World Wetlands Day 2010 : Caring For Wetlands : an answer to climate change

Page 1

วัน พื้นที่ชุ่มน้ำ โลก 2 กุมภาพันธ์

หน้า 4

ความหลากหลายทางชีวภาพของ พื้นที่ชุ่มน้ำ สถานการณ์ในปัจจุบัน เป็นอย่างไร?

หน้า 9

หน้า 6

เราได้ทำอะไร และเรากำลังทำอะไร ที่เป็นสาเหตุของการสูญเสีย พื้นที่ชุ่มน้ำ?

หน้า 11 จะทำเพื่อพื้นที่ชุ่มน้ำ

ได้อย่างไรบ้าง?

หน้า 7

ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศต่อระบบนิเวศ และชนิดพันธุ์สิ่งมีชีวิตเป็นอย่างไร?

หน้า 7

การสื่อสารข่าวสาร เกี่ยวกับพื้นที่ชุ่มน้ำ

สิ่งเหล่านี้มีความหมายอย่างไร ต่อประชาชนทั่วไป?

อ นุ สั ญ ญ า แ ร ม ซ า ร์ ว่ า ด้ ว ย พื้ น ที่ ชุ่ ม น ้ำ

การดูแลรักษาพื้นที่ชุ่มน้ำ

คำตอบสำหรับการแก้ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ


วันพื้นที่ชุ่มน้ำโลก


บทนำ

อ นุ สั ญ ญ า แ ร ม ซ า ร์ ว่ า ด้ ว ย พื้ น ที่ ชุ่ ม น ้ำ

ความห่วงใยในปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ หมายถึง ความห่วงใยในพื้นที่ชุ่มน้ำ หมายถึง ความห่วงใยในความหลากหลายทางชีวภาพ “การสูญหายของชนิดพันธุ์...การขาดแคลนอาหาร...การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ... ความแห้งแล้ง...การเพาะปลูกล้มเหลว...การขาดแคลนน้ำ...การปรับตัว...อาหาร...การบรรเทา... โลกร้อน...ระดับคาร์บอนไดออกไซด์...การสูญพันธุ” ์ คำ

ต่างๆ เหล่านีป้ รากฏตามหน้าหนังสือพิมพ์ โทรทัศน์ และวิทยุ สิ่งที่อยู่เบื้องหลังคำต่างๆ เหล่านี้คือการใช้ประโยชน์ การใช้ประโยชน์ในทางทีผ่ ดิ และการปฏิเสธถึงผลกระทบของมนุษย์ ต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งเกิดขึ้นมานาน โดยสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคตคุณ จะเป็นผู้กำหนด ในปี พ.ศ. 2537 มีการรับรอง อนุสัญญาสหประชาชาติ ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change หรือ UNFCC) ทำให้ ม ี ก ารยอมรั บ ถึ ง การเกิ ด ปั ญ หาการเปลี ่ ย นแปลงสภาพ ภู ม ิ อ ากาศอั น เนื ่ อ งมาจากกิ จ กรรมของมนุ ษ ย์ ซึ ่ ง เป็ น เรื ่ อ ง ทีท่ า้ ทายมากในช่วงเวลาดังกล่าวทีห่ ลักฐานทางวิทยาศาสตร์ตา่ งๆ มีนอ้ ยกว่าในปัจจุบนั มาก และแม้แต่ในปัจจุบนั ก็ยงั คงมีคนบางกลุม่ ที่ยังคงไม่ยอมรับหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ต่างๆ เกี่ยวกับภาวะ โลกร้อน โดยในปี พ.ศ. 2545 อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลาย ทางชีวภาพ ซึ่งเป็นอนุสัญญาในระดับโลกที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับ ความหลากหลายทางชีวภาพของโลก ได้ดำเนินการรณรงค์เพื่อ ลดอั ต ราการสู ญ เสี ย ความหลากหลายทางชี ว ภาพในปั จ จุ บ ั น ทัง้ ในระดับโลก ระดับภูมภิ าค และระดับชาติ ภายในปี พ.ศ. 2553 ซึ่งเรียกว่า “เป้าหมาย 2553” หรือ “2010 target” และในปีน ี้ ทางสหประชาชาติได้ประกาศให้เป็น ปีสากลของความหลากหลาย ทางชีวภาพ ซึ่งการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเป็นเพียงหนึ่ง ในหลายๆ ปัจจัยที่ทำให้เกิดการสูญเสียความหลากหลายทาง ชีวภาพ หัวข้อสำหรับวันพืน้ ทีช่ มุ่ น้ำโลกสำหรับปีนใ้ี ห้ความสำคัญ กับประเด็นหลักทั้งสองประการ คือ การสูญเสียความหลากหลาย ทางชีวภาพและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยจะแสดง ถึง ความสัมพันธ์กันและประเด็นเหล่านี้มีความสำคัญ อย่างไร ต่ อ พื ้ น ที ่ ช ุ ่ ม น้ ำ และผู ้ ค น เราจะพิ จ ารณาถึ ง บทบาทหน้ า ที ่

ของคนที่เป็นปัจจัยขับเคลื่อนการเกิดการสูญเสียความหลากหลาย ทางชีวภาพและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และเราจะทำ อย่างไรได้บ้างในการหาทางแก้ปัญหาดังกล่าว พื้นที่ชุ่มน้ำมีความ เปราะบางต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่มีสาเหตุจาก มนุษย์ แต่ถ้าเรามีการจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำอย่างดี ระบบนิเวศ พื้นที่ชุ่มน้ำและความหลายหลายทางชีวภาพในพื้นที่ชุ่มน้ำจะมี บทบาทหน้าที่ในการบรรเทาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และจะมีบทบาทสำคัญในการช่วยมนุษย์ในการปรับตัวต่อการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเนื่องจากบทบาทหน้าที่ที่สำคัญของ พื้นที่ชุ่มน้ำในส่วนที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงด้านอาหารและน้ำ ดังเช่นทีป่ รากฏใน คำขวัญของวันพืน้ ทีช่ มุ่ น้ำโลกสำหรับปี พ.ศ. 2553 คือ การดูแลรักษาพืน้ ทีช่ มุ่ น้ำเป็นส่วนหนึง่ ของวิธกี ารแก้ปญ ั หาการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ก่อนทีจ่ ะให้ความสนใจกับพืน้ ทีช่ มุ่ น้ำ ควรจะให้ความสนใจ กับมนุษย์และการปฏิบตั ติ วั ทีส่ ง่ ผลต่อสิง่ แวดล้อม การเปรียบเทียบ ผลกระทบของกิจกรรมของมนุษย์ต่อสิ่งแวดล้อมทั่วโลกแสดงใน รายงานการประเมินของ WWF เกีย่ วกับ the human ecological footprint ซึ่งเส้นกราฟที่อยู่ในหน้ากลางของรายงานแสดงให้เห็น ถึงความต้องการของเราที่ต้องการที่ดินและทะเลที่มีความอุดม สมบูรณ์ทางชีวภาพ สำหรับเป็นแหล่งทรัพยากรในการใช้ประโยชน์ และการดูดซับของเสียที่เกิดขึ้น ซึ่งมีความต้องการอยู่ระหว่าง 10 เฮกแตร์/ คน ในประเทศทีร่ ำ่ รวยทีส่ ดุ จนถึงต่ำกว่า 1 เฮกแตร์/ คน ในประเทศกำลังพัฒนาหลายๆ ประเทศ กรุณาให้ความสนใจกับ ข้อมูลดังกล่าวรวมถึงข้อมูลในแผ่นพับฉบับนีเ้ กีย่ วกับความแตกต่าง ในผลผลิตของก๊าชเรือนกระจกที่เกิดจากการใช้เชื้อเพลิงซาก ดึกดำบรรพ์ (fossil fuel) จึงควรที่จะมีการประกาศอย่างจริงจัง เกี ่ ย วกั บ การรั บ ผิ ด ชอบหรื อ บางที อ าจจะเป็ น การเตื อ นตั ว เอง ถึงความรับผิดชอบของบุคคลหรือประเทศ

วันพื้นที่ชุ่มน้ำโลก


อ นุ สั ญ ญ า แ ร ม ซ า ร์ ว่ า ด้ ว ย พื้ น ที่ ชุ่ ม น ้ำ

ความหลากหลายทางชีวภาพของพื้นที่ชุ่มน้ำ สถานการณ์ในปัจจุบันเป็นอย่างไร? ค

วามหลากหลายทางชีวภาพ หมายถึ ง อะไร? สำหรั บ คนส่ ว นใหญ่ ความหลากหลายทางชีวภาพ หมายถึง ชนิดพันธุ์ เช่น เสือ หมีขว้ั โลก ฮิปโป และ กบ มีคนจำนวนไม่มากนักที่เข้าใจว่าความ หลากหลายทางชี ว ภาพไม่ ใ ช่ ห มายถึ ง เพี ย งแค่ ช นิ ด พั น ธุ ์ แต่ ห มายรวมถึ ง ระบบนิเวศ และยีน (หน่วยพันธุกรรม) ซึง่ สิ่งต่างๆ เหล่านี้ คือหัวข้อหลักของ วันพื้นที่ชุ่มน้ำโลกด้วยเช่นเดียวกัน สิ่งมีชีวิตทุกชนิดเป็นส่วนหนึ่ง ของหน่วยการทำงาน (functional unit) ซึง่ ประกอบด้วย ระบบนิเวศ ความซับซ้อน ของสังคมพืช สัตว์ และสิง่ มีชวี ติ ขนาดเล็ก ซึง่ เกิดการเปลีย่ นแปลงตลอดเวลา รวมถึง สิง่ แวดล้อมทีไ่ ม่มชี วี ติ (เช่น น้ำ ดิน แร่ธาตุ และอื่นๆ) มีความสัมพันธ์กันเป็นหน่วย การทำงาน มีหลักฐานหลากหลายที่แสดง ให้ เ ห็ น ว่ า การดำรงชี ว ิ ต สมั ยใหม่ เ ป็ น สาเหตุของการสูญเสียความหลากหลาย ทางชีวภาพในระดับโลกอย่างทีไ่ ม่เคยเป็น มาก่ อ น และการเปลี ่ ย นแปลงสภาพ ภูมิอากาศก็ทำให้สถานการณ์ดังกล่าว แย่ ล งมาก ข้ อ มู ล ในกรอบด้ า นขวา แสดงถึ ง การสู ญ หายของชนิ ด พั น ธุ ์ ที่ขึ้นอยู่กับพื้นที่ชุ่มน้ำ บทสรุปคืออะไร? ชนิ ด พั น ธุ ์ ใ นพื ้ น ที ่ ช ุ ่ ม น้ ำ กำลั ง ประสบ ปั ญ หาใหญ่ เช่ น เดี ย วกั บ ระบบนิ เ วศ พื้นที่ชุ่มน้ำ ซึ่งเป็นสิ่งที่ผู้คนทั้งหลาย ควรจะตระหนัก ปัจจัยเหล่านี้ในที่สุด จะส่งผลต่อความร่ำรวยหรือความยากจน รวมถึงการดำรงชีวิตของผู้คน

วันพื้นที่ชุ่มน้ำโลก

ชนิดพันธุ์ในพื้นที่ชุ่มน้ำกำลังถูกคุกคาม

(ข้อมูลจาก IUCN Red List, Birdlife International และ Wetlands International)

นกน้ำ

• จากรายชือ่ นกน้ำทัง้ หมด 826 ชนิด ของ Birdlife International มีถงึ 17% ทีไ่ ด้รบั การพิจารณา ว่าเป็นชนิดพันธุ์ที่ถูกคุกคาม • จากประชากรนกน้ำ 1,138 กลุม่ ประชากร ทีท่ ราบถึงแนวโน้มการเปลีย่ นแปลง มีถงึ 41% ทีม่ ี จำนวนประชากรลดลง • นกน้ำถูกคุกคามมากกว่านกประเภทอืน่ ๆ และสถานภาพของนกน้ำเสือ่ มโทรมลงเร็วกว่าในช่วง 20 ปีที่ผ่านมาก

สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ชุ่มน้ำ

• 38% ของชนิดพันธุท์ อ่ี าศัยอยูใ่ นน้ำจืด ถูกประเมินว่าเป็นชนิดพันธุท์ อ่ี ยูใ่ นสถานภาพถูกคุกคาม ของโลก ซึ่งประกอบด้วยกลุ่มสัตว์ เช่น พะยูน และโลมาแม่น้ำ ซึ่งทุกชนิดถูกประเมิน ว่าเป็นชนิดพันธุ์ที่ถูกคุกคาม • สัตว์เลีย้ งลูกด้วยนมทีอ่ าศัยในพืน้ ทีช่ มุ่ น้ำถูกคุกคามมากว่าสัตว์เลีย้ งลูกด้วยนมทีอ่ าศัยบนบก (21% อยู่ในสถานภาพถูกคุกคาม) และนกน้ำ

ปลาน้ำจืด

• 33% ของชนิดพันธุ์ปลาน้ำจืดในโลกได้รับการประเมินว่าอยู่ในภาวะถูกคุกคาม

สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ

• 26% ของชนิดพันธุ์สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำในโลกถูกพิจารณาว่าถูกคุกคาม • สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำทั้งหมดถูกจัดการอย่างไม่เหมาะสม ซึ่งประกอบด้วย สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ ที่อาศัยอยู่บนบก (ส่วนใหญ่ในป่า) และชนิดพันธุ์ที่อาศัยในน้ำจืด โดย 29% ของชนิดพันธุ์ ทั้งหมดกำลังถูกคุกคาม • อย่างน้อย 42% ของชนิดพันธุ์สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำทั้งหมดที่ได้รับการประเมิน กำลังมีจำนวน ประชากรลดลง และเพียงน้อยกว่า 1% ที่มีจำนวนประชากรเพิ่มขึ้น

เต่า

• 72% จากเต่าน้ำจืด 90 ชนิด ที่ได้รับการประเมินว่าอยู่ในสถานภาพถูกคุกคามของโลก • เต่าทะเล 6 ชนิด จาก 7 ชนิด ถูกบันทึกว่าเป็นชนิดพันธุท์ ถ่ี กู คุกคาม ซึง่ แม้วา่ จะใช้เวลาส่วนใหญ่ ในทะเล แต่เต่าทะเลก็ใช้พื้นที่ชุ่มน้ำชายฝั่งทะเลสำหรับการผสมพันธุ์และการหาอาหาร

จระเข้

• 43 % ของสัตว์ในกลุ่มจระเข้อยู่ในภาวะถูกคุกคาม แม้ว่าข้อมูลดังกล่าวส่วนใหญ่จะเป็น การประเมินทีด่ ำเนินการมากว่า 10 ปีกอ่ น ข้อมูลล่าสุด (ปี พ.ศ. 2543) ระบุวา่ 3 ใน 5 ชนิดทีไ่ ด้รบั การประเมินอยู่ในภาวะถูกคุกคาม (60%)

ปะการัง

• 27% ของชนิดพันธุ์ที่สร้างหินปะการังที่ถูกประเมิน ได้รับการพิจารณาว่าเป็นชนิดพันธุ์ที่ถูก คุกคาม


“โลกจะไม่บรรลุถึงเป้าหมายที่ตั้งไว้ ต่อเนือ่ งถึงแม้วา่ จะมีการเปลีย่ นแปลงสภาพ สำหรับการแก้ปญ ั หาการสูญเสียความหลากหลาย ภูมิอากาศ ทางชีวภาพ อย่างไรก็ตาม เป้าหมายทีย่ ากจะไป การบริการของระบบนิเวศ ถึงดังกล่าวก็นำไปสู่ความสำเร็จในการอนุรักษ์ (Ecosystem services) ที่สำคัญๆ บางส่วน เช่นเดียวกับการที่ได้เพิ่ม คือ ผลประโยชน์ที่คนได้รับจาก ความตระหนักอย่างมากเกี่ยวกับการที่มนุษย์ ระบบนิเวศ ต้องพึ่งพาอาศัยความหลากหลายทางชีวภาพ รวมถึงบริการของระบบนิเวศที่เป็นผลมาจาก ความยืดหยุ่นของพื้นที่ชุ่มน้ำ ความหลากหลายทางชีวภาพ” (Resilience in wetland) Jane Smart, คือ ความสามารถในการดำรงรักษา ผู้อำนวยการ, กลุ่มอนุรักษ์ความหลากหลาย บริการของระบบนิเวศเมื่อมีการ ทางชีวภาพของ IUCN เปลี่ยนแปลงสภาวะ

บริการของระบบนิเวศ จากพื้นที่ชุ่มน้ำ

แม้ ว ่ า จะเป็ น การยากที ่ จ ะระบุ ให้ ช ั ด เจนเกี ่ ย วกั บ ผลของการสู ญ เสี ย ชนิดพันธุ์ชนิดใดชนิดหนึ่งต่อการทำหน้าที่ ของระบบนิเวศ แต่ก็เป็นที่ยอมรับอย่าง กว้ า งขวางว่ า ระบบนิ เ วศที ่ ม ี ค วามอุ ด ม สมบูรณ์ทไ่ี ม่ได้รบั ผลกระทบจากการทำลาย ของมนุษย์มักจะมีความหลากหลายของ ชนิดพันธุ์มากกว่าระบบนิเวศที่ถูกทำลาย และมีคุณค่าทางเศรษฐกิจต่อมนุษย์สูงกว่า เนื ่ อ งจากบริ ก ารที ่ ไ ด้ จ ากระบบนิ เ วศ การสูญหายของชนิดพันธุม์ กั จะแสดงให้เห็น ถึ ง ความเสื ่ อ มโทรมของระบบนิ เ วศที ่ สิง่ มีชวี ติ เหล่านัน้ อาศัยอยูแ่ ละการลดลงของ ความยืดหยุน่ ของระบบนิเวศ ความยืดหยุน่ ของระบบนิ เ วศมี ค วามสำคั ญ ต่ อ มนุ ษ ย์ เพราะหากมี ก ารป้ อ งกั น และดำรงรั ก ษา ความยืดหยุ่นของระบบนิเวศไว้ได้ จะทำให้ สามารถให้บริการของระบบนิเวศได้อย่าง

การบริ ก ารของระบบนิ เ วศจาก พื้นที่ชุ่มน้ำ เช่น น้ำ ปลา การเติมน้ำลงสู ่ ชั้นน้ำใต้ดิน การทำให้น้ำบริสุทธิ์และการ บำบัดน้ำเสีย การควบคุมน้ำท่วมและป้องกัน พายุ การพั ก ผ่ อ นหย่ อ นใจและคุ ณ ค่ า ทางด้านจิตใจ ซึ่งสิ่งต่างๆ เหล่านี้ล้วนมี ความสำคัญต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ มีนักเศรษฐศาสตร์ได้ให้คุณค่าของบริการ เหล่านีว้ า่ แต่ละปีมคี ณ ุ ค่าสูงถึง 14 ล้านล้าน ดอลล่าร์สหรัฐ แม่น้ำที่ถูกขุดทางน้ำและสร้างฝั่ง แม่นำ้ เป็นเส้นตรงด้วยคอนกรีตเพือ่ ปรับปรุง ระบบการขนส่งทางน้ำ หรือเพื่อควบคุม น้ำท่วมในช่วงที่มีฝนตกหนัก จะมีความ หลากหลายทางชีวภาพต่ำกว่าแม่น้ำที่ม ี พื้นที่ราบริมฝั่งแม่น้ำตามธรรมชาติหรือ อย่างน้อยมีพืชขึ้นอยู่ตามธรรมชาติบริเวณ ริมฝัง่ แม่นำ้ รวมถึงมีการให้บริการของระบบ นิเวศน้อยกว่าเช่นเดียวกัน ในด้านการเงิน ป่าชายเลนที่มี ความอุดมสมบูรณ์ของประเทศไทยมีมูลค่า

ทางด้านเศรษฐกิจโดยรวมอย่างน้อย 1,000 ดอลล่าร์สหรัฐต่อเฮกแตร์ (และเป็นไปได้ท ี่ จะมีคุณค่ามากกว่านี้มาก ซึ่งอาจจะถึง 36,000 ดอลล่าร์สหรัฐต่อเฮกแตร์) แต่ถ้า มีการเปลี่ยนพื้นที่ป่าชายเลนไปเพื่อการ เลีย้ งกุง้ พืน้ ทีด่ งั กล่าวจะมีคณ ุ ค่างเพียง 200 ดอลล่าร์สหรัฐต่อเฮกแตร์ มูลค่าดังกล่าว มาจากสินค้าที่ขายในท้องตลาด เช่น ปลา ซึ่งได้จากป่าชายเลนที่อุดมสมบูรณ์ รวมถึง มูลค่าจากบริการอืน่ ๆ เช่น การป้องกันพายุ และการกักเก็บก๊าชคาร์บอน ในประเทศแคนาดา พืน้ ทีห่ นองน้ำ หรือบึงได้รับการประเมินว่ามีมูลค่า 5,800 ดอลล่าร์สหรัฐต่อเฮกแตร์ เมื่อเปรียบเทียบ กับพื้นที่หนองน้ำที่ถูกถ่ายน้ำออกเพื่อใช้ เป็ น พื ้ น ที ่ ท ำการเกษตรซึ ่ ง มี ม ู ล ค่ า เพี ย ง 2,400 ดอลล่ า ร์ ส หรั ฐ ต่ อ เฮกแตร์ โดย พื้นที่ที่เป็นหนองน้ำตามธรรมชาติมีความ หลากหลายทางชีวภาพสูงกว่าพืน้ ทีห่ นองน้ำ ที ่ ถ ู ก เปลี ่ ย นไปเป็ น พื ้ น ที ่ ท ำการเกษตร รวมถึ ง มี ก ารให้ บ ริ ก ารของระบบนิ เ วศที ่ หลากหลายกว่า แม้ว่าเราจะไม่สามารถให้เหตุผล ทัง้ ทางด้านสิง่ แวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคม เพื่อที่จะทำลายพื้นที่ชุ่มน้ำ แต่หลักฐาน จากหลายประเทศ แสดงให้เห็นว่าเราได้ ทำลายพืน้ ทีช่ มุ่ น้ำลง อัตราส่วนการสูญเสีย พื้นที่ชุ่มน้ำอยู่ระหว่าง 53% (ในประเทศ สหรัฐอเมริกา) จนถึง 90% (ในประเทศ นิวซีแลนด์) โดยสามารถประมาณการได้ว่า เราได้สญ ู เสียพืน้ ทีช่ มุ่ น้ำทัว่ โลกไป 50% และ ยังคงเกิดการสูญเสียพืน้ ทีช่ มุ่ น้ำอยูอ่ ย่างต่อเนือ่ ง โดยเฉพาะในประเทศกำลังพัฒนา

วันพื้นที่ชุ่มน้ำโลก


อ นุ สั ญ ญ า แ ร ม ซ า ร์ ว่ า ด้ ว ย พื้ น ที่ ชุ่ ม น ้ำ

เราได้ทำอะไร และเรากำลังทำอะไร ที่เป็นสาเหตุของการสูญเสียพื้นที่ชุ่มน้ำ? อ

ะไรคือปัจจัยหลักที่ทำให้พื้นที่ ชุ่มน้ำสูญหายและเสื่อมโทรมลง ซึ่งส่งผล ให้ เ กิ ด การสู ญ เสี ย ความหลากหลายทาง ชีวภาพ

• การสูญเสียแหล่งที่อยู่อาศัย โดยพืน้ ทีช่ มุ่ น้ำถูกเปลีย่ นเป็นพืน้ ที ่ สำหรับการทำการเกษตร เมือง และเป็นพืน้ ที่ สำหรับการพัฒนาด้านอุตสาหกรรม

• การนำน้ำจืดไปใช้มากเกินไป

โดยเฉพาะสำหรับการทำเกษตรกรรม ที่ต้องใช้น้ำจากระบบชลประทาน รวมถึง การเกษตรกรรมในรูปแบบอืน่ รวมถึงความ ต้ อ งการใช้ น ้ ำ ของครั ว เรื อ นและภาค อุตสาหกรรม ซึง่ เป็นสาเหตุให้ปริมาณน้ำจืด ในแผ่นดินน้อยลง รวมถึงปริมาณน้ำจืดใน แม่น้ำที่ไหลลงสู่ชายฝั่งทะเลลดน้อยลง ซึ่ง ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศชายฝัง่ ทะเลและ บทบาทหน้าที่ของระบบนิเวศดังกล่าว

ปัจจัยที่ทำให้เกิดการสูญเสียพื้นที่ชุ่มน้ำ: ปัจจัยทั้งที่เกิดจากธรรมชาติและจากมนุษย์ ที่ส่งผลกระทบโดยตรงและทางอ้อมต่อการ เปลี่ยนแปลงระบบนิเวศพื้นที่ชุ่มน้ำ

• ปริมาณสารอาหารที่มากเกินไป

ทั้งไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และ สารเคมี อ ื ่ น ๆ ซึ ่ ง ส่ ว นใหญ่ ม าจากภาค เกษตรกรรม รวมถึงน้ำเสียจากชุมชนทีไ่ ม่ได้ รับการบำบัด ส่งผลเสียต่อพื้นที่ชุ่มน้ำใน แผ่นดินและชายฝัง่ ทะเล และเป็นสาเหตุของ การเจริญเติบโตของสาหร่ายมากเกินไปซึ่ง ส่งผลให้ชนิดพันธุ์อื่นๆ ลดจำนวนลง

เกีย่ วกับพิพธิ พันธ์สตั ว์นำ้ หรือตูป้ ลา การค้าขาย พืชทีเ่ ป็นไม้ประดับ ซึง่ เป็นสาเหตุหลักในการ นำชนิดพันธุ์ต่างถิ่นเข้ามา ส่วนการเข้ามา ของชนิดพันธุ์ต่างถิ่นจากการเพาะเลี้ยง สัตว์น้ำ พบได้น้อย และบางครั้งชนิดพันธุ์ • การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ต่ า งถิ ่ น ถู ก นำเข้ า มาเพื ่ อ วั ต ถุ ป ระสงค์ ซึง่ สาเหตุสว่ นใหญ่เกิดจากกิจกรรม • การทับถมของโคลน ของมนุ ษ ย์ ท ี ่ ส ่ ง ผลให้ เ กิ ด การปล่ อ ยก๊ า ช ในบริเวณชายฝั่งทะเลที่มีน้ำจาก ทางการเกษตรและการป่าไม้ คาร์บอนไดออกไซด์ และก๊าชเรือนกระจก แม่น้ำที่มีโคลนเป็นจำนวนมากไหลลงมา • มลพิษ ซึ่งมาจากน้ำที่ไหลมาจากพื้นที ่ อื ่ น ๆ รวมถึ ง การเปลี ่ ย นแปลงการใช้ การทับถมของโคลนซึ่งมีสาเหตุมาจากการ ทำการเกษตร การทำลายป่า และอื่นๆ ทางการเกษตรนำยาฆ่าแมลงและปุ๋ยลงสู่ ประโยชน์ที่ดิน มากเกินไปจะส่งผลให้เกิดปัญหาร้ายแรง แม่น้ำ จากน้ำเสียที่เป็นพิษจากโรงงาน จากรายงานการประเมิน Mil ennium แต่การที่มีน้อยเกินไปก็อาจจะส่งผลเสียได้ อุตสาหกรรมทีไ่ หลลงสูท่ างน้ำ รวมถึงน้ำเสีย จากชุมชนที่ไม่ได้รับการบำบัดหรือได้รับ Ecosystem Assessment ของผลกระทบ เช่นเดียวกัน ที่เกิดจากปัจจัยดังกล่าวข้างต้น ไม่มีปัจจัย การบำบัดเพียงบางส่วน • ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน ใดเลยทีม่ ผี ลลดน้อยลง ทุกปัจจัยมีแต่คงตัว การนำชนิดพันธุ์ต่างถิ่น หรือที ่ • การใช้ประโยชน์มากเกินไป ซึ่งประกอบด้วยการจับปลา หอย หรือมีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น มีหลักฐาน เรียกว่า Alien species เข้ามาทัง้ โดยบังเอิญ และด้วยความตัง้ ใจ ส่งผลเสียต่อความชุกชุม กุง้ สาหร่าย ตัดไม้จากพืน้ ทีช่ มุ่ น้ำ และอืน่ ๆ แสดงให้ เ ห็ น ว่ า การเปลี ่ ย นแปลงสภาพ และการอยูร่ อดของชนิดพันธุพ์ น้ื เมือง การนำ อย่างไม่ยง่ั ยืน เป็นการการลดความสามารถ ภูมิอากาศจะกลายเป็นตัวขับเคลื่อนหลัก เข้ามาโดยบังเอิญอาจจะเป็นการติดมากับ ของระบบนิเวศในการดำรงรักษาบทบาท ในทศวรรษนี้ ลำเรือและในน้ำอับเฉาเรือ การค้าขายสินค้า หน้าที่ของพื้นที่ชุ่มน้ำ

วันพื้นที่ชุ่มน้ำโลก


อ นุ สั ญ ญ า แ ร ม ซ า ร์ ว่ า ด้ ว ย พื้ น ที่ ชุ่ ม น ้ำ

ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ต่อระบบนิเวศและชนิดพันธุ์สิ่งมีชีวิตเป็นอย่างไร? นัก

วิทยาศาสตร์ หรือแม้แต่ นักการเมืองส่วนใหญ่ยอมรับว่าความเข้มข้น ของก๊ า ชคาร์ บ อนไดอออกไซด์ ใ นชั ้ น บรรยากาศเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วกว่าที่เคย เป็นในช่วงล้านปีทผ่ี า่ นมา อุณหภูมเิ พิม่ สูงขึน้ รูปแบบของสภาพภูมอิ ากาศเปลีย่ นแปลงไป ซึ่งปัจจัยเหล่านี้ส่งผลให้ระบบนิเวศและ ชนิดพันธุ์สิ่งมีชีวิตรวมถึงมนุษย์อยู่ในภาวะ เสี่ยงภัย ถึงแม้วา่ ในปัจจุบนั ปัจจัยหลักทีส่ ง่ ผลให้เกิดการสูญหายและความเสื่อมโทรม ของพื้นที่ชุ่มน้ำ คือ การเปลี่ยนแปลงแหล่ง ที่อยู่อาศัยเนื่องการพัฒนาของมนุษย์ แต่ ทั่วโลกก็มีความตระหนักถึงผลกระทบของ การเปลี ่ ย นแปลงสภาพภู ม ิ อ ากาศ และ เนื ่ อ งจากมี ค วามเข้ า ใจเกี ่ ย วกั บ การ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเพิ่มมากขึ้น ทำให้มคี วามตระหนักในเรือ่ งใหม่ทเ่ี กีย่ วกับ สถานะของชนิดพันธุ์และระบบนิเวศพื้นที ่ ชุม่ น้ำ ซึง่ มีความชัดเจนว่าการเปลีย่ นแปลง สภาพภูมิอากาศจะกลายเป็นปัจจัยหลัก ที่ส่งผลให้เกิดการสูญหายของระบบนิเวศ ในศตวรรษนี้ และจะส่งผลให้ปัจจัยอื่นๆ มีความรุนแรงมากขึ้น

แนวปะการังและป่าชายเลน ซึง่ ระบบนิเวศ เหล่านีม้ คี วามเปราะบางต่อการเปลีย่ นแปลง สภาพภูมิอากาศเนื่องจากมีความสามารถ จำกัดในการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลง โดยการทำลายระบบนิเวศเหล่านี้ไปแล้ว จะไม่สามารถทำให้กลับคืนมาเหมือนเดิมได้ • มี ก ารคาดการณ์ ว ่ า อุ ณ หภู ม ิ ของน้ำทะเลบริเวณผิวน้ำที่เพิ่มขึ้น 1-3 องศาเซลเซียส จะเป็นสาเหตุให้เกิดการ ฟอกขาวของปะการังบ่อยขึ้นและเกิดการ ตายของปะการังแพร่ไปทัว่ โดยยังไม่มขี อ้ มูล เกี่ยวกับการที่ปะการังบางชนิดอาจจะปรับ ตัวต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิได้ • พื้นที่ชุ่มน้ำชายฝั่งทะเล ซึ่ง ประกอบด้วย บึงน้ำเค็ม และป่าชายเลนได้รบั ผลกระทบจากการเพิ ่ ม ขึ ้ น ของระดั บ น้ำทะเล โดยเฉพาะเมื่อมีสิ่งกีดขวางทาง กายภาพในด้านทีต่ ดิ กับแผ่นดิน (เช่น เขือ่ น) ในหลายพื้นที่พบว่าพื้นที่ชุ่มน้ำเหล่านี้ถูก ทำลายมากขึ ้ น เนื ่ อ งจากน้ ำ ท่ ว มบริ เ วณ ชายฝั่ง ซึ่งเกิดจากพายุและการเพิ่มขึ้น อย่างรวดเร็วของน้ำขึ้นน้ำลง

แน่ น อนที ่ ช นิ ด พั น ธุ ์ ส ิ ่ ง มี ช ี ว ิ ต จะต้องรับมือกับการเปลี่ยนแปลงของระบบ นิ เ วศที ่ ม ั น อาศั ย อยู ่ อาจจะคาดการณ์ ได้ ว ่ า จะเกิ ด การเปลี ่ ย นแปลงอุ ณ หภู ม ิ การเปลีย่ นแปลงสภาวะแวดล้อมทางน้ำ และ การเปลี่ยนแปลงความชุกชุมของชนิดพันธุ์ สิง่ มีชวี ติ อืน่ ๆ ซึง่ การรับมือกับปัจจัยเหล่านี้ สิ่งมีชีวิตมีทางเลือก 3 ทาง คือ 1. “เคลื่อนย้าย” เปลี่ยนแปลงการแพร่ กระจายทางภูมิศาสตร์เพื่อตอบสนองต่อ การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ซึง่ เกิดขึน้ แล้วในสิ่งมีชีวิตหลายชนิด แต่ก็แน่นอนว่า ไม่ใช่สิ่งมีชีวิตที่ได้รับผลกระทบทุกชนิดที ่ สามารถปฏิบัติแบบนี้ได้ 2. อยูใ่ นพืน้ ทีเ่ ดิม แต่มกี ารปรับตัวต่อสภาวะ แวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป โดยอาจจะมี การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม (เช่น การ เปลีย่ นแปลงช่วงเวลาในการสืบพันธุ์ ไปเป็น ช่วงเวลาทีม่ อี าหารเพียงพอต่อตัวอ่อน) หรือ การตอบสนองโดยการเปลี ่ ย นแปลงทาง พันธุกรรม (ประชากรอาจจะมีความสามารถ ในการทนทานต่ออุณหภูมิที่เพิ่มสูงขึ้น) 3. ตาย

ระบบนิเวศพื้นที่ชุ่มน้ำ

ด้านล่างคือตัวอย่างของผลกระทบ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในระบบนิเวศ • โดยทั่วไป พื้นที่ชุ่มน้ำพบได้ใน ทุ่งหญ้า ป่าเขตร้อนและทางเหนือ ระบบ นิ เ วศในเขตหนาวและเทื อ กเขาแอลป์

วันพื้นที่ชุ่มน้ำโลก


• การเปลีย่ นแปลงระยะเวลาและ ปริมาณน้ำจืดที่ไหลมาจากพื้นที่ชุ่มน้ำใน แผ่นดินจะส่งผลกระทบต่อความเค็ม ปริมาณ สารอาหาร และความชื้นในพื้นที่ชุ่มน้ำ ชายฝั่งทะเล ซึ่งสิ่งต่างๆ เหล่านี้จะส่งผล กระทบต่อบทบาทหน้าที่ของระบบนิเวศ ชายฝั่งทะเล • ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานที่เป็น ที่กังวลถึงผลกระทบต่อพื้นที่ชุ่มน้ำอยู่แล้ว อาจจะมี ก ารขยายพื ้ น ที ่ ค ลอบคลุ ม ทาง ภูมิศาสตร์ เช่น ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน ในพื้นที่ชุ่มน้ำ 2 ชนิด คือ ผักตบชวา (Eichhornia) และ จอกหูหนู (Salvinia) ซึ ่ ง มี ก ารขยายการกระจายตั วในทิ ศ ทาง ไปยังขั้วโลกตามอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น

วันพื้นที่ชุ่มน้ำโลก

ระหว่างเขตร้อนและเขตอบอุ่น และในเขต ต่ำกว่าละติจดู กลาง (ซึง่ บางพืน้ ทีไ่ ด้ประสบ ปั ญ หาการขาดแคลนน้ ำ แล้ ว ) โดยที ่ แบบจำลองเกี ่ ย วกั บ สภาพภู ม ิ อ ากาศ บางแบบคาดการณ์ว่าภายในปี พ.ศ. 2593 ปริ ม าณน้ ำไหลในแม่ น ้ ำ เฉลี ่ ย รายปี แ ละ ปริมาณน้ำที่นำมาใช้ได้จะเพิ่มมากขึ้น 10- 40% ในพื้นที่ที่มีละติจูดสูงและในเขตร้อน ชื้นบางพื้นที่ และจะลดลง 10-30% ในเขต ที่มีความแห้งแล้งในเขตละติจูดกลาง และ เขตร้อนแห้งแล้ง • คาดว่าปริมาณน้ำที่เก็บในธาร • เกาะที่อยู่ในพื้นที่ต่ำหลายๆ น้ำแข็งและหิมะจะลดลงในช่วงศตวรรษนี้ เกาะ โดยเฉพาะทีอ่ ยูใ่ นทะเลแปซิฟกิ อินเดีย การลดลงของปริมาณน้ำทีน่ ำมาใช้ประโยชน์ และแอตแลนติก และในทะเลแคริบเบียน ในภูมิภาคถูกชดเชยโดยน้ำที่ละลายจาก เทือกเขาหลักๆ โดยทีป่ ระชากรโลกมากกว่า มีความเสี่ยงที่จะจมลงใต้น้ำ 1 ใน 6 ปัจจุบันอาศัยอยู่ในพื้นที่เหล่านี้ • อุณหภูมิน้ำที่เพิ่มสูงขึ้นและ เราสามารถมองถึงผลกระทบต่อ สภาพภูมิอากาศที่ร้ายแรง (เช่น น้ำท่วม ระบบนิเวศในด้านของปริมาณ และความแห้งแล้ง) คาดว่าจะส่งผลกระทบ น้ำจืด ต่ อ คุ ณ ภาพน้ ำ และเพิ ่ ม ความรุ นแรงของ • การเปลี่ยนแปลงความแรงและ มลพิษทางน้ำ ของเสีย เช่น ระดับสารอาหาร การผันแปรของฝนที่ตกลงมา ส่งผลให้เกิด ที่สูงเกินไป เชื้อโรค ยาฆ่าแมลง ความเค็ม น้ำท่วมและความแห้งแล้งเพิ่มมากขึ้นใน และอื่นๆ หลายพื้นที่ โดยทั่วไปการเพิ่มขึ้นของฝน คาดว่าจะเกิดขึ้นในพื้นที่ที่มีละติจูดสูงและ แม้ ว ่ า การคาดการณ์ ผ ลกระทบ บางส่วนของเขตร้อน ในขณะที่คาดว่าจะ เหล่านี้ ในความเป็นจริงยังไปไม่ถึงบทสรุป มีปริมาณฝนลดลงในบางพื้นที่ของบริเวณ ที่คาดการณ์ไว้ มีเพียงบางประเทศเท่านั้น ที่เกิดผลกระทบขึ้นจริง ซึ่งการนำเสนอใน แนวทางนี ้ ด ู เ หมื อ นว่ า จะไม่ ไ ด้ ใ ห้ ค วาม สำคัญกับปัญหาดังกล่าว แต่ในความเป็น จริงสิง่ เหล่านีจ้ ะเกิดขึน้ กับเราและครอบครัว ของเราในอนาคต รายละเอียดเพิ่มเติม สามารถดูได้จากเอกสารอ้างอิงตอนท้าย เอกสาร


อ นุ สั ญ ญ า แ ร ม ซ า ร์ ว่ า ด้ ว ย พื้ น ที่ ชุ่ ม น ้ำ

สิ่งเหล่านี้มีความหมายอย่างไรต่อประชาชนทั่วไป? เรา

ทั ้ ง หมดต่ า งพึ ่ ง พาอาศั ย การบริการของระบบนิเวศจากพื้นที่ชุ่มน้ำ ไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง ตัวอย่างเช่น สัตว์น้ำ จากพื้นที่ชุ่มน้ำ น้ำจืด ไม้สำหรับก่อสร้าง การป้องกันน้ำท่วม และอื่นๆ ซึ่งแน่นอนว่า ผู ้ ท ี ่ ไ ด้ ร ั บ ผลกระทบมากที ่ ส ุ ด จากการ สูญหายไปของพืน้ ทีช่ มุ่ น้ำ คือ ชุมชนยากจน โดยเฉพาะชุมชนที่การดำรงชีวิตขึ้นอยู่กับ พื้นที่ชุ่มน้ำ แล้ ว มี ค วามสำคั ญ อย่ า งไรต่ อ ประชาชนส่วนใหญ่? สิ่งที่มีความสำคัญ ต่อประชาชนส่วนใหญ่ ได้แก่ การเป็น แหล่งอาหารและน้ำ ซึ่งเป็นปัจจัยพื้นฐาน สำหรับการดำรงชีวิตของมนุษย์ การขาดแคลนน้ำและการจำกัด สิทธิหรือโอกาสในการเข้าไปใช้น้ำจืดได้ ส่งผลกระทบต่อประชากร 1-2 พันล้านคน โดยพื้นที่ชุ่มน้ำในแผ่นดินเป็นแหล่งน้ำจืด ทีส่ ำคัญ (รวมถึงน้ำใต้ดนิ ทีม่ คี วามเชือ่ มโยง โดยตรงต่อพื้นที่ชุ่มน้ำ) ซึ่งความสามารถ ของพื้นที่ชุ่มน้ำในการเก็บรักษา การกรอง

และการขจัดสารพิษในน้ำทำให้พื้นที่ชุ่มน้ำ มีความสำคัญในการเป็นแหล่งน้ำจืดสำหรับ การใช้ประโยชน์ของมนุษย์ ความต้องการ น้ำในระดับโลกไม่มีแนวโน้มที่จะลดลงเลย เนื ่ อ งมาจากมี ก ารเพิ ่ ม ขึ ้ น ของประชากร การเติบโตทางเศรษฐกิจและการเปลีย่ นแปลง รูปแบบการดำรงชีวิต และยิ่งไปกว่านั้น ผลกระทบของการเปลี ่ ย นแปลงสภาพ ภูมิอากาศของโลกยังส่งผลให้ปริมาณน้ำที่ นำมาใช้ ป ระโยชน์ ไ ด้ ล ดน้ อ ยลงและมี ความเสีย่ งทีจ่ ะเกิดความแห้งแล้งและกลาย เป็นทะเลทรายในบางภูมิภาค น้ำจืดมีบทบาทสำคัญในการผลิต อาหารทั่วโลก โดยที่ 80% ของการทำ เกษตรกรรมทั ่ วโลกใช้ น ้ ำ ฝน ทำให้ เ กิ ด ความกั ง วลเกี ่ ย วกั บ ระดั บ ผลผลิ ต จาก การเกษตรเนื่องจากการลดลงของปริมาณ น้ำฝนในบริเวณที่มีภูมิอากาศแห้งแล้ง และ กึ่งแห้งแล้งในเขตร้อนชื้น กึ่งร้อนชื้น และ เมดิเตอร์เรเนียน ในทวีปยุโรป ออสเตรเลีย และอเมริกาใต้ และในทางกลับกันปริมาณ

ฝนทีม่ ากเกินไปและฝนทีต่ กอย่างคาดการณ์ ไม่ ไ ด้ ก ็ ส ่ ง ผลกระทบต่ อ ผลผลิ ต อาหาร นอกเหนือจากน้ำฝนแล้ว การผลิตอาหาร มักจะต้องการน้ำจากการชลประทาน โดย การผลิตอาหารที่ใช้น้ำจากการชลประทาน มีความสำคัญต่อการผลิตอาหารของโลก ซึ่งในปัจจุบันมีเพียงแค่ 18% ของพื้นที่ทำ การเกษตรทัง้ หมด แต่ผลิตธัญพืชได้ถงึ 50% ของการผลิตทัว่ โลก ปัจจุบนั ประชากรโลกถึง 850 ล้านคน ที่ยังคงประสบปัญหาการขาด สารอาหาร ดังนั้นความท้าทายที่เราเผชิญ อยู่คือการผลิตอาหาร ซึ่งการเปลี่ยนแปลง สภาพภู ม ิ อ ากาศจะเพิ ่ ม ความท้ า ทาย ดังกล่าวโดยการลดความมั่นคงทางด้าน อาหารและเพิ ่ ม ความเปราะบางของ เกษตรกรในชนบท

วันพื้นที่ชุ่มน้ำโลก


ประชากรเกือบ 2 พันล้านคน อาศัยอยูใ่ นพืน้ ทีท่ ม่ี คี วามเสีย่ งภัยต่อน้ำท่วม ซึง่ ส่วนใหญ่มสี าเหตุมาจากการทำลายทีร่ าบ น้ำท่วมถึงของพื้นที่ชุ่มน้ำและการเปลี่ยน พืน้ ทีเ่ พือ่ ใช้ประโยชน์ทางการเกษตร การสูญเสีย พื้นที่ชุ่มน้ำในพื้นที่ ประกอบกับผลกระทบ ของการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศในบาง พื้นที่ ส่งผลให้พื้นที่มีความเสี่ยงต่อการเกิด น้ ำ ท่ ว ม ผลกระทบของการเกิ ด น้ ำ ท่ ว ม นอกเหนื อ จากการสู ญ เสี ย ชี ว ิ ต อย่ า ง กะทันหันแล้ว ยังเกิดจากความเสี่ยงในการ ติดเชื้อโรค ซึ่งส่งผลให้เกิดความวิตกกังวล ในระยะยาว ซึ่งเหล่านี้เป็นหลักฐานยืนยัน ถึงผลกระทบทางลบของการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศที่ส่งผลต่อสุขภาพจิตของ ประชากร การเกิดน้ำท่วมและฝนที่ตกหนัก

อาจจะส่งผลให้เกิดการปนเปือ้ นของสารเคมี และสารอันตรายในน้ำได้ ผ ล ก ร ะ ท บ ท า ง ล บ ข อ ง ก า ร เปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศต่อพืน้ ทีช่ มุ่ น้ำ ชายฝั่งเป็นการส่งผลกระทบต่อมนุษย์อย่าง เห็นได้ชดั ประชากรโลกมากกว่า 50% อาศัย อยูใ่ นบริเวณชายฝัง่ โดยความหนาแน่นของ ประชากรทีอ่ าศัยอยูบ่ ริเวณชายฝัง่ มีมากกว่า ค่าเฉลีย่ ความหนาแน่นของประชากรโลกถึง 3 เท่า ชุมชนทีย่ ากจนทีส่ ดุ หลายชุมชนอาศัย อยู่บริเวณชายฝั่ง ซึ่งความมั่นคงทางด้าน อาหารขึน้ อยูก่ บั การทำประมงในป่าชายเลน และแนวปะการัง ในประเทศกำลังพัฒนา ปลาที่จับได้จากแนวปะการังมีปริมาณถึง หนึ ่ งในสี ่ ข องปริ ม าณปลาที ่ จ ั บได้ ใ นแต่ ละปี ซึ่งปลาเหล่านี้เป็นแหล่งอาหารของ

รอยเท้าเชิงนิเวศต่อคน ต่อประเทศ ประจำปี 2548 10 9 8

® ® ® ® ® ®

Built-up land Fishing ground Forest Grazing land Cropland Carbon

ประมาณการความต้ อ งการ พื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณ์ในแผ่นดิน และในทะเลสำหรับเป็นแหล่งทรัพยากร และดูดซับของเสีย

ประชากรในเอเชียถึง 1 พันล้านคน ตัวอย่าง เช่น ในประเทศอินโดนีเซีย 60% ของ ประชากรมีการดำรงชีวิตและพึ่งพาอาหาร จากทรั พ ยากรทางทางทะเลและชายฝั ่ ง แนวปะการัง Great Barrier Reef สนับสนุน

เศรษฐกิจของประเทศออสเตรเลียถึง 4.5 พันล้านดอลล่าร์สหรัฐ โดย 3.9 พันล้าน ดอลล่าร์สหรัฐ จากการท่องเที่ยว 469 ล้าน ดอลล่าร์สหรัฐ จากการพักผ่อนหย่อนใจ และ 115 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ จากธุรกิจการตกปลา และส่งผลให้เกิดการจ้างงานถึง 63,000 ตำแหน่ง

Global hectares per person

7 6 5 4 3 2

0

UNITED ARAB EMIRATES UNITED STATES OF AMERICA KUWAT DENMARK AUSTRALIA NEW ZELAND CANADA NORWAY ESTONIA IRELAND GREECE SPAIN URUGUAY CZECH REP. UNITED KINGDOM FINLAND BELGIUM SWEDEN SWITZERLAND AUSTRIA FRANCE JAPAN ISRAEL ITALY OMAN MACEDONIA, FYR SLOVENIA PORTUGAL LIBYA GERMANY SINGAPORE NETHERLANDS POLAND TURKMENISTAN BELARUS RUSSIAN FEDERATION KOREA, REP. NAMIBIA BOTSWANA HUNGARY MONGOLIA LATVIA MEXICO KAZAKHSTAN SLOVAKIA PARAGUAY CROATIA LITHUANIA PANAMA LEBANON CHILE BOSNIA AND HERZEGOVINA ROMANIA VENEZUELA BULGARIA TURKEY UKRAINE WORLD IRAN SAUDI ARABIA SERBIA AND MONTENEGRO AARGENTINARGENTINE SUDAN MALAYSIA BRAZIL COSTA RICA MAURITIUS ALBANIA ECUADOR AZERBAIJAN THAILAND TRINIDAD AND TOBACO BOLIVIA CHINA

1

วันพื้นที่ชุ่มน้ำโลก

10


อ นุ สั ญ ญ า แ ร ม ซ า ร์ ว่ า ด้ ว ย พื้ น ที่ ชุ่ ม น ้ำ

จะทำเพื่อพื้นที่ชุ่มน้ำได้อย่างไรบ้าง? จัดการพื้นที่ชุ่มน้ำเมื่อเกิดเปลี่ยนแปลงและ เมื่อสภาพอากาศมีความแปรปรวนมากขึ้น ผูม้ หี น้าทีจ่ ดั การพืน้ ทีช่ มุ น้ำจะต้องมีการปรับ แผนเพื ่ อ ตอบสนองต่ อ การเปลี ่ ย นแปลง ดังกล่าว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อดำรงรักษา และเพื่อให้เกิดการบริการจากพื้นที่ชุ่มน้ำ 5 ดำเนินการฟื้นฟูพื้นที่ชุ่มน้ำ ที่เสื่อมโทรมอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากพื้นที ่ ชุ ่ ม น้ ำ ที ่ ม ี ค วามอุ ด มสมบู ร ณ์ จ ะมี ค ุ ณ ค่ า มากกว่าพื้นที่ชุ่มน้ำที่เสื่อมโทรม และ จัดการกับปัญหาเกี่ยวกับ ผลกระทบของการเปลี ่ ย นแปลงสภาพ ภูมิอากาศต่อสิ่งมีชีวิตและระบบนิเวศพื้นที ่ ชุ่มน้ำอย่างเร่งด่วน โดย: 6 กิ จ กรรมการบรรเทาการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 7 ยุทธศาสตร์ในการปรับตัวต่อ การเปลี ่ ย นแปลงสภาพภู ม ิ อ ากาศที ่ เหมาะสม การบรรเทา เราต้องลดการปล่อย ก๊าชเรือนกระจกและส่งเสริมการนำก๊าช เรือนกระจกออกจากชั้นบรรยากาศ โดย

การกักเก็บไว้ในดินและพืช ไม่เป็นที่สงสัย เลยว่าสาเหตุหลักของการปล่อยก๊าช CO2 ทั่วโลก คือ การใช้เชื้อเพลิงจากฟอสซิล แต่เราก็สามารถได้รับผลกระทบจากการ ปล่อยก๊าชได้เช่นเดียวกันจากแนวทางการ จัดการสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะการที่มีอัตรา การทำลายพื้นที่ชุ่มน้ำและพื้นที่ป่า รวมถึง การปล่อยน้ำออกจากพื้นที่พรุอย่างรวดเร็ว การปรับตัว :

การปรั บ เปลี ่ ย นระบบธรรมชาติ ห รื อ มนุษย์เพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศหรือผลกระทบที่เกิดขึ้น หรื อ คาดว่ า จะเกิ ด ขึ ้ น ซึ ่ ง ช่ ว ยบรรเทา ความเสียหายหรือการทำลายผลประโยชน์ ที่จะเกิดขึ้น

การบรรเทา :

การดำเนิ น การเพื ่ อ ลดแรงกดดั น จาก การกระทำของมนุษย์ต่อสภาพภูมิอากาศ ซึ ่ ง ประกอบด้ ว ย ยุ ท ธศาสตร์ ก ารลด แหล่งกำเนิดและการปล่อยก๊าชเรือนกระจก และการเพิ่มแหล่งกักเก็บก๊าชเรือนกระจก

SOUTH AFRICA, REP. SYRIA NICARAGUA BURKINA FASO NAURITANIA UZBAKISTAN COLOMBIA HONDURAS TUNISIA CUBA JORDAN CHAD PAPUA NEW GUINEA EGYPT ALGERIA NIGER MALI EL SALVADOR CENTRAL AFRICAN REP. PERU KOREA, DPR GUATEMALA DOMINICAN REP. GHANA ARMENIA SOMALIA UGANDA SENEGAL ETHIOPIA NIGERIA IRAQ GABON GUINEA CAMEROON VIETNAM MOLDOVA, REP. GAMBIA ERITREA TANZANIA, UNITED REP. MOROCCO ZIMBABWE MYANMAR KYRGYZSTAN JAMAICA MADAGASCAR LESOTHO GEORGIA KENYA LAO PDR SRI LANKA BENIN BHUTAN INDONESIA CAMBODIA MOZAMBIQUE YEMEN ANGOLA GUINEA-BISSAU INDIA COÔTE D'IVOIRE PHILIPPINES LIBERIA BURUNDI PAKISTAN TOGO RWANDA SIERRA LEONE ZAMBIA NEPAL SWAZILAND TAJIKISTAN CONGO, DEM. REP. BANGLADESH CONGO HAITI AFGHANISTAN MALAWI

In 2005, the globally available biocapacity was 2.1 global hectares per person

11

วันพื้นที่ชุ่มน้ำโลก

Credit : WWF Rapport Planète Vivante 2008.

ดยทั่วไปมีหลากหลายวิธีที่จะ ช่วยในการแก้ปัญหาเกี่ยวกับการสูญเสีย ความหลากหลายทางชีวภาพของพืน้ ทีช่ มุ่ น้ำ รวมถึงผลกระทบทีเ่ กิดจากการเปลีย่ นแปลง สภาพภูมิอากาศต่อความหลากหลายทาง ชีวภาพในพื้นที่ชุ่มน้ำ ซึ่งประกอบด้วย: 1 ดูแลรักษาพื้นที่ชุ่มน้ำที่ยังคง มีความอุดมสมบูรณ์ 2 เพิ ่ ม ความพยายามในการ จัดการกับปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดการสูญเสีย และความเสื ่ อ มโทรมของพื ้ น ที ่ ช ุ ่ ม น้ ำ (การสูญเสียแหล่งทีอ่ ยูอ่ าศัย, มลพิษ, การนำ น้ำมาใช้ประโยชน์มากเกินไป, ชนิดพันธุ์ ต่างถิน่ ทีร่ กุ ราน และการทำลายพืน้ ทีช่ มุ่ น้ำ และอื่นๆ) 3 ดำเนินการเกี่ยวกับการระบุ ชื ่ อ ชนิ ด พั น ธุ ์ แ ละระบบนิ เ วศที ่ ม ี ค วาม เปราะบาง วางแผนและดำเนินการตามแผน ปฏิบตั กิ ารเพือ่ การฟืน้ ฟูชนิดพันธุแ์ ละระบบ นิเวศ 4 ให้ความสำคัญและวางแผน เกี ่ ย วกั บโครงการด้ า นการฟื ้ น ฟู แ ละการ


แม้ว่าพื้นที่พรุ คลอบคลุมพื้นที่ ในโลกแค่ 3% แต่ได้รับการยอมรับว่าเป็น แหล่งกักเก็บคาร์บอนที่สำคัญ การปล่อย น้ ำ ออกและการเปลี ่ ย นพื ้ น ที ่ เ พื ่ อ การใช้ ประโยชน์เป็นสาเหตุสำคัญของการปล่อย ก๊ า ชดั ง กล่ า ว เช่ น เดี ย วกั บที ่ ม ี หลั ก ฐาน ยืนยันมากขึ้นเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ของ ป่าชายเลน บึงน้ำเค็ม และพื้นที่ชุ่มน้ำอื่นๆ ว่าเป็นแหล่งกักเก็บคาร์บอน ดังนั้นจึงมี ความจำเป็นเร่งด่วนเช่นกันในการฟืน้ ฟูและ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำอย่างมีประสิทธิภาพ แต่ไม่ว่าเราจะสามารถทำอะไร ก็ ต ามเพื ่ อ การบรรเทา เราไม่ ส ามารถ ดำเนินการเพียงเท่านี้เพื่อเป็นแนวทางใน การแก้ปัญหาเพียงทางเดียว แม้ว่าในวัน พรุ่งนี้เราจะมีการทำข้อตกลงในการลดการ ปล่อยก๊าชและสนับสนุนงบประมาณในการ ดำเนิ น การดั ง กล่ า ว แต่ ย ั งไม่ เ พี ย งพอ Sink : ขบวนการ กิจกรรม หรือกลไกที่นำก๊าช เรือนกระจกออกจากบรรยากาศ Source : ขบวนการ กิจกรรม หรือกลไกใดๆ ทีเ่ ป็นการ ปล่อยก๊าชเรือนกระจกออกสู่บรรยากาศ

วันพื้นที่ชุ่มน้ำโลก

เนื ่ อ งจากปั ญ หาการเปลี ่ ย นแปลงสภาพ ภูมิอากาศได้ส่งผลกระทบขึ้นแล้ว ทำให้ เราต้ อ งการยุ ท ธศาสตร์ ก ารปรั บ ตั ว เพื ่ อ ตอบสนองต่อผลกระทบที่เกิดขึ้นดังกล่าว รั ฐ บาลหลายประเทศมี ค วาม พยายามในการหามาตรการการปรับตัวต่อ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ในส่วนที ่ เกีย่ วข้องกับภาคส่วนต่างๆ ทีไ่ ด้รบั ผลกระทบ เช่น เกษตรกรรม ป่าไม้ การประมง พลังงาน โครงสร้างพื้นฐาน (สิ่งก่อสร้าง, การขนส่ง, น้ำ) การท่องเทีย่ ว สุขภาพของมนุษย์ ระบบ นิเวศทางทะเลและชายฝั่ง และทรัพยากร น้ำ ซึง่ แนวทางเหล่านีไ้ ม่ได้พจิ ารณาถึงความ เชื่อมโยงระหว่างมาตรการการปรับตัวของ ภาคส่วนต่างๆ และความเสี่ยงที่มาตรการ การปรับตัวของภาคส่วนหนึ่งอาจจะส่งผล กระทบต่ อ ภาคส่ ว นอื ่ น ๆ ตั ว อย่ า งเช่ น ความต้องการนำน้ำไปใช้ในการชลประทาน มากขึ้นสำหรับการผลิตอาหาร อาจจะส่ง ผลกระทบทางลบอย่างมากต่อคุณภาพของ พื้นที่ชุ่มน้ำชายฝั่ง ลดแหล่งอนุบาลสัตว์น้ำ หรือ ความสามารถของพืน้ ทีช่ มุ่ น้ำในแผ่นดิน ต่อการสนับสนุนด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ และการประมง

มีหลักฐานสนับสนุนเกีย่ วกับการที่ รัฐบาลหลายประเทศดำเนินการจัดการกับ ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ แบบองค์รวม โดยการเชื่อมโยงระหว่าง การจัดการระบบนิเวศ (ผ่านภาคส่วนต่างๆ) และการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมอิ ากาศ คำกล่าวสุนทรพจน์ในแง่บวก จาก European Union’s White Paper เกีย่ วกับ การปรั บ ตั ว ต่ อ การเปลี ่ ย นแปลงสภาพ ภูมิอากาศ กล่าวว่า “ยุทธศาสตร์ที่เน้น การจัดการและการอนุรักษ์น้ำ ที่ดิน และ ทรัพยากรชีวภาพ เพื่อดำรงรักษาและฟื้นฟู ระบบนิเวศทีม่ คี วามอุดมสมบูรณ์ มีบทบาท หน้าที่ที่มีประสิทธิภาพ และยืดหยุ่นต่อการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เป็นแนวทาง หนึ ่ งในการรั บ มื อ กั บ ผลกระทบและการ สนับสนุนการป้องกันภัยพิบตั .ิ .....มีหลักฐาน ที่แสดงให้เห็นว่าการใช้ความสามารถของ ธรรมชาติ ใ นการดู ด ซั บ หรื อ ควบคุ ม ผลกระทบในพื้นที่ชนบทและเมือง เป็น แนวทางการปรั บ ตั ว ที ่ ม ี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ มากกว่าการทีม่ งุ่ เน้นไปทีก่ ารสร้างโครงสร้าง พื้นฐานทางกายภาพ”

12


แม้ว่าคำกล่าวดังกล่าวจะเห็นว่า แนวทางแบบองค์ ร วม หรื อ Holistic approach เป็น “แนวทางเดียว” ในการ จัดการกับสถานการณ์ในปัจจุบนั ซึง่ เป็นก้าว สำคัญที่ทำให้มีการตระหนักถึงบทบาทที ่ สำคัญของระบบนิเวศในการจัดการกับการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ในการแก้ ปัญหาผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงสภาพ ภูมอิ ากาศต่อเศรษฐกิจ สังคม และระบบนิเวศ และเป็นโอกาสในการนำพืน้ ทีช่ มุ่ น้ำ น้ำ และ การจัดการเข้าเป็นศูนย์กลาง การปรั บ ตั วโดยยึ ด ระบบนิ เ วศ เป็ น พื ้ น ฐาน (Ecosystem-based adaptation) เป็นแนวทางแบบองค์รวม ซึง่ สำหรับพื้นที่ชุ่มน้ำในแผ่นดิน ต้องมีการ ดำเนินการดังต่อไปนี้ • ลดความเสื่อมโทรมของลุ่มน้ำ โดยการ ลดการทำลายป่า • เพิ่มพื้นที่ป่า • ดำรงรักษาและฟื้นฟูพื้นที่ชุ่มน้ำที่อยู่ติด ชายฝั่งและที่ราบน้ำท่วมถึงริมฝั่งแม่น้ำ ซึ่ง จะทำให้ พ ื ้ น ที ่ เ หล่ า นี ้ ส ามารถป้ อ งกั น น้ำท่วมได้ • ปรับปรุงการจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำและน้ำ ในลุ่มน้ำ • ฟื้นฟู “โครงสร้างที่เป็นธรรมชาติ หรือ green infrastructure” เท่ า ที ่ ท ำได้ : ระบบการป้องกันน้ำท่วมตามธรรมชาติซึ่ง เกิดจากพื้นที่ชุ่มน้ำในแผ่นดินจะช่วยให้ แน่ใจได้วา่ บริการอืน่ ๆ ทีเ่ กิดจากพืน้ ทีช่ มุ่ น้ำ ได้รับการดำรงรักษาไว้ด้วย การปรั บ ตั วโดยยึ ด ระบบนิ เ วศ เป็ น พื ้ น ฐาน (Ecosystem-based adaptation) สำหรับพื้นที่ชุ่มน้ำชายฝั่ง ต้องมีการดำเนินการดังต่อไปนี้ : • ลดการสูญเสียและการทำลายป่าชายเลน บึงน้ำเค็ม เนินทราย แนวปะการัง และ

13

พื้นที่ชุ่มน้ำชายฝั่งอื่นๆ และฟื้นฟูพื้นที่ จะทำให้ป่าชายเลนและบึงน้ำเค็มดังกล่าว ดังกล่าวเท่า ที ่ทำได้ เพื่อให้ ร ะบบนิ เ วศ สามารถเคลื่อนตัวเข้าหาแผ่นดินเมื่อระดับ ชายฝั่งมีความยืดหยุ่นต่อการเพิ่มขึ้นของ น้ำทะเลมีการเพิ่มขึ้น ระดับน้ำทะเลมากขึ้น Green infrastructure : • ลดการสร้างโครงสร้างพื้นฐาน (Hard infrastructure) สำหรับการป้องกันน้ำท่วม คำศัพท์ทห่ี มายถึง บทบาทของสิง่ แวดล้อม ตามธรรมชาติที่สามารถเกิดขึ้นได้ในการ บริเวณชายฝั่ง และแทนที่ด้วยโครงสร้าง วางแผนการใช้ประโยชน์ที่ดนิ ซึ่งพบทั้งใน ที่เป็นธรรมชาติ เท่าที่เป็นไปได้ พื้นที่ชุ่มน้ำในแผ่นดินและชายฝัง่ • นำเขือ่ นกัน้ ทีส่ ร้างขึน้ ออกจากป่าชายเลน และบึงน้ำเค็มด้านที่หันไปทางแผ่นดิน ซึ่ง

ตัวอย่าง ของ GREEN INFRASTRUCTURE

ก่อนการฟื้นฟู

หลังการฟื้นฟู

วันพื้นที่ชุ่มน้ำโลก


อ นุ สั ญ ญ า แ ร ม ซ า ร์ ว่ า ด้ ว ย พื้ น ที่ ชุ่ ม น ้ำ

การสื่อสารข่าวสารเกี่ยวกับ พื้นที่ชุ่มน้ำ “การคิดเป็นเรื่องง่าย

เชื่อมโยงของรูปแบบการดำรงชีวิตซึ่งส่งผล กระทบต่อพื้นที่ชุ่มน้ำ “การทำในสิ่งที่พูด” การกระทำเป็นเรื่องยาก เป็นสิ่งท้าทายสำหรับแต่ละบุคคล โดย แต่การกระทำในสิ่งที่คิด แนวทางการสื ่ อ สารเกี ่ ย วกั บ พื ้ น ที ่ ช ุ ่ ม น้ ำ ในแต่ละบุ ค คลจะมี ค วามแตกต่ า งกั นไป เป็นเรื่องที่ยากที่สุด ผู้ที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่ชุ่มน้ำ และดำเนิน Johann Wolfgang Von Goethe กิ จ กรรมด้ า นการอนุ ร ั ก ษ์ แ ละการใช้ ทุกคนล้วนมีบทบาทหน้า ประโยชน์พื้นที่ชุ่มน้ำอย่างชาญฉลาดจะ ที่ในการจัดการกับปัญหาการเปลี่ยนแปลง ดำเนินการได้อย่างไรบ้าง? สภาพภูมิอากาศและผลกระทบที่จะเกิดขึ้น ไม่ต้องสงสัยว่าในระดับบุคคล โดยเฉพาะ นักวิทยาศาสตร์, ผูม้ อี ำนาจหน้าที่ ในประเทศที่พัฒนาแล้ว จำเป็นต้องมีการ ในการตัดสินใจ และนักสื่อสารที่เกี่ยวข้อง ตั ด สิ นใจเกี ่ ย วกั บ รู ป แบบการดำรงชี ว ิ ต กับพื้นที่ชุ่มน้ำ ได้แก่ การใช้ประโยชน์ทรัพยากรน้ำและ ต้องสือ่ สารข้อมูล ข่าวสารทีส่ ำคัญ พลังงาน พฤติกรรมการกิน และพฤติกรรม ไปแก่ภาคส่วนต่างๆ และหน่วยงานของรัฐ อื่นๆ ซึ่งไม่ยั่งยืน และการไม่ได้คิดถึงความ ที่ทำหน้าที่วางแผนในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ พืน้ ทีช่ มุ่ น้ำ การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ และผลกระทบต่ อ ความหลากหลายทาง ชีวภาพ • การดำรงรักษาความหลากหลายทาง ชีวภาพของพื้นที่ชุ่มน้ำช่วยให้ระบบนิเวศ พื้นที่ชุ่มน้ำมีความยืดหยุ่นมากขึ้นในการ รับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้งที่เกิด จากธรรมชาติและมนุษย์ • ความหลากหลายทางชีวภาพ ระบบ นิ เ วศและชนิ ด พั น ธุ ์ ใ นพื ้ น ที ่ ช ุ ่ ม น้ ำ อยู ่ ภายใต้การคุกคามจากผลกระทบของการ เปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ซึง่ การจัดการ พื ้ น ที ่ ช ุ ่ ม น้ ำ ที ่ เ หมาะสมจะช่ ว ยลดผล กระทบดังกล่าว • การบรรเทาการเปลี ่ ย นแปลงสภาพ ภู ม ิ อ ากาศเป็ น เรื ่ อ งที ่ เ กี ่ ย วข้ อ งกั บ ก๊ า ช คาร์ บ อน ในขณะที ่ ก ารปรั บ ตั ว ต่ อ การ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเป็นเรื่องที่ เกี่ยวข้องกับน้ำ

เรา

วันพื้นที่ชุ่มน้ำโลก

• แน่ น อนว่ า น้ ำ มี อ ิ ท ธิ พ ลต่ อผลกระทบ จากการเปลี ่ ย นแปลงสภาพภู ม ิ อ ากาศ ความมั่นคงด้านน้ำและอาหารเป็นประเด็น หลักสำหรับทุกๆ ประเทศ ดังนั้นผู้จัดการ และภาคส่วนที่เกี่ยวข้องกับน้ำจึงมีบทบาท สำคัญในยุทธศาสตร์การปรับตัว ข้อมูล ข่าวสารที่สำคัญสำหรับภาคส่วนเหล่านี้คือ ระบบนิ เ วศพื ้ น ที ่ ช ุ ่ ม น้ ำ เป็ นโครงสร้ า ง พื้นฐานตามธรรมชาติที่ช่วยในการปรับตัว ต่ อ การเปลี ่ ย นแปลงสภาพภู ม ิ อ ากาศ การต้องเผชิญกับปัญหาน้ำท่วมลดลงได้ โดยการฟื้นฟูบทบาทหน้าที่ของพื้นที่ราบ น้ำท่วมถึงโดยเฉพาะเมื่อมีการวางแผนการ ใช้ประโยชน์พื้นที่มีศักยภาพ เป็นการฟื้นฟู และทำให้เกิดการบริการของระบบนิเวศ จากพื้นที่ชุ่มน้ำ ซึ่งเกิดประโยชน์ต่อผู้คน ทั้งสองด้าน เช่นเดียวกับการป้องกันผล กระทบจากการเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเล สามารถดำเนินการได้โดยการจัดการพื้นที่

14


ชุม่ น้ำชายฝัง่ เช่น ป่าชายเลน และบึงน้ำเค็ม ซึ่งเป็นการบรรเทาการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ โดยการเก็บกักก๊าชคาร์บอน และการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ และการสร้างความปลอดภัยให้ ระบบนิเวศ จากทั้งสองกรณี การแก้ปัญหา โดยวิธีการทางธรรมชาติสำหรับพื้นที่ชุ่มน้ำ ความหลากหลายทางชีวภาพ และผู้คน จะดีกว่าการใช้โครงสร้างพื้นฐานทางด้าน วิศวกรรม • พื้นที่ชุ่มน้ำและความหลากหลายทาง

ชีวภาพในพื้นที่ชุ่มน้ำสามารถช่วยในการ บรรเทาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยการเก็บกักก๊าชคาร์บอน และสภาพ ภูมิอากาศและฝนที่ตกในพื้นที่ • นโยบายการปรับตัวที่ผิดพลาดจะส่งผล เสียต่อพืน้ ทีช่ มุ่ น้ำและความหลากหลายทาง ชีวภาพของพื้นที่ชุ่มน้ำ นโยบายการนำน้ำ ไปใช้ ใ นการชลประทานมากขึ ้ น สำหรั บ การผลิตอาหารในช่วงที่มีการขาดแคลนน้ำ จะเป็ น การลดความสามารถของพื ้ น ที ่ ชุ่มน้ำในแผ่นดินในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการ

เพาะเลี ้ ย งสั ต ว์ น ้ ำ และการประมง การปรั บ ปรุ ง ผลผลิ ต อาหารเป็ น หนึ ่ งใน ปัจจัยและความบังเอิญทีไ่ ปลดประสิทธิภาพ ของนโยบายการปรั บ ตั ว ด้ า นอื ่ น ๆ ยุ ท ธศาสตร์ แ ละนโยบายการปรั บ ตั ว ที ่ ม ี พื ้ น ฐานด้ า นระบบนิ เ วศจะช่ ว ยในการ หลีกเลี่ยงผลกระทบด้านลบที่เกิดจากการ ปรับตัวที่ใช้แนวคิดแบบแยกส่วน

เราทุกคน

ประเทศกำลังพัฒนาและประเทศพัฒนาแล้ว โดยเฉพาะลูกหลานของเรา กำลังเผชิญกับความท้าทายอย่างหนักจาก ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพที่ควบคุมไม่ได้ แต่ไม่ใช่ว่าจะสิ้นหวัง เพราะเราสามารถช่วยได้ “ผู้ที่ทำงานเกี่ยวข้องกับพื้นที่ชุ่มน้ำ” เป็นผู้ที่สามารถเผยแพร่ข้อมูล เกี่ยวกับการดำเนินการในการ ดูแลรักษาพื้นที่ชุ่มน้ำ เพื่อแก้ปัญหาระดับโลกดังกล่าว

15

วันพื้นที่ชุ่มน้ำโลก


การดูแลรักษาพื้นที่ชุ่มน้ำ

คำตอบสำหรับการแก้ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เอกสารอ้างอิงที่เป็นประโยชน์ในการเรียนรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและ การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ

• Climate Change 2007: Synthesis Report. Contribution of Working Groups I, II and III to the Fourth Assessment Report of the Intergovernmental Panel on Climate. www.ipcc.ch/publications_and_data/publications_ipcc_fourth_assessment_report_synthesis_report.htm • Wildlife in a Changing World: An analysis of the 2008 IUCN Red List of Threatened Species. http://data.iucn.org/dbtw-wpd/edocs/RL-2009-001.pdf • Millennium Ecosystem Assessment, 2005. Ecosystems and Human Well-being: Wetlands and Water Synthesis. www.millenniumassessment.org/documents/document.358.aspx.pdf • Ramsar COP10 DOC.25: Additional information on climate change and wetland issues. www.ramsar.org/pdf/cop10/cop10_doc25_e.pdf • The Natural Fix: the role of ecosystems in mitigation. www.grida.no/_res/site/¬le/publications/natural-¬x/BioseqRRA_scr.pdf

พันธกิจของแรมซาร์ คือ “การอนุรักษ์และใช้ประโยชน์พื้นที่ชุ่มน้ำอย่างชาญฉลาด โดยการดำเนินกิจกรรมในระดับท้องถิ่นและระดับชาติ รวมถึง ความร่วมมือในระดับนานาชาติ เพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนทั่วโลก” รายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับอนุสัญญาแรมซาร์และงานของอนุสัญญา สามารถดูได้จากเวปไซด์ซึ่งจัดทำโดยอนุสัญญาแรมซาร์ และมีการปรับปรุงข้อมูลทุกวัน : www.ramsar.org กรุณาส่งรายงานเกี่ยวกับกิจกรรมวันพื้นที่ชุ่มน้ำโลกของคุณมาที่ : wwd@ramsar.org Ramsar Convention Secretariat Rue Mauverney, 28 1196 Gland, Switzerland Tel: +41 22 999 0170 Fax: +41 22 999 0169 e-mail: ramsar@ramsar.org

องค์การพื้นที่ชุ่มน้ำนานาชาติประจำประเทศไทย ตู้ ปณ. 95 ปณฝ. คอหงส์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90112 โทรศัพท์/โทรสาร : 074-429307 Website : http://thailand.wetlands.org E-mail : wetlandsinter_th@yahoo.com

Ramsar Convention ON WETLANDS www.ramsar.org


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.