Culture Trip : BangLamPhu(บางลำภู)

Page 1





CULTURE





C ULTRUE

- 9

ศิลปากร(วังท่าพระ):สวนวังแก้ว มหาวิทยาลัยศิลปากรได้จดั ตัง้ สวนแก้วขึน้ ใน

ปีพ.ศ.2532 ชือ่ นีอ้ าจจะเกิดจากการสันนิษฐานว่าบริเวณนัน้ มีตน้ แก้วจ�ำนวนมากจึงเรียกว่าสถานทีน่ วี้ า่ สวนแก้ว สวนนี้ เรียกอีกอย่างว่า “พิพธิ ภัณฑ์ศลิ ปะกลางแจ้งสวนแก้วแห่ง แรกในประเทศ” เพราะ บริเวณนัน้ ได้มกี ารจัดประติมากรรม ประกอบด้วยผลงานประติมากรรมอันทรงคุณค่า 13 ชิน้ รวมทัง้ ผลงานประติมากรรมของ ศ.ศิลป์ พีระศรี นอกจากนีย้ งั มีศาลาในสวนแก้วทีเ่ รียกว่า “ศาลา ดนตร”ี เมือ่ ครัง้ รัชกาลที่ 5 องค์เจ้าของวังเคยประทับทีศ่ าลา นีเ้ พือ่ ชมการแสดงหรือประชันดนตรีซงึ่ จะตัง้ วงกันในสวน แก้วศาลาในสวนนีท้ ำ� เป็นศาลาโปร่งมีผนังด้านเดียว หันหน้า เข้าหาสวนแก้ว หลังคาเป็นแบบปัน้ หยา มีลายประดับอาคาร อย่างละเอียดซับซ้อนกว่าตัวต�ำหนัก

ดอกแก้วจากต้นแก้วที่ เป็ น ไม้ ยื น ต้ น ขนาด เล็ก ดอกมีกลิ่นหอม ข้างล่าง : บริเวณของ ศาลาดนตีซึ่งมีงานปติ มากรรมประดับรอบๆ





C ULTRUE

- 12

วัดพระแก้ววังหน้า

รือวัดบวรสถานสุทธาวาส เป็นวัดทีไ่ ม่มพี ระสงค์ ได้กอ่ สร้างขึน้ เมือ่ ในช่วงรัชกาลที่ 3 โดยสมเด็จพระ บวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพ โดยมี ด�ำริจะสร้างเป็นทีว่ า่ ราชการ ชาว บ้านเรียกว่าวังหน้า แต่ยงั ไม่ทนั สร้าง เสร็จก่อสร้างส�ำเร็จ สมเด็จพระบวร ราชเจ้ามหาศักดิพลเสพ ก็ได้สวรรคต ก่อน พระอุโบสถจึงมาเสร็จในรัชกาล ที4่ และในรัชกาลที่ และต่อมาจึงมี การน�ำ อุโบสถหลังนีม้ าใช้เป็น พระ เมรุพมิ าน ใช้ตงั้ พระศพเพือ่ ท�ำการ ประกอบพิธที างศาสนา ด้านซ้ายมือ : พระพุทธสิหงิ ค์แสดง สัญลักษณ์ของอ�ำนาจทางการเมืองว่า บ้านเมืองหรือบุคคลทีเ่ ชิญพระพุทธสิ หิ ง ค์ ไ ปประดิ ษ ฐานย่ อ มมี อ� ำ นาจ ศักดิศ์ รีเหนือบ้านเมืองอืน่ และบุคคล อื่นขณะเดียวกันก็แสดงสัญลักษณ์ การแพร่กระจายของพระพุทธศาสนา แบบลังกาเก่าด้วย

ด้ ว ยประวั ติ ที่ เ ก่ า แก่ แ ละ ยาวนานมากกว่า200ปี จึงท�ำให้สถาน ทีแ่ ลดูมมี นขลัง และ สวยงามสมเป็นวัง เก่า โดยความสวยงามทีไ่ ด้เห็น ประกอบไปด้วยหลากหลายวัฒนธรรม หลายชนชาติ มีทงั้ ฝรัง่ จีน แขก และ ไทย ทีผ่ สมผสานกันอย่างลงตัว ทัง้ เสา ทีส่ งู ใหญ่โตเหมือนเสากรีกโรมัน เครือ่ ง หินประดับและความเป็นก้อนของตัว อาคารเหมือนของจีน การติดกระจก ประดับเหมือนแขกอิสลามออสโตมัน และรูปทรงการยกสูง ทักษิณาวัตร 3 ชัน้ และ หลังคาเป็นจตุรมุข ประดับไป ด้วยทรงล�ำยอง ซึง่ ประกอบไปด้วย ช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ และนาคสะดุง้


C ULTRUE

- 13

รวมไปทัง้ ความเป็นอยู่ ของแต่ละสังคม ชนชัน้ และ ผู้คนแต่ละชนชาติที่เข้ามาตั้ง รกรากในสมัยก่อน ได้แก่ ชุมชน ของชาวบางกอกทีเ่ ริม่ มาตัง้ อยู่ ริมน�ำ้ ชุมชนชาวจีนเป็นต้น เรือ่ งราวเหตุการณ์สำ� คัญๆใน แต่ละช่วงเวลานัน้ ๆ ตัวอย่าง เช่นการเข้ามารักษาฝีดาษของ หมอบรัดเลย์ รวมไปถึงจะได้ เห็ น ถึ ง ความพยายามที่ จ ะ กลมกลืนไปกับเหตุการณ์ของ โลก ช่วงทีเ่ กิดการรุกรานของ พวกนักล่าอณานิคมของตะวัน ตกที่มีการวาดภาพเขียนสิ่ง ปลูกสร้างที่ เขียนแบบ ทับซ้อน วุน่ งายไม่รถู้ งึ ใจความหรือความ หมาย และรูปทีม่ กี ารเขียนเป็น Perspective สัดส่วนใกล้เคียง กับความเป็นจริง ซึง่ เป็นสิง่ ที่ บกบอกทางศิลปะให้กับคน ตะวันตกว่าไทยมีความเจริญ ขึ้นมาทัดเทียมเท่าตะวันตก

ภาพ Perspective แสดงให้เห็นถึงการพัฒนาชอง ชาวไทยในสมัยนัน้ ได้เทียบทันชาวตะวันตก ด้านขวา : สถาบัน พั ฒ นศิ ล ป์ มุ ่ ง มั่ น เผยแพร่ ศิลปวัฒนธรรมไทย เปิ ด “โรงละครวั ง หน้ า ” น�ำของดีม รดกล�้ำค่ า ด้ า นการแสดงออกสู ่ สายตาชาวโลก


C ULTRUE

- 14

ด้วยการทีพ่ ระอุโบสถ อยู ่ ใ นอณาเขตของสถาบั น บัณฑิตพัฒนศิลป์ ตลอดเวลาที่ ได้ชมความงดงามภายในและ ได้ยนิ เสียงที่ นักเรียนมาซ้อม เล่นเครือ่ งดนตรีไทยรอบๆ ตาม ซอกมุมของตึกก็ทำ� ให้อรรถรส ของการเดินชมมากขึน้ แลดูมี มนต์ขลัง และ เป็นสมบัตขิ อง ชาติไทยทีน่ า่ หวงแหน น่าดูแล เก็บรักษาไว้ให้คนรุ่นหลังได้ ศึกษาและรับชมถึงความงาม ของศิลปะวัฒธรรมไทย ทีค่ น รุ่นก่อนได้สร้างขึ้นมาอย่าง ประณีตและบรรจง





C ULTRUE

- 18

วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิร์ าชวรมหาวิหาร เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เดิมชือ่ ว่า “วัดสลัก” ผูส้ ร้างวัดแห่งนีไ้ ม่

ปรากฏนาม แต่สนั นิษฐานว่า มีมาแต่ครัง้ กรุงเก่า (กรุงศรีอยุธยา) เมือ่ สมเด็จพระ บวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท (พระอนุชาธิราชของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ ๑) ทรงมาพบวัดนีแ้ ล้ว ทรงบูรณปฏิสงั ขรณ์ และทรง สร้างถาวรวัตถุขนึ้ มาใหม่ ทรงสถาปนาวัดนีข้ นึ้ เป็นพระอารามหลวงแห่งแรกในยุค กรุงรัตนโกสินทร์ สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุร สิงหนาท มีพระนามเดิทว่า “บุญ มา” เป็นวีรบุรุษที่ส�ำคัญยิ่งใน ยุทธภูมิทุ่งลาดหญ้าครั้งสงคราม เก้าทัพ พม่าได้ยกทัพมามีจ�ำนวน พลถึง 144,000 จัดเป็นกระบวน ทัพ 9 ทัพ แยกย้ายกันเข้ามาตี ไทยพร้อมๆกันทีเดียว โดยเฉพาะ อย่างยิ่งกองทัพที่ยกเข้ามาตี กรุงเทพฯ ซึ่งเข้ามาทางด่านพร เจดีย์สามองค์ ขณะรบทหารเกิด ความหวาดหวั่นในการสู้รบกับ พม่าเพราะมีก�ำลังพลประมาณห้า ด้านซ้ายสุด : “พระบรมรูปจ�ำลอง สมเด็จพระบวรราช หมื่นกว่า สมเด็จพระบวรราชมหา เจ้ามหาสุรสิงหนาท”ซึง่ ได้อทุ ศิ พระองค์เสด็จไปในการ สุรสิงหนาท ต้องใช้อ�ำนาจเด็ด ศึ ก สงครามกอบกู ้ เ อกราชและป้ อ งกั น พระราช อาณาจักร ตลอดพระชนมชีพ ขาดของแม่ทัพ สั่งให้ท�ำครก





C ULTRUE

- 22

สวนสันติชยั ปราการและป้ อมพระสเมรุ ป้อมพระสุเมรุ สร้างในสมัย เถูกสร้างขึน้ เนือ่ งในมหามงคลสมัย

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬา โลกมหาราช รัชกาลที่ 1 โปรดเกล้า ให้ สร้างขึน้ เมือ่ สถาปนากรุงเทพฯ เป็น ราชธาน ตามก�ำแพงพระนครชัน้ นอก รายล้อมแนวคลองรอบกรุงไปจนถึง แม่นำ�้ เจ้าพระยา สมัยแรกสร้างมี 14 ป้อม คือ จักรเพชร ผีเสือ้ พระจันทร์ พระอาทิตย์ พระสุเมรุ มหากาฬ มหาชัย มหาปราบ มหายักษ์มหาฤกษ์ยคุ นธร อิสนิ ธร เสือทยาน และหมูท่ ะลวง ภาย หลังป้อมต่างๆ ทรุดโทรมลง จึงรือ้ ทิง้ เกือบหมด คงเหลือเพียงป้อมพระสุเมรุ และป้อมมหากาฬ บริเวณโดยรอบป้อมพระสุเมรุ แห่งนี้ ก็ยงั เป็นทีต่ งั้ ของ “สวนสันติชยั ปราการ” สวนสาธารณะแห่งนี้

ฉลิมพระชนมพรรษาครบ 6 รอบของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพล อดุลยเดช พืน้ ทีบ่ ริเวณสวนสาธารณะติด กับแม่น้�ำเจ้าพระยาตรงปากคลองบาง ล�ำพู

ณ สวนสันติฯ แห่งนีม้ ที มี่ าของ ชือ่ ย่านบางล�ำพูอยูด่ ว้ ย นัน่ ก็คอื ต้นล�ำพู ขนาดใหญ่อยูร่ มิ ตลิง่ เนือ่ งจากเมือ่ ก่อน นัน้ บริเวณนีเ้ คยมีตน้ ล�ำพูอยูห่ นาแน่นจน ชาวบ้านเรียกขานชือ่ กันว่า “บางล�ำพู” แต่บางล�ำพูวนั นีเ้ หลือต้นล�ำพูอยูเ่ พียงต้น เดียว อีกทัง้ พืน้ ทีภ่ ายในสวนยังติดกับ แม่นำ�้ เจ้าพระยา โดยสามารถทีจ่ ะเห็น ทัศนียภาพของคุ้งแม่น�้ำเจ้าพระยาที่ สวยงามมาก และสะพานพระราม 8 ได้ อีกด้วย





C ULTRUE

- 26

วัดบวรนิเวศวิหาร

รือวัดบวรนิเวศ ราชวรวิหาร วัดประจ�ำรัชกาลที่ ๖ พระบาทสมเด็จ พระมงกุฏเกล้าเจ้าอยูห่ วั นัน้ เป็นพระ อารามหลวงชัน้ เอก ชนิดราชวรวิหาร ฝ่ายธรรมยุตกิ นิกาย ตัง้ อยูต่ น้ ถนน ตะนาวและถนนเฟือ่ งนคร เขตพระนคร กรุงเทพฯ แต่เดิมวัดแห่งนี้ ชือ่ ว่า “วัด ใหม่” ตัง้ อยูใ่ กล้กบั วัดรังษีสทุ ธาวาส โดยสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดิพล เสพ วังหน้าในรัชกาลที่ ๓ ได้ทรงสร้าง ขึน้ ใหม่ดว้ ยศิลปะไทยผสมจีน

ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระม งกุฏเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ ๖ ได้โปรด เกล้าฯ ให้ยบุ วัดรังษีสทุ ธาวาสมารวม กับวัดบวรนิเวศวิหาร วั ด บ ว ร นิ เ ว ศ วิ ห า ร นี้ มี ศิลปกรรมและถาวรวัตถุแบ่งออกเป็น ศิ ล ปกรรมในเขตพุ ท ธาวาสและ ศิลปกรรมในเขตสังฆวาส เขตทัง้ สองนี้ ถูกแบ่งโดยก�ำแพงและคูนำ�้ แยกจาก กันอย่างชัดเจนมีสะพานเชื่อมถึงกัน ท�ำให้เดินข้ามไปมาได้อย่างสะดวก


C ULTRUE

- 27

“ใบเสมา” มีลกั ษณะแตกต่าง จากทีอ่ นื่ กล่าวคือเป็นเสมาที่ ตั้งไว้หรือประดับเข้ากับส่วน ของผนังพระอุโบสถ ซึง่ แตก ต่างจากวัดทัว่ ไปทีจ่ ะตัง้ ไว้บน ลานรอบพระอุโบสถ

ศิลปกรรมล�ำ้ ค่าในเขตพุทธาวาสทีส่ ำ� คัญเริม่ จาก พระอุโบสถซึ่งได้สร้างขึ้นมาตั้งแต่ครั้งสร้างวัดในสมัย รัชกาลที่ ๓ รูปแบบของพระอุโบสถมีมขุ หน้ายืน่ ออกมา เป็นพระอุโบสถ และมีปกี ยืน่ ออกซ้ายขวาเป็นวิหารมุข หน้าทีเ่ ป็นพระอุโบสถมีเสาเหลีย่ มมีพาไลรอบซุม้ ประตู หน้าต่าง และหน้าบันประดับด้วยลายปูนปัน้ พระอุโบสถ หลังนีไ้ ด้รบั การบูรณะในสมัยรัชกาลที่ ๔ โดยโปรด เกล้าฯ ให้มงุ กระเบือ้ งเคลือบลูกฟูก ประดับลายหน้าบัน ด้วยกระเบือ้ งเคลือบสี และโปรดเกล้าฯ ให้ ขรัวอินโข่ง เขียนภาพจิตรกรรมฝาผนังภายในพระอุโบสถ ส่วน ภายนอกได้รับการบูรณะด้วยการบุผนังด้วยหินอ่อน ทัง้ หมด เสาด้านหน้าของพระอุโบสถเป็นเสาเหลืย่ ม มีบวั หัวเสาเป็นลายฝรัง่ ซุม้ ประตูและซุม้ หน้าต่างปิดทอง ประดับด้วยกระจก


C ULTRUE

- 28

ภายในพระอุโบสถนี้มีพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองส�ำคัญอยู่ ๒ องค์ คือ พระพุทธรูปองค์ข้างหลังชื่อ “พระสุวรรณเขต” หรือ “พระโต” หรือ “หลวง พ่อเพชร” เป็นพระพุทธรูปโบราณหล่อโลหะขนาดใหญ่ ศิลปะขอม ใต้ฐาน พุทธบัลลังก์ของพระสุวรรณเขตหรือพระโต ยังเป็นที่บรรจุพระบรมราชสรีร างคารของพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖

ส่วนพระพุทธรูปองค์ขา้ งหน้าชือ่ “พระพุทธชินสีห”์ ประดิษฐานอยูด่ า้ น หน้าพระสุวรรณเขตหรือพระโต ลักษณะของพระพุทธชินสีหต์ า่ งจากพระพุทธ รูปอืน่ แบบเก่าในบางอย่าง เช่น มีนวิ้ พระหัตถ์ทงั้ ๔ นิว้ นิว้ พระบาททัง้ ๔ นิว้ ยาว เสมอกัน แต่เดิมพระพุทธชินสีหเ์ ป็นพระพุทธรูปองค์สำ� คัญของหัวเมืองฝ่ายเหนือ เป็นทีก่ ราบสักการะของพระมหากษัตริยแ์ ละสาธุชนมาเกือบ ๗๐๐ ปี ประดิษฐาน ณ พระวิหารทิศเหนือ วัดพระศรีรตั นมหาธาตุ จังหวัดพิษณุโลก ครัน้ ในสมัย พระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ ๓ พระวิหารทีป่ ระดิษฐาน พระพุทธชินสีหช์ ำ� รุดทรุดโทรมขาดผูร้ กั ษาดูแล สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดิ พลเสพ จึงโปรดให้อญั เชิญมายังกรุงเทพฯเพือ่ มาประดิษฐาน ณ วัดบวรนิเวศ วิหาร พระพุทธชินสีห์ จึงเป็นพระคูพ่ ระบารมีของพระมหากษัตริย์ และสมเด็จ พระสังฆราช แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ มาช้านาน


C ULTRUE

- 29

ถัดจากพระอุโบสถออกไปเป็น พระมหาเจดียใ์ หญ่ หรือพระเจดียก์ ลม มีขนาด ใหญ่สที องสุกใสตัง้ สูงโดดเด่นเป็นสง่า มองเห็นแต่ไกล ตรงกลางประดิษฐานพระเจดีย์ ทีค่ ะเนว่าสูงจากฐานประมาณ ๔ เมตรกว่า พระเจดียอ์ งค์นมี้ ฐี านกลม ภายในบรรจุ พระบรมสารีรกิ ธาตุ สร้างขึน้ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ ๔ หุม้ กระเบือ้ งสีทองในรัชกาลปัจจุบนั รอบฐานพระเจดียม์ ี ศาลาจีนและซุม้ จีน ส่วน ด้านข้างของพระเจดียม์ ี พระบรมรูปหล่อรัชกาลที่ ๔ ประดิษฐานอยู่

พระบรมรูปรัชกาลที่ ๔ ประดิษฐาน อยู่ ณ ซุ้มปรางค์บนทักษิณชั้นบน ของพระเจดีย์ ด้านทิศตะวันออก เป็ น พระบรมรู ป ที่ ห ล่ อ ขึ้ น ใหม่ จ�ำลองจากพระบรมรูปองค์เดิม ซึ่ง ปัจจุบันประดิษฐานอยู่ที่ต�ำหนักเพ็ ชร


C ULTRUE

นอกจากนี้ ตรงประตูทางเข้าวัด บวรนิเวศวิหาร ด้านหน้าพระอุโบสถ มี “ประตูเซีย่ วกาง” ศิลปะทวารบาลทีไ่ ด้รบั อิทธิพลจากจีนมาอย่างเด่นชัด โดยประตู เซีย่ วกางแห่งนีเ้ ป็นรูปเทวดาผี ใช้ไม้แกะ เป็นรูปเทวดา หนวดเครายาว ปิดทอง เหลืองอร่าม

- 30

ส่วนทีแ่ ปลกและสะดุดตา ก็คอื บริเวณ ปากของ “เซีย่ วกาง” จะมีสดี ำ� ซึง่ แม่ค้าพวงมาลัยหน้าประตูวัดเล่าว่า สมัยก่อนยุคที่เมืองไทยยังดูดฝิ่นได้มี ชาวจีนคนหนึง่ ติดฝิน่ งอมแงม พอต่อ มาทางการได้ปราบท�ำลายโรงงานยา ฝิน่ จนหมดสิน้ เมือ่ แกหาฝิน่ ดูดไม่ได้ สุดท้ายเลยไปลงแดงตายตรงประตูนี้ หลังจากเมื่อทางวัดมาพบจึงได้ท�ำพิธี กงเต๊กให้ ต่อมาชาวจีนคนนัน้ ได้ไปเข้า ฝันสมเด็จท่านเจ้าอาวาสว่า ให้ทำ� ทีใ่ ห้ แกอยูแ่ ล้วแกจะเฝ้าวัดให้ ทางวัดจึงได้ สร้างก�ำแพงท�ำซุม้ ประตู แล้วอันเชิญ ดวงวิญญาณชาวจีนคนนัน้ มาสถิตย์อยู่ ณ ประตูแห่งนี้ ต่อมาก็มเี รือ่ งเล่ากันว่า ของในวัดที่เคยถูกขโมยไปหลายครั้ง ล้วนได้คนื กลับมาหมดด้วยความศักดิ์ สิทธิของดวงวิญญาณคนจีนทีค่ อยเฝ้า วัด ท�ำให้เกิดการสักการบูชาประตู เซีย่ วกางขึน้ ซึง่ หลายๆ คนต่างเชือ่ กัน ว่าถ้าบนอะไรแล้ว ก็จะได้สงิ่ นัน้ ตามที่ ขอหมด โดยนิยมน�ำฝิน่ มาป้ายปาก และน�ำถุงโอยัวะกับพวงมาลัยมาแขวน บูชา


C ULTRUE

- 31


C ULTRUE

- 32

ศิลปกรรมในเขตสังฆาวาส ส่วนใหญ่สร้างขึน้ ในสมัยรัชกาลที๓่ และรัชกาล ที่ ๔ เพือ่ เป็นพระต�ำหนักทีป่ ระทับของพระมหากษัตริยข์ ณะทรงผนวชในวัดนี้ พระต�ำหนักเพ็ชร ตัง้ อยูท่ างขวามือเมือ่ เข้าจากทางหน้าวัด เป็นพระ ต�ำหนัก ๒ ชัน้ แบบฝรัง่ มุขหน้าประดับด้วยลวดลายไม้ฉลุงดงาม พระต�ำหนักนี้ พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ ๖ เมือ่ ครัง้ ยังทรงผนวช ได้สร้าง ถวายด้วยพระราชทานทรัพย์สว่ นพระองค์ เพือ่ ให้เป็นทีท่ รงงาน และเป็นท้องพระ โรงส�ำหรับรับแขกของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส พระต�ำหนักจันทร์ เป็นพระต�ำหนักทีพ่ ระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้า อยูห่ วั รัชกาลที่ ๔ ทรงสร้างด้วยทรัพย์สว่ นพระองค์ของ ในบริเวณพระต�ำหนัก จันทร์ดา้ นทิศตะวันออก ติดกับรัว้ เหล็กมีศาลาเล็กๆ มีพาไล ๒ ด้าน ฝาล่องถุนก่อ อิฐถือปูน โถงเป็นเครือ่ งไม้ หลังคามุงกระเบือ้ ง




อนุสาวรีย์ปร


ระชาธิปไตย


C ULTRUE

- 37

อนุสาวรียท์ เี่ ห็นจนชินตา และ เข้าร่วมในเหตุการณ์สำ� คัญๆของชาติมา หลายต่อหลายครัง้ คงไม่มอี นุสาวรียใ์ ดมี ส่ ว นร่ ว มมากไปกว่ า อนุ ส าวรี ย ์ ประชาธิปไตย ทีย่ นื สง่าอยูก่ ลางถนน ร า ช ด� ำ เ นิ น ต อ น ตั ด กั บ ถ น น ประชาธิปไตย อนุสาวรียแ์ ห่งนีส้ ร้างขึน้ เพือ่ เป็นที่ระลึกในการเปลี่ยนแปลงการ ปกครองจากระบอบ สมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบ ประชาธิปไตย เมือ่ วันที่ 24 มิถนุ ายน 2475 โดยมีคณะราษฎรซึง่ ประกอบด้วย ทหาร ต�ำรวจ พ่อค้า ประชาชน เข้ายึด อ�ำนาจเปลีย่ นแปลงการปกครอง การก่ อ สร้ า งอนุ ส าวรี ย ์ ประชาธิปไตยได้มอบให้กรมศิลปากร เป็นผูร้ บั ผิดชอบในการออกแบบและ ก่อสร้าง โดยมอบงานนีใ้ ห้ ศาสตราจารย์ ศิลป์ พีระศรี ทัง้ การออกแบบและ ควบคุมการก่อสร้าง เริม่ งานตัง้ แต่วนั ที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2482 แล้วเสร็จในวัน ที่ 22 มิถนุ ายน พ.ศ. 2483 ใช้คา่ ใช้จา่ ย ทัง้ หมด 250,000 บาท และท�ำพิธเี ปิดใน วันที่ 24 มิถนุ ายน พ.ศ. 2483

ปีกทัง้ 4 ด้านทีต่ งั้ สูงขึน้ ไป หมายถึง บุคคล 4 เหล่า คือ ทหาร ต�ำรวจ พ่อค้า ประชาชน ทีเ่ ข้าร่วมกัน เป็ น คณะราษฎรเปลี่ ย นแปลงการ ปกครอง ปีกนีแ้ ต่ละปีกยังมีสว่ นสูง จากฐานถึงยอด 24 เมตร หมายถึงวัน เปลีย่ นแปลงการปกครอง คือวันที่ 24 ของเดือน


C ULTRUE

- 38

และฐานของปีกทัง้ 4 ซึง่ มี 8 ด้าน มีภาพปูนปั้นแสดงประวัติความ เป็นมาของคณะราษฎรในการ เปลีย่ นแปลงการปกครอง กับฐาน ทีด่ า้ นนอกของปีกทัง้ 4 ยังมีอา่ งน�ำ้ รับน�ำ้ พุจากงูใหญ่ ซึง่ หมายถึงปี มะโรงทีเ่ กิดการเปลีย่ นแปลง ให้ น�ำ้ ตลอดปี หมายถึงให้คนไทยมีนำ�้ จิ ต น�้ ำ ใจต่ อ กั น เพื่ อ ความสงบ ร่มเย็นเป็นสุขกันทัว่ หน้า พานรัฐธรรมนูญ ตัวพานหล่อ ด้วยส�ำริด ประดิษฐานอยูเ่ หนือป้อมกลาง พืน้ วงกลมสูง 3 เมตร หมายถึงเดือนที่ 3 แห่งปี คือ เดือนมิถนุ ายน ซึง่ ตอนนัน้ ยัง นับเดือนเมษายนเป็นเดือนเริม่ ปีใหม่ มา เปลีย่ นเป็นเดือนมกราคมใน พ.ศ. 2484 และหมายถึง อ�ำนาจอธิปไตยทัง้ 3 ภาย ใต้รฐั ธรรมนูญ (นิตบิ ญั ญัติ บริหาร ตุลาการ) รัฐธรรมนูญในสมุดไทย ประดิษฐาน บนพานแว่นฟ้า สร้างด้วยทองแดง มี ความสูง 3 เมตร หนัก 4 ตัน ตัง้ บนฐาน รูปทรงกลมด้านบนโค้งกลม ลาน อนุสาวรียย์ กสูงมีบนั ไดโดยรอบ


39


BANGLUMPHU INTERVIEW THE EXPERT

MEET THE MASTER



Q:ยายมาอยูท่ นี่ นี้ านหรือยังครับ? A:อยูม่ า67ปีแล้วตัง้ แต่อายุ5ขวบ Q:คนส่วนใหญ่ทนี่ เี้ ค้าประกอบอา ชีอะไรกันครับ? A: ค้าขาย, ขายของในตลาด ก่อน ที่ จ ะมี ห ้ า งนิ ว เวอร์ เ ป็ น ตลาดที่ ผูค้ นนิยม มาก เป็นตลาดทีเ่ จริญ มากๆเมือ่ 40 ปีทแี่ ล้ว และรอบๆ นี้ เ ป็ น สถานที่ ร าชการเยอะแต่ ตอนนีก้ ระจัดกระจายหมดแล้ว Q:อาหารขึน้ ชือ่ แถวนีม้ อี ะไรบ้างค รับ? A:อ๋อเมื่อกอนมีเยอะแยะแต่ตอน นีเ้ หลือไม่กอี่ ย่างแล้ว โรตีมะตะบะ ถนนพระอาทิตย์ , ก๋วยจับ๊ ยวน และ ขนมเบือ้ งประภา ภาพด้านซ้าย : ยายเฉลียว คุณ ยายวัย 67 ปี ขายของช�ำร่วยทาง ศาสนาแถวถนนพระอาทิตย์


Explore

- 43

พิ พิ ธ บางล� ำพู เป็นพิพธิ ภัณฑ์ทเี่ พิง่ จัดท�ำขึน้ ใหม่ โดยกรมธนารักษ์ สร้างขึน้ ในพืน้ ทีเ่ ดิมซึง่ เคย เป็น “โรงพิมพ์ครุ สุ ภา” หรือ “โรงเรียนช่าง พิมพ์วดั สังเวช” ซึง่ อยูบ่ ริเวณถนนพระสุเมรุ ใกล้กบั ป้อมพระสุเมรุนนั่ เอง

ก่อนจะเข้าไปชมภายในพิพธิ ภัณฑ์ ขอพาไป ชมอาคารเก่าซึง่ เป็นอาคารดัง้ เดิมของโรง พิมพ์ครุ สุ ภากันก่อน อาคาร 2 หลังถูก ปรับปรุงให้เป็นอาคารจัดแสดงนิทรรศการ

โดยอาคารด้านหน้าที่อยู่ติดกับ ถนนพระสุ เ มรุ เ ป็ น ตึ ก ปู น แบบ บาวเฮาส์ หรือ International Style รูปทรงตัว L ที่เป็นฝีมือ คนไทยหลังแรกๆ ส่วนอาคารที่ อยู่ด้านหลังติดกับคลองบางล�ำพู เป็นอาคารไม้สองชั้น ซึ่งเดิมเคย ใช้ประโยชน์เป็นสถานที่ฝึกสอน ช ่ า ง พิ ม พ ์ แ ห ่ ง แ ร ก ข อ ง ประเทศไทยอีกด้วย


U NSEEN

- 3


Explore

- 45

ชัน้ สองเป็นห้องนิทรรศการถาวร เกีย่ วกับความเป็นมา และบทบาทหน้าที่ ของกรมธนารักษ์ทจี่ ะดูแลรักษาทรัพย์สนิ ของแผ่นดิน ทัง้ ทรัพย์สนิ มีคา่ ทีส่ ะท้อน วัฒนธรรมและประเพณีของชาติ ทีด่ นิ หรือเหรียญกษาปณ์ ได้เห็นขัน้ ตอนกว่า จะมาเป็นเหรียญกษาปณ์ใช้หมุนเวียนใน ท้องตลาดได้นนั้ ต้องผ่านกรรมวิธอี ะไรบ้าง รวมไปถึงเรื่องราวเกี่ยวกับการจัดสรร ดูแลทีร่ าชพัสดุอกี ด้วย อาคารไม้ดา้ นหลังบนชัน้ 2 ซึง่ เป็นส่วนของนิทรรศการถาวรชุมชนบาง ล�ำพู โดยในโซนนีจ้ ะมีเจ้าหน้าทีพ่ าชมเป็น รอบๆ พร้อมกับบอกเล่าเรือ่ งราวของ พืน้ ทีท่ มี่ อี ดีตยาวนานอย่างย่านบางล�ำพู


Explore

- 46

เข ้ า ม า สู ่ ห ้ อ ง จั ด แ ส ด ง ถั ด ไ ป “พระนครเซ็นเตอร์” เข้ามาในห้องนี้จะเห็น รถรางสีเหลืองคันใหญ่จอดรอผู้โดยสาร ทั้ง ยังเห็นเด็กน้อยยืนส่องแอบดูอะไรสักอย่าง ผ่านรูรั้วสังกะสี จนต้องไปส่องดูบ้างจึงรู้ว่า หลังรั้วสังกะสีนี้มีลิเกก�ำลังแสดงอยู่นี่เอง เด็กๆ สมัยนั้นไม่มีสตางค์มากพอจะซื้อตั๋ว ไปดูลิเกข้างใน ขอดูผ่านรูแบบนี้ก็สนุกได้ ตามประสาเด็ก ทั้งรถรางและวิกลิเกล้วน เป็นตัวแทนของย่านบางล�ำพูในอดีต ซึ่งสมัยก่อนต้องถือว่าย่านนี้ เป็นศูนย์รวมความเจริญทั้งหลาย มีจุดตัดรถรางอยู่ในบริเวณนี้ ทั้ง ยังเป็นแหล่งรวมมหรสพความบันเทิงที่เฟื่องฟูที่สุดในพระนคร มี ทั้งโรงภาพยนตร์บุศยพรรณ โรงลิเกหอมหวน ห้าง ต.เง็กชวน ถนน สิบสามห้าง รวมไปถึงร้านรวงมีชื่อต่างๆ ถ้าจะเปรียบกับสมัยนี้


Explore

- 47

จ�ำลองบรรยากาศร้านกาแฟเก่ามาให้ชม ในห้องนีย้ งั รวบรวมเอาร้านค้าเก่าแก่ในย่าน บางล�ำพูมาจัดแสดงให้ชมกันด้วย อาทิ ร้าน กาแฟในบรรยากาศเก่าๆ ทีด่ า้ นบนจัดเป็น โรงเตีย๊ มเล็กๆ ร้านรองเท้าแก้วฟ้า ร้าน รองเท้าสัง่ ตัดทีผ่ ลิตรองเท้าอย่างประณีต เป็นทีน่ ยิ มมากในอดีต ร้านเสือ้ นพรัตน์ ที่ ขายชุดนักเรียนและเสื้อผ้ามาก่อนจะ เปลีย่ นเป็นร้านอาหารครัวนพรัตน์ (ปิดตัว แล้ว) รวมไปถึงห้างหุน้ ส่วนจ�ำกัดตัง้ ฮัว่ เส็ง ห้างเล็กๆ คูย่ า่ นบางล�ำพูทมี่ ชี อื่ เสียงในเรือ่ ง การขายอุปกรณ์งานฝีมอื ทีห่ ลากหลายและ ครบครันมากทีส่ ดุ แห่งหนึง่

ร้านรองเท้าแก้วฟ้าที่เคยโด่งดังในอดีต


Explore

- 48


ห้องจัดแสดง “ย�่ ำ ตรอกบอกเรื่องเก่า ” มีของดีจ ากหลายชุ ม ชนมาจั ดแสดงไว้


แต่การจะเข้าถึงในวิถีชีวิต ความเป็ น บางล� ำ พู จ ริ ง ๆ นั้ น จะต้ อ งเข้ า ไปสั ม ผั ส ใน ชุมชนจึงจะดีที่สุด ในห้อง จัดแสดง “ย�่ำตรอกบอก เรื่องเก่า” จะพาผู้เข้าชม ได้ ใ กล้ ชิ ด และซึ ม ซั บ กั บ วิถีชุมชน รู้จักของดีย่าน บางล� ำ พู ที่ ซุ ก ซ่ อ นอยู ่ ใ น ตรอกซอกซอยต่างๆ ที่คน ภายนอกอาจไม่เคยรู้ เช่น


Explore

- 51 การปักชุดโขนของ “ชุมชนตรอก เขียนนิวาส-ตรอกไก่แจ้” “บ้าน ดุรยิ ประณีต” ในชุมชนวัดสังเวช วรวิหารทีม่ กี ารสืบทอดการเรียน ดนตรีไทยไว้จนปัจจุบนั

เครือ่ งถมของชุมชนบ้านพานถม


Explore

- 52

ท�ำธงของชุมชนวัดบวรรังส

ใบลานของชุมชนวัดสามพระยา

การท�ำข้าวต้มน�ำ้ วุน้

การแทงหยวกของชุมชนวัดใหม่อมตรส

คนทีช่ อบการท่องเทีย่ ววิถชี วี ติ ต้องไม่ พลาดโซนนีเ้ ด็ดขาด เพราะสามารถ น�ำเป็นข้อมูลไปเดินท่องเทีย่ วชมวิถี ชีวติ ในสถานทีจ่ ริงต่อได้



Explore

- 54

เ มื่ อ พู ด ถึ ง บ า ง ล� ำ พู หลายคนอาจจะนึกถึงต้นล�ำพู ร้อยปีที่เคยอยู่ในสวนสันติชัย ปราการ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์เก่า แก่ แ ละเป็ น ที่ ม าของชื่ อ บาง ล�ำพูที่เห็นได้ชัดเจน แม้ต้น ล� ำ พู ร ้ อ ยปี จ ะตายเพราะน� ำ้ ท่วมและถูกตัดล�ำต้นทิ้งโดยที่ คนในชุ ม ชนบางล� ำ พู ไ ม่ ท ราบ เรื่องเมื่อหลายปีก่อน แต่ใน วันนี้ ต้นล�ำพูได้เกิดใหม่อยู่ ภายใน “พิพิธบางล�ำพู” แห่ง นี้ ในห้องจัดแสดง “ถอดรหัส ลับ ขุมทรัพย์บางล�ำพู” ซึ่งภายในจะมีต้นล�ำพูจ�ำลองขนาดใหญ่ มีแสงสว่างวิบวับจากหิ่งห้อย และกิ่งหนึ่งของต้นล�ำพูจ�ำลองนี้เป็นกิ่งต้นล�ำพูของจริงจากชิ้นส่วนของ ต้นล�ำพูร้อยปีที่ยังคงหลงเหลือไว้ให้เป็นที่ระลึก ด้านขวา : ต้นล�ำพูอายุ หลายร้อยปี โดนโค่นทิ้ง เพราะใน พ.ศ.2554 เกิด น�้ำท่วมใหญ่ ต้นล�ำพูจม อยู่ในน�้ำจนรากเน่าตาย ในที่สุด




C UISINE R OUTE

- 57




















Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.