ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE
ทฤษฎีและปรัชญา ในงานสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น
ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULARAR ฟCHITECTURE
ทริปนี้กี่ขุนเขา เชียงใหม่ • แม่ฮ่องสอน • ตาก
ทริปนี้กี่ขุนเขา | 1
2 | ทริปนี้กี่ขุนเขา
ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE
ทริปนี้กี่ขุนเขา | 3
ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE ทฤษฎีและปรัชญา ในงานสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น
4 | ทริปนี้กี่ขุนเขา
ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE
บทนำ� วิชา THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE เป็นส่วน หนึ่งของการเรียนรู้ รู้จัก และเข้าใจค�ำว่า “สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น” ถึงที่มาที่ไปของมัน การออกท�ำงานภาคสนาม ก็เป็นสิง่ หนึง่ ทีใ่ ช้ในการศึกษางานสถาปัตยกรรมพืน้ ถิน่ ได้เป็นอย่างดี เพราะว่าเราสามารถเข้าใจได้ถงึ ชีวติ และสภาพแวดล้อมทีเ่ ป็นอยู่ ทัง้ ทีเ่ ป็น สภาพแวดล้อมแบบธรรมชาติ หรือสภาพแวดล้อมที่สร้างสรรค์ขึ้นมา จากการประจักษ์ ด้วยตัวของผู้ศึกษาเอง ดังค�ำกล่าวที่ว่า “การเข้าไปสัมผัสกับสภาพแวดล้อมและชีวิตจริงในแต่ละแหล่งที่ ตั้งด้วยความเข้าใจและไฝ่รู้แม้เพียงช่วงเวลาอันสั้นอาจได้ความรู้จาก ภูมิปัญญาที่สร้างสมกันมายาวนานจากชาวบ้านมากกว่าการค้นคว้า จากต�ำรามาเป็นปีๆ” (ออนศิริ ปาณินท์, 2553) ข้อความข้างต้นเป็นข้อความที่ได้มาจากการศึกษาและเรียนรู้กันในรายวิชา ก่อน ที่จะออกไปลงภาคสนามจริงกันที่จังหวัดแม่ฮ่องสอนและจังหวัดตาก โดยได้ท�ำการลง ศึกษาดังนี้ • หมู่บ้านชาวลัวะที่บ้านน�้ำบ่อหลวง จังหวัดเชียงใหม่ • หมู่บ้านชาวไตใหญ่บ้านเมืองปอนและบ้านต่อแพ จังหวัดแม่ฮ่องสอน • ชาวกะเหรี่ยงพุทธที่บ้านจวาง และเดอลอคี จังหวัดตาก • ชุมชนอพยพ ที่ศูนย์อพยพแม่หละและอุ้มเปี้ยม จังหวัดตาก • ชาวมูเซอด�ำที่บ้านอูมยอม จังหวัดตาก • ชาวไทยเชื้อสายจีนที่ตรอกบ้านจีน จังหวัดจาก ทริปนี้กี่ขุนเขา | 5
การลงไปศึกษาครัง้ นีไ้ ด้มกี ารเตรียมตัวในชัน้ เรียน โดยมีผรู้ ว่ มเดินทางเป็นนักศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษาจ�ำนวน 11 คน และอาจารย์อีก 2 ท่าน คือ อาจารย์ ชวลิต และ อาจารย์ระวิวรรณ ลักษณะการท�ำงานจะเป็นการสัมภาษณ์ถ่ายรูป และจดบันทึกจาก การสัมภาษณ์และวาดรูป ผังหมู่บ้าน ผังเรือน ฯลฯ ในการลงพื้นที่จริงเป็นเวลา 4 วัน การท�ำงานบางอย่างนั้นก็ไม่สามารถท�ำได้ตาม ที่วางแผนไว้ ทั้งเนื่องจากสภาพอากาศที่มีฝนตก ถนนเป็นดินโคลนรถไม่สามารถเข้าได้ ท�ำให้เราลงไปส�ำรวจหมูบ่ า้ นไม่ได้ และมีบง่ หมูบ่ า้ นทีเ่ ราเข้าถ่ งึ ได้แต่กเ็ ก็บข้อมูลกายภาพ ภายนอกเรือนได้อย่างล�ำบาก บางสถานทีก่ ไ็ ม่สามารถเข้าไปศึกษาได้โดยทันที เช่น ศูนย์ อพยพ ท�ำให้การเก็บข้อมูลท�ำได้เพียงการถ่ายรูปด้านนอกเพียงเท่านั้น การรวบรวมข้อมูลเพือ่ สรุปเป็นความรูท้ ไี่ ด้ลงส�ำรวจมาเป็นรายงานฉบับนีจ้ งึ เป็นการ ประมวลข้อมูลจากหลายๆ ด้าน ทั้งจากการค้นคว้าข้อมูลเบื้องต้นประกอบกับข้อมูลที่ ได้มาจากการลงพื้นที่จริง ครอบคลุมเนื้อหาในส่วนของ ที่ตั้งของหมู่บ้าน ประวัติการ ตั้งถิ่นฐาน ขนาดของหมู่บ้าน จ�ำนวนประชากร ชาติพันธุ์ ลักษณะการด�ำรงชีวิต และ ลักษณะทางสถาปัตยกรรม นอกเหนือจากความสนุก ภาพสวยๆ และความรู้ที่ได้จากการลงไปสัมผัสสถานที่ จริง สภาพแวดล้อมจริงแล้ว สิ่งที่ได้กลับมาอีกหนึ่งอย่างคลเป็นวิธีการมองที่เปลี่ยนไป วิธีการมองที่ต้องอาศัยการลงไปประจักษ์ เพื่อเชื่องโยงสิ่งที่เห็นไม่ให้แค่มองผ่านๆ แล้ว ชืน่ ชม แต่กลับเป็นการคิดในระนาบอืน่ ๆ ทีซ่ อ้ นทับกันอยูเ่ พือ่ หาความสัมพันธ์แล้วเข้าใจ ในสิ่งที่เป็นอยู่ หากได้มีโอกาสได้ลงไปศึกษาในพื้นที่อื่นๆ อีก เราก็คงได้เห็นความงาม ในมุมมองที่หลากหลายกว่าเดิม คณะผู้ส�ำรวจ
6 | ทริปนี้กี่ขุนเขา
ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE
บทนำ� 5 เส้นทางการศึกษา 8 บ้านบ่อหลวง 11 บ้านเมืองปอน 21 บ้านต่อแพ 33 ศูนย์อพยพแม่หละ 45 บ้านแม่จวาง 55 บ้านเดลอคี 65 บ้านอุมยอม 75 ตรอกบ้านจีน 85 เอกสารอ้างอิง 97 บันทึกการเดินทาง 98
ทริปนี้กี่ขุนเขา | 7
8 | ทริปนี้กี่ขุนเขา
ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE
ทริปนี้กี่ขุนเขา | 9
10 | ทริปนี้กี่ขุนเขา
ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE
หมู่บ้านชาวลัวะ
บ้านบ่อหลวง ต.บ่อหลวง อ.ฮอด จ.เชียงใหม่ วราวุธ ธิจินะ, ชมพูนุช ชมพูรัตน์, ประกิต วงศ์เมือง
หลังจากเตรียมตัวเก็บข้าวของเครื่องใช้ ส�ำหรับการเดินทางเสร็จ ทุก คนมาพร้อมกันทีร่ ถตูซ้ งึ่ เป็นยานพาหนะเดียวทีจ่ ะน�ำเราไปในทีต่ า่ งๆ ส�ำหรับ ทริปนี้ จุดมุ่งหมายแรกของเราคือ หมู่บ้านชาวลัวะบ้านบ่อหลวง อ.ฮอด จ.เชียงใหม่ หมู่บ้านนี้อยู่ระหว่างเส้นทางเราแวะลงไป สอบถามคนในหมู่บ้านถึงสภาพหมู่บ้าน ว่ายังมี บ้านเก่าๆ เหลือให้เราเข้าไปดูไหม เราเข้าไปใน หมู่บ้านและเริ่มต้นที่โรงเรียนประจ�ำหมู่บ้าน ชาว บ้านบอกเราว่ามีบา้ นตัวอย่างให้เราเข้าไปศึกษาได้ เราลงจากรถและลงเดินส�ำรวจในทันที พบบ้านที่ ชาวบ้านเก็บไว้ 1 หลัง เป็นบ้านที่อนุรักษ์ไว้ให้ผู้ ที่สนใจเข้าไปศึกษา จากนั้นเราก็ออกเดินต่อไป ยังหมู่บ้านเพื่อส�ำรวจบ้านหลังอื่นๆ ต่อ แต่สภาพ หมูบ่ า้ นได้เปลีย่ นไปค่อนข้างมาก ทุกคนปรับตัวให้ เข้ากับการอยูอ่ าศัยแบบบ้านทีพ่ ฒ ั นาขึน้ ไปมาก แต่ ก็ยังสามารถมองเห็นความเชื่อ หรือวิธีการใช้ชีวิต แบบเดิมได้อยู่ เราเข้าไปส�ำรวจบ้านอีก 2 หลัง และตัดสินใจเดินทางต่อ เพื่อไปยังหมู่บ้านต่อไป
ทริปนี้กี่ขุนเขา | 11
ข้อมูลพื้นฐานหมู่บ้านชาวลัวะ
จ�ำนวนประชากร ชาติพันธุ์ ศาสนา ภาษา ประกอบอาชีพ
รูปวัดบ่อหลวงจาก http://www.thaitambon.com/ thailand/Chiengmai/501604/501604-A82.jpg
12 | ทริปนี้กี่ขุนเขา
ประมาณ 1,100 คน ลัวะ พุทธ ไทย ล้านนา ลัวะ เกษตรกรรม ค้าขาย รับราชการ
ผังหมู่บ้านบ่อหลวงจากภาพถ่ายทางอากาศ จะเห็น ได้ถงึ ลักษณะของกลุม่ หมูบ่ า้ นทีต่ งั้ อยูต่ ามแนวเขา มีถนน ตัดผ่านข้างๆ หมู่บ้าน จุดที่สังเกตเห็นจากการลงส�ำรวจ คือต้นไม้ใหญ่ที่มีการกราบไหว้ และวัด ซึ่งคาดว่าเป็นจุด แรกๆ ในการก�ำหนดจุดการตั้งถิ่นฐานของหมู่บ้านลัวะนี้
ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE
การลงสำ�รวจหมู่บ้าน
จุดเริม่ ต้นในการลงไปศึกษาส�ำรวจหมูบ่ า้ นบ่อหลวง ครั้งนี้เริ่มจากที่โรงเรียนบ่อหลวง เพื่อศึกษาบ้านตัวอย่าง ที่มีการอนุรักษ์ไว้ที่ด้านหลังของโรงเรียนและเดินออกมา ในบริเวณบ้านทีอ่ ยูใ่ นละแวกเดียวกัน ได้เห็นจุดส�ำคัญคือ ต้นไม้ใหญ่ และวัดประจ�ำหมู่บ้าน จากนั้นก็เดินเลาะไป ตามถนนในหมู่บ้าน พูดคุยสอบถามจนได้มีโอกาสเข้าไป ถ่ายรูปและจดบันทึกบ้านของชาวบ้านอีกสองหลัง รวม ได้ลงไปศึกษาจ�ำนวน 3 หลังตามแผนภาพที่แสดงข้างต้น
ทริปนี้กี่ขุนเขา | 13
1. ผังเรือนลัวะตัวอย่าง
ลักษณะของบ้านตัวอย่างทีไ่ ด้เข้าไปศึกษา เป็นเรือนท�ำ จากไม้จริง มี 1 จั่ว มีกาแลบนยอดของหน้าจั่ว หลังคามุง ใบหญ้าคา ใต้ถนุ ยกสูง พืน้ ทีใ่ ช้สอยมีโถงทีใ่ ช้นอน ภายใน มีแม่เตาไฟ และหิ้งบูชา ถัดออกมาจากโถงเป็นชานหน้า ห้องติดต่อกับชานหน้าบ้าน ด้านข้างของบ้านมีส่วนที่ยื่น ชายคาออกมาเพื่อใช่เป็นที่เก็บของเรียกว่า พะลัย 14 | ทริปนี้กี่ขุนเขา
ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE
ทริปนี้กี่ขุนเขา | 15
1. ผังเรือนชาวบ้านหลังที่ 1
16 | ทริปนี้กี่ขุนเขา
ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE
บ้านหลังที่ 2 ทีเ่ ข้าไปส�ำรวจ มี ส่วนชองห้องทีต่ ดิ กับบ้านหลังทีส่ ร้าง มาใหม่ เป็นเรือยสมัยก่อน ตัวเรือน ท�ำจากไม้จริงแต่หลังคาถูกเปลี่ยน เป็นกระเบื้อง ด้านในโล่ง และมีแม่ เตาไฟ และหิง้ บูชาอยูเ่ หนือแม่เตาไฟ ไปทางด้านบน
ทริปนี้กี่ขุนเขา | 17
1. ผังเรือนชาวบ้านหลังที่ 2
18 | ทริปนี้กี่ขุนเขา
ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE
บ้านหลังที่ 3 อยู่ถัดจากบ้านหลังที่ 2 มาทางทิศใต้ ตัวเรือนท�ำจากไม้จริง ยกพืน้ สูง ใต้ถุนใช้เก็บของ ทั้งฟืนและ กระเทียม หลังคามี 2 จั่ว มีทางขึ้น 2 ทาง วางแนว ตัวเรือนแบบ ตะวันออก - ตะวันตก ระหว่างที่สอบถามเจ้าของบ้านได้ให้ ความช่วยเหลือเป็นอย่างดี และยังได้ยก เข้าของเครื่องใช้โบราณที่ใช้ประอบพิธี เลีย้ งผีให้ให้ชม พร้อมกับเล่าประวัตใิ นการ เลี้ยงผีประกอบ
ทริปนี้กี่ขุนเขา | 19
20 | ทริปนี้กี่ขุนเขา
ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE
หมู่บ้านชาวไทใหญ่ บ้านเมืองปอน ต. เมืองปอน อ.ขุนยวม จ.แม่ฮ่องสอน วราวุธ ธิจินะ, ชมพูนุช ชมพูรัตน์, ประกิต วงศ์เมือง
จากหมู่บ้านชาวลัวะ ที่แม่เสรียง พวกเราก็มุ่งหน้าเข้าสู่จุดหมาย ถัดไป ก็คือบ้านเมืองปอน หมู่บ้านชาวไทใหญ่ ที่โอบล้อมไปด้วยภูเขา หมูบ่ า้ นทีย่ งั คงไว้ซงึ่ รูปแบบทางวัฒนธรรมไทใหญ่ทชี่ ดั เจน ทัง้ ประเพณี วิถีชีวิตและรูปแบบทางสถาปัตยกรรม การเดินทางในวันแรกนั้น เรา จะสุดลงที่หมู่บ้านแห่งนี้เพื่อพักผ่อนจากการเดินทางมาทั้งวัน บ้านเมืองปอนตั้งอยู่ที่ อ.ขุนยวม จ.แม่ฮ่องสอน สภาพแวดล้อม ของหมู่บ้านเป็นที่นา ที่โอบล้อมด้วยภูเขา หมู่บ้านตั้งอยู่บนที่ราบลุ่ม ตอนกลางของแม่นำ�้ ปอน ซึง่ เป็นแม่นำ�้ สายหลักทีห่ ล่อเลีย้ งชุมชนบริเวณ นี้มาเป็นเวลานาน
ทริปนี้กี่ขุนเขา | 21
ลักษณะการตั้งถิ่นฐาน
จากผังหมู่บ้านจะเห็นได้ว่าลักษณะการตั้งบ้านเรืองของชาวบ้านนั้น ไม่ได้ตั้งบ้าน เรือนอยู่ริมแม่น�้ำก่อนตั้งแต่ต้น แต่เริ่มต้นตั้งบ้านเรือนโดยยึดจากต�ำแหน่งต้นไม้ใหญ่ ตามรูปคือบริเวณเสื้อบ้าน เป็นต้นไม้ใหญ่ที่ชาวบ้านสักการะบูชา และหลังจากนั้นจึง สร้างบ้านเรือนกระจายจากต�ำแหน่งนั้นเป็นต้นมา บ้านเรือนทีพ่ บเห็นในหมูบ่ า้ นมีลกั ษณะหลากหลาย ตัง้ แต่แบบดัง้ เดิมของชาวชาว ไทใหญ่ ไปจนถึงเรือนร้านค้าทีป่ รับปรุงสร้างใหม่ ซึง่ สิง่ ทีน่ า่ สนใจในแต่ละหลังคือลักษณะ องค์ประกอบย่อยที่มีการออกแบบ ประดับตกแต่งอย่างไม่ซ�้ำกัน รูปแบบเรือนที่พบใน บ้านเมืองปอน มีลักษณะ 4 แบบด้วยกัน คือ เฮินจั่วเดียว (เฮินโหลงหนึ่งส่อง), เฮินสอง จั่ว, เฮินสามจั่ว และเรือนพักอาศัยกึ่งร้านค้า 22 | ทริปนี้กี่ขุนเขา
ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE
ลักษณะสถาปัตยกรรม
รูปทรงของเรือนพักอาศัยแบบไตเป็นทรงกล่องสี่เหลี่ยม สร้างขึ้นในสัณฐานที่ เป็นรูปสี่เหลี่ยมเป็นพื้นฐาน ซึ่งไม่ปรากฏเป็นรูปทรงแบบอื่น หลังคาเป็นทรงจั่วที่มีอยู่ ลักษณะเดียวท�ำมุม 30 – 45 องศา หากเป็นเรือนเดี่ยวจะมีจั่วเดียว แต่หากเป็นเรือน ใหญ่จะมีสองจั่วตามแบบลักษณะที่เรียกเป็นศัพท์เฉพาะว่า เฮินโหลงตอยเหลียว และ เฮินโหลงสองส่อง ในเรือนบางหลังแม้ว่าเป็นเรือนหลังใหญ่ แต่ก็มีการสร้างหลังคาคลุม ทั้งอาคารเป็นหลังเดียวด้วย ในส่วนของพื้นที่ห้องส่องไพนั้นจะมีหลังคาคลุมต่างหาก ออกไปเป็นแบบจั่วเช่น เดียวกันโดยจะวางแกนหันไปในทิศทางเดียวกัน ส่วนหลังคา คลุมชานหน้าหรือหลังพบว่าหากเมื่อเจ้าของจะท�ำการมุงต่อเติมหลัง แล้วนั้นจะต่อเสา ขึน้ ไปรับกับโครงสร้างหลังคาใหม่ โดยคลุมหลังคาให้ทวั่ ทัง้ ชานด้วยการวางแกนขวางไป กับจั่วของหลังคาเรือนใหญ่ ทริปนี้กี่ขุนเขา | 23
เฮินจั่วเดียว (เฮินโหลงหนึ่งส่อง)
เรือนไม้ขนาดเล็ก หลังคาเดียว เป็นเรือนแคบใต้ถุนเตี้ย มักเป็นเรือนผุ้ที่ตั้งต้น ครอบครัวใหม่ ส่วนใหญ่มักมี 3 ช่วงเสา ด้านหลังฝากั้นใช้เป็นส่วนห้องนอน ส่วนด้าน หน้าเป็นเติ๋น (ฮ้าน) ด้านข้างเรือนด้านหนึ่งมักต่อชานโอบยาวไปถึงสุดอาคาร เป็นพื้นที่ ส�ำหรับครัว โดยชักปีกหลังคายื่นคลุมลงมาเป็นผืนเดียว ผนังห้องครัวมักจะต่อเป็นชั้น เล็กๆยื่นออกมา ใช้เป็นที่วางของ
24 | ทริปนี้กี่ขุนเขา
ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE
กรณีศึกษา
เป็นเรือนไม้ขนาดเล็ก จั่วเดียว ลักษณะผังใกล้เคียง กับรูปแบบเดิม แต่ไม่ทงั้ หมด อาจเนือ่ งมาจากลักษณะการ สร้างที่อยู่อาศัย ที่เป็นไปตามฐานะ ซึ่งหากฐานะยากจน จะเป็นบ้านแบบชั่วคราว มักสร้างเป็นกระต๊อบที่เรียกว่า “ซุ้มหมาแหงน” เป็นบ้านไม้ไผ่มุงด้วยใบตองตึง หรือคา ใส ฝาไม้ไผ่เหมือนเรือน เครือ่ งผูกของภาคกลาง ต�ำแหน่ง หิ้งบูชาอยู่บริเวณทิศตะวันออก
ทริปนี้กี่ขุนเขา | 25
เฮินสองจั่ว
เรือนสองจั่ว หรือ เรือนแฝด เป็นเรือนไม้ที่ขนาดใหญ่ขึ้นมา ท�ำเป็นเรือนแฝดคู่กัน โดยท�ำหลังคาชิดกัน 2 ตัว คลุมพื้นที่ใช้สอย เป็นเรือนที่ขยายจากเรือนจั่วเดียว เมื่อ คนในครอบครัวแต่งงาน เกิดการขยายครอบครัว และอาศัยทีเ่ ดิม จะขยายพืน้ ทีบ่ า้ นเดิม ออกไป เป็นเรือน 2 จั่ว ตัวเรือนมักเป็นเรือน 5 ช่วงเสา ยกพื้นสูง ใต้ถุนใช้เป็น ที่เก็บ ของ เช่น เก็บข้าว เก็บเครื่องมือท�ำนา พาหนะเลี้ยงสัตว์ หรือ ใช้เป็นที่พักผ่อน ท�ำงาน ความสูงใต้ถุนประมาณ 2 - 2.5 เมตร ตัวเรือนหันด้านสกัดตามแนวเหนือ - ใต้ เพื่อให้ สามารถรับแสง จั่วทั้งสองจะมีขนาดไม่เท่ากัน เนื่องจากเป็นความเชื่อที่ว่าจะ ไม่สร้าง จั่วทั้งสองให้เท่ากัน เรือนทั้งสองเชื่อมต่อกันด้วยฮ่อมริน
26 | ทริปนี้กี่ขุนเขา
ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE
กรณีศึกษา
ตัวเรือนขนาด 5 ช่วงเสา ยกพืน้ สูง ใต้ถนุ กัน้ เป็นพืน้ ที่ เก็บของ พื้นที่ใต้ถุนใช้เก็บฟืน และเลี้ยงสัตว์ ด้านบนของ เรือนมีลกั ษณะใกล้เคียงกับรูปแบบเดิมของ เฮินไต เมือ่ ขึน้ ไปจะเป็นชานขนานและตั้งฉากกับแนวบันได (ที่ระดับ + 1.80 ม.) จัดเป้นพื้นที่ครัวเล็กๆ และพื้นที่เก็บของทั่วไป ต�ำแหน่งหิ้งบูชาอยู่บริเวณทิศตะวันออก
ทริปนี้กี่ขุนเขา | 27
เฮินสามจั่ว
เป็นเรือนไม้ขนาดใหญ่ ต่อเติมมา จากเรือน 2 จัว่ ประกอบด้วย เฮินรับแขก ที่เพิ่มขึ้นมาจากเรือนสองจั่ว ลักษณะ จั่วจะมีขนาดเล็กลง มาจากจั่วที่ 2 เป็น ลักษณะจั่วที่มี 3 ขนาด ลักษณะการ ขยายตัวของเฮิน จะขยายตัวไปทางทิศ ที่ไม่ใช่ ต�ำแหน่งของหิ้งบูชา
28 | ทริปนี้กี่ขุนเขา
ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE
เรือนพักอาศัยกึ่งร้านค้า
คืออาคารเดิมทีส่ ร้างขึน้ เพือ่ ใช้ประโยชน์ตอ่ การอยู่ อาศัย เป็นหลัก และได้มีการปรับปรุงบางส่วนของอาคาร เพื่อใช้ประโยชน์ ด้านการค้า ที่พบเป็นเรือนจั่วเดียว และ เรือนแฝด การต่อส่วน ของอาคารออกมาเพื่อกั้นเป็นห้อง ส�ำหรับวางเก็บสินค้า ส่วนใหญ่ มักอาศัยด้านข้างของเรือน เป็นเกณฑ์ เพราะไม่ติดขัดกับส่วนของ ชานเรือน โดย ต่อปีกหลังคาคลุมลงมาเช่นเดียวกับการยื่นคลุมห้องครัว หากทางสัญจรอยู่ทางสกัดของเรือน ก็มักท�ำเป็นเรือนจั่ว ยกพื้นเตี้ยๆ อีกหลังหนึ่งต่อชิดกับด้านข้างของเรือนใหญ่
ทริปนี้กี่ขุนเขา | 29
ตำ�แหน่งหิ้งพระ
ในกาลต่อมาเมือ่ มีการนับพระพุทธศาสนา และเกิดการน�ำมาสักการะบูชาไว้ในเรือนพัก อาศัย การจะประดิษฐานจึงไม่นิยมไว้ทางด้าน ตะวันตก เพราะจะเป็นด้านปลายเท้าของผูน้ อน ด้วยความไม่เหมาะสมด้วยประการนีผ้ นวกกับ กับความเชื่อเรื่องการนอน จึงแก้ปัญหาก็โดย การสร้างเข่งเจ้าพาราไว้เหนือศีรษะผู้นอน แทน ดังนั้นด้วยความคิดความเชื่อดังกล่าวจึง ส่งผลต่อแบบแผนของการวางเข่งเจ้า พารา ไว้ยัง ด้านทิศตะวันออกในเรือนคนไตในสมัย ต่อๆ มา กระทัง่ ถึงปัจจุบนั นี้ ดังทีไ่ ด้กล่าวไปว่า ลักษณะของเรือนพักอาศัยไม่มกี ารเปลีย่ นแปลง นัน้ มีขอ้ พิจารณาได้จากพืน้ ทีก่ ารใช้สอยต่างๆ จะเห็นได้ว่า เรือนแต่ละหลังนั้นยังคงมีการจัด แบ่งพืน้ ทีแ่ ละใช้สอย ภายในเรือนพักอาศัยอย่าง เป็นแบบแผนไว้ ซึง่ ไม่พบว่ามีการเปลีย่ นแปลง ไปจากเดิม 30 | ทริปนี้กี่ขุนเขา
ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE
ทิศทางการวางตัวเรือน
การวางผังของเรือนพักอาศัยแบบไตจะให้ด้านหน้า หันไปทางทิศเหนือ และใต้เท่านัน้ แม้วา่ จะติดกับเส้นทาง คมนาคมหรือทางเดินด้านใดก็ตาม แต่หากเป็นลักษณะของ เรือนร้านค้าจะเปิดหน้าสูถ่ นนหรือทางเดินเสมอ ลักษณะ ของเรือนคนไตจึงเป็นเรือนแบบขวางตะวัน ซึง่ เข้าใจว่าการ วางผัง ในลักษณะเช่นนี้จะมีสาเหตุมาจากความเชื่อเรื่อง การหันศีรษะในเวลานอน ที่มีมาแต่โบราณกาลก่อน โดย คนไตมีความเชือ่ ว่าจะไม่นอนเอาศีรษะไปทางทิศตะวันตก โดยจะหันไปทางทิศตะวันออกมากกว่า ทิศเหนือหรือใต้ก็ ไม่ด้วยเช่น เนื่องจากมีประตูทางเข้าออก ไม่สะดวกต่อผู้ ที่จะเดินลุกไปมา
ทริปนี้กี่ขุนเขา | 31
32 | ทริปนี้กี่ขุนเขา
ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE
บ้านต่อแพ
บ้านต่อแพ ต. แม่เงา อ.ขุนยวม จ.แม่ฮ่องสอน เขมินทรา อุปกุล, อุฬาร ปัญจะเรือง
ภูมิศาสตร์พื้นที่บ้านต่อแพ ที่ตั้งหมู่บ้าน
บ้านต่อแพตัง้ อยูท่ ี่ ม.1 ต.แม่เงา อ.ขุนยวม จ.แม่ฮอ่ งสอน บ้านต่อแพเป็นชุมชนของคนไทใหญ่ทมี่ กี ารตัง้ ถิน่ ฐานอย่าง ต่อเนือ่ งมาในช่วง 100 ปีทผี่ า่ นมา อยูท่ างทิศตะวันตกเฉียง ใต้ของอ�ำเภอขุนยวมประมาณ 5 กิโลเมตร ตัวหมู่บ้านตั้ง อยูบ่ นทีด่ อนริมฝัง่ ซ้ายของแม่นำ�้ ยวม โดยมีทงุ่ นาแวดล้อม สัณฐานของพืน้ ทีเ่ ป็นแอ่งทีร่ าบกว้าง มีนำ�้ ยวมและล�ำห้วย สอตือไหลตลอดปี
รูปที่ 1 ที่ตั้งหมี่บ้านต่อแพ ที่มา https://maps.google.co.th/maps?hl=th
ทริปนี้กี่ขุนเขา | 33
โครงสร้างหมู่บ้าน
โครงสร้างทางกายภาพของหมู่บ้านต่อแพให้ความ ส�ำคัญกับล�ำห้วยและวัดต่อแพเป็นอย่างมาก เพราะถือว่า วัดต่อแพเป็นศูนย์กลางการร่วมใจของชาวไตทีล่ อ่ งแพมา พักในบริเวณนีแ้ ละค่อยๆก่อตัวเป็นหมูบ่ า้ นเกาะตัวยาวไป ตามล�ำห้วยต่อแพ การขยายตัวของหมูบ่ า้ นขยายไปทางทิศ ตะวันออกของล�ำห้วย และของวัดต่อแพ โครงสร้างพืน้ ฐาน ของหมูบ่ า้ นเหมือนกับบ้านเมืองปอนคือ หมูบ่ า้ นอยูร่ อบๆ วัด และที่ท�ำกินอยู่ล้อมรอบหมู่บ้านไปทางทิศตะวันออก
รูปที่ 2 โครงสร้างกายภาพบ้านต่อแพ ที่มา กรมศิลปากร, 2539
รูปที่ 3 ผังหมู่บ้านต่อแพ ที่มา ข้อมูลภาคสนาม
34 | ทริปนี้กี่ขุนเขา
ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE
ผังหมู่บ้าน
หมู่บ้านต่อแพ สร้างเรือนไปในทิศทางขวางตะวัน โดยสังเกตจากวัดหันหน้าไปทางทิศเหนือ ในอดีตการ สร้างบ้านเรือนจะสร้างเกาะไปตามแนวทางน�้ำไหลแต่ ในปัจจุบันมีการตัดถนนผ่าน หน้าบ้านจึงหันเข้าหาถนน
ทริปนี้กี่ขุนเขา | 35
ประวัติศาสตร์พื้นที่บ้านต่อแพ สังคมและวัฒนธรรม
ในปี พ.ศ. 2417 พื้นที่ในอ�ำเภอขุนยวมและอ�ำเภอ เมือง จังหวัดแม่ฮอ่ งสอนเคยได้รบั การยกฐานะให้เป็นเมือง หน้าด่านของเชียงใหม่ และมีผู้น�ำชาวไทใหญ่คือพระยา สิงหนาทราชา เป็นเจ้าเมืองแม่ฮ่องสอนคนแรก ส่งผลให้ จังหวัดแม่ฮอ่ งสอนกลายเป็นศูนย์กลางของชาวไทใหญ่ใน บริเวณภาคเหนือของไทย และยังคงมีสภาพบ้านเรือนและ บรรยากาศที่คล้ายกับไทใหญ่ในประเทศพม่ามากที่สุด ช่วงเวลาการตัง้ ถิน่ ฐานของบ้านต่อแพมีความสัมพันธ์ กับช่วงเวลาของการขอสัมปทานท�ำไม้ของบริษทั บอมเบย์ เบอร์ม่า เพราะชุมชนที่ก่อตัวเป็นบ้านต่อแพเกิดจากชาว ไตที่รับจ้างล่องไม้ซุงมาตามล�ำน�้ำ จ�ำเป็นต้องหาที่พักไม้ ซุง บริเวณบ้านต่อแพเป็นที่ชุมนุมของชาวไตที่ล่องซุงมา พัก จึงเกิดหมู่บ้านต่อแพและวัดต่อแพขึ้น จากจุดเริ่มต้น นี้จึงค่อยๆ เป็นที่รู้จักของคนทั่วไปและถูกเรียกขานว่า “บ้านต่อแพ” ตามระเบียบการปกครองในปี พ.ศ. 2461 กระทั่งปัจจุบัน ชาวชุมชนมีอาชีพหลักคือการท�ำนา สลับกับการ ปลูกพืชผักสวนครัว มีบางส่วนที่ท�ำการค้าและรับจ้าง แรงงานเมื่อว่างจากงานประจ�ำ ชาวไตใหญ่บ้านต่อแพ นับถือศาสนาพุทธ
รูปที่ 4 ลักษณะทางกายภาพหมู่บ้านต่อแพ ที่มา ข้อมูลภาคสนาม
36 | ทริปนี้กี่ขุนเขา
ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE
ประชากรและชาติพันธุ์ชาวไตใหญ่บ้านต่อแพ
มีการตั้งข้อสันนิษฐานว่าอาณาบริเวณบ้านต่อแพ สมัยโบราณเป็นที่ตั้งถิ่นฐานของชาวลั๊วะ ซึ่งเป็นการตั้ง ข้อสังเกตแบบกว้างๆ เนื่องจากลั๊วะเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ ดั้งเดิมที่กระจายตัวอยู่ในภูมิภาคนี้ ต่อมามีชาวกะเหรี่ยง กลุ่มหนึ่งเข้ามาอาศัยอยู่โดยมีหัวหน้าชื่อ “โหล่แว” เป็น ผู้น�ำชุมชน หมู่บ้านแห่งนี้จึงเรียกว่าบ้านโหล่แว แต่ต่อมา เมื่อชาวไทใหญ่ที่อยู่ในพื้นที่บ้านเมืองปอนมีมากขึ้น และ เห็นว่าพื้นที่บริเวณนี้มีความอุดมสมบูรณ์ จึงเข้ามาท�ำนา และสร้างบ้านเรือนอยูอ่ าศัยถาวร มีจ�ำนวนเพิม่ ขึน้ กระทัง่ ชาวกระเหรีย่ งทีอ่ ยูอ่ าศัยเดิมได้ยา้ ยถิน่ ออกไปเพราะนิยม อยู่อย่างสงบในกลุ่มของตน
รูปที่ 5 ประชากร ที่มา ข้อมูลภาคสนาม
ทริปนี้กี่ขุนเขา | 37
รูปแบบสถาปัตยกรรมบ้านต่อแพ เฮินไตโหลง
รูปแบบทีโ่ ดดเด่นของเรือนอาศัยไตใหญ่บา้ นต่อแพมี มีลักษณะเด่น 2 ลักษณะคือ เรือนจั่วเดียวและเรือนแฝด โดยมีลักษณะดังนี้
1. เรือนจั่วเดียว หรือ เฮินโหลงตอยเหลียว
หมายถึงเรือนไม้ขนาดเล็กหลังคาเดียว เป็นเรือน แคบๆ ใต้ถุนเตี้ย มักเป็นเรือนของผู้มีฐานะไม่ค่อยจะสู้ ดีนัก หรือผู้ที่เริ่มต้นตั้งครอบครัวใหม่ โดยใช้เป็นเรือน ชั่วคราว ตัวเรือนมักเป็น 3 ห้องเสา ด้านหลังกั้นฝาใช้ เป็นส่วนนอน ส่วนหน้าใช้เป็นเติ๋น ซึ่งไทยใหญ่เรียกว่า ฮ้าน ต่อจากเติ๋นลดระดับลงเล็กน้อยต่อยื่นออกเป็นชาน แคบๆ ท�ำบันไดพาดขึ้นเรือนใต้ชายคาที่ยื่นคลุมลงมาถึง ส่วนของพื้นที่ชานทั้งหมด ด้านข้างเรือนด้านหนึ่งมักต่อ ชานโอบยาวไปถึงสุดอาคารเพื่อใช้ท�ำเป็นห้องครัว โดย 38 | ทริปนี้กี่ขุนเขา
ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE
ชักปีกหลังคายื่นคลุมลงมาเป็นผืนเดียว ผนังห้องครัวจะต่อเป็นชั้นเล็กๆยื่นเลย ออกมาภายนอกอาคารเพื่อใช้เป็นที่วาง ของและท�ำเป็นร้านน�้ำ หรือเข่งน�้ำ ซึ่ง เช่นเดียวกับส่วนของผนังห้องนอนอีก ด้านหนึ่งที่ท�ำเป็นหิ้งพระพุทธรูป หรือ เข่งเจ้าพะลา เรือนประเภทนี้ โครงสร้าง เรือนจะเป็นไม้เนือ้ แข็ง ส่วนฝาผนังมักจะ ใช้ไม้ไผ่สานเป็นแผงขัดแตะ พืน้ เรือนบ้าง ก็ใช้ไม้แป้นหรือแผ่นกระดาน บ้างก็ใช้ไม้ ฟาก หลังคามุงด้วยใบตองตึง รูปที่ 7 ผังเรือน ที่มา ข้อมูลภาคสนาม
ทริปนี้กี่ขุนเขา | 39
2. เรือนแฝด หรือ เฮินโหลงสองส่อง
หมายถึงเรือนไม้ขนาดใหญ่ที่ท�ำเป็นเรือนแฝดคู่กัน โดยท�ำหลังคาจัว่ ติดกัน 2 ตัว คลุมพืน้ ทีใ่ ช้สอยซึง่ ประกอบ ด้วยเรือนนอนหลังหนึ่งและเรือนครัวหลังหนึ่ง เรือนแฝด หมายถึงเรือนไม้ขนาดใหญ่ทที่ ำ� เป็นเรือนแฝดคูก่ นั โดยท�ำ หลังคาจั่วติดกัน 2 ตัว คลุมพื้นที่ใช้สอยซึ่งประกอบด้วย เรือนนอนหลังหนึ่งและเรือนครัวหลังหนึ่ง ตัวเรือนมักท�ำ เป็นเรือนขนาด 5 ห้องเสา ยกพืน้ เรือนสูง ใต้ถนุ เรือนใช้เป็น ที่นั่งพักผ่อน ท�ำงาน เก็บของต่างๆ เช่น เก็บข้าว เครื่อง มือท�ำนา พาหนะ รวมทั้งเป็นที่พักของสัตว์เลี้ยง ความสูง ของใต้ถุนจะอยู่ราว 2.5 เมตร ตัวเรือนมักจะหันด้านสกัด อยู่ในแนวทิศเหนือใต้ ทั้งนี้ คงเพื่อให้เรือนนั้นสามารถรับ แสงแดดอันจะสร้างความอบอุ่นแก่ตัวเรือนยิ่งขึ้นนั่นเอง เรือนประธานซึ่งเป็นเรือนนอนขนาดใหญ่กว่าเรือนรอง ซึ่งเป็นเรือนครัว ทั้งนี้เป็นไปตามความเชื่อของชาวล้าน นาที่จะไม่ท�ำจั่วเรือน 2 หลังให้มีขนาดเท่ากัน
รูปที่ 8 ลักษณะเรือนสองจั่วบ้านต่อแพ ที่มา ข้อมูลภาคสนาม
40 | ทริปนี้กี่ขุนเขา
ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE
รูปที่ 10 ผังเรือน ที่มา ข้อมูลภาคสนาม
รูปที่ 10 ผังเรือน ที่มา ข้อมูลภาคสนาม
ภายในเรือนพืน้ ทีฝ่ ง่ั ขาวเป็นเรือนแม่ ฝัง่ ซ้ายเป็นเรือนลูกชาย ซึง่ ลูกสะใภ้ไม่สามารถ ขึน้ ไปเรือนแม่ได้ เรือนสองส่องเรือนนีใ้ นอดีตเป็นเรือนพักของทหารญีป่ นุ่ สมัยสงครามโลก ครั้งที่ 2 ประตูห้องนอนลูกชายจะมีการเจาะรูไปเพื่อส่องดูภายนอกและรูขนาดพอดีที่ ปืนสามารถรอดมายิงไป ส่วนหิ้งพระและหิ้งผีจะอยู่ทิศตะวันออกฝั่งเรือนแม่ และพื้น เรือนมีการเจาะรูเป็นรูส�ำหรับกวาดขยะมีฝาไม้ปิด ทริปนี้กี่ขุนเขา | 41
วิเคราะห์
บ้านเมืองปอนเป็นชุมชนทีก่ อ่ ตัง้ ขึน้ ในช่วงระยะแรกของการก่อตัง้ เมืองแม่ฮอ่ งสอน (พศ.2375 - 2453) ในขณะที่หมู่บ้านต่อแพ ก่อตั้งขึ้นในช่วงหลังระยะการก่อตั้งเมือง แล้วประมาณ 50 ปี โครงสร้างหลักทางกายภาพของหมู่บ้านทั้งสองแห่งจะอ้างอิงกับ แหล่งน�้ำ เนือ่ งจากเป็นปัจจัยในการด�ำรงชีวติ ทีส่ �ำคัญ และมีโครงสร้างหลักทางกายภาพ ของหมู่บ้านซึ่งประกอบไปด้วย กลุ่มบ้าน ลานกลางบ้าน (ข่วงบ้าน) วัดประจ�ำหมู่บ้าน ท้ายหมู่บ้านจะเป็นที่ตั้งของหอเสื้อบ้าน มีตลาดและร้านค้า บ้านต่างๆ ในหมู่บ้านอาจ มีการดัดแปลงเป็นเรือนค้าขายในกรณีจำ� เป็น นอกจากนีย้ งั มีปา่ ชุมชน และพืน้ ทีท่ ำ� กิน
เฮินไตโหลงจั่วเดียว บ้านต่อแพ
เฮินไตโหลงจั่วเดียว บ้านเมืองปอน
เฮินไตโหลงจั่วเดียว
เมือ่ เปรียบเทียบเรือนจัว่ เดียวบ้านเมืองปอนกับบ้าน ต่อแพ มีลกั ษณะคล้ายคลึงกันเนืองจากหมูบ่ า้ นต่อแพเป็น หมู่บ้านที่ขยายแยกตัวมาจากหมู่บ้านเมืองปอน
42 | ทริปนี้กี่ขุนเขา
ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE
เฮินไตโหลงสองจั่ว บ้านต่อแพ
เฮินไตโหลงสองจั่ว บ้านเมืองปอน
เฮินไตโหลงสองส่อง
เมื่อเปรียบเทียบบ้านเมืองปอนกับบ้านต่อแพ มี ลักษณะแตกต่างกันคือเรือนสองส่องบ้านต่อแพส่วนใหญ่ จะเป็นเรือนของผูท้ มี่ ฐี านะในหมูบ่ า้ น ลักษณะเรือนยังคง สภาพเดิมไว้ไม่คอ่ ยมีการเปลีย่ นแปลงเท่าใด ส่วนเรือนสอง ส่องบ้านเมืองปองส่วนใหญ่จะกลายเป็นเรือนร้านค้าเป็น เรือนของผูม้ ฐี านะจากการค้าขายมีการต่อเติมส่วนชัน้ ล่าง ของเรือนเป็นพื้นที่ร้านค้า ทริปนี้กี่ขุนเขา | 43
44 | ทริปนี้กี่ขุนเขา
ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE
ศูนย์อพยพบ้านแม่หละ ทางหลวง 105 อ.ท่าสองยาง จ.ตาก เขมินทรา อุปกุล, อุฬาร ปัญจะเรือง
ที่ตั้งสภาพภูมิประเทศทั่วไป
พื้นที่พักพิงฯ บ.แม่หละ อ.ท่าสองยาง จ.ตาก ตั้ง อยู่ บ.แม่ออกฮู หมู่ 9 ต.แม่หละ อ.ท่าสองยาง จ.ตาก บริเวณพิกดั MU 3393 – MU 3692 ติดกับถนนหมายเลข 105 อ.แม่สอด – แม่สะเรียง บริเวณหลัก กม. ที่ 57-60 มีพื้นที่ประมาณ 1148 ไร่ สภาพพืน้ ทีเ่ ป็นเนินเขาสูงต�ำ่ สลับกันไป ในฤดูแล้งน�ำ้ แห้ง แต่ใช้บริเวณใกล้ๆ ล�ำห้วยในการขุดบ่อน�ำ้ ใช้เพือ่ การ อุปโภค - บริโภค มีจ�ำนวนประมาณ 60 บ่อ
ทริปนี้กี่ขุนเขา | 45
รูปแบบผังหมู่บ้านแม่หละ
รูปแบบผังหมู่บ้านแม่หละเป็นรูปแบบ สถาปัตยกรรมที่มีความสัมพันธ์กับสภาพ แวดล้อมทางสังคมและบริบททางธรรมชาติ ที่มีผลต่อรูปแบบการด�ำรงชีวิตในหมู่บ้าน โดยความสัมพันธ์ทางสังคมมีผลต่อการการ วางผังของอาคารโดยสรุป ได้ว่า รูปแบบ ทิศทางของการหันทิศ ของเรือนพื้นถิ่นใน ศูนย์อพยพนั้น ขึ้นอยู่กับรูปแบบของความ เชื่อ และเนื่องจากศูนย์อพยพประกอบไป ด้วย ชาติพันธ์ที่มีความหลากหลายการหัน เรือนจึงแตกต่างกันออกไปดังนี้ 1. ทิศทางการหันเรือน ของชาวกระ เหรี่ยงคริสต์ จะหันไปความเหมาะสมทาง ธรรมชาติ หรือรูปแบบสภาพแวดล้อม และ กายภาพของพื้นที่ เช่นหัน ทิศเรือนไปตาม ถนน หันทิศเรือนไปตามมุมมองทางธรรมชาติ หรือ หันทิศเรือนไปตามแม่น�้ำ และภูเขา โดยไม่ได้ยึดความเชื่อเรื่องทิศมงคล และไม่ นับถือผีแต่อย่างได
รูปที่ 15 ผังหมู่บ้าน ที่มา ข้อมูลภาคสนาม
2. ทิศทางการหัน ของชาวกระเหรี่ยงพุทธ หรือ นับถือผี เรือนจะหันหน้า ทางทิศ เหนือ - ใต้เสมอ เพราะฉะนัน้ เมือ่ เราสังเกตรูปแบบหลังคาจากมุมสูงแล้วรูปแบบหลังคา จึงดู มีความหลากหลาย และน่าสนใจ อันเกิดจากการวางแนวทิศหลังจากไม่ตรงกัน และ สิง่ น่าสนใจคือ การจัดวางระบบน�ำ้ โดยมีจดุ จ่ายน�ำ้ เป็น ซึง่ เป็นจุดประจ�ำกลุม่ หมูบ่ า้ น โดย การใช้งานจะประกอบด้วยกลุ่มบ้านประมาณ สามถึงสี่หลัง เป็นสถานที่อาบน�้ำและซัก ล้าง ทัง้ สถานส�ำคัญทีส่ ดุ ของหมูบ่ า้ นคือ ศาสนาสถาน ได้แก่ โบสถ์คริสต์จะตัง้ อยูบ่ นทีส่ งู ของหมูบ่ า้ น ส่วนใหญ่จะตัง้ อยูบ่ นเนิน เป็นจุดเด่นของหมูบ่ า้ นและ ศูนย์รวมของหมูบ่ า้ น 46 | ทริปนี้กี่ขุนเขา
ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE
รูปที่ 20 ภาพแสดงกายภาพของพื้นที่ ที่ลดหลั่นไปตามความสูงของเชิงเขา ในศูนย์อพยพแม่หละ ที่มา ข้อมูลภาคสนาม
ทริปนี้กี่ขุนเขา | 47
ประวัตศ ิ าสตร์พน ื้ ทีศ ่ น ู ย์อพยพบ้านแม่หละ อำ�เภอท่าสอำ�งยาง จังหวัดตาก
พื้นที่พักพิงชั่วคราวบ้านแม่หละ จัดตั้งขึ้นเพื่อรองรับผู้หนีภัยจากการสู้รบจาก ประเทศพม่า สืบเนื่องจากสถานการณ์ความไม่สงบบริเวณชายแดน ไทย - พม่า ทาง ด้านจังหวัดตาก - แม่ฮอ่ งสอน ซึง่ ก�ำลังทหารพม่าได้เข้าโจมตีทตี่ งั้ ของกองก�ำลังชนกลุม่ น้อยที่ต่อต้านรัฐบาลทหารพม่า คือ กองก�ำลังทหารกะเหรี่ยง จนปลายปี 2537 และต้น ปี 2538 ทหารพม่าสามารถยึดที่ตั้งส�ำคัญของกองก�ำลังกะเหรี่ยงได้เกือบทั้งหมด เป็น เหตุให้ประชาชนราษฎรกะเหรีย่ งซึง่ อยูบ่ ริเวณชายแดน อพยพหลบหนีภยั จากการสูร้ บ เข้ามาอยู่ในประเทศไทยบริเวณชายแดน ในเขตอ�ำเภอท่าสองยาง หน่วยงานที่รับผิด ชอบ ได้จัดพื้นที่รองรับผู้หนีภัยจากการสู้รบประเทศพม่าขึ้นทั้งหมด 6 แห่งด้วยกัน คือ • พื้นที่พักพิงชั่วคราวบ้านโซโกร บ้านแม่สอง หมู่ที่ 1 ต�ำบลแม่สอง • พื้นที่พักพิงชั่วคราวบ้านแม่สลิด บ้านแม่สลิดหลวง หมู่ที่ 2 ต�ำบลแม่สอง • พื้นที่พักพิงชั่วคราวบ้านแม่หละ บ้านแม่ออกผารู หมู่ที่ 3 ต�ำบลแม่หละ • พื้นที่พักพิงชั่วคราวบ้านเคลอโค๊ะ บ้านทีโน๊ะโค๊ะ หมู่ที่ 4 ต�ำบลแม่อุสุ • พื้นที่พักพิงชั่วคราวบ้านกามอเรโค๊ะ บ้านแม่อู่หู่ หมู่ที่ 6 ต�ำบลแม่ต้าน • พื้นที่พักพิงชั่วคราวบ้านแม่ตะวอ บ้านแม่ตื่น หมู่ที่ 7 ต�ำบลท่าสองยาง
รูปที่ 16 แสดงการแบ่งโซน ที่มา ข้อมูลภาคสนาม
48 | ทริปนี้กี่ขุนเขา
ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE
จากการทีม่ พี นื้ ทีร่ องรับผูห้ นีภยั จากการสูร้ บจ�ำนวนหลายแห่ง และทีต่ งั้ อยูใ่ กล้ และ ติดชายแดนมากเกินไป ง่ายแก่การลักลอบเข้ามาของกองก�ำลังต่างชาติ เพื่อท�ำการเข้า โจมตี เผาท�ำลายบ้านเรือน ปล้นทรัพย์สิน รวมทั้งจับตัวผู้น�ำของผู้หนีภัย และยากแก่ การให้ความช่วยเหลือและการควบคุม ดังนัน้ หน่วยงานด้านความมัน่ คง และกระทรวงมหาดไทย จึงได้เลือกบริเวณพืน้ ที่ พักพิงฯ บ้านแม่หละ เป็นพื้นที่รองรับผู้หนีภัยจากการสู้รบทั้ง 6 แห่ง ท�ำการขนย้ายผู้ หนีภัยจากการสู้รบทั้ง 6 แห่ง ตั้งแต่ปี 2539 เป็นต้นมา ศาสนาและสถานที่ประกอบพิธีทางศาสนา
ในศูนย์อพยพบ้านแม่หละมีการนับถือศาสนาแบ่ง ออกเป็นทั้งหมด 3 ศาสนาคือ พุทธ คริสต์ และอิสลาม และมีสถานที่ประกอบพิธีทางศาสนาตามชุมชน • ศาสนาพุทธ มีวัด 4 แห่ง มีผู้นับถือประมาณ 35 % • ศาสนาคริสต์ มีโบสถ์คริส แบ่งเป็น 3 นิกาย ได้แก่ - นิกายโปรแทสแตน มีโบสถ์ 15 แห่ง - นิกาย S.D.A มีโบสถ์ 6 แห่ง - นิกายแองกลีกัน มีโบสถ์ 2 แห่ง ทั้ง 3 นิกาย มีผู้นับถือประมาณ 50 % • ศาสนาอิสลาม มีสุเหร่า 4 แห่ง มีผู้นับถือประมาณ 15 %
ทริปนี้กี่ขุนเขา | 49
รูปลักษณะเรือนพื้นถิ่นของชาวกระเหรี่ยงในศูนย์อพยพแม่หละ
50 | ทริปนี้กี่ขุนเขา
ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE
รูปแบบสถาปัตยกรรม
รูปแบบสถาปัตยกรรมชาติพันธุ์กะเหรี่ยงปลูก บ้านลดหลัน่ กันไปตามไหล่เขา หลังคาท�ำจากใบตอง ตึงตัวเรือนใช้ไม่ไผ่ รูปแบบที่เกิดจากปัจจัยต่างที่ได้ รับอธิพลจนก่อให้เกิดการสร้างสรรค์สถาปัตยกรรม เนือ่ ง สภาพพืน้ ที่ และการปกครองเป็นศูนย์อพยพจึง มีข้อจ�ำจัด ปัจจัยที่ส่งผลต่อรูปแบบ การใช้วัสดุ ข้อ จ�ำกัดของที่ดิน และ การด�ำรงชีวิต โดยปัจจัยเหล่า นี้สรุปได้ออกเป็นรูปแบบสถาปัตยกรรมดังนี้ เรือนบ้านพืน้ ถิน่ เรือนพืน้ เป็นเรือนพืน้ ถิน่ ทีส่ ว่ น ใหญ่ ผู้อพยพชาวกระเหรี่ยง เป็นเจ้าของเรือนและ สร้างเรืองขึ้น ฉะนั้นรูปแบบจึงเป็นเรือนกระเหรี่ยง โดยมีรูปแบบเช่นเดียวกับเรือนพื้นถิ่นชาวกระเหรี่ ยงทัว่ ไป มีการใช้วสั ดุพนื้ ถิน่ เช่น ใบตองตึง ไม้ไผ่ ผูก เรือนด้วยตอกไม้ไผ่ และเนือ่ งจากเรือนพืน้ ถิน่ กระเห รี่ยงนั้นมีความพันธ์เกี่ยวกับความเชื่อเรื่องผี ดังนั้น รูปแบบของเรือนกระเหรี่ยงคริสต์ในศูนย์อพยพ จึง มีรปู แบบทีแ่ ตกต่างออกไป โดยไม่ยดึ รูปแบบพืน้ ถิน่ เดิม และไม่ยดึ การวางแนวเสาเดิม แต่จำ� นวนช่วงเสา และความห่างของช่วงเสายังยึดรูปแบบเดิม เรือนร้านค้า เรือนร้านค้าส่วนใหญ่ เป็นของผู้อพยพชาวมุสลิมเชื้อสายพม่า โดย ชาวมุสลิม จะนิยมท�ำการค้าขาย ดังนั้นรูปแบบเรือนจะหันหน้า และเปิดออกสู่ถนน หรือเส้นทางสรรจร และวัสดุยังคงใช้วัสดุพื้นถิ่นเช่นเดียวกับเรื่อพื้นถิ่น และเรือนร้าค้า ของมุสลิม ก็ยังไม่ได้ยึดถือตามความเชื่ออื่นๆ นอกจากมุสลิมแต่อย่างไร ทริปนี้กี่ขุนเขา | 51
รูปที่ 17 ลักษณะเรือนพื้นถิ่นของชาวกระเหรี่ยงในศูนย์อพยพแม่หละ
52 | ทริปนี้กี่ขุนเขา
ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE
รูปที่ 18 ลักษณะเรือนพื้นถิ่นของชาวกระเหรี่ยงในศูนย์อพยพแม่หละ 2 ที่มา ข้อมูลภาคสนาม
ทริปนี้กี่ขุนเขา | 53
54 | ทริปนี้กี่ขุนเขา
ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE
หมู่บ้านแม่จวาง หมู่ที่ 8 ตำ�บลท่าสองยาง อำ�เภอท่าสองยาง จังหวัดตาก อณิชา กระจ่างแจ่ม, อดิเทพ พัฒนศุภสุนทร
ประวัติความเป็นมา
ในอดีตหมูบ่ า้ นท่าสองยาง ยังไม่มี เป็นเพียงทีพ่ กั ของ ต�ำรวจสายตรวจต�ำรวจภูธรอ�ำเภอแม่สะเรียง ซึง่ มาตัง้ ด่าน ตรวจอยูท่ สี่ นั กะแต (บริเวณบ้านพักครูในปัจจุบนั ) ด่านนี้ มีหน้าที่ตรวจสินค้าจากฝั่งไทยเพื่อน�ำไป ขายยังบ้านใหม่ ในฝั่งพม่า และสินค้าจากบ้านใหม่ในฝั่งพม่ามาขายยังฝั่ง ไทย เช่น วัว ควาย ทอง ผ้าต่าง ๆ และที่บริเวณใกล้แม่น�้ำ เมยฝัง่ พม่าจะมีภเู ขา 2 ลูกชาวบ้านเรียกกันว่า “ดอยค�ำ” อยู่ติดกันและมีต้นยางใหญ่ อยู่ 2 ต้น ถ้าใครจะเดินไปฝั่ง พม่าหรือมาฝั่งไทยก็จะต้องเดินผ่าน ภูเขานี้และระหว่าง ต้นยางทั้ง 2 ต้น ต้นยางนี้อยู่ตรงกันข้ามกับจุดตรวจพอดี ชาวบ้านก็เลยเรียกกันว่า “ท่าช่องยาง” ต่อมาชาวบ้านก็ เรียกเพี้ยนเป็น “ท่าสองยาง” นั้นเอง ก่อนที่ชาวบ้านจะ ย้ายมาอยู่ที่ท่าสองยางนี้ ชาวบ้านท่าสองยางเคยอยู่บ้าน ใหม่ในฝั่ง พม่ามาก่อน เหตุที่มาอยู่ฝั่งไทยนั้น ก็เพราะว่า มีการสู้รบกันระหว่างพม่ากับกะเหรี่ยง ท�ำให้ชาวบ้านไม่ สามารถอยู่ที่นั่นได้ จึงอพยพ จากที่บ้านใหม่มาอยู่ที่บ้าน ท่าสองยาง ผูท้ ตี่ งั้ ถิน่ ฐานอยูท่ นี่ กี่ ลุม่ แรกจะเป็นครอบครัว ของต�ำรวจสายตรวจ ต่อมาก็มี ชาวบ้านใหม่ในฝั่งพม่าที่ อพยพเข้า มาอยูม่ ชี าวบ้านจากแม่สะเรียงเข้ามาอาศัยอยู่ ที่นี่เป็นจ�ำนวนมากจนกระทั่งถึงปัจจุบัน
ทริปนี้กี่ขุนเขา | 55
ข้อมูลทางวัฒนธรรม
• ศาสนา : นับถือศาสนาพุทธกะเหรี่ยง • ชาติพันธ์ : กระเหรี่ยงปกากะญอ • การแต่งกาย : การแต่งกายเช่นเดียวกับคนในเมือง แต่ผู้หญิงยังนุ่ง ผ้าซิ่นเหมือนเดิมอยู่ • ภูมิปัญญา : จักสาน ทอผ้า ข้อมูลประชากร
• จ�ำนวนประชากร : ประชากรชาย 408 คน, ประชากรหญิง 385 คน รวม 793 คน จ�ำนวนครัวเรือน 195 หลังคาเรือน • การศึกษา : มีโรงเรียนชุมชนบ้านท่าสองยางให้บริการในเขตพื้นที่ หมู่บ้านแม่จวาง เป็นห้องเรียนเคลื่อนที่ในโครงการตามพระราชด�ำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี ท�ำการสอนถึงระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 • อาชีพ : อาชีพหลัก ท�ำสวน ท�ำไร่ เลี้ยงสัตว์ • สาธารณูปโภค : มีน�้ำดื่มน�้ำใช้จากประปาภูเขา • ภาษา : ภาษาปกาเกอะญอ, ภาษาไทย
56 | ทริปนี้กี่ขุนเขา
ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE
ลักษณะผังหมู่บ้าน
หมู่บ้านตั้งอยู่บนไหล่เขาที่มีความชันไม่มากนัก อยู่ ระหว่างที่ราบหุบเขาและทางน�้ำส�ำหรับการเพาะปลูก และตัวเรือนจะวางตามแนว ตะวันออก ตะวันตก
ทริปนี้กี่ขุนเขา | 57
รูปแบบตัวเรือน กรณีศึกษาที่ 1
การใช้ใต้ถนุ เรือนมักจะมีการมีการใช้สำ� หรับเก็บไม้ฝนื หรือของทีใ่ ช้เกีย่ วกับอาชีพ ห้องน�้ำถูกแยกออกมาจากตัวเรือนประมาณ 4 - 5 เมตร (บางบ้านมีการเลี้ยงหมูโดยแม่ หมูจะมีการผูกติดไว้กบั เสาใดเสาหนึง่ ของเรือนซึง่ จะเป็นเสาทีอ่ ยูท่ างด้านหน้าของตัวบ้าน) ชานร่มหน้าตัวเรือนเป็นที่ส�ำหรับนั่งพักผ่อน ต้อนรับแขก หรือประกอบกิจกรรม ต่างๆ บริเวณทางด้านทิศเหนือเป็นที่ส�ำหรับวางต�ำแหน่งหิ้งบูชา เสาส่วนใหญ่ท�ำจากไม้จริง มีระบบเสาเป็นแบบ 5X4 เสา มีขนาดค่อนข้างใหญ่ แข็งแรง การมุงหลังคามุงด้วยใบตองตึง มีลกั ษณะการมุงแบบแหกระโจม (ตัวเรือนส่วน ที่ต้องใช้ความแข็งแรงจะใช้ไม้จริงในการก่อสร้างเช่น เสา คาน ราวกันตก) ฝาผนังบ้าน ท�ำด้วยไม้ฝาก (ไม้ไผ่ตแี บน) เพือ่ ช่วยในการระบายอากาศของตัวบ้าน บันไดท�ำจากไม้ไผ่ เจาะรูแล้วน�ำไม้ที่เล็กกว่าสอดเข้าไป
58 | ทริปนี้กี่ขุนเขา
ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE
ผังเรือน
ไอโซเมตริกซ์
ทริปนี้กี่ขุนเขา | 59
รูปด้าน
perspective
60 | ทริปนี้กี่ขุนเขา
ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE
รูปด้าน
ทริปนี้กี่ขุนเขา | 61
62 | ทริปนี้กี่ขุนเขา
ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE
ทริปนี้กี่ขุนเขา | 63
64 | ทริปนี้กี่ขุนเขา
ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE
หมู่บ้านเดลอคี
หมู่ที่ 03 ตำ�บลหนองหลวง อำ�เภอ อุ้มผาง จังหวัดตาก อณิชา กระจ่างแจ่ม, อดิเทพ พัฒนศุภสุนทร
ประวัติความเป็นมา
ค�ำว่า “เดลอ” แปลว่า หมู่บ้านเก่า ส่วนค�ำว่า “คี” แปลว่าขุนห้วย ขุนน�้ำ ต้นน�้ำ (ดร.มาลี สิทธิเกรียงไกร) ตั้ง อยู่ในพื้นที่ ต.หนองหลวง อ.อุ้มผาง จ.ตาก ต�ำบลหนอง หลวง เป็นต�ำบลอยูต่ ดิ ชายแดนไทย - พม่า เดิมมี 4 หมูบ่ า้ น ต่อมาเมื่อปี 2533 ประกาศยุบ หมู่ 4 เนื่องจากมีจ�ำนวน หลังคาเรือนน้อย ปัจจุบันมีเหลือเพียง 3 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ 1 บ้านหนองหลวง หมู่ 2 บ้านเซลทะ หมู่ 3 บ้าน เดลอคี มีฐานะเป็นสภาต�ำบล เนื่องจากมีประชากรน้อย ข้อมูลทางวัฒนธรรม
• ศาสนา : นับถือศาสนาพุทธกะเหรี่ยง • ชาติพันธ์ : กระเหรี่ยงปกากะญอ • ลักษณะนิสัย : เนื่องจากเป็นหมู่บ้านที่ค่อนข้างมี นักท่องเที่ยวเข้าไปบ่อยและความเจริญเข้าถึง ดังนั้นจึง ท�ำให้คนในพื้นที่นี้ค่อนข้างมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี และค่อน ข้างเปิดกว้างกับบุคคลภายนอกพืน้ ที่ แม้วา่ สังคมภายนอก จะเปลีย่ นไปรวดเร็วเช่นไร แต่สงั คมของคนอยูป่ า่ ก็คอ่ ยๆ พัฒนาและเปลี่ยนผ่านตามเวลาที่ค่อยๆ เคลื่อนคล้อย หลายกลุ่มที่ทุกวันนี้ ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตเพื่อสอดรับกับ การพัฒนาประเทศและการท่องเทีย่ ว ด้วยการเปิดหมูบ่ า้ น ต้อนรับนักท่องเทีย่ วทีส่ นใจจะเข้ามาเรียนรูว้ ถิ ชี วี ติ ของคน อยู่ป่าที่ธรรมดาและเรียบง่าย ทริปนี้กี่ขุนเขา | 65
• การแต่งกาย : การแต่งกายแต่งตามลักษณะของ กะเหรี่งปกากะญอ • ภูมปิ ญ ั ญา : จักสาน ทอผ้า ส่วนใหญ่จะไว้ใช้ในครัว เรือน การบวชป่า (ซือ้ ด้ายและไหมจากตลาดใน อ.อุม้ ผาง) ข้อมูลประชากร
• การศึกษา : มีโรงเรียนทีอ่ ยูใ่ นหมูบ่ า้ น คือ โรงเรียน ขุนห้วยบ้านรุ่งเดิมชื่อ โรงเรียน บ้านเดลอคี • อาชีพ : อาชีพหลัก ท�ำนา ท�ำสวน • อาชีพเสริม เลีย้ งสัตว์ หาของป่า พืชเพาะปลูก ข้าว เจ้า ข้าวเหนียว ข้าวโพด ถั่วลิสง ถั่วเขียว ถั่ว เหลือง • ไม้ผลที่ปลูก มะพร้าว , ขนุน , มะม่วง , มะละกอ และมะนาว • สัตว์เลี้ยง สุกร , ไก่ ,สุนัข และแมว • สาธารณูปโภค : มีน�้ำดื่มน�้ำใช้จากประปาภูเขา • ภาษา : ภาษาปกาเกอะญอ , ภาษาไทย ภูมิศาสตร์
สภาพภูมิประเทศ ส่วนใหญ่เป็นภูเขาและที่ราบลุ่ม ระหว่างภูเขา ซึ่งราษฎรใช้ท�ำการเกษตร ประมาณ 20 % ของพื้นที่ทั้งหมด ซึ่งส่วนมากอยู่ในเขตป่าสงวนแห่ง ชาติ มีล�ำน�้ำคือห้วยหนองหลวง มีต้นน�้ำมาจากน�้ำตั้น (น�ำ้ ทีไ่ หลมาจากผุดดินตามธรรมชาติ) ไหลผ่านบ้านหนอง หลวงบ้านเซอทะ บ้านเดลอคี ลงสู่น�้ำแม่กลอง
66 | ทริปนี้กี่ขุนเขา
ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE
ลักษณะผังหมู่บ้าน
กลุ่มบ้านจะไต่ระดับไปตามไหลเขาที่มีความชันไม่มาก และเป็นพืน้ ทีท่ อี่ ยูใ่ กล้กบั ทีร่ าบหุบเขา พร้อมกับทางน�ำ้ เพือ่ ใช้เป็นพืน้ ทีก่ ารเพาะปลูกพืชไร่ การขยายตัวของหมูบ่ า้ นจะ เริม่ จากริมน�ำ้ และกระจายขึน้ ไปตามไหล่เขามากขึน้ ตัวเรือน ส่วนมากจะวางแนว เหนือ ใต้
ทริปนี้กี่ขุนเขา | 67
รูปแบบตัวเรือน กรณีศึกษาที่ 1
รูปแบบตัวเรือนมีลักษณะเป็นเรือนยาว ใต้ถุนเรือนเป็นที่ใช้เลี้ยงหมู มีการผูกหมู ติดไว้กับเสาทางด้านหน้าของตัวเรือน ด้านข้างมีการต่อเติมหลังคาใช้พื้นที่สับหรับเป็น ปุ๋ย จอดรถ เป็นที่เก็บอุปกรณ์การเกษตร ระบบเสาเป็นแบบระบบ 5 เสาเช่นเดียวกันกับที่หมู่บ้านแม่จวาง แต่มีการต่อเติม จึงท�ำให้มีเสาเพิ่มขึ้นมาเพื่อเพิ่มพื้นที่ใช้สอย เสาและคานเป็นไม้จริงทั้งหมด โดยเสาจะ มีลักษณะเป็นไม้ที่มีลักษณะค่อนข้างกลมใหญ่ มีความแข็งแรงกว่าส่วนอื่นๆ ส่วนที่ต่อเติม (ปิดระเบียง) ทางด้านทิศใต้ กับทิศตะวันตก ใช้ไม้จริง แต่ส่วนที่เป็น ผนังจริงๆของตัวบ้านใช้ไม้ฝากทั้งหมด หิ้งบูชาอยู่บริเวณทางด้านทิศตะวันออกของตัวบ้าน ที่รับแขกอยู่บริเวณชานด้าน หน้าตัวเรือน มีหลายส่วนภายในตัวเรือนที่ดัดแปลงใช้เป็นที่วางของใช้ต่างๆของคนใน บ้าน นอกจากนี้ยังมีการเลี้ยงสุนัขและไก่บริเวณบ้านอีกด้วย
68 | ทริปนี้กี่ขุนเขา
ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE
ผังเรือน
ไอโซเมตริกซ์
ทริปนี้กี่ขุนเขา | 69
รูปด้าน
70 | ทริปนี้กี่ขุนเขา
ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE
รูปด้าน
perspective
ทริปนี้กี่ขุนเขา | 71
บทวิเคราะห์
• เปรียบเทียบความเหมือนของชาติพนั ธุ์ ทัง้ สองหมูบ่ า้ นนีม้ ตี น้ ก�ำเนิดของชาติพนั ธุ์ เดียวกันคือ กระเหรีย่ งปกากะญอ ซึง่ เป็นกลุม่ ใหญ่ทสี่ ดุ ทีอ่ พยพเข้ามาอาศัยในเขตแดน ไทยเป็นชาวเขาเผ่าแรกๆ ที่อพยพเข้ามาในประเทศไทยก่อนชนเผ่ากลุ่มอื่นๆ หากจะ นับเวลาก็น่าจะมากกว่าสองร้อยปี และยังถือเป็นชนเผ่าที่ มีจ�ำนวนมากที่สุดของไทย มีจ�ำนวนประชากรประมาณ 500,000 คน (ประวิตร โพธิอาศน์, 2527) กะเหรี่ยงสะกอหรือปกากะญอ อพยพเข้ามาอาศัยในเขตแดนไทยนับเนื่องมาถึง วันนี้ก็หลายร้อยปีแล้ว กะเหรี่ยงสะกอส่วนใหญ่มักจะได้รับการศึกษาที่ดีเพราะในช่วง สมัยหนึ่งคณะมิชชันนารีได้เข้ามาเผยแพร่ศาสนาและปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตบางส่วนของ ชนกลุ่มน้อย กะเหรี่ยงที่หันมานับถือศาสนาคริสต์ จึงมักได้รับการศึกษาขั้นสูงสุด มี หลายต่อหลายคนที่ส�ำเร็จการศึกษาในระดับปริญญา • องค์ประกอบร่วมของเรือน บ้านเรือนของทั้งสองหมู่บ้าน นิยมสร้างเป็นบ้าน ยกพื้น มีชานบ้าน หรือไม่ก็ใช้เสาสูง แม้ว่าอยู่บนที่สูงก็ตาม ซึ่งแตกต่างจากชาวเขาเผ่า อื่นๆ ที่นิยมสร้างบ้านชั้นเดียว พื้นติดดิน • ระบบครอบครัว ระบบครอบครัวของกะเหรี่ยงปกากะญอ หรือ ปง่า เก่อ ญอ (บ้างก็เขียนว่า ปกาเกอะญอ / ปาเก่อญอ / ปาเกอะญอฯ) เป็นแบบผัวเดียวเมียเดียว ไม่มีการอยู่ด้วยกันก่อนแต่งงานเป็นอันขาดการหย่าร้างมีน้อยมากขณะที่การแต่งงาน ใหม่ก็ไม่ค่อยมีปรากฏ ส่วนการเลือกคู่ครองนั้น ฝ่ายหญิงจะเป็นฝ่ายเลือกผู้ชายก่อน และบางครั้งก็ออกค่าใช้จ่ายทั้งหมดในการแต่งงาน สังคมกะเหรี่ยงเป็นครับครัวเดี่ยว เมื่อลูกแต่งงานก็จะแยกครอบครัวไปปลูกบ้านใหม่ ถ้าแต่งงานแล้ว ชายจะต้องมาอยู่ บ้านพ่อแม่ภรรยาเป็นเวลา 1 ฤดูเก็บเกี่ยวหลังจากนั้นจึงไปปลูกบ้านใกล้กับพ่อแม่ ฝ่ายภรรยาถ้ามีลูกสาวคนเล็กจะต้องอยู่ดูแลพ่อกับแม่ ต้องอยู่กับพ่อแม่ไปตลอดแม้ จะแต่งงานแล้วก็ตาม เพราะมีหน้าที่เลี้ยงดูตอบแทนบุญคุณพ่อแม่ ดังนั้นลูกสาวคนสุด ท้องจึงได้รบั มรดกเช่น ทีน่ าและวัวควายมากกว่าพีน่ อ้ งซึง่ จะไม่มกี ารอิจฉาริษยากันเลย ครอบครัวใดทีไ่ ม่มลี กู สาว ลูกชายก็จะท�ำหน้าทีแ่ ทน บ้านใดทีแ่ ม่เสียชีวติ ลง ต้องรือ้ บ้าน 72 | ทริปนี้กี่ขุนเขา
ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE
ทิ้งแล้วสร้างใหม่ เพื่อลูกสาวที่แต่งงานแล้วจะได้ประกอบพิธีกรรมเลี้ยงผีบรรพบุรุษได้ (ประวิตร โพธิอาศน์, 2527) • การสืบเชื้อสาย เป็นการสืบเชื้อสายทางฝ่ายแม่ แต่ก็ยังให้ความเคารพต่อฝ่ายพ่อ แม่ของฝ่ายชาย กะเหรี่ยงสมัยก่อนนั้นไม่มีนามสกุล แต่ในปัจจุบันนี้มีนามสกุลกันหมด แล้ว และบุตรจะใช้นามสกุลของ่อ ส่วนชื่อของเด็กพ่อแม่หรือผู้อวุโสฝ่ายภรรยาจะเป็น คนตั้งชื่อให้ หากเป็นผู้หญิงมักจะมีขึ้นต้นว่า”หน่อ” และถ้าเป็นผู้ชายมักจะมีค�ำขึ้นต้น ว่า “พะ” หรือ ”จอ” เป็นค�ำแสดงความเป็นเพศหญิงหรือชาย • ความเชือ่ การนับถือผี เป็นความเชือ่ ดัง้ เดิมอยูค่ กู่ บั ชาติพนั ธ์นมี้ านานแล้ว ซึง่ เป็น ความเชือ่ ทีเ่ หล่าบรรพบุรษุ เจ้าทีเ่ จ้าทาง เจ้าป่าเจ้าเขา เนือ่ งจากชีวติ ของปกากะญอ อยู่ กับป่าเขา ผูกพันกับธรรมชาติมาเนิ่นนาน จึงหล่อหลอมความเชื่อกับธรรมชาติเข้าด้วย กัน ในการท�ำกิจกรรมต่างๆ จะต้องมีการเซ่น เจ้าที่เจ้าทาง และบอกกล่าวบรรพชน ให้ ท่านได้มาอุดหนุนค�้ำจุน ช่วยให้กิจการงานนั้นๆเจริญก้าวหน้า ท�ำกสิกรรมได้ผลผลิตดี ขอให้ท่านดลบันดาลให้อยู่เย็นเป็นสุข ปกป้องคุ้มครองดูแล และยังเป็นการขอขมาต่อ ท่านเหล่านั้นด้วย ซึ่งเป็นความเชื่อและประเพณีที่ดีงาม เป็นการสร้างความรักความ สามัคคีในหมูค่ ณะ และให้เกิดความร่มเย็นเป็นสุขในครอบครัว เป็นความเชือ่ ทีช่ าติพนั ธ์ นี้ให้ความส�ำคัญอย่างยิ่ง ความเชื่อในลักษณะนี้มีอยู่ในทุกชนชาติ • ภูมิทัศน์วัฒนธรรม อดีตชุมชนชาวกระเหรี่ยงประกอบอาชีพการท�ำเกษตรกรรม แบบดั้งเดิม คือ การท�ำไร่แบบตัดฟันและเผาป่า ถือเป็นการท�ำไร่แบบเก่าแก่แต่ดั้งเดิม ที่เคยท�ำมา แต่ในปัจจุบัน ชาวกะเหรี่ยงใช้ชีวิตในชนบท มีชุมชนขนาดเล็ก และท�ำมา หากินในลักษณะเพือ่ การยังชีพ อาชีพส่วนใหญ่จงึ เป็นการเกษตรทัง้ ปลูกพืช ปลูกข้าวไร่ และเลีย้ งสัตว์ เดิมชาวกะเหรีย่ งปลูกฝิน่ เช่นเดียวกับชาวเขาเผ่าอืน่ ๆ แต่ปจั จุบนั ได้หนั มา ปลูกพืชผักที่มีความส�ำคัญทางเศรษฐกิจ รวมทั้งพืชเมืองหนาว โดยได้รับการสนับสนุน และให้ความรู้จากโครงการพัฒนาชนบทจากหลายๆ หน่วยงาน เช่น โครงการหลวง ท�ำให้ความเป็นอยู่ของชาวกะเหรี่ยงในหลายชุมชนมีความผาสุก
ทริปนี้กี่ขุนเขา | 73
74 | ทริปนี้กี่ขุนเขา
ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE
หมู่บ้านอุมยอม
ชาวเขาเผ่า มูเซอเฌเล ตำ�บลแม่ท้อ อำ�เภอเมือง จังหวัดตาก
ลลิตา จรัสกร, ชมพูนุท คงพุนพิน, อภิญญา ผลสวัสดิ์
รูปภาพ 2 หมู่บ้านเดิมของอุมยอม ที่มา: ศุภชัย สถีรศิลปิน. 2527.
ประวัติการตั้งถิ่นฐาน
หมูบ่ า้ นอุมยอม เดิมชาวมูเซอเรียกกันว่า “คะปี”่ หรือ มูเซอบ้านเก่า และเปลีย่ นมาเป็นหมูบ่ า้ นอุมยอมตามการ แต่งตัง้ ของทางราชการ เมือ่ ปี พ.ศ. 2502 หมูบ่ า้ นอุมยอม เริ่มตั้งหมู่บ้านประมาณปี พ.ศ. 2490 ประชากรส่วนใหญ่ อพยพมาจากดอยช้าง อ�ำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย เหตุที่อพยพมาเนื่องจากหมู่บ้านเดิมเกิดโรคระบาดและ ไม่มีที่ดินท�ำกิน จึงต้องอพยพมาหาที่ดินท�ำกินแห่งใหม่ ทริปนี้กี่ขุนเขา | 75
โครงสร้างทางประชากร
สถาบันครอบครัวของมูเซอ มีลกั ษณะเป็นครอบครัวเดีย่ ว ไม่ปรากฏว่ามูเซอถือกฎ ระเบียบการสืบสายสกุลอย่างเคร่งครัด ภายในครอบครัวหนึ่งๆ จะมีพ่อ แม่ ลูก และผู้ สูงอายุ ซึ่งเป็นญาติฝ่ายหญิงอาศัยอยู่ด้วย ในการแต่งงาน ผู้ชายมูเซอจะต้องย้ายเข้าไป อยู่กับครอบครัวของฝ่ายหญิง เพื่อท�ำงานตอบแทนพ่อแม่ของฝ่ายหญิงก่อนประมาณ 2 - 3 ปี จึงสามารถแยกตัวไปตั้งครอบครัวของตนใหม่ หรือไม่ฝ่ายชายก็ต้องจ่ายเงิน ทดแทนให้แก่บิดา มารดาของฝ่ายหญิงตามแต่จะตกลงกัน มูเซอนิยมการมีครอบครัว แบบผัวเดียวเมียเดียว • ประชากร: เป็นเผ่า มูเซอเฌเล รวม 204 คน จ�ำนวนครัวเรือน: 42 หลังคาเรือน จ�ำนวนครอบครัว: 53 ครอบครัว เพศชาย 103 คน เพศหญิง 101 คน รูปภาพ 3 ขณะสัมภาษณ์บ้านครอบครัวบ้านปู่จาร ที่มา: คณะผู้ส�ำรวจวิจัย
76 | ทริปนี้กี่ขุนเขา
ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE
• อาชีพ ชาวมูเซอ จัดว่าเป็นกลุม่ ชาติพนั ธุท์ มี่ วี ถิ กี าร ผลิตแบบเกษตรกรรม โดยการท�ำไร่ขา้ วหมุนเวียนบนดอย สูง ไร่แต่ละไร่จะใช้ประโยชน์ได้อย่างมากมาย ประมาณ 3 ปี จากนั้นจะย้ายท�ำเลไปหาแหล่งเพาะปลูกใหม่ จะกลับ มาใช้ที่เดิมอีกภายหลัง 10 - 15 ปีล่วงไปแล้ว ข้าวและ ข้าวโพดเป็นพืชหลัก ส่วนพืชอื่นๆอันได้แก่ แตง ฟักทอง ถัว่ ข้าวฟ่าง มันฝรัง่ แตงกวา กล้วย ฝิน่ และพริกไทย เป็น พืชทีป่ ลูกเสริมเข้าไปในไร่ เพือ่ เป็นอาหารให้เก็บกินตลอดปี
รูปภาพ4 สัตว์เลี้ยงที่ส�ำคัญของชาวมูเซอ ได้แก่ ไก่และหมู ที่มา: คณะผู้ส�ำรวจวิจัย
สัตว์เลี้ยงที่ส�ำคัญของมูเซอ ได้แก่ ไก่และหมู ซึ่งเป็นสัตว์ที่ใช้ส�ำหรับพิธีกรรมและ ประเพณีตามความเชื่อดั้งเดิมของชาวมูเซอ ในหมู่บ้านที่มีบางครอบครัวท�ำมาค้าขาย ก็อาจมีม้าและฬอไว้ส�ำหรับบรรทุกของด้วย ส�ำหรับวัวและควายนั้น มักไม่พบนักใน ชุมชนมูเซอ เพราะมูเซอไม่นิยมท�ำนา และไม่ได้ใช้ประโยชน์จากวัวและควายเท่าใดนัก ทริปนี้กี่ขุนเขา | 77
การนับถือศาสนา
มูเซอเป็นพวกที่นับถือพระเจ้าองศ์เดียวกัน ในขณะเดียวกันก็มีความเชื่อในเรื่อง ภูตผีวิญญาณต่างๆ ลักษณะเด่นของพวกมูเซอก็คือ มีความเชื่อในเรื่องผู้น�ำ โดยเฉพาะ ผู้น�ำทางศาสนา “ปู่จอง” หรือ “ตูโป” พระเจ้าของมูเซอมีชื่อว่า กื่อซา มูเซอเชื่อว่า พระเจ้าเป็นผู้สร้างสรรค์ความดีทั้งมวล นอกจากความเชื่อเรื่องเทพเจ้าแล้ว ยังมีความ เชื่อในเรื่องภูตผีวิญญาณต่างๆ ได้แก่ ผีบ้านผีเรือน ผีประจ�ำหมู่บ้าน ผีป่าผีดอย ผีน�้ำ ผี พายุ ผีฟ้า เป็นต้น ผีของมูเซอมีมากมาย ซึ่งมีลักษณะแตกต่างออกไป ผีบ้าน ผีเรือน ผี หมู่บ้าน ถือเป็นผีดีเป็นผู้คุ้มครอง แต่ผีน�้ำ ผีป่า หรือผีพายุต่างๆ ถือเป็นผีร้ายที่น�ำโรค ภัยไข้เจ็บและความหายนะมาสู่คน มูเซอนิยมท�ำบุญประกอบพิธีผูกข้อมือ และฆ่าหมูหรือไก่เป็นเครื่องสังเวย มูเซอ เฌเลนิยมจะจุดเทียนขี้ผึ้งอันเป็นสัญลักษณ์แห่งการบูชา จนมีผู้เรียกขานกลุ่มนี้ว่า ผู้จุด เทียนบูชา หรือ “แปตูป่า” ปกติจะมีผู้ช�ำนาญในการประกอบพิธีทางศาสนาอยู่ 4 ท่าน ด้วยกันคือ ตูโบ หรือปู่จอง เป็นผู้ดูแลหรือควบคุมวัดมูเซอ “หอแหย่” อันเป็นสถานที่ ศักดิ์สิทธิ์ที่ใช้เพื่อการประกอบพิธีกรรมติดต่อกับเทพเจ้ากื่อซา โดยมีผู้ช่วยกระท�ำแทน อีก 3 คน คือ สล่า อาจา และ ละฉ่อส่วนผู้ช�ำนาญในการประกอบพิธีกรรมทางศาสนา ของมูเซอเฌเล มีด้วยกันหลายคนคือ ปู่จาร หรือ แก่ลู้ เป็นผู้ดูแลและควบคุมสถานที่ เต้นร�ำ “จะคึกื่อ” อันเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์เพื่อการประกอบพิธีกรรม บางขณะก็เป็นผู้ ดูแลศาลผี “แซมื่อ” ซึ่งเป็นศาลผีที่คุ้มครองหมู่บ้าน ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งปู่จารจะต้องเป็นผู้ ที่สืบเชื้อสายมาก่อน อาจเป็นหญิงก็ได้ แต่ส่วนใหญ่จะเป็นชาย กรณีเป็นหญิงจะมีสามี หรือบุตรชายท�ำหน้าที่เป็นผู้ช่วยเหลือ มีเพียงคนเดียวในหมู่บ้าน แปตูป่า หรือผู้จุดเทียนบูชา เป็นผู้ท�ำหน้าที่แทนปู่จารเกือบทั้งหมด โดยได้รับ อนุญาตจากปู่จาร บุคคลผู้นี้เป็นผู้มีความรู้และความจ�ำเป็นเยี่ยมในบทสวดต่างๆ ที่ สามารถติดต่อกับเทพเจ้ากื่อซา บางครั้งก็ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ดูแล แซมื่อ โดยใน แต่ละหมู่บ้านจะมีผู้ท�ำหน้าที่นี้จ�ำนวน 1 - 2 คน บุคคลส�ำคัญต่อมาได้แก่ หมอผี (หนี่ตีซอ) ซึ่งเป็นผู้มีความรอบรู้ในถาถาอาคมที่ สามารถติดต่อกับภูตผีปีศาจต่างๆได้ บางครั้งก็สามารถท�ำนายโรคภัยไข้เจ็บได้อีกด้วย ในแต่ละหมูบ่ า้ นอาจจะมีผทู้ ำ� หน้าทีท่ งั้ หมดได้ (ส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดแม่ฮอ่ งสอน, 2551) 78 | ทริปนี้กี่ขุนเขา
ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE
การวางผังหมู่บ้าน
มูเซอเป็นพวกทีช่ อบอพยพเคลือ่ นย้ายหมูบ่ า้ นมากว่าชาวเขาเผ่าอืน่ สาเหตุประการ หนึง่ ก็คอื มูเซอมีธรรมเนียมว่าจะตัง้ หมูบ่ า้ นอยูท่ ใี่ ดทีห่ นึง่ ไม่เกิน 5 - 10 ปี หรือบางกลุม่ จะย้ายหมูบ่ า้ นทุกๆ 4 ปี ดังนัน้ จึงไม่สร้างบ้านอยูอ่ ย่างถาวร ปัจจุบนั แนวความคิดนีเ้ ปลีย่ น ไปบ้างแล้ว สาเหตุประการหนึง่ ก็คอื พวกนีม้ ลี กั ษณะทางสังคมทีผ่ กู พันกันอย่างหลวมๆ เป็นพวกทีไ่ ม่มแี ซ่สกุล แต่ละครัวเรือนมีอสิ ระทีจ่ ะแยกตัวออกไปจากหมูบ่ า้ นได้ทกุ เวลา ทริปนี้กี่ขุนเขา | 79
การก่อตั้งหมู่บ้าน หัวหน้าหมู่บ้านหรือผู้น�ำศาสนาเป็นผู้ พิจารณาคัดเลือกสถานที่โดยได้รับความเห็นชอบจากผู้น�ำคน อื่นๆ และเมื่อจะเริ่มก่อตั้งนัน้ จะต้องมีพิธีไหว้เจ้าที่เจ้าทางเพื่อ ขอขมาลาโทษและขออนุญาตเข้ามาหักร้างถางพงเพื่อก่อตั้ง หมู่บ้าน โดยจัดท�ำเป็นกระทงเล็กๆเสียบไว้บนปลายไม้ มีเทียน ขี้ผึ้ง และข้าวสารใส่ไว้ภายใน เรียกว่า “แปห่อต่า” จากนั้นทุก คนช่วยกันเตรียมพื้นที่โดยการตัด ถาง เผา เศษไม้ต่างๆ พร้อม กับปรับพื้นที่ให้เหมาะสม และจัดแบ่งพื้นที่เพื่อปลูกสร้างบ้าน แต่ละหลังคาเรือน ต่อมาต่างก็ช่วยกันจัดหาวัสดุต่าง เพื่อปลูก สร้างบ้าน มีไม้ ไม้ไผ่ หญ้าคาหรือใบก่อ และจัดสร้างยุง้ ข้าวคอก สัตว์เตรียมไว้เพือ่ ขนย้ายของตนเข้าไป บ้านหลังแรกทีต่ อ้ งปลูก สร้างก่อนบ้านหลังอืน่ ใดคือ บ้านผูน้ ำ� ศาสนา พร้อมกับลานเต้นร�ำ “จะคึกอื่ ” อันเป็นสถานทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิเ์ พือ่ การประกอบพิธกี รรมที่ ทุกคนต้องช่วยกันปลูกสร้างให้แล้วเสร็จภายในวันเดียว ต่อจาก นั้นต่างก็ปลูกสร้างบ้านของตนเองได้ เมื่อครบทุกหลังคาเรือน ผู้น�ำศาสนาจะต้องสร้างศาลผีประจ�ำหมู่บ้าน “แซมื่อ” อันเป็น สิง่ ศักดิส์ ทิ ธิท์ สี่ ำ� คัญอีกแห่งหนึง่ ทีค่ มุ้ ครองดูแลความเป็นอยูข่ อง สมาชิกทุกคนในหมู่บ้านให้อยู่กันอย่างสุขสบาย ตามความเชื่อ ของมูเซอ หมูบ่ า้ นมูเซอแดงจะมี “หอแหย่” หรือวัดมูเซอตัง้ อยู่ ทางเหนือของหมู่บ้าน การวางผังหมู่บ้าน สร้างรวมกันเป็นกระจุกกระจัดกระจาย ไม่เป็นระเบียบ ใน หมู่บ้านจะมีครกต�ำข้าวสร้างไว้หลายแห่งรอบหมู่บ้าน ยุ้งข้าวจะอยู่กระจัดกระจาย รอบหมู่บ้าน แหล่งน�้ำบริโภคเป็นปัญหาส�ำคัญ เนื่องจากมีแหล่งน�้ำเพียงแห่งเดียว เป็น ล�ำธารน�้ำอยู่ห่างไปทางทิศตะวันออกของหมู่บ้าน เป็นระยะทางประมาณ 2 กิโลเมตร ภายในหมู่บ้านมีศาลผี (หอแหย่) อยู่เหนือสุดของหมู่บ้าน ใช้เป็นสถานที่ประกอบพิธี กรมศักดิ์สิทธิ์ของชนเผ่า และมีลานจะคึส�ำหรับท�ำกิจกรรมในเทศกาลปีใหม 80 | ทริปนี้กี่ขุนเขา
ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE
รูปภาพ 6 บ้านเรือน ที่หมู่บ้านอุมยอม จ.ตาก ที่มา: คณะผู้ส�ำรวจวิจัย
รูปแบบสถาปัตยกรรม
ลักษณะบ้านเรือนของมูเซอ บ้านดั้งเดิมของชาวมูเซอจะสร้างด้วย วัสดุที่หาได้จากป่าใกล้ๆกับที่อยู่อาศัย เช่น ไม้ไผ่ส�ำหรับท�ำพื้นฟาก โครง หลังคาและฝาบ้าน โดยปกติชาวมูเซอในอดีตจะไม่โค่นต้นไม้ขนาดใหญ่มา แปรรูปสร้างบ้าน เนือ่ งจากถือว่าไม้ขนาดใหญ่มเี จ้าของซึง่ อาจท�ำอันตราย แก่เจ้าของบ้านได้ บ้านมูเซอ จะมีทั้งปลูกติดพื้นดิน และยกพื้นสูง บ้าน ที่ปลูกติดพื้นท�ำได้ด้วยการน�ำดินรอบๆบริเวณมาปรับระดับให้สูงขึ้นจาก พื้นดินเล็กน้อย และตัดไม้ขนาดเท่าโคนขามาท�ำเป็นเสา แล้วมุงด้วยหญ้า คา และใช้ไม้ไผ่มาท�ำฝาผนัง ส่วนอีกประเภทหนึ่งจะยกพื้นสูงประมาณ 1 เมตร ปูพื้นและกั้นฝาด้วยไม้ไผ่เช่นเดียวกัน ส่วนใต้ถุนบ้านก็ใช้เป็นสถาน ที่เก็บสิ่งของเครื่องใช้รวมทั้งสัตว์เลี้ยงต่างๆ เช่น ไก่ หมู ชาวมูเซอนิยมท�ำ ชานเรือนยืน่ ออกมาหน้าบ้านเพือ่ ใช้เป็นสถานทีพ่ กั ผ่อน และเป็นลานตาก ผลผลิตทางการเกษตร เช่น ข้าวเปลือก หรือพริก ทริปนี้กี่ขุนเขา | 81
รูปภาพ7 ผังบ้านมูเซอ หมู่บ้านอุมยอม จ.ตาก ที่มา: อภิญญา ผลสวัสดิ์
มูเซอมีระบบการแบ่งพื้นที่ใช้สอยในบ้านอย่างเป็นสัดส่วน ส่วนที่หนึง่ จะเป็นพื้นที่ ส�ำหรับก่อไฟ หุงหาอาหารและให้ความอบอุ่นในฤดูหนาว สมาชิกในครัวเรือนรวมทั้ง แขกผู้มาเยือน จะใช้พื้นที่ส่วนนี้เป็นที่รับประทานอาหาร และพูดคุยกันในยามค�่ำคืน ส่วนที่สองจะเป็นพื้นที่รอบๆครัวไฟซึ่งใช้เป็นที่แขวนเสื้อผ้าและเป็นสถานที่หลับนอน ของสมาชิกในครัวเรือน รวมทั้งแขกผู้มาเยือนได้ด้วย ส่วนที่สามจะถูกกั้นด้วยฟากไม้ไผ่ เพื่อใช้เป็นห้องนอน และสถานที่ประกอบพิธีกรรม บริเวณนี้ถือเป็นพื้นที่ส่วนตัวของ สมาชิกในครัวเรือน
82 | ทริปนี้กี่ขุนเขา
ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE
รูปตัด
รูปด้าน ทริปนี้กี่ขุนเขา | 83
84 | ทริปนี้กี่ขุนเขา
ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE
ตรอกบ้ า นจี น ถนน ตากสิน อำ�เภอ เมือง จังหวัด ตาก ลลิตา จรัสกร, ชมพูนุท คงพุนพิน, อภิญญา ผลสวัสดิ์
ตรอกบ้านจีน เป็นสถานที่สุดท้ายที่พวกเราแวะลง เดินเล่นถ่ายรูป และเดินหาของกินรองท้องก่อนทีจ่ ะต้อง ขึ้นรถตู้แล้วยิงยาวจนถึงเชียงใหม่.... การมาแวะ ตรอกบ้านจีนถือว่าเป็นการแวะลงเดิน เล่นถ่ายรูป และเดินหาของกินจริงๆ เพราะพวกเราก็ ท�ำได้แค่นั้น ไม่ได้สัมภาษณ์ หรือสเกตช์ บันทึกอะไรกัน อย่างพื้นที่อื่นๆ ที่เราไปลงกันมา ประกอบกับช่วงที่เรา ไป ถนนคนเดินทั้งเส้นของตรอกแห่งนี้ปิดเพื่อท�ำการ ปรับปรุงผิวหน้าถนน ที่ได้รับผลกระทบมาจากน�้ำท่วม ก่อนหน้า เมื่อรถเริ่มจอด ทุกคนก็งัวเงียๆจากการหลับ ยาวมาจากบ้านชาวเผ่า เราขยี้ตาแล้วมองผ่านหน้าต่าง รถทีภ่ ายนอกเงียบเหงา บ้านทุกหลังปิดหมด พร้อมนึกใน ใจว่า ...แวะท�ำไมวะ...จะหลับ!!! ...แต่ดว้ ยค�ำคุน้ หู...ไหนๆ ก็ มา แล้ว...วนเวียนอยู่ในหัว...ดังนั้นทันทีที่รถจอด ทุก คนก็คว้ากล้อง เดินดุม่ ๆเข้าตรอก...จากตรอกทีเ่ งียบเหงา มีชีวิตชีวาขึ้นทันได เพราะพวกเราเดินเล่นถ่ายรูป แกล้ง กันไปบ้าง สนุกสนานกันทีเดียว ทริปนี้กี่ขุนเขา | 85
หลังจากเดินไป ถ่ายรูปอาคารสองฝัง่ ถนนไปสักระยะ ก็เริม่ ซึมซับบรรยากาศ หลงใหล ในเสน่ห์ตรอกในช่วงยามเย็น มันช่างเพลิดเพลิน น่าเดินเล่นซะจริงๆ...เดินๆไปสักพัก ชักอยากจะรู้เรื่องราวของตรอกและอาคารที่สวยงามขนาบของข้างถนนบ้างซะแล้วสิ ขณะเราพยายามหาคนในท้องถิ่นหรือเจ้าของบ้าน ก็มีหญิงกลางคนตอนปลาย ทักทาย พวกเรา ซึง่ ทราบภายหลังว่า เธอเป็นถึงทายาทร้านยาดัง ทีป่ จั จุบนั ยังสืบต่อกิจการร้าน ยาจากคุณพ่อ และเป็นเจ้าของบ้านหลังงามอันเป็นที่ผสมยาและเปิดค้าขายในวันปกติ เธอได้เชิญพวกเราเข้าไปในบ้าน และต้อนรับพวกเราด้วยยาธาตุ ไปพร้อมๆกับบรรยาย สรรพคุณของยาทีเ่ ราพยายามกลืน...อึก!!! พร้อมทัง้ แนะน�ำให้ดตู ำ� รายาเก่า อุปกรณ์ปรุง ยา ฯลฯ จะว่าไปบ้านของเธอเป็นเสมือนพิพิธภัณฑ์ที่มีชีวิต โดยมีเธอเป็นผู้ให้ความรู้ และเราสามารถเรียนจากสิ่งรอบตัวอื่นๆได้อีกด้วยไม่เพียงแต่ในบ้านเธอ หากแต่อาคา รอืน่ ๆทีเ่ กาะอยูบ่ นถนนเส้นนี…้ พวกเราขอบคุณเธอและขอตัวเดินถ่ายรูปต่อจนสุดถนน ตรอกบ้านจีน (Trok Ban Chin) เป็นชุมชนโบราณริ มน�้ำปิง ตั้งอยู่บนถนน ตากสิน ต�ำบลเมืองระแหง อ�ำเภอ เมือง จังหวัด ตาก ในอดีตตรอกบ้านจีนนี้เป็นชุมชนชาว จีนและย่านการค้าทีร่ งุ่ เรืองมากมา ตัง้ แต่สมัยรัชกาล ที่ 4 ประวัติความเป็นมาของชุมชน
ประวัติความเป็นมาของชุมชนบ้านจีนตั้งแต่อดีต กว่า 100 ปี เป็นชุมชนการค้าที่รุ่งเรืองมากในอดีตตั้งแต่ สมัยที่น�้ำปิงยังไม่ถูกถมเพื่อขยายพื้นที่ บ้านจีนในอดีต ที่อยู่ริมแม่น�้ำ เคยเป็นย่านการค้าและเส้นทางล�ำเลียง สินค้า เครื่องอุปโภค บริโภค ที่ส่งมาจากปาก�้ำโพ จังหวัด นครสวรรค์เพื่อมาขึ้นที่บ้านจีน พ่อค้าส่วนใหญ่เป็นพวก ชาวจีนที่มาท�ำการค้า พื้นที่ในละแวกนี้จึงเรียกว่าตรอก บ้านจีน เนื่องจากเป็นพื้นที่ที่คนจีนมาท�ำการค้าทั้งที่เป็น พ่อค้า และแรงงาน พ่อค้าที่มีชื่อเสียงคือ จีนตัง เป็นคน จีนที่อพยพเข้ามาท�ำการค้าขายในกรุงเทพมหานคร ได้ 86 | ทริปนี้กี่ขุนเขา
ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE
ขยายกิจการกว้างขวางไปถึงเชียงใหม่และเมืองตาก โดยจีนเต็งได้เข้าเป็นหุน้ ส่วนท�ำการ ค้าขายกับพ่อค้าจีนอีกสองคนชื่อ จีนบุญเต็ง และ จีนทองอยู่ ซึ่งมาท�ำการค้าเมืองตาก ต่อมา จีนบุญเย็น ได้รับแต่งตั้งเป็น หลวงนราพิทักษ์ ปลัดฝ่ายจีนเมืองตาก หลังจาก นั้น ได้รับแต่งตั้งให้เป็น หลวงจิตจ�ำนงวานิช สังกัดกรมท่าซ้าย ส่วนจีนทองอยู่ ได้เป็น หลวงบริรักษ์ประชากรกรมการพิเศษเมืองตาก ใช้ยี่ห้อการค้าว่า กิมเซ่งหลี โดยห้างกิม เซ่งหลี ได้เข้ารับช่วงผูกขาดการจัดเก็บภาษีอากรที่เมืองเชียงใหม่และได้น�ำพวกคนจีน เข้ามาอยู่ในละแวกบ้านนี้ด้วย หลังจากนั้น จีนทองอยู่ได้แต่งงานกับหญิงชาวเมืองตาก ท�ำให้มกี ารสร้างบ้านเรือนและท�ำการค้าขายขยายวงขึน้ ภายในละแวก หมูบ่ า้ นนีจ้ งึ เป็น หมูบ่ า้ นลูกหลานชาวจีน ทีด่ ำ� เนินการค้าขาย ปลูกบ้าน ร้านค้า เริม่ มีถนนหนทางแต่เป็น เพียงทางเดินเท้า มีร้านค้าขายทุกอย่าง เช่น ขายเครื่องถ้วยชาม เสื้อผ้า หนังสือเรียน และเครื่องอัฐบริขารในการบวชพระ อย่างไรก็ตามตรอกบ้านจีนเริ่มซบเซาลงหลังจาก สงครามโลกครั้งที่สอง ปี 2484 โดยร้านค้าที่เคยเปิดอยู่ได้อพยพไปยู่ที่อื่น ชุมชนเริ่ม ซบเซา ตลอดจนค่านิยมของชุมชนที่เปลี่ยนจากการท�ำการค้าเป็นการสนับสนุนให้ลูก หลานเข้ารับราชการการส่งบุตรหลานเข้าเรียนกรุงเทพ ผู้คนย้ายออกบทบาทการค้า จึงลดถอยลง บ้านจีนจึงเหลือแต่บ้านเก่าๆ แต่ยังคงไว้ซึ่งการรักษาของสถาปัตยกรรม เดิมเอาไว้ค่อนข้างสมบูรณ ทริปนี้กี่ขุนเขา | 87
รูปวิถีชีวิตชาวตรอกบ้านจีน ที่มา http://www.facebook.com/photo.php?fbid=229426463794937&set=a.229426373794946.56927.144611382276446&type=3&theater
รูป ที่ตั้งตรอกบ้านจีน ที่มา map.google.com
ลักษณะทางภูมิศาสตร์
ด้วยท�ำเลที่ของตรอกบ้านจีนนั้นอยู่ติดแม่น�้ำปิง นับ เป็นทีต่ งั้ จุดยุทธศาสตร์การรบในอดีตและเป็นจุดเชือ่ มต่อ เส้นทางการค้าขึน้ เหนือ ซึง่ เป็นเส้นทางขนส่งในอดีต โดย เฉพาะใช้เป็นทีล่ ำ� เลียงขนส่งสินค้า เพือ่ การค้าขายภายใน เมืองตากและส่งขึ้นขายพื้นที่ทางเหนือของประเทศไทย ตั้งแต่ก่อนสมัยรัชกาลที่ 5 88 | ทริปนี้กี่ขุนเขา
ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE
ประชากร
ด้วยการเป็นพื้นที่ติดต่อทางการค้า ท�ำให้มีคนเข้า มาในพื้นที่อย่างหลากหลาย ทั้งคนเดิมในท้องที่ที่สืบเชื้อ สายมาจากพวกมอญ พวกพ่อค้าตะวันตก และพวกพ่อค้า ชาวจีน ซึ่งนับว่ามีมากที่สุดและมีบทบาทส�ำคัญทางด้าน เศรษฐกิจของย่านนี้ ซึง่ ในช่วงแรกประกอบอาชีพเกีย่ วกับ การค้า ตัง้ แต่เป็นเจ้าของธุรกิจไปจนถึงลูกจ้างขนสินค้า ใน ระยะหลังซึง่ เป็นลูกหลานได้มกี ารประกอบอาชีพเกีย่ วกับ ราชการ ทั้งนี้ เนื่องจาก ชาวจีนเหล่านี้ ให้ความส�ำคัญกับ การศึกษาของลูกหลาน ส่งผลให้ผทู้ เี่ ติบโตจากตรอกบ้าน จีนประสบความส�ำเร็จในชีวติ หน้าทีก่ ารงานเป็นใหญ่เป็น โต ทั้งภาคธุรกิจ ราชการและการเมือง ตั้งแต่ในอดีตจวบ จนปัจจุบัน
ทริปนี้กี่ขุนเขา | 89
90 | ทริปนี้กี่ขุนเขา
ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE
ลักษณะชุมชน
ชุมชนตรอกบ้านจีนมีเอกลักษณ์ทเี่ ป็นชุมชนสุขสงบ สามัคคี ถ้อยทีถ้อยอาศัยดั่งญาติมิตร เห็นได้จากการร่วม งานบุญประเพณีตา่ งๆ ชาวบ้านทุกบ้านรูจ้ กั กันหมดตัง้ แต่ หัวตรอกท้ายตรอก ภายในตรอกจึงมีความปลอดภัย ผูค้ น อยูใ่ นศีลธรรม มีวดั เป็นศูนย์รวมจิตใจของคนในชุมชนคือ วัดน�้ำหัก หรือวัดสีตลาราม ปัจจุบันตรอกบ้านจีน ก�ำลังอยู่ในขั้นตอนบ่มเพาะ ฟูมฟักเป็นโครงการอนุรกั ษ์และฟืน้ ฟูโดย ความร่วมมือจาก คนในชุมชน ภาครัฐและภาคเอกชน โดยเฉพาะ อาจารย์ปู รณ์ ขวัญสุวรรณ จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ในฐานะ หัวหน้าโครงการ และบริษัทสถาปนิก สุข จ�ำกัด ได้รวม กลุ่มตั้ง "ชมรมตรอกบ้านจีน" โดยมีคุณหญิง ทิพาพร สิต ปรีชา เป็นประธานชมรม เพื่อดูแลรักษา ฟื้นฟูซ่อมแซม สมบัติของปู่ย่าตายายให้กลับมามีชีวิตชีวา ร่วมกับกลุ่ม สถาปนิกและนักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ท�ำการ ส�ำรวจเก็บข้อมูลคุณค่าของสถาปัตยกรรมและองค์ประกอบ ทางประวัตศิ าสตร์ของชุมชน โดยมีจดุ มุง่ หมายให้ลกู หลาน ตรอกบ้านจีนได้รับรู้เรื่องราวของวิถีชีวิตความเป็นอยู่ใน อดีต จากค�ำบอกเล่าของคุณป้า คุณลุง มาตั้งแต่เด็กๆ ว่า ได้รบั ให้หมาะส�ำหรับเดินทางเทีย่ วชม สภาพบ้านเรือนโดย รอบ และวิถีชีวิตอันเรียบง่ายของชุมชน ปรับปรุงใหม่ทั้ง การบูรณะซ่อมแซมอาคารเก่า และปรับปรุงถนนทั้งเส้น
ทริปนี้กี่ขุนเขา | 91
รูปแบบสถาปัตยกรรม
บทบาททางสังคมเป็นตัวแปรทีส่ ำ� คัญต่อรูปแบบเรือน พักอาศัยในชุมชนตรอกบ้านจีน โดยแบ่งไปตามอาชีพ กิจการ ทัง้ คหบดี ชนชัน้ กลาง และชาวบ้านรับจ้างค้าขาย ทั่วไป เรือนไม้บั่ว และเรือนหมู่แบบภาคกลาง ซึ่งเป็นรูป แบบหลักของอาคารในตรอกบ้านจีน หากแต่มีการผสม ผสานรูปแบบอันเกิดจากการใช้งาน ที่สามารถพบเห็น ทั่วไป คือ เรือนพักอาศัยแบบขาสั้น มีลักษณะติดพื้นดิน ยกพื้นขึ้นเล็กน้อยเป็นชานนั่งหน้าบ้าน เรียงติดกันยาว ประมาณ 5 หลัง การมุงหลังคาบ้านชนกัน เกิดทางเดิน ในที่ร่ม ที่สามารถเดินถึงกันได้ตลอดทั้งตรอก
รูปเรือนขาสั้น
และยังคงหลงเหลือไว้ซึ่งสถาปัตยกรรมเก่าๆ ที่ ออกแบบโดยคนในท้องถิน่ ซึง่ หาดูได้ยาก เช่นลายฉลุของ ช่องเปิด ระเบียงประตู หน้าต่าง ประตูไม้โบราณ ก�ำแพง ไม้สมัยพระเจ้าตาก
92 | ทริปนี้กี่ขุนเขา
รูปเรือนค้าขายตรอกบ้านจีน
ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE
รูป ก�ำแพงไม้สมัยพระเจ้าตาก
รูป ประตูไม้โบราณ
ทริปนี้กี่ขุนเขา | 93
รูปเรือนหลวงบริรักษ์ประชากร
นอกจากนีย้ งั มีเรือนของเจ้านาย และเรือนพ่อค้าคหบดี ซึ่งมีฐานะทางการเงินดี มีหน้าตาในสังคม มีคนในโอวาท มาก ลักษณะเรือนจึงมีขนาดใหญ่ มีการตกแต่งสวยงาม นอกจากนี้ยังมีการผสมผสานรูปแบบที่เป็นที่นิยมในยุค นั้น เช่น ความร่วมสมัยแบบตะวันตกและจีน ซึ่งเป็นก ลุ่มชนชาติที่เข้ามาท�ำการค้าด้วยในยุคนั้น ยกตัวอย่าง เช่น บ้านใหญ่ เป็นเรือนทรงไทยผสมศิลปะจีน หน้าเรือน มีซุ้มประตูแบบจีน ท�ำบันไดลง 2 ทาง ตัวเรือนด้านหน้า เป็นเรือนแบบจีน ส่วนเรือนด้านหลังเป็นเรือนแบบไทย มุงหลังคาด้วยกระเบื้องดินเผา ตัวเรือนเป็นไม้สัก ทั้งนี้ เนื่องจากขุนอุดรพันธุ์ เป็นพ่อค้าไม้ จึงได้รับสัมปทานไม้ สัก จากบริษัทบอร์เนียวคัมปานี 94 | ทริปนี้กี่ขุนเขา
ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE
รูปเรือนคหบดี
เรือนคหบดี เป็นบ้านไม้ทรงขนมปังขิงทีม่ รี ปู แบบเรือน เป็นแบบตะวันตก ชาวบ้านตรอกบ้านจีนเรียกกัน บ้านสี ฟ้า บริเวณขอบของประตู หน้าต่าง และเชิงชาย ท�ำด้วย ไม้ฉลุ หลังคามุงด้วยกระเบื้องสีนิล ทาสีน�้ำมันทั้งภายใน และภายนอก ท�ำซุ้มประตูแบบจีน ในอดีตบ้านหลังนี้ใช้ เป็นสถานที่รับแขกบ้านแขกเมืองและเหล่าข้าราชการที่ เดินทาง มาติดต่อขึน้ และล่องระหว่างจังหวัดเชียงใหม่กบั กรุงเทพมหานครต่อมาภายหลังได้ใช้เป็นที่ตั้งส�ำนักงาน ของธนาคารนครหลวง สาขาแรกในจังหวัดตาก ปัจจุบัน บ้านหลังนี้เป็นที่พักอาศัยส่วนตัวของครอบครัวตระกูล โสภโณดร ทริปนี้กี่ขุนเขา | 95
96 | ทริปนี้กี่ขุนเขา
ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE
เอกสารอ้างอิง กรมศิลปากร ; สถาปัตยกรรมไต, บริษัทประชาชน จ�ำกัด, 2539 สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ; ไทใหญ่ ความเป็นใหญ่ในชาติพันธุ์, โครงการพิพิธภัณฑ์วัฒนธรรมและชาติพันธุ์ล้านนา,2551 ศูนย์ไทใหญ่ศึกษา วิทยาลัยชุมชนแม่ฮ่องสอน ; ถิ่นที่อยู่ปัจจุบันของชาวไทใหญ่ http://www.taiyai.org อมรรัตน์ ปานกล้า. ชาวไทยใหญ่ แม่ฮ่องสอนบนวิถีโลกไร้พรมแดน สยามอารยะ 4,45(พ.ย.2539)
เว็บไซท์อ้างอิง
www.taharn.net/awc52/tour/north/ref/tg.doc
ทริปนี้กี่ขุนเขา | 97
บันทึกการเดินทาง 750 Diary (11-12 สิงหาคม 2555)
เส้นทางบนถนนสายวัฒนธรรม “จุดเริ่มต้นที่เชียงใหม่จุดหมายคือประสบการณ์” จากเชียงใหม่เดินทางเข้าสู่แม่ฮ่องสอนกับแก๊งค์ น.ศ.ป.โท อาหารมื้อเที่ยงมื้อแรกของ เราเริ่มต้นที่นี่กับการต้อนรับทริปนี้ด้วยฝนแรกของฤดู สิ้นสุดวันนี้ที่ “บ้านเมืองปอน” หมู่บ้านไตหรือชาวไทยใหญ่ วิถีชีวิตที่เต็มเปี่ยมด้วยน�้ำใจ ความเรียบง่ายเป็นเสน่ห์ที่ หาสิ้นสุดไม่ได้ คืนแรกของที่นี่บ้านไตเก่าแก่ที่ท�ำเป็นเกสเฮ้าท์ คืนแรกของที่นี่นอนมุ้ง กลาง ...ขื่อ!!!! ก่อนนอนสวดมนต์ไหว้พระก่อนจะโน้มตัวลงนอนด้วยความเหนื่อยล้า ทางกาย เป็นค�่ำคืนที่แสนจะ(สั้น) ตื่นขึ้นมาอีกที ตี 5 !!! เพื่อนๆ ไปกันหมดแล้ว งัวเงีย ขึ้นมาด้วยใจหวั่นๆ เมื่อคืนเราฝันอะไร (วะ!!!) ..อ๋อ ....ฝันเห็นคนมายืนพูดด้วยบอก ว่าคิดอะไรอยู่ คิดเยอะอะไรนักหนา พลางนึกไปว่ามีคนมาตามด่าในฝันเลยแฮะ เอิ่ม ม ก็จริงนี่หว่า เมื่อคืนนอนใต้ขื่อแถมบนหัวนอนเป็นหิ้งพระแบบจัดเต็มอยู่กลางศีรษะ เลยก็อดคิดไม่ได้ว่าคืนนี้จะเกิดไรกับเราไม๊เนี่ย!! แต่พอตื่นก็มีคนมาถามจริงๆ ใครนอน ใต้ขื่อเมื่อคืนว่ะ??? เอาละเฮ่ยย ท�ำอะไรผิดว่ะ (ความเชื่อโบราณเค้าว่านอนใต้ขื่อจะ ท�ำให้เจ็บป่วย T^T ผ่าง!!!!!!!!!! ผ่าง!!!!!!!!!!ผ่าง!!!!!!!!!!) แต่วันนี้เป็นวันดี 12 สิงหา วันแม่ แห่งชาติ ตื่นสายแถมโดนตามด่าในฝัน โอเคเลย เริ่มต้นวันได้ดีมาก ล้างหน้าแปลงฟัน เดินตามเพือ่ นๆ ไปตลาดคนไตในหมูบ่ า้ นเดินออกจากเกสเฮ้าท์ไปไม่กกี่ า้ วก็ถงึ ละ(ตลาด เกือบวายยย ตื่นสายเกิ๊น!!!!!) แต่ชีวิตสะดวกสบายจัง ไม่ต้องเร่งรีบ ไม่ต้องขับรถไป ตลาด เดินนิดเดียวก็ได้กินแล้ว เช้ามืดของวันนี้ทุกคนก็เตรียมพร้อมซื้อของเข้าวัด เดิน มุ่งหน้าสู่วัดของหมู่บ้าน เอาหน่อยๆ ไหนๆ วันนี้ก็เป็นวันดีเดินตามชาวบ้านไปวัดดูงาน สถาปัตยกรรมซะหน่อย ระหว่างทางเจอชาวบ้านก�ำลังเดินไปวัด แต่งตัวท้องถิ่นเดิมใส่ หมวกด้วยเป็นชุดใกล้เคียงกับชุดไทยสมัย ร.5 น่ารักเรียบร้อยจริงๆ เดินไปถึงวัดก็เป็น อย่างที่คาดไว้ สถาปัตยกรรมของวัดแบ่งเป็นตอนๆ ยกใต้ถุน ข้างในกว้างเปิดช่องเปิด หน้าต่างทีแ่ สงส่องเข้ามา ให้ความรูส้ กึ สงบมาก สายๆก็กลับมานัง่ ทางข้าวต้มให้อนุ่ และ อิ่มท้อง ก่อนจะเดินลงพื้นที่เก็บข้อมูล แล้วก็โบกมือลาชาวบ้านเมืองปอนแล้วขึ้นไปจุด ชมวิวสูงสุดของหมู่บ้าน เอ้าลงๆๆ เสียงอาจารย์ไล่ น.ศ. ลงรถตู้ (กล้องคล้องคอแทบ 98 | ทริปนี้กี่ขุนเขา
ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE
ไม่ทัน) แชะ!! แชะ!! แชะ!! แชะ!! ปีนขอบถนนทางโค้งบนเขา(สูงประมาณ 1 เมตร) ขา สั่น พรั่กๆๆ ณ จุดนี้ สวมวิญญาณอาร์ตตัวแม่กันทุกคน!!! มุมใครมุมมัน ใครสูงย่อมได้ เปรียบ ใครตกขอบถนนทางโค้งก็ซวยละ ไม่มีใครแคร์ใครเลย ทุกคนตื่นตากับภาพจาก เลนส์กล้องของตัวเองทุกคน เป็นภาพทีส่ วยงามมาก ประเด็นทีไ่ ด้จากการขึน้ มาดูววิ มุม นี้คือเห็นการวางผังหมู่บ้านที่เป็นลักษณะ บ้าน นา วัด ชัดเจน ออกเดินทางต่อ แล้วสู่ จุดหมายต่อไปเขตชายแดนพม่า จ.ตาก 750 Diary (13-14 สิงหาคม 2555)
เช้าวันนี้ออกเดินทางจากชายแดน ไปสู่จุดหมาย “น�้ำตกทีลอซู” ออกเดินผ่านเส้น ทางอันตราย ถนนขาด ดินถล่ม น�ำ้ แรง ฝนแรกของฤดูกย็ งั ปรอยปรายไม่หยุดประดุจดัง่ รอการมาของพวกเรา ทางเส้นนี้พวกเราได้เดินทางผ่านหมู่บ้านกะเหรี่ยง ที่แวะเข้ามา อย่างไม่ได้ตั้งใจ สุดท้ายก็ลงเอยด้วยการลงพื้นที่หมู่บ้านที่อยู่นอกเหนือแผน ด้วยความ ทรหดของหมู่บ้านนี้มันท�ำให้ทริปนี้มีสีสันมาก ฝนตก ถนนลื่น รองเท้าใครไม่มีดอกยาง ก็ไม่รอด!!!! เอาวะลงก็ลง ฝนก็ตก ปวดฉี่ก็ปวด วิญญาณอาร์ตตัวแม่ก็ยังไม่ออกจากร่าง เอาวะ!!! สะพายกล้องเดินลงรถตู้ อันดับแรกหาที่ระบายอารมณ์ก่อน เดินหาห้องน�้ำสัก ทีดีๆ เดินอย่างระวังสุดตัว (กลัวคนรู้ว่าฉี่จะแตก!!!) เดินดูสถาปัตยกรรมบ้านกะเหรี่ยง จนเพลิน มีแต่หมูป่า และต้นไม้ ต้นไม้ ต้นไม้ หันหลังกลับมา อ้าวปวดฉี่!! หันไปเห็น อาจารย์นั่งสัมภาษณ์อยู่บ้านหนึ่งหลัง ดูดี น่าจะมีห้องน�้ำดีๆ (เดินไปอมยิ้มไป คริ คริ เสร็จๆ) ขึ้นไปบนบ้านกะเหรี่ยงนั่งและกล่าว ว ว ..สัมภาษณ์ ได้สักพักก่อนจะกลับก็ใช้ ถ้อยค�ำทีอ่ อ่ นนุม่ ให้เด็กน้อยกะเหรีย่ ง(พูดไทยได้)ว่า “มีหอ้ งน�ำ้ ไม๊ ?” ด้วยมือของเด็กน้อย ที่ชี้ไปทางซ้ายมืออย่างสุดแขน ....เฮ้ย ย ย นั่นมันเล้าหมู่ป่าน่ะค่ะ! น้องก็ตอบว่า ต้อง เดินไปข้างหลัง.. อ่อๆ โอเคไม่เป็นไร ยังไม่ทันได้ตัดสินใจ พ่อน้องที่เป็นกะเหรี่ยง(พูด ไทยไม่ได้) เห็นน้องชี้ปทางห้องน�้ำก็ยกถังขึ้นมาหนึ่งใบก่อนจะยื่นให้ ห๊ะ!! อะไรอะ? อ่อ สงสัยจะให้ตักน�้ำไปด้วย งั้นก็ไม่เกรงใจละ เจ้าบ้านใจดีขนาดนี้ เดินถือถังน�้ำที่บรรจุน�้ำ ไปด้วยไปอย่างทุลักทุเล (อย่าลืมว่าฝนตก! สะพายกล้องราคาหลายหมื่นไปด้วย!!!) แต่ ทริปนี้กี่ขุนเขา | 99
ด้วยความพยายามสูงก็น�ำพาเรามาถึงหน้าเล้าหมู ...”ไหนว่ะ?” ห้องน�้ำมีไหน น น น น มีแต่แม่หมูกบั ลูกหมูทถี่ กู ล่ามไว้ ก�ำลังตืน่ เต้นทีไ่ ด้เจอหน้ากับเราครัง้ แรก!! บร๊ะเจ้า เอา ไงดี? หันหลังกลับไปหาเจ้าของบ้าน โอ้โห!!!!!!!!!!!!!!!! สามพ่อแม่ลูก นั่งหัวเราะอยู่ชาน บ้าน หน้าตายิ้มแย้ม มีความสุขมาก ครอบครัวกะเหรี่ยงสุขสันต์!!!!!!!!!! ฮื่ม... เดินต่อไป ก็ได้ ถอยหลังก็ยอมแพ้สินะสิ อ่อ เจอแล้ว ห้องน�้ำ แต่ว่า.... สัดส่วน .... มันแปลกๆ สูง ประมาณ 1.5 เมตร ดูๆ แล้วมันเหมือนที่เก็บฟืนมากๆ แต่นั่นแหละ มาแล้ว กลับไปโดน หัวเราะจากครอบครัวกะเหรี่ยงสุขสันต์!!!!!!!!!! แน่ ประตูแบบออโต้ไม่ติด เปิดค้างอย่าง เดียว ปิดไม่ได้... คิดในใจสวรรค์ละ ๆ อะไรก็ยอม นัง่ ลงด้วยใจเบาๆ พร้อมปลดปล่อย แล้วเงยหน้ามอง ฮะ ฮะ ฮะ เฮ้ยย open view! ตายห่า! ละ ครอบครัวหมู่ป่าสุขสันต์ จ้องดูอยู่ ประดุจดั่งเห็น เราเป็นวิวดีของมันเช่นกัน (อืมมม จะไม่กินหมู่ป่าตลอดชีวิต!) ดีไซน์
Trip 750 11-14 Aug 2012
ท ิป 750 ขอตั้งชื่อให้ทิปนี้ว่า “โส(ห)ด มันส์ ฮา” เรื่องราวของคนโส(ห)ดๆ มันจะ มันส์และฮาอย่างไร ลุย! วันแรกของการเดินทางเราออกจากฝายหินตอนเช้า นัง่ รถตูก้ นั ไป 14 คนพร้อมคนขับ มุง่ หน้าขึน้ เหนือไปจังหวัดแม่ฮอ่ งสอน เพือ่ ไปทีบ่ า้ นเมืองปอน ไป ถึงก็เป็นเวลาบ่ายแก่ๆแล้ว เราก็แวะไปทีโ่ ฮมสเตย์ทอี่ าจารย์ได้จองไว้กอ่ นหน้า บ้านทีน่ ี้ เป็นแบบไทใหญ่ บ้านน่ารักมาก มีspaceที่น่าสนใจ พวกเราก็เก็บสัมภาระไว้ที่นี้เพราะ คืนนี้เราจะค้างกันที่บ้านหลังนี้ หลังจากนั้นก็ออกเดินทางไปดูวัดบ้านต่อแพ เป็นวัดไท ใหญ่ที่ได้รับอิทธิพลจากพม่า วัดแห่งนี้มีจุดชมวิวเป็นทุ่งนาเขียวขจีอยู่ข้างๆวัด พวกเรา ตืน่ เต้นกันใหญ่ตา่ งยกกล้องขึน้ มากดชัตเตอร์กนั มือระวิง และก็ได้เดินส�ำรวจหมูบ่ า้ นไท ใหญ่ใกล้ๆวัด หลังจากส�ำรวจเสร็จ ก็เดินทางกลับไปยังที่พัก แวะซื้อไส้อั่วตรงทางเข้า 100| ทริปนี้กี่ขุนเขา
ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE
ที่พักกันคนละไม้สองไม้ กินกันอย่างเอร็ดอร่อย พอไปถึงที่พักเจ้าของบ้านก็จัดส�ำรับ ขันโตก เป็นอาหารมื้อเย็นที่อิ่มและเปรมมาก หลังจากกินข้าวเย็นกันเสร็จ ก็ได้เวลา พักผ่อนหลังจากที่เดินทางกันมาทั้งวัน แต่ก่อนนอนพวกเราบางคนมีกิจกรรมที่ขาดไม่ ได้นั้นคือเล่น “สลาฟ” กันสักตาสองตา ถึงจะได้นอน สนุกสนานกันไปส�ำหรับวันแรก เช้าตรู่ของวันที่สอง พวกเราตื่นกันแต่เช้า เพื่อไปเดินตลาดที่อยู่ใกล้กับที่พัก เป็น ตลาดเล็กๆมีขายพวกข้าว ปลา อาหาร พวกคุณป้าคุณลุงก็ตื่นกันแต่เช้ามาหาซื้อของ คนที่นี้ใส่งอบกันทุกคน เห็นแล้วก็ดูเป็นเอกลักษณ์ของคนไทใหญ่ ฉันและเพื่อนๆก็ได้ ซือ้ ของเพือ่ ไปถวายพระทีว่ ดั เพราะเหมือนกับวันนีจ้ ะเป็นวันส�ำคัญทางทางศาสนา หลัง จากท�ำบุญกันเสร็จก็กลับมาเติมพลังด้วยข้าวต้มกับไข่ลวก เด็ดมาก! เสร็จแล้วพวกเรา ก็ประชุมกันเพือ่ ออกไปเก็บข้อมูลหมูบ่ า้ น หลังจากแบ่งหน้าทีก่ นั เสร็จ ก็แยกย้ายกันไป ท�ำงานเก็บข้อมูลกัน เมือ่ เก็บข้อมูลกันเสร็จเรียบร้อย ก็กลับมาเก็บส�ำภาระร�ำ่ ลาเจ้าของ บ้าน แล้วได้เวลาออกเดินทางต่อ หมู่บ้านต่อไปที่เราแวะเป็นหมู่บ้านแม่จวาง เป็นชาว ปากากะญอ หมู่บ้านเล็กๆไม่ใหญ่มาก เรามาพร้อมกับสายฝนพร�่ำๆ ท�ำให้พื้นแฉะและ ลื่นมาก และที่ส�ำคัญปวดปัสสาวะสุดเพราะกั้นมาหลายโค้งแล้ว จึงเดินหาห้องน�้ำ แต่ มันไม่มี เหลือแค่บา้ นทีเ่ ราไปสัมภาษณ์กข็ อเจ้าของบ้านเข้าห้องน�ำ้ ห้องน�ำ้ ทีน่ เี้ ด็ดมาก ห่างจากตัวบ้านไปเล็กน้อย เป็นเพิงหลังน้อยๆ มีสว้ มแบบนัง่ ยอง และอยูใ่ กล้กบั เล้าหมู ไม่มีประตูจ้า เป็นประสบการณ์เข้าห้องน�้ำที่แอบตื่นเต้นเล็กๆ แต่มันก็สนุกไปอีกแบบ ได้รสชาดของการลงภาคสนามอยูน่ ะ่ หลังจากนัน้ ก็เดินทางต่อ มุง่ หน้าสูอ่ ำ� เภอแม่สอด จังหวดตาก ได้แวะดูศูนย์อพพยแม่หละ เป็นศูนย์อพยพที่ใหญ่ที่สุด เห็นแล้วก็ต้องร้อง ว่า OMG พวกเราก็ถ่ายรูปเก็บบรรยากาศอยู่ภายนอก เพราะไม่สามารถเข้าไปข้างใน ได้ และเดินทางต่อ แวะข้างคืนที่โรงแรมที่แม่สอดหนึ่งคืน เช้าวันที่สาม ตื่นเช้าล้างหน้าแปรงฟัน แวะกินข้าวแล้วไปช็อปปิ้งกันที่ตลาดริม เมย เป็นตลาดที่อยู่ติดชายแดนพม่า ตอนที่ไปถึงร้านค้ายังเปิดกันไม่หมด ได้เดินแป๊บ เดียวก็ขึ้นรถมุ่งหน้าสู่อ�ำเภออุ้มผาง เป็นเส้นทางที่ทรหดไม่แพ้เส้นทางไปแม่ฮ่องสอน และพิเศษกว่าเพราะเป็นเส้นทางลอยฟ้า ที่ได้ชื่อว่าเส้นทางลอยฟ้าเพราะถนนอยู่ติด
ทริปนี้กี่ขุนเขา 101 |
กับหน้าผาเรยค๊า ถ้าขับไม่ช�ำนาญก็อาจลอยร่วงตกหน้าผาไปเลยค๊า พวกเราก็สามารถ มาถึงทีพ่ ักได้อย่างปลอดภัย เป็นบ้านพักหลังใหญ่สองชัน้ ผู้ชายกับอาจารย์นอนชั้นล่าง ส่วนสาวๆนอนชัน้ บน พวกเราเก็บของกันเรียบร้อย เดินทางไปชมวิวกันทีด่ อยหัวหมดซึง่ อยู่ไม่ไกลมากจากที่พัก และได้แวะพักกินข้าวเย็นกันที่ร้านผัดไทยหอยทอด ร้านเล็กๆ แต่อร่อยเหาะ หลังจากกินกันเสร็จก็เดินทางกลับมายังทีพ่ กั เป็นคืนสุดท้ายทีพ่ วกเราจะ ได้อยูด่ ว้ ยกัน กลางคืนมีปาร์ตเี้ ล่นไพ่กนั สนุกสนานมาก เป็นความประทับใจทีเ่ มือ่ นึกถึง ก็ยิ้มและหัวเราะขึ้นมาได้เสมอๆ วันสุดท้ายของทิปนี้ พวกเราเดินทางออกจากที่พักที่อุ้มผาง เพื่อเดินทางกลับ เชียงใหม่ ก็มีแวะเก็บข้อมูลในบางหมู่บ้านที่เป็นทางผ่าน เช่นหมู่บ้านเดอลอคี ศูนย์ อพยพอุ้มเปี้ยม หมู่บ้านอูมยอม และมุ่งหน้าสู่บ้านตรอกจีนเป็นที่สุดท้าย ก่อนเดินทาง กลับถึงเชียงใหม่ โดยสวัสดิภาพ ทิปครั้งนี้เป็นครั้งแรกของฉัน ที่ได้เปิดโลกทัศน์ในการศึกษาสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น ท�ำให้เห็นสถาปัตยกรรมที่ไม่มีอยู่ในเมืองใหญ่ เห็นภูมิทัศน์ที่แวดล้อมไปด้วยธรรมชาติ อันงดงาม เห็นวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของคนที่เราเรียกว่า”ชาวเขา” และที่ส�ำคัญเห็น มิตรภาพและน�้ำใสใจจริงที่ได้รับจากเพื่อนร่วมเดินทางและผู้คนระหว่างทาง ประทับ ใจเป็นที่สุด^^ เทย่า
102| ทริปนี้กี่ขุนเขา
ARCT801750 THEORY AND PHILOSOPHY IN VERNACULAR ARCHITECTURE
วราวุธ ธิจินะ ชมพูนุช ชมพูรัตน์ ประกิต วงศ์เมือง เขมินทรา อุปกุล อุฬาร ปัญจะเรือง อณิชา กระจ่างแจ่ม อดิเทพ พัฒนศุภสุนทร ลลิตา จรัสกร ชมพูนุท คงพุนพิน อภิญญา ผลสวัทริสปดินี้ก์ ี่ขุนเขา 103 |
104| ทริปนี้กี่ขุนเขา