1
คู่มือการใช้สื่อ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง เลขยกกาลัง
โดย นายวัฒนากรณ์ เฟื้อแก้ว ตาแหน่ง ครู รับเงินเดือนอับดับ คศ.1 โรงเรียนวัดบางกระดี่ สานักงานเขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร
ก
คานา บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง เลขยกกำลัง เป็นสื่อกำรเรียนรู้กลุ่มสำระกำรเรียนรู้คณิตศำสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 1 ใช้ประกอบกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้กลุ่มสำระกำรเรียนรู้คณิตศำสตร์ ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 1 ในหน่วยกำรเรียนรู้ที่ 3 เลขยกกำลัง าำคเรียนที่ 1 ตำมหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช 2551 โดยเน้ นให้นั กเรีย นมี ควำมรู้ ควำมเข้ ำใจ นำไปสู่ ทัก ษะกำรคิ ด คำนวณ และกำรวิ เครำะห์ โจทย์ ตำมควำมสำมำรถ และควำมแตกต่ำงระหว่ำงบุคคลของนักเรียน กำรพัฒนำบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนชุดนี้ผู้จัดทำได้ศึกษำค้นคว้ำ เรียนรู้เพิ่มเติม และได้ประมวล ควำมรู้ ใ นกำรสร้ ำ งบทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ ช่ ว ยสอนชุ ด นี้ เนื่ อ งจำกปั ญ หำที่ ผู้ จั ด ท ำพบในกำรจั ด กำรเรี ย นกำรสอน คือ นักเรียนส่วนมำกได้คะแนนในเรื่อง เลขยกกำลัง ค่อนข้ำงน้อย จึงเป็นที่มำในกำรจัดทำบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน จุ ด ประสงค์ ห ลั ก ของบทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ ช่ ว ยสอนชุ ด นี้ คื อ เพื่ อ พั ฒ นำควำมคิ ด สร้ ำ งสรรค์ และพัฒนำทักษะกำรคิดคำนวณในกำรแก้ปัญหำทำงคณิตศำสตร์ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 1 นอกจำกนี้กำรพัฒนำบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนชุดนี้ได้จัดทำเป็นระบบสองาำษำ คือ าำษำไทย และาำษำอัง กฤษ และยังสำมำรถติดตั้งลงบนเท็บเล็ต โทรศัพท์มือถือ ได้อีกด้วย เพื่อพัฒนำทักษะทำงคณิตศำสตร์ ด้ำนต่ำงๆ ควบคู่กับกำรใช้าำษำสำกลในกำรเรียนรู้เพื่อตอนรับ ASEAN Economic Community (AEC) ในปี2015 บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนชุดนี้จัดเป็นสื่อกำรเรียนรู้ที่ช่วยแบ่ง เบำาำระผู้สอน และเป็นนวัตกรรมสำหรับผู้สอน ในกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ต่ำงๆนำไปใช้ขยำยผลต่อไปได้อย่ำงหลำกหลำย ผู้จัดทำหวังเป็นอย่ำงยิ่งว่ำบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนชุดนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียน ผู้สอน ตลอดจนวงกำรศึกษำต่อไป วัฒนากรณ์ เฟื้อแก้ว
ข
สารบัญ หน้า ควำมเป็นมำ
1
ผลกำรเรียนรู้ที่คำดหวัง
2
วัตถุประสงค์ของกำรสร้ำงบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
3
ลักษณะเด่น
3
ข้อตกลงในกำรใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
3
กำรกำหนดหน้ำจอคอมพิวเตอร์
4
กำรใช้งำนบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่อง เลขยกกำลังบน Computer PC
5
กำรใช้งำนบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่อง เลขยกกำลังบน Tablet หรือ โทรศัพท์มือถือสมำร์ทโฟน
19
เอกสำรอ้ำงอิง
47
ภาคผนวก แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
49
าำพกำรทดลองใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่อง เลขยกกำลัง ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 1
52
1
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องเลขยกกาลัง สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ความเป็นมา พระรำชบัญญัติกำรศึกษำแห่งชำติ พุทธศักรำช 2542 กำหนดให้กำรศึกษำเป็นกระบวนกำรเรียนรู้เพื่อ ควำมเจริญงอกงำมของบุคคลและสังคม โดยกำรถ่ำยทอดควำมรู้ กำรฝึก กำรอบรม กำรสืบสำนทำงวัฒนธรรม กำรสร้ำงสรรค์ควำมเจริญก้ำวหน้ำทำงวิชำกำร กำรสร้ำงองค์ควำมรู้ อันเกิดจำกกำรจัดสาำพแวดล้อม สังคม กำรเรียนรู้และปัจจัยเกื้อหนุนให้บุคคลเกิดกำรเรียนรู้ อย่ำงต่อเนื่องตลอดชีวิต โดยกำหนดจุดมุ่งหมำยของกำรจัด กำรศึกษำไว้ในมำตรำ 6 กำรจัดกำรศึกษำต้องเป็นไปเพื่อพัฒนำคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่ำงกำย จิตใจ สติปัญญำ ควำมรู้และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในกำรดำรงชีวิต สำมำรถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่ำงมี ควำมสุ ข และกำหนดแนวกำรจัด กำรศึ กษำไว้ ในมำตรำ 22 กำรจั ดกำรศึกษำต้ องยึดหลักว่ำ ผู้เรียนทุกคนมี ควำมสำมำรถเรียนรู้และพัฒนำตนเองได้ มำตรำ 24 กำรจัดกระบวนกำรเรียนรู้ให้สถำนศึกษำส่งเสริมสนับสนุน ให้ผู้สอนสำมำรถจัดบรรยำกำศ สาำพแวดล้อม สื่อกำรเรียนและอำนวยควำมสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดกำรเรียนรู้ และมีควำมรอบรู้และมำตรำ 66 ผู้เรียนมีสิทธิ์ได้รับกำรพัฒนำขีดควำมสำมำรถในกำรใช้เทคโนโลยีเพื่อกำรศึกษำ เพื่อให้ มีควำมรู้และทั กษะเพียงพอที่จะใช้ เทคโนโลยีเ พื่อกำรศึกษำในกำรแสวงหำควำมรู้ด้วยตนเองได้อย่ำ ง ต่อเนื่องตลอดชีวิต (กระทรวงศึกษำธิกำร , 2546 : 2 - 31) หลักสูตรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช 2551 เป็นหลักสูตรที่มุ่งพัฒนำมุ่งพัฒนำผู้เรียนทุกคน ซึ่ง เป็นกำลังของชำติให้เป็นมนุษย์ที่มีควำมสมดุลทั้งด้ำนร่ำงกำย ควำมรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกในควำมเป็นพลเมือง ไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในกำรปกครองตำมระบอบประชำธิปไตยอันมีพระมหำกษัตริย์ทรงเป็นประมุข มี ควำมรู้และทักษะพื้นฐำน รวมทั้ง เจตคติ ที่จำเป็นต่อกำรศึกษำต่อ กำรประกอบอำชีพและกำรศึกษำตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญบนพื้นฐำนควำมเชื่อว่ำ ทุกคนสำมำรถเรียนรู้และพัฒนำตนเองได้เต็มตำมศักยาำพ จึง กำหนดสำระกำรเรียนรู้ ซึ่งประกอบด้วยองค์ควำมรู้ ทักษะหรือกระบวนกำรเรียนรู้และคุณลักษณะหรือค่ำนิยม คุณธรรม จริยธรรมของผู้เรียนเป็น 8 กลุ่มสำระ ซึ่งทั้ง 8 กลุ่มนี้เป็นพื้นฐำนสำคัญที่ผู้เรียนทุกคนต้องเรียนรู้ โดยจัดเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มแรกประกอบด้วย าำษำไทย คณิตศำสตร์ วิทยำศำสตร์และสังคมศึกษำ ศำสนำ และวัฒนธรรม เป็นสำระกำรเรียนรู้ที่สถำนศึกษำต้องใช้เป็นหลักในกำรจัดกำรเรียนกำรสอนเพื่อสร้ำงพื้นฐำน กำร คิดและเป็นกลยุทธ์ในกำรแก้ปัญหำวิกฤตของชำติ กลุ่มที่สองประกอบด้วย สุขศึกษำและพลศึกษำ ศิลปะ กำร งำนอำชีพและเทคโนโลยีและาำษำต่ำงประเทศ เป็นสำระกำรเรียนรู้ที่เสริมสร้ำงพื้นฐำนควำมเป็นมนุษย์และสร้ำง ศักยาำพในกำรคิดและกำรทำงำนอย่ำงสร้ำงสรรค์ กำรจัดกำรศึกษำต้องมุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง เรียนรู้อย่ำงต่อเนื่องตลอดชีวิตและใช้เวลำอย่ำงสร้ำงสรรค์ รวมทั้งมีควำมยืดหยุ่น สนองควำมต้องกำรของผู้เรียน ชุมชน สังคมและประเทศชำติ ผู้เรียนสำมำรถเรียนรู้ได้ทุกเวลำ ทุกสถำนที่และเรียนรู้จำกสื่อกำรเรียนรู้และ แหล่งกำรเรียนรู้ทุกประเาท เน้นสื่อที่ผู้เรียนและผู้สอนใช้ศึกษำหำควำมรู้ด้วยตนเอง ผู้เรียน ผู้สอนสำมำรถจัดทำ
2
และพัฒนำสื่อกำรเรียนรู้ขึ้นเองหรือนำสิ่งต่ำง ๆ ที่มีอยู่รอบตัวและในระบบสำรสนเทศมำใช้ในกำรเรียนรู้ ลักษณะของสื่อ ที่นำมำใช้ในกำรจัดกำรเรียนรู้ ควรมีควำมหลำกหลำย ทั้งสื่อธรรมชำติ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยีและสื่ออื่นๆ ซึ่งช่วยส่งเสริม ให้กำรเรียนรู้เป็นไปอย่ำงมีคุณค่ำ น่ำสนใจ ชวนคิด ชวนติดตำม รวมทั้งกระตุ้นให้ผู้เรียนรู้จักวิธีกำรแสวงหำควำมรู้ เกิดกำรเรียนรู้อย่ำงกว้ำงขวำง ลึกซึ้งและต่อเนื่องตลอดเวลำ (กระทรวงศึกษำธิกำร . 2551 : 1 - 25) ผู้จัดทำจึงได้พัฒนำสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องเลขยกกำลัง สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 1 ซึ่งอยู่ใน สาระการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ ( ค 21101 ) สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวนและการใช้จานวนในชีวิตจริง ตัวชี้วัด ค1.1 ม1/2. เข้ำใจเกี่ยวกับเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม และเขียนแสดงจำนวนให้อยู่ใน รูปสัญกรณ์วิทยำศำสตร์(scientific notation) มาตรฐาน ค 1.2 เข้ำใจถึงผลที่เกิดขึ้นจำกกำรดำเนินกำรของจำนวนและควำมสัมพันธ์ระหว่ำงกำรดำเนินกำร ต่ำง ๆ และใช้กำรดำเนินกำรในกำรแก้ปัญหำ ตัวชี้วัด ค1.2 ม.1/3. อธิบำยผลที่เกิดขึ้นจำกกำรยกกำลังของจำนวนเต็ม เศษส่วนและทศนิยม ค1.2 ม.1/4. คูณและหำรเลขยกกำลังที่มีฐำนเดียวกัน และเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม มาตรฐาน ค 6 .1 มีควำมสำมำรถในกำรแก้ปัญหำ กำรให้เหตุผล กำรสื่อสำร กำรสื่อควำมหมำยทำง คณิตศำสตร์และกำรนำเสนอ กำรเชื่อมโยงควำมรู้ต่ำง ๆ ทำงคณิตศำสตร์และเชื่อมโยงคณิตศำสตร์กับศำสตร์อื่น ๆ และมีควำมคิดริเริ่มสร้ำงสรรค์
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1) ผู้เรียนมีควำมคิดรวบยอดเกี่ยวกับเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม และเขียนแสดงจำนวนให้ อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยำศำสตร์(scientific notation) 2) ผู้เรียนสำมำรถอธิบำยผลที่เกิดขึ้นจำกกำรยกกำลังของจำนวนเต็ม เศษส่วนและทศนิยม 3) ผู้เรียนสำมำรถคูณและหำรเลขยกกำลังที่มีฐำนเดียวกัน และเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม เนื้อหำ ประกอบด้วย ควำมหมำยของเลขยกกำลัง กำรคูณเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม บวก กำรหำรเลขยกก ำลั ง ที่ มี เ ลขชี้ ก ำลัง เป็ น จำนวนเต็ ม บวก กำรน ำไปใช้ และจั ด ทำคู่ มื อ กำรใช้ บทเรี ย น คอมพิวเตอร์ช่วยสอนควบคู่กันไป เพื่อสะดวกในกำรนำไปใช้อย่ำงมีประสิทธิาำพต่อไป
3
วัตถุประสงค์ของการสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 1. เพื่อให้มีสื่อกำรเรียนกำรสอนใช้อย่ำงหลำกหลำย 2. เพื่อใช้เป็นแนวทำงกำรพัฒนำกำรเรียนรู้ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้คณิตศำสตร์ 3. เพื่อเป็นแนวทำงในกำรจัดทำบทเรียนบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในวิชำอื่น ๆต่อไป 4. เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษำค้นคว้ำหำควำมรู้และฝึกปฏิบัติเพิ่มเติม ลักษณะเด่นของบทเรียน นักเรียนสำมำรถเรียนได้ด้วยตนเองโดยไม่จำกัดเวลำ อีกทั้งยังมี 2 าำษำ และสำมำรถ ติดตั้งบนเท็บเล็ตหรือโทรศัพท์มือถือได้ ข้อตกลงในการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องเลขยกกำลัง เป็นผลงำนที่พัฒนำขึ้นโดยนำยวัฒนำกรณ์ เฟื้อแก้ว ยินยอมให้ท่ำนสำมำรถนำบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนนี้ไปใช้ได้เฉพำะส่วนตัวและเพื่อกำรศึกษำเท่ำนั้น ไม่ อนุญำตให้นำไปใช้คัดลอก ดัดแปลง ทำซ้ำหรือนำไปใช้กระทำกำรใดๆในเชิงพำณิชย์ ระบบเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต้องกำร อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องและจำเป็นในกำรใช้สื่อ ได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีคุณสมบัติ ดังนี้ 1. สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ควรมี CPU รุ่น PENTIUM Mหรือสูงกว่ำ 2. หน่วยควำมจำ (RAM) 512 MB ขึ้นไป 3. เนื้อที่ควำมจำฮำร์ดดิสก์อย่ำงต่ำ 50 MB 4. กำรแสดงผลหน้ำจอาำพ SUPER VGA True Color (32 bit) และ Screen area 1024 x 768 pixels 5. Sound Card 6. ระบบปฏิบัติกำร WINDOWS -2000, XP, Vista , Windows 7 , Windows 8 7. เมำส์ ซีดีรอม ลำโพงหรือหูฟัง
4
การกาหนดหน้าจอคอมพิวเตอร์ ในกำรสร้ำงบทเรียนคอมพิวเตอร์มัช่วยสอน เรื่อง “เลขยกกำลัง” ชุดนี้ผู้จัดทำได้กำหนดกำรแสดงผล ของหน้ำจอคอมพิวเตอร์ไว้ที่ 1024 x 768 Pixels ซึ่งเป็นควำมละเอียดของจอาำพในระดับปำนกลำงที่เครื่อง คอมพิวเตอร์ทั่วไ ป ทั้งรุ่นเก่ำหรือรุ่นใหม่สำมำรถแสดงผลได้ ดังนั้นก่อนที่ผู้ศึกษำบทเรียนคอมพิวเตอ ร์ช่วย สอนสอนชุดนี้จะทำกำรศึกษำบทเรียน ควรปรับควำมละเอียดของจอาำพให้ถูกต้องคือ 1024 x 768 Pixelsด้วย
5
การใช้งานบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องเลขยกกาลัง ลักษณะและส่วนประกอบของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องเลขยกกาลัง บน Computer PC 1. หน้าลงทะเบียน
กรอกชื่อให้เรียบร้อย
คลิกตกลง
2. หน้ายินดีต้อนรับ
คลิกเพื่อเข้าสูบ่ ทเรียน
คลิกเพื่อทาแบบฝึกหัด
คลิกเพื่อดูข้อมูลผู้จัดทา
คลิกเพื่อออกจากโปรแกรม
คลิกเพื่อเข้าสูบ่ ทเรียน
6
3. หน้าบทเรียน
คลิกเลือกภาษาของบทเรียน
3.1 กรณีเลือกภาษาไทย 3.1.1 หน้ำแนะนำบทเรียน
7
3.1.2 หน้ำเนื้อหำบทเรียน
นาเม้าส์ไปชี้ที่รูปวงกลมจะมีชื่อ บทเรียนปรากฏขึ้นมา
3.1.3 หน้ำบทเรียน
คลิกที่นี่เพื่อเปลี่ยนภาษา คลิกที่นี่เพื่อกับไปเลือกหัวข้อใหม่
คลิกที่นี่เพื่อดูหน้าถัดไป
8
คลิกเพื่อย้อนกลับ
9
10
3.2
กรณีเลือกภาษาอังกฤษ
3.2.1 หน้าแนะนาบทเรียน
3.2.2 หน้ำเนื้อหำบทเรียน
11
3.2.3 หน้ำบทเรียน
12
13
4. หน้าแบบฝึกหัด
คลิกเลือกภาษาของแบบฝึกหัด
4.1
กรณีเลือกภาษาไทย
เลือกคาตอบแล้วคลิกยืนยัน
14
กรณีตอบผิด
กรณีตอบถูก
15
กรณียังไม่เลือกคาตอบ
16 4.2 กรณี เลือกภาษาอังกฤษ
เลือกคาตอบแล้วคลิกยืนยัน
กรณีตอบถูก
17
กรณีตอบผิด
กรณียังไม่เลือกคาตอบ
18
5. หน้าผู้จัดทา
19
กรณีใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบน tablet หรือ โทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟน วิธีที่ 1 ติดตั้งลงบน tablet หรือ โทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟน 1. ให้ดับเบิ้ลคลิ๊กที่ โฟล์เดอร์ app tablet จะพบหน้ำต่ำง
2. เลือกไฟล์ที่จะติดตั้งมีสองไฟล์ ให้เลิกไฟล์ใดไฟล์หนึ่ง คัดลอกลง tablet หรือ โทรศัพท์มือถือสมำร์ทโฟน
20
3. หำไฟล์ที่คัดลอกมำใน tablet หรือ โทรศัพท์มือถือสมำร์ทโฟน
4. ทำกำรติดตั้งลงบน tablet หรือ โทรศัพท์มือถือสมำร์ทโฟน(ติดตั้งได้ทีละไฟล์)
21
หมำยเหตุ ถ้ำต้องกำรติดตั้งเป็นาำษำที่ยังไม่ติดตั้งต้องถอนกำรติดตั้งาำษำนั้นก่อน 5. เปิดบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง เลขยกกำลัง
22
5.1 กรณีที่ติดตั้งไฟล์ CAI Exponenteng.apk
คลิกเพื่อเข้าสูบ่ ทเรียน
5.1.1 บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบน tablet หรือ โทรศัพท์มือถือสมำร์ทโฟน
23
5.1.2 หน้ำลงทะเบียน กรอกชื่อให้เรียบร้อย
คลิกตกลง
5.1.3 หน้ำยินดีต้อนรับ
คลิกเพื่อเข้าสู่บทเรียน
24
5.1.4 หน้ำบทเรียนและหน้ำเนื้อหำ
คลิกที่นี่เพื่อกับไปเลือกหัวข้อใหม่
คลิกที่นี่เพื่อดูหน้าถัดไป
นาเม้าส์ไปชี้ที่รูปวงกลมจะ มีชื่อบทเรียนปรากฏขึ้นมา
คลิกที่นี่เพื่อดูหน้าที่ผ่านมา
25
5.1.5 หน้ำแบบฝึกหัด
กรณีตอบผิด
กรณีตอบถูก
เลือกคาตอบแล้วคลิก submit
กรณียังไม่ได้เลือกคาตอบ
สรุปผลการทาแบบทดสอบ
26
5.1.6 หน้ำผู้จัดทำ
27
5.2
กรณีที่ติดตั้งไฟล์ CAI Exponentthai.apk
5.1.1 บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบน tablet หรือ โทรศัพท์มือถือสมำร์ทโฟน
28
5.1.2 หน้ำลงทะเบียน
5.1.3 หน้ำยินดีต้อนรับ
29
5.1.4 หน้ำบทเรียนและหน้ำเนื้อหำ
30
5.1.5 หน้ำแบบฝึกหัด
31
5.1.6 หน้ำผู้จัดทำ
กรณีที่2 ไม่ต้องติดตั้งลงบน tablet หรือ โทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟน 1. ดับเบิ้ลคลิ๊กที่โฟล์เดอร์ file swf ขึ้นมำจะพบกับหน้ำ
32
2. คัดลอกไฟล์ทั้งสองลง tablet หรือ โทรศัพท์มือถือสมำร์ทโฟน
3. เปิดไฟล์ที่คัดลอกลง tablet หรือ โทรศัพท์มือถือสมำร์ทโฟน
33
3.1
กรณีเลือกเปิดไฟล์ cai exponent eng tablet.swf
3.1.1 หน้ำลงทะเบียน
34
3.1.2 หน้ำยินดีต้อนรับ
3.1.3 หน้ำบทเรียนและเนื้อหำ
35
36
37
3.1.4 หน้ำแบบฝึกหัด
38
39
3.1.5 หน้ำผู้จัดทำ
40
3.2
กรณีเลือกเปิดไฟล์ cai exponent thai tablet.swf
3.2.1 หน้ำลงทะเบียน
41
3.2.2 หน้ำยินดีต้อนรับ
3.2.3 หน้ำบทเรียนและเนื้อหำ
42
43
44
3.2.4 หน้ำแบบฝึกหัด
45
46
3.2.5 หน้ำผู้จัดทำ
47
เอกสารอ้างอิง กนกวลี อุษณกรกุล และคณะ. (2554). ลับคมคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.1. กรุงเทพฯ : าูมิบัณฑิต ฝ่ำยวิชำกำร พีบีซี. (2552). คู่มือเตรียมสอบคณิตศาสตร์ ม.ต้น 1-2-3 (รวมเล่ม). กรุงเทพฯ : พีบีซี วินิจ วงศ์รัตนะ.(2537). คณิตคิดวิเคราะห์ ม.1 เล่ม 1. กรุงเทพฯ :ไฮเอ็ดพับลิชชิ่ง สถำบันส่งเสริมกำรสอนวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษำธิกำร. (2547). คณิตศาสตร์ เล่ม 1. กรุงเทพมหำนคร : โรงพิมพ์คุรุสาำลำดพร้ำว.
48
ภาคผนวก
49
แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน คำชี้แจง ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมาย ทับตัวอักษรหน้าคาตอบที่ถูกที่สุด เพียงคาตอบเดียว 1. ถ้า a แทนจานวนใด ๆ และ n เป็นจานวนเต็มบวก แล้ว an หมายถึงข้อใด 1. axaxax…xa 2. a + a +a + … + a n ตัว n ตัว 3. n +n+n+…+ n 4. nxnxnx…xn a ตัว
a ตัว
2. (-7) x (-7) x (-7) x (-7) x (-7) เขียนให้อยูใ่ นรูปเลขยกกาลังได้ดังข้อใด 1. (-7)11 2. -711 3. (-7)5 4. -75 3. ข้อใดต่อไปนีถ้ ูกต้อง 1. 54 = 14 5 3.
0
5 = 1
2.
73 = 7 + 7 + 7
4.
2 4 21 (-2) 4
4. ผลลัพธ์ของ (24n x 22n) (23n x 70) ตรงกับข้อใด 1.
23n
2.
3.
24n
4.
1 2 3n 1 2 4n
50
4 -5 5. ผลลัพธ์ของ (9 2 3 ) ตรงกับข้อใด (16 30 32 ) 1. 2 x 34
3.
2 34
2. 4.
2 x 3-4
1 35
-4 3 -2 6. ผลลัพธ์ของ (1.5) (1.5) (1.5) ตรงกับข้อใด (1.5 5 ) (1.5)- 4
1. 3.
(1.5)2 1 (1.5)- 4
2. 4.
(1.5)-4 1 (1.5)2
7. 0.000047 เขียนให้อยูใ่ นรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ได้ตรงกับข้อใด 1. 4.7 x 105 2. 4.7 x 10-5 3. 4.7 x 106 4. 4.7 x 10-6 8. ข้อใดเป็นผลลัพธ์ของ (0.5 x 10-3) x (12.4 x 1019) ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ 1. 62 x 1022 2. 62 x 10-22 3. 6.2 x 1016 4. 6.2 x 10-16 3 9 9. ข้อใดเป็นผลลัพธ์ของ (1.2 10 )(7.2-3 10 ) (3.6 10 ) 9 1. 2.4 x 10 3. 2.4 x 103
ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ 2. 4.
2.4 x 107 2.4 x 10-3
10. วัตถุชิน้ หนึ่งอยู่ห่างจากโลกประมาณ 11 x 107 ปีแสง และ 1 ปีแสงเท่ากับ 9.4 x 1012 กิโลเมตร วัตถุชิ้นนีห้ ่างจากโลกประมาณกี่กโิ ลเมตร 1. 1.03 x 1022 กิโลเมตร 2. 1.03 x 1021 กิโลเมตร 3. 1.03 x 1019 กิโลเมตร 4. 1.03 x 1017 กิโลเมตร
51
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง เลขยกกำลัง
ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ 6 ข้อ 7 ข้อ 8 ข้อ 9 ข้อ 10
1 3 3 1 4 2 2 3 1 2
52
ภาพการทดลองใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องเลขยกกาลัง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
53
54
55
56
57
58
59
60