ก เอกสารคำสอน การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน Sustainable Tourism ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรไท ครุธเวโช สาขาวิชาการท่องเที่ยวและบริการ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา กุมภาพันธ์ 2565 (ปรับปรุงครั้งที่ 2)
ข
ค เอกสารคำสอน การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน Sustainable Tourism ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรไท ครุธเวโช สาขาวิชาการท่องเที่ยวและบริการ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา กุมภาพันธ์ 2565 (ปรับปรุงครั้งที่ 2)
ง
ก คำนำ เอกสารคำสอน “การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน” ได้แต่งและเรียบเรียงขึ้นในปี พ.ศ. 2561 โดยมี การปรับปรุงครั้งที่ 1 ในปี พ ศ. 2563 และครั้งที่ 2 ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 เพื่อใช้เป็นหลักใน การเรียนการสอนด้านการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนซึ่งเป็นหลักการ และแนวทางที่สำคัญต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
การ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนของโลก การศึกษาขีดความสามารถการรองรับได้ นโยบายและการวางแผนการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน การตลาดเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน และทิศทางในอนาคตของการพัฒนาการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ผู้แต่งและเรียบเรียงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารคำสอนเล่มนี้จะมีประโยชน์ต่อนักศึกษาและผู้ ที่สนใจในการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน อีกทั้งสามารถนำองค์ความรู้ไปประยุกต์ใช้ในเชิงวิชาการ และวิชาชีพด้านการท่องเที่ยว รวมถึงการดำเนินธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมท่องเที่ยวได้อย่าง ยั่งยืน หากมีข้อผิดพลาดประการใด ๆ ในการจัดทำเอกสารคำสอนเล่มนี้ ผู้จัดทำต้องขออภัยมา ณ โอกาสนี้ด้วย และผู้จัดทำยินดีรับฟังข้อเสนอแนะเพื่อนำไปปรับปรุงข้อผิดพลาดทุกประการ อรไท ครุธเวโช 28 กุมภาพันธ์ 2565
โดยมี วัตถุประสงค์ให้นักศึกษาและผู้ที่สนใจได้ศึกษาและเรียนรู้เกี่ยวกับแนวคิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ข
ค สารบัญ บทที่ หน้า คำนำ......................................................................................................................... ก สารบัญ.......................................................................................................................... ค สารบัญตาราง.............................................................................................................. ช สารบัญภาพ.............................................. ฌ รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3).................................................................................. ฎ แผนการสอนสัปดาห์ที่ 1 .............................................................................................. ส แผนการสอนสัปดาห์ที่ 2 ............... ฬ แผนการสอนสัปดาห์ที่ 3 .............................................................................................. ฮ แผนการสอนสัปดาห์ที่ 4 ขข แผนการสอนสัปดาห์ที่ 5 .............................................................................................. งง แผนการสอนสัปดาห์ที่ 6 7 ....... ฉฉ แผนการสอนสัปดาห์ที่ 8 9 ........................................................................................... ซซ แผนการสอนสัปดาห์ที่ 10 11 ...................................................................................... ญญ แผนการสอนสัปดาห์ที่ 12 13 ...................................................................................... ฏฏ แผนการสอนสัปดาห์ที่ 14 ............................................................................................ ฑฑ แผนการสอนสัปดาห์ที่ 15 ............................................................................................ ณณ 1 การพัฒนาอย่างยั่งยืนและเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน...................................... 1 1. ที่มาของการพัฒนาอย่างยั่งยืน 1 2. เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน 17 เป้าหมาย............................................................... 2 3. กรณีศึกษา ประเทศไทยตั้งแต่ ปี พ ศ. 2560........................................................... 5 4. กรณีศึกษา SDGs ของโลกปี พ.ศ. 2561.................................................................. 8 5. หลักเกณฑ์การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโลก 15 6. บทสรุป.................................................................................................................... 19 7. แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 1 19 เอกสารอ้างอิง บทที่ 1 .................................................................................................. 20 2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 21 1. ความสำคัญของการท่องเที่ยว....……………………………………………………………………. 21 2. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการท่องเที่ยว 21 3. นโยบายด้านการท่องเที่ยวของรัฐบาล 22 4. การพัฒนาการท่องเที่ยว.........................………………………………………………………… 22 5. ผลกระทบการท่องเที่ยว.........................................................................……………… 27
ง สารบัญ (ต่อ) บทที่ หน้า 6. การพัฒนาด้านการท่องเที่ยวไทย อดีต ปัจจุบันและอนาคต 30 7. บทสรุป................................................................................................................... 43 8. แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 2 ..... 44 เอกสารอ้างอิง บทที่ 2 .................................................................................................. 45 3 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน........………………………………………………............................ 47 1. หลักการพื้นฐานที่สำคัญของการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 47 2. การท่องเที่ยวมวลชนสู่การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 48 3. การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน..................... 50 4. บทบาทหน่วยงานภาครัฐกับการพัฒนาการท่องเที่ยว 55 5. หลักการจัดการการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 56 6. เป้าหมายหลักของการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 57 7. รูปแบบการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 58 8. การประยุกต์ใช้ขีดความสามารถการรองรับได้เพื่อการท่องเที่ยว............................. 60 9. กรณีศึกษา หมู่บ้านแหลมตุ๊กแก จังหวัดภูเก็ต 63 10. บทสรุป.................................................................................................................. 65 11. แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 3 .......................................................................................... 66 เอกสารอ้างอิง บทที่ 3 .................................................................................................. 67 4 นโยบายการท่องเที่ยว ..............................……………………………………………………… 69 1. การศึกษานโยบายสาธารณะ..................…………………………………..…………………….. 69 2. ความหมายของนโยบายสาธารณะ...........……………………………………………………….. 70 3. ความสำคัญของนโยบาย....................…………………………………………………………….. 71 4. ประเภทของนโยบายสาธารณะ.…………………………………………………………………….. 71 5. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดนโยบาย 74 6. เครื่องมือสำหรับนโยบาย......................................................................................... 77 7. กระบวนการของนโยบาย (Policy Process)........................................................... 78 8. นโยบายการท่องเที่ยว………………………………........................................................... 79 9. การนำนโยบยไปปฎิบัติ........................................................ 81 10. กรณีศึกษานโยบายสาธารณะของรัฐบาลไทย........................................................ 82 11. กรณีศึกษา นโยบายการท่องเที่ยวของประเทศไทย ปี พ.ศ. 2562........................ 84 12. บทสรุป................................................................................................................... 86 13. แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 4 ...................................................... 87 เอกสารอ้างอิง บทที่ 4 ......................................................................................... 88
จ สารบัญ (ต่อ) บทที่ หน้า 5 นโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของประเทศไทย 89 1. กรอบแนวคิดในการกำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการท่องเที่ยวของไทย 89 2. วาระแห่งชาติว่าด้วยการท่องเที่ยว 93 3. บทสรุป.................................................................................................................... 98 4. แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 5 ....................................................... 98 เอกสารอ้างอิง บทที่ 5 .................................................................................................. 99 6 การสำรวจข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน................ 101 1. แบบบันทึกการสำรวจข้อมูลสถานที่ท่องเที่ยว 101 2. ตัวอย่างการรายงานผลการสำรวจแหล่งท่องเที่ยวกรณีศึกษา 104 3. บทสรุป................................ 110 4. แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 6 ........................................................................................... 111 เอกสารอ้างอิง บทที่ 6 .................... 112 7 การวางแผนการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 113 1. การวางแผนการท่องเที่ยว..............................................……………………………………. 113 2. กรณีศึกษา 120 3. บทสรุป.................................................................................................................... 135 4. แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 7 ........................................................................................... 136 เอกสารอ้างอิง บทที่ 7 .................................................................................................. 137 8 ยุทธศาสตร์การพัฒนาอย่างยั่งยืน........................................................................... 139 1. ประเภทของการจัดทำแผนพัฒนา 139 2. ความสำคัญของแผนยุทธศาสตร์.............................................................................. 139 3. ลักษณะของแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา 139 4. วัตถุประสงค์ของการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา.................................……….. 140 5. กลยุทธ์และเทคนิคในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 140 6. กระบวนการขั้นตอนการดำเนินการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา..................... 140 7. ประโยชน์ของการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 141 8. การจัดทำแผนกลยุทธ์.............................................................................................. 141 9. ตัวอย่างผลการวิเคราะห์ศักยภาพในภาพรวม 145 10. การวิเคราะห์ศักยภาพและการฝึกเขียนแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา........................ 152 11. บทสรุป.................................................................................................................. 154 12. แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 8 154
ฉ สารบัญ (ต่อ) บทที่ หน้า เอกสารอ้างอิง บทที่ 8 ............................................................................................. 155 9 แผนกลยุทธ์เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน.... 157 1. ศึกษาแผนการดำเนินงานการท่องเที่ยวของ ททท. .....……………………………………… 157 2. การประเมินสภาวะแวดล้อม................................ 157 3 กรณีศึกษาการเขียนแผนยุทธศาสตร์ 163 4. บทสรุป...................... 165 5. แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 9 165 เอกสารอ้างอิง บทที่ 9 .................................................................... 170 10 การตลาดเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน....................................................……………. 171 1. แนวความคิดทางการตลาดที่มุ่งสู่ความยั่งยืน 171 2. แนวคิดการตลาดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของต่างประเทศ 176 3. การวิเคราะห์ทางการตลาดด้วย Business Model Canvas………………….............. 177 4. บทสรุป......................................................................................... 179 5. แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 10 .......................................................................................... 179 เอกสารอ้างอิง บทที่ 10 ............................................................................ 180 11 อนาคตของแผนและนโยบายเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน..................... 181 1. แนวโน้มอนาคตด้านนโยบายและแผนการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน............. 181 2. กรณีศึกษานโยบายและการวางแผนประเทศไทย 187 3. การฝึกเขียนข้อเสนอแนะและสรุปบทเรียน............................................................. 191 4. บทสรุป............................................................................................ 193 5. แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 11 .......................................................................................... 194 เอกสารอ้างอิง บทที่ 11 ............................................................................... 195 บรรณานุกรม...................................................................................................................... 197
ช สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า 1 เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน 17เป้าหมาย ...……………………………………………………….. 3 2 แนวปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโลก 16 3 ความหมายของการพัฒนา........................................................................................... 24 4 ตัวอย่างผลกระทบของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวที่มีต่อสังคมและวัฒนธรรม 27 5 สรุปผลกระทบของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวที่มีต่อสิ่งแวดล้อม....................................... 29 6 ตัวอย่างผลกระทบของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวที่มีต่อเศรษฐกิจ 30 7 ความแตกต่างระหว่างการท่องเที่ยวมวลชน และการท่องเที่ยวทางเลือก 49 8 ปัจจัยชี้วัดขีดความสามารถในการรองรับของแหล่งท่องเที่ยว 61 9 เพศ..................................................... 122 10 อายุ......................................................................................................................... 122 11 ระดับการศึกษา............................................................................................................ 123 12 อาชีพ........................................................................................................................ 123 13 ที่อยู่ปัจจุบันอำเภอ.......................................................................................................
14 ที่อยู่ปัจจุบันจังหวัด......................................................................................................
15
17 ยานพาหนะในการเดินทาง........ 125 18 ลักษณะการเดินทาง..................................................................................................... 126 19 การเดินทางมาท่องเที่ยวครั้งนี้ ท่านใช้บริการของใคร 126 20 ท่านพักค้างคืนหรือไม่ 126 21 ที่พักของท่านขณะที่อยู่ในแหล่งท่องเที่ยว 127 22 โปรดระบุจำนวนวันที่ค้างคืน........................................................................................ 127 23 ค่าใช้จ่ายในการท่องเที่ยวต่อครั้ง 128 24 ค่าใช้จ่ายในการท่องเที่ยวต่อครั้ง 129 25 ค่าที่พัก......................................................................................... 129 26 ค่าอาหารและเครื่องดื่ม............................................................................................... 130 27 ซื้อของ..................................................................................... 130 28 ค่ายานพาหนะในจังหวัด........................................................................................ 131 29 ความคิดเห็นอื่น ๆ...................................................................... 131 30 มูลเหตุในการมาเที่ยว 131 31 แหล่งท่องเที่ยวที่ท่านไปชมในการเดินทางครั้งนี้ 132 32 ท่านคิดว่าจะกลับมาอีกหรือไม่..................................................................................... 132 33 การบริการด้านต่าง ๆ เป็นอย่างไร 133
124
124
วัตถุประสงค์หลักในการเดินทางมาท่องเที่ยวที่บ้านเกาะยาวน้อย................................ 125 16 ยานพาหนะในการเดินทาง........................................................................................... 125
ซ สารบัญตาราง (ต่อ) ตารางที่ หน้า 34 การมาเที่ยวในครั้งนี้ ท่านแวะเที่ยวที่อื่นหรือไม่........................................................... 134 35 สิ่งที่ควรมีการพัฒนาปรับปรุงเพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวของที่นี่ 135 36 ประเด็นสำคัญของแนวคิดการตลาดยั่งยืน................................................................... 176
ฌ สารบัญภาพ ภาพที่ หน้า 1 ที่มาของการพัฒนาอย่างยั่งยืน.....................……………………………………………………….. 1 2 เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน 4 3 โครงสร้างการขับเคลื่อนตามแนวทางของเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ของ ประเทศไทย 5 4 อาเซียนกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน 6 5 17 Goal of Sustainable Development Solution Network............................... 7 6 เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของโลกในปี พ.ศ. 2561.................................................. 9 7 10 อันดับประเทศตามคะแนน SDGs............................................... 10 8 คะแนน SDGs ของประเทศไทย 11 9 ความคืบหน้า SDGs ของประเทศไทย 12 10 ผลการศึกษา SDGs ของกลุ่มเอเชียตะวันออกและเอเชียใต้
91 18 ศักยภาพด้านการท่องเที่ยวของประเทศ 92 19 สัดส่วนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวการกู้วิกฤตและมาตรการกระตุ้นการท่องเที่ยว 95 20 แสดงองค์ประกอบของแผนการตลาด 118 21 กระบวนการวางแผน...................... 142 22 Business Model Canvas.......................................................................................... 178
14 11 ความเกี่ยวพันของการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 53 12 หน่วยงานภาครัฐกับการพัฒนาการท่องเที่ยว............................................................... 55 13 เป้าหมายการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน............................................................. 57 14 ปัจจัยชี้วัดการประเมินขีดความสามารถการรองรับได้.................................................. 63 15 ตัวอย่างประมาณการของพื้นที่จากภาพถ่ายดาวเทียมของ Google Earth................. 65 16 10 ลำดับแรกประเทศยอดนิยมปี พ ศ 2560... 90 17 อันดับความสามารถทางการแข่งขันด้านการเดินทางและการท่องเที่ยว
ญ
ฎ รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3) หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการท่องเที่ยวและบริการ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560) รหัสวิชา BOATH111 ชื่อวิชา การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน Sustainable Tourism คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
ฏ
ฐ เอกสารรับรอง รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3) คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ 1. เป็นรายวิชาในหลักสูตร ปรับปรุง พ ศ. 2560 หลักสูตรใหม่ พ.ศ. ...... 2. ชื่อหลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต 3. ชื่อสาขาวิชา การท่องเที่ยวและการบริการ 3. รหัสวิชา BOATH111 4. ชื่อวิชาภาษาไทย การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 5. ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ Sustainable Tourism ลงชื่อ รองคณบดีด้านวิชาการฯ (ผศ ดร วรวิทย์ เลาหะเมทนี) วันที่........ เดือน............... พ.ศ. ....... ลงชื่อ คณบดี (ผู้ช่วยศาสตราจารย์นิศรา จันทร์เจริญสุข) วันที่........ เดือน............... พ.ศ. .......
ฑ
ฒ สารบัญ หน้า หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ด หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ ต หมวดที่ 3 ลักษณะและการดำเนินการ ถ หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ท หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล ฝ หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน ม หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา ย
ณ
ด รายละเอียดของรายวิชา ( มคอ. 3) หมวดที่ 1 ข้อมูล ทั่วไป 1.รหัสและชื่อรายวิชา รหัสรายวิชา BOATH111 ชื่อรายวิชาภาษาไทย การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ชื่อรายวิชาภาษาอังกฤษ Sustainable Tourism 2. จำนวนหน่วยกิต 3 (2 2 5) 3. หลักสูตร และประเภทของรายวิชา 3.1 หลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต (การท่องเที่ยวและการบริการ) 3.2 ประเภทกลุ่มวิชา ✓ วิชาชีพบังคับ วิชาพื้นฐานวิชาชีพ วิชาชีพเลือก ศึกษาทั่วไป
) 4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร อรไท ครุฑเวโช 5. ภาคการศึกษา ชั้นปีที่เรียน ภาคการศึกษาที่ 1/2564 ชั้นปีที่ 4 6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre requisites) ไม่มี 7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co requisites) ไม่มี 8. สถานที่เรียน อาคารเฉลิมพระเกียรติ 56 พรรษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 9. วันที่จัดทำหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชา ครั้งล่าสุด 1 พฤษภาคม 2564
( เลือก 1 กลุ่ม
ต หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ 1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา 1.1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในหลักการ แนวคิดการและองค์ประกอบของการ พัฒนาอย่างยั่งยืน 1.2 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในหลักการ แนวคิดการและองค์ประกอบของการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 1.3 เพื่อให้นักศึกษาจำแนกรูปแบบ ลักษณะของการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนได้ 1.4 เพื่อให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์อย่างเป็นระบบในด้านการกำหนดนโยบาย การวางแผน ยุทธศาสตร์ และแผนกลยุทธ์เพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนได้ 1.5 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ด้านการประเมินขีดความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยว รวมถึงการประเมินศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยวและการวิเคราะห์แนวทางการอนุรักษ์และพัฒนาแหล่ง ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนได้ 2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนาปรับปรุงรายวิชา 2.1 เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนที่ทันสมัย สอดคล้องกับสถานการณ์ทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม รวมถึงการรู้เท่าทันการ พัฒนาการท่องเที่ยวในยุคโลกาภิวัฒน์ ยุคดิจิทัล และยุค Technology disruption เพื่อผู้เรียนสามารถ จัดการการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนที่เน้นความคิดเชิงระบบได้ ตอดจนสามารถวางแผนปฏิบัติเพื่อการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนได้
ถ หมวดที่ 3 ลักษณะและการดำเนินการ 1. คำอธิบายรายวิชา หลักการและแนวคิดการพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน องค์ประกอบในการพัฒนาการท่องเที่ยว นโยบาย และแผนการพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืนระดับชาติและนานาชาติ การประเมินขีดความสามารถในการรองรับ นักท่องเที่ยวด้านนิเวศวิทยา ด้านจิตวิทยา ด้านกายภาพ ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก ด้านสังคมวัฒนธรรม ประเมินศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยวและการพัฒนาแนวทางการอนุรักษ์และพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวที่ยั่งยืน 2. จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบัติ/งาน ภาคสนาม/การฝึกงาน การศึกษาด้วยตนเอง 30 ชั่วโมง สอนเสริมตามความต้องการ ของนักศึกษาเฉพาะราย ฝึกปฏิบัติ 60 ชั่วโมง การศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์ 3. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเฟสบุ๊คสาขาวิชา อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะ รายที่ต้องการ online และ on site)
2.1.1.4
ท หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา 1. คุณธรรมจริยธรรม 1.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะคุณธรรมจริยธรรม โดยแสดงความรับผิดชอบหลัก ( ) และความรับผิดชอบรอง ( ) มาตรฐานผลการเรียนรู้ของ หลักสูตรการท่องเที่ยวและการบริการ สาขาศิลปศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ข้อที่ตรงกับ ของหลักสูตรด้านคุณธรรมจริยธรรม 1. มีความซื่อสัตย์ สุจริต และสามารถจัดการปัญหาด้านจริยธรรม และความ ขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ที่ได้รับกับจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ 2.1.1.1 2. มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการ ปฏิบัติงาน และการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ 2.1.1.2 3. มีความรับผิดชอบในหน้าที่ เป็นสมาชิกที่ดี และมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อ การพัฒนาเป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่น และมีภาวะผู้นำ
4. มีวินัย มีความตรงต่อเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและ สังคม
1.2 วิธีการสอน ใส่เครื่องหมาย ✓ในส่วนที่เกี่ยวข้อง รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ 1. กำหนดให้มีวิชาจรรยาบรรณโดยเฉพาะและทำรายงาน ✓ 2. สอนคุณธรรม จริยธรรมสอดแทรกในบทเรียนวิชาเฉพาะ ✓ 3. สอนโดยใช้กรณีศึกษาและอภิปรายร่วมกัน 4. สอนโดยการอ้างอิงประมวลกฎหมาย (Ethic Code) ที่เกี่ยวกับจรรยาบรรณ 5. การบรรยายพิเศษโดยผู้มีประสบการณ์หรือพระในศาสนาต่าง ๆ ✓ 6. การแสดงออกอันเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้สอน 1.3 วิธีการประเมินผล ใส่เครื่องหมาย ✓ในส่วนที่เกี่ยวข้อง รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ 1) ผลการสอบในวิชาคุณธรรม จริยธรรมโดยตรง จรรยาบรรณวิชาชีพ และกฎหมาย ✓ 2) สังเกตการแสดงพฤติกรรมระหว่างผู้เรียนร่วมกันและกับผู้สอนทุกคน ✓ 3) ทำงานเป็นกลุ่ม และรายงานผลงาน 4) กำหนดหัวข้อทางคุณธรรม จริยธรรมให้พูดแสดงออก 5) ผลการประเมินจากการฝึกงานสหกิจโดยองค์กรที่ผู้เรียนเข้าฝึกงาน
2.1.1.3
ธ 2. ด้านความรู้ 2.1 ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ โดยแสดงความรับผิดชอบหลัก ( ) และความรับผิดชอบรอง ( ) มาตรฐานผลการเรียนรู้ของ หลักสูตรการท่องเที่ยวและการบริการ สาขาศิลปศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ข้อที่ตรงกับ ของหลักสูตรด้านความรู้ 1. มีความรู้ในสาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม ทั้งภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติอย่างกว้างขวาง เป็นระบบ เป็นสากล และทันสมัยต่อสถานการณ์ โลก 2.2.1.1 2. มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง 2.2.1.2 3. มีความรู้ในกระบวนการ และเทคนิคการวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาและต่อยอด องค์ความรู้ในงานอาชีพ 2.2.1.3 2.2 วิธีการสอน ใส่เครื่องหมาย ✓ในส่วนที่เกี่ยวข้อง รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ ✓ 1. การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม ตอบ ✓ 2. ทำรายงานเปรียบเทียบความรู้จากห้องเรียนกับการทำงานจริงภาคปฏิบัติ
✓ 4. การศึกษานอกสถานที่และทำรายงาน 5. ฝึกปฏิบัติร่วมกับสถานประกอบการ 6. ฝึกปฏิบัตินอกสถานที่โดยร่วมกับมืออาชีพ (professional) ในวิชานั้นๆ 2.3 วิธีการประเมินผล ใส่เครื่องหมาย ✓ในส่วนที่เกี่ยวข้อง รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ 1. ทดสอบทฤษฎีและปฏิบัติ โดยการสอบย่อย และให้คะแนน ✓ 2. ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค ✓ 3. ประเมินผลจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายและรายงาน ✓ 4. ประเมินจากรายงานที่ให้ค้นคว้า
✓ 3. อภิปรายเป็นกลุ่ม โดยให้ผู้สอนตั้งคำถามตามระบบการสอนยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
น 3. ทักษะทางปัญญา 3.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา โดยแสดงความรับผิดชอบหลัก ( ) และความรับผิดชอบรอง ( ) มาตรฐานผลการเรียนรู้ของ หลักสูตรการท่องเที่ยวและการบริการ สาขาศิลปศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ข้อที่ตรงกับ ของหลักสูตรทักษะทางปัญญา 1. มีความสามารถประมวล และศึกษาข้อมูลเพื่อวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา ข้อ โต้แย้ง และสังเคราะห์ได้อย่างถูกต้องตามหลักการ และตามขั้นตอนเชิง วิทยาศาสตร์ รวมทั้งหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสมทั้ง เชิงกว้างและเชิงลึก 2.3.1.1 2 มีความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ ไปใช้ประโยชน์ใน การฝึกประสบการณ์ภาคสนามและการปฏิบัติงานจริงตามสถานการณ์ได้อย่าง เหมาะสม
3. มีสามารถประยุกต์ใช้นวัตกรรมจากภาคธุรกิจและศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้องมา เพื่อพัฒนาทักษะการทำงานให้เกิดประสิทธิผล
3.2 วิธีการสอน ใส่เครื่องหมาย ✓ในส่วนที่เกี่ยวข้อง รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ 1. ฝึกปฏิบัติและจัดทำโครงการเกี่ยวกับธุรกิจนำเที่ยว ธุรกิจโรงแรม ตลอดจนการวิจัย ✓ 2. การอภิปรายเป็นกลุ่ม ✓ 3. การทำงานที่ได้รับมอบหมายให้ค้นคว้าหรืองานเกี่ยวกับการพัฒนาเป็นทีม 4. การบรรยายโดยผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ประกอบการในสายอาชีพ 5. กำหนดให้มีรายวิชาที่ต้องใช้ทักษะการคำนวณ เช่น การจัดการการบริการ การควบคุม ต้นทุนอาหารและเครื่องดื่ม 3.3 วิธีการประเมินผล ใส่เครื่องหมาย ✓ในส่วนที่เกี่ยวข้อง รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ ✓ 1. ประเมินผลจากผลงานที่มอบหมายให้ทำ 2. การสอบข้อเขียน ✓ 3. การเขียนรายงาน
2.3.1.2
2.3.1.3
บ 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 4.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ โดยแสดงความรับผิดชอบหลัก ( ) และความรับผิดชอบรอง ( ) มาตรฐานผลการเรียนรู้ของ หลักสูตรการท่องเที่ยวและการบริการ สาขาศิลปศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ข้อที่ตรงกับ ของหลักสูตรทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 1. มีความสามารถในการปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่ และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งมีส่วนร่วมในการ ช่วยเหลือผู้ร่วมงานและแก้ไขปัญหากลุ่ม 2.4.1.1 2. มีสามารถในการพัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่อง และ ตรงตามมาตรฐานสากล 2.4.1.2 3. มีความสามารถทำงานร่วมกับผู้ร่วมวิชาชีพทุกระดับในสภาพสังคมการทำงานที่ หลากหลายได้อย่างเหมาะสม 2.4.1.3 4.2 วิธีการสอน ใส่เครื่องหมาย ✓ในส่วนที่เกี่ยวข้อง รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ 1. บรรจุเนื้อหาความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในรายวิชาชีพ ✓ 2. มอบหมายงานเป็นกลุ่มย่อย และแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ โดยหมุนเวียนกันในกลุ่ม ✓ 3. สอนโดยใช้กรณีศึกษา 4.3 วิธีการประเมินผล ใส่เครื่องหมาย ✓ในส่วนที่เกี่ยวข้อง รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ ✓ 1. ประเมินจากผลงานของกลุ่มและผลงานของผู้เรียนในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายให้ทำงาน 2. ประเมินตนเอง และประเมินซึ่งกันและกัน (peer) 3. ใช้ประวัติสะสมงาน (portfolio) ในการประเมิน ✓ 4. สังเกตพฤติกรรมในการเรียน 5. ใช้ผลการประเมินจากการฝึกงานและการสหกิจศึกษา
ป 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 5.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ โดยแสดงความรับผิดชอบหลัก ( ) และความรับผิดชอบรอง ( ) มาตรฐานผลการเรียนรู้ของ หลักสูตรการท่องเที่ยวและการบริการ สาขาศิลปศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ข้อที่ตรงกับ ของหลักสูตรทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1. สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการฟัง การพูด การอ่าน การ เขียนและการสรุปได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.5.1.1 2. มีความสามารถในการสื่อสารกับชาวต่างชาติได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์ และวัฒนธรรม 2.5.1.2 3. มีความสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร รู้จักเลือกรูปแบบ ของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่อง และผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 2.5.1.3 5.2 วิธีการสอน ใส่เครื่องหมาย ✓ในส่วนที่เกี่ยวข้อง รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ 1. ทดสอบระดับความสามารถทางภาษาในการติดต่อกับคนไทยและต่างชาติโดยผ่านการสอบ ปฏิบัติและสอบวัดระดับความรู้ภาษาอังกฤษ 2. ทดลองให้ใช้อุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการทางการท่องเที่ยวและโรงแรมหรือสายการบิน ✓ 3. นำเสนอผลงานที่ค้นคว้าและอภิปรายด้วยตนเองหรือแบบกลุ่มในห้องเรียน ✓ 4. บูรณาการการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เครือข่าย และซอฟต์แวร์หรือสื่อต่าง ๆ 5. ทดสอบกระบวนการแก้ปัญหาหรือกรณีศึกษาที่จำเป็นต้องใช้แบบจำลองคณิตศาสตร์หรือส ฝึกแก้ปัญหาหรือโจทย์ที่จำเป็นต้องใช้แบบจำลองคณิตศาสตร์หรือสถิติในรายวิชาที่เกี่ยวข้อง 5.3 วิธีการประเมินผล ใส่เครื่องหมาย ✓ในส่วนที่เกี่ยวข้อง รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ 1. ประเมินผลโดยการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ ✓ 2. ประเมินผลจากการนำเสนอผลงาน 3. ประเมินผลจากการใช้คอมพิวเตอร์ ✓ 4. ประเมินผลจากการสรุปหัวข้อที่มอบหมายให้ค้นคว้า
ผ 6. ทักษะด้านการปฏิบัติงานได้อย่างมืออาชีพ 6.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะด้านการปฏิบัติงานได้อย่างมืออาชีพ โดยแสดงความรับผิดชอบหลัก ( ) และความรับผิดชอบรอง ( ) มาตรฐานผลการเรียนรู้ของ หลักสูตรการท่องเที่ยวและการบริการ สาขาศิลปศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ข้อที่ตรงกับ ของหลักสูตรทักษะด้านการปฏิงานได้อย่างมืออาชีพ 1. มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานขั้นพื้นฐานของบุคลากรวิชาชีพด้านการ ท่องเที่ยวและบริการ 2.6.1.1 2. มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานตามตำแหน่งงานของบุคลากรวิชาชีพด้านการ ท่องเที่ยวและบริการ 2.6.1.2 3. มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานตามสมรรถนะวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและ บริการที่มีมาตรฐานและเป็นสากล 2.6.1.3 6.2 วิธีการสอน ใส่เครื่องหมาย ✓ในส่วนที่เกี่ยวข้อง รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ ✓ 1. ทดสอบทักษะทางวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการโดยการสอบปฏิบัติ
6.3 วิธีการประเมินผล ใส่เครื่องหมาย ✓ในส่วนที่เกี่ยวข้อง รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ 1. ประเมินผลจากความถูกต้องตามมาตรฐาน ✓ 2. ประเมินผลจากการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ 3. ประเมินผลจากผลสอบภาษาต่างประเทศที่มีมาตรฐาน
2. จัดสอบตามสมรรถนะวิชาชีพทั้งภายในและศูนย์ทดสอบภายนอก 3. ทดสอบทางด้านภาษาต่างประเทศเพื่อการทำงานที่มีมาตรฐานสากล
ฝ หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล 5.1. แผนการสอน สัปดาห์ ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จำนวน ชั่วโมง กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ ใช้ ผู้สอน 1 การแนะนำรายวิชาและการจัดการเรียนการสอน วัตถุประสงค์รายวิชา รายละเอียดรายวิชา กิจกรรมการเรียนการสอน การวัดผลและการประเมิน ข้อตกลงในการวัดและประเมินผล การทดสอบก่อนเรียน (pre test) 4 บรรยาย โดยใช้เอกสารคำสอนผ่าน ระบบ MS TEAM การทดสอบก่อนเรียน ใช้กรณีศึกษา มอบหมายให้สืบค้นรายงาน แบ่งกลุ่มๆละไม่เกิน 5 คน และเข้า พบอาจารย์ประจำรายวิชา ผศ.ดร.อรไท ครุธเวโช 2 บทที่ 1 การพัฒนาอย่างยั่งยืนและเป้าหมายการ พัฒนาอย่างยั่งยืน 4 บรรยาย โดยใช้เอกสารคำสอน ระบบ MS TEAM ใช้กรณีศึกษา อภิปรายและสรุปการเรียนรู้ร่วมกัน นำเสนอในชั้นเรียน ทำแบบฝึกหัดท้ายบท ผศ.ดร.อรไท ครุธเวโช 3 บทที่ 2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการพัฒนาการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 4 บรรยาย โดยใช้เอกสารคำสอน ระบบ MS TEAM ใช้กรณีศึกษา อภิปรายและสรุปการเรียนรู้ร่วมกัน นำเสนอในชั้นเรียน ทำแบบฝึกหัดท้ายบท ผศ.ดร.อรไท ครุธเวโช 4 บทที่ 3 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 4 บรรยาย โดยใช้เอกสารคำสอน ระบบ MS TEAM ใช้กรณีศึกษา อภิปรายและสรุปการเรียนรู้ร่วมกัน นำเสนอในชั้นเรียน ทำแบบฝึกหัดท้ายบท ผศ.ดร.อรไท ครุธเวโช 5 บทที่ 4 นโยบายการท่องเที่ยว 4 บรรยาย โดยใช้เอกสารคำสอน ระบบ MS TEAM ใช้กรณีศึกษา อภิปรายและสรุปการเรียนรู้ร่วมกัน นำเสนอในชั้นเรียน ทำแบบฝึกหัดท้ายบท ผศ.ดร.อรไท ครุธเวโช
พ สัปดาห์ ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จำนวน ชั่วโมง กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ ใช้ ผู้สอน 6 บทที่ 5 นโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของประเทศไทย 4 บรรยาย โดยใช้เอกสารคำสอน ระบบ MS TEAM ใช้กรณีศึกษา อภิปรายและสรุปการเรียนรู้ร่วมกัน นักศึกษาฝึกปฏิบัติในพื้นที่ กรณีศึกษา ผศ.ดร.อรไท ครุธเวโช 7 บทที่ 6 การสำรวจข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวเพื่อการ พัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 4 บรรยาย โดยใช้เอกสารคำสอน ระบบ MS TEAM ใช้กรณีศึกษา อภิปรายและสรุปการเรียนรู้ร่วมกัน นักศึกษาลงพื้นที่ดำเนินงาน ผศ.ดร.อรไท ครุธเวโช 8 บทที่ 6 การสำรวจข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวเพื่อการ พัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (ต่อ) 4 บรรยาย โดยใช้เอกสารคำสอน ระบบ MS TEAM ใช้กรณีศึกษา อภิปรายและสรุปการเรียนรู้ร่วมกัน นักศึกษาลงพื้นที่ดำเนินงาน ผศ.ดร.อรไท ครุธเวโช 9 สอบกลางภาค สอบกลางภาค 10 บทที่ 7 การวางแผนการท่องเที่ยวเพื่อการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 4 บรรยาย โดยใช้เอกสารคำสอนและ โปรแกรมนำเสนอผลงานทาง คอมพิวเตอร์ ใช้กรณีศึกษา นักศึกษาฝึกปฏิบัติในพื้นที่ กรณีศึกษา รายงานผลการศึกษา ผศ.ดร.อรไท ครุธเวโช 11 บทที่ 7 การวางแผนการท่องเที่ยวเพื่อการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (ต่อ) 4 บรรยาย โดยใช้เอกสารคำสอนและ โปรแกรมนำเสนอผลงานทาง คอมพิวเตอร์ ใช้กรณีศึกษา นักศึกษาฝึกปฏิบัติในพื้นที่ กรณีศึกษา รายงานผลการศึกษา ผศ.ดร.อรไท ครุธเวโช 12 บทที่ 8 ยุทธศาสตร์พัฒนาการท่องเที่ยวอย่าง ยั่งยืน 4 บรรยาย โดยใช้เอกสารคำสอน ระบบ MS TEAM ใช้กรณีศึกษา นักศึกษาเขียนแผนยุทธศาสตร์ ผศ ดร อรไท ครุธเวโช
ฟ สัปดาห์ ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จำนวน ชั่วโมง กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ ใช้ ผู้สอน ประเมินการเขียนแผน 13 บทที่ 8 ยุทธศาสตร์พัฒนาการท่องเที่ยวอย่าง ยั่งยืน (ต่อ) 4 บรรยาย โดยใช้เอกสารคำสอน ระบบ MS TEAM ใช้กรณีศึกษา นักศึกษาเขียนแผนยุทธศาสตร์ ประเมินการเขียนแผน ผศ ดร อรไท ครุธเวโช 14 บทที่ 9 กลยุทธ์การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 4 บรรยาย โดยใช้เอกสารคำสอน ระบบ MS TEAM ใช้กรณีศึกษา นักศึกษาเขียนแผนกลยุทธ์รายกลุ่ม ประเมินการเขียนแผน ผศ ดร อรไท ครุธเวโช 15 บทที่ 10 การตลาดเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 4 บรรยาย โดยใช้เอกสารคำสอน ระบบ MS TEAM ใช้กรณีศึกษา นักศึกษาเขียนฺ BMC รายกลุ่ม ประเมินการเขียนแผน ผศ ดร อรไท ครุธเวโช 16 บทที่ 11 อนาคตของแผนและนโยบายเพื่อการ พัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (สัปดาห์สุดท้ายของการเรียนการสอนภาคเรียนที่ 1/2564) ให้นักศึกษาส่งรายงานฉบับสมบูรณ์ที่ ได้รับการอนุมัติจากอาจารย์ผู้สอนแล้วแบบ E Document จำนวน 1 เล่ม พร้อม CD บันทึก ข้อมูล ภายใน 12.00 น หากพ้นกำหนดจะหัก คะแนนวันละ 2 คะแนน และหากพ้นกำหนด 5 วัน จะไม่รับพิจารณารูปเล่มรายงาน 4 บรรยาย โดยใช้เอกสารคำสอน ระบบ MS TEAM ใช้กรณีศึกษา นักศึกษาเขียนฺข้อเสนอแนะและสรุป บทเรียนรายกลุ่ม ประเมินการเขียนแผน ผศ ดร อรไท ครุธเวโช 17 สอบปลายภาค สอบปลายภาค หมายเหตุ: 1. สัปดาห์ที่ 1 วิธีการจัดการเรียนการสอน มีการวิเคราะห์นักศึกษาเป็นรายบุคคลโดยอาจใช้วิธีการ ทดสอบพื้นฐานก่อนเรียน หรือพูดคุยสร้างความคุ้นเคย หรือวิธีอื่นที่เหมาะสม 2. นักศึกษาฝึกปฏิบัติการศึกษารูปแบบการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการพัฒนาแผนงานเดี่ยวด้วยตนเอง อย่างละ 1 รายการ 3. ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มๆละไม่เกิน 5 คน โดยจะต้องเลือกหรือกำหนดพื้นที่กรณีศึกษาที่สนใจและปรึกษา กับอาจารย์ผู้สอนเพื่อให้ได้มาซึ่งกรณีศึกษาเพิ่อการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน โดยกรณีศึกษาต้อง ได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ประจำรายวิชาและไม่อนุญาตให้ซ้ำกับกลุ่มอื่น
ภ 5.2 แผนการประเมินผลการเรียนรู้ กิจกรรม ที่ ผลการ เรียนรู้ วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของ การประเมินผล 1 1.1,1.2, 4.1 สังเกตการแสดงพฤติกรรมระหว่างผู้เรียน ตลอดภาคการศึกษา 5 2
ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนกลางภาค 9
ประเมินผลจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายในกิจกรรม การเรียนการสอน แบบฝึกหัด และกรณีศึกษา
ประเมินผลจากผลงานนำเสนอ และอภิปรายใน ลักษณะงานเดี่ยว 2 8 15 5
ประเมินผลจากงานกลุ่ม ประกอบด้วย การสำรวจ แหล่งท่องเที่ยว การสำรวจความต้องการผู้มีส่วนได้ส่วน เสียในแหล่งท่องเที่ยว การเขียนนโยบายการท่องเที่ยว การเขียนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยว การเขียนกลยุทธ์ เพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน และการเขียน ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 10 16 20 6 2.2,3.2 ข้อสอบปลายภาค 17 25 5.3. เกณฑ์การประเมินผลการเรียนรู้ ช่วงคะแนน เกรด 80 100 A 75 79 B+ 70 74 B 65 69 C+ 60 64 C 55 59 D+ 50 54 D 0 49 F
2.2
25 3 2.1, 3.2,5.2,6.2
3 5 10 12 10 4 1.1,1.2,2.2,3. 2,4.1,5.1,6.1
2.2,3.2,4.1,5. 1,6.1
(2557). การพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์
Wood, E. M. (2017). Sustainable Tourism on a Finite Planet: Environmental, Business and Policy Solutions. London: Routledge.
https://www.dasta.or.th/th http://www.tourism.go.th http://www.tourismthailand.org http://www.unwto.org/index.php http://www.mots.go.th
ม หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 1. หนังสือ ตำรา และเอกสารคำสอนหลัก อรไท ครุธเวโช. (2563). การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ปรับปรุงครั้งที่ 1 เชียงใหม่: เอกสารคำสอน มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลล้านนา องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) [อพท.].
การ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน. กรุงเทพ
อพท บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนาและคณะ
2. เอกสาร และข้อมูลสำคัญ วิทยานิพนธ์ระดับบัณฑิตศึกษาของมหาวิทยาลัยต่างๆในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวอย่าง ยั่งยืน ตลอดจนรายงานด้านการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของหน่วยงาน เช่น อพท และ ททท 3. เอกสาร และข้อมูลแนะนำ วารสารเกี่ยวกับการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนทั้งในประเทศและต่างประเทศ ในระบบฐานข้อมูลต่างๆที่ นักศึกษาค้นคว้าหาอ่านได้ด้วยตนเอง เช่น
(2559).
:
.
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ย หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา 1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา ให้นักศึกษาประเมินเมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนในประเด็นต่อไปนี้ 1.1 ให้นักศึกษาประเมินอาจารย์ผู้สอนในประเด็นต่อไปนี้ • ความตรงต่อเวลา • การแต่งกาย บุคลิกภาพ • คำพูดและวาจาสุภาพ เหมาะสม • การเป็นแบบอย่างที่ดี สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมระหว่างการสอน • ความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหาให้เขาใจและกระตุ้นการเรียนรู้ • แจ้งและสรุปวัตถุประสงค์ของหัวข้อที่สอน • จัดการเรียนการสอนให้เกิดการเรียนรู้ตรงกับที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์การศึกษา • การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ซักถาม แสดงความคิดเห็นระหว่างการเรียนการสอน 1.2 ให้นักศึกษาประเมินภาพรวมของรายวิชาในประเด็นต่อไปนี้ • ความรู้ความสามารถโดยรวมและประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียนวิชานี้ • ความพึงพอใจต่อการเรียนวิชานี้ • ข้อเสนอแนะอื่นๆ 2. กลยุทธ์การประเมินการสอน ให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาหรืออาจารย์ประจำหลักสูตร ดำเนินการดังต่อไปนี้ 2.1 ให้นักศึกษาประเมินอาจารย์ผู้สอนและภาพรวมของรายวิชาตาม ข้อ 1 2.2 สุ่มสังเกตการสอนและการประเมินการจัดการเรียนการสอน (โดยเพื่อนอาจารย์) ในประเด็นต่อไปนี้ • ความตรงต่อเวลา • การแต่งกาย บุคลิกภาพ • คำพูดและวาจาสุภาพ เหมาะสม • การเป็นแบบอย่างที่ดี สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมระหว่างการสอน • ความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหาให้เขาใจและกระตุ้นการเรียนรู้ • แจ้งและสรุปวัตถุประสงค์ของหัวข้อที่สอน • จัดการเรียนการสอนให้เกิดการเรียนรู้ตรงกับที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์การศึกษา • การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ซักถาม แสดงความคิดเห็นระหว่างการเรียนการสอน 2.3 ให้อาจารย์ผู้สอนประเมินตนเอง ในประเด็นต่อไปนี้ • ความเหมาะสมของเวลาที่ใช้ในการเตรียมสอน • ความพึงพอใจของผู้สอนต่อผลการสอน
ร • ข้อที่ควรปรับปรุงแก้ไขหรือพัฒนาตนเองในการสอนครั้งต่อไป 3. การปรับปรุงการสอน สาขาวิชาการท่องเที่ยวและการบริการ มีกลไกและวิธีการปรับปรุงการเรียนการสอน ดังนี้ 3.1 ให้อาจารย์ผู้สอนแต่ละหัวข้อบันทึกเหตุการณ์ระหว่างการสอนที่สมควรนำเสนอให้พิจารณา รวมทั้งสิ่งที่ควรปรับปรุงแก้ไขในแต่ละครั้ง 3.2 ประชุม/สัมมนาอาจารย์ผู้สอนเพื่อพิจารณาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนสำหรับปี การศึกษาต่อไปโดยอาศัยข้อมูลดังต่อไปนี้ • ผลการศึกษาของนักศึกษา • ผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา 4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยใช้แบบประเมินของหลักสูตรต่อ ระดับผลการเรียนรู้ของนักศึกษา จัดให้ Pretest และ Post test และหลักสูตรจัดให้มีคณะกรรมการทวน สอบของหลักสูตรดำเนินการทวนสอบตามเกณฑ์ของหลักสูตรและเกณฑ์การประกันคุณภาพของหลักสูตร 5. การดำเนินการทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา ปีการศึกษา 2564 ได้ปรับเนื้อหาการเรียนการสอน โดยเพิ่มการนำเสนอความเข้าใจด้าน Sustainable Development Goals ของ องค์การท่องเที่ยวโลก รวมถึงการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการท่องเที่ยว อย่างยั่งยืน GSTC และ SHA Plus ของ ททท เพื่อเพิ่มทักษะในการปฏิบัติให้นักศึกษาและเพื่อหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องนำไปใช้ประโยชน์ได้
ล แผนบริหารการสอนประจำวิชาของเอกสารคำสอน รหัสวิชา BOATH111 รายวิชา การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 3(2 2 5) Sustainable Tourism คำอธิบายรายวิชา หลักการและแนวคิดการพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน องค์ประกอบในการพัฒนาการท่องเที่ยว นโยบายและแผนการพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืนระดับชาติและนานาชาติ การประเมินขีด ความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยวด้านนิเวศวิทยา ด้านจิตวิทยา ด้านกายภาพ ด้านสิ่งอำนวยความ สะดวก ด้านสังคมวัฒนธรรม ประเมินศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยวและการพัฒนาแนวทางการอนุรักษ์ และพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวที่ยั่งยืน ความสอดคล้องของเอกสารคำสอนและคำอธิบายรายวิชา การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน คำอธิบายรายวิชา เนื้อหาเอกสารคำสอน หลักการและแนวคิดการพัฒนาการท่องเที่ยวแบบ ยั่งยืน บทที่ 1 การพัฒนาอย่างยั่งยืนและเป้าหมายการ พัฒนาอย่างยั่งยืน เนื้อหาบทที่ 1 1. ที่มาของการพัฒนาอย่างยั่งยืน 2. เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน 17 เป้าหมาย 3. กรณีศึกษา ประเทศไทยตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2560 4. กรณีศึกษา SDGs ของโลกปี พ.ศ. 2561 5. หลักเกณฑ์การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโลก บทที่ 3 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน เนื้อหาบทที่ 3 1. หลักการพื้นฐานที่สำคัญของการพัฒนาการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 2. การท่องเที่ยวมวลชนสู่การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 3. การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 4. บทบาทหน่วยงานภาครัฐกับการพัฒนาการ ท่องเที่ยว 5. หลักการจัดการการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน 6. เป้าหมายหลักของการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน 7. รูปแบบการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน องค์ประกอบในการพัฒนาการท่องเที่ยว บทที่ 2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการพัฒนาการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน เนื้อหาบทที่ 2
ว 1. ความสำคัญของการท่องเที่ยว 2. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการท่องเที่ยว 3. นโยบายด้านการท่องเที่ยวของรัฐบาล 4. การพัฒนาการท่องเที่ยว 5. ผลกระทบการท่องเที่ยว 6. การพัฒนาด้านการท่องเที่ยวไทย อดีต ปัจจุบัน และอนาคต นโยบายและแผนการพัฒนาการท่องเที่ยวแบบ ยั่งยืนระดับชาติและนานาชาติ บทที่ 4 นโยบายการท่องเที่ยว เนื้อหาบทที่ 4 1. การศึกษานโยบายสาธารณะ 2.
3.
ไทย
พ.ศ.
บทที่ 5 นโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของประเทศไทย เนื้อหาบทที่ 5 1. กรอบแนวคิดในการกำหนดนโยบายและ ยุทธศาสตร์ด้านการท่องเที่ยวของไทย 2. วาระแห่งชาติว่าด้วยการท่องเที่ยว บทที่ 7 การวางแผนการท่องเที่ยวย่างยั่งยืน เนื้อหาบทที่ 7 1. การวางแผนการท่องเที่ยว 2. กรณีศึกษา การประเมินขีดความสามารถในการรองรับ นักท่องเที่ยวด้านนิเวศวิทยา ด้านจิตวิทยา ด้าน กายภาพ ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก ด้านสังคม วัฒนธรรม บทที่ 3 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน เนื้อหาบทที่ 3 1. การประยุกต์ใช้ขีดความสามารถการรองรับได้ เพื่อการท่องเที่ยว 2. กรณีศึกษาขีดความสามารถการรองรับได้เพื่อ
ความหมายของนโยบายสาธารณะ
ความสำคัญของนโยบาย 4. ประเภทของนโยบายสาธารณะ 5. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดนโยบาย 6. นโยบายการท่องเที่ยว 7. การนำนโยบายไปปฏิบัติ 8. กรณีศึกษานโยบายสาธารณะของรัฐบาลไทย 9. กรณีศึกษา นโยบายการท่องเที่ยวของประเทศ
ปี
2562
ศ การท่องเที่ยว หมู่บ้านแหลมตุ๊กแก จังหวัดภูเก็ต ประเมินศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยว บทที่ 6 การสำรวจข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวเพื่อการ พัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน เนื้อหาบทที่ 6 1. แบบบันทึกการสำรวจข้อมูลสถานที่ท่องเที่ยว 2. ตัวอย่างการรายงานผลการสำรวจแหล่ง ท่องเที่ยวกรณีศึกษา บทที่ 8 ยุทธศาสตร์การพัฒนาเพื่อการท่องเที่ยว อย่างยั่งยืน เนื้อหาบทที่ 8 1. ประเภทของการจัดทำแผนพัฒนา 2. ความสำคัญของแผนยุทธศาสตร์ 3. ลักษณะของแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา 4. วัตถุประสงค์ของการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การ พัฒนา 5. กลยุทธ์และเทคนิคในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 6. กระบวนการขั้นตอนการดำเนินการจัดทำแผน ยุทธศาสตร์การพัฒนา 7. ประโยชน์ของการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 8. การจัดทำแผนกลยุทธ์ 9. ตัวอย่างผลการวิเคราะห์ศักยภาพในภาพรวม 10. การวิเคราะห์ศักยภาพและการ ฝึกเขียนแผน ยุทธศาสตร์การพัฒนา การพัฒนาแนวทางการอนุรักษ์และพัฒนาแหล่ง ท่องเที่ยวที่ยั่งยืน บทที่ 9 กลยุทธ์การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่าง ยั่งยืน เนื้อหาบทที่ 9 1. ศึกษาการแผนการดำเนินงานการท่องเที่ยวของ ททท. 2. การประเมินสภาวะแวดล้อม 3. ฝึกปฏิบัติการเขียนแผนยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ เพื่อการท่องเที่ยว บทที่ 10 การตลาดเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน เนื้อหาบทที่ 10 1. แนวความคิดทางการตลาดที่มุ่งสู่ความยั่งยืน 2. แนวคิดการตลาดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของ ต่างประเทศ 3. การฝึกปฏิบัติการวิเคราะห์ทางการตลาดด้วย
ษ Business Model Canvas บทที่ 11 อนาคตของแผนและนโยบายเพื่อการ พัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน เนื้อหาบทที่ 11 1. แนวโน้มอนาคตด้านนโยบายและแผนการ พัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 2. กรณีศึกษานโยบายและการวางแผนประเทศไทย 3. การฝึกเขียนข้อเสนอแนะและสรุปบทเรียน
ส แผนการสอนสัปดาห์ที่ 1 หน่วยที่ 1 ชื่อหน่วยเรียน การพัฒนาอย่างยั่งยืนและ เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน เวลาเรียน 4 ชั่วโมง ทฤษฎี 2 ชั่วโมง / ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง หน่วยที่ 1 ชื่อหน่วย การพัฒนาอย่างยั่งยืนและเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน บทเรียน 1. ที่มาของการพัฒนาอย่างยั่งยืน 2. เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน 17 เป้าหมาย 3. กรณีศึกษา ประเทศไทยตั้งแต่ ปี พ ศ. 2560 4. กรณีศึกษา SDGs ของโลกปี พ ศ. 2561 5. หลักเกณฑ์การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโลก ปฏิบัติ กิจกรรมวิเคราะห์เกณฑ์ SDGs และ หลักเกณฑ์การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโลกและอภิปรายในชั้น เรียน จุดประสงค์การสอน วัตถุประสงค์ทั่วไป 1. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้และความเข้าใจที่มาและหลักการการพัฒนาอย่างยั่งยืน 2. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้และความเข้าใจถึงเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน 3. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักเกณฑ์การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน โลก วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม เมื่อเรียนจบบทนี้ นักศึกษามีความสามารถดังนี้ 1. สามารถอธิบายที่มาและหลักการการพัฒนาอย่างยั่งยืนได้ 2. สามารถอธิบายรายละเอียดเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนได้ 3. สามารถอภิปรายเกณฑ์ SDGs และ หลักเกณฑ์การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโลกในชั้น เรียนได้ วิธีการสอนและกิจกรรม 1. บรรยายในชั้นเรียน 2. ศึกษาเอกสารคำสอนบทที่ 1
ห 3. ทำแบบฝึกหัดท้ายบท 4. อภิปรายในชั้นเรียน สื่อการเรียนการสอน เอกสารที่ใช้ในการสอน เอกสารคำสอนฉบับนี้ สื่อการเรียนการสอน powerpoint เอกสารอ้างอิง ปรากฏในเอกสารประกอบการสอนฉบับนี้ กรณีศึกษาตัวอย่าง การวัดและประเมินผล 1. การสังเกตความสนใจของผู้ศึกษาและการมีส่วนร่วมในกิจกรรม 2. การประเมินจากการที่ผู้ศึกษาแสดงความคิดเห็น 3. การประเมินจากการตอบคำถามแบบฝึกหัดท้ายบท 4. การประเมินจากการนำเสนอและอภิปรายในประเด็นที่ได้รับมอบหมาย บันทึกการสอน ดำเนินการจัดทำหลังเสร็จสิ้นการเรียนการสอนทุกครั้ง
ฬ แผนการสอนสัปดาห์ที่ 2 หน่วยที่ 2 ชื่อหน่วยเรียน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการ พัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน เวลาเรียน 4 ชั่วโมง ทฤษฎี 2 ชั่วโมง / ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง หน่วยที่ 2 ชื่อหน่วย ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน บทเรียน 1. ความสำคัญของการท่องเที่ยว 2. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการท่องเที่ยว 3. นโยบายด้านการท่องเที่ยวของรัฐบาล 4. การพัฒนาการท่องเที่ยว 5. ผลกระทบการท่องเที่ยว 6. การพัฒนาด้านการท่องเที่ยวไทย อดีต ปัจจุบันและอนาคต ปฏิบัติ กิจกรรมวิเคราะห์ผลกระทบการพัฒนาการท่องเที่ยวของประเทศไทยและอภิปรายในชั้นเรียน จุดประสงค์การสอน วัตถุประสงค์ทั่วไป 1. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้และความเข้าใจความสำคัญของการท่องเที่ยว 2. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้และความเข้าใจถึงหลักการและกระบวนการพัฒนาการ ท่องเที่ยว 3. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับผลกระทบการพัฒนาการท่องเที่ยว 4. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนาการท่องเที่ยวของประเทศ ไทย วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม เมื่อเรียนจบบทนี้ นักศึกษามีความสามารถดังนี้ 1. สามารถอธิบายความสำคัญของการท่องเที่ยวได้ 2. สามารถอธิบายหลักการและกระบวนการพัฒนาการท่องเที่ยวได้ 3. สามารถแจกแจงผลกระทบการพัฒนาการท่องเที่ยวได้ 4. สามารถอภิปรายการพัฒนาการท่องเที่ยวของประเทศไทยในแต่ละยุคได้
อ วิธีการสอนและกิจกรรม 1. บรรยายในชั้นเรียน 2. ศึกษาเอกสารคำสอนบทที่ 2 3. ทำแบบฝึกหัดท้ายบท 4. อภิปรายในชั้นเรียน สื่อการเรียนการสอน เอกสารที่ใช้ในการสอน เอกสารคำสอนฉบับนี้ สื่อการเรียนการสอน powerpoint เอกสารอ้างอิง ปรากฏในเอกสารประกอบการสอนฉบับนี้ กรณีศึกษาตัวอย่าง การวัดและประเมินผล 1. การสังเกตความสนใจของผู้ศึกษาและการมีส่วนร่วมในกิจกรรม 2. การประเมินจากการที่ผู้ศึกษาแสดงความคิดเห็น 3. การประเมินจากการตอบคำถามแบบฝึกหัดท้ายบท 4. การประเมินจากการนำเสนอและอภิปรายในประเด็นที่ได้รับมอบหมาย
บันทึกการสอน ดำเนินการจัดทำหลังเสร็จสิ้นการเรียนการสอนทุกครั้ง
ฮ แผนการสอนสัปดาห์ที่ 3 หน่วยที่ 3 ชื่อหน่วยเรียน การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน เวลาเรียน 4 ชั่วโมง ทฤษฎี 2 ชั่วโมง / ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง หน่วยที่ 3 ชื่อหน่วย การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน บทเรียน 1. หลักการพื้นฐานที่สำคัญของการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 2. การท่องเที่ยวมวลชนสู่การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 3. การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 4. บทบาทหน่วยงานภาครัฐกับการพัฒนาการท่องเที่ยว 5. หลักการจัดการการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน 6. เป้าหมายหลักของการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน 7. รูปแบบการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 8. การประยุกต์ใช้ขีดความสามารถการรองรับได้เพื่อการท่องเที่ยว 9. กรณีศึกษาขีดความสามารถการรองรับได้เพื่อการท่องเที่ยวหมู่บ้านแหลมตุ๊กแก
กิจกรรมคำนวนขีดความสามารถการรองรับได้เพื่อการท่องเที่ยวและกิจกรรมการอภิปรายในชั้น เรียน จุดประสงค์การสอน วัตถุประสงค์ทั่วไป 1. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้และความเข้าใจการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 2. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้และความเข้าใจถึงรูปแบบการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 3. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทหน่วยงานภาครัฐกับการ พัฒนาการท่องเที่ยว 4. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้และความเข้าใจถึงหลักการการบริหารจัดการการท่องเที่ยว อย่างยั่งยืน 5. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถคำนวณขีดความสามารถการรองรับได้เพื่อการท่องเที่ยวด้าน กายภาพ ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม
จังหวัดภูเก็ต ปฏิบัติ
กก วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม เมื่อเรียนจบบทนี้ นักศึกษามีความสามารถดังนี้ 1. สามารถอธิบายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนได้ 2. สามารถอธิบายรูปแบบและยกตัวอย่างกิจกรรมการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนได้ 3. สามารถอธิบายเกี่ยวกับหน่วยงานภาครัฐในการพัฒนาการท่องเที่ยวได้ 4. สามารถคำนวณขีดความสามารถการรองรับได้เพื่อการท่องเที่ยวด้านกายภาพ ด้านสังคม และด้านสิ่งแวดล้อมได้ วิธีการสอนและกิจกรรม 1. บรรยายในชั้นเรียน 2. ศึกษาเอกสารคำสอนบทที่ 3 3. ทำแบบฝึกหัดท้ายบท 4. อภิปรายในชั้นเรียน 5. ฝึกคำนวณขีดความสามารถการรองรับได้เพื่อการท่องเที่ยว สื่อการเรียนการสอน เอกสารที่ใช้ในการสอน เอกสารคำสอนฉบับนี้ สื่อการเรียนการสอน powerpoint เอกสารอ้างอิง ปรากฏในเอกสารประกอบการสอนฉบับนี้ กรณีศึกษาตัวอย่าง การวัดและประเมินผล 1. การสังเกตความสนใจของผู้ศึกษาและการมีส่วนร่วมในกิจกรรม 2. การประเมินจากการที่ผู้ศึกษาแสดงความคิดเห็น 3. การประเมินจากการตอบคำถามแบบฝึกหัดท้ายบท 4. การประเมินจากการนำเสนอและอภิปรายในประเด็นที่ได้รับมอบหมาย 5. การประเมินจากผลการคำนวนขีดความสามารถการรองรับได้เพื่อการท่องเที่ยว บันทึกการสอน ดำเนินการจัดทำหลังเสร็จสิ้นการเรียนการสอนทุกครั้ง
ขข แผนการสอนสัปดาห์ที่ 4 หน่วยที่ 4 ชื่อหน่วยเรียน นโยบายการท่องเที่ยว เวลาเรียน 4 ชั่วโมง ทฤษฎี 2 ชั่วโมง / ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง หน่วยที่ 4 ชื่อหน่วย นโยบายการท่องเที่ยว บทเรียน 1. การศึกษานโยบายสาธารณะ 2. ความหมายของนโยบายสาธารณะ 3. ความสำคัญของนโยบาย 4. ประเภทของนโยบายสาธารณะ 5. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดนโยบาย 6. นโยบายการท่องเที่ยว 7. การนำนโยบายไปปฏิบัติ 8. กรณีศึกษานโยบายสาธารณะของรัฐบาลไทย 9. กรณีศึกษา นโยบายการท่องเที่ยวของประเทศไทย ปี พ ศ. 2562 ปฏิบัติ กิจกรรมวิเคราะห์นโยบายการท่องเที่ยวของประเทศไทยและอภิปรายในชั้นเรียน จุดประสงค์การสอน วัตถุประสงค์ทั่วไป 1. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการศึกษาด้านนโยบาย 2. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้และความเข้าใจถึงนโยบายการท่องเที่ยว 3. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการนำนโยบายไปปฏิบัติ 4. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะและนโยบายการ ท่องเที่ยวของประเทศไทย วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม เมื่อเรียนจบบทนี้ นักศึกษามีความสามารถดังนี้ 1. สามารถอธิบายเกี่ยวกับการนโยบายสาธารณะและนโยบายการท่องเที่ยวได้ 2. สามารถอธิบายขั้นตอนการนำนโยบายไปปฏิบัติได้ 3. สามารถยกตัวอย่างนโยบายการท่องเที่ยวได้ 4. สามารถแสดงความคิดเห็นต่อนโยบายสาธารณะและนโยบายการท่องเที่ยวของ
คค ประเทศไทยได้ วิธีการสอนและกิจกรรม 1. บรรยายในชั้นเรียน 2. ศึกษาเอกสารคำสอนบทที่ 4 3. ทำแบบฝึกหัดท้ายบท 4. อภิปรายในชั้นเรียน สื่อการเรียนการสอน เอกสารที่ใช้ในการสอน เอกสารคำสอนฉบับนี้ สื่อการเรียนการสอน powerpoint เอกสารอ้างอิง ปรากฏในเอกสารประกอบการสอนฉบับนี้ กรณีศึกษาตัวอย่าง การวัดและประเมินผล 1. การสังเกตความสนใจของผู้ศึกษาและการมีส่วนร่วมในกิจกรรม 2. การประเมินจากการที่ผู้ศึกษาแสดงความคิดเห็น 3. การประเมินจากการตอบคำถามแบบฝึกหัดท้ายบท 4. การประเมินจากการนำเสนอและอภิปรายในประเด็นที่ได้รับมอบหมาย บันทึกการสอน ดำเนินการจัดทำหลังเสร็จสิ้นการเรียนการสอนทุกครั้ง
งง แผนการสอนสัปดาห์ที่ 5 หน่วยที่ 5 ชื่อหน่วยเรียน นโยบายและยุทธศาสตร์การ พัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของประเทศไทย เวลาเรียน 4 ชั่วโมง ทฤษฎี 2 ชั่วโมง / ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง หน่วยที่ 5 ชื่อหน่วย นโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของประเทศไทย บทเรียน 1. กรอบแนวคิดในการกำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการท่องเที่ยวของไทย 2. วาระแห่งชาติว่าด้วยการท่องเที่ยวของไทย ปฏิบัติ กิจกรรมวิเคราะห์นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการท่องเที่ยวของไทยและอภิปรายในชั้นเรียน จุดประสงค์การสอน 1. เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจการกำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการท่องเที่ยวของไทย 2. เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจเกี่ยวกับวาระแห่งชาติว่าด้วยการท่องเที่ยวของไทย จุดประสงค์การสอน วัตถุประสงค์ทั่วไป 1. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการ ท่องเที่ยวของไทย 2. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับวาระแห่งชาติว่าด้วยการท่องเที่ยว ของไทย 3. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการวิเคราะห์ภาวะแวดล้อมในการ กำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการท่องเที่ยว 4. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหน่วยงานการท่องเที่ยวและคลัส เตอร์การท่องเที่ยวของไทยได้ วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม เมื่อเรียนจบบทนี้ นักศึกษามีความสามารถดังนี้ 1. สามารถอธิบายเกี่ยวกับการนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการท่องเที่ยวของไทยได้ 2. สามารถอธิบายเกี่ยวกับวาระแห่งชาติว่าด้วยการท่องเที่ยวของไทยได้
จจ 3. สามารถวิเคราะห์ภาวะแวดล้อมในการกำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการ ท่องเที่ยวได้ 4. สามารถอธิบายเกี่ยวกับหน่วยงานการท่องเที่ยวและคลัสเตอร์การท่องเที่ยวของไทย ได้ วิธีการสอนและกิจกรรม 1. บรรยายในชั้นเรียน 2. ศึกษาเอกสารคำสอนบทที่ 5 3. ทำแบบฝึกหัดท้ายบท 4. อภิปรายในชั้นเรียน สื่อการเรียนการสอน เอกสารที่ใช้ในการสอน เอกสารคำสอนฉบับนี้ สื่อการเรียนการสอน powerpoint เอกสารอ้างอิง ปรากฏในเอกสารประกอบการสอนฉบับนี้ กรณีศึกษาตัวอย่าง การวัดและประเมินผล 1. การสังเกตความสนใจของผู้ศึกษาและการมีส่วนร่วมในกิจกรรม 2. การประเมินจากการที่ผู้ศึกษาแสดงความคิดเห็น 3. การประเมินจากการตอบคำถามแบบฝึกหัดท้ายบท 4. การประเมินจากการนำเสนอและอภิปรายในประเด็นที่ได้รับมอบหมาย บันทึกการสอน ดำเนินการจัดทำหลังเสร็จสิ้นการเรียนการสอนทุกครั้ง
ฉฉ แผนการสอนสัปดาห์ที่ 6 7 หน่วยที่ 6 ชื่อหน่วยเรียน การสำรวจข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว เพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน เวลาเรียน 8 ชั่วโมง ทฤษฎี 2 ชั่วโมง / ปฏิบัติ 6 ชั่วโมง หน่วยที่ 6 ชื่อหน่วย การสำรวจข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน บทเรียน 1. แบบบันทึกการสำรวจข้อมูลสถานที่ท่องเที่ยว 2. ตัวอย่างการรายงานผลการสำรวจแหล่งท่องเที่ยวกรณีศึกษา ปฏิบัติ กิจกรรมการสำรวจข้อมูลสถานที่ท่องเที่ยวและรายงานผล จุดประสงค์การสอน วัตถุประสงค์ทั่วไป 1. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้และความเข้าใจขั้นตอนการสำรวจข้อมูลสถานที่ท่องเที่ยว 2. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้และความเข้าใจวิธีการรายงานผลการสำรวจแหล่งท่องเที่ยว วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม เมื่อเรียนจบบทนี้ นักศึกษามีความสามารถดังนี้ 1. สามารถสำรวจข้อมูลสถานที่ท่องเที่ยวได้อย่างเป็นระบบ 2. สามารถรายงานผลการสำรวจแหล่งท่องเที่ยวอย่างเป็นระบบได้ วิธีการสอนและกิจกรรม 1. บรรยายในชั้นเรียน 2. ศึกษาเอกสารคำสอนบทที่ 6 3. ทำแบบฝึกหัดท้ายบท 4. ลงพื้นที่เพื่อสำรวจข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว 5. รายงานผลการสำรวจข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว สื่อการเรียนการสอน เอกสารที่ใช้ในการสอน เอกสารคำสอนฉบับนี้ สื่อการเรียนการสอน powerpoint เอกสารอ้างอิง ปรากฏในเอกสารประกอบการสอนฉบับนี้ กรณีศึกษาตัวอย่าง
ชช การวัดและประเมินผล 1. การสังเกตความสนใจของผู้ศึกษาและการมีส่วนร่วมในกิจกรรม 2. การประเมินจากการที่ผู้ศึกษาแสดงความคิดเห็น 3. การประเมินจากการตอบคำถามแบบฝึกหัดท้ายบท 4. การประเมินจากกิจกรรมและการมีส่วนร่วมในการสำรวจแหล่งท่องเที่ยว 5. การประเมินจากผลการรายงานการสำรวจแหล่งท่องเที่ยว บันทึกการสอน ดำเนินการจัดทำหลังเสร็จสิ้นการเรียนการสอนทุกครั้ง
ซซ แผนการสอนสัปดาห์ที่ 8 9 หน่วยที่ 7 ชื่อหน่วยเรียน การวางแผนการท่องเที่ยวเพื่อการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน เวลาเรียน 8 ชั่วโมง ทฤษฎี 2 ชั่วโมง / ปฏิบัติ 6 ชั่วโมง หน่วยที่ 7 ชื่อหน่วย การวางแผนการท่องเที่ยวเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน บทเรียน 1. การวางแผนการท่องเที่ยว 2. กรณีศึกษา ปฏิบัติ กิจกรรมสำรวจความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการวางแผนการท่องเที่ยวและรายงานผล จุดประสงค์การสอน วัตถุประสงค์ทั่วไป 1. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้และความเข้าใจขั้นตอนการวางแผนการท่องเที่ยว 2. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้และความเข้าใจความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการวาง แผนการท่องเที่ยวจากกรณีศึกษา วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม เมื่อเรียนจบบทนี้ นักศึกษามีความสามารถดังนี้ 1. สามารถอธิบายขั้นตอนการวางแผนเพื่อการท่องเที่ยว 2. สามารถสำรวจความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการวางแผนการท่องเที่ยวได้ อย่างเป็นระบบ 3. สามารถรายงานผลการสำรวจความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการวางแผนการ ท่องเที่ยวได้ วิธีการสอนและกิจกรรม 1. บรรยายในชั้นเรียน 2. ศึกษาเอกสารคำสอนบทที่ 7 3. ทำแบบฝึกหัดท้ายบท 4. ลงพื้นที่เพื่อสำรวจผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการท่องเที่ยว 5. รายงานผลการสำรวจผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการท่องเที่ยว
ฌฌ สื่อการเรียนการสอน เอกสารที่ใช้ในการสอน เอกสารคำสอนฉบับนี้ สื่อการเรียนการสอน powerpoint เอกสารอ้างอิง ปรากฏในเอกสารประกอบการสอนฉบับนี้ กรณีศึกษาตัวอย่าง การวัดและประเมินผล 1. การสังเกตความสนใจของผู้ศึกษาและการมีส่วนร่วมในกิจกรรม 2. การประเมินจากการที่ผู้ศึกษาแสดงความคิดเห็น 3. การประเมินจากการตอบคำถามแบบฝึกหัดท้ายบท 4. การประเมินจากกิจกรรมและการมีส่วนร่วมในการสำรวจผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการ ท่องเที่ยว 5. การประเมินจากผลการรายงานการสำรวจผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการท่องเที่ยว บันทึกการสอน ดำเนินการจัดทำหลังเสร็จสิ้นการเรียนการสอนทุกครั้ง
ญญ แผนการสอนสัปดาห์ที่ 10 11 หน่วยที่ 8 ชื่อหน่วยเรียน การจัดทำแผนยุทธศาสตร์พัฒนา เพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน เวลาเรียน 8 ชั่วโมง ทฤษฎี 2 ชั่วโมง / ปฏิบัติ 6 ชั่วโมง หน่วยที่ 8 ชื่อหน่วย การจัดทำแผนยุทธศาสตร์พัฒนาเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน บทเรียน 1. ประเภทของการจัดทำแผนพัฒนา 2. ความสำคัญของแผนยุทธศาสตร์ 3. ลักษณะของแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา 4. วัตถุประสงค์ของการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา 5. กลยุทธ์และเทคนิคในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 6. กระบวนการขั้นตอนการดำเนินการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา 7. ประโยชน์ของการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 8. การจัดทำแผนกลยุทธ์ 9. ตัวอย่างผลการวิเคราะห์ศักยภาพในภาพรวม 10. การวิเคราะห์ศักยภาพและการ ฝึกเขียนแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา ปฏิบัติ ฝึกเขียนแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการท่องเที่ยวและรายงานผล จุดประสงค์การสอน วัตถุประสงค์ทั่วไป 1. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้และความเข้าใจขั้นตอนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์พัฒนา 2. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้และความเข้าใจในด้านการวิเคราะห์ศักยภาพแหล่งท่องเที่ยว 3. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเขียนแผนยุทธศาสตร์พัฒนาการท่องเที่ยว วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม เมื่อเรียนจบบทนี้ นักศึกษามีความสามารถดังนี้ 1. สามารถอธิบายขั้นตอนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์พัฒนาได้ 2. สามารถวิเคราะห์ศักยภาพแหล่งท่องเที่ยวได้ 3. สามารถเขียนแผนยุทธศาสตร์พัฒนาการท่องเที่ยวได้
ฎฎ วิธีการสอนและกิจกรรม 1. บรรยายในชั้นเรียน 2. ศึกษาเอกสารคำสอนบทที่ 8 3. ทำแบบฝึกหัดท้ายบท 4. ฝึกทักษะการเขียนแผนยุทธศาสตร์พัฒนาการท่องเที่ยว สื่อการเรียนการสอน เอกสารที่ใช้ในการสอน เอกสารคำสอนฉบับนี้ สื่อการเรียนการสอน powerpoint เอกสารอ้างอิง ปรากฏในเอกสารประกอบการสอนฉบับนี้ กรณีศึกษาตัวอย่าง การวัดและประเมินผล 1. การสังเกตความสนใจของผู้ศึกษาและการมีส่วนร่วมในกิจกรรม 2. การประเมินจากการที่ผู้ศึกษาแสดงความคิดเห็น 3. การประเมินจากการตอบคำถามแบบฝึกหัดท้ายบท
4. การประเมินจากกิจกรรมและการมีส่วนร่วมในการเขียนแผนยุทธศาสตร์ พัฒนาการท่องเที่ยว 5. การประเมินจากผลการเขียนแผนยุทธศาสตร์พัฒนาการท่องเที่ยว บันทึกการสอน ดำเนินการจัดทำหลังเสร็จสิ้นการเรียนการสอนทุกครั้ง
ฏฏ แผนการสอนสัปดาห์ที่ 12 13 หน่วยที่ 9 ชื่อหน่วยเรียน กลยุทธ์การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน เวลาเรียน 8 ชั่วโมง ทฤษฎี 2 ชั่วโมง / ปฏิบัติ 6 ชั่วโมง หน่วยที่ 9 ชื่อหน่วย กลยุทธ์การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน บทเรียน 1. ศึกษาการแผนกลยุทธ์การดำเนินงานการท่องเที่ยวของ ททท 2. การประเมินสภาวะแวดล้อมของแหล่งท่องเที่ยว 3. ฝึกปฏิบัติการเขียนแผนกลยุทธ์เพื่อการท่องเที่ยว ปฏิบัติ เขียนแผนกลยุทธ์เพื่อการท่องเที่ยวและรายงานผล จุดประสงค์การสอน วัตถุประสงค์ทั่วไป 1. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้และความเข้าใจขั้นตอนการจัดทำแผนกลยุทธ์การดำเนินงานการ ท่องเที่ยว 2. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้และความเข้าใจในด้านการประเมินสภาวะแวดล้อมของแหล่ง ท่องเที่ยว 3. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเขียนกลยุทธ์เพื่อการท่องเที่ยว วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม เมื่อเรียนจบบทนี้ นักศึกษามีความสามารถดังนี้ 1. สามารถอธิบายขั้นตอนการจัดทำแผนกลยุทธ์การดำเนินงานการท่องเที่ยวได้ 2. สามารถประเมินสภาวะแวดล้อมของแหล่งท่องเที่ยวได้ 3. สามารถเขียนแผนเขียนกลยุทธ์เพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนได้ วิธีการสอนและกิจกรรม 1. บรรยายในชั้นเรียน 2. ศึกษาเอกสารคำสอนบทที่ 9 3. ทำแบบฝึกหัดท้ายบท 4. ฝึกทักษะการเขียนแผนกลยุทธ์เพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 5. ฝึกทักษะการประเมินสภาวะแวดล้อมของแหล่งท่องเที่ยว
ฐฐ สื่อการเรียนการสอน เอกสารที่ใช้ในการสอน เอกสารคำสอนฉบับนี้ สื่อการเรียนการสอน powerpoint เอกสารอ้างอิง ปรากฏในเอกสารประกอบการสอนฉบับนี้ กรณีศึกษาตัวอย่าง การวัดและประเมินผล 1 การสังเกตความสนใจของผู้ศึกษาและการมีส่วนร่วมในกิจกรรม 2. การประเมินจากการที่ผู้ศึกษาแสดงความคิดเห็น 3. การประเมินจากการตอบคำถามแบบฝึกหัดท้ายบท 4. การประเมินจากกิจกรรมและการมีส่วนร่วมในการเขียนแผนกลยุทธ์เพื่อการท่องเที่ยว อย่างยั่งยืน 5. การประเมินจากผลการเขียนแผนกลยุทธ์เพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและผลการ ประเมินสภาวะแวดล้อมของแหล่งท่องเที่ยว บันทึกการสอน ดำเนินการจัดทำหลังเสร็จสิ้นการเรียนการสอนทุกครั้ง
ฑฑ แผนการสอนสัปดาห์ที่ 14 หน่วยที่ 10 ชื่อหน่วยเรียน การตลาดเพื่อการท่องเที่ยวอย่าง ยั่งยืน เวลาเรียน 4 ชั่วโมง ทฤษฎี 2 ชั่วโมง / ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง หน่วยที่ 10 ชื่อหน่วย การตลาดเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน บทเรียน 1. แนวความคิดทางการตลาดที่มุ่งสู่ความยั่งยืน 2. แนวคิดการตลาดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 3. การฝึกปฏิบัติการวิเคราะห์ทางการตลาดด้วย Business Model Canvas ปฏิบัติ การวิเคราะห์ทางการตลาดอย่างยั่งยืนด้วย Business Model Canvas และรายงานผล จุดประสงค์การสอน วัตถุประสงค์ทั่วไป 1. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้และความเข้าใจแนวคิดและหลักการการตลาดที่มุ่งสู่ความยั่งยืน 2. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้และความเข้าใจในวิเคราะห์ทางการตลาดด้วย Business Model Canvas วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม เมื่อเรียนจบบทนี้ นักศึกษามีความสามารถดังนี้ 1. สามารถอธิบายแนวคิดการตลาดที่มุ่งสู่ความยั่งยืนได้ 2. สามารถอธิบายแนวคิดและหลักการการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนได้ 3. สามารถวิเคราะห์ทางการตลาดอย่างยั่งยืนด้วย Business Model Canvasได้ วิธีการสอนและกิจกรรม 1. บรรยายในชั้นเรียน 2. ศึกษาเอกสารคำสอนบทที่ 10 3. ทำแบบฝึกหัดท้ายบท 4. ฝึกทักษะการวิเคราะห์ทางการตลาดอย่างยั่งยืนด้วย Business Model Canvas
ฒฒ สื่อการเรียนการสอน เอกสารที่ใช้ในการสอน เอกสารคำสอนฉบับนี้ สื่อการเรียนการสอน powerpoint เอกสารอ้างอิง ปรากฏในเอกสารประกอบการสอนฉบับนี้ กรณีศึกษาตัวอย่าง การวัดและประเมินผล 1. การสังเกตความสนใจของผู้ศึกษาและการมีส่วนร่วมในกิจกรรม 2. การประเมินจากการที่ผู้ศึกษาแสดงความคิดเห็น 3. การประเมินจากการตอบคำถามแบบฝึกหัดท้ายบท 4. การประเมินจากกิจกรรมและการมีส่วนร่วมในการวิเคราะห์ทางการตลาดอย่างยั่งยืน ด้วย Business Model Canvas 5. การประเมินจากผลการวิเคราะห์ทางการตลาดอย่างยั่งยืนด้วย Business Model Canvas บันทึกการสอน ดำเนินการจัดทำหลังเสร็จสิ้นการเรียนการสอนทุกครั้ง
ณณ แผนการสอนสัปดาห์ที่ 15 หน่วยที่ 11 ชื่อหน่วยเรียน อนาคตของแผนและนโยบายเพื่อ การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน เวลาเรียน 4 ชั่วโมง ทฤษฎี 2 ชั่วโมง / ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง หน่วยที่ 11 ชื่อหน่วย อนาคตของแผนและนโยบายเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน บทเรียน 1. แนวโน้มอนาคตด้านนโยบายและแผนการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 2. กรณีศึกษานโยบายและการวางแผนการท่องเที่ยวของประเทศไทยในปัจจุบัน 3. การฝึกเขียนข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและสรุปบทเรียน ปฏิบัติ ฝึกเขียนข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและสรุปบทเรียนและรายงานผล จุดประสงค์การสอน วัตถุประสงค์ทั่วไป 1. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้และความเข้าใจถึงแนวโน้มอนาคตด้านนโยบายและแผนการ พัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 2. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้และความเข้าใจในนโยบายและการวางแผนการท่องเที่ยวของ ประเทศไทยในปัจจุบัน 3. เพื่อให้ผู้เรียนฝึกทักษะการเขียนข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและสรุปบทเรียน วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม เมื่อเรียนจบบทนี้ นักศึกษามีความสามารถดังนี้ 1. สามารถอธิบายแนวโน้มอนาคตด้านนโยบายและแผนการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่าง ยั่งยืนได้ 2. สามารถอธิบายนโยบายและการวางแผนการท่องเที่ยวของประเทศไทยในปัจจุบันได้ 3. สามารถเขียนข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและสรุปบทเรียนได้ วิธีการสอนและกิจกรรม 1. บรรยายในชั้นเรียน 2. ศึกษาเอกสารคำสอนบทที่ 11 3. ทำแบบฝึกหัดท้ายบท 4. ฝึกทักษะการเขียนข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและสรุปบทเรียน
ดด สื่อการเรียนการสอน เอกสารที่ใช้ในการสอน เอกสารคำสอนฉบับนี้ สื่อการเรียนการสอน powerpoint เอกสารอ้างอิง ปรากฏในเอกสารประกอบการสอนฉบับนี้ กรณีศึกษาตัวอย่าง การวัดและประเมินผล 1. การสังเกตความสนใจของผู้ศึกษาและการมีส่วนร่วมในกิจกรรม 2. การประเมินจากการที่ผู้ศึกษาแสดงความคิดเห็น 3. การประเมินจากการตอบคำถามแบบฝึกหัดท้ายบท 4. การประเมินจากกิจกรรมและการมีส่วนร่วมในการเขียนข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและ สรุปบทเรียน 5. การประเมินจากผลการเขียนข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและสรุปบทเรียน บันทึกการสอน ดำเนินการจัดทำหลังเสร็จสิ้นการเรียนการสอนทุกครั้ง
ตต ตารางสรุปการวัดผลของรายวิชา จุดมุ่งหมายของรายวิชา ผลการเรียนรู้ของรายวิชา 1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจใน หลักการ แนวคิดการและองค์ประกอบของการ พัฒนาอย่างยั่งยืน 1. ผู้เรียนสามารถอธิบายแนวคิด ที่มา หลักการและ องค์ประกอบของการพัฒนาอย่างยั่งยืนได้ 2. ผู้เรียนสามารถอภิปรายเกี่ยวกับเกณฑ์มาตรฐานการ ท่องเที่ยวโลกในชั้นเรียนได้ 3. ผู้เรียนสามารถสอบภาคทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาอย่าง ยั่งยืนได้ 2. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจใน หลักการ แนวคิดการและองค์ประกอบของการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการพัฒนาการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 1. ผู้เรียนสามารถอธิบายแนวคิด และองค์ประกอบของ การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนได้ 2. ผู้เรียนสามารถอธิบายขั้นตอนในการพัฒนาการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในชั้นเรียนได้ 3. ผู้เรียนสามารถสอบภาคทฤษฎีเกี่ยวกับการท่องเที่ยว อย่างยั่งยืนได้ 3. เพื่อให้นักศึกษาจำแนกรูปแบบ ลักษณะของ การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนได้ 1. ผู้เรียนจำแนกรูปแบบและลักษณะของการท่องเที่ยว อย่างยั่งยืนผ่านการนำเสนอและอภิปรายในชั้นเรียนได้ 4.เพื่อให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์อย่างเป็น ระบบในด้านการกำหนดนโยบาย การวางแผน ยุทธศาสตร์ และแผนกลยุทธ์เพื่อการ พัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนได้
ศักยภาพแหล่งท่องเที่ยวอย่างเป็นระบบผ่านกรณีศึกษา และแบบฝึกหัดได้ 3. ผู้เรียนสำรวจความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียใน แหล่งท่องเที่ยวเพื่อนำผลข้อมูลมาใช้ในการพัฒนาแผนได้ 4. ผู้เรียนเขียนแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวผ่าน แบบฝึกหัดประจำบทและกรณีศึกษาได้ 5. ผู้เรียนเขียนแผนกลยุทธ์เพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยว อย่างยั่งยืนผ่านแบบฝึกหัดประจำบทและกรณีศึกษาได้ 5.เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ด้านการประเมินขีด ความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยว รวมถึงการประเมินศักยภาพของแหล่ง ท่องเที่ยวและการวิเคราะห์แนวทางการ อนุรักษ์และพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ได้ 1. ผู้เรียนคำนวนและประเมินขีดความสามารถในการ รองรับนักท่องเที่ยวด้านกายภาพ ด้านสังคม และด้าน สิ่งแวดล้อมผ่านข้อมูลกรณีศึกษาและแบบฝึกหัดได้ 2. ผู้เรียนเขียนข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อการอนุรักษ์ และการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนผ่านกรณีศึกษา และแบบฝึกหัดได้
1. ผู้เรียนอธิบายขั้นตอนการกำหนดนโยบายได้ 2. ผู้เรียนสำรวจข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวเพื่อประเมิน
ถถ ตารางแสดงสัดส่วนการประเมินผลของรายวิชา กิจกรรม ที่ ผลการ เรียนรู้ วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ ประเมิน สัดส่วนของ การ ประเมินผล
สังเกตการแสดงพฤติกรรมระหว่างผู้เรียน ตลอดภาค การศึกษา 5 2
ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนกลางภาค
ประเมินผลจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายใน กิจกรรมการเรียนการสอน แบบฝึกหัด และ กรณีศึกษา
ประเมินผลจากผลงานนำเสนอ และอภิปรายใน ลักษณะงานเดี่ยว 2
ประเมินผลจากงานกลุ่ม ประกอบด้วย การสำรวจ แหล่งท่องเที่ยว การสำรวจความต้องการผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียในแหล่งท่องเที่ยว การเขียนนโยบายการ ท่องเที่ยว การเขียนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยว การ เขียนกลยุทธ์เพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน และการ เขียนข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อการท่องเที่ยว อย่างยั่งยืน 10 16 20 6 2.2,3.2 ข้อสอบปลายภาค 17 25 ตารางสรุปเกณฑ์การประเมินผลการเรียนรู้ ช่วงคะแนน เกรด 80 100 A 75 79 B+ 70 74 B 65 69 C+ 60 64 C 55 59 D+ 50 54 D 0 49 F
1 1.1,1.2, 4.1
2.2
9 25 3 2.1, 3.2,5.2,6 .2
3 5 10 12 10 4 1.1,1.2,2 .2,3.2,4. 1,5.1,6.1
8 15 5 2.2,3.2,4 .1,5.1,6. 1
1 บทที่ 1 การพัฒนาอย่างยั่งยืนและเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน คำว่า ‘การพัฒนา’ ถูกใช้เป็นเครื่องมือนำทางในการเปลี่ยนแปลงไปสู่ทิศทางที่ดีขึ้น การพัฒนา จึงครอบคลุมกระบวนการที่หลากหลาย ตั้งแต่หลักแนวคิด การบริหารจัดการ การพัฒนาคน การคุ้มครอง ทางสังคม การปรับโครงสร้าง และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นต้น ที่ผ่านมา การ พัฒนามีหลากหลายรูปแบบ ตั้งแต่การพัฒนาที่ไม่ได้สัดส่วน จนถึงการพัฒนาที่มีการบูรณาการมากขึ้น ทั้งนี้ หลักการการพัฒนาที่สังคมโลกเห็นพ้องกันว่าเป็นแนวทางการพัฒนาที่ส่งเสริมความสมดุลในทุกภาค ส่วน เน้นวิถีการพัฒนาแบบใหม่ที่เกื้อกูลกันทั้งในมิติเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่สนองความ ต้องการทั้งต่อคนในรุ่นปัจจุบันและคนในรุ่นอนาคตนั้น เป็นที่รู้จักกันในนาม การพัฒนาอย่างยั่งยืน นั่นเอง ในบทที่ 1 นี้ จะอธิบายที่มาของการพัฒนาอย่างยั่งยืน เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน 17 เป้าหมาย และ แนวปฏิบัติเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนเพื่อให้เข้าใจที่มาของหลักการต่าง ๆ ในการพัฒนาอย่างยั่งยืนและ สามารถเชื่อมโยงต่อหลักการและแนวคิดต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในบท ต่อไป 1. ที่มาของการพัฒนาอย่างยั่งยืน ภาพที่ 1 ที่มาของการพัฒนาอย่างยั่งยืน ที่มา: SDGs Move (2019) ร่องรอยของการพัฒนาอย่างยั่งยืนที่มีอิทธิพลต่อความตระหนักและการดำเนินงานขององค์กร ต่าง ๆ ในโลกปัจจุบัน สามารถย้อนรอยแนวคิดดังกล่าวได้จากหนังสือเรื่อง Silent Spring ในปี 1962 ที่ ส่งผลต่อการดำเนินงานของโครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Environment Program :UNEP) ต่อเนื่องมายังการประชุมในปี 1987 และ 1992 ตามลำดับ และผลจากการผลักดันให้ สมาชิกสหประชาชาติลงนามในวาระที่ 21 (Agenda 21) ในปี 1992 เพื่อร่วมกันพัฒนาอย่างยั่งยืนในทุก ภาคอุตสาหกรรม (รวมถึงอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว) องค์การสหประชาชาติจึงได้กำหนดเป้าหมายการ
(United Nations: UN) กำหนดต่อเนื่องจาก MDGs หรือเป้าหมายการพัฒนาแห่ง สหัสวรรษ (Millennium Development Goals) ที่สิ้นสุดลงเมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2558 ที่ประชุม สมัชชาสหประชาชาติสมัยสามัญครั้งที่ 70 (The 70th Session of the United Nations General Assembly) เมื่อวันที่ 25 กันยายน พ ศ.2558 ณ สำนักงานใหญ่สหประชาชาตินครนิวยอร์ก ประเทศ สหรัฐอเมริกา ได้รับรองวาระการพัฒนาที่ยั่งยืน
2 พัฒนาแห่งสหัสวรรษ (Millennium Development Goals MDGs) ในปี พ.ศ. 2543 เป็นต้นมา โดยมี รายละเอียด 8 เป้าหมายเป็นแนวทางสำหรับทุกอุตสาหกรรม และได้สิ้นสุดลงในปี พ.ศ. 2558 ซึ่ง MDGs ได้ใช้เป็นแนวทางแรกในการพัฒนาอย่างยั่งยืนในยุคสมัยใหม่ของการพัฒนาเป็นระยะเวลาทั้งสิ้น 15 ปี (พ.ศ. 2543 2558) องค์การสหประชาชาติจึงได้เริ่มกระบวนการหารือเพื่อกำหนดวาระการพัฒนา
พ.ศ.
ตามกระบวนทัศน์ “การพัฒนาที่ยั่งยืน” โดยประเด็นสำคัญของวาระการพัฒนาภายหลังปี พ.ศ. 2558 คือ การจัดทำเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals SDGs) ที่เป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ (MDGs) ได้เคย กำหนดเป้าหมายไว้ 8 เป้าหมายมุ่งเน้นการเสริมสร้างมาตรฐานชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน และในปี พ.ศ. 2558 ได้เปลี่ยนเป็น เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ที่องค์การสหประชาชาติจัดทำดัชนีไว้ 17 เป้าหมายเพื่อเป็นแนวทางในการมุ่งสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนต่อไป โดยกำหนดให้ใช้เป็นแนวทางพัฒนาของ ประเทศสมาชิกของสหประชาชาติและให้ใช้เป็นระยะเวลา 15 ปี คือตั้งแต่ปี พ.ศ. 2558 2573 (2015 2030) โดยสรุป เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ของโลกในปัจจุบัน คือ SDGs (Sustainable Development Goals) ซึ่งเป็นกรอบทิศทาง การพัฒนาของโลกภายหลังปี 2015 (พ.ศ.
ที่องค์การ สหประชาชาติ
2030 (The
Development) และเป้าหมาย การพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) เพื่อให้ประเทศต่าง ๆ นําไปปฏิบัติให้บรรลุผล สำเร็จ เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนในด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ในช่วงระยะเวลา 15 ปี
กันยายน พ.ศ. 2558 สิงหาคม พ.ศ. 2573) 2. เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน 17 เป้าหมาย หากอธิบายความเชื่อมโยงของเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ (MDGs) เกิดจากการรวมตัวกัน ในการประชุมสุดยอดแห่งสหัสวรรษขององค์การสหประชาชาติที่มหานครนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกา ปี พ.ศ. 2543 โดยผู้นำประเทศได้มีการตกลงร่วมกันถึงเป้าหมายในการพัฒนาร่วมกันทั้งสิ้น 8 เป้าหมาย และกำหนดกรอบเวลาในการบรรลุไว้ 15 ปี คือ ระหว่างปี พ.ศ. 2543 2558 (2000 2015) MDGs จึง เปรียบเสมือนเป็นประวัติศาสตร์และการขับเคลื่อนของโลกในการจัดการกับปัญหาสำคัญที่เกิดขึ้น MDGs ได้สื่อสารทำให้สังคมโลกได้เกิดความตื่นตัวต่อการแก้ไขปัญหาความยากจน โรคติดต่อ การไม่ได้รับ การศึกษาของเด็กทั่วโลก ความไม่เท่าเทียมกันทางเพศ และการทำลายทรัพยากรธรรมชาติ การเกิดขึ้น ของ MDGs ที่มีเป้าหมายที่ชัดเจนและมีเวลากำกับ ทำให้การสื่อสารเกิดประสิทธิภาพมากกว่าการทำแผน ในยุคแรกของโลกการพัฒนาที่ยั่งยืนสมัยใหม่ที่มุ่งเน้นการเสริมสร้างมาตรฐานชีวิตความเป็นอยู่ของ ประชาชนเป็นหลัก และความสอดหล้องและต่อเนื่องระหว่างเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ (MDGs) และ เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) คือ การมุ่งเน้นที่การพัฒนาคน สังคม และสิ่งแวดล้อมไปด้วยกัน อย่างยั่งยืน โดยเพิ่มจากแนวทางเดิม 8 เป้าหมาย ของ MDGs เป็น 17 เป้าหมายของ SDGs รายละเอียด ดังนี้
ภายหลังปี
2558 (Post 2015 Development Agenda)
2558)
2030 Agenda for Sustainable
(เดือน
3 ตารางที่ 1 เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน 17 เป้าหมาย 1. No Poverty: ขจัดความยากจน 10 Reduced Inequalities: ลดความเหลื่อมล้ำ 2. Zero Hunger: การขจัดความหิวโหย เกษตรยั่งยืน 11 Sustainable Cities and Communities: เมืองและชุมชนยั่งยืน 3. Good Health and well being: สุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี 12 Responsible Consumption and Production: การผลิตและบริโภคที่ยั่งยืน 4. Quality Education: การศึกษาเท่าเทียมและทั่วถึง 13 Climate Action: การต่อสู้กับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 5. Gender Equality: ความเท่าเทียมทางเพศ 14 Life Below Water: การอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเล 6. Clean Water and Sanitation: การจัดการน้ำและสุขาภิบาล 15 Life on Land: การจัดการระบบนิเวศทางบก 7. Affordable and Clean Energy: การเข้าถึงพลังงานที่ทันสมัย 16 Peace and Justice Strong Institutions: สังคมเป็นสุข 8. Decent Work and Economic Growth: การ เติบโตเศรษฐกิจที่ยั่งยืน 17 Partnerships for the Goals: สร้างความเข้มแข็งในระดับสากล 9. Industry Innovation and Infrastructure: การพัฒนาอุตสาหกรรม นวัตกรรมและ โครงสร้างพื้นฐาน ที่มา: แปลโดยผู้เขียน โดยรายละเอียดในแต่ละเป้าหมาย มีดังนี้ 1. No Poverty ขจัดความยากจนทุกรูปแบบทุกสถานที่ 2. Zero Hunger ขจัดความหิวโหย บรรลุความมั่นคงทางอาหาร ส่งเสริมเกษตรกรรมอย่างยั่งยืน 3. Good Health and well being รับรองการมีสุขภาพ และความเป็นอยู่ที่ดีของทุกคนทุกช่วง อายุ 4. Quality Education รับรองการศึกษาที่เท่าเทียมและทั่วถึง ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตแก่ทุก คน 5. Gender Equality บรรลุความเท่าเทียมทางเพศ พัฒนาบทบาทสตรีและเด็กผู้หญิง 6. Clean Water and Sanitation รับรองการมีน้ำใช้ การจัดการน้ำและสุขาภิบาลที่ยั่งยืน 7. Affordable and Clean Energy รับรองการมีพลังงาน ที่ทุกคนเข้าถึงได้ เชื่อถือได้ยั่งยืน ทันสมัย 8. Decent Work and Economic Growth ส่งเสริมการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ต่อเนื่องครอบคลุม และยั่งยืน การจ้างงานที่มีคุณค่า 9. Industry Innovation and Infrastructure พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่พร้อมรับการ เปลี่ยนแปลง ส่งเสริมการปรับตัวให้เป็นอุตสาหกรรมอย่างยั่งยืนทั่วถึง และสนับสนุนนวัตกรรม 10. Reduced Inequalities ลดความเหลื่อมล้ำทั้งภายในและระหว่างประเทศ 11. Sustainable Cities and Communities ทำให้เมืองและการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์มีความ ปลอดภัยทั่วถึง พร้อมรับความเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาอย่างยั่งยืน 12. Responsible Consumption and Production รับรองแผนการบริโภค และการผลิตที่ยั่งยืน 13. Climate Action ดำเนินมาตรการเร่งด่วนเพื่อรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและ ผลกระทบ 14. Life Below Water อนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากมหาสมุทรและทรัพยากรทางทะเล เพื่อการ พัฒนาอย่างยั่งยืน
4 15. Life on Land ปกป้อง ฟื้นฟู และส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากระบบนิเวศทางบกอย่างยั่งยืน 16. Peace and Justice Strong Institutions ส่งเสริมสังคมสงบสุข ยุติธรรม ไม่แบ่งแยกเพื่อการ พัฒนาที่ยั่งยืน 17. Partnerships for the Goals สร้างพลังแห่งการเป็นหุ้นส่วน ความร่วมมือระดับสากลต่อการ พัฒนาที่ยั่งยืน ภาพที่ 2 เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ที่มา: UNEP (2015) สำหรับประเทศไทย ได้มีการดำเนินงานที่สอดรับกับกรอบการพัฒนาที่ยั่งยืนมาโดยตลอด โดย ได้นำ เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) มาเป็นประเด็นสำคัญที่ใช้ในการวางทิศทางแผนพัฒนา เศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 2564) เพื่อให้ทุกภาคร่วมสร้างสังคมที่เป็นสุข ลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม ขจัดปัญหาความยากจน ส่งเสริมการเป็นเศรษฐกิจสีเขียว มีการผลิตและบริโภค ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยมีภาคส่วนต่าง ๆ ให้ความสนใจและนําแนวทางไปดําเนินงานมากขึ้น ภาพที่ 3 แสดงโครงสร้างการขับเคลื่อนตามแนวทางของเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ของประเทศไทย
5 ภาพที่ 3 โครงสร้างการขับเคลื่อนตามแนวทางของเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ของประเทศไทย ที่มา: SGDs Index and Dashboards Report, SDG Move (2018) จากภาพที่ 3 สามารถอธิบายได้ว่าโครงสร้างการขับเคลื่อนตามแนวทางของเป้าหมายการพัฒนา
(UN) และการประชุมระดับสูง ด้านการพัฒนาการที่ยั่งยืน โดยนำแนวทางการปฏิบัติมาบริหารจัดการในประเทศ รัฐบาลได้จัดตั้ง คณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (กพย.) ซึ่งเป็นหน่วยงานหลักที่ได้รับมอบหมายจากรัฐบาลไทยให้ เป็นหน่วยงานหลักที่ดูและการความหน้าในแต่ละเป้าหมายของ SDGs โดย กพย. มีการทำงานเชื่อมโยงทั้ง ในระดับนานาชาติและระดับชาติกับภาคเอกชน ภาควิชาการ สื่อมวลชน สภาองค์กรชุมชน และเครือข่าย ประชาสังคม เพื่อร่วมมือกันในการส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศไทย
กำหนดไว้และมีการติดตามผลงานและรายงานผลประจำปีที่จัดทำโดย กพย. เพื่อรายงานความก้าวหน้าใน ที่ประชุมด้านการพัฒนาการที่ยั่งยืนต่อไป 3. กรณีศึกษา ประเทศไทยตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2560 นับตั้งแต่เดือนกันยายน พ.ศ. 2558 ประเทศไทยถือเป็นประเทศหนึ่งที่มีความตื่นตัวในการ ขับเคลื่อนประเทศไปสู่เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ (Sustainable Development Goals: SDGs) ซึ่งไทยและ 193 ประเทศ มุ่งมั่นที่จะบรรลุเป้าหมายร่วมกันในปี พ.ศ. 2573 สำหรับความก้าวหน้าที่ชัดเจนของไทยในช่วงเวลาที่ผ่านมาอยู่ที่การสร้างกลไก การขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์และการผลักดันในระดับนโยบาย ซึ่งบรรจุเป้าหมายการพัฒนาอยู่ภายใต้คณะกรรมการเพื่อ การพัฒนาที่ยั่งยืน (กพย.) ที่มีนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน และเมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2560 ประเทศ ไทยได้เข้าร่วมรายงานความก้าวหน้า SDGs โดยสมัครใจ หรือ Voluntary National Review (VNR) สะท้อนความตื่นตัวและความก้าวหน้าของไทย อย่างไรก็ตาม จากการจัดอันดับในปี พ.ศ. 2560 ของ Sustainable Development Solutions Network ซึ่งได้ประเมินสถานการณ์ SDGs ของไทย อยู่ในลำดับ 55 จาก 157 ประเทศ มี คะแนนรวมอยู่ที่ 69.5 คะแนน แต่หากประเมินสถานการณ์ในระดับเป้าหมาย ทั้ง 17 เป้าหมาย มี เป้าหมายเดียวที่ประเทศไทยทำได้ดี คือ เป้าหมายที่ 1 การขจัดปัญหาความยากจน ซึ่งเป็นหนึ่งในผลการ
ที่ยั่งยืน (SDGs) ของประเทศไทยมีการเชื่อมโยงจากองค์การสหประชาชาติ
ตามเป้าหมาย 17 ข้อที่ได้
6 ดำเนินงานด้านความยากจนที่มีมาอย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่การพัฒนาในอดีตที่ผ่านมาที่ไทยสามารถทำได้ดี และสามารถบรรลุเป้าหมายความยากจนแห่งสหัสวรรษ โดยในรายงานผลการทบทวนการดำเนินการตาม วาระการพัฒนาที่ยั่งยืน 2030 ระดับชาติโดยสมัครใจของประเทศไทยปี พ.ศ. 2560 ซึ่งจัดทำโดย คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ที่ได้นำเสนอในการนำเสนอรายงาน ความก้าวหน้าโดยสมัครใจ ในเวที High Level Political Forum เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2560 ใน รายงานระบุว่า สัดส่วนประชากรที่มีรายได้ต่ำกว่าเส้นความยากจนของประเทศลดลงจากร้อยละ 42.3 หรือ 25.8 ล้านคนในปี พ.ศ. 2543 เหลือร้อยละ 7.2 หรือ 4.8 ล้านคนในปี พ.ศ. 2558 โดยแบ่งเป็นชาย และหญิง ประมาณอย่างละร้อยละ 38 และเป็นเด็กประมาณร้อยละ 24 หากเปรียบเทียบเส้นทางของไทยและอาเซียน คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมแห่ง สหประชาชาติสำหรับเอเชียและแปซิฟิก (UNESCAP) ประเมินไว้ว่า สถานการณ์ของภูมิภาคอาเซียนโดย พิจารณาประเด็นการพัฒนาตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติของทั้ง 17 เป้าหมายพบว่า เป้าหมายจำนวนมากยังไม่ได้ก้าวหน้าไปอย่างที่ควรจะเป็น โดยเฉพาะเมื่อดูฐานข้อมูลในปี 2015 เทียบกับ เป้าหมายที่วางไว้ในปี 2030 ภาพที่ 4 อาเซียนกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ที่มา: UNESCAP (2017)
7 หากดูจากภาพที่ 4 สามารถประเมินได้ว่า หากเป้าหมายข้อใดยังมีความก้าวหน้าไปไม่ถึงครึ่ง เป็นไปได้ว่า อาจจะเป็นเรื่องยากที่จะไปถึงเป้าหมายภายในปี 2030 จากภาพ จะเห็นได้ว่า นอกจากเรื่อง ความยากจน (เป้าหมายที่ 1) การศึกษา (เป้าหมายที่ 4) ความพยายามในการทำงานเรื่องพลังงานสะอาด (เป้าหมายที่ 7) และระบบนิเวศใต้น้ำ (เป้าหมายที่ 14) ที่มีความก้าวหน้าเกินกว่าครึ่งแล้ว อย่างไรก็ตามใน เป้าหมายอื่น ๆ มีความก้าวหน้าน้อยมาก เป้าหมายที่เขาระบุถึง ได้แก่ การขจัดความหิวโหย (เป้าหมายที่ 2) การจ้างงานที่มีคุณค่าและการเติบโตทางเศรษฐกิจ (เป้าหมายที่ 8) การลดความเหลื่อมล้ำ (เป้าหมายที่ 10) เมืองที่ยั่งยืน (เป้าหมายที่ 11) การใช้ประโยชน์จากระบบนิเวศทางบก (เป้าหมายที่ 15) ภาพที่ 5 17 Goal of Sustainable Development Solution Network ที่มา: UNESCAP (2017) ในรายงาน Sustainable Development Solutions Network ปี พ.ศ. 2560 (UNESCAP, 2017) พบว่า จาก 17 เป้าหมายของ SDGs มี 6 เป้าหมายที่เป็นประเด็นที่เร่งด่วนมากของไทย ได้แก่ 1) การขจัดความหิวโหย (เป้าหมายที่ 2) ซึ่งครอบคลุมประเด็นเรื่อง ความมั่นคงทางอาหาร และการเกษตรที่ยั่งยืนด้วยนั้น ตัวชี้วัดที่เป็นปัญหาของไทยนอกจากสภาวะแคระแกร็นของประชากรที่มี อายุต่ำกว่า 5 ปีที่มีประมาณ 16.3% แล้วไทยกำลังเผชิญหน้ากับเรื่องที่สำคัญในการจัดการไนโตรเจน อย่างยั่งยืน จากการใช้ปุ๋ยเคมีในการทำเกษตรกรรม ในการใช้ปุ๋ยอย่างไม่มีประสิทธิภาพ 2) การมีสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี (เป้าหมายที่ 3) ซึ่งมี 2 ประเด็น คือ การเป็นวัณโรค และการตายจากอุบัติเหตุรถยนต์ ในเรื่องวัณโรคพบว่าลดลงอย่างต่อเนื่อง แต่มาคงตัวช่วงปี 2012 โดย ปัจจุบันมีอัตราอยู่ที่ 172 รายต่อประชากรแสนคน ส่วนอัตราการตายบนท้องถนนเพิ่มขึ้นมาเรื่อย ๆ เรา ติดอยู่ในกลุ่มชั้นนำ รองจากประเทศซิมบับเว เวเนซุเอลา ไลบีเรีย โดยประเทศไทยอยู่ที่ประมาณ 31.7 รายต่อประชากรแสนคน
8 3) อุตสาหกรรมนวัตกรรมและโครงสร้างพื้นฐาน (เป้าหมายที่ 9) จากตัวชี้วัด สิ่งที่ทำให้ไทย ได้คะแนนไม่ดีนักมาจากประเด็นเชิงโครงสร้างของสัดส่วนประชากรที่ใช้อินเทอร์เน็ตและสัดส่วนในการ วิจัย สำหรับสัดส่วนประชากรที่ใช้อินเทอร์เน็ต สถิติปี 2015 อยู่ที่ 39.3% ของประชากร เรื่องนี้มีแนวโน้ม ที่ดีขึ้นมาก สถิติล่าสุดปี 2016 อยู่ที่ 47.5% ของประชากร อย่างไรก็ตาม ประเด็นที่อาจจะเป็นปัญหาคือ อัตราส่วนงานวิจัยต่อจีดีพียังอยู่ที่ 0.4% โดยเมื่อเทียบกันในแถบเอเชียยังต่ำกว่าค่อนข้างมาก ถือเป็น ความสำคัญเร่งด่วน ส่วนประเทศอย่าง เกาหลีใต้, อิสราเอล, ญี่ปุ่น, สวีเดน, เดนมาร์ก มี สัดส่วนงานวิจัย ต่อจีดีพีมากกว่า 4% อย่างไรก็ตาม ในประเด็นนี้มีแนวโน้มที่ดีบ้างจากการเพิ่มขึ้นของจำนวนนักวิจัยต่อ ประชากร ที่ปัจจุบันมีสัดส่วนอยู่ที่ 974 คนต่อประชากรหนึ่งล้านคน แต่ก็ยังต่ำหากเปรียบเทียบกับ ประเทศอย่าง อิสราเอล, เดนมาร์ก ฟินแลนด์ เกาหลีใต้ สวีเดน หรือสิงคโปร์ มีนักวิจัยอยู่ที่เกือบ 8,000 กว่าคนต่อประชากรหนึ่งล้านคน 4) การรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (เป้าหมายที่ 13) 2 ประเด็นที่เร่งด่วนและ เป็นปัญหาของประเทศไทย คือ เรื่องการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซต์ (CO2) อยู่ที่ 4.5 ตัน/คน/ปี เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง รวมไปถึงความเปราะบางต่อเรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ทั้งเรื่องภัยพิบัติ สภาพอากาศ การเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเล การสูญเสียผลผลิตด้านการเกษตร ฯลฯ ซึ่งในหมวดนี้ไทย เกณฑ์วิกฤติ ได้เพียง 0.2 คะแนน 5) การใช้ประโยชน์จากระบบนิเวศทางบก (เป้าหมายที่ 15) ประเด็นที่ทำให้ไทยอยู่ในภาวะ วิกฤติคือเรื่องป่าไม้และสัตว์สงวน โดยอัตราการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ป่ามีค่อนข้างสูง รวมไปถึงการ เปลี่ยนแปลงในทางลบของสัตว์สงวน 6) สังคมสงบสุข ยุติธรรม และการไม่แบ่งแยก (เป้าหมายที่ 16) ถือเป็นเรื่องเร่งด่วนเช่นกัน ทั้งปัญหาเรื่องอาชญากรรม จำนวนคนในคุก และปัญหาคอร์รัปชัน โดยปี 2014 มีอัตราการฆาตกรรมอยู่ที่ 3.9 ต่อแสนคน ส่วนเรื่องจำนวนประชากรในคุก โดยเฉลี่ยประเทศไทยมีประชากรอยู่ในคุก 461 คนต่อ ประชากรหนึ่งแสนคนซึ่งอยู่ในอัตราที่สูง ขณะที่เรื่องคอร์รัปชัน ในปี 2016 ประเทศไทยมีเปอร์เซ็นต์ของ บริษัทที่อย่างน้อยถูกเรียกให้จ่ายสินบนอยู่ที่ 9.9% ของบริษัทที่ประสบเหตุการณ์นี้ และอยู่ในเหตุการณ์ที่ ถูกคาดหวังว่าจะต้องให้ของขวัญกับเจ้าพนักงานอยู่ที่ประมาณ 8.5% และนี่เป็นภาพสะท้อนของเป้าหมาย ที่เร่งด่วน ความก้าวหน้าและอนาคตที่ไม่ง่ายกว่าจะไปถึง 4. กรณีศึกษา SDGs ของโลกปี พ.ศ. 2561 การเผยแพร่รายงาน SDG Index and Dashboards 2018 Global Responsibilities Implementing the Goals ซึ่งเป็นรายงานความคืบหน้าของการขับเคลื่อนเข้าสู่เป้าหมาย SDGs ของ ประเทศต่าง ๆ ที่ได้นำ SDGs ไปประยุกต์ใช้ รายงาน SDG Index and Dashboards เป็นโครงการ ติดตามความคืบหน้าของประเทศต่าง ๆ ต่อการบรรลุเป้าหมายความยั่งยืน Sustainable Development Goals (SDGs) ที่เกิดจากความร่วมมือระหว่าง Sustainable Development Solutions Network หรือ SDSN ร่วม
9 ภาพที่ 6 เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของโลกในปี พ.ศ. 2561 ที่มา: SGDs Index and Dashboards Report, SDG Move
กับมูลนิธิ Bertelsmann Stiftung จาก เยอ รมนี SDG report “Global Responsibilities Implementing the Goals 2018 เป็นรายงาน ฉบับที่ 3 นับตั้งแต่ที่ประเทศสมาชิก UN ได้นำ SDGs ไป ปรับใช้ และนับเป็นระยะเวลา 3 ปีแล้วจึงมีข้อมูลเพียงพอที่จะประเมินว่าแต่ละประเทศสมาชิกมีความ คืบหน้าในการนำเป้าหมายไปปรับใช้อย่างไร รวมทั้งประสบปัญหาอะไรในการประยุกต์ใช้ มีขั้นตอน กระบวนการในการเป้าหมายไปใช้อย่างไร รายงาน SDG Index and Dashboards 2018 ยังพบว่า มี 2 3 ประเทศในกลุ่มประเทศ G 20 เท่านั้นที่ได้ดำเนินการชัดเจนเพื่อบรรลุเป้าหมาย ขณะที่หลายประเทศมีความคืบหน้าอย่างรวดเร็ว แต่ โดยรวมแล้วโลกยังมีความเสี่ยงจะไม่บรรลุเป้าหมายในปี 2030 การประเมินความคืบหน้าเข้าสู่เป้าหมาย SDG Index ประเทศที่มีความคืบหน้ามากสุดคือ สวีเดน ที่ติดอันดับหนึ่งด้วยคะแนน 85 คะแนน อันดับ สองคือ เดนมาร์ก ด้วยคะแนน 84.6 คะแนน อันดับสามคือ ฟินแลนด์ ด้วยคะแนน 83 คะแนน ทั้งสาม ประเทศกำลังเดินทางเข้าสู่เป้าหมาย แต่ก็ยังมีสิ่งที่ทั้งสามประเทศต้องทำอีกมากที่จะบรรลุเป้าหมาย ส่วนอันดับสี่เยอรมนี และอันดับห้าฝรั่งเศส เป็นเพียงสองสมาชิกในกลุ่ม G 7 ที่ติดอยู่ใน 10 อันดับแรก ขณะที่ประเทศใหญ่อย่างสหรัฐฯ ติดอันดับ 35 จีนติดอันดับ 54 และรัสเซียติดอันดับ 63
(2018)
10 ภาพที่ 7 10 อันดับประเทศตามคะแนน SDGs ที่มาภาพ : SGDs Index and Dashboards Report, SDG Move (2018) การให้คะแนน SDGs มีตั้งแต่ 0 100 โดย 0 หมายถึงแย่สุด และ 100 คือดีที่สุด และปีนี้ได้ เปลี่ยนแปลงวิธีการและตัวบ่งชี้จึงมีผลต่อดัชนีและคะแนน ปีนี้ได้ใช้คะแนนเฉลี่ยภูมิภาคกับประเทศที่ไม่มี ข้อมูลเป้าหมายข้อใดข้อหนึ่งหรือหลายข้อ โดยใช้กับเป้าหมาย SDGs ข้อ 10 การลดความเหลื่อมล้ำ และ ข้อ 14 การใช้ประโยชน์จากมหาสมุทรและทรัพยากรทางทะเลกับประเทศที่ไม่มีทางออกทะเล ดังนั้น การ เปลี่ยนแปลงวิธีการจึงมีผลต่ออันดับของประเทศเมื่อเทียบกับผลการประเมินในปีก่อน ขณะที่ตัวบ่งชี้มีผล ต่อคะแนนในข้อ 10 และข้อ14 จึงไม่สามารถนำผลปี 2017 กับปี 2018 มาเปรียบเทียบกันได้ และการ เปลี่ยนแปลงของคะแนนหรืออันดับไม่ได้หมายความว่าประเทศนั้นมีความคืบหน้ามากขึ้นหรือถอยหลังใน การเข้าสู่เป้าหมาย SDGs รายงานดังกล่าวยังพบความท้าทาย 5 ด้าน คือ 1) มีเพียงประเทศกลุ่ม G 20 เท่านั้นที่มีการลงมือดำเนินการที่ชัดเจนเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย กลุ่มประเทศสมาชิก G 20 ส่วนใหญ่มีการนำ SDGs ไปใช้ แต่ยังมีความแตกต่างกันในระหว่างสมาชิก ใน ด้านผู้นำทางการเมืองให้ความสำคัญและยอมรับและนำสู่การมีกลไกเชิงสถาบัน บางประเทศมีการก่อตั้ง หน่วยงานเพื่อประสานงาน มีการวางยุทธศาสตร์และแผนมีระบบวัดความรับผิดชอบ ขณะที่บางประเทศ ตามหลังอีกมากไม่ว่าในมิตินี้หรือด้านอื่น 2) ไม่มีประเทศใดอยู่บนเส้นทางที่จะบรรลุเป้าหมาย SDGs และการประเมินในปีนี้เป็นครั้งแรก ที่สามารถแสดงผลให้เห็นว่าไม่มีประเทศใดที่อยู่บนเส้นทางที่จะบรรลุเป้าหมายในปี 2030 แม้ในสาม ประเทศที่ได้คะแนนสูง ทั้งสวีเดน เดนมาร์ก และฟินแลนด์ เพราะต้องเร่งให้มีความก้าวหน้าเพื่อให้บรรลุ เป้าหมายบางข้อ เช่น ข้อ 12 แผนการบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืนและข้อ 13 การรับมือการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ 3) ความขัดแย้งนำไปสู่การถอยหลังของการไปสู่เป้าหมาย ประเทศกำลังพัฒนาส่วนใหญ่มีความ คืบหน้าอย่างมากในการลดความยากแค้นหลายรูปแบบ ที่รวมไปถึงความยากจนเชิงรายได้ การเพิ่มรายได้ การขาดอาหาร การเข้าถึงบริการสุขภาพและการศึกษา และการเข้าถึงระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน
11 นอกจากนี้ยังมีความแตกต่างในการจัดการศึกษาระดับมัธยมศึกษาแบบครบวงจร ประเทศที่มีประสบกับ ความขัดแย้งนี้จึงมีผลให้เผชิญกับการถอยหลัง โดยเฉพาะในข้อ 1 ขจัดความยากจน ข้อ 2 ขจัดความหิว โหย 4) การเดินหน้าสู่เป้าหมายแผนการบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืนช้ามาก ประเทศที่มีรายได้สูงจึงมี คะแนนต่ำในข้อ 12 และข้อ 14 การใช้ประโยชน์จากมหาสมุทรและทรัพยากรทางทะเล แม้ว่าไม่มีข้อมูล แนวโน้มของข้อ 12 แต่ข้อมูลของข้อ 14 ที่มีนั้นแสดงให้เห็นว่าประเทศรายได้สูงส่วนใหญ่มีความคืบหน้า ใน 2 3 ปีที่ผ่านมาที่จะเดินหน้าสู่เป้าหมาย ส่วนข้อมูลของข้อ 15 การใช้ประโยชน์จากระบบนิเวศทางบก ไม่เพียงพอ จึงสะท้อนว่าจะต้องใช้ความพยายามอีกมากที่จะปกป้องความหลากหลายทางชีวภาพ และ สนับสนุนแผนการบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืน 5) ประเทศรายได้สูงได้ก่อให้เกิดผลกระทบภายนอกในเชิงลบ โดยประเทศที่มีรายได้สูงได้ทำให้ เกิดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ ความมั่นคงในเชิงลบอย่างมากต่อประเทศอื่น ซึ่งมีผลต่อความ พยายามของประเทศอื่นในการที่จะบรรลุเป้าหมาย และผลกระทบภายนอกนั้นแตกต่างกันแม้เป็นกลุ่มที่มี รายได้ประชากรต่อหัวที่ใกล้เคียงกัน ซึ่งผลนี้แสดงให้เห็นว่าประเทศต่าง ๆ สามารถลดผลกระทบภายนอก ได้โดยไม่ต้องลดรายได้ประชากรต่อหัว 6) ความเหลื่อมล้ำของผลลัพธ์ด้านเศรษฐกิจและสังคมต้องมีข้อมูลที่ดีกว่านี้ การนำตัววัดใหม่มา ใช้กับกลุ่มประเทศ OECD โดยเฉพาะผลของความไม่เท่าเทียมด้านเศรษฐกิจ อนามัย และการศึกษา ทำให้ คะแนน SDGs บางประเทศลดลง แสดงให้เห็นว่าการดำเนินการตามวิสัยทัศน์ที่จะไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง อาจจะไม่ประสบความสำเร็จ เพราะยังไม่มีข้อมูลแยกส่วนซึ่งต้องอาศัยข้อมูลที่มากกว่านี้ ภาพที่ 8 คะแนน SDGs ของประเทศไทย ที่มา: SGDs Index and Dashboards Report, SDG Move (2018)
12 ภาพที่ 9 ความคืบหน้า SDGs ของประเทศไทย ที่มา: SGDs Index and Dashboards Report, SDG Move (2018) เมื่อกล่าวถึงรายงานเกี่ยวกับประเทศไทย พบว่าไทยมีความคืบหน้า 3 ข้อ ที่มีแนวโน้มดีขึ้น กล่าวคือ ประเทศไทยในปี พ.ศ. 2561 มีคะแนนตาม SDG Index ที่ 69.2 คะแนนเฉลี่ยภูมิภาค 64.1 จัด อยู่ในอันดับที่ 59 จาก 156 ประเทศ ซึ่งประเทศไทยยังทำได้ดีในด้านการขจัดความยากจนตามข้อ 1 ซึ่ง ทำได้สม่ำเสมอ และในปีนี้สิ่งที่ทำได้ดีเพิ่มขึ้นรวมเป็น 3 ข้อจากปี พ.ศ. 2560 ที่ทำได้ดีเพียงข้อเดียวคือข้อ 1 ปี พ.ศ. 2561 ไทยมีคะแนนที่ดีขึ้นในข้อ 6 การจัดการน้ำและสุขาภิบาล โดยเฉพาะในด้านที่จัดให้ ประชากรของประเทศอื่นสามารถใช้บริการน้ำดื่มและใช้บริการสุขาภิบาลได้ และข้อ 8 การจ้างงานที่มี คุณค่าและการเติบโตทางเศรษฐกิจเมื่อวัดจากประชากรที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไปที่มีบัญชีกับธนาคารหรือ สถาบันการเงินอื่น หรือกับผู้ให้บริการการเงินผ่านมือถือ สำหรับการดำเนินการตามข้ออื่น ๆ ไทยมีแนวโน้มดีขึ้นถึง 7 ข้อ คือ ในข้อ 2 ข้อ 3 การมี สุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี ข้อ 5 ความเท่าเทียมทางเพศ ข้อ 7 พลังงานสะอาดที่ทุกคนเข้าถึงได้ ข้อ 9 อุตสาหกรรม นวัตกรรม โครงสร้างพื้นฐาน ข้อ 11 เมืองและถิ่นฐานมนุษย์อย่างยั่งยืน และข้อ 14 การใช้ ประโยชน์จากมหาสมุทรและทรัพยากรทางทะเล โดยในข้อ 2 ทำได้ดีในเรื่องภาวะโภชนาการในเด็กวัยต่ำ กว่า 5 ปี ส่วนข้อ 3 มีความสม่ำเสมอในการลดอัตราการเสียชีวิตของมารดา อัตราการเสียชีวิตของทารก แรกเกิด อัตราการเสียชีวิตของเด็กวัยต่ำกว่า 5 ปี และที่โดดเด่นมากคือลดอัตราการติดเชื้อ HIV ในข้อ 7 ที่ทำได้ดีคือการเข้าถึงบริการไฟฟ้าของประชากรและการเข้าถึงเชื้อเพลิงสะอาดและ เทคโนโลยีในการหุงต้ม ส่วน ข้อ 9 คะแนนเด่นในด้านจำนวนประชากรที่ใช้อินเตอร์เน็ต และการใช้ โทรศัพท์มือถือ ข้อ 11 ทำได้ดีในด้านบริการขนส่งสาธารณะ ข้อ 14 ดีขึ้นในด้านคุณภาพน้ำทะเล แต่ข้อ 15 การใช้ประโยชน์จากระบบนิเวศทางบก ข้อ 16 สังคมสงบสุข ยุติธรรม ไม่แบ่งแยก ข้อ 17 ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนแม้จะดีขึ้นแต่ยังไม่ถือว่าผ่าน ขณะที่การดำเนินการข้อ 10 ลดความ เหลื่อมล้ำ ข้อ 12 แผนการบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืน ยังไม่มีการเปลี่ยนแปลงจากปีก่อน ส่วนข้อที่มีทำได้ แย่ลงคือข้อ 13 การรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ รายงานยังให้ข้อมูลอีกว่า การประเมินผลความก้าวหน้าในปีนี้เป็นครั้งแรกที่มีการประเมินความ ดำเนินการของรัฐเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย และผลการวิเคราะห์ยังแสดงให้เห็นว่า ไม่มีประเทศไหนที่อยู่บน เส้นทางที่จะเข้าสู่เป้าหมายในปี 2030 นอกจากนี้ ยังได้พูดถึงการใช้เครื่องมือของกลุ่มประเทศ G 20 ซึ่ง ปรากฏว่า บราซิล เม็กซิโก อิตาลี เป็นสมาชิกกลุ่ม G 20 ได้มีการดำเนินการที่สำคัญเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย เห็นได้ชัดจากการวางยุทธศาสตร์ความร่วมมือของหน่วยงานรัฐ อย่างไรก็ตาม ในกลุ่มประเทศสมาชิก G 20 ก็มีความคืบหน้าที่แตกต่างกันมาก เนื่องจากว่ามีเพียงอินเดียและเยอรมนีเท่านั้นที่ได้นำหลักการ ประเมินการลงทุนเข้ามาประยุกต์ใช้บางส่วน ไม่มีประเทศสมาชิก G 20 รายใดที่ปรับงบประมาณประเทศ ให้สอดคล้องกับหลัก SDGs อีกทั้งมีสหรัฐอเมริกาและรัสเซียสองประเทศเท่านั้นที่อย่างน้อยมีการ ดำเนินการในการที่จะนำเป้าหมาย SDGs ไปปรับใช้
13 ในภาพรวมของโลก แสดงให้เห็นว่า ประเทศต่าง ๆ มีความคืบหน้าในการมุ่งสู่เป้าหมายพัฒนาที่ ยั่งยืน และมีความเป็นไปได้สูงที่จะบรรลุเป้าหมายใดเป้าหมายหนึ่งภายในปี 2030 โดยรวมแล้วประเทศ ส่วนใหญ่มีความคืบหน้าในการเดินหน้าสู่เป้าหมาย SDGs แม้ว่าการเดินหน้าสู่เป้าหมายด้านสิ่งแวดล้อมจะ อาจจะยังไปได้ช้าที่สุด ทั้งนี้ ประเทศรายได้สูงประสบความสำเร็จในด้านขจัดความยากแค้นและลดความ อดอยาก แต่ยังได้คะแนนต่ำสุดในเป้าหมายการบริโภคและการผลิตอย่างยั่งยืน การรับมือการการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรทะเลและชายฝั่งอย่างยั่งยืน ทางด้านประเทศรายได้มีความคืบหน้าในการลดความยากแค้น การเข้าถึงบริการด้านสุขภาพและ การศึกษา ขณะที่ประเทศรายได้ต่ำ พบว่ายังไม่มีระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานที่เพียงพอและกลไกในการ จัดการกับประเด็นทางสิ่งแวดล้อม ดังนั้น โดยรวมแล้วคะแนนจึงต่ำกว่าประเทศรายได้สูงค่อนข้างมาก รายงานนี้แสดงให้เห็นอีกครั้งว่า ประเทศในยุโรปเหนือมีคะแนนนำใน SDG Index และประเทศยากจน พ้นจากระดับต่ำสุดและ มีนัยยะที่ชัดเจนว่า ปรัชญาการตลาดเพื่อสังคมในระบบเศรษฐกิจแบบผสมที่สร้าง สมดุลของตลาด ความเป็นธรรมทางสังคมและเศรษฐกิจสีเขียว (ระบบเศรษฐกิจที่นำไปสู่การยกระดับ คุณภาพความเป็นอยู่ของมนุษย์ เพิ่มความเป็นธรรมทางสังคม และในขณะเดียวกันก็สามารถลดความเสี่ยง ทางด้านสิ่งแวดล้อมและปัญหาความขาดแคลนของทรัพยากรลงได้) คือหนทางไปสู่ SDGs ประเทศที่ยังติด อยู่ในความยากแค้นต้องได้รับความช่วยเหลือจากส่วนอื่นของโลก รายงานยังแสดงให้เห็นถึงบทบาทที่ สำคัญของกลุ่มประเทศ G 20 ในการที่จะเติมเต็มเป้าหมายของโลก ประเทศที่ร่ำรวยจำเป็นที่จะต้องทำตัว เป็นตัวอย่างและต้องลดผลกระทบที่จะมีต่อภายนอก ขณะที่จัดให้มีช่องทางหรือแนวทางในการนำ เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนไปบรรจุไว้ในแผนยุทธศาสตร์ชาติ และการที่ประเทศต่าง ๆ อยู่บนเส้นทางที่ จะบรรลุเป้าหมาย SDGs จะช่วยให้รัฐบาล ภาคธุรกิจ สังคม จัดลำดับความสำคัญในการดำเนินการให้เกิด การพัฒนาที่ยั่งยืนได้ เนื่องจาก SDGs ได้เข้าไปเป็นส่วนหนึ่งในด้านการเมืองด้านนโยบายของประเทศ ดังนั้น ความท้าทายของแต่ละประเทศที่เหมือนกันคือ ต้องมีการเปลี่ยนแปลงด้านนโยบายเพื่อมุ่งสู่การ พัฒนาที่ยั่งยืน ผลการศึกษาของแต่ละภูมิภาคของโลกพบว่า กลุ่ม OECD สำหรับความคืบหน้าของการเข้าสู่ เป้าหมาย SDGs แต่ละภูมิภาคนั้น รายงานระบุว่า ในกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้ว ทุกประเทศสมาชิกที่ ร่ำรวยของ OECD ประสบปัญหาหลักในการเข้าสู่เป้าหมายและไม่มีประเทศในกลุ่ม OECD รายใดอยู่บน เส้นทางที่จะบรรลุเป้าหมาย SDGs โดยเฉพาะข้อ 12 แผนการบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืน ข้อ 13 การ รับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ข้อ 14 การใช้ประโยชน์จากมหาสมุทรและทรัพยากรทางทะเล ข้อ 15 การใช้ประโยชน์จากระบบนิเวศทางบก สะท้อนว่าประเทศ OECD ยังห่างไกลจากเป้าหมายนี้ มี บางประเทศที่ตามหลังและบางประเทศถอยหลัง นอกจากนี้ การวัดการดำเนินงานตามวิสัยทัศน์ไม่ทิ้งใคร ไว้ข้างหลัง จากเป้าหมายข้อ 3 การมีสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี ข้อ 4 การศึกษาที่เท่าเทียม และข้อ 10 ลดความเหลื่อมล้ำ แล้วกลุ่ม OECD ยังไม่ประสบความสำเร็จ รวมทั้งยังได้คะแนนต่ำในข้อ 2 ขจัดความ หิวโหย เพราะภาคเกษตรที่ผันผวนและโรคอ้วนที่เพิ่มมากขึ้น กลุ่มเอเชียตะวันออกและเอเชียใต้ ประเทศในกลุ่มนี้เจอความท้าทายในข้อ 2 ขจัดความหิว โหย ข้อ 3 การมีสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี ข้อ 9 อุตสาหกรรม นวัตกรรม โครงสร้างพื้นฐาน ข้อ 14 การใช้ประโยชน์จากมหาสมุทรและทรัพยากรทางทะเล ข้อ 16 สังคมสงบสุข ยุติธรรม ไม่แบ่งแยก นอกจากนี้ยังมีความท้าทายที่เกี่ยวข้องกับความเหลื่อมล้ำทางรายได้ตามข้อ 10 และความไม่เท่าเทียมกัน ในด้านอื่น ๆ ประเทศส่วนใหญ่มีความคืบหน้าของการขจัดความยากแค้นและจัดให้มีการเข้าถึงบริการ พื้นฐาน แต่ไม่ใช่ทุกประเทศที่อยู่บนเส้นทางที่จะบรรลุเป้าหมายในปี 2030 เพราะยังต้องมีความพยายาม อีกมากในข้อ 13 การรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ข้อ 14 การใช้ประโยชน์จากมหาสมุทรและ
14 ทรัพยากรทางทะเล ข้อ 15 การใช้ประโยชน์จากระบบนิเวศทางบกและยังห่างไกลในข้อ 11 เมืองและถิ่น ฐานมนุษย์อย่างยั่งยืน และข้อ 16 สังคมสงบสุข ยุติธรรม ไม่แบ่งแยก ดังแสดงในภาพที่ 10 ภาพที่ 10 ผลการศึกษา SDGs ของกลุ่มเอเชียตะวันออกและเอเชียใต้ ที่มา: SGDs Index and Dashboards Report, SDG Move (2018) กลุ่มยุโรปตะวันออกและเอเชียกลาง ประเทศในกลุ่มนี้ทำได้ดีในข้อ 1 ขจัดความยากจน ข้อ 7 พลังงานสะอาดที่ทุกคนเข้าถึงได้ แต่ที่ยังทำไม่ได้คือ ข้อ 2 ขจัดความหิวโหย ข้อ 3 การมีสุขภาพและความ เป็นอยู่ที่ดี ข้อ 8 การจ้างงานที่มีคุณค่าและการเติบโตทางเศรษฐกิจ ข้อ 9 อุตสาหกรรม นวัตกรรม โครงสร้างพื้นฐาน ข้อ 10 ลดความเหลื่อมล้ำ รวมทั้งยังพบว่าประเทศกลุ่มนี้มีการดำเนินการถอยหลังใน มิติการพัฒนามนุษย์ และยังพบว่าจะต้องใช้ความพยายามอีกมากในการลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจาก การเติบโตทางเศรษฐกิจ เพราะยังตามหลังและมีการถอยหลังตามข้อ 13 การรับมือการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ ข้อ14 การใช้ประโยชน์จากมหาสมุทรและทรัพยากรทางทะเล ข้อ 15 การใช้ประโยชน์ จากระบบนิเวศทางบก ตลอดจนยังมีการลงทุนจากภาครัฐที่ไม่มากที่จะขับเคลื่อนตามข้อ 17 ความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ในขณะที่กลุ่มลาตินอเมริกาและแคริบเบียน การดำเนินการตามข้อ 10 ลดความ เหลื่อมล้ำ ข้อ 16 สังคมสงบสุข ยุติธรรม ไม่แบ่งแยก คือความท้าทายหลักของกลุ่มนี้ ทั่วทั้งภูมิภาค บาง ประเทศยังเจอปัญหาในการจัดให้มีสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดีตามข้อ 3 รวมทั้งข้อ 9 อุตสาหกรรม นวัตกรรม โครงสร้างพื้นฐาน ข้อ 14 การใช้ประโยชน์จากมหาสมุทรและทรัพยากรทางทะเล แต่มี ข้อยกเว้นสำหรับบางประเทศที่มีความคืบหน้าอย่างมากในการลดความยากแค้น การปรับปรุงด้านสุขภาพ และส่งเสริมความเท่าเทียมทางเพศ แต่ข้อที่ห่างไกลและกลับถดถอยคือ ข้อ 13 การรับมือการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สำหรับกลุ่มตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือ ความมั่นคงทางอาหารและความยั่งยืนทาง การเกษตรตามเป้าหมายข้อ 2 ขจัดความหิวโหย และข้อ 6 การจัดการน้ำและสุขาภิบาล เป็นความท้าทาย หลักของประเทศส่วนใหญ่ในกลุ่มนี้ และยังทำได้ไม่ดีในข้อ 5 ความเท่าเทียมทางเพศ สำหรับประเทศที่หา
Criteria for Destinations or GSTC D (2013).
15 ข้อมูลได้ก็พบว่าไม่สามารถทำได้ในข้อ 10 ลดความเหลื่อมล้ำ และต้องใช้ความพยายามอีกมากเพื่อทำให้มี ข้อมูลด้านรายได้และการกระจายรายได้ เพื่อให้มีผลด้านนโยบาย สำหรับกลุ่มแอฟริกาทางตอนใต้ ทะเลทรายซาฮาร่า แม้มีความคืบหน้าในข้อ 1 และ 2 ขจัดความยากจนและลดความหิวโหย แต่ยัง ประสบความท้าทายในข้อ 6 การจัดการน้ำและสุขาภิบาล ข้อ 3 การมีสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี ข้อ 4 การศึกษาที่เท่าเทียม รวมทั้งยังเดินหน้าด้านต่อในข้อ 9 อุตสาหกรรม นวัตกรรม โครงสร้างพื้นฐาน จากที่ ได้ทำมาแล้วและเสริมความแข็งแกร่งของสถาบันตามข้อ 16 สังคมสงบสุข ยุติธรรม ไม่แบ่งแยก โดยรวม แล้วแอฟริกาทางตอนใต้ทะเลทรายซาฮาร่ามีความจำเป็นเร่งด่วนที่จะต้องดำเนินการตาม SDGs หลายข้อ ทั้ง ข้อ 11 เมืองและถิ่นฐานมนุษย์อย่างยั่งยืน ข้อ 10 ลดความเหลื่อมล้ำ แม้ทำได้ดีขึ้นในด้านข้อ 12 แผนการบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืน ข้อ 13 การรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งประเทศที่มี รายได้มากกว่าจะต้องมีส่วนในการรับผิดชอบที่มากขึ้น โดยเฉพาะด้านสิ่งแวดล้อม และสำหรับกลุ่ม ประเทศหมู่เกาะ ปีนี้เป็นครั้งแรกที่นำผลการประเมินประเทศหมู่เกาะเข้ามาแสดง ซึ่งพบว่าประเทศขนาด เล็กทำได้ดีในข้อ 13 การรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ แต่โดยที่เป็นประเทศที่มีความเปราะบาง ต่อสภาพอากาศ จึงมีผลให้ประสบความท้าทายในการดำเนินการข้อ 3 การมีสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี ข้อ 6 การจัดการน้ำและสุขาภิบาล ข้อ 7 พลังงานสะอาดที่ทุกคนเข้าถึงได้ ข้อ 9 อุตสาหกรรม นวัตกรรม โครงสร้างพื้นฐาน แต่ทุกประเทศก็มีความคืบหน้าในข้อ 3 ขณะที่ส่วนใหญ่ทำได้ดีในข้อ 14 การใช้ ประโยชน์จากมหาสมุทรและทรัพยากรทางทะเล นอกจากนี้กลุ่มนี้ยังมีความแตกต่างด้านข้อมูลอีกมาก ต้องอาศัยความช่วยเหลือสังคมโลกในการพัฒนาระบบจัดเก็บข้อมูล 5 หลักเกณฑ์การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโลก The Global Sustainable Tourism Criteria (GSTC) เป็นหลักเกณฑ์การท่องเที่ยวอย่าง ยั่งยืนโลก ที่มีแนวทางปฏิบัติเพื่อความยั่งยืนของแหล่งท่องเที่ยวและธุรกิจการท่องเที่ยว ซึ่งเป็นกรอบ มาตรฐานต่าง ๆ ในระดับนานาชาติ และเป็นเกณฑ์ที่หลายประเทศให้การยอมรับ และปฏิบัติกันอย่าง แพร่หลาย กลุ่มที่ก่อตั้งประกอบไปด้วย UNWTO, UNEP, UNITED NATIONS FOUNDATION และ RAINFOREST ALLIANCE ที่ประกอบไปด้วยพันธมิตรหน่วยงานการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนอีก 32 หน่วยงานทั่วโลก ซึ่งได้ร่วมกันกำหนดเกณฑ์การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโลกไว้ 2 ประเภทคือ 1) เกณฑ์การ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนสำหรับธุรกิจท่องเที่ยว (โรงแรมและบริษัทนำเที่ยว) Criteria for Industry or GSTC I (Hotels & Tour Operators: 2008, 2012, 2016) และ
สำหรับแหล่งท่องเที่ยว
5.1 มาตรฐานของหลักเกณฑ์การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโลก มาตรฐานของหลักเกณฑ์การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโลกประกอบไปด้วย 4 เสาหลัก ดังนี้ A. การมีระบบการจัดการความยั่งยืนที่มีประสิทธิผล Sustainability Management: Demonstrate Sustainable Destination Management B. การเพิ่มประโยชน์และลดผลกระทบด้าน เศรษฐกิจและสังคม Socio Economic: Maximizing Economic Benefits to the Host Community and Minimize Negative Impacts C. การเพิ่มผลประโยชน์และลดผลกระทบด้านวัฒนธรรม Culture: Maximize Benefits to Communities, Visitors and Culture; Minimize Negative Impacts D. การเพิ่มผลประโยชน์และลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม Environment: Maximize Benefits to the Environment and Minimize Negative Impacts
2) เกณฑ์การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
A1 Sustainable destination strategy (7,6,11,14,15)
A2 Destination management organization (8,9,12,17)
A3 Monitoring (12)
A4 Tourism seasonality management (13)
A5 Climate change adaptation ( 8,11,13)
A6 Inventory of tourism assets and attractions (9,11,14,15)
A7 Planning Regulations (17)
A8 Access for all (5,10,16)
A9 Property acquisition (7,9,11)
A10 Visitor satisfaction (5, 10, 12)
A11 Sustainability standards (6, 7, 9, 11, 12, 14, 15)
A12 Safety and security (16)
A13 Crisis and emergency management (9, 16)
A14 Promotion (12 )
Section C Maximize Benefits to Communities, Visitors, and Culture;Minimize Negative Impacts
C1 Attraction Protection (7,9,11,12,14,15)
C2 Visitor Management (12, 14, 15)
C3 Visitor Behavior (5,10,12,14,15)
C4 Cultural Heritage Protection (5,9,10,12)
C5 Site Interpretation (7, 9, 11, 12)
C6 Intellectual Property (12)
: GSTC (2019)
B1 Economic monitoring (8,11)
B2 Local career opportunities (8, 10)
B3 Public participation (5, 8, 10)
B4 Local community opinion (12)
B5 Local access (9, 10, 12)
B6 Tourism awareness and education (4, 16, 17)
B7 Preventing exploitation (5,10, 16)
B8 Support for community (1,2,6,7,8,9,11)
B9 Supporting local entrepreneurs and fair trade
Section D: Maximize Benefits to the Environment and Minimize Negative Impacts
D1 Environment Risks (6,7,11,14,15)
D2 Protection of Sensitive Environments (9,11,12,14,15)
D3 Wildlife Protection (12, 14, 15)
D4 Greenhouse Gas Emissions (7,9,11)
D5 Energy Conservation ( 7,9,11)
D6 Water management (6,9,14,15)
D7 Water security (6,7,14)
D8 Water quality (6,7,14)
D9 Waste water (6, 11. 12. 14)
D10 Solid waste reduction (6, 9, 11, 12, 14, 15)
D11 Light and noise pollution (9, 11, 12)
16 5.2 ผลลัพธ์ที่คาดหวังของหลักเกณฑ์การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโลก หลักเกณฑ์การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโลกได้ถูกกำหนดขึ้นเพื่อส่งเสริมการพัฒนาการท่องเที่ยว อย่างยั่งยืนทั้งในด้านกิจกรรมการท่องเที่ยว แหล่งท่องเที่ยว ผู้ผลิตทางการท่องเที่ยวและผู้บริโภคทางการ ท่องเที่ยว โดยผลลัพธ์ที่คาดหวังมี 5 ประการคือ 1) เพื่อให้แหล่งท่องเที่ยวต่าง ๆ นำไปใช้เป็นแนวทางเบื้องต้นเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยว อย่างยั่งยืน 2) เพื่อให้ผู้บริโภคทางการท่องเที่ยวหรือนักท่องเที่ยวมีตัวเลือกทางการท่องเที่ยวที่มีการ พัฒนาการท่องเที่ยวที่ยั่งยืนได้ 3) เพื่อเป็นตัวชี้วัดสำหรับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการประชาสัมพันธ์และส่งเสริมแหล่ง ท่องเที่ยวที่มีการผลักดันและดำเนินการตามแนวปฏิบัติของเกณฑ์การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโลก 4) เพื่อเป็นการรับรองแหล่งท่องเที่ยวและธุรกิจท่องเที่ยวที่มีการดำเนินงานพัฒนาตาม เกณฑ์การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโลก 5) เพื่อใช้เป็นจุดเริ่มต้นของหน่วยงานรัฐ เอกชน และองค์กรพัฒนาเอกชนในการพัฒนาการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 6) เพื่อใช้เป็นเกณฑ์การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในการพัฒนาด้านการศึกษาสำหรับองค์กรมาง การศึกษาและองค์กรฝึกกบรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว ตารางที่ 2 แนวปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโลก SectionA:Demonstrate Effective Sustainable Management Section B: Maximize Economic Benefits to the Host Community and Minimize Negative Impacts
ที่มา
17 5.3 องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน(องค์การมหาชน) [อพท.] องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) หรือ อพท เป็นองค์การมหาชนของไทย สังกัด กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา จัดตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษ เพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) พ.ศ. 2546 อพท. มี หน้าที่บริหารและพัฒนาพื้นที่เพื่อการท่องเที่ยวในเชิงบูรณาการ เป็นองค์กรกลางทำหน้าที่กำหนดนโยบาย และแผนยุทธศาสตร์ และประสานงานกับท้องถิ่นหรือพื้นที่ที่เป็นแหล่งท่องเที่ยว หรือส่งเสริมและพัฒนา พื้นที่ที่มีศักยภาพในการท่องเที่ยวให้มีการบริหารจัดการพื้นที่เพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน โดยขั้นตอน การดำเนินงานจะประกอบด้วย การคัดเลือกพื้นที่พิเศษโดยวิเคราะห์ความเหมาะสมเบื้องต้นแล้วเสนอ ระดับนโยบายพิจารณา สำรวจสภาพพื้นที่ด้านภูมิประเทศ เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ประชุมหารือ ร่วมกับจังหวัดและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อกำหนดขอบเขตพื้นที่พิเศษ เสนอคณะกรรมการ กพท. พิจารณาเพื่อนำเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาให้ความเห็นชอบการประกาศเขตพื้นที่พิเศษ และจัดทำแผน แม่บทการบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษ พื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนที่ อพท. กำหนดเป็นพื้นที่นำร่องประกอบไปด้วย 6 พื้นที่ ดังนี้ 1. เมืองเก่าน่าน ครอบคลุมพื้นที่ 5 ตำบล ประกอบด้วย ตำบลในเวียง ตำบลดู่ใต้ ตำบล นาซาว ตำบลบ่อสวก อำเภอเมืองน่าน และตำบลม่วงตึ๊ด อำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน เนื้อที่ 139.37 ตาราง กิโลเมตร 2. จังหวัดเลย 3. อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย ศรีสัชนาลัย กำแพงเพชร 4. เมืองโบราณอู่ทอง ครอบคลุมพื้นที่ทั้งตำบลอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี เนื้อ ที่ 38.16 ตารางกิโลเมตร 5. เมืองพัทยาและพื้นที่เชื่อมโยง 6. เกาะช้างและพื้นที่เชื่อมโยง 5.4 แนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ของ อพท. จากคำบัญญัติขององค์การการท่องเที่ยวโลก UNWTO ที่ระบุไว้ว่า การท่องเที่ยวต้องรับผิดชอบ ผลกระทบปัจจุบันและอนาคตของการท่องเที่ยวต่อเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยการบริหาร จัดการความสมดุลระหว่างของความต้องการของนักท่องเที่ยวและธุรกิจท่องเที่ยวกับสิ่งแวดล้อมและ ชุมชนท้องถิ่น อพท. จึงมีนโยบายส่งเสริมการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน โดยกำหนดแนวปฏิบัติ 3 ข้อ คือ 1. ส่งเสริมการจัดการแหล่งท่องเที่ยวตามแนวทางของ GSTC 2. ส่งเสริมให้มีหน่วยงานจัดการแหล่งท่องเที่ยว (Destination Management Organization DMO) ที่มีประสิทธิภาพ 3. ส่งเสริมให้ชุมชนในแหล่งท่องเที่ยวมีส่วนร่วมกับผลประโยชน์จากการท่องเที่ยวและให้ การท่องเที่ยวสร้างความสุขในชุมช 5.5 ลักษณะของหน่วยงานจัดการแหล่งท่องเที่ยว (DMO) ลักษณะของหน่วยงานจัดการแหล่งท่องเที่ยวสามารถจัดได้หลายรูปแบบ และในแต่ละประเทศ มีความแตกต่างกัน กล่าวคือ หน่วยงานจัดการแหล่งท่องเที่ยวอาจเป็นหน่วยงานรัฐเพียงแห่งเดียว ดำเนินงานเอง มีอำนาจเต็ม หรือเป็นหน่วยงานรัฐร่วมมือกัน และทำงานด้วยกันตามคณะทำงานกำหนด ในหลายประเทศหน่วยงานจัดการแหล่งท่องเที่ยวเป็นหน่วยงานรัฐร่วมมือกันโดยจัดตั้งหน่วยงานอีก หน่วยงานหนึ่ง เป็นผู้รับผิดชอบหลัก หรือเป็นหน่วยงานรัฐจ้างเอกชนมาดำเนินการ และในบางกรณีพบว่า
18 หน่วยงานจัดการแหล่งท่องเที่ยวเป็นหน่วยงานจัดตั้งโดยความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน หรือ เป็น สมาคมที่จัดตั้งโดยการลงขันกันของเอกชน โดยมีหน้าที่หลัก 4 หน้าที่ คือ เป็นผู้นำ หรือ เป็นผู้ประสาน กิจกรรมด้าน 1. การสร้างและดูแลองค์ประกอบแหล่งท่องเที่ยว 2. การส่งมอบผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวที่ถูกต้องตามการประชาสัมพันธ์ 3. การสร้างเงื่อนไข/ สภาพแวดล้อมกับการเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ดี 4. การตลาด (การนำคนเข้ามาเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยว 5.6 อพท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน จากอดีตจนถึงปัจจุบัน อพท. มุ่งมั่นในการทำหน้าที่เป็นองค์กรกลางในการประสาน ส่งเสริม และสนับสนุนทุกภาคีในการพัฒนาให้เข้ามามีส่วนร่วม โดยการรักษาสมดุลใน 3 มิติ คือเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม เพื่อให้เกิดความยั่งยืนในการบริหารจัดการพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยว โดยได้มีการ ขับเคลื่อนนโยบายอย่างต่อเนื่อง ดังนี้ 1) นโยบายท่องเที่ยวคุณภาพแบบ Co Creation ร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมปฏิบัติ ร่วม รับผิดชอบและร่วมรับผลประโยชน์ 2) นโยบายการท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community Based Tourism) 3) นโยบายการท่องเที่ยวที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Low Carbon Tourism) 4) นโยบายการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ (Creative Tourism) 5) นโยบายการดำเนินงานกับภาคีเครือข่ายการพัฒนาทั้งในประเทศและต่างประเทศ อพท. เน้นให้การท่องเที่ยวเป็นเครื่องมือพัฒนาสู่ความยั่งยืน เนื่องจากการท่องเที่ยวมีส่วน เกี่ยวข้องในการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม ผ่านการทำกิจกรรมท่องเที่ยวต่าง ๆ อย่างน้อยใน 4 ด้าน คือ 1) การพัฒนาด้านเศรษฐกิจ สร้างรายได้ กระตุ้นเศรษฐกิจท้องถิ่น สร้างงานในท้องถิ่น 2) การพัฒนาทางสังคม ฟื้นฟูวิถีชีวิต สร้างการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางสังคมผ่าน กิจกรรมท่องเที่ยวในชุมชน 3) การพัฒนาด้านวัฒนธรรม ฟื้นฟูวัฒนธรรม ประเพณี เพื่อเป็นทรัพยากรท่องเที่ยว อย่างหนึ่ง เช่น การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม 4) การพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมที่ดีเพื่อ เป็นทรัพยากรท่องเที่ยว และเป็นการสร้างแรงจูงใจในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เช่น การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ 5.7 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของ อพท. 1. การพัฒนาด้านเศรษฐกิจ ส่งเสริมการใช้ศักยภาพของหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ และเอกชน ในการพัฒนาการตลาดการท่องเที่ยวเพื่อมุ่งเน้นให้เกิดการเพิ่มมูลค่าอัตลักษณ์วิถีความเป็น ไทยให้ได้รับการยกระดับ และนำเสนอผ่านการท่องเที่ยวที่เป็นเอกลักษณ์ในพื้นที่พิเศษ 2. การพัฒนาด้านสังคม มุ่งพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนเพื่อสร้างความมั่นคงและ ความอยู่ดีกินดีของประชาชนในพื้นที่พิเศษโดยไม่ได้เน้นพัฒนาเพียงแค่ให้เกิดกระบวนการเท่านั้น แต่ได้ พัฒนาเพื่อให้เกิดความยั่งยืนในเชิงสินค้าและผลิตภัณฑ์ 3. การพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม ให้ความสำคัญในการส่งเสริมให้มีการลดภาวะโลกร้อน ในภาคการท่องเที่ยว โดยมีการกำหนดนโยบาย Low Carbon Tourism เป็นนโยบายหลักของทุกพื้นที่ 4. การพัฒนาองค์กร มุ่งพัฒนาให้เป็นหน่วยงานชั้นนำด้านการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน และเป็นศูนย์กลางความรู้ด้านการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
19 ผลสำเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของ อพท. คือ เกิดชุมชนต้นแบบ 14 ชุมชนพื้นที่พิเศษ ที่พร้อมเป็นแหล่งเรียนรู้และขยายผลไปในระดับภูมิภาคและประเทศ และจากการ ประกาศรางวัล PATA Tourism InSPIRE Awards 2015 ซึ่งจัดโดย Pacific Asia Travel Association PATA ชมรมส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านไร่กองขิง จังหวัดเชียงใหม่ ได้รับรางวัลสาขา Best Community Based Tourism Initiative หรือการท่องเที่ยวโดยชุมชนที่เป็นเลิศ ซึ่งเป็นชุมชนต้นแบบ ด้านการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน และในปี พ.ศ. 2559 ประชาชนในพื้นที่พิเศษ 14 ชุมชนผ่านเกณฑ์ประเมิน ระดับความอยู่ดีมีสุขของ อพท. 6,227 คน จากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 8,000 คน คิดเป็น 77.84% โดย ประชาชนมีระดับความอยู่ดีมีสุขในพื้นที่เฉลี่ยระดับ 71.04% (สูงกว่าที่ อพท. กำหนดไว้ที่ 60% ) 6. บทสรุป การพัฒนาอย่างยั่งยืนเป็นแนวคิดที่ได้พัฒนาขึ้นตั้งแต่ปี 1962 จากงานเขียนในหนังสือ Silent Spring และได้รับความสนใจอย่างเป็นรูปธรรมจากโครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติในปี 1972 จนกระทั่งถึงการลงนามร่วมกันในวาระที่ 21 (Agenda 21) ในการประชุมองค์การสหประชาชาติ ปี 1992 มีการผลักดันแนวปฏิบัติในหลากหลายรูปแบบ เช่น เป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ (MDGs) ในปี 2000 และ เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ในปี 2015 ที่มีองค์ประกอบ 17 เป้าหมาย โดยประเทศ ไทยได้มีกี่ดำเนินงานที่สอดคล้องและบรรลุเป้าหมายด้าน การขจัดปัญหาความยากจนในปี พ.ศ. 2560 ใน ด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืนในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว มีการประกาศใช้หลักเกณฑ์การท่องเที่ยวอย่าง ยั่งยืนโลก (GSTC) โดยองค์กรที่ดำเนินงานด้านการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนด้วยหลักเกณฑ์การ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโลก
(องค์กร มหาชน) (อพท.) มีหน้าที่บริหารและพัฒนาพื้นที่เพื่อการท่องเที่ยวในเชิงบูรณาการเพื่อการท่องเที่ยวอย่าง ยั่งยืนในประเทศไทย 7. แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 1 1. การพัฒนาอย่างยั่งยืน หมายถึงอะไร จงอธิบายพร้อมยกตัวอย่าง 2. จุดเน้นที่สำคัญของการพัฒนาอย่างยั่งยืนคืออะไร จงอธิบาย 3. ให้ระบุที่มาของแนวคิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน 4. เกณฑ์มาตรฐาน เป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ (MDGs) มีอะไรบ้าง 5. เกณฑ์มาตรฐาน เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) มีอะไรบ้าง 6. เกณฑ์มาตรฐาน หลักเกณฑ์การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโลก (GSTC) มีอะไรบ้าง 7. ให้ระบุเป้าหมายที่ยั่งยืนที่ประเทศไทยสามารถบรรลุได้ระหว่างปี พ.ศ. 2560 2561 8. ให้ระบุประโยชน์ของการพัฒนาอย่างยั่งยืน 9. อธิบายบทบาทของ องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์กรมหาชน) (อพท.) 10. เพราะเหตุใดจึงต้องมีการพัฒนาอย่างยั่งยืน
คือ องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
Global Sustainable Tourism Council [GSTC]. (2019). GSTC Destination Criteria Washington, DC: The Global Sustainable Tourism Council.
SDG Move. (2018). SDG Index & Dashboards Report 2018. Retrieved 22 June, 2019, from https://www.sdgindex.org
SDG Move. (2019). SDG 101. Retrieved 22 June, 2019, from https://www.sdgmove.com/category/sdg 101/
United Nations Environmental Programme [UNEP]. (2015). The United Nations Environment Programme & the 2030 Agenda Global Action for People and the Planet. Madrid: UNEP.
UN's Economic and Social Commission for Asia and the Pacific [UNESCAP]. (2017). Sustainable Social Development in Asia and the Pacific. Bangkok: United Nations Publication.
20 เอกสารอ้างอิง บทที่ 1
ประเทศซึ่งอาจสรุปเป็นข้อย่อยได้ ดังนี้ (ตุ้ย ชุมสาย และญิบพัน พรหมโยธี, 2522; นิคม จารุมณี, 2536; ฉลองศรี, 2550)
1) ก่อให้เกิดรายได้เป็นเงินตราต่างประเทศเข้าประเทศเป็นจำนวนมาก
2) รายได้จากการท่องเที่ยวจะมีผลทบทวีคูณในการสร้างรายได้หมุนเวียนในระบบ เศรษฐกิจเพิ่มขึ้น
3) การท่องเที่ยวก่อให้เกิดการหมุนเวียนและการกระจายรายได้ไปสู่ภูมิภาค
4) การท่องเที่ยวกระตุ้นให้เกิดผลดีในรูปการผลิตสินค้าพื้นเมือง สินค้าของที่ระลึก
21 บทที่ 2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน การท่องเที่ยวจัดเป็นเครื่องมือในการพัฒนาทางเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศไทยเนื่องจากมี ความเกี่ยวเนื่องกับธุรกิจหลากหลายประเภท เช่น ธุรกิจการบิน โรงแรม ร้านอาหาร และห้างสรรพสินค้า เป็นต้น การขยายตัวของเศรษฐกิจทางการท่องเที่ยวส่งผลในการพัฒนาทั้งในระดับภูมิภาค ระดับชาติและ นานาชาติ อย่างไรก็ตาม การท่องเที่ยวที่ดีและมีคุณภาพไม่ควรให้ความสำคัญต่อมิติด้านเศรษฐกิจเพียง ด้านเดียว ยังมีมิติอื่น ๆ ที่ส่งผลต่อการพัฒนาชุมชน สังคมและสิ่งแวดล้อมให้มีดุลยภาพที่ดี บทที่ 2 อธิบาย รายละเอียดด้านความสำคัญของการท่องเที่ยว การพัฒนาการท่องเที่ยว ผลกระทบการท่องเที่ยว ระยะการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของไทย เพื่อสร้างความเข้าใจในกระบวนการพัฒนาการ ท่องเที่ยวสู่ความยั่งยืนได้ 1. ความสำคัญของการท่องเที่ยว ความสำคัญของการท่องเที่ยวมักจะถูกมองในด้านเศรษฐกิจเป็นหลัก โดยเฉพาะประเทศที่ใช้ การท่องเที่ยวเป็นเครื่องมือหลักในการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างประเทศกำลังพัฒนา
คือ ความสามารถในการพัฒนา
นักวิชาการส่วนใหญ่แล้ว เน้นความสำคัญของการท่องเที่ยวไปในทิศทางเดียวกันในทางบวก
ตลอดจนบริการในท้องถิ่น 5) การท่องเที่ยวเป็นอุตสาหกรรมที่ไม่สิ้นเปลืองวัตถุดิบ ผลผลิตขายได้ทุกเวลา 6) การท่องเที่ยวก่อให้เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพทั้งทางตรงและทางอ้อม ลดการ ว่างงาน ประชากรมีรายได้เพิ่มขึ้น 2. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการท่องเที่ยว อิทธิพลต่อการท่องเที่ยวขึ้นอยู่กับหลายองค์ประกอบที่ส่งผลต่อการท่องเที่ยว โดยปกติ สามารถ แบ่งได้ ทั้งภายในและภายนอก ดังนี้ 2.1 ปัจจัยภายใน 2.1.1 ทรัพยากรการท่องเที่ยว 2.1.2 ความปลอดภัย นักท่องเที่ยวจะคำนึงถึงความปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินเป็น สำคัญ 2.1.3 โครงสร้างพื้นฐานสิ่งอำนวยความสะดวกหลัก เช่น ถนน สะพาน สนามบิน สถานีรถ โดยสาร ไฟฟ้า ประปา ระบบสื่อสารที่ทันสมัย 2.1.4 สิ่งอำนวยความสะดวก เช่น การคมนาคม พิธีการเข้าเมืองและบริการข่าวสาร ที่ พัก ร้านอาหาร บริการนำเที่ยว
22 2.1.5 สินค้าของที่ระลึก ต้องมีการควบคุมคุณภาพ กำหนดราคา ส่งเสริมการใช้วัสดุ พื้นบ้าน การออกแบบที่มีเอกลักษณ์ การบรรจุหีบห่อที่สวยงาม 2.1.6 การโฆษณา การเผยแพร่และการประชาสัมพันธ์ 2.1.7 ภาพลักษณ์ของประเทศ เช่น ความอุดมด้วยมรดกทางธรรมชาติ ประวัติศาสตร์และ วัฒนธรรม 2.2 ปัจจัยภายนอก 2.2.1 สภาวะเศรษฐกิจและการเมืองของโลก สภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ การเดินทาง ท่องเที่ยวจะอ่อนตัวลง 2.2.2 ความนิยมพฤติกรรม และกิจกรรมที่เปลี่ยนแปลงในการท่องเที่ยว 2.2.3 การขยายเส้นทางคมนาคม เช่น ท่าอากาศยานเครื่องบิน ส่งผลให้เกิดความสะดวก รวดเร็ว ปลอดภัยและประหยัด 2.2.4 การเปลี่ยนแปลงนโยบายทางการเมือง การท่องเที่ยวจึงมีบทบาทมีความสำคัญต่อ การ พัฒนาเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิตความเป็นอยู่ของพี่น้องประชาชนอย่างยิ่ง 2.2.5 ภาวการณ์แข่งขันของแหล่งท่องเที่ยวอื่น 2.2.6 สงครามหรือเหตุการณ์ที่มีอิทธิพลต่อความไม่มั่นใจในการท่องเที่ยวของโลก เช่น ภัยธรรมชาติ การก่อการร้าย เป็นต้น 3. นโยบายด้านการท่องเที่ยวของรัฐบาล นโยบายของรัฐบาล เป็นสิ่งสำคัญในการกำหนดทิศทางของการพัฒนาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ซึ่งนโยบายการท่องเที่ยวในอดีตมักจะเน้นด้านเศรษฐกิจเป็นหลัก และเปลี่ยนทิศทางมาเน้นด้านการ อนุรักษ์ สำหรับนโยบายของประเทศไทย มักจะเน้นการทำรายได้ให้แก่ประเทศและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1) ส่งเสริมให้เอกชนมีบทบาทในการพัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว โดยรัฐจะเป็น ฝ่ายอำนวยความสะดวกและสนับสนุน รวมทั้งจะกำกับดูแลกิจการมัคคุเทศก์ให้มีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับ และมั่นใจของวงการอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว 2) ส่งเสริมและประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งในระดับประเทศระดับภูมิภาค และ ระดับนานาชาติ เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ชาวต่างประเทศรู้จักประเทศไทยในแง่มุมที่ถูกต้องและทราบถึง ความมีศักยภาพพร้อมข้อมูลทั้งในด้านการท่องเที่ยว การค้า การลงทุน และการจัดกิจกรรมนานาชาติ 3) พัฒนาให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางของการท่องเที่ยวในภูมิภาคนี้ โดยเร่งขยาย โครงการบริการพื้นฐาน พัฒนาอุตสาหกรรมให้มีมาตรฐานและเพิ่มประสิทธิภาพของบุคลากรด้านการ ท่องเที่ยว 4) ส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนท่องเที่ยวในประเทศให้มากขึ้น 5) อนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและแหล่งท่องเที่ยวให้อยู่ในสภาพที่เอื้ออำนวย ต่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยว รวมทั้งดำเนินนโยบายป้องกัน และแก้ไขผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอันเกิด จากอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว 4. การพัฒนาการท่องเที่ยว คำว่า “พัฒนา” เกิดขึ้นและนำมาใช้ครั้งแรกในคริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยนักเศรษฐศาสตร์ได้ นำมาใช้เรียกการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการปฏิวัติอุตสาหกรรมในยุโรป ซึ่งเกิดการเปลี่ยนแปลงจากการใช้ แรงงานคนและสัตว์มาเป็นพลังงานจากเทคโนโลยี เช่น เครื่องจักร เครื่องยนต์ต่าง ๆ อาชีพของคนใน สังคมเปลี่ยนจากเกษตรกรรมเป็นการประกอบอาชีพทางด้านอุตสาหกรรม วิถีการผลิตเปลี่ยนจากเพื่อการ
(Isolation and Contact) 4.1.4
23 ยังชีพเป็นวิถีการผลิตเพื่อการค้า ที่อยู่อาศัยเปลี่ยนจากชนบทเป็นเมือง สิ่งแวดล้อมเปลี่ยนจากสิ่งแวดล้อม ตามธรรมชาติเป็นสิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้น หลังจากนั้น คำว่า พัฒนา ก็ได้แพร่กระจายออกไปทั่วโลก โดยความหมายกว้าง ๆ ทั่วไปแล้ว หมายถึง การกระทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจากสภาพหนึ่งไปสู่อีก สภาพหนึ่งที่ดีกว่าเดิมอย่างเป็นระบบ 4.1 ความหมายของการพัฒนา แนวคิด และวิวัฒนาการ การพัฒนา เป็นแนวคิดที่มีรากฐานมาจากความสนใจซึ่งเกิดขึ้นจากการสังเกต ปรากฏการณ์การเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคมและวัฒนธรรม โดยอธิบายไว้อย่างชัดเจนว่าสังคมและ วัฒนธรรมของมนุษยชาติมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาด้วยสาเหตุต่าง ๆ โดยนักวิชาการได้ให้แนวคิด ด้านแนวคิดและวิวัฒนาการของการพัฒนาหลายประการดังต่อไปนี้ 4.1.1 การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมทางกายภาพ
การเปลี่ยนแปลงทางด้านประชากร
การอยู่โดดเดี่ยวและการติดต่อกัน
ระดับของความรู้และเทคโนโลยี
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างอื่น เช่น การเล็งเห็นความจำเป็นในการ เปลี่ยนแปลง หรือนโยบายของผู้นำประเทศ อันที่จริงแล้วจากปรากฏการณ์ทางสังคมที่ผ่านมาเราจะพบว่าการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และวัฒนธรรมเป็นเรื่องตามธรรมชาติที่เกิดขึ้นโดยไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ การพิจารณาเรื่องการเปลี่ยนแปลง จึงต้องทำความเข้าใจทั้งในด้านทิศทางของการเปลี่ยนแปลง
ขนาดของการเปลี่ยนแปลง (Magnitude) ระยะเวลาที่เกิดการเปลี่ยนแปลง (Time) สาเหตุที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงหรือต่อต้าน การเปลี่ยนแปลง (Change & Resistance to Change) สิ่งที่จะต้องทำความเข้าใจในเบื้องต้น คือ ความหมายของการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและ วัฒนธรรมนั้นครอบคลุมไปถึงการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ก้าวหน้าหรือถดถอยก็ได้ แต่ที่เป็นพื้นฐาน แนวคิดที่สำคัญของการพัฒนา ก็คือ ทิศทางของการเปลี่ยนแปลง (Direction for Change) ในลักษณะที่ ก้าวหน้าหรือการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นเท่านั้น องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนามีอยู่สามส่วน คือ 1 ผู้กระทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง 2 เจตนารมณ์ อุดมการณ์ วิธีการรวมทั้งกระบวนการต่าง ๆ ที่ทำให้เกิดการ เปลี่ยนแปลง 3. เป้าหมายของกระทำที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ความเข้าใจชัดเจนในแต่ละ องค์ประกอบเหล่านี้ จึงจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับการศึกษาวิชาการที่ว่าด้วยการพัฒนา จากการศึกษาเชิงวาทกรรม (Discourse Studies) พบว่า มีการแอบแฝงซ่อนเร้นความ ต้องการที่แท้จริงของผู้ที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ไม่ว่าจะเป็นอุดมการณ์ แนวคิด ทฤษฎี หลักการ วิธีการ นั่นคือ การพัฒนาที่ผ่านมาในอดีตเป็นเพียงการบิดเบือน ซ่อนเร้นฉันทามติเชิงวิชาการที่แท้จริง ของพัฒนศาสตร์ โดยพยายามใช้วาทกรรมครอบงำระบบความคิด รวมไปถึงการชี้นำให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงของสังคมและวัฒนธรรมเป้าหมาย ให้เปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ผู้สร้างวาทกรรมต้องการ นอกเหนือไปจากนั้น ยังมีข้อคิดเห็นทางวิชาการที่น่าสนใจอย่างยิ่งว่า ภายใต้เงื่อนไขที่บริสุทธิ์ การพัฒนาที่ แท้จริงไม่มีทางที่จะเกิดขึ้นได้ ถ้าหากไม่สามารถควบคุมการเปลี่ยนแปลงเชิงลบของสังคม ซึ่งเป็น กระบวนการที่เกิดขึ้นควบคู่กันไปพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงในทางบวกหรือการพัฒนา
(Physical Environment) 4.1.2
(Population Change) 4.1.3
โครงสร้างทางสังคมและวัฒนธรรม (Social and Cultural Structure) 4.1.5
(Knowledge and Technology) 4.1.6
(Direction)
24 อย่างไรก็ตามโดยแก่นแท้แห่งศาสตร์การพัฒนา (Development) นั้นสามารถมองได้ทั้ง แคบและกว้าง คือ 1. ในความหมายอย่างแคบ การพัฒนา หมายถึง การประดิษฐ์คิดค้นหรือริเริ่มทำสิ่ง ใหม่ ๆ ขึ้นมาและนำมาใช้เป็นครั้งแรก เช่น การคิดค้นกระแสไฟฟ้า การกระดิษฐ์เครื่องคอมพิวเตอร์ 2. ในความหมายอย่างกว้าง การพัฒนา หมายถึง การเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นของ ระบบต่าง ๆ ในสังคมที่ได้รับการยอมรับจากคนในสังคมนั้น โดยมีหลักที่ใช้ในการพิจารณาโดยมีจุดเน้นอยู่ ที่ลักษณะของการพัฒนา คือ 2.1 การเปลี่ยนแปลงในด้านปริมาณ คุณภาพและสิ่งแวดล้อมทุกด้านให้ดีขึ้นหรือ เหมาะสมกว่าสภาพที่เป็นอยู่เดิม 2.2 มีลักษณะเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นอย่างมีลำดับขั้นตอนต่อเนื่องกันไป 2.3 มีลักษณะเป็นพลวัตร ซึ่งหมายความว่าเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องไม่หยุดยั้ง 2.4 มีลักษณะเป็นแผนและโครงการ คือ เกิดขึ้นจากการเตรียมการไว้ล่วงหน้าว่า จะเปลี่ยนแปลงใคร ด้านใด ด้วยวิธีการใด เมื่อใดใช้งบประมาณและสิ่งสนับสนุนเท่าใด ใครรับผิดชอบ 2.5 มีลักษณะเป็นวิชาการ ซึ่งหมายถึง การกำหนดขอบเขตและกลวิธีที่นำมาใช้ ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงตามเป้าหมายที่กำหนด เช่น การพัฒนาเศรษฐกิจ การพัฒนาชนบท การพัฒนา อุตสาหกรรม การพัฒนาชุมชน การพัฒนาการศึกษา 2.6 มีลักษณะที่ให้น้ำหนักต่อการปฏิบัติการจริงที่ทำให้เกิดผลจริง 2.7 การเปลี่ยนแปลงนี้เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจากมนุษย์โดยมนุษย์ และเพื่อมนุษย์หรือ อาจจะเกิดขึ้นเอง 2.8 มีเกณฑ์หรือเครื่องชี้วัด ซึ่งสามารถจะบอกได้ว่าการเปลี่ยนแปลงไม่ว่าจะเป็น ด้านคุณภาพ ปริมาณ และสิ่งแวดล้อมดีขึ้นมากหรือน้อยเพียงใด ในระดับใด 2.9 Technical Assistance 2.10 เงินทุนสนับสนุน หรือเงินยืมเพื่อพัฒนาและปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐาน 2.11 จัดตั้งสมาคมที่เป็นความร่วมมือระหว่างภาครัฐและตัวแทนภาคอื่น 2.12 อำนวยความสะดวกด้านนิตินัย ด้านความปลอดภัยและโครงสร้างพื้นฐาน 2.13 ประชาสัมพันธ์และให้บริการข้อมูล จะเห็นได้ว่าความหมายของการพัฒนาไม่ว่าจะเป็นแบบแคบและกว้างก็มุ่งไปในทิศทางเดียวกัน คือการเปลี่ยนแปลงที่อาจเป็นไปได้ทั้งเชิงปริมาณและ คุณภาพ ซึ่งเกี่ยวข้องกับการจัดการ วางแผน เพื่อให้เป็นไปในทิศทางที่ดีขึ้น ทั้งนี้นักวิชาการต่าง ๆ ได้ให้ความหมายในลักษณะคล้ายกัน ดังแสดงใน ตารางที่ 3 ตารางที่ 3 ความหมายของการพัฒนา สัญญา สัญญาวิวัฒน์ (2526) ได้ให้ความหมายของการพัฒนา ว่าหมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่การกำหนดทิศทาง (Directed Change) หรือ การเปลี่ยนแปลงที่ได้วางแผนไว้ล่วงหน้า (Planned Change) ยุวัฒน์ วุฒิเมธี (2526) ให้ความหมายว่า การพัฒนา หมายถึง การกระทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจากสภาพหนึ่งไปสู่อีก สภาพหนึ่งที่ดีกว่า วิทยากร เชียงกูล (2527) เขียนไว้ว่า การพัฒนาที่แท้จริงนั้น หมายถึง การทำให้ชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนมีความสุข ความสะดวกสบาย ความกินดีอยู่ดี ความเจริญทางด้านศิลปวัฒนธรรมและจิตใจอย่างสงบสันติ ซึ่ง ขึ้นอยู่กับการได้รับปัจจัยทางวัตถุเพื่อสนองความต้องการของร่างกาย ทั้งยังรวมความไปถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นของคุณภาพชีวิต อันได้แก่ การศึกษา สิ่งแวดล้อม การพักผ่อนหย่อนใจ วิรัช วิรัชนิภาวรรณ (2532) สรุปว่า การพัฒนา หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่มีการกระทำให้เกิดขึ้นหรือมีการวางแผนกำหนด ทิศทางไว้ล่วงหน้าและการเปลี่ยนแปลงนี้จะมีสองส่วนที่เกี่ยวข้อง คือ การเปลี่ยนแปลงทั้งในด้าน ปริมาณและคุณภาพ รวมทั้งจะต้องมีทิศทางที่ดีขึ้นเท่านั้น
ในขณะที่นักคิดบางสำนักความคิดพยายามใช้ยุทธศาสตร์ทางศาสนา (Religious Strategy) มาชี้นำ ทางออกให้แก่สังคมไทยบนพื้นฐานแห่งนัยยะสำคัญตลอดจนความโดดเด่นทางวิชาการที่ว่า ความดีต้องอยู่ เหนือความชั่วเสมอ โดยละทิ้งเงื่อนไขของการเปลี่ยนแปลงทางสังคมด้านมิติของเวลา
25 4.2 ทฤษฎีทางการพัฒนา ปกรณ์ ปรียากร (2538) กล่าวว่า การพัฒนาหมายถึงการทำให้ดีขึ้นจากที่เคยเป็นมา การ พัฒนาจะเน้นการให้ได้มาซึ่งผลผลิตมากกว่าปกติ โดยอาศัยเทคโนโลยีขั้นสูงกว่า ซึ่งโดยทั่วไปแล้วในอดีต ไม่คำนึงถึงสิ่งแวดล้อมนัก กล่าวคืออาจมีการเกิดของเสียหรือมลพิษสิ่งแวดล้อมขึ้นซึ่งในปัจจุบันได้นำผล เหล่านี้มาพิจารณาหรือเน้นผลผลิตที่ได้จากของเสียหรือมลสารที่เกิดจากกระบวนการผลิต อย่างไรก็ตาม นักวิชาการได้ระบุมีรูปแบบการพัฒนาหลากหลายประเภท ได้แก่ 4.2.1 การพัฒนาเศรษฐกิจ มุ่งเน้นการผลิตสินค้าเพื่อสร้างมูลค่าเป็นตัวเงินและ รายได้ เป็นหลัก ได้แก่ การพัฒนาด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรมต่าง ๆ คมนาคมขนส่ง การสื่อสาร การพาณิชย์ การตลาด 4.2.2 การพัฒนาสังคม มุ่งเน้นการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน การศึกษา การสาธารณสุข ศิลปวัฒนธรรม โภชนาการ อาชีพหลักและอาชีพรอง การปราบปรามยาเสพติด 4.2.3 การพัฒนาการเมืองและการปกครอง มุ่งเน้นการพัฒนาบุคลากรของประเทศให้มี ความสามารถในการทำความเข้าใจต่อระบบการเมืองแบบประชาธิปไตยและ/หรือการปกครองท้องถิ่น เป็นที่น่าสนใจว่าได้มีการศึกษาเชิงประเมินผลการพัฒนา พบว่า การเปลี่ยนแปลงที่ไม่พึง ปรารถนา หลายประการ นับตั้งแต่เริ่มมีการดำเนินงานตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติฉบับที่ 1 ในปี พ.ศ. 2504 เป็นต้นมา ได้ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อระบบนิเวศวิทยา (Social Ecology) ของสังคมไทย ผลที่คาดหวังสำคัญหลายประการไม่เป็นไปตามเจตนารมณ์ที่ตั้งไว้ เหตุการณ์เหล่านี้ทำให้นักคิดจากหลาย สำนักความคิดพากันหยิบยกประเด็นปัญหาต่าง ๆ ขึ้นมาถกเถียงวิพากษ์วิจารณ์กันอย่างกว้างขวางถึง ความล้มเหลวเหล่านั้น พร้อมทั้งมีการเสนอแนวทางใหม่ในการพัฒนาประเทศ บางแนวคิดได้รับการ ยอมรับจากสาธารณชน และกลุ่มผู้บริหารจนนำไปสู่การกำหนดเป็นนโยบายในการพัฒนาประเทศบน พื้นฐานความเชื่อในเอกลักษณ์ รวมทั้งความเข้มแข็งของวัฒนธรรม บางแนวคิดชูประเด็นการเรียนรู้ ตลอดจนการเสริมสร้างศักยภาพของคนพร้อมทั้งการให้เหตุผลอย่างเป็นระบบน่าเชื่อถือและปฏิบัติตาม
(Time) พลังทางลบ (Negative Social Force) ที่ทำให้เกิดการต่อต้านเปลี่ยนแปลงอันไม่พึงปรารถนาในสังคม ประกายความคิดเหล่านี้ ส่งผลให้เกิดความพยายามที่จะถักทอและบูรณาการความโดด เด่นจากแนวความคิดหลากกระแสเข้าด้วยกัน นอกเหนือไปจากนั้น ยังมีการเสนอแนวคิดที่น่าสนใจ เกี่ยวกับการพัฒนาเชิงนิเวศ (Green Development) เศรษฐศาสตร์เชิงนิเวศ (Green Economics) เศรษฐศาสตร์กระแสกลาง (Mid stream Economy) หรือการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) โดยมีความเชื่อพื้นฐานของการให้ความสำคัญต่อการอนุรักษ์สภาพแวดล้อมตาม ธรรมชาติแก่ผู้คนรุ่นหลัง แล้วกำหนดเป็นยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศแนวใหม่ ด้วยการวิพากษ์อย่าง แหลมคม ต่อแนวคิดแบบ ปฏิฐานนิยม (Positivism) อัตนิยม (Individualism) ที่ยึดเอาความพึงพอใจ ของมนุษย์ตามหลักการของอรรถประโยชน์นิยมหน่วยสุดท้าย (Marginal Utility) ว่าเป็นจุดเริ่มต้นของ ความหายนะและการทำลายล้างทรัพยากรธรรมชาติอย่างรุนแรงในปัจจุบัน จากการวิเคราะห์เจตนารมณ์ ของแต่ละแนวคิด ตั้งแต่อดีตมาจนถึงปัจจุบัน จะเห็นได้ว่า โดยแท้ที่จริงแล้วนักคิดแต่ละยุคสมัย แต่ละ สำนักคิดต่างมีเจตนารมณ์บางอย่างร่วมกัน คือ สันติสุข ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่พึงประสงค์ ของสังคมที่ตนเองเป็นสมาชิก สิ่งที่แตกต่างกัน ก็คือ วิธีคิด สำนักคิด (School of thought) ขอบเขตของ การคิด (Boundary) ลักษณะการมองปัญหา การให้ความหมายและวิธีการในการทำความเข้าใจ รวมทั้ง การวิเคราะห์หาแนวทางในการแก้ไขปัญหา (Approach) ของกลุ่มแนวคิดเหล่านั้น
3 ประเด็น หลักได้ ดังนี้
1. การขาดแคลนความร่วมมือและการประสานเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยว
26 4.3 บทบาทของภาครัฐในการพัฒนาการท่องเที่ยว นักวิชาการและหน่วยงานที่ต่าง ๆ ได้วางแบบแผนของภาครัฐในการพัฒนาการท่องเที่ยว ไว้ ดังนี้ 4.3.1 การวางแผนและการอำนวยความสะดวกในการท่องเที่ยว 4.3.2 การดูแลและควบคุมหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
เกี่ยวข้องกับการวางแผนและการควบคุม
การเงิน และการประสานงาน 4.3.3 การเป็นเจ้าของโดยตรงขององค์ประกอบทางการท่องเที่ยว 4.3.4 การส่งเสริมทางการขายผลิตภัณฑ์ทางการท่องเที่ยวของประเทศทั้งในและ ต่างประเทศ ในทางทฤษฎีความช่วยเหลือของภาครัฐ มี 5 รูปแบบ 1. การสนับสนุนทางด้านเทคโนโลยี 2. เงินทุนสนับสนุน หรือเงินยืมเพื่อพัฒนาและปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐาน 3. จัดตั้งสมาคมที่เป็นความร่วมมือระหว่างภาครัฐและตัวแทนภาคอื่น 4. อำนวยความสะดวกด้านนิตินัย ด้านความปลอดภัยและโครงสร้างพื้นฐาน 5. ประชาสัมพันธ์และให้บริการข้อมูล ทั้งนี้ในทางปฏิบัติพบว่ามีปัญหาระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนซึ่งอาจสรุป
โดยมีหน้าที่ที่
การตลาด
ตามทฤษฎีของ
สามารถจูงใจให้นักท่องเที่ยวมาเที่ยวได้ 4.4.3 ส่วนประสมสิ่งดึงดูดใจ (Attraction Mix) การจัดการสิ่งดึงดูดใจ เช่น การสร้าง สิ่งจูงใจว่าจะเน้นเรื่องใด 4.4.4 ความเป็นไปได้ในการประกอบธุรกิจ (Feasibility Analysis) 1) สถานที่ (Location) 2) การขนส่ง (Transportation) 3) ต้นทุนและประโยชน์การใช้ที่ดิน (Land Use and Costs) 4) รัฐบาล (Government) เช่น นโยบาย กฎหมาย และภาษี เป็นต้น 5) สิ่งอำนวยความสะดวก (Infrastructure) 6) ความปลอดภัย และการบริการ (Security and Service) 7) ผู้ผลิต (Suppliers) 8) สภาพทางการเงิน (Financial Status) 9) แรงงาน (Labors) 4.4.5 สภาพการแข่งขันทางการค้า (Trade Area) 4.4.6 การวิเคราะห์กำไร และต้นทุน (Benefit and Cost Analysis)
2. ความกดดันที่เพิ่มขึ้นจากกฎและระเบียบที่กำหนดขึ้นโดยภาครัฐ 3. ความเห็นที่แตกต่าง 4.4 หลักการในการพัฒนาสิ่งดึงดูดใจในการท่องเที่ยว (Principles of Attraction Development)
Gartner (1996) หลักที่ใช้ในการพัฒนาการท่องเที่ยว สามารถสรุปโดย ย่อได้ 6 ประเด็น ดังนี้ 4.4.1 การลงทุน (Inventory) เช่น ค่าที่ดิน ค่าก่อสร้าง ค่าจ้าง เป็นต้น 4.4.2 การประเมินแหล่งท่องเที่ยวที่จะเป็นสิ่งดึงดูดใจ (Assessment) เช่น คุณภาพ ความเป็นของแท้ ความเป็นเอกลักษณ์ ความสามารถในการจัดการกิจกรรมนักท่องเที่ยว และพลังดึงดูดที่
นัก วางแผนควรที่จะตระหนักถึงความสัมพันธ์ของเจ้าบ้านและนักท่องเที่ยวในการที่จะวางแผนพัฒนาการ ท่องเที่ยว และการวางแผนการท่องเที่ยวควรเป็นไปในระยะยาวเพราะผลกระทบทางสังคมและวัฒนธรรม
27 5. ผลกระทบการท่องเที่ยว เป็นที่ทราบกันโดยทั่วกันว่า การท่องเที่ยวไม่ได้นำมาซึ่งผลในทางบวกแต่อย่างเดียว ประสบการณ์ การพัฒนาการท่องเที่ยวที่ผ่านมาหลายทศวรรษ กระตุ้นแนวคิดด้านผลในทางลบของการ ท่องเที่ยว และผลักดันนักท่องเที่ยวและชุมชนเจ้าของแหล่งท่องเที่ยวในการวางแผนรับมือกับผลกระทบ เหล่านี้ ซึ่งสามารถแบ่งกว้าง ๆ ได้ 3 ประเภท ตามหลักนักวิชาการท่องเที่ยว (Lea,
Gartner,
Lickorish
5.1 ผลกระทบของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวต่อสังคม ปัจจุบันได้มีการศึกษาเกี่ยวกับผลกระทบของการท่องเที่ยวต่อสังคมและวัฒนธรรมมากขึ้น ผลกระทบของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวต่อสังคมอาจเกิดจากการพัฒนาหรือการเจริญเติบโตของการ ท่องเที่ยว สังคมในที่นี้อาจหมายถึง ประเทศ ท้องถิ่น หรือ สถานที่เฉพาะที่มีกลุ่มคนอาศัยอยู่ในพื้นที่นั้น ๆ โดยปกติสังคมในอดีตได้พัฒนาประเพณี ค่านิยม และชีวิตของคนในท้องถิ่นซึ่งมีความสัมพันธ์กับ วัฒนธรรม จึงอาจเป็นการยากที่จะหาเครื่องชี้วัดถึงผลกระทบว่าเป็นบวกหรือลบเนื่องจากปัญหาต่าง ๆ อาจค่อย ๆ สะสมและปรากฏให้เห็นเป็นหลักฐานได้ จนอาจเป็นการกดดันและระเบิดออกมาในที่สุด และ เมื่อเวลาผ่านไป ภาพพจน์ของการท่องเที่ยวที่มีต่อนักท่องเที่ยวก็ก่อตัวขึ้นโดยอาจแสดงว่าสิ่งนี้คืออุปสรรค สำหรับนักท่องเที่ยวที่จะเข้ามาท่องเที่ยวในประเทศหรือในท้องที่นั้นอีก ดังนั้นจึงมีความจำเป็นที่ผู้ที่มี
ไม่สามารถจะมองได้ง่าย
และ ต้องคำนึงถึงคนพื้นเมืองมีส่วนร่วมในการท่องเที่ยวในท้องถิ่น
ในท้องถิ่นของตนด้วย ซึ่งอาจเป็นไปได้ค่อนข้างยากในประเทศกำลังพัฒนา เนื่องจากระบบของการ ปกครองในท้องถิ่นและปัญหาผู้นำในท้องถิ่น มักจะเล็งเห็นการท่องเที่ยวในปัจจุบันต่อบทบาทในการนำ รายได้เข้าสู่ประเทศของตน แต่ทั้งนี้หากประเทศใดมีชื่อเสียงในด้านลบเรื่องทัศนคติต่อนักท่องเที่ยวหรือมี การต่อต้านนักท่องเที่ยว จำนวนของนักท่องเที่ยวที่จะเดินทางไปยังประเทศหรือท้องถิ่นนั้นย่อมต้องลดลง เช่นกัน ตัวอย่างผลกระทบทั้งบวกและลบด้านสังคมและวัฒนธรรมจากนักวิชาการหลายท่านสามารถสรุป ได้ ดังนี้ ตารางที่ 4 ตัวอย่างผลกระทบของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวที่มีต่อสังคมและวัฒนธรรม ด้านบวก ด้านลบ 1. การท่องเที่ยวสามารถนำมาใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนา และส่งเสริมพื้นที่ที่กิจกรรมประเพณีดั้งเดิมกำลังถดถอย 2. การท่องเที่ยวส่งเสริมคุณค่าของสังคมโดยให้ความสำคัญ กับกิจกรรมนันทนาการและการพักผ่อนในสังคมซึ่งจะช่วย รักษาคุณภาพของชีวิตในสังคม คุณภาพของสิ่งแวดล้อมใน ท้องถิ่น 3. การท่องเที่ยวช่วยอนุรักษ์ความสวยงามทางธรรมชาติและ คุณค่าทางสังคมในระยะยาวหากมีการจัดการที่ถูกต้อง 1. ปัญหาอาชญากรรมในท้องถิ่นที่มีนักท่องเที่ยว 2. การที่มีนักท่องเที่ยวในท้องที่เป็นจำนวนมากเป็นการยาก แก่ตำรวจในการตรวจตราความปลอดภัย 3. สถานที่ท่องเที่ยวนั้นอยู่ใกล้ชิดชายแดนเป็นการง่ายต่อ มิจฉาชีพที่จะหลบหนี 4. เนื่องจากนักท่องเที่ยวและคนในท้องถิ่นมีความแตกต่างใน ด้านเศรษฐกิจอย่างมาก ดังนั้นท้องถิ่นที่ยังไม่พัฒนาเมื่อการ ท่องเที่ยวเข้าไปชาวบ้านอาจจะเฝ้ามองความแตกต่างฐานะ ทางเศรษฐกิจที่ด้อยกว่าย่อมก่อให้เกิดอาชญากรรมโดยง่าย
1988;
1996;
and Jenkins, 1997)
ความเกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวและโดยเฉพาะรัฐบาลของประเทศนั้นจะต้องสามารถมองข้อขัดแย้งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นเพื่อทำการแก้ไขก่อนจะปรากฏเป็นปัญหาทางสังคมและวัฒนธรรมในประเทศหรือท้องถิ่นนั้น
เหมือนผลทางเศรษฐกิจที่ดูจากตัวเลขกำไรหรือขาดทุนในการลงทุน แต่การ วางแผนนี้จะต้องคำนึงถึงขอบเขตของท้องถิ่นที่สามารถยอมรับอัตราของการพัฒนาการท่องเที่ยว
และร่วมในการวางแผนการจัดการท่องเที่ยว
28 ตารางที่ 4 ตัวอย่างผลกระทบของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวที่มีต่อสังคมและวัฒนธรรม (ต่อ) ด้านบวก ด้านลบ 4. การท่องเที่ยวช่วยอนุรักษ์และฟื้นฟูสถาปัตยกรรม เก่าแก่ของคนในท้องถิ่น 5. การท่องเที่ยวช่วยฟื้นฟูศิลปะ หัตถกรรมและการแสดง ของวัฒนธรรมท้องถิ่น 6. การท่องเที่ยวสนับสนุนแนวทางการฟื้นฟูวิถีชีวิตทาง สังคมและวัฒนธรรมของคนในท้องถิ่น 7. สร้างเสริมความความเข้าใจและความสงบสุขท่ามกลาง ความแตกต่างทางวัฒนธรรม 8. ส่งเสริมความภาคภูมิใจของวัฒนธรรมท้องถิ่น 9. สนับสนุนการศึกษาและการเรียนรู้ของโครงสร้างและ ประสบการณ์ในสังคม 5. ปัญหาโสเภณีหรือเพศพาณิชย์ 6. ปัญหายาเสพติด การลักลอบนำยาเสพติดเข้ามากับ นักท่องเที่ยวหรือการขายยาเสพติดให้แก่นักท่องเที่ยว 7. ปัญหาโรคภัยไข้เจ็บ โรคต่าง ๆ มีการแพร่ระบาดได้โดยมี นักท่องเที่ยวเป็นพาหะ 8. ปัญหาการพนัน นับเป็นสิ่งล่อใจที่ส่งผลกับคนในท้องถิ่น 9. การผสมผสานทางวัฒนธรรม หลังจากวัฒนธรรมที่ต่างกัน สองวัฒนธรรมมาพบกัน และเกิดการแลกเปลี่ยนกันใน ระยะเวลาที่สม่ำเสมอจนมีการหยิบยืมแต่ยังสามารถแยก ออกได้ 10. การรับวัฒนธรรมใหม่ เป็นการรับเอาความคิด ทัศนคติ หลักความเชื่อ การกระทำ และสิ่งของใหม่ ๆ ที่ต่างไปจาก ที่บุคคลได้เคยประสบพบมา มาใช้แทนที่ระบบเดิมที่ตน เคยยึดถืออยู่ 11. การตระหนกทางวัฒนธรรม เป็นสภาพทางจิตใจและ ความรู้สึกที่มีต่อพฤติกรรมที่แตกต่างไปจากพฤติกรรมที่ บุคคลเคยรู้ เคยเห็น เคยประพฤติปฏิบัติ และมี ประสบการณ์มาก่อนเป็นความรู้สึกที่เกิดขึ้นกะทันหัน จะ ทำให้เกิดความรู้สึกที่รับไม่ได้
ไม่ยอมเข้าใจ ทำใจไม่ได้ และในที่สุดก็จะเกิดการต่อต้านและตอบโต้ทาง
วัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวที่ทำให้เกิดการผสม ทางวัฒนธรรม 14. วัฒนธรรมของเจ้าบ้านถูกกำหนดบทบาทให้เป็นผู้ อำนวยความสะดวกและการให้บริการต่าง ๆ แก่ผู้ที่ ท่องเที่ยว 15. วัฒนธรรมของนักท่องเที่ยว นักท่องเที่ยวเองก็มี วัฒนธรรมของนักท่องเที่ยว ที่เลือกจะมีพฤติกรรมเฉพาะ เวลาเดินทางท่องเที่ยวและใช้เวลาในการพักผ่อนสำหรับ ตัวเอง 16. วัฒนธรรมที่ถูกดูดซึม นักท่องเที่ยวที่รับเอาวัฒนธรรม ของนักท่องเที่ยวโดยการสังเกตพฤติกรรมของนักท่องเที่ยว อื่น ๆ ในแหล่งท่องเที่ยวจะไม่สามารถหลุดพ้นจาก ชีวิตประจำวันของตนได้ 17. บริษัทท่องเที่ยวที่ทำหน้าที่เป็นผู้ประสาน ได้สร้าง วัฒนธรรมซึ่งส่วนใหญ่จะทำการส่งเสริมวัฒนธรรมของ นักท่องเที่ยวและหลายกรณีที่บริษัทเหล่านี้ก่อให้เกิด วัฒนธรรมของนักท่องเที่ยว ก่อนที่นักท่องเที่ยวจะมาถึง แหล่งท่องเที่ยว ที่มา: Fridgen (1990); Gartner (1996); Lickorish and Jenkins (1997); ตุ้ย ชุมสาย และญิบพัน พรหมโยธี (2522); นิคม จารุมณี (2536); ฉลองศรี (2550)
การไม่ยอมรับ
วัฒนธรรม 12. วัฒนธรรมสัมผัส การเผยแพร่การกระจายของ วัฒนธรรมย่อมไปสัมผัสเข้ากับวัฒนธรรมเดิมของสังคม แหล่งใหม่ 13. ความสัมพันธ์ระหว่างการท่องเที่ยวกับวัฒนธรรม
30 5.3 ผลกระทบทางเศรษฐกิจ โดยทั่วไปแล้ว การท่องเที่ยวจะถูกมองในด้านบวกต่อเศรษฐกิจ คือ ส่งเสริมรายได้ของ ประเทศและภูมิภาคเนื่องจากอุตสาหกรรมท่องเที่ยวมีต้นทุนต่ำกว่าอุตสาหกรรมอื่น ๆ เช่น อุตสาหกรรม เกษตร และอุตสาหกรรมโรงงาน ทำให้สร้างรายได้ต่อชุมชนและเกิดรายได้จากเงินตราต่างประเทศ โดย ในทางกลับกันอาจทำให้เกิดเงินตรารั่วไหล ทั้งนี้จากการทบทวนและวิเคราะห์ สามารถสรุปตัวอย่าง ผลกระทบทั้งทางด้านบวกและลบที่มีต่อเศรษฐกิจได้ดังตารางที่ 6 ตารางที่ 6 ตัวอย่างผลกระทบของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวที่มีต่อเศรษฐกิจ ด้านบวก ด้านลบ 1. การท่องเที่ยวทำให้เกิดรายได้ต่อชุมชนและ ท้องถิ่น 2. การท่องเที่ยวทำให้เกิดรายได้จากเงินตรา ต่างประเทศ 3. การท่องเที่ยวสามารถสร้างดุลการค้าได้ดี 4. การท่องเที่ยวทำให้เกิดการพัฒนาระบบโครงสร้าง พื้นฐาน 5. การท่องเที่ยวนำไปสู่การกระตุ้นให้เกิดการพัฒนา โครงสร้างพิเศษไว้รองรับอุตสาหกรรมการ ท่องเที่ยว 6. การท่องเที่ยวก่อให้เกิดรายได้ต่อรัฐบาลในรูปของ ภาษีต่าง ๆ ทั้งโดยทางตรงและทางอ้อมจากการ ท่องเที่ยวเข้าสู่ระบบการคลังของประเทศ 1. การท่องเที่ยวเป็นกิจกรรมเน้นฤดูกาล ซึ่งหมายความว่าธุรกิจ ต่าง ๆ ในท้องถิ่นจะต้องสามารถอยู่รอดในช่วงที่ไม่มีรายได้ 2. อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวทำให้ค่าที่ดินและทรัพย์สินในท้องถิ่น เพิ่มสูงขึ้น 3. การท่องเที่ยวทำให้เพิ่มราคาของสิ่งจำเป็นต่าง ๆ ใน ชีวิตประจำวัน 4. วัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ของท้องถิ่นอาจขาดแคลน อันเนื่องมาจาก ชาวนาหรือเกษตรกรหรือชาวบ้านที่ทำอาชีพต่าง ๆ อยู่แต่เดิม ในชุมชน อาจผละหนีอาชีพที่เคยทำ เพื่อมาทำงานใน ภาคอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวแทน 5. รัฐบาลต้องทุ่มเทงบประมาณจำนวนมากลงไปในการพัฒนาการ ท่องเที่ยว ซึ่งงบประมาณดังกล่าวน่าจะถูกนำไปใช้ดีกว่าเพื่อ เน้นการให้บริการทางสังคมแก่ประชาชน เช่น การศึกษา การ สาธารณสุข และการคมนาคม ที่มา: Gartner
นิคม จารุมณี (2536) 6. การพัฒนาด้านการท่องเที่ยวไทย อดีต ปัจจุบันและอนาคต 6.1 ระยะที่ 1 พ.ศ. 2503 2522 การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2503 ในขณะนั้นมีชื่อว่าองค์การส่งเสริมการ ท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (อสท.) การก่อตั้ง อสท. นี้เกิดขึ้นในช่วงที่ประเทศไทยมีการพัฒนาประเทศ อย่างรวดเร็ว (เป็นส่วนหนึ่งของแผนระยะ 5 ปี ซึ่งกำหนดโดยคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติซึ่งปัจจุบันใช้ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 หรือแผน 13) ในขณะเดียวกันก็ได้มีการจัดตั้งองค์กร ที่เกี่ยวข้องเช่น การบินไทยด้วยในระยะแรก ภารกิจหลักของ อสท. คือส่งเสริมและประชาสัมพันธ์ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวไทย ซึ่งเป็นการดำเนินการอย่างจริงจังเป็นครั้งแรก ก่อนที่จะมีการก่อตั้ง อสท. การกระจายข้อมูลด้านการท่องเที่ยวดำเนินการโดยกรมประชาสัมพันธ์ และการรถไฟแห่งประเทศไทย ซึ่ง เป็นเครือข่ายการสื่อสารคมนาคมที่ดีที่สุดของประเทศในขณะนั้น เหตุการณ์และกิจกรรมสำคัญด้านการตลาด คือ อสท.ได้เปิดสำนักงานส่วนภูมิภาคในจังหวัด เชียงใหม่เมื่อปี พ.ศ. 2511 และ เปิดสำนักงานต่างประเทศแห่งแรกขึ้นในนครนิวยอร์กเมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2507 (ปัจจุบันมีสำนักงานภูมิภาค 22 แห่งทั่วประเทศ และสำนักงานต่างประเทศ 18 แห่ง) ได้มีการจัดพิมพ์หนังสือ “Holiday Times in Thailand” และจดหมายข่าว อสท. (นิตยสาร ท้องถิ่น) ขึ้น เพื่อเป็นเครื่องมือในการกระจายข้อมูลสู่คนไทย ประเทศไทยยังได้รับเลือกให้เป็นเจ้าภาพใน การจัดประชุมประจำปีขององค์กรส่งเสริมการท่องเที่ยวภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก (PATA) เมื่อปี พ.ศ. 2512 เป็นครั้งแรก
(1996);
31 ด้านการพัฒนา ภายหลังจากการประชุมประจำปีขององค์กรส่งเสริมการท่องเที่ยวภูมิภาคเอเชีย แปซิฟิก ได้มีการกดดันให้ขยายท่าอากาศยานเชียงใหม่และปรับเปลี่ยนให้เป็นท่าอากาศยานนานาชาติ นอกจากนั้นได้ฟื้นฟูประเพณีสำคัญต่าง ๆ ของไทยขึ้นมาอีกครั้งหนึ่ง เพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวให้เดินทางเข้า มาในประเทศ เช่น ประเพณีลอยกระทง จังหวัดสุโขทัย และขบวนแห่เทียนพรรษา จังหวัดอุบลราชธานี (เทียนบางเล่มมีขนาดใหญ่มากจนไม่สามารถนำเข้าไปในภายในโบสถ์ได้) งานเทศกาลสำคัญที่สุดที่ได้มีการนำกลับมาและส่งเสริมคือ ประเพณีการคล้องช้าง จังหวัด สุรินทร์ ซึ่งไม่เพียงเป็นการฟื้นฟูประเพณีการคล้องช้างโบราณ (ซึ่งเป็นประเพณีที่แสดงให้เห็นว่าช้างป่าถูก จับและฝึกฝนอย่างไร เพื่อใช้ในการต่อสู้ในสงครามในอดีต หรือเพื่อลากซุงในอุตสาหกรรมป่าไม้) แต่ยัง แสดงให้เห็นถึงทักษะโบราณในการฝึกช้าง ซึ่งยังคงใช้ได้อยู่ในปัจจุบันด้วย หรือแม้กระทั้งสอนช้างให้เล่น ฟุตบอลก็สามารถทำได้ ในระยะที่ 1 นี้ อสท. รับผิดชอบในการกระจายข้อมูลเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในกลุ่มตลาดใน ประเทศ มีการจัดกิจกรรมหลาย ๆ ประเภท เช่น การจัดขบวนคาราวานไปยังจังหัดต่าง ๆ จัดการสัมมนา สำหรับผู้นำในระดับจังหวัด เพื่อก่อให้เกิดความคุ้นเคยกับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว (รวมถึงบุคคลจาก ภาครัฐ นักธุรกิจ สื่อมวลชน ผู้นำระดับท้องถิ่น และผู้นำด้านวิชาการ เป็นต้น) ซึ่งนำไปสู่ความสนใจที่จะ พัฒนาและลงทุนด้านการท่องเที่ยวมากขึ้น เช่น โรงแรม และสถานที่ท่องเที่ยวต่าง ๆ การสร้างความรู้ มีการคิดค้นโครงการและกิจกรรมต่าง ๆ ไม่ใช่เพียงเพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวแต่ ยังช่วยให้คนในท้องถิ่นมีความเข้าใจนักท่องเที่ยวมากยิ่งขึ้น มีความยินดีที่จะเป็นเจ้าบ้าน และเห็น ความสำคัญของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว มีการจัดสัมมนา ฝึกอบรม จัดทำสื่อจดหมายข่าว อสท. และ รายการทั้งทางวิทยุและโทรทัศน์ ซึ่งเป็นเครื่องมืออันสำคัญในการส่งเสริมการเปิดตัวสู่การท่องเที่ยวใน ประเทศไทย การพัฒนาด้านการท่องเที่ยวเริ่มต้นจากการท่องเที่ยวภายในประเทศก่อน ก้าวแรกคือการ พัฒนาสาธารณูปโภคด้านการท่องเที่ยวขั้นพื้นฐานสำหรับชาวไทย และชาวต่างชาติ ซึ่งอาศัยอยู่ในประเทศ ไทย เมื่อการพัฒนาดังกล่าวก้าวหน้าขึ้น สถานที่ท่องเที่ยวต่าง ๆ ก็มีความพร้อมมากขึ้นที่จะรองรับ นักท่องเที่ยวจากต่างประเทศ บทเรียนจากการพัฒนาในระยะที่ 1 คือ เนื่องจากประเทศไทยเป็นประเทศกำลังพัฒนาด้าน เศรษฐกิจ สาธารณูปโภคในสถานที่ท่องเที่ยวส่วนใหญ่โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภูมิภาคต่าง ๆ จึงยังไม่ดี พอที่จะรองรับนักท่องเที่ยวจากต่างชาติ ทำให้การเดินทางเข้ามาท่องเที่ยวส่วนใหญ่มุ่งมายังกรุงเทพฯ และเนื่องจากจังหวัดต่าง ๆ ขาดความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว โครงการต่าง ๆ เพื่อการพัฒนาจึงไม่ได้รับควรมสำคัญและขาดการบูรณาการ เช่น ถนนต่าง ๆ ได้สร้างขึ้นใหม่ในสถานที่ ท่องเที่ยวต่าง ๆ โดยปราศจากสาธารณูปโภคที่เกี่ยวข้อง เช่น การกำจัดของเสีย และ การจัดการด้านน้ำ นำไปสู่ควยามเสื่อมโทรมทั้งด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม เช่นที่พัทยา การพัฒนาด้านการท่องเที่ยวควรดำเนินการไปในครรลองเดียวกับความพร้อมของภูมิภาคหรือ ไปในทางเดียวกับการรักษาสมดุลระหว่างเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ถ้าเรามุ่งเฉพาะด้านการตลาด การโฆษณา และประชาสัมพันธ์ ผลกระทบที่ตามมาจะเป็นลบ ตัวอย่างจากกรณีของพัทยา ซึ่งเคยเป็น หมู่บ้านประมงขนาดเล็กที่เงียบสงบไม่ห่างจากกรุงเทพฯ นัก และได้เปลี่ยนแปลงกลายเป็นสถานที่พักผ่อน และสันทนาการสำหรับทหารอเมริกันในช่วงสงครามเวียดนาม ทำให้สถานที่นี้เติบโตอย่างรวดเร็วมากและ ไม่มีทิศทางที่แน่ชัด ภาครัฐไม่สามารถควบคุมการลงทุนของภาคเอกชนได้ การขาดแผน การจัดการ อำนาจตัดสิน และความรู้สึกเป็นเจ้าของในท้องถิ่น (เนื่องมาจากการลงทุนจากภายนอก) ส่งผลกระทบให้
32 เกิดความเสื่อมโทรมอย่างรวดเร็ว การจัดทำแผนฟื้นฟูและกู้คืนในภายหลังต้องใช้ทั้งเงินและเวลามาก และ จำเป็นต้องอาศัยการปรับเปลี่ยนภาพลักษณ์ของเมืองเองด้วย การใช้ประเพณีและวัฒนธรรมเพื่อเพิ่มค่าให้กับการท่องเที่ยวเป็นการดำเนินการที่ดี เป็นการทำ ให้ชุมชนเป็นคุณค่าของวัฒนธรรมและประเพณีของตน ในขณะเดียวกันก็ได้ผลประโยชน์ด้านเศรษฐกิจ ด้วย อย่างไรก็ตามควรกระทำด้วยความเข้าใจว่าวัฒนธรรมจะสามารถสร้างขึ้น และทำให้เฟื่องฟูได้ก็ ต่อเมื่อวัฒนธรรมนั้น ๆ ก่อประโยชน์ให้กับชุมชน จึงจะสามารถนำมาใช้เป็นเครื่องมือดึงดูดนักท่องเที่ยวได้ ในขณะเดียวกันก็ไม่ควรส่งผลกระทบทางตรงกับวัฒนธรรมและประเพณีท้องถิ่น มิเช่นนั้นแล้วจะทำให้เสีย คุณค่าต่อชุมชนโดยกลายเป็นเพียงกิจกรรม เพื่อจุดประสงค์ทางการท่องเที่ยวเท่านั้น ตัวอย่างหนึ่งคือ ขบวนแห่เทียนพรรษา จังหวัดอุบลราชธานี 6.2 ระยะที่ 2 ปี พ.ศ.2522 2534 (สิ้นสุดแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 6) ภายหลังจากระยะที่ 1 ที่มุ่งเน้นเรื่องการส่งเสริมและประชาสัมพันธ์ประเทศ ให้เป็นจดหมาย ปลายทางที่เป็นที่รู้จักในเวทีท่องเที่ยวโลก ธุรกิจการท่องเที่ยวได้เติบโตขึ้นมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงปี พ.ศ.2508 ถึง พ.ศ.2516 จำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาเพิ่มขึ้นจาก
7 เท่าในระยะเวลาไม่ถึง 10 ปี ในระดับโลกแล้ว อุตสาหกรรมนี้ มีศักยภาพที่จะเติบโตอีกได้ ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีแผนพัฒนาด้านการท่องเที่ยวในระดับประเทศ เพื่อเป็น แนวทางด้านการตลาดและพัฒนา เพื่อตอบสนองต่อการเติบโตอย่างรวดเร็วที่คาดว่าจะมีขึ้นในอนาคต เหตุการณ์และกิจกรรมที่สำคัญในระยะที่ 2 เช่น การมีแผนพัฒนาด้านการท่องเที่ยวฉบับแรกที่ ได้จัดทำขึ้นจากความช่วยเหลือของ Institute of Tourism Development Consultants ของประเทศ เนเธอร์แลนด์ โดยร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และ อสท. การ ดำเนินการตามแผนได้เริ่มขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2518 และได้เสร็จสิ้นเมื่อปี พ.ศ.2519 เป้าหมายของแผนดัง กล่าวคือ เพื่อสร้างแนวทางในการรองรับการเติบโตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น และตอบสนองความต้องการของ ตลาด เช่น ต้นแบบสาธารณูปโภคและกิจกรรม / การท่องเที่ยวต่าง ๆ จะต้องเหมาะสมกับจุดหมาย ปลายทางและสถานที่ท่องเที่ยวนั้น ๆ ส่วนที่ท่องเที่ยวที่มีศักยภาพอื่น ๆ ต้องกระจายตัวออกไปและไม่ กระจุกตัวอยู่เฉพาะที่เดียว ในสมัยนั้นมีสถานที่ท่องเที่ยวหรือจุดสนใจทั้งสิ้น 21 จุด เช่น กรุงเทพฯ พัทยา สงขลา (หาดใหญ่) และเชียงใหม่ ซึ่งสถานที่เหล่านี้ ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางให้กับภูมิภาคต่าง ๆ โดยรอบ ในระยะที่ 2 มีการเสนอ ภูเก็ต หัวหิน และ กาญจนบุรี ซึ่งได้มีการจัดการศึกษาแยกออกไป เพื่อกำหนด แผนเฉพาะสำหรับแต่ละจุดหมายปลายทาง ดังนั้นจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะเปลี่ยน อสท. ให้เป็นกระทรวง การท่องเที่ยว เพื่อให้องค์กรมีอำนาจมากยิ่งขึ้นเพื่ออำนวยความสะดวกในการบูรณการ การพัฒนา และ การร่วมมือกับองค์กรอื่น ๆ (แม้ว่าจะใช้เวลากว่า 25 ปี กว่าที่กระทรวงจะถูกจัดตั้งขึ้นอย่างเต็มรูปแบบ สถานะของกระทรวงก็ยังไม่มีเสถียรภาพ ยังต้องมีการปรับเปลี่ยนความเหมาะสม ให้เป็นไปตามแบบแผน ด้านการท่องเที่ยวโลกซึ่งเปลี่ยนไปอย่างมาก) การพัฒนาด้านการท่องเที่ยวถูกรวมเข้าอยู่ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจสังคมแห่งชาติเป็นครั้งแรกใน แผนฉบับที่ 4 ระหว่างปี พ.ศ.2520 2524 รัฐบาลได้เล็งเห็นความสำคัญของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ซึ่งก่อให้เกิดรายได้ในรูปของเงินตราต่างประเทศเป็นลำดับ 3 รองจาก การส่งออกยางและข้าว ช่วยลด ภาระการขาดดุลการค้า การเปลี่ยนจาก อสท. เป็น ททท. ได้ทำให้องค์กรมีสถานทางนิติบัญญัติที่สูงขึ้น (อสท.ถูกจัดตั้งขึ้นโดยพระราชกฤษฎีกาเท่านั้น) ททท. มีหน้าที่รับผิดชอบดูแลการวางแผน และพัฒนา
200,000 คน เป็น 1 ล้านคนในปี พ.ศ. 2516 คิดเป็นการเพิ่มขึ้น 5 เท่า รายได้จากการท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นจาก 500 ล้านบาทในปี พ.ศ. 2508 เป็น 3,500 ล้านบาท คิดเป็น
33 อุตสาหกรรมท่องเที่ยวและมีการจัดโครงสร้างองค์กรสอดคล้องกัน แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติฉบับ แรกในปี พ.ศ.2519 ได้นำไปสู่การจัดทำแผนแม่บทควบคู่กับการศึกษาความเป็นไปได้ สถานที่ท่องเที่ยว หลักหลาย ๆ แห่งเช่น พัทยาในปี พ.ศ.2521 ภูเก็ต ในปี พ.ศ.2522 และการศึกษาเบื้องต้นของจังหวัด เชียงใหม่ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2522 และสงขลา (หาดใหญ่) ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2522 ต่อมาแผน แห่งชาติจึงได้ถูกกำหนดขึ้นและถูกรวมเข้าภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ในด้านการตลาด ได้มีการดำเนินการหลาย ๆ ขั้นตอน เริ่มมีการกำหนดแผนปฏิบัติการด้าน การตลาดประจำปี (MAP) ขึ้นในปี พ.ศ. 2521 ซึ่งเป็นผลมาจากการประชุมร่วมกันระหว่างภาครัฐ เอกชน และ ททท. เพื่อหาแนวทางต่าง ๆ มากำหนดยุทธศาสตร์ เป้าหมาย และกิจกรรมที่จะช่วยให้บรรลุ เป้าหมาย ภายหลังจากที่ได้รับการจัดลำดับความสำคัญและได้เงินสนับสนุนอย่างเหมาะสม เพื่อก่อให้เกิด การเติบโต การเปิดตัวโครงการ Visit Thailand Year ในปี พ.ศ. 2530 เพื่อเฉลิมฉลองเนื่องในวโรกาส เฉลิมพระชนมพรรษาครบ 60 พรรษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ถือเป็นการทำการตลาดที่ประสบ ผลสำเร็จมากครั้งหนึ่งของไทย ต่อมาหลายประเทศได้ดำเนินการตามอย่าง ทำให้เกิดแคมเปญคล้าย ๆ กัน เช่น Visit Malaysia Year, Visit Lao Year, Visit Myanmar Year รวมถึงในภูมิภาคอื่น ๆ ในโลก นอกเหนือจากแคมเปญด้านการตลาดที่ประสบผลสำเร็จ ททท. ยังต้องรับมือกับวิกฤติการณ์ต่าง ๆ เช่น วิฤตการณ์น้ำมันในปี พ.ศ.
การซบเซาของเศรษฐกิจโลกในปี พ.ศ.
เปอร์เซียในปี
สื่อ บุคคลสำคัญมา ท่องเที่ยวประเทศไทยเพื่อให้เกิดความมั่นใจขึ้น แคมเปญนี้ได้ใช้ซ้ำหลายหนรวมถึงในช่วงภายหลังวิฤต เศรษฐกิจเอเชียปี พ.ศ. 2540 และนำมาใช้อีกครั้งหนึ่งภายหลังประสบภัยธรรมชาติจากสึนามิ นอกจากนั้น ได้มีการประสานงานด้านการท่องเที่ยวอย่างจริงจังกับกลุ่มต่าง ๆ เช่น ASEAN, EATA (East Asia Travel Association) และ PATA ด้านการพัฒนานั้น นอกเหนือจากกการจัดทำแผนแม่บทและแผนอื่น ๆ แล้ว ได้มีความพยายาม ต่าง ๆ ในการสร้างแหล่งท่องเที่ยวใหม่ ๆ ขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งการรวมกลุ่มแหล่งท่องเที่ยวนอกจากนั้น ยังมีความพยายามเพิ่มขึ้นในการพัฒนากิจกรรมที่เกี่ยวข้องขึ้นเป็นครั้งแรก เช่น เทศกาลแสงเสียงจังหวัด กาญจนบุรี ซึ่งต่อมาได้ขยายไปสู่แหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมอื่น ๆ เช่น สุโขทัย จนทำให้ในปัจจุบัน กลายเป็นกิจกรรมประจำปีในหลาย ๆ ส่วนของประเทศ สินค้าเพิ่มเติมต่าง ๆ ก็ได้เกิดขึ้น เช่น กอล์ฟ ดำน้ำ และที่สำคัญมากคือการจับจ่ายซื้อสินค้า ชุมชนชนบทได้รับการสนับสนุนและฝึกอบรมเพื่อผลิตสินค้าหัตถกรรมต่าง ๆ การจัดจำหน่ายและการ วางขายสินค้าต่าง ๆ เหล่านี้ได้กระจายตัวออกไปด้วย จากกรณีหนึ่งในอดีตเมื่อเรือสำราญ Queen Elizabeth II ได้ทอดสมอที่ภูเก็ต นักท่องเที่ยวได้ขึ้นฝั่งและแลกเงินเป็นจำนวนมากเพื่อจับจ่ายซื้อของ แต่ ผิดหวังและต้องแลกเงินกลับคืนเป็นจำนวนมาก เพราะไม่มีของที่น่าซื้อวางขาย กรณีนี้ได้ทำให้ ททท. เปิดตัวโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมสินค้าท้องถิ่น วางรูปแบบการพัฒนา และการจัดงานแสดงสินค้าเพื่อ แลกเปลี่ยนระหว่างพ่อค้าจากหลายภูมิภาคและต่อมาได้ใช้กลวิธีนี้แพร่หลายไปทั่วประเทศ การพัฒนาที่น่าสนใจอีกประการหนึ่งคือ การใช้การท่องเที่ยวเป็นเครื่องมือด้านการเมือง ในการ ต่อสู้กับการจลาจลของคอมมิวนิสต์ ที่ใดที่รัฐบาลประสบความสำเร็จในการกำหนดบางพื้นที่ให้เป็นกลาง การท่องเที่ยวจะถูกนำเข้าไปใช้เป็นเครื่องมือในการดำรงชีวิตของประชาชนการสร้างงาน และตลาด
2523
2526 สงครามอ่าว
พ.ศ. 2534 เป็นต้น ซึ่งนำไปสู่แคมเปญเพื่อให้ประเทศฟื้นตัวในชื่อ “The World Our Guest” ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชนโดยเชิญผู้ประกอบการนำเที่ยว
34 สำหรับสินค้าพื้นเมือง ในปัจจุบัน หลายพื้นที่ในประเทศ เช่น ภูหินร่องกล้า เขาค้อ และเขาหลวง ได้ กลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นที่นิยมในหมู่นักท่องเที่ยว บทเรียนสำคัญจากระยะที่ 2 คือ การวางแผนส่วนใหญ่มีทิศทางและเป้าหมายที่ชัดเจนและมี การใช้ทักษะที่ดี อย่างไรก็ตามปัญหาคือมีการดำเนินการตามแผนดังกล่าวไม่มากนัก ในส่วนของการ บริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวและการพัฒนาสินค้า นอกจากนั้นยังขาดการประสานงานระหว่างหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องและขาดการใช้อำนาจบังคับที่เหมาะสม ดังนั้น จึงประสบความสำเร็จน้อยกว่าที่ควรเป็น รัฐบาลไม่ได้ให้ความสำคัญเท่าที่ควร และไม่ได้จัดงบประมาณที่สมควรกับแผนงาน แม้ว่าจะได้อนุมัติแผน ไปแล้ว ขาดความมุ่งมั่นด้านการเมือง ประกอบกับสถานการณ์ทางการเมืองที่ไม่มั่นคง ก่อให้การบังคับใช้ กฎหมายไม่ประสบผล ทำให้ภาคเอกชนเข้ามายึดพื้นที่ของทางภาครัฐและประกอบกิจกรรมที่ผิดกฎหมาย ก่อให้เกิดการสร้างสิ่งก่อสร้างมากเกินความจำเป็น ไม่มีการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม หรือ การให้ความสนใจ ด้านสาธารณสุขและการวางผังเมือง ผลในทางลบส่วนใหญ่นี้ เกิดจากนักลงทุนจากภายนอกที่ไม่มีความ รับผิดชอบและบุคคลในท้องถิ่นที่มีอิทธิพล การพัฒนาบางส่วนเช่น การสร้างถนนเข้าถึงสถานที่ท่องเที่ยวในหลายกรณีเป้นการกระทำเพื่อปู ทางไปสู่ผลกำไรของนักลงทุน แม้ว่าในขณะนั้นชุมชนและสถานที่ต่าง ๆ จะอยู่ห่างไกลจากระบบนิเวศ เปราะบางต่าง ๆ เช่น ชายหาด หมู่เกาะ ภูเขา และน้ำตก ซึ่งสถานที่เหล่านี้ไม่มีกฎหมายควบคุมการ ก่อสร้างหรือการใช้พื้นที่ ผลที่ตามมาคือราคาของพื้นที่ได้สูงขึ้นกว่าราคาจริง และตามมาด้วยการก่อสร้าง ที่หนาแน่นบนพื้นที่ที่มีราคาสูงกว่าความเป็นจริงเพื่อใช้ที่ให้คุ้มกับราคาที่จ่ายไป จึงก่อให้เกิดผลกระทบ หลักต่อสภาพแวดล้อมและทำให้เกิดความเสื่อมโทรมเช่นที่หาดป่าตอง ภูเก็ต และคอนโดมิเนียมสูง ๆ ตามชายหาด หัวหินและชะอำ การกระทำดังกล่าวทำให้เจ้าของที่ดินดั้งเดิมซึ่งหมายถึงผู้อยู่อาศัยในพื้นที่ท้องถิ่นในพื้นที่นั้น ๆ สูญเสียวิถีความเป็นอยู่ของตนไป เมื่อรายได้ที่ได้จากการขายที่ดินหมดไป คนท้องถิ่นจะอพยพไปยัง สถานที่อื่น ๆ และก่อให้เกิดการบุกรุกที่ผิดกฎหมาย ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาสังคมต่าง ๆ ตามมาอย่าง หลีกเลี่ยงไม่ได้ การวางแผนในระยะเริ่มต้นนั้นไม่ได้ให้ชุมชนท้องถิ่นมีส่วนร่วมเท่าใดนัก นโยบายของรัฐบาล ส่วนใหญ่จะมุ่งไปยังการขยายตลาดและตัวเลขจากการท่องเที่ยว แม้ว่าจะมีการมุ่งเน้นไปยังความสมดุล และการพัฒนา แต่กระบวนการตั้งเป้าที่อิงจำนวนนักท่องเที่ยวที่เดินทางเข้ามาในประเทศ ยังคงเป็นตัว เน้นย้ำความสำเร็จด้านเศรษฐกิจตามนโยบายของรัฐบาล จึงก่อให้เกิดการเจริญเติบโตที่รวดเร็วของ จำนวนนักท่องเที่ยวที่เดินทางเข้าประเทศและรายได้ อย่างไรก้ตามผลกระทบในด้านลบต่อสังคมและ สิ่งแวดล้อมได้เกิดตามมา การขาดคุณภาพในการพัฒนาไม่ว่าจะเป็นด้านบุคลากร มาตรฐานของสินค้าและ บริการ หรือความปลอดภัยและความมั่นคง ต่างไม่ได้เป็นไปตามการเติบโตของตลาด โดยสรุป การพัฒนาด้านการท่องเที่ยวซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจของ ชาติโดยรวมนั้น อาจทำให้รายได้ประชาชาติโดยเฉลี่ยของประเทศสูงขึ้น แต่ก็ทำให้ช่องว่างระหว่างคนรวย และคนจนขยายกว้างขึ้นด้วย นอกจากนั้นยังทำให้สภาวะทางสังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมเสื่อม ทรามลง ดังนั้น แผนฯ 8 ของคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ จึงได้พัฒนาวิสัยทัศน์ เพื่อคุณภาพการพัฒนาเศรษฐกิจที่ดีขึ้นโดยปราศจากผลกระทบในทางลบต่อสังคม หรือที่เรียกว่า “การ พัฒนาที่ยั่งยืน”
35 6.3 ระยะที่ 3 ปี พ.ศ. 2535 2544 (การเริ่มต้นของแผนฯ 7 ไปจนถึงก่อนรัฐบาลยุคแรก ของทักษิณ ชินวัตร) ระยะที่ 3 ปี พ.ศ. 2535 2544 เริ่มตั้งแต่ระยะเริ่มต้นของแผนฯ 7 ไปจนถึงก่อนรัฐบาลยุค แรกของทักษิณ ชินวัตร ภายหลังจากระยะที่ 1 และ 2 ที่มุ่งเน้นการทำการตลาดและส่งเสริมการท่องเที่ยว เป็นหลักได้มีการดำเนินการวางแผนและการพัฒนาเกิดขึ้นบ้าง แต่ส่วนใหญ่จะเพื่อขยายธุรกิจการ ท่องเที่ยวของประเทศ เพื่อให้เกิดผลประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจ ดังนั้นจึงทำให้มีผลกระทบทางลบหลาย ด้านเกิดขึ้นควบคู่ไปกับการพัฒนาหลักที่เป็นเหตุเป็นผล แม้ว่าเศรษฐกิจ (ที่มีผลรายได้ประชาชาติที่สูงขึ้น) จะดีขึ้น แต่ก็ได้ก่อให้เกิดปัญหาสังคมตามมามากมาย ในช่วงนี้เองที่ทฤษฎีการพัฒนาการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน ได้เกิดขึ้นและประยุกต์ใช้ เหตุการณ์และกิจกรรมสำคัญต่าง ๆ ในระยะที่ 3 คือ หลังจากความล้มเหลวของแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติด้านสิ่งแวดล้อมในอดีตได้มีการเปลี่ยนแปลงทิศทางของแผน ครั้งนี้คนถูก กำหนดให้เป็นศูนย์กลางและใช้แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเป็น แบบอย่างสำหรับแผนอื่น ๆ รวมถึงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ภาคการท่องเที่ยวได้เห็นถึงผลกระทบในด้านลบของการพัฒนาด้านท่องเที่ยวในอดีต ดังนั้นจึง เริ่มหาความมั่นใจว่าการวางแผนนับจากนั้นจะต้องมีความยั่งยืนมากขึ้น
เมื่อปี พ.ศ.2535 หรือวาระที่ 21) นอกจากแผนพัฒนาซึ่ง ได้ดำเนินการในช่วงแรก ยังได้มีการศึกษาความเป็นไปได้ในสถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญหลายแห่งเช่นกัน เพื่อคำนวณความสามารถในการรองรับ ซึ่งการศึกษาดังกล่าวต่อมาได้ถูกปรับเปลี่ยนให้เป็นแผนปฏิบัติการ แผนอิงการท่องเที่ยวเชิงนิเวศได้ถูกำหนดขึ้นและได้รับการอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีและตามด้วยการออก แผนปฏิบัติการ ทำให้เกิดการศึกษาและการส่งเสริมการท่องเที่ยวซึ่งอิงชุมชนเพิ่มมากขึ้น
การท่องเที่ยวเชิงผจญภัย เป็นต้น ซึ่งทำให้ภาคเอกชนได้จัดตั้ง สมาคมร่วมกัน เช่น สมาคมไทยท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และผจญภัย สมาคมเรือไทย เกิดพระราชบัญญัติผู้ ประกอบธุรกิจท่องเที่ยวและมัคคุเทศก์ปี พ.ศ.2535 เกิดพระราชบัญญัติสภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่ง ประเทศไทย เพื่อเป็นองค์กรบูรณาการของภาคเอกชนซึ่งมีสถานภาพทางกฎหมาย การพัฒนาประการหนึ่งที่สำคัญในช่วงนี้คือความต้องการที่จะเพิ่มค่าให้กับการท่องเที่ยว นอกจากการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว สินค้าอื่น ๆ ก็ได้รับการส่งเสริมเช่นกัน เช่น การจับจ่ายใช้สอย กีฬา อาหาร วัฒนธรรม มรดกโลก มรดกทางวัฒนธรรม ธรรมชาติ การเกษตร และ ความร่วมมือระหว่าง ประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อเพิ่มระยะเวลาวันพักและค่าใช้จ่ายโดยเฉลี่ย และเน้นย้ำถึงการท่องเที่ยวคุณภาพ มากยิ่งขึ้น ในการพัฒนาระยะที่ 3 นี้ ได้มีการบูรณาการ การบริหารจัดการการพัฒนาและแผนการตลาด มากยิ่งขึ้น เช่น ใช้งบประมาณของ ททท. และองค์กรรัฐบาลอื่น ๆ การพัฒนาและการตลาดถูกจับคู่เข้า ด้วยกันภายใต้แผนปฏิบัติการด้านการท่องเที่ยว (TAP) ซึ่งเป็นความพยายามร่วมกันระหว่างรัฐบาลและ ภาคเอกชน ซึ่งดำเนินการผ่านกลุ่ม focus groups กิจกรรมประจำปี การประเมินผล การวิเคราะห์ และ การวางแผนเพื่อให้เกิดการบูรณาการเพิ่มมากขึ้น มาตรฐานสิ่งแวดล้อมที่สูงขึ้นได้นำไปสู่ความพยายามในการรักษาพลังงาน ซึ่งเริ่มจาก อุตสาหกรรมโรงแรม โครงการใบไม้เขียวได้ริเริ่มขึ้นซึ่งได้รับความชื่นชมจากทั้งในประเทศไทยและ นานาชาติ เช่น TUI ซึ่งเป็นบริษัทนำเที่ยวที่ใหญ่ที่สุดในโลก ครอบคลุมตลาดเยอรมันและตลาดยุโรป ได้ใช้ มาตรฐานใบไม้เขียวเป็นมาตรฐานอ้างอิงสำหรับโรงแรมของไทย ในด้านการส่งเสริมการท่องเทียว นับเป็น ครั้งแรกที่ได้มีการจัดการมอบรางวัล Tourism Awards ในปี พ.ศ. 2539 และได้เน้นย้ำความสำคัญของ
(ซึ่งเป็นไปในทิศทางเดียวกับการ ประชุม World Summit ณ กรุงริโอเดจาเนโร
รวมถึงโครงการ Homestay การท่องเที่ยวเชิงเกษตร
36 สิ่งแวดล้อมในการดำเนินการธุรกิจ มีการมอบรางวัล Friends of Thailand แก่บริษัทนำเที่ยวและสื่อ ต่างประเทศ เพื่อแสดงการรับรู้ถึงความเป็นมิตรของบริษัทเหล่านี้ต่อประเทศไทย เหตุการณ์ที่สำคัญในช่วงการพัฒนาระยะที่ 3 คือ วิกฤตด้านการเงินของภูมิภาคเอเชียในปี พ.ศ. 2540 ซึ่งได้เริ่มขึ้นในประเทศไทยและส่งผลกระทบต่อทั่วทั้งภูมิภาค ประเทศไทยได้รับผลกระทบอย่าง มาก เนื่องจากภูมิภาคเอเชียเป็นตลาดนักท่องเที่ยวที่สำคัญ อย่างไรก็ตามประเทศไทยฟื้นคือจากวิกฤตได้ ดีกว่าประเทศอื่น ๆ ส่วนใหญ่ ซึ่งเป็นผลจากการวางแผนที่เหมาะสมในการลดความเสี่ยงและเปลี่ยนความ พยายามด้านการตลาดไปมุ่งตลาดนักท่องเที่ยวที่เดินทางระยะไกล ยิ่งไปกว่านั้นประเทศไทยไม่ได้ลด งบประมาณด้านการทำการตลาด และไม่ได้ตัดความสัมพันธ์ของพันธมิตรด้านการท่องเที่ยว ซึ่งได้รับ ผลกระทบจากวิกฤตเช่นเดียวกัน กิจกรรมสำคัญที่ช่วยให้ประเทศกลับฟื้นคืนภายหลังจากวิกฤตคือ แคมเปญ Amazing Thailand ระหว่างปี พ.ศ.2541 2542 แม้ว่าแรกเริ่มนั้นแคมเปญนี้จะริเริ่มขึ้นเพื่อใช้เป็นเครื่องมือฟื้นฟู การท่องเที่ยว เช่นเดียวกับความสำเร็จของแคมเปญ Visit Thailand Year ในปี พ.ศ. 2530 แคมเปญ the Amazing Thailand ได้จัดขึ้นเพื่อเฉลิมฉลองเนื่องในวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ (72 พรรษา) ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 แม้ว่าค่าเงินบาทจะลดลง แคมเปญนี้ได้ใช้ งบประมาณประจำปีตามปกติเท่านั้น (ไม่ได้มีการสนับสนุนงบประมาณพิเศษจากรัฐบาล) จากการที่ค่าเงินบาทของไทยลดลง จึงได้มีการใช้กลยุทธ์แบบ Win Win เพื่อเป็นการบูรณาการ ระหว่างภาครัฐบาลและเอกชน แคมเปญนี้ได้ทำให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งหมดใช้งบประมาณของตนเองที่ มีอยู่แต่มุ่งไปยังเป้าหมายเดียวกัน ดังนั้นจึงเป็นการส่งเสริมซึ่งกันและกัน โดยมี ททท. เป็นผู้ประสาน ระหว่างคณะทำงานจากภาครัฐและเอกชนกว่า 60 แห่ง เพื่อให้เกิดการบูรณาการที่เข้มแข็งมากยิ่งขึ้น ททท. ได้ออกแบบองค์ประกอบปลีกย่อยต่าง ๆ ที่เหมาะสม เช่น โลโก้ มาสคอท และทำให้แพร่หลาย สามารถใช้ได้ทั่วไป องค์กรภาครัฐต่าง ๆ ก็ได้ใช้เช่นกัน แม้ว่าจะไม่มีงบประมาณด้านการตลาดที่ชัดเจน แคมเปญนี้ได้กระตุ้นตลาดโดยการสร้างสภาพแวดล้อมให้กระตือรือร้น มีความหวัง และแสดงถึงความ ต้องการที่จะก้าวหน้าต่อไป ด้านการจัดการ ได้มีความพยายามที่จะเปลี่ยนแปลงระบบของรัฐบาลด้านการท่องเที่ยว เนื่องจากการท่องเที่ยวมีความเกี่ยวข้องกับกระทรวงต่าง ๆ หลายกระทรวง และ ททท. ซึ่งมีสถานะเป็น เพียงรัฐวิสาหกิจแห่งหนึ่งเท่านั้น จะไม่สามารถรองรับการเติบโตของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ซึ่งเติบโต ขึ้นในอนาคตได้ จึงมีการเสนอให้จัดตั้งคณะกรรมการด้านการท่องเที่ยวแห่งชาติ โดยมีนายกรัฐมนตรีเป็น ประธานและที่สำคัญคือได้มีการก่อตั้งสำนักงานของคณะกรรมการชุดนี้ เพื่อสื่อสารด้านการพัฒนาทั้งหมด เช่นเดียวกันกับคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติด้านการท่องเที่ยว การสื่อสารที่ดีขึ้นระหว่างสำนักงบประมาณ คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ และ ททท. ได้ทำให้เกิดการบูรณาการด้านงบประมาณที่ดีขึ้น ทั้งควบคู่ไปกับเป้าหมายรวม แนว ทางการทำวิจัย มาตรฐานการวัด และกระบวนการประเมินผลที่เป็นไปในครรลองเดียวกัน ซึ่งนำไปสู่การ ใช้เงินทุนของภาครัฐได้มีประสิทธิภาพและถูกเป้าหมาย รวมถึงการได้รับความร่วมมือเพิ่มขึ้นจากประเทศ เพื่อนบ้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศในกลุ่ม ASEAN และ GMS มีส่วนช่วยเสริมคุณค่าของแคมเปญ การตลาดต่าง ๆ จากการระดมเงินงบประมาณและใช้ทรัพยากรร่วมกัน
37 บทเรียนจากการพัฒนาในระยะที่ 3 คือ แม้ว่าจะมีความต้องการที่จะดำเนินการพัฒนาเพื่อให้ เกิดความยั่งยืน แต่เป้าหมายนั้นยังคงยากที่ทำให้เป็นจริงได้ ทุกรัฐบาลยังคงมุ่นเน้นการส่งเสริมให้ นักท่องเที่ยวเดินทางเข้ามาเป็นจำนวนมากยิ่งขึ้น และก่อให้เกิดรายได้จากต่างประเทศมากยิ่งขึ้น เพื่อ ดึงดูดการลงทุนภาคเอกชนและทำให้ตลาดเติบโตมากขึ้น ซึ่งในที่สุดได้ทำให้เกิดการละเมิดกฎหมายหลาย ฉบับ ในขณะที่มีความห่วงใยต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมเพียงเล็กน้อยเท่านั้น ในขณะที่จำนวนนักท่องเที่ยวพื้นฐานเพิ่มขึ้น อัตราการเติบโตโดยเฉลี่ยประจำปี กลับชะลอลง เล็กน้อย การแข่งขันมีสูงขึ้นกว่าแต่ก่อนควบคู่ไปกับการเกิดขึ้นของสถานที่ท่องเที่ยวใหม่ ๆ ในภูมิภาค ศักยภาพของประเทศไทยเริ่มลดลงเป็นผลเนื่องมาจาก การแข่งขันและความต้องการในการลงทุนเพิ่มมาก ขึ้น รสนิยมของผู้บริโภคก็เปลี่ยนไป กลายเป็นความต้องการเดินทางไปยังสถานที่ท่องเที่ยว ที่ใส่ใจต่อ สังคมและสิ่งแวดล้อม การกีดกันทางการค้าที่นอกเหนือจากภาษีต่าง ๆ ได้กลายเป็นอุปสรรคและทำให้ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของไทยต้องเปลี่ยนแนวทางการพัฒนาเนื่องจากอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของ ไทยได้ตกอยู่ในวัฏจักรของ “กับดักราคาถูก” ซึ่งท้ายที่สุดจะนำไปสู่การเสื่อมลงของสถานที่ท่องเที่ยวและ สินค้าต่าง ๆ แผนการพัฒนาต่าง ๆ ที่จัดทำขึ้นเพื่อเพิ่มการบูรณาการในหลาย ๆ คราวได้ถูกยับยั้งด้วยเหตุผล ทางการเมือง โดยนักการเมืองที่มีอิทธิพล ซึ่งต้องการดึงให้การพัฒนาเข้าสู่ภูมิภาคของตน ทำให้เกิดการ พัฒนาที่กระจัดกระจายไปทั่ว ไม่ใช่การพัฒนาแบบบูรณาการ ในขณะเดียวกัน ได้มีการปลุกระดมของนัก กิจกรรมจากหลายชุมชน เพื่อกดดันรัฐบาลให้ยอมรับสิทธิของพวกเขาและเพื่อปกป้องทรัพยากรต่าง ๆ การประท้วงเหล่านี้ ได้นำไปสู่การยับยั้งโครงการพัฒนาต่าง ๆ ที่สามารถส่งผลกระทบต่อสังคมและ สิ่งแวดล้อม อย่างไรก็ตามนักกิจกรรมไม่มีกำลังเพียงพอที่จะป้องกันโครงการที่ด้อยคุณภาพได้ทั้งหมด 6.4 ระยะที่ 4 ตั้งแต่ปี พ.ศ.2545 - พ.ศ. 2557 รัฐบาลทักษิณเป็นรัฐบาลแรกภายใต้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ นับเป็นความหวังด้านความมั่นคง ทางการเมือง เนื่องด้วยเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ที่รัฐบาลได้รับเสียงข้างมากในสภาและอยู่ครบ 4 ปี เป็นครั้งแรกเช่นกันที่รัฐบาลจัดตั้งโดยรัฐบาลเพียงพรรคเดียวเป็นสมัยที่ 2 โดยรัฐบาลทักษิณมีระเบียบ วาระที่ชัดเจน (รวมทั้งด้านการท่องเที่ยว) ในการจัดตั้งและดำเนินนโยบาย โดยมิได้ให้ความสนใจต่อแผนฯ ฉบับที่ 9 ของคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ซึ่งได้เริ่มใช้เมื่อรัฐบาลยุคปี พ.ศ. 2545 เริ่มมีอำนาจ รัฐบาลทักษิณได้สนับสนุนการเปลี่ยนระบบรัฐบาล (หรือที่รู้จักว่าการปฏิรูประบบ ราชการ) มีการก่อตั้งกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา กระจายอำนาจออกไปสู่ภูมิภาคต่าง ๆ ในรูปแบบ ของผู้ว่าฯ CEO และกลุ่มจังหวัดต่าง ๆ (แต่ไม่ได้ลงไปสู่ท้องถิ่น เช่น ในระดับจังหวัด อำเภอ และเทศบาล) รัฐบาลในยุคนี้ได้ให้ความสำคัญกับการท่องเที่ยวอย่างมาก มีการจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการใน ระดับชาติหลายครั้ง โดยมีนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน มีการคิดค้นกลยุทธ์ด้านการท่องเที่ยว โดยมุ่งเป้าให้ ประเทสไทยเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวของภูมิภาคเอเชีย โดยวางเป้าหมายนักท่องเที่ยวเดินทางมาเป็น จำนวน 20 ล้านคน ภายในปี พ.ศ. 2551 นอกจากนี้ยังตั้งเป้าที่จะเพิ่มรายได้ที่เกิดขึ้นจากการท่องเที่ยว จาก 384,000 ล้านบาทเป็น 788,993 ล้านบาท แผนกลยุทธ์ด้านการท่องเที่ยว ได้ชี้ถึงความต้องการที่ จะกำจัดกลลวงราคาถูกและมุ่งไปสู่การท่องเที่ยวที่มีคุณภาพ โดยใช้แคมเปญการตลาดใหม่ ๆ ที่กำหนด ฐานะให้ประเทศไทยเป็น “สวรรค์บนดิน” สินค้าด้านการท่องเที่ยวและกลุ่มเมืองท่องเที่ยวถูกจัดให้เข้าคู่ กับตลาดเป้าหมาย เพื่อให้เกิดความสามารถในการแข่งขัน ภาคเอกชนจะถูกทำให้แข็งแกร่งมากยิ่งขึ้น การ ท่องเที่ยวจะถูกขยายออกไปนอกเหนือจากสถานที่ท่องเที่ยวที่มีอยู่ รัฐบาลทักษิณได้เสริมสร้าง
38 ความสัมพันธ์และความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้าน และเน้นให้เกิดความสมดุลระหว่างการตลาดและ การพัฒนาให้มีมากยิ่งขึ้น โดยการใช้แรงผลักดันของอุปทานมากกว่าอุปสงค์ ในระยะเริ่มต้นสมัยแรกของรัฐบาลนี้ ประเทศไทยยังคงต้องเผชิญกับปัญหาเศรษฐกิจถดถอย รัฐบาลได้ใช้การท่องเที่ยวเป็นเครื่องมือทางเศรษฐกิจโดยใช้โครงการกระตุ้นต่าง ๆ นอกเหนือจากการ ส่งเสริมการตลาดต่างประเทศต่าง ๆ งบประมาณได้รับการอนุมัติเพิ่มขึ้น เพื่อให้บรรลุถึงจำนวน นักท่องเที่ยวและรายได้จากการแลกเปลี่ยนเงินตราที่ตั้งเป้าไว้ การท่องเที่ยวภายในประเทศได้ถูกกระตุ้น ด้วยเช่นกัน เพื่อก่อให้เกิดการใช้จ่ายมากขึ้นและกระจายรายได้สู่ภูมิภาคต่าง ๆ รัฐบาลได้จัดทำแคมเปญ ด้านการตลาดต่างประเทศมากมายที่คล้ายคลึงกับ “The World Our Guest” โดยในช่วงแรกเนื้อหาหลัก ยังเป็น “Amazing Thailand” และแคมเปญเหล่านั้นเป็นประโยคเสริมท้าย สโลแกนของแคมเปญใน ปัจจุบันได้เปลี่ยนจาก “Amazing Thailand เป็น “Happiness on Earth” ตลาดในประเทศก็ได้มีการ ดำเนินการเช่นเดียวกัน แคมเปญว่า “เที่ยวเมืองไทย ไปได้ทุกเดือน (พ.ศ. 2545)” ได้เปิดตัวและต่อมาได้ เปลี่ยนเป็น “Unseen Thailand” แคมเปญใหม่ได้เปิดตัวในทุก ๆ ปี เช่น เที่ยวเมืองไทยไม่ไปไม่รู้ และ วันเดียวเที่ยวสนุก รัฐบาลได้มุ่งประชาสัมพันธ์ทั้งในตลาดในประเทศและต่างประเทศ เพื่อกระตุ้นการ ท่องเที่ยวและแสดงผลลัพธ์ที่จับต้องได้ ของการทำงานในด้านจำนวนตัวเลขที่แท้จริง กิจกรรมขนาดใหญ่ หลายกิจกรรมได้ดำเนินการ เช่น เทศกาลเย็นทั่วหล้ามหาสงกรานต์ เทศกาลศิลปวัฒนธรรมล้านนา เทศกาลภาพยนตร์ กีฬานานาชาติ และโครงการ Elite Card ในด้านการพัฒนา โครงการสำคัญโครงการหนึ่งคือการพัฒนาเกาะช้าง ได้มีการจัดตั้งองค์กร พิเศษ เพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวขึ้นเพื่อพัฒนาเกาะช้างตามแนวทางบูรณาการ โดยคาดว่าเกาะดังกล่าวจะ ได้รับสถานะเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ รัฐบาลชุดใหม่ (ที่มี ดร.ทักษิณกลับมาเป็นนายกรัฐมนตรีอีกครั้งหนึ่ง) คาดว่าจะอนุมัติเห็นชอบเรื่องนี้ ซึ่งจะทำให้กฎหมายอื่น ๆ ผ่านออกมาได้อย่างรวดเร็วและลงตัว โครงการ อื่น ๆ ที่เป็นไปในแนวทางเดียวกันรวมถึง Night Safari ในจังหวัดเชียงใหม่ และการปรับเปลี่ยนถนนราช ดำเนินกลางให้เป็นเสมือน ถนน Champs Elysees ในกรุงปารีส รัฐบาลได้เน้นย้ำความสัมพันธ์กับ ประเทศเพื่อนบ้านต่าง ๆ โดยการขยายความร่วมมือ และ การให้การสนับสนุนด้านการทำการตลาดและ การพัฒนาไปสู่อนุภูมิภาค เช่น สามเหลี่ยมมรกตไทย ลาว กัมพูชา อนุภูมิภาคกลุ่มแม่น้ำโขง (GMS) และ Heritage Necklace of Southeast Asia มีการเชื่อมโยงสินค้าทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เช่น พุกามของพม่า น่านของไทย และหลวงพระบางของลาว Hue ของเวียดนามและเสียมเรียบของกัมพูชา รวมถึงความร่วมมือในกรอบ อิระวดี เจ้าพระยา แม่โขง (ACMEC) รัฐบาลยุคนั้นยังได้ผลักดันการก่อสร้าง สนามบินสุวรรณภูมิที่ล่าช้า และในขณะนี้ได้ประการกำหนดเวลาเปิดที่แน่นอนออกสู่สาธารณะแล้ว นอกจากนั้นได้ดำเนินการนโยบายเปิดน่านฟ้า โดยสนับสนุนให้มีการให้บริการสายการบินราคาต่ำ สนับสนุนให้เกิดการยกระดับและพัฒนาคุณภาพสนามบินนานาชาติต่าง ๆ ในภูมิภาค และการพัฒนา ระบบขนส่งมวลชนให้ครอบคลุมพื้นที่ต่าง ๆ ในกรุงเทพและชานเมืองมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ รัฐบาลได้ เผชิญกับวิกฤตต่าง ๆ มากมาย เช่น โรค SARS สงครามอิรัก ไข้หวัดนก การก่อการร้าย ความไม่สงบ ภาคใต้ และล่าสุด คือ สึนามิ อย่างไรก็ตาม เนื่องจากความเป็นผู้นำและการบริหารจัดการที่ดี นายกรัฐมนตรีได้ดำเนินการเพื่อทำให้ผลกระทบจากวิกฤตการณ์เหล่านี้ต่อธุรกิจท่องเที่ยว เป็นเพียง ผลกระทบเพียงน้อยนิด และได้มีการฟื้นตัวอย่างรวดเร็ว บทเรียนจากการพัฒนาด้านการท่องเที่ยวในระยะที่ 4 คือ แม้ว่ารัฐบาลจะมีความตั้งใจอย่างสูง ในการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวด้านคุณภาพ แต่นโยบายการพัฒนาคุณภาพ เช่น การบริหาร จัดการ
39 อุปสงค์และอุทาน ทรัพยากรมนุษย์ในทุกระดับ การจัดกำหนดมาตรฐานต่าง ๆ การควบคุมคุณภาพ ความ ปลอดภัย และความมั่นคง ยังไม่ชัดเจน และไม่เป็นไปตามกลุ่มเป้าหมายเหมือนกับนโยบายด้านการตลาด ซึ่งอาจเป็นได้จากโครงการต่าง ๆ เพื่อเพิ่มจำนวนนักท่องเทียวโดยการสนับสนุนสายการบินต้นทุนต่ำ และ การเน้นการประชาสัมพันธ์และการทำการตลาด ทั้งในตลาดในประเทศและต่างประเทศ ดังนั้นการพัฒนา อาจใช้เวลามากกว่าที่จะเห็นผล ในขณะที่การตลาดสามารถกระทำได้ทันที อย่างไรก็ตาม จากประวัติการ พัฒนาการท่องเที่ยวของไทยได้พิสูจน์ให้เห็นว่า ถ้าขาดคุณภาพจะก่อให้เกิดผลกระทบในทางลบระยะยาว การดำเนินการของรัฐบาลที่แข็งขันคือการออกนโยบาย และการเข้าถึงในระดับบนสู่ล่าง แต่ หน่วยงานที่รับผิดชอบด้านการดำเนินการตามนโยบาย ขาดโอกาสที่จะเสนอความคิดใหม่ ๆ ให้กับรัฐบาล เช่น โครงการ Elite Card (Thai Privilege Cards) ซึ่งปรากฏผลต่ำกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้มาก และสามารถ เรียกได้ว่าเป็นความล้มเหลว อย่างไรก็ตามเนื่องจากเป็นนโยบายของรัฐบาล จึงจำเป็นต้องดำเนินการ ต่อไป การมีส่วนร่วมของประชาชนยังมีไม่มากพอ ที่จริงแล้ววิธีการทำงานในแนวดิ่งจากบนสู่ล่างมี ความเข้มแข็งมากยิ่งขึ้นแม้ว่ารัฐบาลจะได้พยายามกระจายอำนาจสู่ผู้ว่า CEO และกลุ่มจังหวัดต่าง ๆ แต่ ในความเป็นจริงแล้วการบริหารงานยังคงเป็นการออกนโยบายในส่วนกลางและผลักดันสู่ผู้ว่าในระดับ จังหวัด เนื่องจากในระดับภูมิภาคยังไม่มีศักยภาพในการจัดประเภทและลำดับความสำคัญในเรื่องความ ต้องการของคนในท้องถิ่น โดยการใช้แนวทางจากรากหญ้าสู่เบื้องบน คนในท้องถิ่นยังไม่มีความสามารถใน
1 กระทรวง ที่ผ่านมา ภาระงานได้ ถูกจัดสรรให้ทางกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬามีหน้าที่รับผิดชอบด้านการริเริ่มนโยบาย การวางแผน การพัฒนาและออกกฎระเบียบต่าง ๆ ซึ่งเคยอยู่ภายใต้ความรับผิดชอบของ ททท. เจ้าหน้าที่ ททท. ที่ดูแล ด้านนี้ไม่ได้โอนย้ายตามงานไป ในขณะที่เจ้าหน้าที่กระทรวงไม่มีประสบการณ์และพื้นฐานเพียงพอที่จะรับ หน้าที่ต่อ ก่อให้เกิดปัญหาช่องว่างขนาดใหญ่ในระยะการปรับเปลี่ยน ขณะที่ ททท. ในปัจจุบันมีหน้าที่ รับผิดชอบน้อยลง และรับผิดชอบแค่ด้านการตลาดและการส่งเสริม ทำให้ในปัจจุบัน ททท. มีจำนวน พนักงานมากเกินภาระงาน และกระทรวงขาดพนักงาน ปัญหาจากการพัฒนาที่ได้สะสมเป็นเวลากว่า 40 ปี ไม่ได้รับการแก้ไข เช่น การพัฒนาที่ไม่ เหมาะสม การก่อสร้างที่ไม่ถูกกฎหมาย และการละเมิดกฎหมายด้านสิ่งแวดล้อมไปจนถึงการพัฒนาด้าน บุคลากร การตั้งมาตรฐานการให้บริการ การรับประกันคุณภาพ ความปลอดภัยของชีวิตและทรัพย์สิน ในขณะที่มีการเร่งให้จำนวนนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่า จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะให้ความสำคัญ กับการสนับสนุนการพัฒนาด้าน Hardware Software และ Peopleware ซึ่งจะต้องใช้เวลาและ งบประมาณอย่างมากแน่นอนในความเป็นจริงแล้วจึงไม่สามารถกระทำได้ในระยะเวลาที่กำหนดไว้ แม้ว่าจะไม่มีตัวเลขและรายงายอันใดที่จะแสดงถึงการกระจายรายได้ด้านการท่องเที่ยวใน ขณะนี้ แต่ก็ยังไม่มีหลักฐานแสดงถึงการพัฒนาอย่างมีนัยสำคัญเช่นกัน นักท่องเที่ยวได้กระจายตัวออกไป ยังภูมิภาค
ด้านเศรษฐกิจ สถานะทางสังคม ความรู้ และการสนับสนุนด้านเทคนิค เพื่อสร้างพลังในการต่อรองให้ตน เป็นส่วนหนึ่งของระบบ การปรับเปลี่ยนโครงสร้างให้เป็นกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬายังไม่คงที่ ยังมีการพูดถึงการ ปรับเปลี่ยนต่อไปเป็นกระทรวงวัฒนธรรมและการท่องเที่ยว ส่วนสำคัญคือปัญหาพื้นฐานไม่ได้รับการแก้ไข กล่าวคือ การท่องเที่ยวเป็นกิจกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับกระทรวงมากกว่า
40 ต่าง ๆ ซึ่งมีนักท่องเที่ยวอยู่มากกว่า 1 ล้านคน แต่เป็นเพียงแค่บางภูมิภาคเท่านั้น จุดเหล่านี้ไม่ได้รับการ พิจารณาในการวางแผนกลยุทธ์ของรัฐบาล การพิจารณาจากกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการลงทุนขนาดใหญ่ ทำให้เห็นว่ามีการลงทุนไม่มากนักในด้านการท่องเที่ยวที่อิงชุมชน ซึ่งเอื้อประโยชน์โดยตรงต่อชุมชน ตัวอย่างเช่น เทศกาลศิลปะและวัฒนธรรมเมืองล้านนา ใช้งบประมาณมูลค่ากว่า 70 ล้านบาท แต่กิจกรรม ทั้งหมดดำเนินการโดยบริษัทจากกรุงเทพที่เป็นผู้ทำสัญญารับเหมาดำเนินการ จนทำให้คนล้านนาเริ่มตั้ง คำถามว่าทำไม่เทศกาลศิลปวัฒนธรรมเมืองล้านนา จึงให้คนล้านนามีส่วนร่วมเพียงน้อยนิด ดังนั้นจึงไม่ แน่ใจว่าผลประโยชน์ด้านเศรษฐกิจจะตกลงไปสู่ชุมชนมากเท่าใด แม้ว่าวิกฤตการณ์ต่าง ๆ ในอดีต เช่น การก่อการร้าย โรค SARS ไข้หวัดนก สงครามอิรัก ความ ไม่สงบทางภาคใต้ และสึนามิ จะได้รับการจัดการเป็นอย่างดี แต่ก็ยังมีจุดอ่อนที่จำเป็นต้องพัฒนา เช่นการ ขาดความพร้อมในการจัดการกับปัญหา การขาดระบบที่ดี การวางแผนและอำนาจในการดำเนินการและ รับผิดชอบ และศูนย์บริหารจัดการวิกฤต ผลที่ตามมาคือการตอบสนองเบื้องต้นที่ล่าช้า ความสับสนในการ ดำเนินการและเมื่อถึงที่สุดจะเกิดความยายามมากเกินไป โดยไม่จำเป็น ซึ่งส่งผลให้เกิดความสูญเสียมาก ยิ่งขึ้น การสิ้นเปลือง และการใช้งบประมาณซ้ำซ้อน 6.5 การพัฒนาระยะที่ 5 พ.ศ. 2558 ปัจจุบัน ในปัจจุบัน การท่องเที่ยวเป็นอุตสาหกรรมที่เกื้อกูลเรื่องความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคม จิตวิทยา และการต่างประเทศ เป็นอุตสาหกรรมที่ต้องบูรณาการทุกภาคส่วน จุดอ่อนคือมีความอ่อนไหวสูงต่อ ผลกระทบตลอดเวลา เช่น ภัยธรรมธรรมชาติ การเมือง และเศรษฐกิจผันผวน ซึ่งแม้ที่ผ่านมาไทยสามารถ ฟื้นตัวอย่างรวดเร็ว แต่ความท้าทายคือ ด้วยอัตราการขยายดังกล่าว จึงต้องเตรียมพร้อมด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เร่งเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน” การปรับตัวในแนวทางท่องเที่ยว 4.0 ยังมีบริบทสอด รับกับเป้าหมายความร่วมมือเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ หรือ Sustainable Development Goals (SDGs) ที่ส่งเสริมให้ทั่วโลกพัฒนาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวมุ่งสู่คุณค่าสูงและสร้าง ผลกระทบทางลบต่ำในอนาคตด้วย สำหรับกลไกที่ ททท จะมุ่งไปสู่ยุค 4.0 จากนี้จะมุ่งสู่ 5 เรื่องหลัก คือ 1.การบริหารจัดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 2. สร้างปัจจัยแวดล้อมและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่เอื้อต่อการ ท่องเที่ยว 3.การตลาดสมัยใหม่เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต 4.การสร้างวิสาหกิจและสตาร์ทอัพ ด้านท่องเที่ยว บนพื้นฐานของนวัตกรรม และ 5.การสร้างเครือข่ายความร่วมมือที่มีประสิทธิภาพ กับ หน่วยงานรัฐและเอกชนทั้งในและต่างประเทศ ในทุกส่วนของห่วงโซ่คุณค่าด้านท่องเที่ยว ในการสร้างความยั่งยืนที่เป็นกลไกแรก จะสร้างให้สำเร็จด้วยการเปลี่ยนผ่านกระบวนทัศน์ที่เคย มองใน 4 เรื่องเดิมสู่มิติใหม่ คือ จากการมองท่องเที่ยวเป็นสินค้า (Product) ต้องปรับสู่การให้ คุณค่า แหล่งท่องเที่ยว (Place) จากการสร้างสัญลักษณ์ (Brand) เปลี่ยนสู่การสร้างอัตลักษณ์ (Identity) แทน เช่นเดียวกับเป้าหมายทางเศรษฐกิจเดิมที่มุ่งแต่ กำไร (Profit) ก็จะเคลื่อนสู่การนำสิ่งที่ดีกลับคืนสู่สังคม และสิ่งแวดล้อม (Purpose) ซึ่งหมายความว่าจะต้องเปลี่ยนจากการให้ความสำคัญแต่ ราคา (Price) ไป มองที่ คุณค่า (Value) รวมถึงการเปลี่ยนจากเป้าหมายเชิงปริมาณนักท่องเที่ยว (Volume) ไปสู่การสร้าง ผลประโยชน์องค์รวม (Net Benefit) แทน ส่วนการสร้างปัจจัยแวดล้อมและโครงสร้างพื้นฐานนั้น เน้น“ความคิดสร้างสรรค์และเป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม” นึกถึงความสมดุลกับขีดความสามารถในการรองรับ ด้วยการทำงาน 3 ด้าน ได้แก่ 1.ส่งเสริม กิจกรรมที่มีความสอดคล้องกับศักยภาพของพื้นที่ และกระแสความต้องการตลาดโลก เช่น เชิงสุขภาพ, เชิงนิเวศ, เชิงศึกษาเรียนรู้ ฯลฯ รวมถึงดำเนินกลยุทธ์การตลาดรูปแบบใหม่ที่เจาะลึกถึงตลาดใหม่ที่มี ศักยภาพได้ 2. การสร้างเครือข่ายธุรกิจรายภูมิภาค ให้มีเมืองและชุมชนศูนย์กลางในภูมิภาคที่สำคัญ เพื่อ
41 เป็นจุดรับและกระจายให้ถึงระดับท้องถิ่น เพื่อร่วมรับประโยชน์จากการเปิดเสรีทางการค้า รองรับความ ต้องการของนักท่องเที่ยว พร้อมกับเปิดโอกาสในการพัฒนาพื้นที่เมืองชายแดนเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษด้าน ท่องเที่ยวด้วย และ 3.บูรณาการกับทุกหน่วยงานเพื่อขจัดจุดอ่อนที่เป็นข้อจำกัดอยู่หลายด้าน เช่น สาธารณูปโภค, ความพร้อมด้านบุคลากร, สุขอนามัย, การจราจร, ความปลอดภัย เพื่อจะได้สร้างโอกาส และแรงจูงใจในการพัฒนาการค้าและการลงทุนด้านท่องเที่ยวมากขึ้น ด้านการตลาดสมัยใหม่ ทำให้การทำงานต้องปรับให้ทันเทคโนโลยีและประสิทธิภาพในการรับ ส่งข่าวสารที่ทันสมัยและรวดเร็วมาก และทำให้การรับรู้เป็นไปอย่างสมบูรณ์มากขึ้นทั้งภาพและเสียง ดังนั้นจึงต้องนำข้อนี้มามุ่งเป้าเรื่องการเพิ่มค่าใช้จ่ายนักท่องเที่ยว เน้นเจาะตลาดมีศักยภาพสูง สร้าง มูลค่าเพิ่มด้วยการทำให้เห็นคุณค่าและเอกลักษณ์วิถีไทยที่แตกต่าง และแข่งขันได้ในระดับโลก ซึ่งต่อไป จะต้องทำตลาดแบบผสมผสานทั้งเชิงภูมิประเทศ (Geographic) หรือตามโปรไฟล์นักท่องเที่ยว (Demograhic) ที่มีอายุ เพศ รายได้ ต่างกันไป หรือแบ่งตามความสนใจชื่นชอบ (Acitivity/Behaviour ) เพื่อทำให้เกิดการสื่อสาร “ตรงจุด”ไปที่ความต้องการเฉพาะแต่ละกลุ่ม กระตุ้นให้เกิดการตัดสินใจเดินทาง ฉับไวทันทีด้วยการใช้เทคโนโลยีสร้างการรับรู้ผ่านสังคมออนไลน์ และนิวมีเดียต่าง ๆ รวมถึงการให้ ความสำคัญกับการท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่มที่มีแม้จะมีจำนวนน้อย แต่สร้างรายได้สูงได้ด้วยการสนับสนุนให้ เอกชนและชุมชนในพื้นที่พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวของตัวเองขึ้นมาตอบสนอง และหันมองไปรอบข้างไปยัง เพื่อนบ้าน สร้างการท่องเที่ยวแบบ Collaborative Tourism หรือ การทำตลาดแบบเกื้อกูล กระชับความ ร่วมมือและการเป็นหุ้นส่วนด้านท่องเที่ยว เพื่อรักษาฐานตลาดเดิมและแสวงหาฐานตลาดใหม่ แทนที่จะ แย่งชิงลูกค้ากันเอง สุดท้ายคือ การสร้างเครือข่ายความร่วมมือนั้น จะทำงานร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เน้นการ สร้างสรรค์ต่อยอดสิ่งที่ท้องถิ่นมีอยู่ เพื่อให้น่าสนใจเพิ่มขึ้น เช่น ติดไฟส่องสว่างโบราณสถาน, อาคารที่มี ความสวยงามทางสถาปัตยกรรม เป็นต้น รวมถึงขอความร่วมมือจากสถาบันการศึกษามาร่วมคิดร่วมสร้าง ภายใต้หลักการต้องกระจายประโยชน์จากท่องเที่ยวคืนสู่ท้องถิ่น ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชน และยัง ต้องรับมือการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างประชากร ที่ทำให้เกิดความซับซ้อนในการรับมือทำการตลาด เพราะแม้ว่าจะเข้าสู่“สังคมผู้สูงอายุ” ที่คาดว่าในปี พ.ศ. 2573 จะมีกลุ่มนี้สูงถึง 17% ของประชากร ทั้งหมดแต่ความท้าทายคือ ในเชิงพฤติกรรมจะไร้เส้นแบ่งทางอายุ (Age Blurring) มากขึ้น เมื่อเด็กหรือ วัยรุ่นจะไม่รู้สึกว่าตัวเองเด็ก ส่วนคนสูงอายุยังไม่รู้สึกว่าตัวเองแก่ ยังมีความกระฉับกระเฉงพร้อมเดินทาง รวมถึงกระแส Travelism ในกลุ่มท่องเที่ยวหน้าใหม่ในระดับชนชั้นกลางในเมือง ที่กลับต้องการแสวงหา ประสบการณ์ในชนบท ชอบการออกแบบท่องเที่ยวเองและมีความเป็นปัจเจกสูง ซึ่งเป็นปัจจัยที่ก่อให้เกิด กระแสเศรษฐกิจเชิงแบ่งปัน (Sharing Economy) เช่น แอร์บีแอนด์บีที่เติบโตอย่างมากในปัจจุบัน อนาคตของการอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของไทยอาจสามารถวิเคราะห์ได้จากการท่องเที่ยว ไทยในระยะปัจจุบันนี้ การท่องเที่ยวไทยคือการเป็นอุตสาหกรรมที่ยั่งยืนซึ่งหมายถึง การใช้วิถีทางที่ยั่งยืน ในการรวมเศรษฐกิจ นิเวศวิทยา และสังคมเข้าไว้ด้วย ไม่ใช่เพียงแต่การลงทุนในธุรกิจและการเติบโตทาง เศรษฐกิจเท่านั้น อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวจะไม่สามารถดำรงอยู่ได้ถ้าไม่มีการรักษาวัฒนธรรม สังคม และสิ่งแวดล้อม วิสัยทัศน์ของความยั่งยืนทางเศรษฐกิจต้องเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับ Sustainable Development Goals (SDGs) ขององค์การสหประชาชาติ และ ST EP (Sustainable Tourism Elimination Poverty) of UNWTO ซึ่งนอกเหนือไปจากการก่อให้เกิดรายได้โดยสม่ำเสมอแล้ว ควรใช้ การท่องเที่ยวให้เป็นเครื่องมือในการลดความยากจนในชุมชนชนบทต่าง ๆ ซึ่งประชากรส่วนใหญ่เป็น
42 เกษตรกร รายได้ปกติของเกษตรขึ้นอยู่กับราคาของสินค้าซึ่งได้ตกลงในตลาดโลก ทรัพยากรต่าง ๆ ซึ่งใช้ ในการเกษตรได้มีศักยภาพในด้านการท่องเที่ยว เช่น สาธารณูปโภคด้านชลประทาน ภูเขา ป่าไม้ ชุมชน และวิถีการดำเนินชีวิตที่น่าสนใจซึ่งสามารถเพิ่มค่าให้แก่การท่องเที่ยวที่อิงชุมชน หรือ การท่องเที่ยวเชิง เกษตร ผ่านทางการบริหารจัดการที่ดี และการพัฒนาความสามารถต่าง ๆ ของเกษตรกรในการบริหาร จัดการกิจกรรมด้านการท่องเที่ยวต่าง ๆ วิสัยทัศน์ด้านความยั่งยืนของชุมชนและวัฒนธรรม ไม่ควรอยู่ที่การควบคุมให้เป็นเครื่องมือรับใช้ ของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ในแนวทางที่อาจทำให้ชุมชนและวัฒนธรรมเสื่อมทรามหรืออ่อนแอลง แต่ควร เป็นการใช้การท่องเที่ยวเป็นเครื่องมือในการสร้าง และทำให้ชุมชนท้องถิ่นมีความเข้มแข็งขึ้น เพื่อที่จะ สามารถสืบสานวัฒนธรรมอย่างภาคภูมิ และสร้างสังคมที่นิยมความสงบสุข ความเคารพซึ่งกันและกัน ความมีศักดิ์ศรี และพร้อมที่จะแบ่งปันความสุขและความงามร่วมกับนักท่องเที่ยว โดยได้รับผลประโยชน์ ทางด้านเศรษฐกิจเป็นการตอบแทนประเด็นสำคัญคือการใช้การท่องเที่ยวเป็นเครื่องมือในการพัฒนา สังคมไทย ให้เป็นหนทางสู่นันทนาการ กระบวนการเรียนรู้ การศึกษา และการเป็นแม่พิมพ์ในการสร้าง เยาวชนที่มีคุณภาพเพื่อวันข้างหน้า วิสัยทัศน์ด้านความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมค่อนข้างชัดเจน ชุมชนท้องถิ่นต่าง ๆ คือผู้ที่ต้องอยู่กับ ทรัพยากรไม่ว่าจะเป็น ป่าไม้ แหล่งน้ำ และทิวทัศน์ที่สวยงาม ถ้าสภาวะทางเศรษฐกิจของชุมชนยังคงแย่ อยู่ จะเป็นการยากที่จะรักษาสิ่งแวดล้อมของท้องถิ่น หากไม่ขายที่ดินให้แก่นักลงทุน พวกเขาก็จะบุกรุก พื้นที่ป่าไม้เพื่อขยายที่ดินสำหรับทำการเกษตร แต่ถ้าพวกเขามีรายได้เสริมจากการท่องเที่ยว จะทำให้พวก เขาตระหนักถึงคุณค่าของทรัพยากรธรรมชาติที่ก่อให้เกิดผลประโยชน์โดยตรงแก่พวกเขา ซึ่งจะนำไปสู่การ สงวนรักษาทรัพยากรธรรมชาติ ดังนั้น การพัฒนาการท่องเที่ยวที่ยั่งยืนโดยรวมคือการพัฒนาที่มีการ กระจายตัวที่ดี และเอื้อประโยชน์ต่อคนจำนวนมากที่สุด ชุมชนที่เข้มแข็งคือชุมชนที่มีความสุขเนื่องจาก ชุมชนที่มีความสุขที่สุดจะสร้างสินค้าการท่องเที่ยวที่ดีที่สุด ความจำเป็นด้านการท่องเที่ยวในยุตปัจจุบันคือ ความสำคัญของการแข่งขันในระดับสากล ควบคู่ไปกับกิจกรรมที่มุ่งตรงไปยังการบรรเทาความยากจนในชุมชน การท่องเที่ยวอิงอยู่กับการแข่งขัน การส่งเสริม การลงทุน และการพัฒนาขนาดใหญ่ ซึ่งเป็นสิ่งที่ถูกต้องและจำเป็น ในขณะเดียวกันก็มีการให้ ความสำคัญกับการท่องเที่ยวที่เข้าถึงชนชั้นรากหญ้าในชุมชน อย่างไรก็ตาม ได้มีการทำวิจัยและวางแผน เพื่อพัฒนาชุมชนชนบทหลายแห่งให้เป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวแบบอิงชุมชน ชุมชนมีความพร้อมแต่ขาด การสนับสนุนในด้านการตลาด การพัฒนาสินค้าและการสร้างเครือข่าย ซึ่งทั้งหมดนี้อยู่เกิดความสามารถ ของชุมชนที่จะทำเองได้ การกระจายอำนาจไปยังจังหวัดต่าง ๆ เป็นการกระทำที่ดีในหลักการแต่ขาด ความเชื่อมโยงที่เพียงพอกับชุมชนท้องถิ่นต่าง ๆ นอกจากชุมชนท้องถิ่นจะไม่มีช่องทางเรียกร้องสิ่งที่ตน ต้องการ ผ่านทางระบบที่เหมาะสมแล้ว ก็ยังไม่มีกำลังที่เพียงพอที่จะโน้มน้าวให้เกิดนโยบลายต่าง ๆ หรือ ดำเนินการโครงการพัฒนาต่าง ๆ ที่สอดคล้องกับความต้องการและผลประโยชน์ของชุมชน สำหรับปี พ.ศ. 2562 ได้กำหนดรายได้ทางการท่องเที่ยวไว้ที่ 3.41 ล้านล้านบาทหรือเพิ่มขึ้น ประมาณ 10% เมื่อเทียบกับปี พ.ศ. 2561 โดยแบ่งเป็น ตลาดต่างประเทศ 2.29 ล้านล้านบาท และตลาด ในประเทศ 1.12 ล้านล้านบาท ทั้งนี้ จะเน้นการทำงานเชิงรุกอย่างมียุทธศาสตร์ ภายใต้แนวคิด Go Strategyเน้นบูรณาการทำงานร่วมกับทุกภาคส่วน และมุ่งให้การท่องเที่ยวเป็นเครื่องมือลดความเหลื่อม ล้ำ และเป็นส่วนสำคัญของยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และช่วยหนุนจีดีพีขยายตัวสูงกว่า 5% ต่อปี โดยจะเน้น พัฒนาทั้งด้านซัพพลายและดีมานด์ โดย ททท จะต้องเข้ามามีบทบาทด้านซัพพลายมากขึ้น ด้วยการ ผลักดันให้สินค้าท่องเที่ยวในระดับท้องถิ่นได้รับความนิยมในตลาดโลก (Local Go Global) ขณะที่ด้านดี
43 มานด์ยังคงทำตลาดภายใต้แบรนด์ อะเมซิ่ง ไทยแลนด์ (Amazing Thailand) กระตุ้นให้นักท่องเที่ยว กลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ เกิดการเดินทางจริง เพื่อสร้างรายได้หมุนเวียนในประเทศ พร้อมปรับสัดส่วน นักท่องเที่ยวระหว่างเมืองหลักและเมืองรองให้สมดุลมากขึ้นเพื่อจะก่อให้เกิดรายได้มากยิ่งขึ้น และรายได้ ดังกล่าวจะช่วยกระตุ้นการท่องเที่ยวและกระจายไปทั่วประเทศ แต่ถ้ายังไม่มีนโยบายที่ชัดเจน เกี่ยวข้อง กับการบริหารจัดการและการอนุรักษ์การรักษา สมดุลระหว่าอุปสงค์และอุปทาน และความสามารถใน การรองรับของแหล่งท่องเที่ยว การพัฒนามาตรฐานการให้บริการ ความปลอดภัยและบุคลากร จำนวน นักท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วก็จะไม่เหมาะสมสำหรับอุตสาหกรรมที่มีปัญหาสั่งสมมาเป็นเวลาหลาย ปี มีแต่จะก่อให้เกิดความสูญเสียในระยะยาวและจะส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมของชุมชน หากทิศทางในการพัฒนาดำเนินไปตามแนวทางที่ได้กล่าวข้างต้น การท่องเที่ยวจะไม่สามารถ เป็นไปในแนวทางที่ยั่งยืนได้ ไม่ว่าจะทำการตลาดเท่าใดก็ตาม ถ้าสินค้าไม่สามารถขายได้ (เนื่องจากไม่มี คุณภาพ) ก็เป็นเรื่องยากที่จะคงอยู่ได้อย่างยั่งยืน นอกจากนั้น ยังจะก่อให้เกิดผลกระทบต่อสังคมและ สิ่งแวดล้อม หรือจำนวนนักท่องเที่ยวที่มากขึ้นอาจนำความสูญเสียที่มากกว่าเข้ามา ไม่ว่าจะเป็นในรูปของ ค่าใช้จ่ายต่อคนที่ลดลง ค่าใช้จ่ายในการรณรงค์เพื่อการกู้คืนและการฟื้นฟูที่เพิ่มมากขึ้น ความเสื่อมของ สังคมและสิ่งแวดล้อม ดังนั้น รัฐบาลควรให้ความสนใจมากยิ่งขึ้นในการรักษาสมดุลของอุปทานและอุป สงค์ วิถีทางที่ถูกคือการให้อุปทานเป็นหลัก เนื่องจากง่ายต่อการควบคุมมากกว่า ดังนั้นจึงมีความยั่งยืน กว่าอุปสงค์จะควบคุมได้ยากกว่าเนื่องจากถูกผลักดันโดยการแข่งขัน และยังไวต่อวิกฤตต่าง
รวมทั้งดำเนินการวางแผนตามทิศทางที่ได้กล่าวไว้ในตอนต้น ข้อเสนอที่ก่อให้เกิดการ ดำเนินการเช่นนี้ควรมีการนำเสนออย่างเป็นระบบ มีการชี้ให้เห็นถึงความสัมพันธ์ที่ชัดเจนต่อภาคสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และการเมืองอื่น ๆ โดยอิงการศึกษาวิจัยที่มีแรงผลักดันจากหลักศีลธรรมต่าง ๆ และ ได้รับการสนับสนุนจากชุมชนท้องถิ่นต่าง ๆ หรือคนส่วนใหญ่ 7. บทสรุป การท่องเที่ยวมีความสำคัญทั้งในด้าน เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยการพัฒนาการ ท่องเที่ยวต้องอาศัยความพร้อมทั้งปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอกของแหล่งท่องเที่ยวเพื่อให้การพัฒนา เป็นไปในทิศทางที่ดี มีประสิทธิภาพ และเป็นระบบ การพัฒนาการท่องเที่ยวอาจส่งผลกระทบทั้งด้านบวก และด้านลบต่อเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้ประเทศไทยมีการพัฒนาการท่องเที่ยวมาตั้งแต่ปี พ.ศ 2503 โดยสามารถแบ่งเป็น การพัฒนาการท่องเที่ยว 5 ระยะ เริ่มตั้งแต่ พ.ศ 2503 จนถึงปัจจุบัน โดยในระยะการพัฒนาการท่องเที่ยวในปัจจุบันของประเทศไทย คือการมุ่งพัฒนาการท่องเที่ยว 4.0 โดย ให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนที่ส่งเสริมให้การท่องเที่ยวมีคุณค่าสูงและมีผลกระทบทาง ลบต่ำ
ๆ ซึ่งสามารถ เห็นได้ว่าเกิดขึ้นบ่อยครั้งในปัจจุบัน รัฐบาลจำเป็นต้องตระหนักมากยิ่งขึ้น และดำเนินการปรับเปลี่ยน นโยบายของตน
44 8. แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 2 1. การพัฒนาการท่องเที่ยวมีความสำคัญอย่างไร จงอธิบาย 2. ปัจจัยภายในในการพัฒนาการท่องเที่ยวมีอะไรบ้าง และสำคัญอย่างไร 3. ปัจจัยภายนอกในการพัฒนาการท่องเที่ยวมีอะไรบ้าง และสำคัญอย่างไร 4. ให้อธิบายผลกระทบเชิงบวกในการพัฒนาการท่องเที่ยว 5. ให้อธิบายผลกระทบเชิงลบในการพัฒนาการท่องเที่ยว 6. ให้อธิบายการพัฒนาการท่องเที่ยวของประเทศไทยในระยะที่ 1 มาพอสังเขป 7. ให้อธิบายการพัฒนาการท่องเที่ยวของประเทศไทยในระยะที่ 2 มาพอสังเขป 8. ให้อธิบายการพัฒนาการท่องเที่ยวของประเทศไทยในระยะที่ 3 มาพอสังเขป 9. ให้อธิบายการพัฒนาการท่องเที่ยวของประเทศไทยในระยะที่ 4 มาพอสังเขป 10. ให้อธิบายการพัฒนาการท่องเที่ยวของประเทศไทยในระยะที่ 5 มาพอสังเขป
เอกสารอ้างอิง บทที่ 2
ฉลองศรี พิมลสมพงศ์ (2550). การวางแผนและพัฒนาตลาดการท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตุ้ย ชุมสาย, หม่อมหลวง และ ญิบพัน พรหมโยธี (2522). ปฐมบทแห่งวิชาการท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิชจำกัด. นิคม จารุมณี (2536). การท่องเที่ยวและการจัดการอุตสาหกรรมท่องเที่ยว กรุงเทพฯ : โอ เอส พริ้น
. กรุงเทพฯ: โอ เอส พริ้นติ้งเฮาส์.
Fridgen, J.D. (1990). Dimensions of Tourism. Michigan: Educational Institute of the American Hotel and Motel Association.
Gartner, W. (1996). Tourism Development: Principles, Processes and Policies. USA: John Wiley & Son.
Lea, J. (1998). Tourism and Development in the Third World. London: Routledge. Lickorish, L.J., & Jenkins, C.L. (1997). An Introduction to Tourism. Oxford: Butterworth Heinemann.
45
วิธีการพัฒนา ชนบทในแอฟริกา รูปแบบองค์กรที่ปรึกษาและให้คำแนะนำทางเศรษฐกิจและสังคม. กรุงเทพฯ : คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. วิรัช วิรัชนิภาวรรณ. (2532). หลักการพัฒนาชุมชนการพัฒนาชุมชนประยุกต์
ติ้ง เฮ้าส์. ปกรณ์ ปรียากร (2538). เอกสารการสอนชุมชนวิชาการบริหารการพัฒนาชนบท
46
47 บทที่ 3 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน การท่องเที่ยวไม่ว่าจะให้คำจำกัดความในลักษณะใด คำนิยามของการท่องเที่ยวจะอยู่ภายใต้ เงื่อนไขของการเดินทางจากภูมิลำเนาชั่วคราวด้วยความสมัครใจและไม่เกี่ยวข้องกับการประกอบอาชีพ ถาวร ทั้งนี้ จากการเดินทางของนักท่องเที่ยวไปตามสถานที่ต่าง ๆ นั้น อาจส่งผลกระทบต่อทรัพยากรใน แหล่งท่องเที่ยวและชุมชนในท้องถิ่นในระยะยาวได้ หลักฐานทางวิชาการแสดงให้เห็นถึงกระแสการ ท่องเที่ยวทางเลือกที่มุ่งเน้นความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม สังคม ชุมชนท้องถิ่นและเศรษฐกิจของท้องถิ่น การท่องเที่ยวทางเลือกที่ถูกเรียกว่าการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนจึงได้รับความนิยมมากและยึดเป็นหลักกการ ในการพัฒนาการท่องเที่ยวในปัจจุบัน ในบทที่ 3 อธิบายหลักการการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน แนวคิด รูปแบบและกิจกรรมของการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนอันจะมีส่วนช่วยในการรักษาทรัพยากรการท่องเที่ยว สภาพแวดล้อมของแหล่งท่องเที่ยว การมีส่วนร่วมของชุมชน สังคมและเศรษฐกิจ และการคำนวนขีด ความสามารถการรองรับได้เพื่อการส่งเสริมการพัฒนาอย่างยั่งยืนต่อไป 1 หลักการพื้นฐานที่สำคัญของการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 1.1 ศาสตร์ของสิ่งแวดล้อม การพัฒนาแนวนี้เน้นให้ความสำคัญสูงมากแก่ค่าของธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมถือว่าคุณภาพของสิ่งแวดล้อมเป็นพื้นฐานสำคัญในการประกันคุณภาพชีวิตของผู้คนในสังคม ธรรมชาติเองมีสิทธิ์ที่จะดำรงอยู่เช่นเดียวกับมนุษย์ เมื่อให้ธรรมชาติดำรงอยู่อย่างยาวนานเราจำเป็นต้อง ประเมินค่าของการบริหารของสิ่งแวดล้อมด้วย คือ ระบบเศรษฐกิจจะต้องคำนึงถึงอยู่ตลอดเวลาเกี่ยวกับ เรื่องประโยชน์และการสูญเสีย จะต้องมีการประเมินค่าของสิ่งแวดล้อมอย่างถูกต้องและผนวกค่าเหล่านี้ เข้าไปในกระบวนการวางนโยบายเศรษฐกิจและสังคม นอกจากนี้ในการประเมินผลของโครงการพัฒนา จำเป็นต้องมีการประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม โดยหลีกเลี่ยงการทำลายระบบนิเวศสนับสนุน โครงการที่ส่งเสริมคุณภาพของสิ่งแวดล้อม ขณะเดียวกันควรใช้ระบบราคาที่สะท้อนให้เห็นถึงต้นทุนทาง สังคมที่แท้จริงในการผลิตและบริโภค 1.2 มิติแห่งอนาคต การพัฒนาแบบยั่งยืน คือการพัฒนาเพื่ออนาคต ดังนั้นการวางนโยบาย และการวางแผนจึงต้องมองทั้งใกล้และไกลเพื่อให้ครอบคลุมถึงชนรุ่นหลัง ซึ่งในการมองอนาคตจุดเน้น ไม่ได้อยู่ที่การสร้างวัตถุ หากแต่เป็นเรื่องการพิทักษ์รักษาความอุดมสมบูรณ์ของธรรมชาติให้อยู่คงทน แนวคิดนี้เน้นความยุติธรรมระหว่างชนรุ่นปัจจุบันกับอนาคต ซึ่งหลักการนี้บ่งชี้ว่าคนรุ่นปัจจุบันมี ภาระหน้าที่ความรับผิดชอบต่อชนรุ่นหลัง ในการที่จะต้องมอบมรดกทางธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมใน ปริมาณและคุณภาพทั่วไปที่ไม่ด้อยกว่ายุคปัจจุบัน ขณะเดียวกันต้องมีความยุติธรรมภายในรุ่นเดียวกันคือ การวางนโยบายจะต้องมุ่ง ไปยังการแก้ไขรักษาคุณภาพชีวิตของกลุ่มชนยากไร้ให้ยาวนาน รวมทั้งการ พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติด้วย ซึ่งเป็นพื้นฐานสำคัญของการดำรงชีวิตของคนยากจน 1.3 การพัฒนาที่ยั่งยืนจะเกิดขึ้นได้เมื่อระบบความสัมพันธ์ขององค์ประกอบทั้ง 4 คือ มนุษย์ สังคม ธรรมชาติ และเทคโนโลยีดำเนินไปด้วยดี โดยที่ทุกส่วนเป็นปัจจัยส่งผลในทางเกื้อกูลกันทำให้ดำรง อยู่ด้วยดีด้วยกันได้ มนุษย์มีฐานะเป็นปัจจัยเป็นตัวกระทำ มีความสำคัญที่สุดที่จะทำให้เกิดการพัฒนาที่ ยั่งยืน (พระธรรมปิฎก, 2539: 237)
48 1.4 จากแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนดังกล่าว ปัจจัยหลักสำคัญในการก่อให้เกิดการพัฒนาที่ ยั่งยืนคือมนุษย์นั่นเอง โดยมารวมตัวกันพัฒนาในรูปของกลุ่มองค์กรเมื่อองค์กรชุมชนเหล่านี้ได้รับการ พัฒนาศักยภาพจะสามารถกำหนดและควบคุมการพัฒนาชุมชนทั้งหมดได้ 1.5 แนวคิดในการศึกษาแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เป็นสิ่งจำเป็นที่จะต้องศึกษาทำความ เข้าใจให้ชัดเจนและเพื่อจะได้นำไปเป็นแนวทางในการวางแผนเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนใน โอกาสต่อไป กล่าวโดยสรุป การพัฒนาอย่างยั่งยืนเน้นความสัมพันธ์ขององค์ประกอบที่เกี่ยวข้อง เช่น มนุษย์ สังคม สิ่งแวดล้อม และกระบวนการการร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมวางแผน ร่วมดำเนินการตามแผนและ ติดตามประเมินผล พร้อมนำมาปรับแก้เมื่อเกิดปัญหา และแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนนี้จะส่งผลต่อการ พัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนสำหรับแหล่งท่องเที่ยว 2. การท่องเที่ยวมวลชนสู่การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน เป็นที่เข้าใจกันดีว่ากิจกรรมการเดินทางท่องเที่ยวอาจก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงและผลกระทบ ในแหล่งท่องเที่ยวและชุมชนเจ้าของพื้นที่ โดยเฉพาะการท่องเที่ยวในหลายประเทศที่พัฒนาอย่างไร้ ทิศทาง หรือพัฒนาเพื่อรองรับการท่องเที่ยวมวลชน คือเน้น ทะเล หาดทราย แสงแดด โดยมีจุดขายอยู่ที่ ราคาถูกและแสงแดด หรือหมายถึงการท่องเที่ยวที่เน้นนักท่องเที่ยวจำนวนมากมาพักในรีสอร์ทราคาถูก ตามชายฝั่งทะเล เช่น แถบพัทยาของประเทศไทย และตามชายหาดสวย ๆ หลายแหล่งทางภาคใต้ของ ประเทศ การท่องเที่ยวมวลชนยังก่อให้เกิดการจ้างงานค่าแรงต่ำ และพบว่าผลกำไรร้อยละ 80 อยู่นอก พื้นที่ท่องเที่ยว โดยตกอยู่ในมือผู้ประกอบการท่องเที่ยวต่างชาติ เจ้าของโรงแรม ผู้จัดจำหน่ายสินค้านำเข้า แก่นักท่องเที่ยวมากกว่าชุมชนในท้องถิ่น การขาดการจัดการท่องเที่ยวที่ดียังส่งผลให้สิ่งแวดล้อมถูกทำลาย เกิดการผลาญทรัพยากรน้ำ การผลิตขยะในปริมาณมาก ผลกระทบต่อปะการังและสัตว์ทะเล อีกทั้งยังทำ ให้เกิดมลภาวะในแม่น้ำและชายทะเลอีกด้วย การท่องเที่ยวมวลชนยังทำให้เกิดการรับวัฒนธรรม แปลกปลอม ความขัดแย้งทางสังคม และมักนำไปสู่การขายบริการทางเพศในระยะยาวจะเห็นได้ว่า การ ท่องเที่ยวมวลชนอาจนำไปสู่วงจรที่ไม่เหมาะสมกล่าวคือ การทำลายสมบัติอันมีค่า เช่น วัฒนธรรมท้องถิ่น ความมีน้ำใจไมตรีของชุมชน ความหลากหลายทางชีวภาพ ชายหาดที่งดงามตามธรรมชาติ ภูมิทัศน์อัน รื่นรมย์ ซึ่งดึงดูดนักท่องเที่ยวเป็นอันดับหนึ่ง นอกจาก นั้น ยังจะนำไปสู่การลดคุณภาพบริการซึ่งจะทำให้ ธุรกิจอื่น ๆ ที่มีอุปสงค์น้อยกว่าจำเป็นต้องลดราคาเพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวให้ได้มากขึ้น รูปแบบการท่องเที่ยวมีการเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา และตามกระแสของสังคม จากอดีตสู่ ปัจจุบันการท่องเที่ยวมวลชนที่เน้นความสำราญ และราคาถูกนั้นส่งให้เกิดผลกระทบในรูปธรรมมากขึ้นต่อ แหล่งท่องเที่ยว Weaver (2000) กล่าวว่า กระแสสังคมในโลกตะวันตก ต้องการพัฒนารูปแบบการ ท่องเที่ยวใหม่ที่ตรงกันข้ามกับรูปแบบการท่องเที่ยวมวลชน และก่อให้เกิดผลกระทบที่เรียกขานกันในนาม การท่องเที่ยวทางเลือก หรือการท่องเที่ยวทางเลือก (Alternative Tourism) โดยเน้นรูปแบบการ ท่องเที่ยวที่ไม่ส่งผลผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม สังคมและวัฒนธรรม โดยหลังจากการประชุมของโลก เกี่ยวกับ Agenda 21 เป็นการจุดกระแสการพัฒนาอย่างยั่งยืน ที่มีรูปแบบการพัฒนาการท่องเที่ยว การ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (Sustainable Tourism) มีหลักการที่สอดคล้องกับการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development) ซึ่งเป็นกระแสความคิดหลักของโลกในช่วง ๒ ทศวรรษที่ผ่านมา และ ได้รับความสนับสนุนจากคณะกรรมาธิการว่าด้วยการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Commission on Sustainable Development) ขององค์การสหประชาชาติ ซึ่งหลักการโดยทั่วไปของการพัฒนาอย่างยั่งยืนคือ จะต้องมี การอนุรักษ์และการใช้ทรัพยากรอย่างพอดี เพื่อให้สามารถใช้ประโยชน์ต่อไปได้ในระยะเวลายาวนาน และ
และวัฒนธรรมพื้นถิ่นอันจะนำไปสู่การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนต่อไป จะเห็นได้ว่ารูปแบบ การท่องเที่ยวทางเลือกเป็นการพัฒนาอย่างยั่งยืนกล่าวคือเป็นกระบวนการพัฒนาซึ่ง “ตอบสนองความ ต้องการของคนในยุคปัจจุบันโดยไม่บั่นทอนความสามารถของอนุชนรุ่นหลังในการตอบสนองความ
49 มีการกระจายผลประโยชน์ให้แก่คนส่วนใหญ่ รวมทั้งมีการร่วมมือกันอย่างใกล้ชิดระหว่างผู้ที่เกี่ยวข้องหรือ มีส่วนได้ส่วนเสีย เมื่อนำหลักการนี้มาปรับใช้กับการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน จึงมีจุดเน้นที่สำคัญ ดังนี้ 1. จะต้องดูแลทรัพยากรการท่องเที่ยว ให้สามารถใช้ประโยชน์ต่อไปได้ใน ระยะเวลา ยาวนานจนถึงชั่วลูกชั่วหลาน มิใช่เพียงเพื่อคนรุ่นปัจจุบันเท่านั้น 2. ลดการใช้ทรัพยากรอย่างสิ้นเปลือง และลดปริมาณของเสียที่จะเป็นอันตรายต่อ สิ่งแวดล้อม 3. มีการกระจายรายได้และผลประโยชน์ให้แก่คนในท้องถิ่นที่มีแหล่งท่องเที่ยว ตั้งอยู่ เปิดโอกาสให้ชุมชนในท้องถิ่นได้เข้าร่วมในการจัดการ และการให้บริการแก่นักท่องเที่ยว 4. มีการประชุมปรึกษาหารือกันอย่างสม่ำเสมอระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เช่น หน่วยงานและองค์กรที่เกี่ยวข้อง ผู้ประกอบธุรกิจการท่องเที่ยว และชุมชนในท้องถิ่น เพื่อการวางแผนงาน การจัดสรรงบประมาณ และการจัดการทรัพยากรอย่างเหมาะสม 5. มีการสร้างเครือข่ายเพื่อเผยแพร่แนวคิด การศึกษาวิจัย และความรู้เกี่ยวกับการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ออกไปในหมู่ประชาชน ทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศอย่างกว้างขวาง (Weaver, 1998) ทั้งนี้ รูปแบบที่โดดเด่นของการท่องเที่ยวที่หลีกเลี่ยงผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมคือการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ โดยให้ความสำคัญกับกิจกรรมที่เกิดขึ้นในแหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติที่ไม่ทำลายระบบนิเวศน์
ภาคีที่เกี่ยวข้องเกิดจิตสำนึกปกป้องทรัพยากรที่ตนใช้ เช่น ภูมิทัศน์ทางธรรมชาติ ชุมชนที่มีความเป็นอยู่ดี
ต้องการของตน” (บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา, 2549) ตารางที่ 6 แสดงความแตกต่างระหว่างการท่องเที่ยว มวลชน และการท่องเที่ยวทางเลือก ตารางที่ 7 ความแตกต่างระหว่างการท่องเที่ยวมวลชน และการท่องเที่ยวทางเลือก คุณลักษณะ การท่องเที่ยวมวลชน การท่องเที่ยวทางเลือกใหม่ ตลาด ส่วนแบ่งการตลาด นักท่องเที่ยวที่ทำตามค่านิยมของสังคม นักท่องเที่ยวที่มีรสนิยมแตกต่างไปจากค่านิยม ของสังคม ขนาดและประเภทการท่องเที่ยว จำนวนมาก ซื้อรายการนำเที่ยวมาเป็นกลุ่ม จำนวนน้อย รายบุคคล ฤดูกาล มีความแตกต่างชัดเจนทำให้เกิดฤดูกาล ท่องเที่ยว เกิดความแตกต่างน้อยในฤดูกาลการท่องเที่ยว กลุ่มนักท่องเที่ยว มีความโดดเด่นของนักท่องเที่ยวบางกลุ่ม มีความแตกต่างระหว่างกลุ่มนักท่องเที่ยวน้อย สิ่งดึงดูดใจ จุดเน้น เน้นการค้าเป็นหลัก ให้ความสำคัญกับการค้าในระดับปานกลาง ลักษณะ ทั่วไป เน้นบางพื้นที่และเน้นความดั้งเดิม การพัฒนา เพื่อนักท่องเที่ยวเป็นหลัก เพื่อนักท่องเที่ยวและชุมชนเจ้าของพื้นที่ไป พร้อม ๆ กัน ที่พัก ขนาด ใหญ่ หลายห้องพัก ขนาดเล็ก การกระจายตัวของธุรกิจ เน้นเฉพาะในจุดที่มีนักท่องเที่ยว กระจายตัวตามพื้นที่
สิ่งมีชีวิตและ วัฒนธรรมในพื้นที่จะเห็นได้ว่าผู้ประกอบการการท่องเที่ยวอย่างมีความรับผิดชอบส่งเสริมให้ชุมชนและ
และมีน้ำใจไมตรี
50 ตารางที่ 7 ความแตกต่างระหว่างการท่องเที่ยวมวลชน และการท่องเที่ยวทางเลือก (ต่อ) คุณลักษณะ การท่องเที่ยวมวลชน การท่องเที่ยวทางเลือกใหม่ ความหนาแน่น เกิดการกระจุกตัว กระจุกตัวน้อย สถาปัตยกรรม เน้นสถาปัตยกรรมต่างชาติและอาจขัดกับ ศิลปะท้องถิ่น รักษาศิลปะ สถาปัตยกรรมท้องถิ่น ความเป็นเจ้าของ บริษัทใหญ่เป็นเจ้าของ หรือต่างชาติเป็น เจ้าของ ชุมชนในท้องถิ่นเป็นเจ้าของ สภาพเศรษฐกิจ บทบาทของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว เป็นอุตสาหกรรมหลักของท้องถิ่น อุตสาหกรรมท่องเที่ยวสอดคล้องกับกิจกรรมหรือ อุตสาหกรรมอื่นที่มีอยู่ในท้องถิ่น การเชื่อมความสัมพันธ์ เน้นภายนอกชุมชน เน้นภายในชุมชน การรั่วไหลของรายได้ มาก น้อย ผลทวีคูณของรายได้จากการ ท่องเที่ยว ต่ำ สูง กฎและนโยบาย การควบคุม โดยกลุ่มเอกชนนอกพื้นที่ชุมชน โดยชุมชนในพื้นที่ จำนวน มีน้อย เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับกลุ่ม เอกชน มีมาก เพื่อลดผลกระทบต่อชุมชนเจ้าของพื้นที่ แนวคิด เน้นตลาดเสรี แทรกแซงโดยรัฐ การให้ความสำคัญ เน้นความเจริญทางเศรษฐกิจ และผลกำไร เน้นความกินดีมีสุขของชุมชนในท้องถิ่น ระยะเวลาการบังคับใช้ ระยะสั้น ระยะยาว ที่มา: ปรับปรุงจาก Weaver (1998) ในตลาดโลกปัจจุบัน นักท่องเที่ยวนิยมรูปแบบการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนมากขึ้นเรื่อย ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มผู้มีการศึกษาและร่ำรวยในแถบอเมริกาเหนือ ยุโรป และมีมากขึ้นในทวีปเอเชีย โดยนักท่องเที่ยวกลุ่มนี้มีจิตสำนึกต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมมากขึ้น และต้องการที่จะท่องเที่ยวโดยมีส่วน ช่วยในการอนุรักษ์สมบัติทางวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมไปด้วย นอกจากด้านการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติแล้วนักท่องเที่ยวกลุ่มนี้ก่อให้เกิดผลดีทางธุรกิจกล่าวคือ นักท่องเที่ยวเชิงนิเวศมีฐานะ ดี ซึ่งจะช่วยเพิ่มคุณภาพบริการการท่องเที่ยวในท้องถิ่น ในขณะเดียวกันก็เป็นการมุ่งเข้าสู่เส้นทางการ พัฒนาอย่างยั่งยืน ยกตัวอย่างเช่น เมื่อจะเดินทางไปท่องเที่ยวต่างประเทศนักท่องเที่ยวยุโรปนิยมเลือกการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนเพิ่มมากขึ้น โดยยึดเกณฑ์ด้านความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมเป็นหลัก การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนจึงเป็นรูปแบบการท่องเที่ยวที่สำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับประเทศไทย การ ท่องเที่ยวประเภทนี้มุ่งเน้นการชื่นชมไปพร้อมกับการอนุรักษ์ธรรมชาติและวัฒนธรรมท้องถิ่น เป็นภาค เศรษฐกิจที่เติบโตเร็วซึ่งช่วยพัฒนาชนบท ทำให้ชุมชนท้องถิ่นอยู่ดีกินดี และกระตุ้นให้เกิดการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะสำหรับประเทศไทยที่มีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติและวัฒนธรรมที่สวยงามและ น่าสนใจเป็นจำนวนมาก 3. การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 3.1 ความหมาย แนวคิด และคำจำกัดความการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ประเทศส่วนใหญ่ล้วนยอมรับเอาการท่องเที่ยวเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งเพื่อใช้ในการพัฒนา ประเทศ เพราะรัฐบาลในประเทศเหล่านี้เล็งเห็นว่าการท่องเที่ยวเป็นแหล่งสำคัญในการรักษาดุลบัญชี เดินสะพัด เป็นแหล่งสำคัญของการลงทุนอันจะส่งผลต่อการมีงานทำของประชาชนอย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ ตามจากการขยายตัวของการท่องเที่ยวอย่างรวดเร็ว และการไม่ได้มีการวางแผนการพัฒนาการท่องเที่ยวที่ เหมาะสมได้สร้างปัญหาต่าง ๆ ให้เกิดขึ้นกับประชาชน สังคม และสิ่งแวดล้อมในประเทศนั้น ๆ อย่างมาก จนเป็นสาเหตุที่สำคัญที่ประเทศเหล่านั้นจะต้องหันมาให้ความสนใจการพัฒนาประเทศให้มีการพัฒนาไป
that Meets the Needs the
Own Needs)
51 ได้อย่างยั่งยืน โดยต้องเข้าใจถึง ความหมาย แนวคิด รวมถึงแผนงานและนโยบายต่าง ๆ ของประเทศ เกี่ยวกับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนเพื่อสามารถจัดการได้อย่างเหมาะสม และถูกต้องยิ่งขึ้น เป็นที่ทราบได้ทั่วไป คำว่า “การพัฒนาอย่างยั่งยืน”
เพิ่งได้รับความสนใจเมื่อไม่กี่ปีที่ผ่านมา ส่วนคำว่า “การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน” (Sustainable Tourism Development) ก็ยิ่งเป็นคำที่ได้รับความสนใจและศึกษาเมื่อไม่นานมานี้เช่นกัน ดังนั้นอาจเป็น ส่วนหนึ่งที่ทำให้ความหมายของคำทั้งสองคำนี้จึงยังมีความคลุมเครือไม่แน่ชัดทั้งนี้ขึ้นอยู่กับผู้ศึกษาจะแปล ความหมายออกมา ในช่วง 30 ปีที่ผ่านมา โลกของเราเริ่มที่จะมีการตระหนักถึงความไม่แน่นอน ความเสี่ยง ของมนุษยชาติ ต่อสิ่งแวดล้อมในโลกมากยิ่งขึ้น ไม่ว่าจะเป็นปัญหาโลกร้อนจากเรือนกระจก น้ำท่วม ภาวะ แห้งแล้ง และอื่น ๆ ทำให้ทุกคนมีความจำเป็นต้องปรับตัวเพื่อแก้ปัญหาต่าง ๆ เหล่านี้ คำศัพท์คำว่า “การ พัฒนาอย่างยั่งยืน” เริ่มนำมาเสนอครั้งแรกเมื่อปี 1987 ซึ่งได้รับการตีพิมพ์ใน รายงานที่มีชื่อว่า Our Common Future ของคณะกรรมการพัฒนาสิ่งแวดล้อมแห่งโลก (World Commission on Environment and Development) ซึ่งได้ให้ความหมายว่า การพัฒนาเพื่อให้บรรลุความเท่าเทียมกัน ระหว่างคนรุ่นปัจจุบัน และอนาคต ซึ่งหมายความว่า ความจำเป็น ความต้องการในปัจจุบันได้รับการ สนองตอบต่อความจำเป็นความต้องการในอนาคตเสียไป (Development
ลักษณะโดยทั่วไปที่ถือเป็นหลักสำคัญของการพัฒนาอย่างยั่งยืน
1. ความเสมอภาคกันของคนในแต่ละรุ่น 2. ความเสมอภาคกันของคนในรุ่นเดียวกันไม่ว่าจะในเรื่องของความมั่งมีกฎหมาย
ในที่นี้หมายความว่า การพัฒนา เศรษฐกิจโดยปราศจากการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมเป็นสิ่งไม่สามารถทำได้ 5. มีเครื่องมือดัชนีชี้วัดที่น่าเชื่อถือ นำมาปรับปรุง และปฏิบัติได้จริง (วิรุจ กิจนันทวิวัฒน์, 2548) ในปัจจุบันจะเห็นได้ว่า การท่องเที่ยวถือเป็นอุตสาหกรรมที่ได้รับการกล่าวขานอย่างมาก ในเรื่องการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ที่เป็นเช่นนี้ อาจเป็นเพราะสิ่งแวดล้อม ป่าไม้ ภูเขา ทะเล หาดทราย รวมถึงทรัพยากรต่าง ๆ ในท้องถิ่นวัฒนธรรมประเพณี และอื่น ๆ ต่างถือว่าเป็นส่วนสำคัญที่ทำให้เกิดการ ท่องเที่ยวเป็นอุตสาหกรรมหนึ่งที่ช่วยนำเงินเข้า มาสู่ท้องถิ่น เพื่อลดความยากจนของคนในท้องถิ่น ฟื้นฟู และรักษาสิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมประเพณีของท้องถิ่นไว้ได้ สำหรับความหมายที่แท้จริงของคำว่า “การ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน” นั้น ยังมีการถกเถียงกันอยู่จวบจนปัจจุบันว่า จริง ๆ แล้วควรจะหมายถึงอะไร ครอบคลุมถึงอะไรบ้าง ยกตัวอย่างเช่น การท่องเที่ยวแคนาดาได้ให้ ความหมายของการพัฒนาการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (sustainable tourism development) ไว้ว่า หมายถึง การพัฒนาการท่องเที่ยวที่ มีการจัดการทรัพยากรทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม เพื่อตอบสนองความต้องการ ในขณะเดียวกันก็ยังคง รักษาวัฒนธรรมพื้นเมืองระบบนิเวศที่สำคัญ รวมทั้งความหลากหลายทางชีวภาพไว้ด้วย
(Sustainable Development)
Present Without Compromising the Ability of Future Generations to Meets Their
(Sustainable Development) คือ
3. ความมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายในการสนับสนุน วางแผนและปฏิบัติต่าง ๆ 4. สิ่งแวดล้อมเป็นสิ่งสำคัญที่สุดที่ต้องคำนึงถึง
52 องค์การการท่องเที่ยวแห่งโลก (WTO, 2005) ได้อธิบายคำจำกัดความล่าสุดของการ พัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน (Sustainable Tourism) ไว้พอจะสรุปได้ดังนี้ การท่องเที่ยวแบบยั่งยืน จะไม่ใช่เป็นเพียงแค่การท่องเที่ยวขนาดเล็กหรือการตลาดเฉพาะกลุ่ม (Niche Tourism Segments) หากแต่การท่องเที่ยวแบบยั่งยืนจะต้องครอบคลุมถึงการตลาดโดยรวม หรือที่เรารู้จักกันในชื่อที่เรียกว่า การท่องเที่ยวแบบมวลชน (Mass Tourism) โดยทั่วไปแล้ว การท่องเที่ยวแบบยั่งยืนหมายถึง การ ท่องเที่ยวที่ให้ความสำคัญต่อความเสมอภาคระหว่างเศรษฐกิจสิ่งแวดล้อมรวมไปถึงสังคม และวัฒนธรรม ของคนทั้งในรุ่นปัจจุบันแต่ไปจนถึงคนในอนาคต ดังนั้น หลักการและแนวคิดที่สำคัญของการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในคำจำกัดความล่าสุด ขององค์การการท่องเที่ยวโลก คือ 1. การท่องเที่ยวต้องตระหนักและใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ความหลากหลายทางชีวภาพ ให้เหมาะสมและเกิดประโยชน์สูงสุด 2. การเคารพในสังคมและวัฒนธรรมประเพณีของประชาชนพื้นเมือง รวมไปถึงการรู้จัก ปรับตัวและเข้าใจถึงความแตกต่างทางวัฒนธรรมประเพณีของแต่ละชุมชน 3. การสร้างความเจริญ มั่งคั่งทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนควรจะ ก่อให้เกิดการกระจายของรายได้อย่างเป็นธรรมและทั่วถึงแก่ผู้ที่ส่วนได้ส่วนเสียในการท่องเที่ยว (Tourism Stakeholders) นอกจากนี้ ยังควรที่จะก่อให้เกิดการจ้างงานและการสร้างรายได้ให้กับชุมชนท้องถิ่น รวมถึงการมีส่วนสำคัญในการช่วยลดความยากจนในท้องถิ่นอีกด้วย (วิรุจ กิจนันทวิวัฒน์, 2550) นอกจากการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนจะต้องให้ความสำคัญในด้านสิ่งแวดล้อม สังคม วัฒนธรรม และเศรษฐกิจแล้ว การที่จะทำให้เกิดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนได้จะต้องคำนึงถึงความร่วมมือ กันของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการท่องเที่ยวทุกฝ่าย รวมไปถึงจะต้องสามารถรักษาความพึงพอใจสูงสุดของ นักท่องเที่ยว การดำเนินการวางแผนอย่างต่อเนื่องและที่สำคัญ จะต้องมีเครื่องมือ ดัชนีที่ใช้วัด ประสิทธิภาพ ต่อผลกระทบของการดำเนินการในส่วนต่าง ๆ ว่ามีข้อดี ข้อเสียอย่างไรเพื่อสามารถนำไป ปรับปรุงแก้ไข เพื่อให้เกิดความยั่งยืนต่อไปในอนาคต คำนิยามและคำจำกัดความของงานวิจัยที่ผ่านมาเน้นหลักการที่สำคัญที่จะพัฒนาทำให้ การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ดังนี้ 1. สนับสนุนให้เกิดการตระหนักในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ 2. สนับสนุนในการสงวนรักษาวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น 3. ให้ความสำคัญกับมนุษย์ และสังคมในฐานะเจ้าบ้าน 4. ดำเนินต่อไปในระยะยาว และสามารถถ่ายทอดความเจริญไปสู่รุ่นต่อ ๆ ไป 5. มีความเสมอภาค 6. ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น และตัดสินใจและดำเนินการเกี่ยวกับท้องถิ่นของตนเอง 7. มีความเคารพซึ่งกันและกัน 8. สนับสนุนให้เกิดความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น 9. ได้รับประโยชน์ทางเศรษฐกิจ 10 เน้นความสำคัญของการให้การศึกษาการวิจัย แม้จะมีคำศัพท์อื่นที่มีแสดงถึงความห่วงใยสังคม สิ่งแวดล้อม และเศรษฐกิจ คล้ายกับ การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนคำเหล่านั้นมีความสัมพันธ์กับการพัฒนาอย่างยั่งยืนและอาจถูกมองว่าเป็นส่วน หนึ่งของการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนดังแสดงในรูปภาพที่ 11
(Cultural Tourism)
(Sustainable Tourism)
(Alternative Tourism)
(Green Tourism)
53 ภาพที่ 11 ความเกี่ยวพันของการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ที่มา: วิรุจ กิจนันทวิวัฒน์ (2548: 121) จากแผนภาพดังกล่าวคำนิยามพอสังเขปของแต่ละคำจะช่วยเพิ่มพูนความเข้าใจได้มาก ขึ้น เช่น การท่องเที่ยวโดยชุมชน (community based tourism) หมายถึง ทางเลือกในการจัดการ ท่องเที่ยวที่ชุมชนเข้ามากำหนดทิศทางของการท่องเที่ยวบนฐานคิดที่ว่าชาวบ้านทุกคนเป็นเจ้าของ ทรัพยากรและเป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากการท่องเที่ยว โดยการนำเอาทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่นด้านต่าง ๆ ไม่ว่าธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมประเพณี วิถีชีวิต และวิถีการผลิตของชุมชน มาใช้เป็นต้นทุน หรือปัจจัยในการจัดการท่องเที่ยวอย่างเหมาะสม รวมทั้งมีการพัฒนาศักยภาพของคนในชุมชนให้มีความรู้
การวางแผน การดำเนินงาน การ สรุปบทเรียน และมุ่งเน้นให้เกิดความยั่งยืนสู่คนรุ่นลูกหลานและเกิดประโยชน์ต่อท้องถิ่นโดยคำนึง ความสามารถในการรองรับของธรรมชาติ เป็นสำคัญ (สินธุ์ สโรบล 2546: 17) การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ (Comservation Tourism) หมายถึง การท่องเที่ยวที่มีท่าทีใน การอนุรักษ์ (Conservation) การอนุรักษ์มีความหมายในการร่วมกันของทุกฝ่ายเพื่อป้องกันรักษาให้คง เดิม เพื่อให้ประชาชนและชุมชนในท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและดูแลสภาวะ แวดล้อมในท้องถิ่นของตนเองด้วยการสนับสนุนจากภาครัฐ นักวิชาการองค์กรพัฒนาเอกชน และระดับ ธุรกิจ โดยจะเป็นการอนุรักษ์แหล่งท่องเที่ยวทุกประเภท คือ ธรรมชาติ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมที่มี รูปแบบ อนุรักษ์โดยองค์กรที่รับผิดชอบหรือโดยนักท่องเที่ยว อีกทั้งยังมีวิธีการที่หลากหลาย การ ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ มุ่งเน้นการจัดการและบริหารทรัพยากร ให้คงมีอยู่อย่างยั่งยืน (Neto, 2003) การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ (Ecotourism) หมายถึง การท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยว ธรรมชาติที่มีเอกลักษณ์เฉพาะถิ่น และแหล่งวัฒนธรรมที่เกี่ยวเนื่องกับระบบนิเวศอย่างมีความรับผิดชอบ ในแหล่งท่องเที่ยว โดยมีกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของผู้ที่เกี่ยวข้อง ภายใต้การจัดการสิ่งแวดล้อมการ ท่องเที่ยวอย่างมีส่วนร่วมของท้องถิ่นเพื่อมุ่งให้เกิดจิตสำนึกต่อการรักษาระบบนิเวศอย่างยั่งยืน และ การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม หมายถึง การท่องเที่ยวที่เน้นคุณค่าทางวัฒนธรรมท้องถิ่นหรือ ชุมชนโดยเน้นการสร้างการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ด้วยการนำประวัติศาสตร์ศิลปะท้องถิ่น วิถีชีวิตพื้นบ้าน การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
การท่องเที่ยวโดยชุมชน
การท่องเที่ยวสีเขียว
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
ความสามารถและบทบาทที่สำคัญในการดำเนินงานตั้งแต่การตัดสินใจ
(Conservation Tourism)
(Community Based Tourism)
(Eco tourism) การท่องเที่ยวทางเลือก
54 อาหารท้องถิ่น รวมถึงวรรณกรรม ดนตรีและ หัตถกรรมพื้นบ้านมาจัดให้เป็นผลิตภัณฑ์ทางการท่องเที่ยว เชิงวัฒนธรรม เป็นต้น 3.2 องค์ประกอบการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน จากความเข้าใจในภาพรวม สามารถสรุปแนวทางหรือองค์ประกอบการพัฒนาการ ท่องเที่ยวที่ยั่งยืนด้วยองค์ประกอบ 8 อย่าง ดังนี้ 3 2.1 องค์ประกอบพื้นฐานหรือทรัพยากรการท่องเที่ยว ประกอบด้วย 1) ทรัพยากรประเภทธรรมชาติ ได้แก่ ภูเขา น้ำตก ถ้ำ ลำธาร ทะเล หาด ทราย เกาะแก่ง น้ำพุร้อน เขตสงวนพันธุ์สัตว์ สวนสัตว์เปิด อุทยานแห่งชาติ วนอุทยาน เขื่อน ปะการัง และธรรมชาติใต้ทะเล เป็นต้น 2) ประเภทประวัติศาสตร์ โบราณวัตถุสถานและศาสนา ได้แก่ วั ด โบราณสถาน อุทยานประวัติศาสตร์ ชุมชนโบราณ พิพิธภัณฑ์ ศาสนสถานและอนุสาวรีย์ เป็นต้น 3) ประเภทศิลปวัฒนธรรม ประเพณี เช่น งานประเพณี วิถีชีวิตความเป็นอยู่ ศูนย์วัฒนธรรม สินค้าพื้นเมือง ไร่ นา สวน พืชผัก ผลไม้ ศูนย์การค้าแหล่งบันเทิง โรงละคร โรงภาพยนตร์ 4) กีฬาและบันเทิง เช่น กีฬาทางบก ทางน้ำ สวนสนุก สวนน้ำ และแหล่ง บันเทิงยามราตรี เป็นต้น 3.2.2 ตลาดการท่องเที่ยว ประกอบด้วย 1) ตลาดการท่องเที่ยวระหว่างประเทศ 2) ตลาดการท่องเที่ยวภายในประเทศ
การเผยแพร่และโฆษณาที่เป็นกระบวนการทางตลาด
การวิจัยตลาด การประชาสัมพันธ์ และการส่งเสริมการตลาด เป็นต้น 3.2.3 บริการการท่องเที่ยว ประกอบด้วย 1) การคมนาคมขนส่ง 2) ที่พัก 3) ร้านอาหารและภัตตาคาร 4) บริการนำเที่ยวและมัคคุเทศก์ 5) ร้านขายของที่ระลึกและสินค้าพื้นเมือง 6) การรักษาความปลอดภัย 7) กิจกรรมการท่องเที่ยว 3.2.4 การให้การศึกษาและสร้างจิตสำนึก ได้แก่ การให้การศึกษาในกระบวนการ ท่องเที่ยวที่ยั่งยืน การเรียนรู้ร่วมกัน เป็นต้น 3.2.5 การจัดสื่อความหมายธรรมชาติ เช่น จัดเส้นทางศึกษาธรรมชาติ 3.2.6 การมีส่วนร่วมของชุมชน ได้แก่ ความเกี่ยวข้องของชุมชนกับการท่องเที่ยว และ ทิศทางการมีส่วนร่วมในกระบวนการท่องเที่ยว เป็นต้น 3.2.7 การจัดการกับสิ่งแวดล้อม ได้แก่ มาตรการการจัดผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการ ท่องเที่ยว และ หลักการลดผลกระทบ เป็นต้น 3.2.8 การจัดทำแนวทางการปฏิบัติ เช่น แนวทางการปฏิบัติของนักท่องเที่ยว ผู้รับผิดชอบแหล่งท่องเที่ยว บริษัทนำเที่ยว มัคคุเทศก์ สถานบริการที่พักและชุมชนท้องถิ่น เป็นต้น
3)
เช่น
55 เป็นที่น่าสนใจว่าการส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวในประเทศไทยที่ผ่านมาก็ เช่นเดียวกัน มุ่งเพิ่มจำนวนนักท่องเที่ยวและรายได้จากการท่องเที่ยวทุกปี โดยมิได้คำนึงถึงการอนุรักษ์ ทรัพยากรการท่องเที่ยวและสิ่งแวดล้อมโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในปี พ ศ. 2530 อันเป็นปีที่รัฐบาลได้ประกาศ ให้เป็นปีท่องเที่ยวไทย ผลปรากฏว่า ภาคเอกชนมีการสร้างโรงแรม รีสอร์ท รายการนำเที่ยวเดินป่า การ สร้างสนามกอล์ฟ การจัดรายการนำเที่ยวรูปแบบต่าง ๆ โดยมิได้คำนึงถึงขีดความสามารถในการรองรับ ของพื้นที่ การขาดความรับผิดชอบต่อการรักษาสภาพแวดล้อม การบุกรุกการใช้พื้นที่เข้าไปยังแหล่ง ธรรมชาติ ป่า เขา น้ำตก แม่น้ำ ลำคลอง หาดทราย ในที่สุดเกิดผลกระทบจาก มลพิษทางสิ่งแวดล้อม เช่น ปัญหาขยะ ปัญหาน้ำเสีย ปัญหาสาธารณูปโภค ไม่พอใช้ เกิดความเสื่อมโทรมในแหล่งท่องเที่ยว มลพิษทางสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาเศรษฐกิจทั่วโลกและขยายถึงประเทศไทย ด้วยนั้น นักวิชาการด้านอุตสาหกรรมท่องเที่ยวเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อมได้คิดรูปแบบการท่องเที่ยวอย่างมี คุณภาพเพื่อรักษาระบบนิเวศของธรรมชาติเรียกรูปแบบนั้นว่า Green tourism หรือ Ecotourism โดย กำหนดเป็นรูปแบบการท่องเที่ยวมีกรอบและโครงสร้างขนาดเล็ก ๆ หลาย ๆ รูปแบบ เมื่อนำมารวมกันเข้า แล้วสามารถนำไปสู่การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนได้
จากความคิดดังกล่าวจะช่วย ผลักดันการพัฒนาการท่องเที่ยวให้มีคุณภาพและยั่งยืนต่อไป 4. บทบาทหน่วยงานภาครัฐกับการพัฒนาการท่องเที่ยว รักษ์พงศ์ วงศาโรจน์ และคณะ (2550 : 22 23) ได้กล่าวถึงหน่วยงานภาครัฐที่มีส่วนเกี่ยวข้อง โดยตรงกับการท่องเที่ยวสามารถจำแนกได้เป็น 4 ประเภทคือ หน่วยงานภายใต้รัฐบาลของประเทศ หน่วยงานภายใต้จังหวัด หน่วยงานส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานในกำกับของรัฐบาล ดังแผนภาพที่ 12 ภาพที่ 12 หน่วยงานภาครัฐกับการพัฒนาการท่องเที่ยว ที่มา: ปรับปรุงจาก รักษ์พงศ์ วงศาโรจน์ และคณะ (2550 : 23) สำหรับบทบาทที่สำคัญของหน่วยงานภาครัฐต่อการพัฒนาการท่องเที่ยว ได้แก่ 1. วางแผนพัฒนาการท่องเที่ยวและกำหนดนโยบายการท่องเที่ยว 2. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในภาคอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว 3. การให้บริการสินค้าสาธารณะที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยว 4. การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร 5. การจัดสรรการใช้ประโยชน์จากแหล่งท่องเที่ยวสาธารณะ 6. การอนุรักษ์และรักษาทรัพยากรท่องเที่ยว 7. การประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยว หน่วยงานในกำกับของรัฐบาล เช่น ททท. อพท. หน่วยงานของรัฐบาลกลาง เช่น กระทรวงการท่องเที่ยว กรมอุทยานฯ หน่วยงานรัฐภายใต้จังหวัด เช่น สำนักงานท่องเที่ยว จังหวัด อำเภอ หน่วยงานรัฐส่วนท้องถิ่น เช่น อบจ. อบต.
(Dowling, 1995)
56 Liu (2003) ได้กำหนดกรอบการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐในการบริหารจัดการท่องเที่ยวไว้ 14 ด้าน ดังนี้ 1. การวางแผนวัตถุประสงค์การพัฒนา 2. การสำรวจและประเมินทรัพยากรธรรมชาติ 3. การพัฒนาสาธารณูปโภคและสิ่งอำนวยความสะดวด 4. การตลาดแหล่งท่องเที่ยวในภาพรวม 5. การกำหนดขีดความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยว 6. การสร้างความสมดุลระหว่างการพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และระบบนิเวศ 7. การวิเคราะห์เศรษฐศาสตร์เพื่อให้ได้รับผลประโยชน์สูงสุดและกระจายสู่ท้องถิ่นอย่าง ทั่วถึงและยั่งยืน 8. การวิเคราะห์ทางด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อประเมินผลกระทบของกิจกรรมการท่องเที่ยวต่อ ทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศอย่างต่อเนื่อง 9. การวิเคราะห์ทางด้านวัฒนธรรมเพื่อประเมินผลกระทบของกิจกรรมการท่องเที่ยวต่อ วัฒนธรรมชุมชนอย่างต่อเนื่อง พร้อมออกมาตรการผลกระทบในทางลบและกระตุ้นผลกระทบในทางบวก 10.การกำหนดมาตรฐานทั้งมาตรฐานที่พักและองค์ประกอบของการท่องเที่ยวทั้งหมด 11.การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้วยการส่งเสริมการสร้างงานและผู้ประกอบการของชุมชน รวมทั้งมีการฝึกอบรมให้กับคนท้องถิ่นอย่างเพียงพอ 12.การประสานความร่วมมือ ระหว่างหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และองค์กรที่ไม่หวังผลกำไร 13.การกำกับดูแลและเฝ้าระวัง โดยการออกกฎหรือข้อตกลงร่วมกันกับฝ่ายต่าง ๆ เพื่อการ พัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 14.การวิเคราะห์ข้อมูล ทั้งข้อมูลด้านทางตลาดและด้านสิ่งแวดล้อม จากการที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนมีหลายระดับและหลาย พื้นที่ การประสานงาน (Co ordination) เป็นกระบวนการสำคัญที่สามารถสร้างสื่อสัมพันธ์ระหว่างภายใน และภายนอกหน่วยงาน เพื่อการนำนโยบายไปปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ และการประสานงานที่ดีจะช่วย ประหยัดเงิน ประหยัดเวลา การทำงานไม่สิ้นเปลืองไม่เสียเวลาและลดความขัดแย้ง การสร้างเครือข่าย ความร่วมมือระหว่างองค์การจะทำให้เกิดความร่วมมือในการทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้บรรลุเป้าหมายร่วมกันนั้น เป็นลักษณะอย่างหนึ่งที่ต้องอาศัยความสัมพันธ์ อาศัยความร่วมมือร่วมใจจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย เพื่อร่วมระดมทรัพยากรต่าง ๆ ที่หน่วยงานมีอยู่มาจัดกิจกรรมต่าง ๆ ให้เกิดการพัฒนา การที่จะขอความ ร่วมมือให้หน่วยงานต่าง ๆ มาร่วมนั้นต้องใช้การประสานงานที่ดี รูปแบบที่เหมาะสมและวิธีการ ประสานงานที่ดีจะมีผลให้เกิดความร่วมมือร่วมใจในการทำงานส่งผลให้ดำเนินงานต่าง ๆ ประสบ ความสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ 5 หลักการจัดการการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน การจัดการการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน หมายถึง “การท่องเที่ยวที่สนองตอบความต้องการของ นักท่องเที่ยวและผู้เป็นเจ้าของแหล่งท่องเที่ยว โดยเน้นการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อให้สามารถ รักษาความมั่นคงของระบบนิเวศ ตลอดจนวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของชุมชน เพื่อประโยชน์ทั้งในปัจจุบัน และอนาคต” (World Tourism Organization, 1997) 5.1 ที่มาของแนวคิดการจัดการการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 5.1.1 การเกิดกลุ่มตลาดการท่องเที่ยวแนวใหม่ หรือการท่องเที่ยวทางเลือก (Alternative Tourism)
(Equity) 5.3.3 ให้ประสบการณ์นันทนาการที่มีคุณค่าแก่นักท่องเที่ยว (Quality of Experience) 5.3.4 ให้ผู้มาเยือน หรือนักท่องเที่ยว ได้เรียนรู้ และเข้าใจเกี่ยวกับพื้นที่ ทรัพยากร และวิถีชีวิต (Education and Understanding) 5.3.5 เน้นการออกแบบที่กลมกลืนกับสถาปัตยกรรมท้องถิ่น และใช้วัสดุในท้องถิ่น (Local Architecture and Local Material) 5.3.6 เน้นการผสมผสานการท่องเที่ยวแบบยั่งยืนสู่แผนพัฒนาระดับท้องถิ่น ภูมิภาค
57 5 1.2 นักท่องเที่ยว/ผู้บริโภคมีความต้องการมากขึ้น และมีความซับซ้อนในการเลือก บริการและการเดินทางมากขึ้น มีนักท่องเที่ยวใส่ใจสิ่งแวดล้อมมากขึ้น (Green Tourists) 5 1.3 ผลประโยชน์ของการท่องเที่ยวแบบยั่งยืนเด่นชัดขึ้นในภาวะปัจจุบัน 5 1.4 ธุรกิจและองค์กรสำคัญต่าง ๆ เริ่มเห็นความสำคัญของแนวคิดการจัดการและ การพัฒนาแบบยั่งยืน 5.2 องค์ประกอบของการจัดการทรัพยากรการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 5.2.1 การดำเนินกิจกรรมการท่องเที่ยวในขอบเขตความสามารถของธรรมชาติชุมชน 5.2.2 การตระหนักในกิจกรรมการท่องเที่ยวที่มีผลกระทบต่อชุมชน 5.2.3 การมีส่วนร่วมของประชาชนในกิจกรรมการท่องเที่ยว ที่มีผลกระทบต่อระบบ นิเวศชุมชน 5.2.4 การประสานความต้องการทางเศรษฐกิจ การคงอยู่ของสังคม และการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน 5.3 หลักการที่สำคัญในการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 5.3.1 มีการดำเนินการจัดการภายใต้ขีดความสามารถของระบบธรรมชาติ (Carrying Capacity) ในการฟื้นฟู ให้สามารถผลิตและให้บริการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้ตลอดไป โดยไม่ลดถอย หรือ เสื่อมโทรมลง ตระหนักถึงการมีส่วนร่วมของชุมชน และความต้องการของชุมชน
และระดับประเทศ (Integration of Sustainable Tourism to Local, Regional and National Plans) 5.3.7 เน้นข้อมูลพื้นฐานเพื่อเป็นฐานในการตัดสินใจ และการติดตามตรวจสอบ (Information & Monitoring) 6. เป้าหมายหลักของการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ภาพที่ 13 เป้าหมายการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ที่มา : ปรับปรุงจาก World Tourism Organization (1997) คุณภาพของสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน การมีส่วนร่วมของประชาชนประสบการณ์การท่องเที่ยว
5.3.2 มีการกระจายผลประโยชน์อย่างเป็นธรรมสู่ท้องถิ่น
ความสนใจของคนในท้องถิ่น 6.3.2 การพัฒนาการท่องเที่ยวควรดำเนินการภายใต้ความร่วมมือของหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องโดยสนับสนุนให้ท้องถิ่นได้ตัดสินใจตั้งแต่ต้น 6.3.3 รายได้จากการท่องเที่ยวควรมีการกระจายอย่างเป็นธรรม 6.3.4 ควรสร้างความตระหนักแก่ประชาชนท้องถิ่นถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น 6.3.5 มีการประเมินและติดตามผลกระทบด้านเศรษฐกิจและสังคมอย่างสม่ำเสมอ
58
เป้าหมายด้านคุณภาพของสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืนของทรัพยากร
การท่องเที่ยวช่วยเสริมสร้างสุขภาพของมนุษย์
การท่องเที่ยวนำไปสู่การคุ้มครองรักษาและฟื้นฟูระบบนิเวศ
การผลิต การบริโภค และการบริการ อยู่บนพื้นฐานของรูปแบบที่ยั่งยืน 6.1.4 การคุ้มครองรักษาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมเป็นส่วนหนึ่งในกระบวนการ พัฒนาการท่องเที่ยว 6.1.5 การพัฒนาทรัพยากรการท่องเที่ยวควรดำเนินการภายใต้ความร่วมมือของ ประชาชนที่เกี่ยวข้อง 6.1.6 ประเทศต่าง ๆ ควรเตือนประเทศอื่น ๆ ที่ก่อภัยพิบัติทางธรรมชาติอาจส่งผล กระทบต่อการท่องเที่ยว 6.1.7 การท่องเที่ยวควรยึดถือและให้ความสำคัญต่อกฎหมายว่าด้วยการปกป้อง คุ้มครองสิ่งแวดล้อม 6.2 ด้านประสบการณ์การท่องเที่ยวที่น่าประทับใจและมีคุณค่า 6.2.1 ควรมีการกำหนดหรือแนะนำกิจกรรมการท่องเที่ยวทีเหมาะสมกับแหล่ง ท่องเที่ยวและเป็นกิจกรรมที่ไม่ทำลายสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติและ วัฒนธรรม 6.3 ด้านคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชนในท้องถิ่น 6.3
การพัฒนาการท่องเที่ยวควรยอมรับและสนับสนุนเอกลักษณ์ วัฒนธรรมและ
7. รูปแบบการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน รูปแบบการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน คือกิจกรรมการท่องเที่ยวที่ให้ความสำคัญกับสามเสาหลักของ หลักการการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน กล่าวคือ การรักษาดุลยภาพของมิติทางสังคมวัฒนธรรม มิติด้าน สิ่งแวดล้อมและมิติด้านเศรษฐกิจทางการท่องเที่ยว โดยในปัจจุบัน มีรูปแบบการท่องเที่ยวที่หลากหลายที่ สนับสนุนแนวคิดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน โดยผู้เขียนยกตัวอย่างไว้ 10 รูปแบบดังนี้ 7.1 การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ (Ecotourism) เป็นการท่องเที่ยวธรรมชาติที่มีเอกลักษณ์เฉพาะถิ่น และแหล่งวัฒนธรรมที่เกี่ยวเนื่องกับระบบนิเวศเพื่อให้ได้รับความสนุกสนานเพลิดเพลินและมีกระบวนการ เรียนรู้ร่วมกันของผู้ที่เกี่ยวข้อง ภายใต้การจัดการสิ่งแวดล้อม รวมถึงการมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่น โดย มุ่งเน้นให้เกิดจิตสํานึกต่อการรักษาระบบนิเวศอย่างยั่งยืน 7.2 การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม (Cultural Tourism) เป็นการท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยว วัฒนธรรมหรือชมงานประเพณีต่าง ๆ ที่ชุมชนท้องถิ่นเพื่อให้ได้รับความสนุกสนานเพลิดเพลิน พร้อมทั้งได้ ศึกษาความเชื่อ ความเข้าใจต่อสภาพสังคมและวัฒนธรรม มีประสบการณ์ใหม่ ๆ เพิ่มขึ้นภายใต้การ จัดการสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยว โดยมุ่งเน้นให้มีจิตสํานึกต่อการรักษาสภาพแวดล้อมและวัฒนธรรม อย่างยังยืน
6.1
6.1.1
6.1.2
6.1.3
1
59 7.3 การท่องเที่ยวเชิงนิเวศทางทะเล (Marine Ecotourism) หมายถึงการท่อง เที่ยว อย่างมี ความรับผิดชอบในแหล่งธรรมชาติทางทะเลที่มีเอกลักษณ์เฉพาะถิ่น และแหล่งท่องเที่ยวที่เกี่ยวเนื่องกับ ระบบนิเวศทางทะเล โดยมีกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของผู้ที่เกี่ยวของภายใต้การจัดการสิ่งแวดล้อมและ การท่องเที่ยวอย่างมีส่วนร่วมของท้องถิ่น เพื่อมุ่งให้เกิดจิตสำนึกต่อการรักษาระบบนิเวศอยางยั่งยืน 7.4 การท่องเที่ยวเชิงธรณีวิทยา (Geo Tourism) หมายถึงการท่องเที่ยวในแหล่งธรรมชาติที่ เป็น หินผา ลานหินทราย อุโมงค์โพรง ถ้ำน้ำลอด ถ้ำหินงอกหินย้อย เพื่อดูความงามของภูมิทัศน์ที่มี ความแปลกของการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่โลก ศึกษาธรรมชาติของหิน ดิน แร่ต่าง ๆ และฟอสซิล ได้ ความรู้ได้มีประสบการณ์ใหม่ บนพื้นฐานการท่องเที่ยวอย่างรับผิดชอบ มีจิตสำนึกต่อการรักษา สภาพแวดล้อม โดยประชาชนในท้องถิ่นมีส่วนร่วมต่อการจัดการการท่องเที่ยว 7.5 การท่องเที่ยวเชิงเกษตร (Agro Tourism) หมายถึงการเดินทางท่องเที่ยวไปยังพื้นที่ เกษตรกรรมสวนเกษตร วนเกษตร สวนสมุนไพร ฟาร์มปศุสัตว์และเลี้ยงสัตว์เพื่อชื่นชมความสวยงาม ความสำเร็จและเพลิดเพลินในสวนเกษตร ได้ความรู้มีประสบการณ์ใหม่บนพื้นฐานความรับผิดชอบ มี จิตสำนึกต่อการรักษาสภาพแวดลอมของสถานที่แห่งนั้น 7.6 การท่องเที่ยวเชิงดาราศาสตร์ (Astrological Tourism) หมายถึงการเดินทางท่องเที่ยว เพื่อการไปชมปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ที่เกิดขึ้นในแต่ละวาระ เช่น
และการดูดาวจักราศีที่ปรากฏในท้องฟ้าแต่ละเดือน เพื่อการเรียนรู้ระบบสุริยจักรวาล มี ความรู้ความประทับใจ ความทรงจำและประสบการณ์เพิ่มขึ้นบนพื้นฐานการท่องเที่ยวอย่างมีความ รับผิดชอบมีจิตสำนึกต่อการรักษาสภาพแวดล้อมและวัฒนธรรมท้องถิ่น โดยประชาชนในท้องถิ่นมีส่วน ร่วมต่อการจัดการร่วมกันอย่างยั่งยืน 7.7 การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ (Historical Tourism) หมายถึงการเดินทางท่องเที่ยวไป ยังแหล่งท่องเที่ยวทางโบราณคดี และประวัติศาสตร์ เพื่อชื่นชมและเพลิดเพลินในสถานที่ท่องเที่ยวได้ ความรู้มีความเข้าใจต่อประวัติศาสตร์และโบราณคดี ในท้องถิ่นพื้นฐานของความรับผิดชอบและมีจิตสํานึก ต่อการรักษามรดกทางวัฒนธรรมและคุณค่า ของสภาพแวดลอมโดยที่ประชาชนในท้องถิ่น มีส่วนร่วมต่อ การจัดการการท่องเที่ยว 7.8 การท่องเที่ยวชนบท (Rural Tourism) หมายถึงการเดินทางท่องเที่ยวในชนบทที่มี ลักษณะวิถีชีวิต และผลงานสร้างสรรค์ที่มีเอกลักษณ์พิเศษมีความโดดเด่นเพื่อความเพลิดเพลินได้ความรู้ดู ผลงานสร้างสรรค์และภูมิปัญญาพื้นบ้าน มีความเข้าใจในวัฒนธรรมท้องถิ่น บนพื้นฐานของความ รับผิดชอบและมีจิตสำนึกต่อการรักษามรดกทางวัฒนธรรมและคุณค่าของสภาพแวดล้อม โดยประชาชน ในท้องถิ่นมีส่วนร่วมต่อการจัดการการท่องเที่ยว 7 9 การท่องเที่ยวเชิงทัศนศึกษาและศาสนา (Edu Meditation Tourism) หมายถึง การ เดินทางเพื่อทัศนศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากปรัชญาทางศาสนา หาความรู้ สัจธรรมแห่งชีวิตมีการฝึกทำ สมาธิเพื่อมีประสบการณ์และความรู้ใหม่เพิ่มขึ้น มีคุณค่าและคุณภาพชีวิตที่ดีเพิ่มขึ้นมีจิตสำนึกต่อการ รักษาสิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมท้องถิ่น โดยประชาชนในท้องถิ่นมีส่วนร่วมต่อการจัดการการท่องเที่ยวที่ ยั่งยืน นอกจากนั้น นักท่องเที่ยวบางกลุ่มมุ่งการเรียนรู้วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย เช่น การทําอาหาร ไทยการนวดแผนไทย รําไทย มวยไทย การช่างและงานศิลปหัตถกรรมไทย รวมถึงการบังคับช้างและเป็น ควาญช้าง เป็นต้น
สุริยุปราคา ฝนดาวตก จันทรุปราคา
60 7.10 การท่องเที่ยวเพื่อศึกษากลุ่มชาติพันธุ์หรือวัฒนธรรมกลุ่มน้อย (Ethnic Tourism) หมายถึง การเดินทางท่องเที่ยวเพื่อเรียนรู้วิถีชีวิตความเป็นอยู่วัฒนธรรมของชาวบ้านวัฒนธรรมของชน กลุ่มน้อยหรือชนเผาต่าง ๆ เช่น หมู่บ้านชาวไทยโซ่ง หมู่บ้านผู้ไทย หมู่บ้านชาวกูย หมู่บ้านชาวกะเหรี่ยง หมู่บ้านชาวจีนฮ่อ เป็นต้น เพื่อมีประสบการณ์และความรู้ใหม่เพิ่มขึ้นมีคุณคาและคุณภาพชีวิตที่ดีเพิ่มขึ้นมี จิตสำนึกต่อการรักษาสิ่งแวดลอมและวัฒนธรรมท้องถิ่น โดยประชาชนในท้องถิ่นมีส่วนร่วมต่อการจัดการ การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน 8. การประยุกต์ใช้ขีดความสามารถการรองรับได้เพื่อการท่องเที่ยว จากอดีตจนถึงปัจจุบัน สถานที่ท่องเที่ยวต่าง ๆ แต่ละแห่งรองรับปริมาณนักท่องเที่ยวที่เดิน ทางเข้าไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่เพื่อดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ เป็นจำนวนมากแต่มาตรการในบริหารจำนวน นักท่องเที่ยวยังไม่ชัดเจนจึงเกิดการละเลยและปล่อยให้จำนวนนักท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ้นจนเกินขีด ความสามารถในการรองรับได้ของพื้นที่อาจก่อให้เกิดปัญหาในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติของอุทยาน แห่งชาติด้านการรองรับการใช้ประโยชน์ของนักท่องเที่ยว เช่น ปัญหาความแออัดสิ่งอำนวยความสะดวก ไม่เพียงพอรวมทั้งอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติจากกิจกรรมนันทนาการต่าง ๆ ปัญหา เหล่านี้นำไปสู่ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและได้เกิดขึ้นแล้วกับอุทยาน แห่งชาติบางแห่งที่ได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยวและเมื่ออยู่ในภาวะเกินขีดความสามารถในการรองรับ ได้จนเกิดปัญหาความเสื่อมโทรมความแออัดยังทำให้ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวลดลงและเป็นผลเสีย ต่อการท่องเที่ยวในระยะยาวนอกจากนี้ภาครัฐและหน่วยงานที่รับผิดชอบต้องใช้ทั้งงบประมาณทรัพยากร บุคคลและเวลาในการฟื้นฟูสภาพของแหล่งท่องเที่ยวให้กลับคืนสสภาพเดิม ในการศึกษาการพัฒนาศูนย์มรดกทางวัฒนธรรมชาวเลบ้านแหลมตุ๊กแก (อรไท
คณะ,
ผู้เขียนได้นำการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับ (Carrying Capacity ) ด้านกายภาพ และสิ่งอำนวยความสะดวกทางการท่องเที่ยวเพื่อกำหนดจำนวนนักท่องเที่ยวสูงสุดที่พื้นที่จะรองรับได้ที่จะ ไม่ส่งผลกระทบหรือก่อให้เกิดการเสื่อมโทรมของศูนย์มรดกฯ เพื่อให้สามารถรักษาความพึงพอใจของ นักท่องเที่ยวเอาไว้ได้ ทั้งนี้ การกำหนดขีดความสามารถในการรองรับในครั้งนี้ ได้รับการพิจารณาในด้าน ต่าง ๆ เช่น ศึกษาเปรียบเทียบเห็นข้อมูลเพื่อประกอบการพิจารณาหาขีดความสามารถในการรองรับ นักท่องเที่ยวของพื้นที่ได้อย่างเหมาะสมโดยกำหนดลักษณะ ขีดความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยวในการศึกษาครั้งนี้เป็น 3 ลักษณะคือ 1) ขีดความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยวทางด้านกายภาพ (Physical Carrying Capacity) หมายถึงระดับนักท่องเที่ยวสูงสุดที่ไม่ทำลายสภาพแวดล้อมทางกายภาพตามธรรมชาติและที่มนุษย์สร้าง ขึ้นรวมถึงระดับความอิ่มตัวของสิ่งอำนวยความสะดวกและบริการการท่องเที่ยวในพื้นที่ 2) ขีดความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยวทางด้านสิ่งแวดล้อมหรือนิเวศวิทยา (Environmental Carrying Capacity) หมายถึง ระดับนักท่องเที่ยวสูงสุดที่ไม่ให้ระบบสิ่งแวดล้อมและ นิเวศวิทยาด้อยค่าลง ได้แก่ ระบบนิเวศวิทยา คุณภาพน้ำและอากาศ 3) ขีดความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยวทางสังคม (Social Carrying Capacity) หมายถึง ระดับปริมาณนักท่องเที่ยวสูงสุดที่จะไม่ทำให้ความสนุกสนานและความประทับใจของนักท่องเที่ยวจาง หายไปเมื่อมีการขยายตัวของการท่องเที่ยวทั้งนี้รวมถึงระดับสูงสุดที่จะไม่ทำให้ผลกระทบทางลบเกิดต่อ ประชาชนท้องถิ่นจนเกิดความไม่พอใจของประชาชน จากการศึกษาข้อมูลการสำรวจภาคสนามและการพิจารณากรอบแนวคิดในการรองรับของพื้นที่ พบว่ามีการกำหนดปัจจัยชี้วัดขีดความสามารถในการรองรับของแหล่งท่องเที่ยวไว้จากงานวิชาการและ งานวิจัยต่าง ๆ เพื่อใช้ในการประเมินขีดความสามารถในการรองรับการท่องเที่ยวของแหล่งท่องเที่ยว
ครุธเวโชและ
2563)
61 ลักษณะต่าง ๆ ทั้งนี้ จากข้อมูลสรุปของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2547) จาก คู่มือการจำแนกเขต ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ สามารถสรุปรายละเอียดอย่างกว้างได้ดังตารางที่ 8 ตารางที่ 8 ปัจจัยชี้วัดขีดความสามารถในการรองรับของแหล่งท่องเที่ยว ปัจจัยชี้วัด ตัวชี้วัด มาตรฐานชี้วัด ด้านกายภาพและสิ่งอำนวยความสะดวก (PCC) 1. พื้นที่การใช้ประโยชน์ กิจกรรมนันทนาการ พื้นที่บริเวณแหล่งท่องเที่ยว/จุด ชมทิวทัศน์ พื้นที่ทำหรือเล่นกิจกรรม 2 ตร.ม/คน 16 ตร.ม /คน 2. พื้นที่ลานจอดรถ พื้นที่ลานจอดรถ รถยนต์ส่วนบุคคล 4 ที่นั่งไม่น้อยกว่า 12 ตารางเมตร/คัน รถทัวร์บริษัทนำเที่ยว 36 ที่นั่ง ไม่น้อยกว่า 20 ตารางเมตร/คัน รถจักรยานยนต์ ไม่น้อยกว่า 2.40 ตาราง เมตร/คัน 3. ทรัพยากรดิน อัตราการชะล้างพังทลายของดิน อัตราความรุนแรงของการชะล้างพังทลาย ของดินกรมพัฒนาที่ดิน 4. อากาศ ปริมาณฝุ่นละอองรวมใน บรรยากาศ (TSP) กลิ่น ไม่เกิน 0.33 มก./ลบ.ม.(24 ชั่วโมง) ไม่เป็นที่น่ารังเกียจ 5. เสียง ระดับเสียงสูงสุดเฉลี่ย 24 ชั่วโมง (Leq 24 hr) ในบรรยากาศ ระดับเสียงกลางวัน กลางคืน (LDN)
ไม่เกิน 45 เดซิเบล (เอ) 6. ขยะ ความสามารถในการเก็บขน ปริมาณขยะ ขนาดรถบรรทุกขยะในปัจจุบัน อัตราการเกิดขยะจากนักท่องเที่ยวไป กลับ
วัน อัตราการเกิดขยะจากนักท่องเที่ยวค้างแรม 0.06 0.45 กก./คน วัน 7. ที่พักนักท่องเที่ยว จำนวนของเตียงของที่พัก ขนาดพื้นที่ลานกางเต็นท์ จำนวนเตียงของที่พักในปัจจุบัน ลานกางเต็นท์ 10 ตร.ม./เต็นท์ 3 คน 8. น้ำอุปโภค บริโภค ปริมาณน้ำอุปโภค บริโภค นักท่องเที่ยวแบบทัศนาจร 19 ลิตร/คน วัน นักท่องเที่ยวที่พักค้างคืนที่บ้านพัก 227 ลิตร/คน วัน นักท่องเที่ยวกางเต็นท์พักแรม 114 ลิตร/ คน วัน 9. ห้องอาบน้ำ/ห้องสุขา จำนวนห้องอาบน้ำ จำนวนห้องสุขา จำนวนห้องอาบน้ำ/ห้องสุขาในปัจจุบัน 10. ร้านอาหาร จำนวนที่นั่งในร้าน จำนวนที่นั่งในร้านปัจจุบัน 11. ศูนย์บริการ นักท่องเที่ยว จำนวนคนที่ไม่เกินการควบคุม ของมัคคุเทศก์ 40 คน/พื้นที่
ไม่เกิน 70 เดซิเบล (เอ)
0.02 0.06 กก./คน
62 ตารางที่ 8 ปัจจัยชี้วัดขีดความสามารถในการรองรับของแหล่งท่องเที่ยว (ต่อ) ปัจจัยชี้วัด ตัวชี้วัด มาตรฐานชี้วัด ด้านนิเวศวิทยา (ECC) 1.ทรัพยากรป่าไม้ ปริมาณ/ประเภท/ชนิดของไม้ หนุ่ม ปริมาณ/ประเภท/ชนิดของกล้า ไม้ ความหลากหลายทางชีวภาพ และปริมาณที่มี อยู่ในปัจจุบัน ร้อยละของความแตกต่างระหว่างค่า Important Percentage (IVI) ค่าการเปลี่ยนแปลงรายปีของกล้าไม้ 2.ทรัพยากรสัตว์ป่า ประเภท/จำนวนชนิดพันธุ์ ค่าความสำคัญ/ความหายาก ของชนิดพันธุ์ ขอบเขตพื้นที่อยู่อาศัย (Habitat area) ความหนาแน่น สถานภาพตามบัญชีรายชื่อของ OEPP, IUCN, CITES และพรบ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ.2535 ปริมาณและลักษณะของถิ่นที่อยู่อาศัยแต่ละ ชนิด จำนวนตัว/ตารางเมตร ในปัจจุบัน 3.ระบบนิเวศวิทยาถ้ำ อุณหภูมิสัมพัทธ์ ความชื้นสัมพัทธ์ ความเข้มข้นของก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศ (CO2) พลังงานความร้อน
4.ระบบนิเวศวิทยาทาง น้ำ จำนวนชนิดพันธุ์ของสัตว์น้ำ ได้แก่ ปลา แพลงก์ตอน และสัตว์ หน้าดิน ปริมาณสัตว์น้ำ ได้แก่ ปลา แพลงก์ตอน และสัตว์หน้าดิน Diversity
ปริมาณสัตว์น้ำในปัจจุบัน 5.คุณภาพน้ำ ดัชนีคุณภาพน้ำ (Parameter) คุณภาพน้ำประปา ตามประกาศการประปา นครหลวง, พ.ศ. 2536. คุณภาพน้ำผิวดิน ตามประกาศคณะกรรมการ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ, พ.ศ. 2537. ด้านสังคม (SCC) 1.ความขัดแย้งทางสังคม ระหว่างนักท่องเที่ยว นักท่องเที่ยวกับประชาชนใน พื้นที่ ระหว่างผู้ประกอบการ ความรู้สึกขัดแย้งมากไม่เกิน 50% ของ แบบสอบถาม 2.ทัศนคติของ นักท่องเที่ยว ความพึงพอใจ ความรู้สึกแออัด ความรู้สึกไม่ปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สิน ความพึงพอใจน้อยไม่เกิน 50% ของ แบบสอบถาม ความรู้สึกอึดอัดมากไม่เกิน 50% ของ แบบสอบถาม ความรู้สึกไม่ปลอดภัยมากไม่เกิน 50% ของ แบบสอบถาม
25+3 องศาเซลเซียส ไม่ต่ำกว่า 30% ไม่เกิน 5,000 ppm. ไม่เกิน 1kJ/sec
Index
63 ตารางที่ 8 ปัจจัยชี้วัดขีดความสามารถในการรองรับของแหล่งท่องเที่ยว (ต่อ) ปัจจัยชี้วัด ตัวชี้วัด มาตรฐานชี้วัด 3.ทัศนคติของชุมชน ความพึงพอใจ ความแออัด ความรู้สึกไม่ปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สิน ความพึงพอใจน้อยไม่เกิน 50% ของ แบบสอบถาม ความรู้สึกอึดอัดมากไม่เกิน 50% ของ แบบสอบถาม ความรู้สึกไม่ปลอดภัยมากไม่เกิน 50% ของ แบบสอบถาม 9. กรณีศึกษา หมู่บ้านแหลมตุ๊กแก จังหวัดภูเก็ต งานวิจัยของ อรไท ครุธเวโชและคณะ (2563) ได้มีการกำหนดปัจจัยชี้วัดการประเมินขีด ความสามารถในการรองรับการท่องเที่ยวด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องโดยมีรูปแบบดังภาพที่ 14 ภาพที่ 14 ปัจจัยชี้วัดการประเมินขีดความสามารถการรองรับได้ ที่มา : อรไท ครุธเวโชและคณะ (2563) ขีดความสามารถในการ รองรับด้านกายภาพ และสิ่งอำนวยความ สะดวก (PCC) ขีดความสามารถในการ รองรับนักท่องเที่ยว (Carrying Capacity) ขีดความสามารถในการ รองรับด้านนิเวศวิทยา (ECC) ขีดความสามารถในการ รองรับด้านสังคม (SCC)
64 แนวคิดดังกล่าวมีสาเหตุของการศึกษามาจาก 4 ประเด็น คือ 1.ขนาดเนื้อที่ที่สามารถใช้ในกิจกรรมท่องเที่ยวของศูนย์มรดกทางวัฒนธรรมมีจำกัด 2.สิ่งอำนวยความสะดวกของศูนย์มรดกทางวัฒนธรรมมีจำกัด 3.คำนึงถึงข้อจำกัดด้านความรู้สึกของนักท่องเที่ยวที่มีต่อจำนวนคนในแหล่งท่องเที่ยวของศูนย์ มรดกทางวัฒนธรรม 4.คำนึงถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศที่เกิดขึ้นเพราะจำนวนการรองรับในอนาคตที่ อาจมีมากเกินไป ผู้เขียนได้ประยุกต์แนวคิดขีดความสามารถการรองรับได้สำหรับการจัดการแหล่งท่องเที่ยวดังนี้ วิธีการคำนวน PCC = A x Rf a A = จำนวนเนื้อที่ซึ่งสามารถใช้รองรับกิจกรรมนันทนาการนั้น ๆ ได้ a = จำนวนเนื้อที่ซึ่งนักท่องเที่ยวหรือนักนันทนาการจำเป็นต้องใช้เพื่อประกอบกิจกรรมนันทนาการ (หน่วยคือพื้นที่ต่อคน) Rf = จำนวนรอบที่แหล่งท่องเที่ยวสามารถเปิดให้ใช้ประโยชน์ได้ใน ช่วงเวลาที่กำหนดซึ่ง Rf สามารถคำนวณได้จากจำนวนชั่วโมงที่เปิดทำการหรือเปิดให้ใช้ประโยชน์ ได้ (TT) ต่อจำนวนเวลาที่ต้องใช้ในกำรประกอบกิจกรรมแต่ละครั้ง (Ta) [Rf = TT/Ta] ผลลัพธ์ ผู้เขียนประมาณการของพื้นที่จากภาพถ่ายดาวเทียมของ Google Earth ขีดความสามารถในด้าน กายภาพและสิ่งอำนวย ความสะดวก[PCC] ขีดความสามารถในด้าน นิเวศวิทยา [ECC] ขีดความสามารถในด้าน สังคม [SCC] คุณภาพของสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรการท่องเที่ยว คุณภาพของประสบการณ์นันทนาการ/ท่องเที่ยว คุณภาพชีวิตของประชาชนท้องถิ่น
65 ภาพที่ 15 ตัวอย่างประมาณการของพื้นที่จากภาพถ่ายดาวเทียมของ Google Earth จากภาพดังกล่าว ผู้เขียนสามารถคำนวนเนื้อที่จำนวนเนื้อที่ซึ่งสามารถใช้รองรับกิจกรรม นันทนาการได้ โดยมีอาณาบริเวณประมาร 780 ตารางวา ประมาณ 3120 ตารางเมตร และมีปัจจัยชี้วัด พื้นที่ซึ่งนักท่องเที่ยวจำเป็นต้องใช้ที่ 9 ตร.ม/คน (โดยคำนวนจากพื้นที่ทำกิจกรรม 16 ตร.ม/คน+พื้นที่ชม นิทรรศการและข้อมูล 2 ตร.ม/คน หาร 2 ) โดยกำหนดให้มีจำนวนรอบที่แหล่งท่องเที่ยวสามารถเปิดให้ใช้ ประโยชน์ได้ที่ 8 รอบคือ จำนวนชั่วโมงในการบริการ 8 ชั่วโมง หารด้วยเวลาที่ใช้ในศูนย์เฉลี่ย 1 ชั่วโมงต่อ ครั้ง จึงสามารถแทนค่าสูตรได้ดังนี้ PCC = A x Rf PCC = 3120ตร.ม x8รอบ a9ตร.ม ดังนั้น PCC =2,773.33คน ต่อวัน และ ไม่เกิน 346.66 คน ต่อรอบการให้บริการ 10. บทสรุป การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนเป็นแนวคิดการท่องเที่ยวทางเลือกที่ตรงกันข้ามกับการท่องเที่ยวมวลชน (Mass Tourism) โดยการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนให้ความสำคัญกับดุลยภาพ การบูรณาการ และความสมดุล ของ 3 เสาหลัก คือ สิ่งแวดล้อม สังคม และการเติบโตทางเศรษฐกิจ ซึ่งต้องคำนึงถึงมิติของอนาคตอีกด้วย รูปแบบการท่องเที่ยวที่สอดคล้องกับแนวคิดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ยกตัวอย่างเช่น การท่องเที่ยวเชิง วัฒนธรรม การท่องเที่ยวโดยชุมชน การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ และการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ เป็นต้น ทั้งนี้ การบริหารจัดการการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน มุ่งเน้นการกระจายผลประโยชน์อย่างเป็นธรรม การให้ ประสบการณ์ ที่มีคุณค่า การสร้างความตระหนักและความรู้กับผู้ที่มาเยือน รวมถึงการศึกษาขีด ความสามารถการรองรับได้ของแหล่งท่องเที่ยว โดยขีดความสามารถการรองรับได้เพื่อการท่องเที่ยว มี 3 ลักษณะ คือ ด้านกายภาพ ด้านนิเวศวิทยา และด้านสังคม
66 11. แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 3 1. ให้อธิบายความหมายการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 2. ให้ระบุความแตกต่างของการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน และ การท่องเที่ยวมวลชน 3. ให้อธิบายรูปแบบการท่องเที่ยวในปัจจุบันที่สอดคล้องกับแนวคิดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 4. ให้อธิบายรูปแบบการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม มาพอสังเขป 5. ให้อธิบายรูปแบบการท่องเที่ยวโดยชุมชน มาพอสังเขป 6. ให้อธิบายรูปแบบการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ มาพอสังเขป 7. ให้อธิบายรูปแบบการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ มาพอสังเขป 8. ให้อธิบายหลักการบริหารจัดการการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 9. ให้อธิบายวิธีการศึกษาขีดความสามารถการรองรับได้ด้านกายภาพ มาให้เข้าใจ 10. ให้อธิบายวิธีการศึกษาขีดความสามารถการรองรับได้ด้านสังคม มาให้เข้าใจ
เอกสารอ้างอิง บทที่ 3
บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา (2549). การพัฒนาและการอนุรักษ์แหล่งท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ : เพรส แอนด์ ดีไซน์. พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตโต) (2539). การพัฒนาที่ยั่งยืน พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโกมลคีม ทอง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2547). คู่มือการจำแนกเขตท่องเที่ยวเชิงนิเวศ. กรุงเทพฯ: คณะวน
จังหวัดภูเก็ต. วารสารมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธนบุรี, 14 (3) (กันยายน ธันวาคม 2563), 63 74.
Dowling, R.K (1995). Ecotourism and Development: Partners and Progress. Paper presented in the National Regional Tourism Conference. Tasmania: Launceston, August.
Liu, Z. (2003). Sustainable Tourism Development: A Critique. Journal of Sustainable Tourism, 11 (6), 459 475.
Neto, F. (2003). A New Approach to Sustainable Tourism Development: Moving Beyond Environmental Protection. Madrid: UN.
Weaver, D.B. (1998). Ecotourism in the less developed world. Oxford: CAB International.
Weaver, D.B (ed.) (2000). The Encyclopedia of ecotourism. New York: CABI Publication.
World Tourism Organization [WTO]. (1997). Sustainable Tourism for Development Guidebook. Madrid: WTO
World Tourism Organization [WTO]. (2005). The concept of sustainable tourism. Retrieved June 22, 2017, from http://www.world tourism.org/sustainable/top/concepts.html
67
ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รักษ์พงศ์ วงศาโรจน์ สุวรรณี ตรีวัฒนาวงศ์ และ อัจฉรียา ศักดิ์นรงศ์. (2550). บทบาทขององค์กร ภาครัฐหลักที่มีต่อการพัฒนากิจกรรมการท่องเที่ยวทางธรรมชาติอย่างยั่งยืนบนพื้นที่เกาะ ช้างจังหวัดตราด กรุงเทพฯ: DOI. วิรุจ กิจนันทวิวัฒน์. (2548). จุดเริ่มต้นของการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของประเทศไทย. ใน เทิดชาย ช่วยบำรุง (บรรณาธิการ), การท่องเที่ยวไทยนานาชาติ ปี พ.ศ.
กิจนันทวิวัฒน์.
จุดเริ่มต้นของการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของประเทศไทย
อรไท ครุธเวโช สุภัทรา สังข์ทอง และวรพจน์ ตรีสุข.
วัฒนธรรมอย่างมีส่วนร่วม
2548, 117 134. วิรุจ
(2550).
. กรุงเทพฯ : สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย.
(2563). การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวทาง
ชุมชนบ้านแหลมตุ๊กแก
68
69 บทที่ 4 นโยบายการท่องเที่ยว การศึกษาด้านนโยบายการท่องเที่ยวมีการศึกษาค่อนข้างจำกัดเนื่องจากเป็นศาสตร์ที่ผสมผสาน ระหว่างนโยบายสาธารณะและการจัดการอุตสาหกรรมท่องเที่ยวที่มีการบูรณาการหลากหลายศาสตร์และ อาศัยหน่วยงานหลากพหุภาคี บทที่ 4 อธิบายการศึกษาด้านนโยบาย นโยบายสาธารณะ นโยบายการ ท่องเที่ยวและกระบวนนำนโยบายไปปฏิบัติใช้ เพื่อเป็นความรู้พื้นฐานในการจัดทำแผนพัฒนาการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในขั้นต่อไปได้ 1 การศึกษานโยบายสาธารณะ นโยบายสาธารณะถือว่าเป็นแนวทางการดำเนินงานของภาครัฐบาลหรือหน่วยงานเอกชนไม่ แสวงหากำไรและไม่สังกัดรัฐบาล ผสมผสานกันโดยรัฐบาลเป็นแกนหลักในการกำหนดนโยบายเพื่อจัด ทรัพยากรต่าง ๆ ให้แก่พลเมืองโดยรวม การกำหนดนโยบายสาธารณะเป็นการตัดสินใจวางแนวทางกว้าง ๆ ในการแก้ไขปัญหาหรือพัฒนาหรือการตอบสนองความต้องการ สิ่งสำคัญ คือการตัดสินใจว่าจะกำหนด นโยบายสาธารณะอย่างไรต้องอาศัยข้อมูลและใช้เทคนิคและทฤษฎีช่วยตัดสินใจสำหรับขั้นตอนการ กำหนดนโยบาย ได้แก่ การระบุปัญหา การรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาการวิเคราะห์ปัญหากำหนด เป้าหมาย กำหนดขอบเขตและกรอบของนโยบาย การศึกษาข้อจำกัดที่เกี่ยวข้องกับนโยบายการออกแบบ ทางเลือกนโยบายการวิเคราะห์ทางเลือกการพิจารณาเปรียบเทียบทางเลือกการทดสอบทางเลือก การ จัดทำร่างนโยบายเสนอแนะกลยุทธ์ในการดำเนินนโยบาย และการอนุมัติและประกาศเป็นนโยบาย ตามลำดับ นโยบายสาธารณะนั้นเป็นการจัดสรรผลประโยชน์หรือสิ่งที่มีคุณค่าระหว่างปัจเจกชนและกลุ่ม ผลประโยชน์ต่าง ๆ ในระบบสังคมการเมือง เรียกว่า“การจัดสรรค่านิยมของสังคม” โดย Easton ได้ขยาย ความว่า บุคคลที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมของระบบการเมือง (Political System) คือ บุคคลที่มีอำนาจสั่ง การ (Authorities) ได้แก่ผู้อาวุโสทางการเมือง ฝ่ายบริหาร ฝ่ายนิติบัญญัติ ตุลาการ นักบริหาร ที่ปรึกษา ประมุขของประเทศ และผู้นำทางการเมืองอื่น ๆ ซึ่งเป็นบุคคลที่เป็นที่รู้จักและยอมรับในระบบการเมือง บุคคลเหล่านี้เป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการกำหนดนโยบายให้สอดคล้องกับค่านิยมของสังคมโดยได้รับการ ยอมรับในฐานะเป็นผู้มีอำนาจโดยชอบด้วยกฎหมาย (Easton, 1953) เป็นการตัดสินใจขั้นต้นที่กำหนด แนวทางทั่วไปอย่างกว้าง ๆ เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ การศึกษานโยบายสาธารณะได้รับความนิยมเป็นจำนวนมากในช่วงปี 1960 s ซึ่งจะเป็น การศึกษาจากฝั่งยุโรปตะวันตกและประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นหลัก การศึกษาด้านนโยบายสาธารณะแบ่ง ออกได้เป็น 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ในช่วงปี 1960s ซึ่งจะเป็นการศึกษาด้านการออกนโยบาย หรือการก่อ ตัวของนโยบาย (Policy Formation) สำหรับระยะที่ 2 คือ ในช่วงระหว่างปี 1970s 1980s เป็น การศึกษานโยบายสาธารณะที่เน้นการนำนโยบายไปปฏิบัติใช้ (Policy Implementation) และในระยะ สุดท้าย ระยะที่ 3 คือนับตั้งแต่ช่วงปี 1990s เป็นต้นไป เป็นการศึกษาแนวทางการจัดการนโยบาย สาธารณะให้เกิดประโยชน์สูงสุด (Policy Optimazation) ทั้งนี้ การศึกษาในระยะที่ 2 จะเน้นการศึกษาปัจจัยแวดล้อมภายนอกที่ส่งผลต่อ การดำเนนงานของนโยบายสาธารณะ เพื่อให้สามารถนำนโยบายไปปฏิบัติใช้ในโลกของความเป็นจริง หรือ
70 ของพื้นที่จริงได้ นั่นเอง โดยผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยภายนอกที่สำคัญและส่งผลต่อการดำเนินงานของ นโยบายมีอย่างน้อย 3 ปัจจัยหลัก ได้แก่ ปัจจัยการเมืองการปกครอง (Political
ปัจจัย เศรษฐกิจ (Economic Factors) และปัจจัยทางสังคมวัฒนธรรม (Socio
ในการศึกษา นโยบายสาธารณะ มีคำศัพท์ที่ควรศึกษาเพื่อเพิ่มความเข้าใจมากขึ้น ดังนี้ 1. Policy Science หมายถึง ศาสตร์การใช้ความรู้และเหตุผลในการเข้าใจที่มาของปัญหา หรือประเด็นที่ก่อให้เกิดการก่อตัว หรือการออกนโยบาย 2. Policy Studies หมายถึง การศึกษาที่มาของเหตุและผลของการตัดสินใจของผู้มีอำนาจใน การออกนโยบายเพื่อจัดการปัญหา หรือ ประเด็นสังคมนั้นๆ 3. Policy Evaluation หมายถึง การประเมินนโยบายโดยการพิจารณาจากผลการดำเนินงาน ของนโยบายสาธารณะที่ออก หรือ ประกาศใช้โดยผู้มีอำนาจ 4. Policy Analysis หมายถึง การใช้วิจัยประยุกต์เพื่อศึกษาความเข้าใจเพิ่มเติมทั้งด้านสังคม และเทคนิคต่อประเด็นต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการหาแนวทางการจัดการนโยบายสาธารณะให้เกิดประโยชน์ สูงสุด 2. ความหมายของนโยบายสาธารณะ Easton (1953) อธิบายว่า นโยบายสาธารณะคือการจัดสรรคุณค่าต่าง ๆ โดยอาศัยอำนาจตาม กฎหมายเพื่อสังคมส่วนรวม (
ความหมายดังกล่าวเป็นความหมายที่กว้าง เช่นเดียวกับแนวคิดของ Dye
ซึ่งชี้ให้เห็นว่าสิ่งที่ผู้มี อำนาจ หรือ รัฐบาลตัดสินใจที่จะกระทำหรือไม่กระทำนั้น เป็นผลมาจากค่านิยมหรือความปรารถนาหรือ ความเชื่อของรัฐบาลว่าเรื่องอะไรสำคัญกว่า ดีกว่า หรือเหมาะสมกว่า จึงเลือกที่จะกระทำหรือไม่กระทำ เพื่อส่วนรวม โดยรัฐบาลจะอาศัยอำนาจตามกฎหมายผ่านระบบการเมือง ซึ่งถือว่าเป็นอำนาจอันชอบ ธรรมในการกำหนดนโยบาย Dye (1984: 10) ได้ให้ความหมายว่า นโยบายสาธารณะเป็นสิ่งที่ผู้มีอำนาจ หรือ รัฐบาล ตัดสินใจเลือกที่จะกระทำหรือไม่กระทำ (Public Policy is Whatever Governments Choose to Do or Not to Do) ในส่วนที่รัฐบาลเลือกที่จะกระทำจะครอบคลุมกิจกรรมต่าง ๆ ทั้งหมด ทั้งกิจกรรมที่เป็น งานประจำและกิจกรรมที่เกิดขึ้นในบางโอกาส เช่น การเก็บภาษีมรดก การออกกฎหมายปราบปราม อาชญากรรม การยกเลิกนโยบาย การเกณฑ์ทหารของบางประเทศ เป็นต้น จะเห็นได้ว่า นโยบาย สาธารณะตามความหมายของ Dye มีลักษณะ เป็นงานประจำในด้านต่าง ๆ ซึ่งเป็นสิ่งที่มีผลกระทบต่อวิถี ชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชนโดยรวม Hogwood & Gunn (1984:14) นักวิชาการกลุ่มประเทศสหราชอาณาจักร กล่าวว่า นโยบาย คือการแสดงจุดประสงค์ หรือจุดหมายปลายทางของกิจกรรมของรัฐบาลในเรื่องใดเรื่องหนึ่งและเป็นการ อธิบายถึงการดำเนินการเพื่อบรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ ในขณะที่ Sampson (1983); Dye (1984); Hall (1995) และ Parsons (1995) ให้คำนิยามไปในทิศทางเดียวกันว่า นโยบายสาธารณะ หมายถึง การ ตัดสินใจของผู้มีอำนาจ หรือ รัฐบาล ในการพึงกระทำ หรือ ไม่พึงกระทำ ต่อเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่ส่งผล หรือ เป็นปัญหาต่อสังคม และหากศึกษาความหมายจากพจนานุกรมของ Oxford จะพบว่า นโยบายสาธารณะ หมายถึง การกระทำที่ดำเนินการโดยผู้มีอำนาจ ทั้งที่เป็น บุคคล กลุ่มบุคคล พรรค ผู้ที่อยู่ในตำแหน่ง หรือ รัฐ ในการดำเนินการให้เกิดประโยชน์ หรือ อำนวยความสะดวกต่อสังคมในเรื่องที่เป็นประเด็นปัญหา ดังนั้น อาจสรุปได้ว่า นโยบายสาธารณะ หมายถึง การตัดสินใจของรัฐบาลในการดำเนิน กิจกรรม หรือไม่ดำเนินกิจกรรม โดยรัฐบาลอาจเป็นผู้ดำเนินการเอง หรือให้ตัวแทนเป็นผู้ดำเนินการ
Factors)
cultural factors)
the Authoritative Allocation of Values for the Whole Society)
(1984)
1) เป็นเครื่องมือสำคัญของรัฐบาลในการกำหนดทิศทางการพัฒนาประเทศ
2) เป็นเครื่องมือสำคัญของรัฐบาลในการตอบสนองความต้องการของประชาชน
3) เป็นเครื่องมือสำคัญของรัฐบาลในการแก้ไขปัญหาที่สำคัญของประชาชน
71 ภายใต้สิ่งแวดล้อมที่ประกอบไปด้วยปัญหา อุปสรรคและโอกาส ซึ่งนโยบายถูกเสนอเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ ในการแก้ปัญหาเพื่อความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชน ดังนั้นการกำหนดนโยบายสาธารณะจึงเกี่ยวข้องกับ การเมือง เศรษฐกิจสังคมและการบริหาร ตลอดจนการประยุกต์ใช้เทคนิคทางวิชาการเพื่อใช้เป็นกลยุทธ์ใน การตัดสินใจเลือกสิ่งที่ดีที่สุดหรือสิ่งที่สร้างความพึงพอใจให้แก่สังคมการกำหนดนโยบายสาธารณะจึงควร มองให้ครอบคลุมรายละเอียดเริ่มตั้งแต่การระบุปัญหา การรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาการวิเคราะห์ ปัญหาการเลือกทางเลือกในการแก้ปัญหาการเสนอร่างนโยบาย และการอนุมัติประกาศเป็นนโยบาย 3. ความสำคัญของนโยบาย เนื่องจากนโยบายเป็นผลผลิตทางการเมือง เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน ดังนั้น โดยหลักการในระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย ประชาชนจึงมีสิทธิและสามารถแสดงออกซึ่งความ ต้องการของตนเองได้ โดยผ่านกลไกต่าง ๆ ทางการเมือง เช่น พรรคการเมือง นักการเมือง กลุ่มอิทธิผล และกลุ่มผลประโยชน์ ระบบราชการ ฝ่ายบริหารและนิติบัญญัติ เป็นต้น เมื่อพิจารณาในเชิงทฤษฎีระบบ (System Theory) ตามแนวคิดของ Easton (1953) หากความต้องการ (Demand) ของประชาชนได้รับ การพิจารณาและนำเสนอสู่สาธารณะ และถ้านโยบายเหล่านั้นสอดคล้องหรือสามารถตอบสนองต่อความ ต้องการทางเศรษฐกิจและสังคมได้ รัฐบาลก็ย่อมจะได้รับพลังสนับสนุน (Support) จากประชาชน เพื่อนำ ประเด็นต่าง ๆ เหล่านั้นเข้าสู่ระบบการเมือง (Political System) เพื่อการพิจารณาและกลั่นกรองให้เป็น นโยบาย (Policy) ซึ่งก็คือ “ผลผลิตทางการเมือง” นโยบายสาธารณะมีความสำคัญทั้งต่อผู้กำหนดนโยบาย ต่อประชาชน และต่อความสำเร็จใน
การพัฒนาประเทศ ได้แก่
4) เป็นการใช้อำนาจของรัฐบาลเพื่อจัดสรรค่านิยมของสังคม 5) เป็นเครื่องมือของรัฐบาลในการเสริมสร้างความเป็นธรรมในสังคม เป็นต้น ทั้งนี้เพราะนโยบายเป็นเครื่องมือสำคัญของรัฐบาลในการตอบสนองความต้องการและค่านิยมของ ประชาชน เป็นสิ่งที่บ่งบอกถึงทิศทางการพัฒนาประเทศทั้งในเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง ความสำเร็จ ของการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติให้บรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ จะส่งผลให้รัฐบาลสามารถ ดำรงอำนาจในการบริหารประเทศต่อไปได้ ในทางตรงกันข้าม หากรัฐบาลกำหนดนโยบายไม่สอดคล้องกับ ความต้องการและค่านิยมของสังคม และไม่สามารถนำนโยบายไปปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างมีประสิทธิภาพ จะส่งผลต่อรัฐบาลในการบริหารประเทศ 4. ประเภทของนโยบายสาธารณะ จากที่กล่าวถึงในส่วนของแนวทางการศึกษานโยบายสาธารณะ ซึ่งจำแนกออกได้โดยอาศัย พื้นฐานทางความคิดและจุดสนใจของนักวิชาการในสายรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ การจำแนก นโยบายสาธารณะบนพื้นฐานของเป้าประสงค์ของนโยบาย เป็นอีกแนวทางหนึ่งที่ช่วยให้ผู้ศึกษาเกิดความ เข้าใจมากยิ่งขึ้น ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับความแตกต่างของนโยบายแต่ละประเภทและวัตถุประสงค์ของ นโยบายนั้น ๆ รวมถึงการสะท้อนให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างผู้ตัดสินใจนโยบายและประชาชนผู้ได้รับ ผลจากนโยบาย กลุ่มผู้ได้รับประโยชน์และกลุ่มผู้เสียประโยชน์จากนโยบาย ตลอดจนเป็นการสะท้อนให้ เห็นถึงค่านิยมในการกำหนดนโยบายว่ามาจากผู้กำหนดนโยบายเพียงฝ่ายเดียวหรือเกิดจากการมีส่วนร่วม ของประชาชน โดยปกติแล้ว นโยบายสาธารณะมีตั้งแต่เรื่องทั่วไป เรื่องเล็กๆ จนถึงเรื่องที่ระดับ
72 ความสำคัญมากต่อสังคม โดยนโยบายอาจเป็นเรื่องที่มีผลกระทบโดยกว้าง หรือ เรื่องที่เฉพาะเจาะจง เฉพาะกลุ่มในลักษณะแคบๆได้อีกด้วย การออกนโยบาย หรือการประกาศใช้นโยบายขึ้นอยู่กับว่าจะ ออกแบบเพื่อให้แก้ปัญหา หรือจัดการปัญหาของสังคมด้านใดบ้าง เช่น ด้านสิทธิมนุษยชน ด้านการจำกัด กิจกรรมทางสังคม ด้านภาษี หรือด้านอื่นๆตามวัตถุประสงค์ในการจัดการประเด็นปัญหาในสังคมนั้นๆ Lester and Stewart (2000:8) ได้จำแนกประเภทของนโยบายสาธารณะตามวัตถุประสงค์หลักได้ 11 ประเภท ดังนี้ 4.1 นโยบายสาธารณะที่มุ่งเน้นการกระจายผลประโยชน์ (Distributive Policy) เป็น นโยบายที่มุ่งเน้นการจัดสรรทรัพยากรเพื่อประโยชน์บางอย่างแก่กลุ่มคนเฉพาะกลุ่มที่พิจารณาแล้วว่ามี ความต้องการและจำเป็นต่อสังคม ทั้งนี้ อาจเป็นกลุ่มคนที่อยู่ในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง กลุ่มคนที่มี ลักษณะเฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือกลุ่มคนใน สังคมโดยรวมซึ่งครอบคลุมพื้นที่ดำเนินการกว้าง โดยทั่วไปแล้ว นโยบายประเภทนี้จะมีลักษณะของการนำเงินงบประมาณของรัฐไปใช้จ่ายเพื่อช่วยเหลือ ประชาชนบางกลุ่มหรือธุรกิจบางประเภทที่มีผลกระทบต่อเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของประเทศหรือ ชุมชนบางชุมชนในประเทศ เป็นต้น ดังนั้น อาจกล่าวได้ว่า นโยบายที่มุ่งเน้นการกระจายผลประโยชน์ เป็น นโยบายที่เกี่ยวข้องกับการที่รัฐให้การอุดหนุนแก่กลุ่มที่ได้เปรียบอยู่แล้วในสังคม (Aiding the Already Advantaged) โดยผู้รับประโยชน์อาจเป็นระดับปัจเจกบุคคล
เช่น นโยบายด้านการพัฒนาทางเศรษฐกิจและโครงสร้างพื้นฐาน
นโยบายการแก้ไขปัญหา ผลผลิตทางการเกษตร หรือแม้แต่นโยบายการปรับอัตราค่าแรงขั้นต่ำเป็นต้น 4.2 นโยบายสาธารณะที่มุ่งเน้นการกระจายความเป็นธรรม (Redistributive Policy) เป็น นโยบายที่เกี่ยวข้องกับการให้การช่วยเหลือและสวัสดิการทางสังคม ซึ่งมีลักษณะครอบคลุมพื้นที่และ กลุ่มเป้าหมายโดยเท่าเทียมกัน อาจกล่าวได้ว่า นโยบายที่มุ่งเน้นการกระจายความเป็นธรรมนี้ เป็น นโยบายที่มุ่งจัดสรรคุณค่าหรือทรัพยากรให้กับกลุ่มประชาชน ซึ่งถ้าหากไม่มีนโยบายประเภทนี้ ประชาชน กลุ่มนี้จะเป็นผู้เสียเปรียบกลุ่มคนส่วนใหญ่ กล่าวคือ บางขณะจะเกิดสภาวการณ์ที่มีผู้ได้เปรียบอีกกลุ่ม หนึ่ง ซึ่งมีลักษณะ Win Loss ในกลุ่มประชาชน เช่น โอกาสทางการศึกษาของชาวเขาจะเสียเปรียบคนไทย ในพื้นราบเป็นต้น ดังนั้น อาจกล่าวได้ว่า นโยบายที่มุ่งเน้นการกระจายความเป็นธรรม เป็นนโยบายที่ เกี่ยวข้องกับการที่รัฐให้การอุดหนุนแก่กลุ่มที่เสียเปรียบในสังคม (Directed at Aiding the Disadvantaged) และเพื่อให้เกิดความเป็นธรรมในสังคม 4.3 นโยบายที่มุ่งเน้นการควบคุมหรือบังคับ (Regulatory Policy) เป็นนโยบายที่เน้นเฉพาะ เรื่องและเกี่ยวข้องกับกฎ ระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ เช่น นโยบายเกี่ยวกับด้านอาชญากรรม นโยบายด้าน การค้านโยบายด้านการรักษาความปลอดภัย นโยบายด้านการจัดบริการขนส่ง นโยบายด้านการควบคุม อาวุธปืน หรือนโยบายด้านสิ่งแวดล้อม เป็นต้น เป็นนโยบายที่กำหนดขึ้นเพื่อให้ประชาชนทุกคนหรือกลุ่ม คนส่วนมากต้องปฏิบัติตามหรืองดเว้นการกระทำในกิจกรรมบางอย่าง นโยบายในลักษณะนี้มักจะปรากฏ อยู่ในรูปแบบของกฎหมายต่าง ๆ เช่น กฎหมายผังเมือง กฎหมายป่าไม้ กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค หรือ กฎหมายควบคุมอาวุธปืน เป็นต้น นโยบายเกี่ยวกับการจัดระเบียบ กฎเกณฑ์จะมีความหมายรวมถึง ระเบียบ คำสั่ง หรือประกาศ ซึ่งเป็นกิจกรรมของฝ่ายบริหาร แสดงออกถึงการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของ รัฐบาล เพื่อสร้างประโยชน์สุขให้ประชาชน อย่างไรก็ตาม นโยบายประเภทนี้อาจมีผลทำให้เกิดความ ขัดแย้งระหว่างกลุ่มคนในสังคมได้เช่นกัน ตัวอย่าง เช่น นโยบายการทำแท้งได้โดยเสรีซึ่งถือว่าสตรีควรมี สิทธิในการตัดสินใจเกี่ยวกับชีวิตของตน หรืออาจมีแนวคิดพื้นฐานอยู่บนสภาพปัญหาทางสังคมที่สตรีมี บุตรในสภาวะที่ยังไม่พร้อม นโยบายเช่นนี้อาจจะขัดแย้งกับความเชื่อของกลุ่มคนที่เคร่งครัดในทางศาสนา
กลุ่มบุคคล องค์การ หรือระดับสังคม บางส่วนของประเทศ
นโยบายการพัฒนา เขตเศรษฐกิจและนิคมอุตสาหกรรม นโยบายการแก้ไขปัญหาอสังหาริมทรัพย์
73 ซึ่งเห็นว่าการทำแท้งเป็นบาปและผิดหลักศีลธรรมเป็นต้น นโยบายเช่นนี้มีลักษณะที่ขัดแย้งกับค่านิยมทาง สังคมโดยรวม ซึ่งมีผลลัพธ์ทำให้นโยบายดังกล่าวถูกต่อต้านจากประชาชนที่ไม่เห็นด้วยในที่สุด 4.4 นโยบายมุ่งเน้นลักษณะเสรีนิยม (Liberal Policy) เป็นนโยบายที่เกิดจากการผลักดัน ของกลุ่มความคิดก้าวหน้าที่ต้องการจะเห็นการเปลี่ยนแปลงทางสังคม โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงไปสู่ สังคมสมัยใหม่ที่มุ่งเน้นความเสมอภาคทางสังคมเป็นหลัก เช่น นโยบายสิทธิมนุษยชน สิทธิสตรี สิทธิใน การเลือกตั้ง นโยบายการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ และ นโยบายการกระจายอำนาจการปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นต้น 4.5 นโยบายมุ่งเน้นลักษณะอนุรักษ์นิยม (Conservative Policy) แนวความคิดกลุ่มนี้จะอยู่ ในกลุ่มชนชั้นของสังคมกลุ่มความคิดเหล่านี้จะเห็นว่า สิ่งที่ดำรงอยู่นั้นดีอยู่แล้วถ้าจะทำการเปลี่ยนแปลง แก้ไขควรทำแบบค่อยเป็น ค่อยไป เป็นนโยบายที่มุ่งเน้นการรักษาผลประโยชน์ของกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง ต่อต้านการเปลี่ยนแปลงใหม่ ๆ เช่น นโยบายผู้สูงอายุ นโยบายสวัดิการข้าราชการ และ นโยบายจัดตั้ง รัฐวิสาหกิจเพื่อผูกขาดการผลิตสินค้าและบริการ เป็นต้น 4.6 นโยบายมุ่งเน้นเนื้อหาสาระ (Substantive Policy) เป็นนโยบายที่ผู้มีอำนาจ หรือ รัฐบาลมีประสงค์ที่จะทำอะไร เพื่อสนองต่อความต้องการของประชาชน สิ่งที่รัฐบาลตัดสินใจอาจก่อให้เกิด ผลประโยชน์หรือต้นทุนต่อประชาชน หรืออาจทำให้ประชาชนกลุ่มใดได้เปรียบหรือเสียเปรียบ เช่น นโยบายการสร้างทางด่วนในเขตกรุงเทพและปริมณฑล นโยบายการสร้างรถไฟรงเบาจังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดภูเก็ต นโยบายการสร้างเขื่อนขนาดใหญ่ และนโยบายเงินเยียวยาเฉพาะกลุ่ม เป็นต้น 4.7 นโยบายมุ่งเน้นขั้นตอนปฏิบัติ (Procedural Policy) เป็นนโยบายที่เกี่ยวข้องกับวิธีการ ดำเนินการนโยบายว่าจะดำเนินการอย่างไร และใครเป็นผู้ดำเนินการดังนั้นนโยบายนี้จะคลอบคลุม องค์การที่จะต้องรับผิด ชอบการบังคับใช้นโยบาย เช่น นโยบายการออกใบอนุญาตขับขี่ นโยบายการมี บัตรประชาชน และนโยบายส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม โดยให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อม แห่งชาติเป็นผู้ดูแลรับผิดชอบ เป็นต้น 4.8 นโยบายมุ่งเน้นเชิงวัตถุ (Material Policy) เป็นนโยบายที่เกิดขึ้นเพื่อก่อให้เกิดการจัดหา ทรัพยากรหรืออำนาจที่จะให้ประโยชน์แก่บุคคล กลุ่มต่าง ๆ ที่ได้รับผลกระทบทางสังคม เศรษฐกิจและ สิ่งแวดล้อม เช่น นโยบายช่วยเหลือเกษตรกรที่ประสบอุทกภัย นโยบายผู้ประกอบการในยุคโควิด 19 และนโยบายปรับปรุงชุมชนแออัด เป็นต้น 4.9 นโยบายมุ่งเนินเชิงสัญลักษณ์ (Symbolic Policy) เป็นลักษณะของนโยบายที่ตรงกัน ข้ามกับนโยบายมุ่งเน้นเชิงวัตถุคือเป็นนโยบาย ที่มิได้เป็นการจัดสรรเชิงวัตถุหรือสิ่งของที่จับต้องได้แต่เป็น นโยบายมุ่ง เสริมสร้างคุณค่าทางจิตใจให้แก่ประชาชน เช่น นโยบายรณรงค์รักษาสิ่งแวดล้อม นโยบาย ส่งเสริมเอกลักษณ์ไทย นโยบายวันชาติ เพลงชาติ นโยบายวันสำคัญทางศาสนา หรือ นโยบายการแต่งชุด ไทยในวันศุกร์ เป็นต้น 4.10 นโยบายมุ่งเน้นสินค้าสาธารณะ (Collective (goods) Policy) เป็นนโยบายที่กำหนด สินค้าที่ไม่สามารถแยกกลุ่มผู้รับผลประโยชน์ออกจากนโยบายได้ เมื่อรัฐจัดสรรสินค้านั้นแล้วประโยชน์จะ ตกอยู่กับประชาชนทุกคนไม่จำกัดบุคคล กลุ่ม เช่น นโยบายป้องกันประเทศ นโยบายควบคุมความ ปลอดภัยสาธารณะ หรือ นโยบายระบบสาธารณูปโภค เช่น ประปา หรือ ไฟฟ้า เป็นต้น
74 4.11 นโยบายมุ่งเน้นสินค้าเอกชน (Private (goods) Policy) เป็นนโยบายที่กำหนดให้ สินค้าเอกชนสามารถแยกกลุ่มผู้รับผลประโยชน์ออกเป็นหน่วยย่อยๆ ได้และสามารถเก็บค่าใช้จ่ายอัน เนื่องจากผู้ได้รับผลประโยชน์ได้โดยตรง เช่น การเก็บขยะของเทศบาลเฉพาะพื้นที่ ฯโยบายการ โทรคมนาคม นโยบายสื่อเสรีทีวีดิจิทัล และนโยบายระบบโลจิสติกส์ เป็นต้น จากที่ได้แจกแจงประเภทของนโยบายสาธารณะข้างต้น จะสังเกตได้ว่า โดยธรรมชาติของ นโยบายสาธารณะนั้น ไม่สามารถที่จะจำแนกแยกแยะออกจากกันได้อย่างชัดเจน ในทางกลับกัน นโยบาย สาธารณะแต่ละนโยบายอาจประกอบด้วยคุณสมบัติของนโยบายหลายประเภท ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ วัตถุประสงค์ของผู้ศึกษาว่าจะมุ่งเน้นคุณลักษณะใดเป็นสำคัญ บางนโยบายอาจมีประสิทธิภาพสูง ในขณะ ที่หลายนโยบายที่ประกาศใช้อาจจะไม่ประสบความสำเร็จ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย และธรรมชาติของ นโยบายนั้นๆ เช่น ขอบเขตเนื้อหา ปัจจัยสัมพันธ์ ทรัพยากรที่ต้องการ และ ภาวะแวดล้อมทั้งในและนอก ของนโยบายซึ่งจะอธิบายเพื่มเติมต่อไป 5. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดนโยบาย ปัญหาและอุปสรรคที่มีผลต่อการกำหนดนโยบายสาธารณะ อาจจำแนกออกได้เป็น 2 ประเภท คือปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นจากปัจจัยภายในประเทศ และปัจจัยภายนอกประเทศ อย่างไรก็ตาม ปัจจัยต่าง ๆ ย่อมมีผลกระทบซึ่งกันและกันอย่างไม่สามารถแยกออกจากกันได้ ดังนั้นผู้กำหนดนโยบาย หรือนักวิเคราะห์นโยบายจำเป็นจะต้องเข้าใจสภาพแวดล้อมนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดนโยบาย โดยสามารถอธิบายได้ ดังต่อไปนี้ 5.1 สภาพแวดล้อมของสังคม สภาพแวดล้อมภายในสังคมที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดนโยบาย ได้แก่ ขนาดของประชากร สภาพภูมิศาสตร์(ทรัพยากรธรรมชาติภูมิอากาศ ภูมิประเทศ) วัฒนธรรมทางการเมือง โครงสร้างทางสังคม ระบบเศรษฐกิจ ระบบการเมือง รวมทั้งองค์ความรู้และวิธีการบริหารจัดการ องค์ประกอบของ สภาพแวดล้อมดังกล่าว มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันและมีอิทธิพลต่อการกำหนดนโยบายสาธารณะมาก ใน ที่นี้จะได้กล่าวถึงสภาพแวดล้อมเฉพาะที่มีความสำคัญ ได้แก่วัฒนธรรมทางการเมือง โครงสร้างของสังคม ระบบเศรษฐกิจ และระบบการเมือง ดังนี้ 5.1.1 วัฒนธรรมทางการเมือง (Political Culture) วัฒนธรรมทางการเมือง หมายถึง แบบแผนความคิด ความเชื่อ ค่านิยม และ ทัศนคติของบุคคลที่มีต่อระบบการเมือง และส่วนต่าง ๆ ของระบบการเมือง วัฒนธรรมทางการเมือง สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภทสำคัญ ดังนี้ (1) วัฒนธรรมทางการเมืองแบบคับแคบ (Parochial Political Culture) ซึ่งเป็น วัฒนธรรมทางการเมืองในสังคมที่ล้าหลังหรือยังไม่พัฒนา ประชาชนยึดมั่นในกฎธรรมชาติและยอมรับ อำนาจของผู้น านอกจากนั้นยังขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประเด็นต่าง ๆ ทางการเมือง อันได้แก่ สถาบันทางการเมืองกระบวนทางการเมือง การมีส่วนร่วมทางการเมือง การเรียกร้องความต้องการของ ประชาชน และอิทธิพลของประชาชนในการตัดสินใจทางการเมือง จึงทำให้ประชาชนไม่มีความผูกพัน ทางการเมือง และไม่คาดหวังหรือเรียกร้องผลประโยชน์จากระบบการเมือง ซึ่งหมายรวมถึงนโยบายที่ รัฐบาลจะดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหาให้กับสังคมโดยรวมด้วยเช่นกัน (2) วัฒนธรรมทางการเมืองแบบไพร่ฟ้า (Subject Political Culture) เป็น วัฒนธรรมทางการเมืองในสังคมที่เจริญก้าวหน้ามากกว่าแบบแรก โดยประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการเมืองและกระบวนการทางการเมือง ยอมรับการตัดสินใจทางการเมืองและอำนาจรัฐ แต่
75 ขณะเดียวกัน ยังขาดความเข้าใจเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมทางการเมือง เพราะคิดว่าตนเป็นไพร่ฟ้าหรือผู้ถูก ปกครอง ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับการกำหนดนโยบายของรัฐ (3) วัฒนธรรมทางการเมืองแบบมีส่วนร่วม (Participant Political Culture) เป็น วัฒนธรรมทางการเมืองในสังคมที่มีการพัฒนาทางการเมืองอย่างมาก เช่น ประเทศสหรัฐอเมริกา ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการเมือง และเข้าใจว่าตนเป็นสมาชิกของระบบการเมือง มี บทบาทในการกำหนดนโยบายของรัฐโดยการเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมือง สมาชิกของระบบการเมืองต่าง ก็ยอมรับในอำนาจที่ชอบธรรมของรัฐบาล ยอมปฏิบัติตามกฎระเบียบของสังคมและกฎหมาย และ ประชาชนส่วนใหญ่มีความรู้สึกว่าตนมีความสำคัญ มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจของรัฐบาล รวมทั้งควบคุม และตรวจสอบการดำเนินงานรัฐบาลได้ การกำหนดนโยบายสาธารณะของรัฐ อาจพิจารณาจากลักษณะ วัฒนธรรมทางการเมืองได้ ถ้าประชาชนส่วนใหญ่มีวัฒนธรรมทางการเมืองแบบคับแคบ การกำหนด นโยบายมักจะกำหนดโดยชนชั้นผู้ปกครองซึ่งมีอำนาจในการตัดสินใจ ส่วนประชาชนจะเป็นเพียงผู้รับผล จากนโยบาย แต่ถ้าประชาชนส่วนใหญ่มีวัฒนธรรมทางการเมืองแบบมีส่วนร่วม เชื่อในเรื่องเกี่ยวกับ เสรีภาพส่วนบุคคล ความเสมอภาคและความเท่าเทียมกัน เช่น สังคมอเมริกันจะเห็นว่าการกำหนด นโยบายควรจะมาจากความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับปัญหาและความต้องการของประชาชน โดย ผ่านกลุ่มผลประโยชน์หรือพรรคการเมืองต่าง ๆ อย่างกว้างขวาง นโยบายที่เกิดขึ้นจึงเกิดจากการมีส่วน ร่วมของประชาชน เมื่อประชาชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจกำหนดนโยบายแล้ว ก็จะทำให้มีความสนใจ และผูกพันกับกระบวนการทางการเมืองอื่น ๆ เช่น มีส่วนร่วมในการดำเนินงาน การควบคุมและตรวจสอบ
มีความเฉื่อยชาไม่สนใจการเมือง (Apathetic) และคอยรับผลจากการพัฒนาเท่านั้น ส่วนข้าราชการทำ หน้าที่เพียงนำนโยบายที่กำหนดโดยชนชั้นนำไปปฏิบัติไม่ได้มีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายเช่นเดียวกัน ทิศทางของการกำหนดนโยบายสาธารณะ จึงเป็นทิศทางแบบแนวดิ่ง (Vertical) จากชนชั้นปกครองสู่ ประชาชน ในกรณีเช่นนี้ อาจเปรียบเทียบได้กับประเทศเกาหลีเหนือ เป็นต้น หากประเทศใดมีระบบการเมืองแบบประชาธิปไตย (Democracy) ที่แท้จริง ประชาชนจะมีอำนาจในการกำหนดตัวผู้ปกครอง และมีส่วนร่วมในการตัดสินใจแก้ไขปัญหาของตนเอง ดังนั้น การกำหนดนโยบายของรัฐจะเปิดโอกาสให้ประชาชนหรือกลุ่มหลากหลายเข้ามามีส่วนร่วมในการ กำหนดนโยบายอย่างกว้างขวางโดยเสนอปัญหาและความต้องการผ่านการทำประชาคมหรือประชา พิจารณ์เข้ามาสู่กระบวนการกำหนดนโยบายตามลำดับ ซึ่งสอดคล้องกับตัวแบบกลุ่ม (Group Model) เพราะนโยบายสาธารณะเป็นผลลัพธ์ของการปฏิสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มผลประโยชน์ต่าง ๆ ผู้กำหนดนโยบาย มีหน้าที่เพียงการประนีประนอมและเจรจาต่อรองระหว่างกลุ่มผลประโยชน์ต่าง ๆ ที่เรียกร้องหรือแข่งขัน กัน 5.1.3 โครงสร้างของสังคม (Social Structure) โครงสร้างของสังคม (Social Structure) หมายถึง องค์ประกอบของสังคมที่ทำให้ สังคมดำรงอยู่ได้ เช่น กลุ่มคน ชนชั้นทางสังคม บรรทัดฐานทางสังคม สถาบันทางสังคม เป็นต้น สภาพแวดล้อมทางสังคมโดยเฉพาะโครงสร้างของสังคมนับว่าเป็นปัจจัยสำคัญต่อการกำหนดนโยบายมาก อาทิสังคมใดคนส่วนใหญ่มีฐานะยากจน มีความขัดแย้งกัน ขาดการศึกษาและสุขภาพอนามัยไม่ดีสภาพ ดังกล่าวจะเป็นข้ออ้างหรือข้อมูลที่รัฐบาลใช้ในการตัดสินใจกำหนดเป็นนโยบายต่าง ๆ เช่น นโยบายแก้ไข ปัญหาความยากจน นโยบายปฏิรูปการศึกษา นโยบายปรับค่าจ้างแรงงานขั้นต่ำ นโยบายหลักประกัน สุขภาพ เป็นต้น
การดำเนินงานของรัฐบาลต่อไป 5.1.2 ระบบการเมือง (Political System) หากประเทศใดมีระบบการเมืองแบบเผด็จการ (Dictator) จะเห็นได้ว่าผู้มีอำนาจ หรือผู้นำมักจะเป็นฝ่ายตัดสินใจกำหนดนโยบายภายใต้ค่านิยมหรือความชอบของตนเอง โดยไม่เปิดโอกาส ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบาย เพราะมองว่าประชาชนขาดความรู้ความเข้าใจในการเมือง
76 5.1.4 ระบบเศรษฐกิจ (Economic System) ระบบเศรษฐกิจเป็นการดำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการผลิต การบริโภค การ แลกเปลี่ยน และการกระจายหรือการแจกจ่าย ซึ่งเป็นไปตามกฎเกณฑ์หรือนโยบายที่กำหนดไว้ โดยมี องค์การที่รับผิดชอบหรือเกี่ยวข้องเป็นผู้ดำเนินการ ระบบเศรษฐกิจของสังคมโลกสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ (1) ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism) (2) ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมหรือแบบวางแผน (Socialism / Planned Economy) (3) ระบบเศรษฐกิจแบบผสม (Mixed Economy) หากประเทศใดมีระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ที่เน้นให้เอกชนสามารถดำเนิน กิจกรรมทางเศรษฐกิจได้อย่างเสรีมีการแข่งขันกันอย่างเสรีเน้นการเติบโตของอุตสาหกรรมและบริการ และเน้นรายได้มวลรวมประชาชาติ (GNP) มากกว่าความสุขมวลรวมประชาชาติ รัฐบาลก็มักกำหนด นโยบายสอดคล้องกับระบบเศรษฐกิจดังกล่าว เช่น นโยบายส่งเสริมการส่งออก นโยบายการพัฒนา อุตสาหกรรม นโยบายการลดภาษีการนำเข้าเครื่องจักร นโยบายการเงินเสรีนโยบายเปิดเขตการค้าเสรี (FTA) เป็นต้น 5.1.5 สภาพแวดล้อมอื่น ๆ การกำหนดนโยบายอาจมีสภาพแวดล้อมภายนอกประเทศที่ต้องคำนึงถึงแตกต่าง กัน ซึ่งมีอิทธิพลต่อความต้องการ ค่านิยม พฤติกรรมของบุคคลและของกลุ่ม กล่าวคือ
ยอมรับการเปลี่ยนแปลงจาก โลกภายนอก และประชาชนสามารถปรับเปลี่ยนสถานภาพของตนเองได้ตลอดเวลา การกำหนดนโยบาย สาธารณะย่อมแปรเปลี่ยนไปตามสภาพแวดล้อมภายนอกด้วยเช่นกัน สภาพแวดล้อมภายนอกที่มีอิทธิพล ต่อการกำหนดนโยบายสาธารณะมีหลายประการ อาทิ กระแสโลกาภิวัตน์ การเมืองระหว่างประเทศ เศรษฐกิจทุนนิยมโลก และเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นต้น นอกเหนือจากปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกำหนด นโยบายสาธารณะตามที่จำแนกดังกล่าวยังมีปัจจัยอื่น ๆ ที่อาจเป็นปัญหาและอุปสรรคต่อการกำหนด นโยบายสาธารณะอีกเช่นกัน โดยมีตัวอย่างดังต่อไปนี้ (1) การก่อตัวของนโยบาย โดยเฉพาะการกำหนดประเด็นปัญหา ซึ่งบางครั้งมิใช่ เป็นปัญหาที่ประชาชนส่วนใหญ่เดือดร้อนหรือปัญหาที่ประชาชนยอมรับร่วมกัน หากแต่เป็นปัญหาที่ผู้มี อำนาจหรือผู้นำคิดว่าเป็นปัญหาหรือเป็นปัญหาในมุมมองของรัฐบาลฝ่ายเดียว เพราะประชาชนหรือผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียขาดการมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบาย แต่หลายนโยบายถูกกำหนดโดยคนไม่กี่คนหรือ คนคนเดียวกำหนดนโยบายนโยบายที่กำหนดขึ้นมา จึงไม่ตรงกับปัญหาและความต้องการของประชาชน อย่างแท้จริง ตลอดจนนักวิชาการขาดการศึกษาวิจัยปัญหาเชิงนโยบาย ระบบการศึกษาก็เน้นวิชาการ หรือตำราเป็นที่ตั้ง ไม่ได้เอาความเป็นจริงของสังคมเป็นตัวตั้ง จึงเป็นระบบที่อยู่นอกสังคม เกิดการอ่อนแอ ทางปัญญาเชิงนโยบาย เมื่อกำหนดนโยบายขึ้นมาจึงส่งผลเสียและเป็นต้นเหตุสำคัญของวิกฤติต่าง ๆ ตามมา (2) การระบุปัญหา มักจะเป็นปัญหาที่ระบุโดยฝ่ายข้าราชการระดับสูง มากกว่า เป็นปัญหาที่มาจากประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงที่การเมืองไทยอยู่ในระบบอำมาตยาธิปไตย (Bureaucracy Policy) เช่น สมัย จอมพลสฤษดิ์ธนะรัชต์ หรือสมัยหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 การกำหนดนโยบายริเริ่มมาจากนายกรัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรี แต่ข้อมูลหรือข้อเสนอแนะต่าง ๆ นั้นมา จากข้าราชการประจำระดับกระทรวง ทบวง กรม เพราะรัฐบาลขณะนั้นมีเงื่อนไขทางการเมือง จึงทำให้ไม่ สามารถจัดประชุมประชาคมเพื่อระดมความคิดเห็นจากประชาชนอย่างกว้างขวางได้ โดยเฉพาะนโยบาย ด้านเศรษฐกิจและความมั่นคงของประเทศ จึงทำให้กลุ่มข้าราชการซึ่งเป็นกลุ่มคนชั้นนำสามารถเข้า ครอบงำกระบวนการกำหนดนโยบายแทนฝ่ายการเมือง
ประเทศที่เป็น ระบบสังคมเปิด (Open Society) ที่โครงสร้างทางสังคมมีลักษณะยึดหยุ่น
77 (3) การกำหนดนโยบายบางครั้งไม่ผ่านการวิเคราะห์นโยบายอย่างถ่องแท้ และมี ข้อมูลไม่เพียงพอ ตลอดจนไม่ได้นำทฤษฎีหรือตัวแบบต่าง ๆ มาใช้ในการศึกษาวิเคราะห์ทางเลือกก่อน ตัดสินใจ นอกจากนั้นการวิเคราะห์นโยบายสาธารณะมักเป็นการวิเคราะห์ในแง่มุมเดียวว่าสิ่งที่รัฐบาลจะ สร้างนั้นจะใช้งบประมาณเท่าไร ถ้าสร้างแล้วประชาชนและรัฐบาลจะได้ประโยชน์อะไรหรือไม่ แต่มิได้ พิจารณาถึงผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นจากนโยบายสาธารณะนั้น ว่ามีผลกระทบต่อโครงสร้างสังคมหรือ สิ่งแวดล้อมใดบ้าง และนโยบายนั้นไปสร้างประโยชน์ให้กับใครบ้าง คิดเป็นสัดส่วนเท่าไร ซึ่งนั้นก็คือไม่มี การวิเคราะห์นโยบายแบบองค์รวม ดังนั้นเมื่อกำหนดนโยบายขึ้นมาและนำไปปฏิบัติจึงทำให้เกิดความ ล้มเหลวเชิงนโยบายได้ (4) การกำหนดนโยบายบางครั้งไม่ได้สร้างเสียงสนับสนุนจากประชาชนและ ผู้เกี่ยวข้องก่อนอนุมัติและประกาศเป็นนโยบาย จึงทำให้หลายนโยบายถูกต่อต้านจากประชาชน จนต้อง ระงับหรือยกเลิกนโยบายนั้นในที่สุด เช่น นโยบายการสร้างท่อก๊าซไทย มาเลเซีย นโยบายการสร้าง โรงไฟฟ้าหินกรูด บ่อนอก หรือนโยบายบ่อนการพนันเสรีเป็นต้น (5) ในอดีต ผู้มีอำนาจในการตัดสินใจกำหนดนโยบายไม่ค่อยให้ความสำคัญกับ การวิเคราะห์ทางเลือกก่อนตัดสินใจ ในทางกลับกัน เมื่อสนใจปัญหาใดหรือชอบเรื่องใดก็มักกำหนดเป็น นโยบายขึ้นมาบังคับใช้เลยหลายนโยบายจึงเป็นการตัดสินใจที่ไม่คุ้มค่าในเชิงเศรษฐศาสตร์ (6) การกำหนดนโยบายบางครั้งขาดอุดมคติที่ถูกต้องหรือขาดคุณธรรม
ดังนั้น นโยบายจะดีหรือไม่ดีไม่ใช่เรื่องขององค์ความรู้เท่านั้น แต่นโยบายที่ดีต้องเกี่ยวพันกับคุณธรรมและ เจตจำนงสาธารณะด้วย (7) นโยบายที่กำหนดขึ้นมา มักมีลักษณะเป็นการแก้ไขปัญหาเฉพาะส่วน ขาด การบูรณาการและการเชื่อมโยงการทำงานในภาครัฐอย่างเป็นองค์รวม และมีแนวโน้มเป็นนโยบายย่อย ๆ ซึ่งทำให้ไม่สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนและแก้ไขปัญหาระดับชาติได้อย่างแท้จริง การ ลดปัญหาและอุปสรรคดังกล่าว อาจกระทำได้โดยผู้มีอำนาจในการพิจารณาตัดสินใจกำหนดนโยบาย สาธารณะ จะต้องมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหานั้นอย่างแท้จริง มีคุณธรรมจริยธรรม ไม่ยึด ความคิดของตนเป็นเป็นใหญ่ยอมรับฟังความคิดเห็นของบุคคลอื่น ตลอดจนสนับสนุนให้ทุกฝ่ายที่มีส่วนใน การก่อตัวของนโยบายได้ทำการวิเคราะห์ปัญหาและทางเลือกของนโยบาย โดยใช้ทฤษฎีและตัวแบบการ กำหนดนโยบายที่เหมาะสม ตลอดจนเขียนรายละเอียดของร่างนโยบายที่เป็นระบบ และนำไปสร้างเสียง สนับสนุนจากประชาชนหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียก่อนอนุมัติและประกาศเป็นนโยบายสาธารณะต่อไป 6. เครื่องมือสำหรับนโยบาย เครื่องมือสำหรับนโยบาย (Policy Instruments) คือ เทคนิคหรือกลไลที่นำมาใช้เพื่อส่งเสริม หรือสนับสนุนให้นโยบายดำเนินงานได้ตามวัตถุประสงค์ โดยปกติเครื่องนโยบายเหล่านี้จะออกแบบโดยผู้มี อำนาจเพื่อบังคับใช้นโยบายที่ตนเองประกาศใช้ เครื่องมือนโยบายที่นิยมใช้อย่างกว้างขวางตามแนวคิด ของ Schneider and Ingam (1990) ประกอบด้วย 5 เครื่องมือ ดังนี้ 6.1 เครื่องมือบังคับ (Authority Tools) เป็นเครื่องมือที่นิยมใช้ในกลุ่มผู้มีอำนาจภาครัฐ มักจะเป็นในรูปแบบของกฎ ระบียบ ข้อบังคับ ที่มีบทลงโทษ หรือ กำหนดความผิดทางกฎหมาย เป็น เครื่องมือที่ได้รับความนิยมทั้งในกลุ่มภาครัฐ และที่ไม่ใช่ภาครัฐ เนื่องจากเป็นเครื่องมือเชิงอำนาจ มี ความสัมพัน์เชิงบังคับระหว่างผู้กำหนดนโยบาย และกลุ่มเป้าหมาย ทั้งนี้มักจะส่งผลในทางลบกับผู้ที่ฝ่าฝืน นโยบายนั้นๆ จึงต้องระมัดระวังในการใช้เครืองมือแบบบังคับ ควรต้องมีการประชาพิจารณ์ก่อนการ ประกาศใช้นโยบายและ กฎ ระเบียบ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้องเพื่อป้องกันความเห็นขัดแย้งในสังคมได้
เพราะ ส่วนใหญ่กำหนดนโยบายสาธารณะมาเพื่อประโยชน์ส่วนตนหรือพวกพ้องมากกว่าประโยชน์ส่วนรวม
78 6.2 เครื่องมือจูงใจ ( Incentive Tools) เป็นเครื่องมือที่สร้างแรงกระตุ้น และแรงจูงใจ หรือ ให้รางวัล สำหรับกลุ่มเป้าหมายที่กำหนดในนโยบาย เป็นเครื่องมือเชิงสร้างสรรค์เพื่อสร้างแรงกระตุ้นเชิง บวก เพื่อให้ดำเนินงานตามนโยบายที่ประกาศใช้ในสังคม เช่น โล่รางวัล ค่าตอบแทน ใบประกาศ ของขวัญ หรืองบอุดหนุน เป็นต้น 6.3 เครื่องมือพัฒนาสมรรถนะ (Capacity Tools) เป็นเครื่องมือที่เน้นการสร้างความพร้อม ในเชิงสภาวะกาย สภาวะจิต ตลอดจนทักษะ และความรู้ เพื่อส่งเสริมให้ วงจรของนโยบายนั้นๆ สามารถ ดำเนินการได้บรรลุวัตุประสงค์ เช่น การพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีดิจิทัล สำหรับนโยบาย Smart Cities ของประเทศไทย เป็นต้น 6.4 เครื่องมือเชิงสัญลักษณ์ (Symbolic Tools) เป็นเครื่องมือที่ใช้ ภาพ สติ๊กเกอร์ ตรา โล โก้ หรือ สัญลักษณ์ต่างๆ ในการรณรงค์ส่งเสริมให้ปฏิบัติตามนโยบายที่ประกาศใช้ เช่น สติ๊กเกตอร์ ประหยัดพลังงาน รูปถ่ายปอดและหัวใจที่ติดหน้าซองบุหรี่ หรือ สัญลักษณ์ Clean Food Good Taste เป็นต้น 6.5 เครื่องมือประชาสัมพันธ์เพื่อการเรียนรู้ (Learning Tools) เป็นเครื่องมือส่งเสริมข้อมูล เพื่อความเข้าใจที่ทั่วถึงกันในสังคมหรือชุมชนที่เป็นเป้าหมายของการบังคับใช้นโยบาย เช่น ใบปลิว Open Chat แอ๊พลิเคชั่น เว็บไซต์ และ Facebook Fanpage เป็นต้น 7. กระบวนการของนโยบาย (Policy Process) โดยปกติ การออกหรือประกาศใช้นโยบายมักจะสัมพันธ์กับระบบการเมืองการปกครองของ องค์กร พื้นที่ จังหวัด หรือ ประเทศนั้นๆ ซึ่งต้องอาศัยการทำงานร่วมกันในการออกนโยบายของ บุคคล กลุ่มบุคคล หน่วยงาน สถาบัน ผู้มีอำนาจ และผู้ที่ตัดสินใจ โดยมีกระบวนการขั้นตอนหลากหลายรูปแบบ ก่อนที่จะสามารถประกาศใช้นโยบายนั้นๆไก้ การออกนโยบายสาธารณะมีกระบวนการแบบกว้างอยู่ 2 รูปแบบ คือ แบบที่ 1 แบบวงจร (Policy Cycle) และแบบที่ 2 แบบระบบสภาวะแวดล้อม (Environment System Model) โดยรายละเอียดมีดังนี้ แบบที่ 1 แบบวงจร (Policy Cycle) Stage VI Policy termination Stage V Policy change Stage I Agenda setting Stage II Policy formulation Stage III Policy imple mentation Stage IV Policy evalua tion
และในหลายกรณี สถาบันต่างๆให้ความสำคัญกับผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจมากกว่าผลประโยชน์ทางสังคมของการ ท่องเที่ยว
79 แบบที่ 2 แบบระบบสภาวะแวดล้อม (Environment System
8. นโยบายการท่องเที่ยว นโยบายการท่องเที่ยว (Tourism Policy) เป็นการศึกษาด้านนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการ ท่องเที่ยว ซึ่งเป็นพื้นที่การศึกษาที่ยังขาดแคลนมากในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
สัมพันธ์กับความต้องการของนักท่องเที่ยวที่แตกต้างกันในแต่ ละยุคสมัย ประกอบกับเป็นอุตสาหกรรมที่ซับซ้อน อ่อนไหวง่ายต่อปัจจัยและการเปลี่ยนแปลงจาก ภายนอก มีความเห็นคล้อยและความเห็นต่างที่กระจัดกระจายกันไปในแต่ละกลุ่มธุรกิจ
โดยเฉพาะ อย่างยิ่ง ความเจริญก้าวหน้าต่างๆอันเป็นผลมาจาก ระบบโลกาภิวัฒน์ในสังคมปัจจุบัน ส่งผลต่อ เครือข่าย พันธมิตรทางธุรกิจระดับภูมิภาคและระดับโลกมากขึ้น รวมถึง ระบบการค้าเสรี ความเสี่ยงจากภาวะ สงครามเชิงเรษฐกิจ ความเสี่ยงภาวะสงครามโดยทั่วไป และ กระบวนการก่อการหลายต่างๆใน หลากหลายประเทศ การจัดให้มีนโยบายการท่องเที่ยวในแต่ละประเทศจึงเป็นเรื่องสำคัญ เพื่อป้องกัน ผลกระทบทางลบที่อาจเกิดขึ้นได้ทั้งต่อตัวนักท่องเที่ยวต่อสังคม และต่ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศด้วย นโยบายการท่องเที่ยวมีขอบเขตตั้งแต่เรื่องเฉพาะด้าน จนไปถึงเรื่องขนาดใหญ่ที่บังคับใช้กับทั้ง ประเทศ ตัวอย่างของนโยบายการท่องเที่ยวประกอบไปด้วย นโยบายส่งเสริมและอนุรักษ์คุณภาพ สิ่งแวดล้อม นโยบายการพัฒนาอัตลักษณ์ในแหล่งท่องเที่ยว นโยบายการตลาดและส่งเสริมการท่องเที่ยว ทั้งในประเทศและระหว่างประเทศ นโยบายด้านการศึกษาและการฝึกอบรมด้านการท่องเที่ยว นโยบาย ด้านวีซ่าและการเข้า ออกระหว่างประเทศ นโยบายควบคุมและจำกัดกิจกรรมการท่องเที่ยว และนโยบาย ด้านการกำหนดเกณฑ์มาตรฐานต่าง ๆ ด้านการท่องเที่ยว เป็นต้น เป็นต้น นโยบายการท่องเที่ยวในยุค แรกๆ จะเป็นนโยบายการท่องเที่ยวที่เน้นการพัฒนาและสร้างประโยชน์ทางเศรษฐกิจจากการท่องเที่ยว โดยยังขาดความเข้าใจต่อผลกระทบทางลบที่อาจเกิดขึ้นต่อสังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม นโยบายใน ยุคแรกๆนี้ จะเน้นความสำคัญของนโยบายการท่องเที่ยวทางการตลาดเพื่อส่งเสริมประชาสัมพันธ์การ
Model)
เนื่องจากการท่องเที่ยว เป็นพื้นที่ทางธุรกิจที่มีความหลากหลายสูง
ตลอดจน นักวิชาการเฉพาะทางที่มีความรู้ทั้งทางด้านการท่องเที่ยวและนโยบายมรจำนวนน้อย
จึงทำให้บริหารจัดการอุตสาหกรรมท่องเที่ยวด้วยนโยบายสาธารณะค่อนข้างยาก
World Tourism Organization (2005)
80 ท่องเที่ยวของพื้นที่ เมือง จังหวัด หรือ ประเทศ โดยละเลยผลกระทบในด้านลบในมิติอื่นๆ โดยตั้งแต่ยุคปี 1990s เป็นต้นไป จะเห็นถึงการเปลี่ยนแปลงของนโยบายการท่องเที่ยวที่ให้ความสำคัญมากขึ้นต่อ ผลกระทบจากอุตสาหกรรมท่องเที่ยวในพื้นที่ ตลอดจน ต่อนักท่องเที่ยว และประชากรในพื้นที่ นโยบาย การท่องเที่ยวในยุคใหม่ เป็นนโยบายที่ระกษาความสมดุลย์ระหว่างมิติทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และ สิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาการกินดีอยู่ดีของชุมชน ตลอดจนการพัฒนาศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยวให้ แข่งขันได้ในตลาดการท่องเที่ยว Ritchie & Crouch (2003) ได้ให้คำจำกัดความของนโยบายการท่องเที่ยวไว้ว่า “นโยบายการ ท่องเที่ยวเป็นชุดของกฎเกณฑ์ ข้อบังคับ แนวทาง วัตถุประสงค์ และกลยุทธ์ในการพัฒนาและส่งเสริมการ ท่องเที่ยวที่กำหนดกรอบการทำงานและรวบรวมการตัดสินใจในภาพรวมและเฉพาะเจาะจง ที่มีผลโดยตรง ต่อการพัฒนาการท่องเที่ยวและกิจกรรมการท่องเที่ยวที่จัดขึ้นอยู่เป็นประจำในแหล่งท่องเที่ยว” โดย นโยบายการท่องเที่ยวมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมที่สนับสนุนให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้มีส่วน ได้ส่วนเสีย ในขณะเดียวกันกับการลดผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นให้เหลือน้อยที่สุด นอกจากนั้น นโยบาย การท่องเที่ยวยังสนับสนุนและเอื้ออำนวยให้เกิดบรรยากาศความร่วมมือระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย นอกจากคำจำกัดความข้างต้นแล้ว นโยบายการท่องเที่ยวยังเป็นชุดของกฎ ข้อบังคับที่บอกหน้าที่ในการ ทำงานของผู้ที่เกี่ยวข้อง เป็นชุดของกิจกรรมที่ได้รับการยอมรับ เป็นแนวทางร่วมกันของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในแหล่งท่องเที่ยว United
และ
ได้ให้กรอบนโยบายสำหรับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนไว้
สร้างเศรษฐกิจของชุมชนท้องถิ่น อนุรักษ์ธรรมชาติและมรดกทางวัฒนธรรม และสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีให้กับคนในชุมชนและนักท่องเที่ยว อย่างไรก็ตาม การศึกษาด้านนโยบายการท่องเที่ยวเป็นเรื่องที่ค่อนข้างซับซ้อน เนื่องจากต้อง อาศัยผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้ด้านนโยบายสาธารณะและด้านการท่องเที่ยวควบคู่กันไป อีกทั้ง อุตสาหกรรม การท่องเที่ยวเป็นอุตสาหกรรมที่มีความหลากหลาย และเกี่ยวข้องกับหลายภาคีและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียใน ระบบวงจรของการกำหนดนโยบายและการนำนโยบายไปปฏิบัติใช้ ในอดีต นโยบายการท่องเที่ยวมักจะ มุ่งเน้นด้านผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจและการส่งเสริมการตลาด เนื่องจากการท่องเที่ยวถูกกำหนดให้เป็น เครื่องมือในการพัฒนาทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะสำหรับแหล่งท่องเที่ยวในประเทศที่กำลังพัฒนา ในระยะ หลัง นโยบายการท่องเที่ยวจะให้ความสำคัญต่อการบริหารจัดการผลกระทบจากการท่องเที่ยว ทั้ง ทางด้านสิ่งแวดล้อม สังคมวัฒนธรรม และ ความสมดุลทางเศรษฐกิจ โดยผู้เขียนสามารถสรุปวิวัฒนาการ ของนโยบายการท่องเที่ยวตามระยะเวลาสำคัญได้ดังนี้
Nations Environmental Programme (1995)
2 แนวทางคือ 1) ให้ลดผลกระทบทางลบจากการท่องเที่ยวที่กระทบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมให้เหลือน้อยที่สุด และ 2) สนับสนุนผลกระทบทางบวกจากการท่องเที่ยวให้เกิดขึ้นมากที่สุด
81 ช่วงเวลา ลักษณะของนโยบายการท่องเที่ยว 1945 1955 ช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 นโยบายการท่องเที่ยวยังไม่ชัดเจน เป็นช่วงเวลาที่ มุ่งเน้นการจัดการหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ด้านเงินตราแลกเปลี่ยนระหว่าง ประเทศ ด้านการตรวจคนเข้าเมือง กฎ และระเบียบด้านสุขอนามัย 1955 1970 นโยบายการท่องเที่ยวที่มุ่งเน้นด้านการตลาด เป็นผลมาจากการบริหารจัดการที่ มีประสิทธิภาพหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ในยุคแรกที่ส่งผลให้มีความพร้อมและมี ความสะดวกสบายในการเดินทางท่องเที่ยว 1970 1985 นโยบายการท่องเที่ยวที่มุ่งเน้นการสร้างความพร้อมด้านสิ่งอำนวยความสะดวก ขั้นพื้นฐานที่เหมาะสมในแหล่งท่องเที่ยวให้กับนักท่องเที่ยว หลังช่วงนโยบาย การตลาดการท่องเที่ยวในยุคที่ 2 1985 1990s นโยบายการท่องเที่ยวที่ให้ความสำคัญกับผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม วัฒนธรรม โดยเน้นความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อรองรับ จำนวนนักท่องเที่ยวที่เพิ่มมากขึ้นหลังยุคนโยบายการตลาดท่องเที่ยว รวมถึงเพื่อ บริหารจัดการผลกระทบเชิงลบจากการท่องเที่ยว ปลาย 1990s ปัจจุบัน นโยบายการท่องเที่ยวที่มุ่งเน้นความร่วมมือระหว่างประเทศ และข้อตกลง ระหว่างประเทศ เป็นผลจากยุคโลกาภิวัฒน์ ยุคการค้าเสรีระหว่างประเทศ จน มาถึง ยุคเทคโนโลยีดิจิทัล นโยบายการท่องเที่ยวในอดีต สามารถกล่าวได้ว่า พัฒนามาจากหน่วยงานภาคเอกชนและธุรกิจ การท่องเที่ยวเป็นหลักก่อนการดำเนินงานด้านนโยบายการท่องเที่ยวของภาครัฐ เนื่องจากนโยบายของ ภาครัฐ ในเบื้องต้นจะให้ความสำคัญกับนโยบายความมั่นคง นโยบายด้านการศึกษา
นโยบายแก้ไขความยากจนของประชาชนในประเทศมาเป็นลำดับแรก นโยบายการท่องเที่ยวในประเทศ ไทยมีร่องรอยหลักฐานในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 4 และถูกกำหนดให้เป็นวาระ แห่งชาติในปี พ.ศ. 2552 ทั้งนี้ เป็นผลมาจากความสำคัญทางเศรษฐกิจของรายได้จากอุตสาหกรรม ท่องเที่ยวต่อรายได้ของประเทศ รวมถึง การบริหารจัดการผลกระทบที่เกิดขึ้นและอาจเกิดขึ้นจากจำนวน นักท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปี โดยสาเหตุหลักที่ภาครัฐต้องให้ความสำคัญต่อนโยบายการท่องเที่ยว คือ ความเจริญทางเศรษฐกิจของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว การจัดการผลประโยชน์ ตลอดจนการจัดการ ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ดังนั้น อาจกล่าวได้ว่า นโยบายการท่องเที่ยวเป็นเรื่องที่ สำคัญและจำเป็นของภาครัฐเพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อสาธารณะและสังคม นั่นเอง ทั้งนี้ในการนำนโยบาย การท่องเที่ยวไปปฏิบัติใช้ ควรให้ความสำคัญกับปัจจัยแวดล้อมของนโยบาย อย่างน้อย 3 ปัจจัย คือ 1) ปัจจัยภายนอกของนโยบาย เช่น ความเชื่อ วัฒนธรรม ค่านิยม และการเมือง 2) ปัจจัยด้านความร่วมมือ ทั้งภายในหน่วยงานและระหว่างหน่วยงาน และ 3) ปัจจัยด้านทรัพยากร เช่น บุคลากร งบประมาณ และ อำนาจหน้าที่ เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อให้การนำนโยบายไปปฏิบัติสามารถบรรลุตามเป้าประสงค์ที่ตั้งไว้ 9. การนำนโยบายไปปฏิบัติ ความสำเร็จ (Success) หรือความล้มเหลว (Failure) ของการนำนโยบายไปปฏิบัติขึ้นอยู่กับ ปัจจัยสำคัญหลายประการ ได้แก่ 1) แหล่งที่มาของนโยบาย 2) ความชัดเจนของนโยบาย 3) การสนับสนุน นโยบาย ทั้งจากผู้ปฏิบัติและจากผู้ที่ได้รับผลกระทบจากนโยบาย 4) ความซับซ้อนในการบริหารงานของ องค์การ 5) สิ่งจูงใจสำหรับผู้นำนโยบายไปปฏิบัติ และ 6) การจัดสรรทรัพยากร Berman (1978) กล่าวไว้ ว่า นโยบายหรือโครงการจะส่งผ่านจากระดับมหภาคลงไปสู่ระดับจุลภาค หรือจากภาคส่วนระดับนโยบาย ลงไปสู่องค์การระดับท้องถิ่น การส่งผ่านแต่ละครั้งจะสร้างความยากและความไม่แน่นอนให้กับผลลัพธ์ ยิ่ง การส่งผ่านมาก ปัญหาที่เกิดขึ้นจะยิ่งมาก ประสิทธิผลของการปฏิบัติตามนโยบายหรือโครงการขึ้นอยู่กับ
ด้านสาธารณสุข และ
ฉบับที่ 11 สิ้นสุดในวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2559 โดยมีแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 บนพื้นฐานของยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560 2579) เริ่มใช้ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2560 ซึ่งมีหลักการสำคัญของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ดังนี้ (1) ยึดหลักปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง” (2) ยึด “คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา” (3) ยึด “วิสัยทัศน์ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี” มาเป็นกรอบของวิสัยทัศน์ประเทศไทยใน แผนพัฒนาฯ
82 บทบาทและความซับซ้อนของทางเลือกนโยบาย ความเป็นปึกแผ่นของสถาบัน โครงสร้างและวัฒนธรรม องค์การ อำนาจและความเป็นอิสระในภาคส่วนที่องค์การอยู่ ปัจจัยด้านองค์การ 4 ประการ ที่ทำให้เกิด ความไม่แน่นอนและเกิดความยากในการนำนโยบายไปปฏิบัติ ได้แก่ 1) ความแตกต่างของเป้าหมาย องค์การ 2) ความแตกต่างของอำนาจและอิทธิพลของแต่ละองค์การ 3) ทรัพยากรที่ขาดแคลน และ 4) การสื่อสารระหว่างองค์การ นอกจากนั้น ยังมีปัจจัยที่ทำให้ผลลัพธ์ที่ได้ไม่เป็นไปตามที่นโยบายตั้งใจหรือ คาดหวังไว้ ได้แก่ ความกำกวมของเป้าหมาย ความร่วมมือระหว่างองค์การ ซึ่งขึ้นอยู่กับความซับซ้อนและ ความเป็นทางการในการบริหารขององค์การ ความคลาดเคลื่อนระหว่างคำแนะนำของโครงการกับการ ตอบสนองของท้องถิ่น และการปรับแต่งนโยบายในระหว่างที่หน่วยงานระดับท้องถิ่นนำนโยบายไปปฏิบัติ ตัวแบบกระบวนการนำนโยบายไปปฏิบัติ มี 6 ตัวแปรที่เป็นตัวเชื่อมให้นโยบายนั้นประสบ ความสำเร็จ ได้แก่ 1) วัตถุประสงค์ของนโยบายที่มีความชัดเจน ไม่กำกวม 2) การจัดสรรทรัพยากรที่ เพียงพอ 3) การทำให้ปัจเจกบุคคลเข้าใจในวัตถุประสงค์ของนโยบาย 4) ศักยภาพขององค์การ 5) สภาพ เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง และ 6) การรับรู้ของผู้นำนโยบายไปปฏิบัติที่ต้องมีความเข้าใจ มีความเห็น ด้วย และมีความจริงจังในการนำนโยบายไปปฏิบัติ 10. กรณีศึกษานโยบายสาธารณะของรัฐบาลไทย แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 2564 ) มีไว้ใช้เป็นแนวทางใน การพัฒนาของประเทศเพื่อแก้ปัญหาทางเศษฐกิจและสังคมของประเทศไทย โดยแผนพัฒนาฯ
ฉบับที่ 12 (4) ยึด “เป้าหมายอนาคตประเทศไทยปี พ.ศ. 2579” เป็นกรอบการกำหนดเป้าหมายที่จะ บรรลุใน 5 ปีแรก และเป้าหมายในระดับย่อยลงมา ควบคู่กับกรอบเป้าหมายที่ยั่งยืน และ (5) ยึดหลักการนำไปสู่การปฏิบัติให้เกิดผลสัมฤทธิ์อย่างจริงจังใน 5 ปี สาระสำคัญของกรอบรูปแบบและเค้าโครงเบื้องต้นของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 จะสอดรับกับ กรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะยาว 20 ปี ในลักษณะของการถ่ายทอดยุทธศาสตร์ระยะยาวลงสู่การปฏิบัติใน ช่วงเวลา 5 ปี โดยรูปแบบและเค้าโครงเบื้องต้นของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 จะประกอบด้วย 5 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 กรอบหลักการของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ส่วนที่ 2 การประเมินสถานะของประเทศ ส่วนที่ 3 วัตถุประสงค์และเป้าหมายในภาพรวม ส่วนที่ 4 ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ส่วนที่ 5 การขับเคลื่อนและติดตามประเมินผลแผนพัฒนา กรอบวิสัยทัศน์แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ให้ความสำคัญกับการกำหนดทิศทางการพัฒนาที่มุ่งสู่การเปลี่ยน ผ่านประเทศไทยจากประเทศที่มีรายได้ปานกลางไปสู่ประเทศที่มีรายได้สูง มีความมั่นคง และยั่งยืน สังคม อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข
2. การพัฒนาศักยภาพคนให้สนับสนุนการเจริญเติบโตของประเทศและการสร้าง สังคมสูง วัยอย่างมีคุณภาพ
83 กรอบวิสัยทัศน์และเป้าหมาย ประกอบด้วยรายละเอียด ดังนี้ 1. กรอบวิสัยทัศน์แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 จากสถานะของประเทศและบริบทการ เปลี่ยนแปลง ต่าง ๆ ที่ประเทศกำลังประสบอยู่ทำให้การกำหนดวิสัยทัศน์แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ยังคงมีความต่อเนื่อง จากวิสัยทัศน์แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 และ กรอบหลักการของการวางแผนที่น้อมนำและประยุกต์ใช้หลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ยึดคนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนาอย่างมีส่วนร่วม การพัฒนาที่ยึดหลัก สมดุล ยั่งยืน โดยวิสัยทัศน์ของการพัฒนาในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ต้องให้ความสำคัญกับการกำหนดทิศ ทางการพัฒนาที่มุ่งสู่การเปลี่ยนผ่านประเทศไทยจากประเทศที่มีรายได้ปานกลางไปสู่ประเทศที่มีรายได้สูง มีความมั่นคง และยั่งยืน สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข และนำไปสู่การบรรลุวิสัยทัศน์ระยะยาว “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” ของประเทศ 2. การกำหนดตำแหน่งทางยุทธศาสตร์ของประเทศ (Country Strategic Positioning) เป็นการกำหนดตำแหน่งทางยุทธศาสตร์ของประเทศที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติที่สำนักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ(สศช.) ได้จัดทำขึ้น ประเทศไทยเป็นประเทศรายได้ สูงที่มีการกระจายรายได้อย่างเป็นธรรม เป็นศูนย์กลางด้านการขนส่งและโลจิสติกส์ของภูมิภาคสู่ความเป็น ชาติการค้าและบริการ (Trading and Service Nation) เป็นแหล่งผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์และเกษตร ปลอดภัย แหล่งอุตสาหกรรมสร้างสรรค์และมีนวัตกรรมสูงที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เป้าหมายที่กำหนดไว้ของแผนที่ 12 คือ
1. การหลุดพ้นจากกับดักประเทศรายได้ปานกลางสู่รายได้สูง
3. การลดความเหลื่อมล้ำในสังคม 4. การสร้างการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 5. การบริหารราชการแผ่นดินที่มีประสิทธิภาพ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ได้กำหนดเป้าหมาย ยุทธศาสตร์และแนว ทางการพัฒนาประเทศในระยะ 5 ปี ซึ่งจะเป็นแผนที่มีความสำคัญในการวางรากฐานการพัฒนาประเทศ ไปสู่สังคมที่มีความสุขอย่างมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน สอดคล้องตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ที่เป็นกรอบการ พัฒนาประเทศในระยะยาว รัฐบาลมีนโยบายในการสร้างความมั่นคงและเข้มแข็งให้กับระบบเศรษฐกิจ ของประเทศ รวมทั้งเร่งสร้างสังคมที่มีคุณภาพ โดยการขจัดอุปสรรคต่าง ๆ ที่มีต่อการเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจและการลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม ตลอดจนการวางแผนการพัฒนาในด้านต่าง ๆ ในระยะยาว ครอบคลุมถึงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน การสร้างความมั่นคง มั่ง คั่งทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ เป็นสิ่งสำคัญที่ประเทศจะต้องมีทิศทางและเป้าหมายการพัฒนา ระยะยาวที่ชัดเจน โดยทุกภาคส่วนในสังคมต้องร่วมมือกันอย่างเข้มแข็ง เพื่อผลักดันให้เกิดผลสัมฤทธิ์ อย่างต่อเนื่อง และสอดรับกับการปฏิรูปประเทศที่มุ่งสู่ความ “มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน” ในอนาคต เน้นให้ “คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา” สร้างความมั่นคงของชาติ พัฒนาคนทุกวัยให้เป็น คนดี คนเก่ง สำหรับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติของประเทศในระยะ 5 ปี จะยึดหลัก “ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง” ต่อเนื่องจากแผนพัฒนาฯ ฉบับก่อนหน้า เพื่อให้การพัฒนาในทุกมิติมีการบูรณา การบนทางสายกลาง มีความพอประมาณ มีเหตุผล รวมถึงมีระบบภูมิคุ้มกันที่ดี สอดคล้องกับภูมิสังคม การพัฒนาทุกด้าน มีดุลยภาพ ทั้งมิติเศรษฐกิจ สังคม และระบบนิเวศน์ มีความสอดรับ เกื้อกูล และพึ่งพา อาศัยซึ่งกันและกัน โดยการพัฒนาในมิติหนึ่งต้องไม่ส่งผลกระทบทางลบต่อมิติอื่น ๆ รวมทั้งต้องมุ่งเน้น
84 ให้ “คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา” สร้างความมั่นคงของชาติ พัฒนาคนทุกวัยให้เป็น คนดี คนเก่ง มี ศักยภาพ และความคิดสร้างสรรค์ ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญในการเพิ่มศักยภาพการแข่งขันทั้งในภาคการผลิต และภาคบริการเพื่อสร้างความเข้มแข็ง มีคุณธรรมจริยธรรม มีจิตสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวมนำไปสู่การ สร้างสังคมที่พึงปรารถนา รวมถึงมีจิตอนุรักษ์ รักษา ฟื้นฟู และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมอย่างถูกต้องและเหมาะสม 10 ยุทธศาสตร์ ภายใต้แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ได้กำหนด 10 ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาประเทศ เพื่อขับเคลื่อนประเทศให้บรรลุเป้าหมาย ดังนี้ 1. การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ 2. การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกันการทุจริต ประพฤติมิชอบ และธรรมมาภิบาลใน สังคมไทย 3. การสร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย 4. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ 5. การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน 6. การพัฒนาวิทยาศาสตร์และนวัตกรรม 7. การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน 8. การพัฒนาภาคเมืองและพื้นที่เศรษฐกิจ 9. การเสริมสร้างความมั่นคงแห่งชาติ เพื่อการพัฒนาประเทศสู่ความมั่งคั่งและยั่งยืน 10. ความร่วมมือระหว่างประเทศ เพื่อการพัฒนา 11. กรณีศึกษา นโยบายการท่องเที่ยวของประเทศไทย ปี พ.ศ. 2562 คณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ (ท.ท.ช.) มีอำนาจและหน้าที่หลักในการส่งเสริม การบริหารและพัฒนาการท่องเที่ยว รวมทั้งจัดทำแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติเสนอต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อพิจารณาอนุมัติ ซึ่งที่ผ่านมาได้มีการจัดทำแผนพัฒนาฉบับแรกของประเทศไปแล้ว คือ แผนพัฒนาการ ท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555 2559 เพื่อใช้เป็นกรอบและแนวทางในการขับเคลื่อนการท่องเที่ยวของ ประเทศในระยะ 5 ปี โดยแผนพัฒนาการท่องเที่ยว ฉบับดังกล่าวสิ้นสุดลงในปี พ.ศ. 2559 ซึ่งผลการ ดำเนินงานในระยะที่ผ่านมา แม้จะประสบผลสำเร็จในการเพิ่มจำนวน และรายได้จากการท่องเที่ยว แต่ยัง ประสบปัญหาและอุปสรรคสำคัญหลายประการ ประกอบกับสภาพและบริบทต่าง ๆ ที่ส่งผลกระทบต่อ อุตสาหกรรมท่องเที่ยวมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ทั้งปัจจัยภายใน เช่น สถานการณ์การเมืองของ ประเทศ นโยบายของภาครัฐ การปรับตัวของภาคเอกชน และปัจจัยภายนอก เช่น สภาวะการแข่งขันใน อุตสาหกรรม ท่องเที่ยว การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและความคาดหวังของนักท่องเที่ยว แนวโน้มการ พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ความร่วมมือและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ จึงนับเป็นโอกาสอันดีที่ ประเทศไทยจะได้กำหนดวิสัยทัศน์การพัฒนาการท่องเที่ยว 20 ปี และแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2560 2564) ให้สอดคล้องกับสถานการณ์และก้าวทันการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว เพื่อให้การ ท่องเที่ยวไทยยังคงบทบาทการเป็นสาขาหลักในการรักษาเสถียรภาพ และขับเคลื่อนเศรษฐกิจของ ประเทศ การจัดทำแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2560 2564) ได้คำนึงถึงบริบทของ ประเทศไทยในการพัฒนาภายใต้กรอบการวิเคราะห์แบบองค์รวม โดยสรุปจากการศึกษาข้อมูลปฐมภูมิที่ ได้สำรวจความเห็นจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน รวมถึงข้อมูลทุติยภูมิจากเอกสารและ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยได้มีการดำเนินการตาม 5 ขั้นตอนหลัก ได้แก่ (1) การประเมินผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555 2559
85 (2) การศึกษาสภาพแวดล้อมและบริบทการท่องเที่ยวของประเทศและของโลก (3) การทบทวนการพัฒนาการท่องเที่ยวของประเทศคู่แข่งและประเทศต้นแบบรายสำคัญ (4) การทบทวนนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ด้านการท่องเที่ยวของหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง (5) การรับฟังความคิดเห็นจากผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง โดยคำนึงถึงการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน/ประชาสังคม ผ่านการสัมภาษณ์ผู้บริหาร ผู้ทรงคุณวุฒิ และ ผู้เชี่ยวชาญในสาขาการท่องเที่ยว การจัดประชุมกลุ่มย่อยเพื่อรวบรวมข้อมูลความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ จากผู้ที่เกี่ยวข้องด้านการท่องเที่ยวจากทุกภาคส่วนทั่วประเทศ การจัดประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็นต่อ ข้อเสนอวิสัยทัศน์ การท่องเที่ยวไทย พ.ศ. 2579 และข้อเสนอร่างแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับ ที่ 2 (พ.ศ. 2560 2564) 11.1 วิสัยทัศน์การท่องเที่ยวไทย พ.ศ. 2579 “ประเทศไทยเป็นแหล่งท่องเที่ยวคุณภาพชั้นนำ ของโลกที่เติบโตอย่างมีดุลยภาพบนพื้นฐานความเป็นไทย เพื่อส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และ กระจายรายได้สู่ประชาชนทุกภาคส่วนอย่างยั่งยืน” โดยมีแนวคิดหลัก ในการพัฒนาตามองค์ประกอบ 5 ประการ ดังนี้ (1) ประเทศไทยเป็นแหล่งท่องเที่ยวคุณภาพชั้นนำของโลก ด้วยการยกระดับคุณภาพและเพิ่ม ความหลากหลายของสินค้าและบริการด้านการท่องเที่ยวให้มีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับในระดับสากล มุ่งเพิ่ม รายได้จาก การท่องเที่ยวโดยเน้นการเพิ่มค่าใช้จ่ายและวันพักต่อครั้งของการเดินทางของนักท่องเที่ยว และเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยวของประเทศ (2) การเติบโตอย่างมีดุลยภาพ โดยส่งเสริมดุลยภาพการเติบโตของการท่องเที่ยวระหว่าง
ระหว่างนักท่องเที่ยวตามถิ่นที่อยู่
โดยเน้นการกระจายการพัฒนาการท่องเที่ยวในเมืองท่องเที่ยวรองและพื้นที่ชุมชน ท้องถิ่น ส่งเสริมดุลยภาพการเติบโตระหว่าง ช่วงเวลาและฤดูกาล โดยเน้นส่งเสริมการท่องเที่ยวในช่วง เดือนมิถุนายน กันยายน รวมทั้งส่งเสริมการท่องเที่ยว รูปแบบต่าง ๆ ที่ประเทศไทยมีศักยภาพหรือ รูปแบบที่ควรพัฒนา (3) การเติบโตบนพื้นฐานความเป็นไทยโดยเน้นการพัฒนาสินค้าและบริการด้านการท่องเที่ยว และแหล่ง ท่องเที่ยว ให้สอดคล้องกับอัตลักษณ์และวิถีไทย เสริมสร้างความเข้าใจแก่นักท่องเที่ยวและ ประชาชนถึงอัตลักษณ์ความเป็นไทย และเสริมสร้างความภาคภูมิใจในความเป็นไทยและการเป็นเจ้าบ้าน ที่ดีสำหรับประชาชนทุกระดับ (4) การส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และกระจายรายได้สู่ประชาชนทุกภาคส่วน โดยมุ่ง พัฒนาการท่องเที่ยวให้เป็นแหล่งเพิ่มรายได้ และกระจายรายได้ แก่ประเทศพัฒนาการท่องเที่ยวให้เป็น กลไกหนึ่งในการขับเคลื่อนการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ เเละสร้างโอกาสเพื่อการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมของชาติ พัฒนาการท่องเที่ยวในภูมิภาคและเขตพัฒนาการท่องเที่ยว โดยเฉพาะพื้นที่ เมืองรองและชนบท และสนับสนุนภาคเอกชนลงทุนในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและอุตสาหกรรมที่ เกี่ยวเนื่อง (5) การพัฒนาอย่างยั่งยืน ด้วยการส่งเสริมความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยการอนุรักษ์และฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยวที่เสี่ยงต่อการเสื่อมโทรม การบริหารความสามารถในการรองรับ นักท่องเที่ยว และการปลูกฝังจิตสำนึกความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมความยั่งยืนของวัฒนธรรม โดยการเชิดชูและรักษาไว้ซึ่งเอกลักษณ์ของไทย คุณค่าดั้งเดิม และภูมิปัญญาท้องถิ่น
กลุ่ม นักท่องเที่ยว เช่น ระหว่างนักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติ
และ ระหว่าง กลุ่มนักท่องเที่ยวทั่วไปและนักท่องเที่ยวที่มีความสนใจเฉพาะ ส่งเสริมดุลยภาพการเติบโต ระหว่างพื้นที่ท่องเที่ยว
มีอัตราการขยายตัวไม่ต่ำ กว่าร้อยละ 3 ต่อปี (6) สัดส่วนการเดินทางท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวต่างชาติในช่วงเดือนมิถุนายน กันยายน ไม่ต่ำกว่า 1 ใน 3 ของการเดินทางตลอดทั้งปี (7) รายได้จากการท่องเที่ยวในจังหวัดรอง
86 11.2 เป้าประสงค์ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2560 2564) (1) การเป็นแหล่งท่องเที่ยวคุณภาพ เพื่อยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการ ท่องเที่ยว (2) การเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวอย่างสมดุล (3) การกระจายรายได้และผลประโยชน์จากการท่องเที่ยวสู่ทุกพื้นที่และทุกภาคส่วน (4) การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนบนพื้นฐานอัตลักษณ์และวิถีไทย 11.3 ตัวชี้วัดระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2560 2564) (1) จำนวนแหล่งท่องเที่ยวและสถานประกอบการด้านการท่องเที่ยว ได้รับเครื่องหมาย รับรองมาตรฐานการท่องเที่ยวไทยเพิ่มสูงขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 5 ต่อปี (2) อันดับขีดความสามารถทางการแข่งขันด้านการท่องเที่ยว 1 ของประเทศไทย เป็น 1 ใน 30 อันดับแรกของโลก หรือ 1 ใน 7 อันดับแรกของภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก (3) ความเชื่อมั่นในสินค้าและบริการด้านการท่องเที่ยวของไทยที่มีคุณภาพได้มาตรฐานไม่ น้อยกว่าร้อยละ 90 (4) รายได้จากนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ มีอัตราการขยายตัวไม่ต่ำกว่าร้อยละ 10 ต่อปี (5) การเดินทางท่องเที่ยวภายในประเทศของนักท่องเที่ยวชาวไทย
(จังหวัดที่มีจำนวนผู้เยี่ยมเยือนต่ำกว่า ๑ ล้านคน) มีอัตราการขยายตัวไม่ต่ำกว่าร้อยละ 12 ต่อปี (8) ดัชนีการรับรู้และเข้าใจในเอกลักษณ์ความเป็นไทยของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติและ นักท่องเที่ยวชาวไทย เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องในทุก ๆ ปี (9) อันดับขีดความสามารถทางการแข่งขันด้านการท่องเที่ยว (TTCI) ของประเทศไทย ด้าน ความเด่นชัดของวัฒนธรรมและนันทนาการจากการสืบค้นออนไลน์ด้านการท่องเที่ยว (Cultural & Entertainment Tourism Digital Demand) เป็น 1 ใน 10 อันดับแรกของโลก (10) ดัชนีด้านความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการ ท่องเที่ยวของประเทศไทยใน 6 มิติที่สำคัญ และพัฒนาขึ้นอย่างน้อย 10 อันดับในแต่ละมิติ 12. บทสรุป การศึกษานโยบายการท่องเที่ยวมีวิวัฒนาการจากการศึกษาด้านนโยบายสาธารณะซึ่งหมายถึง แนวทางการดำเนิน งานของภาครัฐ หรือหน่วยงานผู้มีอำนาจหลักต่อการจัดการทรัพยากรและปัญหาต่าง ๆ ในสังคม โดยมีนโยบายสาธารณะหลักคือ นโยบายมุ่งเน้นการกระจายผลประโยชน์ นโยบายมุ่งเน้นการ กระจายความเป็นธรรม และนโยบายมุ่งเน้นการจัดระเบียบกฎเกณฑ์ต่าง ๆ สำหรับนโยบายการท่องเที่ยว หมายถึงการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวที่กำหนดกระบวนการทำงานและการตัดสินใจที่มีผลโดยตรง ต่อการพัฒนาการท่องเที่ยวและกิจกรรมการท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวนั้น ๆ
87 13. แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 4 1. ให้อธิบายความหมายของนโยบายสาธารณะ 2. ให้อธิบายความหมายของนโยบายการท่องเที่ยว 3. ให้ระบุประเภทของนโยบายสาธารณะ 4. ให้ระบุขั้นตอนการประกาศใช้นโยบาย 5. ให้ระบุเงื่อนไขการนำนโยบายไปปฏิบัติ 6. ให้อธิบายแนวคิดและตัวอย่างนโยบายมุ่งเน้นการกระจายผลประโยชน์ 7. ให้อธิบายแนวคิดและตัวอย่างนโยบายมุ่งเน้นการกระจายความเป็นธรรม 8. ให้อธิบายแนวคิดและตัวอย่างนโยบายมุ่งเน้นการจัดระเบียบกฎเกณฑ์ต่าง ๆ 9. ให้อธิบายนโยบายการท่องเที่ยวของประเทศไทย มาพอสังเขป 10. ให้ยกตัวอย่างนโยบายการท่องเที่ยวที่เกิดขึ้นในช่วงการแพร่ระบาดของ COVID 19
Dye, R. T. (1984). Understanding Public Policy. London: Prentice Hall International Inc..
Easton, D. (1953). The Political System. New York: Alfred A. Knorf Hogwood, B., & Gunn, L (1984). Policy analysis for the real world. Oxford: Oxford University Press.
Lowi, T J. (1968). American Business, Public Policy, Case Studies, and Political Theory. World Politics. XVI Jul
Ritchie, J.R., & Crouch, G.I. (2003). The competitive destination: a sustainable tourism perspective. Oxen, UK: CABI Publishing.
United Nations Environmental Programme [UNEP]. (1995). Global Biodiversity Assessment.
Nairobi, Kenya: United Nations Environment Programme [UNEP]. World Tourism Organization [WTO]. (2005). The concept of sustainable tourism. Retrieved June 22, 2017, from http://www.world tourism.org/sustainable/top/concepts.html
88 เอกสารอ้างอิง บทที่ 4
89 บทที่ 5 นโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของประเทศไทย ยุทธศาสตร์ชาติ คือ กรอบพัฒนาประเทศระยะยาว เพื่อให้ประเทศบรรลุวิสัยทัศน์ตามที่ ตั้งเป้าหมายไว้ โดยครอบคลุมตั้งแต่ปี พ.ศ. 2561 2580 ของประเทศไทย ในส่วนของอุตสาหกรรมการ ท่องเที่ยว เป้าหมายที่กำหนดไว้ คือ การเป็นจุดหมายปลายทางการท่องเที่ยวระดับโลก มีการบริหาร จัดการอย่างมีประสิทธิภาพ และการเป็นแหล่งท่องเที่ยวคุณภาพอย่างยั่งยืน บทที่ 5 อธิบายนัยสำคัญการ พัฒนาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวของไทย ศักยภาพ โอกาส กรอบแนวคิดการกำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ ด้านการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนระดับประเทศเพื่อเป็นแนวทางในการวิเคราะห์และการพัฒนาแผนการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนได้ 1. กรอบแนวคิดในการกำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการท่องเที่ยวของไทย แนวคิดการกำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการท่องเที่ยวของประเทศไทยพัฒนาจาก การศึกษาวิเคราะห์หลากหลายด้าน ทั้งข้อมูลในประเทศและต่างประเทศ โดยหลักการที่นำมาใช้ในการ กำหนดนโยบายการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของประเทศไทยมาจาก 5 แนวคิดหลัก คือ การศึกษา วิเคราะห์สถานการณ์และทิศทางการท่องเที่ยวของโลก
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สถานการณ์และทิศทางการท่องเที่ยวภายในประเทศ รวมถึง แนวคิดด้านการพัฒนาที่ยั่งยืน แนวคิดภาวะโลกร้อน และแนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวที่มีคุณค่าและ คุณภาพ โดยจากการวิเคราะห์ข้อมูลทั้งหมด คณะกรรมการพัฒนาแผนและนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ จึงได้กำหนดให้การท่องเที่ยวเป็นวาระแห่งชาติ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552 เป็นต้นมา โดยมีรายละเอียดของ การศึกษาวิเคราะห์ดังนี้ 1.1 สถานการณ์ และทิศทางการท่องเที่ยวระดับโลก จากการศึกษาในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา พบว่า ทั่วโลกจะมีนักท่องเที่ยว 1,700 ล้านคน จำนวน นักท่องเที่ยวในเอเชีย/แปซิฟิกจะเพิ่มขึ้นเป็น 400 ล้านคน คือ ขยายตัวเฉลี่ยปีละ 6.5 7% จีนจะเป็น ประเทศท่องเที่ยวที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีนักท่องเที่ยว 134 ล้านคน และฮ่องกงมีนักท่องเที่ยว 59 ล้านคน ธุรกิจการบินของโลกจะขยายตัวปีละ 4.8% แต่เอเชีย แปซิฟิกจะขยายตัว 6% ทำให้กลายเป็นภูมิภาคที่มี ธุรกิจการบินที่ใหญ่ที่สุดในโลก ประเทศในกลุ่มอนุภูมิภาคแม่น้ำโขง (Greater Mekong Sub Region GMS) จะมีนักท่องเที่ยวเพิ่มจาก 16.5 ล้านคนในปี พ.ศ. 2545 เป็น 70 ล้านคน ในปี พ.ศ. 2560 1.2 กระบวนการเคลื่อนไหวของกลุ่มท่องเที่ยวที่ก้าวหน้าเพื่อสร้างอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ที่ยั่งยืน รูปแบบการท่องเที่ยวที่ได้รับการพัฒนาภายใต้หลักการการพัฒนาที่ยั่งยืนและผลักดันให้เป็น เครื่องมือในการพัฒนาสังคม สิ่งแวดล้อม และเศรษฐกิจ ประกอบด้วยรูปแบบการท่องเที่ยวดังนี้ 1. การท่องเที่ยวที่รับผิดชอบต่อทรัพยากร (Responsible Tourism) 2. การท่องเที่ยวเพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน (Pro poor Tourism) 3. การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ (Ecotourism) 4. การท่องเที่ยวที่เป็นธรรม (Fair Trade Tourism) 5. โรงแรมที่มีนโยบายการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม (Green Hotel) 6. การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community based Tourism)
นโยบายของรัฐบาลในปัจจุบัน เนื้อหาและ
90 7. การท่องเที่ยวโดยการอาสาสมัคร (Volunteer Tourism) 1.3 สถิตินักท่องเที่ยวของโลก จากการวิเคราะห์ข้อมูลขององค์การการท่องเที่ยวโลกพบว่า นักท่องเที่ยวระหว่างประเทศ ในปี พ.ศ. 2560 นิยมเดินทางท่องเที่ยวในประเทศ 10 ลำดับแรก คือ ฝรั่งเศส สเปน อเมริกา จีน อิตาลี สหราชอาณาจักร เยอรมณี เม็กซิโก ไทย และตุรกี โดยมีจำนวนนักท่องเที่ยวแสดงดังภาพที่ 16 ภาพที่ 16 10 ลำดับแรกประเทศยอดนิยมปี พ.ศ. 2560 ที่มา: World Tourism Organisation (2018) และพบว่า 10 อันดับประเทศที่มีรายได้จากการท่องเที่ยวมากที่สุด ประจำปี พ.ศ. 2560 คือ 1. สหรัฐอเมริกา 6.83 ล้านล้านบาท 2 สเปน 2 ล้านล้านบาท 3. ไทย 1.65 ล้านล้านบาท 4. จีน 1.47 ล้านล้านบาท 5. ฝรั่งเศส 1.41 ล้านล้านบาท 6. อิตาลี 1.33 ล้านล้านบาท 7. สหราชอาณาจักร 1.31 ล้านล้านบาท 8. เยอรมนี 1.24 ล้านล้านบาท 9. ฮ่องกง 1.09 ล้านล้านบาท 10. ออสเตรเลีย 1.07 ล้านล้านบาท อย่างไรก็ตาม เมื่อวิเคราะห์ถึงความสามารถทางการแข่งขันด้านการเดินทางและท่องเที่ยวจะ พบว่าประเทศ สวิสเซอร์แลนด์ อยู่ในลำดับที่ 1 และประเทศในกลุ่มโลกตะวันตกจะอยู่ใน 10 ลำดับแรก ในด้านความสามารถในการแข่งขัน ด้านการเดินทางและการท่องเที่ยว ในขณะที่ประเทศไทยแม้ว่าในปี พ.ศ. 2560 จะมีจำนวนนักท่องเที่ยวมากเป็นลำดับที่ 9 ของโลก และมีรายได้ทางการท่องเที่ยวมากเป็น ลำดับที่ 3 ของโลกในปีนั้น แต่ผลการวิเคราะห์ความสามารถทางการแข่งขันด้านการเดินทางและ
91 ท่องเที่ยวของประเทศไทยอยู่ในลำดับที่ 42 ซึ่งขัดแย้งกับรายได้และจำนวนนักท่องเที่ยว ส่งผลให้ต้องมี แผนในการพัฒนาการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้กับประเทศไทย ดังแสดงในภาพที่ 17 ภาพที่ 17 อันดับความสามารถทางการแข่งขันด้านการเดินทางและการท่องเที่ยว ที่มา: World Tourism Organisation (2018) ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา นโยบายด้านการท่องเที่ยวที่สำคัญของประเทศไทยประกอบด้วย นโยบาย หลัก 4 ด้าน คือ 1. ด้านการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน เน้นสร้างความเชื่อมั่นในเรื่องความปลอดภัย เน้นให้คุณค่ากับสิ่งแวดล้อม และเน้นการยกระดับการพัฒนาสังคม 2. ด้านการพัฒนาระบบนิเวศ เน้น ความสะอาด เน้นความสะดวก เน้นเอกลักษณ์ความเป็นไทย เน้น Start up และ SMEs เน้นการลงทุน เน้นโครงสร้างพื้นฐาน เน้นการทำงานร่วมทุกภาคส่วน 3. การพัฒนาเชิงพื้นที่ เน้นท่องเที่ยวชุมชน เน้น ท่องเที่ยวเมืองรอง เน้นท่องเที่ยววิถีชีวิตลุ่มน้ำโขง เน้นพื้นที่ศักยภาพ Thailand Riviera 4. การส่งเสริม การตลาด เน้นส่งเสริมการท่องเที่ยวเมืองรอง เน้นการตลาดเฉพาะกลุ่มที่มีศักยภาพในการใช้จ่ายสูง ทั้งนี้ แนวทางในการพัฒนาความสามารถทางการแข่งขันด้านการเดินทางและการท่องเที่ยวของประเทศไทย ต้องพัฒนาไปตามหลักเกณฑ์การประเมินศักยภาพการท่องเที่ยว ซึ่งประกอบด้วย อุปทาน และอุปสงค์ ทางการท่องเที่ยว โดย อุปทาน คือการพัฒนาความพร้อมด้านโครงสร้างพื้นฐานทางการท่องเที่ยว การ บริการการท่องเที่ยวและความพร้อมของแหล่งท่องเที่ยว เช่น การเข้าถึง ป้ายบอกทาง สนามบินใน ประเทศ/นานาชาติ ท่าเรือ ที่พักแรม ห้องพัก ร้านอาหาร เป็นต้น ในด้านอุปสงค์ พิจารณาจากจำนวน นักท่องเที่ยวทั้งไทยและต่างประเทศ 3 ปี ย้อนหลัง โดยจากการศึกษาในปี พ.ศ. 2555 พบว่า ประเทศ ไทยมีจังหวัดที่มีศักยภาพสูง 21 จังหวัด ศักยภาพปานกลาง 20 จังหวัด และศักยภาพต่ำ 36 จังหวัด ดัง แสดงในภาพที่ 18
92 ภาพที่ 18 ศักยภาพด้านการท่องเที่ยวของประเทศ ที่มา: กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา (2552) 1.4 แนวคิดและทิศทางในการกำหนดนโยบาย และยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวของไทย 1.4.1 เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ 1) สร้างคุณค่าและพัฒนาสินค้าและบริการการท่องเที่ยวใหม่คุณภาพ สอดคล้องกับความต้องการของตลาดโลก 2) กระจายผลประโยชน์ด้านการท่องเที่ยวไปสู่ท้องถิ่นและธุรกิจที่เกี่ยวเนื่อง ตลอดห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) 3) บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมให้เกิด ประโยชน์อย่างยั่งยืน 1.4.2 เป้าหมายของยุทธศาสตร์ เป้าหมายของยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวของไทยมุ่งเน้นความสมดุลของ 3 ทุน การท่องเที่ยว คือ ทุนเศรษฐกิจ ทุนสังคมและวัฒนธรรม และทุนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดย เป้าหมายคือ การไม่เน้นเฉพาะด้านจำนวนนักท่องเที่ยว รายได้จากการท่องเที่ยวเพียงอย่างเดียว แต่ คำนึงถึงความสมดุลระหว่างใน 3 ด้าน 1.4.3 เปลี่ยนจุดเน้นอุตสาหกรรมใหม่ (Industry Refocus) แผนการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนเปลี่ยนจุดเน้นใน 3 ด้านคือ 1. การมุ่งเน้นด้าน ปริมาณ เป็นการมุ่งเน้นในเชิงคุณภาพ 2. การมุ่งเน้นนักท่องเที่ยวจากต่างประเทศ เป็นการมุ่งเน้น ครอบคลุมนักท่องเที่ยวจากทั้งภายในและภายนอกประเทศ 3. การมุ่งเน้นการท่องเที่ยวแบบ Mass Market เป็นการให้ความสำคัญกับ Segmented Market มากขึ้น โดยได้มีการกำหนดการปรับบทบาท
คำนึงถึงปัจจัยสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการกระตุ้นและฟื้นฟูภาคการ
93 องค์กรการบริหารการท่องเที่ยวไปสู่ระดับท้องถิ่น หรือระดับพื้นที่ และกำหนดแนวปฏิบัติให้มี 1. กำหนด ยุทธศาสตร์พัฒนาพื้นที่ 2. มอบอำนาจ 3. สนับสนุนงบประมาณ 4. เพิ่มขีดความสามารถ เพื่อส่งเสริมการ บริหารการจัดการการท่องเที่ยวระดับพื้นที่ และความยั่งยืนของท้องถิ่นต่อไป ทั้งนี้การกำหนดยุทธศาสตร์ และการจัดการใหม่ คือ การกำหนดยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวจากส่วนกลาง เป็นการเพิ่มบทบาทในการ บริหารจัดการระดับพื้นที่ขององค์กรท้องถิ่น และให้ความสำคัญกับการตลาดเป็นสำคัญ เป็นการให้ ความสำคัญกับการพัฒนาและฟื้นฟูทรัพยากรเป็นหลัก รวมถึงการแบ่งภาระความรับผิดชอบใหม่ โดยมี การกระจายอำนาจระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และองค์กรท้องถิ่นในการจัดการแหล่งท่องเที่ยว โดย หน้าที่ของภาครัฐเน้นการออกกฎหมายและการบังคับใช้กฎหมาย และภาคเอกชนเน้นความร่วมมือของ สภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวในการสร้างเครือข่ายการขายให้แข่งขันได้ในระดับโลก 2. วาระแห่งชาติว่าด้วยการท่องเที่ยว ในช่วงที่ผ่านมาภาคการท่องเที่ยวของประเทศได้รับผลกระทบจากปัจจัยลบต่าง ๆ ทั้งจากวิกฤต เศรษฐกิจโลก ปัญหาความไม่สงบทางการเมือง และการแพร่ระบาดของโรคต่าง ๆ ซึ่งรัฐบาลได้ให้ ความสำคัญกับภาคการท่องเที่ยวของประเทศ โดยคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2552 ประกาศให้การท่องเที่ยวเป็นวาระแห่งชาติ (National Agenda) เพื่อให้ทุกฝ่ายได้ใช้ความพยายามทุก รูปแบบในการช่วยกู้วิกฤตให้อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ซึ่งเป็นฐานเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศกลับฟื้น ตัวได้ในเวลาอันรวดเร็วที่สุด ด้วยเหตุผลดังกล่าวกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาจึงได้ทำแผนยุทธศาสตร์ และมาตรการกระตุ้นการท่องเที่ยวปี พ.ศ. 2552 2555 และต่อเนื่องในแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวปี พ.ศ. 2556 2560 โดยสามารถสรุปรายละเอียดที่สำคัญพอสังเขป ดังนี้ 2.1 กรอบแนวคิดในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์กู้วิกฤตและมาตรการกระตุ้นการท่องเที่ยว
การกระตุ้นและฟื้นฟูภาคการท่องเที่ยวของประเทศ
ท่องเที่ยวของประเทศ 2.1.4 เปิดโอกาสให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องได้มีส่วนร่วมในกระบวนการวางแผนยุทธศาสตร์ฯ เพื่อให้เกิดการยอมรับและนำไปใช้ประโยชน์ในทางปฏิบัติ 2.2 ปัญหาเร่งด่วนที่ต้องเร่งแก้ไข 2.2.1 เพิ่มอัตราเข้าพักในช่วงฤดูกาลท่องเที่ยวทั้งในช่วงฤดูกาลและนอกฤดูกาล ท่องเที่ยว 2.2.2 ขยายตลาดนักท่องเที่ยวที่มาเยือนไทยเป็นครั้งแรกและนักท่องเที่ยวที่เดินทางมา ท่องเที่ยวซ้ำ (Repeaters) 2.2.3 ขยายตลาดนักท่องเที่ยวที่มีค่าใช้จ่ายสูง 2.2.4 เสริมสภาพคล่องและลดต้นทุนการดำเนินธุรกิจท่องเที่ยว 2.2.5 เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของธุรกิจท่องเที่ยว 2.2.6 สร้างโอกาสหรือรายได้ให้กับธุรกิจท่องเที่ยว 2.2.7 ชะลอการเลิกจ้างแรงงานในภาคอุตสาหกรรมท่องเที่ยว 2.2.8 สร้างระบบภูมิคุ้มกันให้กับภาคอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย
2.1.1
2.1.2 ขอบเขตครอบคลุมทั้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชนในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว 2.1.3
94 2.3 การแก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้าง 2.3.1 ตั้งเป้าหมายให้ไทยเป็นแหล่งท่องเที่ยวคุณภาพสูง มีการจัดระเบียบแหล่ง ท่องเที่ยว ไม่อยู่ในสภาพเสื่อมโทรมหรือถูกทำลาย และสิ่งแวดล้อมปลอดมลพิษ รวมทั้งการเป็นเจ้าบ้านที่ ดี นักท่องเที่ยวมีความรับผิดชอบต่อแหล่งท่องเที่ยว และครอบคลุมถึง Green Tourism 2.3.2 ลงทุนตามความรู้และสารสนเทศ 2.3.3 การคมนาคมที่ติดต่อเชื่อมโยงถึงกันได้ทุกระบบ 2.3 4 มีระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ และสิ่งอำนวยความสะดวกในปริมาณที่ เหมาะสม สะดวก และบริการที่มีคุณภาพ 2.3.5 มีความปลอดภัยจากอาชญากรรม อุบัติเหตุและโรคภัยไข้เจ็บ 2.3.6 คงประเพณีและวัฒนธรรมอันดีงาม ดำรงเอกลักษณ์ของไทยไว้ให้ลือชื่อไปทั่วโลก 2.4 โครงสร้างแผนยุทธศาสตร์ 2.4.1 ยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อการ ท่องเที่ยว (Infrastructure & Logistics) 1) กลยุทธ์การพัฒนาและปรับปรุงระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ การ คมนาคม ขนส่ง ปัจจัยพื้นฐาน และสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อการท่องเที่ยว 2) กลยุทธ์การพัฒนาเครือข่ายการสื่อสาร โทรคมนาคม และระบบสารสนเทศ เพื่อการท่องเที่ยว 3) กลยุทธ์สร้างโครงข่ายเส้นทางคมนาคมและระบบเชื่อมโยงการเดินทาง ท่องเที่ยวกับประเทศเพื่อนบ้านและในภูมิภาค 2.4.2 ยุทธศาสตร์การสร้างสรรค์กิจกรรมและรูปแบบการท่องเที่ยวเพื่อสร้างคุณค่าและ มูลค่าเพิ่มทางการท่องเที่ยว 1) กลยุทธ์การสร้างสรรค์กิจกรรมใหม่ความหลากหลายเพื่อกระตุ้นการ ท่องเที่ยวโดยอาศัยการสร้างนวัตกรรมและมูลค่าเพิ่ม 2) กลยุทธ์การสร้างโอกาสและแรงจูงใจเพื่อพัฒนาการค้า การลงทุนด้านการ ท่องเที่ยว 3) กลยุทธ์การสร้างพันธมิตรและขยายความร่วมมือด้านการท่องเที่ยวกับ ประเทศเพื่อนบ้านและในภูมิภาค 2.4.3 ยุทธศาสตร์การพื้นฟูและพัฒนาคุณภาพการท่องเที่ยวให้เกิดความยั่งยืน 1) กลยุทธ์การฟื้นฟูและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว เพื่อยกระดับคุณภาพและ มาตรฐาน 2) กลยุทธ์การยกระดับคุณภาพของธุรกิจและการให้บริการท่องเที่ยวสู่ความ เป็นมาตรฐานสากล 3) กลยุทธการสร้างโครงข่ายการท่องเที่ยวระดับชุมชนและการมีส่วนร่วมของ ชุมชนท้องถิ่นในการพัฒนาคุณภาพแหล่งท่องเที่ยว 2.4.4 ยุทธศาสตร์การป้องกันและรักษาความปลอดภัยเพื่อสร้างความเชื่อมั่นทางการ ท่องเที่ยว (Safety & Security) 1) กลยุทธ์การป้องกันและรักษาความปลอดภัยทางการท่องเที่ยว
ให้กับสินค้าการท่องเที่ยว 2.4.8 ยุทธศาสตร์กระตุ้นการเดินทางท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวไทย 1) กลยุทธการสร้างกระแสการเดินทางของนักท่องเที่ยวชาวไทย 2) กลยุทธ์เร่งพัฒนาศักยภาพแรงงานวิชาชีพและบุคลากรด้านการท่องเที่ยว
95 2) กลยุทธ์การสร้างและพัฒนากลไกในการบริหารจัดการการป้องกันและรักษา ความปลอดภัยทางการท่องเที่ยว 2.4.5 ยุทธศาสตร์เสริมสร้างความเข้มแข็งและพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการ ท่องเที่ยวใหม่ขีดความสามารถในการแข่งขัน 1) กลยุทธ์เสริมสร้างคุณธรรมและจริยธรรมให้กับบุคลากรด้านการท่องเที่ยว 2) กลยุทธ์การส่งเสริมให้เกิดการเคลื่อนย้ายแรงงานด้านการท่องเที่ยว 2.4.6 ยุทธศาสตร์การฟื้นฟูภาพลักษณ์และยกระดับความเชื่อมั่นด้านการท่องเที่ยวของ ประเทศไทย 1) กลยุทธ์สร้างและเผยแพร่ภาพลักษณ์ด้านการท่องเที่ยวและยกระดับความ เชื่อมั่นให้แก่นักท่องเที่ยว 2) กลยุทธ์สร้างสภาพแวดล้อมและพัฒนาระบบสนับสนุนการตลาดท่องเที่ยว 2.4.7 ยุทธศาสตร์กระตุ้นการเดินทางท่องเที่ยวและสร้างรายได้เข้าประเทศจาก นักท่องเที่ยวต่างชาติ 1) กลยุทธ์เร่งกระตุ้นให้เกิดการเดินทางท่องเที่ยวมาประเทศไทยทั้งกลุ่มตลาด เก่าและแสวงหาตลาดใหม่ เพื่อสร้างรายได้เข้าประเทศจากนักท่องเที่ยวต่างชาติ 2) กลยุทธ์สร้างการรับรู้และเข้าหานักท่องเที่ยวให้มากที่สุด เพื่อเพิ่มมูลค่า
เพื่อสร้างอาชีพและรายได้ ภาพที่ 19 แสดงสัดส่วนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวการกู้วิกฤตและมาตรการกระตุ้นการท่องเที่ยว ภาพที่ 19 สัดส่วนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวการกู้วิกฤตและมาตรการกระตุ้นการท่องเที่ยว ที่มา: กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา (2552)
96 2.5 การรณรงค์การท่องเที่ยวอย่างรู้คุณค่าและรักษาแหล่งท่องเที่ยวตามแผนพัฒนาการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) มีความตระหนักถึงปัญหาทรัพยากรธรรมชาติที่ลดลง และผลกระทบที่เกี่ยวเนื่องกับกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ โดยกิจกรรมการท่องเที่ยว เช่น ด้าน อุตสาหกรรมที่พักแรม ส่งผลต่อมลภาวะโลกมากถึงร้อยละ 21 และกิจกรรมท่องเที่ยวอยู่ที่ร้อยละ 4 ททท. จึงได้จัดการรณรงค์การท่องเที่ยวอย่างรู้คุณค่าและรักษาแหล่งท่องเที่ยวตามแผนพัฒนาการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนภายใต้แนวคิด 7 Greens เพื่อให้ทุกภาคส่วนทั้งผู้ประกอบการ นักท่องเที่ยว รวมถึง ชุมชนท้องถิ่นเข้ามาร่วมกันส่งเสริมและช่วยกันลดปัญหา ที่ส่งผลกับสิ่งแวดล้อมให้เกิดผลอย่างเป็น รูปธรรม โดยการท่องเที่ยวสไตล์ 7 Greens นำเสนอเส้นทางการท่องเที่ยวที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมให้เป็น ที่รู้จักและสร้างกระแสการท่องเที่ยวสไตล์ 7 Greens พร้อมเสนอแหล่งท่องเที่ยวทางเลือกใหม่ เพื่อลด การกระจุกตัวในแหล่งท่องเที่ยวหลัก ทั้งนี้ รูปแบบการท่องเที่ยว 7 Greens ประกอบด้วย 1 Green Heart: เที่ยวด้วยใจคิด เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ต้องมีหัวใจที่เคารพ และ ตระหนักถึงคุณค่าของสิ่งแวดล้อม นับเป็นหัวใจหลักในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 2. Green Logistics: เที่ยวใกล้ไกล เลือกใช้พลังงานสะอาด ผ่านรูปแบบการเดินทางสี เขียว เน้นการประหยัดพลังงาน ช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม 3. Green Attraction: มุ่งสร้างชุมชนให้เข้มแข็งและยั่งยืน แหล่งท่องเที่ยวสีเขียว มีการ บริหารจัดการการท่องเที่ยวกับสภาพดั้งเดิมของพื้นที่นั้นไว้ได้ 4.
กิจกรรมท่องเที่ยวเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 5.
ชุมชนสีเขียว เที่ยวอย่างรู้คุณค่า รักษาเอกลักษณ์ชุมชน เน้นการ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ที่สำคัญต้องคงไว้ซึ่งวัฒนธรรม และวิถีชีวิตอันเป็นอัตลักษณ์ของชุมชน 6. Green
จัดการธุรกิจ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ใส่ใจธุรกิจท่องเที่ยวแขนงต่าง ๆ เลือกใช้วัตถุดิบที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 7. Green Plus: จิตอาสาดูแลสิ่งแวดล้อม นับเป็นการช่วยเหลือแหล่งท่องเที่ยวง่าย ๆ ด้วย ตัวของนักท่องเที่ยวเอง โดยสรุป แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการท่องเที่ยวของไทยในปี พ.ศ. 2552 2555 และปี พ.ศ. 2556 2559 มุ่งเน้นด้านการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยการสร้างกระแสให้การท่องเที่ยวเป็นส่วนหนึ่งของ ชีวิต การส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อให้เกิดการเรียนรู้และสร้างสรรค์ประโยชน์ต่อสังคม และการส่งเสริม การเดินทางท่องเที่ยวเชื่อมโยง 2.6 การพัฒนาด้านการท่องเที่ยว พ.ศ. 2556 2560 ตามแนวคิดกลุ่มคลัสเตอร์ด้านการ ท่องเที่ยว จากยุทธศาสตร์การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน และการศึกษาศักยภาพทางการ ท่องเที่ยวในแต่ละจังหวัดส่งผลต่อการกำหนดเขตพัฒนาการท่องเที่ยว (คลัสเตอร์) ของไทยปี พ.ศ. 2556 2560 เป็นจำนวนทั้งสิ้น 14 คลัสเตอร์ ประกอบด้วย กลุ่มท่องเที่ยวน้ำพุร้อน กลุ่มท่องเที่ยวเชิงนิเวศและผจญภัย กลุ่มท่องเที่ยวอารายธรรมล้านนา กลุ่มท่องเที่ยวมรดกโลกเชื่อมโยงการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ กลุ่มท่องเที่ยวนิเวศป่าร้อนชื้น กลุ่มท่องเที่ยววิถีชีวิตลุ่มแม่น้ำภาคกลาง กลุ่มท่องเที่ยวเลียบฝั่งแม่น้ำโขง กลุ่มท่องเที่ยวมหัศจรรย์เส้นทางบุญ กลุ่มท่องเที่ยวเส้นทางไดโนเสาร์ กลุ่มท่องเที่ยวอารยธรรมอีสานใต้ กลุ่มท่องเที่ยว Active Beach กลุ่มท่องเที่ยวเส้นทางอัญมณีและการท่องเที่ยวเชิงเกษตร กลุ่มท่องเที่ยว Royal Coast กลุ่มท่องเที่ยวมหัศจรรย์สองสมุทร
Green Activity:
Green Community:
Service:
97 และในปี พ.ศ. 2560 2564 จำนวนเขตพัฒนาการท่องเที่ยวลดเหลือ 8 คลัสเตอร์ประกอบ ด้วย 1. เขตพัฒนาการท่องเที่ยวอารยธรรมล้านนา (เชียงใหม่ เชียงราย ลำพูน ลำปาง พะเยา) 2. เขตพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันตกหรือ รอยัล โคสต์ คลัสเตอร์ (เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร ระนอง ) 3. เขตพัฒนาการท่องเที่ยวอารยธรรมฝั่งทะเลตะวันออก หรือ Active Beach Cluster (ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด) 4.เขตพัฒนาการท่องเที่ยวอันดามัน (ภูเก็ต กระบี่ พังงา ตรัง สตูล) 5. เขตพัฒนาการท่องเที่ยวอารยธรรมอีสานใต้ (นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี ) 6. เขตพัฒนาการท่องเที่ยวลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาตอนกลาง (อยุธยา นนทบุรี ปทุมธานี อ่างทอง สิงค์บุรี) 7. เขตพัฒนาการท่องเที่ยววิธีชีวิตลุ่มน้ำโขง (เลย หนองคาย บึงกาฬ นครพนม มุกดาหาร) 8. เขตพัฒนาการท่องเที่ยว มรดกด้านวัฒนธรรม (ตาก กำแพงเพชร สุโขทัย พิษณุโลก) ทั้งนี้หน่วยงานที่ดำเนินการตามแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน เป็นการบูรณาการ ร่วมกันตั้งแต่ส่วนกลางสู่ระดับจังหวัด และระดับท้องถิ่น โดยหน่วยงานส่วนกลางประกอบด้วยกระทรวง
องค์กรชุมชนประกอบด้วย 1. สำรวจค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับทรัพยากรการท่องเที่ยว 2. การจัดเวทีแลกเปลี่ยนความคิด/วางแผนพัฒนา/ปรับปรุงแหล่งท่องเที่ยวและการบริการ 3. การบริหารและจัดการแหล่งท่องเที่ยวการบริการที่ดี 4. การจัดทำการตลาด โฆษณา ประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยว 5. การส่งเสริมการฝึกอบรม/เรียนรู้ผู้นำการท่องเที่ยวการจัดการ/บริการอำนวยความ สะดวก 6. การดูแลรักษาความปลอดภัยสุขอนามัย 7. การสร้างความประทับใจลริการหลังการขายการให้บริการ ภายใต้เป้าหมายการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวของไทยเน้น การสร้างศักยภาพของชุมชนในฐานะเป็นผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวที่มีคุณค่าและคุณภาพโดยมีองค์ประกอบ หลักคือทรัพยากรธรรมชาติ วิถีชีวิต วัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และองค์การภายในชุมชน และมีองค์ประกอบรองคือ กิจกรรมการท่องเที่ยวที่หลากหลายของชุมชน ความปลอดภัย การเข้าถึงชุมชน ที่สอดคล้องกับความต้องการของนักท่องเที่ยว และศักยภาพของเจ้าบ้านอันจะนำไปสู่การพัฒนาที่สมดุล และยั่งยืนในระยะยาวนั่นเอง
ท่องเที่ยวและกีฬา การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยที่ดูแลด้านการตลาดและประชาสัมพันธ์ สำนักงาน ปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาผู้ดูแลด้านการจัดการและบูรณาการการท่องเที่ยวและกรมการ ท่องเที่ยวผู้รับผิดชอบการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวและการบริการ โดยหน่วยงานในระดับจังหวัด ประกอบด้วยสำนักงานการท่องเที่ยวกีฬาจังหวัด องค์การบริหารส่วนจังหวัด สมาคมภาคเอกชนธุรกิจ ท่องเที่ยว และหน่วยงานในระดับท้องถิ่น ประกอบด้วยองค์การปกครองท้องถิ่นและองค์กรชุมชน โดยการ ทำงานแบบบูรณาการจากส่วนกลางสู่ระดับจังหวัดและระดับท้องถิ่นมุ่งเน้นการส่งเสริมบทบาทองค์กร ชุมชนให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโดยกำหนดบทบาทไว้ 7 บทบาทหน้าที่ของ
9. อธิบายและยกตัวอย่างคลัสเตอร์การท่องเที่ยวอารยธรรมการท่องเที่ยวอันดามันมาให้เข้าใจ
10. อธิบายและยกตัวอย่างคลัสเตอร์การท่องเที่ยวอารยธรรมอีสานใต้มาให้เข้าใจ
98 3. บทสรุป นโยบายและยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของประเทศไทย กำหนดให้การท่องเที่ยวเป็น วาระแห่งชาติตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552 มีกรอบแนวคิดจากการพัฒนาอย่างยั่งยืน สถานการณ์และทิศทางการ ท่องเที่ยวโลก สถานการณ์และทิศทางการท่องเที่ยวภายในประเทศ ตลอดจนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติของประเทศไทยในแต่ละยุค ทั้งนี้จากสถิติในปี พ.ศ. 2560 ประเทศไทยมีจำนวน นักท่องเที่ยวอยู่ในลำดับที่ 9 ของโลก และมีรายได้การท่องเที่ยวระหว่างประเทศอยู่ในลำดับที่ 3 ของโลก โดยประเทศไทยได้มีการศึกษาศักยภาพด้านการท่องเที่ยวและกำหนดให้มีคลัสเตอร์ด้านการท่องเที่ยว จำนวน 8 คลัสเตอร์ จนมาถึงปัจจุบัน 4. แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 5 1. ให้อธิบายยุทธศาสตร์การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของประเทศไทยมาให้เข้าใจ 2. ให้อธิบายทิศทางการท่องเที่ยวโลกก่อนการแพร่ระบาดของ COVID 19 3. ให้อธิบายทิศทางการท่องเที่ยวโลกหลังการแพร่ระบาดของ COVID 19 4. ให้ระบุประเทศ 5 ลำดับแรกที่มีจำนวนนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกก่อนการแพร่ระบาดของ COVID 19 5. ให้ระบุประเทศ 5 ลำดับแรกที่มีรายได้จากการท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกก่อนการแพร่ระบาดของ COVID 19 6. อธิบายวิธีการศึกษาศักยภาพด้านการท่องเที่ยวมาพอสังเขป 7. อธิบายและยกตัวอย่างคลัสเตอร์การท่องเที่ยวอารยธรรมล้านนามาให้เข้าใจ
อธิบายและยกตัวอย่างคลัสเตอร์การท่องเที่ยวอารยธรรมฝั่งทะเลตะวันออกมาให้เข้าใจ
8.
เอกสารอ้างอิง บทที่ 5 กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2552). แผนยุทธศาสตร์กู้วิกฤตและมาตรการกระตุ้นการท่องเที่ยว ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2552 2555). กรุงเทพฯ: กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) (2559) ยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวไทย พ.ศ. 2558 2560, สืบค้นวันที่ 6 มีนาคม 2559, จาก http://www.mots.go.th/ewt_dl_link.php?nid=7114
United Nations World Tourism Organization [UNWTO]. (2018). International Tourist Highlights 2018 Edition. Madrid: UNWTO.
99
100
101 บทที่ 6 การสำรวจข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน บทที่ 6 นำเสนอแนวทางการสำรวจข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน โดยสามารถนำไปศึกษากับกรณีศึกษาและฝึกปฏิบัติจริงในสถานที่ โดยกำหนดให้ระบุรายละเอียดของ สถานที่ ประวัติ สิ่งอำนวยความสะดวก กิจกรรมการท่องเที่ยว ปัญหา และข้อเสนอแนะในการพัฒนาการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน เพื่อสามารถฝึกทักษะการสำรวจข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวได้อย่างเป็นระบบและมี ประสิทธิภาพ 1. แบบบันทึกการสำรวจข้อมูลสถานที่ท่องเที่ยว สถานที่ ................................................................................................................................................................. ประเภท ที่ตั้ง หมู่บ้าน : ตำบล : อำเภอ : จังหวัด : การเข้าถึง ประเภท : .................................................. สภาพ : .................................................... ระยะทาง : ก.ม. จาก : รูปแบบการ เดินทาง : สถานที่ ท่องเที่ยว ใกล้เคียง : .................................................. ห่าง : ก.ม. แผนที่แสดงที่ตั้งสถานที่ท่องเที่ยวและการเข้าถึง หมายเหตุ แนบรูปถ่าย
102 ประวัติความเป็นมา สภาพปัจจุบัน สภาพบริเวณ : สภาพแวดล้อม, มลภาวะ : ความประทับใจ : ลักษณะเด่น, ความเป็นไป ได้ และศักยภาพใน การพัฒนา : หมายเหตุ แนบรูปถ่าย สิ่งอำนวยความสะดวกและบริการ (มีหรือไม่ สภาพเป็นอย่างไร ใช้บริการใกล้เคียง ไกลแค่ไหน) ที่พัก : ร้านอาหาร : ร้านขายของที่ระลึก : ห้องน้ำ/ห้องส้วม : การระบายน้ำ/กำจัดน้ำ เสีย : ป้าย/เครื่องหมายบอกทาง : การประชาสัมพันธ์ : การดูแลรักษา : หน่วยงานที่รับผิดชอบ : หมายเหตุ แนบรูปถ่าย
103 สาธารณูปโภค/สาธารณูปการ (มีหรือไม่ จำเป็นหรือไม่) น้ำดื่ม/น้ำใช้/น้ำประปา : การระบายน้ำ/กำจัดน้ำ เสีย : ไฟฟ้า : ระบบสื่อสาร : การกำจัดขยะ : …….…………........................................................................................... สวัสดิภาพ/ความ ปลอดภัย : อื่น ๆ : …….…………...........................................................................................
:
: …….…………...........................................................................................
: …….…………...........................................................................................
: …….…………........................................................................................... สิ่งอำนวยความสะดวก/ การบริการ : สาธารณูปโภค/ สาธารณูปการ : …….…………........................................................................................... การดูแลรักษา : …….…………........................................................................................... ความงดงาม : …….…………........................................................................................... อื่น ๆ : ข้อเสนอแนะ แนวทางการพัฒนา .................................................................................................................................................................
กิจกรรมในปัจจุบัน หมายเหตุ แนบรูปถ่าย ปัญหาปัจจุบัน/อนาคต การเข้าถึง
สภาพบริเวณ
สภาพแวดล้อม
สภาพภูมิอากาศ/ กายภาพ/ภัยธรรมชาติ
104 2. ตัวอย่างการรายงานผลการสำรวจแหล่งท่องเที่ยวกรณีศึกษา 2.1 กรณีศึกษา บ้านป่าทราย ต.เกาะยาวน้อย อ.เกาะยาว จ.พังงา (กรณีศึกษาจากผู้เขียน) 2.1.1 สถานที่ บ้านป่าทราย 1) ประเภท เกาะ 2) ที่ตั้ง เกาะยาวน้อย 3) ตำบล เกาะยาวน้อย 4) อำเภอ เกาะยาว 5) จังหวัด พังงา 2.1.2 การเข้าถึง 1) ประเภท เรือ 2) สภาพ ทางทะเล 3) ระยะเวลาการเดินทาง 1 ชั่วโมง 4) จาก ท่าเทียบเรือบางโรง 2.1.3 รูปแบบการเดินทาง เป็นกลุ่ม/ครอบครัว และ เดินทางคนเดียว 2.1.4 สถานที่ท่องเที่ยวใกล้เคียง หาดท่าเขา 1) ห่าง 3 กิโลเมตร 2.1.5 แผนที่แสดงที่ตั้งสถานที่ท่องเที่ยวและการเข้าถึง 2.1.6 ประวัติความเป็นมา ของ บ้านป่าทราย ในสมัยก่อนที่บริเวณนี้ มีสภาพเป็นป่าที่ขึ้นอยู่บนหาดทราย จึงเป็นที่มาของชื่อ บ้านป่าทราย 2.1.7 ประวัติความเป็นมา ของ เกาะยาวน้อย ในอดีตมีชาวบ้านที่อาศัยอยู่ตามชายฝั่งของ จ.ตรังและสตูล และเมืองอื่น ๆ กลัว สงครามพม่า เมื่อ ปี พ ศ.2328 ในสมัยรัชกาลที่ 1 โดยอพยพเลียบชายฝั่งจนได้พบ เกาะยาวน้อย เกาะ
105 ยาวใหญ่ ซึ่งเห็นว่ามีทำเลเหมาะสมที่จะหลบภัย จึงยึดเอาเกาะไว้หลบภัย และได้ตั้งถิ่นฐาน ซึ่งถือว่า ชาวบ้านกลุ่มนี้ เป็นบรรพบุรุษรุ่นแรกของชาวเกาะยาว จนถึงปัจจุบัน 2.1.8 สภาพปัจจุบัน สภาพบริเวณ บริเวณบ้านป่าทราย มีสภาพแวดล้อมที่อุดมสมบูรณ์ สาธารณูปโภคพื้นฐาน ค่อนข้างพร้อม อากาศดี และเหมาะแก่การพักผ่อน 2.1.9 สภาพแวดล้อม, มลภาวะ มีสภาพอากาศดี, มลภาวะโดยรวมค่อนข้างน้อย เนื่องจาก บนเกาะมียานพาหนะ ไม่มาก 2.1.10 ความประทับใจ บรรยากาศดี ทัศนียภาพสวยงาม ความเป็นกันเองของชาวบ้าน และวิถีชีวิตที่ เรียบง่าย 2.1.11 ลักษณะเด่น, ความเป็นไปได้ในการพัฒนา มีหาดทรายที่เงียบสงบ ผู้คนไม่พลุกพล่าน เหมาะสำหรับการพักผ่อน ความ เป็นไปได้ในการพัฒนามีค่อนข้างสูง เนื่องจากเป็นเกาะที่ได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยว
106 2.2 สิ่งอำนวยความสะดวกและบริการ 2.2.1 ที่พัก มีตลอดระยะทาง อยู่ริมชายหาด ส่วนใหญ่เป็นบังกะโล และ รีสอร์ท สภาพ สวยงาม สะดวกสบาย มีสิ่งอำนวยความสะดวกพื้นฐานคอยให้บริการ 2.2.2 ร้านอาหาร มีเป็นร้านอาหารตามสั่ง ตั้งอยู่ริมชายหาด สภาพเรียบง่าย ดูเป็นกันเอง ร่มรื่น และสะดวกสบาย 2.2.2 ร้านขายของที่ระลึก ในบริเวณหาดป่าทรายไม่มี แต่ จะมีร้านขายของที่ระลึกอยู่ในบริเวณใกล้เคียง คือ บ้านท่าค่าย ห่างประมาณ 2 กิโลเมตร 2.2.3 ห้องน้ำ ห้องส้วม ในบริเวณหาดป่าทรายไม่มี แต่ห้องน้ำ ห้องส้วมจะมีบริการอยู่บริเวณท่าเทียบเรือ ห่างประมาณ 3 กิโลเมตร 2.2.4 การะบายน้ำ, การกำจัดน้ำเสีย ไม่มีระบบการกำจัดน้ำเสีย แต่ มีคูระบายน้ำ ซึ่งไหลลงสู่ทะเล
107 2.2.5 ป้ายและเครื่องหมายบอกทาง มีตลอดสองข้างทาง ตั้งอยู่ในตำแหน่งที่สามารถสังเกต และ เห็นได้อย่างชัดเจน 2.2.6 การประชาสัมพันธ์ มี / แต่ค่อนข้างน้อย เนื่องจากเกาะยาวน้อยยังไม่เป็นที่รู้จักเท่าที่ควร ซึ่งเกาะยาว น้อยจะเป็นที่รู้จักเพียงแค่ส่วนหนึ่งเท่านั้น 2.2.7 การดูแลรักษา มี / แต่หน่วยงานที่รับผิดชอบไม่ค่อยเข้ามาดูแล จึงต้องอาศัยความร่วมมือ นักท่องเที่ยว และ ผู้ประกอบการในการดูแลรักษาความสะอาด 2.2.8 หน่วยงานที่รับผิดชอบ มี / คือ องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะยาวน้อย ( อบต.เกาะยาวน้อย ) 2.3 สาธารณูปโภค/สารธารณูปการ (มีหรือไม่ จำเป็นหรือไม่) 2.3.1 น้ำดื่ม/น้ำประปา/น้ำใช้ มี / ไม่จำเป็น เนื่องจากทุกบ้านบนเกาะยาวจะมีบ่อน้ำ เพื่อใช้สอยอยู่แล้ว 2.3.2 การระบายน้ำ/การกำจัดน้ำเสีย มีคูระบายน้ำ แต่ไม่มีการกำจัดน้ำเสีย ซึ่งไม่จำเป็น เนื่องจาก บนเกาะยาวไม่มี โรงงานอุตสาหกรรมที่ก่อให้เกิดน้ำเสีย 2.3.3 ไฟฟ้า มี / จำเป็น เพราะไฟฟ้ามีความสำคัญอย่างมากในการดำเนินชีวิต 2.3.4 ระบบสื่อสาร มี / จำเป็น เพราะการสื่อสารถือเป็นปัจจัยอย่างหนึ่งในการดำเนินชีวิต และเกาะ ยาวน้อยเป็นแหล่งท่องเที่ยว ซึ่งต้องทำการประชาสัมพันธ์และติดต่อกับบุคคลต่าง ๆ ที่อยู่ห่างจากเกาะ
108 2.3.5 การกำจัดขยะ ไม่มี / จำเป็น เพราะถ้าหากไม่มีการกำจัดขยะ ก็จะทำให้ทรัพยากรธรรมชาติถูก ทำลายและเกิดมลภาวะอื่น ๆ ตามมาได้ 2.3.6 สวัสดิภาพความปลอดภัย มี / จำเป็น เนื่องจากเกาะยาวน้อยเป็นแหล่งท่องเที่ยว ต้องมีการรักษาความ ปลอดภัยให้กับนักท่องเที่ยว เพื่อทำให้นักท่องเที่ยวเชื่อและมั่นใจในความปลอดภัยที่เขาจะได้รับจากการ มาท่องเที่ยวที่เกาะยาว 2.3.7 อื่น ๆ บนเกาะยาวยังมีสถานที่ทางราชการ ธนาคาร ร้านสะดวกซื้อและบริการรถเช่า คอยให้บริการ ซึ่งมีความจำเป็น เพราะช่วยสร้างความสะดวกสบายในการติดต่อกับทางราชการและการ ดำเนินชีวิต ที่ว่าการอำเภอเกาะยาวน้อย โรงเรียนเกาะยาวน้อยวิทยา
109 ธนาคารออมสิน ตู้ ATM ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ไปรษณีย์เกาะยาว ร้านสะดวกซื้อ 7 ELEVEN ปั๊มน้ำมันหลอด บริการรถเช่า 2.4 กิจกรรมในปัจจุบัน การจัดการท่องเที่ยวโฮมสเตย์อย่างยั้งยืน 2.5 ปัญหาปัจจุบัน / อนาคต 2.5.1 การเข้าถึง การเดินทางไปยังเกาะยาวน้อยค่อนข้างยาก เนื่องจากต้องเดินทางด้วยเรือ ซึ่งเรือ ที่ใช้เดินทางจะออกตามรอบเวลา 2.5.2 สภาพบริเวณ เอกชนได้เข้ามาซื้อพื้นที่ตามชายหาด ซึ่งจะทำเป็นชายหาดส่วนตัว ทำให้ นักท่องเที่ยวไม่สามารถเข้าไปท่องเที่ยวที่ชายหาดนั้นได้
2.6.1
ๆ วันอย่างชัดเจน 2.6.2 ต้องรักษาพื้นที่หาดที่เหลืออยู่ตอนนี้ให้คงสภาพอย่างเดิม และ ป้องกันไม่ให้ เอกชนเข้ามาซื้อที่ดินเพื่อนำไปสร้างโรงแรม
2.6.3 ปรับปรุงให้ถนนมีความสะดวกสบายมากยิ่งขึ้น 2.6.4 มีระบบความปลอดภัยและระบบเตือนภัยที่ใช้งานได้และแม่นยำ 2.6.5 ตั้งศูนย์บริการให้ข้อมูลแก่นักท่องเที่ยวในบริเวณหาดป่าทราย และตามสถานที่ ท่องเที่ยวอื่น ๆ 2.6.6 สร้างห้องน้ำสาธารณะตามแหล่งท่องเที่ยวต่าง
110
สภาพแวดล้อม สิ่งแวดล้อมบนเกาะยาวน้อยค่อนข้างอุดมสมบูรณ์ แต่สภาพถนนมีบางส่วนที่ ขรุขระและยังไม่ได้รับการปรับปรุงซ่อมแซม
สภาพภูมิอากาศภัยธรรมชาติ/กายภาพ/ สภาพอากาศดี ร่มเย็น แต่ยังไม่มีระบบเตือนภัยสึนามิ 2.5.5 สิ่งอำนวยความสะดวก/ การบริการ ยังไม่มีศูนย์ให้ข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวให้แก่นักท่องเที่ยว 2.5.6 สาธารณูปโภค/ สาธารณูปการ ห้องน้ำสาธารณะมีอยู่เพียงที่เดียว คือ ท่าเทียบเรือ แต่ตามสถานที่ท่องเที่ยวต่าง ๆ ไม่มี ซึ่งเป็นปัญหาและไม่เพียงพอต่อความต้องการของนักท่องเที่ยว 2.5.7 การดูแลรักษา หน่วยงานรัฐบาลและหน่วยงานที่รับผิดชอบไม่ค่อยเข้ามาดูแลเท่าที่ควร 2 5.8 ความงดงาม สิ่งแวดล้อมบนเกาะยาวน้อยค่อนข้างอุดมสมบูรณ์สวยงามแต่มีบางพื้นที่ที่ ทรัพยากรธรรมชาติถูกทำลาย เนื่องจากขาดความรับผิดชอบร่วมกัน 2.5.9 อื่น ๆ ระบบกำจัดขยะ ไม่มีการกำจัดขยะที่ชัดเจน อาจทำให้ทรัพยากรทางธรรมชาติถูก ทำลายได้
แนวทางการพัฒนา
2.5.3
2.5.4
2.6 ข้อเสนอแนะ
ต้องปรับปรุงให้ที่ท่าเรือมีตารางการเดินทางของทุก
ๆ เพื่อให้บริการแก่นักท่องเที่ยว 2.6.7 ตั้งกลุ่มเฉพาะกิจเพื่อบำรุงรักษาหาดป่าทรายให้คงความสวยงามและดึงดูด นักท่องเที่ยว 2 6.8 ให้ทุกคนช่วยกันรักษา สอดส่อง และปลูกจิตสำนึกในการรักษาความสะอาดตาม แหล่งท่องเที่ยว 2.6.9 สร้างระบบการกำจัดขยะเพื่อลดการถูกทำลายของทรัพยากรธรรมชาติ และ มลภาวะทางกลิ่นที่เกิดขึ้นจากขยะ 3. บทสรุป การสำรวจข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนมีการศึกษารายละเอียดของสถานที่ ประวัติ สิ่งอำนวยความสะดวก กิจกรรมการท่องเที่ยว โอกาส ปัญหา และข้อเสนอแนะในการพัฒนาการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน โดยต้องมีการศึกษาพื้นที่จริงและศึกษาข้อมูลจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่เพื่อให้ ได้มาซึ่งข้อเท็จจริงในการศึกษาวิเคราะห์และจัดทำแผนพัฒนาอย่างยั่งยืนในลำดับต่อไป
1. จุดเน้นที่สำคัญในการสำรวจข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวมีอะไรบ้าง
2. เพราะเหตุใดจึงควรศึกษาในพื้นที่จริงก่อนการพัฒนาแผนการท่องเที่ยว
3. เพราะเหตุใดผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่จึงสำคัญต่อการพัฒนาการท่องเที่ยว
4. ให้ระบุปัญหาและแนวทางการแก้ไขในขณะลงพื้นที่สำรวจแหล่งท่องเที่ยว 5. ให้แสดงความคิดเห็นเชิงวิเคราะห์เหตุและผลต่อแนวทางการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวกรณีศึกษา
111
4. แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 6
จากเอกสารคำสอน 6. ให้ลงพื้นที่พร้อมสำรวจข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวตามแบบบันทึกการสำรวจข้อมูลสถานที่ท่องเที่ยว และรายงานผลอย่างเป็นระบบตามตัวอย่างกรณีศึกษา
112 เอกสารอ้างอิง บทที่ 6 ไม่มี
113 บทที่ 7 การวางแผนการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน การวางแผนจัดเป็นบรรทัดฐานในการปฏิบัติงาน และเป็นแนวทางเพื่อมุ่งสู่ผลสำเร็จที่คาดหวังใน อนาคต การปฏิบัติงานจะประสบผลสำเร็จมากหรือน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับการวางแผน การวางแผนจึงเป็น การหาทางเลือกที่ดีที่สุดในการปฏิบัติงาน โดยใช้ปัจจัยต่าง ๆ ที่สัมพันธ์จัดให้การดำเนินงานในอนาคต เป็นไปโดยเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพที่สุด บทที่ 7 อธิบายรายละเอียดและขั้นตอนการวางแผนการ ท่องเที่ยว เพื่อสามารถนำไปใช้ในการวางแผนการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในอนาคตได้อย่างเป็นระบบและ บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ 1. การวางแผนการท่องเที่ยว การท่องเที่ยวเป็นกิจกรรมหนึ่งในหลาย ๆ กิจกรรมในชุมชนหรือในพื้นที่ที่ต้องมีการวางแผน และต้องอาศัยความร่วมมือร่วมใจกันจากหลาย ๆ ฝ่าย ที่จะกล่าวต่อไปนี้เป็นโครงสร้างและคำแนะนำที่ไม่ ซับซ้อนมากสำหรับการวางแผนการท่องเที่ยวระดับชุมชนหรือระดับท้องถิ่น การวางแผน คือ กระบวนการ ที่ต้องมีการกำหนดวัตถุประสงค์ตลอดจนเป็นการระบุและประเมินวิธีการที่ใช้ในการบรรลุวัตถุประสงค์ที่ ได้กำหนดไว้ ในกรณีที่เป็นการวางแผนการท่องเที่ยว ผู้วางแผนจะต้องพิจารณาถึงทรัพยากรทั้งหมดที่ เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว ไม่ว่าจะเป็นองค์กรต่าง ๆ ตลาด และกิจกรรมการท่องเที่ยวในพื้นที่ นอกจากนี้ ในการวางแผนการท่องเที่ยวยังต้องพิจารณาแง่มุมทางเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม สังคม และสถาบันต่าง ๆ ที่มี ส่วนต่อการพัฒนาการท่องเที่ยว 1.1 ความสำคัญของการวางแผนพัฒนาการท่องเที่ยว การวางแผนเป็นขั้นตอนกำหนดกิจกรรมต่างๆของงานเพื่อให้บรรลุตามวัตถประสงค์ที่ตั้ง ไว้ การวางแผนที่เป็นรูปธรรมและเป็นระบบ จะส่งเสริมประสิทธิภาพของการทำงานในแต่ละฝ่ายอันจำ นำไปสู่ความสำเร็จของแผนนั้นๆ ตัวอย่างการวางแผนที่สามารถพบเห็นได้ทั่วไปในแต่ละพื้นที่/จังหวัด/ ประเทศ ได้แก่ แผนพัฒนาเศรษฐกิจ (Economic Development Planning) แผนการใช้พื้นที่ทาง กายภาพ (Physical Land Use Planning) แผนการจัดการสาธารณูปโภค ( Infrastructure Planning) แผนสวัสดิการสังคม (Social Facility Planning) แผนการอนุรักษ์ธรรมชาติ (Conservation Planning) และแผนวางผังเมือง (Urban Planning) เป็นต้น โดยรูปแบบการวางแผนในอดีตจะเป็นการวางแผนที่ เข้มงวด ให้ความสำคัญกับวิถีชีวิต การพัฒนาของเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงน้อยส่งผลให้ประสิทธิผลของ การวางแผนในอดีตประสบผลสัมฤทธิ์น้อย และมีข้อกำหนดจำกัดเฉพาะเรื่องซึ่งไม่ครอบคลุมสถานการณ์ที่ เปลี่ยนแปลงไป ในปัจจุบัน การวางแผนมีการเปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นขั้นตอนและกระบวนการที่ต่อเนื่อง (Continuous) ยืดหยุ่นได้ (Flexible) และสามารถปรับเปลี่ยนไป (Adaptable) ตามสถานการณ์ปัจจุบัน ที่เปลี่ยนไป โดยลักษณะของการวางแผนที่ดีควรปรับเพิ่มเนื้อหาได้ (Incremental) ควบคุมได้ (Monitoring) มีผลตอบกลับ (Feedback) มีการประเมินผล (Evaluation) มีการบูรณาการ (Integrated) มีการศึกษาข้อมูลที่เพียงพอ (Suffiencient Information) และมีส่วนร่วมกับชุมชน (Community Involvement) ในพื้นที่ที่เกี่ยวข้องกับแผนนั้นๆ การท่องเที่ยวเป็นกิจกรรมที่ซับซ้อนและซ้ำซ้อนกันของหน่วยงานต่าง ๆ ที่รับผิดชอบ ดำเนินงานพัฒนาด้านเศรษฐกิจและสังคม นอกจากนี้การท่องเที่ยวยังเกี่ยวเนื่องกันกับกิจกรรมใหม่ ๆ ซึ่ง หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนในหลายประเทศมักจะไม่มีประสบการณ์เพียงพอที่จะพัฒนาการท่องเที่ยว ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม การพัฒนาการท่องเที่ยวโดยปราศจากการวางแผนที่รอบคอบและรัดกุมแล้ว
114 มักจะก่อให้เกิดปัญหาที่มีผลกระทบต่อสังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมของแหล่งท่องเที่ยวได้ ปัญหาที่ เกิดขึ้นมักจะนำความเสียหายและความเสื่อมโทรมมาสู่ชุมชนแหล่งท่องเที่ยว นำมาซึ่งความไม่พึงพอใจ ของนักท่องเที่ยวอันจะส่งผลต่อการตลาดการท่องเที่ยวและส่งผลทำให้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจลดต่ำลง พื้นที่การท่องเที่ยวที่ไม่มีการควบคุมปัญหาและผลกระทบจากการท่องเที่ยวจะไม่สามารถแข่งขันกับแหล่ง ท่องเที่ยวอื่น ๆ ที่มีการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างมีประสิทธิภาพได้ ดังนั้นการวาแผนพัฒนาการท่องเที่ยว ในทุกระดับจึงมีความสำคัญที่จะนำไปสู่ผลสำเร็จในการพัฒนาการท่องเที่ยว ประสบการณ์ทางการ ท่องเที่ยวในหลาย ๆ พื้นที่ในโลก สามารถใช้เป็นกรณีพื้นฐานสำหรับการวางแผนพัฒนาการท่องเที่ยวใน อีกพื้นที่หนึ่งได้ โดยที่ประเทศที่ยังไม่มีการวางแผนพัฒนาการท่องเที่ยวก็จะสามารถศึกษาหาคำแนะนำ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์จากอีกประเทศหนึ่งได้ ส่วนประเทศที่ได้มีการวางแผนพัฒนาการท่องเที่ยว แล้วก็ยังต้องการที่จะปรับปรุงและทบทวนแผนพัฒนาการท่องเที่ยวได้ดำเนินการไปแล้ว ทั้งนี้เพื่อการ พัฒนาและรักษาตลาด และเพื่อรักษาอนาคตทางการท่องเที่ยวของตนไว้ให้ยืนยาวที่สุด ประการแรกนั้นควรต้องมีการวางแผนพัฒนาการท่องเที่ยวในระดับประเทศและระดับ ภาค แผนพัฒนาการท่องเที่ยวนี้ต้องสัมพันธ์กับนโยบายการพัฒนาการท่องเที่ยว แผนพัฒนาโครงสร้าง มาตรฐานสิ่งอำนวยความสะดวก องค์กรที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว รวมทั้งองค์ประกอบอื่น ๆ ที่จำเป็น สำหรับการพัฒนาและจัดการการท่องเที่ยว ประการที่สองภายในโครงร่างของแผนพัฒนาการท่องเที่ยวใน ระดับประเทศและระดับภูมิภาคนั้นควรมีการเตรียมแผนรายละเอียดเกี่ยวกับแหล่งท่องเที่ยว และรูปแบบ ของการพัฒนาการท่องเที่ยว เช่น รูปแบบการพัฒนาการท่องเที่ยวอื่น ๆ ซึ่งการดำเนินการวางแผน พัฒนาการท่องเที่ยวทั้งในระดับประเทศและระดับภาคให้เกิดประโยชน์นั้น ควรมีการพิจารณาในประเด็น ต่าง ๆ ดังนี้ 1) มีการกำหนดนโยบายและวัตถุประสงค์ของการพัฒนาการท่องเที่ยว และวิธีการ ดำเนินงานเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนด 2) กำหนดนโยบายการท่องเที่ยวในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมไว้ สำหรับอนาคต โดยยังคงมีการใช้ทรัพยากรเหล่านั้นในปัจจุบัน 3) ผสมผสานการพัฒนาการท่องเที่ยวให้สัมพันธ์กับนโยบายการพัฒนาทั่วไปใน ระดับประเทศและระดับภาค และสร้างความสัมพันธ์เชื่อมโยงอย่างใกล้ชิดระหว่างการท่องเที่ยวกับภาค เศรษฐกิจอื่น ๆ 4) จัดหาข้อมูลที่ดีและเชื่อถือได้สำหรับช่วยในการตัดสินใจทั้งของภาครัฐและเอกชนใน การพัฒนาการท่องเที่ยว 5) สร้างความร่วมมือในการพัฒนาในทุกภาคที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว รวมถึงการ สร้างความสัมพันธ์ระหว่างแหล่งท่องเที่ยว กิจกรรมการท่องเที่ยว สิ่งอำนวยความสะดวกและบริการ ทางการท่องเที่ยว เพื่อเพิ่มส่วนแบ่งทางการตลาดการท่องเที่ยว 6) สร้างสมดุลระหว่างเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ในผลประโยชน์จากการ ท่องเที่ยว โดยมีการกระจายผลประโยชน์เหล่านี้ลงไปสู่ชุมชน ในขณะเดียวกันก็ลดปัญหาต่าง ๆ ที่อาจ เกิดขึ้นจากการท่องเที่ยว 7) เตรียมการในด้านโครงสร้างทางกายภาพซึ่งสามารถใช้เป็นเกณฑ์เกี่ยวกับสถานที่ตั้ง ของแหล่งท่องเที่ยว ชนิดของแหล่งท่องเที่ยว และการขยายการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว สิ่งอำนวยความ สะดวก บริการ และสาธารณูปโภคพื้นฐาน 8) กำหนดแนวทางและมาตรฐานสำหรับการจัดเตรียมแผนรายละเอียดของการ พัฒนาการท่องเที่ยวในพื้นที่เฉพาะซึ่งสามารถช่วยส่งเสริมและสนับสนุนการออกแบบสิ่งอำนวยความ สะดวกทางการท่องเที่ยวให้เหมาะสม
115 9) จัดสรรงบประมาณเพื่อให้สามารถดำเนินการตามแผนพัฒนาการท่องเที่ยวได้อย่าง มีประสิทธิภาพ อีกทั้งส่งเสริมให้มีการจัดการด้านการท่องเที่ยวอย่างต่อเนื่อง โดยกำหนดโครงร่างที่สำคัญ และจำเป็นขององค์กรด้านการท่องเที่ยวและการจัดการ 10) กำหนดโครงร่างความสัมพันธ์ระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนให้เป็นไปอย่างใกล้ชิด และมีประสิทธิภาพเพื่อส่งเสริมการลงทุนในการพัฒนาการท่องเที่ยว 11) กำหนดดัชนีชี้วัดพื้นฐานเพื่อใช้ในการตรวจสอบความก้าวหน้าในการพัฒนาการ ท่องเที่ยวอย่างต่อเนื่อง และดำเนินการเช่นนี้สืบเนื่องต่อไป การวางแผนพัฒนาการท่องเที่ยวในระดับประเทศและในระดับภาคถือเป็นหลักการ สำคัญบางประเทศที่ยังไม่ได้เตรียมการพัฒนาการท่องเที่ยวก็ควรที่จะมีการจัดทำแผนพัฒนาการท่องเที่ยว สำหรับบางประเทศที่มีการวางแผนพัฒนาการท่องเที่ยวไว้แล้วก็อาจจะล้าสมัยไม่สอดคล้องกับสถานการณ์ ในปัจจุบัน ดังนั้นทุกประเทศจึงต้องมีการปรับปรุงการวางแผนพัฒนาการท่องเที่ยวในปัจจุบันทั้งนี้เพื่อ แนวโน้มที่ดีในอนาคต ได้มีการพบว่าประสบการณ์ในการดำเนินการ และเทคนิคของการวางแผน พัฒนาการท่องเที่ยวในปัจจุบันมักมีเหตุผลที่สามารถเข้าใจได้ โดยเป็นที่ยอมรับกันว่าการส่งเสริมให้มีการ วางแผนพัฒนาการท่องเที่ยวจะนำมาซึ่งผลประโยชน์ลงสู่พื้นที่ที่มีการพัฒนาการท่องเที่ยวนั้น ๆ 1.2 เป้าหมายของการวางแผนการท่องเที่ยว (Planning Goals for Tourism) นิคม จารุมณี (2544) สรุปไว้ว่า เป้าหมายการท่องเที่ยวควรมุ่งไปสู่เป้าหมายดังต่อไปนี้ 1.2.1 มุ่งยกมาตรฐานความเป็นอยู่ของประชาชนให้สูงขึ้น
ๆ เพื่อ การพักผ่อนแก่นักท่องเที่ยว และประชาชนในท้องถิ่น 1.2.3 สร้างความมั่นใจให้เกิดขึ้นว่าประเภทของการพัฒนาต่าง ๆ ที่มุ่งเน้นนักท่องเที่ยว เป็นศูนย์กลาง และแหล่งพักผ่อนทางธรรมชาติ
ต่าง ๆ 1.2.4 จัดทำโครงการพัฒนาที่ประกอบไปด้วยโครงการด้านวัฒนธรรม สังคมและปรัชญา เศรษฐกิจของรัฐบาล และประชาชนในประเทศหรือในท้องถิ่น 1.3 ขั้นตอนของกระบวนการวางแผนการท่องเที่ยว (Steps in the Planning Process) เช่นเดียวกับการวางแผนอื่น ๆ การวางแผนการท่องเที่ยวเป็นสิ่งที่มุ่งเน้นถึงวัตถุประสงค์ (Goal Oriented) กล่าวคือ เป็นความพยายามที่จะบรรลุวัตถุประสงค์ต่าง ๆ ด้วยการทำให้สอดคล้องกัน ระหว่างทรัพยากรที่มีอยู่กับความต้องการของผู้วางแผน การวางแผนการท่องเที่ยวจำเป็นต้องทำอย่างเป็น ระบบ เป็นขั้นเป็นตอนตามลำดับ ซึ่งการดำเนินการในขั้นตอนหนึ่ง ๆ จะส่งผลต่อการดำเนินการใน ขั้นตอนต่อ ไป โดยการวางแผนการท่องเที่ยวมี 6 ขั้นตอน ดังนี้ (Stynes & O’Halloran,1987) 1 การกำหนดเป้าหมายและวัตถุประสงค์ (Define Goals and Objectives) 2 การกำหนดระบบการท่องเที่ยว (Identify the Tourism System) อันประกอบด้วย 1) ทรัพยากร (Resource) 2) องค์กรต่าง ๆ (Organizations) 3) ตลาด (Markets) 3 การกำหนดทางเลือกต่าง ๆ (Generate Alternatives) 4 การประเมินทางเลือก (Evaluate Alternatives) 5 การเลือกทางเลือกและการปฏิบัติตามแนวทางที่ได้เลือก (Select and Implement)
โดยอาศัยรายได้จากการ ท่องเที่ยวเป็นตัวสนับสนุน 1 2.2 มุ่งพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานต่าง ๆ และจัดให้มีสิ่งอำนวยความสะดวกต่าง
ซึ่งมีความเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ของแหล่งท่องเที่ยว
116 6 การควบคุมและการประเมิน (Monitor and Evaluation) ในทิศทางเดียวกัน Hall (2016) ได้อธิบายเพิ่มเติมขั้นตอนการวางแผนการท่องเที่ยวเบื้องต้น อาจประกอบไปด้วย 8 ขั้นตอน ดังนี้ 1. ขั้นเตรียมการด้านข้อมูล 2. ขั้นกำหนดวัตถุประสงค์ของแผนพัฒนาการท่องเที่ยว 3. ขั้นสำรวจแหล่งท่องเที่ยว 4. ขั้นวิเคราะห์และสังเคราะห์ผลจากการสำรวจ 5. ขั้นกำหนดนโยบายและแผน 6. ขั้นกำหนดข้อเสนอแนะสำหรับแผนและการพัฒนา 7. ขั้นนำแผนไปปฏิบัติใช้ 8. ขั้นติดตามและควบคุมให้เป็นไปตามแผน ส่วนประกอบสุดท้ายในกระบวนการวางแผนมี 5 ขั้นตอนดังต่อไปนี้ (นิคม จารุมณี, 2544) 1. ขั้นกำหนดเป้าหมาย และวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ (Determine Strategy Goals and Objectives) ในการวางแผนนั้นงานขั้นแรกก็คือการกำหนดเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ซึ่งควรเป็น เป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ที่สามารถบอกจำนวนได้ เป็นเป้าหมาย และวัตถุประสงค์เชิงปริมาณ เช่น เพื่อ ดึงดูดนักท่องเที่ยวใหม่เฉลี่ยวันละ 1,000 คนต่อสัปดาห์ ให้เข้ามายังแหล่งท่องเที่ยว เป็นต้น ในการ กำหนดเป้าหมายและวัตถุประสงค์นักวางแผนต้องระลึกอยู่เสมอว่า กลยุทธ์โดยส่วนรวมของการ พัฒนาการท่องเที่ยวและการตลาดนั้นความเป็นไปได้ในโอกาสใหม่ ๆ การมีทุนหรืองบประมาณที่จะใช้ สำรองอยู่จากแหล่งที่เป็นหน่วยงานของรัฐบาล และหน่วยงานเอกชน ระยะเวลาที่เหมาะสม บทบาทและ ความรับผิดชอบของฝ่าย ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาการท่องเที่ยว 2. การจำแนกโอกาสต่อการพัฒนาใหม่ ๆ ทางการท่องเที่ยว (Identify New Development Opportunities) งานขั้นที่สองในการวางแผนการท่องเที่ยว ก็คือ การจำแนกโอกาสในการพัฒนาใหม่ ๆ ทางการท่องเที่ยว โดยพิจารณาแผนการท่องเที่ยวหลัก (เช่น แผนพัฒนาสังคม และเศรษฐกิจในส่วนที่ว่า ด้วยการพัฒนาการท่องเที่ยว) ซึ่งควรจะรวมเอาสถานที่ หรือบริเวณที่จะพัฒนาเครื่องอำนวยความสะดวก ต่าง ๆ เช่น โรงแรมที่พัก บริการอาหาร แหล่งท่องเที่ยว รวมทั้งโครงสร้างพื้นฐานต่าง ๆ ที่ต้องการ และ การคมนาคมขนส่ง แผนหลักทางการท่องเที่ยวจะต้องได้รับการสนับสนุนโดยการต่าง ๆ ด้านเศรษฐกิจที่แสดงให้ เห็นถึงสิ่งต่อไปนี้ เช่น อุปสงค์ของนักท่องเที่ยว อัตราการถือครองห้องพักโรงแรม การมีแรงงานระดับต่าง ๆ เพียงพอ งบการลงทุนที่ต้องการ แหล่งเงินทุนสนับสนุน ผลตอบแทนจากการลงทุนทั้งโดยตรงและโดย อ้อม แผนเศรษฐกิจต่าง ๆ ดังกล่าวเหล่านี้จะต้องนำมาพิจารณาในขั้นการศึกษาความเป็นไปได้ของ โครงการพัฒนาการท่องเที่ยว โอกาสที่จะได้รับผลตอบแทนจากการลงทุนสูงส่วนมากจะดึงดูดการลงทุนจากนักพัฒนาใน ภาคเอกชนมากกว่าภาครัฐบาล แต่อย่างไรก็ตาม โอกาสของการได้รับผลตอบแทนทางเศรษฐกิจต่ำนั้น อาจจะช่วยให้เกิดผลประโยชน์ด้านอื่น ๆ ได้เช่นกัน เช่น จำนวนนักท่องเที่ยวเดินทางเข้ามายังแหล่ง ท่องเที่ยวมากยิ่งขึ้นในกรณีเช่นนี้การให้การสนับสนุนทางด้านงบประมาณจากรัฐบาลเพื่อกระตุ้นให้ ภาคเอกชนสนใจและเข้ามาพัฒนาการท่องเที่ยวต่อไปก็ควรจะได้รับการสนับสนุน
117 3. การจัดทำแผนองค์การ (Develop an Organization Plan) งานขั้นที่สามก็คือการจัดทำแผนองค์การ ซึ่งมีความจำเป็นเบื้องต้นในการพิจารณาทบทวน นโยบาย และงบประมาณของฝ่ายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในองค์การการท่องเที่ยว เช่น รัฐบาลหรือหน่วยงาน ของรัฐระดับท้องถิ่น สมาคมพ่อค้า หน่วยงานด้านการท่องเที่ยว และการจัดการประชุม สถานที่พัก โรงแรม และภัตตาคาร และสมาคมการท่องเที่ยวต่าง ๆ แนวความคิดสำคัญก็คือเพื่อพิจารณาว่าแต่ละ หน่วยงานเหล่านี้ให้การสนับสนุนหรือผลักดันองค์การทั้งระบบซึ่งจะเป็นผลให้จุดเด่นได้รับการส่งเสริมเพิ่ม มากขึ้นในขณะที่จุดด้อยจะถูกกำจัดให้หมดไป ข้อควรพิจารณาเพื่อเสนอแนะต่อองค์การการท่องเที่ยวควร รวมสิ่งต่อไปนี้ เช่น โครงสร้างองค์การ งบประมาณ และการทบทวนการปฏิบัติงานขององค์การ 4. การจัดทำแผนการตลาด (Develop a Marketing Plan) งานขั้นที่สี่ก็คือการจัดทำแผนการตลาด ในการทบทวนทรัพยากรที่มีอยู่ในปัจจุบันและ สภาพการณ์ด้านการตลาดจะช่วยให้ได้รับข้อมูลเพื่อนำไปใช้ในการกำหนดตลาดเป้าหมายและแนวโน้ม ของตลาดในอนาคตด้วย ตลาดดังกล่าวนี้และโครงการประชาสัมพันธ์ที่จะเข้าไปเจาะตลาดให้ถึงตัวลูกค้า จะต้องได้รับการประเมินผลเป็นระยะ ๆ เพื่อให้สอดคล้องกับงบประมาณที่มีอยู่ และเพื่อให้ได้รับ ประโยชน์สูงสุดจากนักท่องเที่ยวที่เดินทางเข้ามาท่องเที่ยว วัตถุประสงค์ด้านการตลาดควรที่จะสะท้อน สถานภาพปัจจุบันของการประเมินแผนการตลาด และช่วยให้เกิดการสร้างสรรค์ภาพลักษณ์ที่ถูกต้องของ แหล่งท่องเที่ยวด้วย ในแผนการตลาดของ McDaniel and Gates (2006) ส่วนใหญ่ประกอบไปด้วยองค์ประกอบ ดังนี้ 1. การระบุถึงวิสัยทัศน์ และพันธกิจองค์กร 2. การกำหนดวัตถุประสงค์ทางการตลาด 3. การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อนขององค์กร การวิเคราะห์โอกาสและอุปสรรค์ที่จะส่งผล กระทบต่อองค์กร 4. การกำหนดกลยุทธ์ทางการตลาด อันประกอบด้วย 4.1 กลยุทธ์การเลือกตลาดเป้าหมาย 4.2 กลยุทธ์ส่วนผสมทางการตลาด 5. การปฏิบัติตามแผน การควบคุมและการประเมินผล ซึ่งองค์ประกอบของแผนการตลาด แสดงได้ดังภาพที่ 20
118 ภาพที่ 20 : แสดงองค์ประกอบของแผนการตลาด ที่มา : McDaniel & Gates (2006:39) 5. การจัดทำแผนกลยุทธ์การปฏิบัติการ (Developing an Implementation Strategy) ขั้นตอนที่ห้าคือการวางแผนกลยุทธ์การปฏิบัติการ ซึ่งจะอธิบายถึงขั้นตอนของการปฏิบัติ การสนับสนุนและงบประมาณที่ต้องการสำหรับปฏิบัติการ แผนการพัฒนาการท่องเที่ยวที่ให้ข้อเสนอแนะ และการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในอนาคต วิธีการปฏิบัติงานควรจะได้มีการอภิปราย ประเมิน และให้ ข้อเสนอแนะเพื่อแสดงให้เห็นว่าการพัฒนา และโอกาสทางการตลาดสามารถนำมาแนะนำ ส่งเสริม และ ปฏิบัติได้ เพื่อข้อรับการสนับสนุนจากทั้งภาครัฐบาลและภาคเอกชน ก่อนที่จะเริ่มปฏิบัติการตามแผนขั้น สุดท้าย ความรับผิดชอบของกลุ่มหรือฝ่ายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องจะต้องได้รับการพิจารณาเสียก่อนอย่าง ระมัดระวัง ปัญหาข้อจำกัดต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นควรที่จะได้รับการจัดจำแนกออกมาให้ทราบทั่วกัน ทั้งนี้ แผนการปฏิบัติการควรรวมเอาทางเลือกเฉพาะสถานการณ์เข้าไว้ด้วย 1.4 รูปแบบการวางแผนการท่องเที่ยว รูปแบบการวางแผนโดยกว้าง สามารถสรุปได้ 8 รูปแบบ ดังนี้ 1.4.1 การวางแผนแบบหยืดหยุ่น (Flexible Approach) เป็นการวางแผนที่สามารถปรับปรุง เพิ่มเติม เปลี่ยนแปลงเนื้อหาได้เพื่อปรับแผนงานให้เข้ากับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป 1.4.2 การวางแผนแบบเชิงระบบ (System Approach) เป็นการวางแผนที่ระบุขั้นตอนการ ทำงาน และสามารถข้ามขั้นตอนได้แล้วแต่กรณี 1.4.3 การวางแผนแบบเน้นความเข้าใจองค์รวม (Comprehensive Approach) เป็นการ วางแผนที่เน้นการศึกษาข้อมูลรอบด้าน การคิดวิเคราะห์ที่สัมพันธ์กันเชิงปัจจัย ความเข้าใจในองค์รวมของ พื้นที่ในการวางแผน 1.4.4 การวางแผนแบบบูรณาการ (Integrated Approach) เป็นการวางแผนที่เน้นการทำงาน ร่วมกันกับทุกภาคส่วน โดยเน้นการทำงานระหว่าง ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคชุมชน
119
การวางแผนแบบยั่งยืน
เป็นการวางแผนที่ให้ความสำคัญกับ ความสมดุลย์ของเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และสังคมวัฒนธรรมในพื้นที่ เพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อคนในรุ่น ต่อไป
การวางแผนแบบเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน
วางแผนที่เน้นกระบวนการการมีส่วนร่วมของชุมชนตั้งแต่กระบวการศึกษา
และ ประเมินผล 1.4.7 การวางแผนแบบปฏิบัติได้ (Implementable Approach) เป็นการวางแผนที่ผ่าน การศึกษา และวิเคราะห์ข้อมูล ก่อนการกำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนงาน โครงการ งบประมาณ เกณฑ์วัด และตัวชั้ด เพื่อให้สามารถปฏิบัติการได้ตามแผน 1.4.8 การวางแผนแบบระบบตามลำดับ (Systematic and Logical Sequence Approach) ป็นการวางแผนที่อธิบายความสัมพันธ์ของแต่ละขั้นตอนที่เป็นเหตุเป็นผลกัน ไม่สามารถข้ามขั้นตอนได้ 1.5 ระดับของการวางแผนการท่องเที่ยว 1.5.1 ระดับนานาชาติ (International Planning) เป็นแผนด้านการท่องเที่ยวที่ครอบคลุม รายละเอียดการให้บริการการท่องเที่ยวระหว่างประเทศ การคมนาคมระหว่างประเทศ จำนวนและกระแส การท่องเที่ยวระหว่างประเทศ การพัฒนาการท่องเที่ยวเชื่อมโยงระหว่างประเทศ หรือภูมิภาคนานาชาติ การตลาดเชื่อมโยงระหว่างประเทศ การส่งเสริมการท่องเที่ยวร่วมกันระหว่างประเทศ หรือในกลุ่มเครือ สมาชิกประเทศที่ก่อตั้งร่วมกัน หน่วยงานที่รับผิดชอบการวางแผนระดับนานาชาติ ส่วนใหญ่จะเป็น
ของแผนระดับประเทศ ซึ่งประกอบไปด้วย แผนสาธารณูปโภค แผนกายภาพ แผนการจัดการคุณภาพ ธุรกิจบริการของประเทศ แผนการจัดการสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับนักท่องเที่ยว
แผนโครงสร้างหน่ววยงานการท่องเที่ยวของชาติ แผนกลยุทธการตลาดการท่องเที่ยวของ ประเทศ แผนการฝึกอบรมและการศึกษาด้านการท่องเที่ยว และแผนการจัดการสิ่งแวดล้อมและ ทรัพยากรเพื่อการท่องเที่ยว เป็นต้น 1.5.3 ระดับภูมิภาค (Regional Planning) เป็นแผนการท่องเที่ยวที่ครอบคลุมการดำเนินงาน ของระดับภูมิภาค ประกอบด้วย แผนการท่องเที่ยวระดับภูมิภาค แผนเชื่อมโยงเครือข่ายการท่องเที่ยวของ ภูมิภาค แผน แผนพัฒนาสถานที่ท่องเที่ยวระดับภูมิภาค แผนการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว แผนยุทธศาสตร์ การตลาดการท่องเที่ยวระดับภูมิภาค แผนการฝึกอบรมและการศึกษาด้านการท่องเที่ยวระดับภูมิภาค แผนโครงสร้างองค์กรกรท่องเที่ยวระดับภูมิภาค แผนการลงทุนด้านการท่องเที่ยวระดับภูมิภาค แผนด้าน การวางกฎ และ ระเบียบและข้อบังคับด้านการท่องเที่ยว เป็นต้น 1 5.4 ระดับจังหวัด หรือระดับท้องถิ่น (Sub regional Planning) เป็นแผนการท่องเที่ยวที่ ครอบคลุมการดำเนินงานของระดับจังหวัด หรือระดับท้องถิ่นที่มีขนาดเล็กกว่าระดับภูมิภาค ขอบเขตของ แผนมีเนื้อหาคล้ายคลึงกับแผนระดับภูมิภาคแต่จำกัดพื้นที่การจัดการของแผนในระดับจังหวัด หรือ ระดับ ท้องถิ่น อาจมีเนื้อหาและลักษณะของแผนที่มีลักษณะเฉพาะสำหรับจังหวัดและท้องถิ่น เช่น แผนพัฒนา แหล่งท่องเที่ยวระดับจังหวัด หรือท้องถิ่น แผนพัฒนาสิ่งดึงดูดใจทางการท่องเที่ยว และแผนการบริการ การท่องเที่ยว เป็นต้น 1 5.5 ระดับพัฒนาพื้นที่ (Development Area Land Use Planning) เป็นแผนการท่องเที่ยว ที่ครอบคลุมการดำเนินงานของพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง เพื่อกำหนดให้เป็นแหล่งท่องเที่ยว หรือสิ่งดึงดูดใจ ทางการท่องเที่ยว โดยจำมีแผนที่เกี่ยวต่างๆ เช่น แผนการใช้พื้นที่ แผนการจัดการการคมนาคม แผนการ จัดการสิ่งอำนวยความสะดวกในพื้นที่ เช่น ไฟฟ้า น้ำ ขยะ และสิ่งปฏิกูล รวมถึงแผนการสื่อสารระบบ โทรคมนาคมในแหล่งท่องเที่ยวนั้นๆ เป็นต้น
1.4.5
(Sustainable Approach)
1.4.6
(Community Approach) เป็นการ
วางแผน ปฏิบัติการ
หน่วยงานระหว่างประเทศ เช่น UNWTO IATA PATA ASEAN หรือ OECD เป็นต้น 1.5.2 ระดับชาติ (National Planning) เป็นแผนด้านการท่องเที่ยวที่ครอบคลุมการดำเนินงาน
แผนการวางเส้นทาง การท่องเที่ยว
120 1 5.6 ระดับอาคารหรือกลุ่มอาคาร (Facility Site Planning) เป็นแผนการท่องเที่ยวที่ ครอบคลุมการดำเนินงานของอาคาร หรือกลุ่มอาคารเฉพาะเพื่อการท่องเที่ยว ซึ่งจะเป็นอาคารเดี่ยว หรือ กลุ่มอาคาร ก็ได้ โดยส่วนใหญจะมีการวางแผนด้านการจอดรถในอาคาร แผนจัดการภูมิทัศน์ของอาคาร แผน การจัดการถนนและทางเดินในอาคารและระหว่างอาคาร เป็นต้น 1.5.7 ระดับอุตสาหการ (Facility Design Planning) เป็นแผนการท่องเที่ยวที่ครอบคลุมการ ดำเนินงานของธุรกิจแบบอุตสาหการที่เการทำธุรกิจแบบค้าส่ง หรือมีปริมาณเป็นจำนวนมาก โดยต้องมี แผนด้านสถาปัตยกรรมก่อสร้างแบบอุตสาหการ แผนการจัดการภูมิทัศน์ แผนออกแบบสิ่งอำนวยความ สะดวก และแผนทางวิศวกรรมสำหรับสินค้าและบริการจำนวนมาก และแผนการรองรับจำนวนคน เป็น ต้น 1 5.8 ระดับเฉพาะด้าน (Special Studies Planning) เป็นแผนการท่องเที่ยวที่ครอบคลุมการ ดำเนินงานของการทำธุรกิจท่องเที่ยวเฉพาะด้าน โดยต้องมีแผนการพัฒนาการท่องเที่ยเฉพาะด้านที่ต้อง อาศัยความรู้เพื่อตอบสนองความสนใจเฉพาะพิเศษนี้ เช่น ธุรกิจท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและความงาม ธุรกิจ ที่พักแรมบนภูเขา ธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงผจญภัย และธุรกิจการท่องเที่ยวสำหรับผู้สูงอายุ เป็นต้น 2. กรณีศึกษา ผู้เขียนนำเสนอกรณีศึกษาจากการศึกษาการพัฒนาการท่องเที่ยว บ้านป่าทราย ต เกาะยาวน้อย อ.เกาะยาว จ.พังงา ของผู้เขียน โดยมีการลงพื้นที่ศึกษา และสอบถามพฤติกรรมนักท่องเที่ยวในพื้นที่จาก แบบสอบถามเบื้องต้นที่กำหนดไว้ จำนวน 20 ข้อ ดังนี้ 2.1 ตัวอย่างคำถามที่ใช้ในการสำรวจ 1. เพศ ( ) ชาย ( ) หญิง 2. อายุ ( ) ต่ำกว่า 20 ( ) 21 35 ( ) 36 45 ( ) 46 60 ( ) 61 ขึ้นไป 3. การศึกษา ( ) ไม่ได้เรียน ( ) จบระดับชั้นประถมศึกษา ( ) จบระดับมัธยมต้นหรือเทียบเท่า ( ) จบระดับมัธยมปลายหรือเทียบเท่า ( ) จบระดับอนุปริญญาหรือเทียบเท่า ( ) จบระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า ( ) สูงกว่าระดับปริญญาตรี 4. อาชีพ ( ) รับราชการ ( ) ธุรกิจ ( ) รับจ้าง ( ) นักศึกษา ( ) อื่น ๆ ระบุ............................. 5. ที่อยู่ปัจจุบัน อำเภอ ........................................ จังหวัด 6. จุดประสงค์หลักในการเดินทางท่องเที่ยวที่นี่ ( ) ท่องเที่ยว ( ) พักผ่อน ( ) เยี่ยมญาติ ( ) ราชการ ( ) ธุรกิจ ( ) อื่น ๆ (ระบุ ) 7. พาหนะในการเดินทาง ( ) รถไฟ ( ) ระปรับอากาศ ( ) รถบัส ( ) ส่วนตัว ( ) อื่น ๆ (ระบุ ................................) เที่ยวไป ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) เที่ยวกลับ ( ) ( ) ( ) ( ) ( )
121 8. ลักษณะการเดินทาง ( ) คนเดียว ( ) ครอบครัว ( ) มากับทัวร์ ( ) กลุ่มเพื่อน.................... คน ( ) อื่น ๆ 9. การมาเท่องเที่ยวครั้งนี้ ท่านใช้บริการของใคร ( ) บริษัทนำเที่ยว ( ) บริษัทนำเที่ยวในจังหวัดภูมิลำเนาของท่าน ( ) บริษัทนำเที่ยวในสถานที่ท่องเที่ยว ( ) เพื่อน ๆ ( ) บริการตัวเอง ( ) อื่น ๆ 10. ท่านพักค้างคืนหรือไม่ ( ) ค้าง ( ) ไม่ค้าง 11. ที่พักของท่านขณะที่อยู่ในแหล่งท่องเที่ยว ( ) โรงแรม ( ) บังกะโล ( ) บ้านเพื่อน ( ) วัด ( ) อื่น ๆ ระบุ 12. โปรดระบุจำนวนวันที่ค้างคืน ( ) 1 คืน ( ) 2 คืน ( ) 4 คืน ( ) อื่น ๆ ระบุ............................................ 13. ค่าใช้จ่ายในการท่องเที่ยวต่อครั้ง ค่าใช้จ่ายรวมทั้งกลุ่ม/ครอบครัว ....................................... บาท ค่าใช้จ่ายส่วนตัวประมาณ ............. บาท ค่าที่พัก ....................................... บาท ค่าอาหารและเครื่องดื่ม ....................................... บาท ซื้อของ ............. บาท ค่าพาหนะในจังหวัด ............. บาท อื่น ๆ ....................................... บาท 14. มูลเหตุในการมาเที่ยว (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ เรียงตามลำดับความสำคัญ) ( ) คำแนะนำจากบริษัทนำเที่ยว ( ) คำแนะนำจาก ททท. ( ) คำแนะนำจากหนังสือ ( ) คำแนะนำจากวิทยุ โทรทัศน์ ( ) คำเล่าลือเกี่ยวกับแหล่งท่องเที่ยว ( ) อื่น ๆ ระบุ.................... 15. แหล่งท่องเที่ยวที่ท่านไปชมในการเดินทางครั้งนี้ (มากกว่า 1 ข้อ) ( ) ........................................................... ( ) .............................................. ( ) ....................................... ( ) ....... 16. ท่านคิดว่าจะกลับมาเที่ยวอีกหรือไม่ ( ) กลับ ( ) ไม่กลับ 17. การบริการด้านต่าง ๆ เป็นอย่างไร ดี ปานกลาง ไม่ดี ที่พัก อาหาร ของที่ระลึก บริการท่องเที่ยว การเดินทาง ความปลอดภัย อื่น ๆ ระบุ...........................................................
122 18. การมาเที่ยวในครั้งนี้ ท่านแวะเที่ยวที่อื่นหรือไม่ ( ) ไม่แวะ ( ) แวะ 19. สิ่งที่ควรมีการพัฒนาปรับปรุงเพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวของที่นี่ ( ) ถนน ( ) ความสะอาด ( ) พาหนะเดือนทาง ( ) ความปลอดภัย ( ) ที่พัก ( ) การอนุรักษ์ธรรมชาติ ( ) แหล่งท่องเที่ยว ( ) เอกสาร ( ) เจ้าหน้าที่ให้คำแนะนำ ( ) อื่น ๆ ระบุ ..................................... 20. ความคิดเห็นอื่น ....................................................................................................................................................................... 2.2 ผลการสำรวจ ตารางที่ 9 เพศ เพศ จำนวน ร้อยละ ชาย 12 40.0 หญิง 18 60.0 รวม 30 100 จากตารางที่ 9 แสดงข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถามด้านเพศ สรุปได้ว่าประชากรในการวิจัยที่มา ท่องเที่ยวบ้านป่าทราย ต.เกาะยาวน้อย ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง
60.0 และ เป็นเพศชาย จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 40.00 จะพบว่ามีนักท่องเที่ยวเพศหญิงมากว่าเพศชาย ตารางที่ 10 อายุ อายุ จำนวน ร้อยละ ต่ำกว่า 20 ปี 7 23.3 21 35 ปี 16 53.3 36 45 ปี 5 16.7 46 60 ปี 2 6.7 รวม 30 100 จากตารางที่ 10 แสดงข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถามด้านอายุ สรุปได้ว่าประชากรในการวิจัย ที่มาท่องเที่ยวบ้านป่าทราย ต.เกาะยาวน้อย ส่วนใหญ่จะมีอายุในช่วงระหว่าง 21 35 ปี จำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 53.3 รองลงมาคือ อายุอยู่ในช่วงต่ำกว่า 20 ปี จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อนละ 23.3 รองลงมาคือ อายุอยู่ในช่วง 36 45 ปี จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 16.7 และรองลงมาจากการตอบ แบบสอบถามพบว่า ช่วงอายุที่น้อยที่สุดที่เดินทางมาท่องเที่ยวคือ 46 60 ปี จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อย ละ 6.7
จำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ
123
จบระดับมัธยมศึกษาตอนต้นหรือเทียบเท่า
จนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า
จบระดับอนุปริญญาหรือเทียบเท่า
จบระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า 6
รวม 30 100 จากตารางที่ 11 แสดงผลข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถามด้านระดับการศึกษา สรุปได้ว่า ประชากรในการวิจัยซึ่งส่วนใหญ่มีการศึกษาจบประถมศึกษา จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 23.3 รองลงมา คือจบระดับปริญญาหรือเทียบเท่าจำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 20.0 รองลงมาคือ จบระดับปริญญาตรี หรือเทียบเท่า 6 คน คิดเป็นร้อยละ 20.0 รองลงมาคือจบระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 16.7 รองลงมาคือไม่ได้ศึกษา 4 คน คิดเป็นร้อยละ 13.3 และจบระดับ มัธยมศึกษาตอนต้นหรือเทียบเท่า 2 คิดเป็นร้อยละ 6.7 ตารางที่ 12 อาชีพ อาชีพ จำนวน ร้อยละ รับราชการ
ธุรกิจ
รับจ้าง
นักศึกษา
อื่น ๆ ระบุ.....
รวม
จากตารางที่ 12 แสดงผลข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถามด้านอาชีพ สรุปได้ว่าประชากรในการ วิจัยซึ่งส่วนใหญ่มีอาชีพรับจ้าง จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 43.3 รองลงมาคือ ธุรกิจส่วนตัว/กิจการ ส่วนตัวจำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 20.0 รองลงมาคือนิสิต/นักศึกษา จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 20.0 ส่วนรับราชการไม่มีเลยและจากจำนวนผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมดพบว่ามีอาชีพอื่น ๆ จำนวน 5 คน คิด เป็นร้อยละ 16.7
ตารางที่ 11 ระดับการศึกษา ระดับการศึกษา จำนวน ร้อยละ ไม่ได้ศึกษา 4 13.3 จบระดับชั้นประถมศึกษา 7 23.3
2 6.7
5 16.7
6 20.0
20.
0 0
6 20.0
13 43.3
6 20.0
5 16.7
30 100
124
รวม
จากตารางที่ 13 แสดงผลข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถามด้านที่อยู่ปัจจุบัน โดยส่วนมาก นักท่องเที่ยวที่มาท่องเที่ยวมากที่สุดคือนักท่องเที่ยวที่อาศัยในอำเภอเกาะยาวจำนวน 100 คน คิดเป็น ร้อยละ 33.3 รองลงมาคืออำเภอถลางจำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 30.0 และรองลงมาคือกะทู้และภูเก็ต จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 6.7 รองลงมาคืออำเภอกะเปอร์ ชะอวด ตะกั่วป่า ทับปุด พังงา และกระบี่ จำนวน
จังหวัดนครศรีธรรมราช
รวม
จากตารางที่ 14 แสดงผลข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถามด้านที่อยู่ปัจจุบัน จังหวัดที่มี นักท่องเที่ยวอยู่อาศัยมากที่สุด คือจังหวัดภูเก็ตและพังงาจำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 43.3 รองลงมาคือ จังหวัดกระบี่จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 6.7 และสุดท้ายคือจังหวัดระนองและนครศรีธรรมราชจำนวน 1 คิดเป็นร้อยละ 3.3
ตารางที่ 13 ที่อยู่ปัจจุบันอำเภอ ที่อยู่ปัจจุบัน จำนวน ร้อยละ อำเภอเมืองภูเก็ต 2 6.7 อำเภอถลาง 9 30.0 อำเภอกะทู 2 6.7 อำเภอกะเปอร์ 1 3.3 อำเภอชะอวด 1 3.3 อำเภอตะกั่วป่า 1 3.3 อำเภอเกาะยาว 10 33.3 อำเภอทับปุด 1 3.3 อำเภอเมืองพังงา 1 3.3 อำเภอเมืองกระบี่ 1 3.3
30 100
1 คน คิดเป็นร้อยละ 3.3 ตารางที่ 14 ที่อยู่ปัจจุบันจังหวัด ที่อยู่ปัจจุบัน จำนวน ร้อยละ จังหวัดภูเก็ต 13 43.3 จังหวัดพังงา 13 43.3 จังหวัดระนอง 1 3.3 จังหวัดกระบี่ 2 6.7
1 3.3
30 100
ๆ 13 43.3 รวม 30 100 จากตารางที่ 16 แสดงผลข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถามด้านยานพาหนะในการเดินทางเที่ยวไป
125 ตารางที่ 15 วัตถุประสงค์หลักในการเดินทางมาท่องเที่ยวที่บ้านเกาะยาวน้อย วัตถุประสงค์หลักในการเดินทางมาท่องเที่ยวที่บ้านเกาะยาวน้อย จำนวน ร้อยละ ท่องเที่ยว 8
พักผ่อน
เยี่ยมญาติ
ราชการ 0 0 ธุรกิจ
อื่น ๆ โปรดระบุ 3
รวม 30
จากตารางที่ 15 แสดงผลข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถามด้านวัตถุประสงค์หลักในการเดินทาง มาท่องเที่ยวที่บ้านเกาะยาวน้อย สรุปได้ว่าประชากรในการวิจัยซึ่งส่วนใหญ่มีวัตถุประสงค์หลักใน การ เดินทางท่องเที่ยวที่บ้านเกาะยาวน้อยเพื่อพักผ่อนจำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 33.3 รองลงมา คือเพื่อ ท่องเที่ยวจำนวน 8 คิดเป็นร้อยละ 26.7 รองลงมาคือมาเที่ยวเพื่อญาติจำนวน 8 คนคิดเป็นร้อยละ 26.7 และเพื่อวัตถุประสงค์อื่นจำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 10.0 และสุดท้ายธุรกิจจำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 3.3 ตารางที่ 16 ยานพาหนะในการเดินทาง ยานพาหนะในการเดินทาง จำนวน ร้อยละ รถปรับอากาศ 1 3.3 รถบัส 1
ส่วนตัว 15
อื่น
สรุปได้ว่าประชากรในการวิจัยซึ่งส่วนใหญ่เดินทางด้วยยานพาหนะส่วนตัวจำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 50.0 และรองลงมาคือเดินทางด้วยรูปแบบอื่นจำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 43.3 และรองลงมาคือการ เดินทางด้วยรถปรับอากาศและรถบัสจำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 3.3 ตารางที่ 17 ยานพาหนะในการเดินทาง ยานพาหนะในการเดินทาง จำนวน ร้อยละ รถบัส 1 3.3 ส่วนตัว 15 50.0 อื่น ๆ 14 46.7 รวม 30 100 จากตารางที่ 17 แสดงผลข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถามด้านยานพาหนะในการเดินทางเที่ยวไป สรุปได้ว่าประชากรในการวิจัยซึ่งส่วนใหญ่เดินทางด้วยยานพาหนะส่วนตัวจำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 50.0 และรองลงมาคือเดินทางด้วยรูปแบบอื่นจำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 46.7 และสุดท้ายด้วยรถบัส จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 3.3
26.7
10 33.3
8 26.7
1 3.3
10.0
100
3.3
50.0
126 ตารางที่ 18 ลักษณะการเดินทาง ลักษณะการเดินทาง จำนวน ร้อยละ คนเดียว
ครอบครัว
กลุ่มเพื่อน
รวม
จากตารางที่ 18 แสดงผลข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถามด้านลักษณะการเดินทาง สรุปได้ว่า ประชากรในการวิจัย ซึ่งส่วนใหญ่มีลักษณะการเดินทางแบบคนเดียวจำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 36.7 รองลงมาคือแบบกลุ่มเพื่อน จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 36.7 และรองมาคือเดินทางแบบครอบครัว จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 26.7 ตารางที่ 19 การเดินทางมาท่องเที่ยวครั้งนี้ ท่านใช้บริการของใคร การเดินทางมาท่องเที่ยวครั้งนี้ ท่านใช้บริการของใคร จำนวน ร้อยละ บริษัทนำเที่ยว 1
เพื่อน ๆ
บริการตนเอง 22
อื่น ๆ
รวม
จากตารางที่ 19 แสดงผลข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถามด้านการเดินทางมาท่องเที่ยวครั้งนี้ ท่านใช้บริการของใคร สรุปได้ว่าประชากรในการวิจัยซึ่งส่วนให้เดินทางมาท่องเที่ยวท่านใช้บริการตัวเอง จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 73.3 และรองลงมาคือเดินทางมาใช้บริการของเพื่อน ๆ จำนวน 6 คน คิดเป็น ร้อยละ 20.0 รองลงมาคือบริษัทนำเที่ยวจำนวน 1 คิดเป็นร้อยละ 33 และสุดท้ายแบบอื่น ๆ จำนวน 1 คิดเป็นร้อยละ 3.3 ตารางที่ 20 ท่านพักค้างคืนหรือไม่ ท่านพักค้างคืนหรือไม่ จำนวน ร้อยละ ค้าง 17 56.7 ไม่ค้าง 13 43.3 รวม 30 100 จากตารางที่ 20 แสดงผลข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถามด้านท่านพักค้างคืนหรือไม่ สรุปได้ว่า ประชากรในการวิจัยซึ่งส่วนใหญ่มาพักค้างคืนจำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 56.7 และรองลงมาพักแบบ ไม่ค้างคืนจำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ
11 36.7
8 26.7
11 36.7
30 100
3.3
6 20.0
73.3
1 3.3
30 100
127 ตารางที่ 21 ที่พักของท่านขณะที่อยู่ในแหล่งท่องเที่ยว ที่พักของท่านขณะที่อยู่ในแหล่งท่องเที่ยว จำนวน
โรงแรม
บังกะโล
บ้านเพื่อน
วัด
อื่น
รวม
จากตารางที่ 21 แสดงผลข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถามด้านที่พักของท่านขณะที่อยู่ในแหล่ง ท่องเที่ยวที่พักของท่านขณะที่อยู่ในแหล่งท่องเที่ยว สรุปได้ว่าประชากรในการวิจัยซึ่งส่วนใหญ่พบว่า มีที่ พักขณะท่องเที่ยวจำนวนมากคือบ้านเพื่อนจำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 36.7 รองลงมาคือบังกะโลและ อื่น ๆ จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 16.7 และรองลงมาคือวัดและโรงแรมจำนวน
คิดเป็นร้อยละ
ตารางที่ 22 โปรดระบุจำนวนวันที่ค้างคืน โปรดระบุจำนวนวันที่ค้างคืน จำนวน ร้อยละ 1 คืน 3
2 คืน 7
4 คืน 2
อื่น ๆ โปรดระบุ 5
Total 17
Missing
รวม
จากตารางที่ 22 แสดงผลข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถามด้านโปรดระบุจำนวนวันที่ค้างคืน สรุป ได้ว่าประชากรในการวิจัยซึ่งส่วนใหญ่มาพักค้างคืน 2 คืน จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 23.3 รองลงมาคือ แบบอื่น ๆ จำนวน 5 คิดเป็นร้อยละ 16.7 และพักค้าง 1 คืน จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 10.0 และพัก 4 คืน จำนวน 2 คิดเป็นร้อยละ 6.7
ร้อยละ
1 3.3
5 16.7
11 36.7
1 3.3
ๆ 5 16.7 Total 23 76.7 Missing System 7 23.3
30 100
1
3.3
10.0
23.3
6.7
16.7
56.7
System 13 43.3
30 100
1 100 บาท 1 101 200 บาท 1 401 500 บาท 2 901 1000 บาท 1 1001 2000 บาท 3 2001 3000 บาท 4 3001 4000 บาท 1
4001 5000 บาท 2 5001 6000 บาท 1 8001 9000 บาท 1 9001 10000 บาท 1 Total 18 60.0 Missing System 12 40.00 รวม 30 100 จากตารางที่ 23 แสดงผลข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถามด้านค่าใช้จ่ายรวมทั้งกลุ่ม/ครอบครัว
คือ 2001 3000 บาท จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 13.3 รองลงมาคือ 1001 2000 บาท จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 10.0 และ รองลงมาคือ 4001 5000, 401 500 จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 6.7 และรองลงมาคือ 1 100 , 101 200 , 901 1000 , 3001 4000 , 5001 6000 , 8001 9000 , 9001 10000 จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อย ละ 3.3
128 ตารางที่ 23 ค่าใช้จ่ายในการท่องเที่ยวต่อครั้ง ค่าใช้จ่ายรวมทั้งกลุ่ม/ครอบครัว
จำนวน ร้อยละ
สรุปได้ว่าประชากรในการวิจัยซึ่งส่วนใหญ่มีค่าใช้จ่ายรวมทั้งกลุ่ม/ครอบครัว
1 100 บาท 2 6.7 101 200 บาท 1 3.3 201 300 บาท 1 3.3
401 500 บาท 5 16.7
501 600 บาท 1 3.3 601 700 บาท 1 3.3
701 800 บาท 1 3.3
901 1000 บาท 3 10.0
1001 2000 บาท 4 13.3 2001 3000 บาท 3 10.0 Total 22 73.3 Missing System 8 26.7 รวม 30 100 จากตารางที่ 24 แสดงผลข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถามด้านค่าใช้จ่ายส่วนตัวประมาณ สรุปได้ ว่าประชากรในการวิจัยซึ่งส่วนใหญ่มีค่าใช้จ่ายส่วนตัวคือ 401 500 บาท จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 16.7 รองลงมาคือ 1001 2000 บาท จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 13.3 รองลงมาคือ 901 1000 , 2001 3000 คน คิดเป็นร้อยละ 10.0 และรองมาคือ 1 100 จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 6.7 และสุดท้ายคือ 101 200 , 201 300 , 501 600 , 601 700 , 701 800 จำนวน 1 คิดเป็นร้อยละ 3.3 ตารางที่ 25 ค่าที่พัก
129 ตารางที่ 24 ค่าใช้จ่ายในการท่องเที่ยวต่อครั้ง ค่าใช้จ่ายรวมทั้งกลุ่ม/ครอบครัว จำนวน
ร้อยละ
Missing
24
รวม 30
จากตารางที่ 25 แสดงผลข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถามด้านค่าที่พัก สรุปได้ว่าประชากรในการ วิจัยซึ่งส่วนใหญ่มีรายจ่ายค่าที่พักคือ 1001 2000 บาท จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 6.7 รองลงมาคือ 201 300 , 401 500 , 701 800 , 901 1000 จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 3.3
ค่าที่พัก จำนวน ร้อยละ 201 300 บาท 1 3.3 401 500 บาท 1 3.3 701 800 บาท 1 3.3 901 1000 บาท 1 3.3 1001 2000 บาท 2 6.7 Total 6 20.0
System
80.0
100
1 100 บาท 4 13.3 101 200 บาท 2 6.7 201 300 บาท 2 6.7 301 400 บาท 1 3.3 401 500 บาท 6 20.0 701 800 บาท 1 3.3 901 1000 บาท 1 3.3 1001 2000 บาท 1 3.3 2001 3000 บาท 1 3.3 Total 19 63.6 Missing System 11 36.7
6 คน คิด เป็นร้อยละ 20.0 รองลงมาคือ 101 200 , 201 300 จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 6.7 รองลงมาคือ 301 400 , 701 800 , 901 1000 , 1001 2000 , 2001 3000 จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 3.3 ตารางที่ 27
130 ตารางที่ 26 ค่าอาหารและเครื่องดื่ม ค่าอาหารและเครื่องดื่ม จำนวน
ร้อยละ
จากตารางที่
แสดงผลข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถามด้านค่าอาหารและเครื่องดื่ม สรุปได้ว่า ประชากรในการวิจัย ซึ่งส่วนใหญ่มีรายจ่ายค่าอาหารและเครื่องดื่มคือ 401
บาท จำนวน
รวม
จากตารางที่ 27 แสดงผลข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถามด้านซื้อของ สรุปได้ว่าประชากรในการ วิจัยซึ่งส่วนใหญ่มีการซื้อของคือ 101 200 จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 10.0 รองลงมาคือ 201 300 , 401 500 จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 6.7 และสุดท้าย คือ 901 1000 จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 3.3
รวม 30 100
26
500
ซื้อของ ซื้อของ จำนวน ร้อยละ 101 200 บาท 3 10.0 201 300 บาท 2 6.7 401 500 บาท 2 6.7 901 1000 บาท 1 3.3 Total 8 26.7 Missing System 22 73.3
30 100
131 ตารางที่ 28 ค่ายานพาหนะในจังหวัด ซื้อของ จำนวน ร้อยละ 1 100 บาท
101 200 บาท
701
บาท
901
บาท
Missing
รวม
จากตารางที่ 28 แสดงผลข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถามด้านยานพาหนะในจังหวัด สรุปได้ว่า ประชากรในการวิจัย ซึ่งส่วนใหญ่มีค่ายานพาหนะในจังหวัด คือ 101 200 จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 26.7 รองลงมาคือ 1 100 จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 6.7 และสุดท้ายคือ 701 800 , 901 1000 จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 3.3 ตารางที่ 29 ความคิดเห็นอื่น ๆ ซื้อของ
รวม
จากตารางที่
แสดงผลข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถามด้านอื่น
300 จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 3.3 และอื่น ๆ อีก 29 คน คิดเป็นร้อย ละ 96.7 ตารางที่ 30 มูลเหตุในการมาเที่ยว ซื้อของ จำนวน ร้อยละ คำแนะนำจากบริษัทนำเที่ยว 4 13.3 คำแนะนำจากหนังสือ 2 6.7 คำแนะนำจากวิทยุ โทรทัศน์ 3 10.0 คำเล่าลือเกี่ยวกับแหล่งท่องเที่ยว 15 50.0 อื่น ๆ 6 20.0 รวม 30 100 จากตารางที่ 30 ผลข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถามด้านมูลเหตุในการมาเที่ยว สรุปได้ว่า ประชากรในการวิจัยซึ่งส่วนใหญ่มีมูลเหตุในการมาเที่ยวคือจากคำเล่าลือเกี่ยวกับแหล่งท่องเที่ยว จำนวน 15 คิดเป็นร้อยละ 50.0 รองลงมาคือคำแนะนำจากบริษัทนำเที่ยวจำนวน 4 คิดเป็นร้อยละ 13.33 รองลงมาคือคำแนะนำจากวิทยุโทรทัศน์จำนวน 3 คิดเป็นร้อยละ 10.0 รองลงมาคือคำแนะนำจากหนังสือ จำนวน 2 คิดเป็นร้อยละ 6.7 และจากอื่น ๆ จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 20.0
2 6.7
8 26.7
800
1 3.3
1000
1 3.3 Total 12 40.0
System 18 60.0
30 100
จำนวน ร้อยละ 201 300 บาท 1 3.3 Missing System 29 96.7
30 100
29
ๆ สรุปได้ว่าประชากรในการ วิจัย ซึ่งส่วนใหญ่พบว่ามี 201
132 ตารางที่ 31 แหล่งท่องเที่ยวที่ท่านไปชมในการเดินทางครั้งนี้ แหล่งท่องเที่ยวที่ท่านไปชมในการเดินทางครั้งนี้ จำนวน
หาดป่าทราย
หาดป่าตอง
หาดแหลมไทร
หาดลมเล
รวม
จากตารางที่ 31 ผลข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถามด้านแหล่งท่องเที่ยวที่ท่านไปชมในการ เดินทางครั้งนี้ สรุปได้ว่าประชากรในการวิจัยซึ่งส่วนใหญ่มีแหล่งท่องเที่ยวที่นักท่องเที่ยวไปชมในการ เดินทางครั้งนี้คือหาดป่าทรายจำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 56.7 รองลงมาเป็น หาดท่าเขา หาดท่าไทร ชายหาด วัดถ้ำสุวรรณคูหา หาดป่าตอง หาดแหลมไทร และหาดลมเล จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ
ตารางที่ 32 ท่านคิดว่าจะกลับมาอีกหรือไม่ ท่านคิดว่าจะกลับมาอีกหรือไม่ จำนวน ร้อยละ กลับ 28
ไม่กลับ 2
รวม 30
จากตารางที่ 32 ผลข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถามด้านท่านคิดว่าจะกลับมาอีกหรือไม่
ประชากรในการวิจัยซึ่งส่วนใหญ่มีนักท่องเที่ยวที่จะเดินทางกลับมาอีกจำนวน
และนักท่องเที่ยวที่จะไม่เดินทางกลับมาอีกจำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ
ร้อยละ
17 56.7 หาดท่าเขา 1 3.3 หาดท่าไทร 1 3.3 ชายหาด 1 3.3 วัดถ้ำสุวรรณคูหา 1 3.3
1 3.3
1 3.3
1 3.3 Total 24 80.0 Missing System 6 20.0
30 100.0
3.3
93.3
6.7
100
สรุปได้ว่า
28 คน คิดเป็นร้อยละ 93.3
6.7
ตารางที่ 33 การบริการด้านต่าง ๆ เป็นอย่างไร ที่พัก จำนวน ร้อยละ ดีมาก 8 26.7 ดี 19 63.3 ปานกลาง 3 10.0 ไม่ดี 0 0 รวม 30 100 อาหาร จำนวน ร้อยละ ดีมาก 14 46.7 ดี 14 46.7 ไม่ดี 2 6.7 รวม 30 100 ของที่ระลึก จำนวน ร้อยละ ดีมาก 3 10.0 ดี 15 50.0 ปานกลาง 11 36.7 ไม่ดี 1 3.3 ไม่ดีมาก 0 0 รวม 30 100 บริการท่องเที่ยว จำนวน ร้อยละ ดีมาก 2 6.7 ดี 16 53.3 ปานกลาง 11 36.7 ไม่ดี 1 3.3 ไม่ดีมาก 0 0 รวม 30 100 ความปลอดภัย จำนวน ร้อยละ ดีมาก 7 23.3 ดี 16 53.3 ปานกลาง 7 23.3 ไม่ดี 0 0 รวม 30 100
133
134 จากตารางที่ 33 ผลข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถามด้านที่พัก สรุปได้ว่าประชากรในการวิจัย ซึ่ง ส่วนใหญ่มีความคิดเห็นในการบริการด้านต่าง ๆ คือ ดี จำนวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 63.3 รองลงมา คือ ดีมากจำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 26.7 รองลงมาคือ ปานกลางจำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 10 ด้านอาหาร แสดงผลข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถามด้านอาหาร สรุปได้ว่าประชากรในการวิจัยซึ่งส่วนใหญ่ มีความคิดเห็นเรื่องอาหาร คือ ดี จำนวน 14 คิดเป็นร้อยละ 46.7 รองลงมา คือ ปานกลาง จำนวน 2 คิด เป็นร้อยละ 6.7 ด้านของที่ระลึก สรุปได้ว่าประชากรในการวิจัยซึ่งส่วนใหญ่มีความคิดเห็นเรื่องของที่ระลึก คือ ดี จำนวน 15 คนคิดเป็นร้อยละ 50.0 รองลงมาคือ ปานกลางจำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 36.7 และไม่ดี จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 3.3 สำหรับด้านบริการท่องเที่ยว สรุปได้ว่าประชากรในการวิจัยซึ่งส่วนใหญ่ มีความคิดเห็นเรื่องของการบริการท่องเที่ยวคือ ดี จำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 53.3 รองลงมาคือ ปาน กลางจำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 36.7 รองลงมาคือ ดีมาก จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 6.7 และพอใช้ จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 3.3 ด้านการเดินทาง สรุปได้ว่าประชากรในการวิจัยซึ่งส่วนใหญ่มีความ คิดเห็นเรื่องของการเดินทางคือ ดี จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 43.3 รองลงมาคือ ปานกลาง จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 30.0 รองลงมาคือ ดีมากจำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 23.3 และรองลงมาคือ พอใช้ จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 3.3 และสำหรับ ด้านความปลอดภัย สรุปได้ว่าประชากรในการวิจัยซึ่งส่วน ใหญ่มีความคิดเรื่องของความปลอดภัย คือ ดี จำนวน 16 คิดเป็นร้อยละ 53.3 รองลงมาคือ ปานกลาง และดีมาก จำนวน 7 คิดเป็นร้อยละ 23.3 ตารางที่ 34 การมาเที่ยวในครั้งนี้ ท่านแวะเที่ยวที่อื่นหรือไม่ การมาเที่ยวในครั้งนี้ ท่านแวะเที่ยวที่อื่นหรือไม่ จำนวน ร้อยละ ไม่แวะ
แวะ
รวม
จากตารางที่ 34 ผลข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถามด้านการมาเที่ยวในครั้งนี้ ท่านแวะเที่ยวที่อื่น หรือไม่ สรุปได้ว่าประชากรในการวิจัยซึ่งส่วนใหญ่มีความต้องการที่จะกลับมาเที่ยวไม่แวะจำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 73.3 และรองลงมามีความต้องการที่จะแวะมาเที่ยวอีกจำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 23.3 และจากจำนวนผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมดพบว่ามีผู้ที่ไม่ลงความคิดเห็นเรื่องการแวะกลับมาเที่ยวจำนวน 1 คิดเป็น 3.3
22 73.3
7 23.3 Total 12 40.0 Missing System 1 3.3
30 100
13.3
135 ตารางที่ 35 สิ่งที่ควรมีการพัฒนาปรับปรุงเพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวของที่นี้ สิ่งที่ควรมีการพัฒนาปรับปรุงเพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวของที่นี้
รวม
จากตารางที่ 35 ผลข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถามด้านสิ่งที่ควรมีการพัฒนาปรับปรุงเพื่อ พัฒนาการท่องเที่ยวของที่นี้ สรุปได้ว่าประชากรในการวิจัยซึ่งส่วนใหญ่มีความคิดเห็นในเรื่องสิ่งที่ควรมี การพัฒนาปรับปรุงเพื่อพัฒนาการท่องเที่ยว คือ ความสะอาดจำนวน 13 คิดเป็นร้อยละ 43.3
คือถนนและการอนุรักษ์ธรรมชาติจำนวน 5 คิดเป็นร้อยละ
คิดเป็นร้อยละ 10 รองลงมา คือ แหล่งท่องเที่ยวจำนวน 2 คิดเป็นร้อยละ 6.7 และรองลงมา คือ เจ้าหน้าที่ให้คำแนะนำ จำนวน 1 คิดเป็นร้อยละ 33.3 และจากจำนวนผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมดพบว่ามี ผู้ที่ไม่ลงความคิดเห็นเรื่องสิ่งที่ควรมีการพัฒนาปรับปรุงเพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวจำนวน
คิดเป็น 3.3 สำหรับคำถามด้านความคิดเห็นอื่น ๆ มีผู้ตอบแบบสอบถามในคำถามปลายเปิดนี้ เป็นจำนวน 3 คน โดยแสดงความคิดเห็นด้านการพัฒนาและปรับปรุงแหล่งท่องเที่ยว ด้านการรักษาความสะอาดและดี อยู่แล้วจำนวน 2 คน และด้านการคมนาคมและด้านการจัดสรรพื้นที่จอดรถจำนวน 1 คน 3. บทสรุป การวางแผนการท่องเที่ยวเป็นประบวนการสำคัญที่ต้องกำหนดวัตถุประสงค์และระบุวิธีการโดย ต้องพิจารณาจากทรัพยากรที่มีเพื่อวางแผนทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ที่ส่งผลต่อการ พัฒนาแหล่งท่องเที่ยว ขั้นตอนการวางแผนประกอบด้วย การกำหนดเป้าหมาย การกำหนดระบบการ ท่องเที่ยว เช่น ทรัพยากร องค์กร ตลาดนักท่องเที่ยว การกำหนดทางเลือก การประเมินทางเลือก การนำ แผนไปปฎิบัติ และการควบคุมและประเมินแผน ในด้านการกำหนดตลาดและทางเลือกควรมีการสำรวจ พฤติกรรมนักท่องเที่ยวเพื่อให้เข้าใจความต้องการตลาดเบื้องต้น เพื่อให้เป็นข้อมูลในการวางแผนการ ท่องเที่ยวในลำดับต่อไป
จำนวน ร้อยละ ถนน 7 23.3 ความสะอาด 4
พาหนะในการเดินทาง 1 3.3 ความปลอดภัย 1 3.3 ที่พัก 2 6.7 การอนุรักษ์ธรรมชาติ 6 20.0 แหล่งท่องเที่ยว 1 3.3 เอกสาร 1 3.3 เจ้าหน้าที่ให้คำแนะนำ 4 13.3 อื่น ๆ 2 6.7 Total 29 96.7 Missing System 1 3.3
30 100
รองลงมา
16.7 รองลงมา คือ ความปลอดภัยจำนวน 3
1
136 4. แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 7 1. เพราะเหตุการวางแผนการท่องเที่ยวจึงสำคัญ 2. ให้ระบุขั้นตอนการวางแผนการท่องเที่ยว 3. ให้ระบุเป้าหมายของการวางแผนพัฒนาการท่องเที่ยว 4. ให้อธิบายการกำหนดทางเลือกหรือการจำแนกโอกาสในการพัฒนาการท่องเที่ยวมาให้เข้าใจ 5. ให้ลงพื้นที่พร้อมสำรวจพฤติกรรมนักท่องเที่ยวในพื้นที่จากแบบสอบถามเบื้องต้นที่กำหนดไว้ใน เอกสารคำสอน และรายงานผลอย่างเป็นระบบตามตัวอย่างกรณีศึกษา
McDaniel, C., & Gates, R. (2006). Marketing Research Essentials (6th ed.). Hobuken, N.J.: John Wiley.
Stynes, D.J., & O’ Halloran, C. (1987). Tourism Planning. Michigan: Michigan States University, Cooperative Extension Service
137 เอกสารอ้างอิง บทที่ 7
นิคม จารุมณี (2544). การท่องเที่ยวและการจัดการอุตสาหกรรมท่องเที่ยว พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ : โอ เอส พริ้นติ้ง เฮ้าส์.
138
ทั้งนี้ต้อง สอดคล้องกับศักยภาพของท้องถิ่นและปัญหาความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นด้วย
139 บทที่ 8 ยุทธศาสตร์การพัฒนาอย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์ คือ แนวทางในการบรรลุจุดหมายขององค์กร จุดหมายจึงเป็นสิ่งที่สำคัญยิ่งในการ จัดทำแผนยุทธศาสตร์ นักวางแผนพัฒนาการท่องเที่ยวจำเป็นต้องกำหนดจุดหมายให้ชัดเจน เพื่อให้ ยุทธศาสตร์ที่ได้ออกมานั้นตรงตามความต้องการ และดำเนินไปในทิศทางที่ถูกต้อง บทที่ 8 อธิบายขั้นตอน การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ แนวทางการเขียนวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ และกรณีศึกษาตัวอย่างแผน ยุทธศาสตร์การพัฒนาการท่องเที่ยวในระดับต่าง ๆ เพื่อฝึกทักษะการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยว อย่างยั่งยืนได้ 1. ประเภทของการจัดทำแผนพัฒนา การจัดทำแผนพัฒนาสามารถแบ่งได้ 2 ประเภท คือ 1.1 แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (แผนพัฒนาระยะยาว Long Plan) หมายถึง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ที่แสดงวิสัยทัศน์ พันธกิจ จุดมุ่งหมายเพื่อการ พัฒนาในอนาคตโดยสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ แผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนาอำเภอ และนโยบายในการพัฒนาท้องถิ่น 1.2 แผนการพัฒนาสามปี (แผนพัฒนาแบบหมุนเวียน Rolling Plan) หมายถึง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ที่สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา อันมีลักษณะเป็นการกำหนดรายละเอียดแผนงาน โครงการ ที่จัดทำขึ้นสำหรับปีงบประมาณรายจ่ายแต่ละ ปี ซึ่งมีการทบทวนและจัดทำทุกปี 2. ความสำคัญของแผนยุทธศาสตร์ แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเป็นกระบวนการกำหนดทิศทางในอนาคต
การวางแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามีความสำคัญเนื่องจากแผนยุทธศาสตร์เป็นแผนที่มุ่งไปสู่ สภาพการณ์ที่ต้องการในอนาคต โดยสามารถจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด ได้อย่างมีประสิทธิภาพ การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาจึงเป็นการกำหนดทิศทางการพัฒนาของพื้นที่ ที่ต้องการจะบรรลุ แนวทางในการที่จะทำให้บรรลุสภาพการณ์นั้นอย่างยั่งยืน 3. ลักษณะของแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา แผนยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนามีลักษณะต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ 3.1 เป็นเอกสารแผนพัฒนาที่ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับแผนงานและโครงการที่จะดำเนินการ ในช่วงระยะปีที่กำหนด มีชื่อแผนงานโครงการและสภาพความพร้อมของโครงการ ที่สามารถนำไปปฏิบัติ ใช้ได้จริง 3.2 เป็นเอกสารแผนพัฒนาที่มีวัตถุประสงค์เป้าหมายในการพัฒนาไว้อย่างชัดเจน 3.3 เป็นเอกสารแผนพัฒนาที่มีความสอดคล้องกับจุดหมายและแนวทางพัฒนาระยะปาน กลาง 3.4 เป็นเอกสารแผนพัฒนาที่แสดงถึงความเชื่อมโยงระหว่างแผนพัฒนาระยะปานกลาง และ ระยะ 1 ปี
โดยกำหนดสภาพการณ์ที่ ต้องการบรรลุบนพื้นฐานของการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลอย่างรอบด้านและเป็นระบบ
140 4. วัตถุประสงค์ของการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา 4.1 เป็นการตระเตรียมโครงการพัฒนาต่าง ๆ ให้อยู่ในลักษณะที่พร้อมจะบรรจุในเอกสาร งบประมาณประจำปี และนำไปปฏิบัติทันทีเมื่อได้รับงบประมาณ 4.2 เพื่อแสดงความสัมพันธ์เชื่อมโยงและสอดคล้องกันระหว่างแผนพัฒนาระยะปานกลาง แผนพัฒนา 3 ปี และการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปี 4 3 เพื่อแสดงจุดหมายและแนวทางการพัฒนาของปีนั้น ๆ ว่าเป็นอย่างไร ทั้งนี้ให้สอดคล้อง และสนองตอบต่อวัตถุประสงค์และเป้าหมายรวมของการพัฒนาเมืองหรือตำบล 4.4 เพื่อให้เป็นเอกสารแผนพัฒนาประจำปีตามองค์ประกอบแผนพัฒนาพื้นที่ 4.5 เพื่อจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเพื่อสนองต่อปัญหา ความต้องการของประชาชน 4.6 เพื่อเป็นกรอบในการพัฒนาระยะกลาง 4.7 เพื่อเป็นเครื่องมือในการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่น 4.8 เพื่อเพิ่มทักษะและขีดความสามารถของบุคลากรภายในองค์กร 4.9 เพื่อประสานการพัฒนาให้สอดคล้องกันทั้งในระดับส่วนกลาง ส่วนภูมิภาคและส่วน ท้องถิ่น 5. กลยุทธ์และเทคนิคในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ ในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์พัฒนา จะจัดทำแผนการพัฒนาที่สอดคล้องกับความต้องการ ปัญหาของท้องถิ่นและศักยภาพที่มีอยู่ ตลอดจนความเปลี่ยนแปลง จึงได้ดำเนินการจัดทำแผนโดยใช้กล ยุทธ์และเทคนิควิธี ดังนี้ 5.1 ศึกษาและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการพัฒนา ทั้งข้อมูลทางประวัติศาสตร์ สังคม การเมือง เศรษฐกิจและศิลปวัฒนธรรม ตลอดทั้งภูมิศาสตร์และสิ่งแวดล้อม 5.2 รับฟังความคิดเห็นของผู้แทนภาคประชาชน ประชาคมและในรูปแบบการบูรณาการแผน แต่ละส่วน 5.3 รวบรวมข้อมูลและข้อคิดเห็นเพื่อกำหนดแนวนโยบาย 5.4 กำหนดนโยบายโดยการประชุมคณะกรรมการพัฒนาการโดยเน้นการมีส่วนร่วม 6. กระบวนการขั้นตอนการดำเนินการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา แบ่งเป็นขั้นตอน ดังนี้ 6.1 การเตรียมการจัดทำแผน 6.1.1 ตั้งคณะกรรมการ (ทีมงาน) พัฒนา 6.1.2 หลังประกาศแต่งตั้ง 1) ประชุมคณะกรรมการพัฒนา 2) เขียนแผนดำเนินโครงการจัดทำแผนพัฒนา 6.2 การเก็บรวบรวมข้อมูล มีขั้นตอน ดังนี้ 6.2.1 การสำรวจปัญหาและความต้องการของประชาชนหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโดย การออกประชุมหรือประชาคม 6.2.2 การค้นหาเอกสารเพื่อประกอบการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา 6.3 การคัดเลือก และจัดลำดับความสำคัญของปัญหา เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลเสร็จแล้ว ได้นำ ข้อมูลที่ได้มากำหนดเป็นปัญหาพร้อมระบุชื่อ ปัญหา ลักษณะขอบเขต และสาเหตุของปัญหา 6.4 การจัดทำร่างแผนพัฒนา เมื่อดำเนินการตามขั้นตอนการจัดทำแผนพัฒนาให้ แล้ว คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนา จัดทำร่างแผนพัฒนาให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาที่ คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่นกำหนดไว้ เสนอเพื่อพิจารณาต่อไป
ผู้รับบริการ (Customer) บุคลากร (Employee) ชุมชนในท้องที่ (Community) ผู้ถือหุ้น (Stockholder) ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder) องค์กรประชาสังคม (Civil society) ฯลฯ การวางแผนกลยุทธ์เป็นส่วนแรกของกระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์ โดยการบริหารเชิงกลยุทธ์ เป็นศาสตร์และศิลป์ในการดำเนินการใน 3 ส่วนที่เกี่ยวข้องกัน คือ 1) การวางแผนกลยุทธ์ (Strategic Planning) 2) การนำแผนกลยุทธ์ไปปฏิบัติ (Strategic implementation) และ 3) การควบคุมและ ประเมินผลกลยุทธ์ (Strategic Control and Evaluation) รายละเอียดกระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์ ดังแสดงในภาพที่ 21
141 6.5 การอนุมัติแผนและนำไปปฏิบัติ (โดยมีกระบวนการประเมินผลและปรับปรุงแผน) 7. ประโยชน์ของการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 7.1 มีจุดมุ่งหมายและแนวทางการพัฒนาที่ชัดเจน 7.2 สามารถจัดสรรและบริหารทรัพยากรที่มีอยู่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 7.3 ผู้บริหาร บริหารงานจัดการได้อย่างเหมาะสม และสอดคล้องกับความต้องการของชุมชน อย่างมีประสิทธิภาพ 7.4 แนวทางพัฒนาเป็นการประสานความร่วมมือระหว่างองค์กรต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน และชุมชนมีส่วนร่วมในการกำหนดแนวทางการพัฒนา 7.5 สามารถกำกับดูแล ติดตาม และประเมินผลการพัฒนาได้ 8. การจัดทำแผนกลยุทธ์ หมายถึง การกำหนดแนวทางดำเนินงานเพื่อให้บรรลุเป้าประสงค์ตามพันธกิจ (Mission) ของ องค์กร โดยสร้างความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม โดยเฉพาะผู้ที่ได้ผลประโยชน์ จากองค์กร (Stakeholders) นับเป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อการตัดสินใจ
และการกำหนดนโยบายของ องค์กร ซึ่งประกอบด้วย
142 ภาพที่ 21 กระบวนการวางแผน ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (2556) ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ ศ 2556 2561) การวิเคราะห์ สภาพแวดล้อมภายนอก โอกาส Opportunities อุปสรรค Threats พันธกิจ / Mission เป้าประสงค์ Goal การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม ภายในองค์กร จุดแข็ง Strengths จุดอ่อน Weaknesses กลยุทธ์ Strategy วิสัยทัศน์ Vision ข้อมูลย้อนกลับ Feedback 2. การนำแผนกลยุทธ์ไปปฏิบัติ • การจัดทำรายงานผลงานประจำปี • การควบคุมภายใน / การตรวจสอบภายใน • การประเมินผลสำเร็จของแผนกลยุทธ์ทุก 3 5 ปี • ฯลฯ แผนงาน / งาน / โครงการ / ผลผลิต / กิจกรรม / งบประมาณ • การจัดทำแผนปฏิบัติการ ประจำปี • การพัฒนาองค์กร • การบริหารทรัพยากรบุคคล • การสั่งการ / ประสานงาน • การรายงานผลงาน / งบประมาณ • เทคโนโลยีสารสนเทศ • วัฒนธรรมองค์กร • องค์การแห่งการเรียนรู้ • การจัดการคุณภาพทั่วทั้ง องค์กร • ฯลฯ 3. การควบคุมและประเมินผล แผนกลยุทธ์ 1. การวางแผนกลยุทธ์
(Positive Image) ที่ทุกคนในองค์กรมุ่งมั่นศรัทธาและสะท้อน ถึงความเป็นเลิศขององค์กร 1.1.4
(Inspiring) 1.1.5
(Motivating)
(Participation) ในการ กำหนด 1.1.6 คำนึงถึงความต้องการ (Needs) ของผู้มารับบริการเป็นสำคัญ (Customer Oriented)
1.1.7 มีความสอดคล้องกับค่านิยม (Values) และนโยบายขององค์กร
1.1.8 มีความสอดคล้องกับแนวโน้มในอนาคต (Future Trend) 1.2 ปัจจัยในการกำหนดวิสัยทัศน์
1.2.1 ข้อมูลข่าวสาร (Information) ทั้งภายในและภายนอกองค์กร 1.2.2 องค์ความรู้ (Knowledge) ของบุคลากรในองค์กรนั้น ๆ 1.2.3 ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ (Creativity) ที่ปราศจากการ “ยึดติด” กับรูปแบบ หรือวิธีการเดิม ๆ 1.2.4
143 แผนกลยุทธ์จะประกอบด้วยองค์ประกอบที่สำคัญ ได้แก่ การกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ เป้าหมาย ขององค์กรและกำหนดกลยุทธ์ในการดำเนินงาน โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1. วิสัยทัศน์ (Vision) วิสัยทัศน์ หมายถึง ความคาดหวังในอนาคตขององค์กรที่ต้องการจะเป็น (โดยมิได้กำหนด วิธีการไว้) เป็นข้อความซึ่งกำหนดทิศทางของพันธกิจ เป็นสถานภาพอย่างใดอย่างหนึ่ง ที่องค์กรมุ่งหมาย มุ่งหวังหรือประสงค์จะเป็นหรือจะมีในอนาคต ในการกำหนดวิสัยทัศน์ขององค์กร มีประเด็นที่ควร พิจารณา อาทิ 1.1 ลักษณะของวิสัยทัศน์ที่ดี 1.1.1 มีขอบเขต (Scope) ของการปฏิบัติงาน 1.1.2 มีความชัดเจน และสามารถนำไปปฏิบัติได้ (Implement Ability) 1.1.3 เป็นภาพเชิงบวก
เป็นข้อความในเชิงบวก ปลุกเร้า
และดึงดูดใจ
ทั้งผู้นำและสมาชิกทุกคนในองค์กรมีส่วนร่วม
องค์กร
การผสมผสาน จินตนาการและดุลยพินิจ ในด้านศักยภาพและความสามารถ ของบุคลากร ตลอดจนทักษะ และประสบการณ์ในลักษณะองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) 1.2.6 ความสามารถในการคิดวิเคราะห์สภาพแวดล้อมขององค์กรและแนวโน้มต่าง ๆ ได้อย่างแม่นยำด้วยวิธีการเชิงระบบ (Systemic Approach) 1.2.7 เป็นการกำหนดทางเลือก (Alternatives) ขององค์กรในการเดินไปสู่ อนาคต ว่าจะใช้กลยุทธ์ใดเป็นตัวนำ 1.2.8 เป็นการรวมพลังของความมุ่งมั่นต่อการสร้างนวัตกรรม (Innovative) เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างเป็นรูปธรรม 1.3 ประโยชน์ของวิสัยทัศน์ต่อการบริหารองค์กร 1.3.1 เป็นการกำหนดอนาคต (Future Oriented) ที่ทุกคนศรัทธา 1.3.2 เป็นการฟันฝ่าความท้าทายใหม่ (New Challenge) ไม่หลงไปกับ ความสำเร็จในอดีต 1.3.3 การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน ก่อให้เกิดการทำงานเป็นทีม (Teamwork) โดยมีความ มุ่งมั่นไปสู่จุดหมายเดียวกัน
ความคาดหวัง (Expectation) ของผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholders) ของ
1.2.5
2.3.1 อะไรคือเหตุผลในการก่อตั้งหรือคงอยู่ขององค์กร และอะไรคือจุดมุ่งหมาย พื้นฐานขององค์กร 2.3.2 ลักษณะเด่นหรือเอกลักษณ์ขององค์กรคืออะไร 2.3.3 ความแตกต่างด้านพันธกิจขององค์กรกับองค์กรอื่นในช่วง 3 5 ปีข้างหน้า 2.3.4 กลุ่มประชาชนผู้รับบริการหลักคือกลุ่มใด 2.3.4 ผลผลิตและบริการที่สำคัญในปัจจุบันและอนาคตคืออะไร 2.3.5 ลักษณะประโยชน์ด้านเศรษฐกิจที่สำคัญคืออะไร
144 2. พันธกิจ (Mission) พันธกิจ หมายถึง การกำหนดขอบเขตของงานหรือบทบาทหน้าที่ที่องค์กรต้องทำใน ลักษณะอาณัติ (Mandate) หรือบังคับตามกฎหมาย เพื่อให้องค์กรบรรลุวิสัยทัศน์ที่กำหนดไว้ หรือเป็น ภารกิจตามยุทธศาสตร์ (ตามแผนชาติ ตามนโยบายของรัฐบาล ตามนโยบายของรัฐมนตรี ฯลฯ) เกี่ยวกับ พันธกิจ มีประเด็นที่ควรศึกษาในรายละเอียด ดังนี้ 2.1 ข้อความพันธกิจ (Mission Statement) ข้อความพันธกิจจะเป็นการแสดงแนวคิดและวิธีการดำเนินงานเพื่อบรรลุวิสัยทัศน์ที่ กำหนด เป็นการระบุภารกิจที่องค์กรนั้นพยายามจะบรรลุและจะระบุขอบเขตการปฏิบัติการขององค์กร เกี่ยวกับผลผลิตและการให้บริการ ข้อความพันธกิจที่ชัดเจนจะอธิบายถึงค่านิยมและลำดับความสำคัญต่าง ๆ ขององค์กร และบ่งบอกถึงทิศทางในอนาคตขององค์กร โดยจะกำหนดขอบเขตเพื่อเสนอแนะการ กำหนดกลยุทธ์ 2.2 ความสำคัญในการกำหนดพันธกิจให้ชัดเจน 2.2.1 เพื่อเป็นหลักสำคัญในการกำหนด เป้าประสงค์ และทิศทางขององค์กร 2.2.2 เพื่อกำหนดหลักเกณฑ์มาตรฐานในการจัดสรรทรัพยากรขององค์กร 2.2.3 เพื่อความสะดวกในการแปลความหมายของเป้าประสงค์ในโครงสร้างการ ทำงาน การออกแบบงาน และกำหนดความรับผิดชอบภายในองค์กร ด้วยวิธีการซึ่งคำนึงถึงต้นทุน เวลา และตัวชี้วัดการทำงานที่สามารถประเมินผลและควบคุมผลงานได้ 2.3 แนวทางการกำหนดพันธกิจจะต้องตอบคำถามต่อไปนี้
ความเชื่อ ค่านิยม และปรัชญาขององค์กรคืออะไร 3. เป้าประสงค์ (Goal) เป้าประสงค์ หมายถึง การกำหนดสิ่งที่ต้องทำอย่างเป็นรูปธรรมในอนาคตซึ่งองค์กรจะต้อง พยายามให้เกิดขึ้น หรือผลลัพธ์/ผลสำเร็จที่องค์กรต้องการบรรลุถึง โดยทั่วไปจะเป็นข้อความที่กล่าวอย่าง กว้าง ถึงผลลัพธ์ของบริการอันเนื่องมาจากหน้าที่หลักขององค์กร โดยจะต้องสอดคล้องกับพันธกิจที่ กำหนดไว้ และหน่วยงานย่อยภายในองค์กรควรมีเป้าประสงค์ของตนเองที่ชัดเจนและสนับสนุนซึ่งกันและ กัน ลักษณะของเป้าประสงค์ที่ดีมี ดังนี้ 1. ขยายหลักการ สาระสำคัญที่ระบุในวิสัยทัศน์/พันธกิจ ให้มีความเป็นรูปธรรมมากขึ้น 2. ระบุถึงกลุ่มเป้าหมายที่องค์กรต้องการจะมอบสิ่งที่มีคุณค่าให้ 3. ระบุคุณค่า ผลประโยชน์ ความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นต่อกลุ่มเป้าหมาย 4. ต้องเป็นรูปธรรม กล่าวคือ สามารถแปลงให้เป็นกิจกรรมที่ง่ายต่อการมอบหมาย และการกระจายงาน 5. ต้องเป็นไปได้ในการใช้ทรัพยากรและกำลังคนที่มีอยู่จริง 6. ต้องสามารถจัดการกับเรื่องต่าง ๆ ได้หลาย ๆ เรื่องพร้อม ๆ กันในคราวเดียว 7. ต้องเกี่ยวข้องกับความอยู่รอดขององค์กร
2.3.6
145 9. ตัวอย่างผลการวิเคราะห์ศักยภาพในภาพรวม จังหวัดระนอง : เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพที่เน้นการใช้น้ำแร่บำบัดและรักษาสุขภาพ จังหวัดภูเก็ต : เป็นแหล่งท่องเที่ยวทางทะเลระดับโลก (World class) และการขยายสู่ อุตสาหกรรมและธุรกิจบริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) ระดับนานาชาติ และการให้บริการทาง การศึกษาและสุขภาพที่ได้มาตรฐานระดับสากล จังหวัดพังงา กระบี่ ตรัง : เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ทางทะเลและแหล่งท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์และเป็นแหล่งท่องเที่ยวแบบพำนักระยะยาว (Long Stay) จังหวัดกระบี่ : เป็นแหล่งผลิตปาล์มน้ำมันและอุตสาหกรรมแปรรูปปาล์มน้ำมันขั้นต้น จังหวัดพังงา : เป็นแหล่งผลิตพันธุ์สัตว์น้ำให้กับจังหวัดในกลุ่มและจังหวัดนอกกลุ่ม จังหวัดตรัง และพังงา : เป็นแหล่งผลิตยางพาราให้กับจังหวัดในกลุ่มและจังหวัดนอกกลุ่ม 9.1 ตัวอย่างที่ 1 ระดับตำบล วิสัยทัศน์การพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบลยาง “ตำบลยางเป็นตำบลวัฒนธรรม มีชุมชนเข้มแข็ง เศรษฐกิจดี คนมีการศึกษา สภาพแวดล้อมน่า อยู่ มีความร่วมมือจากทุกภาคส่วนของสังคม” พันธกิจการพัฒนาท้องถิ่น ภารกิจหลักขององค์การบริหารส่วนตำบลยาง ภารกิจที่ 1 ปรับปรุงและพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐานและระบบสาธารณูปโภคให้เพียงพอต่อ
เพื่อรองรับการขยายตัวของชุมชนและเศรษฐกิจของท้องถิ่น ภารกิจที่ 2 ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษา ปรับปรุงและพัฒนาระบบสาธารณสุข ตลอดจน อนุรักษ์และพัฒนาศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาของท้องถิ่น ภารกิจที่ 3 อนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
4 พัฒนาระบบบริหารจัดการ เสริมสร้างความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ของประชาชน ภารกิจที่ 5 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาครัฐและเอกชนในการพัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่งยืน จุดมุ่งหมาย/เป้าประสงค์เพื่อการพัฒนา จุดมุ่งหมาย/เป้าประสงค์เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน องค์การบริหารส่วนตำบลยาง 1 ดำเนินการส่งเสริมอาชีพให้ประชาชนมีรายได้เพิ่มขึ้น 2. ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาของประชาชนทุกระดับอย่างทั่วถึง ปลูกฝัง และส่งเสริมให้ ประชาชนมีคุณธรรม จริยธรรม และอนุรักษ์คุณค่าวัฒนธรรม 3. ดำเนินการเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพอนามัยดีถ้วนหน้า 4. ดำเนินการเพื่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน รวมทั้งป้องกันและแก้ไข ปัญหายาเสพติด 5 ดำเนินการเพื่อให้ประชาชนเล่นกีฬาและนันทนาการอย่างมีคุณภาพและเพียงพอ 6. อนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 7. พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารและการจัดการอย่างต่อเนื่อง 8. ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดความร่วมมือระหว่างภาครัฐ เอกชน เพื่อบรรลุจุดมุ่งหมายการ พัฒนา 9. ส่งเสริมและสนับสนุนการปกครองระบอบประชาธิปไตย
ต้องการของประชาชน
ภารกิจที่
146 9.2 ตัวอย่างที่ 2 ระดับจังหวัด ตัวอย่างที่ 2.1 วิสัยทัศน์จังหวัดภูเก็ต “ศูนย์กลางการท่องเที่ยวทางทะเลระดับโลกมีคุณภาพชีวิตที่ดีมีเอกลักษณ์วัฒนธรรมและมีการ พัฒนาที่ยั่งยืน” พันธกิจ 1. เสริมสร้างและพัฒนาฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยว โครงสร้างพื้นฐาน ภาคบริการสู่มาตรฐาน สากล 2. ส่งเสริมการค้าการลงทุนด้านการท่องเที่ยวของจังหวัดควบคู่ขนานไปกับภาคเกษตรกรรม 3. เสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัว / ชุมชน สู่ความเป็นสังคมที่มีความสุขและ ปลอดภัยอย่างยั่งยืน 4. พัฒนาคุณภาพชีวิตและมาตรฐานการให้บริการสุขภาพสู่มาตรฐานสากล รวมทั้งการพัฒนา ระบบการเฝ้าระวังควบคุมโรคและภัยทางสุขภาพ 5. สร้างความมั่นคงภายในจังหวัดภายใต้การบูรณาการขององค์กรภาครัฐและภาคประชาชน 6. ฟื้นฟูดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมสู่ความสมดุลและยั่งยืน
9. ส่งเสริม อนุรักษ์ ด้านประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์วัฒนธรรมสู่การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
เพื่อบรรลุตำแหน่งทางยุทธศาสตร์ตามที่กำหนดไว้ โดย 1. มีจำนวนนักท่องเที่ยวและรายได้จากการท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้น 2. พัฒนาพื้นที่และศักยภาพของจังหวัด เพื่อการเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวทางทะเลระดับ โลก เชื่อมโยงกับศิลปวัฒนธรรม และเอกลักษณ์ของจังหวัด บนฐานทรัพยากรที่มีอยู่อย่างมั่นคงและยั่งยืน 3. เพิ่มประสิทธิภาพการพัฒนาผลผลิตภาคเกษตร ควบคู่ไปกับการการเจริญเติบโตด้านการ ท่องเที่ยว 4. ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความมั่นคงและปลอดภัย 5. การเป็นเมืองน่าอยู่น่าเที่ยวอย่างยั่งยืน 6. พัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐสู่การเป็นศูนย์กลางด้านการบริการ ตัวอย่างที่ 2.2 จังหวัดระนอง วิสัยทัศน์จังหวัดระนอง “เป็นศูนย์กลางการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศฝั่งอันดามัน ที่ดำรงไว้ซึ่งการเป็นเมืองท่องเที่ยว เชิงสุขภาพและสิ่งแวดล้อมที่น่าอยู่” พันธกิจ “มุ่งเน้นในการพัฒนาสังคมให้น่าอยู่ เศรษฐกิจเจริญเติบโตและกระจายรายได้ที่เป็นธรรม โดย ใช้ยุทธศาสตร์การพัฒนาการขนส่งสินค้าทางทะเลและการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพเป็นตัวขับเคลื่อนวิสัยทัศน์ ของจังหวัด”
7. พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐสู่ความเป็นเลิศเพื่อสร้างความพึงพอใจและความ เชื่อมั่นให้กับประชาชนและผู้รับบริการ 8. ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
10. ส่งเสริมการใช้พลังงานทางเลือก เป้าประสงค์
147 เป้าประสงค์ 1. ให้บริการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศได้อย่างรวดเร็ว สะดวก และปลอดภัย สามารถ แข่งขันได้ทั้งในประเทศและต่างประเทศ 2. มีน้ำแร่ร้อนคุณภาพดี ได้ใช้ประโยชน์เต็มศักยภาพคุ้มค่าและเป็นธรรม 3. จังหวัดระนองมีชื่อเสี่ยงด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ สามารถแข่งขันได้ทั้งภายในและ ภายนอกประเทศ 4. ทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ์ มีการนำมาใช้ประโยชน์คุ้มค่า เป็นธรรม ยั่งยืนและ สภาพแวดล้อมของเมือง ชุมชน สะอาด สวยงามเป็นระเบียบเรียบร้อย 5. เศรษฐกิจดี มีการกระจายรายได้อย่างเป็นธรรม 6. สังคมมีความสงบเรียบร้อยปลอดภัย และมีคุณภาพชีวิตที่ดี 7. แรงงานต่างด้าวได้รับการจัดระเบียบด้านการทำงานและด้านสุขภาพ ตัวอย่างที่ 2.3 จังหวัดชลบุรี วิสัยทัศน์จังหวัดชลบุรี “ชลบุรีน่าอยู่คู่เศรษฐกิจชั้นนำ โดยเป็นเมืองท่าสมัยใหม่ ที่เป็นประตูสู่เศรษฐกิจโลก ฐาน อุตสาหกรรมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม แหล่งผลิตสินค้าเกษตรที่ได้มาตรฐานสากลบนเทคโนโลยีขั้นสูง สถานที่ท่องเที่ยวระดับนานาชาติ และระบบนิเวศด้านทรัพยากร ธรรมชาติที่ยั่งยืน” พันธกิจ 1. พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ทุกด้าน 2. สร้างภูมิคุ้มกันในสังคม และความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 3. บริหารจัดการระบบนิเวศน์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 4. ส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจทุก ๆ ด้าน 5. บริหารราชการตามหลักธรรมาภิบาล และทันสมัย 9.3 ตัวอย่างแผนพัฒนาระดับจังหวัด แผนพัฒนาจังหวัดระยอง พ.ศ. 2553 2556 วิสัยทัศน์จังหวัดระยอง “เป็นแหล่งอุตสาหกรรม ผลิตสินค้าเกษตรกรรม การท่องเที่ยวที่อยู่ร่วมกับชุมชน ภายใต้การพัฒนาอย่างยั่งยืน” ประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : “พัฒนาให้เป็นแหล่งอุตสาหกรรมของภูมิภาคที่ได้มาตรฐานด้าน ความปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อม และสามารถอยู่ร่วมกับชุมชน สังคมได้อย่างยั่งยืน” เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ 1. เป็นแหล่งอุตสาหกรรมที่มีมาตรฐานของภูมิภาค ด้านความปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อม อย่าง ยั่งยืน 2. เป็นแหล่งอุตสาหกรรมที่สามารถอยู่ร่วมกับชุมชนอย่างยั่งยืน (ปราศจากการต่อต้านและ ความขัดแย้ง มีความสมานฉันท์ โดยอยู่บนพื้นฐานของสิ่งแวดล้อมมีความปลอดภัย ชุมชนน่าอยู่ และ สังคมอยู่ดีมีสุข)
148 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 : “พัฒนาให้เป็นแหล่งผลิตสินค้าและผลิตภัณฑ์เกษตรกรรมที่ได้ มาตรฐานสามารถสร้างและขยายโอกาสทางการตลาดได้” เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ 1. การเพิ่มประสิทธิภาพและมาตรฐานการผลิตสินค้าเกษตรตามระบบ GAP, COC และ GMP 2. การสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่สินค้าเกษตร ผลิตภัณฑ์เกษตร (อาทิเช่น การแปรรูปผลผลิตทาง การเกษตร) 3. การเข้าถึงการบริการภาครัฐด้านเงินทุนและวิชาการของเกษตรกร 4. การพัฒนาทรัพยากรเพื่อการผลิตทางการเกษตร และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของเกษตรกร 5. การถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 6. การสร้างและขยายเครือข่ายการตลาดทั้งในและต่างประเทศ 7. การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 : “พัฒนาและฟื้นฟูการท่องเที่ยว (ระยอง) อย่างยั่งยืน” เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์
(การมีป้ายบอกทางที่ชัดเจน เป็นต้น) 4.2 ความปลอดภัย (อาชญากรรม การคมนาคม) 5. ประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวจังหวัดให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 : “สร้างเสริมสังคม (ระยอง) ให้มีคุณธรรมนำความรู้ สู่การดำรงชีวิต ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ ชุมชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 9.4 ตัวอย่าง ภาคเอกชน 1. บริษัท การบินไทย นโยบายของบริษัทการบินไทย ดำเนินงานในฐานะที่เป็นสายการบินแห่งชาติ เป็นตัวแทนของประเทศไทย ในการดำรงรักษา และเพิ่มพูนสิทธิด้านการบิน ร่วมส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว แสวงหาและเพิ่มพูน รายได้ ทั้งในรูปเงินบาท และเงินตราต่างประเทศ นอกจากนั้น ยังดำเนินการส่งเสริมพัฒนาทรัพยากร บุคคลของบริษัทฯ ให้มีทักษะ และวิชาชีพที่เป็นมาตรฐานสากล รวมถึงส่งเสริมพัฒนาเทคโนโลยีทุกสาขา ที่เกี่ยวข้อง ในการบินพาณิชย์ของโลก ทั้งนี้ บริษัทฯ ยังมุ่งเผยแพร่วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี และเอกลักษณ์ของประเทศไทย สู่สายตาชาวโลกอย่างต่อเนื่อง วิสัยทัศน์ของบริษัทการบินไทย เป็นสายการบินที่ลูกค้าเลือกเป็นอันดับแรก ให้บริการดีเลิศด้วยเสน่ห์ไทย
1. แหล่งท่องเที่ยวเดิมได้รับการฟื้นฟูและพัฒนา 2. เป็นศูนย์กลางด้านการท่องเที่ยวที่ได้คุณภาพและมาตรฐาน 3. ปัญหาด้านการท่องเที่ยวในจังหวัดที่มีอยู่ได้รับการแก้ไขปรับปรุง 4. พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวใหม่ ๆ 4.1 มีการคมนาคมที่สะดวก
(บริษัท ไทยสมาร์ทคาร์ด จำกัด) ธุรกิจให้บริการด้านระบบ สารสนเทศ (บริษัท โกซอฟท์ (ประเทศไทย) จำกัด) ธุรกิจบริการขนส่งและกระจายสินค้า (บริษัท ไดนามิค แมนเนจเม้นท์ จำกัด) ธุรกิจให้บริการด้านการตลาด (บริษัท เอ็ม เอ เอ็ม ฮาร์ท จำกัด) ธุรกิจโรงเรียน อาชีวะศึกษาด้านค้าปลีก (บริษัท ศึกษาภิวัฒน์ จำกัด) และธุรกิจการจัดฝึกอบรมการจัดการสัมมนาทาง
149 ภารกิจของบริษัทการบินไทย ให้บริการขนส่งทางอากาศอย่างครบวงจร ทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศ โดยใส่ใจใน เรื่องความปลอดภัย ความสะดวกสบาย และ การบริการที่มีคุณภาพ เพื่อสร้างความเชื่อมั่นและความพึง พอใจต่อลูกค้า 1. มีการบริหารธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพ และโปร่งใสด้วยความซื่อสัตย์สุจริตตามแนวทาง ปฏิบัติที่เป็นสากล และมีผลประกอบการที่น่าพอใจ เพื่อสร้างประโยชน์สูงสุดให้แก่ผู้ถือหุ้น 2. สร้างสิ่งแวดล้อมในการทำงานและให้ผลตอบแทนที่เหมาะสม เพื่อจูงใจให้พนักงานเรียนรู้ และทำงานอย่างเต็มศักยภาพ และภูมิใจที่เป็นส่วนร่วมในความสำเร็จของบริษัทฯ 3. มีความรับผิดชอบต่อสังคม ในฐานะเป็นสายการบินแห่งชาติ 2. บริษัท CP ALL บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ 2531 เป็นบริษัทหลักในกลุ่มธุรกิจ การตลาดและการจัดจำหน่ายของเครือเจริญโภคภัณฑ์ ประกอบธุรกิจหลัก คือ ธุรกิจค้าปลีกประเภท ร้านค้าสะดวกซื้อภายใต้เครื่องหมายการค้า 7 Eleven ในประเทศไทย นอกจากนี้ยังประกอบธุรกิจต่าง ๆ ที่เป็นการสนับสนุนธุรกิจหลัก เช่น ธุรกิจเป็นตัวแทนรับชำระค่าสินค้าและบริการ (บริษัท เคาน์เตอร์ เซอร์วิส จำกัด) ธุรกิจผลิตและจำหน่ายอาหารแช่แข็งและเบเกอรี่ (บริษัท
จำกัด) ธุรกิจจำหน่ายและซ่อมแซมอุปกรณ์ค้าปลีก
สินค้าและบริการผ่านบัตรสมาร์ทการ์ด
เทรนนิ่ง จำกัด) เป็นต้น วิสัยทัศน์ “เราให้บริการความสะดวกกับทุกชุมชน” พันธกิจ "มุ่งสร้างความผูกพันกับลูกค้า ด้วยสินค้าและบริการ ที่เปี่ยมด้วยนวัตกรรม พร้อมทั้งสร้าง สัมพันธภาพที่ดีกับชุมชนและสังคม" 3. บริษัท ดุสิตธานี จำกัด (มหาชน) 3.1 โรงแรมดุสิตธานี 3.1.1 นโยบาย เป็นโรงแรมระดับ 5 ดาว ที่มีรูปแบบการตกแต่งและการบริการซึ่งมีเอกลักษณ์ของ ความเป็นไทยในทุก ๆ รายละเอียด กลุ่มลูกค้าหลักของดุสิตธานี คือ นักธุรกิจและนักเดินทาง ผู้ที่ประสบ ความสาเร็จในชีวิตมีมุมมอง ที่กว้างขวางจากประสบการณ์การเดินทางที่ได้สะสมมา คนกลุ่มนี้ต้องการการ บริการที่เป็นเลิศที่สะท้อนถึง รสนิยมที่เหนือชั้น การสรรค์สร้างดุสิตธานี คือ ความพยายามที่จะนิรมิตความสุขสบายแห่งเมืองสวรรค์ ที่มีความเป็นไทย เป็นเอกลักษณ์ ให้ทุกผู้มาเยือนได้สัมผัสทุกรายละเอียดของความเป็นดุสิตธานี ทั้งงาน ศิลปะ ดอกไม้ประดับและบุคลากร ล้วนแล้วแต่เป็นองค์ประกอบที่สำคัญของประสบการณ์ที่น่าประทับใจ ทั้งสิ้น
ซี.พี. ค้าปลีกและการตลาด
(บริษัท ซีพี รีเทลลิงค์ จำกัด) ธุรกิจให้บริการชำระค่า
วิชาการทางธุรกิจ (บริษัท ปัญญธารา จำกัด และบริษัทออลล์
150 3.1.2 วิสัยทัศน์ “สัมผัสแห่งสวรรค์ดั่งนิรมิต” 3.2 ดุสิตดีทู 3.2.1 นโยบาย เป็นโรงแรมระดับ 5 ดาวที่มีการตกแต่ง และ การบริการที่โดดเด่นทันสมัย มีความ เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว กลุ่มลูกค้าหลักของเครื่องหมายการค้านี้คือ นักเดินทางยุคใหม่ผู้ซึ่งเปี่ยมไปด้วย พลังของวัยทำงานและความมั่นใจในความสำเร็จ ไม่ว่าจุดประสงค์ในการเดินทางจะเป็นธุรกิจหรือการ พักผ่อนท่องเที่ยวคนกลุ่มนี้ต้องการประสบการณ์ที่แปลกใหม่ ทันสมัย และเร้าใจในคุณภาพที่เป็นเลิศ เอกลักษณ์ของดุสิตดีทูนั้น เกิดจากการผสมผสานของ 3 องค์ประกอบเข้าด้วยกัน อย่างสมบูรณ์แบบ นั่นคือ การออกแบบที่ทันสมัยที่มีเสน่ห์ดึงดูด การบริการที่โดดเด่น และแนวคิดใหม่ ๆ ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ทำให้ทุกสัมผัสของ ดุสิตดีทู เต็มไปด้วยความประทับใจ โรงแรมแห่งแรกภายใต้ เครื่องหมายการค้า “ดุสิตดีทู” ก่อตั้งขึ้นเมื่อเดือนพฤศจิกายน ปี พ.ศ. 2549 ที่จังหวัดเชียงใหม่ โรงแรม ดุสิตดีทู เชียงใหม่ เป็นโรงแรมที่มีเอกลักษณ์ในด้านความสดใสและมีชีวิตชีวารวมทั้งยังมีความสมัยใหม่ และเป็นที่น่าประทับใจ 3.2.2 วิสัยทัศน์ “เสน่ห์ของชีวิตที่มีสไตล์ในทุกรูปแบบ” 4. บริษัททัวร์เอ็กซ์เพรส เซ็นเตอร์ดอทคอม จำกัด นโยบายบริษัท ทัวร์เอ็กซ์เพรส เซ็นเตอร์ ดอทคอม จำกัด “นำเสนอข้อมูลการเดินทางและโปรแกรม ทัวร์ต่างประเทศ ในกลุ่มพันธมิตรของบริษัท ซึ่งเป็น บริษัท ทัวร์ต่างประเทศ ชั้นนำ และเป็นบริษัท ทัวร์ต่างประเทศ ที่เชี่ยวชาญและชำนาญเส้นทาง ทัวร์ ต่างประเทศ ในแต่ล่ะเส้นทางของแต่ล่ะประเทศ ในราคามิตรภาพซึ่งท่านสามารถวางใจใช้บริการ ทัวร์ ต่างประเทศ จากบริษัท ทัวร์ต่างประเทศ เหล่านี้ได้ด้วยความสบายใจให้ท่านได้มีรอยยิ้มและความ ประทับใจเก็บไว้ตลอดไป” วิสัยทัศน์ “เป็นผู้นำการท่องเที่ยว ต่างประเทศโดยยืนอยู่บนพื้นฐานการท่องเที่ยวแบบคุณภาพในราคา มิตรภาพ และมีมาตรฐานระดับสากลพร้อมทั้งเป็นองค์กรที่เป็นเลิศในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และ การ สื่อสารอย่างเต็มรูปแบบในเชิงบูรณาการ เพื่อการบริหารจัดการ การบริการการเดินรถให้เกิด ประโยชน์สูงสุดอย่างยั่งยืน” พันธกิจ 1 มุ่งมั่นและร่วมเป็นพลังเสริม กับหน่วยงานของรัฐ เพื่อให้การท่องเที่ยวเป็นสะพานเชื่อม มิตรภาพของระหว่างผู้คน 2 เป็นผู้นำที่แตกต่างในการให้บริการด้านการท่องเที่ยวที่ครบวงจร 3 เน้นที่การให้บริการที่มีมาตรฐานที่ดีเสมอมา 4 การให้บริการที่จะสามารถตอบสนองความต้องการทุกอย่างของลูกค้าได้อย่างรวดเร็วและ มีประสิทธิภาพ กลยุทธ์ 1 การแนะนำบริการที่ตรงตามความต้องการของลูกค้ารายบุคคล 2 การใช้ระบบการจัดการอันทันสมัย ทั้งการจัดเก็บข้อมูล การจัดการแผนกลูกค้าสัมพันธ์
151 3 การตั้งใจทุ่มเทให้กับการบริการที่เปี่ยมด้วยคุณภาพ 4. การดำเนินธุรกิจอย่างโปร่งใสและมีธรรมาภิบาล 5. บริษัท Go& Goal Tour Co.ltd. 5 1 นโยบายและวัตถุประสงค์ 5.1.1 ด้านลูกค้าสัมพันธ์ 1) ให้การต้อนรับที่ดี และมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีกับลูกค้า 2) ให้ข้อมูลที่เกิดประโยชน์สูงสุดต่อลูกค้า อาทิ การจัดเส้นทางที่ไม่เดินทาง ย้อนไปย้อนมา, การแนะนำสถานที่ที่เหมาะสมต่อฤดูกาล, การเสนอทางเลือกเพื่อให้ลูกค้าเสียค่าใช้จ่าย น้อยลง, การเสนอบริการพิเศษที่ไม่คิดค่าบริการเพิ่มเติม เนื่องจากเป็นโปรโมชั่นจากสายการบิน ฯลฯ 3) ติดตามผล ขอแบบสอบถามหลังการเดินทาง เพื่อปรับปรุงหรือ เปลี่ยนแปลงแก้ไขให้ดีขึ้น 5.1 2 ด้านการปฏิบัติการ 1) ติดตามงาน และส่งข่าวสารอย่างต่อเนื่อง 2) พยายามจัดบริการตามที่ได้ตกลงกับลูกค้า หากมีความจำเป็นต้อง เปลี่ยนแปลง (เพราะการดำเนินการจะทำหลังจากมีการตกลงกันเป็นลายลักษณ์อักษร หรือเซ็นต์สัญญา) บริษัทจะจัดให้ในระดับเดียวกัน หรือดีขึ้นโดยไม่เก็บค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม ยกเว้นแต่มีสาเหตุอื่นเข้ามา เกี่ยวข้อง ซึ่งจะต้องเรียนปรึกษาเป็นกรณีไป 3) จัดประชุมผู้เดินทางเพื่อให้ข้อมูลในการเตรียมตัวก่อนการเดินทาง หาก ลูกค้าไม่สะดวกที่จะเดินทางมาประชุมเนื่องจากอยู่ต่างจังหวัด หรือติดภารกิจอื่น ๆ ทางบริษัทจะจัดส่ง ข้อมูลนั้นไปให้โดยทางไปรษณีย์ หรือโทรสาร หรืออีเมล์ และให้หัวหน้าโทรสอบถามและให้ข้อมูลเพิ่มเติม 4) จัดทำคู่มือการเดินทาง ซึ่งมีรายละเอียดของสถานที่ท่องเที่ยวของแต่ละ จังหวัด หรือแต่ละเส้นทางท่องเที่ยว 5) ประเทศแจกในวันเดินทาง เป็นการเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจ ในการ เที่ยวมากขึ้น 5.2 วิสัยทัศน์ “Your Happiness Is Our Mission” 6. บริษัทเทพกรทัวร์ (Transport Service) 6.1 วิสัยทัศน์ของบริษัทเทพกรทัวร์ จำกัด “เป็นผู้นำในธุรกิจขนส่งผู้โดยสารทางถนนภายในประเทศ ด้วยบริการที่ได้มาตรฐานสากล การบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ มีการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ และมีบุคลากรที่มีคุณภาพ” 6.2 พันธกิจของบริษัทเทพกรทัวร์จำกัด 6.2.1 จัดระบบการบริการให้มีประสิทธิภาพและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ได้ มาตรฐานสากล โดยมุ่งเน้นในเรื่อง ความปลอดภัย ความสะดวกสบาย สะอาด ทันสมัย ความตรงต่อเวลา ตลอดการเดินทาง 6.2.2 สร้างความประทับใจ และตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการ จัดบริการ เดินรถให้มีเครือข่ายเชื่อมโยง สามารถเดินทางได้อย่างทั่วถึง และต่อเนื่อง 6.3.2 จัดระบบการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ มีความคล่องตัว เพิ่มศักยภาพ ของบุคลากร มุ่งเน้นการทำงานเป็นทีม ลดความสูญเปล่า เพื่อนำไปสู่การบริหารที่มีคุณภาพ
152 6.3 เป้าประสงค์ของบริษัท 6.3.1 ปรับปรุงการบริการให้ได้มาตรฐานสากลเมื่อสิ้นสุดแผน 6.3.2 ให้ลูกค้ามีความประทับใจต่อการบริการของบริษัทในระดับไม่ต่ำกว่าปกติ ใน ระยะ 2 ปีแรก ของแผน และระดับความพึงพอใจ ในระดับไม่ต่ำกว่าปกติหรือดีขึ้นในระยะ 3 ปีสุดท้าย ของแผน 6.3.3 อัตราการเกิดอุบัติเหตุ (เฉพาะกรณีที่ บริษัทฯ เป็นฝ่ายผิด) ไม่เกิน 0.40 ครั้ง/ ล้านกิโลเมตร 6.3.4 พัฒนาศักยภาพ และเพิ่มขีดความสามารถในเชิงธุรกิจ โดย 1) มีกำไรต่อรายได้ ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 10 ต่อปี 2) อัตราการเพิ่มของค่าใช้จ่ายบริหาร ที่ไม่รวมค่าใช้จ่ายของโครงการร่วมใจ จากองค์กร ไม่เกินร้อยละ 5 ต่อปี 3) การควบคุมค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับรถโดยสารให้อยู่ในระดับที่ไม่สูงกว่า 15 บาท/กิโลเมตร 4) อัตราการเดินรถเฉลี่ยไม่ต่ำกว่าร้อยละ 61 ในช่วงระยะเวลาของแผน 5) ปรับปรุงระบบการบริหาร การตรวจสอบ และจัดทำระบบประเมินผลการ ดำเนินงาน (KPI) ให้แล้วเสร็จ ภายในสิ้นปีของทุกปี 6) จัดฝึกอบรมบุคลากรด้านบริการ อย่างน้อย 1 หลักสูตร/คน/ปี 10. การวิเคราะห์ศักยภาพและการฝึกเขียนแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา การวิเคราะห์ศักยภาพเพื่อประเมินสถานภาพ (SWOT
วิเคราะห์ปัจจัยภายใน
แข็ง จุดอ่อน) และปัจจัยภายนอก (โอกาส อุปสรรค) และการเขียนแผนการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่าง
และเป้าประสงค์ สามารถศึกษาได้จากกรณีศึกษา ดังนี้ กรณีศึกษา บ้านป่าทราย ต เกาะยาวน้อย อ เกาะยาว จ พังงา และการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก และภายใน (SWOT ANALYSIS ) ดังนี้ 1 จุดแข็ง (Strengths) 1) หาดป่าทรายเป็นหาดที่มีความสวยงามที่สุดบนเกาะยาวน้อย 2) หาดป่าทรายมีสภาพแวดล้อมและบรรยากาศที่สวยงาม เหมาะแก่การพักผ่อน 3) สามารถลงเล่นน้ำได้อย่างปลอดภัย เนื่องจากมีความลาดเอียงของพื้นทรายใต้ทะเล น้อย 4) บริเวณหาดป่าทรายสามารถชมวิวทิวทัศน์ของเกาะต่าง ๆ ในจังหวัดกระบี่ได้ 5) เป็นพื้นที่ที่เงียบสงบ เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่ต้องการพักผ่อนอย่างแท้จริง 6) ชาวบ้านมีความเป็นกันเอง และยังคงอนุรักษ์วิถีชีวิตแบบดั้งเดิมไว้จนถึงปัจจุบัน 7) มีศูนย์บริการเติมน้ำมันสำหรับนักท่องเที่ยวที่เช่ารถมอเตอร์ไซค์ 8) มีร้านอาหารริมทะเลที่ให้บรรยากาศแบบสบาย ๆ 9) มีที่พักให้บริการทั้งแบบหรูหรา และโฮมสเตย์ 10) ในเกาะยาวน้อยมีความสะดวกต่าง ๆ เข้าถึง เช่น ธนาคาร โรงพยาบาล หรือร้าน สะดวกซื้อ 11) มีร้านขายของที่ระลึกบนเกาะยาวน้อยไม่ไกลจากป่าทราย
ANALYSIS)
(จุด
ยั่งยืนที่ประกอบด้วย วิสัยทัศน์ พันธกิจ
153 2 จุดอ่อน (Weaknesses) 1) บริเวณหาดป่าทรายยังไม่มีศูนย์บริการนักท่องเที่ยว 2) ยังไม่มีระบบกำจัดขยะ 3) ขาดการประชาสัมพันธ์ 4) ยังไม่ค่อยเป็นที่รู้จักสำหรับนักท่องเที่ยว 5) ชุมชนยังขาดความรู้ด้านการจัดการทางการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 6) ขาดความร่วมมือจากองค์การต่าง ๆ ในการส่งเสริมการจัดการการท่องเที่ยว 3 โอกาส (Opportunities) 1) มีการคมนาคมสะดวก ไปมาได้ถึง 3 จังหวัด 2) มีการพัฒนาให้ป่าทรายเป็นหมู่บ้านตัวอย่างและเป็นแบบได้ 3) เป็นสถานที่ที่เหมาะแก่การพักผ่อนสำหรับคนที่หลีกหนีความวุ่นวาย 4) ได้รับรางวัลเป็นบังกะโลดีเด่น 4 อุปสรรค (Threats) 1) ขาดป้ายบอกสถานที่ที่ชัดเจน 2) ไม่สามารถเข้าถึงตัวเกาะได้โดยรถยนต์ 3) ขาดห้องน้ำสาธารณะ 4) มีการประชาสัมพันธ์น้อยจึงยังไม่เป็นที่รู้จัก การเขียนแผนการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนบ้านป่าทราย ต เกาะยาวน้อย อ เกาะยาว จ พังงา มีดังนี้ 1 วิสัยทัศน์ หมู่บ้านป่าทรายเป็นชุมชนอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น เป็นสถานที่เพื่อการพักผ่อนอย่างสงบ และมีความร่วมมือจากทุกภาคส่วน 2 พันธกิจ ภารกิจที่ 1 ส่งเสริมและสนับสนุนการอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น ภารกิจที่ 2 ปรับปรุงและพัฒนาระบบการศึกษาเกี่ยวกับวัฒนธรรมท้องถิ่น ภารกิจที่ 3 ส่งเสริมและสนับสนุนการประชาสัมพันธ์หมู่บ้านป่าทราย ภารกิจที่ 4 ส่งเสริมและสนับสนุนการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในแหล่งท่องเที่ยว ภารกิจที่ 5 ส่งเสริมและสนับสนุนให้หน่วยงานและคนในชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลและ พัฒนาแหล่งท่องเที่ยว 3 เป้าประสงค์ 1) ดำเนินการส่งเสริมและสนับสนุนให้คนในท้องถิ่นร่วมกันอนุรักษ์และสืบทอดวัฒนธรรม ท้องถิ่น 2) ดำเนินการปรับปรุงและพัฒนาระบบการศึกษาเกี่ยวกับวัฒนธรรมท้องถิ่น 3) ดำเนินการส่งเสริมและสนับสนุนการประชาสัมพันธ์หมู่บ้านป่าทรายให้เป็นที่รู้จักของ ประชาชนมากยิ่งขึ้น 4) ปลูกฝังและรณรงค์ให้คนในชุมชนร่วมกันอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น 5) ดำเนินการส่งเสริมและสนับสนุนการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในแหล่งท่องเที่ยว
154 6) ดำเนินการส่งเสริมและสนับสนุนให้คนในชุมชน หน่วยงานมีส่วนร่วมในการพัฒนา แหล่งท่องเที่ยว 11. บทสรุป การจัดทำแผนยุทธศาสตร์พัฒนาเป็นกระบวนการกำหนดทิศทางในอนาคต โดยมีการรวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลอย่างรอบด้านและเป็นระบบ ซึ่งต้องสอดคล้องกับศักยภาพท้องถิ่นและปัญหาความ ต้องการของคนในท้องถิ่นด้วย ในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์พัฒนามีการวางแผนกลยุทธ์ การนำแผนกล ยุทธ์ไปปฏิบัติและการควบคุม และประเมินผลของแผนกลยุทธ์ โดยต้องกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และ เป้าประสงค์ เพื่อสามารถดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพและเป็นรูปธรรม 12. แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 8 1. ให้อธิบายความหมายของแผนยุทธศาสตร์พัฒนา 2. ให้ระบุความสำคัญและประโยชน์ของแผนยุทธศาสตร์พัฒนา 3. ให้ระบุขั้นตอนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์พัฒนา 4. ให้ระบุลักษณะที่ดีของวิสัยทัศน์ 5. ให้ระบุลักษณะที่ดีของพันธกิจ 6. ให้ระบุลักษณะที่ดีของเป้าประสงค์ 7. ให้วิเคราะห์ศักยภาพ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส ข้อจำกัด ของกรณีศึกษาที่เลือก 8. ให้แสดงความคิดเห็นต่อวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ของกรณีศึกษาในเอกสารคำสอน
155 เอกสารอ้างอิง บทที่ 8 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ.
(2556) ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2556 2561). กรุงเทพฯ : วิชั่นพริ้นท์ แอนด์ มีเดีย.
156
157 บทที่ 9 แผนกลยุทธ์เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน บทที่ 9 นำเสนอกรณีศึกษาแผนกลยุทธ์ทางการท่องเที่ยวของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย โดย มีรายละเอียดของแผนยุทธศาสตร์ แผนกลยุทธ์ แผนงาน โครงการ ค่าเกณฑ์วัด และตัวชี้วัด เพื่อสามารถ ฝึกทักษะการเขียนแผนยุทธศาสตร์และแผนกลยุทธ์ทางการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนได้อย่างเป็นระบบและมี ประสิทธิภาพ 1. ศึกษาแผนการดำเนินงานการท่องเที่ยวของ ททท. จากการศึกษาแผนยุทธศาสตร์ของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ประจำปี พ.ศ. 2558 (2559) พบว่า แผนการดำเนินงานนี้จัดขึ้นเพื่อเป็นแนวทางการปฏิบัติงานของ ททท ปี พ.ศ. 2558 ภายใต้กรอบ วิสัยทัศน์ที่ต้องการผลักดันให้ ททท เป็นองค์กรที่มีความเป็นเลิศในด้านการตลาดโดยการเพิ่มขีด ความสามารถในการปรับตัวให้เข้ากับสภาวะแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงและ ให้ ททท ทำหน้าที่เป็นผู้นำใน การประสานประโยชน์ระหว่างหน่วยงานภาครัฐ องค์กรภาคธุรกิจและองค์กรชุมชนท้องถิ่นในการ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจของไทยด้านการท่องเที่ยว 2. การประเมินสภาวะแวดล้อม ททท. ได้ประเมินสภาวะแวดล้อมทั้งของสภาวการณ์การท่องเที่ยวโลกและสภาวการณ์การ ท่องเที่ยวภายในประเทศไว้ดังนี้ ในช่วง 2 ไตรมาสแรกของปี พ.ศ. 2557 บ่งบอกสัญญาณชัดเจนถึงการฟื้นตัวกลับมาอีกครั้งของ กระแสการเดินทาง จากปี พ.ศ. 2556 ซึ่งถือว่าเป็นปีที่การท่องเที่ยวได้รับผลกระทบเป็นอย่างมากจาก สภาวะถดถอยทางเศรษฐกิจโลกและเหตุการณ์ไม่ปกติในภูมิภาคที่เป็นจุดหมายปลายทาง โดยจะเห็นได้ว่า ในช่วงเดือนมกราคม เมษายน พ.ศ. 2556 UNWTO ได้ระบุว่าการเติบโตของตัวเลขนักท่องเที่ยวที่ เดินทางทั่วโลกอยู่ที่ร้อยละ 7 ซึ่งสอดคล้องกับค่าดรรชนีความเชื่อมั่นทางด้านการท่องเที่ยวของ UNWTO ซึ่งเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 50 และนับเป็นค่าความเชื่อมั่นที่สูงที่สุดนับจากการเกิดภาวะถดถอยทางเศรษฐกิจ ในปี พ.ศ. 2556 อีกทั้งแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นในอนาคตก็มีทีท่าที่จะฟื้นตัวกลับมาสู่สภาวะปกติ โดยที่องค์กร เศรษฐกิจและการเดินทางระหว่างประเทศ เช่น IMF หรือ ICAO ได้คาดว่าตลอดปี พ.ศ. 2557 การ ท่องเที่ยวโลกจะขยายตัวไม่น้อยกว่าร้อยละ 5.5 ในส่วนของประเทศไทยกระแสการเดินทางของนักท่องเที่ยวระหว่างประเทศเป็นไปตามสภาวการณ์ โลก คือ ไตรมาสแรกขยายตัวเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 27.7 ซึ่งแสดงถึงความพร้อมของนักท่องเที่ยวที่จะเดินทาง กลับมายังประเทศไทยอีกครั้ง แต่อย่างไรก็ตาม ในไตรมาสที่ 2 จำนวนนักท่องเที่ยวปรับตัวลดลง ร้อยละ 3.6 เทียบกับช่วงเดียวกันของปี พ.ศ. 2557 อันเนื่องมาจากปัญหาการชุมนุมทางการเมืองที่ยืดเยื้อใน กรุงเทพมหานคร แต่เป็นที่คาดหมายว่าในไตรมาสที่ 3 จำนวนนักท่องเที่ยวจะกลับมาเพิ่มขึ้นดังเช่นไตร มาสแรกถ้าไม่มีเหตุการณ์รุนแรงเกิดขึ้นอีก ส่วนตลาดนักท่องเที่ยวชาวไทยมิได้รับผลกระทบโดยตรงจาก สถานการณ์การเมืองภายในมากนัก อีกทั้งมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจและการเดินทางของภาครัฐน่าจะทำ ให้ตลาดชาวไทยมีแนวโน้มที่ดีและสามารถใช้เป็นตลาดทดแทนกรณีที่ตลาดนักท่องเที่ยวต่างประเทศเกิด ปัญหาขึ้นมาได้ สรุปโดยภาพรวม ในด้านโอกาสของการท่องเที่ยวไทยในปี พ.ศ. 2558 น่าจะเป็นไปใน
158 ทิศทางที่ดีขึ้นแต่การคาดการณ์เช่นนี้พึงต้องระวังเหตุการณ์ไม่แน่นอนที่จะมีผลกระทบกับการเดินทางได้ ตลอดเวลา ไม่ว่าจะเป็นเรื่องภัยธรรมชาติหรือสถานการณ์ทางด้านการเมือง จากการพิจารณาสภาวการณ์การท่องเที่ยวของไทยจะเห็นได้ว่ามีเงื่อนไขหลายประการ ที่ จะต้องนำมาพิจารณาเพื่อกำหนดยุทธศาสตร์ต่อเนื่องจากการทำงานในปี พ.ศ. 2558 และเป็นแผนงาน สำหรับ การดำเนินงานในปี พ.ศ. 2558 ได้ ดังนี้ 1. สภาวะวิกฤตที่มีผลกระทบต่อบรรยากาศการท่องเที่ยวทั้งที่เกิดจากการเมืองภายในหรือ จากสภาพเศรษฐกิจในประเทศผู้ส่งออกนักท่องเที่ยวเองยังอาจเกิดขึ้นได้ทุกขณะ ดังจะเห็นได้จากการที่ยัง มีการประกาศใช้ พ ร ก ฉุกเฉินอยู่ในพื้นที่สำคัญหลายแห่ง โดยเฉพาะกรุงเทพมหานคร หรือความไม่มี เสถียรภาพทางเศรษฐกิจการเงินของประเทศกลุ่ม PIGS (Portugal, Italy, Greece, and Spain) ซึ่งอาจ ทำให้เกิดการลุกลามขยายตัวของความตกต่ำด้านเศรษฐกิจของประชาคมยุโรปได้ ปัจจัยเหล่านี้ทำให้ยัง ต้องพิจารณาถึงประเด็นในเรื่องของการบริหารจัดการในภาวะวิกฤตต่อไป เพื่อเป็นการวางแผนลด ผลกระทบ ที่อาจจะเกิดขึ้นให้มีน้อยที่สุด 2 ปัญหาเรื่องผลกระทบด้านภาพลักษณ์ตราสินค้าด้านการท่องเที่ยวของประเทศไทย (Brand Image) ในฐานะเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ปลอดภัยและมีคุณภาพ กล่าวคือ ในช่วงที่ประเทศไทยต้อง ประสบกับสถานการณ์ความวุ่นวายทางการเมืองนับตั้งแต่เดือนมีนาคม จนถึงเดือนพฤษภาคม
เหตุการณ์ทำให้นักท่องเที่ยวหลีกเลี่ยงการเดินทางมายังประเทศไทยก็ถือได้ว่าเป็นข้อประเมินเบื้องต้นของ ความเสียหายของ Brand ประเทศไทยได้ แต่อย่างไรก็ตามจะเห็นได้ว่าความเสียหายของ Brand ที่เกิดขึ้น ไม่ได้เกิดขึ้นกับสิ่งที่เป็น
แหล่งท่องเที่ยว จึงทำให้เกิดปรากฎการณ์ฟื้นตัวหรือกลับมาของนักท่องเที่ยวหลังจากเกิดวิกฤตอย่าง รวดเร็ว ซึ่งต้องนับว่าคุณสมบัติ (Attributes) สำคัญของ Brand ประเทศไทยที่ไม่ได้ถูกทำลายไป คือความ เป็นมิตรไมตรี ความ Exotic และความหลากหลายของแหล่งท่องเที่ยวของไทยยังทำงานอย่างได้ผลในการ ดึงดูดให้นักท่องเที่ยวกลับมาเยือนประเทศไทยอีกหลังเหตุการณ์วิกฤต ด้วยเหตุผลดังกล่าวจึงมีความ จำเป็นอย่างยิ่งที่ในปี พ.ศ. 2558 จะต้องมีการดำเนินการด้านการบริหารภาพลักษณ์ตราสินค้าท่องเที่ยว ของไทยอย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็นการเน้นจุดแข็งเพื่อรับมือกับผลกระทบจากเหตุการณ์วิกฤตได้ตลอดเวลา การเติบโตอย่างไม่หยุดยั้งของกิจกรรมสื่อออนไลน์ หรือที่เรียกว่า Digital Marketing เป็นสิ่งที่กระตุ้นให้ ทั้งภาครัฐและเอกชนที่มีส่วนในการส่งเสริม หรือทำธุรกิจด้านการท่องเที่ยวไม่สามารถที่จะละเลยกับพลัง ของสื่อชนิดดังกล่าวได้ ดังจะเห็นได้ว่าอัตราการเติบโตของผู้ใช้ Internet ทั่วโลกในปี พ.ศ. 2556 เมื่อ เทียบกับปี พ.ศ. 2555 เพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 12.5 และโดยเฉพาะในเอเชียแปซิฟิกและภูมิภาคตะวันออก กลางซึ่งถือว่าเป็นตลาดหลักและตลาดศักยภาพของไทยด้านการท่องเที่ยว มีอัตราขยายตัวของผู้ใช้ Internet ถึง ร้อยละ 17.7 และ 17.3 ตามลำดับ 3. อนึ่งสื่อออนไลน์ในปัจจุบันสามารถสร้าง Impact ได้ในระยะเวลาที่ทันต่อเหตุการณ์ ดังเช่น เมื่อ ททท มีการนำการใช้โปรแกรมการจับกระทู้ด้านลบประเทศไทยมาบริหารงานในภาวะวิกฤต และได้รับผลเป็นที่น่าพอใจในการสื่อสารและทำความเข้าใจกับกลุ่มชุมชนออนไลน์ การให้ความสำคัญกับ การสื่อสาร Online จึงจำเป็นต้องได้รับการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง 4. การดำเนินงานในช่วงที่ผ่านมาได้ให้ความสำคัญกับการสร้างความสมดุล ระหว่างมูลค่าการ สร้างรายได้ให้ประเทศและการรักษาต้นทุนทรัพยากรให้อยู่อย่างยั่งยืน การดำเนินการดังกล่าวได้ ดำเนินการมาแล้ว ทั้งในส่วนภายในองค์กรในรูปของการรณรงค์ใส่ใจสิ่งแวดล้อมและ 5ส ส่วนการส่งเสริม ภายนอกในระดับอุตสาหกรรมก็จะต้องมีการดำเนินการต่อโดยเฉพาะเรื่องของการคัดเลือก และให้รางวัล
พ.ศ. 2557 เราต้องยอมรับว่าภาพลักษณ์ตราสินค้าด้านท่องเที่ยวของประเทศไทยได้รับผลกระทบโดยตรง ถึงแม้จะไม่ มีการวัดผลกระทบเหล่านั้นออกมาเป็นค่าความเสียหายของภาพลักษณ์ที่ชัดเจน อย่างน้อยการที่
Core Values ของตัว Brand ท่องเที่ยวของไทย อาทิ คุณภาพและจำนวนของ
159 สินค้าทางการท่องเที่ยวที่ส่งเสริมการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน โดยในปี พ.ศ. 2558 จะมุ่งผลักดันการทำงาน ร่วมกันอย่างเข้มข้นในทุกระดับ โดยเฉพาะผู้ที่เป็นเจ้าของแหล่งท่องเที่ยว เช่น อปท. และผู้ประกอบการ เพื่อให้ภาพของ Thailand Goes Green มีการขับเคลื่อนได้อย่างแท้จริงซึ่งจะส่งผลต่อการตลาดในแง่ของ การตอบรับกระแสความรับผิดชอบต่อสังคมโลกอีกด้วย 5. การเตรียมความพร้อมของบุคลากรภายใน ททท. โดยเฉพาะเรื่องของ Core Competency เป็นเรื่องที่จะต้องทำอย่างต่อเนื่องเพื่อสร้างพื้นฐานความรู้ความเข้าใจด้านการตลาด อนึ่ง เมื่อพิจารณาจากอัตรากำลังของ ททท แล้ว จะมีผู้บริหารตั้งแต่ระดับ 8 ขึ้นไป เกษียณอายุ 120 คน ดังนั้นเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมให้กับองค์กรที่อาจประสบกับปัญหาการขาดตอนที่จะหาผู้เหมาะสม ดำรงตำแหน่งทางด้านบริหาร จึงเห็นควรให้ฝ่ายทรัพยากรจัดทำแผนงานที่ชัดเจนในการรองรับปัญหา ดังกล่าว โดยเฉพาะแผนงานหรือ Guideline เรื่อง Career Path และ Succession Plan จากข้อพิจารณาทั้งหมดข้างต้นสามารถกำหนดเป็นยุทธศาสตร์ในการดำเนินงาน ใน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 ได้ ดังนี้ 1. ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการภาวะวิกฤติ 1.1 วัตถุประสงค์ : เพื่อควบคุมผลกระทบจากภาวะวิกฤติและให้ภารกิจขององค์กร ยังคงดำเนินไปได้ ตามเป้าหมาย 1.2 ตัวชี้วัดภาพรวม : ร้อยละ 85 ของผู้บริหาร ททท มีความเข้าใจในกระบวนการและ ขั้นตอนของการบริหารจัดการภาวะวิกฤต กลยุทธ์/แผนงาน ตัวชี้วัด ค่าเกณฑ์วัด กลยุทธ์ที่ 1 สร้างพื้นฐานการบริหารจัดการภาวะวิกฤติในระยะยาว แผนงาน 1. จัดทำแผนแม่บทด้านการบริหารความเสี่ยง องค์กรแบบมีส่วนร่วม ควบคู่กับแผนวิสาหกิจ ททท. ปี พ.ศ. 2555 2561 ร้อยละของผู้บริหารที่มีส่วนร่วมในการ จัดทำแผนแม่บทด้านการบริหารความ เสี่ยงองค์กร ร้อยละ 100 2. สร้างการรับรู้ถึงความเชื่อมโยงระหว่างการ บริหารความเสี่ยงกับ แผนระยะยาวขององค์กร ร้อยละของพนักงานรับรู้ถึงความ เชื่อมโยงระหว่างการบริหารความเสี่ยงกับ แผนระยะยาวขององค์กร อย่างน้อยร้อยละ 50 3. สนับสนุนให้การบริหารจัดการภาวะวิกฤติ ด้านการท่องเที่ยวเป็นวาระแห่งชาติ นำเสนอแนวคิดต่อ คณะกรรมการนโยบายท่องเที่ยวแห่งชาติ อย่างน้อย 1 ครั้ง กลยุทธ์ที่ 2 ปรับปรุงระบบการสื่อสารเพื่อการบริหารจัดการในภาวะวิกฤติ แผนงาน 1. จัดทำคู่มือการบริหารจัดการ ในภาวะวิกฤติ ฉบับผู้บริหาร ระยะเวลาการจัดทำคู่มือแล้วเสร็จ ภายในไตรมาสที่ 2 ของ ปีงบประมาณ จำนวนช่องทางการเรียกใช้คู่มือ อย่างน้อย 3 ช่องทาง ได้แก่ EIS/MIS เอกสาร และแฟ้มข้อมูลใน โทรศัพท์มือถือ ความถี่ของการทบทวนคู่มือ อย่างน้อย 1 ครั้ง (กรณีปกติ) หรือ ภายหลังที่มีการบริหาร จัดการภาวะวิกฤติ (กรณีมี เหตุวิกฤติ)
160 กลยุทธ์/แผนงาน ตัวชี้วัด ค่าเกณฑ์วัด 2. จัดระบบการรายงานสถานการณ์ และการ แจ้งเตือนสำหรับผู้บริหาร จำนวนช่องทางที่ผู้บริหารได้รับรายงาน สถานการณ์และการแจ้งเตือน อย่างน้อย 3 ช่องทาง ได้แก่ อีเมล์ เอกสาร และ ข้อความทางโทรศัพท์ มือ ถือ ความถี่ของการได้รับรายงาน สถานการณ์และ การแจ้งเตือน อย่างน้อยทุกสองสัปดาห์ (กรณีปกติ) Real Time หรืออย่าง น้อย 24 ชั่วโมง (กรณีมีเหตุ วิกฤติ) 3. จัดระบบการสื่อสารระหว่างผู้บริหารและ พนักงานในภาวะวิกฤติ จำนวนช่องทางการสื่อสารระหว่าง ผู้บริหารและพนักงานในภาวะวิกฤติ อย่างน้อย 3 ช่องทาง ได้แก่ เสียงตามสาย อีเมล์ และข้อความทางโทรศัพท์ มือถือ ความถี่ของการสื่อสารระหว่างผู้บริหาร และพนักงานในภาวะวิกฤติ ครั้งแรก ทันทีที่เกิดเหตุ วิกฤติ ครั้งต่อไป ตามความ เหมาะสมกับเหตุวิกฤติ 4. บริหารภาพลักษณ์การท่องเที่ยวของประเทศ ในภาวะวิกฤติ ผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ (Online Crisis / Reputation Management) ความรวดเร็วในการรับทราบถึงปัญหา และเริ่มต้นบริหารจัดการปัญหา ภายใน 24 ชั่วโมง 2. ยุทธศาสตร์การสร้างภาพลักษณ์ตราสินค้า ด้านการท่องเที่ยวของไทยในใจลูกค้า 2.1 วัตถุประสงค์ 2.1.1 เพื่อสร้างการรับรู้ Brand ประเทศไทย ภายใต้ Campaign “Amazing Thailand” 2.1.2 เพื่อสร้างการจดจำความแตกต่างที่เป็นเอกลักษณ์ด้านการท่องเที่ยวของ ประเทศไทย 2.1.3 เพื่อสร้างความจงรักภักดีกับ Brand ประเทศไทย ผ่าน Emotional Marketing 2.2 ตัวชี้วัดภาพรวม ประเทศไทยได้รับการจดจำสำหรับนักท่องเที่ยวต่างชาติ ในฐานะ 1 ใน 10 ของแหล่ง ท่องเที่ยวยอดนิยมในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว กลยุทธ์/แผนงาน ตัวชี้วัด ค่าเกณฑ์วัด กลยุทธ์สร้างความเข้มแข็งให้กับ Brand Image สินค้าท่องเที่ยวไทย แผนงาน 1. เพิ่มช่องทางการเข้าถึง Microsite Amazing Thailand Always Amazes You ด้วยการ ประชาสัมพันธ์ผ่าน สื่อสิ่งพิมพ์ จำนวน Page View ของ ผู้เข้าชม Microsite ที่เพิ่มขึ้น ร้อยละ 10 2. สื่อสาร Brand ท่องเที่ยวของไทยให้ชัดเจน โดยเฉพาะสินค้าที่ต้องการนำเสนอ จำนวนของผู้ตระหนักรู้ในตัวสินค้า ท่องเที่ยวประเทศไทยจากการสำรวจ ร้อยละ 70 ของกลุ่มตัวอย่าง สำรวจ 3. เพิ่มช่องทางการรับรู้ Brand การท่องเที่ยวประเทศไทยโดยการใช้เทคโนโลยี ใหม่ที่สามารถเข้าถึงกลุ่ม E People จำนวนผู้ Download Application Thailand E Magazine จาก Apple อย่างน้อย 3,000 ราย
161 3. ยุทธศาสตร์การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายด้วยการสื่อสารการตลาดแบบ Online (Online marketing Communications) 3.1 วัตถุประสงค์ 3.1.1 เพื่อเข้าถึงและขยายฐานกลุ่มตลาดที่เปิดรับและบริโภคข้อมูลข่าวสารทาง Online ทุกรูปแบบ ทั้งในการสร้างการรับรู้และการขายสินค้าทางการท่องเที่ยวของประเทศไทย 3.1.2 เพื่อสร้างชุมชนเครือข่ายผู้นิยมการเดินทางท่องเที่ยวและบริโภคสินค้าทางการ ท่องเที่ยวของประเทศไทยผ่านระบบ Online และใช้เครือข่ายดังกล่าวเป็นเวทีเพื่อสร้างกระแสความนิยม ในการเดินทางมายังประเทศไทยให้ขยายตัวออกไปในวงกว้าง 3.2 ตัวชี้วัดภาพรวม จำนวนผู้รับรู้ข้อมูลข่าวสารด้านการท่องเที่ยวของไทยเพิ่มขึ้น กลยุทธ์/แผนงาน ตัวชี้วัด ค่าเกณฑ์วัด กลยุทธ์ที่ 1 เสริมสร้างศักยภาพและขีดความสามารถในการแข่งขันด้านสื่อ Online แผนงาน 1. เพิ่มประสิทธิภาพในการประยุกต์ใช้เว็บสังคม (Social Web) ในการสร้างสังคมแบรนด์ สาหรับ การท่องเที่ยวของประเทศไทย ในชุมชนออนไลน์
เกณฑ์วัดจากเว็บชุมชน ออนไลน์ที่มีความนิยมอันดับ 1 ของโลก :
จำนวนสมาชิกในเครือข่ายสังคม
ผ่าน เครือข่ายสังคมออนไลน์ (วัดจากเว็บชุมชนออนไลน์ : Facebook) อัตราการเพิ่มขี้นของสมาชิก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 อัตราการเพิ่มขี้นของยอด การรับรู้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 2. ยกระดับเว็บไซต์ของ ททท ให้เป็นเว็บไซต์ ด้านการท่องเที่ยวที่ได้มาตรฐานสากลระดับโลก และตอบ สนองความต้องการของทุกกลุ่ม ผู้ใช้งาน : นักท่องเที่ยว ผู้ประกอบการ และนัก สื่อสารมวลชน จำนวนการเรียกใช้งานของเว็บไซต์ โดยนับจากจำนวน ผู้เข้าชมเว็บไซต์ (Unique IP) ที่เพิ่มขึ้น ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ เว็บไซต์ เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 15 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. พัฒนาศักยภาพการแข่งขัน ให้กับ ผู้ประกอบการด้านการท่องเที่ยวระดับกลางและ รายย่อย (SMEs) ในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย ผ่านกิจกรรมส่งเสริมการขายออนไลน์ของ ททท 3.1 Thailand Happiness Deal (ส่งเสริม การขายช่วง High Season) 3.2 Thailand Super Deal (ส่งเสริมการ ขายช่วง Green Season) จานวนรายการสินค้าท่องเที่ยวที่เข้า ร่วมเสนอขาย จานวนผู้เข้ามาใช้บริการ (เข้าร่วม กิจกรรมออนไลน์) ไม่น้อยกว่า 500 รายการ ไม่น้อยกว่า 2 ล้านครั้ง 4. ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (Sustainable Tourism) 4.1 วัตถุประสงค์ 4.1.1 เพื่อการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรทางการท่องเที่ยวของไทยให้คง อยู่ตลอดไป 4.1.2 ตระหนักในความสำคัญของสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติและทรัพยากรทางการ ท่องเที่ยวของไทย
(Social Media) (
Facebook)
ออนไลน์ จำนวนการรับรู้ (Impression Rate) ข่าวสารการท่องเที่ยวไทย
162 4.1.3 เพื่อกระตุ้นให้ชาวไทยและนักท่องเที่ยวทั้งไทยและชาวต่างประเทศ ช่วยกัน ดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติและทรัพยากรทางการท่องเที่ยว 4.2 ตัวชี้วัดภาพรวม สร้างจิตสำนึกและการให้ความสำคัญกับการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม ในแหล่งท่องเที่ยว ของชาวไทยเพิ่มขึ้น กลยุทธ์/แผนงาน ตัวชี้วัด ค่าเกณฑ์วัด กลยุทธ์ที่ 1 รณรงค์ให้เกิดจิตสำนึกในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมในแหล่งท่องเที่ยว แผนงาน ระดับองค์กร : 1. รณรงค์สร้างจิตสำนึกของพนักงาน ททท เกี่ยวกับการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมที่ก่อให้เกิด ทั้ง ISR และ CSR โดยผลักดันให้ ททท เป็น องค์กรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Office) จำนวนโครงการ ททท ร่วมใจใส่ใจ สิ่งแวดล้อม ปริมาณการลดการใช้พลังงานไฟฟ้า ในองค์กร จำนวนไม่ต่ำกว่า 10 โครงการ อย่างน้อยร้อยละ 5 ต่อปี ระดับอุตสาหกรรม : 2. ส่งเสริมสินค้าและบริการทางการท่องเที่ยว ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Tourism) โดยการนำเสนอขายสินค้าทางการท่องเที่ยวที่ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Products) ให้กับนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาว ต่างประเทศ เช่น
Tourism Awards จำนวนแหล่งท่องเที่ยว/เส้นทางที่ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จำนวนกิจกรรมส่งเสริมก าร ท่องเที่ยวที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมที่ ททท ทำร่วมกับหน่วยงานที่ได้ลงนาม ใน MOU อย่างน้อย 10 แหล่ง หรือ 10 เส้นทาง ไม่ต่ำกว่า 5 กิจกรรม ระดับสังคมและชุมชน : 3. คนไทยหัวใจสีเขียวโดยการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์กิจกรรมที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อมให้สาธารณชนรับทราบ เพื่อสร้าง จิตสำนึกที่คำนึงถึงสิ่งแวดล้อมของชาวไทย จำนวนกิจกรรมต้นแบบ การ ท่องเที่ยวที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จำนวนผู้ประกอบการในธุรกิจ ท่องเที่ยวได้รับความรู้ เรื่องการ ท่องเที่ยวที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม อย่างน้อย 5 กิจกรรม อย่างน้อยไม่ต่ำกว่า 100 ราย 4. เผยแพร่แนวคิดการส่งเสริมการท่องเที่ยวที่ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมให้แก่ อปท และ ชุมชนต่าง ๆ จำนวนการจัดอบรมให้ความรู้แก่ อปท และชุมชนต่าง ๆ เรื่องแนวคิด ในการส่งเสริมการท่องเที่ยวอย่าง ยั่งยืน (Sustainable Tourism และ Green Tourism/Green Marketing) ให้ความรู้แก่ อปท ให้ครบ ทั่ว ประเทศในปี พ.ศ. 2557 (อปท ในภาคเหนือและภาคกลาง) ปี พ.ศ. 2558 จัดทำในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ปี พ.ศ.
และภาคตะวันออก 5. ยุทธศาสตร์การบริหารองค์กร 5.1 วัตถุประสงค์ 5.1.1 เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันและเป็นองค์กรส่งเสริมการท่องเที่ยว (NTO) ที่ ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ 5.1.2 เพื่อพัฒนาองค์กรให้เป็นนักการตลาดมืออาชีพ
Green Hotel, Non smoking Hotel, Green Island และ สนับสนุนสินค้าที่เคยได้รับรางวัล
2559 จัดทำในภาคใต้
163 5.2 ตัวชี้วัดภาพรวม ททท. ได้คะแนนประเมินผลด้านการบริหารองค์กร จาก TRIS มากกว่าปี พ.ศ. 2557 กลยุทธ์/แผนงาน ตัวชี้วัด ค่าเกณฑ์วัด กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาองค์กรให้เป็นองค์กรที่ได้รับการยอมรับในด้านการตลาดที่มีการจัดการตามมาตรฐานสากล แผนงาน 1. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ องค์กร คะแนนการบริหารความเสี่ยง ได้คะแนน 3 จาก 5 คะแนน คะแนนการควบคุมภายใน ได้คะแนน 3 จาก 5 คะแนน คะแนนการตรวจสอบภายใน ได้คะแนน 3.5 จาก 5 คะแนน คะแนนการบริหารจัดการสารสนเทศ ได้คะแนน 3.8 จาก 5 คะแนน คะแนนการบริหารทรัพยากรบุคคล ได้คะแนน 3.5 จาก 5 คะแนน กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคล และระบบพัฒนาบุคลากร แผนงาน 1. จัดทำแผนทดแทนตำแหน่งผู้บริหาร ที่จะเกษียณ (Succession Plan) มีแผนทดแทนตำแหน่ง ทำแผนทดแทนตำแหน่ง แล้วเสร็จ แล้วนำไปใช้ 2. เตรียมความพร้อมในการนำระบบ SEPA มาใช้กับองค์กร จำนวนพนักงานมีความรู้เรื่อง SEPA ร้อยละ 50 ของพนักงานทั้งหมด มี ความรู้ในระบบ SEPA 3. สร้างองค์ความรู้ด้านการสื่อสาร เชิงกลยุทธ์ในองค์กร จำนวนพนักงานผ่านการสัมมนาเรื่องการ สื่อสารเชิงรุก 25% ของผู้บริหารตั้งแต่ ระดับต้น จนถึงระดับสูง ผ่านการสัมมนา 4. โครงการบริหารจัดการความรู้ (Knowledge Management) แผนบริหารจัดการความรู้ แล้วเสร็จ 5. สำรวจความพึงพอใจของพนักงานต่อ ระบบบริหารทรัพยากรบุคคล และ โครงสร้างองค์กร จำนวนพนักงานที่พึงพอใจต่อการบริหาร ทรัพยากรบุคคล 60% ของพนักงาน มีความ พึง พอใจต่อระบบบริหารทรัพยากร บุคคล 3. กรณีศึกษาการเขียนแผนยุธศาสตร์ 3.1 ยุทธศาสตร์การส่งเสริมและสนับสนุนการอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น 3.1.1 วัตถุประสงค์ 1) ดำเนินการส่งเสริมและสนับสนุนให้คนในท้องถิ่นร่วมกันอนุรักษ์และสืบทอด วัฒนธรรมท้องถิ่น 2) ปลูกฝังและรณรงค์ให้คนในชุมชนร่วมกันอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น กลยุทธ์/แผนงาน ตัวชี้วัด ค่าเกณฑ์วัด กลยุทธ์ 1 การส่งเสริมและสนับสนุนการอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น แผนงาน 1. จัดทำแผนแม่บทการอนุรักษ์ วัฒนธรรมท้องถิ่น แผนแม่บท แผนแล้วเสร็จและนำไปปฏิบัติใช้ 2. จัดโครงการอบรมเพื่อปลูกฝังให้คนใน ชุมชนร่วมกันอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น จำนวนผู้ที่ผ่านการอบรม ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 30 ของชุมชน 3. จัดทำกิจกรรมและโครงการอนุรักษ์ วัฒนธรรมท้องถิ่น จำนวนกิจกรรม อย่างน้อย 3 โครงการต่อปี
164 3.2 ยุทธศาสตร์การปรับปรุงและพัฒนาระบบการศึกษาเกี่ยวกับวัฒนธรรมท้องถิ่น 3.2.1 วัตถุประสงค์ 1) ดำเนินการปรับปรุงและพัฒนาระบบการศึกษาเกี่ยวกับวัฒนธรรมท้องถิ่น กลยุทธ์/แผนงาน ตัวชี้วัด ค่าเกณฑ์วัด กลยุทธ์ 1 การปรับปรุงและพัฒนาระบบการศึกษาเกี่ยวกับวัฒนธรรมท้องถิ่น แผนงาน 1. จัดทำแผนแม่บทการปรับปรุงและ พัฒนาระบบการศึกษาเกี่ยวกับ วัฒนธรรมท้องถิ่น แผนแม่บท แผนแล้วเสร็จและนำไปปฏิบัติใช้ 2. จัดทำคู่มือการเรียนรู้วัฒนธรรม ท้องถิ่นในชุมชน คู่มือ คู่มือแล้วเสร็จและนำไปปฏิบัติใช้ 3.3 ยุทธศาสตร์การส่งเสริมและสนับสนุนการประชาสัมพันธ์หมู่บ้านป่าทราย 3.3.1 วัตถุประสงค์ 1) ดำเนินการส่งเสริมและสนับสนุนการประชาสัมพันธ์หมู่บ้านป่าทรายให้เป็นที่ รู้จักของประชาชนมากยิ่งขึ้น กลยุทธ์/แผนงาน ตัวชี้วัด ค่าเกณฑ์วัด กลยุทธ์ 1 การส่งเสริมและสนับสนุนการประชาสัมพันธ์หมู่บ้านป่าทราย แผนงาน 1. จัดทำเว็บไซต์การประชาสัมพันธ์ หมู่บ้านป่าทราย จำนวนผู้เข้าชม อย่างน้อย 1,000 คนต่อปี 3.4 ยุทธศาสตร์การส่งเสริมและสนับสนุนการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในแหล่งท่องเที่ยว 3.4.1 วัตถุประสงค์ 1) ดำเนินการส่งเสริมและสนับสนุนการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในแหล่งท่องเที่ยว กลยุทธ์/แผนงาน ตัวชี้วัด ค่าเกณฑ์วัด กลยุทธ์ 1 การส่งเสริมและสนับสนุนการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในแหล่งท่องเที่ยว แผนงาน 1. จัดทำแผนแม่บทการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมในแหล่งท่องเที่ยว แผนแม่บท แผนแล้วเสร็จและนำไปปฏิบัติใช้ 2. จัดโครงการปรับภูมิทัศน์บริเวณ ชายหาดป่าทรายและในเขตพื้นที่ชุมชน โดยรอบให้มีสภาพแวดล้อมที่ดี จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 50 ของชุมชน 3. จัดทำกิจกรรมและโครงการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมในแหล่งท่องเที่ยว จำนวนกิจกรรม อย่างน้อย 3 โครงการต่อปี
165 3.5 ยุทธศาสตร์การส่งเสริมและสนับสนุนให้หน่วยงานและคนในชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแล และพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว 3.5.1 วัตถุประสงค์ 1) ดำเนินการส่งเสริมและสนับสนุนให้คนในชุมชน และหน่วยงานมีส่วนร่วมใน การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว กลยุทธ์/แผนงาน ตัวชี้วัด ค่าเกณฑ์วัด กลยุทธ์ 1 การส่งเสริมและสนับสนุนให้หน่วยงานและคนในชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลและพัฒนาแหล่ง ท่องเที่ยว แผนงาน 1. จัดกิจกรรมการพบปะของคนใน ชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อ แลกเปลี่ยนและระดมความคิดเห็น ใน การแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชน จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60 ของชุมชน 4. บทสรุป การเขียนแผนกลยุทธ์เพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวเริ่มจากการประเมินและวิเคราะห์สภาวะ แวดล้อมภายนอกและภายในของแหล่งท่องเที่ยว โดยการกำหนดแผนกลยุทธ์มีองค์ประกอบที่สำคัญ คือ การกำหนดยุทธศาสตร์ การกำหนดวัตถุประสงค์ การกำหนดตัวชี้วัดภาพรวม การกำหนดกลยุทธ์ แผนงาน โครงการ ค่าเกณฑ์วัดและตัวชี้วัด โดยสามารถประเมินผลของแผนกลยุทธ์จากค่าเกณฑ์วัดและ ตัวชี้วัดที่ตั้งไว้ 5. แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 9 1. จุดเน้นที่สำคัญของแผนกลยุทธ์คืออะไรจงอธิบาย 2. ให้วิเคราะกรณีศึกษาในเอกสารคำสอน และฝึกกำหนดวัตถุประสงค์ของแผนกลยุทธ์ 3. ให้วิเคราะกรณีศึกษาในเอกสารคำสอน และฝึกกำหนดตัวชีวัดภาพรวมของแผนกลยุทธ์ 4. ให้วิเคราะกรณีศึกษาในเอกสารคำสอน และฝึกกำหนดกลยุทธ์ของแผนกลยุทธ์ 5. ให้วิเคราะกรณีศึกษาในเอกสารคำสอน และฝึกกำหนดแผนงาน/โครงการของแผนกลยุทธ์ 6. ให้วิเคราะกรณีศึกษาในเอกสารคำสอน และฝึกกำหนดค่าเกณฑ์วัดของแผนกลยุทธ์ 7. ให้วิเคราะกรณีศึกษาในเอกสารคำสอน และฝึกกำหนดตัวชี้วัดของแผนกลยุทธ์ 8. ให้ฝึกเขียนแผนกลยุทธ์เพื่อการท่องเที่ยวตามตารางที่กำหนดให้ในเอกสารคำสอนโดยสามารถ เลือกกรณีศึกษาที่กำหนดเองได้
ระยะเวลา... ภายใน... จำนวน... อย่างน้อย ช่องทาง ความถี่... อย่างน้อย ...ครั้ง กลยุทธ์ที่ 3 เสริมสร้าง... แผนงาน
1. จัดทำ... ระยะเวลา... ภายใน... จำนวน... อย่างน้อย ...ช่องทาง ร้อยละ อย่างน้อย ครั้ง
166 แนวทางการเขียนแผนยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนงาน ค่าเกณฑ์วัดและตัวชี้วัดเพื่อการพัฒนาการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนมีดังนี้ 1 ชื่อยุทธศาสตร์ 1.1 วัตถุประสงค์ 1) เพื่อ.................................................................. 2) เพื่อ..... 1.2 ตัวชี้วัดภาพรวม : ………………………………………………………………………….. กลยุทธ์/แผนงาน ตัวชี้วัด ค่าเกณฑ์วัด กลยุทธ์ที่ 1 สร้าง... แผนงาน 1. จัดทำ ร้อยละ.......................... ร้อยละ 2. สร้าง................... ร้อยละ.................................. อย่างน้อยร้อยละ 3. สนับสนุน นำเสนอ.................................... อย่างน้อย ครั้ง กลยุทธ์ที่ 2 ปรับปรุง... แผนงาน 1. จัดทำ...
ภายใน... จำนวน... อย่างน้อย ช่องทาง ความถี่... อย่างน้อย ...ครั้ง กลยุทธ์ที่ 3 เสริมสร้าง... แผนงาน 1. จัดทำ... ระยะเวลา... ภายใน... จำนวน... อย่างน้อย ...ช่องทาง ร้อยละ... อย่างน้อย ครั้ง
167 1 2 ชื่อยุทธศาสตร์..................... 1.2.1 วัตถุประสงค์ 1) เพื่อ.................................................................. 2) เพื่อ.............................. 1.2.2 ตัวชี้วัดภาพรวม : ………………………………………………………………………….. กลยุทธ์/แผนงาน ตัวชี้วัด ค่าเกณฑ์วัด กลยุทธ์ที่ 1 สร้าง... แผนงาน 1. จัดทำ ร้อยละ.......................... ร้อยละ 2. สร้าง.............. ร้อยละ.................................. อย่างน้อยร้อยละ 3. สนับสนุน นำเสนอ.................................. อย่างน้อย ครั้ง กลยุทธ์/แผนงาน ตัวชี้วัด ค่าเกณฑ์วัด กลยุทธ์ที่ 2 ปรับปรุง... แผนงาน 1. จัดทำ... ระยะเวลา...
..ครั้ง
1. จัดทำ... ระยะเวลา... ภายใน... จำนวน... อย่างน้อย ...ช่องทาง ร้อยละ... อย่างน้อย ครั้ง
168 1.3 ชื่อยุทธศาสตร์........................ 1.3.1 วัตถุประสงค์ 1) เพื่อ.................................................................. 2) เพื่อ................................. 1.3.2 ตัวชี้วัดภาพรวม : ………………………………………………………………………….. กลยุทธ์/แผนงาน ตัวชี้วัด ค่าเกณฑ์วัด กลยุทธ์ที่ 1 สร้าง... แผนงาน 1. จัดทำ ร้อยละ.......................... ร้อยละ 2. สร้าง................. ร้อยละ.................................. อย่างน้อยร้อยละ 3. สนับสนุน นำเสนอ.................................. อย่างน้อย ครั้ง กลยุทธ์ที่ 2 ปรับปรุง... แผนงาน 1.
จัดทำ... ระยะเวลา... ภายใน.. จำนวน... อย่างน้อย ช่องทาง ความถี่... อย่างน้อย
กลยุทธ์ที่ 3 เสริมสร้าง... แผนงาน
อย่างน้อย ...ครั้ง กลยุทธ์ที่ 3 เสริมสร้าง... แผนงาน
1. จัดทำ... ระยะเวลา... ภายใน... จำนวน... อย่างน้อย ...ช่องทาง ร้อยละ... อย่างน้อย ครั้ง
169 1 4 ชื่อยุทธศาสตร์.............. 1.4.1 วัตถุประสงค์ 1) เพื่อ.................................................................. 2) เพื่อ.................................................................. 1.4.2 ตัวชี้วัดภาพรวม : ………………………………………………………………………….. กลยุทธ์/แผนงาน ตัวชี้วัด ค่าเกณฑ์วัด กลยุทธ์ที่ 1 สร้าง... แผนงาน 1. จัดทำ ร้อยละ.......................... ร้อยละ 2. สร้าง............................................ ร้อยละ อย่างน้อยร้อยละ 3. สนับสนุน นำเสนอ.......... อย่างน้อย ครั้ง กลยุทธ์ที่ 2 ปรับปรุง... แผนงาน 1.
จัดทำ... ระยะเวลา... ภายใน... จำนวน... อย่างน้อย ช่องทาง ความถี่...
170 เอกสารอ้างอิง บทที่ 9 กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา.
(2552). แผนยุทธศาสตร์กู้วิกฤตและมาตรการกระตุ้นการท่องเที่ยว ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2552 2555). กรุงเทพฯ: กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) (2559) ยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวไทย พ.ศ. 2558 2560, สืบค้นวันที่ 6 มีนาคม 2559, จาก http://www.mots.go.th/ewt_dl_link.php?nid=7114
171 บทที่ 10 การตลาดเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (Sustainable Tourism Marketing) 'Sustainable Marketing' หรือการตลาดยั่งยืน เป็นการตลาดสร้างสรรค์สายพันธุ์ใหม่ยุค Marketing 3.0 ที่เน้นการสร้างสมดุลให้ธุรกิจเติบโตอย่างยั่งยืน เคียงคู่สังคม และสิ่งแวดล้อม ดังนั้น การตลาดยั่งยืน คือ การทำการตลาดเพื่อหวังผลให้ธุรกิจเติบโตอย่างยั่งยืนโดยคำนึงถึงบุคคลที่เกี่ยวข้อง ทั้งหมด (Stakeholder) ตั้งแต่องค์กร พนักงาน ลูกค้า ซัพพลายเออร์ สังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อมให้ พัฒนาและเติบโตไปพร้อมกัน และพัฒนาบนพื้นฐานความเป็นจริงจึงจะนำไปสู่ความยั่งยืนได้ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวได้นำแนวคิดการตลาดอย่างยั่งยืนมาปรับใช้ โดยธุรกิจตองคำนึงถึง การปกปองสิ่งแวดลอม การสรางความสัมพันธอันดีกับผูมีสวนไดสวนเสียกับธุรกิจทุกกลุม การสงเสริมและ รักษาวัฒนธรรมและเอกลักษณในทองถิ่น รวมถึงการสงมอบความพึงพอใจแกลูกคา ผูมีสวนไดสวนเสีย ทั้ง ในปจจุบันและอนาคต เพื่อก่อให้เกิดการพัฒนาอุตสาหกรรมการทองเที่ยวที่ยั่งยืนในระยะยาว ยกตัวอย่าง เช่น แนวปฎิบัติการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของ ตลาดน้ำอัมพวา
ของชุมชนมาปัดฝุ่นผ่านความร่วมมือ
การเปิดตลาดน้ำ เดือนละ 12 วัน เพื่อลดแรงดึงดูดของกลุ่มทุนที่จะเข้ามาลงทุนในพื้นที่ และการกำหนดให้แม่ค้าหาบเร่แผง ลอยที่จะขายของบนผิวจราจรได้นั้นจะต้องได้รับใบอนุญาต
1. แนวความคิดทางการตลาดที่มุ่งสู่ความยั่งยืน ประกอบด้วย 5 แนวคิด คือ 1.1 การตลาดเกี่ยวกับสังคม 1.2 การตลาดเพื่อสังคม 1.3 การตลาดเกี่ยวกับนิเวศวิทยา 1.4 การตลาดสีเขียว และการตลาดเพื่อสิ่งแวดล้อม 1 5 การตลาดอย่างยั่งยืน ซึ่งการตลาดอย่างยั่งยืนเป็นการวางแผนการจัดองค์การการปฏิบัติและการควบคุมทรัพยากร และโปรแกรมทางการตลาดเพื่อตอบสนองความจำเป็นและความต้องการของผู้บริโภคในขณะที่ต้อง คำนึงถึงคุณลักษณะทางด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมเพื่อให้เกิดการบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กรโดย การตลาดอย่างยั่งยืนประกอบด้วย 3 มิติ คือ 1. ด้านความอยู่รอดทางเศรษฐกิจ 2. ความเสมอภาคทางสังคม 3. การปกป้องสิ่งแวดล้อม การตลาดอย่างยั่งยืนการพัฒนาของการตลาดได้เกิดขึ้นผ่านแนวความคิด 5 แนวความคิด กล่าวคือ 1) แนวความคิดด้านการผลิต (Manufacturing Concept) 2) แนวความคิดด้านผลิตภัณฑ์
คือ การนำคุณค่า ภูมิปัญญา
และความเข้าใจจากคนในพื้นที่ โดยการกำหนดยุทธศาสตร์ ขับเคลื่อนตัวเองด้วยแนวคิดรักษาสมดุลของ “เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม” เช่น
และจะต้องเป็นคนในพื้นที่เท่านั้น ในบทที่ 10 อธิบายแนวคิดการตลาดอย่างยั่งยืนทั้งในและต่างประเทศเพื่อสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้
2006:
(Bowie & Buttle, 2011: 13; Kotler et al., 2006: 25 26; Kotler & Keller, 2006: 15 16; Kumar et al., 2012: 484)
Bowie & Buttle, 2011: 15; Jamrozy, 2007: 120; Kotler et al., 2006: 26 27; Kotler & Keller, 2006: 16; Kumar et al., 2012: 484)
172
3) แนวความคิดด้านการขาย (Selling
4) แนวความคิดทางการตลาด
และ 5) แนวความคิดด้านการตลาดเพื่อสังคม (
โดยแนวความคิดด้านการผลิตมีมุมมองว่าผู้บริโภคชอบผลิตภัณฑ์ที่หาซื้อได้ง่าย และมีราคาไม่ แพง รวมถึงมีความต้องการซื้อ (demand) มากกว่าความต้องการขาย (Supply) มุ่งเน้นการตอบสนองต่อ ความต้องการจำนวนมาก รวมทั้งการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อให้เกิดการประหยัดจากขนาด (Economic of Scale) ซึ่งสามารถทำให้ราคาสินค้าต่ำ (Bowie & Buttle,
484) ส่วนแนวความคิดด้านผลิตภัณฑ์ มีมุมมองว่าผู้บริโภคสนใจซื้อผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ มีสมรรถนะและนวัตกรรม โดยมุ่งเน้นการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่ (Existing Product) ให้ผลิตภัณฑ์ดีขึ้น ณ ต้นทุนที่ต่ำ (Bowie & Buttle,
แนวความคิดด้านการขาย แนวความคิดนี้มีมุมมองว่าผู้บริโภคไม่ซื้อผลิตภัณฑ์ ขององค์การในจำนวนที่มากพอ เนื่องจากมีความต้องการขายมากกว่าความต้องการซื้อจึงใช้การขายและ การส่งเสริมการขายอย่างเข้มข้น เพื่อให้เกิดผลตอบแทนจากการลงทุนที่เหมาะสมอย่างไรก็ตาม แนวความคิดนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เกิดการขายผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่ให้แก่ลูกค้าที่มีศักยภาพโดยไม่คำนึงถึง การตอบสนองความจำเป็นหรือความต้องการของลูกค้าและไม่กังวลเกี่ยวกับความพึงพอใจหลังจากการ ขาย ซึ่งไม่ก่อให้เกิดความสัมพันธ์กับลูกค้าในระยะยาว
แนวความคิดการตลาดเป็นแนวความคิดที่เกิดขึ้นในช่วงกลางของศตวรรษที่
โดยมีมุมมองว่า การบรรลุเป้าหมายขององค์กรขึ้นอยู่กับการกำหนดความจำเป็นและความต้องการของตลาดเป้าหมายและ ส่งมอบความพึงพอใจได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเหนือกว่าคู่แข่งขัน มุ่งเน้นให้ลูกค้าเป็นหัวใจ ของธุรกิจและมุ่งเน้นการสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้าในระยะยาวซึ่งจะก่อให้เกิดกำไรแก่ธุรกิจในระยะยาว
มอบคุณค่าให้แก่ลูกค้าโดยยังคงรักษาและพัฒนาสวัสดิภาพทั้งของลูกค้าและสังคม โดยมีพื้นฐานในการ ตัดสินใจด้านสังคมและจริยธรรมไปสู่การออกแบบกิจกรรมการตลาด นอกจากนี้แนวความคิดการตลาด เพื่อสังคมมีมุมมองว่าองค์กรความกำหนดความจำเป็น ความต้องการ และความสนใจของตลาดเป้าหมาย และส่งมอบความพึงพอใจได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเหนือกว่าคู่แข่งขัน ในวิธิทางที่รักษาและ พัฒนาความเป็นอยู่ที่ดีของผู้บริโภคและสังคม ซึ่งเป็นการรวมบรรทัดฐานของความยั่งยืนเข้าไปใน การตลาด โดยความยั่งยืนได้กลายมาเป็นหน้าที่ที่จำเป็นขององค์กรที่ต้องบรรลุรวมทั้งแนวความคิดของ การตลาดจะได้รับการขยายไปสู่การตอบสนองความต้องการของคนรุ่นอนาคต อย่างไรก็ตามองค์กรต้อง สร้างกลยุทธการตลาดที่สมดุลระหว่างการตอบสนองความต้องการของลูกค้าเพื่อรักษาผลกำไร กับ ผลประโยชน์ของสาธารณะ และนิเวศวิทยา (Armstrong & Kotler, 2007: 12; Bowie & Buttle, 2001: 16; Kotler et al., 2006: 27; Kumar et al., 2012: 484 485) การเกิดขึ้นของการตลาดอย่างยั่งยืน (Emergence of Sustainability Marketing) ได้เริ่มตั้งแต่ ช่วงทศวรรษ 1970 แนวความคิดการตลาดหลาย ๆ แนวความคิดที่เกิดขึ้นซึ่งเกี่ยวข้องกับประเด็นด้าน นิเวศวิทยาและสังคม ประกอบด้วยการตลาดเกี่ยวกับสังคม (Societal marketing) การตลาดเพื่อสังคม (Social Marketing) การตลาดเกี่ยวกับนิเวศวิทยา (Ecological Marketing) การตลาดสีเขียว (Green Marketing) การตลาดเพื่อสิ่งแวดล้อม (Environment Marketing) การตลาดอย่างยั่งยืน (Sustainable Marketing และ Sustainability Marketing) ซึ่งสามารถอธิบายรายละเอียดได้ดังต่อไปนี้
(Product Concept)
Concept)
(Marketing Concept)
Societal Concept) (Kotler etal., 2006: 23)
2011: 12; Kotler et al., 2006: 23; Kumar et al., 2012:
2011: 13; Kotler et al., 2006: 25; Kotler & Keller,
15; Kumar et al., 2012: 484)
20
(
และแนวความคิดการตลาดเพื่อสังคมเป็นกลยุทธ์การตลาดที่ส่ง
Belz & Peattie, 2009: 28; Dinan & Sargeant, 2000: 3; Kotler & Zaltman, 1971: 5)
173 1.1 การตลาดเกี่ยวกับสังคม (Societal Marketing) การตลาดเกี่ยวกับสังคมนำประเด็นทางสังคมมาเป็นเครื่องมือในการออกแบบกลยุทธ์ การตลาดโดยมุ่งหวังให้เกิดการซื้อผลิตภัณฑ์ขององค์กร การตลาดเกี่ยวกับสังคมนำเสนอจุดตัดของมุมมอง 3 ประการ กล่าวคือ เป้าหมายขององค์กร (Organizational Goals) เป้าหมายของผู้บริโภค (Consumer Goals) และเป้าหมายที่เกี่ยวกับสังคม (Societal Goals) ที่นำไปสู่โอกาสและความสำเร็จในระยะยาวของ การตลาด โดยข้อสมมติภายในของการตลาดเกี่ยวกับสังคมนั้นเป็นความพึงพอใจร่วมกันของความจำเป็น และความต้องการของลูกค้าปัจเจกบุคคลซึ่งจะต้องเป็นผลประโยชน์ในระยะยาวที่ดีที่สุดของสวัสดิภาพ ของผู้บริโภคและสังคม (Belz & Peattie, 2009: 27) การตลาดเพื่อสังคม (Social Marketing) การตลาดเพื่อสังคมเป็นการประยุกต์ใช้หลักการ แนวความคิด และเครื่องมือทางการตลาด โดยการออกแบบ วางแผนปฏิบัติ ควบคุมและประเมินโปรแกรมการตลาดที่ถูกออกแบบให้มีอิทธิพลต่อ พฤติกรรมของปัจเจกบุคคลเพื่อพัฒนาความผาสุขของบุคคลหรือของสังคม โดยครอบคุลมถึงการพิจารณา ในการวางแผนผลิตภัณฑ์ การตั้งราคา การติดต่อสื่อสาร การกระจายสินค้า และการวิจัยการตลาด ซึ่ง การตลาดเพื่อสังคมมักเกี่ยวข้องกับประเด็นของการตลาดมหภาค (Macro Marketing
โดย โปรแกรมของการตลาดเพื่อสังคมมักวางแผนและปฏิบัติโดยองค์กรใดองค์กรหนึ่งที่มุ่งเน้นปัญหาที่เฉพาะ
แคมเปญ ของการตลาดเพื่อสังคม ได้แก่ แคมเปญสุขภาพของประชาชน (
เช่น การ ลดการสูบบุหรี่ ลดการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอร์ การเลิกยาเสพติด การลดการบริโภคที่เกินความจำเป็น และการลดการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย เป็นต้น แคมเปญเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม (Environment Campaigns) เช่น การส่งเสริมการปกป้องสัตว์ป่า การรักษาป่า การรณรงค์การมีอากาศที่สะอาด และการ ใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีแคมเปญ อื่น ๆ อีก ได้แก่ การวางแผนครอบครัวการรณรงค์สิทธิมนุษยชน การลดการคอร์รับชั่น และการรณรงค์ ความเท่าเทียมทางเพศ เป็นต้น 1.2 การตลาดเกี่ยวกับนิเวศวิทยา (Ecological Marketing) การตลาดเกี่ยวกับนิเวศวิทยาถูกพัฒนาขึ้นในช่างปี 1970 โดยการดึงความสนใจไปยัง ผลกระทบทางบวกและทางลบของการตลาดต่อสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ ซึ่งเกี่ยวข้องกับกิจกรรมทางการ ตลาดที่ช่วยสนับสนุนการลดและป้องกันปัญหาของสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการลดการใช้พลังงานและ ทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ และการลดการสร้างมลภาวะจากการผลิตและการบริโภคผลิตภัณฑ์ ซึ่ง การตลาดเกี่ยวกับนิเวศวิทยานั้นมุ่งเน้นไปยังผู้ผลิตที่ผลิตสินค้าที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Belz & Peattie, 2009: 28; Kumar et al., 2012: 485) โดยส่วนประสมทางการตลาดเกี่ยวกับนิเวศวิทยาจะอยู่ในรูปแบบ ของนโยบายด้านผลิตภัณฑ์ที่สัมพันธ์กับปัญหาของการใช้ทรัพยากรและการบริโภคพลังงานอย่างพินิจ พิเคราะห์ รวมถึงจำนวนและประเภทของบรรจุภัณฑ์ที่ใช้ทำให้เกิดการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์มา ใช้ใหม่ ในส่วนของการส่งเสริมการตลาดในแนวความคิดนี้มีความคลุมเครืออยู่ เนื่องจากมีผลในด้านลบต่อ ความต้องการซื้อ แต่ในด้านบวกผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพสูงจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสิ่งแวดล้อมในด้านราคา ได้รับผลกระทบจากภายนอกและต้นทุนรวมของผลิตภัณฑ์ อย่างไรก็ตาม การตลาดเกี่ยวกับนิเวศวิทยามี ขอบเขตที่จำกัดในอุตสาหกรรมที่เป็นอันตราย ได้แก่ อุตสาหกรรมน้ำมัน อุตสาหกรรมเคมี และ อุตสาหกรรมรถยนต์ ซึ่งบริษัทส่วนใหญ่ยังคงมองปัญหาสิ่งแวดล้อมเหมือนการบีบบังคับและเป็นต้นทุน รวมถึง การปฏิบัติตามกฎข้อบังคับมากกว่าการคำนึงถึงตลาดหรือการตลาด
28 29
Issues)
(
Public Health Campaigns)
(Belz & Peattie, 2009:
174 1.3 การตลาดสีเขียว (Green Marketing) และการตลาดเพื่อสิ่งแวดล้อม (Environmental Marketing) ในช่วงหลังของปี 1980 การมีจิตสำนึกและความกระตือรือร้นของผู้บริโภคที่ใส่ใจใน สิ่งแวดล้อม (Green Consumer) ได้ปรากฏขึ้นในยุโรปตะวันตกและอเมริกาตอนเหนือ ซึ่งสิ่งแวดล้อม กลายมาเป็นปัจจัยในการแข่งขัน โดยแนวความคิดของการตลาดสีเขียวหรือการตลาดเพื่อสิ่งแวดล้อมเป็น กลยุทธ์ที่ถูกพัฒนาใหม่ จึงเน้นไปยังกลุ่มเป้าหมายซึ่งเป็นผู้บริโภคที่ใส่ใจต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีความยินดีที่ ซื้อสินค้าในราคาสูงสำหรับผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ข้อสมมติของแนวความคิดการตลาดสีเขียว นั้น ผู้ผลิตถูกขับเคลื่อนจากตลาดที่มาจากความต้องการซื้อของผู้บริโภคสำหรับสินค้าที่ใส่ใจต่อสิ่งแวดล้อม (Belz & Peattie, 2009: 29; Jamrozy, 2007: 123) อย่างไรก็ตาม การตลาดสีเขียวเป็นกระบวนการที่มี พื้นฐานมาจากอิทธิพลของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ซึ่งกระบวนการและการจัดการอย่างรับผิดชอบขององค์กร จะเติมเต็มความต้องการให้แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโดยไม่มีผลกระทบต่อความผาสุกของมนุษย์และ สิ่งแวดล้อมธรรมชาติ (Kumar et al., 2012: 486) ปัญหาที่เกิดขึ้นของการตลาดสีเขียวนั้น คือ ผู้บริโภคที่ใส่ใจต่อสิ่งแวดล้อมหรือผู้ บริโภคสี เขียว (green consumer) ผู้ที่ต้องการซื้อผลิตภัณฑ์สีเขียว (green product) ที่ระดับราคาสูงอาจไม่เป็น ความจริง จากรายงานของการศึกษาเกี่ยวกับผู้บริโภค พบว่า มีช่องว่างระหว่างจิตสำนึกด้านสิ่งแวดล้อม กับพฤติกรรมที่แท้จริงด้านสิ่งแวดล้อมซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบต่อความพยายามของธุรกิจที่ใส่ใจต่อ สิ่งแวดล้อมที่กลุ่มผู้บริโภคมีแนวโน้มที่ไม่สามารถอธิบายความต้องการซื้อผลิตภัณฑ์ที่ใส่ใจต่อสิ่งแวดล้อม ได้ (Belz
30) โดยผู้บริโภคที่มีทัศนคติเชิงบวกต่อความยั่งยืนหรือสินค้าสีเขียวกลับมี พฤติกรรมการซื้อสินค้าสีเขียวที่เกิดขึ้นจริงน้อย
การตลาดอย่างยั่งยืน
การตลาดอย่างยั่งยืน
(Customer
คุณค่าของสังคม
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ยั่งยืนเพื่อส่งมอบคุณค่าที่เหนือกว่าให้แก่ลูกค้า ออกแบบราคา การกระจายสินค้า และการส่งเสริมการตลาดไปยังกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย ซึ่งจะต้องบูรณาการสังคมและนิเวศวิทยาเข้าไปยัง กระบวนการทางการตลาดทั้งหมด (Belz, 2006: 139) นอกจากนี้ การตลาดอย่างยั่งยืนเป็นการวางแผน การจัดองค์การ การปฏิบัติ และการควบคุมทรัพยากรและโปรแกรมทางการตลาดเพื่อตอบสนองความ จำเป็นและความต้องการของผู้บริโภค ในขณะที่ต้องคำนึงถึงคุณลักษณะทางด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม เพื่อให้เกิดการบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร (Belz & Peattie, 2009: 31) ซึ่งการตลาดอย่างยั่งยืนเห็นด้วยกับข้อจำกัดของการมุ่งเน้นตลาด (Market Orientation) และองค์ความรู้ที่จำเป็นเพื่อควบคุมการเปลี่ยนแปลงของกลไกตลาดแทนการหลีกเลี่ยงกฎระเบียบ การตลาดอย่างยั่งยืนส่งเสริมการอุทิศตนขององค์กรเพื่อการแก้ไขที่จำเป็นของการจัดตั้งสถาบัน (Institutional Setting) และสัญญาณของราคา (Price Signals) ในการสนับสนุนการพัฒนาอย่างยั่งยืน ซึ่งจากมุมมองนี้การตลาดอย่างยั่งยืนเป็น แนวความคิดของการตลาดมหภาค โดยการเกิดขึ้นของแนวความคิดในการพัฒนาอย่างยั่งยืนนั้นต้องการ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของทุกคน ซึ่งรวมถึงผู้ผลิตและผู้บริโภค นอกจากนี้ มุมมองของการตลาดมห ภาค (Macro Marketing) และการตลาดอย่างยั่งยืนให้ความสำคัญกับหลักการพื้นฐาน 3 ด้าน คือ ด้าน นิเวศวิทยา (Ecological) ด้านสังคม (Social) และด้านเศรษฐกิจ (Economic) ซึ่งเป็นกระบวนการที่ บูรณาการร่วมกันโดยปรารถนาให้สามารถดำรงชีวิตได้และการมีวิถีชีวิตของชุมชน (Belz & Peattie,
& Peattie, 2009:
(Prothero et al., 2011: 32) 1.4
(Sustainability Marketing)
(Sustainability Marketing) มุ่งหมายเพื่อสร้างคุณค่าของลูกค้า
Value)
(Social Value) คุณค่าของนิเวศวิทยา (Ecological Value) โดย
อย่างยิ่งในประเทศที่กำลังพัฒนา รวมทั้งการต่อต้านความยากจนและความไม่เสมอภาคทางสังคม
ดำเนินธุรกิจต่อชุมชน และการกระทำที่รับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจ (Grundey, 2008: 122; Jamrozy, 2007: 125) 3. มิติด้านสิ่งแวดล้อม มีความใกล้เคียงกับมุมมองของการมีชีวิตโดยใช้ธรรมชาติเป็นศูนย์กลาง
175
1 ประกอบด้วยมิติของความยั่งยืน 3 ด้าน คือ ด้าน ความอยู่รอดทางเศรษฐกิจ (Economic Viability) ความเสมอภาคทางสังคม (Social Equity) และการ ปกป้องสิ่งแวดล้อม (Environmental Protection) 1. มิติด้านเศรษฐกิจ โดยทั่วไปการตลาดที่มุ่งเน้นผู้บริโภคจะอยู่ภายใต้กระบวนทัศน์ทางเศรษฐกิจ ซึ่งเป็น การสนับสนุนความไม่ยั่งยืน เนื่องจากเป็นการมุ่งเน้นที่ผลกำไรทางเศรษฐกิจเท่านั้น นอกจากนี้ การมุ่งเน้น แค่มิติเดียวในโมเดลก่อให้เกิดข้อจำกัดในศักยภาพของการตลาด อย่างไรก็ตาม วิธีการของการตลาดอย่าง ยั่งยืนได้บูรณาการวัตถุประสงค์ด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และเศรษฐกิจ ซึ่งกระบวนการทางการตลาดแบบ ดั้งเดิมที่มุ่งเน้นเศรษฐกิจถูกจำกัดด้วยปรัชญาการบริโภคแบบดั้งเดิม ในขณะที่มีการตระหนักในธรรมชาติ ที่ก่อให้เกิดการผลิตผลิตภัณฑ์สีเขียว (Green Products) ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีพื้นฐานมาจากธรรมชาติ ด้วยเหตุนี้ การตลาดสีเขียวที่มุ่งเน้นปัญหาสิ่งแวดล้อมและการลดภาระด้านสิ่งแวดล้อม แต่อย่างไรก็ตาม การตลาดสีเขียวยังคงเป็นกระบวนทัศน์ทางเศรษฐกิจที่มุ่งเน้นกระบวนการแลกเปลี่ยนในเศรษฐกิจแบบ ดั้งเดิม และเน้นผลกำไรซึ่งเป็นเป้าหมายสูงสุด (Belz
2. มิติด้านสังคม ในหลักการของการพัฒนาอย่างยั่งยืนต้องการแก้ปัญหาความยากจนซึ่งมีความจำเป็น
ของหลักความเสมอภาคทางสังคมนั้นกระบวนการทางการตลาดเพื่อสังคมพิจารณาผลกระทบของการ
ในระบบการมีชีวิต (Living
ซึ่งเป็นการบูรณาการระบบมนุษย์และระบบอื่น ๆ ไปสู่เครือข่ายของความสัมพันธ์ที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน โดยมีวัตถุประสงค์ในการส่งเสริมความแข็งแกร่ง ของสิ่งแวดล้อมที่อยู่บนพื้นฐานของการป้องกันทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรม แม้ว่าการตลาดจะไม่ ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรแต่จะส่งเสริมอนุรักษ์และพฤติกรรมการรักษาสิ่งแวดล้อมเสมือนเป็นส่วนหนึ่งของ ระบบการมีชีวิต
2009: 30 31; Jamrozy, 2007: 125) Jamrozy (2007: 124 126) นำเสนอโมเดลองค์ประกอบสาม ประการ (the triangular model) ดังแสดงในรูปที่
& Peattie, 2009 : 30; Jamrozy,2007:125)
ในส่วน
(Ecological Biocentric)
Systems)
176 ตารางที่ 36 ประเด็นสำคัญของแนวคิดการตลาดยั่งยืน แนวความคิดทางการตลาด ประเด็นสำคัญ การตลาดเกี่ยวกับสังคม เป็นการนำประเด็นทางสังคมมาเป็นเครื่่องมือในการออกแบบกลยุทธ์การตลาดโดย มุ่งหวังให้เกิดการซื้อผลิตภัณฑ์ขององค์กร โดยมีมุมมอง 3 ด้าน คือ เป้าหมายขององค์กร (Organizational Goals) เป้าหมายของผู้บริ โภค (Consumer Goals) และเป้าหมายที่เกี่ยวกับสังคม (Societal Goals) การตลาดเพื่อสังคม เป็นการประยุกต์ใช้หลักการ แนวความคิด และเครื่องมือทางการตลาด โดยการ ออกแบบ วางแผนปฏิบัติ ควบคุมและประเมินโปรแกรมการตลาดที่ถูกออกแบบให้มี อิทธิพลต่อพฤติกรรมของปัจเจกบุคคลเพื่อพัฒนาความผาสุกของบุคคลหรือของ สังคม การตลาดเกี่ยวกับนิเวศวิทยา เกี่ยวข้องกับกิจกรรมทางการตลาดที่ช่วยสนับสนุนการลดและป้องกันของสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการลดการให้พลังงานและทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ และการลดการสร้าง มลภาวะจากการผลิตและการบริ โภคผลิตภัณฑ์ ซึ่งการตลาดเกี่ยวกับนิเวศวิทยานั้น มุ่งเน้นไปยังผู้ผลิตที่ผลิตสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การตลาดสีเขียวและการตลาด เพื่อสิ่งแวดล้อม เป็นกลยุทธ์ที่ถูกพัฒนาให้มุ่งเน้นไปยังกลุ่มเป้าหมายซึ่งเป็นผู้บริโภคที่ใส่ใจต่อ สิ่งแวดล้อมซึ่งมีความยินดีที่ซื้อสินค้าในราคาสูงสำหรับผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม แนวความคิดการตลาดสีเขียวนั้นผู้ผลิตถูกขับเคลื่อนจากตลาดที่ มาจาก ความต้องการซื้อของผู้บริโภคสำหรับสินค้าที่ใส่ใจต่อสิ่งแวดล้อม 2. แนวคิดการตลาดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของต่างประเทศ แนวคิดการตลาดท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนจากต่างประเทศ เป็นแนวคิดที่ผสมผสานกับหลักการ ตลาดทั่วไป และหลักการพัฒนาที่ยั่งยืนโดยคำนึงถึง 3 เสาหลักของการพัฒนาที่ยั่งยืน คือมิติด้านสังคม มิติด้านสิ่งแวดล้อม และมิติด้านเศรษฐกิจ ให้มีดุลยภาพในการสร้างความเจริญและผลกำไรให้กับธุรกิจ หลักการตลาดที่ได้รับอิทธิพลจากทฤษฎีของต่างประเทศ มีตั้งแต่ส่วนผสมการตลาดดั้งเดิม 4Ps, 8Ps และ ส่วนผสมการตลาดบริการ 7Ps ตลอดจนส่วนผสมการตลาดยุคใหม่ เช่น 4Cs การสื่อสารการตลาดเชิง บูรณาการ (IMC) การจัดการความสัมพันธ์กับลูกค้า (CRM) และการสร้างความผูกพันกับลูกค้า (CEM) เป็นต้น ทั้งนี้ เมื่อกล่าวถึงการตลาดยุคใหม่ หลักการตลาดที่ได้ยินบ่อยครั้งในยุคดิจิทัล คือ Internet Marketing Digital Marketing Social Media Marketing Content Marketing และที่เป็นที่สนใจใน ปัจจุบัน คือ Tiktok Marketing อย่างไรก็ตาม หลักการตลาดที่กล่าวมาข้างต้นเป็นการตลาดที่เน้นด้านการแข่งขันในธุรกิจ โดย เริ่มจากหลักคิดของการผลิตให้สนองต่อความต้องการของลูกค้า และพัฒนาแนวคิดไปถึงการศึกษาความ ต้องการของลูกค้าเพื่อมาพัฒนาสินค้า ตลอดจนการปรับเปลี่ยนการเข้าถึงลูกค้าผ่านการสร้าง ความสัมพันธ์ระยะยาว และความผูกพันทางกิจกรรมทางการตลาด โดยในยุคปัจจุบันได้นำเทคโนโลยี อินเตอร์เน็ต และเทคโนโลยีดิจิทัล จากแพลทฟอร์มต่าง ๆ มาใช้ในการสื่อสารและดึงดูดลูกค้าตาม พฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงของลูกค้าในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล ทั้งนี้ในกลุ่มการตลาดดังกล่าวไม่มีหลักการใดให้ ความสำคัญกับการสร้างดุลยภาพของธุรกิจกับสังคมและสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นแนวคิดหลักของการตลาด อย่างยั่งยืน ดังนั้น กลุ่มนักวิชาการจึงได้ร่วมกันเสนอหลักการการตลาดอย่างยั่งยืน ที่สามารถส่งเสริมผล กำไรให้กับธุรกิจ ในขณะที่ร่วมปกป้องสิ่งแวดล้อม และคุณภาพของสังคมและชุมชนไปด้วยกัน การตลาด อย่างยั่งยืนดังกล่าว เป็นที่รู้จักกันในนาม Triple Bottom Line (TBL) หรือ 3BL ซึ่งประกอบไปด้วย หลักการคิดสามมิติ หรือ Three Ps: คือ สังคม (People) สิ่งแวดล้อม (Planet) และ ความเจริญทาง เศรษฐกิจ (Profit)
177 หลักการคิดของ Three Ps คือ การทำธุรกิจที่หวังผลกำไรในระยะยาว โดยอยู่ร่วมกับสังคมและ สิ่งแวดล้อมได้อย่างสมดุล โดยธุรกิจต้องคำนึงถึงการลดกิจกรรมที่ส่งผลเสียต่อสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศ การส่งเสริมกิจกรรมทางธุรกิจให้เป็นประโยชน์ต่อสังคมและชุมชน ซึ่งจะส่งผลต่อการเจริญเติบโตของ ธุรกิจในระยะยาว และมีแนวปฏิบัติที่ดี ดังนี้ 1. การส่งเสริมความยั่งยืนทางสังคมของธุรกิจ ประกอบด้วย การส่งเสริมผลประโยชน์ร่วมกัน ขององค์กร พนักงาน ลูกค้า และชุมชนท้องถิ่น กิจกรรมเหล่านี้ส่งผลต่อการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีของธุรกิจ ต่อลูกค้า และยังสนับสนุนความร่วมมือของคนในชุมชนท้องถิ่น 2. การส่งเสริมความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อมของธุรกิจ ประกอบด้วย กิจกรรมที่ลดการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติเกินความจำเป็นของธุรกิจ การหลีกเลี่ยงการใช้สารอันตรายที่ไม่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม และการลดกิจกรรมที่ผลิตของเสียต่อลักษณะทางกายภาพในภาวะแวดล้อมของธุรกิจ กิจกรรมเหล่านี้ยังส่งผลโดยตรงต่อการลดต้นทุนในการผลิตของธุรกิจอีกด้วย 3. การส่งเสริมความยั่งยืนทางเศรษฐกิจของธุรกิจ ประกอบด้วย กิจกรรมที่มีการบริหารจัดการ ทางธุรกิจที่มีประสิทธิภาพ เพิ่มผลิตผล และผลกำไรของธุรกิจ ภายใต้ความสมดุลของสังคมและ สิ่งแวดล้อม จะเห็นได้ว่า หลักการการตลาดท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนทั้งทฤษฎีต่างประเทศและในประเทศ มุ่งเน้นไปในทิศทางเดียวกัน คือ การสร้างความสมดุล ระหว่างสังคม สิ่งแวดล้อม และความเจริญทาง เศรษฐกิจของธุรกิจ ซึ่งยึดหลักการพัฒนาที่ยั่งยืน ผ่านกิจกรรมทางธุรกิจ โดยส่งเสริมผลกำไรทั้งสามมิติใน ระยะยาว การนำหลักการตลาดท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนไปปฏิบัติใช้ จะเป็นการทำธุรกิจที่หวังผลกำไรใน ระยะยาวไม่ใช่ในระยะสั้น และคาดหวังการเจริญเติบโตของธุรกิจ สังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อมไปด้วยกัน 3. การวิเคราะห์ทางการตลาดด้วย Business Model Canvas Business Model Canvas ถูกคิดค้นขึ้นโดย ดร.อเล็กซานเดอร์ ออสเทอร์วัลเดอร์ มหา วิทยาลัย โลซานน์ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ผู้เขียนหนังสือชื่อ Business Model Generation ซึ่งใช้เวลา กว่า 9 ปี ในการวิจัยพัฒนาและนำแนวคิดนี้ไปใช้โดยมีชุมชนนักธุรกิจกว่า 470 คนจาก 45 ประเทศทั่ว โลกร่วมเขียนหนังสือเล่มนี้ด้วย จากการตีพิมพ์หนังสือ Business Model Generation ในปี 2010 ทำให้ นักธุรกิจทั้งที่ทำกิจการมานานและเพิ่งเริ่มต้นได้เข้าใจภาพรวมของธุรกิจด้วยกระดาษเพียงแผ่นเดียว และ นำภาพที่เข้าใจไปใช้ในการปรับกลยุทธ์องค์กรให้เติบโตก้าวกระโดดและทำกำไรได้เพิ่มขึ้นมหาศาลทำให้ ปัจจุบันทฤษฎีนี้เป็นที่ยอมรับในองค์กรชั้นนำทั่วโลก หนังสือเล่มดังกล่าวได้รับการแปลเป็นภาษาไทยโดย สำนักพิมพ์ วีเลิร์น ในปี 2014 โดยใช้ชื่อภาษาไทยว่า คู่มือสร้างโมเดลธุรกิจ Business Model Canvas คือ การอธิบายองค์ประกอบของธุรกิจซึ่งมี 9 ส่วน ในแบบที่เรียบ ง่ายบนหน้ากระดาษเพียงแผ่นเดียว เพื่อให้ทุกคนทั้งภายในและภายนอกองค์กรสามารถสื่อถึงสิ่งเดียวกัน ได้อย่างตรงประเด็น เข้าใจง่าย และ นำไปใช้งานได้ทันที นอกจากจะทำให้การสื่อสารชัดเจนแล้ว จุดเด่น ของ BMC คือ ทำให้เจ้าของกิจการและผู้บริหารสามารถเห็นภาพรวมของบริษัทเพื่อจะปรับจุดอ่อนหรือ เสริมจุดแข็งรวมไปถึงการปรับกลยุทธ์ของบริษัทได้ง่ายและรวดเร็ว Business Model Canvas มี องค์ประกอบทั้ง 9 องค์ประกอบ ประกอบด้วย 1. ลูกค้า (Customer Segments CS) ผู้ซื้อสินค้าหรือบริการ 2. คุณค่า (Value Propositions VP) จุดขายของสินค้า หรือ บริการนั้น 3. ช่องทาง (Channels CH) วิธีในการสื่อสารไปถึงลูกค้า 4. ความสัมพันธ์กับลูกค้า (Customer Relationships CR) วิธีในการรักษาลูกค้าเดิม 5. กระแสรายได้ (Revenue Streams RS) รายได้ของธุรกิจนี้
178 6. ทรัพยากรหลัก (Key Resources KR) สิ่งที่ต้องมีในการดำเนินธุรกิจ 7. กิจกรรมหลัก (Key Activities KA) กิจกรรมที่ต้องทำเพื่อให้โมเดลธุรกิจอยู่ได้ 8. พันธมิตรหลัก (Key Partners KP) ส่วนที่เกี่ยวข้องทั้งการช่วยป้อนวัตถุดิบและการช่วย ขาย 9. โครงสร้างต้นทุน (Cost Structure CS) ต้นทุนทั้งหมดของธุรกิจ โครงสร้างของ Business Model Canvas จัดแสดงในภาพที่ 22 ภาพที่ 22 Business Model Canvas ตัวอย่างการวิเคราะห์ทางการตลาดโดยใช้โครงสร้างของ Business Model Canvas ดังแสดง ในกรณีศึกษา ร้านกาแฟเพื่อสังคม
179 4. บทสรุป การตลาดเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนเป็นการตลาดที่เน้นการสร้างความสมดุลย์ให้ธุรกิจสามารถ เติบโตได้อย่างยั่งยืน โดยคำนึงถึงสิ่งแวดล้อม สังคมและความสมดุลย์ของการเติบโตทางเศษฐกิจของธุรกิจ ที่ยังสามารถสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้ การตลาดท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนมี เป้าหมายในภาพรวม 3 ด้านคือ ความอยู่รอดทางเศรษฐกิจ ความเสมอภาคทางสังคม และการปกป้อง สิ่งแวดล้อม ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดการตลาดอย่างยั่งยืนของต่างประเทศ คือ People Planet Profit 5. แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 10 1. ระบุจุดเน้นที่สำคัญของการตลาดท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 2. ให้วิเคราะห์เปรียบเทียบการตลาดดั้งเดิมกับการตลาดท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 3. ให้อธิบายแนวปฏิบัติในการอยู่รอดทางเศรษฐกิจ (Profit) ตามหลักการการตลาดอย่างยั่งยืนมาก ให้เข้าใจ 4. ให้อธิบายแนวปฏิบัติสำหรับความเสมอภาคทางสังคม (People) ตามหลักการการตลาดอย่าง ยั่งยืนมากให้เข้าใจ 5. ให้อธิบายแนวปฏิบัติสำหรับการปกป้องสิ่งแวดล้อม (Planet) ตามหลักการการตลาดอย่างยั่งยืน มากให้เข้าใจ 6. ให้ฝึกวิเคราะห์ทางการตลาดโดยใช้โครงสร้าง Business Model Canvas ที่กำหนดไว้ในเอกสาร คำสอน โดยเลือกกรณีศึกษาที่กลุ่มนักศึกษาสนใจ Key Partners Key Activities Value Propositions Customer Relationships Customer Segments Key Resources Channels Cost Structure Revenue Streams
10
Belz, F. M. (2006). Marketing in the 21st Century. Business Strategy and the Environment, 15(3), 139 144.
Belz, F. M., & Peattie, K. (2009). Sustainability Marketing: A Global Perspective. Chichester: Wiley.
Belz, F. M., & Peattie, K. (2012). Sustainability marketing: A global perspective (2nd ed.) Chichester: John Wiley & Sons
Bowie, D., & Buttle, F. (2011). Hospitality Marketing: Principles and Practice London: Elsevier Butterworth Heinemann.
Dinan, C., & Sargeant, A. (2000). Social marketing and sustainable tourism: Is there a Match? International Journal of Tourism Research, 2(1), 1 14.
Grundey, D. (2008). Managing sustainable tourism in Lithuania: Dream or reality? Technological and Economic Development, 14(2), 118 129.
Jamrozy, U. (2007). Marketing of tourism: A paradigm shift toward sustainability. International Journal of Culture, Tourism and Hospitality Research, 1(2), 117 13
Kotler, P., Bowen, J. T., & Makens, J. C. (2006). Marketing for hospitality and tourism (4th ed.). New Jersey: Pearson Education
Kotler, P., & Keller, K. L. (2006). Marketing management (12th ed.). New Jersey: Pearson Prentice Hall.
Kotler, P., & Zaltman, G. (1971). Social marketing: An approach to planned social change Journal of Marketing, 35(3), 3 12
Kumar, V., & Rajan, B. (2012). Social Coupons as a Marketing Strategy: A Multifaceted Perspective Journal of the Academy of Marketing Science, 40 (1) (2012
Kumar, V., Rahman, Z., Kazmi, A. A., & Goyal, P. (2012). Evolution of sustainability as marketing strategy: Beginning of new era. Procedia Social and Behavioral Sciences, 37, 482 489. Retrieved June 10, 2015, from http://www. esearchgate.net/publication/230269226_Factors_affecting_ corporate_environmental_strategy_in_Spanish_industrial_firms
180 เอกสารอ้างอิง บทที่
181 บทที่ 11 อนาคตของแผนและนโยบายเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน เนื่องจากอุตสาหกรรมเป็นอุตสาหกรรมที่มีความอ่อนไหวมากจากทั้งปัจจัยภายในและภายนอก อนาคตของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวจึงเกี่ยวข้องกับการเตรียมพร้อมกับการเปลี่ยนแปลง การ เจริญเติบโตและความก้าวหน้าที่ไม่หยุดยั้ง นโยบายและแผนการท่องเที่ยวจึงจำเป็นอย่างยิ่งในการจัดการ การท่องเที่ยวให้ยั่งยืนมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของสังคมและชุมชน ตลอดจนความสมดุลระหว่าง สิ่งแวดล้อมในฐานะทรัพยากรการท่องเที่ยวและความเจริญทางเศรษฐกิจ โดยการจัดทำนโยบายและ แผนพัฒนาการท่องเที่ยวเพื่อให้เกิดความยั่งยืนจะเป็นกุญแจสำคัญในการบริหารจัดการการท่องเที่ยวสู่ สังคมที่ยั่งยืนได้ เนื่องจากการท่องเที่ยวที่ได้เรียนรู้ในอดีตและประสบการณ์ในปัจจุบันจะแตกต่างจากการ ท่องเที่ยวที่จะเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ในอนาคต บทที่ 11 นี้มุ่งอธิบายแนวทางในการ เตรียมการกับการเปลี่ยนแปลงที่มีแนวโน้มเกิดขึ้นในอนาคต 10 ประการที่นักวางแผนการท่องเที่ยวควร ตระหนักรู้และให้ความสำคัญ รวมอธิบายนโยบายและแผนพัฒนาการท่องเที่ยวของชาติในปี พ.ศ. 2564 และ พ.ศ. 2565 เพื่อเสริมความรู้ความเข้าใจในการกำหนดนโยบายและแผนพัฒนาการท่องเที่ยวให้มี ประสิทธิภาพ มีพลวัตร และนำไปสู่เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนได้ 1. แนวโน้มอนาคตด้านนโยบายและแผนการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน การเปลี่ยนแปลงสำคัญในอนาคตเพื่อการเตรียมการสำหรับการกำหนดนโยบายและวาง
10 ประการดังนี้ 1.1 การวางแผนเพื่อความปลอดภัยและระบบรักษาความปลอดภัยทางการท่องเที่ยว ความปลอดภัยและระบบรักษาความปลอดภัยทางการท่องเที่ยว (Safety and Security in Tourism) จัดเป็นประเด็นสำคัญทางการท่องเที่ยวที่อยู่ในความสนใจและความกังวลของทั้ง นักท่องเที่ยว ภาครัฐและภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง ความปลอดภัยและระบบรักษาความปลอดภัยทางการ ท่องเที่ยวในประเด็นนี้หมายถึงความปลอดภัยในทางกายภาพของนักท่องเที่ยวที่สัมพันธ์กับสุขภาวะกาย และสุขภาวะจิตของนักท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยว โดยความปลอดภัยทางสุขอนามัยจะจัดอยู่ในอีก ประเด็นซึ่งจะมีการอธิบายในประเด็นหลัง ในที่นี้ความปลอดภัยและระบบรักษาความปลอดภัยทางการ ท่องเที่ยวหมายถึงความปลอดภัยทางด้านอาชญกรรม อุบัติเหตุ การก่อการร้าย และสงครามที่ส่งผลต่อสุข ภาวะกายและสุขภาวะจิตของนักท่องเที่ยวโดยตรง อีกทั้งยังส่งผลเสียกับแหล่งท่องเที่ยวในระยะยาว โดยทั่วไป แหล่งท่องเที่ยวที่สงบและปลอดภัย ปราศจากปัญหาด้านอาชญกรรม อุบัติเหตุ การก่อการร้ายและสงคราม จะได้รับความนิยมในการท่องเที่ยวเนื่องจากสามารถสร้างความมั่นใจทางการ ท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยว ตลาดการท่องเที่ยวในภาคธุรกิจ และการคุ้มครองความปลอดภัยเชิงนโยบาย ของภาครัฐอีกด้วย กล่าวคือ หากแหล่งท่องเที่ยวนั้น ๆ มีความปลอดภัยสูง หมายถึงมีสถิติความน่าเชื่อถือ ด้านความปลอดภัยโดยคำนวนจากสถิติด้านอาชญกรรม อุบัติเหตุ การก่อการร้ายและสงครามน้อย สิ่งที่ ต้องระวังอย่างมากของแหล่งท่องเที่ยวคือการจัดให้มีมาตรการที่พร้อมสำหรับความเสี่ยงด้านอาชญกรรม และอุบัติเหตุ ตลอดจนมาตรการภายในแหล่งท่องเที่ยวที่สามารถควบคุมความเสี่ยงด้านความวุ่นวายทาง การเมืองภายในแหล่งท่องเที่ยวที่อาจนำไปสู่การก่อการร้ายและสงครามได้ ในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว หากแหล่งท่องเที่ยวมีความปลอดภัยน้อย จะมีความต้องการทางตลาดการท่องเที่ยวน้อยเช่นกัน ยกตัวอย่างเช่น ประเทศที่มีประวัติด้านอาชญกรรมสูง เช่น การทำร้ายร่างกายนักท่องเที่ยว การจี้ ปล้น
แผนการท่องเที่ยวเพื่อความยั่งยืนสามารถสรุปจากแนวโน้มในปัจจุบันได้
182 ลักพาตัวและฆาตกรรมจะมีการประกาศคำเตือนทางการท่องเที่ยว (Travel Warning) ซึ่งส่งผลต่อความ ช่วยเหลือของภาครัฐ และการระงับการให้ประกันทางการท่องเที่ยว ซึ่งโดยปกติแล้ว การประกาศคำเตือน ทางการท่องเที่ยวมี 5 ระดับและสถานฑูตของแต่ละประเทศจะดำเนินการแจ้งเตือนและประกาศเป็นลาย ลักษณ์อักษรสำหรับนักท่องเที่ยวก่อนตัดสินใจในการเดินทางท่องเที่ยวหรือซื้อรายการนำเที่ยว ยกตัวอย่างเช่น ในปี 2016 พบว่ามีการจัดทำสถิติด้านการก่อการร้ายในประเทศต่าง ๆ และพบว่า ประเทศที่มีการก่อการร้ายต่อกลุ่มนักท่องเที่ยวมีจำนวนมากถึง 264 แหล่งท่องเที่ยว ใน 42 ประเทศ แหล่งท่องเที่ยวดังกล่าวจะไม่ได้รับการสนับสนุนทั้งจากภาครัฐและเอกชนในการเดินทางท่องเที่ยวและมี การประกาศคำเตือนทางการท่องเที่ยวชัดเจน ยกตัวอย่างเช่น ประเทศเมกซิโกกับสถิติการชิงทรัพย์และ ลักพาตัวนักท่องเที่ยว ประเทศลิเบียกับความวุ่นวายทางการเมือง และประเทศอัฟกานิสถานกับสงครามที่ ยืดเยื้อ เป็นต้น ในทิศทางเดียวกัน ประเทศหรือแหล่งท่องเที่ยวที่มีสถิติด้านอาชญกรรมและอุบัติเหตุ จำนวนมากจะได้รับความนิยมน้อยเช่นเดียวกัน เนื่องจากส่งผลต่อชื่อเสียงของแหล่งท่องเที่ยวและความ มั่นใจในการท่องเที่ยว ส่งผลให้นักท่องเที่ยวเลือกเดินทางไปประเทศหรือแหล่งท่องเที่ยวอื่นแทน ความ เสี่ยงทางอุบัติเหตุด้านการท่องเที่ยวที่นักวางแผนการท่องเที่ยวควรตระหนักและวางมาตรการป้องกันให้ เหมาะสม ประกอบด้วย (1) อุบัติเหตุ ซึ่งเป็นความเสี่ยงหรือภัยอันตรายที่สำคัญที่สุด และพบได้บ่อยที่สุดใน นักท่องเที่ยว ไม่ว่าจะเป็นอุบัติเหตุจากการจราจร หรืออุบัติเหตุที่เกิดขึ้นระหว่างการท่องเที่ยว ตัวอย่างที่ เห็นได้ชัด คือ ช่วงเทศกาลการท่องเที่ยวจะมีการเดินทางกันเป็นจำนวนมากจึงต้องระวังอุบัติเหตุด้วย โดยเฉพาะการเมาเหล้าแล้วขับรถที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุง่ายมาก และเป็นสาเหตุการตายอันดับต้น ๆ นอกจากนี้ ยังรวมถึงอุบัติเหตุในการทำกิจกรรมทางการท่องเที่ยวต่าง ๆ เช่นการปีนเขา ล่องแก่ง เที่ยว ทะเล ดำน้ำ เป้นต้น ดังนั้นจึงควรมีแนวปฏิบัติ คำแนะนำอย่างเคร่งครัด ตลอดจนอุปกรณ์เครื่องมือใน สภาพที่ปลอดภัยและไม่เสี่ยงอันตรายเกินไป (2) อาชญกรรม ควรมีมาตรการที่ต้องระวังการหลอกลวง การโจรกรรม ตลอดจนการทำ ร้ายร่างกายต่อนักท่องเที่ยว (3) อันตรายจากสิ่งแวดล้อม สภาพอากาศ และสัตว์ต่าง ๆ กล่าวคือแนวปฏิบัติที่ดีสำหรับ การในประเทศเมืองหนาวหรือเมืองร้อน รวมถึง อันตรายจากสัตว์มีพิษ เช่น งู ตะขาบ แมงป่อง แมงกะพรุน ฯลฯ หรือสัตว์ไม่มีพิษ เช่น หมี ช้าง สิงโตเช่นกัน โดยเฉพาการไปเที่ยวในบางพื้นที่หรือบาง ประเทศ ดังนั้น จึงควรเตรียมข้อมูลก่อนการเดินทาง และปฏิบัติตามคำแนะนำเพื่อลดความเสี่ยงต่อการ เกิดอันตราย (4) ภาวะเครียดและสุขภาพจิตไม่ดีที่อาจเกิดขึ้นได้ระหว่างการเดินทาง เนื่องจากเดินทาง ในที่ที่ไม่คุ้นเคยย่อมเกิดปัญหาอุปสรรคได้เสมอ ดังนั้นจึงควรมีมาตรการจัดการกับความเสี่ยงเหล่านี้ทั้ง ก่อนและหลังการท่องเที่ยว สิ่งที่นักวางแผนทางการท่องเที่ยวควรดำเนินการอาจประกอบด้วยการกำหนดมาตรการ และแนวปฏิบัติต่าง ๆ ดังนี้ (1) จัดให้มีมาตรการความปลอดภัยและระบบรักษาความปลอดภัยทางการท่องเที่ยวของ ประเทศและแหล่งท่องเที่ยวที่มีความเฉพาะ เช่น แหล่งท่องเที่ยวทางทะเล แหล่งท่องเที่ยวพื้นที่สูง และ แหล่งท่องเที่ยวที่มีกิจกรรมความเสี่ยง เช่น กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงผจญภัย และเชิงกีฬา เป็นต้น (2) จัดให้มีระบบรักษาความปลอดภัยทางการท่องเที่ยว เช่น ระบบแจ้งเตือน ระบบสื่อสารความปลอดภัยนักท่องเที่ยวโดยเฉพาะ เช่น สายด่วนการท่องเที่ยวของตำรวจท่องเที่ยว
183 ระบบ CCTV และระบบ Command Center สำหรับการท่องเที่ยว เช่น สายด่วนการท่องเที่ยวแห่ง ประเทศไทย เป็นต้น (3) จัดให้มีการศึกษาเรื่องความปลอดภัยและระบบรักษาความปลอดภัยประจำไตรมาส ครึ่งปี หรือรายปี (4) จัดให้มีระบบเครือข่ายความปลอดภัยและระบบรักษาความปลอดภัยของท้องถิ่นโดย ความร่วมมือของชุมชนท้องถิ่น เช่น กลยุทธ์อาสาสมัครตำรวจท่องเที่ยวท้องถิ่น และ ทูตทางการท่องเที่ยว เป็นต้น (5) จัดให้มีระบบสื่อสารความปลอดภัยทางการท่องเที่ยวหลักเพื่อการให้ข้อมูลที่ถูกต้อง และป้องกันข่าวปลอมที่อาจเกิดขึ้นจากสื่อต่าง ๆ (6) จัดให้มีการศึกษาวิจัยองค์รวมด้านความปลอดภัยในทุกองค์ประกอบของการ ท่องเที่ยว เช่น ความปลอดภัยทางการเดินทางบกและทางทะเล ความปลอดภัยด้านที่พักแรม ความ ปลอดภัยด้านการบริโภคอาหาร และความปลอดภัยด้านสาธารณูปโภคอื่นที่อยู่ในวงจรการท่องเที่ยว เป็น ต้น (7) จัดให้มีศูนย์บริการความปลอดภัยทางการท่องเที่ยวที่นักท่องเที่ยวสามารถเข้าถึงได้ ง่ายทั้งในระดับประเทศ และในระดับท้องถิ่น 1.2 การวางแผนเพื่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจโลก ผลกระทบเศรษฐกิจโลกต่อการท่องเที่ยวส่งผลต่อทั้งประเทศที่เป็นผู้ให้บริการทางการ ท่องเที่ยวหรือแหล่งท่องเที่ยวและประเทศที่เป็นผู้ผลิตนักท่องเที่ยว เนื่องจากมีผลต่อศักยภาพในการ ท่องเที่ยวและความสามารถในการใช้จ่ายด้านการท่องเที่ยว ผลกระทบทางเศรษฐกิจโลกส่งผลต่อทั้งการ ท่องเที่ยวระหว่างประเทศและการท่องเที่ยวภายในประเทศ นักวางแผนการท่องเที่ยวต้องติดตามการ เคลื่อนไหวของเศรษฐกิจโลกและกำหนดมาตรการรองรับต่าง ๆ ที่เกิดจากผลกระทบทางเศรษฐกิจได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวได้ถูกกำหนดเป็นเครื่องมือในการพัฒนาทางเศรษฐกิจของ ประเทศและท้องถิ่นจากภาครัฐ นักวางแผนจึงจำเป็นต้องติดตามความเคลื่อนไหวทางเศรษฐกิจโลก เพื่อ วางแผนบริหารจัดการการท่องเที่ยวให้สอดคล้องกับศักยภาพตลาดโลกในช่วงระยะเวลานั้น ๆ ตัวอย่าง แผนและมาตรการทางเศรษฐกิจที่ชะลอตัวของโลก เช่น 1. การแก้ปัญหากระจุกตัวในเชิงสัญชาติ (Country of Residence) ของนักท่องเที่ยวต่างชาติและในเชิงแหล่งท่องเที่ยว 2.ข้อจำกัดด้านขีด ความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยวทั้งโครงสร้างพื้นฐานและแหล่งท่องเที่ยว และ
การเติบโตของรายได้จากภาคท่องเที่ยวที่พึ่งพาจากจำนวนนักท่องเที่ยวมากกว่าด้านราคา เป็นต้น 1.3 การวางแผนเพื่อการจัดการการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน จากข้อมูลในบทต่าง ๆ จะพบว่า การจัดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนคือแนวทางหลักที่สำคัญ ของโลกการท่องเที่ยวที่สามารถตอบสนองความต้องการของนักท่องเที่ยวและผู้เป็นเจ้าของท้องถิ่นใน ปัจจุบัน โดยมีการปกป้องและสงวนรักษาโอกาสต่าง ๆ ของอนุชนรุ่งหลัง เป็นการจัดการทรัพยากรเพื่อ ตอบสนองความจำเป็นทางเศรษฐกิจ สังคมและความงามทางสุนทรียภาพโดยที่สามารถรักษาเอกลักษณ์ ทางวัฒนธรรมและระบบนิเวศได้ ดังนั้นนักวางแผนการท่องเที่ยวต้องกำหนดนโยบายและแผนการ ท่องเที่ยวที่มุ่งสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนเพื่อรักษาความดุลยภาพ และก่อให้เกิดการบูรณการในเสาหลักสำคัญ ของการท่องเที่ยวยั่งยืนคือ มิติด้านสังคม มิติด้านสิ่งแวดล้อม และมิติด้านเศรษฐกิจ เพื่อให้เกิดการพัฒนา ที่ยั่งยืน (Sustainable Development) บนหลักการ 1) ความยั่งยืนทางเศรษฐกิจ ที่คำนึงถึงการบริหาร จัดการ การสร้างอาชีพและการรองรับนักท่องเที่ยว การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 2) ความยั่งยืนทางด้าน สังคม ที่คำนึงถึงการคงไว้ซึ่งเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมดั้งเดิมของท้องถิ่น และ3) ความยั่งยืนทาง
3. การแก้ปัญหา
184 สิ่งแวดล้อม ที่คำนึงถึงผลกระทบจากการกระทำของนักท่องเที่ยวซึ่งมีจำนวนมากและอาจนำมาซึ่งปริมาณ ของเสียที่เป็นมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม 1.4 การวางแผนเพื่อการพัฒนาแผนยุทธศาสตร์และแผนแม่บทด้านการท่องเที่ยวเฉพาะ การตระหนักถึงความสำคัญของการท่องเที่ยวในฐานะกลไกหลักในการช่วยขับเคลื่อน เศรษฐกิจของประเทศเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่งต่อประเทศที่ใช้การท่องเที่ยวเป็นเครื่องมือในการพัฒนาทาง เศรษฐกิจ กรณีศึกษาของประเทศไทยแสดงให้เห็นว่าแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวที่ผ่านมาของไทย สามารถเพิ่มขีดความสามารถของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวของไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ อย่างไรก็ดี อุตสาหกรรมท่องเที่ยวนั้นมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาตามสภาวการณ์โลกและพฤติกรรมของผู้บริโภค อุตสาหกรรมท่องเที่ยวของไทยจึงต้องมีการปรับตัวตามกระแสโลกที่เปลี่ยนแปลงไป และวางแผนการ พัฒนาให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด เพื่อรักษาและพัฒนาขีดความสามารถด้านการท่องเที่ยว ของประเทศ ดังนั้น การมีแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติประเด็นการท่องเที่ยวที่ให้ความสำคัญกับการ รักษาการเป็นจุดหมายปลายทางของการท่องเที่ยวระดับโลกจึงเป็นเรื่องจำเป็นอย่างยิ่ง โดยจะต้อง พัฒนาการท่องเที่ยวทั้งระบบ มุ่งเน้นนักท่องเที่ยวกลุ่มคุณภาพ สร้างความหลากหลายด้านการท่องเที่ยว ให้สอดคล้องกับความต้องการของนักท่องเที่ยว และมุ่งเน้นการพัฒนาการท่องเที่ยวในสาขาที่มีศักยภาพ แต่ยังคงรักษาจุดเด่นของประเทศ ด้านขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม อัตลักษณ์ความเป็นไทย ตลอดจนให้คุณค่ากับสิ่งแวดล้อมไว้ได้ ทั้งนี้ สิ่งสำคัญที่สุดคือการสร้างความเชื่อมั่นในเรื่องความปลอดภัย ให้แก่นักท่องเที่ยว การบังคับใช้กฎหมายให้เกิดความปลอดภัย และไม่ให้นักท่องเที่ยวถูกเอารัดเอาเปรียบ แล้วจึงกระจายการท่องเที่ยวทั้งในมิติของพื้นที่ และรายได้สู่ชุมชน ตลอดจนการให้ความสำคัญกับการ พัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายสูงสุดของการท่องเที่ยวในการเป็นเครื่องมือในการลด ความเหลื่อมล้ำของสังคมไทย ซึ่งควรมีมาตรการและแผนปฏิบัติการต่าง ๆ ตลอดจน กำหนดกลยุทธ์ แผนงาน ตัวชี้วัด ค่าเกณฑ์วัดในแผนแม่บทด้านการท่องเที่ยวดังกล่าวให้ชัดเจนเพื่อให้ผู้ปฏิบัติในระดับ ภูมิภาค และระดับท้องถิ่นสามารถปฏิบัติได้และดำเนินการไปในทิศทางเดียวกันเพื่อบรรลุวิสัยทัศน์ของ แผนยุทธศาสตร์ด้านการท่องเที่ยวของชาติได้ตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ 1.5 การวางแผนเพื่อการตลาดดิจิทัลทางการท่องเที่ยว การท่องเที่ยวในยุคปัจจุบันจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องพัฒนากลยุทธ์การตลาดดิจิทัลเพื่อการ ท่องเที่ยว เนื่องจากนักท่องเที่ยวในยุคปัจจุบันเข้าถึงระบบอินเทอร์เน็ตมากกว่าในอดีต มีสถิติการจองการ ท่องเที่ยวผ่านแพลตฟอร์มต่าง ๆ มากกว่าร้อยละ 50 เมื่อเปรียบเทียบจากปี 2016 และ 2017 ดังนั้นนัก วางแผนการท่องเที่ยวต้องเข้าใจพฤติกรรมนักท่องเที่ยวในยุคดิจิทัล โดยวางแผนการตลาดท่องเที่ยวดิจิทัล ให้ชัดเจน เช่น การกำหนดกลุ่มเป้าหมาย การเข้าใจนิสัยและพฤติกรรมในการใช้ดิจิทัลของกลุ่มเป้าหมาย เพื่อปรับเนื้อหาที่มีให้เข้ากับการใช้งานเหล่านั้น การทำ Content Marketing โดยมุ่งสร้างคอนเทนต์ที่มี คุณค่า ที่กระตุ้นความสนใจให้สินค้าหรือบริการการท่องเที่ยว การใช้ประโยชน์จาก SEO เพื่อเพิ่มการ เข้าถึงให้มากขึ้น รวมถึงการพัฒนาการโฆษณากับแพลตฟอร์มต่าง ๆ เช่น Google, Youtube, Facebook และ Instagram เป็นต้น ซึ่งเป็นโซลูชันในการเข้าถึงผู้บริโภคอย่างรวดเร็ว รวมถึงการเพิ่ม ปริมาณในการเข้าชมที่มีคุณภาพสูง ข้อดีของการตลาดดิจิทัลที่นักวางแผนการท่องเที่ยวควรตระหนัก คือ ความสามารถในการลดต้นทุน เข้าถึงตลาดผู้บริโภคได้ทั่วโลก การสามารถในการกระจายข้อมูลข่าวสารได้ ง่ายและรวดเร็ว ความสามารถในการมองเห็น การเพิ่มการตอบสนองของนักท่องเที่ยวผ่านระบบดิจิทัล ความสามารถในการสร้างชุมชนดิจิทัลของแหล่งท่องเที่ยว รวมถึงความสามารถในการเพิ่มช่องทางรายได้ ทางการท่องเที่ยว
185 1.6 การวางแผนด้านการศึกษาและฝึกอบรมทางการท่องเที่ยว การพัฒนาบุคลากรด้านการท่องเที่ยวเป็นแนวทางในการเพิ่มพูนความรู้ ทักษะ และปรับ ทัศนคติ ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคลากรนําไปสู่การเพิ่มผลิตภาพขององค์กร นัก วางแผนทางการท่องเที่ยวควรตระหนักถึงความสำคัญในการพัฒนาความรู้ ความสามารถในการปฏิบัติงาน ให้แก่บุคลากร เพราะบุคลากรจัดเป็นนหัวใจสำคัญขององค์กรที่จะนำไปองค์กรไปสู่ความสำเร็จหรือ ล้มเหลวได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความรู้ ความสามารถ ทักษะ ทัศนคติและพฤติกรรมของบุคลากร รวมถึง สภาพแวดล้อมทางการท่องเที่ยวที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา บุคลากรจึงจำเป็นต้องพัฒนาตนเองให้ สอดรับกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นนั่นเอง การวางแผนด้านการศึกษาและฝึกอบรมทางการท่องเที่ยว อาจประกอบไปด้วย การวางแผนความร่วมมือในการศึกษาและฝึกอบรมระหว่างหน่วยงาน การวาง แผนพัฒนาบุคลากรและอัตรากำลังคน รวมถึงการวางแผนฝึกอบรมประเด็นต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับการ เปลี่ยนแปลงของโลกการท่องเที่ยวในยุคปัจจุบัน 1.7 การวางแผนเพื่อการกลุ่มการตลาดท่องเที่ยวใหม่ การขยายฐานการตลาดท่องเที่ยวใหม่คือการลดความเสี่ยงการยึดติกับกลุ่มตลาดเดิมที่อาจ มีการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรมและค่านิยม ตลอดจน อาจเป็นกลุ่มที่ได้รับผลกระทบที่ส่งผลต่อศักยภาพ ในการใช้จ่ายทางการท่องเที่ยวของกลุ่มตลาดเดิม เช่น กรณีศึกษาของกลุ่มการตลาดใหม่ BRICS ในช่วงปี พ.ศ. 2550 2560 โดยกลุ่มการตลาด BRICS เป็นอักษรย่อใช้เรียกกลุ่มประเทศกําลังพัฒนาที่มีการพัฒนา และการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว ประกอบด้วยประเทศ บราซิล (Brazil) รัสเซีย
(
จีน (
และ ประเทศแอฟริกาใต้ (
ที่ถูกบัญญัติขึ้นโดย นาย Jim
หัวหน้าทีมวิจัยเศรษฐกิจโลกจาก Goldman Sachs ซึ่งคําว่า BRICS ใช้เป็นสัญลักษณ์แสดงถึงการย้าย อำนาจเศรษฐกิจโลกจากกลุ่มประเทศพัฒนาแล้วอย่าง G7 มาสู่กลุ่มประเทศกําลังพัฒนา โดยที่ประเทศทั้ง ห้าที่กล่าวมามีพื้นที่ร่วมกันมากว่าหนึ่งในสี่ของและมีจำนวนประชากรรวมกันมากกว่าร้อยละ 40 ของ ประชากรโลกแม้ว่ากลุ่ม BRICS ไม่ได้มีแนวทางที่ชัดเจนในการรวมกลุ่มกันเองเพื่อเป็นกลุ่มเศรษฐกิจหรือ สมาคมการค้าอย่างเป็นทางการ แต่มีข้อบ่งชี้ว่ากลุ่ม BRICS พยายามที่จะสร้างสมาคมหรือพันธมิตรทาง การเมือง รวมถึงเปลี่ยนอำนาจทางเศรษฐกิจที่กําลังเติบโตให้เป็นอำนาจการเมืองระดับภูมิภาคในช่วงเวลา นั้น กลุ่ม BRICS จึงมีบทบาทในเวทีระหว่างประเทศเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะด้านเศรษฐกิจและการเงิน ระหว่างประเทศ ส่งผลให้กลุ่ม BRICS กลายเป็นขั้วอำนาจใหม่ของเศรษฐกิจโลก (A New Polar of World Economy) ขึ้นมาท้าทายและถ่วงดุลอำนาจของสหรัฐฯและกลุ่มอำนาจเศรษฐกิจดั้งเดิมใน สหภาพยุโรปที่ได้ประสบปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำในช่วงเวลาดังกล่าวและยังประสบปัญหาทางเศรษฐกิจ ต่อเนื่องมายังปัจจุบัน ดังนั้น นักวางแผนการท่องเที่ยวต้องติดตามสถานการณ์กลุ่มการตลาดใหม่เหล่านี้ อย่างต่อเนื่อง ปรับแผนรองรับการเติบโตทางเศรษฐกิจของประชากรในกลุ่มตลาดใหม่ดังกล่าวด้วย 1.8 การวางแผนเพื่อการจัดการสินค้าและบริการที่เน้นคุณภาพและประสบการณ์ทางการ ท่องเที่ยว นักท่องเที่ยวมีความต้องการที่หลากหลายในปัจจุบัน โดยเน้นคุณภาพและประสบการณ์ ทางการท่องเที่ยวที่มีคุณค่าและประสบการณ์การท่องเที่ยวใหม่ Song et al., (2015) ได้ให้ความหมาย ของประสบการณ์ของนักท่องเที่ยว (Tourist Experience) ที่หมายถึง ประสบการณ์ทางการท่องเที่ยวที่ นำไปสู่ความต้องการความคาดหวังจากการเยี่ยมชมสถานที่ท่องเที่ยวหรือแหล่งท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยว ที่มีประสบการณ์ทางการท่องเที่ยวที่น่าจดจำ ประทับใจ ทำให้เกิดมีความพึงพอใจที่จะกลับมาเยี่ยมชมซ้ำ อีกครั้งและส่งผลต่อความตั้งใจในการทบทวนสถานที่ท่องเที่ยวหรือแหล่งท่องเที่ยวและมีการบอกต่อหรือ การแนะนำโดยการแชร์ข้อมูลทางด้านการท่องเที่ยวผ่านข้อความ รูปภาพ และวีดีโอให้กับนักท่องเที่ยว รายอื่น ๆ ด้วยความเต็มใจ ดังนั้น นักวางแผนการท่องเที่ยวต้องกำหนดกลยุทธ์ด้านสินค้าและบริการ
(Russia) อินเดีย
India)
China)
South Africa)
O’Neil
186 ทางการท่องเที่ยวในด้านการสร้างคุณค่า คุณภาพ และประสบการณ์ทางการท่องเที่ยวที่แตกต่าง โดย แหล่งท่องเที่ยวที่ให้ความสุขสบายทางร่างกายและจิตใจ ได้ทำกิจกรรมที่ให้ประสบการณ์ใหม่ ๆ ที่ หลากหลาย จะได้เปรียบในเชิงศักยภาพทางการแข่งขันทางการท่องเที่ยว อีกทั้งการพัฒนาด้านคุณค่า คุณภาพ และประสบการณ์ใหม่ของแหล่งท่องเที่ยวจะดึงดูดนักท่องเที่ยวที่มีศักยภาพสูง โดยเฉพาะกับ แหล่งท่องเที่ยวที่มีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะที่โดดเด่น และมีความแปลกใหม่ เหมาะสมกับความเป็น ตัวตนของนักท่องเที่ยวยุคปัจจุบันและมีผลต่อการตัดสินใจทางการท่องเที่ยวนั่นเอง 1.9 การวางแผนเพื่อการสร้างพันธมิตรทางการท่องเที่ยว การท่องเที่ยวไม่สามารถจัดการได้ด้วยบุคลหรือองค์กรใดองค์กรเดียว การจัดการการ ท่องเที่ยวอาศัยการบริหารจัดการแบบบูรณาการเนื่องจากการท่องเที่ยวมีความเชื่อมโยงในหลากหลาย ภาคี มิติ และระดับ การวางแผนเพื่อสร้างพันธมิตรทางการท่องเที่ยวจึงเป็นเรื่องที่สำคัญสำหรับนักวาง แผนการท่องเที่ยว เนื่องจากการดำเนินธุรกิจการท่องเที่ยวในปัจจุบัน ต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงที่ เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วและความรุนแรงทางการแข่งขันที่เพิ่มสูงขึ้น องค์กรที่ต้องการประสบความสำเร็จจึง ต้องมองหากลยุทธ์ที่เหมาะสมกับองค์กรทั้งในแง่การเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินงานและการลดต้นทุน กลยุทธ์พันธมิตรทางธุรกิจเป็นหนึ่งในกลยุทธ์ที่มีความสำคัญในการดำเนินธุรกิจทางการท่องเที่ยวเพราะ สามารถสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันจากการร่วมมือกันของคู่พันธมิตรเพื่อช่วยกันเสริมสร้างความ แข็งแกร่งและขยายโอกาสทางธุรกิจทางการท่องเที่ยวได้นั่นเอง 1.10 การวางแผนการท่องเที่ยวเพื่อจัดการผลกระทบด้านสุขภาพ ภัยธรรมชาติ และภาวะ โลกร้อน สถานการณ์โลกในปัจจุบันต้องคำนึงถึงผลกระทบหลักของโลก
ข้อควรคำนึงทางการ วางแผนการท่องเที่ยวมีดังนี้ (1) การวางแผนการท่องเที่ยวเพื่อจัดการผลกระทบด้านสุขภาพ โดยปกติ นักท่องเที่ยวมีความหวาดกลัวต่อโรคภัยไข้เจ็บที่อาจเกิดขึ้นในระหว่างเดินทาง ท่องเที่ยว นักท่องเที่ยวจึงมีความระมัดระวังสูงในการเลือกแหล่งท่องเที่ยวที่มีความเสี่ยงต่อโรคติดต่อต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้ กรณีศึกษาในประเทศไทยที่เคยเกิดขึ้นจากโรคติดต่อต่าง ๆ จากการท่องเที่ยว เช่น โรค ซาร์ส โรคไข้หวัดนก โรคไข้หวัดใหญ่ หรือแม้แต่การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด 19 ตั้งแต่ปลายปี พ.ศ. 2562 เป็นต้น นักวางแผนการท่องเที่ยวต้องกำหนดแผนกลยุทธ์ในการป้องกันการแพร่ระบาดของ โรคติดต่อต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในสังคมโลกเนื่องจากมีผลต่อประชากรในประเทศ และประชากรนักท่องเที่ยว ของโลก มาตรการที่ควรกำหนดไว้ ประกอบด้วย การจำกัดการเดินทางแนวทางการป้องกันโรคระบาด แนวทางการปฏิบัติของผู้ให้บริการทางการท่องเที่ยวรวมถึงแนวทางรักษาผู้ป่วย มาตรการด้านความ สะอาดและความปลอดภัย การปรับตัวตามเทรนด์การท่องเที่ยวยุคใหม่หรือยุคสภาวะไม่ปกติ การปรับ โมเดลและแผนการตลาด และแนวทางการเยียวยาธุรกิจท่องเที่ยว เป็นต้น (2) การวางแผนการท่องเที่ยวเพื่อจัดการผลกระทบด้านภัยธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมเป็นเรื่องสำคัญของโลก และเป็นฐานหลักของทรัพยากรการท่องเที่ยวการ เปลี่ยนแปลงทางสิ่งแวดล้อมของโลกอาจก่อให้เกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติที่ส่งผลกระทบเสียหายขั้นสูงต่อ แหล่งท่องเที่ยวและความปลอดภัยทางชีวิตและทรัพย์สินของนักท่องเที่ยว นักวางแผนการท่องเที่ยวต้อง เข้าใจปรากฏการณ์ธรรมชาติกับภัยพิบัติ เพื่อออกแบบและวางแผนการรับมือกับภัยพิบัติได้ ตั้งแต่ขั้นการ เตรียมตัว การรับมือ และการฟื้นฟู ก่อน ระหว่าง หลังภัยพิบัติทางธรรมชาติ แม้ว่าภัยพิบัติทางธรรมชาติ เป็นเรื่องที่ไม่แน่นอนก็ตาม แต่การมีแผนจัดการความเสี่ยงในขั้นต่าง ๆ ที่ได้กล่าวไว้จะช่วยส่งผลต่อความ เสียหายทั้งชีวิตและทรัพย์สินน้อยลงได้
3 ด้านด้านสุขภาพ ภัย ธรรมชาติ และภาวะโลกร้อนที่ส่งผลกระทบขนาดใหญ่ต่อโลกและแหล่งท่องเที่ยว
พ.ศ. 2564 วงเงิน 4,854.5 ล้านบาท ซึ่งการทำงาน ท่ามกลางความผันผวนจากวิกฤติโควิด 19 ในปี พ.ศ. 2564 โดย ททท.คาดว่าใน พ.ศ. 2564 จะสร้าง รายได้จากการท่องเที่ยวได้ 8.14 แสนล้านบาท โดยเป็นรายได้จากนักท่องเที่ยวไทย
187 (3) การวางแผนการท่องเที่ยวเพื่อจัดการผลกระทบด้านภาวะโลกร้อน ผลพวงจากภาวะโลกร้อนทำให้หลายประเทศทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทยต้องเผชิญกับ สภาพอากาศที่แปรปรวน ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่ทวีคูณความรุนแรงขึ้นอย่างเห็นได้ชัด ดังนั้น นัก วางแผนการท่องเที่ยวต้องให้ความสำคัญต่อปกป้องสิ่งแวดล้อมให้ยั่งยืนมากขึ้น ควรมีการส่งเสริมและ สนับสนุนการท่องเที่ยวทั้งจากชุมชนท้องถิ่นในการอยู่ร่วมกับสิ่งแวดล้อม และวิถีนักท่องเที่ยวและกิจกรรม การท่องเที่ยวที่ร่วมกันรักษาสิ่งแวดล้อมควบคู่ไปกับการท่องเที่ยวได้ นักวางแผนการท่องเที่ยวต้องกำหนด มาตรการที่ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนการใช้ทรัพยากรธรรมชาติเพื่อการท่องเที่ยวที่มากเกินไป สร้างความ ตระหนักในการอนุรักษ์และปกป้องทรัพยากรธรรมชาติทางการท่องเที่ยว สร้างความร่วมมือในการอนุรักษ์ สร้างความร่วมมือในระหว่างภาคีที่เกี่ยวข้อง และสร้างความรู้ความเข้าใจด้านสภาวะโลกร้อนเพื่อร่วมกัน ลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นได้ 2. กรณีศึกษานโยบายและการวางแผนประเทศไทย จากข้อมูลของ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (2563) และ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา (2564) พบว่า ในปี พ.ศ. 2563 ประเทศไทยทยอยเปิดรับนักท่องเที่ยวต่างชาติแบบจำกัด ผ่านการออกวี ซ่าประเภทพิเศษ(สเปเชี่ยล ทัวริสต์ วีซ่า หรือ STV) ซึ่งในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2563 มีกรุ๊ปจากเมืองเซี้ยงไฮ้ กวางโจว (จีน) เดินทางเข้ามา จำนวน 3 กรุ๊ป และรัฐบาลเตรียมความพร้อมสายการบิน เพื่อเปิดเที่ยวบิน ระหว่างประเทศ โดยพิจารณาเฉพาะประเทศที่มีการควบคุมการแพร่ระบาดอยู่ในมาตราฐานองค์การ อนามัยโลก (WHO) เป็นอันดับแรก รวมถึงกระตุ้นไทยเที่ยวไทย ที่เพิ่งจะเริ่มเกิดการเดินทางท่องเที่ยวอีก ครั้งเมื่อเดือนมิถุนายนที่ผ่านมาหลังรัฐบาลคลายล็อกดาวน์ แต่ก็มีปัจจัยด้านเศรษฐกิจเป็นตัวแปรที่ทำให้ คนก็ระมัดระวังการใช้จ่าย ในปี
ส่งเสริมการท่องเที่ยวภายใต้กรอบปีงบประมาณ
4.18 แสนล้านบาท ลดลง 61% จากปี พ.ศ. 2563 ก่อน มีจำนวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยราว 70 ล้านคนครั้ง ลดลง 58% จากปี พ.ศ. 2563 สำหรับรายได้จากนักท่องเที่ยวต่างชาติ คาดว่าจะอยู่ที่ 3.96 แสนล้านบาท ลดลง 80% จาก ปี พ.ศ. 2563 ปีก่อน โดยมีจำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติอยู่ที่ 8.2 ล้านคน ลดลง 80% แผนดังกล่าวมี ทิศทางดังนี้ 2.1 แผนปี พ.ศ . 2564 การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (2563) สรุปแผนปฏิบัติการส่งเสริมการท่องเที่ยวประจำปี พ.ศ. 2564 โดยเน้นใน 3 เป้าหมาย ได้แก่ (1) เป้าหมายเชิงเศรษฐกิจ คือ สร้างรายได้การท่องเที่ยวรวมอยู่ระหว่าง 7 แสนล้าน บาท 1.5 ล้านล้านบาท โดยคาดว่าเป็นรายได้จากตลาดในประเทศ 4 5 แสนล้านบาท และรายได้จาก ตลาดต่างประเทศ 3 แสนล้านบาท 1 ล้านล้านบาท ภายใต้การคาดการณ์แนวโน้มการเติบโตของตลาด ต่างประเทศและตลาดในประเทศ ซึ่งแบ่งออกเป็นซีนาริโอต่าง ๆ (2) เป้าหมายเชิงการแข่งขัน โดยจะผลักดันให้ไทยมีรายได้จากนักท่องเที่ยวต่างชาติสูงสุด ติดอันดับ 1 ใน 5 ของโลก (3) เป้าหมายด้านการเป็นองค์กรสมรรถนะสูงสุด โดยมีคะแนนประเมินผลรัฐวิสาหกิจ ไม่ ต่ำกว่าปี พ.ศ. 2563 ส่วนกรอบการดำเนินงาน นอกจากททท.ยังต้องยึดหลักตามแผนยุทธศาสตร์ชาติแล้ว ผมยังได้มอบนโยบายให้ททท.ต้องมองถึงการเป็นผู้นำในการสร้างอนาคตการท่องเที่ยวไทยบนพื้นฐานของ ความปลอดภัย และความยั่งยืน (SAFE and SUSTAIN Future) และการสร้างความมั่นใจในระบบ สาธารณสุขที่เข้มแข็งสามารถรับมือกับสถานการณ์โรคระบาดได้ดี ทั้งยังรักษาสมดุลของเศรษฐกิจ สังคม
พ.ศ. 2564 การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) ได้กำหนดแผนการ
188 และสิ่งแวดล้อม ด้วยการท่องเที่ยวอย่างรับผิดชอบ และเพิ่มการให้ความสำคัญกับเป้าหมายการพัฒนาที่ ยั่งยืน เพื่อให้อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวไทยเติบโตอย่างยั่งยืน สำหรับจุดเน้นการส่งเสริมการท่องเที่ยวในปี พ.ศ. 2564 กำหนดช่วงเวลาและจุดเน้น ใน 2 จุดหลัก ได้แก่ (1) การส่งเสริมการท่องเที่ยว ที่จะแบ่งออกเป็น 2 ระยะ ได้แก่ ระยะ Recovery เน้นการ ท่องเที่ยวภายในประเทศ เพิ่มความถี่ในการเดินทาง และระยะ Restart เร่งสร้างรายได้จากการเพิ่มการใช้ จ่ายต่อทริป และเน้นกลุ่มเป้าหมายเฉพาะเจาะจงที่มีคุณภาพและศักยภาพในการใช้จ่าย (2) จุดเน้นการดำเนินงาน ภายใต้กลยุทธ 3 D ประกอบด้วย “Domestic” ปรับดีมานท์ ส่งเสริมและผลักดันการท่องเที่ยวภายในประเทศเป็นสำคัญ เพื่อลดการพึ่งพาตลาดต่างประเทศ ลดการ เพิ่มจำนวนนักท่องเที่ยว เน้นกลุ่มคุณภาพ ได้แก่ กลุ่มมิลเล็นเนียล กลุ่มคนไทยเที่ยวนอก กลุ่ม EXPAT กลุ่ม Digital Nomad (ไลฟ์สไตล์คนทำงานแบบไร้ออฟฟิศ) และกลุ่มประชุมสัมมนาภาครัฐ “Digital” สร้าง Digital Ecosystem สร้างความเชื่อมโยงให้เกิดขึ้นจริงและสามารถลดช่องว่างทักษะด้านดิจิทัล ขับเคลื่อนการดำเนินงานบนฐานข้อมูลอย่างต่อเนื่อง และก้าวทันอนาคต “Dynamic” สร้างพลวัตใหม่ จากความสามารถในการปรับตัว มีความยืดหยุ่น การบรูณาการทำงานเพื่อเพิ่มศักยภาพการทำงาน โดยเฉพาะด้านอุปทานให้มีความเข้มแข็ง สามารถลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงและความไม่แน่นอน ภายใต้หลักธรรมาภิบาล แนวทางการดำเนินงานของททท.ในปี พ.ศ. 2564 จะโฟกัสใน 3 แผน ได้แก่ แผนส่งเสริม การท่องเที่ยวตลาดในประเทศ ททท.จะกระตุ้นการเดินทางท่องเที่ยวภายในประเทศอย่างต่อเนื่อง ภายใต้ การบริการตามมาตฐานสาธารณสุข New Normal เพื่อช่วยพยุงอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ให้ได้ผลลัพธ์ ใกล้เคียงกับปี พ.ศ. 2562 และสานต่อการท่องเที่ยวอย่างรับผิดชอบ โดยให้คนไทยตระหนักถึงคุณค่าและ ร่วมกันเพิ่มพูนคุณค่าของการท่องเที่ยวไทย ผ่านการเดินทางท่องเที่ยวภายในประเทศที่ปลอดภัยยิ่งขึ้น โดยททท.จะกระตุ้นการเติบโตของนักท่องเที่ยวภายในประเทศอย่างสมดุล มุ่งกระตุ้นการ เดินทางท่องเที่ยวในพื้นที่เมืองรอง หรือแหล่งท่องเที่ยวรองในเมืองหลัก ส่งเสริมให้เที่ยวในวันธรรมดา ผ่านการให้บริการข้อมูลข่าวสารจากททท. รวมถึงการสร้างสรรค์ประสบการณ์ท่องเที่ยว เน้นให้เกิดการใช้ จ่ายจากการเดินทางท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น เช่น ส่งเสริมรูปแบบการท่องเที่ยวสร้างสรรค์ เพิ่มขีดความสามารถ ให้ชุมชนท้องถิ่นพัฒนาและเสนอขายสินค้าที่สะท้อนวิถีชีวิต การรักษาระยะพำนักเฉลี่ยด้วยเรื่องราว สร้างสรรค์และกิจกรรมท่องเที่ยว รวมถึงการพัฒนาคุณค่าแบรนด์ให้เทียบเท่าคุณค่าการท่องเที่ยวต่างประเทศ โดยการสร้าง กระแสการเดินทางท่องเที่ยวภายในประเทศ ด้วยการนำเสนอคุณค่าที่นักท่องเที่ยวจะได้รับจากการ ท่องเที่ยวในประเทศที่ไม่แพ้การท่องเที่ยวต่างประเทศ ผ่านแคมเปญสื่อสารการตลาด “ Amazing Thailand” ด้วยแนวคิด “เที่ยวเมืองไทย Amazing ยิ่งกว่าเดิม” ขณะที่แผนส่งเสริมการท่องเที่ยวตลาด ต่างประเทศ ททท.มองว่าจากความไม่แน่นอนของโควิด 19 ในปี พ.ศ. 2563 และส่งผลต่อเนื่องในปี พ.ศ. 2564 ททท.จึงคาดว่าภาพรวมอัตราการเติบโตของตลาดมีแนวโน้มจะปรับตัวดีขึ้นจากปี พ.ศ. 2563 แต่คง จะยังไม่ฟื้นตัวกลับสู่ภาวะปกติ เช่นเดียวกับปี พ.ศ. 2562 เนื่องจากสถานการณ์การเดินทางเข้ามา ท่องเที่ยวไทยของนักท่องเที่ยวต่างชาติในช่วงปลายปี พ.ศ. 2563 ถึงปี พ.ศ. 2564 ยังคงมีความผันผวนไม่ แน่นอน จากปัจจัยต่าง ๆ อาทิ การแพร่ระบาดของโควิด 19 ในหลายประเทศยังไม่ผ่านจุดสูงสุด การ พัฒนาวัคซีนยังมีข้อจำกัด ผลกระทบจากเศรษฐกิจโลกที่ถดถอย อุตสาหกรรมการบินทั่วโลกยังไม่ฟื้นตัวใน ปี พ.ศ. 2564 และนโยบายในการเปิดรับนักท่องเที่ยวต่างชาติของไทยในแบบค่อยเป็นค่อยไป
โดยตามแผนการเปิดประเทศระยะ 3 (ตั้งแต่มกราคม พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป) รัฐบาลมีแผนเปิดจังหวัดที่มีชายแดนติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน (มาเลเซีย เมียนมา ลาว กัมพูชา) เพื่อ รองรับนักท่องเที่ยวต่างชาติ ทั้งนี้ ในปี พ.ศ. 2565 คาดการณ์ว่าประเทศไทยจะมีจำนวนนักท่องเที่ยว
189 ดังนั้นทิศทางในการส่งเสริมตลาดต่างประเทศในปี พ.ศ. 2564 ททท.จะเร่งฟื้นฟู อุตสาหกรรมท่องเที่ยวจากผลกระทบโควิด 19 โดยเน้นการสร้างความเชื่อมั่น และการรับรู้อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ไทยเป็น Top of Mind ซึ่งททท.จะกระตุ้นการเดินทางตลาดนักท่องเที่ยวคุณภาพ เช่น ลดการ พึ่งพิงตลาดใดตลาดหนึ่ง กระตุ้นการเดินทางของนักท่องเที่ยวกลุ่มศักยภาพที่สามารถเดินทางได้ การ เสริมสร้างคุณค่าประสบการณ์ท่องเที่ยว ผ่านเอกลักษณ์และเรื่องราวของสินค้าทางการท่องเที่ยวที่ สร้างสรรค์ สามารถตอบสนองความต้องการของนักท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่ม ให้เดินทางมาสัมผัสมุมมองใหม่ที่ แตกต่าง การตอกย้ำความเชื่อมั่นคุณค่าแบรนด์ท่องเที่ยวไทย เช่น สื่อสารความมั่นใจในภาพลักษณ์ด้าน ความปลอดภัย เน้นกิจการสื่อสารการตลาดให้เข้าถึงนักท่องเที่ยวต่างชาติกลุ่มศักยภาพที่สามารถเดินทาง ได้ก่อน อย่างกลุ่มมิลเล็นเนียล กลุ่มเมดิคัล ทั้งหมดล้วนเป็นทิศทางในการขับเคลื่อนการท่องเที่ยวของไทย ในปีหน้า ท่ามกลางความผันผวนจาก โควิด 19 ที่ยังคงอยู่ 2.2 แผนปี พ.ศ. 2565 จากข้อมูลแผนปฏิบัติราชการรายปี พ.ศ. 2565 ของกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา (2564) พบว่า สถานการณ์ของภาคการท่องเที่ยวของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2565 นี้ขึ้นอยู่กับการแพร่ระบาดของ ไวรัสโควิดสายพันธุ์ใหม่ “โอไมครอน” โดยกระทรวงสาธารณสุขต้องมีมาตรการที่ดีรองรับ โดยประเด็น ปัญหาสำคัญ คือ ประเทศต้นทางหลายประเทศ โดยเฉพาะในภูมิภาคยุโรป อเมริกา ที่ทยอยล็อกดาวน์ ปิดการเดินทาง หรือกักตัวเมื่อต้องกลับเข้าประเทศในจำนวนวันที่มากขึ้นมากกว่า กระทรวงการท่องเที่ยว และกีฬา คาดการณ์ว่านับตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ.
เป็นต้นไปประเทศไทยจะมีจำนวนนักท่องเที่ยว ต่างชาติเพิ่มขึ้นตามลำดับ
160 ล้านคนครั้ง มี รายได้รวมทั้งสิ้น 1.3 1.8 ล้านล้านบาท อย่างไรก็ตามคาดการณ์ดังกล่าวนี้อยู่บนสมมุติฐานว่าประเทศ ไทยจะมีนักท่องเที่ยวต่างชาติ 8 ล้านคน หากสามารถเปิดด่านค้าชายแดนกับประเทศเพื่อนบ้านได้ในไตร มาส 1 ปี พ.ศ. 2565 และจะมีนักท่องเที่ยวต่างชาติถึงเป้า 15 ล้านคน หากสามารถเปิดพรมแดนกับ ประเทศเพื่อนบ้านได้ และมีนักท่องเที่ยวชาวจีนกลับมาเดินทางเข้าประเทศไทยในครึ่งหลังของปี พ.ศ. 2565 หรือหากไม่สามารถเปิดด่านค้าชายแดนกับประเทศเพื่อนบ้านได้ ปี พ.ศ. 2565 ประเทศไทยน่าจะมี จำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติรวมที่ประมาณ 6 7 ล้านคน ททท.เตรียมแผนสำหรับพลิกโฉมการท่องเที่ยวไทย โดยวางไทม์ไลน์ในการปรับยุทธศาสตร์ ไปสู่การท่องเที่ยวที่เน้นคุณภาพและความยั่งยืน หรือ High Value & Sustainable Tourism ภายใต้แผน 3R คือ 1. Reopen (Q3 ปี พ.ศ. 2564) ซึ่งเป็นช่วงทดลองเปิดภายใต้นโยบาย Phuket Sandbox 2. Recover (Q4 ปี พ.ศ. 2565) เป็นช่วงการเปิดประเทศเมื่อ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564 3. Resilient (ปี พ.ศ. 2566 2570) เป็นช่วงการส่งเสริมการท่องเที่ยวไปสู่การท่องเที่ยวเชิง คุณภาพและความยั่งยืน โดยทิศทางการขับเคลื่อนสำหรับปี พ.ศ. 2565 นี้ ททท.จะคงความสำคัญของการท่องเที่ยว ต่อระบบเศรษฐกิจไทย โดยเร่งให้อุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทยฟื้นตัวเร็วและเติบโตได้อย่างเข้มแข็ง และเป็น เซ็กเตอร์สำคัญต่อระบบเศรษฐกิจไทยและก้าวสู่การท่องเที่ยวเชิงคุณภาพ และมีขีดความสามารถในการ แข่งขันในระยะยาว โดยมีทิศทางการส่งเสริมดังนี้
2565
ต่างชาติอยู่ที่ประมาณ 8 15 ล้านคน และนักท่องเที่ยวในประเทศเดินทางจำนวน
190 1. สำหรับตลาดต่างประเทศ ททท.จะมุ่งส่งเสริมกับกลุ่มเป้าหมายคุณภาพ เน้นทำการตลาด ผ่านเทคโนโลยีดิจิทัลและสารสนเทศ และรักษาความสัมพันธ์กับนักท่องเที่ยวและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียใน อุตสาหกรรมท่องเที่ยว 2. ตลาดในประเทศ ททท.จะมุ่งส่งเสริมและสนับสนุน “ไทยเที่ยวไทย” ภายใต้แนวคิด BCG และ Local Economy Development Model ควบคู่กับการท่องเที่ยวอย่างรับผิดชอบ เพิ่มการใช้ เทคโนโลยีดิจิทัลและสารสนเทศ และเพิ่มขีดความสามารถให้กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในอุตสาหกรรม ท่องเที่ยว โดยเพิ่มขีดความสามารถให้ผู้ประกอบการในลักษณะอัพสกิลและรีสกิล เป้าหมายสร้างรายได้จากการท่องเที่ยวสำหรับปี พ.ศ. 2565 รวมที่ 1.12 ล้านล้านบาท แบ่งเป็นรายได้จากตลาดต่างประเทศ 6.3 แสนล้านบาท จากนักท่องเที่ยวต่างชาติประมาณ 10 ล้านคน และจากตลาดในประเทศ 4.9 แสนล้านบาท จากจำนวนนักท่องเที่ยวคนไทย 120 ล้านคน ครั้ง ทั้งนี้ จะ เน้นเป้าหมายด้านรายได้เป็นหลัก โดยมุ่งทำการตลาดเพื่อให้นักท่องเที่ยวต่างชาติเกิดการใช้จ่ายต่อหัว เพิ่มขึ้น เพื่อให้ภาคธุรกิจการท่องเที่ยวสามารถรักษาสถานภาพในความเป็นอุตสาหกรรมหลักในการ ขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจของประเทศต่อไปได้ โดยจะใช้ตัวชี้วัดเป้าหมายใน 3 ด้านหลักประกอบด้วย 1. อัตราการเข้าพักแรม (OR : Occupancy Rate) ซึ่งเป็นตัวเลขที่สะท้อนการเดินทาง โดย ต้องมีอัตราการเข้าพักเฉลี่ยทั่วประเทศทั้งปีไม่ต่ำกว่า 50% 2. ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อคน (SP : Spending per Trip) โดยตั้งเป้าให้นักท่องเที่ยวต่างชาติมี ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อหัวที่ 62,580 บาท และนักท่องเที่ยวคนไทยมีค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อหัวที่ 4,100 บาท 3. อัตราการบรรทุกผู้โดยสารของสายการบิน (CF : Cabin Factor) โดยอัตราการบรรทุก ผู้โดยสารสำหรับสายการบินต่างชาติเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 50% และอัตราการบรรทุกผู้โดยสารสำหรับสายการ บินในประเทศเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 80% โดยแบ่งเป็นเซ็กเมนท์และทำการตลาดให้ตรงกับเซ็กเมนท์ของลูกค้า ผ่านเทคโนโลยีสมัยใหม่ พร้อมทั้งเน้นการตลาดในรูปแบบ “การเล่าเรื่อง” หรือ Story Telling มากกว่าการขายตัวแหล่งท่องเที่ยว เพียงอย่างเดียว ทั้งนี้ เพื่อสร้างประสบการณ์ที่แตกต่างกันให้กับนักท่องเที่ยว รวมถึงสนับสนุนการ ท่องเที่ยวให้มีความหลากหลายและเพิ่มมูลค่า อาทิ การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรม การ ท่องเที่ยวเชิงธุรกิจ การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ การท่องเที่ยวเรือสำราญ ฯลฯ รวมถึงการท่องเที่ยวเชื่อมโยง ภูมิภาค แผนปี พ.ศ. 2565 ชูเทคโนโลยีรับการเปลี่ยนแปลงสำหรับโปรดักต์และบริการที่จะขาย โดย ททท.วางตัวย่อไว้คือ NFX X (Experience Thai Tourism) โดยจะเน้นใน 3 รายการ ได้แก่ 1.Nature to Keep การท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ ที่เป็นการปกป้องและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 2. Food to Explore การท่องเที่ยวเชิงอาหาร 3. Thainess to Discover การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ โดยทั้งหมดจะเน้นทำการตลาดภายใต้คอนเซ็ปต์ Amazing New Chapters ผ่านอินฟลูเอน เซอร์ จำนวน 26 คน เรียงลำดับตามอักษร A Z ทำคอนเทนต์เผยแพร่ในแพลตฟอร์มสังคมออนไลน์ต่าง ๆ อาทิ ยูทูบ เฟซบุ๊ก ฯลฯ ซึ่งเตรียมเปิดตัวในงานส่งเสริมการท่องเที่ยวระดับโลก “ไอทีบี เบอร์ลิน” ประเทศเยอรมนี แผนเดินหน้าสู่ Next Generation of Thai Tourism ที่จะมุ่งการเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัลเพื่อ สร้างมูลค่าเพิ่มและความยั่งยืน โดยเน้นใน 3 เรื่อง คือ
191 1.Digital Industry สนับสนุนการนำเทคโนโลยีดิจิทัลไปปรับใช้ในการเปลี่ยนรูปแบบการ ดำเนินธุรกิจในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว 2.Digital Investment ให้ความสำคัญกับการลงทุนในการพลิกโฉมสู่ยุคดิจิทัลของภาคธุรกิจ อย่างเต็มรูปแบบ 3.Digital Innovation ร่วมพัฒนานวัตกรรมบนพื้นฐานของเทคโนโลยีดิจิทัล รวมถึงการ ผลักดันให้อุตสาหกรรมท่องเที่ยวเป็น Crypto positive Industry และใช้ประโยชน์จากโทเคน อีโคโนมี ปี พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป ททท.จะให้น้ำหนักกับการปรับโครงสร้างธุรกิจ หรือ Ecosystem ใหม่ ให้อยู่บน 2 ประเด็นหลัก คือ 1. การท่องเที่ยวอย่างรับผิดชอบเพื่อความยั่งยืน และ 2. การนำ เทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาเพิ่มมูลค่าของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของไทย ทั้งนี้ เพื่อรองรับการท่องเที่ยวใน อนาคตที่คาดว่าจะไม่กลับมาเหมือนเดิมอีกต่อไป อย่างไรก็ตาม นักเดินทางยังคงกังวลเกี่ยวกับการแพร่ ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด 19 ความเชื่อมั่นที่เพิ่มขึ้นจะเกิดจากที่ภาครัฐและเอกชนมีมาตรการที่ชัดเจน ตลอดการเดินทาง ที่สำคัญคือ ความปรารถนาของนักเดินทางในการสำรวจโลกยังคงไม่ลดน้อยลง ทำให้มี ความหวังสำหรับอนาคตของอุตสาหกรรมการเดินทางและการท่องเที่ยว และความสามารถของ ภาคอุตสาหกรรมในการสร้างความแตกต่างที่มีความหมายต่อชีวิต และการดำรงชีวิตของผู้คน 3. การฝึกเขียนข้อเสนอแนะและสรุปบทเรียน นักศึกษาศึกษาการเขียนข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติ และการสรุปบทเรียน จากกรณีศึกษาของรายวิชา โดยสามารถศึกษาจากกรณีศึกษาตัวอย่างของผู้สอน กรณีศึกษา บ้านป่าทราย ตำบลเกาะยาวน้อย อำเภอตำบลเกาะยาว จังหวัดพังงา ดังนี้ 3.1 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย 3.1.1 รัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวในประเทศไทย เช่น กระทรวงการ ท่องเที่ยวและกีฬา การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย และ กองพัฒนาการท่องเที่ยว ควรกำหนดนโยบาย แผนกลยุทธ์ และแนวปฏิบัติในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนอย่างแท้จริง หรือกำหนดไว้ใน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติเพื่อเป็นกลไกสำคัญ ในการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนอย่าง ต่อเนื่องและจริงจัง โดยจัดทำเป็นแผนกลยุทธ์ระยะยาวและไม่เปลี่ยนแปลงตามความไม่มั่นคงทางการ เมือง 3.1.2 รัฐบาลและหน่วยงานควรกำหนดแนวนโยบายการเรียนรู้ในเรื่องบทบาทของชุมชน การมีส่วนร่วมของชุมชนการท่องเที่ยวและการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในหลักสูตรการศึกษาเพื่อพัฒนาความ เข้าใจของการท่องเที่ยว การพัฒนาอย่างยั่งยืน และบทบาทของชุมชนต่อสังคม โดยกำหนดไว้ในแผนการ ศึกษาของชาติ และบังคับเรียนตั้งแต่ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างเร่งด่วน ซึ่งจะเป็นการเสริมสร้าง ความรู้ความเข้าใจ เพื่อให้ชุมชนและสังคมเข้มแข็งต่อการพัฒนาทางการท่องเที่ยวในพื้นที่ และสามารถ จัดการการท่องเที่ยวได้อย่างถูกต้อง 3 1.3 รัฐบาลและหน่วยงานภาครัฐทุกระดับควรส่งเสริมกระบวนการทางสังคมอันนำมา ซึ่งประโยชน์ทางสังคม (Social Benefits) เช่น ส่งเสริมค่านิยม และวัฒนธรรมการแสดงความคิดเห็น คุณธรรมจริยธรรม จิตสำนึกและการอนุรักษ์ เพื่อสร้างฐานความเข้มแข็งของชุมชนในสังคม ต่ออิทธิพล ทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมจากการพัฒนาการท่องเที่ยว มีหน่วยงานรับผิดชอบอย่าง ชัดเจนและต่อเนื่องเพื่อเปลี่ยนแปลงค่านิยม และธรรมเนียมปฏิบัติที่ไม่เหมาะสม เช่น ด้านระบบอุปถัมภ์ ในสังคม การบังคับใช้กฎหมายที่อ่อนแอ ค่านิยมในการทำงานเพื่อส่วนรวมลดลง ส่งผลให้การมีส่วนร่วม ในสังคมอ่อนแอและการให้ความร่วมมือกับภาครัฐ โดยปล่อยให้เป็นหน้าที่ของหน่วยงานภาครัฐเพียงอย่าง เดียว
192 3 1.4 ภาครัฐควรกำหนดนโยบาย และบังคับใช้กฎหมายการทำธุรกิจด้านการท่องเที่ยว โดยเน้นการเอื้อประโยชน์และการกระจายรายได้ให้คนในชุมชนเป็นหลัก และจำกัดขีดความสามารถ ดำเนินธุรกิจของชาวต่างชาติหรือคนต่างถิ่น เพื่อศึกษาผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจของชุมชน 3 1.5 กำหนดพระราชบัญญัติที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการมีส่วนร่วมของชุมชน และการ พัฒนาการท่องเที่ยว พร้อม กฎ ระเบียบ ข้อบังคับโดยกำหนดบทลงโทษทางกฎหมายที่เกี่ยวข้อง บังคับใช้ จริงและลดความซ้ำซ้อนของระเบียบและกฎหมายบางฉบับที่จะทำให้เกิดการทับซ้อนและการเหลื่อมล้ำ ของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องทั้งนี้ หมายความรวมถึง การประกาศพื้นที่คุ้มครองทั้งทางวัฒนธรรมและทาง ธรรมชาติ ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะถิ่นมากขึ้น 3 1.6 กำหนดนโยบายการท่องเที่ยวที่เน้นการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศและภูมิภาค ตามศักยภาพของชุมชน และให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในการวางแผน การพัฒนาและการจัดการ ธุรกิจท่องเที่ยวในเขตพื้นที่ของชุมชน อันจะนำไปสู่การพัฒนาทางเศรษฐกิจที่สมดุลกับชุมชนและศักยภาพ ของพื้นที่ และเน้นการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนเป็นนโยบายหลักในการพัฒนาการท่องเที่ยวของประเทศ 3 1.7 จัดสรรงบประมาณเฉพาะเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน โดยเน้นไปที่การ ให้ความรู้ และการสร้างศูนย์จำลองการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน เพื่อให้ชุมชนได้เรียนรู้ เนื่องจากการมีส่วน ร่วมของชุมชนต้องใช้เวลาระยะยาว และพัฒนาจากฐานความคิด ธรรมเนียมปฏิบัติของสังคม เน้นความ ร่วมมือเพื่อส่วนรวม ทั้งนี้การปรับเปลี่ยนชุมชนในทันทีเป็นเรื่องที่ทำได้ยาก ต้องเป็นกระบวนการการ เรียนรู้ระยะยาวแต่ปฏิบัติอย่างเร่งด่วน เพื่อร่วมกันรักษาความสมดุลระหว่างการพัฒนาการท่องเที่ยวเพื่อ เศรษฐกิจ และความอยู่ดีมีสุขของชุมชนเจ้าของพื้นที่ 3 1.8 ปฏิรูประบบสังคม โดยเน้นประชาชนในการแสดงพลังทางความคิดและ ความสามารถ ให้ความสำคัญกับรูปแบบการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนอย่างแท้จริง เช่น การท่องเที่ยวชุมชน การท่องเที่ยว 3.2 ข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติ 3 2.1 หน่วยงานและความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน 1) จัดตั้งหน่วยงานที่ดูแลและรับผิดชอบการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการมีส่วน ร่วมของชุมชนโดยตรง หากติดขัดด้านระบบราชการและงบประมาณ ควรจัดให้หน่วยงานแต่ละหน่วยงาน กำหนดภาระหน้าที่เฉพาะที่ในเขตพื้นที่ของตนเองในแผนกที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวมากที่สุด เช่น แผนกพัฒนาการท่องเที่ยวของเทศบาล และนักพัฒนาการท่องเที่ยวขององค์การบริหารส่วนตำบล เป็นต้น 2) สร้างความร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาคธุรกิจ ภาคชุมชน และภาคีอื่นที่มีส่วนได้ ส่วนเสียเพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกันด้านการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโดยเน้นชุมชนผู้เป็นเจ้าของ พื้นที่ ทั้งนี้ความร่วมมือควรเกิดจากกิจกรรมที่ทำร่วมกันเป็นประจำ ไม่ใช่การประชุมหรือการเข้าร่วม ประชาพิจารณ์ 3) จัดทำระบบติดตาม ประเมินผลและทบทวนการวางแผนและแผนกลยุทธ์ของ พื้นที่สม่ำเสมอ 4) บังคับใช้กฎระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยวในท้องถิ่น อย่างเคร่งครัดเพื่อสร้างความเชื่อมั่นในชุมชน เพื่อสร้างจิตสำนึก และเพื่อปกป้องพื้นที่ของชุมชน 5) ภาครัฐ หน่วยงาน เจ้าหน้าที่ควรศึกษาเชิงปฏิบัติร่วมกับชุมชน และฝึก ประสบการณ์ จากศูนย์จำลองเพื่อสามารถนำไปปฏิบัติได้จริง 3 3 สรุปบทเรียน 3 3.1 ทำให้เกิดการทำงานเป็นทีมและเกิดความร่วมมือภายในกลุ่ม ทำให้งานที่ทำออกมา มีประสิทธิภาพ
193
เกิดความร่วมมือและช่วยเหลือกันในการเขียนแผนยุทธศาสตร์ของหมู่บ้านป่าทราย
เป้าประสงค์ รวมทั้ง แผนยุทธศาสตร์และสามารถนำไปปฏิบัติใช้ได้จริงในการพัฒนาชุมชน 3.3.4 ทำให้เกิดการคิดวิเคราะห์ในการทำงานอย่างเป็นขั้นตอนและเป็นระบบ 3 3.5 ทำให้รู้ว่าการเขียนแผนยุทธศาสตร์สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้กับทุกพื้นที่ที่ ต้องการความช่วยเหลือและมีปัญหา 3.3.6 สามารถนำแผนยุทธศาสตร์ไปเป็นแนวทางการพัฒนาชุมชนบ้านป่าทรายได้ 3 3.7 ทำให้มีการบริหารจัดการได้อย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับความต้องการของ ชุมชน 3.3.8 แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาสามารถกำหนดทิศทางและประสานการปฏิบัติระหว่าง องค์กรท้องถิ่นเพื่อให้เกิดความร่วมมือและเป็นเครื่องมือที่จะช่วยให้ชุมชนพัฒนาได้ 3 3.9 ช่วยในการกำหนดแนวทางการดำเนินงานสำหรับการใช้ทรัพยากรการบริหารของ ท้องถิ่น อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด 3 3.10 ช่วยในการพัฒนาชุมชนให้มีประสิทธิภาพและมีความก้าวหน้าต่อไปในอนาคต 4. บทสรุป นักพัฒนาและนักจัดการการท่องเที่ยวของภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคชุมชน ต้องมีการ เตรียมพร้อมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาอย่างรวดเร็วของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
ท่องเที่ยวอย่างน้อย 10 ด้าน คือ 1) ด้านความปลอดภัยและระบบรักษาความปลอดภัย 2) ด้านการเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจโลก 3) ด้านการจัดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 4) ด้านการวางแผนยุทธศาสตร์ และแผนแม่บท 5) ด้านการตลาดดิจิทัล 6) ด้านการศึกษาและฝึกอบรมการท่องเที่ยว 7) ด้านกลุ่มตลาดท่องเที่ยวใหม่ 8) ด้านการจัดการสินค้าและบริการท่องเที่ยวที่มีคุณภาพ 9) ด้านการสร้างพันธมิตรทางการท่องเที่ยว 10) ด้านการจัดการผลกระทบด้านสุขภาพ ภัยธรรมชาติและภาวะโลกร้อน
3 3.2
ต.เกาะยาวน้อย อ.เกาะยาว จ.พังงา 3 3.3 ทำให้มีความรู้และความสามารถในการเขียนวิสัยทัศน์ พันธกิจ
การ พัฒนาการท่องเที่ยวให้ยั่งยืนในอนาคตต้องมีความเข้าใจถึงแนวโน้มที่สำคัญในอนาคตของอุตสาหกรรม
194 5. แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 11 1. อธิบายจุดเน้นที่สำคัญของความปลอดภัยและระบบรักษาความปลอดภัย 2. อธิบายจุดเน้นที่สำคัญของการเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจโลก 3. อธิบายจุดเน้นที่สำคัญของการจัดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 4. อธิบายจุดเน้นที่สำคัญของการวางแผนยุทธศาสตร์ และแผนแม่บท 5. อธิบายจุดเน้นที่สำคัญของการตลาดดิจิทัล 6. อธิบายจุดเน้นที่สำคัญของการศึกษาและฝึกอบรมการท่องเที่ยว 7. อธิบายจุดเน้นที่สำคัญของกลุ่มตลาดท่องเที่ยวใหม่ 8. อธิบายจุดเน้นที่สำคัญของการจัดการสินค้าและบริการท่องเที่ยวที่มีคุณภาพ 9. อธิบายจุดเน้นที่สำคัญของการสร้างพันธมิตรทางการท่องเที่ยว 10. อธิบายจุดเน้นที่สำคัญของการจัดการผลกระทบด้านสุขภาพ ภัยธรรมชาติและภาวะโลกร้อน 11. ให้วิเคราะห์นโยบายและแผนการท่องเที่ยวของประเทศไทยในช่วงปี พ.ศ. 2563 2565
11 กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2564). แผนปฏิบัติราชการรายปี 2565. กรุงเทพฯ: กองยุทธศาสตร์ และแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.). (2563). สรุปแผนปฏิบัติการส่งเสริมการท่องเที่ยวประจำปี 2564. กรุงเทพฯ: การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย.
Song, H. J., Ahn, Y. J., & Lee, C. K. (2015). Structural relationships among strategic experiential
modules, emotion and satisfaction at the Expo 2012 Yeosu Korea. International Journal of Tourism Research, 17(3), 239 248.
195
เอกสารอ้างอิง บทที่
196
(ททท.). (2563).
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย.
(ททท.). (ม.ป.ป).
อนุรักษ์. กรุงเทพฯ : การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสร์. (2547). คู่มือการจำแนกเขตท่องเที่ยวเชิงนิเวศ. กรุงเทพฯ: การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย จำเนียร ชุณหโสภาค. (2548). ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หอการค้าจังหวัด และผู้นำชุมชนกับ การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ จังหวัดราชบุรี. ใน เทิดชาย ช่วยบำรุง (บรรณาธิการ), การท่องเที่ยวไทยนานาชาติ ปี พ.ศ.2548, 11 21. กรุงเทพฯ: สำนักงานการพัฒนาและจัดการการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ฉลองศรี พิมลสมพงศ์ (2550). การวางแผนและพัฒนาตลาดการท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตุ้ย ชุมสาย, หม่อมหลวง และ ญิบพัน พรหมโยธี (2522). ปฐมบทแห่งวิชาการท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิชจำกัด. เที่ยวทั่วไทย หัวใจสีเขียว. (2551, 2 มิถุนายน). 7 Wonders Thailand ประชาชาติธุรกิจ 10 11 นิคม
197 บรรณานุกรม กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา.
แผนยุทธศาสตร์กู้วิกฤตและมาตรการกระตุ้นการท่องเที่ยว ระยะ 4 ปี (พ.ศ.
. กรุงเทพฯ: กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2564). แผนปฏิบัติราชการรายปี 2565. กรุงเทพฯ: กองยุทธศาสตร์ และแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) (2558). แผนการตลาดการท่องเที่ยว 2558. e TAT Tourism Journal, 4/2558 (ตุลาคม ธันวาคม 58), 1 5. การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) (2559). ยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวไทย พ.ศ. 2558 2560, สืบค้น วันที่ 6 มีนาคม 2559, จาก
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
จารุมณี (2536). การท่องเที่ยวและการจัดการอุตสาหกรรมท่องเที่ยว กรุงเทพฯ : โอ เอส พริ้นติ้ง เฮ้าส์ นิคม จารุมณี (2544). การท่องเที่ยวและการจัดการอุตสาหกรรมท่องเที่ยว พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ : โอเอส พริ้นติ้ง เฮ้าส์ บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2548). การพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน. กรุงเทพฯ: ศูนย์วิชาการท่องเที่ยวแห่ง ประเทศไทย บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา (2549). การพัฒนาและการอนุรักษ์แหล่งท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ : เพรส แอนด์ ดีไซน์.
(2552).
2552 2555)
http://www.mots.go.th/ewt_dl_link.php?nid=7114
สรุปแผนปฏิบัติการส่งเสริมการท่องเที่ยวประจำปี 2564. กรุงเทพฯ:
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
นโยบายและแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิง
ปกรณ์ ปรียากร (2530). ทฤษฎีแนวความคิดและกลยุทธ์เกี่ยวกับการพัฒนา. กรุงเทพฯ : คณะรัฐ ประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2550). กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ. สืบค้น 2 กุมภาพันธ์ 2550, จาก http://www.forest.ku.ac.th/webdev3/submenudetail.php?submenuid=33# ยุวัฒน์ วุฒิเมธี. (2526). หลักการพัฒนาชุมชนและการพัฒนาชนบท. กรุงเทพ : ห.ส.น. ไทยอนุเคราะห์ ไทย
กรุงเทพฯ: DOI. วันชัย วัฒนาศัพท์. (2547). ความขัดแย้ง: หลักการและเครื่องมือแก้ปัญหา. ขอนแก่น: ศิริภัณฑ์ ออฟ เซ็ท วิทยากร เชียงกูล. (2526). ปัญหาพื้นฐานของประเทศด้อยพัฒนา. กรุงเทพฯ : ฉับแกระ. วิรุจ กิจนันทวิวัฒน์ (2548). จุดเริ่มต้นของการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของประเทศไทย. ใน เทิด ชาย ช่วยบำรุง
198
ในแอฟริกา รูปแบบองค์กรที่ปรึกษาและให้คำแนะนำทางเศรษฐกิจและสังคม กรุงเทพฯ
และคณะ
ศึกษาการจัดการท่องเที่ยวเชิง นิเวศในอำเภอโนนสูง แหล่งโบราณคดีเนินอุโลก และบ้านปราสาท (ตำบลเมืองปราสาท) จังหวัดนครราชสีมา. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ ชุดโครงการการวิจัยและพัฒนาเครือข่าย และส่งเสริมการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา. พรพรรณ ไวทยางกูร (2538). นิเวศวิทยา. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์. พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตโต) (
การพัฒนาที่ยั่งยืน พิมพ์ครั้งที่
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วงศาโรจน์ สุวรรณี ตรีวัฒนาวงศ์ และ อัจฉรียา ศักดิ์นรงศ์.
หลักที่มีต่อการพัฒนากิจกรรมการท่องเที่ยวทางธรรมชาติอย่างยั่งยืนบนพื้นที่เกาะช้าง จังหวัดตราด
(บรรณาธิการ), การท่องเที่ยวไทยนานาชาติ ปี พ.ศ.2548, 117
วิรุจ กิจนันทวิวัฒน์ (2550). จุดเริ่มต้นของการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของประเทศไทย กรุงเทพฯ : สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย. วิรัช วิรัชนิภาวรรณ. (2532). หลักการพัฒนาชุมชนการพัฒนาชุมชนประยุกต์. กรุงเทพฯ: โอ เอส พริ้น ติ้งเฮาส์. สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2550). การบริหารจัดการการท่องเที่ยวอย่าง ยั่งยืนในประเทศไทย: วิธีปฏิบัติที่ดีสำหรับธุรกิจขนาดย่อมและขนาดกลาง. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมูลนิธิ Bumi Kita สัญญา สัญญาวิวัฒน์ (2526). การพัฒนาชุมชน กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนา. สัญญา สัญญาวิวัฒน์. (2538). ทฤษฎีสังคมวิทยา “การสร้างการประเมินค่าและการใช้ประโยชน์” กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สินธุ์ สโรบล (2546). การท่องเที่ยวโดยชุมชน : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.). สุรเชษฎ์ เชษฐมาส (ม .ป.ป ) แผนปฏิบัติการการจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ กรุงเทพฯ : คณะวน ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ปกรณ์ ปรียากร. (2538). เอกสารการสอนชุมชนวิชาการบริหารการพัฒนาชนบท วิธีการพัฒนาชนบท
: คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. ปรีชา เปี่ยมพงศ์สานต์ (2540). สิ่งแวดล้อมและการพัฒนา. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. เปรมวิทย์ ท่อแก้ว
(2548). การจัดการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน
2539).
3. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโกมลคีมทอง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2547). คู่มือการจำแนกเขตท่องเที่ยวเชิงนิเวศ. กรุงเทพฯ: คณะวนศาสตร์
รักษ์พงศ์
(2550). บทบาทขององค์กรภาครัฐ
134.
14 (3) (กันยายน ธันวาคม 2563), 63 74.
Armstrong, G., & Kotler, P. (2007). Marketing an introduction (8th ed.) New Jersey: Pearson Education Inc.
Belz, F. M. (2006). Marketing in the 21st Century. Business Strategy and the Environment, 15(3), 139 144.
Belz, F. M., & Peattie, K. (2009). Sustainability Marketing: A Global Perspective Chichester: Wiley.
Belz, F. M., & Peattie, K. (2012). Sustainability marketing: A global perspective (2nd ed.). Chichester: John Wiley & Sons.
Berman, P. (1978). The Study of Macro and Micro Implementation Public Policy Oxen: CABI Publishing.
Bowie, D., & Buttle, F. (2011). Hospitality Marketing: Principles and Practice London: Elsevier Butterworth Heinemann.
Buttle, F. (2012). Customer relationship management concept and technology (2nd ed.). New York: Routledge
Dinan, C., & Sargeant, A. (2000). Social marketing and sustainable tourism: Is there a Match?. International Journal of Tourism Research, 2(1), 1 14.
Dowling, R.K (1995). Ecotourism and Development: Partners and Progress. Paper presented in the National Regional Tourism Conference. Tasmania: Launceston, August.
Dye, R. T. (1984). Understanding Public Policy. London: Prentice Hall International Inc.. Easton, D. (1953). The Political System. New York: Alfred A. Knorf
Elliot, J (1997). Tourism : Politics and Public Sector Management. London: Routledge
Fridgen, J.D (1990). Dimensions of Tourism. Michigan: Educational Institute of the American Hotel and Motel Association.
Gartner, W (1996). Tourism Development: Principles, Processes and Policies. USA: John Wiley & Son.
199 เสรี พงศ์พิศ. (2550). เศรษฐกิจพอเพียง: เกิดได้ ถ้าใจปรารถนา. กรุงเทพฯ: พลังปัญญา สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2550) รายงานสรุปผลการประชุม ประจำปี 2550 ของ สศช. เรื่องความอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกันในสังคมไทย. กรุงเทพฯ : บริษัทสหมิตรพริ้นติ้ง สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. (2556) ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2556 2561) กรุงเทพฯ : วิชั่นพริ้นท์ แอนด์ มีเดีย. สำนักวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (2550). การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม. สืบค้น 30 มิถุนายน 2550, จาก www.onep.go.th/eia อรไท ครุธเวโช สุภัทรา สังข์ทอง และวรพจน์ ตรีสุข. (2563). การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม อย่างมีส่วนร่วม ชุมชนบ้านแหลมตุ๊กแก จังหวัดภูเก็ต. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธนบุรี
,
Global Sustainable Tourism Council [GSTC]. (2019). GSTC Destination Criteria. Washington, DC: The Global Sustainable Tourism Council.
Grundey, D. (2008). Managing sustainable tourism in Lithuania: Dream or reality?. Technological and Economic Development, 14(2), 118 129.
Hogwood, B., & Gunn, L (1984). Policy analysis for the real world. Oxford: Oxford University Press.
Jamrozy, U. (2007). Marketing of tourism: A paradigm shift toward sustainability. International Journal of Culture, Tourism and Hospitality Research, 1(2), 117 13
Kotler, P., Bowen, J. T., & Makens, J. C. (2006). Marketing for hospitality and tourism (4th ed.). New Jersey: Pearson Education.
Kotler, P., & Keller, K. L. (2006). Marketing management (12th ed.). New Jersey: Pearson Prentice Hall.
Kotler, P., & Zaltman, G. (1971). Social marketing: An approach to planned social change. Journal of Marketing, 35(3), 3 12.
Kumar, V., & Rajan, B. (2012). Social Coupons as a Marketing Strategy: A Multifaceted Perspective. Journal of the Academy of Marketing Science, 40 (1) (2012.
Kumar, V., Rahman, Z., Kazmi, A. A., & Goyal, P. (2012). Evolution of sustainability as marketing strategy: Beginning of new era. Procedia Social and Behavioral Sciences, 37, 482 489. Retrieved June 10, 2015, from http://www. esearchgate.net/publication/230269226_Factors_affecting_ corporate_environmental_strategy_in_Spanish_industrial_firms
Lamb, C. W., Hair, J., F., & McDaniel, C. (2000). Marketing (5th ed). USA : South Western College Publishing, Co.Ltd.
Lea, J. (1998). Tourism and Development in the Third World. London: Routledge. Lickorish, L.J., & Jenkins, C L (1997). An Introduction to Tourism. Oxford: Butterworth Heinemann.
Liu, Z. (2003). Sustainable Tourism Development: A Critique. Journal of Sustainable Tourism, 11 (6), 459 475.
Lowi, T J. (1968). American Business, Public Policy, Case Studies, and Political Theory. World Politics. XVI Jul
McDaniel, C., & Gates, R. (2006). Marketing Research Essentials (6th ed.). Hobuken, N.J.: John Wiley. Neto, F. (2003). A New Approach to Sustainable Tourism Development: Moving Beyond Environmental Protection Madrid: UN. Prothero, A., Dobscha, S., Freund, J., Kilbourne, W., Luchs, M., & Ozanne, L. (2011). Sustainable consumption: Opportunities for consumer research and public policy. Journal of Public Policy & Marketing, 30(1), 31 38.
200
Ritchie, J.R., & Crouch, G.I. (2003). The competitive destination: a sustainable tourism perspective. Oxen, UK: CABI Publishing.
SDG Move. (2018). SDG Index & Dashboards Report 2018. Retrieved 22 June, 2019, from https://www.sdgindex.org
SDG Move. (2019). SDG 101. Retrieved 22 June, 2019, from https://www.sdgmove.com/category/sdg 101/
Song, H. J., Ahn, Y. J., & Lee, C. K. (2015). Structural relationships among strategic experiential modules, emotion and satisfaction at the Expo 2012 Yeosu Korea. International Journal of Tourism Research, 17(3), 239 248.
Stynes, D.J., & O’ Halloran, C. (1987). Tourism Planning. Michigan: Michigan States University, Cooperative Extension Service
United Nations Environmental Programme [UNEP]. (1995). Global Biodiversity Assessment. Nairobi, Kenya: United Nations Environment Programme [UNEP]. United Nations Environmental Programme [UNEP]. (2015). The United Nations Environment Programme & the 2030 Agenda Global Action for People and the Planet. Madrid: UNEP.
UN's Economic and Social Commission for Asia and the Pacific [UNESCAP]. (2017). Sustainable Social Development in Asia and the Pacific. Bangkok: United Nations Publication.
Weaver, D.B. (1998). Ecotourism in the less developed world. Oxford: CAB International.
Weaver, D.B (ed.) (2000). The Encyclopedia of ecotourism. New York: CABI Publication.
World Tourism Organization [WTO]. (1992). Guidelines: Development of National Parks and Protected Areas for Tourism. Madrid: WTO.
World Tourism Organization [WTO]. (1997). Sustainable Tourism for Development Guidebook. Madrid: WTO.
World Tourism Organization [WTO] (2005). The concept of sustainable tourism Retrieved June 22, 2017, from http://www.world tourism.org/sustainable/top/concepts.html
United Nations World Tourism Organization [UNWTO]. (2018). International Tourist Highlights 2018 Edition. Madrid: UNWTO.
201