In Between; Restive South

Page 1




Muslim woman and a little girl watched the car bomb scene in Yala municipality, 2011.

Thanapat Nakhin


Consultants ที่ปรึกษา Srisompob Jitpiromsri ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี Muhamadayub Pathan มูฮำ�มัดอายุบ ปาทาน Supat Hasuwankit สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ Thitinob Komalnimi ฐิตินบ โกมลนิมิ Samatcha Nilaphatama สมัชชา นิลปัทม์ Paskorn Jumlongrach ภาสกร จำ�ลองราช Pakorn Puengnetr ปกรณ์ พึ่งเนตร Somkiat Jantarasima สมเกียรติ จันทรสีมา Apiwat Supreechawuthipong อภิวัจ สุปรีชาวุฒิพงศ์ Photo Consultants ที่ปรึกษาฝ่ายภาพ Surapan Boonthanom สุรพันธ์ บุญถนอม Charoon Thongnual จรูญ ทองนวล Chumsak Nararatwong ชุมศักดิ์ นรารัตน์วงศ์ Tuwaedaniya Meringing ตูแวดานียา มือรีงิง Nakharin Chinnawornkomol นครินทร์ ชินวรโกมล Fuad Waesamae ฟูอัด แวสะแม Mahamayakee Waresoo มาฮามะยากี แวซู Editor บรรณาธิการ

Tatikarn Dechapong ตติกานต์ เดชชพงศ

Editorial Staff กองบรรณาธิการ Piyasak Ausup ปิยศักดิ์ อู่ทรัพย์

Ibrohem Masoh อิบรอเฮ็ม มะโซ๊ะ Chairat Jirojmontree ชัยรัตน์ จิโรจน์มนตรี

Translator แปลภาษา

Wit Wichaidit วิทย์ วิชัยดิษฐ

Secretary Staff เจ้าหน้าที่อำ�นวยการ

Supaporn Panatnachee สุภาภรณ์ พนัสนาชี Dao Kaewmula ดาว แก้วมุลา

Producer : The Deep South Watch, Thailand Sponsors : The Sasakawa Peace Foundation, Japan Address : Prince of Songkla University, Pattani Thailand 94000 Contact : dsp.wewatch@gmail.com, (66) 073 312 302

WeWatch Book is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Unported License. In the photos, Copyright remains with the author. Implementation requires the consent of the respective owners. วารสาร WeWatch ใช้สัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา - ไม่ใช้เพื่อ การค้า - ไม่ดัดแปลง 3.0 ต้นฉบับ อย่างไรก็ตาม ในส่วนภาพถ่าย ลิขสิทธิ์ยังคงเป็นของผู้ สร้างสรรค์ การนำ�ไปใช้ต้องได้รับความยินยอมจากเจ้าของเท่านั้น

11 18 27 43 48 89 97 105 124 135 145 149

7 Years of Deep South Photographs and 170 Years of Photojournalism on Earth by Srisompob Jitpiromsri World Watch The Media Community during the 2010 Disasters in the Deep South Assessing 'the Truth' and 'Deep South News Images' How shall we Deal with the Violence ? Photo Exhibition In Between ; Restive South by Deep South Photojournalism Network Report : Deep South Photographers Assembly by Editorial Staff Reading the Pictures The Power’s Picture and the Power in Pictures

by Romdon Panjor 9 Idea behind the lens War Photography by Poomkamol Phadungratna Dig Up the Truth "Behind the Photos" by Editorial Staff Photos that changed the world Looking through Photographs in the Same 'Shadow of History' by Papan Raksritong


Editorial's Note

Tatikarn Dechapong : Muang District, Pattani (2010)

“The act of staring at someone has a necessary impact in controlling or stipulating behavior of the objectified persons, which can make them react against the gaze unnaturally. Thus, capturing an expression of someone or something happen to us can be a powerful act as staring, because those persons, things or places that usually have a strong influence to us can be objectified and become our memory, which can also be retrieved, referred to or even criticized directly. That’s why taking a photo can be an efficient tool for ordinary people in fighting or staring back at the dominant power that threaten them.”

“การจ้องมองส่งผลต่อการควบคุมหรือกำ�หนดพฤติกรรมบุคคลที่ถูกมองอย่างไม่มีทางหลีก เลี่ยง และผู้ถูกจ้องมองมักเกิดความรู้สึกอึดอัดขัดข้องจนอาจแสดงอาการต่อต้านหรือฝืนธรรมชาติ เพื่อกลบเกลื่อนความรู้สึกเหล่านั้น การบันทึกภาพผู้คนและเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นรอบตัวเราจึงมีพลัง ไม่ต่างจากการจ้องมอง เพราะบุคคล สิ่งของ หรือสถานที่ ซึ่งอาจจะมีสถานะหรือมีอำ�นาจเหนือกว่า เราในบางสถานการณ์ จะถูกทำ�ให้กลายเป็น ‘วัตถุ’ ในภาพบันทึกความทรงจำ�ที่เราสามารถอ้างอิง รื้อค้น หรือวิพากษ์วิจารณ์ การถ่ายภาพจึงเป็นเครื่องมือที่จะช่วยให้คนธรรมดาสามารถเฝ้าระวังหรือ ตอบโต้กับอำ�นาจที่คุกคามอยู่รอบตัวได้”

Tatikarn Dechapong ตติกานต์ เดชชพงศ


Piyasak Ausup : Bannang Sata, Yala (2005)

Piyasak Ausup ปิยศักดิ์ อู่ทรัพย์

“The dissimilarity of speaking and writing languages causes misunderstanding to us. But whenever we keep our eyes wide open and we have adequate freedom to observe everywhere we want until that we can capture the moments happen before us to communicate our sentiments with the others, equally means that the distance between us is diminishing. This can be compared with the situations in southern Thailand; we are not waiting to see a victory or defeat of any partisan, but we intend to take part in dialogues and discussions through the visual languages, which will create comprehending among us without any control from bias and fear.”

“เราถูกทำ�ให้ไม่เข้าใจกันด้วยภาษาพูดและเขียนที่แตกต่างกัน แต่เมื่อใดที่ดวงตาเราเปิดและเรามี เสรีภาพมากพอที่จะกวาดตามองไปในทุกๆ ที่ที่ต้องการ กระทั่งสามารถจับภาพที่ปรากฎตรงหน้า มาเปิดเผยให้ต่างฝ่ายรับรู้ถึงเรื่องราวและความนึกคิดของกันและกันได้ นั่นเท่ากับช่องว่างระหว่าง เรากำ�ลังหดใกล้เข้ามา กล่าวให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่จังหวัดภาคใต้ เราไม่ได้ต้องการแค่รับรู้ ชัยชนะหรือความพ่ายแพ้ของฝ่ายไหน แต่หวังที่จะสร้างพื้นที่การมีส่วนร่วมสนทนาถกเถียงระหว่าง กันได้ด้วย ‘ภาษาภาพ’ ที่จะสร้างความเข้าใจได้ตรงตามความเป็นจริง โดยปราศจากอคติและไม่มี ความหวาดกลัวใดใดคอยควบคุม”


Editorial's Note

Ibrohem Masoh : Yaring, Pattani (2010)

“In the past year, we had tried to make friend and search for the network of people in 3 southern provinces that are interested in photography and actively connect their lives with the online social media. Then we asked them to go out and work with photographers in the area. Working along side people from different network reminds me that taking a photograph is something far more than definition and beauty, but to capture the moment to freeze our time or record our memory.”

“รอบปีที่ผ่านมา เราพยายามค้นหาเพื่อน ค้นหาเครือข่ายที่สนใจงานด้านการถ่ายภาพ ที่ใช้ชีวิตบน เครือข่ายอินเตอร์เน็ตในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ให้ออกมาทำ�กิจกรรมในโลกแห่งความเป็น จริงร่วมกับช่างภาพข่าวในพื้นที่ ซึ่งจากการทำ�งานกับบรรดาเครือข่ายต่างๆ ทำ�ให้ผมรู้ว่า การถ่าย ภาพมันมีความหมายมากกว่าคำ�ว่า ภาพคมชัด สวยงาม แต่การหยุดช่วงเวลาให้เป็นภาพถ่าย หรือ การบันทึกความทรงจำ� มีอะไรที่มากกว่าสิ่งที่เรียกว่า การถ่ายภาพ”

Ibrohem Masoh อิบรอเฮ็ม มะโซ๊ะ


Chairat Jirojmontree : Yaring, Pattani (2010)

Chairat Jirojmontree ชัยรัตน์ จิโรจน์มนตรี

“Our team has discussed so many times about using photography as a tool to communicate and impel society. And it seemed to us that the Deep South provinces were the readiest place for work. So we went to Pattani in the hope that we would encourage people and photographers in the area to work together and represent the truth that has been missed out from society. Though people in the network talk a different language and live in a different culture, but I had learned an important message from their photographs that all of them are calling for peace.”

“พวกเราคุยกันหลายครั้งถึงเรื่องจะใช้กระบวนการของภาพถ่ายในการสื่อสารและขับเคลื่อนสังคม ด้วยพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ดูจะพร้อมที่สุดในการทำ�งานของพวกเรา จึงได้ลงไปที่ปัตตานีเพื่อเชื่อม ช่างภาพและผู้ที่สนใจร่วมเป็นเครือข่าย และชักชวนให้ร่วมสะท้อนภาพความจริงที่ตกหล่นไปสู่สังคม โดยหวังว่าจะช่วยให้สถานการณ์ความรุนแรงคลี่คลายไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง แม้ต่างภาษา ต่างวัฒนธรรม แต่ผมค้นพบสารสำ�คัญประการหนึ่งจากภาพถ่ายเหล่านั้น ทุกคนกำ�ลังเรียกหาความสงบสุข”


When the so-called ‘conflict situations’ in many countries around the world were reached the boundary of ‘war’ and people fed up with the loss and grievance, the peace-building process would become clearly with the goals to achieve. Unlike the restive situations in the Deep South of Thailand, which is still ‘in between’ whether to defy them just the ‘battle’ or complete ‘warfare’? For this reason, the peace-building process in the Deep South call on more powerful creativity and contribution from everyone involved, in the hope to change the hotbed of violence into one peaceful place where people can live in co-existence. Thus, the challenging obligations of Deep South photographers in recording and reflecting various states of people and community would be related to the important question in mind; ‘How shall we live together?’ Furthermore, the empowerment of the Deep South media, especially Photographers Networks can be one factor in peace-building processes, as the collection of the Deep South related images can be used in finding a comprehensive imagination to the ‘future Deep South’ which all people are hoping and longing for.


เมื่อสถานการณ์ความขัดแย้งในหลายประเทศทั่วโลกก้าวถึงจุด ที่เรียกว่า ‘สงคราม’ และประชาชนต้องเผชิญกับความสูญเสียและความ เศร้าโศกจนเกินขีดความอดทน ส่งผลให้กระบวนการสร้างสันติภาพมีเป้า หมายและวัตถุประสงค์ชัดเจน ขณะที่สถานการณ์ความขัดแย้งในพื้นที่ จังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทย ซึ่งยังไม่ไปไกลถึงภาวะสงคราม แต่อยู่ ‘ระหว่างทาง’ ของคำ�ว่าความขัดแย้งรุนแรงกับคำ�ว่าสงคราม ทำ�ให้ผู้มี ส่วนเกี่ยวข้องต้องใช้พลังในการสร้างสรรค์และทุ่มเทมากขึ้น เพื่อเปลี่ยน เป้าหมายของความรุนแรงให้กลายเป็นพื้นที่ของการอยู่ร่วมกันได้อย่างมี กติการ่วม ด้วยเหตุนี้ พันธกิจที่ท้าทายช่างภาพชายแดนใต้จึงมีเป้าหมาย อยู่บนโจทย์พื้นฐานที่ว่า “เราจะอยู่ร่วมกันได้อย่างไร?” และการถักทอ เครือข่ายสื่อ โดยเฉพาะกลุ่มช่างภาพชายแดนใต้เพื่อทำ�งานร่วมกัน เชื่อว่า จะเป็นกระบวนการที่นำ�ไปสู่การผลักดันให้เกิด ‘กระบวนการสันติภาพ’ ได้ทางหนึ่ง และภาพบันทึกเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่ชายแดนใต้ใน หลากหลายแง่มุมจะช่วยสะท้อนให้เห็นจินตนาการที่ชัดเจนของสังคม แห่งการอยู่ร่วมกันในอนาคต ซึ่งทุกคนต่างหวังและเฝ้ารอ


Boulevard du Temple by Louis Daguerre


13

7 Years of Deep South Photographs and 170 Years of Photojournalism on Earth (7 ปีภาพชายแดนใต้ กับ 170 ปี ประวัติศาสตร์ภาพข่าวโลก)

Srisompob Jitpiromsri | ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี

One day on a Parisian street in 1839, on a boulevard named ‘Boulevard du Temple’, a French artist named ‘Louis Jacques Mande Daguerre’ portrayed reality into what was to be known as the photograph for the first time in history. What makes this picture special was not the buildings, the roads, or the trees that were represented into an object called a “photograph” for the first time. Instead of being represented in words, dreams, imagination, painting, or sculpture, the excitement of this picture is the discovery that after the photograph was taken, the small dots on the bottom of the picture were the silhouettes of people. An interesting issue is that this picture is the only small picture that could change the idea of humans towards the Earth and themselves. Why is this so? The special issue of TIME magazine in 1995 under the heading “Eyewitness: 150 Years of Photojournalism” narrated the feelings towards this picture that as soon as these small and apparently meaningless spots were recognized as people, the rest of the picture was re-interpreted from that standing point. It is impossible not to look at this picture without seeing the image of this man as the center of attention. This led towards the channel and drive inside each photojournalist since the beginning of photography on Earth. It is the question of how we can make human beings see themselves, and how should they see it?

วันหนึ่งบนถนนของกรุงปารีสในปี 1839 ถนนนี้ชื่อว่า ‘บูลวาร์ด ดูว์ ตองเปลอ’ (Boulevard du Temple) ศิลปินชาวฝรั่งเศสคนหนึ่งชื่อว่า ‘หลุยส์ ฌาคส์ มงด์ ดาเกอร์’ (Louis Jacques Mande Daguerre) ถ่ายทอดความเป็นจริงไปสู่สิ่งที่เรียกว่าภาพถ่ายครั้งแรกในโลก สิ่งที่ทำ�ให้ภาพนี้พิเศษไม่ใช่อาคารบ้านเรือน ถนนหนทาง และต้นไม้ที่ถูกจำ�ลองภาพตัวแทนออก มาเป็นวัตถุที่เรียกว่า ‘ภาพถ่าย’ เป็นครั้งแรก และแทนที่จะเป็นภาพตัวแทนในภาษา ความฝันจินตนาการ ภาพวาดหรือรูปปั้น ความเร้าใจของภาพนี้ก็คือสิ่งที่พบภายหลังการถ่ายภาพ ซึ่งเห็นเป็นจุดเล็กๆ ในมุมล่าง ของภาพก็คือ ภาพร่างของคน ซึ่งเป็นผู้ชายคนหนึ่งที่ไม่มีใครรู้จักกำ�ลังยืนนิ่งให้ช่างขัดรองเท้า และนี่เป็น ภาพถ่ายมนุษย์ครั้งแรกในโลก ประเด็นที่น่าคิดก็คือภาพนี้เป็นภาพเล็กๆ ภาพเดียวที่เปลี่ยนความคิดของ มนุษย์เราที่มีต่อโลกและต่อตัวเราเองได้ ทำ�ไมถึงเป็นอย่างนั้น? นิตยสาร Time ฉบับพิเศษในปี 1995 ซึ่งใช้ชื่อว่า ‘ประจักษ์พยาน : 150 ปี แห่งช่างภาพข่าว’ (Eyewitness: 150 Years of Photojournalism) พรรณนาความรู้สึกต่อภาพนี้ว่า ทันที


14  WeWatchBook Deep South Photojournalism Issue.

ที่จุดเล็กๆ ที่ดูเหมือนไม่มีความหมายนี้ถูกจับได้ว่าเป็นคน ภาพทั้งภาพที่เหลือก็ถูกตีความใหม่จากจุดที่เขา ยืนอยู่ตรงนั้น เป็นไปไม่ได้เลยที่เราจะมองภาพนี้โดยไม่มองเห็นชายคนนั้นเป็นจุดกลางของความสนใจ ซึ่งก็ นำ � เราไปสู่ สิ่ ง ท้ า ทายที่ เ ป็ น แรงผลั ก ดั น ภายในตั ว ของช่ า งภาพข่ า วทุ ก คนมาตั้ ง แต่ จุ ด เริ่ ม ต้ น ของการมี ภาพถ่ายเกิดขึ้นในโลก มันคือคำ�ถามที่ว่า เราจะทำ�อย่างไรเพื่อที่จะให้มนุษย์มองเห็นตัวเอง และมองเห็น อย่างไร? Such motive brought photojournalists into different terrible environments and situations: natural disasters, wars, state threats and persecutions, included limited equipments, being against the taste of most photographers who only liked to see beauty and the comments from their own editors. The differing viewpoints of the readers and the bias on the part of the photographers themselves also played a role. All the complexities, however, came down to flock on the question of “What is truth?” Perhaps, the professionalism that is found in photojournalism may make it the only science in photography that is the best proof of the potential of the camera, the photographer themselves, and the audience. With this implication, the photograph represents human beings as a sophisticated individual that presides over all things in the natural world and in their own lives. It reflects the ordering of social relationships and various relationship of powers: those that are visible and otherwise. But these things are reflected on the other side as the perception of those who are the “viewers”. Thus in this process the world becomes what Hegel once said that humanity lives in its own life. We pick things up to look, we question the things that we see, and we can make varying arguments about these things. It shows the individuality in the humanity that is being thought. From this point, Martin Heidegger said that for human lives ‘being is more important than living’. In other words, nature and identity of human beings are expressed in thoughts and interpretations. We cannot exist in this world without interpretation and definition. Therefore, taking a photograph is like painting to a picture. In this process, there is the painter, the photographer, and the audience, and all of them are interpreting and being made to interpret these pictures. Similarly, Michel Foucault tries to see and interpret the picture to a great length that is hard to understand on an old painting from 1656 made by Diego Velazquez with the title ‘Las Meninas’. What do we get from looking at a picture for its interpretation, whether in painting or photograph? The important thing is not the intention or the will of the painter. It is not the truth of what the painter intends for the viewer to see or to look at, but it is up to us as the viewers to interpret and see things when we ‘stare’ at the picture. The truth and the meaning that represents the truth can be completely separate. Nothing poses an obstacle to expression. It represents the purest form of humanity. “The picture should be able to show itself outside of the frame.”

Las Meninas by Diego Velazquez


15

แรงจูงใจดังกล่าวนำ�พาช่างภาพอย่างพวกเขาไปสู่สิ่งแวดล้อม และสถานการณ์ที่เลวร้ายต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นภัยพิบัติจากธรรมชาติ สงคราม การควบคุมและคุกคามจากรัฐ เครื่องมืออุปกรณ์ที่จำ�กัด การ ต่ อ สู้ กั บ รสนิ ย มของช่ า งภาพโดยทั่ ว ไปที่ ช อบแต่ ค วามสวยงามและ ความเห็นของบรรณาธิการของตนเอง ทัศนะที่แตกต่างของผู้อ่าน รวม ไปถึงอคติของตัวช่างภาพเองด้วย แต่ความซับซ้อนทั้งมวลมากระจุกตัว อยู่ตรงคำ�ถามที่ว่า “ความเป็นจริงคืออะไร?” บางที ความเป็นวิชาชีพ ของช่างภาพข่าว (photojournalism) อาจจะเป็นสาขาเดียวในศาสตร์ ของการถ่ายภาพที่เป็นตัวพิสูจน์ให้เห็นศักยภาพของทั้งกล้องถ่ายรูป ตัวของช่างภาพเอง และผู้ดูภาพได้ดีที่สุด โดยนัยนี้ ภาพถ่ายจึงเป็นตัวแทนแสดงให้เห็นมนุษย์ในฐานะ ตัวตนอันซับซ้อนที่เป็นประธานของทุกอย่างในโลกธรรมชาติและใน ชีวิตของเราเอง มันสะท้อนให้เห็นการจัดระเบียบความสัมพันธ์ทางสังคม และสัมพันธภาพทางอำ�นาจแบบต่างๆ ทั้งที่มองเห็นและมองไม่เห็นใน ภาพ แต่สะท้อนออกมาให้เห็นอีกด้านหนึ่งในความคิดของคนซึ่งเป็น ‘ผู้มองภาพ’ นั้น ในกระบวนการนี้โลกจึงเป็นอย่างที่ ‘เฮเกิล’ (Hegel) เคยบอก ว่า มนุษยชาติอาศัยอยู่ในชีวิต เราหยิบเลือกสิ่งต่างๆ ขึ้นมาดู เราถาม คำ�ถามเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่เราเห็นและเราก็พูดจาถกเถียงถึงสิ่งเหล่านั้น ไปได้ต่างๆ นานา มันแสดงให้เห็นความเป็นตัวตนของเราเองในความ เป็นมนุษย์ที่คิด จากจุดความคิดนี้ ‘มาร์ติน ไฮเดกเกอร์’ (Martin Heidegger) เลยบอกว่า สำ�หรับชีวิตมนุษย์นั้น ‘การเป็นจึงสำ�คัญกว่าการอยู่’ ใน อีกความหมายหนึ่ง ธรรมชาติและตัวตนของมนุษย์แสดงออกมาในรูป ของการคิดและการตีความ เราอยู่ในโลกไม่ได้ถ้าไม่มีการตีความและให้ ความหมาย ดังนั้น การสร้างภาพถ่ายก็เหมือนการเขียนภาพ ใน กระบวนการนี้ ทั้งตัวผู้วาดภาพ ผู้ถ่ายภาพ และผู้ดูภาพ ต่างก็กำ�ลัง ตีความและถูกทำ�ให้ตีความภาพเหล่านั้น คล้ายกับที่ ‘มิเชล ฟูโกต์’ (Michel Foucault) พยายามมองและตีความอย่างยึดยาวเข้าใจยาก ต่อภาพเขียนเก่าแก่ในปี 1656 ของ ‘ดิเอโก เวลาสเกซ’ (Diego Velazquez) ที่ชื่อว่า ‘ลาส เมนินาส’ (Las Meninas) เราได้อะไรจากการมองภาพ ความหมายในการมองภาพไม่ว่า ภาพวาดหรือภาพถ่าย สิ่งที่สำ�คัญมิใช่เจตนาหรือความตั้งใจของผู้วาดภาพ ไม่ใช่ความจริงที่ผู้วาดภาพตั้งใจ ให้ผู้ดูเห็นอะไร มองอะไร แต่อยู่ที่เราในฐานะผู้มองภาพ ตีความและเห็นอะไรเมื่อ ‘จ้องมองดู’ ในภาพนั้น มากกว่า ความเป็นจริงและความหมายที่เป็นตัวแทนความจริงสามารถแยกออกจากกันได้อย่างเด็ดขาด ไม่มี อะไรเป็นอุปสรรคขวางกั้นการแสดงออก มันเป็นความเป็นตัวแทนที่บริสุทธิ์ของมนุษย์ “ภาพนั้นควรจะ แสดงตัวออกมานอกกรอบภาพนั้นได้”


16  WeWatchBook Deep South Photojournalism Issue.

Once we look at art, then we look back at ourselves. When we look at the events in Thailand in the middle of the confusion within inresolvable clashes and conflicts that are waiting to be boiled over, along with the conflict and violence that have prolonged and lasted for more than 7 years in the south. The conflict has resulted in more than four thousand five hundred people deaths and another seven thousands persons being injured, yet there are reflections to which we can see that these violent events can help us to expand our thoughts, to see and know our true identity and the true identity of our society. We have to admit that, amidst despair, one of the thing that has been created and developed from the southern conflict is the creation of a media space to reflects something from the ‘insiders’ who fight against violence and try to survive in their own way of life, and the ‘outsiders’ who try to see and understand the violence that has happened. Replication of these reflections through media gives many meaning that we do and do not know. Key symbols in these areas are the photographs taken by photojournalists, which have both the vision and invisible things appearing, waiting for us, the viewers, to see and interpret.

Nick Ut ( AP, 1972 )

Muhamad-Ayub Pathan ( DSW, 2005 )

Like any other place on earth, the news images of the deep south exist under the waves of cruel, Cruelty and violence, similar to the image that wrecked the hearts of the world in 1972 when a Vietnamese girl ran crying with a naked body from a village among American soldiers who were the invaders in the Vietnam War. The important thing was that at this point, the space had been opened. The news image was broadcasted, and interpretations started. The ensuing result was that there was a creation of the definition and the struggle for the definition of the conflict. On the other hand, the expression of identity and the way of life of the people in a society living amidst violence itself also has spaces existing from the spot where the picture took place. There are locations, symbols, and ways of life in the photograph which are meaningfully displayed.


17

The producer of these photographs are the Deep South Photographers network. No one seems to know that the Deep South Photographers appear to be the most experienced war photographers among war photojournalists in the country as present due to necessity. Their pictures appear in the media all over the world, not limited only to the media in Thailand. Many of their pictures have been based in the international photojournalism circle. AP, AFP, Reuters, and other news agencies around the world have reproduced their photographs though modern media.

มองดูศิลปะและย้อนมองดูตัวเอง เมื่อหันมามองดูเรื่องราวในเมืองไทย ในท่ามกลางความสับสน ของการต่อสู้และความขัดแย้งทางความคิดที่แก้ไม่ตกอยู่หลายอย่างที่รอวันปะทุ ในขณะเดียวกับที่เรายังมี ความขัดแย้งและความรุนแรงที่ยึดเยื้อยาวนานมามากกว่า 7 ปีที่ภาคใต้ ในเหตุการณ์นี้มีคนตายไปแล้วมาก กว่าสี่พันห้าร้อยคนและบาดเจ็บอีกเจ็ดพันกว่าคน แต่มีภาพสะท้อนอะไรที่คนในสังคมไทยเราได้มองเห็น ในความรุนแรงเหล่านี้ ที่จะช่วยให้เราได้คิดต่อ ได้มองเห็นและรู้จักตัวตนของเรา ของสังคมเรา ต้องยอมรับว่า ในท่ามกลางความสิ้นหวัง สิ่งหนึ่งที่ถูกสร้างและพัฒนาการมาจากเหตุการณ์ความ ไม่สงบภาคใต้ก็คือการสร้างพื้นที่สื่อซึ่งเป็นภาพสะท้อนอะไรบางอย่างของ ‘คนใน’ ที่ต่อสู้กับความรุนแรง เอาตัวรอดในวิถีชีวิตของตนและของ ‘คนนอก’ ที่พยายามจะมองและเข้าใจความรุนแรงที่เกิดขึ้น การ จำ�ลองภาพสะท้อนดังกล่าวผ่านพื้นที่สื่อได้บอกความหมายอะไรหลายอย่างที่เรารู้และไม่รู้ สัญลักษณ์ที่ สำ�คัญในพื้นที่สื่อดังกล่าวคือภาพถ่ายของช่างภาพข่าว ในภาพเหล่านี้ มีทั้งสิ่งที่มองเห็นและมองไม่เห็นที่ ปรากฏอยู่มากมาย รอให้เราผู้ดูได้มองเห็นและตีความ เหมือนกับที่อื่นๆ ในโลก ภาพข่าวจังหวัดชายแดนใต้เกิดขึ้นมาในพื้นที่สาธารณะ ในกระแสความ รุนแรงอันโหดร้าย เหมือนกับภาพที่สะเทือนใจคนทั้งโลกในปี 1972 เมื่อเด็กผู้หญิงเวียดนามวิ่งร้องไห้ใน ร่างเปลือยเปล่าวิ่งออกมาจากหมู่บ้านท่ามกลางทหารอเมริกันผู้รุกรานในสงครามเวียดนาม สิ่งที่สำ�คัญก็ คือ ณ จุดนี้ พื้นที่ได้ถูกเปิดออก ภาพข่าวถูกนำ�เสนอ การตีความก็เกิดขึ้น ผลที่ตามมาก็คือเกิดการสร้าง ความหมายและการต่อสู้เพื่อแย่งชิงการนิยามความขัดแย้ง อีกด้านหนึ่งการแสดงตัวตนและอัตลักษณ์วิถี ชีวิตผู้คนในสังคมที่อยู่ในความรุนแรงก็มีพื้นที่เกิดขึ้นจากจุดที่เกิดภาพ มีสถานที่ สัญลักษณ์และชีวิตคน ปรากฏอยู่ในภาพซึ่งแสดงออกมาอย่างมีพลังความหมาย ผู้ผลิตภาพดังกล่าว คือ ช่างภาพชายแดนใต้ ไม่มีใครรู้ข้อเท็จจริงที่ว่าช่างภาพข่าวจังหวัดชายแดน ภาคใต้ดูเหมือนจะเป็นช่างภาพสงครามที่มีประสบการณ์มากที่สุดในวงการช่างภาพข่าวในประเทศขณะนี้ เพราะความจำ�เป็น พวกเขามีผลงานภาพถ่ายปรากฏอยู่ในสื่อมวลชนกระจายไปทั่วโลก ไม่ใช่เฉพาะแต่ใน สื่อในประเทศเท่านั้น หลายภาพของเขาได้รับรางวัลในวงการภาพข่าวสากล สำ�นักข่าวเอพี เอเอฟพี รอยเตอร์ และสื่อสำ�นักอื่นๆ ทั่วโลกได้นำ�ภาพพวกเขาไปเผยแพร่ผลิตซำ�ผ่านสื่อสมัยใหม่ของตนอย่างกว้างขวาง  After 7 years of violence, what have these photographs from the deep south told or given meanings for us to see and interpret? It seems that pictures of key events in other places on Earth have given new meanings to us. Deep South Photographers have also created a large number of sophisticated photographs. Let’s look at the picture of the sign near the entrance to the Tanah Putih village in Bannang Sata District, Yala Province, which was taken in 2005. This sign would have no meaning if there were no letters in red being


18  WeWatchBook Deep South Photojournalism Issue.

sprayed over it. The letters were in the Melayu language which read “Patani Merdeka” or “Liberation of Patani”. The picture becomes more meaningful when the Malay man in the sarong who was riding his motorcycle with a little boy in the pillion seat look at it. He might have stopped the motorcycle to look at the sign with interest, but the puzzle here is that the picture did not allow us to see his eyes, which could be showing bepuzzlement, fear, or satisfaction. What is more interesting is that the little boy on the motorcycle had a rather uncomfortable look in his eyes and in the way he acted. He might not know the meaning of what was happening around him. He might not know why the grown-ups had to stop the motorcycle. He might be wondering what the photographer was doing in front of him, or he might not be happy that a stranger was looking into his private space. If we looked at this man as the center of the picture, we would see that he was being a witness and an observer to the fight between the two identities in the conflict in the deep south: the identity of the Thai state vs. that of the insurgents. By whatever name we call them, this struggle is not yet over and will continue as long as the doubts and the puzzle in this photograph are still unsolved. Another picture is from the aftermath of the massacre at Al-Furqan Mosque in Ai-Payer Village, Chuab Sub-District, Cho-airong District, Narathiwat Province, on 8 June 2009. The cruelty from the violence of the killing was reflected in the picture of a bullet hole in a glass panel of the Mosque. The impressive point of this photograph is the doubtful eyes of a Muslim Malay boy on the massacre in the Mosque that was looking through the cracked glass and the bullet hole. When looking back through the perspective of the viewer, as external observer, we may be able to see the breaks, the pain, and the cracks that are in the heart of this little boy which reflects the community that is being a victim of the violence. This boy might be seeing something that we, as the observers, could not see. It did not appear in the picture, but what is the truth? Who fired all the bullets? From this scene of pain, the boy might have the answer in his heart but he could not say it out loud. The bitter truth is that even today, no one knows the answer, even the state itself. It has been more than 170 years since the first day of photography of mankind. Today represents a lengthy period of development of photojournalism in the mass media. Meanwhile, we have passed 7 years of the unrest in the deep south. During this time of prolonged violence, we have hundreds or thousands of pictures that record the events and lives. The questions remain the same for the photographer: “How can we help humanity to see itself?”, “How should they see it?”, and “What is the truth?”. Images are reflected through the lenses of these photographers, waiting for us as human beings to understand and interpret their meaning, reflecting the lives of people and the society. It is the proof of the capacity of the camera, the photographers, and of human beings as viewers of these pictures.


19

หลังจาก 7 ปี ของความรุนแรง ภาพถ่ายชายแดนใต้เหล่านี้เล่าเรื่องหรือให้ความหมายอะไรให้เรา ดูและตีความบ้าง! เหมือนกับที่ภาพถ่ายเหตุการณ์สำ�คัญในที่อื่นๆ ของโลกเคยให้ความหมายใหม่ๆ แก่ เรา ช่างภาพชายแดนใต้ก็สร้างภาพถ่ายมากมายที่มีความซับซ้อนเช่นกัน มาดูภาพป้ายสัญญาณข้างทาง เข้าหมู่บ้านตาเนาะปูเต๊ะ ในอำ�เภอบันนังสตา จังหวัดยะลา ซึ่งถูกถ่ายไว้ในปี 2548 ป้ายสัญญาณนี้จะไม่มี ความหมายอะไรถ้าไม่มีตัวหนังสือพ่นทับสีแดงเป็นภาษามลายูที่อ่านว่า “Patani Merdeka” หรือ เอกราช ของปาตานี ภาพมีความหมายมากยิ่งขึ้นเมื่อมีผู้ชายมลายูในชุดโสร่งนั่งอยู่บนรถจักรยานยนต์กับเด็กน้อย บนอานรถแหงนมองดูมันอยู่ เขาอาจจะหยุดรถและมองดูป้ายนี้ด้วยความสนใจ แต่ปริศนาก็คือ ภาพไม่ ทำ�ให้เราเห็นสายตาของเขา ซึ่งอาจจะเป็นความฉงนใจ หวาดหวั่นใจหรือความพึงพอใจก็ได้ ที่น่าสนใจยิ่งไปกว่านั้น เด็กน้อยบนรถกลับมีสายตาและอาการที่ไม่สบายใจนัก เขาอาจไม่รู้ความ หมายของสิ่งที่เกิดขึ้นรอบข้าง ไม่รู้ว่าทำ�ไมผู้ใหญ่ถึงต้องหยุดรถ อาจกำ�ลังสงสัยว่าผู้ถ่ายภาพกำ�ลังทำ�อะไร ต่อหน้าเขาหรืออาจจะไม่พอใจต่อคนแปลกหน้าที่กำ�ลังจ้องดูพื้นที่ส่วนตัวของเขา ถ้าเรามองชายผู้นี้เป็น ศูนย์กลางของภาพ เขากำ�ลังเป็นพยานและผู้สังเกตการณ์ต่อการต่อสู้ทางอัตลักษณ์ระหว่างสองฝ่ายใน ความขัดแย้งของจังหวัดชายแดนใต้ ระหว่างรัฐไทย กับกลุ่มผู้ก่อการ ไม่ว่าเราจะเรียกชื่อพวกเขาว่าอะไร การต่อสู้นี้ยังไม่จบและจะดำ�เนินต่อไปตราบเท่าที่ความสงสัยและปริศนาในภาพนี้ยังแก้ไม่ตก อีกภาพหนึ่งเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นภายหลังการสังหารหมู่ที่มัสยิด อัลฟุรกอน หมู่บ้านไอปาแย ตำ�บลจวบ อำ�เภอเจาะไอร้อง จังหวัด นราธิวาส เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2552 รังสีอำ�มหิตจากความ รุนแรงของการฆ่าฟันทำ�ลายชีวิตสะท้อนออกมาที่ภาพรูกระสุน ปืนผ่านกระจกของมัสยิดแห่งนี้ จุดที่น่าประทับใจของภาพอยู่ตรง ที่ ส ายตาอั น แสดงความกั ง ขาของเด็ ก ชายมลายู มุ ส ลิ ม ต่ อ ฉาก ของการสังหารในมัสยิดผ่านรอยกระจกร้าวและรูกระสุน ยิ่งเมื่อ ถูกมองย้อนกลับไปจากมุมของผู้ดูภาพ ในฐานะผู้สังเกตจากภาย นอก เราอาจจะมองเห็นเป็นความแตกหัก ความเจ็บปวด และรอย ร้าวที่อยู่ในใจของเด็กน้อยคนนี้ซึ่งสะท้อนความเป็นตัวแทนของ ชุมชนที่ถูกกระทำ�ด้วยความรุนแรง เด็กคนนี้อาจจะมองเห็นอะไร ที่เราในฐานะผู้ดูภาพมองไม่เห็น มันไม่ปรากฎอยู่ในภาพ แต่คือ ความเป็นจริง ใครที่เป็นคนลั่นกระสุนทุกนัดผ่านฉากความเจ็บปวด นี้ เด็กน้อยอาจจะรู้อยู่แก่ใจ แต่ไม่สามารถพูดออกมาได้ ความ จริงที่ขมขื่นก็คือ ทุกวันนี้ยังไม่มีใครสามารถให้คำ�ตอบได้แม้แต่ Mahamasabree Jehloh ( SPM, 2009 ) รัฐเอง เวลาผ่านไป 170 ปีแล้วนับตั้งแต่วันแรกที่มีการถ่ายภาพของมนุษย์ วันนี้นับเป็นเวลาอันยาวนาน ของพัฒนาการช่างภาพข่าวในโลกของสื่อสารมวลชน ในขณะเดียวกันเราก็ผ่าน 7 ปี ของเหตุการณ์ความ ไม่สงบของจังหวัดชายแดนภาคใต้ ในช่วงเวลาแห่งความรุนแรงอันยืดเยื้อนี้ เรามีภาพถ่ายนับเป็นร้อยเป็น พันที่บันทึกเหตุการณ์และชีวิตของผู้คน คำ�ถามยังคงเหมือนเดิมสำ�หรับช่างภาพ “เราจะทำ�อย่างไรเพื่อที่ จะให้มนุษย์มองเห็นตัวเอง” “มองเห็นอย่างไร?” และ “ความเป็นจริงคืออะไร?” ภาพลักษณ์ถูกสะท้อน ออกมาผ่านกรอบเลนส์ของช่างภาพเหล่านี้ รอให้เราผู้ดูในฐานะมนุษย์ได้เข้าใจ พร้อมทั้งตีความหมายของ เหตุการณ์ สะท้อนความเป็นตัวแทนชีวิตของประชาชนและสังคม มันเป็นการพิสูจน์ทั้งความสามารถของ กล้อง ของช่างภาพ และมนุษย์ในฐานะผู้ดูภาพเหล่านี้


20  WeWatchBook Deep South Photojournalism Issue.

World Watch

In the year 2010-2011, there have been changes at ‘phenomenal’ level happening in many areas, whether they are natural or man-made events, both of which have global-level impact. It could be said that the past year has been a time of ‘catastrophe’ and ‘changes’ that must be recorded in world history, and an important lesson for mankind to know how to handle disasters or unrest.

Thony Belizaire, AFP / Getty Images

Roberto Candia, AP Photo

STR / AFP / Getty Images

12 January 2010 : a 7.0 magnitude earthquake took place near Port-AuPrince, the capital of Haiti, the force of which was adequate to completely destroy people’s dwellings, including the Government House, and caused no less than 230,000 deaths. The quake in Haiti was a tragic news for the entire world just a few days after the new year celebration, for which the foreign press were sent to record this ‘gigantic event’ at the beginning of the year. Meanwhile, rescue teams from the world’s superpowers were sent to help the Haitian people, as the government could not take care of the problems by itself.

27 February 2010 : an 8.8 magnitude earthquake happened in Chile with the epicenter off the Pacific coast, near the city of Concepcion to the west of the country. Tsunami waves also followed to hit the city, causing approximately 708 deaths while the exact number of missing persons could not be determined.

13 April 2010: a 6.9 magnitude earthquake happened in Xing Hai Province, China, destroying houses of the residents in many cities and causing approximately 2,000 deaths with more than 10,000 persons injured.

12 มกราคม 2553 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.0 ตามมาตรวัตร แมกนิจูด ณ กรุงปอร์-โต-แปรงซ์ ประเทศ เฮติ ซึ่งรุนแรงมากพอที่จะทำ�ลายบ้านเรือน ประชาชนพังทลาย รวมทั้งทำ�เนียบรัฐบาล มีผู้เสียชีวิตกว่า 230,000 คน สื่อมวลชน ต่างชาติถูกส่งเข้าไปบันทึกเหตุการณ์ใหญ่ ประเดิมช่วงต้นปีกันเป็นจำ�นวนมาก ขณะที่ หน่วยกู้ภัยจากกลุ่มประเทศมหาอำ�นาจถูก ส่งเข้าไปช่วยเหลือประชาชนชาวเฮติ

27 กุมภาพันธ์ 2553 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 8.8 แมกนิจูด ที่ ประเทศชิลี มีจุดศูนย์กลางการเกิดแผ่นดิน ไหวที่ด้านนอกชายฝั่งทะเลแปซิฟิค ใกล้กับ เมืองคอนเซ็บซิโอน ซึ่งอยู่ทางตะวันตกของ ประเทศ นอกจากนี้ยังมีคลื่นสึนามิซัดถล่ม เมืองตามมาอีกระลอก ทำ�ให้มีผู้เสียชีวิตราว 708 คน และหลายเมืองทางตอนใต้ของกรุง ซานติอาโกถูกตัดขาด ถนนและสะพานจมนำ� ประชาชนติดอยู่ในพื้นที่ และในเวลาต่อมา ครอบครัวชาวชิลีที่ประสบภัยได้ร่วมกันยื่น ฟ้องศาลเพื่อดำ�เนินคดีกับอดีตประธานาธิบดี มิเชลล์ บาเชเล็ตต์ ผู้นำ�ชิลี และผู้บัญชาการ กองทัพเรือ ในข้อหาบกพร่องต่อหน้าที่ กรณี ที่รัฐบาลประเมินผลกระทบจากแผ่นดินไหว ผิดพลาดไม่ประกาศเตือนภัยสึนามิ ทำ�ให้ ประชาชนอพยพออกจากพื้นที่ไม่ทัน

13 เมษายน 2553 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.9 แมกนิจูดใน มณฑลชิงไห่ ของประเทศจีน ทำ�ลายอาคาร บ้านเรือนของประชาชนในหลายเมือง และ ทำ�ให้มีผู้เสียชีวิตประมาณ 2,000 ราย บาด เจ็บอีกกว่า 10,000 คน โดยผู้เสียชีวิตเกือบ ทั้งหมดเป็นชาวทิเบต ซึ่งเป็นหนึ่งในกลุ่ม ชาติพันธุ์เก่าแก่และมีประวัติอันยาวนานใน การต่อสู้กับรัฐบาลจีนเพื่อเรียกร้องอำ�นาจ ในการปกครองตนเอง ทำ�ให้รัฐบาลจีนไม่ไว้ วางใจที่จะส่งความช่วยเหลือเข้าไปในพื้นที่ ประสบภัยทันที ประกอบกับสิ่งปลูกสร้าง ในชุมชมทิเบตส่วนใหญ่เป็นอาคารเก่าแก่ ทั้ ง ยั ง มี อ าฟเตอร์ ช็ อ กเกิ ด ขึ้ น ตามมาอี ก ระลอก ทำ�ให้ประชาชนจำ�นวนมากต้องรอ ความช่วยเหลือจากรัฐบาล ท่ามกลางซาก ปรักหักพังและอากาศหนาวเย็น


21

ในช่วงปี พ.ศ. 2553 และ 2554 มีความเคลื่อนไหวในระดับ ‘ปรากฏการณ์’ เกิดขึ้นใน หลายพื้นที่ ไม่ว่าจะเป็นปรากฎการณ์ทางธรรมชาติหรือปรากฏการณ์ที่มีแรงขับเคลื่อน จากผู้คนในสังคมซึ่งส่งผลสะเทือนไปทั่วโลกด้วยกันทั้งคู่ และอาจกล่าวได้ว่าช่วงปีที่ ผ่านมาเป็นห้วงเวลาแห่ง ‘ความหายนะ’ และ ‘ความเปลี่ยนแปลง’ ที่ต้องจารึกไว้ใน ประวัติศาสตร์โลก และเป็นบทเรียนสำ�คัญให้มนุษย์ได้เรียนรู้ว่า จะจัดการรับมือกับภัย พิบัติ หรือเหตุการณ์ความไม่สงบต่างๆ ได้อย่างไร

Daniel Berehulak, Getty Images

KRIS / AFP / Getty Images

Adek Berry, AFP / Getty Images

29 July 2010: A summer storm wrecked the entire nation of Pakistan, causing flash flood in many towns in the northwest of the country with deaths from drowning and torrential flow numbering at around 1,600. Millions of Pakistanis became homeless because of the torrential flow swept away their homes and farmlands.

25 October 2010: A 6.8 magnitude caused tsunamis that destroyed houses of fishermen on the coast of Sumatra Island, Indonesia, resulting in 400 deaths and hundreds of missing persons.

26 October 2010: The earthquake on 25 October caused Mount Merapi in the central Java Island in Indonesia to erupt, releasing volcanic ash all over the 50-kilometers radius, resulting in approximately 240 deaths. Tens of thousands of civilians were ordered to evacuate from areas near the volcano, while hot ashes from Merapi covered the homes of the people, completely destroying rice fields and corn farms.

29 กรกฎาคม 2553 พายุ ฤ ดู ร้ อ นกระหน ำ� ทั่ ว ประเทศปากี สถาน ทำ�ให้เกิดนำ�ท่วมเฉียบพลันในหลาย เมืองทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือ ทั้งยังมีผู้ เสียชีวิตเพราะจมนำ�และถูกกระแสนำ�ซัด หายอีกประมาณ 1,600 ราย ขณะที่ชาว ปากีสถานอีกนับล้านคนกลายเป็นผู้ไร้ที่อยู่ อาศัย เพราะนำ�ไหลบ่าซัดบ้านเรือนและ พื้นที่การเกษตรจนจมมิด

25 ตุลาคม 2553 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.8 ตามมาตรวัด แมกนิจูด ทำ�ให้เกิดคลื่นสึนามิซัดทำ�ลายบ้าน เรือนชาวประมงริมชายฝั่งทะเลเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย มีผู้เสียชีวิต 400 กว่าราย และมีผู้สูญหายอีกหลายร้อยคน ขณะที่ผู้รอด ชีวิตประสบภาวะขาดแคลนทั้งอาหาร ยา เสื้อ ผ้า นำ�ดื่ม และต้องรอคอยความช่วยเหลือจาก รัฐบาลส่วนกลางของอินโดนีเซียเป็นเวลานาน นับสัปดาห์ เพราะสภาพอากาศรอบเกาะแปร ปรวนและมีพายุกระหนำ� ทำ�ให้นักบินหน่วยกู้ ภัยไม่สามารถนำ�เครื่องบินลำ�เลียงความช่วย เหลือเข้าไปในพื้นที่ได้ เช่นเดียวกับที่ผู้สื่อข่าว ทั้งในประเทศและต่างประเทศจำ�นวนมาก ไม่สามารถเข้าไปรายงานเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น บนเกาะสุมาตราได้

26 ตุลาคม 2553 เหตุแผ่นดินไหวในวันที่ 25 ต.ค. 53 ส่ง ผลให้ภูเขาไฟเมราปี บนเกาะชวากลางของ ประเทศอินโดนีเซีย ปะทุพ่นควันภูเขาไฟ คละคลุ้งในรัศมี 50 กิโลเมตร ทำ�ให้มีผู้เสีย ชีวิตราว 240 ราย และประชาชนนับหมื่น ต้องอพยพออกจากพื้นที่ใกล้เคียงภูเขาไฟ ขณะที่เถ้าถ่านร้อนๆ ซึ่งถูกพ่นออกมาจาก ปล่องภูเขาไฟเมราปีเข้าปกคลุมบ้านเรือน ประชาชน ทั้งยังทำ�ลายทุ่งนาและไร่ข้าวโพด จนเสียหายยับเยิน


22  WeWatchBook Deep South Photojournalism Issue.

Simon Baker, Reuters

Kyodo / Reuters

22 February 2011: a 6.3-magnitude hit Christchurch, New Zealand, resulting in approximately 230 deaths while houses crumbled and a Christian cathedral aged over 300 years, an icon of Christchurch, was so severely hit that the structure collapses. The search for the injured and the deaths that were trapped on high-rise buildings or under rubble was assisted from many countries: Australia, Japan, the United States, as well as Thailand, which sent officers and experts to Christchurch within days after the quake.

11 March 2011: A 9.0 magnitude earthquake happened in the middle of the sea by the eastern coast of Honshu Island, Japan, causing the 4th strongest earthquake in world history within the past 140 years, resulting in tsunami waves of 2-14 meters in height which stormed in and destroyed many major coastal cities in Miyagi, Iwate, Fukushima, and Sendai. The quake also caused a crisis from leakage of radioactivity from the ‘Fukushima Daichi’ Nuclear Power Plants. The estimated casualties nation-wide is at approximately 28,000 deaths and 170,000 homeless.

22 กุมภาพันธ์ 2544 แผ่นดินไหวขนาด 6.3 แมกนิจูดที่เมือง ไครสต์เชิร์ช ประเทศนิวซีแลนด์ มีผู้เสียชีวิต ราว 230 ราย ขณะที่บ้านเรือนประชาชนพัง เสียหาย รวมทั้งมหาวิหารของศาสนาคริสต์ อายุเก่าแก่กว่า 300 ปีอันเป็นสัญลักษณ์ของ ไครสต์เชิร์ชได้รับผลกระทบหนักจนอาคาร ถล่มราบลงมา แต่การค้นหาร่างผู้บาดเจ็บ และเสียชีวิตที่ติดอยู่บนอาคารสูงหรือใต้ซาก ปรักหักพัง ได้รับความช่วยเหลือจากหลาย ประเทศ ทั้งออสเตรเลีย อังกฤษ ญี่ปุ่น สหรัฐ อเมริกา และไทย ซึ่งส่งเจ้าหน้าที่และผู้เชี่ยว ชาญด้านต่างๆ ไปยังไครสต์เชิร์ชในเวลาไม่ กี่วันหลังเกิดเหตุ

11 มีนาคม 2554 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 9.0 แมกนิจูดใน ทะเลฝั่งตะวันออกของเกาะฮอนชู ประเทศ ญี่ปุ่น และเป็นแผ่นดินไหวที่มีความรุนแรง เป็นอันดับ 4 ของโลกในรอบ 140 ปีที่ผ่าน มา ส่งผลให้เกิดคลื่นสึนามิความสูง 2-14 เมตรไหลทะลั ก เข้ า ทำ � ลายเมื อ งใหญ่ ช าย ทะเลหลายแห่ง อาทิ จังหวัดมิยางิ, อิวาเตะ, ฟูกูชิมะ และเมืองเซนได ทั้งยังทำ�ให้เกิด วิกฤติสารกัมมันตรังสีรั่วไหลจากโรงไฟฟ้า พลังงานนิวเคลียร์ ‘ฟูกูชิมะ ไดอิจิ’ ขณะที่ ผลประเมินยอดผู้เสียชีวิตทั่วประเทศอยู่ที่ ประมาณ 28,000 ราย และผู้ไร้ที่อยู่อาศัย อีกประมาณ 170,000 คน

24 March 2011: a 6.8 magnitude earthquake hit the Shan State in the eastern part of Myanmar, causing shock waves that could be felt as far as Thailand, Laos, and Vietnam, or within the 500-kilometer radius from the epicenter of the quake. The total number of deaths could not be clearly estimated as the government of Myanmar confirmed only 75 deaths and medias from outside the area could not enter and make reports from inside Shan State.

24 มีนาคม 2554 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.8 แมกนิจูดใน รัฐฉาน ทางตะวันออกของพม่า และแรงสั่น สะเทือนสามารถรับรู้ได้ไกลถึงประเทศไทย ลาว และเวียดนาม หรือในรัศมีกว่า 500 กิโลเมตรนับจากศูนย์กลางการเกิดแผ่นดิน ไหว ขณะที่ยอดรวมผู้เสียชีวิตยังไม่อาจสรุป ได้อย่างแน่ชัด เพราะรัฐบาลพม่ายืนยันว่ามี ผู้เสียชีวิตเพียง 75 ราย และสื่อมวลชนนอก พื้นที่ไม่สามารถเดินทางเข้าไปรายงานข่าว ในรัฐฉานได้


23

As Japan was a leader in production and development of recording and communication equipments, most Japanese possessed cameras, video recorders, and mobile phones with multipurpose functions as ‘household items’, thus the Japanese people were able to record the great catastrophe of 11 March 2011 in precise details in still as well as moving images. When the violent natural disasters temporarily abated, the images of the destruction were gradually presented to the outside world through the internet and television, allowing the world to witness the great disaster. The images of the destruction and the plight of the disaster victims in Japan hit the heart of the entire world and governments pooled in support, while civil societies in each country came out to raise funds and provide necessities to be sent to the Japanese people, a spontaneous reaction which differed from acknowledging and responding to the disasters in Haiti, Chile, China, Pakistan, Indonesia, and Myanmar, in which the victims had no chance nor equipment to record the images in a timely manner. Thus the pictures of the rubble and other damages in countries other than Japan were normally presented through the eyes of the mass media and foreign journalists who were sent into the disaster zone after the harm disappeared. However, sometimes reporting by the media who were not the insiders would not allow people on the outside to be adequately informed about the event and affected situational assessments for aid provision as well. A clear example is the earthquake in Haiti, in which a large number of the press only presented pictures of chaos and a large number of bodies on the street, causing a number of civilian journalists and Haitian citizens to record the efforts of civil societies and religious leaders who set up victims relief centers and recorded the lives of Haitians after the days of nightmare to present the other side of the Haitian struggle for survival for the world to see. Meanwhile, for the disasters in Pakistan, China, Indonesia, and Myanmar, the great ‘distance’ of travel was the main obstacle, causing news reporting to proceed slowly. In certain areas, the local ‘political conflicts’ were also the main factor that hindered outsiders from rendering full assistance. For example, when the South Asian

tsunamis hit Sumatra Island in Indonesia, a remote and difficult area to access, or when the earthquakes hit Qing Hai in China or Shan State in Myanmar, these areas were political conflict zones in their respective countries, thus the governments wished that too many ‘outsiders’ would not be entering the area, while the locals did not have too many tools to record their grievances, thus there was hardly any story of the damages from the viewpoint of the ‘insiders’ for the outside world to see as much as the events in Japan. Thus the delivery of aid to victims in these area was shockingly slow and their fates became ‘invisible tragedies’. The global community were also not as eager to lend aid as it should, as seen from the great floods in Pakistan where there were millions of affected people but the world’s superpowers and people in some western countries were not eager to lend aid to Pakistanis because of their negative viewpoint that the territories in Pakistan were the haven of terrorist groups who were operating against the NATO forces in Afghanistan. , while fund-raising activities to assist Pakistanis by some charitable organizations in some countries were also monitored particularly closely by state officials who were wary that the donations might actually be used in support of ‘terrorist groups’ instead of the flood victims. Another key phenomenon over the past year was the uprising of people in northern Africa and the Middle East against the government or the head-of-state and calling for administrative reforms towards democracy. The media all around the globe have called this phenomenon the ‘Arab Spring’, an awakening that will bring great changes to the region. The awakening of the Arab world started by an uprising of people in Tunisia in northern Africa to drive out ‘President Zine El Abidine Ben Ali’, a dictatorial leader who held on to administrative power for 23 years but could not effectively develop the country or solve its social problems. The uprising against the government that spread to other countries in northern Africa and the Middle East: Egypt, Yemen, Bahrain, Morocco, Jordan, Saudi Arabia, Syria, and ‘Libya’, by the following chronological order:


24  WeWatchBook Deep South Photojournalism Issue.

ความที่ญี่ปุ่นเป็นผู้นำ�ด้านการผลิตและพัฒนาเทคโนโลยี อุปกรณ์บันทึกภาพและเครื่องมือสื่อสาร ทำ�ให้คนญี่ปุ่นส่วนใหญ่มี กล้องถ่ายภาพ กล้องวิดีโอ และโทรศัพท์มือถือที่มีฟังก์ชั่นการใช้งาน แบบอเนกประสงค์เป็น ‘ของประจำ�บ้าน’ คนญี่ปุ่นจึงสามารถบันทึก ภาพเหตุการณ์ภัยพิบัติครั้งใหญ่ซึ่งเกิดขึ้นตั้งแต่วันที่ 11 มี.ค.2554 ได้อย่างละเอียด ทั้งในรูปแบบภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว และเมื่อ ความรุนแรงจากภัยธรรมชาติสงบลงชั่วขณะ ภาพความเสียหายต่างๆ ถูกทยอยนำ�เสนอสู่โลกภายนอกผ่านช่องทางอินเทอร์เน็ต และสถานี โทรทัศน์ เพื่อให้โลกได้เห็นประจักษ์พยานของมหันตภัยที่เกิดขึ้น ภาพความเสียหายและวิปโยคของผู้ประสบภัยธรรมชาติใน ญี่ปุ่นกระทบใจคนทั่วโลก และรัฐบาลประเทศต่างๆ ระดมกำ�ลังเข้า ช่วยเหลือ เช่นเดียวกับที่ภาคประชาสังคมในแต่ละประเทศออกมา เคลื่อนไหวระดมทุนหรือจัดหาสิ่งของจำ�เป็นส่งไปให้ชาวญี่ปุ่นอย่าง แข็งขัน ถือเป็นปฏิกิริยาตอบโต้เฉียบพลัน ซึ่งแตกต่างจากการรับรู้ และตอบสนองต่อเหตุภัยพิบัติในเฮติ ชิลี จีน ปากีสถาน อินโดนีเซีย และพม่า ซึ่งผู้ประสบภัยไม่มีโอกาสและไม่มีอุปกรณ์ที่จะนำ�มาบันทึก ภาพเหตุการณ์ต่างๆ อย่างทันท่วงที ด้วยเหตุนี้ ภาพซากปรักหักพังและความเสียหายในประเทศ อื่นๆ จึงมักถูกนำ�เสนอผ่านมุมมองของสื่อมวลชนและช่างภาพชาว ต่างชาติซึ่งถูกส่งเข้าไปในพื้นที่หลังภัยธรรมชาติสงบ แต่บางครั้งการ รายงานข่าวของสื่อที่มิได้เป็นคนในพื้นที่ก็ทำ�ให้คนภายนอกไม่ได้รับ ทราบข้อมูลเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างครอบคลุมเพียงพอ และ ส่ ง ผลกระทบต่ อ การประเมิ น สถานการณ์ เ พื่ อ ให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ประเทศที่ประสบภัยด้วย ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือ เหตุแผ่นดินไหวในประเทศเฮติ ซึ่ง สื่อจำ�นวนมากนำ�เสนอแต่ภาพความโกลาหลการก่อจลาจล และศพ มากมายกองเกลื่อนอยู่บนถนน ทำ�ให้นักข่าวพลเมืองชาวเฮติบาง กลุ่มต้องออกมาบันทึกภาพการทำ�งานของกลุ่มภาคประชาสังคม และผู้นำ�ศาสนาที่ตั้งศูนย์ช่วยเหลือผู้ประสบภัย รวมถึงภาพชีวิตของ ชาวเฮติหลังผ่านพ้นคืนวันอันเลวร้าย เพื่อนำ�เสนอเรื่องราวการต่อสู้ อีกด้านของชาวเฮติให้โลกได้รับรู้ ขณะที่ภัยพิบัติในปากีสถาน จีน อินโดนีเซีย และพม่า มี อุปสรรคเป็น ‘ระยะทาง’ ที่ห่างไกล ทำ�ให้การนำ�เสนอข่าวคราว ต่างๆ เป็นไปอย่างล่าช้า และบางพื้นที่ยังมี ‘ความขัดแย้งทางการ เมือง’ เป็นตัวแปรสำ�คัญ ทำ�ให้คนภายนอกไม่อาจยื่นมือเข้าไปช่วย ได้อย่างเต็มที่ เช่น กรณีสึนามิถล่มเกาะสุมาตราของอินโดนีเซีย เป็น พื้นที่ที่อยู่ห่างไกลและเข้าถึงลำ�บาก ขณะที่เหตุแผ่นดินไหวที่มณฑล ชิงไห่ในจีน และรัฐฉานของพม่า เป็นพื้นที่ที่เกิดความขัดแย้งทางการ เมืองภายในประเทศ รัฐบาลจึงไม่ต้องการให้ ‘คนภายนอก’ เข้าไปใน บริเวณดังกล่าวมากนัก และคนในพื้นที่ก็มิได้มีเครืองไม้เครื่องมือที่ จะบันทึกภาพเหตุการณ์ความเดือดร้อน จึงแทบไม่มีเรื่องราวความ เสียหายจากมุมมองของ ‘คนใน’ ออกมาให้โลกภายนอกรับรู้เท่าเหตุ

การณ์ที่เกิดขึ้นในญี่ปุ่น ด้วยเหตุนี้ ความช่วยเหลือที่ส่งไปถึงผู้ประสบภัยในพื้นที่เหล่า นั้นจึงล่าช้าจนน่าใจหาย และชะตากรรมของพวกเขากลายเป็น ‘โศก นาฎกรรมที่ไม่มีใครมองเห็น’ อีกทั้งประชาคมโลกก็ไม่กระตือรือร้น ที่จะยื่นมือเข้าช่วยเหลืออย่างที่ควรจะเป็น ดังจะเห็นได้จากกรณีนำ� ท่วมใหญ่ในปากีสถานซึ่งมีผู้ได้รับผลกระทบนับล้านๆ คน แต่ประเทศ มหาอำ�นาจและประชาชนในโลกตะวันตกบางประเทศ ไม่กระตือรือร้น ที่จะให้ความช่วยเหลือแก่ชาวปากีสถาน เพราะมีทัศนคติแง่ลบว่า ดิน แดนปากีสถานเป็นพื้นที่กบดานของกลุ่มก่อการร้ายที่เคลื่อนไหวต่อ ต้านกองทัพนาโตในอัฟกานิสถาน ขณะที่การระดมทุนเพื่อช่วยเหลือ ชาวปากีสถานซึ่งจัดโดยองค์กรการกุศลในบางประเทศก็ถูกจับตา มองเป็นพิเศษจากเจ้าหน้าที่ฝ่ายรัฐ ซึ่งหวาดระแวงว่าเงินที่ได้จากการ บริจาคอาจถูกนำ�ไปใช้สนับสนุน ‘กลุ่มก่อการร้าย’ แทนที่จะส่งไปให้ ผู้ถูกนำ�ท่วมจริงๆ ปรากฏการณ์สำ�คัญอีกประการหนึ่งในช่วงปีที่ผ่านมา คือ การลุกฮือของประชาชนในประเทศแถบแอฟริกาเหนือและตะวัน ออกกลาง เพื่อต่อต้านรัฐบาลหรือประมุขของประเทศและเรียกร้อง ให้เปลี่ยนแปลงการปกครองไปสู่ระบอบประชาธิปไตย ซึ่งสื่อทั่วโลก ขนามนามว่าเป็น ‘การตื่นตัวของโลกอาหรับ’ หรือ Arab Spring ที่ จะนำ�พาความเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่มาสู่ภูมิภาคดังกล่าว การตื่นตัวของโลกอาหรับ เริ่มต้นจากการลุกฮือของประชาชน ชาวตูนีเซีย ในทวีปแอฟริกาเหนือ เพื่อประท้วงขับไล่ ‘ประธานาธิบดี ซีน เอล อาบิดีน เบน อาลี’ ผู้นำ�เผด็จการที่ยึดครองอำ�นาจบริหาร รัฐบาลมานาน 23 ปี แต่ไม่สามารถพัฒนาหรือแก้ปัญหาสังคมได้ อย่างมีประสิทธิภาพ และการลุกฮือขึ้นต่อต้านรัฐบาลได้ลุกลามไป ยังประเทศอื่นๆ ในแอฟริกาเหนือและตะวันออกกลาง ไม่ว่าจะเป็น อียิปต์ เยเมน บาห์เรน โมร็อคโค จอร์แดน ซาอุดิอาระเบีย ซีเรีย และ ‘ลิเบีย’ ตามลำ�ดับเหตุการณ์ดังต่อไปนี้


25

TUNISIA PRESIDENCY / AFP / Getty Images

Fethi Belaid, AFP / Getty Images

Tara Todras - Whitehill, Associated Press

17 December 2010: a Tunisian fruit vendor aged 26 years named ‘Mohamed Bouazizi’ from a small town in the southern part of the country decided to ‘set himself ablaze’ to protest against state officials who confiscated his cart on charge of being ‘without vending license’, for which he deemed as greatly ‘unfair’ for those who lived from hands to mouth like himself. Bouazizi later died in hospital, but his heroic deed was told through wordsof-mouth before spreading to the internet, causing Tunisians with rage not unlike Bouazizi to come out to march on the streets to protest, drive out government leaders, and call for changes in the society.

14 January 2011: Although it appeared that the demonstrations in Tunisia would only grow in intensity of violence due to the use of force by state officials to break up the demonstrations, causing massive casualties, but the people who had come out to show power against the government did not decrease in number, and eventually President Zine El Abidine Ben Ali had to announce his resignation and took a quiet exile to Saudi Arabia.

11 February 2011: The success of the Tunisian people in overthrowing a dictatorial government was named as the ‘Jasmine Revolution’, and a driving force for people in other countries in the Arab World to come together to drive out the political powers who had held on to power for decades. ‘Egypt’ became the 2nd country in which people joined forces to drive out ‘President Hosni Mubarak’ out of the office within 18 days, from the massive protest on 25 January to the resignation on 11 February 2011.

17 ธันวาคม 2553 พ่อค้าผลไม้ชาวตูนีเซีย วัย 26 ปี ‘โม ฮัมเหม็ด บูอาซิซี’ จากเมืองเล็กๆ ทางตอน ใต้ของประเทศ ตัดสินใจ ‘จุดไฟเผาตัวเอง’ เพื่อประท้วงเจ้าหน้าที่รัฐซึ่งยึดผลไม้ที่เขา เตรียมไปขายด้วยข้อหาว่า ‘ไม่มีใบอนุญาต ขายสินค้า’ ซึ่งเป็นสิ่งที่เขามองว่า ‘ไม่เป็น ธรรม’ อย่างยิ่งสำ�หรับคนที่ต้องหาเช้ากินคำ� และบูอาซีซีเสียชีวิตที่โรงพยาบาลในเวลา ต่อมา แต่วีรกรรมของเขาถูกนำ�ไปบอกเล่า ต่อกันแบบปากต่อปาก ก่อนจะกระจายไปสู่ โลกอินเตอร์เน็ต ทำ�ให้ชาวตูนีเซียที่มีความ คับแค้นไม่ต่างจากบูอาซิซีออกมาเดินขบวน บนท้องถนนเพื่อประท้วงขับไล่ผู้นำ�รัฐบาล และเรียกร้องการเปลี่ยนแปลงในสังคม

14 มกราคม 2554 แม้การชุมนุมในตูนีเซียจะทวีความรุน แรงอันเป็นผลจากการที่เจ้าหน้าที่รัฐใช้กำ�ลัง สลายการชุมนุม จนทำ�ให้มีผู้เสียชีวิตและ บาดเจ็บจำ�นวนมาก แต่ผู้คนที่ออกมาแสดง พลั ง ต่ อ ต้ า นรั ฐ บาลกลั บ มิ ไ ด้ ล ดน้ อ ยถอย ลง จนในที่สุดประธานาธิบดีซีน เอล อาบิดีน เบน อาลี ต้องประกาศลาออกจากตำ�แหน่ง และลี้ภัยไปยังประเทศซาอุดิอาระเบียอย่าง เงียบๆ และ ‘โมฮัมเหม็ด บูอาซิซี’ พ่อค้าผล ไม้ผู้จุดไฟเผาตัวเอง ถูกยกย่องให้เป็นวีรบุรุษ ผู้พลีชีพเพื่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในเวลา ต่อมา

11 กุมภาพันธ์ 2554 ความสำ � เร็ จ ของประชาชนตู นี เ ซี ย ที่ สามารถล้มล้างรัฐบาลเผด็จการ ถูกขนาม นามว่าเป็น ‘การปฏิวัติดอกมะลิ’ หรือ Jasmine Revolution และเป็นแรงผลักดันให้ ประชาชนในประเทศโลกอาหรับอื่นๆ ออก มารวมตั ว กั น เพื่ อ ขั บ ไล่ ขั้ ว อำ � นาจทางการ เมืองที่ยึดครองอำ�นาจมายาวนานหลายสิบปี โดย ‘อียิปต์’ เป็นประเทศที่ 2 ที่ประชาชน รวมพลังชุมนุมขับไล่ ‘ประธานาธิบดีฮอสนี มูบารัค’ ออกจากตำ�แหน่งได้สำ�เร็จภายใน เวลา 18 วัน เริ่มตั้งแต่การชุมนุมใหญ่ในวันที่ 25 ม.ค.จนถึงวันที่ 11 ก.พ. 2554


26  WeWatchBook Deep South Photojournalism Issue.

Joe Raedle / Getty Images

Goran Tomasevic / Reuters

22 February - 14 March 2011: People in Yemen, Lebanon, Morocco, Jordan, Bahrain, Syria, and Saudi Arabia gradually came out to gather on the street and called for the government of each country to act by the will of the people. The most violent protest occurred in ‘Libya’, where ‘Col. Muammar Gaddafi’ had held onto power for more than 42 years. There were more than 1,000 deaths, and the clashes then further escalated into a ‘civil war’. There were troops for ministers who defected from Gaddafi to join the protesters who decided to take up arms against the army of the Libyan government.

17 March 2011: The United Nations Security Council (UNSC) voted unanimously for allied forces who were members of the North Atlantic Treaty Organization (NATO) to bring aerial forces to fully attack Gaddafi’s forces under an operation titled ‘Operation Odyssey Dawn’, cited as a humanitarian operation to protect the Libyan civilian lives against the hands of the army of Gadaffi, but many analysts deemed that the attack by foreign forces would cause prolonged fighting in Libya, not unlike what had happened before in Iraq and Afghanistan.

22 กุมภาพันธ์ – 14 มีนาคม 2554 ประชาชนในประเทศเยเมน เลบานอน โมร็อคโค จอร์แดน บาห์เรน ซีเรีย และ ซาอุดิอาระเบีย ทยอยกันออกมาชุมนุมบน ท้องถนนเพื่อเรียกร้องให้รัฐบาลของแต่ละ ประเทศทำ�ตามความต้องการของประชาชน แต่สถานการณ์การประท้วงที่รุนแรงที่สุดเกิด ขึ้นที่ ‘ลิเบีย’ ซึ่ง ‘พ.อ.โมอัมมาร์ กัดดาฟี’ เป็น ผู้นำ�เผด็จการและครองอำ�นาจมานานกว่า 42 ปี ขณะที่ประชาชนและกองกำ�ลังต่อต้าน รัฐบาลลิเบียที่เสียชีวิตมีจำ�นวนมากกว่า 1,000 ราย จนการต่อสู้ถูกยกระดับไปสู่ขั้น ‘สงคราม กลางเมือง’ โดยมีทหารและรัฐมนตรีแปรพักตร์ จากกัดดาฟีมาร่วมมือกับผู้ชุมนุมที่ตัดสินใจ จับอาวุธขึ้นต่อสู้กับกองทัพรัฐบาลลิเบีย

17 มีนาคม 2554 คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชา ชาติ (UNSC) ลงมติเอกฉันท์ให้กองกำ�ลัง ประเทศพันธมิตรที่เป็นสมาชิกขององค์การ สนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (นาโต) นำ� กองกำ�ลังทางอากาศเปิดศึกโจมตีกองทัพ กัดดาฟีอย่างเต็มรูปแบบภายใต้ปฏิบัติการ ชื่อ ‘โอดิสซีย์ ดอว์น’ (Operation Odyssey Dawn) ซึ่งอ้างว่าเป็นปฏิบัติการทาง มนุษยธรรม เพื่อปกป้องประชาชนชาวลิเบีย มิให้เสียชีวิตใต้เงื้อมมือของกองทัพกัดดาฟี แต่นักวิเคราะห์จำ�นวนมากมองว่าการโจมตี ของกองทัพต่างชาติจะทำ�ให้เกิดการสู้รบ ยืดเยื้อในลิเบีย ไม่ต่างจากสิ่งที่เคยเกิดขึ้น ในอิรักและอัฟกานิสถาน


27

Ben Curtis, Associated Press

The movements by people in the Arab World to show power happened spontaneously, causing chills among leaders who had a monopoly on the power to run the country for ages. In some countries e.g. Bahrain, Jordan, and Saudi Arabia, which were still ruled by the monarchy, there had been preparations to consider legal revisions which formerly excluded the people from being involved in determining social policy. Meanwhile, there were also attempts to obstruct access to information of the people, particularly by government of dictatorial states e.g. Tunisia, Egypt, Yemen, and Libya, which had various orders to stop the publication of news and information about the protest in the initial phases to prevent any additional protesters on the street. However, such attempt by the government to block information further caused people to face the actual situation on the streets. The order to shut down anti-government websites caused internet users to rely on online social networks and mobile phones, which were channels of communication and gathering, and also used public spaces in the online world to publicize information about the protest and announce to the outsiders to know their stories at the same time. The protests in the Arab World

became the focus of the interest of the whole world and led to successful change in power in some countries.

ความเคลื่อนไหวเพื่อแสดงพลังของเหล่าประชาชนในโลก อาหรับเกิดขึ้นอย่างเฉียบพลัน ทำ�ให้บรรดาผู้นำ�ที่ผูกขาดอำ�นาจใน การบริหารประเทศมาอย่างยาวนานรู้สึกหนาวๆ ร้อนๆ โดยในบาง ประเทศ เช่น บาห์เรน, จอร์แดน และซาอุดิอาระเบีย ซึ่งยัง ปกครองในระบอบกษัตริย์ เริ่มมีการขยับตัวเตรียมพิจารณาแก้ไข กฎหมายซึ่งเคยกีดกันประชาชนออกไปจากการมีส่วนร่วมในการ กำ�หนดนโยบายสังคม แต่ขณะเดียวกันก็มีความพยายามที่จะปิด กั้นการรับรู้และการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของประชาชน โดยเฉพาะ รัฐบาลของประเทศที่ปกครองแบบเผด็จการ เช่น ตูนีเซีย, อียิปต์, เยเมน และลิเบีย ซึ่งมีการออกคำ�สั่งในรูปแบบต่างๆ เพื่อระงับการ เผยแพร่ข้อมูลและข่าวสารเกี่ยวกับการชุมนุมประท้วงในช่วงแรกๆ เพื่อป้องกันไม่ให้คนออกมาชุมนุมบนท้องถนนเพิ่มเติม ทว่า ความพยายามปิดกั้นข้อมูลของรัฐบาลกลับยิ่งทำ�ให้ผู้ คนออกมาเผชิญเหตุการณ์จริงบนท้องถนนมากขึ้น และการสั่งปิด เว็บไซต์ผู้ต่อต้านรัฐบาลส่งผลให้ผู้ใช้อินเตอร์เน็ทหันไปพึ่งพาเครือ ข่ายทางสังคมออนไลน์และโทรศัพท์มือถือเป็นช่องทางสื่อสาร ทั้งยัง ใช้พื้นที่สาธารณะในโลกออนไลน์ในการเผยแพร่ข้อมูลการชุมนุม และประกาศให้คนภายนอกได้รับรู้ถึงเรื่องราวที่เกิดขึ้น กระทั่งการ ประท้วงในโลกอาหรับกลายเป็นที่สนใจของคนทั่วโลก และนำ�ไปสู่การ เปลี่ยนแปลงขั้วอำ�นาจในบางประเทศได้สำ�เร็จ


28


29

The Media Community during the 2010 Disasters in the Deep South (ประชาคมสื่อชายแดนใต้ ในสถานการณ์ภัยพิบัติ 2553)

Editorial | กองบรรณาธิการ

During the past year, Thailand is one of the areas that were affected by natural disasters. Many provinces in the North and the Northeast faced flooding, as well as some provinces in the south where heavy rain fell over many consecutive days, causing torrential flood, riverbank overflows, flash floods with water level over 2 meters in certain areas, followed by landslides over houses and farmlands. In the 3 southern border provinces, heavy rain fell consecutively for many days. On 1 November 2010, the winds then changed to a ‘depression’, blowing seawater to destroy houses, causing massive damages overnight. The entire city’s power supply was cut and the communication system was inoperable. The dark day and night went on through the rain and the winds that raged until nearly dawn. In the next morning, survey of the damages then began. It was found that many areas were deeply inundated, roads were damaged, houses on the coastline of the Pattani Bay in many communities were reduced to pillars, traditional fishing equipments were swept out to the sea, many mosques were flooded and could not host religious activities, seawater flooded rice fields, while salt farms in which the villagers had accumulated their produce for years were all washed away. Large trees were blown off their roots by winds, destroying homes while the number of deaths started to rise. The elderly villagers in the area could not explain that happened, as it was something that was never be-

fore experienced. Some said that the phenomenon was a ‘small tsunami’, some said that it was a ‘storm surge’, while others said that it was the ‘bara’ or the will of God.

ช่วงปีที่ผ่านมา ประเทศไทยเป็นหนึ่งในพื้นที่ได้รับผลกระทบ จากภัยพิบัติทางธรรมชาติ หลายจังหวัดทางแถบภาคเหนือและภาค อีสานประสบปัญหาอุทกภัย เช่นเดียวกับพื้นที่จังหวัดภาคใต้ หลาย พื้นที่เกิดฝนตกหนักติดต่อกันหลายวัน ส่งผลให้นำ�ป่าไหลหลาก นำ� ล้นตลิ่ง นำ�ท่วมสูงฉับพลัน บางพื้นที่ท่วมสูงกว่า 2 เมตร ตามมา ด้วยปัญหาดินถล่มทับบ้านเรือนผู้คนและเรือกสวนไร่นา ขณะที่พื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ก็เกิดฝนตกหนัก หลายวัน จนกระทั่งวันที่ 1 พฤศจิกายน 2553 กระแสลมได้แปร สภาพไปเป็น ‘พายุดีเปรสชั่น’ ซัดคลื่นนำ�ทะเลเข้าทำ�ลายบ้านเรือน โดยเพียงชั่วข้ามคืนได้ก่อให้เกิดความเสียหายอย่างหนัก ระบบไฟฟ้า ทั้งเมืองถูกตัด รวมถึงระบบการสื่อสารไม่สามารถใช้การได้ วั น คื น มื ด มิ ด ผ่ า นไปท่ า มกลางพายุ ฝ นและคลื่ น ลมที่ โ หม กระหนำ�ตลอดคืนจนเกือบรุ่งสาง เช้าวันถัดมาเริ่มมีการออกสำ�รวจ ผลกระทบที่เกิดขึ้น พบว่าหลายพื้นที่ถูกนำ�ท่วมสูง ถนนได้รับ ความเสียหาย บ้านริมฝั่งทะเลรอบอ่าวปัตตานีหลายชุมชนเหลือ แต่ตอเสา เครื่องมือประมงพื้นบ้านถูกคลื่นนำ�ซัดหายไปกับทะเล มัสยิดหลายแห่งถูกนำ�ท่วมไม่สามารถประกอบศาสนกิจได้ นำ�เค็ม ทะลักเข้านาข้าว ส่วนนาเกลือที่ชาวบ้านสั่งสมผลผลิตมาเป็นปีๆ ละลายหายไปเกือบหมด ต้นไม้ใหญ่ถูกแรงลมพัดถอนรากถอนโคน โค่นล้มทับบ้านเรือนพังทลาย ขณะที่ตัวเลขผู้เสียชีวิตเริ่มปรากฎ เพิ่มมากขึ้น ชาวบ้านผู้สูงอายุในพื้นที่ไม่อาจอธิบายได้ว่าเกิดอะไรขึ้น เพราะไม่เคยเจอเหตุการณ์เช่นนี้มาก่อน ขณะที่บางคนเรียกว่าเป็น ‘สึนามิน้อย’ บางคนว่าเป็น ‘คลื่นพายุหมุนยกซัดฝั่ง’ (Storm Surge) บ้างก็ว่าถูก ‘บารา’ อันเป็นประสงค์ของพระเจ้า


30  WeWatchBook Deep South Photojournalism Issue.

Doloh Jehtae (Datoh’s villager)


31

However, after return to normalcy, the ‘Deep South Civil Societies Network’, e.g. the Pattani Bay Conservation Network, the Local Fisheries Network, the Resources Conservation Network, the Secure Land and Housing Network, the Community of Faith (Kampung Takwa), etc. assessed and establish the data system on the damages and created a network for provision of assistance. Meanwhile, academics from Prince of Songkla University Pattani Campus set up teams to survey the damages in communities that were former research bases, bringing along supplies and potable water to provide initial relief to the victims. Meanwhile, the ‘Deep South Media Network’ started in communicate the stories and the updates to the public through the video clip ‘Storm Blast at Ruesa Milae, Pattani’ (1), one of the post-disaster reports produced by InSouth, followed by ‘After the Storm in Ruesa Milae’ (2) , ‘Students Helping Disaster Victims’ (3), and ‘Pulse-ometer of ‘Humanitarianism’ (4), which told the story of the damages at Baan Dato, Yaring District, Pattani Province, that was not even left with rice cookers to make meals. Meanwhile, Southern Peace Media reported on ‘SelfManagement of Deep South Communities after the Floods Crisis’ (5), telling the story of the conservation group at Baan Bang Tawa, Paka Harang Sub-district, Pattani Province, and rationing of the limited number of relief supply bags to everyone in the community. Furthermore, SingFireWire, one of the WeWatch team, made a report on the ‘Words of the People of Dato’ (6), relaying the experiences of the critical minutes during which people had to fight the torrents to evade death. As for the ‘Deep South Photographers Network’ who was holding a news photos exhibition in Yala Province at the same time as when the storm started to blow into the southern provinces. After the storm, DSP then collaborated with Deep South Watch and the Deep South Civil Societies Media Network to adjust the area and conducted its mission as the ‘Ad hoc Center for Coordination of Relief to Victims in the Deep South’. DSP went into the area to record scenes of the disaster, surveyed the damage, and communicated and connected assistance from local level to national level (7).

Within days, photos of the damage taken by local photographers were published through online social networks and were relayed until the society started to be aware of the situation.

อย่างไรก็ตาม ภายหลังเหตุการณ์สงบ ‘เครือข่ายภาคประชา สังคมชายแดนใต้’ อาทิ เครือข่ายอนุรักษ์อ่าวปัตตานี เครือข่าย ประมงพื้นบ้าน เครือข่ายอนุรักษ์ทรัพยากร เครือข่ายที่ดิน บ้าน มั่นคง ชุมชนศรัทธา (กัมปงตักวา) ฯลฯ ได้มีการประมวลและจัด ระบบข้อมูลความเสียหายและสร้างเครือข่ายการให้ความช่วยเหลือ ส่วนเครือข่ายนักวิชาการของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ก็จัดแบ่งทีมย่อยลงสำ�รวจความเสียหายในชุมชน ที่เป็นฐานการวิจัยเดิม พร้อมกับนำ�ถุงยังชีพและนำ�ดื่มสะอาดเข้าไป ช่วยเหลือผู้ประสบภัยเป็นการเบื้องต้น ขณะเดียวกัน ‘เครือข่ายสื่อชายแดนใต้’ ก็ได้สื่อสารเรื่องราว สิ่งที่เกิดขึ้นออกไปสู่สาธารณะ โดยคลิปวีดีโอ ‘พายุถล่มที่รูสะมิแล ปัตตานี’ (1) ถือเป็นรายงานข่าวสถานการณ์หลังภัยพิบัติชิ้นแรกๆ ที่ จัดทำ�โดยกลุ่ม In South ตามต่อด้วยบันทึกการสำ�รวจสภาพความ เสียหาย ‘หลังพายุถล่มที่รูสะมิแล’ (2) ‘นักศึกษาออกโรงช่วยเหลือผู้ ประสบภัย’ (3) และ ‘เครื่องวัดชีพจรหัวใจมนุษยธรรม’ (4) ที่บอกเล่า ความเสียหายของชุมชนบ้านดาโต๊ะ อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี ที่ไม่มีแม้ หม้อจะหุงข้าวกิน ขณะที่กลุ่ม Southern Peace Media รายงาน ข่าว ‘การจัดการกันเองของชุมชนชายแดนใต้หลังวิกฤตนำ�ท่วม’ (5) บอกเล่าถึงกลุ่มอนุรักษ์บ้านบางตาวา ต.ปะกาฮารัง จ.ปัตตานี กับ การจัดการถุงยังชีพที่ได้รับบริจาคมาอย่างจำ�กัดให้ทั่วถึงทุกคนใน ชุมชน นอกจากนี้ SingFireWire หนึ่งในทีม WeWatch ได้รายงาน ‘คำ�บอกเล่าของชาวดาโต๊ะ’ (6) ซึ่งถ่ายทอดประสบการณ์ในนาทีชีวิต ของชาวบ้านที่ต้องฝ่ากระแสนำ�หนีตาย ในส่วน ‘เครือข่ายช่างภาพชายแดนใต้’ ซึ่งรวมตัวกันจัด นิทรรศการภาพข่าวอยู่ที่จังหวัดยะลาในช่วงเวลาเดียวกับที่พายุ เริ่มกระหนำ�เข้ามาในพื้นที่จังหวัดภาคใต้ ภายหลังพายุสงบลงก็ได้ เข้าร่วมมือกับศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้และเครือข่ายสื่อ ภาคประชาสังคมชายแดนใต้ ปรับพื้นที่เพื่อปฏิบัติภารกิจในฐานะ ‘ศูนย์เฉพาะกิจประสานความช่วยเหลือผู้ประสบภัยชายแดนใต้’ โดยเครื อ ข่ า ยช่ า งภาพได้ ก ระจายกั น ลงพื้ น ที่ เ พื่ อ บั น ทึ ก ภาพภั ย พิบัติ พร้อมกับสำ�รวจความเสียหายที่เกิดขึ้น และหลังจากนั้นได้ ประสานการทำ�งานไปยังเครือข่ายสื่อกระแสหลักที่ส่วนกลางใน กรุงเทพมหานคร เพื่อขยายการสื่อสารและเชื่อมต่อการช่วยเหลือ จากระดับท้องถิ่นไปสู่ระดับประเทศ (7) เพียงไม่กี่วัน ภาพความเสียหายซึ่งถ่ายโดยช่างภาพในพื้นที่ ถูกนำ�มาเผยแพร่ผ่านเครือข่ายสื่อสังคมออนไลน์ (Social network) และได้ถูกส่งต่อๆ กันจนสังคมเริ่มรับรู้ถึงสถานการณ์ที่เกิดขึ้น


32  WeWatchBook Deep South Photojournalism Issue.

Mahamayakee Waresoo (Freelance Photographer)

Ibrohem Masoh (Alternative Media)


33 

Abdolraman Sailamu (Alternative Media)


34  WeWatchBook Deep South Photojournalism Issue.

Mumadsoray Deng (Freelance Photographer)

Paozi Jukenglulae (Alternative Media)


35 

Chairat Jirojmontree (Alternative Media)

Ibrohem Masoh (Alternative Media)


36  WeWatchBook Deep South Photojournalism Issue.

Kaosar Aleemama (Volunteer)

Hafiz Yapa (Freelance Photographer)


37 

Weerawong Wongpreedee (Press Photographer)

Piyasak Ausup (Alternative Media)


38  WeWatchBook Deep South Photojournalism Issue.

Mumadsoray Deng (Freelance Photographer)

Charoon Thongnual (Press Photographer)


39 

Surachai Waiyawannajit (Academic)

Daungyewa Utarasint (Academic)

Weerawong Wongpreedee (Press Photographer)


40  WeWatchBook Deep South Photojournalism Issue.

Gooyee Etae (Alternative Media)

Piyasak Ausup (Alternative Media)


41

Muhamad Dueramae (Alternative Media)

‘Records of the Disaster in the Deep South’ Exhibition at Dato Village, Pattani (27 Nov.2010)


42  WeWatchBook Deep South Photojournalism Issue.

Mr. Supoj Jingchitra, Senior Editor and Director of the Deep South Journalism School (DSJ), said that in times of crises such as these, photographs or video clips from the scene would serve as key initial information for each organization or agency could use for decision-making to provide relief in a timely manner. The local media network would play a key role in guiding and directing other media networks and mainstream media. However, by the unique characteristics of the Deep South which had been under a long state of conflict and unrest, as well as the natural phenomenon being different from those that occurred in the past, the ‘Ad hoc Center for Coordination of Relief to Victims in the Deep South’ thus mobilized its mission in 2 separate directions simultaneously. On one hand, the Deep South Photographers Network announced a collection of news photographs from photojournalists, alternative media photographers, freelance photographers, as well as amateur photographers and laypersons who recorded photographs during the disaster to display in an ad hoc exhibition under the title ‘Records of the Disaster in the Deep South’ to induce

a review of management for monitoring disasters which may occur again in the future and to let the photographs of the Network be a part of further fund-raising activities for the victims. On the other hand, the Ad Hoc Center coordinated with mainstream media, in newspapers and television, as well as Thai PBS, to hold the forum on “Listening ‘Around’ Pattani Bay: Self-Management of Communities After Multiple Crises” in order to connect the state sector, civil societies, religious leaders, and local villagers to help solve the problem together based on the existing strengths and capital of the community. Communities around Pattani Bay were considered to be a multipledisasters zone, with the competition for natural resources between the capitalists and the villagers as the first wave, followed by the wave of violence during the previous 6 years as the second wave, making people in the community have even greater hardship and losing their livelihood in this disaster. The public forum and photographs exhibition were held together on 27 November 2010 at Dato Village, Yaring District, Pattani Province, and the tape recording of

See further "The ‘Records of Disaster’ exhibition" at www.wewatch.in.th (ชมผลงานภาพทั้งหมดพร้อมข้อมูลผู้ถ่ายได้ที่เว็บไซต์ wewatch.in.th)


43

the public forum event was aired on Thai PBS on 4 December 2010. The ‘Records of Disaster’ exhibition was re-displayed at the public relations hall of CS Pattani Hotel until 9 December 2010, and was re-exhibited in the Civil Journalists Assembly at Thammasart Exhibition Center (Rangsit Campus) on 18-19 December 2010. Lessons from the disaster became a test of collaboration between the Deep South Civil Societies Media Network, emphasizing on the roles of ‘local media’ in connecting to the ‘outside media’, and with other partners, for large-scale success which could lead to positive changes.

นายสุพจ จริงจิตร บรรณาธิการโรงเรียนนักข่าวชายแดนใต้ (DSJ) กล่าวว่า ในสถานการณ์ภัยพิบัติเช่นนี้ ภาพถ่ายหรือภาพคลิป วิดีโอจากที่เกิดเหตุจะเป็นข้อมูลเบื้องต้นที่สำ�คัญที่แต่ละองค์กร หรือหน่วยงานใช้ตัดสินใจเข้าไปให้การช่วยเหลือได้อย่างทันท่วงที ทั้งนี้ เครือข่ายสื่อในพื้นที่จะมีบทบาทสำ�คัญในการนำ�ทางและชี้เป้า ให้เครือข่ายสื่ออื่นๆ รวมทั้งสื่อกระแสหลักได้ อย่างไรก็ตาม ด้วยลักษณะเฉพาะของพื้นที่จังหวัดชายแดน ภาคใต้ที่อยู่ภายใต้สถานการณ์ความขัดแย้งและความไม่สงบมา ยาวนาน รวมไปถึงภัยพิบัติทางธรรมชาติที่แตกต่างไปจากอดีตที่ผ่าน มา ‘ศูนย์เฉพาะกิจประสานความช่วยเหลือผู้ประสบภัยชายแดนใต้’ จึงขับเคลื่อนภารกิจ 2 ทางพร้อมกัน ด้านหนึ่ง ‘เครือข่ายช่างภาพชายแดนใต้’ ประกาศรวบรวม ภาพถ่ายจากช่างภาพสื่อมวลชน ช่างภาพสื่อทางเลือก ช่างภาพ อิสระ รวมไปถึงช่างภาพสมัครเล่น และประชาชนทั่วไปที่ได้เก็บ บันทึกภาพถ่ายในช่วงประสบภัยไว้ เพื่อนำ�มาจัดแสดงนิทรรศการ เฉพาะกิจในหัวข้อ ‘บันทึกภัยพิบัติจังหวัดชายแดนใต้’ ทั้งนี้ เพื่อ จุ ด ประเด็ น ให้ เ กิ ด การทบทวนในการจั ด การเพื่ อ เฝ้ า ระวั ง สถาน การณ์ภัยพิบัติที่อาจจะเกิดขึ้นอีกในอนาคต และเพื่อให้ภาพถ่าย ของเครือข่ายฯ เป็นส่วนหนึ่งของการระดมความช่วยเหลือเยียวยา แก่ผู้ประสบภัยต่อไป

อีกด้านหนึ่ง ได้ประสานงานกับเครือข่ายสื่อส่วนกลาง ทั้ง หนังสือพิมพ์และโทรทัศน์ รวมถึงทีวีสาธารณะทีวีไทย เพื่อมาร่วม จัดเวทีสาธารณะหัวข้อ “ฟังความ ‘รอบ’ อ่าวปัตตานี : การจัดการ ตัวเองของชุมชนหลังภัยพิบัติซำ�ซ้อน” เพื่อเชื่อมภาครัฐ ภาคประชา สังคม ผู้นำ�ศาสนา และชาวบ้านในพื้นที่ เพื่อจะได้ร่วมกันแก้ปัญหา บนฐานจุดแข็งและทุนเดิมของชุมชนที่มีอยู่ ทั้งนี้ ชุมชนรอบอ่าว ปัตตานีนั้น ถือว่าได้รับภัยพิบัติซำ�ซ้อนจากการแย่งชิงทรัพยากร ธรรมชาติระหว่างนายทุนกับชาวบ้านเป็นคลื่นลูกแรก ยังต้อง เผชิญชะตากรรมในคลื่นความรุนแรงของสถานการณ์ความไม่สงบ ช่วง 6 ปีที่ผ่านมา ทำ�ให้คนในชุมชนยิ่งลำ�บากจนหมดเนื้อหมดตัว ในภัยพิบัติครั้งนี้ เวทีสาธารณะและนิทรรศการภาพถ่ายฯ ถูกจัดขึ้นเมื่อวัน ที่ 27 พฤศจิกายน 2553 ณ บ้านดาโต๊ะ อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี และ เทปบันทึกรายการเวทีสาธารณะถูกนำ�ไปออกอากาศทางสถานี โทรทัศน์ทีวีไทย เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2553 หลังจากนั้น ในส่วน นิทรรศการฯ ถูกนำ�ไปจัดแสดงต่อที่ลานประชาสัมพันธ์ โรงแรม ซี.เอส.ปัตตานี จนถึงวันที่ 9 ธันวาคม 2553 และนำ�ไปจัดแสดงอีก ครั้งในงานชุมนุมนักข่าวพลเมือง ณ ศูนย์การประชุมธรรมศาสตร์ (รังสิต) ในวันที่ 18-19 ธันวาคม 2553 บทเรียนจากภัยพิบัติครั้งนั้น ได้เข้ามาเป็นบททดสอบการ ทำ�งานร่วมกันระหว่างเครือข่ายสื่อภาคประชาสังคมชายแดนใต้ โดยยำ�เตือนเรื่องบทบาทหน้าที่ของ ‘สื่อในพื้นที่’ เชื่อมกับ ‘สื่อ นอกพื้นที่’ ทั้งยังต้องประกอบด้วยภาคีต่างๆ จึงจะก่อให้เกิดผล สำ�เร็จในวงกว้าง อันนำ�ไปสู่การเปลี่ยนแปลงเชิงบวกได้

Remark: ‘Records of the Disaster in the Deep South’ Exhibition can be visited online at (wewatch.in.th) (1) “Storm Blast at Ruesa Milae, Pattani”, InSouth. 2 November 2010. http://www.deepsouthwatch.org/node/1073 (2) “After the Storm in Ruesa Milae”, InSouth. 2 November 2010. http://www.deepsouthwatch.org/node/1074 (3) “Students Helping Disaster Victims” InSouth. 9 November 2010. http://www.deepsouthwatch.org/node/1109 (4) “Pulse-o-meter of ‘Humanitarianism’’, InSouth. 10 November 2010. http://www.deepsouthwatch.org/node/1113 (5) “Self-Management of Southern Communities after the Floods Crisis”, SouthernPeaceMedia. 7 November 2010. http://www.deepsouthwatch.org/node/1097 (6) “Words of the People of Dato”, SingFireWire. 9 November 2010. http://www.deepsouthwatch.org/node/1108 (7) “Records of the Disaster in the Deep South Nov.2010”, WeWatch http://www.deepsouthwatch.org/node/1602


Nakharin Chinnawornkomol (EPA / Nation Group, Yala)


45

Assessing 'the Truth' and 'Deep South News Images' How shall we Deal with the Violence? (พินิจพิเคราะห์ 'ความจริง' กับ 'ภาพข่าวชายแดนใต้' เราจะจัดการความรุนแรงอย่างไร?) Remark: Arranged from an article published in Khao Sod Newspaper, 7 November 2010 edition, and Matichon Newspaper, 14 November 2010 edition.

เรียบเรียงจากบทความที่ตีพิมพ์ใน หนังสือพิมพ์ข่าวสด ฉบับวันที่ 7 พ.ย. 53 และ หนังสือพิมพ์มติชน ฉบับวันที่ 14 พ.ย. 53

Before the storm hit the south and inundated many cities overnight, a movement was happening in the 'red zone' with mobilization through the 'Deep South Photographers Network', a gathering of media photographers, alternative media photographers, independent photographers, and civil society workers and local academics who enjoy photography. The brainstorming of the parties above resulted in the 'Deep South News Photographs' Exhibition at the public park inside the White Elephant Ceremonial Ground, Yala Municipality, on 30-31 October 2010, before moving to the TK-PARK learning park on 14 November. The main objective of this exhibition was to use a wide variety of photographs, i.e. photos of the unrest, photos of the beautiful local culture and nature, as well as photos of the way of life that looks so familiar that it becomes commonplace, but all have 'meanings' that can reflect 'reality' of the lives of people in the 3 southern border provinces directly through the viewpoint of those who are known to be the 'insiders'.

ก่อนพายุจะซัดกระหนำ�ภาคใต้จนหลายเมืองจมนำ�เพียง ข้ามคืน มีความเคลื่อนไหวบางอย่างเกิดขึ้นใน ‘พื้นที่สีแดง’ โดยมี แรงขับเคลื่อนผ่าน ‘เครือข่ายช่างภาพชายแดนใต้’ ซึ่งเป็นการรวม ตัวกันระหว่างช่างภาพสื่อมวลชน ช่างภาพสื่อทางเลือก ช่างภาพ

อิสระ รวมไปถึงคนทำ�งานภาคประชาสังคม และนักวิชาการใน พื้นที่ที่นิยมชมชอบในงานถ่ายภาพ ผลของการระดมความคิดก่อให้เกิดนิทรรศการ ‘ภาพข่าว จังหวัดชายแดนใต้’ ที่สวนสาธารณะภายในสนามโรงพิธีช้างเผือก เทศบาลนครยะลา เมื่อวันที่ 30-31 ตุลาคม ก่อนจะย้ายไปจัด แสดงต่อที่อุทยานการเรียนรู้ยะลา TK-PARK จนถึงวันที่ 14 พฤศจิกายน ปีที่ผ่านมา โดยจุดมุ่งหมายสำ�คัญของนิทรรศการครั้งนี้ คือ ใช้ภาพ ถ่ายที่หลากหลาย ทั้งภาพเหตุการณ์ความไม่สงบ ภาพวัฒนธรรม ท้องถิ่น และธรรมชาติอันงดงาม รวมถึงภาพวิถีชีวิตที่ดูชินตาราวกับ เป็นเรื่องธรรมดา แต่ล้วนมี ‘ความหมาย’ ที่สามารถสะท้อน ‘สภาพ ความเป็นจริง’ ให้เห็นการดำ�รงอยู่ของคนในสามจังหวัดชายแดน ภาคใต้ อย่างตรงไปตรงมา ผ่านมุมมองของผู้ที่ได้ชื่อว่า ‘คนใน’ 'Assist.Prof.Dr.Srisompob Jitpiromsri', Director of Deep South Watch (DSW), a think tank based at Prince of Songkla University Pattani Campus, commented on the need to organize the Exhibition. Jitpiromsri said that the photographers who worked and lived in the red zones were the 'insiders' who could take pictures to reflect the truth from the 2 sides of the society, both in term of the situation of violence, and images of the way of life, society, and humanity of people in the area, which were the point that most people failed to see. Thus news images, as 'eyewitnesses' of the things


46  WeWatchBook Deep South Photojournalism Issue.

that happen in the red zone, cannot be presented only in the beautiful aspects, as the 'violence' actually happened in the area, but their photographs would reflect the 'moment of truth' by the international definition of news recording, which can be presented in many aspects, and some images may instigate the questioning process in the society. 'Yusin Jintabhakorn' Deputy Mayor for Yala City Municipality, said that the atmosphere and the emotions of the people that appeared in photographs in the exhibition reflected the identity and the lives of people in the deep south. For example, he was impressed by an image of a Muslim boy who was looking through a bullet hole at the Al-Furqan Mosque in Ai-Payer Village, Choairong District, Narathiwat Province, after the shooting incident which killed 10 people and injured 20 people who were praying inside. The eyes of the boy were filled with doubts, in the same way as the society questions why the violence happens in the south to no end. Meanwhile, there are images of hope and helping hands of people in the area, whether it's the image of the Hari Raya (Eid il-Fidri) celebration which is the Muslim new year, or the Hayat prayer for peace in the area, which reflect that people in the deep south wish for peace and try to bring the society back towards peace together. Likewise, 'Yasmi Ma', student at the Boromarajonani College of Nursing Yala, said that some of the images were what she could see in her daily lives, but she was impressed when she saw them. For example, the photograph entitled 'Coming Home', an image of villagers sitting all over the back of a pick-up truck to return home, reflected the way of life in the deep south in which members of a community must take care of each other as the public transportation in the area still did not facilitate. If anyone wishes to go anywhere, an appointment would have to be made and a ride would have to be taken from a neighbor's vehicle altogether. While 'Noree Saengraya', public relations officer

at Yala Rajabhat University, another exhibition audience, said that many images showed interesting details about the 'violent area' and it was something that the 'people from the capital' should have a chance to see, as it reflected a wide variety of perspectives, yet created sympathy without partisanship. It could be seen that everyone was doing their own duty, whether it was the state officials whose job was to face the violence, as well as the villagers who had to live amidst unrest and uncertainty of events, allowing the reflections of the living conditions of the people to be close to those found in reality.

‘ผศ.ดร.ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี’ ผู้อำ�นวยการศูนย์เฝ้าระวัง สถานการณ์ชายแดนภาคใต้ (Deep South Watch) มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี กล่าวถึงความจำ�เป็นของการจัด นิทรรศการภาพข่าวฯ โดยระบุว่า ช่างภาพซึ่งทำ�งานและใช้ชีวิต อยู่ในพื้นที่สีแดง คือ ‘คนใน’ ซึ่งจะช่วยให้ภาพถ่ายสะท้อนความ เป็นจริงทั้งสองด้านของสังคมได้ ทั้งในส่วนที่เป็นสถานการณ์ความ รุนแรง และภาพวิถีชีวิตในเชิงวัฒนธรรม เชิงสังคม และความเป็น มนุษย์ของคนในพื้นที่ ซึ่งเป็นจุดที่คนส่วนใหญ่โดยทั่วไปยังมองไม่ เห็น ด้วยเหตุนี้ การบันทึกภาพข่าวในฐานะที่เป็น ‘ประจักษ์ พยาน’ ของสิ่งที่เกิดขึ้นในพื้นที่สีแดง จึงมิอาจนำ�เสนอแต่แง่มุมที่ งดงาม เพราะมี ‘ความรุนแรง’ เกิดขึ้นจริงในพื้นที่ แต่ภาพถ่ายที่ สะท้อนให้เห็นถึง ‘เสี้ยวแห่งสัจจะ’ หรือ Moment of truth ตาม คำ�นิยามของการบันทึกภาพข่าวตามหลักสากล สามารถนำ�เสนอ ได้ในหลากหลายแง่มุม และภาพบางภาพอาจกระตุ้นให้เกิดการตั้ง คำ�ถามขึ้นในสังคมอีกด้วย ‘ยู่สิน จินตภากร’ รองนายกเทศมนตรีเทศบาลนครยะลา กล่าวว่า บรรยากาศและอารมณ์ของผู้คนที่ปรากฏในภาพถ่ายที่ จัดแสดงในนิทรรศการสะท้อนถึงอัตลักษณ์และความเป็นอยู่ของ ผู้คนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ และยกตัวอย่างภาพที่ตนประทับใจ เช่น ภาพเด็กชายชาวมุสลิมคนหนึ่งกำ�ลังจ้องมองผ่านรูกระสุนบน กระจกมัสยิดอัลฟุรกอน บ้านไอร์ปาแย อำ�เภอเจาะไอร้อง จังหวัด นราธิวาส จากเหตุการณ์กราดยิง ซึ่งทำ�ให้ผู้ที่กำ�ลังละหมาดอยู่ ด้านในเสียชีวิต 10 รายและบาดเจ็บอีก 12 ราย แววตาของเด็กชายในภาพเต็มไปด้วยความสงสัย เช่นเดียว กับที่คนในสังคมก็อาจตั้งคำ�ถามว่า เพราะเหตุใดความรุนแรงจึง เกิดขึ้นในพื้นที่ชายแดนใต้อย่างไม่จบสิ้น แต่ในขณะเดียวกันก็ยังมี


47

ภาพแห่งความหวังและความร่วมแรงร่วมใจของคนในพื้นที่ ไม่ว่า จะเป็นภาพการเฉลิมฉลองวันฮารีรายอ ซึ่งถือเป็นวันขึ้นปีใหม่ของ ชาวมุสลิม หรือภาพของการสวดฮายัต เพื่อขอให้เกิดความสงบ สุขในพื้นที่ สะท้อนให้เห็นว่าผู้คนในจังหวัดชายแดนใต้ต้องการ ความสงบสุขและมีความพยายามที่จะนำ�สังคมกลับสู่ภาวะปกติ สุขร่วมกัน เช่นเดียวกับที่ ‘ยาซมี มะ’ นักศึกษาวิทยาลัยพยาบาล บรมราชชนนี ยะลา ระบุว่า ภาพบางภาพเป็นสิ่งที่พบเห็นได้ทั่วไป ในชีวิตประจำ�วัน แต่เห็นแล้วรู้สึกประทับใจ โดยยกตัวอย่างภาพ ‘กลับบ้าน’ ซึ่งเป็นภาพชาวบ้านนั่งอยู่เต็มท้ายรถกระบะเพื่อเดิน ทางกลับบ้าน สะท้อนให้เห็นถึงการใช้ชีวิตในสังคมชายแดนใต้ที่ ต้องคอยดูแลคนในชุมชนด้วยกันเอง เนื่องจากระบบขนส่งมวลชน ในพื้นที่ยังไม่เอื้ออำ�นวยเพียงพอ หากใครต้องการไปไหนมาไหน จึงจำ�เป็นต้องมีการนัดแนะและอาศัยนั่งท้ายรถของเพื่อนบ้านไป พร้อมๆ กัน ขณะที่ ‘โนรี แสงรายา’ เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ สถาบัน ราชภัฎยะลา ผู้เข้าชมนิทรรศการอีกคนหนึ่ง ระบุว่า ภาพหลายภาพ ทำ�ให้เห็นรายละเอียดที่น่าสนใจเกี่ยวกับ ‘พื้นที่ความรุนแรง’ และ เป็นสิ่งที่ ‘คนส่วนกลาง’ น่าจะมีโอกาสได้มาเห็น เพราะเป็นการ ถ่ายทอดมุมมองที่หลากหลาย แต่ดูแล้วเกิดความรู้สึกเห็นอกเห็นใจ โดยไม่แบ่งแยกฝักฝ่าย เพราะจะเห็นได้ว่าทุกคนต่างทำ�หน้าที่ของ ตัวเอง ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายเจ้าหน้าที่รัฐซึ่งต้องเผชิญกับความรุนแรง โดยหน้าที่ รวมถึงชาวบ้านที่ต้องใช้ชีวิตอยู่ท่ามกลางความไม่สงบ และความไม่แน่นอนของเหตุการณ์ ทำ�ให้เห็นภาพความเป็นอยู่ของ คนในพื้นที่ได้อย่างใกล้เคียงความเป็นจริง For example, an image of Gooyee Etae, photographer for InSouth, titled 'Passing the Checkpoint', was an image of a local girl riding a motorcycle pass a government security checkpoint, while the operating officials held tactical weapons at ready condition and guarding the entrance. This could induce doubts in the mind of many people on whether such checkpoint should be accepted as a 'normal state' for people in the deep south, or simply a tool to present a state of emergency as claimed by the state, as random checking of people passing by could not reduce the number of incidents, while the layout of obstacles caused criticism on the potential harm that could occur to drivers of the passing vehicles.

While the "Passing the Checkpoint" image may reflect the perspective and thinking of the villagers who had to live amidst enforcement of official regulations, a photograph entitled 'Baked in the Sun' of Amornrath Tangroekwarasakul, freelance photographer from Pattani Province, reflects the humanity, the flesh, the blood and the senses of the officials who man the checkpoints, who have to endure the scorching sun standing next to be vinyl billboard displaying the picture of their superior, the colors of which have faded from the sunlight, while the 'real' officials could still pass a smile to the photographer who was shooting the photo. Generally, people are perfunctory in their consumption of news through the media, making them forget to question the irregularity in the management of the situation of violence. Images of the GT200 scanner can be used as a great case study, as while officials were widely using this almighty expensive machine, photojournalists in the area were trying to observe the working of this instrument through news photographs on many occasions, but it took a long time for the society to start to think and question the agency who approved the purchase. Until today, no one has come out and claim responsibility for such matter, further exacerbating the negative sentiments between the state and the people who have been identified by officials with the machine and became the 'target' for the security sector to 'invite for questioning' at military camps, becoming one of the factors which caused a doubt in the justice system for people in the deep south, even if justice was the best way to build peace in the deep south. Under such state, an image entitled 'Exercise for People in the Deep South' by Abdullah Haji-abu, photographer from the Muslim Attorney Center of villagers participating in a 'mock trial' activity to learn about the justice process and how to conduct themselves when attending a court of law, serves as an image which reflects the attempt of villagers to maintain their deserved rights.


48  WeWatchBook Deep South Photojournalism Issue.

However, presentation of images of the vents and the lives of people in the red zone must have a 'balance of sentiments' and must consider the impact which may occur onto people in the area. 'Nakharin Chinnawornkomol', photojournalist from Nation Multimedia for Yala Province, stated that if there was a violent event, the photographer must inevitably record the event, but must also respect the human rights of affected individuals on all sides. For example, Nakharin's 'Selamat Hari Raya' image, or the image entitled 'Growing' by Fu-at Waesamae, freelance photographer from the Seed, Pattani photography group, helped to reflect the smiles that are still abundant in the area, as well as the attempt by the state to adjust the stance to be more friendly to the people. For example, the image 'In the Mud for Peace" of Tuwaedaniya Murenging, photojournalist for AFP for Pattani Province and Aman News Agency, showed an image of Royal Thai Air Force troops getting into the mud to play tug-of-war with the villagers, showing another effort by the state to create a balance of feeling under a state of conflict that was still on-going. 'Lewis M. Simons', Pulitzer-prize writer for National Geographic Magazine, a member of the foreign media who visited the exhibition, said that the images on display were those of violence as well as those of peace, which probably matched the reality in the deep south and reflected that the majority of the people were wishing for peace. Meanwhile, violent events still happened, and these images recorded the events through the perspective of the photographers who were the locals, which could lead towards change of perception of people in the society. Simons referred to the work of photographers all over the world who came to record the events during the Vietnam War. These photographers recorded pictures which reflected the violence and the brutality of war, impacting the emotions of people across the globe and leading to the movement against the United States government and the pressure to end the War. Thus using photographs to communicate the 'reality' in the area

would help both the insiders and the outsiders of the deep south to understand the situation that was happening and lead to the way for mutual solution. Under the situation of unrest, the lives of people in the area still continue as normal, and many photographs serve as a great reminder that amidst the violence, there are 'insiders' who are matriculately trying to echo what is happening in their community in order to prevent the violence from becoming part of the normal condition, and to remind the 'outsiders' not to consume news of the violence to the point that the efforts of people in the communities to create peace are neglected. If there is to be any process in the name of security or reconciliation in the red zone, these images will be a form of direct communication from people in the area, in order for all sides relevant to solving the problem to thoroughly understand the developments without only choosing only a certain viewpoint. In an area of unrest, there are not only the 'victims' and the 'heroes', but the 'humanity' of people in the area to be considered as well.

ตัวอย่างภาพของ ‘กูยิ อีแต’ ช่างภาพกลุ่ม In South ที่ใช้ ชื่อภาพว่า ‘ผ่านด่าน’ เป็นภาพหญิงสาวชาวบ้านขี่มอเตอร์ไซค์ ผ่านช่องทางตรวจค้นของฝ่ายความมั่นคง ขณะที่เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติ งานถืออาวุธสงครามสภาพพร้อมใช้งานยืนคุมเชิงอยู่ด้านหน้าทาง เข้า สามารถสะกิดข้อคาใจของใครต่อใครว่า การตั้งด่านเช่นนี้ควร ถูกยอมรับให้เป็น ‘ภาวะปกติ’ ของคนในพื้นที่สามจังหวัดหรือไม่ หรือเป็นเพียงเครื่องแสดงถึงภาวะฉุกเฉินที่ฝ่ายรัฐใช้ประกาศอ้าง ในเมื่อการสุ่มตรวจค้นผู้คนที่ผ่านไปมาไม่สามารถลดปริมาณการ ก่อเหตุลงได้ ขณะที่การจัดวางเครื่องกีดขวางก็ยังเป็นประเด็นให้ วิพากษ์วิจารณ์ถึงความไม่ปลอดภัยที่อาจเกิดกับผู้ขับขี่ยานพาหนะ ภาพผ่ า นด่ า นอาจสะท้ อ นมุ ม มองและความนึ ก คิ ด ของ ชาวบ้ า นผู้ ต้ อ งอยู่ ท่ า มกลางบรรยากาศการบั ง คั บ ใช้ ก ฎระเบี ย บ ของทางการ แต่ภาพในอีกด้านหนึ่งซึ่งใช้ชื่อว่า ‘ตากแดด’ ของ ‘อมรรัตน์ ตั้งฤกษ์วราสกุล’ ช่างภาพอิสระ จังหวัดปัตตานี ก็สะท้อน ให้เห็นความเป็นมนุษย์มีเลือดมีเนื้อและมีหนาวมีร้อนของเจ้าหน้าที่ ผู้ปฏิบัติงานประจำ�ด่านตรวจ ที่ต้องยืนหน้าดำ�ตากแดดตากลม อยู่ ข้างป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ซึ่งมีรูปผู้บังคับบัญชาที่ถูกแดดเผาจนสี


49

ซีดจาง แต่เจ้าหน้าที่ ‘ตัวจริง’ ก็ยังส่งสายตาหวานให้ตากล้องสาว บันทึกภาพได้ การรับรู้ข่าวสารจากสื่อโดยทั่วไป ที่ผู้คนมักเลือกเสพข่าว อย่างฉาบฉวย ทำ�ให้หลงลืมที่จะตั้งคำ�ถามถึงความไม่ชอบมาพากล กับการจัดการภายใต้สถานการณ์ความรุนแรง และภาพเครื่องตรวจ จับวัตถุระเบิด GT200 สามารถใช้เป็นกรณีศึกษาได้อย่างดี เพราะ ในช่วงที่เจ้าหน้าที่ยังใช้งานเครื่องมือแสนแพงนี้อย่างแพร่หลาย ช่างภาพข่าวในพื้นที่ได้พยายามตั้งข้อสังเกตถึงการทำ�งานของเจ้า เครื่องมือชิ้นนี้ผ่านภาพข่าวหลายต่อหลายครั้ง แต่ก็นับว่านานกว่า สังคมจะฉุกคิดและเริ่มตั้งคำ�ถามต่อหน่วยงานผู้อนุมัติจัดซื้อ จนถึงวันนี้ ก็ยังไม่มีใครออกมารับผิดชอบต่อเรื่องดังกล่าว ยิ่งซำ�เติมความรู้สึกด้านลบระหว่างรัฐกับประชาชนที่เคยถูก GT200 ชี้ตัวและกลายเป็น ‘เป้าหมาย’ ให้ทางฝ่ายความมั่นคง ‘เชิญไปซัก ถาม’ ที่ค่ายทหาร และกลายเป็นหนึ่งในหลายปัจจัยที่ทำ�ให้กระบวน การยุติธรรมยังเป็นข้อกังขาสำ�หรับคนในสามจังหวัด ทั้งที่หนทางนี้ นับว่าเป็นวิธีที่จะก่อร่างสันติภาพให้กลับคืนสู่สังคมชายแดนใต้ได้ อย่างดีที่สุด ในสภาวะเช่นนี้ ภาพที่ชื่อว่า ‘แบบฝึกหัดคนสามจังหวัด’ ของ ‘อับดุลเลาะห์ หะยีอาบู’ ช่างภาพจากมูลนิธิศูนย์ทนายความ มุสลิม ซึ่งเป็นภาพชาวบ้านกำ�ลังเข้าร่วมอบรมในกิจกรรม ‘ศาล จำ�ลอง’ เพื่อเรียนรู้กระบวนการยุติธรรมและวิธีปฏิบัติตัวเมื่อต้อง อยู่ในศาล จึงเป็นภาพตัวอย่างที่สะท้อนให้เห็นถึงความพยายาม ของชาวบ้านในการที่จะรักษาสิทธิโดยชอบธรรมของตัวเองเอาไว้ อย่างไรก็ตาม การนำ�เสนอภาพเหตุการณ์และชีวิตผู้คนใน พื้นที่สีแดงจะต้องมีการ ‘ถ่วงดุลความรู้สึก’ และต้องคำ�นึงถึงผล กระทบที่อาจเกิดกับคนในพื้นที่ด้วย ซึ่ง ‘นครินทร์ ชินวรโกมล’ ช่าง ภาพข่าวเครือเนชั่น ประจำ�จังหวัดยะลา ระบุว่า หากมีเหตุรุนแรง เกิดขึ้น ช่างภาพจะต้องบันทึกเหตุการณ์อย่างไม่มีทางเลี่ยง แต่ก็ ต้องเคารพในสิทธิความเป็นมนุษย์ของผู้ที่ได้รับผลกระทบทุกฝ่าย ตัวอย่างภาพ ‘สลามัต ฮารีรายอ’ ของ นครินทร์ หรือภาพ ‘Growing’ ของ ‘ฟูอัด แวสะแม’ ช่างภาพอิสระกลุ่ม Seed ปัตตานี ก็ช่วยฉายให้เห็นภาพรอยยิ้มที่ยังคงมีอยู่มากมายของผู้คนที่นี่ รวม ถึงความพยายามที่จะปรับเปลี่ยนท่าทีของฝ่ายรัฐให้ดูเป็นมิตรกับ ประชาชนมากขึ้น ในภาพตัวอย่าง ‘ลุยโคลนเพื่อสันติ’ ของ ‘ตูแว ดานียา มือรีงิง’ ช่างภาพสำ�นักข่าว AFP ประจำ�จังหวัดปัตตานี และ สำ�นักข่าว Aman News ซึ่งเป็นภาพทหารสังกัดกองทัพอากาศ ลง คลุกดินคลุกโคลนแข่งขันกีฬาชักเย่อกับชาวบ้าน ก็เป็นอีกความ พยายามสร้างสมดุลทางความรู้สึกในสภาวะความขัดแย้งที่ยังดำ�รง อยู่เช่นกัน

‘ลิวอิส เอ็ม. ไซมอนส์’ นักเขียนมือรางวัลพูลิตเซอร์ ประจำ� นิตยสารเนชั่นแนลจีโอกราฟฟิค สื่อชาวต่างชาติที่เข้าชมนิทรรศการ ระบุว่า ภาพที่จัดแสดงในครั้งนี้มีทั้งความรุนแรงและความสงบสุข ซึ่งน่าจะตรงกับสภาพความเป็นจริงที่เกิดขึ้นในพื้นที่จังหวัดชาย แดนใต้ในปัจจุบัน ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าคนส่วนใหญ่อยากให้เกิดความ สงบสุข แต่ขณะเดียวกันก็ยังมีเหตุการณ์รุนแรงเกิดขึ้น และภาพ เหล่านี้เป็นการบันทึกเหตุการณ์ผ่านมุมมองของช่างภาพซึ่งเป็น คนในพื้นที่ จึงอาจนำ�ไปสู่การเปลี่ยนแปลงทัศนคติของผู้คนในสังคม ได้ ทั้งนี้ ไซมอนส์ได้อ้างอิงถึงการทำ�งานของช่างภาพข่าวทั่ว โลกซึ่งเข้าไปบันทึกเหตุการณ์ในยุคสงครามเวียดนาม และได้บันทึก ภาพที่สะท้อนให้เห็นความรุนแรงและโหดร้ายของสงคราม จนส่งผล สะเทือนจิตใจผู้คนทั่วโลก และนำ�ไปสู่การเคลื่อนไหวต่อต้านรัฐบาล สหรัฐอเมริกา รวมถึงการกดดันให้ยุติสงคราม การใช้ภาพถ่ายสื่อ สาร ‘สภาพความเป็นจริง’ ในพื้นที่ จึงมีส่วนช่วยให้ทั้งคนในและ คนนอกพื้นที่ชายแดนใต้ได้ทำ�ความเข้าใจในเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น และ จะนำ�ไปสู่หนทางแก้ไขปัญหาร่วมกัน ภายใต้สถานการณ์ความไม่สงบ ชีวิตของผู้คนในพื้นที่ยังคง ดำ�เนินต่อไป ภาพถ่ายหลายใบจึงเป็นเครื่องยืนยันได้ดีว่า ท่ามกลาง ความรุนแรงยังมี ‘คนใน’ ที่พยายามส่งเสียงสะท้อนถึงสิ่งที่เกิดขึ้น ในชุมชนอย่างพินิจพิเคราะห์ เพื่อป้องกันมิให้การใช้ความรุนแรง กลายเป็นสภาวะปกติ และเพื่อกระตุ้นเตือนมิให้ ‘คนนอก’ เสพข่าว คราวความรุนแรงจนมองข้ามความพยายามที่จะสร้างสันติวิถีของ คนในชุมชน หากจะมีกระบวนการใดๆ ในนามของการรักษาความสงบ หรือประสานสามัคคีในพื้นที่สีแดง ภาพเหล่านี้จะเป็นการสื่อสาร ทางตรงจากคนในพื้นที่ เพื่อให้ทุกฝ่ายที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการแก้ ปัญหาได้เข้าใจสิ่งที่เกิดขึ้นอย่างถ่องแท้ โดยมิได้เลือกมองแค่แง่มุม ใดแง่มุมหนึ่ง เพราะในพื้นที่ที่เกิดเหตุการณ์ไม่สงบ ไม่ได้มีแค่ ‘เหยื่อ’ หรือ ‘วีรบุรุษ’ แต่ยังมี ‘ความเป็นมนุษย์’ ของคนในพื้นที่ให้ต้อง คำ�นึงถึงอีกด้วย


50  50


51 

Mahamasabree Jehloh (Southern Peace Media, Narathiwat)


Surapan Boonthanom (Chaotai News / Reuters, Southern Thailand)


53 

Gooyee Etae (In South Media, Pattani)

Amornrat Tangroekwarasakul (Seed Club, Pattani)


54 

Abdolraman Sailamu (Bungaraya News, Pattani)


55 

Surapan Boonthanom (Chaotai News / Reuters, Southern Thailand)

Weerayut Sangnoree (Thairath Newspaper, Yala)


56 

Tuwaedaniya Meringing (Aman News / AFP, Pattani)


57 

Tuwaedaniya Meringing (Aman News / AFP, Pattani)


58 

Madaree Tohlala (AFP, Narathiwat)


59 

Chawin Thawanphiyayo (Our heart Beat at One, Southern Thailand)

Fuad Waesamae (teaoor.com, Seed Club, Pattani)


60 

Muhammad Sabri Musordi (AFP, Yala)


61 

Mahamayakee Waresoo (Seed Club, Pattani)


62 

Abdulloh Hayee Abu (Muslim Attorney Centre Foundation, Yala)


63 

Haifa Dayee (Prince of Songkla University, Pattani)


64 

Muhammad Sabri Musordi (AFP, Yala)


65 

Chumsak Nararatwong (Our heart Beat at One, Southern Thailand)


66 

Muhammad Sabri Musordi (AFP, Yala)


67 

Tuwaedaniya Meringing (Aman News / AFP, Pattani)


68 

Habeb Kuna (In South Media, Southern Thailand)


69 

Piyasak Ausup (We Watch, Southern Thailand)


70 

Nakharin Chinnawornkomol (EPA / Nation Group, Yala)


71 

Muhummed Ayup Patan (DSW, Southern Thailand)


72 

Nakharin Chinnawornkomol (EPA / Nation Group, Yala)


73 

Surapan Boonthanom (Chaotai News / Reuters, Southern Thailand)


74 

Chawin Thawanphiyayo (Our heart Beat at One, Southern Thailand)


75


76 

Srisompob Jitpiromsri (CSCD, Southern Thailand)

Ibrohem Masoh (We Watch, Southern Thailand)


77 

Chawin Thawanphiyayo (Our heart Beat at One, Southern Thailand)


78 

Chumsak Nararatwong (Our heart Beat at One, Southern Thailand)


79 

Muhammad Sabri Musordi (AFP, Yala)


80 

Chumsak Nararatwong (Our heart Beat at One, Southern Thailand)


81 

Madaree Tohlala (AFP, Narathiwat)


82 

Madaree Tohlala (AFP, Narathiwat)


83 

Madaree Tohlala (AFP, Narathiwat)


84 

Somsak Hunngam (Freelance Photographer, Pattani)

Madaree Tohlala (AFP, Narathiwat)


85 

Tuwaedaniya Meringing (Aman News / AFP, Pattani)

Madaree Tohlala (AFP, Narathiwat)


86 

Charoon Thongnual (Nation Group, Southern Thailand)


87 

Surapan Boonthanom (Chaotai News / Reuters, Southern Thailand)

Abdolraman Sailamu (Bungaraya News, Southern Thailand)


88 

Mahamayakee Waresoo (Seed Club, Pattani)

Fuad Waesamae (teaoor.com, Seed Club, Pattani)


89 

Fuad Waesamae (teaoor.com, Seed Club, Pattani)


90  WeWatchBook Deep South Photojournalism Issue.


91

Report : Deep South Photographers Assembly (รายงาน : ชุมนุมช่างภาพชายแดนใต้)

Editorial | กองบรรณาธิการ

Under the state of continuous unrest, the society generally perceives the deep south provinces as an area of conflict and violence. The image of loss in each event was relayed over and over again. The mechanism of the media industry can only report the events that occurred daily, a task which already appears to be burdensome and calls for great dedication of a limited number of photojournalists who work in the area. While there is a large number of freelance photographers recording the stories of the communities, there is hope in inducing collaboration for communication of other aspects that differ from the images of injuries and deaths and should serve as a part of the process to seek solution to the conflict without the use of force. Deep South Watch thus collaborated with the Deep South Photographers Network and held the event "Deep South Photographers Assembly" to open up a space for dialogues and exchange of opinions on the role of the photographer. The first Assembly was held on 19 September 2010 and the 2nd and latest Assembly was held on 19 February 2011. A large number of photojournalists, alternative media photographers, freelance photographers, amateur photographers, as well as photography enthusiasts joined the event. During the First Deep South Photographers Assembly, Assist.Prof.Dr. Srisompob Jitpiromsri, Director of Deep South Watch, presented the results of the survey of the opinion of people living in the deep south on media consumption, which showed that the most accessible

สถานการณ์ความไม่สงบที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ภาพ การรับรู้ของสังคมโดยทั่วไปจดจำ�พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้เป็น พื้นที่แห่งความขัดแย้งและความรุนแรง ภาพความสูญเสียในแต่ละ เหตุการณ์ถูกถ่ายทอดซำ�แล้วซำ�เล่า โดยกลไกในระบบอุตสาหกรรม สื่อสารมวลชนทำ�ได้แต่รายงานสิ่งที่เกิดขึ้นรายวัน ซึ่งเพียงเท่านี้ก็ดู จะเป็นภารกิจที่หนักและเรียกร้องความทุ่มเทอย่างมากต่อการเสี่ยง อันตรายจากช่างภาพข่าวผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ ซึ่งมีอยู่อย่างจำ�กัด ขณะที่ ช่ า งภาพอิ ส ระซึ่ ง กระจายตั ว ทำ � งานเก็ บ ภาพถ่ า ย บันทึกเรื่องราวต่างๆ ของชุมชนที่มีอยู่จำ�นวนมาก ก็ดูจะเป็นความ หวังในการชักชวนให้เกิดการร่วมมือเพื่อสื่อสารแง่มุมเรื่องราวอื่นๆ ที่ต่างไปจากภาพความบาดเจ็บล้มตาย และน่าจะสามารถเข้าไป เป็นส่วนหนึ่งในกระบวนการแสวงหาหนทางออกของความขัดแย้ง โดยไม่ใช้ความรุนแรงได้ ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้ จึงได้ร่วมกับ เครือข่าย ช่างภาพชายแดนใต้ จัดกิจกรรม 'ชุมนุมช่างภาพชายแดนใต้' ขึ้น เพื่อเปิดพื้นที่พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเกี่ยวกับบทบาทนักถ่าย ภาพ โดยครั้งแรกจัดไปเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2553 และล่าสุดครั้ง ที่ 2 เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2554 ที่ผ่านมา มีช่างภาพสื่อมวลชน ช่างภาพสื่อทางเลือก ช่างภาพอิสระ ช่างภาพสมัครเล่น รวมไปถึง ผู้ที่สนใจในงานภาพถ่ายเข้าร่วมมากกว่าร้อยคน ในงานชุมนุมช่างภาพชายแดนใต้ครั้งแรก ผศ.ดร.ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี ผู้อำ�นวยการศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้ ได้นำ� เสนอผลการสำ � รวจความคิ ด เห็ น ของประชาชนในพื้ น ที่ จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้เกี่ยวกับการบริโภคสื่อ ระบุว่า สื่อที่ประชาชนเข้า ถึงมากที่สุด ได้แก่ โทรทัศน์ รองลงมาคือ วิทยุ, มัสยิด, ชุมชน, ร้าน นำ�ชา, เพื่อน, หนังสือพิมพ์ และอินเตอร์เน็ท ซึ่งแสดงให้เห็นว่า การเห็น การฟัง และการพูดคุย เป็นกลไกการสื่อสารหลักในพื้นที่ ขณะที่การอ่านเป็นสื่อที่ประชาชนบริโภคน้อยกว่าสื่อที่เข้าถึงตัว บุคคล


92  WeWatchBook Deep South Photojournalism Issue.

media was television, followed by radio, mosque, tea shops, friends, newspapers, and the internet. Therefore, seeing, listening, and talking were main communication mechanisms in the area, while text was a form of media that people consumed less than the media which reached the person. "If it was television, people in the deep south would most commonly watch Channel 7, Channel 3, Channel 9, Channel 5, Channel 11, and Thai PBS, respectively. This reflects that the media that emphasize on entertainment are more popular than those in documentary format, which is similar to media consumption in other areas in Thailand. While Thai Rath, Daily News, Matichon, Khao Sod, and Khom Chad Luek, are the newspapers which emphasize on images and colors, thus 'pictures' are an important mechanism in raising the level of awareness and learning, as they fit the media consumption behavior of the locals." Asst.Prof.Dr. Jitpiromsri also explained the meaning and significance of 'photojournalism' that mainstream communication was developed synchronously with development of photojournalism. Photojournalists played key roles in changing the understanding of the society and its perception, as recorders of the society's memory and news-making and prioritized events, allowing human beings to understand and know themselves through the pictures. Dr. Jitpiromsri also pointed out opportunities for photographers in the deep south to develop their abilities, skills, concepts, and viewpoints from living in the actual area, until violence became a part of life and work, and a key opportunity to expand the network and transfer the lessons to the next generation, civil reporters, or interested individuals. Meanwhile, Mr. Muhammad Ayub Pathan, Senior Editor at Deep South Watch, stated that network development was key to creating a center space to be the negotiating power. There must be networks based on technology and networks based on humanism. However, Pathan deemed the human networks to be more permanent. "People here have hope, and so must photographers. The media must mobilize the central space to move the spaces where the use of violence i.e. the state

and the insurgents have occured. If the center space moves with both image and sound, then the masses would want to see it. How do we get the images to appear in different areas is what we need to further consider in the future. For example, the students here must think of how to mobilize their fellow students. Diverse issues would proceed better than a single issue, making it an exchange of viewpoints." "How do we have a common point for moving forward? There need to be communication space, to further expand the network, consider how to use the center space, how to connect to others, and how to move forward. For example, if the pictures are to be exhibited, how should we do so? We have to think of how we can move forward. We need to communicate with those who are here today as well. The networks are ready to be the middle persons to help, but I want us to think for ourselves, not letting others think for us", said the Senior Editor. During discussion rounds, there was exchange of ideas on problems and limitations of photojournalists in the area: photographers normally could take pictures but could not write captions, which poses a big obstacle. Furthermore, taking photographs under state of mistrust may cause the photographer to be examined by the state, even though the photographer themselves was with good intention, wishing to take pictures to reflect the state of the deep south in varying dimensions. Mr. Tuwaeneeya Meringing, Editor of Aman News Center, recommended that the photojournalist should use their connection and journalist identity to negotiate with the authorities. A collaborative effort of photographers should help in this case. If there was a problem and the officials refused permission to take photographs, then the photographer would contact a higher-level official who had the authority to decide. However, Mr. Meringing said that photojournalists in Thailand could work relatively freely, while in certain Muslim countries, the photojournalist would not be able to take pictures in public. Nakarin Chinnawornkomol, photojournalist for Kom Chad Luek newspaper and EPA agency recounted his own


93

“ถ้าเป็นทีวี คนในจังหวัดชายแดนภาคใต้จะดูช่อง 7 ช่อง 3 ช่อง 9 ช่อง 5 ช่อง 11 เเละทีวีไทย เรียงความนิยมตามลำ�ดับ สะท้อนว่า สื่อที่เน้นการบันเทิงจะได้รับความนิยมมากกว่าสื่อสาร คดี ซึ่งก็สอดคล้องกับการบริโภคสื่อในพื้นที่อื่นๆ ในประเทศไทย เช่นกัน ขณะที่หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ, เดลินิวส์, มติชน, ข่าวสด, คม ชัดลึก ก็ล้วนเป็นหนังสือพิมพ์ที่เน้นภาพ เน้นสีสัน จึงอาจกล่าวได้ ว่า ‘ภาพ’ เป็นกลไกสำ�คัญในการยกระดับการรับรู้เเละการเรียนรู้ เพราะสอดคล้องกับพฤติกรรมการบริโภคสื่อของคนในพื้นที่" ผศ.ดร.ศรีสมภพ อธิบายความหมายและความสำ�คัญของ 'ผู้สื่อข่าวภาพ' ด้วยว่า พัฒนาการสื่อสารกระเเสหลักควบคู่มากับ พัฒนาการของผู้สื่อข่าวภาพ ผู้สื่อข่าวภาพมีบทบาทต่อการเปลี่ยน แปลงความเข้าใจของสังคมเเละความรับรู้ของสังคมอย่างมาก ใน ฐานะที่เป็นผู้บันทึกความทรงจำ�ของสังคม เเละบันทึกเหตุการณ์ ต่างๆ ที่เป็นข่าว และให้ความสำ�คัญของมนุษย์ ทำ�ให้มนุษย์เข้า ใจเเละรู้จักตนเองผ่านภาพถ่าย ทั้งนี้ ผศ.ดร.ศรีสมภพ ยังได้ชี้ให้ เห็นโอกาสของช่างภาพในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่จะได้พัฒนา ทักษะ ฝีมือ แนวคิด และมุมมอง จากสถานภาพที่ได้อาศัยอยู่ใน พื้นที่จริง จนความรุนแรงเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตเเละการทำ�งาน และ เป็นโอกาสที่สำ�คัญในการพัฒนาเครือข่าย ถ่ายทอดบทเรียนให้คน รุ่นหลัง นักข่าวพลเมือง หรือผู้สนใจต่อไป ขณะที่ นายมูฮำ�มัดอายุป ปาทาน บรรณาธิการข่าวอาวุโส ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้ กล่าวถึงความสำ�คัญของการพัฒนา เครือข่าย ซึ่งจะทำ�ให้เกิดพื้นที่ตรงกลางเพื่อเป็นพลังในการต่อรอง โดยเครือข่ายต้องมีทั้งจากเทคโนโลยีเเละจากเครือข่ายความเป็น มนุษย์ อย่างไรก็ดี นายมูฮำ�มัดอายุปเห็นว่า เครือข่ายที่มีความเป็น มนุษย์จะยั่งยืนกว่า

“คนที่นี่มีความหวัง ช่างภาพก็ต้องมีความหวังเช่นกัน สื่อ ต้องไปเคลื่อนพื้นที่ตรงกลาง ไปขยับตรงที่ใช้ความรุนเเรง คือ รัฐกับ ขบวนการ ถ้าตรงกลางขยับทั้งภาพและเสียง รากหญ้าก็อยากมาดู ทำ�อย่างไรให้ภาพไปโผล่ในพื้นที่ต่างๆ เรื่องนี้พวกเราต้องคิดต่อใน อนาคต ประเด็นที่จะทำ�ต่อไป อย่างเพื่อนนักศึกษาต้องไปคิดต่อว่า จะไปขับเคลื่อนกับเพื่อนนักศึกษาด้วยกันอย่างไร ประเด็นหลากหลาย จะเดินได้ดีกว่ามุมเดียว เป็นการเเลกเปลี่ยนมุมมองกัน” “วันนี้เราจะมีจุดร่วมที่จะเคลื่อนต่อไปอย่างไร ต้องมีพื้นที่ สื่อสาร ต้องไปทำ�งานขยายต่อจากเครือข่าย ต้องคิดว่าจะใช้พื้นที่ กลางอย่างไร เชื่อมกับใครอย่างไร จะเดินต่อไปข้างหน้าอย่างไร เช่น ถ้าเอาภาพไปเเสดง จะทำ�อย่างไร ต้องไปคิดทางที่จะเดินต่อ ต้องอาศัยการติดต่อสื่อสารในกลุ่มคนที่มาวันนี้ด้วยกันด้วย เครือ ข่ายพร้อมจะเป็นตัวกลางช่วยเหลือ แต่อยากให้คิดเอง ไม่ต้องให้ คนอื่นคิดเเทนเรา” บรรณาธิการข่าวอาวุโสกล่าว ในช่วงการสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ได้มีการนำ� เสนอปัญหาและข้อจำ�กัดในการทำ�งานของนักถ่ายภาพในพื้นที่ว่า ช่างภาพมักจะถ่ายรูปได้แต่เขียนบรรยายไม่ได้ ซึ่งถือเป็นอุปสรรค ข้อใหญ่ แต่ยิ่งไปกว่านั้น การถ่ายภาพในสถานการณ์ที่มีความ หวาดระแวงต่อกัน บางครั้งอาจถูกเจ้าหน้าที่รัฐเรียกตรวจสอบ ทั้ง ที่ตัวช่างภาพเองมีเจตนาดี อยากจะถ่ายภาพเพื่อถ่ายทอดมุมมอง สะท้อนสถานภาพจังหวัดชายแดนภาคใต้ในมิติต่างๆ นายตูแวดานียา มือรีงิง บรรณาธิการศูนย์ข่าวอามาน ได้ แนะนำ�ว่า จำ�เป็นต้องใช้ความรู้จักเเละความเป็นนักข่าวเจรจาต่อ รองกับเจ้าหน้าที่ การร่วมเครือข่ายกันของช่างภาพจะช่วยได้ ถ้ามี ปัญหาเจ้าหน้าที่ห้ามถ่ายก็ให้ติดต่อกับเจ้าหน้าที่ระดับสูงขึ้นไปที่มี อำ�นาจตัดสินใจได้ อย่างไรก็ดี ตูแวดานียา มองว่า ช่างภาพประเทศ ไทยยังถือว่าค่อนข้างมีอิสระในการทำ�งาน ขณะที่ประเทศมุสลิม บางประเทศ ช่างภาพไม่สามารถถ่ายภาพในที่สาธารณะได้ ด้าน นครินทร์ ชินวรโกมล ช่างภาพข่าวหนังสือพิมพ์คมชัด ลึก และสำ�นักข่าวต่างประเทศ EPA ได้เล่าประสบการณ์ของตนเอง ว่า แม้มีบัตรประจำ�ตัวระบุสังกัดหน่วยงาน แต่ก็ยังถูกเจ้าหน้าที่ เรียกตรวจสอบ อย่างไรก็ตาม ถ้าช่างภาพเเสดงตนให้ชัดเจน ก็ไม่ น่ามีปัญหา ทั้งนี้ ได้เสนอให้กลุ่มช่างภาพชายแดนใต้มีบัตรระบุ สถานะประจำ�ตัวเพื่อใช้อธิบายต่อเจ้าหน้าที่ ในตอนท้ายของงาน มีการพูดคุยถึงโจทย์พื้นฐานว่า “เรา จะลดความรุนแรงได้อย่างไร” เเละ “จะอยู่ร่วมกันอย่างไร” โดย ต้องคิดข้อเสนอของภาคประชาสังคมที่เเสดงออกผ่านภาพในฐานะ ที่มีศักยภาพในการสื่อสาร ซึ่งหากช่างภาพในพื้นที่มาร่วมออกแบบ กระบวนการด้วยกัน อาจจำ�เป็นต้องรื้อฟื้นประวัติศาสตร์บาดเเผล เพื่อให้ได้เสียงจากผู้สูญเสียหรือการเยียวยาผู้คน ทั้งนี้ ไม่จำ�เป็น ต้องรีบด่วนสรุป อาจจะเป็นหลายครั้ง เเละใช้โจทย์เล็กๆ เพื่อร่วม ค้นหาข้อเสนอใหญ่ๆ


94  WeWatchBook Deep South Photojournalism Issue.

experience that although he had a press card which stated his agencies, he was still questioned by officials. However, if the photojournalist identify themselves clearly, then there should not be any problem. Chinnawornkomol also proposed the Deep South Photographers Network to have their own identity cards to help explain to the officials. At the end of the event. Discuss the basic question is how can we reduce the violence? And how shall we live together?. We have to come up with the proposals of civil societies. There must be a proposal that is expressed through pictures as a medium with potential in communication. I think that if photographers in the area come out to design the process together, we may need to dig up history and old wounds to get the voices from those who experience losses or healing the people. However, we do not need to quickly come to conclusion. This may be done over many occasions and use small questions to find a big proposal. This 2nd Photographers Assembly had over 120 more visitors that the previous event. Photos which reflected the way of life and commensalism between people in the communities were also brought to display (see the photographs in the 'Take a Photo, Take Care of Each Other' album at www.wewatch.in.th) In the morning session, Mr. Veeranij Tantranonth, Editor and owner of the website "taklong.com" presented new experiences and knowledge from the world of photography that new photographers would normally expect the value of the picture to be from the equipments, overlooking the value of in terms of viewpoint, concept, and meaning of the picture, even though the main goal of a picture is to get the message across. "The proper concept of photography is to prevent the viewpoint of each person rather than equipments. The quality of the picture thus lies in the meaning and value of the picture. A picture serves to communicate the message and is not related to the brand of the camera. The picture serves as the message. The mantra of photography is the stillness of the photograph, as it is the process of freezing the truth at that second, something which video cannot achieve."

The Editor of the "taklong.com" website also believed that in 2011, the photography community and behaviors of camera users would change dramatically, as observed by the fact that the technology and design of newer models of camera were made to respond to a more diverse group of users. It was also indicated that the best-selling model of digital camera in 2010 was the mobile phone, which could take pictures easily and immediately connect to online social networks. In the afternoon session, the dialogues was on the role of the photographer in helping to care for the society amidst conflict and violence at the present time. Lessons from inside and outside of Thailand which shows values and power of the photograph were also cited. Mr. Fuad Waesamae, freelance photographer from Seed, Pattani Province, said of the use of positive photographs to help balance the deep south violence that the majority in the society would look at the deep south through pictures of the daily incidents from mainstream media, but there were still many interesting stories in the area: the culture, the identity, the nature. The photographer could use social networks, which were the easily and least expensive and most far-reaching medium, to communicate his photographs in an alternative viewpoint. “Sometimes, the things that are close to us, such as traditional boats that are laying about or a beach with a goat walking about, or the abundance nature, once the pictures of these things are communicated, then outsiders would realize that there are many things that they still do not know about this place. I once talked to outsiders, and he said that if the unrest wasn't there, then he would want to take pictures here. But even if he didn't come here, our pictures would still make him want to come. At least my photographs helped." Mr.Chumsak Nararathwong, documentary writer, freelance photographer, and founder of the Huajai Diew Khan (Our Heart Beat at One) from Narathiwat Province, said that presentation of pictures of normalcy or way of life would play a key role in helping the region by using a diverse range of story-telling techniques, for the dimension, viewpoint, and channel to help people to actually care for the society and the community.


95

2nd Photographers Assembly (Pattani), Mahamayakee Waresoo

สำ�หรับการเสวนาในงานชุมนุมช่างภาพฯ ครั้งที่ 2 มีผู้เข้าร่วมเพิ่มขึ้นจาก ครั้งแรกกว่า 120 คน โดยได้มีการนำ�ภาพถ่ายที่สะท้อนถึงวิถีชีวิตและการเกื้อกูลกัน และกันระหว่างคนในชุมชนมาร่วมจัดแสดงภายในงานด้วย (ชมภาพถ่ายชุดดังกล่าว ได้ที่เว็บไซต์ wewatch.in.th) ช่วงเช้า นายวีรนิจ ทรรทรานนท์ บรรณาธิการและเจ้าของเว็บไซต์ taklong .com ได้นำ�เสนอประสบการณ์และความรู้ใหม่ๆ จากแวดวงนักถ่ายภาพว่า ช่างภาพ มือใหม่มักจะคาดหวังคุณค่าของภาพจากอุปกรณ์เป็นหลัก โดยจะมองข้ามคุณค่าใน แง่ของมุมมอง วิธีคิด และความหมายของภาพ ทั้งที่เป้าหมายหลักของภาพคือ การ สื่อสารความหมายออกไป “แนวคิดการถ่ายภาพที่ดีนั้น คือการนำ�เสนอมุมมองของคนนั้นๆ มากกว่า เรื่องอุปกรณ์ คุณภาพของภาพจึงอยู่ที่คุณค่าและความหมายของภาพ เพราะภาพ


96  WeWatchBook Deep South Photojournalism Issue.

"Every morning when I wake up and see people going to the mosque, or taking pictures of Buddhists and Muslims buying things in the market, all of which are very normal pictures, it is already helping the area. The art of photography has its strength and easy appeal to people. We just need to get up and take pictures of the things around us." Nakarin Chinawornkomol, photojournalist for Kom Chad Luek newspaper and EPA, said on behalf of the media in the area that being in the mass media requires the journalist to present everything that happened in the area, as it was undeniable that the violence existed. However, the photographer could choose to use the perspective of the photograph that reduced the level of violence in media space, but the truth must not be distorted.

graphs should play a role in recording history. "I think that we do not see the results as to why we take these photographs, but one day, when the situation is resolved, whether a certain side wins or there is a compromise, the photographs would serve as records of history, but on that day, they will be explained in another manner. They may not be so at this point, so we should all do our job to the best of our ability for now." Thananithichote also provided encouragement to photographers in the deep south that although they could not overtake communication channels from mainstream media, but all parties should help get the message out, especially on the issues of violence. Thananithichote further explained that violence was not only about shooting, terrorism, or bombing, but violence also existed in many

"In my concept, I try not to take pictures of bodies or blood, but I would choose the viewpoint that explains the incident. Good mass media should have responsibility towards the society, not destroying and further exacerbating the wound. I am glad that at present, there is a large number of photojournalists in the area in Pattani, Yala, and Narathiwat. There are lots of good pictures that can further transmit their stories to the world and help to balances my images of violence" Meanwhile, Mr.Smitthi Thananithichote, freelance photographer and Former Photography Editor of Open Magazine, voiced his opinion that photographs were not about images, although it was permissible to use photographs to create an image e.g. in tourism. However, under the situation of conflict that was obscure, good photo-

other dimensions. For example, in Chana District where people fought over the issue of power plants, or the issue of iron refineries in Prachuap Kirikhan Province, might not be terrorism-related violence, but there were impacts on social infrastructures for which the struggle of the people continued. Mr.Hafis Salae, the moderator of the discussion, concluded in the end that the power to mobilize must consist of "Niiyah" or intention, "Amanah" or responsibility, and "Yamaah" or network. These three things would serve as the power of the photographer in making further goods to the society.


97

ทำ�หน้าที่เป็นสื่อที่สื่อสารความหมายออกไป ไม่ได้เกี่ยวกับยี่ห้อ ของกล้อง ภาพทำ�หน้าที่เป็นสาร มนต์ขลังของการภาพถ่าย คือ ความนิ่งของภาพ เพราะเป็นการแช่แข็งความจริงวินาทีนั้นไว้ ซึ่ง วิดีโอทำ�ไม่ได้” บรรณาธิการเว็บไซต์ taklong.com เชื่อว่า ภายในปี 2011 จะเป็นปีที่วงการกล้องและพฤติกรรมผู้ใช้กล้องจะปรับเปลี่ยนไป อย่างรวดเร็ว โดยสังเกตได้จากทิศทางของเทคโนโลยี และการ ดีไซน์ของกล้องรุ่นใหม่ ซึ่งถูกออกแบบมาเพื่อตอบสนองกลุ่มผู้ใช้ที่ หลากหลายมากขึ้น เขาชี้ให้เห็นด้วยว่า กล้องดิจิตอลที่ขายดีที่สุด ในปี ค.ศ. 2010 คือ โทรศัพท์มือถือ ซึ่งสามารถถ่ายภาพได้สะดวก และเชื่อมต่อออนไลน์กับ social network ได้ทันที ในช่วงบ่าย เป็นกิจกรรมการสนทนาเกี่ยวกับบทบาทของ นักถ่ายภาพในการจะมีส่วนช่วยดูแลสังคมท่ามกลางสถานการณ์ ความขัดแย้งและความรุนแรงที่ยังคงเกิดขึ้นอยู่ในปัจจุบัน ทั้งนี้ ได้ มีการยกตัวอย่างบทเรียนทั้งในและต่างประเทศที่แสดงให้เห็นถึง คุณค่าและพลังของภาพถ่าย นายฟูอัด แวสะแม ช่างภาพอิสระ กลุ่ม Seed จังหวัด ปัตตานี กล่าวถึงการใช้ภาพถ่ายเชิงบวกเพื่อช่วยถ่วงดุลภาพความ รุนแรงจากพื้นที่ชายแดนใต้ว่า สังคมส่วนใหญ่จะมองพื้นที่สาม จังหวัดผ่านภาพเหตุการณ์ข่าวรายวันจากสื่อกระแสหลัก แต่ว่าใน พื้นที่ยังมีเรื่องราวน่าสนใจอีกมากมาย ทั้งวัฒนธรรม เอกลักษณ์ ธรรมชาติ โดยช่างภาพสามารถใช้ช่องทาง social network ซึ่ง ง่ายที่สุด ต้นทุนตำ� และเผยแพร่ได้ไกล สื่อสารภาพถ่ายแง่มุม ต่างๆ ออกไปได้ “บางครั้งเรื่องราวใกล้ตัว เช่น เรือกอและที่จอดเรียงราย ชายหาดที่มีแพะเดินเล่น ความสมบูรณ์ของธรรมชาติ เมื่อสื่อสาร ออกไปก็จะทำ�ให้คนข้างนอกรู้ว่าที่นี่ยังมีเรื่องราวอีกมายมายที่ไม่รู้ ผมเคยคุยกับคนข้างนอก เขาบอกว่าถ้าไม่มีเหตุการณ์ก็อยากจะมา ถ่ายรูปที่นี่ แต่ถึงเขาไม่ได้มา ภาพของเราก็ทำ�ให้เขารู้สึกอยากมา อย่างน้อยภาพถ่ายของผมก็ช่วยได้” ด้านนายชุมศักดิ์ นรารัตน์วงศ์ นักเขียนสารคดีและช่าง ภาพอิสระ ผู้ก่อตั้งสำ�นักหัวใจเดียวกัน จากจังหวัดนราธิวาส มอง ว่า การนำ�เสนอภาพปกติหรือภาพวิถีชีวิตจะเป็นส่วนสำ�คัญที่ช่วย พื้นที่ได้ดี โดยสามารถใช้เทคนิคการบอกเล่าได้หลากหลาย ทั้งมิติ มุมมอง และช่องทาง ซึ่งจะเป็นวิธีในการช่วยกันดูแลสังคมและ ชุมชนได้จริง “ทุกเช้าเมื่อตื่นมาเห็นพี่น้องไปละหมาด หรือถ่ายภาพคน พุทธคนมุสลิมซื้อของในตลาดซึ่งเป็นภาพปกติมาก นี่แหละคือการ ช่วยพื้นที่ ศิลปะของภาพถ่ายมันมีความแข็งแรง เข้าถึงคนง่าย เพียงเราต้องลุกขึ้นมาถ่ายภาพสิ่งรอบตัว” นายนครินทร์ ชินวรโกมล ช่างภาพข่าวหนังสือพิมพ์คมชัด ลึก และสำ�นักข่าวต่างประเทศ EPA กล่าวในฐานะตัวแทนของ

สื่อมวลชนในพื้นที่ว่า ความเป็นสื่อมวลชนจำ�เป็นต้องนำ�เสนอทุก สิ่งทุกอย่างที่เกิดขึ้นในพื้นที่ เนื่องจากปฏิเสธไม่ได้ว่า มีความ รุนแรงเกิดขึ้นจริง อย่างไรก็ดี ช่างภาพสามารถเลือกใช้มุมมองของ ภาพเพื่อลดความรุนแรงบนพื้นที่สื่อได้ แต่ต้องไม่เป็นการบิดเบือน ความจริง “วิธีคิดของผมจะพยายามไม่ถ่ายภาพศพหรือเลือด แต่จะ ใช้มุมมองภาพอธิบายเหตุการณ์ เพราะสื่อมวลชนที่ดีควรรับผิดชอบ สังคม ไม่ทำ�ลายและซำ�เติม ผมก็ดีใจที่ปัจจุบันมีช่างภาพในพื้นที่ เยอะ ทั้งปัตตานี ยะลา นราธิวาส มีภาพดีๆ เยอะ ที่พยายามถ่าย ทอดเรื่องราวของตัวเองออกสู่สังคมได้มากขึ้น ตรงนี้จะช่วยถ่วงดุล (balance) ภาพความรุนแรงของผมได้” ขณะที่ นายสมิทธิ ธนานิธิโชติ ช่างภาพอิสระนิตยสารลานคำ� (สปป.ลาว) อดีตบรรณาธิการภาพนิตยสารโอเพ่น แสดงความคิด เห็นว่า ภาพถ่ายไม่ใช่เรื่องของภาพลักษณ์ แต่ใครจะใช้ภาพถ่ายใน การสร้างภาพ อาทิ การท่องเที่ยว ก็ทำ�ได้ อย่างไรก็ตาม ท่ามกลาง สถานการณ์ความขัดแย้งที่ไม่รู้ว่าใครเป็นใครเช่นนี้ ภาพถ่ายที่ดีควร รับใช้การบันทึกประวัติศาสตร์ “วันนี้เราไม่เห็นผลหรอกว่าถ่ายรูปไปเพื่ออะไร แต่เมื่อวัน หนึ่งสถานการณ์คลี่คลาย ไม่ว่าใครเป็นฝ่ายชนะหรือสามารถ ปรองดองกันได้ ภาพถ่ายก็คือบันทึกหน้าประวัติศาสตร์ แล้ววันนั้น มันอาจจะถูกอธิบายในอีกแบบหนึ่ง มันอาจไม่ได้ถูกตีความในแบบ นี้ ณ ตอนนี้ ใครมีหน้าที่ตรงไหนก็ควรทำ�ให้ดีที่สุด” นายสมิทธิ ยังได้ให้กำ�ลังใจนักถ่ายภาพในพื้นที่ชายแดนใต้ ว่า แม้จะไม่สามารถไปช่วงชิงช่องทางการสื่อสารจากสื่อกระแสหลัก ได้ แต่ทุกคนก็ต้องช่วยกันพยายามสื่อสารออกไป โดยเฉพาะเรื่องที่ เป็นประเด็นความรุนแรง สมิทธิ อธิบายเพิ่มเติมว่า ความรุนแรงมัน ไม่ใช่เรื่องของการยิงกัน การก่อการร้าย หรือการวางระเบิดเท่านั้น แต่มันได้เกิดขึ้นในอีกหลายมิติ เช่น แถวจะนะ ที่ชาวบ้านต่อสู้เรื่อง โรงไฟฟ้า หรือที่จังหวัดประจวบฯ ก็มีโรงถลุงเหล็ก เรื่องเหล่านี้อาจ ไม่ใช่ความรุนแรงเชิงก่อการร้าย แต่เป็นผล กระทบเชิงโครงสร้าง ของสังคม ซึ่งชาวบ้านก็ยังต้องต่อสู้ต่อไป นายฮาฟิส สาและ พิธีกรดำ�เนินการสนทนาได้สรุปในช่วง ท้ายว่า พลังในการจะขับเคลื่อนงานต้องประกอบด้วย ‘นียะ’ หมายถึง เจตนา ‘อามาน๊ะ’ หมายถึง ความรับผิดชอบ และ ‘ยามา อ๊ะ’ หมายถึง กลุ่มเครือข่าย ทั้งสามสิ่งนี้จะเป็นพลังของช่างภาพ ในการทำ�งานให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมได้


See further "Take a photo, Take care of each other" at www.wewatch.in.th (ชมผลงานภาพทั้งหมดพร้อมข้อมูลผู้ถ่ายได้ที่เว็บไซต์ wewatch.in.th)


99

Reading the Pictures The Power’s Picture and the Power in Pictures (อ่านภาพ : ภาพถ่ายของอำ�นาจและอำ�นาจในภาพถ่าย)

Romdon Panjor | รอมฎอน ปันจอร์

-1The pictures in front of us are the delicate efforts of many people who have pinned photographs, taken from their own hand or by somebody on the soft wall lining of a meeting room. Looking from a wider view, these randomly arranged photographs are like the "pictures" of the deep south that many have added their own points of view. These activities may mean that there is no picture that gives exclusive meaning of the events in the deep south. Each picture would be a single picture or taken at the same angle in which the "photographer" wishes to present a particular moment in time and selects "only one picture" to be pinned on the canvas as specified by the "host". Whoever the person behind the camera in each picture may be, whatever their rank in the world of photography, whatever model of camera they use (no need to mention the brand of film in this age), or whatever mood they are in or their intention, or whatever quality of paper in which the photograph was printed, each and every picture is equal on that wall. However, we must not forget that the ability and opportunity to take photographs of people in the society are different. This equality remains a matter which must be conditioned. Thus these photographs only reflect the signifiance of the possibility that people will be equal, but not absolute equality. This pinning of photographs was part of the Second Deep South Photojournalist Meeting, organized by

the "Deep South Photojournalism Network" on 19 February 2011 at CS Pattani Hotel, with the aim, as declared by the host, of being a gathering of photography enthusiasts in the deep south, whether they were professionals or amateurs.

ภาพที่ปรากฏตรงหน้า คือ ความพยายามอย่างประดิษฐ์ บรรจงของคนหลายคนในการเอาเข็มหมุดปักทะลุกระดาษที่ฉาบ ภาพถ่ายฝืมือของพวกเขาเอง หรือของใครบางคน แปะไปยังผนังผ้า บุอ่อนนิ่มของห้องประชุม มองไกลออกมา ภาพที่เรียงเป็นแนวอย่าง สะเปะสะปะเหล่านั้น เสมือน ‘ภาพ’ ของพื้นที่จังหวัดชายแดนภาค ใต้ที่หลายคนช่วยกันปะติดปะต่อ เติมแต่งจากสายตาของพวกเขา พร้อมๆ กัน กิจกรรมที่เกิดขึ้นนี้ น่าจะหมายความว่า ไม่มีภาพใดที่จะมี สิทธิพิเศษผูกขาดความหมาย (meaning) ของสิ่งที่เป็นไปในชายแดน ภาคใต้ได้อย่างเด็ดขาดตายตัว อย่างน้อยภาพแต่ละภาพก็เป็นเพียง ภาพๆ เดียว หรือมุมมองเดียวที่ ‘ผู้ถ่าย’ ตั้งอกตั้งใจถ่ายทอดห้วง วินาทีใดวินาทีหนึ่ง และคัดเลือกเพียง ‘หนึ่งภาพ’ มาร่วมแบ่งปันปัก หมุดไว้ตามโจทย์กิจกรรมที่ ‘ผู้จัด’ กำ�หนด ไม่ว่าคนที่อยู่หลังกล้องอันเป็นที่มาของภาพแต่ละภาพจะ เป็นใคร มีฐานันดรศักดิ์ในวงการถ่ายภาพระดับไหน ใช้กล้องยี่ห้อ อะไร (คงไม่ต้องกล่าวถึงฟิล์มยี่ห้อใดในยุคนี้) หรืออยู่ในอารมณ์ ไหน มีความตั้งใจอย่างไร กระทั่งว่า กระดาษที่ปริ้นท์ภาพออกมา จะห่วยจะดีอย่างไรหรือมีขนาดเท่าไร ภาพของเขาและเธอแต่ละ ภาพล้วน ‘เท่าเทียม’ กัน บนผนังห้องประชุมนั้น แต่กระนั้น เราก็คงต้องไม่ลืมว่า ความสามารถและโอกาสที่ จะถ่ายภาพของผู้คนในสังคมนั้นแตกต่างกัน ความเท่าเทียมในที่นี้ก็ ยังคงเป็นสิ่งที่ต้องวางเงื่อนไขกำ�กับ ภาพที่เรียงร้อยกันจึงเป็นสิ่งที่ สร้างความหมาย (signifiance) ของความเป็นไปได้ที่คนเราจะเท่า


100  WeWatchBook Deep South Photojournalism Issue.

เทียมกันเท่านั้น หาใช่ความเท่าเทียมอย่างสัมบูรณ์ (absolute) ไม่ การปักหมุดเรียงภาพที่ว่า เป็นหนึ่งในกิจกรรมงานชุนนุม ช่างภาพชายแดนใต้ครั้งที่สอง ซึ่งจัดโดย ‘เครือข่ายช่างภาพชายแดน ใต้’ เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2554 ณ โรงแรม ซี.เอส.ปัตตานี มุ่งหวัง ไว้ตามคำ�ออกตัวของคณะผู้จัดงานว่า เป็นการรวมกลุ่มของผู้ที่ชื่น ชอบการถ่ายภาพในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ไม่ว่าเขาเหล่านั้น จะเป็นมืออาชีพหรือมือสมัครเล่น โดยเชื่อมั่นว่า ภาพถ่ายที่ผ่านมือ ของพวกเขาจะสามารถเข้าไปมีส่วนในกระบวนการสร้างสันติภาพ ในพื้นที่ที่เต็มไปด้วยความขัดแย้งที่เล่นกันถึงตายเช่นนี้ได้ -2This writing aims to read the signifiance of these photographers by looking at these "pictures" initially as "text" , then "read" them. It is certain that there are many ways to read pictures in this world, but what we will attempt to do is read as though we are "re-taking" these photographs and create a new signification to the "text" by emphasizing on the relationship of these pictures as a set of the pictures that appear at the same place according to some specific conditions, while each picture is associated with its context that is beyond the content that each photograph could record at that second. This method will pay no attention to the first photographer, the presenter, or anyone who tried to manipulate the photograph to appear so. The authority that once binds of these creators will be destroyed by this method, while the signification of the readers (who would be in the same position as the person who would re-take the photograph) includes the interaction between themselves and the context in the picture and the attempt to create a new signification to it without caring for what the first photographer thinks and aims to communicate. Thus this writing resembles a photography log book, i.e. re-taking the photograph by pressing the shutter in words.

สิ่งที่ข้อเขียนชิ้นนี้จะทดลองทำ�ก็คือ การมุ่งอ่านความหมาย (signifiance) ของภาพถ่ายเหล่านั้น ด้วยวิธีการที่จัดการเอา ‘ภาพ’ เหล่านั้นโดยมองในฐานะที่เป็น ‘ตัวบท’ (Text) เสียแต่เบื้องแรก และเมื่อเป็น ‘ตัวบท’ สิ่งที่เราจะทำ�กับมันได้ คือ ‘การอ่าน’ แน่นอนว่า ในโลกนี้มีวิธีการอ่านหลายแบบ แต่สิ่งที่เราจะทำ�ก็คือ

การอ่านโดยประหนึ่งว่าเป็น ‘การถ่ายภาพเหล่านั้น’ ซำ� และสร้าง ความหมาย (signification) ใหม่ให้กับ ‘ตัวบท’ เหล่านี้เสียใหม่ โดยมุ่งพิจารณาความสัมพันธ์ของภาพถ่ายเหล่านี้ในฐานะชุดของ ภาพถ่าย (set of the pictures) ที่ปรากฎอยู่ในที่เดียวกันตาม เงื่อนไขเฉพาะบางอย่าง ขณะที่แต่ละภาพเองก็ล้วนแล้วแต่มีความ สัมพันธ์กับบริบทแวดล้อม (context) ที่อยู่นอกเหนือไปจากเนื้อ หาที่แต่ละภาพบันทึกไว้ได้ในวินาทีนั้น วิธีการเช่นนี้ จะไม่ให้ความสำ�คัญกับผู้ถ่ายภาพคนแรก หรือผู้ที่เลือกภาพมานำ�เสนอ หรือใครก็ตามที่พยายามจัดให้ภาพ ออกมาเป็นเช่นนั้น อำ�นาจที่เคยผูกขาดอยู่กับผู้สร้างสรรค์เหล่า นั้นจะถูกทำ�ลายลงด้วยวิธีการนี้ ในขณะที่การสร้างความหมาย (signification) ของผู้อ่านภาพ (ซึ่งอยู่ในตำ�แหน่งเดียวกันกับผู้ถ่าย ภาพใหม่ซำ�อีกครั้ง) ได้แก่ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างเขากับตัวบท ที่อาจ เริ่มต้นตั้งแต่การถอดรหัส (decode) ที่มีอยู่ในภาพเหล่านั้นและ พยายามสร้างความหมายชุดใหม่ให้กับมัน โดยที่ไม่แคร์ว่า ผู้ถ่าย คนแรกจะคิดและตั้งใจจะสื่ออะไร ข้ อ เขี ย นชิ้ น นี้ จึ ง มี ฐ านะใกล้ เ คี ย งกั บ การบั น ทึ ก การอ่ า น ภาพ หรือในอีกแง่หนึ่งคือ การถ่ายภาพซำ�ผ่านการกดชัตเตอร์ที่ เป็นตัวอักษรนั่นเอง -3We can say that these texts are related to other "contexts" which directs the photography of those who submitted their work to the event, as the event was held under the context of violence that had raged on for years, the relationships amongst peoples that had been destroyed in a place where trust and confidence once stood between the citizens and the state and between people of different identities. In this aspect, violence would be an important structure that regulated the signification of the first photographer, whether directly or indirectly. The characteristics and the conditions of the exhibition was also important. The title of "Chum Num Chang Phap" ("Photographer Meeting") played an important role in screening people in and out, even though the word "Chang" (Thai for "the tendency to do something" or ‘the specialist’) did not have a very rigid meaning, but those who brought their photographs to this exhibition surely had realized that they would not be only those who press the shutter. Being the "Chang", in this case, would also


101

have other signifiance beyond being experts or professionals, i.e. includes being those who tend to do something, e.g. being "Chang Kid" (thoughtful), "Chang Kui" (talkative), "Chang Tham" (inquisitive), or in this case, "Chang Thay" (photoholic). However, the existence of being a "chang" at this Meeting has a relatively obscure dividing line, i.e. not as decisive as to not let those who were not fond of photography and were not professional photographers to join the event. However, the event still limits and conditions only those who are photography enthusiasts and those whose work was related to photography to participate, thus the images reflected in the exhibition may allow us to see the signifiance beyond what was stated above. Another condition that directs the exhibition of the photographs was the theme in sending photographs to the exhibition. The "host" specified the event to be a part of the peacebuilding process through the theme of "Reflection of mutualism", as there was a consensus that the process of "Take a photo, Take care of each other", the event's sub-heading, would not make it very difficult to connect each person's Picture to public issues or benefits to the society.These conditions should have direct consequences on encoding the photographs and selection of the photographs for the event, but such matters are not as important as the reading of our photographs as follow:

เราควรกล่าวได้ว่า ตัวบทเหล่านี้สัมพันธ์กับ ‘ตัวบท’ อื่นๆ ที่มีส่วนกำ�กับการถ่ายภาพของผู้ที่ส่งภาพเข้าร่วมงาน ไม่ว่าจะเป็น การจัดการงานเหล่านี้ในบริบทของบรรยากาศความรุนแรงที่ถาโถม ต่อเนื่องมาเป็นเวลาหลายปี ความสัมพันธ์ระหว่างผู้คนที่ถูกทำ�ลาย ลงบนที่ๆ ความเชื่อมั่นไว้วางใจเคยดำ�รงอยู่ ทั้งในแง่ที่ประชาชน พลเมืองมีต่อรัฐ และระหว่างประชาชนต่างอัตลักษณ์ ในแง่นี้ ความรุน แรงถือเป็นโครงสร้างสำ�คัญที่กำ�กับการให้ความหมาย (signifiance) ของผู้ถ่ายภาพมือแรก ไม่ว่าจะโดยตรงหรือโดยอ้อม ลักษณะของงานชุมนุมและเงื่อนไขของการจัดแสดงภาพ ก็สำ�คัญ การจั่วหัวว่าเป็นการ ‘ชุมนุมช่างภาพ’ มีส่วนสำ�คัญยิ่ง ในการคัดคนเข้าและคัดคนออก แม้ว่าการให้ความหมายของคำ� ว่า ‘ช่าง’ จะดูไม่แข็งตัวมากนัก แต่ผู้ที่นำ�ภาพของตนเข้าร่วมงาน นี้ก็ย่อมตระหนักแล้วว่าตนเองนั้นหาได้เพียงแต่กดชัตเตอร์เป็น เท่านั้น ความเป็น ‘ช่าง’ อาจมีความหมายกว้างไกลกว่าความเป็น ผู้เชี่ยวชาญหรือในที่นี้คือ การเป็นมืออาชีพเท่านั้น หากแต่น่าจะ หมายรวมไปถึงการเป็นคนที่นิยมชมชอบการกระทำ�บางอย่าง ไม่ ว่าจะช่างคิด, ช่างคุย, ช่างถาม หรือในกรณีนี้คือ ช่างถ่าย แต่ถึงอย่างไรก็ตาม การดำ�รงอยู่ของความเป็นช่างในงาน ชุมนุมครั้งนี้ก็มีเส้นแบ่งที่ค่อนข้างลางเลือน ไม่ถึงกับแตกหักเข้าขั้น ไม่อนุญาตให้กับผู้ที่ไม่นิยมและไม่ใช่มืออาชีพเข้าร่วม แต่ถึงอย่าง นั้นก็ยังคงจำ �กัดและกำ �กับให้ผู้ที่นิยมและข้องเกี่ยวกับภาพถ่าย เพียงเท่านั้นเข้าร่วม ภาพที่สะท้อนในการจัดแสดงอาจทำ�ให้เรา มองเห็นความหมายมากกว่าคำ�กล่าวข้างต้น เงื่อนไขอีกประการที่กำ�กับการสำ�แดงของภาพถ่าย ได้แก่ โจทย์ของการส่งภาพเข้าร่วมแสดงในงาน เนื่องจาก ‘ผู้จัด’ ระบุ เป้าหมายของกิจกรรมว่า ต้องการให้ภาพถ่ายเหล่านี้เป็นส่วนหนึ่ง ของกระบวนการสร้างสันติภาพ ผ่านการตั้งโจทย์ของภาพถ่ายที่ ต้อง “สะท้อนให้เห็นถึงการช่วยเหลือเกื้อกูลกันและกัน” ด้วยเห็น กันว่ากระบวนการ “Take a photo, Take care of each other” อันเป็นชื่อรองของงานนั้นเป็นเรื่องที่ไม่ยากนักที่จะเชื่อมโยงการ กดชัตเตอร์ของแต่ละคนให้เกี่ยวโยงกับเรื่องราวที่เป็นสาธารณะ หรือผลประโยชน์ของสังคม เงื่อนไขเหล่านี้น่าจะมีผลโดยตรงต่อการใส่รหัส (encode) ในการถ่ายภาพและคัดเลือกภาพเข้าร่วมงาน แต่เรื่องนั้นไม่สำ�คัญ เท่ากับการอ่านภาพของเราต่อจากนี้ -4-

Poster of Deep South Photographers Assembly No.2 by WeWatch.

The 80 photographs of many sizes are filled with the content that the photographer had encoded. Few pictures stated their title. Although the title itself directs the reading process towards what the original photographer


102  WeWatchBook Deep South Photojournalism Issue.

intended, few pictures displayed their title. For this reason, we would not be able to consider the photographs from the direct denotation that the photographer wishes to reflect from these "pictures", but we could also consider the numerous connotations in the pictures as well. When considered separately, most of the pictures in the exhibition were those of "people", while some showed a place or an object e.g. houses, mosques, temples, and boats, showing one's own history and origin (old house), religious identity-based signified, which could be said as a reaction against some forms of violence remained in existence that many types of attack targets had hidden identity signifiances. In addition, many boat pictures also carried signifiance of the way of life of people who lived close to nature. The serenity of these pictures were all responses to the turbulent winds and waves in the deep south. Although many pictures attempted to reflect the meaning of mutualism, but what can be questioned is how we can look at these mutual assistance relationships. When the timing of the photo was considered, we could differentiate commensalism in two set of pictures. The first, irregular times, stood out by recording at critical and highly dramatic moments. These irregular times may be time of crisis, such as helping a slipping vehicle. moving objects to help people affected by a flood, or firefighters spraying water. Furthermore, there may also be the significant times in people's lives, e.g. religious ceremonies or important festivals, such as the goddess parade and walking through fire by the Chinese, cooking the Bubur Azurah porridge and carrying extra sets of food in a feast of the Muslim community. Another set of pictures which showed signification of commensalism in daily lives whether by trading, giving, and offering something to "children". Some of the pictures also brought the mutualism process to the signification of "giving". When there is "giving", there is also "taking". Thus the question is that in these acts, who are the "givers" and who are the "takers"? What is the status of both sides in the event? If taking and giving were based on exchanging, then how would each side benefit and what was to be followed?

In other words, what we can read of these pictures are power relationships between people as well. In the photographs sent to this exhibition, we found that there were images of "children" as the main component in a relatively high proportion (approximately one-fourth). "Children" or the less senior, served as a signifier that carried the signified of being fragile, innocent, harmless, and the need to be protected by "adults" or those who were more senior. Many pictures were images of handing out "objects" or "opportunities" to the children. Some children received certain experiences based on the hypothesis that these "objects" or "experiences" would allow children to grow, be open-mindedness, and be strong in the future. In this aspect, many pictures emphasized the authority of the adults or those who were more senior over the children, i.e. those who could oversee and hand out "goodwill" to those who were less senior. However, what these pictures reflected was obscuring the question on whether "children" could correctly choose the things that were given to them? Can children rise up to be givers themselves? Can the children become the ones who hold on to the signifiance of "good will", and if so, how? These pictures limited them to being too weak to negotiate or ask any question. In addition, there were pictures of giving in which the identity of the "giver" and "taker" could not be identified as the partial appearances left the readers to interpret the message by themselves, such as pictures of hand-shaking or giving out things to each other, for which it was believable that there were givers and takers in such activities, although the line which divided the two parties vanished or were not secure enough to be clearly identified. Unlike images of the interaction in certain pictures, in which we could not point the party that first offered the goodwill, thus we were uncertain as to the party that was the taker. Mutualism may not pay much attention to such question as the relationship is reciprocal, but the displayed signifiance further emphasizes the myth. Such mutualism also concealed important matters. In other words, such commensalism may undermine the


103

importance of interactions amongst people in the signifiance of dominance and resistance, thus covering up the possibility that we could see a negotiation between people of different identities in the area in an adequately well-rounded manner. The image that could cunningly show this point was an image of two elderly men who dressed in attires with religious identities holding each other in the shoulders, smiling, with a background of a royal ceremony that prevailed in the society. Although the image reflected the two men's long-lasting friendship, but it seems that the signifiance of friendship and mutualism in this was still under the frame and fixation of inter-population relationship under certain governance and ideals of the state. Thus it is time that we consider the existence of "state power" through story-telling of these photographs.

ภาพถ่ายหลายขนาดทั้งกว่า 80 ภาพ อัดเต็มด้วยเนื้อหา ที่ผู้ถ่ายเข้ารหัสไว้ มีน้อยภาพที่บ่งชื่อภาพเอาไว้ ซึ่งจริงๆ แล้วชื่อ ภาพนี่เองที่จะเป็นตัวกำ�กับการอ่านภาพไปยังสิ่งที่ผู้ถ่ายต้องการ แต่ด้วยเหตุนี้เราจึงไม่สามารถพิจารณาภาพถ่ายได้จากความหมาย ตรง (denotation) ที่เขาและเธอต้องการสะท้อนผ่าน ‘ภาพ’ เท่านั้น หากแต่ยังสามารถพิจารณาความหมายแฝง (connotation) ที่บรรจุอยู่ด้วยมากมาย พิจารณาอย่างแยกแยะแล้ว เรามีภาพของ ‘ผู้คน’ อยู่ใน กองภาพเหล่านั้นเสียเป็นส่วนใหญ่ จะมีบ้างไม่มากนักที่แสดงถึง สถานที่หรือสิ่งของ อาทิเช่น บ้านเรือน มัสยิด วัด และเรือ เป็นต้น การมีประวัติศาสตร์ที่มาของตนเอง (บ้านเก่า) การนำ�พาความ หมายสัญญะที่อิงกับอัตลักษณ์ทางศาสนา ซึ่งน่าจะกล่าวได้ว่า นี่ เป็นปฏิกิริยาต่อความรุนแรงบางแบบแผนที่ดำ�รงอยู่ กล่าวคือ การ ที่เป้าโจมตีในหลายกรณีนั้น แฝงนัยยะการให้ความหมายเชิงอัต ลักษณ์ในแง่นี้ นอกจากนี้ ภาพของเรือหลายภาพยังนำ�พาความ หมายของวิถีชีวิตของผู้คนที่อยู่ใกล้ชิดกับธรรมชาติ ความสงบของ ภาพเหล่านั้นล้วนแล้วแต่ต้องการโต้ตอบกับความรุนแรงอันเป็น ที่มาของคลื่นลมอันแปรปรวนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ แม้ ห ลายภาพจะพยายามสะท้ อ นความหมายของการ ช่วยเหลือเกื้อกูล แต่สิ่งที่เราสามารถตั้งคำ�ถามได้ก็คือ เราสามารถ มองการช่วยเหลือเกื้อกูลเหล่านี้ได้อย่างไรบ้าง เมื่อดูจากจังหวะเวลาที่ภาพบันทึก เราอาจแยกแยะได้ว่า การช่วยเหลือเกื้อกูลในเวลาพิเศษเป็นภาพกลุ่มแรกที่โดดเด่นด้วย การบันทึกวินาทีสำ�คัญที่เร้าอารมณ์ยิ่ง เวลาพิเศษเหล่านี้อาจหมาย

ถึงช่วงเวลาในสถานการณ์ที่คับขัน เช่น ภาพการช่วยเหลือรถที่ลื่น ไถล ภาพการขนของช่วยเหลือผู้ประสบภัยนำ�ท่วม ภาพเจ้าหน้าที่ ดับเพลิงกำ�ลังเร่งฉีดนำ� เป็นต้น นอกจากนี้ ยังอาจมีความหมายต่อ ช่วงเวลาสำ�คัญของผู้คน ไม่ว่าจะเป็นพิธีกรรมทางศาสนาหรือเทศกาล สำ�คัญ เช่น การแห่เจ้าแม่และการลุยไฟของพี่น้องเชื้อสายจีน หรือ การกวนขนมอาชูรอ และการยกสำ�รับกับข้าวเพิ่มเติมในงานเลี้ยง ของพี่น้องชาวมุสลิม เป็นต้น ส่ ว นภาพอี ก กลุ่ ม ให้ ค วามหมายของการเกื้ อ กู ล กั น ในวิ ถี ชีวิตประจำ�วัน ไม่ว่าจะเป็นการซื้อขาย การให้ทาน การหยิบยื่น ของบางอย่างให้เด็ก เป็นต้น ในจำ�นวนภาพทั้งหมด มีภาพบางส่วนที่นำ�พาการช่วยเหลือ เกื้อกูลนั้นเข้าใกล้กับความหมายของ ‘การให้’ เมื่อมี ‘การให้’ เรา ย่อมต้องพบว่ามี ‘การรับ’ คำ�ถามจึงมีอยู่ว่า ในการกระทำ�ทำ�นอง นี้ มีใครเป็น ‘ผู้ให้’ และมีใครเป็น ‘ผู้รับ’ บ้าง ? ทั้งสองฝ่ายมีฐานะ อย่างไรในกิจกรรมที่เกิดขึ้น ? หากแม้นว่าการให้-รับเกิดขึ้นบนฐาน ของการแลกเปลี่ยน จึงยิ่งน่าสนใจด้วยว่า การที่ต่างฝ่ายต่างได้ ประโยชน์เช่นนั้นจะนำ�มาสู่สิ่งใด ? กล่าวได้อีกแบบก็คือ สิ่งที่เรา จะสามารถอ่านได้จากภาพเหล่านี้ก็คือ ความสัมพันธ์ทางอำ�นาจ ระหว่างผู้คนนั่นเอง ในกองภาพที่แต่ละคนนำ�มาประกอบรวมเป็นการจัดนิทรรศ การครั้งนี้ เราพบว่ามีภาพ ‘เด็ก’ เป็นตัวละครที่โดดเด่นและมีอยู่ใน สัดส่วนที่ค่อนข้างมาก (ราวหนึ่งในสี่) ‘เด็ก’ หรือผู้ที่อาวุโสน้อยกว่า เป็นรูปสัญญะ (signifier) ที่นำ�พาความหมายสัญญะ (signified) ของ ความอ่อนแอ ไร้เดียงสา ไร้มารยา ไร้พิษสง และต้องการการ ทะนุถนอมดูแลจาก ‘ผู้ใหญ่’ หรือผู้มีอาวุโสกว่า หลายภาพเป็นภาพ ของการหยิบยื่น ‘ของ’ บางสิ่งให้กับเด็ก หรือ ‘ให้โอกาส’ เด็กบาง คนได้มีประสบการณ์บางอย่าง บนสมมติฐานที่ว่า ‘ของ’ หรือ ‘ประสบการณ์’ เหล่านั้นจะทำ�ให้เด็กเหล่านี้เติบโต เปิดกว้าง และ เข้มแข็งในอนาคต ในแง่นี้แล้ว ภาพหลายภาพจึงตอกยำ�อำ�นาจของ ผู้ใหญ่หรือผู้ที่มีอาวุโสกว่าที่มีอยู่เหนือเด็ก ซึ่งสามารถกำ�กับดูแลและ คอยหยิบยื่น ‘ความปรารถนาดี’ ให้แก่บรรดาผู้ที่ด้อยอาวุโสกว่า แต่กระนั้น สิ่งที่ภาพเหล่านี้สะท้อนก็คือ การปิดบังคำ�ถามที่ ว่า ‘เด็ก’ สามารถเลือกที่จะรับสิ่งที่ถูกหยิบยื่นมาได้หรือไม่ ? เด็ก จะสามารถลุกขึ้นกลับความสัมพันธ์กลายเป็นผู้ให้ได้หรือไม่ ? หรือ กลับกลายมาเป็นฝ่ายยึดกุมความหมาย (signifiance) ของ ‘ความ ปรารถนาดี’ ได้หรือไม่ อย่างไร ? ภาพเหล่านี้จำ�กัดให้พวกเขา อ่อนแอเกินกว่าที่จะต่อรองหรือตั้งคำ�ถามใดๆ นอกจากนี้ ยังมีภาพของการให้ที่ไม่สามารถระบุตัวตนของ ‘ผู้ให้’ และ ‘ผู้รับ’ ได้ เพราะปรากฎเพียงบางส่วนที่ทำ�ให้ผู้อ่าน ต้องตีความเอาเอง ดังเช่นภาพจับมือหรือภาพการหยิบยื่นของบาง สิ่งให้แก่กัน ซึ่งก็น่าเชื่ออยู่ว่า มีผู้ให้และมีผู้รับดำ�รงอยู่ในกิจกรรม ดังกล่าว หากทว่าเส้นแบ่งที่แยกแยะระหว่างคนทั้งสองฝ่ายนั้น


104  WeWatchBook Deep South Photojournalism Issue.

เลือนหายไป หรือไม่มั่นคงพอที่จะระบุได้อย่างชัดเจน ไม่ต่างกับภาพปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้คนในบางภาพที่ทำ�ให้ เราไม่สามารถชี้ไปได้ว่า ฝ่ายใดเป็นผู้หยิบยื่นความปรารถนาดีให้ ก่อน ทำ�ให้เราไม่มั่นใจนักว่า ฝ่ายใดเป็นฝ่ายรับ การเกื้อกูลกันและ กันอาจไม่สนใจคำ�ถามดังกล่าวมากนัก เพราะเป็นความสัมพันธ์ใน เชิงต่างตอบแทน ที่ต่างฝ่ายต่างได้ประโยชน์ แต่ความหมายที่ ปรากฏชัดแจ้งที่ตอกยำ�มายาคติ (myth) เกี่ยวกับการช่วยเหลือ เกื้อกูลเช่นนี้ก็มีส่วนปิดบังเรื่องสำ�คัญเอาไว้ กล่าวได้อีกอย่างก็คือ อาจเท่ากับลดทอนความสำ�คัญของปฏิสัมพันธ์ของผู้คนในความ หมายของการครอบงำ�และการต่อต้านแข็งขืนเอาไว้ นี่เท่ากับเป็น การปกปิ ด ความเป็ น ไปได้ ที่ เ ราจะสามารถมองเห็ น การต่ อ รอง ระหว่างผู้คนที่แตกต่างอัตลักษณ์กันในพื้นที่อย่างรอบด้านเพียงพอ ภาพที่เผยประเด็นนี้ได้อย่างแหลมคม คือ ภาพของชาย อาวุโสสองคนที่สวมใส่เสื้อผ้าที่มีนัยยะทางอัตลักษณ์ทางศาสนา กอดคอกันยิ้มรื่น โดยมีฉากหลังเป็นภาพถ่ายของราชพิธีที่แพร่หลาย อยู่ในสังคมไทย แม้ว่าจะสะท้อนถึงมิตรภาพอันเก่าแก่ของพวกเขา ทั้งสอง แต่ดูเหมือนว่าความหมาย (signified) ของมิตรภาพและการ เกื้อกูลกันและกันในที่นี้ยังคงอยู่ในกรอบและถูกตรึงเอาไว้กับความ สัมพันธ์ระหว่างประชาชนใต้การปกครองและอุดมการณ์บางอย่าง ของรัฐ ดังนั้นจึงถึงคราวที่เราจะพิจารณาการดำ�รงอยู่ของ ‘อำ�นาจ รัฐ’ ผ่านการเล่าเรื่องเกี่ยวกับภาพเหล่านี้

-5-

The mentioned text referred to relationships amongst peoples, i.e. horizontal relationships, yet the details of many photographs still attempted to reflect the existence of "state power" through many signifiers: a photograph in a photograph, national flag, bank notes, soldiers, even guns. In a conflict zone, armed officers are a common sight and recording their photographs was not too difficult. Their density reflects the insecurity of the area, although the signifiance that we could read from the pictures at the exhibition differed. Certain pictures tried to limit the visibility of the "officials" but emphasized on the "signifiers" which signified intervention, control, distrust, as well as protection and security at the same time. Such as the picture of an M-16 rifle hanging in the shadow as the foreground, with the background being a fishing boat floating idly in calm sea.

The image of a "boat" appeared as frequently as images of children. The signifier of the boat led us to think of the simple way of life and issues of sustenance and survival of the people. Thus the boat, in this case, was inseparable to the way of life of the people. The existence of the gun in this picture reflected intrusion of state power to the everyday life of people in the area. The signifiance may be extremely polarized. On one hand, the gun represents the protection of ordinary people as basic duty of the state to protect the lives and properties of people. On the other hand, the image of a gun hanging idly also appeared to show the control and threat to every life of the people as well. State power still operated under special times (with which we may be familiar under the term "state of emergency!"). To be more correct, state power would only become more evident during the state of exception, in which guarantee of the rights and liberties of the people was not as important for the survival of state security, particularly under the appearance of resistance and sabotage of the state such as at present. Otherwise, certain signifiers would not be as easily evident (e.g. guns, checkpoints, or even the soldiers themselves). However, under "normal state", the state power did not seize to operate, and at times, state powers also simultaneously overlapped one another. One of the best pictures to confirm such signifiance was a picture of a group of men in firefighting outfit spraying water onto the fire that was burning a wooden house in the middle of the city. These "state officials" were extinguishing fire from a car bomb (with no claim for responsibility) from the event. The damage was not limited to state-related targets, but it was the state's duty to "extinguish the fire", both in the signification of the situation-at-hand and the signification of overall situation. However, when looked into details, we would find that the center of the picture had a banner handing on a brightly-lit billboard that announced the "Ma Dee" ("come nicely") Project of the Thai government. The letters "Ma Dee" in pink were as bright as the word "Maan Chai" ("Confident") posted in the middle of the smaller billboard canvas.


105

"Ma Dee" Project is the 2010 national census of the Thai National Statistical Office on the 100th anniversary of the Siamese/Thai state population survey, allowing us to know the number and characteristics of the "population" at present. Although the "Ma Dee" project tried to create a familiar, intimate, and harmless image for the "respondents", but the population survey itself is one of the governmental technologies that helped shaping the modern state. When a modern state needs to refer to boundaries and sovereign power, what the state cannot avoid is to refer its own legitimacy to the "population" that it governs to be under its power. In other words, this very knowledge of "population" characteristics plays a key role in exercising power to control the "population", which must be managed into a "countable" or "measurable" parameter. En route to this process, various existing differences were given a lesser priority. We discover that modern states generally have minority groups issues, in which the groups cannot easily assimilate themselves to certain basic characteristics of the state. The problem of conflict between the minority and the majority with governing power seems to always accompany the modern state, depending on whether it is ready to erupt or not. Thus the mentioned extinguishment reveals the technology of state through extinguishing fire under a special situation to manage the "population" through census, which clashed and conflicted with the resistance in the form of violence, which targeted civilians and aimed to simultaneously undermine state authority. In this aspect, the population census would be a different matter from the consensus of the population of the state.

ที่กล่าวมาข้างต้นเป็นความสัมพันธ์ระหว่างผู้คน หรือกล่าว ในอีกแบบก็คือ ความสัมพันธ์แนวราบ แต่รายละเอียดของภาพ หลายชิ้นยังพยายามสะท้อนการดำ�รงอยู่ของ ‘อำ�นาจรัฐ’ ผ่านรูป สัญญะ (signifier) หลายแบบ ไม่ว่าจะเป็นภาพถ่ายในภาพถ่าย ธงชาติ ธนบัตร ทหาร หรือแม้กระทั่งปืน ในพื้นที่ความขัดแย้ง เจ้าหน้าที่พร้อมอาวุธประจำ�กายเป็น ภาพที่ปรากฏในที่สาธารณะโดยทั่วไป และไม่ถึงกับยากเกินไปต่อ การถูกบันทึกภาพ ความหนาแน่นของพวกเขาสะท้อนความไม่

มั่นคงปลอดภัยของพื้นที่แห่งนี้ ทว่าความหมาย (signified) ที่เรา สามารถอ่านได้จากภาพที่นำ�มาร่วมแสดงนั้นให้แง่มุมที่แตกต่างออก ไป บางภาพพยายามจำ�กัดการเผยตัวของ ‘เจ้าหน้าที่’ หากแต่เน้น ไปยัง ‘รูปสัญญะ’ ที่มีความหมายของการแทรกแซง การควบคุม ความไม่ไว้วางใจ ตลอดจนการคุ้มครองป้องกันภัยในเวลาเดียวกัน ดังเช่นภาพปืนเอ็มสิบหกในเงามืดที่แขวนอยู่เป็นฉากหน้า มีจุดโฟกัสที่ฉากหลังในมุมลึกเป็นเรือประมงลำ�น้อยลอยเอื่อยอยู่ ในทะเลคลื่นลมสงบ ภาพของ ‘เรือ’ นั้นมีความถี่ไม่ต่างกับภาพของเด็ก รูป สัญญะของเรือพาให้นึกถึงวิถีชิวิตอันเรียบง่ายและประเด็นปาก ท้องและการเอาชีวิตรอดของชาวบ้าน เรือในที่นี้จึงสัมพันธ์กับชีวิต ของผู้คนอย่างยากจะแยกออกจากกัน การดำ�รงอยู่ของปืนในภาพที่ มีเรือนั้นสะท้อนการลุกลำ�ของอำ�นาจรัฐเข้าสู่ชีวิตประจำ�วัน (everyday life) ของผู้คนในพื้นที่ ความหมายของมันอาจแยกออกเป็น สองขั้วอย่างสุดโต่ง กล่าวคือ ด้านหนึ่งคือการคุ้มกันภัยของประชาชน สามัญ (ordinary people) ในฐานะหน้าที่พื้นฐานของรัฐในการจะ ป้องกันชีวิตและทรัพย์สินของคนใต้การปกครอง ทว่าในอีกด้านหนึ่ง ภาพปืนที่แขวนไว้อย่างอ้อยอิ่งนั้นเหมือนจะเป็นการควบคุมและ คุกคามวิถีชีวิตประจำ�วันของผู้คนเช่นเดียวกัน อำ�นาจรัฐยังคงทำ�งานในช่วงเวลาหรือในสถานการณ์พิเศษ (ซึ่งเราอาจคุ้นเคยกับสิ่งที่เรียกว่า ‘สถานการณ์ฉุกเฉิน’) หรือหาก กล่าวให้ถูกยิ่งขึ้นก็คือ อำ�นาจของรัฐจะยิ่งเผยตัวโดดเด่นโจ่งแจ้ง ยิ่งขึ้นในช่วงเวลาที่อยู่ในสภาวะยกเว้น (state of exception) ที่ การรับรองสิทธิเสรีภาพของประชาชนไม่ได้สำ�คัญเท่าการอยู่รอด ปลอดภัยเท่ากับความมั่นคงของรัฐ เฉพาะอย่างยิ่งในห้วงที่มีการ ปรากฎตัวของการต่อต้านและบ่อนทำ�ลายรัฐเช่นในปัจจุบัน ไม่เช่น นั้นแล้ว การปรากฏรูปสัญญะบางรูปแบบจะไม่สามารถเผยตัวให้ เห็นได้โดยง่าย (อาทิเช่น ปืน ด่านตรวจ หรือแม้แต่ตัวเจ้าหน้าที่ ทหารเอง) แต่ก็ใช่ว่าใน ‘สถานการณ์ปกติ’ อำ�นาจรัฐจะหยุด ทำ�งาน ในบางครั้งการทำ�งานของอำ�นาจรัฐก็ซ้อนทับกันไปในห้วง เวลาเดียวกัน ภาพที่ยืนยันความหมายนี้ได้ดีที่สุดภาพหนึ่ง ได้แก่ ภาพกลุ่ม ชายในชุดดับเพลิงกำ�ลังเร่งฉีดนำ�เข้ากองไฟที่ลุกโหมบ้านไม้เก่า กลางเมือง ‘เจ้าหน้าที่รัฐ’ เหล่านี้กำ�ลังเร่งดับไฟจากเหตุระเบิดคาร์ บอมบ์ (ที่ไร้การประกาศการรับผิดชอบ) ในเหตุการณ์ดังกล่าว ความ เสียหายไม่ได้จำ�กัดอยู่เฉพาะเป้าหมายที่เกี่ยวโยงกับรัฐโดยตรง หาก แต่เป็นหน้าที่ของรัฐในการ ‘ดับไฟ’ ทั้งในความหมายของสถาน การณ์เฉพาะหน้าและในความหมายของสถานการณ์โดยภาพรวม กระนั้นก็ตาม เมื่อพิจารณาโดยละเอียดแล้ว เราจะค้นพบว่า ตรงกลางภาพมีป้ายประกาศที่แขวนไว้ที่เสาไฟส่องสว่างเพื่อประชา สัมพันธ์ ‘โครงการมาดี’ ของรัฐบาล ตัวหนังสือ “มาดี” ตัวสีชมพูนั้น แจ่มชัดพอๆ กับคำ�ว่า “มั่นใจ” ที่ปะอยู่กลางแผ่นผ้าโฆษณาผืนเล็ก


106  WeWatchBook Deep South Photojournalism Issue.

-6‘โครงการมาดี’ คือโครงการสำ�รวจสำ�มะโนประชากรและ เคหะประจำ�ปี 2553 ของสำ�นักงานสถิติแห่งชาติ ซึ่งเป็นการจัดทำ� ครบรอบ 100 ปีของการจัดทำ�สำ�มะโนประชากรของรัฐสยาม/ไทย เพื่อทำ�ให้เราสามารถรู้ได้ว่า ‘ประชากร’ ในปัจจุบันมีจำ�นวนเท่า ไหร่และมีลักษณะอย่างไร แม้โครงการมาดีจะพยายามสร้างภาพ ลักษณ์ให้ดูคุ้นเคย ใกล้ชิด และไม่เป็นพิษเป็นภัยต่อ ‘ผู้ให้ข้อมูล’ แต่กระนั้น การสำ�รวจสำ�มะโนประชากรนี่เองก็เป็นหนึ่งในเทคโนโลยี ของการปกครองที่ก่อรูปความเป็นรัฐสมัยใหม่ขึ้น เมื่ อ รั ฐ สมั ย ใหม่ จำ � เป็ น ต้ อ งอ้ า งถึ ง เขตแดนและอำ � นาจ อธิปไตย สิ่งที่รัฐไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ก็คือการอ้างอิงฐานความ ชอบธรรมของตนกับ ‘ประชากร’ ที่ตนโอบล้อมให้อยู่ใต้อำ�นาจ กล่าวในอีกแบบก็คือ การรู้จักลักษณะของ ‘ประชากร’ นี่เองที่เป็น สิ่งสำ�คัญสำ�หรับการใช้อำ�นาจควบคุม ‘ประชากร’ ในที่นี้จึงต้องถูก จัดการให้กลายเป็นสิ่งที่ ‘นับ’ หรือ ‘วัด’ ได้ ในระหว่างทางของ กระบวนการเหล่านี้ ความแตกต่างหลากหลายจึงถูกทิ้งให้มีความ สำ�คัญรั้งท้าย เราจึงค้นพบได้ว่า รัฐสมัยใหม่มักมีปัญหาชนกลุ่มน้อย ที่ไม่สามารถจะกลืนกลาย (assimilate) ตัวเองให้เข้ากับลักษณะ พื้นฐานบางประการของรัฐได้โดยง่าย ปัญหาความขัดแย้งระหว่าง ชนกลุ่มน้อยกับชนกลุ่มใหญ่ที่ครองอำ�นาจการปกครองจึงดูจะเป็น สิ่งที่อยู่คู่กับรัฐสมัยใหม่บางรัฐเสมอมา ขึ้นอยู่กับว่ามีเงื่อนไขที่ พร้อมสำ�หรับการปะทุขึ้นมาหรือไม่เท่านั้น ภาพการดับไฟข้างต้นจึงเป็นการเผยให้เห็นเทคโนโลยีของ อำ�นาจรัฐผ่านการดับไฟในสถานการณ์พิเศษและการจัดการกับ ‘ประชากร’ ของตัวเองผ่านการจัดทำ�สำ�มะโนประชากร ซึ่งปะทะ และขัดแย้งกับการต่อต้านที่ปรากฎรูปลักษณ์เป็นความรุนแรงที่มุ่ง หมายต่อเป้าหมายพลเรือนและมุ่งบ่อนทำ�ลายอำ�นาจการควบคุม ของรัฐไปในตัว ในแง่นี้แล้ว สำ�มะโนประชากร (census) จึงเป็น คนละเรื่องเดียวกันกับฉันทามติ (consensus) ของประชากรของ รัฐนั่นเอง

As mentioned earlier, there are many ways to read a picture. Attempting the above-stated methods may cause many polemics. These things stand by itself that no one has absolute authority to explain a picture or a social phenomenon. There are only "pictures" which each of us or each group tries to "write" from our own perspectives and post them up on the wall as the "big picture" to induce discussion with the hope that such voicing and discursive process would complement the big picture of our society as it should be in the future. The necessity or the reason behind the use of pressuring force would eventually diminish.

ดังที่กล่าวในตอนแรกๆ วิธีที่เราจะอ่านภาพอาจมีหลายวิธี การทดลองวิธีการที่เขียนมาข้างบนนั้นอาจทำ�ให้ก่อคำ�ถามถกเถียง ขึ้นมากมาย สิ่งเหล่านี้ยืนยันโดยตัวมันเองว่า ไม่มีใครมีสิทธิอำ�นาจ ในการผูกขาดการอธิบายภาพถ่ายหรือความเป็นจริงทางสังคมได้ อย่างเบ็ดเสร็จเด็ดขาด จะมีก็แต่ ‘ภาพ’ ที่เราแต่ละคน แต่ละกลุ่ม พยายาม ‘เขียน’ ขึ้นจากมุมมองของตนเองและแปะขึ้นฝาผนังเป็น ‘ภาพใหญ่’ ให้เกิดการอภิปราย โดยคาดหวังว่า กระบวนการส่ง เสียงและถกเถียงเช่นนี้จะนำ�มาต่อเติมภาพใหญ่ที่ควรจะเป็นใน อนาคต โดยที่ความจำ�เป็นหรือเหตุผลที่ใช้รองรับการใช้กำ�ลังกด บังคับนั้นจะเริ่มลดน้อยถอยลงไปในที่สุด

Remark: this writing was inspired and based on certain pieces of writing from Roland Barthes, Michel Foucault, Chairat Charoensin-o-larn, and Thanet Wongyannawa, the first two of whom are important French thinkers in social sciences, while the latter two are faculty members of the Faculty of Political Science, Thammasart University. หมายเหตุ: งานเขียนชิ้นนี้ได้แรงบันดาลใจและใช้ประโยชน์จากงานบางชิ้นของ ‘โรลองด์ บาร์ตส์’ (Roland Barthes) ‘มิเชล ฟูโกต์’ (Michel Foucault) ‘ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร’ และ ‘ธเนศ วงศ์ยานนาวา’ สองคนแรกเป็นนักคิดชาวฝรั่งเศสคนสำ�คัญในวงการสังคมศาสตร์ ในขณะที่สองคนหลังเป็นอาจารย์คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


107

9

Idea behind the lens (คมคิดหลังเลนส์ 9 ช่างภาพชายแดนใต้)


108  WeWatchBook Deep South Photojournalism Issue.

Surapan Boonthanom

Photojournalist for Yala, Pattani and Narathiwat สุรพันธ์ บุญถนอม, ช่างภาพข่าว ยะลา, ปัตตานี และนราธิวาส

We must have our own idea. Don't let anyone lead us, whether it is the officials or the source. Let's supposed that we're not local photographers. Once we arrive, we would go to the officials, and they would take us there. When something happens or visiting a certain location, the officials would instruct us and we would take photos as they told. So we won't know what the background story, which would make us unsafe. We will lose our neutrality as the presentation of some images also reflect how a photographer thinks. It's not only us that put our idea into the pictures that we take, the pictures also reflect our ideas and the kind of people that we are. People who look at the images would know how we think, what we want to reflect to them, while those images also reflect us. We must make the role of the photographer more concrete, not only for our own enjoyment, but to show that we are struggling to help each other. Right now the mass media in the south are regarded as living nonchalantly and not helping with the situation, only consuming the information. When villagers are approached, they would say that the media are not helping them at all. They want to see how we can help them. We must bring the colors out from the villages for others to see, let them see the smiles of people in the area under distress. We must bring them out. The main objective is to benefit them, create an impression upon them, bring smiles to their faces. How can we do so under our duty is a question that I cannot answer yet, but many ideas can ignite this spark, so we have to sit down and talk about it.

เราต้องมีความคิดเป็นของเราเอง อย่าให้ใครชี้นำ� ไม่ว่าจะ เป็นเจ้าหน้าที่หรือแหล่งข่าวที่มาบอก สมมุติว่าเราไม่ได้เป็นช่าง ภาพในพื้นที่ เมื่อมาถึงก็ไปหาเจ้าหน้าที่ เขาก็พาเราไป เวลาเกิดเหตุ หรือไปสถานที่บางแห่ง เจ้าหน้าที่ก็จะบอกเรา เราก็ถ่ายตามที่เขา บอก ซึ่งเราก็จะไม่ได้รู้ว่าเบื้องหลังมันเป็นอย่างไร ตรงนี้จะทำ�ให้ เราไม่ปลอดภัย เราจะสูญเสียความเป็นกลางไป เพราะการนำ�เสนอ ภาพบางภาพ มันก็ฟ้องเหมือนกันว่า คนที่ถ่ายภาพนี้คิดอย่างไร ไม่ใช่เราเอาความคิดของเราสะท้อนไปในภาพที่เราถ่ายอย่างเดียว ในมุมกลับ มันก็สะท้อนความคิดของเราว่าเป็นคนอย่างไร คนดู ภาพเขารู้ว่าเราคิดอย่างไร เราต้องการสะท้อนอะไรให้เขารู้ ในขณะ เดียวกัน ภาพนั้นมันก็สะท้อนตัวเราเหมือนกัน เราต้องทำ�บทบาทช่างภาพให้มันเป็นรูปธรรมชัดขึ้น ไม่ใช่ ทำ�เพื่อความสุขของกลุ่ม ต้องทำ�ให้เห็นว่าเรากำ�ลังดิ้นรนช่วยเหลือ กัน เพราะตอนนี้สื่อมวลชนภาคใต้ถูกมองว่า อยู่กันแบบลอยๆ ไม่ ได้เข้ามาช่วยสถานการณ์ มีแต่เสพอย่างเดียว อย่างไปคุยกับชาว บ้าน เขาบอกว่าสื่อไม่ได้ช่วยอะไรเลย เขาอยากจะเห็นว่าเราจะ ช่วยชาวบ้านได้อย่างไร พวกเราต้องเข้าไปสร้างให้มีสีสันออกมาจากหมู่บ้าน ให้ เห็นรอยยิ้มของคนที่มีความเครียดในพื้นที่ เอามันออกมาให้ได้ วัตถุประสงค์หลัก คือ ให้ได้ประโยชน์กับเขา สร้างความประทับ ใจให้เขา สร้างรอยยิ้มให้เขา ในหน้าที่ของเราจะทำ�อย่างไรได้บ้าง ยังตอบตัวเองไม่ได้เหมือนกัน แต่หลายๆ ความคิดมันอาจจะจุด ประกายขึ้นมาได้ ก็ต้องมานั่งคุยกัน


109 

Security officers quickly helped 2 girls out of the scene, after unknown group of armed men started indiscriminately shooting local people in the tea shop in front of the garage in Thung Yang Dang sub-district, Pattani province. Three people were killed. SURAPAN BOONTHANOM


110  WeWatchBook Deep South Photojournalism Issue.

Charoon Thongnual

Photojournalist from Songkhla จรูญ ทองนวล, ช่างภาพข่าว สงขลา

A strange thing here is that you can't just walk in and take the photos that you want. Whoever holds a camera is already under suspicion, whether by the authority, the journalists, or even the villagers. The first question that is asked is 'Why are you taking the picture?'. You can say that you are keeping records, or just doing it for recreation. Everyone here has the right to take pictures, but there is a high level of paranoia here. If you go with someone who knows the area, then talking will be easy because at least the presence of the other person eases the paranoia. Like I said, when I saw a really beautiful sunset and the scenary on the two sides of the road was gorgeous and worthy of shooting pictures, I couldn't get down and shoot pictures right away. I had to take care of my own safety as well. Don't think that you can do anything just because you're one of the press. I think that understanding is an important issue. How can we understand the area, the way of life, and many cultural issues and process them into stories? How can we go in and take photos and get complete photographs without creating conflict with the communities? How can we communicate and make the message most accurate? I'm still happy to be working here. Even though it's risky, I'm not letting my guard down. I have some experience in traveling. I think that we can't be careless. Everyone can have fear, but there must be conscience within the fear. If you live in the deep south and you are shaking with fear, then it's hard to work.

ที่นี่แปลกอยู่อย่างหนึ่ง คือไม่สามารถลงไปดุ่ยๆ ถ่ายรูป ที่ต้องการได้ทันที ไม่ว่าใครถือกล้องถ่ายภาพก็จะถูกเพ่งเล็งอยู่ แล้ว ไม่ว่าจะเป็นเจ้าหน้าที่หรือว่านักข่าว หรือแม้กระทั่งชาวบ้าน คำ�ถามแรกที่ถามคือ ‘คุณถ่ายไปทำ�อะไร’ จะบอกว่าถ่ายเก็บไว้ ก็ได้ ถ่ายเล่นก็ได้ คือ ทุกคนก็มีสิทธิ์ถ่ายภาพ แต่พื้นที่ทางนี้มันมี ความหวาดระแวงสูง ถ้าเราไปกับคนที่มีคนรู้จักในพื้นที่ มันจะง่าย ในการพูดคุย เพราะอย่างน้อยมันก็ลดความหวาดระแวง อย่างที่ เคยพูดว่า เจอดวงอาทิตย์ตกสวยงามทางมุมนี้ มีทิวทัศน์สองข้าง ทางที่สวยงามน่าลงไปถ่าย แต่ก็ไม่สามารถลงไปถ่ายรูปที่ต้องการ ได้ทันที เราต้องดูแลความปลอดภัยของตัวเราด้วย อย่าคิดว่าเป็นสื่อมวลชนแล้วจะทำ�อย่างไรก็ได้ ผมว่าเรื่อง ความเข้าใจเป็นเรื่องสำ�คัญ คือทำ�อย่างไรให้เราเข้าใจพื้นที่ เข้าใจ วิถีชีวิต เข้าใจหลายเรื่องที่เป็นวัฒนธรรม เพื่อนำ�มาประมวลเรื่อง ราวต่างๆ ให้คิดได้ว่าจะเข้าไปถ่ายภาพอย่างไรจึงจะได้ภาพที่ออก มามีความสมบูรณ์ ไม่มีความขัดแย้งกับชุมชน สื่อสารออกมาได้ถูก ต้องที่สุด ผมเองยังมีความสุขที่ได้ทำ�งานตรงนี้ แม้จะเสี่ยงแต่เราก็ไม่ ได้ประมาท อีกอย่างก็พอมีประสบการณ์ในการเดินทาง ผมยึดหลัก ว่าประมาทไม่ได้ ความกลัวทุกคนมี แต่ต้องมีสมาธิในความกลัว คือถ้าอยู่ในสามจังหวัดถ้ากลัวแบบลนลานก็ทำ�งานลำ�บาก


111 

Unrest in the southernmost provinces of Thailand. CHAROON THONGNUAL


112  WeWatchBook Deep South Photojournalism Issue.

Chumsak Nararatwong

Documentary writer and freelance photographer from Narathiwat ชุมศักดิ์ นรารัตน์วงศ์, นักเขียนสารคดีและช่างภาพอิสระ นราธิวาส

The stories to be reflected through photographs depend on the interpretation of each person, but they must be fulfilled by the image. Instead of images of killings and bombings which have become commonplace and only nail in a fraction of the reality in the area. If we bring the beauty to counter-balance for people to see, this would have to resolve the tension and restore the faith of the people, making them feel that this is the homeland that must be protected together. I think that this is the end product of the art of photography that can bring about peace. Under the situation in the deep south, I think that the pain and the human casualties are the deepest wound that human beings can inflict upon one another. Therefore, easing these problems require joint effort from many sides. We're just a particle or a fraction of the effort to solve the problem. So, if there is anyting that we can help each other, we come together to help. I believe in the power of writing. I believe in the power of photography. I believe in the power of the new generation. I believe that the problem of the deep south is too complicated to have a knight in shining armor to fix everything. It won't even end in our generation. So, the people who can come to solve this problem are the new generation. I believe that if we can open the area and allow the new generation with strong logic and the responsible perception and conscience for their homeland, by whatever domain of knowledge, to grow up, they will eventually come home and continue the work that we have started to the best of their ability.

เรื่องเล่าที่สะท้อนออกมาจากภาพถ่าย มันขึ้นอยู่ที่การ ตีความของแต่ละบุคคล แต่ทั้งหลายทั้งปวงต้องให้เขาดูแล้วรู้สึก อิ่มกับภาพ แทนที่จะเป็นภาพการฆ่าฟัน การระเบิด ซึ่งภาพที่เห็น จนชินตาเหล่านี้มันตอกยำ�แค่เศษเสี้ยวหนึ่งของพื้นที่เท่านั้น ถ้าเรา เอาแง่งามของภาพออกมาถ่วงดุลนำ�หนักกันให้คนเห็น ตรงนี้แหละ ที่จะช่วยคลี่คลายความรู้สึก สามารถกู้คืนศรัทธาของผู้คนได้ ทำ�ให้ รู้สึกว่า นี่คือแผ่นดินเกิดที่ต้องร่วมกันรักษา ผมคิดว่า มันคือผล สำ�เร็จของศิลปะการถ่ายภาพที่นำ�มาซึ่งสันติภาพ ในสถานการณ์ชายแดนใต้ ผมคิดว่ามันเป็นความเจ็บปวด เป็นความสูญเสียของมนุษย์ มันคือ บาดแผลที่ถูกตอกยำ�บาดลึก ที่สุดเท่าที่มนุษย์ได้กระทำ�ต่อมนุษย์ด้วยกัน เพราะฉะนั้น สิ่งที่จะ คลี่คลายปัญหาเหล่านี้ไปได้มันต้องอาศัยพลังจากหลายๆ ฝ่ายร่วม กัน เราก็เป็นแค่อณูหรือเป็นแค่เศษเสี้ยวที่จะมาร่วมกันคลี่คลาย ปัญหา เพราะฉะนั้น อะไรที่เราพอจะช่วยเหลือกันได้ เราก็มาลงมือ ลงแรงช่วยกัน ผมเชื่อในพลังของงานเขียน ผมเชื่อในพลังของ ภาพถ่าย และผมเชื่อในพลังของเยาวชนคนรุ่นใหม่ คือ ผมเชื่อว่า ปัญหาชายแดนใต้มันซับซ้อนเกินกว่า จะมีอัศวินม้าขาวหรือคนใด คนหนึ่งจะมาช่วยได้ และมันจะไม่จบในรุ่นเราด้วยซำ� เพราะฉะนั้น คนที่จะมาแก้ไขตรงนี้ได้ก็คือ คนรุ่นใหม่ ผมเชื่อว่าถ้าเราสามารถเปิดพื้นที่แล้วเสริมให้คนรุ่นใหม่มี ระบบคิดให้มีความแข็งแรง มีทักษะ มีโลกทัศน์ มีสำ�นึกในเชิงรับ ผิดชอบในบ้านเกิด ไม่ว่าใช้มิติของศาสตร์ใดก็แล้วแต่ วันหนึ่งเมื่อ คนเหล่านี้เติบโตขึ้นมา เขาก็จะกลับมาบ้านเกิดมาสานต่อในสิ่งที่ เราได้ลงมือลงไม้ลงแรงกันเท่าที่พอทำ�ได้


113 

'Different Pont of Views' Naratat beach, Muang, Narathiwat, September 12, 2010. CHUMSAK NARARATWONG


114  WeWatchBook Deep South Photojournalism Issue.

Tuwaedaniya Meringing Photojournalist from Pattani ตูแวดานียา มือรีงิง, ช่างภาพข่าว ปัตตานี

Nowadays, everyone has technology in their hands. You can record things by yourself. You have to understand that the images that you release will not only be seen by Thai people, but people around the world can search for them and look at them. If you want to ruin good feelings or destroy good relationships between people in the area, you can do it. For example, if there is a massacre of Thai Buddhists, you can take photos of it and post it on Facebook or on forwarded emails and say that it's the cruelty that the Muslims inflict upon the Thai Buddhists. Or if there are images of an assailant who attack people praying in a mosque, someone may take photos and post them up as the violence that Thai Buddhists or officials inflict upon the Muslims. Sometimes pictures can show many things, especially if you write captions under the image and state whose action it is. If there are good pictures of people living in the area, images of mutual assistance and generosity, these photos can also be presented to outsiders or foreigners to show them that in the middle of conflict, there still are good things. If you don't want to present pictures of violence, you can present documentary images or positive images from the area. We want the pictures to indicate the identity of the people here that is not found elsewhere. For example, during the Ramadan month, we can go take pictures of poeple praying, the crowd overflowing from the Central Mosque. Do other places have things like these?

ในวันนี้ทุกคนมีเทคโนโลยีอยู่ในมือ สามารถบันทึกภาพ อะไรไว้ได้เอง เราต้องเข้าใจว่า ภาพที่ถูกนำ�เสนออกไป ไม่เฉพาะ คนไทยเท่านั้นที่ดู คนทั่วโลกก็สามารถเข้าไปค้นหาและดูได้ ถ้าคุณ ต้องการทำ�ลายความรู้สึกดีๆ ทำ�ลายความสัมพันธ์ดีๆ ของคนใน พื้นที่ คุณก็ทำ�ได้ เช่น เหตุการณ์สังหารหมู่คนไทยพุทธ คุณก็ไป ถ่ายรูปแล้วก็โพสต์ไปในเฟสบุ๊ก ส่งตามอีเมล์เวียนว่าเป็นความโหด ร้ายที่คนมุสลิมกระทำ�ต่อคนไทยพุทธ หรือภาพที่เหตุการณ์คนร้าย ถล่มคนที่กำ�ลังละหมาดในมัสยิด ก็อาจจะมีคนไปถ่ายภาพแล้ว โพสต์เข้าไปว่าเป็นความรุนแรงที่คนไทยพุทธหรือเจ้าหน้าที่กระทำ� ต่อชาวมุสลิม บางครั้งภาพมันแสดงถึงอะไรหลายๆ อย่างได้ ยิ่งคุณ ไปเขียนคำ�อธิบายใต้ภาพว่า นี่เป็นการกระทำ�ของใคร แต่ถ้าเป็นภาพดีๆ ของชาวบ้านที่อยู่ในพื้นที่ หรือภาพแห่ง การปรองดองกัน เกื้อกูลกัน ภาพเหล่านี้สามารถส่งไปให้คนต่าง พื้นที่ หรือคนต่างประเทศเข้าใจว่า ท่ามกลางสถานการณ์ขัดแย้ง ยังมีสิ่งดีอยู่ ถ้าเราไม่อยากนำ�เสนอภาพที่เป็นภาพความรุนแรง เราก็ อาจนำ�เสนอภาพสารคดี หรือภาพที่เป็นสิ่งดีๆ จากพื้นที่ได้ โดยที่ เราอยากจะให้ภาพที่เกิดขึ้นบ่งบอกถึงความเป็นอัตลักษณ์ของคน ที่นี่ ซึ่งที่อื่นไม่มี เช่นภาพผู้คนในเดือนรอมฏอน เราก็ไปถ่ายภาพ คนที่กำ�ลังละหมาด ภาพคนล้นหลามที่มัสยิดกลาง ถามว่าที่อื่นมี ไหม สิ่งเหล่านี้คือภาพที่อยากให้นำ�เสนอภายใต้สถานการณ์ความ รุนแรง ซึ่งสะท้อนว่า สถานการณ์ความรุนแรงไม่ได้ทำ�ให้เขาหวาด กลัว กลับยิ่งทำ�ให้เขาเพิ่มจิตศรัทธามากขึ้น


115

“This is the image that I want to present as it reflects that even being under the state of violence, these people are not scared, but it rather helps them gain more faith.” TUWAEDANIYA MERINGING


116  WeWatchBook Deep South Photojournalism Issue.

Madaree Tohlala

Photojournalist from Narathiwat มะดารี โตะลาลา, ช่างภาพข่าว นราธิวาส

The images of the violence cannot be kept secret. They must be presented, but there are images of the way of life of people in the deep south, who are the target group on how we can present to the outsiders that our home is not always full of violence as perceived. Shooting news images are quite difficult, unlike normal photography. For me, frankly, taking wedding pictures or pictures of festival would be out of my league. I don't have the skills yet. But if it's the situations in the deep south over the past 5 years that I have gone into the field and worked without ever being trained in photography and I had to learn by myself, it's easier for me. If you hire me to take wedding photos, it will be tough. If you asked me what are the differences between beautiful or scenary pictures and pictures of the events, I would say that scenaries can wait and can be framed, but events do not wait for anything. If the image is good, it's good. If it's bad, then it's bad. So we have to be trained to be proficient. Within a scope of 4-5 minutes, you have to be able to do it. That's why it's difficult. Beauty is in the eye of the beholder. When you have a camera next to you, you can distribute the story of your community to the outsiders without only having to present the images of the situation of violence. There are good things happening. Just take pictures of the festivals in our community, those are the best. Try to push yourselves to serve the people. When there are activities in the community, then you go out there and help them take pictures.

ภาพเหตุการณ์ความรุนแรงมันปิดไม่ได้ จำ�เป็นต้องนำ� เสนอ แต่มันยังมีภาพวิถีชีวิตของคนสามจังหวัด คือ เป้าหมายที่ เราจะทำ�อย่างไรให้คนข้างนอกรู้ว่าบ้านเราไม่ได้มีแต่ความรุนแรง อย่างที่คิดเสมอไป การถ่ายภาพข่าวค่อนข้างยาก ไม่เหมือนการถ่ายภาพทั่วไป สำ�หรับผมพูดแบบเปิดใจเลย ถ้าถ่ายงานแต่งงานหรืองานเทศกาล ผมว่ามือผมยังไม่ถึง แต่ถ้าเป็นเหตุการณ์ในสามจังหวัดชายแดนภาค ใต้ เท่าที่ผ่านมา 5 ปีที่ได้ลงสนามทำ�งาน ไม่เคยฝึกการถ่ายรูปมา ก่อนเลย เรียนรู้ด้วยตนเอง ผมคิดว่า การถ่ายภาพข่าวจะง่ายกว่า สำ�หรับผม ถ้าจ้างผมไปถ่ายรูปงานแต่งงาน ผมคิดว่ายาก แต่ ถ้ า ถามว่ า ระหว่ า งภาพสวยงามหรื อ ภาพวิ ว กั บ ภาพ เหตุการณ์ ความต่างเป็นอย่างไร ผมว่า ภาพวิว เราสามารถรอได้ สามารถจัดเฟรมได้ แต่ว่าภาพเหตุการณ์มันจะไม่รออะไรแล้ว คือดีก็ ดี ไม่ดีก็ไม่ดี เพราะฉะนั้นต้องฝึกให้มีความชำ�นาญ ภายใน 4-5 นาที คุณต้องทำ�ให้ได้ ความยากมันอยู่ตรงนี้ แต่เรื่องความสวยงามก็แล้ว แต่มุมมองของแต่ละคน เมื่อเรามีกล้องอยู่กับตัว เราสามารถเผยแพร่เรื่องราวของ ชุมชนให้กับคนภายนอกได้ ไม่จำ�เป็นต้องเป็นภาพถ่ายสถานการณ์ ความรุนแรงเท่านั้น เรื่องดีๆ ก็มีอีกเยอะ เอาภาพงานในชุมชน เรานั่นแหละ ดีที่สุด พยายามผลักดันตัวเองให้รับใช้มวลชน เวลา ชุมชนจัดงานเราก็เข้าไปมีส่วนร่วมช่วยถ่ายภาพ


117 

Kurban (the sacrifice of a livestock animal during Eid ul-Adha), Narathiwat. MADAREE TOHLALA


118  WeWatchBook Deep South Photojournalism Issue.

Nakharin Chinnawornkomol Photojournalist from Yala

นครินทร์ ชินวรโกมล, ช่างภาพข่าว ยะลา

First of all, people who are going to work in photojournalism or the mass media must have their heart into it and must be interested in photography. There should be some readiness in term of equipments. It doesn't have to be much, but they have to be ready for the job and should have some basic knowledge of photography. For people who have no basic photography skill, it would be quite difficult to tell all the story within one photograph. Responsibility is very important for those who will become mass media in the area, especially in the deep south. Sometimes we may want to take pictures simply for enjoyment or personal gratification, we may want to take photos of people laying dead or a car being bombed and flipped over. These pictures can be taken, but the presentation of them must be selective, with conscience and responsibility. Sometimes, the media in the deep south are questioned by their presentation of only violent images, but I see that these violence images are the very thing that makes the society question on whether the deep south should be that way, whether there should only be bombs and people getting killed by shootings in the deep south. I want these images to go back to the society and make people think, make the government, the police, and the military and all related agencies to think on whether they wish for the violent images to keep on appearing forever.

คนที่จะมาทำ�งานในสายช่างภาพข่าวหรือสื่อมวลชน ก่อน อื่นต้องใจรัก และมีความสนใจด้านการถ่ายภาพ ต้องมีความพร้อม ด้านอุปกรณ์บ้าง ไม่ต้องมาก แต่ต้องพร้อมสำ�หรับการทำ�งาน และ ควรจะมีพื้นฐานในการถ่ายภาพบ้าง เพราะคนที่ไม่มีพื้นฐานการ ถ่ายภาพเลยมันเป็นเรื่องค่อนข้างยากที่จะสามารถเล่าเรื่องทั้งหมด ให้อยู่ภายในภาพเดียว ความรับผิดชอบก็เป็นเรื่องสำ�คัญสำ�หรับคนที่จะเป็นสื่อ มวลชนในพื้นที่ โดยเฉพาะในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ บาง ครั้งเราอยากจะถ่ายภาพเพื่อเอาสนุกหรือความสะใจ จะถ่ายภาพ คนนอนตายหรือภาพรถถูกระเบิดตีลังกา สามารถถ่ายได้แต่ต้อง เลือกนำ�มาเสนอ คือ ต้องมีจิตสำ�นึกและความรับผิดชอบ บางครั้งสื่อมวลชนในสามจังหวัดภาคใต้มักถูกตั้งคำ�ถาม ว่า นำ�เสนอแต่ภาพความรุนแรง แต่ผมกลับมองว่า ภาพความ รุนแรงนี่แหละที่ทำ�ให้คนในสังคมได้คิดว่า เราอยากให้พื้นที่เป็น แบบนั้นหรือไม่ อยากให้จังหวัดชายแดนใต้มีแต่ระเบิด มีแต่คน ถูกยิงตายทุกวันหรือเปล่า ผมอยากให้ภาพเหล่านี้ ย้อนกลับไปให้ คนในสังคมช่วยกันคิด ให้รัฐบาล กองทัพ ตำ�รวจ ทุกหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องร่วมกันคิดว่า เราอยากให้มีภาพข่าวความรุนแรงตลอดไป หรือเปล่า


119 

Officers surrounded a group of insurgents in the suspicious home in Raman, Yala 0n 19 September, 2006. The armed men had all surrendered. NAKHARIN CHINNAWORNKOMOL


120  WeWatchBook Deep South Photojournalism Issue.

Fuad Waesamae

Freelance Photographer from Pattani ฟูอัด แวสะแม, ช่างภาพอิสระ ปัตตานี

I started out by not knowing how to take photographs. I had no experience. I didn't know what would become of a shoot, nor the type of photographs. Once I started taking photos, I started to realize the kind of photography style that I preferred. Normally, I would take landscape and portrait photos. At first I just want to have beautiful images to keep, but once I shot photos at various venues, I started to realize that the images taken are not only significant in their beauty, but they can record history. I later became more interested in this issue so I started to dig deeper into each place. I started to look for old buildings and places that are the identity of the deep south and record them in photographs. So my style of photography is a contradiction to the situation of unrest in the area, as most of the society would consume news about the unrest from the media, while my photographs are those of the deep south as well, but they are the images of beauty and abundance of nature. What I present do not contain violence. I would tell about arts and culture of the area through photographs. I don't want to think of how my photographs would help create any change. I just want to take the most beautiful pictures of Pattani and communicate to the public of how beautiful Pattani actually is. Aside from the images which tell that there are beautiful things or activities in existence, the fact that I was able to go and take pictures at that location also reflects the living conditions in the region that do not differ from other places.

ผมเริ่มต้นจากการถ่ายรูปไม่เป็น ไม่มีประสบการณ์ ไม่รู้ว่า ถ่ายแบบนี้จะเป็นอย่างไร ไม่รู้จักประเภทของภาพ พอเริ่มถ่ายไปก็ เริ่มรู้ตัวเองว่าชอบภาพสไตล์ไหน ส่วนใหญ่ผมจะถ่าย landscape กับ portrait ตอนแรกก็แค่อยากได้ภาพสวยๆ มาเก็บไว้ พอเรา เริ่มถ่ายตามสถานที่ต่างๆ เราก็รู้ว่า ภาพที่ถ่ายมามันไม่ใช่มีความ สำ�คัญแค่ความสวยงาม แต่มันสามารถเป็นตัวบันทึกประวัติศาสตร์ ได้ ซึ่งต่อมาได้สนใจในประเด็นนี้มากขึ้น เลยเริ่มเจาะลึกเข้าไปใน แต่ละสถานที่ เริ่มหาอาคารโบราณ สถานที่เป็นเอกลักษณ์ในสาม จังหวัดเพื่อถ่ายภาพเก็บไว้ ลักษณะการถ่ายภาพของผมจึงเป็นความสัมพันธ์เชิงขัด แย้งกับสถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่ เนื่องจากสังคมส่วนใหญ่ จะรับรู้ข่าวสารสถานการณ์ความรุนแรงจากสื่อต่างๆ แต่ภาพของ ผมก็เป็นภาพในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้เหมือนกัน แต่ เป็นภาพของความสวยงาม ภาพความอุดมสมบูรณ์ของธรรมชาติ สิ่งที่ผมนำ�เสนอออกไปจะไม่มีความรุนแรง ผมจะบอกเล่าศิลปะ วัฒนธรรมผ่านภาพถ่าย ไม่อยากคิดว่าภาพถ่ายของตัวเองจะไป สร้างความเปลี่ยนแปลงอะไร เพียงอยากพยายามถ่ายรูปปัตตานีให้ สวยที่สุด สื่อสารออกไปให้คนนอกพื้นที่เห็นว่า ปัตตานีสวยงามมาก ขนาดไหน อี ก อย่ า งการที่ เ ราจะสามารถออกไปถ่ า ยรู ป ในสถานที่ ต่างๆ ได้ นอกจากตัวภาพที่มันจะบอกเล่าว่า ตรงนี้มีอะไรสวยงาม หรือมีกิจกรรมอะไรเกิดขึ้น การที่ผมได้เข้าไปถ่ายรูปในจุดนั้นๆ ก็ เป็นตัวสะท้อนความเป็นอยู่ของคนในพื้นที่ว่า มันก็ไม่มีอะไรแปลก แตกต่างจากที่อื่น


121

“The positive images that are released, even if they do not cause any immediate change, but they should create an emotional sentiment and help with the rehabilitation to a certain extent. At least, there are images of beauty for outsiders to see that the way of life of the people in the deep south is still interesting and beautiful.” FUAD WEASAMEA


122  WeWatchBook Deep South Photojournalism Issue.

Muhammad Sabri Musordi Photojournalist from Yala มูฮัมหมัดซับรี มูซอดี, ช่างภาพข่าว ยะลา

In the conflict in the 3 southern border provinces and conflicts all over the world, photographers play a key role in resolving the problem or presenting the truth for outsiders to know. From the beginning, the images taken by photographers can play a role in determining the direction of violence or peace in the area. photographs also serve as proof and pieces of history which can tell how the situation from past to present has been. However, we must remember that once the photographs are published, the photos must not instigate more violence. The photos must reflect what was actually happening without staging or artificial creation. In each image, there must be captions of the photograph in order to let the viewers know what the facts are, so a good photographer must be able to write captions as well. In the deep south, there is a large number of photographers and reporters working in the area. It is an area of high risk and at present there is no agency or organization that would care for our welfare. If the same incident as what happened in Bangkok last year happens here, there will be photographers who are affected by the incident and will not be able to work again, so I would like to ask for an agency or an organization to help determine or establish an approach to help people who work in a conflict area.

ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นใน 3 จังหวัดชายแดนใต้และทั่วโลก ช่างภาพมีส่วนสำ�คัญอย่างมากที่จะช่วยคลี่คลายหรือว่านำ�เสนอ ความจริงเพื่อที่จะให้ปรากฏต่อคนภายนอกได้รับรู้ จากอดีต ตั้งแต่ เกิดเหตุช่วงแรกๆ ก็จะมีภาพของช่างภาพเป็นตัวกำ�หนดทิศทาง ความรุนแรงหรือว่าสันติภาพในพื้นที่ ภาพถ่ายยังเป็นหลักฐาน เป็นประวัติศาสตร์ที่จะสามารถ บอกได้ว่า สถานการณ์ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันนั้นเป็นอย่างไร อย่างไรก็ตาม ต้องคิดเสมอว่า เมื่อสื่อสารออกไปแล้วจะ ต้องไม่ก่อให้เกิดความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้ ก็ต้องเป็นภาพที่ เกิดขึ้นจริง ไม่มีการจัดฉากหรือสร้างภาพ และในแต่ละภาพควรจะ ต้องมีแคปชั่น หรือข้อความบรรยายภาพไว้ด้วย เพื่อจะให้คนดูรู้ว่า ข้อเท็จจริงเป็นอย่างไร ช่างภาพที่ดีต้องสามารถเขียนแคปชั่นภาพ ได้ดีด้วย ในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ มีผู้สื่อข่าวและช่างภาพ ที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นจำ�นวนมาก ซึ่งมีความเสี่ยงอันตราย ขณะนี้เรา ยังไม่มีหน่วยงานหรือองค์กรที่จะมาดูแลสวัสดิภาพ หากเกิดเหตุเช่น เดียวกับกรณีความรุนแรงที่กรุงเทพฯ เมื่อปีที่แล้ว จะเห็นได้ว่ามีช่าง ภาพได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์จนไม่สามารถที่จะทำ�งานได้อีก ก็อยากให้มีหน่วยงานหรือองค์กรที่จะมากำ�หนดหรือวางแนวทางที่ จะช่วยเหลือผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ที่เกิดความขัดแย้ง


123 

THAILAND, Yala : The shadows of Thai soldiers and police officers stretch across a wall as they secure the scene where military rangers were shot dead in an attack by suspected Muslim militants in Thailand's restive southern Yala province late on September 13, 2009. Suspected militants shot dead five soldiers after a Ramadan meal in Thailand's troubled south, where a bloody insurgency has spiked during the Muslim holy month, police said. MUHAMMAD SABRI


124  WeWatchBook Deep South Photojournalism Issue.

Mumadsoray Deng

Freelance Photographer from Pattani มูหมัดซอเร่ เดง, นักถ่ายภาพอิสระ ปัตตานี

I want to give something back to the society. I studied social development, but photography is a byproduct of working in the communities, as I did fieldwork in all 3 southern border provinces. So I have an idea that aside from only doing fieldwork during each visit, I should also take photographs of the way of life and the local culture, the identity of the deep south, for others to see, especially the knowledge gained from photos that are different from others, which may help the others to know the region in a more diverse perspective. If you ask me whether I want to become a photographer, I do, but it's more of a secondary issue. The main issue here is that I want to contribute to the society. I want to start from our own ideas and not be attached only to commercial photography. Photography has a degree of significance and self-explanation, particularly today as we are living in the deep south. The outsiders wish to learn and understand more about the people in the region. We probably won't have a chance to explain to them, but photographs can explain these things to people in the society. Thus I want everyone to record the feelings that they have about their community, in whatever angle, for others to know. It can be about the way of life that is close to us. The living conditions in our community is important. We don't have to do too much work for the society, we just need to start from a small step and spread it outwards. No one can explain the story of the deep south better than ourselves.

เราอยากทำ�อะไรให้สังคมบ้าง เพราะว่าส่วนหนึ่งอาจจะ เป็นแรงจุดประกายให้เรา คือ เราเรียนจบด้านพัฒนาสังคม แต่ ว่าการถ่ายภาพเป็นผลพลอยได้จากการลงพื้นที่ทำ�งานในชุมชน เพราะผมได้ลงพื้นที่ทั่ว 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ เลยคิดว่า ใน การลงพื้นที่แต่ละครั้งจากที่ลงไปทำ�งานอย่างเดียว เราก็น่าจะเก็บ ภาพวิถีชีวิต ความเป็นพื้นบ้าน ความเป็นสามจังหวัดให้คนอื่นได้ดู บ้าง โดยเฉพาะความรู้จากภาพที่แตกต่าง ก็อาจทำ�ให้คนอื่นได้รู้จัก พื้นที่ในแง่มุมต่างๆ มากขึ้น แต่ถ้าถามว่าอยากจะเป็นนักถ่ายภาพไหม ก็อยากจะเป็น แต่มันเป็นประเด็นรอง ประเด็นหลัก คือ เราอยากทำ�งานเพื่อสังคม มากกว่า อยากให้เริ่มจากความคิดของเรา แต่ไม่อยากให้ยึดติดการ ถ่ายภาพเฉพาะเชิงพาณิชย์อย่างเดียว การถ่ายภาพก็มีความสำ�คัญ และอธิบายได้ในตัวของมันเอง โดยเฉพาะในวันนี้เราอยู่ในพื้นที่ สามจังหวัด คนภายนอกเขาต้องการเรียนรู้ ต้องการเข้าใจคนใน พื้นที่มากขึ้น แต่ถ้าหากเราจะไปอธิบายให้คนได้รับรู้คงไม่มีโอกาส แต่ว่าภาพถ่ายสามารถอธิบายสู่สังคมได้รับรู้ได้ จึงอยากให้ทุกคน เก็บความรู้สึกที่เรามีต่อชุมชน ไม่ว่าในแง่มุมไหนก็ตาม เพื่อที่จะให้ คนอื่นได้รับรู้ เช่น เรื่องวิถีชีวิตที่ใกล้ตัวเรา ความเป็นอยู่ของบ้าน เราเป็นสิ่งสำ�คัญ คือไม่ต้องไปทำ�งานเพื่อสังคมอะไรมากนัก แต่ว่า เริ่มจากจุดเล็กๆ แล้วสะท้อนออกไป เพราะคงไม่มีใครอธิบายเรื่อง ราวของสามจังหวัดชายแดนใต้ได้ดีเท่ากับเราเอง


125

“Previously, we may think that photographs only show beauty. However, after we took pictures of the disaster at Tanyong Luloh Village last November, the photographs reflect what outsiders did not see because they could not access the area. We went in there to take photographs and then publish them on Facebook. It turned out that people were interested and the photos helped with many things. Many people asked to re-distribute the photographs. So it seems that these things are the power of photography. The photos helped the communities or the villagers, and they were also far-reaching.” MUMADSORAY DENG


126  WeWatchBook Deep South Photojournalism Issue.

War Photography (ภาพถ่ายสงคราม)

Poomkamol Phadungratna | ภูมิกมล ผดุงรัตน์ Remark: First published in Natnalin Magazine (Thai Language Version). Allowed translated into English for publication in the WeWatchBook 2011. ตีพิมพ์ครั้งแรกในนิตยสาร ณัฐนลิน และได้รับอนุญาติแปลเป็นภาษาอังกฤษเพื่อตีพิมพ์ใน วารสาร WeWatch ปี 2554

The photograph is the beginning of alternative beach (it was claimed that Iraq dumped oil into the sea) media in the modern age, before transforming into the During the catastrophic event of 11 September movie, television, and the internet. After mass commu- 2001, the audience saw the World Trade Center Buildings nication has arrived on Earth, the photograph has always slowly collapsed. The portraits of the deceased, mixed had an important role in presenting news and facts and with pictures of Palestinians shouting with joy, were exhas the ability to persuade the opinion of the masses, amples of the use of visual media in creating sentiment particularly in modern warfare in which even those who and persuading the public in the same direction. are sitting in their room, tens of thousands of kilometers The photograph ignites ideas and create sentiaway from the battlefield, can feel and sense the horror ments in the society, which can be flipped to both the of war or be flattered by its victory, depending on how the positive and the negative side. At times, risking one's life media portrays each story. for a photograph or for righteousness can be neglected During the Vietnam War, more than 400 photo- until the photograph could be used for political benefits, journalists went around to record the events, while the such as the work of the Afghan Women Group during United States government was unable to control their the time when the Taliban were in power. These women activities. The brutal images of war created an impact used hidden cameras to record pictures of the country on the society, created anti-war sentiments that was un- and many events, including the massacre of female prisprecedented in history. oners in the middle of a football stadium in Kabul. For In 1990, the Persian Gulf War (Invasion of Kuwait many years, no one paid attention to this story, and it by Iraq / America and the United Nations' invasion of was not until the United States started a war to overthrow Iraq), the United States government remembered its les- the Taliban and hunt down Bin Laden that a documenson from Vietnam. Although the US could not control tary on this massacre was broadcast on CNN. the reporting of the media directly, but the quality of the No matter how advanced technology has become, broadcast and the methods of presentation that excited at the very end, the photographer still needs to walk into the audience, e.g. images from the guidance missile war- dangerous situations to get the picture that he or she head-mounted camera that was flying to hit the target, or needs, and the journey is not always privileged or free. the image of a baby bird, soaked in oil, dying slowly on a Even in a land in which the photographer per-


127

ceives as being safe, unexpected things can happen. In 2007, Myanmar soldiers deliberately killed a Japanese reporter/freelance photographer in the middle of a street, in front of a crowd and many other cameras, even though Japan had always been a friend of Myanmar. The military-led state of Myanmar was still dependent on investment from Japan. During the riot suppression and massacre in Thailand in April and May 2010, a Reuters reporter named Hiro Muramoto, aged 43, was hit by ammunition from the military side in front of Satri Wittaya School while Muramoto was standing with the DAAD protesters on the Democracy Monument side. A few weeks afterward, on 19 May, an Italian photojournalist named Fabio Polenghi, who worked for SPIEGEL agency in Germany, was shot by the military from the sky train platform on Chulalongkorn Hospital side during the raid on the DAAD Camping Group on Rajdamri Avenue. The stated events in Myanmar and Thailand were relatively beyond the expectation of those who worked in journalism - photojournalism, as the "battlefield" conditions developed spontaneously.

ภาพถ่ายเป็นจุดเริ่มต้นของสื่อทางภาพยุคใหม่ ก่อนที่จะ พัฒนาสู่ภาพยนตร์ โทรทัศน์ อินเตอร์เน็ท นับแต่โลกก้าวสู่ยุคการ สื่อสารมวลชน ภาพถ่ายมีบทบาทสำ�คัญในการเสนอข้อมูลข่าวสาร ต่างๆ และสามารถโน้มน้าวความคิด มติมหาชน โดยเฉพาะการ สงครามสมัยใหม่ แม้คนที่นั่งอยู่ห่างไกลสนามรบนับหมื่นกิโล ก็ยัง สามารถรับรู้ สัมผัสความน่ากลัว หรือชื่นชมกับชัยชนะ ทั้งนี้ แล้ว แต่สื่อจะนำ�เสนอเรื่องราวนั้นอย่างไร ในสงครามเวียดนาม มีช่างภาพมากกว่า 400 คน ตระเวน บันทึกเหตุการณ์ โดยที่รัฐบาลอเมริกันไม่สามารถควบคุมได้ ภาพ สงครามอันโหดร้ายส่งผลกระทบต่อสังคม สร้างกระแสต่อต้าน สงครามอย่างที่ไม่เคยปรากฏมาก่อนในประวัติศาสตร์ ขณะที่ พ.ศ.2533 (ค.ศ.1990) ในสงครามอ่าวเปอร์เชีย (อิรักบุกคูเวต/อเมริกาและสหประชาชาติบุกอิรัก) รัฐบาลอเมริกัน จดจำ�บทเรียนจากเวียดนาม แม้ไม่สามารถควบคุมการทำ�ข่าวของ สื่อมวลชนได้โดยตรง แต่รัฐสามารถควบคุมภาพที่เผยแพร่ ออกแบบ วิธีนำ�เสนอที่เร้าใจผู้ชม เช่น ภาพจากกล้องวิดีโอติดหัวจรวดนำ�วิถี กำ�ลังพุ่งลงสู่เป้าหมาย หรือภาพลูกนกเปื้อนคราบนำ�มันกำ�ลังตาย อย่างช้าๆ บนชายหาด (ซึ่งอ้างว่า อิรักเป็นฝ่ายเทนำ�มันลงทะเล)

หรือเหตุการณ์ก่อการร้าย 11 กันยายน พ.ศ.2544 (ค.ศ. 2001) ที่ผู้ชมเห็นอาคารเวิร์ลเทรดค่อยๆ ถล่มลงมา ภาพพอทเทรต ของผู้เสียชีวิตสลับกับภาพชาวปาเลสไตน์กำ�ลังโห่ร้องแสดงความ ยินดี เหล่านี้เป็นตัวอย่างการใช้สื่อทางภาพเพื่อสร้างอารมณ์ร่วม และสามารถโน้มน้าวใจประชาชนไปในทิศทางเดียวกัน ภาพถ่ายกระตุ้นเร้าความคิด สร้างอารมณ์ร่วมแก่สังคม ซึ่ง กรณีนี้สามารถพลิกได้ทั้งแง่บวกและลบ และบางครั้งการเสี่ยงชีวิต เพื่อภาพถ่าย หรือเพื่อความชอบธรรม ก็ไม่ได้รับการเหลียวแล จนกว่าภาพนั้นจะสามารถนำ�มาใช้เพื่อประโยชน์ทางการเมือง เช่น การทำ�งานของกลุ่มสตรีอัฟกานิสถาน ในยุคที่กลุ่มตาลิบันยังครอง อำ�นาจ ผู้หญิงกลุ่มนี้ใช้กล้องแอบถ่าย ซุกซ่อนบันทึกภาพบ้านเมือง เหตุการณ์ต่างๆ ไว้มากมาย รวมทั้งมหกรรมการประหารชีวิต นักโทษหญิงกลางสนามฟุตบอลในกรุงคาบูล ตลอดระยะหลายปี ไม่ เคยมีใครสนใจเรื่องราวเหล่านี้ จนกระทั่งสหรัฐอเมริกาเริ่มทำ�สงคราม เพื่อล้มล้างรัฐบาลตาลิบัน เพื่อล่าตัวโอซามา บิน ลาเดน จึงมีการนำ� สารคดีชุดนี้ออกแพร่ภาพทางข่าว ซี.เอ็น.เอ็น. (CNN) แม้เทคโนโลยีจะก้าวไปไกลเพียงใด ที่สุดแล้ว ช่างภาพยัง คงต้องเดินเข้าสู่สถานการณ์เสี่ยงอันตรายด้วยตนเองเสมอ เพื่อให้ ได้ภาพที่ต้องการ และการเดินทางของช่างภาพมิใช่ว่ามีสิทธิพิเศษ หรือมีอิสระไปเสียทั้งหมด ในดินแดนที่ช่างภาพคิดว่า สถานะตนเองนั้นปลอดภัย ก็ยัง มีเหตุเหนือคาดหมายขึ้นจนได้ เช่น การประท้วงในพม่า ปี พ.ศ. 2550 (ค.ศ.2007) ที่ทหารพม่าสังหารนักข่าว/ช่างภาพอิสระชาว ญี่ปุ่นอย่างจงใจ และเป็นการฆ่ากลางถนน ต่อหน้าฝูงชน และต่อ หน้ากล้องตัวอื่นๆ อีกหลายตัว ทั้งที่ญี่ปุ่นเป็นมิตรกับพม่ามาโดย ตลอด รัฐทหารพม่าเองก็ยังพึ่งพาการลงทุนจากญี่ปุ่นมากพอๆ กัน หรือในเหตุการณ์ล้อมปราบสังหารหมู่ประชาชนในประเทศไทย ช่วงเดือนเมษายน และเดือนพฤษภาคม พ.ศ.2553 (ค.ศ.2010) ช่างภาพสำ�นักข่าวรอยเตอร์ (Reuters) ฮิโร มูราโมโต (Hiro Muramoto) อายุ 43 ถูกกระสุนปืนจากฝั่งทหาร ซึ่งอยู่หน้าโรงเรียน สตรีวิทย์ ขณะเขายืนอยู่กับกลุ่มผู้ชุมนุม นปช. ด้านอนุสาวรีย์ ประชาธิปไตย ต่อมาเพียงไม่กี่อาทิตย์หลังจากนั้น ในวันที่ 19 พฤษภาคม ช่างภาพชาวอิตาเลี่ยน ชื่อฟาบิโอ โพเลงกี Fabio Polenghi ซึ่ง ทำ�งานให้กับสำ�นักข่าว SPIEGEL ของเยอรมัน ระหว่างการบุกจู่โจม ค่าย นปช. บนถนนราชดำ�ริ ช่างภาพชาวอิตาเลี่ยนผู้นี้ถูกทหารยิง ลงมาจากรางรถไฟลอยฟ้า ฝั่งโรงพยาบาลจุฬาฯ เสียชีวิตในทันที เหตุการณ์ในพม่าและไทยที่กล่าวข้างต้น ค่อนข้างอยู่เหนือความ คาดหมายของคนทำ�งานข่าว - ช่างภาพอยู่บ้าง เพราะสภาพของ "สนามรบ" ได้เกิดขึ้นอย่างฉับพลัน


128  WeWatchBook Deep South Photojournalism Issue.

ภาพสัญลักษณ์ของสงคราม เหตุการณ์สำ�คัญแต่ละครั้งในประวัติศาสตร์ยุคใหม่ มักมี ภาพถ่ายสักภาพหรือสองภาพที่เป็นภาพสรุปของเรื่องราวทั้งหมด ภาพที่ฝังแน่นในความทรงจำ�คนสมัยนั้น ภาพที่ติดตาผู้คนยุคต่อๆ มา แม้ผู้ชมส่วนใหญ่ไม่มีประสบการณ์ร่วมกับเรื่องนั้นเลยสักนิด แต่สามารถเข้าใจ และมีอารมณ์ร่วมไปด้วยจากภาพถ่ายดังกล่าว สิ่งนี้น่าอัศจรรย์ เมื่อภาพถ่าย คือ ภาพนิ่ง แช่อยู่ในกรอบ สี่เหลี่ยมสองมิติ ไม่สามารถเล่าเรื่องราวอย่างต่อเนื่องได้ แต่กลับมี พลังมากพอที่จะเป็นบทสรุป (ทางอารมณ์) ของประวัติศาสตร์ ในสงครามโลกครั้งที่สอง มีภาพถ่ายบันทึกไว้มากมายนับไม่ ถ้วน แต่มีภาพหนึ่งซึ่งตราตรึงชาวอเมริกันตราบเท่าทุกวันนี้ (และ สร้างความประทับใจแก่ชนชาติอื่นด้วยเช่นกัน) นั่นคือ ภาพทหาร นาวิกโยธินปักธงชาติบนยอดเขาซูริบาชิ หลังการยกพลขึ้นบกที่ อิโวจิม่า (Flag Raising on Iwo Jima ,1945) ของช่างภาพ โจ โร เซนธาล (Joe Rosenthal) การศึกที่ อิโวจิม่า (Iwo Jima) เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2488 (ค.ศ.1945) ฝ่ายอเมริกันสูญเสียทหารไปถึงหกพันแปดร้อยยี่สิบ เอ็ดนาย ในจำ�นวนนี้เป็นทหารจากหน่วยนาวิกโยธินเสีย ห้าพันเก้า ร้อยสามสิบเอ็ดนาย ในวันที่ 23 กุมภาพันธ์ สี่วันหลังจากการยก พลขึ้นบก และสามารถยึดยอดเขาซูริบาชิ (Suribashi) แนวป้องกัน ของญี่ปุ่น ผู้บังคับบัญชาฝ่ายอเมริกาสั่งให้ปักธงชาติอเมริกันไว้บน ยอดเขา แต่ไม่กี่นาทีหลังจากปักธงมีคำ�สั่งเปลี่ยนแปลงให้นำ�ธง ผืนใหม่ที่ใหญ่กว่าขึ้นไปปักแทน และนำ�ธงผืนแรกกลับลงมาด้วย เหตุผลว่า ธงผืนใหญ่จะได้มองเห็นกันทั่วทั้งเกาะ โจ โรเซนธาล (Joe Rosenthal) ช่างภาพจากสำ�นักข่าว เอพี (AP : Associated Press) รับมอบหมายให้ถ่ายสงคราม แปซิฟิก เช้าวันนั้น เขาเดินขึ้นยอดเขาซูริบาชิ พร้อมช่างภาพทหาร อีกสองนายเพื่อบันทึกภาพธงชาติ เขาทราบว่า มีการเปลี่ยนนำ�ธง ผืนใหญ่ขึ้นแทน จึงตั้งใจจะถ่ายภาพขณะธงผืนเล็กกำ�ลังถูกปลด และผืนใหญ่กำ�ลังขึ้นแทนที่ แต่พลาดวินาทีนั้นไป เนื่องจากหามุม เหมาะยังไม่ได้ และเขาเป็นคนตัวเล็ก จึงเกิดการยืนบังกันเองขึ้น (หนึ่งในสามนั้นเป็นช่างภาพข่าวภาพยนตร์ของกองทัพ) เขาจึงต้อง ขยับถอยออกมา และปีนข้ามกระสอบทรายญี่ปุ่น ช่างภาพข่าวภาพยนตร์หันมาถามด้วยความเกรงใจว่า ยืน บังอยู่หรือเปล่า ช่วงเวลานั้นเอง นาวิกโยธินกำ�ลังยกเสาธงขึ้น และ โรเซนธาล รีบกดชัตเตอร์ไว้ทันที วินาทีนั้นเขายังไม่ รู้ด้วยซำ�ว่า ภาพนั้นกำ�ลังจะเป็นภาพประวัติศาสตร์ ไม่แน่ใจเสีย ด้วยซำ�ว่าจะถ่ายติดอะไรมาบ้าง เขาจำ�ได้แค่เฟรมนั้น ใช้ความเร็ว ชัตเตอร์ระหว่าง f. 8 - f. 11, 1/ 400 วินาที หลังจากเหล่าทหารเรียกร้องให้ถ่ายรูปหมู่กับธงชาติแล้ว เขาก็รีบเดินทางกลับไปลงเรือ เพื่อส่งฟิล์มไปล้างที่ศูนย์บัญชาการ

ข่าวสงคราม (military press center) ซึ่งอยู่ที่เกาะกวม (Guam) มิฉะนั้นอาจส่งต้นฉบับไม่ทัน ในฐานะช่างภาพ งานของเขาสำ�หรับ วันนั้นสิ้นสุดแล้ว ต่อไปก็เป็นหน้าที่ช่างเทคนิคห้องมืด เป็นหน้าที่ นักเขียน บรรณาธิการภาพ บรรณาธิการข่าว (ซึ่งนั่งอยู่ที่นิวยอร์ค)

Flag Raising on Iwo Jima by Joe Rosenthal, 1945

ในประเทศสหรัฐอเมริกาวันรุ่งขึ้น ผู้คนทั้งประเทศตื่นเต้น กับภาพนาวิกโยธินยกธงชาติ ภาพนั้นจับความรู้สึกของสังคมใน สถานการณ์สงครามและความสูญเสีย อย่างไม่มีใครคาดถึง ภาพของ โรเซนธาล ทหารนาวิกโยธินกำ�ลังช่วยกันยกเสาธง โน้มตัวไปทาง ด้านขวาของภาพ ขณะอีกคนอยู่มุมขวา ประคองเสาไว้ โดยเอนตัว ไปทางซ้ายของภาพ กลายเป็นองค์ประกอบรูปสามเหลี่ยมขึ้นมา ส่วนเสาธงนั้นเอียงเป็นมุมสี่สิบห้าองศา ไปทางซ้าย เวลาเดียวกัน ลมพัดธงชาติโบกสะบัด ขึ้นทางมุมบนขวาของภาพพอดี ฉากหลัง เป็นทิวเขาและท้องฟ้ากว้างไกล ช่างเป็นจังหวะและองค์ประกอบ ภาพที่สมบูรณ์แบบ ในแง่ของความหมาย เหล่าทหาร คือตัวแทนของบรรดาลูก หลานชาวอเมริกันที่ส่งไปรบ กำ�ลังยกธง ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของชาติ ปักเหนือแผ่นดินข้าศึก (สงครามนี้อเมริกาถูกญี่ปุ่นรุกรานก่อน) สิ่ง นี้มิใช่เพียงชัยชนะธรรมดา แต่เป็นการตอกยำ�เป้าหมายของการ ต่อสู้ที่ยาวนานร่วมสี่ปี การถูกลากเข้าสู่สงครามโลก อันนำ�สู่ความ พยายามปกป้องประเทศตน การร่วมใจกันสู้ของคนทั้งชาติ และใน ภาพ เป้าหมายกำ�ลังจะลุล่วงแล้ว สิ่งที่ภาพนี้กระตุ้นเร้าคืออารมณ์ ร่วมของสังคม ซึ่งขณะนั้นมีจุดมุ่งหมายเดียวกัน มีประสบการณ์ และความเจ็บชำ�ร่วมกัน และกำ�ลังมองเห็นผลแห่งความพยายาม ภาพถ่ายภาพนี้จึงกลายเป็นสัญลักษณ์ของเรื่องราวทั้งหมด ภาพนี้คือสัญลักษณ์ทางความรู้สึกแห่งการมีส่วนร่วมเพื่อจุด หมายเดียวกัน แต่ไม่ใช่เรื่องราวการรักชาติแบบไม่ลืมหูลืมตา ไม่ใช่


129

เรื่องความยิ่งใหญ่ทางทหาร คุณสมบัตินี้ทำ�ให้ภาพยังคงสามารถบอก เล่าเรื่องราว จากคนรุ่นหนึ่งสู่คนอีกรุ่นหนึ่ง สืบต่อกันมาร่วมห้าสิบปี แล้วและยังคงจดจำ�กันต่อไป นอกจากนั้นยังถูกนำ�ไปทำ�โปสเตอร์ แสตมป์ และต้นแบบอนุสาวรีย์ทหารนาวิกโยธิน ที่อาร์ลิงตัน (Arlington ) รัฐเวอร์จิเนีย ภาพทหารนาวิกโยธินกับธงชาติ สร้างความประทับใจในแง่ บวก เป็นบทสรุปของเกียรติยศ แต่อีกภาพหนึ่งจากสงครามเวียดนาม ให้ผลตรงกันข้าม ผู้คนจดจำ�ในฐานะสัญลักษณ์ของความอัปลักษณ์ ความชั่วร้ายของสงครามสมัยใหม่ บทสรุปของความหายนะ กล่าวกันว่า สงครามเวียดนาม คือ สงครามแห่งภาพถ่าย ด้วยจำ�นวนช่างภาพกว่าสี่ร้อยคน ยังมีช่างภาพโทรทัศน์ และนักข่าว อีกนับไม่ถ้วน ระยะเวลาการสู้รบร่วมสิบปี (เฉพาะช่วงที่อเมริกัน เข้าไปเกี่ยวข้อง) ราวกับมหกรรมการถ่ายภาพครั้งใหญ่ของโลก รวม ภาพชีวิตหลากหลายรูปแบบ มีทั้งเลือดเนื้อและนำ�ตา โหด อำ�มหิต และสวยงาม มีทั้งทหาร โสเภณี ชาวนา นักการเมือง ฉากสู้รบดุ เดือดที่ประชาชนอเมริกันยุคนั้นสามารถนั่งดูทางข่าวโทรทัศน์ทุก วันระหว่างอาหารคำ� แน่นอนว่า ภาพถ่ายจากสงครามนี้ย่อมมีมากมายนับไม่ถ้วน เช่นกัน อย่างไรก็ตาม ภาพที่กล่าวถึงกันมากที่สุด นับแต่ยุคนั้นมา จนปัจจุบัน มีอยู่ไม่กี่ภาพเท่านั้น หนึ่งในนั้น คือ ภาพอธิบดีตำ�รวจ เวียดนามใต้สังหารเชลยศึกเวียดกง (Murder of a Vietcong by Saigon Police Chief, 1968) ผลงานที่ เอ็ดดี้ อดัมส์ ถ่ายไว้เมื่อ เดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ.1968 ระหว่างการโจมตีวันเทศกาลเทต (Tet Offensive วันปีใหม่ของเวียดนาม) นอกจากนั้นยังมี ภาพการสังหารหมู่ชาวบ้าน หมู่บ้านมายไล (My Lai) 16 มีนาคม พ.ศ.2511 (ค.ศ.1968) เหตุการณ์นี้ทหาร อเมริกัน (Charlie Company, 11th Brigade) ลงมือสังหารชาวบ้าน ที่ไม่มีอาวุธ ทั้งเด็ก ผู้หญิง คนแก่ และการกระทำ�นี้ถูกช่างภาพหลาย

คนบันทึกไว้ ทั้งโทรทัศน์และภาพนิ่ง ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงใน สังคมอเมริกัน และ ค่อยๆ กลายเป็นความแตกแยกในชาติอย่างที่ ไม่เคยปรากฏนับแต่สงครามกลางเมือง มิใช่แค่ประเด็นต่อต้านสงครามของคนอเมริกันเท่านั้น แต่ เรื่องบานปลายสู่การต่อต้านอำ�นาจรัฐ และการเสื่อมอำ�นาจของ รัฐบาลกลาง ไม่มีครั้งใดที่คนอเมริกันจำ�นวนมากขาดความเชื่อถือ ในการกระทำ�ของรัฐบาลตนเอง เท่ากับในช่วงสงครามเวียดนาม และ ความรู้สึกเช่นนี้ยังต่อเนื่องมาจนปัจจุบัน อีกภาพหนึ่ง คือ การทิ้งระเบิดลงกลางหมู่บ้าน (Trang Bang) เมื่อ 8 มิถุนายน พ.ศ.2515 (ค.ศ.1972) ในภาพ เด็กผู้หญิง ร่างเปลือยเปล่ากำ�ลังวิ่งหนีความร้อนของระเบิดนาปาล์ม พร้อมคน อื่นๆ เส้นทะแยงมุมของถนนพุ่งสู่ฉากหลังซึ่งเป็นควันจากระเบิด และมีทหารอเมริกันเดินตามมา เธออยู่ตรงฉากหน้า กลางภาพพอดี สีหน้าอันตื่นตระหนกของเด็กผู้หญิง สร้างความสะเทือนใจ แก่ผู้คน ที่อยู่ห่างไกล แม้ว่าวันเวลาจะล่วงเลยไปนานกี่ปีก็ตาม (เด็กในภาพ ชื่อ Phan Thi Kim Phuc) ผลงานช่างภาพ Nick Ut ส่วนภาพสุดท้ายของสงครามเวียดนาม คือ การอพยพหนี ขึ้นเฮลิคอปเตอร์บนหลังคาสถานทูตอเมริกัน วันที่กรุงไซง่อนแตก เวียดนามใต้พ่ายแพ้ต่อฝ่ายเวียดนามเหนือ 30 เมษายน ค.ศ.1975 (อเมริกานั้นถอนตัวจากสงครามตั้งแต่ ปี ค.ศ.1973 หลังจากการ เจรจาลับกับเวียดนามเหนือประสบผลสำ�เร็จ และอเมริกาหันมา บังคับให้เวียดนามใต้เจรจาสงบศึกกับเวียดนามเหนือ โดยการระงับ ความช่วยเหลือทางการเงินแก่กองทัพเวียดนามใต้) ภาพที่กล่าวมาข้างต้น ล้วนเป็นภาพที่ผู้คนยังคงจดจำ� รุ่น แล้วรุ่นเล่า แต่หากกล่าวถึงภาพที่สามารถเป็นบทสรุปของสงคราม ภาพอธิบดีตำ�รวจเวียดนามใต้สังหารเชลยศึกเวียดกง (Murder of a Vietcong by Saigon Police Chief, 1968) ผลงาน เอ็ดดี้ อดัมส์ (Eddie Adams) น่าจะเป็นสัญลักษณ์ที่ชัดเจนทีเดียว

(The Plain Dealer, Published 1969)

Eddie Adams (AP, 1968)


130  WeWatchBook Deep South Photojournalism Issue.

สิทธิเลือกมุมมองนำ�เสนอ) สำ�หรับอธิบดีตำ�รวจ (Nguyen Ngoc Loan) ชีวิตเขามิได้ พบความสงบสุขอีกเลย หลังเหตุการณ์นั้น เขายังคงนำ�กำ�ลังออก ปราบปรามเวียดกงด้วยตนเองอยู่เสมอ จนกระทั่งได้รับบาดเจ็บสาหัส จากการสู้รบ เมื่อไปรักษาตัวที่โรงพยาบาลในประเทศออสเตรเลีย ก็ ถูกชาวออสเตรเลียประท้วง จนต้องย้ายไปโรงพยาบาลในอเมริกา แต่ก็ถูกรัฐสภาอเมริกันออกมาประณามสาบแช่งอยู่ทุกวัน เมื่อกลับ เวียดนามก็ถูกปลดออกจากตำ�แหน่ง หลายปีต่อมา เมื่อเวียดนามแตก เขาขอร้องให้สถานทูต อเมริกันช่วยพาครอบครัวของเขาออกนอกประเทศ แต่ถูกปฏิเสธ เขาจึงต้องหาทางพาครอบครัวหนีออกมาเอง เมื่อมาตั้งหลักแหล่งในอเมริกา เปิดกิจการร้านอาหาร ชีวิต เหมือนจะเริ่มต้นใหม่อีกครั้ง แต่กรรมเก่าตามหลอน อุตส่าห์มีคน ขุดคุ้ยอดีตของเขา มีความพยายามเนรเทศพวกเขาออกจากสหรัฐ ร้านอาหารที่กำ�ลังจะไปได้ดี พลอยประสบปัญหาตามไปด้วย มีคน พ่นสีในห้องนำ�ร้านของเขา ด้วยถ้อยคำ�ว่า เรารู้ว่าแกเป็นใคร สงครามเวียดนามอาจยุติไปนานแล้ว แต่สำ�หรับเขาสงคราม เพิ่งยุติเมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ.2541 (ค.ศ.1998) วันที่เขาจาก โลกนี้ไปด้วยโรคมะเร็ง เอ็ดดี้ อดัมส์ กล่าวว่า รู้สึกเสียใจกับชะตากรรมของอดีต อธิบดีตำ�รวจผู้นี้ เพียงภาพถ่ายภาพเดียว สามารถทำ�ลายชีวิตคนได้ ทั้งชีวิต สิ่งที่อดีตอธิบดีตำ�รวจผู้นี้กระทำ� แน่นอนว่าไม่ใช่เรื่องดีงาม อย่างน้อยก็ผิดกฎหมายระหว่างประเทศว่าด้วยเชลยศึก แต่ในสงคราม นั้น คนที่กระทำ�สิ่งชั่วร้ายมากกว่านี้ยังมีอีกมาก มากกว่าการยิงหัว ทหารข้าศึก (ที่เพิ่งฆ่าลูกน้องของเขา) เพียงแต่ความชั่วร้ายที่มิได้ บันทึกผ่านภาพถ่าย สำ�หรับคนทั้งโลกแล้วเหมือนไม่เคยเกิดขึ้น สำ�หรับเวียดนาม สงครามมิได้จำ�กัดอยู่บนสนามรบ คน เวียดนามจับอาวุธฆ่าฟันกันเอง คนอเมริกันต่างขัดแย้งกันเอง ต่อสู้ และเกลียดชังกันเอง แม้แต่ชาวโลกที่ไม่น่าจะเกี่ยวข้อง ก็มีส่วน ร่วมกับความขัดแย้งนี้ ความอำ�มหิตของมนุษย์มิได้ปรากฏให้เห็น

MAGNUM PHOTOS

แม้ในช่วงแรก ภาพนี้อาจมิได้สร้างผลกระทบรุนแรงทาง อารมณ์ในทันที แต่กลับเป็นคำ�ถามที่ค่อยๆ เกาะกินใจสังคม นี่หรือ คือสิ่งที่รัฐบาลอเมริกันสนับสนุนการประหารอย่างเลือดเย็น โดย ปราศจากกระบวนการยุติธรรมใดๆ คำ�ถามของสังคม คือ ลูกหลาน ชาวอเมริกันต้องล้มตายเพื่อช่วยเหลือคนพวกนี้หรือ ภาพถ่ายภาพนี้ คำ�ถามเหล่านี้ ค่อยๆ ซึมลึกในใจประชาชน ไม่ว่าเวลาผ่านไปนานเพียงใด เหมือนกับตัวสงครามเวียดนามเอง เหตุการณ์ในภาพถ่ายเกิดขึ้นเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2511 (ค.ศ.1968) ระหว่างเทศกาลปีใหม่ของเวียดนาม หรือเทศกาลเทต ซึ่งไม่มีใครคาดถึงการสู้รบที่รุนแรง หลายคนคิดว่าไม่น่าจะรบกันใน ช่วงเทศกาลประเพณีนี้เสียด้วยซำ� แต่ฝ่ายเวียดนามเหนือและเวียดกง (คอมมิวนิสต์ภาคใต้) ฉวยโอกาสโจมตีเมืองใหญ่ทุกเมืองทั่วเวียด นามใต้ รวมทั้งกรุงไซง่อน เมืองหลวงของฝ่ายใต้ สงครามมิได้อยู่ใน ชนบท หรือป่าเขาที่ห่างไกลอีกต่อไป การสู้รบถึงขั้นตะลุมบอนกัน เกิดขึ้นกลางถนนในตัวเมือง สถานทูตอเมริกันถูกถล่มเสียหายยับ เยิน แต่ในที่สุดทหารอเมริกันสามารถตีข้าศึกให้ถอยร่นออกจาก เมืองไปได้ ทหารเวียดกงคนหนึ่งถูกจับ เจ้าหน้าที่ตำ�รวจกล่าวว่า เป็น หัวหน้าหน่วยก่อการร้าย แต่ฝ่ายข่าวกรองทหารระบุว่าเป็น หน่วย จารกรรม/การเมือง ยศร้อยเอก อย่างไรก็ตาม เชลยศึกผู้นี้ถูกจับ ได้ขณะกำ�ลังสังหารตำ�รวจและลูกเมียคนในครอบครัวตำ�รวจผู้นั้น อีกหลายศพ อธิบดีกรมตำ�รวจเวียดนามใต้เดินทางมายังที่เกิดเหตุ ด้วย ความโกรธและโศกเศร้า จึงสั่งให้เจ้าหน้าที่ยิงเชลยศึกคนนั้น แต่เจ้า หน้าที่ลังเลไม่กล้าปฏิบัติตามคำ�สั่ง ซึ่งระหว่างนั้นมีช่างภาพจาก สำ�นักข่าว เอพี (AP : Associated Press) และข่าวโทรทัศน์ เอ็นบีซี (NBC) อยู่ในเหตุการณ์ด้วย เมื่อเห็นผู้ใต้บังคับบัญชาไม่กล้า เขาจึง ชักปืนยิงหัวเชลยศึกผู้นั้นเสียเอง และ เอ็ดดี้ อดัมส์ ช่างภาพเอพี บันทึกภาพนั้นไว้ทันที ภาพนั้นสะเทือนขวัญผู้ชมทั่วโลก เป็นเหตุสนับสนุนการต่อ ต้านสงคราม เป็นประเด็นทางการเมืองในรัฐสภาของสหรัฐอเมริกา และคนส่วนมากยังคงจดจำ�ภาพนั้นในฐานะสัญลักษณ์ของความ โหดร้าย ป่าเถื่อน บุคคลในภาพคืออธิบดีตำ�รวจ (ชื่อ Nguyen Ngoc Loan) กลายเป็นผู้ร้ายตลอดกาลในความทรงจำ�ของผู้คนทั้งโลก แต่สำ�หรับ เอ็ดดี้ อดัมส์ ไม่ได้เห็นเช่นนั้น เขาอยู่ในเหตุการณ์ และกล่าวว่า คนที่ถูกยิงหัวกระจุยในภาพของเขานั้น สมควรตายอย่าง ยิ่ง แต่เขาเป็นเพียงช่างภาพ มีหน้าที่บันทึกเหตุการณ์ตามสภาพจริง เท่านั้น ส่วนการตีความหมายเป็นเรื่องของสังคม และไม่จำ�เป็นต้อง มีความเห็นเหมือนช่างภาพ หลายครั้งที่คนดูเข้าใจหรือมีความคิดไป ทางตรงกันข้ามกับช่างภาพ (ซึ่งเป็นสิทธิของคนดู ขณะช่างภาพมี


131

แค่ในสนามรบเท่านั้น แต่เป็นส่วนหนึ่งของอารยธรรมเลยทีเดียว the Burmese forces (who were sent to crush the Tai Yai), แม้การทหารจบสิ้นลงในปี พ.ศ.2518 (ค.ศ.1975) แต่ทว่าสงคราม the images of the V-150 armed vehicles, the images of Thai soldiers walking around the border pass in Mae Sai ในใจคนยังดำ�เนินต่อไป

War without Photographs If a war had no photography...then the events would seem as though nothing had ever happened. For example, the Shan State War and the massacre of the Tai people in Shan State has been happening from 1996 to present. The Burmese military junta forced the relocation of Tai people (Tai Yai / Tai Lue / Tai Khuen) into a reservation, forbid teaching of the Tai language, forbid store signs in Tai language, announced new household register by canceling all national identification cards of all Tai Yai people and not issuing new ones to those not being in the area at the time (1999 AD), conscripted the people into slave labor, confiscated their land, and instigated massacres, detentions, tortures, and rapes. Amnesty International and the Shan State Women Group reported that more than 625 Tai girls and women had been raped by Burmese soldiers, and it was believed that there were many more incidents but the victims did not dare to reveal. Records of some interviews of migrants had been destroyed due to its potential danger towards families in Burmese-occupied territories. During the ASEAN Foreign Ministers Meeting in Brunei in 2002, only the Secretary of State of the United States expressed concerns over this matter. When Myanmar denied the allegation, no member state cared to monitor the situation, partly due to political complications in the region, and the fact that each country had its own vested interest. Sometimes in the world of border-less communication, if there was no horrific photographs to excite the audience at home, it would be difficult to persuade and induce any sympathy. The massacre of the Tai people was presented to the audience in Thailand only through clashes between the Third Region Army of Thailand and

District, Chiang Rai Province (2001 AD). ITV then brought the images of fighting on the Shan State side (between the Burmese and the Tai Yai) and interviewed Commander Chao Yod Suek, Commander of the Shan State Army, and the obvious images of Thai people evacuating to avoid the stray bullets in places designated by the authorities (when in fact, these Thai people were relatives of those living on the other side). These are all the images that Thai people had the chance to see. Shan State is the largest state in the Union of Myanmar. Nearly ninety percent of the population were of Tai ethnicity, having resided in the area before the Sukhothai Era. Most of these people cannot speak Burmese and call themselves Dai (Tai). In 1962, the Burmese army took over the entire Shan State an the liberation war started and went on until today. An interesting point is that most people do not know the word "Shan" but would call their land Moen Tai (Mueang Tai or Tailand). The liberation war went on by whatever resources were left. Most of the princes, royalties, and leading politicians in the country were all deceived to be massacred by the Burmese Army, but the liberation movement was also overtaken by the drug lord Khun Sa for many years. And it was a great mistake that this war used no "photographs as weapons", as all the events were in silence. Part of the problem came from the fact that Myanmar strictly shut down the country. Shan State was considered to be a war zone that was restricted to outsiders and access could not be easily gained. If one was to enter Myanmar by air through Rangoon, one would only go as far into Shan State as Taunggyi. If one was to go into Myanmar through the Thai border at Mae Sai, one would only be able to go as far as Tachileik and must go further to Chiang Tung. Detours were not possible. Meanwhile, the battlefields and ethnic cleansing of Tai people took place mainly in the center of Shan State or on the border between city limits.


132  WeWatchBook Deep South Photojournalism Issue.

For laypersons, photo developer shops were only available in Taunggyi, Tachileik, and Chiang Tung, even the second-largest city of Khun Hing (in the central part) had no photo developer shop. Recently, the Shan State Army started to pay attention to communication technology and started to use the internet in publishing its stories and calling for sympathy and sympathizers from outside the country by declaring the War on Drugs and destroying methamphetamine labs run by Myanmar and Wa forces in 2000 - 2001 (it was rumored that the policy was supported by the United States). Photographs were used more often as a medium, mostly those of weapons and captured enemy bases, images of the enemy's drug factories (claimed to be operated by the Burmese and the Red Wa), and the parade within the main base at Mount Tai Laeng (near Mae Hong Sorn Province of Thailand). The pictures were all in the style of Roger Fenton, but taken with a compact snapshot camera. These are all good beginnings, although one that was 40 years late. However, military photojournalists would normally have a chance to record only military activities, while images of the suffering and the reality of the Tai Yai people have not been adequately recorded. The existing images are usually those of houses after being burned by the Burmese, images of the temples and Buddha statues destroyed by Burmese troops, and images of refugees who were full of wounds inflicted by torture. All of the images could not go deeper, and the chance that the photographer would survive to develop his film was marginally low. The Burmese themselves were also highly cautious of this matter. It was said that even in stores and places in Tachileik where there was a large gathering of outsiders, there were Burmese secret police always keeping an eye on things. Even in hospitals in the center part of Shan State (that are inaccessible to foreigners) are no-photo areas (the condition of the hospitals are horrendous). The communication systems in Shan State are also rather limited. Telephones are a rarity. Use of mobile phones is illegal. Most of the

signals that are being covertly used are from Thailand. The internet system in the country was canceled for a number of years. Although the internet system in Myanmar would later return, but the use is rather limited and only sporadic. For example, during the massive protests by the monks and the people in 2007, the military junta also easily ordered the disconnection of internet signal, Similar to the Council for National Security junta of Thailand in 2007 or the suppression of the protesters during April - May in 2010, in which the internet signals of anti-government protesters would mysteriously disappear sporadically, as well as the disconnection of satellite television signal. However, in case of Myanmar, it would be unfair to blame only the government as the guerrilla warfare of the Shan State Army itself caused the Tai Yai people to be in a difficult position, whether to be neutral or to take any particular side. Deaths from the hand of fellow Tai Yai soldiers occurred very frequently, and it seems that Chao Yord Suek (Commander of the Tai Yai Forces) cannot control the conduct of the fighting units that are far away from Mount Tai Laeng. By human nature, people only care about themselves and there is no need to know about things that are far from their everyday life. Therefore, graphic / photo / video images are utmost important in bringing information or ideas that are outside of their everyday realm into their senses. This method yields results faster and in a clearer manner. Communication is not only story-telling, but it is also a creation of psychological effect. This is the process of feeding images of humanity, with its life, flesh, blood, and pain like the audience at home, showing them that these people also have siblings, wives, children, and the longing for those who are missing as much as the audience watching at home. Once these images reach the understanding of the audience, then a common sentiment can be created and eventually leads towards the target ideology. The Vietnam War is a clear example by the fact that the anti-war sentiment was not caused by any par-


133

ticular political philosophy, but from the fact that people started to see the American soldiers as one's sons, fathers, and husbands, just like the Vietnamese soldiers and the deaths of villagers who only wished to live peaceful lives. The more the war supporters look at their adversaries as being less than humans, the greater the antagonistic force from the global community becomes... Meanwhile, for the war in Shan State, the Tai Yai people have never existed in the eyes of Thai people and the world. They are still regarded as illegal Burmese migrants, or Burmese ethnic minorities, and the Thai media always embed this idea. In this war with no photographs, Tai Yai children and women will only be dying in utmost silence.

สงครามไร้ภาพถ่าย หากเป็นสงครามไร้ภาพถ่าย .. เหตุการณ์จะผ่านไปราวกับ ไม่เคยเกิดขึ้น ยกตัวอย่าง สงครามกู้ชาติไทใหญ่ การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชนชาติ ไท ในรัฐฉาน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2539 (ค.ศ.1996) ถึงปัจจุบัน อัน เป็นการกระทำ�ของทหารพม่าต่อชนชาติไต (ไทใหญ่/ไทลื้อ/ไทขึน) เริ่มแต่การบังคับย้ายถิ่นฐาน เข้าไปอยู่เขตกักกัน ห้ามเรียนห้าม สอนภาษาไท ห้ามติดป้ายร้านค้าเป็นภาษาไท ประกาศทำ�ทะเบียน ราษฎรใหม่ โดยยกเลิกบัตรประชาชนของคนไทใหญ่ทั้งหมด และไม่ ออกบัตรใหม่แก่คนที่ไม่ได้อยู่ในพื้นที่ขณะนั้น ปี พ.ศ. 2542 (ค.ศ. 1999) การเกณฑ์แรงงานทาส ยึดที่ดินทำ�กิน การสังหารหมู่ กักขัง ทรมาน และการข่มขืน จากรายงานขององค์กรนิรโทษกรรมสากล และกลุ่มสตรี รัฐฉานกล่าวว่า เด็กและผู้หญิงชาวไท ถูกทหารพม่าข่มขืนไปแล้ว จำ�นวน หกร้อยยี่สิบห้าคน และเชื่อว่า มีกรณีเช่นนี้เกิดขึ้นอีกมาก แต่เจ้าทุกข์ไม่กล้าเปิดเผย บันทึกสัมภาษณ์ผู้อพยพบางส่วนถูก ทำ�ลาย เพราะเป็นอันตรายต่อครอบครัวในเขตยึดครองของพม่า การประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศกลุ่มอาเซียนที่ประเทศ บรูไน ปี พ.ศ. 2545 (ค.ศ.2002) มีเพียงรัฐมนตรีต่างประเทศของ สหรัฐอเมริกาแสดงความห่วงใยในกรณีนี้ เมื่อพม่าปฏิเสธข้อกล่าว หา ก็ไม่มีชาติสมาชิกใดสนใจติดตาม ส่วนหนึ่งมาจากความซับซ้อน

ของการเมืองในภูมิภาค ทุกประเทศต่างมีประโยชน์แอบแฝงของ ตนเอง บางครั้งในโลกข่าวสารไร้พรมแดน หากปราศจากภาพถ่าย สุดสยองมาปลุกเร้าใจผู้ชมทางบ้านแล้ว นับว่ายากที่จะโน้มน้าว ความเห็นใจใดๆ กับกรณีการล้างเผ่าพันธุ์ชนชาติไต สิ่งที่คนไทย ได้เห็นมีแค่การปะทะกันระหว่างกองทัพภาคที่สามของไทย และ กองกำ�ลังทหารพม่า (ที่ถูกส่งมาปราบไทใหญ่) ภาพรถหุ้มเกราะ วี 150 ภาพทหารไทยเดินไปมาอยู่หน้าด่านอำ�เภอ แม่สาย เชียงราย ปี พ.ศ.2544 (ค.ศ.2001) สถานีโทรทัศน์ ไอทีวี นำ�ภาพการสู้รบ ในฝั่งรัฐฉาน (ระหว่างพม่าและไทใหญ่) มาเผยแพร่ รวมทั้งการให้ สัมภาษณ์เจ้ายอดศึก ผู้นำ�กองกำ�ลังกู้ชาติไทใหญ่ และที่ขาดไม่ได้ คือ ภาพคนไทย อพยพหลบกระสุน ไปอาศัยตามที่ราชการจัดไว้ ให้ (ซึ่งความจริง คนไทยเหล่านี้ก็เป็นญาติพี่น้องกับคนไทใหญ่อีก ฝั่งหนึ่ง) นั่นคือภาพทั้งหมดเท่าที่คนไทยมีโอกาสเห็น รัฐฉาน เป็นรัฐที่มีพื้นที่ใหญ่ที่สุดของสหภาพพม่า ประชากร ร่วมเก้าสิบเปอร์เซ็น เป็นชนชาติไท หรือ ไต อยู่มาแต่ก่อนเกิด อาณาจักรสุโขทัย คนเหล่านี้ส่วนมากพูดภาษาพม่าไม่ได้ และเรียก ตนเองว่า คนไต (ไท) ในปี พ.ศ. 2505 (ค.ศ.1962) กองทัพพม่าเข้า ยึดครองรัฐฉานทั้งหมด สงครามกู้ชาติจึงเริ่มขึ้นนับแต่นั้นจนทุกวัน นี้ จุดที่น่าสนใจคือ ชาวบ้านส่วนมากจะไม่รู้จักคำ�ว่า ฉาน แต่เรียก บ้านเมืองเขาว่า เมิงไต (เมืองไท) สงครามกู้ชาติดำ�เนินอย่างตามมีตามเกิด เหล่าเจ้าฟ้าบรรดา ราชวงศ์ และกลุ่มนักการเมืองชั้นนำ�ของประเทศ ส่วนใหญ่ถูกทหาร พม่าลวงไปฆ่าทิ้งเสียตั้งแต่แรก ซำ�ร้ายขบวนการกู้เอกราชยังถูกขุนส่า ราชายาเสพติดครอบงำ�เสียหลายปี และการที่สงครามนี้ไม่มี “ภาพถ่ายในฐานะอาวุธสงคราม” นั้น ถือว่าผิดพลาดอย่างยิ่ง เพราะความเป็นไปต่างๆ ล้วนตกอยู่ใน ความเงียบเสมอมา ปัญหาส่วนหนึ่งมาจากการที่พม่าปิดประเทศแบบมิดชิด ในเขตรัฐฉาน ก็ถือเป็นเขตสงครามที่คนภายนอกไม่สามารถเข้าไป ได้ง่ายๆ หากเข้าพม่าทางเครื่องบิน ผ่านย่างกุ้ง จะไปถึงรัฐฉาน แค่เมืองต่องกี๊ (ตองยี) เท่านั้น เลยจากนั้นไปไม่ได้แล้ว ถ้าผ่าน ด่านที่แม่สาย จะเข้าได้แค่เมืองท่าขี้เหล็ก และต้องต่อไปเชียงตุง ไม่สามารถแวะออกนอกเส้นทาง ขณะที่สนามรบและการล้างเผ่า พันธุ์คนไทจะอยู่แถบภาคกลาง หรือตามแนวต่อระหว่างเมือง สำ�หรับชาวบ้านทั่วไป ร้านบริการล้าง อัด ขยายภาพ มีอยู่ที่ ต่องกี๊ ท่าขี้เหล็ก เชียงตุง เท่านั้น ขนาดเมืองอันดับสองอย่าง ขุนฮิ้ง (อยู่ภาคกลาง) ยังไม่มีร้านอัดรูป แม้ในช่วงที่ผ่านมา กองกำ�ลังกู้ชาติไทใหญ่ เริ่มให้ความ สำ�คัญกับเทคโนโลยีการสื่อสาร เริ่มใช้เครือข่ายอินเตอร์เนต ใน


134  WeWatchBook Deep South Photojournalism Issue.

การบอกเล่าข่าวสาร เรียกร้องความเห็นใจ หาแนวร่วมจากนอก ประเทศ ด้วยการประกาศสงครามกับยาเสพติด ตามทำ�ลาย โรงงานยาบ้าของพม่าและว้า ตลอดปี พ.ศ. 2543 – 2544 (กล่าว กันว่า นโยบายนี้ทำ�ให้ได้กำ�ลังสนับสนุนจากสหรัฐ) มีการเริ่มใช้สื่อ ทางภาพถ่ายมากขึ้น ส่วนมากจะเป็นภาพถ่ายอาวุธและฐานข้าศึก ที่ยึดได้ ภาพโรงงานผลิตยาเสพติดของข้าศึก (อ้างว่าเป็นของพม่า และว้าแดง) รวมทั้งการสวนสนามภายในฐานทัพใหญ่ที่ดอยไตแลง (ใกล้กับแม่ฮ่องสอน) แนวภาพไปในทำ�นองเดียวกับภาพถ่ายของ โรเจอร์ เฟน ตัน แต่ถ่ายด้วยกล้องคอมแพค แบบ สแนปชอต (snapshot) เหล่านี้นับเป็นการเริ่มต้นที่ดี แม้จะทำ�ช้าไปสี่สิบปี อย่างไร ก็ตาม ช่างภาพทหารมักมีโอกาสบันทึกแต่กิจกรรมทางทหารเป็น หลัก ขณะที่สภาพความทุกข์ยากตามความเป็นจริงของประชาชนไท ใหญ่ ยังไม่มีการเก็บไว้อย่างเพียงพอ ภาพที่มีอยู่มักเป็นบ้านเรือน หลังจากถูกพม่าเผาทิ้ง วัดวาอาราม พระพุทธรูปที่ถูกทหารพม่า ทำ�ลาย ภาพผู้อพยพเต็มไปด้วยบาดแผลจากการถูกทรมาน ซึ่ง ทั้งหมดยังไม่สามารถเจาะลึกได้มากกว่านี้ และโอกาสที่ช่างภาพจะมีชีวิตรอดกลับมาล้างฟิล์มก็ยาก เต็มทน ฝ่ายพม่าเองระมัดระวังในเรื่องนี้มาก กล่าวกันว่า แม้ตาม ร้านค้า ตามแหล่งชุมนุมคนแปลกหน้าในเมืองท่าขี้เหล็ก ยังมีตำ�รวจ ลับพม่าคอยจับตามองอยู่เสมอ แม้กระทั่งโรงพยาบาลในแถบภาค กลางของรัฐฉาน (ที่คนต่างชาติไปไม่ถึง) ยังถือเป็นเขตห้ามถ่ายรูป เสียด้วย (ซึ่งสภาพโรงพยาบาลเลวร้ายมาก) ด้านระบบการสื่อสาร ของพม่าในรัฐฉานก็ค่อนข้างจำ�กัด โทรศัพท์เป็นของหายาก การใช้ โทรศัพท์มือถือก็เป็นสิ่งผิดกฎหมาย และสัญญาณมือถือที่แอบใช้ กันทั่วไปมาจากเมืองไทย ระบบอินเตอร์เน็ทในประเทศ ถูกยกเลิก ไปช่วงระยะหนึ่งเป็นเวลาหลายปี แม้ระบบอินเตอร์เน็ทในพม่าจะกลับมาในภายหลัง แต่ก็ เป็นไปแบบจำ�กัด วันดีคืนดี เช่นการประท้วงของพระและประชาชน พม่า ในปี พ.ศ.2550 รัฐทหารเผด็จการก็สั่งตัดสัญญาณเสียอย่าง ง่ายดายเช่นกัน ซึ่งไม่ค่อยต่างไปจากรัฐเผด็จการ คมช. ของไทย ใน ปี พ.ศ.2550 หรือระหว่างการล้อมปราบและสังหารหมู่ประชาชนใน ช่วงเดือนเมษายน - พฤษภาคม ปี พ.ศ.2553 ที่สัญญาณอินเตอร์ เนตของฝ่ายต่อต้านรัฐบาล มักจะขาดหายเป็นช่วงๆ อย่างลึกลับ รวมทั้งการตัดสัญญาณโทรทัศน์ดาวเทียม อย่างไรก็ตาม สำ�หรับประเทศพม่า หากกล่าวโทษรัฐบาล พม่าฝ่ายเดียวอาจไม่ยุติธรรมนัก สงครามแบบกองโจรของกองกำ�ลัง กู้ชาติไทใหญ่เองนั้น ทำ�ให้ประชาชนไทใหญ่อยู่ในฐานะวางตัวลำ�บาก ไม่ว่าจะอยู่อย่างเป็นกลาง หรือยืนอยู่ข้างฝ่ายใดก็เดือดร้อน ตลอด ความตายจากนำ�มือของทหารไทใหญ่ด้วยกันเกิดขึ้นบ่อยครั้งมาก

และดูเหมือนเจ้ายอดศึก (ผู้นำ�กองทัพไทใหญ่) จะไม่สามารถคุม ประพฤติหน่วยรบที่ห่างไกลจากดอยไตแลง ธรรมชาติมนุษย์ทั่วไป มีความสนใจเฉพาะเรื่องของตนเอง เท่านั้น และไม่มีความจำ�เป็นต้องรับรู้ในสิ่งที่ไกลจากชีวิตประจำ�วัน ดังนั้น สื่อทางภาพ, ภาพถ่าย, ภาพโทรทัศน์ จึงมีความสำ�คัญอย่าง ที่สุดต่อการนำ�ข้อมูล หรือความคิดที่นอกเหนือชีวิตประจำ�วัน เข้าสู่ ระบบการรับรู้ของมนุษย์ วิธีการนี้ให้ผลรวดเร็วกว่าและชัดเจนกว่า การสื่อสารนี้ มิใช่เพียงแค่บอกเล่าเรื่องราว แต่เป็นผลทางจิตวิทยา เพื่อป้อนภาพของความเป็นมนุษย์ที่มีชีวิต มีเลือดเนื้อ ความเจ็บ ปวด เช่นเดียวกับผู้ชมทางบ้าน เช่นผู้คนเหล่านี้ต่างมีพี่น้อง ลูกเมีย โหยหาคนที่พลัดพรากเช่นเดียวกันกับผู้ชมที่อยู่ทางบ้าน เมื่อภาพ ของความเป็นมนุษย์ (ที่กำ�ลังเผชิญสงครามและความทุกข์) เข้าสู่ ระบบความเข้าใจของผู้ชม จะเริ่มนำ�สู่การมีอารมณ์ร่วม และค่อยๆ พาไปสู่อุดมการณ์เป้าหมายในที่สุด สงครามเวียดนามเป็นตัวอย่างที่ชัดเจน ในแง่ที่ว่า แรงต่อ ต้านสงคราม มิได้เกิดจากหลักปรัชญาการเมืองใด แต่เริ่มจากการ ที่ผู้คนเริ่มมองว่า ทหารอเมริกัน คือลูกชายของแม่ พ่อของลูก แฟน ของใครคนหนึ่ง และทหารเวียดนามก็เช่นเดียวกัน ความตายของ ชาวบ้านที่ต้องการเพียงมีชีวิตอยู่อย่างสงบสุข ยิ่งฝ่ายสนับสนุนสงคราม มองคู่สงครามของตนเป็นสิ่งที่ตำ� กว่ามนุษย์ ยิ่งทำ�ให้เกิดแรงต่อต้านจากประชาคมโลกมากขึ้นเรื่อยๆ ขณะสงครามกู้ชาติในรัฐฉาน คนไทใหญ่ไม่เคยมีตัวตนใน สายตาคนไทยและชาวโลก พวกเขายังถูกมองแค่ แรงงานเถื่อนชาว พม่า หรือชนกลุ่มน้อยชาวพม่า และสื่อไทยในช่วงเวลานั้นตอกยำ� แนวคิดนี้อยู่ตลอด สงครามที่ปราศจากภาพถ่ายนี้ มีเพียงเด็กและผู้หญิงชาว ไทใหญ่ที่ล้มตายท่ามกลางความเงียบงัน


Information cited from the book "Photo Speak" by Gilles Mora (Abbeville Press, 1998) stated that war photo collection of the Musee de l'Armee in Paris, France, in 1986, had a collection of more than 1,000 images taken by amateur photographers, as opposed to professional photographers (hired by the government). It was stated that amateur works provided diverse information that was more useful, while state-sponsored photographs would have a limited view of presentation, particularly images that were negative towards the hiring companies and were more propaganda-like in nature.

อ้างอิงข้อมูลจากหนังสือ Photo Speak (Gilles Mora, Abbeville Press, 1998) งานสะสมภาพถ่ายสงครามของพิพิธภัณฑ์ Musee de l' Armee กรุงปารีส ฝรั่งเศส ปี พ.ศ.2439 (ค.ศ.1896) รวมงานของช่างภาพสมัคร เล่นกว่าหนึ่งพันภาพ เทียบกับงานช่างภาพอาชีพ (ว่าจ้างโดยรัฐบาล) กล่าว ว่า ผลงานสมัครเล่นให้ข้อมูลที่หลากหลายเป็นประโยชน์มากกว่า ขณะที่ ภาพถ่ายของฝ่ายรัฐจะมีข้อจำ�กัดมุมมองนำ�เสนอ โดยเฉพาะภาพในแง่ลบ ต่อรัฐผู้ว่าจ้าง ซึ่งออกแนวโฆษณาชวนเชื่อชัดเจนกว่า



137

Dig Up the Truth "Behind the Photos" (ขุดคุ้ยความจริง 'ข้างหลังภาพ')

Editorial | กองบรรณาธิการ

A large number of photographs taken during the early 20th century have been praised as 'iconic photos' to which people all over the world refer to when there is a discussion or implication on a certain event, most of which resulted in change or loss of something in world history. The major events that affected the lives of people all over the world during the early 20th century were 'World Wars 1 and 2' which took place in 1914-1918 and 1939-1945, respectively, and also caused many social and political changes in many regions. The famous photographers in the eras were all 'war photojournalists' who recorded the fighting of the armies and forces all over the world. Many war photojournalists have been recorded as the 'legends' who would risk their lives to be close to the battle: Robert Capa, Joe Rosenthal, Henri Cartier-Bresson, all of whom were praised as photojournalists who incricately reflected the details of the war, allowing those far from the front line to see pictures of deaths, pain, and losses that were the results of the Wars clearly. Yet, during the 20th century, the atrocities did not only end at World Wars 1 and 2 as there were other wars that followed in waves. A war that took place near Thailand that caused great changes in Asia was the 'Vietnam War', in which the communist force and North Vietnam picked up arms to fight against the army of the South Vietnam government who were supplied with arms and troops from the United States government, which had an anti-'Communist' stance throughout the globe.

The fighting in Vietnam started in 1957 and continued for years, until one photograph of an AP photojournalist named 'Eddie Adams', taken on 1 February 1968, was published through TIME magazine in the US. The image led to the questioning on the 'Reason' of the fight in Vietnam War by the US government and denouncement of inhumane treatment of prisoners of war (POWs). The photo taken by Eddie Adams then became an 'iconic photo' that represented the brutality of war. It is an image of Brigadier General Nguyen Ngoc Loan, the Republic of Vietnam's Chief of National Police at the time, pointing a gun against a 'Viet Cong' fighter in civilian clothing with hands tied behind his back in the middle of a street in Saigon, while the face of the prisoner told of hopelessness and fear of death. Eddie Adams' photograph was published at the same time that NBC Television in the USA aired the video clip of the scene when Police Chief Nguyen shot the Viet Cong prisoner in the middle of the street, shocking all Americans and causing Nguyen to be denounced as being 'savagely cruel' for executing the prisoner who had no mean to fight in such manner. Four years later, an image of a Vietnamese girl named 'Phan Thi Kim Phuc' who ran crying in terror in the middle of the street in the district of Trang Bang in South Vietnam on 8 June 1972 after her house was napalm bombed by the South Vietnamese forces to the rubble was recorded by a photojournalist named 'Nick Ut', also from the Associated Press.


138  WeWatchBook Deep South Photojournalism Issue.

The fate of 'Kim Phuc' in Nick Ut's photograph caused the South Vietnamese and the US forces to be denounced for using force without regard for civilian lives in the state of war, as the South Vietnamese army dropped napalm bombs onto Southern Vietnamese territories under its own protection to wipe out the Viet Cong and the forces from North Vietnam who were taking villages in Trang Bang by force and using them as bases to attack the South Vietnamese Army. The result was that a large number of civilians taking refuge in the area were injured and killed. The Vietnam War photographs of Eddie Adams and Nick Ut received Pulitzer Prizes for Spot News in 1969 and 1973, respectively. The photographs also became tools in anti-war activities in the United States, Europe, and Southeast Asia, leading to the announcement by the United States in 1973 to withdraw troops from Vietnam. The 2 photographs of these 2 photojournalists have been acclaimed as the Iconic Photographs of the Era that the entire world remembers whenever the Vietnam War was later mentioned.

ภาพถ่ายจำ�นวนมากที่ถูกบันทึกไว้ในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 ถูกยกย่องให้เป็น ‘ภาพจำ�’ (Iconic Photos) ซึ่งคนทั่วโลกพร้อมใจ กันนึกถึงเมื่อมีการพูดคุยหรือพาดพิงเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่ง ซึ่ ง ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น เรื่ อ งสำ � คั ญ ที่ ส่ ง ผลต่ อ การเปลี่ ย นแปลงหรื อ สู ญ สลายของบางสิ่งบางอย่างในประวัติศาสตร์โลก ส่วนเหตุการณ์ใหญ่ซึ่งส่งผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ ของคนทั้งโลกในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 ได้แก่ ‘สงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2’ ซึ่งกินเวลายาวนานตั้งแต่ ค.ศ.1914-1918 และ ค.ศ. 1939-1945 ทั้งยังก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงทางสังคมและการ ปกครองในหลายพื้นที่ ช่างภาพที่โด่งดังในยุคนั้นล้วนเป็น ‘ช่างภาพสงคราม’ ผู้ บันทึกการต่อสู้ของทั้งฝ่ายทหารและกองกำ�ลังต่างๆ ทั่วโลก โดย ช่างภาพสงครามหลายคนถูกจารึกชื่อในฐานะ ‘ตำ�นาน’ ที่กล้า เสี่ยงชีวิตเพื่อเกาะติดการสู้รบ ไม่ว่าจะเป็น โรเบิร์ต คาปา, โจ โร เซนตาล, อองรี การ์ติเย เบรสซง ล้วนถูกยกย่องในฐานะช่างภาพผู้ สะท้อนแง่มุมของสงครามได้อย่างละอียดละออ จนคนที่ไม่ได้อยู่ใน สมรภูมิสามารถมองเห็นทั้งความตาย, ความเจ็บปวด และความสูญ เสียที่เป็นผลพวงจากสงครามได้อย่างแจ่มชัด

ทว่า สงครามในศตวรรษที่ 20 ไม่ได้จบลงแค่สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ 2 เพราะยังคงมีสงครามอื่นๆ ตามมาอีกหลายระลอก และสงครามที่เกิดขึ้นใกล้กับบ้านเรา ทั้งยังก่อให้เกิดความเปลี่ยน แปลงครั้งใหญ่ในภูมิภาคเอเชีย ได้แก่ ‘สงครามเวียดนาม’ ซึ่งกอง กำ�ลังคอมมิวนิสต์, เวียดนามเหนือ จับอาวุธสู้รบกับกองทัพรัฐบาล เวียดนามใต้ ซึ่งได้รับการสนับสนุนด้านอาวุธยุทโธปกรณ์และทหาร จากรัฐบาลสหรัฐฯ ซึ่งมีจุดยืนต่อต้าน ‘คอมมิวนิสต์’ ทั่วโลก การต่อสู้ในสงครามเวียดนามปะทุขึ้นเมื่อ ค.ศ.1957 และ สืบต่อมาอีกหลายปี จนกระทั่งภาพถ่ายใบหนึ่งของช่างภาพประจำ� สำ�นักข่าวเอพี ‘เอ็ดดี้ อดัม’ ซึ่งถ่ายเอาไว้ได้เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ ค.ศ.1968 ถูกเผยแพร่ผ่านนิตยสารไทม์สในสหรัฐฯ ภาพดังกล่าวได้ นำ�ไปสู่การตั้งคำ�ถามถึง ‘เหตุผล’ ของการสู้รบในสงครามเวียดนาม ของรัฐบาลสหรัฐฯ รวมถึงประณามการปฏิบัติต่อผู้ที่เป็นเชลยอย่าง ไร้มนุษยธรรม ภาพของเอ็ดดี้ อดัม ซึ่งกลายเป็น ‘ภาพจำ�’ ถึงความโหด ร้ายของสงครามเวียดนาม คือ ภาพของ พล.จ.ต.‘เหวียน ง็อก ลอน’ (Nguyan Ngoc Loan) ผู้บัญชาการตำ�รวจแห่งเวียดนามใต้ในช่วง เวลานั้น กำ�ลังใช้ปืนจ่อหัวกองกำ�ลัง ‘เวียดกง’ ในชุดพลเรือน ซึ่ง ถูกมัดมือไพล่หลัง กลางถนนในกรุงไซง่อน และใบหน้าของเชลยคน ดังกล่าวบ่งบอกถึงความสิ้นหวังและกลัวตาย ภาพของเอ็ดดี้ อดัม ถูกตีพิมพ์ในช่วงเวลาไล่เลี่ยกับที่สถานี โทรทัศน์เอ็นบีซีของสหรัฐฯ เผยแพร่ภาพเคลื่อนไหวฉากที่ ผบ.ตร. เหวียนจ่อหัวยิงสังหารเชลยเวียดกงกลางถนน จนคนอเมริกันตก ตะลึงกันไปทั่ว และทำ�ให้เหวียนถูกประณามว่า ‘โหดเหี้ยมอำ�มหิต’ ที่ปลิดชีวิตเชลยไม่มีทางสู้ด้วยวิธีดังกล่าว หลังจากนั้นอีก 4 ปี ภาพของเด็กหญิงชาวเวียดนาม ‘ฟาน ทิ คิม ฟุค’ (Phan Thi Kim Phuc) ซึ่งวิ่งร้องไห้อย่างเสียขวัญกลาง ถนนในเมืองตรัง บาง ฝั่งเวียดนามใต้ เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน ค.ศ. 1972 หลังบ้านเรือนถูกระเบิดนาปาล์มของกองทัพเวียดนามใต้ เผาผลาญจนไม่เหลือซาก ถูกบันทึกไว้ด้วยฝีมือช่างภาพ ‘นิค อุท’ (Nick Ut) แห่งสำ�นักข่าวเอพีเช่นกัน ชะตากรรมของ ‘คิม ฟุค’ ที่ปรากฎในภาพของ นิค อุท ทำ�ให้กองทัพเวียดนามใต้และสหรัฐฯ ถูกประณามว่าใช้ความรุนแรง โดยไม่คำ�นึงถึงชีวิตพลเรือนที่อยู่ท่ามกลางภาวะสงคราม สาเหตุ เพราะกองทัพเวียดนามใต้ทิ้งระเบิดนาปาล์มลงในดินแดนฝั่งใต้ซึ่ง อยู่ในความครอบครองของตัวเอง เพื่อกวาดล้างกองกำ�ลังเวียดกง แห่งเวียดนามเหนือซึ่งนำ�กำ�ลังเข้ายึดหมู่บ้านในตรัง บาง และใช้เป็น ฐานที่มั่นโจมตีกองทัพเวียดนามใต้ ผลคือประชาชนที่หลบซ่อนอยู่ใน พื้นที่ต้องเสียชีวิตและบาดเจ็บเป็นจำ�นวนมาก ภาพสงครามเวียดนามของ เอ็ดดี้ อดัม และ นิค อุท ได้


139

รับรางวัลพูลิตเซอร์ในสาขา Spot News ในปี ค.ศ.1969 และ 1973 ตามลำ�ดับ ทั้งยังเป็นภาพที่ถูกนำ�มาใช้เป็นเครื่องมือต่อต้าน สงครามในสหรัฐฯ ยุโรป และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จนนำ�ไปสู่ การประกาศถอนกำ�ลังทหารในเวียดนามของกองทัพสหรัฐฯ ใน ปี ค.ศ.1973 และภาพทั้ง 2 ใบของช่างภาพทั้ง 2 คนถูกยกย่องว่า เป็นภาพจำ�แห่งยุคสมัยซึ่งคนทั่วโลกจดจำ�ได้เมื่อมีการเอ่ยพาดพิง ถึงสงครามเวียดนามในเวลาต่อมา

Pieces of the Truth and the Consequences However, the historic photos of Eddie Adams and Nick Ut have different aftermaths and the fates of the people in the photographs ended in different directions, thus creating questions on the role of using photographs as historical evidence and its 'fairness' towards all sides. While the little girl named 'Kim Phuc' in Nick Ut's photograph was assisted by the United States government to take refuge in Canada with her family, Brigardier Police General Nguyen, who took assylum in the United States in 1975 until his death in 1998, became targets of anti-war protesters who still remembered him as being the executioner of the civilian-clothed victim who appeared in Eddie Adams' Pulitzer Prize-winning photograph. General Nguyen, who took assylum to live in the United States after the fall of Saigon in South Vietnam and sustained himself by opening a small pizzeria in Virginia, was pressured out of business in 1991 as some community members showed their opposition and denounced Nguyen as a war criminal. As a recorder of history during the Vietnam War, Eddie Adams wrote a eulogy article to Nguyen, who passed away with cancer on 14 July 1998, for publication in TIME magazine, stating that: “The general killed the Viet Cong; I killed the general with my camera.” Eddie Adams also questioned the process of 'believing' by people who have seen photographs on whether

the 'perception' of each photograph should be based on references on consider other viewpoints other than the objects or persons which appeared in the photographs, as some photos had such powerful force as to destroy the lives of those photographed without being able to live in peace. “Still photographs are the most powerful weapon in the world. People believe them, but photographs do lie, even without manipulation. They are only half-truths ... What the photograph didn't say was, 'What would you do if you were the general at that time and place on that hot day, and you caught the so-called bad guy after he blew away one, two or three American soldiers” Although some may argue that a 'winner' in battle such as General Nguyen had no right to shoot the 'loser' or prisoner-of-war in the middle of a street, but should bring them to trial by the principles of criminal justice, but the decision to 'shoot and execute' bear consequences of which Brigadier General Nguyen must take. However, blaming Brigadier General Nguyen alone may not seem fair, as there were many other collaborators in the Vietnam War, particularly those of national-level importance on both the Vietnamese and the US side who had the authority to establish policy for a prolonged war, including the leaders or the armies of the countries neighboring Vietnam who played an equally crucial role in supporting the war or wiping out communist forces. Meanwhile, the issue in Eddie Adams' writing on 'what the photograph didn't say' led towards discussion on the idea of criticising and reviewing history through photographs and the conclusion that other evidences must also be brought into consideration in order to prevent abruptive 'conclusion' or 'judgement' on the act of people in the photograph without considering the surrounding conditions at the time when the photo was recorded. Even the photograph, which is regarded as a mark in history, still has a background-backstory for further search and referencing. Therefore, it is necessary to consider the facts of various events from as comprehensive angles as possible.


140  WeWatchBook Deep South Photojournalism Issue.

เศษเสี้ยวความจริงและสิ่งที่ตามมา อย่างไรก็ตาม ภาพบันทึกประวัติศาสตร์สงครามเวียดนาม ของเอ็ดดี้ อดัม และ นิค อุท มีบางสิ่งที่แตกต่างกัน นั่นก็คือชะตา กรรมของคนในภาพที่ลงเอยกันคนละทาง และทำ�ให้เกิดคำ�ถามถึง บทบาทของการใช้ภาพถ่ายเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ว่ามี ความ ‘เป็นธรรม’ ต่อคนทุกกลุ่มมากน้อยเพียงไร ขณะที่เด็กหญิง ‘คิม ฟุค’ ในภาพถ่ายของนิค อุท ได้รับ การช่วยเหลือจากรัฐบาลสหรัฐฯ ให้ลี้ภัยไปอยู่แคนาดาพร้อมกับ ครอบครัว แต่ พล.จ.ต.เหวียน ซึ่งลี้ภัยมาอยู่ในสหรัฐฯ ช่วงปี ค.ศ. 1975 จนกระทั่งเสียชีวิตในปี ค.ศ.1998 กลับตกเป็นเป้าโจมตีของ กลุ่มผู้ต่อต้านสงคราม ซึ่งยังจดจำ�ได้ว่าเขาคือผู้สังหารเหยื่อในชุด พลเรือนที่ปรากฎตัวอยู่ในภาพรางวัลพูลิตเซอร์ของเอ็ดดี้ อดัม พล.จ.ต.เหวียน ซึ่งลี้ภัยมาใช้ชีวิตในสหรัฐฯ หลังกรุงไซง่อน ของเวียดนามใต้ล่มสลายลง เลี้ยงชีพด้วยการเปิดร้านขายพิซซ่าใน เมืองเล็กๆ แห่งหนึ่งในรัฐเวอร์จิเนีย แต่เขาถูกกดดันให้เลิกกิจการ ในปี ค.ศ.1991 เพราะคนในชุมชนบางส่วนแสดงอาการต่อต้านและ ประณามเหวียนว่าเป็นอาชญากรสงคราม ในฐานะที่เป็นผู้บันทึกภาพประวัติศาสตร์สงครามเวียดนาม ที่มีภาพของอดีต ผบ.ตร.เหวียน ร่วมปรากฎอยู่ด้วย ทำ�ให้เอ็ดดี้ อดัม เขียนบทความไว้อาลัยถึงเหวียน ซึ่งเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็ง เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม ค.ศ.1998 เพื่อเผยแพร่ลงในนิตยสารไทม์ โดยระบุว่า “ท่านพลตำ�รวจฆ่าเวียดกง ผมฆ่าท่านด้วยกล้องถ่ายรูปของ ผม” เอ็ดดี้ อด้มยังตั้งคำ�ถามถึง ‘การรับรู้’ ของผู้คนที่มีต่อภาพถ่าย ด้วยว่า ‘การรับรู้เรื่องราว’ ในภาพถ่ายแต่ละใบ ควรจะต้องอ้างอิง หรือพิจารณาถึงแง่มุมอื่นๆ นอกเหนือจากวัตถุหรือบุคคลที่ปรากฎ อยู่ในภาพหรือไม่ ในฐานะที่ภาพถ่ายบางภาพมีพลังรุนแรงถึงขั้นที่ สามารถทำ�ลายชีวิตผู้ถูกถ่ายจนไม่อาจใช้ชีวิตได้อย่างปกติสุข “ภาพนิ่งคืออาวุธที่ทรงพลังที่สุดในโลก คนจำ�นวนมากเชื่อ ในมัน แต่ภาพถ่ายก็โกหกได้ โดยไม่ต้องมีอะไรบงการอยู่เบื้องหลัง ด้วยซำ� ภาพถ่ายเหล่านั้นคือความจริงแค่ครึ่งเดียว สิ่งที่ภาพถ่ายไม่ ได้บอกกับเราคือคำ�ถามว่า คุณจะทำ�อย่างไรถ้าคุณเป็น พล.จ.ต. เหวียนในวันเวลาที่ร้อนระอุช่วงนั้น เมื่อคุณจับคนที่ถูกเรียกว่าเป็น พวก ‘ผู้ร้าย’ ได้คนหนึ่ง หลังจากที่เขายิงทหารอเมริกันทิ้งไปสักคน หรือสอง-สามคน” แม้มีผู้โต้แย้งว่า ‘ผู้ชนะ’ ในศึกรบอย่าง พล.จ.ต.เหวียน ไม่มีสิทธิ์ยิง ‘ผู้แพ้’ หรือเชลยสงครามทิ้งข้างถนน แต่ควรจะนำ� ตัวผู้ก่อเหตุเข้าสู่กระบวนการไต่สวนตามหลักยุติธรรม การตัดสิน ใจ ‘ยิงทิ้ง’ ในครั้งนั้นจึงมีผลพวงที่ พล.จ.ต.เหวียนต้องแบกรับไว้ แต่การกล่าวโทษ พล.จ.ต.เหวียนเพียงผู้เดียวอาจดูไม่ยุติธรรมนัก

Eddie Adams (AP, 1968)

ในเมื่อผู้มีส่วนร่วมในการทำ�สงครามเวียดนามยังมีอีกเป็นจำ�นวน มาก โดยเฉพาะบุคคลที่มีความสำ�คัญระดับชาติ ทั้งของเวียดนาม และสหรัฐฯ ซึ่งมีอำ�นาจในการกำ�หนดนโยบายเพื่อการทำ�สงคราม ยืดเยื้อ ไม่เว้นแม้แต่ผู้นำ�หรือกองทัพของประเทศเพื่อนบ้านรอบๆ เวียดนาม ซึ่งมีบทบาทสำ�คัญไม่แพ้กันในการสนับสนุนสงครามและ การกวาดล้างกองทัพคอมมิวนิสต์ ขณะเดียวกัน ประเด็นในบทความของเอ็ดดี้ อดัม ซึ่งพูด ถึง ‘สิ่งที่ภาพถ่ายไม่ได้บอก’ นำ�ไปสู่การถกเถียงเรื่องแนวคิดการ วิพากษ์วิจารณ์และการชำ�ระประวัติศาสตร์ผ่านภาพถ่ายว่าจะต้อง ใช้หลักฐานในด้านอื่นๆ มาประกอบเข้าด้วยกัน เพื่อป้องกันการ ‘ด่วนสรุป’ หรือ ‘พิพากษา’ การกระทำ�ของผู้คนที่อยู่ในภาพโดย ไม่ตระหนักถึงเงื่อนไขแวดล้อมในช่วงที่ภาพถูกบันทึกไว้ เพราะ แม้แต่ภาพถ่ายซึ่งถูกยกให้เป็นหมุดหมายทางประวัติศาสตร์ก็ยัง มีเบื้องลึก-เบื้องหลังให้ค้นหาและอ้างอิงกันต่อ จึงจำ�เป็นจะต้อง พิจารณาข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ต่างๆ จากมุมมองของทุกฝ่าย อย่างรอบด้านให้มากที่สุดเท่าที่จะทำ�ได้


141 

Another proponent of the idea of using a diverse range of information in interpreting historical photographs was 'Peter Stepan', an American curator and editor of the book 'Photos that Changed the World' (Prestel Press), who quoted an old saying in the Introduction that 'Winners write history', causing manipulation, omission, or event synthesis of memory of the past to be according to what the 'winner' from each power struggle in history wished to be, in order to instill the people to acknowledge or remember only the things that would be of use to those in power. The book Photos that Changed the World also said that the 'photograph' was another thing that could twist facts through the process of selection of photos that represent only partial truth, ambiguous captioning, and blockade and destruction of a number of photograph by the power-at-be who would decide the facts to be revealed to the public and the facts that should be 'buried' from contemporary memory. In Peter Stepan's perspective, the 'photograph' attracts attention from people by itself. We would remember the appearance of the photograph and consider the aftermath. Addition of 'key facts' about historical background of the photograph would allow us to understand the event more thoroughly. When illustrated history and written history are recorded equally, each side would 'complement' each other to become whole. Another key example that should be widely mentioned but was beyond the scope of the collection in Stepan's book was the photograph titled 'An Israeli policeman and a Palestinian', which AP received from a freelance photographer in Jerusalem, Israel, on 30 September 2000, at the same time as when Palestinians made massive uprising against the Israeli government, or the second 'Intifata'. The photographer remained anonymous until present, as the photograph led towards even more serious conflict between Israel and Palestine. The person in the picture was a young boy aged approximately 20 years, kneeling in front of an Israeli policeman who pointed

upwards with his baton with an angry look on his face, while the kneeling young man's face was full of blood and swollen eyes. The Associated Press further distributed this photo to other news agencies in the United States and Europe with the caption 'An Israeli policeman and a Palestinian', creating an understanding that the Israeli policeman attacked the young Palestinian man in the picture, creating resistance and denouncement of the Israeli government from Palestinians and the entire world. Soon afterward, Dr. Aaron Grossman, a Jewish American physician in Chicago, sent a letter to the editors of the New York Times, one of the mainstream newspapers of the USA who published the Israeli policeman and a Palestinian picture. The letter stated that the boy who was attacked and had blood on his face was 'Tuvia Grossman', his son, also a Jewish American, who had gone to study in Israel for 2 years. The details of the story 'behind the photo' was that Tuvia Grossman hailed a taxi with two friends to visit the Western Wall in Jerusalem's Old City, but the taxi driver took a shortcut through the Arab neighborhood of Wadi Al-Joz. The taxi that Grossman and his friends were taking were called to a halt by the Arab protesters. Then, the windows was smashed and Grossman and friends were dragged out to be beaten. The mob kicked Grossman repeatedly, stabbed him once in the leg, and then pounded his head with rocks, causing him to run to a nearby gas station. An Israeli policeman wielding a club protected him, threatening the mob. This was when the infamous picture was taken, by some freelance photographers who were at the gas station. No one knows why the freelance photographer sent picture of Tuvia Grossman with the caption 'An Israeli policeman and a Palestinian' to the Associated Press. However, before the facts about the event were revealed, and before agencies corrected the caption, the photograph of blood-covered Grossman was publicized through leading media with wide readership all around


142  WeWatchBook Deep South Photojournalism Issue.

the world, causing Palestinians and Muslim people to have more anger towards Jews and the Israeli government, leading to mass protests between Israeli government officials and Palestinians in the West Bank, causing a large number of deaths from the clashes, nearly all of whom were Palestinians. In addition, publication of the Tuvia Grossman photograph, identifying Grossman as a Palestinian being hurted by Israeli police, also became an issue which undermined the legitimacy of the struggle of the Palestinians. Mainstream media in the Western world: AP, New York Times, Washington Post, and Liberation a french liberal papers, were criticized for making biased reporting of the conflict between Israel and Palestine and being negligent in verifying the source of the photo and

sensitive information. The image of Tuvia Grossman was also used in the advertising campaign for Muslims in Palestinian Territory to oppose consumption of the 'Coca-Cola' soft drink, an American product, with the objective of the campaigners being a boycott of products from the United States, a country which was backing the Israeli government. However, the producer of the banner still understood that Grossman was a young Palestinian man who was beaten by the Israeli police, as many media agencies initially reported, and thus brought his picture together with a message to point out the 'brutality' of Israeli government officials, while in reality the image and the message on the campaign board was completely opposite to one another.

ผู้ที่สนับสนุนแนวคิดเรื่องการใช้ข้อมูลที่หลากหลายประกอบ การตีความภาพถ่ายประวัติศาสตร์อีกคนหนึ่ง คือ ปีเตอร์ สเตแพน ภั ณ ฑารั ก ษ์ ช าวอเมริ กั น และบรรณาธิ ก ารหนั ง สื อ รวมภาพถ่ า ย Photos that changed the world ของสำ�นักพิมพ์เพรสเทล (Prestel) ซึ่งอ้างถึงคำ�กล่าวเก่าแก่ไว้ในบทนำ�ของหนังสือว่า ‘ผู้ ชนะเป็นฝ่ายเขียนประวัติศาสตร์’ ทำ�ให้เกิดการบิดเบือน, ตัดทิ้ง หรือแม้กระทั่งการประกอบสร้างชุดความทรงจำ�เกี่ยวกับเรื่องราว ในอดีตขึ้นใหม่ให้เป็นไปตามที่ ‘ผู้ชนะ’ จากการต่อสู้แย่งชิงอำ�นาจ ในแต่ละเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ต้องการให้เป็น เพื่อนำ�ไปสู่การ ปลูกฝังให้ผู้คนเลือกรับรู้หรือจดจำ�เฉพาะสิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ที่ ยึดกุมอำ�นาจ เนื้อหาในหนังสือ Photos that changed the world ระบุ ด้วยว่า ‘ภาพถ่าย’ เป็นอีกสิ่งหนึ่งซึ่งถูกบิดเบือนข้อเท็จจริงได้ โดย ผ่านกระบวนการคัดเลือกภาพที่นำ�เสนอข้อมูลเพียงบางด้าน, การ บรรยายภาพที่คลุมเครือ รวมถึงการปิดกั้นและทำ�ลายภาพถ่าย จำ�นวนหนึ่ง ซึ่งจัดการโดยคนบางกลุ่มที่มีอำ�นาจในการตัดสินใจว่า จะเปิดเผยข้อมูลชุดไหนต่อสาธารณชน และข้อมูลชุดไหนสมควร ถูก ‘กลบฝัง’ ให้หายไปจากความทรงจำ�แห่งยุคสมัย ในทัศนะของปีเตอร์ สเตแพน ‘ภาพถ่าย’ จึงเป็นสิ่งที่ดึงดูด ความสนใจจากผู้คนได้ด้วยตัวของมันเอง โดยเราจะจดจำ�ลักษณะ ที่ ป รากฎให้ เ ห็ น ในภาพและคำ � นึ ง ถึ ง ผลกระทบที่ เ กิ ด ขึ้ น ตามมา และการเพิ่มเติม ‘ข้อมูลสำ�คัญ’ เกี่ยวกับภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ ของภาพจะช่วยให้เราเข้าใจในสิ่งที่เกิดขึ้นได้ถ่องแท้มากขึ้น และ เมื่อประวัติศาสตร์ศิลป์และประวัติศาสตร์ซึ่งได้รับการบันทึกเป็น


143

ลายลักษณ์อักษรถูกนำ�เสนอในสัดส่วนเท่าๆ กัน ต่างฝ่ายจะ ‘เติม เต็ม’ ซึ่งกันและกันจนสมบูรณ์ ตัวอย่างสำ�คัญที่สมควรได้รับการพูดถึงอย่างแพร่หลาย แต่ อยู่นอกเหนือไปจากภาพที่ถูกรวบรวมเอาไว้ในหนังสือของปีเตอร์ สเตแพน คือ ภาพ ‘ตำ�รวจอิสราเอลและชาวปาเลสไตน์’ ซึ่งสำ�นัก ข่าวเอพีได้รับมาจากช่างภาพอิสระในนครเยรูซาเล็มของอิสราเอล เมื่อวันที่ 30 กันยายน ค.ศ.2000 ช่วงเดียวกับที่ชาวปาเลสไตน์ ลุกฮือครั้งใหญ่ขึ้นต่อต้านรัฐบาลอิสราเอล หรือที่เรียกกันว่า ‘อินติ ฟาดา’ ครั้งที่ 2 ภาพดังกล่าวไม่มีการเปิดเผยชื่อช่างภาพผู้ถ่ายจนถึงปัจจุบัน เพราะมันได้กลายเป็นภาพที่นำ�ไปสู่ความขัดแย้งที่รุนแรงหนักกว่า เดิมระหว่างอิสราเอลและปาเลสไตน์ ส่วนผู้ที่ปรากฎในภาพถ่าย คือ หนุ่มอายุประมาณ 20 ปี กำ�ลังนั่งคุกเข่าต่อหน้าตำ�รวจชาวอิสราเอล ซึ่งใช้กระบองขึ้นชี้ด้วยท่าทางโกรธเกรี้ยว ขณะที่ใบหน้าของเด็ก หนุ่มที่คุกเข่าเต็มไปด้วยเลือดเกรอะกรังและตาบวมปูด สำ�นักข่าวเอพีได้เผยแพร่ภาพนี้ไปให้สื่ออื่นๆ ในสหรัฐฯ และ ยุโรป พร้อมกับคำ�บรรยายใต้ภาพว่า ‘ตำ�รวจ อิสราเอลและชาวปาเลสไตน์’ ทำ�ให้เข้าใจได้ว่า ตำ�รวจอิสราเอลเป็นผู้ลงมือทำ�ร้ายเด็กหนุ่มชาว ปาเลสไตน์ในภาพ ทำ�ให้เกิดการต่อต้านและ ประณามรัฐบาลอิสราเอลจากชาวปาเลสไตน์ และทั่วโลก จากนั้นไม่นาน นายแพทย์อารอน กรอส มัน ชาวอเมริกันเชื้อสายยิวในนครชิคาโก สหรัฐฯ ได้ส่งจดหมายถึงกองบรรณาธิการนิตยสารไทม์ ซึ่งเป็นหนึ่งในสื่อกระแสหลักของสหรัฐฯ ที่ตีพิมพ์ ภาพตำ�รวจอิสราเอลและชาวปาเลสไตน์ โดย เนื้อหาในจดหมายระบุว่าเด็กหนุ่มซึ่งถูกทำ�ร้าย จนเลือดอาบทั้งหน้า คือ ‘ทูเวีย กรอสมัน’ บุตร ชายของเขา ซึ่งเป็นชาวอเมริกันเชื้อสายยิว และ เดินทางไปศึกษาต่อที่อิสราเอลเป็นเวลา 2 ปี รายละเอียดของเหตุการณ์ ‘เบื้องหลังภาพ’ เริ่มจากทูเวีย กรอสมัน และเพื่อนชาวอเมริกันอีก 2 คน ขึ้นรถแท็กซี่เพื่อจะเดิน ทางไปสวดภาวนาที่กำ�แพงตะวันตก หรือ Western Wall ในฝั่ง เมืองเก่าของนครเยรูซาเล็ม แต่คนขับรถแท็กซี่ได้พาพวกเขาไปยัง เส้นทางลัด ซึ่งตัดผ่านย่านวาดิ อัล โจซ (Wadi al Joz) ซึ่งเป็น ชุมชนชาวอาหรับมุสลิม รถแท็กซี่ซึ่งทูเวีย กรอสมัน โดยสารมากับเพื่อน ถูกกลุ่มผู้ ประท้วงชาวอาหรับในย่านนั้นเรียกให้หยุดกลางทาง จากนั้นได้มี ผู้ทุบกระจกเพื่อเปิดประตูรถ ก่อนจะดึงตัวทูเวียและเพื่อนออกมา

ทำ�ร้าย รวมถึงขว้างปาก้อนหินเข้าใส่ทั่วตัวและใบหน้า ทำ�ให้เขา ต้องวิ่งหนีไปยังปั๊มนำ�มันในละแวกใกล้เคียง และตำ�รวจอิสราเอล ซึ่งอยู่ใกล้กับจุดเกิดเหตุได้เข้ามาตะโกนห้ามกลุ่มผู้ประท้วงชาว อาหรับที่กำ�ลังตามมารุมทำ�ร้ายกรอสมัน และเป็นขณะเดียวกันกับ ที่ช่างภาพอิสระชาวอิสราเอลบันทึกภาพดังกล่าวเอาไว้ได้ ไม่มีใครรู้ว่าเพราะเหตุใดช่างภาพชาวอิสราเอลจึงส่งภาพ ของทูเวีย กรอสมัน พร้อมคำ�บรรยายว่า ‘ตำ�รวจอิสราเอลและ ชาวปาเลสไตน์’ ไปให้กับทางสำ�นักข่าวเอพี แต่กว่าข้อเท็จจริง ของเหตุการณ์จะถูกเปิดเผยออกมา และกว่าสำ�นักข่าวจะแก้ไขคำ� บรรยายภาพให้ถูกต้อง ภาพของทูเวียขณะมีเลือดอาบทั่วหน้าได้ ถูกเผยแพร่ผ่านสื่อชั้นนำ�ซึ่งมีคนอ่านเป็นจำ�นวนมากทั่วโลก ทำ�ให้ ชาวปาเลสไตน์และพี่น้องชาวมุสลิมทวีความโกรธแค้นต่อชาวยิว และรัฐบาลอิสราเอล นำ�ไปสู่การปะทะรุนแรงระหว่างเจ้าหน้าที่ รัฐบาลอิสราเอลและชาวปาเลสไตน์ในเขตเวสต์แบงค์ ทำ�ให้มีผู้เสีย ชีวิตจากการปะทะเป็นจำ�นวนมาก โดยมากกว่าครึ่งเป็นผู้ประท้วง ชาวปาเลสไตน์ นอกจากนี้ การเผยแพร่ภาพของทูเวีย กรอสมัน โดยระบุว่าเป็นชาวปาเลสไตน์ซึ่งถูก ตำ�รวจชาวอิสราเอลทำ�ร้ายกลายเป็นประเด็น หนึ่งที่ทำ�ให้การต่อสู้ของชาวปาเลสไตน์ถูก ลดทอนความชอบธรรมลงไป เช่นเดียวกับที่ สื่อกระแสหลักในโลกตะวันตก ไม่ว่าจะเป็น เอพี, นิวยอร์กไทม์, วอชิงตันโพสต์ และลิแบ ราซิยง สื่อเสรีนิยมของฝรั่งเศส ถูกโจมตีว่า รายงานข่าวความขัดแย้งระหว่างอิสราเอล และปาเลสไตน์อย่างมีอคติ และละเลยการ ตรวจสอบแหล่งที่มาของภาพและข้อมูลใน ส่วนที่เป็นประเด็นที่อ่อนไหว ภาพของทูเวีย กรอสมัน ยังถูกนำ�ไป ใช้ในป้ายโฆษณารณรงค์ให้ชาวมุสลิมในดิน แดนปาเลสไตน์ต่อต้านการบริโภคนำ�อัดลม ‘โคคาโคล่า’ ซึ่งเป็นสินค้าสัญชาติอเมริกัน โดยวัตถุประสงค์ของผู้ รณรงค์คือการเรียกร้องให้ชาวมุสลิมควำ�บาตรสินค้าจากสหรัฐฯ ซึ่ง เป็นประเทศที่ให้การสนับสนุนรัฐบาลอิสราเอลอยู่เบื้องหลัง แต่ผู้ จัดทำ�ป้ายยังคงเข้าใจว่ากรอสมันเป็นเด็กหนุ่มชาวปาเลสไตน์ซึ่ง ตกเป็นเหยื่อการทุบตีทำ�ร้ายของตำ�รวจอิสราเอลตามที่สื่อหลาย สำ�นักรายงานข่าวในช่วงแรก จึงได้นำ�ภาพของเขามาใช้ประกอบ ข้อความในป้ายรณรงค์ เพื่อชี้ให้เห็นถึง ‘ความโหดร้ายป่าเถื่อน’ ของเจ้าหน้าที่รัฐบาลอิสราเอล ขณะที่ความจริงเบื้องหลังภาพกับ ข้อความที่ปรากฎบนป้ายรณรงค์เป็นสิ่งตรงข้ามกันคนละขั้ว


144  WeWatchBook Deep South Photojournalism Issue.

Propaganda ? Although past lessons have taught us that photographs that came with caption may be misleading and may lead towards the wrong reactions from the audience with different social, political, and cultural contexts, the photograph which received the World Press Photo Award for best photograph for 2010, as announced in February 2011, was another picture that caused wide debates around the globe when there was an observation that the photograph was used for certain political objectives. The picture that won the World Press Photo Award 2010 became as much of a discourse issue as the fact that certain critics have assessed that the image would become an 'iconic photo' of the war in Afghanistan. The photograph was a portrait taken by 'Jodi Bieber', a South African photojournalist who was given orders from TIME magazine to take photographs of Afghan women who were living amidst an anti-terrorism war and the influence of Taliban forces. Jodi Bieber took the photograph of ‘Bibi Aisha’ , an 18-year-old girl with a disfigured face as her nose had been sliced off, leaving an empty hole in the middle. Aisha's nose was cut by her husband's family, who wished to punish her for running away from the house as there was an old local saying that a husband who had been humiliated by his wife was like a man without a nose. Thus her father-in-law, her husband, and other male members in the family, collectively punished Aisha by slicing off her nose and let her lay bleeding in her blood to wait for her death on a hill in Oruzgan Province. Bibi Aisha did not lay waiting for death but, instead, struggled her way back to her own house to ask for help from her biological father, from which she was sent to a hospital and then referred to a women's shelter operated by ‘Grossman Burns’ - a United States nonprofit organization with an established Center in the capital of Kabul. Photojournalist Jodi Bieber said that she met Bibi Aisha at the Grossman Burns Center and saw the strength in Aisha's unrelenting eyes, a contradiction to her nose-less face. Aisha's photograph gave a different

feeling from the photos of other victims by a layperson's perception, and was one of the reason why Aisha's image was selected as the Best Photo for the World Press Photo Award 2010. Photography critique and people in the mass media assessed that the photograph of Bibi Aisha would be as recognizable as the picture of the 'Afghan Girl' in a refugee camp when the Soviet Union Army invaded Afghanistan decades earlier, a picture which photographer Steve McCurry took and was published on the cover of National Geographic magazine and made its mark in the eyes of people all over the world. But when TIME magazine brought the photo of Bibi Aisha to the cover of the 8 September 2010 issue with the title “What Happens if We Leave Afghanistan” and an article in the issue stated that Aisha had her nose sliced off by the order of 'Taliban leaders' in her community, as well as a linkage that if the United States withdrew its forces from Afghanistan as anti-war activists worldwide demanded then many more Afghan girls would have to face the same fate as Aisha, many critics then attacked TIME that the photograph of Aisha should not be used as a reason to support the war of the United States government, as the information presented in the article itself also deviated form the truth. It was later revealed that Aisha's father-in-law was a supporter of the Taliban forces and was the person who order Aisha's nose to be cut, while religious leaders only said that Aisha should be punished so that she would remember and not be a bad example to other women in the community, but did not make any specific and severe ruling. Meanwhile, the TIME article said that Aisha's painful punishment came from the 'judgement' of the Taliban forces in the area. The use of Bibi Aisha's image on TIME cover was attacked as using photographs to justify a war by the United States, and was a presentation of a photograph which provided only information that was useful for the United States as the photo emphasized on the cruelty of the Taliban with no mentioning of the Afghan people who


145

โฆษณาชวนเชื่อ ?

Bibi Aisha by Jodi Bieber, 2010

died from inconsiderate use of force by the United States and its allied forces from NATO, as there were also many Afghan women who fell victims to the invasion of these foreign troops. Latest report in February 2011 said that Bibi Aisha's father-in-law and (ex) husband had been arrested by Afghan police for questioning on charges of assault and domestic violence. Aisha is currently under permanent refuge in the United States under the care of a women's rights organization in the United States and has also been fitted with a prosthetic nose on her face to prepare her for a new life in the free world. However, the photograph of a nose-less face of Aisha may be brought to persuade the thoughts and minds of people on many other occasions, and the 'audience' who do not wish for facts to be only partially presented may need to have an additional burden in searching for other sides of the truth for their own consideration before deciding to 'believe' in the history that appears in another photograph that will become an iconic photo.

แม้บทเรียนจะสอนเราว่าภาพถ่ายที่มาพร้อมกับคำ�บรรยาย คลาดเคลื่อน อาจนำ�ไปสู่ปฏิกิริยาตอบโต้หลากหลายรูปแบบจาก กลุ่มผู้ชมภาพซึ่งมีปูมหลังทางสังคม การเมือง และวัฒนธรรมที่แตก ต่างกัน แต่ภาพที่ได้รับรางวัล World Press Photo สาขาภาพถ่าย ยอดเยี่ยม ประจำ�ปี 2010 ซึ่งประกาศผลไปเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ ปี 2011 เป็นอีกภาพหนึ่งที่ก่อให้เกิดการถกเถียงในแวดวงช่างภาพทั่ว โลกอีกครั้ง เมื่อมีผู้ตั้งข้อสังเกตว่าภาพดังกล่าวถูกนำ�ไปใช้เพื่อจุดมุ่ง หมายทางการเมืองบางประการ ภาพที่ได้รับรางวัลเวิลด์ เพรส โฟโต้ ปี 2010 กลายเป็น ประเด็นถกเถียงพอๆ กับที่มีผู้ประเมินว่าภาพดังกล่าวจะกลายเป็น ‘ภาพจำ�’ ของสงครามในอัฟกานิสถาน เพราะมันคือภาพถ่ายบุคคล ซึ่งถ่ายโดย ‘โจดี้ บีเบอร์’ ช่างภาพหญิงชาวแอฟริกาใต้ ผู้ได้รับมอบ หมายจากนิตยสารไทม์ ให้ไปตระเวณเก็บภาพหญิงชาวอัฟกานิสถาน ที่มีชีวิตอยู่ท่ามกลางสงครามต่อต้านก่อการร้ายและอิทธิพลของกอง กำ�ลังตาลีบัน โจดี้ บีเบอร์ ได้บันทึกภาพของ ‘บีบี อาอิชะห์’ เด็กสาวอายุ 18 ปี ซึ่งมีใบหน้าผิดรูป เพราะจมูกของเธอถูกเฉือนทิ้งไปจนกลาย เป็นโพรงโหว่อยู่ตรงกลางใบหน้า ส่วนผู้ที่เฉือนจมูกอาอิชะห์ทิ้ง คือ ครอบครัวของสามีซึ่งต้องการลงโทษเธอที่หลบหนีออกจากบ้าน เพราะคำ�กล่าวโบราณที่สืบทอดกันมาในท้องถิ่นระบุว่าสามีที่ภรรยา สร้างความเสื่อมเสียก็เปรียบเสมือนคนที่ไร้จมูก พ่อสามีและสามีของ เธอ รวมถึงสมาชิกคนอื่นในครอบครัวที่เป็นผู้ชาย จึงช่วยกันลงโทษ อาอิชะห์ด้วยการเฉือนจมูกเธอทิ้ง และปล่อยให้นอนจมกองเลือด รอความตายอยู่บนเนินแห่งหนึ่งในแคว้นอูรุซกาน บีบี อาอิชะห์ ไม่ยอมนอนรอความตาย แต่ดิ้นรนกลับไปยัง บ้านของตัวเองเพื่อขอความช่วยเหลือจากพ่อแท้ๆ จากนั้นเธอจึง ถูกส่งไปรักษาตัวที่โรงพยาบาล และถูกส่งไปยังศูนย์เยียวยาสตรีผู้ ประสบภัย ‘กรอสมัน เบิร์น’ - องค์กรพัฒนาเอกชนของสหรัฐฯ ซึ่ง ไปตั้งศูนย์อยู่ในกรุงคาบูลของอัฟกานิสถาน ช่างภาพโจดี้ บีเบอร์ เล่าว่า เธอพบกับบีบี อาอิชะห์ที่ศูนย์ เยียวยากรอสมัน เบิร์น และมองเห็นความเข้มแข็งในแววตาที่ไม่ยอม จำ�นนของอาอิชะห์ตรงข้ามกับใบหน้าที่ไร้จมูก ภาพถ่ายของอาอิชะห์ จึงให้ความรู้สึกที่แตกต่างจากภาพของเหยื่อคนอื่นๆ ซึ่งตกเป็นผู้ถูก กระทำ�ตามการรับรู้ของคนทั่วไป และเป็นเหตุผลหนึ่งที่ทำ�ให้ภาพของ อาอิชะห์ได้รับการคัดเลือกให้เป็นภาพถ่ายยอดเยี่ยมประจำ �ปีของ เวิลด์ เพรส โฟโต้ นั ก วิ จ ารณ์ ภ าพถ่ า ยและผู้ ค นในแวดวงสื่ อ สารมวลชน จำ�นวนหนึ่งประเมินว่าภาพของบีบี อาอิชะห์ จะเป็นภาพที่ได้รับการ


146  WeWatchBook Deep South Photojournalism Issue.

จดจำ�พอๆ กับภาพหญิงสาวชาวอัฟกันในค่ายผู้ลี้ภัย สมัยที่กองทัพ สหภาพโซเวียตนำ�กำ�ลังบุกเข้ารุกรานอัฟกานิสถานเมื่อหลายสิบปี ก่อน ซึ่งช่างภาพ ‘สตีฟ แม็คเคอรี่’ ถ่ายไปขึ้นปกนิตยสาร National Geographic จนติดตาผู้คนไปทั่วโลก แต่เมื่อนิตยสารไทม์นำ�ภาพของบีบี อาอิชะห์ ไปตีพิมพ์บน หน้าปกฉบับวันที่ 8 กันยายน ค.ศ.2010 พร้อมกับคำ�โปรยที่ว่า “เกิดอะไรขึ้นถ้าเราถอนกำ�ลังออกจากอัฟกานิสถาน” และบทความ ด้านในเล่มระบุด้วยว่า อาอิชะห์ถูกเฉือนจมูกเพราะคำ�สั่งของ ‘ผู้นำ� ตาลีบัน’ ในชุมชน ทั้งยังมีการเชื่อมโยงข้อมูลว่า หากกองทัพสหรัฐฯ ถอนกำ�ลังออกจากอัฟกานิสถานตามที่กลุ่มผู้ต่อต้านสงครามทั่ว โลกเรียกร้อง จะส่งผลให้หญิงชาวอัฟกันอีกเป็นจำ�นวนมากต้องเผชิญ ชะตากรรมแบบเดียวกับอาอิชะห์ ทำ�ให้นักวิจารณ์ออกมาโจมตีว่า ไทม์ไม่ควรนำ�ภาพของอาอิชะห์มาเป็นข้ออ้างในการสนับสนุนการ ทำ�สงครามของรัฐบาลสหรัฐฯ และข้อมูลที่นำ�เสนอในบทความก็ คลาดเคลื่อนจากข้อเท็จจริง ทั้งนี้ ข้อมูลที่ได้รับการเปิดเผยในภายหลังระบุว่า พ่อสามี ของอาอิชะห์เป็นผู้สนับสนุนกองกำ�ลังตาลีบัน และเป็นผู้สั่งตัดจมูก อาอิชะห์ทิ้ง ขณะที่ผู้นำ�ศาสนาในชุมชนระบุเพียงว่า จะต้องลงโทษ อาอิชะห์ให้หลาบจำ� เพื่อมิให้เป็นเยี่ยงอย่างแก่ผู้หญิงคนอื่นในชุมชน แต่ไม่ได้พิพากษาบทลงโทษร้ายแรงอย่างเฉพาะเจาะจงแต่ประการ ใด ขณะที่บทความของไทม์ระบุว่า บทลงโทษอันเจ็บปวดของอาอิชะห์ เกิดจาก ‘คำ�พิพากษา’ ของกองกำ�ลังตาลิบันในพื้นที่

การใช้ภาพของบีบี อาอิชะห์บนปกไทม์ ถูกโจมตีว่าเป็นการ ใช้ภาพถ่ายเพื่อสร้างความชอบธรรมในการทำ�สงครามของกองทัพ สหรัฐฯ และเป็นการเลือกนำ�เสนอภาพถ่ายที่ให้ข้อมูลเฉพาะด้าน อันเป็นประโยชน์ต่อกองทัพสหรัฐฯ เพราะมุ่งเน้นให้เห็นแต่ความ โหดร้ายของตาลีบัน แต่กลับไม่มีการเอ่ยถึงข้อมูลที่ประชาชนชาว อัฟกันถูกโจมตีเสียชีวิตจากการใช้กำ�ลังอาวุธโดยไม่ไตร่ตรองของ กองทัพสหรัฐฯ รวมถึงกองกำ�ลังทหารประเทศพันธมิตรประจำ� องค์การนาโต ทั้งยังมีหญิงชาวอัฟกันอีกเป็นจำ�นวนมากที่ตกเป็น เหยื่อคุกคามของทหารต่างชาติเหล่านี้ รายงานข่าวล่าสุดในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ.2011 ระบุว่าพ่อ สามีและ (อดีต) สามีของบีบี อาอิชะห์ ถูกตำ�รวจอัฟกานิสถานจับกุม ตัวมาไต่สวนในข้อหาทำ�ร้ายร่างกายและก่อเหตุรุนแรงในครอบครัว ขณะที่ปัจจุบันอาอิชะห์ลี้ภัยมาอยู่ในสหรัฐฯ เป็นการถาวร และอยู่ ในความดูแลขององค์กรสิทธิสตรีในสหรัฐฯ ทั้งยังได้รับการผ่าตัดใส่ จมูกเทียมลงบนใบหน้าเป็นที่เรียบร้อย เพื่อเตรียมความพร้อมให้เธอ ปรับตัวเข้ากับสังคมใหม่ในโลกเสรีนิยม อย่างไรก็ตาม ภาพถ่ายใบหน้าที่ไร้จมูกของอาอิชะห์อาจ ถูกหยิบมาใช้ในการโน้มน้าวความคิดและจิตใจของผู้คนอีกหลาย ครั้งหลายหน และ ‘คนดู’ ที่ไม่ต้องการให้ความจริงถูกนำ�เสนอ เพียงบางด้าน อาจต้องเพิ่มภาระหน้าที่ในการค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับ ความจริงด้านอื่นๆ มาพิจารณาด้วยตัวเอง ก่อนจะตัดสินใจ ‘เชื่อ’ ในประวัติศาสตร์ที่ปรากฎอยู่บนภาพถ่ายที่กลายเป็นภาพจำ�แห่ง ยุคสมัยอีกใบหนึ่ง

References 1. Adams, Eddie (July 27, 1998). "Eulogy: GENERAL NGUYEN NGOC LOAN". Time. (http://www.time.com/time/magazine/article/0,9171,988783,00.html) 2. Robert D. McFadden. (October 7, 2000.) Abruptly, a U.S. Student In Mideast Turmoil's Grip. The New York Times. (http://www.nytimes.com/2000/10/07/ world/abruptly-a-us-student-in-mideast-turmoil-s-grip.html?src=pm) 3. Ihor SAMOKYSH, "Jodie BIEBER: I see my role as a photographer in getting people to think", The Day (February 22, 2011) (http://www.day.kiev.ua/303862) 4. Ann Jones, 'Afghan Women Have Already Been Abandoned', The Nation (August 12, 2010). (http://www.thenation.com/article/154020/afghan-womenhave-already-been-abandoned) 5. Andrew Anthony, “Afghanistan's propaganda war takes a new twist”, The Guardian (December 6, 2010) (http://www.guardian.co.uk/media/greenslade/2010/ jul/30/time-magazine-news-photography?INTCMP=ILCNETTXT3487)


147

เมื่อครั้งที่ ‘โจนาธาน ไคลน์’ ประธาน บริหารของ ‘เก็ตตี้ อิมเมจ’ Getty Images) ได้รับเชิญไปกล่าวปาฐกถาที่สถาบัน TED ในสหรัฐอเมริกาเมื่อเดือนเมษายนที่ผ่านมา (2010) เขาพูดถึง ‘ภาพถ่าย’ ที่กลายเป็น สัญลักษณ์ หรือ ‘ภาพจำ�’ แห่งยุคสมัยของ เรา และพูดถึงปฏิกิริยาของคนในยุคหนึ่งที่ มีต่อภาพซึ่งทรงพลังเสียจนไม่อาจละสายตา และมีพลังถึงขนาดที่ทำ�ให้คนหลายคนลุ ก ขึ้นมาทำ�อะไรบางอย่าง ในฐานะที่เป็นผู้บริหารของบริษัทที่ให้ บริการด้านคลังภาพแก่ผู้ใช้ทั่วโลก ไคลน์ ยอมรับว่าคนในแวดวงเดียวกับเขาย่อมเชื่อ มั่นว่า ‘ภาพถ่าย’ สามารถเปลี่ยนแปลงโลก ได้ แม้ว่ามันจะเป็นความเชื่อที่เสี่ยงต่อการ ถูกมองว่า ‘ไร้เดียงสา’ ก็ตามที “ความจริงแล้วพวกเรารู้ว่าภาพถ่าย ไม่ อ าจเปลี่ ย นแปลงโลกได้ ด้ ว ยตั ว ของมั น เอง แต่เราปฏิเสธไม่ได้ว่านับตั้งแต่ ‘การ ถ่ายภาพ’ ถือกำ�เนิดขึ้นมา ภาพหลายภาพ ได้ก่อให้เกิดปฎิกิริยาจากผู้คน และปฏิกิริยา เหล่านั้นเองที่เป็นสิ่งผลักดันให้เกิด ‘ความ เปลี่ยนแปลง’ ขึ้นมาจนได้” ไคลน์คัดเลือกภาพจำ�นวนหนึ่งซึ่งช่าง ภาพในอดีตบันทึกเอาไว้มาบรรยาย ‘ความ หมาย’ ให้ผู้เข้าฟังปาฐกถาได้รับฟัง ภาพ เหล่านั้นได้กลายเป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย ในเวลาต่อมา เพราะเป็นภาพที่บอกเล่าเรื่อง ราวแห่งการเปลี่ยนแปลง จนถูกนิยามว่า เป็นสัญลักษณ์แห่งยุคสมัย หรือ ‘ภาพจำ�’ และถู ก นำ � มาผลิ ต ซ้ำ � ในรู ป แบบที่ แ ตกต่ า ง กันไป รวมถึงถูกส่งต่อไปยังผู้คนที่อยู่อีกซีก โลกหนึ่ง และผู้ที่เห็นภาพเหล่านั้นจะจดจำ� มันได้ทันที หรือบางคนอาจจำ�ได้คลับคล้าย คลับคลาว่าเคยเห็นมาก่อน ภาพถ่ า ยหนึ่ ง ใบที่ ก ลายเป็ น ภาพจำ � แห่งยุคสมัย มีบางสิ่งบางอย่างที่แตกต่างไป จากภาพถ่ายธรรมดาๆ และไคลน์เชื่อว่าเรา ต้องมองหา ‘บางสิ่ง’ ที่ว่านั้น โดยการมอง หาภาพที่ เ ป็ น เหมื อ นแสงสว่ า งฉายส่ อ งให้

Photos that changed the world (ภาพถ่ายสร้างประวัติศาสตร์)

Note: You can watch full video clip of Jonathan Klein’s speech via TED website and Youtube by looking for the subject ‘Photos that changed the world’ or go to video section of the website wewatch.in.th and look for the same subject. (Translated and compiled by WeWatch). ชมวีดีโอปาฐกถาของ ‘โจนาธาน ไคลน์’ ณ สถาบัน TED ได้ที่เว็บไซต์ YouTube ค้นหาคำ� ว่า Jonathan Klein: Photos that changed the world หรือเข้าไปที่ wewatch.in.th ค้นหาวีดีโอเรื่อง ‘ภาพถ่ายสร้างประวัติศาสตร์’ (แปลและเรียบเรียงโดย WeWatch)

Jonathan Klein

เรามองเห็นประเด็นใหญ่ๆ ที่เกิดขึ้น และ เป็นภาพที่ ‘อยู่เหนือพรมแดน’ รวมถึง ‘อยู่ เหนือศาสนา’ และเป็นภาพที่ปลุกเร้าให้เรา ลุกขึ้นมาทำ�อะไรต่างๆ ในทางหนึ่งก็คือการ ‘ลงมือปฏิบัติ’ ในสิ่งที่เราต้องการเปลี่ยนแปลง ไคลน์ยกตัวอย่างภาพ Earthrise ซึ่งถ่าย โดย ‘วิลเลียม แอนเดอร์ส’ นักบินอวกาศ ชาว อเมริกันบนยานอพอลโล 8 ที่ถูกส่งไป ปฏิบัติภารกิจนอกโลกในปี 1968 และได้ กลายเป็ น ภาพแรกที่ ทำ � ให้ ม นุ ษ ยชาติ ม อง เห็นโลกในมุมมองที่แตกต่างออกไปจากเดิม “เราไม่เคยเห็นภาพดาวเคราะห์ของ เราในมุมนี้มาก่อน หลายคนยกผลประโยชน์ ให้ภาพนี้ในฐานะที่เป็นต้นกำ�เนิดของขบวน การเคลื่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม เพราะการ ที่ได้เห็นภาพดวงดาวของเราในแง่มุมนี้เป็น ครั้งแรก ทำ�ให้พวกเขาได้เห็นความกะจ้อย ร่อยและเปราะบางของมัน ซึ่งอีกสี่สิบปีต่อ

มา กลุ่มคนเหล่านี้มองเห็นก่อนใครว่าพลัง ในการทำ�ลายล้างของเผ่าพันธุ์มนุษย์อย่าง เราๆ กำ�ลังทำ�ให้สิ่งแวดล้อมรอบตัวย่อยยับ และในที่ สุ ด ก็ ดู เ หมื อ นว่ า เราได้ เ ริ่ ม ต้ น ทำ � อะไรบางอย่างเกี่ยวกับเรื่องนี้บ้างแล้ว” ภาพต่อมาที่กลายเป็นสัญลักษณ์แห่ง ความเปลี่ยนแปลงอีกอันหนึ่ง คือภาพถ่าย ‘กอริลล่าถูกขึงพืด’ บนไม้รูปกางเขนกลาง ทุ่งหญ้า ซึ่งถ่ายโดยช่างภาพ ‘เบรนท์ สเตอร์ เตน’ ในคองโก เพื่อบอกเล่าถึงชะตากรรม ของกอริลล่าที่ถูกฆ่าเพื่อนำ�ไปขาย และเป็น ภาพที่ก่อให้เกิดแรงต่อต้านในระดับโลก จน นำ�ไปสู่การก่อตั้งโครงการอนุรักษ์พันธุ์สัตว์ ป่าขึ้นในแอฟริกา นอกจากนี้ ไคลน์ได้ยกตัวอย่างภาพ การทรมานนักโทษชาวอิรักในเรือนจำ�อาบู กราอิบ ซึ่งทหารอเมริกันที่ประจำ�การอยู่ที่ นั่นเป็นผู้ถ่ายเก็บเอาไว้ แต่ภาพได้หลุดออก


148  WeWatchBook Deep South Photojournalism Issue.

สู่สาธารณชนทางอินเทอร์เน็ต และก่อให้เกิด ผลกระทบอัน ‘ลึกซึ้งและรุนแรง’ ทั่วโลก ซึ่ง เขาระบุว่า “การเผยแพร่ ภ าพเหล่ า นี้ ส่ ง ผลให้ รัฐบาลต้องเปลี่ยนนโยบาย บางคนอาจโต้ แย้งว่าภาพเหล่านี้เช่นกันที่กระพือเชื้อไฟให้ ความไม่สงบในอิรักทวีความรุนแรงขึ้น รวม ถึงการลุกขึ้นตอบโต้ในระดับปัจเจก แต่สิ่ง ที่มากกว่านั้นคือ ภาพเหล่านี้ได้ล้มล้างสิ่งที่ เคยถูกเรียกว่า ‘มาตรฐานศีลธรรมอันสูงส่ง’ ของกองทัพที่นำ�กำ�ลังบุกเข้ายึดครองอิรัก ไปตลอดกาล” ภาพที่ไคลน์กล่าวถึงอีกหลายภาพ เป็น เรื่องราวที่เกิดขึ้นในช่วงสงครามเวียดนาม ระหว่างปี 1960-1970 ซึ่งช่างภาพสงคราม จำ�นวนมากบันทึกภาพ ‘เหยื่อสงคราม’ เพื่อ ถ่ายทอดให้โลกรู้ว่าเกิดอะไรขึ้นกับผู้คนที่นั่น และภาพสะเทือนใจที่ได้รับการเผยแพร่ซำ� และเป็นที่รู้จักไปทั่วโลก คือภาพเด็กหญิงที่ ถูกลูกหลงจากระเบิดนาปาล์มจนไหม้ทั้งตัว อีกภาพหนึ่งซึ่งสร้างแรงสั่นสะเทือนไป ทั่วสังคมอเมริกัน และนำ�ไปสู่การประท้วง ต่อต้านการทำ�สงครามของรัฐบาลที่หนักข้อ ขึ้น คือภาพของนักศึกษาคนหนึ่ง ซึ่งกลาย เป็นช่างภาพจำ�เป็น หลังกดชัตเตอร์บันทึก ภาพผู้ ป ระท้ ว งคนหนึ่ ง ถู ก ยิ ง เสี ย ชี วิ ต ขณะ ประท้วงต่อต้านสงครามในมหาวิทยาลัยเคนท์ สเตท ในรัฐโอไฮโอของสหรัฐฯ และผู้ที่ เหนี่ยวไกปืนก็คือ ‘เจ้าหน้าที่หน่วยป้องกัน ความมั่นคงแห่งชาติ’ ไคลน์กล่าวว่า ภาพเหล่านี้เป็นตัวแทน ‘เสียงตะโกน’ ของผู้ประท้วงที่จุดประกายให้ คนอเมริกันตั้งคำ�ถามและพยายามทำ�ความ เข้าใจถึง ‘ความเพิกเฉย’ ที่ครอบคลุมอยู่ใน สังคมของตัวเอง ขณะเดียวกัน ภาพถ่ายอากัปกิริยา ปกติธรรมดาของผู้หญิงคนหนึ่งกลับส่งผล เปลี่ ย นแปลงนโยบายระดั บ โลกด้ า นการ จัดการปัญหาผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ โดยนำ� ไปสู่การจัดการที่คำ�นึงถึงจิตใจผู้ป่วยและมี มนุษยธรรมมากขึ้น ภาพที่ไคลน์ยกตัวอย่างคือภาพ ‘เจ้า

หญิงไดอาน่า’ อดีตสมาชิกราชวงศ์อังกฤษ ผู้ล่วงลับ ซึ่งถูกถ่ายไว้ในปี 1988 ขณะที่เจ้า หญิงทรงกำ�ลังกอดรัดและสัมผัสเด็กๆ กลุ่ม หนึ่งด้วยใบหน้ายิ้มแย้ม และเด็กๆ ในภาพ นั้น คือ ผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ อันเป็นกลุ่ม คนที่ถูกทอดทิ้งและถูกรังเกียจจากคนส่วน ใหญ่ในสังคมทั่วโลก ณ ขณะนั้น ภาพของเจ้ า หญิ ง ซึ่ ง ได้ รั บ การขนาน นามว่าเป็น ‘ผู้ทรงอิทธิพล’ คนหนึ่งของโลก ได้ช่วยทลายกำ�แพงแห่งอคติที่ปิดกั้นไม่ให้ คนในสังคมถกเถียงหรือเรียนรู้ข้อเท็จจริง เกี่ยวกับโรคเอดส์ แต่ภาพนี้ได้ส่งผลสะเทือน ครั้งยิ่งใหญ่ โดยเฉพาะในทวีปยุโรป เพราะ ทำ�ให้เกิดโครงการรณรงค์ยุติการกีดกันผู้ติด เชื้อตามมาเป็นจำ�นวนมาก รวมถึงการเผย แพร่ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรค เอดส์และเชื้อเอชไอวี ตลอดจนแนวคิดเรื่อง การอยู่ร่วมกับผู้ติดเชื้ออย่างปลอดภัย ท้ายสุด ไคลน์สรุปว่า เมื่อเราต้องเผชิญ หน้ากับภาพที่มีพลังและรุนแรง หรือภาพที่

นำ�เสนอความเจ็บปวดและโหดร้ายที่เกิดขึ้น บนโลก เราทุกคนมีทางเลือกเสมอ เพราะเรา สามารถเมินหน้าหนีไปจากมันได้ แต่ขณะ เดียวกันเราก็เลือกที่จะ ‘เรียนรู้’ จากภาพได้ เช่นกัน และภาพต่างๆ อาจสร้าง ‘ประวัติ ศาสตร์’ บทใหม่ขึ้นได้ เมื่อมีคนตัดสินใจลุก ขึ้นมาทำ�อะไรบางอย่างเพื่อ ‘เปลี่ยนแปลง’ “แอนเซล อดัม เคยกล่าวไว้แต่ผมไม่ เห็นด้วยกับเขา เขาบอกว่า ‘เราไม่ได้ถ่าย ภาพ แต่เราสร้างมันขึ้นมา’ ซึ่งในความเห็น ของผม ช่างภาพไม่ใช่คนที่ทำ�ให้เกิดภาพ แต่ เป็นพวกคุณต่างหาก เพราะคนที่มองเห็น ภาพจะใช้ มุ ม มองและระบบคิ ด ของแต่ ล ะ คนในการประมวลภาพ และด้วยเหตุนั้น ภาพ ต่างๆ จึงเป็นสิ่งสะท้อนความคิดเห็นของเรา ที่มีต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น” “ภาพต่างๆ เปลี่ยนแปลงโลกได้จริง หรือ ? คำ�ตอบก็คือ ‘ไม่’ แต่มันส่งผลยิ่ง ใหญ่ต่อสังคม”


149

When Jonathan Klein, CEO of the Getty Images, was invited to give a speech at TED Institution in USA in April, 2010, he had talked about the powerful images which become icon of the past century. They also attracted people to look at them and think about what really happened to the world and also provoke someone to do something for changing. He mentioned that in the images industry, most people believe that images can change the world. He also admitted that the thought might have been interpreted as ‘naïve’, but when we are confronted by a powerful image, we all have a choice. We can look away, or we can address the images and learn a lesson from them. “I think we’re looking for something more. We’re looking for images that shine an uncompromising light on crucial issues, images that transcend borders, that transcend religions, images that provoke us to step up and do something, in other words, to act.”, he added. He urged the audiences to look at the iconic image of the environmental movement, the ‘Earth Rise’ which was taken by William Anders, the American astronaut who was sent to outer space with the Apollo 8 in 1968, which Klein describes that this image changed our view of the physical world. “We had never seen our planet from this perspective before. Many people credit a lot of the birth of the environmental movement to our seeing the planet like this for the first time, its smallness, its fragility”

“40 years later, this group, more than most, are well aware of the destructive power that our species can wield over our environment. And at last, we appear to be doing something about it. This destructive power takes many different forms.” Another example was the images taken by Brent Stirton in the Congo, which showed the images of gorillas were murdered and crucified. Unsurprisingly, these photos sparked international outrage. But in the end, it brought forward the help for the wildlife in Congo and the other areas. There’s another kind of crucifixion. Klein also mentioned the horrifying images from Abu Ghraib as well as the images from Guantanamo which had a profound impact to the world. The publication of those images, as opposed to the images themselves, caused a government to change its policies. Some would argue that it is those images that did more to fuel the insurgency in Iraq than virtually any other single act. Furthermore, those images forever removed the so-called moral high ground of the occupying forces. Then he tracked back to the 1960s and 1970s and talked about the Vietnam War. He said that the photographs of Vietnam War were basically shown in America’s living rooms day in, day out. News photos brought people face to face with the victims of the war. The iconic images of the Vietnam war included the photo of a little Vietnam girl burned by napalm, which taken by Nick Ut, AP photo-

journalist at that time, and photo of a student killed by the National Guard at Kent State University in Ohio during a protest against Vietnam war in America, which Klein insisted that these images became the voices of protest themselves. He also said that images have power to shed light of understanding on suspicion, ignorance, and then he showed the image of Lady Diana, Princess of Wales, touching an HIV/ AIDS infected baby in the 1980s. At that time, the issue of HIV/AIDS was barred from public discussing or addressing, and there was stigmatization of people with the disease. But a simple act of Princess of Wales, hugging infected children, did a great deal to the world, especially in Europe, to change the attitude toward people with HIV/AIDS and also open more public forum to raise awareness and understanding of HIV/AIDS. Finally, Klein challenged the famous photographer of the 20th century ‘Ansel Adams’ who once said that “You don’t take a photograph, you make it.”. But in Klein’s view it’s not the photographer who makes the photo, but the audience who bring to each image their own values, their own belief systems, and as a result of that, the image resonates with all of us. “The truth is that we know that the images themselves don’t change the world, but since the beginning of photography, images have provoked reactions in people, and those reactions have caused change to happen”.


150  WeWatchBook Deep South Photojournalism Issue.

(1)

มนุษย์แต่ละคนคือปัจเจก ทว่าเชื่อมโยงถึงกันอย่างไม่ต้องสงสัย เราประจักษ์ได้ว่า ใบหน้าของชาวไร่แห่งอริโซนาบ่งบอกถึงความรักชาติ อันแน่วแน่ ไม่แพ้ใบหน้าของกบฎหนุ่มชาวเคิร์ด ชายผู้ตกอยู่ในภวังค์ประหลาดของวูดูในประเทศโตโก คือ ภาพสะท้อนศรัทธาของผู้ที่พากันมาบูชาสุริยเทพที่เตโอติอัวกัน ริมฝีปากแต้มสีของสาวงามอิตาลีชวนให้นึกถึงความหลงตัวแบบเดียวกับ เกอิชาแรกรุ่น และนำ�ตาของเด็กน้อยไม่ว่าหลั่ง ณ ที่ใด ล้วนบ่งบอกถึงความทุกข์ระทม มองผ่านใบหน้าต่างๆ เหล่านี้ ความเหินห่างแปลกแยกกลับกลายเป็นความคุ้นเคยใกล้ชิด พิศดูคราวนี้ คุณอาจจะบอกว่า ‘นั่นคือฉันเอง’ บทความ ‘เราคือภราดร’ National Geographic : 100 ภาพยอดเยี่ยม


151

Looking through Photographs in the Same 'Shadow of History' (มองผ่านภาพถ่ายใน ‘แสงเงาประวัติศาสตร์’ เดียวกัน)

Papan Raksritong | ภาพันธ์ รักษ์ศรีทอง

Somebody once said that 'photographs' are records of the dramatic of history. Photographs may represent a new discovery, or the next step in humanity. Photos represent joy and bear witness to events, including tragedy. A photograph presents both the story and the tale within itself. In a photograph, an image of an individual may be projected, or there may be estrangement of some people, the otherness, relationships, conflicts and, importantly, they can bring out imagination to be so close to that place that we could have felt it. Likewise, in this land, our 'photographs' will once again take you to a place that seems to be so far away as though it is beyond the horizon of your heart, while in reality the distance may actually be as close as a day of train ride. We will take you to the 'Deep South' of Thailand,a place where many people absolutely do not wish to go, as the place is filled with conflicts, violence, and tragedies. Yet, the thing that causes the terror may not be the unrest itself, but rather the unfamiliar faces that make some people feel so. In the deep south, pictures of girls with open faces that are familiar to us are replaced by the hijab, a big veil that encloses the face, keeps the hair, and covers from the neck to the shoulder. The girls seem so quiet and reserved that some of us can only feel them by their eyes. Meanwhile, images of Korean-looking, booze-filled, talkative boys in our way of life are replaced with the sun-burnt faces, long goatees, style-less loose clothing, and outdated cylindrical hats. The incomprehensible language further made their 'identity' seemed mysterios and different. On the other hand, because of

these things, such frowning eyes may also be returned to us as well. However, as 'photographs' are records of the drama of history, we have tried to search for 'photos of the past' that can substitute the connection between our 'identities' to one another. At the same time, we also try to search for photographs from the past that created the new 'identity' of people in the deep south. Our rationale is not to further worsen the difference. We only need shades of light and a large mirror so that we can look into our own faces more realistically than the faces that have been created from the illusion of history. We begin with 'photographs' of people. The second and the third images are pictures of the 'Pattani Malay" people waiting to receive the visit of King Vajiravuth of Siam during His visit to the southern prefectures in 1915. When The first picture is included, while it is uncertain whether the picture was taken in Krabi Province, but if so, then it can be roughly observed that the Muslim society in the 'Corridor of Mecca' did not appear to be so different from the Muslim society at the shores of Siam. Nearly a century ago, the 'Melayu' society was not as strict on proper Islamic attire. Women still wear cloth at their chest level like the wives of the farmers in the central region, although some had headscarf to their shoulder without being too strict on covering their hair. Some even used conical hats. As for the men, aside from the turbans on their head, some were wearing cylindrical-sleeved shirts with sarong, making them look formal, although we could still some men who were tired of the heat and went bear-chested, showing their muscular features.


152  WeWatchBook Deep South Photojournalism Issue.

ใครบางคนเป็นผู้กล่าวไว้ว่า ‘ภาพถ่าย’ คือ บันทึก นาฏกรรมแห่งประวัติศาสตร์ สิ่งนั้นอาจเป็นการค้นพบครั้งใหม่ หรือเหตุการณ์อันเป็นก้าวต่อไปของมนุษยชาติ เป็นความปีติยินดี เป็นพยานของเหตุการณ์ต่างๆ รวมทั้งโศกนาฏกรรม ภาพถ่ายมี ทั้งเรื่องราวและเรื่องเล่าในตัวของมันเอง ในนั้นอาจจะฉายภาพตัว ตนของใครสักคน หรือความแปลกแยกของใครสักกลุ่ม คุณและ เรา ความสัมพันธ์ ความขัดแย้ง และที่สำ�คัญคือ มันสามารถพา จินตนาการของเราให้เข้าไปใกล้ดินแดนแห่งนั้นราวสัมผัสได้ เช่นเดียวกัน ณ ดินแดนแห่งนี้เป็นอีกครั้งที่ ‘ภาพถ่าย’ ของเราจะฉวยมือคุณไปยังสถานที่หนึ่งอันเสมือนห่างไกลสุดขอบ ของหัวใจ แต่แท้จริงแล้วระยะทางกลับใกล้กันเพียงเดินทางรถไฟ 1 วัน เราจะพาไปยัง ‘ชายแดนใต้’ สถานที่ที่ใครหลายคนต่างไม่ อยากเยี่ยมกรายไปหา เพราะสถานการณ์ที่นั้นยังเต็มไปด้วยความ ขัดแย้ง ความรุนแรงและโศกนาฏกรรม ทว่า บางทีสิ่งที่ทำ�ให้หวาดผวาอาจไม่ใช่สถานการณ์ แต่ มันเป็นเพราะใบหน้าอันไม่คุ้นชินที่ทำ�ให้ใครบางคนรู้สึกอย่างนั้น ที่ชายแดนใต้ ภาพของหญิงสาวผู้เปิดเผยในความคุ้นเคย ของเรา ถูกแทนที่ด้วยฮิญาบ-ผ้าผืนใหญ่ที่กรอบปิดรูปใบหน้า เก็บ เส้นผม และปกคลุมลำ�คอถึงไหล่ พวกเธอดูสำ�รวมมิดชิดจนบางคน เราสัมผัสเธอได้เพียงดวงตา ในขณะที่บุรุษผู้รุ่มรวยวาจาคมคายมี สไตล์เกาหลีและกรุ้มกริ่มนำ�เมาในวิถีแบบเรา ถูกแทนด้วยใบหน้า เกรียมแดด เคราแพะเหยียดย้อย เสื้อผ้าหลวมไร้สไตล์ และหมวก ทรงกระบอกหลุดแฟชั่น ภาษาที่ฟังไม่เข้าใจยิ่งทำ�ให้ ‘ตัวตน’ ของ พวกเขาดูลี้ลับและแตกต่าง แต่ในมุมที่กลับกัน เพราะสิ่งเหล่านั้น เราเองก็อาจถูกสวนกลับมาด้วยสายตาแบบไม่เป็นที่ชอบใจนัก อย่างไรก็ตาม เมื่อ ‘ภาพถ่าย’ คือ บันทึกนาฏกรรมแห่ง ประวัติศาสตร์ เราจึงได้พยายามมองหา ‘ภาพอดีต’ ที่สามารถ แทนการเชื่อมโยง ‘ตัวตน’ ของเราเข้าหากัน ขณะเดียวกันเราก็ พยายามมองหาภาพอดีตที่สร้าง ‘ตัวตน’ ของคนชายแดนใต้ขึ้น มาใหม่ เหตุผลของเราไม่ใช่เพื่อการตอกยำ�ลงไปที่ความแปลกแยก เพี ย งแต่ เ ราต้ อ งการแสงเงาและกระจกใหญ่ สั ก บานที่ ทำ � ให้ เ รา สามารถสำ�รวจมองดูใบหน้าของตนเองได้เป็นจริงกว่าภาพลวงของ ใบหน้าที่ถูกสร้างขึ้นมาจากความมายาของประวัติศาสตร์

(2)

เราเริ่มที่ ‘ภาพถ่าย’ หมู่คน ซึ่งภาพที่ 2 กับภาพที่ 3 เป็นภาพประชาชน ‘มลายูปัตตานี’ รอรับเสด็จพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวแห่งสยาม เมื่อครั้งเลียบมณฑลปักษ์ใต้ พ.ศ. 2458 เมื่อย้อนไปที่ภาพแรก ซึ่งไม่แน่ใจว่า เป็นภาพถ่ายที่ จังหวัดกระบี่หรือไม่ แต่หากเป็นเช่นนั้น ดูผ่านๆ สังคมมุสลิมที่ ‘ระเบียงมักกะฮ’ เหมือนไม่แตกต่างจากสังคมมุสลิมที่ชายทะเล สยามเท่าใดนัก เกือบร้อยปีก่อน สังคม ‘มลายู’ ยังไม่เคร่งการแต่ง ตัวที่ถูกต้องตามหลักอิสลาม ผู้หญิงยังนิยมนุ่งกระโจมอกเหมือน เมียไอ้คล้าวหลังลอมฟางท้องนาภาคกลาง แต่หลายคนก็มีผ้าคลุม หัวถึงไหล่โดยไม่เข้มงวดเรื่องการปิดบังเส้นผม เอางอบมาก็มี ส่วน ผู้ชายนอกจากโพกผ้าที่ศีรษะแล้ว หลายคนใส่เสื้อแขนกระบอกกับ โสร่งดูเป็นทางการ แต่เราก็เห็นหนุ่มหน่ายความร้อนเปลือยกาย ท่อนบน อวดเรือนร่างกำ�ยำ�ก็มีไม่น้อย


153

(3)

(4)

(5)

The following three sets of pictures are from the time when King Chulalongkorn of Siam made visit to Terangganu in 1905. Later, Terangganu became a British crown colony and is under the jurisdiction of Malaysia at present. These images tell us that there might not be so much differences in the Melayu society in the past. There were many modes of attire, some without covers. The first picture was taken at the market, while the two pictures were taken at the residence of the Phraya (Lord) of Terangganu.

(6)

สามภาพชุดต่อมา คือ ภาพครั้งพระบาทสมเด็จพระจุลจอม เกล้าเจ้าอยู่หัวแห่งสยาม เสด็จประพาสตรังกานู พ.ศ.2448 ต่อมา ตรังกานูถูกยกให้เป็นอาณานิคมของอังกฤษ ปัจจุบันอยู่ภายใต้การ ปกครองของประเทศมาเลเซีย ภาพเหล่านี้บอกกับเราว่า สังคมมลายู ในอดีตไม่น่าจะแตกต่างกันนัก การแต่งตัวก็มีหลายแบบ แบบไม่คลุม ผมก็มี ภาพแรกถ่ายที่ตลาด อีกสองภาพถ่ายที่บ้านพระยาตรังกานู


154  WeWatchBook Deep South Photojournalism Issue.

(7)

(8)

Present: Changes have taken place with the passing of days. Pilgrimages, political asylum seekers, faster communication, the revolution in Iran, translation of the Quran into many languages including Thai, the Persian Gulf War, as well as 9/11 incident, caused knowledge and awareness of Islam from the Middle East to flow in more and more to the Malay Peninsula. In the deep south, people now prefers to dress according to religious principles rather than follow the traditional indigenous Melayu attire.

ปัจจุบัน การเปลี่ยนแปลงเป็นไปตามยุคสมัย การเดินทาง ของผู้แสวงบุญ การอพยพลี้ภัยการเมือง การสื่อสารที่รวดเร็วขึ้น การปฏิวัติอิหร่าน การแปลพระมหาคัมภีร์อัล–กุรอานในหลายภาษา รวมทั้งภาษาไทย สงครามอ่าวเปอร์เซีย รวมทั้งเหตุการณ์ 9/11 ทำ�ให้ความรู้และความตื่นตัวในศาสนาอิสลามจากตะวันออกกลาง หลั่งไหลสู่คาบสมุทรมลายูมากขึ้นเรื่อยๆ ที่ชายแดนใต้ ปัจจุบันนิยมแต่งตัวตามหลักศาสนามากกว่า การแต่งกายแบบมลายูท้องถิ่นดั้งเดิม


155

'Photographs' allow us to see the changes. While the story of the winner is that of glory, the story of the defeated is that of pain. However, as human beings create memory through 'history', whether they are winners or the defeated, their identity would appear in the Form of pride and dignity or even indignation, which normally would not leave much space for other sides of the story of people who have once shared the land to be shown.

(9)

(10)

We have chosen images of the statue of the Buddha and the Sun God to remind us of the past that could be both the lesson and the cause of arguement in the future. Archeologists found these traces of belief from an archeological site in Yarang District, Pattani Province, and there are many more sites, the dhammachakra (wheel of dhamma), Shiva Lingam (phallus), etc. that are reminents of the past from over 1,000 years ago, when trade was prosperous and diversity in beliefs could co-exist. We found the traces of faiths in Buddhism, Bhramin, or even the Saora Cult, a relatively minor sect that worshipped the Sun God, on the same land. Meanwhile, we also have chosen the image of the procession of Raja Hirau of Pattani that appeared in the book Achter Theil der Orientalische Indien (1606) (Teeuw and Wyatt ,1970 : Image Cover, the author has not yet seen or read the actual book) next to the other image, together with the arrival of the Dutch and the Chinese neighborhood on Pattanibhirom Road in 1915.

‘ภาพถ่าย’ ทำ�ให้เรามองเห็นการเปลี่ยนแปลง ขณะที่เรื่อง เล่าของผู้ชนะคือ ความยิ่งใหญ่ เรื่องเล่าของผู้พ่ายแพ้ มันก็คือ ความ เจ็บปวด อย่างไรก็ตาม เมื่อมนุษย์สร้างความทรงจำ�ผ่าน ‘ประวัติ ศาสตร์’ ไม่ว่าเป็นผู้แพ้หรือผู้ชนะ ตัวตนของพวกเขาจะปรากฏแสง และเงาขึ้นมา เป็นความภาคภูมิใจอันลวงตาที่ชัดเจนชนิดหนึ่ง เพียง แต่มันมักไม่เหลือพื้นที่ให้เรื่องราวด้านอื่นๆ ของผู้เคยมีตัวตนร่วม แผ่นดินได้เปิดเผยตัวเองออกมา

(11)

เราเลือกหยิบภาพถ่ายพระพุทธรูปและสุริยเทพขึ้นมา เพื่อ ยำ � เตื อ นถึ ง อดี ต ที่ ส ามารถเป็ น ได้ ทั้ ง บทเรี ย นและข้ อ พิ พ าทใน อนาคต นักโบราณคดีพบร่องรอยทางความเชื่อเหล่านี้จากแหล่ง โบราณคดีในอำ�เภอยะรัง จังหวัดปัตตานี ยังมีอีกมากมายทั้งแหล่ง โบราณสถาน ธรรมจักร ศิวลึงค์ หรืออื่นๆ เป็นสิ่งที่หลงเหลือจาก อดีตเมื่อราว 1,000 กว่าปีมาแล้ว สมัยที่การค้าขายรุ่งเรืองและ หลากหลายความเชื่อสามารถอยู่ร่วมกันได้ เราพบร่องรอยของ ความศรัทธาทั้งพุทธ พราหมณ์ หรือแม้แต่ลัทธิเสาระอันเป็นความ เชื่อเล็กๆ ที่บูชาพระสุริยะ อยู่บนแผ่นดินเดียวกัน ขณะเดี ย วกั น เราก็ เ ลื อ กภาพขบวนเสด็ จ ของรายาฮิ เ ยา แห่งปัตตานี ที่ปรากฏในหนังสือ Achter Theil der Orientalische Indien (1606) (Teeuw and Wyatt ,1970 : ภาพปก : ผู้ เขียนบทความยังไม่เคยเห็นหรืออ่านต้นฉบับจริง) มาไว้เคียงกัน พร้อมๆ กับภาพการเข้ามาของชาวฮอลันดาและย่านคนจีนที่ถนน ปัตตานีภิรมย์ พ.ศ.2458


156  WeWatchBook Deep South Photojournalism Issue.

(12)

The era of the 4 queens of 'Patani' was the time when there were tales of greatness and glory, a point when the 'Melayu Identity' was strongly merged with 'Islam', i.e. the port city freely welcomed a large number of people, including westerners, in a manner that was not different from Ayutthaya. There were relations and conflicts with one another, and such characteristic was found in many other ancient communities e.g. in Java or Champa. However, the significance of Patani is that it served as a trading route that connected the Indian Ocean, Lanka, and the Arabic World, together with China and Japan. Thus Patani should be considered as an ancient state that had a continuous and diverse mixing of cultures, such as the legend of the "Lim Kor Niew Shrine" or the traces of trading in the Chinese culture that still predominates to present day, which serve as a great reminder of the past. However, although Islam diffused slowly into the area, but the great faith that existed afterwards was undeniable. After Southern India was defeated by the Muslim forces, Muslim traders came to trade in this region and brought along their religion. It might be because of the influence of trade, or because some of the traders had strong faith, or there was some influence on the internal atmosphere, or because it was the will of God, faith in Islam grew larger and larger, and changes were made among the ruling elites. Once the rulers had faith in the religion, it was not difficult for Islam to be embedded in this land. Afterwards, the universe of the Pattani Peninsula turned towards its center in the Middle East, and spread its borders along the sea.

(13)

ช่วงเวลาของ 4 กษัตริยาแห่ง ‘ปตานี’ คือ ช่วงที่มีเรื่องเล่า เกี่ยวกับความยิ่งใหญ่รุ่งเรือง เป็นหมุดหมายที่ ‘ความเป็นมลายู’ ถูกผนวกเข้ากับ ‘อิสลาม’ อย่างแนบแน่น แต่อดีตของปตานี คือ เมืองท่าค้าขายที่ต้อนรับผู้คนมากมายอย่างเสรี รวมทั้งฝรั่ง ไม่แตก ต่างจากกรุงศรีอยุธยา มีทั้งความสัมพันธ์และความขัดแย้งระหว่าง กัน และเป็นเช่นนี้กับชุมชนโบราณอีกหลายแห่ง เช่น ชวา หรือ จามปา แต่ความสำ�คัญอย่างยิ่งของ ปตานี คือ เส้นทางการค้าที่ เชื่อมระหว่างคาบสมุทรฝั่งอินเดีย ลังกา อาหรับ กับฝั่งจีน ญี่ปุ่น ปตานีจึงน่าจะเป็นรัฐโบราณที่มีการผสมผสานทางวัฒนธรรมของ กลุ่มชนอย่างหลากหลายและสืบเนื่อง อย่างสถานที่เรื่องเล่าเกี่ยว กับ ‘เจ้าแม่ลิ้มกอเหนี่ยว’ หรือร่องรอยการค้าในวัฒนธรรมจีนที่ยัง คงโดดเด่นถึงปัจจุบัน อาจเป็นสิ่งยืนยันถึงวันเวลาเหล่านั้นได้เป็น อย่างดี อย่างไรก็ตาม แม้ว่าศาสนาอิสลามจะค่อยๆ เผยแผ่เข้ามา แต่เราไม่อาจปฏิเสธถึงความศรัทธาอันยิ่งใหญ่ที่เกิดขึ้นนับจากนั้น ได้ มันอาจเริ่มต้นขึ้นเงียบๆ หลังจากที่ทางตอนใต้ของอินเดียพ่าย แพ้แก่กองทัพมุสลิม พ่อค้ามุสลิมจึงเข้ามาทำ�การค้าในแถบนี้แทน พร้อมนำ�ศาสนามาเผยแผ่ด้วย ต่อมาเมื่อพ่อค้าบางส่วนศรัทธา มัน อาจเป็นเพราะอิทธิพลทางการค้า อาจมีผลต่อบรรยากาศภายใน หรือเพราะพระผู้เป็นเจ้าดลบันดาล ความศรัทธาในอิสลามจึงมาก ขึ้นเรื่อยๆ จนสามารถสร้างความเปลี่ยนแปลงไปถึงระดับผู้ปกครอง เมื่อผู้ปกครองมีศรัทธาจึงไม่ยากที่ศาสนาอิสลามจะฝังแน่นอยู่ใน ดินแดนนี้ นับแต่นั้นมา จักรวาลที่คาบสมุทรมลายูก็หมุนวนเข้าหา ศูนย์กลางในตะวันออกกลาง และขยายพรมแดนจักรวาลไปตาม ท้องทะเล


157

(14)

Next, we chose to project a memory of the history of conflict that continued from the colonial era to the post-colonial era. It is an image after the amphibious landing of the Japanese soldiers during the beginning of the second world war. The military junta government of Field Marshall P. Phibulsongkhram surveyed the damage in Pattani. In the picture, the role of the Thai-western 'mala naam Thai' nationalist policy that spread all the way to the southern borders could be seen, in which artificial civilization was forced upon the locals to create cultural unity caused great discontent among the people, even those living in Bangkok.

ภาพต่อมา เราเลือกฉายภาพความทรงจำ�เล็กๆ ที่บันทึก ประวัติศาสตร์ความขัดแย้งอันต่อเนื่องมาตั้งแต่สมัยอาณานิคมจน กระทั่งสมัยหลังอาณานิคม เป็นภาพหลังการยกพลขึ้นบกของทหาร ญี่ปุ่นช่วงเริ่มต้นสงครามมหาเอเชียบูรพา คณะรัฐบาลทหารสมัย จอมพล ป. พิบูลย์สงคราม ลงไปสำ�รวจความเสียหายที่จังหวัด ปัตตานี ในภาพยังเห็นบทบาทของนโยบายชาตินิยมไทยผสมตะวัน ตกที่ลงมาถึงชายแดน ‘มาลานำ�ไทย’ ยัดเยียดความศิวิไลซ์ประดิษฐ์ เพื่อสร้างเอกภาพทางวัฒนธรรมครั้งนี้มีผลอย่างมากต่อความไม่ พอใจของประชาชนแม้แต่ในกรุงเทพฯ เองก็ตาม


158  WeWatchBook Deep South Photojournalism Issue.

The last set of photographs are those that reflect the 'identity' that can be mobilized or pave the way for one another, particularly for young people with dreams, ideals, and a search for freedom that lingers from the heart These 3 pictures were taken at the same period of time, i.e. in 1976. The first two pictures were taken in Pattani. Mom Rajawongse (M.R.) Kukrit Pramoj, Prime Minister, visited the southern border provinces, since on 18 December 1975, there was a large demonstration in front of the Pattani Central Mosque. Although the begin- (15) ning of the protest came from the incident when a group of Thai marines slaughtered innocent people and threw the bodies into the Kotor River in Saiburi District, Pattani Province, but the oppression and abuse of government officials that had existed long before had culminated in the large protest of the Melayu people that numbered in the tens of thousands that took place for as long as 45 days. Throughout the protest, people widely and openly talked about the oppression by the government. We tried to put in the last picture from the protest in October 1976 protest at Thammasart University in Bangkok into the mix (16) as well. A glance at the picture would make it appear as Pattani city Hall, 1975 though it was the same incident. During that time, young ส่วนภาพชุดสุดท้าย เราเลือกภาพชุดที่สะท้อนถึง ‘ตัวตน’ people might not be looking as much at the issue of 'religious identity' as the issue of oppression and the demand ที่สามารถเคลื่อนไปมาหรือส่องทางแก่กันได้ โดยเฉพาะสำ�หรับ for justice in the society, possibly due to the influence of หนุ่มสาวผู้มีฝัน มีอุดมการณ์ และมองหาเสรีภาพอันโหยหามาจาก the atmosphere after the 14 October 1973 incident, even หัวใจ สามภาพนี้ถ่ายในช่วงเวลาใกล้เคียงกัน คือ พ.ศ. 2519 สอง if such democracy lasted for a short period of time.

(17) Thammasart University, 1976

ภาพแรก ถ่ายที่จังหวัดปัตตานี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช นายกรัฐมนตรี ลงไปจังหวัดชายแดนภาคใต้เนื่องจากเมื่อ 18 ธ.ค. 2518 มีการชุมนุมครั้งใหญ่ที่หน้ามัสยิดกลาง จังหวัดปัตตานี แม้จุด เริ่มต้นมาจากกรณีทหารนาวิกโยธินกลุ่มหนึ่งฆ่าประชาชนผู้บริสุทธิ์ แล้วโยนศพลงแม่นำ�กอตอ อำ�เภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี แต่การ กดขี่ข่มเหงรังแกของเจ้าหน้าที่บ้านเมืองที่มีมานานก่อนหน้านั้น ทำ�ให้ปลายทางคือ การประท้วงครั้งใหญ่ของประชาชนมลายูเรือน หมื่นที่กินเวลานานถึง 45 วัน ตลอดระยะเวลาประท้วง ประชาชน พูดถึงการกดขี่ ข่มเหงรังแกจากฝ่ายรัฐบาลอย่างกว้างขวาง ตรงไป ตรงมา เราได้ลองใส่ภาพใบท้ายที่เป็นเหตุการณ์ประท้วงในเดือน ตุลาคม พ.ศ. 2519 ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรุงเทพฯ เข้าไป มองผ่านๆ คล้ายกับเป็นกลุ่มผู้ชุมนุมในเหตุการณ์เดียวกันด้วย สมัย นิยมของหนุ่มสาวในยุคนั้นอาจยังไม่มองกลับมาเน้นที่ ‘ตัวตน’ ทาง ศาสนา แต่พูดเรื่องความกดขี่และเรียกหาความยุติธรรมในสังคม ซึ่ง


159

(18) Large demonstration in front of the Pattani Central Mosque, 1975

Another event that should be mentioned, is the 'Hijab Protest' in 1988 when a group of 7 Muslim students at Rajabhat Institute of Yala wanted to wear the hijab as docrinated by Islamic principles, i.e. their entire bodies would be covered by loose clothing except for the face and the palm, which violated the uniform of the Institute. This event should marked a key cultural struggle of the Muslim people, one in which the 'identity' was more clearly mentioned. At present, the fight for justice still continues both in the form of a violence struggle and a peaceful one. However, nearly all contemporary struggles have merged the issue of oppression to the issue of 'identity' with a deep meaning at the spiritual level. In mid-2007, protest in front of the Central Mosqe happened again, which reminded people of the protests of the past, although the issue remained the demand for justice which nearly had never been solved by the government, but we could see some clear changes this time.

น่าจะมีอิทธิพลจากบรรยากาศหลัง 14 ตุลาคม พ.ศ.2516 แม้มันจะ เป็นประชาธิปไตยที่เบ่งบานในช่วงเวลาสั้นๆ ก็ตาม อีกเหตุการณ์หนึ่งที่ควรกล่าวถึง คือ ‘การประท้วงฮิญาบ’ พ.ศ. 2531 ที่จังหวัดยะลา เวลาหนึ่งสัปดาห์ ซึ่งเป็นการประท้วง เพื่อสนับสนุนนักศึกษามุสลิมในสถาบันราชภัฎยะลาประมาณ 7 คน ที่ต้องการแต่งฮิญาบตามบัญญัติอิสลาม คือ ปกปิดเรือนร่าง ทั้งหมดด้วยเสื้อผ้าหลวมๆ ยกเว้นใบหน้าและฝ่ามือ ซึ่งขัดกับ เครื่องแบบของสถาบัน เหตุการณ์นี้น่าจะเป็นการต่อสู้ของมุสลิม ในเชิงวัฒนธรรมที่สำ�คัญครั้งหนึ่งในชายแดนใต้ที่ ‘ตัวตน’ ถูกพูด ถึงชัดเจนขึ้น มาถึงปัจจุบัน การต่อสู้เพื่อเรียกร้องความยุติธรรมยังคงมี สืบเนื่องมาทั้งในรูปแบบที่รุนแรงหรือการรณรงค์อย่างสันติ อย่างไร ก็ตาม แทบทุกการต่อสู้อันร่วมสมัยมันได้ผนวกเรื่องราวการถูกกดขี่ เข้ากับ ‘ตัวตน’ ที่มีความหมายที่ลึกเข้าไปถึงในระดับความรู้สึก ทางวิญญาณ เมื่อกลางปี พ.ศ.2550 เหตุการณ์ชุมนุมที่หน้ามัสยิด กลางเกิดขึ้นอีกครั้งทำ�ให้หลายคนนึกถึงการชุมนุมในอดีต แม้ว่า เนื้อหาจะเริ่มต้นจากการเรียกร้องยังเป็นเรื่องความยุติธรรมที่แทบ ไม่เคยได้รับการแก้ไขจากรัฐบาลเช่นเดิม แต่ในครั้งนี้เราเห็นภาพ ความเปลี่ยนแปลงที่ชัดเจน


160  WeWatchBook Deep South Photojournalism Issue.

(20)

(19)

(21)

Demonstration in front of the Pattani Central Mosque, 2007

The protesters were no longer the liberal students during the hippie era, but the protest progressed into a struggle under a changed 'identity'. Meanwhile, we make a reference to Subcomandante Marcos of the Zapatista Army of National Liberation as a comparison, as many common points can be seen. Nowadays, the Zapatista have come to be seen as a contemporary symbol of struggle for justice and equality after the era of Che Guevara. Consealment to show sincerity and faith in equality has lead towards a great success in liberating the Chiapas state in Mexico. The Zapatistas are an inspiration to those who struggle for equality all over the world. Perhaps, their hearts are also beating as a heat pulse in the bodies of the young people in the Deep South.

พวกเขาไม่ใช่หนุ่มสาวขาบานในยุคบุปผาชนอีกแล้ว แต่มัน อาจเป็นพัฒนาการของการต่อสู้ภายใต้ ‘ตัวตน’ ที่เปลี่ยนไป ขณะ เดี ย วกั น เราได้ ย กภาพของรองผู้ บั ญ ชาการมาร์ ก อสแห่ ง กองทั พ ปลดปล่อยแห่งชาติซาปาติสตาขึ้นมาเทียบเคียง เพราะเรามองเห็น ในบางสิ่งที่คล้ายกัน ทุกวันนี้ ซาปาติสตา เป็นเหมือนสัญลักษณ์ ร่วมสมัยของการต่อสู้เพื่อความยุติธรรมและเท่าเทียมหลังยุคของ เช เกวาร่า การซ่อนเร้นเพื่อเปิดเผยความจริงใจและความศรัทธาใน ความเท่าเทียม นำ�ไปสู่ความสำ�เร็จอันแรงกล้าในการยึดครองพื้นที่ ปลดปล่อยรัฐเซียปัสในประเทศเม็กซิโก พวกเขาเป็นแรงบันดาลใจ ให้นักต่อสู้เพื่อความเท่าเทียมทั่วโลก บางทีหัวใจข้างซ้ายของเขา อาจกำ�ลังเต้นเป็นจังหวะอุ่นระอุอยู่ในกายของหนุ่มสาวที่ชายแดน ใต้ด้วยก็เป็นได้


161

The entire world is connected. Recently, we have beared witness to the great changes that took place in the Muslim world. It started by a man who was oppressed in Tunisia, northern Africa, but it ignited revolutionary fires that could eventually end the reign of a dictator. That was not all. The wind of change has also brought the sweet scent of 'jasmine' from Tunisia to the other lands in the Arab world, including Egypt, Bahrain, Yemen, Syria, and Libya. As for the deep south, all changes are normally connected to the events in the Arab world. Although we cannot yet touch that wind from far-away places, but believe that whenever the world becomes as small as a mobile phone, the wind of change will reach us and then the 'Bunga Raya' flower will be able to bloom like the jasmine, carnation, or any other pretty and virgin flower on Earth. Only hope that these changes will bring forth the faces of love, peace, liberty, and equality, and not the faces of those who have died from war, as today we already have lost too much blood, too many lives, and too much tear.

ทั่วทั้งโลกต่างเชื่อมโยงถึงกัน เมื่อไม่นานมานี้เราจึงได้เป็น พยานรู้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ที่เกิดขึ้นในโลกมุสลิม มัน เป็นการเริ่มต้นจากคนเล็กๆ ผู้ถูกกดขี่คนหนึ่งในประเทศตูนีเซีย ใน ทวีปแอฟริกาเหนือ แต่กลับจุดประกายลุกโชนเป็นไฟปฏิวัติ จน สามารถหยุดเผด็จการคนหนึ่งให้หมดบทบาทลงไปได้ ไม่เพียงเท่านั้น สายลมแห่งความเปลี่ยนแปลงยังพัดพากลิ่นหอม ‘ดอกมะลิ’ จาก ตูนีเซียขจรขจายไปอีกหลายดินแดนในโลกอาหรับ ไม่ว่าจะเป็น อียิปต์, บาห์เรน, เยเมน, ซีเรีย และลิเบีย สำ�หรับชายแดนใต้ ความเปลี่ยนแปลงใดๆ มักผูกพันกับ ปรากฏการณ์ในโลกอาหรับเสมอ แม้ว่า ณ ขณะนี้เรายังไม่อาจสัมผัส ได้ถึงสายลมนั้นจากแดนไกล แต่เชื่อว่า ในโลกที่เล็กลงเท่าโทรศัพท์ มือถือ วันหนึ่งสายลมสายนั้นจะพัดมาถึงและวันนั้น ‘บุหงารายา’ จะสามารถชูช่อแรกแย้มบานสะพรั่งได้ดั่งดอกมะลิ ดอกคาร์เนชั่น หรือดอกไม้บริสุทธิ์สวยงามใดๆ บนโลกนี้ เพียงหวังว่า การเปลี่ยนแปลงเหล่านั้นจะนำ�มาซึ่งใบหน้า ของความรัก สันติภาพ เสรีภาพ และความเท่าเทียม ไม่ใช่ใบหน้า ของผู้บาดเจ็บล้มตายจากสงคราม เพราะในเวลานี้เราเสียเลือด เนื้อ ชีวิต และนำ�ตากันมากเกินไปแล้ว

ที่มาภาพ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่

1- 6 หอจดหมายเหตุแห่งชาติ 7 ภาพโดย จรูญ ทองนวล (ศูนย์ภาพเนชั่น) 8 ภาพโดย ปิยศักดิ์ อู่ทรัพย์ (ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้) 9 พระพุทธรูป ประทับยืน อายุราวพุทธศตวรรษที่ 13 -14, สว่าง เลิศฤทธิ์ เมืองโบราณยะรัง กรุงเทพ : อมรินทร์ฯ, 2531 หน้าที่ 31 10 พระสุริยะสำ�ริด อายุราวพุทธศตวรรษที่ 14-15, สว่าง เลิศฤทธิ์ เมืองโบราณยะรัง กรุงเทพ : อมรินทร์ฯ, 2531 หน้าที่ 37 11 ภาพขบวนเสด็จของรายาฮิเยา แห่งปัตตานี ปรากฏในหนังสือ Achter Theil der Orientalische Indien (1606) (Teeuw and Wyatt ,1970) อ้างอิงจาก ครองชัย หัตถา ประวัติศาสตร์ปัตตานีสมัยอาณาจักรโบราณถึงการปกครอง 7 หัวเมือง กรุงเทพ : สำ�นักพิมพ์จุฬาลงกรณ์, 2551 หน้าที่ 181 12 ภาพการเข้ามาของชาวดัตช์ที่ท่าเรือปัตตานี ปรากฏในหนังสือ Achter Theil der Orientalische Indien (1606) (Teeuw and Wyatt ,1970) อ้างอิงจาก ครองชัย หัตถา ประวัติศาสตร์ปัตตานีสมัยอาณาจักรโบราณถึงการปกครอง 7 หัวเมือง กรุงเทพ : สำ�นักพิมพ์จุฬาลงกรณ์, 2551 หน้าที่ 182 13 ย่านการค้าของเมืองปัตตานีบริเวณถนนปัตตานีภิรมย์ ในสมัยมณฑลปัตตานี พ.ศ. 2458, อ้างอิงจาก ครองชัย หัตถา ประวัติศาสตร์ปัตตานีสมัยอาณาจักรโบราณถึงการปกครอง 7 หัวเมือง กรุงเทพ : สำ�นักพิมพ์จุฬาลงกรณ์, 2551 14–17 หอจดหมายเหตุแห่งชาติ 18 กองบรรณาธิการเฉพาะกิจทางนำ� , บันทึกวิกฤตประวัติศาสตร์ ฮิญาบ สัจธรรมท้าทายอนาคต ฉบับเฉพาะกิจ 2, กรุงเทพ : บริษัท เอดิสัน เพรส โปรดักส์ จำ�กัด, 2531). หน้า 6 19, 21 ภาพโดย ปิยศักดิ์ อู่ทรัพย์ (ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้) 20 http://mblog.manager.co.th/undertakered/


www.wewatch.in.th




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.