CONTENTS สารบัญ History 01 ความเป็นมาของหนังตะลุง
Puppeteer 23 and Puppet
Opportunity 11 and time to play
Characters 31 of Shadowplay
Musical 15 เครื่องดนตรี
55 Specific Words
โอกาสและก�ำหนดเวลาในการเล่น
Theatre 19 โรงละคร
รูปหนังและคณะหนังตะลุง รูปหนังตะลุง
ศัพท์เฉพาะของหนังตะลุง
HISTORY
HISTORY OF NANG TALUNG
ความเป็ น มาของหนั ง ตะลุ ง Nang Talung
หนังตะลุง
Nang Talung or shadow play is one of the oldest humanity’s traditional shadow plays. Nowadays, when the words “Nang Talung” come up, what the listeners always hear is “Southern of Thailand” in their minds. Nang Talung is always the first performance that is mentioned because not only has it been a local Southern cultural performance for a long time but it has also been a cultural heritage up until now.
การละเล่นประเภทละครเงา (SHADOW PLAYS) ซึง่ เป็ นวัฒนธรรมการละเล่นทีเ่ ก่าแก่ ของมนุษยชาติ ประเภทหนึง่ ไม่วา่ การละเล่นประเภทเงาดังกล่าวจะ มีต้นตอ มาจากที่ใดและพัฒนามาอย่างไร แต่เมื่อ ไหร่ก็ตามที่มีการเอ่ยถึงค�ำว่า “หนังตะลุง” ในสังคม ไทยปั จจุบนั ความคิดหรื อค�ำที่จะเกิดขึ ้นในความ รู้ สึกของผู้คนตามมาก็คือค�ำว่า “ภาคใต้ ” ค�ำหนัง ตะลุงที่ค่มู ากับค�ำว่าภาคใต้ โดยตลอดนี ้จึงเป็ นสิ่ง สะท้ อนหนังตะลุงเป็ นวัฒนธรรมประเภทการละเล่น พื ้นบ้ านที่ส�ำคัญยิ่งส�ำหรับชาวภาคใต้ อย่างแท้ จริ ง
TALUNG BOOK | 2
History of Nang Talung From the evidence, it is believed that it is one of the puppetry arts dated from the Srivijaya times (Srivijaya was in the 13th century Buddhist era) but the first type of play was disappeared. As far as people know, in Rattanakosin era. Nang Talung was performed outdoor on the ground with no raised floor and no screen as today.
The play used to play in the day and night. For the day play, a big torch called Tai Nang Chang was used to provide light. The puppets are made from cow skin or buffalo skin, with large size. The height is about 140 cm. and using a stick pinching with the figures in order to hold on when the puppeteer plays the puppets.
TALUNG BOOK | 3
A puppeteer would hold only one puppet at a time but would play every character on the screen. Moreover, when they play on each character, they dance along while holding it. This style was called “Ram Nang or Leather play”. However, some group of people called this play as “Ram Nhang or Leather play” even they are not dance while playing anymore.
This play is very difficult to play because it requires many people as the leather puppets were heavy. To perform in other places, carts were used to carry the leather puppets.Later, the Javanese Wayang Kulit (Javanese shadow puppet) was imported to the south of Thailand and up to Bangkok as evidenced in the Khun Chang Khun Phaen story in the part of the funeral of Wan Thong. The puppets were changed into smaller figures and still using a stick pinch the figure and displaying shadow figures on a back-lighted from bonfire with white screen from large white cloth performed on a stage that was constructed with a raised 4 towers floor. The audience watched shadow from the screen through backlight and listened to the voice not focus on the puppeteer.
It requires only few staffs to work on. Hua-yuak and Plai-yuak were the name of 2 players sitting opposite the screen who sang and spoke the play with funny tone. If needed, the third player was called “Sak Roop”. According to the legendary, they said that the man who created Nang Talung was named”Nui, Nai Nui or Mr. Nui “ Nai Nui was an ordinary villager lived in Phattalung, no one was sure that he lived in Khao Chai Son District or Phatthalung Main City District. Therefore, another name of this puppet was called “Nang Kuan” according to the place that Nui lived. Some people mentioned that the name “Nang Kuan” was come from the place they played which usually played in hill called”Kuan”(Southern dialect, means mountain). However, this name is used to refer to the play before it has the word “shadow play or Nung Talung.” TALUNG BOOK | 4
ประวัตหิ นังตะลุง ตามต�ำนานบอกเล่า ซึง่ นายหนังตะลุงถ่ายทอดไว้ เป็ นบทไหว้ ครูหนัง (ตอนออกรูปกาก) ต่างกล่าวเป็ น เสียงเดียวกันว่า หนังมีมาแต่ครัง้ ศรี วิชยั (ศรี วิชยั อยู่ ระหว่างพุทธศตวรรษที่ 13) แต่ชนแรกรู ั้ ปแบบการ เล่นจะเป็ นอย่างไรไม่ทราบได้ เท่าที่ทราบก็เมื่อต้ น รัตนโกสินทร์ ดังความเล่าต่อๆกันว่า เดิมหนังเล่นบน พื ้นดินในที่ลานเตียนโล่งแจ้ งไม่ยกโรง ขึงจออย่างนี ้ ทุกวัน เล่นทังกลางวั ้ นกลางคืน หนังที่เล่นกลางวัน จะใช้ วิธีสมุ ไฟหรื อไต้ ขนาดใหญ่ เรี ยกว่า “ไต้ หนัง ช้ าง” ส�ำหรับให้ แสงสว่าง รู ปหนังแกะด้ วยหนังวัว หนังควาย ขนาดรู ปใหญ่ สูงแค่อก ไม่ใช้ ไม้ ตบั คีบ ตัวหนังส�ำหรับจับถือ รูปตัวหนึง่ เวลาออกเชิดใช้ คน ถือออกเชิดเต้ นคนหนึง่
การเล่นหนังแบบนี เ้ รี ยกว่า “ร� ำหนัง” แม้ บางถิ่ น ปั จจุบนั ก็ยงั เรี ยกเช่นนัน้ ทังๆที ้ ่หนังเลิกเต้ นเชิดกัน แล้ ว การเล่นหนังลักษณะดังกล่าว ออกจะยุง่ ยากไม่ น้ อยเพราะต้ องใช้ คนมาก ตัวหนังก็มากและหนัก จนถึงขนาดเวลาไปเล่นต้ องใช้ เกวียนชักลาก ต่อมา หนังแขก (หนังชวา) เข้ ามาเล่นในภาคใต้ และเลยขึ ้น ไปถึงกรุงเทพ ดังปรากฎ หลักฐานในขุนช้ างขุนแผน ตอนท�ำศพนางวันทอง หนังแขกนันเป็ ้ นตัวหนังตัว เล็ก เล่นบนโรง ไม่ล�ำบากยุง่ ยากอย่างที่เคยเล่นมา จึงมีผ้ คู ดิ เอาอย่าง ประยุกต์ประสมประสาน เข้ ากับ หนังแบบเดิม โดยปลูกโรงยกพื ้นสูง ใช้ เสา 4 เสา หลังคาแบบเพิงหมาแหงน ใช้ ผ้าขาวเป็ นจอส�ำหรับ เชิดรูป (รูปหน้ า 21)
TALUNG BOOK | 5
ผู้ดกู เ็ พียงเงาของรูปซึง่ เกิดจากไฟส่องด้ านหลัง และ ฟั งค�ำพากษ์ ไม่ต้องดูลลี าท่าทางของผู้เชิด คนเชิดก็ ลดเหลือ 2 คนนัง่ คนละซีกจอ เรี ยกว่า “หัวหยวก” – ปลายหยวก ท�ำหน้ าที่ขบั ร้ องกลอนเชิดรู ปพระนาง และรูปตัวส�ำคัญคนหนึง่ เชิดรูปกาก (ตัวปลีกย่อย) ตัวตลกพร้ อมแสดงมุขตลกอีกคนหนึ่ง ถ้ ามากกว่า นี ้อาจมีคน “ชักรูป” อีกคนหนึง่ แยกออกไปจากนาย หนังก็ได้ ตามต�ำนานหนังตะลุงระบุวา่ ผู้เป็ นต้ นคิด หนังแบบนี ค้ ือ นายนุ้ย บุคคลผู้นีบ้ ้ างคนบอกว่า เป็ นชาวบ้ านควนมะพร้ าว อ�ำเภอเมืองพัทลุง บ้ าง คนบอกว่าเป็ นชาวบ้ านดอนควน อ�ำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง หนังที่คิดขึ ้นจึงได้ ชื่อว่า “หนังควน” ตามถื่นก�ำเนิด แต่บางท่านว่าทีเ่ รียกหนังควน เพราะ สถานที่เล่นต้ องเลือกที่เนิน ซึ่งภาคใต้ เรี ยกเนินว่า “ควน” อย่างไรก็ตามชือ่ นี ้ใช้ เรียกหนังภาคใต้ มาก่อน จะมีค�ำว่า ”หนังตะลุง” ใช้ ที่มา ของหน้ า 01-07, สถาพร ศรี สจั จัง, (2544).อัจฉริ ยลักษณ์การละเล่นแห่งเมืองใต้ , Songkhla: Thaksin educational institutions Songkhla TALUNG BOOK | 6
Nang Kuan introduced shadow play to Bangkok at Nang Loeng Market during the reign of Phraya Phatthalung (Puek). This play was from people in Phatthalung province. Due to the shadow play was by Phatthalung people, it was called Phatthalung and later was slightly changed to Nang Talung. That band was recognized as “Tong Kua” the 3rd band from Original Nui’s band.
หนังจากภาคใต้ ได้ เข้ าไปเล่นในกรุ งเทพ ครัง้ สมัย พระบาทสมเด็จ พระนัง่ เกล้ าเจ้ าอยูห่ วั โดยพระยา พัทลุง (เผือก) น�ำไปเล่นแถวนางเลิ ้ง หนังทีเ่ ข้ าไปครัง้ นันไปจากพั ้ ทลุง คนกรุ งเทพจึงเรี ยก “หนังพัทลุง” แล้ วเสียงเพี ้ยนเป็ น “หนังตะลุง” ในภายหลัง คณะ หนังที่เข้ าไปเล่นครัง้ นันเข้ ้ าใจว่าจะเป็ น “หนังทอง เกื ้อ” เป็ นหนังคณะที่ 3 สืบจากหนังนุ้ย หนังควน เพราะสถานที่เล่นต้ องเลือกที่เนิน ซึ่งภาคใต้ เรี ยก เนิน ว่า “ควน” อย่างไรก็ตามชื่อนี ้ใช้ เรี ยกหนังภาค ใต้ มาก่อนจะมีค�ำว่า ”หนังตะลุง”
TALUNG BOOK | 7
1
Therefore, another name of this puppet was called "Nang Kuan" according to the place that Nui lived
Nai Nui was an ordinary villager lived in Phattalung no one sure that he lived in Khao Chai Son District or Phatthalung 1. Thailand map TALUNG BOOK | 8
Southern Thailand Some people mentioned that the name "Nang Kuan" was come from the place they played which usually played in hill called "Kuan" (Southern vocabulary). However, this name is used to refer to the play before it has the word "shadow play or Nung Talung" used. Nang Kuan introduced shadow play to Bangkok at Nang Loeng Market during the reign of Phraya Phatthalung (Puek). This play was from people in Phatthalung province. Due to the shadow play was by Phatthalung people, it was called Phatthalung and later was slightly changed to Nang Talung. That band was recognized as "Tong Kue Band " the 3rd band from Original Nui's band
TALUNG BOOK | 9
OPPORTUNITY
OPPORTUNITY AND TIME TO PLAY
โอกาสและก� ำ หนดเวลาในการเล่ น In the past, shadow plays were in celebrations such as sacred events but marriage is not popular. The more fun it has, the more it needs to organize as a competition, which most income was transfer into public budget. Shadow play may be played half-night or all night. However, most of the play usually starts at about 9 pm and stop by midnight for about an hour for a break and continuing to morn.
เดิมหนังตะลุงจะเล่นในงานสมโภชหรื องาน เฉลิมฉลองต่างๆ ส่วนงานมงคล เช่น แต่งงาน จะไม่นิยม แต่ปัจจุบันความเชื่ อดังกล่าวได้ เลื่อนไปมาก มีการใดๆ ก็มกั รับหนังตะลุง มา เล่นเป็ นการครึ กครื น้ ยิ่งจะให้ สนุกเป็ นพิเศษ ก็ต้องจัดประชันขันแข่งกันเป็ นมหกรรมใหญ่ โต ส่วนใหญ่มกั เป็ นการหารายได้ เพื่อใช้ ในกิจ การสาธาณะ การเล่นหนังตะลุงอาจเล่นเพียง ครึ่งคืนหรื อตลอดคืนก็ได้ แต่สว่ นใหญ่มกั เล่น กันยันสว่าง โดยเริ่ มเล่นตังแต่ ้ เวลาประมาณ 3 ทุม่ และ หยุดพักเที่ยงคืน ประมาณ 1 ชัว่ โมง
ที่มา ของหน้ า 12, สถาพร ศรี สจั จัง, (2544).อัจฉริ ยลักษณ์การละเล่นแห่งเมืองใต้ , Songkhla: Thaksin educational institutions Songkhla TALUNG BOOK | 12
เวลาพักเริ่ มจากเที่ยงคืนถึงตีหนึง่ รวมเป็ นเวลา 1 ชัว่ โมง
TALUNG BOOK | 13
MUSICAL
1
2
3
MUSICAL 4
1. ฉิ่ง (Cymbal) 2. ปี่ (Oboe) 3. กลอง (Drum) 4. โหม่ง (Gong) ที่มา ของหน้ า 16-17 สถาพร ศรี สจั จัง, (2544).อัจฉริ ยลักษณ์การละเล่นแห่งเมืองใต้ , Songkhla: Thaksin educational institutions Songkhla TALUNG BOOK | 16
NANG TALUNG MUSICALS เครื่ อ งดนตรี
Musical instrument Most of shadow plays will play with small instruments such as a pair of Tab for rhythm and melody controlling, a pair of Mong (Gong) for supporting vocal’s voice, Klong (Drum) for combination of Tab’s rhythm, a pair of Ching for combination of Mong’s supporting voice, and Pi (Oboe) for controlling the melody. However, the latter has other music to mix or replace traditional music.
1. ฉิ่ง (Cymbal) 2. ปี่ (Oboe) 3. กลอง (Drum) 4. โหม่ง (Gong)
เครื่ องดนตรี ในการเดินเรื่ องหนังตะลุงใช้ เครื่ องดนตรี น้อยชิน้ ที่ส�ำคัญประกอบด้ วย ทับ 1 คู่ เป็ นตัวคุมจังหวะ และท�ำนอง โหม่ง 1 คู่ส�ำหรับประกอบเสียงร้ อง กลอน กลองตุ๊ก 1 ลูก ส�ำหรับขัดจังหวะทับ ฉิ่ง 1 คู่ ส�ำหรับขัดจังหวะโหม่ง และปี่ 1 เลา ส�ำหรับเดิน ท�ำนอง แต่ระยะหลังมีดนตรีอนื่ ๆ เข้ าไปประสมหรือ อาจใช้ แทนดนตรี ดงเดิ ั้ ม
TALUNG BOOK | 17
THEATRE
NANG TALUNG THEATRE โรงละคร
Theater and equipment The temporary theater will be planted with four poles stage that was constructed with raised floor, size of the theater was about 2.3 X 3.0 meters. The roof is an open type. The sides are roughly covered. Inside the theater, banana stalk was mounted with screen for holding puppets. A torch called Tai was used to provide light and in developed into lamp, lantern and light bulbs respectively by hanging at the center of screen which form a piece of white cloth.
โรงหนังและอุปกรณ์ ภายในโรงหนัง โรงหนังตะลุงจะปลูกเป็ นเรื อนชัว่ คราว ยกเสา 4 เสา ยกพื ้นสูงเลยศรี ษะเล็กน้ อย หลังคาเป็ นแบบเพิงหมา แหงน ขนาดโรงประมาณ 2.30 X 3.0 เมตร ด้ านหน้ า ขึงจอผ้ าขาว ด้ านข้ างกันอย่ ้ างหยาบๆ ภายในโรงมี หยวก วางชิดจอส�ำหรับปั กรูป 1 ต้ น มีเครื่ องให้ แสง สว่างสมัยก่อนใช้ ไต้ แล้ วพัฒนามาเป็ นตะเกียงไขวัว หรื อ ตะเกียงเจ้ าพายุ และต่อมาใช้ ไฟฟ้าตามล�ำดับ โดยแขวนไว้ กลางจอ ห่างจากจอ สูงจากพื ้นโรงพอๆ กัน
TALUNG BOOK | 20
ที่มา ของหน้ า 20 ,สถาพร ศรี สจั จัง, (2544).อัจฉริ ยลักษณ์การละเล่นแห่งเมืองใต้ , Songkhla: Thaksin educational institutions Songkhla TALUNG BOOK | 21
PUPPET AND PUPPETEER
PUPPET AND PUPPETEER
รู ป หนั ง และคณะหนั ง ตะลุ ง Puppeteer
คณะหนังตะลุง
In the past, the shadow puppeteer is about 9-12 people. The 2 main puppeteers will perform puppets and musician will perform the song included a pair of Tab, Drum, Pi, Moong, Ching and Grap.In addition they also have the duty to keep the instrument on the journey. Ching and Grap’s player are responsible for the puppets store board, which contain all the puppets. Moreover, they have to place puppets in the cabinet neatly for Nai-Rong can easily pick up any puppets.
สมัยก่อนคณะหนังตะลุงมีประมาณ 9-12 คน เป็ น นายหนัง คือ คนเชิดรู ป 2-3 คน มีลกู คู่ครบตาม เครื่ องดนตรี คือ คนตีทบั 2 คน กลอง 1 คน ปี่ 1 คน โหม่ง 1 คน ฉิ่ง 1 คน กรับ 1 ลูกคู่ นอกจากมีหน้ าที่ เล่นดนตรีแล้ วยังมีหน้ าทีข่ นย้ ายเครื่องดนตรีในการ เดินทางด้ วย คนตีฉิ่งและกรับมีหน้ าที่หามแผงรู ป ซึง่ เก็บรูปหนังตะลุงทังหมด ้ จึงมีสทิ ธ์พิเศษที่จะได้ รับเงินค่าเบิกโรงเป็ นค่ารางวัลตอบแทน แต่ต้องรับ หน้ าที่เก็บรู ปเข้ าแผงและน�ำรู ปออจากแผงจัดวาง ไว้ ให้ นายโรงหยิบเชิดได้ สะดวกและต้ องจัดวางให้ ถูกระเบียบนิยม
TALUNG BOOK | 24
Puppets Each group of puppeteers has a different puppet depending on the show and the opportunity to perform. The original puppets are quite large, except for the clown puppet. The puppets are divided into 4 categories. 1. Kru-puppet, an important puppet that waisted by the red cloth and will increased in each show.
3. Kak-peppet, refers to the puppet which used in the story, including the joke etc.
2. Rueang-Puppet, a modification or customization puppet, which used to represent the story of legend and Nang Talung.The left wing is the evil: the giant and the bad. Right wing is the good:human.
4. Bet-ta-led- Puppet (Miscellaneous), refers to the puppet which used to represent the story in addition of human and giant puppets such as trees, mountains, horses, knives, etc.
TALUNG BOOK | 25
รู ปหนัง หนังตะลุงแต่ละคณะจะมีรูปหนังที่ใช้ การแสดงไม่ เท่ากัน ขึ ้นอยู่กบั เรื่ องที่น�ำมาแสดงและโอกาสใน การแสดง รูปหนังตะลุงเดิมจะมีขนาดค่อนข้ างใหญ่ เว้ นแต่รูปตัวตลก รูปหนังแบ่งออกเป็ น 4 ประเภท 1. รู ปครู เป็ นตัวหนังส�ำคัญ มีข้อสังเกต คือจะมี ผ้ าแดงคาดไว้ ที่เอว โดยผ้ าแดงจะเพิ่มจ�ำนวนขึ ้น ทุกครัง้ ที่มีการไหว้ ครู
3. รูปกาก หมายถึง รูปประกอบที่ใช้ ในการแสดง เรื่ องรวมทังรู้ ปตัวตลกที่นอกเหนือจากรูปส�ำคัญ 4. รูปเบ็ดเตล็ด หมายถึง รูปที่ใช้ ประกอบในการ แสดงเรื่ องที่นอกเหนือจากรู ปมนุษย์ และรู ปยักษ์ เช่น ต้ นไม้ ภูเขา ช้ าง ม้ า มีด พระขรรค์ เป็ นต้ น
2. รูปเรื่อง หมายถึง รูปทีใ่ ช้ ในการแสดงเรื่องทังเรื ้ ่อง ที่เป็ นหรื อเรื่ องจักรๆวงศ์ๆ รวมทังเรื ้ ่ องที่ นายหนัง ตะลุง ดัดแปลงหรื อคิดแต่งขึ ้นเอง แบ่งรูปหนังออก เป็ นรูปหนังฝ่ ายอธรรม ได้ แก่พวกยักษ์ และตัวร้ าย ในเรื่ อง รูปฝ่ ายขวา เป็ นรูปฝ่ ายธรรมะ ได้ แก่ พวก มนุษย์ทงหมด ั้
TALUNG BOOK | 26
Special puppets characteristic The hermit puppet of each band may not be the same size. The hermit is regarded as a sacred puppet of the teacher of all bands. The hermit is embroidered in the middle between the face of the water and the face of the fire. Face of the water is referred to Rama and face of the fire is referred Antidote. Both of these are in arrows, sometimes called “prang,� which are released before another, by engaging face-to-face position. Puppeteer will set up hermit at the middle of screen and not control or play it. After finished, puppeteer can take this out or play it.
The Clown puppet, for the western shadow, this character is distinctive. The shadow play in the southeast coast, in general, the clown was told that it imitated from the real people, such as Teng, which copy from a villager at Ban Ku Khud, Sathing Phra District, Songkhla Province. Teng was tall, wide mouth, his face was look like a hawk and curly hair
TALUNG BOOK | 27
ลักษณะรู ปหนังบางตัว รู ปฤาษี ของหนังแต่ละคณะอาจจะมีขนาดไม่เท่ากัน รู ปฤาษี ถือว่า เป็ นรูปศักดิส์ ทิ ธ์หรื อรูปครูของหนังทุกคณะ รูปฤาษีจะปั กอยูต่ รงกลาง ระหว่างรูปหน้ าน� ้ำและรูปหน้ าไฟรูปหน้ าน� ้ำและรูปหน้ าไฟ รูปหน้ าน� ้ำก็ คือพระรามซึง่ เป็ นฝ่ ายธรรมะเปรี ยบเสมือนน� ้ำ คูก่ บั รูปหน้ าไฟคือทศ กัณฐ์ ซงึ่ เป็ นฝ่ ายอธรรม เปรี ยบเสมือนไฟ รูปทังสองนี ้ ้อยูใ่ นท่าทรงศร บางครัง้ จึงเรี ยกว่า “รูปแผลง” จะออกก่อนรูปอื่นโดยออกปั กคูห่ นั หน้ า เข้ าหากัน ปั กรูปฤาษีไว้ ตรงกลาง รูปนี ้ไม่มีการเชิดปั กไว้ เฉยๆ กลางจอ เมื่อหนังลงโรง เบิกโรงเสร็ จแล้ วก็ถอดรูปนี ้ออกแล้ วจึงออกหรื อเชิดรูป ฤาษี รู ปตัวตลก ส�ำหรับรู ปตัวตลกหนังตะลุงภาคใต้ ฝั่งตะวันตกที่มี ลักษณะที่มีลกั ษณะเด่นเป็ นพิเศษ ซึง่ หนังตะลุงภาคใต้ ฝั่งตะวันออก โดนทัว่ ไปรูปตัวตลกของหนังตะลุงเล่ากันว่า แกะเลียนแบบมาจากคน จริ งๆ เช่น อ้ ายเท่ง เล่ากันว่าถอดแบบมาจากชาวบ้ านคนหนึง่ ที่บ้านคู ขุด อ�ำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา เป็ นคนผอมสูงโย่ง ปากกว้ าง หน้ าตา คล้ ายนกกะฮัง หัวเถิก ผมหยิก
ที่มา ของหน้ า 24-29, สถาพร ศรี สจั จัง, (2544).อัจฉริ ยลักษณ์การละเล่นแห่งเมืองใต้ , Songkhla: Thaksin educational institutions Songkhla TALUNG BOOK | 28
Puppets cabinet Every band must have a Puppets cabinet to protect the puppets. It can be moved in various places. The cabinet is made from bamboo or leather but the most popular is Bamboo. The cabinet is a polished bamboo or polished stripe pattern which smooth and beautiful, and may be painted. At the four edges of the cabinet are tied with rattan. Another two components are clamp, which has two pairs made of bamboo or other hardwood by clamping along the width of the cabinet at the end of the side on each side. When puppets were stored, it will cover all of puppets
แผงหนัง แผงหนังหรื อหีบเก็บรู ปหนัง หนังตะลุงทุกคณะจะต้ องมีแผงกันหนังเพื่อเก็บรักษาหนังตะลุงไม่ให้ เสียหาย สามารถเคลื่อนย้ ายและน�ำไปแสดงในที่ตา่ งๆ ได้ สะดวก แผงหนังมีทงที ั ้ ่ท�ำด้ วยไม้ ไผ่ เป็ นหีบกระเป๋ า หีบไม้ แต่ที่นิยมกันมากคือ แผงหนังที่มีท�ำด้ วยไม้ ไผ่ เป็ นแผ่นไม้ ไผ่ขดั หรื อสานขัดลายเรี ยบแน่นสวยงามและอาจ จะทาสีเป็ นลวดลายด้ วย ขอบทังสี ้ ่ด้านของแผงจะผูกด้ วยหวาย และยังมีสว่ นประกอบอีก 2อย่าง คือไม้ หนีบ แผง มี 2 คู่ ท�ำจากไม้ ไผ่ หรื อไม้ เนื ้อแข็งอื่นๆ โดยหนีบตามแนวกว้ างของแผงตรงส่วนปลายแผงด้ านละคู่ เมื่อ เก็บรูปก็จะปิ ดทับให้ รุปที่ซ้อนกันเรี ยบสม�่ำเสมอ TALUNG BOOK | 29
CHARACTERS
NANG TALUNG CHARACTERS รู ป หนั ง ตะลุ ง
Shiva puppet protects and transforms the universe. In the play, shiva was called “Pra Co or Roop Co.” If a band can have very rare four white feet with white forehead, face and tail of cow skin, the bad is considered as sacred.
พระอิศวร SHIVA ถือเป็ นรู ปศักดิ์สิทธิ์ และเป็ นเทพเจ้ าแห่ง ความบันเทิง พระอิศวรจะทรงโคอุสภุ ราช หรื อโคนนทิ หนังเรี ยก รูป พระอิศวรว่ารูป พระโค หรื อรู ปโค หนังคณะใดสามารถ เลือกหนังวัวที่มีเท้ าทัง้ 4 เป็ นสีขาว โหนก สีขาว หน้ าผากรูปใบโพสีขาว ขนหางสีขาว วัวประเภทนี ้หายากมากถือเป็ นมิ่งมงคล เล่นในสถานที่ใดขอให้ ลาภล้ นสมหวังศรี ศรี สวัสดีมีลาภังห่อหุ้มคุ้มบังอันตรายอย่า ได้ มีมาก... TALUNG BOOK | 32
TALUNG BOOK | 33
ฤาษี RUSI
เป็ นรู ป ครู ที่ มี ค วามขลัง และศัก ดิ์ สิ ท ธิ์ สามารถป้ อ งปั ดเสนี ย ดจั ญ ไรและ ภยันตรายทัง้ ปวง ทัง้ ช่วยดลบันดาลให้ หนังแสดง ได้ ดี ร่ายโองการหรื อร่ายมนต์ ฤาษี เป็ นของเก่า หนังรุ่ นแรก ๆ ผูกแต่ง ขึ ้นเป็ นภาษาถิ่น เช่น เดียด สะเดียด คือ เสนียด ผีโภต คือภูตผี
The Hermit puppet, is seen in all shadow puppets performances. He is known to have religious and magical powers. Rusi is seen as the protector of the troupe and is honored by the shadow play for this reason. In the ordinary shadow plays, hermit’s spell or hermit’s cast is legendary spell was written in local language such as Died ,Sa-Died ,or Sa-Nied which mean the ghost. “To play the hermit puppet is the most technically play which showed the abilities of that band”
TALUNG BOOK | 34
“ การออกฤาษี หรื อชักฤาษี ถือเป็ นศิลปะการเชิดขันสุ ้ ดยอด หนังคณะใดจะเชิดรู ปอื่น ๆ ได้ ดีหรื อไม่เพียงใด ดูที่การเชิดรู ป ฤาษี นี่เอง ”
TALUNG BOOK | 35
หนุมาน MONKEY
เป็ นธรรมเนี ยมการเล่น หนังตะลุงสมัย ก่อน ปั จจุบนั เลิกเล่นแล้ ว เข้ าใจว่า ได้ รับ อิทธิพลจากหนังใหญ่ เพราะรู ปที่ใช้ เชิด คือหนุมาน หนุมาน เป็ นลิงเผือก มีลกั ษณะพิเศษคือ กายสีขาว และเป็ นทหารของพระรามใน เรื่ องรามเกียรติ์
In the old days, Monkey puppet used to be on the shadow play however, this character stopped being on the plays as it was influenced by “Nang Yai” story. Due to the fact that the monkey character became a big character “Hanuman” in a play called Ramayana, which is the white monkey with supernatural power that protect the A play called Ramayana, which is the white monkey with supernatural power that protect the soldier protagonist of Rama.
TALUNG BOOK | 36
TALUNG BOOK | 37
พระราชา / เจ้ าเมือง KING / GOVERNER ส่ ว นมากจะเป็ นพระราชบิ ด าของ พระเอกหรื อนางเอก ในบางเรื่ องเจ้ า เมืองมีบทบาทไม่มากนัก แต่บางเรื่ อง ก็เป็ นตัวส�ำคัญที่ท�ำให้ ตวั เอกต้ องเดิน ทางออกจากเมือง Father of the hero or heroine. In some cases, the governor is not very active, but some story he is the important reason for the protagonist to leave the city.
TALUNG BOOK | 38
TALUNG BOOK | 39
นางเมือง QUEEN เป็ นพระมเหสีของเจ้ าเมืองมีบทบาทเป็ น เพียงผู้ตามแม้ บางครัง้ จะเห็นว่าการที่เจ้ า เมือง สัง่ ลงโทษพระโอรสหรื อ พระธิดา ไม่ เป็ นการถูกต้ องแต่มกั มิได้ คดั ค้ าน
The King’s wife, the role is only a follower, sometimes even see that the King ordered to punish the son or daughter is not accurate right, but she often not objected to this.
TALUNG BOOK | 40
TALUNG BOOK | 41
พระเอก HERO ในวรรณกรรมหนังตะลุงส่วนใหญ่จะเป็ น โอรสกษัตริ ย์ แต่บางเรื่ องพระเอกอาจจะ อยูใ่ นฐานะ ของลูกตายาย ซึง่ เป็ นคนจน พระเอกจะมีคณ ุ สมบัติเป็ นผู้มีความรู้ มี ความสามารถ มีคณ ุ ธรรม มีอ�ำนาจวิเศษ เหนื อ มนุษ ย์ ธ รรมดา มี ข องวิ เ ศษ เป็ น อาวุธ ประจ� ำ กายซึ่ง อาจได้ รั บ จากฤาษี หรื อเทวดา ตัวเอกฝ่ ายชายส่วนใหญ่จะมี รู ปร่ างงามสง่า กล้ าหาญ แต่มกั จะเจ้ าชู้ มีภรรยามาก
Usually be the King’s son , but some of the hero may be in the position of a poor man . Hero will qualify as a knowledgeable, competent, virtuous, superhuman, magical person that may be given by a hermit. Most of Hero are very brave, but often be the masher.
TALUNG BOOK | 42
TALUNG BOOK | 43
นางเอก HEROINE ในวรรณกรรมหนังตะลุงส่วนใหญ่ มัก จะเป็ นธิดาของกษัตริ ย์หรื อธิดาของเจ้ า เมืองยักษ์ หากเป็ นธิดาของเจ้ า เมือง ยักษ์ มักจะเป็ นผู้ที่ฤาษี น�ำมาชุบเลี ้ยง ไว้ หรื อถูกบิดาส่งมาให้ ศกึ ษาศิลปะวิชา นางเอกจะมีรูปร่างทีง่ ดงาม จิตใจดีแทบ ทุกเรื่ อง ในวรรณกรรมบางเรื่ องนางเอก อยู่ในรู ปก�ำบังคือมองไม่เห็นตัวหรื ออยู่ ในคราบที่นา่ เกลียดน่ากลัวคล้ ายๆ นาง ปี ศาจ แต่ภายหลังก็ได้ รับการแปลงโฉม ให้ งดงามเหมือนเดิม ลักษณะนิสยั อีก อย่างหนึง่ ของนางเอกคือมีความซือ่ สัตย์ รักเดียวใจเดียว และมีความจงรักภักดี ต่อสามี
In most shadow play is usually the daughter of a king or daughters of a giant. If she is the daughter of giant, she can be the kid who was looked after by hermit or was sent by her father to study art. The heroine will have a beautiful face, some of the heroine have scary face like demon, but later was transformed to look beautiful. Another characteristic of the heroine are honestly,single-minded love and loyalty to her husband.
ที่มา ของหน้ า 31-45, ส�ำนักทรัพยากรการเรี ยนรู้ คุณหญิงหลง อรรถกระวีสนุ ทร, ,มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ http://dowload.clib.psu.ac.th/datawebclib/exhonline/ talung/talung.html TALUNG BOOK | 44
TALUNG BOOK | 45
TALUNG BOOK | 46
เท่ ง THENG เป็ นคนท้ องถิ่นเรี ยกขนานนามว่า เป็ นนักแสดง ตลกที่สร้ างเสียงหัวเราะที่สร้ างขึน้ ให้ กับผู้ชม เป็ น ตัว ที่ นิ ย มมากที่ สุด ในบรรดาหุ่น เชิ ด หนัง ตะลุง เนื่องจากมีลกั ษณะเป็ นคนพิเศษและตลก ทุกครัง้ เมือ่ เขาออกมาแสดงบนหน้ าจอ นอกจาก นี เ้ ท่งยังมีจมูกใหญ่ อีกด้ วย ชาวบ้ านมักเรี ยก ว่าเขาเป็ น “หน้ านกเงือก” เขามักจะสวมโจง กระเบนผ้ า ไม่สวมเสือ ผิวด�ำและมีมีดพก เขา ไม่กลัวทีจ่ ะพูดเสียงดังจะซือ่ สัตย์ บางครัง้ มีนสิ ยั ชอบขู่คนอื่น บ้ านเกิดของเขาที่คดุ ขุด อ�ำเภอ สทิงพระ จังหวัดสงขลา
As the locals call a comedian who created laughter to the audience. Theng is the most popular character among the shadow play puppet characters. this is because there is an spacial person in looks and funny every time. When he came out to show the screen. His character In addition, Theng will look funny, his hand is contorting is not assembled, big nose. Villagers are often called him is “Nok-nguek” (Hornbill). He alway wears loincloth no clothes tan skin and carry knife. He is not afraid to speak loudly to be honest, sometimes there is a propensity to threaten others. His hometown Khu Khut, Sathing Phra District, Songkhla
TALUNG BOOK | 47
TALUNG BOOK | 48
หนูน้ ุย NOO NUI ในอดีตมีนายหนังท่านหนึ่ง มีโอกาสเล่น หนังตะลุงใน ต�ำบลคลองขวาง จังหวัด สงขลา เขาก็มีโอกาสพบคน เขากลับมา เพือ่ สร้ างตัวละครชือ่ หนูน้ ยุ หน้ าเหมือนวัว ผมยาว หน้ าสกปรก มักจะพกมีดไตร (กรร ไกรเชียนหมากพลู) เป็ นเพียงครึ่งหนึง่ เป็ น อาวุธ สวมใส่ผ้าซิ่น แต่ไม่สวมใส่เสื ้อผ้ า บ้ านเกิดของเขา ต�ำบลคลองขวาง อ�ำเภอ เมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
In the past has a man who had a shadow play and he to play shadow play in Klongkwang, Songkhla. He had chance to meet the man insane a thin Odd gesture of sorts. the man is in retarded like on no very much. He came back to created the character. Named is noo Nui. He is looks like a cow with long hair, dirty face. he come with a Knife Tri (scissors, betel nut), which is only half as weapons. wear a sarong but don’t wear clothes. His hometown Klongkwang,Mueang Songkhla District, Songkhla. TALUNG BOOK | 49
TALUNG BOOK | 50
ยอดทอง YOD THONG เป็ นรู ปตลกที่ เก่าแก่รูปหนึ่ง ยอดทองมี อาชีพขายพลูอยู่ที่เขาชุมทองและบ้ างก็ ว่ายอดทองเป็ นคนล�ำป� ำจังหวัดพัทลุง แต่ มีภรรยาอยู่ อ�ำเภอระโนด จังหวัดสงขลา แต่อย่างไรก็ตามไม่วา่ ยอดทองจะเป็ นคน ที่ไหน อุปนิสยั ใจคอก็ไม่ต่างกันคือ ชอบ แต่งตัว ขีโ้ ม้ คุยโว แต่ไม่เอาจริ งเอาจัง เหมือน สีแก้ ว ชอบอยูใ่ กล้ ๆ ผู้หญิงหรือเจ้ า นายสวยๆ จนเกิดส�ำนวนว่า “ยอดทองบ้ า นาย” และบ้ ายอด้ วย A comedian puppet, he is a merchant in Chum-Thong mountain, some legend said that he was form Lam-Pam, Phattalung province which his wife was from Ra-nod, Songkhla. He likes to dressing up and being near a woman or his boss. TALUNG BOOK | 51
สีแก้ ว SRI KEAW ตามประวัตเิ ล่าว่ามีชาวบ้ าน อ�ำเภอระโนด จังหวัดสงขลา ชาวบ้ านเรียกลุงสีแก้ ว ผู้คน ให้ ความเคารพเชื่อถือมาก เวลาโกธรแก จะใช้ มือตบไม่ใช้ อาวุธ ตบแล้ วก็ไม่มีใคร กล้ าสู้ด้วย คนกลัวทังต� ้ ำบล เพราะเป็ นคน พูดจริ งท�ำจริ ง จากบุคลิคตังกล่ ้ าว ท�ำให้ มี คนน�ำ ลุงสีแก้ วมาท�ำเป็ นหนังตะลุง ร่ าง ใหญ่ๆ อ้ วนเตี ้ย ผิวด�ำ หัวล้ าน พุงยื่น ไม่ สวมเสื ้อผ้ า ไม่ถืออาวุธใดๆ เวลาโกรธหรื อ ต่อสู้จะใช้ มีมือตบหรื อไม่ก็ใช้ หวั ชน เป็ น ตนพูดจริ งท�ำจริ ง ซื่อสัตย์
According to history, he is a villagers in Ranot, Songkhla. People are very respectful. to him and no one dare to fight with his fist.He has a stubborn shape, buttocks, protruding, hunched, black, curly, crocodile look.
ที่มา ของหน้ า 46-52 , กลิน่ คงเหมือนเพชร, (2550). ยอดดาราตลกหนังตะลุง Bangkok: Suweeriyasan. TALUNG BOOK | 52
TALUNG BOOK | 53
SPECIFIC WORDS
SPECIFIC WORDS IN NANG TALUNG ศั พ ท์ เ ฉพาะของหนั ง ตะลุ ง
Nang Talung’s vocabulary is a language used to refer to equipment and rituals of Nang Talung, especially as the language of the southern villagers understand the meaning correctly. Although shadow plays will occur in the South not less than 180 years. Even its style was diffrent from original, but the language used for shadow play remains the same
1. Nai Nang (Puppeteer) is a player. He is responsible for the lives of everyone in the band and takes care of every piece of equipment.
2. Len Nang (Playing puppets) refers to perform, control the puppets, and recite the story.
TALUNG BOOK | 56
3. Kruang (musical instrument) refer to musical instrument such as Tap (small drum), Mong(gong), Klong (drum), Ching (cymbals) and etc.
4. Yuak Kluay (banana stalk) need to renew when changing place to play, but allowed to use again if does not change place. The position of banana stalk’s head is on the right of the screen. The center need to cut with opened triangle shape and put seceded betel inside and cover it.
TALUNG BOOK | 57
BIBLILOGRAPHY กลิน่ คงเหมือนเพชร, (2550). ยอดดาราตลกหนังตะลุง, Bangkok: Suweeriyasan _______________________________________________________ สถาพร ศรี สจั จัง, Editor, (2544). อัจฉริ ยลักษณ์การละเล่นแห่งเมืองใต้ , Songkhla: Thaksin educational institutions Songkhla
SPECIAL THANKS กราบขอบคุณพระครูวาปี ธรรมอุดม (เจ้ าอาวาสวัดคลองแห) ขอบคุณศูนย์วฒ ั นธรรมเฉลิมราชคลองแห ที่เอื ้อเฟื อ้ ข้ อมูล รูปหนังตะลุงและสถานที่ ______________________________________________________ ขอบคุณ นายประเสริ ฐ รักษ์ วงศ์ (1.)เลขาธิการสมาคมศิลปิ นพื ้นบ้ านจังหวัดสงขลาและครูหนัง (2.)บุคคลผู้ได้ รับการยกย่องให้ เป็ น ผู้มีคณ ุ ปู การด้ านการใช้ ภาษาไทย ที่เอื ้อเฟื อ้ รูปหนังตะลุงและข้ อมูลความรู้ ______________________________________________________ ขอบคุณเจ้ าหน้ าที่บรรณารักษ์ ห้องสมุดสถาบันทักษิณคดีศกึ ษา ขอบคุณเจ้ าหน้ าที่บรรณารักษ์ ห้องสมุดส�ำนักทรัพยากรการเรี ยนรู้ คุณหญิงหลง อรรถกระวีสนุ ทร ที่อ�ำนวยความสะดวกในการสืบค้ นข้ อมูล
TALUNG BOOK