ว า ร ส า ร ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ เ ท ศ บ า ล ต ํา บ ล วั ง ผ า ง
วังผางแมกกาซีน ฉบับที่ 1/2559 มกราคม – มิถุนายน WWW.WANGPANG.GO.TH
เทศบาลตําบลวังผาง Wangpang Subdistrict Municipality 1
วั ง ผ า ง แ ม ก ก า ซี น
2
วั ง ผ า ง แ ม ก ก า ซี น
สาส์นจาก
นายกเทศมนตรีตำ�บลวังผาง กราบสวัสดีพ่อแม่พี่น้องชาวตำ�บลวังผาง และท่านผู้อ่านทุกท่าน
เป็นโอกาสดีอกี ครัง้ ทีเ่ ทศบาลตำ�บลวังผางได้จดั ทำ�วารสารประชาสัมพันธ์ เพือ่ เผยแพร่ขอ้ มูลข่าวสาร สารประโยชน์และกิจกรรมต่างๆ ที่เทศบาลตำ�บลวังผางได้ดำ�เนินการใน 6 เดือนที่ผ่านมา ทั้งนี้เพื่อต้องการ ให้ประชาชนทั่วไปได้รับรู้ความเคลื่อนไหวและกิจกรรมต่างๆ ของชาวตำ�บลวังผาง ในช่วงที่ผ่านมานี้ทางสำ�นักงานเทศบาลตำ�บลวังผางได้ดำ�เนินการจัดทำ�แผนพัฒนาเทศบาล ระยะ 3 ปี (2560-2562) เพื่อนำ�ไปสู่การจัดทำ�ร่างเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำ�ปี เพื่อเสนอ ต่อที่ประชุมสภาเทศบาล โดยได้นำ�เอาโครงการต่างๆ ที่ได้จากการทำ�ประชาคมหมู่บ้านและโครงการ ตามยุทธศาสตร์การพัฒนาเทศบาลตามความจำ�เป็นเร่งด่วนและตามภาระหน้าที่ที่จะต้องดำ�เนินการ เป็นประจำ�ทุกปี โดยได้ให้การสนับสนุนและส่งเสริมในทุกๆ ด้าน ทัง้ นี้ การทีเ่ ทศบาลตำ�บลวังผาง จะบรรลุเป้าหมายในภารกิจตามอำ�นาจหน้าทีน่ นั้ จะต้องเปิดโอกาส ให้พี่น้องประชาชน มีส่วนร่วมในการคิดสร้างสรรค์ การแก้ปัญหาชุมชนร่วมกันโดยปราศจากอคติใดๆ สุ ด ท้ า ยนี้ ก ระผมขอส่ ง ความปรารถนาดี ม ายั ง พี่ น้ อ งประชาชนชาวตำ � บลวั ง ผาง ทุกท่าน หากมีสิ่งใดบกพร่องในการทำ�งาน กระผมขอน้อมรับและพร้อมจะแก้ไขปรับปรุงการทำ�งาน และ พัฒนาเทศบาลตำ�บลวังผางให้ยั่งยืนต่อไป นายจรัญ ดวงสะเก็ด นายกเทศมนตรีตำ�บลวังผาง
3
วั ง ผ า ง แ ม ก ก า ซี น
สารบัญ
ºรรณาธิการ
“
“
สวัสดีครับ พ่อแม่พี่น้องชาวเทศบาล ตำาบลวังผาง และผู้อ่านทุกท่าน
วารสารประชาสัมพันธ์เทศบาลตำาบลวังผาง เป็นช่องทาง ที่สำาคัญในการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ข้อมูล ข่าวสาร ผลงาน รวมไปถึงกิจกรรมต่างๆ ที่คณะผู้บริหาร สมาชิกสภาเทศบาล และพนักงานเทศบาล ได้ดำาเนินการไปแล้ว เสมือนเป็นการ สรุปรายงานให้พี่น้องประชาชนได้รับทราบเป็นระยะๆ ทั้งนี้เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์ และเปิดเผยข้อมูลการ ทำางาน คณะผูจ้ ดั ทำาวารสารหวังเป็นอย่างยิง่ ว่าท่านผูอ้ า่ น จะได้ใช้ วารสารเล่มนี้ ตรวจสอบ ติดตามการดำาเนินงานของเทศบาล กระผมหวังเป็นอย่างยิ่งว่าพี่น้องชาวเทศบาลตำาบล วังผางและผูอ้ า่ นทุกท่าน ทีไ่ ด้อา่ นวารสารประชาสัมพันธ์เทศบาล ตำาบลวังผางฉบับนี้ จะได้รับสารประโยชน์จากข้อมูลต่างๆ ที่ทางเทศบาลตำาบลวังผางได้นำาเสนอ และหากมีข้อท้วงติง หรือคำาแนะนำาใดเพื่อเป็นการปรับปรุง พัฒนาที่ดีขึ้น สามารถ แจ้งมาทางสำานักงานเทศบาลตำาบลวังผางได้ สิบเอกสุพจน คุณาวงค ปลัดเทศบาลตำาบลวังผาง
4
วั ง ผ า ง แ ม ก ก า ซี น
วารสารประชาสัมพันธเทศบาลตําบลวังผาง
สาสนจากนายก บรรณาธิการ กิจกรรมกองการศึกษา กิจกรรมกองคลัง กิจกรรมกองชาง กิจกรรมกองสวัสดิการสังคม โรงเรียนเทศบาลตําบลวังผาง กิจกรรมจากสํานักปลัด ศูนยพัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตําบลวังผาง กิจกรรมกองวิชาการและแผนงาน ประกาศใชแผนพัฒนาสามป กองสาธารณสุขและสิ่งแวดลอม ศูนยเรียนรูการเกษตรฯ (หนองปลิง) ปฏิทินกิจกรรมประจําเดือนเมษายน – สิงหาคม สาระนารู เร�องพลังงานทดแทน เตรียมตัวรับมือกับภัยแลง 7 วิธีดูแลสุขภาพในหนารอน พายุฤดูรอน
คณะผูจัดทํา
3 4 5 7 8 10 11 12 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23
ที่ปรึกษา นายจรัญ ดวงสะเก็ด นายกเทศมนตรีตําบลวังผาง นายวรพล ตามูล รองนายกเทศมนตรีตําบลวังผาง พันเอกสุทัศน นันตา รองนายกเทศมนตรีตําบลวังผาง นายปยณัฐ กันทาดง เลขานุการนายกเทศมนตรี นายนิเวศน ตาจุมปา ที่ปรึกษานายกเทศมนตรี บรรณาธิการ สิบเอกสุพจน คุณาวงค ปลัดเทศบาลตําบลวังผาง กองบรรณาธิการ นายเอกรินทร ทิยาว รองปลัดเทศบาลตําบลวังผาง นางณฐวรรณ คําบุญมา ผูอํานวยการกองคลัง นางธีราภรณ ธรรมสิทธิ์ หัวหนาสํานักปลัด นายอภิรักษ ไชยศรีหา ผูอํานวยการกองการศึกษา นายธีรวัฒน บุญมาปะ ผูอํานวยการกองวิชาการและแผนงาน นายณัฐวิโรจน โชติธนชญานนท ผูอํานวยการกองชาง พ.จ.อ.ถวัลย พวงบุบผา รักษาการผูอํานวยการกองสาธารณสุข และสิ่งแวดลอม นายอนุสรณ ธรรมดา รักษาการผูอ าํ นวยการกองสวัสดิการสังคม ประสานงาน นายธีรวัฒน บุญมาปะ นางพิมพใจ จรมาศ นายวงศอินทร เตชะอินทร นายถนอม ปญญาเรือน นางสาวกัลยา มหานันท นางสาวนุชจิรา สามคํา จัดทําโดย กองวิชาการและแผนงาน เทศบาลตําบลวังผาง โทร. 053-504966
ประมวลภาพกิจกรรม “งานวันเด็กแหงชาติ 59” วั น ที่ 8 ม ก ร า ค ม 2 5 5 9 เทศบาลตำาบลวังผาง ได้จดั กิจกรรมงานวันเด็กแห่งชาติ ประจำาปี 2559 โดยมีนายประเดิม เดชายนต์บญ ั ชา นายอำาเภอเวียงหนองล่อง เป็นประธานในพิธี เปิดและอ่านสารวันเด็กแห่งชาติประจำาปี 2559 โดยมีนายจรัญ ดวงสะเก็ด นายกเทศมนตรีตาำ บลวังผาง เป็นผู้กล่าวรายงาน ทั้งนี้ ภายในงานยังมีการ จัดนิทรรศการจากส่วนราชการ และกิจกรรมอืน่ ๆ อีกมากมาย
กิจกรรม จากกองการÈÖกÉา
5
วั ง ผ า ง แ ม ก ก า ซี น
งา¹กÕÌา สѹ¹ิºาµà·Èºาล áÅлÃЪҪ¹ÊÑÁ¾Ñ¹¸
คณะผู้บริหารและพนักงานเทศบาล เข้าร่วมงาน กีฬาสันนิบาตเทศบาลและประชาชนสัมพันธ์ จังหวัดลำาพูน “ดอยขะม้อเกมส์” ครั้งที่ 16 ในวันที่ 25-26 กุมภาพันธ์ 2559 ณ สนามกีฬากลางตำาบลมะเขือแจ้
6
วั ง ผ า ง แ ม ก ก า ซี น
กิจกรรม ¨Ò¡¡Í§¤Åѧ
1. เจ้าหน้าที่จากกองคลังออกจัดเก็บภาษีนอกสถานที่ ทั้ง 10 หมู่บ้าน ภายในพื้นที่เขตเทศบาลตำาบลวังผาง ภาษีบำารุงท้องที่ ภาษีบำารุงท้องที่ คือ ภาษีที่จัดเก็บจากเจ้าของที่ดิน หรือผู้ครอบครองที่ดินนั้น โดยมีห้วงเวลาในจัดเก็บประจำา ทุกวันที่ 1 มกราคม ถึง 30 เมษายน ของทุกปี ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีโรงเรือนและที่ดิน คือ ภาษีที่จัดเก็บจากบ้านเช่า อาคาร ร้านค้า ตึกแถว บริษัท ธนาคาร โรงภาพยนตร์ แฟลต หอพัก คอนโดมิเนียม โรงเรียนสอนวิชาชีพ โรงงานอุตสาหกรรม สนามมวย สนามกอล์ฟ ท่าเรือ บ่อนไก่ ฟาร์มสัตว์ คลังสินค้า และบริเวณที่ดินที่ปกติใช้ร่วมรับโรงเรือนนั้น โดยมีห้วงเวลาใน การจัดเก็บประจำาทุกวันที่ 1 มกราคม ถึงสิ้นเดือนกุมภาพันธ์ ของทุกปี ภาษีปาย ภาษีปา้ ย คือ ภาษีทจี่ ดั เก็บจากป้ายแสดงชือ่ ยีห่ อ้ หรือ เครือ่ งหมายการค้าหรือโฆษณาหรือกิจการอืน่ เพือ่ หารายได้ไม่วา่ จะ แสดงหรือโฆษณาไว้ทวี่ ตั ถุใดๆ ด้วยอักษรภาพหรือเครือ่ งหมายที่ เขียน แกะสลักจารึก หรือทำาให้ปรากฏด้วยวิธอี นื่ โดยมีหว้ งเวลาการ จัดเก็บประจำาทุกวันที่ 1 มกราคม ถึง 31 มีนาคม ของทุกปี
2. เจ้าหน้าที่จากกองคลังออกสำารวจโรงเรือนและ ป้ายภายในเขตเทศบาลตำาบลวังผาง
7
วั ง ผ า ง แ ม ก ก า ซี น
กิจกรรม
จากกองช่าง โครงการก่อสร้างถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก หมู่ 2 บ้านเหล่าปงเสือ และหมู่ 9 บ้านกลางทุ่ง
โครงการก่ อ สร้ า งรางระบายน้ำ � รู ป ตั ว ยู หมู่ 7 บ้านวังหมุ้น หมู่ 8 บ้านดงเหนือ หมู่ 9 บ้านกลางทุ่ง
โครงการปรับปรุงสำ�นักงานเทศบาลตำ�บลวังผาง
8
วั ง ผ า ง แ ม ก ก า ซี น
โครงการก่อสร้างอาคารแปดเหลีย่ มและโครงการก่อสร้าง ห้องน้ำ� ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำ�บลวังผาง
โครงการร่วมกับองค์การบริหารส่วนจังหวัด วิถีครูบา งานหน้าหมู่
สาระข่าวสารจากกองช่าง ด้วยปัจจุบัน มีการขุดดินเพื่อนำ�ดินไปทำ�การถมพื้นที่ที่ทำ�การ ก่อสร้างที่อยู่อาศัยหรือเพื่อกิจกรรมอื่นอย่างกว้างขวาง แต่การขุดดิน หรือถมดินดังกล่าว ยังไม่เป็นไปโดยถูกต้องตามหลักวิชาการจึงอาจ ก่อให้เกิดอันตรายแก่ทรัพย์สินและความปลอดภัยของประชาชนได้ เทศบาลตำ�บลวังผางในฐานะทีเ่ ป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ จึงต้อง บังคับใช้พระราชบัญญัติขุดดินและถมดิน พ.ศ. 2543 และกฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การขุดดินหรือถมดินในเขตเทศบาลตำ�บลวังผาง อำ�เภอเวียงหนองล่อง จังหวัดลำ�พูน เป็นไปตามพระราชบัญญัติฯ การขุดดิน/ถมดินที่ต้องแจ้งตามกฎหมาย - มีการขุดดินความลึกเกิน 3.00 เมตร - มีการขุดดินที่มีพื้นที่ปากบ่อเกิน 10,000 ตารางเมตร หรือ 6 ไร่ 1 งาน - มีการขุดดินความลึกเกินหรือพื้นที่ปากบ่อเกินตาที่เจ้า พนักงานท้องถิ่นกำ�หนด - มีการถมดินสูงกว่าที่ดินข้างเคียงและพื้นที่มากกว่า 2,000 ตารางเมตรหรือ 1 ไร่ 1 งาน - หรือพืน้ ทีเ่ นินดินตามทีเ่ จ้าพนักงานท้องถิน่ กำ�หนด (ต้องจัด ให้มกี ารระบายน้�ำ เพียงพอทีจ่ ะไม่กอ่ ให้เกิดความเดือดร้อนแก่เจ้าของ ที่ดินที่อยู่ข้างเคียงหรือบุคคลอื่น) ขั้นตอนการขออนุญาตขุดดิน/ถมดิน - ขอรับคำ�ขออนุญาตจากกองช่าง - นำ�เอกสารตามหลักฐานยื่นประกอบคำ�ขออนุญาต - นำ�เจ้าหน้าที่ออกตรวจสถานที่ - เจ้าหน้าที่ตรวจสอบหลักฐาน - ออกใบอนุญาต - ผู้ยื่นคำ�ขออนุญาตชำ�ระค่าธรรมเนียม โดยยื่นเอกสารแจ้งประกอบด้วยข้อมูล ดังนี้ 1. แผนผังบริเวณทีจ่ ะทำ�การขุดดิน ถมดิน และแผนผังบริเวณ แสดงเขตที่ดินและที่ดินบริเวณข้างเคียงพร้อมทั้งวิธีการขุดดินหรือ ถมดิน 2. สำ�เนาบัตรประชาชน สำ�เนาทะเบียนบ้าน พร้อมของจริง 3. สำ�เนาหรือหนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล (กรณี แจ้งเป็นนิติบุคคล) 4. สำ�เนาบัตรประจำ�ตัวประชาชนของผู้จัดการหรือผู้แทน นิติบุคคล 5. หนังสือมอบอำ�นาจ สำ�เนาบัตรประจำ�ตัวประชาชน 6. หนังสือมอบอำ�นาจ สำ�เนาทะเบียนบ้าน สำ�เนาบัตรบัตร ประจำ�ตัวประชาชน (กรณีมีการมอบอำ�นาจให้แก่ผู้อื่นแจ้งแทน) 7. รายการคำ�นวณ 8. หนังสือรับรองว่าเป็นผู้ออกแบบและคำ�นวณการขุดดิน/ ถมดิน พร้อมสำ�เนาบัตรอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม (กรณีที่งานมีลักษณะขนาดอยู่ในประเภทวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม) 9. สำ�เนาโฉนดที่ดิน เลขที่/น.ส.3เลขที่/สค.1ที่จะทำ�การ ขุดดิน/ถมดิน ถ่ายสำ�เนาฉบับจริง
10. หนังสือยินยอมของเจ้าของที่ดิน สำ�เนาบัตรประจำ�ตัว ประชาชนหรือสำ�เนาทะเบียนบ้าน 11. หนังสือแสดงความยินยอมของผู้ควบคุมงานตามข้อ 3 12. สำ�เนาใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ของผู้ควบคุม (เฉพาะกรณีที่งานมีลักษณะขนาดอยู่ในประเภทวิชาชีพ วิศวกรรมควบคุม) 13. เอกสารรายละเอียดอื่นๆ ระยะเวลาในการออกใบอนุญาตขุดดิน/ถมดิน - ขั้นตอนในการตรวจสถานที่ขุดดิน/ถมดิน ระยะเวลา 1 วัน - ขั้นตอนในการตรวจสอบเอกสาร หลักฐานต่างๆ ในการ พิจารณาใบอนุญาต ระยะเวลา 2 วัน - ขั้นตอนในการตรวจสอบแบบแปลน ระยะเวลา 1 วัน - ขั้นตอนในการออกใบอนุญาต ระยะเวลา 1 วัน - รวมระยะเวลาในการพิจารณาออกใบอนุญาตรวม 5 วัน ค่าธรรมเนียมในการขออนุญาตขุดดิน/ถมดิน - ใบรับแจ้งการขุดดิน/ถมดิน ฉบับละ 500 บาท - ค่าธรรมเนียมคัดเอกสารฉบับละ 1 บาท การขุดดิน/ถมดินเท่าใดจึงจะถือว่าไม่ต้องแจ้งตามกฎหมาย - ขุดบ่อน้ำ�พื้นที่ปากบ่อไม่เกิน 4 ตรม. ไม่ต้องแจ้ง - มิให้ใช้บงั คับกับการขุดดิน & ถมดินทีม่ กี ฎหมายอืน่ ควบคุม อยู่แล้ว 1) การทำ�ฐานรากของอาคาร 2) การทำ�กำ�แพงกันดิน 3) การขุดคลองของกรมชลประทาน - มีการถมดินสูงกว่าที่ดินข้างเคียงและพื้นที่น้อยกว่า 2,000 ตารางเมตร หรือ 1 ไร่ 1 งาน (ต้องจัดให้มีการระบายน้ำ�เพียงพอที่จะ ไม่เกิดความเดือดร้อนแก่เจ้าของที่ดินที่อยู่ข้างเคียงหรือบุคคลอื่น) - ถ้าขุดพบโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ ซากดึกดำ�บรรพ์ หรือแร่ ที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจ ให้หยุดขุดแล้วแจ้งเจ้าพนักงานท้องถิ่นทราบ ภายใน 7 วัน เพื่อแจ้งกรมศิลปกรหรือกรมทรัพย์ (ม.25) บทกำ�หนดโทษ - ขุดดินและถมดินโดยไม่มีใบรับแจ้ง (ม.35) จำ�คุก 1 ปี ปรับ 50,000 บาท ถ้าอยู่ในบริเวณห้ามขุดห้ามถมโทษจำ�คุกและปรับจะเป็น 2 เท่า - ขุดดินและถมดินโดยไม่เป็นไปตามกฎกระทรวง (ม.36) ปรับ 30,000 บาท หรือปรับรายวันละ 1,000 บาท - ถมดินไม่ทำ�รางระบายน้ำ� (ม.26วรรคหนึ่ง) ปรับ 10,000 บาท - ขัดขวางพนักงานเจ้าหน้าที่ (ม.38) ปับ 2,000 บาท - ถ้าขุดพบโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ ซากดึกดำ�บรรพ์ หรือแร่ที่ มีคุณค่าเศรษฐกิจ ให้หยุดขุดแล้วแจ้งเจ้าพนักงานท้องถิ่นทราบภายใน 7 วัน (ม.39) จำ�คุก 1 เดือน ปรับ 5,000 บาท - ไม่ปฏิบัติตามคำ�สั่งที่เจ้าพนักงานท้องถิ่นสั่งหยุดขุดดินและ ถมดิน (ม.40) จำ�คุก 1 ปี รับ 5,000 บาท - ไม่ปฏิบตั ติ ามคำ�สัง่ ทีเ่ จ้าพนักงานท้องถิน่ สัง่ ให้จดั การป้องกัน การแก้ไขการพังทลาย ขุดดินและถมดิน (ม.41) ปรับ 30,000 บาท หรือ ปรับรายวัน 500 บาท
9
วั ง ผ า ง แ ม ก ก า ซี น
กิจกรรม
¨Ò¡¡Í§ÊÇÑÊ´Ô¡ÒÃÊѧ¤Á กิจกรรมการมอบเบี้ยยังชีพแก่ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยเอดส์ และผู้ที่ ได้รับผลกระทบจากเอดส์ ทั้ง 10 หมู่บ้าน ในเขตเทศบาลตำาบลวังผาง
กิจกรรมศึกษาดูงานโครงการส่งเสริมบทบาทการ ดำาเนินงานกลุ่มสตรีแม่บ้านเทศบาลตำาบลวังผาง ประจำาป การศึกษา 2559 ณ จังหวัดจันทบุรี – ระยอง – ชลบุรี
โครงการโรงเรียนผู้สูงอายุ
โครงการตรวจเยีย่ มบ้านอบอุน่ เกือ้ กูลผูด้ อ้ ย โอกาส เทศบาลตำาบลวังผาง อำาเภอเวียงหนองล่อง จังหวัดลำาพูน ประจำาปงบประมาณ 2559
กองสวัสดิการสังคมออก พื้นที่ประชาสัมพันธ์ เรื่ องกองทุน สวัสดิการชุมชน
10
วั ง ผ า ง แ ม ก ก า ซี น
11
วั ง ผ า ง แ ม ก ก า ซี น
12
วั ง ผ า ง แ ม ก ก า ซี น
13
วั ง ผ า ง แ ม ก ก า ซี น
14
วั ง ผ า ง แ ม ก ก า ซี น
กิจกรรม
จากกองวิชาการและแ¼¹งา¹
กองวิชาการและแผนงาน เทศบาลตำาบลวังผาง ได้ออกประชาคม หมู่บ้านในเขตเทศบาลตำาบลวังผางทั้ง 10 หมู่บ้าน เพื่อนำาเอาความคิดเห็น และความต้องการของประชาชนส่วนใหญ่ มาจัดทำาแผนพัฒนา 3 ปี และใช้เป็น แนวทางในการบริหารงาน ตลอดจนการจัดทำางบประมาณรายจ่ายประจำาปี ให้ สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนพัฒนาจังหวัด และ แผนพัฒนาอำาเภอ
กองวิชาการและแผนงาน ได้จัดการอบรมโครงการพัฒนา ปรับปรุงเว็บไซต์เทศบาลตำาบลวังผาง เพือ่ เพิม่ ศักยภาพและประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติงานของพนักงานให้เพิ่มมากยิ่งขึ้น
กองวิ ช าการและแผนงาน ได้ จั ด กิ จ กรรมโครงการหลานสอนอุ ย (ครอบครัวยุคใหม่) ในวันที่ 16 มีนาคม 2559 ณ โรงเรียนเทศบาลตำาบลวังผาง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดช่องว่างระหว่างวัยของผู้สูงอายุกับลูกหลานในครอบครัว ยังทำาให้เห็นถึงความสำาคัญของผู้สูงอายุ และผู้สูงอายุไม่เกิดความเครียดจาก การที่ต้องอยู่บ้านคนเดียว เพื่อให้ผู้ปกครองดูแลสอดส่องเด็กได้อย่างถูกต้อง ใน กิจกรรมครั้งนี้มีนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5-6 จากโรงเรียนวัดร้องธารและ 15 โรงเรียนวัดบ้านดงพร้อมทั้งผู้ปกครอง เข้าร่วมกิจกรรม วั ง ผ า ง แ ม ก ก า ซี น
16
วั ง ผ า ง แ ม ก ก า ซี น
กิจกรรม
จากกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
1 2 3 4 5
กองสาธารณสุ ข และ สิ่ ง แวดล้ อ มออกสำ � รวจร้ า นค้ า ร้านอาหาร ตามกิจกรรมโครงการ ร้านค้า ร้านอาหาร ตลาด ได้มาตรฐาน ปี 59 วันที่ 15 มีนาคม 2559 นายจรัญ ดวงสะเก็ด นายกเทศมนตรี ตำ � บลวั ง ผาง เป็ น ประธาน ในการเปิดกิจกรรมวัน อสม. แห่งชาติ โครงการ ส่งเสริมบทบาทการดำ�เนินงานอาสาสมัครสาธารณสุข ประจำ�หมูบ่ า้ น (อสม.) ตำ�บลวังผาง ณ หอประชุม เทศบาลตำ�บลวังผาง โดยมี อสม. จาก 10 หมูบ่ า้ น เข้าร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ลงพืน้ ทีค่ วบคุมโรคไข้เลือดออก ตามโครงการ ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก กรณีพบ ผูป้ ว่ ยโรคไข้เลือดออก หมู่ 6 บ้านเวียงหนองล่อง จำ�นวน 1 ราย
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ร่ ว มกั บ โรงพยาบาลอำ � เภอเวี ย งหนอง ล่อง จัดอบรมพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครกู้ ชีพ ตามโครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครกู้ ชีพตำ�บลวังผาง ปี 59 ณ ห้องประชุมเทศบาล ชัน้ 1 โดยมีอาสากูช้ พี ชุมชนเข้าร่วมการอบรม
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม จัดประชุมงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำ�บลวังผาง
17
วั ง ผ า ง แ ม ก ก า ซี น
กิจกรรม
Èٹ ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ¡ÒÃà¡ÉµÃ µาม»รÑชÞาàÈรÉ°กิจ¾อà¾ÕÂง
การจัดการประชุมสันนิบาตเทศบาล จังหวัดลำาพูน ครัง้ ที ่ 1/2559 ณ ศูนย์เรียน รูก้ ารเกษตรตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การอบรมโครงการพั ฒ นาฐานเรี ย นรู้ กิจกรรมการวิเคราะห์ดนิ ณ ศูนย์เรียนรูก้ ารเกษตรฯ (หนองปลิง)
โครงการการเสริมสร้างศักยภาพและ ขีดความสามารถ ในการแข่งขันด้านการตลาด ของสิ น ค้ า หั ว พั น ธุ์ ก ระเที ย มไทย หอมแดง ไทย และเมล็ดพันธุ์หอมหัวใหญ่ไทยปลอดโรค ภายใต้ความตกลงการเปิดเสรีทางการค้า (อบรม กระเทียมดอง) โดย รศ.ดร.เกวลิน คุณาศักดากุล รศ.ดร.จิราพร กุลสาริน อ.ดร.โปรดปราน ทาเขียว อันเจลิ อ.ดร.สุวรรณา เดชะรัตนางกูร พร้อมคณะจากมหาวิทยาลัย เชียงใหม่ ณ ศูนย์เรียนรู้การเกษตรฯ (หนองปลิง)
18
วั ง ผ า ง แ ม ก ก า ซี น
ปฏิทินกิจกรรม ประจำาเดือน เมษายน – มิถุนายน เทศบาลตำาบลวังผาง เดือน
แผนงาน/กิจกรรม
เมษายน
สำานักปลัด - โครงการจัดกิจกรรมวันเทศบาล - โครงการเทศกาลกินปลาลุ่มน้ำาปิง - ปรับปรุงภูมิทัศน์และปรับปรุงบ้านพักเทศบาล งานปองกันบรรเทาสาธารณภัย - ก่อสร้างโรงจอดรถ งานส่งเสริมการเกษตร - โครงการพัฒนาส่งเสริมการแปรรูปเพิ่มมูลค่าสมุนไพร - ปรับปรุงห้องแปรรูป GMP - ปรับปรุงห้องเย็นศูนย์เรียนรู้การเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ศูนยพัฒนาเด็กเล็กฯ - โครงการอบรมการผลิตสื่อสำาหรับเด็กปฐมวัย - โครงการอบรมวัดผลประเมินผลหลักสูตร กองช่าง - ก่อสร้างถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก หมู่ 10 บ้านดงเจริญ - ก่อสร้างถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก หมู่ 5 บ้านดงหลวง - ก่อสร้างถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก หมู่ 8 บ้านดงเหนือ - เสริมผิวจราจรแอสฟัลท์ติก หมู่ 4 บ้านวังผาง - ปรับภูมิทัศน์ หมู่ 7 บ้านวังหมุ้น - ปรับภูมิทัศน์บริเวณหนองน้ำาสาธารณะ หมู่ 6 บ้านเวียงหนองล่อง
พฤษภาคม
ศูนยพัฒนาเด็กเล็กฯ - โครงการสุขภาพดีเด็กโตตามวัย - โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพครูและผู้ปกครองในการเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม - โครงการสเปรย์ตะไคร้หอมป้องกันไข้เลือดออก
มิถุนายน
งานปองกันบรรเทาสาธารณภัย - โครงการฝกอบรมทบทวน อปพร. งานส่งเสริมการเกษตร - โครงการจัดทำาสวนสมุนไพรตามรอยพ่อ โรงเรียนเทศบาลตำาบลวังผาง - โครงการเข้าร่วมแข่งขันทักษะทางวิชาการระดับภาคเหนือและระดับประเทศ ศูนยพัฒนาเด็กเล็กฯ - โครงการจัดการศึกษาปฐมวัย - โครงการศูนย์เด็กอ่อนหวาน
กรกฎาคม
ศูนยพัฒนาเด็กเล็กฯ - โครงการหนูน้อยรักษ์ถิ่น งานส่งเสริมการเกษตร - โครงการพัฒนาฐานเรียนรู้การเกษตร กิจกรรมการเลี้ยงไก่บนบ่อปลา กองช่าง - ก่อสร้างอาคารเอนกประสงค์ หมู่ 5 - ก่อสร้างอาคารเอนกประสงค์ หมู่ 7 - ก่อสร้างถนนคอนกรีตเสริมเหล็กสายทุ่งนอก หมู่ 5 - ก่อสร้างถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก หมู่ 5 - ก่อสร้างถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก หมู่ 8 - เสริมผิวจราจรแอสฟัลท์ติก หมู่ 6 - ปรับภูมิทัศน์บริเวณสุสาน หมู่ 5 สำานักปลัด - โครงการฝกอบรมคุณธรรมจริยธรรมพนักงานเทศบาล ภายใต้ปณิธานความดีปีมหามงคล
สิงหาคม
สำานักปลัด - โครงการเทศกาลลำาไยสนับสนุนสินค้าไทยหนึ่งตำาบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ กองวิชาการและแผนงาน - โครงการจัดทำาเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำาปี/เพิ่มเติม
19
วั ง ผ า ง แ ม ก ก า ซี น
สาระนารู ่ ้
เรื่อง
พลังงาน·ดแ·น
วิกฤติการณ์ด้านพลังงานได้ก่อตัว และทวีความรุนแรง เพิ่มมากขึ้น ทั้งจากการขาดแคลนแหล่งพลังงาน และผลกระทบ ของการใช้พลังงาน ที่มีต่อสภาวะสิ่งแวดล้อมโลกต่างตระหนัก ถึงวิกฤตการณ์นี้ และพยายามคิดค้นเพื่ อหาทางออก หนทาง หนึ่งในการแก้ไขวิกฤตการณ์ดังกล่าวคือ การใช้พลังงานทดแทน พลังงานทดแทนคืออะไร ? พลังงานทดแทนคือ พลังงาน ที่ใช้แทนน้าำ มันเชือ้ เพลิง ซึง่ เป็นพลังงานหลักที่ใช้กนั อยูท่ วั่ ไปในปัจจุบนั พลังงานทดแทนแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. พลังงานทดแทนจากแหล่งที่ใช้แล้วหมดไป เช่น ถ่านหิน แกสธรรมชาติ หินน้ำามัน 2. พลังงานทดแทนที่สามารถหมุนเวียนมาใช้ได้อีก เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ ลม ชีวมวล น้ำา
พลังงานน้ํา เราสามารถสร้างเขื่อนที่กักเก็บน้ำาไว้ ในที่สูง ปล่อยให้น้ำาไฟลงมาตามท่อเข้าสู่เครื่ องกังหันน้ำา ผลัก ดันใบพัดให้กังหันน้ำาหมุนเพลาของเครื่ องกังหันน้ำา ที่ต่อเข้ากับ เพลาของเครื่ องกำาเนิดไฟฟ้าที่จะหมุนตาม เกิดการเหนี่ยวนำาขึ้น ในเครื่ องกำาเนิดไฟฟ้า ทำาให้เกิดพลังงานไฟฟ้า พลังงานแสงอาทิตย ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งพลังงาน ความร้อน และแสงสว่างที่ ใหญ่ที่สุด การนำาพลังงานแสงอาทิตย์ มาใช้ทำาได้ 2 ลักษณะ คือ 1. กระบวนการเปลี่ยนรูปเป็นพลังงานไฟฟ้า โดยเมื่อ แสง อาทิตย์ตกกระทบลงมาบนแผงเซลล์แสงอาทิตย์ เซลล์แสงอาทิตย์ จะทำาหน้าทีเ่ ปลีย่ นพลังงานแสงอาทิตย์ไปเป็นพลังงานไฟฟ้า เพื่อ นำา ไปใช้กับอุปกรณ์เครื่ องใช้ไฟฟ้าต่างๆ 2. กระบวนการเปลี่ ย นรู ป เป็ น พลั ง งานความร้ อ น โดยให้แสงอาทิตย์ส่องผ่านแผ่นรับแสงมาตกกระทบยังพื้นสี ดำา ทำาให้เกิดความร้อนเพิ่มมากขึ้นเหนือบริเวณพื้น เราสามารถ นำ า พลั ง งานความร้ อ นที่ ไ ด้ ไ ปใช้ ป ระโยชน์ ใ นลั ก ษณะต่ า งๆ อาทิ นำาไปใช้ผลิตน้ำาร้อน กลั่นน้ำา อบแห้งพืชผลทางการเกษตร
20
วั ง ผ า ง แ ม ก ก า ซี น
พลังงานชีวมวล ชีวมวล คือสิง่ ที่ ได้มาจากสิง่ มีชวี ติ เช่น ต้นไม้ อ้อย ถ่าน ฟืน แกลบ วัชพืชต่างๆ หรือแม้กระทั่งขยะและมูลสัตว์ พลังงานลม ลมเป็นพลังงานที่มีอยู่ทั่วไปไม่มีวันหมด เรา ได้นำาพลังงานจากกระแสลมมาใช้ในการหมุนกังหันลมสูบน้ำา มีการ ศึกษาและพัฒนาการนำากังหันลมมาใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้าในหลาย พื้นที่ของประเทศไทย โดยเฉพาะที่แหลมพรหมเทพ จังหวัดภูเก็ต ได้ นำากังหันลมมาใช้ผลิตกระแสไฟฟ้าร่วมกับการผลิตกระแสไฟฟ้าจาก พลังงานแสงอาทิตย์Hala viusque ni pare, condam signatri
พลังงานความรอนใตพิภพ พลังงานความร้อนใต้พิภพ เป็นพลังงานธรรมชาติเกิดจาก การเคลื่อ นตัวของเปลือกโลกเกิดแนว รอยเลื่อ นแตก ทำาให้น้ำาบางส่วนจะไหลซึมลงไปใต้ผิวโลก ไปสะสมตัว และรับความร้อนจากชั้นหินที่มีความร้อนสูง กลายเป็นน้ำาร้อนและไอ น้าำ ทีพ่ ยายามแทรกตัวมาตามรอยเลื่อ นแตกของชัน้ มาบนผิวดิน อาจ จะเป็นในลักษณะของน้าำ พุรอ้ น ไอน้าำ ร้อน โคลนเดือด และแกส น้าำ ร้อน จากใต้พนื้ ดินสามารถนำามาถ่ายเทความร้อนให้กบั ของเหลว หรือสาร ที่มีจุดเดือดต่ำาง่ายต่อการเดือดและการเป็นไอน้ำา แล้วนำาไอร้อนที่ ได้ ไปหมุนกังหัน เพื่ อขับเคลื่ อนเครื่ องกำาเนิดไฟฟ้า แนวโนมพลังงานทดแทนในอนาคต ปัจจุบันได้มีความ พยายามศึกษา ค้นคว้า วิจัยและพัฒนาพลังงานทดแทนในรูปแบบ ต่างๆ ให้สามารถนำามาใช้ประโยชน์ได้สะดวก และมีประสิทธิภาพมาก ขึน้ เพื่อ ช่วยประหยัดพลังงาน และช่วยลดค่าใช้จา่ ย โดยตัง้ อยูบ่ นพืน้ ฐานของการพึ่งพาพลังงานจากแหล่งในท้องถิ่น และภายในประเทศ สามารถผลิตและใช้พลังงานอย่างยัง่ ยืน ซึง่ จะเป็นหนทางหนึง่ ทีช่ ว่ ย ลดการทำาลายทรัพยากรทีก่ าำ ลังเกิดขึน้ อย่างมากมาย และรุนแรงใน ปัจจุบนั ช่วยรักษาสมดุลของธรรมชาติ อันเป็นภัยคุกคามอย่างร้าย แรงต่อโลก และมนุษยชาติ เชื่อ ว่าพลังงานทดแทนจะเป็นหนทางหนึง่ ของการแก้ไขวิกฤตการณ์ด้านพลังงาน และสิ่งแวดล้อมของโลกได้
เตรียมรับมือกับ ภั ย แ ล้ ง ง ง ง ง ง
ภัยแล้ง คือ ภัยที่เกิดจากการขาดแคลนน้ำ�ในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งเป็นเวลานาน จนก่อให้เกิดความแห้งแล้ง และ ส่งผลกระทบต่อชุมชน ข้อควรปฏิบัติ - เตรียมกักเก็บน้ำ�สะอาดเพื่อการบริโภคให้เพียงพอ อย่ารีรอมิฉะนั้นจะไม่มีน้ำ�ให้กักเก็บ - ขุดลอกคู คลอง และบ่อน้ำ�บาดาล เพื่อเพิ่มปริมาณกักเก็บน้ำ� - วางแผนการใช้น้ำ�อย่างประหยัด เพื่อให้มีน้ำ�ใช้ตลอดห้วงภัยแล้ง - การใช้น้ำ�เพื่อการเกษตร ควรใช้ในช่วงเช้า และเย็นเพื่อลดอัตราการระเหยน้ำ� - การใช้น้ำ�จากฝักบัวเพื่อชำ�ระร่างกาย จะประหยัดน้ำ�มากกว่าการตักอาบ - กำ�จัดวัสดุเชื้อเพลิงรอบที่พัก เพื่อป้องกันการเกิดไฟป่า และการลุกลาม - เตรียมหมายเลขโทรศัพท์ฉุกเฉินเพื่อการขอน้ำ�บริโภค และการดับไฟป่า ภัยซ้ำ�ซ้อนที่เกิดจากภัยแล้ง 1. เกิดไฟป่าขึ้น เช่น ต้นไผ่เสียดสีกัน หรือฟ้าผ่าทุ่งหญ้าแห้ง หรือเกษตรกรจุดไฟเผาฟางข้าว เผาหญ้า ทำ�ให้ เกิดลุกลามกว้างขวาง บางทีอาจลุกลามไหม้อาคารบ้านเรือน ไร่นาเสียหาย ควันไฟทีเ่ ผาไหม้ขา้ งทางมีผลเสียต่อทัศนวิสยั ทำ�ให้เกิดอุบัติเหตุทางจราจรขึ้นได้ 2. มีลักษณะสภาวะของอากาศแปรปรวน เนื่องมาจากอากาศร้อนจัดติดต่อกันหลายๆ วัน ทำ�ให้เกิดการสะสม ความร้อนในบรรยากาศบริเวณหนึ่งไว้มาก เกิดลมสองกระแสพัดสอบเข้าหากัน ทำ�ให้บริเวณดังกล่าวเกิดเป็นแนว ตีบของลมจะเกิดพายุฤดูร้อน หรือพายุฟ้าคะนองขึ้น มีลมกระโชกแรงเป็นพักๆ มีฝนตกหนัก ฟ้าผ่า เกิดในระยะสั้น ไม่เกิน 2 ชั่วโมง บางครั้งกำ�ลังลมทำ�ให้พัดอาคารบ้านเรือน ทรัพย์สินเสียหายได้ บางครั้งอาจมีลูกเห็บตกเกิดร่วมด้วย
21
วั ง ผ า ง แ ม ก ก า ซี น
7
22
วิธีดูแล สุขภาพและรับมือ กับอากาศในฤดูร้อน
1. ระมัดระวังในการรับประทานอาหาร และน้ำ�แข็งที่ปนเปื้อน ที่ทำ�ให้เกิดโรคทางเดินอาหาร โรคอหิวาต์ เพราะ สภาวะอากาศร้อน ทำ�ให้เชื้อแบคทีเรียเติบโตได้ดี และก่อสารพิษตกค้างในอาหารที่ ไม่สะอาด อาหารสุกๆ ดิบๆ หรืออาหารบูด เสียได้ง่ายโดยเฉพาะอาหารที่มีส่วนผสมของกะทิ 2. อากาศร้อนจัดมีผลต่อ อารมณ์ หงุดหงิด และ หดหู่ (SAD – Seasonal Affective Disorder) ซึ่งผู้ที่มีปัญหา เรื่องความดัน – เบาหวานพึงระวังเรื่องของอารมณ์โกรธ ซึ่งมีผลทำ�ให้ความดันขึ้นสูงจากสภาวะอากาศ 3. อย่าปล่อยให้ร่างกายขาดน้ำ� เพราะจะทำ�ให้เกิดอาการอ่อนเพลีย ควรดื่มน้ำ�สะอาดอย่างน้อย 1-2 ชั่วโมงต่อ/แก้ว ควรพกขวดน้ำ�ดื่มไว้ใกล้ตัวเสมอ เวลาเดินทาง หรือขณะออกกำ�ลังกาย 4. สวมใส่เสือ้ ผ้าทีร่ ะบายความร้อนได้ดี อย่างผ้าฝ้าย หรือผ้าสำ�ลี ทาครีมกันแดดทัง้ ในบริเวณทีโ่ ดนแดด และในร่มผ้า เพื่อป้องกันผิวจาก โรคมะเร็งผิวหนัง ผิวไหม้เกรียม ซึ่งควรทาซ้ำ�ทุกๆ 2 ชั่วโมง เพื่อป้องกัน รังสียูวีเอและยูวีบี 5. ระมัดระวังเรื่องโรคหวัดในฤดูร้อน โรคลมแดด (ฮีทสโตรก) จากการทำ�งานหนักกลางแดด หรือการอยู่ในสถานที่ อากาศไม่ถ่ายเทเป็นเวลานาน ซึ่งส่งผลให้อวัยวะในร่างกายมีอุณหภูมิสูงขึ้นอย่างรวดเร็วเพราะทำ�งานหนัก และสูญเสียน้ำ�จน ทำ�ให้เสียชีวิตได้ 6. ระวังและป้องกัน บุคคล 3 ประเภทที่เสี่ยงจะเสียชีวิตจากความร้อนสูง ผู้สูงอายุที่มีโรคประจำ�ตัว เด็กเล็ก หรือ ผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันต่ำ� ที่อาจจะเกิดอาการอ่อนเพลีย เสียน้ำ� และอาการโรคเก่ากำ�เริบได้ 7. นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ เพราะการพักผ่อนไม่เพียงพอนั้นทำ�ให้อ่อนเพลียเร็วขึ้น เครียด และมีผลต่อความดัน โลหิต คำ�แนะนำ�ทั้ง 7 ข้อของพวกเราจะไม่เกิดประโยชน์ใดๆ เลย ถ้าคุณปล่อยให้ความร้อนกาย กระทบไปถึง จิตใจคุณ ซึ่งจะทำ�ให้คุณทุกข์ทั้งกายทุกข์ทั้งใจ และเจ็บป่วยได้ ดังนั้นสิ่งที่จะทำ�ให้คุณผ่านฤดูร้อนมหาโหดได้ก็คือ การปรับตัวตามสภาพอากาศครับ/ค่ะ
วั ง ผ า ง แ ม ก ก า ซี น
พายุฤดูรอน พายุฤดูร้อน หรือ พายุฝนฟ้าคะนอง (Thunderstorms) เป็นพายุที่เกิดขึ้นในช่วงฤดูร้อน มักเกิดในราวเดือนมีนาคมถึงเดือน เมษายน หรือในช่วงก่อนเริ่มต้นฤดูฝน พายุฤดูร้อนนั้นจะทำาให้การหมุนเวียนของอากาศแปรปรวนอย่างรวดเร็ว จึงเป็นสาเหตุให้เกิด พายุฝนฟ้าคะนองอย่างหนัก ลมพายุพัดอย่างแรง โดยมีฟ้าแลบ ฟ้าร้อง และฟ้าผ่าเกิดขึ้น หรือในบางครั้งอาจมีลูกเห็บตกลงมาด้วย แต่ฝนที่ตกนั้นจะตกไม่นาน เพียงแค่ประมาณ 2 ชั่วโมงก็จะหยุดไป และกินพื้นที่แคบๆ ประมาณ 10-20 ตารางกิโลเมตร เมื่ อฝนหยุดตก แล้วอากาศจะเย็นลง และท้องฟ้าจะเปดอีกครั้ง การเตรียมรับมือและปองกันภัยจากพายุฤดูรอน 1. ติดตัง้ สายล่อฟ้าในอาคารสูงๆ เพื่อ หลีกเลีย่ งอันตราย จากฟ้าผ่า 2. หมั่นติดตามสภาวะอากาศ และฟังคำาเตือนจากกรม อุตุนิยมวิทยาอยู่เสมอ 3. หากมีประกาศเตือนภัย ให้เก็บสิ่งของที่มีน้ำาหนักเบา สามารถปลิวตามลมได้ไว้ในที่มิดชิด 4. ตรวจสอบความแข็งแรงมั่นคงของบ้านเรือน หลังคา อาคารต่างๆ ให้เรียบร้อย เพราะจะเกิดลมพายุอย่างรุนแรงพัดเข้ามา ซึง่ อาจทำาให้หลังคาบ้านปลิวไปพร้อมกับลม หรืออาจมีลกู เห็บตกลงมา ทะลุหลังคาบ้านได้ หากประตูหรือหน้าต่างไม่แข็งแรง ควรใช้ไม้ทาบตีตะปู ปดตรึงไว้ เพื่ อป้องกันแรงลมหอบพัดบ้านเรือนพังเสียหาย 5. หากพบต้นไม้ สายไฟเกี่ยวกิ่งไม้ ป้ายโฆษณา ฯลฯ ที่อยู่ ในสภาพไม่ปลอดภัย ควรแจ้งเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องให้มา ปรับปรุงแก้ไขโดยเร็ว 6. เตรียมป้องกันภัยให้สัตว์เลี้ยงและพืชผลการเกษตร เกษตรกรควรจัดทำาที่ค้ำายันต้นไม้ โดยเฉพาะกิ่งที่กำาลังผลิดอก ออกผล
7. หลีกเลี่ยงการประกอบกิจกรรมกลางแจ้ง เช่น ออก กำาลังกาย ขณะเกิดฝนฟ้าคะนอง 8. หลีกเลีย่ งการใช้อปุ กรณ์ไฟฟ้าทุกชนิดรวมทัง้ โทรศัพท์ เมื่ อเกิดฝนฟ้าคะนอง 9. จัดเตรียมอาหารแห้ง ยารักษาโรค ตะเกียง ไฟฉาย ไม้ขีดไฟ และวิทยุพกพาไว้ใช้ในยามฉุกเฉิน 10. หลังพายุสงบ หากพบต้นไม้ในบริเวณบ้านโค่นล้ม ให้รีบตัดทิ้งทันที หรือหากพบเห็นเสาไฟฟ้าล้ม หรือมีสายขาด ควร แจ้งเจ้าหน้าที่มาดำาเนินการแก้ไขโดยเร็ว
23
วั ง ผ า ง แ ม ก ก า ซี น
24
วั ง ผ า ง แ ม ก ก า ซี น