คำ�นิยม
ในขณะที่สังคมไทยกำ�ลังขับเคลื่อนเรียกร้องใน ประเด็นต่างๆ มากมาย ประเด็นความขัดแย้งไม่ว่า ประเด็นทางความเท่าเทียมระหว่าง เพศ การเมือง ฯลฯ ทั้งหมดทั้งหลายเหล่านี้ หากจัดว่าเป็นปัญหา ใหญ่ของประเทศก็สามารถกล่าวได้ แต่ในสังคมไทย ยังขาดการเรียกร้องที่เข้มแข็งและจริงจัง ในประเด็น ของผู้ด้อยโอกาสแม้ว่าจะมีหน่วยงานผู้รับผิดชอบแต่ ในทางปฏิบัติผู้ปฏิบัติเองก็ไม่สามารถผลักดันโครงการ ต่างๆ ให้มีความก้าวหน้าได้มีประสิทธิภาพและเป็นที่ น่าดีใจอย่างมากที่กลุ่มอาจารย์ผู้สอนและนักศึกษาใน หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการ ออกแบบ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ได้มีความคิดริเริ่ม นำ�เสนอแนวคิดของการพัฒนาการออกแบบ โดยการ ประยุกต์เข้าสู่ชั้นเรียน สร้างผลงานเป็นที่ประจักษ์อย่าง เป็นรูปธรรม ในนามของคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ขอแสดงความชื่นชมและขอขอบคุณต่อจิตใจที่บริสุทธิ์ ของอาจารย์และนักศึกษาที่ร่วมกันสร้างสรรค์ สิ่งที่จะนำ� มาซึ่งประโยชน์สุขให้แก่ประเทศไทย สังคมไทย
(รองศาสตราจารย์บุญสนอง รัตนสุนทรากุล) คณบดี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
ขอชื่นชมต่อผลงานการออกแบบเพื่อความยั่งยืนทั้งหมดที่ปรากฏในหนังสือเล่มนี้ซึ่งแสดงให้เห็นความ เป็นระบบของการออกแบบ โดยบูรณาการ กระบวนการวิจัยสู่สถานการณ์จริง จากการใช้ทักษะการคิด ทักษะการแก้ปัญหา ทักษะการสื่อสาร ทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศและทักษะชีวิต ก่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจที่ฝังแน่นและคงทน (Enduring Understanding) แก่นักศึกษา เหล่านี้สะท้อนถึงคุณภาพของการจัดการเรียนรู้ด้วยเช่นกัน ขอขอบคุณอาจารยฺสุรเชษฐ์ ไชยอุปละ ที่สร้างสรรค์และเผยแพร่ผลงานดีๆ ทรงคุณค่าเหล่านี้ แก่วงการการออกแบบอุตสาหกรรม
อ.ดร.เกษมรัสมิ์ วิวิตรกุลเกษม
Editor in chief
Surachet Chaiuppala (adviser) Waluka Amaek
Editor staff Waluka Saharat Panipak Lattaporn
Amaek Na-Nan Boriboon Juntonglarng
HOMELESS EDITION
Art assistant Waluka Amaek Saharat Na-Nan
Photographer retouch Somboonya Boonyaratthan Perati Wattanawikran Waluka Amaek
Design team หัวลำ�โพง Wattanpon Waluka Siwaporn Saharat Perati Daranee
Eusawat Amaek Wannarat Na-Nan Wattanawikran Tipsing
Thank to:
ราชดำ�เนินคลองหลอด Lattaporn Juntonglarng Chunnapa Mekprayoon Panipak Boriboon Punnawit Limrungroat Thanapat Dangsripon Somboonya Boonyaratthan
แง่มุมจากมุมมองเล็กๆของหญิง คนนึงที่ซอกตึก พี่ที่นอนแผ่หลาใน สถานีรถไฟฟ้าหัวลำ�โพงแผ่ ภาพทอดยาวไปถึงถนนราชดำ�เนิน ชายที่จับกลุ่มกันกลุ่มใหญ่เฮฮาหลังเก็บของเก่ามาขาย เผยภาพมุมมองเล็กๆที่แฝงไปด้วยอิริยาบถ การดำ�เนินชีวิต การดำ�รงชีพ เพียงแต่โชคชะตาเล่นตลก.....แต่ไมยักขำ�
โปรดสงสาร....ผู้ด้อยโอกาส จุดเริ่มต้นของโปรเจคนี้เกิดจากการนำ�เสนอดีไซน์ ที่ให้นักศึกษาเลือกและหยิบยกหัวข้อที่สนใจจาก หนังสือ(ชื่อหนังสือ) ของคลาสวิชาการออกแบบเพื่อ ความยั่งยืน โดยมีอาจารย์สุรเชษฐ์ ไชยอุปละ หรือ อ.บิ๊ก อาจารย์ผู้สอนและที่ปรึกษาของโปรเจคครั้ง นี้ โดยแรกเริ่มของโปรเจคครั้งนี้เกิดมาจากพี่ชาย คนโต(ปุณณวิช ลิมรุ่งโรจน์) ของคลาสพวกเรา ได้ เลือกหยิบยกเรื่องการดีไซด์ระบบเพื่อผู้ด้อยโอกาส ที่ มีจุดเริ่มต้น บนถนนเดนเวอร์ ประเทศสหรัฐ อเมริกา (Donation Meter Program) จนเกิดเป็นธนาคาร ลูกหมู รับบริจาคเงินเพื่อผู้ด้อยโอกาส ซึ่งระบบที่เกิด ขึ้นมามีจุดประสงค์หลักเพื่อมุ่งเน้นการทำ�งานด้าน มนุษย์ธรรม มีการคิดและการออกแบบโปรแกรมที่มี ผลต่อสาธารณะอย่างยั่งยืน มีโครงสร้างเพื่อลดความ เหลื่อมล้ำ� ความไม่เท่าเทียมกันทางสังคมในประเทศ สหรัฐอเมริกา จากไอเดียที่เกิดขึ้นจากการพรีเซนต์ใน ครั้งนั้น ได้นำ�ไปสู่การจุดประเด็นผ่านมุมมองของสังคม ไทยในภาวะปัจจุบัน และจุดประกายไอเดีย จาก การลงพื้นที่หลายต่อหลายครั้งของพวกเรา มันทำ�ให้ พวกเรามองเห็นอะไรบางอย่างในแววตาของพวกเขา ซึ่งกำ�ลังบอกอะไรบางอย่างกับพวกเรา........ มันเป็น เสียงพูดที่ผ่านมาจากดวงตาหลากหลายคู่ของคนที่ ถูก“สังคม”ทอดทิ้ง.... ในขณะที่รถไฟในสถานีรถไฟหัวลำ�โพงยังคงวิ่งเข้าออกทุกวันจากสถานีแห่งนี้อยู่กว่า 200 ขบวน ผู้คนสัญจรไปมาไม่ซ้ำ�หน้า เดินผ่านทางเท้าและชานชาลา สลับภาพชายหนุ่มเก็บ ขยะตามทางทอดยาวริมถนนราชดำ�เนินกลับไปนอนพักเอาแรงตรงคลองหลอด ทุกคนที่เดิน ผ่านมองเห็นเขาเหล่านี้........และก็มองผ่านเลยไป.....คนแล้วคนเล่า.....ผ่านมาแล้วผ่านไป....คุณ เคยมองกลับมามองผู้คนเหล่านี้หรือเปล่า? ถ้าไม่เคย ลองค่อยๆหันกลับไป...ไปด้วยกัน....ไปกับ พวกเรา.... เผยรอยยิ้มและหยิบยื่นโอกาสเล็กๆให้คนกลุ่มนี้ ไปพร้อมกัน เราจะสร้างความสุข รอยยิ้ม ให้คนกลุ่มเล็กๆเหล่านี้ด้วยการออกแบบ......เรามายิ้มด้วยกันไหม?
สำ�นักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้ด้อยโอกาส สำ�นักงานส่งเสริมและพิทักษ์ผู้ด้อยโอกาส (สทอ.) เป็น หน่วยที่มีความเกี่ยวข้องโดยตรงกับกลุ่มผู้เร่ร่อน โดยสทอ. ตั้งอยู่ที่ ตึกอาทิตย์ทิพอาภา ซึ่งอยู่ในบริเวณเดียวกับสถาน สงเคราะห์เด็กหญิงบ้านราชวิถี เป็นองค์กรที่ดูแลในด้านการ วางนโยบายในการช่วยเหลือ พัฒนา ส่งเสริมและพิทักษ์ผู้ ด้อยโอกาส ซึ่งลักษณะการทำ�งานขององค์กรจะเป็นการใน ด้านการวางนโยบายเป็นหลัก ไม่ได้เป็นหน่วยงานที่ลงไป ปฏิบัติงานในพื้นที่จริง แต่จะเป็นหน่วยงานที่ทำ�การประสาน งานและให้นโยบายกับองค์กรส่วนท้องถิ่น เพื่อให้ความช่วย เหลือและพัฒนาผู้เร่ร่อน ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และมีสิทธิ ขั้นพื้นฐานในด้านต่างๆเสมือนบุคคลทั่วไป
วัดสวนแก้ว โครงการร่มโพธิ์แก้ว ปี 2530
พวกเราได้เดินทางเยี่ยมโครงการต้นแบบที่เกี่ยวข้องกับผุ้ด้อยโอกาสวันสวนแก้ว ย่านนนทบุรีโดยทางวัดเปิด ให้ บรรดาบุคคลทั่วไปที่ขาดที่พัก ประสบปัญหาต่าง ๆ นานา โดยเฉพาะผู้ที่ตกงาน ผู้พิการ พระพยอม ยัง ให้ความเมตตา โอบอุ้มให้ที่พัก อาหาร และฝึกอาชีพ ให้ออกไปสู่สังคมภายนอกได้อย่างเข้มแข็ง โครงการนี้เป็นการช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์อบรมปลูกฝังคุณภาพชีวิต สร้างจิตสำ�นึกที่ดีแก่ผู้เข้า ร่วมพักอาศัย ด้วยหลักธรรมในพระพุทธศาสนา ผู้ที่ด้อยโอกาสจะมาจากภูมิลำ�เนาทั่วไป จึงเป็นปัญหาใน การปกครองอย่างมาก พื้นฐานชีวิตและจิตใจที่แตกต่างดังกล่าว โดยจะเลือกวิชาชีพให้เหมาะสมกับงานที่ใกล้เคียงเดิมมาปรับกับงานที่ทางวัดมีอยู่เดิม โดยพระพ ยอมเป็นผู้อบรมสั่งสอน ท่านยึดหลักการสอนจากปัญหาชีวิตของแต่ละคน การนำ�บทเรียนด้านวิชาการมาใช้ จะไม่เกิดผลกับคนกลุ่มนี้เท่าใดนัก เนื่องจากส่วนใหญ่ผู้ด้อยโอกาสจะมีการศึกษาน้อย บางคนไม่ได้รับการ ศึกษาเลย ดังนั้นปัญหาของตนเองจะทำ�ให้การสอนสะดวกและสามารถเห็นผลอย่างชัดเจนการนำ� ปัญหา มาเป็นบทเรียน เป็นการสอนที่ได้ผลเพราะพระพยอม จะชี้ชัดลงไปว่า ถ้าไม่ปฏิบัติตามจะได้รับผลเสีย อย่างไร หากเชื่อฟังนำ�คำ�สั่งสอนนั้นไปใช้ ฉะนั้นผู้ด้อยโอกาสเคยทำ�ความผิดพลาดมาแล้ว และได้รับการ ช่วยเหลือด้วยคำ�สั่งสอนของพระพุทธศาสนา ที่พระพยอมนำ�มาประยุกต์ให้ใช้กับชีวิต ซึ่งเป็นการสะท้อน ภาพที่เห็นได้สัมผัสได้ด้วยตัวเอง จึงเป็นการให้บทเรียนที่ได้ผลคุ้มค่าแก่คนด้อยโอกาสทั่วไป หลายชีวิตที่ได้ ออกไปจากโครงการ ประสบความสุขที่เหมาะสมกับความเป็นอยู่ของแต่ละคน นับว่าพระพยอม คือ ผู้ให้ ชีวิตใหม่ทางเลือกใหม่แก่ผู้ด้อยโอกาสได้อย่างสมบรูณ์ แม้ภัยธรรมชาติน้ำ�ท่วมจะก่อให้เกิดความเสียหายทำ�ให้ทางวัดต้องรับภาระค่าจ้างของผู้ด้อย โอกาสที่เข้ามาทำ�งานได้วันละ 60-200 บาท ซึ่งเมื่อผลผลิตหลักจากทุเรียนเมืองนนถูกทำ�ลายเสียหาย ทำ�ให้ ทางวัดแบกภาระตรงจุดนี้ ทางวัดสวนแก้วยังมีโครงการร่วมอีก 18 โครงการที่เกี่ยวเนื่องและสัมพันธ์กัน เช่นเปิดเนอร์เซอร์รี่ดูแลเด็กในราคา 5 บาทต่อวันให้แก่ผู้ที่ทำ�งานภายในองกร การปลูกผัก พืช ปลูกไม้ไผ่ นำ�มาขายภายในบริเวรหน้าวัด การทำ�ปุ๋ยมาใส่พืชผักที่ปลูกอยู่ การดูแลสุนัขที่ยากไร้ ฝึกหัดอาชีพ ทำ� เฟอร์นิเจอร์ โครงการต่างๆเป็นโครงการที่น่าสนใจ พระพยอมมีมุมมองที่เป็นระบบและวัฎจักรที่เชื่อมโยง กันเป็นห่วงโซ่และควรค่าแก่การพัฒนาและยั่งยืนในทุกด้านต่อไป
มุมมองในอนาคตเราอาจจะเห็นเฟอร์นิเจอร์แบรนด์สวนแก้ว ที่ผลิตจากไม้ไผ่ที่ปลูกขึ้นในวัดสวนแก้ว กล้วยตากที่ผลิตจากกล้วยปลูก เอง มีแพ็เกจที่สวยงามขายบนห้างชื่อดัง หรือสร้างมูลค่าต่อยอดทำ�ปุ๋ย ขายให้แก่ชุมชนอื่น เพื่อเพิ่มมูลค่าและผลตอบแทนเข้าสู่วัดเพื่อให้ระบบ หรือโครงการมีความยั่งยืนมากขึ้น
บริษัทไฟเบอร์ พัฒน์ จำ�กัด
กล่องนม 4 ล้าน กล่อง สามารถช่วย ลดปริมาณก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ที่ ปล่อยสู่ชั้นบรรยากาศ ได้กว่า 36 ตัน
จากการศึกษาดูงาน ณ บริษัทไฟเบอร์ พัฒน์ จำ�กัด อำ�เภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ และใช้เป็น แนวทางในการดำ�เนินงานด้านการออกแบบและเป็น ประโยชน์ในการดำ�เนินงาน¬¬¬การออกแบบอย่าง ยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และนำ�กล่องเครื่องดื่มที่บริโภคแล้วกลับมา รีไซเคิลเป็น อีโค่ บอร์ด ซึ่งจะผลิตจากกล่องเครื่องดื่ม รีไซเคิลเป็นครั้งแรกในประเทศไทย จะจุดประกายให้ทุกๆ คนได้รู้ว่าทุกส่วนใน “กล่อง เครื่องดื่ม” ทั้งที่เป็นกระดาษ พลาสติก และอลูมิ เนียมฟอยล์ สามารถนำ�กลับมา “รีไซเคิล” ได้ทุกส่วน และในวันนี้การรีไซเคิล “กล่องเครื่องดื่ม” ไม่ได้เป็น แค่การช่วยลดปัญหาภาวะโลกร้อน แต่ยังมีส่วนร่วม ในการช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยและผู้ที่ขาดโอกาส ในรูปแบบต่างๆ ได้ ประโยชน์ของการรีไซเคิลกล่องเครื่องดื่ม - จำ�นวนกล่องเครื่องดื่มใช้แล้วที่รวบรวม ได้ การดำ�เนินโครงการฯ ในปี 2553 ได้ตั้งเป้าหมาย เก็บรวบรวมกล่องเครื่องดื่มประมาณ 40 ตัน หรือคิด เป็น 4 ล้านกล่อง สามารถนำ�ไปผลิตเป็นแผ่นกรีนบ อร์ดได้ประมาณ 2,000 แผ่น - ช่วยลดปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ จากจำ�นวนกล่องเครื่องดื่มใช้แล้วที่ตั้งเป้าหมายไว้ว่า จะ สามารถรวบรวมได้ 4 ล้านกล่อง สามารถช่วย ลดปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ปล่อยสู่ชั้น บรรยากาศได้กว่า 36 ตัน
“คุณสมบัติของแผ่นอีโค่บอร์ดที่ผลิตจากกล่อง เครื่องดื่มรีไซเคิล” •ผลิตจากกล่องเครื่องดื่มที่บริโภคแล้ว โดยไม่ ต้องมีการใช้สารเคมีประกอบในกระบวนการผลิต •ทนทาน ไม่แตกหักง่าย •ทนไฟ •ไม่ต้องใช้โครงสร้างหนัก (เนื่องจากไม่ซึมซับน้ำ�) •ไม่ดูดซับแสงแดด หรือความร้อน ช่วยประหยัด พลังงาน •ปลอดเชื้อรา •ซ่อมแซมง่าย (ด้วยการใช้ความร้อนเชื่อม ประสาน) *** ทั้งนี้ 1 แผ่น มีขนาด 0.90 x 2.40 เมตร และใช้กล่องเครื่องดื่มประมาณ 2,000 กล่อง ใน การผลิต
เช้าวันศุกร์ ที่นี่สถานี...หัวลำ�โพง ท่านผู้โดยสาร...
. . . ที่ประสงค์จะลงสถานีหัวลำ�โพงโปรดเตรียม สัมภาระของท่านให้เรียบร้อย
ทีมของเราได้ออกเดินทางลัดเลาะเส้นทางรถไฟฟ้ามุ่งหน้าไปยังศูนย์กลาง แห่งการคมนาคมรถไฟที่ใหญ่ที่สุด สถานีรถไฟกรุงเทพหรือที่เรียกกันติดปากเป็นภาษาชาวบ้านว่า หัวลำ�โพง ช่วงเวลาที่ทีมของพวกเราไปถึงราวสิบโมงสิบเอ็ดโมงท่าจะได้ ความวุ่นวายแฝงตัวอยู่รอบๆ ทุกอย่างที่นี่เคลื่อนไหวอย่างรวดเร็ว พวกเราพยายามมองหากลุ่มตัวอย่างที่พวกเราสนใจ เดินและมอง ไปรอบๆสถานีพร้อมด้วยอาวุธเป็นกรอบโครงสร้างแบบสอบถามในประเด็นที่พวกเราสนใจ ประเมินจากสายตา ไม่สามารถแยกแยะนักท่องเที่ยวออกจากกลุ่มคนเร่ร่อนที่เราสนใจเพราะต่างปะปน กันไปเดินไปเดินมานั่งตามที่พักผู้โดยสาร สัญชาติญาณแรกที่เกิดขึ้นทีมพวกเรามุ่งตรงไปหาช่องจัดหา งานภายในหัวลำ�โพง บูทจัดหางานน่าจะเป็นกุญแจแรกที่เราสามรถตามหากลุ่มคนเร่ร่อนได้ หลังจาก พูดคุยกับพี่ที่จัดหางานได้บทได้ความสักครู่ ทำ�ให้ทางกลุ่มก็พอจับใจความว่า เราจะตามหากลุ่มตัวอย่าง ของเราได้อย่างไร พี่ของทางกรมจัดหางานแนะนำ�ให้เราเดินไปบูทข้างๆเป็นบูทตำ�รวจท่องเที่ยวที่ดูแลสถานี รถไฟหัวลำ�โพง พร้อมส่งบัตรนักศึกษาและเล่าความเป็นมาและความต้องการของการทำ�โปรเจค ทีมเราได้ รับความร่วมมือจากคุณพี่ตำ�รวจไทยในการชี้ตัวและเริ่มต้นการสัมภาษณ์เป็นคนแรก เราพบกลุ่มคนเร่ร่อนคนแรกจากการสอบถาม สภาพเป็นชายหนุ่มวัยกลางคน ชาวอุดร นั่งอยู่ ด้านหน้าฝั่งถนนรองเมืองจากเข้าไปสอบถาม เพิ่งมานอนที่นี่ได้ไม่นานนัก ไม่มีครอบครัว แต่ก่อนเป็นช่างเฟอร์นิเจอร์มาแปดปี เกิด อุบัติเหตุจากการทำ�งานนิ้วขาดจากเครื่องมือ และด้วยสภาพที่แก่ชราลงทำ�ให้ออกจากงาน มาเร่ร่อนที่สถานีรถไฟหัวลำ�โพง แยกตัวออก มากันเป้นกลุ่มย่อยเข้าไปพูดคุยกับผู้หญิงด้าน ถนนรองเมือง นั่งดูบุหรี่อย่างสบายใจ ฉันไม่มี ครอบครัวนอนที่ที่อยู่ที่นี่สะดวกดี ไปไหนมา ไหนก็ได้ให้ไปอยู่ที่อื่นก็ไม่คุ้นเคยไม่ใช่ถิ่นเรา พูดจบ....ด้วยท่าทีฮ้วนๆวกไปวนมาแล้วก็จาก ไปพอแค่นี้เดินลุกหนีไป จากสัมภาษณ์ได้เพียงสองสามคนเราเดินข้าม มาสำ�รวจรอบๆและคุยกับคนทั่วไปในละแวก แถวนั้น ทั้งจุดจอดรถเมล์เพื่อสอบถามมุมมอง จากภายนอกที่ส่งผลต่อกลุ่มผู้เร่ร่อนที่ทางกลุ่ม สนใจ กลุ่มคนเร่ร่อนจะมานอนที่นี่ประมาณ 2 ทุ่มเราจะเจอกลุ่มใหญ่ ล้มตัวลงนอน
ก่อนที่กลุ่มที่เราสนใจจะนอนเราต้องรีบเค้าไปพูด คุยเพื่อให้ได้มาถึงข้อมูลที่เราสนใจ เราพบและเข้าไปคุยกับกลุ่มตัวอย่าง ที่นอนบริเวณนั้นทั้งหมด 13 คน ส่วนใหญ่อาศัย อยู่ที่สถานีรถไฟหัวลำ�โพง จากการลงพื้นที่สำ�รวจข้อมูลทำ�ให้ทราบข้อมูล บุคคลเร่ร่อนที่นี่แบ่งเป็นประเภทหลักๆ 2 ประเภท โดยแบ่งเป็น คนเร่ร่อนอาชีพที่ประกอบ อาชีพ และคนเร่ร่อนที่ไม่ประกอบอาชีพ โดยจะ มาหัวลำ�โพงเพื่อการนอน ตามเวลาปกติสำ�หรับ คนเร่ร่อนที่ประกอบอาชีพจะออกไปตามสถาน ที่ออกไปเพื่อเก็บขยะและขอทานตามสถานที่ ต่างๆ ส่วนอีกประเภทหนึ่งคือจะอาศัยอยู่ในสถานี รถไฟหัวลำ�โพงแฝงตัวรวมกับนักท่องเที่ยวภายใน หัวลำ�โพง และประกอบกิจกรรมต่างๆอย่างปกติ เหมือนคนทั่วไป
Scenario&storyboard Solution design Concept design Idea sketch Production model Develop model Prototypes Experimental prototype Develop Prototype Final product Dimension Material process System & service
concept design มาจากการต่อตัวของรังผึ้ง ในแว๊บแรกเราคิดดีไซน์กันออก มาอย่างหลากหลายเพื่อนำ�ไปสู่ ดีไซน์โซลูชั่นที่ ทางกลุ่มได้วาง ไว้ เพื่อตอบสนองความต้องการ ของผู้เร่ร่อนและตัวสถานีรถไฟ หัวลำ�โพง การที่นำ�เอาการ วางตัวของรังผึ้งมาเป็นอินสไปร์ ในการออกแบบเนื่องจากเรา มองเห็นความสำ�คัญการวางตัว เชิงพื้นที่ ที่จำ�เป็นในการขัดวาง ผลิตภัณฑ์ให้ต่อเนื่องได้ปริมาณ การวางที่สอดคลองกับจำ�นวน และลงตัว
Develop model
ช่วงเวลาเย็น ประมาณ 4โมงเย็น สมาชิกกลุ่มมาพร้อม กันที่ แมคโดนัล อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย เขตพระนคร เพื่อหาคนเร่ร่อนในพื้นที่ในการเก็บข้อมูล ที่นั่นเราพบ หญิงเร่ร่อนคนหนึ่งกำ�ลังอาบน้ำ�อยู่ที่น้ำ�พุของอนุสาวรีย์ จากนั้นเราจึงเดินทางต่อไปยังบริเวณสนามหลวง ระหว่างการเดินทางไปเราทั้ง 6 คน ได้พบบุคคลเร่ร่อน ที่กำ�ลังเก็บของเก่า/ กำ�ลังถือถุงพลาสติกขนาดใหญ่ รถ เข็น เดินมองหาของเก่า /หยุดตรงกองขยะ ค้นขยะหา ของที่สามารถขายเป็นเงินได้ เดินผ่านเรา 3-4 ราย หรือ มีคนเร่ร่อนอีกจำ�นวนหนึ่งกำ�ลังนอนหลับอยู่กลางทาง บริเวณฟุตบาท หรือตามหน้าบ้านคน เก้าอี้สาธารณะที่ ให้คนทั่วไปนั่ง ร้านค้าต่างๆ และตู้โทรศัพท์ พบคนเมา สติไม่ดี เราจึงทำ�การสัมภาษณ์และพูดคุยด้วย พวกเราใช้ เวลาเดินทางประมาณครึ่งชั่วโมงไปสนามหลวง ดังนี้ ถนนราชดำ�เนิน ลุง อายุ 60 กว่าๆ มีปัญหาทางบ้าน ไม่อยากเป็นภาระ จึงมาเร่ร่อนเก็บของเก่าขาย ลุงอายุ 50 กว่าๆ แฟนนอกใจ ไปมีแฟนใหม่ จึงออกมา เร่ร่อน เก็บของเก่าขาย พบป้าเร่ร่อนคนหนึ่ง พวกเราจึงขอตามติดชีวิตการ ทำ�งาน ว่าป้าเค้าทำ�อะไรบ้าง เดินทางไปไหน เก็บของ อย่างไร แนะนำ�สถานที่รับซื้อขยะ ประเภทขยะที่เลือก เก็บ วัดมหาธาตุ ลุงอายุ 46 มาจากเชียงราย มากับเพื่อน มีปัญหา ครอบครัว อาศัยนอนฟุตบาทแถววัดมหาธาตุ สนามหลวง พบลุง 2 คน มีอาการเมา พูดจาไม่ค่อยรู้เรื่อง พูดจาวก ไปวนมา ข้อมูลที่ได้จึงไม่รู้ว่าเชื่อได้แค่ไหน พบคนเร่ร่อน นั่ง นอนตามม้านั่งในสนามหลวง
บริเวณคลองหลอด พบหญิงขายบริการจำ�นวนมากตามทาง รอขาย บริการ มีคนเร่ร่อนคอยขายของ โดยอาศัยกิน นอน ริมคลอง หลอด
Scenario&storyboard Solution design Concept design
บริเวณสะพานปิ่นเกล้า บริเวณถนนราชินี พบจุดรับซื้อของเก่า 2 จุด เป็นที่ประจำ�ที่คนเร่ร่อนนำ� เอาขยะ ของเก่าที่เก็บได้ไปขาย
Idea sketch
บริเวณตรอกสาเก พบจุดรับซื้อขยะ 2 จุด
Develop model
จากการลงพื้นที่สามารถสรุปประเภทคนเร่ร่อนได้ดังนี้ •ชายมีจำ�นวนประมาณ 80% •หญิงมีจำ�นวนประมาณ 20% •อายุของผู้เก็บของเก่า 26 – 60 ปี(วัยกลางคน) •อาชีพเก็บของเก่า จากการลงพื้นที่สามารถสรุปประเภทคนเร่ร่อนได้ดังนี้ •ชายมีจำ�นวนประมาณ 80% •หญิงมีจำ�นวนประมาณ 20% •อายุของผู้เก็บของเก่า 26 – 60 ปี(วัยกลางคน) •อาชีพเก็บของเก่า
Production model
Prototypes Experimental prototype Develop Prototype Final product Dimension Material process System & service