลิ กกั นเท านั้ นเอง มี แต จะเป นเรื่ องที่ จะเกิ ด ๆ เกิดกันพรูไปหมดของปญจุปาทานขันธ และมีความทุกขอยูตลอดเวลา. ขอให สั ง เกตดู ให ดี และแยกกั น ให ได ว าทํ าไมมั น จึ งเกิ ด ได , ทํ า ไมมั น จึ งเกิ ด ไม ได สํ าหรั บ อุ ป าทานขั น ธ ในชี วิ ต ประจํ าวั น ของเราคนหนึ่ ง คนหนึ่ ง. นี่ ข อ ให สนใจในข อนี้ นี่ แหละคื อการศึ กษาจริ ง รู ธรรมะก็ รู จริ ง มี ธรรมะก็ มี จริ ง จะได ช วย ตัวใหรอดได.
www.buddhadasa.info พิจารณาใหเห็นความตางของขันธ กับอุปาทานขันธอยูเสมอ เอาละ, ที่ ยั งเหลื ออี กนิ ดหนึ่ งสํ าหรั บเวลานี้ ก็ อยากจะย้ํ าถึ งข อที่ ว าขั นธ กั บ อุ ปาทานขั นธ มั นต างกั นอยู ดั งที่ กล าวมา เพราะว ามี ต นตอที่ มา คื อโอกาสหรื อที่ เหตุ ป จจั ยของมั นต าง ๆ กั นเช นว ารู ปขั นธ จะเป นรู ปภายนอก รูปภายในก็ ตาม, รู ปภายนอก เชนจักขุธาตุ รูปภายใน เชนรูปธาตุขางนอก รูปขันธ ก็ไดอาศัยดิน น้ํา ลม ไฟ
อาการที่เกิดไดและเกิดไมไดแหงปญจุปาทานักขันธโดยวิธีแหงปฏิจจสมุปบาท
๓๕๕
ที่ เรียกว าธาตุ ดิ น ธาตุ น้ํ า ธาตุ ไฟ ธาตุ ลม นี่ เรียกว า มหาภู ตรูป เป นเหตุ เป นป จจั ย เปนพื้นฐาน เปนเหมือนกับแผนดิน สําหรับเปนที่ตั้งอยูของรูปขันธ. เมื่ อมั นยั งเป นดิ น น้ํ า ลม ไฟอยู เป นสั กว าธาตุ แต พอเกิ ดเป นรูปนอก รูปในขึ้นมาไดแลว เรียกวาเกิดเปน รูป ขันธ; ทีนี้เมื่อมันเปนรูปขันธอยางนี้มันก็ทํา ให เกิ ดพวกวิ ญญาณขั นธ นามขั นธ ได โดยพระบาลี ที่ วา อาศั ยตากั บรูปย อมเกิ ดจั กขุ วิญญาณ นั่นคือนามขันธ ก็เพราะอาศัยการกระทบกันที่ เกรียกวาผัสสะ ระหวางตากับรูป เกิดจักษุวิญญาณนี้ ก็เกิดเวทนาขันธขึ้นมา; ฉะนั้น จึงถือวาเวทนาขันธมันตั้งอยูบน ผัสสะ มีผัสสะเปนปจจัย. พอมาถึงเรื่องของนามขันธแลวก็จะมีเรื่องผัสสะเปนตัวสําคัญ; ถาเปนเรื่องของรูปขันธ ก็ธาตุดิน ธาตุน้ํา ธาตุไฟ ธาตุลม เปนตัวสําคัญ. เวทนาขันธก็มาจากผัสสะ สัญญาขันธมาจากผัสสะ สังขารขันธก็มา จากผัสสะ. นี้ เกือบจะไมตองอธิบายอะไรมากนัก : เวทนาถาไมมีผัสสะแลวมันจะมีได อยางไร, ตองมีผัสสะกอน แลวก็เวทนา. ผัสสะนั่น แหละทําใหเกิด เวทนา แลว ก็ เลยไปเกิ ดสั ญ ญา, สั ญ ญามั น เกิ ดจากผั ส สะโดยผ านทางเวทนา; ไม มี ผั ส สะแล ว สั ญ ญาก็ เกิ ดไม ได . มั นต องมี การกระทบที่ ทํ าให รูสึ กวาอะไรมั น เป นอะไร จึ งจะเกิ ด ความรูสึกวาอะไรมันเปนอะไร.
www.buddhadasa.info สั ญ ญานี้ แ ยกเป น สองคํ าอยู เสมอ; เขาใจให ดี มิ ฉ ะนั้ น จะสั บ สนจน ลําบากแกการศึกษาธรรมะ. สัญ ญาตามปกติก็คือจําอะไรได สวนสัญ ญาที่เปน กิเลสนั่น คือสําคัญมั่นหมายวามันเปนอะไร. เชนเราเห็นกอนหิน รูวาเปนกอนหิน เห็ น ต น ไม รูว าเป น ต น ไม ; อย า งนี้ ก็ ไม มี ค วามสํ า คั ญ อะไรมากไปกว า นั้ น ; อย างนี้ เรียกวา สั ญญาจํ าหมาย. ส วนสั ญญาที่ เลยนั้ นไปอี กก็ คื อ ความมั่ นหมายวาก อนหิ น นี้สวย กอนหินนี้ของกู อยางนี้ก็เลยไปจากที่จําไดวากอนหินแลว.
๓๕๖
ปรมัตถสภาวธรรม
พอเกิ ดเป น ก อ นหิ น ของกู เป นก อนหิ นที่ สวยงาม เป นก อนหิ นที่ มี ราคา ตั้ งแสนตั้ งล าน สั ญ ญาเป นของมี ค า, สั ญ ญาเป น ของไม มี ค า, สั ญ ญาเป นของสวย, เป น ของไม ส วย, เป น ของน า รัก น า พอใจ; นี่ สั ญ ญาตอนนี้ จ ะทํ า เรื่ อ ง จะทํ า พิ ษ จะทําใหเปนทุกข. สั ญ ญาเพี ย งแต จํ า ได ว า อะไรเป น อะไรนั้ น ยั ง ไม เ ท า ไร ยั ง ไม มี เรื่ อ ง แต สัญญาจะเกิดขึ้นก็ต องมี ผัสสะ เชนตากระทบกอนหินก อนนี้ ก็เกิ ดสัญญาวา นี่ กอนหิ น โว ย! แต ถ ามากกว านั้ น มั น มั่ น หมายว าเป น ของแพง ของรั ก ของดี ใครจะมาขโมย ไปเสี ย, หรือแม ที่ สุ ดแต มั นจะตกแตก อย างนี้ ก็เป นสั ญญาที่ จะเกิ ดความทุ กข แล ว; คื อวา สัญญนี้มันถูกมั่นหมาย, ถูกยึดมั่นแลว. สั งขารคื อ ความคิ ด ก็ เหมื อนกั น ต องมาจากผั สสะ กระทบนั่ นกระทบนี่ แล วมั นจึ งจะคิ ดเรื่องใดเรื่องหนึ่ งออกไป; ดั งนั้ นพระพุ ทธเจ าท านจึ งตรัสว า เวทนาก็ ดี สัญญาก็ดี สังขารก็ดี มีผัสสะเปนเหตุเปนปจจัยแหงการเกิดขึ้น ปรากฏขึ้น.
www.buddhadasa.info ทีนี้เหลืออันดับสุดทาย เรียกวา วิญญาณขันธ อันนี้มีนามรูปเปนเหตุเปน ป จจั ย. สิ่ งที่ เรี ยกว านามรูปนี้ อธิ บายยาก เข าใจยาก ก็ ต องขอร องให ค อย ๆ ศึ กษา ต อ ไป. คํ า ว า นามรู ป ก็ คื อ ตั ว ก. ข. ตั ว แรกที่ สุ ด ; แต แ ล ว ก็ เข า ใจยากที่ สุ ด เช น ที่ พู ดว า นามรู ปเป นเหตุ ป จจั ยแห งการปรากฏของวิ ญ ญาณขั นธ นี้ ใครอธิ บายได กี่ คน. หรื อว าประโยคแรกของปฏิ จจสมุ ปบาทแบบปฏิ บั ติ จริ ง ๆ อาศั ยตากั บรู ปย อมเกิ ดจั กษุ วิญญาณ อย างนี้ ใครอธิ บายได กี่ คน? เป นบาลี ว า จกฺ ขุ ฺ จ ปฏิ จฺ จ รูเป จ อุ ปฺ ปชฺ ชติ จกฺ ขุ วิ ฺ าณํ -เพราะอาศั ยจั กษุ ด วย รู ปด วย ย อมบั งเกิ ดจั กขุ วิ ญญาณ, เพราะอาศั ย ตาดวย อาศัยรูปดวย จึงเกิดจักขุวิญญาณ.
อาการที่เกิดไดและเกิดไมไดแหงปญจุปาทานักขันธโดยวิธีแหงปฏิจจสมุปบาท
๓๕๗
ตามั นก็ รูป แต มั นไม ใช รูปล วน ๆ ยั งมี อะไรอยู ในนั้ น ยั งมี ประสาทมี อะไร ที่ เป นครึ่งจิตอยู ในนั้ น; และรูปทั้ งหลายขางนอกนี้ ยั งต องมี อะไรที่ เป นสิ่ งที่ เราเข าใจ ไมไดอยูดวย; ดังนั้น สองรูปนี้พออาศัยกันแลวจึงเกิดนามธรรมคือวิญญาณ. อาศัย ตาดวย รูปดวย ยอมเกิดจักขุวิญญาณ. หรือแมในสูตรนี้ที่พระพุทธเจาทานตรัสวา “นามรูป” คือนามและรูปเปนเหตุปจจัยแหงการปรากฏของวิญญาณขันธ. ที่พูดมาแลววาที่ตาเห็นรูปแลวเกิดวิญญาณขันธนั้น คือวิญญาณขันธออกมา เพราะนามรูปเปนปจจัย; ฉะนั้น วิญญาณขันธมีนามรูปเปนปจจัย เปนเหตุแหง การปรากฏออกมา. นี่ เข า ใจให ดี ; ถ าเข า ใจข อ นี้ ก็ จ ะไม เกิ ด อุ ป าทานขั น ธ จะไม เกิ ด ความหมายเป น ตั วตน เป น ของตน เป น อหั งการ มมั งการ ได . เข าใจให ดี ว า วิ ญ ญาณขั น ธ นี่ ไม ใช จ ะเป น วิ ญ ญาณที ไม รูจั ก ดั บ เข า รา งนี้ ออกรา งนั้ น ; บางที คนนอนหลั บ ก็ อ อกไป คนตื่ น ก็ ก ลั บ เข ามา คนตายแล วมั น ก็ ไปเกิ ด ใหม ; อย างนั้ น ไมใชวิญญาณนี้ ไมใชวิญญาณที่พระพุทธเจากําลังตรัสนี้. วิญญาณนี้จะตองอาศัยเหตุปจจัยของการกระทบของอายตนะเปนคู ๆไป แลวก็เกิดวิญญาณนี้ขึ้นมา; นี่ก็คลาย ๆ กันมาก คือ วิญญาณนี้ ก็ออกมาจากรูป, นามรู ป นี้ ทํ า นามรู ป ใหม ชุ ด ใหม ชุ ด หลั งขึ้ น มา วั น หนึ่ ง หลาย ๆ ชุ ด . หรื อ ทํ า ให เกิ ดความรูสึ กเป นมาทางตาบ าง ทางหู บ าง ทางจมู กบ าง อย างนี้ จะเรียกวา วิญญาณ ทองเที่ยวอยูในสิ่งเหลานี้ก็ไดเหมือนกัน.
www.buddhadasa.info แต คนพวกหนึ่ งเขาไม อธิ บายอย างนี้ , เขาอธิ บายวา เกิ ดมานี้ เรามี วิญญาณ ที่ เป นอั ตตาสิ งอยู ในนี้ เข า ๆ ออก ๆ ตายแล วมั นก็ ไปหาที่ เกิ ดใหม ไปล องลอยใหม เข าโลงแล วมั น ยั งไปได ; อย างนี้ มั น ก็ เรื่อ งหนึ่ ง คนละเรื่อ ง. เรื่อ งนั้ น เราไม พู ดว าผิ ด หรือถูก มีประโยชนหรือไมมีประโยชนเราไมอยากพูด.
๓๕๘
ปรมัตถสภาวธรรม
เราจะพู ดแต เรื่องนี้ คื อเรื่องที่ มี ประโยชน ที่ สุ ด เพราะถ าเรารู อย างนี้ แล ว เราควบคุมได ไมใหมันปฏิสนธิเปนอุปาทานขันธ เปนตัวกู-ของกูขึ้นมา แลวจะ ได ไม เป นทุ กข . ฉะนั้ น ระวั งให ดี เมื่ อมี การสั มผั สทางตา เป นต น กั บของข างนอกมี รูป เป น ต น ; เมื่ อ เกิ ด วิ ญ ญาณขึ้ น มาอย า งนั้ น แล ว มั น จะเกิ ด เวทนา สั ญ ญา สั ง ขาร. ระวังใหดี อยาใหเกิดความยึดมั่น, อยาใหเผลอสติจนเกิดความยึดมั่น. เอาละ สรุปความกันเสียทีวา สิ่งที่เรียกวาผัสสะ ผัสสะ นี่เปนตัวราย จะเกิด หรือจะเป นจะตาย จะได จะเสี ย จะมี ทุ กข หรือจะดั บทุ กข มั นอยู ที่ ตรงผั สสะนั้ น; หรือ จะพู ดสําหรับชาวบานทั้งหลายทั่วไปก็พู ดโดยบทที่พระทานสวดเมื่อตะกี้นี้ ที่พระพุทธเจา ท านตรัสวา ทิ ฏ า มยา ภิ กฺ ขเว ฉผสฺ สายตนิ กา นาม นิ รยา ฉผสฺ สายตนิ กา สคฺ คา - มี นรกหรือสวรรค ฉั นเห็ นแล ว, มั นอยู ที่ ตา หู จมู ก ลิ้ น กายนั่ น นั้ นมั นนรกก็ อยู ที่ ผัสสะ สวรรคก็อยูที่ผัสสะ. ถ าผั สสะผิ ดวิ ธี เกิ ดกิ เลสมั นก็ เป นนรก เรียกวา ผั สสายตนิ กนรก, ถ า ผัสสะทํ าไปถูกวิธี เกิดความสบายพอใจสนุกสนานไป มันก็เรียกวา ผัสสายตนิกสัคค คือ สวรรค. ผัส สายตนิก นรก นี ่คู ก ัน กับ ผัส สายตนิก สวรรค; แลว ก็อ ยา ลืม วา ทั้งสองอยางนั้ มันเกิดมาจากผัสสะ.
www.buddhadasa.info ทั้งสองผัสสะนี้มันเปนเรื่องอวิชชาสัมผัส ตองมีอุปาทานขันธ แลวมัน ก็ ต องได มี ความทุ กข โดยสรุป มั นยั งไม ใช วิชชาสั มผั ส นี่ ต องเรียนให รูพอ ต องมี สติ สัมปชัญญะพอ รูพอ แลวก็ไมเกิดทั้งนรกและไมเกิดทั้งสวรรค; แลวจึงจะเกิด สิ่งที่เรียกวา นิโรธ หรือสุญญตา หรืออมตะ ที่แปลวา นิพพาน.
นิพพานจะเกิดก็ตองอาศัยผัสสะนั่นอีกแหละ ไมมีอะไรอื่นอีกแหละเปน ปจจัย. เมื่อมีการกระทบกันทางผัสสะแลว วิชชามาแลว ก็ไมเกิดตัวกู - ของกูได
อาการที่เกิดไดและเกิดไมไดแหงปญจุปาทานักขันธโดยวิธีแหงปฏิจจสมุปบาท
๓๕๙
ก็เป นนิ พพานไปตามเดิ ม หรือวาในรูปไหนก็ตามเถอะ จะเกิดขึ้น จะเรียกวาเกิ ดใหม ก็ ได คือความไมมีทุกข นาปรากฏออกมาอีก.
ผัสสะที่ประกอบดวยวิชชา ไมทําใหเกิดอุปาทานขันธ นี่คื อวิชชาสั มผั สกั บอวิชชาสั มผั ส อั นเป นที่ เกิ ดได หรือไม เกิ ดได แ ห ง อุ ป าทานขั น ธ ; ส ว นผั ส สะอี ก ชนิ ด หนึ่ ง นั่ น ไม มี ค วามหมายอะไร, เราจะเรีย กว า เป นโมฆะ หรือเป นโมฆี ยะ ก็ ได คื อผั สสะที่ ตาเราทอดไป หู เราได ยิ นไปอยู อย างไร; เชนลื มตาอยู ตามั นไม บอดมั นก็เห็ นอยูอย างนี้ ผั สสะอย างนี้ ไม เกี่ ยวกับวิชชาสัมผั ส ไม เกี่ยวกั บอวิชชาสัมผั ส; เกี่ยวกับแตวา สัตวมั นมี ตาลื มอยู มั นก็ต องเห็ น เมื่ อหู ยั ง ไมหนวกก็ตองไดยิน เมื่อจมูกยังดีอยูกตองไดกลิ่น อยางนี้ เราจะเรียกวาปกติสัมผัสก็ได. คือ สัมผัสอยูตามปกติ ของบุคคลที่ตายังไมบอด หูยังไมหนวก ก็ยังทํางานอยูเสมอ ไม เกี่ ย วกั บ วิ ช ชาและไม เกี่ ย วกั บ อวิ ช ชา; เพราะฉะนั้ น ไม ใ ช เรื่ อ ง ไม ใ ช ป ญ หา เรียกวาเป นโมฆะ คื อมั นไม ทํ าเรื่องอะไรเกิ ดขึ้ นมา, หรือเรียกวา เป นโมฆี ยะ คื อว า มันเกือบจะ หรืออาจจะ ไมสามารถจะ ทําเรื่องอะไรเกิดขึ้นมา.
www.buddhadasa.info แตอวิชชาสัมผัสกับวิชชาสัมผัสนี้ ไมเปนอยางนั้น ตองทําใหเกิดเรื่อง ขึ้ น มาคื อทุ กข เกิ ด ทุ กข เพราะเกิ ดอุ ป าทานขั น ธ , หรือ ว า ทํ าให ไม เกิ ด ทุ กข คื อ ไม เกิดอุ ปาทานขั นธ ฉะนั้ น ขอให ถื อวาวันนี้ เราได พู ดกันโดยละเอี ยดยิ่งขึ้นไปกวาทุ กที ในขอที่ วา อุ ปาทานขันธจะเกิดขึ้นไดหรือจะไม อาจจะเกิดขึ้นได นั้ น ในลักษณะอยางไร; เมื่อแยกดูตามกรรมวิธีโดยละเอียดของเรื่องปฏิจจสมุปบาท แลวมันก็จะเห็นไดอยางนี้. สรุ ปความว า ในขณะแห งการกระทบของอายตนะนั้ น ถ ามั นกระทบชนิ ดที่ ไม มี ความหมายมั นก็เลิ กกัน ไม มี อะไรเกิดขึ้น. แตถ ามั นมี ความหมาย เป นอวิชชา มั นก็ ตองเกิดอุปาทานขันธ ก็ตองเปนทุกข; ถามันเปนไปในทางวิชชา ก็ไมเกิดอุปาทานขันธ
๓๖๐
ปรมัตถสภาวธรรม
ผั สสะก็ มี ประโยชน ในทางเกิ ดสติ ป ญญา เป นการศึ กษา; ฉะนั้ นขอให ทุ ก ๆ คน เมื่ อได กระทบทางอายตนะ ตา หู หรืออะไรก็ดี ขอใหมีสติสัมปชัญญะ เปนวิชชาสัมผัส แลวเป นผู เจริญด วยความรู ความเขาใจ คื อการศึกษาเกี่ยวกั บธรรมะนั้ น ๆ ยิ่ง ๆ ขึ้นไป; นี้คือวิปสสนาที่ควรกระทําอยูตลอดเวลา. เอาละ พอกั น ที สํ าหรั บ พระท านจะได ส วนธรรมปริ ย าย เพื่ อ ส งเสริ ม ศรัทธาในพระผูมีพระภาคเจา และในการปฏิบัติธรรม ตอไป.
www.buddhadasa.info
ปรมัตถสภาวธรรม
-๑๒๒๔ มีนาคม ๒๕๑๖
ภาวะพื้นฐาน ของสิ่งที่เรียกวา “คน”
ทานสาธุชนผูสนใจในธรรมทั้งหลาย,
การบรรยายในภาคมาฆบู ช า ว า ด ว ยปรมั ต ถสภาวธรรม ดํ า เนิ น มา เปน ค รั ้ง ที ่ ๑๒ ใน วัน นี ้. เนื ่อ งจ าก สัง เก ต เห็น วา ใน วัน นี ้ มีผู ม าให มเ ปน อัน มาก ถา การบรรยายดํ า เนิน ติด ตอ กัน ไปโดยตรงจากครั ้ง ที ่แ ลว ๆ มาแลว บางทา นอาจะฟง ไมเ ขา ใจ. ดัง นั ้น จึง ตอ งทบทวนบา งเพื ่อ ผู ม าใหมใ นครั ้ง นี้ จะฟงออกไดตามสมควร.
www.buddhadasa.info ทบทวนเหตุที่บรรยายปรมัตถสภาวธรรม
การบรรยายในชุ ดปรมั ตถสภาวธรรม ก็ คื อการบรรยายที่ มี ความมุ งหมายให พุทธบริษัทมองเห็นสิ่งตาง ๆ ตามธรรมชาติธรรมดานี้ ลึกซึ้งไปกวาที่เห็นอยูตาม
๓๖๑
๓๖๒
ปรมัตถสภาวธรรม
ปกติ ของบุ คคลผูมิ ได ศึกษา, มิ ไดสดับ, มิไดคิด, มิไดนึ ก. เมื่อคนมี ความคิดอยางไร คนนั้ นก็ จะถื อว าเขาเป นผู รูความจริงในสิ่ งนั้ น, หรือความจริงของสิ่ งนั้ นมี เพี ยงเท านั้ น; คนไหนรูอยางไร เขาก็ถือวาความจริงมีอยางนั้น. ที นี้ คนไม เท ากั น : มี สติ ป ญญาในเท ากั น ย อมมองเห็ นสิ่ งต าง ๆ ตื้ นหรือลึ ก กว า กั น ; ดั ง นั้ น ในพระพุ ท ธศาสนา จึ ง มี เรื่ อ งราวอั น เกี่ ย วกั บ ปรมั ต ถสภาวธรรม คือสภาวธรรมในสวนที่ลึกซึ้ง; จะมีอยูอยางไร ก็กล าวไวให เป นที่ ตั้งของการศึ กษา และสั งเกตเพื่ อเขาจะได รูความจริงชั้นลึ ก หรืออย างน อยก็ ลึ กพอสมควร. พอสมควร แกอะไร? ก็พอสมควรที่จะดับความทุกขได. เดี๋ยวนี้ เราไมรูพอสมควรที่จะดับความทุกขได จึงดับควาทุกขไมได นั่ง รองไห อยู ก็ มี ฆ าตั วตายอยู ก็ มี ; เราจะเห็ นว าการรองไห การฆ าตั วตาย ฆ าซึ่ งกั นและกั น ตาย นี้ มั น มี ม ากขึ้ น ๆ เพราะคนเหล านั้ น ไม รู สิ่ งที่ ค วรจะรู ให พ อสมควรกั น . ทํ าไมจะ ต อ งร องไห ? ทํ าไมจะต องโง ไปฆ าตั วตาย หรือ ไปฆ าคนอื่ นตาย? ก็ เพราะว าโง . พู ด อย างนี้ ไม มี ทางจะผิ ด; โงก็ เพราะว ารูอะไรตื้ นเกิ นไป, ไม รูให ลึ กซึ้ งพอที่ จะขจั ดป ญ หา นั้น ๆ ออกไปได โดยที่ไมตองทําอะไรใหตัวเองเปนทุกข หรือใหคนอื่นเปนทุกข.
www.buddhadasa.info นี้ เรียกว าไม รู ในส วนที่ ลึ ก ไปกว าที่ คนโงรู จึ งรูแต ชนิ ด ที่ จะทํ าไปอย างที่ คนโงเขาทํา จึงเบียดเบียนตนบาง เบียดเบียนผูอื่นบาง. ดังนั้น ปรมัตถสภาวธรรม มี อยู ก็ เพื่ อจะช วยแก ป ญ หานี้ ; ถ าความทุ กข เกิ ดขึ้ น ก็ จะช วยแก ป ญ หานั้ นให หมดไป; ถ าความเสี ยใจมั นเกิ ดเนื่ องจากผู อื่ น ก็ จะรูจั กแยกออกจากกั น ทํ าให ไม ต องมี ความทุ กข เพราะเหตุนั้น. ที นี้ สํ าหรั บ คํ าว า ปรมั ตถะ นี้ ก็ แปลว า มี ความหมายอั นลึ กซึ้ งอย างยิ่ ง. นี้ก็เหมือนกัน มันมีอยูหลาย ๆ ชั้น. ถาลึกถึงที่สุดก็เรียกวารูความจริงถึงที่สุด, ถารู
ภาวะพื้นฐาน ของสิ่งที่เรียกวา “คน”
๓๖๓
ในทางฝ ายรู ปธรรม มั นก็ แก ป ญ หาแต ฝ ายรู ปธรรม, ถ ารู ในทางนามธรรม ก็ แก ป ญ หา ไดในฝายนามธรรม. อยาไดเขาใจวา ฝายรูปธรรมนี่มันกมีเรื่องตื้น ๆ; ที่ลึก ๆ ไม มี ; ที่ เ ป น ปรมั ต ถ มั น ก็ มี เหมื อ นกั น ในฝ า ยรู ป ธรรม; แม คํ า ว า รู ป ธรรม ก็ ยั ง ตองแยกออกเปนสองชั้น สามชั้น. รู ปธรรมอย างที่ เป นวั ตถุ เป นเนื้ อวั ตถุ ล วน ๆ เป นปรมาณู เป นอณู เป น อะไร ลวนแตเปนวัตถุลวน ๆ นี้มันก็ยังมีสวนที่เปนปรมัตถธรรม คือเห็นยากเขาใจยาก; และสวนที่เปนรูปธรรม ที่เล็งถึงแตสักวาคุณสมบัติของสิ่งนั้น ในธานะที่เปนของกิน เนื้ อที่ , อย างนี้ ก็ ยั งมี ปรมั ตถ ยิ่ งขึ้ นไปกว า. ที่ นี้ ในส วนจิ ตใจก็ ยิ่ งมี ความเป นปรมั ตถ ที่ ลึ ก ยิ่ ง ขึ้ น ไปกว า นั้ น ; ขอให พ ยายามทํ า ความเข า ใจไปตั้ ง แต ต น ว า การรู ส ว นที่ เป น ปรมัตถนั้นมีประโยชนอยางไร. ในส ว นวั ต ถุ ล ว น ๆ เมื่ อ คนรู แ ล ว ก็ ส ามารถที่ จ ะใช วั ต ถุ ใ ห เกิ ด ผล ใหญ หลวงยิ่ งขึ้ นไปทุ กที เช นเมื่ อไม นานมานี้ ก็ ไม มี ใครรูจั กใช แรงของปรมาณู จึ งไม สามารถจะผลิ ตกํ าลั งงานจากปรมาณู ไม สามารถทํ าลู กระเบิ ดปรมาณู เป นต น; เพราะ เวลานั้ น ยั งไม รู ในส วนที่ เป นปรมั ตถ ของวั ตถุ ล วน ๆ คื อปรมาณู นั้ น. เดี๋ ยวนี้ ก็ รู ขึ้ นมา จนเอามาใชได อยางนี้ มั นก็ ไม ใชเล็ กน อยเลย. นี้ เรียกวาส วนยอย ส วนเล็ กที่ สุ ดของวัตถุ ก็มีสวนที่เปนปรมัตถ มันเล็กจนดูดวยตาไมเห็นแลว ก็ยังมีสวนที่เป นปรมัตถ คือละเอียด ลึ ก ซึ้ ง ยิ่ ง ไปกว า นั้ น อี ก ; แต เมื่ อ รู ก็ เอามาใช ป ระโยชน ไ ด . นี่ เรี ย กว า รู ป รมั ต ถ ข อง ตัววัตถุนั้น ๆ ก็เรียกวารูในเรื่องของรูป คือวัตถุ, วัตถุที่มีรูป.
www.buddhadasa.info คําวา รูป นี้ ในความหมายทางธรรม ก็หมายถึงการที่มันกินเนื้อที่ แล วมั น เกี่ ย วข อ งโยงกั น ไป; เช น ความรู ท าง mechanism ทั้ งหลาย ก็ รู เรื่ อ งเกี่ ย วกั บ วัตถุในสวนที่วา มันกินเนื้อที่ มันเปนรูปที่หยาบ ๆ เปนรูปที่เห็นไดดวยตา แตคนเรา
๓๖๔
ปรมัตถสภาวธรรม
ก็ ไม อ าจจะรู เมื่ อ ค อ ย ๆ มี ค วามรู เพิ่ ม ขึ้ น ๆ เราจึ งมี ก ารประดิ ษ ฐ นั่ น นี่ ขึ้ น มาในโลก เป นความเจริ ญ ประดิ ษฐ รถยนต ประดิ ษฐ เรื อ ประดิ ษฐ ยานต าง ๆ กระทั่ งไปนอกโลก ก็ ได นี้ . อย างนี้ พิ จารณาดู เถิ ดว า มั นมี ความเป นปรมั ตถ คื อ อั ตถะ หรือความหมาย หรือประโยชนอันลึกซึ่งที่สุดนั้นสักเพียงไร; นี้คือความมุงหมายที่จะใหคนรูเรื่องปรมัตถ. ทีนี้ จะดูกันในสวนรางกายของเราแท ๆ ก็ยังมีสวนทีเปนปรมัตถ ที่ยังไมรู อยู อี กมาก. ในยุ คโบราณอาจจะรูน อยที่ สุ ด ต อมาก็ รูมากขึ้ น; แต ถึ งอย างนั้ น ก็ ไม ใช รู ห มด พอรู ห มดมั น ก็ จ ะแก ป ญ หาได อี ก มาก; หรื อ อาจจะถึ งกั บ ว าสร างร า งกายคน ขึ้ นมาได ใหม ก็ ได . แต ที่ น าสงสาร หรือน าสั งเวช ก็ คื อว า เท าที่ มั นเกี่ ยวกั นกั บเรื่ องราว ในวั น หนึ่ ง ๆ เราก็ ยั งไม ค อ ยรู ; ไม ถ ามชาวบ านธรรมดาดู เถอะว า ทํ าไมจึ ง ปวดท อ ง เขาก็ ไม รู. แต ถ าไปถามหมอหรื อนั กวิ ทยาศาสตร ผู เชี่ ยวชาญเกี่ ยวกั บเรื่องนี้ ก็ ต องรู ว า ทําไมจึงปวดทอง มีเหตุตรงไหน มีอยางไร. นี่ เ ป น ปรมั ต ถะของคนโง ; คนโง ไ ม รู แต ค นที่ ไ ด ศึ ก ษ าก็ รู . แต ถึ ง อย างนั้ นก็ ยังมี ส วนที่ หมอเองก็ ยังไม รูอยูอี กมาก ไม สามารถจะขจัดป ญหาเกี่ยวกั บเนื้ อหนั ง รางกายนี้ใหหมดไปโดยสิ้นเชิงได; ก็แปลวา แมแตเรื่องวัตถุรางกายนี้ ก็ยังมีเหลือ อยู อี ก มาก ซึ่ งเป น ปรมั ต ถสภาวธรรม; จะต อ งรูไปตามฝ า ย ตามแบบของวั ต ถุ หรื อ ของรู ป ธรรม หรื อ ของร า งกาย. ท า นทั้ ง หลายจะพอมองเห็ น ว า ถ า เรารู ลึ ก ซึ้ ง ลงไปในสวนที่ควรรูใหลึกซึ้ง มันก็ยิ่งมีประโยชน.
www.buddhadasa.info แตในทางพุทธศาสนา มุงหมายจะแกปญหาในสวนจิตใจ ก็เลยมีกลาว ไว ในส วนที่ เป นจิ ตใจ หรื อเกี่ ยวกั บจิ ตใจเป นส วนใหญ , กล าวเรื่ องจิ ตใจเป นส วนใหญ ; แมจะกลาวเรื่องรูปเรื่องกาย ก็จะกลาวในสวนที่เกี่ยวเนื่องกันอยูกับจิตใจ. เชนตา หู จมูก ลิ้น กาย อยางนี้ เปนสวนรูปสวนกายก็จริง; แตมันเกี่ยวกับจิตใจอยางที่ไม
ภาวะพื้นฐาน ของสิ่งที่เรียกวา “คน”
๓๖๕
อาจจะแยกกั นได ; ฉะนั้ นจึงได กล าวถึ งรางกายในส วนที่ มั นเกี่ ยวกับจิตใจ ไม ได กล าว ถึงรางกายลวน ๆ เหมือนกับในวิชารางกาย หรือวิชาการแพทยของหมอ เปนตน. เพราะฉะนั้น ขอใหทราบวา ปรมัตถสภาวธรรมในคัมภีรของพระพุทธ ศาสนานั้น เปนเรื่องมุงหมายเกี่ยวของกับจิตใจ, จะแกปญหาเกี่ยวกับทางจิตใจ ซึ่ งเป นตั วความทุ กข เพื่ อให คนเรารูกั นเสี ยที ว า ความทุ กข นี้ คื ออะไร? มาจากอะไร? จะแกไขใหหายไปไดจากจิตใจอยางไร? ก็เลยเกิดมีระบบคนควาเฉพาะในทางนี้ขึ้นมา. การแกปญหาทางจิตใจไดคนพบนับตั้งแตวา รูจักทําจิตใจใหหยุด ใหสงบ โดยวิธีการพิเศษซึ่งเรียกวาประเภทสมาธิอยางนี้ก็มี, พอคนควาใหรูแจงออกไปถึง ความลับตาง ๆ เกี่ยวกับสิ่งนั้น ๆ อยางที่เรียกวาปญญาก็มี. ที่เกี่ยวกับจิตใจลวน ๆ เชนการทําสมาธิ สามารถจะหยุดความรูสึก เหมือนกับวาตายแลวอยางนี้ก็ได; สวนที่เป นป ญญา ก็รูถึงขนาดที่วา จิตใจจะไม มี ความทุ กข อี กต อไป เห็ นทุ กอย างเป นธรรมดา อย างนั้ น อย างนั้ น อย างนั้ น แล วก็ ไม ได เกี่ยวของหรือยึดถือชนิ ดที่ ทํ าใหจิตใจเป นทุ กข; แปลวาที่ เป นป ญญา ก็รูถึงขนาดที่ จะเปลื้องความทุกขออกไปได.
www.buddhadasa.info อยางนี้ก็เรียกวาปรมัตถสภาวธรรมสวนจิตใจ มีผลเปนสมาธิก็มี มีผล เปนปญญาก็มี. ถาเปนสมาธิ ก็หยุดความทุกข หยุดความทุกขไดตามแบบของสมาธิไป ชั่วขณะ, ถาเปนเรื่องของปญญา ก็ขุดรากเงาของความทุกขไดมากกวานั้น; และอาจจะ หยุ ดได สิ้ นเชิง คื อไม เป นทุ กขอี กต อไป. คนที่ ดั บทุ กขได สิ้ นเชิ ง ไม มี เหลื ออี กต อไปก็ เรี ย กว า เป น พระอรหั น ต ; ไม ถึ ง นั้ น ก็ เรี ย กว า พระอริ ย เจ า ที่ ร อง ๆ ลงมา; มั น เกี่ ย ว กันอยูอยางนี้.
๓๖๖
ปรมัตถสภาวธรรม
คนที่เปนพระอริยบุคคล ก็คือคนที่เขาถึงปรมัตถสภาวธรรม จนดับ ความทุ ก ข ได ใ นระดั บ หนึ่ ง ๆ จนถึ ง ที่ สุ ด ; พวกที่ เป น พุ ท ธบริ ษั ท ทั้ ง หลายก็ ต อ งการ อยางนั้ น คื อต องการจะดั บทุ กข, ตองการจะมี ความรูที่ เรียกวา “ตื่นจากความหลับ”, และแก ป ญ หาต า ง ๆ ที่ เกี่ ย วกั บ ความทุ ก ข ไ ด ; ก็ ล ว นแต ต อ งรู สิ่ ง ที่ เรี ย กว า ปรมั ต ถ สภาวธรรม.
ปรมัตถสภาวธรรมมีมาก รูเพียงดับทุกขไดก็พอ สิ่งที่เรียกวา ปรมัตถสภาวธรรมนั้นมีมาก จนคํานวณไมไหว, แลว ก็มากจนไมตองรูใหหมดนั่น : รูแตเทาที่จําเปนที่จะตองรู คือรูเทาไรแลวดับทุกขได สิ้ น เชิ ง เท านั้ น ก็ เรียกว าพอ; นอกนั้ น ไม ต อ งรู ก็ ได . เพราะว าเดี๋ ยวนี้ เราต องการเพี ย ง แต ที่ จะดั บ ทุ กข เราจะไปรู ทั้ งหมดก็ ทํ าไม ได , หรื อ ทํ าให ได มั น ก็ ต องตายแล วตายอี ก ตั้ งหลายหน มั นก็ ยั งไม พอ เวลามั นยั งไม พอ; แต ถ าจะรู เท าที่ จะดั บทุ กข ได แล ว เวลา มีพอ, และยังมีเวลาเหลือยูสําหรับมีชีวิตอยูโดยไมตองเปนทุกข.
www.buddhadasa.info เฉพาะฉะนั้ น พระพุ ทธเจ าท านจึ งตรัสวา เราสอนในปริมาณเท ากับใบไม กํ ามื อ เดี ย ว ในเมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั น กั บ ใบไม ทั้ ง ป า ทั้ ง ดง ทั้ ง โลก; ก็ คิ ด ดู เถอะว า ใบไม ทั้ งโลกมั นมี สั กเท าไร แล วใบไม กํ ามื อเดี ยว นั่ นจะน อยกวากั นเท าไร. ปรมั ตถธรรม ที่ ท รงนํ ามาสอน ก็ เท า กั บ กํ ามื อ เดี ย ว ก็ พ อที่ จ ะดั บ ทุ ก ข ได ; แล ว มั น ก็ น าสั ง เวชที่ ว า ใบไม กํ ามื อเดี ยวนั้ น เราก็ ยั งไม มี , ยั งไม เข าถึ ง, ยั งไม ได รับใบไม กํ ามื อเดี ยว, ยั งมี ความ ทุ กข อยู ; เพราะไม รู ในสิ่ งที่ เรี ยกว าปรมั ตถสภาวธรรม จึ งต องเอามาพู ดกั นจนกว าจะ เพียงพอ.
สั งเกตดู ให ดี แม ข องง า ย ๆ ตื้ น ๆ แล ว ก็ ยั งต อ งทํ าซ้ํ า ๆ ซาก ๆ; แต ถ า มันเปนประโยชนอยู เราก็ทนได เชนเรียน ก. ข. ก กา ก็ตองเรียกซ้ํา ๆ ซาก ๆ กวาจะ
ภาวะพื้นฐาน ของสิ่งที่เรียกวา “คน”
๓๖๗
รู ห นั ง สื อ อย า งนี้ ก็ ท นได . หรื อ ว า ถ า ไม ท นมั น ก็ ไม รู ห นั ง สื อ ก็ ยั ง มี ผู ใ หญ ค อยเฆี่ ย น คอยตี ไมใหเหลวไหล, ใหเรียนซ้ํา ๆ ซาก ๆ จนใหรู; คนก็รู ก. ข. ก. กา ได. ที นี้ มาถึ งเรื่องของปรมั ตถสภาวธรรม ก็ เหมื อนกับ ก. ข. ก. กา : เมื่ อไม ทนศึ ก ษาโดยซ้ํ า ซาก ก็ ไ ม อ าจจะรู ไ ด . สั ง เกตดู ไม มี ใครจะทนศึ ก ษา มั ก หาเรื่ อ ง บิ ด พริ้ ว ; ก็ เพราะรํ า คาญ ที่ พู ด ซ้ํ า ๆ ซาก ๆ พู ด แล ว พู ด อี ก อยู แ ต เรื่ อ งธาตุ เรื่ อ ง อายตนะ เรื่องขันธ เรื่องทุกขอยูนี่เอง. ขอให คิ ดดู เถอะว า แม จะมี การซ้ํ าซากอย างนั้ น ก็ ยั งน อยกว าความซ้ํ าซากที่ เราเรี ย นหนั งสื อ หรื อว าทํ าการฝ กฝนวิ ชาชี พ อะไรบางอย าง เรายั งต อ งทํ าซ้ํ าซากมาก กว านั้ น . แต ว านั่ น มั น ได ส ตางค เราก็ ท นความซ้ํ าซากได ส วนความดั บ ทุ ก ข นี้ แม จ ะ หวั ง มรรค ผล นิ พ พานได เราก็ ไม เห็ น , และบางคนก็ ไม ต อ งการด ว ยซ้ํ า ไป คื อ ไม รูวา สิ่ งที่ เรียกวามรรค ผล นิ พพาน นั้ น จะมาชวยกํ าจั ดความทุ กข ที่ทํ าใหนั่ ง ร องไห ทํ าให กิ นยาตาย หรื อฆ าคนอื่ นตายนี้ ได . เมื่ อไม มองเห็ นก็ ไม ต องการ จึ งสมั คร จะนั่งรองไห, หรือฆาตัวตายอยูเรื่อยไป.
www.buddhadasa.info ตองพยายามทนศึกษา เรื่องธาตุ, ขันธ, เพื่อกําจัดทุกข
แม ในหมู พุ ทธบริษั ทที่ อยู กับวัดกั บวา ก็ยั งไม ค อยชอบที่ จะศึ กษาเรื่องธาตุ เรื่ อ งอายตนะ เรื่ อ งขั น ธ เรื่ อ งอุ ป าทานขั น ธ อย า งซ้ํ า ๆ ซาก ๆ ด ว ยเหมื อ นกั น ; จะเป น เพราะเหตุ ไรก็ พู ด ยาก. บางที ก็ จ ะต อ งพู ด เป น ข อ แรกว า เพราะโง ไม รู ว า อะไร เป นของดี ที่ จะมี ประโยชน , หรื อบางที ก็ เพราะว า ไม เข าใจตั้ งแต ที แรก เพราะโง เหมื อนกั น จึ ง ศึ ก ษาต อ ไปไม ได . บางที ก็ ไม ได คิ ด ว า เรื่ อ งนี้ เป น เรื่ อ งเดี ย วเท า นั้ น ที่ สํ า คั ญ ที่ สุ ด ที่ พุ ท ธบริ ษั ทเราจะเอาตั วรอดได ; เมื่ อต อ งศึ กษาเรื่ อ งเดี ยวซ้ํ า ๆ ซาก ๆ นานเข าก็ เบื่ อ หนาย ก็บิดพลิ้วไปเสีย.
๓๖๘
ปรมัตถสภาวธรรม
ถากล าวให ชั ดก็เรียกวาไม รูจักตั วเองแล วก็ ไม พยายามที่ จะรูจักตั วเอง. สั นดาน ของคนโงเปนอยางนี้ : ไมรูจักตัวเอง แลวไมพยายามที่จะรูจักตัวเอง. เพราะวา เรื่ อ งธาตุ เรื่ อ งอายตนะ เรื่ อ งขั น ธ เรื่ อ งอุ ป าทานขั น ธ นั้ น คื อ เรื่ อ งตั ว เอง; แต ก็ ไมรูจักเลย วา นี้มันเรื่องตัวเอง ไมพยายามที่จะรูจัก. เพราะไม รูจั กในชั้ นแรก ว านี้ มั นเป นเรื่องตั วเอง ก็ เลยไม รูว าความทุ กข นี่ มันเกิดมาจากการที่ไมรูจักตัวเองในขอนี้; จึงไปโทษผีสางเทวดา โปรดน้ํามนตบาง ไปทํ าอะไรบ าง ก็ ไม แก ป ญ หาที่ เกี่ ยวกั บขั นธ ธาตุ อายตนะ เหล านี้ เลย. พากั นไปถื อ ป จจัยภายนอก หรือบางที ก็ คิ ดวา จะแก ได ด วยเงิน จะดั บความทุ กขได ด วยเงิน นี้ เป นสิ่ ง ที่นาหัวเราะ. ถาจะคิดวาดับทุกขไดดวยความรูเรื่องปรมัตถสภาวธรรม ก็คงจะสนใจ กั นบ าง. ไปสนใจแต หาเงินกั นอย างเดี ยว ส วนมากไม มี ที่ เก็ บแล วก็ ยั งจะหา เพราะคิ ดว า อะไรมั น ก็ จะสํ าเร็ จได เพราะสิ่ งนั้ น ; ปรมั ต ถสภาวธรรมจึ งไม ได รั บ การสนใจ ทั้ งที่ ว า ความรู เรื่องนี้ จะแก ป ญ หาที่ เงิ นช วยแก ให ไม ได จะดั บความทุ กข ที่ เงิ นช วยดั บให ไม ได ก็ไมมีใครสนใจ.
www.buddhadasa.info นี้ ขอให ท านทั้ งหลายเข าใจคํ าว าปรมั ตถสภาวธรรม ในลั กษณะอย างนี้ แล ว ก็ พยายามศึ กษาเรื่อยไปจนตลอดชี วิ ต; ไม ใช เฉพาะที่ นี่ หรื อที่ สั่ งสอนอยู ที่ นี่ : ที่ ไหน ก็ ได ทั่ วไปทุ กหนทุ ก แห งแล วก็ จะสอนเรื่องเดี ยวกั น เหมื อน ๆ กั น คื อให รู จั กตั วเอง แลวแกปญหาที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับตัวเองใหได และโดยเฉพาะอยางยิ่งในเรื่องจิตใจ.
ทํ าไมต องรู จั กตั วเองอย างนี้ ? ก็ เพราะว าเรื่ องของร างกายนั้ น หมอช วยได ; คื อ คนอื่ น ช ว ยได . แต เรื่ อ งของจิ ต ใจแล ว เป น การยากที่ ค นอื่ น จะช ว ย; แม ว า จะมี ผู แนะนําวิธีใหทํา ก็ยังตองชวยตัวเองอยูทั้งนั้น. พระพุทธเจาทานตรัสวา ทานเปน
ภาวะพื้นฐาน ของสิ่งที่เรียกวา “คน”
๓๖๙
แตผู ชี ้ท าง, คนตอ งเดิน เอง; นี ่ม ัน เรื ่อ งจิต ใจ จะเอาใสร ถ ใสอ ะไรหามไป มั นทํ าไม ได สํ าหรับเรื่องจิ ตใจ. เราจึ งต องสนใจที่ จะศึ กษาด วยตนเอง, กํ าจั ดความทุ กข ดวยตนเอง; คูกันไปกับเรื่องรางกาย ที่วาอาจจะชวยเหลือกันไดโดยบุคคลอื่น. เรื่ อ งจิ ต ใจแล ว เป น เรื่ อ งภายใน เป น เรื่ อ งเฉพาะคน ต อ งสนใจเฉพาะ ตั ว เอง; แม แ ต ว า จะเกิ ด เป น ทุ ก ข เป น โรคขึ้ น มาในจิ ต ใจ มั น ก็ ไ ม มี ใ ครจะรู สึ ก ได นอกจากคนที่ เจ็ บ ป วยในทางจิ ตใจนั้ นเอง จึ งได วางตํ าหรั บ ตํ ารา หรื อความจริ งอะไร ต า ง ๆ ไว สํ า หรั บ คนจะได ศึ ก ษาและได ช ว ยตั ว เอง นี่ คื อ สิ่ ง ที่ เ รี ย กว า ปรมั ต ถ สภาวธรรม. ธาตุในตัวคนปรุงแตงขึ้นทําอาการตาง ๆ ขอที่ กลาววาเป นเรื่องของตั วเอง เป นเรื่องของคน ๆ นั้ นเอง นี้ ก็เป นสิ่ ง ที่ จ ะต อ งศึ ก ษากั น อย างละเอี ย ดลออ เพื่ อ ให รูจั ก สิ่ งที่ เรีย กว าคน, หรือ ตั ว เราเอง ซึ่ ง รู จั ก ยาก; ยั ง จะต อ งแบ ง ออกเป น ชนิ ด ๆ, ตามเวลาหรื อ ตามกิ ริ ย าอาการที่ มั น เนื่องกันอยูกับสิ่งแวดลอม. เมื่อพูดออกมาเปนภาษาวัด ๆ วา ๆ ทานทั้งหลายก็ฟงไมถูก.
www.buddhadasa.info จะยกตั วอย างเช นว า อาตมาจะพู ดว า สิ่ งที่ เรี ยกว าคน คนนี้ รวมทั้ งท าน ทั้ง หลายคนหนึ่ง ๆ ดวยนี้ สิ่งที่เรีย กวา “คน” นี ้ ในบางเวลามัน เปน เพีย งธาตุ ทั้ ง หลายกอง ๆ กั น อยู ไม ได ทํ า อะไรในบางเวลา. ในบางเวลาคนนี่ อ ยู ในลั ก ษณะ ที่ ลุ กขึ้ นมาเป นอายตนะ คือ ตา หู จมู ก ลิ้น กาย อยางใดอยางหนึ่ ง นี้ มั นเริ่มมี อาการ ที่ จะทํ าหน าที่ ของมั น; อย างนี้ ไม ได เรี ยกว าธาตุ นั้ น ๆ ที่ มั นกอง ๆ กั นอยู อย างกั บของ วางเก็ บไว . ในบางเวลา คน นี้ มั นเกิ ดจั บ กลุ มกั นขึ้ นมามากกว านั้ นเป นกลุ ม ๆ เช น เปนกลุมรูปขันธก็มี บางเวลาเปนเวทนาขันธ บางเวลาเปนสัญญาขันธ. ที่ เขาเรีย กวาเป น ขั น ธ คื อ ธาตุ นั้ น ๆ มั น จั บ กลุ ม กั น เข า มากกวา ที่ จะเปนเพียงอายตนะสําหรับรูสึก, แตมันมาเปนขันธ ทําหนาที่เปนอยาง ๆ ไป เชน
๓๗๐
ปรมัตถสภาวธรรม
รู ป ขั น ธ ก็ เป น ที่ ตั้ งของจิ ต ที่ จะรู อ ารมณ , เวทนาขั น ธ ก็ รู สึ ก ต อ อารมณ , สั ญ ญาขั น ธ ก็ มั่ นหมายในอารมณ นั้ น ๆ, สั งขารขั นธ ก็ คิ ดนึ ก, วิ ญ ญาณขั นธ ก็ รู แจ งทางอายตนะ เปนตน. บางเวลา “คน” เปนอยางนี้. อยางนี้มันไมใชธาตุหลาย ๆ ธาตุนอนกอง กั น อยู แล ว; บางเวลามากกวานั้ น ก็ คื อว า เป นเวลาที่ สั งขารขั นธ ชนิ ดที่ มั นโงมาก ๆ เกิ ดขึ้ นครอบงํ าหมดเป นอวิ ชชา เป นตั ณ หา เป นอุ ปาทาน มั นเลยมี ความทุ กข เหมื อน กั บ ไฟเข าไปติ ดอยู ข างในก็ มี . นี่ คนเป นอย างนี้ . อย าเข าใจว าสิ่ งที่ เรียกว าคนแล วมั น เหมื อ นกั น หมด แล ว เหมื อ นกั น อยู ทุ ก เวลา; ดั ง นั้ น จึ ง ต อ งศึ ก ษาโดยวิ ธี ที่ เรี ย กว า ปรมัตถสภาวธรรม. อยางแรกที่พูดวา สิ่งที่เรียกวาคน ในบางเวลาเหมือนกับวาเปนธาตุหลาย ๆ ธาตุ มาวางกองกั นอยู เฉย ๆ อย างนี้ ก็ มี , นั่ นคื อเวลาที่ ไม มี การปรุ งแต งคิ ดนึ กอะไร; เช นเวลานอนหลั บสนิ ท ก็ เป นอย างที่ เรียกว า บุ รุษนี้ ประกอบอยู ด วยธาตุ ๖ : คื อธาตุ ดิ น ธาตุ น้ํ า ธาตุ ไฟ ธาตุ ลม ธาตุ อากาส ธาตุ วิ ยญาณ ทั้ ง ๖ ธาตุ ยั งคงมี อยู ในร างกาย ก อนนี้ , แต อยู กั นเฉย ๆ ไม ได ทํ าอะไร จะมี อะไรหล อเลี้ ยงควบคุ ม ก็ เพี ยงว าไม ให มั น เน า ไปเท านั้ น ; ฉะนั้ น ก็ เป น ส วนของสิ่ งที่ ป ระกอบกั น ขึ้ น เป น ธาตุ นั้ น ๆ แล ว ก็ ไม ได ทําอะไร, นี่คือบางเวลาเปนเพียงวาธาตุหลาย ๆ ธาตุกองกันอยู.
www.buddhadasa.info บางเวลาเปนอายตนะ; นั่นคือมีอะไรมาแวดลอมมากระทบ ทําใหเกิด เป นอายตนะขึ้นมาทางตาบาง ทางหูบาง; อยางนี้คนกลายเป นอายตนะ. ที่พระพุ ทธเจา ท านตรัสวา “สิ่งที่ปวง”. สิ่งทั้งปวงนี้ คือตา หู จมู ก ลิ้น กาย ใจ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธัมมารมณ . บางเวลามันก็ทําหนาที่นั้นอยู จนเกิดความรูสึกคิดนึ ก ก็เปนขันธใดขันธหนึ่ง, บางเวลามีกิเลสยึดมั่นถือมั่น ก็เปนทุกข เพราะเหตุที่ขันธใด
ภาวะพื้นฐาน ของสิ่งที่เรียกวา “คน”
๓๗๑
ขันธหนึ่ งนั้นมันถูกยึดถือ. ฉะนั้ นจะพู ดอีกที หนึ่ งก็วา คนบางเวลานั้ นก็ คื อความทุ กข นั่นเอง.
สรุปความวาคนเราบางเวลาเปนเพียงสักวาธาตุกอง ๆ กันอยู; แตบางเวลาเปนสิ่งที่ปรุงแตงกันหมุนจี๋ไปเลย และมีความทุกขดวย. ยกตั วอย างเหมื อนว า รถยนต นี้ มั นคื ออะไร? รถยนต บางเวลาเป นเพี ยง ชิ้ นโลหะทั พพสั มภาระ ถู กแยกออกมาเป นชิ้ น ๆ ชิ้ น ๆ วางกั นอยู เต็ มไปหมด กี่ พั นชิ้ น ในโรงงานที่ เขาผลิ ต ชิ้ น ส ว นของมั น . รถยนต คั น หนึ่ ง ก็ อ ยู น สภาพอย า งนั้ น ; เขาจะ ไม เรี ยกว ารถยนต ก็ ได แต ว าคนที่ รู เรื่ องดี ก็ ว า นี่ น ะ รถยนต มั นอยู ในสภาพที่ เป นชิ้ น ๆ ชิ้น ๆ อยางนี้ทุก ๆ คัน. ที นี้ ต อมารถยนต นี่ คื ออะไร? มั นก็ คื อเขาเอาระบบเล็ ก ๆ มาประกอบ กั นเข า คื อหลาย ๆ ชิ้ นมาประกอบกั นเข าเป นระบบหนึ่ ง ๆ ระบบเล็ ก ๆ ที่ จะเอาไปทํ า นั่ น ทํ า นี่ เป น ระบบใหญ . แล ว ต อ มา มั น ประกอบกั น เข า เป น ระบบ ระบบใหญ ๆ : ระบบไฟ ระบบเผาไหม ระบบหล อ ลื่ น ระบบอะไรต าง ๆ หลาย ๆ ระบบ น อยระบบ เขาแล ว ที นี้ เขาก็ จะเอามาประชุ มคุ มกั นเข าจนเป นคั นรถ แต มั นยั งไม ได วิ่ง เพราะ รถยนต บ างเวลายั งไม ได วิ่ งก็ เรี ย กว า รถยนต คื อ มั น วิ่ งไม ได แม จ ะมี อ ะไรครบแล ว ; แต ถ าไม มี เหตุ ป จจั ยให สั มพั นธ กั น มั นก็ ไม วิ่ง. แต ในบางเวลาเราจะเห็ นว าสิ่ งที่ เรียกว า รถยนต นั้ น วิ่ งฉิ ว ; และบางเวลาเราก็ เห็ น ว ารถยนต ล งไปนอนอยู ในคู ; มั น ก็ รถยนต นั่ น เอง; บางเวลามั น เป น ชิ้ น เล็ ก ๆ ก็ คื อ รถยนต ; บางเวลาอยู ใ นสภาพอย า งอื่ น ก็ เรียกวารถยนต. นี้ไมใชเรื่องตลก แตวาเปนเรื่องที่ขอใหคิดดูอยางนั้น.
www.buddhadasa.info สํ า หรั บ คนเราคนหนึ่ ง ๆ พิ จ ารณาดู ในบางเวลาเป น อะไร? ในบางเวลา เปนอะไร?บางเวลามันเปนอะไร? สิ่งที่เรียกวาคนนี่ มีอยูไดในหลายแง หลาย
๓๗๒
ปรมัตถสภาวธรรม
ความหมายอยา งนี ้; แลว ก็ส มมติทั ้ง นั ้น . ที ่จ ริง มัน ก็ ไมใ ชค น เชน เดีย วกับ เรา จะหาเรื่ อ งว า รถยนต มั น ไม ใช รถยนต มั น คื อ ชิ้ น ส ว นของพั ส ดุ อ ะไรต าง ๆ มั น ไม ใช รถยนต เปรี ยบอย างนั้ นก็ ได ; เมื่ อเอาส วนต าง ๆ มาประชุ มกั นให ถู กต อง มั นก็ วิ่ งได แตก็ยังไมใชรถยนต. คน นี้ ก็ เหมื อนกั น ถ าเรี ยกว าคน ก็ หมายความว า เราสมมติ ให เรี ยกว าคน; ที่แทมันก็คือสวนตาง ๆ ที่เปนธาตุหลาย ๆ ธาตุ ที่ประชุมกันอยู หรือวากําลังหยุด เฉยกั น อยู กํ า ลั ง สั ม พั น ธ กั น อยู ; ทํ า หน า ที่ อ ะไรอยู ก็ ล ว นแต ค นทั้ ง นั้ น . นี่ เรี ย กว า เป นความรูในส วนที่ เรียกว าปรมั ตถ ที่ ธรรมดาเราไม สนใจ; เพราะเรามี เรื่องที่ ยั่ วให สนใจ อย างอื่ น . เราไม สนใจเรื่ องอย างนี้ ; เราไปสนใจเรื่ องที่ จะทํ าให เกิ ดความทุ กข , เราไม สนใจเรื่องที่จะหยุดซึ่งความทุกข.
ไมสนใจรูจักตัวเอง ไปสนใจแตเรื่องใหเกิดทุกข ขอให ทุ กคนคิ ดดู ตั วเองนั่ นแหละ ไม ต องเอาคนอื่ น; ตลอดวันตลอดคื น สนใจเรื่อ งอะไร. เราสนใจเรื่อ งที่จ ะใหเ กิด ความทุก ขทั้ง นั้น แหละ แตก็คิด วา นี่ เป นเรื่องที่ ดี หรือว าเป นเรื่องที่ จะดั บทุ กข ด วยซ้ํ าไป; แต ที่ แท มั นเป นเรื่องที่ ไม ต องไป ทํ าก็ ได ไม ต องไปยุ งก็ ได . ส วนที่ จะดั บทุ กข ได จริ ง ๆ นั้ น เรายั งไม รู จั ก และก็ ไม ค อย ได สนใจ. อย างว าส วนมากที่ สุ ดก็ สนใจที่ จะหาเงิ น แล วก็ ไม มี ทางที่ จะพอได ก็ ยั งไม เคยคิ ด ว ามั น จะพอได อย างไร แม จะมี ม าอี ก เท าไรมั น ก็ ยั งไม พ อ ก็ ส นใจแต เรื่ อ งนั้ น . หาเงิน มาทํ า อะไร? ก็จ นกระทั ่ง ไมรูว า จะทํ า อะไร. จะดับ ความทุก ขไดอ ยา งไร? ก็ไมรูวาเงินนี้จะชวยดับความทุกขไดอยางไร? กระทั่งวามันเปนเหตุใหเกิดความทุกข หรือเปล า? ก็ ไม ได สนใจว ายึ ดถื อแล วก็ เป นทุ กข ไม ยึ ดถื อ แล วก็ ไม เป นทุ กข . อย างนี้ ก็แปลวาเราจะสนใจอะไรก็สนใจแตในแงที่มันจะเกิดความทุกข ในแงที่จะดับทุกขไมรู.
www.buddhadasa.info
ภาวะพื้นฐาน ของสิ่งที่เรียกวา “คน”
๓๗๓
ฉะนั้ นวั นหนึ่ ง ๆ จึ งวิ่ งไปวิ่ งมากั นแต เรื่องความทุ กข . เรื่องดั บทุ กข นั้ นยั งไม รู, แม เขา บอกก็ไมเชื่อ. โดยทั่ ว ไปเป น อย า งนี้ ม าแล ว ตั้ ง แต ค รั้ ง โบราณ; ครั้ ง พุ ท ธกาลก็ เป น อยางนี้. คนถูกอวิชชาหุมหอ ถูกตัณหากระชากลากถูไป ถูกอุปาทานผูกมัด รัดรึง. เปนอยูแตอยางนี้; เวลาที่วาง ที่ไมเปนอยางนั้น แทบจะนับวาไมมี; ถามีก็หลับ ไปเลย คื อมั น นอนหลั บ ไปเลย หรือ ว าเวลาที่ ไม รูสึ กอะไร. ถ าเกิ ด ความรูสึ กอะไรที่ เป นเรื่องขึ้ นมา มั นก็ มี แต เรื่องกิ เลส ตั ณหา อุ ปาทานทั้ งนั้ น; แม ขอเท็ จจริงอั นนี้ ก็ เป น ปรมั ตถสภาวธรรม. การที่ คนโงกั นอย างนี้ ก็ เป นปรมั ตถสภาวธรรม ให รูวาคนโงกั น อยางนี้; แตวาปรมัตถสภาวธรรมจริงนั้น คือวิชชาที่จะชวยแกความโง ชนิดนี้ ใหหมดไปเสีย นี่คือปรมัตถสภาวธรรมแท. เพราะเหตุนี้ พระพุทธเจาทานจึงตรัส ให ชั ด ลงไปว า ให รูเรื่อ งความทุ ก ข เรื่องเหตุ ให เกิ ด ทุ กข เรื่องความดั บ ทุ กข และก็ เรื่องวิธีที่จะใหถึงความดับทุกขนั้นมี ๔ เรื่องเทานั้น. ทํ าไมจะต องตรัสเรื่องทุ กขขึ้นมาอี ก ทั้ งที่ คนเป นทุ กขอยูเต็ มที่ ก็ ไม รูวามั น เปนทุกข? เพราะเปน ทุกขอ ยูก็ไมรูวาเปน ทุกข จึงตอ งบอกแมแตเรื่อ งความ ทุ กข ; บอกวาเป นทุ ก ข ก็ ยั งไม เชื่ อ วาเป น ทุ ก ข เหมื อ นบอกคนบ าวาบ า, เขาก็ ไม เชื่ อ วาตั วเองบ า; เขาจะเถี ยงวาไม บ า เชนเดี ยวกั บคนเราแม จะได รับคํ าบอกวานี่ เป นทุ กข ก็ ไม เชื่ อ ก็ เถี ย ง, หรื อ ว า เห็ น เป น สุ ข ไปเสี ย อี ก ; ก็ เลยต อ งพยายามกั น มากที เดี ย ว กวาที่ จะใหคน ๆ หนึ่งรูปรมัตถสภาวธรรม ในสวนที่เกี่ยวกับความทุกข วาความทุกขเป น อยางนี้ ๆ.
www.buddhadasa.info สวนเรื่องเหตุที่ใหเกิดทุกข และความดับทุกขนั้นยังมีอีกสวนหนึ่งตางหาก; ยังอีกไกล; เพราะที่เกี่ยวกับความทุกขนี่ยังไมรู กลับจะเห็นเปนสิ่งที่นาปรารถนา
ปรมัตถสภาวธรรม
๓๗๔
ไปเสี ย เลย ในแบบที่ เรี ย กว า เห็ น กงจั ก รเป น ดอกบั ว ; คํ า กล า วที่ แ สดงให เห็ น อะไร มากไปกว านั้ นก็ อย างบทบาลี ที่ พระท านสวดเมื่ อตะกี้ ให รูอะไรลึ กไปกว าธรรมดาสามั ญ จึ งจะเรี ยกว ารู ปรมั ตถสภาวธรรม; อย างบทสวดเมื่ อตะกี้ นี้ เป นตั วอย าง วั นนี้ จะแจงให ฟงอีก สําหรับบทที่สวดเกี่ยวกับ “สิ่งทั้งปวง”.
สิ่งทั้งปวง เปนที่ตกจมที่นากลัว พระพุ ทธเจาทานยกเรื่องนี้มาแสดงวา “เราจะแสดงให เธอรูจักสิ่งทั้ งปวง ที่ชาวบ านเขาพู ดกันวา สิ่งทั้ งปวง คืออยางนั้น อยางนี้, อยางนั้นอยางนี้ เต็มไปทั้ง จักรวาลนี่ อยางนี้ฉันไมเรียกวาสิ่งทั้งปวง : ฉันเรียกตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ, พรอม ทั้ งรู ป เสี ย ง กลิ่ น รส โผฏฐั พ พะ ธั ม มารมณ นี้ ว า สิ่ งทั้ ง ปวง”. เรื่ อ งก็ เลยเหลื อ เพียง ๖ อยาง หรือ ๖ คู : ตาคูกับรูป หูคูกับเสียง จมูกคูกับกลิ่น ฯลฯ เปนตน. หกคูนี้คือสิ่งทั้งปวง แลวมันอยูที่ไหน? มันก็อยูในรางกาย เนื่องกัน อยู กั บรางกาย ที่ ยาวประมาณสั กวาหนึ่ งนี้ . นี่ คื อสิ่ งทั้ งปวง. บางคนจะไม เชื่ อพระพุ ทธเจ า ถ าไม เข าใจว า นี่ คื อสิ่ งทั้ งปวง; แต บางคนมองเห็ นว า อ าว, ทั้ งหมดมาอยู ที่ นี่ มั นเนื่ อง อยูกับหกคูนี้, ถาไมมีอันนี้ สิ่งทั้งปวงก็ไมมี.
www.buddhadasa.info ถ าพู ดในฐานะ เป นที่ ออกมา มั นก็ ออกมาจากตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจ นี่ ; ถาจะพูดในฐานะที่ มันเป นที่ รวมเขาไป กลับเขาไป หรือเปนที่เสวยผลของมัน ก็อยู ที่ ตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจนี่ ; หรือแม วามั นกํ าลั งรูสึ กอยู สิ่ งที่ กํ าลั งรูสึ กอยู ในเวลานี้ ก็ อยู ที่ ตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจ. ฉะนั้ น สิ่ งทั้ งปวง จะเกิ ดขึ้ นก็ ตาม จะตั้ งอยู ก็ ตาม จะปรากฏเปนผลประโยชนก็ตาม หรือจะดับไปก็ตาม มันก็อยูที่ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ, จึงเรียก ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ วาเปนสิ่งทั้งปวง. อยางนี้ก็แสดงใหเห็นสวนที่เปน
ภาวะพื้นฐาน ของสิ่งที่เรียกวา “คน”
๓๗๕
ปรมัตถธรรม, หรือเปนปรมัตถสภาวธรรม วาสิ่งที่เปนอยูเองเรียกวาสภาวธรรม และ เปนปรมัตถคือมีความหมายอันลึกซึ้ง. ฉะนั้น ถาใครไมเคยคิดวาสิ่งทั้งปวงอยูที่ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ก็ไปคิดดูเถิด. ยั งมี เรื่องที่ พ ระพุ ท ธเจ าทรงแสดงว า สมุ ทร, สมุ ทร; คื อ มหาสมุ ท ร ใน ความหมายที่วา ตกลงไปแลวมันก็จม; คือตกทะเล ตกสมุทรแลวก็ตองจม. ไมเชื่อ ก็ ไปลองดู แล วมั นก็ จะต องตาย, เพราะเต็ มไปด วยอั นตราย เช นปลาร าย หรื อว าสั ตว ร า ยเป น ต น ; คนก็ ก ลั ว การตกลงไปในสมุ ท ร. แต พ ระพุ ท ธเจ า ท า นว า “ฉั น ไม ว า อย า งนั้ น นั่ น มั น ไม ใช ส มุ ท ร มั น เป น เพี ย งน้ํ า มาก ๆ มั น จะไม ทํ า อะไรได ยิ่ ง ไปกว า สิ่ งที่ เรียกว าสมุ ทรในอริยวิ นั ยนี้ , คื อในระเบี ยบการพู ดจากของพระอริยเจ านี่ . ในภาษา พระอริยเจาไมเรียกอยางนั้นวา สมุทร; แตเรียกรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธัมมารมณ ที่นารักนาปรารถนานั่นวาสมุทร; ถือวาเปนสมุทรจริง” . ทํ าไมจึ ง เป น สมุ ท รจริ ง? เพราะว า มั น ตกจริ ง ๆ แล วน า กลั ว จริง ๆ; แล วมั นตกอยู ตลอดเวลาก็ ว าได : ตกทั้ งมนุ ษย ตกทั้ งเทวดา ตกทั้ งมารทั้ งพรหม ทั้ ง ทุ กคนตก และกํ าลั งตกอยู จริ ง ๆ, เต็ มอยู ในสมุ ทร ยั้ วเยี้ ย ๆ อยู ในสมุ ทร, เป นสมุ ทร ที่ มี อยู จริ ง และมี สั ต ว ตกอยู จริง และก็ น ากลั วจริ ง; นี่ คื อ สมุ ท ร. ส วนสมุ ทรทะเลนั้ น ไปดู ซิ ลิ บลั บสุ ดหู สุ ดตา จะหาคนตกสั กคนหนึ่ งไม ใคร มี นี่ จะเรียกว าสมุ ทรอะไร. ส วน สมุทรรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ นี่ตกกันอยูจริง; แมนั่งอยูที่นี่ก็ตก, ถาจิต คิ ดเผลอไปนิ ดเดี ยวเท านั้ นก็ ตก; ถ าไม ตกทางตา ทางหู ก็ ไปตกในทางจิ ตใจ อย างนี้ เรียกวาเปนสมุทรจริง แลวตกอยูจริงตลอดเวลา.
www.buddhadasa.info นี ้ก ็อ ยา งเดีย วกัน อีก คือ เปน การแสดงปรมัต ถสภาวธรรม ใหเ ห็น วารูป เสียง กลิ่นรสนี้ มันเปนสภาวธรรมที่มีอยูเอง, แลวมีอัตถอันลึกซึ้งอยางยิ่ง;
๓๗๖
ปรมัตถสภาวธรรม
คื อวามั นเป นที่ ตกของสั ตว ทุ กสั ตว จึ งใชคํ าวา “สั ตวโลก” พรอมทั้ งเทวโลก มารโลก พรหมโลก หมู สั ต ว พ ร อ มทั้ ง เทวดา สมณพราหมณ พร อ มทั้ ง เทวดาและมนุ ษ ย นี่ ได ต กอยู จ ริ ง . ฉะนั้ น เมื่ อ เราไม รู จั ก สิ่ ง เหล า นี้ ก็ ไ ด ต กอยู ใ นสมุ ท รนี้ ; จิ ต ที่ ไ ม รู แจมแจงในสิ่งเหลานี้มืดมนไปหมด. นี่คือตกอยูในสมุทรนี้. นี้ คื อสมุ ทรที่ แท จริ ง; ไม ใช ทะเลที่ เป นสั กว าน้ํ าไปรวมกั นอยู มาก ๆ ในที่ ลุ ม. นั่ น มิ ใ ช ส มุ ท ร; เพราะคํ า ว า สมุ ท ร แปลว า ที่ จ ม ที่ ต ก; เยภุ ยฺ เยน สมุ นฺ น า ตนฺ ต า -สิ่งที่เรียกวาสมุทร คือสิ่งที่สัตวเปนอันมาก ไปตกอยู ไปจมอยู นั้นคือสมุทร. ยกตั วอย างอย างนี้ ก็ เพราะเห็ นความจํ าเป นว า ถ าเรี ยกว ารู ปรมั ตถสภาวธรรมแลวตองรูยิ่งขึ้นไปอยางไร, ควรจะแกปญหาไดอยางไร.
สุขทุกขมี เพราะความยึดถือในสิ่งที่เปนแตธาตุ ตั ว อย างอี ก อั น หนึ่ งตรั ส ว า “เมื่ อ มี การจั บ การวางก็ มี ; เมื่ อ เท ามี การ ก า วไปข า งหน า หรื อ การถอยหลั ง กลั บ ก็ มี ; เมื่ อ ข อ มื อ ข อ เท า มี ก็ มี ก ารเหยี ย ดออก หรือ คู เ ขา ; เมื ่อ ทอ งไสม ี ความหิว ความกระหายก็ป รากฏ”; นี ่ไ มต อ งพูด แลว ทุ ก คนรู ไ ด . แต ข อ นี้ ท รงแสดงให เ ป น เพี ย งว า เป น อุ ป มานั้ น อย า งหนึ่ ง ; แล ว มั น เปน สัก วา อยา งนั ้น เทา นั ้น , นั ้น อยา งหนึ ่ง ; อยา ใหม ีต ัว คน ตัว ตนอะไรกัน นัก . ถ า มี มื อ มี เท า แล ว มั น ก็ เดิ น ได หยิ บ ได วางได อย า งนั้ น . ไม ต อ งมี ตั ว ตนอะไรนั ก มีแตความรูสึกไปตามธาตุ วิญญาณธาตุ หรือหนาที่ของธาตุ.
www.buddhadasa.info แต ที่ รู ว า มี แล วน าอั นตรายนั้ น คื อมี ตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจ นั่ น; ถ ามี แล วมั น ไม ใช เพี ย งแต ว า จะหยิ บ จะวาง จะคู จะเหยี ย ด จะเดิ น จะถอย. แต ค นไป ยึดเปนตัวตนจึงมีความทุกข; หรือวาถาจะไมมีความทุกข, แตจะมีสิ่งที่เรียกวาความสุข
ภาวะพื้นฐาน ของสิ่งที่เรียกวา “คน”
๓๗๗
ก็ เพราะอั นนั้ นอี กนั่ นแหละ, ก็ เพราะตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจ นั่ นแหละ. ถ าตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจมี ก็ ต องมี การสั มผั สด วยตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจ ; แล วจากการสั มผั ส นั้นก็ตองมีเวทนา. พอมีเวทนาแลวจะรูสึกเปนสุข หรือจะรูสึกเปนทุกข ก็แลวแตเวทนา; แล วจะทุ กข มากขึ้ นไปอี กกว านั้ น ก็ เพราะการยึ ดถื อซึ่ งเวทนานั้ นโดยความเป นของตน : ยึ ด ถื อ ในทุ ก ขเวทนาก็ เป น ทุ ก ข แ บบหนึ่ ง , ยึ ด ถื อ ในสุ ข เวทนาก็ เป น ทุ ก ข อี ก แบบหนึ่ ง. ฉะนั้ น สุ ขเวทนาก็ มี มาสํ าหรั บให เป นทุ กข ในเมื่ อมี การยึ ดถื อ; ที นี้ เมื่ อคนยั งโง ก็ ต อง ยึดถือหมดทั้งสุขและทั้งทุกข ก็เลยไดมีความทุกขเพระความยึดถือ. นี้เปนหลักที่เรียกวาปรมัตถสภาวธรรมอันหนึ่ง เพราะมีตา มีหู มีจมูก มี ลิ้ น มี กาย มี ใจ จึ งเกิ ดสิ่ งที่ เรียกว าสุ ขและทุ กข ขึ้ น พอยึ ดถื อแล วก็ เป นทุ กข ทั้ งนั้ น : ยึ ดถื อที่ ตาก็ เป นทุ กข เพราะตา, ยึ ดถื อที่ รู ปก็ เป นทุ กข เพราะรูป ยึ ดถื อที่ สั มผั สก็ เป นทุ กข เพราะสั ม ผั ส, ยึ ดถื อที่ เวทนาก็ เป นทุ กข ที่ เวทนา, ยึ ดถื อ ที่ สั ญ ญาก็ เป น ทุ กข ที่ สั ญ ญา, ก็เรียกวาจักตองเปนทุกขเพราะความยึดถือ.
www.buddhadasa.info เช น เดี ย วกั บ ว า เมื่ อ มี มื อ ก็ มี ก ารจั บ การวาง, อย า งนี้ เพื่ อ จะให เห็ น ตั ว อย า งง า ย ๆ เมื่ อ มี มื อ ก็ มี ก ารจั บ การวาง; เมื่ อ มี ต า ก็ มี ก ารยึ ด ถื อ ทางตา แล ว ก็ จะต องเป น ทุ กข . ถามี การปล อยวางทางตาก็ ไม เป นทุ กข จะเป นรูปอะไร ชนิ ดไหน ก็ ไ ม เ ป น ทุ ก ข ; ซึ่ ง เดี๋ ย วจะดู ไ ด ด ว ยเรื่ อ งที่ ว า ด ว ยนรกและสวรรค . เดี๋ ย วนี้ เ รามี ต า แล วเรามั น โง แสนที่ จะโง โดยที่ ไม รู ว าตานี้ คื ออะไร ก็ เลยใช ตาสํ าหรั บ สร างความทุ ก ข อย างเดี ยว : เห็ นรู ปสวยก็ เป นทุ กข เพราะสวย, เห็ นรู ปไม สวยก็ เป นทุ กข เพราะไม สวย; อยางนี้เปนตน.
๓๗๘
ปรมัตถสภาวธรรม
จะตกนรกขึ้นสวรรคก็อยูที่อายตนะ ๖ นั่นเอง เมื่ อชี้ ให เห็ นความสุ ขหรื อทุ กข ที่ เกิ ดขึ้ น เพราะความยึ ดถื อแล ว ก็ ต องพู ดถึ ง นรกหรือสวรรค ดังที่พระพุทธเจาตรัส : “ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย, นรกชื่ อ ว าผั ส สายตนิ ก ะนั้ น เป น สิ่ งที่ เราเห็ น แล ว”. แล วที่ ตรงกั นข าม ก็ ว า “สวรรค ที่ ชื่ อว า ผั สสายตนิ กะนั้ นก็ เป นสิ่ งที่ เราเห็ นแล ว”. ทํ าไม จึ งว าเป น “สิ่ งที่ เราเห็ นแล ว”? คล าย ๆ กั บว า เป นสิ่ งที่ ยั งไม เคยเห็ น แต เดี๋ ยวนี้ บอกว า เห็นแลว, หรือบอกวาเราเห็นเอง โดยเราไมตองเห็นเพราะคนอื่นชี้ใหดู. เพราะว าคนอื่ น เขาชี้ ให ดู กั น อย างอื่ น คื อ เป น เรื่ อ งตื้ น ๆ เรื่อ งผิ วเผิ น ไม ใช ปรมั ตถ : ที่ เขาพู ดกั นอยู ว านรกอยู ข างใต ดิ น ใต บาดาลลงไปอี กก็ ถึ งนรก นรกชื่ อนั้ น เปน อยา งนั ้น , นรกชื ่อ นั ้น เปน อยา งนั ้น , ลึก ที ่ส ุด ชื ่อ อเวจีม หานรก หรือ ชื ่อ อะไร ก็จํ า ไมค อ ยไดแ ลว เพราะวา ไมไ ดส นใจ; แตก ็ไ ปหาอื ่น ไดจ ากหนัง สือ ชนิด นั ้น หรื อภาพเขี ยนฝาผนั กโบสถ ระบุ ไว ชั ด เป นอย างนั้ นเพราะเหตุ นั้ น ๆ. เขาว าเป นความรู อภิธรรมอยางยิ่งแลว; ที่จริงเปนความรูตื้นแคขอนิ้วมือก็ไมได.
www.buddhadasa.info ความรู ที่ จ ริ งแล ว นรกอยู ที่ ต า หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจ นี่ . นรกทุ ก ขุ ม ทุ ก อะไรทุ ก ชนิ ด ที่ แ ท จ ริ ง มี อ รรถอั น แท จ ริ ง มั น อยู ที่ ต า หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจ อย างที่ พระพุ ทธเจ าท านว า. เมื่ อมั นเป นนรกแล ว มั นก็ เป นที่ ตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจ แล วเวลา นั้นจะเปนนรกไปหมด. ตั ว อย า งว า ตาเป น นรกนี้ เห็ น รู ป สวยก็ เป น นรก, เห็ น รู ป ไม ส วยก็ เป น นรก; เพราะวาจิตมันกําลังผิดไปแลว. เมื่อจิตมันผิดไปแลว มีกิเลสเกิดครอบงําแลว
ภาวะพื้นฐาน ของสิ่งที่เรียกวา “คน”
๓๗๙
ด วยความยึ ดถื อ อย างใดอย างหนึ่ งแล ว ภรรยา สามี ที่ ว าสวยว าดี นั่ น เป นเรื่องบ าไป หมด : ไมอยากเขาใกล มันเปนนรกไปอยางนี้. แตวาจะกลับตรงกันขาม ถ ามี ใจคอปกติ แลว อะไร ๆ มั นก็ดี ไปหมด แม ค นไม ดี ก็ ดี ไปหมด; อาจจะเห็ น คนที่ เป น ศั ต รู เป น คนดี ไ ปหมดก็ ได . ถ า จิ ต เป น นรกแล ว ดอกไม ก็ ไ ม ห อม; นี่ เพราะจิ ต มั น เป น นรกแล ว ทางตาก็ ไ ด ทางหู ก็ ไ ด . ถ า จิ ต มั น เป น นรกแล ว เสี ย งของใครก็ ไม ไพเราะหมด, เสี ย งดนตรี ก็ ไม ไพเราะ เป น เสียงชนิดที่ไมมีรสที่จะทําใหเกิดความสุขได. ถาวาจิ ต ทํ าไวดี ถู ก วิธีดี อะไร ๆ ก็ จ ะเป น ของที่ ถู ก ใจไปได ; เช น วา รู ป ไม ส วยมั น ก็ ส วยไปได หรื อ มั น ดี ได มั น พอใจไปได ไม อึ ด อั ด ไม เร า ร อ น. เสี ย ง อะไรก็ ได กลิ่ น อะไรก็ ได ของไม อ ร อ ยก็ ยั งอร อ ยได ; ก็ แ ปลว า แล วแต ว าจั ด การผิ ด หรือจัดการถูกที่ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ นั้น. ถาจัดการผิดก็เปนนรกทันควันที่นั่น และรอนจริง ๆ ดวย; ถาจัดการถูกก็ไมรอน พอที่จะเปนไปดวยกันได เปนที่พอใจได.
www.buddhadasa.info แตอยาลืมวา : ทั้งนรกและทั้งสวรรคนี้ ไมใชสิ่งสุดทาย ไมใชสิ่งสูงสุด หรือเด็ดขาด :ทั้งนรกทั้งสวรรคนี้จะตองเททิ้งไป ใหเปนความหลุดพน อยูเหนือ สิ่งทั้งสองนี้.
นี่ พู ดสํ าหรั บคนธรรมดาสามั ญ ที่ ชอบสวรรค แล วก็ เกลี ยดนรก กลั วนรก; ก็ระวังใหดี นรกสวรรคก็อยูที่ตา หู จมูก ลิ้น กาย แลวไปมัวเกลียดมัวกลัวอยูที่อื่น มองไปที่ อื่ น คิ ด ไปที่ อื่ น ก็ เป น ปุ ถุ ช นมากเกิ น ไป, คื อ โง นั่ น แหละ. เมื่ อ คนอื่ น เขา ดู ส วรรค กั น ที่ บ นฟ า อย า งนั้ น ๆ, ดู น รกกั น ที่ ใ ต ดิ น อย า งนี้ ๆ; แต พุ ท ธบริ ษั ท ควรจะ ดูนรกและสวรรคที่ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ, แลวก็ที่นี่และเดี๋ยวนี้. นี่คือความเปน ปรมัตถสภาวธรรม เปนธรรมอันลึก หรือเปนอภิธรรม ธรรมที่ยิ่งกวาธรรมดา.
ปรมัตถสภาวธรรม
๓๘๐
ทั้งนรกสวรรคตองขามเสียใหได ควรจะข ามมั นเสี ยงให ได สิ่ งที่ เรียกว าสมุ ทร สมุ ทรนั้ น ตกลงไปแล วขึ้ นไม ได ขามไมไดแลวก็ตายในสมุทร ในสมุทรนั้นมีทั้งนรกมีทั้งสวรรค. เพราะวาตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจ นี้ เป น ได ทั้ งนรก ทั้ งสวรรค ; ทั้ งนรกและทั้ งสวรรค จึ งเป น สมุ ท ร เป นที่ ตก : ตกนรก ก็ คื อตกลงไปในที่ มั นรอน, ตกสวรรค ก็ ตกลงไปในที่ ที่ ยั่ วยวน สนุ ก สนาน เอร็ ด อร อ ย; แต ก็ เรี ย กว า ตกทั้ ง นั้ น มั น จม ตก ผู ก มั ด รั ด รึ ง ทั้ ง นั้ น จึ ง เรียกวาสมุทรเสมอกัน. ขึ้นชื่อวา รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธัมมารมณแลว จะชื่อวา สมุทรเสมอกัน; คือฝายอิฏฐารมณ ก็ดี ฝายอนิฏฐารมณ ก็ดี เรียกวา เปนสมุทรเสมอกัน. หน าที่ ของเราก็ คื อไม ตก; ฉะนั้ นจึ งต องมี ความรูเรื่องที่ จะไม ตกเป นเรื่องสุ ดท าย เรียกว า “ขามสมุทร” เสียได, ขามความทุกขเสียได. ทํ าอย างไรจึ งจะไม ตกลงไปในสมุ ทร คื อรูป เสียง กลิ่ น รส โผฏฐัพพะ? ก็คือ รูตามที่เปนจริงวา รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ นี่คืออยางนั้น ๆ ๆ : เกิดมา จากอายตนะสองฝาย เปนผัสสะ เปนเวทนา แลวก็เปนสุขหรือเปนทุกข; ก็มีอยู เท านั้ น; พอไปยึ ดถื อเข า มั นก็ ติ ดอยู ที่ นั่ น จมอยู ที่ นั่ น. ออกมาไม ได ก็ เป นทุ กข อยู ที่ นั่ น; พอรู เท า มั น ก็ ไ ม ติ ด คื อ หลุ ด ออกมาได ก็ ไ ม มี ทุ ก ข . เรื่ อ งมี นิ ด เดี ย วเท า นั้ น แต มั น ลึ กมาก; ทํ าอย างไร อย าให ตกลงไปในตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจ ก็ เป นอั นว าหมดเรื่ อง หมดปญหาของคนเรา.
www.buddhadasa.info “คน” ก็คือปริวรรตน ของธาตุ ๖ กอง ที นี้ คนเราก็ อย างที่ ว ามาแล ว บางเวลามั นก็ น าสงสาร สิ่ งที่ เรี ยกว า “คนเรา”, บางเวลาก็เปนเพียงวาธาตุทั้ง ๖ กอง ๆ กันอยู, บางเวลาก็ขยับกระดุกกระดิกขึ้นมา
ภาวะพื้นฐาน ของสิ่งที่เรียกวา “คน”
๓๘๑
เป น อายตนะ, บางเวลาก็ ป รุ งกั น ขึ้ น เป น ก อ น ๆ กลุ ม ๆ คื อ เป น ขั น ธ ขั น ธ นั่ น ขั น ธ นี่ ขึ้ นมา, บางเวลาก็ เกิ ดเป นอุ ปาทานขั นธ บ ากั นใหญ ยึ ดมั่ นเป นตั วกู ยึ ดมั่ นเป นของกู ตามเรื่องของการปรุงแตงนั้น ๆ : นี่คือคน คือสิ่งที่เรียกวา “คน”. เมื่ อยึ ดมั่ นในเบญจขั นธ นั่ นแหละ ก็ เป นอุ ปาทานขั นธ ขึ้นมาทั นที ; คน ก็ คื อ อุ ป าทานขั น ธ นั่ น เอง. เวลานั้ น กําลังเป น นรกกัน เต็ ม ที่ , เป นสวรรคกั น เต็ ม ที่ ในขณะที่ ค นกํ า ลั งเป น อุ ป าทานขั น ธ . ในเวลาอื่ น เป น สั ก ว าธาตุ ล ว น ๆ กอง ๆ กั น อยู ไมไดเปนนรก ไมไดเปนสวรรค; แตก็พรอมอยูเสมอที่จะเปนนรกเปนสวรรค. นี่ เรี ย กว า คนยั ง ไม ไ ด อิ ส ระแก ตั ว ; ต อ งได รั บ การอบรมเป น พิ เ ศษ, เจริญภาวนา ตามแบบของพระพุ ทธเจ า ตามหลั กของพระพุ ทธศาสนา; จนจิ ตนี่ จะฉลาด รุงเรื่องมีความรู ไมเกิดอาการ ที่เรียกวาตกลงไปในตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ อีกตอไป คือไมตกสมุทร ทั้งที่เปนนรกและสวรรค; มันก็จบกันเทานี้เอง.
คอยดูใหดีวา ตัวเองกําลังเปนอยางไร
www.buddhadasa.info พู ดแล วก็ เหมื อนกั บว าพู ดเล น หรือว าพู ดเพ อเจ อ แต ถ าใครไปคิ ดดู ให ดี ก็ จ ะรู จั ก ตั ว เอง รู จั ก ตั ว เองว า กํ า ลั ง เป น อย า งไร, กํ า ลั ง ตกอยู ในนรกไหน, หรื อ ว า กํ าลั งอยู ในสวรรค ชั้ นไหน; หรื อว ากํ าลั งเป นคนที่ เหมื อนกั บว าตายแล วอย างนั้ น ไม มี ความรู สึ กอะไร; โดยเฉพาะอย างยิ่ งเวลาที่ เราหลั บ หรือเวลาที่ ใจลอยเหม อ ๆ อยู ไม ได รูสึกอะไร นี้ก็เหมือนกับวาตายแลว เหมือนกับวาธาตุกอง ๆ อยูเทานั้น.
นี้ เรียกวาพื้ นฐาน โดยพื้ นฐานเรามี ธาตุ ๖ อย างอยู จนกวาจะได สิ่ ง แวดล อ มเข ามาผลั ก ดั น คื อ ปรุ งแต ง; มั น ก็ ป รุ งแต งกั น ขึ้ น ธาตุ นั้ น ธาตุ นี้ ธาตุ โน น ปรุงแต งกั นขึ้ น เป นจั กขุ ธาตุ บ างเป นโสตธาตุ บ าง เป นฆานธาตุ บ าง คื อ ธาตุ ตา ธาตุ หู ธาตุจมูก ธาตุลิ้น ฯลฯ; นี่ธาตุเหลานี้ถูกปรุงแตงขึ้นมา เปนคราว ๆ เปนขณะ ๆ.
๓๘๒
ปรมัตถสภาวธรรม
ถ าใครเข าใจว าเรามี ตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจ อยู ตามปกติ เป นธรรมดาแล ว; ขอให เลิ กเข าใจอย างนั้ นเสี ยเถิ ด; เพราะเราถู กสอนมาผิ ด ๆ หรือเดาเอาเองผิ ด ๆ. ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ มิไดเกิดอยูตลอดเวลา; จะเกิดตอเมื่อมีสิ่งมาแวดลอมใหทํา หนาที่ จึงจะเรียกวา เกิดอายตนะนั้น ๆ ขึ้นมา แลวทําหนาที่. ขั นธ ก็ เหมื อนกั น : รู ปขั นธ เวทนาขั นธ สั ญ ญาขั นธ ฯลฯ อย าไปเข าใจ วาเรามี ขันธเกิดอยูตลอดเวลา; โดยเฉพาะอยางยิ่งทั้ง ๕ ขันธ มันเกิดไม ได ตองมี อะไรมาทํ า ให ทํ า หน า ที่ ก อ น มั น จึ งจะเกิ ด รู ป ขั น ธ ขึ้ น มาได . เวทนาขั น ธ ก็ เหมื อ นกั น มั นยั งไม เกิ ดจนกวาจะมี อะไรมาทํ าให เกิ ดความรูสึ กสุ ข ทุ กข นี่ จึ งจะเกิ ดเวทนาขั นธ ฯลฯ; ฉะนั้น ขันธก็มิไดมีอยูตลอดเวลา และโดยเฉพาะอยางยิ่งทั้ง ๕ ขันธ. ถาจิตใจไมไดรูสึกตออะไร ก็เทากับวาไมมีตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ; ถ าตาไปเกิ ด รู สึ กอะไรเข า ก็ มี ต าขึ้ น มา และก็ ชั่ วขณะหนึ่ ง. ถ าไปหลงในเรื่ องของตา ในกิ จ การของตา ในรสอร อ ยที่ ต านํ ามาให ; อย างนี้ ก็ เรี ย กว าไปหลงในอุ ป าทานขั น ธ ที่เกี่ยวกับตา คือรูป เปนตน.
www.buddhadasa.info ที่ พู ดเสี ยยื ดยาวมากมายอย างนี้ ก็เพื่ อจะให รูจั กตั วเอง; รูจั กตั วเราเองวา ในเวลาไรเป น อย า งไร, ในเวลาไรเป น อย า งไร; แล ว ก็ จ ะรู ไ ด ว า เราอาจจะเป น ได ทุ กอย าง คื อเป น สั ตว นรกก็ ได เป นเทวดาในสวรรค ก็ ได เป น มนุ ษ ย ต ามธรรมดาก็ ได เป น พระอริ ย เจ า ก็ ได . เป น อะไรมากก็ สุ ด ก็ ให ถื อ ว า กํ า ลั ง อยู ในพวกนั้ น ก็ แ ล ว กั น ; คือวา จิตนี้ยังอยูในระดับที่เปนอะไรมากที่สุด ก็ถือวามันเปนอยางนั้น เปนพวกนั้น. แตถาวาโดยที่แท แลว จิตนี้ เป นอะไรได ทุ กอย าง; ในป จจุบั นนี้ ก็เป น อะไรไดท ุก อยา ง; แตเ ปน ไดแ วบเดีย ว แวบเดีย วเสีย เปน สว นใหญ. สว นที่ เปนมากเปนประจํานั่นแหละ คือวาเปนภาวะที่แทจริงของคนนั้น เชนวาเปนปุถุชน
ภาวะพื้นฐาน ของสิ่งที่เรียกวา “คน”
๓๘๓
อย า งนี้ ก็ เ ป น มาก; เพราะโง โง ม ากที่ สุ ด เลย. ที่ จ ะฉลาดหน อ ยก็ น าน ๆ ครั้ ง , และที่ วาจิ ตจะว าง โดยไม ยึ ดถื ออะไรเลยสั กนิ ดหนึ่ งนั้ น หายากเต็ มที่ . ฉะนั้ น เราไม เป นพระอรหั นต, หรือวาเราจะเหมื อนพระอรหั นต โดยบั งเอิ ญชั่วขณะก็ เป นสักนิ ดหนึ่ ง แล วก็ แวบหายไป; แต ที่ ม าหลงใหลอยู ในรู ป เสี ย กลิ่ น รส โผฏฐั พ พะนี้ มั น มี ม าก มากกว าอย างใด ก็ เลยเรียกวาเป นปุ ถุ ชน หลงใหลในกามเป นปกติ ซึ่ งเรียกวาพวก กามาวจร นี้มากที่สุดเลย มากที่สุดกวาพวกไหนหมดเลย. นี้หมายความวา พวกที่ตกอยูในสมุทร คือนรกหรือสวรรคนี่มากที่สุด; แลวก็ไปจับใหไดวา นี่คือเรา ในชั่วสภาวะที่เรียกวา คนนี่ มันเปนอยางนี้. เวลาที่จิตจะ ถอนออกมาไดจากสิ่งเหลานี้ มาอยูในความปกติเฉย ๆ แมที่เรียกวาเปนรูปาวจรนั้นมีนอย. เชนไดไปเพง ไปดู ไปคิดนึกอยูแตสิ่งที่ไมใชกามารมณนั้น แลวพอใจ อยูได ซึ่งในเวลาอยางนั้ น มี น อ ย เวลาอยางนั้ น เป น รูป าวจร. หรือ ถ าวาไปนึ ก ถึ ง แตเรื่องที่ไมมีรูปราง, แลวพอใจอยูไดอะไรอยางนั้น เรียกวาเปนอรูปาวจร. ถาวา จิ ต ว า ง ออกไปได จ ากการยึ ด ถื อ ว า ตั ว ตนได อย า งนั้ น ก็ เป น โลกุ ต ตระ ระดั บ ใด ระดั บหนึ่ ง : ระดั บโสดาฯ สกิ ทาคาฯ อนาคาฯ อรหั ตต ระดั บใดระดั บหนึ่ ง ที่ เป น โลกุ ตตระ; คื อจิ ตว างจากการที่ จะไปมี อะไรเป นตั วเป นตน หรือเป นของตน หรือเป น ที่ตั้งแหงความยึดถือของตน.
www.buddhadasa.info โดยทั่วไป สัตวโลกตกอยูในกามาวจร คนทั่ ว ไป สั ต ว ทั้ งหลายที่ มี ชี วิ ต ทั้ งมนุ ษ ย ทั้ งเดี ย รั จ ฉาน ทั้ งเทวดานี้ สวนมากทั้งหมดนั้น เป นกามาวจร, คือมีจิตที่เคยชินแตที่จะเปนกาม ตกไปในอารมณ ที่ เป น กาม ก็ เรี ย กว า กามาวจร; น อ ยเวลาที่ จ ะไปมี จิ ต ยิ น ดี ในสิ่ งที่ เรี ย กว า รู ป อั น บริสุทธิ์ ไมเกี่ยวกับกาม. พระพุทธเจาทานเคยตรัสไววา นั่นคือทางออกของสัตว
๓๘๔
ปรมัตถสภาวธรรม
ที่ จ มกาม; คื อ ว า สั ต ว ทั้ งหลายจมอยู ในกาม เรี ย กว า พวก กามาวจร. ถ า บั งเอิ ญ มีจิตยินดีในสิ่งที่ เรียกวา รูป, รูปธรรมอะไรก็ไดที่บริสุทธิ์; แมกําหนดลมหายใจอยู แล วพอใจอย างนี้ เป นสุ ขอยู ด วยการกํ าหนดลมหายใจอย างนี้ ก็ เรียกว าจิ ตกระโดดออก ไปอยู ในพวก รูปาวจร, เรียกวารูปเฉย ๆ คือทางออกของสั ตวที่ มี จิตเป นกาม ก็ เลย เรียกวา รูปนั้นเปนทางออกของสิ่งที่เรียกวากาม. ถาวารูปยังไมใหความสุข เปนที่พอใจ ก็ออกไปหาอรูป คือสิ่งที่ไมมีรูป; เช น อากาศ ก็ เรี ย กว า ไม มี รู ป , เช น วิ ญ ญาณธาตุ ก็ เรี ย กว าไม มี รู ป หรื อ ความไม มี อะไรนี่ ก็ เรี ย กว า ไม มี รู ป . จิ ต ไปพอใจ เป น สุ ข อยู กั บ สิ่ งชนิ ด นั้ น นั่ น ก็ เรี ย กว า อรู ป หรืออรูปาวจร; อรูปก็เปนทางออกของสัตวที่จมอยูในรูป. บทเหล านี้ พระสงฆ ได สวดสาธยายแล ว; ได อธิ บายแล วตั้ งแต การบรรยาย เรื่ อ งปรมั ต ถสภาวธรรมครั้ ง ที่ ๑ ครั้ ง ที่ ๒ ครั้ ง ที่ ๓ โน น . ท า นทั้ ง หลายที่ เพิ่ ง มา วั น นี้ ยั งไม ได ยิ น จึ งเอามาเล าให ฟ งว า ความเป น ปรมั ต ถ ของคนนี่ เป น อย างนี้ . เรา พยายามที่ จะให รูปรมั ตถ ที่ จํ าเป นที่ จะต องรูแล วก็ จะได ถอนตนออกมาเสี ยได จากวั ฏฏะ, พ นจากการวนเวี ยนอยู ในสิ่ งที่ มั นทํ าให วนเวี ยน ให จมคื อสมุ ทร แล วก็ ขึ้ นบก, ขึ้ นบก เรียกวาเปนโลกุตตระ ไปทีละขั้น จนกวาจะถึงที่สุด.
www.buddhadasa.info ปรมัตถสภาวธรรม เปนอุบายออกเสียไดจากทุกข
ความรูขอเท็จจริงของสิ่งเหลานี้ ก็เรียกวาปรมัตถสภาวธรรม; ตัวขอ เท็ จจริงก็ เรียกวา ปรมั ตถสภาวธรรม; แล วความรูเรื่องนี้ ก็ เรียกวาปรมั ตถสภาวธรรม, แล ว อุ บายหรือวิ ธี ที่ จะออกเสี ยจากสิ่ งเหล านี้ ก็ เรี ยกว าปรมั ตถสภาวธรรม; ออกมาได ได ผล เป นความพ นทุ กข นี้ ก็ เรียกว าปรมั ตถสภาวธรรม. แต ว าสิ่ งนี้ ต องรู กั นจริ ง ๆ ลงมื อเรี ยน เหมื อ นอย า งเรี ย น ก.ข. ก.กา นั้ น แหละ คื อ เรื่ อ งธาตุ เรื่ อ งอายตนะ เรื่ อ งขั น ธ เรื่องอุปาทานขันธ สี่เรื่องนี้สําคัญที่สุด เหมือนกับ ก.ข. ก.กา. ถาใครไมเรียน
ภาวะพื้นฐาน ของสิ่งที่เรียกวา “คน”
๓๘๕
แล ว ก็ จ ะเรี ย นหนั ง สื อ ได อ ย า งไร; จึ ง ขอวิ ง วอนแล ว วิ ง วอนอี ก ว า อย า ได เบื่ อ หน า ย ที่จะศึกษาเรื่องธาตุ. พึงรูวาบุรุษนี้ประกอบดวยธาตุ ๖, เรื่องอายตนะ หรือสิ่งทั้งปวงคือตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจ รูป เสี ยง กลิ่ น รส โผฏฐั พพะ ธั มมารมณ , เรื่ องขั นธ ก็ คื ออายตนะ นั้ น จะปรุ งให เกิ ด รู ป ขั น ธ เวทนาขั น ธ สั ญ ญาขั น ธ สั ง ขารขั น ธ วิ ญ ญาณขั น ธ ; ขั น ธ ทั้ง ๕ นี้ เผลอเมื่อไรก็จะกลายเปนอุปาทานขันธ เปนรูปูปาทานขันธ เวทนูปาทานขั นธ สั ญู ปาทานขั นธ สั งขารูปาทานขั นธ วิ ญญาณู ปาทานขั นธ นี่ คื อตั วทุ กข เป นตั ว ความทุกขแลว. ทีนี้ ถาทําให ไมปรุงเปนความยึดมั่นเปนอุปาทานขันธ นั้นก็คือดับทุกข คื อ หยุ ด เสี ย ซึ่ งความทุ ก ข มี เท านี้ เอง. ขอให รูเรื่อ งธาตุ ทั้ งหลายนี่ อ ย างหนึ่ ง, ให รู เรื่องอายตนะที่ปรุงขึ้นมาจากธาตุนี้อยางหนึ่ง, ใหรูจักขันธที่ปรุงออกมาจากอายตนะนั้น อี ก อย า งหนึ่ ง ; ให รู อุ ป ทานขั น ธ ที่ เผลอไปยึ ด มั่ น ขั น ธ เข า แล ว เกิ ด อุ ป าทานขั น ธ ขึ้ น มานี้ อ ย า งหนึ่ ง ; นี่ เป น ทุ ก ข ทั้ ง นั้ น แล ว รู เรื่ อ งตรงกั น ข า ม คื อ อย า ยึ ด ถื อ ก็ เป น เรื่องดับทุกข นี่เปนเรื่องอริยสัจจ ๔ ครบถวน.
www.buddhadasa.info รูเรื่องธาตุปรุงจนเปนทุกขแลวจะรูอริยสัจจงาย ที นี้ ในเมื่ อ เรื่ อ งทุ ก ข เรื่ อ งแรกที เดี ย ว ก็ ยั งไม เข า ใจ ไม ส นใจ แล ว ก็ ไม อยากจะสนใจ ก็ ย อ มเป น ไปไม ไ ด ที่ จ ะมารู เรื่ อ งครบถ ว นทั้ ง ๔ เรื่ อ ง ที่ เรี ย กว า อริยสัจจ. เราควรรู ว า สิ่ ง เหล า นี้ เมื่ อ อยู กั น ตามธรรมชาติ ก็ ไม เป น อะไร; แต พ อ ไปยึดถือเขาก็เปนทุกข; อวิชชาทําใหยึดถือ; ยึดถือก็เปนอุปาทาน; อยาก
ปรมัตถสภาวธรรม
๓๘๖
ก็ เป น ตั ณ หา; ยึ ด ถื อ ก็ เป น อุ ป าทาน; นี้ เป น เครื่ อ งทํ า ให สิ่ ง ที่ ไ ม เป น ทุ ก ข นั่ น กลาย เปนทุกขขึ้นมา. ที่ไมมีทุกขดับทุกขสนิท ก็คือทําลายสิ่งนี้เสีย : ทําลายสิ่งที่ทําให เปนทุกข ทําใหเกิดยึดถือเปนทุกขเสีย คือทําลายอวิชชา ตัณหา อุปาทานเสีย. ทําอยางไรจึงจะทําลายสิ่งที่ทําใหทุกขได? ก็คืออยูใหถูกตอง ตาม หลั กแห งอริยมรรคมี องค ๘ ประการ รวมความแลวคืออยูโดยมีวิชชา, มีป ญญา, แล วจะทํ าถู กหมด; คื อมี สั มมาทิ ฏฐิ ให ถู กต องแล ว ความปรารถนา การพู ดจา การงาน การหาเลี้ ยงชี พ การพยายาม ความมี สติ มี สมาธิ ถู กหมด; เมื่ ออยู อย างถู กหมดอยู ตลอด เวลา มันก็ไมโงที่จะเกิดความปรุงแตงเปนอุปาทาน ก็เลยไมเปนทุกข : มีเทานี้เอง. พู ด สองสามคํ า ก็ จ บหมดเหมื อ นกั น ; แต ว า โดยรายละเอี ย ดยั ง มี ม าก. แล วการปฏิ บั ติ ให ได ก็ ยิ่ งยากขึ้ นไปกว านั้ นอี ก จึ งขอโอกาสพู ด ซ้ํ า ซาก ๆ ไม กลั วใคร เบื่ อหน ายรําคาญ เพราะเหตุ นี้ แหละ จึ งได พู ดถึ งหั วข อที่ เรียกวา ปรมั ตถสภาวธรรมอย าง ซ้ํ า ๆ ซาก ๆ ในวัน นี้ ก็ พู ด กั น แต ที่ จะให เข าใจสิ่ งที่ เรี ย กว าคน : คนคื อ อะไร? คน คืออะไร? ในโอกาส ในเวลาไหน? ในสถานการณเชนไร คนคืออะไร?
www.buddhadasa.info สรุปภาวะของ “คน” ตามโอกาส
ขอรวบรั ดอี กที ห นึ่ งว า คนในโอกาสหนึ่ ง ในสถานการณ อ ย างหนึ่ ง เป น เพี ยงธาตุ หลาย ๆ ธาตุ กองรวม ๆ กั นอยู ; เหมื อนอย างชิ้ นส วนของรถยนต ที่ ยั งไม ได ประกอบอะไรเลย. และคนในบางโอกาสนั้ น เป น ตั ว อายตนะ มี ก ารปรุง ของธาตุ บางธาตุ เกิ ดเป นอายตนะ คื อ ตา หู จมู ก ลิ้ น กาย เป นต น อย างใดอย างหนึ่ ง ที่ พรอม เพื่ อการสั มผั ส และมี การสั มผั สอยู ; อย างนี้ ก็ เรี ยกว ามี อายตนะ. และคนในบางโอกาส เป น ขั น ธ คื อ รู ป ขั น ธ ห รื อ เวทนาขั น ธ ก็ ต าม อย า งใดอย า งหนึ่ ง อยู ; ถึ ง ขั น ธ ทั้ ง ๕ ขันธ เกิดพรอมกันไมไดก็จริง แตมันก็เกิดเนื่องทยอยกันเปนขันธ ๆ ครบทั้ง ๕ ขันธ.
ภาวะพื้นฐาน ของสิ่งที่เรียกวา “คน”
๓๘๗
ฉะนั้ น คนในบางสถานการณ คื อ ขั น ธ ๕ ที่ กํ าลั งเกิ ดทยอยกั น ขึ้ น มา แล วคนในบาง โอกาสนั้น คือสัตวที่มี ความทุกขอยู เพราะความยึดมั่นถือมั่นในขันธทั้ง ๕; นี่ แหละคน, จบกันเทานี้. พอรู เรื่ องนี้ รู ค วามจริ งเรื่ อ งนี้ เข าแล ว ก็ ไม เป น คนแล ว; เป น พระอริ ยเจ า ไปแลว; ถาจะเรียกวาคน ก็ขอใหเรียกเมื่อขณะที่โงดวยอวิชชา ถูกผูกมัดดวยตัณหา อุ ป าทาน แล ว เป น ทุ ก ข ; นั่ น แหละคื อ คน. พอสู ง กว า นั้ น ดี ก ว า นั้ น ไม ใ ช ค นแล ว ก็เปนมนุษย หรือเปนพระอริยเจา เปนอะไรไปเลย. นี่เรียกวาใหรูจักกันเสียที ใหรูวาพื้นฐานตามปกติของสิ่งที่เรียกวาคนนั้น คื ออะไร? คื อธาตุ อย างพระบาลี ที่ ได ตรัสไวหลายแห ง เช นในสามั ญ ผลสู ตร เป นต น วาให ภิ กษุ ปรับปรุงกายวาจาให ดี ให มี อะไรดี , และทํ าจิ ตให เป นสมาธิ ให ดี ที่ สุ ด; แล ว พยายามมองดูวา มีอะไร? จนเกิดญาณทัสสนะเห็นวา : อยํ โข เม กาโย - รางกายนี้ แหงเรา รูป - มีรูป, จาตุมฺมหาภติโก - ประกอบอยูดวยธาตุ ๔ คือ ดิน น้ํา ไฟ ลม มาตาเปตฺติกสมฺภโว - มีมารดา บิดาเปนแดนเกิด โอทนกุมฺมาสุปจฺจโย - สะสมขึ้นมาได งอกงามขึ้นมาไดดวยขาวสุก ขนมสด, อนิจฺจุจฺฉาทนปริมทฺทนเภทนวิทฺธํสนธมฺโม - มีความเปลี่ยนแปลง, มีความแตก ทําลาย มีการสลาย ตองมีการชวยบริหารอยูเปนธรรมดา.
www.buddhadasa.info นี่คืออยางนี้ คนคืออยางนี้หมายถึงรางกาย. แลวสวนจิตใจ อิทฺจ ปน เม วิฺาณํ เอตฺถ นิสฺสิตํ เอตฺถ ปฏิพทฺธนฺติ -ก็ยังมีวิญญาณธาตุอันหนึ่งรวมอยูในกลุมนั้นดวย อาศัยอยูในกลุมนั้น เนื่องอยูในกลุมนั้นดวย.
๓๘๘
ปรมัตถสภาวธรรม
นี้ ก็ แปลว าธาตุ ๔ เป นกาย; วิ ญญาณธาตุ อาศั ยอยู ที่ ธาตุ ๔ กลุ มนั้ นด วย, อากาสธาตุนั้นคือ ที่วางสําหรับใหสิ่งเหลานี้ตั้งอยู; ก็รวมเปน ๖ ธาตุ. นี่ คื อคนตามปกติ โดยพื้ นฐาน แล วบางเวลา บางโอกาส ธาตุ ทั้ ง ๖ นี้ มั นประชุ มกั นเข าทํ าหน าที่ เป นอายตนะรูสึ กได ทางตา ทางหู เป นต น อย างที่ กล าวแล ว; และที่ มากไปกว านั้ นก็ คื อ รวมกลุ มกั นเข าเป นกอง ๆ ที่ ทํ าหน าที่ อย างใดอย างหนึ่ ง เช น รู ป ขั น ธ เวทนาขั น ธ สั ญ ญาขั น ธ สั ง ขารขั น ธ . ถ า เกิ ด ไปยึ ด มั่ น ในส ว นใดส ว นหนึ่ ง เปนตัวเรา ของเรา ก็เกิดเปนอุปาทานขันธ; นั้นเปนตัวทุกข. อย างที่ เปรี ยบเที ยบว า : ให สั งเกตดู รถยนต คั นหนึ่ ง เมื่ อยั งเป นชิ้ นส วนจน คนธรรมดาดู ไมออกวา นี่เรียกวารถยนต; นี่ก็มีเปรียบไดกันคนที่ยังเปนสักวาธาตุ. ต อมาชิ้ นส วนเหล านั้ นถู กประกอบเข าเป นระบบหรือ system เล็ ก ๆ นั่ นก็ คื ออายตนะที่ จะ ทํ าหน าที่ อย างใดอย างหนึ่ ง; ต อมาประกอบหลาย ๆ system เล็ ก ให เป น system ใหญ ไม กี่ system แล ว นั่ นก็ คื อเป น ขั น ธ แล ว. นี่ มาเนื่ อ งกั นหมดแล ว ก็ เป นรถยนต คื อ วิ ่ง ได อยา งนี ้; มีป ระกายไฟ มีค วามรอ น มีก ารเผาไหม, มีอ ะไรวิ ่ง ไปได; นี่คือวัฏฏะสงสาร คือคนที่เปนทุกข, เหมือนรถยนตที่มันกําลังวิ่งไป.
www.buddhadasa.info ขอให รู จั กสิ่ งที่ เรี ยกว า “คน” ในต างวาระ ต างสถานะอย างนี้ ก็ จะเข าใจ สิ่ งที่ เรี ยกว า ปรมั ตถสภาวธรรมดี ขึ้ น. ขอให สนใจเพิ่ มขึ้ นไป ที ละแง ที ละมุ มของสิ่ งที่ เรียกวาปรมัตถสภาวธรรม. ในวัน นี ้ ขอหยุด การบรรยายไวเ พีย งเทา นี ้ เปน โอกาสใหพ ระสงฆ ทั้ ง หลายท า นจะได ส วดบทพระธรรม เป น ที่ ตั้ ง แห ง ความเลื่ อ มใสในพระพุ ท ธองค และคําสอนของพระพุทธองคสืบตอไป.
ปรมัตถสภาวธรรม
-๑๓๓๑ มีนาคม ๒๕๑๖
ประโยชนแหงการเขาถึงปรมัตถสภาวธรรม
ทานสาธุชนผูสนใจในธรรมทั้งหลาย,
www.buddhadasa.info การบรรยายเรื ่อ งปรมัต ถสภ าวธรรมในครั ้ง นี ้เ ปน ครั ้ง ที ่ ๑๓ และ เป น ครั้ ง สุ ด ท า ยของการบรรยายภาคมาฆบู ช าแห ง ป ๒๕๑๖ นี้ นั บ ว า เป น การ บรรยายที่กําลังจะสิ้นสุดลงไปอีกภาคหนึ่ง.
สําหรับการบรรยายเรื่องปรมั ตถสภาวธรรมนี้ มี ความตั้ งใจเป นพิ เศษอยูตรง ที่ ว า จะให หยิ บสิ่ งที่ เคยละเลยทอดทิ้ งอยู ตลอดเวลานั้ น ขึ้ นมาพิ จารณาศึ กษากั นให สํ าเร็จ ประโยชน, อยาเพียงแตสักวาทองไดก็แลวกัน; การบรรยายนั้นจึงมีลักษณะ
๓๘๙
๓๙๐
ปรมัตถสภาวธรรม
เหมื อนกั บ การยั ดเยี ยด ให รับเอาสิ่ งที่ ผู รับไม ค อยจะสนใจ ไม รูสึ กว าเป นสิ่ งสํ าคั ญ นั่ นเอง; ซึ่ งมี อั นตรายอย างยิ่ งก็ ตรงที่ ว า ทํ าให พุ ทธบริ ษั ทเราไม เป นพุ ทธบริษั ทสมชื่ อ คือเปนผูที่ไมรู; เพราะคําวา พุทธบริษัท ตองแปลวาบริษัทของผูรู. เดี๋ยวนี้พากันไมรู. ไมรูสิ่งที่เรียกวาปรมัตถสภาวธรรม วาเปนสิ่งที่มีอยู ในรางกายนี้ ที่ยังมีจิตมีใจ คือยังเปน ๆ อยู; หรือจะเรียกอยางภาษาธรรมดาสามัญก็วา ที่ มี อยู ในตั วเองอยู ตลอดเวลา. ถ าดั งนี้ แล ว ก็ เท ากั บไม รู จั กตั วเอง; นั บวาน าละอาย แต ก็ ไม รูจะละอาย แล วยั งแถมประมาทหรืออวดดี ไปเสี ยอี ก เป นดั งนี้ กั นทุ กคนทั้ งฆราวาส ทั้ ง บรรพชิ ต . แม ที่ สุ ด แต ผู ที่ เทศน หรื อ สอนอยู เป น ประจํ า ก็ ไ ม รู สิ่ ง เหล า นี้ นี่ ถ า จะวาเป นสิ่ งที่ น าขบขั นก็ น าขบขั น น าละอายก็ น าละอาย; แต ว าที่ แท จริงนั้ นน าสลดสั งเวช ในความเปนพุทธบริษัทของตน. เมื่ อทนอยู ไม ได จึ งได เอามายั ดเยี ยด พู ดแล วพู ดอี ก ตั้ ง ๑๒ ครั้ งมาแล ว ในเรื่ อ งเดี ย วกั น อย า งซ้ํ า ๆ ซาก ๆ และครั้ งนี้ ก็ เป น ครั้ ง สุ ด ท า ย คื อ ครั้ งที่ ๑๓. ที่ ว า นาหวัวก็ตรงที่วา ปรมัตถสภาวธรรมนี้เปนสิ่งที่ดีที่สุด, สําคัญ ที่สุด, จําเปนที่สุด, มีประโยชน ที่สุด แตแลวตองเอามายัดเยียดให ยัดเยียดใหคนรับรับเอาไป; มัน จึงนาหวัวในขอนี้. แตถึงอยางนั้นก็ยังมีความยากลําบาก ไมคอยสําเร็จประโยชน.
www.buddhadasa.info ถ าจะเปรี ย บก็ เหมื อนกั บ ว า จะพยายามสอนให แมวรู จั กสานลอบไปดั ก ปลามากิ น. ลองคิ ดดู ว า แมวมั นจะทํ าหรือจะไม ทํ า ทั้ งที่ แมวก็ เป นสั ตว ที่ กิ นปลา มั นก็ เที่ ยวกิ นปลาที่ เขาทิ้ งให ไม มี ป ญญาสามารถ ไม คิ ด ไม นึ ก ที่ ว าจะไปสรางลอบดั กเอา ปลามากิ นเอง. ถ าว าคนจะไปยั ดเยี ยดให แมวสานลอบดั กปลามากิ นเอง มั นก็ น าหวั ว; ในโลกนี้ ก็ กํ าลั งเป นอย างนี้ ในการที่ ต องยั ดเยี ยดให ศึ กษาเรื่องปรมั ตถสภาวธรรม แล วก็ ยังไมสําเร็จประโยชน มันไขวกันอยู เหมือนในตัวอยางที่วาดวยแมว.
ประโยชนแหงการเขาถึงปรมัตถสภาวธรรม
๓๙๑
โลกนี้ กํ าลั งจะฉิ บหาย ก็ เพราะว าไม สนใจในสิ่ งที่ เรี ยกว า ปรมั ตถสภาวธรรม นี้ เป นข อเท็ จจริงที่ พอพู ดขึ้นก็พอจะมองเห็ น; แต แล วก็ จะได กล าวโดยละเอียดอีกครั้งหนึ่ ง. ดั ง นั้ น ในการบรรยายครั้ง นี้ จะได ก ล า วโดยหั ว ข อ ที่ ว า “ประโยชน แ ห ง การเข า ถึ ง ปรมั ตถสภาวธรรมโดยเฉพาะ” คื อจะกล าวถึ งประโยชน แห งการเข าถึ งปรมั ตถธรรม เปนครั้งสุดทายของการบรรยายเรื่องนี้. ถ าท านลองทบทวนดู ก็ จะเห็ นว า เราได พู ดกั นมาตามลํ าดั บถึ งเรื่องที่ ควรทราบ เปนเรื่องแรกที่สุดคือเรื่องธาตุทั้งหลาย ยังจําไดหรือเปลา? ถาจําไมไดก็ แปลวายังไม สนใจอยูตามเดิมนั่นเอง. เรื่องธาตุ ที่ สํ าคั ญ ที่ จะต องจํ าได เข าใจ และรูสึ กชั ดเจนอยู โดยประจั กษ ก็คือธาตุมี ๖ คู กล าวคื อ ธาตุ ตา และธาตุ รูปคู หนึ่ ง, ธาตุ หู และธาตุ เสี ยงคู หนึ่ง, ธาตุจมู ก และธาตุ กลิ่ นคู หนึ่ ง, ธาตุ ลิ้ นและธาตุ รสคู หนึ่ ง, ธาตุ กายและธาตุ โผฏฐั พพะคู หนึ่ ง, ธาตุ มโนและธาตุ ธั มมารมณ คู หนึ่ ง; ซึ่ งมี พระบาลี กล าวไว ชั ดว า จกฺ ขุ ธาตุ รู ปธาตุ , โสตธาตุ สทฺท ธาตุ, ฆานธาตุ คนฺธ ธาตุ, ชิว ฺห าธาตุ รสธาตุ, กายธาตุ โผฏพฺพ ธาตุ, มโนธาตุ ธมฺ มธาตุ . ธาตุ เหล านี้ ก็ ป รุ งขึ้ นมาจากธาตุ พื้ นฐาน กล าวคื อธาตุ ๖ อั น ได แกธาตุดิน ธาตุน้ํา ธาตุไฟ ธาตุลม ธาตุอากาส และธาตุวิญญาณ.
www.buddhadasa.info ธาตุทั้ง ๖ คูโนนเมื่อตั้งอยูโดยพื้นฐาน มันก็อยูในรูปลักษณะของธาตุ ทั้ ง ๖ คื อธาตุ ดิ นน้ํ า ลม ไฟ อากาส วิ ญญาณ; แต พอจะทํ าหน าที่ การงานมั นต องถู ก ปรุ งขึ้ นมาในขั้ นที่ สอง คื อปรุ งขึ้ นเป นธาตุ ตา ธาตุ รู ป ธาตุ หู ธาตุ เสี ยง ธาตุ จมู ก ธาตุ กลิ่น เปนตน เพื่อวาจะมีรูปลักษณะเปนอายตนะ สําหรับการสัมผัสขึ้นมา. จักขุธาตุ ก็ทําหนาที่เปนจักขุอายตนะ; รูปธาตุ ก็ทําหนาที่เปนรูปอายตนะ; โสตธาตุ ก็ทําหนาที่เปนโสตายตนะ สัททธาตุ ก็ทําหนาที่เปนสัททายตนะ;
๓๙๒
ปรมัตถสภาวธรรม
ฆานธาตุ ก็ทําหนาที่เปนฆานายตนะ คันธธาตุ ก็ทําหนาที่เปนคันธายตนะ; ชิวหาธาตุ ก็ทําหนาที่เปนชิวหายตนะ รสธาตุ ก็ทําหนาที่เปนรสายตนะ; กายธาตุ ก็ทําหนาที่เปนกายายตนะ โผฏฐัพพธาตุ ก็ทําหนาที่เปนโผฏฐัพพายตนะ; มโนธาตุ ก็ ทํ า หน า ที่ เป น มนายตนะ ธั ม มธาตุ ทํ า หน า ที่ เป น ธั ม มายตนะ : ทั้ ง ๖ คู นี้ ก็ คื ออายตนะสํ าหรับทํ าความรูสึ กทางตา และอารมณ สํ าหรับถู กรูสึ กทางตา คู หนึ่ ง; อายตนะสํ าหรั บทํ าความรูสึ กทางหู และอารมณ สํ าหรับถู กรูสึ กทางหู คู หนึ่ ง; …ฯลฯ... กระทั่ งถึ งอายตนะสํ าหรั บ ทํ าความรู สึ กทางใจ และอารมณ สํ าหรั บ ถู ก รู สึ ก ทางใจ เปนคูสุดทาย; ทั้งหมดนี้เพื่อใหสําเร็จประโยชนแกการเกิดขึ้นแหงสัมผัส. ถ าธาตุ ต าง ๆ เหล านี้ ที่ เป นภายนอกก็ อยู เสี ยแต ภายนอก ที่ เป นภายในก็ อยู เสี ยแต ภายใน ดั งนี้ แล ว ก็ ยั งไม สํ าเร็ จประโยชน อะไร. ต อเมื่ อใดมั นมาเนื่ องกั น จึ งจะ สํ า เร็ จ ประโยชน ตามกรณี นั้ น ๆ; ดั งอย า งเช น รู ป ซึ่ งเป น อายตนะภายนอก ก็ ต อ ง มาเนื่ องกั บตาซึ่ งเป นอายตนะภายใน ...ฯลฯ... เป นคู ๆ ไป จนถึ งคู สุ ดท าย คื อธั มมารมณ กั บ มโน. นี้ เป น อั น เห็ น ได ว า ต อ งต อ เมื่ อ มี ก ารทํ า หน า ที่ ถู ก ตามคู อ ย างนี้ แ ล ว จึ งจะ เรี ยกว าธาตุ เกิ ดขึ้ น หรื ออายตนะเกิ ดขึ้ น แล วก็ เรี ยกได ว า มี การทํ าหน าที่ ทางอายตนะ เชนการสัมผัสเปนตน.
www.buddhadasa.info เดี๋ ยวนี้ จั กขุ ธาตุ ก็ เป นจั กขุ อายตนะ, รู ปธาตุ ก็ เป นรู ปายตนะ, โสตธาตุ ก็ เป น โสตายตนะ สั ททาธาตุ ก็ เป นสั ททายตนะ ฯลฯ อย างนี้ เป นต น ครบทั้ ง ๖ คู . เมื่ อมี ลั กษณะ เป นอายตนะแล ว นั่ นก็ คื อมี การสั มผั สแล ว. เมื่ อมี การสั มผั สแล วก็ ย อมจะเกิ ดเป นเวทนา สั ญ ญา สั ง ขาร ในขั น ธ ทั้ ง ๕; หรื อ เป น เวทนา ตั ณ หา อุ ป าทาน ภพ ชาติ ทุ ก ข ในเรื่องของปฏิจจสมุปบาท.
ทั้ งหมดนี้ ก็ เป นเรื่ องประจํ าวั น เกิ ดอยู แก คนทุ กคนเป นประจํ าวั น ทั้ งเนื้ อ ทั้งตัวของเราก็มีแตเกี่ยวของกับสิ่งเหลานี้ แลวเราก็ไมสนใจ. ความไมสนใจและ
ประโยชนแหงการเขาถึงปรมัตถสภาวธรรม
๓๙๓
ความไมเ ขา ใจนี ้เปน ความเสีย หายที ่ส ุด ; ถา จะวา โงก ็โ งที ่ส ุด ก็ค ือ ไมไ ดเขา ใจ ในสิ่ งที่ พระพุ ทธเจ าท านได พยายามสั่ งสอนให เข าใจ เพื่ อจะดั บทุ กข เสี ยได . ไปสนใจแต เรื่ องคํ าพู ดข างนอก เรื่ องอะไรก็ ไม รู ทั้ งวั นทั้ งคื น จนเรี ยกว าเฟ อหรื อเกิ น หรื อหนวกหู ; แต เรื่ อ งที่ เป น อยู จ ริ ง และจะต อ งทํ า ให ไ ด จ ริ ง ๆ นี้ ก ลั บ ไม ส นใจ. นี่ คื อ ความเป น ปรมั ต ถธรรม หรื อ ปรมั ต ถสภาวธรรมที่ มี ค วามลึ ก มี อ รรถที่ ลึ ก ที่ ค นไม ห ยั่ งถึ งบ า ง ไมอยากจะหยั่งถึงหรือไมสนใจบาง. คนไมรูจักคําวาธาตุอยูเปนพื้นธาน, และไมรูจักคําวาธาตุนี้ประกอบกัน ขึ้ น ปรุงกั นขึ้ นเป นอายตนะ, แล วก็ ไม รูว าอายตนะนี้ มี ความสั มผั สเกิ ดเป นผั สสะ เป น เวทนา คื อ เกิ ด เป น ขั น ธ ขั น ธ ใดขั น ธ ห นึ่ งขึ้ น มาในขั น ธ ทั้ ง ๕. และถ าว ามั น มี อ วิ ชชา เข ามาเกี่ ยวข องด วยในการสั มผั สนี้ แล ว ก็ จะปรุงเป นอุ ปาทานขั นธ ทั้ ง ๕ ขึ้ นมา ซึ่ งจะต อง เปนทุกขโดยไมตองสงสัย เพราะวาเกิดเปนอุปาทานขันธเมื่อไร ก็ยอมมีความทุกขเมื่อนั้น. ทั้ งที่ มี ความเป นอย างนี้ อยู จริง ในชี วิตประจํ าวันของคนแต ละคน เขาก็ ไม สนใจ; เขาอยากจะทํ าอย างอื่ น มากกว าจะมานั่ งสนใจกั บเรื่องข อเท็ จจริงของสิ่ งที่ เรียกวา ปรมัตถสภาวธรรม; เพราะวาไมรูวา เกิดมาเพื่อดับทุกข, และทุกขตอง ดับกันที่นี่ ตรงนี้ โดยวิธีนี้, ก็ไปคุยกันเรื่องอื่น ในฐานะที่จะเปนเรื่องดับทุกข.
www.buddhadasa.info นี้ คื อ ข อ ที่ ว า น า สงสาร; เมื่ อ ทั้ งน า หวั ว และน า สงสารอย า งนี้ มั น ก็ น า สลดใจ. เพราะเหตุ ฉะนั้ นแหละจึ งได พยายามแล วพยายามอี ก ในการบรรยาย ๑๒ ครั้ ง ใหรูจักเรื่องธาตุอยางละเอียดลออเสียหลายครั้งดวยกัน, และความที่ธาตุเกี่ยวเนื่องกันมา ปรุ ง แต งกั น เป น อายตนะ เป น ขั น ธ เป น อุ ป าทานขั น ธ และกระทั่ งเป น ทุ ก ข ในที่ สุ ด , ปรุ งแต งให เกิ ด แต ธรรมทั้ งปวงขึ้ น มาได ในลั ก ษณะอย างไร. ได ชี้ ให เห็ น ความสํ าคั ญ ของการที่เรามีการสัมผัสอยูตลอดเวลาอยางหลีกเลี่ยงไมได, แลวเราจะควบคุมอยางไร
๓๙๔
ปรมัตถสภาวธรรม
ที่ จะไม ให เกิ ดเป นอาการของอวิ ชชาสั มผั สขึ้ นมา ซึ่ งมั นจะเกิ ดขึ้ นมาเป นอุ ปาทานขั น ธ แลวมีทุกข คือเกิดเปนของมีพิษรายและกัดเอา. อาการที่จะเกิดไดหรือเกิดไมไดแหงอุปาทานขันธนี้ เปนเรื่องสําคัญ ที่ พ ระพุ ท ธองค ท รงมุ ง หมายอย า งยิ่ ง กว า เรื่ อ งใด; เพราะได ต รั ส ไว ว า “แต ก อ นก็ ดี เดี๋ยวนี้ก็ดี เราตถาคตบัญญัติเฉพาะเรื่องทุกขและความดับไมเหลือแหงทุกขเทานั้น” พระพุ ท ธเจ าท านอุ ต ส าห บ อกแล วบอกอี กว า ไม พู ด เรื่ องอะไร บอกแต เรื่ อ งความทุ ก ข กั บ ความดั บ ทุ ก ข เท านั้ น; ในที่ นี้ ก็ คื ออาการที่ มั นเกิ ดขึ้ นมาได และ อาการที่ มั นไม เกิ ดขึ้ นมาได แห งอุ ปาทานขั นธ โดยนั ยดั งที่ กล าวมาแล วอย างละเอี ยดใน การบรรยายในครั้ ง นั้ น ๆ. อุ ป าทานขั น ธ เกิ ด ได ก็ คื อ ทุ ก ข เกิ ด ขึ้ น มา; อุ ป าทานขั น ธ เกิดไมได ก็คือความดับแหงทุกข ความไมเกิดแหงทุกข. ดู ใ ห ดี ว า ปกติ ภ าวะของคนเรา ที่ ไ ม เ ป น ทุ ก ข นั้ น เป น อย า งไร, และ เมื่ อเกิ ดเป นทุ กข ขึ้ นมาได นั้ น เป นอย างไร. ตามปกติ เกิ ดเป นความทุ กข ขึ้ นมาไม ได ก็ เพราะว าไม มี การปรุ งแต งเป นอุ ปาทานขั นธ ; อย างมากที่ สุ ด มั นก็ เป นขั นธ เฉย ๆ. ต อเมื่ อ เป น อุ ป าทานขั น ธ ยึ ด ถื อ มั่ น ด ว ยอุ ป าทาน เป น ต น แล ว ก็ จ ะมี ค วามทุ ก ข ขึ้ น มา. ปกติ ภาวะมั นก็ มี อยู อย างที่ เรี ยกว า เป นขั นธ ; หรื อเป นธาตุ ล วน ๆ ยั งไม ประกอบกั นเป น ขั น ธ โดยตรงในบางเวลา. ในบางเวลาก็ ป รุ งขึ้ น เป น ขั น ธ แล วก็ เกิ ด วิ ชชาหรื อ ป ญ ญารู เท าทั นทํ าให เป นเรื่องที่ ไม เป นทุ กข , หรือว าให มั นดั บไปเสี ยโดยไม ต องเป นทุ กข ; อย างนี้ ก็ เรียกวา ไมมีความทุกข. แตถาพอเผลอ ก็มีอวิชชาผสมโรง ก็เกิดขึ้นมา เปนความทุกข.
www.buddhadasa.info ตรงนี้ ก็ อยากจะเตื อนอี กครั้งว า คํ าว า ความทุ กข นี้ มี อยู สองความหมาย อยาเอาไปปนกันใหมันยุง แลวก็เถียงกันอยางนาสงสาร ความทุกขชนิดหนึ่งเปนแตเพียงวา
ประโยชนแหงการเขาถึงปรมัตถสภาวธรรม
๓๙๕
ดูแลวมั นน าเกลี ยดหรือน ารําคาญ เท านั้ น; แต ความทุ กขอีกชนิ ดหนึ่ งนั้ น หมายถึ ง ทนทรมานเปนทุกข เจ็บปวดทางจิตใจจริง ๆ. ในกรณี ที่ พู ด ว า สิ่ ง ใดไม เที่ ย ง สิ่ ง นั้ น เป น ทุ ก ข ; นี่ ห มายความว า เป น ทุ กข ในความหมายที แรก ที่ ว าดู แล วน าเกลี ยด น าชั ง น าระอา. เช นรู ปธาตุ ทั้ งหลาย แม ที่ สุ ด แต ก อ นหิ น ก อ นดิ น ต น ไม ต น ไล นี้ มั น ก็ ไ ม เที่ ย ง; เมื่ อ ไม เที่ ย งก็ ถื อ ตาม หลั กวาเป นทุ กข , ทุ กข อย างนี้ หมายความวา ดู แล วน าเกลี ยด คื อมั นว างจากสาระอย าง นาเกลียด. แต ถ าข อใดที่ พระพุ ทธองค ตรั สว า ความเกิ ดเป นทุ กข ความแก เป นทุ กข ก็ ดี หรื อ ทรงสรุ ป ว า สงฺ ขิ ตฺ เ ตน ปฺ จุ ป าทานกฺ ข นฺ ธ า ทุ กฺ ข า ก็ ดี ; คํ า ว า ความทุ ก ข อยางนี้ มันไมใชทุกข เพียงแตสักวาดูแลวนาเกลียดอยางเดียว. มันทุกขตรงที่เจ็บปวด ทนทรมานในทางจิตใจ เพราะความยึ ดมั่ นถื อมั่ นนั่ นเอง; ชาติเป นทุ กข ก็เพราะไป ยึ ด มั่ น ว าชาติ นี้ ของเรา, ชราเป น ทุ ก ข ก็ เพราะยึ ด มั่ น ว าชรานี้ ข องเรา, ความตายเป น ทุกขก็เพราะยึดมั่นวาความตายนี้ของเรา. ความยึดมั่นนี้เป นไปเองตามธรรมดา; ฉะนั้น จึ งไม ต องพู ดว า มี ความยึ ดมั่ น ที่ ชาติ , ที่ ชรา; ก็ เข าใจกั น ได ว า คนหรือสั ตว ทั้ งปวงนี้ ไปยึ ด มั่ น ว า ความเกิ ด ของเรา ความแก ข องเรา ความตายของเรา ทุ ก ข โทมนั ส อุปายาสอะไรของเราทั้งนั้น.
www.buddhadasa.info สรุปโดยยอแลว อุปาทานขันธทั้ง ๕ เปนตัวทุกข นี่คือทุกขเพราะยึดมั่น ยึ ด มั่ น ก็ ต อ งทุ ก ข ; เพราะว า ไปยึ ด เข า ก็ เกิ ด กิ เลส กิ เลสก็ ทํ า ให ร อ น ให เป น ทุ ก ข . ทุกขเฉย ๆ นั่นเปนแตมีอาการ มีลักษณะแหงความทุกข เรียกวา “ทุกขลักษณะ” พิ จารณาก็ ม องเห็ น ทุ กขลั กษณะ โดยที่ ว าจิ ต ใจของคนนั้ น ไม ได เป น ทุ กข ; แต เมื่ อ ไป ยึดมั่นอะไรเขา คนนั้นจะรูสึกเปนทุกข.
๓๙๖
ปรมัตถสภาวธรรม
เมื่ อ เราไปแบกของหนั ก เข า ก็ รู สึ ก หนั ก ; ของหนั ก นี่ ก็ คื อ ขั น ธ ทั้ ง ๕ ไปแบกเข าจึ งเป นทุ กข ไม ไปแบกก็ ไม มาเป นทุ กข อย างนี้ ; มั นมี แต ว าเป นทุ กข เพราะว า ดู น าเกลี ย ดเท านั้ น เอง. แต คํ าว า ความทุ ก ข ในการยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น นี้ ทํ าให เกิ ด ราคะบ าง โทสะบ า ง โมหะบ า ง อย า งใดอย า งหนึ่ ง อยู ใ นตั ว ; ฉะนั้ น จึ ง มี ก ารแผดเผาบ า ง ทิ่ ม แทงบาง รอยรัดหุมหอบาง แลวแตจะเปน; ทําใหเกิดอาการที่เปนทุกขขึ้นมา. นี้เรียกวา ความทุ กขที่เกิดขึ้นทันที ขณะที่ มีการยึดมั่ นถือมั่นสิ่งใดโดยความ เป น ตั ว ตน ของตน; ยึ ด มั่ น อะไรก็ ต ามใจ จะต อ งเป น ทุ ก ข ทั้ ง นั้ น ; พระพุ ท ธเจ า ท านจึ งตรั ส เรี ยกว า ความทุ ก ข ; และจะมี เกิ ด และมี ดั บ เป น เรื่ อ ง ๆ ไป เป น กรณี ๆ ไป ทางอายตนะนั้ น ทางอายตนะนี้ . ส ว นความทุ ก ข ที่ ว า “สิ่ งใดไม เที่ ย ง สิ่ งนั้ น เป น ทุ ก ข ” นั้ น มั น เป น ทุ ก ข ต ลอดเวลา; แต ว ามั น เป น ทุ ก ข อ ย างที่ เรี ย กว า “ทุ ก ขลั ก ษณะ” คื อ เป น ทุกขเพียงสักวาลักษณะ. เช น ว า ก อ นหิ น ก อ นนี้ ก็ ไ ม เ ที่ ย ง และมี ลั ก ษณ ะแห ง ความทุ ก ข อ ยู ตลอดเวลา; ความทุ ก ข นั้ น ไม ไ ด เกิ ด ดั บ : ไม เหมื อ นกั บ ความทุ ก ข ที่ ตั้ ง ขึ้ น ในจิ ต ของคนที่ ยึ ดมั่ นถื อมั่ น เกิ ดขึ้ นแล วก็ ดั บไป, เกิ ดขึ้ นแล วก็ ดั บไป; เปลี่ ยนเป นทางตาบ าง หูบาง จมูกบาง ลิ้นบาง เปนเรื่อง ๆ ไป เปนกรณี ๆ ไป; นี่คือตัวทุกขแท.
www.buddhadasa.info พระพุ ท ธองค จ ะไม ท รงสอนเรื่ อ งนั้ น นอกจากเรื่ อ งทุ ก ข กั บ ความดั บ ทุ ก ข เท านั้ น เพราะตรั สไว อย างนี้ : ปุ พฺ เพ จาหํ ภิ กฺ ขเว เอตรหิ จ ทุ กฺ ขฺ เจว ปฺ าเปมิ ทุ กฺ ขสฺ ส จ นิ โรธํ นี่ พระพุ ทธภาษิ ตที่ เป นบาลี ว าอย างนี้ ก็ เหมื อนกั บที่ แปลให ฟ งแล วว า “แต ก อ นก็ ดี เดี๋ ย วนี้ ก็ ดี เราบั ญ ญั ติ เ ฉพาะเรื่ อ งทุ ก ข และเรื่ อ งความดั บ ไม เ หลื อ แห ง ทุ ก ข เท า นั้ น ” เรื่ อ งอื่ น นั้ น ไม มี ส าระอะไร; คื อ ว า ไม จํ า เป น ที่ ทุ ก คนจะต อ งเข า ไป เกี่ยวของ.
ประโยชนแหงการเขาถึงปรมัตถสภาวธรรม
๓๙๗
เรื่ อ งนี้ ป ญ ญั ติ ไว ที่ ไหน? มี พ ระพุ ท ธภาษิ ต ที่ ก ล า วไว ชั ด ว า : “โลกก็ ดี ที่ เกิ ด แห งโลกก็ ดี ความดั บ แห งโลกก็ ดี ทางให ถึ งความดั บ แห งโลกก็ ดี เราตถาคต บั ญ ญั ติ ไว ในร า งกายที่ ย าวประมาณวาหนึ่ งนี้ ที่ มี พ ร อ มทั้ งสั ญ ญาและใจ”; หมาย ความว า ในร า งกายของคนที่ ยั งเป น ๆ ยั งมี ใจ, มี ค วามรู สึ ก สมปฤดี อ ย างนี้ ; ในนั้ น ไปดู จะหาพบเรื่ องโลก, เรื่ องเหตุ ให เกิ ดโลก, ความดั บสนิ ทของโลก. ทางให ถึ งความ ดับสนิทของโลก : นี่คือตัวปรมัตถธรรม. ปรมั ต ถธรรมทั้ ง หลาย จะต อ งค น ดู ใ นภายใน คื อ ในรา งกายที่ ย าว ประมาณวาหนึ่ งของบุ คคลที่ มี ทั้ งสั ญ ญาและใจ คื อคนเป น ๆ; ในเรื่ องของคนตายแล ว ไม มี แม ที่ สุ ด ว าจะหารู ป ขั น ธ ในร างกายของคนที่ ต ายแล วนี้ ก็ ไม ได . เว น ไว แ ต ค นจะ ศึ กษามาอย างโง เขลา ว าร างกายเนื้ อตั วนั้ นมั นเป นรู ปขั นธ ; นี่ ว าเอาเองบ าง หรื อสอน กันมาผิด ๆ บาง. ถาเปนรูปขันธในความหมายของพระพุทธเจาแลว จะเกิดเฉพาะ ต อ เมื่ อ มี ก ารสั ม ผั ส ทางอายตนะอย า งใดอย า งหนึ่ ง ในขณะนั้ น เท า นั้ น ; จึ ง จะ บัญญัติสวนนั้นสวนนี้วาเปนรูปขันธเปนตน.
www.buddhadasa.info สําหรับคนที่ตายแลวไมมีทั้งรูป ไมมีทั้งเวทนา ไมมีทั้งสัญญา ทั้งสังขาร ทั้ งวิ ญญาณอย างนี้ จึ งได ตรัสไววา ปรมั ตถธรรมต องมี อยู ในรางกายของคนที่ ยั งเป น ๆ คื อ มี ทั้ งสั ญ ญาและใจ. เรื่องรูป ขั นธ เป น อย างไร อธิ บายกั น แล วโดยละเอี ยด ในการ บรรยายตั้ งหลายครั้งที่ แล วมา : ไม ใชจะหยิ บขึ้นมาได เป นเป นเนื้ อเป นหนั ง แล วก็ จะเรียกวา เป นรูปขันธ; ตองตอเมื่อทําหนาที่ทางอายตนะ มีความรูสึกอยูด วย จึงจะเป นรูปขันธในสวน ที่ เป นรู ป ขั น ธ อย างนี้ เป น ต น. นี่ เราควรจะรู เรื่ องที่ มี อ ยู ในตั วเราจริ ง ๆ และรู ถึ งความ หมายอันลึกในขอที่วาเปนทุกขอยางไร, และไมเปนทุกขอยางไร.
ปรมัตถสภาวธรรม
๓๙๘
ทั้ งหมดนี้ คื อเรื่ องที่ ได บรรยายมาแล วถึ ง ๑๒ ครั้ ง; วั นนี้ ก็ จะได พู ดกั นถึ ง ขอ ที ่วา ประโยชนอ ะไร ที ่จ ะพูด กัน ตั ้ง มากมายอยา งนี ้. เรื่อ งนี ้ม ีป ระโยชนม าก ถาวาเขาใจ ฟงถูก และเอาไปใชปฏิบัติใหได.
เรื่องที่สําคัญตองฟงใหไดศัพท เรื่องพุ ทธศาสนานี้ ยั งมี ป ญหาใหญ อยู อย างหนึ่ ง คื อว า “ฟ งไม ศั พท จั บไป กระเดี ยด”; นี้ เรี ยกว า พู ดตามภาษาชาวบ านแล ว มั กจะเป นเรื่ องที่ ฟ งไม ได ศั พท คื อ ไมทันไดความหมายอันแทจริง แลวก็จับไปกระเดียด คือพูดเพอเจอไปเลย. จะยกตั วอย างเรื่องน าหวั วขึ้ นเปรียบเที ยบสั กเรื่องหนึ่ ง อย างว าอาตมาคราว หนึ่ ง ได พู ด ว า การกุ ศ ลอั น สู ง นั่ น คื อ ทํ า ให ค นมี แ สงสว า ง บํ า บั ด ความทุ ก ข ข อง ตนได ; ใครทํ าอย างนั้ น คนนั้ น ชื่ อ ว าได ทํ าการกุ ศ ลอั น สู งสุ ด . การสร างโบสถ ก็ ไม ใช กุ ศ ลอั น สู ง สุ ด , การสร า งโรงเรี ย นก็ ยั ง มิ ใ ช กุ ศ ลสู ง สุ ด , สร า งโรงพยาบาลก็ ยั ง ไม ใ ช กุ ศลสู งสุ ด, อย างนี้ เป นต น วายั งไม ใช กุ ศลสุ งสุ ด. กุ ศลสู งสุ ดนั้ น คื อการให แสงสว าง ที่ชวยใหคนนั้น ๆ ดับทุกขไดในทางจิตใจ ตามหลักของพระพุทธศาสนานั่นเอง.
www.buddhadasa.info ที นี้ คราวหนึ่ งอาตมาไปนอนป วยและรอการพั กให หาย อยู ที่ โรงพยาบาล ที่ เชี ยงใหม ได ยิ นคนที่ เขามาเยี่ ยมและรออยู ข างนอก เขาพู ดกั นว า “นั่ นไหมล ะ สร าง โรงพยาบาลไม ได บุ ญ ทํ าไมมานอนอยู ที่ นี่ ”. เขาวาอาตมาวาสรางโรงพยาบาลไม ได บุ ญ แลวทํ าไมมานอนอยูที่ นี่ . ฟ งดู ซิ มัน เรื่องเดี ยวกันหรือ เปลา? เราเพี ยงแต บอกวา สรางโรงพยาบาลยั งไม ใช กุ ล ศลอั น สู งสุ ด ; แต มิ ได ห มายความวาไม ใช กุ ศลเลย. นี่ เขาก็ ได ยิ นกั นว าอาตมาว า สรางโรงพยาบาลนี้ ไม ได บุ ญ แล วทํ าไมมานอน อยู ในโรงพยาบาลนี้ , มาให เขารั ก ษาอยู ที่ นี่ : อย า งนี้ ก็ เรี ย กว า ฟ งกั น ไม ค อ ยรู เรื่ อ ง ฟงกันไมตรงจุดหมาย.
ประโยชนแหงการเขาถึงปรมัตถสภาวธรรม
๓๙๙
เรื่ องในพระพุ ทธศาสนามั กจะเป นเสี ยอย างนี้ ; แล วที่ ใกล ชิ ดขึ้ นมาอี ก ที่ พู ด กันเตลิดเปดเปงไป ก็คือวา เรื่องกรรม. เรื่องกรรมนั้นมีวาทําลงไปแลวก็ใหผลทันที ในขณะจิ ตที่ ต อมา; คื อเมื่ อทํ ากรรมลงไปในขณะจิ ตใด ขณะจิ ตต อมาก็ เป นการได รั บ ผลกรรมทันที ไมตองรอ. นี้ก็โดยหลักที่วา กรรมและการใหผลกรรมนี้เปนอกาลิโก ไมจํากัดเวลา ไมตองรอเวลา เชนเดียวกับธรรมะทั้งหลาย เปนอกาลิโกอยางนี้. ทีนี้ก็มาสอนกันเสียใหมวา กรรมนี้ทําแลวใหผลทันทีในวันนี้ เดือนนี้ หรื อในชาติ นี้ , กรรมนี้ จะให ผลในชาติ หน า, กรรมนี้ จะให ผลต อหลาย ๆ ชาติ ตายไป หลาย ๆ หน; อยางนี้ไมรูวาเอาแตไหนมาพูด. ถาพูดตามหลักของพระอริยเจา หรือของพระพุทธเจา : สิ่งที่เรียกวากรรม ก็คือสิ่งที่ เรียกวาสังขารขันธ ที่มีการคิด การนึ ก กระทํา แลวปฏิ กิริยาก็เกิดขึ้นเป น ความทุ กข ; เช นมี อุ ปาทานยึ ดมั่ นในรูปนี้ หรือในเวทนานี้ ก็ ตาม; นี้ เป นกรรม. ขณะจิ ต ต อ มาก็ เป น วิ บ ากคื อ เป น ทุ ก ข ; ในขณะจิ ต นั้ น เอง ก็ ให ผ ลแล ว เสร็ จ แล ว ก็ เรี ย กว า ให ผ ลทั น ที และทั น ควั น และติ ด ต อ กั น ไป; ไม ต อ งรอต อ ชาติ นี้ ชาติ โ น น เหมื อ น อยางที่เขาสอนกันโดยมากเดี๋ยวนี้.
www.buddhadasa.info การใหผลตอบอยางนั้นมันจะเปน “เศษ” หรือเปน “ขี้ผงของกรรม” มากกวา เขนวาทํ าดี ก็ ดี แล ว ทํ าชั่วก็ ชั่ วแล ว ติ ดกั นกับที่ การกระทํ านั้ น. แต เศษขี้ผงที่ วา จะได ลาภเมื่ อทํ าดี หรือวาถู กใส ตะรางเมื่ อทํ าชั่ วนี้ นี้ มั นเป นเศษหรือเป นขึ้ผง หรือเป น. “สิ่ งสะท อน” ปฏิ กิ ริยาอะไรของกรรมนั้ น จึ งได พู ดวา ต อเมื่ อนั้ น ต อเมื่ อนี้ . บางที ก็ ยกเอา ไปไว ให ห ลายชาติ หลายสิ บ ชาติ ก็ มี ; กรรมอย างนี้ เป น คํ าอธิ บ ายในหนั งสื อ ชั้ น หลั ง ทั้ ง นั้ น เลย. ต น ตอของเรื่ อ งเช น นี้ ก็ เช น หนั ง สื อ วิ สุ ท ธิ ม รรค เป น ต น ; เดี๋ ย วนี้ เราก็ ม า เนนกันมากแตเรื่องอยางนี้.
๔๐๐
ปรมัตถสภาวธรรม
เรื่องที่เปนปรมัตถธรรมแท ๆ ที่วาขณะจิตนี้ กระทํากรรม, ขณะจิต ถัดมาก็จะเปนการรับผลของกรรม คือดีหรือชั่วไปตามนั้น : นี้เราไมสอนกัน เราไม บอกกั น ; ทํ าให เกิ ด ความลั งเล. หรือ ถึ งกั บ ไม เชื่ อ ว า เอ ะ ทํ าไมทํ าดี ไม ได ดี ทํ าชั่ ว ไม ได ชั่ ว, มี อ ะไรมาตั ด รอน มี อ ะไรมาส งเสริม ทํ าให มั น ยุ งกั น ไปหมด. นี้ เป น เรื่อ ง ของคนชั้ น หลั งว า; แล ว เป น เรื่ อ งเศษ เรื่ อ งขี้ ผ งของกรรม. ถ าเรื่ อ งกรรมแท ๆ ทํ า ดี มันก็ตองดีเสร็จทั นที; เพราะวาบัญญั ติไวเสร็จแลววา ทํ าอยางนี้ เรียกวาดี ทําอยางนี้ เรียกวาชั่ว. โดยเฉพาะ ในกระแสแห งปฏิจจสมุปบาท วาเมื่อเกิดเห็นรูป ฟ งเสียง ดมกลิ่ น เป น ต น, แล วเกิ ดผั สสะ เกิ ดเวทนา แล วเกิ ดตั ณ หา คื อความอยาก, เกิ ด อุปาทาน เกิ ดภพ คื อกรรม ที่ มี ความคิ ดนึ กที่ จะทํ าอย างนั้ นอย างนี้ อย างโน น, หรือมี การกระทํ าลงไปแล วในทางจิ ตทางใจ อย างนี้ อย างนั้ น; จากภพก็ เกิ ดเป นทุ กข เกิ ดผล เป นทุ กข คื อชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ : คื อมี ตั ณหา แล วยึ ดมั่ นอะไรเข าก็ เป น ทุ กข เพราะสิ่ งนั้ น. นี้ เรียกวาเมื่ อทํ าสํ าหรับเป นทุ กข ก็ เป นทุ กข เลย; ทํ ากรรมลงไปใน ขณะจิตนี้ ขณะจิตถัดมาก็เปนวิบากของกรรมอยางแนนอน.
www.buddhadasa.info นี้ก็เปนเรื่องที่วา เราไมพยายามจะเขาใจขอเท็จจริงที่เรียกวา ปรมัตถสภาธรรมของสิ่ งนี้ ; จะเพราะเหตุ ใดก็ พู ดยาก. น าจะเพราะวาเขาใจยากก็ ได , หรือ ว า ไม ส นุ ก เหมื อ นอย า งเรื่ อ งได เงิ น ได ข อง ได ไปสวรรค วิ ม าน ได ล งนรก ได อ ะไร เหลานี้, ซึ่งเปนเรื่องถูกใจ หรือมันฟงงายเขาใจงาย. แตวาอยาลืมเสียวา ขณะจิตหลัง จากที่ทํากรรมแลว ก็มีวิบาก มีผลกรรมเปนสวรรคเปนนรกได และจริงยิง่ กวานรก ที่ยังวาไม รูอยูที่ไหนนั่น; อยางบทสวดเมื่ อตะกี้ที่ พระสวด ฉ ผสฺสายตนิ กา นาม นิ รยา -นรกที่ เป นอยูทางอายตนะหก, นั้ นมี แน มี ทั นที มี ทั นควัน ที่ ทํ าผิ ด; ฉ ผสฺ สายตนิ กา นาม สคฺคา -สวรรคที่เปนไปทางอายตนะหก, นั้นก็มีแน ๆ
ประโยชนแหงการเขาถึงปรมัตถสภาวธรรม
๔๐๑
ในขณะที่ ทํ าผิ ดทางอายตนะใดอายตนะหนึ่ ง คื อทางตาก็ ตาม ทางหู ก็ ตาม ก็ เกิ ด เป น นรกขึ้ น มา; ก็ คื อ ในกระแสแห งปฏิ จ จสมุ ป บาทนั้ น เอง : เกิด ผั ส สะ เกิ ด เวทนา เกิ ดตั ณหา แล วก็ ต องเกิ ดเป นนรกขึ้ นมาทางอายตนะนั้ น ชื่ อว า นรกรู ปายตนิ กา คือนรกทางรูปไปเลย, หรือทางเสียง ทางกลิ่น ฯลฯ อะไรก็ได. ถาเป นสวรรค ก็ คื อทํ าถู ก ประกอบถู ก ในลั กษณะที่ ได เป นสวรรค ก็ เกิ ด ความพอใจ เกิ ดความสบายใจ เกิ ดความอิ่ มใจ ยิ นดี ปรีดา โสมนั สขึ้ นมา; ก็ เป นสวรรค ทันควันขึ้นมาไมตองรอ, ไมตองรอแมแตชั่วโมงเดียว, หรือแมแตนาทีเดียว. ทํ าไมจะต องไปพู ดถึ งนรกสวรรค ซึ่ งยั งอยู ไกลมาก คื อว าอย างน อยก็ ต อง เข าโลงไปแล ว จึ งจะไปหานรกสวรรค พ บ; ส วนที่ มี อยู ที่ นี่ จริ ง ๆ แน นอนด วย นี้ ทํ าไม ไมหา, ทําไมไมมองเห็น? เพราะวาไม เขาใจเรื่องปรมัต ถสภาวธรรม จึงฟ งไมได ศัพทแลวก็จับไปกระเดียด คือพระพุทธเจาทานตรัสไวอยางนี้ แลวฟงไปเสียเปนอยางโนน. แมแตเรื่องผั ส สายตนิ ก นรก ผั ส สายตนิ ก สวรรค นี้ ก็เหมื อนกัน; พระอาจารย เช นพระพุ ทธโฆษาจารย ผู แต งหนั งสื อวิสุ ทธิมรรคนั้ น ก็ ยั งเยาะไววามั นจะมี อะไร ได ก็ ห มายถึ งอเวจี โลหกุ ม ภี อ ะไรตามแบบที่ เขากล าวไว นั่ น เอง. มั น น าหวั ว แม แต บุ คคลเช นพระพุ ทธโฆษาจารย ผู แต งคั มภี ร วิ สุ ทธ มรรคก็ ยั งเข าใจอย างนี้ : เอาผั สสา ยตนิกนรก นี้ไปไวใตดินในชื่อของอเวจี โลหกุมภีโนน.
www.buddhadasa.info อาตมาถื อ ว า เป น เรื่ อ งฟ งไม ศั พ ท จั บ ไปกระเดี ย ด แล วไปว าเอาเองตาม ที่ ตนเคยเล าเรียนมาอย างไร ฟ งมาอย างไรแต กาลก อน. แต นี้ มั นมี อยู ชั ดที่ พระพุ ทธเจ าท าน ตรั ส ว า “ฉั น เห็ น แล ว ฉั น เห็ น แล ว, นรกที่ เป น ไปทางอายตนะหก” นี้ ก็ แ ปลว ามี น รก อยางอื่น ที่เขาพูดกันอยูอยางอื่น ไมใชอยางนี้ เขาพูดกันอยูกอน เขาถือกันอยูกอน.
๔๐๒
ปรมัตถสภาวธรรม
เดี๋ยวนี้พระพุทธเจาทานแยกตรัสวา “ฉันเห็นแลว ๆ นรกที่นี่ ที่ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ, แลวก็สวรรคฉันก็เห็นแลวที่นี่ ที่ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ” ทานวาอยางนี้. ถ าคนที่ ฟ งไม ได ศั พท จั บไปกระเดี ยด ก็ เอาไปไว ใต ดิ นอี กตามเคยสํ าหรับนรก, เอาไว บนฟ าตามเคยสํ าหรับสวรรค , แล วต อเข าโลงไปแล วโน น จึ งจะค อยไปพู ดถึ ง หรือ ไปเรี ยกร อ งทวงถามกั น . ส วนที่ นี่ ก็ ไหม วอดวายไปแล ว เป น รก, หรื อ ว าที่ เป น สวรรค มั น ก็ ห ลงใหล เคลิ บ เคลิ้ ม งมงายอยู โดยไม รู สึ ก ตั ว อยู แ ล ว . นี่ แ หละประโยชน ที่ ว า ถาเราเขาใจสิ่งที่เรียกวา ปรมัตถสภาวธรรม. มี เรื่ องน าหวั วอี กเรื่ องหนึ่ ง ไหน ๆ พู ดแล วก็ พู ดให หมด ที่ ผู สั่ งสอนเดี๋ ยวนี้ เขาก็ สอนเรื่องนรก, นรกใต ดิ นต อตายแล ว สวรรค วิ มานบนฟ าต อตายแล วนี่ . เขาพู ด กับเด็กสมัยนี้วา “เรื่องนรกสวรรคนั้น เปนเรื่องนอกเหนือจากวิทยาศาสตร; พวก คุ ณ เรี ย นแต วิ ท ยาศาสตร พวกคุ ณ จะรู เรื่ อ งนรกสวรรค อ ย างที่ ก ล าวไว ไม ได ”. นี่ เขา กลั บย อนเอากั บพวกเด็ กสมั ยนี้ ที่ อยากรู จริ ง ๆ ว าเรื่ องนรกสวรรค เป นอย างไร, ทํ าไมถึ ง กลาวอยางนั้น มันไมสมเหตุสมผล.
www.buddhadasa.info เด็ ก ๆ ที่ ตั้ งข อสงสั ยอย างนี้ กลายเป นคนที่ โง ไป เพราะรู แต วิ ทยาศาสตร ที่ ไม สามารถทํ าให รู จั กนรกและสวรรค ได ; แต หารู ไม ว าวิ ทยาศาสตร ที่ ผู สอนเหล าโน นอ าง เอามาประณามเด็ กนั้น ก็ยังเป นวิทยาศาสตรของคนโงอยูนั่ นเอง. ถ าเป นวิทยาศาสตร ของผู รู ดี ต อ งทํ า ให ค นรู จั ก นรกสวรรค โดยถู ก ต อ งว า คื อ อะไร อยู ที่ ไหน เป น อย างไร; แล ว รูจั ก ได ที่ นี่ แ ละเดี๋ ย วนี้ ; นั่ น จึ ง จะเป น วิ ท ยาศาสตรที่ แ ท . นั่ น ต อ งเป น วิทยาศาสตรตามแบบของพระพุ ทธเจา แลวก็จะเห็นวานรกจริง ๆ อยูที่ไหนอยางไร; สวรรคจริง ๆ อยูที่ไหน อยางไร. แลวตองเอานรกและสวรรคมาดูใหไดโดยไมขัดกับ
ประโยชนแหงการเขาถึงปรมัตถสภาวธรรม
๔๐๓
หลั กวิ ท ยาศาสตร ของคนโง และไม อ ยู น อกเหนื อ วิ สั ย ของวิ ทยาศาสตร ชนิ ด ไหนหมด ถาเราจะอธิบายนรกสวรรคกันตามแบบวิทยาศาสตรที่แทจริงของพระพุทธเจา.๑ เดี๋ ยวนี้ มี แต วิ ทยาศาสตร ของพวกคนโง ที่ มั วแต เถี ยงและประณามกั นว า “แก มองไม เห็ น นี่ ” หรื อ ว า “สิ่ ง นี้ มั น อยู น อกเหนื อ วิ ท ยาศาสตร นี้ ”; กระทั่ ง เลยไปถึ ง ว า “เรื่องปาฏิ หาริ ย เรื่ องอะไรต าง ๆ นั้ นอยู นอกเหนื อวิ ทยาศาสตร พวกแกไม อาจจะเข าใจ ไดด อก”; ดัง นี ้เ ปน ตน . นั ่น เปน วิท ยาศาสตรข องคนโง และคนโงเ ปน คนพูด . ถาเปนวิทยาศาสตรจริงของพระพุทธเจา ทุกเรื่องจะชี้ใหเห็นได พิสูจนใหเห็นได โดยวิ ทยาศาสตร ตามแบบของพระพุ ทธเจ า. ไม มี อะไร ไม มี ปาฏิ หาริ ย ไหนที่ นอกเหนื อ ไปจากวิ ท ยาศาสตร ; แต ต อ งเป น วิ ท ยาศาสตร ของพระพุ ท ธเจ า. อิ ท ธิ ป าฏิ ห าริ ย ก็ ดี อาเทศนาปาฏิ ห าริ ย ก็ ดี อนุ ศ าสนี ป าฏิ ห าริ ย ก็ ดี ไม ไ ด อ ยู น อกเหนื อ วิ ท ยาศาสตร ; แตตองเปนวิทยาศาสตรของพระพุทธเจาเทานั้น ที่จะพิสูจนได แสดงไดทั้งนั้น. นี่ คื อตั วอย างข อขั ดข องที่ ว า ทํ าไมเราจึ งไม เข าถึ งปรมั ตถสภาวธรรมของ พระพุ ทธองค ; เพราะว าเราทํ าอะไรไขว กั น อยู . และที่ เป น มากที่ สุ ดก็ คื อ “ฟ งไม ศั พ ท แล วก็ จั บไปกระเดี ยด” ไม ทั นจะเข าใจหรื อยั งไม เข าใจจริ ง ก็ ไปพู ดเสี ยอย างนั้ นอย างนี้ อย างโน น ตามที่ ตั วเข าใจ เรื่ องก็ เลอะเทอะหมด. ส วนเรื่ อ งที่ เป นจริ งโดยแท จริ งก็ ไม ไดพูดกันอยางนี้; แลวทีนี้ที่วาเราอาจจะสรางอะไร มีอะไร ทําอะไรได ดวยอํานาจ
www.buddhadasa.info ๑
ผู ทํ าต นฉบั บเห็ นว า ผู อ า นอาจจะไม เข า ใจเรื่ อ งนี้ จึ ง ขออธิ บ ายเพิ่ มเติ มว า พระพุ ทธเจ า ตรัส วา ทา นไดเ ห็น นรกที ่ต า หู จมูก ลิ ้น กาย ใจ, เห็น สวรรคที ่ต า หู จมูก กาย ใจ; ดัง มี ข อ ความละเอี ย ดอยู ในสู ต รที่ ๒ เทวทหวรรค สฬา.สํ . ๑๘/๑๕๘-๙/๒๑๔-๕; ซึ่ งได ย กเอาใจความข อ นี้ มากล าวไว บ างแล วในหนั งสื อเล มนี้ เช นในการบรรยายครั้งที่ ๔ เป นต น; และได นํ าบทบาลี แห งพระสู ตรนี้ พรอมทั้งคําแปลมาพิมพผนวกไวที่ทายหนังสือเลมนี้แลว; ขอใหผูสนใจเปดดูเอาเอง. -ผูทําตนฉบับ.
๔๐๔
ปรมัตถสภาวธรรม
ของความรู ในเรื่ อ งปรมั ต ถสภาวธรรมนี่ แ หละ จะเรี ย กว า ประโยชน ข องการเข า ถึ ง ปรมั ต ถสภาวธรรม ซึ่ งจะได ชี้ ให เห็ น ยิ่ ง ขึ้ น ไปอี ก และเป น ระบบที่ ชั ด เจนและรั ด กุ ม ยิ่งขึ้นไปอีก.
ประโยชนในการเขาถึงปรมัตถสภาวธรรมมี ๓ ประโยชน ของการเข าถึ งปรมั ตถสภาวธรรมนี้ ก็ พอจะแบ งแยกออกได เป น พวก ๆ ไป ตามหลักเกณฑที่เรามีไวสําหรับแบง : ๑. ประโยชน ของการเข าถึ งปรมั ตถสภาวธรรม ในส วนที่ เป นปริ ยั ติ คื อ ความรู ความรอบรู . ปริ แปลว า รอบ, ยั ติ แปลว า รู , ปริ ยั ติ แปลว า รู ร อบ , รอบรู. ประโยชน ข องปรมั ต ถสภาวธรรมในส วนปริยั ติ ก็ คื อ ให รอบรู ต ามที่ ถู ก ต อ ง ตามที่ เป น จริ ง , ตามที่ ค รบถ ว นสมบู ร ณ ว า อะไรเป น อะไร; หรื อ ยิ่ ง ไปกว า นั้ น ก็ ว า อะไรเป น แต สั ก ว า อะไร. นี่ เดี๋ ย วจะ “ฟ ง ไม ศั พ ท จั บ ไปกระเดี ย ด” อี ก ; ระวั ง ให ดี ๆ วาอะไรเปนแตสักวาอะไร.
www.buddhadasa.info เช น ว า “คน” เป น แต สั ก ว า “ธาตุ ” “อายตนะ” หรื อ “ขั น ธ ” เป น ต น ; ยิ่ งไปเอา ไปให มี คน มี สมบั ติ ของคน มี อะไรหอบหิ้ วไปสวรรค ไปนรกอย างนี้ ก็ ยิ่ งไม ใช ; ยิ ่ง ไมใ ชป รมัต ถสภาวธรรม. ใหเล็ง เห็น “คน” วา เปน สัก แตว า ธาตุ เปน ไปตาม ธรรมชาติ, นรกหรือสวรรค ก็เปนเพียงแตปฏิจจสมุปนนธรรมที่ปรุงแตงกันขึ้นมาใน ความรูสึ ก เกิ ดขึ้ นในความรูสึ กเป นอย างนั้ นเป นอย างนี้ : สมมติ เรียกว าสวรรค ก็ พวกหนึ่ ง, สมมติวานรกก็พวกหนึ่ง, สมมติวาเหนือสิ่งทั้งปวงไปก็มีอีกพวกหนึ่ง. นี่ ถ าเรารู ว าอะไรเป นอย างไร และรูเลยไปถึ งว า ที่ เราเคยรูนั่ นมั นผิ ด มั น ไมถูก : เพราะมันเปนแตสักวา “นี่” เทานั้น ไมไดเปนอะไรมากเหมือนที่เราเคยนึก
ประโยชนแหงการเขาถึงปรมัตถสภาวธรรม
๔๐๕
เคยรู ; เช นว าคนนี่ ก็ ไม ใช คน เป นสั กว าธาตุ ในบางเวลา, สั กว าอายตนะในบางเวลา, สั กว าขั นธ ในบางเวลา, และสั กว าอุ ปาทานขั นธ ในบางเวลา; หรือว าเลยไปเป นตั วความ ทุ กข ; เท านั้ นแหละ คื อ “คน” ในบางเวลา. นี้ จึ งจะเรียกว าเป นปรมั ตถสภาวธรรมใน แงของปริยัติ; ประโยชนก็คือใหเรารูอยางถูกตองแทจริงวาอะไรเปนอะไร. ๒. เขยิ บ ออกไปถึ ง ประโยชน ใ นส ว นของการปฏิ บั ติ หรื อ การกระทํ า แม แต การปฏิ บั ติ งานตามบ านตามเรือนของชาวบ าน, หรือการปฏิ บั ติ งานในพระศาสนา เพื่ อ บรรลุ ม รรคผลนิ พ พาน ก็ ต ามอสั ย สิ่ งที่ เรี ยกว าปรมั ต ถสภาวธรรม. ในการมี ชี วิ ต อยู นี้ เราจะต อ งทํ า อะไร, เราจะต อ งทํ า อย า งไร, และทํ า เท า ไร; ถ า เราไม มี ค วามรู เรื่ องปรมั ตถสภาวธรรม เราก็ ทํ าอย างนั้ นไม ได การที่ มี ชี วิ ตอยู ของเราก็ เลยผิ ด ๆ ไปหมด ไมไดผลดี. ๓. ในส วนปฏิ เวธ คื อการเสวยผลของการกระทํ า, ปรมั ต ถสภาวธรรม นี่หมายถึงการเสวยผลสูงสุด ลึกซึ้งสูงสุดที่มนุษยไมเคยรูจัก คือการบรรลุมรรค ผล นิพ พาน เปน ปรมัต ถสภาวธรรมในแงข องปฏิเวธ; คือ ไมตอ งมีค วามทุก ขเลย ในทุกขกรณีไมวาในกรณีไหน ไมตองมีความทุกขเลย.
www.buddhadasa.info นี้เรียกวาจะมองกันในแงของปริยัติก็ได, มองกันในแงปฏิบั ติก็ได, มอง กั น ในแงป ฏิ เวธก็ ได .การถึ งปรมั ต ถสภาวธรรม ย อ มมี ป ระโยชน อ ย างยิ่ ง แม ว าเรา จะดู กั น ให ละเอี ยดเป น พวก ๆ ไป ก็ มี ท างที่ จะดู ได อ ย างนี้ ; จะเล าให ฟ งเป น ตั วอย าง สําหรับรู แลวก็ไปเปรียบเทียบเอาเองไดทั้งหมด :-
ในส ว นปริ ยั ติ ซึ่ งแปลว าความรอบรู ถ า รู ป รมั ต ถธรรมว า อะไรเป น อะไร อย างเรื่องธาตุ เรื่องอายตนะ เรื่ องขั นธ เรื่องอุ ปาทานขั นธ ตามที่ เป นจริง ตามธรรมชาติ อยางไรแลว; ความรูนี้ก็ถือวาเปนการไดรูสิ่งที่ดีที่สุดที่มนุษยควรจะรู ที่พระพุทธเจา
๔๐๖
ปรมัตถสภาวธรรม
ทานไดตรัสไว อีกรูปหนึ่งวา ถารูวาสิ่งทั้งหลายทั้งปวงไมควรยึดมั่นถือมั่น นั้นคือรู หมดในสิ่งที่ควรรู คือรูวา สพฺเพ ธมฺมา นาลํ อภินิเวสาย -ธรรมทั้งหลายทั้งปวง อันบุคคลไมควรยึดมั่นถือมั่นวาเราวาของเรา ใครรูอยางนี้เทานั้นแหละ รูเพียงเทานี้ ก็คือรูหมดในทุกสิ่งที่ควรรู. ทีนี้ ทําไมไมควรยึดมั่นถือมั่น ? นี้ก็ไดอธิบายกันอยางละเอียดพิสดารแลว โดยเรื่องปรมั ตถสภาวธรรมที่ กล าวมาแล ว; ฉะนั้ น ใครรูก็ เรียกวาได รูทุ กสิ่ งที่ มนุ ษ ย ควรจะรู ไม มี อะไรนอกไปจากนี้ . ถามี อะไรที่ ไม ได พู ดด วยคํ านี้ ก็ ยั งไม แปลกไปจากนี้ คือรวมอยูไดในสิ่งนี้ และไดรูสิ่งที่ดีที่สุดที่มนุษยควรจะรู. บรรดาเรื่องที่มนุษยควรจะรู หรือมีประโยชน แกมนุษยที่สุดนั้น ไมมีเรื่อง อะไรดีกวาเรื่องนี้, คือรูวาอะไรเปนอะไร แลวก็ไมยึดมั่นถือมั่นในสิ่งใด; ก็คือรูวา ไม มี สิ่งอะไรที่ ควรยึดมั่ นถือมั่ น. ตามปกติ ทั่ วไปความรูที่ถู กตองอยางนี้ ย อมทํ าให คน หายโง; พูด กัน ตรง ๆ ก็ห ายตื ่น หายหลง หายงง หายเคอะ. คนกํ า ลัง ตื ่น นั ่น ตื่นนี่ตื่นโนน, เดี๋ยวอะไรแปลกเขามาก็ตื่น ตื่นเตน แลวก็หลงไปพักหนึ่ง.
www.buddhadasa.info อย างสมั ยหนึ่ งไม มี น้ํ าอั ดลม กิ น พอมี น้ํ าอั ดลมกิ น ก็ ตื่ นกั นไปพั กหนึ่ ง; นี้ มั นโง เพราะเป นเรื่องที่ ไม ต องตื่ น ไม จํ าเป นจะต องตื่ น. รูว าอย างนี้ เป นธรรมชาติ เป นธาตุ ตามธรรมชาติ ; เอาธาตุ มาปฏิ บั ติ ต อกั นอย างนี้ แล วก็ มี ผลอย างนี้ , กิ นเข าไป ก็ทํ าให เกิดผั สสะ เกิดเวทนาทางลิ้นแลวก็ เป นอยางนั้ น. ทํ าไม จะต องตื่ น จะต องหลง จะต องเห็ น เป น เรื่องแปลกประหลาด. ยกตั วอย างเรื่อ งน้ํ าอั ด ลม นี้ ก็ คล าย ๆ กั บ ว า โงเต็มทีแลว
ยั งมี เรื่ องอะไรมาก เรื่อ งที่ จะมี ของประหลาด เช น เรื่ อ งวิ ท ยุ เรื่ อ งตู เย็ น เรื่องโทรทัศน กระทั่งรื่องเรือบิน เรื่องไปโลกพระจันทรไดนี้ ก็ตื่นกันเปนการใหญ.
ประโยชนแหงการเขาถึงปรมัตถสภาวธรรม
๔๐๗
คื น แรกที่ เข า ไปโลกพระจั น ทร เอาโทรทั ศ น ม าส ง นี้ นั่ ง เฝ า จอโทรทั ศ น กั น จนสว า ง; เพราะตื่ น ว า มั น เป น ที่ ป ระหลาด; นี่ เขาเรี ย กว า ตื่ น . ถ า รู เรื่ อ งนี้ แ ล ว ที่ ตื่ น ก็ ห ายตื่ น ที่ หลงก็ หายหลง ที่ งงก็ หายงง คื อหายเซอะหายเซ อ หายตื่ น หายหลง ในปรากฏการณ หรื อในผลิ ต ผลอั น สมมติ เรี ยกกั นว าประหลาด น าอั ศ จรรย ; จะไม มี อ ะไรที่ ป ระหลาด หรือนาอัศจรรย หรือเหนือวิสัยธรรมดาอะไรก็ไมมี. ถาผูใดรูปรมัตถสภาวธรรมแลว จะไมมีอะไรมาทําใหเกิดความรูสึกวา แสน จะป ระห ลาด แสนจะนา อัศ จรรย; นั ่น มัน เรื ่อ งของคนโง ที ่ไ มรู เ รื ่อ ง ปรมั ต ถสภาวธรรม. แม แ ต เรื่ อ งว า ไปโลกพระจั น ทร นี้ เขาก็ ว า เป น เรื่ อ งประหลาด น าอั ศจรรย เป นปาฏิ หาริย กั นอยู มากแล ว. อยากจะบอกว าแม จะยิ่ งกวานั้ นสั กรอยเท า พั นเท า ก็ ไม น าประหลาด ไม น าอั ศจรรย ; เพราะว าเป นไปตามกฎเกณฑ ของปรมั ตถ สภาวธรรม แต เป น ส วนที่ ละเอี ยด ที่ คนส วนมากยั งไม รูจั ก, แล วก็ เป น ของง าย ของ ธรรมดาสําหรับคนที่รูจักแลว. เรื่ องการคิ ดประดิ ษฐ อะไรนี้ เป นสิ่ งเสมอกั นโดยที่ ว า เรื่ องบ า ๆ บอ ๆ ด วยกั น ทั้ งนั้ นแหละ คื อดั บความทุ กข อะไรไม ได เลย; และบางที จะเพิ่ มความทุ กข เพราะว า ไปทํ าให ตื่ น ให หลง ให งงยิ่ งขึ้ นไปอี ก. อย างนี้ ก็ เรียกว า ความรูปรมั ตถ นี้ ทํ าให หายตื่ น หายหลง หายงง หายคิ ด หายนึ ก หายมี ความเห็ นว าน าอั ศจรรย เป นปาฏิ หาริ ย อย างนี้ เป น ต น ; ก็ เลยเรี ย กว าสิ่ งที่ ห ยุ ด หยุ ด ความบ าหลั งนั้ น เสี ย ได จึ งมี ป ระโยชน . การรู ปรมัตถสภาวธรรม มีประโยชนอยางนี้.
www.buddhadasa.info ในแงปฏิบัติตองเกี่ยวกันอยูกับ กาย, จิต, วิญญาณ ในแง ของการปฏิ บั ติ หรื อในฐานะที่ เป นการปฏิ บั ติ หรื อเกี่ ยวกั บการปฏิ บั ติ ก็ดี ถาเรารูสิ่งที่เรียกวา ปรมัตถสภาวธรรม แลวก็มีประโยชน มากเหมือนกัน ;
๔๐๘
ปรมัตถสภาวธรรม
คือวาเราจะปฏิ บั ติ ได ถู กต อง สําเร็จประโยชนตามที่ ตองการ หรือตามที่ ควรจะตองการ. ในเรื่ อ งทางกาย ทางวั ต ถุ นี้ ก็ ดี , ในเรื่ อ งทางจิ ต ก็ ดี ในเรื่ อ งทางวิ ญ ญาณก็ ดี , เรา จะทํ าถู กต องตามที่ ควรจะทํ า แล วที่ ดั บทุ กข ได ในที่ สุ ด. เรื่องสามเรื่องนั้ นเคยพู ดมาแล ว จนซ้ําซากเต็มที แลว ก็ยังจะต องพู ดอี ก วามนุ ษย เรามี สิ่ งที่ จะต องเกี่ ยวของอยู ดวย ๓ เรื่อง ด วยกั น : เรื่ องวั ตถุ หรื อเรื่ องทางกายนี้ เรื่ องหนึ่ ง, แล วเรื่ องทางจิ ตล วน ๆ, แล วเรื่ อง ทางวิญญาณคือสติปญญาลวน ๆ. ๑. เรื่ องทางร างกาย หมายถึ งร างกายที่ ประกอบอยู ด วยวั ตถุ แม แต สิ่ งที่ เรียกวาชีวิตนี้ ก็เอาไวกับเรื่องวัตถุกาย, กายวัตถุ. ๒. เรื่ อ งทางจิ ต คื อ อะไร ทํ าอย างไรจิ ต จึ งจะมี ส มรรถภาพ จะคิ ด เก ง จะจํ าเก ง จะแสดงฝ ไม ลายมื อได ถึ งที่ สุ ดของกํ าลั ง ของความสามารถที่ จิ ตมี . เดี๋ ยวนี้ ได ยิ น เขาพู ด กั น ว า “กํ า ลั ง ภายใน” กํ า ลั ง ภายใน นี่ เฟ อ กั น ไปหมด เป น ที่ รู จั ก กั น ดี แ ล ว ; แสดงวาเขารูจั กจิ ตขึ้ นมาในแงหนึ่ งแล ว คื อรูเรื่องจิ ตมากขึ้ นกวาเดิ ม. เรื่องนี้ ก็ เหมื อนกั น ถ า มี ค วามรู ท างปรมั ต ถสภาวธรรมดี จริ ง พอ; ก็ จ ะรู จั ก เรื่ อ งจิ ต , แล ว ปฏิ บั ติ เกี่ ย ว กั บจิ ต ให จิ ตเกิ ดเป นจิ ตที่ มี สมรรถภาพอย างไม น าเชื่ อ อย างที่ เป นปาฏิ หาริย ได ; แต ก็ ไม ใช ปาฏิ หาริ ย เพราะเป นธรรมดาของจิ ตอย างนั้ นเอง. เช นจิ ตจะเป นสมาธิ เป นฌาน เป น สมาบั ติ หรื อ จะมี อิ ท ธิ ฤ ทธิ อ ภิ ญ ญาแสดงอะไรได ก็ เ ป น เรื่ อ งธรรดาสํ า หรั บ ปรมั ตถสภาวธรรม ซึ่ งเป นอย างนั้ นเอง เมื่ อทํ าแล วก็ เป นอย างนั้ นเอง คนธรรมดาไม รู จึงเห็นเปนเรื่องปาฏิหาริย.
www.buddhadasa.info ๓. เรื่ องทางวิ ญญาณ หมายถึ งความรู หรื อสติ ป ญญาของจิ ต เราแม จะมี จิ ต เป น สมาธิ มี จิ ต ดี ; แต ยั งไม รู ก็ ได ยั งเป น จิ ต ที่ ไม รู เรื่ องนิ พ พานก็ ได . ต อ งมี ความ รูเรื่องนิพพาน เรื่องความดับทุกข คือเห็นแจงในอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา, แลวก็รู
ประโยชนแหงการเขาถึงปรมัตถสภาวธรรม
๔๐๙
วาไม มีอะไรที่ควรยึดมั่น ถือมั่น เป นตัวตน; เรื่องความรูอยางนี้ ก็เรียกวาเปนเรื่อง ทางวิญญาณไวทีกอน เพราะไมรูจะเรียกวาอะไร. รวมกั นแล วก็ เป น ๓ เรื่ อง : เรื่ องร างกาย เรื่ องจิ ต แล วก็ เรื่ องวิ ญ ญาณ คื อ ความรูของจิต. ทั้งหมดนี้ขึ้นอยูกับสิ่งที่เรียกวา ปรมัตถสภาวธรรม เพราะมันอยูมา หรื อเป น มา หรื อ เป น ไปก็ ต าม ในลั กษณะที่ เป น ปรมั ต ถสภาวธรรม คื อ มี อั ต ถ อั น ลึ ก มี ค วามหมายอั น ลึ ก มี ความลั บ อั น ลึ ก; แต แล วมั น ก็ เป นธรรมชาติ ธรรมดา คื อ เป น สภาวะอยางนั้นเอง. ถาเรามีความรูเรื่องปรมัตถสภาวธรรมตามหลักที่อธิบายมาแลว เราก็จะทําได หรือปฏิ บั ติ ได ดี ที่ สุ ด และสมบู รณ ที่ สุ ด. ดี นี้ ต องสมบู รณ ด วย; ดี ครึ่ง ๆ กลาง ๆ โดย ไมสมบูรณใชไมได ตองดีดวยและสมบูรณดวยในเรื่องของความดับทุกข. ฉะนั้น ขอให ศึ กษาเรื่องความจริงของสิ่ งทั้ งปวงคื อสภาวธรรม แล วก็ จะปฏิ บั ติ สิ่ งทุ กสิ่ งที่ เป น หน าที่ ที่ เกี่ ยวข องทั้ งทางกาย ทางจิ ต ทางวิ ญ ญาณได ดี ที่ สุ ด สมบู รณ ที่ สุ ด, แล วที่ วิ เศษยิ่ งไปกว านั้ นก็ คื อว า จะง ายที่ สุ ด สะดวกที่ สุ ด ลํ าบากน อยที่ สุ ด. เดี๋ ยวนี้ เราจะ ทํ าอะไรก็ ตามเถอะ ถ าเราไม รู เรื่ องนั้ นจริ ง จะทํ าลํ าบากที่ สุ ด; พอรู จริ ง ทํ าง ายที่ สุ ด แมแตจะทําขนมกินสักอยางหนึ่งนี้ ถารูจริงก็ทํางายที่สุด.
www.buddhadasa.info ในเรื่องบรรลุ มรรค ผล นิ พพาน ก็ เหมื อนกั น ถ าไม รูจริงก็ ทํ ายากที่ สุ ด; เมื่อรูถึงขนาด รูปรมัตถสภาวธรรมแลวการปฏิบัตินั้นไมยากเลย คือทําใหการปฏิบัติ นั้ นง ายขึ้ นอี ก ง ายกว าที่ จะปล อยไปในลั กษณะที่ ว า คลํ าไปพลาง ทํ าไปพลาง ทดลอง ไปพลาง. อยางที่รูปรมัตถธรรมเสียกอนนี้มันจะทําไดงายที่สุด สะดวกที่สุด. เหมื อนอย างเมื่ อตะกี้ นี้ ก็ พู ด แล วว า จะสร างนรกขึ้ น ทั น ที เดี๋ ยวนี้ ก็ ได มั น งายหรือสะดวกอยางนั้น; ทางตา ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย ทางใจ ที่เรียกวา
๔๑๐
ปรมัตถสภาวธรรม
ผั ส สายตนิ ก นรก นี่ ส ร างนรกจริ ง ๆ กั น เดี๋ ย วนี้ ก็ ได . และตรงกั น ข ามจะสร างสวรรค กันจริง ๆ ทางอายตนะ๖ เดี๋ยวนี้ก็ได; นี่ดีอยางนี้ งายอยางนี้. หรื อว าเราจะข ามความทุ กข ไปนิ พพานก็ ได ; เพราะว าเป นการข ามมหาสมุ ทร คื อ ตา หู จมู กลิ้ น กาย ใจนี้ . ตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจ มี อ ยู ที่ ไหน เป น สมุ ท รที่ นั่ น . รูปรมั ตถสภาวธรรมแล ว จะอยู เหนื ออํ านาจของความหลอกลวงของตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจ; ข ามมหาสมุ ทรไปนิ พพานกั นที่ นี่ เดี๋ ยวนี้ ก็ ได . นี่ เรียกว าข ามวั ฏฏสงสารอย างโดยตรง อย างแท จริ ง อย างสะดวกได เพราะความรู ทางปรมั ตถสภาวธรรม; นี่ มั นเป นการทํ า ใหดีที่สุดดวย แลวการทํานั้นไมลําบาก ไมยากเกินไปดวย. อีกอยางหนึ่งที่อยากจะกลาวก็คือวา ความรูปรมั ตถนี้ ตรงตามจุดหมาย ที่ แท จริงของสิ่งที่ มี ชี วิต ตามจุดหมายที่แทจริง และสูงสุดของสิ่งที่มีชีวิต. ในบรรดา สิ่ งที่ มี ชี วิ ต ย อมมี ความรู สึ ก; ถ ามี ชี วิ ตสู งขนาดคนเรา ก็ มี ความรู สึ กสู ง เพราะรูสึ กสุ ข รูจั กทุ กข รู จั กดิ้ นรนเพื่ อจะดั บทุ กข เสี ย. ความรูปรมั ตถสภาวธรรมนี้ เป นความรูตรง, มุงไปยังจุดหมายโดยตรงแทจริง และสูงสุดของสิ่งที่เรียกวาชีวิต
รูจักความหมายของสิ่งที่เรียกวาชีวิต www.buddhadasa.info ชีวิตนี้มีอยู ๒ ชีวิต ชีวิตหนึ่ งเป น ความตาย, อี กชีวิต หนึ่ งเป น ความ ไม รู จั ก ตาย. ชี วิ ต ที่ จ ะยึ ด มั่ น นี่ โดยความเป น ตั ว กู -ของกู เอาตั ว กู -ของกู เป น ชี วิ ต ชี วิ ตนั้ นคื อตาย, ตายอยู ที่ นั่ นแล ว, เป นความทุ กข โดยสมบู รณ อยู ที่ นั่ นแล ว: นี่ เรี ยกว า ชี วิ ต ตาย; ฟ ง ดู ก็ น า หั ว เราะ หรื อ ไม น า เชื่ อ หรื อ ว า เล น ลิ้ น ตลบแตลง. ชี วิ ต ตาย คื อชี วิตที่ กํ าลั งยึ ดมั่ น : ติ ดอยูในสิ่งใด ทางตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจ โดยความเป น ตัวกู-ของกู; นี้คือชีวิตตาย.
ประโยชนแหงการเขาถึงปรมัตถสภาวธรรม
๔๑๑
ทีนี้ ชีวิตที่เปนชีวิตนิรันดร ก็คือ ชีวิตที่ไมไดติดอยูกับสิ่งใดโดยความ เป น ตั ว กู -ของกู ; จุ ด หมายปลายทางของชี วิ ต นั้ น คื อ ชี วิ ต จริ ง คื อ ชี วิ ต เป น ไม รู จั กตาย; นั่ นแหละเข าใจไว เถิ ดว า คื อเรื่ องปรมั ตถสภาวธรรม ที่ มี อยู ในชี วิ ตจริ ง และ ชี วิ ตตาย. ถ าไม เข าใจ ไม มองเห็ นปรมั ตถสภาวธรรม จะไม มองเห็ นชี วิ ตตายของตั วเอง ที่ตายอยูทุกเวลานาที; ตัวเองนั่นแหละ ตัวกูนั่นแหละ ตายอยูทุกเวลานาที. พอรู เรื่ องปรมั ตถสภาวธรรม อย างที่ บรรยายกั นมาตั้ ง ๑๐ กว าครั้ งแล วนี่ ก็ จะเห็ นว า อ าว, นี่ ไม ใช ชี วิ ตนี่ ไม ควรจะเรี ยกว าชี วิ ต : มั นเป นความเข าใจผิ ดอย าง หนึ่ งเท านั้ น ที่ เข าใจว าชี วิ ต เข าใจว าตั วเรา เข าใจว าของเรา; ผู นั้ นก็ เลยไปเอาสิ่ งที่ จริ ง นอกเหนือ ไปจากสิ่งที่ห ลอกลวงนี้ คือ ไมเกิด เปน ตัว กู-ของกูขึ้น มา; ปลอ ยให เป น สภาวธรรมแท อยู เป น สิ่ งที่ ไม รู จั กตาย. เขามองเห็ น หรือ เข าถึ ง, หรื อ จิ ตนี้ เข าถึ ง ความเป นอั นเดี ยวกั นกั บสิ่ งที่ ไม รู จั กตาย คื อพวกอสั งขตะที่ ไม รู จั กตาย. นี่ เราเรี ยกว า ประโยชนจากการเขาถึงปรมัตถสภาวธรรม ในฐานะที่เกี่ยวกับการปฏิบัติ.
มนุษยเสียเวลาไปทําสิ่งที่ไมตองทํา
www.buddhadasa.info เดี๋ ย วนี้ มนุ ษ ย เรากํ า ลั ง ฉลาดแต ใ นสิ่ ง ที่ มิ ใ ช จุ ด หมายของมนุ ษ ย ; มนุ ษ ย ส วนมากเขาไม เชื่ อ เขาจะไม ย อมฟ ง; หรื อ เขาว าอาตมาพู ด นี้ พู ด บ า ๆ บอ ๆ ไปตามเคย ว าเดี๋ ยวนี้ มนุ ษย เราฉลาดแต ในสิ่ งที่ มิ ใช เป นจุ ดมุ งหมายของมนุ ษย . ถ าเป น มนุ ษย หมายความวาใจสูง และสูงไปในทางที่ จะดับทุ กข จะหมดทุกข จะสิ้นทุกข จะทําความดับทุกขใหได คือนิพพาน นี่เปนจุดหมายปลายทางของมนุษย.
ทีนี้ คนในโลกเวลานี้ ฉลาดแต ในทางที่ จะทํ าให ต รงกัน ขาม ใหไป เสี ยอี กทางหนึ่ ง ไม ตรงไปยั งจุ ดหมายปลายทางของมนุ ษ ย . การศึ กษาเล าเรี ยน การ คนควา การประดิษฐ การผลิตที่เปนความเจริญของมนุษย ในยุคปจจุบันนี้ ในโลกนี้
๔๑๒
ปรมัตถสภาวธรรม
เป นไปแต ในทางที่ ตรงกั นข าม, คื อไม ไปตามความมุ งหมายของมนุ ษย ที่ แท จริง. ฉะนั้ น เราจึ งไม เรี ยกคนในโลกเวลานี้ ว ามนุ ษ ย เราเรี ยกว า “คน” ดี กว า; เพราะคํ าว ามนุ ษ ย แปลวาใจสู ง หรือว า แปลว า ลู กหลานแห งมนู ผู มี จิ ตใจสู ง มนุ ษย มี จิ ตใจสู ง แต เดี๋ ยวนี้ จิตใจของมนุษยไมสูง มุงลงไปหาความทุกขยากลําบาก ความเดือดรอนยิ่งขึ้นทุกที. มนุ ษย ทํ าแต สิ่ งที่ ให สู ญ เสี ยความเป นมนุ ษย ; จะเรียกวาด าอย างยิ่ งก็ ตามใจ ก็ ต องพู ดไปตรง ๆว า เดี๋ ยวนี้ มนุ ษย นี่ ดี แต ทํ าสิ่ งที่ ให สู ญ เสี ยความเป นมนุ ษย คื อ ไม ทํ า อย า งมนุ ษ ย ; เพราะว า ไปทํ า ความหลงใหล ยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น เป น ตั ว กู -ของกู . มนุ ษย ไปทํ าในสิ่ งที่ ถ าไม ทํ าเสี ยจะยั งดี กว า : จะไปผลิ ตนั่ นผลิ ตนี่ ขึ้ นมาให ยุ ง ให เสี ย เวลามาก แล วไม มี สั ติ ภ าพเกิ ดขึ้ น อย างนี้ เรียกว าไม ทํ าเสี ยดี กว า เพราะไปทํ าให ยุ ง มากขึ้น มีปญหามากขึ้น ไมทําเสียดีกวา; อยูนิ่ง ๆ เสียดีกวา. พู ดแล วก็ จะเป นเรื่องกระทบกระเทื อน วาเดี๋ ยวนี้ เรากํ าลั งกิ นอะไรที่ ไม ตองกินอยูก็มาก, ไมตองนุงไปตองหมอะไรบางอยางก็มาก, ไมตองมีที่อยูที่อาศัยเกินกวา ที่ จํ าเป น จะต องมี นี้ ก็ ม าก; แล วส วนของเล น ของบํ ารุ งกามารมณ บํ ารุ งบํ าเรออะไร ต า ง ๆ แล ว ก็ ยิ่ ง มาก. เราเสี ย เวลาไปในสิ่ ง ที่ เราไม ค วรทํ า ถ า ไม ทํ า เสี ย จะดี ก ว า . เช นบางคนไม มี รถยนต เสี ยเลยจะดี กวา ก็ ไปบ ามี รถยนต กั บเขาจนได แล วก็ มี ป ญหาเกิ ดขึ้ น เพราะการมี รถยนต นี้ ; อย างนี้ ก็ เรียกว าเสี ยเวลาไปทํ าในสิ่ งที่ ไม ทํ าเสี ยยั งดี กว า. บางสิ่ ง ยิ่ งไม ทํ ายิ่ งดี แต ก็ ไปทํ าสิ่ งนั้ น. แต นี่ ก็ ไม ได หมายความว า ทุ กคนจะต องเหมื อนกั นหมด; เพราะมีบางรายที่ไปทําใหยุงมากขึ้นใหมีปญหามากขึ้น ไมทําเสียดีกวา.
www.buddhadasa.info มนุ ษ ย กํ าลั งทํ าให มี ป ญ หามากขึ้ น , ไปทํ าให มี ป ญ หามากขึ้ น จนแก ไมไ หว; ความแกไ มไ หวนี ่ มัน ยิ ่ง มากขึ ้น ทุก ที. ขอใหค ิด ดูเ ถอะ เดี ๋ย วนี ้ม นุษ ย ขึ้นเรือบิน บินวอนกันวันละหมื่นเที่ยวแสนเที่ยว ปญหาก็ไมหมด ยังแกไมตก ยังแก
ประโยชนแหงการเขาถึงปรมัตถสภาวธรรม
๔๑๓
ไม ได ; เพราะมนุ ษย สร างป ญ หาขึ้ นมากกว าความจํ าเป นเสมอ. ถ าอยู กั นอย างง าย ๆ ในสั งคมแคบ ๆ ก็ ไม มี เรื่ องยุ งมาก ก็ ไม ลํ าบากมาก; เรื่ องที่ จะต องตกเรื อบิ นตายก็ ไม ต อ งมี หรื อมี น อยที่ สุ ด. แต นี่ เราไปทํ าให เรื่ องมั นมาก มากขึ้ น ๆ ๆ จนว ามนุ ษ ย ต อ ง ขึ้นเรือบิ นไปธุระวันหนึ่ งหลายแสนหลายล านราย; เป นเรื่องยุ งเพิ่ มขึ้น แล วก็ มี ความทุ กข มากขึ้ นเพราะสิ่ งที่ ไม ต องทํ าก็ ได . นี่ เราฉลาดแต ในสิ่ งที่ ไม ต องทํ า เราฉลาดแต ในทาง ที ่ไ มต อ งทํ า ; มนุษ ยเ ดี ๋ย วนี ้เ ปน อยา งนี ้; เพราะฉะนั ้น จึง ไมเ รีย กวา “มนุษ ย” จะเรียกวา “คน”. ถาเขารูสิ่งที่เรียกวาปรมัตถสภาวธรรม มนุษยทุกคนจะสามารถจัดการ ภายในตั วเอง ให มี ความต องการน อย หรือวาแต พอดี ๆ ไม มี ส วนเกิ น; ก็ สามารถ จะแก ป ญ หาต าง ๆ ได อยู กั นผาสุ ก โดยไม ต องเกี่ ยวกั บคนข างนอก หรื อสิ่ งแวดล อม รอบด า น ไม ม ากมายยุ ง ยากเหมื อ นเดี๋ ย วนี้ . อย า งนี้ ก็ เรี ย กว า ช ว ยโลกนี้ ให ส งบกว า มี สั น ติ ก ว า เยื อ กเย็ น เป น สุ ข กว า ; แต ทํ าไม ได เพราะไม รู ป รมั ต ถสภาวธรรมว า เป น อย า งไร, ว า มนุ ษ ย ค วรจะทํ า อย า งไร, ไม รู ว า มนุ ษ ย นี่ ไ ม ค วรจะไปยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น ขยายใหบานปลายออกไปทุกทีอยางนี้.
www.buddhadasa.info เพราะไม รูอยางนี้ ก็ต องเป นมนุษยที่น อยลง นอยลงจนหมดความเป นมนุ ษย , มี ความเป นมนุ ษยน อยลง นอยลง เหลือแตความเปนสัตวชนิ ดหนึ่งที่เต็มไปดวยความ ทุ ก ข จนสุ นั ข หรื อ ไก หรื อ แมว มั น หั วเราะเยาะได ว า มนุ ษ ย นี่ มั น ช างมี ค วามทุ ก ข มากมายหลายหมื่นหลายแสนเทา. นี้เรียกวา ถามองกันในแงของการปฏิบัติ ความรูเรื่องปรมัตถสภาวธรรม จะทําใหเราปฏิบัติไดดีที่สุด สมบูรณที่สุด ในทุกหนาที่ของเรา แลวตรงจุดที่สุด ที่จะ
๔๑๔
ปรมัตถสภาวธรรม
เป นมนุ ษย ผู อยู ด วยความสงบ, แล วจะเป นของงาย พอสะดวกสบาย ไม ยากลํ าบากอะไร เกินไป จะใกลตอพระนิพพานได. เดี๋ยวนี้ มีแตหลอกกันวา นิพพานนี้ยากแสนยาก อยาไปปรารถนาเลย; หรือว าถ าปรารถนา ก็ ตั้ งปรารถนาไว ร อยชาติ พั นชาติ หมื่ นชาติ แสนชาติ นี้ เป นการ นั บ ชาติ ของคนโง ๆ. ถ าคนฉลาดแล ว เขารู ว าพระพุ ท ธเจ าได ต รั ส ไว ว า ความคิ ด ว า ตัว กู-ของกูเ กิด ทีห นึ ่ง นี ้ เรีย กวา ชาติห นึ ่ง , ความคิด วา ตัว กู-ของกู หรือ เปน ไป ในทางตั วกู -ของกู เกิ ดที ห นึ่ ง ก็ ชาติ ห นึ่ ง; วั น หนึ่ งมั น มี หลายสิ บชาติ หลายร อยชาติ . ถ าชาติ อย างนี้ ละก็ จริงเหมื อนกั น หลายรอยชาติ หลายสิ บชาติ หลายพั นชาติ แล วก็ เบื่ อ ก็ เข็ ด ก็ เปลี่ ยนกลั บไปในทางถู ก; ไม ทั นจะเข าโลกก็ ถึ งนิ พพานได เพราะการนั บชาติ อย างนี้ . ถ านั บ ชาติ เข าโลงที ห นึ่ งเรี ย กว าชาติ ห นึ่ ง นี่ เป น การนั บ ชาติ ข องคนโง ที่ ยั ง ต อ งพู ด กั น ไปอย างนั้ น ก อ น นิ พ พานจึ งอยู ไกลเหลื อ ประมาณ; แล วก็ ว า ปฏิ บั ติ ย าก เหลือประมาณ. นี่ฟงไมศัพทจับไปกระเดียดในเรื่องนี้แลว เสียหายมาก. ขอใหพุทธบริษัททุกคนฟงใหถนัด คือฟงใหไดศัพท แลวจะไดปฏิบัติให ถู กต องตามที่ พระพุ ทธเจ าท านตรัสสอนไว ; ถู กแล วเราอาจจะเวียนว ายอยู ในวั ฏฏสงสาร หมื่ นชาติ แสนชาติ . แต อย าลื มว าในวั นหนึ่ งก็ เข าไปหลายสิ บชาติ หรื อตั้ งร อยชาติ แล ว ไม กี่ เดื อ น ไม กี่ ป ก็ ถึ งหมื่ น ชาติ แสนชาติ ; จึ ง ควรจะฉลาดขึ้ น พอทั น แก เวลา เพื่ อ ทําลายอวิชชาไดทัน กอนแตที่จะเขาโลง.
www.buddhadasa.info สมมติวาอายุ ๘๐ ปอยางนี้ ใหเวียนวายตายเกิดอยูเพียงสัก ๕๐ ป นี้ก็ หลายหมื่ น หลายแสนชาติ เต็ ม ที แ ล ว , หรื อ หลายอสงไขยชาติ ก็ ไ ด เหลื อ นั้ น ให มันถึ งจุดที่ วาหายโงหายหลง เขาถึงความจริงกันเสียที ; หยุดเกิ ดแห งอุปาทานขันธกั นเสียที ก็เปนนิพพานได. นี่แหละ ความรูของปรมัตถสภาวธรรม ทําใหมีการปฏิบัติที่ปฏิบัติได
ประโยชนแหงการเขาถึงปรมัตถสภาวธรรม
๔๑๕
ให ธรรมะนี้ เป นธรรมะที่ ปฏิ บั ติ ได อย างที่ เรี ยกว า สฺ วากฺ ขาโต ภควตา ธมฺ โม สนฺ ทิ ฏ โก อกาลิ โก, ล ว นแต เป น เรื่ อ งที่ ป ฏิ บั ติ ได แ ล ว ทั น ที ที่ นี่ แ ละเดี๋ ย วนี้ สํ า หรั บ คนธรรมดา สามั ญ ไม ใช คนบ า. ถ าคนที่ บ าหรื อโง เกิ นไปก็ ต องยกเว น ไม เอามาอยู ในคํ า ๆ นี้ ที่ ว า ธรรมะนี้ เ ป น สนฺ ทิ ฏ โ ก อกาลิ โ ก เอหิ ป สฺ สิ โ ก โอปนยิ โ ก ปจฺ จ ตฺ ตํ เวทิ ต พฺ โ พ วิูหิ.
ดูประโยชนของปรมัตถ ในแงปฏิเวธ ดู กั น ต อ ไปถึ งประโยชน ของปรมั ต ถสภาวธรรมในแง ของปฏิ เวธ : ปฏิ เวธะ แปลว า แทงเฉพาะ ถึ งเฉพาะ หรื อประจั กษ แก ใจ; นี่ มั นก็ เกี่ ยวเนื่ องกั นกั บคํ าว าปฏิ บั ติ . ถ าปฏิ บั ติ ถู ก ต อ ง ปฏิ เวธก็ มี เป น แน น อน; แต เราแยกออกมากล าวอี ก ที ห นึ่ ง ก็ เพื่ อ ให เห็นผลชัดขึ้นในแงของปฏิเวธ. ปรมัตถสภาวธรรมนี้ เมื่อรูแลวจะชวยใหไมตองมี ความทุ กข เลย ในทุ กกรณี และทุ กชนิ ดของสิ่ งที่ เป นคู ข อนี้ ต องนึ กถึ งพระพุ ทธภาษิ ต อันหนึ่ง ที่ตรัสตอบแกพราหมณคนหนึ่ง :-
www.buddhadasa.info พราหมณ คนหนึ่ งเขาพู ดว า ตามบทบั ญ ญั ติ ของพระเวท ของพระคั มภี ร อั น ศั กดิ์ สิ ทธิ์ ของผู รู พระเวทนั้ น : เขาบั ญ ญั ติ ทรั พย สมบั ติ เฉพาะวรรณะ เช นวรรณ กษั ตริ ย บั ญญั ติ อาวุ ธว า เป นทรัพย สํ าหรับกษั ตริ ย . สํ าหรับวรรณะพราหมณ ก็ บั ญญั ติ ภิ กขาจาร ว า เป นสิ ทธิ ที่ พ วกบรรพชิ ตพวกพราหมณ จะพึ งใช , แล วก็ บั ญ ญั ติ คั นไถไถนานี้ ว าเป น ทรั พ ย ส มบั ติ ข องวรรณะแพศย ไวศยะ คื อ คนทั่ วไป, บั ญ ญั ติ ไม ค านกั บ เคี ย ว เคี ย ว เกี่ ย วหญ า ไม ค านหาบของนี้ ว า เป น ทรั พ ย ส มบั ติ ข องวรรณ ศู ท ร คื อ พวกกรรมกร. พราหมณคนนั้นก็เลยถามวา ฝายพระพุทธเจานี้บัญญัติทรัพยวาอยางไร? พระพุทธเจาทานตรัสวา เราบัญญัติโลกุตตรธรรม วาเปนทรัพยสําหรับ ทุกคน ไมวาวรรณะไหน. นี่ฟงดูเถอะ เรารูจักพระพุทธเจาเสียบางวา ทานทรงหวัง
๔๑๖
ปรมัตถสภาวธรรม
อย างไรกั บพวกเรา; วรรณะโดยกํ าเนิ ดนั่ นท านเลิ กเสี ยแล ว พระพุ ทธเจ าท านเลิ กเสี ยแล ว. มาบั ญ ญั ติ วรรณะกั นโดยหน าที่ การงาน; วรรณะนี้ ยั งมี เลิ กไม ได แต บั ญญั ติ โดยกํ าเนิ ด นั้ น ไม ถู ก ต อ ง. ถ า บั ญ ญั ติ โดยถู ก ต อ ง ก็ ต อ งบั ญ ญั ติ โดยหน า ที่ ก ารงาน คื อ กรรมที่ เขากระทํ า. เขากระทํ า อยู อ ย างไรก็ เป น อย างนั้ น ; จะเป น กษั ต ริ ย ,พราหมณ , แพศย , สู ท ร ก็ เพราะกรรมที่ เขากระทํ า. เมื่ อ เขาเปลี่ ย นการกระทํ า เขาก็ เปลี่ ย นวรรณะ; เช น วรรณะชาวบ าน เปลี่ ยสมาเป นวรรณะนั กบวช อย างนี้ ก็ เปลี่ ยนไปตามการกระทํ า. และ ตรั สว า โลกุ ตตรธรรม, โลกุ ตตรทรั พย นี่ เราบั ญ ญั ติ ไว สํ าหรั บทุ กคน ไม เลื อกว าวรรณะ ไหน. นี้ ก็ เพื่ อจะเป นเครื่องยื นยั นว า พระพุ ท ธเจ าท านทรงหวั งจะให โลกุ ตตรธรรม, โลกุ ต ตรทรั พ ย นี้ แ ก ทุ ก คน, คื อ มรรค ผลนิ พ พานสํ า หรั บ ทุ ก คน; ทรงบั ญ ญั ติ สําหรับวรรณะทุกวรรณะโดยหนาที่. ที นี้ การที่ จะถึ งโลกุ ตตระ คื ออยู เหนื ออํ านาจบี บคั้ นของโลกนี้ มี ได แต โดย อาศั ย ความรู ป รมั ต ถสภาวธรรม แล ว ปฏิ บั ติ ต ามนั้ น ให ป ระจั ก ษ ขึ้ น มา; เรี ย กว า เขาได รั บ ได มี ค วามรู นี้ จริ ง; คื อ รู เรื่ อ งว า สภาวธรรมคื อ ธรรมตามธรรมชาติ : ธรรม ที่เปน อยูต ามธรรมชาติ จะเปน ตัว เรา เปน ของเราหรือ เปน ตัว ใคร หรือ เปน ของใครไม ไ ด ; ไม ให จิ ต ยึ ด ถื อ เขลา ๆ ไป โดยมั่ น หมายเอาเป น ตั ว เรา เป น ของเรา ใหปลอยไปใหถูกตองตามธรรมชาติ.
www.buddhadasa.info ควรเกี่ ยวข อ งอย างไรก็ เกี่ ยวข องอย างนั้ น , ควรเกี่ ยวข องเท าไร ก็ เกี่ ยว ข อ งแต เท า นั้ น , ควรเกี่ ย วข อ งเมื่ อ ไร ก็ ค วรเกี่ ย วข อ งแต เมื่ อ เวลานั้ น ; อย า ให เ ฟ อ อย าให เกิ นไปเท านั้ น. อย างนี้ จึ งจะเรี ยกว า ช วยไม ให มี ทุ กข ป องกั นไม ให มี ทุ กข หรื อ ว าดั บ ความทุ ก ข เสี ย ในทุ ก กรณี ทุ ก ขนิ ด ชนะได ห มด. ที่ เราอยู ใต โลก จมอยู ในโลก หรื อ จมอยู ก น โลก ก็ เพราะว า เราไปหลงยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น ในสิ่ งที่ เป น คู ๆ; อั น นี้ ก็ เป น การ เขาใจยากที่วาเราไปหลงในของที่เปนคู ๆ; แตความหลุดพน นั้นอยูเหนือของที่เปนคู.
ประโยชนแหงการเขาถึงปรมัตถสภาวธรรม
๔๑๗
สําหรับของที่ เป นคู นี้ มี มากมายหลายสิ บคู , หรือวาอาจจะหลายรอยคู ; เช นวา ดี กั บชั่ วนี้ ก็ คู หนึ่ ง, บุ ญ กั บบาปนี่ คู หนึ่ ง, สุ ขกั บทุ กข นี้ ก็ คู หนึ่ ง, ได กั บเสี ยนี่ ก็ คู หนึ่ ง, แพ กั บชนะ นี ้ก ็คู ห นึ ่ง , มั ่ง มีก ับ ยากจนนี ้ก ็คู ห นึ ่ง , สว ยกับ ไมส วยนี ้ก ็คู ห นึ ่ง ; ลว นแตเ ปน คู ๆ คู เหล านี้ มากมายหลายสิ บคู หลายรอยคู เราไปมองเห็ นเป นคู อยางนี้ วามั นมี เป นคู อย างนี้ เพราะเรายังโง. โดยแท จ ริ ง ที่ เหนื อ ไปกว า นั้ น มั น มิ ไ ด เ ป น คู ; มั น เป น ธรรมดา เป น สามั ญตามธรรมดา ตามธรรมชาติ ของสิ่ งที่ เรียกวาธรรมแท . ที นี้ มนุ ษย ไปบั ญญั ติ ให เอง เพราะมนุ ษย ไม ชอบความทุ กข ก็ เลยไปเกลี ยดความทุ กข ไปหวั งความสุ ข จึ งเกิ ดเป นคู ขึ้ น มาว า สุ ข กั บ ทุ ก ข ; บุ ญ กั บ บาป คู นี้ ก็ เหมื อ นกั น พอสอนให รู ว า มี ค วามหมาย อย างไร แล วก็ กลั วบาปรักบุ ญ ; ดี กั บชั่ วก็ เหมื อนกั น ให เกลี ยดชั่ วรั กดี มั นก็ มี ป ญ หา แล วก็ เลยมี ความทุ กข เพราะไปรั กข างหนึ่ ง ไปเกลี ยดข างหนึ่ ง จนเกิ ดความหนั กอก หนักใจ. ถาอยาใหเปนทั้งสองขาง ใหอยูตรงกลาง ๆ นี้เปนความฉลาด : มีแตวา ทํ า อย างไรเป น ทุ ก ข ก็ อ ย า ไปทํ า ทํ า แต ในทางที่ ไม เป น ทุ ก ข ให เหลื อ แต ว ามี ทุ ก ข กั บ ไม มี ทุ กข เท านั้ น ของจริ งก็ มี เท านั้ น; มี แต ทุ กข และทุ กข น อยลง ๆ ๆ จนเป นทุ กข ศู นย อย างนี้ ดี กว า. อย าพู ดถึ งความสุ ขดี กว า; พอพู ดถึ งความสุ ข ก็ โงขึ้ นมาทั นที เกิ ดความ หวังความอยาก ความยึดถือขึ้นมาทันที.
www.buddhadasa.info มองดูวา เดี๋ยวนี้เรามีปญหา คือความทุกข เพราะวาเราไปโงไปยึดมั่น อะไรเขา . เราทํ า ใหย ึด ถือ นอ ยลง ใหท ุก ขน อ ยลง ทุก ขน อ ยลงจนเปน ทุก ขศ ุน ย ก็ พ อแล ว ; ให ทุ ก ข ว า งไป ทุ ก ข สู ญ ไป นี่ ก็ พ อแล ว เป น โลกุ ต ตระ : ไม ไ ปติ ด ดี , ติดชั่ว, ติดบุญ, ติดบาป, ติดสุข, ติดทุกข; อยาใหเหมือนที่เขาสอนกันอยูวา ให
๔๑๘
ปรมัตถสภาวธรรม
แบกเอากุ ศ ลไปเข าโลงไปด วย ไปเกิ ด ใหม เต็ ม ไปด วยกุ ศ ล; อย างนี้ มั น ไม ถู กกั บ เรื่อ ง เพราะมั นเป นของคู . อย าเอาไปทั้ งกุ ศล อย าเอาไปทั้ งอกุ ศล และก็ อย าให เกิ ดขึ้ นมา ไดทั้งกุศลทั้งอกุศล ที่นี่แหละเดี๋ยวนี้; นี่จึงจะตรงตามจุดหมาย. ต อ งมี ป ฏิ เวธะ คื อ แทงทะลุ ล งไปที่ ต รงนั้ น ให ท ะลุ ผ านของเป น คู ๆ คู ๆ หมด ก็ เหลื อแต ที่ ไม รูจะเรียกว าอะไร; แล วเป นธรรมดาของสิ่ งที่ เรียกว านิ พพาน หรื อ อสั งขตะ นี่ มั น ไม มี ชื่ อ เรี ย ก; เรี ย กให ถู ก ที่ สุ ด ตามที่ พ ระพุ ท ธเจ าท า นจะสมมติ เรี ย กได ท า นเรี ย กว า “ที่ สุ ด แห ง ความทุ ก ข ” เรี ย กว า อนฺ โต ทุ กฺ ข สฺ ส -ที่ สุ ด แห ง ความทุ ก ข . เมื่ อ ท า นชวนผู ใดมาบวช ท า นวา มาประพฤติ พ รหมจรรย เพื่ อ ที่ สุ ด แห ง ทุ ก ข ; ท า นยั ง ไม ไ ด พู ด ว า นิ พ พาน หรื อ สวรรค วิ ม านอะไร; แต ท า นว า มา ประพฤติ พ รหมจรรย เพื่ อที่ สุ ด แห งทุ ก ข แล วจะได สู ญ หรื อ ว างไป ไม เกิ ด ไปโผล เป น สุขขึ้นมาอีก. ส ว นที่ พู ด ว า “นิ พ พานเป น สุ ข อย า งยิ่ ง ” นั้ น เป น เรื่ อ งโฆษณาชวนเชื่ อ เหมื อ นอย างขายน้ํ าหวาน ขายน้ํ าอั ด ลมนั่ น แหละ; ที่ พู ด ว า “สุ ขอย างยิ่ ง” นั้ น เป น เรื่องของการโฆษณาเพื่ อศี ลธรรมอั นดี สํ าหรับผู ที่ จะมี ศี ลธรรมต อไป. ถ าสํ าหรับผู ที่ จะ มี ป รมั ต ถธรรมแล ว จะไม พู ด อย างนี้ เป น อั น ขาด จะไม พู ด ว า “สุ ข อย างยิ่ ง”, มาทํ า เพื่ อสุ ขอย างยิ่ ง; จะไม พู ดอย างนั้ น, จะพู ดว า “ทํ าให ทุ กข สิ้ นสุ ดลง” ก็ พอ; เพราะว า ป ญหาของเรามี ตรงที่ ว ามี ความทุ กข : ไม มี ความทุ กข ก็ เรียกว าหมดป ญหา ก็ ควรจะพอใจ และเปนจริงดวย.
www.buddhadasa.info อย าไปเพิ่ มความสุ ขขึ้ นมาอี กป ญหาหนึ่ ง ซึ่ งจะทํ าให ต องแบกอยู อี ก ก็ ไม รู จั กสิ้ น สุ ด กั น . เหมื อนคนคนหนึ่ งไปป า ไปพบไม ฟ นดี ๆ เขาก็ แบกไม ฟ นมาจนนั ก; พอพบผลไมที่แพงกวา ก็โยนไมฟน แบกผลไมมาจนหนัก. สมมติวามาพบทองคํา
ประโยชนแหงการเขาถึงปรมัตถสภาวธรรม
๔๑๙
เข า กองหนึ่ ง ก็ โ ยนผลไม แล ว ก็ แ บกทองคํ า หนั ก มากว า ผลไม ก็ ไ ด ; เพราะเขารั ก นี่ รัก ทองคํ ามากกว า ก็ แบกมากกว าเดิ ม . ถ าเกิ ด ไปพบเพชรพลอยเข าอี ก ก็ คงจะโยน ทองคํ า แล วก็ แบกเพชรพลอยที่ หนั กกว านั้ น แล วก็ ขาดใจตายอยู ที่ ตรงนั้ น เพราะมั น หนักเกินกวาที่จะเอาไปได. ขึ้ น ชื่ อว า “แบก” หรื อ ว า “ยึ ด ถื อ ” แล ว มั นจะมี ลั กษณะอย างนี้ ทั้ งนั้ น ; ฉะนั้ น ควรจะโยน ๆ โยนไป. ถ าจะมี ก็ มี อยู ข างฝ าเท า, ถ าจะมี อะไรก็ มี ไวกั นที่ พื้ น ที ่ฝ า เทา ; อยา เอามาแบกไวบ นศรีษ ะ บนบา บนหัว . นี ่ก ็เ รีย กวา ไมย ึด มั ่น ถื อ มั่ น อยู ใ นโลกนี้ ก็ มี ไ ด ; มี บุ ต ร ภรรยา สามี มี ห น า ที่ ก ารงาน มี เงิ น มี ท รั พ ย มี เกียรติ มี อ ะไรก็ ได แต พ อไปยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น เข าแล วมั น จะกั ด เอาทั น ที คื อ เป น ทุ ก ข .ตั วอุ ปาทานขั นธ มั นเกิ ดขึ้ นแล วมั นก็ เป นทุ กข ไม ว าอะไรไปยึ ดมั่ นเข าแล ว จะมี ความทุกขนิดหนึ่งก็มีความทุกข.
รูปรมัตถธรรมแลวจะเห็นความจริงสูงสุด
www.buddhadasa.info ถามีปฏิเวธะ แทงตลอดความจริงขอนี้แลว มันไมยอมที่จะไปยึดอะไร, ไม ถู ห ลอกด ว ยของเป น คู อี ก ต อ ไป; กุ ศ ลก็ ไม เอา อกุ ศ ลก็ ไม เอา สุ ขก็ ไม เอา ทุ ก ข ก็ ไม เอา โงก็ ไม เอา ฉลาดก็ ไม เอา แพ ก็ ไม เอา ชนะก็ ไม เอา คื อจะไม เอาอะไรในความหมาย ที่ ตรงกั นข าม ที่ เป นคู ๆ. มั นมี ทุ กข แล ว ก็ มี แต เพี ยงทํ าให ทุ กข ละลายไป ๆ จางไป ๆ จน หมดทุ ก ข มี เท า นั้ น ; จะเรี ย กว า ชนะก็ ได แต เป น เพี ย งสมมติ อี ก ที ห นึ่ ง จะเรี ย กว า ความสุขก็ได ตามเรื่องสมมติที่เปนคําชาวบานโฆษณาชวนเชื่อ.
พระพุ ทธเจ าท านจะไม เรี ยกว าอะไร ถ าท านพู ดเป นภาษาตรง ๆ จริ ง ๆ ท านใช คํ าว าไม ๆ ไม ๆ; เรี ยกนิ พ พานว าไม อย างนั้ น ไม อย างนั้ น ๆ ไม อย างนี้ ไม กระทั่ ง หยุดอยู; นั่นแหละที่สุดของความทุกขละ. นิพพานไมใชดิน ไมใชน้ํา ไมใชไฟ ไมใชลม
๔๒๐
ปรมัตถสภาวธรรม
ไม ใช อากาสานั ญจายตนะ ไม ใช วิ ญญาณั ญจายตนะ, กระทั่ งไม ใช อากิ ญจั ญญายตนะ และไม ใชเนวสัญญานาสัญญายตนะ. (เนวสั ญญานาสัญญายตนะ คือที่ สุดที่ มนุษยรูจักกัน ในสมัย นั ้น วา ดีที ่ส ุด ); และวา ไมใ ชอ ารมณ ไมใ ชที ่ตั ้ง ไมใ ชก ารเสวยอารมณ ไม ใช ก ารไปไม ใ ช ก ารมา ไม ใช ก ารหยุ ด ไม ใช ทุ ก อย า ง. นี่ แ หละ “ที่ สุ ด แห ง ความ ทุ กข ” แล ว. ที่ ใช คํ าอย างนี้ เพราะว าไม ควรจะเรียกโดยคํ าที่ เป นคู ๆ ๆ เหมื อนที่ ชาวบ าน เขาพูดกันอยู. รูปรมัตถสภาวธรรมแลวชวยใหมีปฏิเวธะในสิ่งสูงสุดอยางนี้. ที่วาเจริญสมาธิภาวนาเพื่อทําลายอาสวะใหสิ้น นั่นคือตัวรูปรมัตถสภาวธรรมอย างยิ่ ง : รู เรื่ องรูป เวทนา สั ญญา สั งขาร วิ ญญาณ ที่ เป นขั นธ ๕; แล วรูเรื่อง รูป เวทนา สั ญ ญา สั งขาร วิ ญ ญาณ ที่ ยึ ดมั่ นด วยอุ ปาทาน ที่ เป นป ญ จุ ปาทานขั นธ ; ว า เกิ ด ขึ้ น อย า งไร, เมื่ อ ไร, อย างไร, แล ว ตั้ ง อยู อ ย า งไร, แล ว ดั บ ไปอย า งไร. ที่ จ ริ ง ขั น ธ เกิ ด บ อ ยอยู ต ลอดเวลากั บ คนทุ ก คน; เรานั่ งอยู นี่ แล วตาเห็ น นี่ ก็ เกิ ด ความเห็ น เสร็ จแล ว พอได ยิ น เรไรร อ ง หู ก็ ได ยิ น ก็ ทํ าหน าที่ ในทางเสี ย ง หรื อ จะเกิ ด อะไรหอม เหม็ นขึ้ นมา จมู กก็ ทํ าหน าที่ อย างนี้ อยู ตลอดเวลา; แต ว าส วนมากไม ได เลยไปถึ งกั บ ยึ ดมั่ นถื อมั่ น. อย างเรไรร อง เราไม รู สึ กหนวกหู ก็ ไม เกิ ดเป นอุ ปาทานขั นธ ยึ ดมั่ นเป น เกลี ยดขึ้ นมา, หรือว าเราไม รูสึ กว าเพราะน ารัก น าพอใจ ไม เกิ ดอุ ปาทานขั นธ ในเสี ยง ขึ้ น มา ก็ แ ล ว กั น ไป. แต สํ า หรั บ บางคนมั น ไม ไ ด , หรื อ บางกรณี หรื อ เรื่ อ งอื่ น มั น ไม ได : ก็ เกิ ด ขั น ธ ใดขั น ธ ห นึ่ งอยู เรื่ อ ยจนครบทั้ ง ๕ ขั น ธ ในที่ สุ ด ; บางกรณี เกิ ด เลย ไปถึงอุปาทานขันธ ยึดมั่นแลวก็เปนทุกข.
www.buddhadasa.info สิ่ งที่ มี อยู จริ งอย างนี้ คื อความทุ กข ทํ าไมไม สนใจ, ทํ าไมไม สลั ด ความ ทุกขออกไปใหได? ก็เพราะวาไมรูปรมัตถสภาวธรรม. ฉะนั้นอาตมาจึงทนอธิบาย ไม ก ลั วคนฟ งโกรธ ไม ก ลั วคนฟ งแช ง ว าพู ด ซ้ํ า ซาก ๆ อยู นี่ แ หละ : พู ด ให รู ว า รู ป อยางนี้ เวทนาอยางนี้ สัญญาอยางนี้ สังขารอยางนี้ วิญญาณอยางนี้ เรื่องธาตุ เรื่องขันธ
ประโยชนแหงการเขาถึงปรมัตถสภาวธรรม
๔๒๑
เรื่ องอายตนะ; ทั้ งหมดนี้ ก็ ได พู ดกั นตั้ ง ๑๐ กว าครั้ งนี่ ไม กลั วโกรธ จนกระทั่ งหลาย ๆ คนอาจจะเริ่ ม มี ค วามรู ร าง ๆ ขึ้ น มา ว า ขั น ธ ๕ คื อ อะไร, อุ ป าทาน ๕ คื อ อะไร, มี เ มื่ อ ไร, มี แ ก เ ราอย า งไร, เมื่ อ ไร; นี่ เขาเริ่ ม จะรู จั ก สิ่ ง เหล า นี้ ขึ้ น มา, จึ ง เรี ย กว า ประโยชน. ตอ ไปจะไดป อ งกัน การเกิด ขึ ้น แหงอุป าทานขัน ธได แลว ทุก ขก็เกิด ขึ้ นไม ได ; นั่ นแหละชื่อวาเป นการทํ าตามคํ าสอนของพระพุ ทธเจ าอย างยิ่ ง เป นการทํ า ให ถู กอกถู กใจของพระพุ ทธเจ าอย างยิ่ ง สํ าหรับพุ ทธบริษั ทคนนั้ น คื อพุ ทธบริษั ทคนที่ รู เรื่ อ งนี้ แล ว สามารถป อ งกั น ไม ให เกิ ด อุ ป าทานขั น ธ ใดขั น ธ ห นึ่ งมาในวั น หนึ่ ง ๆ ไม มี อะไรมากกวานี้.
สติสัมปชัญญะ ชวยใหรอดได ที นี้ สํ าหรับเรื่องที่ วา เป นการปฏิ บั ติ ลึ กลงไปอี กหน อยหนึ่ ง ก็ คื อ มี สติ สั มปชั ญญะ. คนเรานี่ รอดตั วอยู ได เพราะมี สติ สัมปชั ญญะ. มี สติ สั มปชัญญะในอะไร? มีสติสัมปชัญญะในการเกิดขึ้น ตั้งอยู ดับไป ของสิ่งที่เรียกวาเวทนา สัญญา และ วิตก. เดี๋ยวนี้คนทั้ งหลายโดยมากไมรูจักเวทนา สัญญา และวิตก แล วจะทําสติสัมปชัญญะ ได อย างไร; ในเมื่ อพระพุ ทธเจ าท านตรัสวา สติ สั มปชั ญ ญะโดยแท จริงนั้ น คื อรูสึ ก อยู เสมอในเมื่ อมี การเกิ ดขึ้ นแห งเวทนา หรือสั ญ ญา หรือวิ ตก, และการตั้ งอยู ชั่ วขณะ แห งเวทนา สั ญ ญา และวิ ตก, และมี การดั บ ไปแห งเวทนา สั ญ ญา และวิ ตก, เดี๋ ยว ก็ มากรณี อื่ นอี ก เกิ ดเวทนา สั ญญา และวิ ตก, เดี๋ ยวก็ มากรณี อื่ นอี ก เกิ ดเวทนา สั ญญา และวิตก.
www.buddhadasa.info จะชี้ ให เห็ นเป นตั วอย าง อย างที่ ได อธิ บายแล ว หลายวั นมาแล ว หลายครั้ ง มาแล วนั้ น ว าเวทนา คื อความรู สึ ก ; หลั งจากการกระทบทางตาเป นต น รูสึ กพอใจ หรือไมพอใจ ยินดีหรือยินราย รูสึกสบายหรือไมสบาย นี้เรียกวาเวทนา. ความรูสึก
๔๒๒
ปรมัตถสภาวธรรม
อั น นี้ เกิ ด ขึ้ น แล วตั้ งอยู ชั่ วขณะ แล วดั บ ไป; แล วสั ญ ญา คื อ ความมั่ น หมายต อ สิ่ งที่ รูสึ กนั้ น ว าสุ ขบ าง ว าน ารักบ าง และที่ ร ายกาจก็ คื อว า ของเราหรือของเขา นี่ มั นหนั ก ขึ้นไปทุกที เปนตัวตนขึ้นมา. ทีนี้สัญญาทําหนาที่เสร็จแลว ก็ใหเกิดวิตก คือความคิดนึก ตริตรึก ว าจะเล นงานหมอนี่ อย างไร,จะทํ าอย างไร, จะประกอบกรรมอะไร : กายกรรม วจี กรรม มโนกรรม เกี่ยวกับเรื่องนี้อยางไร; นี่เรียกวาวิตก. ทั้งเวทนา ทั้งสัญญา และวิตกนี่จะทํางานเนื่องกันไป ในชีวิตประจําวันของ คนทุกคน. ถาใครไมรูจักสิ่งนี้ได และไมควบคุมสิ่งนี้ได ก็คือคนนั้นไมมีสติสัมปชัญญะ เปนคนไรสติสัมปชัญญะอยางยิ่ง; แลวก็ไมมี ทางที่ จะดับทุกขได. จะตองมี สติสัมปชัญญะ ที่ แท จริ งและอย างยิ่ ง คื อรู สึ กตั วทุ กที ที่ เวทนาเกิ ดขึ้ น และตั้ งอยู ชั่ วขณะ และดั บไป; กลายรูปเป นสั ญ ญาเกิ ดขึ้ น ตั้ งอยู ชั่ วขณะ แล วดั บไป; แล วกลายรู ปเป นสั งขาร หรื อ วิตกเกิดขึ้นเปนกรรม เปนมโนกรรม นี้เกิดขึ้น ตั้งอยูชั่วขณะ แลวดับไป.
www.buddhadasa.info ต องมี สติ สั มปชั ญญะคอยเผ าเจ าโจร เจ าขโมยสามตั ว คื อ เวทนา สั ญญา วิ ตกนี้ ที่ จะจู โจมเข ามาในใจของเราอยู ตลอดเวลา. คนชนิ ดนี้ เขาเรี ยกว า คนที่ สมบู รณ ด วย สติ สั มปชั ญญะ; มี วิ ธี ปฏิ บั ติ โดยรายละเอี ยดต าง ๆ กั นหลาย ๆ อย างก็ ได แต โดยเนื้ อแท โดยหัวใจแลว ตองเปนผูที่รูสึกตัวทั่วถึงดีในการเกิดขึ้น ตั้งอยู ดับ ไป แหงสิ่ง ทั้งสามคือเวทนา สัญญา และวิตก. นี่คือคําสอนของพระพุทธเจา.
เราไม รู เรื่ อ งปรมั ต ถสภาวธรรม จะปฏิ บั ติ ได อ ย า งไร; นี่ เรี ย กว า ในส ว น ปฏิเวธแลว เราก็ตองมีความรูในปรมัตถสภาวธรรม พอที่จะปฏิบัติตนใหเปนคน มีสติสัมปชัญญะจริง ๆ จึงจะทําลายอาสวะใหกรอนไป ๆ จนหมดสิ้นได สิ้นอาสวะ ได. นี่คือ ประโยชนจากปรมัตถสภาวธรรม ที่เรารู, และเราปฏิบัติ, และเราหยั่งถึง
ประโยชนแหงการเขาถึงปรมัตถสภาวธรรม
๔๒๓
ตั วของปรมั ตถสภาวธรรมนั้ น คื อเป นความวางจากความยึ ดมั่ นถื อมั่ น. นี่ เรียกว ามนุ ษย คนหนึ่ ง ๆ จะไปได ดี ที่ สุ ด ไกลที่ สุ ด เต็ ม ความหมายของคํ าว า มนุ ษ ย ก็ อ ยู ที่ ต รงนี้ ที่เรียกวาสวนปจเจกบุคคล ก็มีใจความสรุปไดเพียงเทานี้.
พิจารณาถึงคนทั้งโลกกับปรมัตถธรรมดูบาง ที นี้ ขอเวลาที่ เหลื ออี กเล็ กน อ ย ทนเอาหน อ ย เพื่ อ ฟ งเรื่ อ งเพื่ อ คนอื่ น บ าง ถ าเห็ นแก ตั วเองข างเดี ยวตะพึ ดแล ว ก็ เรียกว าคนใจแคบ. เดี๋ ยวนี้ เราจะลองนึ กถึ งคนอื่ น บ าง คื อคนทั้ งโลกดู บ าง แล วก็ จะเห็ นความสั มพั นธ กั น ระหว างปรมั ตถสภาวธรรมของ ป จ เจกชนคนหนึ่ ง ๆ กั บ คนทั้ งโลก; คื อ ความสั ม พั น ธ กั น ระหว า ง “ศี ล ธรรม” กั บ “ปรมัตถสภาวธรรม” นั่นเอง. เรื่อ งของศีล ธรรมเปน เรื่อ งจํ า เปน สํ า หรับ คนทั ้งโลก; แตเรื่อ งของ ปรมัตถสภาวธรรมเปนเรื่องที่คนคนหนึ่งจะไปไดไกลที่สุด เทาที่เขาจะไปได ในเมื่อ คนทั้ งโลกเขาไม ไป และโดยมากคนในโลกนี้ เขาไม ต องการจะไป; คื อ เขาจะอยู อ ย าง ที่ อยู ในโลกนี้ ไม ต องการที่ จะอยู เหนื อโลกหรื อว าจะชนะโลก; แต ถึ งอย างนั้ นก็ ต องมี ศี ลธรรมถึ งจะอยู กั นเป นผาสุ ก เพราะศี ลธรรมที่ แท จริง ก็ ต องตั้ งรากฐานอยู บนปรมั ตถสภาวธรรม; นี่ เรี ย กว า หลั ง ฉากนั้ น มั น เนื่ อ งกั น อยู ในระหว า งศี ล ธรรมกั บ ปรมั ต ถสภาวธรรม.
www.buddhadasa.info ศีลธรรมไมมีอํานาจพอที่จะแกปญหาอันลึกซึ้งสูงสุด ทางจิตทางวิญญาณ ของมนุษยได ตองอาศัยปรมัตถสภาวธรรม แตวาคนจะอยูโดยไมมีศีลธรรมก็ไมได; ฉะนั้ น ถ า มี ป รมั ต ถธรรมที่ ถู ก ต อ ง เป น พื้ น ฐาน เป น รากฐาน ศี ล ธรรมก็ จ ะดี . ถ า ศีลธรรมถูกหนุนไวดวยปรมัตถสภาวธรรมที่ถูกตอง แลวก็ดีขึ้นไดทุกทาง. ถาเปน ไดวา คนทุกคนเขาถึงปรมัตถสภาวธรรมกันแลว ความยุงยากเรื่องศีลธรรมจะหมดไป.
๔๒๔
ปรมัตถสภาวธรรม
ขอให พิ จารณากั นสั กหน อย เพราะเป นป ญหาเฉพาะหน าของสั งคม ซึ่ งมี เรารวมอยู ด วย. เราจะตั้ งสมมติ ฐานขึ้ นมาว า โลกนี้ น าอยู เพราะว ามี ศี ลธรรมดี ข อนี้ คิ ดดู เสี ยก อนว า ยอมรั บไหม? จริ งไหม? ที่ พู ดอย างนี้ ว าถ าโลกนี้ น าอยู ก็ เพราะว า โลกนี้ มี ศี ลธรรมดี ; ถ าโลกนี้ ไม มี ศี ลธรรม ก็ เป นโลกที่ ไม น าอยู น าขยะแขยง น าเกลี ยดน า กลัวอยางยิ่ง โลกนี้นาอยูก็เพราะวามีศีลธรรมดี. ทีนี้มาดูตัวโลกเวลานี้จริง ๆ มนุ ษยในโลกเวลานี้มี ศีลธรรมหรือไม? อาจ จะสั่ นหั ว เพราะมี แต การรบราฆ าฟ น การเบี ยดเบี ยน การทํ าอนาจาร การอะไรต าง ๆ เป นประจํ าวั น เต็ ม ไปหมด จนหน าหนั งสื อพิ ม พ ทุ ก ๆ ฉบั บ ก็ ลงกั นแต เรื่ องนี้ แล ว ทั้ ง เมื องนอกเมื องใน. โลกกลายเป นโลกที่ ไม น าอยู เพราะแสดงว าศี ลธรรมไม ดี ยิ่ งขึ้ นทุ กที ; ถาวาจะมีศีลธรรมดี จะตองมีศรัทธา, หรือมีเจตนาดี. ถาเขามีศรัทธาดี คือมีศรัทธา ถู ก ต อ ง ศรั ท ธาแท จ ริ ง ในพระพุ ท ธ พระธรรม พระสงฆ ศรั ท ธาในศาสนา หรื อ ศรัทธาในบุญกุศลก็ตามใจ, ถาเขามีศรัทธาแลวศีลธรรมนี้ก็จะดี. คนอั นธพาลที่ ระบาดไปทั่ วทั้ งบ านทั้ งเมื องนี้ คนเหล านี้ มี ศรั ทธาหรื อเปล า? เพราะวาไม มี ศรัทธาที่ ดี จึงไม มี ศี ลธรรม. เมื่ อไม มีศรัทธาแลว ก็ไม มีเจตนาที่จะดี ไป ได ; ไม มี ศรั ทธาในความดี ในความถู กต องแล วก็ ไม มี เจตนาดี มี แต เจตนาร าย เจตนา เห็ น แก ตั ว. ดู ป ญ หาคนวั ย รุ น ที่ กํ าลั งเป น ป ญ หาไปทั้ งโลก;ความเสื่ อ มทางศี ล ธรรม ตกไปเป น ป ญ หาสํ าหรั บ คนวั ยรุ น มากยิ่ งขึ้ น ทุ ก ที ทั่ วโลก; คนที่ อ านหนั งสื อ พิ ม พ อ ยู ทุกวันก็จะรู และรูดีกวาอาตมาเสียอีก.
www.buddhadasa.info ทําอยางไรจึงจะมีศรัทธาดี มีเจตนาดี? ก็ตองมีทิฏฐิหรือปญ ญาดี. ทิ ฏ ฐิ คํ า นี้ คื อ ความคิ ด เห็ น ไม ใ ช ม านะทิ ฏ ฐิ ; ทิ ฏ ฐิ คื อ ความรู ความเข า ใจ ความ คิดเห็น หรือปญญาที่ดี; ตองมีปญญาดี มีสัมมาทิฏฐิ แลวจึงจะมีศรัทธาดี เจตนาดี.
ประโยชนแหงการเขาถึงปรมัตถสภาวธรรม
๔๒๕
ทําอยางไรจึงจะมีปญญาดี? ก็ตองมีความรูเรื่องปรมัตถสภาวธรรมที่ถูกตองเทานั้น เอง ต องมี ความรู ปรมั ตถสภาวธรรมอย างที่ ว ามาแล วนั้ นถู กต อง แล วก็ เพี ยงพอ แล วก็ เหมาะสมแกบุคคล แกวัยแกเวลา แกอะไรทุกอยาง อยางพอดี ๆ. ทีนี้เราก็มีปญหาวา ทําอยางไรจึงจะใหคนเหลานี้ มีความรูเรื่องปรมัตถสภาวธรรม? เพื่ อคนมี ป ญญหาดี แล วจะได มี ศรัทธาดี มี ศี ลธรรมดี แล วโลกนี้ ก็ จะน าอยู . เมื่ อ มองกั น ไปอี ก ทางหนึ่ ง แม ตั ว โลก แผ น ดิ น โลก วั ต ถุ ในโลก วั ต ถุ ธ รรมในโลกนี้ มีส ภาพดี ผลิต กัน มาก เจริญ มาก กา วหนา มาก; แตว า จิต ใจของคนยัง เลว. นี่ คิ ดดู ! คนเดี๋ ยวนี้ อยู ในบ านในเรื อน ในตึ ก ที่ เหมื อน ๆ กั บ วิ ม านอยู แล ว มี การบํ ารุ ง บํ าเรอทางเนื้ อทางหนั ง ราวกั บอยู ในสวรรค อยู แล ว; เรี ยกว าในฝ ายวั ตถุ นี่ มั นดี แต จิ ต ของคนยังเลว. โลกนี้ น าดู ในส วนตั วโลก แต วาจิ ตของคนยั งไม น าดู ยั งมี ป ญหาทางวิญญาณ คื อ อวิ ช ชา กิ เลส ตั ณ หา ยั ง รกรุ ง รั ง อยู . ต อ เมื่ อ คนในโลกมี จิ ต ใจดี ด ว ย จึ ง จะ เรี ยกว าโลกนี้ น าดู ทั้ งส วนตั วโลกและทั้ งส วนบุ คคลที่ อยู ในโลก; ทุ กคนต องไม มี ป ญ หา ทางวิ ญ ญาณแล ว เพราะว าเข าถึ งปรมั ตถสภาวธรรมแล ว. แต เดี๋ ยวนี้ โลกไม เป นอย างนี้ กําลังเปนไปในทางที่ตรงกันขาม. โลกกําลังเปนอยางไร? ก็คือเห็นแกตัวจัดยิ่งขึ้น.
www.buddhadasa.info ขอให แยงในขอนี้ วา เดี๋ ยวนี้ คนเห็ นแก ตั วจั ด ยิ่ งกวาคนที่ แล ว ๆ มาแต ก อ น ๆ หรื อ ไม . อาตมามองเห็ น แต ในทางว า คนในโลกเราเวลานี้ ยิ่ งเห็ น แก ตั วจั ด , เห็ น แก ตั ว จั ด ยิ่ ง ขึ้ น . เพราะอะไร? เพราะยิ่ ง หลงในวั ต ถุ หรื อ เนื้ อ หนั ง ยิ่ ง ขึ้ น . วั ต ถุ เนื้ อหนั งนี่ หมายความว า สิ่ งที่ มั นให ความสนุ กสนาน เอร็ ดอร อยทางเนื้ อทางหนั ง; สิ่ ง เหล านี้ เจริ ญ มากขึ้ น เพราะคนฉลาดกั นแต ในทางนี้ แล วมี เจตนาที่ จะควั กเอาประโยชน ของผูอื่นมา โดยการใชสิ่งนี้เปนของลอ; ฉะนั้น เรื่องกามารมณ เรื่องโสเภณี เรื่อง
ปรมัตถสภาวธรรม
๔๒๖
วัตถุ สงเสริมกามารมณ อะไรตาง ๆ ตางก็มี ความมุ งหมายอยางนี้ทั้ งนั้ น. คนมี ความเห็ น แก ตั วจั ด แล วก็ ใช สิ่ งนี้ เป นเครื่องหลอกลวงกั น; เพราะว าคนยิ่ งหลงใหลในเรื่องวั ตถุ เรื่องเนื้อหนัง. ถาถามวา ทําไมคนจึงไปหลงไหลในเรื่องเนื้อหนัง ? ก็เพราะวาคนโง ไม รูจั กสิ่ งที่ เรียกว าเนื้ อหนั ง, ไม รูว า สิ่ งที่ เรียกว าเนื้ อหนั ง ความสุ ข สนุ กสนานเอร็ด อรอ ยทางเนื ้อ ทางหนัง นั ้น คือ อะไร; ไมรู เ พราะโง. ทํ า ไมจึง โง? เพราะไมรู ปรมั ต ถสภาวธรรม; ว าโดยแท จ ริง แล ว สิ่ งนั้ น คื อ อะไร : ผั ส สะ เวทนา ตั ณ หา นั้ นคื ออะไร. อะไร ๆ ที่ ได มาจากเนื้ อหนั ง ก็ เรียกวาผั สสะ เวทนา ตั ณหา นั้ นคื ออะไรก็ ไม รู. นี่ เรีย กวาไม รูป รมั ต ถสภาวธรรม เพราะไม ส นใจ. ทํ าไมไม ส นใจ ? เพราะ ประมาทในสิ่งนี้มานาน จนเปนทาสของสิ่งนี้ ถูกสิ่งนี้ลากคอเอาไปแลว เขาคิดวา เขากําลังดีที่สุด ร่ํารวยที่สุด มีความสุขที่สุด ไมเคยคิดวา เรากําลังเปนทาสของเนื้อหนัง; นี่คิดดูวาโลกเวลานี้ มีปญหาเหลือประมาณ เพราะเหตุที่ไมรูปรมัตถสภาวธรรมอยางเดียว.
โลก กําลังไรเมตตาธรรม
www.buddhadasa.info ทีนี้ตอไปอีก ที่เปนปญหาของมนุษยเปนสวนรวม คือไมเมตตากรุณากัน; ไมมี ใครถืออยางพระพุทธเจาสอน หรือพระเยซูสอนวา ใหเมตตา กรุณา ใหอด โทษ ให ใ ห อ ภั ย ให ป ระกอบเมตตาในศั ต รู ให ตั้ ง เมตตาแม ใ นบุ ค คลที่ เป น ศั ต รู . พระเยซู ส อน วาถ าเขาตบแก ม ซ าย ก็ อ ย าโกรธ ให เขาตบแก ม ขวาด วย; เดี๋ ย วนี้ ฝรั่งที่ เป นลู กศิ ษ ย พระเยซู นั้ นไม ถื อแล ว ลองไปตบแก มซ ายซิ โดนถู กตบหั วขาดเลย อย า งนี้ เอาป น ยิ ง เลย. ที่ ว า เขาขโมยเสื้ อ แล ว ให เอาผ า ห ม ตามไปให ด ว ย อย า ง พระเยซูสอนนั้ นยิ่งไม ได ; มี แต จะถื อวาเขาชกเราฟ นหั กซี่หนี่ ง จะต องชกเขาให ฟ นหั ก สิบซี่. ตองคิดกันอยางนั้น สําหรับคนอยางเดี๋ยวนี้.
ประโยชนแหงการเขาถึงปรมัตถสภาวธรรม
๔๒๗
พระพุ ท ธเจาท านสอน วาถาโจรจับเอาไปเลื่อ ย เอาเลื่อยเลื่อย แลว อยา โกรธ ถา โกรธแลว ชื ่อ วา ไมทํ า ตามคํ า สอนของเรา; ก็ย ากที ่พ ุท ธบริษ ัท คนไหนจะทํ าได อย างนั้ น นี่ พู ดเผื่ อ ๆ ไว พุ ทธบริษั ทคนไหนจะทํ าได อย างนั้ น : โจรจั บ เอาไปมั ดแล วเอาเลื่ อยเลื่ อย อย ามี จิ ตใจโกรธประทุ ษรายต อโจรนั้ น ถ าโกรธไม ชื่ อว า เปนผูทําตามคําสอนของเรา; นี่พระพุทธเจาทานตรัสอยางนี้. การที่ทําไมได ในตัวอยางเหลานี้ ก็เพราะวาเขาไมรูสิ่งที่เรียกวา ปรมัตถสภาวธรรม; ถาเขารูจริง อบรมบ มนิสั ยอยูจริง เขาจะทํ าไดอยางนั้ น, ตบแกมซาย แล วก็ ให ตบแก มขวาด วยก็ ได เพื่ อให เขาหายโกรธเราสนิ ทเลย. นี่ เรียกว าโลกนี้ กํ าลั งไร ความเมตตาต อ กั น และกั น , ไร เมตตาเพราะเห็ น แก ตั ว ; เห็ น แก ตั ว เพราะไม รู จั ก ตั วเองนั่ นแหละจึ งเห็ นแก ตั ว. ถ ารูจั กสิ่ งที่ เรียกวาตั วแล วก็ จะไม เห็ นแก ตั ว; นี่ เรียกว า เขาไม รูจั กปรมั ตถสภาวธรรม. ถ าเขารูจั กปรมั ตถสภาวธรรม เขาจะรูจักสิ่ งที่ เรียกวาตั ว, รูจั กตั วของเขาเองว าเป นอย างไร แล วเขาจะไม มี ความเห็ นแก ตั วเป นอั นขาด. เดี๋ ยว นี้ ไ ม รู จั ก ปรมั ต ถสภาวธรรม จึ ง ได มี ตั ว ; แล ว ก็ เห็ น แก ตั ว ไปมั ว หลงในสิ่ ง ที่ เป น มายาที่ไมใชปรมัตถสภาวธรรม.
www.buddhadasa.info อาตมาอยากจะพูดวา ถาเห็นปรมัตถสภาวธรรมอยูแลว จะโกรธไมได แลวก็มีเมตตาอยูโดยอัตโนมัติในตัวเอง; เพราะปรมัตถสภาวธรรม ทําใหจิตเปน อิส ระ ไมม ีต ัว ไมเห็น แกต ัว แลว ก็โ กรธไมไ ด. เมื ่อ โกรธไมไ ด ก็เ ปน เมตตาอยู ในตั ว เป น อั ต โนมั ติ ; ยิ่ ง เป น สุ ญ ญตาเท าไร ยิ่ งเป น เมตตาที่ แ ท จ ริง มากขึ้ น เท า นั้ น . แต นี่ เมตตาแต ปาก, เมตตาวาเอาเอง, เมตตาที่ จะแลกเอาอะไรในชาติ หน าโน น ไปเกิ ด เป น พรหมบ า ง เป น อะไรบ า งจึ ง เมตตา; อย า งนี้ ไม ใช เมตตาที่ แ ท จ ริง . คนขี้ ข ลาด แผ เมตตา อย างนี้ ก็ เรียกวา ไม ใช เมตตาที่ แท จริง เป นเมตตาจํ าเป น; ฉะนั้ นเมตตา ที่ทํา ๆ กันอยูนั้น ดูใหดียังเปนเมตตาเลนตลกอยู. ถาเมตตาที่แทจริง จะตองมาจาก
๔๒๘
ปรมัตถสภาวธรรม
ความไม ประทุ ษรายที่ แท จริง คื อความไม มี ตั วมึ ง ตั งกู ที่ จะประทุ ษรายแก กั น; นั่ นก็เลย เปน เมตตาแบบสังขตะ แบบอมตะไปเลย. เดี๋ยวนี้ โลกนี้กําลังตงอการเมตตาสามัคคีธรรมอยางยิ่ง แตก็เมตตากัน ไม ไ ด ฆ า ฟ น กั น มากยิ่ ง ขึ้ น ทุ ก ที , เมตตากั น ไม ไ ด ให อ ภั ย กั น ไม ไ ด ; นี่ เ พราะมี ปรมั ตถ แต ในทางวั ตถุ ธรรม. พู ดแล วก็ จะน าหวั ว ที่ มี ๆ กั นนั้ น ไม ใช ปรมั ตถสภาวธรรม ที่ แท จริง มี ปรมั ตถ แต ในทางวั ตถุ ธรรมสร างอาวุ ธขึ้ นมาฆ าคนที ละแสน ที ละล านก็ ได , มี ความรูปรมั ตถ แต ในทางวั ตถุ ธรรม สรางของขึ้ นมาอย างนั้ นอย างนี้ ล อคนให หลงใหล อะไรก็ ไ ด . ถ า สร า งอาวุ ธ ขึ้ น มาก็ ทํ า ให ค นตายที ล ะแสนละล า นก็ ไ ด ; เป น ปรมั ต ถ เหมื อ นกั น คื อมั น ลึ กซึ้ งเหมื อ นกั น แต ไปในทางวั ต ถุ ธรรม; มั นแยกดิ น กั นคนละทาง อย างหนึ่ งไปทางวั ตถุ ธรรม. ปรมั ตถ ที่ แท จริงต องเป นในทางปรมั ตถธรรม ทางวิ ญญาณ ทางสติปญญา ทางความรู ซึ่งไมใชวัตถุธรรมก็แลวกัน.
การถือศาสนาในโลก ตางก็ไมเขาใจกันและกัน
www.buddhadasa.info เอ า, ไหน ๆ ก็ พู ดแล ว ขอให ทนหน อย เพราะวั นนี้ เป นวั นจบ วั นสุ ดท าย ของเรื ่อ งนี ้ จะไมม ีโ อกาสพูด อีก ขอพูด อีก หนึ ่ง วา ศาสนาทั ้ง หลายในโลกนี้ ก็ กํ าลั งไม เข าใจซึ่ งกั นและกั น , คุ ณ อย าไปเห็ นวาไม ใชเรื่องของคุ ณ โลกนี้ มั นอยู ได คุ ณ ก็ อ ยู ได ถ า โลกนี้ อ ยู ไม ได เราทั้ ง หลายก็ อ ยู ไม ได . เดี๋ ย วนี้ โลกกํ า ลั ง จะฉิ บ หาย อยู ไม ได เพราะวาศาสนาทั้ งหลายก็ กํ าลั งไม เข าใจซึ่ งกั นและกั น ศาสนาพุ ทธ ศาสนาคริสต ศาสนาอิ สลาม ที่ เรี ยกว ามี คนรู จั กมากนี้ ก็ ยั งไม เข าใจซึ่ งกั นและกั น มองกั นในสายตา ที่ ระแวงกั น หรื อบางที ก็ ทํ าสงครามใต ดิ นแก กั น. ศาสนาปลี กย อยอื่ น ๆ ก็ ยั งมี อี กมาก ล วนแต ไม เข าใจซึ่ งกั นและกั น มองกั น เป น ศั ต รู ต อ กั น เป น เวรี ต อ กั น เป น ภั ยรี ต อ กั น ; ยังมุงหมายจะทําลายฝายตรงกันขามอยูเสมอ.
ประโยชนแหงการเขาถึงปรมัตถสภาวธรรม
๔๒๙
ฝ ายพุ ทธ พุ ทธบริ ษั ทจํ านวนใหญ จํ านวนหนึ่ ง ก็ ยั งปากจั ด ด าว าศาสนา คริ สเตี ยน เรี ยกมึ ง เรี ยกกู เรี ยกเราเรี ยกเขา คิ ดจะโค นกั นอยู แล วก็ จะไม ให ศาสนา คริ สเตี ยนเขามองพุ ทธในฐานะเป นศั ตรู อย างไรได . ศาสนาอื่ นก็ เหมื อนกั นแหละ เพราะ ยังไมรูปรมัตถสภาวธรรมแหงศาสนาของตน ๆ จึงเกิดความเขาใจผิด อยางนี้ตางคน ต างหลั บตาต อปรมั ตถสภาวธรรมแห งศาสนาของตน ๆ ยิ่ งขึ้ น ๆ. นี่ คื อต นเหตุ ที่ ทํ าให ศาสนาในโลกนี้ ไมมองดูกันดวยสายตาที่นารัก. ทุ กศาสนายิ่ งโลเล ยิ่ งเลอะเทอะมากขึ้ น เพราะไปเอาสมมติ ธรรมมาเป นตั ว ศาสนามากขึ้ น; ในศาสนาทุ ก ๆ ศาสนา บริ ษั ทแห งศาสนานั้ น ๆ ไปเอาตั วสมมติ ธรรม มาแทนตั วปรมั ตถธรรม ก็ ห มายความว า ไปเอาสมมติ ธรรมมาเป น ตั วศาสนายิ่ งขึ้ น ; เนื้ อแท ของศาสนา ไม รู ว าไปอยู ที่ ไหนเสี ยแล ว. ปรมั ตถธรรมที่ แท จริ งในศาสนาของตน แต ล ะศาสนา ถูกป ด บั งเหยี ยบย่ํ าหมดไปแล ว, คื อ ความไม เห็ น แก ตั ว ไม ยึ ด มั่ น ถือมั่นจนเกิดความทุกข นั่นคือปรมัตถธรรมของทุกศาสนา. เรื่ องนี้ ยื ดยาวมาก รอไว พู ดกั นคราวอื่ นดี กว า; คิ ดว าบางที ในภาคต อไป คือภาควิสาขบูชา เราจะไดพูดกันถึงเรื่องนี้ เกี่ยวกับความเขาใจตอสิ่งที่เรียกวาศาสนานี้.
www.buddhadasa.info เดี๋ ยวนี้ ขอบอกกัน ไวก อ นวา แต ล ะศาสนากํ าลั งเหยี ย บย่ํ าหั ว ใจแห ง ศาสนาของตน ๆ ในสวนที่เปนปรมัตถสภาวธรรม; ไปเทิดทูนเอาสมมติธรรมมาเปน ตั ว ศาสนา; ยึ ด ถื อ เป น มึ ง เป น กู เป น เขาเป น เรา เป น ได เป น เสี ย เป น แพ เป น ชนะ เป นรุกรานไม รุกรานกั นในระหว างศาสนา, นี่ คื อยิ่ งมี เนื้ องอกเป นเปลื อกมาหุ มห อหั วใจ ของศาสนามากขึ้นจนมิดไปเลย.
ในที่สุด ศาสนานั้น ๆ ก็หมดความเปนศาสนา คือกลายเปนเครื่องมือ ของชาวโลก, ศาสนาตกไปเปนเครื่องมือของชาวโลก สําหรับชาวโลกจะใชเปนเครื่อง
๔๓๐
ปรมัตถสภาวธรรม
มื อแสวงหาสิ่ งต าง ๆ ตามความต องการของชาวโลก อย างโลก ๆ; เพราะว าไม รู ปรมั ตถสภาวธรรมที่เปนหัวใจของศาสนา. ถาศาสนาเปนศาสนากันขึ้นมาจริง ๆ ทุกศาสนา ศาสนาทุกศาสนารวมมือ กันได เพราะตางก็เปนศาสนาจริง เพื่อวาศาสนานี้จะชวยกําจัดความทุกขในโลกนี้ได อย างนี้ แล ว ศาสนิ กบริ ษั ทแห งศาสนานั้ น ๆ ต องเข าถึ งปรมั ตถธรรมในศาสนาของตน ๆ เทานั้น อยางอื่นไมมี. อยากจะพูดย้ําอีกทีหนึ่งวา ทุกศาสนามีปรมัตถสภาวธรรมตรง เปนอยางเดียวกัน คือไมเห็นแกตัว ไมมีอะไรที่ควรจะถือวาเปนตัวหรือเปนของตัว ถ าเขาเป นผู ถื อศาสนาที่ แท จริ ง ไม ใช คดโกง ไม เป น โจรปล นศาสนา ไม เป นโจรปล น พระเจา เขาก็จะถือวาไมมีอะไรเปนของเรา. พวกที่ถือศาสนาที่มีพระเจา ทุกอยางเปน ของพระเจา ไมใชของเรา; พอเกิ ด คิ ดว าเป นของเรา เราก็ โกงพระเจ า เราก็ ป ล น พระเจ า. นี่ ก็ ขาดจากความเป น ศาสนิ กที่ ดี ในศาสนานั้ น. พุ ทธบริษั ทก็ เหมื อนกั น พระพุ ทธเจาท านสอนถึ งขอที่ วา มีแตธาตุตามธรรมชาติ ไมใชเรา ไมใชของเรา; ถาเราไปเอามาเปนเราเปนของ เรา เราก็ โกงธรรมชาติ ปล น ธรรมชาติ คื อ ดื้ อ ดึ งต อ คํ าสั่ งสอนของพระพุ ท ธเจ าด วย เปนอยางนี้.
www.buddhadasa.info ทุ กศาสนาจะมี ปรมั ตถสภาวธรรม ตรงเป นอั นเดี ยวกั นหมด คื อไม มี อะไร ที่ ควรจะเอามามั่ นหมายเป นตั วตน เป นของตน; ให เป นของธรรมชาติ หรื อของพระธรรม หรื อของพระเจ า แล วแต จะเรี ยก. เดี๋ ยวนี้ คนมาถื อเอาประโยชน ของตั วเป นศาสนา ให ได แก ตนนั่ นแหละเป นศาสนา ให ได ที่ ดี แก ตน ส วนคนอื่ นไม รั บรู นั่ นแหละเป นศาสนา คื อ ว าถื อ ประโยชน ของตนเป น ศาสนา; อย างนี้ ไม ใช ป รมั ต ถสภาวธรรม เป น ศาสนา สมมติ.
ประโยชนแหงการเขาถึงปรมัตถสภาวธรรม
๔๓๑
จงแทงทะลุออกไปใหพบธรรมแทเถิด ขอใหแทงใหทะลุศาสนาชนิดนี้ ออกไปเสีย, ออกไปขางนอก แลวก็ จะไดพบธรรมะที่เปนปรมัตถสภาวธรรม อยามาติดอยูในกรงขัง กรอบใหม ๆ ที่หุมหอ ไว มิ ดชิ ด ติ ดอยู ในศาสนาที่ เป นสมมติ . ขอให พั งทะลายศาสนาชนิ ดนี้ ออกไปข างนอก ให ถึ งตั วปรมั ต ถธรรม รู แจ งสว างไสวว าอะไรเป น อะไร จึ งจะเรี ย กว าถึ งปรมั ต ถธรรม ในลั กษณะที่ จะช วยให ศาสนาเป นศาสนาพร อม ๆ กั นทุ กศาสนา ; แล วศาสนาทุ กศาสนา ก็จะปองกันความทุกข จะกําจัดเสนียดจัญไรในโลกนี้ออกไปไดหมดสิ้น. ดู ต อไป มั นก็ เนื่ องมาถึ งประเทศประเทศหนึ่ ง ๆ หรื อบุ คคลคนหนึ่ ง ๆ กํ าลั ง มี ป ญ หาเหลื อ ประมาณ; เดี๋ ย วนี้ ในประเทศไทยนี้ ป ญ หาอะไรที่ ห นั ก อกหนั ก ใจ ข าวสารแพง คิ ดดู ซิ ว าเนื่ องกั นกั บอะไรบ าง, มั นมาจากอะไรที่ ข าวสารแพง. แล วสิ่ งนั้ น มั นมาจากอะไร? มั น ก็ม าจากการที่ วาไม ตั้ งอยู ในธรรม, ทํ า ตนประพฤติ ผิ ด ธรรม ไม รูปรมั ตถสภาวธรรม เห็ นแก ตั ว ผลที่ ออกมาเป นป ญหาต าง ๆ นั่ น นี่ โน น จนกระทั่ ง ขาวสารแพงอยางนี้ เปนตน.
www.buddhadasa.info ป ญหาเหล านี้ ที่ จริงมั นก็ ไม ใช ป ญหารายกาจอะไร; แต ถ าเขาไม รู จั กอะไร ที่ สู งไปกว านี้ เขาก็ จะเห็ นว านี้ คื อป ญหามาก ป ญหาใหญ ก็ เลยทะลุ กลางปล อง ไม เห็ น แก ดี แก ชั่ ว แก บุ ญ แก บาป แก ผิ ดแก ถู ก จะแก ป ญ หาเอาโดยพละกํ าลั ง มั นก็ เลยเกิ ด ปญหามากขึ้นอีก. นี่เพราะวาบุคคบนั้นไมรูปรมัตถสภาวธรรมวา แทจริงอะไรเปน อย างไร, ตา หู จมู ก ลิ้ น กาย เป น อย างไร, รู ป เสี ย ง กลิ่ น รส โผฏฐั พ พะ เป น อย างไร, กระทบกั น แล วเป น ผั ส สะ เป น เวทนาอย างไร จะเกิ ด ตั ณ หา อุ ป าทาน ภพ ชาติ ที่เปนตัวทุกขอยางไร, ไมรูทั้งนั้น.
๔๓๒
ปรมัตถสภาวธรรม
แตคนไปรูขนาดที่เรียกวาหลับตารู คือรูไปแตในของหลอก ๆ รูจักของ หลอก ๆ ของอายตนะ คือความสุขสนุกสนานเอร็ดอรอยทางเนื้อทางหนัง; เรียกวา รูจั กของหลอก ๆ ของอายตนะ ถ าอย างนี้ เขารูสึ กเสี ยจริง ๆ. อายตนะชนิ ดนี้ กํ าลั งเป น ทาสของอารมณ ตา หู จมูกลิ้น กาย ใจ ที่กําลังเป นนรกเหมื อนที่พระสวดเมื่ อตะกี้นี้ : อายตนะนี้เปนทาสของอารมณ . นี่รูจักกันแตเรื่องนี้ แลวก็หลงวาดี ก็ไดรสอรอยที่กิเลส มอบให ; คื ออรอยชนิ ดที่ ต องเอากิ เลสมาเป นผู กิ น แล วก็ อรอย : รูจั กแต ความอรอย ที่ กิ เลสมอบให ; ไม รูจั กสุ ขหรื อความอร อยที่ แท จริ ง ที่ ธรรมะมอบให . ถ าเป นรสของ พระธรรมก็ไมรูสึกอรอยสําหรับคนพวกนี้, แตถาเปนรสของกิเลสกลับรูสึกอรอย. นี่คนกําลังเปนอยางนี้ เพราะไมรูปรมัตถสภาวธรรม; ไปหลงแตของที่ เป นเหยื่อ ที่กิเลสหรือพญามาร หรือกิเลสมารใชเปนเหยื่อหลอกคน เอามาเกี่ยวเบ็ ด ให คนติ ดเบ็ ด ให สั ตวทั้ งหลายติ ดเบ็ ด แล วจู งไปตามอํ านาจชองมาร คื อมี ความทุ กข . เขาใช เยื่ อนี้ หุ ม ปรมั ตถธรรมเสี ยหมด คนเลยไม รู ก็ ไปรู จั กแต ของที่ ตรงกั น ข ามจาก ปรมั ต ถสภาวธรรมทั้ งปวง เป น เหตุ ให ป ระเทศหนึ่ ง ๆ ในโลกนี้ ก็ ดี บุ ค คลหนึ่ ง ๆ ใน ประเทศนั้ น ๆ ก็ ดี มึ นเมาอยู แต ด วยความเห็ นแก ตั ว และก็ มุ งมั่ นแต ที่ จะทํ าลายผู อื่ น เพื่อเอาประโยชนมาใสตัว เห็นการทําลายผูอื่นเปนของดีและมีเกียรติ.
www.buddhadasa.info คิ ดดู แล วในที่ สุ ด ว าเขาทํ าอย างนั้ นแล ว เราก็ ไม เห็ นว ามั นมี อะไรดี ขึ้ นเลย นอกจากเขาสนุ กสนานเอร็ดอรอยไปพั กหนึ่ ง แล วก็ ตายไปอย างไม มี ความหมาย, คนอื่ นก็ จะปลงอนิ จจั ง สงสารและสั งเวช. แต ถ าเป นกั นเสี ยทุ กคน ก็ ไม รูว าใครจะปลงอนิ จจั ง ใครกันแน มันก็เปนบาป เปนกรรม เปนโชครายของคนทั้งโลกก็แลวกัน. นี้คือความที่ปรมัตถสภาวธรรมนี้ ไมแจมแจงแกสัตวโลกตามที่พระพุทธองคไดทรงมุงหมายไว วาใหสัตวโลกทั้งหลาย จงเปนผูตื่นจากหลับคือกิเลส
ประโยชนแหงการเขาถึงปรมัตถสภาวธรรม
๔๓๓
ตื่ นจากหลั บคื ออวิ ชชาเถิ ด; ให รูสึ กทั้ งหลายทั้ งปวงตามที่ เป นจริง ไม ยึ ดมั่ นถื อมั่ นสิ่ งใด โดยความเป น ตน หรื อ ว า เป น ของของตน. นี่ คื อ ประโยชน ข องการมี ห รื อ ถึ งปรมั ต ถสภาวธรรม และแสดงตรงกันขางคือโทษของการที่ไมมี ไมถึงซึ่งปรมัตถสภาวธรรม. การบรรยายถึ งสิ่ งนี้ ซ้ํ า ๆ ซาก ๆ ถึ ง ๑๓ ครั้ งนี้ ; อาตมาคงจะได อ อกชื่ อ คํ าว า “ปรมั ต ถสภาวธรรม” นี้ มาเป น พั น ๆ ครั้ งแล วก็ ได ในการพู ด ครั้ งหนึ่ ง ๆ ก็ ดู ออกชื่ อ สิ่ งนี้ ไม รู กี่ ค รั้ ง . เอาเป น อั น ว าได พู ด กั น สุ ด ความสามารถแล ว ที่ จ ะยั ด เยี ย ด ให ท านทั้ งหลายสนใจเรื่ องนี้ . อาตมาได ทํ าสุ ดความสามารถของตนแล ว จะไม สํ าเร็ จ หรือจะสําเร็จ ก็ขึ้นอยูกับทานทั้งหลายทั้งปวง. เป นอั นว ายุ ติ การบรรยายครั้ งที่ ๑๓ แห งชุ ดปรมั ตถสภาวธรรม ซึ่ งเป นครั้ ง สุ ดท ายของการบรรยายภาคมาฆบู ชา ประจํ า พ.ศ. ๒๕๑๖ ไว แต เพี ยงนี้ . ขอโอกาส ให พ ระสงฆ ทั้ งหลายสวดคณะสาธยายสรรเสริ ญ พระธรรม หรื อ คุ ณ อั น เป น ที่ ตั้ งแห ง ความเลื่อมใสในพระรัตนตรัยสืบตอไปในกาลบัดนี้.
www.buddhadasa.info
www.buddhadasa.info
พระบาลี ปรมัตถสภาวธรรม (ที่อางถึงในหนังสือนี้ หนา ๔๐๓)
(๑. หมวดวาดวยธาตุ) ฉธาตุ โ ร อยํ ภิ กฺ ขุ ปุ ริ โ ส, ดู ก อ นภิ ก ษุ ! บุ รุ ษ (คื อ คนเรา) นี้ , ประกอบอยู ด ว ยธาตุ ๖ อยา ง, ...ฯลฯ... กิ ฺเ จตํ ปฏิจ ฺจ วุต ฺต ํ? คํ า นี ้, เราอาศัย เนื ้อ ความอะไรกลา วเลา ? ฉยิม า ภิก ฺข ุ ธาตุโ ย : ดูก อ นภิก ษุ! ธาตุทั ้ง หลาย ๖ อยา ง เหลา นี ้, มีอ ยู : ปฐวีธ าตุ, คือ ปฐวีธ าตุ, อาโปธาตุ, คืออาโปธาตุ, เตโชธาตุ, คือเตโชธาตุ, วาโยธาตุ, คือวาโยธาตุ, อากาสธาตุ, คืออากาสธาตุ, วิฺญาณธาตุ. คือวิญญาณธาตุ. ดังนี้ -(ธาตุวิภังคสูตร อุปริ. ม. ๑๔/๔๓๖/๖๗๘-๙.)
โย ภิก ฺข เว (เตสํ ฉนฺน ํ ธาตูน ํ),๑ อุป ฺป าโท ต ิ อภิน ิพ ฺพ ตฺติ ปาตุ ภ าโว; ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ภาวะอั น ใด, เป น ความเกิ ด ขึ้ น ความตั้ ง อยู ความบัง เกิด ขึ้น มา ความปรากฏออก, (แหง ธาตุทั ้ง หลาย ๖ อยา ง เหลา นั ้น ); ทุก ฺข สฺเ สโส อุป ฺป าโท, นั ่น แหละ คือ ความเกิด ขึ้น แหง ทุก ข, โรคานํ ต ิ, ความตั้งอยูแหงธรรมชาติเปนเครื่องเสียบแทงทั้งหลาย, ชรามรณสฺส ปาตุภาโว. เปน ความปรากฏออกแหง ชราและมรณะ. โย จ โข ภิก ฺข เว (เตสํ ฉนฺนํ ธาตูน ํ), นิโ รโธ วูป สโม อตฺถ งฺค โม; ดูกอ นภิก ษุทั ้ง หลาย! สว นภาวะอัน ใด, เปนความดับไมเหลือ ความเขาไปสงบรํางับ ความถึงซึ่งอันตั้งอยูไมได (แหง
www.buddhadasa.info
๑.
ขอความนี้ เป นขอความที่ กลาวรวบธาตุทั้ ง ๖ ในคราวเดียวกัน, ไม แยกกล าวที ละอย าง ๆ ตามบาลี แหงสูตรนั้น. ทั้งนี้ เพื่อความสะดวกในการสวด. ๔๓๕
๔๓๖
ปรมัตถสภาวธรรม
ธาตุทั ้งหลาย ๖ อยา ง เหลา นั้น ) ; ทุก ฺข สฺเสโส นิโรโธ, นั่น แหละคือ ความดับ ไม เหลื อ แห ง ทุ ก ข , โรคานํ วู ป สโม, ความเข า ไปสงบรํ า งั บ แห ง ธรรมชาติ เป น เครื่อ งเสีย บแทงทั ้ง หลาย, ชรามรณสฺส อตฺถ งฺค โม. ความถึง ซี ่ง อัน ตั ้ง อยู ไมไ ด แหงชราและมรณะ. ดังนี้, -(สูตรที่ ๙ อุปฺปาทสํ. ขนฺธวาร, สํ. ๑๗/๒๘๖/๔๙๕-๖)
ฉนฺ นํ ภิ กฺ ข เว ธาตู นํ อุ ป าทาย, ดูก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! เพราะอาศั ย ธาตุ ๖ อยา ง เหลา นี ้, คพฺภ สฺส าวกฺก นฺต ิ โหติ; ยอ มมีก ารหยั ่ง ลงสู ค รรภ; โอกฺก นฺต ิย า สติ นามรูป ; เมื ่อ การหยั ่ง ลงสู ค รรภม ีอ ยู , นามรูป ยอ มมี; นามรู ป ปจฺ จ ยา สฬายตนํ ; เพราะมี น ามรู ป เป น ป จ จั ย , สฬายตนะย อ มมี ; สฬ ายตนปจฺจ ยา ผสฺโ ส, เพราะมีส ฬายตนะเปน ปจ จัย , ผัส สะ ยอ มมี; ผสฺส ปจฺจ ยา เวทนา. เพราะมีผ ัส สะเปน ปจ จัย , เวทนา ยอ มมี. เวทิย มานสฺส โข ปนาหํ ภิ กฺ ข เว, ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! สํ า หรับ บุ ค คลผู มี ค วามรูสึ ก ต อ เวทนา อยู นั ่น แล, อิท ํ ทุก ฺข นฺต ิ ปฺาเปมิ, เรายอ มบัญ ญัต ิใ หรู ว า ทุก ข เปน อยา งนี ้ๆ , อยํ ทุก ฺข สมุท โยติ ปฺาเปมิ, ยอ มบัญ ญัต ิใ หรู ว า เหตุใ หเ กิด ขึ้น แหง ทุก ข เปน อยา งนี ้ ๆ, อยํ ทุก ฺข นิโ รโธติ ปฺาเปมิ, ยอ มบัญ ญัต ิใ หรู วา ความดั บ ไม เหลื อ แห งทุ ก ข เป น อย า งนี้ ๆ, อยํ ทุ กฺ ข นิ โรธคามิ นี ปฏิ ป ทาติ ปฺ าเปมิ . ย อ มบั ญ ญั ติ ให รูวา ข อ ปฏิ บั ติ เครื่อ งทํ าสั ต วให ลุ ถึ งความดั บ ไม เหลื อ แหงทุกข เปนอยางนี้ ๆ. ดังนี้
www.buddhadasa.info -(สูตรที่ ๑ มหาวรรค ติก. อํ. ๒๐/๒๒๗/๕๐๑)
อปราป (อาวุ โ ส) ติ สฺ โ ส ธาตุ โ ย : (ดู ก อ นท า นผู มี อ ายุ ทั้ ง หลาย!) ธาตุ ทั้ ง หลาย แม เหล า อื่ น ๓อย า ง ยั งมี อี ก : กามธาตุ , กล า วคื อ ธาตุ เป น ที่ ตั้ ง แหงกาม, เปนไปเพื่อกามทั้งหลาย, อยางหนึ่ง; รูปธาตุ, กลาวคือ ธาตุเปนที่ตั้ง
พระบาลี ปรมัตถสภาวธรรม
๔๓๗
แหง รูป , เปน ไปเพื ่อ รูป ธรรมทั ้ง หลาย, อยา งหนึ ่ง ; อรูป ธาตุ. กลา วคือ ธาตุ เปนที่ตั้งแหงอรูป, เปนไปเพื่ออรูปธรรมทั้งหลาย, อยางหนึ่ง. ดังนี้. -(ขอความตอนนี้ เปนสารีปุตตเถรภาษิต ในสังคีติสูตร ปา. ที. ๑๑/๒๒๘/๒๒๘.)
อปราป (อาวุ โ ส) ติ สฺ โ ส ธาตุ โ ย : (ดู ก อ นท า นผู มี อ ายุ ทั้ ง หลาย!) ธาตุ ทั้ งหลาย แม เหล าอื่ น ๓ อย าง ยั งมี อี ก : รู ปธาตุ , กล าวคื อ ธาตุ เป นที่ ตั้ งแห ง รูป , เป น ไปเพื่ อ รูป ธรรมทั้ งหลาย, อย า งหนึ่ ง ; อรู ป ธาตุ , กล า วคื อ ธาตุ เป น ที่ ตั้ ง แห ง อรู ป , เป น ไปเพื่ อ อรู ป ธรรมทั้ ง หลาย, อย า งหนึ่ ง ; นิ โ รธธาตุ . กล า วคื อ ธาตุ เปนที่ดับแหงรูปธาตุและอรูปธาตุทั้งหลาย, เปนไปเพื่อนิพพาน,อยางหนึ่ง. ดังนี้. -(ขอความตอนนี้ เปนสารีปุตตเถรภาษิต ในสังคีติสูตร ปา. ที. ๑๑/๒๒๘/๒๒๘.)
ติ สฺ โส (อาวุ โส) นิ สฺ สารณี ยา ธาตุ โย : (ดู ก อนท านผู มี อายุ ทั้ งหลาย!) ธาตุ อัน เปน ธรรมชาติเ ครื ่อ งสลัด ออก ซึ ่ง สิ ่ง ควรสลัด ออก, มีอ ยู ๓ อยา ง : กามานเมตํ นิส ฺส รณํ, ยทิท ํ เนกฺข มฺม ํ, กลา วคือ เนกขัม มธาตุ อัน เปน เครื่อ ง สลัด ออกซึ ่ง กามธาตุ นั ้น , อยา งหนึ ่ง ; รูป านเมตํ นิส ฺส รณํ, ยทิท ํ อรูป , กล า วคื อ อรูป ธาตุ อั น เป น เครื่อ งสลั ด ออกซึ่ งรู ป ธาตุ นั้ น , อย า งหนึ่ ง ; ยํ โข ปน กิ ฺ จิ ภู ตํ สงฺ ข ตํ ปฏิ จฺ จ สมุ ปฺ ป นฺ นํ , นิ โ รโธ ตสฺ ส นิ สฺ ส รณํ . กล า วคื อ นิ โรธธาตุ อั น เป น เครื่ อ งสลั ด ออกซึ่ งสั งขารธาตุ อั น เกิ ด แล ว, ปรุ งแต งแล วอาศั ย กั น เกิดขึ้นแลว ใด ๆ ก็ตาม นั้น, อยางหนึ่ง. ดังนี้.
www.buddhadasa.info -(ขอความตอนนี้ เปนสารีปุตตเถรภาษิต ในสังคีติสูตร ปา. ที. ๑๑/๒๙๒/๓๙๕.)
เย จ รูปู ปคา สตฺ ตา, สั ตวทั้ งหลายเหล าใด ผู เขาไปถื อเอาซึ่งรูปธาตุ ดวย, เย จ อรูปฏ ฐายิ โน, สัตวทั้ งหลายเหลาใด ผูเขาไปตั้ งอยูในอรูปธาตุ ด วย, นิโ รธํ อปฺป ชานนฺต า, ลว นแตเ ปน ผู ไ มรูทั ่ว ถึง อยู ซึ ่ง นิโ รธธาตุ, อาคนฺต าโร เต ปุนพฺภวํ. สัตวทั้งหลายเหลานั้น, ยอมเปนผูมาสูภพใหมอีก. เย จ รูเป
ปรมัตถสภาวธรรม
๔๓๘
ปริ ฺ าย, ส ว นสั ต ว ทั้ ง หลายเหล า ใด, รอบรู แ ล ว ซึ่ ง รู ป ธาตุ ทั้ ง หลาย, อรู เปสุ อสณฺิต า, ไมติด อยูแ ลว ในอรูป ธาตุทั้ง หลาย นิโ รเธ เยว มุจ ฺจ นฺต ิ; ยอ ม หลุ ดพ น ไปในนิโรธธาตุ นั่ น เที ยว; เต ชนา มจฺ จุห ายิโน. สัต วทั้งหลายเหล านั้ น , ชื่อวาผูละซึ่งมุจจุ. ดังนี.้ -(ทวยตานุปสสนาสูตร มหาวรรค สุ. ขุ. ๒๕/๔๘๐/๔๐๔.)
อถวา : อี ก อย า งหนึ่ ง : สพฺ พ สงฺ ข ารธาตุ ย า จิ ตฺ ตํ ปฏิ ว าเปตฺ ว า, นรชน, ถอนแลวซึ่งจิตจากสังขารธาตุทั้งปวง, อมตาย ธาตุยา จิตฺตํ อุปสํหรติ; ย อ มน อ มนํ า จิ ต เข า ไปในอมตธาตุ ; เอตํ ส นฺ ต ํ เอ ตํ ป ณี ต ํ , นั ่ น แหละ คือ ธรรมชาติอ ัน รํ า งับ , นั ่น แหละ คือ ธรรมชาติอ ัน ประณีต , ยทิท ํ, ไดแ กสิ ่ง เหลา นี ้ คือ :-สพฺพ สงฺข ารสมโถ, คือ ความสงบรํ า งับ แหง สัง ขารทั ้ง ปวง, สพฺพ ูป ธิป ฏิน ิส ฺส คฺโค, คือ ความสลัด คืน ซึ่ง อุป ธิทั้ง ปวง, ตณฺห กฺข โย, คือ ความ สิ ้น ไปแหง ตัณ หา, วิร าโค, คือ ความจางไปหมดสิ ้น , นิโ รโธ, คือ ความดับ ไมเหลือ นิพฺพานํ. คือความดับเย็นสนิท. ดังนี้. -(มหานิ. ขุ ๒๙/๕๑๖/๘๒๕.)
(๒. หมวดวาดวยอายตนะ)
www.buddhadasa.info อถาปรํ โภนฺ โต อายตนานํ สํ วณฺ ณ นา อมฺ เหหิ สชฺ ฌ ายิ ต พฺ พ า. ดู ก อ นท า นผู เจริ ญ ทั้ ง หลาย! ลํ า ดั บ นี้ , เรื่ อ งอั น เกี่ ย วกั บ อายตนะทั้ ง หลาย, เป น เรื่องที่ขาพเจาทั้งหลาย จะนํามาสาธยาย :สพฺพ ํ โว ภิก ฺข เว เทสิส ฺส ามิ. ดูก อ นภิก ษุทั ้ง หลาย! เราจัก แสดง ซึ ่ง “สิ ่ง ทั ้ง ปวง” แกเธอทั ้ง หลาย. ตํ สุณ าถ. เธอทั ้ง หลาย จะฟง ซึ ่ง ธรรมนั ้น . กิ ฺจ ภิก ฺข เว สพฺพ ํ? ดูก อ นภิก ษุทั ้ง หลาย! อะไรเลา ชื ่อ วา “สิ ่ง ทั ้ง ปวง” ? จกฺขฺุเจว รูปา จ; อายตนะ คือจักษุและรูปทั้งหลายดวย นั่นเอง; โสตฺจ
พระบาลี ปรมัตถสภาวธรรม
๔๓๙
ส ท ฺท า จ ; อายตน ะ คือ หูแ ล ะเสีย งทั ้ง ห ลาย ดว ย; ฆ าน ฺจ ค น ฺธ า จ ; อายตนะ คือ จมูก และกลิ ่น ทั ้ง หลาย ดว ย; ชิว ฺห า จ รสา จ; อายตนะ คือ ลิ้ น และรสทั้ ง หลาย ด ว ย; กาโย จ โผฏ พฺ พ า จ; อายตนะ คื อ กายและ โผฏฐั พ พะทั้ ง หลาย ด ว ย; มโน จ ธมฺ ม า จ; อายตนะ คื อ มโนและธรรมารมณ ทั ้ง หลาย ดว ย; อิท ํ วุจ ฺจ ติ ภิก ฺข เว สพฺพ ํ. ดูก อ นภิก ษุทั ้ง หลาย! อายตนะ ทั้งหลายเหลานี้ นี่เราเรียกวา “สิ่งทั้งปวง”. ดังนี้. -(สูตรที่ ๑ สัพพวรรค สฬายตนสํ. สฬา. สํ. ๑๘/๑๙/๒๔.)
กตมฺ จ ภิ กฺ ข เว สฬายตนํ ? ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ก็ สิ่ ง ที่ เรี ย กว า อ าย ต น ะ ๖ อ ยา ง นั ้น คือ อ ะไรเลา ? จ กฺข ฺว าย ต นํ, คือ จัก ขุ - อ าย ต น ะ , กล า วคื อ ตาเป น ทวารที่ ก ระทบแห ง อารมณ ท างตก, โสตายตนํ ,คื อ โสตะ-อายตนะ, กล าวคื อ หู เป น ทวารที่ ก ระทบแห งอารมณ ท างหู , ฆานายตนํ , คื อ ฆานะ-อายตนะ, กล า วคื อ จมู ก เป น ทวารที่ ก ระทบแห ง อารมณ ท างจมู ก , ชิ วฺ ต ายตนํ , คื อ ชิ ว หาอายตนะ, กลา วคือ ลิ ้น เปน ทวารที ่ก ระทบแหง อารมณท างลิ ้น , กายายตนํ, คื อ กายะ-อายตนะ, กล า วคื อ เนื้ อ หนั ง เป น ทวารที่ ก ระทบแห ง อารมณ ท างกาย, มนายตนํ ; คื อ มนะ-อายตนะ, กล า วคื อ ใจเป น ทวารที่ ก ระทบแห ง อารมณ ท างใจ; อิท ํ วุจ ฺจ ติ ภิก ฺข เว สฬายตนํ. ดูก อ นภิก ษุทั ้ง หลาย! นี ้ เราเรีย กวา อายตนะ -(สูตรที่ ๒ พุทธวรรค นิทานสํ. นิทาน. สํ. ๑๖/๔/๑๓) ๖ อยาง. ดังนี้.
www.buddhadasa.info สมุท ฺโ ท สมุท ฺโ ทติ ภิก ฺข เว อสฺส ุต ฺว า ปุถ ุช ฺช นโน ภาสติ. ดูก อ น ภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ปุ ถุ ช น ผู มี ก ารสดั บ อย างธรรมดาสามั ญ , กล าวกั น อยู ว า สมุ ท ร ๆ ดัง นี ้. เนโส ภิก ฺข เว อริย สฺส วิน เย สมุท ฺโ ท. ดูกอ นภิก ษุทั ้ง หลาย! สมุท ร ดั ง ที่ ก ล า วนั้ น หาใช ส มุ ท ร ในอริ ย วิ นั ย กล า วคื อ ระเบี ย บแห ง การพู ด จาของพระอริยเจาไม. มหา เอโส ภิกฺขเว อุทกราสิ มหา อุทกณฺณโว. ดูกอนภิกษุ
๔๔๐
ปรมัตถสภาวธรรม
ทั ้ง หลาย! นั ่น เปน เพีย งนา นน้ํ า ใหญ ๆ หว งน้ํ า ใหญ ๆ. สนฺต ิ ภิก ฺข เว จกฺข ุ วิ ฺ เ ยฺ ย า รู ป า, ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! สมุ ท ร ในระเบี ย บแห ง การพู ด จาของ พระอริย เจา มีอ ยู , คือ รูป ทั ้ง หลาย อัน จะพึง รู ส ึก ไดด ว ยจัก ษุ, อิฏ า กนฺต า มนาปา, เปน ที ่น า ปรารถนา นา ใคร นา พอใจ, ปย รูป า กามูป สฺห ิต า รชนิย า; มีร ูป นา รัก เปน ที ่ตั ้ง แหง ความใคร เปน ที ่ตั ้ง แหง ความกํ า หนัด ; อยํ วุจ ฺจ ติ ภิก ฺข เว อริย สฺส วิน เย สมุท ฺโ ท. ดูก อ นภิก ษุทั ้ง หลาย! นี ้แ ล, คือ สิ ่ง ที ่เ รีย กวา สมุท ร ๆ ในระเบีย บแหง การพูด จาของพระอริย เจา . เอตฺถ ายํ สเทวโก โลโก สมารโก สพฺ ร หฺ ม โก, ในสมุ ท รนั ้ น แล, สั ต ว โ ลกพร อ มทั ้ ง เทวโลก มารโลก พรหมโลก, สสฺ ส มณ พฺ ร าหฺ ม ณี ปชา สเทวมนุ ส ฺ ส า, หมู สั ต ว พร อ มทั้ งสมณพราหมณ พร อ มทั้ งเทวดาและมนุ ษ ย . เยภุ ยฺ เยน สมุ นฺ น า ตนฺต า, โดยมากพากัน ตกอยู จมอยู , กุล กชาตา กุล คุณ ฺฑ ิก ชาต มุ ฺช ปพฺ พ ชภู ต า, มี จิ ต เหมื อ นกลุ ม ด า ยยุ ง , ยุ ง เหยิ ง เหมื อ นความยุ ง ของกลุ ม ด า ยที่ หนาแน น ไปด วยปม, พั ว พั น กั น ยุ งเหมื อ นเซิ งหญ ามุ ญ ชุ แ ละหญ าป พ พชะ, อปายํ ทุค ฺค ตึ วิน ิป าตํ สํส ารํ นาติว ตฺต นฺต ิ. ยอ มไมล ว งพน ซึ ่ง สัง สารวัฏ ฏ คือ อบาย ทุคติ วินิบาต. ดังนี้.
www.buddhadasa.info (ในกรณี แ ห ง เสี ย งเป น สมุ ท รก็ ดี กลิ่ น เป น สมุ ท รก็ ดี รสเป น สมุ ท รก็ ดี โผฏฐัพ พะเปน สมุท รก็ด ี ธรรมารมณเ ปน สมุท รก็ด ี, พระผู ม ีพ ระภาคเจา ได ตรัสไว, มีนัย (ะ) อยางเดียวกันกับในกรณีแหงรูปเปนสมุทร.) -(สูตรที่ ๒ สมุททวรรค สฬายตนสํ สฬา. สํ. ๑๘/๑๙๖/๒๘๗.)
หตฺเ ถสุ ภิก ฺข เว สติ, อาทานนิก ฺเ ขปนํ ปฺายติ; ดูก อ นภิก ษุ ทั้ งหลาย ! เมื่ อมื อทั้ งหลายมี อยู , การจั บหรือการวาง ย อมปรากฏให เห็ น; ปาเทสุ สติ, อภิกฺกมปฏิกฺกโม ปฺายติ; เมื่อเทาทั้งหลาย มีอยู, การกาวไปหรือ
พระบาลี ปรมัตถสภาวธรรม
๔๔๑
การถอยกลับ ยอ มปรากฏใหเ ห็น ; ปพฺเ พสุ สติ, สมฺม ิ ฺช นปสารณฺ ปฺญายติ ; เมื่ อ ข อ ศอกข อ เท า ทั้ ง หลาย มี อ ยู , การคู เข า หรื อ การเหยี ย ดออก ย อ ม ปรากฏให เ ห็ น ; กุ จ ฺ ฉ ิ ส ฺ ม ึ สติ , ชิ ฆ จฺ ฉ าป ป าสา ปฺ ายติ ; เมื ่ อ ท อ งไส มีอ ยู , ความหิว หรือ ความระหาย ยอ มปรากฏใหเ ห็น ; นี ้ฉ ัน ใด; เอวเมว โข ภิก ฺข เว : ดูก อ นภิก ษุทั ้ง หลาย! ขอ นี ้ ก็ฉ ัน นั ้น : จกฺข ุส ฺม ึป สติ, กลา วคือ เมื่อ จัก ษุมีอ ยู, จกฺขุส มฺผ สฺส ปจฺจ ยา อุปฺป ชฺช ติ อชฺฌ ตฺตํ สุข ทุกฺขํ; เพราะ จัก ษุส ัม ผัส นั ้น เปน ปจ จัย , ยอ มเกิด ความสุข และทุก ขขึ ้น ในตน; โสตสฺม ึ สติ, เมื ่อ หูม ีอ ยู , โสตสมฺผ สฺส ปจฺจ ยา อุป ฺป ชฺช ติ อชฺฌ ตฺต ํ สุข ทุก ฺข ํ; เพราะ โสตสัม ผัส นั ้น เปน ปจ จัย , ยอ มเกิด ความสุข และทุก ขขึ ้น ในตน; ฆานสฺม ึ สติ เมื ่ อ จ มู ก มี อ ยู , ฆ า น ส มฺ ผ สฺ ส ป จฺ ย า อุ ป ฺ ป ชฺ ช ติ อ ชฺ ฌ ตฺ ต ํ สุ ข ทุ ก ฺ ข ํ ; เพราะฆานสัม ผัส นั ้น เปน ปจ จัย , ยอ มเกิด ความสุข และทุก ขขึ ้น ในตน; ชิว ฺห าย สติ , เมื ่ อ ลิ ้ น อยู , ชิ ว ฺ ห าสมุ ผ สฺ ส ปจฺ จ ยา อุ ป ฺ ป ชฺ ช ติ อชฺ ฌ ตฺ ต ํ สุ ข ทุ ก ฺ ข ํ ; เพราะชิ ว หาสั ม ผั ส นั้ น เป น ป จ จั ย , ย อ มเกิ ด ความสุ ข และทุ ก ข ขึ้ น ในตน; กายสฺ มึ สติ, เมื ่อ กายมีอ ยู , กายสมฺผ สฺส ปจฺจ ยา อุป ฺป ชฺช ติ อชฺฌ ตฺต ํ สุข ทุก ฺข ํ; เพราะกายสัม ผัสนั้ น เป นป จจัย, ย อมเกิดความสุ ขและทุ กขขึ้นในตน; มนสฺ มึ สติ , เมื ่อ ใจมีอ ยู , มโนสมฺผ สฺส ปจฺจ ยา อุป ฺป ชฺช ติ อชฺฌ ตฺต ํ สุข ทุก ฺข ํ. เพราะ มโนสัมผัสนั้นเปนปจจัย, ยอมเกิดความสุขและทุกขขึ้นในตน. ดังนี้.
www.buddhadasa.info -(สูตรที่ ๙ สมุททวรรค สฬายตนสํ. สฬา. สํ. ๑๘/๒๑๔/๓๐๕.)
ทิฏา มยา ภิกฺข เว ฉ ผสฺส ายตนิก า นาม นิร ยา. ดูกอ นภิก ษุ ทั้ งหลาย ! นรก ชื่ อ ฉผั ส สายตนิ ก า, (คื อ นรกอั น เป น ไปในการสั ม ผั ส ทางอายตนะ ทั ้ง ๖), เราไดเ ห็น แลว . ตตฺถ ยงฺก ิจิ จกฺข ุน า รูป ปสฺส ติ, ในนรกนั ้น , บุคคลเห็นรูปใด ๆ ดวยจักษุ, อนิฏรูปฺเญว...อกนฺตรูปฺเว.. อมนาป-
๔๔๒
ปรมัตถสภาวธรรม
รูป ฺเ ว ปสฺส ติ, ยอ มเห็น แตรูป อัน มีล ัก ษณะไมพ ึง ปรารถนา...ไมน า ใคร… ไมน า พอใจ ทั ้ง นั ้น , โนอิฏ รูป ...กนฺต รูป ...มนาปรูป ; ไมไ ดเ ห็น รูป อัน มี ลัก ษณะพึง ปรารถนา...นา ใคร...นา พอใจเลย; ยงฺก ิ ฺจ ิ โสเตน สทฺท ํ สุณ าติ, ในนรกนั้น , บุค คลฟงเสีย งใด ๆ ดวยหู, อนิฏรูป ฺเว...อกนฺต รูป ฺเว...อม น าป รู ป ฺ เ ว สุ ณ าติ , ย อ ม ฟ ง แต เ สี ย ง อั น มี ล ั ก ษ ณ ะไม พ ึ ง ป รารถน า ไมน า ใคร...ไมน า พอใจ ทั ้ง นั ้น , โน อิฏ รูป ...กนฺต รูป …มนาปรูป ; ไมไ ด ฟง เสีย ง อัน มีล ัก ษณะพึง ปรารถนา...นา ใคร...นา พอใจ เลย; ยงฺก ิ ฺจ ิฆ าเนน คนฺธ ํ ฆายติ, ในนรกนั ้น , บุค คลดมกลิ ่น ใด ๆ ดว ยจมูก , อนิฏ รูป ฺเ ว... อกนฺต รูป ฺเ ว...อมนาปรูป ฺเ ว ฆายติ, ยอ มดมแตก ลิ ่น อัน มีล ัก ษณะ ไมพ ึง ปรารถนา...ไมน า ใคร...ไมน า พอใจ ทั ้ง นั ้น , โน อิฏ รูป ...กนฺต รูป ... มนาปรูป ; ไมไ ดด มกลิ ่น อัน มีล ัก ษณะพึง ปรารถนา...นา ใคร...นา พอใจ เลย; ย งฺ ก ิ ฺ จ ิ ชิ ว ฺ ห าย รสํ ส าย ติ , ในนรกนั ้ น , บุ ค ค ลลิ ้ น รสใด ๆ ด ว ยลิ ้ น , อนิฏ รูป ฺเ ว...อกนฺต รูป ฺเ ว...อมนาปรูป ฺเว สายติ, ยอ มลิ้น แตร ส อัน มีล ัก ษณะไมพ ึง ปรารถนา...ไมน า ใคร...ไมน า พอใจ ทั ้ง นั ้น , โน อิฏ รูป ... กนฺ ต รู ป ...มนาปรู ป ; ไม ได ลิ้ น รส อั น มี ลั ก ษณะพึ ง ปรารถนา...น า ใคร ...น า พอใจ เล ย ; ย งฺก ิ ฺจ ิ ก า เย น โผ ฏ พ ฺพ ํ ผ ุส ต ิ, ใน น ร ก นั ้น , บ ุค ค ล สัม ผัส โผฏฐัพ พะใด ๆ ดว ยผิว กาย, อนิฏ รูป ฺเ ว...อกนฺต รูป ฺเ ว...อมนาป รู ป ฺ เว ผุ ส ติ , ย อ มสั ม ผั ส แต โผฏฐั พ พะ อั น มี ลั ก ษณะไม พึ ง ปรารถนา...ไม น า ใคร ...ไม น า พอใจ ทั้ ง นั้ น , โน อิ ฏ รู ป ...กนฺ ต รู ปฺ ...มน าปรู ป ; ไม ไ ด สั ม ผั ส โผฏฐัพ พะ อัน มีล ัก ษณะพึง ปรารถนา...นา ใครน า พอใจ เลย; ยงฺก ิ ฺจ ิ มนสา ธมฺม ํ วิช านาติ, ในนรกนั ้น , บุค คลรูส ึก ธรรมารมณใ ด ๆ ดว ยใจ, อนิฏ ฐ -รูป ฺเ ญ ว ...อ ก น ฺต รูป ฺเ ว...อ ม น าป รูป ฺเ ว วิช าน าติ, ยอ ม รู ส ึก แต ธรรมารมณ อันมีลักษณะไมพึงปรารถนา...ไมนาใคร...ไมนาพอใจ ทั้งนั้น, โน
www.buddhadasa.info
พระบาลี ปรมัตถสภาวธรรม
๔๔๓
อิ ฏ รู ป ...กนฺ ต รู ป ...มนาปรู ป . ไม ไ ด รู สึ ก ธรรมารมณ อั น มี ลั ก ษณะพึ ง ปรารถนา ...นาใคร...นาพอใจ เลย. ดังนี้. -(สูตรที่ ๒ เทวทหวรรค สฬายตนสํ. สฬา. สํ. ๑๘/๑๕๘/๒๑๔.)
ทิฏ า มยา ภิก ฺข เว ฉ ผสฺส ายตนิก า นาม สคฺค า. ดูก อ นภิก ษุ ทั้ งหลาย! สวรรค ชื่ อฉผั สสายตนิ กา, (คื อสวรรค อั นเป นไปในการสั มผั สทางอายตนะ ทั้ ง ๖), เราได เ ห็ น แล ว . ตตฺ ถ ยงฺ ภิ ฺ จิ จ กฺ ขุ น า รู ป ปสฺ ส ติ , ในสวรรค นั้ น , บุค คลเห็น รูป ใด ๆ ดว ยจัก ษุ, อิฏ รูป เยว...กนฺต รูป เยว...มนาปรูป เยว ปสฺส ติ, ยอ มเห็น แตร ูป อัน มีล ัก ษณะพึง ปรารถนา...นา ใคร...นา พอใจ ทั ้ง นั ้น , โน อ นิ ฏ รู ป ...อ ก นฺ ต รู ป ...อ ม น าป รู ป ; ไม ไ ด เ ห็ น รู ป อั น มี ลั ก ษ ณ ะไม พึ ง ปรารถนา...ไมน า ใคร...ไมน า พอใจ เลย; ยงฺก ิ ฺจ ิ โสเตน สทฺท ํ สุณ าติ, ในสวรรคนั ้น , บุค คลฟง เสีย งใด ๆ ดว ยหู, อิฏ รูป เยว...กนฺต รูป เยว… มนาปรูป เยว สุณ าติ, ยอ มฟง แตเสีย ง อัน มีล ัก ษณะพึง ปรารถนา…นา ใคร… นา พอใจ ทั ้ง นั ้น , โน อนิฏ รูป ...อกนฺต รูป ...อม นาป รูป ; ไมไ ดฟ ง เสีย ง อัน มีล ัก ษณะไมพ ึง ปรารถนา..ไมน า ใคร...ไมน า พอใจ เลย; ยงฺก ิ ฺจ ิ ฆาเนน คนฺธ ํ ฆายติ, ในสวรรคนั ้น , บุค คลดมกลิ ่น ใด ๆ ดว ยจมูก , อิฏ รูป เยว … กนฺ ตรู ป เยว...มนาปรู ป เยว ฆายติ , ย อมดมแต กลิ่ น อั นมี ลั กษณะพึ งปรารถนา ...น า ใคร . ..น า พอใจ ทั ้ ง นั ้ , โน อนิ ฏ รู ป . ..อกนฺ ต รู ป . ..อมนาปรู ป ; ไม ไ ด ดมกลิ ่น อัน มีล ัก ษณะไมพ ึง ปรารถนา...ไมน า ใคร...ไมน า พอใจ เลย; ยงฺก ิ ฺจิ ชิว ฺห าย รสํ ส าย ติ, ในส วรรคนั ้น , บุค คลลิ ้ม รสใด ๆ ดว ยลิ ้น , อิฏ รูป เยว...กนฺ ต รู ป เยว...มนาปรู ป เยว สายติ , ย อ มลิ้ ม แต ร ส อั น มี ลั ก ษณ ะพึ ง ปรารถนา...นา ใคร...นา พอใจ ทั ้ง นั ้น , โน อนิฏ ฐ รูป ...อกนฺต รูป ...อมนาปรูป ; ไมไ ดลิ ้ม รส อัน มีล ัก ษณะไมพ ึง ปรารถนา...ไมน า ใคร...ไมน า พอใจ เลย; ยงฺกิฺจิ กาเยน โผฏพฺพํ ผุสติ, ในสวรรคนั้น, บุคคลสัมผัสโผฏฐัพพะใด ๆ
www.buddhadasa.info
๔๔๔
ปรมัตถสภาวธรรม
ดว ยผิว กาย, อิฏรูป เยว...กนฺต รูป เยว...มนาปรูป เยว ผุส ติ, ยอ มสัม ผัส แตโ ผฏ ฐัพ พ ะ อัน มีล ัก ษ ณ ะพึง ปรารถนา...นา ใคร...นา พอใจ ทั ้ง นั ้น , โน อนิ ฏ รู ป ...อกนฺ ต รู ป ...อมนาปรู ป ; ไม ไ ด สั ม ผั ส โผฏฐั พ พะอั น มี ลั ก ษณะไม พึ ง ปรารถนา...ไมน า ใคร...ไมน า พอใจ เลย; ยงฺก ิ ฺจ ิ มนสา ธมฺม ํ วิช านาติ, ในสวรรคนั ้น , บุค คลรู ส ึก ธรรมารมณใ ด ๆ ดว ยใจ, อิฏ รูป เยว...กนฺต รูป เยว...มนาปรู ป เยว วิ ช าน าติ , ย อ มรู สึ ก แต ธ รรมารมณ อั น มี ลั ก ษณ ะพึ ง ป ร า ร ถ น า ...น า ใ ค ร . ..น า พ อ ใ จ ทั ้ ง นั ้ น , โ น อ นิ ฏ รู ป . ..อ ก นฺ ต รู ป . .. อมนาปรูป . ไมไ ดรูส ึก ธรรมารมณ อัน มีล ัก ษณะไมพ ึง ปรารถนา…ไมน า ใคร... ไมนาพอใจ เลย. ดังนี้. -(สูตรที่ ๒ เทวทหวรรค สฬายตนสํ. สฬา. สฺ. ๘/๑๕๙/๒๑๕.)
กิส ฺม ึ โลโก สมุป ฺป นฺโ น? โลกคือ หมู ส ัต ว, เกิด ขึ ้น แลว ในอะไร? ฉสุ โลโก สมุป ฺป นฺโ น; โลกคือ หมู ส ัต ว, เกิด ขึ ้น แลว ในสภาวธรรม คือ คู แหง อายตนะทั ้ง หลาย หก; กิส ฺม ึ กุพ ฺพ ติ สนฺถ วํ? โลกคือ หมู ส ัต ว, ยอ ม กระทํ า ซึ ่ง ความชิด ชม ในอะไร? ฉสุ กุพ ฺพ ติ สนฺถ วํ; โลกคือ หมู ส ัต ว, ยอ ม กระทํ าซึ่ งความชิดชม ในสภาวธรรม คื อคู แห งอายตนะทั้ งหลาย หก; กิ สฺ มึ โลโก อุป าทาย? โลกคือ หมู ส ัต ว, เขา ไปยึด ถือ แลว ซึ่งอัส สาทะแหง อะไร? ฉนฺน เมว, อุ ป าทาย; โลกคื อ หมู สั ต ว , เข า ไปยึ ด ถื อ แล ว ซึ่ ง อั ส สาทะแห ง สภาวธรรม คื อ คู แห ง อายตนะทั้ ง หลาย หก นั่ น เที ย ว; กิ สฺ มึ โลโก วิ ห ฺ ติ ? โลกคื อ หมู สั ต ว ยอ มลํ า บากเดือ ดรอ น เพราะเหตุแ หง อะไร? ฉสุ โลโก วิห ฺติ. โลกคือ หมู ส ัต ว, ยอ มลํ า บากเดือ ดรอ น เพราะเหตุแ หง สภาวธรรม คือ คู แ หง อายตนะ ทั้งหลายหก. ดังนี้.
www.buddhadasa.info -(เหมวตสูตร อุรควรรค สุ. ขุ. ๒๕/๓๕๗/๓๑๙.)
ห ตุ เ ถ สุ ภิ ก ุ ข เว อ ส ติ , อ าท าน นิ ก ฺ เ ข ป นํ น ป ฺ าย ติ ; ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เมื่อมือทั้งหลายไมมี, การจับหรือการวาง ยอมไมปรากฏ
พระบาลี ปรมัตถสภาวธรรม
๔๔๕
ให เห็ น ; ปาเทสุ อสติ , อภิ กฺ ก มปฏิ กฺ ก โม น ปฺ ายติ ; มื อ เท า ทั้ งหลายไม มี , การก าวไปหรือ การถอยกลั บ ย อ มไม ป รากฏให เห็ น ; ปพฺ เพสุ อสติ , สมฺ มิ ฺ ช นปสารณํ น ปฺ ายติ ; เมื่ อ ข อ ศอกข อ เท า ทั้ ง หลาย ไม มี , การคู เ ข า หรื อ การ เหยีย ดออก ยอ มไมป รากฏใหเ ห็น ; กุจ ฺฉ ิส ฺม ึ อ ส ติ, ชิฆ จฺฉ าปป าส า น ปฺ ายติ ; เมื่ อ ท อ งไส ไม มี , ความหิ ว หรื อ ความระหาย ย อ มไม ป รากฏให เห็ น ; นี ้ ฉ ั น ใด; เอ วเม ว โข ภิ ก ฺ ข เว : ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั ้ ง หลาย! ข อ นี ้ ก็ ฉ ั น นั ้ น : จกฺข ุส ฺม ึ อสติ, กลา วคือ เมื ่อ จัก ษุไ มม ี, จกฺข ุส มฺผ สฺส ปจฺจ ยา นุป ฺป ชฺช ติ อชฺ ฌ ตฺ ตํ สุ ข ทุ กฺ ขํ ; ก็ ไม เกิ ด ความสุ ขและทุ ก ข ที่ มี จั ก ษุ สั ม ผั ส เป น ป จ จั ย ขึ้ น ในตน; โสตสฺ ม ึ อสติ , เมื ่ อ หู ไ ม ม ี , โสตสมฺ ผ สสปจฺ จ ยา นุ ป ฺ ป ชชติ อชฺ ฌ ชฺ ช ตํ สุข ทุก ฺข ํ; ก็ไ มเ กิด ค วาม สุข แล ะทุก ข ที ่ม ีโ ส ต สัม ผัส เปน ปจ จัย ขึ ้น ใน ต น ; ฆานสฺม ึ อสติ, เมื ่อ จมูก ไมม ี, ฆานสมฺผ สฺส ปจฺจ ยา นุป ฺป ชฺช ติ อชฺฌ ตฺตํ สุข ทุก ฺข ํ; ก็ไ มเ กิด ความสุข และทุก ข ที ่ม ีฆ านสัม ผัส เปน ปจ จัย ขึ ้น ในตน ; ชิว ฺห าย อสติ, เมื ่อ ลิ ้น ไมม ี, ชิว ฺห าสมฺผ สฺส ปจฺจ ยา นุป ฺป ชฺช ติ อชฺฌ ตฺต ํส สุข ทุก ฺข ํ; ก็ไ มเ กิด ความสุก ขและทุก ข ที ่ม ีช ิว หาสัม ผัส เปน ปจ จัย ขึ ้น ในตน; กายสฺ ม ึ อสติ , เมื ่ อ กายไม ม ี , กายสมฺ ผ สฺ ส ปจฺ จ ยา นุ ป ฺ ป ชฺ ช ติ อชฺ ฌ ตฺ ตํ สุ ข ทุ ก ฺ ข ํ ; ก็ ไ ม เ กิ ด ความ สุ ข และทุ ก ข ที ่ ม ี ก ายสั ม ผั ส เป น ป จ จั ย ขึ ้ น ในตน ; ม น สฺ ม ึ อ ส ติ , เมื ่ อ ใจไม ม ี , ม โน ส มฺ ผ สฺ ส ป จฺ จ ยา นุ ป ฺ ป ชฺ ช ติ อ ชฺ ฌ ตฺ ตํ สุขทุกฺขํ. ก็ไมเกิดความสุขและทุกข ที่มีมโนสัมผัสเปนปจจัย ขึ้นในตน. ดังนี้.
www.buddhadasa.info -(สูตรที่ ๙ สมุททวรรค สฬายตนสํ. สฬา. สํ. ๑๘/๒๑๔/๓๐๖.)
โย ภ ิก ฺข เว (เต ส ํ ฉ น ฺน ํ ฉ น ฺน ํ อ า ย ต น า น ํ), ๑ อ ุป ฺป า โ ท ิติ อภินิพฺพตฺติ ปาตุภาโว; ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! ภาวะอันใด, เปนความเกิดขึ้น .
๑
ข อ ความนี้ เป น ข อ ความที่ ก ล า วรวบอายตนะทั้ ง ๖ ทั้ ง สองหมวด ในคราวเดี ย วกั น , ไม แ ยกกล า ว ทีละอยางๆ ตามบาลีแหงสูตรนั้น ๆ, ทั้งนี้ เพื่อความสะดวกในการสวดขอความนี้
๔๔๖
ปรมัตถสภาวธรรม
ความตั้ งอยู ความบั งเกิ ดขึ้ นมา ความปรากฏออก, (แห งอายตนะทั้ งหลาย หกและ หก เหลา นั ้น ); ทุก ฺข สฺเ สโส อุป ฺป าโท, นั ่น แหละ คือ ความเกิด ขึ ้น แหง ทุก ข. โรคานํ ิติ , ความตั้ งอยูแห งธรรมชาติ เป นเครื่องเสี ยบแทงทั้ งหลาย, ชรามรณสฺ ส ปาตุ ภ าโว. เป น ความปรากฏออกแห ง ชราและมรณะ. โย จ โข ภิ ก ฺ ข เว (เตสํ ฉนฺน ํ ฉนฺน ํ อายตนานํ), นิโ รโธ วูป สโม อตฺถ งฺค โม; ดูก อ นภิก ษุ ทั้ ง หลาย! ส ว นภาวะอั น ใด, เป น ความดั บ ไม เหลื อ ความเข า ไปสงบรํ า งั บ ความ ถึ ง ซึ่ งอั น ตั้ ง อยู ไม ได , (แห ง อายตนะทั้ งหลาย หกและหก เหล า นั้ น ); ทุ กฺ ข สฺ เสโส นิโ รโธ, นั ่น แหละ คือ ความดับ ไมเ หลือ แหง ทุก ข. โรคานํ วูป สโม, ความ เขา ไปสงบรํ า งับ แหง ธรรมชาติเ ปน เครื ่อ งเสีย บแทงทั ้ง หลาย, ชรามรณ สฺส อตฺถงฺคโม. ความถึงซึ่งอันตั้งอยูไมไดแหงชรรและมรณะ. ดังนี้. -(สูตรที่ ๑ อุปฺปาทสํ. ขนฺธวาร. สํ. ๑๗/๒๘๓/๔๗๙, ๔๘๐.)
จกฺข ุส ฺม ึ โข สติ, อรหนฺโ ต สุข ทุก ฺข ํ ปฺเปนฺต ิ; เมื ่อ จัก ษุ (ของสั ต ว ) นั่ น แลมี อ ยู , พระอรหั น ต ก็ มี ท างที่ จ ะบั ญ ญั ติ ซึ่ งสุ ข และทุ ก ข ; จกฺ ขุ สฺ มึ อสติ, อรหนฺโ ต สุข ทุก ฺข ํ น ปฺเปนฺต ิ; เมื ่อ จัก ษุ (ของสัต ว) ไมม ี, พระอรหัน ต ก็ไ มม ีท างที ่จ ะบัญ ญัต ิซึ ่ง สุข และทุก ข; โสตสฺม ึ สติ, อรหนฺโ ต สุข ทุก ฺข ํ ปฺเปนฺต ิ; เมื ่อ หู (ของสัต ว) มีอ ยู , พระอรหัน ต ก็ม ีท างที ่จ ะ บัญ ญัต ิซึ ่ง สุข และทุก ข; โสตสฺม ึ อสติ, อรหนฺโ ต สุข ทุก ฺข ํ นปฺเปนฺต ิ; เมื ่อ หู (ของสัต ว) ไมม ี, พระอรหัน ต ก็ไ มม ีท างที ่จ ะบัญ ญัต ิซึ ่ง สุข และทุก ข; ฆานสฺม ึ สติ, อรหนฺโ ต สุข ทุก ฺข ํ ปฺเปนฺต ิ; เมื ่อ จมูก (ของสัต ว) มีอ ยู , พระอรหัน ต ก็ม ีท างที ่จ ะบัญ ญัต ิซึ ่ง สุข และทุก ข; ฆานสฺม ึ อสติ, อรหนฺโ ต สุข ทุก ฺข ํ น ปฺเปนฺต ิ; เมื ่อ จมูก (ของสัต ว) ไมม ี, พระอรหัน ต ก็ไ มม ีท าง ที่จ ะบัญ ญัติซึ่ง สุข และทุก ข; ชิว ฺห าย สติ, อรหนฺโ ต สุข ทุก ฺข ํ ปฺเปนฺต ิ; เมื่อลิ้น (ของสัตว) มีอยู, พระอรหันต ก็มีทางที่จะบัญญัติซึ่งสุขและทุกข;
www.buddhadasa.info
พระบาลี ปรมัตถสภาวธรรม
๔๔๗
ชิ วฺ ห าย อสติ , อรหนฺ โ ต สุ ข ทุ ก ฺ ข ํ น ปฺ เปนฺ ต ิ ; เมื ่ อ ลิ ้ น (ของสั ต ว ) ไมม ี, พ ระอรหัน ต ก็ไ มม ีท างที ่จ ะบัญ ญัต ิซึ ่ง สุข และทุก ข; กายสฺม ึ ส ติ, อรหนฺโ ต สุข ทุก ฺข ํ ปฺเปนฺต ิ; เมื ่อ กาย (ของสัต ว) มีอ ยู , พระอรหัน ต ก็ม ีท างที ่จ ะบัญ ญัต ิซึ ่ง สุข และทุก ข; กายสฺม ึ อสติ, อรหนฺโ ต สุข ทุก ฺข ํ น ปฺ เปนฺ ติ ; เมื่ อ กาย (ของสั ต ว ) ไม มี , พระอรหั น ต ก็ ไม มี ท างที่ จ ะบั ญ ญั ติ ซึ่ ง สุ ข และทุ ก ข ; ม น สฺ ม ึ ส ติ , อ รห นฺ โ ต สุ ข ทุ ก ฺ ข ํ ป ฺ เป นฺ ต ิ ; เมื ่ อ ใจ (ของสั ต ว) มี อ ยู . พระอรหั น ต ก็ มี ท างที่ จ ะบั ญ ญั ติ ซึ่ งสุ ขและทุ ก ข ; มนสฺ มึ อสติ , อรหนฺโ ต สุข ทุก ฺข ํ น ปฺเปนฺต ิ. เมื ่อ ใจ (ของสัต ว) ไมม ี. พระอรหัน ต ก็ไมมีทางที่จะบัญญัติซึ่งสุขและทุกข. ดังนี้. -(ขอความตอนนี้ เปนอุทายิเถรภาษิต สูตรที่ ๑๐ คหปติวรรค สฬายตนสํ. สฬา. สํ. ๑๘/๑๕๕/๒๑๒.)
สมุท ฺโ ท สมุท ฺโ ทติ ภิก ฺข เว อสฺส ุต วา ปุถ ุช ฺช โน ภาสติ. ดูก อ น ภิ ก ษุ ทั้ งหลาย! ปุ ถุ ชน ผู มี การสดั บ อย างธรรมดาสามั ญ , กล าวกั น อยู ว า สมุ ท ร ๆ ดัง นี ้. เนโส ภิก ฺข เว อริย สฺส วิน เย สมุท ฺโ ท ดูกอ นภิก ษุทั ้ง หลาย! สมุท ร ดัง ที ่ก ลา วนั ้น หาใชส มุท ร ในอริย วิน ัย กลา วคือ ระเบีย บแหง การพูด จาของ พระอริย เจา ไม. มหา เอโส ภิก ฺข เว อุท กราสิ มหา อุท กณฺณ โว. ดูกอ น ภิก ษุทั ้ง หลาย! นั ่น เปน เพีย งนา นน้ํ า ใหญ ๆ หว งน้ํ า ใหญ ๆ. จกขุ ภิก ฺข เว ปุ ร ิ ส สฺ ส ส มิ ท ฺ โ ท ; ดู ก อ น ภิ ก ษุ ทั ้ ง ห ล าย ! จั ก ษุ เป น ส มุ ท รข อ งค น เรา ; ตสฺส รูป มโย เวโค. กํา ลัง ของจัก ษุส มุท รนั้น สํา เร็จ มาแตรูป . โย ตํ รูป มยํ เวคํ สหติ; บุค คลใดหยุด เสีย ไดซึ ่ง กํ า ลัง แหง สมุท รอัน สํ า เร็จ มาแตรูป นั ้น ; อยํ วุ จฺ จ ติ ภิ กฺ ข เว อตริ จกฺ ขุ ส มุ ทฺ ทํ , ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! บุ ค คลนี้ , เรากล า วว า ข า มได แ ล ว ซึ ่ ง จั ก ษุ ส มุ ท ร, สอุ ม ฺ ม ึ สาวฏ ฏ ํ สคาหํ สรกฺ ข สํ , อั น มี ค ลื ่ น มีเ กลีย ววน, มีส ัต วรา ย มีร ากษส, ติณ ฺโ ณ, เปน ผู ข า มแลว , ปารคโต, เปน ผู ถึงฝงแลว, ถเล ติฏติ พฺราหฺมโณ. เปนพราหมณ ยืนอยูบนบก. ดังนี้.
www.buddhadasa.info
๔๔๘
ปรมัตถสภาวธรรม
(ในกรณี แห ง หู เ ป น สมุ ท รก็ ดี จมู ก เป น สมุ ท รก็ ดี ลิ้ น เป น สมุ ท รก็ ดี กายเป น สมุ ท รก็ ดี ใจเป น สมุ ท รก็ ดี , พระผู มี พ ระภาคเจ า ได ต รั ส ไว , มี นั ย (ะ) อยางเดียวกันกับในกรณีแหงจักษุเปนสมุทร.) -(สูตรที่ ๑ สมุททวรรค สฬายตนสํ. สฬา. สํ. ๑๘/๑๙๖/๒๘๕.)
โย อิม ํ สมุท ฺท ํ สคาหํ สรกฺข สํ, สอุม ฺม ิภ ยํ ทุต ฺต รํ อจฺจ ตริ; บุ ค คลใด, ข ามล วงพ น แล วซึ่ งสมุ ท รนี้ , อั น มี สั ต ว ร าย มี รากษส, มี ภั ย เกิ ด แต ค ลื่ น ขา มไดโ ดยยาก; สเวทคู วุส ิต พฺร หฺม จริโ ย, โลกนฺต คู ปารคโตติ วุจ ฺจ ติ. บุค คลนั ้น , เรากลา ววา เปน ผู จ บเวท จบพรหมจรรย, ถึง ที ่ส ุด แหง โลก ถึง ฝ ง นอกแลว. ดังนี้. -(สูตรที่ ๑ สมุททวรรค สฬายตนสํ. สฬา. สํ. ๑๘/๑๙๖/๒๘๖.)
ยสฺส ราโค จ โทโส จ อวิช ฺช า จ วิร าชิต า; ราคะ โทสะ และอวิ ช ชา ของบุ ค คลใด,จางไปหมดสิ ้ น แล ว ; โส อิ ม ํ สมุ ท ฺ ท ํ สคาหํ สรกฺข สํ, สอุม ฺม ิภ ยํ สุท ุต ฺต รํ อจฺจ ตริ. บุค คลนั ้น , ขา มลว งพน แลว ซึ ่ง สมุท รนี ้, อัน มีส ัต วร า ย มีร ากษส, มีภ ัย เกิด แตค ลื ่น ขา มไดแ สนยาก. อิต ิ, ดังนี้แล.
www.buddhadasa.info -(สูตรที่ ๒ สมุททวรรค สฬายตนสํ. สฬา. สํ. ๑๘/๑๙๗/๒๘๘.)
ปจจเวกขณปาฐะ (แปล)
ธาตุปจจเวกขณปาธะ๑ (หนฺท มยํ ธาตุปจฺจเวกฺขณปา ํ ภณาม เส)
(ขอ วา ดว ย จีว ร), ย ถ าป จฺจ ยํ ป วตฺต ม านํ ธ าตุม ตฺต เม เวตํ, สิ ่ง เหล า นี้ นี่ เป น สั ก ว า ธาตุ ต ามธรรมขาติ เ ท า นั้ น , กํ า ลั ง เป น ไปตามเหตุ ต ามป จ จั ย อยู เ นือ งนิจ , ยทิท ํ จีว รํ, ตทุป ภุ ฺช โก จ ปุค ฺค โล, สิ ่ง เหลา นี ้ คือ จีว ร, และคนผู ใ ชส อยจีว รนั ้น , ธาตุม ตฺต โก, เปน สัก วา ธาตุต ามธรรมชาติ, นิส ฺส ตฺโ ต, มิไ ดเ ปน สัต วะอัน ยั ่ง ยืน , นิช ฺช ีโ ว, มิไ ดเ ปน ชีว ะอัน เปน บุร ุษ บุค คล, สุ ฺโ , วา งเปลา จากความหมายแหง ความเปน ตัว ตน, สพฺพ านิ ปน อิม านิ จีว รานิ อชิค ุจ ฺฉ นิย านิ, ก็จ ีว รทั ้ง หมดนี ้ ไมเ ปน ของนา เกลีย ดมาแตเ ดิม , อิม ํ ปูต ิก ายํ ปตฺว า, ครั ้น มาถูก เขา กับ กาย อัน เนา อยู เ ปน นิจ นี ้แ ลว , อติว ิย ชิค ุจ ฺฉ นิย านิ ชายนฺติ, ยอมกลายเปนของนาเกลียดอยางยิ่งไปดวยกัน. (ขอ วา ดว ยบิณ ฑบาต), ยถาปจฺจ ยํ ปวตฺต มานํ ธาตุม ตฺต เมเวตํ, สิ่ ง เหล า นี้ นี่ เป น สั ก ว า ธาตุ ต ามธรรมชาติ เท า นั้ น , กํ า ลั ง เป น ไปตามเหตุ ต ามป จ จั ย อยู เ นื อ งนิ จ , ยทิ ท ํ ป ณ ฺ ฑ ป าโต, ตทุ ป ภุ ฺ ช โก จ ปุ ค ฺ ค โล , สิ ่ ง เหล า นี้ คือ บิณ ฑบาต, และคนผู บ ริโ ภคบัณ ฑบาตนั ้น , ธาตุม ตฺต โก, เปน สัก วา ธาตุ ต าม ธ รรม ช าติ, นิส ฺส ตฺโ ต , มิไ ดเ ปน สัต วะ อัน ยั ่ง ยืน , นิช ฺช ีโ ว , มิไ ดเ ปน ชี ว ะอั น เป น บุ รุ ษ บุ ค คล, สุ ฺ โ , ว า งเปล า จากความหมายแห ง ความเป น ตั ว ตน, สพฺโ พ ปนายํ ปณ ฺฑ ปาโต อชิค ุจ ฺฉ นิโ ย, ก็บ ิณ ฑบาตทั ้ง หมดนี ้ ไมเ ปน ของนาเกลียดมาแตเดิม, อิมํ ปูติกายํ ปตฺวา, ครั้นมาถูกเขากับกาย
www.buddhadasa.info
๑
(บทสวดมนตแปล สําหรับพิจารณาตามที่อางถึงในหนังสือเลมนี้ หนา ๕๑ เปนตน) ๔๔๙
๔๕๐
ปรมัตถสภาวธรรม
อั น เน าอยู เป น นิ จนี้ แล ว, อติ วิ ย ชิ คุ จฺ ฉ นิ โย ชายติ . ย อ มกลายเป น ของ นาเกลียดอยางยิ่งไปดวยกัน. (ขอ วา ดว ยเสนาสนะ), ยถาปจฺจ ยํ ปวตฺต มานํ ธาตุม ตฺต เมเวตํ, สิ่ ง เหล า นี้ นี่ เป น สั ก ว า ธาตุ ต ามธรรมชาติ เท า นั้ น , กํ า ลั ง เป น ไปตามเหตุ ต ามป จ จั ย อยู เ นือ งนิจ , ย ท ิท ํ เส น าส น ํ, ต ท ุป ภ ุ ฺช โก จ ป ุค ฺค โล , สิ ่ง เห ลา นี ้ คือ เสนาสนะ, และคนผู ใ ชส อยเสนาสนะนั ้น , ธาตุม ตฺต โก, เปน สัก วา ธาตุต าม ธรรมชาติ, นิส ฺส ตฺโ ต , มิไ ดเ ปน สัต วะอัน ยั ่ง ยืน , นิช ฺช ีโ ว, มิไ ดเ ปน ชีว ะอัน เป น บุ รุ ษ บุ ค คล, สุ ญ โญ, ว า งเปล า จากความหมายแห ง ความเป น ตั ว ตน, สพฺ พ านิ ป น อิม านิ เส น าส น านิ อ ชิค ุจ ฺฉ นิย านิ, ก็เ ส น าสน ะทั ้ง หม ดนี ้, ไมเ ปน ข อ ง น า เก ลี ย ด ม า แ ต เ ดิ ม , อิ ม ํ ปู ต ิ ก า ยํ ป ตฺ ว า , ค รั ้ น ม า ถู ก เข า กั บ ก า ย อัน เนา อยู เ ปน นิจ นี ้แ ลว , อติว ิย ชิค ุจ ฺฉ นิย านิ ชายนฺต ิ. ยอ มกลายเปน ของ นาเกลียดอยางยิ่งไปดวยกัน. (ขอ วา ดว ยคิล านเภ สัช ), ยถาปจฺจ ยํ ป วตฺต มานํ ธาตุม ตฺต เมเวตํ, สิ่ ง เหล า นี้ นี่ เป น สั ก ว า ธาตุ ต ามธรรมชาติ เท า นั้ น , กํ า ลั ง เป น ไปตามเหตุ ต ามป จ จั ย อ ยู เ นื อ ง นิ จ , ย ทิ ท ํ คิ ล า น ป จฺ จ ย เภ ส ชฺ ช ป ริ ก ฺ ข า โ ร , ต ทุ ป ภุ ฺ ช โ ก จ ปุค ฺค โล, สิ ่ง เหลา นี ้ คือ เภสัช บริข ารอัน เกื ้อ กูล แกก ารคนไข และคนผู บ ริโ ภค เภ สั ช บ ริ ข ารนั ้ น , ธ าตุ ม ตฺ ต โก , เป น สั ก ว า ธาตุ ต าม ธรรม ชาติ , นิ ส ฺ ส ตฺ โ ต , มิไ ดเ ปน สัต วะอัน ยั ่ง ยืน , นิช ฺช ีโ ว, มิไ ดเ ปน ชีว ะอัน เปน บุร ุษ บุค คล, สุ ฺโ , วา งเปลา จากความหมายแหง ความเปน ตัว ตน, สพฺโ พ ปนายํ คิล านปจฺจ ยเภสชฺช ปริก ฺข าโร อชิค ุจ ฺฉ นิโ ย, ก็ค ิล านเภสัช บริข ารทั ้ง หมดนี ้ ไมเ ปน ของ นา เกลีย ดม าแตเ ดิม , อิม ฺ ปูต ิก ายํ ป ตฺว า, ครั ้ง ถูก เขา กับ กาย อัน เนา อยู เปน นิจ นี ้แ ลว , อ ติว ิย ชิค ุจ ฺฉ นิโ ย ช าย ติ. ยอ ม ก ล าย เปน ขอ งนา เก ลีย ด อยางยิ่งไปดวยกัน.
www.buddhadasa.info
ตังขณิกปจจเวกขณปาฐะ (หตฺท มยํ ตงฺขณิกปจฺจเวกฺขณปาํ ภณาม เส) (ขอวาดวยจีวร), ปฏิสงฺขา โยนิโส จีวรํ ปฏิเสวามิ, เรายอม พิ จ ารณาโดยแยบคายแล ว นุ ง ห ม จี ว ร, ยาวเทว สี ต สฺ ส ปฏิ ฆ าตาย, เพียงเพื่อบําบัดความหนาว, อุณฺหสฺส ปฏิฆาตาย, เพื่อ บําบัดความรอ น, ฑํสมกสวาตาตปสิรึสปสมฺผสฺสานํ ปฏิฆาตาย, เพื่อบําบัดสัมผัสอันเกิดจาก เหลื อ บ ยุ ง ลม แดดและสั ต ว เ ลื้ อ ยคลานทั้ ง หลาย, ยาวเทว หิ ริ โ กป น ปฏิจฺฉาทนตฺถํ. และเพียงเพื่อปกปดอวัยวะ อันใหเกิดความละอาย. (ขอวาดวยบิณฑบาต), ปฏิสงฺขา โยนิโส ปณฺฆปาตํ ปฏิเสวามิ, เรายอมพิจารณาโดยแยบคายแลวฉันบิณฑบาต, เนว ทวาย, ไมใหเปนไปเพื่อ ความเพลิดเพลินสนุกสนาน, น มทาย, ไมใหเปนไปเพื่อความเมามัน เกิดกําลัง พลั ง ทางกาย, น มณฺ ฑ นาย, ไม ใ ห เ ป น ไปเพื่ อ ประดั บ , น วิ ภู ส นาย, ไมใหเปนไปเพื่อตกแตง , ยาวเทว อิมสฺส กายสฺส ิติยา, แตใหเปนไป เพียงเพื่อความตั้งอยูไดแหงกายนี้, ยาปนาย, เพื่อความเปนไปไดของอัตตภาพ, วิหึสุปรติยา, เพื่อความสิ้นไปแหงความลําบากทางกาย, พฺรหฺมจริยานุคฺคหาย, เพื่ออนุเคราะหแกการประพฤติพรหมจรรย, อิติ ปุราณฺจ เวทนํ ปฏิหงฺขามิ, ดวยการทําอยางนี้, เรายอมระงับเสียได ซึ่งทุกขเวทนาเกา คือความหิว, นวฺจ เวทนํ น อุ ปฺ ป าเทสฺ ส ามิ , และไม ทํา ทุ ก ขเวทนาใหม ให เ กิ ด ขึ้ น , ยาตฺ ร า จ เม ภวิ สฺ ส ติ อนวชฺ ช ตา จ ผาสุ วิ ห าโร จาติ . อนึ่ ง , ความ เปนไปโดยสะดวกแหงอัตตภาพนี้ดวย, ความเปนผูหาโทษมิไดดวย, และความ เปนอยูโดยผาสุกดวย, จักมีแกเรา, ดังนี้.
www.buddhadasa.info
๔๕๒
ปรมัตถสภาวธรรม
(ขอ วา ดว ยเสนาสนะ), ปฏิส งฺข า โยนิโ ส เสนาสนํ ปฏิเ สวานิ, เราย อมพิ จารณาโดยแยบคายแล วใช สอยเสนาสนาะ, ยาวเทว สี ต สฺ ส ปฏิ ฆ าตาย, เพีย งเพื ่อ บํ า บัด ความหนาว, อุณ ฺห สฺส ป ฏิฆ าตาย, เพื ่อ บํ า บัด ความรอ น, ฑํ ส มกสวาตาตปสิ รึ ส ปสมฺ ผ สฺ ส านํ ปฏิ ฆ าตาย, เพื่ อ บํ า บั ด สั ม ผั ส อั น เกิ ด จาก เหลือ บ ยุง ลม แดด และสัต วเ ลื ้อ ยคลานทั ้ง หลาย, ยาวเทว อุต ุป ริส ฺส ยวิ โ นทนํ ปฏิ ส ลฺ ล านารามตฺ ถํ . เพี ย งเพื่ อ บรรเท า อั น ตรายอั น จะพึ ง มี จ ากดิ น ฟ า อากาศ, และเพื่อความเปนผูยินดีอยูได ในที่หลีกเรนสําหรับภาวนา. (ขอ วา ดว ยคิล านเภสัช ), ปฏิส งฺข า โยนิโ ส คิล านปจฺจ ยเภสชฺช ปริก ฺข ารํ ปฏิเ สวามิ, เรายอ มพิจ ารณาโดยแยบคายแลว บริโ ภคเภสัช บริก ขาร อั น เกื ้ อ กู ล แ ก ค น ไข , ย าว เท ว อุ ป ฺ ป นฺ น านํ เว ยฺ ย าพ า นิ ก า นํ เว ท น า นํ ปฏิ ฆ าตาย, เพี ย งเพื่ อ บํ า บั ด ทุ ก เวทนาอั น บั ง เกิ ด ขึ้ น แล ว มี อ าพาธต า ง ๆ เป น มู ล , อพฺยาปชฺฌปรมตายาติ. เพื่อความเปนผูไมมีโรคเบียดเบียน เปนอยางยิ่ง, ดังนี้.
www.buddhadasa.info
ดีตปจจเวกขณปาฐะ (หนฺท มยํ อดีตปจฺจเวกฺขณปาํ ภณาม เส)
(ขอ วา ดว ยจีว ร), อชฺช มยา อปจฺจ เวกฺข ิต ฺว า ยํ จีว รํ ปริภ ุต ฺต ํ, จี ว รใด อั น เรานุ ง ห ม แล ว ไม ท ั น พิ จ ารณ า ในวั น นี ้ , ตํ ยาวเท ว สี ต สฺ ส ปฏิฆ าตาย, จีว รนั ้น เรานุ ง หม แลว เพีย งเพื ่อ บํ า บัด ความหนาว, อุณ ฺห สฺส ปฏิ ฆ าตาย, เพื ่ อ บํ า บั ด ความร อ น, ฑํ ส มกสวาตาตปสิ ร ึ ส ปสมฺ ผ สฺ ส านํ ปฏิฆ าตาย, เพื ่อ บํ า บัด สัม ผัส อัน เกิด จากเหลือ บ ยุง ลม แดด และสัต ว เลื ้ อ ยคลานทั ้ ง หลาย, ยาวเทว หิ ร ิ โ กป น ปฏิ จ ฺ ฉ าทนตฺ ถ ํ . และเพี ย งเพื ่ อ ปกปดอวัยวะ อันใหเกิดความละอาย. (ขอวาดวยบิณฑบาต), อชฺช มยา อปจฺจเวกฺขิตฺวา โย ปณฺฑปาโต ป ริ ภ ุ ต ฺ โ ต , บิ ณ ฑ บ าต ใด อั น เราฉั น แ ล ว ไม ท ั น พิ จ า รณ า ใน วั น นี ้ ; โส เนว ทวาย, บิณ ฑบาตนั ้น เราฉัน แลว ไมใ ชเ ปน ไปเพื ่อ ความเพลิด เพลิน สนุก สนาน, น มทาย, ไมใ ชเ ปน ไปเพื ่อ ความเมามัน เกิด กํ า ลัง พลัง ทางกาย, น มณฺฑ นาย, ไมใ ชเ ปน ไปเพื ่อ ประดับ , น วิภ ูส นาย, ไมใ ชเ ปน ไปเพื ่อ ตกแต ง , ยาวเทว อิ ม สฺ ส กายสฺ ส ต ิ ย า, แต ใ ห เ ป น ไปเพี ย งเพื ่ อ ความ ตั ้ง อยู ไ ดแ หง กายนี ้, ยาปนาย, เพื ่อ ความเปน ไปไดข องอัต ตภาพ , วิห ึส ุปรติย า, เพื ่อ ความสิ ้น ไปแหง ความลํ า บากทางกาย, พฺร หฺม จริย านุค ฺค หาย, เพื ่อ อนุเ คราะหแ กก ารประพฤติพ รหมจรรจ, อิต ิ ปุร าณฺจ เวทนํ ปฏิห งฺขามิ, ดว ยการทํ า อยา งนี ้, เรายอ มระงับ เสีย ไดซึ ่ง ทุก ขเวทนาเกา คือ ความหิว , นวฺจ เวทนํ น อุปฺปาเทสฺสามิ, และไมทําทุกขเวทนาใหมใหเกิดขึ้น,
www.buddhadasa.info
๔๕๓
๔๕๔
ปรมัตถสภาวธรรม
ยาตฺร า จ เม ภวิส ฺส ติ อนวชฺช ตา จ ผาสุว ิห าโร จาติ. อนึ ่ง , ความเปน ไป โดยสะดวกแห ง อั ต ตภาพนี้ ด ว ย, ความเป น ผู ห าโทษมิ ไ ด ด ว ย, และความเป น อยู โดยผาสุกดวย, จักมีแกเรา, ดังนี้. (ขอ วา ดว ยเสนาสนะ), อชฺช มยา อปจฺจ เวกฺข ิต ฺว า ยํ เสนาสนํ ป ริ ภ ุ ต ฺ ต ํ , เส น า ส น ะ ใด อั น เรา ใช ส อ ย แ ล ว ไม ท ั น พิ จ า รณ า ใน วั น นี ้ , ตํ ย า ว เท ว สีต สฺส ป ฏิฆ า ต า ย , เส น า ส น ะ นั ้น เรา ใชส อ ย แ ลว เพีย ง เพือ บํ า บัด ความหนาว, อุณ ฺห สฺส ป ฏิฆ าต าย, เพื ่อ บํ า บัด ความรอ น, ฑํส ม กสวาตาตปสิร ึส ปสมฺผ สฺส านํ ปฏิฆ าตาย, เพื ่อ บํ า บัด สัม ผัส อัน เกิด จาก เหลือ บ ยุง ลม แดด และสัต วเ ลื ้อ ยคลานทั ้ง หลาย, ยาวเท ว อุต ุป ริส ฺส ยวิโ น ท นํ ปฏิส ลฺล านารามตฺถ ํ. เพีย งเพื ่อ บรรเทาอัน ตรายอัน จะพึง มีจ ากดิน ฟา อากาศ, และเพื่อความเปนผูยินดีอยูได ในที่หลีกเรนสําหรับภาวนา. (ข อ ว า ด ว ยคิ ล านเภสั ช ), อชฺ ช มยา อปจฺ จ เวกฺ ขิ ตฺ ว า โย คิ ล านป จฺ จ ย เภ ส ชฺ ช ป ริ ก ฺ ข าโร ป ริ ภ ุ ต ฺ โ ต , คิ ล าน เภ สั ช บ ริ ข ารใด อั น เราบริ โ ภ ค แลว ไมท ัน พิจ ารณ า ในวัน นี ้, โส ยาวเทว อุป ฺป นฺน านํ เวยฺย าพาธิก านํ เว ท น าน ํ ป ฏิฆ าต าย . คิล าน เภ สัช บ ริข ารนั ้น เราบ ริโ ภ ค แ ลว เพีย งเพื ่อ บํ า บัด ทุก ขเวทนาอัน บัง เกิด ขึ ้น แลว มีอ าพาธตา ง ๆ เปน มูล , อพฺย าป ชฺฌ ปรมตายาติ. เพื่อความเปนผูไมมีโรคเบียดเบียน เปนอยางยิ่ง, ดังนี้.
www.buddhadasa.info
บทสวดมนตแปล ธัมมปหังสนปาฐะ (ตามที่ไดบอกไวในหนังสือเลมนี้ หนา ๑๖๒) (หนฺท มยํ ธมฺมปหํสนสมาทปนาทิวจนปาํ ภณาม เส).
เอวํ สฺว ากฺข าโต ภิก ฺข เว มยา ธมฺโ ม, ดูก อ นภิก ษุทั ้ง หลาย! ธ รรม , เป น ธ รรม อั น เราก ล า วดี แ ล ว อ ย า งนี ้ , อุ ต ฺ ต าโน , เป น ธ รรม อั น ทํ า ใหเ ปน ดุจ ของคว่ํ า ที ่ห งายแลว , วิว โฏ, เปน ธรรมอัน ทํ า ใหเ ปน ดุจ ของปด ที ่ เ ป ด แ ล ว , ป ก า สิ โ ต , เป น ธ ร ร ม อั น เ ร า ต ถ า ค ต ป ร ะ ก า ศ ก อ ง แ ล ว , ฉิน ฺน ปโ ลติโ ก, เปน ธรรมมีส ว นขี ้ริ ้ว อัน เราตถาคตเฉือ นออกหมดสิ ้น แลว , เอวํ สฺว ากฺข าเต โข ภิก ฺข เว มยา ธมฺเ ม, ดูก อ นภิก ษุทั ้ง หลาย! เมื ่อ ธรรมนี ้, เปน ธรรมอัน เรากลา วดีแ ลว อยา งนี ้, ฯลฯ อลํ เอว, ยอ มเปน การสมควรแล ว นั่ น เที ย ว, สทฺ ธ าปพฺ พ ชิ เ ตน กุ ล ปุ ตฺ เ ตน วิ ริ ยํ อารภิ ตุ , ที ่ก ุล บุต รผู บ วชแลว ดว ยสัท ธา, จึง พึง ปรารภการกระทํ า ความเพีย ร, กามํ ตโจ จ นหารุ จ อฏิ จ อวสิส ฺส ตุ, ดว ยการอธิษ ฐานจิต วา , แมห นัง เ อ็ น ก ร ะ ดู ก เ ท า นั ้ น , จั ก เ ห ลื อ อ ยู , ส รี เ ร อุ ป สุ ส ฺ ส ตุ มํ ส โ ล หิ ต ํ , เนื ้อ และเลือ ดในสรีระนี ้ จัก เหือ ดแหงไป, ก็ต ามที, ยนฺต ํ ปุริส ถาเมน ปุริส วิริเยน ปุ ริ ส ปรกฺ ก เมน ปตฺ ต พฺ พํ , ประโยชน ใด, อั น บุ ค คลจะพึ งลุ ถึ งได ด วยกํ า ลั ง ด ว ยความเพี ย ร ความบากบั ่ น ของบุ รุ ษ , น ตํ อปาปุ ณ ิ ต ฺ ว า ปุ ร ิ ส สฺ ส วิ ร ิ ย สฺ ส ส ณฺ า นํ ภ วิ ส ฺ ส ตี - ติ , ถ า ยั ง ไ ม บ ร ร ลุ ป ร ะ โ ย ช น นั ้ น แ ล ว , จักหยุดความเพียรของบุรุษเสีย, เปนไมมี, ดังนี้.
www.buddhadasa.info ทุ ก ฺ ข ํ ภิ ก ฺ ข เว กุ ส ี โ ต วิ ห ร ติ , ดู ก อ น ภิ ก ษุ ทั ้ ง ห ล า ย ! ค น ผู เกียจคราน ยอมอยูเปนทุกข, โวกิณฺโณ ปาปเกหิ อกุสเลหิ ธมฺเมหิ,
๔๕๕
๔๕๖
ปรมัตถสภาวธรรม
ระคนอยู ด วยอกุ ศ ลธรรมอั น ลามกทั้ งหลาย ด วย, มหนฺ ต ฺ จ สทตฺ ถํ ปริห าเปติ , ยอ มทํ า ประโยชนอ ัน ใหญห ลวงของตนใหเ สื ่อ ม ดว ย, อารทฺธ วิร ิโ ย จ โข ภิกฺ ข เว สุ ขํ วิ ห รติ , ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! บุ ค คลผู มี ค วามเพี ย รอั น ปรารภแล ว ย อ ม อยู เ ป น สุ ข , ป วิ ว ิ ต ฺ โ ต ป าป เก หิ อ กุ ส เล หิ ธมฺ เ ม หิ , ส งั ด แล ว จาก อกุ ศ ลธรรมอั น ลามกทั้ ง หลายด ว ย, มหนฺ ต ฺ จ สทตฺ ถํ ปริ ปู เ รติ , ย อ มทํ า ประโยชนอ ัน ใหญห ลวงของตนใหบ ริบ ูร ณ ดว ย, น ภิก ฺข เว หีเ นน อคฺค สฺส ปตฺต ิ โหติ, ดูก อ นภิก ษุทั ้ง หลาย! การบ รรลุธ รรมอัน เลิศ ดว ยการกระทํ า อั น เลว ย อ มมี ไ ม ไ ด เ ลย; อ คฺ เ คน จ โข อ คฺ ค สฺ ส ป ตฺ ต ิ โห ติ , แต ก าร บรรลุธรรมอันเลิศ, ยอมมีได แล. ม ณฺ ฑ เป ยฺ ย มิ ทํ ภิ กฺ ข เว พฺ รหฺ ม จ ริ ยํ , ดู ก อ น ภิ ก ษุ ทั้ งห ล าย ! พรหมจรรยนี ้, นา ดื ่ม , เหมือ นมัน ฑะยอดโอชาแหง โค รส; สตฺถ า สมฺม ุข ีภ ูโ ต, ทั้ ง พระศาสดา ก็ อ ยู ณ ที่ เฉพาะหน า นี้ แ ล ว . ตสฺ ม าติ ห ภิ กฺ ข เว วิ ริ ยํ อารภถ, ดูก อ นภิก ษุทั ้ง หลาย! เพราะฉะนั ้น , เธอทั ้ง หลาย จงปรารภความเพีย รเถิด , อปฺ ป ตฺ ต สฺ ส ปตฺ ติ ย า, เพื่ อ การบรรลุ ถึ ง ซึ่ ง ธรรม อั น ยั ง ไม บ รรลุ , อนธิ ค ตสฺ ส อธิค มาย, เพื ่อ การถึง ทับ ซึ ่ง ธรรม อัน ยัง ไมถ ึง ทับ , อสจฺฉ ิก ตสฺส สจฺฉ ิก ิร ิย าย, เพื ่อ การทํ า ใหแ จง ซึ ่ง ธรรม อัน ยัง ไมไ ดทํ า ใหแ จง , เอ วํ โน อ ยํ อ มฺห ากํ ปพฺพ ชฺช า, เมื ่อ เปน อยา งนี ้, บรรพชานี ้ข องเราทั ้ง หลาย, อวํก ตา อวฺฌ า ภ วิ ส ฺ ส ติ , แ ต จ ั ก เป น บ รรพ ช าไม ต่ํ า ท ราม , จั ก ไม เ ป น ห มั น เป ล า , ส ผ ล า ส อุ ท ฺ ร ย า , แ ต จ ั ก เป น บ รรพ ช าที ่ ม ี ผ ล , เป น บ รรพ ช า ที ่ ม ี กํ า ไร, เย สํ ม ยํ ปริภ ุญ ชาม, จีว รปณ ฺฑ ปาตเสนาสนคิล านปจฺจ ยเภสชฺช ปริก ฺข ารํ, พวกเรา ทั ้ง หลาย, บริโ ภ คจีว ร บิณ ฑ บาต เสนาสนะ และเภสัช , ของชนทั ้ง หลาย เห ล า ใด ; เต สํ เต ก าร า อ มฺ เ ห สุ , ก า รก ระ ทํ า นั ้ น ๆ ข อ งช น ทั ้ ง ห ล า ย
www.buddhadasa.info
๔๕๗
เหลา นั ้น ในเราทั ้ง หลาย, มหปฺผ ลา ภวิส ฺส นฺต ิ มหานิส ํส า-ติ. จัก เปน การกระทํ า มี ผ ลใหญ , มี อ านิ ส งส ใหญ , ดั ง นี้ . เอวํ หิ โว ภิ กฺ ข เว สิ กฺ ขิ ต พฺ พํ , ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เธอทั้งหลาย พึงทําความสําเหนียก อยางนี้แล. อตฺต ตฺถ ํ วา หิ ภิก ฺข เว สมฺป สฺส มาเนน, ดูก อ นภิก ษุทั ้ง หลาย! เมื ่อ บุค คลมองเห็น อยู ซึ ่ง ประโยชนแ หง ตน ก็ต าม, อลเมว อปฺป มาเทน สมฺป าเทตุ , ก็ค วรแลว นั ่น เทีย ว, เพื ่อ ยัง ประโยชนแ หง ตนใหถ ึง พรอ ม, ดว ย ความไม ป ระมาท, ปรตฺ ถ ํ วา หิ ภิ ก ฺ ข เว สมฺ ป สฺ ส มาเนน, ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! เมื่ อ บุ ค คลมองเห็ น อยู ซึ่ ง ประโยชน แ ห ง ชนเหล า อื่ น ก็ ต าม, อลเมว อปฺป มาเทน สมฺป าเทตุ , ก็ค วรแลว นั ่น เทีย ว, เพื ่อ ยัง ประโยชนแ หง ชนเหลา อื่น ให ถึ งพรอ ม, ด วยความไม ป ระมาท, อุ ภ ยตฺ ถํ วา หิ ภิ กฺ ข เว สมฺ ป สฺ ส มาเนน, ดู ก อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! หรือ ว า , เมื่ อ บุ ค คลมองเห็ น อยู ซึ่ ง ประโยชน ข องทั้ งสองฝ า ย ก็ต าม , อ ล เม ว อ ปฺป ม าเท น ส มฺป าเท ตุ , ก็ค วรแลว นั ่น เทีย ว, เพื ่อ ยัง ประโยชนของทั้งสองฝายนั้นใหถึงพรอม, ดวยความไมประมาท, อิติ. ดังนี้แล.
www.buddhadasa.info -(บาลี ทุติยสูตร ทสพลวรรค นิทานสํ ทาน. สํ. ๑๖/๓๔/๖๖.