ร
บอกอ ขอคุย
สวัสดีครับ ท่ามกลางความไม่แน่นอนทางการเมืองใน เมืองหลวงกรุงเทพฯมีการประท้วงขับไล่ รัฐบาลอภิสทิ ธ์ิ โดยกลุม่ คนเสือ้ แดงหรือนปช. ซึงกลุ่มนปช.อ้างว่าเป็นรัฐบาลหุ่ น เชิ ด ของ กลุ่มอมาตย์และเห็นด้วยกับการชุมนุมโดย ปราศจากอาวุธ ของคนเสื้ อ แดงเป็ น สิ ท ธิ เสรีภาพในการแสดงออกทางการเมือง แต่ ก็ มี ก ารปลุกกระแสให้คนกรุง เทพฯออกมาคัดค้านโดยอ้างว่าการชุมนุม ของคนเสื้ อ แดงทำให้ ค นกรุ ง เทพฯได้ รั บ ความเดือดร้อนการออกมาปลุกกระแสใน ลักษณะนี้ทำให้เกิดความขัดแย้่งเพิ่มขึ้นใน หมูป่ ระชาชน แม้ว่าการเจรจาระหว่างรัฐบาลกับ แกนนำ นปช. จะไม่ประสบความสำเร็จในการ แสวงหาทางออกให้กบั ประเทศไทย แต่ทง้ั สอง ฝ่ายต้องร่วมมือกันในการป้องกันการก่อเหตุ รุนแรงในกรุงเทพมหานคร “ไม่อยากเห็นกรุงเทพเป็นสนามรบเหมือนกับ สามจังหวัดชายแดนภาคใต้”
ในนี้มีอะไร คณะทำงานยุติธรรมเพื่อสันติภาพ บรรยากาศ งาน6 ปี การบังคับสูญหาย นายสมชาย นีละไพจิตร
ศุกร์เสวนา
เขื่อน: ปัตตานี สบายดีไหม ? รายงานพิเศษ ความล้มเหลวของกระบวนการ ยุตธิ รรมไทย ในการค้นหาความจริง การเยียวยา และการป้องกัน การละเมิดสิทธิมนุษยชน ในประเทศไทย น.8 สัพเพเหระ
จาก “ฮัจยีสุหลง” ถึง “ทนายสมชาย” น.18
กองบรรณาธิ กองบรรณาธิกการารคณะทำงานยุ คณะทำงานยุตติธิธรรมเพื รรมเพื่อ่อสัสันนติติภภาพาพ สำนั สำนักกงานปั งานปัตตตานี ตานีเลขที เลขที่ 22/186 ่ 22/186ถ.หนองจิ ถ.หนองจิกกต.รู ต.รูสสะมิะมิแแลลอ.เมื อ.เมือองง จ.ปั จ.ปัตตตานี ตานีโทร. โทร.073-331-254 073-331-254 e-mail: e-mail:asman@wgjp.org asman@wgjp.org website website: :wgjp.org wgjp.org 2
working grou on justice for peace เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2553 คณะทำงานยุติธรรมเพื่อสันติภาพ ได้จัดงานครบครอบ 6 ปี การบังคับสูญหายนายสมชาย นีละไพจิตร :ความล้มเหลว ของกระบวนการยุติธรรมไทย ในการค้นหาความจริง การเยียวยา และการป้องกันการละเมิดสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ณ.เรือน จุฬานฤมิตร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ
3
เขื่อน: ปัตตานี สบายดีไหม ?
โดยวิโชติ ไกรเทพ ณ.สำนักงานคณะทำงานยุติธรรมเพื่อสันติภาพ วันที่ ๒๓ ตุลาคม ๒๕๕๒
ผมเริ่ ม ทำงานตั้ ง แต่ ปี ๒๕๒๙ หลังจากป่าแตก ท ำ ใ ห้ ส ห า ย ห ล า ย ๆ คนออกมาจากป่ า และ แยกย้ า ยกั น ไปทำงาน กั บ มวลชนในระดั บ รากหญ้ า ทำงานใน ชนบท ส่วนผมเริม่ ทำงานในสลัมซึ่งเป็น แหล่งรวมขี้ ทัง้ ขีย้ า ขีข้ โมยและหลายๆขี้ ซึ่งคนเหล่านี้เป็นคนที่ล้มเหลวด้านอาชีพ เกษตรกรรมในชนบทจึงต้องเสี่ยงชีวิตสู่ สังคมเมือง ความเป็นอยู่ของคนเหล่านี้ ต้องอยูอ่ ย่างยากลำบากเป็นชีวติ ทีน่ า่ อดสู่ หลังจากที่ผมทำงานกับคนเหล่า นี้อยู่หลายปีผมก็ออกมาทำงานกับมูลนิธิ คุม้ ครองสัตว์ปา่ เริม่ ต้นปี๒๕๓๕ ชาวบ้าน เกิดปัญหากับเขือ่ นทีส่ ายบุรี ซึง่ เรือ่ งนีเ้ ริ่ม ต้นจากอาจารย์นุกูลแก่เป็นคนชอบดูนก ซึ่ ง ได้ ไ ปสำรวจแถวๆลุ่มน้ำสายบุรีก็ได้ พบกับโครงการที่จะสร้างเขื่อนกันแม่น้ำ สายบุรแี ละได้พบปะกับชาวบ้านซึง่ ไม่ตอ้ ง 4
การให้มกี ารสร้างเขือ่ น. อาจารย์นกุ ลู ก็ได้ พาชาวบ้ า นไปพบชาวบ้ า นในพื้ น ที่ จังหวัดตรังที่ต่อต้านการสร้างเขื่อนเพื่อ แลกเปลี่ ย นปั ญ หาซึ่ ง ในตอนนั้ น ก็ มี อ ยู่ หลายๆเขื่อนที่ภาครัฐต้องการจะสร้างขึ้น ทำให้เกิดการรวมตัวกันของกลุ่มชาวบ้าน ที่ไม่ต้องการให้สร้างเขื่อน ทำให้ผมได้รู้ จักกับอาจารย์นุกูลและผมก็เริ่มทำงานใน พื้นที่สายบุรีเป็นครั้งแรก คัดค้านเขื่อนจากอดีต-ปััจจุบัน นปี๒๕๓๕ มีการชุมนุมประท้วงกันที่ ศาลากลางจังหวัดยะลาทำให้การดำเนินการเรือ่ งเขือ่ นยุตลิ ง เพราะสมัยนัน้ การ ชุมนุมประท้วงเป็นเรือ่ งทีท่ า้ ทายมากเพราะ ชาวบ้านยังกลัวการชุมนุมประท้วงซึ่งอาจ ทำให้เกิดการสูญเสียเหมือนกับการชุมนุม
ใ
ประท้วงทีม่ สั ยิดกลางปัตตานี เราได้มกี าร เตรียมการเพื่อที่จะประท้วงเกือบเดือนซึ่ง เรามีเป้าหมายให้คนมาร่วมกันชุมนุมให้ ถึงพันคนแต่มีผู้เข้าร่วมเพียง ๓๐๐ คน ในขณะนัน้ ภาครัฐยังไม่มที กั ษะในการเจรจา กับการประท้วงประกอบกับคนมลายูส่วน ใหญ่พูดภาษาไทยไม่ได้และเจ้าหน้าที่รัฐ ก็พูดภาษามลายูไม่ได้ทำให้บรรยากาศ การชุมนุมประท้วงมีความตึงเครียดมาก ในช่วงการชุมนุมประท้วงมีนักการเมือง บางคนพยายามที่จะพากลุ่มผูช้ มุ นุมประที่ กรือเซะ ซึง่ หากมีการเคลื่อนย้ายผู้ชุมนุม ในวันนั้นจะทำให้ประเด็นการชุมนุมจะถูก เปลี่ยนไปทันที ผมต้องไปล็อบบ้ีผู้ชุมนุมที ละคนเพื่อไม่ให้เคลื่อนย้ายโดยใช้วิธีการขู่ ว่าหากมีการเคลื่อนย้ายสถานที่การชุมนุมผมจะเก็บกระเป๋ากลับทันที เมื่อมีการ ลงมติ ป รากฏว่ า ผู้ ชุ ม นุ ม ส่ ว นใหญ่ จ ะไม่ เคลือ่ นย้ายการชุมนุมไปทีก่ รือเซะ ตามข้อ เสนอของนักการเมืองและใช้วิธีการกดดัน เจ้าหน้าที่โดยการนำอุปกรณ์เครื่องครั ว จากปอเนาะมาเตรี ย มเพื่อ แสดงว่ า เรา จะอยูน่ านทำให้เจ้าหน้าที่ยอมทำตามข้อง เรียกร้องของเราและได้ส่งเรื่องให้รัฐบาล ในสมัยนั้นเกิดสมัชชาเขื่อนภาค ใต้ทำให้เกิดบรรยากาศเอื้อเฟือซึ่งกันและ กัน การทำงานภาคประชาสังคมมีความ สนุกมากชาวบ้านจะต้อนรับเราอย่างดีชาว บ้านมีการทำเวรเลี้ยงข้าวเราโดยที่เราไม่ 5
ต้องไปลำบากมากเราทำงานเพราะชาว บ้านรูส้ กึ ว่าการทำงานของเราเพือ่ พวกเขา เพราะเราทำไม่มงี บประมาณหรือแหล่งทุน และไม่มีผลประโยชน์เหมือนในสมัยนี้ ทำ ให้ชาวบ้านรู้สึกว่าการทำงานประชาสั ง -คมสมั ย นี้ เ ป็ น ผู้ รั บ เหมาความจนและ หากต้องการแก้ปัญหาต้องมีการจ้างพวก เขาเพื่อที่จะแก้ปัญหาของตัวเอง ปัจจุบันมีการเสนอให้มีการสร้าง เขื่ อ นอี ก ครั้ ง ท่ า มกลางความรุ น แรง ท ำ ใ ห้ ไ ม่ มี ใ ค ร ก ล้ า อ อ ก ม า คั ด ค้ า น เพราะสถานการณ์อย่างนี้จะสร้างมายา คติความไม่ปลอดภัยในชีวิตหากออกมา คัดค้านนโยบายของรัฐ ากคนในพื้ น ที่ ยั ง เงี ย บอย่ า งนี้ มี โอกาสสร้ า งเขื่ อ นได้ ส ำเร็ จ เพราะ เจ้าหน้าที่ชลประทานเองก็ใช้โอกาสนี้ขอ ความร่วมมือจากกำนัน ผูใ้ หญ่บา้ นเดินสายตามมั ส ยิ ด และนำคนติ ด ตามใส่ ชุ ด เขียวพร้อมอาวุธเพื่อชี้แจงโครงการเมื่อ เจ้าหน้าที่ถามว่ามีใครจะคัดค้านไหม คง ไม่ มี ใ ครกล้ า เพราะกลั ว เจ้ า หน้ า ที่ ท ำให้ เสี ย งคั ด ค้ า นของชาวบ้ า นลงไปอยู่ ใ น กระเพาะหมดไม่มีเสียงคัดค้านแม้แต่น้อย ตามประสาคนมลายูที่มักจะเก็บเสียงคัดค้านลงกระเพาะ ซึ่งเราต้องเลือกว่าจะลุก ขึน้ คัดค้านอย่างมีศกั ดิศ์ รีหรือนอนรออย่าง สิน้ หวัง อยูท่ พ่ี วกเราจะเลือกอย่างไหนหาก เป็นผมๆจะเลือกการดิ้นรนอย่างมีศักดิ์
ห
ศรีแม้ว่าจะมีความยากลำบาก ดีกว่านอน รออย่างสิ้นหวังในชะตากรรมของตัวเอง ความเห็นที่แตกต่างของประชาชนกับรัฐ
ว
าทกรรมการพัฒนาของรัฐกับประชา ชนไม่ค่อยตรงกันนัก ภาครัฐให้เหตุ ผลในการสร้างเขื่อนว่าสามารถแก้ปัญหา น้ำท่วมและสามารถใช้นำ้จากเขื่อนในการ ทำการเกษตรได้ แต่ชาวบ้านคิดว่าการสร้าง
เขือ่ นนัน้ จะมีผลกระทบต่อวิถชี วี ติ และอาชีพ ของชาวบ้านบริเวณลุ่มน้ำสายบุรีซึ่งชาว บ้านทีอ่ าศัยบริเวณลุม่ น้ำสายบุรเี ขาสามารถ ปรับตัวกับสภาพธรรมชาติได้ เราจะเห็น ว่าหมู่บ้านที่อยู่ริมแม่น้ำสายบุรีจะมีการ สร้างบ้านแบบยกพื้นสูงและแต่ละบ้านจะ มีเรือบ้านละหนึ่งลำเพราะเขารู้ว่าเมื่อถึง ฤดูน้ำหลากจะมีน้ำท่วมทุกปีซึ่งไม่ได้เป็น ปั ญ หาสำหรั บ ชาวบ้ า แต่ รั ฐ มองว่ า เป็ น ปัญหา 6
สายบุรีแม่นำ้สายสุดท้าย ม่น้ำสายบุรีเป็นแม่น้ำสายเดียวใน ประเทศไทยที่ไม่มีเขื่อนสร้างกั้นแม่ น้ำและเป็นแม่นำ้ ทีม่ กี ารไหลของน้ำแปลก ที่ สุ ด ซึ่ ง น้ ำ จะไหลจากทิ ศ ใต้ สู่ ทิ ศ เหนื อ โดยปกติแล้วแม่น้ำส่วนใหญ่จะไหลจาก ทิศเหนือลงใต้ แต่ในขณะนี้นายทุนและผู้ มีอิทธิพลกำลังปลาบมันที่จะมีการสร้าง เขื่อนขึ้นมาอีกครั้งเพราะหากมีการสร้าง ช่วงนี้ไม่มีใครกล้าเข้าไปตรวจสอบการ ดำเนิ น โครงการทำให้ เ กิ ด การโกงกิ น ได้สะดวกขึ้น การสร้างเขื่อนนั้นจะทำให้อัตรา การไหลของน้ำเปลี่ยนไปซึ่งจะส่งผลให้ ปลาบางชนิดไม่สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ และวงจรชีวิตของสัตว์น้ำจะถูกทำลายไป ซึ่งจะมีผลต่อจำนวนปลาในแม่น้ำ ในที่สุด วิถีชีวิตของชาวบ้านที่สืบทอดกันมาหลาย ชั่วอายุคนจะถูกเปลี่ยนไป การพัฒนาที่ ทำให้วิถีชีวิตของชาวบ้านเปลี่ยนซึ่งไม่ สามารถที่จะคำนวณเป็นจำนวนเงินได้ ซึ่งรัฐมองว่าการใช้ชีวิตแบบชาวบ้านเป็น คนที่ ยั ง ล้ า หลั ง จำเป็ น ต้ อ งมี ก ารพั ฒ นา เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของชาวบ้านให้ ดีขน้ึ โดยการเผาผลาญทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งการมองปัญหาระหว่างรัฐกับชาวที่ต่าง กันเปรียบเสมือนการมองเป็ดตัวหนึ่งที่รัฐ มองว่าควรนำเป็ดทำซุปกินอร่อยกว่า แต่ ชาวบ้านมองว่าควรเลี้ยงเป็ดไว้เพื่อกินไข่
แ
เพื่อที่จะได้ใช้ประโยชน์จากเป็ดไปนานๆ หากมีใครออกมาคัดค้านซึง่ จะเป็นการคัด ค้านพระราชดำริ ซึ่งการที่อาจารย์พูดยัง คนพื้นที่ชี้ประชาชนกลัวอำนาจมืด นี้ทำให้นักศึกษาหลายๆคนไม่กล้าที่จะ มาร์ค ผมเริ่มจับประเด็นเขื่อนได้ไม่นาน หยิบยกประเด็นเขือ่ นมาเคลือ่ นไหว นัก แต่ผมได้มีโอกาสเผยแพร่ความรู้และ วิโชติ ถึงแม้ว่าเป็นโครงการพระราชดำริ ผลกระทบทีจ่ ะเกิดขึน้ หากมีการสร้างเขือ่ น จริงแต่ผมเคยได้ยินชาวบ้านที่สายบุรีเล่า กันแม่น้ำสายบุรี ช่วงแรกๆที่มีการพูดถึง ว่า ในหลวงเคยตรัสไว้ว่า “โครงการทีจะ เขื่อนไม่มีใครอยากจะเกี่ยวข้องกับการ สร้างขึ้นประชาชนสามารถคัดค้านได้” ต่อต้านเขื่อนเพราะกลัวผู้มีอิทธิผลและไม่ ลี่ ขณะในพื้นที่ยังไม่มีการพูดคุยประเด็น อยากมีปัญหากับรัฐ แต่พักหลังๆนี้ชาว เขื่อนในพื้นที่สาธารณะเป็นประเด็นที่ถูก บ้านเริ่มให้ความสนใจมากขึ้นเพราะรู้ถึง กลบด้วยปัญหาความรุนแรงในพื้นที่ ผลกระทบที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการสร้ า งเขื่ อ น วิโชติ ทุกเรื่องในสมัยนี้เป็นเรื่องของทุก ผมได้มีโอกาสพูดคุยกับเปาะจิ ซึ่งเป็นผู้ คนทั้งโลกแล้ว ที่ทุกคนจะต้องมีส่วนร่วม หลักผู้ใหญ่ที่ต่อสู้เรื่องเขื่อนมาตลอดท่าน แต่ควรระวังกับดักที่รัฐได้วางเอาไว้(เงิน) ก็บอกว่าดีใจทีม่ คี นรุน่ ใหม่ทต่ี อ่ สูเ้ รือ่ งเขือ่ น เราต้องเริม่ ตัง้ แต่วนั นี้ อย่าให้เวลาล่วงเลย เพราะท่านเองคงไม่มีเรี่ยวแรงที่จะเคลื่อน ไปอย่างเปล่าประโยชน์ โดยการพูดคุย ไหวเหมือนในอดีตเมื่อได้เห็นคนรุ่นใหม่ ประเด็ น ผลกระทบที่ เ กิ ด จากการสร้ า ง ที่จะต่อสู้เรื่องเขื่อนเปาะจิคงตายตาหลับ เขื่อนให้กับประชาชนได้รับรู้แต่ไม่มีประแล้ว. โยชน์ ที่ จ ะมาคั ด ค้ า นหลั ง จากการสร้ า ง วิโชต โครงการนี้เป็นโครงการที่ผลประ- เขื่อนหลังจากการสร้างเขื่อนเสร็จสินแล้ว โยชน์มหาศาลเพราะไม่ระบบตรวจสอบ เพราะมันไม่ได้ช่วยอะไรเลย. การทำงาน ผู้มีอิทธิพลทั้งหลายก็อยาก จบ ให้มีการสร้างเขื่อนเพราะจะได้ตักตวงผล ประโยชน์หากใครต่อต้านก็จะถูกข่มขู่ให้ เกิดความไม่ปลอดภัย รอน โครงการนีผ้ มเคยได้ยนิ จากอาจารย์ ท่านหนึง่ ใน มอ. บอกว่าโครงการเขือ่ นสายบุรเี ป็นโครงการพระราชดำริ ทีม่ แี ต่จะสร้าง เพื่ อ ประโยชน์ สุ ข ของประชาชนโดยแท้ 7
รายงานพิเศษ
6 ปี การบังคับสูญหายนายสมชาย นีละไพจิตร
: ความล้มเหลวของกระบวนการยุติธรรมไทยในการค้นหาความจริง การเยียวยา และการป้องกันการละเมิดสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย
เอื้อเฟื้อภาพโดย: International Commission of Jurists(ICJ)
น
ายสมชาย นีละไพจิตรเริม่ ต้นประกอบ วิชาชีพทนายความ นับแต่ปี 2520 โดยได้ มี โ อกาสร่ ว มงานกั บ นายทองใบ ทองเปาว์ ทนายความนักสิทธิมนุษยชนผู้ เคยได้รบั รางวัลแมกไซไซ ในการให้ความ ช่วยเหลือด้านกฎหมายแก่ประชาชนมา โดยตลอด โดยเฉพาะการให้ความช่วย เหลื อ เกี่ ย วกั บ คดี ค วามมั่นคงในจังหวัด ชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย ซึง่ ผูต้ อ้ ง หาส่วนใหญ่เป็นคนยากจน การศึกษาน้อย การทำงานของนายสมชายเป็ น เรื่ อ งที่ ต้องใช้ความเสียสละและความกล้าหาญ อย่างสูง เนื่องจากช่วงเวลานั้นมีทนาย ความจำนวนน้อยมากทีใ่ ห้ความสำคัญ และ ความสนใจในการให้ความช่วยเหลือต่อ ปัญหาการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนของ ประชาชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ส่วน ใหญ่คดีที่นายสมชายรับผิดชอบศาลจะ 8
พิพากษายกฟ้องเนื่องจากขาดพยานหลัก ฐานที่น่าเชื่อถือและขาดหลักฐานทางนิ ติ วิทยาศาสตร์ พบว่าส่วนใหญ่ของพยานเป็น พยานซัดทอด อีกทั้งผู้ต้องหาคดีความ มั่นคงเหล่านี้มักถูกซ้อมทรมานเพื่อให้รับ สารภาพดังนัน้ เมือ่ คดีถกู นำขึน้ สูศ่ าลคดีสว่ น ใหญ่จึงถูกศาลยกฟ้อง นอกจากการว่ า ความในฐานะ ทนายความในศาล นายสมชายยังได้แสดง ความคิดเห็นต่อสังคม เกีย่ วกับการปฎิบัติ หน้าที่ของเจ้าหน้าที่ตำรวจ และเรียกร้อง ให้มีการปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม โดย เฉพาะการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ข องเจ้ า หน้ า ที่ ตำรวจ ในฐานะพนักงานสอบสวน ซึง่ ถือเป็น ต้นทางของกระบวนการยุติธรรม ซึ่งจะมี ผลในการคุ้ ม ครองสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนและ พัฒนากระบวนการยุติธรรมให้มีประสิทธิ ภาพ เพื่อที่จะสามารถให้ความเป็นธรรม
แก่ประชาชนได้อย่างแท้จริง อีกทัง้ ยังเรียก ร้องต่อบรรดาทนายความว่าควรให้ความ สำคัญ และมีความเสียสละในการให้ความ ช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชนผู้ถูก ละเมิดสิทธิมนุษยชนในจังหวัดชายแดน ภาคใต้ ให้มากขึ้น ายหลังเหตุการณ์ปล้นปืนและเผา โรงเรียน เมื่อวันที่ 4 มกราคม 2547 ที่จังหวัดนราธิวาส เหตุการณ์ในภาคใต้ ทวีความรุนแรงมากขึ้น พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ได้มีคำสัง่ ให้เจ้า หน้าทีต่ ำรวจจากส่วนกลางลงไปปฏิบัตหิ น้าทีใ่ นจังหวัดชายแดนภาคใต้ ช่วง เวลานัน้ มีการร้องเรียนการปฏิบตั หิ น้าที่ โดยมิชอบของเจ้าหน้าทีต่ ำรวจ ไม่วา่ จะเป็นการควบคุมตัวประชาชนตาม อำเภอใจ การซ้อมทรมานผู้ต้องหา การอุม้ ฆ่า หรือแม้แต่การสังหารนอก กระบวนการยุติธรรม มูลเหตุการบังคับสูญหาย ายสมชายนีละไพจิตรถู ก บั ง คั บ ให้ สูญหาย เมือ่ เวลาประมาณ 20.30 น. วันที่ 12 มีนาคม 2547 บนถนนรามคำแหง เยื้องกับสถานีตำรวจนครบาลหัวหมาก กรุงเทพมหานคร โดยมีมูลเหตุที่นาย สมชายได้ร้องเรียนเรื่องการซ้อมทรมาน ผู้ถูกกล่าวหาซึ่งเป็นประชาชนในจังหวัด นราธิวาสในคดีปล้นปืน เผาโรงเรียน 5 คน คื อ นายมั ก ตา ฮารง,นายอั บ ดุ ล เลาะ
ภ
น
9
อาบูคารี, นายมะนาเซ มามะ, นายซูดือรามัน มาและ และนายสุกรี มะมิง โดยนายสมชาย ได้ไปเยีย่ มผูต้ อ้ งหาทัง้ 5 ที่กองบังคับการ ปราบปรามและผู้ถูกกล่าวหาทั้ง 5 ได้เล่า ให้นายสมชายฟังว่าถูกเจ้าหน้าที่ตำรวจ ชุดจับกุมซ้อมทรมานอย่างหนักเพื่อให้รับ สารภาพ ซึ่งทั้งหมดถูกทรมานและถูกทำ ร้ายร่างกายด้วยวิธกี ารช๊อตไฟฟ้าทีอ่ วัยวะ เพศ บางคนถูกใช้เชือกแขวนคอให้เปลือยกายยืนบนเก้าอี้ ในลักษณะเขย่งปลายเท้า
เอื้อเฟื้อภาพโดย: International Commission of Jurists(ICJ)
หรื อ ปั ส สาวะใส่ ป ากเป็ น ต้ น ทั้ ง นี้ ส อด คล้องกับ พล.ต.อ สมบัติ อมรวิวฒ ั น์อธิบดี กรมสอบสวนคดีพิเศษ ซึ่งเป็นประธาน คณะกรรมการสอบข้ อ เท็ จ จริ ง เกี่ ย วกั บ การหายตัวไปของนายสมชาย ได้ให้ถ้อย คำกับกรรมาธิการวุฒิสภาว่า สาเหตุของ การเข้าไปช่วยผูต้ อ้ งหา 5 คน เป็นสาเหตุ หนึ่งของการหายตัวไปของนายสมชาย นีละไพจิตร ซึ่งตามหนังสือร้องเรียนของ ผูต้ อ้ งหา 5 คน นัน้ หากมีการดำเนินการ ตามหนังสือร้องเรียนแล้วพบความจริงจะ
เป็นความผิดทางอาญา ซึง่ ผูเ้ กีย่ วข้องจะต้อง ถูกดำเนินคดีทางอาญาส่วนผู้ถูกกล่าวหา ทั้ง 5 คน ภายหลังอัยการมีคำสั่งไม่ฟ้อง นหนังสือที่นายสมชาย นีละไพจิตร เขียนร้องเรียนเพื่อขอความเป็นธรรม ให้ผถู้ กู กล่าวหาทัง้ 5 คนไปยังองค์กรต่างๆ เมือ่ วันที่ 11 มีนาคม 2547 ก่อนจะถูกบังคับให้สูญหายเพียงวันเดียวระบุว่า “ ...ผลจากการกระทำดังกล่าว (การทรมาน) จำเลยทั้ง 5 คนต้องยอมรับ สารภาพตามทีเ่ จ้าพนักงานตำรวจประสงค์ เป็นการแสดงคำรับสารภาพและทำแผน ประกอบคำรับสารภาพโดยการทำร้ายร่าง -กาย ข่มขู่บังคับ มิได้รับการเยี่ยมญาติ และไม่มีโอกาสได้พบทนายความในขณะ สอบปากคำ ย่อมเป็นการละเมิดสิทธิของ ผู้ต้องหาทั้งสิ้น การกระทำเช่นนี้มิชอบด้วยกฏหมายวิธีพิจารณาความอาญาแต่อย่างใด อันเป็นการทำลายกระบวนการยุติธรรม เบื้องต้นโดยสิ้นเชิง... “ อกจากการร้องเรียนเรื่องการซ้อม ทรมานแล้ว นายสมชาย นีละไพจิตร ยังได้ดำเนินการล่ารายชื่อ50,000รายชื่ อ (ตามรัฐธรรมนูญปี 2540 ) เพื่อขอยกเลิก การประกาศใช้กฎอัยการศึกในจังหวัดชาย แดนภาคใต้ด้วย โดยนายสมชายให้เหตุ ผลว่ากฎอัยการศึกให้อำนาจกับเจ้าหน้า ที่ทหารมากสามารถควบคุมตัวประชาชน
ใ
น
10
ได้ 7 วันโดยไม่ตอ้ งมีหมายศาลไม่ต้องมี ข้อกล่าวหาใดๆ อีกทั้งไม่อนุญาตให้ญาติ และทนายเยี่ยมอีกด้วย ประชาชนส่วน ใหญ่ที่ถูกควบคุมตัวจึงมักร้องเรียนว่ามี การซ้อมทรมาน และมีรายงานของการสูญหายของประชาชนในระยะเวลาของการ ควบคุมนั้น กระบวนการยุติธรรมขั้นต้น ภายหลังนายสมชาย นีละไพจิตร ถูกลักพาตัวเมือ่ วันที่ 12 มีนาคม 2547 ต่อมาเจ้าหน้าทีต่ ำรวจได้พบรถยนตร์ของเขา จอดอยู่ ใ นที่ ห้ า มจอดหลั ง สถานี ข นส่ ง หมอชิตเมือ่ วันที่ 16 มีนาคม ปีเดียวกัน ซึ่ง รถของเขาถูกส่งไปตรวจสอบเพื่อหาหลัก ฐานทางนิติวิทยาศาสตร์ที่กองพิสูจน์หลัก ฐาน สำนักงานตำรวจแห่งชาติ และถูกส่ง ไปตรวจสอบต่อที่สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ กระรวงยุติธรรม เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2547 แม้เจ้าหน้าที่ตำรวจระดับสูงที่ทำ หน้าที่พนักงานสอบสวน จะให้ข่าวต่อสื่อ มวลชนในขณะนั้นว่ามีวัตถุพยานสำคัญ ยืนยันผู้กระทำผิด แต่ผลการตรวจสอบที่ ปรากฏต่อศาลในการพิจารณาคดีในศาล กลับไม่พบหลักฐานทางนิติวิทยาศาสตร์ ใดๆที่ ส ามารถเชื่ อ มโยงไปยั ง ผู้ ก ระทำ ความผิด ม้ดเู หมือนว่ารัฐบาลซึง่ มีพ.ต.ท.ทักษิณ ชิณวัตรดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จะมีความพยายามในการคลี่คลายคดีการ
แ
งานเกิน 15 วันโดยไม่มีเหตุอันควรก็ตาม การสืบพยานในชั้นศาล ดี ก า ร ลั ก พ า ตั ว น า ย ส ม ช า ย นีละไพจิตร ได้ถูกนำเข้าสู่การพิจารณาของศาลยุ ติ ธ รรมครั้ ง แรกเมื่ อ เดื อ น เอื้อเฟื้อภาพโดย: International Commission of Jurists(ICJ) สิงหาคม 2548 โดยเป็นการสืบพยานอย่าง บังคับสูญหายนายสมชาย นีละไพจิตร โดย ต่อเนื่องจนสิ้นสุดคดีเมื่อเดือนธันวาคม การออกหมายจับเจ้าหน้าทีต่ ำรวจ 5 นาย 2548 จากพยานหลักฐานที่ปรากฏในการ ภายใต้แรงกดดันจากสาธารณชน รวมถึง สื บ พยานในชั้ น ศาลปรากฏหลั ก ฐานว่ า นักสิทธิมนุษยชนทั้งในและต่างประเทศ จำเลยบางคนได้ลงไปปฏิบัติงานในพื้นที่ เมือ่ เดือนเมษายน พ.ศ.2547 อันประกอบด้วย จังหวัดชายแดนภาคใต้ และมีความเกีย่ ว พ.ต.ต.เงิน ทองสุก จำเลยที่ 1 พ.ต.ท.สินชัย ข้องกับการทรมานผูถ้ กู กล่าวหาทีน่ ายสมชาย นิ่มปุญญกำพงษ์ จำเลยที่ 2 จ.ส.ต.ชัยเวง ได้รอ้ งเรียน ดังปรากฏข้อเท็จจริงตามเอก พาด้วงจำเลยที่ 3 ส.ต.อ.รันดรสิทธิเขต สารซึ่งโจทก์ส่งศาลหมาย จ.128 อ้างถึง จำเลยที่ 4 และ พ.ต.ท.ชัดชัย เลี่ยมสงวน หนังสือคำสั่งแต่งตั้งให้จำเลยที่ 5 ในคดีนี้ จำเลยที่5ตำรวจกองปราบปรามตกเป็น เป็นคณะกรรมการสืบสวนและสอบสวน จำเลยที ่ 1-5 ฐานร่ ว มกั น ปล้ น ทรั พ ย์ เพื่อหาตัวผู้กระทำผิดหลังเหตุการณ์ปล้น และข่มขืนใจผู้อื่น โดยใช้กำลังประทุษร้าย ปืนวันที่ 4 มกราคม 2547 โดยมีจำเลย แต่ไม่สามารถตั้งข้อหาฆาตกรรมหรือข้อ ที่ 1 เป็นผูร้ ว่ มจับกุมผูต้ อ้ งหาทัง้ 5ในคดี หาอื่นที่หนักกว่าได้เนื่องจากยังไม่พบศพ ปล้นปืนดังกล่าว ทัง้ นีน้ ายซูดรี อื มัน มาเละ หรือหลักฐานที่บ่งชี้ว่านายสมชายได้เสีย หนึ่งในผู้ต้องหา 5 คน ยืนยันว่าจำเลย ชีวิตแล้ว สุดท้ายผู้ต้องหาทุกคนก็ได้รับ ที่ 1 เป็นหนึง่ ในผูท้ ร่ี ว่ มทำร้ายร่างกายตาม อนุ ญ าตให้ ไ ด้ รั บ การปล่ อ ยตั ว ชั่ ว คราว เอกสารส่งศาลหมาย จ.26 และระหว่างถูก โดยที่มีจำเลยที่ 5 ซึ่งเมื่อออกจากเรือน คุ ม ขั ง ที่ เ รื อ นจำกรุ ง เทพฯภายหลั ง ที่ จำหลังถูกควบคุมตัวแล้ว 30 วันสามารถ นายสมชาย นีละไพจิตรถูกทำให้สูญหาย กลับเข้ารับราชการได้ทันที่ราวกับว่าระยะ แล้วนัน้ จำเลยที่ 1 และ 5 ได้เคยเข้าไปเยี่ยม เวลาทีอ่ ยูใ่ นเรือนจำนัน้ เป็นการปฏิบตั หิ น้าที่ นายสุกรี มะมิง ตามเอกสารหมาย จ. 23 และในวันทีจ่ ำเลยที่ 1,2และ4เข้ามอบตัวนั้น ราชการตามปกติ แม้กฏก.พ.จะระบุว่าห้ามข้าราชการขาด ก็มีจำเลยที่ 5 พร้อมทั้งพ.ต.อ. พิสิษฐ์
ค
11
พิสทุ ธิศกั ดิ์ (ยศขณะนัน้ ) ซึง่ เป็นหนึง่ ในชุด จับกุมนายมะกะตา ฮารงกับพวก(ตามเอก สารหมาย จ.1) เป็นผู้นำเข้ามอบตัวด้วย •หลักฐานความเชื่อมโยงการใช้ โทรศัพท์ ามคำเบิ ก ความต่ อ ศาลของพนั ก งานสอบสวนในคดีนซ้ี ง่ึ ได้ตรวจสอบ ความถู ก ต้ อ งจากผู้ ช ำนาญการพิ เ ศษ องค์การโทรศัพ์แห่งประเทศไทย พบว่า การใช้โทรศัพท์พร้อมพิกัดสถานที่การใช้ โทรศัพท์นน้ั เป็นข้อมูลซึง่ บันทึกด้วยระบบ คอมพิวเตอร์สามารถตรวจสอบความถูก ต้องได้ แสดงให้เห็นว่านับแต่ช่วงเช้าวัน ที่ 12 มีนาคม 2547 จำเลยทั้ง 5 ได้ใช้โทรศัพท์ตดิ ต่อกัน และมีลกั ษณะการ เคลื่ อ นไหวและติ ด ตามตั ว นายสมชาย นีละไพจิตร ตั้งแต่เวลาเช้าจนถึงเวลาเกิด เหตุและหลังเกิดเหตุจำเลยที่ 5 ได้ติดต่อ กับ พ.ต.อ.พิสิษฐ์ พิสุทธิ์ศักดิ์ (ยศขณะนั้น) ซึ่งในวันที่ 6 ถึงวันที่ 11 มีนาคม 2547 มี การติดต่อกันระหว่างกลุ่มบุคคลดังกล่าว น้อยมาก แต่ในวันที่ 12 มีนาคม 2547 ซึง่ เป็นวันเกิดเหตุมีการติดต่อกันทางโทรศัพท์มากถึง 75 ครั้ง และหลังเกิดเหตุวันที่ 13 ถึง 15 มีนาคม มีการใช้โทรศัพท์ติด ต่อกันน้อยมาก แต่ในวันที่ 16 และ 17 มี นาคม2547ซึ่ ง เป็ น ช่ ว งของการพบรถ นายสมชาย นีละไพจิตร พบมีการติดต่อ กันระหว่างกลุม่ บุคคลดังกล่าวมากถึง 36 ครั้ง
ต
12
•หลักฐานทางนิติวิทยาศาสตร์ แม้จะพบรถของนายสมชาย นีละไพจิตร ซึ่งถูกนำมาจอดทิ้งไว้ แต่การตรวจสอบ ทางนิติวิทยาศาสตร์กลับไม่พบอะไรเลย นอกจากลายนิ้วมือและเส้นผมของนาย สมชาย และบุคคลในครอบครัว ทั้งที่ตาม คำให้การของประจักษ์พยานซึง่ เห็นว่าจำเลยที่ 2 เป็นผู้ขับรถนายสมชาย ออกไป หลังจากทีน่ ายสมชาย นีละไพจิตรถูกผลัก ขึน้ รถทีจ่ ำเลยทัง้ ง 5 ได้เตรียมมา จากการ พิจารณาคดีในศาลพนักงานอัยการ และ เจ้าหน้าที่กองพิสูจน์หลักฐาน สำนักงาน ตำรวจแห่งชาติได้แถลงต่อศาลว่าคดีนี้ไม่ สามารถหาหลักฐานทางนิติวิทยาศาสตร์ มาผูกมัดผู้กระทำความผิดได้เนื่องจาก จำเลยทั้ง 5 นั้นเป็นพนักงานสืบสวนสอบ สวน อีกทัง้ จำเลยที่ 5 เองก็เคยเข้ารับการ
อบรมการสื บ สวนและหาหลั ก ฐานจาก ออกไป สถาบัน FBI ประเทศสหรัฐอเมริกา จึงทำ •การคุกคาม และการแทรกแซง ให้สามารถทราบถึงวิธกี ารทำลายหลักฐาน การทำหน้าที่ของพนักงานสอบสวน เช่น ลายนิ้วมือแฝง และอาจเป็นสาเหตุที่ ม่เพียงแต่พยานที่ถูกคุกคาม แม้แต่ ทำให้ ไ ม่ พ บหลั ก ฐานหรื อ วั ต ถุ พ ยานใน พนักงานสอบสวนซึ่งทำคดีนี้เองก็มี รถยนต์ของนายสมชาย นีละไพจิตร ความรู้สึกไม่ปลอดภัยเช่นกัน ดังปรากฎ ตามเอกสารคำพิพากษาคดีหมายเลขดำ •ประจักษ์พยานในคดี ที่ ๑๔๖๙/๒๕๔๗ ระหว่างพล.ต.อ.สันต์ เนื่องจากนายสมชาย นีละไพจิตร ถูกบัง- ศรุตานนท์ โจทก์ กับ นายสนธิ ลิ้มทองกุล คั บ ให้ สู ญ หายบริ เ วณใจกลางกรุ ง เทพ- ที่ ๑ นางสาวสโรชา พรอุดมศักด์ ที่ ๒ มหานคร ในเวลาที่การจลาจรติดขัดและ จำเลยคดีหมิ่น ประมาทความผิดต่ อเจ้า ผู้คนพลุกพล่าน ทำให้มีประชาชนจำนวน พนักงาน โดยในคำพิพากาษาหน้าที่ ๒๑ ไม่น้อยเห็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เช่นจาก บรรทัดที่ ๑๑-๑๘ และในหน้าที่ ๒๒ การให้การของพยานรายหนึ่งที่เห็นเหตุ- บรรทัด ๑-๑๐ ว่า การณ์ได้โทรศัพ์แจ้งเหตุแก่ศูนย์แจ้งเหตุ “...และอดีตที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรี 191แต่พบว่ามิได้มีการตรวจสอบ ฝ่ายความมั่นคง ซึ่งเคยกำกับดูแลสำนัก อกจากเจ้าหน้าที่ได้บันทึกว่า ได้มา งานตำรวจแห่งชาติ คนเดียวกับคนที่ให้ ตรวจสอบสถานที่ รั บ แจ้ ง เหตุ แ ล้ ว ข้ อ เท็ จ จริ ง เกี่ ย วกั บ ปั ญ หาภาคใต้ ใ นคำ แต่ไม่พบเหตุร้ายใดๆ นอกจากนี้ยังพบ ฟ้องข้อ ๓.๔ ได้เบิกความว่าในกรณีของ มีประจักษ์พยานซึ่งพบเห็นเหตุการณ์ใน นายสมชาย นีละไพจิตร ที่หายตัวไป ทีเ่ กิดเหตุหลายคน แต่ดว้ ยความล้มเหลว พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ รองนายกรัฐมนของการคุ้มครองพยานในประเทศไทย จึง ตรี สั่ ง ให้ มี ก ารดำเนิ น คดี ใ นเรื่ อ งนี้ ใ ห้ ไ ด้ ทำให้พยานหลายคนกลับคำให้การในชั้น ซึ่งหัวหน้าพนักงานสอบสวนผู้บัญชาการ ศาลและไม่กล้ามาให้การเป็นพยาน ตำรวจนครบาลและผู้ ช่ ว ยผู้ บั ญ ชาการ อย่างไรก็ดีมีผู้หญิงคนหนึ่งที่เห็น ตำรวจแห่ ง ชาติ ซึ่ ง รั บ ผิ ด ชอบเรื่ อ งนี้ ข อ เหตุการณ์และยินดีให้การเป็นพยานโดย พบกับพล.อ.ชวลิตในทีล่ บั และรายงานว่ามี ได้ ชี้ จ ำเลยที่ 1 ว่ า คล้ า ยคนที่ ผ ลั ก นาย อุ ป สรรคในการดำเนิ น คดี ม ากขอให้ สมชาย นีละไพจิตร ขึ้นรถที่เตรียมมา ใน พล.อ.ชวลิต ให้การสนับสนุนในการปฎิขณะทีช่ ายอีกคนหนึง่ ขับรถของนายสมชาย บัติหน้าที่และช่วยคุ้มครองให้พวกเขาถูก
ไ
น
13
กดดันซึ่งพยานเห็นว่าการที่มาขอพบใน ที่ลับ อาจเป็นเพราะได้รับแรงกดดันและ ได้มีอุปสรรคมาก...” และ “...นอกจากนี้การที่พนักงานสอบสวนผู้ บั ญ ชาการตำรวจนครบาลและผู้ ช่ ว ยผู้ บั ญ ชาตำรวจแห่ ง ชาติ ซึ่ ง รั บ ผิ ด ชอบ เรื่องของนายสมชาย นีละไพจิตรขอเข้าพบ พล.อ.ชวลิต เป็นการลับและขอให้ช่วยคุ้ม ครองทำให้ มี เ หตุ อั น ควรเชื่ อ ได้ ว่ า มี ผู้ มี อำนาจมากกว่าพนักงานสอบสวนดังกล่าว ได้ เ ข้ า มาเกี่ ย วข้ อ งในการปฎิ บั ติ ห น้ า ที่ ของพนักงานสอบสวนในอันทีจ่ ะไม่ทำให้ เกิดความชัดเจนโปร่งใสของเรือ่ งดังกล่าว...”
สิงหาคม 2548 ในคดีความผิดต่อเสรีภาพ และปล้ น ทรั พ ย์ ศ าลอาญากรุ ง เทพฯได้ อ่านคำพิพากษา คดีหมายเลขดำที่ 1952 / 2547 และคดีหมายเลขแดงที่ อ. 48 / 2549 เมื่อวันที่ 12 มกราคม 2549 โดยมีความสรุปว่า “ศาลพิ เ คราะห์ พ ยานหลั ก ฐาน แล้ว โจทก์มีพยานเป็นพนักงานสอบสวน เบิกความสอดคล้องตรงกันทั้งเวลาและ สถานที่ทำให้เชื่อโดยปราศจากข้อสงสัย ว่านายสมชายหายตัวไปจริง ส่วนการที่ โจทก์นำข้อมูลการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ ของจำเลยทั้ง 5 ที่ติดต่อกันหลายครั้งใน สถานทีต่ า่ งๆ ในช่วงวันเวลาก่อนเกิดเหตุ •คำพิพากษา และในวันเกิดเหตุที่นายสมชายหายตัวไป ลังจากใช้เวลาในการพิจารณาคดี ศาลเห็ น ว่ า ยั ง มี ข้ อ สงสั ย ในเอกสาร ก า ร สู ญ ห า ย ข อ ง น า ย ส ม ช า ย หลักฐานการใช้โทรศัพท์เนื่องจากโจทก์ นีละไพจิตรเป็นเวลา 7 เดือน นับแต่เดือน ไม่ได้นำ ผู้ช่วยผู้บัญชาการสำนักงาน ตำรวจแห่งชาติ(ผช.บตร)และรองผู้บัญชาการตำรวจนครบาล (ผบ บชน.)ที่อ้างว่า เป็นผูป้ ระสานขอเอกสารดังกล่าว จากบริษัท โทรศัพท์เคลื่อนที่มาเบิกความยืนยันใน ชั้นศาล ทำให้ฝ่ายทนายจำเลยไม่สามารถ ซั ก ค้ า นในประเด็ น ดั ง กล่ า วได้ จึ ง ไม่ มี น้ำหนักเพียงพอ “ “ ...นอกจากนี้ ศาลยังมีประจักษ์พยาน 3 คน ระบุรูปพรรณสัณฐานของจำเลยที่ 1 คือพ.ต.ต.เงินได้ชัดเจนว่าเป็นคนรูปร่าง ใหญ่ ศีรษะล้าน รวมถึงชี้ภาพได้ถูกต้อง
ห
14
และยืนยันว่าขณะเกิดเหตุเห็นพ.ต.ต.เงิน (จำเลยที่ 1 )เป็ น ผู้ ที่ผ ลักนายสมชายเข้า ไปในรถ โดยประจักษ์พยานทั้ง 3 ไม่เคย มีเรื่องหรือมีสาเหตุโกรธเคืองกันมาก่อน เชื่อได้ว่าเป็นการเบิกความโดยสุจริตใจ ส่วนที่จำเลยอ้างว่าสาเหตุที่พนักงานสอบ สวนของ บช.น. ทำสำนวนคดีเพื่อปรัก ปรำให้จำเลยทั้งหมดได้รับโทษเนื่องจาก ความขัดแย้งระหว่าง กองปราบปราม กับ บช.น.เป็ น การกล่ า วอ้ า งเพี ย งลอยๆ ไม่มีน้ำหนักแต่อย่างใด ส่วนในข้อหาร่วม กันปล้นทรัพย์นั้น โจทก์ไม่มีประจักษ์ พยานที่สามารถยืนยันได้ว่าพ.ต.ต.เงินได้ ร่วมกับพวกก่อเหตุดงั กล่าว จึงยกประโยชน์ แห่งความสงสัยให้จำเลย ..” “..ศาลพิ เ คราะห์ แ ล้ ว เห็ น ว่ า 15
พ.ต.ต.เงินกระทำผิดฐานทำร้ายร่างกาย ผู้อื่น ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 319 วรรค 1 และร่วมกันข่มขืนใจผู้อื่น ให้ ก ระทำการใดหรื อ ไม่ ก ระทำการใด โดยใช้กำลังประทุษร้ายตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 309 วรรค 2 ให้ลง โทษในบทหนักสุดฐานกักขังหน่วงเหนี่ยว เป็นเวลา 3 ปี ส่วนจำเลยที่ 2-5 ให้ยกฟ้อง เนื่ อ งจากไม่ มี พ ยานหลั ก ฐานในการ กระทำผิดตามฟ้อง” (อ่านต่อฉบับหน้า)
สัพเพเหระ
จาก “ฮัจยีสุหลง” ถึง “ทนายสมชาย”
เอกรินทร์ ต่วนศิริ นิสิตปริญญาโท คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย http://www.prachatai.com/journal/2010/03/28145
วันศุกร์ที่ 13 สิงหาคม พ.ศ.2497 ฮัจยีสุหลง บินอับดุลกาเดร์ และคณะรวม 4 ท่าน เดิน ทางไปยังจังหวัดสงขลาเพื่อเข้าพบผู้บังคับ การหน่วยสันติบาล มีแต่คำบอกเล่าจากคน เฝ้ามัสยิดที่หาดใหญ่จังหวัดสงขลาเท่ า นั้ น ที่ ว่ า เห็ น บุ ค คลทั้ ง สี่ ล ะหมาดที่ มั ส ยิ ด ตอน เทีย่ งของวันของวันศุกร์ที่13 สิงหาคมโดยมี ตำรวจพร้อมอาวุธครบมือควบคุมอยู่จากนั้น ฮัจยีสุหลงกับพวกก็หายสาบสูญไป นับจากวันนั้นจนถึงวันนี้ก็เป็นเวลา ร่วม 56 ปีแล้ว โดยที่ไม่มีคำตอบใดๆ จากรัฐ ทว่าคำตอบในหัวใจของประชาชนในพื้นที่ก็ คือ เป็นการกระทำของเจ้าหน้าที่รัฐ! เวลา 20.30 น.ของวันที่ 12 มีนาคม พ.ศ.2547 สมชาย นีละไพจิตร ประธาน ชมรมนั ก กฎหมายมุ ส ลิม เดิน ทางออกจาก โรงแรมชาลีนาในซอยมหาดไทยย่านลาดพร้าว-รามคำแหง มีกลุ่มชายฉกรรจ์จำนวน 16
5-6 คนขับรถยนต์สะกดรอยตามเขาในระยะ กระชั้นชิด ครั้นถึงบริเวณหน้าร้านแม่ลาปลา เผา เยื้องกับสถานีตำรวจนครบาลหัวหมาก รถที่ขับตามหลังได้ขับชนท้ายรถของทนาย สมชายเมื่ อ เขาหยุ ด รถเพื่ อ ลงไปพู ด คุ ย ก็ถูกกลุ่มชายฉกรรจ์ล็อคตัว และผลักเข้าไป ในรถยนต์ของกลุ่มชายฉกรรจ์จากนั้นก็พา ตัวทนายสมชายหายไป นีค่ อื เหตุการณ์ทเ่ี กิด ขึ้ น กลางเมื อ งหลวงอั น เป็ น ศู น ย์ ก ลาง อำนาจของรัฐไทย แถมยั ง เกิ ด ตรงข้ า มกั บ สถานี ต ำรวจ และจากวันนั้นถึงวันนี้ ก็นับเวลาได้ 6 ปีแล้ว แต่ ก็ ยั ง ไม่ มี ค ำตอบจากรั ฐ เช่ น กั น ไม่ ว่ า จะ เป็นรัฐบาลชุดใด การถูกบังคับให้สูญหาย (disappeared) ของบุ ค คลทั้ ง สองชั ด เจนว่ า เป็ น บุ ค คลที่ ถือเป็นปฏิปักษ์ต่อการดำเนินนโยบายรักษา ความสงบในพื้นที่ชายแดนภาคใต้ของไทย เริ่มตั้งแต่การลุกขึ้นมาใช้“พื้นที่ทางการเมือง” ของฮั จ ยี สุ ห ลงซึ่ ง เป็ น วิ ธี ก ารอั น ก้ า วหน้ า มากที่ สุ ด ของการเมื อ งภาคประชาชนใน ยุคนั้นกล่าวคือเขาได้นำข้อเสนอต่างๆ ที่ได้ มาจากมติ ก ารประชุ ม ของกลุ่ ม ตั ว แทน ประชาชนในปัตตานี นำเสนอเป็นแนวทางแก้ ไขปัญหาต่อรัฐบาลกลางรวม 7 ข้อ (เนื้อหา
ส่วนใหญ่เป็นการเรียกร้องขอสิทธิปกครอง ตนเองบางระดับแก่คนมุสลิมในจังหวัดชาย แดนภาคใต้) แต่สุดท้ายสิ่งที่เขาและพวกได้ รับก็คือ...ถูกกำจัด! ข้อเสนอของฮัจยีสุหลงซึ่งหลาย คนเชื่อว่าน่าจะเป็นจุดเริ่มต้นของการแก้ไข ปัญหาชายแดนภาคใต้อย่างยั่งยืน จึงเป็น ได้แค่เพียงประวัติศาสตร์ท้องถิ่น และแม้วัน นี้จะมีเสียงเรียกร้องจากท้องถิ่นว่าด้วยเรื่อง “เขตปกครองพิเศษ” หรือการจัดการปกครอง ท้องถิ่นรูปแบบใหม่เช่นกัน แต่รัฐบาลยุคปัจจุ บั น ก็ ไ ม่ คิ ด ใส่ ใ จหยิ บ ยกให้ เ ป็ น ประเด็ น สาธารณะเพื่อให้เกิดข้อถกเถียงอย่างกว้าง ขวาง เพื่อนำไปสู่แนวทางที่เหมาะสมและ สมบูรณ์ ขณะที่ ทนายสมชาย นีละไพจิตร นักกฎหมายมุสลิมชาวหนองจอก ได้พาตัว เองเข้าไปสู่การเป็นทนายให้กับกลุ่มผู้ต้อง หาคดีความมั่นคงจากจังหวัดชายแดนภาค ใต้ และล่ารายชือ่ เพือ่ เพิกถอนกฎอัยการศึก ซึ่ ง เขาเห็ น ว่ า เป็ น การละเมิ ด สิ ท ธิ เ สรี ภ าพ และความเป็นอยูข่ องประชาชนใน พืน้ ที่ โดย อาศัยช่องทางตามรัฐธรรมนูญฉบับปี 2540 ด้วยการล่ารายชื่อประชาชนจำนวน 50,000 ชื่อเพื่อยื่นเสนอต่อรัฐสภาถือว่าเป็นการท้า ทายอำนาจรั ฐ อย่ า งตรงไปตรงมาอั ด แน่ น ด้วยความเชื่อมั่นในกฎหมายและกระบวน การยุติธรรม! กล่าวโดยสรุปการเคลื่อนไหวของ ฮัจยีสุหลงและทนายสมชาย แม้จะมีความ แตกต่างกันในรายละเอียดอยู่บ้าง แต่ทั้ง 17
สองก็ มี ค วามเหมื อ นกั น ในเรื่ อ งของสิ ท ธิ เสรีภาพและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของผู้ คนในท้องถิ่น ซึ่งรัฐไทยไม่เคยยอมรับหรือ เข้าใจ สิ่งที่น่าสลดและน่าสงสารก็คือ เจ้า หน้าที่รัฐบางคนบางกลุ่มกลับเลือกใช้วิธีการ ที่ไร้อารยะกับบุคคลทั้งสอง สะท้อนให้เห็น ว่าถึงแม้รัฐจะมีเครื่องมือทุกอย่างพร้อม แต่ ก็ ข าดความกล้ า หาญในการเผชิ ญ หน้ า กั บ คนธรรมดาที่ไม่มีทั้งอำนาจและปืน การก้าวขึ้นมาเป็นผู้นำรัฐนาวาของ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เขาเคยประกาศใน ช่วงที่เข้ารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีใหม่ๆ ว่าจะเร่งรัดและเอาจริง เอาจัง กับคดีทนาย สมชาย แต่จนถึงปัจจุบันก็ยังไม่มีความคืบ หน้าที่เห็นเป็นรูปธรรม (อาจมีการพูดถึง ความเอาจริงเอาจังอีกครั้งในวันที่ 12 มีนาฯ ในวาระครบ 6 ปีที่ทนายสมชายถูกบังคับ ให้สูญหาย) การยอมรับความจริงอันเจ็บปวด หรือการเผชิญหน้ากับความความจริงอย่าง กล้าหาญ ดูเหมือนจะยังไม่เคยเกิดขึ้นจาก กลไกรัฐในสังคมไทย... ท้ายที่สุดไม่ว่าระหว่างบรรทัดของ การเมื องไทยจะจั ด วางบุ ค คลทั้ ง สองไว้ ใ น ฐานะอะไร “กบฏ” หรือ “วีรบุรุษ” “ทนายโจร” หรือ “นักต่อสูเ้ พือ่ สิทธิมนุษยชน” แต่ สำหรับ ผู้คนในจังหวัดชายแดนภาคใต้แล้ว ทั้งฮัจยีสุ หลงและทนายสมชายจะเป็นตำนานเล่าขาน ของผู้คนในท้องถิ่นในฐานะเหยื่อของอำนาจ รัฐสืบไป
ลูกนาย ก.
แถลงการณ์ ขอแสดงความเสียใจต่อการเสียชีวิตของ พ.ต.อ.สมเพียร เอกสมญา และ ผู้บริสุทธิ์ทุกคนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ แม้ ห น่ ว ยงานความมั่นคงจะประเมินสถานการณ์ ความรุ น แรงในจั ง หวั ด ชาย แดนภาคใต้ว่าดีขึ้นเป็นลำดับ แต่กลับพบว่าในระยะเวลาเดือนเศษที่ผ่านมา มีความรุนแรง เกิดขึ้นต่อทั้งเจ้าหน้าที่รัฐและประชาชนเพิ่มมาก ขึ้น ไม่ ว่าจะเป็นการลอบสังหารประชาชน ทัง้ พุทธและมุสลิมโดยกองกำลังไม่ทราบฝ่าย การยิงและเผาเพือ่ ทำลายศพการเกิดระเบิดบ่อยครั้ง มากขึ้น จนกระทั่งเหตุการณ์ล่าสุดเมื่อวันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๕๓ เมื่อรถของเจ้าหน้าที่ตำรวจ ถูกระเบิด และถูกยิงซ้ำจนเจ้าหน้าที่ตำรวจ ระดับสูงคือ พ.ต.อ.สมเพียร เอกสมญา เสียชีวิต คณะทำงานยุ ติ ธ รรมเพื่ อ สั น ติ ภ าพขอแสดงความเสี ย ใจต่ อ ครอบครั ว ของ พ.ต.อ.สมเพียร เอกสมญา ซึ่งการเสียชีวิตของพ.ต.อ.สมเพียร ไม่เพียงเป็นการแสดง เห็นถึงความรุนแรงที่เพิ่มขึ้นในจังหวัดชายแดนภาคใต้ แต่ยังเป็นการแสดงถึงความ อ่อนแอของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ที่ไม่ใส่ใจต่อทุกข์สุขและข้อเรียกร้องของเจ้าหน้าที่ชั้น ผู้นอ้ ย โดยยอมให้การเมืองและผลประโยชน์เข้ามามีอทิ ธิพลต่อการจัด สรรตำแหน่งมากกว่า การคำนึงถึงความเหมาะสม และความเป็นธรรมของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติหน้าที่ คณะทำงานฯจึงมีข้อเรียกร้องต่อรัฐบาล ดังนี้ ๑. ขอให้ ร ั ฐ บาลให้ ก ารเยี ย วยาแก่ ค รอบครั ว พ.ต.อ.สมเพี ย ร เอกสมญา ทั้งด้านจิตใจและความยุติธรรม โดยเท่าเทียมกับผู้สูญเสียและผู้ได้รับผลกระทบทุกคน ๒. ขอให้ ร ั ฐ เร่งรัดให้มีการปฏิรูปองค์กรตำรวจ โดยเน้ น การกระจายอำนาจ เพื่อให้เจ้าหน้าที่ตำรวจสามารถปฏิบัติงานและรับผิดชอบต่อหน้าที่ได้อย่างเต็มที่สมศักดิ์ศรี ปราศจากการแทรกแซงใดๆ ๓. ขอให้เจ้าหน้าทีร่ ฐั ยึดหลักนิตธิ รรมและสันติวธิ เี ป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาอย่าง แท้จริง โดยอดทน อดกลัน้ ต่อการยัว่ ยุตา่ งๆ อีกทัง้ ควรให้ภาคประชาชนมีสว่ นร่วมในการแก้ ไขปัญหา พร้อมทั้งเสนอความคิดเห็น เพื่อสร้างความปรองดอง และนำความสงบสุขสันติให้ คืนกลับสู่จังหวัดชายแดนภาคใต้โดยเร็วที่สุด คณะทำงานยุติธรรมเพื่อสันติภาพ ขอชื่นชม และเป็นกำลังใจให้กับเจ้าหน้าที่ทุก ท่านซึ่งปฏิบัติหน้าที่โดยยึด หลักนิติธรรมอย่างเคร่งครัด ในการแก้ปัญหาความไม่สงบใน จังหวัดชายแดนภาคใต้ ด้วยความเชื่อมั่นว่าความยุติธรรม และการเคารพหลักสิทธิมนุษย -ชนจะสามารถนำมาซึ่งสันติภาพที่ยั่งยืน 18
6 ปีที่หายไป ทนายสมชาย นีละไพจิตร หกปีที่หายไป มีอะไรคืบหน้าในวันนี้ ความรุนแรงภาคใต้ทบทวี ตำรวจชั่วได้ดีกันทุกคนฯ แผ่นดินนี้ชีวิตเหมือนผักปลา ใครอยากอุ้มใครฆ่าใครสูญหาย นับจำนวนจนบัดนี้มีมากมาย แต่ละรายปวดร้าวทุกครอบครัวฯ ทนายสมชายคนดีของพี่น้อง สู้ปกป้องมุสลิมทุกถิ่นที่ หวังความเป็นธรรมจักเกิดมี เขาต้องพลีชีพหายไร้ร่องรอยฯ คนที่อุ้มมันหนีไปเกาะกง อยุติธรรมยังคงผงาดเผย คนดีดีต้องก้มหน้าไม่กล้าเงย โอ้เพื่อนเอ๋ยแผ่นดินนี้อยุติธรรมฯ กี่พี่น้องบริสุทธิ์ต้องสาบสูญ ทุกครอบครัวอาดูรไม่จบสิ้น กระดูกเลือดน้ำตาต้องหลั่งริน ทั่วแผ่นดินเดือดร้อนลุกเป็นไฟฯ จะเรียกร้องความเป็นธรรมจากโจรหรือ จักต้องร่วมมือหนึ่งเดียวมั่น ลุกขึ้นสู้เคลื่อนไหวพร้อมเพรียงกัน เป็นกำปั้นแห่งธรรมนำชัยมาฯ เพื่อคนที่สูญหายนอนตาหลับ เราต้องจับคนอุ้มฆ่ามาลงโทษสิ้น ความเป็นธรรมเกิดได้บนแผ่นดิน ทุกท้องถิ่น สุขสงบ สันติธรรม
วสันต์ สิทธิเขตต์ 12 มีนาคม 2553 จิตคารวะดวงวิญญาณผู้สูญหายทุกคน ขอเป็นกำลังใจต่อสู้เพื่อความยุติธรรมของญาติพี่น้องทุกครอบครัว
19
ร่วมปกป้องคนที่ คุณรัก ร่วมกันรณรงค์ให้ประเทศไทยลงนามและให้สัตยาบัน อนุสัญญาระหว่างประเทศ “ว่าด้วยการคุ้มครองบุคคลทุกคนจากการบังคับให้สูญหาย” “มนุษย์ทุกคนต่างเกิดมาเท่าเทีมยวกัน และจะต้องไม่ถูกทำให้สูญหาย โดยปราศจากการค้นหาหรือการแสดงความรับผิดชอบจากรัฐ”
มูลมูนิลธนิิยธุติยิธุตรรมเพื ิธรรมเพื่อสั่อนสัตินภติาพ ภาพ