Vpatnewsdec2014

Page 1

ฉบับที่ 99/2557 เดือน ธันวาคม 2557



Technical Update อ.สพ.ญ.ดร.สุกัลยา อัศรัสกร

ภาควิชาอายุรศาสตร คณะสัตวแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

Feline upper respiratory infection เมื่อพูดถึง... เมื่อนองเหมียวเปนหวัด มักจะมีอาการที่เห็นกันบอยคือจามและมีนํ้ามูก จากนํ้ามูกใสเปลี่ยนเปนนํ้ามูกเขียวขน บางตัวมีอาการหรี่ตา กะพริบตาถี่ ตา ไมสูแสง และมีนํ้าตาไหล บางตัวอาจมีแผลที่ลิ้น อาการเหลานี้เปน สัญญาณ ของ “Feline upper respiratory infection” ซึง่ มักมีสาเหตุมาจาก การติดเชือ้ ไวรัส feline calicivirus (FCV) และ feline herpes virus (FHV-1) หรือแบคทีเรีย Chlamydophila felis (C. felis) หรือมีการติดเชื้อรวมกัน feline upper respiratory infection เปนโรคที่ติดกันไดบอยมากในประเทศไทย

สาเหตุ

โดยเฉพาะในลูกแมวที่มีภูมิคุมกันตอโรคดังกลาวไมสมบูรณเพียงพอ รวมถึงลูกแมวที่เลี้ยงรวมกันหลายตัวในบานเดียวกัน ทําใหมีโอกาสสัมผัสโดย ตรงกับสิ่งคัดหลั่งของแมวปวย เชน nasal, ocular, oral secretion แมวาโดย รวมอาการทาง คลินกิ ของ feline upper respiratory infection อาจดูคลายกัน แต เนื่องจากพยาธิกําเนิด และตําแหนงของเนื้อเยื่อที่เปนเปาหมายของการติดเชื้อ แตละชนิดตางกัน จึงทําใหอาการทางคลินกิ แตกตาง กันไปดวย (ตารางที่ 1) ดังนัน้ เพื่อใหสามารถ วางแผนการรักษาและการจัดการไดถูกตองเราจึงตองเขาใจ พยาธิกําเนิดของการติดเชื้อแตละชนิดเสียกอน

อาการทางคลินกิ Conjunct Keratitis/ Rhinitis ivitis Corneal ulcer

FCV FHV-1 C. felis

Lingual ulcer

Ulcerative skin

Systemic disease


Technical Update Feline calicivirus

Feline calicivirus (FCV) เปน single-stranded RNA ที่มีหลายสายพันธุ และ กอโรครุนแรงแตกตางกัน ตัวไวรัสเองมีความทนทานและคงความสามารถติด เชื้อในสิ่งแวดลอมที่อุณหภูมิหองไดนานถึง 1 เดือน นอกจาก FCV จะติดตอ โดยตรงจากสิ่งคัดหลั่งของแมวปวยแลว แมวสามารถติดเชื้อจากมูลหมัดได ดวย FCV จะแบงตัวเพิ่มจํานวนครั้งแรกที่ oropharynx และมี viremia เพียง 3-4 วัน และอวัยวะทีเ่ ปนเปาหมายโดยตรงคือลิน้ ทําใหมี necrosis ของ epithelial cells เกิดเปน vesicles และแผลหลุมตามมา แมวที่ ติดเชื้อ FCV สวนใหญจะ แพรเชื้อไวรัสเปนเวลาอยางนอย 30 วัน นับจากวันที่ ไดรับเชื้อ

อาการทางคลินิก

• Typical clinical signs

- Lingual ulcer (รูปที่ 1):เปนอาการทีพ่ บมากทีส่ ดุ โดยเฉพาะในลูกแมว ทําใหมี hypersalivation และ/หรือ anorexia รวมดวย - Mild rhinitis: อาจมี sneezing, serous nasal discharge • Atypical clinical signs - Dyspnea, coughing, fever เนื่องจาก pneumonia • Limping syndrome: มีอาการ acute lamesness รวมกับมีไข เนื่องจาก synovitis มักเกิดขึ้นหลังจากมี typical clinical signs และอาการนี้มักหายไป เอง (self-limiting) • Virulent systemic FCV (VS-FCV) disease: เปนอาการที่รุนแรงที่สุดและ ทําใหแมวเสียชีวิต มักเกิดกับแมวโตเต็มที่ โดยจะมีอาการของ upper respiratory tract disease ทีร่ นุ แรงรวมกับมีไข และอาจมี pulmonary edema รวมดวย มักพบอาการบวมบริเวณใบหนาและแขนขา เนื่องจากเกิด vasculitis บริเวณ ใบหนา ใบหู และอุง เทามี ulcerated หรือ crusted lesions อาจมี jaundice เนือ่ ง จาก hepatic necrosis หรือ pancreatitis และแมวจะเสียชีวิตดวยภาวะ systemic inflammatory response syndrome (SIRS), disseminated intravascular coagulation (DIC) และ multiple organ failure (MOF) • Chronic lymphoplasmacytic gingivitis/stomatitis (รูปที่ 2): เปน immunemediated reaction ตอ FCV antigen ในชองปาก

การวินิจฉัย เนือ่ งจากยังไมมวี ธิ วี นิ จิ ฉัยใดทีส่ มั พันธกบั อาการทางคลินกิ โดยตรง แตสามารถ ตรวจวาแมวติดเชื้อไดโดยตรวจหา FCV RNA จากสิ่งคัดหลั่ง เลือด เนื้อเยื่อที่ ติดเชือ้ ดวย PCR แตอาจไดผลเปน false positive หรือ false negative หรืออาจ ตรวจหา antibody แตอาจไดผลเปน false positiveหากแมวไดรบั วัคซีนมากอน

รูปที1่ Lingual ulcers ซึง่ เปน typical sign ของ FCV

รูปที่ 2 Chronic lymphoplasmacytic gingivitis/stomatitis

การรักษา • การรักษาหลักของ typical disease คือ supportive treatment และ nursing care ควรดูแลเรื่องการกินอาหาร แกไขสมดุลของนํ้าและอิเล็กโตรไลท หรือ เสริมวิตามินในแมวที่ไมกินอาหาร ใหยาลดนํ้ามูก ยาลดปวด หรือ antibiotics เมื่อมีการติดเชื้อแบคทีเรียแทรกซอน • กรณี VS-FCV disease ยังไมมกี ารรักษาทีจ่ าํ เพาะ จึงทําการรักษาตามอาการ เทานั้น • การรักษา chronic lymphoplasmacytic gingivitis/stomatitis ดวย immunosuppressive drugsใหผลดีรวมถึงพิจารณาใช interferon ในบางกรณีอาจ พิจารณาขูดหินปูนหรือถอนฟนในรายทีไ่ ม ตอบสนอง ตอการรักษาทางยา

Feline herpesvirus type-1

Feline herpesvirus type-1 (FHV-1) เปน double-stranded DNA ไวรัสชนิด นี้มีความไวตอยาฆาเชื้อจึงถูกทําลายงาย เมื่อแมวติดเชื้อ FHV-1 จะแบงตัว เพิ่มจํานวนที่เซลลเยื่อบุของ conjunctiva, cornea และทางเดินหายใจสวนตน ทําใหเซลลที่ติดเชื้อเสียหาย (lysis) ลูกแมวบางตัวอาจมี viremia ชั่วคราว การ แพรเชื้อเกิดขึ้นอยางรวดเร็วตั้งแต 24 ชั่วโมงหลังจากติดเชื้อ และตอเนื่องไป อีก 1-3 สัปดาห แมวสวนใหญจะมีอาการดีขึ้นใน 10-14 วัน ไวรัสบางสวนจะ ติดเชือ้ ทีเ่ ซลลประสาทใน trigeminal ganglia ทําใหไมสามารถกําจัดเชือ้ ออกจาก รางกายไดหมด ดังนัน้ 80% ของแมวทีต่ ดิ เชือ่ จึงมี latent infection ในระยะยาว ทําใหมี viral replication เปนครัง้ คราว และแมวอาจแสดงอาการทางคลินกิ ซํา้ (recrudescence) อาการทางคลินิก • Typical clinical signs - Acute rhinitis (รูปที่ 3): sneezing และมี serous nasal discharge และมักพบ bacterial infection รวมดวย - Conjunctivitis, keratitis, corneal ulcer ซึง่ ถาพบ dendritic keratitis (รูปที่ 4)


จัดเปน pathognomonic sign ของ FHV-1 - อาจพบ fever, depression, anorexia ในแมวบางตัว • Atypical clinical signs - Pneumonia - Fading kitten syndrome - Oral ulcers - Ulcerative dermatitis โดยเฉพาะบริเวณรอบดวงตา • Chronic diseases มักเกี่ยวของกับ immune-mediated diseases - Stromal keratitis, chronic conjunctivitis, corneal sequestra, eosinophilic keratitis - Anterior uveitis - Chronic rhinitis: อาจเปนผลมาจาก malformation ของ turbinate bone ภายหลังการติดเชื้อ

อาการทางคลินิก

• clinical signs - Acute conjunctivitis (รูปที่ 5): สวนใหญเริม่ เปนทีต่ าเพียงขางเดียวแลวลามไป ทีต่ าอีกขางหนึง่ อาจพบ hyperemia ของ nictitating membrane หรือ chemosis หากเปนรุนแรงอาจทําให conjunctiva ยึดติดกันจนตาปด แมวจะรูสึกเจ็บตา นํา้ ตาไหล blepharospasm แต C. felis ไมทาํ ใหเกิด keratitis หรือ corneal ulcer - Mild respiratory signs • Chronic conjunctivitis

การวินิจฉัย

• ตรวจหา DNA ของแบคทีเรียจาก conjunctival swab ดวย PCR เปนวิธีที่นาเชื่อถือมากที่สุด

การรักษา

• Doxycycline 10 mg/kg/day ติดตอกัน 4 สัปดาห เพื่อปองกัน recurrence รูปที3่ แมวทีต่ ดิ เชือ้ FHV-1 มักมี typical signs เชน acute rhinitis, muco-purulent nasal discharge, conjunctivitis

รูปที4่ Dendritic keratitis เปน pathognomonic sign ของ FHV-1

การวินิจฉัย

• ตรวจหา FHV-1 DNA จาก secretions, corneal scrapings, aqueous humor, เลือด หรือเนื้อเยื่อดวย conventional PCR ซึ่งจะแปลผลยากหากแมวติดเชื้อ เรือ้ รังหรือไดรบั วัคซีนมากอน อาจวัด viral load ดวย real-time PCR ซึง่ สัมพันธ กับอาการทางคลินิกมากกวา conventional PCR • ตรวจหา antibody แตอาจไดผลเปน false positive หากแมวไดรบั วัคซีนมากอน

การรักษา

• Supportive treatment และ nursing care เชนเดียวกับ FCV • แมวสวนใหญจะมี secondary bacterial infection รวมดวย จึงควรให antibiotics • Topical antiviral drug ที่ไดผลดีกับอาการที่ตาคือ cidofovir (Fontenelle et al., 2008) หรืออาจให famciclovir (Thomasy et al., 2011) ซึ่งเปน systemic antiviral drug ที่ไดผลดีเชนกัน แตมีราคาแพง • L-lysine ทําใหลด viral shedding และลดอาการ conjunctivitis (Stiles et al., 2002) • เพื่อลด recrudescence ควรหลีกเลี่ยงการใช corticosteroid และลดโอกาส เกิดความเครียดในแมว

Chlamydophila felis

Chlamydophila felis (C. felis) เปนแบคทีเรียแกรมลบที่ตองอาศัยอยูภายใน เซลลโดยมี mucosa ที่ conjunctiva เปนเนือ้ เยือ่ เปาหมายหลัก แมวทีต่ ดิ เชือ้ จะ แพรกระจายเชื้อผานทาง conjunctival tissue ไดนานถึง 60 วัน

รูปที5่ Severe conjunctivitis ของตาซายในแมวทีต่ ดิ เชือ้ Chlamydophila felis

เนือ่ งจากตรวจพบความผิดพลาดในการจัดทําตนฉบับ Technical Update ฉบับประจําเดือนพฤศจิกายน 2558 เรื่อง แนวทางขั้นพื้นฐานในการวาง ยาสลบสัตวเลี้ยงอยางปลอดภัย ขอแกไข ตารางที่ 2 แสดงระดับของ สภาวะการสลบแบบพื้นฐาน (The stages of general anesthesia) ดังนี้

Stage I II III IV

Voluntary Excitement: เปนชวงเริ่มใหยาเพื่อเหนี่ยวนําสลบ สัตวที่ไดรับยา จะยังรูต วั ดีอยูแ ละพยายามตอสูด นิ้ รนเนือ่ งจากความเครียดและตืน่ กลัว ระยะ นี้สามารถสั้นลงหรือหายไปไดหากสัตวไดรับ Premedication ที่เหมาะสม Involuntary Excitement: เปนระยะทีพ่ บได หากการเหนีย่ วนําสลบไมเหมาะสม สัตวจะยังมีอาการดิ้นรนถึงแมวาจะไมรูสึกตัวแลว Surgical anesthesia: เปนระยะทีเ่ หมาะสมในการผาตัด กลามเนือ้ จะเริม่ คลาย ตัวบาง Palpebral และ Pedal reflex และ Jaw tone จะลดลงหรือหายไป ระยะ นีย้ งั แบงไดออกเปน 3 planes ตามระดับการหายไปของรีเฟลกซตา งๆ และการ คลายตัวของกลามเนือ้ Excessively deep: ระยะนี้ระบบประสาทจะถูกกดลึกมาก รวมทั้งระบบไหล เวียนโลหิตและระบบทางเดินหายใจ หากปลอยไวจะทําใหสัตวเสียชีวิตไดใน เวลาไมนาน

ตารางที่ 2 แสดงระดับของสภาวะสลบแบบพืน้ ฐาน (The stages of general anesthesia)

เอกสารอางอิง

Thomasy SM, Lim CC, Reilly CM, et al. 2011. Evaluation of orally administered famciclovir in cats experimentally infected with feline herpesvirus type-1. Am J Vet Res. 72: 85-95. Stiles J, Townsend WM, Rogers QR, et al. Effect of oral administration of L-lysine on conjunctivitis caused by feline herpesvirus in cats. Am J Vet Res. 2002. 63: 99–103. Fontenelle JP, Powell CC, Veir JK, et al. 2008. Effect of topical ophthalmic application of cidofovir on experimentally induced primary ocular feline herpesvirus-1 infection in cats. Am J Vet Res. 69: 289-293. Thiry E, Addie D, Belák S, et al. 2009. Feline herpesvirus infection. ABCD guidelines on prevention and management. J Feline Med Surg. 11(7): 547-555. Radford AD, Addie D, Belák S, et al. 2009. Feline calicivirus infection. ABCD guidelines on prevention and management. J Feline Med Surg. 11(7): 556-564. Gruffydd-Jones T, Addie D, Belák S, et al. 2009. Chlamydophila felis infection. ABCD guidelines on prevention and management. J Feline Med Surg. 11(7): 605-609.



Activity



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.