บทที่ 3 หลักการบันทึกบัญชี

Page 1

บทที่ 3 หลักการบันทึกบัญชี จากที่กล่าวมาแล้วในบทที่ 1 เกี่ยวกับกระบวนการบัญชี ซึ่งประกอบด้วย การจดบันทึก การจัดประเภทรายการ การสรุปผล และการแปลความหมาย โดยขั้นตอนสุดท้ายของการบันทึกบัญชี คือ งบการเงิน ซึ่งได้กล่าวโดยละเอียดแล้วในบทที่ 2 สาหรับบทที่ 3 และบทที่ 4 จะอธิบายถึงขั้นตอน ของการบันทึกบัญชีตามหลักการบันทึกบัญชี ที่เรียกว่า ระบบบัญชีคู่ (Double – Entry System) และท าการบั น ทึ ก บั ญ ชี ตั้ ง แต่ เ ริ่ ม ต้ น จนกระทั่ ง สรุ ป ผลออกมาเป็ น งบการเงิ น เรี ย กว่ า วงจร ทางการบัญชี (Accounting Cycle) ซึ่งมีขั้นตอนเริ่ม ตั้งแต่การวิเคราะห์ รายการค้า การบันทึก ในสมุ ด ขั้ น ต้ น การผ่ า นรายการไปยั ง บั ญ ชี แ ยกประเภททั่ ว ไป การจั ด ท างบทดลอง การบั น ทึ ก รายการปรั บ ปรุ ง การจั ด ท างบทดลองหลั ง ปรั บ ปรุ ง การจั ด ท ากระดาษท าการ และการจั ด ท า งบการเงิน

วงจรทางการบัญชี วงจรทางการบั ญชี (Accounting Cycle) เป็นล าดับขั้นตอนของการบันทึกบัญ ชี ที่เ ริ่ ม ตั้ง แต่ การวิ เคราะห์ ร ายการ และการบั น ทึก รายการบัญ ชีที่ เกิ ดขึ้ น จนกระทั่ ง ถึ งการจัด ท า งบการเงินของรอบระยะเวลาบัญชีห นึ่ง ๆ ซึ่งมีลาดับขั้นตอน ดังภาพที่ 3.1 ในบทนี้ จะกล่าวถึง ขั้นตอนที่ 1 ถึงขั้นตอนที่ 4 เท่านั้น ส่วนขั้นตอนที่เหลือจะอธิบาย ในบทถัดไป


66

1. วิเคราะห์รายการค้า 2. บันทึกรายการในสมุดขั้นต้น 3. ผ่านรายการไปบัญชีแยกประเภททั่วไป 4. จัดทางบทดลองก่อนปรับปรุง 5. บันทึกรายการปรับปรุง 6. จัดทางบทดลองหลังปรับปรุง 7. บันทึกรายการปิดบัญชี 8. จัดทากระดาษทาการ 9. จัดทางบการเงิน 10. เปิดบัญชี 11. กลับรายการปรับปรุง ภาพที่ 3.1 วงจรทางการบัญชี


67

รายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า ในการดาเนินธุรกิจจะมีกิจกรรมเกิดขึ้นเป็นจานวนมาก มีทั้งกิจกรรมที่เป็นรายการค้า และกิจกรรมที่ไม่ใช่รายการค้า เช่น การซื้อสินค้ามาขาย การจ้างพนักงาน การรับคาสั่งซื้อจากลูกค้า การต่อรองราคา การส่งสินค้าให้ลูกค้า การจ่ายค่าใช้จ่าย เป็นต้น กิจการจะต้องวิเคราะห์เหตุการณ์ ที่เกิดขึ้นว่าเป็นรายการค้าหรือไม่ และเลือกเฉพาะเหตุการณ์ที่เป็นรายการค้าเท่านั้นมาบันทึกบัญชี ข้อมูลที่ไม่ใช่รายการค้าจะไม่นามาบันทึกบั ญชี อย่างไรก็ตาม กิจกรรมที่ไม่ใช่รายการค้าอาจนาไปสู่ การเกิดรายการค้าได้ในเวลาต่อมา เช่น การจ้างพนักงานทาให้ ต้องจ่ายเงินเดือนในวันสิ้ นเดือน การต่อรองราคากับลูกค้านาไปสู่การตกลงซื้อขายและการส่งสินค้าให้ลูกค้าในที่สุด รายการค้า (Business Transactions) หมายถึง เหตุการณ์เชิงเศรษฐกิจของธุรกิจ ที่ถูกบันทึกโดยผู้ทาบัญชี เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้ว และส่งผลกระทบต่อองค์ประกอบของสมการ บัญชี ทาให้สินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของเจ้าของเปลี่ยนแปลงไป ทั้งในทางทีเ่ พิ่มขึ้นหรือลดลง ตัวอย่างของกิจกรรมที่เป็นรายการค้า เช่น - การลงทุนของเจ้าของ - การขายสินค้าหรือบริการเป็นเงินสด - การซื้อสินทรัพย์เป็นเงินเชื่อ - การให้บริการและส่งบิลเรียกเก็บเงินจากลูกค้า - การจ่ายค่าใช้จ่าย - การรับชาระหนี้หรือการจ่ายชาระหนี้ การวิเคราะห์รายการค้า (Transaction Analysis) เป็นการพิจารณาว่ารายการค้า ที่ เ กิ ด ขึ้ น ส่ ง ผลกระทบต่ อ สมการบั ญ ชี ใ ห้ เ ปลี่ ย นแปลงไปอย่ า งไร มี บั ญ ชี ใ ดบ้ า งที่ เ พิ่ ม ขึ้ น หรื อบั ญชีใ ดบ้ างที่ล ดลง รายการค้ าแต่ ล ะรายการจะกระทบต่อ สมการบัญ ชี อย่างน้ อย 2 บัญ ชี แต่ก ารเปลี่ ย นแปลงดั งกล่ า ว ยั งคงท าให้ ส มการบัญ ชีมี ความสมดุ ล อยู่เ สมอ กล่ าวคือ สิ นทรัพ ย์ ยังคงเท่ากับหนี้สินบวกส่วนของเจ้าของ สินทรัพย์ = หนี้สิน + ส่วนของเจ้าของ หรือ สินทรัพย์ = หนี้สิน + ส่วนของเจ้าของ + (รายได้ – ค่าใช้จ่าย) ตัวอย่างที่ 3.1 นายประหยั ด ต้ อ งการเปิ ด กิ จ การซ่ อ มรถยนต์ จึ ง ไปจดทะเบี ย นเพื่ อ จั ด ตั้ ง บริษัท ประหยัดยานยนต์ จากัด มีรายการค้าเกิดขึ้น ดังนี้


68

รายการค้าที่ 1 เมื่อวันที่ 5 ธ.ค. ได้รับเงินสดจากการออกจาหน่ายหุ้นสามัญ จานวน 20,000 บาท วิเคราะห์รายการค้า : ได้รับเงินสดจากการออกจาหน่ายหุ้นสามัญ 20,000 บาท มีผลทาให้ 1. กิจการมีเงินสดเพิ่มขึ้น 20,000 บาท ซึ่งทาให้สินทรัพย์เพิ่มขึ้น 2. กิจการมีหุ้นสามัญเพิ่มขึ้น 20,000 บาท ซึ่งทาให้ส่วนของผู้ถือหุ้นเพิ่มขึ้น สินทรัพย์ เงินสด + 20,000 รวม 20,000

= = = =

หนี้สิน

+ ส่วนของผู้ถือหุน้ หุ้นสามัญ + 20,000 รวม 20,000

รายการค้าที่ 2 วันที่ 6 ธ.ค. ซื้อวัสดุในการซ่อมรถ จานวน 1,200 บาท วิเคราะห์รายการค้า : การซื้อวัสดุในการซ่อมรถ 1,200 บาท มีผลทาให้ 1. กิจการมีเงินสดลดลง 1,200 บาท ซึ่งทาให้สินทรัพย์ลดลง 2. กิจ การมีวัส ดุในการซ่อมรถเพิ่มขึ้น 1,200 บาท ซึ่งทาให้สิ นทรัพย์ เพิ่มขึ้น เงินสด 20,000 - 1,200 18,800

สินทรัพย์ วัสดุในการซ่อมรถ + 1,200 1,200 รวม 20,000

= = = = = =

หนี้สิน

+ ส่วนของผู้ถือหุน้ หุ้นสามัญ 20,000 20,000 รวม 20,000

รายการค้าที่ 3 วันที่ 9 ธ.ค. ให้บริการซ่อมรถแก่ลูกค้าได้รับเงินสด จานวน 7,500 บาท วิเคราะห์รายการค้า : ให้บริการซ่อมรถได้รับเงินสด 7,500 บาท มีผลทาให้ 1. กิจการมีเงินสดเพิ่มขึ้น 7,500 บาท ซึ่งทาให้สินทรัพย์เพิ่มขึ้น 2. กิจการมีรายได้จากการให้บริการ (รายได้) เพิ่มขึ้น 7,500 บาท ซึ่งทาให้ กาไรสะสมเพิ่มขึ้น (ส่วนของผู้ถือหุ้นเพิ่มขึ้น) สินทรัพย์ เงินสด วัสดุในการซ่อมรถ 18,800 1,200 + 7,500 26,300 1,200 รวม 27,500

= = = = = =

หนี้สิน

+ ส่วนของผู้ถือหุน้ หุ้นสามัญ กาไรสะสม 20,000 + 7,500 20,000 7,500 รวม 27,500


69

รายการค้าที่ 4 วันที่ 12 ธ.ค. ซื้ออุปกรณ์สานักงาน จานวน 3,000 บาท แต่ยังไม่ได้ชาระเงิน วิเคราะห์รายการค้า : ซื้ออุปกรณ์สานักงาน 3,000 บาท ยังไม่ได้ชาระเงิน มีผลทาให้ 1. กิจการมีอุปกรณ์สานักงานเพิ่มขึ้น 3,000 บาท ซึ่งทาให้สินทรัพย์เพิ่มขึ้น 2. กิจการมีเจ้าหนี้เพิ่มขึ้น 3,000 บาท ซึ่งทาให้หนี้สินเพิ่มขึ้น

เงินสด 26,300 26,300

สินทรัพย์ วัสดุ ในการซ่อมรถ 1,200 1,200 รวม 30,500

=

หนี้สิน

อุปกรณ์ สานักงาน

=

เจ้าหนี้

+ 3,000 3,000

= = = =

+ 3,000 3,000

+ ส่วนของผู้ถือหุน้ หุ้นสามัญ

กาไรสะสม

20,000

7,500

20,000 รวม 30,500

7,500

รายการค้าที่ 5 วันที่ 17 ธ.ค. ให้บริการซ่อมรถแก่ลูกค้า ส่งบิลเรียกเก็บ จานวน 2,500 บาท แต่ยังไม่ได้รับชาระเงิน วิเคราะห์รายการค้า : ให้บริการซ่อมรถ 2,500 บาท แต่ยังไม่ได้รับชาระเงิน มีผลทาให้ 1. กิจการมีลูกหนี้เพิ่มขึ้น 2,500 บาท ซึ่งทาให้สินทรัพย์เพิ่มขึ้น 2. กิจการมีรายได้จากการให้บริการ (รายได้) เพิ่มขึ้น 2,500 บาท ซึ่งทาให้ กาไรสะสมเพิ่มขึ้น (ส่วนของผู้ถือหุ้นเพิ่มขึ้น)

เงินสด 26,300 26,300

สินทรัพย์ วัสดุ ลูกหนี้ ในการซ่อมรถ 1,200 + 2,500 2,500 1,200 รวม 33,000

อุปกรณ์ สานักงาน 3,000 3,000

=

หนี้สิน

+ ส่วนของผู้ถือหุน้

=

เจ้าหนี้

หุ้นสามัญ

กาไรสะสม

= = = =

3,000

20,000

3,000

20,000 รวม 33,000

7,500 + 2,500 10,000

รายการค้าที่ 6 วันที่ 20 ธ.ค. ชาระหนี้ค่าอุปกรณ์สานักงานที่ซื้อเมื่อ 12 ธ.ค. ครึ่งหนึ่ง วิเคราะห์รายการค้า : จ่ายชาระหนี้ค่าอุปกรณ์สานักงาน 1,500 บาท มีผลทาให้ 1. กิจการมีเจ้าหนี้ลดลง 1,500 บาท ซึ่งทาให้หนี้สินลดลง 2. กิจการมีเงินสดลดลง 1,500 บาท ซึ่งทาให้สินทรัพย์ลดลง


70

เงินสด 26,300 - 1,500 24,800

สินทรัพย์ วัสดุในการ ลูกหนี้ ซ่อมรถ 2,500 1,200 2,500 1,200 รวม 31,500

อุปกรณ์ สานักงาน 3,000 3,000

=

หนี้สิน

+ ส่วนของผู้ถือหุน้

=

เจ้าหนี้

หุ้นสามัญ

กาไรสะสม

= = = =

3,000 - 1,500 1,500

20,000

10,000

20,000 รวม 31,500

10,000

รายการค้าที่ 7 วันที่ 25 ธ.ค. จ่ายค่าสาธารณูปโภค จานวน 5,200 บาท วิเคราะห์รายการค้า : จ่ายค่าสาธารณูปโภค 5,200 บาท มีผลทาให้ 1. กิจการมีค่าสาธารณูปโภค (ค่าใช้จ่าย) เพิ่มขึ้น 5,200 บาท ซึ่งทาให้ กาไรสะสมลดลง (ส่วนของผู้ถือหุ้นลดลง) 2. กิจการมีเงินสดลดลง 5,200 บาท ซึ่งทาให้สินทรัพย์ลดลง

เงินสด 24,800 - 5,200 19,600

สินทรัพย์ วัสดุ ลูกหนี้ ในการซ่อมรถ 2,500 1,200 2,500

1,200 รวม 26,300

อุปกรณ์ สานักงาน 3,000 3,000

=

หนี้สิน

+ ส่วนของผู้ถือหุน้

=

เจ้าหนี้

หุ้นสามัญ

กาไรสะสม

= = = =

1,500

20,000

1,500

20,000 รวม 26,300

10,000 - 5,200 4,800

รายการค้าที่ 8 วันที่ 26 ธ.ค. รับชาระหนี้ค่าซ่อมรถจากลูกค้าที่ให้บริการไปเมื่อ 17 ธ.ค. ทั้งจานวน วิเคราะห์รายการค้า : รับชาระหนี้ค่าซ่อมรถจากลูกค้า 2,500 บาท มีผลทาให้ 1. กิจการมีลูกหนี้ลดลง 2,500 บาท ซึ่งทาให้สินทรัพย์ลดลง 2. กิจการมีเงินสดเพิ่มขึ้น 2,500 บาท ซึ่งทาให้สินทรัพย์เพิ่มขึ้น

เงินสด 19,600 +2,500 22,100

สินทรัพย์ วัสดุ ลูกหนี้ ในการซ่อมรถ 2,500 1,200 - 2,500 0 1,200 รวม 26,300

อุปกรณ์ สานักงาน 3,000 3,000

=

หนี้สิน

+ ส่วนของผู้ถือหุน้

=

เจ้าหนี้

หุ้นสามัญ

กาไรสะสม

= = = =

1,500

20,000

4,800

1,500

20,000 รวม 26,300

4,800


71

รายการค้าที่ 9 วันที่ 30 ธ.ค. จ่ายเงินปันผลจากกาไรสะสม จานวน 300 บาท วิเคราะห์รายการค้า : จ่ายเงินปันผลจากกาไรสะสม 300 บาท มีผลทาให้ 1. กิจการมีเงินสดลดลง 300 บาท ซึ่งทาให้สินทรัพย์ลดลง 2. กิจการมีกาไรสะสมลดลง 300 บาท ซึ่งทาให้ส่วนของผู้ถือหุ้นลดลง

เงินสด 22,100 -300 21,800

สินทรัพย์ วัสดุ ลูกหนี้ ในการซ่อมรถ 1,200 1,200 รวม 26,000

อุปกรณ์ สานักงาน 3,000 3,000

=

หนี้สิน

+ ส่วนของผู้ถือหุน้

=

เจ้าหนี้

หุ้นสามัญ

กาไรสะสม

= = = =

1,500

20,000

1,500

20,000 รวม 26,000

4,800 - 300 4,500

รายการค้าที่ 10 วันที่ 31 ธ.ค. จ่ายค่าแรงงาน จานวน 1,500 บาท วิเคราะห์รายการค้า : จ่ายค่าแรงงาน 1,500 บาท มีผลทาให้ 1. กิจการมีเงินสดลดลง 1,500 บาท ซึ่งทาให้สินทรัพย์ลดลง 2. กิจการมีค่าแรงงาน (ค่าใช้จ่าย) เพิ่มขึ้น 1,500 บาท ซึ่งทาให้กาไรสะสม ลดลง (ส่วนของผู้ถือหุ้นลดลง) สินทรัพย์ เงินสด 21,800 -1,500 20,300

ลูกหนี้

วัสดุ ในการซ่อมรถ 1,200

1,200 รวม 24,500

อุปกรณ์ สานักงาน 3,000 3,000

=

หนี้สิน

+ ส่วนของผู้ถือหุน้

=

เจ้าหนี้

หุ้นสามัญ

กาไรสะสม

= = = =

1,500

20,000

1,500

20,000 รวม 24,500

4,500 - 1,500 3,000

จากรายการค้า 10 รายการข้างต้น สามารถนามาแสดงผลกระทบที่เกิดต่อสมการบัญชี ได้ ดังตารางที่ 3.1


72

ตาราง 3.1 สรุปผลกระทบของรายการค้าทั้ง 10 รายการค้าที่เกิดต่อสมการบัญชี รายการค้า ที่ 1 คงเหลือ 2 คงเหลือ 3 คงเหลือ 4 คงเหลือ 5 คงเหลือ 6 คงเหลือ 7 คงเหลือ 8 คงเหลือ 9 คงเหลือ 10 คงเหลือ

เงินสด

สินทรัพย์ = วัสดุ อุปกรณ์ ลูกหนี้ = ในการซ่อมรถ สานักงาน

+20,000 20,000 - 1,200 18,800 + 7,500 26,300

+ ส่วนของผู้ถือหุน้

เจ้าหนี้

หุ้นสามัญ กาไรสะสม +20,000 20,000

+ 1,200 1,200

20,000

1,200

20,000

1,200

+ 3,000 3,000

+ 2,500 2,500

1,200

3,000

2,500

1,200

3,000

2,500 - 2,500 0

1,200

3,000

1,200

3,000

1,200

3,000

1,200

3,000

26,300 26,300 - 1,500 24,800 - 5,200 19,600 +2,500 22,100 -300 21,800 -1,500 20,300

หนี้สิน

= = = = = = = = = = = = =

+ 3,000 3,000

20,000

3,000 - 1,500 1,500

20,000

1,500

20,000

1,500

20,000

1,500

20,000

1,500

20,000

20,000

+ 7,500 7,500 7,500 + 2,500 10,000 10,000 - 5,200 4,800 4,800 - 300 4,500 - 1,500 3,000

จากการวิเคราะห์รายการค้าข้างต้น สามารถนาข้อมูลมาจัดทางบการเงินได้ ดังนี้ บริษัท ประหยัดยานยนต์ จากัด งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ (บางส่วน) สาหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 25X2 หน่วย : บาท รายได้ รายได้จากการให้บริการ (7,500 + 2,500) ค่าใช้จ่าย ค่าสาธารณูปโภค ค่าแรงงาน รวมค่าใช้จ่าย กาไร (ขาดทุน) สุทธิ

10,000 (5,200) (1,500) (6,700) 3,300


73

บริษัท ประหยัดยานยนต์ จากัด งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น สาหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 25X2 หน่วย : บาท ทุนที่ชาระแล้ว การเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้น สาหรับปี 25X2 การเพิ่ม (ลด) หุ้น กาไร (ขาดทุน) สุทธิ 25X2 เงินปันผล ยอดคงเหลือ ณ สิ้นปี 25X2

กาไร (ขาดทุน) สะสม

20,000 3,300 (300) 3,000

20,000

รวม 20,000 3,300 (300) 23,000

บริษัท ประหยัดยานยนต์ จากัด งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25X2 หน่วย : บาท สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสด วัสดุในการซ่อมรถ รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน อุปกรณ์สานักงาน รวมสินทรัพย์

20,300 1,200 21,500 3,000 24,500 หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุน้

หนี้สินหมุนเวียน เจ้าหนี้ ส่วนของผู้ถือหุ้น หุ้นสามัญ กาไรสะสม รวมส่วนของผู้ถือหุ้น รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

1,500 20,000 3,000 23,000 24,500

หลักการบันทึกบัญชี จากการวิ เ คราะห์ ร ายการค้ า ที่ ผ่ า นมา จะเห็ น ได้ ว่ า รายการค้ า แต่ ล ะรายการ จะกระทบต่อบัญชี อย่างน้อย 2 บัญชี ขึ้นไป และผลกระทบนั้นยังคงทาให้สมการบัญชีมีความสมดุล อยู่เสมอ หลังจากนั้น จึงนามาบันทึกบัญชีตามระบบบัญชีคู่


74

ระบบบัญชีคู่ (Double – Entry System) เป็นระบบที่ใช้สาหรับการบันทึก รายการค้า โดยรายการค้าแต่ละรายการจะต้องบันทึกบัญชีทั้งด้านเดบิตและด้านเครดิต อย่างน้อย ด้านละ 1 บัญชี และผลรวมของตัวเลขด้านเดบิตจะต้องเท่ากับผลรวมของตัวเลขด้านเครดิตเสมอ ระบบบัญชีคู่นี้จะช่วยให้เกิดความมั่นใจว่าจานวนเงินที่ถูกบันทึกบัญชีนั้นมีความถูกต้อง บั ญ ชี ตั ว ที (T Account) รายการย่ อ ยต่ า ง ๆ ในหมวดสิ น ทรั พ ย์ หนี้ สิ น และส่ ว นของเจ้ า ของ เรี ย กว่ า บั ญ ชี (Account) กิ จ การจะแสดงบั ญ ชี ต่ า ง ๆ แยกออกจากกั น ในแบบฟอร์มบัญชี ที่เรียกว่า บัญชีตัวที (T Account) ดังภาพที่ 3.2 โดยด้านซ้ายของบัญชี เรียกว่า ด้านเดบิต (Debit) และด้านขวาของบัญชี เรียกว่า ด้านเครดิต (Credit) ชื่อบัญชี ด้านเดบิต

ด้านเครดิต

ภาพที่ 3.2 บัญชีตัวที เดบิต และเครดิ ต (Debits and Credits) จะแสดงฝั่ งหรือด้านของบัญชีตัว ที การบันทึกตัวเลขในฝั่งซ้ายของบัญชี จึงเรียกว่า การเดบิต (Debiting) ในลักษณะเดียวกัน การบันทึก ตัวเลขในฝั่งขวาของบัญชี จะเรียกว่า การเครดิต (Crediting) ซึ่งสามารถใช้ตัวย่อว่า Dr. และ Cr. ตามลาดับ หลักการบันทึกบัญชีด้านเดบิตและเครดิตของบัญชีหมวดต่าง ๆ แสดงได้ดังภาพที่ 3.3


75

สินทรัพย์ ด้านเดบิต สินทรัพย์เพิ่มขึ้น ยอดดุลปกติ

ด้านเครดิต สินทรัพย์ลดลง หนี้สิน

ด้านเดบิต หนี้สินลดลง

ด้านเครดิต หนี้สินเพิ่มขึ้น ยอดดุลปกติ ส่วนของเจ้าของ

ด้านเดบิต ส่วนของเจ้าของลดลง

ด้านเครดิต ส่วนของเจ้าของเพิ่มขึ้น ยอดดุลปกติ รายได้

ด้านเดบิต รายได้ลดลง

ด้านเครดิต รายได้เพิ่มขึ้น ยอดดุลปกติ ค่าใช้จ่าย

ด้านเดบิต ค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น ยอดดุลปกติ

ด้านเครดิต ค่าใช้จ่ายลดลง

ภาพที่ 3.3 หลักการบันทึกบัญชีด้านเดบิตและเครดิตของบัญชีหมวดต่าง ๆ หรือสามารถสรุปได้ ดังตาราง 3.2


76

ตาราง 3.2 สรุปหลักการบันทึกบัญชีด้านเดบิตและเครดิตของบัญชีหมวดต่าง ๆ หมวดบัญชี สินทรัพย์ หนี้สิน ส่วนของเจ้าของ รายได้ ค่าใช้จ่าย

เพิ่มขึ้น เดบิต เครดิต เครดิต เครดิต เดบิต

ลดลง เครดิต เดบิต เดบิต เดบิต เครดิต

จากตารางที่ 3.2 ข้ า งต้ น จะเห็ น ได้ ว่ า สิ น ทรั พ ย์ ค่ า ใช้ จ่ า ย จะมี ผ ลการวิ เ คราะห์ เป็นไปในทิศทางเดียวกัน กล่าวคือ หากบัญชีเพิ่มขึ้น จะบันทึกด้านเดบิต หากบัญชีลดลง จะบันทึก ด้านเครดิต สาหรับหนี้สิน รายได้ และส่วนของเจ้าของ จะมีผลการวิเคราะห์เป็นไปในทิศทางเดียวกัน แต่เป็นทิศทางตรงกันข้ามกับสินทรัพย์ และค่าใช้จ่าย กล่าวคือ หากบัญชีเพิ่มขึ้น จะบันทึกด้านเครดิต หากบัญชีลดลง จะบันทึกด้านเดบิต เช่น จากตัวอย่างที่ 3.1 รายการค้าที่ 1 หน้า 64 เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 25X2 บริษัท ประหยัดยานยนต์ จากัด ได้รับเงินสดจากการออกจาหน่ายหุ้นสามัญ จานวน 20,000 บาท สามารถ วิเคราะห์รายการค้าได้ ดังนี้ บัญชี เงินสด + 20,000 บาท หุ้นสามัญ + 20,000 บาท

หมวด สินทรัพย์ + ส่วนของผู้ถือหุ้น +

เดบิต / เครดิต เดบิต เครดิต

การบันทึกรายการในสมุดขั้นต้น เมื่อเกิดรายการค้าขึ้น กิจการจะต้องวิเคราะห์รายการค้าว่าส่งผลกระทบต่อบัญชีใดบ้าง กระทบในทางเพิ่มขึ้น หรื อลดลง และใช้ห ลั กการบัญชีคู่ วิเคราะห์ ต่อไปว่าจะต้ องบันทึ กบัญชีนั้ น ในด้านเดบิตหรือด้านเครดิต จากนั้นจึงนาไปบันทึกในสมุดขั้นต้น สมุดขั้นต้น (Journal) เป็นสมุดบัญชีที่ใช้บันทึกรายการค้าขั้นต้น โดยเรียงตามลาดับ วัน ที่ ที่เกิ ดรายการ ทาให้ กิจ การทราบว่ ามีร ายการค้ าใดเกิ ดขึ้น บ้าง และทราบความเคลื่ อนไหว ของรายการทางการเงินของกิจการ สมุดขั้นต้น แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1. สมุ ด รายวั น เฉพาะ (Special Journal) เป็ นสมุ ดที่ ใช้ บั นทึ กรายการค้ า เฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเป็นประจาซ้า ๆ เช่น สมุดรายวันซื้อ สมุดรายวันขาย สมุดรายวันรับเงิน สมุดรายวันจ่ายเงิน เป็นต้น จะอธิบายโดยละเอียดในบทที่ 7 ต่อไป 2. สมุ ด รายวั น ทั่ ว ไป (General Journal) เป็ นสมุ ดที่ ใช้ บั นทึ กรายการค้ า ที่ไม่สามารถบั นทึกในสมุดรายวันเฉพาะได้ หรือหากกิจการดาเนินธุรกิจขนาดเล็ ก ซึ่งมีรายการค้า


77

ไม่มากนักก็สามารถใช้สมุดรายวันทั่วไปเพียงเล่มเดียวในการบันทึกรายการค้าทุกรายการ โดยไม่ต้องใช้ สมุดรายวันเฉพาะ รูปแบบของสมุดรายวันทั่วไป แสดงดังภาพที่ 3.4 สมุดรายวันทั่วไป วัน เดือน ปี

รายการ

หน้า ....... เลขที่ บัญชี

เดบิต

เครดิต

ภาพที่ 3.4 รูปแบบของสมุดรายวันทั่วไป รูปแบบของสมุดรายวันทั่วไป สามารถอธิบายได้ ดังนี้ หน้า ...... ใช้บันทึกเลขหน้าของสมุดรายวันทั่วไป วัน เดือน ปี ใช้บันทึกวัน เดือน ปี ที่เกิดรายการค้า รายการ ใช้บันทึกบัญชีด้านเดบิตในบรรทัดแรก โดยเขียนชิดขอบด้านซ้าย บันทึกบัญชีด้านเครดิตในบรรทัดถัดมา โดยเขียนเยื้องมาทางขวามือ บรรทัดถัดมาให้อธิบายรายการค้าโดยสรุป เขียนชิดขอบด้านซ้าย เลขที่บัญชี ใช้บันทึกเลขที่บัญชีของบัญชีแยกประเภทเมื่อผ่านรายการแล้ว เดบิต ใช้บันทึกจานวนเงินของบัญชีที่บันทึกด้านเดบิต เครดิต ใช้บันทึกจานวนเงินของบัญชีที่บันทึกด้านเครดิต ตัวอย่างที่ 3.2 จากตัวอย่างที่ 3.1 หน้า 63 มีรายการค้าเกิดขึ้น ดังนี้ 25X2 ธ.ค. 5 6 9 12 17 20 25 26 30 31

ได้รับเงินสดจากการออกจาหน่ายหุ้นสามัญ จานวน 20,000 บาท ซื้อวัสดุในการซ่อมรถ จานวน 1,200 บาท ให้บริการซ่อมรถแก่ลูกค้า ได้รับเงินสด จานวน 7,500 บาท ซื้ออุปกรณ์สานักงาน จานวน 3,000 บาท แต่ยังไม่ได้ชาระเงิน ให้บริการซ่อมรถแก่ลูกค้า ส่งบิลเรียกเก็บ จานวน 2,500 บาท แต่ยังไม่ได้ รับชาระเงิน จ่ายชาระหนี้ค่าอุปกรณ์สานักงานที่ซื้อเมื่อวันที่ 12 ธ.ค. ครึ่งหนึ่ง จ่ายค่าสาธารณูปโภค จานวน 5,200 บาท รับชาระหนี้ค่าซ่อมรถจากลูกค้าที่ให้บริการไปเมื่อ 17 ธ.ค. ทั้งจานวน จ่ายเงินปันผลจากกาไรสะสม จานวน 300 บาท จ่ายค่าแรงงาน จานวน 1,500 บาท


78

สามารถนารายการค้าที่วิเคราะห์แล้วมาบันทึกในสมุดรายวันทั่วไปได้ ดังนี้ สมุดรายวันทั่วไป วัน เดือน ปี 25X2 ธ.ค. 5 เงินสด 6 9 12 17

20

25 26

30 31

รายการ

หุ้นสามัญ ได้รับเงินสดจากการออกจาหน่ายหุ้นสามัญ วัสดุในการซ่อมรถ เงินสด ซื้อวัสดุในการซ่อมรถ เงินสด รายได้จากการให้บริการ ให้บริการซ่อมรถแก่ลูกค้า อุปกรณ์สานักงาน เจ้าหนี้ ซื้ออุปกรณ์สานักงาน แต่ยังไม่ได้ชาระเงิน ลูกหนี้ รายได้จากการให้บริการ ให้ บ ริ ก ารซ่ อ มรถแก่ ลู ก ค้ า ส่ ง บิ ล เรี ย กเก็ บ แต่ยังไม่ได้รับชาระเงิน เจ้าหนี้ เงินสด จ่ายชาระหนี้ค่าอุปกรณ์สานักงานที่ซื้อเมื่อวันที่ 12 ธ.ค. ครึ่งหนึ่ง ค่าสาธารณูปโภค เงินสด จ่ายค่าสาธารณูปโภค เงินสด ลูกหนี้ รับชาระหนี้ค่าซ่อมรถจากลูกค้าที่ให้บริการไป เมื่อ 17 ธ.ค. ทั้งจานวน เงินปันผลจ่าย เงินสด จ่ายเงินปันผลจากกาไรสะสม ค่าแรงงาน เงินสด จ่ายค่าแรงงาน

หน้า 1 เลขที่ บัญชี 101 301

เดบิต

เครดิต

20,000 20,000

103 101

1,200

101 401

7,500

104 201

3,000

102 401

2,500

201 101

1,500

501 101

5,200

101 102

2,500

302 101

300

502 101

1,500

1,200 7,500 3,000 2,500

1,500

5,200 2,500

300 1,500


79

สมุดบัญชีแยกประเภท สมุดบัญชีแยกประเภท (Ledger) เป็นสมุดบัญชีที่ใช้บันทึกบัญชีเดียวกันรวมไว้ด้วยกัน เป็น การจาแนกบั ญชีต่าง ๆ ไว้เป็ นหมวดหมู่ เพื่อประโยชน์ในการนาข้อมูล มาสรุปผล และจัดทา งบการเงิน สมุดบัญชีแยกประเภท มี 2 ชนิด คือ 1. สมุดบัญชีแ ยกประเภททั่วไป (General Ledger) เป็นสมุดบัญชีที่ใช้บันทึก รายการที่ผ่านมาจากสมุดรายวัน เพื่อรวบรวมบัญชีไว้เป็นหมวดหมู่ ได้แก่ บัญชีแยกประเภทสินทรัพย์ บัญชีแยกประเภทหนี้สิ น บัญชีแยกประเภทส่วนของเจ้าของ บัญชีแยกประเภทรายได้ และบัญชี แยกประเภทค่าใช้จ่าย 2. สมุดบัญชีแยกประเภทย่อย (Subsidiary Ledger) เป็นสมุดบัญชีที่รวบรวม บัญ ชีแ ยกประเภทย่อ ยของบัญชีแ ยกประเภททั่ว ไป เพื่อ ทาให้ท ราบรายละเอีย ดที่ม ากขึ้น เช่น สมุดบัญชีแยกประเภทย่อยลูกหนี้ สมุดบัญชีแยกประเภทย่อยเจ้าหนี้ ในบท นี ้ จ ะกล่า ว ถึง เฉพ าะสมุด บัญ ชีแ ย กประ เภ ท ทั ่ว ไ ป ส่ว นสมุด บัญ ชี แยกประเภทย่อย จะกล่าวถึงโดยละเอียดในบทที่ 7 ต่อไป รูปแบบของสมุดบัญชีแยกประเภททั่วไป มี 2 รูปแบบ ได้แก่ 1. แบบรูปตัวที เป็นบัญชีแยกประเภทที่แบ่งครึ่งกระดาษเป็น 2 ฝั่ง คล้ายบัญชีตัวที (T Account) โดยด้านซ้าย เรียกว่า ด้านเดบิต และด้านขวา เรียกว่า ด้านเครดิต แสดงดังภาพที่ 3.5 ชื่อบัญชี ว.ด.ป.

รายการ

หน้า บัญชี

เดบิต

ว.ด.ป.

เลขที่บัญชี ...... รายการ

หน้า บัญชี

เครดิต

ภาพที่ 3.5 บัญชีแยกประเภททั่วไปแบบรูปตัวที รูปแบบของบัญชีแยกประเภททั่วไปแบบรูปตัวที สามารถอธิบายได้ ดังนี้ ชื่อบัญชี ...... ใช้บันทึกชื่อของบัญชีที่ผ่านรายการมาจากสมุดรายวัน เลขที่บัญชี ..... ใช้บันทึกเลขที่บัญชีที่กาหนดไว้ตามผังบัญชี วัน เดือน ปี ใช้บันทึกวัน เดือน ปี ที่เกิดรายการค้า รายการ ใช้บันทึกเพื่ออธิบายรายการค้าที่เกิดขึ้น หรือใช้บันทึกชื่อบัญชีที่อยู่ ด้านตรงข้ามในรายการค้าเดียวกัน หน้าบัญชี ใช้บันทึกเลขหน้าของสมุดรายวันเพื่อเป็นการอ้างอิงระหว่างกัน เดบิต ใช้บันทึกจานวนเงินของบัญชีที่บันทึกด้านเดบิต เครดิต ใช้บันทึกจานวนเงินของบัญชีที่บันทึกด้านเครดิต


80

2. แบบ 3 ช่อง เป็นบัญชีแยกประเภทที่แบ่งจานวนเงิน ออกเป็น 3 ช่อง คือ ช่องเดบิต ช่องเครดิต และช่องคงเหลือ แสดงดังภาพที่ 3.6

ว.ด.ป.

รายการ

ชื่อบัญชี ......................... หน้า เดบิต บัญชี

เลขที่บัญชี ...... เครดิต

คงเหลือ

ภาพที่ 3.6 บัญชีแยกประเภททั่วไปแบบ 3 ช่อง รูปแบบของบัญชีแยกประเภททั่วไปแบบ 3 ช่อง สามารถอธิบายได้ ดังนี้ ชื่อบัญชี ...... ใช้บันทึกชื่อของบัญชีที่ผ่านรายการมาจากสมุดรายวัน เลขที่บัญชี ..... ใช้บันทึกเลขที่บัญชีที่กาหนดไว้ตามผังบัญชี วัน เดือน ปี ใช้บันทึกวัน เดือน ปี ที่เกิดรายการค้า รายการ ใช้บันทึกเพื่ออธิบายรายการค้าที่เกิดขึ้น หรือใช้บันทึกชื่อบัญชีที่อยู่ ด้านตรงข้ามในรายการค้าเดียวกัน หน้าบัญชี ใช้บันทึกเลขหน้าของสมุดรายวันเพื่อเป็นการอ้างอิงระหว่างกัน เดบิต ใช้บันทึกจานวนเงินของบัญชีที่บันทึกด้านเดบิต เครดิต ใช้บันทึกจานวนเงินของบัญชีที่บันทึกด้านเครดิต คงเหลือ ใช้บั นทึกจ านวนเงินคงเหลื อจากการหั กลบกันของจานวนเงินเดบิ ต และเครดิต ผังบัญชี (Chart of Accounts) คือ ผั งที่รวบรวมชื่อบัญชีทั้งหมดของกิจการ และกาหนดเลขที่ของบัญชีนั้น ๆ เพื่อความสะดวกในการบันทึกบัญชีและการอ้างอิงรายการ ดังนั้น ก่ อ นที่ กิ จ การจะเริ่ ม บั น ทึ ก บั ญ ชี กิ จ การควรออกแบบผั ง บั ญ ชี ใ ห้ ค รบถ้ ว นก่ อ น โดยส ารวจว่ า การดาเนิ น ธุร กิจ ของกิจ การควรจะเกี่ย วข้องกับชื่อบัญชี ใดบ้าง และกาหนดชื่อบัญชีให้ ครบถ้ว น ครอบคลุมทุกธุรกรรมที่อาจเกิดขึ้น อย่างไรก็ตาม หากพบชื่อบัญชีเพิ่มเติมในภายหลัง ก็สามารถ เพิ่ ม ข้ อ มู ล ในผั ง บั ญ ชี ไ ด้ การก าหนดเลขที่ บั ญ ชี นั้ น สามารถท าได้ ห ลายรู ป แบบ อาจก าหนด โดยใช้ตัวเลขเพียงอย่างเดียว หรือใช้ทั้งตัวเลขและตัวอักษรก็ได้ ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของกิจการ ตัวอย่างของการกาหนดเลขที่บัญชีอย่างง่ายสาหรับธุรกิจขนาดเล็ก มีหลักเกณฑ์ ดังนี้ บัญชีในหมวดสินทรัพย์ กาหนดเลขบัญชีตัวแรกเป็นเลข 1 บัญชีในหมวดหนี้สิน กาหนดเลขบัญชีตัวแรกเป็นเลข 2 บัญชีในหมวดส่วนของเจ้าของ กาหนดเลขบัญชีตัวแรกเป็นเลข 3 บัญชีในหมวดรายได้ กาหนดเลขบัญชีตัวแรกเป็นเลข 4 บัญชีในหมวดค่าใช้จ่าย กาหนดเลขบัญชีตัวแรกเป็นเลข 5


81

ส่วนเลขบั ญชีหลักที่ 2 หรือหลักที่ 3 จะกาหนดตัวเลขตามลาดับของบัญชีที่ปรากฏ ในงบการเงิน ตัวอย่างดังตารางที่ 3.3 ตาราง 3.3 ตัวอย่างผังบัญชีอย่างง่าย ชื่อบัญชี สินทรัพย์ เงินสด ลูกหนี้ วัสดุสานักงาน ที่ดิน อาคาร หนี้สิน เจ้าหนี้ ตั๋วเงินจ่าย เงินกู้ยืมระยะยาว ส่วนของผู้ถือหุ้น หุ้นสามัญ กาไรสะสม เงินปันผลจ่าย กาไรขาดทุน รายได้ รายได้จากการให้บริการ รายได้อื่น ค่าใช้จ่าย เงินเดือน ค่าสาธารณูปโภค ค่าเสื่อมราคา ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้

เลขที่บัญชี กรณี 2 หลัก กรณี 3 หลัก 11 12 13 14 15

101 102 103 104 105

21 22 23

201 202 203

31 32 33 34

301 302 303 304

41 42

401 402

51 52 53 54

501 502 503 504

การบันทึกรายการในสมุดบัญชีแยกประเภททั่วไป หลังจากที่ได้บันทึกรายการค้าลงในสมุดรายวันทั่วไปแล้ว ขั้นตอนต่อไป คือ การบันทึก รายการในสมุดบัญชีแยกประเภททั่วไป เรียกว่า การผ่านรายการจากสมุดรายวันทั่วไปไปยังบัญชี แยกประเภททั่วไป การผ่ า นรายการ (Posting) จากสมุ ด รายวั น ทั่ ว ไปไปยั ง บั ญ ชี แ ยกประเภททั่ ว ไป แบบรูปตัวที มีขั้นตอน ดังนี้


82

1. เขียนชื่อบัญชี และเลขที่บัญชีของบัญชีที่จะทาการผ่านรายการ 2. เลื อกว่าจะบั นทึกบั ญชีแยกประเภทในด้านเดบิตหรือด้านเครดิต โดยหากบัญชี ที่จะทาการผ่านรายการเป็ นบัญชีด้านเดบิ ต ก็ให้ บันทึกบัญชีแยกประเภทในด้านเดบิต (ด้านซ้าย) เช่ น เดี ย วกั บ การผ่ านรายการที่ เป็ น บั ญชีด้ านเครดิ ต ก็ ให้ บั นทึ กบั ญชีแยกประเภทในด้ านเครดิ ต (ด้านขวา) 3. บันทึกวัน เดือน ปี ที่เกิดรายการค้า 4. ช่องรายการ ให้บันทึกชื่อบัญชีที่อยู่ด้านตรงข้ามในรายการค้าเดียวกัน 5. ใส่เลขหน้าของสมุดรายวันทั่วไปในช่อง หน้าบัญชี เช่น รว. 1 หมายถึง สมุดรายวัน ทั่วไป หน้าที่ 1 6. ใส่จานวนเงินของบัญชีในช่องเดบิตหรือเครดิต 7. ใส่ เลขที่บั ญชีในช่องเลขที่บัญชีในสมุดรายวันทั่วไป เพื่อแสดงว่าได้ผ่านรายการ ไปยังบัญชีแยกประเภทเรียบร้อยแล้ว ตัวอย่างที่ 3.3 จากตัวอย่างที่ 3.2 หน้า 74 สามารถแสดงการผ่านรายการค้าในวันที่ 5 ธันวาคม ได้ ดังนี้ สมุดรายวันทั่วไป วัน เดือน ปี 25X2 ธ.ค. 5 เงินสด

หน้า 1 เลขที่ บัญชี 101 301

รายการ

หุ้นสามัญ ได้รับเงินสดจากการขายหุ้นสามัญ

เดบิต 20,000

20,000

บัญชีเงินสด ว.ด.ป. 25X2 ธ.ค. 5

รายการ หุ้นสามัญ

หน้า บัญชี รว. 1

เดบิต

ว.ด.ป.

เลขที่บัญชี 101 รายการ

รายการ

หน้า บัญชี

หน้า บัญชี

เครดิต

20,000

บัญชีหุ้นสามัญ ว.ด.ป.

เครดิต

เดบิต

ว.ด.ป. 25X2 ธ.ค. 5

เลขที่บัญชี 301 รายการ เงินสด

หน้า บัญชี รว. 1

เครดิต 20,000


83

ตัวอย่างที่ 3.4 จากตัวอย่างที่ 3.2 หน้า 74 สามารถแสดงการผ่านรายการค้าในเดือนธันวาคม ไปยังบัญชีแยกประเภททั่วไปได้ ดังนี้ บัญชีเงินสด ว.ด.ป. รายการ 25X2 ธ.ค. 5 หุ้นสามัญ 9 รายได้จากการให้บริการ 26 ลูกหนี้

หน้า บัญชี รว. 1 รว. 1 รว. 2

ว.ด.ป. 25X2 20,000 ธ.ค. 6 7,500 20 2,500 25 30 31

เลขที่บัญชี 101

เดบิต

รายการ วัสดุในการซ่อมรถ เจ้าหนี้ ค่าสาธารณูปโภค เงินปันผลจ่าย ค่าแรงงาน

บัญชีลูกหนี้ ว.ด.ป. หน้า รายการ 25X2 บัญชี ธ.ค. 17 รายได้จากการให้บริการ รว. 2

หน้า บัญชี รว. 1

ว.ด.ป. รายการ 25X2 2,500 ธ.ค. 26 เงินสด

เดบิต

เดบิต

ว.ด.ป.

ว.ด.ป. รายการ 25X2 ธ.ค. 20 เงินสด

หน้า บัญชี รว. 2

หน้า บัญชี รว. 2

1,200 1,500 5,200 300 1,500

หน้า บัญชี รว. 2

เครดิต 2,500

เลขที่บัญชี 103 รายการ

หน้า บัญชี

เครดิต

1,200

บัญชีอุปกรณ์สานักงาน ว.ด.ป. รายการ 25X2 ธ.ค. 12 เจ้าหนี้

เครดิต

เลขที่บัญชี 102

บัญชีวัสดุในการซ่อมรถ ว.ด.ป. รายการ 25X2 ธ.ค. 6 เงินสด

หน้า บัญชี รว. 1 รว. 2 รว. 2 รว. 2 รว. 2

เดบิต

ว.ด.ป.

เลขที่บัญชี 104 รายการ

หน้า บัญชี

เครดิต

3,000

บัญชีเจ้าหนี้

เลขที่บัญชี 201

ว.ด.ป. รายการ 25X2 1,500 ธ.ค. 12 อุปกรณ์สานักงาน

หน้า บัญชี รว. 2

เดบิต

เครดิต 3,000


84

บัญชีหุ้นสามัญ ว.ด.ป.

รายการ

หน้า บัญชี

เดบิต

ว.ด.ป. 25X2 ธ.ค. 5

เลขที่บัญชี 301 รายการ เงินสด

บัญชีเงินปันผลจ่าย ว.ด.ป. 25X2 ธ.ค. 30

รายการ เงินสด

หน้า บัญชี รว. 2

เดบิต

ว.ด.ป.

รายการ

หน้า บัญชี

รายการ

รายการ เงินสด

หน้า บัญชี รว. 2

รายการ เงินสด

หน้า บัญชี รว. 2

หน้า บัญชี

เครดิต

เดบิต

เลขที่บัญชี 401

ว.ด.ป. รายการ 25X2 ธ.ค. 9 เงินสด 17 ลูกหนี้

เดบิต

ว.ด.ป.

หน้า บัญชี รว. 1 รว. 2

เครดิต 7,500 2,500

เลขที่บัญชี 501 รายการ

หน้า บัญชี

เครดิต

5,200

บัญชีค่าแรงงาน ว.ด.ป. 25X2 ธ.ค. 31

20,000

300

บัญชีค่าสาธารณูปโภค ว.ด.ป. 25X2 ธ.ค. 25

เครดิต

เลขที่บัญชี 302

บัญชีรายได้จากการให้บริการ ว.ด.ป.

หน้า บัญชี รว. 1

เดบิต

ว.ด.ป.

เลขที่บัญชี 502 รายการ

หน้า บัญชี

เครดิต

1,500

การหายอดคงเหลือของบัญชีแยกประเภททั่วไป การหายอดคงเหลือ หรือการหายอดดุล (Account Balance) ของบัญชีแยกประเภท ทั่ว ไป เป็ น การสรุ ป ยอดคงเหลื อของแต่ล ะบั ญชีในวั นสิ้ นงวด เนื่องจากในระหว่า งงวด บัญ ชี อาจมี ความเคลื่ อ นไหวหลายรายการ ทั้ ง ด้า นเดบิต และด้า นเครดิ ต จึ ง จ าเป็น ต้ องคานวณหาว่ า สุดท้ายแล้วแต่ละบัญชีมียอดเท่าใด เพื่อนาข้อมูลไปจัดทางบการเงิน


85

การหายอดคงเหลือด้วยดินสอ (Pencil Footing) ทาโดยการรวมจานวนเงินทั้งหมด ในด้านเดบิตของบัญชีหนึ่ง ๆ และรวมจานวนเงินทั้งหมดในด้านเครดิตของบัญชีนั้น แล้วหาผลต่าง ของยอดเงิ น ด้ า นเดบิ ตและด้ า นเครดิ ตด้ ว ยการน ามาหั ก ลบกั น แล้ ว เขี ยนตั ว เลขยอดคงเหลื อไว้ ในด้ า นที่ มี ย อดเงิ น สู ง กว่ า ด้ ว ยดิ น สอ ส าหรั บ บั ญ ชี ที่ มี เ พี ย งรายการเดี ย ว จะใช้ จ านวนเงิ น นั้ น เป็นยอดคงเหลือ ตัวอย่างที่ 3.5 จากตัวอย่างที่ 3.4 หน้า 79 สามารถหายอดคงเหลือของบัญชีแยกประเภททั่วไปได้ ดังนี้ บัญชีเงินสด ว.ด.ป. รายการ 25X2 ธ.ค. 5 หุ้นสามัญ 9 รายได้จากการให้บริการ 26 ลูกหนี้ 20,300

หน้า บัญชี รว. 1 รว. 1 รว. 2

เดบิต 20,000 7,500 2,500 30,000

ว.ด.ป. 25X2 ธ.ค. 6 20 25 30 31

เลขที่บัญชี 101 รายการ วัสดุในการซ่อมรถ เจ้าหนี้ ค่าสาธารณูปโภค เงินปันผลจ่าย ค่าแรงงาน

บัญชีลูกหนี้ ว.ด.ป. หน้า รายการ 25X2 บัญชี ธ.ค. 17 รายได้จากการให้บริการ รว. 2 0

เลขที่บัญชี 102

ว.ด.ป. รายการ 25X2 2,500 ธ.ค. 26 เงินสด

เดบิต

บัญชีวัสดุในการซ่อมรถ ว.ด.ป. รายการ 25X2 ธ.ค. 6 เงินสด

หน้า บัญชี รว.1

เดบิต

ว.ด.ป. 25X2

หน้า บัญชี รว. 2

หน้า เครดิต บัญชี รว. 2 2,500

เลขที่บัญชี 103 รายการ

หน้า เครดิต บัญชี

1,200

บัญชีอุปกรณ์สานักงาน ว.ด.ป. รายการ 25X2 ธ.ค. 12 เจ้าหนี้

หน้า เครดิต บัญชี รว. 1 1,200 รว. 2 1,500 รว. 2 5,200 รว. 2 300 รว. 2 1,500 9,700

เดบิต 3,000

ว.ด.ป.

เลขที่บัญชี 104 รายการ

หน้า บัญชี

เครดิต


86

บัญชีเจ้าหนี้ ว.ด.ป. 25X2 ธ.ค. 20

รายการ เงินสด

หน้า บัญชี รว. 2

ว.ด.ป. 25X2 1,500 ธ.ค. 12

เลขที่บัญชี 201

เดบิต

รายการ อุปกรณ์สานักงาน 1,500

บัญชีหุ้นสามัญ ว.ด.ป.

รายการ

หน้า บัญชี

เดบิต

ว.ด.ป. 25X2 ธ.ค. 5

รายการ เงินสด

หน้า บัญชี รว. 2

เดบิต

รายการ เงินสด

รายการ

หน้า บัญชี

ว.ด.ป.

รายการ

รายการ เงินสด

หน้า บัญชี รว. 2

รายการ เงินสด

หน้า บัญชี รว. 2

เครดิต 20,000

หน้า บัญชี

เครดิต

เดบิต

เลขที่บัญชี 401

ว.ด.ป. รายการ 25X2 ธ.ค. 9 เงินสด 17 ลูกหนี้

เดบิต

ว.ด.ป.

หน้า บัญชี รว. 1 รว. 2

เครดิต 7,500 2,500 10,000

เลขที่บัญชี 501 รายการ

หน้า บัญชี

เครดิต

5,200

บัญชีค่าแรงงาน ว.ด.ป. 25X2 ธ.ค. 31

หน้า บัญชี รว. 1

300

บัญชีค่าสาธารณูปโภค ว.ด.ป. 25X2 ธ.ค. 25

3,000

เลขที่บัญชี 302

บัญชีรายได้จากการให้บริการ ว.ด.ป.

เครดิต

เลขที่บัญชี 301

บัญชีเงินปันผลจ่าย ว.ด.ป. 25X2 ธ.ค. 30

หน้า บัญชี รว.2

เดบิต 1,500

ว.ด.ป.

เลขที่บัญชี 502 รายการ

หน้า บัญชี

เครดิต


87

การจัดทางบทดลอง เมื่ อ หายอดคงเหลื อ หรื อ ยอดดุ ล ของบั ญ ชี แ ยกประเภททั่ ว ไปทุ ก บั ญ ชี แ ล้ ว จะน า ยอดคงเหลือดังกล่าวมาจัดทางบทดลอง (Trial Balance) งบทดลองไม่ถือเป็นงบการเงิน แต่เป็นเพียง รายงานที่ ช่ ว ยตรวจสอบความถู ก ต้ อ งในเบื้ อ งต้ น ของการบั น ทึ ก บั ญ ชี ต ามหลั ก การบั ญ ชี คู่ การผ่านรายการไปบัญชีแยกประเภท และการหายอดคงเหลือ งบทดลองมักจัดทาในวันสิ้นงวดบัญชี แต่บ างกิจ การอาจจัดทางบทดลองทุกเดือนก็ได้ เพื่ อตรวจสอบความถูกต้องของการบันทึกบัญชี อย่างสม่าเสมอ งบทดลองจั ด ท าได้ โ ดยการน ายอดคงเหลื อ ของบั ญ ชี ต่ า ง ๆ มาบั น ทึ ก ตามล าดั บ เลขที่บัญชี หากบัญชีใดมียอดคงเหลือหรือยอดดุลด้านเดบิตให้ใส่ตัวเลขไว้ในช่องเดบิต หากบัญชีใด มีย อดคงเหลื อหรื อยอดดุล ด้านเครดิตให้ ใส่ ตัว เลขไว้ในช่อ งเครดิต จากนั้นจึ งหายอดรวมตัว เลข ในด้านเดบิต และหายอดรวมตัวเลขในด้านเครดิต ผลรวมของตัวเลขด้านเดบิตจะต้องเท่ากับผลรวม ของตัวเลขด้านเครดิต จึงจะเรียกว่า เป็นงบทดลองที่ถูกต้องตามหลักการบัญชีคู่ ทั้งนี้ ยอดดุลบัญชี จะต้องสอดคล้องกับหลักการบัญชีที่ได้กล่าวไว้แล้ว ในภาพที่ 3.3 หน้า 71 คือ บัญชีหมวดสินทรัพย์ จะมียอดดุลปกติอยู่ด้านเดบิต บัญชีหมวดหนี้สิน จะมียอดดุลปกติดา้ นเครดิต บัญชีหมวดส่วนของเจ้าของ จะมียอดดุลปกติดา้ นเครดิต เว้นเงินปันผลจ่าย บัญชีหมวดรายได้ จะมียอดดุลปกติดา้ นเครดิต บัญชีหมวดค่าใช้จ่าย จะมียอดดุลปกติด้านเดบิต อย่ า งไรก็ ต าม การที่ ง บทดลองมี ย อดรวมด้ า นเดบิ ต และด้ า นเครดิ ต สมดุ ล กั น มิ ไ ด้ ห มายถึ ง ว่ า การบั น ทึ ก บั ญ ชี มี ค วามถู ก ต้ อ งทั้ ง หมด เช่ น การบั น ทึ ก ตั ว เลขผิ ด ทั้ ง ด้ า นเดบิ ต และเครดิต หรือการบันทึกชื่อบัญชีผิด งบทดลองก็ยังคงสมดุล


88

ตัวอย่างที่ 3.6 จากตัวอย่างที่ 3.5 หน้า 81 สามารถนายอดคงเหลือของบัญชีแยกประเภททั่วไป มาจัดทางบทดลองได้ ดังนี้ บริษัท ประหยัดยานยนต์ จากัด งบทดลอง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25X2 หน่วย : บาท ชื่อบัญชี เงินสด ลูกหนี้ วัสดุในการซ่อมรถ อุปกรณ์สานักงาน เจ้าหนี้ หุ้นสามัญ เงินปันผลจ่าย รายได้จากการให้บริการ ค่าสาธารณูปโภค ค่าแรงงาน รวม

เลขที่ บัญชี 101 102 103 104 201 301 302 401 501 502

เดบิต

เครดิต

20,300 1,200 3,000 1,500 20,000 300 10,000 5,200 1,500 31,500

31,500

หากจัดทางบทดลองแล้วยอดรวมด้านเดบิตและด้านเครดิตไม่เท่ากันหรือไม่สมดุลกัน แสดงว่า อาจเกิ ดความผิ ดพลาดในขั้ นตอนใดขั้ นตอนหนึ่ ง ให้ ด าเนิ นการตรวจสอบความถู กต้ อง ของกระบวนการบัญชีอีกครั้ง ดังนี้ 1. ตรวจสอบความถูกต้องของการจัดทางบทดลอง โดยเฉพาะการนายอดคงเหลื อ หรื อยอดดุลของบั ญชีต่าง ๆ มาใส่ ในช่องเดบิตหรือเครดิตให้ ถูกต้อง และยอดดุลของบัญชีจะต้อง เป็ น ไปตามหลั ก การบั ญชี คื อ สิ น ทรั พ ย์ และค่ า ใช้ จ่ า ย จะมี ย อดดุ ล ปกติ ด้ า นเดบิ ต ส่ ว นหนี้ สิ น ส่วนของเจ้าของ และรายได้ จะมียอดดุลปกติด้านเครดิต 2. หากน ายอดคงเหลื อ มาใส่ ใ นช่ อ งเดบิ ต หรื อ เครดิ ต ถู ก ต้ อ งแล้ ว แต่ ง บทดลอง ยังไม่สมดุล ให้ตรวจสอบความถูกต้องของการจัดทาบัญชีแยกประเภททั่วไป ตั้งแต่การผ่านรายการ จากสมุดรายวั นทั่วไปมายั งบั ญชีแยกประเภททั่วไปว่าผ่ านมาด้านเดบิ ตหรือเครดิตถูกต้องหรือไม่ จานวนเงินถูกต้องหรือไม่ การคานวณยอดคงเหลือถูกต้องหรือไม่ 3. หากบั ญชี แยกประเภททั่ วไปถู กต้ องแล้ ว ให้ ดาเนิ นการตรวจสอบความถู กต้ อง ของสมุดรายวันทั่วไป โดยเฉพาะการวิเคราะห์รายการค้าและการบันทึกจานวนเงิน


89

สรุป ขั้ น ตอนของการบั น ทึ ก บั ญ ชี ตั้ ง แต่ เ ริ่ ม ต้ น จนเสร็ จ สิ้ น กระบวนการ เรี ย กว่ า วงจร ทางการบัญชี (Accounting Cycle) ซึ่งเริ่มด้วยการวิเคราะห์รายการค้าที่เกิดขึ้นตามระบบบัญชีคู่ (Double – Entry System) แล้วนามาบันทึกในสมุดขั้นต้น ได้แก่ สมุดรายวัน จากนั้นจึงผ่านรายการ ในสมุดรายวันไปยังบัญชีแยกประเภททั่วไป แล้วจึงหายอดคงเหลือหรือยอดดุลของบัญชีแยกประเภท ทั่ ว ไปแต่ ล ะบั ญ ชี และน ายอดคงเหลื อ มาจั ด ท างบทดลอง เพื่ อ เป็ น การตรวจสอบความถู ก ต้ อ ง ในเบื้ อ งต้ น ของการบั น ทึ ก บั ญ ชี ต ามหลั ก การบั ญ ชี คู่ จากนั้ น จึ ง บั น ทึ ก รายการปรั บ ปรุ ง จั ด ท า งบทดลองหลังปรับปรุง จัดทากระดาษทาการ และจัดทางบการเงิน ซึ่งจะกล่าวถึงในบทที่ 4 ต่อไป


90

คาถามทบทวน 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11.

ข้อ 1 2 3

วงจรทางการบัญชีหมายถึงอะไร มีขั้นตอนอะไรบ้าง รายการค้ามีลักษณะอย่างไร ระบบบัญชีคู่หมายถึงอะไร แบบฟอร์มบัญชีตัวทีมีลักษณะอย่างไร ให้ ส รุ ป หลั ก การบั น ทึ ก บั ญ ชี ด้ า นเดบิ ต และเครดิ ต ของบั ญ ชี ห มวดสิ น ทรั พ ย์ หนี้ สิ น ส่วนของเจ้าของ รายได้ และค่าใช้จ่าย สมุดขั้นต้นหมายถึงอะไร แบ่งเป็นกี่ประเภท สมุดบัญชีแยกประเภททั่วไปมีกี่รูปแบบ อะไรบ้าง ผังบัญชีคืออะไร ให้อธิบายขั้นตอนการผ่านรายการไปยังบัญชีแยกประเภททั่วไป การจัดทางบทดลองมีประโยชน์อย่างไร ให้วิเคราะห์รายการค้าต่อไปนี้ ว่ากระทบสมการบัญชีอย่างไร โดยใช้รูปแบบตามตารางด้านล่าง (+ หมายถึง เพิ่มขึ้น, – หมายถึง ลดลง) 1. ได้รับเงินสดจากการออกจาหน่ายหุ้นสามัญ 10,000 หุ้น ราคาหุ้นละ 1 บาท 2. ซื้อวัสดุสานักงานเป็นเงินสด 800 บาท 3. ส่งบิลเรียกเก็บเงินค่าบริการจากลูกค้า 7,400 บาท ได้รับเงินสดเพียง 3,000 บาท ที่เหลือลูกค้าขอจ่ายชาระในอีก 3 เดือนข้างหน้า 4. จ่ายค่ารับรองลูกค้าเป็นเงิน 1,200 บาท 5. ซื้อรถยนต์มือสองเป็นเงินเชื่อ 50,000 บาท 6. ให้บริการแก่ลูกค้าได้รับเงินสด 12,000 บาท 7. กู้เงินจากธนาคาร 35,000 บาท กาหนดชาระคืนภายใน 2 ปี ได้รับเป็นเงินสด 8. จ่ายชาระหนี้ตามรายการที่ 5 จานวน 25,000 บาท 9. จ่ายค่าเช่าอาคาร 5,800 บาท 10. รับชาระหนี้จากลูกหนี้ 2,000 บาท 11. จ่ายเงินเดือนให้พนักงาน 7,500 บาท 12. จ่ายดอกเบี้ยเงินกู้ 500 บาท

เงินสด +10,000

สินทรัพย์ วัสดุ ลูกหนี้ สานักงาน

= รถยนต์

=

หนี้สิน เจ้าหนี้

เงินกู้

+ ส่วนของผู้ถือหุน้ กาไร หุ้นสามัญ สะสม +10,000


91

12. ให้ วิเ คราะห์ ร ายการค้า ต่อไปนี้ โดยใช้รูป แบบตามตารางด้านล่ าง (+ – หมายถึง ลดลง) ข้อ 1 2 3 4

รายการค้า

ซื้ออาคาร 100,000 บาท อาคาร + จ่ายเป็นเช็ค เงินฝากธนาคาร ส่งใบแจ้งหนี้เพื่อเรียกเก็บเงิน ค่าบริการจากลูกค้า 2,500 บาท จ่ายค่าโฆษณาเป็นเช็ค 10,000 บาท

5

ซื้อวัสดุสิ้นเปลืองเป็นเงินเชื่อ 3,000 บาท รับชาระหนี้จากลูกหนี้ 10,000 บาท

6

จ่ายชาระหนี้ให้เจ้าหนี้ 1,200 บาท

7

ซื้อรถยนต์ราคา 500,000 บาท จ่ายเงินสดทันที 100,000 บาท ที่เหลือออกตั๋วเงินจ่ายให้ ให้บริการแก่ลูกค้าได้รับเงินสด 7,500 บาท จ่ายเงินปันผล 5,500 บาท

8 9

บัญชี +/-

จานวน เงิน 100,000 100,000

หมายถึง เพิ่ มขึ้น , หมวด เดบิต / +/เครดิต สินทรัพย์ + เดบิต สินทรัพย์ - เครดิต

10 จ่ายค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด 700 บาท

13. ต่อไปนี้เป็ น รายการค้าในเดือนกรกฎาคม 25X1 ของกิจการรับตกแต่งบ้ าน ชื่อ บริษัท สวย ดีไซน์ จากัด 25X1 ก.ค. 1 กิจการออกจาหน่ายหุ้นสามัญ 20,000 หุ้น ขายในราคาเท่ากับมูลค่า คือ หุ้นละ 3 บาท 5 ซื้อวัสดุตกแต่งบ้าน เป็นเงินสด 2,200 บาท 8 ซื้อเครื่องใช้สานักงาน 30,000 บาท จ่ายเป็นเงินสด 10,000 บาท ที่เหลือ ขอค้างชาระ 10 รับเงินสดเป็นค่าตกแต่งบ้านให้ลูกค้า 20,000 บาท กิจการนาฝากธนาคาร ทันที


92

25X1 ก.ค. 14 17 18 20 21 29 30 31

จ่ายค่าเบี้ยประกันเป็นเช็ค 10,000 บาท ให้บริการทาสีแก่ลูกค้า 3,000 บาท แต่ลูกค้ายังไม่จ่ายเงิน จ่ายชาระค่าเครื่องใช้สานักงานที่ค้างอยู่ทั้งหมด ส่งบิลเก็บเงินลูกค้าค่าตกแต่ง 5,000 บาท ลูกค้าชาระทันที 3,000 บาท ที่เหลือค้างชาระไว้ ลูกค้าตามรายการวันที่ 17 นาเช็คมาชาระหนี้ทั้งหมด กิจการนาฝากธนาคาร ทันที จ่ายค่าสาธารณูปโภคเป็นเงินสด 1,500 บาท จ่ายเงินเดือน 5,000 บาท ให้พนักงาน จ่ายเงินปันผลให้ผู้ถือหุ้น 500 บาท

ผังบัญชีของกิจการ เงินสด เงินฝากธนาคาร ลูกหนี้ วัสดุตกแต่งบ้าน เครื่องใช้สานักงาน เจ้าหนี้

11 12 13 14 15 21

หุ้นสามัญ เงินปันผล รายได้ค่าบริการ ค่าเบี้ยประกัน ค่าสาธารณูปโภค เงินเดือน

31 32 41 51 52 53

ให้ทา 1. บันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป 2. ผ่านรายการไปยังบัญชีแยกประเภททั่วไป และหายอดคงเหลือ 3. งบทดลอง ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 25X1 14. บริษัท สะอาดซักรี ด จากัด ทาธุรกิจ ซักรีดเสื้ อผ้า รายการค้าที่เกิดขึ้นในเดือนตุล าคม 25X2 มีดังนี้ 25X2 ต.ค. 2 กิจการออกจาหน่ายหุ้นสามัญ จานวน 30,000 หุ้น ราคาหุ้นละ 5 บาท (เท่าราคามูลค่า) 7 ซื้อเครื่องซักผ้า 50,000 บาท จ่ายเป็นเงินสด 20,000 บาท ที่เหลือจะชาระ ในเดือนหน้า 8 ให้บริการซักรีดเสื้อผ้าได้รับเงินสด 10,500 บาท กิจการนาเงินฝากธนาคาร ทันที 11 ซื้อผงซักฟอกและน้ายาปรับผ้านุ่ม เป็นเงินสด 5,100 บาท 12 นาเงินสดฝากธนาคาร 28,000 บาท


93

25X2 ต.ค. 15 17 18 20 21 23 27

จ่ายค่าโฆษณาเป็นเช็ค 4,000 บาท ให้บริการและส่งบิลเรียกเก็บจากลูกค้า แต่ยังไม่ได้รับชาระเงิน 20,000 บาท นาขวดน้ายาปรับผ้านุ่มไปขายได้เงินสด 200 บาท จ่ายชาระหนี้ค่าเครื่องซักผ้าที่ซื้อมาเมื่อวันที่ 7 ต.ค. เป็นเงินสด 8,000 บาท ถอนเงินฝากธนาคารมาใช้ในกิจการ 30,000 บาท จ่ายเงินปันผล 3,000 บาท รั บ ช าระหนี้ จ ากลู ก ค้ า ส าหรั บ ค่ า บริ ก ารเมื่ อ วั น ที่ 17 ต.ค. เป็ น เงิ น 10,000 บาท 30 จ่ายค่าแรงงาน 30,000 บาท กู้ยืมเงินจากสถาบันการเงินแห่งหนึ่ง 50,000 บาท กาหนดชาระ 3 ปี 31 จ่ายค่าน้าประปา 3,500 บาท และค่าไฟฟ้า 2,500 บาท

ผังบัญชีของกิจการ เงินสด เงินฝากธนาคาร ลูกหนี้ วัสดุสิ้นเปลือง อุปกรณ์ซักรีด เจ้าหนี้ เงินกู้ยืมระยะยาว

11 12 13 14 15 21 22

หุ้นสามัญ เงินปันผล รายได้ค่าบริการ รายได้อื่น ค่าโฆษณา ค่าแรงงาน ค่าสาธารณูปโภค

31 32 41 42 51 52 53

ให้ทา 1. บันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป 2. ผ่านรายการไปยังบัญชีแยกประเภททั่วไป และหายอดคงเหลือ 3. งบทดลอง ณ วันที่ 31 ตุลาคม 25X2 15. ร้านโอบอุ้ม เปิดกิจการท่องเที่ยวเป็นธุรกิจเจ้าของคนเดียว โดยมีรายละเอียดสินทรัพย์มาลงทุน ในวันที่ 1 พฤศจิกายน 25X2 ได้แก่ เงินสด 450,000 บาท วัสดุสานักงาน 22,500 บาท เงินฝากธนาคาร 255,000 บาท อุปกรณ์สานักงาน 45,000 บาท ในระหว่างเดือน มีรายการค้าเกิดขึ้น ดังนี้ 25X2 พ.ย. 2 ซื้อรถตู้ 85,000 บาท จ่ายเงินสดทันที 50,000 บาท 3 จ่ายค่าน้ามันรถ 3,200 บาท 6 รับรายได้ค่าบริการท่องเที่ยว 20,000 บาท 7 ถอนเงินจากธนาคารมาใช้ในร้าน 30,000 บาท


94

25X2 พ.ย. 10 13 17 20 23 27 28 29 30

ซื้อเครื่องตกแต่งสานักงาน 7,500 บาท และจ่ายค่าน้ามันรถ 1,200 บาท ให้บริการท่องเที่ยวเป็นเงิน 50,000 บาท ได้รับเงินสดทันที 30,000 บาท จ่ายค่าน้า 500 บาท ค่าไฟฟ้า 1,500 บาท เงินเดือน 25,000 บาท จ่ายค่าโฆษณา 5,500 บาท เจ้าของกิจการถอนเงินไปใช้ส่วนตัว 5,000 บาท จ่ายชาระหนี้ค่ารถตู้ที่ซื้อเมื่อวันที่ 2 พ.ย. ซื้ออุปกรณ์สานักงานเป็นเงินเชื่อ 8,000 บาท รับชาระหนี้ค่าบริการท่องเที่ยวเมื่อวันที่ 13 พ.ย. จ่ายค่าน้ามันรถ 4,800 บาท

ผังบัญชีของกิจการ เงินสด เงินฝากธนาคาร ลูกหนี้ วัสดุสานักงาน อุปกรณ์สานักงาน เครื่องตกแต่ง รถตู้

101 102 103 104 105 106 107

เจ้าหนี้ ทุน ถอนใช้ส่วนตัว รายได้ค่าบริการ ค่าน้ามันรถ ค่าสาธารณูปโภค เงินเดือน ค่าโฆษณา

ให้ทา 1. บันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป 2. ผ่านรายการไปยังบัญชีแยกประเภททั่วไป พร้อมทั้งหายอดคงเหลือ 3. งบทดลอง ณ วันที่ 30 พฤศจิกายน 25X2

201 301 302 401 501 502 503 504


95

เอกสารอ้างอิง สภาวิช าชีพบั ญชี. (2552). มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552). เรื่อง การนาเสนอ งบการเงิน. สภาวิชาชีพบัญชี. (2552). แม่บทการบัญชี. อรุณี อย่างธารา, อรสา วีระประดิษฐ์, สุพิชญ์ชญา เหล่าธรรมทัศน์ และ วิภาดา ตันติประภาการ. (2554). บัญชีการเงิน. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. Belverd E. Needles, Jr., Marian Powers. (2008). Principles of Financial Accounting. 10th ed. Boston : Houghton Mifflin Company. Jerry J. Weygandt, Paul D. Kimmel, Donald E. Kieso. (2011). Financial Accounting. IFRS Edition. NJ : Quad / Graphics.


96


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.