คู่มือสถาปนิก

Page 1

“คู่มือสถาปนิกจิตอาสา” โครงการวัดบันดาลใจ

ผู้จัดทา ปิยาณี สุขมณี กัลยา จันทร์ทันโอ อรศรี งามวิทยาพงศ์

คู่มือนี้เป็นรายงานความก้าวหน้า โครงการวิจัยเชิงปฏิบัติการ เรื่อง กระบวนการของการก่อตั้งและขับเคลื่อนต่อยอดบทบาทของวัด ให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ทางจิตวิญญาณของวัดในเขตเมือง : กรณีศึกษาวัดนาร่องของโครงการวัดบันดาลใจ เสนอต่อ โครงการพัฒนาสัปปายะของวัดให้เป็นพื้นทีส่ ุขภาวะของเมืองตามรูปแบบวัดบันดาลใจ” สถาบันอาศรมศิลป์และสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ตุลาคม 2561


สารบัญคู่มือ หน้า ภาคหนึ่ง : คิดได้ชัด-ปฏิบตั ิได้ถูก

1

แนวคิดการทางานของสถาปนิกจิตอาสา

1

แนวทางปฏิบัติ จัดการภารกิจ

7

ภาคสอง : ถอดบทเรียน

12

5 คนต้นเรื่อง

12

เรื่องนี้...อยากบอกต่อ

25

บัญญัติ 6 ประการ สู่ สถาปนิกจิตอาสา

26

เจ้าของประสบการณ์

27


ภาคหนึ่ง คิดได้ชัด-ปฏิบตั ิได้ถูก แนวคิดการทางานของสถาปนิกจิตอาสา ส่วนที่หนึ่งเป็นด่านแรกที่สถาปนิกควรทาความเข้าใจ เพื่อให้มีกรอบความคิดในการปฏิบัติงานร่วมกับ วัดซึ่งมีความเฉพาะแตกต่างไปจากการทางานร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ เอกชน บุคคลทั่วไป ดังที่สถาปนิกส่วน ใหญ่เคยมีป ระสบการณ์ การทางานร่ ว มอย่ างโชกโชนมาแล้ วและหากเป็นสถาปนิกใหม่ไฟแรงยังไม่เคยมี ประสบการณ์การทางานมากนัก การศึกษาแนวคิดการทางานของสถาปนิกจิตอาสานี้จะยิ่งช่วยเป็นเข็มทิศนา ทางการดาเนินงานร่วมกับวัดได้เป็นอย่างดี แนวคิดการทางานของสถาปนิกจิตอาสา ประกอบด้วย 4 หมวดหลักสาคัญ คือ การมีส่วนร่วม การ ประยุกต์มากกว่าสร้างใหม่ การตอบโจทย์ภารกิจวัดและการสื่อสารเพื่อการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง (1) การมีส่วนร่วม การมีส่วนร่วมนับเป็นแนวคิดพื้นฐานของการทางานร่วมกั บผู้อื่น ไม่ว่าจะเป็นการทางานร่วมกับใคร องค์กรเล็กหรือองค์กรใหญ่ เป็นหลักคิดสาคัญที่จะทาให้เกิดความร่วมไม้ร่วมมือ เกิดความเข้าใจต่อกันระหว่าง ผู้ปฏิบัติงาน การทางานระหว่างวัดกับสถาปนิกก็เช่นกัน การนาแนวคิดการมีส่วนร่วมมาเป็นแนวทางในการ ท างานนอกจากจะช่ ว ยให้ เ กิ ด ความร่ ว มมื อ และความเข้ า ใจต่ อ กั น แล้ ว ยั ง จะช่ ว ยเพิ่ ม โอกาสให้ บ รรลุ เป้าประสงค์ร่วมกันด้วย อย่างไรก็ตามสิ่งสาคัญที่ไม่อาจปฏิเสธได้ในการทางานร่วมกับวัด คือ แท้จริงแล้วผู้มี ส่วนเกี่ยวข้องไม่ได้มีเพียงแค่พระสงฆ์รูปใดรูปหนึ่งหรือญาติโยมที่เป็นลูกศิษย์วัดคนใดคนหนึ่ง แต่ยังเกี่ยวข้อง กับ คณะสงฆ์และญาติโ ยมทั้งหลาย ที่ต่างเป็นผู้ ใช้งานจริงในพื้นที่วัดด้วยกันทั้งสิ้ น ความหลากหลายของ ผู้เกี่ยวข้องเป็นความซับซ้อนในด้านความสัมพันธ์การใช้พื้นที่ ซึง่ อาจแตกต่างกันไปตามบริบทของแต่ละวัด ความซั บ ซ้ อ นในด้ า นการใช้ พื้ น ที่ อาจอยู่ ใ นหลากหลายมิ ติ บางแห่ ง อาจมี ผู้ เ กี่ ย วข้ อ งทั้ ง ใน มิ ติ เศรษฐกิจ มิติการเมือง มิติวัฒนธรรม ดังเช่น วัดขนาดใหญ่แห่งหนึ่งมีความสัมพันธ์อย่างแนบแน่นกับญาติโยม ทั้งพ่อค้าแม่ค้าที่ทามาหากินเปิดร้านขายของภายในวัด นักการเมืองท้องถิ่นที่มาทาพิธีบวงสรวงปูชนียสถานอัน ศักดิ์สิทธิ์ภายในวัดจนเป็นประเพณี รวมไปถึงหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐ เอกชน นักเรียนนักศึกษาที่เข้ามา ปฏิสัมพันธ์กับวัดและใช้พื้นทีภ่ ายในวัดเพื่อดาเนินกิจกรรม ดังนั้นการทางานของสถาปนิกจึงเกี่ยวข้องเชื่อมโยง กับทุกฝ่ายทั้ง วัด องค์กรเอกชน หน่วยงานภาครัฐ พ่อค้าแม่ขาย ซึ่งแต่ละวัดจะมีความเชื่อมโยงมากหรือน้อย แตกต่างกันไปตามความซับซ้อนและความหลากหลายของเครือข่ายที่มี “วัดซับซ้อนกว่าที่เราคิดเยอะ ตอนแรกเราไม่ได้ใส่ใจ วัดก็คือวัด ก็คงเป็นองค์กรหนึ่งที่เอกเทศ แต่ ไม่ใช่ มันมีการ connect กับชุมชนโดยรอบอย่างแยกกันไม่ออก” (นาชัย แสนสุภา สัมภาษณ์) ความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันเหล่านี้สถาปนิกต้องเรียนรู้เพื่อทาความเข้าใจในความหลากหลายที่เกิดขึ้น และผสานความร่วมมือภายใต้บริบทความซับซ้อนนี้ให้ได้มากที่สุด การคานึงถึงความหลากหลาย ซับซ้อน ของ ผู้เกี่ยวข้อง ก็เพื่อให้เห็นภาพในมุมกว้างของความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นภายในวัด ซึ่งจะทาให้สถาปนิกสามารถ คูม่ ือสถาปนิกจิตอาสา 1


เชื่อมโยงการใช้พื้นที่ร่วมกันของทุกฝ่ายได้ด้วยความเข้าใจเพราะวัดคือพื้นที่สาธารณะ พื้นที่ หนึ่งๆอาจมีหน้าที่ เปลี่ยนไปเมื่อเปลี่ยนผู้ใช้งาน ดังนั้นการนาแนวคิดการมีส่วนร่วมมาเป็นหลักในการทางาน ก็เพื่อให้เข้าถึง แหล่งข้อมูล เข้าถึงความต้องการจากผู้ใช้งานจริง ซึง่ สถาปนิกต้องเปิดใจและพร้อมเรียนรู้ “เปิดใจรับฟังความแตกต่างหลากหลาย เป็นมิติที่นักออกแบบที่ดีต้องทาอยู่แล้ว ถ้าความแตกต่าง หลากหลายเยอะๆ ก็ต้องพูดคุยทาความเข้าใจกันว่ามุมมองที่เขามองคืออะไร” (ประพันธ์ นภาวงศ์ดี) นอกจากการน าแนวคิดการมีส่วนร่ว มมาใช้เป็นแนวทางหลั กในการทางานร่ว มกันระหว่างวั ด กับ สถาปนิกแล้ว “ท่าที” ของสถาปนิกที่จะเอื้อให้เกิดการมีส่วนร่วมนับว่าเป็นสิ่งสาคัญไม่แพ้กัน การวางตัวอย่าง ผู้อาสาจึงเป็นคุณลักษณะสาคัญที่สถาปนิกไม่ควรละเลย ท่าทีที่มีความอ่อนน้อมดังลูกศิษย์วัด จะช่วยให้การ เข้าถึงแหล่งข้อมูลเป็นไปได้ง่ายขึ้น ไม่ว่าจะในช่วงเวลาที่เป็นทางการหรือไม่เป็นทางการ การมีท่าทีที่เป็นส่วน หนึ่งของวัดของชุมชน จะหลอมรวมความสัมพันธ์ของสถาปนิกเข้ากับผู้เกี่ยวข้องได้ไม่ยาก “กรณีวัดโนนกุดหล่มเมื่อมีงาน เราก็ไปนอนที่วัด ป้าๆก็มากางเต็ นท์นอน เราก็นอนแบบเขาใน โซนผู้ชาย เหมือนคนอื่นที่มา ไม่แปลกแยก ไม่ไปขอที่นอนอภิสิทธิ์จากเจ้าอาวาส อยู่กับเขา กินข้าว ทาตัว เหมือนเขา ถ้าเขาลงแรงทางานเราก็ต้องทา เหมือนซื้อใจ ไม่ได้เป็นแค่สถาปนิกคนเมืองมาสั่งอย่างเดียว ต่างจากการทางานกับลูกค้าที่เราต้องสั่งให้ทาตามเรา พอไปทาแบบนี้เราต้องไปเป็นเขา เราไม่ควรไปสั่ง คิดซะว่าเป็นลูกวัดคนหนึ่งแล้วไปช่วยงาน มันจะทาให้งานราบรื่น” (คุณชาญชัย จรุงเรืองเกียรติ) ในประเด็นท่าทีที่จะเอื้อประโยชน์ต่อการทางานร่วมกัน นี้ อันที่จริงแล้วพระสงฆ์ซึ่งเป็นผู้นาฝ่ายวัดก็มี บทบาทร่วมด้วยเช่นกัน อนึ่งสถาปนิกนับเป็น บุคคลภายนอกที่มีความตั้งใจจะเข้ามาช่วยวัด สาหรับพระสงฆ์ นับว่าเป็นเจ้าของพื้นที่ ย่อมมีส่วนสาคัญที่จะทาให้เกิดความร่วมมือ ความเข้าใจ ไม่แพ้กัน โดยเฉพาะเมื่อผู้นา ฝ่ายสงฆ์เป็นผู้มีบารมี เป็นที่เคารพศรัทธาของญาติโยม มีวิสัยทัศน์และมีภาวะผู้นา จะยิ่งช่วยสนับสนุนให้การ ทางานร่วมกันระหว่างสถาปนิกกับวัดลุล่วง สามารถบริหารจัดการความคิดเห็นที่แตกต่างหลากหลายได้ อย่าง ราบรื่น “เมื่อสถาปนิกเริ่มต้นจากการมีเจตนาดีแล้ว ปัจจัยที่สาคัญอีกประการหนึ่งที่จะทาให้สถาปนิก สามารถทางานร่วมกับวัดได้สาเร็จลุล่วง คือ เจ้าอาวาส ถ้าไม่สามารถนั่งอยู่ในใจญาติโยม ไม่เป็นที่เคารพ ศรัทธา ก็อาจทาให้การทางานติดขัดได้” (พระครูรัตนโสภณ (สุรัฐ สิริปุญฺโญ)) (2) การประยุกต์มากกว่าสร้างใหม่ ความเป็ น จริ งที่ ส ถาปนิ ก จะพบ คือ วัดไม่ใช่พื้นที่ โ ล่ ง หรือมีเพียงที่ดินเปล่ า ที่รอให้ ส ถาปนิก ช่ว ย ออกแบบการใช้พื้นทีใ่ หม่ทั้งหมด ไม่เหมือนกับการออกแบบบ้านให้ลูกค้า ออกแบบคอนโดมิเนียม หรือ รีสอร์ท ให้กับบริษัทเอกชนซึ่งมีที่ดินอยู่ในมือโดยยังไม่ได้ทาอะไร เพราะวัดเกิดขึ้นจากความศรัทธา มีที่มาที่ไปของการ ก่อร่างสร้างขึ้น พื้นที่ภายในวัดจึ งมีองค์ป ระกอบทั้งตัว อาคาร การทับ ซ้อนของการใช้พื้นที่ ความสัมพันธ์ ระหว่างพื้นที่กับผู้ใช้งาน รวมไปถึงกุศโลบายที่แฝงอยู่อย่างแนบเนียนเพื่อ น้อมนาญาติโยมเข้าหาหลักธรรม เมื่อพื้น ที่ภ ายในวั ดมี ห น้ า ที่ อยู่ ก่ อนแล้ ว สถาปนิกส่ ว นใหญ่จึงมี มุม มองที่เ หมื อ นกั นและอยากบอกต่ อ แก่

คูม่ ือสถาปนิกจิตอาสา 2


สถาปนิกที่จะเข้าไปทางานกับวัดว่า ควรใส่ใจที่จะเรียนรู้ เพื่อให้เข้าใจความหมายและคุณค่าของสิ่งเดิมก่อนที่ จะเริ่มลงมือทาสิ่งใหม่ การเรียนรู้สิ่งที่มีอยู่เดิม จะทาให้สถาปนิกพบข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการวิเคราะห์เพื่อแก้ไขปัญหา การใช้ พื้ น ที่ ใ ห้ เ หมาะสมต่ อ การเป็ น พื้ น ที่ พั ฒ นาจิ ต วิ ญ ญาณตามบริ บ ทของวั ด แต่ ล ะแห่ ง ซึ่ ง มี ค วาม เฉพาะเจาะจงแตกต่างกันไป สถาปนิกจึงควรทาความเข้าใจเพื่อให้เห็นคุณค่า เห็นความสัมพันธ์ เห็นกุศโลบาย ที่ซ่อนอยูเ่ สียก่อน “ไม่สามารถที่จะไปชี้เปลี่ยนแบบลูกค้าได้ สาหรับวัดเราต้องคุยจนรู้ว่า ตึกนี้มาได้อย่างไร ทาไม หลังคาเป็นสีนี้ ต้องรู้” (ชาญชัย จรุงเรืองเกียรติ) อันที่จริงแล้วการเรียนรู้สิ่งที่มีอยู่เดิม ยังเป็นพื้นฐานทางความคิดที่สาคัญที่จะทาให้สถาปนิกเกิดความ เข้าใจต่อวัฒนธรรมการเกื้อกูลกันระหว่างวัดกับชุมชน ซึ่งจะส่งผลต่อการวางแนวทางการทางานร่วมกับวัด เพราะวัดกับชุมชนอยู่ ร่วมกันอย่างเกื้ อกูลแบบแยกกันไม่ออก ดังนั้นการเข้าไปทางานของสถาปนิกจึงต้อง คานึงถึงชุมชนด้วย ที่ผ่านมาชุมชนมีส่วนสาคัญที่ทาให้วัดขับเคลื่อนไปได้ ไม่ว่าจะเป็นการก่อสร้างสิ่งใดสิ่งหนึ่ง วัดต้องขอความร่วมมือจากญาติโยมให้เป็นผู้สนับสนุน ผ่านกิจกรรมงานบุญต่างๆ การทาความเข้าใจในเรื่อง ความเกื้อกูลกันจะทาให้ความตั้งใจของสถาปนิกมีโอกาสเกิดขึ้นได้จริงโดยที่ไม่เป็นการสร้างภาระให้กับวัดและ ชุมชน ดังนั้นการพัฒนาของเดิมให้ใช้งานได้ดีขึ้น จึงเป็นจุดเริ่มต้นที่สาคัญที่สถาปนิกไม่ควรมองข้าม “สถาปนิกต้องสร้างความคิดว่าเราเข้าไปช่วย ไม่ไปทาให้ท่านหนักใจขึ้น ทาไมไม่สร้างสิ่งนี้ๆ แต่ ขั้นแรกคือ แค่เราเข้าไปแล้วของเดิมมันดีขึ้น การใช้งานดีขึ้น โดยไม่ต้องสร้างอะไรใหม่ก็ได้แค่นี้ก็ดีใจแล้ว” (ชาญชัย จรุงเรืองเกียรติ) จากที่ ก ล่ า วมา น่ า จะท าให้ เ ห็ น ความส าคั ญ ของการเลื อ กที่ จ ะปรั บ ประยุ ก ต์ สิ่ ง ที่ มี อ ยู่ เ ดิ ม ซึ่ ง มี ความหมาย มีคุณค่า มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับพระสงฆ์และญาติโยมมาก่อนแล้ว ก่อนที่จะเริ่มทาสิ่งใหม่ๆ เพราะการพัฒนาสิ่งเดิมให้สามารถตอบโจทย์ความต้องการของผู้ใช้งานได้ดียิ่งขึ้น หรือแม้แต่การปรับเปลี่ยน ตาแหน่งทางเข้าออกให้เหมาะสม จัดลาดับการเข้าถึงพื้นที่ อย่างเป็นระบบ ถือเป็นจุดเริ่มต้นเล็กๆที่ทาให้วัด เกิดการเปลี่ ย นแปลงการใช้ ป ระโยชน์ พื้น ที่ โ ดยไม่ ต้ องใช้ง บประมาณมากนั ก แต่เน้นการจัดการใหม่ ให้ เหมาะสมกับการใช้งานตามบทบาทหน้าที่ของวัด คือทั้งการใช้งานตามภารกิจของสงฆ์และการเอื้อเฟื้อพื้นที่ สาหรับกิจกรรมชุมชน โดยสถาปนิกต้องดึงความโดดเด่นของสิ่ งที่มี อยู่ และแก้ไขส่วนที่เป็นปัญหา ภายใต้ ข้อจากัดของวัดทั้งในเรื่องงบประมาณและเรื่องภาระการดูแลรักษา ความปลอดภัยต่างๆ เพื่อไม่เป็นการสร้าง ภาระอื่นๆเพิ่มเติมให้แก่พระสงฆ์เพราะท่านมีหน้าที่ทางธรรมอยู่แล้ว “ต้ องเข้า ใจบทบาทหน้าที่และกิจของสงฆ์ พระท่า นนอกจากมีหน้าที่ใ นการศึกษาธรรมะเพื่อ ยกระดับจิตใจ ท่านก็ยังมีภาระรับผิดชอบต่อชุมชนโดยรอบ ต่อสิ่งปลูกสร้างในวัด ต่อการรักษาความ สะอาด ความปลอดภัย การซ่อมแซมบารุงรักษา ดังนั้นจะเห็นว่าท่านมีภาระเยอะมาก” (นาชัย แสนสุภา)

คูม่ ือสถาปนิกจิตอาสา 3


(3) การตอบโจทย์ภารกิจวัด สิ่งสาคัญอีกประการหนึ่งที่สถาปนิกจิตอาสาจะต้องยึดมั่นอยู่เสมอ คือ จะทาอย่างไรให้งานออกแบบ ตอบโจทย์ ภ ารกิจ ของวั ด ไม่ใช่การทางานที่ตอบโจทย์ความต้องการของสถาปนิก “งานที่ดีต้องสะท้ อ น ผู้ใช้งานมากกว่าสะท้อนตัวตนของสถาปนิ ก” (พรหมมินท์ สุนทระศานติก) ซึ่งในหัวข้อนี้จะสะท้อนให้เห็น แนวความคิดของสถาปนิกในโครงการฯ ต่อการทางานให้ตอบโจทย์ภารกิจของวัด พื้นฐานสาคัญที่สถาปนิกต้องเรียนรู้คือ บทบาทหน้าที่ในการเผยแผ่ธรรม วัตรปฏิบัติ การเอื้อเฟื้อ เกื้อกูลต่อญาติโยม ความสัมพันธ์ ระหว่างวัดกับชุมชนและความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากรภายในวัด การใช้งาน พื้นที่ภายในวัด รวมไปถึงความเฉพาะของพื้นที่ ทั้งเรื่องปัญหา สิ่งที่ต้องการปรับปรุง ข้อจากัดต่างๆ การเรียนรู้ เรื่องราวเหล่านี้ก็เพื่อทาความเข้าใจว่าบริบทของวัด เป็นอย่างไร ซึ่งแต่ละวัดอาจมีความแตกต่างกัน สถาปนิก จึงต้องทาความเข้าใจวัดแต่ละแห่งอย่างทะลุปรุโปร่งและตีโจทย์ให้แตกว่าอะไรเป็นสิ่งที่ควรนาเสนอเพื่อพัฒนา ต่อไป การเรียนรู้ธรรมชาติของวัดจากที่สถาปนิกในโครงการฯหลายท่านสะท้อนข้างต้น ยังสอดคล้องกับ มุมมองของพระสงฆ์ในโครงการฯที่เห็นความสาคัญของกระบวนการเรี ยนรู้นี้ “สถาปนิกต้องไม่ดูแค่ ค วาม สวยงามแต่จะต้องรู้และเข้าใจวิถีชีวิตของพระ รู้เรื่องสถาปัตยกรรมไทย ลายไทยต้องรู้ด้วย คือเป็นสิ่งที่ ต้องรู้ ถ้าไม่รู้ การออกแบบมันจะไปตอบสนองอย่างที่เขาคิด ” (พระดุษฎี เมธงฺกุโร) ทาให้ยืนยันได้ว่าการ เรียนรู้ธรรมชาติของวัด เป็นเรื่องสาคัญ จะทาให้สถาปนิกสามารถดาเนินงานได้ตอบโจทย์ภารกิจของวัดได้ดี ยิ่งขึน้ ทั้งนี้เครื่องมือพื้นฐานสาคัญที่จะช่วยตอบโจทย์ภารกิจของวัด คือ ผังแม่บท “หัวใจสาคัญที่สุดของ วัดคือการมีผังแม่บท เพื่อบอกว่าความต้องการใช้ที่ดินควรเป็นอย่างไร” (พรหมมินท์ สุนทระศานติก) แม้ว่า วัดจะมีองค์ประกอบของอาคาร สิ่งปลูกสร้าง การทับซ้อนเรื่องการใช้พื้นที่ทากิจกรรมต่างๆ อยู่ก่อนแล้วก็ตาม แต่การนาความรู้ทางวิชาชีพมาผสานสอดคล้องกับข้อจากัดของแต่ละวัดและความเฉพาะในวิถีปฏิบัติของ พระสงฆ์ให้ออกมาในรูปแบบผังแม่บทจะช่วยคลี่คลายความสับสน ตาแหน่งที่ผิดที่ผิดทางของสิ่งปลูกสร้างที่มี อยู่เดิม เพราะการมีผังแม่บทจะช่วยให้ วัดสามารถกาหนดทิศทางการใช้ประโยชน์พื้นที่ ได้อย่างเป็นระบบมาก ขึ้น แม้จะไม่สามารถเปลี่ยนแปลงสิ่งเดิมให้ถูกหลักการได้ทั้งหมด แต่จะทาให้วัดเห็นทิศทางการใช้ประโยชน์ พื้นที่อย่างเป็นสัดส่วนที่ชัดเจน จะช่วยเอื้อประโยชน์ต่อการใช้พื้นที่สาหรับทากิจกรรมทางธรรมและกิจกรรม ทางสังคมในอนาคตได้ ในส่วนนี้เองสถาปนิกต้องศึกษาข้อมูล อย่างมาก ทั้งข้อมูลการใช้พื้นที่ของพระสงฆ์และข้อมูลการใช้ พื้ น ที่ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ชุ ม ชน ซึ่ ง การวางผั ง จะไม่ ไ ด้ ใ ช้ ค วามรู้ เ พี ย งศาสตร์ เ ดี ย ว ไม่ ใ ช่ เ ฉพาะความรู้ ด้ า น สถาปัตยกรรมหรือความรู้เฉพาะด้านภูมิสถาปัตยกรรม แต่ต้องใช้ความรู้ทั้งสองควบคู่กันไปเพื่อให้การวางผัง ตอบโจทย์ความต้องการของวัดโดยไม่สร้างภาระให้กับ ทั้งวัดและชุมชน เช่น ต้องรู้ว่ารอบๆวัดมีสิ่งปลูกสร้าง อะไร เป็นแหล่งที่อยู่อาศัย เป็นร้านค้าหรือเป็นที่ดินว่างเปล่า เป็นต้น สาหรับนามาเป็นข้อมูลวิเคราะห์การวาง ผังแม่บทของวัด เพื่อให้การวางผังไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งปลูกสร้างหรือการใช้ประโยชน์ที่ดินบริเวณรอบวัด ทั้งนี้ คูม่ ือสถาปนิกจิตอาสา 4


สถาปนิกต้องไม่คิด เอาเองแต่ต้องเก็บ ข้อมูลให้ประจั กษ์แล้วออกแบบบนฐานข้อมูลจริง พร้อมทั้งนาเสนอ ทางเลื อกการพัฒ นาให้ กับ วัดอย่ างหลากหลายเพื่อให้ วัดพิจารณาเลื อกได้ตรงตามความต้องการ เพราะ ท้ายที่สุดการทางานในบทบาทของสถาปนิกจิตอาสาคือการช่วยให้ข้อเสนอแก่วัดภายใต้ความรู้ทางวิชาชีพของ สถาปนิก (4) การสื่อสารเพื่อการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การสื่ อ สาร เป็ น สิ่ ง ส าคั ญ อี ก อย่ า งหนึ่ ง ที่ ส ถาปนิ ก ไม่ อ าจมองข้ า มได้ แม้ ที่ ผ่ า นมาสถาปนิ ก จะมี ประสบการณ์การทางานมามากมาย แต่แนวทางการสื่อสารที่เคยมีอาจนามาใช้ในการทางานครั้งนี้ไม่ได้ทั้งหมด เพราะ “วัด” มีความพิเศษที่ แตกต่างไปจากหน่วยงานรัฐ เอกชน ที่หลายๆท่านเคยร่วมงานมา วัฒนธรรม เฉพาะของวัดทาให้สถาปนิกต้องหันกลับมาเรียนรู้ แนวทางการสื่อสารสาหรับวัด เพื่อเตรียมตัวที่จะสื่อสารให้ บรรลุวัตถุประสงค์ร่วมกันได้อย่างราบรื่น สถาปนิก “ต้องสื่อสารให้มาก” เพราะยิ่งสื่อสารก็จะทาให้ยิ่งรู้ความต้องการ รู้ปัญหาที่วัดมีอยู่ รวมไป ถึงทาให้รู้จักวัฒนธรรมองค์กรเพิ่มขึ้น “สถาปนิกไม่กล้าถาม จะถามก็เกรงใจ สุดท้ายก็ห่างกันและกลายเป็น ความล้มเหลว พระก็ล้มเหลวมีแบบแต่ไม่ได้ทาอะไร สถาปนิกก็ล้มเหลวเขียนแบบตั้งมากแต่ไม่เกิดอะไรขึ้น เพราะฉะนั้นต้องคุ ยกันให้เยอะ แลกเปลี่ยนกันให้มาก ติกันไปมาแล้วค่อยมาออกแบบให้ตรงตามความ ต้องการ” (พระดุษฎี เมธงฺกุโร) ไม่ว่าจะทางานกับองค์กรใดสถาปนิกต้องเรียนรู้วัฒนธรรมขององค์กรนั้นอยู่ แล้ว เพื่อให้สามารถทางานภายใต้บริบทของหน่วยงานนั้นได้อย่างราบรื่น ซึ่งวัดก็นับเป็นองค์กรหนึ่งที่มีความ เฉพาะที่สถาปนิกต้องทาความเข้าใจและเรียนรู้เพิ่มเติม เพราะในการทางานจริงสถาปนิกจะอยู่ในฐานะของ ญาติโยมที่อาสามาช่วยงานท่าน ไม่ได้อยู่ในฐานะเหมือนอย่างที่เคยทางานร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ สถาปนิกจึง ต้องเห็นคุณค่าของงานอาสาสมัครและตั้งใจที่จะสื่อสารอย่างสม่าเสมอ “เพราะงานวัดไม่ได้เหมือนงานอื่นๆ การทางานกับวัดมันมากว่าการออกแบบ มันคือการสละเวลา เพื่อจะเรียนรู้” (อรอาไพ สามขุนทด) “เราไปในฐานะฆราวาสคนหนึ่งมันมี Scale อยู่ เราไม่ได้ไปในฐานะนักออกแบบเหมือนโครงการ ในพื้นที่สาธารณะอื่นๆ สาหรับโครงการนี้เราไปในฐานะลูกศิษย์วัด” (กชกร วรอาคม) การทางานในฐานะผู้อาสาสิ่งที่สาคัญคือ สถาปนิกต้องมี ท่าทีที่เหมาะสม ถือเป็นประตูสู่การสื่อสาร จากประสบการณ์ของสถาปนิกที่ทางานในโครงการวัดบันดาลใจ บางท่านจึงเลือกที่จะวางตนอย่างลูกศิษย์วัด บางท่านเลือกที่จะวางตนอย่างสหายธรรม ซึ่งก็แล้วแต่ว่าอยู่ในบริบทแบบใด ท่าทีฝ่ายวัดเป็นอย่างไร การ กาหนดท่าที่ให้สอดคล้องกับทางวัด ก็เพื่อที่จะปรับตัวให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกับวัด ปรับมุมมองให้สามารถ เข้าถึงข้อมูลและทาความเข้าใจสิ่งนั้นให้มากที่สุด การเปิดใจยอมรับการเปลี่ยนแปลงเป็นสิ่งที่ต้องทาควบคู่กันไป เพราะสถาปนิกมีโอกาสที่จะเผชิญ เหตุการณ์ที่ไม่เป็นอย่างที่คาดการณ์ไว้ ด้วยข้อจากัด ความเฉพาะในบริบทของวัด หรือความจาเป็นในการใช้ งาน เป็นต้น แต่หลักการอยู่ที่ ความยืดหยุ่น นั่นคือสถาปนิกต้องไม่ตีกรอบความคิดไว้ก่อนว่าจะต้องเป็นแบบ ไหน ทาใจให้ พร้อมยอมรับ สิ่งที่อาจไม่ ตรงตามความคาดหมาย เตรียมใจยอมรับการเปลี่ยนแปลงทั้งที่อาจ คูม่ ือสถาปนิกจิตอาสา 5


คาดการณ์ได้และไม่ได้คาดการณ์ไว้ล่วงหน้า ดังนั้นสถาปนิกต้องปรับตัว ปรับความคิดแล้วสื่อสารกับวัดอย่าง ต่อเนื่อง เพื่อนาเสนอข้อมูล ในมุมมองของนักวิชาชีพ ที่เป็นประโยชน์ต่อวัด ให้ทันต่อสถานการณ์ ทันต่อการ เปลี่ยนแปลง “คนที่ทางานแบบนี้ไม่จาเป็นต้องเข้าใจศาสนาลึกซึ้ง แต่ต้องไม่ติดภาพศาสนาว่าเป็นแบบนี้ ต้อง สงบ ร่มรื่น ต้องไม่มีมีภาพในใจ พอเวลามาทาจริ งแล้วไม่เ ป็นแบบนั้น ก็จะสามารถทางานต่อไปได้ ” (อรอาไพ สามขุนทด) “อย่าล้มเลิกง่ายๆ อย่า Give Up ง่ายๆ ไม่ใช่ว่าแบบไม่ work แล้วเราไม่ work มันเป็นหน้าที่ เราเป็นคนออกแบบ ท่านคือ User ที่เป็น Owner และ Funder” (กชกร วรอาคม) อย่างไรก็ตามแนวทางการสื่อสารกับวัดไม่ได้มีลักษณะตายตัว เพราะสถาปนิกแต่ละท่านต่างมีสไตล์ การทางาน สไตล์การสื่อสารที่แตกต่างกันออกไป แต่สิ่งสาคัญอยู่ที่เป้าหมายปลายทางที่ต้องมุ่งไปในทิศทาง เดียวกัน นั่นคือ การทาให้ ทุกฝ่ายเกิดความเข้าใจตรงกัน เพียงหลักการง่ายๆเท่านี้ ก็น่าจะทาให้เห็ นแนว ทางการทางานร่วมกับวัดได้เพิ่มขึ้น

คูม่ ือสถาปนิกจิตอาสา 6


แนวทางปฏิบัติ จัดการภารกิจ เนื้อหาในส่วนนี้ สถาปนิกจะได้เห็นวิธีการปฏิบัติงานอย่างเป็นขั้นเป็นตอน เพื่อเป็นเครื่องมือที่จะไข ไปสู่การทางานร่วมกับวัดได้อย่างเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน บรรลุเป้าประสงค์ร่วมกันในที่สุด แนวทางปฏิบัติ จัดการภารกิจ จะสอดคล้องกับแนวคิดการทางานของสถาปนิกจิตอาสาข้างต้น เรียก ได้ว่าเป็นภาคปฏิบัติของแนวคิดทั้ง 4 หมวด คือ การมีส่วนร่วม การประยุกต์มากกว่าสร้างใหม่ การตอบโจทย์ ภารกิจวัด และการสื่อสารเพื่อการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อ ง ซึ่งจะทาให้เห็นภาพชัดขึ้นว่าจากแนวคิดการทางานจะ นาไปปฏิบัติจริงได้อย่างไร (1) การมีส่วนร่วม มีแนวทางปฏิบัติ คือ • สนับสนุนให้วัดกับญาติโยมได้เรียนรู้ร่วมกัน การทางานกับวัดแต่ละวัด มีความแตกต่างกัน บางวัดเป็นวัดเล็ก บางวัดเป็นวัดใหญ่ บางวัด ญาติโ ยมมอบสิ ทธิ์ ขาดให้ ท่านเจ้ าอาวาสตัดสิ นใจเรื่องการพัฒ นาวัด แต่บางวัดญาติโ ยมมีความคิดเห็ น ที่ หลากหลายและล้วนต้องการมีส่วนในการแสดงความคิดเห็นร่วมกับทางวัด ในกรณีอย่างหลังนี้ส่วนมากจะเกิด ขึ้นกับวัดขนาดใหญ่ ซึ่งแนวทางในการจัดการความคิดเห็นที่หลากหลายก็คือ สถาปนิกต้องให้เวลากับวัด เพื่อให้วัดหารือกับญาติโยมและสรุปผลในเรื่องนั้นๆ แล้วจึงนาข้อสรุปมาหารือกับฝ่ายสถาปนิก แต่หากละเลย ขั้นตอนการรับฟังความคิดเห็นของญาติโยม เมื่อวัดกับสถาปนิกหารือจนได้ข้อสรุปขึ้นมาแล้ว ฝ่ายญาติโยมอาจ มีข้อเสนอแนะต่อข้อสรุปนั้น เพราะอย่าลืมว่าวัดกับญาติโยมมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิด เอื้อเฟื้อซึ่งกันและกันมา โดยตลอด เมื่อญาติโยมมีข้อเสนอแนะจึง ทาให้การทางานต้องยืดเวลาออกไป คือหาข้อสรุปไม่ได้ ทาให้ต้องแก้ แบบไปเรื่อยๆ ดังนั้นสถาปนิกต้องเปิดโอกาสให้วัดได้หารือ หาข้อสรุปกับญาติโยมของทางวัดเสียก่อน เพื่อ สนับสนุนให้วัดเกิดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันกับญาติโยมด้วย • ทางานเป็นทีม เมื่อสถาปนิกเข้ามาทางานจิตอาสาแล้ว กล่าวได้ว่าเป็นทีมเดียวกันกับวัด บทบาทหลักของ สถาปนิกคือการออกแบบ แต่อีกบทบาทหนึ่งคือการสนับสนุนข้อมูลให้กับวัดเมื่อวัดต้องการความช่วยเหลือใน ด้านความรู้เรื่องการออกแบบ ดังเช่นกรณีวัด หนึ่งในโครงการฯ ที่มีลูกศิษย์ลูกหามากมาย เมื่อวัดต้องการ อธิบายแนวทางการออกแบบให้ลูกศิษย์ลูกหาของวัดทราบ สถาปนิกต้องช่วยทาหน้าที่สนับสนุนวัดด้วยการ น าเสนองานออกแบบนั้ น เพื่อให้ ลู กศิษย์ ลู กหาของวัดเกิดความเข้าใจต่อแนวทางการพัฒ นาวัดที่ตรงกัน สถาปนิกจึงไม่ได้มีเพีย งหน้าที่ออกแบบเพียงอย่างเดียว โดยไม่สนใจภาพรวมในการทางานว่าทางวัด ต้ อง ดาเนินการอย่างไรต่อไปหรือต้องการความช่วยเหลืออะไร (2) การประยุกต์มากกว่าสร้างใหม่ มีแนวทางปฏิบัติ คือ • มองหาสิ่งทีส่ ามารถพัฒนาได้ สถาปนิกควรมองหาของเดิมที่เป็นของดี ไม่ว่าจะเป็นสิ่งปลูกสร้าง บรรยากาศแวดล้อม ซึ่ง ของเดิมอาจอยู่ในสภาพที่ไม่พร้อมใช้งานหรือการจัดการยังไม่ดีมากนัก แต่เป็นสิ่งที่สถาปนิกพิจารณาแล้วว่ามี โอกาสพัฒนาให้สามารถใช้งานได้ดีขึ้น ของเดิมที่วัดมีอยู่แล้วบางอย่างอาจใช้งานได้ไม่เต็มที่ อาจไม่ได้ใช้งานแต่ คูม่ ือสถาปนิกจิตอาสา 7


มีศักยภาพที่จะใช้งานหรือหากพัฒนาให้เหมาะสมขึ้นจะทาให้เกิดประสิทธิภาพมากขึ้น ซึ่งการพัฒนาของเดิม อาจเริ่ มต้น จากการพัฒ นาสิ่ งเล็ กๆ ที่ไม่ใช่งานออกแบบอาคาร ออกแบบพื้นที่ ใหม่ทั้งหมดก็ได้ เช่น การ ปรับปรุงเส้นทางเดินไปยังอาคารสิ่งปลูกสร้างภายในวัดโดยการจัดลาดับ เพื่อกาหนดสถานที่ที่ต้องเดินผ่ าน อย่างเป็นระบบใหม่ เป็นต้น • เลือกใช้วัสดุท้องถิ่น การปรับประยุกต์ของเดิม อาจนาวัสดุท้องถิ่นหรือวัสดุที่หาได้ง่ายภายในวัดมาใช้งานแทน วัสดุที่ต้องหาซื้อด้วยราคาค่อนข้างสูง สถาปนิกผู้ทาหน้าที่ออกแบบต้องคานึงถึงเรื่องข้อจากัดด้านงบประมาณ ของวัดด้วย หากสามารถลดต้นทุนค่าใช้จ่ายของทางวัดได้ก็ควรนาเสนอเพื่อเป็นทางเลือกให้กับวัด ซึ่งนอกจาก การนาวัสดุท้องถิ่นหรือวัสดุหาง่ายภายในวัดภายในชุมชนมาปรับใช้จะช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายแล้ว ยัง สะดวก ต่อการซ่อมแซมเมื่อชารุดและเป็นการบ่งบอกอัตลักษณ์ของพื้นที่นั้นได้ด้วย ดังกรณีตัวอย่างวัดอุโมงค์สวนพุทธ ธรรม จ.เชียงใหม่ นาไม้ภายในวัดซึ่งเป็นกิ่งไม้จากต้นไม้ใหญ่ที่มีอยู่มากมาทาเป็นทางเดินเชื่อมไปยังอาคารหอ ธรรมโฆษณ์ (หอสมุด) ทาให้ทางเดินที่สร้างมาจากวัสดุธรรมชาติเข้ากับบรรกาศที่ร่มรื่นของวัดหรือการนาเศษ อิฐภายในวัดที่ไม่ใช้งานมาเป็นวัสดุในการปรับปรุงทางเดินภายในวัด เป็นต้น (3) การตอบโจทย์ภารกิจวัด มีแนวทางปฏิบัติ คือ • ศึกษาข้อมูลเบื้องต้น การจะทางานกับวัด สถาปนิกควรต้องศึกษาข้อมูลเบื้องต้นของวัดนั้นเสียก่อน ทั้งเรื่องประวัติ และที่มาการก่อสร้างวัด จุดเด่นของวัดคืออะไร จุดมุ่งหมายของวัดเป็นอย่างไร ซึ่งการรู้ข้อมูลเหล่านี้จะทาให้ สถาปนิกทราบทิศทางการพัฒนาวัด และความร่วมมือของชุมชน อีกทั้งควรหาความรู้เพิ่มเติมอื่นๆที่เกี่ยวข้อง เช่น หากมีการปรับปรุงภูมิทัศน์ควรจะศึกษาเกี่ยวกับต้นไม้ในวรรณคดี ต้นไม้ที่ไม่สร้างภาระในการดูแลมากนัก เพื่อคัดเลือกต้นไม้ที่เหมาะสม เพราะพระสงฆ์มีบทบาทหน้าที่ทางธรรมอยู่แล้ว การออกแบบจึงต้องคานึงถึง การไม่สร้างภาระในภายหลัง เพราะต้นไม้บางประเภทมีใบร่วงมาก บางประเภทต้องรดน้าอยู่บ่อยครั้ง บาง ประเภทโตเร็วต้องตัดแต่งกิ่งและเล็มใบ การดูแลพื้นที่สีเขียวเหล่านี้อาจเพิ่มภาระให้แก่พระสงฆ์ ภายหลังและ อาจท าให้ ท่ า นอาบั ติ จ ากการดู แ ลต้ น ไม้ โ ดยที่ ส ถาปนิ ก คาดไม่ ถึ ง ดั ง นั้ น การศึ ก ษาข้ อ มู ล เบื้ อ งต้ น คงไม่ เฉพาะเจาะจงว่าเป็นข้อมูลอะไร แต่ขอให้สถาปนิกมีการเตรียมความพร้อ มในการศึกษาข้อมูลอย่าง “รู้เขา รู้ เรา” คือรู้ว่าเรามีหน้าที่อย่างไรและต้องรู้ว่าวัดมีหน้าที่อย่างไร เพื่อให้การออกแบบสอดคล้องกับบทบาทหน้าที่ ของวัดมากที่สุด • แหล่งข้อมูลบุคคลต้องหลากหลาย สาหรับการกาหนดผู้ให้ข้อมูล ต้องไม่จากัดอยู่ที่บุคคลใดบุคคลหนึ่ง นอกจากท่านเจ้าอาวาส ซึ่งเป็นผู้ให้ข้อมูลสาคัญแล้ว สถาปนิกควรต้องแสวงหาข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายด้วย เช่น การ ออกแบบพื้นที่โรงครัว สถาปนิกต้องสอบถามข้อมูลการจากแม่ครัวผู้ใช้งานจริงเพื่อให้ทราบว่าภายในครัวใช้ งานพื้นที่กันอย่างไร หรือเมื่อพบว่ามีกุ ฏิพระสงฆ์ปลูกแยกออกจากโซนหมู่กุ ฏิก็จะต้องสอบถามไปที่พระสงฆ์ ผู้ใช้งานกุฏินั้นด้วย ขอยกตัวอย่างวัดขนาดใหญ่แห่งหนึ่งในโครงการฯ มีผู้เกี่ยวข้องมากมาย สถาปนิกต้องเก็บ คูม่ ือสถาปนิกจิตอาสา 8


ข้อมูลจากทั้งพระสงฆ์ภายในวัด หน่วยงานราชการ นักการเมืองท้องถิ่นที่เข้ามาใช้พื้นที่ในการทากิจกรรมอยู่ เสมอ กลุ่มญาติโยมทั่วไปทั้งกานัน ผู้ใหญ่บ้าน ตัวแทนชุมชน เป็นต้น ซึง่ ความหลากหลายของผู้เกี่ยวข้องแต่ละ วัดมีความแตกต่างกันไป บางวัดอาจได้ข้อมูลครบถ้วนจากคณะสงฆ์และชาวบ้านที่อยู่อาศัยโดยรอบวัด แต่บาง วัดอาจต้องเก็บข้อมูลจากหน่วยงาน เครือข่ายอื่นๆเพิ่มเติม ดังนั้นสถาปนิกต้องมองให้ออกว่าใครคือผู้เกี่ยวข้อง บ้างเพื่อจะได้วางแผนการเก็บข้อมูลจากผู้เกี่ยวข้องให้รอบด้าน • สังเกตให้เป็น สถาปนิกควรใช้วิธีการสังเกตเพื่อให้เห็นการใช้งานพื้นที่จริงควบคู่ไปด้วย โดยวิธีนี้จะทาให้ สถาปนิกได้ข้อมูลจากผู้ใช้งานจริงมากที่สุด เช่น สังเกตพฤติกรรมผู้มาใช้พื้นที่ทากิจกรรมในวันพระ เพื่อให้เห็น การใช้พนื้ ที่ศาลาอเนกประสงค์ของวัด เป็นต้น การสังเกตการใช้งานนี้ควรสังเกตในบริบทที่แตกต่างกันด้วย ทั้ง สังเกตพื้นที่ในวันธรรมดาที่ไม่ได้มีการจัดกิจกรรมและสังเกตพื้นที่ในช่วงเวลาที่มีการจัดกิจกรรรม มีผู้ใช้งาน เต็มพื้นที่ ซึ่งจะทาให้พบแง่มุมที่หลากหลายมากขึ้น • วางตนให้เป็นส่วนหนึ่งของวัดและชุมชน การวางตัวให้เป็นส่วนหนึ่งของวัดและชุมชน จะทาให้สถาปนิกได้ข้อมูลเชิงลึกง่ายขึ้น เช่น การไปร่วมกิจกรรมของวัด ร่วมกิจกรรมชุมชน โดยที่วางตัวอย่างกลมกลืนกับคนในพื้นที่ ไม่ขออภิสิทธิ์การอยู่ อาศัยหรืออาหารที่แตกต่างไปจากคนในชุมชน ชาวบ้านปฏิบัติอย่างไร สถาปนิกก็ปฏิบัติอย่างนั้น การวางตัว เช่นนี้สิ่งที่จะเกิดขึ้นคือ ความไว้วางใจ ความคุ้นเคย ซึ่งจะส่งผลต่อการเข้าถึงข้อมูล ส่งผลที่ดีต่อ การสร้าง ปฏิสัมพันธ์กับวัดและชุมชน • แนวทางการวางผังแม่บท วิธีการวางผังแม่บทควรศึกษาจากข้อมูลกายภาพโดยการลงพื้นที่จริง โดยสถาปนิกต้องศึกษา จากผังเดิมแล้ววิเคราะห์ให้ได้ว่าเกิดปัญหาอะไรขึ้น การวางผัง แม่บทของวัดสามารถนาหลักการวางผัง แม่บท ทั่วไปมาปรับใช้ได้ ตัวอย่างบางวัดที่มีปัญหาเรื่องการวางตาแหน่งอาคารไม่เป็นระบบ เช่น วางห้องน้าไว้หน้า โบสถ์ วางกุฏิพระสงฆ์ไว้ในพื้น ที่แคบเหมือนชุมชนแออัด กาหนดทางเข้า ให้ คนมาทาบุญเข้าทางเดี ยวกับ ทางเข้าโรงแยกขยะ เป็นต้น เมื่อสถาปนิกลงพื้นที่ศึกษาข้อมูลทางกายภาพแล้ว ให้นากลับมาวิเคราะห์โดยใช้ ประสบการณ์และความเข้าใจเรื่องการจัดลาดับ (sequence) และเสนอแนวทางการแก้ไขไปยังวัดพร้อมกับ อธิบายเหตุผลให้วัดทราบอย่างเป็นขั้นตอน (4) การสื่อสารเพื่อการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง มีแนวทางปฏิบัติ คือ • ฟังให้มาก การจะทางานให้ ตอบโจทย์ความต้องการของวัดนั้น สถาปนิกต้องฟังความต้องการของ เจ้าของพื้นที่ว่ามีปัญหาอะไร ต้องการอะไร แล้วประมวลข้อมูลทั้งหมดเพื่อเสนอแนวทางแก้ไขที่เหมาะสม การ ฟังเป็ น วิธีการหนึ่งที่จ ะทาให้ สถาปนิกทราบข้อมูล ของพื้นที่นั้นๆ ซึ่ งจะทาให้ ส ถาปนิกออกแบบผลงานได้ สอดคล้องกับความเป็นจริง ตอบโจทย์การใช้งานของวัดมากที่สุด ตัวอย่างกรณีวัดทุ่งไผ่ จ.ชุมพร ทางวัดไม่ ต้องการสนามหญ้าเพราะต้องดูแลมากและไม่สอดคล้องกับบทบาทของพระสงฆ์ แต่ต้องการเพิ่มพื้นที่สีเขียว คูม่ ือสถาปนิกจิตอาสา 9


ด้วยการปลูกต้นไม้เพื่อสร้างความร่มรื่น ซึ่ง วัดต้องการสร้างบรรยากาศที่เป็นธรรมชาติเพื่อลดการถวายแอร์ จากญาติโยมให้กับทางวัดและยังช่วยลดภาระค่าไฟฟ้าในระยะยาว ท่านเจ้าอาวาสให้เหตุผลเสริมว่าการหาวิธี ลดค่าใช้จ่ายทาให้พระสงฆ์ไม่ต้องบอกบุญเรี่ย ไรเงินจากญาติโยมและญาติโยมก็จะยิ่งเพิ่มความศรัทธาเมื่อเห็น พระสงฆ์อยู่อย่างเรียบง่าย ซึ่งหากสถาปนิกไม่ให้ความสาคัญกับการฟังท่านให้มาก ก็อาจไม่ทราบเหตุผลในข้อ นี้ก็เป็นได้ และเมื่อสถาปนิกฟังข้อมูลจากพื้นที่แล้ว ให้ลองนาไปออกแบบและนากลับมาขอความเห็นจากทาง วัดเพื่อหาข้อสรุป เพราะหากสถาปนิกออกแบบในสิ่งที่ไม่ตรงตามความต้องการของทางวัดหรือขาดความเข้าใจ เกี่ยวกับความจาเป็นบางประการของวัดอาจทาให้การทางานไม่สอดคล้องกับบทบาทของวัด อาจไปเพิ่มภาระ ให้กับทางวัด ยิ่งไปกว่านั้นอาจส่งผลต่อโครงการฯ คือ ขับเคลื่อนงานได้อย่างครึ่งๆกลางๆ ด้วยที่วัดลาบากใจที่ จะปฏิเสธเพราะเห็นความตั้งใจของสถาปนิก การปรับเปลี่ยนจึงค่อยๆเกิดขึ้น อย่างเนิบช้า อาจด้วยปั ญหา งบประมาณไม่พอ การขาดความสนใจและไม่ได้เห็นคุณค่าของสิ่งที่สถาปนิกออกแบบให้ สุดท้ายแล้วสิ่งที่ สถาปนิกทุ่มเททั้งแรงกาย แรงใจ แรงทรัพย์ส่วนตัว มาช่วยวัด กลายเป็นว่าไม่ได้ตอบโจทย์ความต้องการของ วัดจริงๆ • เคารพความคิดของผู้อื่น การเคารพความคิดเห็นของผู้อื่นเป็นเรื่องพื้นฐานของการทางานร่วมกัน สถาปนิกต้องทางาน ร่วมกับวัดและผู้เกี่ยวข้องอีกหลายฝ่าย การยอมรับในความคิดเห็นที่แตกต่างหรือการแสดงท่าทีที่ให้ความ เคารพนับถือผู้อื่น เช่น การเอ่ยคาชมด้วยใจจริง จะทาให้ผู้ที่ร่วมงานด้วยรู้สึกภูมิใจ รู้สึกมีคุณค่าต่อสิ่งที่กาลัง ดาเนินการ ทาให้อยากร่วมงานด้วย ถือเป็นการผูกสัมพันธไมตรีอีกทางหนึ่ง ซึ่งการเคารพความคิดของผู้อื่น ใช้ได้กับทั้งพระสงฆ์และญาติโยมที่เกี่ยวข้อ ง อีกทั้งยังรวมไปถึงการไม่หั กหาญน้าใจ ไม่พูดจาดูหมิ่ นความ คิดเห็นของผู้อื่น แต่ควรแสดงเหตุผลที่ชัดเจนและใช้ความประนีประนอม รักษาน้าใจซึ่งกันและกัน ซึ่งจะทาให้ ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายเปิดใจ ยอมรับฟังความคิดเห็นของสถาปนิกด้วยความเคารพเช่นกัน • การมีท่าทีที่อ่อนน้อม สถาปนิกที่ไม่เคยมีประสบการณ์ทางานกับวัดมาก่อนอาจไม่แน่ใจว่าควรวางตนอย่างไร แนว ทางการวางตนสาหรับทางานกับวัดคือ การวางตนให้อ่อนน้อม มีกาลเทศะ เน้นการมีส่วนร่วมไม่ใช้ท่าทีแบบสั่ง การ ซึ่งอาจแตกต่างกับการทางานที่ผ่านของสถาปนิก ที่มีประสบการณ์ทางานกับลูกค้า เชิงพาณิชย์มาก่อน เพราะการทางานกับลูกค้ามีระบบการทางานอย่างเป็นขั้นตอนและเขาพร้อมที่จะเชื่อสถาปนิก แต่สาหรับการ ทางานกับวัด สถาปนิกต้องใช้ศิลปะในการสื่อสารมากขึ้น ต้องกาหนดท่าทีให้เหมาะสมภายใต้บทบาทของการ เป็นผู้อาสามาช่วยงานวัด ซึ่งบางท่านอาจวางตนเป็นลูกศิษย์วัด ก็ได้ การกาหนดบทบาทและเข้าใจในบทบาท ของตนเองจะช่วยสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างวัดกับสถาปนิก ทาให้เกิดความคุ้นเคย เกิดความไว้วางใจที่จะ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันมากขึ้น • วางตนเป็นนักออกแบบกระบวนการ ในการออกแบบสถาปนิกต้องรับฟังความคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้องหลายฝ่าย โดยวางตนเป็นนัก ออกแบบกระบวนการ (Design Facilitator) ทาหน้าที่วิเคราะห์ข้อมูลจากผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายแล้ว จึง นามา คูม่ ือสถาปนิกจิตอาสา 10


ออกแบบ โดยสถาปนิกต้องคานึงถึงหลักการเป็นสาคัญ คือ ออกแบบให้ถูกต้องตามหลักวิชาการและอธิบายให้ ผู้เกี่ยวข้องเกิดความเข้าใจร่วมกั น งานออกแบบจึงไม่ได้มาจากบุคคลใดบุคคลหนึ่งแม้ว่านักออกแบบเป็นผู้ลง มือเขียนแบบแต่เหตุและผลที่ ทาให้เกิดแบบไม่ได้มาจากนักออกแบบเพียงคนเดียว ดังนั้นนักออกแบบจึงควร วางตนเป็ น ผู้ อ านวยการให้ เ กิ ด แบบขึ้ น ตามหลั ก การที่ ถู ก ต้ อ งและสามารถให้ ข้ อ เสนอแนะได้ ว่ า วั ด ควร ดาเนินการอย่างไร ทางเลือกไหนเหมาะสมมากที่สุด เพราะอะไร • ทาให้เห็นเป็นรูปธรรม สถาปนิกมีบทบาทในการให้คาแนะนา ให้ข้อเสนอแนะต่อวัดในเรื่องการพัฒนาปรับปรุงการ ใช้ประโยชน์พื้นที่ โดยสิ่งสาคัญคือต้องทาให้วัดเข้าใจสิ่งที่สถาปนิก คิด แต่การนาเสนอด้วยการพูดปากเปล่า เพียงอย่างเดียวอาจทาให้เกิดความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนได้ สถาปนิกจึงไม่ควรละเลยที่จะหาวิธีทาให้วัดเข้าใจสิ่ง ที่สถาปนิกคิดให้มากที่สุด ซึ่งวิธีการที่ทาให้ วัดเกิดความเข้าใจมากยิ่งขึ้นมีหลากหลายวิธี เช่น การทาภาพ Before – After การทาภาพ Animation การทา Model หรือบางครั้งอาจต้องชวนขบคิดด้วยการตั้งคาถาม ดังตัวอย่างกรณีวัดอุดมมหาวัน (วัดป่าหลวง) จ.หนองคาย สถาปนิกจะแจกแจงให้ท่านทราบว่าการดาเนินงาน ปรับปรุงวิหารต้องใช้งบประมาณเท่าไหร่ งานแต่ละส่วนเกี่ยวข้องกับวิชาชีพใดบ้าง เป็นการชวนท่า นคิด วิเคราะห์ความเป็นไปได้ทางการเงินสาหรับการปรับปรุงวิหาร ชวนคิด หาเครือข่ายความร่วมมือที่จะมาช่วย สนับสนุนเพื่อลดทอนค่าใช้จ่ายของวัด อีกกรณีหนึ่งคือตัวอย่างการเตรียมความพร้อมของสถาปนิก เมื่อจะต้อง ไปคุยกับทางวัด สถาปนิกจะเตรียมกระดาษสาหรับวาดรูปไปด้วย เมื่อทางวัดไม่เข้าใจ ไม่เห็นภาพดังที่สถาปนิก คิดเอาไว้ ก็จะวาดภาพให้ท่านดูทันที หรือบางครั้งเตรียมภาพประกอบพร้อมลงสีให้เห็นความแตกต่างชัดเจน เพื่อให้ ท่านเห็ น ภาพประกอบการหารื อ เป็นต้น อันที่จริงแล้ ว แนวทางการทาให้ เห็ นเป็นรู ปธรรมมี วิ ธี ที่ หลากหลาย อยู่ที่ความถนัด สไตล์ ของสถาปนิกแต่ละท่าน เพราะแต่ละท่านมีประสบการณ์การทางานมาอยู่ แล้ว การพูดคุยเพื่อให้เห็นภาพ ให้รู้ ปัญหา รู้วิธีการแก้ไขปัญหาจึงไม่มีสูตรสาเร็จแต่ ขอให้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ สร้างความเข้าใจร่วมกัน

คูม่ ือสถาปนิกจิตอาสา 11


ภาคสอง ถอดบทเรียน 5 คนต้นเรื่อง เรื่องราวต่อไปนี้ รวบรวมมาจากประสบการณ์การทางานของสถาปนิกในโครงการฯ ที่น่าสนใจ ควรค่า แก่การเรียนรู้เพื่อเป็นแนวทางให้การทางานระหว่างวัดกับสถาปนิกบรรลุวัตถุประสงค์ร่วมกัน เดินเรื่องโดย สถาปนิก 5 ท่าน ที่มปี ระสบการณ์การเรียนรู้ที่แตกต่างกัน 1. คุณกชกร วรอาคม : จากภูมิสถาปนิกมือโปรสู่การทางานเป็นเด็กวัด 2. คุณชาญชัย จรุงเรืองเกียรติ : คิดปรับมากกว่าคิดเปลี่ยน 3. คุณนาชัย แสนสุภา : ทางานแล้วได้ธรรมะเป็นของแถม (ที่มีค่า) 4. คุณประพันธ์ นภาวงศ์ดี : ปรับตัวตามความหลากหลาย ปรับใจตามสไตล์วัด 5. อาจารย์พรหมมินท์ สุนทระศานติก : จากงานพาณิชย์สู่จิตอาสา 1. คุณกชกร วรอาคม : จากภูมิสถาปนิกมือโปรสู่การทางานเป็นเด็กวัด คุณกชกร วรอาคม เป็นภูมิสถาปนิกที่สนใจการพัฒนาพื้นที่สาธารณะ เธอคิดว่าในขณะที่กรุงเทพฯมี พื้นที่สีเขียวไม่เพียงพอและวัดก็นับเป็นพื้นที่สาธารณะ การเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้กับวัด นอกจากจะทาให้พื้นที่สี เขียวในเมืองหลวงเพิ่มขึ้นแล้ว วัดยังได้กลับมาใกล้ชิดธรรมชาติซึ่งจะทาให้เกิดพื้นที่ที่เหมาะสมต่อการเยียวยา จิตใจคนเมืองและสังคมเมืองเพิ่มขึ้นด้วย “บางวัดเข้าใจว่าการเป็นพื้นที่ทางจิตวิญญาณต้องเน้นสร้างวัตถุ แต่จริงๆแล้ว วัดควรเป็นพื้นที่ที่ใกล้ชิดธรรมชาติหรือเป็นพื้นที่ทางใจ” คุณกชกร จบการศึกษาระดับปริญญาตรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ด้วย เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง เหรียญทอง และระดับปริญญาโท ด้านภูมิสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ประเทศสหรัฐอเมริกา ในช่วงที่ศึกษาระดับปริญญาโทเธอเข้าร่วมกับกลุ่มเพื่อนเพื่อทากิจกรรมอาสาสมัคร ช่วยเหลือสังคมมาโดยตลอดในนามองค์กรไม่แสวงหากาไรที่ชื่อ KounKuey (คุ้น-เคย) เมื่อจบการศึก ษาได้ กลับมาก่อตั้งบริษัท แลนด์โพรเซส (Landprocess) มีผลงานเป็นที่รู้จักมากมาย เช่น สวนลอยฟ้ากลางกรุง (Siam Green Sky), โครงการบูรณะพัฒนาอาคารพาณิชย์บริเวณหมอน 47 (จุฬาฯซอย 12 ตัดกับซอย5), อุทยาน 100 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, อุทยานการเรียนรู้ป๋วย 100 ปี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต , สวนบ าบั ด โรงพยาบาลรามาธิ บ ดี และในปี 2560 เธอยั ง ได้ ก่ อ ตั้ ง ปฏิ บั ติ ก ารเมื อ งพรุ น (Porous City Network) องค์ ก รไม่ แ สวงหาก าไรที่มี เ ป้ า หมายเพื่ อ รั บ มื อ กั บ ปัญ หาน้ าท่ ว มและการเปลี่ ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศอีกด้วย

คูม่ ือสถาปนิกจิตอาสา 12


งานจิตอาสาไม่ใช่เรื่องยาก คุณกชกรไม่ได้มีความใกล้ชิด ผูกพัน กับวัดมาก่อน แต่ที่เธอเข้ามาร่วมโครงการวัดบันดาลใจก็เพราะ ความสนใจและความเชี่ยวชาญเรื่องการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในพื้นที่สาธารณะ ซึ่งสอดคล้องกับปัญหาและความ ต้องการของวัดชลประทานรังสฤษดิ์ จ.นนทบุรี (9 วัดนาร่อง โครงการวัดบันดาลใจ) ที่กาลังต้องการปรับปรุง พื้นที่ภายในวัดให้มีพื้นที่สีเขียวเพิ่มมากขึ้น เธอจึงตอบรับทันทีเมื่อได้รับคาเชิญชวนจากโครงการฯ จากการมี ประสบการณ์ทางานพัฒนาพื้นที่สาธารณะ เธอมองว่าไม่ว่าจะทางานกับหน่วยงานไหน จะหน่วยงานรัฐหรือ เอกชน ทุกหน่วยงานล้วนมีวัฒนธรรมองค์กรที่แตกต่างกัน โดยเฉพาะการทางานกับวัดยิ่งมีความพิเศษเพราะ ในการทางานจะมี ความศรั ทธาเป็ น ตัว เชื่ อมประสานระหว่ างฆราวาสกับ พระสงฆ์ จึงมีความแตกต่ า งไม่ เหมือนกับการทางานระหว่างฆราวาสด้วยกัน ทาให้การวางตัวในขณะทางานแตกต่างไปจากเดิม ถึงแม้ว่าเธอ จะไม่เคยศึกษาธรรมะอย่างเข้มข้นมาก่อน แต่ก็ไม่ใช่เรื่องยากที่จะมาทางานจิตอาสาให้กับวัด “เด็กวัด” คือคาตอบ คุณกชกรเล่าให้ฟังว่า ในระยะแรกเธอมีคาถามเกิดขึ้นกับตัวเอง ไม่รู้ว่าการทางานกับวัดควรวางตัว อย่างไร จนเมื่อได้ลงมือปฏิบัติงานจริง จึงทาให้เกิดการเรียนรู้ระหว่างการทางาน เธอจึงค่อยๆปรับ ค่อยๆลด ตัวตนลงจนกลายเป็น ลูกศิษย์วัด เธอต้องเปิดใจ ยอมรับฟังความคิดเห็นจากทางวัดให้มากและแลกเปลี่ ยน เรียนรู้ไปพร้อมกัน ซึ่งวิธีนี้เป็นวิธีการที่เธอเลือกใช้จนทาให้การทางานสาเร็จลุล่วง “คุณไม่ใช่สถาปนิก ต้อง ละลายพฤติกรรม แรกๆ อาจคิดว่าวัดจะเอายังไงกับเรา อันนั้นคือตัวตน สุดท้ายแล้วเราเอาตัวตนไปใส่ ไม่ได้ วัดจะละลายตัวตนเรา ทาให้เราต้องปรับตัวเอง ไม่อย่างนั้นทาอะไรไม่ได้” คุณกชกรมองว่า การเป็นลูกศิษย์วัดคือการมาช่วยงาน สถาปนิกไม่ได้มีหน้าที่ เพียงเขียนแบบแต่เรื่อง อื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ สถาปนิกก็ต้องอานวยความสะดวกให้กับวัดด้วย เช่น การทาหน้าที่เป็นฝ่าย สนับสนุนช่วยนาเสนอข้อมูลด้านการออกแบบแก่ที่ประชุมญาติโยมของวัด เป็นต้น ซึ่งการทาหน้าที่สนับสนุน ข้อมูลให้กับวัด สถาปนิกต้องทาตามหลักการให้ถูกต้องและอธิบายให้ผู้เกี่ยวข้องเกิดความเข้าใจที่ตรงกัน หรือ หากสถาปนิกต้องสร้างตัวเลือกให้ผู้เกี่ยวข้องพิจารณา สถาปนิกต้องอธิบายให้ได้ว่าแต่ละตัวเลือกแตกต่างกัน อย่างไร “ต้องทาหลักการให้ถูกก่อน...อธิบายตามหลักการเหล่านั้น ...หรือการแก้ไขปัญหานี้มีกี่หลักการ แล้วหลักการไหนที่เราคิดว่า Work” เธอย้าว่า แม้สถาปนิกจะเป็นผู้วาดแบบออกมา แต่แท้จริงแล้วสถาปนิก เป็นเพียงผู้อานวยการให้เกิดการออกแบบ (Design Facilitator) เท่านั้น เพราะในการออกแบบเธอต้องฟัง ข้อมูลจากทุกฝ่ายที่เกี่ย วข้อง เหตุและผลในการออกแบบไม่ได้มาจากสถาปนิก เพียงฝ่ายเดียว แต่มาจาก ผู้ใช้งานจริง มาจากเจ้าของพื้นที่ มาจากการหารือกันของผู้เกี่ยวข้อง ซึ่งสถาปนิกต้องทาหน้าที่อานวยการให้ เกิดการออกแบบที่ตอบสนองต่อผู้ใช้งานจริงมากที่สุด “แบบไม่ได้มาจากท่านเจ้าอาวาส ไม่ได้มาจากเรา ไม่ ได้มาจากพระรูปไหนมาใส่ซองว่าอยากได้แบบนี้ แต่ว่ามาจากการคุยกันในทุกมิติ ซึ่งแบบนี้มัน Work เชิง ภูมิสถาปัตยกรรมไทย เราสนับสนุนท่านด้วยหลักการที่เรามี” คุณกชกรให้แนวทางการทางานอย่างลูกศิษย์วัดเพิ่มเติมว่า สถาปนิ กต้องเตรียมตัวให้พร้อม ทั้งเตรียม ตั ว มาล่ ว งหน้ า ในการเรี ย นรู้ วั ฒ นธรรมองค์ ก รของวั ด เพื่ อ ให้ ท ราบแนวทางปฏิ บั ติ ต นต่ อ พระสงฆ์ และ คูม่ ือสถาปนิกจิตอาสา 13


เตรียมพร้อมที่จะปรับตัวตลอดเวลาเมื่อต้องทางานจริง เตรียมพร้อมที่จะเรียนรู้ความต้องการของวัด รวมไปถึง พร้อมที่จะทาความเข้าใจพฤติกรรมการใช้งานของทั้งบุคคลภายในวัดและบุคคลภายนอกที่เข้ามาใช้งานด้วย อย่างไรก็ตาม การทางานกับวัด สถาปนิกต้องไม่ท้อ เมื่อสถาปนิกเข้ามาเป็นลูกศิษย์วัดแล้ว มันเป็น หน้าที่ที่ต้องช่วยสนับสนุนวัดให้ถึง ที่สุด สถาปนิกต้องปรับตัว ต้องฟังให้มากและต้องเรียนรู้ไปพร้อมๆกับวัด “อย่าล้มเลิกง่ายๆ อย่า Give Up ง่ายๆ ไม่ใช่ว่าแบบไม่ work แล้วเราไม่ work มันเป็นหน้าที่ เราเป็นคน ออกแบบ ท่านคือ User ที่เป็น Owner และ Funder” 2. คุณชาญชัย จรุงเรืองเกียรติ : คิดปรับมากกว่าคิดเปลี่ยน คุณชาญชัย จรุ งเรื องเกีย รติ ภูมิส ถาปนิกผู้ มีประสบการณ์ ในการพัฒ นาพื้น ที่ อยู่ อ าศั ย มา 21 ปี ปัจจุบันเป็นกรรมการผู้จัดการ บริษัทไอซอร่า ดีไซน์ จากัด ที่มีผลงานทั้งในและต่างประเทศอย่างมากมาย ไม่ ว่าจะเป็นโรงแรม รีสอร์ท คอนโดมิเนียม หมู่บ้าน รวมไปถึงพื้นที่สาธารณะและท่องเที่ยว อย่างเช่น Avista Kata Resort & Spa, จ . ภู เ ก็ ต / Jiaxin Conifer Garden Hotel, Shunde, ป ร ะ เ ท ศ จี น / Amanta Condominium, กรุงเทพฯ / Hive Sukhumvit 65, กรุงเทพฯ / Anaville Suvarnnaphumi, ลาดกระบัง , กรุงเทพฯ / Town Avenue, พิษณุโลก / Time Home วงแหวน-อ่อนนุช, กรุงเทพฯ / PIA International School, จ.ภูเก็ต / ไร่บุญรอด (สิงห์พาร์ค), จ.เชียงราย ออกแบบชีวิตให้มีสมดุล จุดเริ่มต้นของความคิดที่ทาให้คุณชาญชัยเข้ามาร่วมโครงการวัดบันดาลใจคืออยากช่วยวัด เขามองว่า การช่วยงานวัดจะทาให้เกิดประโยชน์แก่ส่วนรวมมาก เพราะวัดเป็นสถานที่รวมใจของคน คนที่มาวัดอยากได้ สิ่งที่มีคุณค่าทางจิตใจ อยากได้ความสงบ ความสุข ทิ้งความทุกข์ การช่วยงานวัดจึงเป็นการช่วยส่วนรวมที่จะ เกิดประโยชน์ในวงกว้าง และนี่ไม่ใช่ครั้งแรกที่เขาหันมาช่วยงานศาสนา เขามีความสนใจในหลักธรรมคาสอน อยู่ก่อนแล้วและมองว่าการทาความเข้าใจพุทธศาสนาไม่ใช่เรื่องยาก เขาฝึกปฏิบัติธรรมกับกลุ่มเพื่อนมากว่า 9 ปี และเคยเป็นจิตอาสาออกแบบการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สถานปฏิบัติธรรมแห่งหนึ่งด้วยเหตุที่เพื่อนจะนาต้นไม้ ไปปลูกแต่ไม่เข้าใจเรื่องภูมิสถาปัตยกรรม เขาจึงอาสาใช้เวลาและความรู้ที่มีเข้าไปช่วย สาหรับเขาการทางาน ต้องจัดสรรให้เกิดสมดุลระหว่างประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม ไม่ใช่ทาแต่ประโยชน์ส่วนตน จนลืม นึกถึงสังคม “เราทางานแบบนี้ก็อยากทางานเพื่อสังคมบ้างไม่ใช่รับใช้แต่นายทุน” จากที่เขามีความใกล้ชิดศาสนามาก่อนที่จะเข้าร่วมโครงการฯ ทาให้เขาเข้าใจความสัมพันธ์ที่เกื้อกูล กันระหว่างวัดกับชุมชน ทั้งจากประสบการณ์ตรงที่เขาเห็นการแบ่งปันข้าวของของวัดให้กับญาติโยม “เคยพบ อยู่วัดหนึ่ง พระท่านมอบเทียนให้ลูกศิษย์เอาไปใช้ เราเห็นแล้วซึมภาพนี้เข้าไป ทาให้เราเข้าใจท่านเรื่อง การเกื้อกูลกัน” อีกทั้งจากการอ่านพระไตรปิฎกได้ทาให้รู้ว่าพระสงฆ์จะใช้จีวรที่ได้รับจากญาติโยมอย่างคุ้มค่า ที่สุด ซึ่งความเข้าใจเรื่องความเกื้อกูลกันระหว่างวัดกับชุมชนนี้เอง ได้กลายมาเป็นฐานสาคัญในการทางานจิต อาสาในโครงการวัดบันดาลใจ ส่งผลต่อวิธีคิดและวิธีปฏิบัติต่องานออกแบบที่เขาสร้างขึ้น ทาของเดิมให้เป็นของดี คูม่ ือสถาปนิกจิตอาสา 14


คุณชาญชัยช่วยงานวัดในโครงการฯ 2 วัด วัดแรกคือวัดป่าโนนกุดหล่ม จ.ศรีสะเกษ พอเห็นชื่อว่าเป็น วัดป่าเขาก็เลือกทาทันทีด้วยความสนใจบริบทของวัด ส่วนอีกวัดหนึ่งคือวัดอุโมงค์สวนพุทธธรรม จ.เชียงใหม่ เลือกวัดนี้เพราะเคยไปปฏิบัติธรรมที่เชียงใหม่จึงเลือกเพราะสนใจพื้นที่ ทั้งสองวัดที่เขารับผิดชอบจริงๆแล้ว แตกต่างกันมาก เขาบอกว่าวัดอุโมงค์ฯเป็นวัดที่มีต้นไม้เยอะคล้ายวัดป่าก็จริง แต่การใช้งานเป็นแบบวัดในเมือง คือมีนักท่องเที่ยว มีคนเมืองเข้ามาใช้งาน ซึ่งต่างจากวัดป่าโนนกุดหล่มที่มีแต่ชาวบ้าน แต่ไม่ว่าจะทางานกับวัด เมืองหรือวัดป่า เขาจะระมัดระวังและใส่ใจกับความสัมพันธ์ระหว่างวัดกับชุมชนมาก โดยเฉพาะวัดป่าที่ไม่ได้มี รายได้มากนัก การก่อสร้างแต่ละอย่างมาจากเงินบริจาคของชาวบ้านที่ศรัทธาทั้งนั้น จากเดิมที่เขามีฐานคิด เรื่องความสัมพันธ์ระหว่างวัดกับชุมชนอยู่แล้วเมื่อมาทางานกับวัดในโครงการฯ ยิ่งทาให้เขาเข้าใจและมีแนวคิด ต่อการออกแบบเพิ่มเติม ว่า “เราไม่ค วรไปทาลายแบบสุรุ่ ยสุร่ า ย ต้องช่วยท่า นประหยัด ” หลั กในการ ออกแบบของเขาจึงเน้นเรื่องการปรับเปลี่ยนการใช้งานเดิมให้ดีขึ้น ไม่ไปไล่รื้อทุบอาคารของเดิมที่มีคุณค่าทาง จิตใจของญาติโยม เขามองว่า สถาปนิกต้องใช้เวลาในการเรียนรู้ กรณีวัดป่าโนนกุดหล่มกว่าจะได้เปลี่ยนแปลงแต่ละอย่าง ต้องคุยกันถึง 3-4 ครั้ง เขาไม่สามารถที่จะไปชี้ออกคาสั่งเหมือนตอนทางานกับลูกค้าได้ “เราไม่สามารถเข้าไป แล้ว สั่งๆๆกับวัดได้ แต่เราต้องอดทน...กว่าจะเปลี่ยนอย่างหนึ่งได้อาจกินเวลาไป 6 เดือน หรือ 1 ปี” จาก ประสบการณ์เขาต้ อ งคุ ย จนรู้ ว่ าตึ กนี้ ส ร้ า งขึ้ นมาได้ อย่ างไร ทาไมหลั งคาเป็นสี นี้ ซึ่งทาให้ ทราบความคิ ด ความสัมพันธ์ของวัดกับชุมชนหรือความสัมพันธ์ภายในวัด เช่น ในกรณีของวัดอุโมงค์ฯ ไม่มีแรงงานต้องเกณฑ์ แรงงานพระบวชใหม่มาช่วยงานก่อสร้าง การจะปรับเปลี่ยนการใช้ประโยชน์พื้นที่แต่ละอย่างจึงต้องหารือกัน หลายครั้งและต้องคานึงถึงความสัมพันธ์ทั้งในและนอกวัดที่มีอยู่เดิม เขาเน้นย้าว่าสถาปนิกที่เข้าไปทางานกับ วัดต้องรู้ว่าเราเข้าไปช่วยวัด “สถาปนิกต้องสร้างความคิดว่าเราเข้าไปช่วย ไม่ไปทาให้ท่านหนักใจขึ้น ” ดังนั้นการเริ่มต้นทางาน อาจเริ่มจากสิ่งเล็กๆก่อน ไม่จาเป็นต้องทาอะไรใหม่ เริ่มจากการทาของเดิมให้เป็นของ ดี คือช่วยปรับปรุงสิ่งเดิมให้มีการใช้งานที่มีประสิทธิภาพเพิ่ม ขึ้น ซึ่งการปรับปรุงแบบนี้เมื่อ ดูผิวเผินเหมือน ไม่ ไ ด้ ป รั บ ปรุ ง อะไรแต่ ค นที่ ใ ช้ง านอยู่ จ ะรู้ ว่า เป็ นระเบีย บเรี ยบร้อ ยกว่ าเดิ ม อี ก ทั้ ง ต้ อ งใส่ ใ จเลื อ กวั ส ดุให้ สอดคล้องกับพื้นที่ ต้องมองเห็นคุณค่าของใกล้ตัว อาจนาวัสดุที่หาได้ง่ายในท้องถิ่นหรือวัสดุที่วัดมีอยู่แล้วแต่ ไม่ได้ใช้งานมาปรับใช้ เพื่อช่วยวัดประหยัดต้นทุนในการก่อสร้าง เวลาทางานคุณชาญชัย คานึงเสมอว่าสถาปนิกเป็นคนเข้าไปช่วย ไม่ใช่ผู้ใช้งานจริง การออกแบบจึง ต้องคานึงถึงผู้ใช้งานให้มาก แม้เขาอยากจะออกแบบให้เป็นสไตล์โมเดิร์น แต่ชุมชนไม่อยากได้ เขาก็ทาแบบนั้น ไม่ได้ ซึ่งต่างจากการทางานในเชิงพาณิชย์ที่สถาปนิกต้องสร้างผลงานใหม่ๆขึ้นมา การใช้งานต้องดี รูปแบบต้อง ตื่นตา เหล่านี้นามาใช้กับวัดไม่ได้ทั้งหมด ซึ่งการออกแบบสถาปนิกต้องกลับไปศึกษาข้อมูลแต่ละวัดที่มีความ เฉพาะไม่เหมือนกัน “อาคารที่วัดป่าโนนกุดหล่มหลังคาเป็นเมทั ลชีทสีฟ้าพอเห็นแล้วร้องโอ๊ย …เห็นแล้ว อยากจะถอดหลังคาเลย แต่ ทาไม่ไ ด้ เ พราะว่า กว่า เขาจะสร้ า งได้ มาจากเงิน แต่ละบาทของชาวบ้ า น ความรู้สึกของชาวบ้านมันสมัยใหม่ Modern แล้ว ความสวยงามไม่เท่ากัน”

คูม่ ือสถาปนิกจิตอาสา 15


คุณชาญชัยมีเคล็ดลับว่า การที่จะทาให้รู้ข้อมูล บริบท ความสัมพันธ์ของวัดกั บชุมชนได้ดีนั้น ต้อง อาศัยความคุ้นเคย ต้องไปคลุกคลีกับเขา ไปใช้ชีวิตแบบที่ชาวบ้านเขาทา ให้คิดว่าไปเป็นลูกวัดช่วยงานท่าน การเข้าไปใช้ชีวิตแบบเดียวกับชาวบ้าน เป็นการซื้อใจ สร้างความเป็นกันเอง ซึ่งจะส่งผลดีต่อการทางานของ สถาปนิก “เราไปนอนที่วัด ป้าๆก็มากางเต็ นท์นอน เราก็นอนแบบเขาในโซนผู้ชายเหมือนคนอื่นที่มา ไม่ แปลกแยก...อยู่กับเขา กินข้าว ทาตัวเหมือนเขา เขาลงแรงทางานเราก็ต้องทา” คุณชาญชัยทิ้งท้ายถึงสถาปนิกที่จะเข้ามาทางานกับวัดว่า สถาปนิกต้องใจเย็นให้มาก การทางานใช้ เวลาหลายเดือนกว่าจะเห็นผล ต้องมีความอดทนสูงเพราะงานอาสาไม่เหมือนกับงานจ้าง หากไม่เตรียมใจมา ล่วงหน้าอาจล้มเลิกความตั้งใจกลางคัน และสถาปนิกต้องเข้าใจในความหลากหลายของวัด เพราะแต่ละวัดมี ความแตกต่างไม่เหมือนกัน ทั้งสภาพแวดล้อม การบริหารงาน ความสัมพันธ์ทั้งภายในวัดและความสัมพันธ์ ระหว่างวัดกับชุมชน สถาปนิกต้องเรียนรู้เพื่อนามาเป็นข้อมูลในการสร้างสรรค์งาน 3. คุณนาชัย แสนสุภา : ทางานแล้วได้ธรรมะเป็นของแถม (ที่มีค่า) คุณนาชัย แสนสุภา ผู้มีประสบการณ์ทางานด้านการออกแบบทั้งในประเทศและต่างประเทศ ในปี 2546-2548 เป็นภูมิสถาปนิกอาวุโส ที่ Peridian Asia Co.,Ltd, ประเทศสิงคโปร์ และปี 2549-2550 เป็นภูมิ สถาปนิกอาวุโส ที่ Cicada Pte Ltd, ประเทศสิงคโปร์ ปัจจุบันเป็นกรรมการผู้จัดการ บริษัท ฉมา จากัด และ อุปนายกฝ่ายวิชาชีพ สมาคมภูมิสถาปนิกประเทศไทย (พ.ศ. 2560-2562) ผลงานที่เป็นที่รู้จักของเขามีทั้ง ประเภทที่พักอาศัย ประเภทสถาบันและสวนสาธารณะ ไม่ว่าจะเป็น The Ritz-Carlton, จาการ์ต้า, ประเทศ อิน โดนี เซีย / Marriott Yalong Bay, ไหนหนาน, ประเทศจีน / Basilo คอนโดมิเนียม, ประเทศอินเดีย / Northpoint, พั ท ยา, ประเทศไทย / Sheraton Phuket, จ.ภู เ ก็ ต , ประเทศไทย / Saijaithai Veteran Foundation, กรุงเทพฯ, ประเทศไทย / Biopolis, ประเทศสิงคโปร์ / Desa Tebrau Linear Park, ประเทศ มาเลเซีย / Marvel Edge, ปูเณ่, ประเทศอินเดีย และอื่นๆอีกหลายโครงการ คุณนาชัยเป็นคนนครพนม ช่วงวัยเด็กมีโอกาสเข้าวัดทาบุญตามประเพณีบ้างและร่วมงานนมัส การ พระธาตุพนมอยู่บ่อยครั้ง แต่เมื่อโตขึ้นกระทั่งเข้าสู่วัยทางานการดาเนินชีวิต ยิ่งทาให้เขาห่างจากวัดและศาสนา ไปโดยปริยาย แม้ว่าเขาจะเคยตั้งใจบวชเรียน 1 พรรษา แต่เขาก็ยอมรับว่าประสบการณ์ช่วงนั้นไม่ได้ทาให้เขา หันมาสนใจพุทธศาสนามากขึ้นไปกว่าเดิม ความปรารถนาของนักวิชาชีพ คุณนาชัยช่วยงานวัดในโครงการฯ 3 วัด คือ วัดพระธาตุพนม จ.นครพนม (9 วัดนาร่อง โครงการวัด บันดาลใจ) ซึ่งเขารับทาทันทีเมื่อได้รับการติดต่อจากโครงการฯและทราบว่าวัดพระธาตุพนมเข้าร่วมโครงการฯ ด้วย เพราะเขาเองเป็นคนนครพนม มีความคุ้นเคยและสนใจอยู่เป็นทุนเดิม นอกจากนี้ยังมีวัดอุดมมหาวัน (วัด ป่าหลวง) และวัดมณีโคตร จ.หนองคาย เพิ่มเติมอีก 2 วัด ในระยะต่อมา สิ่งที่ทาให้เขาตัดสินใจเข้าร่วมโครงการ “มันเป็นความปรารถนาในบทบาทของนักวิชาชีพ” เมื่อรู้ว่า มีความเชี่ยวชาญ มีความรู้ที่สามารถช่วยให้เกิดประโยชน์ได้จึงอยากเข้าร่วมโครงการฯ ซึ่งไม่ได้เกิดจากความ คูม่ ือสถาปนิกจิตอาสา 16


สนใจในมิติของศาสนาเป็นจุดเริ่มต้น แต่สนใจในเรื่องการพัฒนาคุณภาพของสิ่งแวดล้อมทางกายภาพและ คุณภาพชีวิต เขาย้อนให้ฟังว่า “ตอนเด็กๆไม่ได้สนใจอะไร ไปวัดพระธาตุพนมคนเยอะ วุ่นวาย เราก็จะคิด แต่เรื่องพวกนี้ ...แต่พอไปทาในช่วงที่เราผ่านการทางานมา 10 กว่าปี ทาให้เข้าใจเรื่องการใช้งาน การ จัดการพื้นที่ เรื่องการออกแบบภูมิทัศน์ ว่าจะช่วยพัฒนาคุณภาพของสิ่งแวดล้อม ของการใช้งาน ของผู้คน ที่อยู่อาศัยที่นั่นได้อย่างไร ก็เลยเกิดอยากจะทา” ปล่อย...วาง วัดที่คุณนาชัยรับอาสาช่วยงาน ล้วนไม่ง่ายอย่างที่ใจคิด กรณีวัดขนาดใหญ่ทาให้เขาเห็นความสัมพันธ์ ที่หลากหลายระหว่างวัดกับญาติโยม มีทั้งพ่อค้าแม่ค้าตั้งร้านค้าขายของ มีนักการเมืองทั้งระดับชาติ - ระดับ ท้องถิ่น มาทาพิธีกราบไหว้ปูชนียสถานอันศักดิ์สิทธิ์ มีหน่วยงานราชการ มหาวิทยาลัยท้องถิ่น มาจัดกิจกรรม ในบริเวณวัด เขามองว่าวัดมีความสัมพันธ์กับผู้คนในหลากหลายบทบาท การจะปรับเปลี่ยนพื้นที่ใช้สอยภายใน วัดขนาดใหญ่จึงไม่ใช่เรื่องง่าย “การเปลี่ยนแปลงอะไรก็ตามที่จะเกิดขึ้นภายในวัดมันยากที่ จะทาให้ทุกฝ่าย เห็นร่วมกันเพราะเวลาทาอะไรมันจะมีฝ่ายหนึ่งได้ฝ่ายหนึ่งเสียแน่นอน” เขามีข้อสังเกตว่า ความซับซ้อนหลากหลายของเครือข่ายส่งผลต่อการทางาน กรณี วัดขนาดใหญ่นี้ เครือข่ายมีความเห็นหลากหลายเป็นทุนเดิมเกี่ยวกับการสร้างพิพิธภัณฑ์ภายในวัดและการเสนอขอปูชนียสถาน ของวัดเป็นมรดกโลก ความซับซ้อนที่มีอยู่เดิมทาให้ การทางานของโครงการฯ เกิดข้อจากัดไปด้วย แม้ว่า โครงการฯจะเข้าไปช่วยปรับปรุงการใช้พื้นที่ แต่การจัดสรรพื้นที่ต้องมีผู้เกี่ยวข้องอีกหลากหลายฝ่าย อาจ กระทบต่อเครือข่ายใดเครือข่ายหนึ่ง ดังที่เสนอให้ปรับเปลี่ยนจุดจอดรถ จากเดิมที่อนุญาตให้รถเข้ามาจอดใกล้ ปูชนียสถานของวัดได้ ขอให้ห่างออกไปกว่าเดิม เพราะแรงสั่นสะเทือนจากน้าหนั กรถอาจส่งผลต่อความมั่นคง ของปูชนียสถานในระยะยาว การบริหารจัดการกรณีนี้ต้องเกี่ยวข้องกับทั้งพ่อค้าแม่ค้า กลุ่มทหาร นักการเมือง และเครือข่ายอื่นๆของวัดที่มีอยู่อีกมาก ซึ่งคุณนาชัยมองว่าเป็นการหาจุดร่วมที่ยาก “เราทาไม่ได้พูดตรงๆเลย เรื่องพวกนี้เราทาได้ยาก” ที่จริงแล้ว ไม่ใช่เพียงวัดที่มีความซับซ้อนมากเท่านั้นที่ทาให้การทางานเกิดข้อจากัด เขาพบว่า วัดเล็กๆที่มีความซับซ้อนน้อยก็เกิดข้อ จากัดในการทางานได้เหมือนกัน ซึ่งเขาเผชิญกับปัญหานี้ใน การทางานกับวัดขนาดเล็กแห่งหนึ่งในโครงการระยะถัดมา โครงการฯระยะหลั ง เปิ ด โอกาสให้ วั ด ที่ มี ค วามพร้ อ มด้ า นงบประมาณสนั บ สนุน การท างานของ สถาปนิกในส่วนที่พอจะช่วยเหลือได้มากขึ้น ซึ่ง ความคลาดเคลื่อนที่เขาพบคื อ “เมื่อได้ข้อมูลประมาณหนึ่ง จากการพูดคุยครั้งแรก ก็กลับมาวางแผน คิดค่า Fees งั้นเราทา Master Plan ทาลานธรรม ซึ่งเราจะทา Full scope ทั้งเรื่อง Concept ออกแบบ ทา Perspective ให้ท่านดู ต่อไปก็จะเขียนแบบก่อสร้าง ใส่ วัสดุ คือทาครบ เรากลับมานั่งคิดว่าจะต้องทาอะไรบ้างเพื่อประเมินเป็นค่าออกแบบ แล้วเราก็นาเสนอไปที่ ท่าน ตอนนั้นจึงรู้ว่าท่านไม่มีงบประมาณ” เมื่อเขารู้ว่าวัดไม่พร้อม เขากลับไม่ถอนตัวออกจากวัด แต่เขา ยังคงทางานให้กับวัดในรูปแบบจิตอาสาเหมือนกับ วัดอื่นๆ และตกลงวิธีทางานกับทางวัดใหม่โดยเขาจะเสนอ ผังแม่บทของวัดและพิมพ์แบบให้วัด กาหนดการบริหารเวลา บริหารค่าใช้จ่าย ให้อยู่ในปริมาณที่เขาสามารถ ทาได้และปรับวิธีการหารื อกับ ท่านเจ้าอาวาสจากการไปพบท่านที่วัดอยู่เสมอ เปลี่ยนเป็นพูดคุยผ่ านทาง คูม่ ือสถาปนิกจิตอาสา 17


โทรศัพท์ ไลน์ และนัดหมายไปพบเป็นครั้งคราว หรือใช้จังหวะที่ท่านเดินทางมากิจนิมนต์ที่กรุงเทพฯ แทน “เราก็โอเค เราก็ปรับ ทาเหมือนที่เราทาให้ที่อื่น เราก็จะทาแบบจิตอาสาให้ ถึงขั้นนี้แล้ว” ทั้งวัดขนาดใหญ่และวัดขนาดเล็กที่เขารับ อาสาช่วยงาน เป็นวัดที่มีข้อจากัดในการทางานทั้งคู่ แต่สิ่ง สาคัญคือ ความเป็นไปได้ที่จะเกิดการพัฒนาพื้นที่มีความแตกต่างกัน “วัดขนาดเล็กเราเข้าใจว่าทาไม เรา ไม่ได้มองว่าเป็นความยุ่งยาก เพียงแต่ว่าต้องใช้เวลา...เรามองเห็นว่าวัดขนาดเล็กมีโอกาสที่จะเกิดได้ แต่ วัดขนาดใหญ่โอกาสจะเกิดน้อยกว่าวัดขนาดเล็กมาก” จากประสบการณ์ทางานในโครงการฯ ที่พบข้อจากัดและความไม่ราบรื่นนัก ส่งผลให้คุณนาชัยเกิดการ เปลี่ยนแปลงภายในจิตใจบางอย่างขึ้น เขาคิดว่า “การทางานคือการปฏิบัติธรรม” เขาต้องลดความเป็นตัว ของตัวเองลงไปเยอะ ต้องใจเย็น และพร้อมยอมรับสิ่งที่จะเกิดขึ้นโดยที่คาดเดาไม่ได้ มาถึงตอนนี้เขาทางานจิต อาสาในโครงการฯมาหลายปีแล้ว เขากลับรู้สึกแตกต่างจากตอนเข้ามาร่วมโครงการฯใหม่ๆ “รู้สึกปล่อยวาง สงบ รู้สึกละวางทั้งความเป็นตัวของตัวเอง ทั้งความหวัง คือยังทาไปได้ รู้สึกสบายขึ้นเยอะกว่าตอนแรกๆที่ ทา” เขาให้มุมมองที่น่าสนใจต่อการทางานภายใต้ความซับซ้อนหลากหลายของเครือข่ายว่า “หากรู้ข้อมูล เชิงลึกมาก่อนว่าจะมีปัญหาในการดาเนินงาน ผมก็จะทาอยู่ดีคืออย่างน้อยในหน้าที่ของเรา เราก็ทาให้เขา เห็นว่าศักยภาพมันมีอะไรบ้าง ถึงแม้แต่ในแง่ของกายภาพเพียงอย่างเดียว ถ้าสมมติทาแบบนี้มันจะดีขึ้น อย่างไร อาจจะเกิดจริงไม่จริงไม่รู้ แต่อย่างน้อยเขาก็จะเห็นทางออก” เขากล่าว สิ่งที่เป็นเคล็ดลับที่คุณนาชัยอยากบอกแก่สถาปนิกที่เข้ามาทางานกับวัด คือ สถาปนิกควรทาความ เข้าใจแนวทางการทางานของวัดมาก่อน เพื่อให้ทราบว่าการที่วัดจะสร้างอะไรสักอย่างต้องอาศัยความศรัทธา ความร่วมมือ วัดไม่ได้มีงบประมาณพร้อมเหมือนกันทุกวัด “วัดไม่ได้มีงบประมาณก่อสร้าง วัดจะต้องอาศัย การระดมทุน ต้องอาศัยความศรัทธา บางทีการสร้างวิหารสร้างกันเป็น 10-20 ปี กว่าจะเสร็จ” การทา ความเข้าใจวัดมาก่อนจะมีผลต่อวิธีคิด การทางาน การลดความคาดหวัง การยอมรับสิ่งที่อาจเกิดขึ้นอย่างไม่ คาดคิดระหว่างทางานได้ และเขาทิ้งท้ายว่าเคล็ดลับสาคัญในการทางานของเขาอีกประการคือการสื่อสาร ไม่ ว่าสถาปนิ กจะมีวิธีการสื่ อสารแบบใด อาจใช้ความอ่อนน้อมถ่อมตน ความสนิทสนม หรืออาจจะต้องทา model ทารูป Before-After ต้องใช้ CD หรือภาพ Animation ขอให้มีเป้าหมายเดียวกันคือการทาให้ทุกฝ่าย เกิดความเข้าใจตรงกั น มากที่สุ ด “ดี ไ ซเนอร์ มี วิธี ก ารเฉพาะตั ว ผมถึงมั่น ใจว่า ทุ กคนทาได้ ” และนี่ คื อ ประสบการณ์การทางานของเขา 4. คุณประพันธ์ นภาวงศ์ดี : ปรับตัวตามความหลากหลาย ปรับใจตามสไตล์วัด คุณประพันธ์ นภาวงศ์ดี เป็นภูมิสถาปนิกที่มีประสบการณ์ทางานทั้งในและต่างประเทศ ปัจจุบันเขา เป็นกรรมการบริษัท ฉมา จากัด ผลงานการออกแบบของคุณประพันธ์มีหลากหลายประเภททั้งที่พักอาศัย โรงแรม สวนสาธารณะ สถาบัน และห้างสรรพสินค้า ตัวอย่างผลงาน อาทิ Nuovo Executive, คอนโดมิเนียม , ประเทศสิงคโปร์/ Baan Mai Kao, จ.ภูเก็ต, ประเทศไทย/ Alila Uluwatu Resort, บาหลี, ประเทศอินโดนิ คูม่ ือสถาปนิกจิตอาสา 18


เซีย /Hyatt Regency Hotel, กรุงเทพฯ, ประเทศไทย/ สวนกล้วยในสวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์, กรุงเทพฯ, ประเทศไทย/ สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา, เขตบางบอน, กรุงเทพฯ, ประเทศไทย/ Lupin Research Park, ปู เ น่ , ประเทศอิ น เดี ย / Shrewsbury International School, กรุ ง เทพฯ, ประเทศไทย/ Central Plaza, จ.เชียงราย, ประเทศไทย/ Central Festival, จ.เชียงใหม่, ประเทศไทย เป็นต้น เริ่มต้นห่างไกล สุดท้ายใกล้ธรรม ส าหรั บ ภูมิห ลั งเกี่ย วกั บ ชีวิต และความใกล้ ชิ ด พุทธศาสนา คุณประพันธ์เล่ าให้ ฟังว่า เติ บโตมาใน ครอบครัวคนจีนและเรียนที่โรงเรียนคริสเตียน ทาให้ชีวิตวัยเด็กเขาห่างไกลวัด ห่างไกลพุทธศาสนา การไม่ได้ เรียนในโรงเรียนที่สอนพุทธศาสนาทาให้เขาไม่รู้เรื่องเกี่ยวกับประเพณี ศาสนพิธีและการปฏิบัติตนของชาวพุทธ แต่เมื่อเข้าเรียนในมหาวิทยาลัยมีเพื่อนรุ่นเดียวกันหลายคนชวนกันไปปฏิบัติภาวนาทาให้เขาได้มีโอกาสไป ปฏิบัติธรรม และศึกษาธรรมะอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน คุณประพันธ์อ่านหนังสือเกี่ยวกับการปฏิบัติภาวนา และชอบฟังเทปบันทึกเสียงบรรยายธรรมของหลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชโช วัดสวนสันติธรรม จ.ชลบุรี เพราะ การสอนของหลวงพ่อปราโมทย์เป็นการสอนให้รู้เท่าทันสภาวะจิตของเราที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ให้รู้ว่าเรา ต้องอยู่กับการเปลี่ยนแปลงอย่างไร โดยเน้นนาไปใช้ในชีวิตประจาวันให้ได้มากที่สุด ในการศึกษาพุทธศาสนา คุณประพันธ์มองว่าความจริงคาสอนของพุทธศาสนาสามารถนามาใช้ได้หมดขึ้นอยู่กับว่าสถานการณ์นั้นเราจะ เลือกคาสอนอะไรมาปรับใช้ แต่หลักที่คุณประพันธ์ใช้เป็นประจาคือ การตั้งสติให้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของ โลกและยอมรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น 3 วัด 3 สไตล์ การเข้าร่วมโครงการวัดบันดาลใจของคุณประพันธ์มาจากการที่โครงการฯได้เชิญทีมภูมิสถาปนิกของ บริษัท ฉมา จากัด เข้ามาช่วยโครงการฯตั้งแต่แรกที่มีการเริ่มดาเนินงานโครงการฯ โดยในช่วง 9 วัดนาร่อง คุณ ประพันธ์รับผิดชอบ 3 วัด ได้แก่ วัดสุทธิวราราม กรุงเทพฯ, วัดนางชี กรุงเทพฯ และวัดของมหาวิทยาลัยมหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (มจร.) จ.อยุธยา ซึ่งทั้ง 3 วัดที่เขารับผิดชอบไซต์งานของแต่ละวัดไม่เหมือนกัน ทุก วัดมีความแตกต่างกันในหลายด้าน ทาให้เวลาทางานออกแบบก็ต้องทางานแตกต่างกันออกไป การเคลื่อนงาน ก็มีความแตกต่างกัน โดยความแตกต่ างเหล่านั้นทาให้คุณประพันธ์ในฐานะภูมิสถาปนิกต้องปรับตัวในการ ทางานให้เหมาะสมกับแต่ละวัด วัดแตกต่าง คนแตกต่าง จัดการอย่างไร ? คุณประพันธ์ได้เล่าถึงความแตกต่างที่เขาได้เจอในการทางานของทั้ง 3 วัดที่รับผิดชอบ สิ่งแรกที่เจอ คือ บริบทเดิมของพื้นที่ แต่ละวัดมีความแตกต่างกันอย่างวัดสุทธิวรารามอยู่ท่ามกลางความเป็นเมือง ต้องการ เปิดเป็นพื้นที่สาธารณะที่มีความสงบ ร่มรื่น เพื่อให้คนเมืองเข้าวัดมากขึ้น วัดนางชีอยู่ชานเมืองแต่ถูกล้อมรอบ ด้ ว ยคอนโดมิ เ นี ย ม ความต้ อ งการคื อ อยากเปิ ด พื้ น ที่ ใ ห้ ค นมาปฏิ บั ติ ธ รรมแต่ มี พื้ น ที่ น้ อ ย ส่ ว นวั ด ของ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (มจร.) ล้อมรอบด้วยพื้นที่โล่ง ต้องการเปิดพื้นที่ให้คนมาปฏิบัติ ธรรมหลายร้อยคน ความแตกต่างนี้ทาให้คุณประพันธ์ต้องศึกษา ทาความเข้าใจบริบทเดิมของพื้นที่และต้อง เข้าใจเรื่องการใช้งานของพระสงฆ์และการใช้งานของกลุ่มเป้าหมายทีแ่ ตกต่างกัน เพื่อออกแบบให้ตรงกับความ คูม่ ือสถาปนิกจิตอาสา 19


ต้องการของแต่ละวัด สิ่งต่อมาที่พบในการทางานของทั้ง 3 วัดคือ ลักษณะของเจ้าอาวาสแต่ละวัด เจ้าอาวาส แต่ละวัดมีบุคลิกที่แตกต่างกัน คุณประพันธ์ก็ต้องปรับตัว ปรับใจให้ทันกับท่านเจ้าอาวาสแต่ละท่าน บางท่านมี ความพร้อมทางานรวดเร็ว คิดแล้วลงมือทาเลยคุณประพันธ์ก็ต้องทางานแบบคิดเร็วทาเร็วเพื่อให้ทันเจ้าอาวาส หรือบางท่านมีลักษณะเงียบ ทางานแบบค่อยเป็นค่อยไป คุณประพันธ์ก็จะค่อยๆทางานเช่นกัน ความแตกต่าง อีกอย่างหนึ่งที่คุณประพันธ์พบในการทางานกับวัดคือ ความพร้อมด้านการเงิน เนื่องจากความพร้อมด้าน การเงินของแต่ละวัดมีไม่เท่ากัน เพราะวัดอยู่ได้ ด้วยการสนับสนุนเกื้อกูลของญาติโยม คุณประพันธ์ก็ต้องทา ความเข้าใจว่าบางวัดอาจจะไม่สามารถลงมือทาตามแบบได้สาเร็จ เพราะเงื่อนไขความพร้อมด้านการเงินแต่ละ วัดไม่เหมือนกัน บางวัดมีความพร้อมมาก มีญาติโยมสนับสนุนจึงอาจทาได้สาเร็จ บางวัดอาจทาได้รวดเร็ว หรือ บางวัดอาจทาไม่ได้เลย ตรงนี้เป็นสิ่งที่สถาปนิกต้องเรียนรู้เพื่อทาความเข้าใจ คุณประพันธ์ได้พูดถึงเคล็ดลับการทางานเพื่อให้ตอบโจทย์ความหลากหลายของผู้เกี่ยวข้องว่า เขา เริ่มต้นจากการรับฟังความต้องการของท่านเจ้ าอาวาสแต่ละวัดเป็นหลัก แล้วแลกเปลี่ยนความคิดเห็น โดยให้ มุมมองที่แตกต่างตามหลักการของภูมิสถาปนิก เช่น วัดของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (มจร.) มีประเด็นน้าท่วมและไซต์งานมีปัญหาดินไม่มีคุณภาพ จึงต้องคานึงว่าทาอย่างไรจะให้ดินปลูกต้นไม้ได้และต้อง คานึงถึงการจัดการน้า ในตอนแรกวัดมีบ่อน้าและท่านเจ้าอาวาสอยากถมดิน คุณประพันธ์จึงเสนอว่าไม่ต้องถม ดินให้เก็บบ่อน้าไว้แล้วสร้างกุฏิไว้กลางน้าเลยจะเย็นสบายกว่าและไม่ต้องเสียเงินไปถมดิน อีกอย่างหนึ่งจะได้ ไม่ต้องเปลี่ยนทางน้าตามธรรมชาติ ในขณะที่วัดสุทธิ วรารามอยู่ในเมือง คุณประพันธ์พยายามนาเสนอให้ ปรับปรุงพื้นที่จอดรถ ท่านเจ้าอาวาสก็รับวิธีการไปพิจารณา ไปคุยกับญาติโยม โดยคุณประพันธ์ ใช้วิธีการ นาเสนอแบบทีละขั้นตอน ค่อยๆทาให้ท่านดูว่าถ้าเอาที่จอดรถออกจะกลายเป็นที่นั่งเล่น เป็นพื้นที่ให้เด็ก สามารถเข้ามาเรียนรู้ภายในวัดได้เพิ่มขึ้น สาหรับวัดนางชีเข้าไปดูปัญหาของไซต์งานที่มีปัญหาการเข้าถึงอย่าง ชัดเจน ไม่รู้ว่าตรงไหนเป็นข้างหน้าข้างหลัง วัดนางชีจึงเป็นการเข้าไปแก้ไขปัญหาเรื่องผังแม่บทของวัด โดย นาเสนอแนวคิดการแชร์ทางเข้ากับวัดนาคปรก เมื่อจัดการกับความต้องการของท่านเจ้าอาวาสเรียบร้อยแล้ว ต่อมาก็จัดการกับความต้องการของผู้ที่ เกี่ยวข้อง ซึ่งวัดที่คุณประพันธ์รับผิดชอบทั้ง 3 วัด มีลักษณะเป็นวัดเมืองแต่ไม่ได้มีความซับซ้อนของผู้คนเข้ามา เกี่ยวข้องมากนัก ทาให้ไม่ค่อยมีปัญหาในการจัดการกับความต้องการที่หลากหลายของผู้เกี่ยวข้อง เช่น วัด นาง ชีมีกลุ่มทหารเรือที่มาช่วยงานวัดและมีอาจารย์มหาวิทยาลัยศิลปากรเป็นจิตอาสาช่วยงานด้านสถาปัตยกรรม คุณประพันธ์ก็เข้าไปคุยกับผู้เกี่ยวข้องเรื่องผัง แม่บท โดยนาผังใหม่ที่ออกแบบไปหารือ วัดสุทธิวรารามเป็นงาน ปรับปรุงภูมิทัศน์ ท่านเจ้าอาวาสสามารถบริหารจัดการได้ เอง ส่วนวัดของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย (มจร.) เป็นสถาบันการศึกษาของสงฆ์ คุณประพันธ์ได้เข้าหารือกับผู้เกี่ยวข้อง คือ ท่านอธิการบดีและ คณะทางาน ดังนั้นการออกแบบให้ตรงกับความต้องการของผู้เกี่ยวข้องจะใช้วิธีการพูดคุย หารือ แลกเปลี่ยน เป็นส่วนใหญ่ การจัดการให้ตรงความต้องการที่หลากหลายอีกอย่างหนึ่งที่คุณประพันธ์มองว่าต้องทาคือ การ เก็บข้อมูลจากผู้ใช้งาน เพราะแต่ละวัดผู้ใช้งานมีความหลากหลายแตกต่างกัน ดังนั้นจึงต้องมีการเก็บข้อมูลจาก ผู้ใช้งานจริง โดยวิธีการของคุณประพันธ์จะเป็นการไปสังเกตการณ์ว่าใช้งานอย่างไรและพูดคุยกับผู้ใช้งาน คูม่ ือสถาปนิกจิตอาสา 20


คุณประพันธ์ยังได้พูดถึงหลักการเฉพาะตัวของเขาในการทางาน คือ เขาจะเน้นการนาเสนอทางเลือก ในการออกแบบให้วัด โดยยึดมั่นในหลักการของภูมิสถาปนิกที่ประกอบไปด้วย การดูบริบทแวดล้อมเดิมของวัด ดูศักยภาพ ดูข้อดีข้อเสีย แล้วพัฒนาให้ดีขึ้น ปรับปรุงจุดบกพร่องเดิม และกล้านาเสนอในสิ่งที่ถูกต้อง แต่ก็อยู่ บนพื้นฐานของการรับฟังความต้องการของท่านเจ้าอาวาสเป็นหลัก “เปิดใจรับฟังความแตกต่างหลากหลาย เป็นมิติที่นักออกแบบที่ดีต้องทาอยู่แล้ว ถ้าความแตกต่างหลากหลายเยอะๆ ก็ต้องพูดคุยทาความเข้าใจกัน ว่ามุมมองที่เขามองคืออะไร” และถ้าเราลองมองในมุมของเขาเราก็จะเข้าใจและอาจจะคิดแบบเขา 5. อาจารย์พรหมมินท์ สุนทระศานติก : จากงานพาณิชย์สู่จิตอาสา อาจารย์พรหมมินท์ สุนทระศานติก เป็นสถาปนิกที่มีประสบการณ์การทางานมากว่า 30 ปี ปัจจุบัน เป็นสถาปนิกอิสระและเป็นอาจารย์พิเศษคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, อาจารย์พิเศษ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิทยาเขตรังสิต หากเล่าย้อนกลับไปถึงภูมิ หลังความเป็นมาของชีวิตของอาจารย์แล้วนั้น อาจารย์พรหมมินท์ได้เล่าว่าเป็นชาวอาเภอเมือง จังหวัดราชบุรี ชีวิตของอาจารย์คลุกคลีกับวัดมาตั้งแต่เด็กเพราะบ้านอยู่ติดกับวัด เมื่อเติบโตขึ้นมาความใกล้ชิดกับวัดและ พุทธศาสนายังคงมีอยู่ ในช่วงของการเรียนในระดับอุดมศึกษาที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อาจารย์ได้มีโอกาส ไปร่วมกิจกรรมกับชมรมพุทธ ที่สวนโมกข์ไชยา ของท่านพุทธทาสภิกขุ ช่วงนั้นจึงได้มีโอกาสเรียนรู้ธรรมและ ด้วยความที่เป็นคนที่ชอบซักถาม เมื่ออาจารย์มีเรื่องสงสัยเกี่ยวกับหลักธรรมจะสอบถามพระอาจารย์เสมอ เมื่อ ถึงช่วงวัยบวชเรียนได้บวชเรียนศึกษาธรรมที่วัดใกล้บ้านอยู่ประมาณ 2 เดือน ครั้งนั้นเป็นความตั้งใจที่จะบวช เรียนด้วยความระลึกถึงอากง หลังจากจบการศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อาจารย์พรหมมินท์ก็ มุ่งมั่นกับการทางานทันที ช่วงวัยทางานอาจารย์ก็มิได้ห่างไกลจากพุทธศาสนา อาจารย์ยังคงศึกษาพุทธศาสนา จากการอ่านหนังสือ โดยเฉพาะหนังสือของหลวงพ่อชา สุภัทโท เรื่องที่อาจารย์ชอบมากคือ เรื่องความว่าง ซึ่ง ท่านเขียนได้เข้าใจง่ายมาก นอกจากการอ่านหนังสือแล้ว อาจารย์ยังเคยทางานจิตอาสาให้วัด เช่น วัดถ้าซับมืด อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา สืบเนื่องจากอาจารย์มีความศรัทธาต่อหลวงปู่ทา จารุธัมโม ตอนที่พบท่านเป็นช่วงที่ พ่อของอาจารย์เสียชีวิตจึงได้มีโอกาสสนทนากับหลวงปู่ทา ซึ่งท่านก็ตอบได้เข้าใจทุกเรื่อง จึงเกิดความศรัทธา ต่อท่านมาก ครั้งหนึ่งมีคนมาถวายสร้างหอระฆัง จึงรับอาสาเขียนแบบให้ และดูแลการก่อสร้างให้ ต่อมา ผู้รับเหมาหนีงาน ซึ่งอีกไม่กี่วันจะต้องฉลองเปิดหอระฆัง อาจารย์จึงขับรถไปซื้อสีแล้วจัดการดูแลงานให้จน เรียบร้อยทันวัดฉลองหอระฆัง เมื่อชีวิตฉุกคิด...หาความหมาย การเข้ามาทางานในโครงการวัดบันดาลใจของอาจารย์พรหมมินท์ มาจากการที่อาจารย์เดินผ่านงาน Forum ครั้งที่ 1 ของโครงการฯซึ่งจัดขึ้นที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จึงเข้าไปร่วมงานและมีโอกาสได้ฟังการ นาเสนอผลงานวิจัยของโครงการฯที่พูดถึงปัญหาทางสังคมที่เกิดขึ้นจริงเหมือนที่อาจารย์ได้รับรู้มา จึงมีความ สนใจและลงชื่ อ สมั ค รไว้ หลั ง จากนั้ น โครงการฯติ ด ต่อ กลั บ มา อาจารย์ จึ ง ได้ เ ข้ า ร่ ว มท างานจิต อาสากับ คูม่ ือสถาปนิกจิตอาสา 21


โครงการฯ โดยเหตุที่ทาให้อาจารย์ตัดสินใจทางานกับโครงการวัดบันดาลใจคือ ความรู้สึกอยากจะทางานที่ทา ให้ชีวิตมีความหมายขึ้น ซึ่งอาจารย์พรหมมินท์ได้เล่าย้อนไปถึงช่วงชีวิตของอาจารย์ที่ผ่านมาว่า ผ่านการทางาน มาเยอะมาก ทั้งในบทบาทของการทางานเพื่อตอบสนองชีวิตและการดูแลครอบครัว ในการทางานนั้นอาจารย์ พรหมมินท์ทางานเชิงพาณิชย์ให้กับบริษัทต่างๆ เช่น ผู้จัดการโครงการ บริษัท สานักงานสถาปนิกโฟร์เอส จากัด, หัวหน้าฝ่ายพัฒนาโครงการ บริษัท โนเบิล โฮลดิ้ง จากัด, หัวหน้าแผนกสถาปัตย์ บริษัท EEC-IE จากัด เป็นต้น นอกจากนี้ ยั งมีงานสอนหนั งสื อตามสถาบันต่างๆ เช่น อาจารย์พิเศษคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย , อาจารย์พิเศษคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล, อาจารย์ พิเศษคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, อาจารย์พิเศษคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และผัง เมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิทยาเขตรังสิต , อาจารย์พิเศษ คณะดุริยางคศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร รวมไปถึงงานเขียนและงานบรรยายทางวิชาการ ส่วนในบทบาทการดูแลครอบครัวอาจารย์พรหมมินท์ต้อง เลี้ยงดูลูกถึง 3 คน การที่อาจารย์ทางานเยอะมากทาให้อาจารย์เกิดความรู้สึกว่า มีอะไรบางอย่างเป็นปมของ ชีวิต ช่วงที่อายุประมาณ 50 ปี อาจารย์มักตื่นขึ้นมาในช่วงเวลาตี 4 ของทุกคืน ตื่นมาพร้อมกับตาที่สว่าง และความรู้สึกระลึกถึงแต่ความตาย นึกถึงภาพตอนเป็นเด็กที่บ้านยากจน ทาให้เมื่อเรียนจบมาจึงเต็มที่กับการ ทางานเพื่อครอบครัว อาจารย์คิดทบทวนถึงวันเวลาที่ผ่านมา ซึ่งเวลาเป็นสิ่งที่สาคัญมากและเวลาเป็นสิ่งที่มี จากัด ดังนั้นจึงควรทาในสิ่งที่ควรทาได้แล้ว ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาอาจารย์หาเงินจากการทางานเชิงพาณิชย์ มาโดยตลอด มันจึงเกิดความย้อนแย้งในตัวเองตลอดเวลา เพราะเวลาสอนหนังสืออาจารย์จะสอนเรื่องคุณภาพ ชีวิตของคน สุนทรียศาสตร์ แต่การทางานเชิงพาณิชย์ในชีวิตจริงกลับต้องคิดเริ่มต้นจากการหากาไร พอมาถึง จุดหนึ่งของชีวิตจึงคิดว่าอยากจะหยุดแล้ว ความคิดแบบนี้อาจารย์รู้สึกมานานแล้ว ตั้งแต่ได้รับเชิญให้ไป สอน หนังสือก็มานั่งคุยกับภรรยาว่าจะเอาอะไรไปสอน จนคิดได้ว่าเป้าหมายของเราคือต้องมีหน้าที่ และหน้าที่คือ การหาให้ได้ว่าเด็กไม่รู้ตรงไหน ไม่รู้เรื่องอะไรบ้างและต้องทาให้เขาทาให้รู้เรื่องให้หมด เมื่อเขาเข้าใจเขารู้สึกดี เราก็มีความสุข ทั้งหมดนี้จึงเป็นที่มาของความคิดที่อยากจะทางานเพื่อสังคม เพราะทุกวันนี้ครอบครัวมั่นคง แล้ว ไม่มีภาระอะไรแล้ว เลยอยากจะทาในสิ่งที่ไม่เบียดเบียนตนเอง ไม่เบียดเบียนผู้อื่น ทาในสิ่งที่มีประโยชน์ ผังแม่บท คือ หัวใจสาคัญของวัด อาจารย์พรหมมินท์ได้เล่าให้ฟังว่าการทางานในโครงการวัดบันดาลใจ อาจารย์รับหน้าที่เป็นสถาปนิก จิตอาสาและที่ปรึกษาโครงการวัดบันดาลใจ วัดที่อาจารย์รับผิดชอบมีหลายวัด อาทิ วัดทาดสุวันนะผ้าคา ประเทศลาว, วัดอุโมงค์สวนพุทธธรรม จ.เชียงใหม่, วัดควนอุโบสถ จ.นครศรีธรรมราช, วัดพุทธชินวงศ์วนาราม จ.ปทุมธานี, วัดนายโรง กรุงเทพฯ, วัดญาณเวศกวัน จ.นครปฐม, วัดทุ่งไผ่ จ.ชุมพร เป็นต้น ในการทางานของ อาจารย์พรหมมินท์นั้น อาจารย์จะให้ความสาคัญกับการวางผังแม่บทของวัด เพราะการวางผังแม่บทเป็นงานที่ อาจารย์สนใจและที่สาคัญคือ การวางผังแม่บทเป็นการวางแผนเบื้องต้นที่เป็นระบบในการจัดการส่วนต่างๆ ของวัด ดังนั้นแนวคิดที่สาคัญในการทางานพัฒนาสัปปายะให้กับวัดของอาจารย์พรหมมินท์ คือ “หัวใจสาคัญ คูม่ ือสถาปนิกจิตอาสา 22


ของวัด คือ การมีผังแม่บท” โดยอาจารย์ได้เล่าถึงหลักการวางผังแม่บทว่าจะต้องสร้างแนวคิดก่อนว่าผัง แม่บทที่จะวางมีแนวคิดเน้นเรื่องไหน โดยดูจากผู้ใช้งาน ดูจากประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม พื้นที่ การศึกษาข้อมูล เหล่านี้นามาประยุกต์ใช้กับการวางผังแม่บทวัดได้ ดังนั้นการวางผังแม่บทให้วัดจะต้องมีการอ่านข้อมูลลักษณะ ทางกายภาพ ลงไปดูพื้นที่จริง ศึกษาผังเดิมของวัดที่มีอยู่และตีโจทย์ให้แตกว่าต้องแก้ไขยังไง หลังจากดูเรื่องผัง ของวัดแล้วค่อยดูรูปแบบของอาคาร ความกลมกลืน ขนาดของอาคารและความสวยงาม และอีกสิ่งที่สาคัญ เหมือนกัน คือ การให้ ความส าคัญกับ ต้น ไม้ การริเริ่มโครงการด้ว ยการตัดต้นไม้เพื่อสร้างอาคารไม่ใช่งาน สร้างสรรค์แต่เป็นการทาลายธรรมชาติ เพราะการมีต้นไม้เป็นการทาให้เรารู้สึกเย็นโดยไม่ต้องเสียเงิน สาหรับขั้นตอนการวางผังแม่บทของวัด อาจารย์พรหมมินท์ได้อธิบายว่า โดยภาพรวมจะเริ่มจาก การศึกษาข้อมูลบริบทของวัดก่อน ซึ่งปกติแล้วโครงการฯจะเตรียมข้อมูลไว้ให้ แต่ข้อมูลส่วนใหญ่ที่ผ่านมาวัด ไม่ค่อยมีการวางผังแม่บท ทั้งที่จริงแล้วผังแม่บทเป็นสิ่งสาคัญที่ไม่มีไม่ได้ เพราะถ้าวัดไม่มีผัง แม่บทเวลาที่จะ สร้างสิ่งปลูกสร้างอะไรอาจจะสร้างในพื้นที่ไม่เหมาะสม ในการทางานที่ผ่านมาหลายวัดไม่มีผังแม่บท ทาให้ เวลาอาจารย์พรหมมินท์ลงไปทางานจะแก้ปัญหาด้วยการเข้าไปค้นใน Google Earth ไปดูภาพถ่ายทางอากาศ ข้อมูลของภาพถ่ายทางอากาศจะช่วยทาให้เห็นสภาพแวดล้อมรอบวัด การเห็นสภาพแวดล้อมจะทาให้ การ สร้างอาคารหรือสิ่งก่อสร้างใดๆไม่เกิดปัญหาเบียดเบียนกันระหว่างวัดกับญาติโยม เช่น บางวัดอยู่ติดโรงน้าแข็ง ถ้าไม่ดูสภาพแวดล้อมแล้ววางอาคาร กุฏิ ไว้ใกล้โรงน้าแข็งก็จะถูกรบกวนจากเสียงดังของโรงงาน หรือบางวัด ญาติโยมอยากถวายห้องน้า แต่ไม่ได้ดูสภาพแวดล้อมของวัด สร้างบนพื้นที่ตามความต้องการ ก็เกิดปัญหา ห้องน้ากระจายอยู่เต็มวัด ทาให้วัดเสียพื้นที่การใช้งาน ดังนั้นการเห็นสภาพแวดล้อมจะทาให้เชื่อมโยงมาสู่การ วางผังแม่บทของวัด เพื่อบอกว่าการใช้พื้นที่ควรเป็นอย่างไร เวลาญาติโยมต้องการถวายอะไรจะได้ดูว่าสร้าง ตรงไหนจึงเหมาะสม หลังจากศึกษาข้อมูลต่างๆแล้ว อาจารย์จะดูบริบทของวัด จากนั้นก็เป็นการลงพื้นที่จริง เพื่อศึกษา ลักษณะของพื้นที่ ควบคู่กับการไปพูดคุยกับวัด พูดคุยกับชาวบ้านในชุ มชนที่เป็นผู้มาใช้งาน การไปคุยกับ ผู้เกี่ยวข้องนั้นหลักที่สาคัญอย่างหนึ่งที่อาจารย์ใช้คือ “สถาปนิกจะต้องไม่เอาสายตาของสถาปนิกกรุงเทพฯ ไปจับชาวบ้าน เพราะมันเป็นความรู้สึกที่แย่มากที่เห็นงานที่อยู่ในกรุงเทพฯไปอยู่ที่ต่างจังหวัด ดังนั้นงานที่ ดีต้องสะท้อนผู้ใ ช้ง านมากกว่า สะท้อนตั วตนของสถาปนิก ” เพราะฉะนั้นการไปเก็บข้อมูลจากพื้น ที่จริง อาจารย์พรหมมินท์จะดูบรรยากาศที่เกิดขึ้นภายในวัดและสังเกตคนที่มาใช้งาน เพื่อดูว่าจะปรับปรุงอย่างไร ไม่ให้ทาลายวิถีชีวิตเดิมของชาวบ้าน การให้ความสาคัญกับบรรยากาศเป็นเทคนิคเฉพาะของอาจารย์พรหม มินท์ที่ใช้ความรู้สึกในการดูบรรยากาศ เพื่อให้ได้ข้อมูลจากของจริงสาหรับใช้ในการจัดลาดับความสาคัญของ การใช้ประโยชน์ นอกจากการศึกษาข้อมูลและลงพื้นที่จริงแล้วจะต้องสร้างความเข้าใจให้กับพระสงฆ์และญาติ โยม เพื่อสื่อสารให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายเกิดความเข้าใจตรงกัน วิธีการสื่อสารของอาจารย์พรหมมินท์คือการทาให้ เห็นเป็นรูปธรรม เช่น วาดภาพ ลงสี ให้ท่านเจ้าอาวาสเห็นความการกระจายของสีอาคาร การเตรียมกระดาษ ไปด้วย เมื่อเห็นปัญหาของวัดก็เขียนให้ท่านดูเลยว่ามีปัญหาตรงไหน เป็นต้น

คูม่ ือสถาปนิกจิตอาสา 23


การทางานของอาจารย์พรหมมินท์ จะเห็นได้ว่าส่วนที่สาคัญที่สุดที่อาจารย์ให้ความสาคัญเป็นอย่าง มากคือการวางผังแม่บทของวัด ซึ่งลักษณะการทางานของอาจารย์พรหมมินท์มาจากประสบการณ์ที่ผ่านการ ทางานเชิงพาณิชย์และการสอนหนังสือ เวลาอาจารย์ออกแบบบ้านหนึ่งหลัง อาจารย์จะต้องไปคลุกคลี อยู่กับ เจ้ าของบ้ าน เพื่อรู้ จั กเขาให้ ดีพอก่อนจะออกแบบบ้านให้ เขา การทางานกับวัดก็เช่นกันจะต้องไปคุ ย กั บ พระสงฆ์ คุยกับชาวบ้าน คุยกับคนที่เกี่ยวข้อง การออกแบบของอาจารย์จึงจะให้ความสาคัญกับผู้ใช้งานเป็น หลัก เพราะอาจารย์ถูกสอนมาจากอาจารย์รุ่นหนึ่ง ว่าบ้านจาเป็นต้องดีเพราะมันมีคนอยู่ เพราะฉะนั้นจะสร้าง บ้านให้คนอยู่ก็ต้องเข้าใจว่าคนที่มาอยู่เป็น อย่างไร สถาปนิกจึงต้องฟังความต้องการของวัดให้มาก อาจารย์ พรหมมินท์ยังได้สะท้อนถึงการทางานที่ผ่านมาและตอกย้าถึงความสาคัญของการทาผังแม่บทให้วัดว่า ที่ผ่าน มารู้สึกว่าเราทางานด้านกายภาพมาเยอะมากแต่งานออกมาเป็นรูปธรรมน้อย เพราะปัญหาด้านกายภาพมี เยอะ ซึ่งส่วนหนึ่งก็มาจากเงื่อนไขต่างๆ เช่น โจทย์ไม่ชัด งบประมาณไม่มี แต่สิ่งหนึ่งที่อาจารย์พรหมมินท์มอง ว่าสามารถผลักดันให้เกิดกับทุกวัดได้ คือ การช่วยทาผังแม่บทให้กับทุกวัดและทุก วัดควรจะต้องมี ร่วมไปถึง การช่วยสนับสนุนด้านกิจกรรม เพราะสิ่งเหล่านี้เห็นผลทันที เกิดขึ้นได้ง่าย โดยไม่ต้องใช้เงินใช้เวลามากและถ้า ยิ่งทาเยอะก็ยิ่งเป็นประโยชน์กับวัด

คูม่ ือสถาปนิกจิตอาสา 24


เรื่องนี้...อยากบอกต่อ ท่าทีและการวางตน • การทางานกับวัด สถาปนิกต้องใจเย็น ใช้ความอดทน เพราะการทางานกับวัดแตกต่างจาก การทางานเชิงพาณิชย์ งานอาสาสมัครไม่ใช่งานจ้าง สถาปนิกมีหน้าที่เข้ามาช่วยงานวัด การปรับเปลี่ยนแต่ละ อย่างไม่สามารถเกิดขึ้นได้รวดเร็วเพราะวัดต้องใช้เวลาคิดทบทวน หารือกับผู้เกี่ยวข้อง จะใช้เวลามากหรือน้อย แตกต่างกันไปตามบริบทและความพร้อม สถาปนิกที่เคยทางานเชิงพาณิชย์มาก่อนต้องเตรียมใจบ้าง • สถาปนิกควรวางท่าทีอย่างอ่อนน้อมถ่อมตน ยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลากหลาย ไม่ควรใช้ ท่าทีแบบสั่งการ • สถาปนิกต้องสื่อสารกับผู้เกี่ยวข้องให้มาก เพื่อให้ได้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการวิเคราะห์ สาหรับออกแบบการการใช้ประโยชน์พื้นที่ตามโจทย์ที่ได้รับมอบหมาย ทั้งการฟัง การซักถาม หารือแลกเปลี่ยน และวิธีการอื่นๆที่จะทาให้เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูล ยิ่งมาก ยิ่งเป็นประโยชน์ต่อสถาปนิกและท้ายที่สุดจะเป็น ประโยชน์ต่อวัดด้วย ทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ระหว่างการทางาน ควรเรียนรู้ธรรมะจากการทางานจิตอาสา เพราะการทางานสถาปนิกจะต้องพบกับความไม่แน่นอน อาจพบว่าไม่เป็นเหมือนดังที่คาดการณ์ไว้ งานเกิดขึ้นจริงได้ช้าหรืออาจไม่เกิดขึ้นเลย หากเข้าใจในหลักธรรมมา ก่อน ก็จะสามารถบริหารความคิด ความรู้สึกและทาความเข้าใจสิ่งที่เกิดขึ้นได้ แต่สาหรับสถาปนิกที่ไม่เคยมี ประสบการณ์ทางธรรมมาก่อน ขอให้ย้อนกลับไปเพื่อทบทวนเจตนารมณ์เริ่มแรกในการอาสาเข้ามาช่วยงานวัด ทบทวนการทาบทบาทหน้าที่ของตนเอง ทบทวนความเป็นจริงที่เกิดขึ้น แล้วสถาปนิกจะได้เรียนรู้ธรรมะจาก การทางานครั้งนี้ไปด้วย ลดความคาดหวัง สถาปนิกไม่ควรคาดหวังว่าผลงานที่ออกแบบจะต้องเกิดขึ้นเพราะวัดแตกต่างจากงานเชิงพาณิชย์ที่มี ความพร้อมทุกด้าน การทางานอาสาสมัครกับวัดต้องเรียนรู้ไปด้วยกันและเห็นประโยชน์ของแต่ละขั้นตอนที่ลง มือทา หากผลงานที่ออกแบบไม่ได้เกิ ดขึ้นจริงสถาปนิกต้องยอมรับด้วยความเข้าใจในข้อจากัดของวัด และ ภูมิใจที่ได้ใช้ความสามารถในวิชาชีพอย่างเต็มที่แล้ว ผังแม่บทคือเรื่องพื้นฐานที่สาคัญ ควรทาผังแม่บทมอบให้ทุกวัดเพื่อเป็นแนวทางการพัฒนาการใช้ประโยชน์พื้นที่ให้กับวัด เพราะแต่ละ วัดมีจังหวะการพัฒนาพื้ นที่ ช้า-เร็ว แตกต่างกันด้วยข้อจากัดเฉพาะ การมีผังแม่บทเป็นการสร้างทิศทางการ พัฒนาพื้นที่ให้วัดในระยะยาว เมื่อวัดพร้อมที่จะปรับปรุงส่วนใดก็สามารถนาผังแม่บทมาศึกษาได้แม้ว่าจะไม่ได้ อยู่ในช่วงระยะเวลาดาเนินโครงการฯ

คูม่ ือสถาปนิกจิตอาสา 25


บัญญัติ 6 ประการ สู่ สถาปนิกจิตอาสา 1 ต้อง : - ต้องใจเย็น ใช้ความอดทน เพราะงานอาสาสมัครไม่ใช่งานจ้าง

3 ควร : - ควรเรียนรู้ธรรมะจากการปฏิบัติงานอาสาสมัคร - ควรทาผังแม่บทมอบให้ทุกวัดเพื่อเป็นแนวทางการใช้ประโยชน์พื้นที่ในระยะยาว - ควรสื่อสารกับผู้เกี่ยวข้องให้มากเพื่อให้ได้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการวิเคราะห์สาหรับออกแบบการ ใช้ประโยชน์พื้นที่ตามโจทย์ที่ได้รับมอบหมาย

2 ไม่ควร : - ไม่ควรใช้ท่าทีแบบสั่งการในการทางาน แต่ควรใช้ท่าทีที่อ่อนน้อมถ่อมตน - ไม่ควรคาดหวังว่าผลงานที่ออกแบบจะต้องเกิดขึ้นทันทีเพราะวัดแตกต่างจากการทางานเชิงพาณิชย์ ที่มีความพร้อมทุกด้าน

คูม่ ือสถาปนิกจิตอาสา 26


เจ้าของประสบการณ์

พระครูรัตนโสภณ (สุรัฐ สิริปุญฺโญ) เจ้าอาวาส วัดนายโรง เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ

พระดุษฎี เมธงฺกุโร เจ้าอาวาส วัดทุ่งไผ่ อาเภอเมือง จังหวัดชุมพร

คูม่ ือสถาปนิกจิตอาสา 27


คุณกชกร วรอาคม ปริญญาโทด้านภูมิสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ประเทศสหรัฐอเมริกา ปัจจุบันดารงตาแหน่ง กรรมการผู้จัดการ บริษัท แลนด์โพรเซส (Landprocess) และ ผู้ก่อตั้ง ปฏิบัติการเมือง พรุน (Porous City Network)

คุณชาญชัย จรุงเรืองเกียรติ มีประสบการณ์ 21 ปี ในการออกแบบงานภูมิสถาปัตยกรรม การวางผังโครงการ การวางผังแม่บท และการวางผังพัฒนาพื้นที่ต่างๆ ปัจจุบันดารงตาแหน่ง กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไอซอร่า ดีไซน์ จากัด

คุณนาชัย แสนสุภา มีประสบการณ์ทางานทั้งในและต่างประเทศ 21 ปี ปัจจุบันดารงตาแหน่ง กรรมการผู้จัดการ บริษัท ฉมา จากัด และเป็นอุปนายกฝ่าย วิชาชีพ สมาคมภูมิสถาปนิกประเทศไทย (พ.ศ.2560-2562)

คูม่ ือสถาปนิกจิตอาสา 28


คุณประพันธ์ นภาวงศ์ดี มีประสบการณ์ทางานทั้งในและต่างประเทศเกือบ 20 ปี ปัจจุบันดารงตาแหน่ง กรรมการ บริษัท ฉมา จากัด

อาจาย์พรหมมินท์ สุนทระศานติก มีประสบการณ์ทางานมากว่า 30 ปี ปัจจุบันเป็นอาจารย์พิเศษ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ตั้งแต่ พ.ศ.2538) และ อาจารย์พิเศษ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิทยาเขตรังสิต (ตั้งแต่ พ.ศ.2557)

คุณอรอาไพ สามขุนทด ปริญญาเอกพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (มจร.) และ ปริญญาโทด้านนันทนาการและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยวาเกนนิงเกน ประเทศเนเธอร์แลนด์ ปัจจุบันเป็นอาจารย์พิเศษ ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ตั้งแต่ พ.ศ.2559)

คูม่ ือสถาปนิกจิตอาสา 29


ภาคผนวก

คูม่ ือสถาปนิกจิตอาสา 30


สารบัญภาคผนวก หน้า วิธีการศึกษา

32 ความเป็นมา

32

วิธีการเก็บข้อมูล

32

ข้อเสนอแนะต่อโครงการวัดบันดาลใจ

35

อ้างอิง

38

คูม่ ือสถาปนิกจิตอาสา 31


วิธีการศึกษา 1. ความเป็นมา รายงานความก้าวหน้าฉบับนี้ เป็นการหาคาตอบการวิจัย หัวข้อ “กระบวนการบริหารจัดการของวัด และโครงการวัดบันดาลใจเพื่อให้สัปปายะด้านสถานที่มีความสอดคล้องกับบทบาทของศูนย์การเรี ยนรู้ เฉพาะด้านของแต่ละวัดดาเนินการอย่างไร มีปัจจัยอะไรเป็นปัจจัยสนับสนุนหรือเป็นอุปสรรค” ซึ่งเป็น ส่วนหนึ่งของโจทย์การศึกษาวิจัย เรื่อง “กระบวนการของการก่อตั้งและขับเคลื่อนต่อยอดบทบาทของวัด ให้ เป็นศูนย์การเรียนรู้ทางจิตวิญญาณของวัดในเขตเมือง : กรณีศึกษาวัดนาร่องของโครงการวัดบันดาลใจ” ตามที่ โครงการวัดบันดาลใจมอบหมายให้โครงการวิจัยดาเนินการศึกษาตั้งแต่ พฤษภาคม 2561 ถึง มีนาคม 2562 โดยมุ่งหาคาตอบเกี่ย วกับ แนวทางการดาเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ร่วมกันระหว่างวัดกับสถาปนิกใน โครงการฯ เพื่อให้วัดเป็นสถานที่ที่เอื้อต่อการพัฒนาจิตวิญาณ

2. วิธีการเก็บข้อมูล 2.1 แหล่งข้อมูลและวิธีการเก็บข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อตอบคาถามการวิจัยครั้งนี้ เป็นการเก็บข้อมูลจากแหล่งข้อมูลบุคคล ด้วย วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก มีแนวคาถามกึ่งโครงสร้างเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้ศึกษาคานึงถึงความ หลากหลายของแหล่งข้อมูล จึงได้กาหนดกลุ่มผู้ให้ข้อมูล 3 กลุ่ม คือ 1. กลุ่มสถาปนิกที่ผ่านการดาเนินงานในโครงการวัดบันดาลใจ 2. กลุ่มสถาปนิกที่เพิ่งเข้าร่วมโครงการวัดบันดาลใจ 3. พระสงฆ์ผู้มีประสบการณ์การดาเนินงานร่วมกับโครงการวัดบันดาลใจ โดยแต่ละกลุ่มได้ออกแบบวิธีการคัดเลือกแหล่งข้อมูลที่แตกต่างกัน ดังนี้ 2.1.1 กลุม่ สถาปนิกที่ผ่านการดาเนินงานในโครงการวัดบันดาลใจ การเก็บข้อมูลจากสถาปนิกที่ดาเนินงานร่วมกับโครงการวัดบันดาลใจมาอยู่ก่อนแล้ว จะทาให้ทราบ ข้อมูลที่เป็นบทเรียน ประสบการณ์ จากการร่วมงานกับวัด ทาให้เห็นทั้งแนวคิดการดาเนินงาน วิธีการปฏิบัติ รวมไปถึงข้อเสนอแนะที่ให้มุมมองด้านปัจจัยสนับสนุนทาให้การดาเนินงานบรรลุวัตถุประสงค์ยิ่งขึ้นและทาให้ ทราบถึงอุปสรรคที่ส่งผลทาให้การดาเนินงานร่วมกันไม่บรรลุวัตถุประสงค์ดังที่ตั้งใจ วิธีการคัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย 1) เริ่มจากให้ผู้ปฎิบัติงานในโครงการวัดบันดาลใจซึ่งเป็นผู้ใกล้ชิด คลุกคลีกับการทางานของสถาปนิก ในโครงการฯโดยตรง พิจารณาส่งรายชื่อสถาปนิกทั้งที่กาลังดาเนินงานอยู่และที่เคยดาเนินงานแต่ปิดหน้างาน ไปแล้ว มายังโครงการวิจัย รวมทั้งหมด 17 คน 2) เมื่อผู้วิจัยได้รายชื่อมาแล้ว ได้ทาการค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับมุมมองการดาเนินงานของสถาปนิกทั้ง 17 คน ด้วยวิธีที่หลากหลาย ทั้งค้นหาจากการสอบถามจากผู้ปฏิบัติงานในโครงการวัดบันดาลใจเพื่อให้ทราบ คูม่ ือสถาปนิกจิตอาสา 32


แนวทางการดาเนินงานและพื้นที่รับผิดชอบในโครงการฯ ค้นหาจากข้อมูลที่ปรากฏบนสื่อออนไลน์ เพื่อให้ ทราบ 2 ประเด็นหลักคือ ประเด็นข้อมูลพื้นฐาน เช่น การศึกษา บทบาทการทางาน และประเด็นผลงานกิจ กรรมที่เคยดาเนิ นงาน แต่ส าหรั บ บางท่านที่เคยร่วมเวทีเสวนาที่โครงการฯ จัดขึ้น ผู้ วิจัยได้เก็บข้อมูล เพิ่มเติมประเด็นมุมมองการทางานในโครงการฯ ผ่านการฟังวิดิโอบันทึกเวทีเสวนาด้วย 3) รวบรวมข้อมูลที่ค้นพบมาประชุมทีมวิจัย เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกันโดยคัด เลือกผู้ให้ ข้อมูลแบบไม่จากัดจานวนแต่คานึงถึงความหลากหลายของ เพศ อายุ มุมมองความสนใจ ประสบการณ์ การ ทางานที่ผ่านมาและบริบทของวัดที่สถาปนิกอาสาเข้าร่วมดาเนินงานเป็นสาคัญ ผลการคัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย มีจานวน 7 คน คือ 1. คุณกชกร วรอาคม กรรมการผู้จัดการ บริษัท แลนด์โปรเซส จากั ด และ ผู้ก่อตั้ง ปฏิบัติ การเมืองพรุน (Porous City Network) 2. คุณชาญชัย จรุงเรืองเกียรติ กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไอซอร่า ดีไซน์ จากัด 3. คุณน าชัย แสนสุ ภ า กรรมการผู้ จัดการ บริษัท ฉมา จากัด และอุปนายกฝ่ ายวิช าชีพ สมาคมภูมิสถาปนิกประเทศไทย (พ.ศ. 2560-2562) 4. คุณประพันธ์ นภาวงศ์ดี กรรมการ บริษัท ฉมา จากัด 5. อาจารย์พรหมมินท์ สุนทระศานติก อาจารย์พิเศษคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย (พ.ศ.2538-ปัจจุบัน) และเป็นที่ปรึกษาโครงการวัดบันดาลใจ 6. คุณอรอาไพ สามขุน ทด อาจารย์พิเศษ ภาควิช าภูมิส ถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรม ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (พ.ศ. 2559-ปัจจุบัน) และภูมิสถาปนิกโครงการวัดบันดาลใจ 7. คุณทวี เรืองฉายศิลป์ สถาปนิกโครงการวัดบันดาลใจ 2.1.2 กลุ่มสถาปนิกที่เพิ่งเข้าร่วมโครงการวัดบันดาลใจ การเก็บข้อมูลจากกลุ่มสถาปนิกที่เพิ่งเข้าร่วมโครงการวัดบันดาลใจ ทาให้ทราบมุมมองการทางาน ร่วมกับวัดในมิติของผู้ที่กาลังจะดาเนินงานหรือเพิ่งเริ่มดาเนินงาน ซึ่งมองผ่านแว่นประสบการณ์ที่แต่ละท่านมี อยู่ จึ งทาให้ เห็ น ความคาดหวังที่มีต่อโครงการฯ ที่จะช่ว ยอานวยให้ การดาเนินงานร่วมกันระหว่างวัดกับ สถาปนิกบรรลุวัตถุประสงค์ในการพัฒนาสัปปายะด้านสถานที่ร่วมกัน วิธีการคัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย 1) ผู้ปฏิบัติงานในโครงการวัดบันดาลใจ เสนอรายชื่อสถาปนิกที่เพิ่งเข้าร่วมโครงการฯแต่ยังไม่ได้เริ่ม ดาเนินงานหรือได้เริ่มดาเนินงานในระยะเริ่มต้นบ้างแล้วมายังผู้วิจัย โดยส่งรายชื่อมาจานวน 3 คน 2) เมื่อคณะวิจัยได้รายชื่อมาแล้ว ได้ทาการสอบถามไปยังผู้ปฏิบัติงานในโครงการวัดบันดาลใจเพื่อให้ ทราบข้อมูลเบื้องต้นและมุมมองการทางานของแต่ละคน พร้อมทั้งค้นหาข้อมูลเพิ่มเติมของแต่ละคนผ่านทาง สื่อออนไลน์ด้วย 3) รวบรวมข้อมูลที่ค้นพบมาประชุมทีมวิจัย เพื่อพิจารณาคัดเลือก โดยสรุ ปไม่ตัดท่านใดออก เพื่อให้ เกิดความหลากหลายของแหล่งข้อมูล ดังนั้นผู้ให้ข้อมูลในกลุ่มนี้จึงมี 3 คน คือ คูม่ ือสถาปนิกจิตอาสา 33


1. คุณธีรนพ จานงค์ นักศึกษาชั้นปีที่ 5 หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตร์บัณฑิต สถาบันอาศรมศิลป์ 2. คุณนพดล ลิ้มวัฒนะกูร กรรมการผู้จัดการ, DESIGNLAB NLSS Co., Ltd 3. คุณพันธุ์พงษ์ วิวัฒน์กุล กรรมการผู้จัดการ บริษัท สถาปนิก สมดุล จากั ด และ บริษัท ออกแบบสมดุล จากัด 2.1.3 พระสงฆ์ผู้มีประสบการณ์การดาเนินงานร่วมกับโครงการวัดบันดาลใจ ในการหาคาตอบสาหรับแนวทางการดาเนินงานร่วมกันของวัดกับสถาปนิกครั้งนี้ นอกจากจะเก็บ ข้อมูลจากสถาปนิกแล้วยังต้องเก็บข้อมูลจากพระสงฆ์ที่อยู่ในโครงการฯเพื่อให้ได้ข้อมูลที่รอบด้าน ซึ่งพระคุณ เจ้าเป็นผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการพัฒนาสัปปายะของวัด ทาให้เห็นมุมมองการดาเนินงานร่วมกัน เห็นแนวปฏิบัติ ที่จะทาให้ทั้งสองฝ่ายเกิดความเข้าใจต่อกันมากขึ้นเพื่อให้การทางานร่วมกันบรรลุผล การเลือกกลุ่มเป้าหมาย ได้เลือกตามเกณฑ์อาวุโส เป็นพระเถระที่บวชเรียนมานาน มีประสบการณ์ตรงในการทางานร่วมกับโครงการวัด บันดาลใจตั้งแต่เฟสแรก อันประกอบด้วย 1. พระครูรัตนโสภณ (สุรัฐ สิริปุญฺโญ) เจ้าอาวาสวัดนายโรง เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ 2. พระดุษฎี เมธงฺกุโร เจ้าอาวาสวัดทุ่งไผ่ อาเภอเมือง จังหวัดชุมพร 2.2 การจัดการข้อมูล เมื่อได้ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ครบทุกกลุ่มเป้าหมายแล้ว นาข้อมูลที่ได้มาประชุมทีมวิจัยเพื่อพิจารณา การจัดแบ่งหมวดหมู่ข้อมูล โดยสามารถจัดแบ่งได้ 3 หมวด คือ 1)แนวคิดการทางานของสถาปนิกจิตอาสา 2) แนวทางปฏิบัติจัดการภารกิจ 3)ข้อเสนอแนะต่อโครงการวัดบันดาลใจ หลังจากนั้นจึงทาการสังเคราะห์ข้อมูล แต่ละกลุ่มพร้อมทั้งเรียบเรี ยงให้เป็นภาษาที่เข้าใจง่าย และจัดทาเป็นรายงานความก้าวหน้า เพื่อเสนอต่ อ โครงการวัดบันดาลใจ

คูม่ ือสถาปนิกจิตอาสา 34


ข้อเสนอแนะต่อโครงการวัดบันดาลใจ เมื่อรวบรวมข้อเสนอแนะต่อโครงการวัดบันดาลใจจากผู้ให้สัมภาษณ์ทั้งหมด พบว่าสามารถแบ่งออก ได้ 3 หมวด คือ การเตรียมความพร้อมก่อนเริ่มดาเนินงาน การวางแผนการดาเนินงานและการประเมิน และ สุดท้ายการสร้างกระบวนการเรียนรู้ของวัดและสถาปนิก 1.การเตรียมความพร้อมก่อนเริ่มดาเนินงาน 1.1 การคัดกรองวัด ควรมีกระบวนการคัดกรองวัดที่จะเข้าร่วมโครงการฯ เพื่อให้ได้วัดที่มีคุณภาพ เบื้องต้นควรพิจารณาทุนบุคคลของวัดว่ามีศักยภาพอย่างไร เจ้าอาวาสมีวิสัยทัศน์หรือไม่ มีทีมบุคลากรหรือ เครือข่ายช่วยกันทางานมากน้อยแค่ไหน เป็นต้น เพื่อเป็นการกาหนดคุณสมบัติวัดที่จะเข้าร่วมโครงการฯ 1.2 การจัดกลุ่มวัดโดยแบ่งตามศักยภาพ เพื่อให้สถาปนิกทราบล่วงหน้าว่าการทางานกับวัดในแต่ละ กลุ่มแตกต่างกันอย่างไร เช่น กลุ่ม 1 เป็นวัดที่มีวิสัยทัศน์ กลุ่ม 2 เป็นวัดที่มีวิสัยทัศน์และจะลงมือปฏิบัติจริง กลุ่ม 3 เป็นวัดที่งบประมาณพร้อม เป็นต้น เหล่านี้ จะช่วยให้สถาปนิกทราบว่าแต่ละวัดมีศักยภาพแค่ไหน มี โอกาสสร้างผลงานหรือไม่ และต้องสร้างสรรค์งานออกแบบมากน้อยเพียงใด เพื่อให้สถาปนิกได้เตรียมตัว เตรียมใจมาก่อนล่วงหน้า 1.3 การจับคู่การทางานระหว่างวัด กับสถาปนิก ควรมีการออกแบบกระบวนการจับคู่ เพื่อให้ได้วัดที่ ตรงใจสถาปนิกและได้สถาปนิกที่ตรงความต้องการของวัด ซึ่งอาจจัดเป็นกระบวนการ 3-4 วัน เพื่อเรียนรู้ ร่วมกันให้ทราบว่าแต่ละวัดมีลักษณะเบื้องต้นอย่างไร วัดต้องการอะไร สถาปนิกคิดเห็นอย่างไร โดยสุดท้ายจะ ทราบว่าสถาปนิกแต่ละคนเหมาะกับวัดไหน และวัดแต่ละวัดเหมาะกับสถาปนิกที่มีความถนัดด้านใด 1.4 การสนับสนุนข้อมูลพื้นฐานของแต่ละวัดให้สถาปนิกได้ศึกษาก่อนเริ่มทางาน เช่น ข้อมูลลักษณะ ทางกายภาพ ข้อมูลความคิดเห็นเรื่องการพัฒนาพื้นที่ ความต้องการที่จะให้สถาปนิกเข้าไปช่วยงาน เป็นต้น เพื่อให้สถาปนิกได้ทราบข้อมูลเบื้องต้นที่มีเนื้อหาเชิงลึกก่อนที่จะลงพื้นที่จริง 1.5 การสนับสนุนให้วัด กับสถาปนิกเกิดความคุ้นเคยกันก่อนที่จะลงมือปฏิบัติงาน อาจเริ่มจากการ ปรับเปลี่ยนการนัดหมายทางานร่วมกันวันแรก จากเดิมทีมโครงการฯและสถาปนิกจะเดินทางไปที่วัด แต่ เปลี่ยนเป็นเชิญคณะทางานจากทางวัดมาคุยงานที่โครงการฯ และจัดให้มีกระบวนการสร้างความคุ้นเคยกัน ด้วย น่าจะทาให้การพบกันครั้งแรกของทีมทางานมีบรรยากาศที่คุ้นเคยกันมากขึ้น ซึ่งการปรับเปลี่ยนรูปแบบนี้ ยังทาให้เห็นเจตนาที่แน่วแน่ของวัด และความพร้อมในการทางานร่วมกันของวัดด้วย หรืออาจจะมีการจัด กิจกรรมละลายพฤติกรรมก่อนที่จ ะทางานร่ว มกัน เพื่อให้สถาปนิกกับวัดเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เป็นทีม เดียวกัน เป็นการปรับพื้นฐานความเข้าใจในการทางานให้ตรงกันก่อนเริ่มทางานจริง 1.6 การอธิบายความสาคัญของผังแม่บท โครงการฯควรอธิบายให้วัดทราบถึงความสาคัญของการมีผัง แม่บทตั้งแต่แรก เพราะผังแม่บทจะเป็นทิศทางการพัฒนาพื้นที่ภายในวัดทั้งหมด เพื่อให้แต่ละวัดเห็นคุณค่า ความสาคัญ ของการมีผังแม่บทและควรแจ้งให้ทางวัดทราบว่าชิ้นงานที่วัดจะได้รับเป็นพื้นฐานคือผังแม่บท เพราะผังแม่บทเป็นหัวใจสาคัญ คูม่ ือสถาปนิกจิตอาสา 35


2.การวางแผนการดาเนินงานและการประเมินผล 2.1 การวางแผนการดาเนินงานร่วมกันระหว่างโครงการฯกับสถาปนิก เพื่อให้สถาปนิกทราบว่าเมื่อ เข้าร่วมโครงการฯแล้ว จะต้องมีบทบาทอย่างไรบ้าง ทั้งงานออกแบบซึ่งเป็นภารกิจหลักและงานอื่นๆ เช่น การ เข้าร่วมประชุม การเข้าร่วมกิจกรรมของโครงการฯ เป็นต้น สาหรับให้สถาปนิกประเมินศักยภาพของตนเองว่า สามารถเข้าร่วมกิจกรรมของโครงการฯได้มากน้อยเพียงใด 2.2 สนับสนุนให้เกิดการวางแผนการทางานร่วมกันระหว่างสถาปนิกกับวัดที่ชัดเจน เพื่อให้ทุกฝ่ายเกิด ความเข้าใจตรงกันว่าขณะนี้กาลังดาเนินงานไปถึงขั้นตอนไหน เกิดข้อสรุปแต่ละขั้นตอนอย่างไร สิ่งใดเป็น เป้าหมายที่จะดาเนินการต่อไป เพื่อเป็นการกากับทิศทางการทางานร่วมกันไม่ปล่อยให้เป็นไปอย่างเรื่อยๆ แต่ มีกรอบทิศทางที่ชัดเจน ซึ่งการมีแผนการดาเนินงานจะทาให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายเห็นขั้นตอนในการทางาน ช่วย สร้างภาพลักษณ์การทางานของโครงการฯให้มีแบบแผนและเป็นระบบ 2.3 การประเมินผล ควรจัดขึ้นเพื่อให้เห็นการเปลี่ยนแปลงภายในของสถาปนิกในโครงการฯ ทาให้ ทราบว่าคนทางานเกิดกระบวนการเรียนรู้ อย่างไร เพราะหากคนทางานไม่เกิดกระบวนการเรียนรู้แล้ ว จะ คาดหวังให้ผู้มาใช้งานเกิดการเรียนรู้อาจเป็นไปได้ยาก การประเมินผลไม่ได้มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบการ ทางานแต่เป็นไปเพื่อการสร้างความสัมพันธ์แบบทีม ระหว่างโครงการฯกับสถาปนิก อาจเป็นลักษณะของการ ติดต่อเพื่อสอบถามการทางาน เช่น คอยหมั่นถามไถ่ ติดตามความคืบหน้าของงาน ปัญหาที่พบ รวมไปถึง สอบถามความต้องการการช่วยเหลือจากโครงการฯ เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว 2.4 การเผยแพร่บทเรียนการทางานของโครงการฯ ไปยังสถาปนิกรุ่นใหม่ เพื่อสร้างเครือข่าย ขยายกลุ่ม คนทางานอาสาสมัครกับวัดให้กว้างขึ้น การเผยแพร่ชุดประสบการณ์ของโครงการฯ จะทาให้คนรุ่นใหม่เกิด ความเข้าใจการทางานร่วมกับวัดมากขึ้นและจะช่วยสร้างแรงบันดาลใจการทางานเพื่อสังคม แต่ควรออกแบบ สื่อให้น่าสนใจ เข้าถึงได้ง่ายและเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายด้วย 3.การสร้างกระบวนการเรียนรู้ของวัดและสถาปนิก 3.1 การจัดอบรมถวายความรู้ให้พระสงฆ์ ควรถวายความรู้เรื่องงานออกแบบทั้ง Landscape การ ออกแบบอาคารตามหลักการใช้งาน หลักฮวงจุ้ย รวมไปถึงการดูแลรักษาวัสดุต่างๆให้คงทน ซึ่งการเรียนรู้ต้อง มีกระบวนการที่น่าสนใจ เช่น เรียนรู้ผ่านวัดตัวอย่างในโครงการฯ มีการจัดกิจกรรมให้เกิดการวิเคราะห์ร่วมกัน ต่อกรณีศึกษาแล้วหันกลับมาสารวจวัดของแต่ละท่าน เป็นต้น นอกจากนี้ควรจัดหาหนังสือเกี่ยวกับการวางผัง แม่บทวัด สถาปัตยกรรมไทย และองค์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องงานช่างเบื้องต้น เพื่อจัดเป็นชุดหนังสือมอบให้วัดได้ ศึกษาเพิ่มเติม ทั้งนี้เพื่อให้พระสงฆ์มีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการออกแบบ ซึ่งจะทาให้เกิดความเข้าใจได้ง่ายขึ้น เมื่อต้องทางานกับสถาปนิกหรือเมื่อต้องทางานกับผู้รับเหมาก่อสร้าง 3.2 การจัดอบรมเติมความรู้ให้สถาปนิก เพื่อเรียนรู้บทเรียนการทางานที่ผ่านมาของโครงการฯ ทั้ง บทเรี ย นที่เป็ น กรณีป ระสบความส าเร็ จและเรียนรู้บทเรียนกรณีที่พบปัญหา ว่ามีวิธีการจัดการกับปัญหา อย่างไร ซึ่งโครงการฯควรออกแบบกิจกรรมให้น่าสนใจ เช่น ไม่เพียงเรียนรู้ในห้องประชุมแต่ควรพาลงพื้นที่จริง ไปศึกษาข้อมูลทางกายภาพควบคู่กับศึกษาข้อมูลจากผู้ใช้งานจริง เป็นต้น นอกจากนี้ควรสนับสนุนให้สถาปนิก คูม่ ือสถาปนิกจิตอาสา 36


ทาความเข้าใจเรื่องวัตรปฏิบัติและเรื่องอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ที่จะทาให้สถาปนิกทราบว่าพระสงฆ์มีวิถีปฏิบัติอย่างไร วัดป่ากับวัดบ้านแตกต่างกันอย่างไร อะไรสามารถทาได้ อะไรทาไม่ได้ เพื่อให้สถาปนิกที่ไม่เคยมีประสบการณ์ ทางานกับ วัดหรื อไม่เคยคลุ กคลี กับ วัดได้รู้ข้อมูล พื้นฐานเบื้องต้นของวัด ซึ่งจะมีส่ ว นช่ว ยให้ การออกแบบ สอดคล้องกับการใช้งานของพระสงฆ์ได้ดียิ่งขึ้น 3.3 การศึกษาดูงาน สาหรับสถาปนิกควรพาไปศึกษาดูงานออกแบบตามวัดต่างๆ ทั้งที่สร้างอย่างมี แบบแผนตามคติ ธรรมเนียม ว่ามีการออกแบบอย่างไร เช่น วัดพระแก้ว วัดโพธิ์ และวัดป่าหรือวัดบ้านที่สร้าง ขึ้นอย่างเรียบง่าย เพื่อให้เห็นรูปแบบการสร้างวัด ที่หลากหลาย โดยจัดให้มีผู้รู้บรรยายให้เห็นแนวทางการ ออกแบบพุทธศาสนสถาน การพาสถาปนิกไปศึกษาดูงาน เพื่อให้สถาปนิกเกิดแรงบันดาลใจ เกิดความมุ่งมั่น จากการเห็นของจริงที่งดงาม นอกจากนี้ควรจัดกิจกรรมที่พาสถาปนิกไปใช้ชีวิตที่วัดระยะสั้น (3-7 วัน) เพื่อให้ สถาปนิกเห็นภาพการใช้สอยพื้นที่ภายในวัด เห็นปัญหาและข้อจากัดของการใช้พื้นที่ เห็นวัตรปฏิบัติ บทบาท หน้าที่ของพระสงฆ์ และการเกื้อกูลกันระหว่างวัดกับญาติโยม กระบวนการเรียนรู้นี้เพื่อให้สถาปนิกเข้าใจการ ใช้งานพื้นที่ของวัดมากขึ้นและเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การใช้ประโยชน์พื้ นที่ร่วมกัน ในส่วนของการเรียนรู้ ร่ ว มกัน ระหว่างวัดกับ สถาปนิ ก ควรมีการจัดกิจกรรมศึกษาดูงานร่วมกัน เพื่อเรียนรู้การออกแบบพื้นที่ที่ น่าสนใจสาหรับนามาปรับใช้กับวัด เช่น สวนโมกข์พลาราม จ.สุราษฎ์ธานี (วัดธารน้าไหล) เสถียรธรรมสถาน เป็นต้น ซึ่งจะทาให้วัดกับสถาปนิ ก ได้เรี ยนรู้การแบ่งสัดส่วนการใช้งาน การออกแบบตามคติโบราณ และ หลักการอื่นๆผ่านการศึกษาดูงานจากของจริง 3.4 การจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ควรจัดให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ของสถาปนิก ในโครงการฯด้วยกันเอง เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การดาเนินงาน เป็นการเปิดพื้นที่ในการบอกเล่า เรื่องราวการทางาน แลกเปลี่ยนความคิดเห็น การแก้ไขปัญหา แบบจับเข่าคุยกัน เพื่อเติมเต็มกาลังใจและ เรียนรู้แนวทางการทางานต่อไป 3.5 เมื่อจัดกิจกรรมอบรมเสริมความรู้ให้กับสถาปนิกหรือพระสงฆ์ทุกครั้ง ควรมี การประเมินผล เพื่อให้โครงการฯทราบว่ากิจกรรมที่จัดขึ้นเกิดผลลัพธ์อย่างไร และยังสามารถออกแบบให้การประเมินผลช่วย ตรวจทานความเข้าใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้อีกทางหนึ่งด้วย

คูม่ ือสถาปนิกจิตอาสา 37


อ้างอิง กชกร วรอาคม, กรรมการผู้จัดการ, บริษัท แลนด์โปรเซส จากัด, ผู้ก่อตั้ง ปฏิบัติการเมืองพรุน, สัมภาษณ์เมื่อ 25 พ.ค.61 ชาญชัย จรุงเรืองเกียรติ, กรรมการผู้จัดการ, บริษัท ไอซอร่า ดีไซน์ จากัด, สัมภาษณ์เมื่อ 24 พ.ค.61 ทวี เรืองฉายศิลป์, สถาปนิกโครงการวัดบันดาลใจ, สัมภาษณ์เมื่อ 28 พ.ค.61 ธีรนพ จานงค์, นักศึกษาชั้นปีที่ 5 หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตร์บัณฑิต, สถาบันอาศรมศิลป์, สัมภาษณ์เมื่อ 20 มิ.ย.61 นพดล ลิ้มวัฒนะกูร, กรรมการผู้จัดการ, DESIGNLAB NLSS Co., Ltd, สัมภาษณ์เมื่อ 6 ก.ค.61 นาชัย แสนสุภา, กรรมการผู้จัดการ บริษัท ฉมา จากัด, อุปนายกฝ่ายวิชาชีพ สมาคมภูมิสถาปนิกประเทศไทย (พ.ศ. 2560-2562), สัมภาษณ์เมื่อ 7 มิ.ย.61 ประพันธ์ นภาวงศ์ด,ี กรรมการ, บริษัท ฉมา จากัด, สัมภาษณ์เมื่อ 7 มิ.ย.61 พันธุ์พงษ์ วิวัฒน์กุล, กรรมการผู้จัดการ บริษัท สถาปนิก สมดุล จากัด, กรรมการผู้จัดการ บริษัทออกแบบ สมดุล จากัด, สัมภาษณ์เมื่อ 27 มิ.ย.61 พรหมมินท์ สุนทระศานติก, อาจารย์พิเศษ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (พ.ศ.2538ปัจจุบัน), ที่ปรึกษาโครงการวัดบันดาลใจ, สัมภาษณ์เมื่อ 23 พ.ค.61 พระครูรัตนโสภณ (สุรัฐ สิริปญ ุ ฺโญ), เจ้าอาวาส, วัดนายโรง เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ, สัมภาษณ์เมื่อ 9 ก.ค. 61 พระดุษฎี เมธงฺกุโร, เจ้าอาวาส, วัดทุ่งไผ่ อาเภอเมือง จังหวัดชุมพร, สัมภาษณ์เมื่อ 6 ส.ค.61 อรอาไพ สามขุนทด, อาจารย์พิเศษ ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย (พ.ศ. 2559-ปัจจุบัน), ภูมิสถาปนิกโครงการวัดบันดาลใจ, สัมภาษณ์เมื่อ 18 พ.ค.61

คูม่ ือสถาปนิกจิตอาสา 38


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.