เอกสารประกอบการสอนth1013หลักภาษา(ฉบับปรับปรุง 2550)

Page 1

1

บทที่ 1 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับภาษา ความหมายของภาษา ภาษาเปนคําสันสกฤตมาจากรากเดิมวา ภาษ แปลวา กลาว, พูด, บอก เมื่อนํามาใชเปน คํ า นาม มี รู ป เป น ภาษาแปลตามรู ป ศั พ ท ว า คํ า พู ด หรื อ ถ อ ยคํ า แปลเอาความว า เครื่ อ งสื่ อ ความหมายระหวางมนุษยใหสามารถกําหนดรูความประสงคของกันและกันได โดยมีระเบียบคํา หรือจังหวะเสียงเปนเครื่องกําหนด (กําชัย ทองหลอ : 2539, น. 1) ภาษาตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 (2546, น. 822) ให ความหมายไววา “ถอยคําที่ใชพูดหรือเขียนเพื่อสื่อความของกลุมชนใดกลุมหนึ่ง หรือเพื่อสื่อความ เฉพาะวงการ ; เสียง ตัวหนังสือ หรือกิริยาอาการที่สื่อความได” ภาษา คื อ สิ่ ง ที่ ม นุ ษ ย คิ ด ขึ้ น สํ า หรั บ เป น เครื่ อ งมื อ สื่ อ สารในสั ง คม ซึ่ ง ประกอบด ว ย สัญลักษณหรือเครื่องหมายกับความหมาย ซึ่งเปนความรูสึกนึกคิดที่แฝงอยูใ นสัญลักษณหรือ ความหมายนั้น ทําใหคนเราเขาใจกันได สวนสัญลักษณหรือความหมายที่ขาดความหมายจะไม จัดเปนภาษาตามนัยนี้ (ประสิทธิ์ กาพยกลอน : 2516, น. 1) กลาวโดยสรุป ภาษา หมายถึง เครื่องมือที่มนุษยใชติดตอสื่อสารกัน ซึ่งอาจเปนเสียงพูด หรือสัญลักษณตางๆ ก็ได และสื่อความแลวตองมีความหมายเขาใจตรงกันระหวางผูรับสารและ ผูสงสาร ลักษณะทั่วไปของภาษา 1. ภาษาประกอบดวยเสียงและความหมาย ซึ่งมีการใชที่เปนระบบมีกฎเกณฑแนนอน ในดานเสียง การเรียงลําดับของเสียง ตลอดจนการเรียงคําในประโยค โดยปกติมนุษยสามารถทํา เสี ยงได ห ลายเสียง แต เ สี ยงเหล านั้ นก็ไ มจัดวาเปน ภาษาทั้ง หมดเนื่องจากเสียงบางเสียงไมมี ความหมาย ดังนั้นการที่เราจะจัดเสียงตางๆ ที่เปลงออกมาวาเปนภาษาหรือไมนั้นตองพิจารณา ความหมายของเสียงเปนองคประกอบดวย การจัดเรียงลําดับคําเปนคํา กลุมคํา หรือประโยคก็มี สวนสําคัญดวยหากเรานําคํามาเรียงแลวไมเปนไปตามลําดับกฎเกณฑของภาษาแลวคํา กลุมคํา หรือประโยคที่ไดไมมีความหมายเราก็ไมจัดวาเปนภาษา 2. ภาษามีลักษณะเปนระบบระเบียบ ระบบระเบียบในภาษาคือ ลักษณะจําเพาะของ แตละภาษา กลาวคือ ในแตละภาษาจะมีเสียงที่ใชสื่อความหมายอยูในวงจํากัด ดังนั้นเมื่อตองการ สรางคํา กลุมคํา หรือประโยคใหมีใชมากขึ้น แตละภาษาจะมีวิธีการนําเสียงที่สื่อความหมายตางๆ นั้นมาจัดเรียงกันดวยรูปแบบตางๆ เกิดเปนภาษามากขึ้น เชน เสียง ย+อิ+ง ประกอบกันเปน


2

คําวา “ยิง” เมื่อเติมวรรณยุกต เอก ( ) เขาไปบน อิ จะไดคําวา “ยิ่ง” เกิดเปนคําใหมขึ้นมาอีก ในภาษา นอกจากนี้การเรียงคําเขาระบบประโยคในแตละภาษาจะมีกฎเกณฑที่แตกตางกันไป เชนภาษาไทยจะมีวิธีการเรียงคําแบบ ประธาน+ กริยา+กรรม ดังนั้นเราจึงตองเรียงคําใหถูกตอง ตาม กฎเกณฑ ภ าษา เพื่ อ ให สื่ อ ความกั น เข า ใจ เช น ฉั น ยิ ง นก คนที่ รู ภ าษาไทยจะเข า ใจ ความหมายไดทันที แตถาเรียงเปนประโยค ยิงฉันนก ซึ่งไมเปนไปตามกฎเกณฑของภาษาไทย ทําใหสื่อความหมายไมไดเราไมจัดเปนภาษา 3. ภาษามีการงอกงามไมรูจบ ภาษาแตละภาษาจะมีเสียงที่ใชสื่อความหมายจํากัด และมี โครงสร างอยู จํ ากัด แต สามารถสรางภาษาขึ้น มาใชสื่อสารกัน ไดม ากมายไมวาจะเปน คําใหม กลุมคําใหม หรือประโยคใหม เรามีวิธีสรางภาษาใหมขึ้นใช โดยนําเสียงที่สื่อความหมาย ที่มีอยางจํากัด และโครงสรางที่มีจํากัดเหลานั้นมาจัดเรียงใหมเพิ่มหรือลดเสียงบางเสียงลงก็จะ ทําใหเรามีภาษาใชมากขึ้น แมวาจะมีการนําภาษาอื่นเขามาใช แตเราก็สามารถสรางคํา กลุมคํา ตาง ๆ เหลานั้นไดเรื่อย ๆ ไมจบสิ้น 4. ภาษามีการเปลี่ยนแปลง ภาษาและสังคมเปนสิ่งที่ดําเนินควบคูกันไป เมื่อสังคม เปลี่ยนแปลงไปภาษายอมเปลี่ยนแปลงตามไปดวย หากจะเปรียบภาษาเหมือนสิ่งของก็คงไม ตางกันนักเมื่อสิ่งใดใชไปนาน ๆ สิ่งนั้นยอมมีการเปลี่ยนแปลง ภาษาก็เชนเดียวกันเมื่อมีการใชไป เรื่อย ๆ เสียง ความหมาย และรูปคําก็มีลักษณะเปลี่ยนไป เชน คําวา “แพ” ในสมัยสุโขทัย หมายถึง “ชนะ” แตปจจุบันคําวา “แพ” หมายถึง “แพ” หรือสุภาษิต สํานวนไทย เชน “บานนอก คอกนา” ที่มีใชในปจจุบัน สมัยกอนใชวา “บานนอกขอกนา” การเปลี่ยนแปลงทางภาษาเชนนี้รวมถึงการบัญญัติศัพทใชใหม เชน โทรทัศน โทรศัพท เครื่องคิดเลข วีดิทัศน เปนตน การทับศัพทคําภาษาตางประเทศเพื่อใหมีคําใชในภาษาไทย เชน คอมพิ ว เตอร อิ น เทอร เ น็ ต เป น ต น ตลอดจนการคิ ด สร า งศั พ ท แ ปลกใหม ขึ้ น ใช เ ฉพาะกลุ ม (คําสแลง) เชน กิ๊ก จาบ จอย สบึม เปนตน 5. ภาษาเปนเรื่องการใชสัญลักษณรวมกัน การที่คนในสังคมจะสื่อสารกันไดยอมมี การกําหนดสัญลั กษณรวมกันกอนวาจะใชสัญลักษณอะไรแทนเสียงใด แทนความหมายอะไร ตลอดจนการนําสัญลักษณตางๆ มาประกอบกันเปนคํา กลุมคํา ประโยค เชน ภาษาไทยหากออก เสียง นก ก็หมายถึง สัตวเลือดอุนชนิดหนึ่งมี 2 ขา 2 ปก มีขนคลุมกาย เมื่อนํามาเรียงเปน ประโยคก็มีการกําหนดวาอะไรจะนํามากอนมาหลัง เชน นกบิน คําวา “นก” ในภาษาไทย กําหนดใหเปนประธานตองนําหนาคํากริยา คือ คําวา “บิน” เราจะเรียงสับเปน บินนกไมได เพราะ ในภาษาไทยมีการกําหนดรูปประโยคที่ใช สื่อสารกันไวแลววาตองเรียงแบบ ประธาน กริยา กรรม


3

6. ภาษาเกิดจากสิ่งแวดลอมเปนตัวกําหนด คนในสังคมจะใชภาษาเชนไรขึ้นอยูกับ สิ่งแวดลอมเปนตัวกําหนด สิ่งแวดลอมที่วานี้ ไดแก สภาพสังคม หรือกลุมของผูใชภาษานั่นเอง เชน เด็กไทยเกิดในประเทศไทย สัญ ชาติไทย แตไปอยูประเทศอังกฤษตั้งแตแรกเกิด โดยที่คน รอบข า งไม มี ใ ครพู ด ภาษาไทยด ว ยเลย เด็ ก คนนั้ น ย อ มพู ด ภาษาไทยไม ไ ด แต ส ามารถพู ด ภาษาอังกฤษไดดีเหมือนคนอังกฤษ ลักษณะของภาษาไทย บรรจบ พันธุเมธา (2537, น. 2-3) ไดกลาวถึงลักษณะสําคัญของภาษาไทยไวดังนี้ 1. คําแตละคํามาพยางคเดียว และไมมีเสียงควบกล้ํา 2. คําแตละคําถือเปนคําสําเร็จรูป เพราะมีความหมายสมบูรณ ใชเขาประโยคไดทันที โดยไมตองมีการตกแตงหรือเปลี่ยนแปลงสวนใดๆ ของคํา เพื่อบอกความสัมพันธระหวางคําใน ประโยค 3. คําคําเดียวกันอาจมีหลายความหมาย ใชไดหลายหนาที่โดยไมตองเปลี่ยนแปลงรูปคํา เลย จะรูความหมายและหนาที่ไดก็ดวยดูตําแหนงในประโยค 4. การเรียงลําดับคํามีความสําคัญที่สุด เมื่อเขาประโยคจะตองเรียงคําตามตําแหนง หนาที่ คําใดทํ าหน าที่ใ ด หมายอยางไรก็อยูที่การเรียงลําดับคํา การเรียงคําผิดที่ผิดตําแหนง ความหมายจะเปลี่ยนไปดวย ประโยคของภาษาไทยเรียงดังนี้ ผูทํา (คําขยาย) กริยา (คําขยาย) ผูถูก (คําขยาย) ถามีบุพบท บุพบทอยูหนานามที่เกี่ยวของดวย 5. เมื่อจะสรางคําใหม หรือตองการจะแสดงเพศ พจน ของคํานามหรือกาล มาลา ของ คํากริยา อาจใชคํามาประกอบกันเขาขางหนาบาง ขางหลังบาง หรือประสมตามแบบคําประสม บาง 6. มีลักษณนามมากั บคํ าขยายบอกจํานวนนั บ ในภาษาไทยคํ าขยายอยูห ลัง คํานาม ลักษณนามตามหลังคําขยายบอกจํานวนนับ 7. มีระบบเสียงสูงต่ํา คําแตละคํามีเสียงสูงต่ํา เสียงหนึ่งมีความหมายอยางหนึ่ง หาก เปลี่ยนเสียง ความหมายยอมเปลี่ยนไปดวย 8. มีการใชราชาศัพท และภาษาสุภาพตามฐานะของบุคคล ลักษณะดั งกล าวนี้ บางที ภ าษาของเราก็ไ มเปน เชน นั้น เสียทีเดียว เชน คําไทยไมไ ดมี พยางค เ ดี ย วทุ ก คํ า ไป และคํ า ที่ มี เ สี ย งควบกล้ํ า ยื น ยั น ได แ น ว า เป น คํ า ไทยก็ มี ไ ม น อ ย การ เรียงลําดับถาไมเปนไปตามระเบียบดังกลาวก็มีจึงควรไดพิจารณาโดยละเอียดตอไป


4

บรรณานุกรม กําชัย ทองหลอ. หลักภาษาไทย. พิมพครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ : บริษัทรวมสาสน (1977) จํากัด, 2537. บรรจบ พันธุเมธา. ลักษณะและการใชภาษา. พิมพครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2537. ปรีชา ทิชินพงศ. ลักษณะภาษาไทย. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพโอเดียนสโตร, 2522. สนิท ตั้งทวี. ความรูและทักษะทางภาษา. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพโอเดียนสโตร, 2528.


5

บทที่ 2 โครงสรางของคําไทย โครงสรางของคําไทยประกอบดวยสระ พยัญชนะ และวรรณยุกต ซึ่งมีลักษณะรูป เสียง และการใชดังตอไปนี้

สระ ความหมายของสระ สระหมายถึง ออกเสียงไดตามลําพัง, ในภาษาพูด หมายถึง กระแสเสียงหรือหางเสียงที่มี ทํานองสูงต่ําซึ่งเปลงออกมาตามจังหวะ, ในภาษาหนังสือ หมายถึง เครื่องหมายใชแทนเสียงที่ เปลงออกมา ตามหลักภาษาถือวาพยัญชนะจําตองอาศัยสระจึงจะออกเสียงได รูปสระ รูปสระเปนเครื่องหมายที่เขียนขึ้นโดยใชโดดๆ ก็มี หรือใชเขียนประสมกับรูปสระอื่น เพื่อให เกิดเสียงสระใหมก็มี สระในภาษาไทยมี 21 รูป คือ 1. ะ เรียกวา วิสรรชนียใชเปนสระอะ อยูหลังพยัญชนะ และประสมรูปสระอื่นให เปนสระ เอะ แอะ โอะ เอาะ เออะ เอียะ เอือะ และอัวะ 2. ั เรียกวา ไมผัดหรือไมหันอากาศ ใชเขียนแทนสระอะในคําที่มีตัวสะกด และ ประสมรูปสระอื่น เชน อัว อัวะ 3.  เรียกวา ไมไตคู ใชเขียนบนพยัญชนะที่ประสมกับรัสสระที่มีวิสรรชนีย เพื่อใช แทนวิสรรชนีย ในเมื่อมีตัวสะกด เชน เห็น เปน เปนตน และใชเขียนไวบนตัวพยัญชนะ “ก” แทน สระเอาะ เปน “ก็” = เกาะ 4. า เรียกวา ลากขาง ใชเปนสระอา อยูหลังพยัญชนะ และใชประสมรูปสระอื่นเปน สระเอาะ อํา และเอา 5.  เรียกวา พินทุอิ หรือ พินทุอิ ใชเปนสระอิ เขียนบนพยัญชนะ และใชประสมรูป สระอื่นเปนสระอิ อึ อื เอียะ เอีย เอือะ และเอือ 6.  เรียกวา ฝนทอง ใชประกอบพินทุอิ เปนสระอี และใชประสมกับสระอื่นเปน สระ เอียะ เอีย 7.   เรียกวา ฟนหนู ใชเขียนบนพินทุอิ เปนสระ อือ และใชประสมกับรูปสระอื่น เปนสระ เอือะ เอือ 8.  เรียกวา นฤคหิต หรือหยาดน้ําคาง ใชเขียนขางบนลากขางเปนสระ อํา, บน พินทุอิ เปนสระ อึ


6

9.  เรียกวา ตีนเหยียด ใชเขียนขางลาง เปนสระ อุ 10.  เรียกวา ตีนคู ใชเขียนขางลางเปนสระ อู 11. เ เรียกวา ไมหนา ใชเปนสระ เอ สําหรับเขียนไวหนาพยัญชนะ ถาใช 2 รูป คูกันจะเปน สระแอ นอกจากนี้ใชประสมกับรูปสระอื่นเปน สระเอะ แอะ เอาะ เออะ เอียะ เอีย เอือะ เอือ เอา 12. ใ เรียกวา ไมมวน ใชเปนสระไอ (ไมมวน) 13. ไ เรียกวา ไมมลาย ใชเปนสระไอ (ไมมลาย) 14. โ เรียกวา ไมโอ ใชเปนสระโอ และใชประสมรูปสระวิสรรชนียเปนสระโอะ 15. ฤ เรียกวา รึ ใชตามลําพัง เชน ฤดู หรือใชประสมพยัญชนะอื่น เชน ทฤษฎี ประพฤติ เปนตน 16. ฤา เรียกวา รือ ใชเปนพยางคหนา เชน ฤาษี ใชแทนคําวา “หรือ” ในภาษา โบราณ 17. ฦ เรียกวา ลึ ใชเขียนประสมพยัญชนะในคําโบราณ เชน ฦกซึ้ง 18. ฦา เรียกวา ลือ ใชเขียนคําบางคํา เชน ฦาชา ปจจุบันเลิกใชแลว 19. อ เรียกวา ออ ใชเขียนหลังพยัญชนะ ถาประสมกับสระอือ เชน ถือ มือ และ ประสมสระเออ เชน เธอ หรือสระเออะ เชน เจอะ 20. ย เรียกวา ยอ ใชประสมรูปสระอื่น เชน เอียะ เอีย 21. ว เรียกวา วอ ใชประสมรูปสระอื่น เชน อัว อัวะ เสียงสระ เสียงสระในภาษาไทยมี 32 เสียง จําแนกเปน เสียงสั้น เสียงยาว เสียงเบา และเสียงหนัก ดังรายละเอียดตอไปนี้ สระเสียงสั้น หรือ รัสสระ ไดแก สระ อะ อิ อึ อุ ฤ ฦ อํา ไอ ใอ เอา และสระที่ประสม วิสรรชนียทั้งสิ้น สระเสียงยาว หรือ ทีฆสระ ไดแก สระ อา อี อื อู เอ แอ โอ ออ เออ เอีย เอือ อัว ฤา ฦา สระเสียงเบา หรือ ลหุ ไดแก รัสสระทั้งสิ้นที่ไมมีตัวสะกด ยกเวนสระ อํา ไอ ใอ เอา สระเสียงหนัก หรือ ครุ ไดแก ทีฆสระทั้งสิ้น และรัสสระที่มีตัวสะกดรวมทั้งสระ อํา ไอ ใอ เอา


7

เสียงสระ เสียงสั้น (รัสสระ) อะ อิ อึ อุ เอะ แอะ โอะ เอาะ เออะ เอียะ เอือะ อัวะ ฤ ฦ อํา ไอ ไอ เอา

เสียงยาว (ทีฆสระ) อา อี อื อู เอ แอ โอ ออ เออ เอีย เอือ อัว ฤา ฦา

เสียงเบา (ลหุ) อะ อิ อึ อุ เอะ แอะ โอะ เอาะ เออะ เอียะ เอือะ อัวะ

เสียงหนัก (ครุ) อา อี อื อู เอ แอ โอ ออ เออ เอีย เอือ อัว ฤา ฦา อํา ใอ ไอ เอา สระเสียงสั้น + ตัวสะกด

วิธีการเขียนรูปสระ 1. เขียนหนาพยัญชนะมี 4 รูป คือ เ ไ ใ โ 2. เขียนหลังพยัญชนะมี 7 รูป คือ ะ า ฤ ฤา ย ว อ 3. เขียนบนพยัญชนะ มี 6 รูป คือ

     

4. เขียนใตพยัญชนะ 2 รูป คือ   5. เขียนตามลําพัง โดยไมประสมสระอื่น มี 16 รูป คือ ะ  า     เ โ ไ ใ ฤ ฤา ฦ ฦา อ


8

6. เขียนประสมสระอื่นมี 5 รูป คือ

  

ย ว (ใชเปนสวนหนึ่งของสระ)

7. ใชตามลําพังก็ได หรือใชประสมกับสระอื่นก็ได มี 5 รูป คือ ฤ ะ า เ อ การใชสระ การใชสระในการพูดยอมไมมีการพลิกแพลงอยางไรเพียงเราเปลงเสียงใหชัดเจนเทานั้น แตภาษาเขียนจะตองเขียนใหถูกตองตามหลักเกณฑ ในการเขียนนั้นสระในภาษาไทยจะใชเขียน ตามลําพังไมได ตองใชคูกับพยัญชนะเสมอ และมีวิธีการเขียนที่แตกตางกันไปหากเขียนผิดก็จะ สื่อความผิดหรืออานไมเขาใจได ดังนั้นผูใชภาษาจึงตองเขียนใหถูกตองตามหลักเกณฑ วิธีการใช สระมีดังนี้ 1. คงรูป คือตองเขียนรูปใหปรากฏชัด เชน ทําไม ปด ยุง นาน เปนตน รูปสระใน ภาษาไทยที่ใชโดยเขียนคงรูป เชน สระอะ การใชคงรูปคือตองประวิสรรชนีย (ะ) ขางหลังพยางคที่ออกเสียง อะ ใชเขียนทั้งในคําไทยและคําที่ยืมมาจากภาษอื่น เชน กระทะ อิสระ ซากุระ มะเดหวี เปนตน รวมทั้ ง ใช เ ขีย นเป นพยางค หน าของคํ า เช น กระ ประ ตระ พระ เช น กระจาย ประสิ ท ธิ์ ตระเตรียม เปนตน สระเอะ และ แอะ ใชเขียนไดทั่วไป เชน เละ เตะ แกะ แฉะ เปนตน สระโอะ ใชเขียนทั่วไปเมื่อไมมีตัวสะกด เชน โละ โผละ เปนตน สระเอาะ ใชเขียนไดทั่วไป เชน เลาะ เพาะ เปนตน สระเออ ใชเขียนในพยางคที่ไมมีตัวสะกด เชน เธอ เกลอ เปนตน สระเอีย ไมเปลี่ยนแปลงรูปเปนอยางอื่น แมจะมีตัวสะกดหรือไมก็ตาม เชน เสีย เสียด เพียบ เปนตน สระอัวะ ใชเขียนไดทั่วไป เชน ยัวะ ผัวะ เปนตน สระอัว ใชเขียนโดยทั่วไป โดยไมมีการเปลี่ยนแปลงรูป เชน มัว วัว ตัว รัว เปนตน สระออ ใชเขียนในพยางคที่ออกเสียงสระ ออ คําภาษาไทยหรือคําภาษาอื่นที่ ไมใชภาษาบาลีและสันสกฤตถาออกเสียงออ ตองมีตัวพยัญชนะ “อ” กํากับไวขางหลัง เชน รอ ลอก สอง เปนตน ยกเวนคําวา บ บ ที่เปนคําไทยและหมายถึง “ไม” ไมตองมี “อ” กํากับ สระ ฤ ใชเขียนโดดๆ ในความหมายวา หรือ ไม มักใชในคําประพันธ ใชเปนพยางคหนาหรือหลังของคําที่มาจากสันสกฤต เชน ฤดู ฤษี ใชประสมกับพยัญชนะ คลายกับตัว ร ควบเฉพาะคําที่มาจากภาษา บาลีสันสกฤต เชน ทฤษฎี พฤษภาคม กฤษณา เปนตน


9

สระ ฤา ใชเขียนโดดๆ ไมประสมพยัญชนะ หมายถึง หรือ อะไร ไม ไมใช ปจจุบันนิยมใชในคําประพันธเทานั้น เชน ฤาเบา= ไมเบา เปนตน ใชเปนพยางคหนาของคํา เชน ฤาดี= ยินดี เปนตน การใชรูปสระไอ ใชเขียนทั้งในคําไทยและคําที่ยืมมาจากภาษาอื่น เชน คําไทย เชน ไข ไม ไร ไว เปนตน คําเขมร เชน บันได ไผท ไถง เปนตน คําสันสกฤต เชน ไพบูลย ไมตรี ไพฑูรย เปนตน คําภาษาอังกฤษ เชน ไมโครโฟน ไอโอดีน ไอศกรีม ไกด เปนตน การใชรูปสระใอ ใชเขียนเฉพาะในคําไทยเทานั้นมี 20 คํา ไดแก ใกล ใคร ใคร ใจ ใช ใช ใด ใต ใน ใบ ใบ ใฝ ใย สะใภ ใส ใส ให ใหญ ใหม ใหล การใชรูปไอย ใชเขียนเฉพาะคําที่ยืมมาจากคําบาลีสันสกฤต เพื่อรักษารูปเดิม ของคํายืมไว คือ เมื่อคําบาลีสันสกฤตใชวา เอยย หรือ เอย เมื่อเปนคําไทยจะใชวา ไอย เชน คําบาลี ไชย เดิมเปน เชยย ภูวไนย เดิมเปน ภูวเนยย คําสันสกฤต อุปไมย เดิมเปน อุปเมย ภาคิไนย เดิมเปน ภาคิเนย หมายเหตุ มีคํา 2 คําที่เดิมไมใช เอยย หรือ เอย แตเราเขียนคลายกับนํามาจาก เอยย หรือ เอย คือ ไทย และ ไอยรา การใชรูปอํา จะใชเขียนเฉพาะคําไทยแท เชน ดํา ขํา นํา เปนตน ใชในคําไทย บางคําที่ใชอํา และมีพยัญชนะ พ ภ ตามหลัง เชน อําพัน อําไพ อํานวย อําภา เปนตน และใช เขียนในคําที่ยืมมาจากภาษาอื่น เชน คําบาลีสันสกฤต ซึ่งแผลงตัว อ ที่อยูหนาตัว น และตัว ม เปน อํา เชน อนาถ เปน อํานาถ อมร เปน อํามร อมรินทร เปน อํามรินทร เปนตน หรือคําที่ยืมมาจาก ภาษาอื่น เชน ไหหลํา (จีน) กํามะลอ (ญี่ปุน) กําลัง (เขมร) เปนตน 2. ลดรูป คือ ไมตองเขียนรูปสระใหปรากฏหรือปรากฏแตเพียงบางสวน แตตองออก เสียงใหตรงกับรูปสระที่ลดนั้น การลดรูปมี 2 อยาง คือ 2.1 ลดรูปทั้งหมด สระ อะ สระ อะ เมื่อใชวิธีการลดรูปมีหลักคือ ไมตองประวิสรรชนีย (ะ) ในพยางคที่ออกเสียง อะ แตตองออกเสียงเปน อะ เหมือนมีวิสรรชนียกํากับอยูดวย ในกรณีที่เปน พยางคที่เปนอักษรนํา เชน ขนบ ฉลอง ผงาด เปนตน เปนคํายกเวน เชน ณ ธ พณ เปน ตัวสะกดในคําไทยบางคําซึ่งนิยมออกเสียงตัวสะกดเปนพิเศษ เชน จักจั่น ตุกตา อลหมาน เปน ตน หรือเปนพยางคที่ออกเสียงเบา เชน ขโมย ชนวน สไบ เปนตน


10

สระโอะ ใชโดยวิธีการลดรูป คือ ตัดรูปสระโอะออกทั้งหมด คงไวแต พยัญชนะทีเปนตัวสะกด วิธีนี้ใชเมื่อมีตัวสะกดเทานั้น(ยกเวนตัว ร สะกด) เชน มด = ม + โอะ + ด ยง = ย + โอะ + ง สระเอาะ ใชโดยวิธีการลดรูปคือ ตัดรูปเดิมออกทั้งหมดแลวใชตัว อ กับ ไมไตคูแทน เชน น็อต = น + เอาะ + ต ล็อก = ล + เอาะ + ก

มีดังนี้

สระออ มีวิธีการลดรูปคือตัดตัว อ ออก แตอานเหมือนมีตัว อ กํากับอยู

คําไทยบางคํา คือ บ บ แปลวา ไม  คําบาลีสันสกฤตหรือคําภาษาอื่นที่ใช ร สะกด เวลาเขียนไม ต อ งมี ตัว พยั ญ ชนะ อ กํ า กั บ แต จ ะใช ตั วพยั ญ ชนะ ร สะกด แล วอ า นออกเสี ยง ออ มี ก าร ประกอบคําดังนี้ พยัญชนะ + สระออ + ตัวสะกด ร เชน ก + ออ + ร-สะกด = กร พ + ออ + ร-สะกด = พร  คําที่ยืมมาจากภาษาบาลีสันสกฤตที่เดิมพยางคหนาเปน ป แตไทยนํามาแผลงเปน บ เชน บรม บพิตร บริโภค บริษัท เปนตน  คําบาลีสันสกฤตบางคํ าที่ออกเสียงตัว จ ท ธ น ม ว ศ ษ ส ห อ และมีตัว ร ตามหลังพยัญชนะเหลานี้ เชน จรดล ธรณี ทรชน นรชาติ มรดก หรดี อรชุน อักษรศาสตร เปนตน 2.2 ลดรูปบางสวน ไดแก สระที่ลดรูปไมหมดเหลือไวแตเพียงบางสวนของรูปเต็ม ใหเปนเครื่องสังเกต สระเออ มีวิธีการลดรูปคือ ลดตัว อ ออกเสีย เมื่อมีตัวสะกดแมเกย (มี ตัว ย สะกด) เชน เฉย เลย เขย เกย เปนตน เชน ฉ + เออ + ย-สะกด = เฉย (ลดรูปตัว อ เหลือแตไมหนา) สระอัว มีวิธีการลดรูปคือ เมื่อมีตัวสะกดใหลดไมหันอากาศ เชน ส + อัว + น-สะกด = สวน (ลดหันอากาศ เหลือตัว ว) ค + อัว + ง-สะกด = ควง (ลดหันอากาศเหลือตัว ว) 3. แปลงรูป คือแปลงสระรูปเดิมใหเปลี่ยนเปนอีกรูปหนึ่ง สระ อะ มีวิธีการแปลงรูปคือแปลงวิสรรชนียเปนไมหันอากาศ เชน พ + อะ + น-สะกด = พัน ว + อะ + ง-สะกด = วัง 


11

นอกจากการแปลงสระ อะ เปนไมหันอากาศ แลวสะกดดวยพยัญชนะ ตางๆ แลว ยังมีสระ อะ ที่แปลงรูป อะ เปนไมหันอากาศ แลวตัวสะกดเปน ย คือ สระ อัย และ ตัวสะกดที่เปน ม ดวย กลาวคือ การใชสระอัยนั้นจะใชเฉพาะคําที่ยืมมาจากคําบาลีและสันสกฤต ซึ่งเดิมออกเสียงเปน 2 พยางค คือ อย อานวา อะยะ เชน ชย (ชะ-ยะ) ปจจย (ปด-จะ-ยะ) เมื่อ นํามาใชในภาษาไทย เราใหตัว ย เปนตัวสะกด จึงออกเสียงแตเพียงพยางคเดียววา อัย เชน ชัย ปจจัย อุทัย เปนตน สวนสระอัมนั้นมีการใชคือ จะใชในคําบาลีสันสกฤตที่มีพยัญชนะวรรคปะ ไดแก ป ผ พ ภ ม ตามหลัง ใหใช อัม เชน กัมปนาท คัมภีร สัมภาษณ เปนตน และใชในคํา บาลีสันสกฤตบางคําที่พยางคทายออกเสียงอํา เชน ปกีรณัม บุษราคัม เปนตน สระเอะ แอะ มีวิธีการแปลงรูปคือแปลงวิสรรชนียเปนไมไตคู เมื่อมีตัวสะกด เชน ก + เอะ + ง-สะกด = เก็ง ข + แอะ + ง-สะกด = แข็ง สระเออ มีวิธีการแปลงรูปคือแปลงตัว อ เปน อิ เมื่อมีตัวสะกด (ยกเวนตัว ย สะกด) เชน ล + เออ + ก-สะกด = เลิก ด + เออ + น-สะกด = เดิน อักษรหัน มีวิธีการแปลงรูปคือ แปลงวิสรรชนียเปนพยัญชนะตัวเดียวกับ ตัวสะกด เชน ส + อะ+ ร-สะกด แปลงวิสรรชนีย เปน ร ตามตัวสะกด = สรร 4. ตัดรูป คือตัดสระ อะ ที่เปนสระหนาของคําที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต และไม ตองออกเสียงสระที่ตัดนั้น (ตัดทั้งรูปและเสียง) เชน อนุช-นุช, อดิเรก-ดิเรก เปนตน 5. เติมรูป คือ เพิ่มรูปเขามานอกเหนือจากที่มีอยูแลว ไดแก อื ที่ใชใน มาตรา ก กา เชน ล + อื-ลื เติม อ เปน ลือ ม + อื-มื เติม อ เปน มือ 6. ลดรูปและแปลงรูป คือ สระบางตัวใชทั้งลดรูปและแปลงรูปควบคูกัน เชน ก + เอาะ = เกาะ แลวลดรูป ไมหนา กับ ลากขาง และแปลงรูปวิสรรชนียเปน ไมไตคู กลายเปน ก็ มีใชคําเดียวในภาษาไทย พยัญชนะ ความหมายของพยัญชนะ พยัญชนะ หมายถึง เครื่องหมายหรือตัวอักษรที่ใชประสมกับสระ เพื่อใชแทนเสียงพูด ซึ่งพยัญชนะจะออกเสียงตามลําพังไมไดจะตองมีสระประสมอยูดวยเสมอไมวาสระนั้นจะปรากฏ รูปหรือไมปรากฏรูปก็ตาม


12

รูปพยัญชนะ พยัญชนะในภาษาไทยมี 44 รูป ไดแก ก ข ฃ ค ฅ ฆ ง จ ฉ ช ซ ฌ ญ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พฟ ภ ม ย ร ล ว ศ ษ สห ฬ อ ฮ เสียงพยัญชนะ จากรูปพยัญชนะทั้ง 44 ตัวนั้น สามารถจําแนกเสียง ได 21 เสียง ดังนี้ 1. เสียง /ก/ มีรูปพยัญชนะ ก 2. เสียง /ค/ มีรูปพยัญชนะ ข ฃ ค ฅ ฆ 3. เสียง /ง/ มีรูปพยัญชนะ ง 4. เสียง /จ/ มีรูปพยัญชนะ จ 5. เสียง /ช/ มีรูปพยัญชนะ ฉ ช ฌ 6. เสียง /ซ/ มีรูปพยัญชนะ ซ ศ ษ ส 7. เสียง /ด/ มีรูปพยัญชนะ ด ฎ 8. เสียง /ต/ มีรูปพยัญชนะ ต ฏ 9. เสียง /ท/ มีรูปพยัญชนะ ฐ ถ ฑ ฒ ท ธ 10. เสียง /น/ มีรูปพยัญชนะ ณ น 11. เสียง /บ/ มีรูปพยัญชนะ บ 12. เสียง /ป/ มีรูปพยัญชนะ ป 13. เสียง /พ/ มีรูปพยัญชนะ ผ พ ภ 14. เสียง /ฟ/ มีรูปพยัญชนะ ฝ ฟ 15. เสียง /ม/ มีรูปพยัญชนะ ม 16. เสียง /ย/ มีรูปพยัญชนะ ญ ย 17. เสียง /ร/ มีรูปพยัญชนะ ร 18. เสียง /ล/ มีรูปพยัญชนะ ล ฬ 19. เสียง /ว/ มีรูปพยัญชนะ ว 20. เสียง /อ/ มีรูปพยัญชนะ อ 21. เสียง /ฮ/ มีรูปพยัญชนะ ห ฮ การใชพยัญชนะ พยัญชนะที่ 44 รูป สามารถจําแนกไดเปน 3 ชนิด คือ 1.พยั ญ ชนะที่ ใ ชเ ขี ยนทั่วไปกลาวคือ ใชเขียนทั้งคําไทย คําบาลี คําสัน สกฤต และคํา ภาษาอื่นที่นํามาใชในภาษาไทย มี 21 ตัว คือ ก ข ค ง จ ฉ ช ต ถ ท น ป ผ พ ม ย ร ล วสห


13

2. พยัญชนะที่ใชเขียนเฉพาะคําที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต มี 13 ตัว คือ ฆ ฌ ญฏฐฑฒณ ธภศษฬ พยัญชนะเดิมเหลานี้มีเขียนติดอยูในคําไทย 9 ตัว คือ ฆ ฌ ญ ฒ ณ ธ ภ ศ ษ ฆ ไดแก ฆา เฆี่ยน ระฆัง ตะเฆ ฌ ไดแก เฌอ (ตนไม) ญ ไดแก ใหญ หญา หญิง ญวน ญิบ (สอง) หญิบ (สอง) ญี่ (ลูกชาย คนที่สอง) ขวัญ เจริญ เข็ญ เชิญ ครวญ ลําเค็ญ เข็ญ อัญเชิญ อัญชัน ประจัญ ผจญ สําคัญ บังเอิญ ประจัญ ผจญ รัญจวน จัญไร รามัญ จรูญ มอญ บําเพ็ญ เทอญ ควาญ สําราญ เหรียญ หาญ เผอิญ บํานาญ นงคราญ ผลาญ ลาญ รําคาญ รําบาญ ฒ ไดแก เฒา ณ ไดแก ณ ธ ไดแก ธ เธอ ธง ธํารง ธํามรงค ธารกํานัล ภ ไดแก ภาย เสภา สําเภา ตะเภา เภตรา อําเภอ สะใภ แมลงภู ภูดาด (เสมียน) ศ ไดแก เศรา ศก เศิก ศอ พิศ พิศวง ปราศ ศอก ศึก บําราศ เลิศ เพริศ ษ ไดแก เกษียน (เขียน) ดาษ ดาษดา เดียรดาษ ระดาษ 3. พยัญชนะที่ไทยบัญญัติขึ้นเพื่อใหพอแกการเขียนสําเนียงในภาษาไทย มี 10 ตัวไดแก ฃ ฅ ซ ฎ ด บ ฝ ฟ อ ฮ พยัญชนะเหลานี้นอกจากใชเขียนคําไทยแลวยังใชเขียนในคําที่เรา ยืมมาจากภาษาอื่นดวย ตําแหนงพยัญชนะ ตําแหนงของพยัญชนะจะวางในพยางคหรือคํา 2 ตําแหนงคือ 1. พยัญชนะตน เปนพยัญชนะตัวแรกของพยางคห รือคําจะอยูหนาสระหรือ หลังสระก็ได ซึ่งพยัญชนะตนจะเปนพยัญชนะเดี่ยวหรือพยัญชนะประสมก็ได เชน พยัญชนะเดี่ยว เชน บานนอก เสียหาย มากมาย สวยงาม เปนตน พยัญชนะประสม เชน ทรัพย เครงขรึม หงอยเหงา อยาก เปนตน 2. พยัญชนะสะกด คือ พยัญชนะที่ประสมขางหลังพยางคหรือคําในแม ก กา แลวทําหนาที่บังคับ แม ก กา ใหกลายเปน แม กง กก กน กม กบ กด เกย หรือกลาวอีกนัยไดวา พยัญชนะที่ทําหนาที่ประสมเปนสวนที่ 4 ของพยางค (สระ+พยัญชนะ+วรรณยุกต+ตัวสะกด) แบงเปน 2 ชนิด คือ 2.1 พยัญชนะเดี่ยว เชน มด ปก พลับพลึง เปนตน


14

2.2 พยัญชนะประสม คือพยัญชนะสะกดมีพยัญชนะ 2 ตัวเรียงคูกัน แตออกเสียงเปนเสียงเดียว แบงเปนอักษรควบกับอักษรนํา สวนใหญเปนคําที่มาจากภาษาบาลี สันสกฤต ไดแก อักษรควบ - อักษรควบแท เชน บุตร อัคร เปนตน - อักษรควบไมแท เชน ธรรม พรหม เปนตน อักษรนํา เชน พิศมัย เปนตน 2.3 พยัญชนะที่มีรูปสระ เชน จักพรรดิ มังสวิรตั ิ เปนตน ประเภทพยัญชนะ ในการใชพยัญชนะสามารถจําแนกพยัญชนะที่ใชออกเปน 2 ประเภท คือ พยัญชนะเดี่ยว และพยัญชนะประสม 1. พยัญชนะเดี่ยว ไดแก พยัญชนะ 1 ตัว ประสมสระเดียว เชน คน งาม พัง 2. พยัญชนะประสม ไดแก พยัญชนะ 2 ตัว ประสมดวยสระเดียวกัน ไดแก อักษรควบ และอักษรนํา ดังรายละเอียดตอไปนี้ 2.1 อักษรควบ คือ พยัญชนะ 2 ตัวควบหรือกล้ํากัน อยูในสระเดียวกัน สามารถ จําแนกได 2 ชนิดคือ 1) อักษรควบแท คือ อักษรควบที่เกิดจากพยัญชนะ 2 ตัวควบหรือกล้ํากันใน สระเดียวกันสนิท มี 12 เสียง 16 รูป ดังนี้ /กร/ เชน กราบ กระ /กล/ เชน กลม กลอย /กว/ เชน กวัดแกวง ไกว /คร/ ใชรูป ขร เชน ขรม ขรัว คร เชน ครึกโครม คราม /คล/ ใชรูป ขล เชน ขลาด เขลา ขลุย คล เชน คลอด /คว/ ใชรูป ขว เชน ขวัญ ขวนขวาย ขวักไขว คว เชน ความ ควาย ควา /ตร/ เชน ตราบ ตรม ตรวจ /ทร/ เชน นิทรา จันทรา /ปร/ เชน ปราบปราม ปรุง ประ /ปล/ เชน ปลาย ปลอมแปลง /พร/ เชน พระ พรอมเพรียง พรั่ง


15

/พล/ ใชรูป พล เชน พลอย พลัด พลิกแพลง ผล เชน เผลอ ผลุนผลัน เมื่อสังคมไทยมีการติดตอกับชาวตางประเทศ ทําใหมีการยืมคําภาษาตางประเทศเขามา ใช ดวย จึงเกิดพยัญชนะควบกล้ําในภาษาไทยขึ้นอีก 5 เสียง ไดแก /บร/ เชน บรั่นดี บรูไน เบรก /บล/ เชน บล็อก /ดร/ เชน ดราฟต ดรัมเมเยอร /ฟร/ เชน ฟรี ฟรักโทส /ฟล/ เชน ฟลูออรีน แฟลกซ ฟลูออไรด แฟลต 2) อักษรควบไมแท คือ อักษรควบที่เกิดจากพยัญชนะ 2 ตัวควบหรือกล้ํากัน อยูในสระตัวเดียวกัน ไดแก พยัญชนะที่ควบกับตัว ร และตัว ร นั้นไมออกเสียง หรืออกเสียงแปร เปนเสียงอื่น การอานออกเสียงควบไมแทมีดังนี้ 2.1) ออกเสียงเฉพาะตัวหนา ไดแกตัว จ ซ ศ ส ที่ควบกับตัว ร แตไม ออกเสียง ร เชน จริง ไซร ศรี เศรา สราง เสร็จ เปนตน 2.2) ออกเสียงแปรเปนเสียงอื่น ไดแกตัว ท ที่ควบกับตัว ร แลวออก เสียงเปนตัว ซ เชน ทราบ ทราม ฉะเชิงเทรา พุทรา มัทรี ทรุดโทรม แทรก เปนตน หมายเหตุ อักษรควบนั้นสามารถเปนไดทั้งในตําแหนงพยัญชนะตนและพยัญชนะทาย ตําแหนงพยัญชนะตนคือสิ่งที่ไดกลาวมาทั้งหมดกอนหนานี้ สวนอักษรควบในตําแหนงพยัญชนะ ทายนั้นไดเคยกลาวไวแลวในเรื่องตําแหนงพยัญชนะทาย ประเภทพยัญชนะประสม (น.14) 2.2 อักษรนํา คือ พยัญชนะ 2 ตัว รวมอยูในสระเดียวกัน ลักษณะของอักษรนํา 1. ตองเปนพยัญชนะ 2 ตัวประสมกันและรวมอยูในสระเดียวกัน 2. สระตัวใดที่ใชเขียนไวขางหนาตองเขียนไวขางหนาอักษรธรรมดา เชน เขนย ไฉน เปน ตน สระที่เขียนไวขางบนขางลางและหลังพยัญชนะรวมทั้งรูปวรรรยุกตใหเขียนไวที่ตัวที่ 2 ของ อักษรนํา เชน สละ ฉลุย ถลม เปนตน 3. ตามปกติอักษรนํา เวลาออกเสียงจะปรากฏเสียงพยัญชนะ 2 ตัวประสมกันคนละครึ่ง ยกเวนพยัญชนะอยู 2 ตัว คือตัว ห กับตัว อ ซึ่งมีหลักการออกเสียงคือ ห เมื่อนําอักษรต่ําเดี่ยวจะ ออกเสียงประสมกับพยัญชนะที่ตามมากันสนิท เชน หนอน หนู หมอน เปนตน สวนตัว อ เมื่อ นําหนา ย หรือ ว ก็ออกเสียงเชนเดียวกับ ห คือเสียงจะกลมกลืนกันสนิท คือ อยา อยู อยาง อยาก สวน อ นํา ว ไทยใชเขียนคําที่นํามาจากภาษาจีน เชน อวางตี่ เปนตน


16

4. พยัญชนะตัวหนาจะเปนอักษรสูง อักษรกลาง หรืออักษรต่ําก็ได สวนพยัญชนะตัว หลังก็เชนเดียวกันจะเปนอักษรสูง อักษรกลาง อักษรต่ําก็ได แตมีขอสังเกตวาหากพยัญชนะตัว หนาเปนอักษรสูงหรือกลาง นําหนาอักษรต่ําเดี่ยวคําคํานั้นจะออกเสียงผันตามอยางอักษรสูงหรือ กลาง (ออกเสียงเหมือนมี ห นํา) เชน ฉลาด (อานวา ฉะ-หลาด) จรวด (อานวา จะ-หรวด) ตลก (อานวา ตะ-หลก) ขยาย (อานวา ขะ-หยาย) ขนม (ขะ-หนม) เปนตน ทั้งนี้มีบางคําที่ไมออก เสียงตามกฎ (ไมออกเสียง ห นํา) แตใหอานแบบเรียงพยางค เพื่อความไพเราะของเสียง สวนใหญจะเปนคําที่ยืมมาจากภาษาอื่น เชน เจริญ ตลุย สมาคม สลัม เปนตน และยังมีคําที่ ไมไดเปนอักษรนําแตอานอยางอักษรนํา เชน ดําริ บุรุษ สิริ เปนตน ยกเวน กฤษณะ วิษณุ อัศวิน และหากพยัญชนะตัวหลังมิใชอักษรเดี่ยวใหออกเสียง อยางปรกติ (ไมตองออกเสียงตามตัวหนา) เชน เผชิญ เกษียร ไผท เสด็จ เปนตน 5. หากเปนตัวสะกด * กรณีอักษรควบเปนพยัญชนะทาย * (เคยกลาวไวแลวในเรื่อง ตําแหนงพยัญชนะทาย น. 14) ใหถือตัวหนาเปนตัวสะกดเพียงตัวเดียว แตใหทําหนาที่เปน อักษรนําในพยางคตอไปดวย เชน วาสนา พิศวง พิสมัย กฤษณา เปนตน หากเปนตัวการันต จะเปนตัวการันตดวยกันทั้ง 2 ตัว เชน ลักษณ หรือจะเปนเพียงตัวเดียว เชน แพทย พจน เปน ตน 6. อักษรควบไมแทบางตัวก็ใชเปนอักษรนําได เชน ปรารถนา เปนตน มาตราตัวสะกด มาตรา คือ แมบทแจกลุกอักษรตามหมวดคําที่มีตัวสะกด หรืออกเสียงอยาง เดียวกัน แบงเปน 9 มาตรา คือ มาตรา ก กา หรือ แม ก กา คือ พยางคที่ไมมีตัวสะกด มาตรา กก หรือ แม กก คือพยางคที่มีตัว ก สะกด หรือตัวอื่นที่ทําหนาที่เหมือน ตัว ก สะกด ไดแก ก ข ค ฆ มาตรา กง หรือ แม กง คือพยางคที่มีตัว ง สะกด ตัว ง สะกด มาตรา กน หรือ แม กน คือพยางคที่มีตัว น สะกด หรือตัวอื่นที่ทําหนาที่เหมือน ตัว น สะกด ไดแก น ญ ณ ร ล ฬ มาตรา กบ หรือ แม กบ คือพยางคที่มีตัว บ สะกด หรือตัวอื่นที่ทําหนาที่เหมือน ตัว บ สะกด ไดแก บ ป พ ฟ ภ มาตรา กด หรือ แม กด คือพยางคที่มีตัว ด สะกด หรือตัวอื่นที่ทําหนาที่เหมือน ตัว ด สะกด ไดแก มาตรา กม หรือ แม กม คือพยางคที่มีตัว ม สะกด มาตรา เกย หรือ แม เกย คือพยางคที่มีตัว ย สะกด


17

มาตรา เกอว หรือ แม เกอว คือพยางคที่มีตัว ว สะกด วรรณยุกต ในภาษาไทยนิยมใชวรรณยุกตบังคับใหคํามีเสียงสูงต่ํา เพื่อใหเกิดความไพเราะ รูปวรรณยุกต วรรณยุกตในภาษาไทยมี 4 รูป คือ รูปวรรณยุกตเอก  รูปวรรณยุกตโท  รูปวรรณยุกตตรี  รูปวรรณยุกตจัตวา  เสียงวรรณยุกต เสียงวรรณยุกตมีทั้งหมด 5 เสียง คือ เสียงสามัญ เสียงเอก เสียงโท เสียงตรี เสียงจัตวา การใชวรรณยุกต ประเภทวรรณยุกต วรรณยุกตจําแนกได 2 ประเภทคือ 1. วรรณยุกตมีรูป คือ วรรณยุกตที่ตองใชรูปวรรณยุกต คือ ไม     บังคับ บนพยัญชนะ วรรณยุกตประเภทนี้มีเพียง 4 เสียง คือ เสียงเอก โท ตรี จัตวา เทานั้น 2. วรรณยุกตไมมีรูป คือวรรณยุกตที่ไมตองใชรูปวรรณยุกตบังคับบนพยัญชนะ สังเกตเสียงวรรณยุกตไดดวยวิธีกําหนดตัวพยัญชนะเปนสูง กลาง ต่ํา แลวประสมกับสระและ พยัญชนะอานเปนเสียงวรรณยุกตไดตามพวก วรรณยุกตประเภทนี้จะมีครบ 5 เสียง คําเปนคําตาย คําเปน คือเสียงที่ประสมดวยสระเสียงยาวในแม ก กา และพยางคที่มีตัวสะกดในแม กน กง กม เกย พยางคที่ประสมดวยสระ อํา ไอ ใอ เอา (เพราะออกเสียงเหมือนมี ม ย ว กํากับ) คําตาย คือเสียงที่ประสมสระเสียงสั้นในแม ก กา และพยางคที่มีตัวสะกดในแม กก กด กบ ไตรยางศ ไตรยางศ หมายถึง 3 สวน คือการแบงพยัญชนะออกเปน 3 พวก ตามวิธี วรรณยุกต ไดแก อักษรสูง อักษรกลาง และอักษรต่ํา 1. อักษรสูง มี 11 ตัว คือ ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห ผันได 3 เสียง คือ คําเปน พื้นเสียงเปนเสียงจัตวา เชน ขา สวย หาว ผันดวยไม  เปนเสียง เอก เชน ขา สวย หาว ผันดวยไม  เปนเสียง โท เชน ขา สวย หาว คําตาย พื้นเสียงเปนเสียงเอก เชน ขาก ฉก ผันดวยไม  เปนเสียง โท เชน ขาก ฉก


18

2. อักษรกลาง มี 9 ตัว คือ ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ ผันไดครบ 5 เสียง คือ คําเปน พื้นเสียงเปนเสียงสามัญ เชน ตุน ปา ผันดวยไม  เปนเสียง เอก เชน ตุน ปา ผันดวยไม  เปนเสียง โท เชน ตุน ปา ผันดวยไม  เปนเสียง ตรี เชน ตุน ปา ผันดวยไม  เปนเสียง จัตวา เชน ตุน ปา คําตาย พื้นเสียงเปนเสียงเอก เชน กบ เอก ผันดวยไม  เปนเสียง โท เชน กบ เอก ผันดวยไม  เปนเสียง ตรี เชน กบ เอก ผันดวยไม  เปนเสียง จัตวา เชน กบ เอก 3. อักษรต่ํา มี 24 ตัว คือ ค ต ฆ ง ช ซ ฌ ญ ฑ ฒ ณ ท ธ น พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ฬ ฮ ผันได 3 เสียงคือ คําเปน พื้นเสียงเปนเสียงสามัญ เชน คา นํา ผันดวยไม  เปนเสียงโท เชน คา น่ํา ผันดวยไม  เปนเสียงตรี เชน คา น้ํา คําตาย สระเสียงสั้น พื้นเสียงเปนเสียงตรี เชน คะ ผันดวยไม  เปนเสียง โท เชน คะ ผันดวยไม  เปนเสียงจัตวา เชน คะ คําตาย สระเสียงยาว พื้นเสียงเปนเสียงโท เชน คาก ผันดวยไม  เปนเสียงตรี เชน คาก ผันดวยไม  เปนเสียงจัตวา เชน คาก


19

อักษรคู อักษรเดี่ยว อักษรต่ําแบงเปน 2 พวกคือ อักษรคูและอักษรเดี่ยว อักษรคู คือ อักษรต่ําที่มีเสียงเปนคูกับอักษรสูงมี 14 ตัว จัดเปนคูได 7 คู ไดแก อักษรต่ํา อักษรสูง คฅฆ ขฃ ชฌ ฉ ซ ศษส ฑฒทธ ฐถ พภ ผ ฟ ฝ ฮ ห อักษรต่ํ าและอักษรสูงนี้ ไม สามารถผัน ไดครบ 5 เสียงเหมื อนอักษรกลาง ดัง นั้น หาก ตองการผันใหครบ 5 เสียงตองนําอักษรต่ําและอักษรสูงมาคูกัน เชน คา ชอ คา ขา คา ขา ชอ ฉอ ชอ ฉอ ขา ฉอ อักษรเดี่ยว คืออักษรต่ําที่ไมมีเสียงอักษรสูงเปนคู มี 10 ตัว คือ ง ญ ณ น ม ย ร ล ว ฬ การอานอาจอานออกเสียงประสมกับพยัญชนะที่นํามาขางหนา ซึ่งการออกเสียงนั้น บางครั้งก็ออกเสียงรวมกันสนิท เชน ครู ปลอบ กวา ฯลฯ แตบางครั้งออกเสียงรวมกันไมสนิท เชน สนั่น ตลก ฉลาม ขนบ ฯลฯ อักษรที่จะใชนํานั้นอาจเปนอักษรสูง กลาง ต่ํา ก็ได แตมี หลักวาตองผันตามหลักการผันของตัวนําเสมอ เชน อักษรสูงนํา > ขนม ขนม ขนม อักษรกลางนํา > ปลา ปลา ปลา ปลา ปลา อักษรต่ํานํา > ครู ครู ครู อักษรหัน

ตัวหัน หรืออักษรหัน กําชัย ทองหลอ (2537, น. 93) อธิบายไววา คือ พยัญชนะที่แปลงรูปจาก วิสรรชนียมาเปนพยัญชนะที่มีรูปเหมือนตัวสะกด แตทาํ หนาที่แทนหันอากาศ และตองเรียงไวหนาตัวสะกดที่มี รูปเหมือนกัน จึงเรียกวา ตัวหัน หรืออักษรหัน พยัญชนะทุกตัวทีเ่ ปนตัวสะกดไดยอมเปนตัวหันไดทั้งสิ้น เชน กกก อานวา กัก เรียกวา ก หัน พบบ อานวา พับ เรียกวา บ หัน ปจจุบันเหลือใชแต ร หันตัวเดียว


20

ตัวการันต ตัวการันต หมายถึง พยัญชนะตัวสุดทายที่ไมตองอานออกเสียงเปนตัวสะกด หรือเปน พยัญชนะตนของพยางคตอไป โดยมากมีไมทัณฑฆาต ( ) เขียนกํากับไวขางบน ตัวการันตนี้มีไวเพื่อรักษารูปเดิมของศัพทใหคงอยู ศัพทที่มีตัวการันตนั้น โดยมากมักยืม มาจากภาษาบาลี แ ละสั น สกฤต เพราะศั พ ท ใ นภาษาเดิ ม นั้ น เขาออกเสี ยงหลายพยางค แต ภาษาไทยจะพูดชาและพูดนอยพยางค ดังนั้นจึงเอาพยางคหลังมาเปนตัวสะกดบาง เปนการันต บาง เชน สุข ภาษาเดิมอานวา สุ-ขะ ไทยนํามาใชอานวา สุข อาน วา สุก พยัญชนะใดถาไมตองการใหเปนตัวสะกด หรืออานเปนอีกพยางคหนึ่งแลวจะนับวาเปน ตัวการันตควรใสไมทัณฑฆาตไวเพื่อไมใหออกเสียง เชน ตนโพธิ์ อานวา ต น -โพ ประโยชน อานวา ประ-โหยด ธรรมลังการ อานวา ทํา-มะ-ลัง-กา เปนตน หากพยัญชนะใดตองการออก เสียงเปนตัวสะกดก็ไมตองใสไมทัณฑฆาต เชน มหาโพธิ อานวา มะ-หา-โพด อลังการ อาน วา อะ-ลัง-กาน เปนตน ตั ว การั น ต จ ะเป น พยั ญ ชนะตัว เดีย วก็ ไ ด เช น สงฆ เปน อั กษรควบ เช น พัก ตร เป น อักษรนํา เชน กฤษณ ลักษณ สองตัวเรียงกัน เชน กาญจน หรือมีรูปสระประกอบ เชน บริสุทธิ์ บงสุ ประสิทธิ์ เปนตน วิธีการกระจายอักษร วิธีการกระจายอักษรเปนวิธีบอกสวนประกอบตางๆ ของพยางคอยางถี่ถวนซึ่งมีหลักการ กระจายดังนี้ 1. ตองบอกสวนของพยางคเรียงตามลําดับ ดังนี้ พยัญชนะตน สระ ตัวสะกด วรรณยุกต และการันต 2. พยัญชนะตนถาเปนพยัญชนะประสมตองบอกวาเปนอักษรนําหรืออักษรควบดวย พยัญชนะทายก็เชนเดียวกัน 3. สวนสระใหบอกตามเสียงสระ เชน สระโอ สระอะ หากสระใดลดรูปหรือเปลี่ยนแปลง มาจากสระใดตองบอกดวย 4. หากเปนสระ ฤ ใหบอกดวยวาอานออกเสียงวา ริ, รึ หรือ เรอ 5. สวนวรรณยุกตตองบอกวาเปนวรรณยุกตใด มีรูปหรือไมมีรูป


21

เชน

ก็ เปนคําพยางคเดียว พยัญชนะตน ก เปนพยัญชนะประเภทพยัญชนะเดี่ยว สระเอาะ เปลี่ยนรูปเปนไมไตคู วรรณยุกต โท ไมมีรูป สมัย ส

มัย

เปนคําสองพยางค พยัญชนะตน ส เปนพยัญชนะประสมประเภทอักษรนํา สระ อะ ลดรูปทั้งหมด วรรณยุกตสามัญ พยัญชนะตน ม เปนพยัญชนะเดี่ยว สระ อะ แปลงวิสรรชนียเปนไมหันอากาศ พยัญชนะสะกด ย เปนพยัญชนะเดี่ยว วรรณยุกต จัตวา ไมมีรูป เพราะ ส นํา

บรรณานุกรม กําชัย ทองหลอ. หลักภาษาไทย. พิมพครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ : บริษัทรวมสาสน (1977) จํากัด, 2537. อุปกิตศิลปสาร, พระยา. หลักภาษาไทย. พิมพครั้งที่ 12. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพไทยวัฒนา พานิช จํากัด, 2546.


22

บทที่ 3

การนําคําภาษาตางประเทศมาใชในภาษาไทย คําที่ใชอยูในภาษาไทยมีทั้งคําไทยแท และคําที่ยืมมาจากภาษาอื่น การที่ภาษาไทยยืม ภาษาอื่นมาใชทําใหภาษาไทยมีคําใชมากขึ้นเกิดการงอกงามทางภาษา การที่รับไทยรับคําภาษาอื่นมาใชมีหลายสาเหตุดวยกัน ไมวาจะเปนการมีภูมิประเทศ ติดตอกัน การติดตอคาขาย ความสัมพันธดานการทูต การถายโอนทางวัฒนธรรมและศาสนา การศึกษา การรับเทคโนโลยีความทันสมัยตางๆ หรือเรื่องการเมืองการปกครอง เปนตน การยืมคําภาษาตางประเทศมาใชเรามีวิธีการยืมหลากหลายวิธีดวยการ เชน การคงรูป ศั พ ท เ ดิ ม ของเขาไว การเปลี่ ยนเสี ย งหรือรู ปใหเ หมาะสมกับ สํา เนี ยงไทย การทับ ศัพ ท การ บัญญัติศัพท หรือการรับมาทั้งรูปและเสียงของคํา เปนตน คํ าภาษาต างประเทศที่ ยืม มาใช ใ นภาษาไทยมี ห ลายภาษา เช น ภาษาบาลี สั น สกฤต ภาษาเขมร ภาษาจีน ภาษาอังกฤษ ภาษาชวาและมลายู ภาษาญี่ปุน ภาษาทมิฬ ภาษาพมา ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเปอรเซียร เปนตน 1. คําภาษาบาลีสันสกฤต คําภาษาบาลีและสันสกฤตเขามาในภาษาไทยดวยเหตุทางศาสนา วัฒนธรรมและ ขนบธรรมเนียมประเพณี ดานวรรณคดี ลักษณะของคําภาษาบาลีและสันสกฤต มีดังนี้ 1.1 คําภาษาบาลีจะมีสระ 8 ตัว คือ อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอสวนคําสันสกฤตจะมี 14 ตัว โดยเพิ่มสระ ไอ เอา ฤ ฤา ฦ ฦา 1.2 คําภาษาสันสกฤตจะใชพยัญชนะ ศ ษ ส สวนคําภาษาบาลีจะใช ส ตัวเดียว ยกเวน ศอก ศึก เศรา โศก เปนคําไทย 1.3 คําภาษาสันสกฤตจะใช รร (ร. เรผะ) 1.4 คําภาษาสันสกฤตมักมีพยัญชนะประสม เชน บุตร อัคร โคตร เปนตน 1.5 คําบาลีและสันสกฤตจะใชพยัญชนะวรรคเหมือนกันดังตารางตอไปนี้


23

วรรค กะ ก ข ค ฆ ง วรรค จะ จ ฉ ช ฌ ญ วรรค ฏะ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ วรรค ตะ ต ถ ท ธ น วรรค ปะ ป ผ พ ภ ม เศษวรรค ย ร ล ว ส ห ฬ ◦ ** ภาษาสันสกฤตในเศษวรรคเพิ่ม ศ ษ ** โดยมีกฎดังนี้ ภาษาบาลี มีกฎวาพยัญชนะแถวที่ 1 สะกด พยัญชนะแถวที่ 1,2 ตาม พยัญชนะแถวที่ 3 สะกด พยัญชนะแถวที่ 3, 4 ตาม พยัญชนะแถวที่ 5 สะกด พยัญชนะทุกแถวตามไดหมด ยกเวน ง เปนตัวตามไมได โดยพยัญชนะสะกดพยัญชนะตามตองอยูในวรรคเดียวกัน เชน - พยัญชนะแถวที่ 1 สะกด พยัญชนะวรรค 1, 2 ตาม เชน อิจฉา ปจจุบัน หัตถี บุปผา ทุกข สังเขป กัปป เขต (เขตต) นิจ (นิจจ) เปนตน - พยัญชนะแถวที่ 3 สะกด พยัญชนะแถว 3, 4 ตาม เชน อิทธิ พุทธ อัคคี พยัคฆ เปนตน - พยัญชนะแถวที่ 5 สะกด พยัญชนะทุกแถวในวรรคเดียวกันตาม เชน ธัญญา ปริญญา ขันติ คิมหันต กังขา สัมผัส เปนตน ภาษาสันสกฤต มีกฎเชนเดียวกับภาษาบาลีคือ พยัญชนะแถวที่ 1 สะกด พยัญชนะแถวที่ 1,2 ตาม พยัญชนะแถวที่ 3 สะกด พยัญชนะแถวที่ 3, 4 ตาม พยัญชนะแถวที่ 5 สะกด พยัญชนะ ทุกแถวตามไดหมด ยกเวน ง เปนตัวตามไมได โดยพยัญชนะสะกดพยัญชนะตามจะอยูในวรรค เดียวกันหรือตางวรรคกันก็ได แตยังคงตองยึดหลักตัวสะกดตัวตามตามกฎที่วางไว เชน ชนม วิทยุ วิทยา เปนตน 1.6 พยัญชนะเศษวรรค ภาษาบาลีและสันสกฤตมีกฎ ดังนี้ ภาษาบาลี พยัญชนะเศษวรรคขึ้นไปเปนตัวสะกดไดทุกวรรคทุกแถว (แตไมนิยมเทา ภาษาสันสกฤต) และสามารถเปนตัวสะกดไดแตตองตัวเองสะกดและตัวเองตาม (เฉพาะ ย ล ส) เชน อัยยะ อัยยิกา มัลลิกา อัสสุ มัสสุ ประภัสสร เวสสันดร เปนตน สวน ว ฬ เปนตัวสะกด ไดเมื่อมี ห ตาม (ฬ เปนตัวสะกดใชในภาษาบาลีเทานั้น) เชน ชิวหา วิรุฬหก เปนตน สวน ร ห เปนตัวสะกดไมได (ในภาษาบาลีและสันสกฤตเดิม)


24

ภาษาสันสกฤต พยัญชนะเศษวรรคขึ้นไปเปนตัวตาม พยัญชนะสะกดทุกวรรคทุกแถวได เชนเดียวกับภาษาบาลี และเศษวรรคสามารถเปนตัวสะกดได โดยที่ตัวเองไมตองตามตัวเอง ซึ่งมี กฎ ดังนี้ 1) ใชตัว ศ สะกด เมื่อทีพยัญชนะในวรรค จ หรือ ตัว ม หรืออักษรเดี่ยว ตามหลัง เชน ปศจิม พฤศจิก อัศจรรย (วรรค จ) รัศมี (ตัว ม) อัศวิน ปริศนา อัศว ทรรศนะ (อักษรเดี่ยว) 2) ใชตัว ษ สะกด เมื่อมีพยัญชนะในวรรค ฏ วรรค ต หรือตัว ก ป ม ย ร ตามหลัง เชน กฤษฎา เจษฎา สันนิษฐาน ทฤษฎี (วรรค ฏ ) บุษบา (ตัว ป) ลักษมี อุษมัน (ตัว ม) บุษย (ตัว ย) และ บุษราคัม (ตัว ร ) 3) ใชตัว ส สะกด เมื่อมีตัวมันเองหรือพยัญชนะในวรรค ต ตัว ม หรือ ตัว ย ตามหลัง เชน (ดูตัวอยาง ส สะกด ส ตาม ในขอ 2) พัสดุ พิสดาร ภัสดา (วรรค ต) พิสมัย พิสมร (ตัว ม ) สวน ฬ ไมใชเปนตัวสะกดสันสกฤต และ ร ห เปนตัวสะกดไมไดเชนกัน ** มีขอสังเกตวาหากตัวตามเปน ย ซึ่งเปนพยัญชนะเศษวรรคจะนิยมในภาษาสันสกฤต หมายเหตุ การที่ ร และ ห เปนตัวสะกดไมได แตมีคําตาง ๆ ในภาษาไทยที่ยืมมาจาก ภาษาบาลีสันสกฤตแลว ร ห เปนตัวสะกดไดสามารถอธิบายไดดังนี้ 1) ตัว ร ที่ไมใชพยางคหนาของคํา เดิมออกเสียงเต็มพยางค แตไทย นํามาใชลดพยางคใหนอยลงจึงใหตัว ร เปนตัวสะกด และเมื่อเปนตัวสะกดแลว สระอะที่พยางค หนาจะตองกลายเปนสระออ เชน สิงขร อมร อักษร 2) ตัว ร ซึ่งเปนตัว เรผะ ในสันกฤต เดิมออกเสียงประสมกับพยัญชนะที่อยู ขางหลังครั้นนํามาใชในภาษาไทย เราใหเปนตัวควบกับพยัญชนะตัวหลังและไมออกเสียง เรียกชื่อรวมกับตัวหลังวา “อักษรควบไมแท” เชน มาคร ปรารถนา ธรรม ทรรศนะ สรรพ เปน ตน ในกรณีนี้ถือวา ร เปนตัวสะกดควบกับพยัญชนะตัวหลัง 3) ตัว ห ซึ่งควบกับตัว ม ที่มาขางหลัง เมื่อไทยเราบังคับใหตัว ม เปน ตัวสะกด ตัว ห ซึ่งควบกับตัว ม ก็ตองพลอยเปนตัวสะกดไปดวย แตไมตองออกเสียงหรือทํา หนาที่บังคับเสียง เชน พรหม พราหมณ พราหมณี 1.7 พยัญชนะเศษวรรค ตัว  (อานวาอังหรืออัม) เปนตัวสะกดไดทั้งคําไทย บาลีและ สันสกฤต ใชเขียนไวบนพยัญชนะ มีหลักสังเกตคือ


25

- ใชสะกดในคําไทย ทําหนาที่เหมือนตัว ม สะกด เชน ชํรํ (ชมรม) ชุนุ (ชุมนุม) จุพล (จุมพล) - ใชสะกดในคําบาลี ทําหนาที่เหมือนตัว ง สะกด และใชสะกดเฉพาะพยางค หนาที่ไมมีพยัญชนะในวรรค ก ตาม หรือที่พยางคหลังสุดของคํา เชน สํวร พุทธํ เปนตน - ใชสะกดในคําสันสกฤต ทําหนาที่เหมือนตัว ม สะกด และใชเฉพาะ พยางคหนาที่ไมมีพยัญชนะในวรรค ก ตาม หรือที่พยางคหลังสุดทายของคํา เชน เมทินึ เอตํ เปนตน การรับคําภาษาบาลีและสันสกฤตมาใชในภาษาไทย ไทยรับคําภาษาบาลีและสันสกฤตมาใช 5 รูปแบบ ดังนี้ 1. การรับคําภาษาบาลีหรือภาษาสันสกฤตมาใชเพียงภาษาเดียว - รับคําภาษาบาลีมาใช เชน ฌาน (ฌาน) สังเขป (สงเขป) เคหะ (เคห) โชติ (โชติ) จุตติ (จุตติ) วิปลาส (วิปลลาส) อุบัติ (อุปปตติ) สุนัข (สุนข) ปญหา (ปญหา) เปนตน - รับภาษาสันสกฤตมาใช เชน เศวต (เศวต) ศิลป (ศิลป) รมย (รมย) อากาศ (อากาศ) เกษม (เกษม) วิทยุ (วิทยุต) ประมาท (ปรมาท) สถล (สถล) สวัสดี (สวสติ) เปนตน 2. การรับคําทั้งภาษาบาลีและภาษาสันสกฤตมาใชในความหมายเดียวกัน การรับมาใช แบบนี้สามารถจําแนกไดเปน 2 ประเภทคือ 2.1 การรับคําภาษาบาลีและสันสกฤตที่มีรูปและความหมายเหมือนกันมาใช เชน กมล (กมล) โกวิท (โกวิท) คงคา (คงคา) เกตุ (เกตุ) ชบา (ชปา) โคจร (โคจร) การณ (การณ) คีต (คีต) บาป (ปาป) ธุระ (ธุร) ธนู (ธนุ) ทาน (ทาน) ชนบท (ชนปท) ทารุณ (ทารุณ) โค (โค) ชมพู (ชมพ)ู ยาจก (ยาจก) เลข, เลขา (เลข) นิคม (นิคม) มณี (มณิ) เมฆ (เมฆ) ภาระ (ภาร) บูชา (ปูชา) หิมะ (หิม) เปนตน 2.2 การรับคําภาษาบาลีและสันสกฤตใชรูปตางกัน แตมีความหมายเหมือนกันมา ใช ภาษาไทย ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต เชน ปทุม, ปทมา ปทุม ปทม สุริยะ, สูรย สุริย สูรย


26

อักขระ, อักษร สิริ, ศรี นิจ, นิตย ฤทธิ์, อิทธิฤทธิ์ อัคคี, อัคนี

อกขร สิริ นิจจ อิทธิ อคคิ

อกษร ศรี นิตย ฤทธิ อคนิ

เปนตน

3. การรับคําทั้งภาษาบาลีและสันสกฤตมาแยกความหมายใช หมายถึง คําเดิมใน ภาษาบาลีและสันสกฤตนั้นสองคํามีความหมายเดียวกัน แตไทยนํามาใชโดยนํามาแยก ความหมายใช เชน ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษาไทย ความหมาย กีฬา กรีฑา กีฬา การแขงขันประเภทลาน กรีฑา การแขงขันประเภทลู ฐิติ สถิติ ฐิติ การตั้งมั่น สถิติ หลักฐานที่รวบรวมเอาไวเปน ตัวเลขสําหรับเปรียบเทียบ เขตต เกษตร เขต อาณาบริเวณ เกษตร ไร, นา, ที่ทํากิน ทิฏฐิ ทฤษฏิ ทิฐิ ความเห็น, การเห็น ทฤษฎี ขอกําหนด อจฉริย อาศจรย อัจฉริย ฉลาด, เดน อัศจรรย แปลก สามญญ สามานย สามัญ ธรรมดา, ทั่วไป สามานย ต่ําชา สุญญ ศูนย สูญ หมด, สิ้น ศูนย ที่รวม เปนตน


27

4. การรับความหมายของคําบาลีสันสกฤตมาใช โดยประดิษฐรูปศัพทใชเอง - การนํารูปของภาษาบาลีและสันสกฤตมาประสมกัน ภาษาไทย ภาษาบาลี ภาษาสันกฤต เชน เชษฐา เชฏฐ เชยษฐ ประจักษ ปจจกข ปรตยกษ ประวัติ ปวตติ ปรวฤตติ สนิท สินิทธ สนิคธ เปนตน - การประดิษฐรูปคําขึ้นใหม โดยอาศัยแนวเทียบจากภาษาสันสกฤต ภาษาไทย ภาษาบาลี ภาษาสันกฤต เชน สาบาน สปน ศปน สบาย สปปาย สปราย ปริศนา ปญหา ปรศน ไมตรี เมตเตยย ไมไตรย เปนตน 5. การรับลักษณะการสรางคําของภาษาบาลีและภาษาสันสกฤตมาใช ภาษาบาลีและ สันสกฤตมีวิธีการสรางคําหลายวิธี เชน วิธีกฤต(การลงปจจัย) วิธีสมาส วิธีตัทธิต วิธีสนธิ วิธีลง อุปสรรค เปนตน ซึ่งไทยรับวิธีการสรางคํามาจากภาษาบาลีและสันสกฤตมาใช 2 วิธี คือ วิธีสมาส วิธีสนธิ สวนวิธีอื่นไทยรับมาใชบางแตจะเปนคําที่สรางมาเรียบรอยแลว ตัวอยางคําที่สรางดวยวิธีตาง ๆ - วิธีสมาส เชน คณบดี อุดมศึกษา สหกรณ ทัศนศึกษา แพทยศาสตร กิจกรรม กิตติคุณ อุทกภัย กลยุทธ ลิขสิทธิ์ อัคคีภัย เปนตน - วิธีสนธิ เชน สังขาร พรหมจรรย กรินทร การันต เปนตน - วิธีลงอุปสรรค เชน ทุจริต อนุรักษ ประยุกต อุปกรณ สุมาลี เปนตน - วิธีตัทธิต เชน เอกมัย เหรัญญิก สยามิก เปนตน หมายเหตุ วิธีการสรางคําจะอธิบายไวในบทวิธีการสรางคําในภาษาไทย


28

ทั้งหมด

วิธีการนําคําภาษาบาลีสันสกฤตมาใชในภาษาไทย 1. ใชตามรูปเดิม มีวิธีการรับมาใช 2 วิธี คือวิธีไมตัดรูปวิภัติและวิธีตัดรูปวิภัติ 1.1 ใชตามรูปเดิม โดยไมตัดรูปวิภัตติออก คือรับคําและเสียงของคํามาใช เชน

โมโห นานาจิตตัง วาโย อนิจจัง อาวุโส สุข โรค เปนตน 1.2 ใชตามรูปเดิมแตตัดรูปวิภัตติออก วิธีนี้ใชมากและออกเสียงได 3 ชนิด ดังนี้ 1) ออกเสียงตามคําเดิม เชน นิธิ สมาธิ ราตรี สติ กัญญา วัตถุ เปนตน 2) ออกเสียงเพี้ยนไปจากเดิม เพราะนําพยัญชนะทายมาเปนตัวสะกด เชน กุมาร ทูต วานร สหาย โคจร เปนตน 3) ออกเสียงผิดไปจากเดิม เชน ศาสนา อานวา สาด-สะ-หนา ประมาท อานวา ประ-หมาด เศวต อานวา สะ-เหวด จริต อานวา จะ-หริด อนาถ อานวา อะ-หนาด อเนก อานวา อะ-เหนก เปนตน 2. วิธีการเปลี่ยนแปลงสระ วิธีการเปลี่ยนแปลงสระมีทั้งเปลี่ยนแปลงเสียงและรูป ดัง รายละเอียดตอไปนี้ 2.1 เปลี่ยนแปลงเสียงสั้นเปนเสียงยาว คือ ภาษาเดิมออกเสียงเปนเสียงสั้น เมื่อ ไทยรับมาจึงเปลี่ยนเสียงสั้นใหเปนเสียงยาว เพื่อความสะดวกในการออกเสียง - เปลี่ยนเสียง อะ เปน อา เชน โอช เปน โอชา เคห เปน เคหา ชีว เปน ชีวา จนทร เปน จันทรา เสนห เปน เสนหา ปาท เปน บาทา วน เปน วนา, พนา เปนตน - เปลี่ยนเสียง อิ เปน อี เชน ฤษิ เปน ฤษี วีถิ เปน วิถี วาริ เปน วารี ราศิ เปน ราศี นีล เปน นิล อญชลิ เปน อัญชลี


29

วีปรีต เปน วิปริต มณิ เปน มณี เปนตน - เปลี่ยนเสียง อุ เปน อู เชน สูกร เปน สุกร คุหา เปน คูหา เรณุ เปน เรณู วิทุร เปน วิทูร อณุ เปน อณู ศตรุ เปน ศัตรู เปนตน 2.2 เปลี่ยนแปลงเสียงสระที่เกิดที่เดียวกัน - เปลี่ยน อิ อี เปน เอ ไอ เอีย เชน ศิร เปน เศียร สถิร เปน เสถียร กีรติ เปน เกียรติ, เกียรติ์ กษีณ เปน เกษียณ ติรจฉาน เปน ดิรัจฉาน, เดรัจฉาน, เดียรัจฉาน ตรี เปน ไตร เปนตน - เปลี่ยน อุ อู เปน โอะ โอ เอา เชน อุรส เปน โอรส กุมุท เปน โกมุท กุหก เปน โกหก มณฑก เปน มณฑก ยุว เปน เยาว เปนตน 2.3 เปลี่ยนแปลงเสียงสระที่เกิดในที่ตางกัน - เปลี่ยนเปนเสียงสระ ออ ในพยางคที่ไมมีตัวสะกด เชน บวร อานวา บอ-วอน กรณี อานวา กอ-ระ-นี ธรณี อานวา ทอ-ระ-นี ฉทาน อานวา ฉอ-ทาน เปนตน - เปลี่ยนเปนเสียงสระ ออ เมื่อ ร เปนตัวสะกด เชน พร กร จร อุดร สิงขร ภมร เปนตน - เปลี่ยนเปนเสียงสระ โอะ เมื่อพยัญชนะทั่วไปเปนตัวสะกด เชน คช พล รถ นนท พจน บท บงกช เปนตน นอกจากนี้ยังมีการเปลี่ยนแปลงเสียงสระเปนเสียงอื่นอีกมาก โดยไมเขากฎเกณฑใด เชน - เปลี่ยนเสียง อะ เปน เอ เชน จรจ เปน เจรจา วจจ เปน เว็จ เปนตน - เปลี่ยนเสียง อะ เปน อุ เชน มาตลี เปน มาตุลี พทร เปน พุทรา ชมพูนท เปน ชมพูนุท เปนตน - เปลี่ยนเสียง อะ เปน เอาะ เชน ครห เปน เคราะห เปนตน


30

- เปลี่ยนแปลงเสียง ไอ เปนเสียง แอ เชน ไสนยา เปน แสนยา เปนตน 2.4 เปลี่ยนแปลงโดยการตัดเสียงสระทายคํา สระที่มักถูกตัดออก ไดแก เสียง อะ คําในภาษาบาลีและสันสกฤตที่มีเสียงสระ อะ ทายคําจะไมใสรูปสระ ไทยรับมาใชโดย นํามาใชเปนตัวสะกดจึงตัดเสียง อะ ออก นอกจากนี้สระที่ถูกตัดออกยังมีเสียงสระ อิ และ อุ ดวย การที่ตัดเสียงสระเหลานี้ออกเนื่องจากทั้งเสียงสระ อะ อิ และ อุ ตางเปนสระเสียงสั้น ทําใหไม สะดวกในการออกเสียง เชน กมล คําเดิมอานวา กะ-มะ-ละ ไทยอานวา กะ-มน ชล คําเดิมอานวา ชะ-ละ ไทยอานวา ชน โศก คําเดิมอานวา โส-กะ ไทยอานวา โสก เหตุ คําเดิมอานวา เห-ตุ ไทยอานวา เหด โชติ คําเดิมอานวา โช-ติ ไทยอานวา โชด เปนตน 2.5 เปลี่ยนแปลงโดยการเพิ่มรูปสระ - การเพิ่มรูปไมหันอากาศ (  ) ในคําที่ตองการใหเสียงสระอะ มีตัวสะกด เชน วย เปน วัย อชฌาสย เปน อัชฌาสัย เมรย เปน เมรัย วินิจฉย เปน วินิจฉัย เปนตน - การเพิ่มรูปสระ อะ (ะ) ภาษาเดิมคําหรือพยางคทายออกเสียงสระอะ แตไม มีรูป ไทยเรารับมาใชจึงเพิ่มรูปสระ อะ เขาไป เชน ขณ เปน ขณะ เขฬ เปน เขฬะ เคห เปน เคหะ คณ เปน คณะ ศีรษ เปน ศีรษะ หิม เปน หิมะ เปนตน 3. วิธีการเปลี่ยนแปลงพยัญชนะ 3.1 การตัดพยางค การตัดพยางคนี้ทั้งตัดพยางคหนา กลาง และทาย รวมทั้ง การตัดตัวสะกดที่เปนตัวตามดวย ดังรายละเอียด - การตัดพยางคหนา เชน สิสสานุศิษย เปน สานุศิษย อนุช เปน นุช อุบาสิกา เปน สีกา กษมา เปน ษมา, ษมา (ขอโทษ) รณรงค เปน ณรงค อุโบสถ เปน โบสถ เปนตน - การตัดพยางคกลาง เชน อรุโณทัย เปน อโณทัย สถาพรผล เปน สถาผล ชลนัยนา เปน ชลนา หฤทัยหรรษ เปน หฤหรรษ


31

ชีวาชีวาตม เปน ชีวาวาตม เปนตน - การตัดพยางคหรือรูปพยัญชนะทาย เชน จรลีลา เปน จรลี พาราณสี เปน พารา อโหสิกรรม เปน อโหสิ อักโขภิณี เปน อักโข นาฏย เปน นาฏ - การตัดตัวสะกดที่เปนตัวตาม เชน จิตต เปน จิต เขตต เปน เขต อุททิศ เปน อุทิศ วิปลลาส เปน วิปลาส วิชชา เปน วิชา กิจจ เปน กิจ ทิฏฐิ เปน ทิฐิ วุฑฒิ เปน วุฒิ รฏฐ เปน รัฐ ปจจุปปนน เปน ปจจุบัน นิมิตต เปน นิมิต เปนตน - การลดพยางคใหนอยลง การรับคํามาใชนั้นหากคําเดิมมีหลายพยางค ไทย เรามีวิธีการลดพยางคลงโดยใสไมทัณฑฆาต ( ) เชน จนทร เปน จันทร ยกษ เปน ยักษ พนธุ เปน พันธุ ทุกข เปน ทุกข ฤทธิ เปน ฤทธิ์ ปราชญ เปน ปราชญ สตว เปน สัตว ศลย เปน ศัลย เปนตน 3.2 การเติมพยางคหรือรูปพยัญชนะ การเปลี่ยนแปลงวิธีนี้สวนใหญจะใชกับ การประพันธ เพื่อใหเกิดความไพเราะ - การเติมพยางค เชน สุมาลย เปน สุมามาลย ยาจก เปน กระยาจก นภา เปน นภาภางค ลีลา เปน ลีลาลาศ เปนตน - การเติมรูปพยัญชนะ เชน ลีลา เปน ลีลาศ นิร เปน นิราศ มายา เปน มารยา ราตรี เปน ราษตรี เปนตน 3.3 การเปลี่ยนรูปพยัญชนะ - คําเดิมเปนรูปพยัญชนะ ป เปลี่ยนเปนรูปพยัญชนะ บ เชน กปฏ เปน กบฎ ปตร เปน บัตร ปาตร เปน บาตร ชนปท เปน ชนบท ชปา เปน ชบา โปราณ เปน โบราณ


32

ปาป เปน บาป ปาท เปน บาท เปนตน - คําเดิมเปนรูปพยัญชนะ ว เปลี่ยนเปนรูปพยัญชนะ พ เชน วิสวาส เปน พิศวาส วรต เปน พรต วายุ เปน พายุ วสุธา เปน พสุธา วิลาป เปน พิลาป อรวินท เปน อรพินท เปนตน - คําเดิมเปนรูปพยัญชนะ ต หรือ ฏ เปลี่ยนเปนรูปพยัญชนะ ด หรือ ฎ เชน มุกตา เปน มุกดา ตุษฏิ เปน ดุษฎี ปรีติ เปน ปรีดี ตาปส เปน ดาบส ปรีตา เปน ปรีดา ปฏก เปน ปฎก ติลก เปน ดิลก เทวตา เปน เทวดา เปนตน 4. วิธีการแผลงสระ ในที่นี้จะยกตัวอยางเฉพาะคําที่นิยมใชในภาษาไทย - การแผลง ฤ และ ร เปน รร เชน คฤหิต เปน ครรหิต (ถูกจับไวถูกยึดไว) ครชิต เปน ครรชิต ธรม เปน ธรรม วรค เปน วรรค หรษ เปน หรรษา เปนตน - การแผลงเสียงทายคําตามแนว อา อี อิน เอศ เชน กาย กายา กายี กายิน กาเยศ สุริย สุริยา สุริยิน สุริเยศ อรัญวา อรัญเวศ พนาวัน พนาเวศ เปนตน 5. วิธีการเปลี่ยนแปลงสระและพยัญชนะรวมทั้งวิธีการแผลงสระ คําภาษาบาลีและ สันสกฤตจํานวนมากที่เรายืมมาแลวมีวิธีการเปลี่ยนแปลงคําหลายวิธีปนกัน ดังตัวอยาง - เปลี่ยนแปลงรูปพยัญชนะและเปลี่ยนสระ เชน สตุติ เปน สดุดี อาตุร เปน อาดูร ฤตุ เปน ฤดู วิศาล เปน ไพศาล สินธว เปน สินธพ นิรนตร เปน นิรันดร ทฤษฏิ เปน ทฤษฎี ปุณฑรีก เปน บุณฑริก วิตาน เปน เพดาน สวสติ เปน สวัสดี - เปลี่ยนแปลงรูปพยัญชนะ และลดพยางคใหนอยลงดวยวิธีการเติม ไมทัณฑฆาต ( )


33

เชน

ไวฑูรย เปน ไพฑูรย ทิวย เปน ทิพย สปตาห เปน สัปดาห วิสมย เปน พิสมัย ปณฑ เปน บิณฑ เปนตน - เปลี่ยนแปลงรูปพยัญชนะ ลดพยางคใหนอยลงดวยวิธีการเติมไมทัณฑฆาต ( ) และเปลี่ยนสระ เชน เจติย เปน เจดีย วกตร เปน พักตร ไวทย เปน แพทย วสตร เปน พัสตร - เปลี่ยนแปลงรูปพยัญชนะและตัดตัวสะกดที่เปนตัวตามออก เชน ปุญญ เปน บุญ อุปปตติ เปน อุบัติ - แผลง ร เปน รร และลดพยางคใหนอยลงดวยวิธีการเติมไมทัณฑฆาต ( ) เชน สวรค เปน สวรรค กรณิกา เปน กรรณิการ - แผลง รเปน รร และเปลี่ยนรูปพยัญชนะ เชน วรษ เปน พรรษา สรว เปน สรรพ วรค เปน พรรค,วรรค วรณ เปน พรรณ, วรรณ 6. การเติมรูปวรรณยุกตลงไปอยางคําไทย เชน เทห มาจากคํา เทห พุทโธ มาจากคํา พุทโธ ระยา มาจากคํา รยา เลห มาจากคํา เลห เปนตน 2. คําภาษาเขมร เขมรเคยเปนประเทศที่เจริญรุงเรืองในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใตมากอนที่ไทยจะอพยพ มาตั้งถิ่นฐาน ดังนั้นเมื่อไทยอพยพมาตั้งภูมิลําเนาอยูบริเวณนี้ทําใหเรารับวัฒนธรรมเขมรมาใช ดวยเปนชาติที่เจริญกวา ภาษาเขมรถือเปนวัฒนธรรมอยางหนึ่งที่ไทยเรารับมาใชดวย ภาษาเขมรมีลักษณะเปนคําโดดอยูในตระกูลมอญ-เขมร มีการสรางคําโดยการเติม อุปสรรค คือ การเพิ่มพยางคประกอบหนาศัพท และการเติมหนวยกลางศัพท ภาษาเขมรพบวามี การใชใน วรรณคดี ใชเปนคําราชาศัพท และใชในชีวิตประจําวัน คําภาษาเขมรรูปบางคําเขียนรูปอยางหนึ่งแตออกเสียงอยางหนึ่ง บางคําก็เขียนรูปและ ออกเสี ยงอย า งเดี ยวกั น ไทยรั บรู ป คํ า ภาษาเขมรมาใชโ ดยนํ า มาจากรู ปศั พ ท บ าง นํ า มาจาก การออกเสียงคําบาง


34

ขอสังเกตคําเขมรในภาษาไทย 1. คําภาษาเขมรสวนใหญจะสะกดดวยพยัญชนะ จ ญ ร ล ส เชน เสร็จ ผจญ เผด็จ บําเพ็ญ เจริญ เปนตน 2. คําภาษาเขมรที่เปนคําโดดมักใชในการประพันธ ซึ่งตองแปลความหมายจึงจะเขาใจ เชน แข (ดวงจันทร) ศอ(คอ) เรียม(พี่ ฉัน) เปนตน 3. คําภาษาเขมรนิยมใชพยัญชนะประสมเปนพยัญชนะตน โดยนิยมใชอักษรนําแบบ ออกเสียงตัวนํา คือในภาษาเขมรจะออกเสียง อะ ในพยัญชนะประสมตัวแรก สวนพยัญชนะตัวที่ สองจะออกเสียงตามสระที่ประสม เชน แสดง ฉนวน ถนน ฉนํา เฉลียว โขมด เปนตน 4. คําภาษาเขมรสวนใหญมักใชเปนคําราชาศัพท เชน โปรด ธํามรงค เสด็จ บรรทม เปนตน วิธีนําภาษาเขมรมาใชในภาษาไทย ไทยเรารับภาษาเขมรมาใชในภาษาไทยหลายวิธีดังนี้ 1. ใชตามรูปเดิม เชน กราบ(ข. กราบ) กาจ (ข. กาจ) กระหาย (ข. กรหาย) ขจร(ข. ขจอ) ขจาย(ข. ขจาย) ถกล (ข. ถก็อล) ฉงาย (ข. ฉงาย) ฉนํา(ข. ฉนํา) กังวล (ข. กังว็อล) แข (ข. แข) ผจง(ข. ผจง) ไพร(ข. ไพร) ทรง (ข. ทรง) ทนง (ข. ทรนง) ชําระ (ข. ชํระ) ปราบปราม (ข. ปราบปราม) ผลาญ (ข. ผลาญ) เปนตน 2. เปลี่ยนตัวสะกดใหผิดไปจากเดิม เชน กราน (ข. กราล) = ปู, ลาด สําราญ (ข. สํราล) เผอิญ (ข. เผอิล) จัด (ข. จัส) ขลาด (ข. ขลาจ) โปรด (ข. โปรส) เปนตน 3. เปลี่ยนรูปและเสียงใหตางไปจากเดิม เชน กระทรวง (ข. กรสวง) กรวด (ข. ครัวส) กระเพาะ (ข. กรพะ) กระแส (ข. แขสร) เปนตน 4. ลดพยางคใหนอยลง เชน เจิม (ข. จิญเจิม) จรวด (ข. กําชรวจ) เปนตน 5. แผลงอักษร - แผลง ข เปน กระ เชน ขจาย แผลงเปน กระจาย ขจอก แผลงเปน กระจอก ขดาน แผลงเปน กระดาน ขจัด แผลงเปน กําจัด


35

ขโดง แผลงเปน กระโดง เปนตน - แผลง ผ เปน ประ และ บรร เชน ผจง แผลงเปน ประจง และแผลงเปน บรรจง ผจบ แผลงเปน ประจบ และแผลงเปน บรรจบ ผทม แผลงเปน ประทม และแผลงเปน บรรทม เปนตน 6. เพิ่มพยางค เชน ระงม (ข. งํ) เปนตน 7. เปลี่ยนรูปพยัญชนะ เชน ยํา (ข. ญํา) ทลาย (ข. ธลาย) ดํารง (ข. ตํรง) ทราบ, ซาบ (น้ําซึมซาบ) (ข. ชราบ) ไทร (ข. ไชร) จําแนก (ข. จํแณก) โยม (ข. โญม) อํานาจ (ข. อํณาจ) บายศรี (ข. บายสรี) ดํา = ดํานา (ข. ฏํา) เปนตน 8. เปลี่ยนรูปสระ เชน อวย (ข. โอย) เสวย (ข. โสวย) เรียม (ข. ราม) เปนตน 9. เปลี่ยนทั้งพยัญชนะและสระในรูปแบบตางๆ ปะปนกัน เชน กําธร(ข. กํทร) กําลัง (ข. กํลําง) ประชิด (ข. ภชิต) ทโมน (ข. โฌมล) สาแหรก (ข.สงแรก) ทะเล (ข. ทนเล) ทรวง (ข. ทรูง) ตลบ (ข. ตรลบ) เสนอ (ข. เสนี) เปนตน 10. เติมรูปวรรณยุกตอยางไทย เชน คร่ําครา (ข. ครําครา) ตําแหนง (ข. ตํแณง) จําหนาย (ข. จํณาย) เปนตน 11. เพิ่มรูปสระ เชน สะพาน (สพาน) วังเวง (วงเวง) ละเอียดลออ (ลอิดลอ) เปนตน 3. คําภาษาจีน ภาษาจีนเปนภาษาที่มีลักษณะและระเบียบคลายคลึงกับภาษาไทยจึงเปนภาษาอยูใน ตระกูลเดียวกันคือ “ตระกูลไทย-จีน” ภาษาจีนเขามาสูภาษาไทยโดยทางเชื้อสาย การติดตอสัมพันธกัน ตลอดจนถึงการคา ขายมาเปนระยะเวลานาน ไทยเรานํามาใชโดยมากจะใชตามสําเนียงเดิมออกเสียงวรรณยุกต เชนใดไทยเราก็รับเสียงวรรณยุกตเหลานั้นมาใชดวย เสียงวรรณยุกตที่ใชกับคําภาษาจีนสวนใหญ จะเปนวรรณยุกต ตรี (  ) และวรรณยุกตจัตวา (  ) การถอดมาเปนคําภาษาไทยนั้นไทยเราจะ


36

เขียนตัวสะกดใหตรงตามมาตรา และไมมีการใชทัณฑฆาตกํากับ เพราะภาษาจีนมีลักษณะคลาย ภาษาไทยและเปนภาษาที่อยูในตระกูลเดียวกัน ไทยเราจึงถอดมาเขียนใหเหมือนภาษาไทยแท ๆ เชน กวยเตี๋ยว กวยจั๊บ เกาเหลา แปะซะ เตาฮวย เฉากวย ตั้งฉาย พะโล บะฉอ เกี๊ยว บะหมี่ บุงกี๋ ยี่หอ หาง หุน ตุน โตะ เถาแก เจาสัว ชา เซง ตะหลิว โอเลี้ยง บวย เตาทึง เกาอี้ ตั้วโผ แซ เกาลัด เจ โจก เกี้ยมอี๋ เกง อั้งโล แฮกึ้น กวางตุง บวย เตาหู เปน ตน 4. คําภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษเปนภาษาที่มีอุปสรรค วิภัตติ ปจจัย เชนเดียวกับภาษาบาลีและสันสกฤต ไทยเรารับภาษาอังกฤษเขามาใชเนื่องจากการติดตอคาขายและการศึกษาเปนสําคัญ วิธีการนําคําภาษาอังกฤษเขามาใชในภาษาไทย การนําคําภาษาอังกฤษเขามาใชใน ภาษาไทยมีหลายวิธีดังนี้ 1. ใชตามคําเดิมและออกเสียงตรงกับรูปที่เขียน เชน ลิตร ฟุต ครีม เกรด เกม เปยโน บอล ทีม ไดนาโม แปลน วิว เคมี ยิปซี มัมมี่ แฟลต ฟต แยม วัคซีน ฮิต ไฮไฟ ออฟฟศ สแลง สลัม เปนตน 2. ใชตามคําเดิม แตออกเสียงตางไปจากรูปที่เขียน เชน ยุโรป อานวา ยุ-โหรบ เอกซเรย อานวา เอก-ซะ-เร ดอกเตอร อานวา ดอก-เตอ เนต อานวา เนต โควตา อานวา โคว-ตา การด อานวา กาด เปนตน 3. เปลี่ยนคําและเสียงใหตางไปจากเดิม เชน อังกฤษ (อิงลิช) ปอนด (พาวนด) สัมมนา (เซมินา) เปนตน 4. เติมไมทัณฑฆาต (  )ที่พยัญชนะที่ไมใหออกเสียง ซึ่งอาจเปนพยัญชนะที่อยูทายคํา หรือพยัญชนะที่อยูระหวางคําก็ได เชน แซนดวิช (sandwich/ แซนดวิช) ดาวน (down/ดาวน) กีตาร (guitar/ กีตาร) การตูน (cartoon/ การตูน) ซูเปอรมารเก็ต (supermarket/ ซูเปอรมารเกต) คอนเสิรต (concert/คอนเสิรต)


37

กอลฟ (golf/ กอลฟ) ไกด (guide/ ไกด) แทงก (tank/ แทงก) สเปรย (spray/ สเปรย) วาลว (valve/ วาลว) ยีสต (yeast/ ยีสต) เลเซอร (laser/ เลเซอร) ฟารม (farm/ ฟารม) แฟกซ (fax/ แฟกซ) แสตมป (stamp/ แสตมป) เอนทรานซ (entrance/เอนทรานซ) ทัวร (tour/ ทัวร) เปนตน 5. เติมรูปวรรณยุกตหรือไมไตคูลงไปอยางคําไทย เพื่อใหออกเสียงชัดเจนขึ้น เชน กาซ เคก จอกกิ้ง ช็อก เชิ้ต เซรุม คุกกี้ ปลั๊ก บูต โนต คอรัปชั่น บรั่นดี โฮเต็ล สต็อก แฟชั่น โคช โกโก แกง กอปป กอก เปนตน 6. เติมไมทัณฑฆาต (  )ที่พยัญชนะที่ไมใหออกเสียงและเติมรูปวรรณยุกตหรือไมไตคูลง ไปอยางคําไทย เชน ปารตี้ (party/ ปารตี) เซ็นเซอร (censor/ เซนเซอร) แคมป (camp/แคมป) เปอรเซ็นต (percent/ เปอรเซนต) เอเยนต (agent/ เอเยนต) เต็นท (tent/เตนท) เปนตน 5. ภาษาอื่นๆ ภาษาอื่นๆ ที่นอกเหนือจากที่กลาวมามีใชนอยในภาษาไทย เชน 5.1 คําภาษาชวา-มลายู เชน กระจับป กะหลาปา การะบุหนิง กุเรปน ซาหริ่ม กระยาหงัน ตุนาหงัน บุหงา บุหรง บุหลัน แบหลา บาหลี มักกะสัน ยาหยี ระเดน ยิหวา กง กรง กลิ้ง กะลาสี กะหรี่ กําปน กุญแจ จับปง กระทง กระดังงา เซปก ตลับ ปาเตะ มังคุด ระกํา รองเง็ง โสรง สลาตัน สละ (พันธุไมคลายระกําแตมีรสหวาน) สลัด(โจรปลนเรือ) เปนตน 5.2 คําภาษาทมิฬ เชน กระฎมพี กระสาย กํามะหยี่ กานพลู เครา เจียระไน ชีวัน ตะกั่ว ประไพ ปะวะหล่ํา มาลัย มะรุม สาเก (พันธุไม)ยี่หรา อาจาด อินทผลัม เปนตน 5.3 คําภาษาญี่ปุน เชน กิโมโน คาราเต ชินโต ซามูไร นินจา ซากุระ สาเก (เหลา) เปนตน 5.4 คําภาษาฝรั่งเศส เชน กงสุล กรัม กาเฟอีน กาสิโน กิโลกรัม ครัวซองท คูปอง ชีฟอง โชเฟอร โดม บุฟเฟต ปารเกต เปนตน


38

เปนตน

5.5 คําภาษาโปรตุเกส เชน กะละมัง กระจับปง กะละแม บาทหลวง ปง ปนโต เลหลัง สบู หลา เหรียญ 5.6 คําภาษาเปอรเซีย เชน ปนหยา ยี่สาน ราชาวดี สุหราย เปนตน 5.7 คําภาษาพมา เชน กะป กากี จวน สวย เพกา หมอง เปนตน

บรรณานุกรม กําชัย ทองหลอ. หลักภาษาไทย. พิมพครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ : บริษัทรวมสาสน (1977) จํากัด, 2537. ธวัช ปุณโณทก. วิวัฒนาการภาษาไทย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : บริษัทสํานักพิมพไทยวัฒนา พานิช จํากัด, 2545. สุภาพร มากแจง. ภาษาบาลี-สันสกฤตในภาษาไทย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โอ.เอส. พริ้น ติ้ง เฮาส, 2535.


39

บทที่ 4 วิธีการสรางคําในภาษาไทย คําที่ใชในภาษาไทยมีวิธีการสรางคําหลายรูปแบบ โดยสามารถจําแนกไดเปน 2 วิธีคือ วิธีการสรางคําโดยนําวิธีการของภาษอื่นมาใชและวิธีการสรางคําของภาษาไทย 1. วิธีการสรางคําโดยนําวิธีการของภาษาอื่นมาใช คําที่มีใชอยูในภาษาไทยนั้นบางคําก็เปนคําไทยแท บางคําไทยก็ยืมจากภาษาอื่น ซึ่งเมื่อ ยืมภาษาอื่นมาใชปนในภาษาไทยแลวเราก็ติดเอาวิธีการสรางคําของภาษานั้นมาใชดวย ภาษาที่ ไทยเรายื ม มาใช แ ละมี อิ ท ธิ พ ลต อ การสร า งคํ า ในภาษาไทยอย า งมาก คื อ ภาษาบาลี ภาษา สันสกฤต และภาษาเขมร ภาษาเหลานั้นเมื่อเรารับมาใชแลววิธีการสรางคําของภาษาเหลานั้นก็ ไดติดเขามาใชในภาษาของเราเชนกัน แบบแผนของไวยากรณภาษาบาลีและสันสกฤตที่เรายืมวิธีการสรางคําของเขามาใชคือ วิธีการสมาสและวิธีการสนธิ สวนวิธีการสรางแบบลงอุปสรรค การลงปจจัย และเติมตัดธิต นั้น ไทยเรารับมาโดยรับคําที่สรางเสร็จแลวมาใช ในที่นี้จึงขอกลาวถึงวิธีการสรางคําดวยวิธีการยืมจาก ภาษาบาลีและสันสกฤตมาใชเพียง 2 แบบ คือ การสมาสและการสนธิ ดังรายละเอียดตอไปนี้ 1.1 วิธีการสรางคําแบบสมาส การสมาสเปนวิธีการสรางคําในภาษาบาลีและสันสกฤตมีลักษณะคลายกับคําประสมของ ภาษาไทย โดยนําคําตั้งแต 2 คํา มารวมเปนคําเดียวกันใหมีความหมายเกี่ยวเนื่องกัน แตจะ ตางกันที่การสมาสจะนําคํารองมาวางไวหนาคําหลัก สวนคําประสมจะนําคํารองมาประกอบอยู หลังคําหลักเสมอ ตัวอยางคําสมาส เชน ศีลธรรม อักษรศาสตร เปนตน วิธีการสรางคําตามวิธีการสมาสของคําบาลีและสันสกฤตมี 2 วิธี คือ 1.1.1 การลบวิภัตติ คือ คําสมาสที่ตองลบวิภัตติกอนนํามารวมกัน ซึ่งคําสมาส กลุมนี้ไทยเรานํามาใชตางกับภาษาบาลี คือ ตัดวิภัตติออกทั้งคําหนาและคําหลัง เชน สมโณ + พราหมโณ = สมณพราหมโณ ไทยใช สมณพราหมณ พุทธสส + สาวโก = พุทธสาวโก ไทยใช พุทธสาวก สงฆสส + ทานํ = สงฆทานํ ไทยใช สังฆทาน 1.1.2 คงวิภัตติไว คือคําสมาสที่นําคําที่แจกวิภัตติแลวมาสมาสกันไดเลย โดย ยังคงรูปวิภัตติอยู เชน ทิวํ + คต = ทิวงคต ไทยใช ทิวงคต ยุคํ + ธร = ยุคันธร ไทยใช ยุคนธร วเน + จรก = วเนจรก ไทยใช พเนจร


40

การสมาสในภาษาไทยไมมีการลบวิภัตติหรือคงวิภัตติอยางวิธีการของคําบาลี และสันสกฤต เมื่อไทยยืมคําภาษาบาลีและสันสกฤตเขามา เรามีวิธีการสมาสคือเราใชคําเดิมที่ยัง ไม มี รู ป วิ ภั ต ติ ม าเรี ย งหรื อ รวมเข า ด ว ยกั น โดยนํ า คํ า ขยายมาไว ข า งหน า และอ า นออกเสี ย ง ตอเนื่องกัน เชน กิตติ + คุณ = กิตติคุณ หิน + ชาติ = หินชาติ ราช + กุมาร = ราชกุมาร หัตถ + กรรม = หัตถกรรม กรรม+ กร = กรรมกร ปริญญา + บัตร = ปริญญาบัตร ศีล + ธรรม = ศีลธรรม นอกจากนี้มีคําบาลีและสันสกฤตบางคําเมื่อสมาสกันแลวมักเติมสระ โอ ขางหลัง เชน ยศ + ธร = ยโสธร มน + ภาพ = มโนภาพ อนุญาต + ตุลาการ = อนุญาโตตุลาการ ลักษณะของคําสมาส 1. คําสมาสจะตองเปนคําที่มาจากภาษาบาลีและภาษาสันสกฤตมาสมาสกันจะนําคํา ไทยหรือคําภาษาอื่นมาสมาสกับคําบาลีหรือสันสกฤตไมได 2. เมื่อจะอานคําสมาสจะตองอานใหมีเสียงสระเชื่อมติดกันระหวางคําหนากับคําหลัง ถาระหวางคําไมมีรูปสระใหอานเหมือนมีสระอะประสมอยู เชน มนุษยธรรม มัธยมศึกษา เปนตน 3. คําสมาสที่มีเสียงอะที่พยางคทาย คําหนาจะประวิสรรชนียไมได เชน กาลเทศะ ไมใช กาละเทศะ สมณพราหมณ ไมใช สมณะพราหมณ 4. ระหวางคําสมาสไมใชเครื่องหมายทัณฑฆาต (  ) เชน มนุษยธรรม ไมใช มนุษยธรรม จันทรคติ ไมใช จันทรคติ เปนตน 5. คําวา “วร” เมื่อสมาสกับบคําอื่นแลวจะนํามาใชเปนคําราชาศัพทในภาษาไทยและจะ แผลงเปน พระ เชน วรพักตร เปน พระพักตร วรเนตร เปน พระเนตร วรหัตถ เปน พระหัตถ แตพระเกาอี้ พระอู ซึ่งมีคําพระอยูขางหนา แต เกาอี้ อู ไมใชคําบาลีหรือสันสกฤต คํา ราชาศัพทเหลานี้จึงไมใชคําสมาส


41

1.2 วิธีสรางคําแบบสนธิ การสนธิ เปนการเชื่อมคําบาลีและสนสกฤตใหมีเสียงกลมกลืนกัน หรือกลาวอีกนัยหนึ่งคือ การตอคําศัพทใหเนื่องกัน โดยวิธียออักขระใหนอยลง วิธีสนธิมี 3 วิธีดังนี้ 1.2.1 สระสนธิ คือ การสนธิคําใหกลมกลืนกันดวยเสียงสระ ดังนั้นคําหนาจึง ตองลงทายดวยสระ และคําหลังตองขึ้นตนดวยเสียงสระ และมีการแปลงสระหนา หรือลบสระหลัง เพื่อใหเสียงกลมกลืนกัน ดังนี้ 1) สระอะ อา สนธิกับสระอะ อา ดวยกันจะรวมเปนสระอา เชน เทศ + อภิบาล = เทศาภิบาล วิทย + อาลัย = วิทยาลัย ธน + อาคาร = ธนาคาร มหา + อานิสงส = มหานิสงส หมายเหตุ ถาสระอะ อา สนธิกับสระอะ อา ของพยางคที่มีตัวสะกดจะรวมเปนสระอะที่มี ตัวสะกด เชน มหา + อรรณพ = มหรรณพ มหา + อัศจรรย = มหัศจรรย 2) สระอะ อา สนธิกับสระอิ อี จะรวมกันเปนสระอิ อี หรือเอ เชน นร + อินทร = นรินทร หรือ นเรนทร ราช + อินทร = ราเชนทร ปรม + อินทร = ปรเมนทร นร + อีศวร = นเรศวร มหา + อิสิ = มหิสิ หรือ มเหสี 3) สระอะ อา สนธิกับสระอุ อู จะรวมกันเปนสระอุ อู หรือโอ เชน ราช + อุบาย = ราโชบาย มห + อุฬาร = มโหราฬ นย + อุบาย = นโยบาย มัคค + อุเทศก = มัคคุเทศก ราช + อุปถัมภ = ราชูปถัมภ 4) สระอะ อา สนธิกับสระเอ ไอ โอ เอา จะรวมเปนสระเอ ไอ โอ เอา เชน มหา + โอฬาร = มโหราฬ โภค + ไอศวรรย = โภไคศวรรย


42

5) สระอิ อี สนธิกับสระอิ จะรวมกันเปนสระอิ เชน ภูมิ + อินทร = ภูมินทร ปติ + อินทร = บดินทร โกสี + อินทร = โกสินทร กรี + อินทร = กรินทร 6) สระอิ อี สนธิกับสระอื่น เชน สระอะ อา อุ โอ มีวิธีการ 2 อยางคือ ก. แปลงรูปสระอิ อี เปน ย กอน แลวนําไปสนธิตามแบบ สระอะ อา แตถาคํานั้นมีตัวสะกดตัวตามตองตัดตัวตามออกกอนจึงจะสนธิได เชน รัตติ = รัตย อัคคี = อัคย สามัคคี + อาจารย = สามัคย + อาจารย เปน สามัคยาจารย อัคคี + โอภาส = อัคย + โอภาส เปน อัคโยภาส ข. ตัดสระอิ อี ออก แลวสนธิแบบสระอะ อา เชน หัตถี + อาจารย = หัตถาจารย ศักดิ + อานุภาพ = ศักดานุภาพ 7) สระอุ อู สนธิกับสระอุ อู รวมเปนสระอุ อู เชน ครุ, คุรุ + อุปกรณ = คุรุปกรณ, คุรูปกรณ ครุ, คุรุ + อุปถัมภ = คุรุปถัมภ, คุรูปถัมภ 8) สระอุ อู นี้สนธิกับสระอื่นใหเ ปลี่ยนรูป อุ อู เปน ว แลวสนธิตาม แบบ อะ อา เชน สินธุ + อานนท = สินธว + อานนท = สินธวานนท ธนู + อาคม = ธนว + อาคม = ธันวาคม จักขุ + อาพาธ = จักขว + อาพาธ = จักขวาพาธ 1.2.2 พยัญชนะสนธิ คือการเชื่อมคําใหกลมกลืนกันโดยพยัญชนะ คือ คําหนา จบทายดวยพยัญชนะ และตนคําหลังเปนเสียงพยัญชนะ (คําประเภทนี้ในภาษาไทยมีใชนอย และ สวนใหญมักอธิบายวาเปนคําสมาส) 1) ส การันต สนธิกับพยัญชนะอโฆษะ(ไมกอง) ใหตัด ส ทิ้ง และลง อาคม โอ เชน ยศส + ธรา = ยโศธรา, ยโสธรา มนส + คณะ = มโนคณะ


43

2) น การันต คําศัพทที่ลงทายดวย น เมื่อสนธิกับคําอื่นใหลบ น ทิ้ง เชน พรหมน + จรย = พรหมจรรย กามน + เทว = กามเทว กามเทพ ราชน + วงศา = ราชวงศ 1.2.3 นิคหิตสนธิ คือ การเชื่อมคําใหกลมกลืนโดยนิคหิต คือ คําหนาลงทาย ดวยนิคหิต สวนคําหลังจะขึ้นตนศัพทดวยพยัญชนะ เมื่อสนธิจะแปลงนิคหิตเปนพยัญชนะตัวที่ 5 ของแตละวรรคที่เปนพยัญชนะตนศัพทของคําหลัง พยัญชนะทายวรรคของพยัญชนะวรรคทั้ง 5 วรรค ไดแก ง ญ ณ น ม 1) แปลงนิคหิตเปน ง เมื่อคําหลังขึ้นตนดวยพยัญชนะวรรค ก ไดแก ก ขค ฆ เชน สํ + เกต = สังเกต สํ + คม = สังคม สํ + ขีป = สังเขป สํ + ครห = สังเคราะห 2) แปลงนิคหิตเปน ญ เมื่อคําหลังขึ้นตนดวยพยัญชนะวรรค จ ไดแก จ ฉชฌ เชน สํ + จร = สัญจร สํ + ญา = สัญญา สํ + ชาติ = สัญชาติ 3) แปลงนิคหิตเปน ณ เมื่อคําหลังขึ้นตนดวยพยัญชนะวรรค ฏ ไดแก ฏฐฑฒ เชน สํ + ฐาน = สัณฐาน (ทรวดทรง, ลักษณะ) สํ + ฐิติ = สัณฐิติ (ความตั้งมั่น) 4) แปลงนิคหิตเปน น เมื่อคําหลังขึ้นตนดวยพยัญชนะวรรค ต ไดแก ต ถทธ เชน สํ + นิบาต = สันนิบาต สํ + นิวาส = สันนิวาส สํ + ตาน = สันดาน (ไทยแผลง ต เปน ด)


44

5) แปลงนิคหิตเปน ม เมื่อคําหลังขึ้นตนดวยพยัญชนะวรรค ป ไดแก ป ผพภ เชน

สํ + ปุรณ = สมบูรณ สํ + มติ = สมมติ สํ + ปทาน = สัมปทาน สํ + ภาษณ = สัมภาษณ 6) แปลงนิคหิตเปน ง เมื่อคําหลังขึ้นตนดวยพยัญชนะเศษวรรค ไดแก ย ร ล วศ ษ ส ห ฬ เชน สํ + โยค = สังโยค สํ + หร = สังหรณ สํ + วาส = สังวาส 7) แปลงนิคหิตเปน ม เมื่อคําหลังขึ้นตนดวยสระ เชน สํ + อาทาน = สมาทาน สํ + อาคม = สมาคม สํ + อุทัย = สมุทัย สํ + อี = สมัย (แผลง อี เปน ย กอน) 1.3 วิธีสรางคําแบบภาษาเขมร คําในภาษาไทยมีวิธีสรางคําแบบภาษาเขมรดังนี้ 1.3.1 การลงอุปสรรค (Prefix) คือ การเติมหนาคํา เพื่อทําใหคํานั้นเปลี่ยนหนาที่ คือ ทําคํากริยาใหเปนคํานามหรือกริยาการีต และมีความหมายใหม การลงอุปสรรคมีวิธีการดังนี้ 1) การลงอุปสรรค บํ (บ็อม) ขางหนาคําแลวเปลี่ยนเปน บัง บัน บํา ซึ่งมีหลักเกณฑดังนี้ - บํ อยูหนาพยัญชนะ ก หรือเศษวรรค เปลี่ยนเปน บัง เชน บังเกิด บังควร บังวาย บังอาจ บังเหิน เปนตน หมายเหตุ มีบางคําที่ บํ อยูหนาพยัญชนะเศษวรรค เปลี่ยนเปน บัน เชน บันลือ บันเหิน เปน ตน - บํ อยูหนาพยัญชนะวรรค ต เปลี่ยนเปน บัน เชน บันดล บันดาล บันโดย เปนตน


45

- บํ อยูหนาพยัญชนะวรรค ป เปลี่ยนเปน บํา เชน บําบัด บําบวง บําเพ็ญ เปนตน 2) การลงอุปสรรค ป ผ พ ภ ในกรณีตองการใหคํานั้นออกเสียงกอง (โฆษะ) ลงอุปสรรค พ ภ หากตองการใหคํานั้นออกเสียงไมกอง (อโฆษะ) ลงอุปสรรค ป ผ เชน ราย ปราย ราบ ปราบ ชิด ประชิด ชุม ประชุม เดิม เผดิม ประเดิม 3) การลงอุปสรรค สํ เพื่อแปลงคํากริยาใหเปนกริยาการีตหรือคํานาม ซึ่งมักจะแปลวา “ทําให” สํ เมื่ออยูหนาคําจะเปลี่ยนนิคหิตเปนพยัญชนะตัวที่ 5 (ง ญ น ณ ม) ของพยัญชนะตัวหนาของคํานั้นๆ เชน กด สังกด สะกด รวม สํารวม ณึก สํานึก 3.1.2 การลงอาคม หรือการเติมเสียงกลางคํา (Infix) การลงอาคมในภาษา เขมรนั้น ไทยนํามาใชในไวยากรณไทยเรียกวา “คําแผลง” การลงอาคมมีวิธีการดังนี้ 1) การลงอาคม  น (อําน) ระหวางพยัญชนะตนของคํา เชน เกิด กําเนิด คัล คํานัล จง จํานง จอง จํานอง ชาญ ชํานาญ ติ ตําหนิ ทบ ทํานบ อวย อํานวย 2) การลงอาคม  (นิคหิต) การลงอาคมวิธีนี้เหมือนการลงอาคม อํา น แตตางกันที่การลงอาคมนิคหิต คําเดิมนั้นมีพยัญชนะตนเปนเสียงควบกล้ําหรือพยัญชนะตนเปน พยัญชนะประสมจึงลงอาคมตรงกลางคําไดทันที ทั้งนี้บางครั้งก็มีการเปลี่ยนพยัญชนะตนดวย เชน กรอ กํารอ (เข็ญใจ) กราบ กําราบ


46

เจริญ ตรวจ ตรง ทรุด ถวาย ก ฉ เปน จ และเพิ่ม ห เชน แข็ง ฉัน

จําเริญ ตํารวจ ดํารง (เปลี่ยน ต เปน ด) ชํารุด (เปลี่ยน ท เปน ช) ตังวาย (เปลี่ยน ถ เปน ต และ  เปน อัง ) 3) พยัญชนะแถวที่ 2 เชน ข ฉ ใหเติมนิคหิตกลางคํา โดยเปลี่ยน ข เปน กําแหง จังหัน 4) คําที่พยัญชนะตนเปน ร ใหเติมพยัญชนะ บ ใสสระอะ ที่พยัญชนะ

ตน เชน

รํา เรียง เรียบ ราย

เชน

ผก พัก จด ถก

ระบํา ระเบียง ระเบียบ ระบาย 5) คําที่พยัญชนะตนเปนสระเดี่ยวใหเติมพยัญชนะ ง น ร ล ผงก พนัก จรด ถลก

2. วิธีการสรางคําของภาษาไทย การสรางคําขึ้นใชในภาษาไทยนั้นนอกจากเราจะใชวิธีสรางคําตามภาษาที่ยืมมาแลว เรา ยังมีวิธีการสรางคําดวยวิธีของไทยเราเองดวย วิธีสรางคําดวยวิธีของไทยมี 3 วิธีคือ การประสม คํา การซอนคํา และการซ้ําคํา ดังรายละเอียดตอไปนี้ 2.1 การประสมคํา หมายถึง การนําคํามูลตั้งแต 2 คําขึ้นไปมารวมกันเปนคําเดียว ทําใหเกิดคําใหม และมีความหมายใหม เชน แม+บาน = แมบาน, พราน+นก = พรานนก, เล็บ+มือ+นาง = เล็บมือนาง เปนตน คํามูลที่นํามาประสมกันนั้นจะใชคําภาษาเดียวกันหรือตาง ภาษากันก็ได เชน ไทย+ไทย, ไทย + บาลี, บาลี+ ไทย, ไทย+สันสกฤต, ไทย+เขมร, เขมร+ไทย เปนตน ตัวอยาง คําประสม บาน+เย็น = บานเย็น(ไทย+ไทย),โรง+เรียน = โรงเรียน (ไทย+ไทย),


47

หลัก+ ฐาน = หลักฐาน (ไทย+บาลี), ทุน+ทรัพย = ทุนทรัพย (ไทย+สันสกฤต) เปนตน คําที่ได จากการสรางดวยวิธีการนี้เรียกวา คําประสม (คํามูล คือ คําเดียวที่ไมประสมกับคําอื่น) การสรางคําแบบการประสมคําในภาษาไทยมีลักษณะดังนี้ 1) การนําคํามูลมาประสมกันแลวเกิดความหมายขึ้นอีกอยางหนึ่ง แตยังคงเคา ความหมายเดิมของคํามูลอยู เชน แม+น้ํา = แมน้ํา แม+ยาย = แมยาย วิ่ง+รอก = วิ่งรอก ตี+ชิง = ตีชิง 2) การนําคํามูลมาประสมกันแลวเกิดความหมายใหม เชน ลูก+นอง = ลูกนอง ขาย + หนา = ขายหนา เสีย + ใจ = เสียใจ 3) การนําคํามูลมาประสมกับคํามูลที่ยอมาจากขอความยาวๆ ใหสั้น คํามูลที่ยอมาจาก ขอความยาวๆ ใหสั้น เชน ชาง, ชาว, เครื่อง, ความ, การ, หมอ, นัก, ที่, ของ, ผู เปนตน เชน ชาง + ปูน = ชางปูน ชาว + นา = ชาวนา เครื่อง + เทศ = เครื่องเทศ ความ + ผิด = ความผิด การ + เมือง = การเมือง หมอ + นวด = หมอนวด นัก + รอง = นักรอง ที่ + นอน = ที่นอน ของ + หวาน = ของหวาน ผู + ดี = ผูดี 4) การนําคําภาษาไทยมาประสมกันใหเรียงตามระเบียบภาษาไทยคือ คําขยายวางไว ขางหลังคําหลัก เชน ลูก + หลวง = ลูกหลวง เมือง + หลวง = เมืองหลวง พอ + ตา = พอตา


48

5) การนําคําไทยประสมกับคําบาลีหรือสันสกฤตบางครั้งก็เรียงคําตามภาษาบาลี สันสกฤต บางครั้งก็เรียงคําตามระเบียบภาษาไทย เมื่ออานใหอานเสียงเนื่องกัน - การเรียงคําตามระเบียบภาษาบาลีสันสกฤต เชน ราช + วัง = ราชวัง เอม + โอช = เอมโอช เปนตน - การเรียงคําตามระเบียบภาษาไทย เชน พล + เมือง = พลเมือง ผล + ไม = ผลไม เปนตน 2.2 การซอนคํา หมายถึง การนําคํามูล 2 คํา อันมีความหมายหรือเสียงคลายกันหรือ ใกลเคียงกัน หรือเปนไปในทํานองเดียวกันซอนเขาดวยกัน เมื่อซอนแลวจะมีความหมายเกิดขึ้น ใหม คําที่เกิดจากวิธีการสรางวิธีนี้เรียกวา “คําซอน” คําซอนสามารถจําแนกไดเปน 2 ประเภท (บรรจบ พันธุเมธา : 2537, น. 81) คือ คําซอนเพื่อความหมายและคําซอนเพื่อเสียง 1) คําซอนเพื่อความหมาย หมายถึง การนําคํามูลที่มีความหมายสมบูรณมาซอนกัน และคําที่มาซอนนั้นจะมีความหมายคลายกัน หรือใกลเคียงกัน หรือเปนไปในทํานองเดียวกัน หรือ อาจเปนคําความหมายตรงขามกันซอนกันก็ได เมื่อนําคํามาซอนกันแลวจะเกิดความหมายใหมซึ่ง ยังคงเนื่องอยูกับความหมายเดิมของคําอยู คําซอนประเภทนี้จะถือความหมายเปนสําคัญ จุดมุงหมายของการซอนคํา คือ - เพื่ออธิบายความหมายของคําใหชัดเจนขึ้น โดยความหมายยังคงเดิม คําที่นํามาซอน กันจะมีความหมายคลายกัน เชน ใหญโต ทรัพยสิน ซากศพ สนุกสนาน สงบเสงี่ยม เปนตน - เพื่อใหเกิดความหมายใหม ความหมายที่เกิดขึ้นใหมมี 2 ลักษณะคือ ความหมาย กวางออก และความหมายแคบเขา ความหมายกวางออก ไดแก การนําคํามาซอนกันแลวเกิดความหมายมากกวา ความหมายเดิมของคําที่นํามาซอนกัน เชน ขาวปลา เมื่อนําคํามาซอนกันแลวไมไดหมายถึงขาวหรือปลาเทานั้นแต รวมหมายถึงอาหารทั่วๆ ไป เจ็บไข เมื่อนําคํามาซอนกันแลวความหมายไมไดจํากัดอยูเพียงเจ็บ เพราะบาดแผลหรือฟกช้ําดําเขียวและมีอาการความรอนสูงเพราะพิษไขเทานั้น แตหมายถึง อาการเจ็บปวยไขทั้งหมด


49

ฆาฟน เมื่อนําคํามาซอนกันแลวความหมายไมไดจํากัดอยูเฉพาะ การฆาตายดวยของมีคมเทานั้น แตหมายรวมถึงการฆาที่ใชอาวุธทุกชนิด ความหมายเชิงเปรียบเทียบ ความหมายประเภทนี้ถือวาเปนความหมายกวางออกอยาง หนึ่งคือเมื่อนําคํามาซอนกันแลวความหมายที่ไดแมจะยังมีเคาความหมายเดิม แตไมไดแปลตาม ตัวของคําเดี่ยวนั้น แตตองแปลความหมายไปอีกอยางหนึ่งในทํานองเปรียบเทียบ เชน อุมชู เมื่อนําคํามาซอนกันแลวหมายถึง การบํารุงเลี้ยงดูแล และยก ยองเชิดชู ดูดดื่ม เมื่อนําคํามาซอนกันแลวความหมายไมไดเกี่ยวของกับการดูด หรือดื่ม แตหมายถึงความรูสึกซึ้งใจ ทิ่มตํา เมื่อนําคํามาซอนกันแลวใชในการขยายการพูด หมายถึง พูดจา ใหอีกฝายหนึ่งเจ็บใจ โดยอาศัยเคาความหมายเดิมทิ่มตํา เสมือนกับคําพูดเหมือนของแหลมที่ทิ่ม ตํา ค้ําจุน เมื่อนําคํามาซอนกันแลวหมายถึงการพยุงฐานะ ไมไดหมายถึง การยันไวในความหมายของรูปธรรม ความหมายแคบเขา ไดแก การนําคํามาซอนกันแลวความหมายจะปรากฏอยูในคําตน หรือคําทายเทานั้น ดังตัวอยาง - ซอนกันแลวความหมายอยูที่คําตน เชน หัวหู แกมคาง ใจคอ ผิดชอบ เปนตน - ซอนกันแลวความหมายอยูที่คําทาย เชน หูตา เนื้อตัว เท็จจริง ไดเสีย เปนตน - ซอนกันแลวความหมายปรากฏเดนอยูที่คําคําเดียว สวนอีกคําหนึ่งเปนเพียงตัว ชวยเนนความหมายใชชัดเจนขึ้น เชน ดื้อดึง เงียบเชียบ คลายคลึง เปนตน นอกจากนี้ยังมีลักษณะที่พึงสังเกตดังนี้ - เมื่อนําคํามาซอนกันแลวคําที่ซอนกันจะตางจากคําเดี่ยว เชน พรอม กับ พรอมเพรียง แข็ง กับ แข็งแรง เปนตน - เมื่อนําคําคําเดียวกันไปซอนกับคําที่ตางกันไปความหมายจะตางกันดวย เชน จัดจาน กับจัดเจน, ขัดของ กับขัดขวาง ลักษณะของคําที่นํามาซอนกันนั้น อาจจําแนกไดดังนี้ 1. คําไทยซอนกับคําไทยดวยกัน เชน อวนพี เสื่อสาด ยืนยัน ใหญโต มากมาย เติบโต เปนตน


50

2. คําไทยซอนกับคําภาษาอื่น - คําไทยซอนกับคําบาลีสันสกฤต หรือคําบาลีสันสกฤตซอนกับคําไทย เชน ซากศพ ทรัพยสิน นัยนตา จิตใจ แกนสาร สาปแชง ซื่อสัตย รูปราง ทุกขยาก ยวดยาน โศกเศรา ถิ่นฐาน - คําไทยซอนกับคําเขมร หรือคําเขมรซอนกับคําไทย เชน เงียบสงัด เด็ดขาด ถนนหนทาง เขียวขจี ทรวงอก แสวงหา โงเขลา เงียบสงบ ยกเลิก สะอาดหมดจด แบบฉบับ - คําไทยซอนกับคําจีน หรือคําจีนซอนกับคําไทย เชน หางราน กักตุน ชื่อแซ หุนสวน ตมตุน - คําไทยซอนกับคําอังกฤษ เชน แบบฟอรม แบบแปลน 3. คําภาษาอื่นซอนกับภาษาอื่น - คําบาลีสันสกฤตซอนกันเอง เชน รูปพรรณ อิทธิฤทธิ์ ยานพาหนะ รูปภาพ มิตรสหาย เหตุการณ - คําเขมรซอนกับคําบาลีสันสกฤต เชน สุขสงบ เสบียงอาหาร สรงสนาน - คําเขมรซอนกันเอง เชน สนุกสาน เลิศเลอ เฉลิมฉลอง 2) คําซอนเพื่อเสียง หมายถึง การนําคําที่มีเสียงระดับเดียวกัน หรือใกลเคียงกันมาซอน กัน เมื่อซอนกันแลวจะเกิดความหมายใหม โดยมากความหมายจะไมเนื่องกับคําเดี่ยวแตละคํา แตจะมีความหมายเนื่องกันเอง ลักษณะคําซอนเพื่อเสียง มีดังนี้ 1. การนําคําที่มีเสียงใกลเคียงกัน หรือมีระดับเสียงระดับเดียวกันมาซอนกัน สวนใหญ พยัญชนะทั้งคําตนและคําทายจะเปนพยัญชนะตัวเดียวกัน - การนําคําที่มีเสียงสระใกลเคียงกันมาซอนกัน เชน จริงจัง ชิงชัง (อิ + อะ) เกะกะ เปะปะ เกงกาง (เอะ เอ + อะ อา)


51

ขึงขัง ปงปง ทึกทัก ยึกยัก (อึ + อะ) เงอะงะ เรอรา เซอซา เลิ่กลั่ก (เออะ เออ + อะ อา) ปุปะ ตุตะ งุนงาน กุกกัก (อุ + อะ อา) โฉงฉาง โอกอาก โผงผาง โครมคราม (โอะ โอ + อะ อา) - การนําคําที่มีเสียงสระที่เกิดระดับเดียวกันมาซอนกัน เชน ดุกดิก ยุกยิก อุบอิบ ตุกติก จูจี้ บูบี้ อูอี้ สูสี (อุ อู + อิ อี) โยกเยก โอเอ โงกเงก โยเย (โอะ โอ + เอะ เอ) งอแง รอแร ปลอแปล ทอแท งอแง กลอมแกลม (เอาะ ออ + แอะ แอ) เรี่ยราย เอียงอาย (เอีย + ไอ อาย) ไกลเกลี่ย ไลเลี่ย (ไอ+เอีย) มัวเมา ยั่วเยา (อัว + เอา) เมามาย กาวกาย (เอา อาว + ไอ อาย) ยั้วเยี้ย ตวมเตี้ยม ปวนเปยน (อัว + เอีย) 2. การนําคําที่ไมมีความหมายมาซอนขางหลังคําที่มีความหมาย เพื่อใหเกิดเสียงไพเราะ เชน ดีเด กินเกิน มองเมิง ดูเดอ ไปเปย สวยเสย กวาดแกวด มือเมอ 3. การนําคําที่มีพยัญชนะตนตางกันแตเสียงสระเหมือนกันมาซอนกัน เชน จิ้มลิ้ม เบอเรอ เรื่อยเจื้อย 4. การนําคําที่มีพยัญชนะตนเหมือนกัน สระเสียงเดียวกัน แตตัวสะกดตางกันมาซอน กัน เชน ลักลั่น ยอกยอน อัดอั้น 5. การนําคําที่มีเสียงสระและตัวสะกดตางกันซอนกัน เชน คับแคน ยุงยาก รอนแรมลวนลาม คลุมคลั่ง ฟุมเฟอย รุมรวย 6. การนําคําที่มีความหมายใกลเคียงกันซอนเขาดวยกัน แลวเพิ่มพยางคกลางเขาไป เพื่อใหอานสะดวกขึ้น เชน สะกิดเกา เปน สะกิดสะเกา ขโมยโจร เปน ขโมยขโจร


52

นอกจากคําซอนที่กลาวมาขางตน 2 ประเภทนี้แลวยังมีคําซอนประเภทตาง ๆ จําแนก ออกมาอีก ไดแก คําซอน 4 คําหรือ 6 คํา คือ คําซอนที่มีคําซอนกัน 4 คํา หรือ 6 คํา โดยจะมีสัมผัสกลาง คํา เพื่อใหเกิดความไพเราะ ความหมายของคําซอนประเภทนี้จะปรากฏอยูที่คําตนหรือทายก็ได หรือปรากฏทั้งคําตนและคําทาย หรือปรากฏที่สองคําตนก็ได เชน ผลหมากรากไม หมูเห็ดเปดไก ถวยโถโอชาม เจ็บไขไดปวย ยากดีมีจน เกะกะระราน ขาเกาเตาเลี้ยง บานชองหองหอ อีลุยฉุยแฉก คําซอน 2 คู คือ การนําคํา 2 คํามาซอนกัน โดยแยกเปน 2 คู ซึ่งมีลักษณะตาง ๆ ดังนี้ 1. คําซอน 2 คู ที่เกิดจากคําที่ 1 กับคําที่ 3 คูกันและคําที่ 2 และคําที่ 4 คูกัน เชน ปากหวานกนเปรี้ยว หนักนิดเบาหนอย ผิดชอบชั่วดี 2. คําซอน 2 คู ที่เกิดจากจากคําที่ 1 และคําที่ 3 เปนคําเดียวกัน แตคําที่ 2 และคําที่ 4 เปนคําที่มีความหมายตรงขามกัน เชน พอดีพอราย ยินดียินราย ไมมากไมนอย 2.3 การซ้ําคํา หมายถึง การนําคําคําเดียวกันมากลาวซ้ํากัน 2 ครั้ง โดยใชเครื่องหมาย ๆ (ไมยมก) แทนคําหลังที่เขียนซ้ํา คําที่นํามาซ้ํากันนั้นจะเปนคํานาม สรรพนาม กริยา หรือวิเศษณ ก็ได เมื่อซ้ํากันแลวเกิดความหมายใหม ซึ่งอาจคงเคาความหมายเดิมของคําเดี่ยวแตเนนตางกัน หรือ บางครั้งอาจเกิดความหมายใหมที่ไมเกี่ยวเนื่องกับคําเดี่ยวเลยก็ได การซ้ําคํานั้นอาจเขียนซ้ําเปนคําเดียว เชน เรียน ๆ นั่ง ๆ เปนตน หรืออาจมีคําซ้ําอื่นมา ซ้ําเขาอีกก็ได แตตองมีความหมายเปนไปในทํานองเดียวกัน เชน บา ๆ บอ ๆ เรา ๆ ทาน ๆ เปน ตน ลักษณะการซ้ําคํา มีดังนี้ 1. การซ้ําคําเพื่อใหคํามีความหมายเปนพหูพจน สวนใหญจะเปนคํานาม เชน เด็ก ๆ เลนเกมอยูในหอง ใคร ๆ ก็มางานนี้กันทั้งนั้น เขากินกวยเตี๋ยวเปนชาม ๆ เปนตน 2. การซ้ําคําเพื่อบอกลักษณะ สวนใหญจะเปนคําขยายนาม (คําวิเศษณ) เชน ปลายังเปน ๆ อยูเลย เสื้อที่เขาใหยังดี ๆ อยู หนังสือที่วางขายอยูมีแตใหม ๆ ทั้งนั้น


53

อาหารยังรอน ๆ อยูเลย เปนตน ในภาษาพูดหากตองการเนนน้ําหนักคําใหเปลี่ยนเปนเสียงวรรณยุกต สมุดเลมนี้เบาเบา เชน เสื้อของเธอสีซวยสวย ขนมชิ้นนีน้ ุมนุม น้ําที่นใี่ ซใส เปนตน 3. การซ้ําคําเพื่อแยกจํานวน เมื่อมีคําวา “เปน” มาขางหนา เชน ครูตรวจการบานเปนขอ ๆ ทํางานเปนอยาง ๆ ไปอยาปะปนกัน เขาตรวจสอบอุปกรณการเรียนเปนหอง ๆ ไป เปนตน 4. การซ้ําคําเพื่อแสดงความหมายโดยประมาณ ไมเจาะจง เชน สมที่วางขายอยูมีแตลูกเล็ก ๆ พรุงนี้มาพบกันแตเชา ๆ หนอย เขายืนรออยูแ ถว ๆ สะพานไม เขาปนแปงเปนเม็ดกลม ๆ เปนตน 5. การซ้ําคําเพื่อใหเปนคําสั่ง สวนใหญจะเปนคําขยายหรือคําบุพบท เชน เขาไปนั่งใน ๆ หนอย นั่งชิด ๆ กันหนอย เดินเร็ว ๆ เปนตน พูดดัง ๆ 6. การซ้ําคําเพื่อแสดงลักษณะสวนใหญในกลุมหรือคณะ มีแตของเกา ๆ เชน มีแตคนสวย ๆ กินแตของดี ๆ มีแตของเบา ๆ เปนตน 7. การซ้ําคําเพื่อแสดงวาทํากิริยาติดตอกันเรื่อยๆ เชน เดิน ๆ อยูเขาก็เปนลม พูด ๆ อยูเขาก็รองไห เปนตน 8. การซ้ําคําเพื่อเลียนเสียงธรรมชาติ เชน โฮง ๆ จั้ก ๆ ปอก ๆ โครม ๆ ตึง ๆ เปรี้ยง ๆ เปนตน 9. การซ้ําคําเพื่อแสดงอาการตอเนื่อง เชน เด็กดิ้นพราด ๆ ฝนตกปรอย ๆ เปนตน 10. การซ้ําคําเพื่อใหเกิดความหมายใหม โดยใชเปนคําขยาย เชน ของกลวย ๆ แบบนี้ใครก็ทําได เรื่องนีห้ มู ๆ ไป ๆ มา ๆ ก็ไมมีใครทํา เขารูเรื่องนี้แบบงู ๆ ปลา ๆ แตก็ยังเอามาพูด


54

เขาพูดสง ๆ ไปใหพนตัว ฉันนั่งอยูด ี ๆ ก็ถูกดุ เปนตน

บรรณานุกรม กําชัย ทองหลอ. หลักภาษาไทย. พิมพครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ : บริษัทรวมสาสน (1977) จํากัด, 2537. ธวัช ปุณโณทก. วิวัฒนาการภาษาไทย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : บริษัทสํานักพิมพไทยวัฒนา พานิช จํากัด, 2545. บรรจบ พันธุเมธา. ลักษณะและการใชภาษา. พิมพครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2537. บรรเทา กิตติศักดิ์. หลักภาษาไทย. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : บริษัทสํานักพิมพไทยวัฒนา พานิช, 2535. อุปกิตศิลปสาร, พระยา. หลักภาษาไทย. พิมพครั้งที่ 12. กรุงเทพฯ : บริษัทสํานักพิมพไทย วัฒนาพานิช จํากัด, 2546.


55

บทที่ 5 ลักษณะของคําในภาษาไทย คํา หมายถึง เสียงพูด เสียงที่เปลงออกมาครั้งหนึ่ง ๆ เสียงพูดหรือลายลักษณอักษรที่ เขียนหรือพิมพขึ้นเพื่อแสดงความคิด ถือเปนหนวยที่เล็กที่สุดซึ่งมีความหมายในตัว (พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2546, น. 248) ชนิดของคํา ภาษาไทยจําแนกคําออกเปน 7 ชนิด คือ คํานาม คําสรรพนาม คํากริยา คําวิเศษณ คําบุพบท คําสันธาน คําอุทาน ดังรายละเอียดตอไปนี้ 1. คํานาม หมายถึง คําที่เปนชื่อคน สัตว สถานที่ สิ่งของ หรืออาจเปนคําที่เกี่ยวของ กับนามธรรม ชนิดของคํานาม คํานามจําแนกเปน 5 ชนิด คือ 1.1 สามานยนาม หมายถึง คําที่เปนชื่อทั่วไปของคน สัตว สิ่งของ เชน ลม แกว ปากกา นก คน กระดาษ ดินสอ ถุง บาน โรงเรียน เปนตน 1.2 วิสามานยนาม หมายถึง คํานามที่เปนชื่อเรียกเฉพาะ เชน นายสมศักดิ์ ชลบุรี โตโยตา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ เปนตน 1.3 ลักษณนาม หมายถึง คํานามที่ใชบอกลักษณะของคํานาม ซึ่งลักษณนาม สามารถจําแนกไดดังนี้ 1) ลักษณนามบอกอาการ เชน พลู 1 จีบ ผา 1 พับ ดอกไม 1 กํา หญา 1 ฟอน กระดาษ 2 มวน บุหรี่ 3 มวน เปนตน 2) ลักษณนามบอกรูปราง เชน กระดาษ 2 แผน หิน 3 กอน เสื่อ 1 ผืน ชอน 5 คัน ไต 4 ลูก เปนตน 3) ลักษณนามบอกชนิด เชน ใบไม 2 ใบ หนังสือ 1 เลม วัว 4 ตัว เข็มขัด 2 เสน คน 10 คน ขลุย 2 เลา บทความ 1 เรื่อง พระสงฆ 2 รูป ยักษ 1 ตน เปนตน 4) ลักษณนามบอกจํานวนและมาตรา เชน ขาว 2 กิโลกรัม ผา 1 เมตร น้ําปลา 3 ขวด ขาวเปลือก 3 กระบุง เปนตน การใชคําลักษณนาม 1) วางไวทายคําบอกจํานวนนับ เชน เนื้อหมู 3 กิโลกรัม ไข 5 ฟอง มะมวง 3 ผล ดินสอ 2 แทง กระจก 1 บาน กินขาว 3 มื้อ แมว 10 ตัว เปนตน 2) วางไวหนาคําบอกจํานวนนับ เชน คนคนหนึ่ง ขึ้นค่ําหนึ่ง เปนตน


56

เชน เชน

3) วางไวหนาคําวิเศษณ เสื้อตัวดํา ขนมชิ้นใหญ สมลูกเล็ก รองเทาคูโปรด เปนตน 4) ใชลักษณนามโดยละคําบอกจํานวนนับ ซื้อเปนชุด จายเปนหัว ซื้อเปนคู เดินเรียงเปนแถว อยากไปอีกหนเปน

ตน 5) ละลักษณนาม ใชเมื่อพูดยนยอ เชน กาแฟ 3 น้ําเปลา 1 กาเหลา 2 แมวหา หมาหก เปนตน 1.4 สมุหนาม หมายถึง คํานามที่เปนชื่อ คน สัตว สิ่งของ ที่รวมกันอยูเปน จํานวนมาก เชน กอง ฝูง โขลง คณะ หมู นิกาย บริษัท ชุด พวก เหลา กก เปนตน 1.5 อาการนาม หมายถึง คํานามที่เกิดจากคํากริยาหรือคําวิเศษณที่มีคําวา “การ” และ “ความ” นําหนา ซึ่งการใชคํา “การ” และ “ความ” มีขอสังเกต ดังนี้ คําวา “การ” มักใชนําหนาคํากริยาที่แสดงความเปนไปทางกายและวาจา เชน การเดิน การกิน การนั่ง การพูด การวาด เปนตน คําวา “ความ” มักใชนําหนาคํากริยาที่แสดงความเปนทางจิตใจหรือคําที่แสดง ความรูสึกนึกคิดทางนามธรรม เชน ความจํา ความคิด ความกาวหนา ความเขาใจ ความ ทอถอย นอกจากนี้ยังใชนําหนาคําวิเศษณ เชน ความดี ความสวย ความทึบ ความถี่ ความสูง ความกวาง ความเร็ว ความสกปรก ความหรูหรา เปนตน การใชคําอาการนามมีขอสังเกตวา คําวา “การ” และ “ความ” หากนําหนาคําชนิด อื่น เชน การศึก การบาน การเรือน การเมือง ความแพง ความวัว ความควาย เราไมเรียกวา เปนอาการนาม แตจัดอยูในสามานยนาม หนาที่ของคํานาม 1. เปนประธานของประโยค เชน ครูสอนหนังสืออยูในหองเรียน พอคาขายของลดราคา แมวกินขาว เปนตน 2. เปนกรรมของประโยค เชน แมตัดตนไม นองซักรองเทาผาใบ ความดีทําใหเกิดความสุข

เปนตน


57

เชน

เชน

เชน

3. เปนคําขยายนาม เพื่อใหคํานามชัดเจนขึ้น แตงโมหนาฝนรสชาติจืด นายสมชายทนายความหายตัวไปอยางลึกลับ นายพรชัยมาเปนขาราชการครู เปนตน 4. ตามหลังคําบุพบทเพื่อทําหนาที่บอกสถานที่ เขาทํางานอยูในหอง เขาวางปากกาบนสมุด ฉันทํางานทุกอยางเพื่ออนาคต คุณภมรรัตนแมของเด็กหญิงยิ่งขวัญเปนนักบินหญิง 5. เปนคําเรียกขาน คุณครูครับ ผมไมเขาใจขอ 2 ครับ แกวชวยหยิบปากกาสีแดงใหหนอย เปนตน

เปนตน

2. คําสรรพนาม หมายถึง คําที่ใชแทนนามหรือขอความที่กลาวมาแลว ชนิดของคําสรรพนาม คําสรรพนามจําแนกเปน 6 ชนิด คือ 2.1 บุรุษสรรพนาม หมายถึง สรรพนามที่ใชแทนชื่อผูพูด ผูที่พูดดวย และผูที่ พูดถึง แบงเปน 3 ชนิดคือ - สรรพนามบุรุษที่1 เปนสรรพนามทที่แทนตัวผูพูด เชน ฉัน ดิฉัน เรา พวกเรา ขาพเจา ผม เรา อาตมา กระผม ขาพระพุทธเจา เปนตน - สรรพนามบุรุษที่ 2 เปนสรรพนามที่ใชแทน ผูที่เราพูดดวย เชน คุณ เธอ ทาน ใตฝาพระบาท ฝาพระบาท พระคุณเจา เปนตน - สรรพนามบุรุษที่ 3 เปนสรรพนามที่ใชแทนผูที่เรากลาวถึง เชน พระองค เขา พวกเขา มัน ใคร อะไร ผูใด เปนตน หมายเหตุ สรรพนามบางคําเปนไดทั้งสรรพนามบุรุษที่ 2 และที่ 3 ก็ได เชน ทานมาทําไมครับ (สรรพนามบุรุษที่ 2) ใครจะไปกับทานบาง (สรรพนามบุรุษที่ 3) เธอทําอะไรนะ (สรรพนามบุรุษที่ 2) ครูพาเธอไปบานแลว (สรรพนามบุรุษที่ 3) เปนตน 2.2 ประพันธสรรพนาม หมายถึง สรรพนามที่ใชเชื่อมประโยค คือทําหนาที่ แทนคํานามหรือสรรพนามที่อยูขางหนา และทําหนาที่เชื่อมประโยคสองประโยคใหเชื่อมกัน จะวาง ติดกับนามหรือสรรพนามที่แทน ไดแก ผู ที่ ซึ่ง อัน ดัง ผูที่ ผูซึ่ง


58

เชน

บุคคลผูไมประสงคจะเดินทางไปกับเรา โปรดแจงใหทราบภายในวันที่ 12 นี้ คนทีเ่ กียจครานมักสอบตก บุคคลดังจะกลาวตอไปนี้เปนผูทที่ ํานําบํารุงวัดมาตลอด ไมอันอยูในหองคือไมตะพด เปนตน ความงามซึ่งอยูที่เรือนรางยอมเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา 2.3 วิภาคสรรพนาม หมายถึง สรรพนามที่ใชแทนนามหรือสรรพนามที่แยก ออกเปนแตละคน แตละสิ่ง หรือแตละพวก ไดแก ตาง บาง กัน เชน นักศึกษาตบตีกัน พี่นองสูงเทากัน นักเรียนทั้งหลายบางก็นั่งคุยกัน บางทานขนม บางก็อานหนังสือ บางก็หลับ นักกีฬาตางทําหนาที่ของตนใหดีที่สุด เปนตน 2.4 นิยมสรรพนาม หมายถึง สรรพนามที่ใชแทนนาม เพื่อชี้เฉพาะเจาะจง หรือบอกความใกล ไกล ที่เปนระยะทาง ไดแก นี่ นั่น โนน นี้ นั้น โนน เชน คุณแมดูนซี่ ิ นีเ่ ปนของที่มีคาที่สุดในชีวิตของฉัน โนนเปนเทือกเขาตะนาวศรี เปนตน 2.5 อนิยมสรรพนาม หมายถึง สรรพนามที่ใชแทนนาม เพื่อบอกความไมชี้ เฉพาะที่แนนอนลงไป และไมตองการคําตอบจะใชในประโยคบอกเลาหรือประโยคปฏิเสธ เชน ใคร อะไร ไหน ผูใด เปนตน หรืออาจเปนคําซ้ํา เชน ใคร ๆ อะไร ๆ ไหน ๆ เปนตน เชน ไหน ๆ ฉันก็นอนได ใครจะไปกับเราก็ได ผูใดเปนคนชั่วเราควรหลีกใหไกล เปนตน 2.6 ปฤจฉาสรรพนาม หมายถึง สรรพนามที่ใชแทนนามที่มีเนื้อความเปน คําถาม จะใชในประโยคคําถาม เชน ใคร อะไร ไหน ผูใด เปนตน เชน ใครหยิบปากกาของฉันไปใช ผูใดอยูในรถ อะไรอยูในถุง ไหนเปนบานของเธอ เปนตน


59

หนาที่ของคําสรรพนาม 1. เปนประธานของประโยค เชน ฉันนั่งทําการบานตลอดคืน ไหนเปนหนังสือที่ฉันฝากไว ใครอยูที่หอบาง เปนตน 2. เปนกรรมของประโยค เชน แมตีฉัน เธอเอาอะไรมาให เธอพาใครมาดวย วันนี้ไมมีใครอยูที่หองเลย เปนตน 3. เปนผูรับใช เชน แมใชใหฉันไปซื้อของ เปนตน 4. เปนสวนเติมเต็มของประโยค เชน คุณเปนใคร เขาคลายฉันมาก เปนตน 5. เปนสวนเชื่อมประโยค เชน เขามีความคิดซึ่งไมเหมือนใคร คนทีม่ ากับฉันคือคูรักของฉัน เปนตน ฉันพบสัตวประหลาดทีไ่ มเคยเห็นมากอน 6. เปนสวนขยายคํานามที่ทําหนาที่เปนประธาน หรือกรรม เพื่อเนนความรูสึก จะวางไวหลังคํานาม เชน พระทานฉันภัตตาหารเพลเสร็จแลว ฉันแวะไปพบคุณครูทานมา เปนตน 3. คํากริยา หมายถึง คําที่แสดงอาการของนามและสรรพนาม หรือแสดงการกระทํา ของประธาน ชนิดของคํากริยา คํากริยาจําแนกเปน 5 ชนิด คือ 3.1 สกรรมกริยา หมายถึง กริยาที่ตองมีกรรมมารับ เชน นกจิกหนอน ฉันกินขาว แมถือไมเรียว ฉันขัดรองเทา เปนตน


60

3.2 อกรรมกริยา หมายถึง กริยาที่ไมตองมีกรรมมารับ มีความหมาย ครบถวนอยูในตัวเอง เชน ฉันนอน นกบิน เด็ดลม พอยืน เปนตน 3.3 วิกตรรถกริยา หมายถึง กริยาที่ไมมีความสมบูรณในตัวเองตองอาศัย คํานามหรือ สรรพนามหรือคําวิเศษณมาเติมขางหลังหรือมาขยายจึงจะไดความ ไดแก คํากริยา เปน เหมือน คลาย เทา คือ เสมือน ดุจ ดัง ดั่ง ประหนึ่ง แปลวา หมายถึง เปนตน เชน ฉันหนาตาเหมือนแม เขาเปนครู แมวคลายเสือ คนนั่งอยูซายมือนั่นแหละคือทานละ ถาฉันทานมากกวาคงเปนอวนแน เปนตน 3.4 กริยานุเคราะห หมายถึง กริยาชวย เปนกริยาที่ชวยกริยาแทเพื่อบอก กาลเวลาหรือ การกระทําใหสมบูรณ กริยาชวยนี้จะวางอยูขางหนาหรือขางหลังกริยาหลักก็ได ไดแก กําลัง คง คงจะ จะ จะได ถูก ยอม เคย ให แลว เสร็จ เชน ฉันถูกแมตี ฝนกําลังตก เขาคงลืมแลว ฉันอาจจะมารวมงานนี้ดวย เปนตน 3.5 กริยาสภาวมาลา หมายถึง กริยาที่ทําหนาที่คลายคํานาม อาจจะเปน ประธาน เปนกรรม หรือบทขยายก็ได เชน นอนมีประโยชนกวาอิริยาบถอื่น (เปนประธาน) (เปนบทกรรม) ฉันชอบดูละครเวที (เปนบทกรรม) ฉันชอบไปเที่ยว เขาออมทรัพยไวเพื่อซื้อรองเทา (เปนบทขยาย) เปนตน


61

หนาที่ของคํากริยา 1. เปนภาคแสดงของประโยค สามารถวางไวได 2 ตําแหนง คือ อยูหลังประธาน และอยูหนาประโยค เชน ฉันกวาดบาน เกิดน้ําทวมฉับพลัน เปนตน 2. เปนสวนขยายของคํานาม เชน ภาพแกะสลักภาพนี้สวยงามมาก ปลาตายไมมีขายในตลาด เปนตน 3. เปนกริยาสภาวมาลาเปนประธาน กรรม หรือบทขยาย เชน อานหนังสือชวยใหมีความรู (อาน เปนประธานของกริยาชวย) ฉันไมชอบวิ่งเปรี้ยว (วิ่งเปรี้ยว เปนกรรมของกริยาชอบ) เปนตน 4. คําวิเศษณ หมายถึง คําที่ทําหนาที่ขยายคํานาม คําสรรพนาม คํากริยา หรือคํา วิเศษณ ชนิดของคําวิเศษณ คําวิเศษณจําแนกไดเปน 10 ชนิด คือ 4.1 ลักษณวิเศษณ หมายถึง คําวิเศษณที่บอกลักษณะตางๆ เชน บอกชนิด สี สัณฐาน กลิ่น รส ขนาด ความรูสึก เชน เหลว ใส บาง หอม เร็ว ชา เปรี้ยว จืด กลม รี แดง เปนตน เชน เขาดื่มน้ําอุนเปนประจํา กระจกบานนี้ขุนมัว อาหารวันนี้รสชาติจืดมาก ดอกไมดอกนี้มีกลิ่นหอมฉุน เปนตน 4.2 กาลวิเศษณ หมายถึง คําวิเศษณบอกเวลา เชน เชา สาย บาย เย็น โบราณ เดี๋ยวนี้ อดีต ปจจุบัน อนาคต เปนตน เชน คนโบราณเปนคนมีความคิดดีๆ ฉันมากอนใคร เปนตน เขามาทํางานสาย 4.3 สถานวิเศษณ หมายถึง คําวิเศษณบอกสถานที่ เชน ใกล ไกล ใต บน ขาง เหนือ ริม ซาย ขวา หนา หลัง เปนตน เชน เธออยูใ กล แตฉันอยูไกล อยาเดินไปริมๆ นัก


62

โปรดนั่งชิดขวา เปนตน หมายเหตุ คําวิเศษณประเภทนี้หากมีคํานามหรือคําสรรพนามอยูขางหลัง คําดังกลาวจะ เปนคําบุพบท เชน ดินสออยูใตโตะ เปนตน 4.4 ประมาณวิเศษณ หมายถึง คําวิเศษณบอกจํานวนหรือปริมาณ เชน หนึ่ง สอง สาม มาก คู บาง หลาย บรรดา ทุก ตาง บาง กัน คนละ เปนตน เชน เขามีปากกาเยอะแยะ ตางคนตางทํากันไปคนละอยาง บรรดาคนที่มา ลวนแตกินจุทั้งสิ้น ฉันซื้อปากกามา 2 ดาม เปนตน 4.5 นิยมวิเศษณ หมายถึง คําวิเศษณที่บอกความชี้เฉพาะ เชน นี้ นั้น โนน ทั้งนี้ ทั้งนั้น ดังนั้น เอง เฉพาะ เทียว ดอก แนนอน จริง เปนตน เชน เรื่องเหลานีเ้ ราพูดกันมาหลายครั้งแลว เรื่องอยางนี้ก็มีดวย ฉันทําอาหารเอง ฉันจะไปเชียงใหมแนๆ เปนตน 4.6 อนิยมวิเศษณ หมายถึง คําวิเศษณที่ประกอบบอกความไมชี้เฉพาะ เชน ใด อะไร กี่ ไหน อยางไร อื่น ๆ เปนตน เชน เธอทํางานอะไรก็ได เธอชอบของชิ้นไหนก็หยิบไดเลย เธอพูดอยางไร คนอื่น ๆ ก็เชื่อเธอ เปนตน 4.7 ปฤจฉาวิเศษณ หมายถึง คําวิเศษณที่ประกอบเนื้อความเปนคําถามหรือ ความสงสัย เชน ใด ไร ทําไม ฉันใด เชนไร ไหม อันใด อยางไร เทาไร ไย หรือ เปนตน เชน สิ่งใดอยูในตู ทานรูไหม เธอหรือที่เก็บของฉันได เมื่อรูเรื่องนี้แลวเธอจะทําฉันใด เมื่อรูอยางนี้แลวเธอจะพูดไปทําไม รถยนตคันนี้ราคาเทาไร เปนตน 4.8 ประติชญาวิเศษณ หมายถึง คําวิเศษณที่ประกอบบอกเสียงรองเรียก และเสียงขานรับ เชน จา คะ ครับ ขอรับ เวย โวย จะ เปนตน เชน ทานขอรับ รถมารอแลวขอรับ แมจา หนูหิว


63

คุณครูครับขออนุญาตเขาหองครับ เปนตน 4.9 ประติเษธวิเศษณ หมายถึง คําวิเศษณที่แสดงความปฏิเสธ เชน ไม ไมใช ใช มิ มิใช มิได ไมได หาไม เปนตน เชน เขาไมทําก็ไมเปนไรเพราะเขาไมใชลูกฉัน เขามิใชมาคนเดียว เขาพาพรรคพวกมาดวย ของชิ้นนี้ไมใชของฉัน ฉันจึงรับไปไมได เปนตน 4.10 ประพันธวิเศษณ หมายถึง คําวิเศษณที่ประกอบคํากริยาหรือคํา วิเศษณเพื่อเชื่อมประโยคใหเกี่ยวของกัน จะเรียงหลังคําอื่นที่ไมใชคํานามหรือคําสรรพนาม เชน ที่ ซึ่ง อัน อยางที่ ที่วา เพื่อวา ให ชนิดที่ เปนตน เชน เขาพูดใหฉันไดอาย เงินทองนี้มีคุณคามากอันประมาณไมได เด็กคนนี้เปนเด็กฉลาดอยางที่ไมเคยพบมากอน เขารองเพลงไพเราะมากซึ่งเมื่อฟงแลวจิตใจของฉันก็เบิกบานไปดวย เปนตน หนาที่ของคําวิเศษณ 1. ขยายคํานาม เชน ผูหญิงสูงๆ คนนั้นเปนพี่ฉัน ทุกคนมาหาฉันก็เพราะฉันมีเงินมาก เด็กเล็กไมควรนอนดึก เปนตน 2. ขยายคําสรรพนาม เชน

เชน

เชน

ใครบางจะไปทําบุญ

ฉันเองเปนคนเขามาในหองครัว อะไรดีเอามาอวด อะไรชั่วเอาออกไป 3. ขยายคํากริยา คนกินจุมักอวน เขาวิ่งเร็ว ฝนตกหนัก เปนตน 4. ขยายคําวิเศษณ เขาทานเร็วมาก ดอกกุหลาบดอกนี้สวยงามจริงๆ สมผลนีเ้ ปรี้ยวจัด เปนตน

เปนตน


64

5. คําบุพบท หมายถึง คําที่แสดงความสัมพันธระหวางคําหรือประโยค เพื่อใหทราบ วาคําหรือประโยคที่อยูหลังนั้นมีหนาที่เกี่ยวของกับคําหรือประโยคขางหนาอยางไร ชนิดของคําบุพบท คําบุพบทจําแนกเปน 3 ชนิด คือ 5.1 คําบุพบทที่แสดงความสัมพันธระหวางคํากับคํา เชน ความสัมพันธ ระหว างคํ านามกั บคํ านาม คํ านามกั บคําสรรพนาม คํานามกับคํากริยา คําสรรพนามกับคํา สรรพนาม คําสรรพนามกับคํากริยา คํากริยากับคํานาม คํากริยากับคําสรรพนาม คํากริยากับ คํากริยา เพื่อบอกสถานการณใหชัดเจนขึ้น ดังรายละเอียดตอไปนี้ - บุพบทที่แสดงความสัมพันธระหวางนามกับนาม นามกับสรรพนาม หรือนาม กับกริยา เชน รถยนตของนอยเกามาก (นามกับนาม) (นามกับนาม) ฉันมอบดอกไมแดอาจารย (นามกับนาม) เขาอยูเมืองนอกตั้งแตปที่แลว (นามกับสรรพนาม) แมใหเงินแกฉัน กระเปาของเขาจุของไดมากจริง (นามกับสรรพนาม) (นามกับสรรพนาม) อาหารสําหรับทานพรอมแลว อาหาร 2 ถุงนี้เปนของสําหรับใสบาตร (นามกับกริยา) เปนตน - บุพบทที่แสดงความสัมพันธระหวางสรรพนามกับนาม สรรพนามกับสรรพนาม หรือสรรพนามกับกริยา เชน เธอพบใครในหองนั้น (สรรพนามกับนาม) (สรรพนามกับสรรพนาม) อะไรของเธออยูในกระเปาฉัน ขอใหบอกมาวา ไหนสําหรับทาน ไหนสําหรับใสบาตร (สรรพนามกับกริยา) - บุพบทที่แสดงความสัมพันธระหวางกริยากับนาม กริยากับสรรพนาม กริยา กับกริยา หรือกริยากับวิเศษณ เชน เขาทํางานเพื่อเงิน (กริยากับนาม) (กริยากับนาม) เขามาแตเชา (กริยากับนาม) เขามาจากตางจังหวัด (กริยากับนาม) เงินอยูในซอง (กริยากับสรรพนาม) เขาเปนของฉันแลว เขาอยูเพื่อกิน (กริยากับกริยา) (กริยากับวิเศษณ) เปนตน เขาไปโดยเร็ว


65

5.2 คําบุพบทที่แสดงความสัมพันธระหวางประโยคกับประโยค เชน เขาเขานอนตั้งแตฝนตก ฉันเก็บอาหารไวสําหรับคนดายหญา เปนตน 5.3 คําบุพบทที่ไมสัมพันธกับกับคําอื่น สวนมากจะวางอยูตนประโยคใชใน การทักทาย สวนใหญจะใชในคําประพันธ เชน ดูกรมหาพราหมณทานจงทําตามคําที่เราบอก ดูแนะพี่นองทั้งหลาย บัดนี้เรามาชวยทานแลว ดูกอน ภิกษุทั้งหลาย เราขอเตือนทานทั้งหลายใหเปนผูสงบ เปนตน หนาที่ของคําบุพบท 1. นําหนานาม เชน เขาใหสัมภาษณแกผูสื่อขาว เขาไปกับเพื่อน เปนตน เขาเก็บเงินไวสําหรับลูก 2. นําหนาสรรพนาม เชน บานของฉันใหญที่สุดในซอย เขามุงหนาสูเชียงใหม เขาอยูใกลฉัน เปนตน ทุกคนไดไปเที่ยวเวนแตเขาคนเดียว 3. นําหนากริยา เชน เขาอยูกันตามมีตามเกิด เขากินเพื่ออยู เขาเก็บของแหงไวสําหรับกินยามยาก เปนตน 4. นําหนาประโยค เชน เขามาตั้งแตฉันตื่นนอน เขาพูดเสียงดังกับคนตวาดเขา เขาจะใหของขวัญกับคนที่ใหเงินแกเขาเทานั้น เปนตน หมายเหตุ คําบุพบทสามารถละได และความหมายยังคงเดิม เชน เขาเปนลูกฉัน (เขาเปนลูกของฉัน) แมใหเงินลูก (แมใหเงินแกลูก)เปนตน


66

6. คําสันธาน หมายถึง คําที่ทําหนาที่เชื่อมประโยคกับประโยค หรือขอความกับ ขอความเพื่อใหเกิดความสละสลวย ชนิดของคําสันธาน คําสันธานจําแนกไดเปน 3 ชนิด คือ 6.1 สันธานที่เชื่อมประโยคความรวม จําแนกไดดังนี้ 1) เพื่อเชื่อมความใหคลอยตามกัน ไดแก ก็ กับ และ แลว จึง ครั้น…ก็ ถา…ก็ ครั้น…จึง เมื่อ…ก็ พอ…ก็ ทั้ง…ก็ ทั้ง…ก็ดี ก็ได เชน พอและแมทํางานเพื่อลูก พอเขามาถึงฉันก็ไป ทั้งพอและแมเปนหวงฉัน เมื่อเงินหมดเราก็ไมมีอาหารกิน ทั้งฝนก็ตกทั้งลมก็พัดแรงตลอดวัน เปนตน 2) เพื่อเชื่อมความขัดแยงกัน ไดแก แต แตทวา แต…ก็ แม…ก็ กวา…ก็ ถึง…ก็ เชน ถึงฝนจะตกฉันก็จะไป เขาชอบไปเที่ยวแตฉันชอบอยูบาน กวาเขาจะไปถึงทุกคนก็หลับหมดแลว แมเขาจะทําความดีอยางไร ก็ไมสามารถลบลางความชั่วของเขาได เปนตน 3) เพื่อเชื่อมความที่เปนเหตุเปนผลกัน ไดแก เพราะ ดวย จึง ฉะนั้น ฉะนี้ ฉะนั้น…จึง เพราะฉะนั้น เหตุเพราะ เหตุวา เหตุฉะนี้ เชน เพราะเขาทํานาเขาจึงมีขาวทานตลอดป ฉันชอบไวผมยาว เพราะสามารถเปลี่ยนแปลงผมไดหลายอยาง เขาไมเขาเรียนเปนประจําจึงทําใหสอบไมผาน เปนตน 4) เพื่อเชื่อมความที่เลือกเอาอยางใดอยางหนึ่ง ไดแก หรือ ไมก็ ไมเชนนั้น มิฉะนั้น หรือมิฉะนั้น เชน เธอจะไปเรียนหรือจะไปเที่ยว ฉันตองทําการบานมิฉะนั้นฉันจะถูกแมดุ งวงก็นอนเสีย หรือไมก็ออกไปเดินเลน เปนตน


67

6.2 สันธานที่เชื่อมประโยคความซอน 1) เพื่อเชื่อมความที่บอกการกระทําอยางใดอยางหนึ่ง ใชคําสันธาน “ให” เพื่อบอกการกระทํา และคําสันธาน “วา” บอกเนื้อความที่เปนคําพูดหรือคํากลาว เชน พอบอกใหลูกไปโรงเรียน พอซื้อรถยนตใหลูกขับ แมอนุญาตใหฉันไปทํางานตางประเทศได เปนตน เขาบอกวาเขาจะมาถึงตอนบายโมง 2) เพื่อเชื่อมความแสดงเวลา เชน เขาเก็บผลไมไวจนสัปดาหหนึ่งผานไป เปนตน เขากลับมาบานเมื่อนาฬิกาบอกเวลาตีสอง 3) เพื่อเชื่อมความบอกเหตุ เชน น้ําทวมเพราะปาไมถูกทําลาย ฉันรูปรางดีเพราะวาฉันออกกําลังกายเปนประจํา เปนตน 4) เพื่อเชื่อมความบอกผล เชน แมดุจนลูกกลัว เปนตน เขาทานอิ่มจนเดินไมไหว 5) เพื่อเชื่อมความแสดงความเปรียบเทียบ เชน พวกเขาเสียงดังโหวกเหวกเหมือนเจกตีกัน นองทํางานไดดีกวาพี่ทํา เขาเดินอยางผูดีเดิน เปนตน 6.3 สันธานที่เชื่อมใหเนื้อความเดน จําแนกเปน 2 ประเภทคือ 1) เชื่อมคนละตอนใหประสานกัน เชน เสียงเกรียวกราวดังขึ้นทางหนาบาน นายขวัญกําลังปลูกตนไมอยูหลังบาน ฝาย นางสายผูเปนเมียทําอาหารอยูในครัวก็รีบแอบหลังตูกับขาว คนดียอมมีศีลธรรม มีความขยันหมั่นเพียรเพื่อตั้งตนใหมีฐานะ คนชนิดนี้ควรแก การยกยองสรรเสริญ อนึ่งคนที่มีความกตัญู ก็ควรแกการสรรเสริญดวยเชนกัน 2) เชื่อมความใหสละสลวย เชน ทานมีพระคุณตอผม ไดเคยชวยเหลือผมตลอดเวลา อยางไรก็ตามพระคุณของ ทานผมไมมีวันลืม นายจันไมมีความเปนตัวของตัวเอง สุดแตวาใครจะใหทําอะไรก็ทําตามหมด


68

การศึกษาทุกระดับมีความสําคัญทั้งสิ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งการศึกษา ระดับประถมเปนการศึกษาระดับพื้นฐานที่ทุกคนตองไดเรียนรู ดิฉันเชื่อวาเขาก็เปนสุภาพบุรุษคนหนึ่ง หนาที่ของคําสันธาน 1. เชื่อมคํากับคํา เชน ฉันกับเพื่อนไปชมการแสดงโขน ตาและยายอยูตางจังหวัด เปนตน นองหรือพี่อยูในรถ 2. เชื่อมประโยคกับประโยค เชน กวาเขาจะมา พวกเราก็ไปกันหมดแลว เธอจะดื่มกาแฟหรือดื่มชา เขาเดินเสียงดังทั้งๆ เทาเจ็บอยู เปนตน 3. เชื่อมขอความกับขอความ เชน แมว หมู และเปดเปนเพื่อนกัน วันหนึ่งแมวกับหมูชวยกันสรางที่อาศัย ฝายเปด เห็นเชนนั้นก็ไปชวยดวยอยางเต็มใจ คนเราควรมีความกรุณาปรานีตอผูอื่น อันวาความกรุณาปรานีจะมีใครบังคับก็ หาไม เปนตน 7. คําอุทาน หมายถึง คําที่แสดงถึงเสียงที่เปลงออกมาในเวลาดีใจ เสียใจ ตกใจ ประหลาดใจ เปนตน หรือเปนคําเสริมบทใชตอทายคําใหสมบูรณยิ่งขึ้นก็ได ชนิดของคําอุทาน คําอุทานจําแนกเปน 2 ชนิด คือ 7.1 คําอุทานบอกอาการ หมายถึง คําอุทานเพื่อบอกความรูสึกหรืออารมณ ของ ผูพูด เชน - อารมณโกรธ เชน ชิๆ ชะๆ ชิชะ ชะชา เปนตน - อารมณตกใจ เชน โอ วาย อุย อุย เปนตน - อารมณไมพอใจ เชน ฮึ อุบะ แหม เปนตน - อารมณดีใจ เชน เฮ ไชโย เปนตน - อารมณประหลาดใจ เชน เอะ ฮา เอ เอ เปนตน - อารมณเจ็บปวด เชน โอย โอย เปนตน - อารมณสงสาร เชน พุทโธ อนิจจา เปนตน


69

7.2 คําอุทานเสริมบท หมายถึง คุทานที่ใชเสริมบทเปนคําสรอย เพื่อให ความสมบูรณ และเปนถอยคําที่ชวยใหไพเราะสละสลวย มี 3 ลักษณะดังนี้ 1) อุทานเสริมบทที่ใชเปนคําสรอย หมายถึง อุทานที่ใชเปนคําสรอยใน คําประพันธ เพื่อแสดงวาจบขอความ เชน ฮา เฮย แฮ แล นา รา เอย ฤา เปนตน เชน เสียงลือเสียงเลาอาง อันใด พี่เอย เสียงยอมยอยศใคร ทั่วหลา สองเขือพี่หลับใหล ลืมตื่น ฤาพี่ สองพี่คิดเองอา อยาไดถามเผือ (ลิลิตพระลอ) ไรสิ่งสินอับแลว ปญญา อีกญาติวงศพงศา บใกล คนรักยอมโรยรา รสรัก กันแฮ พบแทบทางทําใบ เบี่ยงหนาเมินหนี (โคลงโลกนิติ) เปนตน 2) เสริมบทที่เปนคําแทรก หมายถึง การนําคําอุทานไปแทรกระหวาง คําหรือขอความ หรือประกอบทายคํา คําอุทานเสริมบทชนิดนี้จะใชในคําประพันธ ไดแก ชิ นุ สิ นิ เชน สนุกนิเราเศราสิ้น สบหนาหนั่นเกษม เปนตน ควรสุขซิกลับเศรา ศรีหมอง อีกชนิดหนึ่งใชประกอบทายคําใหขอความสละสลวย เชน เอย เอย โอย เชน แมวเอยแมวเหมียว รองเรียกเหมียวเหมียวเดี๋ยวก็มา นองเอยนองจะทํากันอยางไร เจานองรักของพีเ่ อย มาเถิดนา แมนา ลูกเอยจงขยันหมั่นเพียรนะลูกนะ เปนตน 0


70

บรรณานุกรม กําชัย ทองหลอ. หลักภาษาไทย. พิมพครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ : บริษัทรวมสาสน (1977) จํากัด, 2537. บรรจบ พันธุเมธา. ลักษณะและการใชภาษา. พิมพครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2537. บรรเทา กิตติศักดิ์. หลักภาษาไทย. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : บริษัทสํานักพิมพไทยวัฒนา พานิช, 2535. ผจงวาด กมลเสรีรัตน. พจนานุกรมคําพอง. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพสุวีริยาสาสน, 2536. อุปกิตศิลปสาร, พระยา. หลักภาษาไทย. พิมพครั้งที่ 12. กรุงเทพฯ : บริษัทสํานักพิมพไทย วัฒนาพานิช จํากัด, 2546.


71

บทที่ 6 ลักษณะของกลุมคําหรือวลีในภาษาไทย ความหมายของวลี วลี หมายถึง กลุมคําที่เรียงติดตอกันเปนระเบียบ ไมไดใจความสมบูรณเหมือนประโยค คือยังขาดภาคประธานหรือภาคแสดง หรือขาดทั้งสองอยาง วลีจึงเปนเพียงสวนหนึ่งของประโยค ชนิดของวลี วลีจําแนกไดเปน 7 ชนิด คือ 1. นามวลี หมายถึง วลีที่มีคํานามนําหนา เชน เด็กหลายคนกําลังวิ่งเลนอยูในสวน ผูหญิงที่ใสเสื้อสีแดงเปนพี่ของฉัน พระหลายรูปนั่งอยูใตตนโพธิ์ เปนตน 2. สรรพนามวลี หมายถึง วลีที่มีคําสรรพนามนําหนา ทานอาจารยจะไปไหนครับ เชน ขาพเจานายรักเกียรติ ศักดิ์ศรี มีความยินดีที่ไดมารวมงานในครั้งนี้ สวัสดีครับทานผูฟงทุกทาน เปนตน 3. กริยาวลี หมายถึง วลีที่มีคํากริยานําหนา เชน เขาหัวเราะระรื่นอยูในหอง ฉันกําลังพยายามแตงบทประพันธ เธอเดินเหมือนเปด เปนตน 4. วิเศษณวลี หมายถึง วลีที่มีคําวิเศษณนําหนา เชน ดอกมะลินี่หอมชื่นใจจริง เขาพูดจาเกงกาจอะไรเชนนั้น เขาประพฤติตัวนาเกลียดจริงๆ เธอสวยเหมือนนางฟา เปนตน 5. บุพบทวลี หมายถึง วลีที่มีคําบุพบทนําหนา ขาแตทานผูมีเกียรติขาพเจาขอขอบคุณทุกทานที่มารวมงานในครั้งนี้ เชน เขายอมอดทนทุกอยางเพื่อความรักของเรา เราทํามาหากินไดเสมอตราบใดที่เราอยูใตฟาเมืองไทย บิดาของฉันนั่งอยูบนเกาอี้ไม เปนตน


72

6. สันธานวลี หมายถึง วลีที่มีคําสันธานนําหนา เชน เขาปวยมาหลายวัน เพราะฉะนั้นเขาจึงตองไปหาหมอ ถึงเขาจะเปนเจานายของเราก็ตาม แตเขาก็ไมสามารถมาบงการชีวิตเราได เปน ตน 7. อุทานวลี หมายถึง วลีที่มีคําอุทานนําหนา เชน แมเจาโวย ทําไมเธอจึงสวยเชนนี้ พุทโธพุทธัง เขาไมนาอายุสั้นเลย วายคุณพระชวย ทําไมเธอหนาตาเปนแบบนี้ละ เปนตน หนาที่ของวลี กลุมคําหรือวลีจะใชเปนสวนหนึ่งของประโยคเชนเดียวกับคํา ทําหนาที่ได เชนเดียวกับคําไมวาจะเปนนาม สรรพนาม กริยา วิเศษณ บุพบท สันธาน อุทาน และ เปนไดทั้งบทประธาน บทกรรม บทกริยา บทขยาย บทเชื่อม ดังตัวอยางตอไปนี้ การเรียนหลักภาษาไทยมีประโยชนมาก (บทประธาน) เขาคุยกับผูจัดการธนาคารนครหลวงไทย (บทกรรม) เขากําลังขยันเรียนหนังสือ (บทกริยา) สวนสัตวเปดเขาเขียวสวนสัตวเปดที่มีชื่อเสียงแหงหนึ่งของประเทศไทยมี นักทองเที่ยวมาเที่ยวมาก (บทขยาย) แหมเธอนะเธอไมนาทํากับฉันแบบนี้เลย (บทอุทาน)

บรรณานุกรม กําชัย ทองหลอ. หลักภาษาไทย. พิมพครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ : บริษัทรวมสาสน (1977) จํากัด, 2537. บรรเทา กิตติศักดิ์. หลักภาษาไทย. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : บริษัทสํานักพิมพ ไทยวัฒนา พานิช, 2535. อุปกิตศิลปสาร, พระยา. หลักภาษาไทย. พิมพครั้งที่ 12. กรุงเทพฯ : บริษัทสํานักพิมพไทย วัฒนาพานิช จํากัด, 2546.


73

บทที่ 7 ลักษณะของประโยคในภาษาไทย ความหมายของประโยค ประโยค หมายถึง กลุมคําที่มีความเกี่ยวของกันเปนระเบียบและมีเนื้อความครบ บริบูรณ ชนิดของประโยค สามารถจําแนกไดดังนี้ 1. ประโยคความเดียว (เอกรรถประโยค) หมายถึงประโยคสามัญที่มีบทกริยาสําคัญ เพียงบทเดียว และมีใจความเพียงใจความเดียว เปนประโยคพื้นฐานที่ใชกันทั่วไป ลักษณะสําคัญ ของประโยคความเดียว ไดแก 1) ประโยคความเดียวที่ขึ้นตนดวยผูกระทํา (ประธาน) เชน นักศึกษานํารายงานมาสงอาจารย ครอบครัวของฉันชอบไปเที่ยวทะเล ไกตีกัน ผมสงจดหมายถึงแฟน เปนตน 2) ประโยคความเดียวที่ขึ้นตนดวยผูถูกกระทํา (กรรม) เชน ฉันถูกแมตี อาคารหลังนี้สรางขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 เปนตน 3) ประโยคความเดียวที่ขึ้นตนดวยคํากริยา เชน มีของมาขายมากมาย เกิดไฟไหมที่หางบางลําพู เปนตน 4) ประโยคความเดียวที่ละสวนใดสวนหนึ่งของประโยค เชน กินขาวเสียซิ (ละประธาน) ไปกับฉันไหม (ละประธานและกรรม) เธอทําทําไม (ละกรรม) เปนตน


74

2. ประโยคความรวม (อเนกรรถประโยค) หมายถึง ประโยคที่นําประโยค ความเดียวตั้งแตสองประโยคขึ้นไปมารวมกัน โดยมีสันธานเปนตัวเชื่อมประโยค หรืออาจละ สันธานไวในฐานที่เขาใจก็ได ประโยคความรวมสามารถจําแนกตามเนื้อความได 4 ชนิด คือ 1) ประโยคความรวมที่มีเนื้อความคลอยตามกัน ประโยคชนิดนี้จะมี ประโยคความเดียวที่มีเนื้อความทั้งประโยคหนาและหลังคลอยตามกัน คําเชื่อมมักใช เชน และ กับ แลว…จึง ครั้น…เมื่อ ถาวา ถา…วา ทั้ง…และ พอ…ก็ เปนตน เชน ฉันและนองชอบไปเที่ยวงานวัด ครั้นฤกษงามยามดีประธานก็ลั่นฆองชัย พอเรามาถึงที่ทํางาน เราก็รีบไปรับเอกสารทันที ถาวาไมมีความเกิดและความตายความทุกขก็ไมมี เปนตน 2) ประโยคความรวมที่มีเนื้อความขัดแยงกัน ประโยคชนิดนี้ประโยค ความเดียวประโยคหนาจะขัดแยงกับประโยคความเดียวประโยคหลัง คําสันธานที่มักใชเปน ตัวเชื่อม เชน แต ถึง…ก็ แตทวา กวา…ก็ เปนตน เชน ถึงเขาจะทําดีดวยฉันก็ไมใหอภัย กวาเขาจะมาถึง ฉันก็หลับแลว เขาชอบทานกวยเตี๋ยวน้ํา แตฉันชอบทานกวยเตี๋ยวแหง เปนตน 3) ประโยคความรวมที่มีเนื้อความใหเลือกอยางใดอยางหนึ่ง ประโยค ชนิดนี้จะมีบทเชื่อม เชน หรือ หรือวา มิฉะนั้น ไมเชนนั้น ไม…ก็ เปนตน เชน เธอจะดื่มน้ําเปลาหรือดื่มน้ําอัดลม คุณตองชดใชคาเสียหายไมเชนนั้นฉันจะแจงความ ไมพอก็ลูกตองไปซื้อของ เปนตน 4) ประโยคความรวมที่มีเนื้อความเปนเหตุเปนผลกัน ประโยคชนิดนี้ ประโยคแรกจะเปนเหตุประโยคหลังจะเปนผล มักใชคําสันธาน จึง เพราะ…จึง เพราะฉะนั้น เพราะฉะนั้น…จึง ฉะนั้น ฉะนั้น…จึง เปนตน เชน เพราะฝนตกหนักฉันจึงออกไปเที่ยวไมได ฉันชอบนอนตื่นสายจึงมาเรียนไมทันเปนประจํา เปนตน


75

3. ประโยคความซอน (สังกรประโยค) หมายถึง ประโยคใหญที่มีประโยค ความเดียวที่มีใจความสําคัญเปนประโยคหลัก และมีประโยคความเดียวที่มีใจความเปนสวน ขยายเปนประโยคยอยที่ซอนอยูในประโยคหลัก ประโยคความซอนนี้จะมีใจความสําคัญเพียง ใจความเดียว ซึ่งใจความสําคัญจะอยูที่ประโยคหลักเทานั้น ประโยคใจความสําคัญเรียกวา “มุขยประโยค” และประโยคยอยเรียกวาอนุประโยค ประโยคยอยที่ใชประกอบประโยคหลักมี 3 ชนิดคือ 1) ประโยคยอยที่ทําหนาที่คลายนาม อาจเปนบทประธานหรือ บทกรรมหรือบทขยายนาม หรือประโยคที่ตามหลังคําวา “ให” “วา” ประโยคชนิดนี้เราเรียกวา “นามานุประโยค” เชน คนทําดียอมไดรับผลดี (เปนบทประธาน) ฉันเห็นเด็กตกน้ํา (เปนบทกรรม) ขาวคนรายถูกยิงตายทําใหประชาชนดีใจมาก (เปนบทขยายนาม) ฉันไมชอบใหเขามาสาย (ตามหลังคําวา “ให”) พอบอกวา พอจะเดินทางไปตางประเทศ 1 อาทิตย (ตามหลังคําวา “วา”) 2) ประโยคยอยที่ทําหนาที่ประกอบคํานามหรือคําสรรพนาม จะใช ประพันธสรรพนาม “ที่ ซึ่ง อัน” เปนบทเชื่อมประโยคหลัก ประโยคชนิดนี้เรียกวา “คุณานุประโยค” เชน คนที่นั่งอยูในรถเปนคนที่ฉันรูจัก ฉันไมเห็นดวยกับการกระทําอันทารุณโหดรายเชนนี้ ของซึ่งวางอยูในตูคือของขวัญของพอ เขามีหนังสือซึ่งฉันไมมี แมวที่นั่งอยูริมหนาตางจับหนูเกง ประโยคเหลานี้จะทําหนาที่เหมือนบทวิเศษณ เพื่อประกอบนาม หรือสรรพนาม ขอสังเกตคือ จะมีประพันธสรรพนาม ที่ ซึ่ง อัน เปนบทเชื่อม 3) ประโยคยอยที่ทําหนาที่ประกอบคํากริยาหรือคําวิเศษณ และใช ประพันธวิเศษณ หรือคําสันธานเปนบทเชื่อม ประโยคชนิดนี้เรียกวา “วิเศษณานุประโยค” เชน เขาเปนคนดีที่โลกลืม เขาวิ่งเร็วจนฉันตามไมทัน ผูหญิงคนนั้นพูดภาษาอังกฤษเกงเพราะเธออยูตางประเทศมานาน เขารองโหวกเหวกเหมือนเจกตื่นไฟ


76

นอกจากประโยคทั้ง 3 ชนิดนี้แลวยังมีประโยคอีกประเภทหนึ่งคือ ประโยคซับซอนหรือ ประโยคระคน ที่เกิดจากประโยคชนิดตางๆ ใน 3 ชนิดนี้มาใชรวมกัน เชนนําประโยคความเดียวมา รวมกับประโยคความรวม ประโยคความรวมรวมกับประโยคความรวม ประโยคความรวมรวมกับ ประโยคความซอน เปนตน โดยประโยคเหลานี้จะมีบทเชื่อมเพื่อใหเกิดความติดตอกัน 4. ประโยคซับซอนหรือประโยคระคน ดังตัวอยาง - ประโยคความรวมรวมกับประโยคความเดียว เชน พี่และนองเปนครู แตฉันเปนทหาร - ประโยคความรวมรวมกับประโยคความรวม เชน วันอาทิตยนี้คุณพอและคุณแมจะไปทําบุญ สวนพี่และฉันจะไปเที่ยวเลย เปน ตน เนื้อความของประโยค จําแนกไดดังนี้ 1. ประโยคบอกเลา เนื้อความในประโยคชนิดนี้เปนเนื้อความที่บงชี้ใหเห็นวาประธาน ทํากริยาอะไร ที่ไหน อยางไร และเมื่อไร เชน ฉันจะไปเที่ยวกับเธอ วันนี้เธอมาทํางานสายอีกแลว เมื่อเชานี้แดดจาผิดปรกติ เปนตน 2. ประโยคปฏิเสธ เนื้อความในประโยคชนิดนี้เปนเนื้อความปฏิเสธ จะมีคําวา ไม ไมได หามิได ใชวา อยูดวย เชน ฉันไมไปเที่ยวกับเธอ อาหารเกือบไมพอกิน ฉันไมไดทําแตกนะ คุณไมนาจะทําแบบนี้เลย เปนตน 3. ประโยคคําถาม เนื้อความในประโยคชนิดนี้เปนเนื้อความคําถาม จะมีคําวา หรือ ไหม หรือไม ทําไม อยางไร อะไร ที่ไหน เมื่อไร อยูหนาประโยคหรือทายประโยค เชน จังหวัดใดนาไปเที่ยวมากที่สุด เมื่อไรเขาจะมาเสียที อาหารชนิดนี้รสชาติเปนอยางไร ปากกาของฉันอยูที่ไหน เปนตน


77

4. ประโยคคําสั่ง ขอรอง และชักชวน เนื้อความในประโยคเปนเนื้อความสั่งใหทํา หรือไมใหทํา ขอรอง ชักชวน ประโยคเหลานี้จะตองมีคําแสดงเนื้อความ บอกใหทราบเนื้อความ บังคับ ขอรอง ชักชวน ดังรายละเอียดตอไปนี้ 1) ประโยคคําสั่ง คําสั่งมี 2 ประเภท คือ แสดงการหาม และสั่งใหทํา - ประโยคแสดงการหาม จะมีคําวา อยา หาม ไวขางหนา ประโยค เชน หามเดินลัดสนาม อยาสงเสียงดังในหองเรียน เปนตน - ประโยคแสดงการสั่งใหทํา จะมีคําวา จง ซิ เสีย นะ เถอะ ที เสียที หนอย ไวทายประโยค สวนใหญมักจะใชในภาษาพูด เชน เมื่อไรเธอจะหยุดพูดเสียที นอยไปซื้อของใหหนอย นกหยิบดินสอสีใหที เธอรีบไปเร็วๆ ซิ เปนตน 2) ประโยคขอรอง จะมีคําวา วาน ชวย โปรด กรุณา ขอให ไว ขางหนาประโยค เชน กรุณาถอดรองเทา วานหยิบของบนโตะใหหนอยคะ โปรดเตรียมตัวเคารพธงชาติ ชวยบอกเขาใหมาพบฉันพรุงนี้ดวยนะ เปนตน 3) ประโยคชักชวน มักจะละประธานไวในฐานที่เขาใจ และใชคําแสดง การชักชวน โดยจะมีคําวา นะ นะ นา เถอะนะ เถอะนา ไวทายประโยค เชน ไปเที่ยวดวยกันเถอะนะ กินขาวอีกคํานะ ไปพบเขาเถอะนา เปนตน


78

สวนประกอบของประโยค 1. ภาคประธาน หมายถึง สวนที่เปนผูกระทํา ทําหนาที่คุมบทกริยาใหมีลักษณะเปน ประโยคตาง ๆ หมายถึง ใคร หรือ อะไร กระทําอาการอะไรในประโยค ประกอบดวย ประกอบดวยบทประธาน บทขยายประธาน 1.1 บทประธาน คือ สวนสําคัญของภาคแสดง 1.2 บทขยายประธาน คือ สวนขยายประธาน 2. ภาคแสดง หมายถึง สวนที่แสดงอาการของผูกระทํา เพื่อบอกใหทราบวาประธาน กระทําอาการอะไร ประกอบดวย 4 สวนคือ 2.1 บทกริยา คือ สวนสําคัญของภาคแสดง 2.2 บทขยายกริยา คือ สวนขยายกริยาใหแตกตางกันออกไป 2.3 บทกรรม คือ สวนที่ถูกกริยาทํา 2.4 บทขยายกรรม คือ สวนที่ขยายกรรมใหแตกตางออกไป ตัวอยางสวนประกอบของประโยค 1) ประธาน + กริยา เชน ฉันนอนหลับ ฉัน เปนบทประธาน นอนหลับ เปนบทกริยา เปนตน 2) ประธาน + กริยา + ขยายกริยา เชน เขาเปนบุตรชายคนโตของฉัน เขา เปนบทประธาน เปน เปนบทกริยา บุตรชายคนโตของฉัน เปนบทขยายกริยา เปนตน 3) ประธาน + ขยายประธาน + กริยา + ขยายกริยา เชน นกฝูงใหญบินอยูบนทองฟา นก เปนบทประธาน ฝูงใหญ เปนบทขยายประธาน บิน เปนบทกริยา อยูบนทองฟา เปนบทขยายกริยา เปนตน


79

เชน

เชน

เชน

4) ประธาน + กริยา + กรรม ฉันอานหนังสือ ฉัน เปนบทประธาน อาน เปนบทกริยา หนังสือ เปนบทกรรม เปนตน 5) ประธาน + ขยายประธาน + กริยา + กรรม เด็กตัวอวนเตะสุนัข เด็ก เปนบทประธาน ตัวอวน เปนบทขยายประธาน เตะ เปนบทกริยา สุนัข เปนบทกรรม เปนตน 6) ประธาน + ขยายประธาน + กริยา + ขยายกริยา + กรรม + ขยาย กรรม เด็กผูหญิงคนนั้นมีปากกา 3 ดามในกระเปา เด็ก เปนบทประธาน ผูหญิงคนนั้น เปนบทขยายประธาน มี เปนบทกริยา ในกระเปา เปนบทขยายกริยา ปากกา เปนบทกรรม 3 ดาม เปนบทขยายกรรม

บรรณานุกรม กําชัย ทองหลอ. หลักภาษาไทย. พิมพครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ : บริษัทรวมสาสน (1977) จํากัด, 2537. อุปกิตศิลปสาร, พระยา. หลักภาษาไทย. พิมพครั้งที่ 12. กรุงเทพฯ : บริษัทสํานักพิมพไทย วัฒนา พานิช จํากัด, 2546.


80

บทที่ 8 ความหมาย ความหมาย จําแนกเปน 2 ประเภท ดังนี้ ความหมายโดยตรง หมายถึง คําที่มีความหมายตรงตัว เชน เสน หมายถึง สิ่งที่มีลักษณะเปนสาย แถว แนว หมู หมายถึง ชื่อสัตวชนิดหนึ่งตัวอวนมีสี่ขา ความหมายโดยนัยหรือความหมายแฝง หมายถึง คําที่มีความหมายเปนอีกอยางหนึ่ง ตอง ตีความจึงจะเขาใจในที่นี้รวมถึงความหมายที่เปนไปในทางเปรียบเทียบดวย เชน เสน หมายถึง ใชอิทธิพล มีอิทธิพล เชน เขาไดทํางานที่นี่ เพราะมีเสน หมู หมายถึง งาย เชน เรื่องนี้หมูมาก การเปลี่ยนแปลงความหมาย ความหมายของคําที่มีใชอยูในภาษาไทยนั้นมีคําจํานวนมากที เปลี่ยนแปลงไปตามระยะเวลา เมื่อสังคมเปลี่ยนภาษายอมเปลี่ยนแปลงตามไปดวย การ เปลี่ยนแปลงความหมายนั้นสามารถจําแนกได 3 ประเภท คือ 1. ความหมายกวางออก หมายถึง คําที่เดิมมีความหมายเพียงอยางเดียวและเมื่อวัน เวลาเปลี่ยนแปลงไปความหมายของคํานั้นๆ ไดนํามาใชในความหมายอื่นดวย ซึ่งความหมายใน ขอนี้รวมถึงการนําไปใชในความหมายเปรียบเทียบดวย คําภาษาไทย เชน กิน เดิมหมายถึง กริยาที่นําอาหารเขาปากเคี้ยวแลวกลืนลงไปใน ลําคอ ความหมายปจจุบัน กดโกงซึ่งมีลักษณะเปนความหมาย เปรียบเทียบใชกับสิ่งที่เปนนามธรรม เชน กินบานกินเมือง กินหินกินปูน เปนตน สวน เดิมหมายถึง ที่เพาะปลูกตนไมซึ่งมีอะไรกั้นไวเปนขอบเขต ความหมายปจจุบัน นําคําวาสวนมาใชหมายถึงที่ที่มีสิ่งของตางๆ หรือสิ่งมีชีวิตจํานวนมาก เชน สวนหนังสือ สวนงู สวนเสือ เปนตน เสือ เดิมหมายถึง ชื่อสัตวเลี้ยงลูกดวยนมชนิดหนึ่งอยูในวงศ เดียวกับแมว แตตัวใหญกวา ความหมายปจจุบัน คนเกงไปทางใดทางหนึ่ง หรือคนที่ดุราย เชน เสือผูหญิง เขาเปนเสือที่เหี้ยมโหดมาก เปนตน


81

คําภาษาบาลี-สันสกฤต เชน คงคา คัมภีร ดนตรี กมล

เดิมหมายถึง ความหมายที่ไทยใช เดิมหมายถึง ความหมายที่ไทยใช เดิมหมายถึง ความหมายที่ไทยใช เดิมหมายถึง ความหมายที่ไทยใช

แมน้ําคงคา แมน้ํา ลึกซึ้ง ลึกซึ้ง ตํารา เครื่องสาย เครื่องดีด สี ตี เปา ดอกบัว ดอกบัว ใจ หญิงคนรัก

2. ความหมายแคบเขา หมายถึง คําที่ความหมายเดิมมีหลายความหมายแตปจจุบันมี การนํามาใชเหลือเพียงความหมายเดียว เชน กรรม เดิมหมายถึง การกระทํา ความหมายที่ไทยใช ทุกข เดือดรอน ชั่ว เปรต เดิมหมายถึง วิญญาณของผูตาย ผี ความหมายที่ไทยใช ผีชนิดหนึ่ง พายุ เดิมหมายถึง ลม ความหมายที่ไทยใช ลมแรง นิมนต เดิมหมายถึง เชิญ ความหมายที่ไทยใช เชิญพระสงฆ มายา เดิมหมายถึง อํานาจ การแสดงออก สิ่งที่ปราศจาก สาระ ความหมายที่ไทยใช ความหลอกลวง 3. ความหมายยายที่ หมายถึง การนําความหมายเดิมมาเปลี่ยนแปลงเปนความหมาย ใหมโดยไมเหลือเคาความหมายเดิมเลย ความหมายยายที่นี้สวนใหญจะเปนคําที่ไทยยืม ความหมายของคําภาษาตางประเทศมาใช โดยเฉพาะภาษาบาลีและสันสกฤต คําภาษาไทย มี 1 คําที่เห็นไดชัดเจนคือ บาว เดิมหมายถึง ชายหนุม ความหมายปจจุบัน ขาทาส คนรับใช


82

เพศ

นอกนั้นจะเปนคํามามาจากภาษาตางประเทศ คําภาษาทมิฬ เชน ทมิฬ ความหมายเดิม หอมหวาน ความหมายที่ไทยใช โหดเหี้ยม เลว คําภาษาบาลี-สันสกฤต เชน อิจฉา ความหมายเดิม ความอยากได ความหมายที่ไทยใช ความริษยา อนาจาร ความหมายเดิม ไมควรประพฤติ ความหมายที่ไทยใช สัปดน ความประพฤติเสื่อมเสียทาง โมโห พิศวาส อาภัพ

ความหมายเดิม ความหมายที่ไทยใช ความหมายเดิม ความหมายที่ไทยใช ความหมายเดิม ความหมายที่ไทยใช

ความหลง ความโกรธ ความคุนเคย ความไววางใจ ความชื่นชม ความรักใคร ไมเปน ไมควรเปน ไมมีวาสนา

บรรณานุกรม สุภาพร มากแจง. ภาษาบาลี-สันสกฤตในภาษาไทย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โอ.เอส. พริ้น ติ้ง เฮาส, 2535. อนุมานราชธน, พระยา. นิรุกติศาสตร. กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภา, 2532.


83

บทที่ 9

ราชาศัพทและเครื่องหมายในภาษาไทย ราชาศัพท พระยาอุปกิตศิลปสาร (2546, น.157-158) ใหความหมายไววา ศัพทสําหรับ พระราชาหรือศัพทหลวง แตในที่นี้ใหหมายความวาศัพทที่ใชในราชการ เพราะในตํารานั้นบางคํา ไมกลาวเฉพาะสําหรับกษัตริยหรือเจานายเทานั้น กลาวทั่วไปถึงคําที่ใชสําหรับบุคคลชั้นอื่น เชน ขุนนางและพระสงฆ เปนตน ชั้นบุคคลที่จะตองใชคําราชศัพท มี 5 ชั้น ไดแก พระราชา เจานาย พระสงฆ ขุนนาง คนสุภาพ ชั้นบุคคลทั้ง 5นี้โดยทั่วไปยังมีคําที่บัญญัติใชแยกเปนหลายชั้นยิ่งขึ้นไปกวานี้ แตที่มี แบบแผนใชอยูโดยมากก็มีเพียงชั้นพระราชาและเจานายเทานั้น ชั้นอื่น ๆ มีบัญญัติใชเฉพาะบาง คํา ที่มาของถอยคําที่ใชเปนราชาศัพท บรรจบ พันธุเมธา (2537, น.229) ไดกลาวไววา ดวยเหตุที่ราชาศัพทเปนเรื่องเกิดขึ้น ภายหลัง หลังจากที่การปกครองบานเมืองไดเปลี่ยนแปลงไปจากแบบพอปกครองลูกมาเปนแบบ เจาปกครองไพรบานพลเมือง ถอยคําที่ใชจึงไมใชคําดั้งเดิมอยางคําพื้นฐานของภาษา จําเปนตอง มาสรางขึ้นใหม การสรางคําราชาศัพทขึ้นใชนั้นมี 2 วิธี คือ ยืมคําภาษาอื่นมาใชและการสรางคํา ขึ้นใหมตามแบบไทย คือการสรางคําแบบคําประสม คําที่สรางใหมมักจะสรางจากคําภาษาอื่นมากกวาจะสรางจากคําไทยดวยกัน เนื่องจาก คําไทย ๆ ถือเปนคําธรรมดาใคร ๆ ก็ใชได ไมมีลักษณะพิเศษสมควรใชแกผูที่เราเคารพนับถือ หากนําคําไทยมาใชก็ตองมีวิธีตกแตงใหเปนราชาศัพทขึ้นมาดวยวิธีตาง ๆ ดังนี้ 1. การสรางคําขึ้นใหมตามแบบไทยคือการสรางคําแบบคําประสม จําแนกเปน 2 ประเภทดังนี้ 1) สรางจากคําไทย (พระ+คําไทย) คําไทยเมื่อจะนํามาใชเปนราชาศัพทตอง เติมคําวา “พระ” หรือ “พระราช” นําหนา ไดแก คํานาม อวัยวะรางกาย พระเจา (หัว ใชเฉพาะพระเจาแผนดิน) พระรากขวัญ (ไหปลารา) เครือญาติ พระพี่นาง พระเจาพี่นาง พระเจานองยาเธอ พระเจาลูกเธอ เครื่องใช พระเตา พระอู พระสาง พระแทน พระที่ พระที่นั่ง พระเกาอี้ พระยี่ภู (ที่นอน)


84

คํากริยา 1. ใช “ทรง” นําหนากริยา เชน ทรงขับรถยนตร ทรงเลนกีฬา 2. ใช “ทรง” นําหนานาม แตใชเปนคํากริยา เชน ทรงชาง (ขี่ชาง) ทรงมา (ขี่มา) ทรงเครื่อง (แตงตัว) ทรงเครื่องใหญ (ตัดผม) เปนตน 2) สรางคําโดยการประสมคํา (คําไทย+คําไทย หรือ คําไทย+คํา ภาษาตางประเทศ) - คําไทยประสมกัน ไดแก รับสั่ง (พูด) หองเครื่อง (ครัว) เครื่องตน (เครื่องทรง ของใชของเสวย) - คําไทยประสมกับคําตางประเทศ ที่ใชเปนราชาศัพทอยูแลว เชน * ใชเปนคํานาม เชน น้ําพระเนตร มูลพระชิวหา(ลิ้นไก) บั้นพระองค (เอว) พานพระศรี (พากหมาก) รองพระบาท (รองเทา) รถพระที่นั่ง ถุงพระหัตถ ถุงพระบาท น้ําพระทัย (น้ําใจ) * ใชเปนกริยา ทอดพระองค เขาพระที่ ทอดพระเนตร สนพระทัย เอาพระทัยใส 2. การยืมคําภาษาอื่นมาใชเปนราชาศัพท ไทยเรามีการยืมคําจากภาษาอื่นมาใชเปน ราชาศัพท 2 วิธีคือ ยืมคํามาใชเปนราชาศัพทเลย และยืมคํามาประสมกับคําไทยหรือประสมกับ คําภาษาอื่นเกิดเปนคําราชาศัพทขึ้น ดังรายละเอียดตอไปนี้ 1) ยืมคําจากภาษาบาลี-สันสกฤต แมเราจะนับถือภาษาทั้งสองเพราะเปน ภาษาที่ใชในศาสนาพุทธและพราหมณ แตเมื่อยืมมาใชเปนราชาศัพทก็ยังตองเติมคํา “พระ” หรือ “พระราช” เขาขางหนาอีกดวย โดยเฉพาะคํานาม คํานาม อวัยวะรางกาย พระเศียร พระเกศ พระนลาฏ พระเนตร พระนาสิก พระพักตร พระกัมโบล (แกม) เปนตน เครือญาติ พระชนก พระชนนี พระเชษฏา พระนัดดา พระธิดา พระโอรส พระเชษฐภคินี เปนตน คํากริยา สวรรคต ทิวงคต พิโรธ ประทาน ทรงพระอักษร ทรงพระราชนิพนธ 2) ยืมคําจากภาษาเขมร เขมรกับไทยเคยมีความสัมพันธกันมาชานานทาง การเมือง ความนิยมยินดีทางภาษายอมตองเปนธรรมดา คําราชาศัพทจึงมีใชไมนอยที่ยืมมา จากภาษาเขมร คํานาม อวัยวะรางกาย พระเพลา พระศอ พระขนง (คิ้ว) พระขนอง (หลัง) เครื่องใชและอื่น ๆ พระแสงกรรบิด (มีด) พระแสงกรรไตร (กรรไกร) พระตําหนัก พระกระยาเสวย ฉลองพระองค พระเขนย พระราชดําริ เปนตน


85

คํากริยา เสวย เสด็จ ประทับ โปรด บรรทม ทรงพระสรวล พระสําราญ กันแสง กริ้ว ถวาย ทรงพระราชดําริ 3) ยืมมาจากภาษามลายู คํานาม นาจะไดแก พระศรีจาก แปลวา ใบพลู ประเภทของราชาศัพท กําชัย ทองหลอ (2537) ไดจําแนกคําราชาศัพทไวในสวนชนิดของ คําเปน 4 ประเภท คือ คํานามราชาศัพท คําสรรพนามราชาศัพท คํากริยาราชาศัพท และ คําวิเศษณราชาศัพท ดังรายละเอียดตอไปนี้ 1. คํานามราชาศัพท คํานามที่ตองเปลี่ยนใชเปนราชาศัพท ซึ่งมีรูปแปลกไปจาก คํานามสามัญนั้น โดยมากเปนคํานามที่ใชเฉพาะกับพระราชาและเจานาย สวนคํานามที่ใชกับ บุคคลประเภทอื่น มักใชคํานามสามัญที่จัดอยูในประเภทคําสุภาพ จึงไมมีวิธีเปลี่ยนแปลงผิดจาก คําธรรมดานัก วิธีเปลี่ยนคํานามสามัญใหเปนคํานามราชาศัพท คํานามราชาศัพทที่ใชกับพระราชาและ เจานาย บางคําก็บัญญัติขึ้นใชโดยเฉพาะ เชน เครื่อง ตําหนัก พลับพลา ฯลฯ บางคําก็ตองมี คําอื่นมาประกอบขางหนาหรือขางหลังบาง เชน พระหัตถ พระหฤทัย ราชบุตร ชางตน เปนตน วิธีการเปลี่ยนคํานามสามัญเปนคําราชาศัพท มีดังนี้ 1) ถาคํานามสามัญเปนคําไทยที่ใชเกี่ยวกับพระราชาในฐานเปนเครือญาติ พาหนะ สถานที่ เปนตน ใหใชคํา ตน หลวง หรือ พระที่นั่ง ประกอบขางหลัง เชน ลูกหลวง เรือตน เครื่องตน ชางหลวง วังหลวง มาหลวง ศาลหลวง สวนหลวง เรือพระที่นั่ง รถพระที่นั่ง มาพระที่นั่ง เปนตน 2) ถาคํานามสามัญเปนคําไทยที่ใชเกี่ยวของกับเจานาย ใหใชคํา ทรง หรือ ที่ นั่ง ประกอบขางหลัง เชน เครื่องทรง เสื้อทรง ผาทรง มาทรง รถทรง ชางที่นั่ง มาที่นั่ง รถที่นั่ง เรือที่นั่ง เปนตน ** เฉพาะคําวา “รถ” และ “เรือ” ถาใชสําหรับฝายในใหใชคํา พระประเทียบ ประกอบ ขางหลัง เชน รถพระประเทียบ เรือพระประเทียบ หมายเหตุ คําไทยบางคําใชคําบาลีและสันสกฤตนําหนาก็ได เชน ราชวัง พระราช กําหนด 3) ถาคํานามสามัญเปนคําที่มาจากภาษาบาลีหรือสันสกฤต แตนํามาใช เกี่ยวกับพระราชาหรือเจานาย เปนชื่อของอวัยวะ กิริยาอาการและความเปนไป เครือญาติ บริวาร เครื่องใช เปนตน ใหใชคํา พระ นําหนาบางก็ได เชน พระกร พระเนตร พระเกศ พระอาจารย พระเมตตา พระอุตสาหะ พระเคราะห พระชะตา พระอัยกา พระอัยกี เปนตน


86

หรือคําไทยและ คําเขมรบางคําจะใชคํา พระ นําหนาบางก็ได เชน พระที่ พระอู พระสนม พระเขนย พระขนง พระจุไร พระฉาย เปนตน 4) ถาคํานามสามัญเปนคําที่มาจากบาลีหรือสันสกฤต แตนํามาใชเกี่ยวกับ พระราชาโดยเฉพาะ หรือเกี่ยวกับพระราชินีและพระยุพราช เพื่อแสดงความสําคัญยิ่งกวาที่กลาว ในขอ 3 ใหใชคําวา พระราช นําหนา เชน พระราชบิดา พระราชมารดา พระราชโอรส พระราชธิดา พระราชยาน พระราชครู พระราชอาสน เปนตน 5) ถาคํานามสามัญเปนคําที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต แตนํามาใชกับ พระราชาหรือพระพุทธเจา เพื่อแสดงพระเกียรติยศอันยิ่งใหญ ใหใชคําวา พระบรม นําหนา เชน พระบรมวงศาสุวงศ พระบรมโกศ พระบรมเดชานุภาพ พระบรมอัฐิ พระบรมครู พระบรมธาตุ เปนตน หรือจะใชคําวา พระบรมราช นําหนา ในเมื่อบงถึงพระราชาโดยเฉพาะ และใช คําวา พระบรมพุทธ นําหนา ในเมื่อบงถึงพระพุทธเจาก็ได เชน พระบรมราชโองการ พระบรมราชาภิเษก พระบรมราโชวาท พระบรมราชูปถัมภ พระบรมพุทโธวาท เปนตน ** เฉพาะคําวา “วัง” ที่ตองการจะแสดงพระเกียรติยศอันยิ่งใหญเปนพิเศษ ใชคําวา พระบรมมหาราช นําหนา เชน พระบรมมหาราชวัง 6) ถาเปนคํานาม ซึ่งเปนชื่อที่ประทับของพระราชาและมีเศวตฉัตร ใหใชคําวา พระที่นั่ง นําหนา เชน พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท พระที่นั่ง มังคลาภิเษก เปนตน 7) คํานามสามัญที่ใชประกอบขางหนาหรือขางหลังนามราชาศัพท เพื่อบอกชนิด หรือรูปลักษณะของนามราชาศัพทนั้น ใหใชคําธรรมดา ไมตองทําใหเปนราชาศัพทอีก เชน พานพระศรี หีบพระศรี ถาดพระสุธารส พระโอสถเสน พระโอสถมวน พระโอสถกลอง ฉลองพระหัตถสอม เปนตน 8) คํานามที่กลาวถึงเครือญาติ ถาเปนคําไทยใหใชคํา พระเจา นําหนา เชน พระเจาปู พระเจายา พระเจาตา พระเจายาย พระเจาลุง พระเจาปา เปนตน ** ถาเปนคําภาษาบาลีหรือสันสกฤตใหใช ดังนี้ ก. คํา พระ นําหนา สําหรับเจานาย เชน พระอัยกา พระอัยยิกา พระชนก พระชนนี พระอนุชา เปนตน ข. คํา พระราช นําหนา สําหรับพระราชา เชน พระราชบิดา พระราชมารดา พระราชอนุชา เปนตน


87

วิเชียร เกษประทุม (2545, น.21-22) ไดสรุปการใชคําประกอบหนาและหลังเพื่อใหเปน คําราชาศัพท ไวดังนี้ 1. พระบรมราช ใชนําหนาคําสามัญสําหรับพระเจาแผนดิน โดยเฉพาะในกรณีที่ตองการ เชิดชูพระเกียรติยศและพระราชอํานาจ เชน พระบรมราชชนนี พระบรมราชโองการ เปนตน 2. พระบรม ใชนําหนาคําที่สําคัญเพอเชิดชูพระอิสริยยศ และใชเฉพาะพระมหากษัตริย เชน พระบรมเดชานุภาพ พระบรมฉายาลักษณ พระบรมฉายาสาทิสลักษณ พระบรมสาทิสลักษณ พระบรมราโชวาท เปนตน ถาเปนสมเด็จพระบรมราชินี ตัดคําวา บรม ออก เชน พระนามาภิไธย พระราโชวาท พระราโชบาย เปนตน 3. พระราช ใชนําหนาคําที่สําคัญรองลงมาจากพระบรมเปนคําที่ใชเฉพาะ พระมหากษัตริยและสมเด็จพระบรมราชินี เชน พระราชโทรเลข พระราชโอรส พระราชนิพนธ เปนตน 4. พระ ใชนําหนาคําสามัญที่ใชสําหรับพระมหากษัตริยและพระราชวงศ เพื่อใหแตกตาง กับสามัญชน เชน เครื่องราชูปโภค อุปโภค ตลอดจนสวนตาง ๆ ของรางกาย เชน พระเนตร พระหัตถ พระพาหา คํานามที่ไมมีราชาศัพทใช พระ นําหนาเปนราชาศัพทได เชน พระเกาอี้ พระเตา พระอู เปนตน 5. ตน ใชประกอบทายคํานามทั่วไป เพื่อแสดงวาเปนของเกี่ยวกับพระมหากษัตริย เชน พระแสงปนตน เครื่องตน เปนตน 6. หลวง ใชประกอบทายคํานามทั่วไป เพื่อแสดงวาเปนของเกี่ยวกับพระมหากษัตริย เชน มาหลวง เรือหลวง อนึ่ง คําวา หลวง มักใชกับคําสามัญที่แปลวา ใหญ ไมถือวาเปนคําสามัญที่ ประชาชนทั่วไปใชเรียกพระเจาแผนดิน ก็ไมนับวาเปนราชาศัพท 7. พระที่นั่ง ใชนําหนาคําที่เปนที่ประทับของพระมหากษัตริยและมีเศวตฉัตร เชน พระที่ นั่งบรมพิมาน เปนตน นอกจากนี้ยังใชตามหลังนามทั่วไปเพื่อแสดงาเปนของเกี่ยวกับ พระมหากษัตริยดวย เชน รถพระที่นั่ง เปนตน 2. คําสรรพนามราชาศัพท คําสรรพนามราชาศัพท ไดแก คําแทนชื่อที่จําแนกใชตาม ชั้นของบุคคล ซึ่งถือกันวามีฐานันดรศักดิ์ตางกันตามประเพณีนิยม จึงตองบัญญัติคําใชให เหมาะสมกับบุคคลเปนชั้น ๆ คําสรรพนามราชาศัพทจําแนกออกตามชนิดของบุรุษ ดังนี้


88

2.1 สรรพนามที่ใชแทนชื่อผูพูด (บุรุษที่ 1)

คํา ผูใช ขาพระพุทธเจา บุคคลทั่วไป เกลากระหมอม บุคคลทั่วไป หรือเจานายผูนอย กระหมอมฉัน เจานายผูใหญ กระหมอม เจานายเสมอกัน หรือผูชาย หมอมฉัน เจานายเสมอกัน หรือผูหญิง เกลากระผม เกลาผม บุคคลทั่วไป พระภิกษุสามเณร เกลาฯ กระผม บุคคลทั่วไป ผม ผูใหญ ผูนอย บุคคลทั่วไป ดิฉัน ผูใหญ อาตมาภาพ พระภิกษุ สามเณร

ใชกับ พระราชา หรือเจานายชั้นสูง เจานายผูใหญ เจานายเสมอกัน เจานายเสมอกัน หรือต่าํ กวาเจานาย เจานายเสมอกัน หรือต่าํ กวาเจานาย พระภิกษุผูใหญที่นับถือมาก

ผูใหญหรือพระภิกษุที่นับถือ ผูนอย ผูใหญ (เปนการสามัญ) บุคคลทั่วไป ผูนอย (ทั้งคฤหัสถและพระสงฆ) พระราชา เจานาย และบุคคลทัว่ ไป

2.2 สรรพนามที่ใชแทนชื่อผูที่พูดดวย (บุรุษที่ 2)

คํา ใตฝาละอองธุลีพระบาท ใตฝาละอองพระบาท ใตฝาพระบาท ฝาพระบาท ใตเทากรุณาเจา ใตเทากรุณา

ผูใช เจานายหรือบุคคลทั่วไป เจานายหรือบุคคลทั่วไป เจานายหรือบุคคลทั่วไป เจานายเสมอกันหรือบุคคลทั่วไป บุคคลทั่วไป บุคคลทั่วไป

ใตเทา

บุคคลทั่วไป

พระคุณเจา พระเดชพระคุณ สมเด็จบรมบพิตรพระราชสมภารเจา บพิตรพระราชสมภาร มหาบพิตร เธอ

บุคคลทั่วไป บุคคลทั่วไป พระภิกษุ สามเณร

ใชกับ พระราชา พระราชินีหรือพระยุพราช เจานายชั้นสูง เจานายชั้นรองลงมา สมเด็จเจาพระยา เจาพระยา ขุนนางชั้นสูง หรือ พระราชาคณะชั้นสูง ขุนนางผูใหญหรือพระภิกษุที่ นับถือ พระภิกษุที่นับถือ เจานายหรือพระภิกษุที่นับถือ พระราชา (ในฐานะยกยองมาก)

พระภิกษุสามเณร

พระราชา

บุคคลทั่วไป

บุคคลทั่วไป (ในฐานะสนิทกัน)


89

2.3 สรรพนามที่ใชแทนชื่อผูที่พูดถึง (บุรุษที่ 3)

คํา พระองค พระองคทา น

ผูใช บุคลทั่วไปหรือเจานาย

ทานสุภาพสตรีและสุภาพบุรุษ

บุคคลทั่วไป

ใชกับ พระพุทธเจา เทพผูเปน ใหญ พระราชา พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พระบรมวงศานุวงศ เจานาย ขุนนางผูใหญ พระภิกษุและผูใหญที่ นับถือ

3. คํากริยาราชาศัพท คํากริยาในภาษาไทยก็มีราชาศัพทตามประเภทของบุคล เชนเดียวกับคํานาม โดยจําแนกออกเปน 4 ชนิด คือ 3.1 กริยาที่เปนราชาศัพทอยูในตัวของมันเอง ไดแก กริยาที่เปนคําโดดซึ่ง บัญญัติขึ้นใชเฉพาะพระราชาหรือเจานายเทานั้น เชน กริ้ว หมายถึง โกรธเคือง ตรัส หมายถึง พูด แจง (ถาแผลงเปนดํารัส ตองมีคาํ พระราช นําหนาเปน พระราชดํารัส = พูด) ทรง หมายถึง รับ ฟง ใส ขี่ ครอง มีความหมายไดหลายอยางตาม เนื้อความของบทกรรมที่อยูข างหลัง เวลาแปลตองเลือกคําแปลใหเหมาะสมกับบทกรรม เชน ทรงศีล = รับศีล ทรงมา = ขี่มา ทรงธรรม = ฟงธรรม ทรงราชย = ครองราชสมบัติ ทรงบาตร = ตักบาตร ทรงกีฬา = เลนกีฬา ทรงแซ็กโซโฟน = เปาแซ็กโซโฟน ทรงปน = ยิงปน ทอดพระเนตร หมายถึง ดู เห็น มอง แล บรรทม ผทม หมายถึง นอน ประทม ประทับ หมายถึง อยู เชน ประทับแรม ประทับบนพระแทน (แตจะใชเปนกริยา สามัญก็ได หมายถึง หยุดอยู เชน ประทับเรือ หมายถึง แนบอยู เชน เอาปนประทับบา หมายถึง กดลง เชน ประทับตรา)


90 ประทาน หมายถึง ให (แตอาจใชเปนกริยาสามัญเพือ่ แสดงความสุภาพออนนอมก็ ได เชน ขอประธานโทษ) ประชวร หมายถึง เจ็บ ปวย โปรด หมายถึง ชอบ รัก เอ็นดู (แตก็ใชเปนกริยาสามัญไดในบางลักษณะ หรือ ในกรณีที่แสดงความสุภาพ เชน โปรดสัตว โปรดฉันดวยเถิด โปรดปราน เปนตน) สรง หมายถึง อาบน้ํา รดน้ํา (คํานี้ใชกับบรรพชิตดวย เชน พระภิกษุทาน สรงน้ํา) เสด็จ หมายถึง ไป เสวย หมายถึง กิน เชน เสวยพระกระยาหาร เสพ เชน เสวยเบญจพิธกาม ครอง เชน เสวยราชย (ใชเปนกริยาสามัญก็ไดหมายถึง ไดรับ ไดประสบ เชน เสวย ทุกข เสวยกรรม เปนตน)

** กริยาประเภทนี้ไมตองเติมคําวา “ทรง” ลงขางหนา เพราะเปนราชาศัพทอยูในตัวแลว 3.2 กริยาที่ประสมขึ้นใชเปนราชาศัพทตามประเภทของบุคคล ไดแก คํากริยาที่มีความหมายอยางเดียวกัน แตบัญญัติคําขึ้นใชหลายชนิดตามชั้นของบุคคลเปน ประเภท ๆ ไป เชน กริยาที่มีความหมายวา เกิด ปวย ตาย เปนตน เชน พระราชา พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พระบรมโอรสาธิราช พระบรมราชกุมารี สมเด็จเจาฟา เจานายทั่วไป บุคคลทั่วไป พระราชา พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พระบรมโอรสาธิราช พระบรมราชกุมารี สมเด็จเจาฟา เจานายทั่วไป บุคคลทั่วไป พระราชา พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชินี พระบรมราชชนนี พระบรมโอรสาธิราช พระบรมราชวงศที่ทรงไดรับพระราชทาน ฉัตร 7 ชั้น เชน พระบรมราชกุมารี เจาฟาซึง่ ไดรับการเฉลิมพระยศพิเศษ พระราชวงศตงั้ แตชั้นสมเด็จเจาฟาลงมาถึง พระองคเจา และสมเด็จพระสังฆราช

เกิด

เรียกวา ทรงพระราชสมภพ

เกิด เกิด

เรียกวา ประสูติ สมภพ เรียกวา เกิด ชาตะ

ปวย

เรียกวา ทรงพระประชวร

ปวย ปวย

เรียกวา ประชวร เรียกวา เจ็บ ปวย

ตาย

เรียกวา สวรรคต เสด็จสวรรคต

ตาย ตาย

เรียกวา ทิวงคต เรียกวา สิ้นพระชนม


91 หมอมเจา

ตาย

พระสงฆ สมเณร ตาย ผูไดรับเครื่องราชอิสริยาภรณ ชั้นปฐมจุลจอมเกลา ประธานองคมนตรี องคมนตรี นายกรัฐมนตรี ประธานวุฒิสภา ตาย ประธานรัฐสภา ประธานสภาผูแทนราษฎร ประธานศาลฎีกา รัฐบุรุษ รัฐมนตรี ผูไดรับเครื่องราชอิสริยาภรณชั้น ประถมาภรณมงกุฎไทย ทุติยจุลจอมเกลา หรือ ตาย ทุติยจุลจอมเกลาพิเศษ สุภาพชนทั่วไป ตาย

เรียกวา ถึงชีพติ ักษัย สิ้นชีพิตักษัย เรียกวา มรณภาพ

เรียกวา ถึงแกอสัญกรรม

เรียกวา ถึงแกอนิจกรรม เรียกวา ถึงแกกรรม ตาย

3.3 กริยาราชาศัพทที่ใชคํา “เสด็จ” นําหนา ไดแก คํากริยาที่มี “เสด็จ” นําหนา และคํากริยาที่ตามหลังนั้นจะใชคําสามัญหรืคําที่เปนราชาศัพทอยูแลวก็ได เชน เสด็จเขา เสด็จออก เสด็จกลับ เสด็จประพาส เสด็จประทับ เสด็จพระราชดําเนิน เปนตน 3.4 กริยาราชาศัพทที่ใชคํา “ทรง” นําหนา ไดแก คํากริยาที่มี “ทรง” นําหนามี คําอื่นตามหลัง คําที่ตามหลังนั้นจะเปนคํานามหรือกริยาก็ได แตเมื่อประสมกันแลวนับวาเปน คํากริยาราชาศัพทจําแนกออกเปน 3 ชนิด คือ 1) ใช “ทรง” นําหนานามสามัญ วิธีนี้สําหรับใชเปลี่ยนคํากริยาสามัญ ใหเปนคํากริยาราชาศัพท เชน ทรงสดับ ทรงฟง ทรงดําริ ทรงรําพึง ทรงยินดี ทรงขอบใจ ทรงสั่งสอน ทรงชุบเลี้ยง เปนตน 2) ใช “ทรง” นําหนานามสามัญ วิธีนี้สําหรับใชเปลี่ยนคํานามสามัญใช เปนกริยาราชาศัพท เชน ทรงเมตตา ทรงกรุณา ทรงอุตสาหะ ทรงรถ ทรงมา ทรงแบดมินตัน ทรงเทนนิส ทรงสกี เปนตน 3) ใช “ทรง” นําหนาคํานามราชาศัพทวิธีนี้สําหรับใชเปลี่ยนคํานามที่ เปนราชาศัพทอยูแลวใหเปนคํากริยาราชาศัพท และคํานามที่ตามหลังนั้นนิยมใชคําตามราชา ศัพทที่มีคํา “ทรง” นําหนา เชน พระเมตตา เปน ทรงพระเมตตา หมายถึง มีเมตตา พระกรุณา เปน ทรงพระกรุณา หมายถึง มีกรุณา พระอุตสาหะ เปน ทรงพระอุตสาหะ หมายถึง มีความ พากเพียร พระดําริ เปน ทรงพระดําริ หมายถึง คิด


92

พระบังคลหนัก เปน ทรงพระบังคลหนัก หมายถึง ถายอุจจาระ พระบังคลเบา เปน ทรงพระบังคลเบา หมายถึง ถายปสสาวะ ** คําวา “ทรง” นอกจากใชประกอบคําอื่นทําใหเปนกริยาราชาศัพทแลวยังใชในกรณีอื่น ๆ ไดอีก เชน ก. ใชประกอบเปนพยางคหนาของคํา ทําใหเกิดความหมายใหมขึ้น เชน

ทรงชัย ทรงภพ ทรงศรี ทรงศักดิ์ ทรงธรรม ทรงสังข ทรงครุฑ ทรงโค ทรงหงส ทรงกลด ทรงเครื่อง ทรงเครื่องใหญ ทรงเครื่อง

หมายถึง พระเจาแผนดิน หมายถึง พระเจาแผนดิน หมายถึง พระเจาแผนดิน หมายถึง พระเจาแผนดิน หมายถึง พระเจาแผนดินหรือพระพุทธเจา หมายถึง พระนารายณ หมายถึง พระนารายณ หมายถึง พระศิวะหรือพระอิศวร หมายถึง พระพรหม หมายถึง ดวงอาทิตยหรือดวงจันทรที่มีรัศมีเปนแสงเลื่อมพราย หมายถึง แตงตัว หมายถึง ตัดผม (พระมหากษัตริย) หมายถึง ตัดผม (พระราชวงศ) ข. ใชประกอบขางหลังคํานามสามัญทําใหเปนนามราชาศัพท เชน เสื้อทรง ผาทรง ชางทรง รถทรง เปนตน

4. คําวิเศษณราชาศัพท สวนใหญจะเปนคําวิเศษณที่ประกอบบอกเสียงรองเรียกและ เสียงขานรับ (ประติชญาวิเศษณ) ไดแก พระพุทธเจาขาขอรับใสเกลาใสกระหมอม เพคะใสเกลาใสกระหมอม พระพุทธเจาขาขอรับ พระพุทธเจาขา ขอรับกระหมอม กระหมอม เพคะกระหมอม เพคะ ขอรับใสเกลาใสกระหมอม ขอรับกระผม ขอรับผม ครับผม

(ชายใชกับราชา) (หญิงใชกับราชา) (ชายใชกับเจานายชั้นสูง) (ชายกับหมอมเจา) (หญิงใชกับเจานายชั้นสูง) (หญิงใชกับเจานาย) (ชายใชกับสมเด็จเจาพระยา) (ชายใชกับขุนนางชั้นสูง) (ชายใชกับขุนนาง ภิกษุทยี่ กยอง)


93 ขอรับ ครับ เจาขา เจาคะ

(ชายใชกับบุคคลทั่วไป)

คะ

(หญิงใชกับบุคคลทั่วไป)

(หญิงใชกับขุนนาง ภิกษุสามเณร)

เครื่องหมายที่ใชในภาษาไทย กําชัย ทองหลอ (2537, น. 189-199) ไดกลาวถึงเครื่องหมาย ตาง ๆ ในภาษาไทยไวดังนี้ เครื่องหมายโบราณ เรียกชื่อวา ฟองมัน หรือ ตาไก สําหรับเขียนไวตนวรรคหรือตนบรรทัดหรือตน ขอความสั้น ๆ เชน 1. อักษรสูง ๑๑ ตัว คือ ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห 2. หลวงสารประเสริฐนอย นามเดิม คิดจัดจําแนกเติม ตอตั้ง ใดพรองปราชญเชิญเสริม แซมใส เทอญพอ ตนแตนโมทั้ง หมูไมเอกโท ฯฯะ จากมูลบทบรรพกิจ

เรียกชื่อวา ฝนทอง หรือฟนหนู ใชเขียนไวบนฟองมัน มีรูปดังนี้ เรียกชื่อวา ฝนทองฟองมัน สําหรับเขียนไวตนขอความใหญ ฯ เรียกชื่อวา อังคั่นเดี่ยว หรือ ขั้นเดี่ยว ใชเขียนไวขางหลังประโยคแตละประโยค หรือเขียนไวตอนทายของโคลงกลอนแตละบทหรือแตละตอนหรือใชเขียนเปน เครื่องหมายวัน-เดือน-ขึ้นแรมตามจันทรคติ เชน ๕ ฯ ๖ อานวาวันพฤหัสบดี เดือนหก แรมสิบค่ํา ในปจจุบันใชเปนไปยาลนอย ฯ ฯ เรียกชื่อวา อังคั่นคู หรือ ขั้นคู ใชเขียนไวหลังขอความใหญ หรือจบเรื่องใหญ ฯฯะ เรียกชื่อวา อังคั่นวิสรรชนีย ใชเขียนไวขางหลังโคลงแตละบท หรือขอความที่สิ้น กระแสแตละตอน คลายกับมหัพภาค ( . ) ซึ่งนิยมใชอยูในปจจุบัน ในมูลบทบรรพกิจใชอังคั่น วิสรรชนียเชนเดียวกับเครื่องหมายจุดคู ( : ) ก็ได เชน อักษรกลาง ๙ แจกในแมกน ดังนี้ ฯฯะ หมายเหตุ เครื่องหมายที่เขียนไวขางหลังโคลงกลอนนั้นบางทีก็ใชอังคั่นเดี่ยว อังคั่นคู หรืออังคั่นวิสรรชนีย ไมแนนอน แตปจจุบันโคลงกลอนจะจบลงโดยไมมีเครื่องหมายอะไรเลย เรียกชื่อวา โคมูตร ใชเขียนไวตอนสุดทายของเรื่องหรือตอนจบเรื่อง เขียนไวขาง หลังอังคั่นวิสรรชนียอีทีหนึ่ง เชน ฯฯะ


94

เรียกชื่อวา ยามักการ ใชเขียนไวบนพยัญชนะ เปนเครื่องหมายบังคับใหอาน เปนพยัญชนะควบหรืออักษรควบ ใชในการเขียนคําบาลี-สันสกฤตรุนเกา และใชเปนเครื่องหมาย ออกเสียงในคําไทยดวย ปจจุบันไมใช แตใชเครื่องหมายพินทุแทน ( . ) หรือในคําภาษาบาลีสันสกฤตเรียกวา ตัวสังโยค เรียกชื่อวา ตีนครุ หรือ ตีนกา ใชเปนเครื่องหมายบอกมาตราเงินเสนดิ่งขางบน เปนหลักชั่ง เสนดิ่งขางลางเปนกลักไพ มุมบนซายเปนหลักตําลึง มุมบนขวาเปนหลักบาท มุมลางซายเปนหลักเฟอง มุมลางขวาเปนหลักสลึง ตองการจะเขียนจํานวนใด เทาไรก็เขียน ตัวเลขลงไปใหตรงหลัก เชน หมายความวา 2 ชั่ง 4 ตําลึง 3 บาท 2 สลึง 1 เฟอง 2 ไพ ปจจุบันพวกแพทยแผนโบราณใชเครื่องหมาย ตีนครุ เปนมาตราชั่งเฉพาะที่ เกี่ยวกับเครื่องยาเทานั้น ไมนิยมใชในที่ทั่วไป จึงนับวาเปนเครื่องหมายที่จวนจะสิ้นอายุแลว เครื่องหมายปจจุบัน  เรียกวา ทัณฑฆาต ใชเขียนไวขางบนอักษร เพื่อไมใหพยัญชนะนั้นออกเสียง เชน ทุกข กบินทร เปนตน ปจจุบันนิยมเขียนไวบนตัวอักษรตัวสุดทาย โบราณมีทั้งที่เขียนไว บนอักษรตัวสุดทาย และระหวางคํา เชน สาสน สุทธิ และเรียกเครื่องหมายนี้วา วัญฌการ ฯ เรียกวา ไปยาลนอย ใชเขียนไวขางหลังคําที่รูกันโดยทั่วไป แตละสวนหลังไว เหลือแตสวนหนาของคําพอเปนที่เขาใจกัน เวลาอานตองอานใหเต็มคํา เชน คําละ คําเต็ม โปรดเกลาฯ โปรดเกลาโปรดกระหมอม เกลาฯ เกลากระหมอม เกลากระผม ขาฯ ขาพเจา ขาพระพุทธเจา เหนือเกลาฯ เหนือเกลาเหนือกระหมอม นอมเกลาฯ นอมเกลานอมกระหมอม ลนเกลาฯ ลนเกลาลนกระหมอม กรุงเทพฯ กรุงเทพมหานคร เปนตน ฯลฯ เรียกวา ไปยาลใหญ ใชเขียนไวขางหลังขอความที่จะมีตอไปอีกมาก แตนํามา เขียนไวพอเปนตัวอยาง เชน ในตลาดสดมีของขายมากมาย เชน ผักบุง ผักกาด หมู ปลา ดอกแค ฯลฯ อานวาเครื่องหมาย ฯลฯ ที่เขียนไวทายขอความดังตัวอยางนี้วา “ละ” หรือ “และ อื่นๆ” แตหากวาไวกลางขอความ เชน ขาวรพุทธเจา ฯลฯ ตุจถวายชัย ชโย อานเครื่องหมาย ฯลฯ วา “ละถึง”


95

ฯเปฯ เรียกวา เปยาลใหญ มีวิธีใช เชนเดียวกับ ฯลฯ แตอานวา “เป” หรือ “เปถึง” นิยม ใชเขียนในหนังสือที่เกี่ยวกับทางศาสนา เชน อิติปโส ภควา ฯเปฯ … เรียกวา จุดไขปลา ใชเขียนในกรณีละขอความที่ยืดยาวมาก แตเลือกเก็บเอามา แตเฉพาะขอความที่ตองการเทานั้นขอความที่ไมตองการก็ยอโดยใชเครื่องหมายจุดไขปลาแทน เวลาอานใหอานวา “ละ ละ ละ” . เรียกวา พินทุ (หยาดน้ํา) หรือจุดบอด ใชเขียนไวใตพยัญชนะเปนเครื่องหมาย แสดงวาพยัญชนะตัวนั้นเปนอักษรควบ อักษรนํา หือเปนตัวสะกด สําหรับเขียนคําในภาษาบาลี และสันสกฤต เชน อักษรควบ เชน ศสตร นิโครธ อักษรนํา เชน เสว อาข ยาน ตัวสะกด เชน จิตต ปจจา ในภาษาไทยใชเครื่องหมายพินทุบางเหมือนกัน แตจะใชเขียนเฉพาะเปนเครื่องหมายออก เสียงในพจนานุกรม เชน ขวนขวาย (ขวนขวาย) แหน (แหน) จรวด (จะหรวด) เปนตน

,

เรียกวา จุลภาค หรือ จุดลุกน้ํา สําหรับใช 1.

คั่นคําหลาย ๆ คําที่เรียงถัดกันไป เชน จีน, เกาหลี, ไตหวัน และญี่ปุน

กําลังเดือดรอน 2. คั่นคําอุทานที่อยูหนาประโยค เชน พุทโธ, คนอะไรเชนนี้ * ปจจุบันไมใช

แลว

3. คั่นประโยคเล็กที่รวมกันหลายประโยค เชน เขาชอบวิ่งในเวลาเชา, ชอบดื่ม น้ําในเวลาบาย, ชอบรับแขกในรานกาแฟ และชอบแสดงตัวเปนคนสําคัญในสังคม

;

เรียกวา อัฒภาค หรือ จุดครึ่ง ใช คั่ น คํ า หรื อ ประโยคเล็ ก ๆ ที่ ข นานกั น ใน

.

เรียกวา มหัพภาค หรือ จุด มีรูปอยางเดียวกับ พินทุ แตใชตางกันคือ พินทุ ใชเขียน

ภาษาไทยไมนิยมใช นิยมใชจุลภาคมากวา จะพบไดในพจนานุกรม เชน ปศจิม น. ทิศตะวันตก (ส. ; ป. ปจฉิม) ภีม ว. นากลัว ( ป. ; ส.) ไวใตตัวอักษร แตมหัพภาคหรือจุด เขียนไวขางหลังตัวอักษร มีวิธีใชดังนี้ 1. ใชเขียนไวขางหลังอักษรยอ เชน ด.ญ. = เด็กหญิง พ.ศ. = พุทธศักราช 2. ใชเขียนไวขางหลังคํายอ เชน นิ. เดือน = นิราศเดือน 3. ใชเขียนไวหลังคําประพันธ แทนอังคั่นของโบราณ เชน กาดําดําดวยชาติ กาบทํากรรมทํา

กาดํา เหนี่ยงไว


96

นามรูปซูปสดสํา ใครบทําใครได

อางราง เลวแล แตไดทํากรรม.

4. เขียนไวขางหลังตัวเลขหรืออักษรที่บอกจํานวนขอ เชน 1. 2.

:

เรียกวา จุดคู ใชหลังขอความที่จะมีตัวอยางหรือขอชี้แจงในลําดับตอไป

{ }

เรียกวา วงเล็บปกกา สําหรับใชโยงคํา หรือขอความตั้งแตสองขึ้นไปใหรวมกัน

ถา

ตั ว อย า งหรื อ ข อ ชี้ แ จงมี อ ยู ด ว ยกั น หลายประการจะใช จุ ด คู กั บ ขี ด (:-) ก็ ไ ด เช น มหาเวสสันดรชาดก : การศึกษาในเชิงเปรียบเทียบ หรือ เขามีของหลายสิ่งเชน :- เสื้อ, หมวก, รองเทา และปากกา เปนตน (ในตัวอยางหลังปจจุบันไมนิยมใช) ? เรียกวา ปรัศนี หรือเครื่องหมาย คําถาม ใชเขียนไวหลังประโยคคําถาม เวลา เขียนใหเขียนเพียง 1 อันเทานั้น เชน ทานเปนใคร ? ในภาษาไทยไมตองใสเครื่องหมายปรัศนี ไวทายประโยคคําถามก็ได ! เรี ย กว า อั ศ เจรี ย หรื อ เครื่อ งหมายตกใจ ใช เ ขี ย นไว ห ลั ง คํ า อุ ท านหรื อ หลั ง ขอความที่มีลักษณะคลายกับการอุทาน เวลาเขียนใหเขียนเพียง 1 อันเทานั้น เชน วาย ! เด็ก ตกน้ํา ! เปนตน ( ) เรียกวา นขลิขิต หรือ วงเล็บ นิยมเรียกชื่อหลังมากกวาชื่อหนา สําหรับใชกับ ตัวเลข เชน (1) ตัวอักษร เชน (ก) ขอความที่กันไวเปนพิเศษสวนหนึ่ง เชน เขาตองเดินทางถึง 75 กิโลเมตร (1 กิโลเมตร = 25 เสน) ถาเขียนขางหนาคําหรือขอความใหใชอันหนา ถาเขียนขางหลังใหใชอันหลัง หรือจะใชทั้งขางหนา ขางหลังพรอมกันทั้งสองอันก็ได ____ เรียกวา สัญประกาศ หรือ ขีดเสนใต ใชเขียนไวใตตัวอักษร ใตคํา หรือขอความ ทีตองการใหผูอานเห็นหรือสังเกตเปนพิเศษ เชน ในสมัยที่โลกกําลังรอนระอุไปดวยเปลวเพลิง สงครามเชนนี้ ชาวไทยทั้งชาติตองรวมรักสามัคคีกัน เพราะความสามัคคีเปนบอเกิดแหงกําลัง และความสันติสุขใหเรากลมเกลียวกันไว เหมือนเกลียวเชือกที่เกาะกันแนนจนเกิดความเหนียว

ในสวนที่สําคัญจะใชเครื่องหมายอัญประกาศสองอันซอนกันก็ได


97

“…” เรียกวา อัญประกาศ หรือ เครื่องหมายเลขใน ใชเขียนสกัดขางหนาและขางหลัง คํา หรือขอความ จะเขียนไวสวนบนกอนเขียนตัวอักษรตัวแรกเขียนหัวคว่ํา ตัวหลังเขียนหัวหงาย มีวิธีใชดังนี้ 1. ใชเขียนสกัดตัวอักษรหรือคําเพื่อใหผูอานสังเกตเปนพิเศษ เชน ตัว “นอ” มี 2 ชนิด คือ ณ และ น 2. ใชเขียนสกัดขอความที่เปนความคิด เชน ฉันคิดวา “ เอ ! นี่เราก็เปนลูกผูชาย เหตุไฉนจึงไมพยายามทําสิ่งที่เปน ประโยชน” คิดดังนี้แลว ฉันก็เริ่มเขียนตําราหลักภาษาไทย 3. ใชเขียนสกัดขอความที่เปนคําพูด เชน ครูถามวา “ทําไมจึงไมทําการบานมาสง” “ผมลืมครับ” ตอยตอบ 4. ใชเขียนสกัดขอความที่นํามาจากที่อื่นหรือเปนคําพูดของผูอื่น เชน ฉันชอบพระพุทธโอวาทที่วา “ความประมาทเปนทางแหงความตาย” ถ า มี เ ครื่ อ งหมายอั ญ ประกาศซ อ นกั น หลายตอน ตอนนอกสุ ด ให ใ ช เ ครื่ อ งหมาย อัญประกาศคู “ ” ตอนในใหใชเครื่องหมายอัญประกาศเดี่ยว ‘ ’ เชน นักเรียนคนหนึ่งเลาให ครูฟงวา “ผมมีนองชาย 2 คน เปนเด็กชางพูดทั้งคู พอเห็นผมกลับไปบาน นองคนเล็กมักพูดกับ คุณแมวา ‘คุณแมครับ, พี่แปวกลับจากโรงเรียนแลวครับ’ แลวแกก็วิ่งมารับผม และขอใหผมเปด รูปภาพในหนังสือใหแกดู” ” เรียกวา บุพสัญญา ใชเขียนแทนคําหรือกลุมคําซึ่งอยูขางบนเครื่องหมายนี้ เพื่อ ไมตองใหเขียนคําซ้ํากันบอย ๆ เชน สาร แปลวา แกน เชน ขาวสาร ” ” ธาตุ ” สารสม สารหนู ” ” ชาง ” คชสาร ๆ เรียกวา ไมยมก หรือ ยมก ใชเขียนไวขางหลังคําหรือความ เพื่อใหอานคําหรือ ความนั้นซ้ํากันสองครั้ง คําที่ซ้ํากันนั้นตองเปนคําชนิดเดียวกันความหมายเดียวกัน เวลาเขียนให เขียนเพียง 1 อันเทานั้น เชน เขาชอบทํางานซ้ํา ๆ กันแบบนี้ เรียกวา ยติภังค หรือ ยัติภังค หรือ ขีดสั้น ใชเขียนไวระหวางกลางคําที่เขียน แยกพยางคกัน เพื่ อเป น เครื่ องหมายใหรูวาพยางคห นากับพยางคห ลังนั้น ติดกัน หรือเปน คํา เดียวกัน คําที่เขียนแยกนั้นจะอยูในบรรทัดเดียวกันหรือตางบรรทัดกันก็ได

เชน ชาติไทยไพบูลยพูนพา-

ณิชยกิจสฤษฏิ์อา-


98

รมณราษฎรสําเริงนิรันดร สมรรถภาพ อานวา สะ-มัด-ถะ-พาบ __ เรียกวา ทีฆสัญญา หรือ ขีดยาว ใชเขียนไวขางหลังคําหรือขอความเพื่อแสดงวา คําหรือขอความที่อยูถัดไปนั้นเปนบทอธิบายหรือไขความใหชัดเจน หรือจําแนกสวนชี้แจงออกเปน ขอ ๆ เชน 1. อักษรในสันสกฤต แบงเปน สระ, เครื่องหมาย และพยัญชนะ มีรูปซึ่งถายมา เปนอักษรไทยเราดังตอไปนี้ 2. ฉันรูสึกงวง งวงจนสัปหงก เครื่องหมายทีฆสัญญานี้จะทําหนาที่เหมือนจุดคู มีความหมายตรงกับคําวา ดังนี้ คือ เชน เชนวา ปจจุบันไมนิยมใช 3. ใชกับตัวเลขหรือคําที่บอกจํานวนใหอานทีฆสัญญาวา “ถึง” เชน เวลา 8.00 – 16.00 น. เปนเวลาทํางาน = เรียกวา เสมอภาค หรือ สมพล หรือ เครื่องหมายเทากับ ใชเขียนคั่นกลาง เพื่อ แสดงวา ความขางหนากับขางหลังมีสวนเทากัน เชน 1+1 = 2 ศัตรู = ขาศึก เปนตน

บรรณานุกรม กําชัย ทองหลอ. หลักภาษาไทย. พิมพครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ : บริษัทรวมสาสน (1977) จํากัด, 2537. บรรจบ พันธุเมธา. ลักษณะและการใชภาษา. พิมพครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2537. วิเชียร เกษประทุม. ราชาศัพท. กรุงเทพฯ : พัฒนาศึกษา, 2545. อุปกิตศิลปสาร, พระยา. หลักภาษาไทย. พิมพครั้งที่ 12. กรุงเทพฯ : บริษัทสํานักพิมพไทย วัฒนาพานิช จํากัด, 2546.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.