VPAT News May 2016

Page 1



Instruction to author สอบถามกันมาหลายทานถึงขอกำหนดและขอบเขตของบทความ เพือ่ ตีพมิ พในวารสารสัตวแพทยผปู ระกอบการบำบัดโรคสัตว ในฉบับนี้ VPAT News จึงไดนำแนวทางสำหรับผูที่สนใจสงบทความวิชาการ เพื่อตีพิมพใน วารสารสัตวแพทยผูประกอบการบำบัดโรคสัตว หากสัตวแพทยทานใดสนใจ สามารถอานรายละเอียดเพิ่มเติมไดจาก VPAT ฉบับนี้ วารสารสัตวแพทยผูประกอบการบำบัดโรคสัตว มีวัตถุประสงคเพื่อเผย แพรบทความทาง วิชาการทางสัตวแพทย สัตวบาล และวิทยาศาสตรสาขา สุขภาพสัตวทุกสาขาที่เกี่ยวกับสัตวเลี้ยง (companion animals) สัตวปา (wildlife) และสัตวเลีย้ งพิเศษ (exotic animals) ทีท่ ำทัง้ ในประเทศและ ตางประเทศ หรือสวนของวิทยานิพนธ ในกรณีที่การศึกษานั้นมีการปฏิบัติอันสงใหเกิดความ ทรมานอยางรุนแรงตอสัตวเลี้ยง กองบรรณาธิการจะรับพิจารณาบทความใน โครงการวิจัยที่ผานการรับรองโดยกรรมการพิจารณาวาดวยจรรยาบรรณการ ใช สัตวในแตละสถาบันแลวเทานั้น บทความ แบงเปนประเภทตางๆ ดังนี้ี 1. บทความวิจัย (original article) เปนงานคนควาวิจัยที่มีขอสรุป ที่ไดจากวิธี การปฏิบัติตามขั้นตอนทางดานวิทยาศาสตรโดยมีเอกสารอางอิง หรือเปนวิธี การใหมที่พิสูจนไดทางวิทยาศาสตร ซึ่งนำไปสูขอสรุป มีการระบุวัตถุประสงค การศึกษาที่ชัดเจน สอดคลองกับสมมติฐานและชื่อเรื่องโดยไดจัดรูปแบบของ บทความ ตามขอแนะนำสำหรับผูเขียนอยางเครงครัด 2. รายงานสัตวปวย (case report) เปนบทความที่เกี่ยวของกับกรณีสัตวปวย ที่นาสนใจ โดยใชกระบวนการพิสูจนและวินิจฉัยที่ไดรับการยอมรับ หรือเปน กรณีพบไมบอย หรือไมเคยปรากฏในประเทศไทย ในกรณีที่นำเสนอสามารถ ใหขอ แนะนำและขอสังเกตทีเ่ ปนประโยชนตอ สัตวแพทยทว่ั ไป ซึง่ สามารถนำไป ใชในทางปฏิบัติได 3. บทความปริทัศน (review article) เปนบทความไดจากการเรียบเรียงจาก เอกสารวิชาการหลายแหลง รวมกับงานที่ผูเขียนเคยไดรับการตีพิมพ ผานการ วิเคราะหเพื่อสามารถสื่อใหผูอานไดมีแนวคิดที่กวางขวางขึ้น เปนขอมูลที่รวม สมัยหรือทันสมัย 4. บทความเพื่อการเรียนรู (tutorial article) เปนบทความที่ไดจากงานแปล เอกสารตางประเทศมากกวา 50% อาจรวมกับแนวคิดรวมของผูเขียน โดย

ผูเขียนอาจมีหรือไมเคยมีงานศึกษาคนควาที่เกี่ยวของกับบทความก็ได 5. ปกิณกคดี (miscellaneous writing) เปนบทความทั่วไปที่ไดจากขอสรุปงาน ประชุมหรือสัมมนาวิชาการที่ตองการเผยแพร การตอบคำถามเชิงวิชาการของ ผูทรงคุณวุฒิทั้งในประเทศ และตางประเทศ 6. ขาวสัตวแพทย สัตวบาล และวิทยาศาสตรสาขาสุขภาพสัตวทุกสาขาทั้ง ในประเทศและตางประเทศ 7. ขาวประชาสัมพันธ เปนสวนบริการแจงใหสมาชิกทราบกำหนดการตางๆ ของ งานสัมมนา หรือประชุมวิชาการ สิทธิประโยชน และเรือ่ งอืน่ ๆ ตามความเหมาะสม 8. คำถาม-คำตอบ สำหรับการศึกษาตอเนื่อง (CE) รวมทั้งจดหมายถึงกอง บรรณาธิการ 9. เรื่องอื่นๆ โดยผานการกลั่นกรองจากกองบรรณาธิการ

¡ÒÃàµÃÕÂÁµŒ¹©ºÑºº·¤ÇÒÁÇÔªÒ¡Òà 1. ตนฉบับที่ตองการตีพิมพในวารสารสัตวแพทยผูประกอบการบำบัดโรคสัตว ไมควรเปน เรื่องที่กำลังอยูในพิจารณาเพื่อลงพิมพในหนังสือหรือวารสารอื่น 2. ตนฉบับควรเปนตัวพิมพจริงที่ไมใชสำเนาโดยอาจเปนทั้งภาษาไทยหรือ ภาษาอังกฤษ เพือ่ ความสะดวกในการจัดพิมพ ควรพิมพดว ยเครือ่ งคอมพิวเตอร โดยใชโปรแกรม Microsoft Word for Windows รุนไมตากวา 2003 สำหรับ บทความภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ใชอักษร Angsana New ขนาดตัวอักษร ขนาด 16 ตัวตอนิ้ว เวนระยะความหางระหวางบรรทัด 1.5 ชวง ยาวไมเกิน 35 บรรทัด ตอหนา พรอมตั้งเลขบรรทัดซึ่งมีเลขสิ้นสุดหนาตอหนา โดยเรื่องเต็ม แตละเรื่องรวมตาราง และรูปภาพ ไมเกิน 15 หนากระดาษ A4 เนื้อเรื่องการ พิมพหนาเดียว พรอมเลขหนากำกับทางมุมขวาบน และระบุหมายเลขกำกับ บรรทัด สามารถ download ตัวอยางตนฉบับไดที่ http://www.vpathai.org/in dex.php?mo=10&art=214954 3. การลำดับเรื่องควรเรียงดังนี้ 3.1 บทคัดยอ 3.1.1 ชื่อเรื่องชื่อผูเขียนและสถานที่ติดตอของผูแตงทุกคนโดยละเอียดมี บทคัดยอภาษาเดียวกันกับเนื้อเรื่อง ควรระบุสถานที่ติดตอของผูรับผิดชอบไว


ในหมายเหตุและกำกับดวยเครือ่ งหมาย # (โปรดดูตวั อยางจากวารสารฉบับลาสุด) 3.1.2 บทคัดยอควรแยกจากเนื้อหา เขียนใหไดใจความครอบคลุมเนื้อหา เพราะมีความยาวไมเกิน 250 คำใน 1 หนา A4 ควรจะระบุคำสำคัญไมเกิน 5 คำ ลงในบทคัดยอ 3.1.3 ชื่อวิทยาศาสตรและคำทับศัพท ใหเขียนเปนภาษาไทย และมีภาษา อังกฤษไวในวงเล็บ ในประโยคแรกที่กลาวถึง และเลือกใชคำภาษาใดภาษา หนึ่งทั้งเอกสาร 3.2 บทนำ (Introduction) ประกอบดวย การตรวจเอกสาร (literature review) ความเปนมา มูลเหตุจูงใจและจุดประสงค (Objective) ของบทความ โดยมี เนื้อหาไมควรเกินกวา 1 หนา A4 3.3 วัสดุและวิธีการ (Materials & Methods) 3.3.1 ในกรณีที่ใชวิธีการที่ไดรับการยอมรับและมีเอกสารตีพิมพ ระบุแหลง อางอิงทางเอกสาร 3.3.2 วัสดุและสารเคมีใหเขียนในลักษณะการอางอิงชื่อการคาหรือ เครื่อง หมายการคา หากเปนการคิดคนวิธีใหมหรือปรับปรุงประยุกตวิธีการเดิม ควร อธิบายอยางละเอียด 3.3.3 ใชอกั ษรตัวหนา (bold) เพือ่ ระบุแตละหัวขอหลักโดยหางจากเสนกัน้ หนา 1 tab และใชตัวเอียง (italic) เพื่อระบุหัวขอยอย โดยหางจากเสนกั้นหนา 2 tab 3.4 ผล (Results) บรรยายผลอยางละเอียดและเขาใจงาย ไมควรแสดงผลที่ เหมือนกับในตาราง รูปภาพ หรือกราฟ 3.4.1 รูปภาพ (Figures) เปนภาพถายสี ขาวดำ และภาพถายจากคอมพิวเตอร ทีช่ ดั เจน ขนาดใหญเหมาะกับหนากระดาษของวารสาร คำอธิบายภาพ (legend of figure) อยูที่ตาแหนงใตภาพ มีความกระชับและชัดเจน รวมถึงอธิบาย สั ญ ลั ก ษณ ป ระกอบภายในภาพที ่ เ หมาะสมภาพที ่ ไ ด จ ากกล อ งดิ จ ิ ต อล สามารถนำมาปรับเพื่อความคมชัด และตัดขอบเขตของ ภาพตามความเหมาะ สม แตตอ งไมผา นการตัดตอเพือ่ เพิม่ วัตถุหรือตัดสวนประกอบภายในภาพถายออก 3.4.2 ตาราง (Table) ไมควรใชเสนขอบขางซายและขวา (left and right border) หรืออาจใชไดตามที่จำเปนเทานั้น คำอธิบายตาราง (legend of table) ตองอยู เหนือตาราง และสื่อไดชัดเจน 3.4.3 ลายเสน (Line drawings) ใชเพือ่ ระบุโครงสรางเพือ่ การอธิบายใหงา ยขึน้ ควรใชดินสอความเขมมากกวา 2B หรือ indian ink เขียนบนกระดาษอารต สีขาว ในกรณีที่วาดบนกระดาน อิเล็กทรอนิกสใหแสดงโครงสรางและ สัญลักษณที่ชัดเจน ที่สามารถเชื่อมโยงกบผลการทดลองอื่นๆ ไดอยางเหมาะสม คำอธิบายภาพปฏิบัติเชนเดียวกับรูปภาพ 3.5 วิจารณและสรุป (Discussions and conclusion) อาจเขียนบทสรุปรวมกับ วิจารณ หรือ แยกกันก็ได ควรมีการประเมินเปรียบเทียบกับขอมูลของผูอื่นที่ ไดรายงานหรือตีพิมพแลว อาจใชตารางเปรียบเทียบ ไมควรบรรยายซ้ำผลการ ทดลอง ควรทำการแปลที่ไดจากการทดลอง ความนาจะเปนของเหตุผลตางๆที่ เกีย่ วของกับผลการทดลอง แนวคิดในการประยุกตใชทเ่ี ปนประโยชนตอ วิชาชีพ แนวคิดในการศึกษาขั้นตอไป และเนนขอสรุปที่ไดจากการศึกษา

Flea Larvae

Lice Fleas Ticks

Fleas

Flea Larvae

3.7 กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgements) ระบุหนวยงานและบุคคลที่ เกี่ยวของที่มีสวนให การศึกษาสาเร็จ อาจมีหรือไมก็ได 3.8 เอกสารอางอิง (References) 3.8.1 ควรขึ้นตนดวยเอกสาร อางอิงภาษาไทยกอน แลวตามดวยภาษาอังกฤษ 3.8.2 เรียงลำดับตามพยัญชนะของผูเขียน แลวตามดวยป ชื่อเรื่อง ชื่อหนังสือ หรือชื่อยอ วารสาร ปที่ ฉบับที่ และหนาที่อางอิง 3.8.3 ในกรณีที่อางอิงตำรา ใหระบุชื่อสกุล ชื่อยอของผูแตง (ถาเปนภาษาไทย ชื่อตัวนำหนา และตามดวยชื่อสกุล) ปที่พิมพ ชื่อเรื่อง ชื่อตำรา พิมพครั้งที่ เมืองที่พิมพ สำนักพิมพ หนาที่ อางถึง 3.8.4 ในกรณีที่อางจากเว็ปไซต (Electronic information) ชื่อผูเขียนชื่อเรื่องป และ http:// 3.8.5 ตัวอยางอางอิงทายเลม เชน Phonsuwan, A., Kiatipattanasakul, W., Kongchanpart, C., Sopsinsunthorn, S. and Prompakdee, J. 2000. Disseminative form of transmissible venereal granuloma in a puppy: a case report. J Thai Vet Pract. 12 (3-4): 31-39. Boothe, D.M. 2001. Control of pain in small animals. In: Small animal clinical pharmacology and therapeutics. J.E. Maddison and D.M. Boothe (ed.) London: W.B. Saunders. 271-292. The Veterinary Practitioner Association of Thailand. 2002. “Feline infectious peritonitis: update” [Online]. Available: http://www.vpat.org 3.8.6 ขอควรระวังใหสงั เกตและปฏิบตั ติ ามตัวอยางขางบนในการเวนวรรคตอน จุดทศนิยม จุลภาค ทวิภาค ( : ) อัฒภาค ( ; ) และการเขียนเลขหนา 3.8.8 การอางอิงในเรื่อง ควรอางชื่อและวงเล็บ ปที่พิมพ เรียงตามอักษรของ ชื่อผูแตง หรือ อางชื่อพรอa1 มกับปอยูในวงเล็บในกรณีที่อางชื่อผูเขีb2 ยนเปนประ ธานของประโยค ในกรณีที่ผูเขียน 2 คน ใช “และ” หรือในภาษาอังกฤษใช “and” เปนคำเชื่อม ถามีผูแตงมากกวา 3 คนขึ้นไป ใหเขียนชื่อผูเขียนคนแรก ตามดวย “และคณะ” สวนในภาษาอังกฤษ ใช “et al.” ตามดวยปที่ตีพิมพ เชนกันตัวอยาง เชน “Aedes albopictus นั้น พบวาเปน primary vector ของ endemic dengue fever ในแถบเอเชีย (Smith et al., 1956)” หรือ “Smith et al. (1981) พบวา Aedes albopictus เปน primary vector ของ endemic dengue fever ในแถบเอเชีย” ในกรณีที่มีการอางมากกวา 1 เอกสารอางอิง ใหคั่นดวยเครื่องหมาย ; เชน (Lane et al., 1995; Smith c3 et al., 1996) d4 ในการนี้ผูเขียนสามารถ download style ของการเขียนเอกสารอ างอิงดวย โปรแกรม Endnote ไดท่ี http://www.vpathai.org/index.php?mo=10&art=214954 ชื่อไฟล“JTVP2010.ens”


กรณีศกึ ษามีรปู แบบการเขียนทีค่ ลายกับบทความ ซึง่ ตองประกอบดวย ชือ่ เรือ่ ง บทคัดยอ (ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ) บทนำ และเอกสารอางอิง แต มีโครงสรางที่แตกตางในบางจุดดังนี้ 1. ประวัตสิ ตั วปว ย (Case history) ระบุประวัตขิ องสัตวปว ยโดยละเอียด วิธกี าร ตรวจวินิจฉัย เชน ผลภาพฉายจากเครื่อง x-ray หรือ ultrasound ผลเลือด ผล ตรวจทางจุลพยาธิวทิ ยา ผลการแยกเชือ้ และความไวรับ ผลตรวจทางอนูชวี วิทยา รายละเอียดของการรักษาประกอบดวยขนาดยา ระยะเวลาการให วิธีการผาตัด ผลการผาซากและระบุรอยโรคที่ชัดเจน ตลอดจนรับรองวาไดยืนยันวาขอมูลทั้ง หมดไดรับความยินยอมจากเจาของสัตว หรือนักวิทยาศาสตรและสัตวแพทย ที่ เกี่ยวของผูเปนเจาของกรรมสิทธิ์แลว 2. วิจารณ (Discussion) ระบุงานวิจัยและกรณีศึกษาที่เกี่ยวของ วิเคราะห ผลการตรวจวินิจฉัย รูปแบบการรักษา การเปลี่ยนแปลงภายหลังการรักษา ปจจัยตางๆ ที่มีสวนเกี่ยวของ ขอแนะนำ และขอสังเกตจากการรักษา 3. สรุป อาจมีหรือไมมีก็ไดตามความเหมาะสมของขอมูลการสงตนฉบับ 1. สงตนฉบับเปน file .doc .docx หรือ .pdf พรอมกับจดหมายยืนยัน วาเรื่องที่สงมาไมไดรับการตีพิมพ หรืออยูในระหวางรอการตีพิมพจากวารสาร อื่น (cover letter) ในจดหมายควรระบุที่อยูที่จะติดตอกลับ พรอมเบอรโทร ศัพท โทรสาร หรือ อีเมล โดยสงมาที่ VPATJOURNAL@gmail.com โดยแนบ เอกสารขางตนอยางครบถวน พรอมทั้งตรวจสอบรูปแบบของการเขียนใหตรง กับขอแนะนำ เพื่อความรวดเร็วของการพิจารณา 2. กองบรรณาธิการจะมีจดหมายแจงใหทราบหมายเลขบทความ เมื่อ ไดรับเรื่องและเมื่อผาน การพิจารณาเบื้องตน ทางกองบรรณาธิการจะดำเนิน การสงตอใหผูตรวจตอไป 3. ผลการพิจารณาถือเปนคำชี้ขาดในการตัดสินของบทความนั้น

¡ÒõÃǨᡌ䢵Œ¹©ºÑºáÅСÒõվÔÁ¾ 1. หลังจากไดรบั การพิจารณาโดยผูท รงคุณวุฒกิ องบรรณาธิการจะทำการประ มวลและตัดสินเรื่องที่ไดผานการตรวจสอบและแกไข ทางกองบรรณาธิการ จะ สงจดหมายพรอมสำเนา 1 ชุด คืน ใหแกไข ผูสงเรื่องควรทำการแกไขตามที่ ไดรับการเสนอแนะใหเสร็จภายในเวลาที่กำหนด และสง แผนเก็บขอมูล อิเล็กทรอนิกสทม่ี ไี ฟลทแ่ี กไข พรอมสำเนา 1 ชุด และชุดคำถามเลือกตอบจำนวน 5 ขอ 4 ตัวเลือก พรอมเฉลย กลับมายังกองบรรณาธิการวารสารเพื่อดำเนินการ ตอไป 2. เรื่องที่ไดรับการลงพิมพจะเปนลิขสิทธิ์ของสมาคมสัตวแพทยผูประกอบการ บำบัดโรคสัตวแหงประเทศไทย แตความเห็นทีไ่ ดลงพิมพเปนความเห็นของผูเ ขียน ไมใชความเห็นของกองบรรณาธิการวารสารสัตวแพทยผูประกอบการ บำบัด โรคสัตวแหงประเทศไทย 3. บทความที่ไดตีพิมพเปนลิขสิทธิ์ของสมาคมสัตวแพทยผูประกอบการบำบัด โรคสัตวแหงประเทศไทย

¤‹ÒàÃ×èͧ (Page charge) 1. ในกรณีที่ไมเกิน 15 หนา ไมมีคาเรื่อง และภาพสีไมเกิน 1 หนา (การลงภาพ สีเปน ดุลพินิจของกองบรรณาธิการ) 2. ในกรณีที่ไมเกิน 15 หนาโดยประมาณของตนฉบับ หรือ 9 หนาของวารสาร จะไม คิดคาลงเรื่องที่ตีพิมพ (ไมรวมคำถาม CE) 3. ผูเขียนจะเปนผูรับผิดชอบคาพิมพในหนาที่เกินกำหนดขางตนในอัตราหนา ละ 500 บาท 4. ในกรณีที่ตองการตีพิมพภาพสีผูเขียนจะเปนผูรับผิดชอบคาพิมพในหนาสีใน อัตราหนาละ 2,000 บาท


Special Scoop

รับขาวสารและติดตอกับ VPAT ไดงายๆ หลากหลายชองทาง

สมาชิกสมาคมสามารถติดตอกับ VPAT ไดดวยชองทางใหมๆ งาย และสะดวกมากยิ่งขึ้น ไมวาจะเปน Line@, Facebook, Webinar และ VPAT News ฉบับ Online มาทําความรูจักกับชองทางเหลานี้เพิ่มเติม เพื่อใหเราได ใกลชิดกันยิ่งขึ้น ชองทางนองใหมจาก VPAT ผานทาง Line@ ที่จะชวยให VPAT สามารถสงขาวสาร และขอมูลไปยังสมาชิกไดรวดเร็วยิ่งขึ้น เพียง add Line : @VPAT สมาชิกทุกทานก็ จะไดรับขอมูลขาวสาร กิจกรรมตางๆ ไมวาจะเปน กิจกรรม CE VPAT ขาว Hot Isuue ที่มีประโยชนตอสัตวแพทย

Line@ 12:45 AM

และหากคุณหมอไมอยากพลาดขอมูล อัพเดตดานวิชาการจาก VPAT Sunday, Nov 7

วิธีที่ 1 โดยการสแกน QR code • เปด Application Line • กดเพิ่มเพื่อนที่ icon ดานขวาบน • เลือก QR code • สแกนที่ Code

Facebook

วิธีที่ 2 โดยการ add ดวย ID • เปด Application Line • กดเพิ่มเพื่อนที่ icon ดานขวาบน • เลือก ID/Phone no. • พิมพ ID : @vpat

ชองทางสุดฮิตที่สมาชิกจะไดรับขอมูลขาวสาร และบรรยากาศกิจกรรม ที่ VPAT และชมรมตางๆ จัดขึ้นตลอดทั้งป ไมวาจะเปนกิจกรรมทางดานวิชาการ หรือกิจกรรม ที่ชวยพัฒนางานทางดานสัตวแพทย ใหมีความแข็งแกรงมากยิ่งขึ้น ติดตามกันไดแลวที่ Fecebook : CE Vpat และ VPAT (public group)

วิธีการติดตอ • เพิ่มเพื่อนใน Facebook เพียง search : CE VPAT • เขารวม Group : VPAT เพื่อแชรขอมูลขาวสาร


12:45 AM

วิธีการรับชม Webinar

Webinar

Sunday, Nov 7

ไมวาสมาชิกจะอยู ไกลแค ไหนก็สามารถอัพเดตความรูทางดานวิชาการ ทางสัตวแพทย ได โดยรับชมงานสัมมนา VPAT แบบออนไลนดวยระบบ Webinar ทีส่ มาชิกสามารถซักถามไดแบบ real time ชวยอํานวยความสะดวก ใหกบั สมาชิกที่ ไมสะดวกในการเดินทางไดเพิม่ เติมความรูง า ยไดยงิ่ ขึน้ ผานทัง้ ทาง smartphone และ desktop

• เลือกสมัครเขารวมสัมมนาโดยระบุความประสงค วาจะเขารวมแบบออนไลน • ใช Username และ Password จากทางสมาคมฯ เพื่อ Login เขาชมที่ www.vpatlive.com

VPAT News Online

นอกจาก VPAT News จะสงไปใหสมาชิกทุกทานถึงบานแลว ก็ยงั สามารถอานแบบ online ไดดว ยเชนกันอยากกลับไปอานฉบับไหน ก็อา น online ไดที่ www.vpatthai.com

นอกเหนือไปจากชองทางใหมดังกลาวแลว ก็ยังมีชองทางประจําที่สมาชิกสมาคม ทุกทานสามารถเขามาเยีย่ มชมและอัพเดตรายละเอียดกิจกรรมและงานสัมมนาตางๆ ไดทางเว็บไซต www.vpatthai.com และเร็วๆ นี้เรา ก็จะปรับปรุงเว็บไซต ใหมี ความสะดวกและตอบโจทยกับสมาชิกยิ่งขึ้น ดวยเว็บไซตรูปโฉมใหม เร็วๆนี้


Activity Season 7

Problem Oriented Approach (POA) เดินทางกันมาสูปที่ 7 แลวกับ “คายวิชาการเตรียมความพรอมสําหรับนิสิตและนักศึกษาสัตวแพทยศาสตร ป 6” หรือที่รูจักกันดีในชื่อ Prepare to be a good Vet ในปนี้ฝายวิชาการ The Veterinary Practitioner Association of Thailand หรือ สมาคมสัตวแพทยผูประกอบการบําบัดโรคสัตวแหงประเทศไทย แท็กทีมกันเเพื่อจัดโปรแกรม Problem Oriented Approach (POA) ใหกับวาที่คุณหมอทุกสถาบัน

นําทีมโดย

รศ.น.สพ.ดร.ชัยณรงค โลหชิต และ ผศ.ดร.สพ.ญ.วลาสินี มูลอามาตย ผศ.สพ.ญ.ดร.สิริลักษณ สุรเชษฐพงษ ผศ.น.สพ.พินิจ ภูสุนทรธรรม ผศ.น.สพ.ศิราม สุวรรณวิภัช ผศ.น.สพ.ภูดิท มณีสาย อ.สพ.ญ.ดร.ม.ล.นฤดี เกษมสันต อ.ดร.น.สพ.ไพฑูรย ศรีมนตรี อ.น.สพ.ชัยยศ ธารรัตนะ อ.สพ.ญ.ธนวัน มังคละพฤกษ อ.น.สพ.สมจินต สุทธิกาญจน

ในวันที่ 10 – 12 มิถุนายน 2559 ที่ผานมา ณ เดอะไพนรีสอรท จังหวัดปทุมธานี งานนี้ไดทั้งความรู เสียงหัวเราะ และมิตรภาพระหวางนองๆ แตละสถาบัน ที่ทุกคนบอกวายังอยากเรียนตอไมอยากกลับบานเลย


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.