History thai rice

Page 1

HISTORY OF THAI RICE

เรือ ่ ง : ประวัตข ิ ้าวไทย / เรียบเรียง : พรเทพ ทรงรุง่ เรือง


1

HISTORYOFTHAIRICE

เรือ ่ ง : ประวัตข ิ ้าวไทย / เรียบเรียง : พรเทพ ทรงรุง่ เรือง

HISTORY OF THAI RICE ข้าว ของไทยเป็ นพืชอาหารประจ�ำชาติทมี่ ตี ำ� นาน ประวัตศิ าสตร์มายาว นานปรากฏ เป็ นร่องรอยพร้อมกับ อารยธรรมไทยมาไม่นอ้ ยกว่า 5,500 ปี ซึง่ มีหลักฐานจากแกลบ ข้าวทีเ่ ป็ นส่วนผสมของดินใช้เครือ่ งปัน้ ดินเผาทีบ่ า้ น เชียง อ�ำเภอ โนนนกทา ต�ำบลบ้านโคก อ�ำเภอภูเวียง อันสันนิษฐานได้ว่าเป็ น เมล็ดข้าวทีเ่ ก่แก่ทสี่ ุดของไทยรวมทัง้ ยังพบหลักฐานเมล็ดข้าวทีข่ ุด พบทีถ่ ้ำ� ปุงฮุ ง จังหวัดแม่ฮ่องสอนโดยแกลบข้าวทีพ่ บนีม้ ลี กั ษณะ ของข้าวเหนียวเมล็ด ใหญ่ทเี่ จริญงอกงามในทีส่ ูง นอกจากนีย้ งั มีการคันพบเมล็ดข้าว เถ้าถ่านในดินและรอย แกลบข้าวบนเครือ่ งปัน้ ดินเผาทีโ่ คกพนมดี อ�ำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี แสดงให้เห็นถึงชุมชนปลูกข้าวสมัยก่อน ประวัตศิ าสตร์ในแถบชายฝั่ งทะเล รวมทัง้ ยังหลักฐานคล้าย ดอกข้าวป่าทีถ่ ้ำ� เขาทะลุ จังหวัดกาญจนบุรี อายุประมาณ 2,800 ปี ซึง่ อยู่ในช่วงรอยต่อของยุคหินใหม่ตอนปลาย กับยุคโลหะตอนต้น ภาพเขียนบนผนังถ�้ำหรือผนังหินอายุประมาณ 6,000 ปี ทีผ่ าหมอนน้อย บ้านตากุ่ม ต�ำบลห้วยไผ่ อ�ำเภอโขงเจียม จังหวัดอุ บลราชธานี มีลกั ษณะคล้ายบันทึก การปลูกธัญพืชอย่างหนึง่ ทีม่ ลี กั ษณะเหมือข้าว ภาพควาย แปลงพืชคล้ายข้าว แสดงให้เห็นว่า มนุษย์ได้รู้จกั การเพาะ ปลูกข้าวเป็ นอย่างดีแล้ว นัก วิทยาศาสตร์ชาวญีป่ ุ่น 3 คน คือ Tayada Natabe, Tomoya Akihama และ Osamu Kinosgita แห่งมหาวิทยาลัย Tottri และ กระทรวงเกษตรและกรมป่า ไม้ ได้ศกึ ษาวิจยั เกีย่ วกับเรือ่ งข้าวไทย ดูแกลบจากแผ่นอิฐ โบราณจากโบราณสถาน 108 แห่งใน 39 จังหวัดทัง่ ทุก ภาคของประเทศไทย ท�ำให้สนั นิษฐานได้ว่า การปลูกข้าวในไทย มีมานานนับตัง้ แต่พุทธศตวรรษที่ 6

โดยข้าวทีป่ ลูกจะเป็ นข้าวเหนียวนาสวนเมล็ดป้ อม และข้าวเหนียว ไร่เมล็ดใหญ่ ต่อมาการปลูกข้าวเหนียวไร่นอ้ ยลง แล้วเริม่ มีการ ปลูกข้าวนาสวนเมล็ดเรียวเพิม่ ขึน้ การศึกษาวิจยั นีท้ ำ� ให้ทราบว่า ในช่วงพุ ทธศตวรรษที่ 11-20 มีขา้ วชนิดต่างๆ จ�ำนวน 3 ขนาด คือ ข้าวเมล็ด ใหญ่ ได้แก่ ข้าวเหนียวทีง่ อกงามในทีส่ ูง ข้าวเมล็ดป้ อม ได้แก่ ข้าวเหนียวทีง่ อกงามในทีล่ ุม่ (ทัง้ สองชนิดมีการเพาะปลูกก่อน สมัยทวาราวดี (พุ ทธศตวรรษที่ 11-16) และเมล็ดข้าวเรียว ได้แก่ ข้าวเจ้า พบในสมัยศรีวชิ ยั (พุ ทธศตวรรษที่ 13-18) ซึง่ ข้าวแต่ละชนิดพบมากหรือน้อยแตกต่างกันไปตามระยะเวลา ประมาณ พ.ศ. 540-570 ไทยได้รบั อิทธิพลด้านกสิกรรม และการค้าจากจีน ซึง่ คาดว่ามาตามล�ำน�้ำโขงสู่ดนิ แดนอีสาน ตอนล่าง ทีน่ ยิ มปลูกข้าวเหนียวเมล็ดป้ อม และเมล็ดใหญ่กนั อย่าง แพร่หลาย เช่นเดียวกับภาคกลางในยุคทวาราวดี ใน ช่วงเวลา นัน้ เริม่ มีการเพาะปลูกข้าวเจ้าเมล็ดยาวเรียวขึน้ แล้ว สันนิษฐานว่า น�ำมาจากอาณาจักรขอม ซึง่ ในยุคนัน้ ถือว่า เป็ นชนชัน้ ปกครอง การหุงต้มข้าวเมล็ดยาวนีแ้ ตกต่างจากข้าวของชาวพืน้ เมือง จึง เชือ่ ว่าเป็ นสาเหตุให้ขา้ วชนิดนีถ้ ูกเรียกว่า “ข้าวเจ้า” และเรียกข้าว เหนียวว่า “ข้าวไพร่” บ้างก็เรียกว่า “ข้าวบ่าว” หรือ “ข้าวนึง่ ” ซึง่ ข้าวในสมัยนัน้ เรียกกันเป็ นสิง่ บ่งบอกชนชัน้ ได้อกี ด้วย

2

ใน สมัยกรุงสุโขทัย (พ.ศ. 1740-2040) ข้าวทีป่ ลูกใน สมัยนีย้ งั เป็ นข้าวเหนียวเมล็ดป้ อมและเมล็ดยาวเป็ นส่วนใหญ่ แต่ ก็เริม่ ปลูกข้าวเจ้าเมล็ดยาวเรียวเพิม่ มากขึน้ ตามล�ำดับ ในยุคนี้ พระมหากษัตริย์ทรงท�ำนุบำ� รุงการกสิกรรม ได้ผลผลิตอุ ดม สมบูรณ์ ดังปรากฏในศิลาจารึกว่า “ในน�้ำมีปลา ในนามีขา้ ว” มีการหักล้างถางพงและถือครองเป็ นทีท่ ำ� กิน และทีด่ นิ นัน้ จะ สืบทอดเป็ นมรดกตกทอดแก่ลูกหลาน การสร้างหลักปักฐาน เพือ่ ประกอบอาชีพกสิกรรมเช่นนี้ ก่อให้เกิดระบบการปกครอง เศรษฐกิจและสังคมขึน้ ดังนัน้ ระบบศักดินาซึง่ เป็ นการแบ่ง ระดับชนชัน้ ตามจ�ำนวนของพืน้ ทีน่ าจึงน่าจะเริม่ ใน ยุคนี้ ต่อ มา เข้าสู่สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น บ้านเมืองมีความมัง่ คัง่ เป็ นอู่ ข้าวอู่น้ำ� ทีส่ ำ� คัญ อีกทัง้ หัวเมืองในอาณาจักรจ�ำนวนมาก เริม่ ระบบการปกครองแบบจตุสดมภ์ม ี “กรมนา” ดูแลและส่งเสริม และสนับสนุนการท�ำนาอย่างจริงจัง เพราะข้าวเป็ นอาหารหลัก ของประชากรและเป็ นเสบียงส�ำรองในยามเกิดศึกสงคราม โดย ข้าวทีป่ ลูกส่วนใหญ่ยงั คงเป็ นข้าวเหนียวเมล็ดป้ อม และเมล็ดยาว แต่การปลูกข้าวเจ้าเมล็ดยาวเรียวมากขึน้ ด้วย

สมัย กรุงศรีอยุธยาตอนปลาย-กรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้นในต้น รัชสมัยรัชกาลที่ 3 ได้มกี ารเก็บอากรข้าวในภาคกลาง ส่วนใหญ่ เป็ นพันธุ์ขา้ วทีท่ างราชการแนะน�ำ หรือพันธุ์พน้ ื เมืองทีม่ คี ุณภาพ ส่วนภาคเหนือตอนบนนิยมปลูกข้าวเหนียว แต่ในภาคเหนือตอน ล่างและภาคใต้เน้นปลูกข้าวเจ้าเป็ นหลัก ใน ช่วงนีเ้ องทีป่ ระเทศตะวันตกได้ออกล่าอาณานิคม และเมืองไทย เป็ นหนึง่ ในเป้ าหมาย แต่ด้วยพระปรีชาญาณ และวิเทโศบายอัน ชาญฉลาดของพระมหากษัตริย์ทุกพระองค์ ไทยจึงรอดพ้นเงือ้ ม มือของต่างชาติ และด�ำรงเอกราชอยู่ได้ ซึง่ ส่วนหนึง่ คือ การเปิ ด เสรีการค้ากับต่างประเทศมากขึน้ ส่งผลให้ขา้ วกลายเป็ นสินค้า ออกทีส่ ำ� คัญของไทย รัฐบาลต้องขยายพืน้ ทีเ่ พาะปลูก เพิม่ ปริมาณผลผลิตข้าวใน เขตพืน้ ทีร่ าบลุม่ แม่น้ำ� เจ้าพระยา ทีม่ คี วามอุ ดมสมบูรณ์มากทีส่ ุด ปัจจุบนั การปลูกข้าวในประเทศไทย คงมีเพียงข้าวเมล็ดป้ อมทีพ่ บ มากในภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ขณะทีข่ า้ วเมล็ด ยาว พบมากในภาคกลางและภาคใต้ ทีม่ คี วามอุ ดมสมบูรณ์มาก ทีส่ ุด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีพน้ ื ทีป่ ลูกข้าว คิดเป็ น 45 % ของ พืน้ ทีเ่ พาะปลูกทัง้ ประเทศ ส่วนใหญ่ปลูกข้าวหอมมะลิ 105 ซึง่ เป็ นข้าวคุณภาพดีทสี่ ุดของโลก ข้าวทีป่ ลูกในพืน้ ทีแ่ ถบนีจ้ งึ มัก ปลูกไว้เพือ่ ขาย รองลงมาคือ ภาคกลาง และภาคเหนือ ทีพ่ น้ ื ที่ เพาะปลูกเท่ากันประมาณ 25% ทุกวันนีไ้ ทยเป็ นแหล่งปลูกข้าวทีผ่ ลิตออกสู่ตลาดโลกมากทีส่ ุด และเป็ นศูนย์กลางของการศึกษาวิจยั พันธุ์ขา้ ว ซึง่ แสดงให้เห็น ถึงบทบาทของผู ส้ ร้างต�ำนานแห่งอารยธรรมธัญญาหาร ของ มนุษยชาติ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.